อาข่า
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ
ศรัญญา ทะนาวา
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธ์อาข่า
ตำ�บลวาวี อำ�เภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย อาข่าเป็นแขนงหนึ่งของชน เผ่าธิเบต-พม่าลักษณะทางกายภาพ โดยทั่วไปมักมีรูปร่างเล็กแต่ล่ำ�สัน แข็งแรง ผิวสีน้ำ�ตาลอ่อนและกร้าน ผู้หญิงมีศีรษะกลม ลำ�ตัวยาวกว่า น่ อ งและขาแขนและขาสั้ น ผิ ด กั บ ผู้ชาย ภาษาพู ด มาจากแขนงชาว โล-โล คล้ายกับภาษาของชาวภู ภาษาชาวลาหู ่ ร วมไปถึ ง ชาวลี ซู ชาวอาข่ า ไม่ มี ตั ว อั ก ษรใช้ บั น ทึ ก เรื่ อ งราวในประวั ติ ศ าสตร์ ใ ห้ ลู ก หลานแต่ ช าวอาข่ า นั้ น จะส่ ง ต่ อ วัฒนธรรมของตนเองผ่านการเรียน รู้ในวิถีชีวิต ตั้งแต่เด็กเล็กที่เติบโต ซึ่งจะซึบซับเรียนรู้ในเรื่องการปลูก ฝั่งให้สืบทอดเจตนารมณ์ทั้งทางใน
รูปธรรมและนามธรรมผ่านรูปแบบ ของแนวคิ ด และแนวทางปฏิ บั ติ มากมายสืบต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น ถึ ง แม้ ช าวอาข่ า จะไม่ มี ตั ว หนังสือใช้แม้จะไม่ได้มีการบันทึก ประวั ติ ศ าสตร์ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรอาข่ า ก็ มี ตำ � นานสุ ภ าษิ ต ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีการ มากมาย ที่ทำ�ให้รู้ในเผ่าพันธุ์ และ ซาบซึ้งในความเป็นอาข่าของตน
2
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
3
เครื่อง
4
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
โครงสร้าง การปกครองและสังคม
ระบบครอบครัว และเครือญาติ
ชนเผ่ า อาข่ า มี รู ป แบบการ ปกครองเป็นของตนเอง ผู้นำ�ก็คือ หั ว หน้ า หมู่ บ้ า นทำ � หน้ า ที่ ค วบคุ ม ดู แ ลชุ ม ชนให้ อ ยู่ ใ นกฎระเบี ย บ ธรรมเนี ย มที่ ดี ง ามของสั ง คมร่ ว ม กั บ คณะผู้ อ าวุ โ สตั ด สิ น คดี ข้ อ พิ พ าทและร่ ว มในพิ ธี ก รรมต่ า งๆ การสื บ ทอดตำ � แหน่ ง เป็ น การสื บ ต่อตามสายพรรพบุรุษ นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการหมู่บ้านมีหน้าที่ พิจารณาตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนแต่อำ�นาจเด็ดขาดไม่ได้ ขึ้ น อยู่ กั บ คณะกรรมการหมู่ บ้ า น เพียงฝ่ายเดียว บางครั้ ง สมาชิ ก หมู่ บ้ า นมี สิทธิ์ที่จะโต้แย้งแสดงความคิดเห็น ได้ ถื อ ว่ า เป็ น ระบบการปกครอง แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ปกครองแบบจารี ต ประเพณี แ ละ แบบทางการ
โครงสร้ า งครอบครั ว ของ ชนเผ่ า อาข่ า ผู้ ช ายถื อ เป็ น หั ว หน้ า ครอบครั ว มี ก ารขยายครอบครั ว ออกทางผู้ ช ายด้ ว ยเหตุ ที่ ว่ า ผู้ ช าย จะเป็ น ผู้ สื บ สายวงศ์ ต ระกู ล ของ ครอบครัว ดังนั้นชนเผ่าอาข่าจึงมีการ สื บ สายโลหิ ต โดยมี ก ารนั บ ลำ � ดั บ ชื่ อ บรรพบุ รุ ษ โดยมี ชื่ อ ผู้ ช ายเป็ น หลั ก ฉะนั้ น ผู้ ช ายชนเผ่ า อาข่ า จึ ง มี ความจำ�เป็นที่ต้องเรียนรู้ลำ�ดับชื่อ ของบรรพบุ รุ ษ ตลอดจนพิ ธีก รรม ประเพณีของครอบครัวเพื่อจะได้นำ� ไปใช้และถ่ายทอดสืบทอดให้กับลูก หลานต่อไป
5
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
ความเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมต่างๆ
แม้อาข่าไม่มีภาษาเขียนแต่มีพิธีกรรมและประเพณีที่อาข่าเรียก ว่า“แดะย้อง ซี้ย้อง”ไม่ต่ำ�กว่า 21 พิธีกรรม เป็นเครื่องมือดำ�รงชีพรวมถึงมี สุภาษิตคำ�สอนเรียกว่า “อ่าข่า ด่อด่า” มีกฎระเบี ย บข้ อ บั ญ ญั ติ เรี ย กว่ า “ย๊อง” ซึ่งทั้งหมดเป็นที่มาของการมี ศาสนา ที่เรียกว่า “อ่าข่าย๊อง”ถือเป็น คัมภีร์ของชนเผ่าอาข่าโดยมีความเชื่อที่เรียกว่า“นือ จอง” และนับถือองค์ เทพต่างๆหลายองค์อาทิเช่น เทพแห่งดิน เทพแห่งน้ำ� เทพแห่งภูเขา ฯลฯ โดยมีองค์เทพสูงสุดเรียกว่า “อ่าเผ่ว หมี่แย้” เป็นที่เคารพกราบไหว้บูชามา จนถึงปัจจุบัน ประเพณีของชนเผ่าอาข่ามีความผูกพันเกี่ยวโยงกับธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมแทบทั้งสิ้น ประเพณีที่เป็นที่รู้จักของบุคคลทั่วไปได้แก่ประเพณี “ขึ่มสึ ขึ่ม มี้ อ่า เผ่ว” หรือประเพณีชนไข่แดงเป็นส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่และ ยังเป็นวันคล้ายวันเด็กของอาข่าอีกด้วยมีขึ้น ในช่วงกลางเดือนเมษายน ประเพณี “แย้ ขู่ อ่าเผ่ว” หรือประเพณีโล้ชิงช้าเป็นการเฉลิมฉลองและ ขอพรจากเทพเจ้าให้พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ มีขึ้นในช่วงปลาย เดือนสิงหาคมถึงต้นเดือนกันยายน ประเพณี“คะ ท๊อง อ่าเผ่ว” หรือ “ปี ใหม่ลูกข่าง” คือพิธีเฉลิมฉลอง การเปลี่ยนฤดูกาลทำ�มาเลี้ยงชีพ มีขึ้นเป็น
6
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
การทำ�มาหากินและวิถีการผลิตพื้นบ้าน อาชีพหลักของอาข่าคือการทำ�การเกษตร พืชส่วนใหญ่ที่เพาะปลูก เป็นพืชไร่เช่น ข้าว ข้าวโพด และพืชผักสวนครัวอื่นๆ เพื่อบริโภคและ ประกอบพิธีกรรม ส่วนที่เหลือจะแบ่งไว้สำ�หรับขายหรือแลกเปลี่ยน การ เลือกทำ�เลและพื้นที่ทำ�การเกษตรนั้นจะอยู่ไกลจากชุมชนไม่น้อยกว่า 3-5 กิโลเมตร อีกทั้งอาข่ายังมีวิถีชีวิตที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติ เช่น สมุนไพร ผักป่าตามฤดูกาล และการล่าสัตว์เพื่อยังชีพอีกด้วย
7
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
8
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
การโยกย้ายและตั้งถิ่นฐาน อาข่ า ชนเผ่ า อาข่ า มี ถิ่ น ฐานเดิ ม อยู่ ที่ บ ริ เ วณภู เ ขาสู ง ทาง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องประเทศจี น ปัจจุบันชาวอาข่ามีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่บริเวณมณฑณ ยูนนานของประเทศจีน โดยเฉพาะแคว้นสิบสองปันนา นอกจาก นี้ยังมีประชากรชาวอาข่ากระจายอยู่ในประเทศต่างๆบริเวณเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ประเทศลาว พม่า เวียดนามและไทย ซึ่งมีประชากรโดยรวมทั่วโลกประมาณ 8 แสนคน ชนเผ่า อาข่าได้เคลื่อนย้ายเข้ามาสู่ประเทศไทย เมื่อประมาณ 120 ปีที่แล้ว อาข่าส่วนหนึ่งต้องอพยพเข้าเข้าสู่ประเทศพม่า เพื่อแสวงหาที่ทำ�กิน และเมื่อประเทศจีนได้มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง โดยเฉพาะ การปฏิ วั ติ วั ฒ นธรรมส่งผลให้อาข่าส่วนใหญ่ได้อพยพออกจาก ประเทศจีนเข้าสู่ ประเทศพม่าทางแคว้นเชียงตุง ประเทศลาว แขวง หลวงน้ำ�ทา และทิศเหนือของประเทศเวียดนามเพิ่มมากขึ้น เพื่อหนี ภัยจากปัญหาต่างๆ
9
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
10
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
กลุ่มอาข่าในจังหวัดเชียงราย
กลุ่จังหวัดเชียงรายมีรอยตะเข็บติดต่อกับประเทศพม่าและประเทศลาว
คนอ่าข่าอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงรายมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 60 % ของอ่า ข่าในประเทศไทยทั้งหมด อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย จำ�นวน 11 อำ�เภอ ประกอบไปด้วยอำ�เภอเมือง แม่จ ัน แม่ส าย เชีย งแสน เทิ ง พาน แม่ สรวย เวียงป่ า เป้ า เวี ยงแก่น แม่ลาว และแม่ฟ้าหลวง 38 ตำ � บล และ 221 หมู่บ้าน จากจำ�นวนประชากรทั้งหมดคนอ่าข่าอาศัย 20 อำ�เภอ 63 ตำ�บล 268 หมู่บ้าน สามารถแบ่งพื้นที่อยู่ อาศัยของคนอ่าข่าได้ 3 ส่วน นั่นคือ โซนบน ประกอบไปด้วยอำ�เภอแม่สายและอำ�เภอแม่ฟ้าหลวง โซนกลางประกอบไป ด้วยอำ�เภอแม่จันและเมืองและโซนใต้ประกอบไปด้วยอำ�เภอแม่สรวย โซนบนมี ค นอ่ า ข่ า อาศั ย อย่ า งหนาแน่ น เพราะเป็ น รอยตะเข็ บ ชายแดนไทยพม่าทำ�ให้ชนเผ่าอยู่กันเป็นจำ�นวนมาก โดยในอำ�เภอแม่สาย กระจายอยู่ที่ตำ�บลโป่งงาม ตำ�บลโป่งผา และตำ�บลเวียงผาคำ� จุดสังเกตใน สามตำ�บลที่คนอ่าข่าอาศัยอยู่ ล้วนแต่อยู่ใกล้กับบริเวณชายแดนทั้งสิ้น และ กลุ่มอ่าข่าที่อาศัยอยู่ในอำ�เภอแม่สาย ส่วนมากเป็นกลุ่มผาหมีอาข่า พื้นที่ อาศัยของอ่าข่ากลุ่มนี้อยู่ที่บ้านผาหมีและผาฮี้ ซึ่งสองชุมชนดังกล่าวเป็น ชุมชนกลุ่มผาหมีอ่าข่าใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
11
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
โซนกลาง ประกอบไปด้วยอำ�เภอแม่จันและอำ�เภอเมือง อำ�เภอแม่จันมี อาณาเขตติดต่อกับอำ�เภอต่างๆ ทุกทิศทางรอบตัวอำ�เภอแม่จัน อำ�เภอแม่ ฟ้าหลวง อำ�เภอม่าสาย อำ�เภอเชียงแสน อำ�เภอดอยหลวง อำ�เภอเวียงชัย อำ�เภอเมือง และอำ�เภอแม่ลาว โซนใต้ประกอบไปด้วยอำ�เภอแม่สรวย อำ�เภอแม่สรวย มีอาณาเขต ติดต่อกับอำ�เภอแม่ลาว อำ�เภอพาน อำ�เภอเวียงป่าเป้า และอำ�เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ถือว่าเป็นอำ�เภอหนึ่งที่มีคนอ่าข่าอยู่อย่างหนาแน่นใน ประเทศไทยในอำ�เภอแม่สรวยมีคนอ่าข่าอยู่ ๗ อำ�เภอ ประกอบไปด้วย อำ�เภอแม่สรวย แม่พริก ศรีถ้อย เจดีย์หลวง ท่าก๊อ ป่าแดดและตำ�บลวาวี
่าในจังหวัดเชียงราย
12
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
กลุ่มอาข่าในเขตอำ�เภอแม่สรววย
จำ�นวนประชากรของคนอ่าข่าที่อาศัยพื้นที่ของอ่าข่าในโซนนี้คน อ่าข่าจะอาศัยอยู่ที่ตำ�บลวาวีมากที่สุด อีกทั้งในตำ�บลวาวียังมีการอาศัยของ อาข่าสองกลุ่มใหญ่ ที่มีความแตกต่างกัน ทั้งการแต่งกาย ความเชื่อ คำ�พูด ประเพณีวัฒนธรรม เพื่อให้การศึกษาให้เข้าใจถึงความต่างในแต่ละกลุ่มอ่า ข่า ตลอดถึงพื้นที่อยู่อาศัย ตำ�บลวาวี ที่มีคนอ่าข่าอยู่เป็นจำ�นวนมาก และเป็นตำ�บลที่มีกลุ่มอู่ โล้อ่าข่าอยู่เป็นจำ�นวนมาก ตำ�บลวาวีเป็นตำ�บลภูเขาและที่ราบสูงทั้งหมด มีอยู่ด้วยกันหล่ายเผ่า มีชนเผ่าเด่นๆอาทิเช่น อ่าข่า ลาหู่ ลีซู เมี่ยน ไทยใหญ่ คนจีน กระเหรี่ยง อาข่าในตำ�บลวาวี สามารถแบ่งอ่าข่าออกเป็น ๒ กลุ่มใหญ่ นั่นคือ กลุ่มอู่โล้อ่าข่า และล่อเมี๊ญะอ่าข่า คนอ่าข่าในตำ�บลวาวีมาอยู่นานเกือบ 50 ปีมาแล้ว อ่าข่ามาอยู่ตำ�บลวาวีครั้งแรก เมื่อ ปี พ.ศ. 2506 นำ�มาโดยนาย แสนใจ มาเย่อจูเปาะ มาตั้งชุมชนบ้านแสนเจริญเก่า อ่าข่ากลุ่มนี้เป็นกลุ่มอู่ โล้อ่าข่า
13
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
กลุ่มอู่โล่อาข่า ตำ�บลวาวีมีกลุ่มอุโล้อาข่าอาศัยอยู่เยอะที่สุดในประเทศไทย พบ อาศัยอยู่ทั่วพื้นที่แต่จะเป็นชุมชนใหญ่คือบ้านแสนเจริญเก่า ภาษาของกลุ่มอุโล้อาข่าถูกใช้ภาษากลางในการสื่อสารทั่วไปของ ชาวอาข่า กลุ่มอู่โล่อาข่าในด้านความเชื่อยังพอหลงเหลือในความเชื่อดั้งเดิม โดยส่วนใหญ่ไปนับถือศาสนาคริสต์ รองลงมาศาสนาพุทธ ความเชื่อ ดั้งเดิมจึงหลงเหลือเพียงน้อยนิดที่ชุมชนบ้านแสนเจริญเก่า บ้านห้วยขี้ เหล็กเก่า
14
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
15
เครื่อง
ผู้หญิงกลุ่มอู่โล้อาข่า
ผู้หญิงกลุ่มอู่โล้อาข่ามีการแต่งกายที่โดดเด่นสะดุดตา โดยในแต่ละ ช่วงวัยมีการแต่งกายที่บ่งบอกถึงสถานะของผู้ใส่ ได้แก่ หญิงที่เข้าสู่วัยสาว ที่ยังไม่แต่งงานจะมีการใส่หมวกคลุมหัวและมีช่อไหมพรม ลูกเดือย มีการ ประดับด้วยขนสัตว์ ตลอดถึงเครื่องเงินดังกรุ๊งกริ่ง การประดับเครื่องเงิน ของอู่โล้อาข่า เป็นการบ่งบอกถึงสถานะทางครอบครัวเป็นอย่างดี หาก ประดับไปด้วย “แต่ก่า” เงินแถบจำ�นวนมาก นั่นหมายถึงเป็นลูกผู้ดีมีเงิน เสื้อผู้หญิงของอู่โล้อาข่า เป็นสีดำ�ที่ผ่ากลางด้านหน้ามีแขนยาว และเสื้อยาวถึงบริเวณสะโพก เสื้อผู้หญิงนิยมใส่ลวดลายมากกว่าผู้ชายและ การปักเย็บถือว่า เป็นการอวดถือฝีมือในการเย็บผ้าด้วยในบริเวณด้านหน้า ตรงปลายเสื้อมีการประดับไปด้วยลวดลายอย่างสวยงาม และปลายเสื้อ ด้านหลังมีการประดับไปด้วยลวดลายและเครื่องเงิน ลูกปัด หรือ “จู้มา” และลูกเดือย ไม่นิยมปักเป็นรูปสัตว์หรือต้นไม้ ตั้งแต่ส่วนเอวลงไป กระโปรงสีดำ�ลักษณะเป็นกระโปรงฮาวาย ทำ�ลายหยักด้านหลัง ยาวถึงบริเวณหัวเข่า บนกระโปรงหน้ามีผ้าปิดระหว่างต้นขาสองข้างเป็น ผ้าแผ่นยาว ในส่วนของน่องและขาจะมีผ้ามาปิดรอบๆ อู ่ โล้ อ าข่ าเรี ย กว่ า “คื้บบ่อง” มีลูกปัด ลูกเดือย และลวดลายเป็นแผ่นเล็กๆ มาติดแนวนอน และกลางแซมไปด้วยลูกเดือย ลูกปัด
16
17
เครื่อง
ผู้ชายกลุ่มอู่โล้อาข่า ผู้ชายอู่โล้อาข่านิยมมีผ้าพัน รอบหัวการสวมใส่มีความแตกต่าง กันไปตามวัย เมื่อเป็นหนุ่มใส่ผ้าสี ดำ � มาพั น รอบหั ว และใส่ ข นสั ต ว์ ที่ ย้อมด้วยสีธรรมชาติ มีดอกไม้มา ประดั บ เพื่ อ ให้ มี สี สั น และงามตา หากมีอายุประมาณ 40 ปีขึ้นไป มี การเปลี่ยนสีผ้าเป็นสีแดงและไม่มี ขนไก่หรือดอกไม้ประดับ เสื้อผู้ชายมีลักษณะแขนยาว มีคอปกเสื้อ ยาวถึงสะโพก มีการ เย็บลวดลายไว้ตรงปลายเสื้อบริเวณ หน้าท้องมีการเย็บด้วยเส้นด้ายเป็น เส้นโค้งงอไปมา จำ�นวน 3 แถว และข้ า งหลั ง เสื้ อ มี ก ารประดั บ ไว้ อย่างสวยงาม แต่ไม่ประดับทั้งแผ่น หลั ง และไม่ นิ ย มเย็ บ ลวดลายตรง ปลายแขนเสื้อหรือบริเวณหน้าอก ปัจจุบันได้ถูกดัดแปลงไปมากจนไม่ เหลือเค้าโครงเดิมเพราะถูกปรับให้
เข้ากับกาลสมัยและความนิยมตาม ยุคสมัยนี้ กางเกงผู้ ช ายเป็ น สี ดำ � มี ลั ก ษณะหลวมๆลั ก ษณะคล้ า ยกั บ กางเกงขาก๊ ว ยความยาวกางเกงมี ความยาวถึงตาตุ่มของผู้ใส่
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
กลุ่มลอเมี๊ญะอาข่า
ชุมชนล่อเมี๊ญะอ่าข่าที่เก่าแก่ที่สุดและอาศัยเป็นจำ�นวนมากที่สุด ในตำ�บลวาวี นั่นคือบ้านดอยช้าง ส่วนหมู่บ้านอื่นๆพบอาศัยอยู่กระจายกัน ไป ด้านความเชื่อของลอเมี๊ญะอ่าข่าในตำ�บลวาวี อยู่ในขั้นวิกฤษตและคาด ว่าอนาคตอันใกล้นี้จะสูญสิ้น จะไม่มีชุมชนให้ศึกษาอีก เพราะถูกศาสนา คริสต์รุกอย่างหนัก
18
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
ผู้ชายกลุ่มลอเมี๊ญะอาข่า
การแต่งกายของกลุ่มลอมี้อาข่า ผู้ชายการแต่งกายของผู้ชายอาข่ากลุ่มนี้ไม่ได้ต่างจากกลุ่มอาข่า อื่นๆ โดยมีผ้าโพกสีดำ�มาพันรอบหัวและมีสร้อยเงินมัดห้อยบริเวณหน้า ผากมีดอกไม้ปักแซมกับขนไก่รอบผ้าโพกหัว เสื้อผู้ชายเป็นปกคอจีนใช้ เชือกเปิดปิดด้านหน้า เสื้อผู้ชายแขนยาวที่มีลวดลายปักอย่างสวยงาม ชาย เสื้อมีการเย็บลวดลายข้างหลังเน้นสีฉูดฉาด มีเครื่องประดับห้อยแซมข้าง หลัง กางเกงผู้ชายเป็นขายาวโปร่ง หลวม ใช้เชือกเป็นเข็มขัดพับรัดบริเวณ เอว
19
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า
20
21
ผู้หญิงกลุ่มลอเมี๊ญะอาข่า
หมวกกลุ่มลอมี้จะมีลูกตุ้มห้อยสองข้างของหมวก ตรงระหว่างลูก ตุ้มจะมีแผ่นโลหะเล็กๆ วงกลมเจาะรูสองข้างเย็บติดจนกลายเป็นแผ่นใหญ่ และบริเวณที่มัดลูกตุ้มมักมีลูกปัดเน้นสีเหลือง แดง และขาวทั้งสองข้าง บริเวณคางมีลูกปัดห้อยเป็นจำ�นวนมากและมัดติดข้างๆ หู มีเหรียญห้อย ลงมาจากหมวกข้างละ 4-5 เหรียญ และปลายเหรียญจะมีรูปพระจันทร์ครึ่ง เสิ้ยว นอกจากนั้นอาข่ากลุ่มนี้นิยมห้อยลูกปัดเป็นจำ�นวนมากจากคอปล่อย มาบนเสื้อบริเวณหน้าอก เสื้อผู้หญิงของลอมี้อาข่าได้รับการยอมรับจาก คนอาข่าทั่วไปว่า เป็นกลุ่มที่มีการเย็บผ้าและลวดลายที่สวยที่สุดในรอยต่อ แขนเสื้อกับตัวเสื้อบริเวณหัวไหล่นิยมปักเป็นรอยเส้นสีต่างๆ ดูแล้วสะดุด ตา ส่วนปลายแขนมีการเอาแผ่นผ้าที่เย็บลวดลายไว้มาเย็บติดทั้งสองข้าง และข้างหลังเสื้อมีลวดลายเย็บขึ้นมาประมาณ 10 เซนติเมตร เครื่องแต่ง กายส่วนที่ลงจากบริเวณเอวลงไปมีกระโปรงแบบฮาวายที่มีรอยกลีบหยัก
22
เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ชาติพันธุ์อาข่า ในเขตตำ�บลวาวี อำ�เภอแม่สรวย จังหวึัดเชียงราย © 2017 (พ.ศ. 2560) โดย ศรัญญา ทะนาวา สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์ครั้งแรก 96]k8, พ.ศ. 2560 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ศรัญญา ทะนาวา ใช้แบบอักษร Angsana New ขนาด 18 pt หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่