PORTFOLIO SUPINAN PANDITWONGSE
นางสาวสุภินันท์ บัณฑิตวงษ์ MISS SUPINAN PANDITWONGSE ข้อมูลส่วนตัว ที่อยู่
340/1 หมู่ 6 บ้านเดื่อ ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
โทรศัพท์ 085-854-5895 เกิดวันที่ 25 เมษายน 2530 สัญชาติ ไทย หมู่โลหิต O สถานภาพ โสด
เบอร์โทรศัพท์บ้าน อายุ 22 ปี ศาสนา พุทธ
042-325-405
ข้อมูลด้านการศึกษา ปริญญาตรี
SUPINAN PANDITWONGSE [ DUKDUI ] CONTACT : + 666 685 854 5895 toyaakira_dukdui@hotmail.com
สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม FACULTY OF ARCHITECTURE URBAN DESIGN AND CREATIVE ARTS MAHASARAKHAM UNIVERSITY ปีที่สาเร็จการศึกษา 2552 เกรดเฉลี่ย 2.78
มัธยมศึกษา โรงเรียน สตรีราชินูทิศ ปีทสี่ าเร็จการศึกษา 2547
เกรดเฉลี่ย
2.83
ประสบการณ์การฝึกงาน บริษัท 3DOTS DESIGN. ( ทรี ดอท ดีไซด์ ) ชั้นปีที่ 3 ปี 2551 o เลขที่ 165 จรัญสนิทวงศ์ 40 แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพ 10700 o ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่ออกแบบปรับปรุงพื้นที่ tk park o ได้รับมองหมายงานออกแบบโรงจอดรถบ้าน o ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ o ออกแบบและตกแต่งงานภูมิสถาปัตย์
บริษัท
ZERO DEGREE. ( ซีโร่ ดีกรี )
ชั้นปีที่ 4 ปี 2552 o ที่ตั้ง 135 ซอย รัชดาภิเษก ถ.รัชดาภิเษก เขต จัตุจักร กรุงเทพ 10900 o ตัดโมเดลบ้านพักอาศัย 2 ชั้น o ลงสี ผังบริเวณ ลันตา รีสอรท o ทา SKETCH UP HomeStay o ทา 3D ลันตา รีสอรท o ออกแบบ Lobby และ shop ลันตา รีสอรท
วิทยานิพนธ์ โครงการศูนย์มรดกโสตทัศน์แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที9่ กิจกรรมและผลงานทางวิชาการ o o
ร่วมโครงการ WORKSHOP ร่วมกับ TCDC ในหัวข้อ “ ตึกแถว ” ที่กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ.2551 โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง ไทยและมาเลเชียที่จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ.2551 JOINT WORKSHOP IN URBAN DESIGN AND CONSERVATION MSU-UTM
o o
เข้าร่วมโครงการประกวด การออกแบบปรับปรุงสถานีอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2552 เข้าร่วมประกวดโครงการวิทยานิพนธ์ดีเด่น ปี 2553 จัดโดย สมาคมสถาปนิกสยาม โดยประกวด ในหัวข้อรางวัลด้านการออกแบบที่คานึงถึงศิลปวัฒนธรรม (Historical and Culture)
กิจกรรมที่เข้าร่วมกับคณะ o o o o o o o o o
o
เข้าร่วมกิจกรรมประชุมเชียร์มหาวิทยาลัย ปี 2548 เข้าร่วมกิจกรรมประชุมเชียร์คณะปี 2548 เข้าร่วมเป็น STAFFละคร สถาปัตย์ พลุนัดที่ 5 หมัดเทพพระเจ้าดาวเหนือ เข้าร่วมค่าย สถาปัตย์สัญจรครั้งที่ 5 ที่ บ้านนาทอง อาเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม เข้าร่วมฝึก staff มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ประจาปี 2549 เข้าร่วมฝึก staff คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ประจาปี 2549 เข้าร่วมเป็น staffละคร พลุนัดที่ 6 และ พลุนัดที่ 7 หน้าที่ ช่างภาพ เข้าร่วมจัดงาน 11ปีคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ติดต่อประสานงาน จัดเตรียมของที่ระลึก จัดจาหน่าย ปี 2550 เข้าร่วมรับผิดชอบการควบคุมการผลิตกระบวนการต่างๆตั้งแต่จัดหาสปอนเซอร์ จัดจาหน่าย สินค้าของที่ระลึกละคร ฝ่ายบัญชีละคร และฝ่ายเบ็ดเตล็ด ของโครงการละคร พลุนัดที่ 8 เดชคัมภีร์ธรรมดา ประจาปี 2551 เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมที่คณะจัดขึ้น
ทักษะและความสามารถ o ด้านการใช้โปรแกรม Auto cad , Sketch Up , Photoshop, Illustrator , 3D max, Microsoft office o
ด้านการถ่ายภาพ มีประสบการณ์ด้านการถ่ายภาพสถานที่ ภาพกิจกรรมและภาพบุคคล
o
ความสามารถพิเศษด้านอื่นๆ เล่นดนตรีไทย เล่นดนตรีสากลได้บางประเภท
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT.
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT
“ บ้านพี่สายรหัส ”
CONCEPT DESIGN : “ ผสมผสาน ” ผู้ใช้งานเป็นพี่สายรหัส 2 คนที่มีลักษณะความชอบแตกต่างกันไป จึงมีการ ออกแบบให้ตัวบ้านแบ่งออกเป็น mass 2 ก้อน แต่สามารถเชื่อมต่อกันได้และมีพื้นที่ ส่วนกลางที่สามารถประกอบกิจกรรมร่วมกันได้ ระบบการก่อสร้างเป็นระบบเสาและ คาน หลังคาเป็น slab ยกระดับเพื่อระบายความร้อน
MODEL
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT
“ บ้านแสนสงบ ”
CONCEPT DESIGN : “ อิสระภาพ ”
ผู้ใช้งานเป็นเป็นครอบครัวเล็กๆที่ประกอบด้วยพ่อแม่และลูก 2 คน เป็น ครอบครัวที่รักความสงบ พ่อมีอาชีพปลูกกล้วยไม้ขาย แม่เป็นคุณครูสอนอยู่โรงเรียน เล็กๆ ลูกๆก็กาลังเรียนระดับมัธยมศึกษา ทุกๆคนในครอบครัวรักอิสระและมีโลก ของตัวเอง เสาร์อาทิตย์ที่บ้านจะมีนักเรียนมาเรียนพิเศษที่บ้านด้วย โดยมีการนา เครื่องหมาย Peace มาวางเป็นลักษณะ แนวแกน ลักษณะของแปลนบ้านจะมีการบิด แกนเพื่อไม่ให้เกิด ความน่าเบื่อของ mass และเป็นการเพิ่มความเป็นส่วนตัวของ คนในบ้านทาให้สามารถประกอบกิจกรรมต่างๆได้โดยส่วนตัว
MODEL
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ บ้านและร้านอาหารอีสานกิมจิ ” CONCEPT DESIGN : “ แทกึกกี ” ( ธงชาติเกาหลี )
ผู้ใช้งานเป็นเป็นครอบครัวชาวไทยแต่มีลูกเขยเป็นชาวเกาหลี และเขา ต้องการที่จะมีร้านอาหารเพื่อจะขายอาหารเกาหลี และมีบ้านไว้สาหรับครอบครัว อาศัยอีกด้วย มีการออกแบบการวางผังโดยการนาเอาธงชาติเกากลีมาช่วยในการวาง ผัง โดยการถือคติแบบเกาหลีอีกด้วยและมีการสร้างสระน้าตามลักษณะหยินของธง ชาติและปลูกดอกมูกุงฮวาดอกไม้ประจาชาติเกาหลี ในลักษณะของหยางอีกด้วย โดย ที่ตัวบ้านและร้านจะเชื่อมกันด้วยทางเดินมีหลังคาคลุม และมีการจัดภูมิสถาปัตย์ ด้วย ต้นไม้ไทยและผักสวนครัว จากรูปภาพ Mass หลังคาสีแดงคือร้านอาหาร และ Mass หลังคาสีน้าเงินคือ บ้านพัก และลักษณะบ้านจะออกแบบโดยการนาบ้านแบบ เกาหลีมาผสมผสานกันกับบ้านแบบไทยโดยเน้นการใช้งานเป็นหลัก
MODEL
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT“ สานักงานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน ”
CONCEPT DESIGN : “ ของดีภาคอีสาน ”
ผู้ใช้งานเป็นคือสถาปนิกที่ทางานในเขตภาคอีสาน จึงจุดเป็นศูนย์รวมที่ สามารถให้คาปรึกษาและให้ความรู้แก่ประชาชนและสถาปนิกได้ โดยการออกแบบ จะนาเอาของดีประจาท้องถ่านมาออกแบบ ซึ่งจะประกอบด้วยจังหวัดใหญ่ใน ภาค อีสาน เช่น ปราสาท หิน พิมาย ที่โคราช หม้อบ้านเชียง อุดรธานี สะพานมิตรภาพ ที่ หนองคาย และอื่นๆ มาผสมผสานกันและนามาออกแบบทั้งตัวสถาปัตยกรรมและตัว รายละเอียดต่างๆรวมไปถึงการตกแต่งภายในอีกด้วย
PAGE PRESENTATION & MODEL
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ ศูนย์ทอผ้า บ้านกุดรัง ”
CONCEPT DESIGN : “ รังไหม ”
เป็นโครงการออกแบบเพื่อสนับสนุนโครงการทอผ้าบ้านกุดรังของชาวบ้าน กุดรังพื้นที่ติดอยู่กับวัด การออกแบบได้นาเอารังไหมมาเป็นตัวอย่างในการออกแบบ โดยการนาแนวคิดที่ว่ารังไหมสามารถอยู่รวมกัน เป็นกลุ่มก้อนแต่ยังสามารถระบาย อากาศได้ดี มาออกแบบจึงได้ลักษณะ Mass ที่มีลักษณะเป็นกลุ่มก้อน ทั้งหมด 5 อาคารและมีทางเดินเชื่อมต่อกัน แต่ละอาคารจะประกอบด้วย ส่วนจัดแสดง ห้อง ประชุม ห้องแสดงวิธีการทอผ้า ห้องขายของที่ระลึก
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ สโมสรคณาจารย์ ม.มหาสารคาม ” CONCEPT DESIGN : “ โฮม ”
คาว่า โฮม ในภาษาอีสานคือการรวมตัวกันและในภาษาอังกฤษแปลว่า ครอบครัว ดังนั้นจึงออกแบบให้คลับนี้เป็นจุดศูนย์รวมของอาจารย์มหาลัย โดยเน้น ความสะดวกสบายและอบอุ่นเหมือนอยู่บ้านของตัวเอง ซึ่งสโมสรนี้มีทั้งสระว่ายน้า สนามเปตอง และสนามเทนนิสอีกด้วย
PAGE PRESENTATION & MODEL
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ บ้านประหยัดพลังงาน ”
CONCEPT DESIGN : “ บ้านประหยัดพลังงาน ”
โครงการนี้เป็นโครงการบ้านและสานักงานอยู่ด้วยกันซึ่งเน้นการอนุรักษ์ พลังงาน ทั้งสองอาคารนี้จะสามารถเชื่อมต่อกันและมีส่วนพักผ่อนต่างๆ มีระบบการ ประหยัดพลังงานดังนี้ o o o o o o o
MODEL
มีการใช้โซล่าเซลล์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า มีระบบผลิตน้าอุ่น มีระบบการลดความร้อนบนหลังคาด้วยระบบน้าหมุนเวียน ออกแบบในการวางทิศทางอาคารให้รับกับลมประจาฤดู มีการใช้แสงธรรมชาติเข้ามาใช้ในตัวอาคารแทนแสงไฟ มีการใช้เนินดินเพื่อเพิ่มความเย็นให้กับตัวบ้าน มีการทาสวนบนหลังคาเพื่อเพิ่มความเย็นให้กับอาคาร
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ ”
CONCEPT DESIGN : “ The Four Seasons”
Four seasons เป็นเพลงหนึ่งของ Vivaldi เนื้อหาของเพลงจะ บรรยายถึงฤดูต่างๆ และบรรยากาศในแต่ละฤดู สามารถ นามาใช้กับการออกแบบ ดังนี้ ใช้ในการวาง Zone แต่ละตึกของโรงเรียนคนตรี ใช้โทนสีของแต่ละฤดูในการตกแต่งภายในห้องเรียนและ ห้องซ้อม มีUserเข้าไปใช้งานเปรียบกับการเปลี่ยนแปลงของแต่ละฤดู มีต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่งกลางคอร์ด เป็นต้นไม้ที่สามารถเปลี่ยนไป ได้เรื่อยๆตามฤดูกาล
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT “ โครงการออกแบบใหม่และปรับปรุงสถานีอนามัย ” CONCEPT DESIGN : “ Eco – Community ”
ออกแบบโดยใช้ธรรมชาติเข้ามามีส่วนช่วยบาบัดรักษาผู้ป่วยที่เข้ามารักษา ในสถานีอนามัย โดยสร้างพื้นที่กิจกรรมและส่วนรักษาที่ให้ความรู้สึกเป็นกันเองกับ ชาวบ้าน และให้สถานีอนามัยกลายเป็นศุนย์กลางของชุมชน ในงานออกแบบจะมีการ ใช้ “ รูป (รูปร่างอาคาร) รส ( โทนสีของอาคารและการตกแต่งภายใน ) กลิ่น (การจัด สวนและการปลูกต้นไม้ ) เสียง (เสียงธรรมชาติและเสียงที่สร้างในตัวอาคาร ) ” และมี การใช้วัสดุพื้นถิ่นเข้ามาตกแต่งอีกด้วย
ARCHITECTURAL DESIGN PROJECT
“ โรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น ”
CONCEPT DESIGN : “Green House ” นาแนวความคิด บ้านสีเขียวเข้ามาใช้ในการออกแบบโดยต้องการให้ ความรู้สึกของคนที่เข้ามาใช้บริการโรงพยาบาลรู้สึกผ่อนคลายเหมือนรักษาตัวอยู่ที่ บ้านของตัวเอง โดย ออกแบบให้ตัวอาคารและบริเวณรอบๆมีพื้นที่สีเขียว เพื่อสร้าง บรรยากาศที่ผ่อนคลาย สบายๆให้กับผู้ป่วย มีการใช้ Roof Garden เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งกับตัวอาคาร มีการตกแต่งภายในเน้นในการไล่ระดับโทนสีเขียวสบายตา การจัดห้องพักเน้นความกว้างและความสะดวกสบาย การเข้าถึง ง่ายและสะดวกต่อการย้ายผู้ป่วย มีห้องพักแพทย์และพยาบาลในชั้นบนสุด ภายในมีลักษณะเป็น open space เพื่อว่ารู้สึกโปร่ง ส่วนของ ER มีทางเข้าถึงได้อย่างสะดวก
ARCHITECTURAL DESIGN PROJE “ หอศิลป์ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ” CONCEPT DESIGN : Site Plan “ เชื่อมสัมพันธ์ สามเชื้อชาติ ”
แนวคิดนี้มาจัดผังบริเวณและออกแบบภูมิสถาปัตย์ให้มีความสอดคล้องกัน ระหว่างอาคารเก่าและโครงการที่จะเกิดขึ้น โดยการนาสวนของ สามประเทศเข้ามาเข้า จัดในรูปแบบที่ผสมผสานกัน
Building
“ จิตวิญญาณ ”
คือการนาเอาความรู้สึกนึกคิด วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนทั้งสามชาติมาใช้ ประยุกต์ในการออกแบบ
ARCHITECTURAL DESIGN PROJE
“ TK PARK@ มหาสารคาม ”
CONCEPT DESIGN : “ CHILD CENTER ”
การศึกษาแบบให้เด็กเป็นศูนย์กลางนามาใช้ในการออกออกแบบให้สถานที่ แห่งนี้เป็นจุดศูนย์รวมของเด็กและเยาวชนในภาคอีสาน ซึ่งจะประกอบไปด้วยส่วน ต่างๆตามมาตรฐานศูนย์การเรียนรู้ และได้มีการเพิ่มในสาวนของการสอยถึงภูมิ ปัญญาชาวบ้านในภาคอีสาน ซึ่งสอนให้เด็กสามารถเรียนรู้และอยู่ได้ด้วยตัวเอง
ARCHITECTURAL DESIGN PROJE “ ENTERTRENMENT COMPLAX ” CONCEPT DESIGN : “ORIENTEL MODERN” ความทันสมัยแห่งศาสตร์ตะวันออก ศาสตร์แห่งตะวันออก วิถชี วี ติ = เรียบง่าย มีศิลปะในการใช้ชีวิต อยู่กับธรรมชาติ วัสดุ = สิ่งที่หาได้ในท้องถิ่น เรียบๆง่ายๆ เช่น อิฐ ไม้ ป + MODERN วิถชี วี ติ วัสดุ
= ทันสมัย สนุกสนาน = เหล็ก กระจก อะลูมิเนียม โพลีคาร์บอเนต ฯลฯ
ISAN LIFE STYLE = COMMUNITY AREA
วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรม
โครงการศูนย์มรดกโสตทัศน์แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
องค์ประกอบและการวางผังบริเวณ
แนวคิดในการออกแบบและการวางผังโครงการ
องค์ประกอบทั้งหมดของโครงการและหอแห่งแรงบัลดาลใจ
แนวความคิดของรูปแบบสถาปัตยกรรมไทย
รูปด้านอาคารหอแห่งแรงบัลดาลใจ
กลุ่มอาคารพิพิธภัณฑ์และภูมิสถาปัตยกรรมในอาคาร
ส่วนบริการสาธารณะ
ส่วนสานักงาน
ส่วนห้องปฏิบัติการและหอเก็บฟิล์ม
พื้นที่สีเขียวสาหรับพักผ่อน
กลุ่มอาคารสานักงานและหอเก็บฟิล์ม
ทัศนียภาพภายในและภายนอกของอาคารพิพิธภัณฑ์
รูปตัดอาคารทั้งหมดของโครงการ
รูปตัดอาคารพิพิธภัณฑ์ อาคารสานักงาน และหอแห่งแรงบัลดาลใจ
รูปด้านอาคารทั้งหมดของโครงการ ( ด้านหน้า และ ด้านทิศเหนือ )
รูปด้านอาคารทั้งหมดของโครงการ ( ด้านทิศตะวันออก และ ด้านทิศใต้ )
PORTAL FRAME
ขยายรายละเอียดด้านโครงสร้าง
ทัศนียภาพของโครงการ
GRAPHIC ART WORK
Aesthetic Philosophy PAGE 1
[ What is beauty ? ]
Aesthetic Philosophy PAGE 2
[ What is beauty ? ]
Aesthetic Philosophy
[ DESIGN BY I-SAN ]
WORKSHOP
Work Shop MSU - UTM
Work Shop Thai - Malysia โครงการสัมนาอนุรักษ์เมืองสกลนคร ระหว่าง ไทยและมาเลเชีย “ Memorise ” เป็นแนวคิดในการนาเสนองาน
จากการปรึกษากันระหว่างสมาชิกในกลุ่มทั้งชาวไทยและเพื่อนๆชาว มาเลเซีย มีความเห็นเหมือนกันที่ว่าควรจะอนุรักษ์และคอยซ่อมแซมอาคารเก่าที่อยู่ใน จังหวัดสกลนครให้อยู่สืบชั่วลูกหลานตลอดไป.. และมีการสร้างกิจกรรมให้กับชาวบ้าน เพื่อเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเที่ยวในจังหวัดสกลนคร
OUR ACTIVITIES, OUR MEMORIES, OUR FRIEND SHIP.
Work Shop With TCDC Work Shop with TCDC โครงการสัมนาอนุรักษ์ตึกแถวในชุมชนเก่าของกทม. พื้นที่สารวจ เขตพระนคร ถ. บารุงเมือง ถ. เฟื่องนคร. ถ. เจริญกรุง “ ปลุกวิญญาณ อาคารเก่า ”เป็นแนวคิดในกานาเสนอ งานการปรึกษากันระหว่างสมาชิกในกลุ่มจึงเกิดแนวคิดที่จะอนุรักษ์ เส้นทางเก่าและสร้างกิจกรรมให้กับเส้นทางนี้เพื่อประชาชนจะได้หัน มาสนใจกลุ่มอาคารเก่าๆในเขต กทม.มากขึ้น อีกทั้งมีการออกแบบ ให้มีการสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนในเขตบริเวณนั้นด้วย
REWARD
Primary Health Care Expro รางวัลดีเด่น งานปรับปรุงสถานีอนามัย Concept Design “ Eco - Community ” ออกแบบโดยพัฒนาต่อจากงานโปรเจค และยังคงแนวทางเดิมที่ ใช้ธรรมชาติ เข้ามามีส่วนช่วยบาบัดรักษาผู้ป่วยในการมารักษาในสถานีอนามัยโดยสร้างพื้นที่ กิจกรรมและส่วนรักษาที่ให้ความรู้สึกเป็นกันเองกับชาวบ้านและให้สถานีอนามัย กลายเป็นศูนย์กลางของชุมชน ในงานออกแบบจะมีการใช้ “ รูป (รูปร่างอาคาร) รส ( โทนสีของอาคารและการตกแต่งภายใน ) กลิ่น (การจัดสวนและการปลูกต้นไม้ ) เสียง (เสียงธรรมชาติและเสียงที่สร้างในตัวอาคาร ) ” และมีการใช้วัสดุพื้นถิ่นเข้ามาตกแต่ง ภายในในด้านภูมิสถาปัตย์ มีการปลูกต้นไม้ประจาจังหวัดนั้นๆ และใช้ต้นไม้ที่ให้สีและ กลิ่นหอมอ่อนๆเพื่อช่วยผ่อนคลายความกังวลและรู้สึกสดชื่นเมื่อมารับการรักษา
Primary Health Care Expro.
ได้รับคัดเลือกเข้าร่วมประกวดโครงการ THESIS OF THE YEAR IN ARCHITECTURE 2009-2010
ผลงานระหว่างการฝึกงาน
MODEL บ้านพักอาศัย 2 ชั้น
ลงสี LAYOUT RESORT
ลงสี LAYOUT RESORT
DESING HOME STAY AND LAYOUT.
SKETCH UP AND 3D LANTA RESORT.
SKETCH UP LOBBY LANTA RESORT.
PHOTOGRAPHY SKILL
LANSCAPE
ETC.
ARCHITECTURE
ETC.
MACRO_DETAIL
ETC.
PORTRAIT
ETC.
EVENT.
LIGHT & SHADOWS.
ETC.
ETC.
ภาพถ่ายนี้ได้รับเลือกให้ร่วมแสดงในงานงิ้วจังหวัดมหาสารคามประจาปี พ.ศ. 2552 ในหัวข้อ
“ ภาพถ่ายเชิงอรรถ ณ จังหวัดมหาสารคาม ” ETC.
TO BE CONTINUE…..