⌫ 2553
เขียนและเรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ร.ท.หญิงจุฑาภรณ์ นางสาวกมลา
ศรไพศาล แก้วมุงคุณ วัฒนพร
⌫
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
รายงานสถานการณ์สรุ าประจำปี 2553 ทีท่ า่ นถืออยูใ่ นมือนี้ เป็นรายงานสถานการณ์สรุ า ประจำปีฉบับที่ 5 ที่ศูนย์วิจัยปัญหาสุราจัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลที่น่าสนใจในด้านต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับปัญหาและการดำเนินการควบคุมปัญหาจากการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยย่อ ซึ่งครอบคลุมสถานการณ์ด้านอุปสงค์ สถานการณ์ด้านผลกระทบ สถานการณ์ด้านอุปทาน สถานการณ์ด้านมาตรการ และ สถานการณ์เด่นประจำปี ในบทที่ 1 สถานการณ์ดา้ นอุปสงค์ หมายถึงสถานการณ์การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ซึ่งในรายงานสถานการณ์สุราฉบับปี 2553 นี้ได้นำเสนอข้อมูล 4 เรื่อง ได้แก่ การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์กบั ความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์, สถานการณ์การเข้าถึงและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชนไทย, สถานการณ์การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของคนไทยจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชน ไทยโดยการตรวจร่างกาย พ.ศ.2551 และ บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ที่มีต่อผลการดื่ม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย ในบทที่ 2 สถานการณ์ด้านผลกระทบ หมายถึงสถานการณ์ของผลกระทบด้านต่างๆ ที่เกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในรายงานฉบับนี้ได้นำเสนอข้อมูล 6 เรื่อง ได้แก่ แนวโน้มคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากการดืม่ สุรา จำนวนผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจร ทางบก, สถานการณ์ของพฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทผ่ี ดิ ปกติจากการสำรวจระบาด วิทยาสุขภาพจิตระดับชาติ พ.ศ.2551, สถานการณ์ผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากการศึกษาคุณภาพชีวติ และสุขภาพของประชาชนเพือ่ ประมาณการจำนวนผูเ้ กีย่ วข้องกับสารเสพติด และผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2550, พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของ ผู้กระทำความผิดคดีเมาแล้วขับ, ข้อเท็จจริงของข้อมูลผลกระทบด้านบวกของการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์สำหรับคนไทย และข้อมูลแนวโน้มการเกิดอุบตั เิ หตุชว่ งเทศกาล ในบทที่ 3 สถานการณ์ด้านอุปทาน หมายถึงสถานการณ์การดำเนินกิจกรรมการตลาด ของผูผ้ ลิตและจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ในรายงานฉบับนีจ้ ะครอบคลุมข้อมูล 3 เรือ่ ง ได้แก่ แนวโน้มการผลิตและนำเข้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัวประชากรของประเทศไทย, สถานการณ์ กิจกรรมการตลาดของธุรกิจสุราและการเคลือ่ นไหวของผูป้ ระกอบการในช่วงเดือนตุลาคม 2553 และข้อมูลแนวโน้มการผลิต, การจำหน่าย และ ภาษีสรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ในบทที่ 4 สถานการณ์ดา้ นมาตรการ หมายถึงสถานการณ์การดำเนินมาตรการต่างๆ เพือ่ การควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
ในรายงานฉบับนีจ้ ะกล่าวถึงข้อมูล 6 เรือ่ ง ได้แก่ การออกกฎกระทรวง เรือ่ ง การกำหนดหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขการแสดงภาพสัญลักษณ์เพือ่ ประกอบการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2553, การออกระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วยหลักเกณฑ์ การเปรียบเทียบ (พ.ศ.2553) ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551, การผลักดันร่างมาตรการเพิม่ เติมต่างๆในรอบ 1 ปีทผ่ี า่ นมา, การติดตามและประเมินผลพระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ครบรอบ 2 ปี, สรุปผลการดำเนินงานการเฝ้าระวังและบังคับใช้ กฎหมายฯตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551, ก้าวต่อไปยุทธศาสตร์ แอลกอฮอล์ระดับชาติ, สถานการณ์มาตรการบำบัดรักษา และข้อมูลอัตราภาษีสรรพสามิต เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย ในบทสุดท้าย คือ สถานการณ์เด่นประจำปี (บทที่ 5) หัวข้อทีถ่ กู เลือกให้เป็นสถานการณ์เด่น ประจำปี 2553 นี้ คือ “สุราในโลกเสรี” (Alcohol Problems in the Globalized World) ซึง่ จะ ครอบคลุมข้อมูล 2 เรือ่ ง คือ แผนยุทธศาสตร์โลกเพือ่ ลดการบริโภคแอลกอฮอล์ขององค์การอนามัยโลก และ สถานการณ์การค้าเสรีเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประเทศไทยกับคูค่ า้ ประเทศต่างๆ สภาอนามัยโลก (World Health Assembly) ได้ลงมติรบั รองแผนยุทธศาสตร์โลกเพือ่ ลด การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในเดือนพฤษภาคม 2553 ทีผ่ า่ นมา นับเป็นจังหวะก้าวทีส่ ำคัญ อีกหนึง่ ก้าวของประวัตศิ าสตร์โลกด้านสาธารณสุข ทีน่ านาประเทศทัว่ โลกตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาที่เกิดจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และแสดงความมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหา ผ่านการลงมติรับรองแผนยุทธศาสตร์โลกฯดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับจังหวะก้าวของประเทศไทย เช่นกันที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ออกกฎหมายพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ไปก่อนแล้ว 2 ปี เหตุการณ์เชิงประวัติศาสตร์เหล่านี้ได้ร่วมกันตอกย้ำความสำคัญ ของปัญหาและเป็นฐานรองรับที่สำคัญสำหรับการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายที่ร่วมกันทำงาน เพื่อควบคุมปัญหาสุราของประเทศไทยเรา รายงานสถานการณ์สุราประจำปี 2553 ขอทำหน้าที่ เป็นส่วนหนึง่ ในด้านวิชาการโดยทำการรวบรวมข้อมูลทีส่ ำคัญในแต่ละปีมารายงานไว้เพือ่ สนับสนุน การทำงานของทุกภาคส่วนอีกแรงหนึ่งครับ
ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา พฤศจิกายน 2553
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
หน้า บทที่ 1 สถานการณ์ดา้ นอุปสงค์ - ความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์กบั ความเสีย่ ง จากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - สถานการณ์การเข้าถึงและการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในกลุม่ เยาวชนไทย - สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยจากรายงาน การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย พ.ศ.2551-2552 - บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ของเยาวชนไทย
บทที่ 2 สถานการณ์ด้านผลกระทบ - แนวโน้มคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากการดืม่ สุรา จำนวนผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบัติเหตุจราจรทางบก - สถานการณ์ของพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผิดปกติ จากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับชาติ พ.ศ.2551 - สถานการณ์ผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากการศึกษา คุณภาพชีวติ และสุขภาพของประชาชนเพือ่ ประมาณการจำนวนผูเ้ กีย่ วข้อง กับสารเสพติดและผูด้ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2550 - พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำความผิด คดีเมาแล้วขับ - ข้อเท็จจริงของข้อมูลผลกระทบด้านบวกของการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ สำหรับคนไทย - ข้อมูลแนวโน้มการเกิดอุบัติเหตุช่วงเทศกาล
บทที่ 3 สถานการณ์ด้านอุปทาน - แนวโน้มการผลิตและนำเข้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัวประชากรของ ประเทศไทย
9 9 17 27 30
33 33 35 37
38 41 42 49 49
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
หน้า - สถานการณ์กิจกรรมการตลาดของธุรกิจสุราและการเคลื่อนไหวของ ผูป้ ระกอบการในช่วงเดือนตุลาคม 2553 - ข้อมูลแนวโน้มการผลิต, การจำหน่าย และภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์
บทที่ 4 สถานการณ์ด้านมาตรการ - การออกกฎกระทรวง เรือ่ ง การกำหนดหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการแสดง ภาพสัญลักษณ์เพื่อประกอบการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.2553 - การออกระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วย หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบ (พ.ศ.2553) ตามพระราชบัญญัตคิ วบคุม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 - การผลักดันร่างมาตรการเพิม่ เติมต่างๆ ในรอบ 1 ปีทผ่ี า่ นมา - การติดตามและประเมินผลพระราชบัญญัตคิ วบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ครบรอบ 2 ปี - สรุปผลการดำเนินงานการเฝ้าระวังและบังคับใช้กฎหมายฯ ตามพระราชบัญญัติ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 - ก้าวต่อไปยุทธศาสตร์แอลกฮอล์ระดับชาติ - สถานการณ์ด้านมาตรการบำบัดรักษา - ข้อมูลอัตราภาษีสรรพสามิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย
บทที่ 5 สถานการณ์เด่น: สุราในโลกเสรี - แผนยุทธศาสตร์โลกเพือ่ ลดการบริโภคแอลกอฮอล์ขององค์การอนามัยโลก - สถานการณ์การค้าเสรีเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประเทศไทยกับคูค่ า้ ประเทศต่างๆ
54 55
59
61
61 63 77 80 80 81 85 85 89
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
หน้า ภาคผนวก
99
ภาคผนวกที่ 1 รายละเอียดแนวทางการเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจ แอลกอฮอล์ ภาคผนวกที่ 2 กฎกระทรวง เรือ่ ง การกำหนดหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการแสดงภาพ สัญลักษณ์เพื่อประกอบการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ.ศ.2553 ภาคผนวกที่ 3 ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วยหลัก เกณฑ์การเปรียบเทียบ (พ.ศ. 2553) ตามพระราชบัญญัติควบคุม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ภาคผนวกที่ 4 (ร่าง) ประกาศคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไข เกีย่ วกับบรรจุภณ ั ฑ์ ฉลาก พร้อททัง้ ข้อความ คำเตือนสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตหรือนำเข้า พ.ศ.... ภาคผนวกที่ 5 ก้าวต่อไปยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ระดับชาติ ภาคผนวกที่ 6 จดหมายจากกระทรวงการคลังถึงกระทรวงพาณิชย์ขอหารือท่าที ของประเทศไทยต่อการค้าเสรีสุราและยาสูบ
101
บรรณานุกรม
133
106
110
124
128 131
บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่
1 2 3 4 5
สถานการณ์ดา้ นอุปสงค์ สถานการณ์ดา้ นผลกระทบ สถานการณ์ดา้ นอุปทาน สถานการณ์ด้านมาตรการ สถานการณ์เด่น : สุราในโลกเสรี
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
บทที่ 1 สถานการณ์ดา้ นอุปสงค์ ของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ (Demand Situations) 1. ในรายงานสถานการณ์สรุ า ปี 2553 นีจ้ ะนำเสนอข้อมูลด้านอุปสงค์ของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ท่ี สำคัญๆ ดังนีค้ อื - ความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์กบั ความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ - สถานการณ์การเข้าถึงและการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชนไทย - สถานการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย พ.ศ.2551 - 2552 - บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย z
ความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์กบั ความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
2. ความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ เช่น ดืม่ ทุกวัน ดืม่ ทุกสัปดาห์ หรือ ดืม่ นานๆ ครัง้ เป็นต้น เป็นสิง่ ทีค่ นุ้ เคย และเข้าใจง่ายสำหรับบุคคลทัว่ ไป ขณะทีค่ วามเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เป็นตัวบ่งชีค้ วามอันตรายจาก การดื่มที่ชัดเจนยิ่งขึ้น แต่ไม่เป็นที่คุ้นเคยสำหรับบุคคลทั่วไป เพราะมีขั้นตอนในการวิเคราะห์แปลผลหลายชั้น ดังนัน้ หากเกิดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีชว้ี ดั พฤติกรรมการดืม่ ทัง้ สองตัวนีจ้ ะทำให้ สามารถใช้ประโยชน์ได้มากยิง่ ขึน้ โดยจะนำเสนอประเด็นต่างๆตามลำดับดังนี้ ความหมายของความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ความหมายของความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทีม่ าของข้อมูลทีน่ ำมาใช้วเิ คราะห์ และผลการวิเคราะห์
ความหมายของความถี่ของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3. ความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ หมายถึง จำนวนครัง้ ของการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในระยะเวลาหนึง่ ๆ เช่น ชุดความถีข่ องการดืม่ ฯใน 12 เดือนทีม่ กั ใช้สอบถามผูบ้ ริโภค ได้แก่ ดืม่ ทุกวัน, ดืม่ เกือบทุกวัน (หรือดืม่ วันเว้น วัน หรือ ดืม่ 5 - 6 วัน และ ดืม่ 3 - 4 วันต่อสัปดาห์ หรือ ดืม่ 3 - 6 วันต่อสัปดาห์), ดืม่ 1 - 2 วันต่อสัปดาห์ (หมายถึงดืม่ เป็นประจำทุกสัปดาห์), ดืม่ 1 - 3 วันต่อเดือน (หมายถึงดืม่ เป็นประจำทุกเดือน แต่ไม่ทกุ สัปดาห์), 9
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ดื่ม 3 - 11 วันต่อปี (หมายถึงดื่มหลายครั้งในหนึ่งปี แต่ไม่ได้เป็นประจำทุกเดือน), และ ดื่ม 1 - 2 วันต่อปี (ดืม่ น้อยครัง้ มากในหนึง่ ปี) (1); ชุดความถีข่ องการดืม่ ฯ ใน 30 วัน ได้แก่ ดืม่ 1 - 2 ครัง้ , ดืม่ 3 - 5 ครัง้ , ดืม่ 6 - 9 ครั้ง, ดื่ม 10 - 19 ครั้ง, และ ดื่มมากกว่า 20 ครั้งขึ้นไป (2); หรืออาจเป็นการสอบถามความถี่ของ การดืม่ ฯ แบบคำถามปลายเปิดให้ผตู้ อบตอบแบบอิสระแล้วนักวิจยั นำมาคำนวนหาค่าเฉลีย่ หรือจัดหมวดหมูข่ อง ความถี่เองภายหลัง 4. คำถามเกี่ยวกับความถี่เหล่านี้มักถูกถามตามหลังคำถามเกี่ยวกับประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประสบการณ์การดื่มฯ ครั้งสุดท้าย ซึ่งชุดคำถามที่มักนิยมสอบถามเกี่ยวกับประสบการณ์ การดืม่ ฯ ครัง้ สุดท้ายของผูบ้ ริโภคได้แก่ เคยดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์หรือไม่ในชีวติ , ดืม่ ฯ ครัง้ สุดท้ายภายใน 12 เดือน (หรือ 1 ปี), ดื่มฯ ครั้งสุดท้ายภายใน 30 วัน (หรือ 1 เดือน), ดื่มฯ ครั้งสุดท้ายภายใน 7 วัน (หรือ 1 สัปดาห์) เป็นต้น (3, 4)
ความหมายของความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 5. ความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ หมายถึงการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในระดับทีม่ คี วามเป็นไปได้สงู ในก่อให้เกิดปัญหาจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ซึง่ มักแบ่งออกเป็น ความเสีย่ งต่อการเกิดปัญหาแบบเฉียบพลัน (High Risk Drinking for Acute Problems) และความเสีย่ งต่อการเกิดปัญหาแบบเรือ้ รัง (High Risk Drinking for Chronic Harms)(5) ซึง่ มีวธิ กี ารวัดประเมินระดับความเสีย่ งหลายวิธี 6. สำหรับการวัดความเสีย่ งแบบเฉียบพลันนัน้ องค์การอนามัยโลก(5) ระบุถงึ เกณฑ์วดั ทีน่ ยิ มใช้สองวิธี ได้แก่ (1) การวัดจำนวนหรือสัดส่วนของผูด้ ม่ื หรือของประชากรโดยรวมทีม่ กี ารดืม่ ในลักษณะทีเ่ สีย่ ง เช่น ดืม่ เกินห้าดืม่ มาตรฐาน (Standard drink) ในหนึง่ ครัง้ ทีด่ ม่ื อย่างน้อยหนึง่ ครัง้ ในหนึ่งเดือนที่ผ่านมา หรือ ดื่มอย่างน้อยหกดืม่ มาตรฐานในหนึง่ ครัง้ ทีด่ ม่ื อย่างน้อยสัปดาห์ละหนึง่ ครัง้ ในรอบหนึง่ ปีทผ่ี า่ นมา เป็นต้น และ (2) การเทียบระดับความเสีย่ งจากปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ โดยวิธนี จ้ี ะต้องสอบถามเพือ่ คำนวน วัดปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เฉลีย่ ต่อวันทีด่ ม่ื (เฉลีย่ เฉพาะวันทีด่ ม่ื เท่านัน้ ) ก่อน แล้วนำมาเทียบ ระดับกับมาตรฐานความเสีย่ งแบบเฉียบพลันทีอ่ งค์การอนามัยโลกแนะนำไว้(5) ดังตารางที่ 1 นี้ ตารางที่ 1 ปริมาณแอลกอฮอล์ทบ่ี ริโภคต่อวันทีด่ ม่ื กับระดับความเสีย่ งแบบเฉียบพลัน จำแนกตามเพศ ระดับความเสีย่ งแบบเฉียบพลัน -ความเสีย่ งในระดับเริม่ ต้น (Low Risk) -ความเสีย่ งระดับปานกลาง (Medium Risk) -ความเสีย่ งระดับสูง (High Risk) -ความเสีย่ งระดับสูงมาก (Very High Risk)
เพศชาย 1 - 40 กรัมต่อวันดืม่ 41 - 60 กรัมต่อวันดืม่ 61 - 100 กรัมต่อวันดืม่ > 101 กรัมต่อวันดืม่
ทีม่ า: International Guide for Monitoring Alcohol Consumption and Related Harm
10
เพศหญิง 1 - 20 กรัมต่อวันดืม่ 21 - 40 กรัมต่อวันดืม่ 41 - 60 กรัมต่อวันดืม่ > 61 กรัมต่อวันดืม่
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
7. สำหรับการวัดความเสีย่ งแบบเรือ้ รังนัน้ องค์การอนามัยโลก(5) ระบุถงึ เกณฑ์วดั ทีน่ ยิ มใช้ คือ การเทียบระดับ ความเสีย่ งจากปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ โดยวิธนี จ้ี ะต้องสอบถามเพือ่ คำนวนวัดปริมาณการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉลี่ยต่อวันในหนึ่งปี (เฉลี่ย 365 วัน) ก่อน แล้วนำมาเทียบระดับกับมาตรฐานความเสีย่ ง แบบเรือ้ รังทีอ่ งค์การอนามัยโลกแนะนำไว้(5) ดังตารางที่ 2 นี้ ตารางที่ 2 ปริมาณแอลกอฮอล์ทบ่ี ริโภคต่อวันกับระดับความเสีย่ งแบบเรือ้ รัง จำแนกตามเพศ ระดับความเสีย่ งแบบเรือ้ รัง -ความเสีย่ งในระดับเริม่ ต้น (Low Risk) -ความเสีย่ งระดับปานกลาง (Medium Risk) -ความเสีย่ งระดับสูง (High Risk)
เพศชาย 1 - 40 กรัมต่อวัน 41 - 60 กรัมต่อวัน > 61 กรัมต่อวัน
เพศหญิง 1 - 20 กรัมต่อวัน 21 - 40 กรัมต่อวัน > 41 กรัมต่อวัน
ทีม่ า: International Guide for Monitoring Alcohol Consumption and Related Harm
- หมายเหตุ - ระดับปริมาณแอลกอฮอล์ที่ระบุไว้ในสองตารางข้างต้นดูเหมือนจะเป็นตัวเลขเดียวกัน แต่มีความแตกต่างสองประการ คือ หนึ่ง ตัวเลขความเสี่ยงแบบเฉียบพลันมีหน่วยเป็นกรัมต่อวันดื่ม (เฉลี่ยเฉพาะวันที่ดื่ม) ส่วนตัวเลขความเสี่ยงแบบเรื้อรังมีหน่วยเป็นกรัมต่อวัน (เฉลี่ย 365 วัน) และ สอง ความเสี่ยงแบบเรื้อรังจะไม่มีความเสี่ยงระดับสูงมาก (Very High Risk) เนื่องจากเมื่อนำจำนวน ปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตลอดทัง้ ปีมาหารเฉลีย่ 365 วัน มักจะได้ตวั เลขทีน่ อ้ ยกว่านำมา หารเฉลีย่ เฉพาะวันทีด่ ม่ื จึงมีโอกาสน้อยทีจ่ ะสูงในระดับความเสีย่ งสูงมาก จึงไม่มคี วามจำเป็นทีต่ อ้ งแยก อีกหนึ่งหมวดระดับความเสี่ยง 8. ทั้งสองดัชนีมีข้อดีข้อเสียต่างกัน ดัชนีและเกณฑ์การวัดระดับความเสี่ยงของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทีอ่ งค์การอนามัยโลกแนะนำมีขอ้ ดีคอื เป็นวิธกี ารวัดประเมินความเสีย่ งของการบริโภคฯ โดยตรง แต่มขี อ้ ยุง่ ยาก คือจะต้องสอบถามปริมาณการบริโภคโดยละเอียดก่อน เช่น ดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ประเภทใด ดืม่ ปริมาณเท่าใด ต่อวันทีด่ ม่ื ดืม่ ถีบ่ อ่ ยเพียงใด แล้วจึงนำมาคำนวนเป็นปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิท์ ด่ี ม่ื ในหนึง่ ปี แล้วจึงนำมาหาร เฉลีย่ ต่อวันในหนึง่ ปีหรือต่อวันทีด่ ม่ื แล้วแต่วตั ถุประสงค์ของดัชนีชว้ี ดั ทีจ่ ะใช้ ส่วนการวัดความถีข่ องการดืม่ ฯ นัน้ ดูเหมือนจะเป็นวิธีการวัดประเมินที่สะดวกกว่ามาก เพียงสอบถามคำถามเดียวว่าดื่มถี่บ่อยเพียงใด แต่กระนั้น ข้อจำกัดของวิธีนี้คือความถี่บ่อยไม่ได้บอกปริมาณการบริโภคโดยตรง เนื่องจากการดื่มแบบถี่บ่อยมากๆ เช่น ดืม่ ทุกวันสำหรับบางคนอาจดืม่ เพียงเล็กน้อยกับมือ้ อาหาร ซึง่ อาจเข้าข่ายระดับความเสีย่ งเพียงในระยะเริม่ ต้นก็ได้ หรือ การดื่มนานๆ ครั้ง แต่ดื่มในปริมาณที่มากถึงขนาดเมาหัวราน้ำ (Binge drinking) ก็อาจเข้าข่ายระดับ ความเสี่ยงแบบเฉียบพลันในระดับที่สูงหรือสูงมากได้ 9. อย่างไรก็ตามโดยสามัญสำนึกเราย่อมรูส้ กึ ได้วา่ ดืม่ นานๆครัง้ ย่อมดีกว่าดืม่ เป็นประจำ ดืม่ ถีน่ อ้ ย เช่น ดืม่ ประจำ ทุกเดือนแต่ไม่ถงึ ทุกสัปดาห์ ย่อมดีกว่าดืม่ ถีม่ าก เช่น ดืม่ ทุกสัปดาห์ หรือ ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน ไม่วา่ จะเป็น การเสียเวลา ค่าใช้จ่าย หรือที่แน่นอนคือโอกาสที่จะได้รับแอลกอฮอล์เข้าไปในร่างกายย่อมมากกว่าสำหรับผู้ที่ 11
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ดืม่ ประจำหรือดืม่ ถีก่ ว่า บทวิเคราะห์ตอ่ ไปนีม้ งุ่ หวังทีจ่ ะหาความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ กับความเสีย่ ง จากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในบริบทของคนไทย เพือ่ ทีจ่ ะสามารถเข้าใจและใช้ประโยชน์จากข้อมูลความถีข่ อง การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทีม่ าของข้อมูลทีน่ ำมาใช้วเิ คราะห์ 10. ข้อมูลทีน่ ำมาวิเคราะห์นน้ี ำมาจากรายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณี การใช้นโยบายด้านภาษีและราคา ดำเนินการวิจยั โดย ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์(5) ซึง่ ใช้ขอ้ มูลปริมาณการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-47 มาใช้จดั กลุม่ ความเสีย่ งของการบริโภคโดยใช้ดชั นีสำคัญในการจัดกลุม่ ด้วยกันสามดัชนี คือ - หนึง่ พฤติกรรมการดืม่ ประจำ (Regular) หรือดืม่ นานๆครัง้ (Occasional) โดยใช้เกณฑ์การดืม่ มากกว่า หรือเท่ากับหนึ่งครั้งต่อสัปดาห์ขึ้นไปถือเป็นการดื่มประจำ - สอง ปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์สะสมทีม่ ากเกินไป (Excessive) ซึง่ ถือได้วา่ เป็นการประเมิน ความเสีย่ งแบบเรือ้ รังของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ โดยใช้เกณฑ์ทถ่ี อื ว่าเป็นการดืม่ ปริมาณสะสม ทีม่ ากเกินไป คือ ปริมาณการดืม่ ทีม่ ากกว่า 14 หน่วยดืม่ มาตรฐานขึน้ ไปในหนึง่ สัปดาห์สำหรับผูช้ าย และ มากกว่า 7 หน่วยดืม่ มาตรฐานขึน้ ไปต่อสัปดาห์สำหรับผูห้ ญิง (หมายเหตุ - คิดที่ 10 กรัมแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ (Ethanol) เป็นหนึง่ หน่วยดืม่ มาตรฐาน) และ - สาม ปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อครั้งที่เมาเกินไป หรือ ที่เรียกว่าเมาหัวราน้ำ (Binge) ซึง่ ถือได้วา่ เป็นการประเมินความเสีย่ งแบบเฉียบพลันของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ โดยใช้เกณฑ์ ทีถ่ อื เป็นการดืม่ ต่อครัง้ ทีเ่ มาเกินไป หรือ ดืม่ แบบเมาหัวราน้ำ (Binge) คือ ปริมาณการดืม่ ตัง้ แต่ 5 หน่วย ดืม่ มาตรฐานต่อวันดืม่ ขึน้ ไปสำหรับผูช้ าย และ ตัง้ แต่ 4 หน่วยดืม่ มาตรฐานต่อวันดืม่ ขึน้ ไปสำหรับผูห้ ญิง โดยแบ่งกลุม่ ความเสีย่ งออกเป็น 6 กลุม่ ได้แก่ (1) ดืม่ ประจำ มาก และเมา (Regular Excessive with Binge Drinker) (2) ดืม่ ประจำ มาก แต่ไม่เมา (Regular Excessive without Binge Drinker) (3) ดืม่ ประจำ ไม่มาก แต่เมา (Regular Non-Excessive with Binge Drinker) (4) ดืม่ ประจำ ไม่มาก และไม่เมา (Regular Non-Excessive without Binge Drinker หรือ Regular Moderate Drinker) (5) ดืม่ นานๆ ครัง้ แต่เมา (Occasional Binge Drinker) และ (6) ดืม่ นานๆ ครัง้ และไม่เมา (Occasional Non-Binge Drinker) 11. ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ ได้คดั กรองศึกษาวิเคราะห์เฉพาะกลุม่ ตัวอย่างผูท้ ด่ี ม่ื ใน 12 เดือน ทีร่ ะบุประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ที่บริโภคอย่างน้อยหนึ่งประเภท (เช่น ระบุว่าดื่มเบียร์ เหล้าขาว เป็นต้น) และมีข้อมูลที่ครบถ้วน เพียงพอสำหรับการคำนวนหาปริมาณการบริโภคได้ ซึ่งรวมได้จำนวน 15,311 คน (จากข้อมูลสำรวจทั้งสิ้น
12
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
39,290 คน) รายงานสถานการณ์สรุ าปี 2553 ฉบับนีน้ ำตารางข้อมูลพืน้ ฐานของ ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ ตามตาราง ที่ 3 ข้างล่างนีม้ าใช้ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างความถีข่ องการดืม่ กับความเสีย่ งจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ตารางที่ 3 สัดส่วนของผู้บริโภคแบบเสี่ยง เมื่อจัดกลุ่มด้วยความถี่ของการบริโภค การบริโภคแบบเสี่ยงที่ ดืม่ เกินข้อจำกัดในการบริโภคต่อวัน (Binge Drinking) และต่อสัปดาห์ (Excessive Drinking) ร่วมกัน ความถี่ของการบริโภค
ผู้ที่ดื่มทุกสัปดาห์หรือทุกวัน ผู้ที่ดื่มน้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง (Regular Drinker) หรือดื่มนานๆครั้ง จำนวน (ร้อยละ) (Occasional Drinker) ดื่มมาก ดื่มไม่มาก จำนวน (ร้อยละ) (Excessive) (Non-Excessive) เมา ไม่เมา เมา ไม่เมา เมา ไม่เมา (Binge) (Non-Binge) (Binge) (Non-Binge) (Binge) (Non-Binge) ดื่มทุกวัน 1,526 554 143 911 885 333 80 864 ดืม่ ทุกสัปดาห์ๆ ละ 3 - 6 วัน ดืม่ ทุกสัปดาห์ๆ ละ 1 - 2 วัน 524 47 458 1,629 ดืม่ ทุกเดือนๆ ละ 1 - 3 วัน 761 2,187 ดืม่ นานๆ ครัง้ 3 - 11 วันต่อปี 555 2,224 ดืม่ นานๆ ครัง้ 1 - 2 วันต่อปี 183 1,447 รวม 2,935 934 681 3,404 1,499 5,858
รวม
3,134 2,162 2,658 2,948 2,779 1,630 15,311
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา
ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และความเสี่ยงจากการดื่ม เครือ่ งดืม่ แอลกฮอล์ 12. จากตารางข้อมูลข้างต้น ผู้จัดทำรายงานฉบับนี้วิเคราะห์พบว่ากลุ่มผู้ที่ดื่มทุกวัน และ ดื่มทุกสัปดาห์ โดยดื่ม สัปดาห์ละ 3 - 6 วันต่อสัปดาห์นน้ั มีพฤติกรรมการดืม่ แบบเสีย่ งทีค่ ล้ายกัน คือมีสดั ส่วนของการดืม่ สูงสุดในกลุม่ ดืม่ แบบประจำ มาก และเมา (Regular Excessive with Binge) จึงรวมสองกลุ่มนี้เข้าเป็นกลุ่มดื่มประจำทุกวัน หรือเกือบทุกวัน นอกจากนัน้ กลุม่ ดืม่ นานๆ ครัง้ ทัง้ สองกลุม่ คือ กลุม่ ทีด่ ม่ื 3 - 11 วันต่อปี และ กลุม่ ทีด่ ม่ื 1 - 2 วัน ต่อปี ก็มพี ฤติกรรมการดืม่ แบบเสีย่ งทีค่ ล้ายกัน คือ มีสดั ส่วนของการดืม่ สูงสุดอยูใ่ นกลุม่ ดืม่ นานๆ ครัง้ และไม่เมา (Occasional Non-Binge) จึงรวมสองกลุ่มนี้เข้าด้วยกันเป็นกลุ่มดื่มนานๆ ครั้งหรือดื่มประจำปี โดยสรุป คือ ข้อมูลถูกจัดกลุม่ ใหม่เป็นสีก่ ลุม่ ดังนี้ (1) กลุม่ ดืม่ ทุกวันหรือเกือบทุกวัน (2) กลุม่ ดืม่ ทุกสัปดาห์ (1 - 2 วันต่อสัปดาห์) (3) กลุม่ ดืม่ ทุกเดือน (แต่ไม่ทกุ สัปดาห์ หรือ ดืม่ 1 - 3 วันต่อเดือน) และ (4) กลุม่ ดืม่ นานๆ ครัง้ (หรือ ดืม่ ทุกปี หรือ ดืม่ 1 - 11 วันในหนึง่ ปี) โดยมีขอ้ มูลจำนวนและร้อยละดังตารางที่ 4 ต่อไปนี้ 13
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ตารางที่ 4 จำนวนและร้อยละของพฤติกรรมการดื่มแบบเสี่ยงประเภทต่างๆ จำแนกตามความถี่ของการดื่ม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ความถี่ของการบริโภค
ผู้ที่ดื่มทุกสัปดาห์หรือทุกวัน ผู้ที่ดื่มน้อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง (Regular Drinker) หรือดื่มนานๆ ครั้ง จำนวน (ร้อยละ) (Occasional Drinker) ดื่มมาก ดื่มไม่มาก จำนวน (ร้อยละ) (Excessive) (Non-Excessive) เมา ไม่เมา เมา ไม่เมา เมา ไม่เมา (Binge) (Non-Binge)(Binge) (Non-Binge) (Binge) (Non-Binge) [1] [2] [3] [4] [5] [6] 1.ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 2,411 887 223 1,775 (45.5) (16.7) (4.2) (33.5) 2.ดื่มทุกสัปดาห์ 524 47 458 1,629 (19.7) (1.8) (17.2) (61.3) 3.ดื่มทุกเดือน 761 2,187 (25.8) (74.2) 4.ดื่มนานๆครั้ง 738 3,671 (16.7) (83.3) รวม 2,935 934 681 3,404 1,499 5,858 (19.2) (6.1) (4.4) (22.2) (9.8) (38.3)
รวม
คิด ร้อยละ แนวตั้ง
5,296 (34.6) (100.0) 2,658 (17.4) (100.0) 2,948 (19.3) (100.0) 4,409 (28.8) (100.0) 15,311 (100.0) (100.0)
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ศรไพศาล
จากตารางที่ 4 แปลผลพฤติกรรมการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประชากรกลุม่ ตัวอย่าง 15,311 คน ทีศ่ กึ ษาได้ดงั นี้ 13. กลุ่มตัวอย่างผู้ที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในรอบ 12 เดือน มีพฤติกรรมการดื่มจำแนกตามความถี่สูงที่สุดคือ ดืม่ ทุกวันหรือเกือบทุกวันร้อยละ 34.5 รองลงมาคือดืม่ นานๆครัง้ ส่วนดืม่ ทุกเดือน, และดืม่ ทุกสัปดาห์เป็นลำดับ ที่สามและสี่ (หมายเหตุ - แม้จะดูเหมือนว่าในหมู่คนไทยที่ดื่มใน 12 เดือน จะเป็นผู้ที่ดื่มถี่ คือ ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน มากที่สุดก็ตาม แต่เมื่อรวมตัวเลขทั้งหมดแล้ว สัดส่วนของคนไทยทีเ่ ป็นผูไ้ ม่ดม่ื ยังคงมากกว่าสัดส่วนของผูด้ ม่ื เช่น ข้อมูลจากโครงการสำรวจครัวเรือนระดับชาติเพื่อประมาณการจำนวนผู้เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2550 พบว่า คนไทยเป็นผู้ไม่เคยดื่มเลยในชีวิตและเคยดื่มแต่ไม่ได้ดื่มใน 12 เดือน คิดเป็นร้อยละ 51.6 ดื่มนานๆ ครั้งร้อยละ 9.5 ดื่มทุกเดือน (แต่ไม่ทุกสัปดาห์) ร้อยละ 10.6 ดื่มทุกสัปดาห์ (1 - 2 ครัง้ ต่อสัปดาห์) ร้อยละ 12.0 และ ดืม่ ทุกวันหรือเกือบทุกวัน ร้อยละ 16.3(3)) 14
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
14. กลุม่ ตัวอย่างผูท้ ด่ี ม่ื ฯ ในรอบ 12 เดือน เป็นผูท้ ด่ี ม่ื แบบเสีย่ งในลักษณะที่ 6 (นานๆ ครัง้ และไม่เมา) มากทีส่ ดุ คือ ร้อยละ 38.3 รองลงมา คือ ลักษณะที่ 4 (ประจำ ไม่มาก และไม่เมา) คือร้อยละ 22.2 และ ลักษณะที่ 1 (ประจำ มาก และเมา) เป็นอันดับสาม คิดเป็นร้อยละ 19.2 15. ยิง่ ดืม่ มากยิง่ มีโอกาสดืม่ ในปริมาณสะสมทีม่ ากเกินไปมากขึน้ กลุม่ ทีด่ ม่ื เป็นประจำน้อยกว่าสัปดาห์ละหนึง่ ครัง้ เป็นกลุ่มที่ไม่เคยดื่มในปริมาณสะสมที่มากเกินไปเลย ส่วนกลุ่มที่ดื่มเป็นประจำทุกสัปดาห์มีสัดส่วนของผู้ที่ดื่ม ในปริมาณสะสมทีม่ ากเกินไปร้อยละ 21.5 และ ผูท้ ด่ี ม่ื เป็นประจำทุกวันหรือดืม่ เกือบทุกวันมีสดั ส่วนของผูท้ ด่ี ม่ื ในปริมาณสะสมทีม่ ากเกินไปถึงร้อยละ 62.3 นัน่ คือในกลุม่ นีจ้ ะมีความเสีย่ งต่อการดืม่ สะสมมากเกินไปสูงถึง 2.9 เท่าเมือ่ เทียบกับกลุม่ ทีด่ ม่ื ประจำทุกสัปดาห์ (ความเสีย่ งสัมพัทธ์ (Relative Risk) เท่ากับ 2.9 เท่า) (ดูตารางที่ 5) (หมายเหตุ - ความแตกต่างของความเสี่ยงต่อการดื่มในปริมาณสะสมที่มากเกินไปนี้แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่ี 0.001 (Chi-square = 1,178.8, df = 1)) ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของพฤติกรรมการดืม่ สะสมมากและไม่มาก จำแนกตามความถีข่ องการดืม่ ฯ ความถีก่ ารดืม่ ฯ
ดืม่ สะสมมาก*
ดืม่ ไม่มาก**
รวม
1.ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 3,298 (62.3%) 1,998 (37.7%)
5,296 (100%)
ความเสีย่ งสัมพัทธ์ (Relative Risk หรือ RR) 2.9
2.ดืม่ ทุกสัปดาห์ 3.ดื่มทุกเดือน
571 (21.5%) 2,087 (78.5%) 0 (0%) 2,948 (100%)
2,658 (100%) 2,948 (100%)
1.0 -
4.ดืม่ นานๆ ครัง้ รวม
0 (0%) 4,409 (100%) 4,409 (100%) 3,869 (48.6%) 11,442 (51.4%) 15,311 (100%)
-
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ศรไพศาล *ดื่มสะสมมาก คือ รวมกลุ่มที่ดื่มในลักษณะที่ 1 และ 2 ของตารางที่ 4 เข้าด้วยกัน **ดื่มสะสมไม่มาก รวมกลุ่มที่ดื่มในลักษณะที่ 3 - 6 ของตารางที่ 4 เข้าด้วยกัน
16. ยิง่ ดืม่ ถีม่ ากยิง่ มีโอกาสดืม่ แบบเมาหัวราน้ำมากขึน้ ผูท้ ด่ี ม่ื นานๆ ครัง้ มีสดั ส่วนของการดืม่ แบบเมาหัวราน้ำร้อยละ 16.7 ขณะที่ผู้ดื่มทุกเดือนมีสัดส่วนของการดื่มแบบเมาหัวราน้ำร้อยละ 25.8 ผู้ที่ดื่มทุกสัปดาห์มีสัดส่วนของ การเมาแบบหัวราน้ำร้อยละ 36.9 และ ผู้ดื่มที่ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวันมีสัดส่วนของการดื่มแบบเมาหัวราน้ำ ถึงร้อยละ 49.7 นัน่ คือเมือ่ เทียบความเสีย่ งต่อการดืม่ แบบเมาหัวราน้ำ (ดืม่ ต่อครัง้ มากเกินไป) ของกลุม่ ทีด่ ม่ื ทุกๆวัน หรือเกือบทุกวัน กลุม่ ทีด่ ม่ื ทุกสัปดาห์ และกลุม่ ทีด่ ม่ื ทุกเดือน จะพบว่ามีความเสีย่ งสูงถึง 3.0, 2.2 และ 1.5 เมือ่ เทียบกับความเสี่ยงของกลุ่มที่ดื่มนานๆ ครั้งตามลำดับ (ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) เท่ากับ 3.0, 2.2 และ 1.5 ตามลำดับ) (ดูตารางที่ 6) (หมายเหตุ - ความแตกต่างของความเสี่ยงต่อการดื่มแบบหัวราน้ำนั้น แตกต่างกันระหว่างกลุม่ ทีด่ ม่ื ในความถีต่ า่ งๆ อย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่ี 0.001 (Chi-square = 1,276.7, df = 3)) 15
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ตารางที่ 6 จำนวนและร้อยละของพฤติกรรมการดื่มแบบเมาหัวราน้ำ (Binge) และไม่เมาแบบหัวราน้ำ จำแนกตามความถีข่ องการดืม่ ฯ ความถี่การดื่มฯ 1.ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 2.ดื่มทุกสัปดาห์ 3.ดื่มทุกเดือน 4.ดื่มนานๆครั้ง รวม
ดื่มแบบ เมาหัวราน้ำ* 2,634 (49.7%) 982 (36.9%) 761 (25.8%) 738 (16.7%) 5,115 (33.4%)
ดื่มแบบ ไม่เมาหัวราน้ำ** 2,662 (50.3%) 1,676 (63.1%) 2,187 (74.2%) 3,671 (83.3%) 10,196 (66.6%)
รวม 5,296 (100%) 2,658 (100%) 2,948 (100%) 4,409 (100%) 15,311 (100%)
ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk หรือ RR) 3.0 2.2 1.5 1.0
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ศรไพศาล *ดื่มแบบเมาหัวราน้ำ คือ รวมกลุ่มที่ดื่มในลักษณะที่ 1, 3 และ 5 ของตารางที่ 4 เข้าด้วยกัน **ดื่มแบบไม่เมาหัวราน้ำ คือ รวมกลุ่มที่ดื่มในลักษณะที่ 2,4 และ 6 ของตารางที่ 4 เข้าด้วยกัน
17. สรุปได้ว่าความเสี่ยงของการดื่มทุกรูปแบบเพิ่มมากขึ้นเมื่อมีพฤติกรรมดื่มถี่มากขึ้นจากดื่มนานๆ ครั้งจนถึงดื่ม ทุกวันหรือเกือบทุกวัน โดยทีป่ ระมาณ 1 ใน 6 ของผูท้ ด่ี ม่ื นานๆ ครัง้ (น้อยกว่าเดือนละ 1 ครัง้ ) 1 ใน 4 ของผูท้ ด่ี ม่ื ทุกเดือน (1 - 3 วันต่อเดือน) 2 ใน 5 ของผูท้ ด่ี ม่ื ทุกสัปดาห์ (1 - 2 วันต่อสัปดาห์) และ 2 ใน 3 ของผูท้ ด่ี ม่ื ทุกวัน หรือเกือบทุกวันจะมีปญ ั หาการดืม่ ในลักษณะใดลักษณะหนึง่ คือ ดืม่ ในปริมาณสะสมทีม่ ากเกินไปหรือดืม่ ในลักษณะ เมาหัวราน้ำ ดูตารางที่ 7 (หมายเหตุ - ทีส่ ำคัญกว่านีค้ อื ผูท้ ไ่ี ม่ดม่ื ไม่มคี วามเสีย่ งเหล่านีเ้ ลย) ตารางที่ 7 ร้อยละของความเสีย่ งรูปแบบต่างๆ จำแนกตามความถีข่ องการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ความถี่การดื่มฯ
ผู้ที่ดื่มใน เสี่ยงต่อการดื่ม เสี่ยงต่อการดื่มแบบ แต่ละกลุ่ม สะสมมากเกินไป หัวราน้ำ (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) 1.ดื่มทุกวันหรือเกือบทุกวัน 100.0 62.3 49.7 2.ดื่มทุกสัปดาห์ 3.ดื่มทุกเดือน 4.ดืม่ นานๆ ครัง้ รวม
100.0 100.0 100.0 100.0
21.5 0.0 0.0 48.6
36.9 25.8 16.7 33.4
เสี่ยงต่อการดื่ม ทั้งสองแบบ (ร้อยละ) 45.5
เสี่ยงต่อการดื่ม แบบใดแบบหนึ่ง
19.7 0.0 0.0 19.2
38.7 25.8 16.7 29.7
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา วิเคราะห์และเรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ศรไพศาล
16
66.5
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553 z
สถานการณ์การเข้าถึง การบริโภค และผลกระทบจากการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในกลุม่ เยาวชนไทย
เยาวชนไทยเริม่ มีประสบการณ์การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ไม่นอ้ ย แม้จะผิดกฎหมาย : เยาวชนไทยอายุ 12 - 19 ปี มีประสบการณ์การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แล้วในชีวติ ประมาณร้อยละ 20 - 40 ในกลุม่ ผูช้ าย และ ร้อยละ 9 - 24 ในกลุม่ ผูห้ ญิง 18. ประเด็นสำคัญสำหรับการควบคุมปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชน คือ การป้องกันไม่ให้ เยาวชนเข้ามาสูก่ ารเป็นนักดืม่ หรือ การชะลอการเริม่ ดืม่ ให้ชา้ ทีส่ ดุ สัดส่วนของผูท้ ม่ี ปี ระสบการณ์การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แล้วในกลุม่ เยาวชนจึงเป็นดัชนีชว้ี ดั ปัญหาทีส่ ำคัญ 19. จากการสำรวจสถานภาพการบริโภคสุรา ปี 2550 โดยคณะกรรมการบริหารเครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด พบเยาวชนอายุ 12 - 19 ปี เพศชายมีประสบการณ์การดืม่ แล้วในชีวติ ร้อยละ 20.3 ส่วนเพศหญิงร้อยละ 9.2(3); ขณะทีก่ ารเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ และพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาในประเทศไทย ในปี 2550 โดย รศ.ดร.พญ.สาวิตรี อัษณางค์กรชัยและคณะ พบเยาวชนระดับ ม.1,3,5 และ ปวช.2 เพศชายมีประสบการณ์การดืม่ แล้วในชีวติ ร้อยละ 39.8 ส่วนเพศหญิงร้อยละ 24.5(2) หากเคยมีประสบการณ์การดื่มแล้วจะมีแนวโน้มเป็นผู้ดื่มอย่างต่อเนื่อง : มากถึงสองในสามของเยาวชนชาย และเกือบครึ่งหนึ่งของเยาวชนหญิงที่เคยมีประสบการณ์การดื่มฯแล้วในชีวิตจะมีพฤติกรรมดื่มฯ ใน 30 วัน อีกทัง้ ความชุกของพฤติกรรมการดืม่ ฯ ในรูปแบบต่างๆ จะมากขึน้ ตามระดับชัน้ เรียน 20. เยาวชนในระบบการศึกษาระดับมัธยม และอาชีวะศึกษาในกลุม่ ทีเ่ คยมีประสบการณ์การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ในชีวติ แล้วจะดืม่ ครัง้ สุดท้ายภายใน 30 วันถึงสองในสามในกลุม่ ผูช้ ายทีเ่ คยมีประสบการณ์การดืม่ ฯ คือ ร้อยละ 66.3 โดยร้อยละ 45.7 ดื่มภายใน 1 สัปดาห์ และ ร้อยละ 20.6 ดื่มในช่วงระหว่าง 8 - 30 วันที่ผ่านมา) และ กว่าครึง่ ในกลุม่ ผูห้ ญิงทีเ่ คยมีประสบการณ์การดืม่ ฯ คือ ร้อยละ 56.6 (ร้อยละ 32.0 ดืม่ ภายใน 1 สัปดาห์ และ ร้อยละ 24.6 ดืม่ ในช่วงระหว่าง 8 - 30 วันทีผ่ า่ นมา (2) (ดูรปู ที่ 1)
17
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
รูปที่ 1 กราฟแสดงสัดส่วนของผูท้ เ่ี คยดืม่ ฯ ในชีวติ ในกลุม่ เยาวชนระดับมัธยมและอาชีวะศึกษา จำแนกตามระยะเวลา ทีด่ ม่ื ครัง้ สุดท้าย และ เพศ (ข้อมูลสำรวจปี 2550)
ที ่ ม า: สาวิ ต รี 2551. รายงานผลโครงการวิ จ ั ย การเฝ้ า ระวั ง พฤติ ก รรมการบริ โ ภคเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ แ ละพฤติ ก รรมเสี ่ ย งต่ อ สุ ข ภาพ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย (ปี 2550).
21. สัดส่วนหรืออัตราความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการดื่มหนักหรือดื่มจนเมา (Bing Drinking) เพิม่ ขึน้ ตามระดับชัน้ เรียน และ ความชุกในนักเรียนชายสูงกว่านักเรียนหญิงทุกชัน้ เรียน(2) (ดูตารางที่ 8) การป้องกัน ปัญหาจึงต้องเริม่ ตัง้ แต่เยาวชนอายุยงั น้อยและด้วยมาตรการทีเ่ ข้มแข็งจริงจัง ตารางที่ 8 สัดส่วนของการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แบบแผนต่างๆ จำแนกตามชัน้ เรียนและเพศ แบบแผนการดื่ม
การดื่มในชีวิต การดืม่ ใน 12 เดือนทีผ่ า่ นมา การดืม่ ใน 30 วันทีผ่ า่ นมา การดืม่ หนัก (> 5 หน่วย/ครัง้ ) ใน 30 วันทีผ่ า่ นมา การดืม่ จนเมา ใน 30 วัน ทีผ่ า่ นมา
เพศ
ม.1
ม.3
ม.5
ปวช.2
รวม
ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
17.3 8.9 6.4 3.8 4.5 2.8 1.7 0.8 3.9 1.8
35.0 22.2 20.4 12.2 15.3 8.3 7.7 3.2 12.7 5.8
51.8 31.3 36.2 18.4 27.6 12.2 14.3 5.4 20.3 7.8
68.8 44.7 49.0 27.9 40.1 21.0 20.6 9.1 36.8 16.2
39.8 24.5 25.1 14.0 19.5 9.8 10.2 4.1 16.4 6.7
ที่มา: รายงานผลโครงการวิจัยการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในประเทศไทย (ปี 2550).
เยาวชนมีพฤติกรรมดื่มฯที่เป็นอันตราย : เกือบครึ่งของเยาวชนชายและเกือบหนึ่งในสี่ของเยาวชนหญิงดื่มฯ แบบเสีย่ งสูงต่อการเกิดผลกระทบแบบเฉียบพลันโดยเฉลีย่ ในรอบหนึง่ ปี, หนึง่ ในหกของเยาวชนชายและร้อยละ 7 ในเยาวชนหญิงดืม่ ฯ จนเมาในรอบ 30 วัน 18
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
22. กลุ่มเยาวชนมักจะดื่มแบบอันตราย ข้อมูลจากการสำรวจพฤติกรรมการดื่มภายในหนึ่งปีของเยาวชนพบว่า กลุม่ เยาวชนมีสดั ส่วนของผูท้ ม่ี พี ฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แบบเสีย่ งสูงต่อผลกระทบแบบเฉียบพลัน ถึงร้อยละ 45.1ของผูช้ ายทีด่ ม่ื และถึงร้อยละ 24.9 ในเยาวชนหญิงทีด่ ม่ื (2) (หมายเหตุ - การดืม่ แบบเสีย่ งสูงต่อ ผลกระทบแบบเฉียบพลันคือการดื่มโดยเฉลี่ยเกินวันละ 100 กรัมแอลกอฮอล์ต่อวันที่ดื่มสำหรับผู้ชาย(5) (เช่น ดืม่ เบียร์มากกว่า 3 ขวดกลมต่อวันทีด่ ม่ื ) หรือ 60 กรัมแอลกอฮอล์ตอ่ วันทีด่ ม่ื สำหรับผูห้ ญิง(5) (เช่น ดืม่ เบียร์มากกว่า 2 ขวดกลมต่อวันทีด่ ม่ื )) 23. นอกจากนัน้ ยังพบว่าเยาวชนชายดืม่ จนเมาใน 30 วันทีผ่ า่ นมาถึงหนึง่ ในหก หรือ ร้อยละ 16.4 และ เยาวชนหญิง ดืม่ จนเมาใน 30 วันทีผ่ า่ นมาถึงร้อยละ 6.7 (2) สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือเยาวชนกำลังกลายเป็นนักดื่มประจำมากขึ้นเรื่อยๆ : กลุ่มเยาวชนไทยอายุ 15 - 19 ปี มีสัดส่วนของผู้ที่ดื่มประจำเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 70 ในระยะเวลา 11 ปี จากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.0 หากคงอัตราการเพิม่ เช่นนี้ ในอีก 40 ปีขา้ งหน้าเยาวชนอายุ 15 - 19 ปีจะกลายเป็นนักดืม่ ประจำถึงสองในสาม 24. จากการสำรวจพฤติกรรมการบริโภคบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 5 ครั้งตั้งแต่ปี พ.ศ.2539 ถึง 2550 พบว่าเยาวชนไทยอายุ 15 - 19 ปี มีสัดส่วนของผู้ที่ดื่มเป็นประจำเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 70 ในระยะเวลา 11 ปี จากร้อยละ 4.7 เป็นร้อยละ 8.0(6) หากอัตราการเพิม่ ของนักดืม่ ประจำในกลุม่ อายุนเ้ี ป็นเท่านี้ ในอีก 40 ปีขา้ งหน้าเยาวชนอายุ 15 - 19 ปีจะกลายเป็นนักดืม่ ประจำถึงร้อยละ 67 (ดูตารางที่ 9) ตารางที่ 9 แนวโน้มความชุกของผูท้ ด่ี ม่ื แบบประจำของประชากรกลุม่ อายุตา่ งๆ เปรียบเทียบระหว่าง ปี 2539, 2544, 2547, 2549 และ 2550 รวมทุกอายุ* อายุ 11 - 14 ปี 15 - 19 ปี 20 - 24 ปี 25 - 29 ปี 30 - 34 ปี 35 - 39 ปี 40 - 44 ปี 45 - 49 ปี 50 - 54 ปี 55 - 59 ปี 60 ปีขน้ึ ไป
ปี 2539 16.8%
ปี 2544 16.4%
ปี 2547 17.8%
ปี 2549 18.5%
ปี 2550 20.2%
ความต่าง 10 ปี +20%
0.0% 4.7% 15.0% 20.1% 22.1% 22.0%
N.A. 4.6% 15.7% 20.0% 20.6% 21.7%
20.9%**
20.4%**
18.6%**
17.3%**
11.6%
10.3%
0.0% 6.7% 16.7% 23.3% 22.4% 15.0% 22.0% 21.3% 19.5% 16.6% 9.5%
0.3% 6.8% 19.3% 21.3% 23.3% 21.8% 24.5% 21.6% 20.8% 16.8% 10.5%
N.A. 8.0% 21.6% 24.5% 24.7% 25.6% 25.6% 24.9% 21.7% 17.9% 10.5%
N.A. +70% +44% +22% +12% +16% +22% +19% +17% -4% -9%
- หมายเหตุ i. ทีม่ า : ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ, เรียบเรียงโดย : ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา ii. N.A. คือ ข้อมูลคำนวนไม่ได้ iii. * วิเคราะห์ข้อมูลอายุ 15 ปีขึ้นไป iv. ** ในการสำรวจปี 2539 และ 2544 สำนักงานสถิตแิ ห่งชาติวเิ คราะห์ขอ้ มูลเป็นช่วงอายุ 40 - 49 และ 50 - 59 ปี
19
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ß§Ï ผลกระทบจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชน
กลุม่ เยาวชนทีด่ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้รบั ผลกระทบจากการดืม่ ทีห่ ลากหลาย : ร้อยละ 20 - 50 ของเยาวชนทีด่ ม่ื ฯ ได้รบั ผลกระทบต่อร่างกาย ชีวติ และการเรียนในทางใดทางหนึง่ 25. กลุม่ เยาวชนในระบบการศึกษาระดับมัธยมและอาชีวะศึกษาทีด่ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ใน 12 เดือน ได้รบั ผลกระทบ จากการดืม่ หลากหลาย ได้แก่ ในกลุม่ เยาวชนชายเกิดอาการคลืน่ ไส้อาเจียนร้อยละ 49.1 อาการเมาค้างร้อยละ 41.8, เรียนไม่ทันหรือทำงาน/ข้อสอบได้ไม่ดีร้อยละ 38.3, ขับขี่รถหลังดื่มสุราร้อยละ 43.4 ได้รับบาดเจ็บหรือ อุบตั เิ หตุรอ้ ยละ 29.0 และเกิดการทะเลาะวิวาทหรือต่อสูท้ ำร้ายร่างกายร้อยละ 31.4; ส่วนในกลุม่ เยาวชนหญิง เกิดอาการคลืน่ ไส้อาเจียนร้อยละ 43.9 อาการเมาค้างร้อยละ 34.0, เรียนไม่ทนั หรือทำงาน/ข้อสอบได้ไม่ดรี อ้ ยละ 30.2, ขับขีร่ ถหลังดืม่ สุราร้อยละ 28.5 ได้รบั บาดเจ็บหรืออุบตั เิ หตุรอ้ ยละ 20.4, และเกิดการทะเลาะวิวาทหรือ ต่อสูท้ ำร้ายร่างกายร้อยละ 15.7(2) การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้อื่นด้วย : ร้อยละ 40 ของเด็กและเยาวชน ในสถานพินิจที่มีประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยอมรับว่ากระทำความผิดภายใน 5 ชั่วโมงหลังดื่มฯ และสัดส่วนของผูท้ ก่ี ระทำความผิดระหว่างดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เพิม่ ขึน้ ตามระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด 26. ร้อยละ 40.8 ของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจที่มีประสบการณ์การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยอมรับว่ากระทำ ความผิดภายใน 5 ชัว่ โมงหลังดืม่ ฯ สัดส่วนของผูท้ ก่ี ระทำความผิดระหว่างดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เพิม่ ขึน้ ตาม ระดับความรุนแรงของการกระทำความผิด ได้แก่ สัดส่วนของผู้ที่กระทำความผิดระหว่างดื่มฯ ในฐานความผิด เกีย่ วกับชีวติ และร่างกาย (เช่น ฆ่า) สูงถึงร้อยละ 55.9 รองลงมาคือฐานความผิดเกีย่ วกับเพศ, พกอาวุธหรือวัตถุ ระเบิด, ผิดต่อทรัพย์, คดีเกีย่ วกับความสงบสุข, และคดียาเสพติดให้โทษ คิดเป็นร้อยละ 46.2, 41.4, 35.3, 31.3 และ 29.2 ตามลำดับ (7) (ดูตารางที่ 10) ตารางที่ 10 ความสัมพันธ์ระหว่างฐานความผิดในเด็กและเยาวชน และการกระทำความผิดระหว่างที่ดื่ม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ฐานความผิด ชีวิตและร่างกาย เพศ อาวุธ วัตถุระเบิด ทรัพย์ ความสงบสุข ยาเสพติดให้โทษ อื่นๆ รวม
จำนวน 320 199 99 499 24 359 16 1,288
รวม
ร้อยละ 100 100 100 100 100 100 100 100
กระทำความผิดระหว่างดื่ม จำนวน ร้อยละ 179 55.9 92 46.2 41 41.4 176 35.3 7 31.3 40 29.2 5 11.1 448 34.8
ที่มา: ผลการวิจัย เรื่อง ยุทธศาสตร์ลดการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนจากการดื่มแอลกอฮอล์ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (ข้อมูลปี 2549)
20
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553 การเข้าถึงเพือ่ หาซือ้ และดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชน
กลุม่ เยาวชนเข้าถึงเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้อย่างสะดวกและได้เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์มาจากแหล่งทีม่ าทีห่ ลากหลาย : เยาวชนในระบบการศึกษาระดับมัธยมและอาชีวะศึกษาได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากคนอื่นมากกว่าซื้อเอง และครึง่ หนึง่ ของนักเรียนทัง้ ชายและหญิงสามารถซือ้ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้ภายใน 10 นาที 27. เยาวชนในระบบการศึกษาระดับมัธยมและอาชีวะศึกษาได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์จากคนอื่นมากกว่าซื้อเอง โดยวิธที ไ่ี ด้มามากทีส่ ดุ คือ ได้มาจากคนอืน่ ทีอ่ ายุมากกว่า 20 ปี (ร้อยละ 25.6 ของนักเรียนชาย, ร้อยละ 14.3 ของนักเรียนหญิง), ได้มาจากคนอื่นที่อายุน้อยกว่า 20 ปี (ร้อยละ 20.4 ของนักเรียนชาย, ร้อยละ 12.0 ของ นักเรียนหญิง), ทีค่ าดคิดไม่ถงึ คือ ร้อยละ 13.1 ของนักเรียนชาย และร้อยละ 6.3 ของนักเรียนหญิงได้เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์มาจากบ้านของตนเอง (เครือ่ งดืม่ ฯของพ่อแม่), นักเรียนชายสามารถซือ้ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้เอง โดยผู้ขายไม่ได้ตรวจบัตรร้อยละ 20.9 และ ร้อยละ 10.4 ของนักเรียนหญิงสามารถซื้อได้ด้วยวิธีเดียวกัน, ที่น่า เป็นห่วงมากคือครึง่ หนึง่ ของนักเรียนทัง้ ชายและหญิงสามารถซือ้ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้ภายใน 10 นาที(2) (ดูตารางที่ 11) ตารางที่ 11 สัดส่วนของแหล่งที่นักเรียนเคยได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 30 วันที่ผ่านมา และสถานที่ ทีน่ กั เรียนมักใช้ดม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ จำแนกตามเพศและชัน้ เรียน พฤติกรรม
ม.1 (6889)
ม.3 (6619)
นักเรียนชาย ม.5 ปวช.2 (4735) (4480)
สถานที่ที่มักจะดื่มสุรา* งานฉลองรื่นเริง 3.3 1.9 1.7 บ้าน 2.1 3.1 4.2 หอพัก 40.6 32.6 31.6 งานโรงเรียน 2.0 2.8 2.8 ร้านรอบโรงเรียนรัศมี < 500 3.4 6.3 10.3 ร้านรอบโรงเรียนรัศมี > 500 0.0 0.3 0.6 ร้านน้ำชา 4.8 3.4 2.4 สวนไร่นา 40.1 43.6 42.9 อื่นๆ 3.8 6.0 3.6 แหล่งทีเ่ คยได้สรุ าใน 30 วันทีผ่ า่ นมา ได้จากคนอื่นที่อายุต่ำกว่า 20 ปี 7.4 17.1 26.3 2.8 5.0 6.9 ซื้อเองโดยใช้บัตรฯ ของคนอื่น ได้จากคนอื่นที่อายุมากกว่า 20 ปี 10.0 21.9 32.0 ซื้อเองโดยผู้ขายไม่ตรวจบัตรฯ 6.8 16.2 25.9 เอามาจากบ้าน (ของพ่อแม่) 6.4 10.5 14.4 ร้านค้ารอบโรงเรียน รัศมี < 500 4.3 9.9 15.8 เวลาเฉลี่ยในการซื้อ/หาสุรา 12.4 -+ 13.5 12.1 +- 12.6 13.4 +- 12.4 mean +- sd medan (พิสยั ) 10(0-90) 10(0-90) 10(0-90)
นักเรียนหญิง ม.5 ปวช.2 (8307) (3736)
รวม (22723)
ม.1 (7355)
ม.3 (7708)
1.1 11.8 33.8 3.5 10.5 0.5 3.1 32.6 3.1
1.8 6.3 33.7 3.0 8.5 0.4 3.2 39.2 4.0
3.9 1.7 38.0 1.2 2.4 0.3 0.2 49.9 2.4
2.8 3.1 37.2 1.3 2.8 0.1 1.2 48.3 3.1
1.2 4.7 34.7 1.0 6.8 0.1 0.7 48.0 2.8
1.1 13.1 27.0 3.4 11.5 0.2 0.4 40.7 2.6
1.8 6.2 33.7 1.7 6.6 0.1 0.7 46.4 2.8
38.9 15.4 48.2 43.9 20.2 28.2
20.4 6.8 25.6 20.9 12.0 13.1
4.5 0.8 6.1 4.0 4.0 2.6
112 1.5 12.3 9.5 7.7 5.1
14.1 2.0 16.5 11.6 9.6 6.6
23.7 5.7 29.3 22.2 11.6 15.2
12.0 2.1 14.3 10.4 7.8 6.3
13.6 -+ 11.6 10(0-90)
12.2 -+ 13.1 12.5 -+ 11.7 14.0 -+ 12.4 13.4 +- 10.6 10(0-90) 10(0-90) 10(0-60) 10(0-90) 10(0-90)
รวม (27106)
10(0-90)
ร้อยละคิดจากจำนวนนักเรียนทั้งหมดที่ตอบ (ไม่รวม missing) ทีม่ า: รายงานผลโครงการวิจยั การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในประเทศไทย (ปี 2550).
21
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
สถานที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มเยาวชน คือ สถานที่ที่ห่างไกลสายตาผู้ใหญ่ : นักเรียนชายและหญิง เลือกใช้สถานทีห่ า่ งไกลสายตาผูใ้ หญ่ ได้แก่ สวน/ไร่นา หอพัก และร้านรอบโรงเรียนในรัศมี 500 เมตร เป็นทีด่ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์มากทีส่ ดุ ตามลำดับ 28. จากตารางที่ 11 พบว่าสถานที่ที่นักเรียนใช้เป็นสถานที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากที่สุด คือ สถานที่ห่างไกล สายตาผูใ้ หญ่ โดยพบว่าร้อยละ 39.2 ของนักเรียนชาย และ ร้อยละ 46.4 ของนักเรียนหญิงทีด่ ม่ื ฯ ดืม่ ในสวน/ ไร่นา และ ร้อยละ 33.7 เท่ากันของทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิงดื่มในหอพัก ส่วนสถานที่ที่ใช้ดื่มฯ เป็น อันดับสาม คือ ร้านรอบโรงเรียนในรัศมี 500 เมตร ซึ่งถูกใช้เป็นสถานที่ดื่มโดยร้อยละ 8.5 ของนักเรียนชาย และ ร้อยละ 6.6 ของนักเรียนหญิง (2) ร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โอบล้อมนักเรียนนักศึกษา ทั้งโรงเรียน มหาวิทยาลัย และหอพัก ส่งผลให้ นักเรียนนักศึกษามีทศั นคติทางบวกและมีประสบการณ์การดืม่ มากขึน้ : มีรา้ นจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยเฉลีย่ ถึง 57 ร้านต่อหนึง่ ตารางกิโลเมตรรอบรัว้ มหาวิทยาลัย ยิง่ ไปกว่านัน้ คือมีถงึ สองในสามของโรงเรียน และ กว่าร้อยละ 90 ของหอพักมีรา้ นจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์อยูใ่ นรัศมีเพียง 100 เมตร และมีงานวิจยั พบว่านักเรียนนักศึกษา ในพื้นที่ที่มีจุดจำหน่ายหนาแน่นมีทัศนคติทางบวกต่อเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และมีประสบการณ์การดื่มฯมากกว่า นักเรียนนักศึกษาในพืน้ ทีท่ ม่ี จี ดุ จำหน่ายไม่หนาแน่น 29. จากข้อมูลงานวิจยั ศึกษาการกระจายตัวของจุดจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยรอบมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2551 - 2552 โดย ผศ.ดร.ภัทรภร พลานาธรรม พบว่าพื้นที่รอบมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานครมีร้าน จำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โดยเฉลีย่ ถึง 57 ร้านต่อหนึง่ ตารางกิโลเมตรรอบรัว้ มหาวิทยาลัย ยิง่ ไปกว่านัน้ มีถงึ ร้อยละ 67.7 ของโรงเรียนโดยรอบมหาวิทยาลัยมีรา้ นจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในระยะไม่เกิน 100 เมตร, และถึงร้อยละ 92.3 ของหอพัก/คอนโด/อพาร์ทเม้นท์/แมนชั่นที่มีนักศึกษาเข้าพัก มีร้านจำหน่ายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในระยะไม่เกิน 100 เมตร 30. ร้อยละ 25.3 ของหอพัก/คอนโด/อพาร์ทเม้นท์/แมนชัน่ ทีม่ นี กั ศึกษาเข้าพักมีรา้ นจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ตัง้ อยูภ่ ายใน ซึง่ เป็นการกระทำทีฝ่ า่ ฝืนพระราชบัญญัตเิ ครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 อย่างชัดเจน 31. สภาพแวดล้อมที่มีร้านจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หนาแน่นส่งผลให้นักเรียนนักศึกษามีทัศนคติเชิงบวก ต่อการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ และการเข้ามาเป็นผูด้ ม่ื สูงกว่านักเรียนทีม่ รี า้ นจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ทีไ่ ม่หนาแน่นอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ โดยทีน่ กั เรียนนักศึกษาในพืน้ ทีท่ ม่ี จี ดุ จำหน่ายหนาแน่นมีทศั นคติทางบวก ต่อการดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 66 และ มีประสบการณ์การดื่มร้อยละ 53 ขณะที่นักเรียนนักศึกษาในพื้นที่ที่มี จุดจำหน่ายไม่หนาแน่นมีทศั นคติทางบวกต่อเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เพียงร้อยละ 48.6 และมีประสบการณ์การดืม่ ร้อยละ 42(8)
22
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
ธุรกิจสุราพัฒนาผลิตภัณฑ์และการจำหน่ายทีม่ งุ่ เป้าหมายทีก่ ลุม่ เยาวชน เช่น กรณีเหล้าปัน่ : เหล้าปัน่ ปากทางสู่ การดืม่ ฯของวัยรุน่ มีรา้ นจำหน่ายเหล้าปัน่ ล้อมรอบโรงเรียนและมหาวิทยาลัย โดยทีม่ จี ำนวนร้านจำหน่ายเหล้าปัน่ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 32. เหล้าปั่นเป็นปากทางสู่การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นโดยเฉพาะวัยรุ่นหญิง มีตัวอย่างข้อมูลงานวิจัย เชิงคุณภาพทีส่ ะท้อนให้เห็นข้อเท็จจริงนี้ เช่น คำพูดจากเยาวชนหญิง “เหล้าปัน่ มันกินง่าย ไม่เหม็น ไม่คอ่ ยมีกลิน่ ทีร่ นุ แรงเหมือนเหล้าหรือเบียร์ทข่ี ายกันทัว่ ไป มีรสชาติหวาน คล้ายมีรสผลไม้เหมือนน้ำผลไม้ปน่ั ”, “มันดืม่ ง่ายไงพี่ ประมาณว่าเมาไม่รตู้ วั เพราะรสมันหวานๆ มัง๊ พวกผูห้ ญิงเค้าก็คงคิดว่ามันก็แค่นำ้ หวานไง สุดท้ายก็...(หัวเราะ)” (8) 33. มีร้านจำหน่ายเหล้าปั่นโดยรอบมหาวิทยาลัยโดยเฉลี่ย 5.6 ร้านต่อหนึ่งมหาวิทยาลัย โดยที่ร้อยละ 87 ของ ร้านเหล้าปัน่ เหล่านีต้ ง้ั อยูใ่ นรัศมี 200 เมตรรอบมหาวิทยาลัย ซึง่ นักศึกษาสามารถเดินทางไปซือ้ ได้อย่างสะดวก(9) 34. จากรายงานการสำรวจจุดจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในเขตเทศบาลเชียงใหม่อย่างต่อเนือ่ ง พบว่า ในช่วงต้นปี 2550 มีจำนวนร้านเหล้าปัน่ 15 ร้าน เพิม่ ขึน้ เป็น 38 ร้านในปลายปี 2551 และเพิม่ เป็น 47 ร้านในช่วงต้นปี 2552 นัน่ คือในช่วงเวลาไม่ถงึ 2 ปี มีจำนวนร้านเหล้าปัน่ เพิม่ ขึน้ ถึง 3.13 เท่า แสดงว่าเหล้าปัน่ ได้รบั ความนิยม เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว(10) วัยรุน่ นิยมดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทเ่ี ข้มข้นน้อย สะดวกและทันสมัย : เบียร์เป็นทีน่ ยิ มดืม่ อันดับทีห่ นึง่ ของวัยรุน่ ส่วนน้ำผลไม้ผสมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ไวน์และ RTD เป็นทีน่ ยิ มดืม่ ของคนอายุนอ้ ย โดยเฉพาะอย่างยิง่ วัยรุน่ หญิง 35. พฤติกรรมการดืม่ ในรอบ 30 วันของเยาวชน เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์สามอันดับแรกทีเ่ ยาวชนชายนิยมดืม่ ได้แก่ เบียร์, เหล้าแดง, และ เหล้าขาว คิดเป็นร้อยละ 63.9, 27.5 และ 27.0 ตามลำดับ, ขณะทีเ่ ยาวชนหญิงร้อยละ 28.1 นิยมดืม่ เบียร์, ร้อยละ 9.7 นิยมดืม่ น้ำผลไม้ผสมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์, และ ร้อยละ 8.8 นิยมดืม่ เหล้าแดง เป็นสามอันดับแรกเช่นกัน; ข้อมูลนีส้ ะท้อนให้เห็นว่าวัยรุน่ นิยมดืม่ เบียร์เป็นอันดับทีห่ นึง่ ทัง้ ชายและหญิง วัยรุน่ ชายนิยมดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์เข้มข้นกว่าวัยรุน่ หญิง วัยรุน่ หญิงนิยมดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทม่ี รี สหวาน มากกว่าวัยรุน่ ชาย เหล้าแดงเป็นทีน่ ยิ มมากกว่าเหล้าขาวเล็กน้อยทัง้ วัยรุน่ ชายและวัยรุน่ หญิง(3) (ดูตารางที่ 12) 36. เครื่องดื่มจำพวกน้ำผลไม้ผสมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ไวน์ และ RTD เป็นที่นิยมดื่มในกลุ่มคนอายุน้อยมากกว่า กลุม่ คนอายุมาก ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่ากลุม่ คนอายุนอ้ ยจะนิยมดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล์เข้มข้นต่ำ มีรสหวาน สะดวกและทันสมัยมากกว่ากลุม่ คนอายุมาก ขณะทีเ่ หล้าขาวเป็นทีน่ ยิ มดืม่ ของกลุม่ อายุมาก(3) (ดูตารางที่ 12)
1RTD (Ready-to-Drink) คือ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แบบผสมเสร็จพร้อมดืม่ 23
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ตารางที่ 12 ร้อยละของประชาชนทีน่ ยิ มดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ประเภทต่างๆใน 30 วัน จำแนกตามอายุและเพศ เคยดืม่ ใน 30 วันทีผ่ า่ นมา ชาย อายุ
น้ำผลไม้ผสม ฯ เบียร์ ไวน์ เหล้าแดง บรั่นดี เหล้าขาว ยาดองเหล้า เหล้าจีน เหล้าพืน้ บ้าน เหล้าเถือ่ น เหล้านอกหนีภาษี เบียร์นอกหนีภาษี ไวน์นอกหนีภาษี RTD
หญิง
12-19
20-24
25-44
45-65
12-19
20-24
25-44
45-65
(6.2) (63.9) (5.7) (27.5) (4.7) (27.0) (6.9) (2.0) (7.0) (5.8) (4.3) (1.8) (.8) (5.3)
(4.8) (67.1) (4.6) (35.4) (8.2) (25.8) (8.0) (1.1) (5.4) (4.9) (1.7) (1.0) (.1) (2.4)
(2.9) (59.9) (4.4) (29.0) (7.3) (37.2) (13.2) (1.9) (6.3) (7.4) (3.4) (1.9) (.9) (1.4)
(1.3) (41.5) (2.3) (20.3) (4.0) (36.0) (13.5) (1.1) (5.5) (5.4) (2.5) (1.6) (.6) (.6)
(9.7) (28.1) (7.9) (8.8) (2.4) (7.6) (3.5)
(7.6) (19.7) (6.0) (12.8) (2.6) (5.8) (1.6) (.1) (.1) (.4) (.4)
(6.8) (34.7) (6.0) (11.4) (3.0) (9.2) (4.6) (.7) (3.6) (2.6) (.5) (.8) (.5) (4.5)
(1.6) (31.2) (3.1) (11.0) (1.0) (17.9) (7.7) (.5) (1.8) (2.7) (.2) (.5) (.5) (1.5)
(1.2) (1.6)
(6.4)
(5.8)
(คิดร้อยละจากจำนวนประชากรทีเ่ คยดืม่ สุราในชีวติ ทัง้ หมดในกลุม่ อายุและเพศนัน้ ) ทีม่ า: การสำรวจสถานภาพการบริโภคสุรา ปี 2550 โดยคณะกรรมการบริหารองค์กรวิชาการสารเสพติด
เยาวชนสามารถพบเห็นโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์วันละหลายๆครั้งในทุกสื่อ ซึ่งการเห็นโฆษณาทำให้เพิ่ม ความอยากลองดื่มในกลุ่มเยาวชน : เยาวชนกว่าร้อยละ 90 เห็นโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางโทรทัศน์ สื ่ อ ที ่ พ บเห็ น โฆษณารองลงมา ได้ แ ก่ ป้ า ยกลางแจ้ ง อิ น เตอร์ เ น็ ต สื ่ อ สิ ่ ง พิ ม พ์ วิ ท ยุ และ สื ่ อ เคลื ่ อ นที ่ โดยพบเห็นโฆษณาโดยเฉลี่ยประมาณ 3 ครั้งต่อวันในแต่ละสื่อ ที่สำคัญคือการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทำให้เพิม่ ความอยากลองดืม่ ในกลุม่ เยาวชนถึง 4 - 8 เท่า 37. ข้อมูลจากรายงานการวิจยั พฤติกรรมการดืม่ และการรับรูโ้ ฆษณาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์: กรณีศกึ ษาเยาวชนอายุ 9 - 25 ปีทว่ั ประเทศ โดยศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุราร่วมกับเอแบคโพล สำรวจช่วงเดือนธันวาคม 2552 บ่งชีว้ า่ กลุม่ ตัวอย่างร้อยละ 92.3 พบเห็นโฆษณาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทางโทรทัศน์ โดยพบเห็นโดยเฉลีย่ 3.15 ครัง้ ต่อวัน, ร้อยละ 17.9 ของกลุ่มตัวอย่างเห็นโฆษณาทางป้ายกลางแจ้ง โดยเห็นเฉลี่ย 2.92 ครั้งต่อวัน, ร้อยละ 11.0 พบเห็นทางอินเตอร์เน็ต โดยเห็นเฉลี่ย 3.41 ครั้งต่อวัน, ร้อยละ 10.7 พบเห็นทางสือ่ สิง่ พิมพ์ (หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, แผ่นพับ) โดยเห็นเฉลีย่ 2.64 ครัง้ ต่อวัน, ร้อยละ 6.3 ได้ยนิ ทางวิทยุ โดยได้ยนิ เฉลีย่ 2.84 ครัง้ ต่อวัน, และร้อยละ 3.1 พบเห็นทางสือ่ เคลือ่ นที่ (รถไฟฟ้า, แท็กซี่ รถไฟ รถขนส่ง) โดยเห็นเฉลีย่ 2.54 ครัง้ ต่อวัน(11) (ดูตารางที่ 13) 24
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
ตารางที่ 13 จำนวนและร้อยละของตัวอย่างที่ระบุสื่อที่เคยพบเห็นหรือได้ยินโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในรอบวันทีผ่ า่ นมา (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) สื่อที่เคยพบเห็นหรือได้ยิน โทรทัศน์ โดยเฉลีย่ 3.15 ครัง้ ป้ายกลางแจ้ง (ป้ายตามร้านค้า ถนนหนทาง) โดยเฉลีย่ 2.92 ครัง้ อินเทอร์เน็ต โดยเฉลีย่ 3.41 ครัง้ สือ่ สิง่ พิมพ์ (หนังสือพิมพ์ นิตยสาร แผ่นพับ) โดยเฉลีย่ 2.64 ครัง้ วิทยุ โดยเฉลีย่ 2.84 ครัง้ สือ่ เคลือ่ นที่ (รถไฟฟ้า แท็กซี่ รถไฟ รถขนส่ง) โดยเฉลีย่ 2.54 ครัง้
จำนวน 3,979 773 476 460 271 132
ร้อยละ 92.3 17.9 11.0 10.7 6.3 3.1
ทีม่ า : การสำรวจพฤติกรรมการดืม่ และการรับรูโ้ ฆษณาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ กรณีศกึ ษาเยาวชนอายุ 9-25 ปี ทัว่ ไประเทศ ปี 2552, ศูนย์วิจัยปัญหาสุราร่วมกับสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
38. ข้อมูลจากการศึกษาลักษณะเดียวกันในปี 2549 กลุม่ ตัวอย่างเด็กและเยาวชนอายุ 9 - 25 ปี ระบุวา่ จำโฆษณา เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้อย่างน้อย 1 ยีห่ อ้ ร้อยละ 92.8 ขณะทีจ่ ำนวนเพียงร้อยละ 7.2 ระบุวา่ จำโฆษณาไม่ได้ เมื่อแยกวิเคราะห์อิทธิพลของการจดจำโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้ พบว่า ในกลุ่มที่ไม่เคยดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์และจดจำโฆษณาไม่ได้เลย จะอยากลองดื่มร้อยละ 7.3 ขณะที่ในกลุ่มไม่เคยดื่มที่จดจำโฆษณา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้อย่างน้อย 1 ยี่ห้อ จะอยากลองดื่ม ร้อยละ 29.6 กลุ่มที่เคยดื่มแต่จดจำโฆษณาไม่ได้ จะอยากลองดืม่ ร้อยละ 22.4 และ กลุม่ เคยดืม่ และจดจำโฆษณาได้อย่างน้อย 1 ยีห่ อ้ ความอยากลองดืม่ จะเพิม่ ขึน้ ไปถึงร้อยละ 57.2 เมือ่ วิเคราะห์เปรียบเทียบกันจะพบว่าการจดจำโฆษณาได้ทำให้ความอยากลองเพิม่ ขึน้ เป็น 4 - 8 เท่า (12) (ดูตารางที่ 14) การควบคุมการโฆษณาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จงึ เป็นมาตรการป้องกันนักดืม่ หน้าใหม่ ทีถ่ กู ต้องอย่างยิง่ ตารางที่ 14 จำนวนและร้อยละของพฤติกรรมการดืม่ และการจำโฆษณาได้กบั ความอยากลอง พฤติกรรมการดื่ม และการจำ อยากลอง ไม่อยากลอง โฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้
รวม
ร้อยละของกลุ่ม ที่อยากลอง
ไม่เคยดืม่ และ จำโฆษณาไม่ได้ ไม่เคยดืม่ แต่ จำโฆษณาได้ เคยดืม่ แต่ จำโฆษณาไม่ได้ เคยดืม่ และ จำโฆษณาได้ รวม
96 1,188 116 1,543 2,943
7.30% 29.60% 22.40% 57.20% 43.10%
7 352 26 883 1,268
89 836 90 660 1,675
เปรียบเทียบกลุ่ม พฤติกรรมการดื่มและ จำโฆษณาได้ (เท่า) 1 4.1 3.1 7.8
ทีม่ า : การสำรวจพฤติกรรมการดื่มและการรับรู้โฆษณาเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ กรณีศกึ ษาเยาวชนอายุ 9-25 ปี ทั่วไประเทศ ปี 2549, ศูนย์วิจัยปัญหาสุราร่วมกับสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
25
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จะมากขึน้ หากเครือ่ งดืม่ ฯราคาถูกลง : ภาษีเป็นมาตรการทีม่ ตี น้ ทุนประสิทธิผลสูง ทีส่ ดุ ในการลดการบริโภคและผลกระทบจากการบริโภค ด้วยกลไกการเพิม่ ราคาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 39. ข้อมูลงานวิจยั จำนวนมากทัว่ โลกยืนยันชัดเจนว่าการบริโภคและผลกระทบจากการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ จะมากหากเครือ่ งดืม่ ฯราคาถูก และ การบริโภคและผลกระทบจากการบริโภคจะน้อยหากเครือ่ งดืม่ ฯราคาแพง โดยเฉพาะอย่างยิง่ เยาวชน ซึง่ มาตรการทางภาษีเป็นหนึง่ ในมาตรการทีม่ ปี ระสิทธิผลสูงสุดในการลดการบริโภค และผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ด้วยกลไกการเพิ่มราคาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (13, 14) มาตรการภาษีสรรพสามิตของประเทศไทยทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั ทีเ่ รียกว่าระบบสองเลือกหนึง่ มีคณ ุ สมบัตใิ นการทำให้ ภาษีสรรพสามิตของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทเ่ี ป็นทีน่ ยิ มของเยาวชน ได้แก่ เบียร์ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ผสมน้ำผลไม้ ไวน์ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์นำเข้า ต้องเสียภาษีในอัตราทีส่ งู ซึง่ ทำให้เครือ่ งดืม่ ดังกล่าวราคาแพงตามไปด้วย อีกทัง้ ระบบนีย้ งั มีคณ ุ สมบัตใิ นการเก็บอัตราภาษีทส่ี งู กับเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์นำเข้า เป็นการชดเชยภาษีศลุ กากรทีจ่ ะ ต้องหายไปจากการดำเนินการตามข้อตกลงการค้าเสรี (15) จึงควรทีจ่ ะคงระบบภาษีสรรพสามิตแบบสองเลือก หนึง่ ไว้ พร้อมกับกำหนดปรับอัตราภาษีสรรพสามิตให้ถงึ ระดับทีพ่ อเพียงต่อการควบคุมปัญหาสุราและปรับเพิม่ ตามอัตราเงินเฟ้อทุกๆปี และควรกำหนดให้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่เป็นสินค้าในการดำเนินการตามข้อตกลง การค้าเสรีดว้ ยเพือ่ มิให้ภาษีศลุ กากรทีจ่ ดั เก็บจากเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์นำเข้าต้องลดลงหรือหายไปอันจะเป็นผล ให้เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ราคาถูกลง ทัง้ นีเ้ พือ่ ป้องกันการบริโภคในกลุม่ เยาวชน
สรุปประเด็นสำคัญและแนวนโยบายเชิงยุทธศาสตร์
. 40. เยาวชนไทยเริม่ มีประสบการณ์การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ไม่นอ้ ย แม้จะผิดกฎหมาย หากเคยมีประสบการณ์ การดืม่ แล้วจะมีแนวโน้มเป็นผูด้ ม่ื ต่อเนือ่ งมากขึน้ เยาวชนมีพฤติกรรมดืม่ ฯทีเ่ ป็นอันตราย สิง่ ทีน่ า่ เป็นห่วง คือ เยาวชนกำลังกลายเป็นนักดืม่ ประจำมากขึน้ เรือ่ ยๆ ทัง้ นีก้ ลุม่ เยาวชนทีด่ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้รบั ผลกระทบ จากการดื่มที่หลากหลาย นอกจากนั้นการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้อื่นด้วย การควบคุมปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชนจึงเป็นภารกิจจำเป็นเร่งด่วนสำหรับ ประเทศไทย และต้องดำเนินการด้วยมาตรการทีเ่ ข้มแข็งจริงจัง 41. กลุ่มเยาวชนเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ได้อย่างสะดวกและได้เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาจากแหล่งที่มาที่ หลากหลาย สถานที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มเยาวชนคือสถานที่ห่างไกลสายตาผู้ใหญ่ ร้านจำหน่าย เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์โอบล้อมนักเรียนนักศึกษา ทัง้ โรงเรียน มหาวิทยาลัย และหอพัก ซึง่ ส่งผลให้นกั เรียนนักศึกษา มีทศั นคติเชิงบวกต่อเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์และมีประสบการณ์การดืม่ ทีม่ ากขึน้ ธุรกิจสุราพัฒนาผลิตภัณฑ์และ การจำหน่ายที่มุ่งเป้าหมายที่กลุ่มเยาวชน เช่น กรณีเหล้าปั่น วัยรุ่นนิยมดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่เข้มข้นน้อย สะดวกและทันสมัย เยาวชนพบเห็นโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์วันละหลายๆ ครั้งในทุกสื่อ และการโฆษณา ทำให้เพิม่ ความอยากลองดืม่ ในกลุม่ เยาวชน และเป็นทีย่ นื ยันชัดเจนทัว่ โลกว่าการบริโภคและผลกระทบจากการ บริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จะมากหากเครือ่ งดืม่ ฯราคาถูก โดยเฉพาะอย่างยิง่ เยาวชน การป้องกันปัญหาจากการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเยาวชนต้องดำเนินการควบคุมการเข้าถึง เพื่อหาซื้อและดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ รวมทัง้ การพบเห็นโฆษณาแอลกอฮอล์ ซึง่ สามารถดำเนินการได้ดงั นี้ 26
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
o ควบคุมผลิตภัณฑ์ทม่ี งุ่ เป้าหมายทีก่ ลุม่ เยาวชน (เช่น การควบคุมการจำหน่ายเหล้าปัน่ ) o ควบคุมแหล่งทีม่ าของเครือ่ งดืม่ ฯและสถานทีด่ ม่ื ฯ (เช่น มาตรการจำกัดความหนาแน่นหรือการจัดโซนนิง่ ของ จุดจำหน่าย(โดยเฉพาะรอบสถานศึกษา)โดยกลไกการขอใบอนุญาตจำหน่ายสุรา มาตรการจำกัดวันเวลาและ สถานที่จำหน่าย/ดื่ม รวมทั้งมาตรการทางสังคมโดยเฉพาะกลุ่มเพื่อนหรือชุมชนตลอดจนมาตรการทาง ครอบครัว เพือ่ ลดการจัดหาเครือ่ งดืม่ หรือสถานทีด่ ม่ื แอลกอฮอล์ให้เยาวชน) o ควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเข้มข้น (เช่น การอนุญาตให้โฆษณาได้เฉพาะในสถานที่ ซึ่ง ไม่อนุญาตให้เยาวชนอายุตำ่ กว่า 20 ปีเข้าไปซือ้ หรือดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ หรือการห้ามโฆษณาโดยสิน้ เชิง เช่นเดียวกับทีไ่ ด้ผลดีแล้วในกรณีหา้ มโฆษณาบุหรี)่ o ใช้มาตรการทางภาษีทส่ี ามารถทำให้เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทเ่ี ป็นทีน่ ยิ มดืม่ ของกลุม่ เยาวชนมีราคาแพง โดย คงระบบภาษีสรรพสามิต “สองเลือกหนึง่ ” ทีก่ รมสรรพสามิตใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ไว้ และกำหนดอัตราภาษีให้สงู เพียงพอและปรับเพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อทุกปี o ควรนำเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ออกจากการดำเนินการตามข้อตกลงการค้าเสรีเพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดการลดภาษี ศุลกากรซึง่ จะเป็นผลให้เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ราคาถูกเกินไป
สถานการณ์การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของคนไทยจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทย โดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2551-2552 z
42. โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครัง้ ที่ 4 ดำเนินการโดยสำนักงานสำรวจสุขภาพ ประชาชนไทย (สสท.) หรือ The National Health Exam Survey Office (NHESO) ดำเนินการเก็บข้อมูลในปี 2551 - 2552 โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ใช้แบบ Stratified four-stage sampling ซึ่งเป็นแบบแผนการสุ่ม ตัวอย่างบนฐานของความน่าจะเป็น (Probability sampling) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการสำรวจ ได้แก่ การสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสอบถาม การทดสอบการทำงานของระบบต่างๆของร่างกาย การตรวจทางชีวเคมี (เช่น ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ) และ การตรวจร่างกาย ได้จำนวนตัวอย่างทัง้ สิน้ 20,450 คน เป็นชาย 9,740 คน (ร้อยละ 47.6) และ หญิง 10,710 คน (ร้อยละ 52.4) อยูใ่ นเขตเทศบาลร้อยละ 54.2 และนอกเขตเทศบาลร้อยละ 45.8 การ กระจายตัวของประชากรภาคต่างๆเท่าๆกันยกเว้นกรุงเทพฯ ดังนี้ ภาคเหนือร้อยละ 22.6 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 22.2 ภาคกลางร้อยละ 23.7 ภาคใต้รอ้ ยละ 21.1 และ กรุงเทพฯร้อยละ 10.4 (4) 43. ผลการสำรวจทีส่ ำคัญ พบว่า การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15 ปีขน้ึ ไป ดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ใน 12 เดือนทีผ่ า่ นมาร้อยละ 45.3 (ชายร้อยละ 65.5 หญิงร้อยละ 26.1) 44. ผูท้ ด่ี ม่ื กลุม่ อายุ 30 - 44 ปีมสี ดั ส่วนของผูท้ ด่ี ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ใน 12 เดือนทีผ่ า่ นมาสูงทีส่ ดุ ทีร่ อ้ ยละ 52.2 (ชายร้อยละ 74.9 หญิงร้อยละ 31) รองลงมาคือกลุม่ อายุ 15 - 29 ปี ดืม่ ร้อยละ 49.0 (ชายร้อยละ 68.9 หญิง ร้อยละ 26.3) กลุม่ อายุอน่ื ๆ มีสดั ส่วนของผูท้ ด่ี ม่ื ฯ ใน 12 เดือนลดลงเมือ่ อายุมากขึน้ ตามลำดับ โดยทีท่ ง้ั สองเพศ มีสดั ส่วนของผูท้ ด่ี ม่ื ฯ ใน 12 เดือนเช่นนีท้ กุ กลุม่ อายุ (ดูรปู ที่ 2)
27
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ß§Ï รูปที่ 2 กราฟแสดงร้อยละของผูท้ ด่ี ม่ื ใน 12 เดือน จำแนกตามเพศ
ทีม่ า: รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2551-2552
45. สัดส่วนของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 12 เดือนที่ผ่านมาจำแนกตามภาคแตกต่างกันเล็กน้อยระหว่าง เพศชายกับเพศหญิง โดยทีล่ ำดับของภาคทีม่ สี ดั ส่วนของผูท้ ด่ี ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ใน 12 เดือนทีผ่ า่ นมาของ เพศชายเรียงจากมากไปน้อยดังนี้ คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรุงเทพฯ ส่วนเพศหญิงนัน้ อันดับหนึง่ และสองเหมือนกับเพศชาย คือ ภาคกลางและภาคเหนือตามลำดับ แต่อนั ดับสาม สี่ และห้า คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพฯ และภาคใต้ (ดูรปู ที่ 3) รูปที่ 3 กราฟแสดงร้อยละของผูท้ ด่ี ม่ื ใน 12 เดือน จำแนกตามเพศ
ทีม่ า: รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2551-2552
28
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
46. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทที่ดื่มบ่อยที่สุดสามอันดับแรกเหมือนกันทั้งสองเพศ คือ เบียร์ (ร้อยละ 43.5) รองลงมาคือเหล้าแดง เหล้าขาว ตามลำดับ แต่อันดับที่สี่ ห้า และหกของเพศชาย คือ ยาดองเหล้า บรัน่ ดี และ เหล้าพืน้ บ้าน ขณะทีข่ องเพศหญิง คือ น้ำผลไม้ผสมแอลกอฮอล์ ไวน์ และยาดองเหล้าตามลำดับ (ดูตารางที่ 15) ตารางที่ 15 ร้อยละของประชาชนที่นิยมดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทต่างๆในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมา จำแนกตามเพศ ประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
ชาย 63.3 44.1 41.6 23.3 17.0 16.9 11.2 10.9 5.1 0.4
เบียร์ เหล้าแดง เหล้าขาว ยาดองเหล้า บรัน่ ดี เหล้าพืน้ บ้าน อุ/กระเช่/สาโท ไวน์ น้ำผลไม้ผสมแอลกอฮอล์ เหล้าจีน/เซี่ยงชุน/เหมาไถ อืน่ ๆ
หญิง 24.1 9.4 7.8 4.2 2.8 2.7 5.8 6.4 0.4 0.2
รวม 43.5 26.5 24.5 13.6 9.8 9.7 8.5 8.6 2.7 0.3
ทีม่ า: รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2551-2552
47. ปริมาณแอลกอฮอล์(บริสทุ ธิ)์ ทีด่ ม่ื สะสมโดยเฉลีย่ ต่อวันในหนึง่ ปีในเพศชาย คือ 29.5 กรัมต่อวัน ส่วนในเพศหญิง อยูท่ ่ี 6.2 กรัมต่อวัน ส่วนปริมาณแอลกอฮอล์(บริสทุ ธิ)์ ทีด่ ม่ื โดยเฉลีย่ ต่อวันดืม่ ในเพศชาย คือ 62.6 กรัมต่อวันดืม่ ส่วนในเพศหญิงคือ 31.1 กรัมต่อวันดืม่ 48. เพศชายดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์สะสมคิดเป็นประมาณสิบเท่าของเพศหญิง และ ดืม่ ต่อครัง้ ทีด่ ม่ื คิดเป็นสองเท่า ของเพศหญิง ข้อมูลทีบ่ ง่ ชีป้ ริมาณการดืม่ สะสมว่าดืม่ มากหรือไม่มากโดยเฉลีย่ ตลอดปี คือ ร้อยละ 50 ของเพศชาย ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์คิดเป็นปริมาณแอลกอฮอล์(บริสุทธิ์)ไม่ต่ำกว่า 7.9 กรัมต่อวัน ขณะที่ร้อยละ 50 ของ เพศหญิงดืม่ ไม่ตำ่ กว่า 0.7 กรัมต่อวัน ส่วนข้อมูลทีบ่ ง่ ชีป้ ริมาณการดืม่ ในแต่ละครัง้ ทีด่ ม่ื ว่าดืม่ จนเมาหรือไม่เมา โดยเฉลีย่ ตลอดปี คือ ร้อยละ 50 ของเพศชายดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์คดิ เป็นปริมาณแอลกอฮอล์ (บริสทุ ธิ)์ ไม่ตำ่ กว่า 33.8 กรัมต่อวันดืม่ ขณะทีร่ อ้ ยละ 50 ของเพศหญิงดืม่ ไม่ตำ่ กว่า 16.8 กรัมต่อวันดืม่ (ดูตารางที่ 16) (หมายเหตุ - ข้อมูลมัธยฐาน (Median) คือ ค่าของข้อมูลที่แบ่งประชากรที่ศึกษาออกเป็นสองกลุ่มที่มีจำนวนเท่าๆ กัน กลุม่ หนึง่ มากกว่าและอีกกลุม่ หนึง่ น้อยกว่าค่าดังกล่าว; กรณีนค้ี า่ เฉลีย่ (Mean) ไม่เหมาะสมในการเป็นตัวแทน ของกลุม่ ตัวอย่าง เนือ่ งจากข้อมูลมีความเบ้มาก (Skewed))
29
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
ตารางที่ 16 ปริมาณการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตอ่ วันและต่อวันดืม่ ของกลุม่ ตัวอย่าง จำแนกตามเพศ ค่ามัธยฐาน ค่าต่ำสุด-สูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบน (Median) (Mean) มาตรฐาน S.D. ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์โดยเฉลีย่ ต่อวัน (กรัมต่อวัน) [สะท้อนปริมาณการดืม่ สะสม] ชาย 7.9 (0.001; 1,258.8) 29.5 58.9 หญิง 0.7 (0.002; 321.1) 6.2 18.5 รวม 4.2 (0.001; 1,458.8) 22.8 51.7 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์โดยเฉลี่ยต่อวันดื่ม (กรัมต่อวันดื่ม) [สะท้อนปริมาณการดื่มในแต่ละวันที่ดื่ม] ชาย 33.8 (0.2; 2,435.1) 62.6 87.8 หญิง 16.8 (0.6; 1,015.0) 31.1 46.7 รวม 29.7 (0.2; 2,436.1) 53.5 79.5 ทีม่ า : รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.2551-2552 เรียบเรียงโดย นพ.บัณฑิต ศรไพศาล
49. กลุม่ อายุ 15 - 29 ปี ดืม่ ในลักษณะทีเ่ สีย่ งแบบเรือ้ รังสูงทีส่ ดุ ความชุกของการดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณทีเ่ สีย่ งต่อ การเกิดปัญหาจากการดืม่ ในระดับปานกลางขึน้ ไปนัน้ (ชายดืม่ มากกว่า 40 กรัมต่อวัน หญิงดืม่ มากกว่า 20 กรัม ต่อวัน) เท่ากับร้อยละ 7.3 โดยพบในผูช้ ายร้อยละ 13.2 และผูห้ ญิงร้อยละ 1.6 ทัง้ นีพ้ บความชุกของการดืม่ ใน ลักษณะทีเ่ สีย่ งแบบเรือ้ รังสูงสุดในกลุม่ อายุ 15 - 29 ปี และลดลงตามอายุทง้ั เพศชายและหญิง ในเขตเทศบาล ดื่มแบบเสี่ยงปานกลางขึน้ ไปมากกว่านอกเขตเทศบาล และ ภาคเหนือดืม่ แบบเสีย่ งปานกลางขึน้ ไปมากกว่า ภาคอืน่ ๆ (4) 50. กลุม่ อายุ 15 - 29 ปี ดืม่ ในลักษณะทีเ่ สีย่ งแบบเฉียบพลันสูงทีส่ ดุ การดืม่ แบบเมาหัวราน้ำ (Binge drinking) ซึ่งหมายถึงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมากกว่าห้าดื่มมาตรฐานในครั้งเดียว (เช่น เหล้าผสมโซดา ตัง้ แต่หา้ แก้วหรือครึง่ แบนขึน้ ไป, ดืม่ เบียร์มากกว่า 6 กระป๋อง หรือ 3 ขวดใหญ่, หรือ ไวน์มากกว่า 5 แก้วขึน้ ไป ในนิยามของการสำรวจนี)้ พบว่าครึง่ หนึง่ ของผูช้ ายดืม่ แบบเมาหัวราน้ำมากกว่า 6 วันในหนึง่ ปี และครึง่ หนึง่ ของผูห้ ญิงดืม่ เช่นนีม้ ากกว่า 3 วันในหนึง่ ปี (ค่ามัธยฐาน หรือ Median เท่ากับ 6 และ 3 วัน สำหรับผูช้ ายและ ผูห้ ญิงทีด่ ม่ื ฯ ใน 12 เดือนตามลำดับ) อีกทั้งยังพบว่ากลุ่มอายุ 15 - 29 ปีทั้งชายและหญิงมีความชุกของผูด้ ม่ื แบบเมาหัวราน้ำสูงสุดและลดน้อยลงตามอายุทเ่ี พิม่ ขึน้ (4) z
บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย
51. การป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระยะยาวคือการปกป้องเด็กและเยาวชน นอกเหนือจากมาตรการ ควบคุมกิจกรรมการตลาดที่มากเกินไปของธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยรัฐแล้ว อีกมาตรการหนึง่ ทีส่ ำคัญที่ ครอบครัวทุกครอบครัวสามารถเริม่ ต้นได้เลยคือการเลีย้ งดูและอบรมสัง่ สอนลูกของตนเอง 30
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
52. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา โดยอรทัย วลีวงศ์ และคณะได้ศึกษาบทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย เพือ่ ประเมินว่าพ่อแม่มบี ทบาทสำคัญเพียงใดต่อการป้องกันการดืม่ ฯ ในเด็ก และเยาวชน งานวิจยั ชิน้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาบทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ผี ลต่อการดืม่ แอลกอฮอล์ ของเยาวชน ได้แก่ พฤติกรรมการดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนและพ่อแม่ และบทบาทของพ่อแม่ในการควบคุม การดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชน รวมทั้งพฤติกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดืม่ แอลกอฮอล์ของพ่อแม่ เก็บข้อมูลช่วงเดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 2553 โดยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ กลุม่ ตัวอย่างคือเยาวชนไทย อายุ 13 - 18 ปี ในสถานศึกษาและในชุมชนจากสีจ่ งั หวัดในสีภ่ าคของประเทศไทยจำนวน 997 คน (ชายร้อยละ 51.8, หญิงร้อยละ 48.2) 53. งานวิจยั ดังกล่าวได้ขอ้ ค้นพบทีส่ ำคัญ คือ เยาวชนทีท่ ง้ั พ่อและแม่ดม่ื แอลกอฮอล์และเยาวชนทีม่ พี อ่ หรือแม่คนใด คนหนึ่งดื่มแอลกอฮอล์จะมีโอกาสที่จะมีพฤติกรรมดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าเยาวชนที่ทั้งพ่อและแม่ไม่ดื่ม แอลกอฮอล์ 1.94 เท่า และ 1.74 เท่า ตามลำดับ โดยมีความแตกต่างระหว่างกลุ่มอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p-value = 0.001) (16) (ดูรปู ที่ 4) รูปที่ 4 กราฟแสดงสัดส่วนของเยาวชนที่มีประสบการณ์เคยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชีวิต จำแนกตาม พฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของพ่อและแม่
ทีม่ า: รายงานการวิจยั เรือ่ ง บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย
54. สำหรับบทบาทของพ่อแม่ในการควบคุมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของลูกพบว่า เยาวชนที่ดื่มเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์รบั รูว้ า่ พ่อแม่อนุญาตให้ดื่มร้อยละ 79.9 ขณะที่เยาวชนทีไ่ ม่ดม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์รบั รูว้ า่ พ่อแม่ อนุญาตให้ดม่ื เพียงร้อยละ 40.3 (ดูรปู ที่ 5) และเมือ่ วิเคราะห์เปรียบเทียบผลของการรับรูว้ า่ พ่อแม่อนุญาตให้ดม่ื พบว่าเยาวชนทีพ่ อ่ แม่อนุญาตให้ดม่ื แอลกอฮอล์ได้จะมีโอกาส (Odds ratio) เป็นนัก/ดืม่ มากกว่าเยาวชนกลุม่ ทีพ่ อ่ แม่หา้ มไม่ให้ดม่ื 4.92 เท่าและมีโอกาสทีจ่ ะเป็นนักดืม่ อย่างหนัก (Binge drinker) 3.25 เท่า (16)
31
⌫
∂“π°“√≥Ï¥“å πÕÿª ߧÏ
รูปที่ 5 กราฟแสดงสัดส่วนของการรับรู้ถึงการอนุญาตให้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของพ่อแม่ จำแนกตาม พฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชน
ทีม่ า: ดัดแปลงจากรายงานการวิจยั เรือ่ ง บทบาทและพฤติกรรมของพ่อแม่ทม่ี ตี อ่ ผลการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย
32
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
บทที่ 2 สถานการณ์ด้านผลกระทบ (Impact Situations) 1. รายงานสถานการณ์สุราฉบับนี้จะนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ด้านผลกระทบที่สำคัญดังนี้ - แนวโน้มของคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากการดืม่ สุรา จำนวนผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจรทางบก - สถานการณ์ของพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผิดปกติจากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิต ระดับชาติ พ.ศ.2551 - สถานการณ์ผลกระทบจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จากการศึกษาคุณภาพชีวติ และสุขภาพของประชาชน เพือ่ ประมาณการจำนวนผูเ้ กีย่ วข้องกับสารเสพติดและผูด้ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2550 - พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำความผิดคดีเมาแล้วขับ - ข้อเท็จจริงของข้อมูลผลกระทบด้านบวกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สำหรับคนไทย - ข้อมูลแนวโน้มการเกิดอุบัติเหตุช่วงเทศกาล
แนวโน้มของคดีอุบัติเหตุที่มีสาเหตุจากการดื่มสุรา จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จราจรทางบก
z
2. กราฟรูปที่ 6 ข้อมูลจากสถิติจราจรทางบก (17) แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี ี สาเหตุจากการดืม่ สุรา กับจำนวนผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจรทางบก ระหว่างปี พ.ศ.2538 - 2552 จากกราฟจะเห็นว่าจำนวนผู้บาดเจ็บขึ้นลงสอดคล้องกับจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุซง่ึ เริม่ เพิม่ ขึน้ ตัง้ แต่ปี 2543 และ เริ่มลดลงตั้งแต่ปี 2548 เป็นต้นมา ส่วนจำนวนผู้เสียชีวิตมีลักษณะขึ้นและลงในปีที่ใกล้เคียงกัน (ดูรปู ที่ 6) (หมายเหตุ - เหตุทจ่ี ำนวนผูเ้ สียชีวติ ไม่ได้ขน้ึ ลงสอดคล้องกับจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากการเมาเช่นเดียวกับ จำนวนผูบ้ าดเจ็บเป็นเพราะว่าการเสียชีวติ นัน้ มีปจั จัยอืน่ เข้ามาเกีย่ วข้องมากกว่าการบาดเจ็บ เช่น ศักยภาพของ ระบบการแพทย์ฉกุ เฉินทีส่ ามารถเข้าถึงพืน้ ทีอ่ บุ ตั เิ หตุ ตลอดจนคุณภาพของระบบการรักษาในโรงพยาบาล เป็นต้น)
33
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
รูปที่ 6 กราฟแสดงจำนวนคดีอุบัติเหตุที่มีสาเหตุจากการดื่มสุรา จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุ จราจรทางบก พ.ศ. 2538 - 2552
ทีม่ า : สถิติจราจรทางบก, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
3. เมือ่ วิเคระห์ขอ้ มูลแบบถดถอย (Regression analysis) จะพบว่าจำนวนผูบ้ าดเจ็บสัมพันธ์กบั จำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุ ทีม่ สี าเหตุจากการดืม่ สุราอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ (z score = 7.64, p value = 0.000) โดยพบว่าหากจำนวนคดี เมาแล้วขับเพิ่ม 1 คดี จะมีจำนวนผู้บาดเจ็บเพิ่มขึ้น 5.6 ราย จึงเริ่มน่าเป็นห่วงและต้องเฝ้าติดตามต่อเนื่อง อย่างใกล้ชดิ เนือ่ งจากในปีลา่ สุด 2552 พบจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุทม่ี สี าเหตุจากการเมาเพิม่ ขึน้ จากปี 2551 ถึง 990 คดี คือจาก 3,571 คดี เป็น 4,561 คดี หรือคิดเป็นเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 28 4. จากกราฟรูปที่ 7 ข้อมูลจากศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (18) พบว่า จำนวนผูเ้ สียชีวติ ต่อวันของช่วงปีใหม่และสงกรานต์ลดลงตัง้ แต่ปี 2547 เป็นต้นมา จะเห็นว่าจำนวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบัติเหตุจราจรทางบกในช่วงเทศกาลปีใหม่ยังคงลดลงอย่างต่อเนื่องจนต่ำกว่าจำนวนผู้เสียชีวิตด้วยเหตุ เดียวกันในช่วงเทศกาลสงกรานต์ โดยทีช่ ว่ งเทศกาลสงกรานต์ไม่สามารถลดจำนวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจร ทางบกลงได้ในช่วงสีป่ หี ลัง ซึง่ อาจหมายถึงการดำเนินการเพียงการตัง้ ด่านตรวจจับเมาแล้วขับนัน้ อาจไม่เพียงพอ สำหรับช่วงเทศกาลสงกรานต์ รัฐอาจต้องพิจารณามาตรการห้ามจำหน่ายช่วงเทศกาลสงกรานต์เพิม่ เติมเพือ่ ลด จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุเมาแล้วขับในช่วงเทศกาลนี้ลงอีก 5. ที่สำคัญคือรัฐยังไม่ได้ดำเนินมาตรการใดๆ สำหรับการควบคุมปัญหาอุบัติเหตุจราจรจากการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ในช่วงอืน่ นอกเหนือจากสองเทศกาลใหญ่ของประเทศเลย (ดูรูปที่ 7) สังคมไทยไม่ควรจะยอมรับ การเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจรวันละกว่า 30 ราย ซึง่ มีสาเหตุจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เข้ามาเกีย่ วข้อง ถึงร้อยละ 40
34
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
รูปที่ 7 กราฟแสดงแนวโน้มของจำนวนผู้เสียชีวิตต่อวันเปรียบเทียบระหว่างช่วงปีใหม่ สงกรานต์ และ ช่วงอื่นนอกจากสองเทศกาลนี้
ทีม่ า: ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วิเคราะห์โดยศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
สถานการณ์ของพฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทผ่ี ดิ ปกติจากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิต ระดับชาติ พ.ศ.2551 z
6. ข้อมูลจากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับชาติ ปี 2551 ของกรมสุขภาพจิต วิเคราะห์ผา่ นบทความเรือ่ ง ความชุกความผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุราในคนไทย: การสำรวจระบาดวิทยาระดับชาติ 2551 โดยพญ.พันธุน์ ภา กิตติรตั นไพบูลย์ (19) สรุปได้ดงั นี้ กรมสุขภาพจิตได้ดำเนินการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับชาติครัง้ ที่ 3 ในปี 2551 โดยใช้เครือ่ งมือ M.I.N.I. (Mini International Neuropsychiatric Structure Interview) module J เพือ่ การวินจิ ฉัยภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) และ ภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) การสำรวจครัง้ นีไ้ ด้ทำการศึกษาในกลุม่ ประชากรไทยอายุ 15 - 59 ปี ครอบคลุมประชากรทีอ่ าศัยในครัวเรือน ส่วนบุคคล วิธกี ารสุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้คอื stratified three-stage sampling เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ตวั ต่อตัว ในชุมชน โดยทีมนักวิจยั ภาคสนามทีม่ ปี ระสบการณ์ในการปฏิบตั งิ านจิตเวชไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี โดยผ่านการอบรมและ การทดสอบการใช้เครื่องมืออย่างเข้มข้น 7. ข้อมูลตัวอย่างทั้งหมด 17,140 คน ได้นำมาถ่วงน้ำหนัก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนประชากรแล้วคำนวน วิเคราะห์ผล พบว่าความชุกของความผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุรา (Alcohol Use Disorders) ของประชากรไทยอายุ 15-59 ปีสงู ถึงร้อยละ 10.9 (95%CI, 10.1-11.7) หรือประมาณ 5.3 ล้านคน โดยผูช้ ายพบมากกว่าผูห้ ญิงเกือบ 9 เท่า ประชากรในภาคเหนือพบความชุกของความผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุราสูงสุดถึงร้อยละ 13.3 รองลงมาเป็น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ 11.5) ส่วนภาคใต้มคี วามชุกของความผิดปกติของพฤติกรรมดืม่ สุราต่ำทีส่ ดุ 35
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
คือ ร้อยละ 8.8 กลุม่ ผูท้ ม่ี คี วามผิดปกติของพฤติกรรมดืม่ สุรามีอายุระหว่าง 25 - 34 ปีมากทีส่ ดุ คือร้อยละ 32 ขณะทีร่ องลงมาคืออายุระหว่าง 15 - 24 ปี คือ ร้อยละ 23 8. ความผิดปกติของพฤติกรรมการดืม่ สุรา (Alcohol use disorders) ประกอบด้วย 2 กลุม่ โรค ได้แก่ ภาวะดืม่ สุรา แบบอันตราย (Alcohol abuse) และ ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) จากผลการสำรวจพบความชุกของ ภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) ร้อยละ 4.2 (95%CI, 3.8-4.8) หรือประมาณ 2.1 ล้านคน และความชุก ของภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) เป็นร้อยละ 6.6 (95%CI, 6.0-7.2) หรือประมาณ 3.2 ล้านคน 9. โดยความชุกของทัง้ ภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) และ ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) พบในผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิง และ อายุเฉลีย่ ของภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) ต่ำกว่า ภาวะ ติดสุรา (Alcohol dependence) (32.25 + 0.62 และ 34.97 + 0.51 ปี ตามลำดับ) เมือ่ วิเคราะห์ในรายละเอียดของ สถานภาพสมรส พบว่าส่วนใหญ่สถานภาพสมรสคูม่ โี อกาสเสีย่ งสูงต่อการดืม่ แบบผิดปกติสอดคล้องกันทัง้ สอง ปัญหา (คือ ร้อยละ 55 ของผูท้ ไ่ี ด้รบั การประเมินว่าเป็น ภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) และ ร้อยละ 53 ของผู้ที่ได้รับการประเมินว่าเป็น ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) มีสถานภาพสมรส) เมือ่ เปรียบเทียบระหว่างระดับการศึกษาพบว่ากลุ่ม ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) มีการศึกษาระดับ ประถมศึกษาหรือต่ำกว่าคิดเป็นร้อยละ 53 ขณะทีม่ รี ะดับการศึกษามัธยมศึกษาถึงอนุปริญญาร้อยละ 47 ในขณะ ที่กลุ่มภาวะการดื่มสุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) มีระดับการศึกษามัธยมศึกษาถึงอนุปริญญามากกว่า กลุม่ การศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ำกว่า คือ ร้อยละ 55 และร้อยละ 43 ตามลำดับ ส่วนกลุม่ อาชีพสาม ลำดับแรกของทัง้ สองภาวะเหมือนกัน คือ รับจ้าง เกษตรกรรม และ ค้าขายธุรกิจ คิดเป็นร้อยละ 45, 26 และ 12 ของภาวะดื่มสุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) และ คิดเป็นร้อยละ 47, 24 และ 12 ของภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) ตามลำดับ ทีน่ า่ สนใจคือกลุม่ นักเรียนนักศึกษาทีถ่ อื ว่าเป็นเยาวชน พบความชุกถึงร้อยละ 5 ของกลุม่ Alcohol dependence หรือประมาณ 1.3 แสนคน (หมายเหตุ - ความชุกในข้อนีใ้ ช้ฐานคิดจากกลุม่ ภาวะการดืม่ สุราแบบอันตราย (Alcohol abuse) และ ภาวะติดสุรา (Alcohol dependence) เป็นร้อยละ 100 ส่วนบทความต้นฉบับโดย พญ.พันธุน์ ภา กิตติรตั นไพบูลย์ รายงานความชุกโดยใช้ฐานตัวเลขจำนวนประชากร เป็นร้อยละ 100 จึงได้คา่ ตัวเลขทีต่ า่ งกัน) 10. พบโรคจิตเวชร่วมในกลุม่ ผูท้ ม่ี คี วามผิดปกติของพฤติกรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ซึง่ ได้แก่ โรคความผิดปกติ ทางอารมณ์ โรควิตกกังวล ความเสีย่ งต่อการฆ่าตัวตาย และ การใช้สารเสพติดแอมแฟตามีน (ยาบ้า) เป็นต้น จากการวิเคราะห์กลุม่ ผูม้ คี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุราทัง้ หมด (Alcohol Use Disorders) พบโรคจิตเวชใด ๆ ร่วม (Comorbidity) ในปัจจุบนั ร้อยละ 7.1 โดยพบร่วมกับกลุม่ โรคความผิดปกติทางอารมณ์มากทีส่ ดุ (ร้อยละ 4.6) โดยผูห้ ญิงพบได้มากกว่าผูช้ าย (ร้อยละ 8.2 และร้อยละ 4.1 ตามลำดับ) รองลงมาเป็นความผิดปกติพฤติกรรม ดืม่ สุราร่วมกับกลุม่ โรควิตกกังวล (ร้อยละ 2.8) ซึง่ ผูห้ ญิงพบได้มากกว่าผูช้ ายเช่นกัน (ร้อยละ 7.6 และร้อยละ 2.3 ตามลำดับ) แต่เมือ่ เปรียบเทียบระหว่างผูท้ ม่ี แี ละไม่มคี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุราแล้วพบว่า ผูม้ คี วามผิดปกติ พฤติกรรมดื่มสุรามีโรคจิตร่วมสูงถึง 3.8 เท่า นอกจากนี้แล้วยังพบว่าผูห้ ญิงทีม่ คี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุรา มีความเสีย่ งต่อการฆ่าตัวตายทีค่ วรเฝ้าระวัง (alarm risk) สูงกว่าผูช้ าย คิดเป็น 5.5 เท่าในผูห้ ญิงและ 2.9 เท่าใน ผูช้ ายทีไ่ ม่มคี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุรา และผูม้ คี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุรามีการใช้สารเสพติดแอมเฟตามีน ร่วมมากทีส่ ดุ (ร้อยละ 3.1) คิดเป็น 9.5 เท่าของผูท้ ไ่ี ม่มคี วามผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุรา 36
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
สถานการณ์ผลกระทบจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จากการศึกษาคุณภาพชีวติ และสุขภาพของ ประชาชน เพือ่ ประมาณการจำนวนผูเ้ กีย่ วข้องกับสารเสพติดและผูด้ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2550 z
11. ในการศึกษาคุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชนเพื่อประมาณการจำนวนผู้เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและผูด้ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ.2550 (3) มีการสอบถามถึงปัญหา 14 ปัญหาทีผ่ ดู้ ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาประสบด้วยตนเอง โดยพบว่าปัญหาทีเ่ กิดสูงสุดอันดับต้นๆในกลุม่ ผูด้ ม่ื ฯ เพศชายทุกอายุ ได้แก่ เกิดความรู้สึกผิด และปัญหาการเงิน ทั้งนี้ผู้ดื่มฯ เพศชายทีอ่ ายุนอ้ ยจะเกิดปัญหาการทะเลาะวิวาทมากทีส่ ดุ ส่วนปัญหาสุขภาพร่างกายจะพบในผูด้ ม่ื ฯเพศชายทีอ่ ายุมากขึน้ ส่วนผูด้ ม่ื ฯเพศหญิงพบปัญหารูส้ กึ ผิดสูงในทุกอายุ โดยทีผ่ ดู้ ม่ื ฯเพศหญิงอายุนอ้ ยจะมีปญ ั หาการเงินมาก และผูด้ ม่ื ฯ เพศหญิงทีอ่ ายุมากจะมีปญ ั หาสุขภาพร่างกาย มากขึน้ เช่นเดียวกับเพศชาย (ดูตารางที่ 17) 12. ข้อมูลทีน่ า่ สนใจ คือ มีเพียงร้อยละ 1 ของผูท้ ด่ี ม่ื เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในรอบ 12 เดือนทีผ่ า่ นมาทัง้ สองเพศทีไ่ ม่ ประสบปัญหาใดเลยในปัญหา 14 ปัญหานี้ และประมาณครึ่งหนึ่งของผูด้ ม่ื ฯเพศชายและหนึง่ ในสามของผูด้ ม่ื ฯ เพศหญิงทุกอายุมปี ญ ั หาถึงสามปัญหาขึน้ ไป ดังรายละเอียดในตารางที่ 17 ตารางที่ 17 สัดส่วนของผูท้ ป่ี ระสบปัญหาจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในกลุม่ ผูท้ ด่ี ม่ื ฯใน 12 เดือนทีผ่ า่ นมา จำแนกตามอายุและเพศ ประเภทปัญหา เพศชาย 1.ผลเสียต่อชีวติ สมรส หรือความสัมพันธ์ใกล้ชดิ กับคนรักของคุณ 2.ผลเสียต่อความสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัวรวมทั้งลูกของคุณ 3.ผลเสียต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนฝูงหรือชีวิตสังคม 4.คุณเคยทะเลาะวิวาทขณะดืม่ สุรา 5.คุณเคยมีปัญหาทางกฎหมายเนื่องจากการขับรถหลังดื่มสุรา 6.ผลเสียต่อการทำงาน การเรียนหรือโอกาสทีจ่ ะได้งานทำของคุณ 7.ผลเสียต่อการทำงานบ้านของคุณ 8.ปัญหาทางการเงินต่อคุณ 9.คุณเคยมีปัญหาทางสุขภาพร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการดื่มสุรา 10.คุณเคยรูส้ กึ ผิด หรือเสียใจหลังดืม่ สุรา 11.คุณเคยมีปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดื่มสุรา 12.คุณเคยตกงานหรือเกือบออกจากงานเนือ่ งจากการดืม่ สุรา 13.คู่ครองของคุณเคยบอกว่าจะเลิกกับคุณเพราะการดื่มสุราของคุณ 14.คุณเคยรู้สึกไม่พอใจเพราะมีคนวิจารณ์คุณเกี่ยวกับการดื่มสุราของคุณ ไม่มปี ญ ั หาใดๆเลย มีปญ ั หา 1 - 2 ปัญหา มีปญ ั หา > 3 ปัญหา 37
เพศชาย (ร้อยละ) 12 - 19 20 - 24 25 - 44 45 - 65 รวม ปี ปี ปี ปี 3.6 11.0 10.4 26.1 4.3 18.2 10.3 19.1 9.2 18.6 2.2 1.1 2.1 11.3 0.6 48.4 51.0
6.2 9.6 9.3 23.4 4.9 18.6 10.5 24.1 14.6 23.0 3.3 2.3 4.3 13.8 0.6 50.9 48.5
15.6 14.9 7.2 15.5 3.9 15.8 12.1 20.7 18.3 21.3 2.5 2.4 9.8 13.3 0.8 46.9 52.2
14.6 13.7 5.6 6.6 2.0 13.9 12.0 15.1 15.8 15.7 1.5 2.1 8.3 9.7 1.8 49.7 48.5
13.7 13.8 6.9 13.4 3.3 15.5 11.8 18.8 16.5 19.2 2.2 2.2 8.3
11.8 1.1 48.3 50.5
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
เพศชาย (ร้อยละ) 12 - 19 20 - 24 25 - 44 45 - 65 รวม ปี ปี ปี ปี
ประเภทปัญหา เพศหญิง 1.ผลเสียต่อชีวติ สมรส หรือความสัมพันธ์ใกล้ชดิ กับคนรักของคุณ 2.ผลเสียต่อความสัมพันธ์กับสมาชิกในครอบครัวรวมทั้งลูกของคุณ 3.ผลเสียต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนฝูงหรือชีวิตสังคม 4.คุณเคยทะเลาะวิวาทขณะดืม่ สุรา 5.คุณเคยมีปัญหาทางกฎหมายเนื่องจากการขับรถหลังดื่มสุรา 6.ผลเสียต่อการทำงาน การเรียนหรือโอกาสทีจ่ ะได้งานทำของคุณ 7.ผลเสียต่อการทำงานบ้านของคุณ 8.ปัญหาทางการเงินต่อคุณ 9.คุณเคยมีปัญหาทางสุขภาพร่างกายที่เกี่ยวข้องกับการดื่มสุรา 10.คุณเคยรูส้ กึ ผิด หรือเสียใจหลังดืม่ สุรา 11.คุณเคยมีปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดื่มสุรา 12.คุณเคยตกงานหรือเกือบออกจากงานเนือ่ งจากการดืม่ สุรา 13.คู่ครองของคุณเคยบอกว่าจะเลิกกับคุณเพราะการดื่มสุราของคุณ 14.คุณเคยรู้สึกไม่พอใจเพราะมีคนวิจารณ์คุณเกี่ยวกับการดื่มสุราของคุณ ไม่มปี ญ ั หาใดๆเลย มีปญ ั หา 1 - 2 ปัญหา มีปญ ั หา > 3 ปัญหา
1.7 6.3 3.9 8.2 2.7 9.8 4.2 14.4 9.3 17.5 1.2 1.3 11.9 0.7 67.6 31.6
10.9 8.8 1.2 9.3 11.2 7.9 14.1 12.4 13.8 1.3 0.2 2.0 11.7 2.5 55.2 42.3
7.7 8.6 3.4 5.3 1.2 5.7 6.9 10.6 16.4 13.9 1.1 0.7 3.0 7.1 0.6 61.9 37.6
7.3 7.6 2.4 2.1 3.5 5.6 7.6 12.9 11.3 0.3 0.3 2.8 8.9 0.8 62.2 37.0
7.3 8.1 2.9 4.9 0.9 5.8 6.3 10.3 14.3 13.3 0.8 0.5 2.7 8.5 0.8 61.9 37.3
หมายเหตุ - คิดร้อยละจากจำนวนประชากรกลุ่มอายุและเพศนั้นที่ดื่มสุราภายใน 1 ปีที่ผ่านมาเท่านั้น z
พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำความผิดคดีเมาแล้วขับ
13. อุบัติเหตุจากการเมาแล้วขับเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การเข้าใจถึง พฤติกรรมการดื่มฯของกลุ่มผู้ที่กระทำความผิดคดีเมาแล้วขับจะทำให้สามารถออกแบบแนวทางการแก้ไขปัญหา ได้ตรงจุดมากขึน้ รศ.ดร.นพ.อภินนั ท์ อร่ามรัตน์ และ ผ.ศ.กนิษฐา ไทยกล้า ได้ดำเนินการวิจยั เรือ่ ง การศึกษา นำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของผูก้ ระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน (20) ซึ่งสนับสนุนโดยแผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการบำบัดรักษาผูม้ ปี ญ ั หาการบริโภคสุราแบบ บูรณาการ (ผรส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาจำนวนและลักษณะคดีทเ่ี กีย่ วข้องกับการดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีม่ ี แอลกอฮอล์ 2) ศึกษาแบบแผนการดืม่ ปัญหาและผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการดืม่ ฯ และ 3) ศึกษากระบวนการ แก้ปัญหาและอุปสรรคของเจ้าหน้าที่ตำรวจในกรณีที่ผูก้ ระทำความผิดมีปัญหาทางสุขภาพที่เกิดขึ้นจากการดื่ม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ วิธีการวิจัยที่ใช้คือวิธกี ารวิจยั เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพควบคูก่ นั ไป ประกอบด้วย การวิจัยเอกสารข้อมูลคดี ตลอดจนการสัมภาษณ์ผู้กระทำความผิด ญาติ และเจ้าหน้าทีต่ ำรวจ เก็บข้อมูลคดี เมาแล้วขับระหว่าง 1 ตุลาคม 2551 - 31 ธันวาคม 2552 ทัง้ นีม้ ผี กู้ ระทำความผิดคดีเมาแล้วขับทีย่ นิ ดีเข้าร่วม โครงการทัง้ สิน้ 104 คน (เชียงใหม่ 58 ราย ลำพูน 46 ราย) 38
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
14. ผลการศึกษาพบว่าจากการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจในวันทีถ่ กู จับกุม พบว่าโดยรวมครึง่ หนึง่ ของ กลุ่มตัวอย่างที่กระทำความผิดคดีเมาแล้วขับมีระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจไม่นอ้ ยกว่า 119.50 mg% เมือ่ จำแนกตามกลุม่ อายุจะพบว่ากลุม่ อายุมากจะมีระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจมากกว่ากลุม่ อายุนอ้ ย ดังนี้ กลุม่ อายุ 45-63 ปี มีปริมาณแอลกอฮอล์ทด่ี ม่ื เฉลีย่ (ในกรณีนใ้ี ช้คา่ Median) สูงกว่า 127 กรัม กลุม่ อายุ 25-44 ปี ดืม่ เฉลีย่ 121 กรัม และกลุม่ อายุ 18-24 ปี ดืม่ เฉลีย่ 112.50 กรัม ตามลำดับ (ดูตารางที่ 18 และรูปที่ 8) ตารางที่ 18 ปริมาณแอลกอฮอล์จากการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ณ วันทีโ่ ดนจับ (mg%) จำแนกตามอายุ อายุ จำนวนตัวอย่าง
18 - 24 ปี 25 - 44 ปี 45 - 63 ปี (n = 36) (n = 53) (n = 15) ค่าปริมาณแอลกอฮอล์จากการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ณ วันทีโ่ ดนจับ (mg%) ค่าเฉลีย่ 127.89 122.17 126.31 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน 42.32 42.98 50.46 มัธยฐาน 112.50 121.00 127.00 ค่าน้อยทีส่ ดุ 70 53 64 ค่ามากทีส่ ดุ 214 218 241
รวม (n = 104) 124.72 43.38 119.50 53 241
ทีม่ า: การศึกษานำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน
รูปที่ 8 กราฟแสดงปริมาณแอลกอฮอล์ทางลมหายใจ (mg%) จำแนกตามอายุ
ปริมาณแอลกอฮอล์ในลมหายใจ (mg%)
ทีม่ า: การศึกษานำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน
39
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
15. ในส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่กระทาความผิดคดีเมาแล้วขับที่ยินดีเข้าร่วมโครงการมีจานวน 104 ราย ประเภท เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทด่ี ม่ื ใน 30 วันทีผ่ า่ นมา ส่วนใหญ่คอื ดืม่ เบียร์ ร้อยละ 84.6 รองลงมาดืม่ เหล้าแดง ร้อยละ 76.0 และเหล้าขาว ร้อยละ 39.4 (ดูตารางที่ 19) โดยมากนิยมดืม่ เบียร์ไทย ร้อยละ 39.0 รองมาคือ สุราสีไทย และสุราสีตา่ งประเทศในสัดส่วนทีเ่ ท่ากัน คือ ร้อยละ 23.0 และสุราขาวไทยเป็นอันดับทีส่ ่ี ร้อยละ 13 (ดูรปู ที่ 9) ตารางที่ 19 จำนวนและร้อยละของประเภทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ดื่มใน 30 วันที่ผ่านมาของกลุ่มตัวอย่าง ผู้ที่กระทำผิดคดีเมาแล้วขับ 18 - 24 ปี ประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ (n = 36) จำนวน (ร้อยละ) 1.น้ำผลไม้ผสมแอลกอฮอล์ 6 (16.7) 2.เบียร์ 35 (97.2) 3.ไวน์ 5 (13.9) 4.เหล้าแดง 34 (94.4) 5.บรั่นดี 5 (13.9) 6.เหล้าขาว 14 (38.9) 7.ยาดองเหล้า 9 (25.0) 8.เหล้าจีน/เซีย่ งชุน/เหมาไถ 8 (22.2) 9.เหล้าพืน้ บ้าน/อุ/กระแช่/สาโท 7 (19.4) 10.เหล้าเถือ่ นพืน้ บ้าน 8 (22.2) 11.เหล้านอกหนีภาษี 9 (25.0) 12.เบียร์นอกหนีภาษี 2 (5.6) 13.ไวน์นอกหนีภาษี 1 (2.8) 14.RTD (เครือ่ งดืม่ ผสมเสร็จ) 4 (11.1) 15.เหล้าปัน่ /เหล้าถัง 13 (36.1)
25 - 44 ปี 45 - 63 ปี (n = 53) (n = 15) จำนวน (ร้อยละ) จำนวน (ร้อยละ) 5 (9.4) 0 (0.0) 44 (83.0) 9 (60.0) 6 (11.3) 0 (0.0) 37 (69.8) 8 (53.3) 6 (11.3) 1 (6.7) 21 (39.6) 6 (40) 9 (17.0) 3 (20.0) 5 (9.4) 4 (26.7) 10 (18.9) 1 (6.7) 9 (17.0) 2 (13.3) 8 (15.1) 3 (20.0) 6 (11.3) 2 (13.3) 0 (0.0) 0 (0.0) 4 (7.5) 0 (0.0) 7 (13.2) 0 (0.0)
รวม (n = 104) จำนวน (ร้อยละ) 11 (10.6) 88 (84.6) 11 (10.6) 79 (76.0) 12 (11.5) 41 (39.4) 21 (20.2) 17 (16.3) 18 (17.3) 19 (18.3) 20 (19.2) 10 (9.6) 1 (1.0) 8 (7.7) 20 (19.2)
ทีม่ า: การศึกษานำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน โดย อภินนั ท์ อร่ามรัตน์ และ กนิษฐา ไทยกล้า
รูปที่ 9 กราฟแสดงประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทน่ี ยิ มดืม่ สุราขาวไทย 13%
สุราดี ต่างประเทศ 23%
เบียร์ไทย 39% สุราสีไทย 23%
เซีย่ งชุน 1%
เบียร์ต่างประเทศ 1%
ทีม่ า: การศึกษานำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของผู้กระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน โดย อภินนั ท์ อร่ามรัตน์ และ กนิษฐา ไทยกล้า
40
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553 z
ข้อเท็จจริงของข้อมูลผลกระทบด้านบวกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สำหรับคนไทย
16. ประเด็นทีเ่ ป็นทีถ่ กเถียงกันเสมอว่าการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์มปี ระโยชน์จริงหรือไม่ ดืม่ อย่างไรจึงจะมีประโยชน์ ฝ่ายธุรกิจมักอ้างงานวิจยั ทีอ่ า้ งว่าการดืม่ ไวน์แดง 1 แก้วพร้อมมือ้ อาหารทุกวันจะเป็นผลดีตอ่ การป้องกันโรคหัวใจ ฝ่ายนักวิชาการด้านสาธารณสุขก็มักจะโต้แย้งว่าการดื่มฯ ในลักษณะดังกล่าวได้ประโยชน์เพียงบางเพศและ บางอายุเท่านัน้ อีกทัง้ มีวธิ ที จ่ี ะได้ประโยชน์ตอ่ สุขภาพของหัวใจในวิธที ด่ี กี ว่าประหยัดกว่าเช่นการออกกำลังกาย นอกจากนีย้ งั พบว่าในงานวิจยั ทีอ่ า้ งว่าการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้ผลลดปัญหาโรคหัวใจ กลับพบว่ามีปญ ั หาโรค อืน่ ๆ อีกมากกว่ามากในกลุม่ ผูท้ ด่ี ม่ื ฯ เช่นนัน้ อีกทัง้ อีกประเด็นหนึง่ ทีส่ ำคัญสำหรับประเทศไทยคือประเทศไทย ไม่ได้มวี ฒ ั นธรรมการดืม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์กบั มือ้ อาหารเป็นปกติ ส่วนใหญ่การดืม่ จะเป็นการตัง้ วงสังสรรค์ หรือดื่มในช่วงการฉลองเทศกาล ซึ่งการดื่มในลักษณะเช่นนี้มักจะดื่มมากและเมา จึงเกิดคำถามสำคัญขึน้ ว่า คนไทยสักเท่าใดที่ดื่มอย่างสม่ำเสมอครั้งละเล็กน้อยได้อย่างข้อเสนอแนะข้างต้น 17. งานวิจัยเรื่อง การกระจายของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทยในมิติของผูบ้ ริโภคและลักษณะ การบริโภค (21) ดำเนินการโดย ภญ.ประพักตร์ เนรมิตพิทกั ษ์กลุ และ นพ.ดร.ทักษพล ธรรมรังสี 2553 ได้ศกึ ษา เพือ่ ตอบประเด็นทีน่ า่ สนใจนีว้ า่ ในประเทศไทยมีผทู้ ด่ี ม่ื ในปริมาณน้อยๆ สม่ำเสมอทุกวันสักเพียงใด ผูว้ จิ ยั พบว่า ความชุกของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณต่ำและดื่มอย่างสม่ำเสมอ (Light regular drinking) มีนอ้ ยมากสำหรับการดืม่ ของประชากรไทย คิดเป็นเพียง ร้อยละ 0-1.2 (ดูตารางที่ 20) ตารางที่ 20 แสดงความชุก (ร้อยละ) การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณต่ำและอย่างสม่ำเสมอ (Light regular drinking) โดยจำแนกตามตามเพศและอายุ อายุ น้อยกว่า15 15-19 20-29 30-39 40-49 50-59 มากกว่าหรือ เท่ากับ 60
ดืม่ ในปริมาณต่ำและดืม่ อย่างสม่ำเสมอ น้อยกว่า 10 กรัมต่อวัน และ ดืม่ 5-7 วันต่อสัปดาห์(ดืม่ ทุกวัน) (ร้อยละ) เพศชาย เพศหญิง รวม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.1 0.3 0.2 0.8 0.0 0.6 0.6 0.4 0.5 0.5 0.0 0.4 0.6 1.2 0.7
ทีม่ า: งานวิจยั เรือ่ ง การกระจายของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทยในมิตขิ องผูบ้ ริโภคและลักษณะการบริโภค ภญ.ประพักตร์ เนรมิตพิทกั ษ์กลุ และ นพ.ดร.ทักษพล ธรรมรังสี 2553
41
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫ z
ข้อมูลแนวโน้มการเกิดอุบตั เิ หตุชว่ งเทศกาล
18. ข้อมูลรายเดือนจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุจราจรทางบกทีม่ สี าเหตุจากการเมาสุรา ระหว่างปี 2545 - 2552 โดยเฉลีย่ แล้วเดือนทีเ่ กิดคดีมากทีส่ ดุ คือเดือนธันวาคม-มกราคมและเมษายน ซึง่ เป็นเดือนทีเ่ กีย่ วข้องกับเทศกาลใหญ่ของ ประเทศไทยสองเทศกาลคือสงกรานต์และปีใหม่ (ดูรปู ที่ 10) รูปที่ 10 แสดงจำนวนคดีอบุ ตั เิ หตุจราจรทางบกทีม่ สี าเหตุจากการเมาสุรา จำแนกตามเดือนทีเ่ กิดคดีจากการเมาสุรา ระหว่างปี 2545-2553
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลี่ย
ม.ค. 240 318 983 939 1,057 806 285 392 628
ก.พ. 175 377 758 591 603 494 340 416 469
มี.ค. เม.ย. 190 236 364 600 702 1,091 458 1,117 564 977 791 856 298 510 373 399 468 723
พ.ค. 167 343 567 550 458 333 237 315 371
มิ.ย. 139 259 790 496 426 242 286 370 376
ก.ค. 275 238 663 657 611 305 215 238 400
ส.ค. 253 374 580 603 838 255 308 302 439
ทีม่ า : สถิติจราจรทางบก, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
42
ก.ย. 286 340 509 396 584 265 207 358 368
ต.ค. 250 393 775 448 485 316 188 351 401
พ.ย. 224 487 717 566 668 310 247 374 449
ธ.ค. 388 1,055 1,144 1,241 1,118 499 450 673 821
รวม 2,823 5,148 9,279 8,062 8,389 5,472 3,571 4,561 5,913
เฉลี่ย 235 429 733 627 699 456 298 380 482
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
19. จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกในช่วงปีใหม่และสงกรานต์สูงประมาณสองเท่าของจำนวนเฉลี่ย ตลอดปี (ดูตารางที่ 21) ตารางที่ 21 จำนวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจรทางบก เปรียบเทียบระหว่างตลอดปี, ปีใหม่และสงกรานต์ ตัง้ แต่ ปี 2545-2552 ปี
2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 เฉลี่ย
ตลอดปี 365 วัน ต่อวัน
7 วัน
13,116 14,012 13,766 12,858 12,693 12,492 11,489 10,717 12,643
585 562 632 469 441 449 401 367 488
36 38 38 35 35 34 31 29 34.5
ปีใหม่ (ผูเ้ สียชีวติ ) สงกรานต์ (ผูเ้ สียชีวติ ) ต่อวัน เปรียบเทียบปีใหม่ 6 วัน ต่อวัน เปรียบเทียบปีใหม่ กับตลอดปี กับตลอดปี 84 2.3 567 95 2.6 80 2.1 559 93 2.4 90 2.4 449 75 2.0 67 1.9 330 55 1.6 63 1.8 338 56 1.6 64 1.9 318 53 1.5 57 1.8 324 54 1.7 52 1.8 373 53 1.8 70 2.0 407 67 1.9
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
43
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
20. ระยะเวลาโดยเฉลีย่ ทีเ่ กิดการเสียชีวติ 1 คน ของช่วงปีใหม่ 7 วันอันตรายเคือ 22 นาที และ ของช่วงสงกรานต์ 6 วันอันตราย คือ 23 นาที (ดูตารางที่ 22) ตารางที่ 22 จำนวนและค่าเฉลี่ยของระยะเวลาโดยเฉลี่ยที่เกิดการเสียชีวิต 1 คน จากอุบัติเหตุจราจรทางบก เปรียบเทียบระหว่างเทศกาลปีใหม่กบั สงกรานต์ตง้ั แต่ปี 2545-2553
ปี 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2251 2552 2553 เฉลีย่
จำนวนผูเ้ สียชีวติ ในเทศกาลปีใหม่ ระยะเวลา จำนวนผูเ้ สียชีวติ ในเทศกาลสงกรานต์* ระยะเวลา 7 วัน เฉลี่ยต่อวัน เฉลี่ยต่อ ทีเ่ กิดการเสียชีวติ 6 วัน เฉลี่ยต่อ เฉลีย่ ต่อชัว่ โมง ทีเ่ กิดการเสียชีวติ (ราย) (ราย) ชัว่ โมง(ราย) 1 คน (นาที) (ราย) วัน(ราย) (ราย) 1 คน (นาที) 585 84 4 17 567 95 4 15 562 80 3 18 559 93 4 15 632 90 4 16 449 75 3 19 469 67 3 21 330 55 2 26 441 63 3 23 338 56 2 26 449 64 3 22 318 53 2 27 401 57 2 25 324 54 2 26 367 52 2 27 337 56 2 26 307 44 2 32 361 52 2 28 468 67 3 22 398 65 3 23
ผูเ้ สียชีวติ ในเทศกาลสงกรานต์ ปี 2545-2552 ข้อมูลจากวันที่ 11-16 เม.ย. ผูเ้ สียชีวติ ในเทศกาลสงกรานต์ ปี 2553 ใช้ขอ้ มูลจากวันที่ 12-17 เม.ย. ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
44
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
21. วันที่ 31 ธันวาคม - 1 มกราคม ของทุกๆปี คือวันที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัตเหตุจราจรสูงสุดของ ช่วงเทศกาลปีใหม่ และผูเ้ สียชีวติ มีสดั ส่วนสูงทีส่ ดุ ทีช่ ว่ งอายุตำ่ กว่า 20 ปี (ดูรปู ที่ 11 และ 12) รูปที่ 11 กราฟแสดงการเปรียบเทียบจำนวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุจราจรทางบกในช่วงเทศกาลปีใหม่ จำแนกตามวัน ตัง้ แต่ปี 2545-2553
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
รูปที่ 12 กราฟแสดงร้อยละของผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ ในช่วงเทศกาลปีใหม่ จำแนกตามกลุม่ อายุ ระหว่างปี 2550-2553
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
45
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πº≈°√–∑∫
22. วันที่ 13 เมษายน ของทุกๆปี คือวันทีม่ จี ำนวนผูเ้ สียชีวติ จากอุบตั เหตุจราจรสูงสุดของช่วงเทศกาลสงกรานต์ และ ผูเ้ สียชีวติ มีสดั ส่วนสูงทีส่ ดุ ทีช่ ว่ งอายุตำ่ กว่า 20 ปี (ดูรปู ที่ 13 และ 14) รูปที่ 13 กราฟแสดงการเปรียบเทียบจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำแนกตามวัน ตัง้ แต่ปี 2545-2553
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
รูปที่ 14 กราฟแสดงร้อยละของผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำแนกตามช่วงอายุ ระหว่าง ปี 2550-2553
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
46
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
23. ช่วงอายุที่มีอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตในช่วงเทศกาลสงกรานต์สูงที่สุดคือ ช่วงอายุตำ่ กว่า 19 ปี รองลงมาคือช่วงอายุ 40 - 49 ปี (ดูตารางที่ 23) ตารางที่ 23 อัตราการเปลีย่ นแปลงของสัดส่วนผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จำแนกตามกลุม่ อายุ ปี 2550-2553 กลุ่มอายุ 1-14 15-19 20-24 25-29 30-39 40-49 50 ปีขน้ึ ไป
ร้อยละของผูบ้ าดเจ็บและเสียชีวติ ช่วงสงกรานต์ (7 วันอันตราย) (11-17 เม.ย.50) 9.44 15.98 14.56 13.52 19.28 10.95 16.25
(11-17 เม.ย.51) 10.03 16.18 13.72 12.13 17.35 14.51 16.07
(10-16 เม.ย.52) 12.24 16.97 13.95 12.24 16.73 12.93 14.94
ทีม่ า : ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
47
(12-18 เม.ย.53) 11.70 17.70 12.90 10.95 17.25 12.85 16.65
การเปลีย่ นแปลง เทียบ 2553 กับ 2550 23.94 10.76 -11.40 -19.01 -10.53 17.35 2.46
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
บทที่ 3 สถานการณ์ดา้ นอุปทาน (Supply Situations) 1. รายงานสถานการณ์สุราฉบับนี้จะนำเสนอข้อมูลสถานการณ์ด้านอุปทานที่สำคัญดังนี้ - แนวโน้มการผลิตและนำเข้าเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัวประชากรของประเทศไทย - สถานการณ์กจิ กรรมการตลาดของธุรกิจสุราและการเคลือ่ นไหวของผูป้ ระกอบการในช่วงเดือนตุลาคม 2553 - ข้อมูลแนวโน้มการผลิต, การจำหน่าย และ ภาษีสรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ z
แนวโน้มการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตอ่ หัวประชากรของประเทศไทย
2. ในรายงานสถานการณ์สรุ าประจำปี 2553 นี้ ผูจ้ ดั ทำได้ทำการคำนวนแปลงการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ จากเดิมที่รายงานเป็นปริมาณลิตรเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ต่อคนต่อปีมาเป็นปริมาณลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คน ต่อปี ด้วยเหตุผลสองประการเพือ่ ให้สอดคล้องตรงกับการประเมินสถานการณ์การดืม่ ให้มากขึน้ คือ หนึง่ ลิตร แอลกอฮอล์บริสุทธิ์สะท้อนปริมาณแอลกอฮอล์ที่ถูกบริโภคเข้าไปอย่างแท้จริงมากกว่า เพราะปริมาณลิตรของ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บางประเภท เช่น เบียร์ มีปริมาณเครือ่ งดืม่ มากแต่ปริมาณแอลกอฮอล์ตำ่ ซึง่ การประเมิน แนวโน้มของปริมาณการบริโภคเครือ่ งดื่มอาจทำให้บิดเบือนแนวโน้มของปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์บริสทุ ธิท์ ่ี แท้จริงได้ และ สอง การประเมินปริมาณแอลกอฮอล์ตอ่ คนต่อปี ทำให้ได้ภาพการบริโภคเฉลีย่ ต่อหัวประชากร ซึง่ สะท้อนแนวโน้มการบริโภคได้ดกี ว่า เนือ่ งจากแนวโน้มของปริมาณแอลกอฮอล์โดยรวมจะเพิม่ ขึน้ ได้หากจำนวน ประชากรเพิม่ ขึน้ แม้การบริโภคต่อคนจะเท่าเดิม ดังนัน้ ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ตอ่ คนต่อปีจงึ สะท้อนแนวโน้ม การบริโภคโดยเฉลี่ยต่อคนที่แท้จริงได้มากกว่า 3. วิธกี ารคำนวนปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิน์ น้ั ทำได้โดยการนำค่าความเข้มข้นโดยเฉลีย่ ของเครือ่ งดืม่ แต่ละประเภท ซึง่ มีหน่วยเป็นร้อยละของความเข้มข้นโดยปริมาตร ทีเ่ รียกว่าดีกรี หรือ ร้อยละโดยปริมาตร เช่น เหล้าขาว ขวดกลม 625 ซีซี ความเข้มข้น 40 ดีกรี หรือ 40% โดยปริมาตร ก็จะมีปริมาณแอลกอฮอล์เท่ากับ 0.625 x 0.4 = 0.25 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ หรือ เบียร์ 630 ซีซี ความเข้มข้น 5.0 ดีกรี หรือ 5% โดยปริมาตร จะมีปริมาณแอลกอฮอล์ เท่ากับ 0.630 x 0.05 = 0.0315 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์
49
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πÕÿª∑“π
4. วิธีการคำนวนปริมาณแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปีมีสองขึ้นตอนดังนี้ - ขัน้ ตอนที่ 1 การคำนวนปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิข์ องเครือ่ งดืม่ แต่ละประเภทโดยรวมทัง้ ตลาด ทำได้โดย การคูณปริมาณเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ (ลิตรเครือ่ งดืม่ ) ด้วย ค่าเฉลีย่ ของค่าความเข้มข้นของผลิตภัณฑ์เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ยห่ี อ้ ต่างๆ ในหมวดเครือ่ งดืม่ ประเภทเดียวกัน เมือ่ ศึกษาข้อมูลยีห่ อ้ เครือ่ งดืม่ ในหมวดเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตา่ งๆ ของกรมสรรพสามิตทีร่ ะบุถงึ ยีห่ อ้ ปริมาตรบรรจุ ความเข้มข้น ราคา ณ โรงงานแล้ว ผูจ้ ดั ทำ รายงานฉบับนีไ้ ด้ตดั สินใจใช้คา่ ความเข้มข้นโดยเฉลีย่ ดังนี้ (1) สุราขาว 35% (2) สุราผสม 35% (3) สุรา ปรุงพิเศษ 35% (4) สุราพิเศษ 40% (5) บรัน่ ดี 38% (6) ไวน์ 12% (7) สุราแช่พน้ื เมือง 8% (8) เบียร์ 5.5% และ (9) สุรานำเข้า 40% เพือ่ ให้สอดคล้องกับบริบทของตลาดเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประเทศไทย มากกว่าทีจ่ ะใช้คา่ ความเข้มข้นทีม่ กั ใช้ในระดับสากล คือ เบียร์ 5% ไวน์ 15% และ สุรากลัน่ 40% - ขัน้ ทีส่ อง คือ การคำนวนปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี โดยการนำค่าตัวเลขปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ ในแต่ละปีของแต่ละประเภทเครือ่ งดืม่ ฯ มาหารด้วยตัวเลขประชากรกลางปีทอ่ี ายุตง้ั แต่ 15 ปีขน้ึ ไป ได้ตวั เลข ค่าปริมาณการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 9 ประเภทดังตารางที่ 24 และ รูปที่ 15 ข้างล่างนี้ 5. จากข้อมูลในตารางที่ 24 จะพบว่าคนไทยดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี เพิม่ ขึน้ ประมาณร้อยละ 3 ในรอบ 14 ปี เมือ่ เทียบปี 2551 กับ 2538
50
51
11%
0.618899
23%
18% 1% 9.4%
2551 2.03111 ส่วนแบ่งตลาด 2538 48%
2541 2546 2551
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต
52% 41% 31%
0.008913
1.903525 0.039009 0.309655 0.234233 0.086359 0.167766 0.08931 0.263139 0.525826
5.336962 0 0.418907 2.307504 2.521741 4.400476 2.463946 2.713359 2.47183
2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550
0.3% 7% 2.8%
0.4%
0.182927
0.3348 0.302326 0.08308 0.210271 0.418211 0.909353 0.610813 0.33055 0.222147
0.070503 0.038085 0.018961
วิเคราะห์โดยศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
9% 0.1% 0.1%
0.416702 0.167659 0.165198 0.183835 0.003545 0.036497 0.043919 0.032142 0.015187
0.816282 0.73943 0.629715
1.544899 1.264504 1.197476
2539 2.560777 2540 3.708731 2541 3.524209
1% 1% 1.7%
1%
0.111276
0.052743 0.069462 0.079436 0.080708 0.084768 0.124134 0.083497 0.109995 0.115869
0.066605 0.06063 0.046316
สุราปรุงพิเศษ รวมสุราพิเศษ บรัน่ ดี 0.698756 0.022707 0.058523
สุราผสม 1.48679
พ.ศ. สุราขาว 2538 3.071224
0.4% 1% 0.8%
0.2%
0.051225
0.055807 0.066394 0.08257 0.079986 0.066001 0.107181 0.053359 0.053074 0.050082
0.02454 0.03000 0.030253
ไวน์ 0.014593
0.002% 0% 0.004%
0%
0.00027
0.000523 0.001294 0.00384 0.006569 0.005806 0.009052 0.000542 0.000658 0.000164
0.000132
สุราแช่พน้ื เมือง
17% 29% 36%
13%
2.345787
1.261634 1.364626 1.399339 1.460477 1.80148 1.779353 1.873634 2.150519 2.282845
0.948847 1.088102 1.167407
เบียร์ 0.818308
2% 19% 18%
3%
1.205868
0.21152 0.295497 0.45789 0.836359 1.133181 1.305476 1.408842 1.260637 1.188081
0.259839 0.404286 0.155236
สุรานำเข้า 0.185432
100% 100% 100%
100%
6.5563
9.5742 2.3063 2.9999 5.3999 6.1211 8.8393 6.6279 6.9141 6.872
6.2923 7.3338 6.7697
รวม 6.3563
ตารางที่ 24 กราฟแสดงปริมาณการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ระหว่าง พ.ศ.2538 - 2552 จำแนกตามประเภทเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πÕÿª∑“π
รูปที่ 15 กราฟแสดงปริมาณการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในปริมาณแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ระหว่าง พ.ศ.2538 - 2551 จำแนกตามประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต วิเคราะห์โดย ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
6. ในรอบ 14 ปีทผ่ี า่ นมา คนไทยดืม่ เบียร์และสุรานำเข้ามากขึน้ ขณะทีด่ ม่ื สุราขาวและสุรากลัน่ ทีผ่ ลิตในประเทศ ลดลง เมื่อจัดหมวดหมู่ประเภทเครื่องดื่มที่ใกล้เคียงกันเข้าด้วยกันจะทำให้เข้าใจตลาดเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ท่ี ่ คนไทยบริโภคได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ดังรูปที่ 16 ซึง่ พบว่า (1) คนไทยบริโภคเบียร์มากขึน้ เรือ่ ยๆ จาก 0.8 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2538 มาเป็น 2.3 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2551 คิดเป็นเพิม่ ขึน้ 1.8 เท่าใน 14 ปี (2) คนไทยบริโภคสุรานำเข้าเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆเช่นกัน จาก 0.2 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2538 เป็น 1.2 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2551 คิดเป็นเพิม่ ขึน้ 5 เท่าใน 14 ปี (3) การบริโภคสุราขาวของคนไทยลดลงจาก 3 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2538 มาเป็น 2 ลิตร แอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2551 คิดเป็นลดลง 1 ใน 3 ใน 14 ปี และ (4) เช่นเดียวกัน การบริโภคสุรากลัน่ ทีผ่ ลิตในประเทศลดลงจาก 2.3 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2538 มาเป็น 0.9 ลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิต์ อ่ คนต่อปี ในปี 2551 คิดเป็นลดลงร้อยละ 41 ใน 14 ปี 7. หากสังเกตให้ดใี นกราฟรูปที่ 16 จะพบว่าสุราขาวและสุรากลัน่ ในประเทศจะมีลกั ษณะการผลิตเป็นยอดแหลม ขึน้ มาสองครัง้ คือในช่วงปี 2542 และ 2547 ซึ่งเป็นช่วงหนึ่งปีกอ่ นขึน้ ภาษีในปี 2543 และ 2548 เหตุผลที่ อธิบายได้คอื อาจเป็นการผลิตเพือ่ เก็บสต๊อกไว้กอ่ นจะขึน้ ภาษี แต่เป็นทีน่ า่ สังเกตุวา่ เพราะเหตุใดธุรกิจสุราขาวและ สุราที่ผลิตในประเทศจึงทราบล่วงหน้าว่าจะมีการขึ้นภาษี 52
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
รู ป ที ่ 1 6 แนวโน้ ม การผลิ ต และนำเข้ า เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ ข องประเทศไทย ระหว่ า ง 2538-2552 จำแนกตามหมวดประเภทเครื่องดื่มหลักๆ
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต วิเคราะห์โดย ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
8. ผูผ้ ลิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จะเลือกผลิตผลิตภัณฑ์ที่เสียภาษีในอัตราที่ต่ำกว่าเพื่อให้ราคาสุราในท้องตลาดต่ำ ทีส่ ดุ และจะเลือกผลิตผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ณ ุ ภาพสูงกว่าหากต้องเสียภาษีเท่ากัน ผูผ้ ลิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จะเลือก ผลิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์คณ ุ ภาพสูงเนือ่ งจากผูบ้ ริโภคนิยมมากกว่า เช่น ในช่วงปี 2543 - 2547 ผูผ้ ลิตเลือกผลิต สุราพิเศษ (บ่ม 5 ปี) มากกว่าสุราปรุงพิเศษและสุราผสมซึง่ บ่มน้อยกว่าเมือ่ ต้องเสียภาษีเท่ากัน คือ 150 บาทในปี 2543 และ 240 บาทต่อลิตแอลกอฮอล์บริสทุ ธิใ์ นปี 2544 - 2547 แต่ในปี 2548 ขณะทีม่ กี ารขึน้ ภาษีสรุ าปรุงพิเศษ และสุราพิเศษเป็น 400 บาทต่อลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ สุราผสมกลับยังคงเสียภาษีเท่าเดิมที่ 240 บาท และ เพิม่ เพียงเล็กน้อยเป็น 280 บาทในปี 2550 ส่งผลให้ผผู้ ลิตเลือกผลิตสุราผสมซึง่ เสียภาษีตำ่ กว่าดังกราฟรูปที่ 17 นัน่ คือ ผูผ้ ลิตจะเลือกผลิตเครือ่ งดืม่ แอลอฮอล์ทเ่ี สียภาษีสรรพสามิตในอัตราทีต่ ำ่ กว่าในกลุม่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ที่ผู้บริโภคเลือกดื่มทดแทนกันได้เพื่อให้เสียภาษีต่ำที่สุดอันจะเป็นผลให้ขายได้ในราคาถูกซึ่งผู้บริโภคนิยม 9. หากรัฐไม่ขน้ึ ภาษีเครือ่ งดืม่ ประเภทต่างๆในอัตราทีเ่ ท่าเทียมกัน จะไม่สามารถลดการบริโภคโดยรวมได้อย่าง แท้จริง จากข้อมูลพบว่าผลรวมของการผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทง้ั สามประเภทนี้ (สุราผสม สุราปรุงพิเศษ และสุราพิเศษ) สูงขึน้ ในช่วงปีหลังๆ แม้บางประเภทจะลดลงอย่างมากจากภาษีทส่ี งู ขึน้ แต่ผบู้ ริโภคได้หนั ไปดืม่ ประเภททีเ่ สียภาษีตำ่ กว่าทดแทนซึง่ เรียกว่า Substitution effect บทเรียนนีส้ ะท้อนให้เห็นว่าหากรัฐไม่ขน้ึ ภาษี เครือ่ งดืม่ ประเภทต่างๆ ในอัตราทีเ่ ท่าเทียมกัน จะไม่สามารถลดการบริโภคโดยรวมได้อย่างแท้จริง เพราะจะมี การหันไปดืม่ สุราอืน่ ทีเ่ สียภาษีตำ่ กว่าทดแทน ซึง่ ขณะนีส้ รุ าขาวเสียภาษีตำ่ มากเมือ่ เทียบกับสุราอืน่ ๆ คือ เสียอยู่ เพียงอัตรา 120 บาทต่อลิตรแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ์ ซึง่ จะทำให้รฐั ไม่สามารถแก้ปญ ั หาการบริโภคสุราได้โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกลุ่มผู้ที่ติดสุราเพราะสามารถเมาได้ในราคาถูก 53
⌫
∂“π°“√≥Ï¥å“πÕÿª∑“π
รูปที่ 17 กราฟแสดงแนวโน้มปริมาณการผลิตสุราผสม สุราปรุงพิเศษและสุราพิเศษ ระหว่างปี 2538 - 2551
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต
วิเคราะห์โดย ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา
สถานการณ์กิจกรรมการตลาดของธุรกิจสุราและการเคลื่อนไหวของผู้ประกอบการในช่วง เดือนตุลาคม 2553
z
10. ธุรกิจเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ได้ปรับกลยุทธ์การโฆษณาจากการโฆษณาทางตรงไปสูก่ ารโฆษณาทางอ้อม อีกทัง้ มี การเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านหรือทัดทานการออกมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของรัฐเช่นเสมอมา เนื่องด้วยการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางตรงสามารถทำได้น้อยลงทั้งช่องทางการสื่อสารที่ถูกควบคุม (ห้ามโฆษณาเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทางโทรทัศน์เวลา 5 - 22 น. และ หนังสือพิมพ์หา้ มโฆษณาปกหน้า ปกหลัง คูก่ ลาง และสิง่ ห่อหุม้ เป็นต้น) การไม่สามารถโฆษณาในลักษณะเชิญชวนให้ดื่มทั้งทางตรงและทางอ้อม การไม่ สามารถสื่อสารภาพผลิตภัณฑ์ได้ ตลอดจนการที่ต้องโฆษณาโดยการให้ความรูเ้ ชิงสร้างสรรค์สงั คมพร้อมแสดง ข้อความคำเตือนเท่านัน้ จึงทำให้ผปู้ ระกอบการหันไปสูก่ ารโฆษณาทางอ้อมโดยการอุปถัมภ์กจิ กรรมต่างๆ (Sponsorship) มากขึน้ (22) นอกจากนัน้ ธุรกิจสุรายังได้มกี ารรวมตัวกันยืน่ หนังสือเพือ่ ขอให้รฐั ลดทอนความเคร่งครัด ในการออก มาตรการกำหนดให้ใช้ภาพฉลากคำเตือนอีกด้วย (22) แต่ในขณะเดียวกันก็สร้างภาพพจน์ดว้ ยการประกาศผ่านสือ่ ถึงท่าทีสนับสนุนพร้อมปฏิบัติตามกฎหมายของประเทศไทย 11. รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์ และคณะ ได้ทำการติดตามการดำเนินกิจกรรมการตลาดของธุรกิจสุราในเดือน ตุลาคม 2553 ที่กระทำผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์และเว็ปไซด์ของหนังสือพิมพ์ อาทิเช่น หนังสือพิมพ์มติชน หนังสือพิมพ์ผจู้ ดั การ และ นิตยสาร Positioning Magazine ตลอดจนเว็ปไซด์ของธุรกิจสุราต่างๆ เช่น ไทยเบฟ สิงห์ ลีโอ เป็นต้น พบประเด็นทีน่ า่ สนใจดังนี้ - ในช่วงเดือนตุลาคม 2553 มีขา่ วคราวความเคลือ่ นไหวของผูป้ ระกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์ในเชิงการตลาด ของค่ายผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ เป็นจำนวนมาก อาทิเช่น การปรับเปลีย่ นบรรจุภณ ั ฑ์ การจัดกิจกรรมส่งเสริม
54
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
การขาย โดยเฉพาะการอุปถัมภ์ (Sponsorship) กิจกรรมต่างๆ ทัง้ ในและต่างประเทศทีจ่ ะสามารถสือ่ ตราสินค้าหรือตราบริษัทของตนได้ ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านกีฬา (อาทิ กอล์ฟ ฟุตบอล เทนนิส เดิน-วิง่ จักรยานเสือภูเขา และแข่งรถ) และ กิจกรรมด้านดนตรี ศิลปะ วัฒนธรรม ตลอดจนการก้าวเข้าไปผลิต รายการโทรทัศน์ (รายการ “ต้องกล้า คนหัวใจสิงห์” ของบริษัท สิงห์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด และบริษทั เจเอสแอล โกลบอล มีเดีย และ รายการ “เดอะวัน คนไทยหัวใจเดียวกัน” ของค่ายเบียร์ชา้ ง ร่วมกับบริษทั แฮฟเอกูด๊ ดรีม จำกัด ฯลฯ) เป็นต้น - ในด้านความเคลือ่ นไหวต่อนโยบายของภาครัฐ หรือ พ.ร.บ. ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ที่ กระทบต่อยอดการจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ พบว่า ผูป้ ระกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์มกี ารรวมตัวกัน เพื่อยื่นจดหมายต่อสำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ขอให้ลดความเคร่งครัดของ การออกมาตรการภาพคำเตือนลง และการประกาศผ่านสือ่ ถึงท่าทีสนับสนุนพร้อมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ของประเทศไทย - ดูรายละเอียดของข้อมูลการติดตามสถานการณ์การเคลือ่ นไหวของผูป้ ระกอบการธุรกิจเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ได้ในภาคผนวกที่ 1 z
ข้อมูลแนวโน้มการผลิต, การจำหน่าย, ภาษีสรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
12. ข้อมูลแนวโน้มการผลิตและนำเข้า การจำหน่าย และภาษีสรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จากกรมสรรพสามิต ซึ่งมีหน่วยเป็นล้านลิตรเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สำหรับการผลิตและการจำหน่าย และ ล้านบาทสำหรับภาษี สรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ดูรายละเอียดได้ในตารางที่ 25 - 27 ต่อไปนี้
55
56
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต เรียบเรียงโดย ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา
ปี พ.ศ. สุราขาว สุราผสม สุราปรุง พิเศษ 2538 378.099 183.039 86.024 2539 321.000 193.657 102.323 2540 473.323 161.381 94.369 2541 457.756 155.539 81.793 2542 704.983 251.445 55.044 2543 0. 5.235 22.500 2544 57.055 42.175 22.500 2545 318.671 32.348 25.388 2546 352.831 12.083 0.496 2547 623.352 23.765 5.170 2548 353.165 12.801 6.295 2549 393.301 38.142 4.659 2550 362.130 77.035 2.225 2551 277.069 94.041 1.649 2552 325.300 110.803 1.850
บรั่นดี 6.636 7.690 7.127 5.541 6.417 8.586 9.965 10.266 10.924 16.196 11.023 14.685 15.635 15.351 13.913
วิสกี้
2.446 7.733 4.253 1.929 4.615 5.243 3.854 0.436 0.431 0.957 0.530 0.165 0.002 0.331 0.000
N.A. N.A. N.A. 0.027 0.015 0.005 N.A. N.A. N.A. N.A. N.A. N.A N.A. N.A. N.A.
ลิเคียว N.A. N.A. N.A. N.A. 32.931 29.890 5.550 24.967 50.769 111.740 76.076 41.759 28.475 23.010 23.055
รัม N.A. N.A. N.A. 0.199 1.136 0.363 0.497 0.006 0.000 0.016 0.000 N.A N.A. N.A. N.A.
68.694 76.629 89.348 65.868 79.005 92.512 129.706 82.418 100.702 162.197 68.997 33.574 48.581 76.025 152.820
สุราจีน สุราสามทับ 5.240 8.972 11.167 11.461 21.501 25.988 32.801 32.218 26.934 44.283 22.307 22.438 21.400 25.313 24.026
ไวน์
สุรา พื้นเมือง N.A. N.A. N.A. 0.075 0.302 0.760 2.288 3.969 3.554 5.610 0.340 0.417 0.105 0.175 N.A. 641.086 756.893 883.705 964.939 1,060.531 1,165.401 1,212.844 1,283.513 1,603.988 1,603.988 1,708.978 1,983.656 2,128.275 2,209.207 2,611.534
เบียร์
สุรานำเข้า ยอดรวมผลิตและ นำเข้า (ล้านลิตร) 19.975 1,391.2 28.500 1,503.4 45.147 1,769.8 17.643 1,762.8 24.448 2,242.4 34.699 1,391.2 54.569 1,573.8 101.065 1,915.3 138.731 2,301.4 161.812 2,759.1 176.692 2,437.2 159.888 2,739.6 152.300 2,836.2 156.153 2,878.3 114.572 3,377.8
ตารางที่ 25 ปริมาณการผลิตและนำเข้าเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประเทศไทย ระหว่างปี 2538 - 2552 จำแนกตามประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ของกรมสรรพสามิต (ล้านลิตร)
∂“π°“√≥Ï¥å“πÕÿª∑“π
⌫
57
449.7
389.9
419.7
395.3
404.8
421.6
495.5
489.6
507.1
527.1
480.1
441.2
384.9
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
103.8
112.7
75.3
39.9
24.2
21.7
39.3
99.1
130.3
167.1
116.7
315.1
204.1
สุราผสม
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต เรียบเรียงโดย ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา
สุรา ขาว
ปี พ.ศ.
2.8
8.5
9.9
18.9
17.6
19.0
19.9
34.0
31.1
19.3
44.4
52.4
72.6
24.2
44.6
48.0
55.2
78.6
69.2
71.3
84.2
83.5
27.2
17.8
16.9
10.2
ปริมาณการจำหน่าย สุราปรุง สุรา พิเศษ พิเศษ
1928.4
1477.1
1711.0
1621.1
1468.7
1531.7
1506.7
1195.6
1158.7
1092.2
1032.2
950.3
863.9
เบียร์
9.5
1.5
1.6
1.7
3.3
32.6
22.6
21.3
11.0
15.4
7.2
4.3
3.9
ไวน์
N.A.
0.17
0.11
0.42
0.34
5.61
3.55
3.97
2.29
0.76
0.30
0.08
N.A.
114.67
156.15
152.30
159.89
176.69
161.81
138.73
101.07
54.57
34.70
24.45
17.64
45.15
2,568.47
2,241.95
2,478.31
2,424.21
2,276.53
2,331.22
2,297.59
1,960.83
1,876.26
1,751.96
1,662.75
1,746.62
1,649.55
ปริมาณการ ปริมาณการ ยอดรวมปริมาณการจำหน่ายสุราที่ผลิตในประเทศไทย, ผลิตสุรา นำเข้าสุรา ปริมาณการผลิตสุราพืน้ เมืองและ พืน้ เมือง นำเข้า ปริมาณการนำเข้าสุราจากต่างประเทศ
ตารางที่ 26 ปริมาณการจำหน่ายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ทผ่ี ลิตในประเทศและทีน่ ำเข้าจากต่างประเทศระหว่างปี พ.ศ.2540-2552 (ล้านลิตร)
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
3,760.6 5,910.7
3,671.4 5,662.8
4,425.6 6,486.4 4,444.7 3,135.3
6,322.5 1,240.5 631.1 9,743.4 10,140.4 9,875.8 8,619.8 8,865.0 9,887.8 11,605.3 13,893.6
2538
2539
2540 2541
2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552
58
ทีม่ า: กรมสรรพสามิต เรียบเรียงโดย ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา
2,858.7 5,953.2 856.9 1,755.6 1,477.7 1,081.0 2,858.4 2,636.8 900.6 5,012.1 963.7 6,105.6 770.7 9,310.8 1,720.1 9,110.0 6,323.7 7,059.2 9,020.4 6,1511.1 10,899.1 5,362.4
588.5 4,813.0
728.8
358.8
สุราขาว สุราผสม สุราพิเศษ
ปี พ.ศ.
3,018.7 718.3 666.4 865.9 1,184.7 181.5 90.2 231.7 295.8 197.6 46.58
4,630.2 4,688.8
4,986.4
3,361.6
สุราปรุง พิเศษ
182.8 210.7 319.9 335.7 635.3 294.0 289.8 166.4 249.8 261.3 286.5
77.6 84.0
56.6
31.1
สุราผลไม้
24,949.4 26,395.3 29,919.5 31,601.2 36,942.2 42,689.3 45,410.4 44,114.6 52,121.6 53,369.5 48,993.4
21,346.9 23,134.3
17,325.1
15,084.5
เบียร์
0.0 0.0 0.0 107.7 119.8 69.4 34.5 14.3 16.5 26.3 26.6
0.0 0.0
0.0
0.0
0.0 0.0 0.0 0.0 200.5 787.3 874.9 834.6 1,420.8 1,922.2 1,827.5
0.0 0.0
0.0
0.0
สุรา สุรากลัน่ พืน้ เมือง ชุมชน
440.0 118.5 24.3 27.2 35.9 34.6 41.2 40.3 43.2 39.5 36.2
4.7 330.3
15.0
28.0
แอลกอฮอล์
1,659.5 341.1 4.2 38.4 9.3 3.2 0.1 4.5 43.2 3.9 N.A.
1,508.2 662.7
2,400.6
3,255.8
อื่นๆ
2,365.0 3,033.7 4,728.4 5,675.8 7,437.4 7,864.1 8,587.2 7,770.0 7,401.6 7,589.0 5,572.5
2,915.6 2,098.7
2,018.1
1,556.3
สุรานำเข้า
47,749.8 34,670.5 38,852.5 53,890.4 62,618.2 68,868.4 74,029.7 72,871.5 84,863.3 90,186.1 86,944.4
41,983.6 43,391.6
36,864.8
33,347.5
รวมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์
ตารางที่ 27 มูลค่าภาษีสรรพสามิตเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของประเทศไทย ระหว่างปี 2538 - 2552 จำแนกตามประเภทเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของ กรมสรรพสามิต (ล้านบาท)
∂“π°“√≥Ï¥å“πÕÿª∑“π
⌫
ภาคผนวก
ภาคผนวกที่ 1 รายละเอียดแนวทางการเคลือ่ นไหวของกลุม่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์ ในช่วงเดือนตุลาคม 2553 ....................................................................... รศ.ดร.ปาริ ช าต สถาปิ ต านนท์ และคณะ ได้ ต ิ ต ามความเคลื ่ อ นไหวของผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ สุ ร า พบความเคลือ่ นไหวของกลุม่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์ และกลุม่ อืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในช่วงเดือนตุลาคม 2553 ทีป่ รากฏทางสือ่ หนังสือพิมพ์ และสือ่ อินเทอร์เน็ต สรุปได้ดงั ต่อไปนี้ 1. กลยุทธ์ดา้ นผลิตภัณฑ์ (Product & Packing) z บริษท ั ดิอาจิโอ โมเอ็ท เฮนเนสซี่ (ประเทศไทย) จำกัด ปรับโฉมขวดจอห์นนี่ วอล์กเกอร์ แบล็กเลเบิล้ ใหม่ในรอบ 10 ปีให้ดเู พรียวและทันสมัยขึน้ พร้อมกับปรับขึน้ ราคาแบล็กเลเบิล้ ขนาด 750 มล. 50 บาท จาก 1,099 บาท เป็น 1,149 บาท และเตรียมอัดงบทำการตลาด โดยใช้ 3 กลยุทธ์หลัก ได้แก่ Progress กระตุ้นให้ผู้บริโภคเอาชนะอุปสรรค Quality อัพเดทบรรจุภัณฑ์ใหม่ และ Style and Sophistication สร้างสรรค์กจิ กรรมให้ผบู้ ริโภคเข้ามามีสว่ นร่วม (หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ 15 ตุลาคม 2553 หน้า 7) z บริษัท เพอร์นอต ริคาร์ด (ประเทศไทย) จำกัด เปิดตัวแพ็กเกจจิ้งใหม่ของแอบโซลูทวอดก้ารุ่น ลิมเิ ต็ด อิดชิ น่ั "แอบโซลูท กลิมเมอร์" ด้วยดีไซน์ขวดประกายระยิบระยับจากฝีมอื ของ 4 เซเลบริต้ี วรรณพร โปษยานนท์ , โอ๋ ฟู ต อง, บุ ญ ญาภาณิ ์ เบญจรงคกุ ล และพจน์ กาญจนหั ต ถกิ จ (หนังสือผูจ้ ดั การรายวัน 18 ตุลาคม 2553 หน้า 35) 2. กลยุทธ์ดา้ นกิจกรรมส่งเสริมการขาย (Promotion) จากผลการติดตามและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้ประกอบการธุรกิจแอลกอฮอล์ได้ใช้กลยุทธ์ด้านการ ส่งเสริมการขายทั้งในรูปแบบของการตลาดแบบสร้างประสบการณ์ (Experiential Marketing) และในรูปแบบ ของการจัดการแข่งขัน โดยแบ่งออกเป็นด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ - ด้านกีฬา : z บริษัท สิงห์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย และสมาคม สภาผูส้ งู อายุแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จัดกิจกรรม z
เดิน-วิ่งสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปี 2553" ณ สวนหลวง ร.9 (หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ 1 ตุลาคม 2553 หน้า 19) 101
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด จัดกิจกรรม “Singh Super Kid with Paradon” เพือ่ เปิดโอกาสให้นอ้ งๆ ที่สนใจกีฬาเทนนิสได้เข้ามาเรียนรู้แบบเอ็กซ์คลูซีฟกับช่วงการแข่งขัน พีทีที ไทยแลนด์ โอเพ่น 2010 ทีม่ นี กั เทนนิสระดับโลกร่วมแข่งขัน โดยมีคณ ุ บอล ภราดร ทำหน้าทีห่ วั หน้าทัวร์ (หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ 2 ตุลาคม 2553 หน้า 10)
z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เปิดเผยแผนการเข้าสูต่ ลาดโลกอย่างจริงจัง โดยจะใช้แนวทาง การเข้าไปเป็นผูส้ นับสนุนด้านแข่งขันกีฬา โดยเน้นไปทีก่ ฬี าฟุตบอลและกอล์ฟเป็นหลัก เนือ่ งจากเป็นกีฬา ที่คนทั่วโลกให้ความสนใจสูงสุด รวมทั้งการเข้าไปสนับสนุนและจัดกิจกรรมด้านดนตรี (หนังสือพิมพ์ ข่าวสด 5 ตุลาคม 2553 หน้า 23)
z
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ต่อสัญญาสนับสนุนสโมสรบุรีรัมย์ พีอีเอ และชลบุรี เอฟซี ในการแข่งขันไทยพรีเมียร์ลกี และดิวชิ น่ั 1 (หนังสือพิมพ์ขา่ วสด 5 ตุลาคม 2553 หน้า 13)
z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) เซ็นสัญญาเป็นผูใ้ ห้การสนับสนุนการแข่งขันกอล์ฟ CIMB Asia Pacific Classic ซึง่ จัดขึน้ ทีป่ ระเทศมาเลเซีย และได้จดั ทำแคมเปญ “Live Life Large” เพือ่ เปิดโอกาส ให้คนไทยและเยาวชนไทยมีประสบการณ์ร่วมในการแข่งขันกอล์ฟรายการระดับโลกนี้ อีกทั้งยังจัดทำ โครงการ “ช้าง จูเนียร์ พีจเี อ กอล์ฟ คลินกิ ” เพือ่ เปิดโอกาสให้นกั กอล์ฟเยาวชนจำนวน 30 คน ได้เรียนรู้ และพัฒนาฝีมือการเล่นกอล์ฟจากโปรระดับโลก PGA Tour Academy (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ 7 ตุลาคม 2553 หน้า 19)
z
บริษทั เพอร์นอต ริคาร์ด (ประเทศไทย) จำกัด ผูน้ ำเข้าและจัดจำหน่ายจาคอบส์ ครีก ไวน์ชน้ั นำจาก ประเทศออสเตรเลีย จัดทำแคมเปญ “วิน เดอะ ทริป ออฟ อะ ไลฟ์ไทม์ ออสเตรเลียนโอเพ่น 2011” เพือ่ หาผูโ้ ชคดีเดินทางไปร่วมชมการแข่งขันออสเตรเลียนโอเพ่น 2011 ในรอบ MEN"S FINAL ทีท่ าง บริษัทเป็นผู้ให้การสนับสนุนด้วย พร้อมเที่ยวชมไร่ไวน์ของจาคอบส์ ครีก (หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ 7 ตุลาคม 2553 หน้า 18)
z
บริษัท สิงห์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด เป็นผู้สนับสนุนให้กับทีม Red Bull Racing ในฐานะทีมพาร์ตเนอร์ ในการแข่งขันกีฬาแข่งรถระดับโลก F1 (หนังสือพิมพ์สยามธุรกิจ 8 ตุลาคม 2553 หน้า 26)
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด ร่วมกับน้ำมันเครือ่ งเรซออยล์ จัดการแข่งขันรถยนต์และรถจักรยานยนต์ “สิงห์-เรซออยล์ ออโต้ครอส 2010” ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 24 - 25 ตุลาคมนี้ ณ โบนันซ่า เขาใหญ่ (หนังสือพิมพ์บางกอกทูเดย์ 15 ตุลาคม 2553 หน้า 16-17)
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด ร่วมกับผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเหล็กชัน้ นำของไทย จัดกิจกรรมเดินวิ่งเพื่อสุขภาพการกุศล “คนเหล็ก มินิมาราธอน ครั้งที่ 3” ในวันที่ 16 ตุลาคมนี้ ณ สวนลุมพินี (หนังสือพิมพ์สยามรัฐ 15 ตุลาคม 2553 หน้า 30)
102
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด ร่วมสนับสนุนการแข่งขันเมาท์เทนไบด์ “ปลวกแดง-สิงห์ เมาท์เทนไบด์ ไทยแลนด์ โอเพ่น 2010” ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 23 ตุลาคมนี้ ณ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง (หนังสือพิมพ์สยามกีฬา 16 ตุลาคม 2553 หน้า 9)
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด จัดการแข่งขัน “Make a Mix University Challenge 2010” ด้วยการ เชิญนิสติ นักศึกษาในระดับอุดมศึกษาจากทัว่ ประเทศมาร่วมประชันไอเดียและลีลาในการสร้างสรรค์ เครือ่ งดืม่ แบบไร้แอลกอฮอล์ทม่ี สี ว่ นผสมของโซดาสิงห์เพือ่ ชิงเงินรางวัล 100,000 บาท และอืน่ ๆ อีก มากมาย (หนังสือประชาชาติธรุ กิจ 18 ตุลาคม 2553 หน้า 22)
z
บริษทั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด สนับสนุนงบประมาณในการจัดการแข่งขัน “เอเชีย่ น พาราเกมส์ ครัง้ ที่ 10” (หนังสือพิมพ์ขา่ วสด 28 ตุลาคม 2553 หน้า 13)
- ด้านดนตรี z
บริษทั บาคาร์ดี (ประเทศไทย) จำกัด จับมือร่วมกับเวอร์จน้ิ ฮิต จัดกิจกรรม “BACARDI HITZ UNHEARD” เวทีการประกวดดนตรีรปู แบบใหม่ เพือ่ เฟ้นหาสุดยอดวงดนตรี ชิงเงินรางวัลกว่า 1 แสนล้านบาท และ ก้าวสู่เป็นศิลปินสังกัดวอร์เนอร์ มิวสิก และแสดงดนตรีในเวทีต่างประเทศ (หนังสือพิมพ์แนวหน้า 13 ตุลาคม 2553 หน้า 20)
z
รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทยเบฟเวอเรจมาร์เก็ตติง้ จำกัด เปิดเผยแผนการตลาดในช่วงไตรมาส สุดท้ายของปีนี้ ว่าบริษัทพร้อมทุ่มงบกว่า 100 ล้าน จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดมหกรรมดนตรี “มหกรรมความมันส์เกินพิกัด อาชาเนียน” ในวันที่ 13 พฤศจิกายน ณ ลานม้าเหล็ก ตลาดนัดรถไฟ จตุจักร และสนับสนุนเทศกาลดนตรีฤดูหนาว รวมถึงเปิดให้บริการลานเบียร์สดช้างในจุดต่างๆ (หนังสือพิมพ์เดลินวิ ส์ 27 ตุลาคม 2553 หน้า 6)
- ด้านปาร์ต้ี z
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจมาร์เก็ตติ้ง จำกัด และบริษัท แฮฟเอกู๊ดดรีม จำกัด ผู้ผลิตรายการ “เดอะวัน คนไทยหัวใจเดียวกัน” ทางโมเดิรน์ ไนน์ ทีวี จัดปาร์ตฉ้ี ลองให้กบั การครองสถิตโิ ลก กินเนส์เวิลด์ เรคคอร์ด ได้ 10 สถิติ (หนังสือพิมพ์บา้ นเมือง 2 ตุลาคม 2553 หน้า 18)
z
บริษัท ดิอาจิโอ โมเอ็ท เฮนเนสซี่ (ประเทศไทย) จำกัด จัดงานปาร์ตี้ “BLACK PLANET Presents THE BLACKLIST” เพือ่ สนับสนุนเครือ่ งดืม่ ภายใต้เลเบล “สีดำ” ณ โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพฯ (หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ 2 ตุลาคม 2553 หน้า A3)
z
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จัดกิจกรรม “SangSom Moonlight Party” ใน 6 จังหวัด ทัว่ ประเทศเพือ่ กระตุน้ ยอดขาย (หนังสือพิมพ์มติชน 25 ตุลาคม 2553 หน้า 19) 103
- ด้านศิลปะ/บันเทิง/วัฒนธรรม z บริษท ั สิงห์ คอร์ปอเรชัน่ จำกัด และบริษทั เจเอสแอล โกลบอล มีเดีย ร่วมกันผลิตรายการโทรทัศน์ รูปแบบใหม่ “ต้องกล้า คนหัวใจสิงห์” ทีจ่ ะออกอากาศทางโมเดิรน์ ไนน์ ทีวี ด้วยรูปแบบปฏิบตั กิ ารไลฟ์ ซีรี่ส์ โดยแขกรับเชิญที่เป็นซุปเปอร์ไอดอล 18 คน จะร่วมปฏิบัติภารกิจและจะถูกบันทึกเทปไว้ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยหวังทีจ่ ะปลุกกระแสและสร้างแรงบันดาลใจให้คนในสังคม “คิดดี กล้าทำ” (หนังสือพิมพ์ เดลินวิ ส์ 8 ตุลาคม 2553 หน้า 29) z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) สนับสนุน กรุงเทพมหานคร ในการจัดสร้างหอชมเมืองให้เป็น แลนด์มาร์ก หรือเป็นสัญลักษณ์ของกรุงเทพฯ (หนังสือพิมพ์เดลินวิ ส์ 14 ตุลาคม 2553 หน้า 28)
z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ร่วมกับมูลนิธแิ ม่ฟา้ หลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดนิทรรศการ “คิดถึง...สมเด็จย่า” ครัง้ ที่ 14 ภายใต้แนวคิด “บ้าน” ณ แกรนด์ฮอลล์ชน้ั 1 สยามดิสคัฟเวอรี่ เนือ่ งใน โอกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก 21 ตุลาคม 2553 หน้า 5)
z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ร่วมกับสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย และสมาคมถ่ายภาพ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชุปถัมภ์ จัดทำโครงการประกวดภาพถ่าย ภายใต้ชอ่ื “โครงการภาพถ่าย แห่งแผ่นดินประจำปี 2553” ในแนวคิด “เมืองไทยที่ใฝ่ฝัน” ชิงถ้วยพระราชทานพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และพระบรมวงศานุวงศ์มากทีส่ ดุ เป็นประวัตกิ าล รวม 6 ถ้วย (หนังสือพิมพ์ผจู้ ดั การรายวัน 25 ตุลาคม 2553 หน้า 10)
- ด้านกิจกรรมเพือ่ สาธารณชน (Public responsibility project) z บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) มอบทุนการศึกษาประจำปี 2553 ให้แก่เด็กนักฟุตบอลทีม “ช้างจูเนียร์” ทีม่ ฐี านะยากจน (เว็บไซต์ www.thaibev.com 11 ตุลาคม 2553) z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ร่วมอนุรกั ษ์ทะเลไทย ในโครงการ “อาสาฯ อนุรกั ษ์ทะเลไทย 2553” โดยติดตั้งทุ่นจอดเรือเพื่อรักษาแนวปะการัง 70 ทุ่นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสครบ 60 ปีแห่งการบรมราชาภิเษก และวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2553 (เว็บไซต์ www.thaibev.com 21 ตุลาคม 2553)
z
บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) จัดพิธีเปิดตัวโครงการ “ไทยเบฟ รวมใจต้านภัยหนาว 11 ปี บนเส้นทางแห่งการแบ่งปันความไออุ่น” ณ กระทรวงมหาดไทย (หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ 26 ตุลาคม 2553 หน้า 23)
z
บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ มาร์เก็ตติง้ จำกัด ในนามผลิตภัณฑ์ “น้ำดืม่ ตราช้าง” มอบเงินจำนวน 4 ล้านบาท จากการจำหน่ายในโครงการ “มหัศจรรย์ น้ำดื่มช้าง ล้านขวด ล้านน้ำใจ” ให้กับสภากาชาดไทยเพื่อ ช่วยเหลือเด็กทีม่ ปี ญ ั หาด้านสายตา (เว็บไซต์ www.thaibev.com 28 ตุลาคม 2553) 104
- ด้านนโยบายนโยบาย (Policy) z ตัวแทนผู้ประกอบการเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งไทยและต่างประเทศ กว่า 10 บริษัท ยื่นจดหมายต่อ สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ขอให้ลดความเคร่งครัดของข้อความ ภาพประกอบ และเงือ่ นไขต่าง ๆ บนฉลากของบรรจุภณ ั ฑ์ลง (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ 7 ตุลาคม 2553 หน้า 1,2) z
ผูแ้ ทนบริษทั เพอร์นอต ริคาร์ด (ประเทศไทย) จำกัด ให้สมั ภาษณ์ผา่ นสือ่ ถึงกรณีทส่ี ำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เตรียมเสนอ (ร่าง) ประกาศคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์เกีย่ วกับบรรจุภณ ั ฑ์ ฉลาก ข้อความคำเตือน ให้กบั ทางคณะกรรมการนโยบายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์พจิ ารณา ว่าทางบริษทั มีนโยบายให้ความร่วมมือและพร้อมปฏิบตั ติ ามกฎหมายของประเทศไทย ทุกประการ (หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ 7 ตุลาคม 2553 หน้า 1,2) ...........................................................................................
105
ภาคผนวกที่ 2
106
107
108
109
ภาคผนวกที่ 3
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
ภาคผนวกที่ 4
124
125
126
127
ภาคผนวกที่ 5 ก้าวต่อไปของยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ระดับชาติ นพ.ทักษพล ธรรมรังสี ผูอ้ ำนวยการศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา ตุลาคม 2553 เป็นทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ล้วว่าการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เป็นปัจจัยก่อปัญหาต่อสุขภาวะทางกาย จิต สังคม และปัญญาของประชากรไทย ผลกระทบจากเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ไม่ได้จำกัดอยูเ่ พียงตัวผูบ้ ริโภคเท่านัน้ ครอบครัว บุคคลรอบข้าง ชุมชน สังคม และประเทศ แต่ทกุ ภาคส่วนล้วนต้องแบกรับภาระจากผลกระทบทัง้ สิน้ การบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังก่อให้เกิดโรคภัยกว่า 60 ชนิด คร่าชีวิตประชากรโลกถึง 2.3 ล้านคนในปี พ.ศ. 2547 และยังมีความสัมพันธ์กับปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ ที่ส่งผลถึงศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ การเติบโต ทางเศรษฐกิจ การการพัฒนาของสังคมโดยรวม ในประเทศไทยนัน้ การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์เป็นปัจจัยเสีย่ ง ทางสุขภาพลำดับที่สอง โดยก่อภาระโรคคิดเป็นร้อยละ 8.1 ของภาระโรคทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ อย่างชัดเจน และผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทยมีมูลค่าสูงถึง 1.51 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 1.97 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ ซึง่ สูงกว่าผลประโยชน์ทส่ี งั คมได้รบั ในรูปแบบของภาษี ทั้งนี้ผลกระทบเชิงลบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เหล่านี้สามารถป้องกันและหลีกเลี่ยงได้ด้วยการ มีนโยบายแอลกอฮอล์ทม่ี ปี ระสิทธิผล และการนำไปปฏิบตั ทิ จ่ี ริงจัง จากสถานการณ์เหล่านี้จึงส่งผลให้เกิดความร่วมมือในการหาแนวทางป้องกัน และจัดการกับปัญหาจาก เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ โดยช่องทางหนึง่ ของความร่วมมือทีเ่ กิดขึน้ คือ การสร้างความร่วมมือผ่านกลไกการทำงานของ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ซึง่ ภาคีสมัชชาสุขภาพแห่งชาติหลายภาคส่วนจึงได้รว่ มยืน่ ข้อเสนอเรียกร้องให้คณะกรรมการ จัดสมัชชาสุขภาพ (คจสช.) บรรจุวาระการจัดการปัญหาจากเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ เข้าในการประชุมสมัชชาสุขภาพ แห่งชาติครัง้ ทีห่ นึง่ โดยร่วมกันพัฒนาเอกสารรายงานหลักประกอบการประชุม เอกสารวิชาการประกอบการประชุม และร่างมติของสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในประเด็นการจัดการปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งต่อมาได้ถูก ส่งเวียนเพือ่ รับฟังความเห็นจากภาคีทว่ั ประเทศ และผ่านการทำประชาพิจารณ์หนึง่ ครัง้ ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2551 จนได้รา่ งมติสดุ ท้ายทีน่ ำเสนอเข้าสูก่ ารประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครัง้ ทีห่ นึง่ เมือ่ วันที่ 11-13 ธันวาคม พ.ศ.2551 หัวใจหลักของบทปฏิบัติการในมติดังกล่าวมีอยู่ด้วยกันสามประเด็น แต่ประเด็นสำคัญที่ถูกหยิบยกขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการป้องกันและจัดการกับปัญหาจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ คือการเรียกร้องให้คณะกรรมการ สุขภาพแห่งชาติ (สช.) ดำเนินการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ โดยการมีส่วนร่วมอย่าง กว้างขวาง ให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 1 ปี และนำมาเสนอเพือ่ การรับรองในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่สอง โดยแผนยุทธศาสตร์นโยบายระดับชาตินี้ จะต้องตั้งอยู่บนฐานความรู้ทางวิชาการและสอดคล้องกับ วัฒนธรรมและศีลธรรม เพือ่ สนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการนโยบายเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์แห่งชาติ 128
ในการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่สอง ในวันที่ 16 -18 ธันวาคม พ.ศ. 2552 โดยมติ แผนยุ ท ธศาสตร์ น โยบายแอลกอฮอล์ ร ะดั บ ชาติ เป็ น 1 ใน 12 มติ ท ี ่ ไ ด้ ผ ่ า นการรั บ รองจากที ่ ป ระชุ ม และกระบวนการต่อเนื่องหลังจากมติแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติได้แก่ การนำเสนอมติ ที่ผ่านการรับรองต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2553 ทีผ่ า่ นมาคณะรัฐมนตรีได้พจิ ารณาเห็นชอบและมอบหมายให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องพิจารณาดำเนินการ โดยเฉพาะ คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ และคณะกรรมการควบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ จ ั ง หวั ด ดำเนิ น การให้ ม ี ก ารจั ด ทำแผนปฏิ บ ั ต ิ ก าร ทุกระดับที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ โดยหน่วยงานหลักที่เป็นเจ้าภาพ ในการจั ด ทำแผนปฏิ บ ั ต ิ ก าร คื อ สำนั ก งานคณะกรรมการควบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบนั แผนปฏิบตั กิ ารอยูร่ ะหว่างดำเนินการจัดทำซึง่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในไม่ชา้ นี้ โดยมติแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติยังมุ่งหวังให้คณะกรรมการ นโยบายเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ แ ห่ ง ชาติ คณะกรรมการควบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ แ ห่ ง ชาติ และคณะกรรมการควบคุ ม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์จงั หวัด ร่วมมือกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนการดำเนินงานและ เข้ามามีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรม ในการจัดการกับปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และติดตามผล ตามแผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ รวมถึงการพัฒนาแผนปฏิบัติการ และให้คณะกรรมการ นโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ และคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จังหวัด ร่วมมือกับคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และภาคประชาสังคมพิจารณาศึกษา ความเป็นไปได้ในจัดเก็บค่าธรรมเนียมเพิม่ เติม หรือ การจัดสรรงบประมาณจากภาษีสรรพสามิตสุรา เพือ่ สนับสนุน การดำเนิ น งานตามแผนยุ ท ธศาสตร์ น โยบายแอลกอฮอล์ ร ะดั บ ชาติ สนั บ สนุ น กองทุ น ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา คุณภาพชีวิตคนพิการ และสนับสนุนการรณรงค์เพื่อขจัดความรุนแรงในครอบครัวและใช้ในมาตรการเยียวยา ผู้หญิงและเด็กที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวอันเป็นผลมาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แห่งชาติ คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ แ ห่ ง ชาติ และคณะกรรมการควบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ จ ั ง หวั ด ต้ อ งดำเนิ น งานร่ ว มกั บ หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงโดยเฉพาะสำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรมสรรพสามิต ผู้ว่าราชการจังหวัด และองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ ่ น บั ง คั บ ใช้ พ ระราชบั ญ ญั ต ิ ค วบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และผลการดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ฯ ในทุกส่วนนี้ คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติจะต้องนำไปรายงาน ต่อสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครัง้ ที่ 4 ด้วย การร่วมมือของทุกภาคส่วนผลักดันให้เกิดการพัฒนากรอบและทิศทางของแผนยุทธศาสตร์นโยบาย แอลกอฮอล์ระดับชาติที่มีความชัดเจนและสอดคล้องต่อวัตถุประสงค์ในการควบคุมขนาดและความรุนแรง 129
ของปัญหาจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทย โดยการทำความเข้าใจและสร้างความร่วมมือ ให้เกิดกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องถือเป็นรากฐานสำคัญในการลดจุดอ่อนของกระบวนการนโยบายแอลกอฮอล์ใน ประเทศไทยในระยะยาว เพื่อสนับสนุนให้เกิดประสิทธิผลของนโยบายแอลกอฮอล์ในการจัดการกับปัญหา จากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่คุกคามสุขภาวะของสังคมไทย
130
ภาคผนวกที่ 6
131
132
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
บรรณานุกรม 1. นพ.ดร.วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, รศ.ดร.สุพล ลิมวัฒนานนท์, และ นายสุรศักดิ์ ไชยสงค์. การบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ในประเทศไทย กรณีการใช้นโยบายด้านภาษีและราคา. 1st ed. นายสุราศักดิ์ ไชยสงค์, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2551. 2. รศ.ดร.พญ.สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. รายงานผลโครงการวิจัยการเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภค เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์และพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย. 1st ed. รศ.ดร.พญ.สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, editor. : บ.พิมพ์ดกี ารพิมพ์จำกัด, 2551. 3. คณะกรรมการบริหารเครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด. สถานภาพการบริโภคสุรา พ.ศ. 2550. 1st ed. คณะกรรมการบริหารเครือข่ายองค์กรวิชาการสารเสพติด, editor. กรุงเทพ, ประเทศไทย: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2551. 4. นพ.วิชัย เอกพลากร และ คณะ. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั ้ ง ที ่ 4 พ.ศ.2551 - 2552. 1st ed. นพ.วิ ช ั ย เอกพลากร, editor. กรุ ง เทพฯ: สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553. 5. World Health Organization. International guide for monitoring alcohol consumption and related harm. 6. นพ.บัณฑิต ศรไพศาล, รท.ญ.จุฑาภรณ์ แก้วมุงคุณ, และคณะ. รายงานสถานการณ์สรุ าประจำปี 2551. 1st ed. นพ.บัณฑิต ศรไพศาล, editor. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดกี ารพิมพ์, 2551. 7. กรมพิ น ิ จ และคุ ้ ม ครองเด็ ก และเยาวชน. โครงการวิ จ ั ย ยุ ท ธศาสตร์ ล ดการกระทำผิ ด ของเด็ ก และเยาวชนจากการดืม่ แอลกอฮอล์. 1st ed. กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน, editor. กรุงเทพ, ประเทศไทย: กรมพินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยาวชน, 2551. 8. น.ส.เณริศา ชัยศุภมงคลลาภ และ คณะ. รูปแบบการสื่อสารและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม การดื่มเหล้าปั่นของวัยรุ่น ในโครงการสนับสนุนทุนวิจัยสำหรับกลุ่มนิสิต/นักศึกษาด้าน การสือ่ สารและธุรกิจเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์. 1st ed. รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, editor. : ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2551. 9. ผ.ศ.ดร.ภัทรภร พลพนาธรรม. โครงการศึกษาการกระจายตัวของจุดจำหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยรอบมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2551-2552. 1st ed. ผ.ศ.ดร.ภัทรภร พลพนาธรรม, editor. : ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2552. 10. กนิษฐา ไทยกล้า. การศึกษาเปรียบเทียบความชุกและพฤติกรรมการดื่มของนักเรียนนักศึกษา กั บ ความหนาแน่ น ของสถานที ่ จ ำหน่ า ยเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ ใ นรั ศ มี 500 เมตร รอบสถานศึกษา. 1st ed. กนิษฐา ไทยกล้า, editor. กรุงเทพ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2550.
เขียนและเรียบเรียงโดย
นพ.บัณฑิต ร.ท.หญิงจุฑาภรณ์ นางสาวกมลา
133
ศรไพศาล แก้วมุงคุณ วัฒนพร
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
11. นพ.บัณฑิต ศรไพศาล. การวิจัยพฤติกรรมการดื่มและการรับรู้โฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์: กรณีศกึ ษาเยาวชนอายุ 9 - 25 ปีทว่ั ประเทศ ปี 2552. 1st ed. นพ.บัณฑิต ศรไพศาล, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2553. 12. Sornpaisarn B, Kaewmungkun C. Alcohol Advertising and “Temptation-to-try” among Youth. Kopenhegen, Denmark ed. Sornpaisarn B, editor. Kopenhegen, Denmark: Kettil Brunn Society, 2009. 13. Global status report : alcohol policy. World Health Organization., editor. Geneva: World Health Organization, 2004. 14. Alcohol : No Ordinary Commodity : research and public policy. Babor T, editor. Oxford: Oxford University Press, 2003. 15. Sornpaisarn B, Kaewmungkun C. Alcohol Taxation Method that can decrease alcohol consumption and prevent new drinkers simultaneously: Thailand's experience . Lausanne, Switzerland ed. Sornpaisarn B and Kaewmungkun C, editors. Lausanne, Switzerland: KBS Society, 2010. 16. อรทัย วลีวงศ์, ดร.สุรศักดิ์ ไชยสงค์ และ นพ.ทักษพล ธรรมรังสี. บทบาทและพฤติกรรม ของพ่อแม่ที่มีผลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของเยาวชนไทย. 1st ed. อรทัย วลีวงศ์, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2553. 17. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สถิตอิ บุ ตั เิ หตุจราจร Bangkok, Thailand, สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2010. (http://statistic.ftp.police.go.th/traff_main.htm). 18. ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลสถิติ Bangkok, Thailand, ศูนย์อำนวยการ ความปลอดภัยทางถนน, 2010. (http://www.roadsafety.disaster.go.th/). 19. พญ.พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, พญ.บุญศิริ จันทร์ศิริมงคล, มธุริน คำวงศ์ปิน, วรวรรณ จุฑา, นพ.ธรนินทร์ กองสุข และ จินตนา ลีจ้ งเพิม่ พูน. ความชุกความผิดปกติพฤติกรรมดืม่ สุราในคนไทย: การสำรวจระบาดวิทยาระดับชาติ 2551. 1st ed. พญ.พันธุน์ ภา กิตติรตั นไพบูลย์, editor. นนทบุร:ี กรมสุขภาพจิต, 2553. 20. อภินันท์ อร่ามรัตน์ และ กนิษฐา ไทยกล้า. การศึกษานำร่องปัญหาและผลกระทบจากการดื่ม เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ของผูก้ ระทำผิดเมาแล้วขับ ในเชียงใหม่และลำพูน. 1st ed. อภินนั ท์ อร่ามรัตน์, editor. กรุงเทพฯ: บริษทั จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์จำกัด, 2553. 21. ภญ.ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล และ นพ.ดร.ทักษพล ธรรมรังสี. การกระจายของการบริโภค เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย ในมิติของผู้บริโภคและลักษณะการบริโภค. 1st ed. ภญ.ประพักตร์ เนรมิตพิทกั ษ์กลุ , editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2553.
134
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
22. รศ.ดร.ปาริ ช าต สถาปิ ต านนท์ . รายงานสถานการณ์ แ วดล้ อ มด้ า นเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ ครั้งที่ 1/ พฤศจิกายน 2553. 1st ed. รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, editor. กรุงเทพฯ: รศ.ดร.ปาริชาต สถาปิตานนท์, 2553. 23. คณะกรรมการนโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไข การแสดงภาพสัญลักษณ์เพื่อประกอบการโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2553. กฎกระทรวง ed. กรุงเทพฯ: ประเทศไทย, 2553. 24. คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551. ระเบียบคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ed. กรุงเทพฯ: ประเทศไทย, 2553. 25. สำนั ก งานคณะกรรมการควบคุ ม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ . ผลการดำเนิ น งานของสำนั ก งาน คณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์. 1st ed. นพ.สมาน ฟูตระกูล, editor. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์, 2553. 26. สำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. ร่าง ประกาศคณะกรรมการควบคุม เครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ ว่ า ด้ ว ย หลั ก เกณฑ์ วิ ธ ี ก าร และเงื ่ อ นไข เกี ่ ย วกั บ บรรจุ ภ ั ณ ฑ์ ฉลาก พร้อมทั้งข้อความคำเตือนสำหรับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ผลิตและนำเข้า พ.ศ.... ร่างประกาศคณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ ed. นนทบุร:ี ประเทศไทย, 2553. 27. -. แจง WTO ติดคำเตือนเหล้าไม่ผิด ก.ม. หนังสือพิมพ์รายวันเดลินิวส์ 30 มิถุนายน 2553, 2553;สาธารณสุข:3,-. 28. น.ส.รุ ่ ง อรุ ณ ลิ ้ ม ฬหะภั ณ . สรุ ป กรณี ภ าพฉลากคำเตื อ น. สรุ ป รายงานความก้ า วหน้ า ed. น.ส.รุง่ อรุณ ลิม้ ฬหะภัณ, editor. กรุงเทพฯ: น.ส.รุง่ อรุณ ลิม้ ฬหะภัณ, 2553. 29. ศ.นพ.ประกิต วาธีสาธกกิจ. เทคนิคการขัดขวางนโยบายสาธารณะของธุรกิจบุหรี.่ 1st ed. นพ.บัณฑิต ศรไพศาล, editor. กรุงเทพฯ: นพ.บัณฑิต ศรไพศาล, 2551. 30. นพ.ทักษพล ธรรมรังสี. ก้าวต่อไปยุทธศาสตร์แอลกอฮอล์ระดับชาติ. ๅ ed. นพ.ทักษพล ธรรมรังสี, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2533. 31. พญ.พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์. รูปแบบการดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราในระบบสุขภาพ. 1st ed. พญ.พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, editor. เชียงใหม่: แผนงานการพัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธกี ารบำบัดรักษาผูม้ ปี ญ ั หาการบริโภคสุราแบบบูรณาการ (ผรส.), 2553. 32. กรมสรรพสามิต สถิติการผลิต จำหน่าย และภาษี Bangkok, Thailand, กรมสรรพสามิต, 2010. (http://www.excise.go.th/index.php?id=969).
135
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
33. Executive Board. Strategies to reduce the harmful use of alcohol: draft global strategy: Report by the Secretariate. 1st ed. the secreatariate, editor. Geneva: World Health Organization, 3 December 2009. 34. World Health Organization. Draft Global Strategy to Reduce the Harmful Use of Alcohol. 1st ed. World Health Organization, editor. Geneva: World Health Organization, 2010. 35. Free trade area, Wikipedia, 1 November 2010. (http://en.wikipedia.org/wiki/Free_trade_area). 36. อารีกลุ พวงสุวรรณ. ผลกระทบของความตกลงการค้านานาชาติ (การค้าเสรี) ต่อนโยบายควบคุม เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย. 1st ed. อารีกุล พวงสุวรรณ, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2553. 37. ผศ.ดร.ฉั ต รสุ ม น พฤฒิ ภ ิ ญ โญ. ข้ อ เสนอการนำเครื ่ อ งดื ่ ม แอลกอฮอล์ อ อกจากความตกลง การค้าทัว่ ไป. 1st ed. ผศ.ดร.ฉัตรสุมน พฤฒิภญ ิ โญ, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2553. 38. กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ. ข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ. 1st ed. กลุม่ งานโรคไม่ตดิ ต่อ, editor. นนทบุร:ี สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค, 2550. 39. ผศ.พงษ์เดช สารการ และ เยาวชเรศ คำระนาด. พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กับการกระทำความรุนแรงต่อสตรีในจังหวัดขอนแก่น. 1st ed. ผศ.พงษ์เดช สารการ, editor. กรุงเทพฯ: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2551. 40. คณะทำงานศึ ก ษาภาระโรคและการบาดเจ็ บ ที ่ เ กิ ด จากพฤติ ก รรมสุ ข ภาพและปั จ จั ย เสี ่ ย ง. การศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประชาชนไทย พ.ศ. 2550. 1st ed. คณะทำงาน ศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บทีเ่ กิดจากพฤติกรรมสุขภาพและปัจจัยเสีย่ ง, editor. กรุงเทพฯ: สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข, 2550. 41. ผศ.ดร.มนฑรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์ และ คณะ. การศึกษาต้นทุนผลกระทบทางสังคม สุขภาพ และเศรษฐกิจของการบริโภคเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์. 1st ed. ผศ.ดร.มนฑรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์, editor. Bangkok, Thailand: ศูนย์วจิ ยั ปัญหาสุรา, 2551. 42. Alcohol: no ordinary commodity--a summary of the second edition. Addiction (Abingdon, England). 2010;105(5):769-79. 43. Hirshleifer J. Price theory and applications. 6th ed. ed. Hirshleifer D, editor. Upper Saddle River, N.J.: Prentice Hall, 1998. 44. Cnossen S. The Role and Rationale of Excise Duties in the ASEAN Countries. 1st ed. Cnossen S, editor. -: Cnossen,Sijbren., 2005.
136
√“¬ß“π ∂“π°“√≥Ï √ÿ “ª√–®”ª’ æ.». 2553
45. Cnossen S. Excise systems : a global study of the selective taxation of goods and services. Baltimore: Johns Hopkins University Press, 1977.
137