การออกแบบและพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยาหม่องร้านศรีบุญทอง

Page 1

การออกแบบและพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี

สายัณห์ รอดบุญยัง

โครงการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี ปีการศึกษา 2555


ชื่อเรื่อง ชื่อผู้เขียน อาจารย์ที่ปรึกษา ระดับการศึกษา สาขาวิชา ปีการศึกษา

การออกแบบและพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยาหม่องร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี นายสายัณห์ รอดบุญยัง อาจารย์สุธรรม อนุชาติกิจเจริญ ปริญญาตรีเทคโนโลยีบัณฑิต ออกแบบผลิตภัณฑ์ 2555

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยา หม่องร้านศรีบุญทอง จานวน 3 ขนาด แบ่งออกเป็นบรรจุภัณฑ์ยาหม่อ งชนิดขี้ผึ้งชนิดกระปุก อะลูมิเนียม ทรงกลมขนาด 12. x4.2 x 4.2 เซนติเมตร บรรจุ 10 กรัม ขนาด 2.43 x 6.1 x 6.1 เซนติเมตร บรรจุ 30 กรัม ขนาด 2.6 x 7.0 x 7.0 เซนติเมตรบรรจุ 60 กรัมบรรจุภัณฑ์ยาหม่องชนิด น้าชนิดขวดแก้วใสฝาเกลียวหัวเจาะรูขนาด 1.8 x 2.6 x 4.8 เซนติเมตร บรรจุ 3 ซีซี ขนาด 2.0 x 3.0 x 4.8 เซนติเมตร บรรจุ 5 ซีซีขนาด 4.8 x 4.3 x 7.3 เซนติเมตร บรรจุ 30 ซีซี และเพื่อการออกแบบ ตราสินค้ากราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ให้มีเอกลักษณ์และโดดเด่นเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น ประชาการที่ใช้ คือบุคคลทั่วไป จานวน 100 คนและผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์และด้าน กราฟิก จานวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามที่ ผู้วิจัยได้จัดทาขึ้น เอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ นาเสนอในรูปแบบตารางและความเรียง ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวิจัยและการออกแบบและพัฒนาต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยา หม่องร้านศรีบุญทอง พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ประกอบอาชี พ รั บ จ้ า งและมี ร ายได้ ต่ อ เดื อ น 5,001 – 10,000 บาทผู้ ต อบ แบบสอบถามส่ วนใหญ่ เห็นว่ าบรรจุภัณ ฑ์ค วรมีลัก ษณะทรงกลม มีค วามแข็ งแรง ทนต่อ การ กระแทกได้ดี และมีรูปแบบหลายขนาด เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน เช่นขนาดเล็กเพื่อการพกติด ตัว หรือขนาดใหญ่ เพื่อการเก็บไว้ในตู้ยาสามัญประจาบ้าน ผลการศึกษาด้านโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอกพบว่า ผู้เชี่ยวชาญได้ทาการคัดเลือกแบบที่ 8 จากทั้งหมด 10 แบบ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งเลือกแบบที่ 2จากทั้งหมด 10 แบบ ผลการศึกษาตราสินค้าพบว่า ผู้เชี่ยวชาญทางด้านกราฟิกให้ก ารยอมรับมากที่สุด คือแบบที่ 6 จากทั้งหมด 10 แบบ


ค ผลการศึกษาด้านกราฟิกพบว่า ผู้เชี่ยวชาญทางด้านกราฟิกให้การยอมรับมากที่สุด คือแบบ ที่ 8 จากทั้งหมด 10 แบบ


ง Title Student Advisor Education Level Major Academic Year

Design and Development of Mentholated Ointment Package Prototype from Sri Boonthong Pharmacy, Lopburi Province Mr. Sayanth Rodboonyang Sutham Anuchatkijcharoen Bachelor Degree of Technology Product Design 2012 Abstract

This research aims to design and develop the 3 size of mentholated ointment package prototype from Sri Boonthong pharmacy. The packages are round aluminium cans with 12 x 4.2 x 4.2 cm. containing 10 gram balm, 2.43 x 6.1 x 6.1 cm. containing 30 gram balm, 2.6 x 7.0 x 7.0 cm. containing 60 gram and liquid balm in clear glass bottle with perforated screw closure with1.8 x 2.6 x 4.8 cm. containing 3 c.c., 2.0 x 3.0 x 4.8 cm. containing 5 c.c., 4.8 x 4.3 x 7.3 cm. containing 30 c.c. and to design remarkable graphic brand on package. The sample group is 100 people and package and 5 package and graphic design experts. Data collection tool is questionnaire created by researcher. Statistic used for data analysis is percentage presented in table and composition form. The finding shows that most of the correspondents are 31 – 40 years old female who are bachelor degree employees having 5,001 – 10,000 Baht/ month. They think that the packaging should be round, strong and well resist to bouncing force with various size for each application such as small size for carrying or big size for keeping in common medicine cabinet. The study of outside package structure, the experts choose the eighth of 10 designs and the second design for transportation. The study of product brand, the graphic experts mostly accept the sixth of 10 designs. The study of graphic design, the graphic experts mostly accept the eighth of 10 designs.


บทที่ 1 บทนำ กำรออกแบบและพัฒนำต้นแบบบรรจุภัณฑ์ยำหม่อง ร้ำนศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี ที่มำและควำมสำคัญของปัญหำ สังคมไทยในปัจจุบัน ประชาชนได้หันมาให้ความสนใจภูมิปัญญาดั้งเดิมของบรรพบุรุษ มากขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพแบบพึ่ ง พาตนเอง โดยใช้ ส มุ น ไพรที่ มี ภายในประเทศ เพราะสมุนไพรนั้นเป็นพืช ที่เติบโตในป่าเมื่อบรรพบุรุษเห็นคุณค่าและประโยชน์ ของสมุนไพรจึงได้นามาปลูกไว้ใกล้ถิ่นที่อยู่อาศัยเพื่อสะดวกในการเก็บใช้ในยามจาเป็น แต่โรคภัย ไข้เจ็บย่อมเกิดขึ้นได้โดยไม่จากัดฤดูกาลหรือ เวลา จึงได้เกิดการเรียนรู้วิธีการแปรรูปสมุนไพร ควบคู่กับการเก็บรักษาให้มีประสิทธิภาพมายิ่งขึ้น (โชติอนันต์ และคณะ, 2537) ยาหม่องถือเป็นการแปรรูปของสมุนไพรเพื่อ ให้สะดวกต่อการใช้งานอีกรูปแบบหนึ่ง เพราะเป็นยาสามัญประจาบ้านที่สังคมไทยนิยมมีไว้ทุกครัวเรือนเพราะมีสรรพคุณใช้ทาเพื่อบรรเทา อาการปวดเมื่อยเคล็ดขัดยอกตามร่างกาย ทาบรรเทาอาการวิงเวียนศีรษะ เมารถเมาเรือ และยัง สามารถทาเพื่อบรรเทาอาการบวมจากแมลงกัดต่อย ซึ่งอาจเรียกชื่อแตกต่างกันไปตามลักษณะของ ผลิตภัณฑ์ เช่นมีลักษณะเนื้อครีมหรือขี้ผึ้ง เรียกว่ายาหม่อง หรือถ้าเป็นลักษณะน้าเรียกว่ายาหม่อง น้า หรือน้ามันระเหยเป็นต้น ซึ่งจากการที่ผู้วิจัยได้ทาการสารวจข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาหม่อ งที่มีวาง จาหน่ายในอาเภอเมือง จังหวัดลพบุรีพบว่าร้านอาหารศรีบุญทอง เป็นอีกร้านหนึ่งที่มีธุรกิจการผลิต และจาหน่ายผลิตภัณฑ์ยาหม่อง โดยคุณสุทธิญาณ์ พิริยเศรษฐ์ ประกอบธุรกิจด้านอาหารควบคู่กับ การเป็น วิ ท ยากรด้ านการผลิ ต ยาหม่ อ งแก่ ห น่ ว ยงานข้า ราชการและชุ ม ชน โดยมี ก ารจาหน่ า ย ผลิตภัณฑ์ผ่านการอบรม การจาหน่ายผลิตภัณฑ์หน้าร้านและจาหน่ายในรูปแบบของชาร่วยในพิธี มงคลต่างๆ ทาให้มีช่องทางการจาหน่ายหลายรูปแบบ แต่จากลักษณะของบรรจุภัณฑ์ที่จาหน่ายนั้น พบว่ า เป็ น การผลิ ต เองภายในครอบครั ว จึ ง ไม่ มี ภ าพประกอบบนฉลากเพื่ อ เป็ น การส่ ง เสริ ม คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ และหมึกที่ใช้พิมพ์ฉลากนั้นมีลักษณะไม่กันน้า ทาให้ตราสัญลักษณ์ไม่ ชัดเจน หากสัม พัท ธ์ความชื้นท าให้ข้อ มูล บนฉลากละลายมองเห็นไม่ชั ดเจน ทั้งขนาดบรรจุ ที่ จาหน่ายมีขนาดเดียวคือยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 50 กรัม และยาหม่องน้าขนาด 24 ซีซี โดยไม่มีขนาดอื่น เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค จึงส่งผลในด้านการตลาดคือ ทาให้เสียโอกาสที่จะทาให้ ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ได้เลือกซื้ออย่างหลากหลาย และโอกาสในการเผยแพร่ผลิตภัณฑ์สู่ตลาดให้มากขึ้น รวมทั้งการยอมรับและความน่าเชื่อถือในผลิตภัณฑ์ เป็นส่วนหนึ่งในการบ่งบอกความบกพร่องของตัว ผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายในอย่างชัดเจน อันจะนาไปสู่การเปรียบเทียบถึงมาตรฐานสินค้าทั้งของผู้ผลิตกับขู่แข่ง


2 จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ จั ด ท าโครงการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ย าหม่ อ ง โดยมี จุดประสงค์เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ภายใต้การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์เดิมที่มีวางจาหน่ายอยู่ แล้วอย่างแตกต่างและมีเอกลักษณ์เฉพาะ ด้วยการนาเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์มาเป็นแนวทางในการ ออกแบบภาพประกอบให้ครอบคลุมทั้งรูปแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ กราฟิก และตราสัญลักษณ์ เพื่อการส่งเสริมซึ่งกันและกันระหว่างการรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์และความงามของบรรจุภัณฑ์ ให้มีความเหมาะสมรูปแบบการจาหน่ายผลิตภัณฑ์หน้าร้าน การจาหน่ายรูปแบบของชาร่วยในพิธี มงคลต่างๆ และการยกระดับผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่มีวางจาหน่าย ทั่วไปในวงกว้างมากขึ้น ปัญหำและแนวทำงกำรแก้ไข จากการสารวจข้อมูลด้านบรรจุภัณฑ์ยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี ผู้วิจัยได้ จาแนกที่มาของปัญหาเป็นหมวดหมู่ พร้อมแนวทางการแก้ไขปัญหาดังตารางดังต่อไปนี้ ที่มำของปัญหำ 1.ปัญหำด้ำนกรำฟิกบนฉลำก

1.1 ฉลากผลิตภัณฑ์เดิมขาดภาพประกอบ เพื่อ เป็นการส่งเสริมคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ 1.2 การใช้ สี ที่ แ สดงบนฉลากในลั ก ษณะ กระจายหลายสี โดยไม่สื่อในด้านภาพลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์ที่ชัดเจน 1.3 ใช้ เครื่องปริ้นเตอร์ชนิด อิงค์เจทสาหรั บ พิมพ์เอกสารทั่วไปในการพิมพ์ฉลาก ทาให้ข้อ มูล บนฉลากไม่คมชัด หากสัมพัทธ์ความชื้นทาข้อมูล ฉลากละลายมองเห็นไม่ชัดเจน

แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ

1.1 ออกแบบภาพประกอบโดยใช้ เอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ไ ด้แ ก่ สี สรรพคุ ณ มาเป็นแนวทางในการออกแบบ 1.2 การใช้สีตามวิธีหลักการออกแบบมา ประยุ ก ต์ กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี ค วามเหมาะสม และสื่ อ ในด้ า นภาพลั ก ษณ์ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ชัดเจน 1.3 เลือ กระบบการพิมพ์ตามมาตรฐานการ พิมพ์ งานอุตสาหกรรมเพื่อ ให้ฉลากมีความ ชัดเจน คุณภาพสม่าเสมอ


3 ที่มำของปัญหำ

แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ

2.ปัญหำด้ำนตรำสัญลักษณ์

2.1 ลักษณะสัญลักษณ์แบบดั้งเดิม ใช้รูปคน เป็นหลัก ซึ่งมีคุณภาพไม่ชัดเจน จดจาได้ยาก

3.ปัญหำด้ำนโครงสร้ำงบรรจุภัณฑ์

3.1 ขนาดบรรจุ ภั ณ ฑ์ ภ ายใน ที่ จ าหน่ า ยมี ขนาดเดียวคือยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 50 กรัม และยา หม่องน้าขนาด 24 ซีซี โดยไม่มีขนาดอื่นเพื่อความ ต้องการของผู้บริโภคหลายรูปแบบ 3.2 ขาดบรรจุภัณฑ์ภายนอก เพื่ออานวยความ สะดวกต่อการจัดวางบนชั้นสินค้า 3.3 ขาดบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง เพื่อใช้เป็น หน่วยรวมและป้องกันบรรจุภัณฑ์ภายใน ในระหว่าง การขนส่งและการขายปลีกย่อยในท้องตลาด 3.4 ขาดบรรจุภัณฑ์ประเภทถุง เพื่อ การขาย ปลี ก ส่ ง และใช้ เ ป็ น สื่ อ โฆษณาประชาสั ม พั น ธ์ ประเภทเคลื่อนที่

2.1 ออกแบบตราสั ญ ลั ก ษณ์ โดยน า วัตถุดิบในผลิตภัณฑ์ และความเป็นเจ้าของ มา เป็ น แน วทา งใน ก า รอ อ ก แบบ เพื่ อ ใ ห้ สอดคล้องกับลักษณะผลิตภัณฑ์

3.1 เพิ่มขนาดบรรจุภัณฑ์ ยาหม่ อ งให้ มี ขนาดบรรจุ เ พื่ อ สะดวกต่ อ การใช้ ง านของ ผู้บริโภค 3.2 ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ภ ายนอกโดย เลือกใช้วัสดุที่สามารถทนต่อการบิด -พับ เพื่อ อ านวยความสะดวกต่ อ การจั ด วางบนชั้ น สินค้า และมีกราฟิกที่เหมือ นกับบรรจุภัณฑ์ ภายใน 3.3 ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ข นส่ ง โดย เลื อ กใช้ วั ส ดุ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ทนต่ อ กระแทก หรือ การกดทับโดยไม่เกิดความเสียหายของ ผลิ ตภั ณ ฑ์ ภ ายใน และสะดวกต่ อ การขนส่ ง และการค้าปลีกย่อยในท้องตลาด 3.4 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ถุง เพื่อการขาย ปลีกและส่ง ได้แก่ บรรจุภัณฑ์ขายปลีกขนาดไม่เกิน 500 กรัม จานวน1รูปแบบ บรรจุภัณฑ์ขายปลีกขนาดไม่เกิน 1,000 กรัม จานวน1รูปแบบ


4 ที่มำของปัญหำ

แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ

4. ออกแบบสื่อ ประชาสัมพันธ์ สาหรับยา 4. ขาดสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับยาหม่อง ร้าน หม่ อ ง ร้ า นศรี บุ ญ ทอง จั ง หวั ด ลพบุ รี ไ ด้ แ ก่ ศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี นามบัตร แผ่นพับ และแผ่นป้ายโฆษณา

วัตถุประสงค์ของงำนวิจัย ออกแบบบรรจุภัณฑ์ยาหม่อ งขี้ผึ้ งและยาหม่อ งน้ า ของร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุ รี ประกอบด้วย โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอกบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง กราฟิก ตราสัญลักษณ์ และ สื่อประชาสัมพันธ์ได้แก่ นามบัตร แผ่นพับ และแผ่นป้ายโฆษณา ขอบเขตกำรออกแบบ 1. ออกแบบกราฟิกบรรจุภัณฑ์ภายในสาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุ ญทอง จังหวัดลพบุรี 2 ชนิด ชนิดละ 3 ขนาด ได้แก่ 1.1 ยาหม่องชนิดขี้ผึ้ง ขนาด 10, 30, 60 กรัม จานวน 1 รูปแบบ 1.2 ยาหม่องชนิดน้า ขนาด 3, 5, 30 ซีซี จานวน 1 รูปแบบ 2. ออกแบบกราฟิกและโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอกสาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี 2 ชนิด ชนิดละ 3 ขนาด ได้แก่ 2.1 ยาหม่องชนิดขี้ผึ้ง ขนาด 10, 30, 60 กรัม จานวน 1 รูปแบบ 2.2 ยาหม่องชนิดน้า ขนาด 3, 5, 30 ซีซี จานวน 1 รูปแบบ 3. ออกแบบกราฟิกและโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง สาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรีจานวน 1 รูปแบบ 4. ออกแบบตราสั ญ ลั ก ษณ์ ส าหรั บ ยาหม่ อง ร้ านศรี บุ ญทอง จั ง หวั ด ลพบุ รี จ านวน 1 รูปแบบ 5. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ถุงเพื่อการขายปลีกและส่ง จานวน 2 รูปแบบ ได้แก่ 5.1 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ขายปลีกขนาดบรรจุไม่เกิน 500 กรัม จานวน 1 รูปแบบ 5.2 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ขายปลีกขนาดบรรจุไม่เกิน 1,000 กรัม จานวน 1 รูปแบบ 6. ออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี ได้แก่ 6.1 ออกแบบนามบัตร จานวน 1 รูปแบบ


5 6.2 ออกแบบแผ่นพับ 6.3 ออกแบบแผ่นป้ายโฆษณา

จานวน 1 รูปแบบ จานวน 1 รูปแบบ

ขอบเขตกำรศึกษำข้อมูล 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพยาหม่อง ของร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี 2. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ที่มีวางจาหน่ายทั่วไป 3. ศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 4. ศึกษาข้อมูลหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ 5. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกสาหรับบรรจุภัณฑ์ 6. ศึกษาข้อมูลด้านคุณสมบัติวัสดุและวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์ 7. ศึกษาข้อมูลด้านระบบงานพิมพ์ในงานอุตสาหกรรม 8. ศึกษาข้อมูลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ วิธีดำเนินกำรวิจัย ขั้นที่ 1 ศึกษาข้อมูลและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 7 ขั้นที่ 8 ขั้นที่ 9 ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 11

กาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สร้างเครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูลงานวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย พัฒนาการออกแบบ สรุปผลการออกแบบ เขียนแบบเพื่อการผลิต สร้างหุ่นจาลองเพื่อศึกษารูปแบบภายนอก สร้างหุ่นจาลองเพื่อนาเสนอผลงาน จัดทารายงานการวิจัยและนาเสนอผลงานการวิจัย

ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ได้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ย าหม่ อ งขี้ ผึ้ ง และยาหม่ อ งน้ าส าหรั บ ร้ า นศรี บุ ญ ทอง จั ง หวั ด ลพบุ รี ประกอบด้วย บรรจุภัณฑ์ภายนอก บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งกราฟิก และตราสัญลักษณ์บนบรรจุภัณฑ์


6 เพื่อให้ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ได้เลือกซื้ออย่างหลากหลาย และ สื่อประชาสัมพันธ์ได้แก่ นามบัตร แผ่นพับ และแผ่นป้ายโฆษณาเพื่อเพิ่มโอกาสในการเผยแพร่ผลิตภัณฑ์สู่ตลาดให้มากขึ้น นิยำมศัพท์ สมุนไพร ตาม พระราชบัญญัติยา หมายถึง "ยาที่ไ ด้จากพืช ซึ่งยังไม่ได้ผสม ปรุง หรือ เปลี่ยนสภาพ" นอกจากพืชสมุนไพรแล้ว ยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วยซึ่งเรียกแร่ธาตุ ที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า "เภสัชวัตถุ" แต่ในทางการค้าสมุนไพรมักจะถูกดัดแปลงในรูปต่าง ๆ เข่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่ง (สารานุกรมไทย สาหรับเยาวชน เล่มที่ 14, มปป.) ยาหม่ อ ง (น.) หมายถึ ง ยาขี้ ผึ้ ง ชนิ ด หนึ่ ง ใช้ ท า นวด เป็ น ต้ น (พจนานุ ก รม ฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน,2552 ) บรรจุภัณฑ์ หมายถึง หน่วยรูปแบบวัตถุภายนอกที่ทาหน้าที่ปกป้องคุ้มครอง หรือห่อหุ้ม ผลิตภัณฑ์ภายในให้ปลอดภัย สะดวกต่อ การขนส่ง เอื้ออานวยให้เกิดผลประโยชน์ในทางการค้า และการบริโภค (ประชิด ทิณบุตร,2531,หน้า 21) แนวควำมคิดในกำรออกแบบ “กำรเดินทำง”

ภาพประกอบที่ 45 แนวความคิดในการออกแบบ วิถีชีวิตผู้คนไม่ว่าจะเด็กผู้ใหญ่ ล้วนแต่มีการเดินทางสู่หนทาง จุดมุ่งหมายดังที่ตั้งไว้ ทั้ง หน้าที่ การงาน หรือความประสบความสาเร็จในชีวิตซึ่งอาจเกิดปัญหาขึ้น จึงควรมีตัวเลือกที่ค่อ ย ช่วยเหลือให้ปัญหาให้ผ่านพ้นไปโดยเร็ว สู่จุดมุ่งหมายได้อย่างราบรื่น เปรียบเสมือ นยาหม่อ งที่ สามารถสร้างความเย็นสดชื่น ผ่อนคลายความปวดเหนื่อยเมื่อยล้าจากการทาภารกิจในแต่ละวันได้ ด้วยด้วยตัวเองในเวลาอันสั้น ด้วยรูปทรงบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กกระทัดลัด พกพาได้สะดวก ผู้วิจัย นาแนวความคิดดังกล่าวมาประยุกต์ในการออกแบบด้านกราฟิกเพื่อสื่อถึงความสอดคล้องต่อการ ดาเนินชีวิต เสมือนเพื่อนเดินทางที่คอยช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา


7 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูลพัฒนำกำรออกแบบ ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลที่ค้นคว้าทั้งหมดและการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง 2. พัฒนาและการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ 2.1 ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมดและผลการสารวจจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทาง ในการออกแบบIdea Sketch 2.2 การคัดสรรบรรจุภัณฑ์ภายในสาหรับยาหม่องขี้ผึ้งและยาหม่องน้าที่มีวางจาหน่าย ในท้องตลาด 2.3 ออกแบบโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ภายนอกและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์เพื่อ การขนส่ง

ภาพประกอบที่ 46 การคัดสรรบรรจุภัณฑ์สาหรับยาหม่องขี้ผึ้งที่มี วางจาหน่ายในท้องตลาด จานวน 10 รูปแบบ


8

ภาพประกอบที่ 47 การคัดสรรบรรจุภัณฑ์สาหรับยาหม่องน้าที่มี วางจาหน่ายในท้องตลาด จานวน 10 รูปแบบ


9

ภาพประกอบที่ 48 ผลการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอก จานวน 10 รูปแบบ


10

ภาพประกอบที่ 49 ผลการออกแบบโครงสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง จานวน 10 รูปแบบ


11

ภาพประกอบที่ 58 ผลการออกแบบตราสัญลักษณ์ จานวน 10 รูปแบบ


12

ภาพประกอบที่ 60 ผลการออกแบบกราฟิก จานวน 10 รูปแบบ

รูปแบบที่ 1


13

รูปแบบที่ 2

รูปแบบที่ 3 ภาพประกอบที่ 64 ผลการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์สาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี


14 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล เขียนแบบเพื่อกำรผลิต เขียนแบบ Working Drawing เพื่อทาการผลิตในระบบอุตสาหกรรม

ภาพประกอบที่ 75 Working Drawing แสดงเขียนแบบแผ่นคลี่โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอก ยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 10 กรัม และยาหม่องชนิดน้าขนาด 3 ซีซี


15

ภาพประกอบที่ 76 Working Drawingแสดงเขียนแบบแผ่นคลี่โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอก ยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 30 กรัม และยาหม่องชนิดน้าขนาด 5 ซีซี


16

ภาพประกอบที่ 77 Working Drawing แสดงเขียนแบบแผ่นคลี่โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอก ยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 60 กรัม และยาหม่องชนิดน้าขนาด 30 ซีซี


17

ภาพประกอบที่ 78 Working Drawing แสดงเขียนแบบแผ่นคลี่โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอกรวม ชุดยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 10 กรัม ยาหม่องชนิดน้าขนาด 3 ซีซีและ ยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 20 กรัม ยาหม่องชนิดน้าขนาด 5 ซีซี


18

ภาพประกอบที่ 79 Working Drawing แสดงเขียนแบบแผ่นคลี่โครงสร้างบรรจุภัณฑ์ภายนอกรวม ชุดยาหม่องยาหม่องขี้ผึ้งขนาด 60 กรัม ยาหม่องชนิดน้าขนาด 30 ซีซีและ บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง


19

ภาพประกอบที่ 80 Working Drawing แสดงเขียนแบบ สือ่ ประชาสัมพันธ์สาหรับยาหม่อง ร้านศรีบุญทอง จังหวัดลพบุรี


20 ผลงำนกำรออกแบบโดยรวม

ภาพประกอบที่ 96 แสดงผลงานการออกแบบโดยรวม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.