1
www.rsunews.net
จากบรรณาธิการ ในชวง 5 ปที่ผานมา คนไทยตองตกอยูในวังวนของ ความขั ด แย ง ทางการเมื อ ง อั น เกิ ด จากการปรั บ เปลี่ ย น ของโครงสรางอำนาจ จนอาจจะลืมไปวาประเทศของเรา ยังมีปญหาและเรื่องราวอีกมากมายที่ตองไดรับการแกไข ปรับปรุงและพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพ นิตยสาร RSU News (Rangsit University News) ฉบับแรกนี้นำเสนอเรื่องจากปก แนวคิดการสราง "วิศวกร Green Generation" อันเปนความหวังของโลกอนาคต ทีอ่ ตุ สาหกรรม ตางๆ ไมใชยึดการสรางผลกำไรเพียงอยางเดียว แตตองคำนึงถึงการรักษาสมดุลระหวาง การดำรงชีวิตของมนุษยกับสิ่งแวดลอมอีกดวย เนือ้ หาในเลมยังเสนอบทความและมุมมองของนักวิชาการทีม่ ตี อ การเมือง เศรษฐกิจและ สังคม อันสะทอนถึงการปรับกระบวนทัศนของมหาวิทยาลัยรังสิต ทีไ่ มเชือ่ วาสถาบันการศึกษา จะสามารถดำรงสถานภาพ "หอคอยงาชาง" ที่ไมมีสวนรวมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมได อีกตอไป นอกจากนัน้ ยังมีองคความรจู ากขาว บทความและบทสัมภาษณอกี มากในรูปแบบมัลติ มีเดีย รวมถึงชมยอนหลังรายการโทรทัศน เชน "ลงเอยอยางไร" "วิจยั ไทยคิด" "ถามตรง ตอบตรง" "พลิกประเทศไทย สังคมธรรมาธิปไตย" ใหผสู นใจรับชมไดทเี่ ว็บไซตของศูนยขา วอารเอสยูนวิ ส (www.rsunews.net) เราเชื่อวา การศึกษาไมใชอยูเพียงในหองเรียน แตอยูกับทั้งชีวิตคน สมาชิกของสังคม จึงตองปรับตัวและเรียนรู ชวยกันหาจุดสมดุลเพื่อการดำรงอยูรวมกันอยางมีคุณภาพตลอดไป
วีระยุทธ โชคชัยมาดล บรรณาธิการ www.rsunews.net
2
สารบัญ
วิศวกร Green Generation ความหวังของคนทัง้ โลก บทเรียนจากไตหวัน ฟลปิ ปนส ระวังน้ำทวมกรุงเทพฯ รัฐบาลคนดีแหงชาติ แนวคิดแกปญ หาการเมืองไทย ตลาดหลักทรัพยเพื่อสังคม บทเรียนจากกรีนพีซ: เปลีย่ นศัตรูเปนมิตร Hillary Doctrine: อเมริกาเดินเกมรุกการตางประเทศ การปฏิรปู เศรษฐกิจ วาดวยปฏิรปู รายไดภาครัฐเลีย่ งวิกฤติการคลัง All the President's Men มาตรวัดฐานันดรทีส่ ี่ รายไดกบั คุณธรรมในสือ่ มวลชน บริษัทพีอารรุกพื้นที่สื่อมวลชน
3
5 9 12 18 22 24 29 33 36 40
www.rsunews.net
www.rsunews.net
4
วิศวกร Green Generation ความหวังของคนทั้งโลก
5
www.rsunews.net
ในยุคทีเ่ งินมีอำนาจเปลีย่ นความคิดใครหลายคนได ผเู รียนวิศวกรรมสิง่ แวดลอมรนุ ใหม ก็เปลี่ยนความตั้งใจไปสูเสนทางอาชีพในอุตสาหกรรมยักษใหญเพื่อมุงสูคาตอบแทนราคาสูง เชนกัน หลายคนยอมรวมงานกับบริษัทตางชาติที่ขยายเขตอุตสาหกรรมมลพิษ เลือกจะลืม จรรยาบรรณที่เคยตั้งใจวาจะรักษา หันมาละเลยสิ่งแวดลอมและมองขามชีวิตความเปนอยู ของชาวบานในแผนดินเกิด เรื่องราวที่เกิดขึ้นเหลานี้ จุดประกายให สาขาวิชาวิศวกรรม สิ่ ง แวดล อ ม วิ ท ยาลั ย วิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต จั ด การบรรยายพิ เ ศษ เรื่อง "วิศวกรสิ่งแวดลอม Green Generation บนเสนทางชีวิตและความใฝฝน" เพื่อปูทาง ไปสูอนาคตวิศวกรสิ่งแวดลอมที่มุงตอบสนองประโยชนตอสังคมอยางแทจริง ดร.อาภา หวังเกียรติ หัวหนาหลักสูตรวิศวกรรมสิง่ แวดลอม วิทยาลัยวิศวกรรม ศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต กลาววา แนวคิดทีจ่ ำเปนสำหรับนักศึกษาวิศวกรสิง่ แวดลอมคือ Green หรือหัวใจสีเขียว ซึ่งสถานศึกษาตองมีสวนรวมในการพัฒนาศักยภาพของวาที่วิศวกร สิ่ ง แวดล อ มให เ ป น Green Generation มากขึ้ น โดยมี แ นวคิ ด สำคั ญ 5 ข อ คื อ 1.Global Thinking ตองมองเห็นความสำคัญของสิ่งแวดลอมในเชิงบวกได เชน สามารถ วิเคราะหถึงสาเหตุของสารพิษที่ปนเปอนในน้ำวาเกิดจากอะไร ถูกปลอยมาจากที่ไหนและจะ สงผลกระทบอยางไร 2.Realization for Justice การมีจิตสำนึกและมีหัวใจรักความเปนธรรม ในสั ง คม 3.Ecological Enlistment สามารถลงมื อ ปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ ฟ น ฟู ร ะบบนิ เ วศได 4.Excellence ตองมีความชำนาญเฉพาะดานในการทำงาน 5.Networking สามารถประสาน งานหรือติดตอกับหนวยงานภายนอกเพื่อสรางเครือขายในการทำงานเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมได "วิศวกรสิ่งแวดลอมตองสามารถพิจารณาไดวาสิ่งที่ตนเองกระทำจะสรางผลกระทบ ตอคนอื่นหรือไม นักศึกษาไมควรยึดติดอยูกับอาชีพเพียงอยางเดียว ควรมองถึงความสัมพันธ ระหวางอาชีพกับสังคมใหมากขึ้น นักศึกษาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมทุกคนตองมีความฝนบน พืน้ ฐานความเปนจริง และจะตองแสวงหาวิธหี รือเสนทางทีจ่ ะนำตัวเองไปสคู วามฝนในอนาคต ใหได" หัวหนาหลักสูตรวิศวกรรมสิง่ แวดลอม กลาว ดานอาจารยศศิน เฉลิมลาภ เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร ซึง่ เปนองคกรพัฒนา เอกชนด า นสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ NGO (Non-governmental Organization) กลาววา สืบ นาคะเสถียร เปนบุคคลที่ตนประทับใจในการทำงาน เพราะทานไดอุทิศตน ทุมเทแรงกาย ในการรักษาพื้นที่ปาหวยขาแขง แมตอมาจะตัดสินใจจบชีวิตในปาแหงนี้ จนสรางกระแส การอนุ รั ก ษ ป า ในทุ ก พื้ น ที่ ทั่ ว ประเทศ และก อ ให เ กิ ด การประกาศเขตอุ ท ยานแห ง ชาติ www.rsunews.net
6
การปรั บ ปรุ ง กฎหมายเขตรั ก ษาพั น ธุ สั ต ว ป า โดยเฉพาะการปรั บ ปรุ ง กฎหมายคุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอมที่ใชในปจจุบันนี้ แม สืบ นาคะเสถียร จะเปนที่รูจักนอยลงเพราะวีรกรรมของทาน ถูกจดจำแคเฉพาะคนในยุคหนึ่ง แต สืบ นาคะเสถียร ที่จากไป ก็ทำใหคำวาสิ่งแวดลอม และอนุรั ก ษ เ ข า ไปอยู ใ นหัวใจของคนไทยได และยังกอ ให เ กิ ดกระแสการทำกิ จ กรรมเพื่อ สิง่ แวดลอมและตอตานกิจกรรมลาสัตวอยางชัดเจน" เลขาธิการมูลนิธสิ บื นาคะเสถียร กลาว อาจารยศศินยังไดกลาวถึง บทบาทของ NGO และ วิศวกรสิง่ แวดลอมวา คนบางกลมุ มักจะมอง NGO วา เปนอาชีพถวงความเจริญ แตจากตัวอยาง กรณีการสรางทาเรือใน โครงการแลนดบริดจเพื่อยนระยะการเดินทางระหวางทะเลฝงอาวไทยและอันดามัน ชี้ใหเห็น ชัดเจนวา NGO ไดทำหนาที่คัดคานโครงการดังกลาวเพราะเห็นวากระทบตอสิ่งแวดลอม ในขณะที่วิศวกรสิ่งแวดลอมมีการผลักดันโครงการดังกลาว จึงกอใหเกิดคำถามวาใครคือ ผูทำหนาที่รักษาสิ่งแวดลอมกันแน อยางไรก็ตาม นักศึกษาภาควิชาสิ่งแวดลอมควรแสวงหา จุดยืนในการทำงาน โดยพิจารณาวาควรมีทัศนคติที่ดีตอสิ่งแวดลอมอยางไร เพราะในอนาคต นักศึกษาอาจจะตองทำงานกับกลุมทุนขามชาติที่ไมสนใจสภาพปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทย หากวิศวกรสิ่งแวดลอมรุนใหมสามารถทำงานโดยเคารพจุดยืนของตัวเองไดก็จะ เปนเรื่องที่ดี นายชาญวิทย อรามฤทธิ์ ตัวแทนกลมุ เพือ่ นประชาชน กลาววา คนทีเ่ รียนวิศวกรรม สิง่ แวดลอมสามารถออกไปทำงานกับองคกรใหญหรือเปนนักตอสเู พือ่ สังคมได แตตามมุมมอง สวนตัวเห็นวาความรูทางวิชาการเพียงดานเดียวไมสามารถตอบไดวาอะไรดีหรือไมดี เพราะ สิง่ แวดลอมเปนเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของกับสังคม ดังนัน้ ผทู จี่ ะเปน Green Generation ก็ควรมีทศั นคติ หรือมุมมองทีด่ ดี ว ย ทัง้ นี้ ตนเห็นวาแตละคนมีมมุ มองตอการพัฒนาอุตสาหกรรมทีแ่ ตกตางกัน บางคนอาจไมเขาใจความเปนอยูของชาวบานในพื้นที่ตางๆ ดังนั้น วิศวกรสิ่งแวดลอมที่เขาใจ ปญหาสังคมก็จะเปนสวนเติมเต็มการพัฒนาอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับสังคมได "งานที่ ผ มทำส ว นใหญ ต อ งติ ด ต อ กั บ หน ว ยราชการและลงพื้ น ที่ พู ด คุ ย กั บ ชาวบ า น จึงทำใหเห็นวาทัง้ สองฝายมีทศั นคติทแี่ ตกตางกัน บางครัง้ หนวยงานราชการจะเขาใจวาตนเอง พัฒนาอุตสาหกรรมดีที่สุดแลว แตกลับไมคิดวาชาวบานในพื้นที่จะอยูกันอยางไร บางครั้งก็มี ทัศนะทีไ่ มดตี อ ชาวบานวา ทำไมคนพวกนีไ้ มตอ งการความเจริญ ซึง่ ชีใ้ หเห็นวาองคกรใหญหรือ แม แ ต อ าจารย ด า นสิ่ ง แวดล อ มบางคนก็ ยั ง ไม เ คยเข า ใจป ญ หาเรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มและ สังคมอยางแทจริง หากนักศึกษาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมมีมุมมองวา อยากใหประเทศไทย 7
www.rsunews.net
มีนิคมอุตสาหกรรมเยอะๆ เพราะจะไดมีงานทำ ก็ถือวาบุคคลดังกลาวไมมีความเขาใจปญหา สังคมเลยและยังทำรายคนอื่นอยางรุนแรง ทั้งที่ควรจะเปนปญญาของสังคมที่เรียนรูวิชาเพื่อ ออกไปแกปญ หาสิง่ แวดลอม" ตัวแทนกลมุ เพือ่ นประชาชน กลาว นายชาญวิทย กลาวตอไปวา จากประสบการณทจี่ บการศึกษาดานกฎหมายทำใหพบวา บางครั้งปญหาสิ่งแวดลอมและปญหาอื่นๆ ในสังคมไมสามารถใชกฎหมายแกไขได และ บางกรณีกฎหมายกลับเปนตัวเพิม่ ปญหาใหรนุ แรงกวาเดิม ทัง้ นี้ ตนจึงเห็นวาการเรียนวิศวกรรม สิ่งแวดลอมเพียงอยางเดียวอาจไมสามารถชวยใหแกปญหาสิ่งแวดลอมได ดังนั้น สถาบัน การศึกษาจึงควรสอดแทรกปญหาสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมใหนกั ศึกษามีสว นรวมวิเคราะห วิจารณดวย
www.rsunews.net
8
9
www.rsunews.net
ผมเจ็บปวดทีส่ ดุ เมือ่ ไดเห็นภาพเหตุการณทางอินเทอรเน็ตทีเ่ กิดขึน้ ทีป่ ระเทศไตหวันจาก พายุไตฝุนมรกต (วันที่ 9-10 ส.ค.) และประเทศฟลิปปนสจากพายุกิสนา (วันที่ 25-26 ก.ย.) ภาพผูหญิง เด็ก และคนชราที่ไมสามารถชวยตัวเองได ตองบาดเจ็บ และสังเวยชีวิตหลาย รอยคน ซึง่ ไมใชความผิดของพวกเขาเลย ทัง้ ๆ ทีพ่ วกเขาเหลานัน้ อาจรตู วั ลวงหนาเปนสัปดาห กอนทีพ่ ายุจะพัดเขามายังพืน้ ทีเ่ ปาหมาย และเขาคงจะทราบดีวา ในปหนึง่ ๆ จะมีพายุพดั เขามา กีล่ กู ในชวงเวลาใด ดังนัน้ อยาไปโทษธรรมชาติ จงพิจารณาใหรอบคอบวาบทเรียนทีเ่ กิดขึน้ จะนำมาปรับปรุง การบริหารจัดการในบานเราไดอยางไร เหตุการณพายุไตฝุนมรกตถลมพื้นที่ตอนใตของประเทศไตหวัน และพายุโซนรอนกิสนา ที่ถลมประเทศฟลิปปนส ทำใหเกิดฝนตกหนักแบบที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอนในอดีตหลายรอยป ปริมาณฝนทีว่ ดั ไดทไี่ ตหวัน ประมาณ 2,500 มม. ใน 24 ชัว่ โมง เทียบกับปริมาณฝนตกเฉลีย่ ทั้งปในบานเรา และที่ฟลิปปนส 400 มม. ใน 6 ชั่วโมง ทำใหเกิดน้ำทวมหนักในหลายพื้นที่ แมวาจะมีการคาดการณลวงหนาจากหนวยงานตางๆ แตก็ยังไมสามารถบอกไดอยางแมนยำ ถึงปริมาณฝนตกได บางครั้งการคาดการณก็ต่ำกวาความเปนจริง อาจทำใหมีการประเมิน สถานการณต่ำกวาความเปนจริง จึงเกิดความเสียหายตามมาดังที่ปรากฏเปนขาว จากบทเรียนของประเทศทั้งสอง ทำใหเราตองตั้งอยูบนความไมประมาท และควร วิเคราะหประเมินวา "ขีดความสามารถของเรารับไดหรือไมถา เกิดเหตุการณเชนนีใ้ นประเทศไทย" คงปฏิ เ สธกั น ไม ไ ด ว า เหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป น ผลพวงของภาวะโลกร อ น เกิ ด การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เทคโนโลยีปจจุบันยังไมสามารถคาดการณไดอยางแมนยำ ผูเขียนไดรับการคัดเลือกจากคณะทำงาน IPCC (WG2) หรือ คณะกรรมการระหวางรัฐบาล วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ใหเปนผูวิเคราะห ประเมิน และรวมเขียนรายงาน ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ดานความเสีย่ ง ความรุนแรง และการปรับตัว ของชุมชน ซึง่ มีกำหนดแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2555 การไดเขารวมกับผเู ชีย่ วชาญทัว่ โลกทำให เราสามารถรับรูขอมูลการเปลี่ยนแปลง และที่สำคัญการปรับตัวใหสอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ดังกลาว เพือ่ ใหประเทศไทยเกิดการพัฒนาอยางยัง่ ยืน www.rsunews.net
10
สาระสำคั ญ ของรายงานฉบั บ นี้ บ ง ชี้ แ นวโน ม ที่ สำคั ญ ที่ อ าจจะส ง ผลกระทบ ตอประเทศไทย ดังตอไปนี้ 1) ปริมาณฝน มีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ในชวงฤดูฝน (ส.ค.-ก.ย.) แตในชวงหนาแลง (ธ.ค.-ม.ค.) และชวงตนฤดูฝน เราอาจจะไดรับผลกระทบกับภัยแลง (มิ.ย.-ก.ค.) ในภาพรวมปริมาณฝน เฉลีย่ รายปมแี นวโนมเพิม่ ขึน้ ประมาณ 3-5% 2) ความเขมฝนมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ (ประมาณ 10-15%) สงผลกระทบตอความเสีย่ ง และ ความรุนแรงของเหตุการณอุทกภัย 3) ระดับน้ำทะเลมีแนวโนมสูงขึน้ โดยเฉลีย่ ประมาณ 2-3 มม.ตอป ซึง่ อาจจะสงผลกระทบ ตอชุมชนริมชายฝงทะเลโดยเฉพาะชุมชนบริเวณสันดอนปากแมน้ำที่มีการทรุดตัว 4) การบริหารจัดการน้ำตองมีการปรับตัวใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ในขณะเดียวกัน ผูใชน้ำก็ตองปรับตัวใหมีการใชน้ำอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ การวางแผนการปลูกพืชเศรษฐกิจ พืชพลังงานตางๆ เพือ่ นำไปสยู ทุ ธศาสตรการเปนครัวของโลก ตามวาระประเทศทีไ่ ดประกาศไว อาจจะไดรบั ผลกระทบอยางหลีกเลีย่ งไมได 5) ความไมแนนอนทีเ่ กิดขึน้ จากการแปรปรวนของสภาพภูมอิ ากาศ จึงทำใหยทุ ธศาสตร ของการบริหารจัดการควรมุงเนนไปยังแนวทางการจำลองสถานการณ ควบคูไปกับกลยุทธ การปรับตัว
11
www.rsunews.net
รัฐบาลคนดีแหงชาติ แนวคิดแกปญหาการเมืองไทย ดร.อาทิตย เสนอแนวคิดรัฐบาลคนดีแหงชาติ ดึงคนไทยทั้งชาติสังคายนา ประเทศ ชีไ้ มควรยึดติดตัวหนังสือ อยาคิดแคกรอบการเลือกตัง้ เพราะปญหา ขัดแยงเดิมๆ จะวนกลับมา แนะยึดเจตนารมยการปกครองและจิตวิญญาณ ความเปนไทยหาทางออกประเทศ
www.rsunews.net
12
ดร.อาทิตย อุไรรัตน อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต อดีตประธานสภาผแู ทนราษฎร และรักษาการประธานรัฐสภา ชวงเหตุการณพฤษภาทมิฬ ใหสมั ภาษณในประเด็นทางออกของ สถานการณบานเมืองขณะนี้วา ที่มาของความตึงเครียดในบานเมือง คือ ความประพฤติของ คนในแวดวงการเมืองนั้นคำนึงถึงผลประโยชนของตนเองโดยไมใชจิตสำนึกเรื่องความรักชาติ บ า นเมื อ ง แท จ ริ ง แล ว ป ญ หาดั ง กล า วเกิ ด จากความไม รั บ ผิ ด ชอบ ไม ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ แ ละ ความไมเด็ดขาด เปนผลใหเกิดความวุนวาย ทั้งนี้ ตนมองวาสาเหตุที่แทจริงมีอยางเดียวคือ การที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรีตอ งการกลับมามีอำนาจและตองการหลุดพน จากความผิดที่เกิดขึ้น จึงพยายามสรางกระบวนการบางอยางโดยใชอิทธิพลและอำนาจเงิน มาสรางความวุนวายปนปวนใหกับประเทศชาติ ในขณะที่สภาซึ่งเปนกลไกของประเทศชาติ ทั้งสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาผูแทนราษฎร รวมถึงรัฐบาล กลับไมมีจิตสำนึกในการ ปฏิบตั หิ นาทีท่ คี่ วรจะทำ ทุกอยางในขณะนีจ้ งึ เลวรายไปหมด ดร.อาทิตย กลาวตอไปวา สาเหตุของปญหาบานเมืองที่แทจริงคือ 1.ฝายการเมือง ที่ ป ระกอบด ว ย ผู แ ทนราษฎร รั ฐ สภาและรั ฐ บาล ซึ่ ง ตนเห็ น ว า กลุ ม คนเหล า นี้ คิ ด ถึ ง แต ประโยชนของตนเอง โดยเปนความบังเอิญที่ผลประโยชนบางอยางมีความสอดคลองกับ ผลประโยชนของอดีตนายกรัฐมนตรีคอื การคงอยขู องการมีอำนาจรัฐดวยประเด็นทีม่ าของการ เปนผูแทนราษฎร โดยการใชเงินซื้อเสียงเพื่อเขามาเปนผูแทนราษฎรและกุมอำนาจรัฐบาล ซึง่ ตนเห็นวามีทมี่ าไมถกู ตองเพราะไมใชเปนแนวทางทีพ่ ดู ไดวา เปนประชาธิปไตย นอกจากนี้ ผู แทนราษฎรของเราก็ดอยคุณภาพ ทั้งสติปญญา จริยธรรม เพราะมัวแตคำนึงถึงการแสวงหา ประโยชน ทั้งนี้ ตนไมเคยเห็นแมแตครั้งเดียวที่ผูแทนเหลานี้จะพูดถึงผลประโยชนของสวนรวม หรือประโยชนสุขของประชาชน พูดแตเพียงวาทำอยางไรถึงจะไดเปรียบ ดังนั้น เรื่องการ แกรฐั ธรรมนูญจึงเปนเรือ่ งของผลประโยชนทงั้ สิน้ ไมใชผลประโยชนของประเทศชาติแตอยางใด แตคนเหลานี้กลับใชเรื่องดังกลาวมาเปนเกณฑเพื่อสรางความแตกแยกที่ไมเปนเอกภาพ ทำใหรัฐบาลตองตกอยูในสภาพงอยเปลี้ยเสียขาทำงานไมได ซึ่งแสดงใหเห็นวารัฐบาลไมมี ความเด็ดขาด ในขณะที่กลุมคนเสื้อแดงตองการสรางความปนปวนใหเกิดขึ้นในประเทศ โดยใชอนาคตของประเทศไทยกับชีวิตของคนกวา 60 ลานคนเปนเดิมพัน อยางไรก็ตาม ตนเห็ น ว า แท จ ริ ง แล ว สถานการณ ข องประเทศไทยในขณะนี้ ไ ม ไ ด อ ยู ใ นสภาพสิ้ น หวั ง เพราะหากตั้ ง ใจแก ป ญ หาทั้ ง เรื่ อ งเศรษฐกิ จ สั ง คม และการเมื อ ง ก็ จ ะสามารถแก ไ ขได เพียงแตยังไมมีใครทำเทานั้นเอง
13
www.rsunews.net
"การที่เสื้อแดงยังอางวาปญหาการเมืองมีจุดเริ่มจากการปฏิวัตินั้น เปนเพราะคนที่ทำ การปฏิ วั ติ ไ ม อ ธิ บ ายถึ ง สาเหตุ แ ละความจำเป น ที่ ต อ งกระทำการดั ง กล า ว หรื อ ชี้ แ จงว า พ.ต.ท.ทักษิณ ทำการอะไรไว ผมเห็นวา ผูทำการปฏิวัติดำเนินการโดยไมมีการวางแผน มัวแตปฏิเสธ จึงทำใหเกิดขออางเหลานี้ขึ้น ในอดีตผมเคยติดตอเพื่อบอกให พล.อ.สนธิ บุ ญ ยรั ต กลิ น อดี ต ผู บั ญ ชาการทหารบกและหั ว หน า คณะปฏิ รู ป การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข (คปค.) ออกมาเปดเผยถึงขั้นตอนและ ผูรวมวางแผนในการปฏิวัติเพื่อชี้แจงใหประชาชนรูวาสถานการณเปนอยางไร และในขณะนั้น มีแนวทางการแกปญหาอยางไรบาง ซึ่งสถานการณปจจุบันนี้ก็เชนกัน รัฐบาลตองวิเคราะห สถานการณวา มีแนวทางแกปญหาอยางไรในสถานการณที่กลุมเสื้อแดงกำลังจะออกมา เคลือ่ นไหว หรือจะแกไขอยางไรหากพรรครวมเดินเกมกดดันใหแกไขรัฐธรรมนูญ โดยตองคิดวา จะยุบสภาฯ เพื่อเลือกตั้งใหมหรือไม หากเลือกตั้งใหมแลวพรรคเพื่อไทยและภูมิใจไทยไดเปน รัฐบาล ประเทศชาติจะอยรู อดไดอยางไร โดยรัฐบาลตองพิจารณาใหสอดคลองกับพระราชดำรัส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่พระองคเคยตรัสวา ตองปองกันไมใหคนไมดีเขามา ครองเมือง" อดีตประธานสภาผแู ทนราษฎร กลาว อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต กลาวตอไปวา การอางวาประชาธิปไตยคือการใหเสียงสวนใหญของ ประชาชนตั ด สิ น นั้ น ตนอยากให ทุ ก คนยอมรั บ ว า ระบบเลือกตัง้ ของประเทศไทยยังไมเปนประชาธิปไตย และไมเหมาะสมสำหรับสังคมไทย เพราะบานเมือง เรา การเลือกตั้งสภาผูแทนราษฎรสวนใหญใชการ ซือ้ เสียง ใชอทิ ธิพล หากสังเกตผทู ไี่ ดรบั การเลือกตัง้ จะพบวาสวนใหญเปนผูอิทธิพลและเครือญาติ ซึ่ ง อย า งนี้ จ ะเรี ย กว า เป น ประชาธิ ป ไตยได ห รื อ ในขณะที่ประชาชนสวนใหญยังไดรับการศึกษา นอยจึงเห็นแกอามิสสินจาง อีกทัง้ การทำหนาทีห่ รือ กลไกการตรวจสอบของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และสื่อมวลชน ยังไมอยูในเกณฑที่ดี ตองมีการปรับปรุงอีกมาก
www.rsunews.net
14
"ยุบสภาฯ ไมใชทางออกของประเทศ เพราะยุบสภาฯ ก็ยังมีปญหาวุนวายเหมือนเดิม บางทีถึงเวลาแลวที่ตองมีการสังคายนา หรือมีการปฏิรูปประเทศไทยอีกครั้ง แตตองไมเหมือน กับเหตุการณ 19 กันยายน 2549 ที่ผานมา ทั้งนี้ ผมเห็นวาทหารมีหนาที่รักษาความมั่นคง ความปลอดภัย สันติสขุ ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซึง่ ตองทำหนาทีอ่ ยางตรงไปตรงมา และมีความชัดเจน เชนเดียวกับประเทศเกาหลีใตที่เมื่อประธานาธิบดีมีการคอรัปชั่น ก็ตอง ถูกตำรวจจับ ไมใชเหมือนประเทศไทยทีเ่ มือ่ ทำผิด ก็ตอ งดูวา เปนพรรคพวกของใคร ซึง่ แสดงให เห็นวาไมเปนนิติรัฐอยางแทจริง ทั้งนี้ ตนเห็นวากลไกของประเทศไมสามารถดำเนินการได การอางวาสภาผูแทนราษฎรคือสัญลักษณของประชาธิปไตยนั้น เปนเรื่องไมจริง เพราะที่มา ของตัวแทนเหลานั้นไมไดเกิดจากประชาธิปไตย แตเกิดจากการใชเงิน อำนาจและการโกง เพื่อเขามานั่งในสภาฯ แตผมก็ยังเชื่อวายังคงมีผูแทนราษฎรเพียงบางสวนที่ไดรับตำแหนงโดย ไมมีการซื้อเสียง อยางไรก็ตาม ปญหาดังกลาวตองแกดวยการไมยึดติดวาสัญลักษณเหลานี้ คือการมีประชาธิปไตย ทัง้ นี้ ผมเห็นวาประชาธิปไตยทีด่ ที สี่ ดุ คือ การทีป่ ระชาชนทุกคนมีสทิ ธิ์ มีเสียงเสมอภาคกัน" ดร.อาทิตย กลาว อดีตประธานสภาผแู ทนราษฎร กลาววา หากจะสังคายนาประเทศ ก็คงตองงดการใช รัฐธรรมนูญบางมาตรา ไมไดยกเลิกทัง้ ฉบับ บางมาตราตองพิจารณาเปนกติกาของแตละเรือ่ ง ทั้งในเรื่องของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และสำหรับกรณีที่หลายฝายมองวารัฐบาลแหงชาติ จะแกปญหาประเทศไดนั้น ตนมองวาหากมีกติกาใหทุกพรรครวมกันเปนรัฐบาลในสัดสวนที่ เทากัน โดยไมตองมีฝายคาน แนวคิดนี้ก็เหมือนเดิม ไมไดมีอะไรดีขึ้นมา แตหากดึงเอาคนดีที่ ต อ งการสั ง คายนาประเทศทั้ ง ประเทศมาร ว มกั น คิ ด ร ว มกั น ทำ โดยไม คำนึ ง ว า คนนั้ น จะ เปนนักการเมืองหรือไม ก็จะไดรฐั บาลคนดีแหงชาติมาหาทางออกใหกบั ประเทศ ทัง้ นี้ หากถาม ว า สมาชิ ก สภาผู แ ทนราษฎร (ส.ส.) ที่ เ ป น ผู แ ทนปวงชนเขาจะยอมรั บ แนวคิ ด นี้ ห รื อ ไม ตนเห็นวา ส.ส.ไมไดแปลวาเปนตัวแทนของปวงชน เพราะเรื่องตางๆ ที่พูดอยูในสภาฯ ไมได ตอบโจทย ตอบความตองการของประชาชน เราควรตัง้ เปากันใหม เราตองกำหนดมาเรือ่ งไหน สำคัญกวา เชน ความยากจนของประชาชนเปนเรื่องอันดับ 1 เพราะคนสวนใหญของประเทศ กวา 30 ลานคน ยังถูกเอารัดเอาเปรียบ มีรายไดก็ไมพอกิน รัฐบาลบอกวาอาหารเปนจุดแข็ง ของประเทศไทย แตปรากฏวาเกษตรกรผผู ลิตอาหารกลับยากจนทีส่ ดุ "ทุ ก วั น นี้ ร ะบบการเมื อ งมั น ผิ ด หมดเลย ข า วทุ ก วั น นี้ ห าสาระที่ เ ป น ประโยชน ต อ ประชาชนแทบไมได คนไทยจึงอยไู มดี มีไมสขุ นายกรัฐมนตรีไมสามารถจะแตงตัง้ ผบู ญ ั ชาการ ตำรวจได ซึ่งมันผิดปกติแลว นายกฯ ตั้งกฎเหล็ก 9 ขอ ออกมาก็ตองเปนกฎเหล็กของรัฐบาล 15
www.rsunews.net
ไมใชกฎเหล็กของพรรคประชาธิปตยอยางเดียว ถึงแมวาจะยุบสภาฯ เลือกตั้งใหม นึกภาพ ออกเลยวาอะไรจะเกิดขึ้น กระบวนการเดิมๆ จะทำใหประเทศนาหดหู และสูประเทศอื่น เขาไมได หากเราตองการทางออก ก็อยาไปติดยึดกับตัวหนังสือ ที่เขาบอกไววาอยางนั้น อยางนี้ เราควรเอาจิตวิญญาณของความเปนไทยมาหลอมเปนแนวทาง และหาวาทางออก ของประเทศควรจะเปนอยางไร ตอนนี้อารมณของคนทุกๆ สีมันไมนิ่งพอที่จะนั่งฟง เหมือนคน 2 คนทะเลาะกัน แตทั้งนี้ สีเสื้อมันเปนของจอมปลอม เราเอาสีเลือดของหัวใจมาพูดกันดีกวา เลือดของทุกคนมันเปนสีแดงเหมือนกัน อยาเอาความแบงภาคมาพูดกัน เราตองไมใชวิธีการ ประชาธิปไตยแบบปจจุบันมาเปนทางออก เพราะยังไงก็ออกไมได มันอาจจะตองมีการผาตัด ต อ งยอมเจ็ บ ระยะสั้ น เพื่ อ อนาคตที่ ดี แต ถ า ผ า ตั ด แล ว มั น ผิ ด พลาด มั น ก็ อ าจจะตายได " อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต กลาว
www.rsunews.net
16
17
www.rsunews.net
ตลาดหลักทรัพยเพื่อสังคม โดย สฤณี อาชวานันทกุล ปญหาระดับโลกทีร่ มุ เราเราอยใู นปจจุบนั ไมวา จะเปนภาวะโลกรอน ทรัพยากรธรรมชาติ รอยหรอ ระบบนิเวศเสือ่ มโทรม โรคระบาดรุนแรง วิกฤติอาหาร ผยู ากไรแรนแคนกวาเดิม ฯลฯ ลวนสะทอนใหเห็นอยางชัดเจนแลววา ลำพังระบบตลาดกระแสหลักทีย่ ดึ กำไรสูงสุดเปนสรณะ หรือนโยบายพัฒนาแบบ "บนลงลาง" ของภาครัฐอยางหนึง่ อยางใดนัน้ ไมอาจแกปญ หาเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ ทันการณ และเปนธรรม ศตวรรษที่ 21 จึงเปนยุคที่เราตองมองเห็นขอจำกัดและความลาหลังของวิธีคิดเกา และ มองหาวิธคี ดิ ใหมและทำใหมในทุกมิตอิ ยางเรงดวน จึงไมนา แปลกใจทีง่ านของกิจการพันธใุ หม ซึ่งมีชื่อเรียกในวรรณกรรมธุรกิจแลววา "กิจการเพื่อสังคม" (social enterprises) กำลังไดรับ ความสนใจและการสนับสนุนมากขึ้นเรื่อยๆ ผูประกอบการเพื่อสังคมที่กาวหนาที่สุดลวนทำงานดวย "สมอง" ที่วางแผนเพื่อความ อยูรอดทางการเงิน "หัวใจ" ที่หวงใยความอยูรอดของสังคม และ "สายตา" แหลมคมยาวไกล ที่สรางแนวรวมระหวางภาครัฐ ธุรกิจ และประชาชน พัฒนาโมเดลเปยมนวัตกรรมที่สามารถ แกปญ หาสังคมหรือสิง่ แวดลอมในทองถิน่ ของตนเอง โดยเฉพาะในสาขาสุขอนามัย การศึกษา การเงิ น ขนาดจิ๋ ว และเทคโนโลยี ส ะอาด ที่ ส ามารถนำไปขยายขนาดและทำซ้ำ ที่ อื่ น ได (อานรายละเอียดความหลากหลายของกิจการเพื่อสังคมที่ประสบความสำเร็จไดในหนังสือ เรือ่ ง "The Power of Unreasonable People" โดย John Elkington และ Pamela Hartigan ฉบับแปลไทยชือ่ "พลังของคนหัวรัน้ " แปลโดยผเู ขียน ตีพมิ พโดยสำนักพิมพมติชน) ถึงแมวางานของพวกเขาจะเติบโตขึ้นอยางกาวกระโดดตั้งแตโลกเขาสูศตวรรษที่ 21 กิจการเพือ่ สังคมสวนใหญกย็ งั ประสบปญหาในการระดมทุน เนือ่ งจากนักลงทุนทัว่ ไปยังมองวา "การลงทุน" กับ "การให" แตกตางกันอยางสิน้ เชิง ตองเลือกทำอยางใดอยางหนึง่ คือถา "ลงทุน" ก็อยากไดผลตอบแทนทางการเงินสูงเทาทีจ่ ะสูงได ซึง่ กิจการเพือ่ สังคมอาจทำไมไดเพราะลงทุน ดานสังคมเปนหลัก แตในทางกลับกัน ถานักลงทุนอยากชวยเหลือสังคมก็จะอยาก "ใหเปลา" www.rsunews.net
18
เพราะถื อ ว า "ทำบุ ญ " ดั ง นั้ น จึ ง ไม ค อ ยอยากเห็ น องค ก รนำเงิ น ให เ ปล า ไปสร า งรายได สวนสถาบันการเงินกระแสหลักทีป่ ระกาศวามี "ความรับผิดชอบตอสังคม" สวนใหญกย็ งั มองวา กิจการเพือ่ สังคมเล็กเกินไปและเสีย่ งเกินไปทีจ่ ะลงทุน ไมวา จะในรูปหนีห้ รือหนุ การระดมทุนจากตลาดการเงินกระแสหลักมีอปุ สรรค เพราะกิจการเพือ่ สังคมเปนกิจการ ลูกผสมระหวางธุรกิจกระแสหลักกับองคกรการกุศล ขณะเดียวกันนักลงทุนพันธุใหม คือ "นักลงทุนเพือ่ สังคม" (impact investors) ทีอ่ ยากลงทุนในกิจการเพือ่ สังคมก็หาตัวผปู ระกอบการ คอนขางยาก และตองเสียเวลาและคาใชจายในการหาขอมูลมายืนยันวากิจการนั้นมีแนวโนม ดีจริงหรือไม ในเมื่อสิ่งที่ระบบตลาดทำไดดีกวากลไกอื่นๆ คือ "จับคู" ระหวางอุปสงคและอุปทาน "ตลาดหลักทรัพยเพือ่ สังคม" (social stock exchange) จึงกำลังอุบตั ขิ นึ้ อยางชาๆ แตมนั่ คงใน หลายประเทศ ดวยฝมอื และความทมุ เทของนักการเงินกลมุ นอยทีส่ นใจวากลไกการเงินจะชวย สังคมไดอยางไร มากกวาไปเก็งกำไรทองคำ อนุพนั ธองิ ราคาน้ำมัน หรือกองทุนพันธบัตรเกาหลี ตลาดหลักทรัพยเพือ่ สังคมนองใหมหมาดในวงการคือ Impact Investment Exchange Asia (IIX, http://www.asiaiix.com ) ในสิงคโปร ไดรบั อนุมตั จิ ากทางการเมือ่ เดือนมีนาคม 2552 IIX ไมใชตลาดหลักทรัพยเพือ่ สังคมแหงแรกในโลก แตเปนแหงแรกในทวีปเอเชีย และเปน หนึ่งในไมกี่แหงที่ตองการจับคูระหวางกิจการเพื่อสังคมและนักลงทุนเพื่อสังคมอยางแทจริง ไม ใ ช ต ลาดสมั ค รใจไร ผู กำกั บ ดู แ ลที่ จั บ คู ร ะหว า งองค ก รการกุ ศ ลกั บ ผู ใ จบุ ญ เฉยๆ อยาง BOVESPA ในบราซิล หรือ SASIX ในอเมริกาใต แต IIX เปนตลาดหลักทรัพยเต็มรูปแบบ เพือ่ สงเสริมกิจการเพือ่ สังคม เหมือนกับ Social Stock Exchange (SSE) ในอังกฤษ ตัวองคกร IIX เองก็เปนกิจการเพือ่ สังคม มีพนั ธกิจ "ชวยกิจการเพือ่ สังคมในเอเชียใหเขา ถึงทุน ทำใหพวกเขาสามารถขยายขนาดผลลัพธของกิจกรรมไดอยางรวดเร็วกวาเดิม" โครงสรางโดยรวมของ IIX เหมือนกับตลาดทุนทัว่ ไป มีตลาดแรกและตลาดรองใหนกั ลง ทุนซือ้ ขาย และเปนตัวกลางในการชำระเงิน แตทพี่ เิ ศษคือกลไกทุกอยางถูกออกแบบมาสำหรับ กิจการเพือ่ สังคมโดยเฉพาะ IIX หวังวาจะสามารถสราง "ระบบนิเวศ" ของตลาดการลงทุนเพือ่ 19
www.rsunews.net
สังคมในทางที่เหมือนกับตลาดการเงินกระแสหลัก ซึ่งหมายความวามันจะประกอบไปดวย กิจการที่ออกหลักทรัพย นักลงทุนเพื่อสังคม นายธนาคาร บริษัทผูสอบบัญชี โบรกเกอร บริษทั วิจยั ฯลฯ "สินคา" ของ IIX คือหุนและตราสารหนี้ กิจการเพื่อสังคมที่แสวงหากำไรออกหลักทรัพย ไดทงั้ 2 ประเภท สวนกิจการทีไ่ มแสวงหากำไรจะออกไดแตตราสารหนี้ นักลงทุนในหนุ จะไดรบั ผลตอบแทนดานการเงินจากเงินปนผลและการซื้อขายหุนในตลาดรอง สวนนักลงทุนใน ตราสารหนี้ (มีสถานะเปนเจาหนี้ของกิจการ) ก็จะไดรับดอกเบี้ยและเงินตนรายงวดเหมือนกับ ตราสารหนี้ทั่วไป นอกจากผลตอบแทนดานการเงิน นักลงทุนทั้ง 2 ประเภทก็จะไดรับทราบวากิจการที่ พวกเขาลงทุนนัน้ สรางผลบวกตอสังคมเทาไรแลวบาง โดย IIX รวมกับทีมผเู ชีย่ วชาญจะกำหนด วิธวี ดั และคำนวณผลตอบแทนนีอ้ อกมาเปนมูลคา "ปนผลสังคม" (social dividends) IIX จะกำหนดเกณฑขั้นต่ำของกิจการเพื่อสังคมที่ประสงคจะเขามาระดมทุนในตลาด โดยสวนหนึ่งจะใชเกณฑของตลาดหุนทั่วไป เชน มาตรฐานธรรมาภิบาล มาตรฐานบัญชี ผลประกอบการดานการเงินและการดำเนินกิจการที่ผานมา เสริมดวยขอบังคับเพิ่มเติมเพื่อ ตีกรอบกิจการในตลาดใหอยแู คกจิ การเพือ่ สังคมจริงๆ กลาวคือ เปนกิจการทีม่ พี นั ธกิจดานสังคม หรือสิง่ แวดลอมเปนหลัก และสามารถนำสงผลตอบแทนทัง้ ดานการเงินและดานสังคม คุณูปการขอหนึ่งของตลาดการ "ลงทุน" อยางเปนทางการอยาง IIX ที่สำคัญไมแพการ สรางตลาดใหมที่ชวยพัฒนาสังคมคือ การที่ IIX จะสรางและเผยแพรมาตรฐานในการเปดเผย และประเมินผลตอบแทนดานสังคมและสิ่งแวดลอม รายงานผลตอบแทนดานนี้ของกิจการ ใน IIX ทุกแหงจะตองไดรับการประเมินโดยบุคคลภายนอก คลายกับที่งบการเงินของบริษัท ทุ ก บริ ษั ท จะต อ งผ า นการตรวจสอบโดยผู ส อบบั ญ ชี อิ ส ระ เพื่ อ สร า งความโปร ง ใสและ ความน า เชื่ อ ถื อ ให กั บ นั ก ลงทุ น และในเมื่ อ กิ จ การเพื่ อ สั ง คมต อ งเป ด เผยข อ มู ล ให กั บ นักลงทุนอยางสม่ำเสมอ การไดจดทะเบียนใน IIX ก็นา จะชวยสรางวินยั ทางออมใหกบั กิจการ ตลอดจนระดมความชวยเหลือจากผเู ลนรายอืน่ ๆ ในตลาดทีล่ ว นแตกระตือรือรนในการแบงปน ขอมูลและโมเดลธุรกิจ เพราะทุกฝายลวนมีเปาหมายดานสังคมและสิ่งแวดลอมเปนที่ตั้ง ไมใชประโยชนสวนตน www.rsunews.net
20
เดอรรีน ชาหนาซ (Durreen Shahnaz) ชาวอเมริกันเชื้อสายบังกลาเทศ ผูกอตั้งและ ประธานกรรมการของ IIX มี ป ระวั ติ แ ละแนวคิ ด น า สนใจไม แ พ ต ลาดที่ เ ธอผลั ก ดั น ตำแหนงปจจุบันอีกตำแหนงของเธอคือ หัวหนาโครงการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงสังคม คณะนโยบายสาธารณะ (Lee Kuan Yew School of Public Policy) แหงมหาวิทยาลัย แหงชาติสิงคโปร เธอจบปริญญาโทบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยวารตัน และปริญญาโท ความสัมพันธระหวางประเทศจากมหาวิทยาลัยจอหน ฮอบกินสในสหรัฐอเมริกา มีประสบการณ มากมายในภาคการเงิ น ภาคธุ ร กิ จ และธุ ร กิ จ เพื่ อ สั ง คม ตั้ ง แต ม อร แ กน สแตนเลย และเมอร ริ ล ลิ น ช บริ ษั ท วาณิ ช ธนกิ จ ชั้ น นำของอเมริ ก า ไปจนถึ ง ธนาคารโลก นิ ต ยสาร รีดเดอรส ไดเจสท และธนาคารกรามีน กอนหนานีช้ าหนาซกอตัง้ ธุรกิจเพือ่ สังคมชือ่ oneNest เพื่อขายงานหัตถกรรมผานเว็บไซต เชื่อมชางฝมือชาวบานโดยตรงเขากับผูบริโภครายยอย ในอีกซีกโลกหนึ่ง ชาหนาซมองวา กำเนิดของ IIX "...นับเปนจุดเริม่ ตนของการเงินยุคใหม และเปนปฏิกริ ยิ า ที่เหมาะสมตอความโลภในตลาดการเงินที่ครอบงำประเทศพัฒนาแลวสวนใหญในโลกตลอด ระยะเวลาไมกที่ ศวรรษทีผ่ า นมา สิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ คือ ตลาดนีม้ แี นวโนมจะเปนปฏิกริ ยิ าของทวีปเอเชีย ตอความสับสนอลหมานในโลกตะวันตก และนำจิตสำนึกทางสังคมไปยืนอยูแถวหนาของ ตลาดการเงินโลก" หมายเหตุ บทความนีต้ พี มิ พครัง้ แรกในหนังสือพิมพประชาชาติธรุ กิจ ฉบับวันที่ 8 ตุลาคม 2552
21
www.rsunews.net
บทเรียนจากกรีนพีซ : เปลีย่ นศัตรูเปนมิตร โดย อนล นาครทรรพ
"ตื้ อ เท า นั้ น ที่ ค รองโลก" เป น วาทกรรมที่ เ ป น จริ ง อี ก ครั้ ง เมื่ อ คิ ม เบอร ลี ค ล า ร ก บริ ษั ท กระดาษยั ก ษ ใ หญ ข องสหรั ฐ อเมริ ก า ยอมลดราวาศอกต อ คู พิ พ าทอย า ง กรี น พี ซ องคการพิทักษสิ่งแวดลอมรายใหญของโลก โดยหันไปหาแหลงวัตถุดิบทดแทนในการผลิต กระดาษเพื่อรักษาผืนปาดึกดำบรรพในประเทศแคนาดาเอาไว ภายหลังกรีนพีซรณรงคตอ ตานบริษทั คิมเบอรลคี ลารก ทีด่ ำเนินการทำลายผืนปาบอเรียล ในแคนาดาเปนเวลาติดตอกันมากวา 5 ป บริษทั ยักษใหญผผู ลิตกระดาษเช็ดหนาและกระดาษ ชำระยี่ ห อ คลี เ น ก ซ แ ละสก อ ต ได อ อกมาประกาศว า จะซื้ อ เยื่ อ ไม จ ากแหล ง ป า ดั ง กล า ว
www.rsunews.net
22
เฉพาะสวนที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการพิทักษปา โดยตั้งเปาหมายวาภายใน 2 ป วัตถุดิบรอยละ 40 หรือประมาณ 6 แสนตัน ที่บริษัทใชในทวีปอเมริกาเหนือ จะตองมาจาก เยื่อกระดาษที่นำกลับมาใชใหม หลังจากทีค่ มิ เบอรลคี ลารกประกาศมาตรการดังกลาว กรีนพีซก็ประกาศจะยุตมิ าตรการ ประชาสัมพันธเชิงลบทีม่ ตี อ บริษทั โดยทีผ่ า นมา กรีนพีซไดพยายามวาดภาพใหคมิ เบอรลคี ลารก เปนพอคาทุนนิยมผูเปนตัวการเขมือบตนไมดึกดำบรรพที่หายากจากปาบอเรียล การอนุ รั ก ษ ป า ถื อ เป น อาวุ ธ สำคั ญ ในการต อ สู กั บ การเปลี่ ย นแปลงของภู มิ อ ากาศ ปาบอเรียลเปนปาดึกดำบรรพที่ใหญที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ แตกลับมีบริเวณแครอยละ 10 ที่ ไ ด รั บ การพิ ทั ก ษ เ ป น การถาวร พื ช พรรณและผื น ดิ น ของป า บอเรี ย ลเก็ บ กั ก คาร บ อนไว ถึง 186,000 ลานตัน เทียบเทากับการปลอยกาซเรือนกระจกเปนเวลา 27 ป การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นครั้งนี้เปนการหันหนาเขาหากันระหวางคิมเบอรลีคลารกและ กรีนพีซ โดยคิมเบอรลีคลารกก็เล็งเห็นความสำคัญของภาพการประชาสัมพันธเชิงบวกภายใต บรรยากาศห ว งใยต อ สิ่ ง แวดล อ มโลก และกรี น พี ซ เข า มามี ส ว นร ว มในการออกแบบกฎ การหาแหลงวัตถุดิบใหมใหกับคิมเบอรลีคลารก ถือเปนปฐมบทแหงความรวมมือของสององคกรที่เคยอยูคนละฝง แตตางมองเห็น ความตองการของแตละฝายและความสำคัญของการอยรู ว มในสังคมเดียวกัน นับวาเปนบทบาท ใหมของกรีนพีซ ที่เคยถูกตีตราวาเกเร เปนผูกอการรายสิ่งแวดลอม มาเปนมิตรรวมอยูรวมคิด มีอารมณขนั ไมฟาดฟนเหมือนทีแ่ ลวมา
23
www.rsunews.net
Hillary Doctrine อเมริกาเดินเกมรุกการตางประเทศ โดย วีระยุทธ โชคชัยมาดล
www.rsunews.net
24
สหรั ฐ อเมริ ก ากำลั ง เดิ น เกมรุ ก ทางการต า งประเทศรอบใหม ภายใต ก ารนำของ นางฮิลลารี คลินตัน อดีตสตรีหมายเลข 1 ของสหรัฐฯ ในยุคเรืองอำนาจของประธานาธิบดี บิล คลินตัน โดยพล็อตใหมทสี่ หรัฐเขียนขึน้ มา มี "การพัฒนา" เปนวาระหลักในการเดินเรือ่ ง การกลาวสุนทรพจนของนางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรีตางประเทศสหรัฐฯ ตอที่ประชุม ของ Center for Global Development ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี เมือ่ วันที่ 6 มกราคม 2553 แสดง ใหเห็นถึงการปรับเปลี่ยนทิศทางของนโยบายตางประเทศสหรัฐฯ ที่เรียกไดวา เปลี่ยนทิศ แบบ 180 องศาหากเทียบกับนโยบายตางประเทศสมัยประธานาธิบดี จอรจ ดับเบิลยู บุช ที่ชูธงการทำสงครามตอตานการกอการรายทั่วโลกเปนแกนหลักของการกำหนดนโยบาย การตางประเทศ ภายหลังเหตุการณกอวินาศกรรมขับเครื่องบินชนตึกเวิรลเทรด เซ็นเตอร เมือ่ ป ค.ศ. 2001 ซึง่ ถือเปนภัยคุกคามทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ ทีเ่ คยเกิดขึน้ บนผืนแผนดินใหญสหรัฐอเมริกา "ในอดีตทีผ่ า นมา 'การพัฒนา' เปนเรือ่ งของการชวยเหลือเพือ่ นมนุษย เรือ่ งของการกุศล หรือมิฉะนั้นก็เปนเรื่องของรัฐบาลประเทศตางๆ ที่พยายามหาพันธมิตรมารวมกันแกปญหา" นางฮิลลารี กลาวตอนหนึง่ ในสุนทรพจนบนเวที Center for Global Development "แตทกุ วันนี้ 'การพัฒนา' กลับเปนพันธกิจทีเ่ กีย่ วของทัง้ ในดานยุทธศาสตร เศรษฐกิจ และ ศีลธรรม ซึ่งถือเปนเสาหลักในการขับเคลื่อนผลประโยชนของสหรัฐฯ รวมทั้งแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก ดังเชนที่ 'การทูต' [diplomacy] และ 'การปองกันประเทศ' [defense] ไดทำหนาที่นี้มาโดยตลอด "ถึงเวลาแลวที่ [สหรัฐฯ] ตองมีวิธีคิดใหมในศตวรรษใหม ...ถึงเวลาแลวที่ตองยกระดับ 'การพัฒนา' ใหเปนเสาหลักของการดำเนินนโยบายตางประเทศ และก็ถงึ เวลาแลวเชนกันทีเ่ รา ตองกลับมาชวยกันสราง 'ยูเสด' [United States Agency for International Development: USAID] ขึ้ น มาใหม ให เ ป น องค ก ารเพื่ อ การพั ฒ นาระดั บ แนวหน า ของโลก"นางฮิ ล ลารี กล า ว ดวยน้ำเสียงหนักแนน ซึ่งตามมาดวยเสียงปรบมือจากผูเขารวมฟงสุนทรพจนอยางกึกกอง นีไ่ มใชการกลาวสุนทรพจนทวั่ ๆ ไป แตนางฮิลลารีไดประกาศ "Hillary Doctrine" นัน่ คือ แสดงจุดยืนทิศทางของนโยบายตางประเทศสหรัฐฯ ในยุคที่เธอเปรียบเสมือนเปนผูกำกับ การแสดง โดยมีประธานาธิบดีบารัค โอบามา เปนผอู ำนวยการสราง 25
www.rsunews.net
Hillary Doctrine กำหนดให "การพัฒนา" (development) เปนวาระหลักของโครงเรือ่ ง การตางประเทศ โดยมี ยูเสด เปนตัวเดินเรื่อง แตกตางจากเดิมที่สหรัฐฯ ใช "การทูต" และ "การปองกันประเทศ" เปนเครือ่ งมือในการแทรกแซงการเมืองระหวางประเทศ ดังทีป่ รากฏในยุค ของประธานาธิบดีจอรจ ดับเบิลยู บุช ทีเ่ ดินเกมกดดันรัฐบาลของประเทศตางๆ เพือ่ ใหรว มมือ กับสหรัฐฯ ในการปราบปรามเครือขายการกอการรายขามชาติ เชน กลุมอัลไกดา กลุมเจไอ ที่สหรัฐฯ ระบุวาอยูเบื้องหลังการกอวินาศกรรมตึกเวิรลเทรด เซ็นเตอร รวมถึงการมุงทำลาย ผลประโยชนของสหรัฐฯ ทัง้ ทีเ่ ปนชีวติ และทรัพยสนิ อยางตอเนือ่ ง นางฮิลลารีกลาววา การตอตานการกอการรายจะประสบความสำเร็จไมไดหากผูคนอีก เป น ร อ ยล า นคนยั ง คงหิ ว โหย ไม มี ง านทำ ถู ก ตั ด ขาดจากระบบการค า เสรี นอกจากนั้ น ยังเนนย้ำวา สหรัฐฯ ไมสามารถพึ่งพาบรรดาประเทศพันธมิตรของสหรัฐฯ ในภูมิภาคตางๆ ใหชวยปราบปรามเครือขายการกอการรายขามชาติไดตราบใดที่บรรดาประเทศดังกลาว ยังไรเสถียรภาพ ไมมีความมั่นคง อีกทั้งสหรัฐฯ จะไมมีวันประสบผลสำเร็จในการผลักดันให ทั่วโลกมีระบบธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรมตราบเทาที่ความหิวโหยและความยากจนยังคง บั่นทอนความพยายามดังกลาว จากสุนทรพจนของนางฮิลลารี พอจะทำใหเห็นเปนรูปเปนรางวา การเดินสายเยือน ทวีปเอเชียและแอฟริกา รวมถึงการปรากฏตัวบนเวทีโลกและเวทีระหวางประเทศในชวงหลาย เดือนที่ผานมาดวยทาทีอันเปนมิตรตอสังคมโลก โดยเสนอตัวเปนผูประสานและสนับสนุน ให เ กิ ด ความร ว มมื อ และการพั ฒ นาในด า นต า งๆ จึ ง เป น เหมื อ นเหล า เก า ในขวดใหม ข อง การตางประเทศสหรัฐฯ ทาทีอนั แข็งกราวของสหรัฐฯ ตอสังคม โลกในสมัย จอรจ ดับเบิลยู บุช เรืองอำนาจ อาจจะเปลี่ ย นไป แต แ ก น ของนโยบาย ต า งประเทศสหรั ฐ ฯ ยั ง คงเดิ ม ไม เปลี่ ย นแปลงนั บ ตั้ ง แต ห ลั ง สงครามโลก ครั้ ง ที่ 2 ผ า นสงครามเย็ น จนถึ ง ป จ จุ บั น นัน่ คือนโยบายแทรกแซงและแผอทิ ธิพลเหนือ การเมืองของประเทศตางๆ ทีส่ ง ผลกระทบตอ ผลประโยชนของสหรัฐฯ www.rsunews.net
กลมุ นักศึกษาชาวอัฟกันในชุดของยูเสด (USAID) องคการทีม่ บี ทบาท ในการฟนฟูและพัฒนาระบบการศึกษาในอัฟกานิสถานภายหลัง การโคนลมระบอบตอลีบันเมื่อปลายป ค.ศ. 2001 ภาพโดย USAID (ค.ศ. 2006)
26
ภาพที่ ก องทั พ สหรั ฐ ฯ ส ง กองกำลั ง ออกไปปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ โพ น ทะเล เช น ตามล า นายโอซามา บิน ลาเดน หรือ โคนลมระบอบซัดดัม ฮุสเซน คงไมมีใหเห็นในการตางประเทศ สไตล ฮิลลารี คลินตันอยางแนนอน แตไมไดหมายความวา สหรัฐฯ จะเลิกปฏิบัติตนเชน ผูมีอิทธิพลในการเมืองโลกอยางเชนที่กระทำตอเนื่องมา การยกระดับ "การพัฒนา" เปนเสาหลักของนโยบายตางประเทศสหรัฐฯ กลับจะยิง่ ทำให ความพยายามแทรกแซงกิจการภายในของประเทศอืน่ งายยิง่ กวาเดิม เพราะไมไดมาในรูปแบบ ทีม่ ที หารหรือฝูงบินเขาไปปฏิบตั กิ ารขามประเทศ ซึง่ ถาเปนเชนนัน้ จะถูกประชาชนทองถิน่ ตอตาน เฉกเชนที่เกิดขึ้นมาในอดีต แตการแทรกแซงของสหรัฐฯ จะมาในรูปของการใหความชวยเหลือดานการพัฒนา ไดแก การสรางอาชีพ สรางชุมชนพึ่งตนเอง ขจัดยาเสพติด จัดหาสวัสดิการดานการแพทย เปนตน ซึง่ เปนความชวยเหลือในรูปแบบทีป่ ระเทศกำลังพัฒนาทัง้ หลาย เชน อัฟกานิสถาน ปากีสถาน เยเมน แอฟริกาใต เปรู รวมถึงไทย ไมมีวันจะปฏิเสธ เพราะเปนสิ่งที่จำเปนและตองการ อยางมาก สำคัญทั้งตอการพัฒนาของประเทศและความอยูรอดของรัฐบาลในแตละประเทศ แตก็ตองแลกกับการใหความรวมมือกับสหรัฐฯ เมื่อไดรับการรองขอ ซึ่งนั่นอาจหมายถึง การยอมใหมี "ปฏิบัติการพิเศษ" ของสหรัฐฯ ในเขตอธิปไตยของบรรดาประเทศที่ไดรับความ ชวยเหลือเชนกัน หลังจากนี้ คงไมใชเรื่องนาแปลกใจที่บรรดาประเทศกำลังพัฒนาจะใหการตอนรับ ปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาของยูเสด โดยผานกลุมบุคคลที่นางฮิลลารี เรียกวา "development diplomats" หรือ "นักการทูตเพื่อการพัฒนา" อันประกอบดวยผูเชี่ยวชาญของยูเสดและ เจาหนาทีก่ ารทูตของสหรัฐฯ ทีป่ ระจำการตามประเทศตางๆ ซึง่ จะประสานงานกันเพือ่ ใหภารกิจ ในการพัฒนาบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงค โดยการประสานงานดังกลาวยังรวมถึง การทำงานรวมกับองคการระหวางประเทศ เชน ธนาคารโลก องคกรการเงินระหวางประเทศ สำนักงานโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็นดีพี (UNDP) รวมถึงบรรดาองคการ ภาคเอกชน หรือ เอ็นจีโอ (NGOs) เชน the Gates Foundation, CARE, the Clinton Foundation, Oxfam International ซึ่งโดยรวมนับวาเปนเครือขายองคการระหวางประเทศ ที่มีอิทธิพลอยางมากตอการดำเนินกิจการภายในและภายนอกของเหลาประเทศกำลังพัฒนา
27
www.rsunews.net
กาลเวลาไดพิสูจนแลววา การตางประเทศแบบสายเหยี่ยวของ จอรจ ดับเบิลยู บุช ที่ใชการทหารนำการทูต หรืออาจเรียกไดวาเปน Bush Doctrine ดูเหมือนประสบความสำเร็จ ในระยะเริ่มตน แตในที่สุดหลังจาก 9 ปผานไปนับตั้งแตเหตุการณวินาศกรรมตึกเวิรลเทรด เซ็นเตอร ก็เปนที่ประจักษแลววาเปนนโยบายที่ลมเหลว สงผลใหสหรัฐฯ ตองประสบกับ ความยากลำบากในการรักษาแนวรวมตอตานการกอการราย ในขณะทีบ่ รรดาประเทศพันธมิตร คอยๆ ถอยหางเนื่องจากสงครามตอตานการกอการรายที่ยืดเยื้อมากวา 9 ป สงผลกระทบ ตอการเงินการคลังของประเทศ โดยยังไมมีทีทาวาจะสามารถขจัดภัยคุกคามนี้ได แตกลับ ตองรักษาระดับการดูแลความมั่นคง ซึ่งตองใชงบประมาณเปนจำนวนมหาศาล คำประกาศ Hillary Doctrine ถือเปนการเปดศักราชใหมของการตางประเทศสหรัฐฯ ที่ตองรอการพิสูจนวาจะประสบชะตาเดียวกับ Bush Doctrine หรือไม แมจะมาในแบบ "ผใู ห" มากกวาจะเปน "เจานาย" ก็ตาม
www.rsunews.net
28
การปฏิรูปเศรษฐกิจ วาดวยปฏิรปู รายไดภาครัฐเลีย่ งวิกฤติการคลัง โดย ดร.อนุสรณ ธรรมใจ
ตลอดช ว ง 2-3 ป ที่ ผ า นมา ผมได ใ ห ค วามเห็ น ต อ สาธารณะหลายต อ หลายครั้ ง ว า ประเทศไทยจะเผชิญกับวิกฤติทางการคลังในอีก 4-5 ปขา งหนา เพราะจากการประเมินปจจัย หลายประการแลวดูทาทางจะเลี่ยงยาก แตใชวา จะเลีย่ งไมไดเลย เห็นการใชเงินอยางไมบนั ยะบันยังภายใตนโยบายประชานิยม แบบผิดๆ ของหลายรัฐบาลที่ผานมา บวกกับการทุจริตคอรรัปชันที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
29
www.rsunews.net
การชะงั ก งั น ของการลงทุ น จากป ญ หาทางการเมื อ งและความไม ชั ด เจนทางนโยบาย ผสานเข า กั บ การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ต่ำ กว า ศั ก ยภาพและวิ ก ฤตการณ ค วามขั ด แย ง เชิงโครงสรางที่ยังไมอาจแสวงหาทางออกอันเหมาะสม ลวนเปนเหตุปจจัยที่นำมาสูวิกฤติ ฐานะการคลังทามกลางวิกฤตการณอื่นๆ ที่เราตองเตรียมรับมือ แมนเศรษฐกิจกระเตื้องขึ้น เก็ บ ภาษี ไ ด ม ากขึ้ น เป น ผลให ส ถานการณ เ ฉพาะหน า ของป ญ หาฐานะทางการคลั ง และ หนี้สาธารณะจะเบาลงชั่วคราว แตสถานการณระยะยาวยังไมอาจวางใจไดเลย การตั้งสมมติฐานวา เศรษฐกิจจะ ขยายตัวที่ระดับ 5-6% ในชวง 4-5 ปขางหนาไมใกลเคียงขอเท็จจริง ขณะที่สัดสวนประจำใน งบประมาณเพิ่ ม มากขึ้ น ตามลำดั บ โดยเฉพาะที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบสวั ส ดิ ก ารสั ง คม อยางงบประมาณป 2554 ตัง้ งบไว 2.02 ลานลานบาท เปนรายจายประจำ 78% เหลือเงินลง ทุ น น อ ยมาก งบประจำส ว นใหญ ก็ ตั ด ลดไม ไ ด หากตั ด ลงคงจะมี ป ญ หาทางการเมื อ ง อยางแนนอน โดยเฉพาะนโยบายประชานิยมและสวัสดิการทัง้ หลาย โครงสรางประชากรเปลีย่ น สูสังคมผูสูงอายุมากขึ้นตามลำดับ รัฐบาลก็แทบจะไมสามารถเก็บภาษีเงินไดจากคนเหลานี้ รายจายดานสาธารณสุขเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสำคัญหากทานผูอานพิจารณาดูตารางขอมูล ประกอบ สถานะหนี้สาธารณะและงบประมาณก็จะเห็นถึงความเสี่ยงแหงวิกฤติฐานะการคลัง ที่อาจเกิดขึ้นสำหรับอนาคตอันไมไกลนัก ตัวเลขการประเมินตามตาราง ตัง้ อยบู นสมมติฐานในการมองเศรษฐกิจคอนขางบวก โดย คาดการณจดี พี ขี ยายตัวในระดับ 4-5% ในชวงสีห่ า ปขา งหนา สวนการคาดการณการเติบโตปนี้ คอนขางระมัดระวังและใกลเคียงความจริง มองวาจะเติบโตเพียง 2.5% เราควรตั้งเปาหมายความยั่งยืนทางการคลังโดยพยายามบริหารจัดการไมใหยอดหนี้ สาธารณะคงคางตอจีดีพีไมเกินรอยละ 50 ภาระหนี้ตองบประมาณไมควรเกินรอยละ 15 สัดสวนงบการลงทุนควรอยทู รี่ ะดับรอยละ 25-30 ไมควรต่ำกวารอยละ 20 อยางทีเ่ ปนอยู เพราะในระยะยาว โครงสร า งพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ (คุ ณ ภาพทรั พ ยากรมนุ ษ ย ระบบชลประทาน ระบบโลจิสติกส ระบบโทรคมนาคม ระบบพลังงาน) จะไมเพียงพอและลดทอน ศักยภาพแขงขันในระยะยาว การเติบโตจะถดถอยและต่ำลงเรื่อยๆ www.rsunews.net
30
แมนไมมีการลงทุนในโครงการขนาดใหญ การใชจายภาครัฐจำเปนตองเพิ่มขึ้นอยูแลว ดวยนโยบายเรียนฟรี 15 ป ประกันสุขภาพถวนหนา ขยายระบบประกันสังคม การสงเคราะห คนชรา ไมนับรวม การใชจายเพื่อหวังผลทางการเมือง ซึ่งในอนาคตอันไมไกลนัก หากไมมี การหารายไดเพิม่ ก็ตอ งกเู พิม่ และคงมีปญ หาทางการคลังตามมาแนนอน ทางออกที่จะเริ่มทำกันตั้งแตเดี๋ยวนี้คือการหารายไดเพิ่มเติมดวยการปฏิรูประบบรายได ภาครัฐทัง้ หมด ทัง้ รายไดจากภาษีและรายไดจากการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ รัฐตองเก็บภาษี ทีม่ ลี กั ษณะกาวหนามากขึน้ และขยายฐานภาษีใหใหญขนึ้ โดยเฉพาะภาษีทรัพยสนิ ควรผลักดัน ตัวเลขรายไดภาครัฐใหขนึ้ ไปอยสู กั ระดับประมาณ 20% ของจีดพี ี สถานะทางคลังจึงมั่นคงมีเสถียรภาพ และไมกระทบตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การปรับโครงสรางภาษีเปนสิง่ ทีไ่ มอาจหลีกเลีย่ งได การผลักดันภาษีมรดกภาษีทรัพยสนิ อั น เป น การเก็ บ ภาษี จ ากฐานทรั พ ย สิ น จะช ว ยรั ฐ ลดการพึ่ ง พิ ง ภาษี ที่ เ ก็ บ จากฐานรายได สิ่งนี้จะลดความเหลื่อมล้ำทางดานเศรษฐกิจในสังคมลงได แตไมใชเรื่องที่จะเกิดขึ้นงาย มีแรงเสียดทานจากโครงสรางอำนาจปจจุบันสูง อยางไร ก็ตาม หากไมเกิดขึน้ วันนี้ อนาคตขางหนาตองเกิดขึน้ อยดู ี อยทู วี่ า รัฐบาลไหนมีความกลาทำใน สิ่งที่รัฐบาลตองทำมากนอยแคไหน แนนอนที่สุดวาสิ่งนี้เกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อมีการปรับเปลี่ยน ประชาธิปไตยแบบผูกขาด สรู ะบบประชาธิปไตยแบบมหาชน จะเห็นไดวา รัฐบาลทีผ่ า นๆ มารวมทัง้ รัฐบาลชุดนี้ ลวนใชวธิ กี อ หนีเ้ พือ่ ชดเชยการขาดดุล งบประมาณทั้งนั้น เพราะมันเปนเรื่องที่งายที่สุดในทางการเมือง หากยังทำกันแบบนี้ไปเรื่อยๆ หนีก้ จ็ ะทวมประเทศ ขณะเดียวกัน ผคู นในสังคมก็ไมใสใจกับการตรวจสอบความเหมาะสมใน การใชงบและความโปรงใสในกระบวนการกอหนี้ เพราะทุกคนไมไดรสู กึ สูญเสียอะไรเฉพาะหนา สวนระยะยาวจะสูญเสียมากนอยแคไหน หรือกลับไดประโยชน ก็จะขึน้ อยกู บั การบริหารหนีท้ ไี่ ป กูมาวานำมาใชอยางมียุทธศาสตรและมีประสิทธิภาพหรือไม การใหโครงการตางๆ ตองผาน การกลั่นกรองจากคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ ผมมองในแงดีวาจะทำใหโครงการลงทุนตางๆ ของรัฐบาลมียุทธศาสตรและบูรณาการกันมากขึ้น ไมใชตางกระทรวงตางทำอยางที่เปนอยู ในปจจุบัน 31
www.rsunews.net
หากรั ฐ บาลคิ ด จะเก็ บ ภาษี เ พิ่ ม เมื่ อ ไหร เมื่ อ นั้ น การตรวจสอบจะเข ม ขึ้ น เพราะคน จำนวนหนึ่งตองเสียเงินเพิ่มขึ้นเพื่อใหประเทศขับเคลื่อนตอไปได การผลักภาระภาษีในอนาคตขางหนาไปเรือ่ ยๆ ทำให เกิดอาการตายดานตอความลำบาก เดือดรอนอันเกิดจากความเสี่ยงทางการคลัง ทั้ ง ที่ ค วามจริ ง ๆ ผู รั บ ภาระอั น หนั ก อึ้ ง คื อ ลู ก หลานของเรา และราษฎรผู เ สี ย ภาษี ในอนาคต ครับ
Projection หนีส้ าธารณะภายใตเงือ่ นไขการเปลีย่ นแปลง ของระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
www.rsunews.net
32
All the President's Men มาตรวัดฐานันดรที่สี่
ในตำราเรียนสื่อสารมวลชนบอกเราเสมอวา "สื่อมวลชน" คือฐานันดรที่สี่ของสังคม เป น องค ป ระกอบหนึ่ ง ที่ จ ะขาดไปไม ไ ด ใ นสั ง คม สิ่ ง นี้ ไ ด รั บ การพิ สู จ น ม าทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย โดยเฉพาะบทบาทการทำหนาที่ตรวจสอบและเฝาระวัง จนมาถึงบทบาทที่สามารถโนมนาว ชีน้ ำสังคมไดในระดับหนึง่ กระทัง่ มีบทบาทอยางสูงในบางชวงเวลาหรือบางสถานการณดว ยซ้ำ คำถามทีต่ ามมาถึงฐานันดรทีส่ เี่ หลานีค้ อื ไดกระทำหนาทีต่ รวจสอบ เฝาระวังอยางตรงไป ตรงมาหรือไม หรือเปนเพียงเครือ่ งมือของบางฝกบางฝายเทานัน้ ประเด็นหนึ่งที่ฐานันดรที่สี่ถูกตั้งขอสังเกตจากคนภายนอก หรือแมกระทั่งคนทำสื่อ ด ว ยกั น เองว า หลายครั้ ง สื่ อ นำเสนอเนื้ อ แท ข องข า วแท จ ริ ง แค ไ หน หรื อ จงใจปลุ ก กระแส ประโคมเรื่ อ งราวเพื่ อ ชี้ นำบางสิ่ ง บางอย า งในสั ง คมแค นั้ น เนื้ อ ข า วได ผ า นการตรวจสอบ กลั่นกรองในเชิงลึกแคไหน 33
www.rsunews.net
All the President's Men เปนภาพยนตรที่ตอบคำถามการทำงานที่วาอยางชัดเจน พอๆ กับเรื่องราวอันทรงพลังที่วาดวยการทำงานของคนขาวที่ตองเผชิญแรงกดดันอยางหนัก กับผูมีอำนาจรัฐในมืออยางเต็มเปยม อีกทั้งหนังเรื่องนี้ยังกลายเปนตำราที่ถูกหยิบยกขึ้นมา บอกเลาวิธีการทำงานแบบถึงลูกถึงคน เกาะติด การใชสัญชาตญาณ เรียกวา "ครบเครื่อง" ที่สื่อมวลชนควรพึงมี All the President's Men ดัดแปลงมาจากหนังสือชื่อเดียวกัน เขียนโดยผูสื่อขาว จากหนังสือพิมพวอชิงตันโพสต ไมใชเรื่องที่แตงขึ้น แตทั้งหมดเปนเรื่องราวการทำงานของ 2 นักขาวในการรายงาน "ขาวเจาะ" คดีอื้อฉาวทางการเมือง "วอเตอรเกต" เมื่อป ค.ศ. 1972 เปนคดีสำคัญทางการเมืองที่สงผลสะเทือนตอระบอบประชาธิปไตยของสหรัฐอเมริกา เรื่องราวของ All the President's Men เมื่อถายทอดมาเปนภาพยนตรนั้น สนุกเขมขน "บ็อบ วดู เวิรด " (โรเบิรต เรดฟอรด) และ "คารล เบิรน สทีน" (ดัสติน ฮอฟแมน) สองผสู อื่ ขาวจาก วอชิ ง ตั น โพสต ที่ ไ ด "กลิ่ น " ไม ธ รรมดา จากข า วเข า ไปงั ด แงะที่ ทำการพรรคเดโมแครต ภายในอาคารวอเตอรเกต ชวงตีสองของวันที่ 17 มิถุนายน 1972 จากดูเหมือนเปนหนาขาว อาชญากรรมธรรมดา แตกลิ่นผิดปกติเกิดขึ้นเมื่อมีขอมูลพบรายชื่อและเบอรโทรศัพทของ ทีป่ รึกษาประธานาธิบดีรชิ ารด นิกสัน อยใู นสมุดบันทึกของคนรายทีถ่ กู จับกุมได สัญชาตญาณวานีไ่ มใชเรือ่ งปกติทำให 2 นักขาววอชิงตันโพสตตดั สินใจตามติด คยุ แคะ รายงานขาวดังกลาว นำมาสูการเปดโปงของคดีวอเตอรเกต และสั่นคลอนเกาอี้ประธานาธิบดี สมัยทีส่ องของ "ริชารด นิกสัน" แหงพรรครีพลับริกนั เมื่อเรื่องราวโยงใยสั่นสะเทือนตอการเมืองสหรัฐอเมริกา เพราะกลุมงัดแงะ 5 คน มีอดีตซีไอเอ (หนวยขาวกรอง) รวมลงมือดวย และบานปลายจนเปดโปงวาเปนการงัดแงะเขา มาแอบติดเครื่องดักฟงในที่ทำการพรรคเดโมแครตเพื่อลวงขอมูลที่พรรคจะใชเตรียมชิงชัย ตำแหนงประธานาธิบดีกับ "นิกสัน" ที่ขณะนั้นสังคมตางรูวาเขาตองการเปนประธานาธิบดี อีกสมัย ทัง้ วดู เวิรด และเบิรน สตีนตางก็กดั ขาวนีไ้ มปลอยและรายงานเบือ้ งลึกเบือ้ งหลังออกมา เปนระยะ โดยมี Deep Throat เปนคียเวิรดเรียกแทน "แหลงขาว" ที่ตองปกปดตัวตนเปน ผูแจงเบาะแส หนังยังสะทอนใหเห็นสภาวะที่นักขาววอชิงตันโพสต บรรณาธิการ รวมทั้ง เจาของกิจการถูกขมขูคุกคามอยางรุนแรงจากอำนาจรัฐในทำเนียบขาว แตวอชิงตันโพสต ยังเดินหนาเจาะขาวนี้ตอไป www.rsunews.net
34
ผลดั ง กล า วสร า งความสั่ น สะเทื อ นจน ริ ช าร ด นิ ก สั น ต อ งลาออกจากตำแหน ง ประธานาธิบดี (สมัยที่ 2) หนีกระบวนการตรวจสอบเพื่อพิจารณาถอดถอน "Impeachment" สวน 2 นักขาววอชิงตันโพสตไดรบั รางวัลพูลติ เซอร All the President's Men ไมไดเปนภาพยนตรที่บอกเลาถึงผลสำเร็จที่ลงเอยดวย คนทำผิดไดรับโทษและใหรางวัลผูทำถูกเทานั้น หนังเรื่องนี้เปนกรณีบรรทัดฐาน ยกระดับ มาตรฐานวิชาชีพสือ่ และพูดไดเต็มปากเต็มคำวาระบบตรวจสอบถวงดุลตามหลักการกฎหมาย อาจไมเพียงพอหรือครบกระบวนความ หากไมมีสื่อมวลชนที่คอยจับตาเฝาดู ตรวจสอบ เปนบทบาทที่ควบคู กระบวนการทำงานของฐานันดรที่สี่ ใน All the President's Men นั้นครบเครื่องและ ตอบโจทยขา งตน "วอชิงตันโพสต" ไมไดทำหนาทีเ่ พียง "ตัง้ ธงตี" ผมู อี ำนาจทีใ่ ชอำนาจโดยมิชอบ มาสรางประโยชนใหตวั เองเทานัน้ แตยงั ไดสรางกระแสและชีน้ ำใหสงั คมตระหนักถึงกระบวนการ ตรวจสอบผูมีอำนาจอยางกวางขวางและเขมขน ไมใชการทำงานเพียงตีหัวหมาดาแมเจก หรือทำขาวตอบโตสรางกระแสกันรายวัน คดี ว อเตอร เ กต แม จ ะล ว งเลยมากว า 34 ป แต ก็ เ ป น "มาตรวั ด " การทำงานให "ฐานันดรทีส่ "ี่ ทัง้ ยังเปนบทเรียนเตือนใจสำหรับผหู ลงในอำนาจ หมายเหตุ ตีพมิ พครัง้ แรกใน วารสารราชดำเนิน คอลัมน วาระปรารภ เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550
35
www.rsunews.net
รายไดกับคุณธรรมในสื่อมวลชน
www.rsunews.net
36
เราปฏิ เ สธไม ไ ด ว า ค า ตอบแทนเป น ป จ จั ย สำคั ญ ของการทำงานทุ ก สาขาอาชี พ เพราะนอกจากอุ ด มการณ แ ล ว เงิ น ก็ เ ป น ต น ทุ น หลั ก ในการดำรงชี วิ ต โดยเฉพาะใน ภาวะเศรษฐกิจทีซ่ บเซา สือ่ มวลชนเปนอีกอาชีพหนึง่ ทีม่ หี นาทีก่ ระจายขอมูลขาวสารเพือ่ มวลชน อาชี พ นี้ จำเป น ต อ งตระหนั ก ถึ ง เป า หมายของการทำงานมากกว า ค า ตอบแทนหรื อ ไม เพราะดู เ หมื อ นว า ป จ จั ย ที่ ก ล า วถึ ง ข า งต น จะเป น ตั ว แปรสำคั ญ เข า มาเปลี่ ย นเนื้ อ หา ที่สื่อมวลชนนำเสนอใหเปนไปตามกลไกของตลาดมากกวาประโยชนของสาธารณะตามที่ ร่ำเรียนกันมา ผศ.ดร. กฤษณ ทองเลิศ รองคณบดีฝา ยบริหาร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต
กลาววา ปญหาขอขัดแยงระหวางจริยธรรมกับผลตอบแทนในวิชาชีพสื่อมวลชนถือเรื่องที่ เขาใจยาก ยกตัวอยางเชน โฆษณาบางชิน้ มีทงั้ รูปโปและกึง่ เปลือยใหดาวนโหลด ซึง่ ลอแหลม ตอกลุมเด็กและเยาวชนมาก แมสื่อจะทราบดีวาเปนสิ่งที่ไมเหมาะสม แตโฆษณาก็เปนรายได หลักที่สื่อมวลชนใชเลี้ยงปากทอง และยุคนี้เปนยุคเสรีภาพการสื่อสาร ระบบการเซ็นเซอรหรือ การตรวจสอบตางๆ ถูกยกเลิกไปมาก แมที่ผานมาสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุ ข ภาพ (สสส.) จะมี ม าตรการเชิ ง รุ ก ในการสนั บ สนุ น การผลิ ต สื่ อ สร า งสรรค เน น เรื่ อ ง ความสัมพันธในครอบครัวและการไมใชความรุนแรง แตภาครัฐก็มีกำลังไมมากพอที่จะเขามา จั ด การเรื่ อ งดั ง กล า วได ทั่ ว ถึ ง เพราะฉะนั้ น พ อ แม ผู ป กครองที่ มี วุ ฒิ ภ าวะและดุ ล พิ นิ จ มากกวาเด็ก จึงจำเปนตองเขามามีบทบาทในการชวยเสพสือ่ เปนเพือ่ น เพือ่ จะทำใหเด็กสามารถ แยกแยะไดวาอะไรควรหรือไมควร หากพบเห็นสื่อที่ไมเหมาะไมควรโดยเฉพาะสื่อโฆษณา ที่ทำใหเสื่อมศีลธรรมและเสียทรัพย ผูปกครองควรแจงตอสำนักงานคณะกรรมการคุมครอง ผบู ริโภค (สคบ.) เพราะหากรัฐจะเขามาจัดการปญหานีไ้ ดนนั้ จะตองมาจากการรองเรียนของ ผูบริโภคเทานั้น "ในประเด็นของสื่อประเภทละคร ตองยอมรับวาเราอยูในวังวนและคุนเคยกับแนวละคร ตบจูบ แมผัวลูกสะใภ ปญหาชีวิตรัก ชีวิตครอบครัว ความรุนแรง เมื่อตอกย้ำทุกวันๆ คนดูจึง รูสึกวาเขาไมมีทางเลือก ชองไหนๆ ก็ออกมาคลายๆ กัน ฝายคนสรางก็บอกวาทำเรื่องแบบนี้
37
www.rsunews.net
เพราะมันขายได ผูรับสารชอบ ซึ่งเปนเรื่องที่โทษกันไปโทษกันมาระหวางผูสรางกับผูชม และการจั ด ระดั บ ความเหมาะสมของสื่ อ โทรทั ศ น (Rating) ตามที่ รั ฐ บาลกำหนดนั้ น ทำได เ พี ย งจั ด กลุ ม ผู ช ม ไม ส ามารถช ว ยแยกแยะได ว า อะไรควรหรื อ ไม ค วร หากถามว า จะแกปญหานี้อยางไร คำตอบคือ ทำอยางไรใหคนมีความรูเทาทันสื่อ รูจักเลือกสื่อใหเหมาะ กับตัวเอง จริงๆ แลวสื่อทุกประเภทมีทั้งบวกและลบ ขึ้นอยูกับวาเราเลือกบริโภคสื่ออยางไร มากกวา" รองคณบดีฝา ยบริหาร กลาว ผศ.ดร.กฤษณ กลาวทิง้ ทายวา บทบาทของมหาวิทยาลัยในการแกไขปญหานี้ ทำไดดว ย การปลูกฝงอุดมการณวิชาชีพใหสรางสรรคสิ่งที่ดีใหแกสังคม คนรุนใหมเมื่อเขาไปวงการสื่อ ระยะแรกอาจต อ งพบเจอคนที่ นึ ก ถึ ง กำไรทางธุ ร กิ จ มากกว า จริ ย ธรรมนั ก สื่ อ สารมวลชน แตในอนาคตเมื่อเขามีโอกาสเปนผูบริหาร อยางนอยที่สุดสิ่งที่มหาวิทยาลัยปลูกฝงนาจะชวย แกปญหาสังคมในระยะยาวใหดีขึ้น อาจารย ช าติ วั ฒ น ชาติ ก รกุ ล รองคณบดี ฝ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา วิ ท ยาลั ย นวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต กลาวถึงปญหาสือ่ ไทยทีน่ ำเสนอเนือ้ หารุนแรงและยัว่ ยุ ทางเพศวา ละครไทยในปจจุบันอยูในภาวะที่นาเปนหวงเนื่องจากปลอยเสรีมากเกินไป และ นักแสดงนำก็แสดงบทพระเอกนางเอกไดในระดับดีเกินคาด สวนตัวรายก็เลนบทรายแบบสุดโตง จนเกินความเปนจริง ซึง่ เปนตัวอยางทีค่ นดูนำมาใชในชีวติ ปกติไมได สิง่ ทีส่ ามารถแกปญ หาได คือ ภาครัฐตองหันมาทบทวนบทบาทสื่อมวลชนใหมากขึ้น ควรนัดเจรจาใหทุกฝายหันมา ผลิตสือ่ ทีส่ รางสรรคสงั คม โนมนาวใหคดิ ถึงจริยธรรมมากกวารายได เพราะสือ่ โทรทัศนสว นใหญ มักเลือกรายไดเปนทีต่ งั้ แลวกำหนดเนือ้ หาไปตามแบบทุนนิยมเพือ่ แสวงหารายไดสงู สุด ดังนัน้ รายไดกับคุณธรรมของสื่อจึงมักสวนทางกันอยูเสมอ "การแกปญหาดวยการใหความรูผูรับสารหรือผูชมทางบาน เปนการแกที่ปลายเหตุ ผชู มทีไ่ มมที างเลือกไดซมึ ซับความรุนแรงไปโดยปริยายแลว เพราะสือ่ มักจะยัดเยียดความรุนแรง ผานเนือ้ หาเพือ่ ดึงเรตติง้ ดังนัน้ รัฐควรมีกฎหมายบังคับสือ่ อยางจริงจังเพือ่ ประโยชนของสังคม ถึงแมจะถูกมองวาแทรกแซงสื่อบางก็ตองยอม และภาครัฐเองควรเปดชองทางสื่อสารใหม เพื่ อ ลดกระแสการรั บ ชมสื่ อ หลั ก ที่ มี ค วามรุ น แรงและลดป ญ หาการเลี ย นแบบพฤติ ก รรม ที่ไมดีผานสื่อ ผมตองการใหภาคสังคมชวยกันหาทางออกวาจะทำอยางไรใหคนไทยหันมา รับชมสื่อที่ดีและสรางสรรค" www.rsunews.net
38
รองคณบดีวิทยาลัยนวัตกรรม กลาวถึงมาตรการในการจัดเรตติ้งรายการโทรทัศนวา โดยสวนตัวแลวเชื่อวาการจัดเรตติ้งจะไมมีผลตอการเลือกชม เปนเพียงแคเตือนสติเทานั้น ซึ่งถาภาครัฐใชการบังคับนาจะไดผลกวา ทั้งนี้ ตนสังเกตวาละครหรือรายการที่มีความรุนแรง สวนใหญมักอยูในชวงไพรมไทม หรือชวงเวลาที่มีคนรับชมจำนวนมาก และโฆษณารายใหญ ก็จะทุมทุนสนับสนุนในชวงเวลานี้ ดังนั้น ภาครัฐควรออกมาตรการที่เขมขนมาคัดกรองเนื้อหา ของสื่อใหมากกวานี้ มยุริญ ผองผุดพันธ (กิ๊ก) นักแสดงชื่อดัง กลาววา เพราะสื่อมีทั้งแงบวกและลบ จึงปฏิเสธไมไดวาสื่อมวลชนมีผลตอการลอกเลียนแบบของคนในสังคม ดังนั้น ผูปกครอง ต อ งทำหน า ที่ คั ด กรองสื่ อ และดู แ ลลู ก หลานในปกครองให เ ลื อ กรั บ ชมในสิ่ ง ที่ เ หมาะสม โดยสวนตัวแลว ดวยความเปนนักแสดงจึงยากมากที่จะบอกวาจะไมรับละครที่มีความรุนแรง เลือกเลนหรือไมเลนละครฉากไหน แตเราสามารถพูดคุยกับผกู ำกับไดวา มีขอบเขตในฉากเลิฟซีน ฉากความรุนแรงมากนอยแคไหน นักแสดงคือผูรับผิดชอบในการแสดง แตโครงเรื่องและ การพิจารณานำเสนอทั้งหมดจะขึ้นอยูกับบริษัทผูจัดละครและทางสถานี นักแสดงชื่อดังกลาวถึงละครกับความรับผิดชอบตอสังคมวา เราควรมีการสื่อสารกัน แบบ 2 ทาง คือ ผบู ริหารสถานีโทรทัศนและผจู ดั ละครตองรวมมือกัน ดูแลวาสิง่ ทีอ่ อกผานสือ่ ไปจะมี ผ ลกระทบต อ ผู บ ริ โ ภคมากน อ ยแค ไ หน หากผู ช มรู สึ ก ว า สิ่ ง ไหนไม ดี ไม เ หมาะสม ตองโทรศัพทหรือเขียนจดหมายติดตอใหทางบริษทั ผจู ดั ฯ หรือทางสถานีแกไข เพือ่ ชวยปลูกฝง สิ่งดีๆ ใหกับสังคม การรับผิดชอบตอสังคมไมไดเปนหนาที่ของคนใดคนหนึ่ง คลายๆ กับเรา ไปโทษวาคนที่เดินขายกลวยแขกบนถนนผิด แตจริงๆ แลวตองจับคนซื้อดวย หากมัวแต อางกันไปอางกันมาประเทศชาติจะลำบาก "เราตองยอมรับความจริงวาทุกวันนี้เปนยุคของทุนนิยมที่เอาเงินมาตัดสิน สังคมอยูใน ยุคเสือ่ ม หนังสือกอซซิป นินทาชาวบานหรือดารา คือสือ่ ทีข่ ายดีทสี่ ดุ ในอดีตดาราทีถ่ อดเสือ้ ผา ถายชุดวายน้ำจะดังเปรีย้ งปราง แตปจ จุบนั นับนิว้ ไดวา ใครไมถา ย ทุกคนจึงแขงกันโชวเนือ้ หนัง เพือ่ ใหขายได จึงอยากฝากคนไทยวาอยามัวแตเปนเหยือ่ ของสือ่ แตเพียงอยางเดียว อยาใหเขา นำเสนออะไรก็ได ในฐานะทีเ่ ราเปนผบู ริโภคควรมีสทิ ธิท์ จี่ ะเลือก สือ่ ไหนทีเ่ รารสู กึ วาลวงละเมิด ไรจรรยาบรรณ ไรคณ ุ ธรรม อยาไปสนับสนุน เพราะแนนอนวาสือ่ จะอยไู มไดหากไมมผี บู ริโภค" นักแสดงสาวกลาว 39
www.rsunews.net
บริษัทพีอารรุกพื้นที่สื่อมวลชน โดย อนล นาครทรรพ
www.rsunews.net
40
หนึง่ ในสุดยอดวาทกรรมคลาสสิกในประวัตศิ าสตรสอื่ สารมวลชน คือ ขอความในโทรเลข ระหวางเจาพอหนังสือพิมพชาวอเมริกนั "วิลเลียม แรนดอลฟ เฮิรส ต" กับ "เฟดเดอริก เรมมิงตัน" ศิลปนผูวาดภาพประกอบขาวใหกับหนังสือพิมพเดอะนิวยอรกเจอรนัลของเฮิรสต ในขณะนั้น เรมมิงตันไดรบั มอบหมายใหไปผลิตภาพขาวการปฏิวตั กิ ารปกครองในประเทศคิวบา ซึง่ เปนทีม่ า ของขอพิพาทระหวางสเปน (ผปู กครองคิวบาในขณะนัน้ ) กับ สหรัฐอเมริกา ทีอ่ า งวาทำหนาที่ ดูแลผลประโยชนในภูมิภาคอเมริกาทั้งหมด โดยหนังสือพิมพดังกลาวไดสั่งใหเรมมิงตันประจำ อยูที่คิวบาจนกวาสงครามระหวางมหาอำนาจทั้งสองจะเกิดขึ้น โทรเลขโตตอบระหวางเฮิรส ตและเรมมิงตันทีไ่ ดกลายเปนตำนาน มีใจความดังนี้
41
www.rsunews.net
แนนอน เฮิรส ตออกมาปฏิเสธในภายหลังวาไมเคยมีการสงโทรเลขระหวางเขากับเรมมิงตัน ตามที่เปนขาว แมจะไมมีหลักฐานใดมายืนยันวาการสื่อสารดังกลาวเกิดขึ้นจริง แตก็เปน ที่ยอมรับกันทั่วไปวาบทบาทและการนำเสนอขาวประโคมอยางดุเดือดของนิวยอรกเจอรนัล และสือ่ อืน่ ๆ ในสหรัฐอเมริกามีสว นสำคัญในการจุดชนวนสงครามระหวางสหรัฐฯ กับสเปนเมือ่ ป ค.ศ. 1898 ในยุ ค ที่ อุ ต สาหกรรมสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ข ยายตั ว อย า งรวดเร็ ว การโฆษณาชวนเชื่ อ หรื อ propaganda ไดถกู นำมาใชอยางแพรหลาย โดยเฉพาะในภาวะสงคราม การรายงานขาวจะเต็ม ไปดวยถอยคำทีป่ ลุกเราความรสู กึ รักชาติ เพือ่ ใหสาธารณชนสนับสนุนรัฐบาลในการทำสงคราม จะเห็นไดวา ในบริบทของความขัดแยงดังกลาว วาทกรรมของเฮิรส ตไดกลายเปนตำนานทีส่ ะทอน ใหเห็นถึงอิทธิพลและศักยภาพของสื่อมวลชนในการโนมนาวหรือเปลี่ยนแปลงทัศนคติของ ประชาชน นับจากวันนัน้ จนถึงวันนี้ เปนเวลากวารอยปแลว มีความเปลีย่ นแปลงอยางมากในแวดวง สื่อมวลชน โดยเฉพาะการแทรกซึมของบริษัทประชาสัมพันธหรือที่เรียกกันวา "บริษัทพีอาร" เรียกไดวาแทบจะเขามาทำหนาที่แทนสื่อมวลชนหรือฐานันดรที่สี่ ในการสรางขาวหรือสราง ปรากฏการณทางสือ่ เพือ่ โนมนาวและเปลีย่ นแปลงทัศนะของประชาชน ไมวา จะเปนประเด็นทาง สังคม สิง่ แวดลอม หรือการขายสินคาทีใ่ หโทษตอสุขภาพ เชน บุหรี่ หรือการสรางภาพลักษณ ของตัวบุคคลและองคกร ไมเวนแมกระทัง่ เรือ่ งการนำประเทศเขาสภู าวะสงคราม ในอีกดานหนึง่ จะเห็นไดวานักล็อบบี้ยิสตสามารถใชบริษัทพีอารเปนเครื่องมือทางการเมืองไดอยางงายดาย หากมีเงินมากพอ เพราะบริษัทพีอารมีศักยภาพที่จะทำใหสื่อตางๆ นำขอมูลของตนไปเสนอ ตอสาธารณะไดอีกทอดหนึ่ง กรณีตัวอยางที่ดีที่สุด คือการใชบริษัทพีอารสรางความชอบธรรมใหกับสหรัฐอเมริกาใน การทำสงครามอาวเปอรเซีย หลังจากทีก่ องทัพอิรกั ของซัดดัม ฮุสเซน ไดบกุ ยึดประเทศเพือ่ นบาน คือ คูเวต เมือ่ ป พ.ศ. 2533 จากเหตุการณดงั กลาว รัฐบาลคูเวตไดกลายเปนลูกคาคนสำคัญ ของอุตสาหกรรมประชาสัมพันธ โดยไดวาจางบริษัท ฮิล แอนด โนลวตันและบริษัทพีอารอื่นๆ ในสหรัฐฯ อีกกวา 20 บริษทั เพือ่ โนมนาวใหชาวอเมริกนั เห็นดวยกับการทีร่ ฐั บาลสหรัฐฯ จะเขา ไปแทรกแซงและยุติการรุกรานของอิรักบนผืนแผนดินคูเวต โดยมีการจัดตั้งกลุมประชาชนเพื่อ อิสรภาพของคูเวต ซึ่งใชเงินกวา 12 ลานเหรียญสหรัฐในการรณรงคดังกลาว ถือไดวาเปน การใชเงินจากตางประเทศเพื่อโนมนาวความคิดเห็นของชาวอเมริกันมากที่สุดเทาที่เคยมีมา www.rsunews.net
42
ยุทธวิธีสำคัญที่สรางกระแสสนับสนุนสงครามไดอยางมีประสิทธิภาพที่สุดในครั้งนั้น คือคำใหการของ "นาริยา" เด็กหญิงวัย 15 ปชาวคูเวต พยาบาลอาสาของโรงพยาบาลแหงหนึง่ ในกรุงคูเวต ซิตี้ ที่รองไหในระหวางใหการตอคณะสิทธิมนุษยชนของรัฐสภาสหรัฐฯ ซึ่งมีการ ถายทอดทางโทรทัศน วาเธอเห็นทหารอิรักบุกเขาไปในโรงพยาบาลและฆาเด็กทารกแรกเกิด หลายรอยคน รวมทั้งไดดึงเด็กแรกเกิดออกจากตูอบไออุนและปลอยบรรดาเด็กทารกดังกลาว ใหตายอยูบนพื้นหองพยาบาล ไมมีเครื่องมืออะไรสามารถวัดไดแนชัดวาคำใหการของนาริยามีผลมากนอยเพียงใด ตอการทีร่ ฐั สภาสหรัฐฯ อนุมตั ใิ หรฐั บาลประกาศสงครามกับอิรกั แตประธานาธิบดีจอรจ บุชและ เหลาผูแทนของสภาฯ ไดนำคำใหการของเด็กสาวชาวคูเวตผูนี้ไปใชอางกับสื่อมวลชนและ ในการประชุมสภาฯ หลายรอบกอนจะมีการลงคะแนนเสียงผานการอนุมตั ดิ งั กลาว สิ่งที่ปรากฏชัดเจนภายหลังสงครามยุติลงก็คือ การเปดเผยขอมูลโดยผูสื่อขาวโทรทัศน รายหนึ่ ง ว า นอกจาก "นาริ ย า" จะเป น นางพยาบาลอาสาแล ว เธอยั ง เป น ถึ ง ลู ก สาวของ เอกอัครราชทูตคูเวตประจำสหรัฐอเมริกาในขณะนัน้ และคำใหการของเธอทัง้ หมดก็เปนเรือ่ งราว ที่สรางขึ้นมาโดยกลุมบริษัทพีอาร โดยมีการซักซอมและรังสรรคเปนละครตบตาอยางแยบยล จากวาทกรรมของเฮิรสต จนถึงการจัดฉากของกลุมบริษัทพีอารในสงครามอาวเปอรเซีย จะเห็นไดวา ขบวนการบริหารขอมูลไดแตกแขนงออกเปนฐานันดรยอย อีกทัง้ ยังมีบทบาทเขามา บดบังและชักจูงการนำเสนอขาวโดยสื่อมวลชน วิธีการใชบริษัทพีอารเพื่อชักจูงโนมนาว ความคิ ด เห็ น ยิ่ ง ใช ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในสื่ อ ระดั บ สากล จึ ง ไม เ ป น ที่ แ ปลกใจว า กลุมผลประโยชนไดหันมาใชบริการพีอารมากขึ้นในปจจุบัน
43
www.rsunews.net
คนทำหนังสือ บรรณาธิการ วีระยุทธ โชคชัยมาดล กองบรรณาธิการ อนล นาครทรรพ, มุฑติ า รัตนมุสทิ ธิ,์ อัฐพนธ แดงเลิศ, จิรภัทร จันทรอนิ ทร, ธนิต สนิทการ, ชวัลรัตน จตุเทน ศิลปกรรม มุฑติ า รัตนมุสทิ ธิ์ ที่ทำการ ศูนยขาวอารเอสยูนิวส ชัน้ 5 อาคารอาทิตย อุไรรัตน (อาคาร 1) มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 ถนนพหลโยธิน หลักหก ปทุมธานี 12000 โทรศัพท : 0-2791-5661-5 โทรสาร : 0-2791-5664
ศูนยขา วอารเอสยูนวิ ส มหาวิทยาลัยรังสิต ยินดีเผยแพรเนือ้ หาขาวและบทความ เพือ่ ประโยชนสาธารณะ ภายใตสญ ั ญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส
แสดงทีม่ า-ไมใชเพือ่ การคา-ไมดดั แปลง 3.0 ประเทศไทย www.rsunews.net
44
อีเมล rsunews@rsu.ac.th rsunews@hotmail.com
45
www.rsunews.net
www.rsunews.net
46