รายงาน เรือ่ ง การออกแบบชุดตัวอักษรไทย - อังกฤษ โดยโปรแกรม FontLab Studio 5 รายวิชา ARTD2304 การออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ กลุมเรียน 201 เสนอ ผูชว ยศาสตราจารย ประชิด ทิณบุตร จัดทําโดย นาย สราวุฒิ อนุรกั ษ รหัสนักศึกษา 5111302492 กลุม 201 สาขาวิชา ศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป) มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ARTD2304 การออกแบบ ตัวอักษรเพือ่ การพิมพ โดยมีจุดประสงค เพื่อศึกษาความรูที่ไดจากการ เรียนเรื่องการออกแบบตัวอักษร และพัฒนารูปแบบของฟอนตทมี่ ีอยูเดิม โดยในรายงานเลมนี้มเี นื้อหาประกอบดวยความรูเ กี่ยวกับการออกแบบ ฟอนต การจัดเรียงตัวอักษรแบบเรียงพิมพ ตลอดจนการประยุกตใชงาน ผูจัดทําตองขอขอบคุณ ผศ.ประชิด ทิณบุตร ผูใหความรูและแนวทาง การศึกษา หวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรู และเปนประโยชนแกผูอาน ทุกๆทาน
นาย สราวุฒิ อนุรักษ ผูจัดทํา
สารบัญ วัตถุประสงค ขั้นตอนและหลักฐาน
1 2
ผลที่ไดรับ นําไปทดสอบ และใชประโยชน
10 11
วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาตัวอักษรชุด CRU-Lanchand ใหมีความหลายหลายและแปลก ใหม 2. เพื่อออกแบบสรางสรรคผลงานการออกแบบตัวอักษร 3. เพื่อสรางทักษะในการเรียนรูเรื่องของการออกแบบตัวอักษร และสามารถ นํามาใชไดจริงในการพิมพ
กระบวนการทางาน เปาหมาย - สรางฟอนตกราฟฟค โดยใชเครื่องมือในโปรแกรม Fontlab - สามารถนําฟอนตที่ออกแบบไปใชงานไดจริง เครื่องมือหลัก - คอมพิวเตอร - โปรแกรม Fontlab Studio มีขั้นตอนและหลักการแสดง - ขั้นตอนในการสรางฟอนตกราฟฟคดัดแปลงภาจากฟอนต CRU Lanchand 56
ขัน้ ตอนที่ 1: ดาวนโหลดฟอนต CRU LanChand 56 จาก http://www.chandrakasem.info/?page_id=60 เพื่อเปนแมแบบในการ ออกแบบและจัดเรียง ชุดตัวอักษร
ขัน้ ตอนที่ 2 : เปดโปรแกรม Adobe Illustrator และทําการพิมพตัวอักษร CRU-Lanchand 56 โดยพิมพใหทุกตัวอักษรมีขนาดที่เทากันทั้งหมด
ขัน้ ตอนที่ 3 : ทําการดราฟเสนแกนตัวอักษร โดยใชเครื่องมือ Pen tool ทําใหครบทุกตัวอักษร ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ขัน้ ตอนที่ 4 : เปลี่ยนหัวแปรงทีเ่ สนแกนตัวอักษร แลวเลือกอันที่เราชอบ
ขัน้ ตอนที่ 5 : เปดโปรแกรม font lab ขึน้ มา โดยเราจะใชตนแบบของ ฟอนต CRU lanchand 56 ซี่งเราตองเขาไปที่คําสั่ง file – open – แลว เลือกไฟล CRU lanchand 56
ขัน้ ตอนที่ 6 : copy ไฟลตัวอักษรที่เราสรางไวใน Illustrator แลวเอามาวาง ในโปรแกรม font lab โดยวางในตัวอักษรตัวเดียวกัน
ขัน้ ตอนที่ 7 : เมื่อเรานํามาวางแลว ใหเราปรับขนาดและรูปแบบใหสวยงาม เมื่อไดรูปแบบที่เราพอใจแลวใหทําการลบตัวอักษรเดิมออก และนํารูปแบบ ตัวอักษรใหมใสแทนที่ตัวอักษรเดิม จากนั้นทําการแกไขในทุกๆตัวอักษร จนครบ
ขัน้ ตอนที่ 8 : การทดสอบพิมพ โดยเขาที่เมนู Tools > Quick Test As > OpenType TT (.ttf) และทําการพิมพขอ ความตางๆ ลงไป
ขัน้ ตอนที่ 9 : เมื่อไดชุดตัวอักษรที่สมบูรณแลว ขั้นตอนตอไปเปนขั้นตอน ของการเปลี่ยนชื่อ และปรับ เปลี่ยนขอมูลตางๆ โดยเพิ่มชื่อของเราเขาไปตอ จากชื่อ CRU-Lanchand เพราะเปนชุดตัวอักษรที่มีรูปแบบ ของชุดตัวอักษร CRU-Lanchand เปนแมแบบ หรือเราอาจใชเพียง CRU นําหนาอยางเดียวก ได ซึ่งถือวาเปนครอบครัวของชุดตัวอักษรเดียวกันนั้นเอง การเปลี่ยนชื่อ นั้นใหไปที่คําสั่ง File > Font Info > name and copyright และทําการ เปลี่ยนชื่อใหเปนชื่อ ของทานเองทั้งหมด
ขัน้ ตอนที่ 10 : เมื่อทําการเปลี่ยนแปลงชื่อของผูออกแบบชุดตัวอักษรเปนที่ เรียบรอยแลวตอไปเปนขั้นตอนสุดทาย เพื่อนําชุดตัวอักษรทีเ่ ราสรางขึ้น นํามาใชงานจริงในการพิมพ โดยตองทําการ Generate font โดยไปที่คําสั่ง File > Generate font และกด Save โปรแกรมจะทําการแปลงไฟลออกมา เปน .ttf เพื่อนําไปติดตั้งเพื่อใ ชงานไดทันที
ผลทีไ่ ดรบั ไดเรียนรูวิธีการสรางฟอนตที่ถูกตอง ซึ่งสามารถนําไปใชงานไดจริง
ขอมูลแบบตัวพิมพ (Font Information) ชื่อแมแบบตัวพิมพ : CRU-Lanchand 56 ชื่อตัวพิมพทที่ าํ การแกไข : CRU sarawut 57 ประเภทไฟลของตัวพิมพ win True Type/OpenType TT ออกแบบโดย นายสราวุฒิ อนุรักษ รหัสนักศึกษา 5111302492
นําไปทดสอบและใชประโยชน นําไปติดตั้งในเครื่อง โดยนําฟอนตของเราเขาไปวางที่ start manu control panel > Fonts เพื่อนําไปใชงานในโปรแกรมตางๆ
วิชาการออกแบบตัวอักษรเพือ่ การพิมพ ARTD2304 กลุมเรียน 201 สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร ตัวอยางรูปแบบตัวอักขระภาษาลาติน(Latin Characters) ไดแก ABCDEFGHIJKLMNOPQRSTUVWXYZ0123456789 abcdefghijklmnopqrstuvwx!@#%^&*()_+|{}[]:"<>?;'",./\*-.=;' ตัวอยางรูปแบบตัวอักขระภาษาไทย(Thai Characters) ไดแก กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฒณดตถทธนบปผฝพฟภมยรฤลฦวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙ ๆๅ฿อะอาอุึออู ิอีออึ ืออ ออ ออําเแโใไ? ขอความสําหรับการทดสอบการพิมพรับคําสั่งพิมพและเพื่อแสดงตําแหนง การพิมพรูปอักขระที่ออกแบบ-จัดชองวางชองไฟระหวางรูปอักขระและ ระหวางคําทั้งชุดคือภาษาอังกฤษกับภาษาไทย In typography, a font is traditionally defined as a quantity of sorts composing a complete character set of a single size and style of a particular typeface. For example, the complete set of all the characters for “9-point Bulmer” is called a font, and the “10-point Bulmer” would be another separate font, but part of the same font family, whereas “9-point Bulmer boldface” would be another font in a different font family of the same typeface. One individual font character might be referred to as a “piece of font” or a “piece of type”.Font nowadays is frequently used synonymously with the term typeface, although they had clearly understood different meanings before the advent of digital typography and desktop publishing.
ในทางวงการพิมพนนั้ กลาวถึงฟอนตโดยทั่วไปวาหมายถึงตัวอักษรที่ใชเปน แบบตัวเรียงพิมพเนื้อหาที่มีขนาดและรูปแบบเปนชุดเดียวกันยกตัวอยาง เชนแบบตัวอักษรที่ใชในการเรียงพิมพเนือ้ หาที่ทานกําลัง อานอยูนมี้ ีชอื่ แบบตัวอักษรชุดนีว้ าบางพูด(Bangpood) ที่ประกอบดวยรูป อักขระ(Glyphs)ของตัวพยัญชนะ (Consonants) สระ(Vowels) วรรณยุกต (Tones) เครือ่ งหมายสัญลักษณ(Signs and Symbols) วรรคตอน (Punctuation)อักษรภาษาไทยภาษาอังกฤษ คํากลอนไทยสําหรับใชพิมพทดสอบผลการออกแบบแสดงโครงสรางของ ตัวอักษรการจัดระดับตําแหนงรูปพยัญชนะสระวรรณยุกตเครือ่ งหมายวรรค ตอนการจัดระยะชองไฟรอบรูปอักขระหรือฟอนตสวนภาษาไทยที่สราง บันทึกติดตั้งและหรือทดสอบในโปรแกรมฟอนตครีเอเตอรและัหรือดวย โปรแกรมประยุกตอนื่ ๆในระบบเขามักใชคํากลอนนี้ใหนักศึกษาคัดลอกไป วางเปลี่ยนเปนฟอนตที่เราทําตรวจสอบระยะชองไฟกั้นหนา-หลังการ ประสมคําตําแหนงสระและวรรณยุกต?วาตรงตําแหนงตามหลักไวยกรณของ ไทยหรือใหมและบันทึกเปนหลักฐานแสดงในรายงานภาษาอังกฤษให ตรวจสอบดูดวยตาเองวาระยะเปนอยางไรแลวไปแกไขในตารางฟอนตและ ทดสอบใหมซํ้าๆจนแนใจวาเปนระยะและตําแหนงที่ถูกตองแลว คํากลอนตรวจสอบแบบตัวอักษรตําแหนงพิมพผสมคําไทย "เปนมนุษยสุดประเสริฐเลิศคุณคากวาบรรดาฝูงสัตวเดรัจฉาน จงฝาฟนพัฒนาวิชาการอยาลางผลาญฤๅเขนฆาบีฑาใคร ไมถือโทษโกรธแชงซัดฮึดฮัดดาหัดอภัยเหมือนกีฬาอัชฌาสัย ปฏิบัติประพฤติกฎกําหนดใจพูดจาใหจะๆจานาฟงเอยฯ"
อางอิง http://typefacesdesign.blogspot.com/ http://thaifont.info/ https://docs.google.com/file/d/0B8AcYO9I_ahUWVptbWhwZ2dCT2 M/edit