www.rsunews.net
1
จากบรรณาธิการ วีระยุทธ โชคชัยมาดล
“ปฏิรูปประเทศไทย” กลายเปนคำติดปากนักการเมืองไทยในยุคนี้ไปแลว ถึงแมจะ ยังไมมสี ญ ั ญาณวาคนกลมุ นีจ้ ะยินยอมปรับเปลีย่ นพฤติกรรมอันนาเอือมระอา ใหกลายเปนพลัง แหงการปฏิรูปตามที่ปาวประกาศราวกับเปนพันธสัญญาตอประชาชนไดอยางไร นิตยสาร RSU NEWS ฉบับนีจ้ งึ สือ่ ออกมาวาไมไดมคี วามหวังกับกระแสการปฏิรปู ประเทศ ไทย ฉบับนักการเมือง พ.ศ. 2553 แตอยางใด เพราะการปฏิรูปประเทศไทยที่ริเริ่มโดย นักการเมืองจะไดผลลัพธอื่นไปไมไดนอกจาก “เพื่อนักการเมือง” ความเปลี่ยนแปลงถือเปน ของแสลงของบรรดานักกอบโกยที่แฝงตัวเขาไปในรัฐสภาอันทรงเกียรติ เพียงเพื่อประโยชน ของตนเองและพวกพองแทนที่จะเปนเพื่อประโยชนสวนรวม แนวทางปฏิรูปประเทศไทยของบุคคลที่ใชนามแฝงวา “นอย” และ “ณัฐ” เปนขอเสนอ ที่สงผานมาถึงกองบรรณาธิการ เปนเสียงของคนธรรมดา แตกลับมีอุดมการณที่นายกยอง ไมตอ งการมีชอื่ เสียง เพียงแตตอ งการเผยแพรแนวทางปฏิรปู เพือ่ จุดประกายความคิดของคนใน สังคม ใหตระหนักถึงความสำคัญของทุกคนในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการปฏิรูป ประเทศไทย สังคมไทยบอบช้ำมามากจากความขัดแยงทางการเมืองที่ยังไมมีทีทาวาจะจบลงเมื่อใด แตสดุ ทาย ชีวติ ก็ตอ งดำเนินตอไป การปฏิรปู ประเทศไทยก็เชนกัน ถือเปนภาระหนาทีข่ องคนไทย ทุกคนที่ตองชวยกันขับเคลื่อนประเทศชาติใหกาวไปขางหนา แมวาจะมีอุปสรรคขวากหนาม มากมายรออยูระหวางทางก็ตาม 2
www.rsunews.net
www.rsunews.net
3
สารบัญ ขอคิด (ปฏิรปู ประเทศไทย) ดวยคน ขอคิดปฏิรปู ประเทศไทย (ดวยอีกคน)
6 10
ซือ้ ขายตำแหนงราชการ ทำชาติลม จมถาวร เผยผลวิจยั ปญหารถติดหนาโรงเรียนทำตำรวจจราจรเครียดมากทีส่ ดุ
15 19
รวมสรางภาพลักษณ ผพ ู ทิ กั ษสนั ติราษฎร
23
ประชาธิปไตยทางตรง ถาม-ตอบ เรือ่ ง ประชาธิปไตยทางตรง
27 31
ปฏิรูปสื่อแคแผนยื้อเวลารัฐบาล หลีกเลี่ยงรัฐลมเหลวดวยเศรษฐกิจดุลยธรรม ชีท้ างยกคุณภาพการศึกษาไทยดวยการแนะแนวอาชีพเด็ก จะปฏิรปู แบบหายนะหรือแบบรงุ โรจน
38 44 50 53
Contributors คนทำหนังสือ
60 61
4
www.rsunews.net
www.rsunews.net
5
ขอคิด (ปฏิรปู ประเทศไทย) ดวยคน นอย
6
www.rsunews.net
ดิฉันเปนคนพิการทางเสียง พูดไมชัด ปนี้อายุจะ 60 แลวคะ มาสงบสติอารมณและ พักผอนฟน ฟูสขุ ภาพที่ อ.หัวหิน (จ.ประจวบคีรขี นั ธ) มา 6 ปแลว แตตลอดเวลายังคงติดตาม เรือ่ งการบานการเมืองไมทอดทิง้ ถาประชาชนทุกคนตระหนักวา เรือ่ งการบานการเมืองเปนหนาที่ ที่ประชาชนตองสนใจติดตาม ตรวจสอบ ระดมความคิดเห็น ประเทศไทยจะมีความหวังขึ้น อีกระดับหนึ่ง รากฐานประชาธิปไตยคือประชาชน ประชาชนตองมีคุณภาพ ไมเห็นแกตัว ไมใชคิดแคขอรวยเฉพาะตัว บานเมืองเปนอยางไรไมสนใจ เอะอะก็ “อยาทะเลาะกัน” ดิฉัน เห็นเอสเอ็มเอส “อยาทะเลาะกัน” แลวอนาถใจ ยังมีคนจำนวนมากที่ไมแยกแยะความดี ความชัว่ ความถูกความผิด ดิ ฉั น มี ค วามเห็ น ว า ระบบผู แ ทน 500-600 คนแทนประชาชน 67 ล า นคนนั้ น คือ คณาธิปไตย ไมใชประชาธิปไตยเลย ภาษีทั้งประเทศถูกตัดสินดวยคนแค 500-600 คน แลวก็โกงกินกันในอัตราที่มากขึ้นทุกทีๆ ประชาชนก็ยังเดือดรอนทุกหยอมหญา ในองคการ บริหารสวนตำบล (อบต.) องคการบริการสวนจังหวัด (อบจ.) เทศมนตรี ก็มีหัวคะแนน นักการเมืองรวมอยูดวย โกงกินกันตามน้ำ ผูมีอิทธิพลก็ใชอำนาจมืดรุกล้ำปาสงวน ทำลาย ทรัพยากรทัง้ ทางบก ทางน้ำและทางทะเล ประเทศไทยตองปรับเปลีย่ นใหมหมด เลิกระบบผแู ทน 500-600 คน กระจายการบริหาร อย า งแท จ ริ ง ลงสู จั ง หวั ด ทุ ก จั ง หวั ด มี ส ภาประชาชน โดยสร า งอาคารเอนกประสงค ไ ว เปนทีป่ ระชุมสภาประชาชนแบบวีดโี อคอนเฟอเรนซทวั่ ประเทศ ประชาชนทีว่ า งเขารวมสามารถ พูดโตเถียงติติงผานระบบนี้ได คุณสมบัติของผูที่จะเปนประธาน เลขาธิการ และ โฆษก ของ สภาประชาชน ตองเปนคนจังหวัดนัน้ อยางแทจริง ตลอดชีวติ ไมเคยยายไปทำมาหากินทีจ่ งั หวัด อืน่ จายภาษีใหจงั หวัดทุกเดือน ในสวนการบริหารภาษี แตละจังหวัดบริหารภาษีเปนงบประมาณของตนเอง โดยหนวย ราชการทั้งหมดตองกระจายลงแตละจังหวัด ทุกหนวยงานรวมทั้งตำรวจ ขึ้นตรงตอสภา ประชาชน ตัง้ แตผวู า ราชการจังหวัด คลังจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด ศุลกากร สรรพากร แรงงาน เกษตรฯ อุตสาหกรรม การทองเที่ยว กีฬาฯ ใหโอกาสลูกหลานคนในจังหวัดสมัครสอบเขา รับราชการทั้งพลเรือนและตำรวจ (แบบตำรวจมลรัฐของสหรัฐอเมริกา) ลูกหลานประชาชนใน ทุกจังหวัดจะไดไมตองแหกันเขากรุงเทพฯ ตั้งมหาวิทยาลัยดีๆ รวมทั้งมหาวิทยาลัยการแพทย พยาบาลในทุ ก จั ง หวั ด ให ลู ก หลานคนในจั ง หวั ด ได มี โ อกาสเรี ย นดี ๆ ในบ า นของตน www.rsunews.net
7
โดยได อ ยู กั บ พ อ แม เรี ย นจบสอบเข า ทำงานในจั ง หวั ด ตนเองได เ ลย นั ก เรี ย นแพทย ในมหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ ต อ งรั บ ใช ป ระชาชนในจั ง หวั ด อย า งน อ ย 10 ป จึ ง จะไปทำงาน ตางประเทศได ตำรวจก็ใหมาจากลูกหลานของคนในจังหวัด ถาขาราชการและตำรวจมาจากลูกหลาน การกดขี่ขมเหงใชอิทธิพลมืดจะคอยๆ ลดลงไปเองโดยปริยาย ตำรวจตองถูกควบคุมโดย สภาประชาชนในแตละจังหวัด จึงจะแกปญหาตำรวจรับใชผูมีอิทธิพลและนักการเมืองได ส ว นประชาชนก็ ต อ งสนใจติ ด ตามการอนุ มั ติ ง บประมาณโดยเข า ร ว มลงประชามติ ในสภาประชาชน สำหรับการผานกฎหมายงบประมาณในแตละป ประชาชนในจังหวัดจะเปน ผูอนุมัติโดยผานการลงประชามติ สำหรับจังหวัดที่ดอยโอกาส เชน จังหวัดในภาคอีสานที่ประสบปญหาขาดแคลนน้ำ สงผลใหหางานที่สรางเม็ดเงินไดยาก ใหกำหนดไวในรัฐธรรมนูญเลยวา ตองมีงบฯ กลางของ ประเทศเพือ่ การนี้ โดยมาจากภาษีของจังหวัดทีร่ ่ำรวยหากินคลอง เชน ภูเก็ต เชียงใหม ประจวบฯ หรือร่ำรวยดานการทองเที่ยว เชน พัทยา เปนตน หรือร่ำรวยจากอุตสาหกรรม ใหลงขันเขา งบฯกลาง เพื่อกระจายเม็ดเงินชวยจังหวัดที่ดอยโอกาส หางานที่เปนงานระดับมหภาค เชน สรางอางเก็บน้ำ ขุดคลองซอยจากอางเก็บน้ำเขาพื้นที่แหงแลง งานปลูกปา ปลูกสวนครัว เลี้ยงสัตว ใหเขามีกินมีใช มีน้ำดื่ม มีสุขภาพที่ดี เปนโครงการแบบตอเนื่องยาวนาน เพื่อให เขามีรายไดเปนน้ำซึมบอทรายไมมาก แตเลีย้ งชีพไดเรือ่ ยๆ งบกลางฯ จะต อ งส ง เสริ ม มากๆ เรื่ อ งโรงเรี ย นแพทย ใ ห ค นอี ส านด ว ย จั ด งบฯ เพิ่ ม โรงพยาบาลให เ พี ย งพอ เป ด ช อ งการสอบเข า แพทย ใ ห ก ว า งขึ้ น รั บ สมั ค รได ม ากขึ้ น ประเทศนี้ทอดทิ้งภาคอีสานมาเนิ่นนานเกินไปแลว จนเปนสนิมเกรอะกรังที่กำลังกัดกรอน ประเทศนีใ้ หลม จมไดในไมชา ถาประชาชนยังทอดทิง้ เอาหูไปนาเอาตาไปไรอยางทีเ่ ปนอยู ในสวนสมาชิกวุฒิสภา ดูที่มาแลวมั่วไปหมด มีขาราชการทหารและตำรวจมากที่สุด มากกวาสาขาวิชาชีพอื่น ดังนั้น ตองยกเลิก ใหสภาประชาชนทุกจังหวัดเลือกสมาชิกวุฒิสภา จากผแู ทนวิชาชีพจริงๆ เชน แพทย พยาบาล ครู วิศวกร เกษตรกร ประมง นักชีววิทยาทางทะเล
8
www.rsunews.net
นักฟสกิ ส นักเคมี นักธรณีวทิ ยา และนักวิทยาศาสตร เลือกตามเงือ่ นไขขอกำหนดทีป่ ระชาชน ในจั ง หวั ด เห็ น ชอบผ า นการลงประชามติ ตั้ ง สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภาของจั ง หวั ด เพื่ อ ให คำแนะนำ ทางวิชาการและวิชาชีพ ประกอบการตัดสินใจในโครงการตางๆ ของจังหวัด
หมายเหตุ : แนวทางปฏิ รู ป ประเทศไทย โดย คุ ณ น อ ย (นามแฝง) เป น ส ว นหนึ่ ง ของ เนือ้ ความในจดหมายทีค่ ณ ุ นอยสงถึง ดร.อาทิตย อุไรรัตน กองบรรณาธิการอารเอสยูนวิ สพจิ ารณาแลว เห็นวาขอเสนอดังกลาวมีคุณคาและควรไดรับการเผยแพรสูสาธารณชน อันจะเปนประโยชนตอ การตอยอดความคิดของคนในสังคมตอไป
www.rsunews.net
9
ขอคิดปฏิรปู ประเทศไทย (ดวยอีกคน) ณัฐ
10
www.rsunews.net
ตามทีบ่ า นเมืองของเราตอนนีอ้ ยใู นภาวะมิคสัญญี ศีลธรรมตกต่ำถึงขีดสุด กระบวนการ ยุตธิ รรมมีปญ หาอยางหนัก ผคู นไมหวาดกลัวอาญาแผนดิน ผมเฝาดูมานานพอสมควร ในฐานะคนไทยพลังเงียบคนหนึง่ มีอาชีพวางระบบบัญชี อยาก จะรวมแสดงความคิดเห็นเรือ่ งการปฏิรปู ประเทศ หวังวาขอเสนอของผมจะเปนประโยชนตอ สวน รวม หรืออยางนอยก็มีคนนำไปคิดพลิกแพลงไปเปนวิธีอื่นที่ดีกวา เรื่องที่ควรไดรับการปฏิรูป มีดังนี้ สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวุฒสิ ภา (ส.ว.) และรัฐมนตรี นอกจากจะมีคุณสมบัติตามที่ระบุไวในรัฐธรรมนูญแลว - ควรมีประวัตกิ ารทำสาธารณะประโยชน เชน เคยบริจาคโลหิตมากกวา 10 ครัง้ หรือเปน อาสาสมัครปลูกปา เก็บศพ ฯลฯ ไมนอยกวา 100 ชั่วโมงกับหนวยงานที่เชื่อถือได ไมนับการ บริจาคเงินเพื่อลดการเสียภาษี - ตองไมเคยจงใจหลีกเลีย่ งภาษี เวนแตพสิ จู นไดวา สำคัญผิดในขอกฎหมาย - ตองใหคณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) รวมกับกรมสรรพากร ติดประกาศรายละเอียด การเสียภาษีของผสู มัครโดยเปดเผยทีห่ นาสำนักงาน กกต. เพือ่ สามารถนำไปเปรียบเทียบไดวา เสียภาษีมากเทาที่ควรจะเปนหรือไม - เมื่อเปนผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ตองยินยอมใหมีการเปดเผยธุรกรรมทางเงินของ ตนเอง ภริยาและบุตร เพือ่ ใชในการตรวจสอบภาษียอ นหลัง 3 ปนบั จากวันทีไ่ ดรบั เลือก รวมถึง ในขณะดำรงตำแหนง และอีก 1 ปนบั จากวันทีพ่ น ตำแหนง การเลือกตัง้ ส.ส. ใหมเี ฉพาะ ส.ส. ประเภทสัดสวน แลวแยกออกเปน 2 กลมุ คือ กลมุ ที่ 1 จำนวน 100 คน โดยผมู สี ทิ ธิเลือกตัง้ คือประชาชนผมู สี ทิ ธิเลือกตัง้ ตามรัฐธรรมนูญ ป 2540 ประเภท ส.ส. สัดสวน ระบบ 1 คน 1 เสียง เลือกเปนพรรค ถึงแมจะดูเหมือนวาไดรบั การเลือกตั้งโดยตรง แตที่จริงคือเลือกพรรค ไมไดหมายความวาเบอรแรกของพรรคนั้นจะมี www.rsunews.net
11
ประชาชนนิยมมากทีส่ ดุ ดวยวิธนี ยี้ งั เปนการยกเลิก ส.ส. แบบแบงเขต หรืออีกนัยหนึง่ คือลมระบบ อุปถัมภ ให ส.ส. กลับไปทำหนาทีน่ ติ บิ ญ ั ญัตเิ ปนหลัก ไมตอ งไปงานสังคมมากมายเหมือนกอน เพราะเขตเลือกตั้งใหญเกินกวาจะทำเชนเดิมได ปลอยหนาที่การดูแลประชาชนเปนของ ฝายบริหาร อีกทัง้ ส.ส. ยากทีจ่ ะมากาวกายการโยกยายขาราชการในจังหวัดนัน้ ๆ ทัง้ ยังเปนการ นำคะแนนทุกคะแนนของประชาชนมาแปรเปนจำนวน ส.ส. ไดใกลเคียงกับคะแนนทีล่ งมากทีส่ ดุ กลุมที่ 2 จำนวน 100 คน โดยผูมีสิทธิเลือกตั้งคือประชาชนผูเสียภาษี จะเปนระบบ 1 คนอาจจะลงคะแนนไดหลายเสียง โดยใชเกณฑการเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา (หาก สามารถครอบคลุมภาษีอนื่ ๆ เชน ภาษีทรัพยสนิ ไดกย็ งิ่ ดี) มาเปนเกณฑการลงคะแนน ดังนี้ จำนวนเงินที่เสียภาษี(บาท) ไมไดเสียภาษี มากกวา 0 บาท มากกวา 10,000 บาท มากกวา 100,000 บาท มากกวา 500,000 บาท มากกวา 1,000,000 บาท มากกวา 3,000,000 บาท
ถึง 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท ถึง 500,000 บาท ถึง 1,000,000 บาท ถึง 3,000,000 บาท
จำนวนคะแนนเสียง 1 4 20 50 100 250 500
การทำเชนนี้เสมือนเปนการใหประโยชนกับผูเสียภาษีมากๆ เพราะถือวาเปนผูหลอเลี้ยง การทำงานของรัฐ วิธนี จี้ ะทำใหประชาชนจำนวนไมนอ ยอยากเสียภาษี ส.ส. กลมุ แรกถือเปนกำลังพลของแผนดิน สวนกลมุ ที่ 2 เปนกำลังทรัพยของแผนดิน มี ความสำคัญเทาๆ กัน การเลือกตัง้ ส.ว. แบงทีม่ าเปน 2 ทาง ดังนี้ 1. สายการศึกษา มีจำนวน 75 คน แบงเปน
12
www.rsunews.net
- ตัวแทนของผมู กี ารศึกษาไมเกินชัน้ ประถมศึกษา จำนวน 25 คน โดยผสู มัครจะจบชัน้ การศึกษาใดก็ได แตผูเลือกจะตองจบการศึกษาไมเกินชั้นประถมศึกษา - ตัวแทนของผมู กี ารศึกษาชัน้ มัธยมศึกษา หรือเทียบเทา จำนวน 25 คน โดยผสู มัครจะจบ ชัน้ การศึกษาใดก็ได แตผเู ลือกจะตองจบการศึกษาไมเกินชัน้ มัธยมศึกษา หรือเทียบเทา - ตัวแทนของผมู กี ารศึกษาชัน้ อุดมศึกษา จำนวน 25 คน โดยผสู มัครจะจบชัน้ การศึกษา ใดก็ได แตผเู ลือกจะตองจบการศึกษาชัน้ อุดมศึกษา 2. สายอาชีพ มีจำนวน 75 คนโดยแบงเปน - ตัวแทนทัว่ ไปไมจำกัด จำนวน 10 คน โดยผสู มัครจะจบชัน้ การศึกษาใดก็ได สวนผเู ลือก จะประกอบอาชีพใดก็ได - ตัวแทนของผปู ระกอบหรือเคยประกอบอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 20 คน โดยผสู มัคร จะจบชั้นการศึกษาใดก็ได แตผูเลือกจะตองเปนผูประกอบหรือเคยประกอบอาชีพเกษตรกรรม - ตัวแทนของผูประกอบการ จำนวน 10 คน โดยผูสมัครจะจบชั้นการศึกษาใดก็ได แตผูเลือกจะตองเปนผูประกอบการ - ตัวแทนของผปู ระกอบหรือเคยประกอบอาชีพดานสังคม จำนวน 10 คน โดยผสู มัครจะ จบชั้นการศึกษาใดก็ได แตผูเลือกจะตองเปนผูประกอบอาชีพหรือจบการศึกษาดานสังคม - ตัวแทนของผมู หี รือเคยมีอาชีพดานวิทยาศาสตร จำนวน 10 คน โดยผสู มัครจะจบชัน้ การศึกษาใดก็ได แตผูเลือกจะตองเปนผูประกอบอาชีพหรือจบการศึกษาดานวิทยาศาสตร - ตัวแทนของสตรี จำนวน 10 คน โดยผสู มัครจะจบชัน้ การศึกษาใดก็ไดแตตอ งเปนสตรี และผูเลือกจะตองเปนสตรี - ตัวแทนของผูพิการ จำนวน 5 คน โดยผูสมัครจะจบชั้นการศึกษาใดก็ไดแตตองเปน ผพู กิ าร และผเู ลือกจะตองเปนผพู กิ าร www.rsunews.net
13
สมาชิกวุฒสิ ภา มีวาระดำรงตำแหนง 3 ปและใหหมดวาระไมพรอมกัน สลับกันระหวาง สายการศึกษากับสายอาชีพ และสามารถสมัครเปน ส.ว. กีส่ มัยก็ได แตเมือ่ สมัครเปน ส.ว. แลว หามมิใหไปสมัครเปน ส.ส. อีกเปนเวลา 3 ปนบั จากวันทีห่ มดสมาชิกภาพหรือเคยสมัคร และใน ทำนองเดียวกันผสู มัคร ส.ว. ตองไมเคยสมัครรับเลือกตัง้ ส.ส. ไมวา จะไดรบั การเลือกตัง้ หรือไม ก็ตาม มาไมนอ ยกวา 3 ปนบั จากวันทีห่ มดสมาชิกภาพหรือเคยสมัคร การแตงตั้งและประเมินผลงานรัฐมนตรี ควรเพิม่ ขัน้ ตอนวาเมือ่ นายกรัฐมนตรีเลือกผสู มควรไดรบั การแตงตัง้ เปนรัฐมนตรีแลว ตอง สงใหวุฒิสภารับรองวาดำรงตำแหนงได เพื่อตรวจสอบและคานอำนาจนักการเมืองที่ใหความ สำคัญกับระบบโควตามากกวาความสามารถ โดยวาทีร่ ฐั มนตรีตอ งเคยผานการบริหารงานระดับ กลางขึน้ ไปมาไมนอ ยกวา 5 ป และทุกๆ 2 ปตอ งใหวฒ ุ สิ ภาประเมินผลงานวา ผานหรือไมผา น โดยมติทรี่ ะบุวา รัฐมนตรีไมผา นการประเมินตองมีเสียงสนับสนุนไมนอ ยกวา 3 ใน 5 ของจำนวน สมาชิกเทาทีม่ อี ยู หลังจากนัน้ ใหสำนักงานสถิตแิ หงชาติทำโพลลทวั่ ประเทศ ซึง่ ตองมีตวั อยาง ครบทุกจังหวัดๆ ละไมนอ ยกวา 200 คนวาประชาชนใหผา นหรือไม ถาหากเสียงสวนมากไมให ผาน รัฐมนตรีผนู นั้ ตองออกจากตำแหนง สวนตำแหนงนายกฯ ตองเปน ส.ส. หรือหากในกรณีไมไดเปน ส.ส. แลว เมือ่ สภาผแู ทนฯ ใหการเห็นชอบดวยเสียงขางมาก ตองยื่นเรื่องตอใหวุฒิสภาเห็นชอบดวยคะแนนเสียงไมนอย กวา 7 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกเทาที่มีอยู เพื่อทางออกไวในกรณีเกิดสถานการณพิเศษทาง การเมือง หมายเหตุ: แนวทางปฏิรูปประเทศไทย โดย คุณณัฐ (นามแฝง) เปนสวนหนึ่งของเนื้อความ ในจดหมายที่คุณณัฐสงถึงกองบรรณาธิการอารเอสยูนิวส เราพิจารณาแลวเห็นวาขอเสนอดังกลาว มีคุณคาและควรไดรับการเผยแพรสูสาธารณชน อันจะเปนประโยชนตอการตอยอดความคิดของคน ในสังคมตอไป อานขอเสนอทั้งหมดของคุณณัฐ รวมถึงเรื่องปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม พรรคการเมือง สือ่ มวลชน และองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญไดที่ www.rsunews.net/News/proposal.htm
14
www.rsunews.net
ซื้อขายตำแหนงราชการ ทำชาติลมจมถาวร อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ แฉกระบวนการซือ้ ขายตำแหนงสีกากี ชีม้ นี าย หนาเจรจาแทนเอาผิดยาก หวัน่ มีนายทุนคุมโรงพักทัว่ ประเทศ ทมุ เงินซือ้ ตำแหนง ใหพรรคพวกแลกผลประโยชนในพืน้ ที่ แนะลดบทบาท ผบ.ตร. กระจายอำนาจ สูภูมิภาค
www.rsunews.net
15
ปจจุบันการซื้อขายตำแหนงในแวดวงราชการกลายเปนเรื่องเคยชินสำหรับสังคมไทยไป แลว เงินเปนปจจัยเขามาทำใหจรรยาบรรณในหนาทีเ่ หือดหาย อำนาจทีห่ อมหวลทำใหคนกลา ลงทุ น เพื่ อ จะถอนทุ น คื น ในอนาคต ความสามารถกลายเป น เพี ย งส ว นประกอบของ การเลือ่ นขัน้ หากปลอยใหสงั คมดำเนินวงจรตอไปเชนนี้ คนดอยคุณภาพจะปกครองบานเมือง จนประเทศยับเยินในที่สุด ด ว ยเล็ ง เห็ น ถึ ง ป ญ หาสำคั ญ ประการนี้ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต จึ ง จั ด งานอภิ ป ราย วิชาการ เรื่อง “ซื้อขายตำแหนงราชการ: ผลกระทบความผาสุกของประชาชน” โดยมี พล.ต.อ.วศิษฐ เดชกุญชร อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ ทำหนาทีเ่ ลาประสบการณจากการทำงาน ในแวดวงตำรวจ เพราะตำรวจเปนหนึ่งในอาชีพตนๆ ที่สะทอนใหเห็นถึงปญหาดังกลาวได อยางชัดเจน พล.ต.อ.วศิษฐ กลาววา คำวา “ราชการ” หมายถึง งานของพระเจาแผนดิน ดังนัน้ คำวา “ขาราชการ” จึงหมายถึงผทู คี่ อยชวยเหลือพระเจาแผนดินในการบริหารงานบานเมือง ซึง่ ทีผ่ า น มามี ค นบางกลุ ม พยายามขจั ด คำนี้ อ อกไปโดยพยายามใช คำศั พ ท ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ ใหม ว า “เจาหนาที่รัฐ” แตก็ทำไมสำเร็จ เพราะคำวาขาราชการเปนคำที่ติดปากประชาชนมานาน แตคำวาขาราชการในปจจุบนั ก็ดำรงอยเู พียงแคชอื่ เทานัน้ เพราะภาระและหนาทีด่ งั กลาวกลับ เสื่อมลงเรื่อยๆ ทั้งนี้ ปจจัยที่ทำใหขาราชการเสื่อมเสียเกียรติยศจนมีการซื้อขายตำแหนง คือ ความโลภ โลภอยากไดตำแหนงทีน่ ำมาสอู ำนาจทีส่ งู ขึน้ เพือ่ เอือ้ ประโยชนตา งๆ ใหกบั ตนเองและ พวกพอง ซึ่งปญหาดังกลาวสามารถแกไดหากผูบังคับบัญชามีความเปนธรรม แตสาเหตุ ทีค่ วามโลภยังเกิดขึน้ ไดตอ เนือ่ งนัน้ เปนเพราะมีการแบงปนผลประโยชนในหนวยงานเปนทอดๆ ในแวดวงตำรวจที่มีอำนาจหนาที่ของแตละหนวยงานแตกตางกัน จึงทำใหราคาในการซื้อขาย ตำแหนงตางๆ แตกตางกัน โรงพักบางพื้นที่เปรียบเสมือนบอทองในการหาผลประโยชน หากตำรวจนายใดไมมเี สนสายดีพอก็ไมสามารถยายไปลงในพืน้ ทีด่ งั กลาวได ดังนัน้ เมือ่ ใกลถงึ ฤดู ก าลโยกย า ย จึ ง มี ก ารเดิ น สายเข า หาผู มี อำนาจเพื่ อ เสนอเงิ น ในการแต ง ตั้ ง โยกย า ย กระบวนการดังกลาวมีการใชระบบนอมินีหรือนายหนาเจรจาแทนผูมีอำนาจ “ตามหลักความเปนจริง การโยกยายตำแหนงของตำรวจไมสามารถกระทำไดตาม อำเภอใจ แตตอ งใชหลักระบบคุณธรรม (merit system) โดยพิจารณาจากความรู ความสามารถ และความอาวุโส ซึง่ สำนักงานคณะกรรมการขาราชการตำรวจ (ก.ตร.) ไดกำหนดหลักเกณฑใน การโยกย า ยตำแหน ง คื อ พิ จ ารณาจากหลั ก อาวุ โ ส 25 เปอร เ ซ็ น ต พิ จ ารณาจากความ 16
www.rsunews.net
เหมาะสมในขออืน่ ๆ อีก 75 เปอรเซ็นต ทัง้ นี้ ตนเหตุของปญหาการซือ้ ขายตำแหนงเกิดจากการ ทีก่ ฎเกณฑดงั กลาวไมไดถกู ใชอยางตายตัว มีการวางขอยกเวนไว ทำใหนายตำรวจทีอ่ าวุโสนอย กวาสามารถดำรงตำแหนงที่สูงกวานายตำรวจที่อาวุโสมากกวาได โดยอางขอยกเวนในเรื่อง ความสามารถ ในขณะทีผ่ ถู กู แทรกตำแหนงจะถูกยายไปพืน้ ทีห่ า งไกลแทน ซึง่ นีค่ อื จุดเริม่ ตนของ ปญหาที่เกิดขึ้นกับสำนักงานตำรวจแหงชาติ (สตช.) และอาจเปนปญหาเดียวกับการซื้อขาย ตำแหนงที่เกิดขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย” “ตัวอยางที่เห็นไดชัดเจนคือ พล.ต.อ.สมเพียร เอกสมญา ผูกำกับการสถานีตำรวจภูธร อำเภอบันนังสตา จ.ยะลา ทีข่ อยายไปอยใู นพืน้ ที่ อ.กันตรัง จ.ตรัง กอนทีจ่ ะเกษียณอายุราชการ เนื่องจากที่ผานมารับราชการอยูในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตมาโดยตลอด เคยถูกยิงถูก ระเบิด จนรางกายไมสมประกอบ พล.ต.อ.สมเพียร เพียงแคขอไปอยใู นพืน้ ทีป่ ลอดภัยในชวงวาระ สุดทายของการทำงาน แมจะมีการพูดคุยตกลงแลวในเบื้องตน แตสุดทายก็ยังไมสามารถยาย ได ทั้งนี้ ผมมองวาสาเหตุที่ไมสามารถยายได เนื่องจากโดนกฎเกณฑขอยกเวนเรื่องความ สามารถ แตในความเปนจริงหากไมสามารถยายลงพื้นที่ดังกลาวได ก็ควรยายไปในพื้นที่อื่นที่ ปลอดภัยแทนได แตในชวงระหวางรอการเจรจา เปนที่นาเสียดายที่เขาตองมาจากไปเสียกอน หากถามวาเปนไปไดหรือไมวา จะมีการซือ้ ขายตำแหนงกันทีน่ นั่ ผมตอบไดเลยวาเปนไปได เพราะ การแทรกแซงการโยกยายตำแหนงนั้นงายนิดเดียวหากมีเรื่องผลประโยชนเขามาเกี่ยวของ” “สำหรับกรณีการซือ้ ขายตำแหนงของตำรวจภูธรภาค 2 ทีม่ บี คุ คลที่ 3 เปนนายหนาหรือ หนามาเขาไปเกีย่ วของโดยทีไ่ มผา นผบู ญ ั ชาการตำรวจภูธรภาค 2 ซึง่ วิธดี งั กลาวทำใหเอาผิดตอ นายตำรวจที่มีอำนาจในการโยกยายตำแหนงไดยาก โดยเบื้องตนทราบวาการซื้อดังกลาวมี มูลคาอยใู นหลักลานบาท ผมตัง้ ขอสงสัยวานายตำรวจทัว่ ไปจะมีเงินมากถึง 1-5 ลานเพือ่ ไปซือ้ ตำแหนงหรือไม หากตัง้ สมมติฐานวามีบคุ คลที่ 3 เปนนายทุนทีซ่ อื้ ตำแหนงใหนนั้ เราคงตองกลับ มาพิจารณากันวา แทจริงแลวเจาของตำแหนงดังกลาวคือใคร ตองการซือ้ ตำแหนงใหกบั ตำรวจ หรือตองการประโยชนอยางอืน่ หากขอสมมติดงั กลาวเปนจริง โรงพักดังกลาวจะตกเปนของใคร และหากบรรดานายทุนสามารถซื้อโรงพักไดครึ่งหนึ่งของประเทศ ผมคิดไมออกวาบานเมือง จะเป น ของใคร ผมอยากให ทุ ก คนไตร ต รองให ล ะเอี ย ดว า ขณะนี้ เ รากำลั ง เผชิ ญ กับอันตรายที่ยิ่งใหญ ดังนั้น รัฐบาลจึงตองเรงแกไขปญหาการซื้อขายตำแหนงของตำรวจ ใหเร็วที่สุด”
www.rsunews.net
17
“กอนหนานี้รัฐบาลชุด พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท เคยแตงตั้งผมเปนประธานพัฒนาระบบ งานตำรวจ (ปฏิรปู ตำรวจ) โดยมีงบประมาณกวา 30 ลาน มาทำงานวิจยั และหาขอเสนอแนะ ในการปฏิรูประบบงานตำรวจ แตสุดทายก็ถูกนายตำรวจชั้นผูใหญทั้งในและนอกราชการถวง เวลาจนสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติหมดอายุกอ นการพิจารณาเรือ่ งดังกลาว ทัง้ นี้ ผมอยากฝากวา ในอนาคตหากใครตัง้ ใจปฏิรปู ระบบงานตำรวจอยางจริงจัง ก็ไมจำเปนตองตัง้ คณะกรรมการชุด ใหมขึ้น สามารถขอเอกสารดังกลาวจากกระทรวงยุติธรรมเพื่อมาศึกษาตอไดเลย นอกจากนี้ ผมอยากใหทกุ คนชวยคิดวา ขณะนีต้ ำรวจไทยยังเปนตำรวจของประชาชนหรือถูกซือ้ ตัวไปหมด แลว เพราะหากถูกซือ้ ตัวไปแลว เราตองกลับมาคิดหาทางออกวาจะแกปญ หาดังกลาวอยางไร ทัง้ นี้ ผมขอฝากถึงผมู อี ำนาจวาแมการปฏิรปู ตำรวจจะชา แตขอใหเดินหนาปฏิรปู ตอไปเพราะไม เชนนัน้ สำนักงานตำรวจจะตกต่ำกวาเดิม สำหรับการแกไขปญหาวงจรการสมยอมระหวางผซู อื้ และผขู ายตำแหนงนัน้ วิธแี กตอ งขึน้ อยกู บั ความละอายใจของผทู ซี่ อื้ และผขู าย เนือ่ งจากการเอา ผิดในเรือ่ งดังกลาวทำไดยากมาก เนือ่ งจากการหาหลักฐานตองใชวธิ กี ารไลเสนทางการเงินของ ผูที่อยูในกระบวนการซึ่งตองใชเวลานานมาก หากคนในสังคมยังปลอยใหวงจรดำเนินตอไป ผมเชื่อวาประเทศไทยจะอาจจะลมจมได” “การปฏิรปู ตำรวจควรเริม่ ตนจากการลดอำนาจของผบู ญ ั ชาการตำรวจแหงชาติ (ผบ.ตร.) จากผูเผด็จการตำรวจแหงประเทศไทย ที่สามารถกำหนดนโยบายตางๆ ไดตามใจ โดยเฉพาะ เรื่ อ งการแต ง ตั้ ง โยกย า ยตำแหน ง ให เ ป น แม บ า นเหมื อ นปลั ด กระทรวง โดยทำหน า ที่ ใ น การประสานงานตางๆ และใชการกระจายอำนาจไปสูผูบังคับการภาคแทน นอกจากนี้ ควรมี หนวยงานเชนเดียวกับ ก.ตร. เพื่อควบคุมและตรวจสอบการทำงานของตำรวจ แมจะเปนการ กระจายอำนาจใหเปนการเมืองของตำรวจในระดับภาค แตก็ดีกวาเปนการเมืองของตำรวจใน ระดับชาติเชนในปจจุบนั สำหรับปญหาความลาชาของการแตงตัง้ ตำแหนงผบู ญ ั ชาการตำรวจ แหงชาติทผี่ า นมานัน้ เกิดจากการที่ นายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี กับ ก.ตร. มีความ เห็นขัดแยงในรายชื่อผูที่เหมาะสมในการดำรงตำแหนง จึงทำใหไมสามารถแตงตั้งได ทั้งที่ใน ความเปนจริง ก.ตร. ไมไดมหี นาทีเ่ สนอรายชือ่ ผดู ำรงตำแหนง แตภาพทีอ่ อกมาขณะนี้ คือ ก.ตร. กำลังเสนอรายชื่อแทน ซึ่งหนาที่ดังกลาวไมมีระบุในกฎหมาย ดังนั้น จึงเห็นไดชัดเจนวานี่คือ การเลนการเมืองในสำนักงานตำรวจแหงชาติ” หมายเหตุ เนือ้ หาจากการอภิปรายเมือ่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2553
18
www.rsunews.net
เผยผลวิจัยปญหารถติดหนาโรงเรียน ทำตำรวจจราจรเครียดมากที่สุด
www.rsunews.net
19
ผอ.สถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต เผยผลวิจยั งานแกปญ หาจราจรหนาโรงเรียน ทำตำรวจเครียดมากทีส่ ดุ แนะจัดระบบหมุนเวียนหนาทีล่ ดภาวะเครียดจากการทำงาน วอน สตช.เพิม่ สวัสดิการ-ประกันชีวติ เพิม่ ประสิทธิภาพตำรวจจราจร ตำรวจจราจรเปนอาชีพที่ตองปฏิบัติหนาที่กลางถนนเพื่อจัดระเบียบการจราจรในแตละ พืน้ ทีใ่ หมคี วามคลองตัว ทำใหผปู ฏิบตั งิ านตองเผชิญกับปจจัยความเสีย่ งดานอุบตั เิ หตุ ปญหา สุขภาพ และมีความรับผิดชอบตองานที่ปฏิบัติสูง ดังนั้นอาชีพตำรวจจราจรจึงตองเผชิญกับ ปจจัยที่ทำใหเกิดความเครียดจากการทำงานในระดับสูง ดวยเล็งเห็นความสำคัญตรงจุดนี้ ผศ.ดร.พงษจนั ทร อยแู พทย ผอู ำนวยการสถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารยประจำคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ผสู อนวิชาการยศาสตร (Ergonomics) จึงมอบหมายใหนักศึกษาทำการวิจัย เรื่อง “ความเครียดจากการทำงาน ของตำรวจจราจร” เพื่อศึกษาความเสี่ยงดานสุขภาพจากการปฏิบัติหนาที่ โดยมีกลุมตัวอยาง เปนตำรวจจราจรใน 2 พื้นที่ไดแก สถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ และสถานีตำรวจภูธรอำเภอ ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำนวน 24 นาย ผศ.ดร.พงษจนั ทร กลาววา จากการลงพืน้ ของนักศึกษา พบวา มีปจ จัยความเสีย่ งทีท่ ำให ตำรวจจราจรเกิ ด ภาวะความเครี ย ดสู ง จากการทำงาน ได แ ก 1.ต อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ ตอหนาที่สูง 2.ตองใชสมาธิในการทำงานสูง 3.มีความออนลาในการทำงานสูง 4.มีความถี่ ในการทำงานสูง 5.มีความซับซอนและความยากในการทำงานสูง นอกจากนี้ยังพบวาปญหา เรื่องเครื่องแตงกายถือเปนอีกปจจัยหนึ่งที่เพิ่มระดับความเครียดจากการทำงาน โดยเฉพาะ ตำรวจจราจรทีม่ รี ปู รางอวนหรือตองยืนปฏิบตั งิ านในชวงเวลาบายเปนเวลานาน จะมีปญ หาเรือ่ ง ความร อ นและความเมื่ อ ยล า หากตำรวจจราจรต อ งปฏิ บั ติ ห น า ที่ เ ป น เวลานานหรื อ ต อ ง รับผิดชอบตองานฉุกเฉินมากขึ้น อาจทำใหเกิดภาวะความเครียดสะสม ซึ่งหากเกินขีดจำกัด จะทำใหเกิดปญหาทางอารมณจนแสดงออกผานทางพฤติกรรมทีก่ า วราวกับเพือ่ นรวมงานและ คนในครอบครัว ทายสุดแลวจะสงผลใหเกิดความบกพรองตองานที่รับผิดชอบและทำใหเกิด ทัศนคติในดานลบตอการทำงาน ผศ.ดร.พงษจันทร กลาวตอไปวา จากผลวิจัยยังพบวางานดูแลพื้นที่จราจรบริเวณหนา โรงเรียนเปนงานทีก่ อ ใหเกิดความเครียดมากทีส่ ดุ เนือ่ งจากผปู กครองสวนใหญมกั จอดรถสงบุตร หลานบริเวณหนาประตูโรงเรียนเปนจำนวนมาก ทำใหบริเวณดังกลาวเกิดการจราจรติดขัดเปน 20
www.rsunews.net
ตองควบคุมการจราจรในแตละพื้นที่ ไมใหแออัดเกินไป
www.rsunews.net
21
อยางมาก สงผลใหตำรวจจราจรตองทำงานหนักมากขึน้ ดังนัน้ หากสามารถแกไขปญหาดวยการ ใชรถโรงเรียนในการรับสงนักเรียนก็จะชวยลดปญหาจราจรติดขัดไดมาก ดังนั้นโรงเรียน ผปู กครองและตำรวจจราจรจึงตองรวมกันจัดระเบียบการรับสงนักเรียนใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ นอกจากนี้การเลื่อนจุดกลับรถใหหางจากบริเวณหนาโรงเรียนก็สามารถชวยลดการจราจร ที่แออัดได ซึ่งจะสงผลใหตำรวจจราจรไมตองเครียดกับการปฏิบัติงานที่หนักเกินไป “วิ ธี ก ารแก ป ญ หาความเครี ย ดในการทำงานของตำรวจจราจรคื อ 1.ต อ งจั ด ระบบ หมุ น เวี ย นการปฏิ บั ติ ห น า ที่ เ พื่ อ ไม ใ ห ตำรวจจราจรต อ งเครี ย ดกั บ งานที่ ทำมากเกิ น ไป 2.ต อ งควบคุ ม การจราจรในแต ล ะพื้ น ที่ ไ ม ใ ห มี ค วามแออั ด มากเกิ น ไป เพื่ อ ลดมลภาวะ ทางเสียงและทางอากาศที่เปนอันตรายตอตำรวจจราจร 3.รณรงคใหผูใชรถ-ใชถนนรักษา กฎจราจรมากขึน้ เพือ่ ลดการเกิดอุบตั เิ หตุทงั้ กับตำรวจจราจรและผอู นื่ 4.หมัน่ กวดขันและจับกุม รถทีเ่ ปนตนเหตุของการเกิดมลพิษทางเสียงและอากาศ ซึง่ หากสำนักงานตำรวจแหงชาติ (สตช.) สามารถปฏิบตั ไิ ดตามแนวทางดังกลาว ก็จะเปนการชวยลดปจจัยทีท่ ำใหเกิดปญหาความเครียด และสุขภาวะของตำรวจจราจรได” ผอู ำนวยการสถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต กลาว ผศ.ดร.พงษจนั ทร กลาวตอไปวา จากการลงพืน้ ทีย่ งั พบปญหาเพิม่ เติมวา ตำรวจจราจร มักประสบปญหาสุขภาพดานระบบทางเดินหายใจ โดยสวนใหญมกั เปนโรคภูมแิ พและหอบหืด ในขณะที่เจาหนาที่ที่มีอายุมากจะมีปญหาเรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตและโรคอวน นอกจากนี้หากตำรวจจราจรมีการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลก็จะมีปญหาดานการพักผอน ไมเพียงพอจนสงผลตอประสิทธิภาพการทำงาน ดังนั้นหากมีการเพิ่มสวัสดิการดานการรักษา พยาบาลใหครอบคลุมและมีคุณภาพมากขึ้น รวมถึงมีการจัดทำประกันอุบัติเหตุและมีการ ตรวจสุขภาพใหแกตำรวจจราจรทุกนาย ก็จะชวยใหเจาหนาที่สามารถปฏิบัติงานไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ และลดความกังวลเรื่องการเกิดอุบัติเหตุและปญหาดานสุขภาพ นอกจากนี้ ครอบครัวยังสามารถเปนสวนหนึ่งในการลดความเครียดใหกับตำรวจจราจรดวยวิธีงายๆ คือ ตองหมั่นใหกำลังใจในการทำงานและไมสรางภาระอื่นที่เปนการเพิ่มความเครียด
22
www.rsunews.net
รวมสรางภาพลักษณ ผพู ทิ กั ษสนั ติราษฎร โดย อรรจน สีหะอำไพ ผอู ำนวยการศูนยการศึกษาตอเนือ่ ง มหาวิทยาลัยรังสิต
www.rsunews.net
23
การปฏิรูปตำรวจเปนเรื่องเรงดวนของนโยบายการปฏิรูปประเทศไทยที่ นายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ พยายามผลักดันใหประสบผลสำเร็จในรัฐบาลนี้ ภายหลังมีเสียงวิพากษ วิจารณเรือ่ งประสิทธิภาพการทำงานของตำรวจ สงผลใหภาพลักษณของตำรวจเสือ่ มเสียในสาย ตาของประชาชน ตลอดปทผี่ า นมา ผมมีโอกาสไดแนะนำตำรวจทีเ่ ขาอบรมกับผมมาหลายรนุ หลายระดับวา ถ า จะสร า งภาพลั ก ษณ อ งค ก รในลั ก ษณะใดก็ ต าม สิ่ ง สำคั ญ ประการหนึ่ ง คื อ อย า ลื ม ตั้ ง วัตถุประสงค สำหรับผูพิทักษสันติราษฎรในขณะนี้คงหนีไมพนเรื่อง สรางความเชื่อมั่นใหกับ ประชาชน ตองแสดงใหเห็นวา เสียงวิพากษวจิ ารณทเี่ ปรียบเปรยตำรวจเหมือนเครือ่ งยนตทไี่ ม เดินหนาบางหรือเปนมะเขือชนิดหนึ่งบาง ไมตรงกับความเปนจริงแตอยางใด ถาสำนักงานตำรวจแหงชาติจะสรางภาพลักษณองคกรทางออมเหมือนกับองคกรอื่นๆ ก็สามารถทำไดดวยการบริหาร “เอกลักษณของสำนักงานตำรวจแหงชาติ” ตองมีสวนผสมที่ ลงตัว อันประกอบดวยพฤติกรรมของผูบริหารและเจาหนาที่ทุกระดับ สัญลักษณตางๆ และ การสื่อสารที่ถูกตอง เปนธรรมและเปนกลาง ซึ่งทั้งสามสวนนี้ตองปฏิบัติใหสอดคลองกันอยาง สม่ำเสมอ เพื่อกอใหเกิดประสบการณที่ดีและสรางความประทับใจแกประชาชน สิ่งสำคัญที่สุดที่ผมเนนกับผูเขาอบรมหลักสูตรการประชาสัมพันธเชิงรุกของสำนักงาน ตำรวจแหงชาติ จัดรวมกับสถาบันประชาสัมพันธแหงประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ คือ สำนักงานตำรวจแหงชาติตองถายทอดภาพที่เปนจริง ตองเริ่มวิเคราะหความเปนจริงภายใน องคกรวา เอกลักษณทเี่ ปนอยนู ตี้ รงกับภาพลักษณทตี่ อ งการในอนาคตหรือตามนโยบายหรือไม หรือตองปรับปรุงแกไขเพือ่ สรางประสบการณทดี่ แี กประชาชนดวยการบริการและการปฏิบตั ทิ มี่ ี คุณภาพ โดยสมาชิกขององคกรตองมีทศั นคติและวิถอี งคกรสอดคลองกับภาพลักษณใหม เพือ่ ถายทอดออกมาเปนพฤติกรรมของบุคลากรทุกระดับ ทัง้ ระดับบริหาร เจาหนาทีแ่ ละพนักงาน สิง่ สำคัญประการหนึง่ ทีช่ ว ยสงเสริมภาพลักษณของตำรวจ คือ ตำรวจทุกนายตองมีความ ภาคภูมใิ จและตัง้ ใจทำงานใหไดคณ ุ ภาพตามทีส่ ำนักงานตำรวจแหงชาติกำหนด หรือกลาวงายๆ คือ ตองทำตามวิสยั ทัศนและภาระหนาทีต่ ามทีไ่ ดรบั มอบหมาย ซึง่ จะเปนเกราะปองกันชวยให ประชาชนใหอภัยหรือมองขามขอบกพรองบางประการของตำรวจได
24
www.rsunews.net
การสรางภาพลักษณตองทำอยางสม่ำเสมอและตอเนื่อง หนวยงานสวนมากจะทำตาม กระแสนิยมจนกลายเปนแฟชัน่ ไมไดเกิดจากความตองการเปลีย่ นแปลงอยางแทจริง ซึง่ เขาขาย เปนการโฆษณาสินคามากกวาการประชาสัมพันธองคกร เพราะการสรางภาพลักษณคือการ ทำใหประชาชนตระหนักถึงสิ่งดีๆ ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ ดังนั้น ตำรวจตองหากิจกรรม สรางสรรคความดีงามมาแสดงตอประชาชนจนเกิดการยอมรับ โดยตระหนักวาสิ่งที่ทำนั้นตอง เปนกิจกรรมเพื่อการสรางภาพลักษณที่ดี การกำหนดวัตถุประสงคของการจัดทำกิจกรรมพิเศษเพือ่ สรางภาพลักษณของตำรวจตอง ทำอยางจริงจังและตอเนือ่ ง ดวยความมงุ มัน่ วาจะชนะใจประชาชนใหได ดังนัน้ วัตถุประสงคของ การสร า งภาพลั ก ษณ จึ ง เป น ภารกิ จ เพื่ อ กระตุ น และเรี ย กร อ งความสนใจจากประชาชน ทำกิจกรรมใหประชาชนเกิดความเชื่อมั่นวาสิ่งที่ไดเห็นและรับรูนั้นไมใชภาพลวงตา วัตถุประสงคของกิจกรรมตองสงผลถึงการรับรขู องประชาชน สรางความเขาใจในสิง่ ตางๆ ทีต่ อ งการสือ่ ออกไป กิจกรรมสรางภาพลักษณทด่ี แี ละไดรบั การยอมรับจะสงผลถึงกระบวนการ สรางความสัมพันธทดี่ แี ละแนบแนนระหวางตำรวจกับประชาชน รวมถึงผมู สี ว นไดสว นเสีย นอก จากนัน้ ตองสรางภาพลักษณของสำนักงานตำรวจแหงชาติ เพือ่ เผยแพรเกียรติคณ ุ และใหเปน ที่ยอมรับของประชาชน การเอาชนะใจคนที่อยูนอกวงการตำรวจทำไดโดยผานกิจกรรมการสรางภาพลักษณ ที่สนองความพอใจและความตองการของประชาชนที่ตองการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของสำนักงานตำรวจแหงชาติ ทั้งนี้ เพื่อเปนการสรางชื่อเสียงและความนิยมในหมูประชาชน อีกทัง้ ยังเปนการเผยแพรขา วสารและความคืบหนาของการพัฒนาองคกรตำรวจใหสาธารณชน ไดรับทราบ ผบู ริหารระดับสูงของสำนักงานตำรวจแหงชาติในทัศนะของผม ถือวามีความสำคัญอยาง มากตอองคกรตำรวจ เพราะตองทำหนาที่เปนทั้งที่ปรึกษาและผูปฏิบัติ โดยใหคำปรึกษาและ วางแผนในเรือ่ งการสรางภาพลักษณ ซึง่ อาจเปนการวางแผนงานตลอดปหรือเฉพาะกิจก็ได อีก ทั้งตองควบคุมปฏิบัติการสรางภาพลักษณใหสอดคลองกับนโยบายของสำนักงานตำรวจ แห ง ชาติ หากกิ จ กรรมใดไม ส อดคล อ งกั บ นโยบายก็ จำเป น ต อ งยกเลิ ก กิ จ กรรมนั้ น ทั น ที เพราะอาจทำใหประชาชนเกิดการสับสนได นอกจากนี้ กิจกรรมตางๆ ที่ใหคำปรึกษาตอง www.rsunews.net
25
มีเปาหมายเพื่อสัมฤทธิ์ผลในการประชาสัมพันธการสรางภาพลักษณองคกร โดยตำรวจชั้น ผูใหญตองจัดประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับผูที่มีสวนไดสวนเสียในการสรางภาพลักษณทั้งหมด การสรางภาพลักษณขององคกรตำรวจทำไดไมยากเลย กลาวไดวาสามารถนำของเกา ทีด่ ๆี มาปดฝนุ ใหนา ดูอกี ได เริม่ จากการศึกษาภาพลักษณขององคกรตามการรับรขู องบุคลากร ในองคกร ชุมชนและประชาชนทั่วไป โดยทำการวิเคราะห วิจัย หรือสำรวจความคิดเห็น ตาม ดวยการสรางความตระหนักแกบุคลากรในองคกรใหเห็นความสำคัญของภาพลักษณองคกร สิง่ สำคัญประการหนึง่ คือ ตองศึกษาขอมูลพืน้ ฐาน หาความตองการในการพัฒนาองคกร ใหมปี ระสิทธิภาพและเกิดภาพลักษณทดี่ ี สวนการกำหนดวิสยั ทัศน เปาหมาย นโยบาย และ แผนการดำเนินการเพือ่ พัฒนาองคกรใหมคี ณ ุ ภาพ ตองไดรบั การยอมรับจากประชาชน โดยใช การประชาสัมพันธเปนหลักเพื่อสรางความเขาใจแกผูมีสวนในการดำเนินงานขององคกร ควบคูไปกับการบริหารโดยมุงเนนความเปนเลิศ นอกจากนี้ ตองมีการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการดำเนินงานอยางตอเนือ่ ง เพือ่ นำผลการประเมินไปปรับปรุงการดำเนินงานตอไป ผมหวังเปนอยางยิ่งวา หลักการการสรางภาพลักษณองคกรที่นำเสนอตอสถาบันที่ นาเชื่อถืออยางสถาบันตำรวจจะสัมฤทธิ์ผล แตก็ตองอาศัยความจริงใจและการลงมือทำอยาง ตอเนื่อง เพื่อจะไดรับความเชื่อมั่นและความจริงใจจากผูมีสวนรวมและสวนไดสวนเสียกลับ มาเชนกัน
26
www.rsunews.net
ประชาธิปไตยทางตรง โดย อนล นาครทรรพ
www.rsunews.net
27
ไมตอ งมีพรรคการเมืองและรัฐสภา แตเปนประชาธิปไตยสมบูรณแบบ หากลองวาดภาพประชาธิ ป ไตยสมั ย ใหม โ ดยสมบู ร ณ แ ล ว อยากให นึ ก ถึ ง ระบบ การปกครองที่ประชาชนทุกคนมีสวนรวมตัดสินใจในกระบวนการบริหารประเทศอยางตอเนื่อง โดยบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนตามเกณฑที่รัฐธรรมนูญกำหนด สามารถปฏิบัติหนาที่เปน สภานิติบัญญัติไดเลย โดยผานขั้นตอนการลงประชามติหรือใชสิทธิออกเสียงดวยโทรศัพท มื อ ถื อ หรื อ คอมพิ ว เตอร ไม จำเป น ต อ งมี ผู แ ทนราษฎรทำหน า ที่ แ ทน นอกจากนี้ ใ นกรณี ที่ ตองเดินทางออกไปใชสิทธิ ก็สามารถใชบัตรประชาชนทำการดังกลาวไดที่รานสะดวกซื้อ สำนักงานเทศบาลหรือทีว่ า การอำเภอ เปนตน เจตนารมณของประชาธิปไตยคือการเปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการบริหารรัฐ อย า งต อ เนื่ อ งโดยปราศจากข อ จำกั ด แต ใ นความเป น จริ ง ประชาธิ ป ไตยของไทยเป น ประชาธิปไตยเพียงวันเดียว คือ วันเลือกตัง้ เปนวันทีป่ ระชาชนทุกคนโอนเสียงและสิทธิใหแกกลมุ นักการเมือง การมีสวนรวมของประชาชนในการออกกฎและกติกาของสังคมมีอันตองยุติลงใน วันดังกลาว เปนวันที่พรรคการเมืองและนักการเมืองไดรับสิทธิอยางสมบูรณที่จะนำเสียงและ สิทธิของประชาชนไปเปนโควตาในการบริหารและจัดการทรัพยากรของสวนรวม นอกจากนี้ การกำหนดเงือ่ นไขใหผสู มัครรับเลือกตัง้ สังกัดพรรคการเมือง ถือวาไมเปนธรรม กับบุคคลที่มีคุณสมบัติลงสมัครรับเลือกตั้งเปนผูแทนประชาชนแตไมตองการสังกัดพรรค อาจจะดวยมีอุดมการณตางกันหรือมาจากสาเหตุอื่นก็ตาม ทั้งนี้ดวยเงื่อนไขขางตน สงผลให บุคคลดังกลาวขาดคุณสมบัตใิ นการลงสมัครรับเลือกตัง้ ซึง่ ถือเปนการกีดกันการมีสว นรวมของ ประชาชนอยางชัดเจน เพราะนอกจากจะขัดเจตนารมณของประชาธิปไตยแลว ยังเขาขาย ขัดรัฐธรรมนูญวาดวยเสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคลอีกเชนกัน นักรัฐศาสตรควรพิจารณาในประเด็นดังกลาววาขัดกับเจตนารมณของประชาธิปไตย หรือไม อีกทัง้ นักกฎหมายมหาชนก็มหี นาทีต่ อ งพิเคราะหวา การเลือกตัง้ ทีผ่ า นมาภายใตเงือ่ นไข ที่กำหนดใหผูสมัครรับเลือกตั้งตองสังกัดพรรคการเมือง ขัดกับรัฐธรรมนูญและถือวาเปนโมฆะ หรือไม นอกจากนี้ยังมีคำถามวา ประชาชนไดมีสวนรวมอยางแทจริงในระบบการปกครอง แบบรัฐสภาโดยผูแทนแลวหรือไม
28
www.rsunews.net
ในอดีต การใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรเปนตัวแทนของประชาชนในการบริหารรัฐ มีความจำเปนอยางมาก เนื่องจากขอจำกัดดานการสื่อสารและการคมนาคม อันเปนอุปสรรค ตอการเปดใหประชาชนทุกคนเขามามีสวนรวมในการรับรูปญหาและตัดสินทิศทางของสังคม อยางไรก็ตาม ขอจำกัดและอุปสรรคดังกลาวกลับหมดไปในยุคแหงเทคโนโลยีการสื่อสาร และสารสนเทศ หากประชาชนที่ตองการมีสวนรวมในการกำหนดทิศทางของสังคมพิจารณาแลววา การผลัดกันบริหารทรัพยากรของสวนรวมโดยกลุมผูไดรับเลือกเปนตัวแทนของประชาชน ไมมคี วามจำเปนอีกตอไป อีกทัง้ ยังเปนบอเกิดของปญหาและความเลวรายทีถ่ ว งการพัฒนาบาน เมืองใหทัดเทียมนานาอารยะประเทศ
www.rsunews.net
29
จึงเกิดคำถามวา ทีผ่ า นมาพรรคการเมืองและนักการเมืองไดทำประโยชนอะไรแกประเทศ ชาติและประชาชน นอกเหนือจากการแกงแยงอำนาจและทรัพยากร และยังใชกระบวนการการ เลื อ กตั้ ง แบ ง แยกประชาชนออกเป น ฝ ก เป น ฝ า ย นอกจากนี้ ยั ง ทำให ป ญ หาความขั ด แย ง ของตนเองและพวกพองขยายวงกวางจนกอใหเกิดความเสียหายตอประชาชนและสังคมโดยรวม แลวทำไมประชาชนจะยังตองจำทนกับระบบเกาๆ และปญหาเดิมๆ อีก “ประชาธิปไตยทางตรง” จึงนาจะเปนคำตอบของการแกปญ หาความลมเหลวของระบบ การเมืองไทย ประชาธิ ป ไตยทางตรง คื อ ระบบที่ ป ระชาชนเป น ผู ใ ช อำนาจทางการเมื อ งโดยตรง โดยไมผานผูแทน เปนระบบการปกครองที่เปดโอกาสใหทุกคนมีสวนรวมในการบริหารรัฐ อยางตอเนื่องและโดยปราศจากขอจำกัด ตามเจตนารมณของประชาธิปไตย สำหรับทานที่ยังนึกภาพไมออก สมมติวาเราแตละคนตางเปนสมาชิกของชนเผาตางๆ ทีอ่ าศัยอยางกระจัดกระจายบนแผนดินอันกวางใหญภายใตการปกครองเดียวกัน เมือ่ ถึงเวลาที่ ตองมีการถกเถียงตัดสินใจเงื่อนไขการบริหารและปกครอง เปนไปไมไดวาสมาชิกทุกคนของ ทุกเผาจะสามารถเดินทางไปรวมประชุมรอบกองไฟได แตละเผาจึงตองเลือกสงผูแทนเผา ขามแมน้ำขามภูเขาไปรับรูรับฟงและตัดสินใจแทนสมาชิกอื่นๆ ของเผา เปนการเดินทางไป หาประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม ประชาธิปไตยในปจจุบันไดเดินทางมาหาสมาชิกทุกคนของทุกเผาแลว ผานระบบการสื่อสารตางๆ ไมวาจะเปนโทรทัศน วิทยุ โทรศัพทมือถือหรือเครื่องคอมพิวเตอร ในเมื่อสมาชิกทุกคนของเผาสามารถรับรูขอมูลขาวสารไดตลอดเวลา และสามารถแสดง เจตจำนงของตนโดยทันทีเพียงดวยการกดปุมบนเครื่องมือสื่อสาร จึงยังมีความจำเปนอีกหรือ ที่จะตองสงตัวแทนของเผาไปรวมประชุมรอบกองไฟ ประชาธิปไตยไดเดินทางมาหาเราแลว เพียงแตตัวเรากาวหนาพอหรือยังที่จะกดปุม เปดรับประชาธิปไตย
30
www.rsunews.net
ถาม-ตอบ เรือ่ ง ประชาธิปไตยทางตรง โดย ดร.ปฤษฎางค สกลผดุงเขตต
www.rsunews.net
31
อะไรคือประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิ ป ไตยทางตรงคื อ ระบบที่ ป ระชาชนเป น ผู ใ ช อำนาจทางการเมื อ งโดยตรง โดยไม ผ า นผู แ ทน มี ส ภานิ ติ บั ญ ญั ติ ห รื อ สภาราษฎร คื อ สภาที่ ป ระกอบด ว ยประชาชน ทั้ ง ประเทศที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค รบถ ว นตามเกณฑ ที่ รั ฐ ธรรมนู ญ กำหนด เป น ประชาธิ ป ไตยที่ ใกลเคียงกับประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในนครรัฐเอเธนสของกรีกโบราณ ประเทศไทยไมใชนครรัฐเล็กๆ จะใชการปกครองแบบประชาธิปไตยทางตรง ไดอยางไร สาระสำคัญของระบบประชาธิปไตยทางตรงอยทู คี่ วามสามารถในการสือ่ สารและปรึกษา หารือรวมกัน ไมใชขนาดของรัฐหรือสังคม ขนาดของสังคมรัฐในสมัยบุพกาลจนกระทั่งถึง เมือ่ 10 ปกอ นหนานีเ้ ปนอุปสรรคตอการใชประชาธิปไตยทางตรง ระบอบประชาธิปไตยสวนใหญ ในโลกนีจ้ งึ เปนประชาธิปไตยโดยผแู ทนทัง้ สิน้ แตขอ เท็จจริงดังกลาวไดเปลีย่ นไปแลว เทคโนโลยี การสื่ อ สารและสารสนเทศทำให ป ระชาชนสามารถติ ด ต อ สื่ อ สารกั น ได โ ดยไม มี ข อ จำกั ด ทางภูมศิ าสตรอกี ตอไป ประชาธิปไตยทางตรงของประเทศทีใ่ หญกวานครรัฐจึงเปนไปไดภายใต เทคโนโลยีในปจจุบัน ขออางของการใชประชาธิปไตยโดยผูแทน แทนการใชประชาธิปไตย ทางตรงในประเด็นนี้ จึงมีอนั ตองตกไป แลวประชาธิปไตยโดยผแู ทนในปจจุบนั ไมดอี ยางไร ทำไมจึงคิดเปลีย่ นแปลง ประชาธิ ป ไตยที่ เ ราใช อ ยู ใ นป จ จุ บั น เป น ประชาธิ ป ไตยที่ แ ท จ ริ ง เพี ย งวั น เดี ย วคื อ วันเลือกตั้ง สวนวันที่เหลือเปนสภาธิปไตย ซ้ำรายไปกวานั้น การทำหนาที่เปนผูแทนของ ปวงชนชาวไทยในการปฏิบตั ขิ องบรรดาผแู ทนราษฎรยังตองผูกพันโดยมติพรรค ซึง่ นโยบายและ มติพรรคมักจะถูกกำหนดโดยพฤตินัยจากแกนนำของพรรคเพียงไมกี่คน เพียงแคยกมือตาม มโนธรรมของตนเองยังทำไมได นับประสาอะไรกับยกมือตามเสียงของประชาชนทีเ่ ลือกเขาเขา มาในสภา ดังนั้นประชาธิปไตยโดยผูแทนสวนใหญจึงเปน คณาธิปไตยที่ซอนเรน (Disguised Aristocracy) หรือเผด็จการทีซ่ อ นเรน (Disguised Dictatorship) เสียมากกวา นอกจากนีร้ ะบบ ประชาธิปไตยโดยผูแทนยังฝาฝนหลักการแบงแยกอำนาจอยางรุนแรง เพราะในทางพฤตินัย อำนาจนิตบิ ญ ั ญัตกิ บั อำนาจบริหารไมไดแยกจากกัน การทีจ่ ะเปนฝายบริหารไดตอ งมีเสียงสนับ สนุนในสภาผแู ทนราษฎรเกินกวากึง่ หนึง่ เสมอ ซ้ำรายผานระบบการควบคุมผแู ทนโดยวินยั ของ พรรคการเมือง สงผลใหฝา ยบริหารสามารถเขาควบคุมฝายนิตบิ ญ ั ญัตไิ ดอยางเบ็ดเสร็จ นับวา เปนอันตรายอยางมากตอสิทธิเสรีภาพของประชาชน 32
www.rsunews.net
มี ค นกล า วว า ระบบประชาธิ ป ไตยแบบรั ฐ สภาโดยผู แ ทน เป น ระบบที่ มี ประสิทธิภาพมากกวาระบบประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีที่มักประสบปญหาของ การทีไ่ มสามารถผานกฎหมายตางๆ ไดอยางสะดวกเหมือนกับระบบรัฐสภา ถาเปนเชน ทีว่ า นี้ ประชาธิปไตยทางตรงจะไมประสบปญหาแบบเดียวกันหรือ ประสิทธิภาพหรือความงายในการออกกฎหมายตามนโยบายของฝายบริหารนัน้ ตองแลก ดวยการสูญเสียสิทธิเสรีภาพของประชาชน การออกกฎหมายจำนวนมากไมไดเปนขอบงชี้วา ระบบการปกครองมีประสิทธิภาพเสมอไป ในทางกลับกัน อาจจะเปนขอบงชี้วาการบริหาร ราชการแผนดินเปนไปโดยไมมีประสิทธิภาพมากกวา จึงตองมีกฎหมายมาเพิ่มอำนาจของ ฝายบริหาร กฎหมายสวนใหญของประเทศไทยถูกรางขึ้นโดยขาราชการประจำ เนื่องจากสวน ราชการของตนเผชิญกับอุปสรรคในการทำงาน จึงรางกฎหมายเพื่อเพิ่มอำนาจใหตนเองหรือ ชวยใหการปฏิบัติราชการคลองตัวยิ่งขึ้น ในยุคที่ฝายการเมืองไมมีนโยบายอะไรเปนของตนเอง ก็ทำตัวเปนตรายางใหแกสวน ราชการโดยนำเสนอรางกฎหมายเขารัฐสภาเพื่ออนุมัติ ซึ่งภายใตระบบวินัยพรรคการเมือง การอนุมตั กิ ฎหมายก็เปนไปโดยอัตโนมัติ ขาราชการประจำจึงชอบอางวาระบบราชการอยเู หนือ กฎหมาย ซึง่ เปนเรือ่ งนาเศราอยางยิง่ ทีก่ ฎหมายทีส่ ง ผลกระทบตอประชาชนในวงกวางสวนใหญ มีที่มาในลักษณะนี้ อันที่จริงแลว ฝายบริหารมีมาตรการทางการบริหารมากมายที่สามารถขับ เคลือ่ นนโยบายของตนไดโดยไมตอ งออกกฎหมายเพิม่ เติม แตระบบรัฐสภาทำใหทงั้ ขาราชการ ประจำและขาราชการเมือง “มักงาย” ออกกฎหมายตางๆ พร่ำเพรือ่ จนกระทบตอสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนโดยที่ผูไดรับผลกระทบไมมีโอกาสรับรูรับฟงและมีสวนรวมในการตัดสินใจ แลวสภาราษฎรที่วานี้จะประชุมกันอยางไร สภาราษฎรประชุมกันทุกที่ทุกเวลา (Ubiquitous Parliament) เพราะประชาชนทุก คนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางเสรี จากทุกหัวถนน รานกาแฟ ศาลา ชานชลา หรือแม กระทั่ ง ลานหมู บ า น นอกจากนี้ ทุ ก คนสามารถเข า อิ น เตอร เ น็ ต เข า สู เ วบเพจประจำตั ว (Citizen Portal) ของตนเองเพื่ออานขอมูลตางๆ เชน กฎหมายที่รอการออกเสียงอนุมัติ เขา อานกระทแู ละการตอบกระทตู า งๆ รวมถึงแสดงความเห็นภายใตหวั เรือ่ งเพือ่ ใหสมาชิกคนอืน่ ได อาน อีกทั้งยังสามารถออกเสียงโดยใชบัตรสมารทการดรูดผานเครื่องอานบัตรเพื่อลงมติใน การผานรางกฎหมายและใชสทิ ธิในประการตางๆ ไดดว ย
www.rsunews.net
33
รัฐจะจัดใหมีเครื่องคอมพิวเตอรประจำตามศูนยราษฎรที่มีอยูทั่วไปตามเมืองใหญ และมีประจำอยางนอยตำบลละ 1 ศูนยเพือ่ ประชาชนสามารถใชสทิ ธิและมีสว นรวมทางการเมือง ไดโดยสะดวก นอกจากนี้จะมีสถานีโทรทัศนเพื่อการประชุมสภาโดยเฉพาะอยางนอย 1 ชอง โดยมีสมาชิกที่สมาชิกคนอื่นใหการรับรองตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด (เชน 1,000 คน) สามารถไดเวลาออกอากาศเพือ่ แสดงความคิดเห็นของตนได โดยการจัดสรรเวลาตองเวียนใหกบั ประชาชนในภูมภิ าคตางๆ อยางทัว่ ถึง การออกเสียงลงมติจะไมกำหนดใหลงไดในวันใดวันหนึง่ แตจะใหสทิ ธิในการออกเสียงเปนชวงเวลาไมนอ ยกวา 1 สัปดาห และระบบจะแสดงผลสรุปการ นับคะแนนใหเปนปจจุบันตลอดเวลา การจัดใหมีอุปกรณตางๆ ดังกลาวเปนหนาที่ของคณะรัฐมนตรี สวนการกำกับดูแล ควบคุมระบบเพื่อใหกิจการของสภาดำเนินไปอยางเรียบรอยเปนหนาที่ของคณะกรรมาธิการ กิจการสภาซึ่งไดรับการเลือกตั้งโดยตรงจากสมาชิก ฝายบริหารจะมาอยางไร จะมีระบบตรวจสอบอยางไร สภาราษฎรจะเลือกคณะกรรมาธิการชุดหนึ่งเรียกวา คณะกรรมาธิการการปกครอง จำนวน 75 คน โดยเปนการเลือกตั้งทั้งคณะ คลายกับระบบบัญชีรายชื่อในปจจุบัน แตคณะ ที่ไดรับเสียงขางมากของสมาชิกที่ลงคะแนนจะไดเปนกรรมธิการทั้งคณะ ไมเปนแบบระบบสัด สวน ซึง่ อาจตองมีการลงคะแนนหลายครัง้ โดยทายทีส่ ดุ จะมีเพียง 2 คณะแขงขันกัน สวนคณะ ที่ไดรับคะแนนรองลงมาจะไดเปนคณะกรรมาธิการตรวจสอบโดยอัตโนมัติ พระมหากษัตริย จะทรงแตงตัง้ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีจำนวนไมเกิน 35 คนจากคณะกรรมการการปกครอง ที่ไดรับเลือก
34
www.rsunews.net
ดั ง นั้ น รั ฐ มนตรี จึ ง มี 2 ฐานะ คื อ เป น ทั้ ง รั ฐ มนตรี แ ละกรรมาธิ ก ารการปกครอง กฎหมายที่คณะรัฐมนตรีเสนอตอสภาจะตองผานการพิจารณาของคณะกรรมาธิการการ ปกครองกอน วาระการดำรงตำแหนงของกรรมาธิการการปกครองคือ 4 ป สภาอาจจะลงมติ ปลดคณะกรรมาธิการทัง้ คณะโดยอาศัยมติพเิ ศษ คือ ไมนอ ยกวา 3 ใน 4 ของผลู งคะแนนเสียง สวนการถอดถอนกรรมาธิการเปนรายบุคคลนั้น ทำไดเฉพาะในกรณีที่กระทำความผิดรายแรง หรือเสือ่ มเสียตอตำแหนงหนาทีเ่ ทานัน้ โดยตองไดคะแนนเสียงไมต่ำกวา 2 ใน 3 ของผลู งคะแนน เสียง หากจำนวนกรรมาธิการวางลงจนเหลือไมถึง 40 คน กรรมาธิการที่เหลืออาจจะเสนอ แตงตัง้ กรรมาธิการคนใหมมาทดแทนคนเดิมไดจนครบ 40 คน โดยสภาตองใหการรับรองไมนอ ย กวากึง่ หนึง่ ของผอู อกเสียง รัฐมนตรีตอ งเปนกรรมาธิการการปกครองดวย การพนจากตำแหนง กรรมาธิการทำใหขาดจากความเปนรัฐมนตรีไปดวย และพระมหากษัตริยจะทรงแตงตั้ง ประธานคณะผู ต รวจราชการแผ น ดิ น และผู ต รวจราชการแผ น ดิ น อี ก ไม เ กิ น 15 คน จากคณะกรรมาธิการตรวจสอบ เพือ่ ทำหนาทีค่ อยสอดสองตรวจสอบการบริหารราชการแผนดิน ของคณะรัฐมนตรี โดยมีอำนาจเรียกขาราชการประจำมาใหการและรองขอเอกสารทางราชการ มาตรวจสอบได คณะกรรมาธิการทั้งสองชุดนี้ตองรายงานผลงานของตนตอสภาเปนประจำ รวมทัง้ มีอำนาจในการเสนอกฎหมายและญัตติตา งๆ เขาสสู ภา ใครจะเปนผเู สนอกฎหมาย และมีกระบวนการผานวาระตางๆ ของสภาอยางไร กฎหมายอาจจะนำเสนอสภาไดหลายวิธี หนึง่ คือคณะรัฐมนตรีเสนอผานคณะกรรมาธิการ การปกครองเขาสสู ภา ถาไมมกี ารขอมติสภาใหมกี ารตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามัญเพือ่ พิจารณา กฎหมายฉบั บ ใดฉบั บ หนึ่ ง เป น การเฉพาะ ก็ ใ ห ค ณะกรรมาธิ ก ารประจำสภาที่ เ กี่ ย วข อ ง เชน คณะกรรมาธิการการศึกษา คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน เปนตน ทำการแปรญัตติโดย การเปดรับฟงความคิดเห็นของผเู กีย่ วของและประชาชนอยางกวางขวาง แตถา มีผเู สนอญัตติให มีการตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ ก็ใหมีการลงคะแนนเลือกตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ ขึน้ มาชุดหนึง่ จำนวนไมเกิน 50 คน ในกรณีของพระราชบัญญัติงบประมาณประจำป ใหมีคณะกรรมาธิการวิสามัญโดย เลือกจากคณะกรรมาธิการการปกครองจำนวน 15 คน และจากคณะกรรมาธิการตรวจสอบ จำนวน 15 คน ส ว นอี ก 20 คนที่ เ หลื อ ให เ ลื อ กจากสมาชิ ก สภาคนอื่ น ๆ ส ว นกรณี ข อง พระราชกำหนด ใหคณะรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพือ่ ทรงลงพระปรมาภิไธยบังคับใชเปน กฎหมายไดเฉพาะในยามฉุกเฉินเทานั้น และตองนำเขาสูสภาทันที โดยคณะรัฐมนตรีและ คณะกรรมธิการการปกครองตองชีแ้ จงถึงเหตุแหงความจำเปนนัน้ ตอสภา จากนัน้ สภาจึงลงมติ www.rsunews.net
35
โดยไมมีการแปรญัตติ ถาไมผานการลงมติ ก็ใหพระราชกำหนดฉบับนั้นไมมีผลบังคับใช อีกตอไป ถาเปนเรื่องเกี่ยวกับการบริหารงานของรัฐ ใหการตกไปของพระราชกำหนดฉบับ ดั ง กล า วไม ก ระทบต อ การที่ ไ ด ก ระทำลงไปแล ว แต ถ า เป น เรื่ อ งที่ ก ระทบต อ สิ ท ธิ เ สรี ภ าพ ของประชาชนใหกลับคืนสูสภาพเดิม
36
www.rsunews.net
www.rsunews.net
37
ปฏิรูปสื่อแคแผนยื้อเวลารัฐบาล เมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2553 ทีผ่ า นมา รัฐบาลของนายอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ เสนอตัวเปนเจา ภาพผลักดันวาระปฏิรูปประเทศไทยภายหลังเกิดวิกฤติการณทางการเมือง จนนำไปสูความ รุนแรงและความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินของคนในชาติ การปฏิรูปสื่อมวลชนถูกหยิบยกขึ้นมาเปนสวนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศไทย อันเปน ผลจากขอกลาวหาที่วาสื่อมวลชนมีสวนสำคัญเชนกันตอการสรางความเกลียดชังใหเกิดขึ้นใน สังคม จนนำไปสเู หตุการณความรุนแรงตางๆ ในทีส่ ดุ ทามกลางขอกลาวหาตอบทบาทของสือ่ มวลชนทีผ่ า นมา อารเอสยูนวิ ส ขอความคิดเห็น จากผู รู ด า นสื่ อ สารมวลชนอย า ง อาจารย อ นุ ส รณ ศรี แ ก ว คณบดี ค ณะนิ เ ทศศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิตและกรรมการปฏิรปู สือ่ ภาครัฐ วาดวยการปฏิรปู สือ่ ซึง่ ยังไมมที ศิ ทางทีช่ ดั เจน ในขณะนี้ อารเอสยูนวิ ส : มีการถกเรือ่ งการปฏิรปู สือ่ มาหลายปแลว แตกลับไมมคี วามคืบหนา แท จริงแลวแนวทางการปฏิรปู ทีม่ ปี ระสิทธิผลควรเปนอยางไร ตองเผชิญกับอุปสรรคอะไรบาง อนุสรณ : การปฏิรูปสื่อตองเริ่มตั้งแตการปฏิรูปดานโครงสรางและกฎหมายที่เกี่ยวของ จะเห็นไดวาสื่อสวนใหญอยูภายใตโครงสรางของอำนาจรัฐ ทั้งจากกรมประชาสัมพันธ, บริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน) และคลืน่ ความถีข่ องทหาร ในป พ.ศ. 2543 มีการออกกฎหมายการจัด สรรคลื่นความถี่ แตที่ผานมากระบวนการปฏิรูปดังกลาวยังไมมีความคืบหนา จนกระทั่งในป 2551 มีการออกกฎหมายรัฐธรรมนูญเพือ่ แกไขปญหาคลืน่ ความถีโ่ ดยระบุวา ใหจดั ตัง้ องคกรจัด สรรคลืน่ ความถีเ่ พียงองคกรเดียวคือ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรคมนาคม แหงชาติ (กสทช.) แตสดุ ทายก็ยงั ติดปญหาขัน้ ตอนในการจัดตัง้ ลาสุดมีการนำเสนอรางพระราช บัญญัตอิ งคกรจัดสรรคลืน่ ความถีแ่ ละกำกับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมเขาสูที่ประชุมวุฒิสภา จึงไดมีการแกไขเนื้อหาเพิ่มเติมโดยระบุวาตอง ใหตวั แทนของหนวยงานความมัน่ คงเปนตัวแทนของคณะกรรมการ กสทช. นอกจากนีย้ งั ระบุเพิม่ เติมวาตองจัดสรรคลืน่ ความถีใ่ หแกหนวยงานความมัน่ คงอยางเพียงพอ ซึง่ หมายความวาไมควร 38
www.rsunews.net
จัดสรรคลืน่ ความถีใ่ หเปนของประชาชนโดยอิสระ ผมมองวาการแกไขเนือ้ หาดังกลาวเปนเพราะ ตองการรักษาผลประโยชนของหนวยงานเจาของคลื่นความถี่ เพราะคาสัมปทานเชาคลื่น ความถีม่ มี ลู คาในหลักรอยลาน ดังนัน้ หากรัฐมีความจริงใจในการปฏิรปู สือ่ ก็ตอ งมีการจัดสรรให แกภาคประชาชนอยางแทจริง ทีผ่ า นมา รัฐบาลเคยตัง้ คณะกรรมการเพือ่ การปฏิรปู สือ่ แตพอผานไปสักระยะหนึง่ เรื่องก็เงียบหายไป กอนหนานี้ ผมไดรับเลือกเปนคณะกรรมการปฏิรูปสื่อภาครัฐ โดยมี รศ.ดร.วรากรณ สามโกเศศ เปนประธานคณะกรรมการ ทำการศึกษาการปฏิรูปสื่อเปนเวลาเกือบ 1 ป โดยมี ประเด็นหลักคือ การปฏิรูปสื่อของภาครัฐ โดยเฉพาะกรมประชาสัมพันธ อสมท.และคลื่นวิทยุ ทหาร มีการทำขอเสนอแนะและรางกฎหมายเพื่อการปฏิรูปสื่อ แตสุดทายก็ไมไดรับการตอบ สนองจากรัฐบาล ซึง่ ถือวาเปนการทำงานทีส่ ญ ู เปลา ผมมองวาวงจรดังกลาวเกิดขึน้ มาตัง้ แตใน อดีตจนทำใหตอ งกลับมาคิดวารัฐบาลตองการปฏิรปู สือ่ ตามนโยบายทีเ่ คยแถลงไว หรือแคตอ ง การซือ้ เวลาเทานัน้ หากรัฐบาลไมมคี วามจริงใจในการปฏิรปู สือ่ ผมเชือ่ วาเหตุการณความรุนแรง ตางๆ ในสังคมก็จะเกิดขึน้ มาเรือ่ ยๆ อยางไมจบสิน้ รัฐบาลเหลือเวลาในการทำงานเพียงไมกเี่ ดือน แตการปฏิรูปสื่อไมสามารถทำไดภายในระยะเวลาอันสั้น เพียงแคการรวบรวมขอมูลก็ตองใช ระยะเวลาอยางนอย 4 เดือน ดังนัน้ การปฏิรปู สือ่ ทีร่ ฐั บาลพูดถึงจึงไมนา จะทำไดสำเร็จ เพราะ กระบวนการปฏิรปู ตองใชเวลานานและตองเกิดขึน้ อยางคอยเปนคอยไป ทีส่ ำคัญตองเริม่ ตัง้ แต การเปลี่ยนทัศนะของผูผลิตสื่อ ตองสรางกระบวนการเรียนรูเพื่อใหเกิดกระบวนการยอมรับ จนนำไปสูกระบวนการเปลี่ยนแปลง แสดงวารัฐบาลก็ไมไดจริงจังอะไรกับการปฏิรูปสื่อ การปฏิรปู สือ่ ทีม่ กี ารจุดประเด็นขึน้ มาในขณะนีเ้ ปนแคการเตะถวงเพือ่ ซือ้ เวลาของรัฐบาล เพราะระยะเวลาที่เหลือนั้นถือวาสั้นมาก ซึ่งคลายกับกรณีแผนปรองดองแหงชาติที่มองไมเห็น เปาหมาย หากไมมกี ารปฏิรปู ประเทศก็ไมสามารถใชแผนปรองดองไดสำเร็จ ความขัดแยงทีเ่ กิด ขึ้นถือวาเปนปญหาที่ตองใชเวลาในการแกไขเพราะเปนปญหาที่ใหญและขยายตัวในวงกวาง ตัวอยางทีเ่ ห็นไดชดั คือ กรณีเหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ทีป่ จ จุบนั ก็ยงั ไมสามารถแกปญ หา ทีต่ ดิ คางในใจของคนกลมุ ดังกลาวไดและยังมีการเคลือ่ นไหวกันแบบเงียบๆ ดังนัน้ ระยะเวลาที่ เหลือเพียง 3-4 เดือนนี้ก็ไมนาจะแกปญหาความขัดแยงได อยางนอยนาจะตองใชเวลาถึง 10 ป จึงจะแกปญหาความขัดแยงทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได นอกจากนี้การ ปฏิรปู สือ่ และปฏิรปู การเมืองตองเกิดขึน้ พรอมกันรวมถึงการปฏิรปู การศึกษาดวย ซึง่ กระบวนการ www.rsunews.net
39
ตองเปลี่ยนแปลงโครงสราง ใหชอ ง 11 เปนองคกรอิสระ
40
www.rsunews.net
ปฏิรปู ดังกลาวตองใชเวลา 1 ชวงอายุคนจึงจะแกปญ หาประเทศไทยได การปฏิรปู การศึกษาตอง เริม่ ตัง้ แตระดับอนุบาลจึงจะสามารถปฏิรปู ประเทศไทยได หากมีการปฏิรปู ในสวนอืน่ ๆ แตไมมี การปฏิรปู การศึกษา เนนแตการแขงขันโดยไมคดิ ถึงประโยชนสว นรวม สุดทายแลวประเทศไทย ก็จะไดนกั การเมืองเลวๆ เหมือนเดิม มีการกลาวหาวารัฐบาลควบคุมสือ่ รัฐ โดยใชสถานีโทรทัศนชอ ง 11 หรือเอ็นบีที เปนเครื่องมือโจมตีฝายตรงขาม ผมเคยเสนอเรือ่ งการปฏิรปู สถานีวทิ ยุโทรทัศนแหงประเทศไทย หรือชอง 11 เพือ่ แกปญ หา ดังกลาว เนือ่ งจากทุกครัง้ ทีม่ กี ารเปลีย่ นรัฐบาล ชอง 11 จะทำหนาทีส่ นับสนุนรัฐบาลทุกชุด แสดง ใหเห็นวาเปนสือ่ ทีไ่ มมจี ดุ ยืน หากเปนรัฐบาลทีไ่ มดี ชอง 11 ก็จะทำหนาทีแ่ กตา งให ดังนัน้ รัฐบาล ควรปฏิรปู ชอง 11 ตามแนวทางดังนี้ 1.ตองเปลีย่ นแปลงโครงสรางใหชอ ง 11 เปนองคกรอิสระ มีคณะกรรมการบริหารที่มาจากการสรรหาจากตัวแทนในวิชาชีพตางๆ เชนเดียวกับโครงสราง ของสถานีโทรทัศนบบี ซี ี ของอังกฤษ 2.ตองจัดสรรงบประมาณประจำใหทกุ ป ทัง้ 2 แนวทางคือ การตัดความสัมพันธระหวางภาครัฐกับชอง 11 ซึง่ จะชวยใหหนวยงานดังกลาว ทำงานไดอยาง อิสระและทำงานเพือ่ สังคมไดอยางแทจริง ทัง้ ในดานการประชาสัมพันธหรือสรางความสามัคคี และสามารถวิพากษวิจารณรัฐบาลไดอยางอิสระ ไมใชการทำงานเพื่อรัฐบาลในการโฆษณา ชวนเชื่อเรื่องนโยบายหรือชวยปกปดความผิดจากการคอรัปชั่น สื่อมวลชนเองก็ถูกวิจารณอยางรุนแรงในเรื่องจรรยาบรรณ สือ่ มวลชนตองมีความรับผิดชอบตอสังคม เนือ่ งจากในหลายกรณี สือ่ ก็มสี ว นละเมิดสิทธิ ของผูอื่น เชน การเปดเผยภาพหรือเขียนอธิบายเหตุการณที่ผูหญิงถูกขมขืน หรือการแกไข ตกแต ง รู ป ภาพเพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง ถื อ เป น การผิ ด จรรยาบรรณ เป น ต น ส ว นเรื่ อ งที่ สื่ อ มี จุ ด ยื น ทางการเมืองแตกตางกันก็ไมถอื วาเปนปญหา ทีส่ ำคัญคือ ตองแบงแยกเนือ้ หาระหวางทรรศนะ บทความ และข า วออกจากกั น โดยเฉพาะเนื้ อ หาข า วจะต อ งไม มี ก ารใส สี ตี ไ ข จ นเกิ น ความจริง นอกจากนี้ควรมีการเพิ่มเนื้อหาเบื้องหลังของประเด็นปญหาเพื่อใหประชาชนเขาใจ ด ว ย ส ว นความเป น ห ว งกรณี อ งค ก รสื่ อ ที่ เ ข า สู ต ลาดหลั ก ทรั พ ย อ าจถู ก กว า นซื้ อ หุ น เพื่ อ ครอบงำสือ่ ผมมองวาองคกรสือ่ ควรมีการกำหนดสัดสวนการถือหนุ เพือ่ ปองกันการครอบงำสือ่ ผานกลุมทุน ขณะนี้ผมเปนหวงวา บัณฑิตดานสื่อสารมวลชนในปจจุบันสวนใหญมักถูก ครอบงำโดยระบบจากภายในองคกรที่ขาดจริยธรรม ซึ่งเมื่อบัณฑิตที่เขาทำงานใหมเห็น พฤติ ก รรมอย า งเช น การรั บ ซองหรื อ อามิ ส สิ น จ า งจากแหล ง ข า วก็ จ ะทำให เ กิ ด การ ถายทอดพฤติกรรมจากรุนสูรุนไปเรื่อย หากองคกรดานสื่อไมมีการควบคุมที่ดีก็จะกลายเปน www.rsunews.net
41
ปญหาดานจริยธรรม ซึ่งสุดทายแลวคนที่มีอุดมการณแรงกลาจะถูกกลืนโดยระบบในที่สุด ดังนั้นนอกจากการปฏิรูปการเรียนการสอนดานนิเทศศาสตรแลว ตองมีการปฏิรูปโครงสราง ในองคกรสื่อเพื่อเปนการแกปญหาดานจรรยาบรรณดวย
42
www.rsunews.net
www.rsunews.net
43
หลีกเลี่ยงรัฐลมเหลวดวยเศรษฐกิจดุลยธรรม โดย ดร.อนุสรณ ธรรมใจ แมนวา เศรษฐกิจโดยรวม (พ.ศ. 2553) จะยังไมมคี วามเสีย่ งในการเกิดปญหาวิกฤตการณ ใดๆ ในระยะเวลาอันใกลนี้ แตเราไมสามารถปฏิเสธไดวา “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ” “ปญหาการกระจายรายไดและความมัง่ คัง่ ” และ “ความไมเปนประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ” เปน ปญหาสะสมหมักหมมในสังคมไทย ปญหาเหลานี้เปนสวนหนึ่งที่ทำใหเกิดปญหาวิกฤตการณ ทางการเมืองในชวงที่ผานมา การใชหลักวิชาการทางดานเศรษฐศาสตร โดยเฉพาะมาตรการทางการคลัง มาชวย จัดการแกปญ หาเหลานีซ้ งึ่ สามารถทำไดสามแนวทางใหญๆ แนวทางแรก การมีเปาหมายจัดสรร งบประมาณรายจายเพือ่ กลมุ คนจนโดยเฉพาะ แนวทางทีส่ อง การจัดระบบสวัสดิการทางสังคม และระบบคมุ ครองทางสังคม แนวทางทีส่ าม การปฏิรปู ระบบรายไดโดยเฉพาะภาษี หากสามารถดำเนินการไดตามสามแนวทางขางตน เราจะเริ่มเคลื่อนตัวสูเศรษฐกิจ ดุลยธรรมมากขึน้ และไทยจะสามารถหลีกเลีย่ งภาวะรัฐลมเหลว (Failed State) ได หลายคนอาจตัง้ คำถามวา เศรษฐกิจดุลยธรรม หมายถึงอะไร เศรษฐกิจดุลยธรรม คือ เศรษฐกิจทีม่ คี วามสมดุล เปนธรรม แขงขันได โดยยึดถือมนุษย เปนศูนยกลางของการพัฒนาและเติบโต ประชาชนในระบบเศรษฐกิจนอกจากจะอยดู กี นิ ดีแลว ยังตองอยูเย็นเปนสุขดวย เศรษฐกิจดุลยธรรม ผมพัฒนาความคิดตอยอดมาจากปญญาชนคนสำคัญของไทย หลายท า นไม ว า จะเป น ภราดรภาพนิ ย มและสั ง คมนิ ย มประชาธิ ป ไตยของรั ฐ บุ รุ ษ อาวุ โ ส ปรีดี พนมยงค ธรรมิกสังคมนิยมของทานพุทธทาส หลักคิดเรื่องสุขภาวะของราษฎรอาวุโส นายแพทยประเวศ วะสี อาจารยไพบูลย วัฒนศิรธิ รรม ธรรมาธิปไตยของ ดร.อาทิตย อุไรรัตน ตลอดจนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง เปนตน 44
www.rsunews.net
และได ผ นวกรวมเอาแนวคิ ด ทุ น นิ ย มแบบมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบของนั ก เศรษฐศาสตร กระแสหลัก รวมทัง้ ประชานิยมฉบับทักษิโณมิกส ผนวกรวมความคิดแบบรัฐสวัสดิการใหมและ เสรีนิยมใหมมาสังเคราะหรวมกันดวย แนวคิดเศรษฐกิจดุลยธรรมจะไดมกี ารเผยแพรในโอกาสตอๆ ไป วิกฤติในระบบทุนนิยมโลกที่เกิดซ้ำแลวซ้ำอีก จำเปนตองการชุดความคิดใหมในการ อธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นและแกปญหาเพื่อไมใหเกิดระบบเศรษฐกิจที่เปนวงจรวิกฤติ ซ้ำซาก บทความของ ศาสตราจารย ดร.วิชิตวงศ ณ ปอมเพชร พูดถึง “ลัทธิโซลิดาริสม” และ แนวความคิด “ภราดรภาพนิยม” ทีม่ อี ทิ ธิพลตอแนวทางการบริหารเศรษฐกิจของทานปรีดี จากการศึกษาเคาโครงการเศรษฐกิจของทานปรีดี ผมสามารถแยกแยะลัทธิหรือแนว ความคิดหลักทีม่ อี ทิ ธิพลตออาจารยปรีดี 3 ประการ คือ 1. แนวความคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย (Democratic Socialism) ผสมผสานกับ เศรษฐกิจแบบชาตินิยม 2. ลัทธิโซลิดาริสม (Solidarism) หรือ ‘ภราดรภาพนิยม’ 3. หลักพุทธศาสนาและมนุษยธรรม ขอดีของเศรษฐกิจทุนนิยม คือ ทำใหเกิดการปลดปลอยพลังการผลิต พลังแหงการ ผลักดันใหเติบโตและกาวหนาไดมากกวาระบบใดๆ นวัตกรรมใหมๆ และความกาวหนาทาง เทคโนโลยีเกิดขึน้ อยางมากในระบบนี้ ขณะเดียวกัน ทุนนิยมทีไ่ มมธี รรมกำกับยอมนำมาสคู วาม สัมพันธที่ไมเทาเทียมทั้งอำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง ความเหลือ่ มล้ำระหวางประเทศร่ำรวยกับประเทศยากจน คนรวยกับคนจน จะยิง่ ถางออก มากขึ้นเรื่อยๆ นำไปสูความอยุติธรรมทางสังคม สังคมก็จะไรดุลยภาพ เศรษฐกิจการเมืองก็ ไรดลุ ยภาพ เมือ่ ไรดลุ ยภาพมากๆ ก็ขาดเสถียรภาพ รัฐก็จะกลายเปนรัฐทีล่ ม เหลว
www.rsunews.net
45
ชวงปลายเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ทางคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนยวจิ ยั เศรษฐกิจและธุรกิจเพือ่ การปฏิรปู ไดจดั ใหมกี ารเสวนา “เราจะหลีกเลีย่ งการเปนรัฐที่ ลมเหลวไดอยางไร?” หลังจากทีม่ กี ารจัดอันดับประเทศไทย แลวเราอยใู นอันดับไมดนี กั และมี โอกาสความเสี่ยงที่จะเปนรัฐที่ลมเหลวในอนาคต เราสามารถหลีกเลี่ยงการเปนรัฐที่ลมเหลวได หากเราทำใหเกิดประชาธิปไตยสมบูรณ เศรษฐกิจดุลยธรรม และสังคมและวัฒนธรรมที่ยึดถือความดีงามและจริยธรรมเปนพื้นฐาน ลองพิจารณาดูรายละเอียดดัชนีในการวัดรัฐลมเหลวดู ๐ กลมุ ตัวชีว้ ดั ทางสังคม 1. แรงกดดันทางประชากรศาสตร (Demographic Pressures) ในตัวชีว้ ดั นีจ้ ะรวมถึงปญหาทีเ่ กิดจากประชากรทีห่ นาแนน ซึง่ จะรวมถึงความสัมพันธกบั ปจจัยทีส่ ำคัญตางๆ ทีใ่ ชในการดำรงชีวติ นอกจากนีย้ งั รวมไปถึงประเด็นปญหาดานการควบคุม บังคับในการนับถือศาสนา การพังทลายของสิง่ แวดลอม ประเด็นปญหาทางประวัตศิ าสตร และ ความขัดแยงตามแนวชายแดน 2. การยายถิน่ ฐานของประชาชนจำนวนมาก (Massive Movement of Refugees and Internally Displaced Peoples) ในตัวชีว้ ดั นีจ้ ะพิจารณาถึงประเด็นปญหาของการเคลือ่ นยายชุมชนขนาดใหญทมี่ สี าเหตุ มาจากการขาดแคลนอาหาร ขาดน้ำสะอาด ภัยธรรมชาติ หรือการแยงชิงทีด่ นิ อันนำไปสผู ลที่ คุกคามตอประเด็นปญหาดานความมั่นคงของมนุษยและมนุษยธรรม ทั้งที่เปนปญหาภายใน ประเทศและระหวางประเทศ 3. กรณีความขัดแยงของแตละกลมุ ชนทีไ่ มพอใจเหตุการณในอดีต (Legacy of Vengeance-Seeking Group Grievance) คนในประเทศมีความขัดแยง แตกแยกกันอยางชัดเจน มีการทำรายแกแคนกัน ตัวชีว้ ดั นี้ อยูบนพื้นฐานของความไมยุติธรรมที่เกิดขึ้นในอดีต แลวอาจนำมาเปนเงื่อนไขในปจจุบัน
46
www.rsunews.net
www.rsunews.net
47
4. ปญหาการไหลออกของทุนมนุษย (Chronic and Sustained Human Flight) ในตัวชี้วัดนี้จะครอบคลุมทั้งการไหลออกของผูที่มีความรูความสามารถ และผูที่ลี้ภัย ทางการเมือง ๐ กลมุ ตัวชีว้ ดั ทางเศรษฐกิจ 5. ความไมปกติของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Uneven Economic Development along Group Lines) ในตัวชีว้ ดั นีจ้ ะถูกตัดสินใจบนพืน้ ฐานของกลมุ ใดกลมุ หนึง่ ซึง่ มีความแตกตางทัง้ ทางดาน การศึกษา หนาทีก่ ารงาน สถานะทางเศรษฐกิจ 6. ความชัดเจน และ/หรือ ความรุนแรงของการถดถอยทางเศรษฐกิจ (Sharp and/or Severe Economic Decline) ตั ว ชี้ วั ด นี้ จ ะพิ จ ารณาจากมุ ม มองในทุ ก ด า นที่ ส ง ผลให ก ารขั บ เคลื่ อ นทางเศรษฐกิ จ ชะลอตัวลงหรือหยุดชะงักงันในกะทันหัน ๐ กลมุ ตัวชีว้ ดั ทางการเมือง 7. การปกครองของรัฐทีไ่ รความเปนธรรม (Criminalization and/or Delegitimisation of the State) มีมุมมองทั้งการพิจารณาในเรื่องคอรรัปชั่นและการกระทำใดๆ ที่อาจนำไปสูความ ไมโปรงใส 8. ความเสือ่ มถอยของการใหบริการสาธารณะ (Progressive Deterioration of Public Services) ในตั ว ชี้ วั ด นี้ จ ะพิ จ ารณาจากระดั บ ของความสามารถของรั ฐ ในการจั ด การเกี่ ย วกั บ โครงสรางพื้นฐานและกิจการสาธารณะตางๆ 9. การละเมิดสิทธิมนุษยชนทีแ่ พรหลาย (Widespread Violation of Human Rights) ในตัวชีว้ ดั นีจ้ ะใหความสำคัญกับระดับของการละเมิดสิทธิมนุษยชนของรัฐทีแ่ พรกระจาย อยูทั่วไปในรัฐ 48
www.rsunews.net
10. การมีรฐั ซอนในรัฐ (Security Apparatus as ‘State within a State’) ตัวนี้สำคัญ รัฐสูญเสียอำนาจในการจัดการบังคับใชกฎหมาย เจาหนาที่ของรัฐ ตำรวจ หรือทหาร บางสวนที่ชวยผูกอการราย แสดงใหเห็นวามีรัฐซอนรัฐอยู อีกอยางคือมีพื้นที่ บางจังหวัดรัฐไมสามารถควบคุมได การเมืองในสภาทีม่ กี ารแสดงออกอยางชัดเจนวาสนับสนุน อีกฝาย 11. การกอตัวของกลมุ ผมู อี ทิ ธิพลทางความคิด (Rise of Factionalised Elites) ตัวชี้วัดนี้จะพิจารณาถึงจำนวนและการเพิ่มขึ้นของกลุมผูนำตางๆ แกนนำทางความคิด ทำใหเกิดความแตกแยกในประเทศ ที่สงผลโดยภาพรวมตอสถาบันหลักของประเทศ 12. การแทรกแซงกิจการภายในประเทศจากรัฐอืน่ หรือปจจัยภายนอก (Intervention of Other States or External Factors) ตัวชี้วัดนี้จะพิจารณาจากการเขาแทรกแซงกิจการภายในประเทศจากรัฐอื่น หรือปจจัย ภายนอก เมื่อพิจารณาตัวชี้วัดตางๆ แลวก็นาสรุปไดวา ไทยไมนาจะเปนรัฐลมเหลว แตมีดัชนี หลายตั ว ที่ ส ถานการณ ข องไทยค อ นข า งน า เป น ห ว ง แต ไ ม ใ ช มิ ติ ท างด า นเศรษฐกิ จ เปนหลัก ทางดานเศรษฐกิจสิ่งที่นาเปนหวงนาจะเปนเรื่องปญหาการกระจายความมั่งคั่ง และ ความสามารถในการแขงขันในระยะยาวเทานั้น ประเทศทีเ่ ปนรัฐลมเหลวจะเปนรัฐแหงความขัดแยงรุนแรง ระบบเศรษฐกิจก็ไมมดี ลุ ยธรรม เมื่อเกิดความยุติธรรมขึ้นแลว ก็จะเกิดสันติภาพ เมื่อเกิดสันติภาพ เราก็จะไมเปนรัฐที่ ลมเหลว ครับ
www.rsunews.net
49
ชี้ทางยกคุณภาพการศึกษาไทย ดวยการแนะแนวอาชีพเด็ก
50
www.rsunews.net
ดร.วิวรรธน ปาณะสิทธิพนั ธุ ชีค้ ณ ุ ภาพการศึกษาไทยตกต่ำ เพราะสังคมสรางคา นิยมจบปริญญาทัง้ ทีเ่ ด็กไมถนัด แนะผบู ริหารสถานศึกษาตองมีใจพัฒนาชาติไมแสวง ผลกำไร จี้ระบบแนะแนวแนะโอกาสทางเลือกวิชาชีพปองกันรัฐเสียเงินดานการศึกษา โดยไรประโยชน ผศ.ดร.วิวรรธน ปาณะสิทธิพนั ธุ ผอู ำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัย รังสิต กลาวถึงประเด็นปญหาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเอกชนโดยเฉพาะในระดับ วิทยาลัยวา ปญหาเรือ่ งคุณภาพของสถานศึกษานาจะเกิดจากการทีส่ ถานศึกษาไมปฏิบตั ติ าม กรอบมาตรฐานการศึกษาทีส่ ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กำหนดไว ทัง้ ในดาน อุปกรณ สถานที่ และจำนวนอาจารยผสู อน ซึง่ อาจเปนผลจากปญหาดานการลงทุนหรือผบู ริหาร ไมมวี สิ ยั ทัศนในการเปนนักการศึกษา คือ มองวาสถานศึกษาเปนแคธรุ กิจแสวงผลกำไร จึงไม กลาลงทุนเต็มที่ เกิดผลใหไมสามารถทำไดตามกรอบมาตรฐานที่ สกอ.กำหนด ทัง้ นีป้ ญ หาอีก ประการหนึง่ ทีท่ ำใหคณ ุ ภาพสถานศึกษาลดลง คือ การเปดรับนักศึกษาเปนจำนวนมาก เพราะ คำนึงถึงผลตอบแทนเปนหลักสงผลใหสดั สวนระหวางอาจารยผสู อนและนักศึกษาไมสอดคลอง กัน แมสถานศึกษาจะพยายามแกปญ หาดวยวิธกี ารสอนโดยใชอาจารยพเิ ศษ แตกไ็ มสามารถ ดูแลนักศึกษาไดทั่วถึงเทาอาจารยประจำ เมื่อมีการประเมินสถานศึกษาก็ทำใหมาตรฐานการ ศึกษาลดลง นอกจากนีก้ ารใชผอู าจารยผสู อนทีม่ คี ณ ุ สมบัตไิ มตรงกับการเรียนการสอนก็เปนอีก ปจจัยหนึ่งที่ทำใหคุณภาพการเรียนการสอนตกต่ำ “สวนหนึง่ ทีท่ ำใหคณ ุ ภาพการศึกษาของประเทศไทยตกต่ำ เนือ่ งจากกระบวนการแนะ แนวของประเทศไทยมีปญ หา เพราะไมมกี ารฝกผเู รียนใหประเมินตนเอง ผเู รียนจึงไมรวู า ตนชอบ อะไรและตองการศึกษาตอในดานใด นอกจากนี้สังคมไทยยังเปนระบบที่ผลักดันใหเด็กตอง จบปริญญาตรี ซึ่งแทจริงแลวปริญญาบัตรไมใชเรื่องที่สำคัญ เพราะการสรางคนเพื่อพัฒนา ประเทศไมจำเปนตองมุงผลักดันเยาวชนใหจบปริญญาตรี แตตองแนะนำใหเลือกเรียนในสาย อาชีพที่เขาสนใจและเชี่ยวชาญ ดังนั้นการตีกรอบใหเด็กมุงหวังแคใบปริญญาทั้งที่ไมมีความ พรอมจะเปนการเสียโอกาสทางการศึกษา เพราะเงินคาเทอมทีเ่ สียไปไมกอ ใหเกิดคุณคาตอการ พัฒนาชาติ และทีส่ ำคัญภาครัฐควรหันมาใสใจตอการใหความรทู างดานวิชาชีพแกเยาวชนเพือ่ ชวยใหเด็กคนพบตัวเองไดเร็วขึน้ อีกทัง้ ตองลดทัศนคติ คานิยมในเรือ่ งของปริญญาในสังคมไม ใหมมี ากจนเกินไปดวย” ผอ.สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต กลาว
www.rsunews.net
51
ผศ.ดร.วิวรรธน กลาวตอไปวา กรณีทมี่ กี ารประเมินวาในอนาคตผทู ปี่ ระกอบอาชีพครู จะมีจำนวนนอยลงซึ่งอาจสงผลตอคุณภาพการศึกษานั้น ตนมองวาไมใชปญหาใหญเพราะ สามารถใชครูทมี่ คี วามเชีย่ วชาญถายทอดองคความรเู ผยแพรผา นเทคโนโลยีแทนได แมอาจตอง ใชเวลานานในการพัฒนาและอาจมีประสิทธิภาพนอยกวาการเรียนการสอนแบบเดิมทีส่ ามารถ คิดคนองคความรใู หมไดเสมอ สวนแนวทางการยุบหรือยกเลิกสถานศึกษาทีไ่ มผา นการประเมิน นัน้ ตนมองวาเปนเรือ่ งไมสมควรเพราะแนวทางแกปญ หาทีด่ ที สี่ ดุ คือ ภาครัฐตองเขามามีบทบาท รวมมือแกไขปญหาดวยการสงเสริมและสนับสนุนเงินทุนเชนกัน “การศึกษาเปนธุรกิจทีห่ วังผลกำไรไมได ผลู งทุนตองเปนผทู เี่ ห็นแกประโยชนในการ พัฒนาเยาวชนซึง่ เปนกำลังของชาติอยางแทจริง ในอดีตรัฐบาลพยายามสรางกรอบในการควบ คุมสถานศึกษาเอกชน ผมมองวาวิธีดังกลาวไมชวยใหการศึกษามีคุณภาพสูงขึ้น เพราะสถาน ศึกษาเอกชนถือเปนสถาบันทีเ่ ขามาชวยพัฒนาชาติ ก็ควรจะไดรบั เงินทุนสนับสนุนจากภาครัฐ เชนกัน ดังนัน้ ภาครัฐตองปรับมุมมองทีม่ ตี อ สถานศึกษาเอกชนใหเปนการทำงานรวมกัน ดวยการ สนับสนุนในสิง่ ทีข่ าดแคลนทัง้ ในดานงบประมาณ ดานกฎหมายและดานอืน่ ๆ เพือ่ เปนการชวย เหลือดานการลดคาเลาเรียนของนักศึกษาในทางออม มิฉะนั้นสถานศึกษาเอกชนในเมืองไทย จะเปนเหมือนสถานศึกษาเอกชนในตางประเทศทีม่ คี า เลาเรียนสูงมาก เยาวชนไทยก็จะมีโอกาส เขารับการศึกษาไดนอ ยลง” ผศ.ดร.วิวรรธน กลาว ผอ.สำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต ใหคำแนะนำวา หากตองการดูวา สถานศึกษาของเอกชนแหงใดเปนสถานศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ สามารถเขาไปศึกษารายละเอียดได จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ซึ่งจะมีการประเมิน คุณภาพของสถานศึกษาทุกป นอกจากนี้ครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษา ตองเขามามี บทบาทในการแนะแนวการศึกษาแกนกั เรียนอยางตอเนือ่ ง เพือ่ แนะนำสถานศึกษาทีเ่ หมาะสม กับความรูและความถนัดของผูเรียน นอกจากนี้ผูเรียนยังสามารถพิจารณาคุณภาพของสถาน ศึกษาไดจากผลงานทางวิชาการและตำแหนงทางวิชาการของอาจารยผูสอนในสถานศึกษาวา มีสัดสวนเหมาะสมกับจำนวนผูเรียนหรือไม
52
www.rsunews.net
จะปฏิรูปแบบหายนะหรือแบบรุงโรจน โดย ดร.ป. เพชรอริยะ
www.rsunews.net
53
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ไดเดินหนากระบวนการตามแผนปรองดองแหง ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศไทย รัฐบาลไดแตงตั้งนายอานันท ปนยารชุน อดีตนายกฯ เปน ประธานคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศและแตงตัง้ นพ.ประเวศ วะสี เปนประธานคณะกรรมการ สมัชชาปฏิรปู ประเทศ ทำหนาทีใ่ นการกำหนดยุทธศาสตร มาตรการแนวทางตางๆ เกีย่ วกับการ ปฏิรปู ประเทศ เพือ่ การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงระบบและโครงสรางตางๆ ทั้งนี้เพราะฝายรัฐบาลเชื่อมั่นและเขาใจวาเปนระบอบประชาธิปไตยแลว จึงไดมีแนว คิดแนวทางในการปฏิรปู ระบบตางๆ ดังนี้
นอกจากนีร้ ฐั บาลไดตงั้ คณะกรรมการพิจารณาแนวทางการแกไขรัฐธรรมนูญ โดยมีนาย สมบัติ ธำรงธัญวงศ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา ) เปนประธาน มีหนาที่ ในการวางแนวทางแกไขรัฐธรรมนูญใหเปนประชาธิปไตยอยางแทจริงและเปนที่ยอมรับของทุก ฝาย เพื่อความสามัคคีของปวงชนในชาติ การแกไขรัฐธรรมนูญที่ปราศจากหลักการปกครอง (ระบอบ) นัน้ เปนการแกเพือ่ กระชับการปกครองใหเปนเผด็จการมากยิง่ ขึน้ นัน่ เอง เราฟนธงไดเลยวา นโยบายปรองดองและการปฏิรูปประเทศของรัฐบาลอภิสิทธิ์ ไม สามารถแกไขเหตุวิกฤตชาติใหผานพนไปได เพราะไมไดแกไขตรงเหตุแหงปญหาที่แทจริง ประชาชนจะถูกหลอกซ้ำแลวซ้ำเลา ในลักษณะนี้การเมืองยังคงเปนการเมืองการปกครองของ ผปู กครองกลมุ นายทุนเพียงหยิบมือเทานัน้ ประชาชนไมมสี ทิ ธิท์ างการเมือง เปนไดเพียงทาสทาง การเมืองของพรรคการเมืองเทานัน้ ความขัดแยงของชนในชาติจะเพิม่ ทวีความรุนแรงยิง่ ขึน้ การ เมืองการปกครองยังขึ้นอยูกับตัวบุคคล นายกรัฐมนตรีกลายตัวระบอบ หรือเปนศูนยกลาง 54
www.rsunews.net
การเมืองการปกครอง ยังคงเปนเชนนีม้ าตลอด 78 ป นับแตมกี ารยึดอำนาจและไดสรางลัทธิรฐั ธรรมนูญขึน้ ปกครองบานเมือง ในทายทีส่ ดุ ก็จะตกเปนเหยือ่ ของฝายการเมืองรุนแรง “เมือ่ เหตุ ผิด ไปปฏิรปู ทีป่ ลายเหตุคอื ผล มันก็ศนู ยเปลา” เหตุ หรือรากเหงาแหงเหตุวกิ ฤตชาติอนั ยาวนานเพราะความเห็นผิด เชือ่ ผิด คิดผิด พูด ผิด ทำผิด คือความเชื่อที่วา รัฐธรรมนูญ คือระบอบประชาธิปไตย เราโทษคณะราษฎรเสียทั้ง หมดก็ไมเชิง เพราะคณะราษฎร เคาไมไดโกหกวาสรางระบอบประชาธิปไตย “...คณะราษฎรไม ประสงคทจี่ ะแยงชิงราชสมบัตแิ ตอยางใด ความประสงคอนั ใหญยงิ่ ก็เพือ่ ทีจ่ ะใหมธี รรมนูญการ ปกครองแผนดิน...” ตอมา “จุดเริม่ ตนของการบิดเบือน โมเมสุดๆ รายกาจสุดๆ เห็นผิดสุดๆ เปนเลหก ลของ คณะเผด็จการในขณะนัน้ เพือ่ สรางความชอบธรรมใหแกตนเอง อยๆู ก็บญ ั ญัติ คำวา “ระบอบ ประชาธิปไตย” อยางลอยๆ ไวใน รัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2492 ในหมวด 1 บททัว่ ไป “มาตรา 2 ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริยเปน ประมุข” ในยุคจอมเผด็จการ จอมพล ป. พิบลู สงคราม เปนนายกรัฐมนตรี คณะนีบ้ ญ ั ญัตลิ ง ในรัฐธรรมนูญโดยทีย่ งั ไมไดมกี ารสถาปนาหลักการปกครองแบบประชาธิปไตยเลยแมแตนอ ย” มันนาขันไหมครับพี่นอง ตอมาบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2511 ใน มาตรา 2 ประเทศไทยมีการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริยเปนประมุข (แหงรัฐ) ในยุคจอมเผด็จการ จอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี ั ญัตไิ วในรัฐธรรมนูญ ฉบับป พ.ศ. 2517, 2519, 2521, “คณะผปู กครองรนุ ตอๆ มาก็บญ 2534, 2540, 2550 โดยทำตามๆ สืบเนือ่ งกันมาอยางโงเขลาเบาปญญาเปนทายาทอสูร โดย มิไดเฉลียวใจหรือฉุกคิดกันเลยแมแตนดิ เดียว พวกเขาไดทำรายทำลายสรางความหายนะใหกบั ชาติของเราอยางไมรจู กั จบสิน้ อยางคาดไมถงึ วาพวกเขาไดหลงผิด ทำรายทำลายชาติอยางมาก มายมหาศาลขนาดนี”้ ทานนายกอภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ก็กำลังเดินอยแู นวทางนีเ้ ชนเดียวกัน และ มีผคู นพูดกันหนาหูมากขึน้ วา “รัฐบาลอภิสทิ ธิไ์ มตา งจากรัฐบาลทักษิณ” www.rsunews.net
55
56
www.rsunews.net
ทานผอู า นทีร่ กั ทัง้ หลายโปรดทราบวา การเมืองทีไ่ มมรี ะบอบ มีแตเพียงรูปแบบไดแก รัฐ ธรรมนูญและรูปการปกครองคือระบบรัฐสภา มีการเลือกตัง้ (แบบเผด็จการ หนึง่ คนเลือก ส.ส. ได 3 คนบาง 2 คนบาง 1 คนบาง) สภาวการณที่เปนจริงของการเมืองไทย คือระบอบเผด็จการโดยรัฐธรรมนูญ มีรูปการ ปกครองคือระบบรัฐสภา และเมือ่ รัฐบาลมีนโยบายปฏิรปู ประเทศในดานตางๆ ก็จะลมเหลวตาม ไปดวย ทัง้ นีเ้ พราะปมเงือ่ นเหตุแหงวิกฤตชาติ คือการเมืองทีไ่ มมหี ลักการปกครองโดยธรรม หรือ การเมืองที่ไมมีระบอบโดยธรรม ไมไดรับการแกไข แตกลับถูกบิดเบือนใหประชาชนเขาใจผิด ตลอดมาวาเปนระบอบประชาธิปไตย แตความจริงมันไมเปน นโยบายทีไ่ มสอดคลองกับความ เปนจริง จึงเปนนโยบายที่หลอกลวงประชาชนและเพื่อยืดอายุของรัฐบาลใหยาวนานออกไป ก็เทานั้น ในประเทศตางๆ ที่เขาผานการปฏิวัติประชาธิปไตย ขบวนการปฏิวัติ จะเชิดชูหลักการ ปกครอง ประกาศ ประชาสัมพันธ กันอยางเต็มที่เพื่อใหประชาชนไดรูวา หลักการปกครองนั้น เปนอยางไร ตอสแู ลวจะเกิดความเปนธรรมจริงไหม เมือ่ ประชาชนรกู จ็ ะเขารวมอยางกวางใหญ ไพศาล ทักษิณอยูเบื้องหลังการตอสูของพวกเสื้อแดง (นปช.) พวกเขาอางวา ชุมนุมเรียกรอง ประชาธิปไตย แตพวกเขาไมเคยพูดถึงหลักการปกครองเลยแมแตครั้งเดียว แทที่จริงพวกเขา ก็ เ ป น พวกเผด็ จ การโดยรั ฐ ธรรมนู ญ เช น เดี ย วกั น สนเพี ย งแต ยึ ด รั ฐ ธรรมนู ญ ฉบั บ ป 40 ความจริ ง คื อ หลอกประชาชนมาเพื่ อ โค น แย ง ชิ ง อำนาจจากรั ฐ บาลอภิ สิ ท ธิ์ เวชชาชี ว ะ เพือ่ ประโยชนของทักษิณ เทานัน้ แนวทางแกไขเหตุวกิ ฤตชาติอยางเปนระบบโดยขบวนการธรรมาธิปไตยแหงชาติ เริม่ ตน ดวยการเสนอใหมกี ารสถาปนาหลักการปกครองอันเปนพระราชกรณียข องพระเจาแผนดิน เพือ่ เริม่ ตนนับหนึง่ ใหมทถี่ กู ตอง เพือ่ ใหความเปนธรรมแกปวงชนไทยทุกหมเู หลา เพือ่ ความมัน่ คงของ ชาติ เพื่อเปนศูนยของการเมืองการปกครองของประชาชน เพื่อใหประชาชนขึ้นตอหลักการ ปกครอง ไมใชไปขึน้ ตอบุคคลใดบุคคลหนึง่ และหลักการปกครองยอมเปนหลักนิตธิ รรมทีถ่ กู ตอง เปนตัวนำการปฏิรปู ดังนี้ (รายละเอียดของหลักการปกครองหาอานไดจากบทความเกาทีผ่ า นมา)
www.rsunews.net
57
ขบวนการธรรมาธิปไตยแหงชาติ เสนอใหมกี ารสถาปนาหลักการปกครองธรรมาธิปไตย 9 เพื่อใหหลักคิดและแนวทางการเมืองเปนของปวงชนและเพื่อความมั่นคงแหงชาติอยางแทจริง ขอเสนอขบวนการธรรมาธิปไตยแหงชาติและพสกนิกรทุกหมูเหลา 1. ใหรฐั บาลจัดทำนโยบาย สถาปนาหลักการปกครองธรรมาธิปไตยโดยพระเจาแผนดิน และประกาศลงในหนังสือราชกิจจานุเบกษา 2. ใหรฐั บาลดำเนินการแกไขรัฐธรรมนูญใหสอดคลองเปนหนึง่ เดียวกับหลักการปกครอง ธรรมาธิปไตย 9 เปนสัมพันธภาพทีถ่ กู ตองระหวางหลักการปกครองฯ กับรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญ ตองเกิดจากหลักการปกครองหรือระบอบ ขอใหลม เลิกแนวคิดรางรัฐธรรมนูญเพือ่ สรางระบอบ ประชาธิปไตย แนวทางนีม้ นั ลมเหลวมาแลว 78 ปและทำไมถกู ตองมาแลวถึง 18 ฉบับ ยังจะคิด ทำอยูอีกหรือ 3. ใหรฐั บาลดำเนินการปฏิรปู ตามนโยบายของรัฐบาลอยางเปนระบบตอไป หากรัฐบาลดำเนินการในลักษณะอยางนี้ เมือ่ มีหลักการปกครองธรรมาธิปไตยเปนเหตุถกู ตอง ก็จะทำใหรฐั ธรรมนูญถูกตอง การบริหารประเทศถูกตอง การปฏิรปู ดานใดๆ ของรัฐบาลก็จะ ดำเนินไปอยางถูกตองดวย
58
www.rsunews.net
ธรรมาธิปไตย จึงเปนหลักคิดและวิธกี ารทางการเมืองการปกครองของปวงชนไทยทุกคน หลักการปกครองธรรมาธิปไตย 9 คือศูนยกลางทางการเมืองของปวงชนไทยทุกคน เปนการเมือง ที่สวางทั้งนักการเมืองและประชาชนอยูบนหลักคิดทางการเมืองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ยอม ทำใหประชาชนเขมแข็ง เมือ่ ประชาชนเขมแข็งการคอรรปั ชัน่ ของนักการเมืองก็จะลดนอยถอยลง ไป ทัง้ นีเ้ พราะประชาชนรเู ทาทันนักการเมือง และรเู ทาทันในการดำเนินชีวติ ประจำวันเปนไป ดวยความเสมอภาคทางโอกาส ดำเนินไปดวยลักษณะภราดรภาพ นักการเมืองตองรับใช ประชาชน ขอใหลม เลิกแนวคิดเกาๆ ทีน่ กั การเมืองเปนนายประชาชนจะไดหมดสิน้ ไปเสียที จะลม เหลวหรือรุงโรจนรัฐบาลก็เลือกเอา
www.rsunews.net
59
Contributors พล.ต.อ.วศิษฐ เดชกุญชร อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ อนุสรณ ศรีแกว คณบดีคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ดร.พงษจนั ทร อยแู พทย ผอู ำนวยการสถาบันวิจยั มหาวิทยาลัยรังสิต ผศ.ดร.วิวรรธน ปาณะสิทธิพนั ธุ ผอู ำนวยการสำนักงานประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.ป. เพชรอริยะ คอลัมนิสตผปู ด บังตัวตน แตเปดเผยคมความคิดตอสังคม ดร.อนุสรณ ธรรมใจ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต อรรจน สีหะอำไพ ผอู ำนวยการศูนยการศึกษาตอเนือ่ ง มหาวิทยาลัยรังสิต อนล นาครทรรพ ผชู ว ยบรรณาธิการ ศูนยขา วอารเอสยูนวิ ส ดร.ปฤษฎางค สกลผดุงเขตต นักเศรษฐศาสตร 60
www.rsunews.net
คนทำหนังสือ บรรณาธิการ วีระยุทธ โชคชัยมาดล กองบรรณาธิการ อนล นาครทรรพ, มุฑติ า รัตนมุสทิ ธิ,์ อัฐพนธ แดงเลิศ, จิรภัทร จันทรอนิ ทร, ธนิต สนิทการ, ชวัลรัตน จตุเทน ศิลปกรรม มุฑติ า รัตนมุสทิ ธิ์ ที่ทำการ ศูนยขาวอารเอสยูนิวส ชัน้ 5 อาคารอาทิตย อุไรรัตน (อาคาร 1) มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนนพหลโยธิน หลักหก ปทุมธานี 12000 โทรศัพท : 0-2791-5661-5 โทรสาร : 0-2791-5664
ศูนยขา วอารเอสยูนวิ ส มหาวิทยาลัยรังสิต ยินดีเผยแพรเนือ้ หาขาวและบทความ เพือ่ ประโยชนสาธารณะ ภายใตสญ ั ญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส แสดงทีม่ า-ไมใชเพือ่ การคา-ไมดดั แปลง 3.0 ประเทศไทย
www.rsunews.net
61
อีเมล rsunews@rsu.ac.th rsunews@hotmail.com
62
www.rsunews.net