Report utcc 11092013

Page 1


คํานํา การประเมิ น คุ ณ ภาพภายในระดั บอุดมศึกษาของมหาวิท ยาลัยหอการคาไทย คณะกรรมการ ประเมินคุณภาพภายในประกอบดวย บุคลากรจากสถาบันอุดมศึกษาภายนอกและภายใน ดังรายนามตอไปนี้ 1. ผูชวยศาสตราจารย พ.ต.ท.ภก. ดร. นภดล ทองนพเนื้อ ประธานกรรมการ 2. รองศาสตราจารย ดร.พนารัตน ปานมณี กรรมการ 3. ดร.อรรณพ โพธิสุข กรรมการ 4. รองศาสตราจารยดวงพร หัชชะวณิช กรรมการ 5. ดร.เอกธิป สุขวารี กรรมการ 6. นางพรจักรี พิริยะกุล เลขานุการ 7. นางสาวศิรินทร มีขอบทอง เลขานุการ 8. นางสาวศศธร ชินชู เลขานุการ 9. นางสาวจารุณี คงเมือง เลขานุการ 10. นายสยาม คาสุวรรณ เลขานุการ 11. นางรัตนิล แปนสุวรรณ เลขานุการ คณะกรรมการประเมินไดดําเนินการตรวจประเมินระหวางวันที่ 30 กรกฎาคม 2556 – 30 สิงหาคม 2556 และคณะกรรมการไดจัดทํารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในฉบับนี้ขึ้นเพื่อสรุปผลที่ คณะกรรมการไดประเมินตามสภาพจริงในชวงปการศึกษา 2555 ที่พบจาก (1) การวิเคราะหรายงานการ ประเมินตนเอง (2) การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูบริหาร คณาจารย และผูเกี่ยวของ (3) การศึกษาเอกสาร หลักฐานตางๆ และ (4) การเยี่ยมชมคณะวิชาและหนวยงานสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้คณะกรรมการ ประเมินโดยใชมุมมองการประเมินใหเหมาะสมกับสภาพความเปนจริงที่คํานึงถึงปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน และอัตลักษณของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีวัตถุประสงค (1) เพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานของ มหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2554 ซึ่งประกอบดวย ตัวบงชี้ของสกอ. 23 ตัว ตัวบงชี้ สมศ. 20 ตัวบงชี้ และมีตัวบงชี้เฉพาะเพิ่มเติม 3 ตัวบงชี้ (2) เพื่อวิเคราะหจุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา ของมหาวิทยาลัย รวมทั้ง ให ข อ เสนอแนะในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการดํ า เนิ น งานของมหาวิ ท ยาลั ย เป น ไปอย า งต อ เนื่ อ งและมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คณะกรรมการประเมิน ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยหอการคาไทยที่ไดอํานวยความสะดวกในการ ตรวจประเมินคุณภาพภายในและ หวังวามหาวิทยาลัยจะไดนําผลการประเมินนี้ไปใชในการรักษาจุดเดน และพัฒนาจุดที่ควรพัฒนา ตามบทบาทหนาที่ของมหาวิทยาลัย จนนําไปสูการพัฒนาในทุกพันธกิจ ตาม ปรัชญา วิสัยทัศน และเปาประสงคของมหาวิทยาลัยตอไป ก รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


สารบัญ คํานํา สารบัญ รายนามคณะกรรมการตรวจประเมินระดับมหาวิทยาลัย 1. บทสรุปสําหรับผูบริหาร ผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินองคประกอบคุณภาพ ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ ตารางที่ ป.5 ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 2. ผลการวิเคราะหจุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และ แนวทางในการพัฒนา องคประกอบที่ 1 ปรัชญา/ ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินงาน องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต องคประกอบที่ 4 การวิจัย องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ องคประกอบที่ 11 การดําเนินงานของมหาวิทยาลัย ภาคผนวก ก ตารางสรุปผลการพิจารณาผลประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. จําแนกตามคณะวิชา และมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 ภาคผนวก ข คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555 กําหนดการตรวจประเมินระดับมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 รายนามผูเขารวมกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับมหาวิทยาลัย บันทึกการตรวจเยี่ยมภาคสนาม/การสัมภาษณ ภาพบรรยากาศการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ข รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

หนา ก ข ค-ง 1-11 1 3 4-7 8 9 10 11 12-24 12-14 15 16 17 18 18-19 19-20 21 22-24 24 25-29 26-29 30-63 31 32-34 35-53 54-61 62-63


รายนามคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย

(ผูชวยศาสตราจารย พ.ต.ท.ภก.ดร.นภดล ทองนพเนื้อ) ประธานกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย

(รองศาสตราจารย ดร.พนารัตน ปานมณี) กรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย

(ดร.อรรณพ โพธิสุข) กรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย

(รองศาสตราจารยดวงพร หัชชะวณิช) กรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย

(ดร.เอกธิป สุขวารี) กรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับมหาวิทยาลัย

ค รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


(นางพรจักรี พิริยะกุล) เลขานุการ

(นางสาวศิรินทร มีขอบทอง) เลขานุการ

(นางสาวศศธร ชินชู) เลขานุการ

(นางสาวจารุณี คงเมือง) เลขานุการ

(นายสยาม คาสุวรรณ) เลขานุการ

ง รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


1. บทสรุปผูบริหาร ผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับสถาบัน พบวา มหาวิทยาลัยมีคะแนนผลการประเมิน ตามตัวบงชี้ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (องคประกอบ 9 ดาน 23 ตัวบงชี้) อยูในระดับ ดีมาก (4.67) ในดานการเปรียบเทียบพัฒนาการโดยใชผลประเมินประกันคุณภาพภายใน ยอนหลัง 5 ป (ปการศึกษา 2551 - 2555) พบวา 1) ผลการประเมินประกันคุณภาพภายใน มีพัฒนาการที่สูงขึ้นจากเดิมในปการศึกษา 2551 รอยละ 81.00 เปนรอยละ 96.60 ในปการศึกษา 2555

2) ผลการพัฒนาศักยภาพของอาจารยโดยพิจารณาจากจํานวนคุณวุฒิอาจารยจะเห็นวาสัดสวน ของอาจารยที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกเพิ่มสูงขึ้นในขณะที่จํานวนอาจารยที่มีคุณวุฒิปริญญาโท และปริญญาตรีลดลง ในขณะที่จํานวนคณาจารยรวมเทาเดิม แสดงใหเห็นวามีการผลักดันให คณาจารยมีปริญญาสูงสุดมากขึ้น

1 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


โดยในดานตําแหนงทางวิชาการของอาจารย พบวามหาวิทยาลัยมีสัดสวนของอาจารยที่ดํารง ตําแหนง ผูชวยศาสตราจารยและรองศาสตราจารยเพิ่มมากขึ้น แตเมื่อเทียบพบวาการเปลี่ยนแปลงการ เพิ่ มขึ้ นของอาจารย จ ากตําแหนง ผูช วยศาสตราจารย มาเปน รองศาสตราจารยยัง ไมมากเทาทีควร มหาวิทยาลัยควรเรงปรับกลยุทธการพัฒนาอาจารยโดยเนนเปนรายบุคคล เพื่อใหมีอาจารยที่ดํารง ตําแหนงระดับรองศาสตราจารยเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งควรเรงพัฒนาใหมีศาสตราจารยเพิ่มขึ้น

3) ผลการพัฒนางานวิจัย พบวามหาวิทยาลัยมีจํานวนงานวิจัยระดับนานาชาติ เพิ่มมากขึ้น

ผลจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของกับมหาวิทยาลัย พบวา 1. นายกสโมสรนักศึกษามีความเห็นวาไดรับการสนับสนุนและสงเสริมดานการจัดกิจกรรมพัฒนา นักศึ กษา และมหาวิ ท ยาลั ยเปดโอกาสใหเ ขามามีสวนรวมในการวางแผนการจัดกิจ กรรม พัฒนานักศึกษา แตอยางไรก็ตามมหาวิทยาลัยควรสนับสนุนและสงเสริมใหคณะกรรมการ สโมสรนักศึกษามีศักยภาพในประเด็นที่สนใจ 2. ศิษยเกามีความเห็นวามหาวิทยาลัยมีการจัดหลักสูตรที่ตอบสนองความตองการของตลาดงาน และเสนอใหมหาวิทยาลัยคํานึงถึงอัตราการไดงานทําของนักศึกษาเนื่องจากในปจจุบันตลาด งานมีการแขงขันสูงและอาจไดรับกระทบจากการเปด AEC 2 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


3. ผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี ในฐานะผูแทนชุมชนรอบขางมหาวิทยาลัยมีความเห็นวา มหาวิทยาลัยผลิตบัณ ฑิตที่มีความสามารถทางธุรกิจ และมีการใหทุนเรียนฟรีพ รอมทั้ง จัด กิจกรรมเสริมทางวิชาการใหเด็กนักเรียนอยางสม่ําเสมอ 4. ผูจัดการหอพัก มีความเห็นวามหาวิทยาลัยใหการสนับสนุนและสงเสริมในดานความปลอดภัย ของนักศึกษาที่อยูประจําหอพัก แตอยางไรก็ตามมหาวิทยาลัยควรใชมาตรการกวดขันในดาน การปองกันยาเสพติด สถานบันเทิง ที่อยูรอบ ๆ มหาวิทยาลัย เพื่อลดความเสี่ยงใหกับนักศึกษา อย างไรก็ ตามมหาวิ ทยาลั ยควรพิจ ารณาถึง ความเชื่อ มโยงของกระบวนการพั ฒ นาแผนที่ ตอบสนองวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัยที่มีเปาประสงคในการมุงขอรับรองมาตรฐาน AACSB โดยมีการ แปลงเปาประสงคเปนแผนงานในการปฏิบัติทั้งในดานบุคลากร การวิจัย การบริการวิชาการ นอกจากนี้ มหาวิ ท ยาลั ย อาจคํ า นึ ง ถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ที่ พึ ง ประสงค ข องมหาวิ ท ยาลั ย อั ต ลั ก ษณ ข อง มหาวิทยาลัยที่เนน Business SMART เพื่อตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผูใชบัณฑิต ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. มหาวิทยาลัยควรนํากรอบการดําเนินการตาม Brand Passion : Learner’s Choice , Leader’s Resource , Country’s Think Tank , ASEAN’s Reference มาพิจารณาอยาง จริงจัง ทั้งในแงของการดําเนินงาน การสอดประสานของคณะวิชาตางๆ การกําหนดตัวชี้วัดที่ สําคัญ และการประเมินผลที่ชัดเจน เพื่อนําไปสูวิสัยทัศนที่ตองการ 2. มหาวิ ท ยาลั ย ควรนํ า สิ น ทรั พ ย ที่ สํ า คั ญ ของมหาวิ ท ยาลั ย ในด า นศิ ษ ย เ ก า มาร ว มพั ฒ นา มหาวิทยาลัย เชน การเชิญศิษยเกาที่ประสบความสําเร็จมาใหความรูกับนักศึกษา เพื่อเปนการ เตรี ยมความพร อมก อนเข าสู ตลาดงาน และเป นการเผยแพร ชื่ อเสี ยงของศิ ษย เก าที่ ประสบ ความสําเร็จ เปนตน 3. มหาวิท ยาลั ยควรสร างบรรยากาศของสถาบันที่ส ะทอนภาพลักษณและบุคลิกในเชิงธุรกิจ เพื่อใหนักศึกษาไดตระหนักถึงวัฒนธรรมการบริหาร การดําเนินธุรกิจ และเกิดความยอมรับของ สังคม ในดานธุรกิจของสถาบัน เพื่อนําไปสูการเปนสถาบันชั้นนําดานธุรกิจ

3 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางที่ ป.1 ผลการประเมินรายตัวบงชีข้ องสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา องค ประกอบ

เปาหมาย

ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย มหาวิทยาลัย ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน )

ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย คณะกรรมการ ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน )

บรรลุ เปาหมาย คะแนน คะแนน = บรรลุ ประเมินโดย ประเมินโดย = ไม มหาวิทยาลัย กรรมการ บรรลุ

องคประกอบที่ 1 1.1 8 ขอ

8 ขอ

8 ขอ

5.00

5.00

สมศ.ที่ 16.1

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

สมศ.ที่ 16.2 4 คะแนน

4.10

4.10

4.10

4.10

สมศ. ที่ 17

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

(5/1)=5.00 (19.10/4) =4.78

(5/1)=5.00 (19.10/4) =4.78

5.00

5.00

5.00

5.00

2.84

2.84

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 3.57

5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 3.57

4.54

4.54

2.71

2.71

5.00

5.00

5 ขอ 5 ขอ

เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 สกอ. เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 สกอ. + สมศ. องคประกอบที่ 2 5 ขอ 2.1 รอยละ 30 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 สมศ. ที่ 1 สมศ. ที่ 2 สมศ. ที่ 3 สมศ. ที่ 4

รอยละ 33.30 7 ขอ 7 ขอ 7 ขอ 5 ขอ 5 ขอ รอยละ 70

5 ขอ 15700 519.50 17300 519.50

214900 3007 3.90 5160.13 คะแนน 1137 รอยละ 10 5325 393 5 คะแนน 350 50

รอยละ 30.22 รอยละ 33.30 7 ขอ 7 ขอ 7 ขอ 5 ขอ 5 ขอ รอยละ 71.47 4.54 รอยละ 13.55 5.00

5 ขอ 15700 519.50 17300 519.50

214900 3007 5160.13 1137 5325 393 350 50

รอยละ 30.22 รอยละ 33.30 7 ขอ 7 ขอ 6 ขอ 5 ขอ 5 ขอ รอยละ 71.47 4.54 รอยละ 13.55 5.00

           

4 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

หมายเหตุ (เชน เหตุผล ของการ ประเมินที่ ตางจากที่ ระบุใน SAR)


องค ประกอบ

เปาหมาย

สมศ.ที่ 14

3.50 คะแนน

ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย มหาวิทยาลัย ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน ) 16.40 2.73 6

ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย คณะกรรมการ ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน ) 16.40 2.73 6

บรรลุ เปาหมาย คะแนน คะแนน = บรรลุ ประเมินโดย ประเมินโดย = ไม มหาวิทยาลัย กรรมการ บรรลุ 

เฉลี่ยองคประกอบที่ 2 สกอ. เฉลี่ยองคประกอบที่ 2 สกอ. + สมศ. องคประกอบที่ 3 3.1 6 ขอ 3.2 6 ขอ องคประกอบที่ 4 4.1 8 ขอ 4.2 5 ขอ 5 คะแนน 4.3 สมศ. ที่ 5 สมศ. ที่ 6 สมศ. ที่ 7

3 คะแนน รอยละ 20 รอยละ 5

7 ขอ 6 ขอ เฉลี่ยองคประกอบที่ 3 สกอ.

7 ขอ 6 ขอ

 

8 ขอ 5 ขอ 4.19

8 ขอ 5 ขอ 4.19

 

33.49 8 30.72 8 7200 519.5 6162 519.5

3.84 รอยละ 13.86 รอยละ 11.86

33.49 8 30.72 8 7200 519.5 6162 519.5

3.84 รอยละ 13.86 รอยละ 11.86

   

เฉลี่ยองคประกอบที่ 4 สกอ เฉลี่ยองคประกอบที่ 4 สกอ + สมศ องคประกอบที่ 5 4 ขอ 5.1 3 ขอ 5.2 สมศ. ที่ 8

รอยละ 30

4500 100

2.74

2.74

(37.84/8) =4.73 (56.40/13) =4.34

(36.84/8) =4.61 (55.40/13) =4.26

5.00 5.00 5.00 5.00 (10/2)=5.00 (10/2)=5.00 5.00 5.00 4.19

5.00 5.00 4.19

3.84

3.84

3.46

3.46

5.00

5.00

(14.19/3) = 4.73 (26.49/6) = 4.42

(14.19/3) = 4.73 (26.49/6) = 4.42

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

5.00

5.00

รอยละ 45

4500 100

รอยละ 45

5 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

หมายเหตุ (เชน เหตุผล ของการ ประเมินที่ ตางจากที่ ระบุใน SAR)


ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย มหาวิทยาลัย ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน ) 5 ขอ

องค ประกอบ

เปาหมาย

สมศ. ที่ 9

5 ขอ

สมศ. ที่ 18.1

5 ขอ

5 ขอ

สมศ. ที่ 18.2

5 ขอ

5 ขอ

ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย คณะกรรมการ ผลลัพธ ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร สัดสวน ) 5 ขอ

บรรลุ เปาหมาย คะแนน คะแนน = บรรลุ ประเมินโดย ประเมินโดย = ไม มหาวิทยาลัย กรรมการ บรรลุ 

5.00

5.00

5 ขอ

5.00

5.00

5 ขอ

5.00

5.00

เฉลี่ยองคประกอบที่ 5 สกอ

(10/2)=5.00 (10/2)=5.00 (30/6) (30/6) =5.00 =5.00

เฉลี่ยองคประกอบที่ 5 สกอ + สมศ องคประกอบที่ 6 6.1 5 ขอ

6 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

สมศ. ที่ 10

5 ขอ

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

สมศ. ที่ 11

5 ขอ

5 ขอ

5 ขอ

5.00 (5/1)=5.00

5.00 (5/1)=5.00

(15/3) = 5.00

(15/3) = 5.00

เฉลี่ยองคประกอบที่ 6 สกอ เฉลี่ยองคประกอบที่ 6 สกอ + สมศ องคประกอบที่ 7 7.1 7 ขอ

7 ขอ

7 ขอ

5.00

5.00

7.2

5 ขอ

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

7.3

5 ขอ

5 ขอ

5 ขอ

5.00

5.00

7.4

6 ขอ

6 ขอ

6 ขอ

5.00

5.00

สมศ. ที่ 12

5 ขอ

5 ขอ

4.96

4.96

สมศ. ที่ 13

4 คะแนน

4.86 คะแนน

4.86

4.86

5 ขอ 4.86 คะแนน เฉลี่ยองคประกอบที่ 7 สกอ.

(20/4)=5.00 (20/4)=5.00 (29.82/6) (29.82/6) =4.97 =4.97

เฉลี่ยองคประกอบที่ 7 สกอ. + สมศ. องคประกอบที่ 8 8.1 6 ขอ

7 ขอ

7 ขอ

เฉลี่ยองคประกอบที่ 8 สกอ. องคประกอบที่ 9 9.1 9 ขอ

9 ขอ

9 ขอ

6 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

5.00

5.00

(5/1)=5.00

(5/1)=5.00

5.00

5.00

หมายเหตุ (เชน เหตุผล ของการ ประเมินที่ ตางจากที่ ระบุใน SAR)


องค ประกอบ

สมศ. ที่ 15

ผลการดําเนินงาน ผลการดําเนินงาน ประเมินโดย ประเมินโดย มหาวิทยาลัย คณะกรรมการ เปาหมาย ผลลัพธ ผลลัพธ ตัวตั้ง ตัวตั้ง (% หรือ ตัวหาร (% หรือ ตัวหาร สัดสวน ) สัดสวน ) 4.51 4.90 4.83 คะแนน คะแนน คะแนน เฉลี่ยองคประกอบที่ 9 สกอ. เฉลี่ยองคประกอบที่ 9 สกอ. + สมศ.

บรรลุ เปาหมาย คะแนน คะแนน = บรรลุ ประเมินโดย ประเมินโดย = ไม มหาวิทยาลัย กรรมการ บรรลุ 

เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 – 9 สกอ.+ สมศ. 185.029 ลานบาท 116 งาน 2096 ครั้ง

185.029 ลานบาท 116 งาน 2096 ครั้ง

4.84

(5/1)=5.00 (5/1)=5.00 (9.90/2) (9.84/2) =4.95 =4.92 (112.03/23) (111.03/23) =4.87 =4.83 201.71/43 200.65/43 = 4.69 = 4.67

เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 – 9 สกอ.

องคประกอบที่ 11 11.3 ≥ 63 ลานบาท 11.4 ≥ 50 งาน 11.5 ≥ 1000 ครั้ง

4.90

5.00

5.00

 

5.00 5.00

5.00 5.00

เฉลี่ยองคประกอบที่ 11 เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 - 11 สกอ.+สมศ.

7 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

(5/3) (5/3) = 5.00 = 5.00 (216.71/46) (215.65/46) = 4.71 = 4.69

หมายเหตุ (เชน เหตุผล ของการ ประเมินที่ ตางจากที่ ระบุใน SAR)


ตารางที่ ป.2 ผลการประเมินองคประกอบคุณภาพ องคประกอบ

I

คะแนนการประเมินเฉลี่ย P O 5.00 4.70

ผลการ ประเมิน

รวม 4.78

ระดับดีมาก

องคประกอบที่ 1

-

องคประกอบที่ 2

4.28

4.75

3.93

4.26

ระดับดี

องคประกอบที่ 3

-

5.00

-

5.00

ระดับดีมาก

4.19 -

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

4.10 5.00 5.00 4.91 4.84

4.42 5.00 5.00 4.97 5.00 4.92

ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดีมาก ระดับดีมาก ระดับดีมาก ระดับดีมาก

4.26

4.94

4.50

4.67

ระดับดีมาก

ระดับดี

ระดับดีมาก

ระดับดี

ระดับดีมาก

องคประกอบที่ 4 องคประกอบที่ 5 องคประกอบที่ 6 องคประกอบที่ 7 องคประกอบที่ 8 องคประกอบที่ 9 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ ของทุกองคประกอบ ผลการประเมิน

จากตาราง ที่ ป.2 ผลการประเมินองคประกอบคุณภาพ พบวา องคประกอบที่ 1 ดานกระบวนการ อยูในระดับดีมาก และผลผลิตในระดับดีมาก องคประกอบที่ 2 ดานปจจัยนําเขาอยูในระดับดี กระบวนการ อยูในระดับดีมาก และผลผลิตในระดับดี องคประกอบที่ 3 ดานกระบวนการอยูในระดับดีมาก องคประกอบ ที่ 4 ดานปจจัยนําเขาอยูในระดับดี กระบวนการระดับดีมากและผลผลิตในระดับดี องคประกอบที่ 5 ดาน กระบวนการอยูในระดับดีมาก และผลผลิตในระดับดีมาก องคประกอบที่ 6 ดานกระบวนการอยูในระดับดี มาก และผลผลิตในระดับดีมาก องคประกอบที่ 7ดานกระบวนการอยูในระดับดีมาก และผลผลิตในระดับ ดีมาก องคประกอบที่ 8 ดานกระบวนการอยูในระดับดีมาก และ องคประกอบที่ 9 ดานกระบวนการอยูใน ระดับดีมาก และผลผลิตในระดับดีมาก ซึ่งทั้ง 9 องคประกอบพบวามีผลการดําเนินงานในดานปจจัยนําเขา ระดับดี กระบวนการระดับดีมาก และผลผลิตระดับดี ภาพรวมทั้งหมดจึงมีการดําเนินงานอยูในระดับดีมาก

8 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย มาตรฐานอุดมศึกษา I P O มาตรฐานที่ 1 4.16 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 2 ก มาตรฐานที่ 2 ข มาตรฐานที่ 3 เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุก มาตรฐาน ผลการประเมิน

ผลการประเมิน

รวม 4.16

ระดับดี

-

5.00

4.91

4.98

ระดับดีมาก

4.26 -

4.89 5.00

4.73 4.10

4.71 4.46

ระดับดีมาก ระดับดี

4.26

4.94

4.50

4.67

ระดับดีมาก

ระดับดี ระดับดีมาก ระดับดี

ระดับดีมาก

จากตารางที่ ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พบวา มาตรฐานที่ 1 ดาน คุณ ภาพบัณ ฑิต มีผ ลการดําเนินงานดานผลผลิตในระดับดี มาตรฐานที่ 2 ดานการบริห ารจัดการ อุดมศึกษา ดานธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษานั้น พบวา มีกระบวนการในระดับดีมาก และ มีผลผลิตอยูในระดับดีมาก มาตรฐานดานพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา พบวามีปจจัยนําเขา ในระดับดี มีกระบวนการในระดับดีมาก และมีผลผลิตอยูในระดับดีมาก มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานดาน การสรางและพัฒนาสังคมฐานความรูและสังคมแหงการเรียนรู พบวา มีกระบวนการในระดับดีมาก และมีผลผลิตอยูในระดับดี ซึ่งทั้ง 3 มาตรฐานพบวามีผลการดําเนินงานในดานปจจัยนําเขาระดับดี กระบวนการระดับดีมาก และผลผลิตระดับดี ภาพรวมทั้งหมดจึงมีการดําเนินงานอยูในระดับดีมาก

9 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ มุมมองดานการบริหารจัดการ 1. ดานนักศึกษาและผูมีสวนไดเสีย

I

คะแนนการประเมินเฉลี่ย P O รวม

ผลการ ประเมิน

-

4.94

4.48

4.63

ระดับดีมาก

2. ดานกระบวนการภายใน

5.00

5.00

4.95

4.98

ระดับดีมาก

3. ดานการเงิน

4.19

5.00

-

4.60

ระดับดีมาก

4. ดานบุคลากรการเรียนรูและนวัตกรรม

3.92

5.00

3.76

4.11

ระดับดี

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมุมมอง

4.26

4.94

4.50

4.67

ระดับดีมาก

ผลการประเมิน

ระดับดี ระดับดีมาก

ระดับดี ระดับดีมาก

จากตารางที่ ป.4 ผลการประเมินตามมุมมองดานการบริหารจัดการ พบวา ดานนักศึกษาและ ผูมีสวนไดสวนเสีย มีผลการดําเนินงานดานกระบวนการอยูในระดับดีมาก และผลผลิตในระดับดี ดาน กระบวนการภายใน พบวาดานปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิตอยูในระดับดีมาก ดานการเงิน พบว าด านป จ จั ยนํ าเข าอยู ใ นระดั บดี กระบวนการ อยูใ นระดับดีม าก ดานบุคลากรการเรียนรูและ นวัตกรรม พบวาดานปจจัยนําเขา อยูในระดับดี ดานกระบวนการ อยูในระดับดีมาก และผลผลิตอยูใน ระดับดี ซึ่งทั้ง 4 ดาน พบวามีผลการดําเนินงานในดานปจจัยนําเขาระดับดี กระบวนการระดับดีมาก และผลผลิตระดับดี ภาพรวมทั้งหมดจึงมีการดําเนินงานอยูในระดับดีมาก

10 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางที่ ป.5 ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา คะแนนการประเมินเฉลี่ย I

P

O

รวม

ผลการ ประเมิน

(1) ดานกายภาพ

5.00

-

-

5.00

ระดับดีมาก

(2) ดานวิชาการ

3.92

4.67

2.74

4.10

ระดับดี

-

5.00

-

5.00

ระดับดีมาก

-

5.00

4.93

4.56

ระดับดีมาก

4.28

4.90

4.57

4.70

ระดับดีมาก

-

5.00

4.16

4.48

ระดับดี

4.19

5.00

4.10

4.42

ระดับดี

(3) ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคม

-

5.00

5.00

5.00

ระดับดีมาก

(4) ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม

-

5.00

5.00

5.00

ระดับดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 2

4.19

5.00

4.47

4.65

ระดับดีมาก

เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของทุกมาตรฐาน ผลการประเมิน

4.26

4.94

4.50

4.67

ระดับดีมาก

ระดับดี

ระดับดีมาก

ระดับดี

ระดับดีมาก

มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา 1. มาตรฐานดานศักยภาพและความพรอม ในการจัดการศึกษา

(3) ดานการเงิน (4) ดานการบริหารจัดการ เฉลี่ยรวมทุกตัวบงชี้ของมาตรฐานที่ 1 2. มาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา (1) ดานการผลิตบัณฑิต (2) ดานการวิจัย

จากตารางที่ ป.5 ผลการประเมินตามมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา พบวา มาตรฐานดานศักยภาพ และความพรอมในการจัดการศึกษา ดานกายภาพ มีผลการดําเนินงานดานปจจัยนําเขาในระดับดีมาก ดานวิชาการ มีผลการดําเนินงานดานปจจัยนําเขาในระดับดี กระบวนการอยูในระดับดีมาก และผลผลิตอยู ในระดั บพอใช ด านการเงิน มีกระบวนการอยูในระดับดีมาก ดานการบริหารจัดการ มีกระบวนการและ ผลผลิตในระดับดีมาก และมาตรฐานดานการดําเนินการตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา ดานการผลิต บัณฑิต มีกระบวนการอยู ในระดับดีมาก และมีผลผลิตอยูในระดับดี ดานการวิจัย มีปจจัยนําเขาอยูใน ระดับดี กระบวนการอยูในระดับดีมาก และผลผลิตอยูในระดับดี ดานการใหบริการทางวิชาการแกสังคม มีกระบวนการและผลผลิตอยูในระดับดีมาก ดานการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม กระบวนการและ ผลผลิตอยูในระดั บดี มาก ซึ่งพบว าทั้ง 2 มาตรฐานนั้นมีผลการดําเนินงานดานปจจัยนําเขาในระดับดี ดานกระบวนการในระดับดีมาก และดานผลผลิตในระดับดี ภาพรวมจึงอยูในระดับดีมาก 11 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


2. ผลการวิเคราะหจุดแข็ง แนวทางเสริม จุดที่ควรพัฒนา และ แนวทางในการพัฒนา องคประกอบที่ 1 ปรัชญา/ ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินงาน จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. มหาวิ ทยาลั ยหอการค าไทย กํ าหนดปรั ชญา 1. แมวาคณะวิชา และหนวยงานภายในตาง ๆ ของ ปณิ ธาน และวิ สั ยทั ศน ที่ ชั ดเจน สอดคล องกั บ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย จะมีสวนรวมในการทํา คุ ณค าเดิ มของมหาวิ ทยาลั ยและจุดเน นในด าน แผนกลยุทธและการทําแผนปฏิบัติการสอดคลอง การคาและเศรษฐกิจ ตามพระราชบัญญัติของ กับ 9 กลยุทธ แตควรจัดทําแผนระยะยาวและแผน หอการคา (พ.ศ. 2509) และสอดคลองกับมาตรฐาน ระยะสั้นใหตอบสนองจุดเนนของมหาวิทยาลัยทั้ง การศึกษาและแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ และ ในลักษณะการทําใหนักศึกษาไดรับประสบการณ สังคมของประเทศ นํ าไปประกอบวิ ชาชี พจนประสบความสํ าเร็ จใน ชีวิต และในการตอบสนอง Brand Passion ทั้งนี้ แผนระยะสั้นตาง ๆ ควรกําหนดตัวชี้วัดสัมฤทธิ์ผล ที่ชัดเจน เปนรู ปธรรม เนนใหสามารถประเมิ น ความสําเร็จทั้งในระดับหนวยงานยอย และเอื้อตอ การประเมินความสําเร็จของทั้งมหาวิทยาลัย 2. มหาวิทยาลัยหอการคาไทย กําหนดยุทธศาสตร 2. เนื่ องด วยอั ตรากํ าลั งความสามารถและขวั ญ และกลยุทธรองรับโดยการมีสวนรวมของคณะวิชา กําลังใจของบุคลากรในทุกระดับ มีความสําคัญตอ และหนวยงานตาง ๆ โดยมี 9 กลยุทธ หลักในการ การบรรลุวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย ดังนั้น จึงควร ผลักดันการพัฒนาไปสูจุดเนนในการเปนสถาบันที่ มี การวางแผนบุ คลากรให ครบถ วนสมบู รณ และ เปดสอนวิชาเกี่ยวกับธุรกิจ เพื่อใหนักศึกษาไดรับ เหมาะสมกับพันธกิจ ประสบการณ นํ าไปประกอบวิ ชาชี พจนประสบ ความสําเร็จในชีวิตของตนเองและเปนประโยชนตอ ประเทศ หรือทําใหเกิด Business SMART 3. เพื่ อผลักดั นไปสู ความเป นสถาบั นชั้นนําดาน ธุรกิจในเอเชีย มหาวิทยาลัยหอการคาไทยกําหนด Brand Passion 4 ประการ เป นเข็ มมุง ซึ่ง ครอบคลุ มความเข มแข็งและเป นเลิศในดานการ ตอบสนองผู เรี ยน การสร างผู นํ าด านวิ ชาการ การเป น พลั ง ความคิ ด ของประเทศและสั ง คม ตลอดจนการเปนผูกําหนดมาตรฐาน หรือดรรชนี อางอิงของASEAN 12 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


โอกาสในการพัฒนา 1. เนื่องจากการกํ าหนดตัวชี้วัดความสําเร็จของ แผนกลยุทธของหลายคณะวิชายังมีลักษณะที่เปน ปริมาณของผูเขารวมกิจกรรมหรือความพึงพอใจ แต มั ก ขาดตั ว วั ด ค า หรื อ ตั ว บ ง ชี้ โ ดยตรงของ คุณสมบัติหรือการพัฒนา ที่ตองการใหเกิดขึ้น จึง ทําใหการประเมินผลของแผนตาง ๆ ไมเอื้อตอการ นําผลการประเมินไปปรับปรุง แผนปฏิบัติการอยาง เปนรูปธรรมและมีความสมเหตุสมผล ดังนั้นจึงควร กํ าหนดตั วชี้ วั ดความสํ าเร็ จที่ เหมาะสมเพิ่ มเติ ม รวมถึงอาจจะกําหนดตัวชี้วัดในระหวางกระบวนการ (process) เพื่อใหสามารถประเมินผล วิเคราะห ทบทวน และการปรับปรุงแผนปฏิบัติการตาง ๆ ไดดี 2. แมวาจะมีการเนนความเปนเลิศหรือสถาบันชั้น นําใน Brand Passion 4 ประการ แตยังขาดการ ตั้งเปาหมายหรือวัตถุประสงคหรือขอบเขตที่ชัดเจน เพื่อใหสามารถกําหนดแนวทางการผลักดันของทั้ง มหาวิ ทยาลัยอย างชัดเจน รวมถึงการกําหนด แผนงานที่เหมาะสม เพื่อผลักดันใหมุงสูความเปน เลิศของการเปนสถาบันชั้นนําได 3. แมวามหาวิทยาลัยจะมีการตั้งเปาหมายในการ พัฒนาศักยภาพทางวิชาการของมหาวิทยาลัยใน ระดับสากล เปนศูนยกลางการประสานงานและ บริ ก ารด า นวิ เ ทศสั ม พั น ธ แ ละการมี ห ลั ก สู ต ร นานาชาติ แบบครบวงจร แต ยั งขาดการกํ าหนด เปาประสงค และแนวทางกลยุทธรองรับที่ชัดเจน เพื่อใหการตั้งเปาหมายนั้นประสบความสําเร็จตาม กรอบเวลาของวิสัยทัศนที่กําหนดไว

แนวทางในการปรับปรุง 1. ควรกําหนดคุณสมบัติอันพึงประสงคที่ชัดเจน ของแผนงานหรือแผนปฏิบัติการในคณะตาง ๆ ที่ สอดคลองกับกลยุทธและจุดเนนของมหาวิทยาลัย เพื่อใหสามารถประเมิน ผลไดตรงประเด็น และ นํามาวิเคราะหทบทวนและปรับปรุงแผนงานและ แผนปฏิบัติการ

2.ควรกํ า หนดเป า หมาย วั ต ถุ ป ระสงค และ แนวทางผลักดัน รวมถึงบทบาทและจุดเนนของ แตละคณะวิชา เพื่อใหเกิดความสามารถในการ ทําความเขาใจตรงกัน สื่อสาร และการรวมพลัง ไดอยางเปนรูปธรรม

3. ควรดําเนินการกําหนดเปาประสงค และแนวทาง กลยุทธรองรับที่ชัดเจน เชน การดําเนินงานผาน ฝายวางแผนและพัฒนา วิทยาลัยนานาชาติ และ คณะวิชาที่เกี่ยวของ หรือโดยการมีสวนรวมของ ทั้ง 3 ฝาย

13 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) 1 . พ บ แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ใ น ก า ร จั ด ทํ า แ ผ น ยุทธศาสตรและแผนกลยุทธที่ดี ในการนําไปสู การปฏิ บั ติ แ ละพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย อย า งมี ประสิทธิผล นอกจากการดําเนินการที่สําคัญๆ ตามขั้ น ตอนที่ ร ะบุ ใ นรายงานผลการตรวจ ประเมิ น คุ ณ ภาพภายในประจํ า ป ก ารศึ ก ษา 2554 ยังมีการสอดประสานเชื่อมโยงจุดเนนและ แนวปฏิบัติที่ ดีระหวางสภามหาวิทยาลัย กับ มหาวิ ทยาลั ยและระดั บคณะวิช า จึ งทําใหเ กิด แนวคิ ด โครงการ และองค กรใหม ๆอยูเสมอ เพื่ อ ผลั ก ดั น และเสริ ม ให ยุ ท ธศาสตร ดั ง กล า ว ประสบความสําเร็จ รวมถึงมีแนวปฏิบัติที่ดีใน การจัดทําแผนยุทธศาสตรระดับคณะวิชา เชน แ ผ น ง า น แ ล ะ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ข อ ง ค ณ ะ มนุษยศาสตร

นวัตกรรม (ถามี) 1. นอกจากแนวปฏิบัติที่ ในระดับมหาวิทยาลัย และคณะมนุษยศาสตรแลว ยังพบวาแนวทาง หรื อวิ ธีก ารทํา แผนกลยุท ธแ ละแผนปฏิบั ติก าร ของคณะมนุษยศาสตรใ น 4 ปที่ผ านมาเป น รูปแบบของการทําแผนงานที่มีลักษณะโดดเดน แตกตางจากแผนงานทั่วไป มีการจัดทําแผน ภายใตหลักการของการนําคุณคาโบราณผสมกับ แนวคิดทฤษฎีแผนสมัยใหม รูปลักษณและชื่อ แผนโครงการดึงดูดความสนใจ กําหนดรายละเอียด ที่ครอบคลุมสาระสําคัญของการปฏิบัติ กําหนด ผูรั บผิ ดชอบโดยมีส าระและวิธี การที่ ดี ให มี การ ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการไดดี การจัดทํ า แผนปฏิบัติการในแตละปใหสอดคลองกับจุดเนน สถานภาพและสถานการณของคณะและพบวา แผนงานและแผนปฏิบัติการดังกลาวสามารถทํา ให เ กิ ด ความก า วหน า ของคณะมนุ ษ ยศาสตร อยางมาก ดังนั้นแผนปฏิบัติการชุด”ปญญานุ ภาพ ลุงโงยายภูเขา โจนาธานลิฟวิงสตัน และรู เขารู เ รา” ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ บริ บ ทของนั ก มนุษยศาสตรจึงถือไดวาเปนนวัตกรรมในการทํา แผนงานและแผนปฏิบัติการที่ดีได ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) -

14 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. มีหลักสูตรที่สรางองคความรูทางดานธุรกิจที่ 1. ควรมี ก ลยุ ท ธ ใ นการขั บ เคลื่ อ นหลั ก สู ต รให หลากหลายมิติอยูในหลายคณะวิชาที่สอดรับกับ เขาถึงกลุมนักศึกษา เพื่อประโยชนในการวางแผน วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย การศึ ก ษารายบุ ค คลให บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค ต าม คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค 2. เปนมหาวิทยาลัยเอกชนที่มีศักยภาพ มีความ 2.ควรมีการวางแผนการใชทรัพยากรบุคคล เพื่อให พร อ มในการจั ดการเรี ย นการสอนในระดั บ สู ง มีประสิทธิภาพเกิดความสมดุลในการทํางานตาม โดยมีจํานวนอาจารยประจําที่มีคุณวุฒิปริญญา วงจรชีวิตของการทํางาน เอกเปนไปตามเกณฑของ สกอ. โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง 1. การประเมินคุณภาพระดับหลักสูตรยังมีความ 1. ควรหามาตรการในการประเมินคุณภาพของ ไม ส มบูร ณ ใ นการตอบโจทย เ กี่ ย วกั บคุ ณ ภาพ บัณฑิตตามคุณลักษณะที่พึงประสงค เพื่อนําไปสู ของบัณฑิตตามคุณลักษณะที่พึงประสงค การปรับปรุงที่เกี่ยวกับปจจัยการผลิต กระบวนการ และผลลัพธได 2. รอยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทําหรือ 2. ควรมี ง านวิ จั ย เพื่ อ วิ เ คราะห ป ญ หาและหา ประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป บางคณะยัง วิธีการสงเสริมใหนักศึกษาไดงานทําในคณะวิชาที่ ต่ํากวาคาเฉลี่ยของมหาวิทยาลัย รอยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ไดงานทํายังอยูใน ระดับต่ํา วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) รอยละของอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการในภาพรวม มีจํานวนเพิ่มมากขึ้นกวาปการศึกษา 2554 คือ จากปการศึกษา 2554 รอยละของอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการในภาพรวมเทากับ 32.8 และในปการศึกษา 2555 รอยละของอาจารยที่ดํารงตําแหนงทางวิชาการในภาพรวม 33.20 ซึ่ง ในขณะเดียวกันมีบางคณะวิชาที่มีอัตรารอยละลดลง ดังนั้นคณะวิชาจึงควรมีการวางแผนเพื่อดํารง ระดับอัตรารอยละใหคงไวหรือเพิ่มมากขึ้น

15 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิต จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. มี ร ะบบและกลไกการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาที่ มี 1 . ค ว ร มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ต า ม ประสิ ทธิ ภาพโดยมี ก ารประสานความร ว มมื อ วัตถุประสงคของแผนการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ ระหวางฝายกิจการนักศึกษาและคณะวิชา ผาน เชื่อมโยงกับคุณลักษณของบัณฑิตที่พึงประสงค แผนพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา โครงการ กิ จ กรรมการ และอัตลักษณของสถาบัน (Business SMART) พัฒนานักศึกษาที่ครอบคลุม 5 ดานและเปนไป ตามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษา แหงชาติ 2. มี ก ารประเมิ น ความสํ า เร็ จ ของการจั ด โครงการ/กิจกรรม การพัฒนานักศึกษา และ นํ า ไปปรั บ ปรุ ง การจั ดโครงการ/กิ จ กรรมในป การศึกษาถัดไปอยางเปนระบบ โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง 1. ถึ ง แม จ ะมี โ ครงการ/กิ จ กรรมการพั ฒ นา นั ก ศึ ก ษาอย างต อเนื่ อง แต ใ นด านการพั ฒนา ทักษะ ในความสัมพันธระหวางบุคคลและความ รับผิดชอบ (เชนการสงเสริมความอดทน ความมี สัมมาคารวะ และความรับผิดชอบ เปนตน) ยัง ไมสงผลสะทอนที่ชัดเจนมากนัก 2. เนื่ อ งด ว ยสภาพเศรษฐกิ จ และสั ง คมที่ เปลี่ยนแปลงในปจจุบัน ซึ่งมีผลตอสภาพความ ปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสินของนักศึกษาทั้ง ภายในและภายนอก แตยังไมพบการจัดการดาน ความปลอดภัยอยางเปนระบบ ซึ่งทําใหแนใจได ว า นั ก ศึ ก ษาได รั บ บริ ก ารการคุ ม ครองความ ปลอดภัยอยางดี วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) 16 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 4 การวิจัย จุดแข็ง 1. มีการปรั บระบบและกลไกในการสนั บ สนุ น การทํ า วิ จั ย พร อ มทั้ ง มี ก ารเพิ่ ม งบประมาณ สนับสนุนการตีพิมพเผยแพรงานวิจัยใหมากขึ้น 2. มีหนวยงานที่รับผิดชอบในการผลิตงานวิจัยที่ ชี้นําสังคมเพิ่มขึ้น

แนวทางเสริม 1. ควรมีแผนงานวิจัยที่สนับสนุนทิศทางวิชาการ ซึ่งจะมุงสูความเปนผูนํา

2. ควรสนั บ สนุ น ให ค ณาจารย ไ ด แ ลกเปลี่ ย น ผลงานทางวิ ช าการและเผยแพร ผ า นช อ งทาง ตางๆ โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง 1. อาจารยที่มีผลงานตีพิมพในระดับนานาชาติ 1. ควรวิ เคราะห กลยุ ทธ ที่ ใช ในการส งเสริ มการ ยังมีจํานวนเพิ่มขึ้นไมมากพอเมื่อเทียบกับสถาบัน ตีพิมพในวารสารนานาชาติเพื่อนํามาปรับปรุงให สอดคล องกั บป ญหาและอุ ปสรรคในการจั ดทํ า การศึกษาชั้นนําในภูมิภาคอาเซียน ผลงานของอาจารย 2. ควรมี การกําหนดกรอบวิจั ย ประเด็ นหรือองค ความรู แ ละทิ ศ ทางวิ ชาการที่ ต อ งการของ มหาวิทยาลัยใหชัดเจน ซึ่งจะทําใหไดผลงานวิจัยที่ มีพลังในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไปสูวิสัยทัศน ที่กําหนด วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) -

ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) -

17 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแกสังคม จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. หนวยงานที่เปนแหลงบริการวิชาการซึ่งเปนที่ 1. ควรมีระบบจัดเก็บองคความรูที่ไ ดจ ากการ ยอมรั บในระดั บชาติ แ ละนานาชาติ มี ผ ลงานที่ ใหบริการวิชาการใหเปนระบบ เพื่อประโยชนใน สรางคุณคาทางวิชาการและไดรับการยอมรับใน การอ างอิ ง และเป นแหลงค นควาที่สํ าคัญยิ่งต อ ดานการชี้นําเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื่อง การเรียนรูและบูรณาการกับการเรียนการสอนและ งานวิจัย 2. มีการจัดตั้งหนวยงานเพื่อใหบริการวิชาการ 2. ควรมีระบบในการนําองคความรูที่ไดจากการ และผลิ ต ผลงานวิ ช าการที่ ชี้ นํ า เศรษฐกิ จ และ ใหบริ การวิช าการมาใช ในการเรียนการสอนให สังคมเพิ่มขึ้น เชน AEC Strategy Center ศูนย ได รั บ ประสบการณ ซึ่ ง จะเอื้ อ ในการประกอบ Family Business ศูนยวิจัยทองคํา วิชาชีพตอไป โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. มี ระบบและกลไกการทํ านุ บํ ารุ งศิ ลปะและ 1. เนื่ อ งจากแผนการทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยมี วัฒนธรรมมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักศึกษาเกิดความ การปลูกฝงคุ ณธรรม จริยธรรมใหกับนักศึกษา ภูมิใจในความเปนไทย สถาบันควรกําหนดตัวชี้วัด ทุกชั้นป ผานโครงการคายคุณธรรมจริยธรรม หรือวิธีการวัดผลที่แสดงถึงวัตถุประสงคดังกลาว คายลูกแมไทรจิตใจงาม โครงการอบรมวิปสสนา กรรมฐาน เปนตน 2. ควรสรางความเขาใจในประเด็นการบูรณาการ และสรางแนวปฏิบัติหรือขั้นตอนในการดําเนินงาน เพื่ อให ทุ กคณะวิ ชาสามารถดํ าเนิ นการได อย าง ครบถวนสมบูรณ 18 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


โอกาสในการพัฒนา 1. ขาดความชัดเจนในการสรางสรรคและสงเสริม ภู มิ ป ญญาท องถิ่ นในการเป นรากฐานขององค ความรู ด านศิ ลปะและวั ฒนธรรมที่ เชื่ อมโยงกั บ วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย

แนวทางในการปรับปรุง 1. ควรสร างความชั ดเจนในการสร างสรรค และ สงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น ในการเปนรากฐานของ องคความรูดานศิลปะและวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับ วิสัยทัศน โดยอาจเนนที่การสรางวัฒนธรรมโดย อางอิงวัฒนธรรมจากอดีต วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) -

องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดแข็ง 1. สภามหาวิทยาลัย เปนองคกรที่ประกอบดวย กรรมการผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ ชํานาญ ทางดานธุ รกิจอยางมาก สามารถให ขอคิดเห็น ข อเสนอแนะที่ เป นประโยชน อย างมากต อการ บริ หารจั ดการของผู บริ หารมหาวิ ทยาลั ยในการ บรรลุเปาหมาย/วิสัยทัศน ที่จะเปนมหาวิทยาลัย ชั้นนํา ดานธุรกิจ(ในภูมิภาคอาเซียน ป 2558 และ ภูมิภาคเอเชีย ป 2568) 2. สภามหาวิทยาลัยไดใหความสําคัญกับผูบริหาร คณาจารย โดยเฉพาะอาจารยปริญญาเอกรุนใหม ในการเพิ่มศักยภาพและมุมมองดานธุรกิจ รวมทั้ง ผูบริหารมหาวิทยาลั ยมี นโยบาย/แนวทางในการ บริหารจัดการมหาวิทยาลัยที่มุงประโยชนผูที่มีสวน เกี่ยวของตาง ๆไดเปนอยางดี 3. สภามหาวิ ทยาลัยและผูบริ หารมหาวิ ทยาลั ย มี การบริ หารจั ดการมหาวิ ทยาลั ยในเชิ งรุ กมาก ดังเห็นไดจากโครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ ที่สงเสริม สนับสนุนพันธกิจ / ภารกิจของมหาวิทยาลัย

แนวทางเสริม 1. การประเมิ นตนเองตามหลั กเกณฑ ที่ กํ าหนด ลวงหนา ควรมีลักษณะที่อธิบายถึงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการมีสวนรวมปฏิบัติงานในหนาที่ และมีบทบาท แทนระดับความคิดเห็นเพื่อนําเอา มาทบทวนและปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อนําไปสู การบรรลุตามวิสัยทัศน/พันธกิจของมหาวิทยาลัย

2. การประเมินตนเองควรตองดําเนินงานตามกรอบ ที่ เ ป น มาตรฐานเดี ย วกั น เพื่ อ การพั ฒ นา เปรี ยบเที ยบภาวะผู นํ าของผู บ ริ ห ารในองค ก ร ในระดับตางๆ และปรับปรุงนําไปสูจุดรวมของการ มีวิสัยทัศน พันธกิจของมหาวิทยาลัยรวมกัน 3. การจัดการความรูเพื่ อใหเปนสถาบันแห งการ เรียนรู ควรเพิ่มเติมและกําหนดสวนขององคความรู ที่จะเปนประโยชนสนับสนุนการเปนมหาวิทยาลัย ชั้ นนํ าทางธุ รกิ จรวมอยู ด วยและให เกิ ดเป นแนว

19 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


จุดแข็ง

แนวทางเสริม ปฏิ บั ติ ที่ ดี ต อการปฏิ บั ติ งาน ทั้ งภายในและ ภายนอกมหาวิทยาลัย 4. หนวยงานตาง ๆ ในระดับคณะวิชา/ฝาย มีความ 4. ในการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ยงที่ เ กี่ ยวข อ ง เขาใจในกระบวนการ การจัดการองคความรู และ สัมพันธกับรายไดของมหาวิทยาลัย เชน ความ เสี่ ยงที่ เกิ ดจากการลดจํ านวนนั กศึ กษา ในแผน เผยแพรสูสาธารณชน กลยุทธทางการเงิน การกําหนดกลยุทธการเงินที่ หารายไดจากการเรียนการสอน ซึ่งตั้งเปาหมายไวที่ 95.5% ของรายรับทั้งหมดนั้น ควรมีแผนความเสี่ยง ที่ตองเพิ่มจํานวนนักศึกษาใหมากขึ้น ซึ่งถือไดวา เปนวิธีการที่ดี แตมหาวิทยาลัยควรตองพิจารณา กลยุทธ/แนวทางในการเพิ่มรายรับดานอื่นๆ ที่ควร จะเพิ่มมากขึ้นดวย เชน การพัฒนาทางการจัดการ เรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาใหมากขึ้นจาก เดิมและ/หรือโครงการอื่นที่มีความตอเนื่องยั่งยืนใน เรื่องของรายไดมากขึ้น 5. มหาวิ ท ยาลั ย มี ก ารพั ฒ นาด า นเทคโนโลยี สารสนเทศและคอมพิ วเตอร ที่ ต อบสนองการ บริหารดานการเรียนการสอน ดานการบริหารงาน มหาวิ ท ยาลั ย ด า นการวิ จั ย และอื่ น ๆ อย า ง เหมาะสมมาก และสนับสุนความเปนเลิศทางดาน เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารตาม เปาหมายของมหาวิทยาลัย 6. มหาวิ ทยาลั ยมี การบริ หารจั ดการความเสี่ ยง ด า นต า งๆ อย า งเป น ระบบและมี ก ารติ ด ตาม ประเมินผลการจัดการความเสี่ยงเพื่อลด/ควบคุม ระดับความเสี่ยงใหนอยลง โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) 20 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จุดแข็ง แนวทางเสริม 1.มี แ ผนกลยุ ท ธ ท างการเงิ น ที่ มี ก ารวิ เ คราะห 1. มหาวิทยาลัยควรสง เสริมสนับสนุนใหคณะ ข อ มู ล อย า งละเอี ย ด นํ า ไปสู ก ารจั ด ทํ า แผน หนวยงานตางๆ ไดดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธ งบประมาณและการเงินอยางชัดเจน ทางการเงิน โดยมีการวิเคราะหขอมูลจากทั้งใน อดี ต และการพยากรณ ใ นอนาคต เพื่ อ ให ก าร บริหารจัดการของหนวยงานมีความมั่นคงในดาน การเงิ น งบประมาณและสอดคล อ งกั บ แผน กลยุทธทางการเงินในระดับมหาวิทยาลัย 2. การติ ด ตามและทบทวนแผนการใช จ า ย งบประมาณมี การดํ าเนิ นการเป นระบบและใช เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเครื่องมือที่ชวยใหระบบ การเงินและบัญชีตลอดจนระบบอื่นที่เกี่ยวของมี ความถูกตองและสามารถนําขอมูลจากระบบมา ใชในการตัดสินใจ 3. หน วยงานและบุ คลากรของมหาวิ ทยาลัย มี ความเขาใจในการดํ าเนิน งานดานการเงินเปน อยางดีทั้งนี้เนื่องจากมหาวิทยาลัยและหนวยงาน ที่ เ กี่ ย วข องทางด านการเงิ น งบประมาณมีการ ถายทอดความรูดานนี้อยางสม่ําเสมอ โอกาสในการพัฒนา แนวทางในการปรับปรุง 1. มหาวิทยาลัยมีแผนกลยุทธทางการเงินที่ดี แต 1. มหาวิทยาลัยควรมีการวิเคราะหประสิทธิภาพ ขาดความชัดเจนในการวิเคราะหประสิทธิภาพและ และประสิทธิผลของระบบการจัดหาและจัดสรร ประสิทธิผลของระบบการจัดหาและจัดสรรเงินเพื่อ การเงินอยางเปนรูปธรรม ตอบสนองพันธกิจ วิสัยทัศน และความมั่นคงของ สถาบันได วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) นวัตกรรม (ถามี) ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) -

21 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ จุดแข็ง แนวทางเสริม 1. มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกที่ดีในการพัฒนา 1. ควรมีการสงเสริมใหนักศึกษา ศิษยเกา และผูมี คุ ณ ภาพของมหาวิ ท ยาลั ย ตามมาตรฐาน สวนไดสวนเสียของมหาวิทยาลัยเขามามีสวนรวม อุดมศึกษา ตามจุดเนนและความโดดเดนเฉพาะ ในการประกันคุณภาพใหมากขึ้น โดยเฉพาะอยาง ทางของมหาวิทยาลัย และมีศักยภาพที่จะพัฒนา ยิ่ ง สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาและศิ ษ ย เ ก า เพื่ อ สร า ง คุณภาพของมหาวิทยาลัยไปสูความเปนเลิศและ สมรรถภาพของนักศึกษาใหเปนเลิศและสรางศิษย สู วิสั ยทั ศน ของการเป นสถาบั นการศึ กษาชั้ นนํ า เกาที่ใหประสบความสําเร็จในดานธุรกิจ เพื่อความ ดานธุรกิจในเอเชียป พ.ศ.2568 โดยมีการดําเนิน เชื่ อมั่ นของสั งคมต อคุ ณภาพของบัณฑิ ตให เป น การควบคูไปกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ และ การยอมรับใน "สถาบันชั้นนําดานธุรกิจ" การกํ า กั บ ดู แ ลและพั ฒ นาคุ ณ ภาพ โดยสภา มหาวิทยาลัย อีกทั้งมหาวิทยาลัยมีการนํากรอบ แนวคิ ดในการบริหารองคกรสูความเปนเลิศและ เครื่องมือดานคุณภาพตางๆ โดยเฉพาะ 5ส มาใช อยางจริงจัง 2. มหาวิทยาลัยติดตามดูแลการประกันคุณภาพ 2. มหาวิ ทยาลั ยควรดํ าเนิ นการประกั นคุ ณภาพ ของคณะและหน วยงานภายในอย างสม่ํ าเสมอ โดยใชวงจร PDCA ในการปรับปรุงคุณภาพอยาง สงผลใหการดําเนินงานด านการประกั นคุณภาพ แท จริง โดยเฉพาะอย างยิ่ งการประเมินผลอย าง ของหนวยงานภายในดีขึ้นอยางตอเนื่องและอยูใน ชัดเจน เพื่อการปรับปรุง เชน ในดานมาตรฐานดาน ระดั บ ดี ถึ ง ดี ม ากในทุ ก หน ว ยงานและมี บ าง คุณภาพบัณฑิต มาตรฐานดานการบริหารจัดการ หน ว ยงานเกิ ด แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการประกั น อุดมศึกษา และมาตรฐานดานการสรางและพัฒนา คุณภาพ สังคมความรูและสังคมแหงการเรียนรู เพื่อนําไปสู การเปนสถาบันชั้นนํา 3. มหาวิ ทยาลั ยมี การกํ าหนดผู รั บผิ ดชอบและ 3. ควรมี การจั ดการแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ระหว า ง ประสาน งานดานการประกันคุณภาพเพื่อพัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวของในดานประกันคุณภาพใหมาก การประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง รวมถึงมีการ ขึ้นเพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีและสรางนวัตกรรม พัฒนาบุคลากรกลุมดังกลาวในดานการประกัน ตอไป คุณภาพอยางตอเนื่อง เชน การสงเสริมใหเปนผู ประเมินคุณภาพที่มีความสามารถ เปนตน

22 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


โอกาสในการพัฒนา 1. ควรมี การออกแบบตัวชี้ วั ดประสิ ทธิภาพและ ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการประกั น คุ ณ ภาพที่ เหมาะสมโดยเลือกและรวบรวมขอมูลสารสนเทศที่ สอดคลอง เพื่อทําการวัดและประเมินผลของระบบ ดังกลาว

2. เนื่องดวยการประกันคุณภาพเพื่อความเปนเลิศ ตองอาศั ยจิตสํานึกและความรวมแรงรวมใจของ บุคลากรทั้งองคกรแตไมพบวามีกระบวนการหรือ แนวทางที่มีประสิทธิผลในการดําเนินการดังกลาว ตอบุคลากรในทุกระดับ วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) พบว ามี วิธีปฏิ บัติดานประกั นคุ ณภาพที่ดี โดยมี หลักการของการมีสวนรวมของหนวยงานภายใน และคณะวิชาที่ดี โดยมีขั้นตอนหรือแนวทาง ดังนี้ 1. มีการจัดระบบงานที่สอดประสานกัน ในรูปแบบ ของคณะกรรมการชุ ดต างๆ เช น คณะกรรมการ พัฒนาตัวบงชี้ คณะกรรมการจัดทํารายงานการ ประเมินตนเองและรวบรวมเอกสารหลักฐาน โดย มีการแตงตั้งประธานคณะกรรมการจัดทํารายงาน การประเมินตนเองในระดับคณะวิชา เพื่อทํางาน รวมกับสวนกลางของมหาวิทยาลัย 2. มีการพัฒนาระบบขอมูลทั้งจากสวนกลางและ รายคณะที่ ดี เช น คณะนิ เ ทศศาสตร และคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

แนวทางในการปรับปรุง 1. แม ว ามหาวิ ท ยาลั ยจะมี ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพที่ดีและมีฐานขอมูลดานการประกัน คุณภาพ แตยังขาดการนําขอมูลคุณภาพตางๆเขา มาเชื่ อ มโยงเพื่ อ ให ส ามารถทํ า การประเมิ น ประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของระบบประกั น คุณภาพไดอยางแทจริง รวมถึงเพื่อใหสามารถ นํามาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยตางๆ เพื่อใหสามารถทบทวนระบบหรือการดําเนินงาน ดานประกันคุณภาพ เพื่อนํามาสูการปรับปรุงอยาง เหมาะสมและพัฒนาสูคุณภาพความเปนเลิศตอไป 2. ควรสื่ อสารความสํ าคั ญของวิ สั ยทั ศน ของ มาตรฐานอุ ด มศึ ก ษาและแนวทางการประกั น คุณภาพที่เหมาะสม ตลอดจนทําความเขาใจใหแก บุคลากรทุกระดับ นวัตกรรม (ถามี)

23 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

-


วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี) 3. มี ก ารจั ด ระบบเชื่ อ มโยงที่ ดี ร ะหว า งแผน สารสนเทศ และการดู แ ลทางด า นคุ ณ ภาพที่ สงเสริมและสนับสนุนใหคุณภาพไปเปนตัวทําการ ผลักดันการปฏิบัติการ 4. มีระบบการติดตามการประเมินที่ดีมีวิวัฒนาการ อยางตอเนื่อง มีการพัฒนาและเขาสูระบบ EdPEx ของคณะวิชาตางๆ จากการปฏิบัติดังกลาวทําใหระบบคุณภาพ มีผูชํานาญการประกันคุณภาพจํานวนมาก สงผล ให เกิ ดการพั ฒนา ปรั บปรุ ง และมหาวิทยาลัยมี คุณภาพสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ ยังทําให สถาบั น มี ค วามก า วหน า ไปในทิ ศ ทาง และ วิสัยทัศนที่ไดกําหนดไว

นวัตกรรม (ถามี)

องคประกอบที่ 11 การดําเนินงานของมหาวิทยาลัย จุดแข็ง -

แนวทางเสริม -

โอกาสในการพัฒนา 1. เนื่ องจากวั ตถุ ประสงค ขององค ประกอบที่ 11 การดําเนินงานของมหาวิทยาลัย มีเจตนารมณที่ จะสะทอนการดําเนินงานใหเปนไปตามอัตลักษณ จุ ด เด น จุ ด เน น ที่ ม หาวิ ท ยาลั ยกํ า หนด ดั ง นั้ น มหาวิทยาลัย ควรคัดเลือกและกําหนดตัวบงชี้ที่ สําคัญที่สะทอนถึงการดําเนินการดังกลาว วิธีปฏิบัติที่ดี (ถามี)

แนวทางในการปรับปรุง 1.ควรคั ด เลื อ กและกํ า หนดตั ว บ ง ชี้ ที่ สํ า คั ญ ที่ สะทอนถึงการดําเนินการดังกลาว เชน ตัวบงชี้ที่ สะทอนถึงคุณภาพบัณฑิต (Business SMART) หรือตัวบงชี้ที่สะทอนถึง Brand Passion เปนตน

-

-

นวัตกรรม (ถามี)

ขอเสนอแนะในการปรับปรุง (ถามี) 24 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ภาคผนวก ก

25 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางสรุปผลการพิจารณาผลประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. จําแนกตามคณะวิชาและมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555

องคประกอบ

U

C

U

C

U

C

คณะ คณะ วิทยาศาสตรและ มนุษยศาสตร เทคโนโลยี U C U C

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

4.00 4.00

5.00 5.00

4.00 4.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00 1.82 5.00 4.00 5.00 5.00 3.85

5.00 5.00 1.82 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 4.48

5.00 2.28 3.28 5.00 5.00 5.00 5.00 3.82

5.00 2.28 3.28 5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.20

5.00 5.00 4.90 4.00 5.00 5.00 4.00 4.11

5.00 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.75

5.00 4.40 1.48 5.00 5.00 5.00 4.00 3.74

5.00 4.40 1.73 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.39

5.00 3.83 3.57 5.00 5.00 5.00 5.00 4.05

คณะ บริหารธุรกิจ

คณะบัญชี

คณะ เศรษฐศาสตร

คณะ นิเทศศาสตร

คณะ วิศวกรรมศาสตร

คณะ นิติศาสตร

มหาวิทยาลัย

U

C

U

C

U

C

U

C

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

4.00 4.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 3.83 3.57 5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.43

5.00 5.00 2.41 5.00 5.00 5.00 5.00 4.05

5.00 5.00 2.41 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 4.55

5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.00

5.00 5.00 4.53 4.00 5.00 4.00 4.00 2.00 4.19

5.00 5.00 1.62 4.00 5.00 5.00 4.00 3.70

5.00 5.00 1.62 4.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.20

5.00 5.00 2.78 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.72

5.00 5.00 2.84 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 4.61

องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน ตัวบงชี้ที่ 1.1 เฉลี่ยองคประกอบที่ 1 องคประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ 2.1 ตัวบงชี้ที่ 2.2 ตัวบงชี้ที่ 2.3 ตัวบงชี้ที่ 2.4 ตัวบงชี้ที่ 2.5 ตัวบงชี้ที่ 2.6 ตัวบงชีท้ ี่ 2.7 ตัวบงชี้ที่ 2.8 เฉลี่ยองคประกอบที่ 2

26 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางสรุปผลการพิจารณาผลประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. จําแนกตามคณะวิชาและมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 องคประกอบ

U

C

U

C

U

C

คณะ คณะ วิทยาศาสตรและ มนุษยศาสตร เทคโนโลยี U C U C

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

4.00 5.00 5.00 4.67

4.00 5.00 5.00 4.67

4.00 5.00 1.88 3.63

3.00 5.00 1.88 3.29

5.00 5.00 5.00 5.00

4.00 5.00 5.00 4.67

5.00 4.00 2.98 3.99

5.00 4.00 2.98 3.99

5.00 5.00 5.00

4.00 5.00 4.50

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

3.00 3.00 3.00

5.00 4.00 4.50

2.00 4.00 3.00

คณะ บริหารธุรกิจ

คณะบัญชี

คณะ เศรษฐศาสตร

คณะ นิเทศศาสตร

คณะ วิศวกรรมศาสตร

คณะ นิติศาสตร

มหาวิทยาลัย

U

C

U

C

U

C

U

C

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 4.00 4.50

5.00 4.00 4.50

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 4.36 4.79

5.00 5.00 4.36 4.79

5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00

4.00 4.00 5.00 4.33

4.00 5.00 5.00 4.67

5.00 5.00 4.19 4.73

5.00 5.00 4.19 4.73

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

4.00 5.00 4.50

4.00 5.00 4.50

3.00 3.00 3.00

5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00

องคประกอบที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา ตัวบงชี้ที่ 3.1 ตัวบงชี้ที่ 3.2 เฉลี่ยองคประกอบที่ 3 องคประกอบที่ 4 การวิจัย ตัวบงชี้ที่ 4.1 ตัวบงชี้ที่ 4.2 ตัวบงชี้ที่ 4.3 เฉลี่ยองคประกอบที่ 4 องคประกอบที่ 5 การ บริการทางวิชาการแกสังคม ตัวบงชี้ที่ 5.1 ตัวบงชี้ที่ 5.2 เฉลี่ยองคประกอบที่ 5

27 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ตารางสรุปผลการพิจารณาผลประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. จําแนกตามคณะวิชาและมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555

องคประกอบ องคประกอบที่ 6 การทํานุบาํ รุงศิลปะ และวัฒนธรรม ตัวบงชี้ที่ 6.1 เฉลี่ยองคประกอบที่ 6 องคประกอบที่ 7 การบริหารและการ จัดการ ตัวบงชี้ที่ 7.1 ตัวบงชี้ที่ 7.2 ตัวบงชี้ที่ 7.3 ตัวบงชี้ที่ 7.4 เฉลี่ยองคประกอบที่ 7

คณะ บริหารธุรกิจ

คณะบัญชี

คณะ คณะ คณะ คณะ วิทยาศาสตรและ นิเทศศาสตร เศรษฐศาสตร มนุษยศาสตร เทคโนโลยี U C U C U C U C

U

C

U

C

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

4.00 4.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 3.75

5.00 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 5.00 5.00 3.50

5.00 3.00 5.00 5.00 4.50

5.00 5.00 5.00 3.75

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 4.00 3.50

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 3.75

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 3.75

28 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

คณะ วิศวกรรมศาสตร

คณะ นิติศาสตร

มหาวิทยาลัย

U

C

U

C

U

C

5.00 5.00

3.00 3.00

3.00 3.00

4.00 4.00

4.00 4.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 3.00 5.00 5.00 4.50

5.00 5.00 5.00 3.75

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

4.00 5.00 5.00 3.50

4.00 5.00 5.00 5.00 4.75

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00 5.00


ตารางสรุปผลการพิจารณาผลประเมินตนเองตามตัวบงชี้ของ สกอ. จําแนกตามคณะวิชาและมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555

องคประกอบ

คณะ บริหารธุรกิจ U

C

คณะบัญชี U

C

คณะ เศรษฐศาสตร U

C

คณะ คณะ วิทยาศาสตรและ มนุษยศาสตร เทคโนโลยี U C U C

คณะ นิเทศศาสตร

คณะ วิศวกรรมศาสตร

คณะ นิติศาสตร

มหาวิทยาลัย

U

C

U

C

U

C

U

C

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ ตัวบงชี้ที่ 8.1 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 เฉลี่ยองคประกอบที่ 8 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ ตัวบงชี้ที่ 9.1 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.00 เฉลี่ยองคประกอบที่ 9 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.00 คะแนนเฉลี่ยรวม 4.75 4.73 4.15 4.37 4.43 4.57

29 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

4.00 4.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00

5.00 5.00 5.00 5.00 4.12 4.48

5.00 5.00 4.42

5.00 5.00 4.77

5.00 5.00 5.00 5.00 4.45 4.71

5.00 5.00 4.30

4.00 4.00 4.46

4.00 4.00 5.00 5.00 4.00 4.00 5.00 5.00 4.07 4.37 4.87 4.83


ภาคผนวก ข

30 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

31 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


กําหนดการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555 กําหนดการการประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2555 วันที่ 28 - 30 สิงหาคม 2556 ******************************************************************************************************* วันที่ 28 สิงหาคม 2556 เวลา 8.30 – 9.00 น.

กิจกรรม - คณะกรรมการประชุมรวมกันเพื่อวางแผนการประเมินฯ

9.00 – 10.00 น.

รองอธิการบดีฝายบริหาร และผูบริหารมหาวิทยาลัยกลาวตอนรับ และใหสัมภาษณ ทีมที่ 2 ทีมที่ 3 10.00 – 11.00 น. ทีมที่ 1 (อ.นภดล) (อ.อรรณพ) (อ.พนารัตน) – สัมภาษณคณบดี - สัมภาษณคณบดี - สัมภาษณ คณะมนุษยศาสตร คณะวิทยาศาสตรฯ คณบดี คณะนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะนิติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย คณะบัญชี คณะเศรษฐศาสตร วิทยาลัยนานาชาติ คณะบริหารธุรกิจ 11.00 – 12.00 น. - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานระดับมหาวิทยาลัย 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 17.00 น. - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานระดับมหาวิทยาลัย

32 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

สถานที่ หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมสภา อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 1 : หองรับรอง อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 2 : หองประชุมสภา อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 3 : หองประชุมประกัน คุณภาพอาคาร 10 ชั้น 5

หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5


วันที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 8.30 –12.00 น.

กิจกรรม - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานระดับมหาวิทยาลัย

12.00 –13.00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

13.00 –13.30 น.

ทีมที่ 1– สัมภาษณผใู ช บัณฑิต (คุณวสันต เบนซทองหลอ) 13.30 – 14.00 น. -

-

ทีมที่ 3 –สัมภาษณนักศึกษา จากสโมสรนักศึกษา

-

ทีมที่ 3 –สัมภาษณ ศิษยเกา (คุณบันเจิด จริยานุกจิ า) ทีมที่ 2 –สัมภาษณ ตัวแทนรานคา ทีมที่ 2 -สัมภาษณ เจาของหอพัก

14.00 – 14.30 น. ทีมที่ 1 –สัมภาษณ 14.30 -15.00 น. ผูอํานวยการ โรงเรียนสุรศักดิ์ มนตรี 15.00 – 16.00 น. - ตรวจสอบเอกสารหลักฐานระดับมหาวิทยาลัย 16.00 – 17.00 น. ทีมที่ 1 - สัมภาษณ กรรมการสภา (ดร.สวราช สัจจมารค)

-

-

17.00 –18.00 น. คณะกรรมการทุกทีมประชุมตัดสินผล

33 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555

สถานที่ หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 ทีม 1 : หองรับรอง อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 2 : หองประชุมสภา อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 3 : หองประชุมประกัน คุณภาพอาคาร 10 ชั้น 5

หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 ทีม 1 : หองรับรอง อาคาร 10 ชั้น 6 ทีม 2,3 : หองประชุม ประกันคุณภาพอาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5


วันที่ 30 สิงหาคม 2556 เวลา กิจกรรม 8.30 – 12.30 น. - คณะกรรมการนําจุดออน จุดแข็งและขอเสนอแนะใหเลขานุการ จัดทํารายงานผลการประเมินและพิจารณาขอเสนอแนะเพื่อการ พัฒนารวมกัน 12.30 – 13.30 น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น. - คณะกรรมการนําจุดออน จุดแข็งและขอเสนอแนะใหเลขานุการ จัดทํารายงานผลการประเมินและพิจารณาขอเสนอแนะเพื่อการ พัฒนารวมกัน 14.30 – 16.00 น. - คณะกรรมการนําเสนอสรุปผลการประเมินโดยวาจาใหแก ผูบริหารมหาวิทยาลัยและบุคลากรที่เกี่ยวของ 16.00 -16.30 น. - ที่ประชุมอภิปรายซักถาม และปดการประชุม

สถานที่ หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองประชุมประกันคุณภาพ การศึกษา อาคาร 10 ชั้น 5 หองสัมมนา อาคาร 5 ชั้น 2 หองสัมมนา อาคาร 5 ชั้น 2

หมายเหตุ - กําหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามดุลยพินิจของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน - ทีมที่ 1 ไดแก 1) ผูชวยศาสตราจารย เภสัชกร ดร.นภดล ทองนพเนื้อ (องค 1,9) ผูร ับผิดชอบ นางพรจักรี พิรยิ ะกุล 2) ดร.เอกธิป สุขวารี (องค 3,6,11) ผูร ับผิดชอบ นางสาวจารุณี คงเมือง - ทีมที่ 2 ไดแก 1) ดร.อรรณนพ โพธิสุข (องค 7,8) ผูร ับผิดชอบ นางสาวศศธร ชินชู - ทีมที่ 3 ไดแก 1) รองศาสตราจารย ดร.พนารัตน ปานมณี (องค 2) ผูร ับผิดชอบ นายสยาม คาสุวรรณ 2) รองศาสตราจารยดวงพร หัชชะวณิช (องค 4,5) ผูร ับผิดชอบ นางสาวศิรินทร มีขอบทอง

34 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


รายนามผูเขารวมกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับมหาวิทยาลัย

35 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


36 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


37 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


38 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


39 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


40 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


41 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


42 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


43 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


44 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


45 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


46 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


47 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


48 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


49 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


50 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


51 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


52 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


53 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


บันทึกการตรวจเยี่ยมภาคสนาม/การสัมภาษณ - ขอคิดเห็นจากการสัมภาษณ 1) ผูบริหาร 1.การเชื่อมโยงของกระบวนการพัฒนาแผนที่ตอบสนองการมุงสูวิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย คําตอบ วิสัยทัศนมหาวิทยาลัยหอการคาไทย เปนสถาบันการศึกษาชั้นนําดานธุรกิจ โดยมุงสู Association to Advance Collegiate Schools of Business (AACSB) โดยมีการกําหนดพัฒนาบุคลากรและพัฒนา งานวิ จั ย ความเป น มื ออาชี พ ของนั กศึ กษา ซึ่ ง จะพิจ ารณาจากโอกาสทางการจ างงานที่ พิ จ ารณาจาก ผลงานวิจัยตางๆ ซึ่งบัณฑิตตองสามารถทํางานไดในธุรกิจตางๆ (Business Smart) ที่เนนความเปน ผู ป ระกอบการที่ มี ก ารนํ า กรณี ศึ ก ษาเข า มาใช ใ นการเรี ย นการสอน มี ก ารให นั ก ศึ ก ษาไปดู ง านจาก สถานประกอบการจริงที่เปนสมาชิกของสภาหอการคาไทยที่มีการจัดใหนักศึกษาไปดูงานตั้งแตปที่ 1 ที่เขามา 2.การประเมินผลเปนไปตามคุณสมบัติที่พึงประสงคของการจัดกิจกรรม เพื่อใหเกิดความสามารถ ในการปรับปรุง คําตอบ ในการประเมินผลสัมฤทธิ์ของแผนการจัดกิจกรรม/โครงการทางการพัฒนานักศึกษา ในสวนของ ฝายกิจการนักศึกษามีการประเมินผลใน 3 รูปแบบ ไดแก 2.1) การประเมินผลโครงการ/กิจกรรม 2.2) การประเมินผล โดยการดําเนินการวัดจากผูที่เขารวม โดยการสังเกตและสัมภาษณที่มีการนํา ผลเขามาวิเคราะหและสรุป โดยผูบริหารของฝายกิจการนักศึกษา 2.3) มีการประเมินผลโดยสรุปผลการจัดกิจกรรม/โครงการแยกตามรายคณะวิชา โดยมีการประชุม คณะกรรมการฝายกิจการนักศึกษาที่ประกอบดวยผูบริหารฝายและผูบริหารคณะวิชา เพื่อพิจารณาถึง ผลสัมฤทธิ์ดังกลาว 3.การบูรณาการทางการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปะ และวัฒนธรรมที่แสดงถึงทิศทางวิชาการของมหาวิทยาลัย คําตอบ ทิศทางทางวิชาการที่เนนแผนงานวิจัย โดยมีกลไกไดผลักดันใหคณาจารยไดมีการตีพิมพ มีการจัด โครงการใหอาจารยรุนใหม สงผลงานวิชาการตีพิมพมากขึ้น (Research Forum) มีการหาทุนจากแหลงทุน ภายนอก (สกว.) ตลอดจนทุนสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอน

54 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


2) คณบดี 2.1) คณบดี ทีมที่ 1 ประเด็นจากการสัมภาษณคณบดีคณะมนุษยศาสตร คณะนิเทศศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย และ วิทยาลัยนานาชาติ บัณฑิตวิทยาลัย - บัณฑิตวิทยาลัย มีบทบาทและหนาที่หลักในการดําเนินการและบริหารหลักสูตร โดยมีการกําหนด ทิศทางการดําเนินการรวมกันระหวางบัณฑิตวิทยาลัยกับผูอํานวยการของแตละหลักสูตร ในการ สรางองคความรูชั้นสูง และสรางจุดเดนใหกับบัณฑิตวิทยาลัย โดยคณะกรรมการไดเสนอแนวคิด ใหหลักสูตรของบัณฑิตวิทยาลัย ในการพัฒนานักศึกษา 4 ประเด็น ดังนี้ 1. การสรางความรูใหม โดยแบงความรูทางดานพื้นฐาน/กฎ/ทฤษฎีที่สําคัญและความรูที่ประยุกต 2. การสรางประสบการณใหแกนักศึกษา 3. การมุงสรางความคิด/ความสามารถใหแกนักศึกษา 4. เสริมสรางใหนักศึกษามีคุณธรรม/จริยธรรม คณะมนุษยศาสตร - มุ ง ในการพั ฒ นาภาษาให แ ก นั กศึ กษาและอาจารย โดยการสอนภาษาเพิ่ ม เช น ภาษามลายู ภาษาพมา ภาษาลาว และมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวางวัฒนธรรมไทยกับจีน - มีการสอนภาษาเกาหลีใหแกนักศึกษา โดยมุงเนนการใชภาษาทางธุรกิจมากขึ้น วิทยาลัยนานาชาติ - บัณฑิ ตของวิ ทยาลัยนานาชาติจ ะมุง เนน ใหนักศึกษาจากแตละประเทศ สามารถทํางานไดกับ ทุกหนวยงาน และรวมงานไดกับทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา ซึ่งกิจกรรมตางๆ ที่ทางวิทยาลัยนานาชาติ ไดดําเนินการ โดยสงเสริมใหเกิดการเรียนรูรวมกันของนักศึกษา - มุงเนนใหวิทยาลัยนานาชาติเปนที่ยอมรับในระดับอาเซียนมากขึ้น - มีจํานวนนักศึกษาตางชาติเพิ่มมากขึ้น โดยมาจากหลากหลายประเทศ คณะนิเทศศาสตร - ควรมีการวางแผนงานในการดําเนินการ โดยการบูรณาการศาสตรตางๆเขารวมกัน เพื่อใหเกิดแนว ทางการดําเนินงานที่ชัดเจน

55 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


2.2) คณบดี ทีมที่ 2 ประเด็นจากการสัมภาษณ คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร - เนนใหนักศึกษาเขาใจธุรกิจและเปนผูประกอบการ (Entrepreneurs) เชน สาขา Logistics (ซึ่ง เป ดแห ง แรกในประเทศไทย)มี การจัด การเรีย นการสอนทุก ระดับ ทั้ง ปริญ ญาตรี ปริญ ญาโท ปริญญาเอก ที่มีแนวทางการจัดการเรียนการสอนไปในทิศทางเดียวกัน - เนนใหอาจารยในคณะเกิดความเชี่ยวชาญและไดฝกประสบการณจากการปฏิบัตงิ านจริง คือใหรับ งานที่ปรึกษาธุรกิจ (Consultant) ไดแก บริษัท น้ําตาลมิตรผล จํากัด บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) และธนาคารกสิกรไทย จํากัด(มหาชน) ซึ่งสามารถนําประสบการณมาใชเปนกรณีศึกษา ในการจัดการเรียนการสอนทุกระดับและนําความรูมาทําวิจัยตอยอด โดยเปนการสรางเครือขาย สรางชองทาง (Connection) กับธุรกิจและการบริหารจัดการคณะฯ - มีการเชิญนักธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณเขามาเปนอาจารยพิเศษ ในการบรรยาย ประสบการณทุกระดับ - มีน โยบายให อาจารย ใ นคณะฯ ไปเรียนบริห ารธุรกิจ เพิ่ม เติม เพื่อนําความรูม าใชใ นการเสริม การจัดการเรียนการสอนดานวิศวกรรมศาสตรเพิ่มมากขึ้น - หลั กสู ตรของคณะฯ มุ ง เน นหลั กสูตรเพื่อรองรับโครงการ 2.2 ลานลานบาทของรัฐ บาล เพื่ อทั น ความต องการด านแรงงานและเพื่อมุง เนน วิศวกรรมยานยนต (Automotive) ซึ่ง เปน แนวโนมของการผลิตบัณฑิตรองรับการขยายโครงสรางพื้นฐานของนโยบายภาครัฐ - คณะฯ สนับสนุนใหอาจารยทําวิจัย และตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ โดยลงในฐานขอมูล เพื่อเผยแพรความรูดานวิชาการ และดําเนินการใหเกิดการทําวิจัยเพิ่มมากขึ้น เพื่อใหไดรับการ ตีพิมพมากขึ้นดวย จะไดงานทํากับสถานประกอบการของญี่ปุนจํานวนมาก - สนับสนุนใหอาจารยผลิตผลงานวิชาการ เพื่อขอตําแหนงทางวิชาการในระดับที่สูงขึ้น โดยคณะฯ ออกค าใช จ ายในการดํ าเนิ น การ เชน คาเอกสาร ค าตีพิม พ และค าตอบแทนสมนาคุณ พิเ ศษ (เฉพาะอาจารยที่ไดตําแหนงรองศาสตราจารยจํานวน 20,000 บาท) ซึ่งปจจุบันคณะฯ มีตําแหนง ผูชวยศาสตราจารยเพียงพอแลว จึงสนับสนุนใหคณาจารยภายในคณะไดตําแหนงทางวิชาการ ที่สูงขึ้น ตลอดจนการทําวิจัยของคณะฯ และรายไดจากการบริการวิชาการของคณะฯ โดยผานการ เห็นชอบของกรรมการบริหารคณะฯ - ระบบการติดตามศิษยเกา มีการจัดงานประจําปเพื่อเปนฐานขอมูลศิษยเกา

56 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี - หลักสูตรมีการนําธุรกิจมาสนับสนุนในการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น ซึ่งการทําโครงงานในการ จบการศึกษาของนักศึกษาจะนําธุรกิจมาบูรณาการกับทฤษฎี เชน การจัดการธุรกิจอาหาร เปนตน - มีนโยบายใหคณาจารย บริการวิชาการมากขึ้น ซึ่ง อาจารยมีศักยภาพสูงทางดานการถายทอด ความรูและดําเนินโครงการติวฯ นักเรียนระดับมัธยมปลายใหสอบเขาศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัย ซึ่ ง โครงการดั ง กล าวเป น นโยบายเดิม จากคณบดี และอธิการบดีทานเกา เพื่อสรางใหเ กิดฐาน นักศึกษาใหมของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย จากสถิติเดิมพบวามีนักศึกษาที่เขาโครงการติวฯ แต ไมสามารถสอบเขาตอมหาวิทยาลัยของรัฐกลับเขามาสมัครศึกษาตอกับมหาวิทยาลัยหอการคา ไทยมากกวารอยละ 50 ของยอดนักศึกษาเขาใหมทุกป - มีบุคลากรที่มีความสามารถหลากหลาย โดยมีการแบงภาระงานตามความถนัด เชน อาจารยที่จบ ปริญ ญาเอกและมีศักยภาพทางวิ ช าการก็ส นับสนุน ใหผ ลิตงานวิจั ย ผลิ ตผลงานวิช าการและ ตีพิมพ ตามนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะฯ มุงเนนสรางนักวิจัยหนาใหม Research Group รวมทั้งงานวิจัยของคณะฯ ตองเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ เพื่อสรางศักยภาพใหกับอาจารย - งบประมาณเรื่องการบริหารจัดการมีเกณฑที่ชัดเจน โดยเฉพาะอุปกรณการจัดการเรียนการสอน ของคณะฯ คือ หองปฏิบัติการ(LAB) มีการลงทุนโดยภาคเอกชน และภาคเอกชนสามารถขอลด ภาษีได (แบบ Win /Win Collaborations) ซึ่งเปนการลดปญหาดานการลงทุนของคณะฯ 2.3) คณบดี ทีมที่ 3 ประเด็นที่ไดจากการสัมภาษณคณบดีคณะนิติศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะบริหารธุรกิจ คณะบัญชี ทางด านความชั ด เจนของคุ ณ สมบั ติ ค วามเป น เลิ ศ ของแต ล ะคณะวิ ช าและระบบผลั กดั น ที่ จ ะพั ฒ นา นักศึกษา คณะเศรษฐศาสตร ความชัดเจนของคุณสมบัติความเปนเลิศและระบบผลักดันที่จะพัฒนานักศึกษา ดังนี้ ความเปนเลิศทางดานอาเซียน ความเปนเลิศทางดานงานวิจัย ความเปนเลิศทางการนําจุดเดนดานทฤษฎีเศรษฐศาสตรมาวิเคราะห โดยสนับสนุนใหนักศึกษา ทราบขอมูลและเกาะติดสถานการณที่เปนจริงมากกวา คณะบริหารธุรกิจ ความชัดเจนของคุณสมบัติความเปนเลิศและระบบผลักดันที่จะพัฒนานักศึกษา ดังนี้ - นักศึกษามีความรูและความเปนเลิศทางดานธุรกิจและพัฒนาผูประกอบการ โดยเนนการพัฒนา ความรูและกิจกรรมที่หลากหลาย เชน - นักศึกษาปที่ 1 ควรมีพื้นฐานทางดานจริยธรรมและเริ่มตนเรียนรูเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ - นักศึกษาปที่ 2 สนับสนุนใหนักศึกษามีการสนับสนุนความคิดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของตนเอง 57 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


- นักศึกษาปที่ 3 นักศึกษาสามารถเสนอแผนธุรกิจของตนเองได - นักศึกษาปที่ 4 นักศึกษาสามารถจดทะเบียนประกอบธุรกิจของตนเองได ตลอดจนมีการผลักดันการพัฒนาคณาจารยทางดานความรู และการถายทอดความรูและการวิจัย

มากขึ้น คณะนิติศาสตร ความชัดเจนของคุณสมบัติความเปนเลิศและระบบผลักดันที่จะพัฒนานักศึกษา ดังนี้ นักศึกษามีความเปนเลิศทางดานกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจ โดยเนนโครงสรางและทฤษฎีที่ เกี่ยวของกับกฎหมาย เชน กฎหมายธุรกิจโลจิสติกส กฎหมายเศรษฐกิจ(Creative Economy) กฎหมาย ทรัพยากรบุคคล (Human Resource) กฎหมายความผิดที่เกี่ยวกับเจาหนาที่ของรัฐ กฎหมายภาษีระหวาง ประเทศ (International Trade) โดยมีการสัมมนาวิชาการปการศึกษาละ 2 ครั้ง คณะบัญชี ความชัดเจนของคุณสมบัติความเปนเลิศและระบบผลักดันที่จะพัฒนานักศึกษา ดังนี้ นักศึ กษามีความรู ความสามารถทางดานวิช าชีพบัญ ชีและมีความรูตรงกับความตองการของ ตลาดงานมากขึ้น ขอเสนอแนะที่คณะกรรมการแนะนําคณะวิชา มีดังนี้ 1) ควรเผยแพรองคความรูระหวางผูบริหารคณะวิชา ใหมีการกระจายความรูแตละคณะวิชาได รับทราบอยางทั่วถึง โดยมีการจัดทําประชาสัมพันธเผยแพรหลักสูตรการเรียนการสอนแตละคณะวิชาใน รูปแบบ CD ที่จดทะเบียนลิขสิทธิ์ของผูสอนแตละทาน ตลอดจนสงเสริมการสรางเครือขายความรูรวมกัน ระหวางคณะวิชาใหเกิดการแลกเปลี่ยนระหวางคณาจารยและผูทรงคุณวุฒิ 2) สงเสริมใหมีการจัดขนาดหองเรียนใหม โดยแบงหองเรียน Class Size เล็ก และ Class Size ใหญ ใหเกิดการเรียนรวมกันระหวางคณะวิชาใหมากขึ้น เพื่อใหคณาจารยมีเวลาวางในการทําวิจัยและ พัฒนาการเรียนการสอนมากขึ้น 3) ผูใชบัณฑิต (คุณวสันต เบนซทองหลอ) ผูบริหารของสถาบันเปนนักปฏิบัติเพราะมาจากภาคธุรกิจเอกชน สวนอาจารยผูถายทอดความรู โดยตรงใหกับนักศึกษา ควรมีความรูทางดานทฤษฎีแตไมเชี่ยวชาญดานปฏิบัติ จุดที่มหาวิทยาลัยควรจะปรับปรุงเพื่อนําสถาบันสูความเปนเลิศ ไดแก 1. บรรยากาศภายในมหาวิทยาลัยควรเปน Look Business เชน การแตงกายของอาจารย ควรมี ภาพลักษณของนักธุรกิจ รวมถึงการแตงกายของนักศึกษาดวยเชนกัน 2. การพัฒนาอาจารยเกี่ยวกับความรู ความเขาใจทางดานธุรกิจเพิ่มมากขึ้น 3. การนําศิษยเกาในแตละรุนซึ่งเปนนักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จดานตาง ๆ มาเปนพรีเซ็นเตอร ใหนักศึกษารุนใหมเกิดแรงจูงใจและกระตุนใหอยากปฏิบัตติ าม 4. นายกสมาคมศิษยเกา ควรมาจากการที่ทางสถาบันเชิญมาเพื่อรับตําแหนงมากกวาการที่ใหมา หาเสียงเอง 58 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


4) ผูอํานวยการโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี 1. มหาวิทยาลัยหอการคาไทยเนนการเรียนการสอนนักศึกษาทางดานธุรกิจอยางชัดเจน 2. มีการใหทุนเรียนดีแกนักเรียนโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี พรอมทั้งมีการ สนับสนุนใหบัณฑิตที่จบการศึกษาไดงานทําทันที 3. มีการจัดกิจกรรมรวมกันระหวางสถาบัน เชน การแขงขันกีฬาระหวางผูบริหาร 2 สถาบันรวมกัน ตลอดจนใหความชวยเหลือในดานตางๆ เชน ดานสถานที่ ดานสงเสริมพัฒนากิจกรรมนักเรียนและ นักศึกษา 5) นักศึกษาปจจุบัน 1. นั กศึ กษารุ นพี่ ที่ดูแ ลนั กศึ กษารุนนอง มี ง านกิจ กรรมและเรี ยนคอนขางมากทําให นั กศึ กษา ปจจุบันที่เปนคณะกรรมการสโมสรนักศึกษาตองวางแผนดําเนินงานเอง 2. งบประมาณที่มหาวิทยาลัยจัดสรรใหสโมสรนักศึกษาดําเนินการมีจํานวนจํากัด จึงตองหา ผูสนับสนุนขางนอกเขามาใหงบประมาณสโมสรนักศึกษาเพิ่มขึ้น 3. เวลาในการจัดกิจกรรมบางครั้งทับซอนกัน 4. ควรมีการเพิ่มทักษะของนักศึกษาที่ทํางานสโมสรในแตละดาน 5. สนับสนุนใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู อบรม ภาวะผูนํา บุคลิกภาพการนําเสนอและการสรางกําลังใจ 6. ควรหาเครือขายใหนักศึกษา เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสไดงานทํา 6) นายกสมาคมศิษยเกา 1. ดานวิชาการของมหาวิทยาลัย มีการพัฒนาที่ดี เปนรูปธรรม มีความหลากหลายทางวิชาการ สามารถรับใชตลาดงานไดดี เชน สาขาโลจิสติกส เปนมหาวิทยาลัยแหงแรกที่มีการเปดการเรียนการสอน ดานโลจิสติกส 2. สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเร็ว ควรมีคณะวิชาที่ศึกษาTrend ของตลาดวามีความตองการอะไร เพื่อตอบสนองความตองการของตลาดงาน 3. จุดเดนของมหาวิทยาลัยหอการคาไทยไมไดมุงหวังเนนหาผลกําไร แตสามารถนํารายไดเขามา พัฒนามหาวิทยาลัยและบุคลากรไดอยางเต็มที่ โดยมีการใหทุนการศึกษากับอาจารยที่ศึกษาตอระดับ ปริญญาเอกและสงเสริมอาจารยใหมีความพรอมที่จะทํางานวิจัย 4. การปฏิบัติงานในชุดปจจุบัน ควรมีการสรางสํานึกถึงการรวมกนทํางาน( Team Work) ซึ่งเปน เรื่องสําคัญ จึงสงผลใหนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหอการคาไทยมีความสามารถทางดานนี้ 5. นักศึกษามหาวิทยาลัยหอการคาไทย มีความสามารถในการจัดการและชวยเหลืองานกิจกรรม ของสมาคมศิษยเกาเปนอยางดี 6. เปนมหาวิทยาลัยที่ใหความสําคัญกับศิษยเกา โดยมีแผนกิจกรรมของมหาวิทยาลัยที่ชัดเจน และมหาวิทยาลัยควรเลือกกิจกรรมที่จะสนับสนุน Website ของสมาคมศิษยเกาเพื่อใหเกิดการเผยแพร ประชาสัมพันธใหศิษยเกาทุกคนไดรับทราบกิจกรรมของมหาวิทยาลัย 59 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


7) ผูแทนรานคา 1. ผูแทนรานคามีความตองการใหทางมหาวิทยาลัยมีการจัดประชุมรานคา เพื่อรับทราบปญหาหรือ แจงขาวสาร อยางนอยปละ 2 ครั้ง เพราะปจจุบันทางมหาวิทยาลัยยังไมมีการดําเนินการจัดประชุม 2. นักศึกษาจะรับประทานอาหารใน Food Fair ภาคการศึกษาแรกจํานวนมาก แตในภาค การศึกษาทีสองจํานวนนักศึกษาจะเขาไปใชบริการลดลงประมาณรอยละ 30-40 3. ตนทุนของอาหารเพิ่มขึ้น แตราคาอาหารยังตองขายเทาเดิม เพราะทางมหาวิทยาลัยควบคุม เรื่องราคาอาหาร 4. อยากใหทางมหาวิ ทยาลัยแจ งขาวสารเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมภายในมหาวิท ยาลัย เพราะ บางครั้งมีบุคคลภายนอกเขามาจํานวนมากแตไมทราบขอมูล ทําใหเสียโอกาสในการขายอาหาร 5. ที่นั่งในศูนยอาหารไมเพียงพอตอการใชบริการ ทําใหนักศึกษาออกไปทานอาหารขางนอกจํานวนมาก 6. ทางร านค าเห็ น ด วยกั บ มาตรการตรวจสอบคุ ณ ภาพอาหารซึ่ ง ทางมหาวิ ท ยาลั ย ได ทํ าการ ตรวจสอบอยางสม่ําเสมอทําใหทางรานคาและผูบริโภคเอง รูสึกปลอดภัย 7. ความยืดหยุนในการเก็บคาใชจาย ในชวงที่เกิดวิกฤต เชน น้ําทวมเมื่อป 2554 8) เจาของหอพัก 1. มหาวิทยาลัยมีการจัดทําหนังสือใหคําแนะนําการปฏิบัติตามกฎหมายของหอพัก 2. มหาวิทยาลัยมีการแนะนําหอพักที่ปฏิบัติตามกฎหมายไดถูกตองแกนักศึกษาที่เขาใหม 3. มหาวิทยาลัยควรมีการแจงขาวสารเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทางมหาวิทยาลัยจัดในแตละเดือนใหทาง หอพักทราบดวยเนื่องจาก บางครั้งนักศึกษากลับดึก เพื่อใหทางหอพักไดดําเนินการถึงความปลอดภัยของ นักศึกษาเปนสําคัญ 4. มหาวิทยาลัยควรมีการประชาสัมพันธแกหอพักนักศึกษา เพื่อแจงขาวสารภายในมหาวิทยาลัย ใหบุคคลภายนอกหรือผูที่เกี่ยวของรับทราบดวย เชน การรับปริญญา การจัดกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับ นักศึกษา 5. มหาวิ ท ยาลั ย ควรสร า งอาคารที่จ อดรถเพิ่ ม ขึ้ น เพื่อ รองรับ นั กศึ ก ษาที่นํ า รถมา และชุม ชน ใกลเคียงมหาวิทยาลัย เนื่องจากปจจุบัน มีรถหายบอย และจอดภายนอกมหาวิทยาลัยมีการกําหนดราคา ที่จอดรถในราคาที่สูงมากตอวัน 9) กรรมการสภา คําถาม ขอเสนอแนะในการเปนสถาบันชั้นนําระดับเอเชีย (ผูบริหารไดเพิ่มความชัดเจนไปสูสถาบันชั้นนํา ระดับเอเชีย มากนอยแคไหน) 1. การให ความสํ าคั ญ กับหลั กสูตรฯที่ไดรับความสนใจ เชน สาขา Logistics การพัฒนาอาจารย ระดับปริญญาเอกใหมีความรูความเชี่ยวชาญ ในสาขาที่มีการเรียนการสอนมากขึ้น 60 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


2. สรางความรวมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนําในตางประเทศ เพื่อแลกเปลี่ยนความรูทางวิชาการ เชน สาขา Logistics กําลังทําความรวมมือกับมหาวิทยาลัยในประเทศญี่ปุนเพื่อศึกษาความเปนไปได ในการเปดหลักสูตรใหม คือ ศาสตรทางดานคมนาคม รถไฟความเร็วสูง ตลอดจนสรางหลักสูตรใหม เพื่อรองรับโครงการจากรัฐบาลในอนาคต คําถาม การประกันคุณภาพที่สอดคลองกับวิสัยทัศน 1. มอบหมายงานใหอาจารย ที่ไ ด รั บทุน และจบปริญ ญาเอกทํางานในศาสตรที่ตนเองจบมา เชน การพัฒนาหองสมุดรูปแบบใหม ศึกษาดูงานจากสถาบันที่ไดรับรางวัลในประเทศสิงคโปร และ กลับมาพัฒนามหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2. สราง Global My Set ดานวิสัยทัศนระหวางกรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูบริหารมหาวิทยาลัย และอาจารยที่ไดรับทุนและจบปริญญาเอก เพื่อสรางความเขาใจและพัฒนางานของมหาวิทยาลัย ไปในทิศทางเดียวกัน 3. การพัฒนากรณีศึกษาทางดานธุรกิจใหสรางประโยชนกับสังคม (Contribution) คือ รายการ Family Business Open Up เพื่อเผยแพรและแปลเปนภาษาอังกฤษใหไดรับการถายทอดความรู ทั่วโลก

61 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ภาพบรรยากาศการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ประจําปการศึกษา 2555

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2

ภาพที่ 3

ภาพที่ 4

ภาพที่ 5

ภาพที่ 6

ภาพที่ 7

ภาพที่ 8

ภาพที่ 9

ภาพที่ 10

ภาพที่ 11

ภาพที่ 12

62 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


ภาพที่ 13

ภาพที่ 14

ภาพที่ 15

ภาพที่ 16

ภาพที่ 17

ภาพที่ 18

63 รายงานผลการตรวจประเมินคุณภาพภายใน ระดับมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2555


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.