THE CYCLE OF BENJARONG LEARNING CENTER

Page 1




ผังเมือง นนทบุรี


ลักษณะทางกายภาพของจังหวัดนนทบุรี

ภูมปิ ระเทศจังหวัดนนทบุรีต้ งั อยูบ่ นฝั่งแม่น้ าํ เจ้าพระยา โดยมีแม่น้ าํ เจ้าพระยา แบ่งพื้นที่ของจังหวัดออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก พื้นที่ ส่ วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่ม ทีต่ ้งั ตั้งอยูภ่ าคกลางของประเทศไทย ห่ างจากกรุ งเทพฯ 20 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 622.38 ตารางกิโลเมตร หรื อ ประมาณ 388,987.5 ไร่

สภาวะอากาศทั่วไป

• จังหวัดนนทบุรีอยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของมรสุม 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ พัดจากทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือปกคลุมในช่วงฤดูหนาว ทําให้ บริ เวณ จังหวัดนนทบุรีประสบกับสภาวะอากาศหนาวเย็นและแห้ ง แล้ ง กับมรสุมอีกชนิดหนึง่ คือมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึง่ พัด จากทิศตะวันตกเฉียงใต้ ปกคลุมในช่วงฤดูฝนทําให้ อากาศ ชุม่ ชื ้นและมีฝนตก • ฤดูหนาว อากาศหนาวเย็นประมาณกลางเดือนพฤศจิกายน เป็ นต้ นไป โดยมีอากาศหนาวจัดในเดือนธันวาคม • ฤดูร้อน เริ่ มเมื่อมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ ้นสุดลง คือ ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถงึ กลางเดือนพฤษภาคมมี อากาศร้ อนอบอ้ าวทัว่ ไป โดยมีอากาศร้ อนจัดอยูใ่ นเดือน เมษายน • ฤดูฝน เริ่ มตังแต่ ้ กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือน ตุลาคม ซึง่ เป็ นช่วงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พดั ปกคลุม ประเทศไทย


การคมนาคมทางบก โดยถนนสายหลักที่อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงการทางและแขวงทางหลวงชนบท 13 สายคือ 1. ถนนพิบูลสงครามระหว่ างเชิงสะพานพระรามหก - สี่แยกโรงภาพยนตร์ ศรี พรสวรรค์ 2. ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 ระหว่ างศาลากลางจังหวัด – สี่แยกโรงภาพยนตร์ ศรี พรสวรรค์ 3. ถนนติวานนท์ ระหว่ างสามแยกวัดลานนาบุญ – ท่ านํา้ ปทุมธานี 4. ถนนงามวงศ์ วานระหว่ างสี่แยกแคลาย – สี่แยกเกษตร 5. ถนนนนทบุรี1 ระหว่ างศาลากลาง – ถนนติวานนท์ 6. ถนนแจ้ งวัฒนะระหว่ างสี่แยกปากเกร็ด – สี่แยกหลักสี่ 7. ถนนบางกรวย – ไทรน้ อยระหว่ างพระรามหก – อําเภอไทรน้ อย 8. ถนนบางบัวทอง – ตลิ่งชันระหว่ างแยกบางบัวทอง – ตลิ่งชัน 9. ถนนบางบัวทอง – สุพรรณบุรีระหว่ างแยกบางบัวทอง – สุพรรณบุรี 10. ถนนกรุ งเทพฯ–นนทบุรีระหว่ างสามแยกเตาปูน– สามแยกวัดลานนาบุญ 11. ถนนรัตนาธิเบศร์ ระหว่ างสี่แยกแคลาย - ถนนบางบัวทอง – ตลิ่งชัน 12. ถนนพระรามห้ าระหว่ างตลิ่งชัน – ถนนติวานนท์ 13. ถนนราชพฤกษ์ ระหว่ างบางกรวย - ถนนบางบัวทอง –ปทุมธานี 14. ถนนแยกจากถนนราชพฤกษ์ - พระรามสี่ –ปากเกร็ด •

นอกจากเส้ นทางคมนาคมขนส่ งทางถนนที่กล่ าวแล้ วข้ างต้ นยังมีทางด่ วนขัน้ ที่ 2 สายบางโคล่ -แจ้ ง วัฒนะซึ่งอยู่ในความรั บผิดชอบของการทางพิเศษแห่ งประเทศไทยเพื่อช่ วยให้ การจราจรในใจกลาง กรุ งเทพมหานครสามารถกระจายสู่บริเวณรอบนอกและจากรอบนอกเข้ าสู่ใจกลางเมือง


การคมนาคมทางนํ้า

เรื อด่วนเจ้ าพระยาบริ การระหว่างเส้ นทางจากท่านํ ้าวัดราชสิงขรเขตยานนาวาถึงท่านํ ้านนทบุรี (ฝั่งพระนคร)อําเภอเมืองจังหวัดนนทบุรีทกุ วันระหว่างเวลา 06.00 – 18.00 น. การเดินทางสัญจรทางนํ ้าของผู้โดยสารช่วยลดปั ญหาการจราจรบนถนนในชัว่ โมงเร่งด่วน ได้ แก่ (1) การเดินทางในแม่นํ ้าเจ้ าพระยาด้ วยบริ การเรื อด่วนเจ้ าพระยา (Chao Phraya Express) ประกอบด้ วย -เรื อธงธรรมดา (ราษฎร์ บรู ณะ-นนทบุรี) ให้ บริ การ 9 ลํา จอดให้ บริ การ 34 ท่า -เรื อธงส้ ม (วัดราชสิงขร-นนทบุรี) ให้ บริ การ 19 ลํา จอดให้ บริ การ 21 ท่า -เรื อธงเหลือง (ราษฎร์ บรู ณะ-นนทบุรี) ให้ บริ การ 19 ลํา จอดให้ บริ การ 9 ท่า -เรื อธงเขียว-เหลือง (ปากเกร็ด-นนทบุรี-สาธร) ให้ บริ การ 11 ลํา จอดให้ บริ การ 13 ท่า (2) การเดินทางเรื อยนต์ข้ามฟากแม่นํ ้าเจ้ าพระยา (ท่าปากเกร็ด-ท่าพระสมุทรเจดีย์) มีทา่ เรื อข้ าม ฟากในแม่นํ ้าเจ้ าพระยาจากช่วงจังหวัดนนทบุรี-สมุทรปราการ มีทงหมด ั้ 32 ท่า (3) การเดินทางเรื อยนต์เพลาใบจักรยาว (ท่าปากเกร็ด-ท่าสาขลา) มีเส้ นทางการเดินเรื อและเชื่อม คลองต่าง ๆ บริ เวณจังหวัดนนทบุรี-กรุงเทพมหานคร จํานวน 15 เส้ นทาง


รถไฟฟ้าสายสี ม่วงเป็ นสถานียกระดับโดยเริ่ มต้นจากบริ เวณ คลองบางไผ่ ซึ่ งเป็ นที่ต้ งั ของศูนย์ซ่อมบํารุ งรถไฟฟ้า ถนนวง แหวนรอบนอก (ตะวันตก) กาญจนาภิเษก เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ ถนน รัตนาธิเบศร์ ข้ามแม่น้ าํ เจ้าพระยา ใกล้สะพานพระนัง่ เกล้า ก่อน ถึงสี่ แยกแครายจะเลี้ยวขวาไปตามถนนติวานนท์ เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ ถนน กรุ งเทพ - นนทบุรี ถึงบริ เวณแยกเตาปูน มีสถานีเตาปูน เป็ นสถานีเชื่อมต่อกับสถานีบางซื่ อของรถไฟฟ้ามหานคร สาย เฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟ้าใต้ดิน MRT) และในอนาคตจะ เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสี น้ าํ เงิน ช่วงบางซื่ อ - ท่าพระ และ รถไฟฟ้าสายสี ม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ


• - แนวโน้ มการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ ในจังหวัดนนทบุรี • 1) จากการที่พนื ้ ที่เมืองโดยส่ วนใหญ่ อยู่ตดิ กับกรุ งเทพมหานครซึ่งมีผลดึงดูดให้ ประชากรเพิ่ม ความหนาแน่ นขึน้ จากการเพิ่มขึน้ ของประชากรทัง้ ในจังหวัดและรองรั บประชากรจาก กรุ งเทพมหานครจึงทําให้ พนื ้ ที่เมืองเกิดความหนาแน่ นและมีการขยายตัวไปในพืน้ ที่โดยรอบ ้ งเกิดแนวโน้ มด้ านการ พืน้ ที่เมืองในพืน้ ที่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดนนทบุรีเป็ นส่วนใหญ่ดงั นันจึ ขยายตัวของเมืองมาทางทิศตะวันตกของจังหวัดซึง่ เป็ นพื ้นที่เกษตรกรรมและชนบทอย่างรวดเร็วแต่ ด้ วยวิสยั ทัศน์ของจังหวัดนนทบุรีเป็ นเมือง น่าอยูจ่ งึ มีแนวโน้ มที่จะเกิดชุมชนที่พกั อาศัยเพิ่มขึ ้นอีกมาก ดังนันการเพิ ้ ่มขึ ้นของพื ้นที่เมืองควรได้ รับการวางแผนและบริ หารจัดการให้ เกิดในพื ้นที่ที่เหมาะสม • 2) การใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ ด้ านอุตสาหกรรมในภาพรวมมีแนวโน้ มลดลงซึ่งส่ งผลให้ การขยายตัว ภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดนนทบุรีมีแนวโน้ มลดลงตามไปด้ วยและอาจคงไว้ ในกิจกรรมหรื อ ประเภทอุตสาหกรรมที่ไม่ ก่อให้ เกิดผลกระทบต่ อการอยู่อาศัยในพืน้ ที่จงั หวัดนนทบุรีรวมถึง อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องกับภาคการเกษตรที่จะสามารถคงอยูไ่ ด้ ด้วยการบริ หารจัดการในอนาคต แนวโน้ มในด้ านอุตสาหกรรมการบริ การและการท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ ้นทดแทนในส่วนของ ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆเพื่อรองรับประชากรที่จะเพิ่มขึ ้นและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่เพิ่มมากขึ ้นใน จังหวัดนนทบุรี • 3) การใช้ ประโยชน์ท่ ดี นิ ภาคเกษตรกรรมมีแนวโน้ มลดลงโดยปรั บเปลี่ยนการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ เป็ นพืน้ ที่อยู่อาศัยมากขึน้ รวมทัง้ การเป็ นพืน้ ที่รองรั บการบริการด้ านต่ างๆที่เกี่ยวข้ องกับการ อยู่อาศัย • 4) การใช้ ประโยชน์ที่ดินบริ เวณโครงการรถไฟฟ้ ามีแนวโน้ มปรั บเปลี่ยนการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ เพื่อ การพาณิชยกรรมมากขึ ้นรวมทังทํ ้ าให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ ประโยชน์ ท่ ดี นิ ที่มีความ หลากหลายในกิจกรรมต่ างๆตามไปด้ วย


สถิติ -ผู้ใช้ นํ ้า -ปริ มาณ -การผลิต -การจําหน่าย


สถิตกิ าร ใช้ ไฟฟ้า



อัตราการ เติบโตของ ประชากร


อัตตราการ ท่องเที่ยว รายได้จากการ ท่องเที่ยวและ ค่าใช้จ่ายของ ประชากรใน จังหวัดนนทบุรี


ความเป็ นไปได้ของโครงการ



งบการสนับสนุนเกี่ยวกับโครงการ


ส่ วนเสริ มความเป็ นไปได้


กลุม่ คนที่สนใจ เครื่ องเบญจรงค์มี อายุตงแต่ ั ้ 21ปี ถงึ 50ปี ขึ ้นไปแบ่งตาม ช่วงวัยดังนี ้


-การศึกษาความเป็ นไปได้ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม นนทบุรี ในปั จจุบนั มีความคล้ ายกับกรุงเทพมหานคร อาคารส่วนมากจะเป็ นอาคาร เกี่ยวกับการพาณิชยกรรม 400 350 300 250 200 150 100 50 0

343 229

49

54

111

103 24

39

13

หมวดธุรกิจ บริษัทจํากัด

หางหุนสวนจํากัด

บริษัทมหาชนจํากัด

0


สังคมและวัฒนธรรม

วัดบรมราชากาญจนาภิเษกอนุสรณ์

อุทยานเฉลิมกาญจนาภิเษก

บ้ านครูมนตรี ตราโมท

ชมเฌย

พิพิธภัณฑ์เครื่ องปั น้ ดินเผา

เกาะเกร็ด



-ด้านสภาวะแวดล้อมและผลกระทบต่อชุมชนในอนาคต ปริ มาณขยะที่เพิ่มทุกปี

มลพิษทางอากาศ


11/11 ไทรม้า ซอย 7 ตําบล ไทรม้า อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี 11000



ถนนหลักคือถน รัตนาธิเบศ(สีส้ม) แยกเข้ าซนอยมายังที่ตงชื ั ้ ่อ ซอยไทรม้ า7และถนนรองฝั่งตรงข้ ามคือถนน นนทบุรีมีMRT สายสีมว่ งตัดผ่านและตัง้ สถานี ไทรม้ า มีทางสัญจรทางนํ ้าฝั่งตรงข้ าม คือท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้ า มีวินมอเตอร์ ไซค์ อยูใ่ ต้ MRT

134 AC บางบัวทอง - หมอชิต ทุกๆ 20 นาที

18 ท่าอิฐ อนุสาวรี ย์ ชัยสมรภูมิ ทุกๆ 10 นาที

203 Short ท่าอิฐ สนามหลวง ทุกๆ 15 นาที

134 บางบัวทอง - หมอชิต ทุกๆ 25 นาที

203 Long ท่าอิฐ สนามหลวง ทุกๆ 10 นาที 69 NGV Tha-It Victory Monum ent ทุกๆ 20 นาที

18 AC ท่าอิฐ อนุสาวรี ย์ชยั สมรภูมิ ทุกๆ 4 นาที




zone Education

room Meeting 60 Auditorium 200 Meeting 200 Auditorium 100

area 240 390 750 250 1,630

zone Learning

room Show 360 Shop Workshop 1 Workshop 2

area 360 78 400 460 1,300

zone PARK

room Parking 1 Parking 2

area 700 500

1,200


zone OFFICE

room Office Boss

area 215 20 235

zone SERVICE

room EE Room Pump Room CCTV Maid Storage AIR

area 48 48 9 9 12 54 180

zone SELF LEARNING

room Library Media

area 175 100 275


zone Lobby

room Lobby 1 Lounge 1 Lounge 2

area 220 180 64 464

zone Lobby

room Lobby 1 Lounge 1 Lounge 2

area 220 180 64 464

zone WC.

room WC. men WC. women

area 42 42 295

zone RESTAURANT

room Cafe Restaurant

area 50 330 380



หมวด 2 • ส่ วนที่ 1 วัสดุของอาคาร • ข้ อ 14 สิ่ งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรื อตั้งป้ายที่ติดตั้งบนพื้นดินโดยตรงให้ทาํ ด้วยวัสดุทนไฟทั้งหมด • ข้ อ 15 เสา คาน พื้น บันได และผนังของอาคารที่สูงตั้งแต่สามชั้นขึ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสิ นค้า อาคารขนาดใหญ่ สถานบริ การตามกฎหมายว่าด้วยสถานบริ การ ท่าอากาศยาน หรื อ อุโมงค์ ต้องทําด้วยวัสดุถาวรที่เป็ นวัสดุทนไฟด้วย


ส่ วนที่ 2 • ข้ อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่าตามที่กาํ หนดไว้ดงั ต่อไปนี้ ประเภทอาคาร ความกว้าง • • 2. อาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สํานักงาน อาคารสาธารณะ อาคาร พาณิ ชย์ โรงงาน อาคารพิเศษจ้องมีความกว้าง 1.50 เมตร


ส่ วนที่ 3 บันไดของอาคาร • ข้ อ 24 บันไดของอาคารอยูอ่ าศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สํานักงาน อาคารสาธารณะ อาคาร พาณิ ชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ สําหรับที่ใช้ กับชั้นที่มีพ้ืนที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันไม่เกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความ กว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร แต่สาํ หรับบันไดของอาคารดังกล่าวที่ ใช้กบั ชั้นที่มีพ้ืนที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกว้างสุ ทธิของบันไดน้อยกว่า 1.50 เมตร ต้องมีบนั ไดอย่าง น้อยสองบันได และแต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า 1.20 เมตร • บันไดของอาคารที่ใช้เป็ นที่ชุมนุมของคนจํานวนมาก เช่น บันไดห้องประชุมหรื อห้องบรรยายที่มีพ้ืนที่รวมกันตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรื อบันได ห้องรับประทานอาหารหรื อสถานบริ การที่มีพ้ืนที่รวมกันตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรื อ บันไดของแต่ละชั้นของอาคารนั้นที่มีพ้ืนที่รวมกันตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.50 เมตร อย่าง น้อยสองบันได ถ้ามีบนั ไดเดียวต้องมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร • บันไดที่สูงเกิน 4 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 4 เมตร หรื อน้อยกว่านั้น และระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรื อชานพัก บันไดถึงส่ วนตํ่าสุ ดของอาคารที่อยู่ เหนือขึ้นไปต้องสู งไม่นอ้ ยกว่า 2.10 เมตร

• ข้ อ 25 บันไดตามข้อ 24 จะต้องมีระยะห่างไม่เกิน 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุ ดบนพื้นชั้นนั้น • ข้ อ 26 บันไดตามข้อ 23 และข้อ 24 ที่เป็ นแนวโค้งเกิน 90 องศา จะไม่มีชานพักบันไดก็ได้ แต่ตอ้ งมีความกว้าง เฉลี่ยของลูกนอนไม่นอ้ ย กว่า 22 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามข้อ 23 และไม่นอ้ ยกว่า 25 เซนติเมตร สําหรับบันไดตามข้อ 24


หมวด 3 ทีว่ ่ างภายนอกอาคาร • (2) ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอื่นซึ่ งไม่ได้ใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ต้องมีที่วา่ งไม่นอ้ ยกว่า 10 ใน 100 ส่ วน ของพื้นที่ช้ นั ใดชั้นหนึ่งที่ มากที่สุดของอาคาร แต่ถา้ อาคารดังกล่าวใช้เป็ นที่อยูอ่ าศัย ด้วยต้องมีที่วา่ งตาม (1) • ข้ อ 34 ห้องแถวหรื อตึกแถวซึ่ งด้านหน้าไม่ติดริ มถนนสาธารณะ ต้องมีที่วา่ งด้านหน้าอาคารกว้างไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร โดยไม่ให้มีส่วนใดของอาคารยืน่ ลํ้าเข้าไปในพื้นที่ ดังกล่าว • ห้องแถวหรื อตึกแถว ต้องมีที่วา่ งด้านหลังอาคารกว้างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร เพื่อใช้ติดต่อถึงกัน โดยไม่ให้มีส่วนใดของ อาคารยืน่ ลํ้าเข้าไปในพื้นที่ดงั กล่าว เว้นแต่การสร้าง บันไดหนีไฟภายนอกอาคารที่ยนื่ ลํ้าไม่เกิน 1.40 เมตร • ระหว่างแถวด้านข้างของห้องแถวหรื อตึกแถวที่สร้างถึงสิ บคูหา หรื อมีความยาวรวมกันถึง 40 เมตร


หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่ าง ๆ ของอาคาร • อาคารที่สูงเกินสองชั้นหรื อเกิน 8 เมตร ห้องแถว ตึกแถว บ้านแถว อาคารพาณิ ชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ป้าย หรื อสิ่ งที่สร้างขึ้นสําหรับติดหรื อตั้งป้าย หรื อคลังสิ นค้า ที่ก่อสร้างหรื อดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะ • (1) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนนสาธารณะ อย่างน้อย 6 เมตร • (2) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 20 เมตร ให้ร่นแนวอาคารห่างจาก เขตถนนสาธารณะอย่างน้อย 1 ใน 10 ของความกว้าง ของถนนสาธารณะ • (3) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมีความกว้างเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนนสาธารณะ อย่างน้อย 2 เมตร • ข้ อ 42 อาคารที่ก่อสร้างหรื อดัดแปลงใกล้แหล่งนํ้าสาธารณะ เช่น แม่น้ าํ คู คลอง ลําราง หรื อลํากระโดง ถ้าแหล่ง นํ้าสาธารณะนั้นมีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องร่ นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งนํ้าสาธารณะนั้นไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร แต่ ถ้าแหล่งนํ้าสาธารณะนั้นมีความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ต้องร่ นแนว อาคารให้ห่างจากเขตแหล่งนํ้าสาธารณะนั้นไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร • สําหรับอาคารที่ก่อสร้างหรื อดัดแปลงใกล้แหล่งนํ้าสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรื อทะเล ต้องร่ นแนว อาคารให้ห่างจากเขตแหล่งนํ้าสาธารณะ นั้นไม่นอ้ ยกว่า 12 เมตร • ทั้งนี้ เว้นแต่ สะพาน เขื่อน รั้ว ท่อระบายนํ้า ท่าเรื อ ป้าย อู่เรื อ คานเรื อ หรื อที่วา่ งที่ใช้เป็ นที่จอดรถไม่ตอ้ งร่ นแนว อาคาร

• ข้ อ 43 ให้อาคารที่สร้างตามข้อ 41 และข้อ 42 ต้องมีส่วนตํ่าสุ ดของกันสาดหรื อส่ วนยืน่ สถาปั ตยกรรมสู งจากระดับ ทางเท้าไม่นอ้ ยกว่า 3.25 เมตร ทั้งนี้ ไม่นบั ส่ วนตบแต่งที่ยนื่ จากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมีท่อรับนํ้าจากกันสาดหรื อ หลังคาต่อแนบหรื อฝังในผนังหรื อเสาอาคารลงสู่ ท่อสาธารณะหรื อบ่อพัก • ข้ อ 44 ความสู งของอาคารไม่วา่ จากจุดหนึ่งจุดใด ต้องไม่เกินสองเท่าของระยะราบ วัดจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนว เขตด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะที่อยู่ ใกล้อาคารนั้นที่สุด • ความสู งของอาคารให้วดั แนวดิ่งจากระดับถนนหรื อระดับพื้นดินที่ก่อสร้างขึ้นไปถึงส่ วนของอาคารที่สูงที่สุด สําหรับ อาคารทรงจัว่ หรื อปั้ นหยาให้วดั ถึงยอด ผนังของชั้นสูงสุด


• ข้ อ 46 อาคารหลังเดียวกันซึ่ งอยูท่ ี่มุมถนนสาธารณะสองสายขนาดไม่เท่ากัน ความสู งของอาคาร ณ จุดใดต้องไม่ เกินสองเท่าของระยะราบที่ใกล้ที่สุด จากจุดนั้นไปตั้งฉากกับแนว เขตถนนสาธารณะด้านตรงข้ามของสายที่กว้างกว่า และความ ยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไม่เกิน 60 เมตร สําหรับอาคารซึ่ งเป็ นห้องแถวหรื อตึกแถว ความ ยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะที่แคบกว่าต้องไม่เกิน 15 เมตร ข้ อ 47 รั้วหรื อกําแพงที่สร้างขึ้นติดต่อหรื อห่างจากถนนสาธารณะน้อยกว่าความสู งของรั้ว ให้ก่อสร้างได้สูงไม่ เกิน 3 เมตร เหนือระดับทางเท้าหรื อถนนสาธารณะ • ข้ อ 48 (ค) อาคารที่มีความสู งเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร • ผนังหรื อระเบียงของอาคารต้องอยูห่ ่างจาก ผนังหรื อระเบียงของอาคารอื่นที่มีความสู งเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่นอ้ ยกว่า 6 เมตร • (2) ผนังของอาคารด้านที่เป็ นผนังทึบต้องมีระยะห่างจากผนังของอาคารอื่นด้านที่มีหน้าต่าง ประตู ช่อง ระบายอากาศหรื อช่องแสง หรื อระเบียงของอาคาร ดังต่อไปน • (ข) อาคารที่มีความสู งไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารต้องอยูห่ ่างจากผนังหรื อระเบียงของอาคาร อื่นที่มีความสู งเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร (ค) อาคารที่มี ความสู งเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังของอาคารต้องอยูห่ ่างจากผนังหรื อ ระเบียงของอาคารอื่นที่มีความสู งไม่เกิน 9 เมตร ไม่นอ้ ยกว่า 2.50 เมตร (ง) อาคารที่มีความสู งเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังของอาคารต้องอยูห่ ่างจากผนังหรื อ ระเบียงของอาคารอื่นที่มีความสู งเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ไม่นอ้ ยกว่า 3.50 เมตร (3) ผนังของอาคารที่มี ความสู งเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้านที่เป็ นผนังทึบต้องอยูห่ ่างจากผนัง ของอาคารอื่นที่มีความสู งเกิน 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้านที่เป็ นผนังทึบไม่นอ้ ยกว่า 1 เมตร สําหรับอาคารที่มีลกั ษณะตาม (2) และ (3) ผนังของดาดฟ้าของอาคารด้านที่อยูใ่ กล้กบั อาคารอื่นให้ทาํ การก่อสร้าง เป็ นผนังทึบสู งจากพื้นดาดฟ้าไม่นอ้ ยกว่า 1.80 เมตร • ข้ อ 50 ผนังของอาคารที่มีหน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรื อช่องแสง หรื อระเบียงของอาคารต้องมีระยะห่าง จากแนวเขตที่ดิน ดังนี้ (1) อาคารที่มีความสู งไม่เกิน 9 เมตร ผนัง หรื อระเบียงต้องอยูห่ ่างเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร (2) อาคารที่มีความสู งเกิน 9 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ผนังหรื อระเบียงต้องอยูห่ ่างเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ผนังของอาคารที่ อยูห่ ่างเขตที่ดินน้อยกว่าตามที่กาํ หนดไว้ใน (1) หรื อ (2) ต้องอยูห่ ่างจากเขตที่ดินไม่นอ้ ยกว่า 50 เซนติเมตร เว้นแต่จะก่อสร้างชิดเขตที่ดินและอาคารดังกล่าวจะก่อสร้างได้สูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารที่อยูช่ ิดเขตที่ดิน หรื อห่างจากเขตที่ดินน้อยกว่าที่ระบุไว้ใน (1) หรื อ (2) ต้องก่อสร้างเป็ นผนังทึบ และดาดฟ้าของอาคารด้านนั้นให้ทาํ ผนังทึบสู ง จากดาดฟ้า ไม่นอ้ ยกว่า 1.80 เมตร ในกรณี ก่อสร้างชิดเขตที่ดินต้องได้รับความยินยอมเป็ นหนังสื อจากเจ้าของที่ดินข้างเคียง ด้านนั้นด้วย


กฎกระทรวงฉบับที่ 7 และ พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 •

ตามกฏหมาย ที่จอดรถ 1 คันนั้น จะต้องมีขนาดอย่างน้อย 2.4 x 5 เมตร เพื่อให้สามารถครอบคลุมพื้นที่การจอดรถให้เป็ นระเบียบ โดยมีรูปแบบการจัดสรรที่จอดรถอยู่ 4 รู ปแบบ ประกอบด้วยจอดขนาน หรื อเอียงไม่เกิน 30 องศา โดยต้องมีทางถนนวิ่งไม่นอ้ ยกว่า 3.50 เมตร

• ที่จอดรถที่มีช่องเอียง 30-60 องศา โดยต้องมีทางถนนรถวิ่งไม่นอ้ ยกว่า 5.50 เมตร • ที่จอดรถที่มีช่องเอียง 60-90 องศา โดยต้องมีทางถนนรถวิ่งไม่นอ้ ยกว่า 6.00 เมตร • ที่จอดรถที่อยูด่ า้ นหน้าอาคารที่เป็ นช่อง 90 องศา ซึ่ งตรงนี้ส่วนใหญ่การทําพื้นที่จอดรถ สถาปนิกจะวางให้สมั พันธ์กบั แนวเสา เช่น ระยะห่างระหว่างเสายาว 8 เมตรจะ สามารถจอดรถได้ 3 คัน


• “ข้อ ๓ อําคํารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีส่ิ งอํานวยความสะดวก สําหรับ ผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ตํามที่กาํ หนดในกฎกระทรวงนี้ • (๑) อําคํารที่ให้บริ การสาธารณะ ได้แก่ โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม สถานศึกษา หอสมุด อาคารประกอบของสนํามกีฬากลางแจ้งหรื อสนํามกีฬาในร่ ม ตลาด ห้างสรรพสิ นค้า ศูนย์การค้า สถานบริ การ ฌาปนสถาน ศาสนสถาน พิพิธภัณฑสถาน และสถานีขนส่ งมวลชน


หมวด ๒ ทางลาดและลิฟต์ ----------------------ข้อ ๗ อาคารตามข้อ ๓ หากระดับพื้นภายในอาคาร หรื อระดับพื้นภายในอาคารกับภายนอกอาคาร หรื อระดับพื้นทางเดินภายนอกอาคารมีความต่างระดับกันเกิน ๒๐ มิลลิเมตร ให้มีทางลาดหรื อลิฟต์ระหว่างพื้นที่ต่างระดับกัน แต่ถา้ มีความต่างระดับกันไม่เกิน ๒๐ มิลลิเมตร ต้องปาดมุมพื้นส่ วนที่ต่างระดับกันไม่เกิน ๔ ข้อ ๘ ทางลาดให้มีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) พื้นผิวทางลาดต้องเป็ นวัสดุท่ีไม่ลื่น (๒) พื้นผิวของจุดต่อเนื่องระหว่างพื้นกับทางลาดต้องเรี ยบไม่สะดุด (๓) ความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร ในกรณี ที่ทางลาดมีความยาวของทุกช่วงรวมกันตั้งแต่ ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ขึ้นไป ต้องมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (๔) มีพ้ืนที่หน้าทางลาดเป็ นที่วา่ งยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (๕) ทางลาดต้องมีความลาดชันไม่เกิน ๑:๑๒ และมีความยาวช่วงละไม่เกิน ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ในกรณี ที่ทางลาดยาวเกิน ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร ต้องจัดให้มีชานพักยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร คัน่ ระหว่างแต่ละช่วงของทางลาด (๖) ทางลาดด้านที่ไม่มีผนังกั้นให้ยกขอบสู งจากพื้นผิวของทางลาดไม่นอ้ ยกว่า ๕๐ มิลลิเมตร และมีราวกันตก (๗) ทางลาดที่มีความยาวตั้งแต่ ๒,๕๐๐ มิลลิเมตร ขึ้นไป ต้องมีราวจับทั้งสองด้านโดยมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (ก) ทําด้วยวัสดุเรี ยบ มีความมัน่ คงแข็งแรง ไม่เป็ นอันตรายในการจับและไม่ลื่น (ข) มีลกั ษณะกลม โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า ๓๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๔๐ มิลลิเมตร (ค) สู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร (ง) ราวจับด้านที่อยูต่ ิดผนังให้มีระยะห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า ๕๐ มิลลิเมตร มีความสู งจากจุดยึดไม่นอ้ ยกว่า ๑๒๐ มิลลิเมตร และผนังบริ เวณราวจับต้องเป็ นผนังเรี ยบ (จ) ราวจับต้องยาวต่อเนื่อง และส่ วนที่ยดึ ติดกับผนังจะต้องไม่กีดขวางหรื อเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ของคนพิการทางการมองเห็น (ฉ) ปลายของราวจับให้ยนื่ เลยจากจุดเริ่ มต้นและจุดสิ้ นสุ ดของทางลาดไม่นอ้ ยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร (๘) มีป้ายแสดงทิศทาง ตําแหน่ง หรื อหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยูบ่ ริ เวณทางขึ้นและทางลงของทางลาดที่เชื่อมระหว่างชั้นของอาคาร (๙) ให้มีสญ ั ลักษณ์รูปผูพ้ ิการติดไว้ในบริ เวณทางลาดที่จดั ไว้ให้แก่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพและคนชรา ข้อ ๙ อาคารตามข้อ ๓ ที่มีจาํ นวนชั้นตั้งแต่สองชั้นขึ้นไปต้องจัดให้มีลิฟต์หรื อทางลาดที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ระหว่างชั้นของอาคาร ลิฟต์ที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ตอ้ งสามารถขึ้นลงได้ทุกชั้น มีระบบควบคุมลิฟต์ที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราสามารถควบคุมได้เอง ใช้งานได้อย่างปลอดภัย และจัดไว้ในบริ เวณที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้ได้สะดวก ให้มีสญ ั ลักษณ์รูปผูพ้ ิการติดไว้ที่ช่องประตูดา้ นนอกของลิฟต์ที่จดั ไว้ให้ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ ข้อ ๑๐ ลิฟต์ที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ที่มีลกั ษณะเป็ นห้องลิฟต์ตอ้ งมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) ขนาดของห้องลิฟต์ตอ้ งมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑,๑๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๔๐๐ มิลลิเมตร (๒) ช่องประตูลิฟต์ตอ้ งมีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และต้องมีระบบแสงเพื่อป้องกันไม่ให้ประตูลิฟต์หนีบผูโ้ ดยสาร (๓) มีพ้นื ผิวต่างสัมผัสบนพื้นบริ เวณหน้าประตูลิฟต์กว้าง ๓๐๐ มิลลิเมตร และยาว ๙๐๐ มิลลิเมตร ซึ่ งอยูห่ ่างจากประตูลิฟต์ไม่นอ้ ยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๖๐๐ มิลลิเมตร (๔) ปุ่ มกดเรี ยกลิฟต์ ปุ่ มบังคับลิฟต์ และปุ่ มสัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉิ นต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้ (ก) ปุ่ มล่างสุ ดอยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร ปุ่ มบนสุ ดอยูส่ ู งจากพื้นไม่เกินกว่า ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร และห่างจากมุมภายในห้องลิฟต์ไม่นอ้ ยกว่า ๔๐๐ มิลลิเมตร ในกรณี ที่หอ้ งลิฟต์มีขนาดกว้างและยาวน้อยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (ข) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ มิลลิเมตร มีอกั ษรเบรลล์กาํ กับไว้ทุกปุ่ มเมื่อกดปุ่ มจะต้องมีเสี ยงดังและมีแสง (ค) ไม่มีส่ิ งกีดขวางบริ เวณที่กดปุ่ มลิฟต์ (๕) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์ โดยราวมีลกั ษณะตามที่กาํ หนดในข้อ ๘ (๗) (ก) (ข) (ค) และ (ง) (๖) มีตวั เลขและเสี ยงบอกตําแหน่งชั้นต่าง ๆ เมื่อลิฟต์หยุด และขึ้นหรื อลง (๗) มีป้ายแสดงหมายเลขชั้นและแสดงทิศทางบริ เวณโถงหน้าประตูลิฟต์และติดอยูใ่ นตําแหน่งที่เห็นได้ชดั เจน (๘) ในกรณี ที่ลิฟต์ขดั ข้องให้มีท้ งั เสี ยงและแสงไฟเตือนภัยเป็ นไฟกะพริ บสี แดง เพื่อให้คนพิการทางการมองเห็นและคนพิการทางการได้ยนิ ทราบ และให้มีไฟกะพริ บสี เขียวเป็ นสัญญาณให้คนพิการทางการได้ยนิ ได้ทราบว่าผูท้ ี่อยูข่ า้ งนอกรับทราบแล้วว่าลิฟต์ขดั ข้องและกํา ลังให้ความช่วยเหลืออยู่ (๙) มีโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉิ นภายในลิฟต์ซ่ ึ งสามารถติดต่อกับภายนอกได้ โดยต้องอยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร (๑๐) มีระบบการทํางานที่ทาํ ให้ลิฟต์เลื่อนมาอยูต่ รงที่จอดชั้นระดับพื้นดินและประตูลิฟต์ตอ้ งเปิ ดโดยอัตโนมัติเมื่อไฟฟ้าดับ


หมวด ๓ บันได ----------------------ข้อ ๑๑ อาคารตามข้อ ๓ ต้องจัดให้มีบนั ไดที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้อย่างน้อยชั้นละ ๑ แห่ง โดยต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) มีความกว้างสุ ทธิไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (๒) มีชานพักทุกระยะในแนวดิ่งไม่เกิน ๒,๐๐๐ มิลลิเมตร (๓) มีราวบันไดทั้งสองข้าง โดยให้ราวมีลกั ษณะตามที่กาํ หนดในข้อ ๘ (๗) (๔) ลูกตั้งสู งไม่เกิน ๑๕๐ มิลลิเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่ วนที่ข้ นั บันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๒๘๐ มิลลิเมตร และมีขนาดสมํ่าเสมอตลอดช่วงบันได ในกรณี ที่ข้ นั บันได เหลื่อมกันหรื อมีจมูกบันไดให้มีระยะเหลื่อมกันได้ไม่เกิน ๒๐ มิลลิเมตร (๕) พื้นผิวของบันไดต้องใช้วสั ดุที่ไม่ลื่น (๖) ลูกตั้งบันไดห้ามเปิ ดเป็ นช่องโล่ง (๗) มีป้ายแสดงทิศทาง ตําแหน่ง หรื อหมายเลขชั้นของอาคารที่คนพิการทางการมองเห็น และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตั้งอยูบ่ ริ เวณทางขึ้นและทางลงของบันไดที่เชื่อมระหว่างชั้น ของอาคาร หมวด ๔ ที่จอดรถ ----------------------ข้อ ๑๒ อาคารตามข้อ ๓ ต้องจัดให้มีที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา อย่างน้อยตามอัตราส่ วน ดังนี้ (๑) ถ้าจํานวนที่จอดรถตั้งแต่ ๑๐ คัน แต่ไม่เกิน ๕๐ คัน ให้มีที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย ๑ คัน (๒) ถ้าจํานวนที่จอดรถตั้งแต่ ๕๑ คัน แต่ไม่เกิน ๑๐๐ คัน ให้มีที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย ๒ คัน (๓) ถ้าจํานวนที่จอดรถตั้งแต่ ๑๐๑ คัน ขึ้นไป ให้มีที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อย ๒ คัน และเพิ่มขึ้นอีก ๑ คัน สําหรับทุก ๆ จํานวนรถ ๑๐๐ คันที่เพิ่มขึ้น เศษ ของ ๑๐๐ คัน ถ้าเกินกว่า ๕๐ คัน ให้คิดเป็ น ๑๐๐ คัน ข้อ ๑๓ ที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราให้จดั ไว้ใกล้ทางเข้าออกอาคารให้มากที่สุด มีลกั ษณะไม่ขนานกับทางเดินรถ มีพ้นื ผิวเรี ยบ มีระดับเสมอกัน และมีสญ ั ลักษณ์รูปผู ้ พิการนัง่ เก้าอี้ลอ้ อยูบ่ นพื้นของที่จอดรถด้านที่ติดกับทางเดินรถ มีขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และมีป้ายขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่ น้อยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร ติดอยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๒,๐๐๐ มิลลิเมตร ในตําแหน่งที่เห็นได้ชดั เจน ข้อ ๑๔ ที่จอดรถสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราต้องเป็ นพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้างไม่นอ้ ยกว่า ๒,๔๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่นอ้ ยกว่า ๖,๐๐๐ มิลลิเมตร และจัดให้มีที่วา่ งข้างที่จอด รถกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร ตลอดความยาวของที่จอดรถ โดยที่วา่ งดังกล่าวต้องมีลกั ษณะพื้นผิวเรี ยบและมีระดับเสมอกับที่จอดรถ


หมวด ๖ ประตู ----------------------ข้อ ๑๘ ประตูของอาคารตามข้อ ๓ ต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) เปิ ดปิ ดได้ง่าย (๒) หากมีธรณี ประตู ความสู งของธรณี ประตูตอ้ งไม่เกินกว่า ๒๐ มิลลิเมตร และให้ขอบทั้งสองด้านมีความลาดเอียงไม่เกิน ๔๕ องศา เพื่อให้เก้าอี้ลอ้ หรื อผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราที่ใช้อุปกรณ์ช่วย เดินสามารถข้ามได้สะดวก (๓) ช่องประตูตอ้ งมีความกว้างสุ ทธิ ไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร (๔) ในกรณี ที่ประตูเป็ นแบบบานเปิ ดผลักเข้าออก เมื่อเปิ ดออกสู่ ทางเดินหรื อระเบียงต้องมีพ้ืนที่วา่ งขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (๕) ในกรณี ที่ประตูเป็ นแบบบานเลื่อนหรื อแบบบานเปิ ดให้มีมือจับที่มีขนาดเท่ากับราวจับตามข้อ ๘ (๗) (ข) ในแนวดิ่งทั้งด้านในและด้านนอกของประตูซ่ ึ งมีปลายด้านบนสู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร และปลายด้านล่างไม่เกิน ๘๐๐ มิลลิเมตร ในกรณี ที่เป็ นประตูบานเปิ ดออกให้มีราวจับตามแนวนอนด้านในประตู และในกรณี ที่เป็ นประตูบานเปิ ดเข้าให้มีราวจับตามแนวนอนด้านนอกประตู ราวจับดังกล่าวให้ สู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร ยาวไปตามความกว้างของประตู (๖) ในกรณี ที่ประตูเป็ นกระจกหรื อลูกฟักเป็ นกระจก ให้ติดเครื่ องหมายหรื อแถบสี ที่สงั เกตเห็นได้ชดั (๗) อุปกรณ์เปิ ดปิ ดประตูตอ้ งเป็ นชนิดก้านบิดหรื อแกนผลัก อยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๑,๐๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร ประตูตามวรรคหนึ่งต้องไม่ติดตั้งอุปกรณ์ชนิดที่บงั คับให้บานประตูปิดได้เองที่อาจทําให้ประตูหนีบหรื อกระแทกผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ข้อ ๑๙ ข้อกําหนดตามข้อ ๑๘ ไม่ใช้บงั คับกับประตูหนีไฟและประตูเปิ ดปิ ดโดยใช้ระบบอัตโนมัติ


หมวด ๗ ห้องส้วม ----------------------ข้อ ๒๐ อาคารตามข้อ ๓ ที่จดั ให้มีหอ้ งส้วมสําหรับบุคคลทัว่ ไป ต้องจัดให้มีหอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้อย่างน้อย ๑ ห้องในห้องส้วมนั้นหรื อจะจัดแยกออกมาอยูใ่ นบริ เวณเดียวกันกับห้องส้วมสําหรับบุคคลทัว่ ไปก็ได้ สถานีบริ การนํ้ามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมนํ้ามันเชื้อเพลิง ต้องจัดให้มีหอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้อย่างน้อย ๑ ห้อง ข้อ ๒๑ ห้องส้วมสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) มีพ้นื ที่วา่ งภายในห้องส้วมเพื่อให้เก้าอี้ลอ้ สามารถหมุนตัวกลับได้ซ่ ึ งมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ มิลลิเมตร (๒) ประตูของห้องที่ต้ งั โถส้วมเป็ นแบบบานเปิ ดออกสู่ ภายนอก โดยต้องเปิ ดค้างได้ไม่นอ้ ยกว่า ๙๐ องศา หรื อเป็ นแบบบานเลื่อน และมีสญ ั ลักษณ์รูปผูพ้ ิการติดไว้ที่ประตูดา้ นหน้าห้องส้วม ลักษณะของประตูนอกจากที่กล่าวมาข้างต้น ให้เป็ นไป ตามที่กาํ หนดในหมวด ๖ (๓) พื้นห้องส้วมต้องมีระดับเสมอกับพื้นภายนอก ถ้าเป็ นพื้นต่างระดับต้องมีลกั ษณะเป็ นทางลาดตามหมวด ๒ และวัสดุปูพ้นื ห้องส้วมต้องไม่ลื่น (๔) พื้นห้องส้วมต้องมีความลาดเอียงเพียงพอไปยังช่องระบายนํ้าทิ้งเพื่อที่จะไม่ให้มีน้ าํ ขังบนพื้น (๕) มีโถส้วมชนิดนัง่ ราบ สู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๔๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร มีพนักพิงหลังที่ให้ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราที่ไม่สามารถนัง่ ทรงตัวได้เองใช้พิงได้ และที่ปล่อยนํ้าเป็ นชนิดคันโยก ปุ่ มกดขนาดใหญ่หรื อชนิดอื่นที่ ผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา สามารถใช้ได้อย่างสะดวก มีดา้ นข้างด้านหนึ่งของโถส้วมอยูช่ ิดผนังโดยมีระยะห่ างวัดจากกึ่งกลางโถส้วมถึงผนังไม่นอ้ ยกว่า ๔๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร ต้องมีราวจับที่ผนัง ส่ วนด้านที่ไม่ชิดผนังให้มีที่วา่ ง มากพอที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราที่นง่ั เก้าอี้ลอ้ สามารถเข้าไปใช้โถส้วมได้โดยสะดวก ในกรณี ที่ดา้ นข้างของโถส้วมทั้งสองด้านอยูห่ ่ างจากผนังเกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร ต้องมีราวจับที่มีลกั ษณะตาม (๗) (๖) มีราวจับบริ เวณด้านที่ชิดผนังเพื่อช่วยในการพยุงตัว เป็ นราวจับในแนวนอนและแนวดิ่งโดยมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (ก) ราวจับในแนวนอนมีความสู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๖๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และให้ยนื่ ลํ้าออกมาจากด้านหน้าโถส้วมอีกไม่นอ้ ยกว่า ๒๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๓๐๐ มิลลิเมตร (ข) ราวจับในแนวดิ่งต่อจากปลายของราวจับในแนวนอนด้านหน้าโถส้วมมีความยาววัดจากปลายของราวจับในแนวนอนขึ้นไปอย่างน้อย ๖๐๐ มิลลิเมตร ราวจับตาม (๖) (ก) และ (ข) อาจเป็ นราวต่อเนื่องกันก็ได้ (๗) ด้านข้างโถส้วมด้านที่ไม่ชิดผนังให้มีราวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบ เมื่อกางออกให้มีระบบล็อกที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราสามารถปลดล็อกได้ง่าย มีระยะห่ างจากขอบของโถส้วมไม่นอ้ ยกว่า ๑๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๒๐๐ มิลลิเมตร และมีความยาวไม่นอ้ ยกว่า ๕๕๐ มิลลิเมตร (๘) นอกเหนือจากราวจับตาม (๖) และ (๗) ต้องมีราวจับเพื่อนําไปสู่ สุขภัณฑ์อื่น ๆ ภายในห้องส้วม มีความสู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๘๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๙๐๐ มิลลิเมตร (๙) ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสี ยงให้ผทู ้ ี่อยูภ่ ายนอกแจ้งภัยแก่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา และระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสี ยงให้ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราสามารถแจ้งเหตุหรื อเรี ยกหาผูช้ ่วยในกรณี ที่เกิดเหตุ ฉุกเฉิ นไว้ในห้องส้วม โดยมีปุ่มกดหรื อปุ่ มสัมผัสให้สญ ั ญาณทํางานซึ่ งติดตั้งอยูใ่ นตําแหน่งที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้งานได้สะดวก (๑๐) มีอ่างล้างมือโดยมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (ก) ใต้อ่างล้างมือด้านที่ติดผนังไปจนถึงขอบอ่างเป็ นที่วา่ ง เพื่อให้เก้าอี้ลอ้ สามารถสอดเข้าไปได้ โดยขอบอ่างอยูห่ ่ างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า ๔๕๐ มิลลิเมตร และต้องอยูใ่ นตําแหน่งที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราเข้าประชิดได้โดยไม่มีส่ิ งกีดขวาง (ข) มีความสู งจากพื้นถึงขอบบนของอ่างไม่นอ้ ยกว่า ๗๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๘๐๐ มิลลิเมตร และมีราวจับในแนวนอนแบบพับเก็บได้ในแนวดิ่งทั้งสองข้างของอ่าง (ค) ก๊อกนํ้าเป็ นชนิดก้านโยกหรื อก้านกดหรื อก้านหมุนหรื อระบบอัตโนมัติ ข้อ ๒๒ ในกรณี ที่หอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอยูภ่ ายในห้องส้วมที่จดั ไว้สาํ หรับบุคคลทัว่ ไป และมีทางเข้าก่อนถึงตัวห้องส้วม ต้องจัดให้หอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราอยูใ่ นตําแหน่งที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพล ภาพ และคนชราสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก ห้องส้วมสําหรับบุคคลทัว่ ไปตามวรรคหนึ่ง หากได้จดั สําหรับผูช้ ายและผูห้ ญิงต่างหากจากกันให้มีอกั ษรเบรลล์แสดงให้รู้วา่ เป็ นห้องส้วมชายหรื อหญิงติดไว้ที่ผนังข้างทางเข้าในตําแหน่งที่สามารถสัมผัสได้ดว้ ย


หมวด ๘ พื้นผิวต่างสัมผัส ----------------------ข้อ ๒๕ อาคารตามข้อ ๓ ต้องจัดให้มีพ้ืนผิวต่างสัมผัสสําหรับคนพิการทางการมองเห็นที่พ้ืนบริ เวณต่างระดับที่มีระดับต่างกันเกิน ๒๐๐ มิลลิเมตร ที่ทางขึ้นและทาง ลงของทางลาดหรื อบันไดที่พ้ืนด้านหน้าและด้านหลังประตูทางเข้าอาคาร และที่พ้ืนด้านหน้าของประตูหอ้ งส้วม โดยมีขนาดกว้าง ๓๐๐ มิลลิเมตร และมีความยาวเท่ากับ และขนานไปกับความกว้างของช่องทางเดินของพื้นต่างระดับ ทางลาด บันได หรื อประตู และขอบของพื้นผิวต่างสัมผัสอยูห่ ่างจากจุดเริ่ มต้นของทางขึ้นหรื อทางลงของพื้น ต่างระดับ ทางลาด บันได หรื อประตูไม่นอ้ ยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๓๕๐ มิลลิเมตร ในกรณี ของสถานีขนส่ งมวลชน ให้ขอบนอกของพื้นผิวต่างสัมผัสอยูห่ ่างจากขอบของชานชาลาไม่นอ้ ยกว่า ๖๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกินกว่า ๖๕๐ มิลลิเมตร


หมวด ๙ โรงมหรสพ หอประชุม และโรงแรม ----------------------ข้อ ๒๖ อาคารตามข้อ ๓ ที่เป็ นโรงมหรสพหรื อหอประชุมต้องจัดให้มีพ้ืนที่เฉพาะสําหรับเก้าอี้ลอ้ อย่างน้อยหนึ่งที่ทุก ๆ จํานวน ๑๐๐ ที่นง่ั โดยพื้นที่เฉพาะนี้เป็ นพื้นที่ราบขนาดความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๙๐๐ มิลลิเมตร และความยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๔๐๐ มิลลิเมตร ต่อหนึ่งที่ อยูใ่ นตําแหน่งที่เข้าออกได้ ข้อ ๒๗ อาคารตามข้อ ๓ ที่เป็ นโรงแรมที่มีหอ้ งพักตั้งแต่ ๑๐๐ ห้อง ขึ้นไป ต้องจัดให้มีหอ้ งพักที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา เข้าใช้ได้ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งห้องต่อจํานวนห้องพักทุก ๑๐๐ ห้อง โดยห้องพัก ดังกล่าวต้องมีส่วนประกอบและมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) อยูใ่ กล้บนั ไดหรื อบันไดหนีไฟหรื อลิฟต์ดบั เพลิง (๒) ภายในห้องพักต้องจัดให้มีสญ ั ญาณบอกเหตุหรื อเตือนภัยทั้งสัญญาณที่เป็ นเสี ยงและแสง และระบบสัน่ สะเทือนติดตั้งบริ เวณที่นอนในกรณี เกิดอัคคีภยั หรื อเหตุอนั ตรายอย่างอื่น เพื่อให้ผทู ้ ี่อยูภ่ ายในห้องพัก ทราบ และมีสวิตช์สญ ั ญาณแสงและสวิตช์สญ ั ญาณเสี ยงแจ้งภัยหรื อเรี ยกให้ผทู ้ ี่อยูภ่ ายนอกทราบว่ามีคนอยูใ่ นห้องพัก (๓) มีแผนผังต่างสัมผัสของอาคารในชั้นที่มีหอ้ งพักที่ผพู ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้ มีอกั ษรเบรลล์แสดงตําแหน่งของห้องพัก บันไดหนีไฟ และทิศทางไปสู่ บนั ไดหนีไฟโดยติดไว้ที่ก่ ึงกลางบาน ประตูดา้ นในและอยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๑,๓๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๑,๗๐๐ มิลลิเมตร (๔) มีสญ ั ลักษณ์รูปผูพ้ ิการติดไว้ที่ประตูดา้ นหน้าห้องพักสําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ข้อ ๒๘ ห้องพักในโรงแรมที่จดั สําหรับผูพ้ ิการหรื อทุพพลภาพ และคนชรา ต้องมีที่อาบนํ้าซึ่งเป็ นแบบฝักบัวหรื อแบบอ่างอาบนํ้าโดยมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) ที่อาบนํ้าแบบฝักบัว (ก) มีพ้นื ที่วา่ งขนาดความกว้างไม่นอ้ ยกว่า ๑,๑๐๐ มิลลิเมตร และความยาวไม่นอ้ ยกว่า ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร (ข) มีที่นง่ั สําหรับอาบนํ้าที่มีความสู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๔๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๕๐๐ มิลลิเมตร (ค) มีราวจับในแนวนอนที่ดา้ นข้างของที่นงั่ มีความสู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๖๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และยาวไม่นอ้ ยกว่า ๖๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร และมีราวจับในแนวดิ่งต่อจาก ปลายของราวจับในแนวนอน และมีความยาวจากปลายของราวจับในแนวนอนขึ้นไปอย่างน้อย ๖๐๐ มิลลิเมตร (๒) ที่อาบนํ้าแบบอ่างอาบนํ้า (ก) มีราวจับในแนวดิ่งอยูห่ ่างจากผนังด้านหัวอ่างอาบนํ้า ๖๐๐ มิลลิเมตร โดยปลายด้านล่างอยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๖๕๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๗๐๐ มิลลิเมตร มีความยาวอย่างน้อย ๖๐๐ มิลลิเมตร (ข) มีราวจับในแนวนอนที่ปลายของราวจับในแนวดิ่ง และยาวไปจนจดผนังห้องอาบนํ้าด้านท้ายอ่างอาบนํ้า ราวจับในแนวนอนและในแนวดิ่งอาจเป็ นราวต่อเนื่องกันก็ได้ และมีลกั ษณะตามที่กาํ หนดในข้อ ๘ (๗) (ก) และ (ข) (๓) สิ่ งของ เครื่ องใช้หรื ออุปกรณ์ภายในที่อาบนํ้าให้อยูส่ ู งจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า ๓๐๐ มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน ๑,๒๐๐ มิลลิเมตร


งานระบบในอาคาร


ไฟฟ้า

การใช้ ต้ จู า่ ยไฟฟ้าหลัก1 ตู้ ขนาด 0.80 x 7.20 = 2 ตร.ม. ระยะปลอดภัย0.35 เมตร รอบตู้ 1.50 x 3.20 = 2 เมตร พื ้น ที่โดยรอบกว้ าง 2 เมตร ดังนันพื ้ ้นที่รวมหห้ อ ง MDB 5.50 x 7.20 = 39.60 = 40 ตร.ม./ต

พื ้นที่รวมห้ อ ง Transformer = 43.31 = 44 ตร.ม. ห้ องเครื่ องกํา เนิด ไฟฟ้าสํา รอง จะใช้ Emergency Generator with Control Panel 500 KV ขนาดของเครื่ อง 0.80 x 2.00 = 1.60 ตร.ม. / 1 ตัวตัวระยะปลอดภัยภัย = 0.35 ตร.ม. ระยะพื ้นที่ด้านข้ าง ด้ านละ = 1.50 ม. ระยะบริ เริ วณท้ ายเครื่ องไม่ตํ่ากว่า 2.50 ม. ดังนันนั ้ นพื ้ ้นที่ห้อ งไฟฟ้าสํารอง = 4.50 x 4.85 ตร.ม. = 21.85 = 22 ตร.ม.


ระบบสายลอฟา

1.ความตองการทั่วไป

ผูรับจางจะตองจัดหาและติดตั้งระบบปองกันฟาผาชนิด ESE (Early Streamer Emission System) มีรัศมีการปองกันไมนอยกวาที่ ระบุในแบบ ระบบปองกันฟาผาตองสามารถรับประจุที่เกิดจากฟาผาแลวนําสูพื้นอยางรวดเร็วและปลอดภัย ไมมีชิ้นสวนที่เคลื่อนไหวและไม ตองใชแหลงจายไฟใดๆ ทั้งสิ้น โดยอุปกรณจะตองผานการทดลองในหองทดลองจากสถาบันที่มีชื่อเสียงและเปนกลาง นอกจากนี้ระบบ จะตองเปนไปตามมาตรฐาน NFC 17-102, หัวลอฟาควรผลิตจากประเทศเดียวกับมาตรฐาน

2. สวนประกอบสําคัญ

2.1 หัวลอฟา (Lightning Rod ESE) จะตองเปนหัวลอฟาที่ทําจาก Stainless Steel โดยมีสวนประกอบหัวลอฟาดังนี้ Capture Tip, Capture Head, Sparking Poles, Booster, Contract-Air Plug, Central Inductive System, Charger, Earthing Axis สวนที่สําคัญ Central Inductive System ตองปดมิดชิด เพื่อการใชงานที่ยาวนานคงทนและเพื่อความปลอดภัยสูงสุด

2.2 เสา (Mast) ทําดวย Hotdip. Galvanized Steel หรือ วัสดุชนิดอื่นตามที่กําหนดในแบบความสูงของเสาไมนอยกวา 5 เมตร หรือตามที่กําหนดในแบบ

2.3 สายนําลงดิน, สายดิน หรือ สายกราวด (Ground Conductor) เปนชนิดทองแดงเปลือย รอยทอ PVC ขนาดไมนอยกวา 70 Sq.mm. สายนําลงดินตองเปนเสนเดียวกันตลอดไมมรี อยตอใดๆ

2.4 ระบบดินหรือระบบกราวด (Grounding System) ใช แทงกราวด (Ground Rod : Copper Clad Rod) ขนาด ø 5/8 นิ้ว x 10 ฟุต อยางนอย 3 แทง ปกลึกลงในดินอยางนอย 50 ซม. ตามตําแหนงที่กําหนดในแบบโดยคาความตานทานไมเกิน 5 Ω

3. การติดตั้ง

หัวลอฟา, เสา, สายนําลงดิน ตองติดตั้งตามตําแหนงที่กําหนดในแบบ ซึ่งเปนตําแหนงโดยประมาณตําแหนงที่แนนอน ทางผูวา จางจะเปนผูกําหนดใหกอนการติดตั้ง สวนอุปกรณจับยึดทอใหติดตั้งอุปกรณและในสวนอื่นๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานการติดตั้งระบบไฟฟา


ประปา ห้องปั๊มนํ้า ตามมาตรฐานของ Architectural Graphic Standard Pump ขนาด 36 in x 60 in สามารถ Pump นํ้า ได้สูงสุ ด 300 ก. Pump นํ้า มี 4 ตัวตัวปั๊มประปา 2 ตัวตัวปั๊มดับดั เพลิงลิ 1 ตัวตัวปั๊มนํ้า ทิ้ง ทิ้งนอกอาคาร 1 ตัวตัวปั๊ม 1 ตัวตัวขนาด 0.90 x 1.50 sqm ระยะทางระหว่าว่ งปั๊ม = 0.80 ม. ระยะSet โดยรอบ = 1.50 ม. ดังดัน้ นั นั้นขนาดของ Pump 9.00 x 4.50 = 40.50


ดับเพลิง


รักษาความปลอดภัย


ลิฟต์


ปรับอากาศ

เครื่ องปรับอากาศ 1 ตันต่อ พื ้นที่ 25.20 ตร.ม. ดังดันนขนาดของเครื ั้ ่ องปรับอากาศ =7000/25 = 280 ใช้ พื ้นที่


ขยะ


CONSTRUCTION


โครงสร้างพื้นแบบ POST TENSION SLAB Waffle แพร่ หลายมากสําหรับอาคารที่มีLive Load สู ง เช่น บริ เวณกองเก็บสิ่ งของ อาคารโรงงาน อาคาร สนามบิน Span 10-20 เมตร




ROLEX LEARNING CENTER 20,402 sqm •

is the campus hub and library for the École polytechnique fédérale de Lausanne (EPFL), in Lausanne, Switzerland. Designed by the winners of 2010 Pritzker Prize, Japanese-duo SANAA, it opened on 22 February 2010.

•Multimedia library – 500,000 volumes •Student workspaces – 860 seats •Multipurpose hall "Forum Rolex" – 600 seats •Café and bar – 53 seats + exterior •Food court – 128 seats + exterior •Restaurant – 80 seats •Career Center •Library staff office •EPFL Precious Book Collection •Student Association Office (AGEPoly) •Alumni department (EPFL Alumni) •Research Laboratory for ComputerHuman Interaction in Learning and Instruction •Center for Digital Education - CEDE •Presses polytechniques et universitaires romandes (EPFL Press) •Crédit suisse bank •Bookshop "La Fontaine" •Parking (500 places)


DESIGN SPACE



Cobram Library & Learning Center

Working closely with community stakeholders, the design process involved tracing the line of the nearby Murray River


14 Punt Rd, Cobram VIC 3644 Australia 525 sqm Cohen Leigh Architects worked closely with community stakeholders to create the unique space that is the Cobram Library & Learning Centre, with the design process involving the idea of tracing the lines of the nearby Murray River, then superimposing this as the cut line on the curvilinear timber battened screen


CATAGORIES LABLE

MEDIA





0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

0 1 2

4

4

8

8

16

16


0 1 2

4

8

16

0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16


0 1 2

4

8

16






EXTERIOR PERSPECTIVE 1


EXTERIOR PERSPECTIVE 2


INTERIOR PERSPECTIVE 1


INTERIOR PERSPECTIVE 2


INTERIOR PERSPECTIVE 3


INTERIOR PERSPECTIVE 4


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.