สระบุรี 2570

Page 1


การวางผังเมืองและการออกแบบศูนย์เศรษฐกิจเพื่อลดการกระจัดกระจาย


Multimodal and Economic Center Design

Auto – Oriented Phase

TIMING (Timing + Value) 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


Multimodal and Economic Center Design

Multimodal Transportation Phase

TIMING (Timing + Value) 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


Multimodal and Economic Center Design T6/T5

Multimodal Retail and Service Phase

TIMING (Timing + Value) 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


Multimodal and Economic Center Design T4 T6/T5

Multimodal Retail and Service Office Residential Mixuse

TIMING (Timing + Value) 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


Multimodal and Economic Center Design มาตรฐานการใช้พื้นที่ 18 ชั่วโมง

Multimodal Retail and Service Office Residential Mix use Entertainment Hospital International Trade

T4 T6/T5

TIMING (Timing + Value) 1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


เกณฑ์และแนวคิด Smart Growth


เกณฑ์การเติบโตอย่างชาญฉลาด จานวน 10 ข้อ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน การส่งเสริมการพัฒนาที่อยู่อาศัยสาหรับประชาชนทุกระดับรายได้ การออกแบบอาคารและกลุ่มอาคารให้เกาะกลุ่มและการออกแบบชุมชนให้กระชับ การสร้างชุมชนแห่งการเดิน การออกแบบปรับปรุงโครงข่ายทางเดินให้เชื่อมต่อกันทั่วทั้งชุมชนและระหว่างชุมชน การส่งเสริมทางเลือกการเดินทางที่มีความหลากหลายและสนับสนุนการเดินทางด้วยระบบขนส่งมวลชน การสงวนรักษาพื้นที่การเกษตร พื้นที่งดงามตามธรรมชาติ พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่ประวัติศาสตร์ และพื้นที่ เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม 7) การลงทุนพัฒนาและปรับปรุงฟื้นฟูในชุมชนที่รัฐได้ลงทุนสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานไว้แล้ว 8) การสร้างความโดดเด่น เอกลักษณ์ และจิตวิญญาณแก่สถานที่ รวมทั้งการสร้างสถานที่พิเศษที่งดงาม ภายในบริเวณชุมชน 9) การสร้างระบบการพัฒนาการตัดสินใจด้วยการคาดการณ์อนาคตและคานึงถึงความคุ้มค่าการลงทุน 10) การกระตุ้นชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้มีส่วนร่วมการวางผังพัฒนาเมือง


กลยุทธ์การวางผังระดับเมืองและภาค Transit-Oriented Development LEED-ND

Form-Based Codes

เครื่องมือการ ออกแบบกายภาพ เมือง


กลยุทธ์การออกแบบเมืองตามแนวทางของ Galina Tachieva

(Sprawl Repair Manual, 2010) การปรับปรุงฟื้นฟูระดับภาค (The regional scale)

การปรับปรุงฟื้นฟูระดับชุมชน (The community scale)

เทคนิคการออกแบบชุมชนเมือง (Urban Design Technique) การปรับปรุงฟื้นฟูระดับแปลงที่ดิน (The block scale)

การปรับปรุงฟื้นฟูระดับอาคาร (The building scale)


ตัวชี้วัด การนาเกณฑ์การเติบโตอย่างชาญฉลาดเพื่อวางผังและออกแบบเมืองสู่การปฏิบัติใน 5 ระดับ

ระดับแผน ยุทธศาสตร์เมือง

ระดับนโยบาย การวางผัง

ระดับการ ออกแบบเมือง

ระดับการ ออกแบบ ข้อกาหนด

ระดับการจัดทา แผนงานโครงการ


นโยบายตามเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน การส่งเสริมความหนาแน่น บริเวณใจกลางเมืองและศูนย์พาณิชยกรรม นโยบาย การส่ง เสริ มความหนาแน่น ภายใน บริเวณใจกลางเมืองและ ศู น ย์ พ าณิ ช ยกรรมก่ อ ให้ เ กิ ด ความ คุ้ ม ค่ า ในการใช้ ที่ ดิ น เพื่ อ การอยู่ อาศั ย และประกอบกิ จ กรรมด้ า น เศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรม และ การนันทนาการอย่างมีประสิทธิภาพ

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจ สีเขียว 2. ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก 3. ลดรอยเท้านิเวศน์และ ลดการใช้ทรัพยากร

นโยบายการวางผัง 1. กระชับรูปทรงเมืองและย่าน 2. กาหนดทาเลที่ตั้งของย่านบน พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเหมาะสมตาม ลักษณะกายภาพ 3. กาหนดขอบเขตพื้นที่อนุญาต ให้พัฒนาและพื้นที่สงวนรักษา

การออกแบบข้อกาหนด 1. ออกกฎห้ามความหนาแน่นต่า ในพื้นที่หนาแน่นสูง 2. ข้ อ ก าหนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ดินตามบทบาทและมูลค่าทาง เศรษฐกิจ 3. ออกข้อกาหนดด้านภาษีและ การให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ


นโยบายตามเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน การลดการแผ่ขยายของที่พักอาศัยตามแนวราบและการส่งเสริมการแผ่ขยายในแนวตั้ง นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง นโยบายการวางผัง อ า ค า ร แ ล ะ ที่ พั ก อ า ศั ย เ ป็ น 1.การลดรอยเท้านิเวศน์ 1.การกระชับรูปทรงเมืองและ ส่ว นประกอบเมื อ งที่ ส าคั ญ ที่สุ ด ที่ และลดการใช้ทรัพยากร ย่ า นพร้ อ มการลดการเติ บ โต ต้องวางแผนบริหารจัดการทั้งด้าน 2.การลดการปล่ อ ยก๊ า ซ การจัดสรรบ้านเดี่ยว ที่ ตั้ ง รู ป ทรง และขนาด ซึ่ ง หาก เรื อ นกระจกและลดโลก 2. การก าหนดท าเลที่ ตั้ ง ของ ได้ รั บ การวางผั ง อย่ า งถู ก ต้ อ งจะ ร้อน ย่ า น บ น พื้ น ที่ ที่ มี ค ว า ม ก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการใช้ที่ดิน 3.การส่ ง เสริ ม อาคาร เ ห ม า ะ ส ม ต า ม ลั ก ษ ณ ะ และการสร้างความกระชับแก่ย่าน เ ขี ย ว แ ล ะ ล ด ก า ร ใ ช้ กายภาพ แ ล ะ ล ด ก า ร รุ ก ล้ า ไ ป ใ น พื้ น ที่ พลังงานเมือง 3.การก าหนดรู ป แบบย่ า น เกษตรกรรม และพื้นที่สงวนรักษา ตามอั ต ลั ก ษณ์ พื้ น ที่ แ ละความ เหมาะสมทางกายภาพ

การออกแบบข้อกาหนด 1.การสร้างข้อกาหนดลดการ จั ด สรรบ้ า นเดี่ ย วในพื้ น ที่ ย่ า น ชานเมือง 2 ก า ร ก า ห น ด รู ป แ บ บ สถาปัตยกรรมอาคาร ความ สูงขั้นต่า และการควบคุมการ ออกแบบด้านหน้าอาคาร 3.การก าหนดเขตการแผ่ ขยายของอาคารและการ กระจัดกระจายของอาคาร


นโยบายตามเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน การผสมผสานกิจกรรมการใช้ประโยชน์อาคารและที่ดินเพื่อสร้างความคุ้มค่าในการใช้ประโยชน์ที่ดิน นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง นโยบายการวางผัง การออกแบบข้อกาหนด การผสมผสานกิ จ กรรมและการ 1. ลดรอยเท้า นิ เ วศน์ แ ละ 1. สร้างศูนย์เศรษฐกิจในพื้นที่ 1. ออกข้อกาหนดกิจกรรมการ สร้ า งความหลากหลายการใช้ ลดการใช้ทรัพยากร ใจกลางเมืองและย่าน ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า แ น ก ต า ม ประโยชน์ ที่ ดิ น นั บ เป็ น กลยุ ท ธ์ 2. ลดการปล่อยก๊าซเรือน 2. ผสมผสานการอยู่ อาศั ย และ ประเภทการใช้ที่ดิน ส าคั ญ ของการเติ บ โตอย่ า งชาญ กระจกและลดโลกร้อน พ า ณิ ช ย ก ร ร ม ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม 2 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ ฉลาดในการสร้างความคุ้มค่า ความ 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว หนาแน่ น ในพื้ น ที่ อ นุ ญ าตให้ ก าหนดการส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ประหยั ด และใช้ ที่ ดิ น ที่ มี อ ยู่ อ ย่ า ง และสร้างศูนย์เ ศรษฐกิ จ ที่ พัฒนา ด้วยรางวัลและผลตอบแทน จากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด มั่งคั่งมีชีวิตชีวา 3. สร้ า งชุม ชนแห่ ง การเดิน ใน 3 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ พื้ น ที่ ที่ มี่ ค วามหนาแน่ น ด้ า น ก า ห น ด ก า ร แ ส ว ง ห า ค ว า ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ ร่วมมือจากชุมชน นันทนาการ


นโยบายตามเกณฑ์การวางผังและออกแบบอาคารแบบกลุ่มและการออกแบบชุมชนให้กระชับ การวางผังกายภาพให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างอาคารที่อยู่อาศัย และอาคารสาธารณะในลักษณะกลุ่มอาคาร นโยบาย ก า ร เ ติ บ โ ต อ ย่ า ง ช า ญ ฉ ล า ด มี น โ ย บ า ย ว า ง ผั ง เ พื่ อ ส ร้ า ง ความสัมพันธ์ทางกายภาพระหว่าง อ า ค า ร ที่ อ ยู่ อ า ศั ย กั บ อ า ค า ร สาธารณะในบริเวณศูนย์เศรษฐกิจ เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด กิ จ กรรมเศรษฐกิ จ สั ง คม และนั น ทนาการ เกิ ด ชุ ม ชน แห่งการเดินที่มีความสามารถเข้าถึง บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ลดการปล่อยก๊ าซเรือนกระจก และการลดการใช้ พ ลั ง งานของ เมือง 2. ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ สี เ ขี ย วและ สร้ า ง ศู นย์ เ ศรษฐกิ จ ที่ มั่ ง คั่ ง มี ชีวิตชีวา 3. ปรับปรุงกายภาพเมืองเพื่อเพิ่ม โอกาสการเข้าถึงสถานที่สาธารณะ และหน่วยบริการ

นโยบายการวางผัง 1. กระชับ กลุ่มอาคารและ ย่าน 2. วางแผนโครงข่ายระบบ การสัญจรสีเขียว 3. สร้างชุมชนแห่งการเดิน ในพื้ น ที่ ที่ มี ค วามหนาแน่ น ด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และ นันทนาการ

การออกแบบข้อกาหนด 1. ออกข้อกาหนดกิจกรรม การใช้ ป ระโยชน์ ใ นแต่ ล ะ ประเภทการใช้ที่ดิน 2 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้อกาหนดส่งเสริมเศรษฐกิจ ด้วยรางวัลและผลตอบแทน 3. สร้ า งข้ อ ก าหนดระบบ การสัญจรสีเขียว


นโยบายตามเกณฑ์การวางผังและออกแบบอาคารแบบกลุ่มและการออกแบบชุมชนให้กระชับ การลดการกระจัดกระจายของอาคารสูง และอาคารพาณิชยกรรมแบบกระจัดกระจาย นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง นโยบายการวางผัง การออกแบบข้อกาหนด การเติ บ โต อย่ า ง ชาญฉ ลาดไ ด้ 1. ส่ ง เสริ ม การก่ อ สร้ า งและ 1. วางผังให้เกิดอาคารเกาะ 1. ออกข้อกาหนดการสร้าง ก าหนดนโยบายส่ ง เสริ ม ให้ ว างผั ง ปรับปรุงอาคารเขียวในพื้นที่ใจ กลุ่ ม ในพื้ น ที่ ใ จกลางเมื อ ง อาคารสูงและอาคารพาณิช และออกข้ อ ก าหนดเพื่ อ ให้เ กิ ด การ กลางเมืองและศูนย์เศรษฐกิจ และศูนย์ เศรษฐกิ จย่ านชาน ยกรรมที่กระจัดกระจาย ก่อสร้างและปรับปรุง อาคารให้เกาะ 2. ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ สี เ ขี ย ว เมือง 2. ออกข้อกาหนดประเภท กลุ่มกันเฉพาะในพื้นที่ใจกลางเมือง ด้วยกลุ่มอาคารที่กระชั บด้ว ย 2 . ว า ง ผั ง ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ อาคาร รูปทรง และความ และศูนย์พาณิชยกรรมย่านชานเมือง ขนาดมวลอาคารที่ มี ค วาม ระหว่ า งอาคาร ชุ ม ชนและ สูงตามบทบาทของพื้นที่ เหมาะสม ย่ า นที่ ก ระชั บ ด้ ว ยโครงข่ า ย 3. ก าหนดมาตรการและ 3. ลดรอยเท้านิเ วศน์ ลดการ การสัญจรสีเขียว ข้ อ ก าหนดสนั บ สนุ น การ ใช้ทรัพยากร และลดโลกร้อน 3. สร้ า งข้ อ จ ากั ด การสร้ า ง ก่ อ ส ร้ า ง แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง อาคารสูงและอาคารพาณิชยก อาคารเขียวที่เกาะกลุ่ม รรมที่กระจัดกระจาย


นโยบายตามเกณฑ์การวางผังและออกแบบอาคารแบบกลุ่มและการออกแบบชุมชนให้กระชับ การส่งเสริมการใช้อาคารเขียวและย่านเขียว

นโยบาย การเติ บ โตอย่ า งชาญฉลาด ก าหนดให้ เ กิ ด การวางผั ง และ อ อ ก แ บ บ ย่ า น เ ขี ย ว ที่ ประกอบด้ ว ยอาคารเขี ย วและ การสั ญ จรสี เ ขี ย วเพื่ อ ประหยั ด และลดการใช้พลังงานเมือง ลด มลภาวะ และค่ า ใช้ จ่ า ยการ เดินทางของประชาชน

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว 2. ส่งเสริมอาคารเขียว 3. ส่ ง เสริ ม ย่ า นและเมื อ ง เขียว

นโยบายการวางผัง 1. วางผั ง กระตุ้ น ให้ เ กิ ด กลุ่ ม เศรษฐกิจสีเขียวในพื้นที่ใจกลาง เมืองและศูนย์เศรษฐกิจ 2. วางผังสนับ สนุนการปรับ ปรุง ฟื้ น ฟู อ าคารที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ให้ เ ป็ น อาคารเขียวมากกว่าการก่อสร้าง ใหม่ 3. ส่ ง เสริ ม ระบบโครงสร้ า ง พื้ น ฐานเขี ย วและการสั ญ จรสี เขียว

การออกแบบข้อกาหนด 1 . ส ร้ า ง แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ข้อกาหนดอาคารตามแนวทาง LEED และ LEED-ND 2. สร้ า งมาตรการและข้ อ กาหนดให้รางวัลแก่ผู้ก่อสร้าง และปรับปรุงอาคารเขียว 3. ปรับปรุงข้อกาหนดเพื่อลด ข้อจากัดการปรับปรุงอาคาร เขียว


นโยบายตามเกณฑ์การส่งเสริมอาคารที่อยู่อาศัยหลายระดับราคา การวางผังเพื่อสร้างโอกาสการมีที่อยู่อาศัย นโยบาย ในพื้ น ที่ ใ จกลางเมื อ งและพื้ น ที่ ศู น ย์ เศรษฐกิ จ ควรได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ ก่ อ สร้ า งอาคารที่ อ ยู่ อ าศั ย หลายระดั บ ราคาเพื่ อ เปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนทุ ก ระดับรายได้มีโอกาสในการซื้อหาที่อยู่ อาศัย ที่มีคุณ ภาพและมีที่ตั้งอยู่ ใ กล้กับ แหล่งงาน หรือสถานีขนส่งมวลชน เพื่อ ลดค่าใช้จ่ายการเดินทาง และลดภาระ ของเมืองในการจัดหาโครงสร้างพื้นฐาน สาหรับการเดินทาง

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ส่งเสริมการลงทุนที่อยู่ อาศัยหลายระดับราคาใน บริเวณใจกลางเมืองและ ศูนย์เศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมระบบคมนาคม และขนส่งสีเขียวเชื่อมต่อ ระหว่ า งที่ อ ยู่ อ าศั ย กั บ แหล่งงาน 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจสีเขียว

นโยบายการวางผัง 1. วางผังกระตุ้นการลงทุน อาคารที่ อ ยู่ อ าศั ย หลาย ร ะ ดั บ ร า ค า ใ น พื้ น ที่ ที่ สามารถเดินถึงแหล่งงาน 2. วางผังโครงสร้างพื้นฐาน สนั บ สนุ น โครงการที่ อ ยู่ อาศัยหลายระดับราคา 3. วางผั ง ระบบคมนาคม และขนส่ ง สี เ ขี ย วเชื่ อ มต่ อ ระหว่างโครงการที่อยู่อาศัย กับแหล่งงาน

การออกแบบข้อกาหนด 1 . ส ร้ า ง แ ล ะ ป รั บ ป รุ ง ข้ อ ก าหนดการสนั บ สนุ น การ ลงทุนอาคารที่อยู่อาศัยหลาย ระดับราคา 2. ปรับปรุงระเบียบ กฎหมาย ที่ เ ป็ น อุ ป สรรคในการลงทุ น อาคารที่ อ ยู่ อ าศั ย ในพื้ น ที่ ส่งเสริม 3 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ ก าหนดผลตอบแทนหรื อ รางวัลสาหรับผู้ลงทุน


นโยบายตามเกณฑ์การส่งเสริมอาคารที่อยู่อาศัยหลายระดับราคา การวางผังเพื่อสร้างโอกาสการเพิ่มพื้นที่อาคารที่อยู่อาศัยในบริเวณรอบพื้นที่สถานีขนส่งมวลชนและภายในศูนย์เศรษฐกิจ นโยบาย พื้ น ที่ ร อบสถานี ข นส่ ง มวลชนและ ภายในศูนย์เศรษฐกิจเป็นบริเวณที่ การเติ บ โตอย่ า งชาญฉลาดให้ ก าร สนั บ สนุ น การลงทุ น โครงการที่ อ ยู่ อาศัยหลายระดับราคาเนื่องจากทั้ง สองพื้ น ที่ มี ค วามสะดวกในการ เชื่อมต่อจากที่อยู่อาศัยไปยังแหล่ง งานด้ ว ยการเดิ น การใช้ จั ก รยาน และการขนส่งมวลชน

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ใน พื้นที่โครงการพัฒนารอบ ส ถ า นี ข น ส่ ง ม ว ล ช น (TOD Project) 2. ส่งเสริมระบบคมนาคม และขนส่งสีเ ขียวเชื่ อมต่ อ ระหว่ างที่ อยู่ อ าศั ย กั บ แหล่งงาน 3. ส่งเสริมการลงทุนที่อยู่ อาศั ย ส าหรั บ ประชาชน ทุกระดับรายได้

นโยบายการวางผัง 1. วางผังเชื่อมต่อทางกายภาพ เพื่อความสะดวกในการเข้าถึง โครงการอยู่อาศัยหลายระดับ ราคา 2. วางผั ง กระตุ้ น การลงทุ น อาคารที่ อ ยู่ อ าศั ย หลายระดั บ ราคาในพื้ น ที่ ส ามารถเดิ น ถึ ง แหล่งงาน 3. วางผั ง โครงสร้ า งพื้ น ฐาน สนั บ สนุ น โครงการที่ อ ยู่ อ าศั ย หลายระดับราคา

การออกแบบข้อกาหนด 1. สร้างและปรับปรุงข้อกาหนด การสนั บ สนุ น การลงทุ น อาคาร อยู่อาศัยหลายระดับราคา 2. ปรับปรุงระเบียบ กฎหมายที่ เป็ น อุ ป ส รร ค ใ นก า รล ง ทุ น อาคารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ TOD 3. สร้างมาตรการและข้อกาหนด ผลตอบแทนหรือรางวัลสาหรับผู้ ลงทุนโครงการที่อยู่อาศัย


นโยบายตามเกณฑ์การส่งเสริมอาคารที่อยู่อาศัยหลายระดับราคา การเพิ่มความสะดวกในการเชื่อมต่อระหว่างย่านที่อยู่อาศัยกับแหล่งงานด้วยระบบขนส่งมวลชน นโยบาย ในพื้นที่แหล่งงานที่มีประชาชนอยู่ อาศัยอย่างหนาแน่นอยู่แล้ว ภาครัฐ จาเป็นต้องลงทุนเชื่อมต่อการสัญจร จากแหล่งงานไปยังย่านที่อยู่อาศัย แห่ ง ใหม่ ด้ ว ยระบบขนส่ ง มวลชน แต่ ต้ อ งพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย ใหม่ ใ น พื้ น ที่ ร อ บ ส ถ า นี ข น ส่ ง ม วล ช น ดังกล่าวด้วย

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1 . ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น โครงการระบบคมนาคม และขนส่งสีเขียว 2. ส่ ง เสริ ม การสร้ า งที่ อ ยู่ อาศัยตามมาตรฐานอาคาร เขียว 3. ส่ ง เสริ ม การลงทุ น ใน พื้ น ที่ โ ครงการพั ฒ นารอบ สถานี ข นส่ ง มวลชน (TOD Project)

นโยบายการวางผัง 1 . ว า ง ผั ง เ ชื่ อ ม ต่ อ ท า ง กายภาพเพื่อความสะดวกใน การเข้าถึงโครงการที่อยู่อาศัย หลายระดับราคา 2. วางผั ง กระตุ้ น การลงทุ น อาคารที่อยู่อาศัยหลายระดับ ราคาในพื้นที่ที่สามารถเดินถึง แหล่งงาน 3. วางผั ง โครงสร้ า งพื้ น ฐาน สนับสนุนโครงการที่อยู่อาศัย หลายระดับราคา

การออกแบบข้อกาหนด 1. สร้างและปรับปรุงข้อกาหนด การสนับสนุนการลงทุนอาคาที่ อยู่อาศัยหลายระดับราคา 2. ปรับปรุงระเบียบ กฎหมายที่ เป็นอุปสรรคในการลงทุนอาคาร ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ TOD 3 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ กาหนดผลตอบแทนหรือรางวัล ส าหรั บ ผู้ ล งทุ น ระบบขนส่ ง มวลชน


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างชุมชนแห่งการเดิน การเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างย่านและภายในชุมชนด้วยทางเดิน นโยบาย ส่วนประกอบสาคัญของชุมชนที่มี ความสมบูรณ์ประกอบด้วย รูปแบบ การตั้ ง อาคารที่ ก ระชั บ ชุ ม ชนมี ขอบเขตการพัฒนาที่ชัดเจน ความ พ ร้ อ ม ข อ ง ห น่ ว ย บ ริ ก า ร สาธารณูปโภค และความสมบูร ณ์ ของโครงข่ายทางเดินที่เชื่อมตลอด ทั่วทั้งชุมชน

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. ส่ ง เสริ ม ชุ ม ชนแห่ ง การ เดิ น และโครงการคมนาคม และขนส่งสีเขียว 2. ลดรอยเท้านิเวศน์และการ ลดการใช้พลังงานเมือง 3. สร้างโอกาสในการเข้าถึง ส ถ า น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ สวนสาธารณะ และพื้ น ที่ สี เขียวด้วยทางเดิน

นโยบายการวางผัง 1. วางผังเชื่อมต่อภายในและ ระหว่ า งย่ า นด้ ว ยโครงข่ า ย ทางเดินที่มีคุณภาพ 2. วางผั ง เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งที่ อยู่ อ าศั ย กั บ ตลาดสด และ ส ถ า นี ข น ส่ ง ม ว ล ช น ด้ ว ย ทางเดิน 3 . ว า ง ผั ง ส ร้ า ง เ ส้ น ท า ง ปลอดภั ย ส าหรั บ นั ก เรี ย น (Safe Route to School)

การออกแบบข้อกาหนด 1 . ส ร้ า ง ข้ อ ก า ห น ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ด้ ว ย ถ น น แ บ บ สมบูรณ์ 2 . ใ ช้ ข้ อ ก า ห น ด ค ว า ม ปลอดภัย เป็ นข้ อแรกในการ ออกแบบและบริหารจัดการ ทางเดิน 3. กาหนดมาตรฐานโครงข่าย ทางเดินสาหรับทุกชุมชน


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างชุมชนแห่งการเดิน การปรับปรุงมาตรฐานถนนด้วยเกณฑ์ถนนแบบสมบูรณ์ นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง ถนนแบบสมบู ร ณ์ ก าหนดขึ้ น จาก 1. ลงทุ น โครงการสั ญ จรใน แนวทางการออกแบบจากหลาย ๆ พื้ น ที่ ใ จกลางเมื อ งและศู น ย์ ม า ต ร ฐ า น ผ ส ม ผ ส า น กั บ แ น ว เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ ว ย ถ น น แ บ บ ทางการออกแบบชุ ม ชนเมื อ งซึ่ ง สมบูรณ์ ต้ อ งการปรั บ ปรุ ง กายภาพถนนให้ 2. ลดรอยเท้านิเวศน์และการ เป็ น สถานที่ ส าธารณะที่ ป ลอดภั ย ลดการใช้พลังงานเมือง แ ล ะ มี ค ว า ม ส ะ ด ว ก ส า ห รั บ 3. เปลี่ยนแปลงกายภาพถนน ประชาชนทุ ก คน จึ ง กล่ า วได้ ว่ า เ ป็ น ส ถ า น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ ถนนแบบสมบูรณ์ได้รวมวิธีการด้าน (Great Public spaces) วิศวกรรมและสถาปัตยกรรมที่ลงตัว แ ล ะ ส ม บู ร ณ์ ที่ สุ ด เ พื่ อ พั ฒ น า กายภาพถนน

นโยบายการวางผัง 1. จั ด ล าดั บ ความส าคั ญ ของ ถนนด้วยทางเดิน ทางจักรยาน ทางขนส่งมวลชนและรถยนต์ 2. วางผังโครงข่ายการสัญจรที่ เ น้ น ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ ท า ง เ ดิ น มาตรฐานในเขตชั้นในของเมือง 3 . ว า ง ผั ง ส ร้ า ง เ ส้ น ท า ง ปลอดภัยสาหรับนักเรียน (Safe Route to School)

การออกแบบข้อกาหนด 1 . ส ร้ า ง ข้ อ ก า ห น ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ด้ ว ย ถ น น แ บ บ สมบูรณ์ 2 . ใ ช้ ข้ อ ก า ห น ด ค ว า ม ปลอดภั ย เป็ น ข้ อ แรกในการ ออกแบบและบริ ก ารจั ด การ ทางเดิน 3. กาหนดมาตรฐานโครงข่าย ทางเดินสาหรับทุกชุมชน


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างชุมชนแห่งการเดิน ความสมบูรณ์ของภูมิทัศน์ถนนและภูมิทัศน์เมือง นโยบาย

แผนยุทธศาสตร์เมือง

นโยบายการวางผัง

การออกแบบข้อกาหนด

ภู มิ ทั ศ น์ ถ นนและเมื อ งต้ อ งมี ศั ก ยภาพเพี ย งพอในการดึ ง ดู ด ประชาชนให้ใช้ทางเดินและทาง จักรยานเป็นระบบการสัญจรหลัก ตามระยะความสามารถในการ เดิ น ถึ ง หรื อ มี ศั ก ยภาพสู ง สุ ด ใน การเพิ่ม Walk Scoreให้กับเมือง

1. สร้ า งภู มิ ทั ศ น์ ถ นนและ เมืองให้งดงาม 2. ใช้ภูมิทัศน์ถนนและเมืองใน การดึ ง ดู ด ประชาชนให้ ใ ช้ ทางเดินและทางจักรยาน 3. ใช้ ภู มิ ทั ศ น์ ถ นนและเมื อ ง เป็ น กลยุ ท ธ์ ใ นการลดการใช้ พลังงานเมือง

1. วางผั ง ให้ ถ นนทุ ก ประเภท เชื่อมต่อกันด้วยกายภาพถนน เขียว (Green Streets) 2. ใ ช้ ม า ต ร ฐ า น ถ น น แ บ บ สมบูรณ์ในการวางผังโครงข่าย 3. กาหนดความสาคัญของภูมิ ทั ศ น์ เ มื อ งเป็ น ส่ ว นประกอบ หนึ่งในการวางผังพัฒนาเมือง

1 . ส ร้ า ง ข้ อ ก า ห น ด ก า ร อ นุ รั ก ษ์ ต้ น ไ ม้ ใ ห ญ่ แ ล ะ โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ท า ง ธรรมชาติดั้งเดิม 2 . ส ร้ า ง ข้ อ ก า ห น ด ต า ม แ น ว ท า ง LEED-ND แ ล ะ Form - Based Codes 3. ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้อ ก าหนดจู ง ใจให้ป ระชาชน ใช้ประโยชน์พื้นที่ภูมิทัศน์เมือง


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างทางเลือกการเดินทางที่หลากหลาย ผู้บริหารเมืองให้ความสาคัญต่อการลงทุนและปรับปรุงฟื้นฟูระบบขนส่งมวลชนเป็นอันดับแรก นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง นโยบายการวางผัง เนื้ อ เมื อ งปั จ จุ บั น ได้ ก ระจั ด กระจาย 1. สร้างโครงการคมนาคม 1. วางผั ง เส้ น ทางขนส่ ง ออกไปทุกทิศทาง ชุมชนดั้งเดิมและ และขนส่งสีเขียว มวลชนระบบรางส าหรั บ เกิดใหม่ไม่มีทางเลือกในการเดินทาง 2 . ส ร้ า ง ร ะ บ บ ข น ส่ ง เทศบาลขนาดใหญ่และเมือง ต้องพึ่ ง พารถยนต์ส่ว นบุคคลในการ มวลชนเป็ น ทางเลื อ กที่ มี ยุทธศาสตร์ สั ญ จร ดั ง นั้ น ผู้ บ ริ ห ารเมื อ งจึ ง มี คุณภาพสาหรับประชาชน 2. กาหนดนโยบายการขนส่ง ภารกิจในการสร้างแผนงานและบรรจุ 3. ใช้ ร ะบบขนส่ ง มวลชน ทางรางลงในผั ง เมื อ งรวม งบประมาณส่วนใหญ่เพื่อการลงทุน ในการเข้าถึงย่านพาณิชยก และแผนยุ ท ธศาสตร์ ทุ ก หรื อ การปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู ร ะบบขนส่ ง รรมและย่านสาคัญ ๆ ของ ระดับ มวลชนให้เป็นทางเลือกที่มีคุณภาพ เมือง 3. ก าหนดการพั ฒ นาพื้ น ที่ ให้กับประชาชน รอบสถานีขนส่งมวลชนทุก สถานี ที่ ตั้ ง อยู่ ใ จกลางศู น ย์ เศรษฐกิจ

การออกแบบข้อกาหนด 1. เพิ่ ม ข้ อ ก าหนดการลงทุ น ร ะ บ บ ข น ส่ ง ม ว ล ช น ใ น กฎกระทรวงผังเมืองรวม 2. สร้างมาตรการและแรงจูงใจ ให้เอกชนลงทุนปรับปรุงฟื้นฟู ระบบขนส่งมวลชน 3 . ป รั บ ป รุ ง น โ ย บ า ย แ ล ะ ข้ อ ก าหนดให้ เ กิ ด การลงทุ น เชื่ อ มต่ อ ย่ า นการใช้ ที่ ดิ น ด้ ว ย ระบบขนส่งมวลชน


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างทางเลือกการเดินทางที่หลากหลาย การให้ความสาคัญกับการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) โดยความร่วมมือจากทุกผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

นโยบาย โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร อบสถานี ขนส่งมวลชนสร้างประโยชน์ต่อ ประเทศในหลายด้ า น เช่ น การ สร้ า งพื้ น ที่ ก ารขนส่ ง มวลชนที่ มี คุณภาพ การกระตุ้นให้ประชาชน ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล การ ลดมลภาวะเมืองที่เกิดจากการใช้ รถยนต์ ส่ ว นบุ ค คล ที่ ส าคั ญ คื อ การกาหนดรูปทรงเมืองตามเขต การพัฒนา TOD

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. สร้ า งพื้ น ที่ พั ฒ นาใหม่ ที่ มี ศักยภาพสาหรับการลงทุนของ ภาคเอกชนและรัฐฯ 2. ลงทุ น พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ใน พื้นที่ที่ประชาชนส่วนใหญ่และ เมืองได้รับประโยชน์ 3. พั ฒ นาโครงการที่ ใ ช้ แ นว ทางการคมนาคมและขนส่ ง สี เขี ยวเป็ นตั ว น าในการกระตุ้ น เศรษฐกิจ

นโยบายการวางผัง 1. ก าหนดเขตการพัฒนา TOD แ ล ะ ส ร้ า ง พื้ น ที่ พัฒนา 2. ก าหนดเขตการพัฒนา ย่ า นพาณิ ช ยกรรม ที่ อ ยู่ อ า ศั ย แ น ว ตั้ ง ส ถ า น ที่ สาธารณะ และที่โล่ง 3. สร้ า งความร่ ว มมื อ ใน การพั ฒ นาโครงการจาก หน่ว ยงานภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน

การออกแบบข้อกาหนด 1. เพิ่มข้อกาหนดการพัฒนาพื้นที่ ร อ บ ส ถ า นี ข น ส่ ง ม ว ล ช น ใ น กฎกระทรวงผังเมืองรวม 2. สร้างมาตรการและแรงจูงใจให้ เอกชนลงทุ น ปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู ใ น พื้นที่ TOD 3. ปรับปรุงนโยบายและข้อกาหนด ให้เกิดการลงทุนเชื่อมต่อย่านการ ใช้ที่ดินอื่น ๆ กับพื้นที่ TOD ด้วย ระบบขนส่งมวลชน


นโยบายตามเกณฑ์การสร้างทางเลือกการเดินทางที่หลากหลาย การพัฒนาระบบการเข้าถึงสถานีขนส่งมวลชนด้วยทางเดินและทางจักรยานและการจัดการพื้นที่จอดรถยนต์ส่วนบุคคล นโยบาย ใ น ก า ร จั ด ก า ร พื้ น ที่ TOD ผู้ รั บ ผิ ด ชอบต้ อ งวางแผนการ เชื่ อม ต่ อ ภ า ยใ นพื้ นที่ แล ะกา ร เชื่ อ มต่ อ กั บ ภายนอกพื้ น ที่ ใ ห้ มี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ระบบการสัญจร ที่ น ามาใช้ ไ ด้ แ ก่ ทางเดิ น และทาง จั ก รยาน ส่ ว นการเชื่ อ มต่ อ กั บ ภายนอกพื้ น ที่ ค วรปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู ระบบขนส่ ง มวลชนดั้ ง เดิ ม ที่ มี อ ยู่ และปรับปรุงระบบการสัญจรและที่ จอดรถยนต์ ส่ ว นบุ ค คลซึ่ ง เข้ า ใช้ บริการในพื้นที่ TOD ด้วย

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. พั ฒ นาโครงการที่ ใ ช้ แ นว ทางการคมนาคมและขนส่ ง สี เขีย วเป็ น ตัว นาในการกระตุ้ น เศรษฐกิจ 2. สร้างศูนย์การเชื่อมต่อการ คมนาคมและขนส่ ง หรื อ Multimodal Transportation Center 3. สร้างระบบการเชื่อมต่อ ระหว่ า งสถานี ข นาดใหญ่ กั บ ย่ า นพาณิ ช ยกรรมและย่ า นที่ อยู่อาศัย

นโยบายการวางผัง 1. วางผั ง ก าหนดสถานี ขนส่ ง มวลชนที่ เ ชื่ อ มต่ อ การคมนาคมและขนส่ง 2.วางผั ง โครงข่ า ยถนน ทางเดินและทางจักรยานใน การเข้าถึงสถานีหลัก 3. วางผั ง ปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู โครงการสัญจรดั้งเดิมเป็น ร ะ บ บ ร อ ง ส า ห รั บ ก า ร เข้าถึงสถานีขนส่งมวลชน

การออกแบบข้อกาหนด 1.เพิ่ ม ข้ อ ก าหนดการเข้ า ถึ ง โครงการพัฒนาพื้นที่รอบขนส่ง มวลชนในกฎกระทรวงผังเมือง รวม 2. สร้างมาตรการและแรงจูงใจ ให้ เอกชนลงทุน ปรั บ ปรุ งฟื้ น ฟู ระบบการเข้าถึงพื้นที่ TOD 3 . ป รั บ ป รุ ง น โ ย บ า ย แ ล ะ ข้ อ ก าหนดให้ เ กิ ด การลงทุ น เชื่อมต่อย่านการใช้ที่ดินอื่น ๆ กับพื้นที่ TOD ด้วยระบบขนส่ง มวลชน


นโยบายตามเกณฑ์การสงวนรักษาพื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า และพื้นที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม บทบัญญัติที่ปกป้องพื้นที่การเกษตร และบทบาทของชุมชนในการปกป้องพื้นที่ผลิตอาหาร นโยบาย แผนยุทธศาสตร์เมือง นโยบายการวางผัง การเติ บ โตอย่ า งชาญฉลาดให้ 1. แผนการปกป้องและสงวน 1. ก าหนดย่ า นการเกษตร ความส าคั ญ ในการกระตุ้ น การ รั ก ษาพื้ น ที่ ก ารเกษตรและ ด้ ว ย ก า ร ร ะ บุ พื้ น ที่ ผ ลิ ต ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขบทบั ญ ญั ติ ท าง แหล่งผลิตอาหาร อาหารตามเขตที่ดินมีความ กฎหมายเพื่ อ การสงวนรั ก ษา 2. ประกาศบทบัญญัติเป็นกรณี อุดมสมบูรณ์ พื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติ พิ เ ศ ษ ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง แ ล ะ 2 . ว า ง ผั ง จ า แ น ก พื้ น ที่ พื้นที่อนุรักษ์สถาปัตยกรรมและ ปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่ผลิตอาหาร การเกษตร การแปรรูป และ พื้นที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และ 3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารส่ ง เสริ ม การคลังสินค้า รวมทั้งระบบ การก าหนดในบทบั ญ ญั ติ ใ ห้ การผลิตอาหารและเครือข่าย โลจิสติกส์ที่ครบวงจร ชุมชนและหน่วยงานในพื้นที่เป็น การกระจายอาหารท้องถิ่น 3. เพิ่มบทบาทการปกป้องพื้น ผู้ดูแลรับผิดชอบ ที่ ดิ น อุ ด มสมบู ร ณ์ แหล่ ง น้ า และพื้นที่การเกษตรแก่ชุมชน ดั้งเดิม

การออกแบบข้อกาหนด 1. ออกข้อกาหนดหรือตราเป็น บทบั ญ ญั ติ ใ นการปกป้ อ งพื้ น ที่ ดิ น มี ค วามสมบู ร ณ์ แ ละพื้ น ที่ การเกษตร 2 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ ก าหนดกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การ ปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่การเกษตร 3. สร้างมาตรการสนับสนุนหรือ ผลตอบแทนแก่ ผู้ ส งวนรั ก ษา พื้ น ที่ ก ารเกษตรและผู้ ก ระจาย อาหารท้องถิ่น


นโยบายตามเกณฑ์การสงวนรักษาพื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า และพื้นที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม บทบาทชุมชนในการอนุรักษ์และสงวนรักษาสถาปัตยกรรมดั้งเดิมที่มีคุณค่าต่อวิถีชีวิตและเอกลักษณ์ท้องถิ่น นโยบาย ชุ ม ช น เ จ้ า ข อ ง พื้ น ที่ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ดั้ ง เ ดิ ม ห รื อ เจ้ า ของประวั ติ ศ าสตร์ ท้ อ งถิ่ น ต้ อ ง มี ภ า ร กิ จ ห ลั ก ร่ ว ม กั บ หน่ ว ยงานในพื้ น ที่ ใ นการสงวน รักษาสถาปัตยกรรมและ อัตลักษณ์ดั้งเดิมให้คงอยู่

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1. แผนการส่งเสริมเอกลักษณ์ ชุมชนประวัติศาสตร์ 2. ประกาศเป็ น บทบั ญ ญั ติ ใ น การสงวนรักษาสถาปัตยกรรม และเอกลักษณ์ชุมชน 3. ยุ ท ธศาสตร์ ห รื อ กฎบั ต ร ความรับผิดชอบของชุมชนและ หน่ ว ยงานในการสงวนรั ก ษา พื้นที่ประวัติศาสตร์

นโยบายการวางผัง 1 . ว า ง ผั ง ก า ห น ด ย่ า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ห รื อ สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า 2 . ว า ง ผั ง ก า ห น ด รู ป แ บ บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม รู ป แ บ บ สภาพแวดล้ อ มในพื้ น ที่ ส งวน รักษา 3. ก าหนดแผนการปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู ย่ า นประวั ติ ศ าสตร์ ห รื อ สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า

การออกแบบข้อกาหนด 1. ประกาศบทบัญญัติในการ สงวนรั ก ษาสถาปั ต ยกรรม และเอกลักษณ์ชุมชน 2. สร้างข้อกาหนดการสงวน รั ก ษาตามแนวทาง Form Based Codes 3. สร้างมาตรการและข้อ กาหนดสนับสนุนการอนุรักษ์ และพัฒนาโดยชุมชน


นโยบายตามเกณฑ์การสงวนรักษาพื้นที่การเกษตร พื้นที่ธรรมชาติ พื้นที่สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า และพื้นที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม โครงการปรับปรุงฟื้นฟูที่ว่างและสถานที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม และมลภาวะต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม นโยบาย หน่ ว ยงานในพื้ น ที่ ต้ อ งจั ด ท า แผนการปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู ที่ ว่ า ง แ ล ะ ส ถ า น ที่ เ สี่ ย ง ด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยแผนงาน ดังกล่าวต้องครอบคลุมพื้นที่ที่ อาจมี ผ ลกระทบด้ า นสุ ข ภาพ ประชาชนทั้ ง ทางตรงและ ทางอ้อม

แผนยุทธศาสตร์เมือง 1 . แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร ใ ช้ ประโยชน์ที่ดินสาหรับที่ว่างของ รัฐและเอกชน 2. กาหนดยุทธศาสตร์การสงวน รั ก ษาแหล่ ง น้ าใช้ แ ละน้ าดื่ ม สาหรับเมือง 3 . ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก า ร จั ด ก า ร สิ่ ง แวดล้ อ ม การลดพื้ น ที่ เ สี่ ย ง และการลดของเสียเป็นศูนย์

นโยบายการวางผัง 1. วางผั ง ก าหนดพื้ น ที่ ว่ า ง แ ล ะ พื้ น ที่ เ สี่ ย ง ด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มทั้ ง ของรั ฐ และ เอกชน 2. สร้ า งแผนการปรั บ ปรุ ง ฟื้ น ฟู พื้ น ที่ เ สี่ ย ง ด้ า น สิ่งแวดล้อม และแหล่งน้าตาม ธรรมชาติ 3. ก าหนดบทบาทที่ โ ล่ ง ตาม รายละเอียดทางกายภาพเพื่อ การปรับปรุงฟื้นฟูในอนาคต

การออกแบบข้อกาหนด 1. ปรั บ ปรุ ง ข้ อ ก าหนดในการ ควบคุมพื้นที่ว่างและพื้นที่เสี่ยง ด้านสิ่งแวดล้อม 2 . ส ร้ า ง ม า ต ร ก า ร แ ล ะ ข้ อ ก าหนดจู ง ใจเจ้ า ของพื้ น ที่ เสี่ยงปรับปรุงฟื้นฟูโดยร่วมมือ กับหน่วยงานในพื้นที่ 3. สร้ า งข้ อ ก าหนดมาตรฐาน อั น ตรายจากมลภาวะและ สิ่งแวดล้อม


เกณฑ์ความเป็นผู้นาการออกแบบพลังงาน และสภาพแวดล้อมระดับย่าน

LEED-ND


การจัดลาดับ ความสาคัญใน การพัฒนาระดับ ภาค

ตาแหน่งที่ตั้งและ การเชื่อมต่อที่ชาญ ฉลาด

นวัตกรรมและ กระบวนการ ออกแบบ

รูปลักษณ์ของย่าน และการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐาน เขียวและอาคาร เขียว


การวางผังและออกแบบปรับปรุงฟื้นฟูเมืองตาม LEED-ND •

การวางผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน

การวางผังและออกแบบโครงข่ายการขนส่งมวลชน

การออกแบบย่านและเมืองสู่ความยั่งยืน

การวางผังปกป้องสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ

การพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ประชาชนสามารถซื้อหาได้

การสร้างแผนปฏิบัติการลดการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

สร้างความสมดุลด้านสังคม

การออกแบบพื้นที่เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ


ตัวชี้วัด

LEED-ND จากัดความคาว่า “ย่าน” เพื่อใช้เป็นนิยามและตัวชี้วัดในการออกแบบตามเกณฑ์ดังนี้

ย่านต้องมีขอบเขตและศูนย์กลางที่สามารถมองเห็นหรือรับรู้ได้ ที่อยู่อาศัยตั้งอยู่ในระยะการเดินถึงใจกลางย่าน 5 นาที ที่อยู่อาศัยภายในย่านมีหลากหลายรูปแบบ ความหลากหลายของร้านค้าและกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในย่าน ความยืดหยุ่นของอาคารที่สามารถใช้ได้ทั้งการอยู่อาศัยและการทางาน ที่ตั้งของโรงเรียนอยู่ในระยะการเดินถึง สนามเด็กเล่นตั้งอยู่ใกล้กับที่อยู่อาศัย การเชื่อมต่อของโครงข่ายถนนที่มคี วามสมบูรณ์ ถนนต้องมีส่วนประกอบของทางเดินและทางจักรยานที่มีคุณภาพ ขนาดอาคารมีความสัมพันธ์กับขนาดของทางเดิน ที่ตั้งและรูปแบบอาคารสาธารณะและสถานที่สถานที่สาธารณะมีความโดดเด่น ชุมชนเป็นผู้วางผังและตัดสินใจอนาคตในการพัฒนาย่านของตัวเอง


ตัวชี้วัด LEED-ND เกณฑ์

นโยบาย

ตาแหน่งที่ตั้งและการ เชื่อมต่อที่ชาญฉลาด

ที่ตั้งที่ชาญฉลาด

การออกแบบตามโครงสร้างพื้นฐาน ธรรมชาติ

โครงข่ายการเชื่อมต่อภายในย่าน

ระบบขนส่งสาธารณะ

ตัวชี้วัด ที่ตั้งที่มีความเหมาะสม มีโครงการพัฒนาพื้นที่เสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม ตาแหน่งที่ตั้งช่วยในการลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ที่ตั้งมีที่อยู่อาศัยกับแหล่งงานอยู่ใกล้เคียงกัน การสงวนรักษาโครงสร้างทางนิเวศ อนุรักษ์แหล่งน้าและพื้นที่ชุ่มน้า หลีกเลี่ยงที่ตั้งบริเวณน้าท่วมถึง รักษาพื้นที่ลาดชัน คานึงการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต แหล่งน้า/ที่ชุ่มน้า ที่ตั้งที่มีความเหมาะสม การเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพ โครงข่ายการสัญจรภายในชุมชนที่สมบูรณ์ ตาแหน่งที่ตั้งช่วยลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งสาธารณะ มีการจัดการความต้องการระบบคมนาคมและขนส่ง


ตัวชี้วัด LEED-ND เกณฑ์

รูปลักษณ์ของย่าน และการออกแบบ

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป็นย่านที่ใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพ รูปแบบย่านมีความกระชับ เป็นย่านที่มีความหลากหลายและสะดวกสบาย ความเป็นย่านที่งดงาม มีรูปแบบของที่อยู่อาศัยที่หลากหลาย เป็นย่านที่ออกแบบเพื่อผู้อยู่อาศัยทุกระดับรายได้และอายุ มีถนนที่เอื้ออานวยต่อการเดิน เป็นถนนแห่งการเดิน ผิวถนนไม่ได้สูญเสียไปกับที่จอดรถยนต์ มีการแบ่งปันถนนเป็นสถานที่สาธารณะ การลดพื้นที่จอดรถและมีการจัดการระบบการ ผิวถนนไม่ได้สูญเสียไปกับที่จอดรถยนต์ เดินทาง มีการจัดการระบบการเดินทาง มีการออกแบบการใช้จักรยาน มีโครงข่ายทางจักรยานและโครงสร้างพื้นฐานจักรยานที่สมบูรณ์ ผิวถนนไม่ได้สูญเสียไปกับที่จอดรถยนต์ การใช้ที่ดินที่ผสมผสานและการจัดการสถานที่ การผสมผสานการใช้ที่ดินและอาคารภายในศูนย์กลางย่าน ของชุมชน มีความสามารถในการเข้าถึงสถานที่สาธารณะและหน่วยบริการ มีความสามารถในการเข้าถึงสถานที่นันทนาการ มีการส่งเสริมผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่น มีโรงเรียนระดับย่าน


ตัวชี้วัด LEED-ND เกณฑ์ โครงสร้างพื้นฐานเขียว และอาคารเขียว

ตัวชี้วัด อาคารเขียว

ตัวชี้วัด

ได้รับประกาศนียบัตรอาคารเขียว เป็นอาคารใช้พลังงานและน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้น้าในภูมิทัศน์อย่างมีประสิทธิภาพ การปรับปรุงฟื้นฟูอาคาร นาอาคารที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ ปรับปรุงฟื้นฟูอาคารประวัติศาสตร์มาใช้ประโยชน์ การลดมลภาวะ การปกป้องมลภาวะจากการก่อสร้าง การจัดการน้าฝน การลดผลกระทบจากแสง การรักษาอุณหภูมิ การลดภาวะเกาะความร้อน การลดพื้นที่จอดรถยนต์ การอาศัยร่มเงาจากแมกไม้ การสร้างประสิทธิภาพการใช้พลังงานของย่าน การจัดการแสงอาทิตย์ การหมุนเวียนพลังงานกลับมาใช้ใหม่ การยกระดับการใช้พลังงานของโครงสร้างพื้นฐาน การหมุนเวียนการใช้ใหม่ การจัดการน้าเสีย การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพ การจัดการโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับขยะ


แนวทางในการนา LEED-ND สู่การปฏิบัติ การบูรณาการกับ แผนการพัฒนาพื้นที่ การเพิ่มประสิทธิภาพ โครงการและการให้ รางวัลสนับสนุน

การเป็นเครื่องมือ จัดทาบทบัญญัติและ ข้อกาหนดการจัดการ ย่าน

การบริหารโครงการที่ ไม่ต้องใช้ข้อกาหนด

การวางผังโครงการ และการออกข้อ กาหนดการจัดสรร การสร้างมาตรฐาน สนับสนุนการพัฒนา


แนวทางในการนา SG & LEED-ND สู่การปฏิบัติ


The Transect Codes


การจัดลาดับส่วนของเมืองตาม The Transect Codes

ผังเมืองรวมเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก


การจาแนกศูนย์เศรษฐกิจตาม THE WALKUPS และ THE TRANSECT

โซน 3 พื้นที่ชานเมือง

โซน 4 ที่อยู่อาศัยผสมผสานพาณิชยกรรม

โซน 5 พาณิชยกรรมผสมผสานที่อยู่อาศัย เป้าหมาย -

โซน 6 พื้นที่ใจกลางเมือง

โซน 7 พาณิชยกรรมและโลจิสติกส์

สร้างความคุ้มค่ากิจกรรมการใช้ที่ดิน เพิ่มจานวน Day Trip ให้ระบบขนส่งมวลชน เพิ่ม Affordable Housing สร้างเมืองคนเดิน สร้างพื้นที่สุขภาพ


การนาเกณฑ์การเติบโตอย่างชาญฉลาดสู่การปฏิบัติ ยุทธศาสตร์เมือง เมืองเศรษฐกิจและเมืองสุขภาพ > สาขาเศรษฐกิจหลัก ในช่วง 20 ปีข้างหน้า > จานวนประชากร ในแต่ละสาขาเศรษฐกิจ

> มาตรฐานและคุณภาพชีวิต ประชากรที่ต้องการ > ระบบสิ่งแวดล้อมเมืองและ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก


การนาเกณฑ์การเติบโตอย่างชาญฉลาดสู่การปฏิบัติ

นโยบายการวางผัง การวางแผนสร้างความสมดุลโครงสร้างพื้นฐาน > โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและขนส่ง > โครงสร้างพื้นฐานด้านขนส่งมวลชน > โครงสร้างพื้นฐานเขียว (ระบบระบายน้า/การจัดการภัยพิบัติ) > โครงสร้างพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและมลภาวะ > โครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภค


การนาเกณฑ์การเติบโตอย่างชาญฉลาดสู่การปฏิบัติ การจัดทาแนวทางการออกแบบเมือง การนาผังเมืองสู่การออกแบบเมือง > การออกแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคาร > การออกแบบอสังหาริมทรัพย์และที่อยู่อาศัย > โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมและขนส่ง การเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานด้าน ขนส่งมวลชน > โครงสร้างพื้นฐานเขียว (ระบบระบายน้า/การจัดการภัยพิบัติ) > โครงสร้างพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อมและมลภาวะ > โครงสร้างพื้นฐานด้านสาธารณูปโภค


LEED-ND กับเกณฑ์การออกแบบเมือง > ทาเลและที่ตั้งที่ชาญฉลาด > รูปแบบย่านและการออกแบบ > อาคารเขียวและโครงสร้างพื้นฐานเขียว > นวัตกรรมและกระบวนการออกแบบ การจัดลาดับความสาคัญระดับภาค


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร

เกณฑ์ 1 ข้อกาหนด The Transect Codes การแบ่งส่วนของเมืองและการจัดวางอาคาร


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร เกณฑ์ 2 การออกแบบ ศูนย์เศรษฐกิจ ผลประโยชน์ 1.การใช้ที่ดินและ อาคารตามมูลค่า ทรัพย์สิน 2.การสร้างเมืองกระชับ 3.การสร้างเมืองคนเดิน 4.ได้รับจานวน ประชากรตามประมาณ การขั้นต้น 5.การสร้างจานวน ประชากรได้ตามจานวน ผู้เดินทางที่ต้องการ


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร เกณฑ์ 3 Form-Based Codes การประมาณการมูลค่าเศรษฐกิจจาแนกตาม The Transect T6-T5 พื้นที่สร้างมูลค่าของเมือง ย่านพาณิชยกรรมใจกลางเมือง (T6) และย่านพาณิชยกรรมเมือง (T5) ที่ดินและทรัพย์สนิ มีราคาสูงที่สุด กาหนดให้ประเภทอาคาร ผสมผสานกิจกรรม (mix use) ในพื้นที่ในระยะ 4 ชั้นแรกเป็นส่วน ค้าปลีกมีมลู ค่าสูงสุด ที่เหลือเป็นอาคารสานักงาน โรงแรม และที่อยู่ อาศัย มูลค่าทรัพย์สินขึ้นอยู่กับ 1) รูปแบบการผสมผสานกิจกรรมอาคาร 2) ระยะ 4 ชั้นแรกเพื่อการค้าปลีก 3) ความสูงของอาคาร (ระบบสิทธิประโยชน์จะให้ตามรูปแบบ การผสมผสานกิจกรรมและความสูงอาคาร ผสมผสานมาก และสูงมากจะได้สทิ ธิประโยชน์มาก) 4) มูลค่าที่ดินและสภาพแวดล้อม


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร รูปแบบการ ผสมผสานการ ใช้ที่ดินและ กิจกรรมอาคาร


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร

การปรับปรุงฟื้นฟูพื้นที่ใจกลางศูนย์เศรษฐกิจ 1) การมีพื้นที่พาณิชยกรรมเพียงพอต่อความต้องการของ ประชากรที่อยู่อาศัยในย่าน (ประชากรประจา) และประชากร ชั่วคราวผู้มาใช้พื้นที่ 2) การยกระดับมูลค่าทรัพย์สินของย่านโดยการสร้างพื้นที่ พาณิชยกรรมให้ตั้งอยู่ใจกลางย่าน 3) การลดความจาเป็นในการเดินทางและการส่งเสริมให้ คนเดินถึงย่านพาณิชยกรรม 4) การลดพื้นที่หนาแน่นต่าที่รัฐต้องลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน 5) การใช้ประโยชน์ที่ดินให้มีความคุ้มค่า


การวางผังและการออกแบบศูนย์เศรษฐกิจ

การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร เกณฑ์ 4 ดัชนีความสบายเชิงความร้อน (Thermal Comfort Index) ได้จากการสารวจสภาวะความสบายเชิงความร้อนภายนอกอาคาร (Outdoor Thermal Comfort) ที่ส่งผลกระทบถึงสิ่งแวดล้อมเชิงความร้อน ภายนอกอาคาร (Outdoor Thermal Environment) ซึ่งทาให้สามารถ วางแผนออกแบบเมืองและภูมิทัศน์เมือง (Urban Outdoor Microclimate) โดยการ 1) การวางแผนทิศทางการวางอาคารและกลุ่มอาคาร 2) การกาหนดประเภทและความสูงอาคาร 3) การวางแผนที่โล่งและพืน้ ที่สเี ขียวด้านหน้าและรอบอาคาร 4) การออกข้อกาหนดขนาดแปลงที่ดินที่อนุญาตให้ก่อสร้าง 5) การจัดการพื้นที่โล่งที่น้าสามารถซึมผ่านได้ 6) การจัดการใช้ประโยชน์ที่ดนิ ด้านหน้าอาคารและสภาพแวดล้อมเมือง 7) การกาหนดรูปแบบด้านหน้าอาคาร (Front Façade) 8) การกาหนดขนาดทรงพุ่มของไม้ใหญ่และความถีใ่ นการจัดวางต้นไม้ใหญ่


การออกข้อกาหนดการใช้ที่ดินและความสูงอาคาร

การใช้ต้นไม้และทรงพุ่มเพื่อเพิ่มค่าดัชนีความสบายเชิงความร้อน 1) การใช้ FAR และ OSR เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่น้าสามารถซึมผ่าน ได้ 2) การให้สิทธิประโยชน์ความสูงอาคารเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่น้าซึม ผ่านได้ 3) การใช้ทรงพุ่มของไม้ใหญ่ในการรักษาอุณหภูมิให้อยู่ในภาวะน่า สบาย 4) การเพิ่มพื้นที่สาธารณะ (Public Spaces) เพื่อให้ผู้อยู่อาศัยและ นันทนาการใช้ชีวิตและประกอบกิจกรรมร่วมกันภายนอกอาคาร


SMART GROWTH & LEED-ND


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.