2
2560
2560
3
สารบัญ CONTENTS
01 05 03 06 04 07
จุดเดนทางการเงิน Financial Highlights
รายงานของคณะกรรมการ
Report from The Board of Directors
โครงสรางการถือหุนและการจัดการ Shareholding and Management Structure
การกำกับดูแลกิจการ
16 14
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
32 27
Corporate Governance
Report from the Audit Committee
รายงานความรับผิดชอบของคณะ กรรมการ ตอรายงานทางการเงิน Report of the Board of Directors’ Responsibilities for the financial Statements
35 30 36 31
โครงสรางองคกร
Organization Chart
ลักษณะการประกอบธุรกิจ
Type of Business
ปจจัยความเสี่ยง
40 35
ภาวะอุตสาหกรรมตลาดที่อยูอาศัย
44 37
ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท
47 39 41 50
Factors of Risk
Real Estate Business in 2017 and Prospect for 2018
Company Profile
คำอธิบายและการวิเคราะหของฝายจัดการ
Managemant Discussion and Analysis
รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาตและงบการเงิน
Audit Report of Cirtifield Public Accountants and Financial Statements
3
29 34
รายงานประจำป 2560
43
ดเด่นทางการเงิ น ดการ โครงสราจุงการถื อหุนและการจั Financial Highlights Structure Shareholding and Management จุดเด่ นทางการเงิน FINANCIAL HIGHLIGHTS
ผลการดําเนินงาน
ณ 31 ธันวาคม 2560 / As at December 31, 2017 หน่ วย : พันบาท / Unit : Thousand Baht
Operating Performance
2558/2015
2559/2016
2560/2017
รายได้จากการขาย รายได้รวม ต้นทุนขาย ต้นทุนรวม ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงาน กําไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงิน และภาษีเงินได้ กําไร(ขาดทุน) (ส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯ)
Sales revenue Total revenue Cost of real estate sales Total Cost Selling & administrative expenses EBIT
1,252,769 1,508,980 855,330 1,029,003 287,736 192,241
882,823 1,246,859 654,308 841,197 230,932 174,730
937,493 1,211,978 667,079 841,176 242,655 128,148
Profit (loss)(Equity holders of the Company)
121,656
102,826
56,137
สิ นทรัพย์รวม หนีสินรวม ทุนจดทะเบียนเรี ยกชําระแล้ว ส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น
Total assets Total liabilities Issued and paid-up share capital Shareholders’ equity
3,748,686 1,374,147 589,410 2,374,539
3,847,562 1,593,175 589,410 2,254,388
3,797,329 1,487,894 641,800 2,309,435
มูลค่าตามบัญชีต่อหุ น้ กําไรต่อหุ น้ เงินปั นผลต่อหุ น้ (บาท) อัตราส่ วนสภาพคล่อง (เท่า) อัตราส่ วนหนีสินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ น้ (เท่า) อัตรากําไรสุ ทธิ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนจากสิ นทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนผูถ้ ือหุ น้ (ร้อยละ)
Book value/share Earnings per share Dividend/share (Baht) Current ratio (times) Debt to equity (times) Profit (loss) margin (%) Return on assets (%) Return on equity (%)
4.03 0.21 0.12 1.61 0.58 8.06 3.25 5.12
3.82 0.16 0.10 2.05 0.71 8.25 2.67 4.56
3.60 0.09 0.05 3.33 0.64 4.63 1.48 2.43
2560 รายงานประจำป 2560
1 6
2
2560
รายงานของคณะกรรมการ โครงสร างการถือหุนและการจัดการ Report from the Board of Directors Shareholding and Management Structure รายงานของคณะกรรมการ REPORT FROM THE BOARD OF DIRECTORS
รายงานความรับ ของคณะกรรมการต่อรา รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเ นายพิพธิ พิชัยศรทัต ประธานกรรมการ
REPORT OF THE BOARD OF DIREC FOR THE FINANCIAL S
REPORT OF THE BOARD OF DIRECTORS’ RESPONS STATEMENTS
คณะกรรมการบริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) ต ถึงแม้อตั ราการเติบโตของเศรษฐกิจไทยปี 2560 มีการเติบโตประมาณร้อยละ 3.9 ซึ� งสู งกว่าอัตราการ ฐานะคณะกรรมการบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งป เติบโตของปี 2559 ที�เติบโตร้ อยละ 3.2 เป็ นการเติบโตในอัตราที�สูงขึ�นต่อเนื� องมา 3 ปี บ่งบอกถึ งการค่อยๆ จัดทําขึ1นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที>มีการปรับเปลี>ย ฟื� นตัวของเศรษฐกิ จ แต่มูลค่าการโอนกรรมสิ ทธิ� ที� อยู่อาศัยในกรุ งเทพฯและปริ มณฑลปี 2560 ยังคงลดลง ผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นให้มากที>สุด ทั1งนี1 บริ ษทั ฯได้กาํ หนดน ประมาณร้อยละ 3.7 เมื�อเทียบกับปี 2559 แสดงให้เห็นว่าธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ยงั ฟื� นตัวไม่ดีเท่าที�ควร เหตุผล และขนาดธุ ร กิ จ ของบริ ษ ัท ฯและถื อ ปฏิ บัติ อ ย่ า งสมํ>า เสมอ หลักมาจากศักยภาพของผูท้ ี�จะกูซ้ �ือที�อยูอ่ าศัยซึ� งมีภาระหนี�อื�นสู ง ทําให้ธนาคารพาณิ ชย์พิจารณาไม่ปล่อยสิ นเชื� อ ระมัดระวัง และใช้ประมาณการที>ดีที>สุด ในการจัดทํางบการเงิน เพื�อกูซ้ �ือที�อยูอ่ าศัย หรื อให้กไู้ ม่เต็มจํานวนที�ลูกค้าต้องการ กอปรกับการแข่งขันที�สูง ทําให้ส่งผลกระทบต่อการ ข้อมูลที> เ ป็ นส่ วนสําคัญอย่างเพี ยงพอในหมายเหตุ ประกอบงบ เติบโตของบริ ษทั ฯ ในการขายอสังหาริ มทรัพย์ประเภทที�อยูอ่ าศัย การเงินของบริ ษทั ฯ ตามความเป็ นจริ ง ผลประกอบการในปี 2560 ของ บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) มีรายได้รวม 1,212 ล้านบาท ลดลงจาก คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรม ปี 2559 ร้อยละ 2.8 และยอดกําไรสุ ทธิ 56 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 45.4 และเป็ นกําไรต่อหุ ้นเท่ากับ คุณภาพของงบการเงิ นและรายงานทางการเงิ น ความมี ประส 0.09 บาท ภายในของบริ ษทั ฯ เพื>อให้ม น>ั ใจได้ว่างบการเงินของบริ ษทั ฯ ม สําหรับปี 2561 ธนาคารแห่งประเทศไทยประเมินอัตราการเติ บโตของเศรษฐกิ จไทยที �ร้อยละ โดยมี และกฏระเบี ยบที> เ กี> ยวข้ องครบถ้ ว น 3.9 ซึ> งคณะกรรมการตรวจ
แนวโน้มการส่ งออกขยายตัวทั�งปริ มาณและมูลค่า และการลงทุนประจํ ของภาครั �สูงวขึ�นจากการก่อสร้างโครงการ าปี นี1ดฐว้ ทียแล้
สาธารณูปโภคขนาดใหญ่ โครงการพัฒนาพื�นที�ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โครงการรถไฟฟ้ าหลาย คณะกรรมการบริ ษทั ฯ มีความเห็นว่างบการเงินแล เส้นทางที�จะเริ� มทยอยแล้วเสร็ จจะช่ วยผลักดันให้ตลาดเติบโต คณะกรรมการบริ ษทั ขอขอบคุณท่านผูถ้ ือหุ ้น ได้แสดงฐานะทางการเงิ นและผลการดําเนิ นงานที>ถูกต้องครบ ลู ก บ้า น พนัก งาน คู่ ค้า สถาบันการเงิ น และผูเ้ กี� ย วข้องทุ ก ท่ า น ที� ใ ห้ ก ารสนับ สนุ นด้วยดี ม าตลอด และจะ อย่างมีเหตุผลต่อความน่ าเชื>อถือของงบการเงินของบริ ษทั ฯ แล้ว ควบคุมดูแลกิจการด้วยคุณธรรม ธรรมาภิบาลที�ดี เพื�อให้บริ ษทั ฯ เติบโตอย่างมัน� คงและคงชื� อเสี ยงของบริ ษทั ฯ ให้ดีเยีย� มตลอดไป (นายพิพิธ พิชยั ศรทัต) นายพิพิธ พิชยั ศรทัต ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ 2560 รายงานประจำป 2560
3 6
โครงสร นและการจั และการจัดดการ การ โครงสร้าางการถื งการถือ อหุ หุ้น Shareholding Structure Shareholding and and Management Management Structure
โครงสร้ างการถือหุ้นและการจัดการ SHAREHOLDING AND MANAGEMENT STRUCTURE โครงสร้ างการถือหุ้น SHAREHOLDING STRUCTURE
บริ ษทั มีทุนจดทะเบียนจํานวน 641,803,026 บาท แบ่งเป็ นหุ น้ สามัญ 641,800,446 หุ น้ มูลค่าทีตราไว้ หุ ้นละ 1 บาท เป็ นทุนชําระแล้วจํานวน 641,800,446 ล้านบาท กลุ่มผู้ถือหุ้น 10 รายแรก ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนพักโอนหุ้น เมือวันที 24 เมษายน 2560 ชื อ Name 1.พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช H.M. KING BHUMIBOL ADULYADEJ 2.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี H.R.H. PRINCESS MAHA CHAKRI SIRINDHORN 3.บริ ษทั อาร์ พีซีจี จํากัด (มหาชน) RPCG PUBLIC COMPANY LIMITED 4.กองทุนเปิ ด อเบอร์ ดีน สมอลแค็พ ABERDEEN SMALL CAP 5.BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES, LONDON BRANCE 6.กองทุนเปิ ด อเบอร์ ดีนโกรท ABERDEEN GROWTH FUND 7.นางสาวพิมอุมา เจนธรรมนุกลู MISS PIMAUMA JANETUMNUGUL 8.BNP PARIBAS SECURITIES SERVICES SINGAPORE BRANCE 9.ท่านผูห้ ญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม Thanpuying Dhasanawalaya Sornsongkram 10.กองทุนเปิ ด อเบอร์ ดีนสมาร์ ทแคปปิ ตอล เพือการเลียงชีพ ABERDEEN SMART CAPITAL RETIREMENT MUTUAL FUND
จํานวนหุ้น No.of shares 48,681,400
ร้ อยละ % 8.26
9,462,233
1.61
284,417,180
48.25
30,557,533
5.18
21,392,166
3.63
20,566,533
3.49
13,035,255
2.21
11,669,766 11,656,600
1.98 1.98
8,647,300
1.47
หมายเหตุ : ผูล้ งทุนสามารถดูขอ้ มูลผูถ้ ือหุ น้ ทีเป็ นปั จจุบนั ได้จาก Website ของบริ ษทั ก่อนการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ประจําปี 1
4
2560
การจัดการ / MANAGEMENT โครงสร้ างการจัดการ / MANAGEMENT STRUCTURE โครงสร้างการจัดการของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วย คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุ ดย่อย จํานวน 4 ชุ ด ได้แก่ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี ยง และคณะกรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัท 1. นายพิพิธ พิชยั ศรทัต ประธานกรรมการ 2. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการ 3. นายธวัช อึงสุ ประเสริ ฐ กรรมการ 4. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ กรรมการอิสระ 5. นายธวัชชัย ช่องดารากุล กรรมการอิสระ 6. นางกุณฑลา ศศะสมิต กรรมการอิสระ 7. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผูจ้ ดั การ
Board of Directors 1. Mr.Bibit Bijaisoradat Chairman 2. Mr.Satja Janetumnugul Director 3. Mr.Tawat Ungsuprasert Director 4. Mr.Anuthip Krairiks Independent Director 5. Mr.Tawatchai Chongdarakul Independent Director 6. Director Mrs.Koonthala Sasasmit Independent Director 7. Mr.Kittipol Pramoj Na Ayudhya Managing Director
- นางไข่มุก พราหมณี ย ์ : เลขานุการบริ ษทั คณะอนุกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร 1. นายธวัช อึงสุ ประเสริ ฐ ประธานกรรมการบริ หาร 2. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการบริ หาร 3. นายพิพิธ พิชยั ศรทัต กรรมการบริ หาร 4. 5. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา 4.
COMMITEE Executive Committee 1. Mr.Tawat Ungsuprasert Executive Committee Chairman 2. Mr.Satja Janetumnugul Executive Director 3. Mr.Bibit Bijaisoradat Executive Director 4. Mr.Kittipol Pramoj Na Ayudhya 4.5.
กรรมการบริ หาร และกรรมการผูจ้ ดั การ Executive Director and Managing Director - นางสาวอิสรี ยา สดมณี : เลขานุการคณะกรรมการบริ หาร
2 2560
5
คณะกรรมการตรวจสอบ Audit Committee 1. Mr.Tawatchai Chongdarakul 1. นายธวัชชัย ช่องดารากุล ประธานกรรมการตรวจสอบ Audit Committee Chairman 2. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 2. Mr.Anuthip Krairiksh กรรมการตรวจสอบ Audit Committee Member 4. Mrs.Koonthala Sasasmit 3. นางกุณฑลา ศศะสมิต* Audit Committee Member กรรมการตรวจสอบ *กรรมการตรวจสอบทีมีความรู้ ความสามารถในการสอบทานความน่าเชือถือของงบการเงิน - นางสาววาสนา มินมูฮมั หมัด : เลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหารความเสี ยง Risk Management Committee 1. Mr.Tawatchai Chongdarakul 1. นายธวัชชัย ช่องดารากุล ประธานกรรมการบริ หารความเสี ยง Risk Management Committee Chairman 2. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 2. Mr.Anuthip Krairiksh กรรมการบริ หารความเสี ยง Risk Management Member 3. Mrs.Koonthala Sasasmit 3. นางกุณฑลา ศศะสมิต Risk Management Member กรรมการตรวจสอบ - นางไข่มุก พราหมณี ย ์ : เลขานุการคณะกรรมการบริ หารความเสี ยง คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่ าตอบแทน Nomination and Remuneration Committee 1. นายธวัชชัย ช่องดารากุล 1. Mr.Tawatchai Chongdarakul ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา Nomination and Remuneration Committee ค่าตอบแทน Chairman 2. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 2 Mr.Anuthip Krairiksh กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน Nomination and Remuneration Committee 3 Mrs.Koonthala Sasasmit 3. นางกุณฑลา ศศะสมิต กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน Nomination and Remuneration Committee - นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา: เลขานุการคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน
6
2560
3
ฝ่ ายจัดการ 1. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผูจ้ ดั การ 2. นางสุ พรรณี ตัณไชยศรี นคร ผูจ้ ดั การทัว ไป สายงานบริ หารและการเงิน
1. 2.
3. นายวสันต์ ซื อตรง 3. ผูจ้ ดั การทัว ไป สายงานก่อสร้างและบริ การ 4. นายณพน เจนธรรมนุกลู ผูจ้ ดั การทัว ไป สายงานพัฒนาธุ รกิจ
4.
Management Offices Mr.Kittipol Pramoj Na Ayudhya Managing Director Mrs.Supannee Tanchaisrinakorn General Manager (Finance & Administration Function) Mr.Wasun Sutrong General Manager (Construction Management & Service Function) Mr. Napon Janetumnugul General Manager (Business Development Function)
2560
7
ประวัตคิ ณะกรรมการ และผู้บริหาร ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายพิพิธ พิชยั ศรทัต กรรมการ ประธานกรรมการ / กรรมการบริ หาร
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือน/ปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา
11 เมษายน 2545 27 ตุลาคม 2504 56 ปี ไทย 1174 ถนนพระรามที่ 4 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 พัฒนบริ หารศาสตร์ มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ รัฐศาสตร์บณ ั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Director Certification Program (DCP), Audit Committee Program (ACP) ไม่มี 16 ปี 6/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 24/25 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หาร)
การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมในปี 2560
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 148,454 หุน้ ร้อยละ 0.023 การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) 2 5 ประสบการณ์ การทางานอื่น 2543 - ปั จจุบนั รองผูอ้ านวยการโครงการพัฒนาส่วนพระองค์ 2543 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั สุวรรณชาด จากัด 2539 - ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั มงคลชัยพัฒนา จากัด 2543 - ปั จจุบนั ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การ สานักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ 2549 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั รวมทนุไทย จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2544 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการอิสระ /กรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการนโยบายและกลยุทธ์ / กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริ ษทั ไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) 2552 - ปั จจุบนั ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ บริ ษทั ซิงเกอร์ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
8
2560
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการ กรรมการบริ หาร
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือนปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมปี 2560
12 ธันวาคม 2555 5 กันยายน 2497 63 ปี ไทย 378/2 ถนนชลนิเวศน์ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 วศ.บ.ไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (ธนบุรี) Directors Accreditation Program (DAP) 20/2004 ไม่มี 6 ปี 7/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 23/25 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หาร)
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 ไม่มี การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) 1 6 ประสบการณ์ การทางานอื่น 2558 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จากัด 2555 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จากัด, บริ ษทั ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จากัด 2550 – 2552, 2557 กรรมการ บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จากัด 2546 – 2556 กรรมการ บริ ษทั เพียวซิลิกา มายนิ่ง จากัด, บริ ษทั จตุจกั ร ออยล์ จากัด 2545 – 2556 กรรมการ บริ ษทั เพียวอินเตอร์เทรด จากัด, บริ ษทั ทศทิศโลจิสติกส์ จากัด 2544 – 2557 กรรมการ บริ ษทั จตุรทิศ ขนส่ง จากัด 2544 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จากัด, บริ ษทั อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จากัด 2541 – ปั จจุบนั ประธานกรรมการ บริ ษทั เพทโทร-อินสตรู เมนท์ จากัด 2538 – 2556 กรรมการ บริ ษทั เอสซีที ปิ โตรเลียม จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2538 – ปั จจุบนั กรรมการ/ประธานกรรมการ บริ ษทั อาร์พีซีจี จากัด (มหาชน) ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
2560
9
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายธวัชชัย ช่องดารากุล กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน/ ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ ยง และประธานกรรมการตรวจสอบ
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือน/ปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา
10 มกราคม 2557 19 มิถุนายน 2504 56 ปี ไทย 35 ซอยร่ มเกล้า 6 ถนนร่ มเกล้า แขวงมีนบุรี กรุ งเทพมหานคร นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (น.ม.) มหาวิทยาลัยรามคาแหง นิติศาสตร์บณ ั ฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลัยรามคาแหง Advance Audit Committee Program (AACP), Directors Accreditation Program (DAP) Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL), Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) 4 ปี 7/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 5/5 ครั้ง (คณะกรรมการตรวจสอบ) 4/4 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง) 1/1 ครั้ง (คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน)
การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมในปี 2560
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 ไม่มี การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) ประสบการณ์ การทางานอื่น 2548 – ปั จจุบนั ผูเ้ ชี่ยวชาญในกระบวนการอนุญาโตตุลาการ และไกล่เกลี่ยข้อพิพาท 2543 – ปั จจุบนั ทนายความอิสระ -ทนายความว่าความคดีอาญา และคดีแพ่ง -คดีเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ -คดีแพ่งทุนทรัพย์สูง -คดีทางธุรกิจทัว่ ไป ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
10
2560
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือน/ปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา การอบรมหลักสู ตรกรรมการ
17 กุมภาพันธ์ 2548 23 มกราคม 2492 68 ปี ไทย 157/13 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุ งเทพฯ 10300 B.A (Fine and Applied Art) Northeastern University Director Accreditation Program (DAP) , Director Certification Program (DCP)
การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมในปี 2560
ไม่มี 13 ปี 5/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 4/5 ครั้ง (คณะกรรมการตรวจสอบ) 4/4 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง) 1/1 ครั้ง (คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน)
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2560 217,777 หุน้ ร้อยละ 0.034 การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) 1 ประสบการณ์ การทางานอื่น 2535 - ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ผลิตอุปกรณ์ก่อสร้าง จากัด 2552 - 2556 กรรมการ / กรรมการตรวจสอบ บริ ษทั A. Host จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น ไม่มี ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
2560
11
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายธวัช อึ้งสุประเสริ ฐ กรรมการ กรรมการบริ หาร
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือนปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมปี 2560
4 เมษายน 2556 30 ตุลาคม 2489 71 ปี ไทย 584 ถนนเตชะวนิช แขวงบางซื่อ กรุ งเทพฯ 10800 วท.บ. (เคมี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Directors Accreditation Program (DAP) ไม่มี 5 ปี 7/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 25/25 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หาร)
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 ไม่มี การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) ประสบการณ์ การทางานอื่น 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เอสซีที ปิ โตรเลียม จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เพียวซิลิกา มายนิ่ง จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั จตุจกั ร ออยล์ จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั ไทยควอทซ์ มายนิ่ง จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั ทศทิศโลจิสติกส์ จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จากัด 2555 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เอสซีที สหภัณฑ์ จากัด 2553 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เพียวไบโอดีเซล จากัด 2548 - 2556 กรรมการ บริ ษทั จตุรทิศขนส่ง จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2542 - 2556 กรรมการ บริ ษทั เชอร์วดู ้ เคมิคอล จากัด (มหาชน) ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
12
2560
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นางกุณฑลา ศศะสมิต กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการบริ หารความเสี่ ยง / กรรมการสรรหา และ พิจารณาค่าตอบแทน
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือนปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา
1 มิถุนายน 2559 17 ตุลาคม 2500 61 ปี ไทย 94/55 หมู่บา้ นฟลอร่ าวิลล์ ถ.สุวนิ ทวงค์ แขวงลาผักชี เขตหนองจอก กรุ งเทพ 10530 ปริ ญญาตรี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (บัญชีบณ ั ฑิต) ปริ ญญาโท UNIVERSITY OF ARIZONA (M.S. FINANCE) Directors Accreditation Program (DAP), Audit Committee Program (ACP) ไม่มี 1 ปี 7/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 5/5 ครั้ง (คณะกรรมการตรวจสอบ) 4/4 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หารความเสี่ ยง) 1/1 ครั้ง (คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน)
การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมปี 2560
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 ไม่มี การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) 1 ประสบการณ์ การทางานอื่น 2551 – 2558 เลขานุการตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ 2559 – 2541 บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) 2537 – 2541 - ผูจ้ ดั การธุรกิจเครื อบางจาก สานักงานกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ปฏิบตั ิงาน 2 บริ ษทั ในเครื อบริ ษทั บางจากฯในตาแหน่งดังต่อไปนี้ - รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั บางจากกรี นเนทจากัด - ผูจ้ ดั การฝ่ ายการเงินและบริ หาร บริ ษทั บางจากกรี นไลน์จากัด - ผูจ้ ดั การฝ่ ายการเงินและบริ หาร บริ ษทั บางจากกรี นเนท จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2552 - ปั จจุบนั กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริ ษทั ไทยประกันภัย จากัด (มหาชน) ข้ อพิพาททางกฎหมาย ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
2560
13
ชื่ อ-นามสกุล ประเภทกรรมการ ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการ กรรมการบริ หาร / กรรมการผูจ้ ดั การ
วันทีไ่ ด้ รับการแต่ งตั้งเป็ นกรรมการ วัน/เดือน/ปี เกิด อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยู่ ประวัตกิ ารศึกษา
1 สิ งหาคม 2541 10 มกราคม 2515 45 ปี ไทย 22 ซ.พหลโยธิน 37 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุ งเทพฯ 10900 ปริ ญญาโท สถาบันบัณฑิต บริ หารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริ ญญาตรี Exeter University U.K. (Mechanical Engineering) Directors Certification Program (DCP 19/2002),Directors Accreditation Program (DAP 23/2004),Audit Committee Program (ACP 5/2005), RE-CU CEO-PREMIUM รุ่ นที่ 1 ไม่มี 20 ปี 7/7 ครั้ง (คณะกรรมการบริ ษทั ) 24/25 ครั้ง (คณะกรรมการบริ หาร)
การอบรมหลักสู ตรกรรมการ การอบรมอื่นๆในปี 2560 จานวนปี ทีเ่ ป็ นกรรมการ การเข้ าร่ วมประชุมในปี 2560
สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 1,400,000 หุน้ ร้อยละ 0.22 การดารงตาแหน่ งปัจจุบันในกิจการอื่น บริษัทจดทะเบียน กิจการอื่นๆ(ทีไ่ ม่ ใช่ บริษัทจดทะเบียน) การดารงตาแหน่ งในกิจการทีแ่ ข่ งขัน/ (จานวน) (จานวน) เกีย่ วเนื่องกับธุรกิจของบริษัท (จานวน) 1 3 ประสบการณ์ การทางานอื่น 2556 – ปั จจุบนั กรรมการสมาคมอสังหาริ มทรัพย์ไทย 2555 – ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั โปรคิวบ์ เวนเจอร์ จากัด 2549 – ปั จจุบนั กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จากัด 2552 – 2556 นายกสมาคมอสังหาริ มทรัพย์ไทย 2543 – 2555 กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ธนาคมและการพัฒนา จากัด ตาแหน่ งในบริษัทจดทะเบียนอื่น 2553 – ปั จจุบนั 2543 – 2553 ข้ อพิพาททางกฎหมาย
14
กรรมการ บริ ษทั โรงแรมราชดาริ จากัด (มหาชน) บริ ษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จากัด (มหาชน) ไม่มีคดีความในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา
2560
ชื่ อ-นามสกุล ตาแหน่ งปัจจุบนั
นางสุพรรณี ตัณไชยศรี นคร ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานบริ หารและการเงิน
อายุ 51 ปี คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
บริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยรามคาแหง บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคาแหง Fundamental Practice for Corporate Secretary (FPCS) รุ่ นที่ 18 Effective Minutes Taking-EMT รุ่ นที่ 39/2017 Strategic Financial Leadership Program สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 -ไม่มีประสบการณ์ การทางาน 2556 – ปั จจุบนั ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานบริ หารและการเงิน บริ ษทั อาร์พีซีจี จากัด 2557 – ปั จจุบนั ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานบริ หารและการเงิน บริ ษทั สัมมากร จากัด (มหาชน) 2557 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ซุปเปอร์เพียวแก๊ส จากัด 2557 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั อาร์พีซี แมเนจเมนท์ จากัด 2558 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั ไทยพับลิคพอร์ต จากัด 2558 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั เพียวสัมมากร ดีเวลลอปเม้นท์ จากัด 2559 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั โปรคิวบ์ เวนเจอร์ จากัด ชื่ อ-นามสกุล ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายวสันต์ ซื่อตรง ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานก่อสร้างและบริ การ
อายุ 48 ปี คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
ปริ ญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการขนถ่ายวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 -ไม่มีประสบการณ์ การทางาน 2558 – ปั จจุบนั กรรมการ บริ ษทั โปรคิวบ์ เวนเจอร์ จากัด 2550 – 2558 ผูจ้ ดั การทัว่ ไปสายโรงงาน บริ ษทั อาร์พีซีจี จากัด (มหาชน) ชื่ อ-นามสกุล ตาแหน่ งปัจจุบนั
นายณพน เจนธรรมนุกลู ผูจ้ ดั การทัว่ ไป สายงานพัฒนาธุรกิจ
อายุ 31 ปี คุณวุฒิการศึกษา / การฝึ กอบรม
ปริ ญญาตรี เศรษฐศาสตร์ ภาคภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ปริ ญญาโท MBA Candidate, Duke University, USA สัดส่ วนการถือหุ้นบริษัท ณ วันที่ 31 ธ.ค.2560 -ไม่มีประสบการณ์ การทางาน 2553 – 2556 Investment Banking – บมจ. หลักทรัพย์ บัวหลวง 2556 – 2558 Business Development – บมจ. ระยองเพียวริ ฟายเออร์ หมายเหตุ : นายณพน เจนธรรมนุกลู เป็ นบุตรของนายสัจจา เจนธรรมนุกลู
2560
15
โครงสราการก� งการถื และการจั ำกับอดูหุแนลกิ จการ ดการ and Management Corporate Governance Structure การกํากับดูแลกิShareholding จการ CORPORATE GOVERNANCE
คณะกรรมการบริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) มี ความมุ่งมัน� ที� จะกํากับดูแลกิ จการของบริ ษทั ฯ ให้เป็ น บริ ษทั ชั�นนําในธุ รกิจบ้านจัดสรรที� ได้รับความนิ ยมเชื�อถือจากประชาชน มีการดําเนิ นธุ รกิจด้วยการบริ หารจัดการที�ยึดหลัก ธรรมาภิบาลเป็ นสําคัญ มีการพัฒนาบุคลากรให้มีศกั ยภาพสูง และส่ งเสริ มให้มีการพัฒนาสิ นค้าให้มีคุณภาพดี พร้อมการ บริ การที� ประทับใจ คณะกรรมการบริ ษทั จึ งได้กาํ หนดนโยบายการกํากับดูแลกิ จการตามหลักบรรษัทภิ บาล เพื�อเป็ น กลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอํานาจ เพื�อให้การบริ หารงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและโปร่ งใส ตรวจสอบได้ โดยได้จดั ทํานโยบายจริ ยธรรมธุ รกิจ คู่มือจรรยาบรรณสําหรับกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน เพื�อปลูกฝังให้ทุกคน ปฎิบตั ิหน้าที�ดว้ ยความรับผิดชอบ มีความเคารพในสิ ทธิ ความเท่าเที ยมกันของผูอ้ ื�นและผูม้ ีส่วนได้เสี ย ซึ� งเป็ นส่ วนสําคัญ ในการเสริ มสร้ างความเชื� อมัน� แก่นักลงทุน สถาบันการเงิน พันธมิตรธุ รกิ จ ผูถ้ ือหุ ้น ลูกค้า และผูม้ ีส่วนเกี� ยวข้อง มีการ ดูแลสื� อสารให้เกิดความเข้าใจและยึดถือเป็ นแนวปฎิบตั ิทวั� ทั�งองค์กร และประการสําคัญได้กาํ หนดวิสัยทัศน์และพันธกิจ เพื�อให้ทุกคนมี จุดมุ่งหมายในทิ ศทางเดี ยวกัน และบริ ษทั ฯ มีแนวนโยบายจะเข้าร่ วมโครงการแนวร่ วมปฏิบัติของ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต เพื�อให้ผบู ้ ริ หาร พนักงาน ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้เสี ย และบริ ษทั จดทะเบี ยนเห็น ความสําคัญ และร่ วมมือกันให้เกิดการต่อต้านการทุจริ ตในวงกว้าง รวมทั�งนํามาพัฒนาบริ ษทั ฯ โดยให้เกิดการปฏิบตั ิงาน ในทุกส่ วนงาน เพื�อส่ งเสริ มการกํากับดูแลกิจการที�ดีในองค์กรด้วย ซึ� งบริ ษทั ฯ ประกาศเจตนารมณ์ โดยเข้าเป็ นแนวร่ วม แล้ว และจัดทําเป็ นนโยบายของบริ ษทั ฯ พร้ อมทั�งทบทวนการจัดทํานโยบายการกํากับดูแลกิ จการ เพื� อใช้เป็ นแนว ทางการกํากับดูแลกิจการที�ดีของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานสากล ซึ� งประกาศใช้เมื�อปลายปี 2556 และได้ปรับปรุ ง เพื�อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อบริ ษทั ฯ และผูถ้ ือหุน้ โดยมีขอ้ ปฏิบตั ิดงั นี� 1. สิ ทธิของผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริ ษทั ได้ตระหนักและให้ความสําคัญแก่ผถู้ ือหุ ้นทั�งรายใหญ่และรายย่อย นักลงทุน สถาบัน อย่างเท่าเทียมกันในการใช้สิทธิ ดูแลรักษาผลประโยชน์ของตนเอง โดยเฉพาะสิ ทธิ ข�นั พื�นฐาน เช่น การซื� อขายหลักทรัพย์ การมีส่วนแบ่งกําไร การเข้าร่ วมประชุ มแสดงความคิ ดเห็น ให้ขอ้ เสนอแนะ และออกเสี ยงลงมติในที� ประชุมผูถ้ ือหุ ้น สิ ทธิ ร่วมตัดสิ นใจในเรื� องสําคัญ สิ ทธิ ในการเลือกตั�งคณะกรรมการบริ ษทั ตลอดจนสิ ทธิ ในการได้รับรู ้ขอ้ มูลข่าวสาร อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส ทันเวลา เป็ นต้น และในปี ที�ผ่านมาบริ ษทั ฯ ไม่ได้กระทําการใดๆ อันเป็ นการลิดรอน สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุน้ 1.1 การดําเนิ นการในวันประชุมผูถ้ ือหุน้ คณะกรรมการบริ ษทั จัดให้มีการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ภายใน 4 เดือน นับแต่วนั สิ� นสุ ดรอบระยะบัญชีของ บริ ษทั ฯ ในปี 2560 บริ ษทั ฯ ได้จดั ให้มีการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ ในวันที� 11 เมษายน 2560 ณ ห้องมณฑาทิพย์ ชั�น 1 โรง แรมอนันตรา สยาม กรุ งเทพฯ เลขที� 155 ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ ตั�งแต่เวลา 10.30 น. - 12.55 น. และได้จดั ส่ งหนังสื อเชิ ญประชุม ข้อมูลประกอบการประชุม พร้อมความเห็นของคณะกรรมการตามวาระต่างๆ ถึงผู ้ ถือหุน้ ล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 21 วัน เพื�อเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ น้ มีเวลาศึกษาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างละเอียด และมีการอํานวย มีขนาด ความสะดวกให้ผถู ้ ือหุน้ ในการมาร่ วมประชุมผูถ้ ือหุ น้ จัดเตรี ยมสถานที�และห้องประชุมที�เข้าถึงได้สะดวก เหมาะสมในการรับรองผูเ้ ข้าประชุม และในกรณี ที�ผถู้ ือหุน้ ไม่สามารถมาร่ วมประชุมด้วยตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้ 1 16
2560
ผูอ้ ื�นเข้าประชุมและลงมติแทนได้ โดยเปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามกรรมการผูเ้ ข้าร่ วมประชุม ซึ� งกรรมการได้ช� ีแจงและตอบข้อซักถามของผูถ้ ือหุ น้ อย่างทัว� ถึง และมีการบันทึ กการประชุมไว้ถูกต้องครบถ้วน และได้ เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ ติดต่อสื� อสารกันโดยไม่มีการกีดกันผูถ้ ือหุน้ แต่อย่างใด อันเป็ นการลิดรอนสิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ 1.2 จัดทํารายงานการประชุม และการเปิ ดเผยมติที�ประชุมผูถ้ ือหุน้ ในการประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี 2560 บริ ษ ทั ฯ ได้จดั ประชุ มโดยมีข� นั ตอนการประชุ มเป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ มีกรรมการเข้าร่ วมประชุม รวมทั�งสิ� น 8 คน โดยปกติในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครั�ง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจ้ ดั การ ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชีและการเงิน รวมถึงผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ ได้เข้าร่ วมชี�แจงตอบข้อซักถามของผูถ้ ือหุน้ ด้วยเสมอ ในปี 2560 กรรมการสามารถเข้าร่ วมประชุมได้ทุกคน ประธานที�ประชุมได้จดั สรรเวลาให้อย่างเหมาะสม และส่ งเสริ มให้ผถู้ ือหุ ้นมีโอกาสเท่าเทียมกันในการแสดงความเห็น ข้อเสนอแนะ ตั�งคําถามต่อที�ประชุมตามระเบียบวาระการประชุม และเรื� องที� เสนอไม่มีการเพิ�มวาระอื�นๆ ที�ไม่ได้ระบุไว้ ในหนังสื อนัดประชุมผูถ้ ือหุ ้น และได้บนั ทึ กประเด็นซักถามข้อคิดเห็ นที�สําคัญไว้ในรายงานการประชุมที� มีการจัดทํา อย่างถูกต้องครบถ้วนเสร็ จสมบูรณ์ในเวลาที�เหมาะสม และเปิ ดเผยมติ ที�ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นให้สาธารณชนทราบถึงผลการ ลงคะแนนเสี ยงหลังจากประชุมเสร็ จ และมีระบบการจัดเก็บรายงานการประชุมผูถ้ ือหุ ้นที�ดีสามารถตรวจสอบและอ้างอิง ได้ ซึ� งได้บนั ทึ กการชี� แจงขั�นตอนการลงคะแนน และวิธีการแสดงผลคะแนนไว้ในรายงานการประชุ มผูถ้ ือหุ ้นอย่าง ละเอียด และในปี ที� ผ่านมาได้เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุน้ ส่ งคําถามได้ล่วงหน้า โดยผ่านเลขานุ การบริ ษทั ฯ และส่ งเสริ มให้มี การนําเทคโนโลยีมาใช้ในการลงทะเบียน การนับคะแนน การแสดงผล และเปิ ดเผยไว้ในรายงานการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น หลังจากประชุมเสร็ จ มีการเปิ ดเผยผลการลงคะแนนของตลาดหลักทรัพย์ฯ และแจ้งข่าวไว้บนเว็บไซต์บริ ษทั ฯ ในวันทํา การถัดไป พร้อมนําภาพบรรยากาศการประชุมเปิ ดเผยไม่เกิน 1 สัปดาห์ คณะกรรมการของบริ ษทั ได้จดั ทํารายงานของคณะกรรมการไว้ในรายงานประจําปี เสนอต่อผูถ้ ือหุ ้น โดย อธิ บายถึ งความรั บผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ควบคู่ไปกับรายงานทางการเงิน โดยมี เนื� อหาครอบคลุมในเรื� อง สําคัญๆ ตามข้อแนะนําของตลาดหลักทรัพย์ฯ 2. การปฏิบัตติ ่ อผู้ถือหุ้นอย่ างเท่ าเทียมกัน คณะกรรมการบริ ษทั ได้ตระหนักและให้ความสําคัญแก่ผถู ้ ือหุ ้นทั�งรายใหญ่และรายย่อย สนับสนุนให้ใช้ สิ ทธิ ดูแลรักษาผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ อย่างเท่าเทียมกันในด้านต่างๆ ดังนี� 2.1 การให้ขอ้ มูลก่อนการประชุมผูถ้ ือหุน้ ในการประชุมผูถ้ ือหุน้ ทุกครั�ง บริ ษทั ฯได้จดั ส่ งหนังสื อนัดประชุม พร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุม ที�มีรายละเอียดครบถ้วน เพียงพอ ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ทุกรายล่วงหน้าก่อนวันประชุมเกินกว่าระยะเวลาที�กฎหมายกําหนด ในปี 2560 กรณี ไปรษณี ยล์ งทะเบียนเกิน 14 วัน และนําขึ�นไว้บนเว็บไซต์บริ ษทั ฯ ก่อนประชุม 31 วัน (10 มีนาคม 2560) เพื�อ เปิ ดโอกาสให้ผถู ้ ือหุ ้นมีโอกาสศึ กษาข้อมูลดังกล่าวได้อย่างละเอียด ในกรณี ที�ผถู ้ ื อหุ ้นไม่สามารถเข้าร่ วมประชุ มด้วย ตนเองก็สามารถมอบฉันทะให้ผอู ้ ื�นเข้าร่ วมประชุมและลงมติแทนได้ และบริ ษทั ฯได้เสนอชื� อกรรมการรวม 2 คน คื อ นายพิพิธ พิชัยศรทัต และนายกิ ตติ พล ปราโมช ณ อยุธยา เป็ นผูร้ ั บมอบฉันทะ รู ปแบบหนังสื อมอบฉันทะของบริ ษทั ฯ สามารถสนองตอบความต้องการของผูถ้ ือหุ ้นในการกําหนดทิ ศทางการลงคะแนนได้เป็ นอย่างดี และแจ้งให้ผถู ้ ือหุ ้น ทราบถึงขั�นตอนสิ ทธิ และกฎเกณฑ์ต่างๆ ที�ใช้ในการประชุม 2.2 การคุม้ ครองสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ส่ วนน้อย 2 2560
17
เพื�อความเท่าเทียมกันของผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั ฯ ได้เผยแพร่ ขอ้ มูลบนเว็บไซต์บริ ษทั ฯ ให้ผถู ้ ือหุน้ ทราบถึงสิ ทธิ และวิธีการเสนอเพิ�มวาระล่วงหน้า 3 เดือน และเสนอชื� อบุคคลเพื�อเข้าดํารงตําแหน่งกรรมการต่อคณะกรรมการบริ ษทั หรื อคณะกรรมการสรรหาฯ รวมทั�งการกําหนดระยะเวลาสิ� นสุ ดการเสนอเพิ� มวาระและเสนอชื� อบุ ค คล เพื� อให้ คณะกรรมการบริ ษทั พิจารณาได้ว่า จะบรรจุหรื อไม่บรรจุเป็ นวาระในหนังสื อนัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั ฯ ไม่เคย เสนอเพิ�มวาระการประชุมโดยไม่แจ้งให้ผถู้ ือหุ ้นทราบล่วงหน้า และในวาระที�เลือกตั�งกรรมการบริ ษทั ได้มีการลงมติ เลือกกรรมการเป็ นรายบุคคล และในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้นประจําปี 2560 ผูถ้ ือหุ ้นหลายรายได้มอบอํานาจให้ กรรมการที�บริ ษทั ฯ เสนอเป็ นผูร้ ับมอบอํานาจให้ออกเสี ยงแทนด้วย 2.3 การป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน และป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษทั ฯ ยึดมัน� และคํานึงถึงผลประโยชน์สูงสุ ดของลูกค้า และบริ ษทั ฯ ได้ให้ความสําคัญเกี�ยวกับรายการที� อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายการเกี�ยวโยง และรายการระหว่างกันที�ไม่เหมาะสม โดยกําหนดนโยบายให้มีการ ทํารายการอย่างเป็ นธรรมเช่นเดียวกับบุคคลทัว� ไป ตามราคาตลาด และตามปกติธุรกิจการค้าที�แข่งขันได้ โดยผ่านการ อนุ มตั ิ จากคณะกรรมการบริ ษทั ที� ชดั เจน โปร่ งใส และยุติธรรมตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดีตามกฎระเบียบที� เกี�ยวข้อง และตามหลักเกณฑ์ที�บริ ษทั ฯ กําหนด ทั�งนี� ได้แจ้งให้คณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารรับรองว่าไม่ได้กระทํา การใดๆ อันจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อบริ ษทั ฯ และส่ งให้ผสู ้ อบบัญชีรับทราบเป็ นประจําทุกปี บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดนโยบายและวิธีดูแลไม่ให้ผบู ้ ริ หารและผูท้ ี�เกี�ยวข้องนําข้อมูลภายในของบริ ษทั ฯ ไปใช้ เพื�อประโยชน์ส่วนตน ดังนี� - ห้ามไม่ให้ผบู ้ ริ หารหรื อหน่วยงานที� ได้รับทราบข้อมูลภายใน เปิ ดเผยข้อมูลภายในแก่บุคคลภายนอก หรื อ บุคคลที� ไม่มีหน้าที�เกี�ยวข้อง และต้องไม่ซ�ื อขายหลักทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ในช่วง 1 เดือนก่อนที�งบการเงินเผยแพร่ ต่อ สาธารณชน ในระหว่างปี ที� ผ่านมากรรมการและผูบ้ ริ หารได้ปฏิ บตั ิตามนโยบายอย่างเคร่ งครัด และคณะกรรมการได้ พิจารณารายการที�อาจมีความความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างรอบคอบทุกครั�ง ตามหลักเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และได้เปิ ดเผยรายละเอียดไว้ในรายงานประจําปี และแบบ 56-1 - กําหนดให้ผูบ้ ริ หารรายงานการเปลี�ย นแปลงการถือหลักทรัพย์ต่อสํานักงานกํากับหลักทรั พย์และตลาด หลักทรัพย์ตามมาตรา 59 แห่ งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ� งกรรมการได้ถือปฏิบตั ิอย่าง สมํ�าเสมอ อย่างน้อยรายงานคณะกรรมการบริ ษทั ทราบทุกไตรมาส - กําหนดให้ผบู ้ ริ หารรายงานการมีส่วนได้เสี ยสําหรับการพิจารณาเรื� องต่างๆ โดยผูท้ ี� มีส่วนได้เสี ยจะไม่เข้า ร่ วมประชุม หรื อถ้าเข้าร่ วมประชุมก็ตอ้ งงดออกเสี ยง และบันทึกไว้ในรายงานการประชุม 3. บทบาทของผู้มีส่วนได้เสี ย บริ ษทั ฯ ตระหนักดีวา่ แรงสนับสนุนจากผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่มทั�งลูกค้า บริ ษทั คู่คา้ เจ้าหนี� เจ้าหน้าที�ภาครัฐ และหน่ วยงานอื�นๆ ที� เกี� ยวข้อง คู่แข่ ง ผูถ้ ื อหุ ้น ตลอดจนผูบ้ ริ หารและพนักงานช่ วยสร้างความสามารถในการแข่งขัน สร้างกําไร และสร้างความสําเร็ จในระยะยาวให้กบั บริ ษทั ฯ ดังนั�น การให้ความสําคัญต่อสิ ทธิ ผมู้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ไม่ ว่าจะเป็ นผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายใน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยภายนอก บริ ษทั ฯ กําหนดเป็ นนโยบายไว้ในคู่มือจรรยาบรรณและแจก ให้แก่พนักงานทุกคนเพื�อปฏิบตั ิ ตามข้อกําหนดของกฏหมายและกฎระเบี ยบต่างๆที�เกี�ยวข้อง เพื�อให้สิทธิ ของผูม้ ีส่วนได้ เสี ยเหล่านี�ได้รับการดูแลอย่างดี และในปี ที�ผ่านมาบริ ษทั ฯ ได้ปฏิบตั ิตามแนวนโยบายที�มีต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยสรุ ปประเด็น สําคัญได้ ดังนี� 1. ผูถ้ ือหุน้ นอกจากสิ ทธิข� นั พื�นฐาน สิ ทธิ ที�กาํ หนดไว้ในกฎหมายและข้อบังคับบริ ษทั สิ ทธิ ในการเข้าร่ วม 3 18
2560
ประชุ มและออกเสี ยงลงคะแนน สิ ทธิ ในการแสดงความคิ ดเห็ นอย่างเป็ นอิสระ และสิ ทธิ ในการเสนอแนะข้อคิ ดเห็ น ต่างๆ ที�เกี�ยวกับการดําเนินธุรกิจ และสิ ทธิที�จะได้รับผลตอบแทนอย่างเป็ นธรรม 2. ลูกค้า บริ ษทั ฯ มีความมุ่งมัน� ให้ลกู ค้าได้รับประโยชน์สูงสุ ดเริ� มตั�งแต่การให้ขอ้ มูลที�ถกู ต้องเพียงพอต่อ การตัดสิ นใจส่ งมอบสิ นค้าที� มีคุณภาพ และบริ การที� ดีรวมทั�งจัดให้มีระบบ และช่ องทางให้ลูกค้าร้องเรี ยนเกี� ยวกับ คุณภาพของสิ นค้า และบริ การ 3. พนักงาน บริ ษทั ฯให้ความสําคัญกับพนักงานโดยถื อว่าเป็ นทรั พยากรที� มีคุณค่า และมุ่งมัน� จะให้ พนักงานมีความภาคภูมิใจในองค์กร ส่ งเสริ มให้พฒั นาศักยภาพของพนักงานทั�งองค์กรอย่างต่อเนื� อง ตามบทบาทหน้าที� ความรับผิดชอบ และให้ผลตอบแทนอย่างเป็ นธรรม รวมทั�งส่ งเสริ มให้พนักงานเป็ นคนดีมีคุณธรรม และในปี ที� ผ่านมา ได้จดั การฝึ กอบรมภายในให้กบั พนักงานทุกระดับ และมีการกําหนดค่าตอบแทนตามผลการปฏิบตั ิงานของพนักงาน มี สวัสดิการให้กบั พนักงานอย่างเหมาะสม มีนโยบายการส่งเสริ มความปลอดภัย สุ ขอนามัยในสถานที�ทาํ งานทุกโครงการ จัดกิจกรรมฝึ กอบรมด้านสิ� งแวดล้อม ด้านพัฒนาชุมชน สังคม ประเพณี วฒั นธรรม และมีกองทุนสํารองเลี�ยงชี พให้กบั พนักงานด้วย 4. คู่คา้ และ คู่แข่ง มีเกณฑ์การคัดเลือกอย่างเหมาะสมทั�งด้านคุณภาพของสิ นค้า จรรยาบรรณของการทํา ธุรกิจ ส่ วนคู่แข่งทางการค้า บริ ษทั ฯ ไม่มีขอ้ พิพาทใดๆ ที�เป็ นการทําลายภาพลักษณ์ของคู่แข่งเลย 5. เจ้าหนี� บริ ษทั ฯ ปฏิ บตั ิ ตามกรอบการแข่ งขันทางการค้าที� สุ จริ ต โดยยึ ดถื อการปฏิ บัติตามสัญญา จรรยาบรรณ และคํามัน� สัญญาที�ให้ไว้กบั คู่คา้ และเจ้าหนี� และทําธุรกิจอย่างเป็ นธรรมเสมอภาค 6. สิ ทธิ มนุษยชน บริ ษทั ฯ ส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคนเคารพซึ� งกันและกัน และไม่ทาํ การใดๆ ที�เป็ นการ ละเมิดสิ ทธิ มนุษยชนรวมทั�งการจ้างแรงงานเด็ก 3.1 รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการของบริ ษทั ได้จดั ทํารายงานของคณะกรรมการไว้ในรายงานประจําปี เสนอต่อผูถ้ ือหุ น้ โดย อธิ บายถึงความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ควบคู่ไปกับรายงานทางการเงิน โดยมีเนื� อหาครอบคลุมในเรื� อง สําคัญๆ ตามข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และกฎหมายที�เกี�ยวข้อง ทั�งนี�บริ ษทั ฯ ได้จดั ทํานโยบายต่างๆ เพื�อให้เป็ นไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที�ดี และได้เปิ ดเผยไว้ ดังนี� นโยบาย และแนวปฏิบัตดิ ้ านทรัพย์สินทางปัญญา บริ ษทั ฯ ดําเนินธุรกิจ และส่ งเสริ มให้พนักงานปฏิบตั ิหน้าที�ภายใต้กฎหมาย หรื อข้อกําหนดที� เกี�ยวกับสิ ทธิ ใน ทรัพย์สินทางปัญญา ไม่วา่ จะเป็ นเครื� องหมายการค้า สิ ทธิ บตั ร ลิขสิ ทธิ� ความลับทางการค้า และทรัพย์สินทางปั ญญาด้าน อื�นที� กฎหมายกําหนด เช่น การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที�มีลิขสิ ทธิ� ถูกต้องโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ทุกชนิ ดจะต้อง ผ่านการตรวจสอบ และลงโปรแกรมโดยฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั�น ซึ� งนโยบายอันเกี� ยวกับพรบ.ว่าด้วยการ กระทําผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และแจ้งให้พนักงานรับทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร นโยบาย และแนวปฏิบัตดิ ้ านเคารพกฎหมาย และหลักสิ ทธิมนุษยชน คณะกรรมการบริ ษทั สนับสนุน และเคารพการปกป้ องสิ ทธิ มนุ ษยชน ดูแลมิให้ธุรกิจของบริ ษทั พนักงาน ตลอดจนผูม้ ีส่วนเกี� ยวข้อง มิให้เข้าไปมีส่วนร่ วมในการล่วงละเมิดสิ ทธิ มนุ ษยชนโดยไม่มีการบังคับใช้แรงงาน หรื อ แรงงานเด็ก ไม่มีการใช้แรงงานต่างด้าวที�ผิดกฎหมาย ให้ความเคารพนับถือ และปฏิ บตั ิ ต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ ายด้วย ความเป็ นธรรมบนพื�นฐานของศักดิ�ศรี ความเป็ นมนุษย์ โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่แบ่งแยกถิ�นกําเนิ ด เชื�อชาติ เพศ อายุ สี ผิว 4 2560
19
ศาสนา สภาพร่ างกาย ฐานะ และบริ ษทั ฯ เคารพในเกียรติของพนักงาน โดยจะดําเนินการเพื�อรับประกันว่า พนักงานจะมี สิ ทธิ ในด้านความปลอดภัยส่ วนบุคคล ตลอดจนมีสิทธิ ที�จะมีสถานที� ทาํ งานที� สะอาดปลอดภัย ถูกสุ ขลักษณะ รวมถึง ปราศจากการล่วงละเมิด หรื อการข่มเหงทุกรู ปแบบ และใช้หลักความยุติธรรมในการบริ หารจัดการเกี�ยวกับค่าจ้าง และ ผลประโยชน์ของพนักงานและไม่เลือกปฏิบตั ิ นโยบาย ด้ านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ� งแวดล้อม คณะกรรมการบริ ษ ัท ตระหนักถึ งความปลอดภัย อาชี วอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํา งานของ พนักงานทุกระดับ ซึ� งผูป้ ฏิบตั ิงานทุกคนของบริ ษทั จะต้องได้รับความปลอดภัย มีสุขภาพอนามัยที�ดี ภายใต้สภาพการ ทํางาน และสิ� งแวดล้อมที�ดี และจัดหาเครื� องมือ เครื� องใช้ที�มีสภาพปลอดภัย รวมถึงการส่ งเสริ มให้ความรู ้แก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน และปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ เพราะถือว่าบุคลากรเป็ นทรัพยากรที�มีคุณค่าสู งสุ ดขององค์กร นโยบาย และแนวปฏิบัตดิ ้ านการต่อต้ านการทุจริ ต และการทุจริตคอร์ รัปชั�น คณะกรรมการบริ ษทั ได้ตระหนัก และให้ความสําคัญโดยสนับสนุนให้บริ ษทั ฯ เข้าร่ วมเป็ นบริ ษทั ที� ประกาศ เจตนารมณ์เป็ นแนวร่ วมปฏิบตั ิ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนเพื�อให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงาน ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้เสี ยร่ วมมือกันต่อต้านการทุจริ ตในทุกภาคส่ วน รวมทั�งพนักงานในองค์กรเพื�อช่วยกันในการป้ องกัน การทุจริ ต เบื�องต้นได้จดั ทําเป็ นนโยบายและประกาศใช้เมื�อวันที� 14 พฤศจิกายน 2556 และแจ้งให้พนักงานทุกระดับ นําไปปฏิบตั ิ เพื�อผลประโยชน์สูงสุ ดของผูม้ ีส่วนเกี�ยวข้องทุกฝ่ าย และจะพัฒนาโดยจะกําหนดแนวทางการประเมิน การ กํากับดูแลป้ องกันติดตามนโยบายที�วางไว้ต่อไป นอกจากนี� บริ ษทั ฯ ยังเน้นให้ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยทุกคนร่ วมมือร่ วมใจกันรักษาผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ ทํางาน เป็ นที มมีเป้ าหมายร่ วมกัน ลดความสู ญเปล่าและด้อยประสิ ทธิ ภาพ พบเห็นสิ� งใดที� ไม่ควรให้แจ้งบริ ษทั ฯ ทางจดหมาย โทรศัพท์ อีเมล์ หรื อเว็บไซต์ รับข้อร้องเรี ยน https://sammakorn.co.th/Whistleblower.pdf หรื อแจ้งต่อกรรมการอิสระ ในลักษณะของ Whistle Blower เพื�อให้กรรมการอิสระเป็ นผูพ้ ิจารณาดําเนิ นการ และมีกระบวนการในการปกป้ อง พนักงานผูร้ ้องเรี ยน เป็ นผลให้บริ ษทั ฯ ดําเนิ นธุรกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพ มีคุณธรรม โปร่ งใส และมีจรรยาบรรณ เป็ นการ สร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้างผลกําไรอีกทางหนึ�ง 4. การเปิ ดเผยข้ อมูล และความโปร่ งใส 4.1 การเปิ ดเผยข้อมูล คณะกรรมการบริ ษ ทั มี นโยบายให้มีการเปิ ดเผยข้อมูล ข่ าวสารของบริ ษ ัทฯ ต่ อผูถ้ ื อหุ ้น ผูล้ งทุ น และ สาธารณชนทัว� ไปด้วยความโปร่ งใส ถูกต้อง ครบถ้วน ทัว� ถึง เพียงพอ ทันเวลาตามเกณฑ์ที�ตลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนดไว้ บนเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ ส่ วนงานนักลงทุ นสัมพันธ์ ซึ� งสามารถตรวจสอบได้ เพื�อให้ผใู้ ช้ขอ้ มูลได้รับประโยชน์ในการ ประกอบการตัดสิ นใจลงทุ นมากที� สุดโดยจัดให้มีผบู ้ ริ หาร และเจ้าหน้าที� รับผิดชอบงานเกี� ยวกับผูล้ งทุนสัมพันธ์เป็ น ตัวแทนในการให้ขอ้ มูล และสื� อสารกับผูล้ งทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ทวั� ไป เพื�อให้มีความชัดเจนและโปร่ งใส และในปี ที�ผา่ นมามีการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสาร โดยผ่านสื� อมวลชนเป็ นครั�งคราว และได้มีการเปิ ดเผยสารสนเทศรายงาน ข้อมูลทางการเงิ นอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และภายในกํา หนดเวลาที� กฎหมายกําหนด ทั�งนี� ผูล้ งทุ นสามารถติ ดต่ อ นางไข่มุก พราหมณี ย ์ เลขานุการบริ ษทั และนางสาวอิสรี ยา สดมณี หมายเลขโทรศัพท์ 0 2106 8300 หรื อ E-mail address: khaimook.p@sammakorn.co.th, issareeya.s@sammakorn.co.th
20
2560
5
งบการเงิ นของบริ ษทั ฯ และสารสนเทศทางการเงิ นที� ปรากฏในรายงานประจําปี และเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ www.sammakorn.co.th จัดทําขึ� นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ น โดยเลือกใช้นโยบายบัญชีที�เหมาะสมและถื อ ปฏิบตั ิอย่างสมํ�าเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที� ดีที�สุดในการจัดทํารวมทั�งมีการเปิ ดเผยข้อมูล สําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื�อเป็ นประโยชน์ต่อผูถ้ ือหุ น้ และผูล้ งทุนทัว� ไป ที�จะได้รับทราบ ข้อมูลที� แสดงฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงานที� ครบถ้วนเป็ นจริ งและสมเหตุสมผล ซึ� งคุณภาพของรายงานทางการ เงินปรากฏอยู่ในรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินในรายงานประจําปี ในการนี� คณะกรรมการบริ ษทั ได้แต่งตั�งคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ� งประกอบด้วยกรรมการที�มีความเป็ น อิสระและไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร เป็ นผูด้ ูแลเกี�ยวกับคุณภาพของรายงานทางการเงินและระบบควบคุมภายใน ความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบเกี�ยวกับเรื� องนี� ปรากฏในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบซึ� งแสดงไว้ในรายงานประจําปี แล้ว คณะกรรมการบริ ษทั มีความเห็นว่าระบบควบคุมภายในของบริ ษทั โดยรวมอยู่ในระดับที�น่าพอใจและสามารถสร้าง ความเชื�อมัน� อย่างมีเหตุผลต่อความเชื�อถือได้ของงบการเงินของบริ ษทั ฯ ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 4.2 ข้อมูลที�เปิ ดเผยบนเว็บไซต์บริ ษทั คณะกรรมการบริ ษ ทั ได้ส่ งเสริ มให้มีการเปิ ดเผยข้อมูลเพิ� มเติม นอกจากการเผยแพร่ ขอ้ มูลตามเกณฑ์ที� กําหนด และผ่านช่องทางของตลาดหลักทรัพย์ฯ แบบแสดงรายการข้อมูลประจําปี (แบบ 56-1) และรายงานประจําปี แล้ว และให้มีการเปิ ดเผยข้อมูล ผ่านช่องทางอื�นๆ ด้วย เช่น Website ของบริ ษทั ฯ และนําเสนอข้อมูลที�เป็ นปัจจุบนั ข้อมูลขั�น ตํ�าที�บริ ษทั ฯเปิ ดเผยบน website ของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยข้อมูลดังต่อไปนี� - วิสัยทัศน์ และพันธกิจของบริ ษทั ฯ - ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริ ษทั ฯ - รายชื�อคณะกรรมการ และผูบ้ ริ หาร - งบการเงิน และรายงานเกี�ยวกับฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานทั�งฉบับปัจจุบนั และปี ก่อนหน้า - แบบรายงาน 56-1 และรายงานประจําปี ที�สามารถให้ดาวน์โหลดได้ - ข้อมูล หรื อเอกสารอื�นใดที�บริ ษทั ฯ นําเสนอต่อนักวิเคราะห์ผจู ้ ดั การกองทุน หรื อสื� อต่างๆ - โครงสร้างการถือหุ ้นทั�งทางตรง และทางอ้อม - โครงสร้างกลุ่มบริ ษทั รวมถึงบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม - กลุ่มผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ท� งั ทางตรง และทางอ้อมที�ถือหุ ้นตั�งแต่ร้อยละ 5 ของจํานวนหุน้ ที�จาํ หน่ายได้แล้ว ทั�งหมดและมีสิทธิออกเสี ยง - การถือหุน้ ของผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง - หนังสื อเชิ ญประชุมสามัญผูถ้ ือหุ น้ และวิสามัญผูถ้ ือหุน้ - ข้อบังคับบริ ษทั หนังสื อบริ คณห์สนธิ - นโยบายด้านการกํากับดูแลกิจการที�ดีของบริ ษทั ฯ - นโยบายด้านบริ หารความเสี� ยง รวมถึงวิธีการจัดการความเสี� ยงด้านต่างๆ - กฎบัตรหรื อหน้าที�ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั รวมถึงเรื� องที�ตอ้ งได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริ ษทั - กฎบัตรกําหนดหน้าที�ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ วาระการดํารงตําแหน่ งของคณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริ หารความเสี� ยง คณะกรรมการสรรหา และพิจารณา 6 2560
21
ค่าตอบแทน และคณะกรรมการกํากับดูแลกิจการที�ดี - จรรยาบรรณสําหรับพนักงาน และกรรมการของบริ ษทั 4.3 นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริ ษทั ฯ มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ในอัตราประมาณร้อยละ 60 ของกําไรสุ ทธิ ทั�งนี� บริ ษทั ฯ คาดว่าจะมีการจ่ายเงินปั นผลสําหรับปี ต่อไปตามปกติทุกปี ตามที�คณะกรรมการเห็นสมควรและเหมาะสม โดยต้องให้ผู ้ ถือหุน้ ได้รับประโยชน์อย่างสูงสุ ด 5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5.1 โครงสร้างของคณะกรรมการบริ ษทั 5.1.1 องค์ประกอบของคณะกรรมการและความเป็ นอิสระ คณะกรรมการบริ ษทั คัดเลือกมาจากผูท้ ี� มีความรู ้ความสามารถ และมีประสบการณ์กว้างขวางในสาขาต่างๆ และกําหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการบริ ษทั ให้มีจาํ นวนที� เหมาะสม และมีความสมดุลในการกํากับดูแลธุ รกิ จ ต่างๆ ของบริ ษทั ฯ คือ ไม่นอ้ ยกว่า 5 คน และไม่เกิ น 12 คน ซึ� งในปั จจุ บนั บริ ษทั ฯ มีกรรมการทั�งหมด จํานวน 7 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 3 คน เป็ นไปตามข้อกําหนดของ ก.ล.ต. และเพื�อให้มีการถ่วงดุลระหว่างกรรมการที�ไม่เป็ น ผูบ้ ริ หารกับกรรมการที�เป็ นผูบ้ ริ หาร บริ ษทั มีกรรมการที�ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร 3 คน กรรมการบริ หาร 4 คน ทั�งนี� ไม่ได้กาํ หนด จํานวนบริ ษทั จํากัดที�กรรมการแต่ละคนจะเข้าไปดํารงตําแหน่งกรรมการ เว้นแต่กาํ หนดให้กรรมการไปดํารงตําแหน่ ง กรรมการในบริ ษทั จดทะเบียนไม่เกิน 5 บริ ษทั ซึ� งไม่มีกรรมการท่านใดดํารงตําแหน่งเกินในบริ ษทั จดทะเบี ยน และแต่ ละท่านได้ปฏิบตั ิหน้าที�และให้เวลาบริ หารงานของบริ ษทั อย่างเพียงพอที�บริ ษทั ฯ กําหนด 5.1.2 คุณสมบัติและการคัดเลือกกรรมการ คณะกรรมการสรรหา และพิ จ ารณาค่ าตอบแทน มี ห น้า ที� ส รรหาผูท้ ี� ส มควรได้รั บการแต่ งตั�งทดแทน กรรมการ ฝ่ ายจัดการ และที� ปรึ กษา ที�พน้ จากตําแหน่ งเสนอต่อคณะกรรมการบริ ษทั และ/หรื อที� ประชุมผูถ้ ือหุ น้ เพื�อลง มติแต่งตั�งโดยพิจารณาคัดเลือกบุคคลที� มีประสบการณ์ ความรู้ และความเชี�ยวชาญ จากหลายสาขาอาชีพ จากผูท้ ี�มีภาวะ ผูน้ าํ มีวิสยั ทัศน์ เป็ นผูม้ ีคุณธรรม มีจริ ยธรรม ประวัติการทํางานดี และมีความสามารถในการการแสดงความคิดเห็นอย่าง เป็ นอิสระ 5.1.3 เลขานุการบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีเลขานุการบริ ษทั ตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ (ฉบับที� 4) พ.ศ. 2551 มาตรา 89/15 เพื�อปฏิ บตั ิ หน้าที�ตามกฎหมายในการจัดทําและเก็บรักษาเอกสารสําคัญของบริ ษทั ฯ ได้แก่ ทะเบี ยนกรรมการหนังสื อนัดประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุ น้ รายงานประจําปี และ เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสี ยของกรรมการ และผูบ้ ริ หาร จัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และการประชุมผูถ้ ือหุ น้ และดําเนิ นการอื� นๆ ตามที� คณะกรรมการกํา กับตลาดทุ นประกาศกําหนด และยังทํา หน้าที� ให้คาํ แนะนําเกี� ยวกับ กฎระเบียบต่างๆ และที�คณะกรรมการบริ ษทั ควรรับทราบและปฏิบตั ิ ตลอดจนดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั�งประสานงานให้มีการปฏิบตั ิตามมติคณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ อย่างถูกต้องครบถ้วน 5.2 กรรมการอิสระ บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดนิ ยามกรรมการอิสระของบริ ษทั ฯ เท่ากับข้อกําหนดขั�นตํ�าของ ก.ล.ต. หรื อตลาด หลักทรั พย์ฯในเรื� องการถือหุ น้ ในบริ ษทั คื อ ต้องถือหุ ้นในบริ ษทั ฯไม่เกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุ ้นที� มีสิทธิ ออกเสี ยง 7 22
2560
ทั�งหมด และไม่ได้บริ หารจัดการบริ ษทั ฯ หรื อบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ฯ เป็ นอิสระต่อการบริ หารจัดการจากผูถ้ ือหุ น้ ใหญ่ และไม่มีธุรกิจกับบริ ษทั ฯ ซึ� งอาจทําให้ผลประโยชน์ของบริ ษทั ฯ และ/หรื อ ผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นต้องลดลง โดย บริ ษทั ฯได้กาํ หนดคุณสมบัติไว้ ดังนี� 1. ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 1 ของจํานวนหุ น้ ที�มีสิทธิ ออกเสี ยงทั�งหมดในบริ ษทั ซึ� งรวมถึงหุ น้ ที�ถือโดยบุคคลที� เกี� ยวข้องของหุ ้นที� ออกโดยบริ ษ ทั ฯ หรื อบริ ษ ทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม หรื อบริ ษ ทั ที� เกี� ยวข้อง ในกรณี ที�เป็ นกรรมการใน คณะกรรมการตรวจสอบการถือหุน้ ดังกล่าวจะจํากัดไม่ให้เกินร้อยละ 0.5 2. ต้องไม่มีส่วนเกี� ยวข้องกับการบริ หารจัดการวันต่อวัน หรื อเป็ นพนักงาน/ลูกจ้าง/ที� ปรึ กษาที� ได้รับเงิ น เดือนประจํา/ผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิ ติบุคคลที� อาจมีความขัดแย้ง ในเวลา 2 ปี ก่อนได้รับการแต่งตั�ง 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิ ต หรื อโดยการจดทะเบียนในลักษณะที�เป็ นบิดามารดา คู่สมรส พี�นอ้ ง และบุตร รวมทั�งคู่สมรสของบุตร กับผูบ้ ริ หาร หรื อผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ผมู ้ ีอาํ นาจควบคุม หรื อบุคคลที�จะได้รับการเสนอชื�อ เป็ นผูบ้ ริ หารหรื อผูม้ ีอาํ นาจควบคุมของบริ ษทั หรื อบริ ษทั ย่อย 4. ไม่มีความสั มพันธ์ ทางธุ รกิ จกับบริ ษ ทั นิ ติบุ คคลหรื อบุ ค คลที� ถือว่า เข้าข่ ายไม่อิส ระตามข้อกําหนด กรรมการอิ ส ระและกรรมการตรวจสอบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรั พ ย์และตลาดหลักทรั พ ย์ ทั�ง ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริ การวิชาชีพ และความสัมพันธ์ทางการค้าทางธุ รกิ จทุกประเภท ตามข้อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์ เรื� องการทํารายการที� เกี�ยวโยงกัน ยกเว้นมีเหตุจาํ เป็ นและสมควรซึ� งมิได้เกิดขึ�นอย่างสมํ�าเสมอและ ต่อเนื�อง ต้องได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการบริ ษทั ก่อน และมติที�ได้ตอ้ งเป็ นมติเป็ นเอกฉันท์ 5. ไม่เป็ นกรรมการที� รับการแต่งตั�งขึ�นเพื�อเป็ นตัวแทนของกรรมการบริ ษทั ผูถ้ ือหุ น้ รายใหญ่ หรื อผูถ้ ือหุ น้ ซึ� งเป็ นผูเ้ กี�ยวข้องกับผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของบริ ษทั ฯ ยกเว้นได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ตดั สิ นใจในการ ดําเนินกิจการของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิ ติบุคคลที� อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสิ นในรู ปแบบองค์คณะ 6. ไม่เป็ นกรรมการที�ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริ ษทั ให้ตดั สิ นใจในการดําเนิ นกิจการของบริ ษทั บริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน หรื อนิ ติบุคคลที�อาจมีความขัดแย้ง 7. ไม่เป็ นกรรมการของบริ ษทั ใหญ่ บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ร่ วม และบริ ษทั ย่อยลําดับเดียวกัน 8. สามารถปฏิบตั ิ หน้าที� และแสดงความเห็นหรื อรายงานผลการปฏิ บตั ิงานตามหน้าที�ที�ได้รับมอบหมาย จากคณะกรรมการบริ ษทั ได้โดยอิสระ ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของบริ ษทั ฯ รวมทั�ง ผูเ้ กี�ยวข้องหรื อญาติสนิทของบุคคลดังกล่าว บริ ษทั ฯ ได้กาํ หนดให้ประธานกรรมการและกรรมการผูจ้ ดั การ ต้องไม่เป็ นบุคคลคนเดียวกัน เพื�อแบ่งแยก บทบาทหน้าที�ให้ชดั เจน และเพื�อให้มีความสมดุลในอํานาจการดําเนิ นงานระหว่างผูน้ าํ ฝ่ ายนโยบาย และผูน้ าํ ฝ่ ายบริ หาร ปัจจุบนั ประธานกรรมการบริ ษทั เป็ นตัวแทนของผูถ้ ือหุน้ ลําดับที� 1 และลําดับที� 2 ที�แสดงไว้ในโครงสร้างการถือหุ ้นเป็ น ผูน้ าํ ของคณะกรรมการในฐานะผูน้ าํ ฝ่ ายนโยบาย ปฏิบตั ิหน้าที�ในฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั และ ในฐานะประธานการประชุมผูถ้ ือหุน้ ด้านบริ หารมีคณะกรรมการบริ หารเป็ นผูร้ ับผิดชอบกํากับดูแลโดยตรง มีหน้าที�ใน การวางกรอบนโยบายและกํากับดูแลการบริ หารงานประจํา โดยกําหนดขอบเขตหน้าที�ของฝ่ ายบริ หารในแต่ละระดับชั�น ไว้ชดั เจน สามารถตรวจสอบได้ง่าย ซึ� งที� ผ่านมาคณะกรรมการบริ ษทั ดูแลให้ปฎิบตั ิตามกฏระเบี ยบของหน่วยงานที� เกี�ยวข้องอย่างเคร่ งครัด และไม่มีการกระทําใดๆ ที�เป็ นการฝ่ าฝื นกฎระเบียบและข้อบังคับเลย 8 2560
23
คณะกรรมการบริ ษ ทั กําหนดให้มีการประชุ มโดยปกติ อย่างน้อยปี ละ 6 ครั�ง โดยจะกําหนดวันประชุมไว้ ล่วงหน้าตลอดปี อย่างชัดเจน แจ้งวาระการประชุมล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 14 วัน รวมทั�งมีการส่ งรายละเอียดประกอบวาระ การประชุมให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาและพิจารณาล่วงหน้าก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 7 วัน การพิจารณาวาระ ต่างๆ ประธานกรรมการเป็ นผูด้ ูแลให้ใช้เวลาในการประชุมอย่างเหมาะสม และเปิ ดโอกาสให้กรรมการแสดงความเห็ น อย่างอิสระ นอกจากนี�กรรมการที� ไม่เป็ นผูบ้ ริ หารมีการประชุมพิ เศษเพิ�มตามความจําเป็ น โดยไม่มีฝ่ายจัดการร่ วมด้วย พร้อมทั�งจัดทําและเปิ ดเผยอํานาจอนุมตั ิของคณะกรรมการบริ ษทั ให้ทราบ ในปี 2560 มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั รวม 7 ครั�ง และมีการประชุมคณะกรรมการชุดย่อยตามความ จําเป็ น โดยกรรมการบริ ษ ทั สามารถติ ดต่ อสื� อสารกับฝ่ ายบริ หารทุ กคนโดยตรง เพื� อซักถาม ปรึ กษาหารื อ และให้ ความเห็นในเรื� องที�เป็ นนโยบายและมติของคณะกรรมการบริ ษทั เพื�อให้ฝ่ายบริ หารได้ดาํ เนิ นการแต่ละเรื� องให้ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา เป็ นประโยชน์กบั ธุรกิจบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ได้จดั ให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการผูจ้ ดั การ คณะกรรมการโดยรวม และประเมิ นผลการปฏิ บตั ิงานตนเองทุ กปี และได้มีการแต่งตั�งเลขานุ การบริ ษทั ซึ� งทําหน้าที� ให้คาํ แนะนํากฎระเบี ยบ ต่างๆ ที�คณะกรรมการจะต้องทราบและปฏิบตั ิ ตลอดจนดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการบริ ษทั รวมทั�งประสานงานให้มี การปฏิ บตั ิตามมติคณะกรรมการบริ ษทั ซึ� งบทบาทหน้าที� ที�คณะกรรมการและเลขานุการกําหนดไว้ในแบบแสดงข้อมูล รายการประจําปี (แบบ 56-1) 5.3 คณะกรรมการชุดย่อย บริ ษทั ฯ กําหนดให้มีคณะกรรมการชุดย่อยเฉพาะเรื� องขึ�น เพื� อรับผิดชอบในการกํากับดูแลและกลัน� กรอง งานที� ต้อ งการความเชี� ย วชาญเฉพาะด้า นแทนคณะกรรมการบริ ษ ัท ได้แ ก่ คณะกรรมการบริ ห าร คณะกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และพิ จารณาค่ าตอบแทน คณะกรรมการบริ หารความเสี� ยง โดยมีวาระการดํารง ตําแหน่งคราวละ 3 ปี ตามวาระของการครองตําแหน่งกรรมการบริ ษทั และเมื�อครบกําหนดออกตามวาระแล้ว อาจได้รับ การพิจารณาจากคณะกรรมการบริ ษทั แต่งตั�งให้ดาํ รงตําแหน่งต่อไปได้ การประชุมคณะกรรมการชุดย่อยเป็ นไปตามภาระหน้าที�ความรับผิดชอบและความจําเป็ น เพื�อให้งานลุล่วง ตามเป้ าหมายและให้รายงานผลการปฏิบตั ิงานต่อคณะกรรมการบริ ษทั 5.3.1 คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการบริ หารกําหนดให้มีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั�ง กําหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้าตลอด ทั�งปี อย่างชัดเจนโดยทําหน้าที� กลัน� กรองนโยบาย กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริ หารงานรวมทั�งกํากับดูแลและบริ หาร จัดการต่างๆ เพื� อให้มนั� ใจว่าธุ รกิ จของบริ ษ ทั ฯมีการเติ บโตอย่างมัน� คงสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิ จและการแข่ งขัน พิจารณากําหนดแผนธุ รกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริ หารต่างๆ รวมถึงการตรวจสอบติ ดตามการดําเนิ นนโยบาย และแนวทางการบริ หารงานให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ติดตามผลการดําเนิ นงานและพิจารณากลัน� กรองโครงการ ลงทุนขนาดใหญ่ของบริ ษทั รวมทั�งดําเนิ นการอื�นตามที� คณะกรรมการบริ ษทั มอบหมาย และรายงานผลการดําเนินงาน ให้คณะกรรมการบริ ษทั ทราบเป็ นประจําทุกเดือน นอกจากนี� คณะกรรมการบริ หารอาจมีการประชุ มพิเศษเพิ�มตามความจําเป็ น ซึ� งในปี 2560 มีการประชุม คณะกรรมการบริ หารรวม 25 ครั�ง
24
2560
9
5.3.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบทําหน้าที� วางหลักเกณฑ์ การกํากับดูแลกิ จการที� ดี สอบทานกระบวนการจัดทํา รายงานฐานะการเงิน และกํากับการดําเนินงานของบริ ษทั ให้ถูกต้องตามนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนการปฏิบตั ิ ตามกฏหมายและข้อ กํา หนดของหน่ ว ยงานกํา กับ ดู แ ล ส่ ง เสริ ม ให้ พ ัฒ นาระบบงานทางการเงิ น ให้ เ ป็ นไปตาม มาตรฐานสากลและข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย เพื�อให้เกิดความน่าเชื� อถือ โปร่ งใส และตรวจสอบ ได้ โดยแต่งตั�งให้กรรมการ 1 คน คือ นางกุณฑลา ศศะสมิต เป็ นกรรมการที� มีความรู ้และประสบการณ์เพียงพอที�จะทํา หน้าที� ในการสอบทานความน่าเชื� อถือของงบการเงิน คณะกรรมการตรวจสอบยังทําหน้าที� ในการสอบทานให้บริ ษทั มี ระบบควบคุมภายในที�เพียงพอ มีระบบตรวจสอบภายในที� ได้มาตรฐาน และมีการประเมินระบบบริ หารความเสี� ยงที� มี ประสิ ทธิ ภาพ รัดกุม เหมาะสม ทันสมัย และมีการจัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ในรายงาน ประจําปี ของบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ มีความเป็ นอิ สระในการปฏิบตั ิหน้าที� และการแสดงความคิ ดเห็นต่างๆ โดยให้ หน่ วยงานตรวจสอบภายในของบริ ษทั ฯรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และให้มีสิทธิ ในการพิจารณาแต่งตั�ง โยกย้าย ถอดถอนหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน พิจารณาอนุมตั ิงบประมาณและกําลังพลของหน่วยงานตรวจสอบ ภายใน และมีสิทธิ จา้ งที�ปรึ กษาแนะนําทางวิชาชี พซึ� งเป็ นบุคคลภายนอกได้ นอกจากนี� ยังมีหน้าที�ในการพิจารณาผลการ ปฎิบตั ิงานและประสิ ทธิภาพของผูส้ อบบัญชี โดยเสนอคณะกรรมการบริ ษทั ให้ความเห็นชอบในการเสนอต่อที�ประชุมผู ้ ถือหุน้ ให้เปลี�ยนแปลงผูส้ อบบัญชี โดยแต่งตั�งผูส้ อบบัญชี บริ ษทั สํานักงาน อีวาย จํากัด เป็ นผูส้ อบบัญชี ของบริ ษทั ฯ ใน ปี 2560 ต่อไปอีก 1 ปี เป็ นปี ที� 12 ในอัตราค่าสอบบัญชีมากกว่าปี 2559 โดยกําหนดค่าตอบแทนในการสอบบัญชีและค่า สอบทานงบการเงิน เป็ นจํานวน 900,000 บาท และใช้ผสู้ อบบัญชีรายเดียวกับบริ ษทั ย่อยด้วย 5.3.3 คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ทําหน้าที�กาํ หนดหลักเกณฑ์ นโยบาย และวิธีการพิจารณา สรรหาผูท้ ี� มีความรู ้ ความสามารถ ชื� อเสี ย ง เกี ยรติ ประวัติที�ดีและประสบการณ์ เหมาะสมที� จะได้รั บการแต่ งตั�งเป็ น กรรมการบริ ษทั ฝ่ ายจัดการ และที� ปรึ กษาของบริ ษทั ทดแทนผูท้ ี� พน้ จากตําแหน่ ง รวมทั�งพิ จารณาทบทวนระบบการ ประเมินผลการปฎิ บัติหน้าที�ของคณะกรรมการบริ ษทั และมีหน้าที� ศึ กษา พิจารณา และติดตามการเปลี�ยนแปลงและ แนวโน้มของการเปลี�ยนแปลงในเรื� องผลตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร โดยพิจารณาผลสรุ ปข้อมูล ค่าตอบแทนกรรมการ และผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ที�ศูนย์พฒั นาการกํากับดูแลกิจการบริ ษทั จดทะเบี ยน ตลาดหลักทรั พ ย์ไ ด้จัด ทํา ขึ� น เปรี ย บเที ย บค่ า ตอบแทนของบริ ษ ัท อื� นตามขนาดของทุ น จดทะเบี ย น กํา ไรสุ ท ธิ กับ ค่าตอบแทนกรรมการที�ได้รับอยู่ เพื�อเสนอเป็ นนโยบายในการกําหนดค่าตอบแทนของกรรมการและผูบ้ ริ หารให้มีความ เหมาะสมตามหน้าที� ความรับผิดชอบและเป็ นธรรม คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนในปี 2560 เพิ�มขึ�น ตําแหน่งละ 3,000 บาท จากปี 2559 ยกเว้นค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ หารคงเดิ ม และได้กาํ หนดให้มีการประชุม คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทนอย่างน้อยปี ละ 2 ครั�ง ในปี ที�ผา่ นมามีการประชุม 1 ครั�ง เพื�อพิจารณาและ ดําเนินงานต่างๆ ตามความรับผิดชอบ ซึ� งได้เปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ในรายงานประจําปี นอกจากนี� ปี 2560 คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ได้เสนอคณะกรรมการบริ ษทั ให้ความ เห็ นชอบในการเสนอต่อที� ประชุ มผูถ้ ื อหุ ้นเป็ นนโยบายในการกํา หนดค่ า ตอบแทนพิ เ ศษให้กรรมการบริ ษ ทั ยกเว้น กรรมการผูจ้ ดั การ 100,000 บาทต่อคน และกําหนดค่าตอบแทนคณะกรรมการบริ หาร 720,000 บาทต่อคนต่อปี
2560
10
25
การอนุมตั ิค่าตอบแทนของกรรมการ และผูบ้ ริ หารกําหนดไว้ดงั นี� 1. ผูถ้ ือหุน้ เป็ นผูอ้ นุมตั ิค่าตอบแทนของคณะกรรมการ และค่าตอบแทนพิเศษให้แก่กรรมการ โดยพิจารณา จากหน้าที�และความรับผิดชอบตามนโยบายของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 2. คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูอ้ นุ มตั ิ ค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หาร โดยพิ จารณาจากหน้าที� ความรั บผิดชอบ ผลการปฏิบตั ิงานและผลการดําเนินงานของบริ ษทั ตามนโยบายของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 5.3.4 คณะกรรมการบริ หารความเสี� ยง คณะกรรมการบริ หารความเสี� ยง มีหน้าที�กาํ หนดนโยบายและหลักเกณฑ์ในการบริ หารความเสี� ยงตามหลัก สากลและการประเมินความเสี� ยงของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย กําหนดมาตรการป้ องกันและสัญญาณเตือนภัย เพื�อจัดการความเสี� ยงอย่างเหมาะสม มีการกํากับดูแลให้ทุกหน่วยงานปฏิบตั ิตามกฎหมาย และข้อกําหนดที�เกี�ยวข้อง ในปี 2560 คณะกรรมการบริ หารความเสี� ยง ได้กาํ หนดให้จดั ทํารายงานการบริ หารความเสี� ยง เป็ นประจําทุก ไตรมาสและมีการสอบทานการบริ หารความเสี� ยงเป็ นประจํา ซึ� งความเสี� ยงที�สาํ คัญ ได้แก่ ความเสี� ยงจากการขายและการ โอนที�ไม่ได้ตามเป้ าหมาย และความเสี� ยงจากการขาดสภาพคล่อง ซึ� งจากการตรวจสอบ การบริ หารความเสี� ยงดังกล่าวที� ผ่านมาเห็ นว่าอยู่ในระดับที� ยอมรั บได้ แต่ท� งั นี� ได้พยายามแก้ไขรายการความเสี� ย งที� เกิ ดขึ� นให้ลดลงได้ และได้มีการ ทบทวนระบบหรื อประเมินประสิ ทธิ ผลของการจัดการความเสี� ยงทุกปี คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ณ วันที� 31 ธันวาคม 2560 รายชื�อ
1. นายพิพิธ พิชยั ศรทัต 2. นายธวัชชัย ช่องดารากุล 3. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 4. นางกุณฑลา ศศะสมิต 5. นายธวัช อึ�งสุประเสริ ฐ 6. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู 7. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา
คณะกรรมการย่ อยชุดต่ างๆ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และคณะกรรมการ และพิจารณาค่ าตอบแทน บริหารความเสี�ยง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ ประธาน ประธาน กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธาน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การ
หมายเหตุ : นายสิ ทธิ ชยั จันทราวดี กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบและบริ หารความเสี� ยง ออกตามวาระ ระหว่างปี 2560
26
2560
11
สรุ ปการเข้าประชุมของคณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการชุดย่อย ปี 2560
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุ ดย่ อย รายชื�อ วาระการดํารง การเข้ าประชุ ม/ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหา ตําแหน่ ง การประชุ มทั�งหมด บริหาร ตรวจสอบ บริหารความเสี�ยง และพิจารณาค่ าตอบแทน 1. นายพิพิธ พิชยั ศรทัต* 16 ปี / เม.ย.58-เม.ย.61 6/7 24/25 2. นายธวัชชัย ช่องดารากุล 4 ปี / เม.ย.60-เม.ย.63 7/7 5/5 4/4 1/1 3. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ 13 ปี / เม.ย.60-เม.ย.63 5/7 4/5 4/4 1/1 4. นางกุณฑลา ศศะสมิต** 1ปี / มิ.ย.60-เม.ย.63 7/7 5/5 4/4 1/1 (1) 5. นายสิ ทธิชยั จันทราวดี 12 ปี / เม.ย.57-เม.ย.60 3/3 1/1 1/1 6. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู * 6 ปี / เม.ย.59-เม.ย.62 7/7 23/25 7. นายธวัช อึ�งสุประเสริ ฐ* 5 ปี / เม.ย.59-เม.ย.62 7/7 25/25 8. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา* 20 ปี / เม.ย.59-เม.ย.62 7/7 24/25
* กรรมการผูม้ ีอาํ นาจลงนามผูกพันบริ ษทั ** กรรมการตรวจสอบที�มีความรู ้และประสบการณ์ในการสอบทานความน่าเชื� อถือของงบการเงิน (1) ออกตามวาระเมื�อวันที� 11 เมษายน 2560 5.4 คณะผูบ้ ริ หาร 5.4.1 ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริ ษทั เป็ นผูน้ ําของคณะกรรมการบริ ษ ทั ปฏิ บตั ิ หน้าที� ในฐานะประธานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษทั และในฐานะประธานการประชุมผูถ้ ือหุน้ 5.4.2 ฝ่ ายจัดการ เพื�อให้การบริ หารจัดการของบริ ษทั ฯ สามารถดําเนิ นงานไปได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ บริ ษทั ฯได้จดั ให้มีฝ่าย จัดการ ประกอบด้วย ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ได้แก่ กรรมการผูจ้ ดั การ และผูจ้ ดั การบริ หารสายงาน ผูบ้ ริ หารตามโครงสร้างผัง บริ หารงานของบริ ษทั มีหน้าที�ในการกําหนดกลยุทธ์ พิจารณา และให้ขอ้ เสนอแนะในเรื� องเกี�ยวกับนโยบาย ทิศทางการ ดําเนินงานของบริ ษทั และการบริ หารจัดการให้เป็ นไปตามนโยบาย ที�คณะกรรมการบริ ษทั ได้กาํ หนดไว้ 5.5 บทบาทหน้าที� และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั 5.5.1 กําหนดนโยบาย และวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริ ษทั มี ความมุ่งมัน� ที� จะกํากับดูแลกิจการของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นบริ ษทั ชั�นนําในธุ รกิ จบ้าน จัดสรรที�ได้รับความนิ ยมเชื�อถือจากประชาชน มีการดําเนินธุ รกิจด้วยการบริ หารจัดการที�แข็งแกร่ ง มีการพัฒนาบุคลากร ให้มีประสิ ทธิ ภาพพัฒนาสิ นค้าให้มีคุณภาพดีที�สุด มีการบริ การเกินความคาดหวัง เพื�อให้คณะกรรมการบริ ษทั ภายใต้ การนําของประธานกรรมการบริ ษทั มีภาวะผูน้ าํ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสิ นใจ สามารถกําหนดนโยบาย และ กํากับดูแลการดําเนิ นงานของผูบ้ ริ หารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และประสิ ทธิ ผ ล จึงแบ่งแยกบทบาทหน้าที� ระหว่าง ประธานกรรมการบริ ษทั และกรรมการผูจ้ ดั การออกจากกันอย่างชัดเจน และต้องไม่เป็ นบุคคลเดียวกัน 5.5.2 บทบาท หน้าที� และความรับผิดชอบ คณะกรรมการบริ ษทั มีหน้าที�กาํ หนดวิสัยทัศน์ นโยบาย พันธกิจ กลยุทธ์ เป้ าหมาย ภารกิจ และทิศทางการ ดําเนิ นธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ดูแลให้ฝ่ายบริ หารปฏิบตั ิตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับตัวบทกฎหมาย และมติที�ประชุมผูถ้ ือหุ น้ ด้วยความรับผิดชอบ ซื� อสัตย์สุจริ ต ระมัดระวัง โปร่ งใส กํากับดูแล และพัฒนาบรรษัทภิบาลของบริ ษทั ฯ ให้เป็ นที� ยอมรับในระดับสากล พิจารณาแผนการดําเนิ นงานและพัฒนาขีดความสามารถของบริ ษทั ฯ ให้สามารถแข่งขันกับผูอ้ ื�น 12 2560
27
ได้ดี รวมทั�งคอยติดตามดูแลให้ฝ่ายจัดการบริ หารงานให้เป็ นไปตามแผนการดําเนิ นงานที� วางไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื�อ ผลประโยชน์สูงสุ ดของบริ ษทั ฯ ของผูถ้ ือหุ น้ และของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทั�งหลาย และจัดการแบ่งผลประโยชน์น� นั แก่ผมู ้ ี ส่ วนได้เสี ยทุกฝ่ ายอย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม 5.5.3 การบริ หารความเสี� ยง คณะกรรมการบริ ษทั ได้ให้ความสําคัญเกี�ยวกับการประเมินการบริ หารความเสี� ยง โดยกําหนดให้มีระบบ และวิ ธีการบริ หารความเสี� ย งที� เป็ นมาตรฐานสากล โดยมอบหมายให้คณะกรรมการบริ หารความเสี� ย งประเมิ น ประสิ ทธิ ภาพของการบริ หาร และสอบทานผลการประเมินความเสี� ยง และกระบวนการทํางานเพื� อควบคุมความเสี� ยง ของหน่ วยงานต่างๆ และรายงานให้คณะกรรมการบริ ษทั ทราบ รวมทั�งทบทวน และเสนอนโยบายที�เกี�ยวข้องกับการ บริ หารความเสี� ยงอย่างน้อยปี ละ 1 ครั�ง รวมถึงให้ความสําคัญกับสัญญาณเตือนภัยล่วงหน้าหรื อรายการผิดปกติ และให้ เปิ ดเผยไว้ในรายงานประจําปี 5.5.4 การควบคุมภายใน การสอบทานระบบการควบคุ มภายใน คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลการประเมิ นระบบการ ควบคุมภายในที�สาํ นักงานตรวจสอบภายในได้จดั จ้างบริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที�ปรึ กษาธุ รกิ จ จํากัด ตรวจสอบภายใน และรายงานเป็ นรายไตรมาส พบว่ามีความเพียงพอ เหมาะสมกับการดําเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ และได้จดั ฝึ กอบรมให้ ความรู ้ในเรื� องการควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน และการบริ หารความเสี� ยงแก่พนักงานระดับปฏิบตั ิการ โดยนํา ประเด็น สํา คัญที� ตรวจพบมาเป็ นกรณี ศึก ษา เพื� อเสริ มสร้ า งให้พ นัก งานเกิ ดความเข้า ใจร่ ว มกัน ในเรื� องความเสี� ย ง ผลกระทบและการควบคุมภายในที� สําคัญของแต่ละขั�นตอนปฏิ บัติงาน ประเมินผลการทํางานได้ด ้วยตนเองอย่างมี ประสิ ทธิภาพ ในด้านการตรวจสอบภายใน กําหนดให้สํานักงานตรวจสอบภายใน ขึ� นตรงต่ อคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิ บัติงานของบริ ษทั เคพี เอ็มจี ภูมิไ ชย ที� ปรึ กษาธุ ร กิ จ จํา กัด ซึ� งทํา การ ตรวจสอบการควบคุมภายในทั�งหมด ตามแผนงานประจําปี ที�ได้รับอนุมตั ิแล้ว พบว่าได้บรรลุตามเป้ าหมาย สําหรับการ พัฒนางานตรวจสอบนั�น ได้ให้ความสําคัญทั�งการพัฒนาคนและเครื� องมือในการตรวจสอบ ให้เป็ นไปตามหลักการของ มาตรฐานสากล และเป็ นเชิงป้ องกัน เพื�อให้เกิดมูลค่าเพิ�มกับหน่วยงานที�ตรวจอย่างเป็ นระบบ 5.5.5 การกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษทั ตระหนักถึงข้อพึงปฏิบตั ิที�ดี สําหรับคณะกรรมการบริ ษทั จดทะเบียนเกี�ยวกับการกํากับ ดูแลกิจการ จึงมอบหมายให้คณะกรรมการกํากับดูแลกิจการ กําหนดแนวปฏิบตั ิ และปรับปรุ งให้สอดคล้องตามแนวทาง ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ มาตรฐานสากลคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูก้ าํ กับดูแล ติดตามและประเมินผลการดําเนิ นงาน และฐานะการเงินของ บริ ษทั ฯ อย่างสมํ�าเสมอ เพื�อพิจารณา และเสนอแนวทางพัฒนาเพื�อเพิ�มประสิ ทธิ ภาพในการดําเนินธุ รกิจให้ยงั� ยืน รวมทั�ง การพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามแนวการบริ หารสมัยใหม่ ตลอดจนแนวนโยบายในการตรวจสอบให้เกิดความโปร่ งใส โดยเปิ ดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เพื�อผลประโยชน์สูงสุ ดของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย และควรทบทวนนโยบาย และการ ปฏิบตั ิตามนโยบายตามหน่วยงานกํากับดูแล อย่างเหมาะสม และทันเหตุการณ์อย่างสมํ�าเสมอ 5.5.6 จริ ยธรรมธุรกิจ คู่มือจรรยาบรรณ สําหรับกรรมการผูบ้ ริ หาร และพนักงาน คณะกรรมการของบริ ษทั มี หน้าที� กาํ กับดูแลให้ฝ่ายบริ หารจัดทําจรรยาบรรณการดําเนิ นธุ รกิ จ พร้ อมทั�ง เผยแพร่ เพื�อส่ งเสริ มให้พนักงานทุกคนมีมาตรฐาน และมีจิตสํานึกด้านจริ ยธรรมเป็ นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิอย่าง 13 28
2560
สมํ�าเสมอ เพื�อให้ภารกิจของบริ ษทั ฯ บรรลุเป้ าหมายด้วยพื�นฐานของคุณธรรม ความซื� อสัตย์สุจริ ต และมีความโปร่ งใส โดยมีกรรมการ และผูบ้ ริ หารระดับสู งประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที�ดี 5.6 การจัดประชุมคณะกรรมการบริ ษทั บริ ษทั กําหนดให้คณะกรรมการบริ ษทั มี การประชุ มอย่างน้อยปี ละ 6 ครั� ง โดยการประชุ มแต่ละครั� งจะ กํา หนดวัน ประชุ ม ไว้ล่ ว งหน้ า ตลอดปี อย่ า งชัด เจน รวมทั�ง มี ก ารส่ ง รายละเอี ย ดประกอบวาระการประชุ ม ให้ คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาและพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันทําการก่อนวันประชุม การพิจารณาวาระต่างๆ จะเปิ ด โอกาสให้กรรมการมีการแสดงความเห็ นอย่างอิสระและเพียงพอ โดยมีประธานกรรมการเป็ นผูด้ ูแลให้ใช้เวลาในการ ประชุ มอย่างเหมาะสม และส่ งเสริ มให้กรรมการทุ กคนเข้าร่ วมประชุ มไม่น้อยกว่าร้ อยละ 75 ของจํานวนการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษ ัทที� จัดขึ� นในรอบปี และในกรณี ที�บริ ษทั ฯ ไม่ไ ด้มีการประชุ มทุ กเดื อน บริ ษ ัทฯ ควรส่ งผลการ ดําเนิ นงานให้คณะกรรมการทราบในเดือนที� ไม่ได้มีการประชุ ม เพื�อให้คณะกรรมการสามารถกํากับ ควบคุม และดูแล การปฏิบตั ิงานของฝ่ ายจัดการได้อย่างต่อเนื� อง และทันการ โดยได้รายงานจํานวนครั�งการเข้าประชุมของคณะกรรมการ ไว้ในรายงานประจําปี ในการประชุมคณะกรรมการบริ ษทั จะมีฝ่ายบริ หารเข้าร่ วมประชุมเพื�อรายงานชี�แจง หรื อเสนอเรื� องในส่ วน ที�ตนเองรับผิดชอบโดยตรง นอกจากนี� ยังมีการประชุ มเฉพาะเรื� องของคณะกรรมการชุ ดย่อยอีกปี ละหลายครั�ง ตามวาระหน้าที� ความ รับผิดชอบและความจําเป็ น เพื�อให้งานลุล่วงตามเป้ าหมาย อนึ� ง ระหว่างคณะกรรมการเอง จะมีการประชุมอย่างไม่เป็ นทางการเพื�อพบปะ ปรึ กษาหารื อในเรื� องต่างๆ เมื�อเห็นสมควรก็ได้ และแจ้งให้กรรมการผูจ้ ดั การทราบถึงผลการประชุมด้วย และควรสนับสนุนให้คณะกรรมการเข้าถึง สารสนเทศที� จาํ เป็ นเพิ� มเติ มได้จากกรรมการผูจ้ ัดการ เลขานุ การบริ ษ ทั หรื อผูบ้ ริ หารอื�นที� ไ ด้รับมอบหมาย ภายใน ขอบเขตนโยบายที�กาํ หนด 5.7 การประเมินผลการปฎิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร บริ ษทั ฯ กําหนดให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานตนเองของคณะกรรมการบริ ษทั (Self Assessment) และ คณะกรรมการชุดย่อย รวมทั�งการประเมินผลงานทั�งคณะ และผูบ้ ริ หาร ปี ละ 1 ครั�ง เพื�อใช้เป็ นกรอบในการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานในหน้าที�ของคณะกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หารอย่างสมํ�าเสมอ และการเปรี ยบเที ยบการดําเนิ นงานของ คณะกรรมการบริ ษทั ว่าได้ดาํ เนิ นการตามนโยบายการกํากับดูแลกิ จการที� ดี ที� ได้อนุ มตั ิไว้และ/หรื อตามแนวปฏิบตั ิที�ดี (Good Practices) หรื อไม่ เพื�อปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริ ษทั ให้สอดคล้องกับแนวนโยบายที�กาํ หนด ไว้ และเพื� อให้ค ณะกรรมการบริ ษ ัท ร่ ว มกันพิ จารณาผลงาน ปั ญ หาแนวทางเพื� อ การปรั บ ปรุ งแก้ไ ขต่ อไป ซึ� งการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานตนเองของคณะกรรมการรายบุคคล ในปี 2560 คะแนนที�ได้อยู่ในเกณฑ์ดี 3.73 จากคะแนนเต็ม 4 หรื อ ร้อยละ 93.25 และการประเมินผลการปฎิบตั ิ งานตนเองของคณะกรรมการรายคณะ คะแนนที� ได้อยู่ในเกณฑ์ดี 3.57 จากคะแนนเต็ม 4 หรื อ ร้อยละ 89.25 5.8 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน เป็ นผูเ้ สนอนโยบายค่าตอบแทนที�เหมาะสม และเป็ นธรรม โดย เปรี ย บเที ย บกับ ค่ า ตอบแทนของบริ ษ ัท อื� น ในธุ รกิ จเดี ย วกัน ประสบการณ์ ขอบเขตบทบาท และความรั บผิ ด ชอบ กรรมการที�ได้มอบหมายหน้าที� และความรับผิดชอบเพิ�มขึ�น และบริ ษทั ฯ จะเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวไว้ในรายงานประจําปี 14 2560
29
การอนุมตั ิค่าตอบแทนกรรมการ และผูบ้ ริ หารกําหนดไว้ดงั นี� 1. คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูอ้ นุมตั ิค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หาร โดยพิจารณาจากหน้าที� ความรับผิดชอบ ผล การปฏิบตั ิงาน และผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ ตามนโยบายของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณา ค่าตอบแทน 2. ผูถ้ ือหุ ้นเป็ นผูอ้ นุ มตั ิ ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริ ษทั เป็ นประจําทุกปี ซึ� งได้พิจารณาจากหน้า ที� และความรับผิดชอบ ตามนโยบายของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน ค่าตอบแทนของคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ ประจําปี 2560 เป็ นรายบุคคลมีรายละเอียดดังนี� รายชื�อ 1. นายพิพธิ พิชยั ศรทัต 2. นายสิทธิชยั จันทราวดี*
คณะกรรมการบริษัท
ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ หารความเสี� ยง และกรรมการสอบทานงบ 3. นายอนุทิพย์ ไกรฤกษ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ หารความเสี� ยง กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 4. นายธวัชชัย ช่องดารากุล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการบริ หารความเสี� ยง ประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 5. นางกุณฑลา ศศะสมิต กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริ หารความเสี� ยง กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน 6. นายธวัช อึ�งสุประเสริ ฐ กรรมการ 7. นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการ 8. นายกิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผูจ้ ดั การ
คณะกรรมการย่อยชุดต่างๆ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร คณะกรรมการสรรหา สอบทานงบ ค่าตอบแทน บริ ษทั บริ หาร ตรวจสอบ ความเสี� ยง และพิจารณาค่าตอบแทน พิเศษ 363,000 720,000 100,000 60,000 63,000 19,000 19,000 100,000
รวม 1,183,000 261,000
267,000
-
255,000
85,000
22,000
-
100,000
729,000
267,000
-
271,000
93,000
24,000
-
100,000
755,000
267,000
-
255,000
85,000
22,000
-
58,333
687,333
267,000 267,000 267,000
720,000 720,000 -
-
-
-
100,000 100,000 -
1,087,000 1,087,000 267,000
-
หมายเหตุ : *ออกตามวาระเมื�อ 11 เมษายน 2560 ค่าตอบแทนอื�นๆ : ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารรวม 10 คน จํานวน 16.94 ล้านบาท โดยเป็ นค่าตอบแทนในรู ปของ เงินเดือน และโบนัส ซึ� งแปรผันตามการดําเนิ นงานของบริ ษทั 5.9 การพัฒนากรรมการและผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการบริ ษทั กําหนดนโยบายการพัฒนากรรมการ และผูบ้ ริ หาร เพื�อเพิ�มพูนพัฒนาความรู้ความ เข้าใจและทักษะของกรรมการ และผูบ้ ริ หาร ทั�งในลักษณะธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และหลักสูตรอื�นๆ ที�จาํ เป็ นต่อการปฏิบตั ิ หน้า ที� อ ย่ า งต่ อ เนื� อ ง โดยสนับ สนุ น ให้กรรมการเข้า อบรมของสมาคมส่ งเสริ ม สถาบัน กรรมการบริ ษ ัท ไทย หรื อ หน่วยงานอื�นตามความเหมาะสม และโดยกําหนดรู ปแบบ และวิธีพฒั นาดังกล่าว ทั�งจากการปฐมนิ เทศ การได้รับข้อมูล ข่าวสาร และความรู ้ ที� จาํ เป็ นต่อการปฏิบตั ิ หน้าที�ให้กรรมการบริ ษทั กรรมการใหม่ ผูบ้ ริ หาร และผูเ้ กี�ยวข้องในระบบ การกํากับดูแลกิจการที�ดีของบริ ษทั ฯ เพื�อให้มีการปรับปรุ งอย่างต่อเนื�อง
30
2560
15
ในปี ที� ผ่านมาได้มีการจัดปฐมนิ เทศกรรมการ และผูบ้ ริ หารใหม่ โดยมีการเตรี ยมข้อมูลเกี�ยวกับการดําเนิ น ธุ รกิ จของบริ ษทั และกฏหมายต่างๆที� เกี� ยวข้อง บริ ษทั ฯได้สนับสนุ นให้กรรมการเข้าร่ วมอบรมหลักสู ตรที� เป็ นการเพิ�ม ความรู้ในการปฏิบตั ิงานของแต่ละท่านอย่างเหมาะสม รายการระหว่างกันในรอบปี 2560 รายการระหว่างบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย กับ บริ ษทั อาร์พีซีจี จํากัด (มหาชน) ลักษณะรายการ บริ ษทั ฯ จ่ายดอกเบี�ย บริ ษทั เพียวสัมมากร รับรายได้จากการให้บริ การพืนที�ส่วนกลางสํานักงาน ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (บริ ษทั ย่อย)
ลักษณะความสัมพันธ์ บริ ษทั อาร์พีซีจี จํากัด (มหาชน) เป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ของบริ ษทั
รายการระหว่างบริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อย กับ บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด ลักษณะรายการ บริ ษทั ฯ
รับรายได้จากการให้เช่าที�ดิน จ่ายค่านํ�ามัน บริ ษทั เพียวสัมมากร รับรายได้จากการให้เช่าสํานักงาน ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด รับรายได้จากการให้บริ การพืนที�ส่วนกลางสํานักงาน (บริ ษทั ย่อย) จ่ายค่านํ�ามัน
ลักษณะความสัมพันธ์ นายสัจจา เจนธรรมนุกลู กรรมการของบริ ษทั เป็ นกรรมการของ บริ ษทั เพียวพลังงานไทย จํากัด
2560
จํานวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 0.21 0.57 0.65
จํานวนเงิน (ล้านบาท) ปี 2559 ปี 2560 0.54 0.68 0.48 0.42 1.13 1.14 2.17 2.31 0.03
16
31
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ โครงสร างการถือหุนและการจัดการ Report from Audit Committee Shareholding andthe Management Structure
รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ REPORT FROM THE AUDIT COMMITTEE
คณะกรรมการตรวจสอบได้ปฏิบตั ิหน้าที่อย่างเป็ นอิสระตามที่คณะกรรมการบริ ษทั ได้มอบหมายตามข้อบังคับว่าด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อช่วยในการสอบทานให้บริ ษทั มีการกากับดูแลกิจการที่ดีอย่างยัง่ ยืน ซึ่งสอดคล้องกับข้อกาหนดและ แนวทางการปฏิ บตั ิที่ดีสาหรับคณะกรรมการตรวจสอบ ของตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย (ตลท.) คณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และสอบทานหน้าที่ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริ ษทั ที่ มีต่อผูถ้ ือหุ ้น และ ผูเ้ กี่ยวข้อง โดยมีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทั้งสิ้น 6 ครั้ง ซึ่งสรุ ปสาระสาคัญในการปฏิบตั ิหน้าที่ในรอบปี 2560 ได้ดงั นี้ การสอบทานงบการเงิ น คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานข้อมูลที่ สาคัญของงบการเงิ น และงบการเงิ นรวมราย ไตรมาส และประจาปี 2560 ของบริ ษทั โดยได้สอบทานประเด็นที่เป็ นสาระสาคัญ เช่น การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ การตั้งสารอง ประเภทต่างๆ ภาระหนี้ สิน การบันทึกรายได้และค่าใช้จ่าย เป็ นต้น และได้รับคาชี้ แจงจากผูส้ อบบัญชี ฝ่ ายบริ หารที่รับผิดชอบ และเลขานุ การสานักงานตรวจสอบภายใน จนเป็ นที่ พอใจว่าการจัดทางบการเงิ น รวมทั้งการเปิ ดเผยหมายเหตุประกอบใน งบการเงิน เป็ นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน จึงได้ให้ความเห็นชอบงบการเงินที่ผสู ้ อบ บัญชี ได้สอบทาน และตรวจสอบแล้ว โดยแสดงความเห็ นต่องบการเงิ นแบบไม่มีเงื่ อนไข อนึ่ ง ในรอบปี นี้ คณะกรรมการ ตรวจสอบได้ร่วมประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายบริ หาร 1 ครั้ง เพื่อปรึ กษาหารื อกันอย่างอิสระถึงข้อมูลที่มีสาระสาคัญใน การจัดทางบการเงิน และการเปิ ดเผยข้อมูลที่เป็ นไปตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และเป็ นประโยชน์กบั ผูใ้ ช้งบการเงิน ผลการประชุมโดยสรุ ป ผูส้ อบบัญชีช้ ีแจงว่าได้รับความร่ วมมือจากบริ ษทั เป็ นอย่างดี และมีการปฏิบตั ิตามมาตรฐานบัญชีเป็ นที่ พอใจ การสอบทานการกากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของก.ล.ต. ตลท. และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดาเนิ นธุรกิจอย่างเคร่ งครัด โดยเฉพาะรายการ เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของกรรมการที่เกี่ยวข้อง พบว่ามีการปฏิบตั ิตามก.ล.ต. ตลท. ใน การทบทวนข้อบังคับคณะกรรมการตรวจสอบ มีความเห็นว่าในปี ก่อนมีการปรับปรุ งไปมากแล้ว และพบว่าใช้ขอ้ บังคับดังกล่าว ได้ดีและสะดวกในการปฏิบตั ิ ดังนั้นในปี หน้าจึงให้ใช้ขอ้ บังคับปั จจุบนั ต่อไป อนึ่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ประเมินผลการ ปฏิบตั ิหน้าที่โดยประเมินตนเอง ซึ่ งผลสรุ ปเป็ นที่น่าพอใจ การสอบทานระบบประเมินการบริ หารความเสี่ ยง คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณากรอบการบริ หารความเสี่ ยง และแผนการจัดการความเสี่ ยง รวมทั้งให้ค วามเห็ นในการบริ หารความเสี่ ยงกับคณะกรรมการบริ ษ ัท และติ ดตามประเมิ น การบริ หารความเสี่ ยงเป็ นประจาทุกไตรมาส โดยพิจารณาปั จจัยเสี่ ยงทั้งปั จจัยภายในและภายนอก โอกาสที่จะเกิ ด ผลกระทบ และการบริ หารจัดการความเสี่ ยง เพื่อให้อยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ รวมทั้งสอบทานสัญญาณเตือนภัยตามหลักการที่ กาหนดไว้ และการพัฒนาระบบรับข้อร้องเรี ยน และแจ้งเบาะแส (Whistle Blower) โดยผ่านเว็บไซต์ของบริ ษทั ฯ เพื่อส่ งเสริ มให้พนักงาน ทุกคนได้มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์กบั บริ ษทั ฯ รวมทั้งเรื่ องที่อาจจะทาให้บริ ษทั ฯเสี ยหายตามช่องทางที่กาหนด ไว้ ในปี นี้ยงั ไม่ได้รับการข้อร้องเรี ยนจากพนักงาน การสอบทานระบบการควบคุ มภายในและการตรวจสอบภายใน เนื่ อ งจากผูต้ รวจสอบภายในได้ลาออกและไม่ มี เจ้าหน้าที่ ตรวจสอบเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบ จึ งตกลงว่าจ้าง บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ ปรึ กษาธุ รกิ จ จากัด ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ที่มีชื่อเสี ยงและมีระบบการทางานเป็ นที่ยอมรับในภาคธุรกิจ ให้ทาการตรวจสอบการควบคุมภายในทั้งหมด ซึ่ งพบว่า มี
32
2560 รายงานประจำป 2560
6
ความเพียงพอ เหมาะสมกับการดาเนิ นธุ รกิ จของบริ ษทั ฯ รวมทั้งได้สอบทานการปฏิ บตั ิ งานของ บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ ปรึ กษาธุ รกิ จ จากัด ผูร้ ับจ้างตรวจสอบฯ เป็ นรายไตรมาส ตามแผนงานประจาปี ที่ ได้รับอนุ มตั ิ แล้ว พบว่าปฏิ บตั ิ งานได้ตาม เป้ าหมายและได้รับความร่ วมมือเป็ นอย่างดีจากผูร้ ับการตรวจ และมีการปรับปรุ งตามความเห็นร่ วมกันอย่างสม่าเสมอ สาหรับ การพัฒนางานตรวจสอบนั้นให้ความสาคัญกับการพัฒนาพนักงาน โดยได้มอบหมายให้บริ ษทั เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ที่ปรึ กษาธุรกิจ จ ากัด จัด ฝึ กอบรมพนัก งานเพื่ อ พัฒ นางานตรวจสอบ และเป็ นเครื่ อ งมื อ ในการตรวจสอบให้ เ ป็ นไปตามหลัก การของ มาตรฐานสากลและในเชิงป้ องกัน เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มกับหน่วยงานรับตรวจสอบอย่างเป็ นระบบ การพิจารณาเสนอแต่งตั้งผูส้ อบบัญชี และค่าสอบบัญชีประจาปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานผลประเมิน การปฏิบตั ิงานของผูส้ อบบัญชีแล้ว มีความเห็นว่าผลการปฏิบตั ิงานสอบบัญชีเป็ นที่น่าพอใจ และผูส้ อบบัญชีมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามเกณฑ์ของ ก.ล.ต. และตลท.หลังจากได้ตกลงเงื่ อนไขในการสอบบัญชี จึงได้เสนอคณะกรรมการบริ ษทั ให้ความเห็ นชอบ ก่อนเสนอที่ประชุมผูถ้ ือหุ ้น เพื่อขออนุมตั ิแต่งตั้ง นายฉัตรชัย เกษมศรี ธนาวัฒน์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุ ญาต เลขที่ 5813 และ/หรื อ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กลุ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 3844 และ/หรื อ นางชลรส สันติอศั วราภรณ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต เลขที่ 4523 แห่งบริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด เป็ นผูส้ อบบัญชีของบริ ษทั ฯ ประจาปี 2561 ต่ออีก 1 ปี โดยกาหนดค่าธรรมเนียมใน การสอบบัญชีเป็ นจานวนเงิน 1,198,000 บาท (หนึ่งล้านหนึ่งแสนเก้าหมื่นแปดพันบาทถ้วน) สูงกว่าปี ก่อนเป็ นจานวนเงิน 54,000 บาท หรื อ 4.72%
ในนามของคณะกรรมการตรวจสอบ
(นายธวัชชัย ช่องดารากุล) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
2560
33
สัมมากร สัมมากร41 41 25592559
รายงานความรับผิดชอบ
รายงานความรั รายงานความรั บผิบดผิชอบ ดชอบ ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงิน รายงานความรัของคณะกรรมการต่ บผิของคณะกรรมการต่ ดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิ น อ รายงานทางการเงิ อ รายงานทางการเงิ น โครงสร า งการถื อ หุ น ดนการ Report of the Board of Director’s รายงานความรั รายงานความรั บผิดบชอบของคณะกรรมการต่ ผิดชอบของคณะกรรมการต่ อรายงานทางการเงิ อรายงานทางการเงิ น และการจั น Responsibilities
REPORTREPORT OFREPORT THE BOARD OFTHE DIRECTORS’ RESPONSIBILITIES FOR THE FINANCIAL OFFor OF THE BOARD BOARD OF OF DIRECTOR’S DIRECTOR’S RESPONSIBILITIES RESPONSIBILITIES Shareholding and Management Structure the Financial Statements REPORT REPORT OF THE OF THE BOARD BOARD OF DIRECTORS’ OF DIRECTORS’ RESPONSIBILITIES RESPONSIBILITIES FORFOR THETHE FINANCIAL FINANCIAL STATEMENTS STATEMENTS STATEMENTS
FORFOR THETHE FINANCIAL FINANCIAL STATEMENTS STATEMENTS
คณะกรรมการบริ ษทั สัมมากร จากัด (มหาชน) ตระหนักถึงภาระหน้าที่และความรับผิดชอบใน คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษทั สัษมทั มากร สัมมากร จํากัดจํา(มหาชน) กัด (มหาชน) ตระหนั ตระหนั กถึงภาระหน้ กถึงภาระหน้ าที> แาละความรั ที> และความรั บผิดบชอบใน ผิดชอบใน ฐานะคณะกรรมการบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ที่มีต่องบการเงินของบริ ษทั ฯ ซึ่ งได้ ฐานะคณะกรรมการบริ ฐานะคณะกรรมการบริ ษทั จดทะเบี ษทั จดทะเบี ยนในตลาดหลั ยนในตลาดหลั กทรักพทรั ย์แพห่ย์งแประเทศไทย ห่ งประเทศไทย ที>มีตที่อ>มงบการเงิ ีต่องบการเงิ นของบริ นของบริ ษทั ฯษซึทั > งฯได้ซึ> งได้ จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีการปรับเปลี่ยนอย่างต่อเนื่ อง เพื่อความโปร่ งใสและเพื่อรักษา จัดทํจัาขึด1 นทํตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ าขึ1นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิ นที>มนีกทีารปรั >มีการปรั บเปลีบ>ยเปลี นอย่>ยนอย่ างต่อาเนื งต่> อองเนืเพื> อ>อง ความโปร่ เพื>อความโปร่ งใสและเพื งใสและเพื >อรักษา >อรักษา ผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุ ้นให้มากที่สุด ทั้งนี้บริ ษทั ฯ ได้กาหนดนโยบายการบัญชีที่มีความเหมาะสมกับประเภท ผลประโยชน์ ผลประโยชน์ ของผูขถ้องผู ือหุถ้ นือให้ หุ ้นมให้ ากทีม>สากที ุ ด ทั>ส1 งุ ดนีทั1 บ1 งรินีษ1 บทั ริฯได้ ษทั ฯได้ กาํ หนดนโยบายการบั กาํ หนดนโยบายการบั ญชีทญ>ีมชีีคทวามเหมาะสมกั >ีมีความเหมาะสมกั บประเภท บประเภท และขนาดธุ รกิจของบริ ษทั ฯ และถือปฏิบตั ิอย่างสม่ าเสมอมาโดยตลอด มีการใช้ดุลพินิจอย่างรอบคอบระมัด และขนาดธุ และขนาดธุ ร กิ จรของบริ กิ จ ของบริ ษ ัท ฯและถื ษ ัท ฯและถื อ ปฏิอบปฏิ ัติ อบย่ัตาิงสมํ อ ย่ า งสมํ > า เสมอมาโดยตลอด > า เสมอมาโดยตลอด มี ก ารใช้ มี ก ารใช้ ดุ ล พิดนุ ลิ จพิอย่ นิ จา งรอบคอบ อย่า งรอบคอบ ระวัง และใช้ประมาณการที่ดีที่สุด ในการจัดทางบการเงินและรายงานทางการเงิน รวมทั้งได้มีการเปิ ดเผยข้อมูล ระมัดระมั ระวัดงระวั และใช้ ง และใช้ ประมาณการที ประมาณการที >ดีที>ส>ดุ ดีทในการจั ี>สุด ในการจั ดทํางบการเงิ ดทํางบการเงิ นและรายงานทางการเงิ นและรายงานทางการเงิ น รวมทั น รวมทั การเปิ มีการเปิ ดเผยดเผย 1 งได้ม1 งีได้ ที่เป็ นส่ วนสาคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เพื่อให้งบการเงินสะท้อนสถานะทางการเงินของ ข้อมูข้ลอทีมู> เ ป็ลนส่ ที> เ ป็วนส่ นสํวานสํ คัญาอย่ คัญางเพี อย่ายงเพี งพอในหมายเหตุ ยงพอในหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ ประกอบงบการเงิ น เพืน> อให้ เพื> องบการเงิ ให้งบการเงิ นสะท้ นสะท้ อนสถานะทาง อนสถานะทาง บริ ษทั ฯ ตามความเป็ นจริ ง การเงิการเงิ นของบริ นของบริ ษทั ฯษตามความเป็ ทั ฯ ตามความเป็ นจริ งนจริ ง ่ยวกับการดูแล คณะกรรมการบริ ษทั ฯ ได้มอบหมายให้คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูร้ ับผิดชอบเกี >ยวกับ>ยวกั คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษทั ฯษได้ ทั ฯมได้ อบหมายให้ มอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ คณะกรรมการตรวจสอบเป็ นผูร้ นผู ับผิรด้ ับชอบเกี ผิดชอบเกี การดู บการดู แล แล คุคุณณภาพของงบการเงิ และรายงานทางการเงิ ความมี ระสิ าพของระบบควบคุ มและระบบตรวจสอบ ภาพของงบการเงิ คุณภาพของงบการเงิ นนและรายงานทางการเงิ นและรายงานทางการเงิ นนความมี น ความมี ปประสิ ประสิ ททธิธิภทภาพของระบบควบคุ ธิ ภาพของระบบควบคุ มและระบบตรวจสอบ มและระบบตรวจสอบ
ภายในของบริ ษษททัั ฯฯษเพื นน>ัั่ ใจได้ งบการเงิ ของบริ วามถู งใสงมีใส กมีารปฏิ ิตตั ามกฏหมาย ภายในของบริ ภายในของบริ เพื ทั ฯ่อ>อให้ ให้ เพื>มอมให้ ใจได้ ม น>ั ใจได้ วว่าา่ งบการเงิ ว่างบการเงิ นนของบริ นของบริ ษษทั ทั ฯฯษมีทั มีคฯความถู มีความถู กกต้ต้ออกง ต้งโปร่ อโปร่ ง งโปร่ ใส กมีารปฏิ การปฏิ บตั บิตตั บามกฏหมาย ิตามกฏหมาย และกฏระเบี ยยบที กี>่ยยวข้ วข้ งครบถ้ สดงความเห็ ประกอบไว้ ในรายงาน และกฏระเบี และกฏระเบี บทีย>่เเกีบที > เ กี> อยอวข้ งครบถ้ องครบถ้ ววนน ซึวซึ> งคณะกรรมการตรวจสอบได้ น่ ง คณะกรรมการตรวจสอบได้ ซึ> งคณะกรรมการตรวจสอบได้ แแสดงความเห็ แสดงความเห็ นนประกอบไว้ นประกอบไว้ ในรายงาน ในรายงาน ประจ าปี ประจํประจํ าปี นีนี้ 1ดาดปีว้ว้ นียแล้ ยแล้ 1 ดว้ ววยแล้ว
คณะกรรมการบริ วามเห็ และรายงานทางการเงิ ประจ ของบริ คณะกรรมการบริ คณะกรรมการบริ ษษทั ทั ฯฯษมีทมีั คฯความเห็ มีความเห็ นนว่ว่าางบการเงิ นงบการเงิ ว่างบการเงิ นนและรายงานทางการเงิ นและรายงานทางการเงิ นนประจํ นประจํ าปีาปี2559 าปี2560 2559 ของบริ ของบริ ษทั ษฯทั ษฯทั ฯ ได้ และผลการด งครบถ้ นในสาระส ่ งซึสามารถให้ ความเชื ได้แแสดงฐานะทางการเงิ สดงฐานะทางการเงิ ได้แสดงฐานะทางการเงิ นนและผลการดํ นและผลการดํ าาเนิ เนิ นนางานที เนิงานที นงานที >ถ่ถูกู กต้ต้>ถออูกงครบถ้ ต้องครบถ้ ววนในสาระสํ วนในสาระสํ าคัาคัญญ าซึคั> ญ งซึสามารถให้ > งสามารถให้ ความเชื ความเชื > อมั่ อน> มั> อน่ มัน> อย่ ลต่ ความน่ ของงบการเงิ ของบริ วว อย่าางมี งมี อย่เเหตุ าหตุ งมีผผเหตุ ลต่ผออลต่ ความน่ อความน่ าาเชืเชื>อ่อาถืถืเชืออ>อของงบการเงิ ถือของงบการเงิ นนของบริ นของบริ ษษทั ทั ฯษฯแล้ ทั แล้ ฯว แล้
(นายพิ พิธ พพิิธชยยั พิศรทั ศรทั (นายพิ ชยั ศรทั ตต)) ต) ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
34
(นายกิ ธยา) (นายกิ (นายกิ ตติตพติตพลติลพปราโมช ลปราโมช ปราโมช ณณอยุณอยุ ธยา) อยุ ธยา) กรรมการผู ดั จ้ การ กรรมการผู กรรมการผู จ้ ดั จ้ การ ดั การ
2560
2560
35
ฝ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ Information Technology Dept.(ITD)
ฝ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ ฝ ายการเงิ น Information Technology Finance Dept.(FND) Dept.(ITD)
ฝ ายบันญชี ฝ ายการเงิ Accounting Dept.(ACD) Finance Dept.(FND)
ยบริญหชีารทั่วไป ฝ ฝ าายบั Ganeral Administration Accounting Dept.(ACD) Dept. (GAD)
ฝ ายบริหหารและการเงิ ารทั่วไป น สายงานบริ Ganeral Administration Dept. Finance & Administration (GAD) Function (FAF)
สายงานบริหารและการเงิน Finance & Administration Function (FAF)
กรรมการผู จัดการ Managing Director (MD)
คณะกรรมการบริ กรรมการผู จัดการ หาร Executive (Ex Com) Managing Committee Director (MD)
คณะกรรมการบริหาร Executive Committee (Ex Com)
คณะกรรมการบริษัท Board of Directors (BOD)
ฝ ายพัฒนาธุรกิจ Business Development Dept. (BDD)
ยพัฒนาธุรกิหจารพื้นที่เช า ฝ ฝ าายขายและบริ Business Development Dept. Leasing Area Dept.(LAD) (BDD)
ฝ ายขายบ หาารพื นและคอนโด ฝ ายขายและบริ ้นที่เช า HousingArea & Condominium Leasing Dept.(LAD) Sales Dept.(HSD)
ฝ าบริ หารการตลาด ฝ ายขายบ านและคอนโด Management HousingMarketing & Condominium Sales Dept.(MKD) Dept.(HSD)
ฝ าบริฒหารการตลาด สายงานพั นาธุ รกิจ และการตลาด Marketing Management Business Development & Markiting Function (BMF) Dept.(MKD)
สายงานพัฒนาธุรกิจ และการตลาด Business Development & Markiting Function (BMF)
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง Risk Management Committee (RMC)
คณะกรรมการบริหารความเสี ่ยง าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิ จารณาค Risk Management CommitteeCommittee (RMC) (NRC) Nomination and Remuneration
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค าตอบแทน Nomination and Remuneration Committee (NRC)
ณ 1 กุมภาพันธ 2560 / As at february 2017
ณ 1 กุมภาพันธ 2560 / As at february 2017
ฝ ายบริหารคุณภาพ Quality Management Dept.(MQD)
ฝ ายบริ หารงานก ฝ ายบริ หารคุ ณภาพ อสร าง Construction Management Quality Management Dept.(MQD) Dept.(CMD)
ฝ ายบริหารงานก สร างและบริการ ารงานธุรอการ Construction Management Administration & Service Dept.(CMD) Dept.(ASD)
ศวกรรมและซ อมบำรุ ฝ ายบริฝ หายวิ ารงานธุ รการ และบริ การง Engineering Maintenance Administration & Service Dept.(MQD) Dept.(ASD)
ฝ ายวิศวกรรมและซ อมบำรุง สายงานก Maintenance อสร างและบริการ Engineering Construction & Service Function (CSF) Dept.(MQD)
สำนักกรรมการผู จัดการ Managing Director Office (MDO) สายงานก อสร างและบริการ Construction & Service Function (CSF)
กงานตรวจสอบภายใน สำนัสำนั กกรรมการผู จัดการ Internal AuditOffice Office(MDO) (IAO) Managing Director
สำนักงานตรวจสอบภายใน Internal Audit Office (IAO)
คณะกรรมการตรวจสอบ Audit Committee (ADC)
คณะกรรมการตรวจสอบ Audit Committee (ADC)
บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน)/ SAMMAKORN PCL. ผังโครงสร างองค กร /Organization Chart คณะกรรมการบริ ษัทSAMMAKORN PCL. บริษัท สัมBoard มากร จำกั ด (มหาชน)/ of Directors (BOD)
โครงสร้อาหุงองค์ กร ดการ โครงสรางการถื นและการจั Organization Chart Structure Shareholding Management ผังโครงสร and างองค กร /Organization Chart
โครงสร างการถื อหุนและการจั ลัก ษณะการประกอบธุ รกิจดการ ShareholdingType and Management of Business Structure
ลักษณะการประกอบธุรกิจ TYPE OF BUSINESS
ประวัติความเป็ นมา บริ ษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) ก่อตั�งมาตั�งแต่ปีพ.ศ.2513 ดําเนิ นธุ รกิ จพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ ประเภทบ้านจัดสรรเพื�อการอยูอ่ าศัยในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล ตั�งแต่ปี พ.ศ.2517 เป็ นการพัฒนา โครงการบ้านเดี�ยวพร้อมที�ดินเพื�อขายเป็ นหลัก จวบจนถึงปั จจุบนั เป็ นเวลา 48 ปี บริ ษทั ฯ ได้พฒั นาโครงการเพื�อ อยู่อาศัยและส่ งมอบบ้านแก่ผูซ้ �ื อแล้วกว่า 6,000 หน่ วย โดยบริ ษทั ฯมุ่งเน้นที�จะพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ที�มี คุณภาพ เพื�อการอยู่อาศัยที�ดีของคนไทยในราคาที�เหมาะสมนอกจากธุ รกิ จพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื�อขายแล้ว บริ ษ ทั ฯ ได้ขยายธุ รกิ จเข้า สู่ ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ป ระเภทให้เ ช่ า โดยพัฒ นาศู นย์ก ารค้า ชุ ม ชน ภายใต้ชื� อ ศูนย์การค้าสัมมากรเพลส (Sammakorn Place) ซึ� งมีที�ต� งั อยูบ่ นถนนรังสิ ตคลอง 2 ถนนรามคําแหง และถนนราชพฤกษ์ ซึ� งถื อได้ว่าเป็ นการหารายได้ที�สมํ�าเสมอให้กบั บริ ษทั ฯ และสร้ างรายได้ในระยะยาวให้มีความผันผวน น้อยลงอีกทั�งยังสร้างเครื อข่ายชุมชนให้มีความสะดวกสบายในการพักอาศัยอีกด้วย
36
2560
การประกอบธุ รกิจ รายได้หลักของบริ ษทั ฯ มาจากการจําหน่ ายโครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื�ออยู่อาศัยเป็ นหลัก โดย แบ่งเป็ นโครงการแนวราบ โครงการแนวสู ง และโครงการอสังหาริ มทรัพย์เพื�อการเช่า ในปี พ.ศ. 2560 บริ ษทั ฯ ได้ปิดการขายโครงการรวม 2โครงการ ได้แก่ โครงการสัมมากร อควา ดิวิน่า และโครงการสัมมากรรังสิ ต คลอง 7 เฟส 3 และได้เปิ ดตัวโครงการใหม่ 1โครงการ ทําให้ในปี 2560 บริ ษทั ฯ มีโครงการหลักที�สร้างรายได้ท� งั หมด 6 โครงการ เป็ นโครงการบ้านเดี�ยว 3 โครงการ ได้แก่ โครงการสัมมากร ชัยพฤกษ์-วงแหวนโครงการสัมมากร ชัยพฤกษ์-แจ้ง วัฒนะ บนถนนชัย พฤกษ์ตดั ใหม่ และโครงการสัมมากร ไพรม์7 ซึ� ง เป็ นส่ วนด้านหน้า ของ โครงการสัมมากรรังสิ ต คลอง 7 เดิ ม โครงการทาวน์โฮม 2โครงการ ได้แก่ โครงการสัมมากร อเวนิ ว รามอินทรา-วงแหวน บนถนนคูบ้ อนใกล้หา้ งสรรพสิ นค้าแฟชัน� ไอส์แลนด์ และโครงการสัมมากร อเวนิ ว ชัยพฤกษ์วงแหวน ตั�ง อยู่ติดกับ โครงการสั ม มากร ชัย พฤกษ์-วงแหวน และโครงการคอนโดมี เ นี ย ม 1 โครงการ คื อ โครงการสัมมากร เอสเก้า คอนโดมิเนี ยม บนถนนรัตนาธิ เบศร์ บริ ษทั ฯ ยังคงเน้นพัฒนาโครงการบนพื�นที�ใน บริ เวณใกล้กบั ถนนสายที�เป็ นเส้นทางหลักในการเดินทางและสิ� งอํานวยความสะดวกต่างๆ อาทิ รถไฟฟ้ า ทาง ด่วน เป็ นต้น นโยบายการดําเนินธุ รกิจ บริ ษทั ฯ มีนโยบายในการดําเนิ นธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ประเภทที�อยูอ่ าศัย เพื�อจําหน่ายอย่าง ต่อเนื� อง โดยในปี 2560 ยังคงอยู่ใ นเขตกรุ งเทพมหานครและปริ ม ณฑล ได้แก่ จัง หวัดปทุ มธานี และจังหวัด นนทบุรี โดยมีเป้ าหมายและนโยบายหลัก ๆ ดังนี�:1. มุ่งเน้นพัฒนาสิ นค้าประเภทบ้านเดี�ยวพร้อมที�ดินอย่างต่อเนื� อง ซึ� งบริ ษทั ฯ มีความถนัดทั�งใน ส่ วนของการทําการตลาดในทําเลและการพัฒนาสิ นค้า โดยตั�งเป้ าหมายเร่ งปิ ดการขายโครงการปั จจุบนั เพื�อสร้ าง สภาพคล่องในการซื� อที�ดินใหม่เพื�อพัฒนาโครงการใหม่ 2. พัฒนาโครงการแนวราบประเภทอื�นๆเพิ�มติม อาทิ โครงการทาวน์โฮม หรื อบ้านแฝดใน ทําเลใกล้เมืองเพื�อรองรับความต้องการของผูบ้ ริ โภคที�ตอ้ งการที�อยูอ่ าศัยใกล้เมือง แต่ไม่สามารถเป็ นเจ้าของบ้าน เดี�ยวที�มีราคาสู งขึ�นตามราคาของที�ดินได้ 3. พัฒนาปรับปรุ งสาธารณูปโภค และบริ การสาธารณะ ให้อยูใ่ นสภาพที�เหมาะสมกับการใช้ งาน เมื�อดูแลรักษาครบกําหนดตามโครงการและวิธีการจัดสรรแล้ว บริ ษทั ฯ มีนโยบายในการจัดตั�งนิ ติบุคคล บ้านจัดสรร เพื�อให้เจ้าของร่ วมได้มีส่วนร่ วมกันในการบริ หารจัดการชุ มชนด้วยตนเอง โดยมีสิทธิ� และหน้าที� ตามกฎหมาย อันจะนํามาซึ� งความเข้มแข็งของแต่ละชุมชนได้เป็ นอย่างดี
2560
37
4. คุณภาพบ้านที�พร้อมส่ งมอบให้แก่ผซู ้ �ื อ บริ ษทั ฯ จัดทีมตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร้างอย่าง ต่อเนื�องและสมํ�าเสมอ เพื�อให้มนั� ใจว่า บริ ษทั ฯจะส่ งมอบบ้านที�มีคุณภาพให้แก่ผซู ้ �ื อได้ตามกําหนดเวลา 5. พัฒนาทีมงานบริ หารลู กค้าสัมพันธ์ บริ การหลังการขาย และสร้ างกฏระเบียบที�อยู่อาศัย ภายในโครงการเพื�อความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของสังคมภายในโครงการในอนาคต การพัฒนาองค์กร และบุคลากร ในปี 2560 บริ ษทั ฯ ยังคงให้ความสําคัญต่อการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื� อง ทั�งในด้านบุคลากรและ ระบบปฏิบตั ิการ เพื�อให้บริ ษทั ฯ สามารถทํางานได้อย่างทัดเทียมกับบริ ษทั ชั�นนําในตลาด โดยกําหนดเป้ าหมาย ให้บุคลากรของบริ ษทั ฯ มุ่งเน้นและให้ความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกค้าเป็ นหลักในการทํางาน บริ ษทั ฯ ได้เตรี ยมความพร้ อมในด้านโปรแกรมฝึ กอบรมให้แก่บุคลากรอย่างต่อเนื� อง เพื�อให้บุคลากรมีความเข้าใจใน แนวทางการเติบโตทางธุ รกิจของบริ ษทั ฯ ในทิศทางเดี ยวกัน และยังส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือร่ วมใจในการ ทํางานของบุคลากรทุกหน่ วยงาน ในขณะที�ระบบปฏิ บตั ิการที�บริ ษทั ฯ จะนํามาประยุกต์ใช้จะต้องส่ งเสริ มให้ เกิดความรวดเร็ วและถูกต้องในการทํางานระหว่างฝ่ ายมากยิง� ขึ�น โครงสร้างรายได้ โครงสร้างรายได้ของบริ ษทั ฯ ประกอบด้วยรายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์เป็ นหลัก ซึ� งในปี 2560 มีสัดส่ วนร้ อยละ 86.41 ของรายได้รวม นอกจากนั�นก็มีรายได้จากการบริ การ รายได้จากการให้เช่า และรายได้อื�น โครงสร้างรายได้ในรอบ 3 ปี ที�ผา่ นมามีสัดส่ วนดังนี� โครงสร้างรายได้เปรี ยบเทียบ 3 ปี ประเภทรายได้
2559
2560
จํานวนเงิน สัดส่ วน% จํานวนเงิน สัดส่ วน% จํานวนเงิน สัดส่ วน%
รายได้จากการขายบ้านและที�ดิน
898.79
65.61%
703.66
62.55%
834.03
76.87%
รายได้จากการขายห้องชุด
353.97
25.84%
179.16
15.93%
103.46
9.54%
รายได้จากการให้เช่า
51.42
3.75%
67.46
5.99%
68.07
6.27%
รายได้ค่าบริ การ
52.17
3.81%
55.30
4.92%
57.04
5.26%
-
-
79.62
7.08%
-
-
13.49
0.99%
39.68
3.53%
22.39
2.06%
รายได้จากการรับโอนอาคารให้เช่า รายได้อื�น ๆ รวมรายได้
38
2558
1,369.85 100.00%
1,124.89 100.00%
2560
1,084.99 100.00%
โครงการในอนาคต บริ ษทั ฯ ยังคงยึดมัน� ในนโยบายจัดสรรโครงการบนทําเลที�ดีที�สุดและพัฒนาสิ นค้าให้ตรงกับกลุ่มที� มีกาํ ลังซื� อหลักในทําเลนั�นๆ นอกจากนั�นบริ ษทั ฯ จะเน้นการสร้างสังคมภายในโครงการให้มีระเบียบของการอยู่ อาศัยร่ วมกันเพื�อก่อให้เกิดชุมชนและสังคมเพื�อการอยูอ่ าศัยที�สงบสุ ขอย่างแท้จริ ง ผลตอบแทนที�คาดว่าจะได้รับ ผลตอบรั บของตลาดในปี พ.ศ. 2560 พบว่าแบรนด์ “สัม มากร” ได้รับความนิ ยมและจดจําจาก กลุ่ ม เป้ าหมายเพิ� ม มากขึ� น และมี ผลตอบรั บจากกลุ่ ม ลู ก ค้า เหล่ านั�นเพิ� ม มากด้วย โดยจะเห็ นได้จากจํา นวน โครงการที�ปิดการขายลง และโดยเฉพาะกลุ่มเป้ าหมายรุ่ นใหม่ที�ให้การต้อนรับที�ดีต่อโครงการทาวน์โฮม สัมมากร อเวนิ ว นอกจากนั�นแบรนด์ “สัมมากร” ยังถูกจดจําถึ งคุ ณค่าของแบรนด์ที�ส่งมอบบ้านที�มีคุณภาพได้อย่าง ต่อเนื�อง ดังนั�นแผนธุ รกิจในปี พ.ศ. 2561 ที�มุ่งเน้นการส่ งมอบบ้านที�มีคุณภาพและการเพิ�มและพัฒนาหน่วยงาน ตรวจสอบคุณภาพ และบริ การหลังการขายที�จะนํามาซึ� งการแนะนําจากลูกค้าสู่ กลุ่มเป้ าหมายใหม่ ทําให้บริ ษทั ฯ มียอดรายได้และกําไรเพิ�มขึ�นตามเป้ าหมายที�วางไว้ ปั จจัยที�ทาํ ให้บริ ษทั ไม่สามารถดําเนิ นการตามแผนได้ บริ ษทั ฯดําเนินธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์มายาวนาน มีความรู ้และมีความเข้าใจในธุ รกิจเป็ นอย่าง ดี ผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั ฯ จึงเติบโตและมี กาํ ไรอย่างต่อเนื� องสมํ�าเสมอ ผลการดําเนิ นงานส่ วนใหญ่ได้ ใกล้เคียงกับเป้ าหมายที�วางไว้ ยกเว้นกรณี มีปัจจัยที�มีผลกระทบทางเศรษฐกิ จและสังคม เช่ น ปั ญหาเศรษฐกิ จ ชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก และปั ญหานโยบายของสถาบันการเงินที�เข้มงวดในการปล่อยสิ นเชื� อ ซึ� งสวนทางกับ จํานวนอุปทานที�ยงั มีอยูม่ ากในตลาด อาจเป็ นเหตุให้บริ ษทั ฯ ไม่สามารถดําเนิ นงานให้สําเร็ จตามแผนหรื อตาม เป้ าหมายที�วางไว้
2560
39
ปัจจัยความเสี ่ยง ดการ โครงสรางการถื อหุนและการจั of Risk Structure Shareholding Factors and Management �������������� �� (Factors of Risk) ปั จจัยที�ก่อให้เกิดความเสี� ยงกับบริ ษทั ฯ มีแหล่งที�มาของความเสี� ยงทั�งจากภายในองค์กรและภายนอก องค์กร �ึ� งปั จจัยความเสี� ยงภายในองค์กร เป็ นความเสี� ยงที�คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ฯ จะพยายาม ทําให้ลดน้อยลงหรื อหมดไปให้ได้มากที� สุด ส่ วนปั จจัยความเสี� ยงจากปั จจัยภายนอกองค์กรเป็ นความเสี� ยงที� คณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ต้องพยายามกําหนดนโยบายในการบริ หารจัดการให้ลดผลกระทบ ในทางลบให้ได้มากที�สุด ดังจะได้กล่าวถึงในแต่ละปั จจัยความเสี� ยง ดังต่อไปนี� ปั จจัยความเสี� ยงภายในองค์กร 1. ด้านการเงิน และสภาพคล่องทางการเงิน ธุ รกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เป็ นธุ รกิจที�ใช้เงินลงทุนสู ง หากเกิดเหตุการณ์ที�เหนื อความคาดหมายอย่าง รุ นแรง อาจทําให้เกิดปั ญหาสภาพคล่องทางการเงินได้ บริ ษทั ฯ จึงถือเป็ นนโยบายที�ถือป�ิบตั ิอย่างต่อเนื� องเรื� อง การรักษาสภาพคล่อง โดยมุ่งเน้นการลงทุนพัฒนาโครงการที�มีความเสี� ยงในระดับยอมรับได้ โดยมีความเป็ นไป ได้ของโครงการอยู่ในระดับสู ง นอกจากนี� การเตรี ยมวงเงิ นสิ นเชื� อหมุนเวียนไว้ ก็เป็ นแนวทางที�บริ ษทั ฯ ได้ ดําเนินการไว้ดว้ ยแล้วเช่นกัน อันจะนํามา�ึ� งความเชื� อมัน� ในการดําเนิ นธุ รกิจให้มีสภาพคล่องอย่างเพียงพอ เมื�อ เกิดเหตุการณ์เหนือความคาดหมายอย่างรุ นแรง 2. ด้านการตลาดและการขาย ถื อเป็ นหัวใจในการดําเนิ นธุ รกิ จให้ประสบความสําเร็ จ ดังนั�นบริ ษทั ฯ จึ งมุ่งมัน� ที� จะสร้ างตราสิ นค้า (Brand) ให้เป็ นที�ยอมรับของผูบ้ ริ โภคอย่างต่อเนื� องและยาวนาน โดยการสร้างทีมการบริ หารจัดการเพื�อบริ การ ลูกค้าตั�งแต่ ก่ อนการขาย ระหว่างการขาย และหลังการขายอย่างเป็ นระบบ อันจะนํามา�ึ� งความเชื� อมัน� ของ ผูบ้ ริ โภค นอกจากนี�การเปิ ดช่องทางการตลาดและการขายใหม่ๆ ก็เป็ นส่ วนที�บริ ษทั ฯ สามารถนํามาใช้ให้เป็ น ประโยชน์ได้ 3. ด้านการก่อสร้างและพัฒนาโครงการ ถือว่าเป็ นส่ วนสําคัญที�จะช่วยเสริ มให้บริ ษทั ฯ ประสบความสําเร็ จตามเป้ าหมายที�กาํ หนดไว้ได้ ดังนั�น บริ ษทั ฯ จึงเข้มงวดทั�งในเรื� องของคุณภาพ เวลา และต้นทุน ให้เป็ นไปตามแผนที�กาํ หนดไว้ อย่างไรก็ตามจะยังมี ปั จจัยภายนอกเข้ามามีผลกระทบค่อนข้างมาก เช่น การขาดแคลนแรงงาน การขึ�นค่าแรงงานขั�นตํ�า การปรับราคา ของวัสดุก่อสร้าง เป็ นต้น ดังนั�นบริ ษทั ฯ จึงใช้กลยุทธ์ในหลากหลายมิติ เพื�อลดปั ญหาผลกระทบ เช่น การปรับ
40
2560 รายงานประจำป 2560
6
กลยุทธ์เป็ น“สร้างบ้านก่อนขาย” เพื�อสามารถวางแผนได้อย่างต่อเนื� อง โดยต้องควบคุมปริ มาณให้สัมพันธ์กบั ยอดขาย ไม่ให้สต๊อกมีมากเกินไป 4. ด้านทรัพยากรบุคคล และการบริ หารจัดการ ด้วยวิสัยทัศน์ของคณะกรรมการและฝ่ ายจัดการของบริ ษทั ฯ ในด้านการบริ หารทรัพยากรบุคคล ที�ให้ท� งั โอกาสและช่องทางให้พนักงานได้แสดงความสามารถ ถือเป็ นแนวคิดหลักที�จะทําให้พนักงานรู ้ถึงคุณค่าของ ตนเอง และมุ่งมัน� ที�จะนําองค์ความรู ้มาพัฒนาองค์กรให้เจริ ญเติบโตอย่างมัน� คงและยัง� ยืน เป็ นการปลูกจิตสํานึ ก ความรับผิดชอบต่อทุกฝ่ ายที�เกี�ยวข้อง รวมทั�งจิตวิญญาณแห่งความเป็ นเจ้าของ ปั จจัยความเสี� ยงภายนอกองค์กร 1. ด้านภาวะเศรษฐกิจ ปี 2560 ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ยงั ฟื� นตัวไม่ดีเท่าที�ควรเมื�อเทียบกับปี 2559 เนื� องจากศักยภาพของผูท้ ี�จะกู้ ซื�อที�อยูอ่ าศัยซึ� งมีภาระหนี�อื�นสู ง ทําให้ธนาคารพาณิ ชย์พิจารณาไม่ปล่อยสิ นเชื� อเพื�อกูซ้ �ื อที�อยูอ่ าศัย หรื อให้กไู้ ม่ เต็มจํานวนที�ลูกค้าต้องการ กอปรกับการแข่งขันที�สูง ทําให้ส่งผลกระทบต่อการเติบโตของบริ ษทั ฯ ในการขาย อสังหาริ มทรัพย์ประเภทที�อยู่อาศัย ซึ� งบริ ษทั ฯก็จะพยายามขยายกิจการด้านการให้เช่ าให้มากขึ�น เพื�อลดความ เสี� ยงเรื� องรายได้จากการขายที�อยูอ่ าศัยชะลอตัว 2. ด้านการเมืองการปกครอง ประชาธิ ปไตยในประเทศไทยยังคงเป็ นปั จจัยที�ตอ้ งคอยเฝ้ าระวัง ความมีเสถี ยรภาพของรัฐบาล ยังคง ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด อย่างไรก็ตามสิ นค้าประเภทที�พกั อาศัยถือเป็ นหนึ� งในปั จจัยสี� ที�ยงั คงมีความจําเป็ นในการ ดํารงชี วิต ถึงแม้วา่ จะเกิดประเด็นปั ญหาทางด้านการเมือง ความขัดแย้งของคนในสังคม ก็เป็ นเพียงการกระทบ ด้านอุปสงค์ในระยะสั�น การวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ของโครงการและพยายามลดหรื อหลีกเลี� ยงปั จจัยเสี� ยงให้ ได้มากที�สุด จะเป็ นแนวทางหลักในการดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ฯ 3. ด้านสังคมและพฤติกรรมผูบ้ ริ โภค สังคมเมืองในปั จจุบนั และอนาคต ขนาดของครอบครัวจะเล็กลง การเป็ นครอบครัวเดี�ยวหรื ออยูค่ นเดียว จะมีจาํ นวนเพิ�มมากขึ�น จํานวนผูส้ ู งอายุจะมีอตั ราการเพิ�มขึ�นอย่างมีนยั สําคัญในอนาคตอันใกล้ (ผูท้ ี�เกิ ดในยุค Baby boom จะเข้าสู่ ช่วงผูส้ ู งวัย) การปรับลักษณะของสิ นค้าให้เหมาะสมกับกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายและพฤติกรรม ผูบ้ ริ โภค ถือเป็ นสิ� งสําคัญและจําเป็ นอย่างหลีกเลี�ยงมิได้ ดังนั�นบริ ษทั ฯ จึงมุ่งเน้นการเก็บข้อมูลผูบ้ ริ โภคในเชิ ง ลึก เพื�อให้สามารถผลิตสิ นค้าที�ตอบสนองความต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมายให้ได้มากที�สุด
2560
41
4. ด้านเทคโนโลยีและการสื� อสาร เป็ นที� ย อมรั บ กันอย่า งกว้า งขวางว่าเทคโนโลยีแ ละการสื� อสารทําให้โลกธุ รกิ จ นี� แคบลงอย่า งมาก โดยเฉพาะอย่างยิ�งกิ จกรรมด้านการตลาด ซึ� งส่ งผลให้เข้าถึ งลูกค้ากลุ่ มเป้ าหมายได้มากขึ�นภายใต้ค่าใช้จ่ายที� ลดลง ส่ วนทางด้านการก่อสร้ างและพัฒนาโครงการนั�น เทคโนโลยีสมัยใหม่ก็มีส่วนช่ วยให้สามารถควบคุ ม คุณภาพ กําหนดกรอบเวลา และบริ หารต้นทุนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง� ขึ�น 5. ความเสี� ยงเกี�ยวกับการแข่งขัน ธุ รกิจจัดสรรบ้านและที�ดินเป็ นธุ รกิ จที�มีการแข่งขันกันสู งมาก เพราะมีผปู ้ ระกอบการในตลาดมากราย แต่ละรายก็เน้นที�จะเพิ�มยอดขายและทํากําไรให้สูงขึ�น ทําให้ปริ มาณการก่อสร้างบ้านมีมากกว่ากําลังซื� อ บ้าน จัดสรรจําเป็ นต้องสร้างเป็ นการล่วงหน้า และกว่าจะแล้วเสร็ จต้องใช้เวลาหลายเดือน ถ้าเกิดภาวะเศรษฐกิจชะลอ ตัว กําลังซื� อตกลง จะเหลือบ้านในสต๊อกจํานวนมาก ดังนั�นเพื�อให้ขายบ้านได้ผจู ้ ดั สรรจําเป็ นต้องลดราคาลง ทํา ให้การแข่งขันยิง� รุ นแรงขึ�น ยอดขายโดยรวมจะลดลง ขณะที�ตน้ ทุนยังสู งอยู่ แนวทางแก้ไข คือ ต้องติดตามสถานการณ์ตลาดบ้านจัดสรรและทิศทางภาวะเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด ลด การปลูกสร้ างบ้านล่ วงหน้ามิให้มีจาํ นวนมากเกิ นไป สร้ างบ้านคุ ณภาพ ควบคุ มต้นทุน ลดค่าใช้จ่าย เน้นการ บริ การและเพิ�มความพึงพอใจให้แก่ ลู กค้า และสร้ างความแตกต่าง เพื�อรั กษายอดขาย วิธีการดังกล่ าวอาจมี ผลกระทบต่อกําไรโดยรวมบ้าง 6. ความเสี� ยงเรื� องกําลังซื� อลดลง ความเสี� ยงดังกล่าวอาจเกิดจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ซึ� งทําให้มีผลกระทบต่อการส่ งออกอย่าง มีสาระสําคัญ เมื�อการส่ งออกลดลงจะมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยค่อนข้างมาก เพราะการเติบโต ทางเศรษฐกิจพึ�งพาการส่ งออกในอัตราที�สูง ทําให้เกิดปั ญหาการว่างงาน จึงอาจทําให้ผบู ้ ริ โภคขาดความเชื� อมัน� และระมัดระวังเรื� องการใช้จ่ายมากขึ�น แนวทางแก้ไข คือ บริ ษทั ฯ ต้องเน้นสร้างบ้านคุณภาพในราคาที�แข่งขันได้ โดยใช้นวัตกรรมต่างๆ เข้า มาช่วยให้มากขึ�น ทั�งแบบบ้าน วัสดุก่อสร้าง และกระบวนการก่อสร้าง บริ ษทั ฯ ต้องใช้การตลาดให้หลากหลาย มากขึ�น เพื�อกระตุน้ ยอดขาย 7. ความเสี� ยงเกี�ยวกับการขาดแคลนแรงงานก่อสร้าง เมื� อ เศรษฐกิ จ ของประเทศเติ บ โต ความต้อ งการที� อ ยู่อ าศัย จะเพิ� ม สู ง ขึ� น ประกอบกับ การลงทุ น สาธารณูปโภคของภาครัฐ ทําให้เกิดปั ญหาขาดแคลนผูร้ ับเหมา และขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานฝี มือดี
42
2560
ยิง� หายาก ผลที�ตามมาคือ งานก่อสร้างบ้านเสร็ จล่าช้าและไม่ได้คุณภาพ ทําให้ลูกค้าไม่พอใจ ยอดขายตก สร้าง ผลเสี ยหายแก่บริ ษทั ฯ ทั�งในระยะสั�นและระยะยาว แนวทางแก้ไ ข คื อ ปรั บ ราคาจ้า งเหมาให้เหมาะสมตามอัตราตลาด รวมทั�ง จัดเกรดผูร้ ั บ เหมา เพื� อ สามารถปรับอัตราจ้างพิเศษให้แก่ผรู ้ ับเหมาฝี มือดี และใช้ระบบก่อสร้างกึ�งสําเร็ จรู ปมากขึ�น ทั�งงานโครงสร้าง งานพื�น งานโครงหลังคา และงานก่อฉาบ เพื�อลดอัตราการใช้แรงงานให้นอ้ ยลง เป็ นวิ�ีที�จะช่ วยแก้ปัญหาการ ขาดแคลนแรงงานให้บรรเทาลงได้
2560
43
โครงสรา งการถือหุนและการจัดการ ภาวะอุตสาหกรรมตลาดที่อยู่อาศัย Shareholding and Management Real Estate Business in 2017 and ProspectStructure for 2018 ภาวะอุตสาหกรรมตลาด��อ� ยู่อาศัย
REAL ESTATE BUSINESS IN 2017 AND PROSPECT FOR 2018 เศรษฐกิจไทยปี 2560 มีการเติบโตของ GDP ประมาณร้อยละ 3.9 ปรับตัวดีข� ึนจากการขยายตัวร้อยละ 3.2 ในปี 2559 เป็ นการเติบโตในอัตราที�สูงขึ�นต่อเนื� องมา 3 ปี บ่งบอกถึงการค่อยๆ ฟื� นตัวของเศรษฐกิจ อัตรา การขยายตัวนี�สูงกว่าที�ประมาณการไว้เมื�อต้นปี 2560 ซึ� งเป็ นผลมาจากการบริ โภคภาคเอกชนขยายตัวเร่ งขึ�นตาม การปรับตัวดีข� ึนของฐานรายได้รวมในระบบเศรษฐกิจ มาตรการกระตุน้ การใช้จ่ายของภาครัฐ และการเพิ�มขึ�น ของความเชื�อมัน� ผูบ้ ริ โภค อุปทานด้านที�อยูอ่ าศัยเปิ ดขายใหม่ในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ประเภท
2559
2560
ไตรมาส 4 ไตรมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4
YOY
Y2559
Y2560
YOY
แนวราบ
14,437
13,321
11,244
12,773
13,903
-3.7%
53,657
51,241
-4.5%
อาคารชุด รวมจํานวนหน่วย
10,497 24,934
10,423 23,744
17,749 28,993
18,818 31,591
12,801 26,704
21.9% 7.1%
72,886 126,543
59,791 111,032
-18.0% -12.3%
ที�มา :ข้อมูลจากศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริ มทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ในปี 2560 มีจาํ นวนหน่วยลดลงร้อยละ 12.3 เมื�อเทียบกับปี 2559 หรื อลดลงจาก 126,543 หน่วย เป็ น 111,032 หน่วย โดยที�อยูอ่ าศัยที�สร้างเสร็ จลดลงมากจากปี 2559 เป็ นที�อยูอ่ าศัยประเภทอาคารชุ ด ลดลงร้อยละ 18 ส่ วนที�อยูอ่ าศัยแนวราบ ลดลงร้อยละ 4.5 เนื� องมาจากในช่วงต้นปี 2559 ผูป้ ระกอบการเร่ งการก่อสร้างให้ เสร็ จทันมาตรการของรัฐที�มีการลดหย่อนค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิ ทธิ� ศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริ มทรัพย์แสดงมูลค่าการโอนกรรมสิ ทธิ� ที�อยูอ่ าศัยในกรุ งเทพฯและปริ มณฑลปี 2560 เท่ากับ 427,728 ล้านบาท โดยจํานวนลดลงร้อยละ 6.8 และมูลค่าลดลงร้อยละ 3.7 เมื�อเทียบกับปี 2559 ซึ� งมียอด โอนกรรมสิ ทธิ� 175,315 หน่วย และมีมูลค่า 444,113 ล้านบาท เนื� องจากเมื�อ 4 เดือนแรกของปี 2559 เป็ นช่วงที�มี การเร่ งโอนกรรมสิ ทธิ� และยังแสดงให้เห็นว่าธุ รกิ จอสังหาริ มทรัพย์ยงั ฟื� นตัวไม่ดีเท่าที�ควร เหตุผลหลักมาจาก ศักยภาพของผูท้ ี�จะกูซ้ �ือที�อยูอ่ าศัยซึ� งมีภาระหนี� อื�นสู ง ทําให้ธนาคารพาณิ ชย์พิจารณาไม่ปล่อยสิ นเชื� อเพื�อกูซ้ �ื อที� อยู่อาศัย หรื อให้กไู้ ม่เต็มจํานวนที�ลูกค้าต้องการ กอปรการแข่งขันที�สูง ทําให้ส่งผลกระทบต่อการเติบโตของ บริ ษทั ฯ ในการขายอสังหาริ มทรัพย์ประเภทที�อยูอ่ าศัย
44
2560
ตารางแสดงราคาเ�ลี�ยต่อหน่วยที�อยูอ่ าศัยโอนกรรมสิ ทธิ�ในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล 2556
2557
2558
2559
2560
2560 vs 2559
กรุ งเทพฯ - ปริมณฑล (BKK - Vicinities) อาคารชุด/Condominiums
2.39
3.07
2.47
2.53
2.62
3.30%
2.15
2.61
2.2
2.17
2.5
14.90%
บ้านเดี�ยว/Detached Houses
4.12
5.29
4.6
5.26
4.39
-16.50%
ทาวน์เฮาส์/Townhouses
1.61
2.1
1.49
1.79
1.84
2.70%
บ้านแฝด/Duplexes
2.36
2.78
2.38
3.09
3.11
0.60%
อาคารพาณิ ชย์/Shophouses
2.86
4.02
3.45
3.87
3.21
-17.20%
ที�มา :ข้อมูลจากศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริ มทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ โดยเ�ลี�ยแล้วราคาต่อหน่วยที�อยูอ่ าศัยที�โอนกรรมสิ ทธิ� ปี 2560 เพิ�มขึ�นจากหน่วยละ 2.53 ล้านบาท เป็ น 2.62 ล้านบาท หรื อเพิ�มขึ�นร้อยละ 3.3 แต่เมื�อดูรายละเอียด จะเห็นว่าราคาเ�ลี�ยต่อหน่วยของอาคารชุ ดเพิ�มขึ�น มาถึงร้อยละ 14.9 ส่ วนบ้านเดี�ยวลดลงถึงร้อยละ 16.5 สอดคล้องกับตลาดอาคารชุ ดหรู ในเมืองที�มีการก่อสร้าง กันหลายโครงการ ส่ วนตลาดบ้านเดี�ยวโดยรวมมีจาํ นวนหน่วยโอนกรรมสิ ทธิ�ปี 2560 สู งกว่าปี 2559 ร้อยละ 9.2 แต่มูลค่ารวมลดลงร้อยละ 8.8 เนื�องจากตลาดบ้านเดี�ยวเติบโตเ�พาะในจังหวัดปริ มณฑล �ึ� งเป็ นบ้านที�มีราคาต่อ หน่ วยตํ�ากว่าในกรุ งเทพฯ จึงทําให้มูลค่ายอดโอนกรรมสิ ทธิ� โดยรวมและราคาเ�ลี� ยต่อหน่ วยของบ้านเดี� ยวตํ�า กว่าปี 2559 ตารางแสดงสัดส่ วนของหน่วยที�อยูอ่ าศัยโอนกรรมสิ ทธิ�ในกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ปี 2556-2560 กรุ งเทพฯ - ปริมณฑล (BKK - Vicinities) อาคารชุด/Condominiums
2556
2557
2558
2559
2560
41%
39%
37%
51%
49%
บ้านเดี�ยว/Detached Houses
17%
19%
17%
12%
14%
ทาวน์เฮาส์/Townhouses
31%
31%
35%
29%
29%
บ้านแฝด/Duplexes
3%
4%
4%
3%
4%
อาคารพาณิ ชย์/Shophouses
8%
7%
8%
5%
4%
ที�มา :ข้อมูลจากศูนย์ขอ้ มูลอสังหาริ มทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ จากข้อมูลดังกล่ าว ฝ่ ายจัดการวิเคราะห์ได้ว่าสัดส่ วนของอาคารชุ ดเป็ นครึ� งหนึ� งของหน่ วยที� อยู่อาศัย โอนกรรมสิ ทธิ�ท� งั หมด โดยเริ� มเพิ�มขึ�นมากจากปี 2558 แต่ค่อนข้างคงที�ในปี 2559 และ 2560 คาดว่าเนื� องมาจาก
2560
45
การก่อสร้างอาคารชุ ดจะใช้เวลาก่ อสร้างประมาณ 1-3 ปี จึงจะแล้วเสร็ จและสามารถโอนกรรมสิ ทธิ� ได้ โดย ตัวเลขการโอนกรรมสิ ทธิ� ในปี 2559 และปี 2560 มาจากการขายตั�งแต่ปี 2556-2558 ซึ� งเป็ นอาคารชุ ดแนว รถไฟฟ้า เมื�อมองสัดส่ วนโดยรวมจะพบว่าสัดส่ วนปี 2559 และปี 2560 ค่อนข้างคงที�และแตกแต่งจาก 3 ปี ที�ผา่ น มา อาจเนื�องมาจากพ�ติกรรมการอยูอ่ าศัยของคนรุ่ นใหม่ที�นิยมอาคารชุด ซึ� งตอบโจทย์การอยูอ่ าศัยในยุคใหม่ ที� เน้นความสะดวกในการเดินทาง Life Style และความมีอิสระ การลงทุ นระบบสาธารณู ปโภคของภาครั ฐยังเป็ นไปอย่างต่อเนื� อง ทั�งระบบรถรางในกรุ งเทพฯและ ปริ มณฑล และระบบถนนและทางด่ วน รถไฟฟ้าสายสี ม่วงเปิ ดให้บริ การเมื� อเดื อนสิ งหาคม 2559 และได้ เชื� อมต่อระหว่างสถานี เตาปูนและสถานี บ างซื� อเป็ นที� เรี ย บร้ อยแล้ว จึ ง ทํา ให้สะดวกต่อการใช้ง าน ปริ ม าณ ผูใ้ ช้บริ การมากขึ�นกว่าเดิมจึงเป็ นอานิสงส์ทาํ ให้อสังหาริ มทรัพย์แนวรถไฟฟ้ าปิ ดการขายได้มากขึ�น การก่อสร้าง รถไฟฟ้าส่ วนต่อเชื�อมสายสี เขียว สายสี น� าํ เงิน และรถไฟฟ้ าใต้ดินต่อจากสถานีหวั ลําโพง ยังเป็ นไปอย่างต่อเนื� อง ส่ วนระบบถนนและทางด่วน ฝั� งตะวันออกมีการก่ อสร้างถนนตัดใหม่ร่มเกล้า-ศรี นคริ นทร์ ซึ� งจะช่ วยระบาย รถยนต์จากถนนรามคําแหงและมอเตอร์ เวย์และเปิ ดพื�นที� โซนตะวันออกเพิ�มขึ�น ต่างจังหวัดงานก่ อสร้างทาง หลวงพิเศษหมายเลข 7 ส่ วนต่อขยายไปบ้านฉางและทางหลวงพิเศษสายตะวันออกเฉี ยงเหนื อเริ� มก่อสร้างแล้ว ซึ� งล้วนแต่จะช่วยเปิ ดพื�นที�ใหม่เพิ�มขึ�นและเป็ นผลดีสาํ หรับธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ ตั�ง แต่ ป ลายปี 2559 ถึ ง ปลายปี 2560 เป็ นช่ ว งเวลาที� ช าวไทยทั�ง ประเทศต้อ งโศกเศร้า กับ การเสด็ จ สวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็ นช่วงที�ประเทศอยูใ่ นการไว้ทุกข์แสดงความ อาลัย และงดกิจกรรมต่างๆ สําหรับปี 2561 ธนาคารแห่ งประเทศไทยประเมินการขยายตัว GDP ประเทศไทยที�ร้อยละ 3.9 ซึ� ง เท่ากับปี 2560 หมายความว่าเศรษฐกิจไทยคงยังอยูใ่ นสภาวะการเติบโตแบบค่อยเป็ นค่อยไป ทั�งนี�ยงั มีความเสี� ยง จากปั จ จัย ภายนอก เช่ น การขยายตัว ของเศรษฐกิ จประเทศคู่ ค้า จากนโยบายกระตุ ้นเศรษฐกิ จของสหรั ฐ ฯ เศรษฐกิจจีน การส่ งออกในเอเซี ย ส่ วนปั จจัยภายในต้องจับตามองแนวโน้มการขึ�นดอกเบี�ย ทั�งนี� การลงทุนใน ระบบสาธารณู ป โภคของภาครั ฐ จะเพิ� ม ศัก ยภาพที� ดิ น และเปิ ดทํา เลใหม่ เป็ นโอกาสของผูป้ ระกอบการ อสังหาริ มทรั พย์ที�จะสรรหาที� ดินเพื�อพั�นาโครงการโดยคาดว่า อุ ปสงค์และอุ ป ทานของที� อยู่อาศัยจะยังคง ขยายตัวเพิม� ขึ�น เนื�องจากผูป้ ระกอบการได้ปรับตัวและเน้นเจาะกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายที�มีความสามารถในการผ่อน ชําระได้จริ งในกลุ่มปานกลางค่อนข้างสู ง เพื�อลดอัตราการปฏิเสธสิ นเชื�อจากสถาบันการเงิน
46
2560
อมูลเกีอ ่ยหุ วกั บริษัท ดการ โครงสราข้งการถื นบ และการจั Structure
ข้ อมูลเกีย่ วกับบริษัท Profile Shareholding and Management COMPANY PROFILE Company ชื่อบริ ษทั ที่ต้งั
: :
ประเภทธุรกิจ รอบระยะเวลาบัญชี ทุนจดทะเบียน ทุนชาระแล้ว จานวนหุ ้นที่ออกจาหน่าย มูลค่าที่ตราไว้ ผูส้ อบบัญชี
: : : : : : :
นายทะเบียนบริ ษทั
:
บริ ษทั สัมมากร จากัด (มหาชน) 86 อาคารสัมมากรเพลส รามคาแหง ถนนรามคาแหง แขวงสะพานสู ง เขตสะพานสู ง กรุ งเทพฯ 10240 โทรศัพท์ (66) 0 2106 8300 โทรสาร (66) 0 2106 8399 E-mail : contact@sammakorn.co.th Website : www.sammakorn.co.th พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 641,803,026 บาท 641,800,446 บาท หุน้ สามัญ 641,800,446 หุน้ หุน้ ละ 1 บาท บริ ษทั สานักงาน อีวาย จากัด โดย ฉัตรชัย เกษมศรี ธนาวัฒน์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 5813 และ/หรื อ นางชลรส สันติอศั วราภรณ์ ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 4523 และ/หรื อ นางสาวศิราภรณ์ เอื้ออนันต์กุล ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3844 ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ (66) 0 2264 9090 โทรสาร (66) 0 2264 0789-90 บริ ษทั ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เลขที่ 93 ชั้น 14 ถนนรัชดาภิเษก ดินแดง กรุ งเทพฯ 10400 โทรศัพท์ (66) 0 2009 9000 โทรสาร (66) 0 2009 9992
1 2560 รายงานประจำป 2560
47 6
สถาบันการเงิน
:
1. ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จากัด (มหาชน) 2. ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จากัด (มหาชน) 3. ธนาคารกสิ กรไทย จากัด (มหาชน) 4. ธนาคารทหารไทยจากัด (มหาชน)
Company Name Location
: :
Type of Business Accounting Period Registered Capital Paid-up Capital Issue Capital Shares Par Value Auditor
: : : : : : :
Securities Resgistrar
:
Sammakorn PCL 86 Sammakorn Place Ramkhamhaeng Ramkhamhaeng Road, Saphansoong Bangkok 10240 Tel. (66) 0 2106 8300 Fax. (66) 0 2106 8399 E-mail : contact@sammakorn.co.th Website : www.sammakorn.co.th Real Estate Development January 1 – December 31 Baht 641,803,026 Baht 641,800,446 641,800,446 Ordinary shares Baht 1 per share EY Office Limited By Mr. Chatchai Kasemsrithanawat Certified public accountant registration no. 5813 and/or Mrs Chonlaros Suntiasvaraporn Certified public accountant registration no. 4523 and/or Miss Siraporn Ouaanunkun Certified public accountant registration no. 3844 33rd Floor, Lake Rajada Office Complex, 193/136-137 Rajadapisek Road, Klongtoey, Bangkok 10110 Tel. (66) 0 2264 9090 Fax. (66) 0 2264 0789-90 Thailand Securities Depository Co., Ltd. 93 The Stock Exchange of Thailand Building 14 Floors, Rajadapisek Road, DinDang Bangkok 10400, Thailand 2
48
2560
Banks
:
Tel. (66) 0 2009 9000 Fax. (66) 0 2009 9992 1.Siam Commercial Bank PCL 2.Bank of Ayudhya PCL 3.Kasikorn Bank PCL 4.TMB BANK PCL
2560
49
างการถืเอ หุนและการจั ดการ ค�ำโครงสร อธิบายและการวิ คราะห์ ของฝ่ายจั ดการ คําอธิบายและการวิ เคราะห์ ของฝ่ ายจัดการ and Shareholding Management Structure Management Discussion and Analysis MANAGEMENT DISCUSSION AND ANALYSIS
ถึงแม้อตั ราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในปี 2560 จะมีการปรับตัวดีข� ึนอย่างต่อเนื� อง แต่ในภาคส่ วน ธุ รกิจอสังหาริ มทรัพย์ของปี 2560 มีมูลค่าการโอนกรรมสิ ทธิ� ที�อยูอ่ าศัยในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑลลดลงเมื�อเทียบ กับปี ก่อน ปั ญหาภาระหนี� ครั วเรื อน ยังคงส่ งผลกระทบต่อการพิจารณาไม่ปล่ อยสิ นเชื� อของธนาคารพาณิ ชย์หรื อให้ สิ นเชื�อได้ไม่เต็มจํานวนที�ลูกค้าต้องการ ผลการดําเนิ นงานปี 2560 บริ ษทั ฯ มีรายได้รวม 1,212 ล้านบาท เมื�อเทียบกับปี ก่อนลดลง 35 ล้านบาท หรื อคิด เป็ นร้อยละ 2.81 เนื� องจากมีรายการที�มิได้เกิดขึ�นประจํา คือ ในปี 2559 บริ ษทั ฯ มีรายการบันทึกรับรู ้อาคารและรายได้ จากการรับโอนอาคารตามมูลค่ายุติธรรม จํานวน 80 ล้านบาท มาเป็ นสิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯ ตามสัญญาเช่าที�สิ�นสุ ดลง ในปี 2560 บริ ษทั ฯ มีตน้ ทุนและค่าใช้จ่ายรวมเพิ�มขึ�น 12 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 1.12 เมื�อเทียบกับปี ก่อน มาจากต้นทุนจากการขายอสังหาริ มทรัพย์ที�เพิ�มขึ�น 13 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 1.99 ซึ� งเป็ นการเพิ�มขึ�นที�สอดคล้อง กับรายได้จากการขายอสังหาริ มทรัพย์ที�เพิ�มขึ�น ด้านต้นทุนให้เช่าและบริ การลดลง 13 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 6.95 เนื� องจากปี 2559 มีการซ่ อมบํารุ งและปรับปรุ งพื�นที�เช่ า ส่ วนค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หารเพิ�มขึ�น 12 ล้านบาท หรื อ คิดเป็ นร้อยละ 5.19 เกิดจากการซ่ อมแซมสาธารณู ปโภคในโครงการเพื�อเตรี ยมส่ งมอบพื�นที�ส่วนกลางให้กบั นิ ติบุคคล หมู่บา้ นจัดสรรในอนาคต มีผลให้กาํ ไรสุ ทธิ ของบริ ษทั ฯในปี 2560 เท่ากับ 56 ล้านบาท เทียบกับปี ก่อนมีจาํ นวน 103 ล้านบาท หรื อลดลง 47 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 45.63 โดยคิดเป็ นอัตรากําไรต่อหุ ้นในปี 2560 และปี 2559 ที� 0.09 และ 0.16 บาทตามลําดับ ในปี 2560 เมื�อเทียบกับปี 2559 บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์รวมลดลง จํานวน 51 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 1.33 โดยใน ปี 2560 มีจาํ นวนสิ นทรัพย์รวม 3,797 ล้านบาท เทียบจากปี ก่อนมีจาํ นวน 3,848 ล้านบาท โดยที�สินทรัพย์หมุนเวียนที� เป็ นเงิ นสดหรื อเที ยบเท่าเงิ นสดเพิ�มขึ�นจาก 27 ล้านบาทในปี 2559 เป็ น 45 ล้านบาทในปี 2560 ต้นทุ นการพัฒนา โครงการอสังหาริ มทรัพย์เพิ�มขึ�นจาก 2,116 ล้านบาทในปี 2559 เป็ น 2,404 ล้านบาทในปี 2560 เป็ นผลจากการนําที�ดิน รอการพัฒนาที�อยู่ในสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนในปี 2559 นํามาพัฒนาโครงการในปี 2560 อย่างไรก็ตามบริ ษทั ฯ ยังคง นโยบายควบคุมสต๊อกบ้านให้มีอยู่ในปริ มาณที�เหมาะสม ส่ วนสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน ในปี 2560 บริ ษทั ฯ สามารถปิ ด บัญชีเงิน�ากธนาคารที�มีภาระคํ�าประกันที�คา้ งอยูจ่ าํ นวน 10 ล้านบาทลงได้ บริ ษทั ฯ มีหนี� สินรวมลดลง 105 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 6.59 โดยในปี 2560 มีจาํ นวนหนี� สินรวม 1,488 ล้าน บาท เทียบจากปี ก่อนมีจาํ นวน 1,593 ล้านบาท ด้วยบริ ษทั ฯ ได้ดาํ เนิ นการจัดหาเงินวงเงินสิ นเชื� อระยะยาวเข้ามาเพิ�มเติม เพื�อปรับลดเงินสิ นเชื�อระยะสั�นประเภทตัว� แลกเงิน และเพื�อรักษาสภาพคล่องตามนโยบาย ทั�งนี� บริ ษทั ฯ ตระหนักดีถึง
50
2560
การบริ หารเงินสดให้มีความสอดคล้องระหว่างรายได้และเงินกูร้ ะยะสั�นมีการดูแลการบริ หารเงินสดอย่างรอบคอบ และ ได้จดั เตรี ยมวงเงินสํารองเพื�อใ�้ในกิ จการ อัตราส่ วนหนี� สินรวมต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น ปี 2560 เท่ากับ 0.64 ลดลงจากปี 2559 ที�มีอตั รา 0.71 และยังอยูใ่ นเกณ�์ที�เหมาะสมกับสถานการณ์เศรษฐกิจและนโยบายของบริ ษทั ฯ ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นเพิ�มขึ�น จํานวน 55 ล้านบาท คิดเป็ นร้ อยละ 2.44 จํานวน โดยในปี 2560 มีส่วนของผูถ้ ือหุ ้น 2,309 ล้านบาท เทียบจากปี ก่อนมีจาํ นวน 2,254 ล้านบาท
2560
51
52
2560
2560
53
54
2560