CI manual Suanpanaboon

Page 1


CONTENTS สารบัญ

Logo ตราสัญลักษณ Color สี Typography ตัวอักษร Visual elements ภาพกราฟก Photography ภาพถาย Grid system

1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0


What is Brand Identity ? อัตลักษณ์ของแบรนด์ คืออะไร Brand Identity หรือ เอกลักษณขององคกรเปนสิ่ง สําคัญในการสรางภาพลักษณ และ สะทอนถึงวิสัยทัศน ขององคกร โดยเปนการสื่อสารที่ใหผูรับสารสามารถ มองเห็นไดผานองคประกอบตางๆทางกราฟก ประกอบ ไปดวยตราสัญลักษณ สีประจําอัตลักษณ ชุดตัวอักษร ภาพกราฟกและภาพถาย จึงตองมีรูปแบบการใชงาน ที่ชัดเจน เพื่อความเปนอันหนึ่งอันเดียวและงายตอการ จดจํา ดังนัน้ จึงควรศึกษาแนวทางการใชงานโดยละเอียด เพือ่ นําไปใชในการผลิตสือ่ ตางๆขององคกรไดอยางถูกตอง ตามที่กําหนดไวในเลมนี้


สวนป่านาบุญ หรือชื่อเต็มๆวาศูนยการเรียนรูสุขภาพ

“ การปฏิวตั โิ รค ณ แผนดินชายโขง เมือ่ เนือ้ หาแหง คําสอนของพระพุทธเจา ทุกประโยค ลวนเปนทาง ดั บ ทุ ก ข การค น พบสภาวะ สบาย เบากาย มีกาํ ลัง จากพระสูตรยอมเปนการฟน คืนพลังแหงชีวติ นีค่ อื จุดกําเนิดแพทยแผนใหมของโลก แพทยวถิ พี ทุ ธ ”

พึ่งตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงคายสุขภาพแพทยวิถี ธรรม สวนปานาบุญลกอตั้งโดย ดร.ใจเพชน กลาจน หรือชาวบานเรียกกันวา “หมอเขียว” เปนศูนยที่สอน ใหคนเรียนรูวิธีการดูแลรักษาโรคดวยตนเอง ใชการ ปรับสมดุลรางกายดวยหลักยา 9 เม็ดและดําเนินงาน โดยยึ ด ตามแนวเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและหลั ก ธรรมใน พระพุทธศาสนาผสมผสานศาสตรในการรักษาโรคจาก ทุกแขนงมาบูรณาการใหม โดยไมคิดคาใชจายใดๆทั้ง สิ้นในการเขาอบรมรักษา มีจุดประสงคทํางานเพื่อชวย เหลือมวลมนุษยชาติ ในปจจุบันมีจํานวน 5 ศูนยหลักและยังมีศูนยยอย อีก 50 กวาศูนย โดยจัดตั้งรวมกับสถาบันหรือทาง รัฐบาล และกลุมจิตอาสาของหมอเขียวตามภาคตางๆ เปดคายจัดอบรมตามสถานที่ตางๆทั้งในประเทศและ ตางประเทศ โดยมีทีมงานจิตอาสาและผูคนคอยชวย คุณหมอเขียวตลอดเรื่อยมา . . .

ดร. ใจเพชร กล้าจน ผู้ก่อตั้ง


1.0

LOGO ตราสัญลักษณ์

Meaning ความหมาย

สือ่ ถึงหลักยา 9 เม็ดหรือวิธกี ารรักษา 9 วิธที ผี่ สม ผสานศาสตรแหงการรักษาโรคจากทุกแขนง โดยมี หลักธรรมของพระพุทธเจา ธรรมชาติ และ ความ เปนไทย ที่ถูกหลอมรวมเขาดวยกัน

Design การออกแบบ ออกแบบโดยใชสดั สวนของลายประจํายาม บวกกับ ใสลายลวดทีส่ อื่ ถึงความเปนไทย ใชลกั ษณะของใบ โพธิแ์ ทนยาแตละเม็ด 9 ใบ สือ่ ถึงพระพุทธศาสนา ออกแบบตัวอักษร เปนลักษณะกระแสนํา้ ทีพ่ ริว้ ไหว ตามสายลมของธรรมชาติ สวนเฉดสีใชสีตองออน และสีเขียวขี้มา โดยนําเฉดสีมาจากสีไทยโทน

R : 23 G : 73 B : 112

C : 100 M : 80 Y : 40 K : 0

C : 60 M : 30 Y : 90 K : 0

R : 122 G : 148 B : 76


1.1

THE LOGO DESIGN

EXCULSIVE ZONE & MINIMUM SIZE พืน้ ทีป่ ลอดภัย และ ขนาดย่อเล็กทีส่ ดุ ของโลโก้

SQUARE

Minimum size

Print Size ขนาดสําหรับสื่อสิ่งพิมพ 2.5 x 2.5 cm Onscreen Size ขนาดสําหรับบนหนาจอ 46 x 54 pixels

สัดสวนทีถ่ กู ตองของโลโก เพือ่ สรางการจดจําสัดสวนของโลโก จะถูกกําหนดรูปแบบตายตัว โดยหามปรับเปลี่ยน กําหนดให ใชตามตัวอยางเทานั้น

SQUARE Exculsive zone

ข้อจํากัดขนาดไซส์โลโก้ แบบ 4 เหลี่ยมที่เล็กที่สุด

พื้นที่ปลอดภัยของโลโก้ แบบ 4 เหลี่ยม

Green on a White background

Primary Use on a White background

White on a Blue background White 85%

Light Gray Black 35%

Dark Gray Black 60%

White on a Black background White 85%


1.2

THE LOGO DESIGN

EXCULSIVE ZONE & MINIMUM SIZE พืน้ ทีป่ ลอดภัย และ ขนาดย่อเล็กทีส่ ดุ ของโลโก้

HORIZONTAL

Minimum size

ข้อจํากัดขนาดไซส์โลโก้ แบบนอนแนวที่เล็กที่สุด Print Size ขนาดสําหรับสื่อสิ่งพิมพ 4.6 x 1.5 cm Onscreen Size ขนาดสําหรับบนหนาจอ 135 x 46 pixels

สัดสวนทีถ่ กู ตองของโลโก เพือ่ สรางการจดจําสัดสวนของโลโก จะถูกกําหนดรูปแบบตายตัว โดยหามปรับเปลี่ยน กําหนดให ใชตามตัวอยางเทานั้น

HORIZONTAL Exculsive zone

=

พื้นที่ปลอดภัยของโลโก้ แบบแนวนอน

ใชใบสวนกลางของตราสัญลักษณในการเวนระยะหาง

Green on a White background

Light Gray Black 35%

Primary Use on a White background

Dark Gray Black 60%

White on a Blue background White 85%

White on a Green background White 85%


1.3

ALTERNATIVE LOGO ทางเลือกการใช้งานตราสัญลักษณ์

ตราสัญลักษณสวนปานาบุญกําหนดใหมกี ารแยกใชงาน ภาพสัญลักษณ Symbol และตัวอักษร Logotype ได โดยมีตวั อยางเงือ่ นไขดังตอไปนี้

SYMBOL สัญลักษณ์

LOGOTYPE ตัวอักษร

ทางเลือกการใชงานสัญลักษณแบบสีและขาวดํา และแบบการใชแถบสีและแถบดํา

ทางเลือกการใชงานตัวอักษรแบบสีจะใชสีครามเทานั้นเและขาวดํา และแบบการใชแถบสีและแถบดํา


1.4

USAGE WITH BACKGROUND การกําหนดการจัดวางบนภาพพืน้ หลัง

การนําโลโกไปใชบนภาพพื้นหลังสามารถแบงออกได 2 รูปแบบ คือ แบบสี และรูปภาพประกอบ โดยกําหนดใหมกี ารใชงานในการจัดวางตามตัวอยางเทานัน้

Colors background

กําหนดใหมเี ฉดสีหลัก คือ สีหลัก Primary Colors 2 เฉดสี และ สีรอง Secondary Colors 9 เฉดสี

Image background

กําหนดใหมี 2 รูปแบบ คือ มีการใชแถบสีและไมใชแถบสีเพือ่ ความชัดเจนและไมใหภาพใดๆไมสง ผลรบกวนตอโลโก


1.5

WARNING! Please do not abuse your logo DON’TS

การใช้งานโลโก้ทไี่ ม่เหมาะสม

หามปรับเปลี่ยนสี

หามใชสีพื้นหลังอื่น

หามดัดแปลงแกไข

หามใชสีดําBlack 100%

หามยายองคประกอบ

หามสรางวัตถุอื่นๆ

หามนําขอความอื่นมาวางใกล

ห า มวางบนกลางภาพหรื อ ภาพที่มีสงผลตอความชัดเจน


1.6

PARTNER LOCKUP

การกําหนดการจัดวางร่วมกับองค์กรอืน่

Examples

การวางโลโกรว มกับบริษทั หรือองคกรอืน่ ๆ โดยมีการกําหนดในรูปแบบการจัดวาง เพือ่ ใหเกิดการจดจําและเปนไปในทิศทางเดียวกันในการผลิตสือ่ อัตลักษณ

ตัวอย่างการจัดวาง

USAGE (Positive)

COMPANY LOGO USAGE (Reversed)

COMPANY LOGO =

ใชใบสวนกลางของตราสัญลักษณ ในการเวนระยะหาง

Incorrect use การจัดทีไ่ ม่ถกู ต้อง


2.0

COLOR

COLOR OVERVIEW เฉดสีของอัตลักษณ์ สี เปนองคประกอบสําคัญอยางหนึง่ ของอัตลักษณองคกร ทีส่ ามารถสือ่ สารและบงบอกตัวตน สามารถสรางการจดจํา ใหกบั องคกรไดเปนอยางดี โดยคาสีมาตรฐานขององคกร กําหนดใหใชสหี ลักของแบรนด Primary colors 2 เฉดสี และสีรอง Secondary colors 9 เฉดสี เพื่อเพิ่มความ หลากหลายในการใชงาน และ กอใหเกิดบุคลิกตางๆขึ้น ประกอบไปดวยดังตอไปนี้

COLOR

CMYK

ชือ่ สี Thaitone

RGB/HEX

ค่าสีในงานสิง่ พิมพ์

C 60

M 30

Y 90

ค่าสีในงานเว็บไซต์

K 0

R G 123 146

B 75

#7A924B

Primary colors สีหลัก

ใชสีที่นํามาจากสีไทยโทน THAITONE ที่ออกแบบโดย อ.ไพโรจน พิทยเมธี โดยในชุดสีหลักประกอบไปดวยดังนี้

2

เฉดสี

สีเขียวตองออน สีคราม

C 100

M 80

Y 40

K 0

R 23

G 73

#16496F

B 112


2.1

COLOR

COLOR OVERVIEW เฉดสีของอัตลักษณ์

Secondary colors สีรอง

ใชสีที่นํามาจากสีไทยโทน THAITONE ที่ออกแบบโดย อ.ไพโรจน พิทยเมธี โดยในชุดสีหลักประกอบไปดวยดังนี้ CMYK C

M

Y

10

25

55

5

CMYK

RGB/HEX K 0

R G B 229 190 130

สีไมกฤษณา สีเมฆสนทยา

เฉดสี

C

M

Y

30

60

90

RGB/HEX K 30

#5D5D5D

C 20

M Y 100 100

K 0

R G 246 136 #F58830

สีดินแดงเทศ สีกรัก

R 140

G 92

B 42

#8B5C2A

B 49

C 40

M Y 100 100

K 10

R 152

G 39

#98272B

สีน้ําไหล

CMYK C 70

M 10

Y 20

RGB/HEX K 0

R 52

G B 172 194

#33ABC1

B 43


3.0

TYPOGRAPHY

TYPOGRAPHY OVERVIEW ชุดตัวอักษรของอัตลักษณ์ ตัวอักษร มีการเลือกใชทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย มีการกําหนดรูปแบบของตัวอักษรใหสอดคลองกับบุคลิก ขององคกรและสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ชุด ตัวอักษรสามารถแบงออกได 3 กลุม มีดงั ตอไปนี้

Headline หัวเรือ่ ง

ใชตวั อักษร 2 แบบ คือ SOM CHAN โดยกําหนดใหมรี ปู แบบการใชงานดังตอไปนี้ SOM CHAN

ใชตวั อักษร 2 รูปแบบ คือ Bold และ Regular โดยกําหนดใหใชในการเขียน หัวเรื่องและหัวขอยอยที่สําคัญ ใชทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

SOM CHAN Bold

Regular

ABCDEFGHJKLMNOPQRSTUVWXYZ abcdefghjklmnopqrstuvwxyz กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถ ทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙0123456789 ABCDEFGHJKLMNOPQRSTUVWXYZ abcdefghjklmnopqrstuvwxyz กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถ ทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙0123456789


3.1

TYPOGRAPHY

TYPOGRAPHY OVERVIEW ชุดตัวอักษรของอัตลักษณ์

BoonJot Regular

Tagline คําโปรย

ใชตวั อักษรแบบเดียว คือ Boonjot โดยกําหนดใหมรี ปู แบบ การใชงานดังตอไปนี้ BOONJOT

ใชตัวอักษร 2 รูปแบบ คือ Regular และ ltailc โดยกําหนดใหใชในการเขียน คําโปรยหรือสโลแกนขององคกรใชทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

Body text

เนือ้ หา ใชตวั อักษรแบบเดียว คือ TH K2D July8 โดยกําหนดใหมี รูปแบบการใชงานดังตอไปนี้ TH K2D July8 ใชตวั อักษร 2 รูปแบบ คือ Bold และ Regular โดยกําหนดใหใชในการเขียน ขอความหรือเนื้อหาที่มีจํานวนมากใช ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ltailc

ABCDEFGHJKLMNOPQRSTUVWXYZ abcdefghjklmnopqrstuvwxyz

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถ ทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙0123456789 ABCDEFGHJKLMNOPQRSTUVWXYZ abcdefghjklmnopqrstuvwxyz

กขฃคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถ ทธนบปผฝพฟภมยรลวศษสหฬอฮ ๐๑๒๓๔๕๖๗๘๙0123456789

TH K2D July8 Bold

Regular

ABCDEFGHJKLMNOPQRSTUVWXYZ abcdefghjklmnopqrstuvwxyz

ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F G H J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z ab c d e f g h j k l m n o p q r s t u v w x y z

ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9


4.0

VISUAL ELEMENT VISUAL OVERVIEW ภาพกราฟิกของอัตลักษณ์

กราฟกของอัตลักษณ ถือเปนเอกลักษณขององคกรทีส่ าํ คัญ เปนสวนประกอบทีช่ ว ยสรางความโดดเดนและนาสนใจใหกบั องคกร การใชงานกราฟกใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน จะชวย สงเสริมและสรางการจดจําใหแกผรู บั สาร และทําใหองคกร มีความเดนชัดมากขึน้ ทัง้ ในเรือ่ งวิสยั ทัศนและภาพลักษณ โดย สามารถแบงประเภทไดดงั ตอไปนี้

Icons

Design

การออกแบบ ภาพกราฟกในอัตลักษณสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ Icon สัญลักษณ และ Pattern ลวดลาย โดยออกแบบ ใหมคี วามสอดคลองกับอัตลักษณขององคกร ใชรปู แบบของ เสนทีด่ เู ปนธรรมชาติ มีความออนโยนและใชลกั ษณะทีเ่ ปน ไทย ในการออกแบบภาพกราฟกทัง้ หมด Icon

ใชในการแทนขอความตางๆ เชน จดหมาย , เบอรโทร , ใบไม , ไมกวั ซา ฯลฯ

Pattern

ใชในการออกแบบสื่อทั้งหมดของ องคกร เพื่อใชในการสื่อสารและ บงบอกความเปนองคกรผานภาพ

Pattern


4.1

VISUAL ELEMENT VISUAL OVERVIEW ภาพกราฟิกของอัตลักษณ์

ไม้กัวซา

สมุนไพร

ยา 9 เม็ด

ธรรมชาติ

ลายไทย

คลื่นชีวิต

Pattern design

การออกแบบลวดลาย การออกแบบลวดลายใชลักษณะของผาไทย ประตูวัดหรือ ลักษณะของลายไทยแบบดัง้ เดิม โดยออกแบบใหดอู อ นโยน และมีความสอดคลองกับอัตลักษณองคกร กําหนดลวดลาย ทัง้ หมด 6 แบบดังนี้


5.0

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพบุคคล

DO

ภาพเดีย่ วแนวตัง้

การถ่ายภาพประเภทบุคคล ลักษณะภาพเดี่ยวแนวตั้ง กําหนดให ถายภาพลักษณะดังที่ปรากฏ โดยมีลักษณะ คือ มีการโฟกัสจุด หนาบุคคลและตัวคนที่ชัดเจน สวนรอบของภาพจะการทําเบลอ หนาชัดหลังเบลอ เพื่อลดความเดนใหมีจุดเดียว การถายภาพจะ กําหนดใหถายในตอนเชาถึงบาย จะไมถายในชวงเวลาที่มีแสงนอย หรือตอนกลางคืน เนนแสงที่มีลักษณะดูอบอุน มีชีวิตชีวา


5.1

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพบุคคล

DO

ภาพเดีย่ วแนวนอน

การถ่ายภาพประเภทบุคคล ลักษณะภาพเดีย่ วแนวนอน กําหนดให ถายภาพลักษณะดังที่ปรากฏ โดยมีลักษณะ คือ มีการโฟกัสจุด หนาบุคคลและตัวคนที่ชัดเจน สวนรอบของภาพจะการทําเบลอ บางในบางสวน ซึ่งจะมีการใชจุดนําสายตาจุดรองและจุดที่เนน กําหนดใหถายในตอนเชาถึงบาย จะไมถายในชวงเวลาที่มีแสงนอย หรือตอนกลางคืน เนนแสงที่มีลักษณะดูอบอุน มีชีวิตชีวา


5.2

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพกิจกรรม

DO

ภาพกิจกรรม

การถ่ายภาพกิจกรรม ภาพแนวนอน กําหนดใหถายภาพลักษณะ ดั ง ที่ ป รากฏ โดยมี ลั ก ษณะ คื อ มี ก ารโฟกั ส จุ ด หน า บุ ค คลใด บุ ค คลหนึ่ ง ให มี จุ ด เด น จุ ด รองและภาพพื้ น ส ว นรอบของภาพ ที่ไมไดตองการสื่อสารควรทําใหเบลอ โดยเนนใหภาพสามารถ สื่ออารมณที่อบอุน สุขใจ ในขณะเขารวมกิจกรรมตางๆ


5.3

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพผักสมุนไพร

DO

ภาพผักสมุนไพร

การถ่ายภาพผักสมุนไพร ภาพแนวนอนกําหนดใหถา ยภาพลักษณะ ดั ง ที่ ป รากฏ โดยมี ลั ก ษณะ คื อ มี ก ารโฟกั ส ชนิ ด ผั ก ต า งๆให คมชั ด และโดดเด น สามารถมองเห็ น ถึ ง ลั ก ษณะภาพรวมของ ผักสมุนไพรไดอยางชัดเจน โดยในสวนที่ไมตองการจะทําใหเบลอ เพื่ อ ให เ กิ ด จุ ด นํ า และจุ ด รองของการมองเห็ น


5.4

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพอาหารและผลไม้

DO

ภาพอาหารและผลไม้

การถ่ายภาพอาหารและผลไม้ กํ า หนดให ถ  า ยภาพลั ก ษณะดั ง ที่ ปรากฏ โดยมีลักษณะ คือ ภาพอาหารจะใชพื้นหลังที่เปนลักษณะ ของพื้นไมหรือสิ่งสื่อถึงความเปนไทยและธรรมชาติ เชน ใบตอง โดยใหมีมุมการถายภาพ 2 แบบดังที่ปรากฏ ภาพผลไมจะถายบน กองผลไม โดยทั้ ง ภาพอาหารและผลไม จ ะมี ก ารจั ด วางตกแต ง ให เ กิ ด ความสวยงามและจั ด ให มี จุ ด เด น และจุ ด รองดั ง ที่ ป รากฏ


5.5

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพสถานที่

DO

ภาพสถานที่

การถ่ายภาพสถานที่ ภาพแนวนอน กําหนดใหถายภาพลักษณะ ดังที่ปรากฏ โดยมีลักษณะ คือ ถายภาพในชวงเวลาตั้งแตตอนเชา ถึงตอนเย็น หรือชวงเวลาที่มีแสงแดดสอง โดยถายภาพใหมีความ คมชัดและสามารถมองเห็นถึงภาพรวมของสถานที่ไดอยางชัดเจน เห็ น ถึ ง บรรยากาศและความเป น ธรรมชาติ


5.6

PHOTOGRAPHY

MOOD & TONE OF IMAGE

การถ่ายภาพประเภทภาพขัน้ ตอนการทํา

DO

ภาพขัน้ ตอนการทํา

การถ่ายภาพขัน้ ตอนการทํา กํ า หนดให ถ  า ยภาพลั ก ษณะดั ง ที่ ปรากฏ โดยมีลักษณะ คือ มีการโฟกัสในสวนของมือ อุปกรณ ผักสมุนไพร ในขณะกําลังหั่นหรือจับอยางชัดเจน สามารถเห็นถึง วิธกี ารหัน่ สับ หรือการคัดแยกตางๆได โดยใหมจี ดุ เดนและจุดรอง ของการมองเห็น และสวนรอบของภาพที่ไมไดตองการสื่อสารควร ทําใหเบลอ หรือมีการใสขอบมืดๆ ลงไปในภาพดังที่ปรากฏ


6.0

GRID SYSTEM ระบบกริดของอัตลักษณ์

Layout

HEAD -------------------------------------------------

โมดูลาร์กริด เปนรูปแบบกริดที่ประกอบดวยโมดูลหลาย ๆ โมดูลซึ่ง เกิดจากการตีเสนตามแนวตั้ง และ แนวนอน สามารถ ประสมประสานภาพกั บ ข อ ความเป น ชุ ด ๆ จั ด แบ ง เรื่ อ ง ราวหลาย ๆเรื่องมาอยูในหนาเดียวกันโดยนําไปใชในสื่อ ตารางการเขาคาย โบวชัวร หนังสือวารสาร จุลสาร

-------------------------------------------------

-------------------------------------------------

Layout

Bodytext

-------------------------------------------------

-------------------------------------------------

-------------------------------------------------

Artwork

HEAD Subhead

Modular grid

Subhead

Image

Column grid

คอลัมน์กริด เปนรูปแบบกริดที่มีคอลัมนมากกวาหนึ่งคอลัมนในหนึ่ง หนาของแบบ ความกวางของแตละคอลัมนไมจําเปนตอง เทากัน การวางภาพอาจจะจัดวางใหมีความกวางเทากับ หนึ่งคอลัมนหรือมากกวาก็ได โดยนําไปใชในสื่อนิตยสาร แคตตาล็อก โบวชัวร

HEAD

Subhead Bodytext

ระบบกริดหรือตารางของเสนทีจ่ ดั อยางเปนแบบแผนใชเพือ่ เปนโครงในการกําหนดตําแหนงขอบเขตบริเวณสําหรับบรร จุภาพ เนือ้ หา ชองวางเปลาและสวนประกอบตาง ๆในการ จัดรูปแบบแตละหนาของงานพิมพ โดยไดกาํ หนดระบบกริด ทีใ่ ชในอัตลักษณ 2 รูปแบบคือ

Artwork

-------------

HEAD Subhead

-------------

Bodytext

-------------

-------------

Bodytext

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------

-------------



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.