องค์ความรู้เรื่อง “ ราวงมาตรฐาน ”
ผู้จัดทา นางสาววรรณทิพย์ กุคาใส สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. ๐-๓๕๓๓-๖๘๘๒-๓ โทรสาร ๐-๓๕๓๓-๖๘๘๑
คานา ปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ให้ความสาคัญกับการเรียนรู้เพื่อพัฒนาไปสู่ การจัดการความรู้ ( Knowledge Management) เพราะเป็นวิธีการหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการ พัฒนาองค์กร การบริหารจัดการความรู้จึงสัมพันธ์กับเรื่อง องค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) เป็นอย่างยิ่ง หากองค์กรจะพัฒนาตนเองให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ก็จาเป็นจะต้อง บริหารจัดการความรู้ภายในองค์กรให้เป็นระบบเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรเรียนรู้ได้จริงและต่อเนื่อง หากองค์กรใดมีการจัดการความรู้โดยไม่มีการสร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นภายในองค์กรก็ นับเป็นการลงทุนที่สูญเปล่าได้เช่นกัน สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีบทบาทหน้าที่ในการบริหาร จัดการงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จึงได้จัดทาองค์ความรู้ เรื่อง “ ราวงมาตรฐาน” เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์แก่ผู้สนใจต่อไป สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สารบัญ หน้า ความหมายของราวงมาตรฐาน.................................................................................. สถานที่แสดง………………………………………………………………………………………............. เครื่องดนตรี.................................................................................................,............. การแต่งกาย.............................................................................................................. เพลงราวงมาตรฐาน..................................................................................................
๑ ๒ ๒ ๒ ๔
ราวงมาตรฐาน
ความหมาย ราวงมาตรฐาน หมายถึง ศิลปะแห่งการฟ้อนราให้เข้ากับจังหวัดหน้าทับใช้ท่าราที่เป็นแบบ ฉบับ มาตรฐานโดยราเป็นวงกลม หันหน้าทวนเข็มนาฬิกา การราวงมาตรฐานเป็นการราที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยการดูแลของกรมศิลปากรร่วมกับ กรมประชาสัมพันธ์ช่วยกันจัดทาขึ้น เพื่อให้เป็นแบบแผนในการใช้ท่าราให้งดงามถูกต้องตามหลัก นาฎศิลป์ไทย ราวงมาตรฐาน ในปัจจุบันเป็นศิลปะแห่งการราวงที่งดงาม ซึ่งในสมัยก่อนยังมิได้มีคาว่า “ มาตรฐาน” จะเรียกกันเพียงว่า “ ราวง “ เท่านั้น การราวงนี้เป็นการละเล่นพื้นบ้านอย่างหนึ่งที่ บ่งบอกถึงความสนุกสนาน การเล่นราวงนั้นสืบเนื่องมาจากการเล่นราโทน นั้นเพราะในสมัยก่อน เครื่องดนตรีหลักที่ใช้ประกอบจังหวัดก็คือ โทน และกรับ โดยจังหวัดการฟ้อนราจะมีเสียงโทนเป็น เสียงหลักตีตามจังหวัดหน้าทับ จึงเรียกว่า “ ราโทน “ ในด้านของบทเรื่องจะเป็นบทร้องที่มีภาษา เรียบง่าย ไม่พิถีพิถันในเรื่องถ้อยคาและสัมผัสวรรคตอนแต่อย่างใด ตามลักษณะของเพลงพื้นบ้าน เนื้อหาของเพลงจะออกมาในลักษณะกระเช้าเย้าแหย่ การเกี๊ยวพาราสีหยอกล้อของหนุ่มสาว การเชิญ ชมตลอดจนการชมโฉมความงามของหญิงสาว เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อความสนุกสนานในการเล่น ในเรื่อง ของเครื่องแต่งกายในสมัยก่อนก็ไม่เน้นถึงความพิถีพิถันมากนัก เน้นเพียงความสะดวกสบายของ ชาวบ้านเอง ไม่ได้ประณีตแต่อย่างใด เมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๘ ชาวบ้านนิยมเล่นราโทนกันอย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุความนิยม เป็นอย่างมากนี้เองจึงได้มีผู้คิดแต่งบทร้องและทานองขึ้นใหม่เป็นจานวนมาก แต่ทั้งนี้ก็ยังคงจังหวะ หน้าทับของโทนไว้เช่นเดิม ส่วนเนื้อร้องใดที่นิยมก็จะร้องกันอยู่ได้นาน เพลงใดเนื้อร้องไม่เป็นที่นิยม ก็จะไม่นามาร้องเท่าใดนักและก็จะเป็นที่ลืม เลือนไปในที่สุด จากนั้นก็จะมีเนื้อเพลงใหม่ ๆ ขึ้นมา แทนที่
๒ ในช่วงระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๘๘ เป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ทหารญี่ปุ่นได้ยกพลขึ้นที่ ตาบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ เพื่อเจรจาขอตั้งกองทัพในประเทศ ไทยโดยใช้เส้นทางต่าง ๆ ในแผ่นดินไทยลาเรียงเสบียงอาหาร อาวุธและกาลังพล เพื่อใช้ในการต่ อสู้ กับประเทศสัมพันธมิตร ซึ่งในขณะนั้นประเทศไทยมี จอม พล ป. (แปลก) พิบูลสงคราม เป็นนายก รัฐมนตรี ได้ตัดสินใจยอมให้ประเทศญี่ปุ่นเข้ามาตั้งฐานทัพในประเทศไทย เพราะเกรงว่าหากปฏิเสธ คงจะถูกปราบปรามแน่ ด้วยเหตุนี้เองประเทศไทยจึงได้รับผลกระทบจากการรุกรานของฝ่าย สัมพันธมิตร ที่ส่งกองทัพเข้ามาโจมตีฐานทัพญี่ปุ่นทางอากาศโดยเฉพาะในยามที่เป็นคืนเดือนหงาย จะมองเห็นจุดยุทธศาสตร์ได้ง่าย ข้าศึกมักจะเข้ามาโจมตีอย่างหนักด้วยการทิ้งระเบิด ซึ่งสร้างความ เสียหายทาลายชีวิตและทรัพย์สินบ้านเรือนเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะบ้านเรือนที่อยู่ใกล้กับฐานทัพ ญี่ปุ่น เมื่อช่วงคืนเดือนหงายผ่านไป คืนเดือนมืดเข้ามา ข้าศึกจะมองเห็นจุดยุทธศาสตร์ไม่ชัดเจนจึง พักการรุกราน ประชาชนชาวไทย ได้รับความเดือนร้อน ต่างอยู่ในสถานการณ์ที่หวาดกลัวเป็นอย่าง มาก จึงได้หาวิธีการผ่อนคลายความตึงเครียด ความหวาดผวา ด้วยการนาศิลปะพื้นบ้านที่ซบเซาไป กลับมาร้องราทาเพลง นั้นก็คือ "การเล่นราโทน" คาร้อง ทานองและการแต่งกาย ก็ยังคงเรียบง่ายเน้น ความสะดวกสบาย สนุกสนาน เช่นเดิม เพลงที่นิยมได้แก่ เพลงใกล้เข้าไปอีกนิ ด ช่อมาลี ตามองตา ยวนยาเหล เป็นต้น ต่อมารัฐบาลได้เล็งเห็นศิลปะพื้นบ้านอันสวยงามของไทยที่มีอยู่อย่างแพร่หลาย ควรที่จะเชิดชู ให้มีระเบียบแบบแผนตามแบบนาฏศิลป์ไทย เพราะหากชาวต่างชาติมาพบเห็นจะตาหนิได้ว่าศิลปะ การฟ้อนราของไทยนี้มิได้มีความสวยงาม ประณีตแต่อย่างใด รวมถึงไม่มีศิลปะที่แสดงออกว่าเป็นชาติ ที่มีวัฒนธรรม จึงได้มอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้รับผิดชอบในการปรับปรุงและพัฒนาการรา (ราโทน) ขึ้นใหม่ให้มีระเบียบ แบบแผน มีความงดงามมากยิ่งขึ้น ทั้งทางด้านเนื้อร้อง ทานอง สถานที่แสดง ไม่จากัดขอบเขต เนื่องจากให้ราได้ในโอกาสรื่นเริงต่างๆ จึงราได้โดยทั่วไป เครื่องดนตรี ใช้วงปี่พาทย์ไม่นวม มีระนาด ฆ้องวง ปี่ใน ตะโพน กลอง ทัด ฉิ่ง ฉาบ กรับและโทน การแต่งกาย ราวงมาตรฐานเป็นศิลปะที่ต้องศึกษาและควรราให้เป็น สาหรับการแต่งกายนั้นผู้แสดงราวง มาตรฐานสามารถแยกได้ ๔ แบบ ตามกรมศิลปากร ) ดังนี้
๓
การแต่งกายแบบชาวบ้าน
แบบที่ ๑ แบบชาวบ้าน ชาย นุ่งผ้าโจงกระเบน สวมเสื้อคอพวงมาลัย เอวคาดผ้าห้อยชายด้านหน้า หญิง นุ่งโจงกระเบน ห่มผ้าสไบอัดจีบ ปล่อยผม ประดับดอกไม้ที่ผมด้านซ้าย คาดเข็มขัด ใส่เครื่องประดับ แบบที่ ๒ แบบรัชกาลที่ ๕ ชาย นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ใส่ถุงเท้า ร้องเท้า หญิง นุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อลูกไม้ สไบพาดบ่าผูกเป็นโบว์ ทิ้งชายไว้ข้างลาตัวด้านซ้าย ใส่เครื่องประดับมุก แบบที่ ๓ แบบสากลนิยม ชาย นุ่งกางเกง สวมสูท ผูกไท้ หญิง นุ่งกระโปรงป้ายข้าง ยาวกรอมเท้า ใส่เสื้อคอกลม แขนกระบอก แบบที่ ๔ แบบราตรีสโมสร ชาย นุ่งกางเกง สวมเสื้อพระราชทาน ผ้าคาดเอวห้อยชายด้านหน้า หญิง นุ่งกระโปรงยาวจีบหน้านาง ใส่เสื้อจับเดรป ชายผ้าห้อยจากบ่าลงไปทางด้านหลัง เปิดไหล่ขวา ศีรษะทาผมเกล้าเป็นมวยสูงใส่เกี้ยวและเครื่องประดับ
๔
เพลงราวงมาตรฐาน เพลงราวงมาตรฐาน มีจานวนทั้งสิ้น
๑๐ เพลง ดังนี้
๑.เพลงงามแสงเดือน (ท่าสอดสร้อยมาลา) ๒. เพลงชาวไทย (ท่าชักแป้งผัดหน้า) ๓. เพลงรามาซิมารา (ท่าราส่าย) ๔. เพลงคืนเดือนหงาย (ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง) ๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ (ท่าแขกเต้าเข้ารัง และท่าผาลงเพียงไหล่ ) ๖. เพลงดอกไม้ของชาติ (ท่ารายั่ว) ๗. เพลงหญิงไทยใจงาม (ท่าพรหมสี่หน้า และนกยูงฟ้อนหาง) ๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า (หญิงท่าช้างประสานงา ชายท่าจันทร์ทรงกลด) ๙. เพลงยอดชายใจหาญ (หญิงชะนีร่ายไม้ ชายท่าจ่อเพลิงกาล) ๑๐. เพลงบูชานักรบ (เที่ยวที่ ๑ หญิงท่าขัดจางนาง ชายท่าจันทร์ทรงกลด ) (เที่ยวที่ ๒ หญิงท่าล่อแก้ว ท่าขอแก้ว ) ประวัติ ความเป็นมาของแพลงพร้อมเนื้อร้องและความหมายของเพลงแต่ละเพลงทั้ง ๑๐ เพลง โดยเริ่มจากเพลงที ๑
เพลงงามแสงเดือน
ท่าราสอดสร้อยมาลา
๕ คาร้อง จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ใน นามกรมศิลปากร) ทานอง อาจารย์มนตรี ตราโมท เนื้อเพลง งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้าเมื่ออยู่วงรา (ซ้า) เราเล่นเพื่อสนุก เปลื้องทุกข์วายระกา ขอให้เล่นฟ้อนรา เพื่อสามัคคีเอย ความหมาย ยามที่แสงจันทร์ส่องมายังโลกทาให้โลกนี้ดูสวยงาม ผู้คนที่มาเล่นราวงยามที่แสงจันทร์ ส่อง ก็มีความงดงามด้วย การราวงนี้เพื่อให้มีความสนุกสนาน มีความสามัค คีกัน และละทิ้งความทุกข์ ให้หมดสิ้นไป
๖
เพลงชาวไทย
ท่าชัก
แป้งผัดหน้า
คาร้อง จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ใน นามกรมศิลปากร) ทานอง อาจารย์มนตรี ตราโมท เนื้อเพลง ชาวไทยเจ้าเอ๋ย การที่เราได้เล่นสนุก เพราะชาติเราได้เสรี เราจึงควรช่วยชูชาติ เพื่อความสุขเพิ่มพูน
ขออย่าละเลยในการทาหน้าที่ เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ มีเอกราชสมบูรณ์ ให้เก่งกาจเจิดจารูญ ของชาวไทยเรา เอย
ความหมาย หน้าที่ที่ชาวไทยพึงมีต่อประเทศชาตินั้น เป็นสิ่งที่ทุกคนควรกระทา อย่าได้ละเลย ไปเสีย ในการที่เราได้มาเล่นราวงกันอย่างสนุกสนาน ปราศจากทุกข์โศกทั้งปวงนี้ก็เพราะว่าประเทศ ไทยเรามีเอกราช ประชาชนมีเสรีในการคิดจะทาสิ่งใดๆ ดังนั้น เราจึงควรช่วยกันเชิดชูชาติไทยให้ เจริญรุ่งเรืองต่อไป เพื่อความสุขยิ่งๆ ขึ้นของไทยเราตลอดไป
๗
เพลงราซิมารา
ท่าราส่าย คาร้อง จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ใน นามกรมศิลปากร) ทานอง อาจารย์มนตรี ตราโมท เนื้อเพลง ราซิมารา เริงระบากันให้สนุก ยามงานเราทางานจริง ๆ ไม่ละไม่ทิ้งจะเกิดเข็ญขลุก ถึงยามว่างเราจึงราเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์ ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมขา มาซิมาเจ้าเอ๋ยมาฟ้อนรา มาเล่นระบาของไทยเราเอย ความหมาย ขอพวกเรามาเล่นราวงกันให้สนุกสนานเถิดในยามว่างเช่นนี้จะได้คลายทุกข์ ถึงเวลางาน เราก็จะทางานกันจริงๆ เพื่อจะได้ไม่ลาบาก และการราก็จะราอย่างมีระเบียบแบบแผน ตาม วัฒนธรรมไทยของเราแล้วจะดูงดงามยิ่ง
๘
เพลงคืนเดือนหงาย
ท่ารา สอดสร้อยมาลาแปลง คาร้อง จมื่นมานิตย์นเรศ (นายเฉลิม เศวตนันท์) หัวหน้ากองการสังคีต กรมศิลปากร (ประพันธ์ใน นามกรมศิลปากร) ทานอง อาจารย์มนตรี ตราโมท เนื้อเพลง ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพริ้วปลิวมา เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา เย็นร่มธงไทยปกไปทั่วหล้า เย็นยิง่ น้าฟ้ามาประพรมเอย ความหมาย เวลา กลางคืน เป็นคืนเดือนหงาย มีลมพัดมาเย็ นสบายใจ แต่ก็ยังไม่สบายใจเท่ากับการ ที่ได้ผูกมิตรกับผู้อื่น และที่ร่มเย็นไปทั่ว ทุกแห่งยิ่งกว่าน้าฝนที่โปรยลงมา ก็คือการที่ประเทศไทยเป็น ประเทศที่เป็นเอกราช มีธงชาติไทยเป็นเอกลักษณ์ ทาให้ร่มเย็นทั่วไป
๙
เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
ท่ารา ท่าแขกเต้าเข้ารัง ท่าผาลาเพียงไหล่ คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง อาจารย์มนตรี ตราโมท เนื้อเพลง ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย งามเอยแสนงาม งามจริงยอดหญิงชาติไทย งามวงพักตร์ยิ่งดวงจันทรา จริตกิริยานิ่มนวลละไม วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ รูปทรงสมส่วนยั่วยวนหทัย สมเป็นดอกไม้ขวัญใจชาติเอย ความหมาย พระจันทร์เต็มดวงที่ลอยอยู่บนท้องฟ้านั้นช่างดูสวยงาม เพราะเป็นพระจันทร์ทรงกลด คือมีแสงเลื่อมกระจายออกรอบดวงจันทร์ทั้งดวง แต่ถึงจะงามอย่างไรก็ยังไม่เท่าความงามของดวง หน้าหญิงสาว ที่ดูผุดผ่องมีน้ามีนวล อีกทั้งรูปร่างก็ดูสมส่วน กิริยาวาจาก็อ่อนหวานไพเราะ สมแล้วกับ ที่เปรียบว่าหญิงไทยนี้คือดอกไม้
๑๐
เพลงดอกไม้ของชาติ
ท่ารายั่ว เนื้อร้อง ทานอง
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม อาจารย์มนตรี ตราโมท
เนื้อเพลง (สร้อย) ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาสนวยนาดร่ายรา (ซ้า) เอวองค์อ่อนงาม ตามแบบนาฎศิลป์ ชี้ชาติไทยเนาว์ถิ่น เจริญวัฒนธรรม (สร้อย) งานทุกสิ่งสามารถ สร้างชาติช่วยชาย ดาเนินตามนโยบาย สู้ทนเหนื่อยยากตรากตรา ความหมาย ผู้หญิงไทยเปรียบเสมือนดอกไม้อันเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทยการร่วมราด้วยการ แสดงออกอย่างอ่อนช้อน งดงามตามรูปแบบความเป็นไทยแสดงให้เห็นถึง ความเจริญทางด้าน วัฒนธรรมของคนไทย นอกจากผู้หญิงจะดีเด่นทางด้านความงาม แล้วยัง มีความอดทนสามารถ ทางานบ้านช่วยเหลืองานผู้ชาย หรือแม้งานสาคัญๆระดับประเทศก็สามารถช่วยเหลือได้เป็นอย่างดี ไม่แพ้ผู้ชาย
๑๑
เพลงหญิงไทยใจงาม
ท่ารา ชักแป้งผัดหน้า คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อเพลง เดือนพราว แสงดาวประดับ ดวงหน้า คุณความดีที่เห็น ขวัญใจ รูปงามวิลาส เกียรติยศ หญิงไทยใจงาม
ดาวแวววาวระยับ ส่องให้เดือนงามเด่น โสภาเพียงเดือนเพ็ญ เสริมให้เด่นเลิศงาม หญิงไทยส่งศรีชาติ ใจกล้ากาจเรืองนาม ก้องปรากฎทั่วคาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว
ความหมาย ดวง จันทร์ที่ส่องแสงอยู่บนท้องฟ้ามีความงดงามมาก และยิ่งได้แสงอันระยิบระยับของ ดวงดาวด้วยแล้ว ยิ่งทาให้ดวงจันทร์นั้นงามเด่นยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนกับดวงหน้าของหญิงสาวที่มีความ งดงามอยู่แล้ว ถ้ามีคุณความดีด้วย ก็จะทาให้หญิงนั้นงามเป็นเลิศ ผู้หญิงไทยนี้เป็นขวัญใจของชาติ เป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาติ รูปร่างก็งดงาม จิตใจก็กล้าหาญ ดังที่มีชื่อเสียงปรากฏอยู่ทั่วไป
๑๒
เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า
ท่ารา จันทร์ทรงกลม คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อเพลง ดวงจันทร์ขวัญฟ้า จันทร์ประจาราตรี ที่เทิดทูนคือชาติ ถนอมแนบสนิทใน
ชื่นชีวาขวัญพี่ แต่ขวัญพี่ประจาใจ เอกราชอธิปไตย คือขวัญใจพี่เอย
ความหมาย ในเวลาค่าคืนท้องฟ้ามีดวงจันทร์ประจาอยู่ ในใจของชายก็มีหญิงอันเป็นสุดที่รักประจา อยู่เช่นกัน สิ่งที่เทิดทูนยกย่องไว้ก็คือชาติไทยที่เป็นเอกราช มีอิสระแก่ตนไม่ขึ้นกับใคร และสิ่งที่แนบ สนิทอยู่ในใจของชายก็คือหญิงอันเป็นสุดที่รัก
๑๓
เพลงยอดชายใจหาญ
ท่ารา (ชาย ) จ่อเพลิงกาฬ ( หญิง ) ชะนีร่ายไม้ คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อเพลง โอ้ยอดชายใจหาญ น้องขอร่วมชีวี แม้สุดยากลาเค็ญ น้องจักสู้พยายาม
ขอสมานไมตรี กอบกรณีย์กิจชาติ ไม่ขอเว้นเดินตาม ทาเต็มความสามารถ
ความหมาย ขอผูกมิตรไมตรีกับชายผู้กล้าหาญ และจะขอมีส่วนในการทาประโยชน์ทาหน้าที่ของ ชาวไทย แม้จะลาบากยากแค้น ก็จะขอช่วยเหลือจนเต็มความสามารถ
๑๔
เพลงบูชานักรบ
ท่ารา เที่ยวที่ ๑ (หญิง) ขัดจางนาง (ชาย) จันทร์ทรงกลด เที่ยวที่ ๒ (หญิง) ล่อแก้ว) (ชาย) ขอแก้ว คาร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ทานอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เนื้อเพลง น้องรักรักบูชาพี่ เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ น้องรักรักบูชาพี่ หนักแสนหนักพี่ผจญ น้องรักรักบูชาพี่ บากบั่นสร้างหลักฐาน น้องรักรักบูชาพี่ เลือดเนื้อพี่พลีอุทิศ
ที่มั่นคงที่มั่นคงกล้าหาญ สมศักดิ์ชาตินักรบ ที่มานะที่มานะอดทน เกียรติพี่ขจรจบ ที่ขยันที่ขยันกิจการ ทาทุกด้านทาทุกด้านครันครบ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวิต ชาติยงอยู่ยงอยู่คู่พิภพ
ความหมาย น้องรักและบูชาพี่ เพราะมีความกล้าหาญ เป็นนักสู้ที่เก่งกล้าสามารถสมกับเป็ นชายชาติ นักรบที่มีความมานะอดทน แม้ว่าจะยากเย็นแสนเข็ญ พี่ก็ต่อสู้จนชื่อเสียงเลื่องลือ ไปทั่ว นอกจากนี้ ยังขยันขันแข็งในงานทุก อย่าง อุตส่าห์สร้างหลักฐานให้มั่นคง และพี่ยังมีความรักในชาติบ้านเมือง ยิ่งกว่าชีวิต ยอมสละได้แม้ชีวิตและเลือดเนื้อเพื่อให้ชาติไทยคงอยู่คู่โลกต่อไป