หน้า |0
หน้า |1
แต่งภาพ RAW ง่ายๆ ด้วย Lightroom 3 [ฉบับรวบรัด] หลังจากสมัยที่ Adobe ออก Lightroom หรือชื่อสั้นๆ ว่า LR จนเป็นทีฮือฮาเมื่อหลายปีก่อน ตอนกลายเป็น software ตกแต่งภาพฮิตอันดับต้นๆ เนื่องจากความสะดวกในการจัดการภาพ และโดดเด่นเรื่องแต่งภาพเป็นจานวนมาก ไปพร้อมๆ กันได้.. ล่าสุด Adobe ได้ออกตัวใหม่ คือ Lightroom 3 ตัว Final ออกมาเรียบร้อยแล้ว.. และเพิ่มลูกเล่นที่น่าสนใจเข้ามาอีก.. เลยถือโอกาสนา LR มาแนะนากันอีกสักครั้ง สาหรับสมาชิกเล่นกล้อง.. ผมลองแต่งภาพเล่น มาฝากภาพนึง.. เพื่ออธิบายการแต่งภาพง่ายๆ บน LR3 เป็นแนวทางเผื่อสมาชิกท่านที่ยังเพิง่ จะเริม่ เล่น LR..
หน้า |2
ก่อนที่เราจะนาภาพมาแต่งบน LR ได้นั้น เราต้องทาการ Import เข้ามาใน Library เสียก่อน เพราะ LR ไม่ได้ออกแบบมาให้ open file อย่างโปรแกรมทั่วๆไป.. แต่เน้นการจัดการภาพทีละมากๆ.. หลังจาก import เรียบร้อย ก็จึงย้ายเข้ามาในส่วนของ Develop Module..
ในส่วนของ Develop module จะมี tool ต่างๆ ทางขวามือ ที่เราจะใช้ในการปรับภาพ.. เริ่มจากด้านบนขวาจะเป็น Histogram ซึ่งผมมักใช้เป็นแนวทางในการปรับค่าพื้นฐานต่างๆ เช่น ค่าความสว่าง, ค่า contrast, และ ใช้ตรวจเรื่องของ Highlight clippling
หน้า |3
มาเริ่มกันที่ปรับ White balance กันก่อน.. ทุกครั้งที่เปิดภาพมา ผมจะปรับ WB ก่อนทุกครั้ง ซึ่งเป็นเหตุผลอันดับต้นๆ ของการถ่าย RAW เพราะ การปรับแต่ง WB นั้นทาได้ง่ายและเร็วมาก เมื่อเราใช้ RAW file.. Tool ที่ software แต่งภาพ RAW มีแทบจะทุกตัว คือ picker ที่นามาใช้จมิ้ ไปยังส่วนที่เป็นสีขาวหรือเทาในภาพ เพื่อให้ LR ทาการปรับ WB โดยอ้างอิงจุดที่เราใช้ picker จิ้มลงไป.. ภาพนี้ผมเลือก เงา ของเสื้อสีขาว.. เพราะหลายครั้งพบว่า WB ในส่วนนี้เป็นส่วนผสมที่ลงตัวที่สุด เพราะได้รับแสงจากหลายส่วน ไม่ใช่ได้แสงเน้นหนักมาจากแหล่งกาเนิดแสงแหล่งใดแหล่งหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตาม.. หลายๆ ภาพก็ไม่ประสบความสาเร็จ จากการใช้ WB picker นี้เท่าไหร่.. แต่ก็พอได้แนวทางสาหรับผู้ทไี่ ม่ค่อยคุ้นกับการปรับ WB แบบ manual..
หน้า |4
หลังจากใช้ WB picker จิ้มลงไปแล้ว.. หากพบว่า WB ยังไม่ถูกใจ.. หรือ หาจุดอ้างอิงสาหรับทา WB ไม่ได้.. เราก็สามารถเลื่อนหรือตั้งค่า K (color temperature) และ tint ลงไป..
trick ที่ผมชอบใช้ ใน LR คือ เมื่อ click ไปตรงกรอบตัวเลขแล้ว เราสามารถใช้ปุ่มลูกศร ขึ้น/ลง ในการปรับค่าได้.. สาหรับค่า Temp เมื่อกดปุ่มลูกศรบน keyboard ค่า Temp จะขึน้ ลงทีละ 50.. และหากกดปุ่ม Shift ค้างไว้ แล้วกดปุม่ ลูกศร ค่า Temp จะเพิ่มลด ทีละ 200.. เวลาที่ผมหาจุดอ้างอิง WB หรือจุดสีขาว ในภาพไม่ได้.. ผมมักจะเลื่อนค่า Temp ไปทีละ 200.. ขึ้นๆ ลงๆ จนรู้สึกว่า WB มันตรง.. ค่า Temp จะเน้นสี ฟ้าและเหลือง.. คือ ถ้าภาพติดเหลืองก็ลดค่า Temp.. ถ้าภาพติดฟ้า ก็เพิ่มค่า Temp.. ทานองเดียวกันกับค่า Tint.. ซึ่งปรับระหว่างสี เขียว กับ ชมพู (magenta).. ปุ่มลูกศรขึ้นลง จะเพิ่มลดค่าทีละ่ 1 ในขณะที่หากกด Shift ค้างไว้ด้วยค่าจะเพิม่ ลดทีละ 10.. ผมก็ยังคงปรับค่าขึ้นลงทีละ 10 เพื่อดูว่า เพิ่มลด แล้วติดสีอะไรมากกว่ากัน แล้วค่อยปรับละเอียดอีกที..
หน้า |5
เมื่อปรับ WB เสร็จแล้ว.. ก็เหลือ สิ่งพื้นฐาน ที่น่าปรับ.. อันดับแรกๆ.. คือ ค่า Exposure.. ถ้าภาพมืด ผมดูจาก Histogram ว่าเหลือที่ทางขวามือมากแค่ไหน ถ้าเหลือมากและต้องการให้ภาพสว่างขึ้น ผมจะเพิม่ จนปลายด้านขวาของ Histogram ชนริมทางขวา.. ค่า Exposure อันนี้ ผมมักจะ เพิ่ม หรือ ลดทีละ 0.10 โดยใช้ปมุ่ ลูกศรบน keyboard เช่นกัน.. เสร็จแล้วถ้า Exposure ชนขวาแล้วแต่ภาพยังสว่างไม่ถึงใจ ผมมักจะเพิม่ ค่า Brightness เอา.. แต่ถ้าภาพสว่างดีพอ ก็ไม่ต้องปรับ Exposure เลยก็ได้.. ตัว Exposure เนี่ยแหละครับ เป็นอีก เหตุผลที่ทาให้เราถ่าย RAW.. เพราะมันง่าย.. Recovery - เป็นตัวปรับสาหรับภาพที่มี Highlight Clippling เอาไว้ดึง detail ส่วน highlight ที่หลุดไปแล้วกลับมาได้ส่วนนึง.. Fill Light - ใช้ปรับความสว่างในส่วนที่ค่อนข้างมืดของภาพให้สว่างขึ้น Blacks - เป็นตัวปรับจุดสีดาของภาพ ภาพไหนที่ดู contrast ต่าๆ หรือ ภาพที่ flare เยอะๆ อาจจะต้องเพิม่ ค่า black เพื่อให้ภาพดู ใสขึ้น Brightness - ทางานคล้ายๆ Exposure คือ เพิ่มความสว่าง ความใส โดยพยายามดึงโทนภาพโดยร่วม แต่จะไม่ค่อยแตะส่วนที่เป็น Highlight และ Shadow มากนัก.. ต่างจาก Fill Light ที่เน้นเพิ่มส่วน Shadow ให่สว่างขึ้น.. Contrast - ทาการเพิ่มความเปรียบต่างของภาพ จะถ่าง histogram ออก.. พยายามทาให้ ส่วนมืด มืดลง และ ส่วนสว่าง สว่างขึ้น.. ทาให้ภาพดูดุดันมากขึ้น.. Clarity - เป็นเครื่องมือทาการ เน้น รายละเอียดของภาพ ให้ภาพมี contrast และมิตมิ ากขึ้น.. หรือ แบนมีมิติลดลง.. ออกฟุ้งๆ ก็ได้.. Vibrance - เป็นการเพิ่มความสดของสี โดยเน้นพวก สีเขียว สีนาเงิ ้ น.. แต่จะสงวนสีผิวเอาไว้.. Saturation - เป็นการเพิ่มความสดของสีทั้งหมดของภาพ..
หน้า |6
ภาพนี้ลองปรับ Vibrance เป็น บวก (+) แต่ปรับ Saturation เป็น ลบ (-) เพื่อลดสีของผิว แต่ต้องการเร่ง สีฟ้า สีเขียว.. ใส่ Clarity ให้เยอะนิดนึงเพื่อให้แบบดูมมี ิตขิ ึ้น..
ภาพนี้เปรียบเทียบให้ดูผลของการปรับ Clarity ครับ.. ซ้ายเมื่อปรับ +100 และ ขวา -100.. สังเกตการณ์เกลี่ยสีของภาพ ส่วนที่มจี ุดตัดต่างๆ
หน้า |7
Curve ก็คือ การปรับความสว่าง ความมืด.. เราสามารถใช้ picker จิ้มเพื่อลาก ปรับค่า จากในภาพได้เลย.. ส่วนมาก Curve ผมจะไม่ค่อยใช้ นอกจากว่า ต้องการปรับความสว่าง ความมืดในส่วนต่างๆ แยกกันระหว่างโทนภาพ โดยรวม..
ภาพนี้ผมลองใช้ curve เพื่อดึงให้ โทนของฟ้า (ซึ่งอยู่ในโทน light) ดูเข้มขึ้น และ ดันให้เมฆซึง่ อยู่ในส่วนสว่าง ดูขาวขึ้น
หน้า |8
เลื่อนลงมา เป็นส่วนของการปรับสีในแต่ละสีแยกกันแบบค่อนข้างอิสระ.. อยากจะปรับเฉพาะสีใดก็เลือกได้ ภาพนี้ผมยากให้ฟ้าดูเข้มขึ้น ก็เลยใช้ picker ไปจิม้ สีฟ้าในภาพแล้วลาก เพื่อปรับค่า Luminance
HSL คือ color model แบบนึง ประกอบด้วย 3 component คือ Hue, Saturation, Lightness Hue ก็คือ องศาของสี.. เป็นตัวกาหนดค่าสี ในวงเวียนสี.. ไล่จาก แดง-ส้ม-เหลือง-เขียว-คราม-น้าเงิน-ม่วง แล้ว วนกลับมาแดงใหม่ Saturation ก็อย่างที่รู้กันว่า คือ ความสด ของสี.. ถ้า Sat เป็น 0 คือ ไม่มีสี เป็นขาวดานั่นเอง.. Lightness หรือ Luminance คือ ค่าความสว่าง.. ถ้า Lightness เป็น 0 คือสีดา.. หากเราอยากให้ภาพสีแดงอมไปทางเหลือง.. เราก็ปรับ hue ของแดงให้เป็นบวก หรือ อยากให้สีมว่ งออกไปทางแดง.. เราก็ปรับ hue ของสีม่วงให้เป็นบวก.. ตามวงจรสี..
หน้า |9
หลังจากนั้น ก็อยากให้ฟ้าดูสดขึน้ ก็ปรับในส่วนของ Saturation แล้วดึงสีของน้าให้ดตู ัดกับฟ้ามากขึ้นนิดนึง เพราะสี ท้องฟ้าสะท้อนในน้า
ลองดูภาพเปรียบเทียบ.. หลังปรับ HSL..
ห น ้ า | 10
มาดูเรื่องเด่นอีกเรื่องของ LR3 นั่นคือ เรื่อง Noise Reduction.. ซึ่ง LR3 ได้พัฒนามาใหม่.. Noise แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ Luminance Noise และ Color Noise.. LR ออกแบบมาให้เราปรับ 2 ส่วนแยกกัน.. การปรับลด Luminance noise มากๆ จะให้ภาพเสียรายละเอียด.. LR3 จึงใส่ค่า Detail มาให้ Detail ตรงนี้ปรับเพื่อบอกให้ LR เสริม detail ของภาพกลับมา ซึ่ง ซึ่งปรับค่านี้สูงๆ ภาพจะเป็นเม็ดๆ ส่วนการปรับลด Color noise มากๆ ก็จะทาให้ภาพสูญเสียรายละเอียดไปบ้าง แต่จะเสียเรื่องของสีไปด้วย.. ถ้าภาพมี ลาย สีๆ เป็นเม็ดเล็กๆ สีจะโดนเกลี่ยกลืนไปเลย..
ส่วนเรื่อง Sharpen.. รายละเอียดเป็นแบบนี้ครับ.. Amount - คือ ความแรง ลองอ่านบทความของ คุณ YSL ดูครับ จะเข้าใจมากขึ้น http://www.lenklong.com/forums/showthread.php?t=792 Radius - หมายถึง ความหนาของเส้นขอบ ในการทา Sharpen.. ถ้าใส่ Radius กับ Amount มากๆ จะสังเกตุเห็นขึ้นขอบ Halo ได้ชัดมากขึ้น.. Detail - ตรงนี้ คือ การพยายามเน้นรายละเอียด ของการ Sharpen ว่าลงรายละเอียดแค่ไหน.. Masking - ตรงข้ามกับ Detail นิดหน่อย ตรงที่ mask เป็นตัวบอกว่า รายละเอียดแค่ไหนให้ไม่ต้องทา Sharpen ถ้าเราไม่อยากให้รขู ุมขนนางแบบเห็นชัด เราต้องปรับ masking เพิ่มเพื่อไม่ให้ sharpen ไปทาการเพิ่มรายละเอียดตรงนั้น..
ห น ้ า | 11
Lens Correction.. เป็น feature สุดท้าย ที่ทาให้ LR3 คลอดออกมาซะที.. ผมรอดูตั้งแต่ LR3 beta แล้ว ซึ่งในตอนนั้น LR ยังไม่ใส่ feature นี้มาให้.. เป็นเหตุผลหลักเลย ทีต่ ้องยอม upgrade เป็น LR3 ทันที.. ค่าตรงนี้แค่เลือกเลนส์ ที่ถูก.. LR ก็จะปรับแก้ Distortion (คลาดทรง), Vignette (ขอบมืด) และ CA (คลาดสี) ให้อัตโนมัต แต่ต้องมี profile เสียก่อน.. ซึ่ง LR3 ก็มี Lens profile ติดมาให้หลายตัวเหมือนกัน..
ส่วนถ้ายังหา Lens profile ไม่ได้ก็คงต้องรอทาง Adobe ออกมาให้ update กันก่อน ถ้าใจร้อน ทาง Adobe Labs นั้นมีตัว Lens Profile Creator มาทาไปพลางๆ ได้.. แต่ผมลองทาแล้ว ก็ ไม่ง่ายเลย.. สาหรับ ผู้ทใี่ ช้ Nikon AF-S 17-35/2.8D นั้น Adobe ยังไม่ทาไว้ให้ ผมเลยลองทามาให้ สามารถโหลดได้ ที่นี่.. http://www.lenklong.com/nikon_17-35mm_lcp.zip
ห น ้ า | 12
มาทา Adjustment Brush กันต่อ.. เป็นเครื่องมือที่ชว่ ยสร้างสรรความแปลกใหม่ในภาพได้มากขึน้ .. อันทีจริง Brush ตัวนี้มใี ส่มาตั้งแต่ LR 2.X แล้ว.. แต่ต้องบอกว่า เป็น tool ที่กินกาลังเครื่องมากๆ ดังนั้น คอมใคร CPU ไม่แรง มีสิทธิ์จอดเอาง่ายๆ.. เริ่ม click ไปที่ tool นั้นเลยครับ.. จะปรากฎคาว่า New หมายถึง การสร้างจุด Adjustment ใหม่ ทันทีที่ click ไปบนภาพ..
Adjustment Brush คือ เครื่องมือ masking แบบนึง.. เรา mask ลงไปบนภาพ แล้วแยกปรับภาพเฉพาะส่วนที่เรา mask ได้.. ซึ่งจะสามารถปรับได้ทั้ง ความสว่าง, ความสดของสี, การใส่สีเพิ่ม, รวมถึง การปรับ Clarity.. short key เป็น สิ่งที่ต้องรู้เวลาการใช้งาน Adj. Brush.. เพราะในขณะทา mask จะไม่มี ปุม่ อะไรให้เรา click ใช้เท่าไหร่.. ปุ่ม "O" จะใช้ เปิด/ปิด รอย mask ที่เราระบายไว้.. Crtl + (=) จะทาการ zoom in Crtl + (-) จะทาการ zoom out ปุม่ Spacebar จะเป็นการเปลี่ยนเป็นระบบ pan ภาพ สามารถเลื่อนภาพไปมาได้ในระหว่าง zoom ปุม่ [ และ ] จะใช้ปรับเปลี่ยนขนาด brush (Size) ปุม่ { และ } จะใช้ปรับเปลี่ยนความคมหรือความนุ่มของขอบ brush (Feather) ปุ่ม "Del" จะใช้ลบ Adj. Brush นั้นๆ ที่เราสร้างขึ้น ระหว่างที่เราระบาย Mask เราสามารถลบ Mask ได้ โดยกดปุม่ Alt ค้างไว้.. Flow คือ ความแรงของ Brush.. เวลาจะไล่โทนของ mask แนะนาว่าตั้งค่านี้ไว้ต่าๆ หน่อยจะระบายไล่โทนได้เนียนขึ้น.. Density คือ ความเข้มของ Brush
ห น ้ า | 13
อันนี้เป็น masking เพื่อทา Adj. Brush ในส่วนของ เมฆ.. เพื่อเพิม่ contrast และ ความสว่างของท้องฟ้าในส่วนนั้น
เราสามารถเลือก Brush แบบ A หรือ B ได้.. รวมทั้งลบ mask โดยใช้ Erase.. หรือในระหว่างที่เราระบาย Mask เราสามารถลบ Mask ได้ โดยกดปุ่ม Alt ค้างไว้..
ห น ้ า | 14
mask ในส่วนของตัวแบบ เพื่อ ปรับเฉพาะตัวแบบให้ดูโดดเด่นขึ้น ดูเนียน.. แล้วเติมสีเหลืองอ่อนๆ เข้าไปด้วย..
เมื่อแช่ mouse ไว้ที่ ตุม่ Adj. Brush แล้ว Click ลาก ซ้าย-ขวา จะสามารถปรับค่าได้..
ถ้าอยากลบ Adj. Brush นั้นๆ ก็ click ที่ตุ่ม แล้วกดปุม่ Delete ได้เช่นกัน..
ห น ้ า | 15
อันนี้ mask เพิ่มอีกส่วนนึง เพื่อลดความสว่าง ให้ภาพดูมมี ิติ แปลกใหม่..
สังเกตุว่า ผมใช้ Adj.Brush อยู่ใน 3 พื้นที่.. ซึ่งปรับค่าต่างๆ แยกกันอิสระ..
ห น ้ า | 16
Split Tone.. เป็นการแยกถมสี ระหว่าง ส่วนสว่าง กับ ส่วนมืด.. เอาไว้สร้าง effect แปลกตา.. เวลาใช้.. ให้ตงั้ Sat เยอะๆ ไว้กอ่ น จะได้รวู้ ่าส่วนไหนบ้างที่สีจะเปลี่ยน และ เปลี่ยนเป็นสีอะไร..
สามารถแยกน้าหนักของแต่ละโทนได้ ด้วย Balance
ห น ้ า | 17
ตั้งสีเสร็จ ก็ ค่อยปรับลด Sat ลง.. เพื่อให้ได้สีแบบที่ต้องการ..
ห น ้ า | 18
Effect.. Post-crop Vignette.. เป็นการใส่ หรือ ลด vignette เพื่อเพิ่มเน้นจุดกลางภาพ.. ลองปรับแล้วสังเกตุดูนะครับ..
Amount เป็นลบ คือ ใส่ขอบดาลงไป.. เป็นบวกจะใส่ขอบขาวแทน.. Midpoint จะเป็นการบอกว่า ขอบ vignette จะหนาแค่ไหน Roundness จะเป็นการปรับความกลมของ vignette.. Feather จะเป็นการปรับไล่น้าหนักของ Vignette
ห น ้ า | 19
ลอง Crop ภาพดู.. ตรงเครือ่ งหมาย แม่กญ ุ แจ จะเป็นการตรึงค่า สัดส่วนระหว่างกับความสูงความกว้างของภาพ.. ในการกาหนดขนาดใน การ crop..
ก็เป็นอันเสร็จ.. อ้อ.. เครื่องมือนี้ ใช้ rotate แก้เอียงภาพได้ด้วยนะ..
ห น ้ า | 20
มาดูอีกเรื่อง ซึ่ง น่าสนใจไม่น้อย หากเวลาที่เรานาภาพต้นฉบับมาปรับไว้ในหลายๆ รูปแบบ.. LR ก็ทาระบบมารองรับไว้เรียบร้อย.. นั่นคือ Virtual Copy.. คือ เสมือนว่าเรามีต้นฉบับมากกว่า 1 อัน สาหรับปรับภาพในลักษณะที่ต่างกัน..
จากภาพตัวอย่าง.. ต้นฉบับ 1 ไฟล์ แต่มี virtual copy เพิ่มอีก 1 อัน..
ห น ้ า | 21
Sync Setting.. คือ การตั้งค่าการปรับภาพ หลายๆ ภาพพร้อมกัน โดยอ้างอิงจากภาพใดภาพหนึ่ง.. เหมือน Copy Setting ครับ เพียงแต่ copy ลงหลายๆ ภาพพร้อมๆ กัน.. วิธีการคือ.. เลือกภาพ โดยการกด click ร่วมกับ Crtl หรือ Shift เพื่อเลือกภาพหลายๆ ภาพ.. เสร็จแล้ว click อีกครั้งที่ภาพที่เราต้องการอ้างอิงค่าปรับตั้ง.. สังเกตุว่า hightlight ภาพต้นฉบับจะสว่างกว่าภาพอื่น เล็กน้อย.. เมื่อสั่งคาสั่ง Sync Setting ก็จะมีกรอบโต้ตอบขึ้นมาให้เลือก ว่าจะ copy หรือ sync ค่าอะไรบ้าง.. เหมือน copy setting เลยครับ..
ห น ้ า | 22
เมื่อปรับภาพทั้งหลายเสร็จสับ.. หากเราต้องการนาภาพนั้นออกมาใช้งานนั้น เราต้อง Export ออกมาเสียก่อน.. เพราะระบบของ LR จะเหมือนๆ กับการตั้งค่าโน่นนี่เอาไว้ก่อน พอจะ Export ก็ค่อยมา render ภาพนั้นใหม่อีกที.. มาถึงลูกเล่นใหม่ ของการ Export ที่ใส่มาตามคาเรียกร้อง.. นั่นคือ การใส่ Watermark ลงบนภาพ ซึ่งก็มีอะไรให้ปรับมากขึ้นบ้าง.. เช่น ตาแหน่ง ขนาด สี รูปแบบ ของตัวหนังสือทีว่ างบนภาพ.. รวมทัง้ opacity ของตัวหนังสือด้วย..
หลังจาก Export ออกมา.. ก็จะได้ภาพสุดท้ายแบบนี้... ก็หวังว่า.. กระทู้นี้คงจะให้พื้นฐานแก่ผู้สนใจ และยังใหม่กับ LR ได้พอสมควรนะครับ..
ห น ้ า | 23
หลังจาก Export ออกมา.. ก็จะได้ภาพสุดท้ายแบบนี้... ก็หวังว่า.. กระทู้นี้คงจะให้พื้นฐานแก่ผู้สนใจ และยังใหม่กับ LR ได้พอสมควรนะครับ..
ที่มา: http://www.lenklong.com/forums/showthread.php?t=855&page=1 โดย ขอขอบคุณครับ Edited by: Rt-man for u..!! จาก
http://www.facebook.com/groups/Fotokakkak/