555

Page 1

บทที่ 1 ประวัตแิ ละความเป็ นมาของการลีลาศ ความเป็ นมาของการลีลาศ การเต้นรา (Dance) เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกาย ไปตามจังหวะดนตรี เพื่อแสดงออก ทางด้านอารมณ์ และความหรรษารื่ นเริ ง การเต้นราจึงมีประวัติอนั ยาวนาน คู่กบั มนุษยชาติ เริ่ มจาก มนุษย์ในยุคโบราณ มีการเต้นรา หรื อฟ้อนราเพื่อบูชาเทพเจ้า เพื่อขอพระ และขอความคุม้ ครอง เป็ นกิจกรรมบันเทิงควบคู่กนั ไป กับการกระทาพิธีกรรม อันเป็ นส่ วนหนึ่งของการดาเนินชีวติ ถือ เป็ นรู ปแบบของการเต้นราดั้งเดิม (Primitive Dance) เมื่อสังคมเจริ ญก้าวหน้าขึ้น มนุษย์มีการรวมตัว กันตั้งถิ่นฐาน เป็ นชุมชนที่มีการพัฒนา ทางด้านเกษตรและการเลี้ยงสัตว์ การเต้นราดั้งเดิมก็ได้รับ การพัฒนา เป็ นการเต้นราพื้นบ้าน (Folk Dance) และเริ่ มเป็ นกิจกรรมสังคม ที่แยกจากเรื่ องของ พิธีกรรมทางศาสนา และลัทธิ ความเชื่อ มาเป็ นกิจกรรมนันทนาการ เพื่อความบันเทิง และเป็ นการ สร้างความสัมพันธ์อนั ดี ในหมู่คณะ (Social Relationship) ดังนั้น การเต้นราพื้นบ้าน ได้รับความ นิยมกว้างขวางขึ้นในสังคมเมือง มีการพัฒนาการเต้นราพื้นบ้าน เป็ นการเต้นราที่เรี ยกว่า ลีลาศ (Ballroom Dance) โดยมีกาเนิดที่ประเทศอังกฤษ ในปลายศตวรรษที่ 18 และแพร่ หลายไปทัว่ โลก จนถึงปัจจุบนั

ลีลาศในประเทศไทย การลีลาศในประเทศไทย ในเมืองไทยมีคนเต้นราเป็ น ตั้งแต่สมัยรัชการที่ 4 และคนที่เป็ น นักเต้นราคนแรก ก็คือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ก็ มีการเต้นรากันทุกปี ที่มีงานเฉลิมพระชนมพรรษา โดยจะมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นองค์ ประธาน ซึ่ งจะจัดกันที่พระที่นงั่ จักรี ฯ หรื อส่ วนใดส่ วนหนึ่งในเขตพระราชฐาน ซึ่ งราชฑูตต่างๆ ก็ จะมาเข้าเฝ้าด้วย แต่ส่วนใหญ่ที่เต้น ก็มกั จะเป็ นจังหวะวอลซ์อย่างเดียว (นิตยสารลีลาศ ฉบับที่ 2 เดือนกันยายน , 2521) ต่อมาในปี พ.ศ.2475 ได้มีการตั้งสมาคมสมัครเล่นเต้นราขึ้น มีพระองค์เจ้าวรรณไวทยา กรวรวรรณ เป็ นนายกสมาคม และนายหยิบ ณ นคร เป็ นเลขาธิ การสมาคม ต่อมาเมื่อมีสมาชิกมาก ขึ้น จึงจัดงานลีลาศขึ้นที่สมาคมคณะราษฎร์ ซึ่ งพระยาพหลฯ หัวหน้าคณะราษฎร์ จะจัดการเลี้ยง ฉลอง ที่วงั สราญรมย์ จากนั้นก็มีการลีลาศกันบ่อยเข้า และมีการแข่งขันกันเกิดขึ้นเป็ นครั้งแรก ที่วงั สราญรมย์ โดยมีพลเรื อตรี เฉี ยบ แสงชูโต กับคุณประนอม สุ ขขุม เป็ นแชมป์ คู่แรกของประเทศไทย คาว่า "ลีลาศ" หรื อ "เต้นรา" มีความเหมือนๆ กัน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน ฉบับปี พุทธศักราช 2525 ได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้ "ลีลาศ" เป็ นนาม แปลว่า "ท่าทางอันงาม การ


2 เยื้องกราย" เป็ นกริ ยา แปลว่า "เยื้องกราย เดินนวยนาด" ส่ วนคาว่า "เต้นรา" แปลว่า "เคลื่อนที่ไป โดยมีระยะก้าวตามกาหนดให้เข้าจังหวะกับดนตรี ซึ่ งเรี ยกว่า ลีลาศ โดยปกติเต้นเป็ นคู่ชายหญิง" ประเทศไทยเรี ยกการลีลาศว่า เต้นรา มานานแล้ว คาว่า ลีลาศ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Social Dance" ในยุโรป เรี ยกการลีลาศ หรื อเต้นราว่า "Ballroom Dancing" ผูบ้ ญั ญัติศพั ท์คาว่า "ลีลาศ" คือ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ (กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์) เมื่อปี พ.ศ.2476 การลีลาศในฐานะกิจกรรมนันทนาการ การเต้นราแบบลีลาศ ในระยะแรกเป็ นกิจกรรมนันทนาการ ที่จดั ขึ้นเป็ นส่ วนหนึ่งของงาน เลี้ยง และงานสังสรรค์ รวมทั้งงานเฉลิมฉลองในโอกาสสาคัญ โดยถือเป็ นกิจกรรมหรรษาบันเทิง และเสริ มมิตรภาพ ระหว่างสมาชิกที่มาร่ วมงาน ยังมีลกั ษณะเป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกาย ตามจังหวะ เพลง และดนตรี โดยมีผเู ้ ต้นเป็ นคู่ชาย หญิง มีการพัฒนาระเบียบแบบแผน ของการเต้นราแบบลีลาศ มาโดยลาดับ จนกระทัง่ เป็ นศิลปะที่มีรูปแบบลีลาศของท่าเต้น ดนตรี จังหวัด เทคนิค และการแต่ง กายเป็ นมาตรฐาน ที่สามารถถ่ายทอด โดยการฝึ กฝนให้แก่ผสู ้ นใจ สามารถเต้นราประเภทนี้ ได้ทุก เพศทุกวัย โดยมีทกั ษะพื้นฐานในการลีลาศ เป็ นมาตรฐานเดียวกัน การสร้างมาตรฐานการลีลาศ ให้เป็ นมาตรฐานสากล เกิดขึ้นในปี ค.ศ.1924 เมื่อมีการจัดตั้ง สาขาลีลาศขึ้น ในสมาคมครู สอนลีลาศ แห่งประเทศอังกฤษ (Ballroom Branch of the Imperial of Teachers of Dancing) สมาคมนี้ มุ่งมัน่ ที่จะสร้างสรรค์ จรรโลงมาตรฐานการลีลาศ ทั้งด้านแบบท่า เต้น จังหวะ ดนตรี และเทคนิคการลีลาศ ทาให้การลีลาศนอกจากจะเป็ นกิจกรรมนันทนาการ เพื่อ การบันเทิง และเข้าสังคมแล้ว ยังเป็ นกิจกรรมการแข่งขัน โดยมีมาตรฐานกติกา และมารยาททานอง เดียวกับ การแข่งขันกีฬาประเภทอื่น ประกอบด้วยผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ การกีฬา และปั จจุบนั ได้มีการวิเคราะห์การลีลาศ ในเชิงการกีฬา พบว่า การลีลาศเป็ นการออกกาลังกายที่ดีที่สุด กิจกรรม หนึ่ง จึงได้มีการประยุกต์การลีลาศ ไปใช้เป็ นกีฬา เพื่อออกกาลังกาย สาหรับคนทุกเพศทุกวัย การ ลีลาศจึงกลายเป็ นกิจกรรม "เพื่อสุ ขภาพ" พร้อมๆ กัน "เพื่อมิตรภาพ" ซึ่ งเป็ นวัตถุประสงค์ด้ งั เดิม ของการลีลาศ

การลีลาศในฐานะกีฬา ในอดีตกาลลีลาศส่ วนมากจะนิยมแต่เฉพาะในงานรื่ นเริ ง และงานสังคมเท่านั้น แล้วค่อยมา พัฒนาเป็ นการแข่งขัน ปั จจุบนั กลายมาเป็ นกีฬาลีลาศ (Dance Sport) ซึ่งนิยมแพร่ หลายไปทัว่ โลก โดยได้รับการรับรองอย่างจากคณะกรรมการกีฬาโอลิมปิ กสากล เมื่อวันที่ 2-4 เมษายน 2538 ที่ ประเทศ MONACO และถูกบรรจุเข้าเป็ นกีฬาสาธิ ต ในกีฬาโอลิมปิ ค ปี ค.ศ.2000 เป็ นครั้งแรกที่ SYDNEY ประเทศ AUSTRALIA ในทวีปเอเชีย คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งเอเชีย ได้นากีฬาลีลาศ เข้าสู่ กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ครั้งที่ 13 หรื อบางกอกเกมส์เป็ นครั้งแรก การจัดแข่งขันกีฬา ได้กาหนดการ แข่งขันลีลาศออกเป็ น 2 ประเภทดังนี้


3 1. Standard dance 1. Waltz 2. Tango 3. Viennese waltz 4. Slow foxtrot 5. Quickstep 2. Latin American dance 1. Samba 2. Cha Cha Cha 3. Rumba 4. Paso Doble 5. Jive

การแบ่ งชั้นของผู้เข้ าแข่ งขัน ในกลุ่มนักลีลาศสมัครเล่นที่เข้าร่ วมการแข่งขัน ถูกแบ่งออกตามกลุ่มอายุ และระบบแบ่ง ชั้น ถูกจัดให้แล้วแต่ความตกลงใจว่า จะเข้าร่ วมในชั้นใด การแบ่งกลุ่มอายุ (Age groups) รุ่ นเยาวชน (Juveniles) คือ ผูเ้ ข้าแข่งขันที่มีอายุต่ากว่า 12 ปี รุ่ นเด็ก (Juniors) คือ ผูเ้ ข้าแข่งขันที่มีอายุไม่ต่ากว่า 12 ปี แต่ไม่เกิน 16 ปี รุ่ นหนุ่ม/สาว (youths) คือ ผูเ้ ข้าแข่งขันที่มีอายุไม่ต่ากว่า 16 ปี แต่ไม่เกิน 19 ปี รุ่ นผูใ้ หญ่ (Adults) ระดับชั้นนี้ยงั แยกย่อยไปตามกลุ่มอายุได้ อาทิเช่น 16-35 ปี 35-50 ปี หรื อ 60 ปี

การแบ่ งชั้น (Grading) แต่ละประเทศจะมีระบบที่แตกต่างกันออกไป แต่ทุกประเภทมีการประเมินการแสดงออก และการยกระดับ หรื อชั้นสู งขึ้น ตัวอย่างคาอธิ บายข้างล่างนี้ เป็ นระบบการแบ่งชั้นในบางส่ วนของ ยุโรป คู่แข่งขันเริ่ มต้น จากขั้นต่าสุ ด ชั้น D หรื อ C คู่แข่งขันในระดับนี้ เต้นได้แต่สเต็ปพื้นฐานเท่านั้น ชั้น A หรื อ B การเลื่อนชั้นจะต้องเกิดจากการสะสมคะแนนที่ได้จากการแข่งขัน เพิม่ พูนมา ชั้น S คู่แข่งขันระดับ (S) สู งสุ ด ถือเป็ นมาตรฐานระดับนานาชาติ การแข่งขันชิงชนะเลิศระดับนานาชาติ (International Championship) ถูกจัดขึ้นทุกปี และผู ้ ชะเลิศในแต่ละชั้น จะถูกจัดให้เลื่อนอยูร่ ะดับที่สูงขึ้นไปเรื่ อยๆ ผูช้ นะเลิศในระดับสู งสุ ด จะถูกจารึ กให้เป็ นผูช้ นะเลิศแห่ งชาติ ระดับชั้นของการลีลาศแต่ ละแบบ จะไม่มีผลต่อการเลื่อนชั้นของแบบอื่น

คานิยามศัพท์ การเคลื่อนไหวร่ างกาย (Physical Activity) หมายถึง การเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของ ร่ างกาย ที่เกิดจากการทางานของกล้ามเนื้อลาย ซึ่ งทาให้เกิดการใช้พลังงานเพิ่มจากภาวะปกติ ทั้งนี้ การเคลื่อนไหว ช่วงเวลาแบ่งออกเป็ น 3 แบบ ได้แก่ 1) การแข่งขันกีฬา 2) กิจกรรมนันทนาการ เช่น เดินทางไกล ถีบจักรยาน ฯลฯ 3) การออกกาลังกาย


4 การออกกาลังกาย (Exercise Training) หมายถึง การเคลื่อนไหวร่ างกาย ที่มีการออกแบบ เป็ นแบบแผน และทาซ้ าๆ เพื่อเสริ มสร้าง หรื อคงไว้ซ่ ึ งสมรรถภาพทางกาย อย่างใดอย่างหนึ่ง หรื อ มากกว่านั้น สุ ขภาพ (Health) หมายถึง สุ ขภาวะที่สมบูรณ์ท้ งั ทางด้านร่ างกาย สังคม และจิตใจ ประกอบกัน ไม่ใช่แต่เพียงการปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หรื อความพิการเท่านั้น การฝึ กแบบแอโรบิค (Aerobic Training) หมายถึง การฝึ กเพื่อเสริ มสร้างประสิ ทธิภาพ ของระบบการผลิตพลังงานที่ใช้ออกซิ เจน ซึ่ งช่วยเสริ มสร้างความอดทนของระบบหายใจ และ ไหลเวียนโลหิ ต การเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง (Moderate physical activity) หมายถึง การ เคลื่อนไหวร่ างกายที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ซึ่ งมีความหนัก และความเหนื่อยในระดับเดียวกับการเดิน ค่อนข้างเร็ ว การเคลื่อนไหวร่ างกายระดับหนัก (Vigorous physical activity) หมายถึง การเคลื่อนไหว ร่ างกายที่ทาซ้ าๆ กัน และต่อเนื่ อง โดยมีการใช้กล้ามเนื้ อมัดใหญ่ มีระดับชีพจรมากกว่าร้อยละ 70 ของอัตราการเต้นของหัวใจสู งสุ ด หรื อประมาณเท่ากับร้อยละ 60 ของความสามารถการใช้ ออกซิเจนสู งสุ ด ซึ่ งเพียงพอที่จะทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ต่อระบบไหลเวียนโลหิ ต และความ สมบูรณ์ของร่ างกาย

การวิเคราะห์ ลลี าศต่ อการเคลื่อนไหวร่ างกาย และออกกาลังกายเพื่อสุ ขภาพ การลีลาศ เป็ นกิจกรรมที่เกิดจากการเคลื่อนไหวร่ างกาย (Physical activity) และเป็ นการ ออกกาลังกาย (Exercise training) ที่มีผลต่อสุ ขภาพ (Health) การฝึ กลีลาศอย่างต่อเนื่ อง ถือเป็ นการ ฝึ กแบบแอโรบิค (Aerobic training) ที่เสริ มสร้างประสิ ทธิภาพ ของระบบการผลิตพลังงานที่ใช้ ออกซิ เจน ซึ่ งช่วยเสริ มสร้างความอดทนของระบบหายใจ และไหลเวียนโลหิ ต ดังนั้น การลีลาศจึง เป็ นการออกกาลัง ตามหลักวิทยาศาสตร์ และยังอาศัยศิลปะในการเคลื่อนไหว เพื่อความสวยงาม การฝึ กลีลาศ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. ประเภทลาติน อเมริ กนั (Latin American ) มี 5 จังหวะ 2. ประเภทแสตนดาร์ด ( Standards) มี 5 จังหวะ โดยแต่ละประเภทจะเป็ นการเคลื่อนไหว แบบมีแรงกระแทกต่า (Low Impact)

1. ประเภทลาตินอเมริกนั (Latin American) เป็ นการลีลาศที่มีการเคลื่อนไหวร่ างกาย ที่เต็มไปด้วยความมีชีวติ ชีวา เร้าใจ และ สนุกสนาน โดยเน้นการใช้กล้ามเนื้อ และโครงร่ างในแต่ละส่ วน เช่น ลาตัว แขน ขา สะโพก เอว ไหล่ และศีรษะ ตามจังหวะดนตรี และเอกลักษณ์ของแต่ละจังหวะ และยังเป็ นกิจกรรมที่เพิ่มระดับ ความหนัก ของการทางานของระบบหายใจ และไหลเวียนโลหิตในระดับปานกลาง-หนัก


5

การใช้ พลังงาน การลีลาศประเภทลาตินอเมริ กนั เป็ นกิจกรรมที่ทาให้ร่างกายใช้พลังงานเพิม่ ขึ้น จากขณะ พักประเภท 5-6 Met หรื ออาจเพิ่มขึ้น หรื อลดลง ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถ และรู ปแบบการเต้นของ แต่ละบุคคล ซึ่ งการลีลาศประเภทนี้ เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกาย ที่มีความแตกต่างกัน ได้แก่ ลักษณะ ท่าทาง และมีระดับการเคลื่อนไหวร่ างกาย ั​ัดงั นี้

จังหวะช่ า ช่ า ช่ า (CHA-CHA-CHA) ลักษณะท่าทาง - การยืดลาตัว แขม่วหน้าท้อง ใช้แรงกดของเท้าแต่ละก้าวอย่างฉับไว และ ทาต่อเนื่อง ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง ที่ใช้การเดินค่อนข้าง เร็ ว จากการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ดว้ ยความเร็ วประมาณ 150 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 30 บาร์ ต่อนาที

จังหวะรุมบ้ า (Rumba) ลักษณะท่าทาง - การยืดลาตัว แขม่วหน้าท้อง เคลื่อนไหวช้า นิ่มนวล โดยไสเท้าติดกับพื้น ฟลอร์ ตลอดเวลา ไหลและแขนผ่อนคลาย ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับเบา (Light physical activity) ใช้ การเดินในลักษณะนวยนาด ด้วยความเร็ วประมาณ 81 ก้าวต่อนาทีตามความเร็ วของดนตรี 24 บาร์ ต่อนาที และสามารถเพิ่มความหนักของงาน เป็ นระดับปานกลางได้ ถ้าใช้รูปแบบ (Figure) ระดับสู งขึ้น (Advance)

จังหวะแซมบ้ า (Samba) ลักษณะท่าทาง - การยืดลาตัว แขม่วหน้าท้อง การใช้เอว และสะโพก เน้นการย่อ และ เหยียดของข้อเข่า ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง (Moderate physical activity) ที่ใช้การเดินค่อนข้างเร็ ว ด้วยความเร็ วประมาณ 150 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 50 บาร์ ต่อนาที

จังหวะไจวฟ์ (Jive) ลักษณะท่าทาง - การแขม่วหน้าท้อง การเตะ และดีดสะบัดปลายเท้า ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง หึ งหนัก (Moderate vigorous physical activity) ใช้การเดินทั้งแบบปลายเท้า และเต็มเท้า เพื่อให้ได้ความเร็ ว 235 ก้าวต่อ นาที ตามความเร็ วของดนตรี 44 บาร์ ต่อนาที


6

จังหวะพาโซ-โดเบิล (Paso-Doble) ลักษณะท่าทาง - ลักษณะการเดินแบบตึง หรื อเหยียดเข่า แต่ไม่เกร็ ง แขม่วท้อง ขมิบก้น เพื่อกล้ามเนื้ อกระชับ ยืดลาตัวด้วยการยกชายโครง (Ribcage) ตลอดเวลา ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับเบา - ปานกลาง จากการเดินด้วย ปลายเท้า บางครั้งเดินเต็มเท้าด้วยความเร็ ว 124 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 62 บาร์ ต่อนาที

2. ประเภทบอลรู ม หรื อแสตนดาร์ ท (Ballroom or Standard) เป็ นการลีลาศที่ใช้จงั หวะช้า นิ่มนวล สง่างาม ลาตัวจะตั้งตรง การเข้าคูฝ่ ่ ายชาย และหญิง หันหน้าเข้าหากัน และเคลื่อนที่ไปพร้อมกัน เสมือนเป็ นคนเดียวกัน ซึ่ งการลีลาศประเภทนี้ เป็ น กิจกรรมที่เพิ่มระดับความหนักของการทางานของระบบหายใจ และไหลเวียนโลหิ ตในระดับปาน กลาง-หนัก ขึ้นอยูก่ บั ความเร็ วของการเคลื่อนไหว และยังมีลกั ษณะเฉพาะที่แตกต่าง จากประเภท ลาตินอเมริ กนั ได้แก่ การเดินที่ใช้ส้นเท้าและปลายเท้า การก้าวเท้าแต่ละครั้งจะอาศัยหลักของการ ย่อตัวจากเข่า โดยข้างใดข้างหนึ่งจะรับน้ าหนักตัว และอีกข้างจะกด หรื อลากไปกับพื้นฟลอร์ เมื่อ เท้าชิดกัน หรื อผ่านกัน จะเขย่งปลายเท้าขึ้นทั้งสองข้าง (Rise and Fall) ยกเว้นจังหวะแทงโก้ ที่อยู่ นอกกฎเกณฑ์น้ ี การยืดชายโครง (Ribcage) ตลอดเวลา เพื่อการออกแรงต้านกับคู่ เน้นการใช้ลาตัว หรื อชาย โครงสัมผัสกัน เพื่อรับรู ้ถึงการเป็ นผูน้ า และผูต้ ามจากการประกบชายโครง และการบิดลาตัวไป พร้อมกัน เสมือนเป็ นคนเดียวกันตลอดเวลา ในทุกจังหวะ เช่น การทา Contrary Body Movement (C.B.M.) คือ การเคลื่อนที่โดยบิดลาตัว และไหล่ไปทางตรงกันข้าม กับการก้าวเท้า หรื อการทา Contrary Body Movement Position (C.B.M.P.) คือ ท่ายืนที่กา้ วเท้าข้ามตัดแนวยืนอีกเท้า

การใช้ พลังงาน การลีลาศประเภทแสตนดาร์ ด เป็ นกิจกรรมที่ทาให้ร่างกายใช้พลังงานเพิ่มขึ้น จากขณะพัก ประมาณ 4-5 Met หรื อเพิ่มขึ้น หรื อลดลงจากนี้ ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถ และรู ปแบบการเต้น ของ แต่ละบุคคล ซึ่ งการลีลาศประเภทนี้ เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกาย ที่มีความแตกต่างกัน ได้แก่ ลักษณะ ท่าทาง และมีระดับการเคลื่อนไหวร่ างกาย ดังนี้

จังหวะวอลท์ (Waltz) ลักษณะท่าทาง - การยืดตัวขึ้น และลดตัวลง (Rise and Fall) การสวิงตัว (Body Swing) การสเวย์ (Sway) ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง ทั้งๆ ที่เป็ นการเดินด้วย ความเร็ วประมาณ 90 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 30 บาร์ ต่อนาที แต่วธิ ี การยืดตัวขึ้น และ ลดตัวลง (Rise and Fall) การสวิงตัว (Body Swing) การสเวย์ (Sway) และการทา C.B.M. (Contra


7 Body Movement) เป็ นการเพิ่มการทางานของกล้ามเนื้ อมากขึ้น จึงทาให้ความหนัก หรื อความ เหนื่ อยเพิ่มขึ้น

จังหวะแทงโก้ (Tango) ลักษณะท่าทาง - การย่อตัวตลอดเวลาแบบสงบนิ่ง และกาวกก้าวเท้าแบบพุง่ ในลักษณะ กระแทก เป็ นช่วงๆ (Staccato Actions) ควบคู่กบั การเคลื่อนไหวของศีรษะ และไหล่ โดยสับเปลี่ยน ทันทีทนั ใด โดยเปรี ยบเทียบการเคลื่อนไหวคล้ายสัตว์ ดัง่ แมว หรื อเสื อ ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับเบา ถึงปานกลาง ด้วยความเร็ วใน การเคลื่อนที่ประมาณ 99 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 33 บาร์ ต่อนาที

จังหวะ Viennese Waltz หรื อ Quick Waltz ลักษณะท่าทาง - การย่อตัว และยืดตัวขึ้น (Rise and Fall) พร้อมกับการเลื่อนไหล ด้วยการ หมุนไปโดยรอบ ซึ่ งต้องอาศัยพลัง และความแข็งแกร่ งของร่ างกาย ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลางถึงหนัก ที่ใช้ความเร็ ว ในการเคลื่อนไหวประมาณ 180 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 60 บาร์ ต่อนาที

จังหวะควิก๊ สเต็ป (Quickstep) ลักษณะท่าทาง - การใช้เท้าเฉี ยดผิวฟลอร์ อย่างกระฉับกระเฉง การใช้เข่าและขา เท้าและข้อ เท้า เพื่อส่ งความเร็ วที่ถูกต้อง ระหว่างความเร็ วและช้า ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง ที่ใช้ความเร็ วในการ เคลื่อนที่ประมาณ 133 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 50 บาร์ ต่อนาที

จังหวะสโลว์ ฟอกซ์ ทรอท (Slow Foxtrot) ลักษณะท่าทาง - เป็ นการใช้พลังของขาและเท้า ในการเปลี่ยนน้ าหนักรับต่อเนื่องกัน เหมือนวงล้อ โดยเน้นการใช้ปลายเท้า และส้นเท้าอย่างชัดเจน ระดับการเคลื่อนไหว - เป็ นการเคลื่อนไหวร่ างกายระดับปานกลาง ด้วยความเร็ วประมาณ 90 ก้าวต่อนาที ตามความเร็ วของดนตรี 30 บาร์ ต่อนาที และยังเพิม่ ความหนัก จากการหน่วงของเท้า และการเคลื่อนเปลี่ยนทิศทาง ไปกับคู่อย่างกลมกลืน ลีลาศเป็ นกิจกรรมหนึ่งที่ทาให้สมรรถภาพของหัวใจ ในการใช้ออกซิ เจนดีข้ ึน อัตราการ เต้นของหัวใจขณะพักดีข้ ึน (เต้นช้าลง) และลดความดันโลหิ ตลงได้ ในปี 1989 พบว่า ลีลาศในจังหวัด ไจฟว์ (ร็ อค), ช่า ช่า ช่า, กัวลาช่า, ของชาย 15 คน อายุ ระหว่าง 40-45 ปี มีอตั ราการเต้นของหัวใจ ขณะเต้นรา 135-140 ครั้ง/นาที ใช้เวลาเต้นรา 10-15 นาที กระทา 3 ครั้ง/สัปดาห์ สามารถลดความดันโลหิ ต และการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของสมรรถภาพ ของการจับออกซิเจนสู งสุ ดได้


8 ร๊ อกกี้ เฟลเลอร์ และเบอร์ ก (1979) นักลีลาศที่เรี ยนวิชาแอโรบิคด๊านซ์ มีการพัฒนาระบบ ไหลเวียนโลหิ ตดีข้ ึน ไม่วา่ จะเป็ นอัตราการเต้นของหัวใจ หรื อสมรรถภาพการจับออกซิ เจนสู งสุ ด โคเฮน กับต้า ไลศต้น และเชคด้า (1980) พบว่า นักบัลเลย์หญิง จานวน 30 คน ในนิวยอร์ค ซิ ต้ ี มีการเปรี ยบเทียบหญิงในขนาดรู ปร่ าง และน้ าหนักตัวเท่ากัน พบว่า นักบัลเลย์มีปริ มาณของ เลือด ที่ส่งออกจากหัวใจ มากกว่าผูท้ ี่ไม่ใช่นกั บัลเลย์ ลาวอย และเลบี นีรอน (1982) พบว่า นักลีลาศหญิง 8 คน ที่เรี ยนวิชาแจสด็านซ์ วันละ 3 ชัว่ โมง เรี ยนทั้งหมด 8 สัปดาห์ มีผลทาให้สมรรถภาพการจับออกซิ เจนสู งสุ ดดีข้ ึน ลีเกอร์ (1982) พบว่า ชายและหญิง 8 คู่ อายุระหว่าง 30-35 ปี หลังจากที่เต้นดิสโก้ ด้วย อัตราการเต้นของหัวใจ 135 ครั้ง/นาที ใช้เวลา 30 นาทีต่อเนื่องกัน เป็ นระยะเวลา 12 สัปดาห์ มี สมรรถภาพการจับออกซิ เจนสู งสุ ดดีข้ ึน ศ.นพ.ดร.โจเซฟ คูล (Professor Doctor Joseph Keul) ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการแพทย์ เกี่ยวกับ กีฬา ได้สรุ ปผลของการลีลาศ ส่ งผลต่อสุ ขภาพ คือ ช่วยเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทางาน ของระบบ หายใจ การไหลเวียนโลหิ ต ระบบกล้ามเนื้อ และโครงร่ างที่แข็งแรง ระบบการเผาผลาญพลังงานใน ร่ างกายดีข้ ึน ระบบขับถ่ายที่ดี ช่วยลดความตึงเครี ยดทางร่ างกาย และจิตใจ ผลโดยรวมที่มองเห็น คือ มีความสามารถเพิ่มขึ้น ในด้านความอดทน ความคล่องตัว ความเร็ ว การทรงตัว และช่วยให้ นอนหลับสบาย (วารสารวิทยาศาสตร์ การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย,2546)

ประโยชน์ ของการลีลาศเพื่อสุ ขภาพ การลีลาศ เป็ นการออกกาลังกาย ทาให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สามารถเข้าร่ วมได้ ทั้งชาย และหญิง และทุกกลุ่มวัย เป็ นกิจกรรมที่เสริ มสร้างบุคลิกลักษณะ ให้สง่างามในการเคลื่อนไหว การลีลาศ เป็ นกิจกรรมทางสังคม ซึ่ งเป็ นที่ยอมรับกันทัว่ โลก เป็ นเครื่ องมือทางสังคม ที่ ก่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน มีชีวติ ชีวา คลายความตึงเครี ยด ทั้งร่ างกายและจิตใจได้ดี หรื อจะใช้เป็ นกิจกรรมนันทนาการก็ได้ อันจะทาให้เกิดความพึงพอใจขึ้นมา ซึ่ งมีผลต่อสุ ขภาพดังนี้ 1. สร้างเสริ มความแข็งแรงอดทนของหัวใจ ปอด กล้ามเนื้ อข้อต่อ และกระดูก 2. รู ปร่ าง ทรวดทรง และบุคลิกภาพดีข้ ึน 3. ชะลอความเสื่ อมของอวัยวะต่างๆ 4. ช่วยรักษาโรคบางอย่าง ที่เกิดจากการขาดการออกกาลังกาย 5. ผ่อนคลายความจึงเครี ยดทั้งทางร่ างกาย และจิตใจ 6. ระบบทางเดินอาหารทางานดีข้ ึน 7. เพิม่ การทรงตัวที่ดี และความคล่องแคล่วว่องไว 8. สนองความต้องการตามธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่ งก่อให้เกิดความพึงพอใจขึ้น 9. ทาให้ชีวติ ยืนยาว และมีความสุ ข 10. ควบคุมน้ าหนักตัว


9

หลักในการลีลาศ การลีลาศทั้งแบบแสตนดาร์ ด และลาตินอเมริ กนั ล้วนมีหลักการเบื้องต้นที่ตอ้ งเรี ยนรู ้ ซึ่ ง ประกอบด้วย การยืน (Standing) ต้องยืนลาตัวตรง ยืดให้สง่า และสวยงามไม่เกร็ ง ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ การจับคู่ (The hold) ต้องมีท่าการจับคู่ และมีการวางตัวและเฉลี่ยน้ าหนักตัวได้ถูกต้อง เพื่อ ความสมดุล (Balance) การเดิน (The walk) เดินทั้งก้าวไปข้างหน้า และถอยหลัง ซึ่ งเป็ นหลักสาคัญยิง่ ของการ ลีลาศ ในแต่ละประเภทของการลีลาศ มีรูปแบบและหลักการที่ต่างกัน ซึ่ งจะให้เห็นในภาพกว้างๆ ของความแตกต่าง ระหว่างประเภทแสตนดาร์ ด และลาตินอเมริ กนั ดังนี้

ประเภทสแตนดาร์ ด (Standard) รู ปลักษณะภายนอกที่มองเห็นในประเภทสแตนดาร์ด (Standard) อย่างคร่ าวๆ คือ ท่าทางการยืน (Poise) ฝ่ ายชาย - ยืนในลักษณะลาตัวตั้งตรงเป็ นสง่า โดยน้ าหนักตัวเน้นไปที่ฝ่าเท้า ศีรษะตั้งตรง และช่วงไหล่ให้ผอ่ นคลาย เข่าทั้งสองข้างงอได้เล็กน้อย ฝ่ ายหญิง - ยืนในลักษณะลาตัวตั้งตรงเป็ นสง่า ลาตัวท่อนบน และช่วงศีรษะเอนไปทางด้าน หลังเล็กน้อย และค่อนไปด้านซ้าย น้ าหนักตัวเน้นลงบนฝ่ าเท้า เข่างอเล็กน้อย การเข้าคู่ (Holding) ฝ่ ายชาย - ยืนหันหน้าตรงกับฝ่ ายหญิง โดยที่ฝ่ายหญิงจะยืนค่อนไปทางด้านขวา ของฝ่ าย ชายเล็กน้อย กางแขนทั้งสองออกด้านข้างลาตัว พร้อมกับยกแขนทั้งสองข้างขึ้นจนสุ ด โดยไม่ให้สูง เกินกว่าไหล่ งอศอกด้านขวาเข้า และวางทาบฝ่ ามือขวา ไว้ที่ปีกด้านซ้าย ใต้ไหล่ของฝ่ ายหญิง งอ ศอกด้านซ้ายแล้ว ประกบมือขวาของฝ่ ายหญิง ให้แนวของมืออยูใ่ นระดับตา และเน้นไปข้างหน้า เล็กน้อย ฝ่ ายหญิง - วางมือซ้ายบนแขนขวาของฝ่ ายชาย ในระดับที่ต่ากว่าหัวไหล่ ยกแขนขึ้น แล้ว วางมือขวาประกบฝ่ ามือซ้ายของฝ่ ายชาย ทิศทาง (Direction of social dances) เป็ นการเคลื่อนที่ไปตามแนวทางลีลาศ (Line of Dance) หรื อเคลื่อนที่ทวนเข็มนาฬิกา

การแต่ งกาย นิยมการแต่งกายสุ ภาพ ทั้งหญิงและชาย โดยฝ่ ายหญิงจะสวมกระโปรงที่บาน และยาวใน ระดับเข่าลงไป


10

รองเท้ า รองเท้าที่ใช้จะมีลกั ษณะพิเศษ คือ มีแผ่นเหล็กรองรับบริ เวณอุง้ เท้า และปลายของรองเท้า สามารถพับงอขึ้นมาได้ พื้นรองเท้าปะด้วยหนังสัตว์ ที่ยงั ไม่ได้ฟอก รองเท้าชาย นิยมส้นรองเท้าสู ง ประมาณ 1 นิ้ว รองเท้าหญิงเป็ นลักษณะคัดชู ซึ่ งสามารถติดกับเท้าได้เป็ นอย่างดี สาหรับผูฝ้ ึ กใหม่ ควรสวมส้นสู งเกิน 2 นิ้ว

ประเภทลาตินอเมริกนั (Latin American Dance) ท่าทางการยืน (Poise) ยืนในท่าเท้าแยกออกจากกัน หันหน้าตรงกัน และห่างซึ่ งกันและกัน ประมาณ 15 เซนติเมตร หรื อ 6 นิ้ว ด้วยลักษณะศีรษะตั้งตรง ลาตัวยืดตรงขึ้น โดยช่วงไหล่ให้ถ่วง ลงในลักษณะที่เป็ นธรรมชาติ การเข้าคู่ท่าธรรมดา (Normal Hold) มือขวาของฝ่ ายชาย วางบนปี กด้านซ้ายของฝ่ ายหญิง และแขนซ้ายของหญิงวางพักบนแขนขวาฝ่ ายชายอย่างแผ่วเบา โดยให้แขนกับไหล่เป็ นรู ปโค้ง (Curve) แขนซ้ายของฝ่ ายชาย บรรจงยกขึ้นให้เสมอระดับตา มือขวาของฝ่ ายหญิงวางไว้ในมือของ ฝ่ ายชาย โดยนิ้วมืออยูร่ ะหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี่ มือประกบเข้าหากันอย่างแผ่นเบา ทิศทาง (Direction of social dances) การเต้นในประเภทลาตินอเมริ กนั นี้ ส่ วนใหญ่ไม่กาหนดทิศทางตายตัว จะเต้นตามรู ปแบบ ของแต่ละจังหวะ โดยผูช้ ายซึ่ งเป็ นผูน้ า จะเลือกสถานที่และทิศทางเอง ยกเว้นการเต้นของจังหวะ แซมบ้า และจังหวัดพาโซโดเบิล ที่จะต้องเต้นให้เคลื่อนที่ไปรอบๆ ห้อง ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา แบบเดียวกับการเคลื่อนที่ของประเภทสแตนดาร์ ด

การแต่ งกาย นิยมการแต่งกายที่คล่องตัว กระฉับกระเฉง กระชับลาตัว ไม่รุ่มร่ าม

รองเท้ า แตกต่างจากประเภทสแตนดาร์ด คือ รองเท้าชายสามารถใช้รองเท้าสู งกว่า หรื อประมาณ 1.5 นิ้ว รองเท้าหญิง เป็ นลักษณะเปิ ดตรงปลายเท้า เพื่อสะดวกต่อการกดปลายเท้า ความสู งของส้น รองเท้า สาหรับผูฝ้ ึ กใหม่ไม่ควรเกิน 2.5 นิ้ว

ทิศทางการในการลีลาศ (Direction of Social Dance) เป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปว่า การเคลื่อนไหวของการลีลาศ มีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (Counter Clockwise) ทั้งลีลาศเพื่อสังคม และเพื่อการแข่งขัน ผูเ้ ต้นราจะต้องเต้นไปรอบๆ ห้องตามทิศทาง ทวนเข็มนาฬิกา ซึ่งถือเป็ นสากล ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย ความสวยงาม ป้ องกันมิให้เต้นไปชนกับคู่ เต้นราอื่น ทิศทางของการเต้นรา โดยเต้นทวนเข็มนาฬิกานี้ เรี ยกว่า "แนวทางลีลาศ" (Line of Dance = L.O.D.) และขณะที่เคลื่อนไหวทวนเข็มนาฬิกานี้ ทั้งคู่จะหันหน้าไปตามทิศต่างๆ ซึ่ งมีท้ งั หมด 8 ทิศ ดังภาพ


11

L.O.D. = Line of Dance - แนวทางลีลาศ DR = Diagonally to the Wall - เคลื่อนเข้าเฉียงฝาห้อง DC = Diagonally to the Center - เคลื่อนเข้าเฉียงศูนย์กลาง DW against L.O.D. - เคลื่อนเข้าเฉียงฝาห้อง ย้อน L.O.D. DC against L.O.D. - เคลื่อนเข้าเฉียงศูนย์กลาง ย้อน L.O.D. Centre - จุดศูนย์กลางฟลอร์ Wall - ฝาห้อง Against the L.O.D. - ถอยหลังย้อน L.O.D.

การลีลาศเพื่อสุ ขภาพ การลีลาศที่ใช้เวลาฝึ กตั้งแต่ 20 นาทีข้ ึนไป ควรมีข้ นั ตอนในการฝึ ก เพื่อป้ องกันการเกิดการ บาดเจ็บ และเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของการฝึ ก มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นอบอุ่นร่ างกาย (Warm up) ใช้เวลาประมาณ 5 นาที ด้วยท่ากายบริ หาร หรื อการเดิน รู ปแบบเบสิ กของการลีลาศ เพื่อลดความเสี่ ยงจากการบาดเจ็บ การปวด และเพิ่มความสามารถใน การเคลื่อนไหวร่ างกาย 2. ขั้นยืดเหยียดกล้ามเนื้ อ (Stretching) ใช้เวลาประมาณ 5 นาที ด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ มัดที่จะใช้งาน ซึ่ งลีลาศจะใช้ต้ งั แต่ศีรษะจรดปลายเท้า 3. ขั้นการฝึ กลีลาศ (Practice) เป็ นการฝึ กลีลาศในจังหวะต่างๆ หากต้องฝึ กหลายจังหวะ ควรฝึ กจังหวะที่ชา้ และเร็ วสลับกัน หรื อฝึ กประเภทบอลรู มสลับกับลาตินอเมริ กนั เพื่อแลกเปลี่ยน กล้ามเนื้อที่ใช้งาน ให้สลับกันทางาน และหากฝึ กลีลาศในช่วงนี้นานเกิน 30 นาที ควรแรกการยืด เหยียดกล้ามเนื้อมัดที่ใช้งานเป็ นครั้งคราว เพื่อลดการบาดเจ็บ และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการฝึ ก


12 4. ขั้นผ่อนหยุด (Cool down) หลังจากฝึ กลีลาศด้วยความเหนื่อยในระดับหนึ่ง ก่อนหยุด ควรฝึ กลีลาศในจังหวะเบาๆ เพื่อให้ชีพจรลดระดับลง ใกล้เคียงภาวะปกติ หรื อการเดินช้าลง ประมาณ 5 นาที 5. ขั้นยืดเหยียดกล้ามเนื้ อ (Stretching) ใช้เวลาประมาณ 10 นาที เพื่อคลายกล้ามเนื้อที่ใช้ งาน โดยเฉพาะการลีลาศ เป็ นการใช้กล้ามเนื้อมาก ในขณะออกกาลัง จึงควรยืดเหยียดกล้ามเนื้อแต่ ละส่ วนอย่างช้าๆ และพักนิ่งไว้ในแต่ละท่า 10-30 วินาที เมื่อหายดีแล้ว จึงค่อยๆ เหยียดยืดซ้ าอัก อย่างน้อย 2-3 ครั้งต่อท่า


13

บทที่ 2 การจับคู่ลลี าศ (POSITION OF DANCES) การจับคู่ลีลาศนั้นเป็ นสิ่ งสาคัญที่ผเู ้ รี ยนลีลาศจะต้องทราบและคานึงถึงให้มากเป็ นพิเศษ เพราะถ้าจับคู่จบั คู่ลีลาศไม่ถูกต้องตามแบบ นอกจากจะทาให้เกิดความไม่สง่างามแล้ว ยังทาให้การ ก้าวเท้าของคู่ลีลาศไม่สอดคล้องกันด้วย การจับคู่ลีลาศแทบทุกจังหวะจะจับคู่แบบบอลรู มปิ ด ( Closed Ballroom ) ก่อน ซึ่ งถือเป็ นท่าเริ่ มต้น เช่น จังหวะวอลซ์ บีกิน ช่า ช่า ช่า ควิก๊ สเตป รุ มบ้า กัวล่ะช่า เป็ นต้น มีเพียงบางจังหวะเท่านั้นที่อาจจะจับคู่แตกต่างออกไปบ้างในท่าเริ่ มต้น เช่น ร็ อคแอนโรล แซมบ้า ทวิสต์ เป็ นต้น แต่เมื่อคู่ลีลาศออกลวดลาย (Figure) ต่าง ๆ แล้ว สามารถที่จะจับคู่ลีลาศแบบอื่น ๆ ได้ การจับคู่ลีลาศมีวธิ ี การจับแบบต่าง ๆ ได้ดงั นี้ 1. การจับคู่แบบบอลรู มปิ ด (Closed Ballroom) 1.1. คู่หนั หน้าเข้าหากัน ตัวและเท้าตรงกัน 1.2. ชายเอามือขวาโอบหลังหญิงระดับเอว 1.3. มือซ้ายชายจับกับมือขวาหญิง ยกขึ้นระดับไหล่ 1.4. มือซ้ายหญิงเกาะที่ไหล่ขวาชาย 1.5. มือขวาของชายเป็ นมือที่ใช้ลีด (Lead) การจับคู่แบบบอลรู มปิ ดนี้ จะใช้ในตอนเริ่ มต้นแทบทุกจังหวะ ลีลาศเมื่ออกลวดลายแล้วอาจเปลี่ยนเป็ นการจับคู่แบบอื่นได้ CLOSED POSITION 2. การจับคู่แบบบอลรู มเปิ ด (Open Ballroom) 2.1. คู่หนั หน้าไปทางเดียวกัน หญิงอยูท่ างขวาชาย 2.2. มือขวาของชายโอบเอวด้านหลังของหญิง 2.3. มือด้านนอกของคู่จบั กันด้านหน้าโดยชายจับมือหญิง 2.4. มือซ้ายหญิงเกาะพักบริ เวณไหล่ขวาชาย จากท่าบอลรู มปิ ด ชายสามารถดึงคู่ให้มาอยูท่ างด้านขวาของชายสู่ ท่าบอลรู มเปิ ด OPEN POSITION


14 3. การจับคู่แบบหุ ม้ รอบ (Wrap Position) 3.1. คู่หนั หน้าไปทางเดียวกัน หญิงอยูท่ างขวาชาย ชายจะ ยืนเยื้องไปข้างหลังเล็กน้อย 3.2. มือซ้ายชายจับมือขวาหญิงด้านหน้าระดับเอว 3.3. มือซ้ายหญิงผ่านหน้า จับกับมือขวาชายซึ่ งผ่านมาจาก ด้านหลังหญิงที่บริ เวณเอวด้านขวาหญิง การจับคู่แบบบอลรู มปิ ดนี้ จะใช้ในตอนเริ่ มต้นแทบทุก จังหวะลีลาศเมื่ออกลวดลายแล้วอาจเปลี่ยนเป็ นการจับคู่แบบ อื่นได้ WRAP POSITION 4. การจับคู่แบบสะพานโค้งหรื อประจันหน้า (Facing Position) 4.1. คู่หนั หน้าเข้าหากัน ห่างกันประมาณ 1 ช่วงลาตัว 4.2. ชายหงายมือทั้งสองด้านขึ้น หญิงคว่ามือวางข้างบน 4.3. ชายจับมือหญิงยกขึ้นเหนือเอวเล็กน้อย นิยมใช้กบั จังหวะ บีกิน ตะลุงเทมโป้ ร็ อคแอนด์โรล

FACING POSITION

VARSOUVIENNE POSITION

5. การจับคู่แบบวาโซเวียน (Varsouvienne Position) 5.1. คู่หนั หน้าไปทางเดียวกัน หญิงอยูท่ างขวามือชาย 5.2. หญิงยกมือทั้งสองขึ้นหงายมือเหนือไหล่ 5.3. ชายจับมือหญิง โดยมือขวาจับกับมือขวาคู่ มือซ้ายจับ กับมือซ้ายคู่ สาหรับชายจะยืนเยื้องไปทางข้างหลังเล็กน้อย การจับแบบวาโซเวียนจะทาได้โดยหญิงจะหมุนซ้ายเข้า หาชาย ซึ่ งชายจะเปลี่ยนมือจับโดยใช้มือขวาจับกับมือขวา ของคู่ พร้อมดึงคู่มาอยูท่ างขวาของชาย นิยมใช้กบั จังหวะ บีกิน


15 6. การจับคู่แบบผีเสื้ อ (Butterfly Position) 6.1. คู่ยนื หันหน้าเข้าหากัน 6.2. มือทั้งสองของชายและหญิงเตรี ยมยกขึ้นกางออก ระดับไหล่ 6.3. จับมือด้านเดียวกันกับคู่ระดับไหล่ การจับแบบผีเสื้ อนี้ นิยมใช้ในลีลาศจังหวะ บีกินโบเลโร เป็ นต้น

BUTTERFLY POSITION 7. การจับคู่แบบสวิงหรื อเกี้ยว (Swing out or Flirtation Position) 7.1. คู่หนั หน้าเข้าหากัน ห่างกันเล็กน้อย 7.2. จับมือด้านเดียวกันกับคู่ ส่ วนมากมือซ้ายชายมักจะจับ กับมือขวาหญิง 7.3. อาจดึงคู่เข้ามาสู่ ท่าบอลรู มปิ ดหรื อเปิ ดได้ นิยมใช้กบั จังหวะ ร็ อคแอนด์โรล หรื อ สวิง SWING OUT POSITION OR FLIRTATION POSITION 8. การจับคู่แบบอ้อมหลัง (Back Cross Position) 8.1. คู่ยนื หันหน้าไปทางเดียวกัน ชายอยูท่ างซ้ายหญิง 8.2. หญิงเอามือซ้ายอ้อมหลังชาย จับกับมือซ้ายชาย 8.3. มือขวาชายจับกับมือขวาหญิงระดับเอวด้านหลังหญิง นิยมใช้กบั จังหวะ บีกิน

BACK CROSS POSITION


16 9. การจับคู่แบบจับมือด้านใน ( Couple Position) 9.1. ชายและหญิงหันหน้าไปทางเดียวกัน หญิงอยูท่ าง ขวามือของชาย 9.2. มือด้านในของคู่จบั กัน ยกขึ้นสู งระดับไหล่ 9.3. มือด้านนอกปล่อยห้อยปกติ 9.4. หรื อเรี ยกท่านี้วา่ “ท่าสเกต” นิยมใช้กบั ลีลาศจังหวะแซมบ้า ลวดลายของบีกิน วอลซ์ ช่า ช่า ช่า รุ มบ้า เป็ นต้น COUPLE POSITION 10. การจับคู่แบบคล้องแขนด้านใน ( Escort Position) 10.1. คู่ยนื หันหน้าไปทางเดียวกัน 10.2. ชายงอแขนด้านใน หญิงใช้แขนด้านในคล้องไว้ 10.3. มือด้านนอกของคู่ปล่อยห้อยลง

ESCORT POSITION

11. การจับคู่แบบเปิ ดกลับซ้าย(Left Reverse Open Position) 11.1. จับคล้ายบอลรู มปิ ด แต่ยนื ไม่ตรงกัน 11.2. คู่ยนื หันหน้าเข้าหากัน หญิงอยูเ่ ยื้องทางขวาชาย 11.3. ปลายเท้าทั้งคู่จะไม่ตรงกัน

LEFT REVERSE OPEN POSITION


17 12. การจับคู่แบบวาโซเวียนกลับ (Reverse Varsouvienne Position) 12.1. คู่ยนื หันหน้าไปทางเดียวกันหญิงอยูท่ างซ้ายของชาย 12.2. หญิงโอบมือขวาผ่านหลังชายแล้วจับกับมือขวาชาย 12.3. มือซ้ายชายผ่านหน้าหญิง จับกับมือซ้ายหญิงแล้ว ยกขึ้นสู งระดับไหล่ของหญิง นิยมใช้กบั ลวดลายจังหวะ บีกิน ช่าช่าช่า

REVERSE VARSOVIENNE POSITION

13. การจับคู่แบบบอลรู มกลับซ้าย (Reverse Open Position) 13.1. คู่ยนื หันหน้าเข้าหากัน 13.2. มือทั้งสองของคู่จบั แบบบอลรู มปิ ด 13.3. ชายใช้เท้าขวานา ส่ วนหญิงใช้เท้าซ้ายตาม

REVERSE OPEN POSITION 14. การจับคู่แบบไหล่ - เอว ( Shoulder-waist Position) 14.1. คู่ยนื หันหน้าเข้าหากัน 14.2. ชายเอามือทั้งสองข้างจับเอวหญิง 14.3. หญิงเอามือทั้งสองเกาะไหล่ชาย 14.4. เอนลาตัวให้แขนทั้งสองข้างเหยียดตึง

SHOULDER-WAIST POSITION


18 15. การจับคู่แบบบอลรู มเปิ ดกลับขวา(Right Reverse Open Position) 15.1. คู่ยนื หันหน้าเข้าหากัน 15.2. มือทั้งสองของคู่จบั แบบบอลรู มปิ ด แต่กลับมือกัน 15.3. หญิงอยูท่ างซ้ายของชาย เท้าทั้งคู่ไม่ตรงกัน

RIGHT REVERSE OPEN POSITION 16. การจับคู่แบบพรอมมินาด ( Promenade Position) 16.1. คู่ยนื หันหน้าไปทางเดียวกัน หญิงอยูท่ างขวาชาย 16.2. มือซ้ายชายจับกับมือขวาหญิง ด้านหน้าหญิง 16.3. มือซ้ายหญิงลอดใต้แขนขวาชาย ไปจับกับมือซ้ายชาย ด้านหน้า

PROMENADE POSITION 17. การจับคู่แบบสนทนา ( Conversation Position) 17.1. คู่ยนื หันหน้าไปทางเดียวกัน 17.2. มือขวาชายโอบหลังหญิง จับที่เอวด้านขวาหญิง 17.3. มือซ้ายหญิงเกาะพักที่ไหล่ขวาชาย 17.4. มือด้านนอกของทั้งคู่ปล่อยห้อยลง

CONVERSATION POSITION


19

บทที่ 3 จังหวะวอล์ซ (WALTZ) จังหวะ " บอสตัน วอลซ์ " ซึ่งเป็ นต้นแบบของวอลซ์ ที่ใช้ในการแข่งขันปั จจุบนั หลังจาก นั้นไม่นานได้ ถูกเปลี่ยนไปในทิศทางของ " วอลซ์ " จังหวะวอลซ์ ได้เริ่ มถูกพัฒนาให้ถูกทางขึ้น ด้วยท่าแม่แบบ อย่างเช่น The Natural และ Reverse Turn และ The Closed Change ความก้าวหน้า ในการพัฒนาจังหวะ " วอลซ์ " เป็ นไปอย่างยืดหยาด และเชื่องช้า ผูท้ ี่ได้ทุ่มเทกับการพัฒนาจังหวะ นี้ ต้องยกให้ มิส โจส์เซฟฟิ น แบรดลีย ์ (Josephine Bradly) วิคเตอร์ ซิลเวสเตอร์ (Victor Silvester) และ แม็กซ์เวลล์ สจ๊วตด์(Maxwell Steward)และแพ็ทไซด์ (Pat Sykes) สถาบันที่ได้สร้างผลงานต่อ การพัฒนาท่าแม่แบบต่างๆ ให้มีความเป็ นมาตรฐาน คือ "Imperial Society of Teachers of Dancing" (I S T D) ท่าแม่แบบเหล่านี้ บรรดานักแข่งขันยังคงใช้กนั อยูถ่ ึงปั จจุบนั ลักษณะเฉพาะของจังหวะ Waltz เอกลักษณ์เฉพาะ สวิง และเลื่อนไหล นุ่มนวล และเคลื่อนเป็ นวง ซาบซึ้ งและเร้าอารมณ์ การเคลื่อนไหว การสวิง ลักษณะแกว่งไกวแบบลูกตุม้ นาฬิกา ความเร็ วต่อนาที 30 บาร์ ต่อนาที ตามกฎ IDSF การเน้นจังหวะ บน บีท (Beat) ที่ 1 ห้องดนตรี 3/4 เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที การขึ้นและลงเริ่ มยืดขึ้นหลังจบ 1 ขึ้นต่อเนื่ องตอน 2 และ 3 หน่วงลดลงหลังจบ 3

FIGURE 1 NATURAL SQUARE ก้าวที่ 1 2 3 4 5 6

การก้าวเท้า ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ก้าวเท้าขวา แยกไปข้างเป็ นแนวเดียวกับเท้าซ้าย พร้อมยกส้นเท้าซ้ายขึ้น ลากปลายเท้าซ้ายมาชิ ดปลายเท้าขวา แล้วย่อตัวลง ถอยเท้าขวามาด้านหลัง ถอยเท้าซ้าย แยกไปข้าง เป็ นแนวเดียวกันกับเท้าขวา พร้อมยกส้นเท้าขวาขึ้น ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้ายแล้วย่อตัวลง

จังหวะ 1 2 3 4 5 6


20

FIGURE 2 REVERSE SQUARE ก้าวที่ 1 2 3 4 5 6

การก้าวเท้า ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า ก้าวเท้าซ้าย แยกไปข้างเป็ นแนวเดียวกับเท้าขวา พร้อมยกส้นเท้าขวาขึ้น ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย แล้วย่อตัวลง ถอยเท้าซ้ายมาด้านหลัง ถอยเท้าขวา แยกไปข้าง เป็ นแนวเดียวกันกับเท้าซ้าย พร้อมยกส้นเท้าซ้ายขึ้น ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวาแล้วย่อตัวลง

จังหวะ 1 2 3 4 5 6

FIGURE 3 CLOSED CHANGE เป็ นลวดลายที่มี 3 ก้าว แบ่งออกเป็ น 2 อย่าง คือ เริ่ มก้าวแรกด้วยเท้าซ้าย ( Left foot closed change ) และเริ่ มก้าวแรกด้วยเท้าขวา ( Right foot closed change ) โดยปกติจะใช้เชื่อม ลวดลายหนึ่งไปยังอีกลวดลายหนึ่ง โดยผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดิน 3 ก้าว ดังนี้


21 เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าตามแนวเต้นรา Left foot closed change ( ลักษณะการเดินไปข้างหน้า ) ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2 แยกเท้าขวาไปข้าง ๆ เยื้องข้างหน้าเล็กน้อย พร้อมยกส้นเท้าขึ้น 3 ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา แล้วลดเท้าลง

จังหวะ 1 2 3

Right foot closed change ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 2 แยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ เยื้องข้างหน้าเล็กน้อย พร้อมยกส้นเท้าขึ้น 3 ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย แล้วลดเท้าลง

จังหวะ 1 2 3


22

Left foot closed change ( ลักษณะการเดินถอยหลัง ) ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปด้านหลัง 2 แยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ เยื้องเล็กน้อย พร้อมยกส้นเท้าขึ้น 3 ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย แล้วลดเท้าลง

จังหวะ 1 2 3

Right foot closed change ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าซ้ายไปด้านหลัง 2 แยกเท้าขวาไปข้าง ๆ เยื้องเล็กน้อย พร้อมยกส้นเท้าขึ้น 3 ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา แล้วลดเท้าลง

จังหวะ 1 2 3


23

FIGURE 4 REVERSE TURN ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าวดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมแยกเท้าขวาไปข้าง ๆ หันหน้าเฉียงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา 3 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย 1/8 รอบ พร้อมลากเท้าซ้ายมา ชิดเท้าขวา หันหน้าย้อนแนวเต้นรา 4 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรง ๆ พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางซ้าย 5 6

หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย 3/8 รอบ พร้อมแยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย หันหน้าเฉียงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา

จังหวะ 1 2 3 4 5 6


24 ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าวดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปด้านหลังเฉียงออกทางขวาเล็กน้อย 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย 3/8 รอบ พร้อมแยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ หันหน้าเฉียงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา 3 ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย หันหน้าตามแนวเต้นรา 4 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรง ๆ พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางซ้าย 5 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมแยกเท้าขวาไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า เมื่อจบก้าวนี้จะหันหน้าเข้ากลางห้อง 6 หมุนตัวไปทางซ้าย 1/8 รอบ พร้อมลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา หันหน้าเฉียงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ลดส้นเท้าลง

จังหวะ 1 2 3 4 5 6


25

FIGURE 5 NATURAL TURN ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าขวาเฉี ยงไปข้างหน้าเล็กน้อย พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางขวา 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมแยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ ด้วย ปลายเท้า หันหน้าเฉียงเข้าฝาห้องย้อนแนวเต้นรา 3 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา 1/8 รอบ พร้อมลากปลายเท้าขวามา ชิดเท้าซ้าย หันหน้าย้อนแนวเต้นรา 4 ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลังตรง ๆ พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางขวา 5 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา 3/8 รอบ พร้อมแยกเท้าขวาไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า ปลายเท้าเฉียงเข้ากลางห้อง 6 ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา หันหน้าเฉียงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นรา

จังหวะ 1 2 3 4 5 6


26 ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าวดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าซ้ายเฉี ยงไปด้านหลังเล็กน้อย พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางขวา 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา 3/8 รอบ พร้อมแยกเท้าขวาไปข้าง ๆ ปลายเท้าจะชี้ไปตามแนวเต้นรา 3 ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา หันหน้าตามแนวเต้นรา 4 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าตรง ๆ พร้อมเริ่ มหมุนตัวไปทางขวา 5 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมแยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า เมื่อจบก้าวนี้จะหันหน้าเข้าฝาห้อง 6 หมุนตัวไปทางขวา 1/8 รอบ พร้อมลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย หันหน้าเฉียงฝาห้องย้อนแนวเต้นรา ลดส้นเท้าลง

จังหวะ 1 2 3 4 5 6


27

FIGURE 6 NATURAL SPIN TURN เป็ นลวดลายที่ที่นิยมเต้นมุมห้องหรื อมุมฟอร์ หรื ออาจใช้ตรงไหนก็ได้ถา้ ต้องการจะเปลี่ยน แนวเต้นราจากเดิมเป็ นแนวเต้นราใหม่ ลวดลายมีท้ งั หมด 6 ก้าว ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1–2–3 ก้าวเท้าเหมือนกับ 3 ก้าวแรกของ Natural turn 1–2-3 จบด้วยการยืนหันหน้าย้อนแนวเต้นรา 4 ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง พร้อมหมุนตัวไปทางขวา 3/8 รอบ 4 5 ยังคงหมุนตัวไปทางขวา พร้อมก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 5 ปลายเท้าชี้เฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา 6 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา พร้อมก้าวเท้าซ้ายแยกไปข้าง ๆ 6 จบก้าวนี้ หันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องย้อนแนวเต้นรา


28 ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1–2–3 ก้าวเท้าเหมือนกับ 3 ก้าวแรกของ Natural turn จบด้วยการยืนหันหน้าตามแนวเต้นรา 4 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมหมุนตัวไปทางขวา 3/8 รอบ 5 ยังคงหมุนตัวไปทางขวา พร้อมถอยเท้าซ้ายไปข้างหลัง ปลายเท้าชี้เฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา 6 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา พร้อมลากเท้าขวาแยกไปข้าง ๆ จบก้าวนี้ หันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นรา

จังหวะ 1–2-3 4 5 6


29

FIGURE 7 WHISK เป็ นลวดลายที่ใช้ในขณะที่จะไม่มีการก้าวเดินหน้าต่อไป และยังเป็ นลวดลายที่เชื่อมโยง ต่อเนื่องไปยังลวดลายอื่นๆ ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรงๆ 1 2 แยกเท้าขวาไปข้าง ๆ เยื้องไปข้างหน้าเล็กน้อยด้วยปลายเท้า 2 3 ไขว้เท้าซ้ายไปข้างหลังเท้าขวาด้วยปลายเท้า ให้โคนขาถึงเข่า 3 แนบชิดติดกัน พร้อมกับนาคู่เต้นหันหน้าเปิ ดออกไป

ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังตรง ๆ 2 ถอยเท้าซ้ายเยื้องไปข้างหลังเท้าขวา เริ่ มหมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ ปลายเท้าชี้เฉี ยงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นราด้วยการหมุนตัวเล็กน้อย 3 ไขว้เท้าขวาไปข้างหลังเท้าซ้ายด้วยปลายเท้า ให้โคนขาถึงเข่า แนบชิดติดกัน หันหน้าเฉี ยงเต็มกลางห้องตามแนวเต้นรา เมื่อจบก้าวนี้จะหันหน้าเปิ ดออกไป

จังหวะ 1 2 3


30

FIGURE 8 SYNCOPATED CHASSE เรี ยกอีกอย่างว่า Chasse from Promenade Position เป็ นการเต้นที่ที่มีการชิ ดเท้าใส่ กนั โดยทั้งคู่จะเคลื่อนที่ไปตามแนวเต้นราในลักษณะที่เกือบจะเอาด้านข้างนาไป ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 4 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 1 2 แยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า 2 3 ลากปลายเท้าขวามาชิดปลายเท้าซ้าย 3 4 ก้าวเท้าซ้ายแยกไปข้าง ๆ 4


31 ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 4 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า เริ่ มหมุนตัวไปทางซ้าย 2 แยกเท้าขวาไปข้าง ๆ ด้วยปลายเท้า พร้อมหมุนตัวไป ทางซ้าย ¼ รอบ หันหน้าเฉียงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา 3 ลากปลายเท้าซ้ายมาชิดปลายเท้าขวา 4 ก้าวเท้าขวาแยกไปข้าง ๆ

จังหวะ 1 2 3 4

FIGURE 9 BACK WHISK ประกอบด้วยการเดินถอยหลัง 3 ก้าว พร้อมกับนาผูห้ ญิงให้หมุนตัวไปทางขวาเข้าสู่ ท่า Promenade ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้าฝาห้องตามแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ถอยเท้าซ้ายไปข้างหลังตรง ๆ เริ่ มยืดตัวและขาขึ้น 1 2 ลากปลายเท้าขวาวางข้าง ๆ นาผูห้ ญิงให้หมุนตัวสู่ ท่า Promenade ยังคงยืดตัวและขาอย่างต่อเนื่อง 2 3 ไขว้เท้าซ้ายไปข้างหลังเท้าขวาด้วยปลายเท้า ให้โคนขาถึงเข่าแนบ ชิดติดกัน พร้อมนาคู่เต้นให้หนั หน้าเปิ ดออก 3


32

ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 3 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการยืนหันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องย้อนแนวเต้นรา ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าขวาออกนอกคู่ ไปข้างหน้าตรง ๆ เริ่ มหมุนตัวไปทางขวา 2 หมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมแยกเท้าซ้ายไปข้าง ๆ หันหน้าเข้ากลางห้อง 3 ไขว้เท้าขวาไปข้างหลังเท้าซ้ายด้วยปลายเท้า ให้โคนขาถึงเข่าแนบ ชิดติดกัน หันหน้าเฉี ยงเข้ากลางห้องตามแนวเต้นรา หันหน้าเปิ ดออก

จังหวะ 1 2 3


33

บทที่ 4 จังหวะคิวบัน รัมบ้ า (CUBAN RUMBA) คิวบันรัมบ้ า (Cuban Rumba)

FIGURE 1 BASIC MOVEMENT ผูช้ าย ประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการจับคู่แบบปิ ด หันหน้าไปตามแนวลีลาศ เพื่อมารยาทที่ถูกต้อง เท้าทั้งสองข้างแยก ออกจากกัน น้ าหนักตัวอยูท่ ี่เท้าขวา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้ปลายเท้าถึงพื้นแล้วราบลงเต็มเท้า 2 2 ถ่ายน้ าหนักกลับมาที่เท้าขวา 3 3 แยกเท้าซ้ายออกด้านข้างให้ขนานกับเท้าขวาประมาณ 1 ช่วงไหล่ 4 4 ถอยเท้าขวาไปด้านหลังให้ปลายเท้าถึงพื้นแล้วราบลงเต็มเท้า 1 5 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย 2 6 แยกเท้าขวาออกด้านข้างให้ขนานกับเท้าซ้ายประมาณ 1 ช่วงไหล่ 3


34 ผูห้ ญิง ประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปข้างหลังให้ปลายเท้าถึงพื้นแล้วราบลงเต็มเท้า 2 ถ่ายน้ าหนักกลับมาที่เท้าซ้าย 3 แยกเท้าขวาออกด้านข้างให้ขนานกับเท้าซ้ายประมาณ 1 ช่วงไหล่ 4 ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าให้ปลายเท้าถึงพื้นแล้วราบลงเต็มเท้า 5 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวา 6 แยกเท้าซ้ายออกด้านข้างให้ขนานกับเท้าขวาประมาณ 1 ช่วงไหล่

จังหวะ 2 3 4 1 2 3


35

FIGURE 2 NEW YORK ลวดลายนี้มี 6 ก้าว โดยเต้นต่อจาก Basic Movement โดยในก้าวที่ 1 ผูช้ ายต้องช่วยนา ผูห้ ญิงเล็กน้อยในการบิดลาตัว ผูช้ าย ประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ เริ่ มต้นด้วยการจับคู่แบบปิ ด แล้วเต้นก้าวที่ 4-6 ของ Basic Movement ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉี ยงไปทางขวามือพร้อมหมุนลาตัวไปทางขวา ¼ รอบ ขณะที่หมุนตัวใช้มือซ้ายนาคู่เต้นให้หมุนไปด้วย เมื่อจบก้าวนี้จะอยู่ ในลักษณะหันข้างเข้าหากัน มืออีกข้างยกออกด้านข้าง 2 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวาเตรี ยมหมุนกลับไปทางซ้าย 3 3 หมุนตัวกลับไปทางซ้าย ¼ รอบพร้อมกับถอยเท้าซ้าย มาวางให้ขนาน เท้าขวาโดยแยกออกด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ หันหน้ามาตรงกับ คู่ของตัวเอง น้ าหนักอยูท่ ี่เท้าซ้าย 4 4 ก้าวเท้าขวาเฉี ยงไปทางซ้ายมือพร้อมหมุนลาตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ ขณะที่หมุนตัวใช้มือขวานาคู่เต้นให้หมุนไปด้วย เมื่อจบก้าวนี้จะอยู่ ในลักษณะหันข้างเข้าหากัน มืออีกข้างยกออกด้านข้าง 1 5 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย เตรี ยมหมุนกลับไปทางขวา 2 6 หมุนตัวกลับไปทางขวา ¼ รอบพร้อมกับถอยเท้าขวา มาวางให้ขนาน เท้าซ้ายโดยแยกออกด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ หันหน้ามาตรงกับคู่ ของตัวเอง น้ าหนักอยูท่ ี่เท้าขวา 3


36 ผูห้ ญิงประกอบด้วยการเดิน 6 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าขวาเฉี ยงไปทางซ้ายมือพร้อมหมุนลาตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ เมื่อจบก้าวนี้จะอยูใ่ นลักษณะหันข้างเข้าหากัน มือซ้ายยกออกด้านข้าง 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้ายเตรี ยมหมุนกลับไปทางขวา 3 หมุนตัวกลับไปทางขวา ¼ รอบพร้อมกับถอยเท้าขวา มาวางให้ขนาน เท้าซ้ายโดยแยกออกด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ หันหน้ามาตรงกับ คู่ของตัวเอง น้ าหนักอยูท่ ี่เท้าขวา 4 ก้าวเท้าซ้ายเฉี ยงไปทางขวามือพร้อมหมุนลาตัวไปทางขวา ¼ รอบ เมื่อจบก้าวนี้จะอยูใ่ นลักษณะหันข้างเข้าหากัน มือขวายกออกด้านข้าง 5 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา เตรี ยมหมุนกลับไปทางซ้าย 6 หมุนตัวกลับไปทางซ้าย ¼ รอบพร้อมกับถอยเท้าซ้าย มาวางให้ขนาน เท้าขวาโดยแยกออกด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ หันหน้ามาตรงกับคู่ ของตัวเอง น้ าหนักอยูท่ ี่เท้าซ้าย

จังหวะ 2 3

4 1 2

3


37

FIGURE 3 SPOT TURN เป็ นลวดลายที่มีการปล่อยมือออกจากคู่เต้น หมุนตัวอยูก่ บั ที่ 1 รอบไปทางขวามือ หรื อ ซ้ายมือก็ได้ ประกอบด้วยการเดิน 4 ก้าว ดังนี้ 1. หมันตัวไปทางขวา ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าเฉียงไปทางขวา พร้อมหมุนตัว ¼ รอบ 2 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางขวา 1 รอบ 3 3 ก้าวเท้าซ้าย มาวางให้ขนานเท้าขวา แยกออกประมาณ 1 ช่วงไหล่ 4 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา 1

2. หมุนตัวไปทางซ้าย ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าเฉี ยงไปทางซ้าย พร้อมหมุนตัว ¼ รอบ 2 หมุนตัวต่อเนื่ องไปทางซ้าย 1 รอบ 3 ก้าวเท้าขวามาวางให้ขนานเท้าซ้าย แยกออกประมาณ 1 ช่วงไหล่ 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย

จังหวะ 2 3 4 1


38

FIGURE 4 HAND TO HAND เป็ นลวดลายที่เต้นต่อจาก ลวดลาย Spot Turn โดยผูช้ ายและผูห้ ญิงจะเต้นในลักษณะที่ ถอยเท้าเช่นเดียวกัน แต่แตกต่างกันตรงที่ ใช้เท้ากันคนละข้าง ผูช้ ายประกอบด้วยการเดิน 8 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ 1 การก้าวเท้า จังหวะ 1 หมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมถอยเท้าขวามาวางด้านหลังชิดส้นเท้าซ้าย 2 2 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย 3 3 หมุนตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าขวามาวางให้ขนานเท้าซ้าย 4 4 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวา ด้านหน้าจะหันมาตรงคู่เต้นตนเอง 1 5 หมุนตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมถอยเท้าซ้ายไปวางด้านหลังชิดส้นเท้าขวา 2 6 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา 3 7 หมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าซ้ายมาวางให้ขนานเท้าขวา 4 8 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย ด้านหน้าจะหันมาตรงกับคู่เต้นตนเอง 1


39 ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดิน ประกอบด้วย 8 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ 1 การก้าวเท้า จังหวะ 1 หมุนตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมถอยเท้าซ้ายไปวาง ด้านหลังชิดส้นเท้าขวา 2 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา 3 3 หมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าซ้ายมาวางให้ขนานเท้าขวา 4 4 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย ด้านหน้าจะหันมาตรงกับคู่เต้นตนเอง 1 5 หมุนตัวไปทางขวา ¼ รอบ พร้อมถอยเท้าขวามาวางด้านหลังชิดส้นเท้าซ้าย 2 6 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย 3 7 หมุนตัวไปทางซ้าย ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าขวามาวางให้ขนานเท้าซ้าย 4 8 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวา ด้านหน้าจะหันมาตรงคู่เต้นตนเอง 1


40

FIGURE 5 ALEMANA เป็ นการจับคู่ในลักษณะแบบเปิ ด จับมือเดียว ผูห้ ญิงจะใช้ลกั ษณะการหมุน ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 6 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าตรงๆ 2 2 ถ่ายน้ าหนักกลับมาที่เท้าขวา 3 3 ถอยเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย 4-1 4 ถอยเท้าขวามาด้านหลัง 2 5 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย 3 6 ก้าวเท้าขวา แยกขนานเท้าซ้าย 4-1

ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดิน ประกอบด้วย 6 ก้าว ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปข้างหลัง 2 ถ่ายน้ าหนักกลับมาที่เท้าซ้าย 3 ก้าวเท้าขวามาวางให้ขนานเท้าซ้ายพร้อมถ่ายน้ าหนักมาเท้าขวา 4 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปทางขวามือ พร้อมบิดลาตัวไปทางขวามือ 5 หมุนตัวไปทางขวา 1 รอบโดยเท้าขวาเป็ นหลัก 6 ก้าวเท้าซ้าย แยกมาขนานเท้าขวา พร้อมถ่ายน้ าหนักมาเท้าซ้าย

จังหวะ 2 3 4-1 2 3 4-1


41

FIGURE 6 SIDE STEP เป็ นลักษณะการยืนอยูใ่ นท่าที่ต่อเนื่องจาก Alemana ยืนหันหน้าเข้าหาคู่ น้ าหนักอยูท่ ี่เท้า ขวาสาหรับผูช้ าย และ น้ าหนักจะอยูท่ ี่เท้าซ้ายสาหรับผูห้ ญิง โดยทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิงเท้าจะแยกออก จากกัน ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 3 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 เท้าซ้ายลากชิดเท้าขวา โดยการถ่ายน้ าหนัก 2 2 แยกเท้าขวาออกไปด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ 3 3 เท้าซ้ายลากชิดเท้าขวา โดยการถ่ายน้ าหนัก 4-1


42 ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 3 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 เท้าขวาลากชิดเท้าซ้าย โดยการถ่ายน้ าหนัก 2 แยกเท้าซ้ายออกไปด้านข้างประมาณ 1 ช่วงไหล่ 3 เท้าขวาลากชิดเท้าซ้าย โดยการถ่ายน้ าหนัก

จังหวะ 2 3 4-1

FIGURE 7 CUBAN LOCK เป็ นลักษณะการถ่ายน้ าหนักไปมา โดยใช้เอว สะโพกและลาตัวช่วย ทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิง ซึ่ งลวดลายนี้จะเต้นต่อจาก Side step โดยทั้งชายและหญิงประกอบไปด้วยการเดิน 3 ก้าว ผูช้ ายน้ าหนักของเท้าจะอยูท่ ี่เท้าซ้าย จะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 3 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 แยกเท้าขวาออกด้านข้างขวา ประมาณ 1 ช่วงไหล่ 2 2 ถ่ายน้ าหนักโดยใช้เอวช่วย จากด้านขวาไปด้านซ้าย 3 3 ถ่ายน้ าหนักโดยใช้เอวช่วย จากด้านซ้ายไปด้านขวา 4-1


43 ผูห้ ญิง น้ าหนักของเท้าจะอยูท่ ี่เท้าขวา จะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 3 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 แยกเท้าซ้ายออกด้านข้างซ้าย ประมาณ 1 ช่วงไหล่ 2 2 ถ่ายน้ าหนักโดยใช้เอวช่วย จากด้านซ้ายไปด้านขวา 3 3 ถ่ายน้ าหนักโดยใช้เอวช่วย จากด้านขวาไปด้านซ้าย 4-1

FIGURE 8 SHOULDER TO SHOULDER เป็ นลวดลายที่เต้นต่อเนื่ องจากจังหวะ Cuban rumba โดยลักษณะการเต้นลวดลายแบบนี้ ทั้งผูช้ ายและผูห้ ญิงสามารถที่จะเดินไปข้างหน้าและถอยหลังได้ ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเต้นประกอบด้วย 8 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 หมุนลาตัว ¼ รอบพร้อมก้าวเท้าซ้ายเฉี ยงไปข้างหน้าทางขวามือ 2 2 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวาซึ่ งเป็ นเท้าหลัก 3 3 หมุนตัว ¼ รอบพร้อมถอยเท้าซ้ายกลับมาวางให้ขนานเท้าขวา 4 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย ด้านหน้าตรงกับคู่เต้นตนเอง 1 5 หมุนลาตัว ¼ รอบพร้อมก้าวเท้าขวาเฉียงไปข้างหน้าทางซ้ายมือ 2 6 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้ายซึ่ งเป็ นเท้าหลัก 3 7 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมถอยเท้าขวากลับมาวางให้ขนานเท้าซ้าย 4 8 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา ด้านหน้าตรงกับคู่เต้นตนเอง 1


44

ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเต้นประกอบด้วย 8 จังหวะ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 หมุนลาตัว ¼ รอบพร้อมถอยเท้าขวาเฉียงไปข้างหลังส้นเท้าซ้าย 2 2 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้ายซึ่ งเป็ นเท้าหลัก 3 3 หมุนตัว ¼ รอบพร้อมก้าวเท้าขวากลับมาวางให้ขนานเท้าซ้าย 4 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา ด้านหน้าตรงกับคู่เต้นตนเอง 1 5 หมุนลาตัว ¼ รอบพร้อมถอยเท้าซ้ายเฉียงไปข้างหลังส้นเท้าขวา 2 6 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวาซึ่ งเป็ นเท้าหลัก 3 7 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าซ้ายกลับมาวางให้ขนานเท้าขวา 4 8 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย ด้านหน้าตรงกับคู่เต้นตนเอง 1


45

FIGURE 9 LONGDE เป็ นลวดลายของการเต้นที่กวาดเท้าทั้งเท้าซ้ายและเท้าขวา ทั้งผูห้ ญิงและผูช้ าย มีจงั หวะใน การเต้น 8 จังหวะ ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเต้นประกอบด้วย 8 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ตรง ๆ 2 2 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าขวา 3 3 ถอยเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา 4 4 ถ่ายน้ าหนักมาเท้าซ้าย 1 5 แยกเท้าขวาออกข้าง ๆ 2 6 ก้าวเท้าขวาไขว้ดา้ นหน้าเท้าซ้าย 3 7 เท้าซ้ายกวาดด้านนอกเข้ามาด้านใน 4 8 ดึงเท้าซ้ายเข้ามาชิดเท้าขวา 1


46 ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 8 จังหวะ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปทางด้านหลัง 2 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย 3 ก้าวเท้าขวากลับมาชิดเท้าซ้าย 4 ถ่ายน้ าหนักมาเท้าขวา 5 แยกเท้าซ้ายออกข้าง ๆ 6 ก้าวเท้าซ้ายไขว้ดา้ นหน้าเท้าขวา 7 เท้าขวากวาดด้านนอกเข้ามาด้านใน 8 ดึงเท้าขวาเข้ามาชิดเท้าซ้าย

จังหวะ 2 3 4 1 2 3 4 1


47

FIGURE 10 BACK TO QUARACHA ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 4 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าซ้ายมาด้านหลัง 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา 3 ดึงเท้าซ้ายกลับมาชิดเท้าขวา 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย

ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 4 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวามาด้านหลัง 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย 3 ดึงเท้าขวากลับมาชิดเท้าซ้าย 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา

จังหวะ 2 3 4 1

จังหวะ 2 3 4 1


48

FIGURE 11 HIP TWIST ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 8 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 แยกเท้าซ้ายออกด้านซ้าย 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา 3 ลากเท้าซ้ายกลับมาชิดขวา 4 ถ่ายน้ าหนักตัวมาเท้าซ้าย 5 ถอยเท้าขวาไปทางด้านหลัง 6 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย 7 ก้าวเท้าขวากลับมาชิดเท้าซ้าย 8 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าขวา

จังหวะ 2 3 4 1 2 3 4 1


49 ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 8 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า จังหวะ 1 ถอยเท้าขวาไปทางด้านหลัง 2 2 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย 3 3 ลากเท้าขวาไขว้ผา่ นหน้าเท้าซ้าย 4 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมบิดสะโพกไปทางซ้าย 4 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมบิดสะโพกไปทางขวา 1 ปลายเท้าซ้ายแตะพื้น 5 ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้า 2 6 หมุนตัว ¼ รอบ ก้าวเท้าขวาไขว้ผา่ นหน้าเท้าซ้าย พร้อมบิดสะโพกไปทางซ้าย 3 7 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมก้าวเท้าซ้าย บิดสะโพกไปทางไปทางขวา 4 8 ปลายเท้าซ้ายแตะพื้น 1


50

FIGURE 12 FAN ผูช้ ายจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 4 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวามาทางด้านหลัง 2 ถ่ายน้ าหนักมาเท้าซ้าย 3 ดึงเท้าขวามาวางให้ขนานเท้าซ้าย ห่างประมาณ 1 ช่วงไหล่ 4 ถ่ายน้ าหนักมาที่เท้าซ้าย

จังหวะ 2 3 4 1


51 ผูห้ ญิงจะมีลกั ษณะการเดินประกอบด้วย 8 จังหวะ ดังนี้ ก้าวที่ การก้าวเท้า 1 ถอยเท้าขวาไปทางด้านหลัง 2 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมบิดสะโพก ก้าวเท้าซ้ายไขว้ผา่ นเท้าขวา 3 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมบิดสะโพก 4 ก้าวเท้าขวาไขว้ผา่ นเท้าซ้าย ถ่ายน้ าหนักไปที่เท้าขวา เปิ ดส้นเท้าซ้ายขึ้น แล้วลากเท้าซ้ายไปชิดเท้าขวา โดย ใช้ปลายเท้าซ้ายแตะพื้น 5 ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า 6 หมุนตัว ¼ รอบ พร้อมบิดสะโพก ก้าวเท้าขวาไขว้เท้าซ้าย 7 ถอยเท้าซ้ายมาทางด้านหลัง 8 ถ่ายน้ าหนักตัวมาที่เท้าซ้าย

จังหวะ 2 3 4 1

2 3 4 1

ประวัติลีลาศในต่างประเทศ ในปี ค.ศ. 1588 พระชาวฝรั่งเศสชื่อ โตอิโน อาโบ (Thoinnot Arbeau: ค.ศ. 1519-1589) ได้ พิมพ์หนังสื อเกี่ยวกับการเต้นรา ชื่อ ออเชโซกราฟี (Orchesographin) ในหนังสื อได้บรรยายถึงการเต้นรา แบบต่างๆ บันทึกถึงการเต้นราที่นิยมใช้กนั ในบ้านขุนนางต่างๆ ในยุโรประหว่างศตวรรษที่ 16 งานเลี้ยงฉลอง ได้ถูกจัดขึ้นตามโอกาสต่างๆเช่น วันเกิด การแต่ง งาน และการต้อนรับแขกที่มาเยือนในงานจะรวมพวกการเต้นรา การประพันธ์ การดนตรี และการจัดฉากละครด้วย ขุนนางผูห้ นึ่งชื่อ Lorenzo de Medlci ได้จดั งานขึ้นที่ คฤหาสน์ของตน โดยตกแต่งคฤหาสน์ดว้ ยสี สนั ต่างๆ และจัดให้มีการแข่งขันหลายๆอย่าง รวมทั้ง การเต้นราสวม หน้ากาก (Mask Dance) ซึ่งต้องใช้จงั หวะ ดนตรี ประกอบการเต้น พระนางแคทเธอรี น เดอ เมดิซี (Catherine de Medicis ) พระราชินีในพระเจ้าเฮนรี่ ที่ 2 เดิมเป็ นชาว ฟลอเรนซ์แห่งอิตาลี พระองค์ได้นาคณะเต้นราของอิตาลีมาเผยแพร่ ในพระราชวังของฝรั่งเศส และเป็ นจุดเริ่ มต้น ของระบาบัลเล่ย ์ พระองค์ได้จดั ให้มีการแสดง บัลเล่ยโ์ ดยพระองค์ทรงร่ วมแสดงด้วย ในสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส ได้ปรับปรุ งและพัฒนาการบัลเล่ยใ์ หม่ได้ต้ งั โรงเรี ยนบัลเล่ย ์ ขึ้นแห่งแรก ชื่อ Academic Royale de Dance จนทาให้ประเทศฝรั่งเศสเป็ นศูนย์กลางวัฒนธรรมของยุโรป พระองค์คลุกคลีกบั วงการบัลเล่ยม์ าไม่นอ้ ย กว่า 200 ปี โดยพระองค์ทรงร่ วมแสดงด้วย บทบาทที่พระองค์ทรง โปรดมากที่สุดคือ บทเทพอพอลโลของกรี ก จนพระองค์ได้รับสมญา นามว่า “พระราชาแห่งดวงอาทิตย์” การ บัลเล่ยใ์ นสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 นี้ค่อนข้างจะสมบูรณ์มาก การเต้นระบาบัลเล่ยใ์ นพระราชวังนี้เป็ นพื้นฐานของการลีลาศ การเต้นราในปี ค.ศ. 1700 ซึ่งเป็ นที่นิยม


52 มากที่สุด ได้แก่ Gavotte,Allemande และMinuet รู ปแบบการเต้นจะประกอบด้วยการก้าวเดินหรื อวิง่ การ ร่ อนถลา การขึ้นลงของลาตัว การโค้ง และถอน สายบัว ภายหลังได้แพร่ ไปสู่ยโุ รปและอเมริ กา เป็ นที่ชื่นชอบของ ยอร์ช วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของอเมริ กามาก การเต้นราใน อังกฤษซึ่งเป็ นการเต้นราพื้นเมืองและนิยม กันมากในยุโรป เรี ยกว่า Country Dance ภายหลังได้แพร่ ไปสู่อาณานิคมตอนใต้ของอเมริ กา สมัยก่อน การแสดงบัลเล่ยม์ กั จะแสดงเรื่ องที่เกี่ยวกับเทพเจ้า เทพธิดา แต่สมัยนี้มุ่งแสดงเกี่ยวกับชีวติ คนธรรมดา สามัญ เป็ นเรื่ องง่ายๆและ จินตนาการ ในสมัยที่มีการปฏิวตั ิในฝรัง่ เศส ( ค.ศ. 1789 ) ได้มีการกวาดล้างพวก กษัตริ ยแ์ ละพวกขุนนางไป เกิดความรู ้สึกอย่างใหม่ คือ ความมีอิสระเสรี เท่าเทียมกัน เกิดการเต้นวอลซ์ ซึ่งรับมา จากกรุ งเวียนนา ประเทศออสเตรี ย ซึ่งเชื่อกันว่ามีรากฐานมาจากการเต้น Landler การเต้นวอลทซ์ได้แพร่ หลาย ไปสู่ประเทศที่เจริ ญแล้วในยุโรปตะวันตก เนื่องจากการเต้นวอลซ์อนุญาตให้ชายจับมือและเอว ของคูเ่ ต้นรา ได้ จึงถูกคณะพระคริ สประณามว่าไม่เหมาะสมและไม่สุภาพเรี ยบร้อย ในช่วงปี ค.ศ. 1800-1900 การ เต้นราใหม่ๆที่เป็ นที่ นิยมกันมากในยุโรปและอเมริ กา จะเริ่ มต้นจากคนธรรมดาสามัญโดยการเต้นราพื้นเมือง พวกขุนนางเห็นเข้าก็นาไปประยุกต์ให้เหมาะสมกับ ราชสานัก เช่น การเต้น โพลก้า วอลซ์ ซึ่งกลายเป็ นที่นิยมมาก ของคนชั้นกลางและชั้นสูง ในอเมริ การู ปแบบใหม่ในการเต้นราที่นิยมมาก ในหมู่ชนชั้นกรรมาชีพและพวกที่ ยากจน คน ผิวดานิยมเต้น Tap-Danced หรื อระบาย่าเท้า โดยรวมเอาการเต้นราพื้นเมืองในแอฟริ กา การ เต้น แบบจิ๊ก ( jig) ของชาวไอริ ส และการเต้นราแบบคล๊อก (Clog) ของชาวอังกฤษเข้าด้วยกัน คนผิวดามักจะเต้น ไปตามถนนหนทาง ก่อนปี ค.ศ. 1870 การเต้นราได้ขยายไปสู่เมืองต่างๆในอเมริ กา ผูห้ ญิงที่ชอบร้องเพลง ประสานเสี ยงจะเต้นระบาแคนแคน (Can-Can ) โดยใช้การเตะเท้าสูงๆ เพื่อเป็ นสิ่ งบันเทิงใจแก่พวกโคบาลที่ อยูต่ ามชายแดนอเมริ กา ระบาแคน แคน จังหวะวอลซ์จากกรุ งเวียนนา ประเทศออสเตรี ย ซึ่งเกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 17 แต่มิได้ เผยแพร่ จนกระทัง่ ในปี ค.ศ. 1816 จังหวะวอลซ์ ได้ถูกนามาเผยแพร่ ต่อที่ประชุมโดยพระเจ้ายอร์ชที่ 4 แม้จะไม่ สมบูรณ์นกั ในขณะนั้น แต่ก็จดั ว่าจังหวะวอลซ์เป็ นจังหวะแรกของการลีลาศแท้จริ ง เพราะคู่ลีลาศสามารถจับคู่ เต้นราได้ ในราวปี ค.ศ. 1840 การเต้นราบางอย่างกลับมาเป็ นที่นิยมอีก อาทิ โพลก้า จากโบฮิเมีย ซึ่งเป็ นที่นิยม มากในเวียนนา ปารี ส และลอนดอน จังหวะมาเซอก้า( Mazuka) จากโปแลนด์กเ็ ป็ นที่นิยมมากในยุโรป ตะวันตก ในราวกลางศตวรรที่ 19 การเต้นราใหม่ๆก็เกิดขึ้นอีกมาก อาทิ การเต้นมิลิตารี่ สก๊อตติช (Millitary Schottische) การเต้นเค็กวอล์ค (Cakewalk) ซึ่งเป็ นการเต้นราแบบหนึ่งของพวกนิโกรในอเมริ กา การเต้น ทูสเตป (Two-Step) การเต้นบอสตัน (Boston) และการเต้นเตอรกีทรอท (Turkey trot) ในศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1910 จังหวะแทงโก้จากอาร์เจนตินา เริ่ มเผยแพร่ ที่ปารี ส เป็ นจังหวะที่แปลกและ เต้นสวยงามมากในระหว่างปี ค.ศ. 1912-1914 Vemon และ lrene Castle ได้นารู ปแบบการเต้นราแบบ ใหม่ๆ จากอังกฤษมาเผยแพร่ ในอเมริ กาก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้แก่จงั หวะฟอกซ์ทรอทและแทงโก้

ประวัตกิ ารลีลาศของประเทศไทย


53 ไม่มีหลักฐานยืนยันได้แน่ชดั ว่าการลีลาศในประเทศไทยเกิดขึ้นในสมัยใด สันนิษฐานว่า ชาวต่างชาติได้นามาเผยแพร่ ในรัชสมัยของพรบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จุลศักราช 1226 จากบันทึก ของแหม่มแอนนาทาให้มีหลักฐานเชื่อได้วา่ คนไทยลีลาศเป็ นมาตั้งแต่สมัยพระองค์ และ พระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงรบการยกย่องให้เป็ นนักลีลาศคนแรกของไทย ตาม บันทึกกล่าวว่า แหม่มแอนนา พยายามสอนพระองค์ท่านให้รู้จกั วิธีการเต้นราแบบสุภาพซึ่งเป็ นที่ นิยมของชาวตะวันตก โดยบอกว่าจังหวะ วอลซ์น้ นั หรู มาก นิยมเต้นกันในวังของประเทศในแถบยุโรป พร้อมกับแสดงท่าทางการเต้น พระองค์ท่านกลับ สอนว่าใกล้เกินไป แขนต้องวางให้ถูก แล้วพระองค์ท่านก็เต้นทาให้แหม่มแอนนาประหลาดใจ จึงไม่สามารถรู ้ได้ ว่าใครเป็ นผูส้ อนพระองค์ จึงได้ได้สนั นิษฐานกันว่า พระองค์ท่านคงจะศึกษาจากตาราด้วยพระองค์เอง การเต้นรา ในสมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่มีแต่เจ้านายและขุนนาชั้นผูใ้ หญ่ที่เต้นรากันพอเป็ น โดยเฉพาะเจ้านายที่วา่ การต่างประเทศได้มีการเชิญฑูตานุฑูต และแขกชาวต่างประเทศมาชุมนุมเต้น รากันที่บา้ น เพื่อเป็ นการเฉลิมพระเกียรติในการเฉลิมพระชนมพรรษาหรื อเนื่องในวันบรมราชาภิเษก เป็ นต้น จนกระทัง่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานวังสราญรมย์ ให้เป็ นศาลาว่า การกระทรวงการต่างประเทศ งานเต้นราที่เคยจัดกันมาทุกปี ก็ได้ยา้ ยมาจัดกันที่วงั สราญรมย์ ในสมัยรัชกาลที่ 6 ทุกปี ที่มีงามเฉลิมพระชนมพรรษานิยมจัดให้มีการเต้นราขึ้นในพระบรมมหาราชวัง โดย มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นประธาน ซึ่งมีเจ้านายและบรรดาฑูตานุฑูตทั้งหลายเข้าเฝ้า ส่วนแขกที่จะเข้า ร่ วมงานได้ตอ้ งได้รับบัตรเชิญเท่านั้น จึงสามารถเข้าร่ วมงานได้ ในสมัยรัชกาลที่ 7 การลีลาศได้รับความนิยมมากขึ้น จึงมีสถานที่ลีลาศเกิดขึ้นหลายแห่ง เช่น ห้อยเทียนเหลา เก้าชั้น คาเธ่ย ์ และ โลลิตา้ เป็ นต้น ในปี พ.ศ.2475 นายหยิบ ณ นคร ได้ร่วมกับหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วราวรรณ จัดตั้งสมาคมเกี่ยวกับการ เต้นราขึ้น แต่ไม่ได้จดทะเบียนให้เป็ นที่ถูกต้องแต่ประการใด โดยใช้ชื่อว่าสมาคมสมัครเล่นเต้นรา มีหม่อมเจ้า วรรณไวทยากร วรวรรณ เป็ นนายกสมาคม นายหยิบ ณ นคร เป็ นเลขาธิการสมาคม สาหรับกรรมการสมาคมส่วนใหญ่ก็เป็ นขุนนางชั้นผูใ้ หญ่ ได้แก่ หลวงเฉลิม สุนทรกาญจน์ พระยาปกิตกลสาร พระยาวิชิต หลวงสุขมุ นัยประดิษฐ์ หลวงชาติตระการโกศล และ นายแพทย์เติม บุนนาค สมาชิกของสมาคมส่วนมากเป็ นข้าราชการชั้นผูใ้ หญ่ที่มกั พาลูกของตนมาเต้นราด้วย ทาให้มีสมาชิกเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ ว มีการจัดงานเต้นราชึ้นบ่อยๆ ที่สมาคมคณะราษฎร์และวังสราญรมย์ สาหรับวังสราญรมย์น้ ีเป็ นสถานที่ที่ จัดให้มีการแข่งขันเต้นราขึ้นเป็ นครั้งแรก ซึ่งผูช้ นะเลิศเป็ นแชมเปี ยนคู่แรกคือ พลเรื อตรี เฉี ยบ แสงชูโต และ ประนอม สุขมุ ในช่วงปี พ.ศ.2475-2476 มีนกั ศึกษากลุ่มหนึ่งเรี ยกสมาคมสมัครเล่นเต้นราว่าสมาคม... (คาผวนของคาว่า เต้นรา) ซึ่งฟังแล้วไม่ไพเราะหู ดังนั้นหม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ จึงบัญญัติศพั ท์คาว่า ลีลาศ ขึ้นแทนคาว่า เต้นรา ต่อมาสมาคมสมัครเล่นเต้นราก็สลายตัวไป แต่ยงั คงมีการชุมนุมกันของครู ลีลาศอยูเ่ สมอ โดยมีนายหยิบ ณ นคร เป็ นผูป้ ระสานงาน การลีลาศได้ซบเซาลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จนกระทัง่ สงครามสงบลงในเดือน


54 กันยายน พ.ศ. 2488 วงการลีลาศของไทยเริ่ มฟื้ นตัวขึ้นใหม่ มีโรงเรี ยนสอนลีลาศเกิดขึ้นหลายแห่งโดยเฉพาะ สาขาบอลรู มสมัยใหม่ ( Modern Ballroom Branch ) ซึ่งอาจารย์ยอด บุรี ได้ไปศึกษามาจากประเทศ อังกฤษและเป็ นผูน้ ามาเผยแพร่ ช่วยทาให้การลีลาศซึ่งศาสตราจารย์ศุภชัย วานิชวัฒนาเป็ นผูน้ าอยูก่ ่อนแล้วเจริ ญ ขึ้นเป็ นลาดับ ในปี พ.ศ.2491 มีบุคคลชั้นนาในการลีลาศซึ่งเคยเป็ นผูช้ นะเลิศการแข่งขันลีลาศสมัย สงครามโลกครั้งที่ 2 อาทิ อุไร โทณวณิ ก กวี กรโกวิท จาลอง มาณยมณฑล ปั ตตานะ เหมะสุจิ และ นายแพทย์ ประสบ วรมิศร์ ได้ร่วมกันก่อตั้งสมาคมลีลาศแห่งประเทศไทยขึ้น โดยสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ อนุญาตให้จดั ตั้ง ได้เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2491 มีหลวงประกอบนิติสาร เป็ นนายกสมาคมคนแรก ปัจจุบนั สมาคมลีลาศแห่ง ประเทศไทยเป็ นสมาชิกของสภาการลีลาศนานาชาติดว้ ยประเทศหนึ่ง หลังจากนั้นการลีลาศในประเทศไทยก็เป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลาย มีสถานลีลาศเปิ ดเพิ่มมาก ขึ้น มีการจัดแข่งขันลีลาศมากขึ้น ประชาชนสนใจเรี ยนลีลาศกันมากขึ้น มีการจัดตั้งสมาคมครู ลีลาศ ขึ้นสาหรับ เปิ ดสอนลีลาศ และยังได้จดั ส่งนักลีลาศไปแข่งขันในต่างประเทศและจัดแข่งขันลีลาศนานาชาติข้ นึ ในประเทศ ไทย ในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็ นนายกรัฐมนตรี ได้กาหนดให้โรงเรี ยนสอนลีลาศต่างๆ อยูใ่ น สังกัดของกระทรวงศึกษาธิการ และมีการกาหนดหลักสูตรลีลาศขึ้นอย่างเป็ นแบบแผนทาให้การลีลาศมร มาตรฐานยิง่ ขึ้น ส่งผลให้การลีลาศในประเทศไทยเป็ นที่ยอมรับและนิยมในวงการทั้งในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค นักเรี ยน นิสิต นักศึกษาและประชาชนให้ความสนใจ ทาให้มีโรงเรี ยนหรื อสถาบันเปิ ดสอนลีลาศขึ้นเกือบทุกจังหวัด สาหรับในสถานศึกษาก็ได้มีการจัดวิชาลีลาศเข้าไว้ ในหลักสูตรตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษาปัจจุบนั ลีลาศได้รับการรับรองให้เป็ นกีฬาจาก คณะกรรมการโอลิมปิ กสากล (International Olympic Committee = IOC ) อย่างเป็ นทางการมรการ ประชุมครั้งที่ 106 วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2540 ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สาหรับในประเทศ ไทยคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย ในสมัยที่มีนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรี ประจาสานัก นายกรัฐมนตรี เป็ นประธานคณะกรรมการ ได้มีมติรับรองลีลาศเป็ นการกีฬาอย่างเป็ นทางการ เมื่อ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2541 จัดเป็ นกีฬาลาดับที่ 45 ของการกีฬาแห่งประเทศไทย และยังได้จดั ให้มีการ แข่งขันกีฬาลีลาศ ( สาธิต )ขึ้นเป็ นครั้งแรกในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13 ซึ่งประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ ณ กรุ งเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 6-20 ธันวาคม พ.ศ.2541


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.