SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 116 - จังหวัดอุบลราชธานี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอุบลราชธานี ประจ�ำปี 2564

EXCLUSIVE

“ถอดรหัสสามอิ่ม และสามแสง แห่งการพัฒนาจังหวัด” กับการเดินทางปักหมุดยุทธศาสตร์

ครั้งใหม่ของพ่อเมืองอุบลฯ

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

เปิดเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

ผสานกับการพัฒนาจังหวัด

โดยองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นจังหวัด อ�ำเภอ และต�ำบลอย่างเต็มอิ่ม

อุบลราชธานี

Vol.11 Issue 116/2021

www.issuu.com

.indd 3

UBON RATCHATHANI สัมผัสตะวันอ้อมโขง ในฤดูหนาว

19/12/2563 9:18:23



อุบลเบสท์เพลส

(Ubon Best Place)

อุบลเบสท์เพลส ที่พักกลางเมืองอุบล บริการห้องพัก ทั้งรายวัน - รายเดือน ห้องพักใหม่ สะอาด กว้างขวาง สะดวกสบาย เฟอร์นิเจอร์ครบครัน เดินทางสะดวก อยู่ในตัวเมืองอุบล เครื่องอ�ำนวยความสะดวกภายในห้อง ครบครัน พร้อมฟรี WiFi ที่จอดรถกว้างขวาง • ตลาดกกยาง • ระยะทาง 200 เมตร จากรพ.อุบลรักษ์ , 1 กม. จากรพ.สรรพสิทธิ์ • ใกล้ปั๊มน�้ำมัน ปตท. 7-11 ร้านกาแฟอเมซอน • 10 นาที จากสนามบิน

ติดต่อ อุบลเบสท์เพลส (Ubon Best Place) เลขที่ 3/3 ถนนศรีณรงค์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 Tel : 089 928 8694, 081 977 9397 0899288694 UBON BEST PLACE


เดอร์บัว วิลล่า (Debua Villa) สาขาสี่แยกดงอู่ผึ้ง

เดอร์บัว วิลล่า (Debua Villa) เดอร์บัว วิลล่า พบกับบริการห้อง พัก บรรยากาศสบายๆ สไตล์การตกแต่ง แบบเรียบง่าย ภายในห้องพักมีสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน พร้อมทั้งใกล้ สถานที่ท่องเที่ยว เดินทางสะดวกสบาย ที่จอดรถกว้างขวาง ที่ตั้งของโรงแรมอยู่ ไม่ไกลจาก บขส. ฟรี WiFi

ติดต่อ เดอร์บัว วิลล่า สาขาสี่แยกดงอู่ผึ้ง ที่อยู่ : 191 หมู่ 10 ถ.แจ้งสนิท ต�ำบลแจระแม อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี อุบลราชธานี 34000

โทร 045-285999, 045-281229, 088-7219228


เดอร์บัว วิลล่า (Debua Villa) สาขาเลี่ยงเมือง

โรงแรมเดอร์บัว วิลล่า (Debua Villa) เดอร์บัว วิลล่า เปิดให้บริการห้องพักสุดหรู สไตล์คอนเทมโพรารี่ เดินทางสะดวก พร้อมสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน เช่น ทีวีสี เคเบิ้ล แอร์ ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ลานจอดรถ สะดวก สะอาด มีระบบ รักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง มีห้องให้เลือก หลายสไตล์ สงบร่มรื่น บรรยากาศเป็นส่วนตัว มีร้าน อาหารเช้า และเที่ยงให้บริการส�ำหรับผู้มาพัก

ติดต่อ เดอร์บัว วิลล่า สาขาเลี่ยงเมือง

เลขที่ 299 หมู่ 7 ถนนเลี่ยงเมือง ตำ�บลแจระแม อำ�เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

โทร 045-210922 095-8920703


โรงแรมระพีพรรณวิลล์

(Rapeepan Ville Hotel)

โรงแรมระพีพรรณวิลล์ อุบลราชธานี ำ หรับนักเดินทาง เป็นที่พักที่ดีที่สุด สำ� ทุกท่าน ที่พักสุดหรูหรา ร่มรื่นและกลมกลืนไปกับธรรมชาติ ใหม่ สะอาด เงียบสงบ เย็นสบาย สดชื่น ผ่อนคลาย ความประทับใจที่ท่านจะ ไม่ลืมเลือน กับห้องพักสวยงาม ตกแต่งอย่างลงตัว เติมเต็มความสุข ด้วยระเบียงส่วนตัว พื้นที่จอดรถกว้างขวาง พร้อมระบบรักษา ความปลอดภัย สำ�หรับท่านที่ชอบนวดไทย ที่พักแห่งนี้ยังมีบริการ โรงแรมระพีพรรณวิลล์ เป็นทางเลือกที่ดีต่อใจสำ�หรับผู้ที่ต้องการ เดินทางไปจุดมุ่งหมายต่างๆ ในจังหวัดอุบล สะดวกสบายในการเดิน ทาง ใกล้สนามบินนานาชาติอุบล ห้างเซ็นทรัลอุบล สวนสัตว์อุบล วัดป่านานาชาติ วัดหนองป่าพง ทุ่งศรีเมือง วัดพระธาตุหนองบัว และสถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญในจังหวัดอุบล สะดวกสบายในการเดินช้อปปิ้ง ใกล้แหล่งชุมชนถนนของกินที่มีชื่อ เสียงในจังหวัดอุบล สนุกสนานเพลิดเพลิน พร้อมสัมผัสช่วงเวลาความ สุขในวันพักผ่อนอย่างแท้จริง

w


Grand Premier Room

Premier Room

ร้านอาหารมาลองเซ่

Deluxe Room เมนูแนะนำ�

ร้านอาหารไทยทีม่ เี มนูแสนอร่อยหลากหลาย ให้ทา่ นได้ลมิ้ ลอง พร้อมกาแฟคุณภาพดี และเครือ่ งดืม่ ทัง้ ร้อนและเย็นพร้อมเสิรฟ์ ห้องอาหาร Malongce Café grade A เสิรฟ์ เมนูอาหารไทย ทีค่ ดั สรรวัตถุดบิ ชัน้ เลิศในท้องถิน่ มาท�ำเป็นเมนูทเี่ ป็นเอกลักษณ์ และหาทานได้ยาก อาทิ แกงรัญจวน ย�ำหัวปลีโบราณ กุง้ ทอดราดซอส มะขาม ต้มข่าปลาสลิด นำ�้ พริกลงเรือ ปลากะพงทอดนำ�้ ปลา และเมนู ขนมหวานทีท่ �ำเสิรฟ์ ถ้วยต่อถ้วย ท่านจะได้ดมื่ ด�ำ่ กับรสชาติกาแฟ อาราบิกา้ แท้ 100% จากหมูบ่ า้ นในภาคเหนือชือ่ ดังของประเทศไทย ทีน่ �ำเมล็ดมาคัว่ จนได้เป็นเอกลักษณ์ทมี่ รี สชาติเฉพาะตัว ซึง่ หาทาน ได้ทรี่ า้ น Malongce Café grade A แห่งนีเ้ ท่านัน้

ยำ�หัวปลีโบราณ

น้ำ�พริกลงเรือ

แกงรัญจวน

ต้มข่าปลาสลิด

ติดต่อ : โรงแรมระพีพรรณวิลล์ (Rapeepan Ville Hotel)

เลขที่ 9 ซอยสุขาอุปถัมภ์ 11 ถนนสุขาอุปถัมภ์ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 3400 โทร 045 312841 , 087 4582700


SBL

EDITOR’S

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 116/2021

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

“SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับอุบลราชธานี ออกเดินทางมาพร้อมกับลมหนาวชวนสัมผัสตะวัน อ้อมโขงในวิถีการท่องเที่ยวแบบใหม่ มอบเป็นของขวัญส�ำหรับทุกท่านไว้เป็นคู่มือท่องเที่ยวในช่วง คาบเกี่ยวส่งท้ายปีเก่า 2563 ไปจนถึงปีใหม่พุทธศักราช 2564 เลยนะครับ เพราะกว่าที่เราจะได้ยลโฉม เมืองดอกบัวงามแม่นำ�้ สองสีเล่มนีอ้ นั งดงาม ต้องขอขอบคุณชาวบ้าน นักธุรกิจ และทุกภาคส่วนจากองค์การ บริหารส่วนท้องถิน่ ทีช่ ว่ ยให้ทกุ อย่างราบรืน่ ทีส่ ำ� คัญคือด้วยความเมตตาของ ท่านสฤษดิ์ วิฑรู ย์ ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดอุบลราชธานี ทีไ่ ด้เปิดโอกาสให้ทมี งานสร้างสรรค์สอื่ การท่องเทีย่ วทีก่ ลับมาพร้อมกับรอยยิม้ และ ความอบอุ่นใจที่ขอฝากไว้ในใจทุกท่านครับ” อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ “จากงานวิจัยพฤติกรรมการท่องเที่ยวในยุค New Normal โดย Krungthai COMPASS น่าสนใจ มากครับ กระผมเห็นว่า สามารถพลิกวิกฤติเป็นโอกาสได้จริง ซึ่งเขาเจาะ 3 พฤติกรรมของการท่องเที่ยว ในวิถีใหม่คือ 1) เที่ยวในประเทศเป็นตัวเลือกแรก 2) เที่ยวที่ใกล้ ในช่วงสั้นๆ โดยการขับรถไปเอง และ 3) เที่ยวที่ Unseen คนไม่พลุกพล่าน เมื่อเราตีโจทย์การท่องเที่ยวออกมา ก็พบว่า การเดินทางท่องเที่ยว ภายในประเทศยังไปได้ไกลมาก จังหวัดอุบลราชธานีเล่มนี้ ทีมงานเราได้รวบรวมยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ ว และสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วไว้มากมายจากองค์การบริหารส่วนท้องถิน่ ตัง้ แต่จงั หวัด อ�ำเภอ ต�ำบลไปจนถึงชุมชน ที่ต่างช่วยกันบรรเลงสีสันของจังหวัดให้น่าเที่ยวในทุกมิติ รวมไปถึงอาหารท้องถิ่นและสินค้าโอทอป ตลอดจนโรงแรมที่พักต่างๆ ที่จะท�ำให้ทุกท่านไม่ผิดหวัง ก้าวไปด้วยกันครับ” ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด “เรายังคงอยู่บนเส้นทางของความไม่ประมาทกันนะครับ ส�ำหรับการท่องเที่ยวในยุค New Normal คือ ชวนกันมาเทีย่ วไทย เทีย่ วใกล้หรือไกล เราเน้นการท่องเทีย่ วทีป่ ลอดภัยกันอยู่ ตลอดปีนแี้ ม้พฤติกรรม การท่องเที่ยวของคนไทยจะเปลี่ยนไป แต่จ�ำนวนนักท่องเที่ยวในหลายแห่งก็ไม่ได้ลดลงเลย บางแห่ง กลับมากขึน้ ด้วยซ�ำ้ อุบลราชธานี ก็เป็นอีกจังหวัดหนึง่ ทีก่ ารท่องเทีย่ วอยูเ่ หนือความคาดหมายในหลายอย่าง ที่กระผมและทีมงานขอเชิญชวนทุกท่านมาสัมผัสบรรยากาศยามเช้าที่นี่ซึ่งจะได้เห็นพระอาทิตย์ขึ้นก่อน ใครๆ ทั้งประเทศ ซึ่งจะเป็นพลังใจให้กับเราอย่างมากส�ำหรับความท้าทายใหม่ๆ ที่ไม่มีอะไรมาหยุดได้” วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 8

19/12/2563 10:53:34


วังนอง รีสอร์ท

(Wangnong Resort)

โรงแรมเล็กๆ แต่น่ารักในตัวเมืองอุบลราชธานี ตกแต่งสวยงาม ทุกรายละเอียด ห้องพักกว้าง สะอาด มีกลิน่ หอม อุปกรณ์ในห้องพักครบ แต่ละห้องมีเอกลักษณ์ ไม่เหมือนกัน มาอุบลฯ ครั้งใด อย่าลืมแวะพักที่ วังนอง รีสอร์ท เล็กๆ แต่อบอุ่น มาแล้ว คุณต้องมาอีก โรงแรม ห่างจากสนามบินประมาณ 2 กม. ติดต่อ วังนอง รีสอร์ท (Wangnong Resort) เลขที่ 21 ถนนเลียบวังนอง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทร 094 2915419, 081 4078057


116

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 20 UBON RATCHATHANI GOVERNOR

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

121 Editor's talk.indd 10

32 36 40 44 48 54

WORK LIFE

เทศบาลนครอุบลราชธานี องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด เทศบาลต�ำบลเขมราฐ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง เทศบาลต�ำบลเขื่องใน องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย

19/12/2563 10:54:02


90 ที่ว่าการอ�ำเภอโขงเจียม องค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาโพธิ์กลาง องค์การบริหารส่วน ต�ำบลโขงเจียม องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองแสงใหญ่ เทศบาลเมืองเดชอุดม เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล องค์การบริหารส่วน ต�ำบลขามเปี้ย องค์การบริหารส่วน ต�ำบลท่าหลวง ที่ว่าการอ�ำเภอนาตาล

58 60 66 70

96 102 104 108 114

74 78 82

118

86

126 127 128

89

122

132 136

Editor's talk.indd 11

องค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาตาล องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร เทศบาลต�ำบลกุดชมภู องค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาโพธิ์ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลดอนจิก องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองบัวฮี เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ เทศบาลต�ำบลบุ่งไหม องค์การบริหารส่วน ต�ำบลโนนโหนน องค์การบริหารส่วน ต�ำบลค้อน้อย องค์การบริหารส่วน ต�ำบลโนนกาเล็น

19/12/2563 10:54:07


ฉัตรสุรีย์ บูติค รีสอร์ท

CHATSUREE BOUTIQUE RESORT เปิดตลอด 24 ชม. มีที่จอดรถ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Free WiFi บริการซักอบรีด

ให้บริการห้องกว่า 70 ห้อง ได้สร้างคุณลักษณะเด่นของ ห้องพัก ให้มสี ไตล์บตู คิ มีหอ้ งพักหลากหลายประเภทให้เลือก เพือ่ ให้ผเู้ ข้าพักสามารถเลือกได้ตามความชืน่ ชอบทีส่ ามารถ สนองความต้องการได้เป็นอย่างดี พร้อมด้วยสิ่งอำ�นวย ความสะดวกครบครัน ที่ตั้ง 232 ถนนคลังอาวุธ ตำ�บลขามใหญ่ อำ�เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

Chatsuree1

0955626624

0955626624


ฉัตรสุรีย์ แมนชั่น

ติดต่อ ฉัตรสุรีย์ แมนชั่น (Chatsuree mansion) ที่อยู่ 70 ถนน จงกลนิธารณ์ ตำ�บล ในเมือง อำ�เภอเมืองอุบลราชธานี อุบลราชธานี 34000 โทร 086-2429415 , 045-209211 ตลอด 24 ชั่วโมง 086-2429-415 Chatsureemansion/

ฌานตา บูติค เพลส ให้บริการห้องกว่า 40 ห้อง มีความโดดเด่นการออกแบบ ด้วยดีไซน์ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็น ธรรมชาติพร้อมกับบรรยากาศส่วนตัว ทำ�ให้รู้สึกร่มรื่นเหมาะแก่การพักผ่อน พร้อมสิ่งอำ�นวยความสะดวกครบ ครัน เปิดบริการตลอด 24 ชม.

ติดต่อ ฌานตา บูติค เพลส (chanta boutique place) ที่อยู่ 1 ถนนสุขาสงเคราะห์ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองอุบลราชธานี อุบลราชธานี 34000 โทร 089 444 9456 , 045-314453 0894449456 ChantaboutiqueResort/


บลูมูล ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี​ี

(Bluemoon Riverside Resort Ubon Ratchathani)

โรงแรมริมแม่น�้ำในพิบูลมังสาหาร พร้อมสระว่ายน�้ำกลางแจ้งและห้องอาหาร หากท่านก�ำลังมองหาที่พักในโขงเจียม บลูมูน ริเวอร์ ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี คือค�ำตอบ รีสอร์ตริมแม่นำ�้ มูลตัง้ อยูร่ ะหว่างอ�ำเภอพิบลู มังสาหาร และอ�ำเภอโขงเจียม สะดวกสบายด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ทีค่ รบครันไม่วา่ จะเป็นสระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง ร้านอาหาร และสถานทีจ่ ดั ประชุมสัมมนา หากท่านก�ำลังมองหาทีพ่ กั ในเส้นทางท่องเทีย่ วทางธรรมชาติในอ�ำเภอใกล้เคียง บลูมลู ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี คือค�ำตอบทีใ่ ช่ บลูมลู ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี มีบริการทีค่ รบครัน ตอบทุกโจทย์ของการเดินทางกับสิง่ อ�ำนวยความสะดวกทีจ่ ำ� เป็น เพือ่ คอยเติมเต็มพลังชีวติ ให้แก่ผเู้ ข้าพัก ผ่อนคลายในวัน พักผ่อนกับเสียงธรรมชาติทรี่ ายล้อมรอบๆรีสอร์ต ห้องพัก และสถานทีป่ ระดับตกแต่งอย่างเรียบง่ายและลงตัว ผสมผสานระหว่างความทันสมัย ธรรมชาติ และประเพณี วัฒนธรรมลุม่ แม่นำ�้ มูลของชาวอีสานใต้ เพลิดเพลินกับ กิจกรรมพักผ่อนในทุกรูปแบบ เช่น ตกปลา, นัง่ เรือแจว เรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ ชุมชนลุม่ แม่นำ�้ , ดืม่ ด�ำ่ กับบรรยากาศตะวัน อ้อมแม่นำ�้ มูลในช่วงฤดูหนาวช่วงก่อนสิน้ ปีและปีใหม่ที่ พระอาทิตย์จะขึน้ และตกในระนาบเดียวกัน “บลูมลู ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต” พร้อมให้บริการแบบมืออาชีพและ มีมาตรฐานจากพนักงานทีม่ าจากชุมชนแต่มหี วั ใจ ของผูใ้ ห้บริการเต็มเปีย่ ม

ติดต่อ บลูมูล ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี เลขที่ 250 หมู่ 5 ทางหลวงหมายเลข 2222 (พิบูลฯ-โขงเจียม) ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 34110 โทรศัพท์ 045-959889 โทรสาร 045-959890 มือถือ 061-0212525, 062-9044441 อีเมล์ info@bluemoonriverside.com เว็บไซด์ www.bluemoonriverside.com


ครัวชมมูล แพอาหารลอยน�ำ้ อ�ำเภอพิ บูลมังสาหาร

“บลูมูล ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี”

ครัวชมมูล ร้านอาหารบรรยากาศริมแม่น�้ำมูลตั้งอยู่ภายใน “บลูมูล ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต” ตกแต่งในรูปแบบที่เรียบง่ายแฝง กลิ่นอายธรรมชาติและวิถีชีวิตชุมชนลุ่มแม่น�้ำมูล ประดับด้วย หลอดไฟดวงเล็กๆ สะท้อนผิวน�้ำให้บรรยากาศที่อบอุ่นและ โรแมนติกสวยงามยามค�ำ่ คืน บริการอาหารและเครือ่ งดืม่ ในรูปแบบ All day dining หรือให้บริการทุกมื้ออาหารของการพักผ่อน เหมาะส�ำหรับทุกๆการเดินทางและทุกการท่องเที่ยว ทั้งแบบ ครอบครัว คู่รัก ส่วนตัว หรือติดต่อธุรกิจ กับรายการอาหารที่ หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นอาหารพื้นบ้านอีสาน อาหารไทย อาหาร นานาชาติ และอาหารเพื่อสุขภาพ เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่ 07.30 – 22.00 น. (ครัวปิดเวลา 21.00 น.) บริการอาหารเช้าเวลา 07.30 – 10.00 น. (ส�ำหรับ ผู้เข้าพักในรีสอร์ต) เมนูอาหารทั่วไปเปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 10.30 - 22.00 น. ที่ตั้ง : ครัวชมมูล (บลูมูล ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ต อุบลราชธานี) 250 หมู่ที่ 5 บ้านคันลึม ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 34110 โทรศัพท์ : 045-959889 กด 2 มือถือ : 061-0212525, 062-9044441


โรงแรมคำ�แพง

COME-PANG HOTEL

โรงแรมค� ำ แพง อยู ่ ใ นท� ำ เลที่ เ หมาะ ส�ำหรับทั้งผู้ที่เดินทางไปติดต่อธุรกิจหรือพักผ่อน หย่อนใจในจังหวัดอุบลราชธานี ทีพ่ กั ของเรามีบริการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกชั้นเยี่ยมเพื่อตอบสนอง ความต้องการที่หลากหลายของนักเดินทางทุก ประเภท ใกล้สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญในจังหวัด สามารถเดินทางได้อย่างสะดวก พนักงานของโรงแรมค�ำแพง ยินดีตอ้ นรับ ลูกค้าที่เข้าพักและพร้อมให้บริการอย่างเต็มที่ ห้องพักอันแสนสะดวกสบาย กว้างขวาง อุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวกครบ แถมฟรี WiFi ซึง่ จะช่วย ให้ทา่ นนอนหลับพักผ่อนได้อย่างเต็มอิ่ม ตื่นมารับ วันใหม่อย่างสดใส ยิ้มรับกับอาหารเช้าที่รสชาติ อร่อยไม่เหมือนใครแน่นอน แล้วคุณจะหลงรัก โรงแรมค�ำแพง


ติดต่อสอบถามจองห้องพัก โรงแรมค�ำแพง (Come Pang Hotel) 11/1 ถนนชลประทาน-ท่าบ่อ 15 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทร 088 077 7979


แลโขง ริเวอร์ รีสอร์ท

(Lae Khong River Resort)

แลโขง ริเวอร์ รีสอร์ท (Lae Khong River Resort) ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี อ�ำเภอเขมราฐ เมืองเล็กๆที่มีสถานที่ท่องเที่ยวที่นา่ สนใจอยู่หลายแห่ง อ�ำเภอเก่าแก่ที่ตั้งมาตั้งแต่สมัยกรุงเทพ อยู่ริมแม่น�้ำโขงเป็น ระยะทางยาวกว่า 40 กิโลเมตร ซึง่ ฝัง่ ตรงข้ามคือ เมืองสองคอน แขวงสุวรรณเขต (สะหวันนะเขต) ของประเทศลาว แลโขง รีสอร์ท ที่พักหรู อยู่ติดริมน�้ำโขง บรรยากาศ สบายๆ สามารถไปนั่งรับลมชมวิวกับธรรมชาติริมฝั่งโขง แถมที่นี่ยังมีโซนร้านอาหารที่เรียกได้วา่ นั่งทานอาหาร ไปพร้อมมีวิวสวยๆ ริมน�้ำทอดยาวสุดลูกหูลูกตา ห้องพัก สวยงาม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในที่พักก็มีครบ สะอาด มีความเป็นส่วนตัว

ติดต่อส�ำรองจองห้องพัก โรงแรมแลโขง ริเวอร์ รีสอร์ท ที่อยู่ 6/3 ม.11 ถ.วิศิษฐ์ศรี ต.เขมราฐ อ.เขมราฐ จ.อุบลราชธานี 34170 โทร. 045-491501, 087-1112836 Facebook: laekhongresort เพจ: lae khong river resort Line: laekhong1


สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี “อุบลราชธานีเมืองแห่งดอกบัวงาม แม่น�้ำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรมงามล�้ำ เทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล” ค�ำขวัญที่ร้อยเรียงวิถีชีวิต ถ่ายทอด หลายหลากเรื่องราว ผ่านถ้อยกวีอันสละสลวยนี้ คือตัวตนที่สะท้อนภาพจ�ำความอุดมสมบูรณ์และความมั่งคั่งด้วยทรัพยากรธรรมชาติ คน และศิลปะ ที่สืบต่อกันมาหลายชั่วอายุคนของชาวอุบลได้อย่างลึกซึ้ง ที่ตั้งของจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจุดยุทธศาสตร์ส�ำคัญในการ พัฒนาที่โดดเด่น อันน�ำไปสู่วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดที่เข้มแข็งมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยต้นทุนทางภูมิศาสตร์และภูมิสังคมนี้ ได้ยึดโยงกับกลุ่มจังหวัดโขงชีมูลอย่างเหนียวแน่นและพร้อมเดินหน้าพัฒนาร่วมกัน อันได้แก่การพัฒนาศักยภาพและเพิ่มมูลค่าภาค การเกษตร การพัฒนาการท่องเที่ยวให้เข้าสู่มาตรฐานสากล โดยสร้างความรับรู้ให้เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวโลก และการค้ากับประเทศเพื่อนบ้านหรือการค้าชายแดนที่มีศักยภาพ ภายใต้ยุทธศาสตร์ โอกาสในการพัฒนา และความท้าทายใหม่ๆ อย่าง ไม่หยุดยั้ง เรามีความภาคภูมิใจ ที่ได้เกิดกระแสการมีส่วนร่วม การร่วมแรงร่วมใจกันท�ำงานของภาคส่วนต่างๆ ทั้ง หมู่บ้าน ชุมชน ต�ำบล อ�ำเภอ หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ความรับรู้และอัตลักษณ์ที่ส�ำคัญเกี่ยวกับ จังหวัดอุบลราชธานี คือดินแดนแห่งการเติมเต็มความสุขและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน จนอาจกล่าวได้ว่า “อุบล คือ เมืองสามแสง สามอิ่ม” กล่าวคือ สามแสง ได้แก่ แสงเทียน แสงธรรม และแสงตะวันแสงแรก และสามอิ่ม ได้แก่ อิ่มปากท้อง ด้วยอาหารที่อุดมสมบูรณ์ รสชาติที่หลากหลาย แซบถูกปาก และยังเต็มไปด้วยความปลอดภัยและเป็นมิตรกับทุกคน อิ่มตา ด้วยความงดงามของธรรมชาติ ศิลปะ วัฒนธรรม และวิถีประเพณีที่ใครได้มาเห็นล้วนประทับใจไม่รู้ลืม และอิ่มบุญ ด้วยพลังแห่งบุญของเมืองแห่งพระพุทธศาสนาและ บูรพาจารย์ ที่มีวิถีชีวิตและการปฏิบัติตอบโจทย์ผู้แสวงบุญที่รักความสงบร่มเย็นในจิตใจ เมื่อหลอมรวมกันแล้วจึงเป็นความลงตัวและ โดดเด่นด้วยอัตลักษณ์ ที่ท�ำให้อุบลราชธานีเป็นเมืองน่าอยู่ น่าเที่ยว และผู้คนพร้อมที่จะเป็นเจ้าบ้านในการต้อนรับ นักท่องเที่ยวและ ผู้มาเยือนให้ได้รับความสุข ความอิ่มเอม และความประทับใจให้มาแล้วอยากมาอีกอย่างแน่นอน

(นายสฤษดิ์ วิฑูรย์)

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9

.indd 19

19

18/12/2563 11:24:12


S P EC I A L I N TE RVI EW Special Interview

UBON RATCHATHANI

GOVERNOR

เปิดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดทุกด้านเพื่อรองรับการท่องเที่ยววิถี ใหม่ “ขอเรียนว่าอุบลราชธานี เป็นที่ท่องเที่ยวที่ปลอดภัย เพราะเรามีการป้องกันและการดูแลที่ดี”

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี

นายสฤษดิ์ วิฑูรย์

SBL บันทึกประเทศไทย มีความสุขใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนทนาลงลึกถึงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดที่รองรับ การท่องเที่ยววิถีใหม่อย่างได้ครบทุกรสชาติกับท่านสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ในเมืองแห่ง ดอกบัวอันสงบเย็น กับที่มาของนิยาม “สามอิ่มสามแสง” ซึ่งบ่งบอกถึงภาพรวมของจังหวัดได้อย่างงดงาม

20

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

9

.indd 20

18/12/2563 11:24:14


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9

.indd 21

21

18/12/2563 11:24:17


S P EC I A L I N TE RVI EW

จากค�ำขวัญของจังหวัดอุบลราชธานีทวี่ า่ “เมืองดอกบัวงาม แม่นำ�้ สองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิน่ ไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล�ำ้ เทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัตศิ าสตร์” สูก่ ารเดินทางท่องเทีย่ วใน จังหวัดอุบลราชธานีที่สุดแสนประทับใจ อุบลราชธานี เป็นศูนย์กลางระหว่างประเทศอาเซียน มีเขตติดต่อ ระหว่างประเทศลาว ประเทศเวียดนามและประเทศกัมพูชา จึงเป็นจังหวัด ที่มีศักยภาพเด่นใน 3 เรื่องหลักๆ คือ 1. การค้า 2. การท่องเที่ยวชายแดน 3. การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

ด้านการค้าและการท่องเที่ยวชายแดน เพราะจังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่อยู่ทางอีสานตอนล่าง เป็น จังหวัดขนาดใหญ่ ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และของประเทศไทย ทั้งยังเป็นต�ำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ทีเ่ ส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกทีไ่ ด้เห็นดวงอาทิตย์กอ่ น พืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ ประเทศ เป็นทีร่ วมแม่นำ �้ 3 สาย ได้แก่ แม่นำ�้ มูล แม่นำ�้ ชี และ แม่น�้ำโขง ท�ำให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวมากมาย และแหล่งผลิตอาหารเลิศรส รวมไปถึงกิจกรรมที่ท�ำให้เศรษฐกิจและการพัฒนาจังหวัดไปในทิศทาง เดียวกัน ถือเป็นเสน่หข์ องภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพราะ การค้าขายและการท่องเทีย่ วมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชา จึงท�ำให้เกิดช่องทางการค้า ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอ�ำนาจเจริญและประเทศลาว ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงจ�ำปาศักดิ์ (ประเทศลาว) โดยพรมแดน บางช่วงใช้แม่นำ�้ โขงเป็นตัวก�ำหนด ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพระวิหาร (ประเทศกัมพูชา) ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร แนว พรมแดนติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชา รวมความยาวประมาณ 428 กิโลเมตร ติดต่อกับประเทศลาว 361 กิโลเมตร (จากอ�ำเภอเขมราฐถึงอ�ำเภอ น�้ำยืน ติดต่อกับแขวงสุวรรณเขต แขวงสาละวัน และแขวงจ�ำปาศักดิ์) และ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา 67 กิโลเมตร (อ�ำเภอน�ำ้ ยืน ติดต่อกับจังหวัด พระวิหาร ประเทศกัมพูชา) 22

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

9

.indd 22

18/12/2563 11:24:20


เมืองแห่งการผลิตอาหารภาคการเกษตร จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองแห่งการผลิตอาหารภาคการเกษตร มี สินค้าที่ขึ้นชื่อไม่ว่าจะเป็นข้าว มันส�ำปะหลัง และ ยางพารา ผลไม้และ พืชผักที่เป็นอาหารปลอดภัย มีผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปทางการประมง เนื่องจากจังหวัดของเราติดแม่นำ �้ เช่น ปลาส้ม และผลิตภัณฑ์ปลาแปรรูป อีกมากมาย อาทิ เค็มบักนัด เป็นอาหารโบราณคูเ่ มืองอุบลฯ มาช้านานแล้ว ค�ำว่าเค็มบักนัด แปลงมาจากค�ำว่าหมากนัด เป็นภาษาท้องถิน่ ของชาวอีสาน ที่ใช้เรียกขานผลไม้ เช่น หมากพร้าว คือ มะพร้าว หมากนัด คือ สับปะรด เค็มบักนัด ใช้ถนอมอาหารในฤดูที่มีปลามาก เพราะอุ บ ลฯ มี เขื่ อ นที่ เ ป็ น แหล่ ง เก็ บ น�้ ำ ขนาดใหญ่ ที่ ใช้ ใ นงาน เกษตรกรรมและเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเกษตร ถือว่าเป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้ สร้างงานให้คนภายในจังหวัด ผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรเป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาชิม มาช้อป มีทั้งอาหารพื้น เมืองและอาหารเวียดนามที่เป็นประเทศเพื่อนบ้านเรา

การท่องเที่ยววิถี ใหม่ ในเมืองดอกบัว อุ บ ลราชธานี เ ป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ทางทรั พ ยากรธรรมชาติ และ ทางวัฒนธรรมประเพณี โดยมีประเพณีที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลกคือ ประเพณีแห่เทียนช่วงเดือนเข้าพรรษา ซึ่งในขณะนี้ถือเป็นงานระดับ นานาชาติ เป็นกิจกรรมที่ประชาชนและนักท่องเที่ยวให้ความสนใจเป็น จ�ำนวนมาก ก่อให้เกิดการจับจ่ายใช้สอย การค้าขาย ส่งเสริมการพัฒนา แหล่งท่องเทีย่ ว ท�ำให้เศรษฐกิจภายในจังหวัดดีมาก แหล่งท่องเทีย่ วริมแม่นำ�้ โขงได้รับการยกย่องให้เป็นมรดกธรณีวิทยาของประเทศ ในอนาคตเราก็จะพัฒนาให้ได้เป็นมรดกธรณีวิทยาของโลก เนื่องจาก การกัดกร่อนของธรรมชาติทสี่ ะสมมานานตัง้ แต่ดกึ ด�ำบรรพ์ หรือจะเป็นการ ตัง้ ถิน่ ฐานของคนในยุคโบราณ ก่อให้เกิดศิลปะ เช่น แหล่งท่องเทีย่ วผาแต้ม เขาเฉลียง สระสามพันโบก หรือศิลปะที่มนุษย์ท�ำขึ้นในยุคต่างๆ มาจนถึง ปัจจุบัน รวมไปถึงศิลปวัฒนธรรมที่อยู่ตามวัดต่างๆ ศาสนสถานที่คนรู้จัก มาอุบลราชธานีแล้วต้องไปเที่ยวเมืองเชียงแสน ต้องไปวัดสิรินธรวราราม ภูพร้าว หรือ วัดภูพร้าว อีกชื่อหนึ่งที่นิยมเรียกกันก็คือ วัดเรืองแสง วัดนี้จะ ตั้งอยู่บนเนินเขาสูง ในอ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นการจ�ำลอง สภาพแวดล้อมของป่าหิมพานต์ หรือ เขาไกรลาส ซึง่ เชือ่ กันว่าเป็นศูนย์กลาง ของจักรวาล โดยบนยอดเขาสามารถมองเห็นพระอุโบสถสีปัดทอง ตั้งเด่น งดงาม ด้านหลังของอุโบสถเป็นงานจิตรกรรมเรืองแสงสีเขียวของต้น กัลปพฤกษ์ ซึ่งด้านหลังของอุโบสถในเวลากลางคืน สวยงามมาก

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9

.indd 23

23

18/12/2563 11:24:21


S P EC I A L I N TE RVI EW

ผลิตภัณฑ์ OTOP โดดเด่น นอกจากนีก้ ม็ ผี ลิตภัณฑ์ OTOP ทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั คือผ้าฝ้าย ผ้าไหม เป็นสินค้า ที่สร้างรายได้ และเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเป็นอย่างดี ส�ำหรับผ้าไหมได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษประมาณ 180 ปีมาแล้ว ในปี พ.ศ.2537 ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนอ�ำเภอตระการพืชผล ได้จัดตั้งกลุ่ม ทอผ้า ด�ำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ มีการทอผ้าไหมหมี่ข้อ หมี่ขั้น ซิน่ ทิว หรือผ้าไหมมัดหมีล่ ายดัง้ เดิม ต่อมาได้มกี ารพัฒนาลวดลายผ้า ท�ำให้ คุณภาพของผ้ามีคุณภาพดีขึ้น ทั้ ง หมดนี้ จึ ง เป็ น เสน่ ห ์ ใ ห้ นั ก เดิ น ทางเข้ า มาท่ อ งเที่ ย วในจั ง หวั ด อุบลราชธานี ซึ่งสามารถเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดอุบลราชธานีได้ โดยสะดวก ไม่ว่าจะเป็นทางสายการบิน รถไฟและการคมนาคมต่างๆ ที่ สะดวกจนสามารถเดินทางได้ถึงชายแดน ซึ่งสามารถเดินทางไปเที่ยวต่อยัง ประเทศต่างๆ ได้อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นประเทศลาว หรือประเทศเวียดนาม

ด้านการปกครองในท้องถิ่น กับแนวทางป้องกัน COVID-19 เพื่อความมั่นใจของนักท่องเที่ยวและการลงทุน อุบลราชธานีถือเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ มีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 219 แห่ง กระจายอยู่ทั้ง 25 อ�ำเภอ บทบาทการปกครองส่วน ท้องถิ่นมีส่วนร่วมตั้งแต่การวางแผนงานร่วมกันและช่วยกันพัฒนาท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการร่วมกันจัดท�ำเทียนพรรษาที่เป็นประเพณีท้องถิ่น และ การป้องกันโรคจากไวรัส COVID-19 ทีต่ อ้ งเผชิญอยูใ่ นขณะนี้ ซึง่ ประชาชน และหน่วยงานท้องถิ่นต้องมีส่วนร่วมและช่วยกัน ท้องถิ่นได้น�ำงบประมาณ เข้ามาช่วยเหลือและดูแลประชาชนให้วิกฤตนี้ได้ผ่านพ้นไป และเพื่อสร้าง ความมั่นใจให้คนที่จะเดินทางเข้ามาลงทุน หรือเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัด อุบลราชธานี

การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีการวางแผนน�ำงบประมาณรายได้ใน ท้องถิ่นไปใช้ในการเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวภายในจังหวัด ซึ่งเราก�ำลัง จะเปิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่เพิ่มอีก 1 แห่งคือผาชะนะได ต่อไปตอนเช้าเรา จะได้ยินว่าพระอาทิตย์ขึ้นที่ผาชะนะไดแล้วตกที่แหลมพรหมเทพ ซึ่งจะ ท�ำให้การท่องเที่ยวภายในจังหวัดอุบลราชธานีนั้นเพิ่มขึ้นกว่าเดิม จะมีการ สร้างพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ผลิตสินค้าและบริการเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ที่จะเดินทางเข้ามาไม่ว่าจะเป็นการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ หรือแหล่ง โบราณสถานจะมีงบประมาณที่ช่วยในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว โดยจะ เกิดขึ้นจากการท�ำงานของทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของตัวจังหวัด หรือ องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นรวมถึงประชาชน ซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพ ทุกพื้นที่ของจังหวัด

24

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

9

.indd 24

18/12/2563 11:24:22


ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด มีการตั้งยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 3 อย่าง 1.พัฒนาศักยภาพเพิ่มมูลค่าทางภาคการเกษตร 2. การพัฒนาการท่องเที่ยว 3. ค้าขายกับประเทศเพื่อนบ้านและภายในประเทศ

วิสัยทัศน์และการพัฒนาจังหวัดอุบลราชธานี

“ชุมชนเข้มแข็ง เมืองน่าอยูเ่ ป็นประตูการค้าและการท่องเทีย่ ว การเกษตร มีศักยภาพ” จากยุทธศาสตร์และวิสยั ทัศน์ จะเห็นได้วา่ ส่วนราชการต้องมีการท�ำงาน ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นงบประมาณ การวางแผนปฏิบัติงาน ระบบเทคโนโลยี ที่ใดที่จะน�ำมาใช้ รวมถึงคนที่จะมาท�ำหน้าที่ร่วมกัน ข้าราชการมีหน้าที่ ออกกฎกติกา การวางมาตรฐานต้องท�ำหน้าทีร่ ว่ มกันกับท้องถิน่ ทีม่ หี น้าทีใ่ นการพัฒนา หาความต้องการของประชาชนที่จะยกระดับรายได้ ความเป็นอยู่คุณภาพ ชีวติ ทัง้ หมดนีต้ อ้ งอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยทีเ่ ราจะมีแผนที่ จะท�ำงานร่วมกันภายใต้วสิ ยั ทัศน์ทจี่ ะพัฒนาทัง้ 3 อย่างทีก่ ล่าวไว้ในข้างต้น ตัวชี้วัดต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่า GDP ของจังหวัดต้องเพิ่มขึ้นแต่ละปีร้อยละ 20 % เป็นอย่างน้อย เช่น การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรด้วยการแปรรูป ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์เครือ่ งส�ำอาง ผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ ด้วยความ ร่วมมือของทั้งเกษตรกรเอง และทางหน่วยงานที่จะเข้าไปช่วยกันปฏิรูป ผลิตภัณฑ์ โดยมีการจัดกิจกรรมมีการศึกษาอบรม ทั้งนี้ต้องเกิดจากความ ร่วมมือของประชาชน ร่วมกันสร้างมาตรฐานไม่ว่าจะเป็นอาหาร หรือการ ผลิตสินค้าต่างๆ จะต้องท�ำให้เกิดความประทับใจกับนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะ เป็นเรือ่ งราคา คุณภาพสินค้า และความต่อเนือ่ งของผลผลิตทางภาคเกษตร

ชวนเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานี เมืองแห่งวิถีวัฒนธรรมในพระพุทธศาสนา เสน่หข์ องอุบลราชธานียงั ตราตรึงอยูใ่ นเรือ่ งของสามอิม่ สามแสง จังหวัด อุบลราชธานีอุดมไปด้วยอาหารมีความหลากหลายก็คือ อิ่มปาก อิ่มตา ไม่ ว่าจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นศิลปวัฒนธรรม งานประเพณีการแสดง กิจกรรมทางด้านวัฒนธรรมต่างๆ ทัศนียภาพของธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็นริม แม่น�้ำโขง หรือตามเทือกเขาน�้ำตก อุบลราชธานีเป็นเมืองแห่งวิถวี ฒ ั นธรรมในพระพุทธศาสนา มีการท�ำบุญ ในวันประเพณีต่างๆ และภายในจังหวัดอุบลราชธานีมีวัดมากมายพันกว่า แห่งที่กระจายอยู่ภายใน 25 อ�ำเภอเชิญชวนให้ท่านได้ท�ำบุญ อิ่มสุดท้ายที่ เรียกว่าอิ่มบุญ เสน่หอ์ กี อย่างคือ เราเป็นเมืองตะวันออกสุดของประเทศไทยทีร่ บั แสงแรก แสงแรกคือแสงตะวัน แสงสองคือแสงเทียน ทีเ่ ป็นเมืองวัฒนธรรมประเพณี ไม่ว่าจะเป็น ประเพณีแห่เทียนพรรษาหรือประเพณีต่า งๆ สุดท้า ยคือ แสงธรรม ทั้งหมดนี้จังหวัดอุบลราชธานีพร้อมรับนักท่องเที่ยว หรือนักเดินทางที่ อยากจะมาท่องเที่ยวจังหวัดอุบลราชธานี จึงขอเรียนว่าเป็นที่ท่องเที่ยวที่ ปลอดภัย เพราะเรามีการป้องกันและการดูแลที่ดี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9

.indd 25

25

18/12/2563 11:24:25


S P EC I A L I N TE RVI EW

กิจกรรม นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี 1.วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม 2563 เวลา 08.09 น. ณ อ�ำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมด้วยนางยุพาภร วิฑูรย์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดอุบลราชธานี นายศุภศิษย์ กอเจริญยศ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี หัวหน้าส่วน ราชการ นายอ�ำเภอส�ำโรง องค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี เทศบาล นครอุบลราชธานี และภาคส่วนต่างๆ ร่วมพิธีเปิดงานประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า และแข่งเรือยาว จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประจ�ำปี 2563 จัดขึ้น ระหว่างวันที่ 29 กันยายน – 7 ตุลาคม 2563 โดยมีนายจุรนิ ทร์ ลักษณวิศษิ ฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ เป็นประธานในพิธเี ปิด โดยในปีนี้จังหวัดอุบลราชธานีได้น�ำรถเทียนพรรษาแกะสลักลวดลาย ไทยวิจติ รตระการตา พร้อมด้วยขบวนลากเรือพนมพระกว่าร้อยชีวติ เข้าร่วม ในงานประเพณีงานชักพระฯอย่างยิ่งใหญ่เช่นทุกปี ซึ่งจังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ทำ � MOU แลกเปลีย่ นวัฒนธรรมเชือ่ มโยงภูมภิ าค อีสาน-ใต้ ภายใต้แนวคิด “เข้าพรรษาเที่ยวงานแห่เทียนพรรษาจังหวัด อุบลราชธานี ออกพรรษาเทีย่ วงานชักพระทอดผ้าป่าและแข่งเรือยาวจังหวัด สุราษฎร์ธานี” เพือ่ เป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจในท้องถิน่ ผ่านการแลกเปลีย่ น เรียนรู้ทางวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของทั้งสองจังหวัด ตลอดจน เป็นการส่งเสริมแนวคิดของรัฐบาลด้านการท่องเที่ยวในการสร้างการท่อง เที่ยวรูปแบบใหม่ วิถีไทย วิถีพุทธ ด้วยการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่าง ภูมิภาคจากภาคอีสานสู่ภาคใต้และจากภาคใต้สู่ภาคอีสาน จุดเด่นของงานชักพระจังหวัดสุราษฎร์ธานีจะอยู่ในคืนวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 ทีว่ ดั ต่างๆ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานีนบั ร้อยวัด จะประดับตกแต่งรถ และเรือพนมพระเป็นเรือ่ งราวเกีย่ วกับพระพุทธศาสนา ประดับด้วยไฟอย่าง สวยงาม แล้วน�ำมาจอดเรียงรายให้ประชาชนได้ชม และท�ำบุญ ส่วนหน่วย งานต่างๆ รวมถึงบ้านเรือนประชาชน ก็จะประดับตกแต่งพุม่ ผ้าป่า และร่วม ฉลองพุ่มผ้าป่าบริเวณหน้าบ้านกันตลอดทั้งคืน จนกระทั่งเช้าวันแรม 1 ค�่ำ ก็จะมีการชักพุ่มผ้าป่าตามหน้าบ้าน และขบวนแห่รถ – เรือพนมพระ ไป รอบๆ เมือง

26

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

9

.indd 26

18/12/2563 11:24:25


2.วันอังคารที่ 6 ตุลาคม 2563 เวลา 14.00 น. ณ อ�ำเภอน�้ำยืน นายสฤษดิ์ วิฑรู ย์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามโครงการ จัดการแก้ไขปัญหาน�้ำแล้ง – น�้ำท่วมในพื้นที่อ�ำเภอน�้ำยืน โดยได้ติดตาม ความคืบหน้าของโครงการพัฒนาจัดการน�ำ้ โครงการพระราชด�ำริห้วยบอน โดยได้งบประมาณปรับปรุงอ่างเก็บน�้ำห้วยบอน เป็นงบผูกผัน 4 ปี จ�ำนวน 680 ล้านบาท และงบประมาณปรับปรุงถนนทางเข้า ต่อจากนัน้ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุบลราชธานี ได้ตดิ ตามโครงการก่อสร้าง ขุดสระเก็บกักน�้ำ บ้านทรัพย์เกษตร หมู่ 10 ต�ำบลโซง อ�ำเภอน�้ำยืน โดยได้ ด�ำเนินโครงการเพื่อเก็บกักน�้ำไว้ใช้ในฤดูแล้ง เพื่อให้ประชาชนมีน�้ำเพื่อใช้ ในการเกษตร โดย ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ได้ให้แนวทางในการเก็บน�้ำไว้ใช้ ในฤดูแล้งให้มากขึ้น การพัฒนาการกระจายน�้ำไปสู่ชุมชนให้ทั่วถึง รวมถึง การสร้างส่งเสริมอาชีพแก่ประชาชนหลังจากมีแหล่งน�้ำที่เพียงพอ และให้ วิเคราะห์ค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะส่งผลต่อประชาชนในพื้นที่มากที่สุด หาก มีความจ�ำเป็นให้ดำ� เนินการใช้งบประมาณรองรับในการชดเชยแก่ประชาชน และดูแลพื้นที่ชดเชยสิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้าง

3.วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม 2563 เวลา 05.30 น. ณ ทีว่ า่ การอ�ำเภอตาลสุม นายสฤษดิ์ วิฑูรย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมด้วยนางยุพาภร วิฑูรย์ นายกเหล่ากาชาดจังหวัดอุบลราชธานี/ประธานแม่บ้านมหาดไทย จังหวัดอุบลราชธานี ร่วมกิจกรรม “วิง่ ปัน่ ปันสุข” ครัง้ ที่ 1 ประจ�ำปี 2563 ซึง่ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ระดมทุนช่วยเหลือผูพ้ กิ าร ผูป้ ว่ ยติดเตียง และผูย้ ากไร้ และรายได้ทงั้ หมดจะน�ำไปจัดหาผ้าอ้อมส�ำเร็จรูป และมอบเงินให้แก่บคุ คล เป้าหมาย โดยมีนายวีระศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง พาณิชย์ เป็นประธานในพิธีเปิด และมีส่วนราชการ ประชาชน และเยาวชน ร่วมกิจกรรมเดิน-วิ่ง และปั่นจักรยาน เป็นจ�ำนวนมาก ภายใต้มาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 อย่างเคร่งครัด

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9

.indd 27

27

18/12/2563 11:24:26


TR AV E L G U ID E

บันทึกเส้นทางความเป็นมาของจังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI อดีตนครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน . . . สู่อุบลราชธานี ศรีวนาลัยประเทศ

อรุณรุ่งของเช้าวันใหม่ หากต้องการชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อนที่ใด

ในประเทศไทย คงต้องมาชมกันทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี เพราะทีน่ ถี่ อื ว่า เป็นจังหวัดเดียวในภาคอีสานตอนล่าง ทีต่ งั้ อยูท่ างตะวันออกสุดของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ นอกจากนีย้ งั เป็นจังหวัดมีพนื้ ที่ กว้างใหญ่ไพศาลมากเป็นอันดับหนึ่งของประเทศ ซึ่งเคยมีการแยก ออกเป็นจังหวัดใหม่มาแล้วถึง 2 จังหวัด อุบลราชธานีแห่งนี้จึงมี ประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี 28

.indd 28

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

19/12/2563 10:29:48


THAILAND GRAND CANYON (SAM PHAN BOK)

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

19/12/2563 10:29:49


แก่งชมดาว “แก่งชมดาว” อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี แก่งชมดาวมีพื้นที่กว้างขวาง ที่ให้นักท่องเที่ยวต้อง ขยับแข้งขยับขาเดินสักประมาณ 1 กิโลเมตร เพื่อ ไปยั ง จุ ด ไฮไลท์ ซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น ผาหิ น สู ง ใหญ่ เว้าแหว่งยาวคล้ายช่องแคบ มีน�้ำไหลผ่าน ด้านล่าง กลางน�้ำมีก้อนหินขนาดเล็ก นักท่องเที่ยวสามารถ เดิ น ลงไปถ่ า ยรู ป นั บ ว่ า เป็ น มุ ม ชี้ ค สุ ด เท่ ส วยเก๋ จนน่าอิจฉาเลยทีเดียว เวลาในการชมแก่งชมดาวที่ดี

- ช่วงเช้า ชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อน 8.00 น. - ช่วงบ่ายตั้งแต่ประมาณ 16.00 น. เป็นต้นไป ในเดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคม

30

.indd 30

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

19/12/2563 10:29:50


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

19/12/2563 10:29:50


WO R K LI FE

เทศบาลนครอุบลราชธานี “การสร้ า งคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ใ ห้ กั บ ประชาชน” หน้ า ที่ ห ลั ก ของเทศบาลนครอุ บ ลราชธานี

และวันนี้ อีกหนึ่งความภาคภูมิใจที่ท�ำให้อุบลราชธานีได้เกิดสิ่งดีๆ เพิ่มขึ้น ก็คือ โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้าเป็นเคเบิลใต้ดิน หรือที่ เรียกกันง่ายๆ ว่า สายไฟลงดิน วันนี้เป็นความจริงที่เกิดขึ้นแล้ว ซึ่งในเรื่องนี้ ดิฉันมีแนวคิดผลักดันมาโดยตลอด ตั้งแต่ เข้ารับต�ำแหน่งมา และ ตั้งให้เป็นหนึ่งนโยบายหลักของการพัฒนาเทศบาลนครอุบลฯ ถึงแม้ว่าระยะว่าการผลักดันต้องใช้เวลานานมากสักหน่อย ก็เป็นธรรมดา โครงการ ใหญ่ๆ ที่ใช้งบประมาณสูงๆ ก็ย่อมจะมีบางส่วนที่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วยเป็นเรื่อง ธรรมดา แต่มาวันนี้ เราท�ำได้แล้ว คงต้องขอขอบคุณสมาชิกสภาเทศบาลนครอุบลฯ ในยุคปัจจุบันที่ได้เห็นความมุ่งมั่งตั้งใจที่จะพัฒนาบ้านเมืองนะคะ รวมทั้งการไฟฟ้าฟ้า ส่วนภูมิภาคเขต 2 ด้วยค่ะ

นางสาวสมปรารถนา วิ กรั ย เจิ ด เจริญ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี

ทัง้ นีเ้ ทศบาลนครได้รว่ มมือกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เขต 2 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ซึ่งจะได้เริ่มด�ำเนินการโครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้าเป็นเคเบิลใต้ดิน ตั้งแต่วันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2563 เป็นต้นไป และถือได้ว่า เป็นการพัฒนาบ้านเมืองให้ดูทันสมัย มากยิ่งขึ้น การท�ำสายไฟลงดินนี้ จะอยู่ในเขตเศรษฐกิจและเส้นทางการท่องเที่ยว หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งที่คุ้นเคยของคนอุบลฯ คือ เส้นทางการแห่เทียนของจังหวัด อุบลราชธานี จะเริ่มตั้งแต่บริเวณถนนอุปราช จากช่วงวงเวียนน�้ำพุ ถึงสี่แยกถนน ชยางกูร ตัดกับถนนสุริยาตร์ และบริเวณถนนโดยรอบทุ่งศรีเมือง ถนนพโลรังฤทธิ์ ถนนราชบุตร ถนนนครบาล และถนนศรีณรงค์ ระยะทางรวม 3.1 กิโลเมตร

SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ New Nomal จังหวัด อุบลราชธานี กับ วิถีชีวิต และการท่องเที่ยวแบบใหม่ มีความ ภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้สนทนาอย่างเข้มข้น และเป็นกันเอง กับ “นายกแอน” นางสาวสมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี ณ เวลานี้ มาปักหมุดแล้ว หยุดใจไว้ที่นี่กัน เทศบาลนครอุบลราชธานี ถือได้ว่าเป็นเมืองขนาดใหญ่ ที่มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งเป็นหน้าที่หลักของเทศบาลนครอุบลราชธานี ในฐานะ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่จะต้องส่งเสริมให้ประชาชน ในเขตเทศบาลนครอุบลราชธานี ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีมาก ยิ่งขึ้น ดิฉันนางสาวสมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญในฐานะ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี ได้ให้ความส�ำคัญในเรื่อง นี้มาโดยตลอด “โครงการปรั บ ปรุ ง ระบบไฟฟ้ า เป็ น เคเบิ ล ใต้ ดิ น ” ความฝันที่เป็นจริงของชาวอุบลฯ 32

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

3

.indd 32

18/12/2563 17:46:48


WORK L IFE

โครงการดั ง กล่ า วมี ง บประมาณลงทุ น การก่ อ สร้ า ง จ� ำ นวน 264,696,931.44 บาท (สองร้อยหกสิบสี่ล้านหกแสนเก้าหมื่นหกพันเก้า ร้ อ ยสามสิ บ เอ็ ด บาทสี่ สิ บ สี่ ส ตางค์ ) ซึ่ ง เทศบาลนครอุ บ ลฯอุ ด หนุ น งบประมาณก่อสร้างด้านโยธา 118,130,171.61 บาท (หนึ่งร้อยสิบแปด ล้านหนึ่งแสนสามหมื่นหนึ่งร้อยเจ็ดสิบเอ็ดบาทหกสิบเอ็ดสตางค์) และ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคสนั บ สนุ น งบประมาณงานก่ อ สร้ า งด้ า นไฟฟ้ า 146,566,759.83 บาท (หนึ่งร้อยสี่สิบหกล้านห้าแสนหกหมื่นหกพันเจ็ด ร้อยห้าสิบเก้าบาทแปดสิบสามสตางค์) ซึ่งการด�ำเนินโครงการปรับปรุง ระบบไฟฟ้าเป็นเคเบิลใต้ดินในครั้งนี้จะท�ำให้ระบบไฟฟ้ามีความปลอดภัย มีความมั่นคงในการจ่ายไฟ และ ที่มากไปกว่านั้นก็คือ ความมีระเบียบ เรียบร้อย บ้านเมืองสวยงามมีทัศนียภาพที่ดี ทั้งนี้ เทศบาลนครอุบลฯ ก็ได้เตรียมออกแบบโคมไฟเทียนพรรษาที่ เป็นสัญลักษณ์ และ อัตลักษณ์ของจังหวัดอุบลฯ ที่สวยงามไว้ด้วย เพื่อให้ สอดคล้องให้กับเส้นทางที่ใช้แห่เทียนพรรษา และให้สมกับที่ได้ชื่อว่า เทศบาลน่าอยู่อย่างยั่งยืน รวมถึงรองรับการขยายตัวเมืองในอนาคต และ เสริมสร้างคุณภาพสังคมให้กับชาวจังหวัดอุบลราชธานี อีกทั้งเพื่อให้เป็น ไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่งมีแนวทางการพัฒนา เมืองน่าอยู่และชุมชนน่าอยู่ต่อไป ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว “โครงการถนนคนเดิน นครอุบลราชธานี” และอีกหนึ่งโครงการที่ดิฉันอยากจะน�ำเสนอ คือ โครงการถนนคนเดิน นครอุ บ ลราชธานี ส� ำ หรั บ โครงการนี้ เริ่ ม แรกเดิ ม ที นั้ น จะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ถนนราชบุตร ตรงลงไปถึงท่าน�้ำตลาดใหญ่ แต่มีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้ สะดวกมากยิ่งขึ้น ในพื้นที่ค้าขายจึงได้มีการย้ายมาอยู่บริเวณถนนศรี ณรงค์ คือ หน้าส�ำนักงานเทศบาลนครอุบลราชธานี และมีทุกวัน ศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ จนมาถึงปัจจุบันนี้ ถนนคนเดิน ก็อายุเข้าไปก็หลายปีแล้ว คือตั้งแต่แรกๆ ที่ดิฉันมาด�ำรงต�ำแหน่งเลยก็ว่าได้ โครงการถนนคนเดิน ถือได้ว่าเป็นโครงการที่น่าภูมิใจในอีกอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น และเป็นหนึ่งใน นโยบายที่กระตุ้นเศรษฐกิจในตัวจังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 33

33

18/12/2563 17:46:52


WO R K LI FE

การมีพื้นที่ให้ประชาชนได้ท�ำมาค้าขายสร้างรายได้ ถือได้ว่า เป็นช่องทางที่สามารถท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของเขาดีมากขึ้น คนในชุมชนมีรายได้เสริม ท�ำให้คุณภาพชีวิตดียิ่งขึ้น การสร้าง แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่ดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวต้องมาเยือน อุ บ ลราชธานี อี ก ครั้ ง เพราะถนนคนเดิ น ของอุ บ ลราชธานี ติดอันดับต้นๆ ของประเทศ ที่นักท่องเที่ยวต้องแวะมาเยือนทุก ครั้งที่มาอุบลราชธานีน่าจะเป็นการตอบโจทย์ว่า เราได้ช่วยให้ มีการพัฒนาบ้านเมืองก้าวไปข้างหน้าได้อีก สิ่งหนึ่งที่ถนนคนเดิน เป็นที่ประทับใจของคนที่มาเยือน คือ ความหลากหลายของ ร้านค้า ที่มีมากถึง 1,400 ร้านค้า ทั้งของกิน ของใช้ เสื้อผ้า และ งานฝีมือแฮนด์เมดต่างๆ ของที่ระลึกโดยส่วนใหญ่ จะเป็นคนใน ชุมชนมาเป็นพ่อค้าแม่ค้า ทั้งยังมีนักศึกษาที่อยากจะหารายได้ เสริมมาขายด้วย รวมอยูใ่ นร้านค้าบริเวณถนนคนเดิน อีกอย่างคือ ถนนคนเดินถือได้ว่าเป็นแลนด์มาร์คใจกลางเมืองอุบลราชธานี ไม่ ว ่ า จะเป็ น ทุ ่ ง ศรี เ มื อ งที่ มี ต ้ น เที ย นเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ศาลหลักเมือง สถานที่ออกก�ำลังกายพักผ่อนหย่อนใจ เล่นกีฬา รวมทั้งเส้นทางเทียน คือ บริเวณที่ใช้ในการจัดงานประเพณี แห่เทียนพรรษา ประจ�ำจังหวัดอุบลราชธานี นอกเหนือจากนี้ เรายังมีเวทีให้น้องเยาวชนได้แสดงความสามารถ จัดกิจกรรม ส่งเสริมนันทนาการให้เด็กและเยาวชนอีกด้วย และถ้าจะถามว่า ผู้คนกล่าวถึงถนนคนเดินของเทศบาลนคร อุบลราชธานีวา่ เป็นอย่างไร ก็จะได้รบั ค�ำตอบว่า 1. ร้านค้าเยอะมาก เดินเล่นเพลินๆ 2. ของกินหลากหลาย เดินกินจนอิ่ม 3. เลือก ช้อปปิ้งในราคาย่อมเยา ชิม ช้อป ใช้ เพลิดเพลิน และสุดท้ายที่ นายกฯ อยากบอกว่า ถนนคนเดิน คือ พื้นที่สร้างรายได้ให้ชุมชน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นแลนด์มาร์คใจกลางเมืองอุบลราชธานี เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนของชุมชนนครอุบลราชธานี และ สร้ า งความประทั บ ใจทุ ก ครั้ ง ที่ ท ่ า นมาเยื อ นเทศบาลนคร อุบลราชธานีของเรา และแน่นอนค่ะ เราจะพยายามพัฒนาถนนคนเดินให้เป็นจุด ยุทธศาสตร์ เป็นแลนด์มาร์คที่มีความสวยงาม จัดจุดเช็คอิน เพื่อให้ประชาชนเข้ามาท่องเที่ยว ดูแลเรื่องความสะอาด พ่อค้า แม่ค้าอัธยาศัยดี มีรอยยิ้ม พร้อมต้อนรับนักท่องเที่ยวอยู่เสมอๆ ทั้งนี้ทั้งนั้น เราก็อยากให้คุณได้ประทับใจทุกๆ ครั้งที่มาเยือน ถนนคนเดิน นครอุบลราชธานี หวังว่า เราคงจะได้รับการมา เยือนจากทุกท่านๆ และเราในนามเทศบาลนครอุบลราชธานี ยินดีต้อนรับเสมอ จากใจนายกแอน .... นางสาวสมปรารถนา วิกรัยเจิดเจริญ นายกเทศมนตรีนครอุบลราชธานี

34

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

3

.indd 34

ถนนคนเดิน เทศบาลนครอุบลฯ

ท่านนายก ลงพื้นที่ส�ำรวจสายไฟลงดินกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

18/12/2563 17:46:55


แก่งชมดาว

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

19/12/2563 10:30:19


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด “พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน คุ ณ ภาพชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ใส่ ใ จธรรมาภิ บ าล” วิ สั ย ทั ศ น์ (vision) การพั ฒ นา

องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ดูแลหมู่บ้านในเขตการ ปกครองมีทั้งหมด 14 หมู่บ้าน พื้นที่ทั้งหมด 50.61 ตารางกิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 6 กิโลเมตร มีประชากรทั้งหมด 11,743 คน จ�ำนวนครัวเรือน 3,748 ครัวเรือน

นางจริ ต รกุ ล บุ ญ จู ง

ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด

ในเขตองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลกุ ด ลาด ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธเป็ น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจมาแต่ครั้งโบราณกาล มี วัดเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาและปฏิบัติธรรม 10 วัด คือ 1.วัดบ้านค้อ 2. วัดป่าโสภาวนาราม 3. วัดเหนือ (วัดบ้านกุดลาด) 4. วัดนาค�ำ 5. วัดบ้านผาแก้วใหญ่ 6. วัดบ้านหนองมะนาว 7. วัดบ้านผาแก้วน้อย 8. วัดกุดลาด ตั้งอยู่ที่ บ้านกุดลาดใต้ 9. วัดปากน�้ำ (วัดบ้านปากน�้ำ) 10.วัดป่าพิฆเณศวร์ ตั้งอยู่ที่ บ้านปากน�้ำ หมู่ที่ 10

36

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 36

18/12/2563 17:12:44


WORK L IFE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาดชวนเที่ยววัด

วัดปากน�้ำ (วัดบ้านปากน�้ำ) กราบนมัสการ “หลวงพ่อเงิน 700 ปี” ท่องต�ำนาน วัดป่าพิฆเณศวร์ บุ่งสระพัง สถานที่ส�ำคัญ ในการตั้งบ้านเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัย วัดปากน�้ำ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านปากน�้ำ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี มีประวัติความเป็นมาพอสังเขปว่า สืบเนื่องจาก เมื่อคราว พระมงคลธรรมวัฒน์ (บุญจันทร์ จตฺตสลฺโล) ได้สร้างพระอุโบสถ มิ ต รภาพไทย-อเมริ กั น ขึ้ น ท่ า นได้ นิ มิ ต ถึ ง ตาชี ป ะขาวมาบอกว่ า ที่ วัดป่าพิฆเณศวร์ ยังมีสมบัติอยู่มาก พระมงคลธรรมวัฒน์ ได้น�ำชาวบ้าน ไปที่วัดป่า แล้วจุดธูปเทียน เครื่องสักการบูชาคุณพระรัตนตรัย คุณบิดา มารดา คุณครูบาอาจารย์ พร้อมกับอธิษฐานจิตอย่างแน่วแน่และมั่นคงว่า “หากเป็นจริงดังนิมิต ท่านก็จะรักษาพระพุทธรูปไว้ให้เป็นที่เคารพสักการ บูชาของลูกหลานและพุทธศาสนิกชนสืบไป ขออย่าได้มีอุปสรรคใดๆ มาขัดขวาง” ครั้นแล้วก็ขุดตรงที่ปลายต้นตาลหักลงตามนิมิต เมื่อขุดลง ไปลึกประมาณชั่วคนยืน ก็ได้พบแผ่นศิลา 4 เหลี่ยมถูกจัดไว้ในลักษณะ หีบ มีความสวยงาม อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ทุกประการ ถูกฝังอยู่ใต้ดิน เมื่อน�ำขึ้นมาเปิดฝาหีบออกก็ปรากฏว่า ภายในหีบศิลานั้นมีทรายเนื้อ ละเอี ย ดสี ข าวใสบริ สุ ท ธิ์ เ ต็ ม หี บ ศิ ล านั้ น เมื่ อ ทรายต้ อ งแสงอาทิ ต ย์ ก็ ส่องประกายวาว ระยิบระยับ เมื่อน�ำทรายออกมา ก็เห็น พระพุทธรูป ปางมารวิชัย เนื้อเงินบริสุทธิ์ ประดิษฐาน อยู่ภายในหีบศิลานั้นดังนิมิต พระมงคลธรรมวัฒน์จงึ ได้อญั เชิญหลวงพ่อเงินมาประดิษฐานไว้ทวี่ ดั ปากน�ำ ้ และถวายนามว่า “หลวงพ่อเงิน”

ส่วนหีบศิลาหินทราย ท่านให้น�ำไปวางไว้ใต้ต้นโพธิ์ใหญ่ ภายในบริเวณ วัดป่าแห่งนี้ นัยว่าเพื่อเป็นการบูชาพระพุทธองค์ ต่อมา ต้นโพธิ์ก็ได้ ห่อหุ้มหีบศิลานั้นเอาไว้แล้วกลืนหายไปตามกาลเวลา พระมงคลธรรมวัฒน์ เล่าว่า เมื่อครั้งชาวบ้านขุดพบ พระพิฆเณศวร์ที่บริเวณวัดป่าแห่งนี้ สมเด็จ พระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส ป.ธ. 5 พุทธศักราช 2482-2499) ทราบข่าว ท่านได้ออกมาตรวจสอบและขอไป ปัจจุบัน พระพิฆเณศวร์ถูกน�ำไป เก็บไว้ที่วัดสุปัฏนาราม เมืองอุบลราชธานี พระมงคลธรรมวัฒน์ ได้สร้างพิพิธภัณฑ์ประจ�ำหมู่บ้านขึ้นมาหลังหนึ่ง ให้ชื่อว่า “พิพิธภัณฑ์บ้านปากน�้ำ วิถีชีวิตชาวบ้านลุ่มน�้ำบุ่งสระพัง” เพื่อใช้เป็นแหล่งเก็บรวบรวมโบราณวัตถุ และประวัติความเป็นมาของ ชุมชนแห่งนี้ จะได้เป็นแหล่งศึกษาของประชาชนต่อไป บริเวณ วัดป่าพิฆเณศวร์ บุ่งสระพัง จึงมีความเป็นไปได้ว่าน่าจะเป็น สถานที่ ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ในการตั้ ง บ้ า นเมื อ งอุ บ ลราชธานี ศ รี ว นาลั ย ของกองทัพเจ้าพระวอ ภายหลังอพยพมาจากนครเขื่อนขันธ์กาบแก้ว บัวบานสูล่ มุ่ น�ำ้ มูล ปัจจุบนั หลวงพ่อเงิน 700 ปี ได้ประดิษฐาน ที่ วัดปากน�ำ ้ บุ่งสระพัง อุบลราชธานี และมีประเพณีแห่หลวงพ่อเงิน 700 ปี ในวันที่ 13 เมษายน ของทุกปี สถานที่ ส� ำ คั ญ ภายในวั ด ปากน�้ ำ มี ม ากมาย อาทิ อาคารสมเด็ จ พระพุฒาจารย์ วัดปากน�้ำ บุ่งสระพัง เป็นอาคารเอนกประสงค์ โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ส�ำหรับประชุม สัมมนาวิชาการต่างๆ ตลอดทั้ง กิจกรรมสังคม อื่นๆ ของ ชุมชน และ หน่วยงานราชการ และเพื่อใช้ส�ำหรับ เป็นที่พักของ พระภิกษุ สามเณร ที่ ศึกษา แผนกนักธรรม แผนกบาลี และ พระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ณ วัดบ้านปากน�้ำ บุ่งสระพัง อุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 37

37

18/12/2563 17:12:49


WO R K LI FE

สืบสานวัฒนธรรมประเพณี ณ เจดีย์บุ่งสระพัง ที่หาดบุ่งสระพัง บ้านปากน�้ำ ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เป็นสถานที่ ประกอบพิธีบุญตบประทาย บุญเนาว์ การก่อเจดีย์ทราย ที่บุ่งสระพัง เป็น อีกหนึ่งวัฒนธรรมประเพณีอีสานที่ปฏิบัติสืบต่อเนื่องกันมาชั่วอายุคนนับ ร้อยปี ตั้งแต่ครั้งโบราณกาล นับตั้งแต่ได้ก่อตั้งหมู่บ้านขึ้นมา โดยหลังจาก เทศกาลสงกรานต์ ก็จะมีบุญก่อเจดีย์ทราย บุญตบประทาย บุญเนาว์ เป็น ประจ�ำทุกปี ชาวบ้านจะนิมนต์พระภิกษุ สามเณร มาฉันภัตตาหารเพล (ฉันข้าวป่า ) หลังจากนั้น ชาวบ้านรับประทานอาหารพร้อมกัน เชื่อมความ สามัคคี ชุมชน และร่วมก่อเจดีย์ทราย และ สรงน�้ำ พระภิกษุ สามเณร รดน�้ำด�ำหัวผู้หลักผู้ใหญ่ที่ไปร่วมท�ำบุญก่อเจดีย์ทราย ณ ปัจจุบัน หาดบุ่ง สระพัง เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงประจ�ำจังหวัด อุบลราชธานี

ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่โดดเด่น

ผ้าลายพ้อย ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านของชาวบ้านในการทอผ้าลายพ้อย เป็นการส่งเสริมให้กลุ่มสตรีมีทางเลือกในการประกอบอาชีพ และอนุรักษ์ ผ้ า ลายพ้ อ ยให้ ค งอยู ่ ป ระกอบกั บ ตอบสนองนโยบายของรั ฐ บาลด้ า น เศรษฐกิจพอเพียงสามารถพึง่ ตนเองได้ ณ ทีท่ ำ� การกลุม่ สตรีทอผ้าลายพ้อย บ้านผาแก้ว หมู่ที่ 5 ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี

สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ

หาดบุ่งสระพัง (หาดศรีภิรมย์) บ้านปากน�้ำ หมู่ที่10 ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติ อยู่ห่างจากตัวเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 10 กว่ากิโลเมตร ภายใต้การดูแลและบริหารโดย องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด พร้อม ด้วยชาวบ้านปากน�้ำกลุ่มหาดศรีภิรมย์ มีแพร้านอาหาร ตั้งอยู่ตามความ ยาวริ ม ฝั ่ ง ของแม่ น�้ ำ มู ล ที่ ใ สสะอาด สามารถเล่ น น�้ ำ ได้ พร้ อ มอาหาร พื้นบ้านขึ้นชื่อมากมาย สามารถนั่งรับประทานอาหารได้ทั้งวัน

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีทอเสื่อ อีกหนึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริม ให้กลุ่มสตรีมีทางเลือกในการประกอบอาชีพทอเสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น เน้นลวดลายที่สวยงามและทันสมัย โดยมีสถานที่จ�ำหน่ายและที่ตั้งกลุ่ม อาชีพอยู่บ้านเลขที่ 200 หมู่ที่ 3 ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี

ติดต่อ ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดลาด

ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 132 หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลกุดลาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34000 โทรศัพท์. 045-251676 โทรสาร. 045-251867 www.kudlad.go.th และ E-mail: info@kudlad.go.th 38

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 38

18/12/2563 17:12:51


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

19/12/2563 10:30:36


WO R K LI FE

เทศบาลต�ำบลเขมราฐ “ต้ น ต� ำ รั บ ร� ำ ตั ง หวาย ถิ่ น ไทยนั ก ปราชญ์ เขมราฐเมื อ งงาม สุ ด เขตแดนสยาม มะขามหวานหลากหลาย กล้ ว ยตากรสดี ประเพณี แ ข่ ง เรื อ ยาว” ค� ำ ขวั ญ

ที่ตั้งและอาณาเขต

อ�ำเภอเขมราฐตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากตัวจังหวัด 105 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร 750 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครอง ข้างเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแม่นำ้� โขง เเขวงสุวรรณเขต (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสาละวัน (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) และอ�ำเภอนาตาล ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอโพธิ์ไทรและอ�ำเภอกุดข้าวปุ้น ทิศตะวันตก ติดต่อกับอ�ำเภอปทุมราชวงศา และอ�ำเภอชานุมาน (จังหวัดอ�ำนาจเจริญ)

ประวัติศาสตร์

นางลั ด ดา เจษฎาพาณิ ชย์

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านโคกกงพะเนียง ขึ้นเป็นเมืองเขมราษฏร์ธานี มีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร และโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งอุปฮาดก�่ำที่อพยพมาจากเมืองอุบลราชธานีเป็นเจ้าเมืองคนแรก มีนามว่า “พระเทพวงศา” เมื่อปี พ.ศ. 2357 ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงปรับปรุง การปกครองครั้งใหญ่ อีสานถูกแบ่งเป็น 8 บริเวณ เมืองเขมราฐ มีเดชธนีรักษ์เป็นผู้ว่าราชการเมือง และมีอ�ำเภออยู่ในการปกครอง 6 อ�ำเภอ ต่อมาในปี พ.ศ.2452 เมืองเขมราฐถูกลดฐานะลงเป็น อ�ำเภอขึ้นตรงต่อเมืองยโสธร จนปี พ.ศ. 2455 จึงถูกย้ายมาขึ้นกับจังหวัดอุบลราชธานีจนกระทั่ง ถึงปัจจุบัน

นายกเทศมนตรีต�ำบลเขมราฐ

ประวัติความเป็นมา

อ�ำเภอเขมราฐ แปลว่า ดินแดนแห่งความ เกษมสุข เป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ริมแม่น�้ำโขง อ�ำเภอเขมราฐ เป็นอ�ำเภอเก่า แก่ที่ตั้งมาตั้งแต่สมัยกรุงเทพ อยู่ริมแม่น้�ำโขง เป็นระยะทางยาวกว่า 40 กิโลเมตร ซึ่งฝั่งตรง ข้ า มคื อ เมื อ งสองคอน แขวงสุ ว รรณเขต (สะหวันนะเขต) ของประเทศลาว เขมราฐเป็น เมืองที่มีทัศนียภาพแม่น�้ำโขงที่สวยงาม หาด ทรายที่มีชื่อเสียงคือ หาดทรายสูง และมีการ แข่งเรือยาวอ�ำเภอเขมราฐซึ่งจัดขึ้นเป็นประจ�ำ ทุกปี

40

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 40

18/12/2563 16:15:52


WORK L IFE

การปกครองส่วนภูมิภาค

อ�ำเภอเขมราฐแบ่งการปกครองออกเป็น 9 ต�ำบล 123 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.ต� ำ บลเขมราฐ 2.ต� ำ บลขามป้ อ ม 3.ต� ำ บลเจี ย ด 4.ต� ำ บลหนองผื อ 5.ต�ำบลนาแวง 6.ต�ำบลแก้งเหนือ 7.ต�ำบลหนองนกทา 8.อ�ำเภอหนองสิม 9.ต�ำบลหัวนา เทศบาลต�ำบลเขมราฐ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 7 ถนนกงพะเนียง ต�ำบล เขมราฐ อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี 104 กิโลเมตร ปัจจุบัน นางลัดดา เจษฎาพาณิชย์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายก เทศมนตรีต�ำบลเขมราฐ มีอ�ำนาจหน้าที่ ในการพัฒนาต�ำบลทั้งในด้าน เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยมีเป้าหมายในจัดบริการสาธารณะให้ กับประชาชน ตามพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วน ต�ำบล พ.ศ. 2537

แหล่งเรียนรู้นวัตกรรมท้องถิ่น “กล้วยตากแสงแรก” แหล่งเรียนรู้กลุ่มกล้วยตากแสงแรก เขมราษฎร์ธานี เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มกล้วยตาก ซึ่งเอกลักษณ์ของกล้วยตากแสงแรก คือ มีรสชาติหอม หวาน นุ่ม กล้วยที่ใช้ คือ กล้วยน�้ำหว้า และที่ส�ำคัญ ตากโดยใช้แสงจากธรรมชาติ ที่ได้ชื่อว่ากล้วยตากแสงแรก เนื่องจาก จังหวัดอุบลราชธานีเป็นจังหวัดที่พระอาทิตย์ขึ้นก่อนใครในสยาม ทาง กลุ่มจึงน�ำมาตั้งชื่อเพื่อให้มีเอกลักษณ์นั่นเอง

เทศกาลและประเพณี

แข่งเรือยาวประเพณีสองฝั่งโขง ไทย-ลาว ล�ำน�้ำโขง หน้าเทศบาล ต�ำบลเขมราฐ เดือนตุลาคมของทุกปี , ประเพณีสงกรานต์ แก่งช้างหมอบ เทศบาลต�ำบลเทพวงศา วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี, ประเพณีแห่เทียน เข้าพรรษา เทศบาลต�ำบลเขมราฐ เดือนกรกฎาคม, ถนนสายวัฒนธรรม จัดขึ้น ทุกเย็นวันเสาร์

“แหนมใบมะยม” แหล่งเรียนรู้กลุ่มแหนมใบมะยม

แหนมใบมะยมมี ต ้ น ต� ำ หรั บ ที่ สืบทอดมาจากคนญวน และสืบทอดมา จนถึ ง ลู ก หลานในปั จ จุ บั น แหนมใบ มะยมมีความแตกต่างจากแหนมชนิดอื่น คือ จะมีการห่อใบมะยมอีกหนึ่งชั้นก่อน ห่อใบตอง

“ผ้าฝ้ายย้อมคราม” แหล่งเรียนรู้ผ้าฝ้ายมัดหมี่ย้อมคราม

ผ้าฝ้ายย้อมคราม มีการสืบทอดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และที่ ส�ำคัญผ้าฝ้ายย้อมครามยังท�ำมาจากวัสดุจากธรรมชาติ ซึ่งน�ำมาแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เสื้อ กระโปรง หมวก กระเป๋า และพวง กุญแจ เป็นต้น

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 41

41

18/12/2563 16:15:57


WO R K LI FE

แหล่งท่องเที่ยว เขมราฐ - วัดโพธิ์ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2331 โดยแม่ชี (แม่ขาว) ได้

- ลานหินประวัติศาสตร์ หาดทรายสูง

หนีภัยสงคราม น�ำผู้คนอพยพลงมาจากเวียงจันทน์ พร้อม ด้วยลูกหลานญาติโยมลงมาตามล�ำน�้ำโขง มายึดชัยภูมิแห่ง นี้ตั้งหมู่บ้านและวัดขึ้นในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชแห่ง กรุงธนบุรี เดิมวัดตั้งอยู่ที่ทําการศุลกากรและสถานีอนามัย ในปัจจุบัน ต่อมาชาวบ้านได้พบพระพุทธรูปที่กลางป่ามี ต้นโพธิ์ใหญ่อยู่ด้วยจึงย้ายวัดมาตั้งอยู่ในที่ปัจจุบัน และตั้ง ชื่อว่า วัดโพธิ์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2516 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตรยาว 40 เมตร การ บริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระหนูสิน รูปที่ 2 พระทา รูปที่ 3 พระพรหมา รูป ที่ 4 พระอุ ย รู ป ที่ 5 พระแดง รู ป ที่ 6 พระประภั ส ปญญาพโล รูปที่ 7 พระครูวรกิจโกวิท พ.ศ. 2505- ซึ่งเป็น ทั้งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์และเจ้าคณะอ�ำเภอเขมราฐ

- วัดบุ่งขี้เหล็ก (ลานพระขาว)

- ถนนคนเดิน เขมราษฎร์ธานี

ถนนคนเดินเขมราฐ จัดงานปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2556 โดยกลุ ่ ม ฮั ก นะเขมราฐ และผู ้ บ ริ ห ารเทศบาลตําบลเขมราฐ น� ำ โดย นางลัดดา เจษฎาพานิชย์ นายกเทศมนตรีตําบลเขมราฐ ซึ่ง ณ ที่แห่งนี้ เคยมีประวัติศาสตร์ เคยมีการค้าขายชายเเดนไทย-ลาวในอดีต จึงพัฒนา เมืองเก่าที่มีประวัติศาสตร์ และเศรษฐกิจที่เคยรุ่งเรือง คึกคักในอดีต ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ในบรรยากาศย้อนยุค เป็นการสร้างพื้นที่ ให้คนรุ่นใหม่ได้สัมผัสบรรยากาศที่อบอุ่นตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ ในชุมชน นอกจากนี้ ยังจัดให้มีจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน อาหารพื้นบ้าน ของที่ระลึกต่างๆ การแสดงศิลปะ ดนตรี การร�ำตังหวาย รวมทั้งการจัด นิทรรศการภาพเก่าแก่ของอําเภอเขมราฐ 42

.

3

ปัจจุบันถนนคนเดินเขมราฐจัดทุกวันเสาร์ คับคั่งไปด้วยนักท่องเที่ยว ซึ่งที่นี่ไม่ได้มีเพียงของกินเท่านั้น แต่ยังมีการแสดงร�ำตังหวายของชมรม ศิลปวัฒนธรรมคนสามวัย และชมรมร้องเล่นเต้นร�ำ ซึ่งจะร�ำวันละ 2 รอบ ได้แก่ รอบ 18.00 น. และ 19.00 น. มีจุดร�ำ 2 จุด คือ หน้าบ้านขุนภูรี ประศาสน์ และสี่แยกร้านทองเซ่งฮวด โดยนักท่องเที่ยวสามารถร่วมร�ำ กับนางร�ำได้ด้วยเช่นกัน

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 42

18/12/2563 16:16:02


มาเที่ยวอุบลฯ ต้องมาที่นี่

ทุ่งนาจอนนี่มือปราบ

ร้านช้างชมดาว “ช่วงเวลาแห่งความอบอุ่น ช่วงเวลาแห่งความอร่อย”

ร้านช้างชมดาว

เลขที่ 44 หมู่ 8 ถนนเลี่ยงเมือง 2 ต�ำบล เขมราฐ อ�ำเภอ เขมราฐ จังหวัด อุบลราชธานี 34170 โทรศัพท์ 095-6137846,085-8603107 ช้างชมดาว by The Palaazzo Kammarat 0956137846


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง องค์ ก รธรรมาภิ บ าล สวั ส ดิ ก ารสั ง คมถ้ ว นหน้ า ส่ ง เสริ ม งานประเพณี แ ละกี ฬ า พั ฒ นาการศึ ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มและเศรษฐกิ จ ” วิ สั ย ทั ศ น์

ความเป็นมา “ต�ำบลนาแวง”

สถานที่ตั้งของต�ำบลนาแวง มีร่องรอยอารยะธรรมของประวัติศาสตร์อันเก่าแก่และยาวนาน หลายปี โดยไม่มีการบันทึกหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร มีเพียงซากปรักหักพังของสถูปเจดีย์ และ บอกเล่าต่อ ๆกันมาให้ได้กล่าวขานกันเท่านั้น เช่น ธรณีประตูหินศิลปะยุคเจนละ ซึ่งตั้งอยู่หน้าโบสถ์ วัดโขงเจียมปุราณวาส ร่องรอยของสถูปเจดีย์ที่วัดป่าธรรมจักรวนาราม ลักษณะสถาปัตยกรรมที่ คล้ายสมัยขอมในยุคหลังประวัติศาสตร์ มีอายุประมาณ 1,500 ปี ในยุคของอาณาจักรฟูนันก�ำลัง รุ่งเรือง ชนเผ่าของขอมได้อพยพขึ้นมาตามล�ำน�้ำโขงเพื่อแสวงหาอาณานิคมใหม่ จึงได้น�ำเอาศิลปะ วัฒนธรรมและความเชื่อทางศาสนามาเผยแพร่ และสร้างสถานประกอบพิธีกรรมทางศาสนา คุณพ่อก�ำนันซุย ไชยจักร เล่าว่าต�ำบลนาแวงแต่เดิมชื่อว่า เมืองโขงเจียมเหนือ ส่วนโขงเจียมใต้ ก็คืออ�ำเภอโขงเจียมในปัจจุบัน ซึ่งเมืองทั้งสองตั้งขึ้นพร้อมกัน ผู้ก่อตั้งเมืองโขงเจียมเหนือคือ พระก�ำแหง สงคราม พ.ศ. ไม่ปรากฏ ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครอง จึงเปลี่ยนชื่อ เมืองโขงเจียมเหนือเป็นต�ำบลนาแวง ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2465 (โดยประมาณ)

นายเชวงศั กดิ์ วิ ชัย ศร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี โดยต� ำ บลนาแวงเป็ น หนึ่ ง ในเก้ า ต� ำ บลของ อ�ำเภอเขมราฐ โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของ พื้นที่อ�ำเภอเขมราฐ ทิศเหนือเป็นเขตชายแดน มีแนวเขตติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ซึ่ ง มี ล� ำ น�้ ำ โขงกั้ น เป็ น แนว เขตยาวประมาณ 30 กิโลเมตร ทิศใต้มีแนว เขตติ ด กั บ ต� ำ บลกองโพนและต� ำ บลพะลาน อ�ำเภอนาตาล

44

.

3

ประวัติความเป็นมา “องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง”

ต�ำบลนาแวงได้ยกฐานะเป็นสภาต�ำบลเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 และต่อมาได้ยกเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ตามคุณสมบัติ และหลักเกณฑ์ มาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2539 และได้ถือเอาพื้นที่ต�ำบลนาแวงเป็นพื้นที่เดียวกันกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง ซึ่งมีระยะห่างจากอ�ำเภอเขมราฐตามทางหลวงหมายเลข 2112 ประมาณ 13 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดอุบลราชธานีประมาณ 118 กิโลเมตร มีพื้นที่ในความ รับผิดชอบประมาณ 57.18 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็น 35,738.25 ไร่

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 44

18/12/2563 16:53:24


WORK L IFE

แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลนาแวง ลานหินประวัติศาสตร์หาดทรายสูง

ลานหินประวัติศาสตร์หาดทรายสูง บ้านลาดเจริญ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางธรรมชาติมีลักษณะเป็นหาดทรายริมแม่น�้ำโขง ช่วงเดือนตุลาคม – พฤษภาคม สามารถมองเห็นหาดทรายเป็นเนินกว้างใหญ่ทรายละเอียด กองทับถมจนเป็นเนินสูงสวยงามตระการตา ยังมีภาพสลักรูป คน สัตว์ สัญลักษณ์อักษรโบราณยาวตลอดแนวฝั่งน�้ำโขง นอกจากนี้ยังมีการขุดพบ ซากโครงกระดูกช้างแมมมอธในหมู่บ้าน ซึ่งถือได้ว่าหมู่บ้านมีลักษณะเด่น ทางธรรมชาติทสี่ วยงามแห่งหนึง่ มีหาดทรายสูงให้นกั ท่องเทีย่ วได้มาเรียนรู้ ศึกษาวิจัย และประกอบกิจกรรมนันทนาการ

ประวัติศาสตร์ความภาคภูมิใจ

ประวัติศาสตร์ที่สร้างความภาคภูมิใจให้แก่เหล่าพสกนิกร ชาวต�ำบล นาแวง ตลอดมาก็ คือ เมื่อวันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 ช่วงเวลา 11.00-14.30 น. พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ล อดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร รั ช การที่ 9 พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมราชชนนี พั น ปี ห ลวง และรัชทายาทในเสด็จ ทรงเสด็จพระราชด�ำเนิน มาประทับ ณ ต�ำบลนาแวง ทรงเสด็จเยี่ยมเพื่อสร้างขวัญและก�ำลังใจ ให้แก่เหล่ากองทหารที่ประจ�ำ การรักษาชายแดนเพื่อปกป้องอธิปไตย ในครั้งที่ประเทศเพื่อนบ้านเกิด การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ความมั่นคง ภายในประเทศ และสร้างความเดือดร้อนต่อชีวิตและทรัพย์สินของราษฏร ที่อาศัยอยู่ในเขตชายแดนแถบนี้ ซึ่งยังความปลื้มปิติยินดีแก่เหล่าราษฎร ต�ำบลนาแวง ในครั้งนั้นตลอดมา

ต้นหว้าน�้ำคู่รัก อุบลราชธานี 300 ปี ต้นไม้ “รุกข มรดกของแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” เฉลิมพระเกียรติ ในหลวง ร.10

ต้นหว้า หรือ หมากหว้าน�้ำ สองต้นยืนโดดเด่นเคียงกันกว่า 300 ปี ณ ลานหินทราย ริมฝั่งโขง บ้านลาดเจริญ ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี สร้างปรากฏการณ์ “ความรักอมตะหมากหว้าน�้ำ” สุดประทับใจ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 45

45

18/12/2563 16:53:26


WO R K LI FE

ลานพระขาว วัดบุ่งขี้เหล็ก

วั ด บุ ่ ง ขี้ เ หล็ ก เป็ น วั ด เก่ า แก่ อี ก แห่ ง ในอ� ำ เภอเขมราฐ จั ง หวั ด อุบลราชธานี ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามของหมู่บ้านบุ่งขี้เหล็ก มีพื้นที่ขนาดใหญ่ มีสัตว์ป่าและพระพุทธรูปขาวตั้งอยู่เรียงกันเป็นระเบียบ เคยได้รับเกียรติ บัตรรางวัลเป็นวัดที่มีความสะอาดดีมากตามโครงการ “อุบลเมืองสะอาด ราชธานีอีสาน” ประจ�ำปี 2553 ข้างหลังวัดมีพระพุทธรูปขาววางเรียงราย สวยงาม และจุ ด เด่ น ที่ ส� ำ คั ญ ของวั ด บุ ่ ง ขี้ เ หล็ ก คื อ เจดี ย ์ ที่ มี ค วามสู ง 7 ชั้น 74 เมตร ซึ่งส�ำเร็จภายในระยะเวลาเพียง 1 ปี 4 เดือน ปัจจุบัน พระมหาบันทอน สุธีโร รองเจ้าคณะอ�ำเภอเขมราฐ เป็นเจ้าอาวาส

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสตรีพัฒนาบ้านโพธิ์เมือง

ตั้งอยู่ที่ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ก่อตั้งครั้งแรกมีสมาชิก 20 คน ปัจจุบัน มีสมาชิก 36 คน ผ้าทอมีชีวิตเริ่มที่มองเห็นคุณค่าของการทอผ้าฝ้ายที่มี เอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่นและต้องการสืบสานไว้ จึงได้มีการก่อตั้งกลุ่ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนสตรี พั ฒ นาบ้ า นโพธิ์ เ มื อ ง โดยมี นายอนั น ต์ โคตรค� ำ ซึ่งเป็นลูกหลานของคนในหมู่บ้าน เป็นผู้ริเริ่มด�ำเนินการรวมกลุ่มสตรีใน หมู่บ้านโพธิ์เมืองท�ำกิจกรรมยามว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ฟ้อนร�ำและ สื บ สานศิ ล ปหั ต ถกรรมการทอผ้ า จากภู มิ ป ั ญ ญาในหมู ่ บ ้ า นโพธิ์ เ มื อ ง ส่งเสริมให้ชุมชนมีรายได้เสริมในครัวเรือนกลุ่มสตรีบ้านโพธิ์เมือง มีการ รวบรวมลายผ้าจากปู่ย่าตายายบางส่วนน�ำมาท�ำเป็นลายผ้า อัตลักษณ์ คุณค่า และความหมายของผ้าฝ้ายทอมือบ้านโพธิ์เมือง เรื่อง ราวของผ้ า ซิ่ น ของบ้ า นโพธิ์ เ มื อ ง เป็ น หมู ่ บ ้ า นเล็ ก ๆ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ โขง ชายแดนไทย - ลาว ยังคงวิถีชีวิตผูกพันกับสายน�้ำแบบเคยเป็นมาหลาย สิบปีก่อน ลายผ้าที่ใช้กันเป็นลายหลากหลายแบบที่ทอขึ้นมาอย่างง่าย ไม่ต้องใช้วิธีการซับซ้อน แต่มีความสวยงาม มีเสน่ห์ในตัว

ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาแวง 46

.

3

อ�ำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34170 โทร 045-251506 ต่อ 07 www.nawang-khemmarat.com Facebook : อบต.นาแวง

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 46

18/12/2563 16:53:32


หาดทราย สามพันโบก

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 47

47

19/12/2563 10:30:51


WO R K LI FE

เทศบาลต�ำบลเขื่องใน “ชุ ม ชนน่ า อยู ่ บริ ห ารจั ด การดี ประชาชนมี สุ ข ” วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาเทศบาลต� ำ บลเขื่ อ งใน

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลเขือ่ งใน ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลเขือ่ งใน อ�ำเภอ เขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี มีประชากรทั้งหมด 4,662 คน แยกเป็นชาย 2,274 คน เป็นหญิง 2,388 คน จ�ำนวนหลังคาเรือนทั้งหมดในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบทั้งหมด 1,980 หลังคาเรือน (ข้อมูลเดือน มีนาคม พ.ศ.2563) ประชาชนชาวต�ำบลเขื่องในนับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 99 ของจ�ำนวนประชากร ทัง้ หมด โดยมีวดั จ�ำนวน 5 แห่ง ได้แก่ 1. วัดเขือ่ งใน 2. วัดเขือ่ งกลาง 3. วัดป่าศิลาเลข 4. วัดสว่างอารมณ์ 5. วัดกวางค�ำ เทศบาลต�ำบลเขือ่ งใน เป็นศูนย์กลางทางการค้าขายและเศรษฐกิจของอ�ำเภอเขือ่ งใน และยังเป็นศูนย์รวมส่วนราชการที่ส�ำคัญ ได้แก่ ที่ว่าการอ�ำเภอเขื่องใน โรงพยาบาล เขือ่ งใน สถานีตำ� รวจ สถาบันการเงินหลายแห่ง และทีส่ ำ� คัญยังเป็นศูนย์กลางการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของชาวอ�ำเภอเขื่องใน

นายเกษม นามบุต ร นายกเทศมนตรีต�ำบลเขื่องใน

เทศบาลต� ำ บลเขื่ อ งใน มี พื้ น ที่ 4.47 ตารางกิ โ ลเมตร ครอบคลุมพืน้ ทีใ่ นเขต ต�ำบลเขือ่ งใน รวม 6 หมูบ่ า้ น 8 ชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนบ้านเขื่องใน หมู่ที่ 1 บ้านเขื่องใน ต�ำบลเขื่องใน 2. ชุมชนบ้านเขื่องใน หมู่ที่ 2 บ้านเขื่องใน ต�ำบลเขื่องใน 3. ชุมชนบ้านเขือ่ งกลาง หมูท่ ี่ 3 บ้านเขือ่ งกลาง ต�ำบลเขือ่ งใน 4. ชุมชนบ้านหนองใส หมู่ที่ 4 บ้านหนองใส ต�ำบลเขื่องใน 5. ชุมชนบ้านตลาดใหม่ หมูท่ ี่ 4 บ้านหนองใส ต�ำบลเขือ่ งใน 6. ชุมชนบ้านสว่างอารมณ์ หมูท่ ี่ 5 บ้านสว่าง ต�ำบลเขือ่ งใน 7. ชุมชนบ้านสว่างเถียงนาซุม หมูท่ ี่ 5 บ้านสว่าง ต�ำบลเขือ่ งใน 8. ชุมชนบ้านโนนธาตุ 3 กวางค�ำ หมู่ที่ 6 บ้านโนนธาตุกวางค�ำ ต�ำบลเขื่องใน (บางส่วน)

48

.

3

ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลเขื่องใน

ถนนแจ้งสนิท ต�ำบลเขื่องใน อ�ำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 34150 โทรศัพท์ : 045-391058 ต่อ 102 / E-mail : admin@khuangnai.go.th Facebook : เทศบาลต�ำบลเขื่องใน

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 48

วัดสะแก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงห์มหานิกาย

21/12/2563 15:32:34


2.สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

WORK L IFE

1. วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นที่ส�ำคัญ

ประเพณีลอยกระทง จัดขึน้ ในช่วง เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน ของทุกปี โดยมี กิจกรรมประกวดกระทงสวยงามและประกวดนางนพมาศ ประเพณีวันสงกรานต์ จัดประกวดขบวนแห่ ประกวดนางสงกรานต์ และลดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ ประเพณีบุญผะเหวด จัดประกวดขบวนแห่กัณฑ์เทศน์ และประกวด ธิดาวัฒนธรรม ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟ จัดประกวดขบวนแห่บงั้ ไฟ ประกวดบัง้ ไฟสวยงาม และบั้งไฟสูง ประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษา จัดขึ้นในช่วงวันอาสาฬหบูชาและ วันเข้าพรรษา ประมาณกลางเดือนกรกฎาคม ของทุกปี

วัฒนธ

ประ กิจกรรม ประ และลด ประ ธิดาวัฒ ประ และบั้งไ

โครงการสืบสานงานประเพณีทอ้ งถิน่

2. ด้านการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต

เทศบาลต�ำบลเขือ่ งใน มีนโยบายพัฒนาการศึกษา โดยการสร้างโอกาส แห่งการเรียนรูส้ สู่ ากล ให้กบั ประชาชนสามารถเข้าถึงการศึกษาในทุกช่วงวัย มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนใน ทุกช่วงวัย ได้แก่ โครงการ English Camps โครงการส่งเสริมอาชีพ โครงการรักการอ่าน จัดตัง้ โรงเรียนผูส้ งู อายุ การจัดสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ และเล่นกีฬานันทนาการต่างๆ อย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมความพร้อมของ ประชาชนสู่ประชาคมอาเซียน

3. ด้านโอกาสและการลุงทุน

เทศบาลต�ำบลเขือ่ งใน เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ และสังคม มีความพร้อม ทุกด้าน มีการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ อ�ำนวยความสะดวก มีศกั ยภาพ สามารถรองรับการลงทุน ในอนาคตอันใกล้ จะมีการพัฒนาเมืองใหม่สเู่ มือง แห่งความสุข ประชาชนสุขภาพแข็งแรง เพือ่ รองรับการขยายตัวของประชากร นักท่องเทีย่ ว สร้างความเชือ่ มัน่ และให้ความปลอดภัยแก่ประชาชนในชุมชน

ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ ถนนสายวัฒนธรรม

สืบสานงานประเพณีบุญบั้งไฟ ชุมชนหมู่ที่ 1-5

กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ

สืบสานงานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 49

49

21/12/2563 15:32:39


กิจกรรมที่เทศบาลต�ำบลเขื่องในจัดขึ้น

WO R K LI FE

“ส่งเสริมกิจกรรมเพือ่ พัฒนาเด็ก เยาวชน และประชาชนในท้องถิน่ ได้แก่ กิจกรรมรักการอ่าน กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรม English camp เป็นต้น

ส่งเสริมสุขภาพ ปั่นเพื่อแม่ ศาลหลักเมืองใหม่

หอนาฬิกา

“ชิค กิน เท่ห์ เก๋ๆ ที่เขื่องใน”

ครัวริมน้� ำ

สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ

Coffee box

ตลาดสดน่าซื้อ เทศบาลต�ำบลเขื่องใน

Me แจ่วฮ้อนเขื่องใน

086-8706616

โรงคั่วกาแฟ 4 Deecofee ubonratchatanee

ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด โฟร์ดีคอฟฟี่ ธุรกิจกาแฟ ครบวงจร 089-0618130,097-3282975

50

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 50

21/12/2563 15:32:45


เสาเฉลียง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

19/12/2563 10:31:19


PEERADA RIVER VIEW RESORT

หากท่านต้องการหลีกหนีแสงสีในตัวเมือง เพื่อหาความสุขท่ามกลางธรรมชาติ และบรรยากาศอันสวยงาม เราขอแนะน�ำท่านเดินทางมุง่ หน้าสู่ “โขงเจียม” ดินแดน แห่งประวัตศิ าสตร์ ธรรมชาติทหี่ ลากหลายและงดงาม และขอแนะน�ำท่านแวะพักผ่อน ที่ “พีรดาริเวอร์ววิ รีสอร์ท” ทีพ่ กั ทีแ่ สนอบอุน่ น่ารัก ติดริมแม่นำ�้ โขง ชมพระอาทิตย์ ขึ้นก่อนใครในสยาม เพรียบพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ทั้งคาเฟ่ ห้องอาหาร ห้องประชุม เพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ วทัง้ แบบส่วนตัว ครอบครัว และหมูค่ ณะ ด้วยรอยยิม้ และความประทับใจ

Peerada River View Resort

ต�ำบล โขงเจียม อ�ำเภอ โขงเจียม อุบลราชธานี 34220 โทรศัพท์ 0-4535-1213 , 08-6257-8777, 08-6649-0804 www.peeradariverview.com


บ้านสวนพีรดา

Bansuan Peerada บ้านสวนพีรดา บรรยากาศภายในเป็นแบบธรรมชาติ ล้อมรอบไปด้วยต้นไม้เขียวขจี บ่งบอกถึงธรรมชาติ ที่สวยงาม และใช้เวลาเดินทางจากตัวเมืองอุบลฯ เพียง 1 ชั่วโมง พบกับบ้านที่พักสะดวกสบาย พร้อม สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน การบริการเป็นกันเอง และปลอดภัยได้ที่บ้านสวนพีรดา ลักษณะที่พักจะเป็น ทั้งบ้านเดี่ยว และบ้านแฝด. ติดต่อ บ้านสวนพีรดา Bansuan Peerada เลขที่ 138/1 ถนนภู่ก�ำชัย ต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์ : 045-351028 , 086-649 0804 , 045-210760 เว็บไซต์ : http://www.bannsuanpeerada.com


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย “พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา รั ก ษาประเพณี สร้ า งคนดี มี สุ ข ภาวะ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม น้ อ มน� ำ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์ (Vision)

อาณาเขต

ติดต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบ้านกอก อ�ำเภอเขื่องใน ทิศใต้ ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อทอง อ�ำเภอเขื่องใน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ยางขี้นก อ�ำเภอเขื่องใน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกลางใหญ่ อ�ำเภอเขื่องใน และ องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดน�้ำใส อ�ำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร มีประชากรทั้งสิ้น จ�ำนวน 6,274 คน โดยแยกเป็นชาย 3,085 คน เป็น หญิง 3,189 คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ อ�ำเภอเขื่องใน ณ เดือนตุลาคม พ.ศ.2563)

ลักษณะภูมิประเทศ

นายบุ ญ เลิ ศ ผ่ อ งราศรี

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบโดยมีแม่น�้ำชีเป็นเขตแดน ทางทิศ ตะวันตกและทิศใต้ ส�ำหรับน�้ำที่ประชาชนในต�ำบลบ้านไทยใช้ส�ำหรับการอุปโภค-บริโภค และท�ำการ เกษตรมาจากแม่ น�้ ำ ชี และจากหนองน�้ ำ สาธารณะประโยชน์ 19 แห่ ง โดยคุ ณ ภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในต�ำบลบ้านไทย ค่อนข้างสมบูรณ์ ทั้ง ดิน น�้ำ ป่าไม้ จะเห็นได้จากเกษตรกร ในพื้นที่สามารถท�ำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย ได้รับ การยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตั้ง อยู่ที่บ้านโพนทราย หมู่ที่ 3 เป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลขนาดกลาง ขึ้นอยู่กับ อ�ำเภอเขื่องใน อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งเหนื อ ของอ� ำ เภอ เขื่องใน ห่างจากอ�ำเภอเขื่องใน ประมาณ 17 กิ โ ลเมตร อยู ่ ห ่ า งจากจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ประมาณ 68 กิโลเมตร มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 60 ตารางกิโลเมตร และมีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขต องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย จ�ำนวน 12 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านไทย, หมู่ที่ 2 บ้านไทย, หมู่ที่ 3 บ้านโพนทราย ,หมู่ที่ 4 บ้านโพนทราย, หมูท่ ี่ 5 บ้านชาติ , หมูท่ ี่ 6 บ้านโพนทอง, หมูท่ ี่ 7 บ้านโพนทอง ,หมู่ที่ 8 บ้านทุ่งใหญ่, หมู่ที่ 9 บ้านทุ่งใหญ่ , หมู่ที่10 บ้านโนนดู่, หมู่ที่ 11 บ้านโพนทอง , หมู่ที่ 12 บ้านโพนทอง 54

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 54

18/12/2563 17:21:41


WORK L IFE

ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ส�ำคัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทย คือป่าไม้ และมีต้นไม้ที่ส�ำคัญ ได้แก่ ต้นยาง ต้นประดู่ ต้นกันเกรา ต้นสะแบง ต้นตะแบก ต้นคูน ต้นพะยอม ต้นพอก เป็นต้น การศึกษา มีสถานศึกษาในเขตพื้นที่จ�ำนวน 4 แห่ง และศูนย์พัฒนา เด็กเล็กจ�ำนวน 3 แห่ง การสาธารณสุข มีหน่วยพยาบาลที่ให้บริการประชาชนในเรื่องของ การรักษาพยาบาล จ�ำนวน 2 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านไทย ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลโพนทอง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 11 การสังคมสงเคราะห์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลได้ด�ำเนินการด้าน สังคมสงเคราะห์ ด�ำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ ผู้ป่วยเอดส์ รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยง ดูเด็กแรกเกิด และประสานการรับบัตรผู้พิการ ด้านเศรษฐกิจ ประชาชนในเขตพื้นที่ต�ำบลบ้านไทย ประกอบอาชีพ ท�ำนา และปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น มันส�ำประหลัง ถั่วลิสง ปาล์ม ยางพารา ฯลฯ รวมไปถึงการพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ อาทิ กลุ่มจักสาน กลุ่มหมอนขิด โรงสีข้าว ค้าขาย ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ คลินิก ปั๊มน�้ำมัน เป็นต้น การนับถือศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตต�ำบลบ้านไทย ประมาณ ร้อยละ 100 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัด 9 แห่ง ได้แก่ 1.วัดทุ่งบ้านไทย , 2.วัดบ้านโพนทราย (วัดนอก), 3.วัดบ้านโพนทราย (วัดใน) , 4.วัดเก่าหนองบัว, 5.วัดบ้านชาติ , 6.วัดบ้านหอไตร , 7.วัดป่าธรรมสถาน , 8.วัดบ้านทุง่ ใหญ่ , 9.วัดบ้านโนนดู่ และที่พักสงฆ์ 1 แห่ง คือ ที่พักสงฆ์ป่าช้าบ้านชาติ ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 5

ภูมิปัญญาท้องถิ่น และภาษาถิ่น เป็นภาษาอีสาน และภาษากลาง ประเพณี และงานประจ�ำปี

1. การกินดอง หมายถึง งานพิธีมงคลสมรสซึ่งมีความแตกต่างกับที่อื่น อยู่บ้างในส่วนปลีกย่อย โดยมักจะเรียกพิธีแต่งงานว่า “การกินดอง” ซึ่ง หมายความในลักษณะผูกพันเกี่ยวดองฝ่ายหญิงฝ่ายชายจะดองซึ่งกันและ กันเรียกว่า “พ่อดอง แม่ดอง” 2. การท�ำบุญบั้งไฟ ประเพณีท�ำบุญบั้งไฟ คือบุญเดือนหกท�ำขึ้นบูชา อารักษ์มเหศักดิ์หลักเมืองถือเป็นประเพณีขอฝนที่ได้ท�ำมาตั้งแต่บรรพกาล คือ บั้งไฟน้อย บั้งไฟแสน การแห่บั้งไฟมักจะจัดเป็นขบวนฟ้อนร�ำหรือเซิ้ง ซึ่งมีลีลาที่งดงามอ่อนช้อยตามประเพณีของหมู่บ้านนั้น ๆ 3. การท�ำบุญข้าวประดับดิน การท�ำบุญข้าวประดับดินนิยมท�ำกันใน วันแรม 13 -14 ค�่ำเดือนเก้า โดยการห่ออาหารหรือของขบเคี้ยวเป็นห่อ น� ำ ไปถวายทานหรื อ น� ำ ไปห้ อ ยตามต้ น ไม้ บ ้ า ง ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง เรี ย กข้ า ว ประดับดิน 4. การท�ำบุญข้าวสาก ชาวบ้านนิยมท�ำกันในวันขึ้นสิบค�่ำ เดือนสิบ เรี ย กอี ก อย่ า งหนึ่ ง ว่ า “งานบุ ญ เดื อ นสิ บ ” ข้ า วสากนั้ น มาจากค� ำ ว่ า “สลาก” เพราะบางเวลาถวายพระสงฆ์ไม่เจาะจงว่าถวายรูปใดจึงจัดท�ำ เป็นสลากชื่อเจ้าภาพจับได้ของใครก็น�ำไปถวายตามนั้น 5. การท�ำบุญออกพรรษา ชาวพุทธนิยมท�ำอันดับแรกคือการถวาย ปราสาทผึ้ ง โดยใช้ ไ ม้ ไ ผ่ จั ก ตอกสานเป็ น ปราสาทล้ อ มและมุ ง ด้ ว ย กาบกล้วย เอาผึ้งไปต้มให้เปื่อยแล้วจุ่มเป็นดอกแล้วน�ำไปเสียบประดับ หลังคาปราสาทข้างในมีขนม นมเนย ข้าวต้ม กล้วย อ้อย เสื่อ หมอน ฝ้าย และอื่นๆ เวลาประมาณทุ่มเศษ ๆ จะแห่ไปทอดเพื่อถวายพระ 6. ไหลเรือไฟ เป็นประเพณีที่นิยมท�ำกันในวันออกพรรษา คือการ ปล่อยเรือไฟ ชาวอุบลฯเรียกว่า “ไหลเฮือไฟ” คือการน�ำเอาท่อนกล้วย หรือท่อนไม้มาท�ำเป็นรูปเรือ เวลาประมาณทุ่มเศษ ก็จะน�ำมาจุดไฟโดย ใช้ขี้ใต้หรือน�้ำมันยางแล้วปล่อยเรือให้ไหลไปตามน�้ำจะมีการตีฆ้อง ตีกลอง ตามวัดต่าง ๆ พระสงฆ์จะจัดท�ำเรือไฟขึ้นในวัดตรงหน้าโบสถ์ ตอนกลาง คืนจะน�ำดอกไม้ธูปเทียนมาจุดบูชาเป็นพุทธบูชา 7. ประเพณี แ ห่ เ ที ย นพรรษา เป็ น ประเพณี ท างพุ ท ธศาสนาของ ชาวจังหวัดอุบลราชธานีโดยก�ำหนดให้จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 และ แรม 1 ค�่ำ เดือน 8 ของทุกปี มีการประกวดต้นเทียนส�ำหรับต้นเทียนที่ส่ง เข้าประกวดมี 2 ประเภท คือประเภทติดพิมพ์และประเภทแกะสลัก และ มีขบวนแห่อันวิจิตรตระการสวยงาม

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 55

55

18/12/2563 17:21:45


WO R K LI FE

สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

หมอนขิด ผ้าไหม และตะกร้าทางมะพร้าว เป็นสินค้าพื้นเมืองที่ ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในต�ำบล

โครงการสืบสานงานแทงหยวก

การแกะสลักหยวกหรือการแทงหยวก เป็นงานฝีมือช่างประเภทหนึ่ง อยูใ่ นช่างสิบหมู่ ประเภทช่างแกะสลักของอ่อน ย้อนหลังไปประมาณ 20-30 ปี ขึ้นไป มีประเพณีที่เกี่ยวกับการแทงหยวกกล้วยอยู่ 2 อย่างคือ การโกน จุกและการเผาศพ (โดยเฉพาะศพผู้ที่มีฐานะปานกลาง) งานโกนจุกหรือ ประเพณีโกนจุก จะมีการจ�ำลองเขาพระสุเมรุ ตามความเชื่อ แล้วตกแต่ง ภูเขาด้วยรูปสัตว์ต่างๆ ส่วนภูเขาพระสุเมรุจะตั้งอยู่ตรงกลางร้านม้า ซึ่ง ท�ำโครงสร้างด้วยไม้แล้วหุ้มด้วยหยวกกล้วยแกะสลักเป็นลวดลายต่างๆ ประเพณีการเผาศพก็เช่นกันจะท�ำ ร้านม้า ซึ่งท�ำโครงสร้างด้วยไม้แล้ว ประดับด้วยหยวกกล้วยแกะสลักอย่างสวยงาม

“โรงเรียนผู้สูงอายุ” ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กิจกรรมส�ำคัญ โครงการจัดงานแข่งขันสรภัญญะ

การประกวดการขับร้องสรภัญญะถือว่าเป็นกุศโลบายส�ำคัญที่ใช้ใน การแสดงความสมัครสมานสามัคคีและความพร้อมเพรียงในหมู่ผู้นับถือ ศาสนา เป็นการเชื่อมโยงระหว่างศาสนิกชนกับหลักธรรมค�ำสอนเข้า ด้วยกัน บทสวดท�ำนองสรภัญญะเป็นบทสวดที่สรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุ ณ พระสั ง ฆคุ ณ ซึ่ ง เป็ น องค์ ป ระกอบของพระรั ต นตรั ย มีท่วงท�ำนองที่ไพเราะผู้ร่วมสวดเกิดความรู้สึกซาบซึ้งใจจากการสวด ได้รับความเบิกบานใจ สงบและเป็นสุขซึ่งจะเป็นปราการปิดกั้นมิให้มี ความประพฤติในสิ่งที่ไม่ดีงามทั้งปวง นอกจากนี้แล้วยังเป็นการส่งเสริม ให้ประชาชนในท้องถิ่นอนุรักษ์ สืบสาน ประเพณีอันดีงามให้คงไว้สืบไป

56

.

3

ปัจจุบันกิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุมี จ�ำนวน 150 คน มีการรับสมัคร ผู้สูงอายุทุกปี การพัฒนาทักษะ และการศึกษาตามอัธยาศัยของผู้สูงอายุ กิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ จะเป็นเรื่องที่ผู้สูงอายุสนใจ และมีความ ส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จ�ำเป็น โดย วิทยากรจิตอาสา หรือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ ซึ่งผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพในการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน มีการ จัดงานมอบใบประกาศให้แก่ผู้สูงอายุที่จบการศึกษาในแต่ละรุ่น

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 56

18/12/2563 17:21:53


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

19/12/2563 10:31:34


WO R K LI FE

ที่ว่าการอ�ำเภอโขงเจียม “รวมมั จ ฉา ภู ผ างาม น�้ ำ สองสี ศิ ล ป์ ดี ผ าแต้ ม ” ค� ำ ขวั ญ ของอ� ำ เภอ

นายปรี ด า อุ ่ น อุ ด ม

นายอ�ำเภอโขงเจียม

อ�ำเภอโขงเจียมมีพื้นที่รวม 765.0 ตาราง กิโลเมตร หรือ 295.4 ตารางกิโลไมล์ ประชากร ทั้งหมด 38,426 คน ที่ตั้งที่ว่าการ ที่ว่าการ อ�ำเภอโขงเจียม หมู่ที่ 1 ต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 34220 ห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานี 80 กิโลเมตร

58

เสาเฉลี่ยงคู่

วิววัดถ�้ำคูหาสวรรค์

ผาแต้ม

หาดวิจิตตรา

ผาชนะได

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

2

.indd 58

18/12/2563 18:12:05


WORK L IFE

สถานที่ท่องเที่ยวอ�ำเภอโขงเจียม

ผาโสก

นักท่องเที่ยวรอชมพระอาทิตย์ ใหม่ก่อนใครในยามเช้า วันที่ 1 มกราคมของทุกปีที่ผาชนะได

โอทอปและอาหารพื้นเมือง ดอกไม้งาม ตามรอยเสด็จ ทุ่งดอกดุสิตา มณีเทวา

บ้านท่าล้ง

น�้ำตกตาดโตน

น�้ ำตกแสงจันทร์

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 59

59

18/12/2563 18:12:09


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง “พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน คุ ณ ภาพชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ใส่ ใ จธรรมาภิ บ าล” วิ สั ย ทั ศ น์ (vision) การพั ฒ นา

ในอดีตมีชนชาวพืน้ เมืองทีม่ าอาศัยอยูจ่ ำ� นวน 4 เผ่า ได้แก่ ขอม ส่วย ข่า และภูไท ปัจจุบนั วัฒนธรรม ของเผ่าต่างๆ ได้เปลีย่ นและผสมผสานกันเป็นวัฒนธรรมไทย-ลาว (อีสาน) ส่วนวัฒนธรรมพืน้ ถิน่ ดัง้ เดิม ยังพบได้กบั ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ทสี่ บื ทอดมาจากบรรพบุรษุ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 261 ตารางกิโลเมตร (163,125 ไร่) ทิศเหนือ ติดกับ ต�ำบลหนามแท่ง อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น�้ำโขง และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต้ ติดกับ ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอโขงเจียม และ ทิศตะวันตก ติดกับ ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

สภาพภูมิประเทศ

ภูเขา สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงและเนินเขา มีหน้าผาสูงชันซึ่งเกิดจากการแยกตัวของ ผิวโลก สภาพป่าโดยทั่วไปเป็นป่าเต็งรัง มีหินทรายลักษณะแปลกตากระจายอยู่ทั่วบริเวณ มีลานหิน พลานถ�้ำไฮ เสาเฉลียงคู่ สนสองใบ น�้ำตกห้วยพอก ผาชนะได (จุดชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อนใครในสยาม) ผาก�ำปั่น ผาหินแตก น�้ำตกกวางโตน หินโยกมหัศจรรย์ (มีน�้ำหนัก 50 ตันแต่โยกได้ด้วยคนเดียว) ภูจ้อมก้อม ถ�้ำปาฏิหาริย์ ภาพเขียนสีก่อนประวัติศาสตร์ตามหลืบผา เป็นต้น

นายภิ ญ โญ บุ ญ ยงค์

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลนาโพธิ์กลาง เป็น 1 ใน 5 ต�ำบลของ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ตั้งอยู่ทาง ทิศเหนือของที่ว่าการอ�ำเภอโขงเจียม ที่ท�ำการ องค์การบริหารส่วนต�ำบลอยู่ห่างจากอ�ำเภอ โขงเจี ย ม 38 กิ โ ลเมตร แต่ เ ดิ ม นั้ น มี ชื่ อ ว่ า หนองสั น โด มี ฐ านะเป็ น อ� ำ เภอแกงแขนง โขงเจี ย ม ซึ่ ง แปลว่ า งาช้ า ง มี น ายอ� ำ เภอชื่ อ ท้าวบุญธิสาร วงค์เจียม ต่อมาอ�ำเภอแกงแขนง โขงเจียม ได้ย้ายไปตั้งที่หมู่บ้านสุวรรณวารี เป็น อ�ำเภอโขงเจียมในปัจจุบนั ต่อมาบ้านหนองสันโด ได้เปลี่ยนชื่อเป็นบ้านนาโพธิ์กลาง ยกระดับเป็น ต�ำบลขึน้ ต่ออ�ำเภอโขงเจียม ชาวบ้านนาโพธิก์ ลาง เดิมอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น�้ำโขง และมีบางส่วน อพยพมาจากประเทศลาว โดยใช้ชา้ งเป็นพาหนะ จนมาถึงหนองสันโดบริเวณหนองตาเหียว จึงได้ ตั้งหลักแหล่งท�ำมาหากิน 60

5

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

5

.indd 60

18/12/2563 16:30:08


WORK L IFE

ยุทธศาสตร์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จากแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และท�ำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่ พึ ง ประสงค์ นั้ น จ� ำ เป็ น จะต้ อ งมี ก ารวางแผนและก� ำ หนดยุ ท ธศาสตร์ การพัฒนาในระยะยาว และก�ำหนดแนวทางการพัฒนาของทุกภาคส่วนให้ ขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันในการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้าง และรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมี ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือคติพจน์ประจ�ำชาติ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ใน กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว คนไทยมีความสุข อยู่ดี กินดี สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ซึ่งยุทธศาสตร์ชาติที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการ พัฒนาในระยะ 20 ปีต่อจากนี้ไป จะประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง 2. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความ สามารถในการแข่งขัน 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง สังคม 5. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และ 6. ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ บริหารจัดการภาครัฐ

โดยมีกลยุทธ์ ในระดับท้องถิ่นดังนี้

1.ส่งเสริมการศึกษา 2. ส่งเสริมการศาสนา และวัฒนธรรมประเพณี 3. ส่งเสริมสวัสดิการสังคม 4. ส่งเสริมการสาธารณสุข 5. ส่งเสริมสิง่ แวดล้อม 6. ส่งเสริมการจัดระเบียบชุมชน 7. ส่งเสริมการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย 8. ส่งเสริมการจัดท�ำโครงสร้างพื้นฐาน 9. ส่งเสริมการผังเมือง 10. ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว 11. ส่งเสริมการกีฬา 12. ส่งเสริมการงานเยาวชน 13. ส่งเสริมการพาณิชย์ การลงทุน 14. ส่งเสริมกลุ่มอาชีพและการพัฒนา ฝี มื อ แรงงาน 15. ส่ ง เสริ ม การเกษตรแบบพอเพี ย งตามทฤษฎี ใ หม่ 16. ส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 17. ส่งเสริมจัดระเบียบ โครงสร้าง การบริหารจัดการภายในองค์กร 18. ส่งเสริมการพัฒนาต�ำบล ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.

5

.indd 61

61

18/12/2563 16:30:12


WO R K LI FE

การท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์กลาง

1.ผาชนะได เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่นและมีชื่อเสียง อยู่ในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติผาแต้ม เป็นสถานที่ชมพระอาทิตย์ขึ้นก่อนใครในสยาม มีพื้นที่ 340 ไร่ จุดชมพระอาทิตย์เป็นหน้าผาหินขรุขระ มีความสูง 440 เมตรจากระดับน�้ำทะเลปานกลาง บริเวณที่เป็นหน้าผาที่สามารถชม ทิวทัศน์ มีความยาวประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นพื้นที่ที่มองเห็นทิวทัศน์ของ แม่น�้ำโขงที่สวยงามมาก นอกจากชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงามแล้วในบริเวณ พื้นที่ยังมีเสาเฉลียงขนาดใหญ่ และมีทุ่งดอกไม้ที่สวยงามให้ชมระหว่าง ทางขึ้น ผาชนะได อยู่ห่างจากอ�ำเภอโขงเจียม 60 กิโลเมตร และห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานี 140 กิโลเมตร

62

5

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

5

.indd 62

18/12/2563 16:30:16


WORK L IFE

2. น�้ ำ ตกแสงจั น ทร์ หรื อ น�้ำตกลงรู อยู่ห่างจากผาชนะได 13 กิ โ ลเมตร อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ข อง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ผ าแต้ ม อยู ่ ใ น หมู่บ้านทุ่งนาเมือง เป็นน�้ำตกที่มี ลักษณะเฉพาะ ตกจากหน้าผาที่ เป็นรูขนาดใหญ่ มีความสูงจากพื้น 10 เมตร บริ เ วณโดยรอบของ น�้ำตกมีพื้นที่ 5ตารางกิโลเมตร อยู่ ห่างจากถนนใหญ่ 2 กิโลเมตร ห่าง จากอ�ำเภอโขงเจียม 50 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี 130 กิโลเมตร 3. น�้ำตกสร้อยสวรรค์ เป็น น�้ำตกที่มีความสวยงาม มีความสูง 30 เมตร อยูใ่ นพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแห่งชาติ ผาแต้ม อยู่ในหมู่บ้านหนองผือห่าง จากน�้ำตกแสงจันทร์ 20 กิโลเมตร อยู่ห่างจากผาชนะได 30 กิโลเมตร อยู่ห่างจากถนนใหญ่ 3 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอโขงเจียม 33 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี 110 กิโลเมตร

4. น�้ำตกทุ่งนาเมืองและเถาวัลย์ยักษ์ “น�้ำตกทุ่งนาเมือง” เป็นน�้ำตกอีกแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติผาแต้มมีน�้ำเฉพาะในช่วงฤดูฝน อยู่ห่างจาก “น�้ำตกแสงจันทร์ (น�้ำตกรู ,น�ำ้ ตกลงรู ,น�้ำตกลอดรู )” เพียงแค่ประมาณ 2 กิโลเมตร พื้นที่โดยรอบน�้ำตกทุ่งนา เมืองมีความงดงามชวนให้พิศวงอยู่ไม่น้อย ด้วยโบก (แอ่ง) บ่อจ�ำนวนมากที่รายล้อมอยู่ ทั่วบริเวณ บางโบกก็มีรูปร่างแปลกตา บางบ่อก็มีน�้ำใสๆ ขังอยู่สะท้อนแสงสีของท้องฟ้าออก มาราวกับกระจกเงา หากใครที่ ไ ม่ มี โ อกาสได้ เ ดิ น ทางมาท่ อ งเที่ ย ว “สามพั น โบก” แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วชื่ อ ดั ง “ต้นเถาวัลย์ยักษ์” ต้นดังกล่าวนี้มีชื่อว่า “ต้นสะบ้า” เป็นต้นไม้ยืนต้นประเภทเถาวัลย์ ขนาดใหญ่ ที่มีอยู่ทั่วไปในป่าที่สมบูรณ์ ซึ่งต้นนี้มีอายุยืนราวประมาณ 300-400 ปี วัดความ กว้างโดยรอบของล�ำต้น กว้าง 2 เมตร ส่วนความยาวของต้นประมาณ 14 เมตร จุดที่อยู่ของ ต้นนี้อยู่ในป่าที่รถยนต์เข้าถึง ห่างจากน�้ำตกทุ่งนาเมืองเล็กน้อยเท่านั้น อยู่ในเขตบ้านทุ่งนา เมือง ผู้ที่เดินทางมาที่เถาวัลย์ยักษ์แห่งนี้ ได้ลูบคล�ำ สัมผัส ถ่ายรูปด้วย จะพบแต่โชควาสนา ความร�่ำรวย (โชค) ความก้าวหน้า เกียรติยศ ชื่อเสียง (ยศ) ความมีสุขภาพดี อายุยืน (ยืน)

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.

5

.indd 63

63

18/12/2563 16:30:21


WO R K LI FE

สถานที่ท่องเที่ยวในเขตพื้นที่ต่างๆ

ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีคุณภาพ

กลุ่มผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติทอมือ อยู่ในหมู่บ้านทุ่งนาเมือง มีสมาชิก 20 คน ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ระดับภาค และรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ โดยจ�ำหน่ายเพื่อน�ำไปแปรรูป เป็นเสื้อผ้า กระเป๋า หรือ ของใช้ต่างๆ โดยวางจ�ำหน่ายในหมู่บ้านและจ�ำหน่ายตามงานนิทัศน์การ ต่างๆ ในอ�ำเภอโขงเจียมและจังหวัดอุบลราชธานี ลูกค้าส่วนใหญ่เป็น คนในพื้นที่และบุคคลทั่วไป 64

5

.

หมู่ที่ 2 บ้านนาโพธิ์ใต้ อาทิ ถ�้ำโลง, ถ�้ำเสือ, ถ�้ำเจีย, ดงจ�่ำโฮง, น�้ำตก แซภูไท, น�้ำตกแซอูหล้า, โบกน�้ำเที่ยง, ภูบักกูด, ภูปะโล๊ะน้อย, ภูสาวก�่ำ, ภูสะนะ และ ป่าชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านคันท่าเกวียน อาทิ หาดมารอ, ดอนคันขาว,ล่องเรือ ชมวิวสองฝั่งโขง, ถ�้ำหินสาวแข้ และ เขื่อนป้องกันตลิ่ง หมู่ที่ 4 บ้านหนองผือ อาทิ น�้ำตกสร้อยสวรรค์ และ ทุ่งดอกหญ้า หมู ่ที่ 5 บ้า นปากลา อาทิ เขื่อนป้องกันตลิ่ง, น�้ำตกแสงจันทร์, น�้ำตกทุ่งนาเมือง, เถาวัลย์ยักษ์, หินโยก, น�้ำตกแซผอุง, เสาเฉลียง, อ่างเก็บน�้ำห้วยซึง, หินตารบัตร, วัดภูหมากปัด, วัดถ�้ำอมรวิสุทธาราม และ ผาชมวิวภูจ้อมก้อม หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งนาเมือง อาทิ ผลิตภัณฑ์ OTOP ผ้าย้อมสีธรรมชาติ กลุ่มแม่บ้านทุ่งนาเมือง, กลุ่มหัตถกรรม และ กลุ่มไม้กวาด หมูท่ ี่ 7 บ้านซะซอม อาทิ กลุม่ กินข้าวเซาเฮือน(โฮมสเตย์)บ้านซะซอม, แก่งมโนราห์, เก้าอี้พระสุธน ถ�้ำลายมือผีกองกอย, หินเสียว, สวนเสาหิน, เสาหินสามเสา, เสาเฉลียงหัวหมู บ่อน�้ำบุ่น (ตะระหง่าย), โบกสมบัติ, ตัวหนังสือขอม, โหง่นหินจานบิน, ดงสมุนไพร, ถ�้ำวัวแดง, วัดภูอานนท์ และ วัดถ�้ำปาฏิหาริย์ หมู่ที่ 8 บ้านนาโพธิ์เหนือ อาทิ น�้ำตกซันใหญ่, จุดชมวิวศาลาซันใหญ่ และป่าชุมชนหนองสองห้อง หมูท่ ี่ 9 บ้านโนนสวรรค์ อาทิ ถ�ำ้ ผาขาว,ถ�ำ้ สีวลี และ ป่าชุมชน 2,500 ไร่

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

5

.indd 64

18/12/2563 16:30:27


น�้ำตกแสงจันทร์ หรือ น�้ำตกลงรู UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 65

65

19/12/2563 10:32:01


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม “โขงเจี ย มน่ า อยู ่ ส่ ง เสริ ม ความเป็ น อยู ่ ชุ ม ชน เน้ น ประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์ (Vision)

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลโขงเจียม ตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปลายปีพุทธศักราช 2314 อพยพหนีจากเมืองนครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบานลงมาทางใต้ โดยแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเดินทางมาทางบก ได้มาตั้งถิ่นฐาน อยู ่ ที่ ด อนมดแดง อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของเมื อ งอุ บ ลราชธานี ใ นปั จ จุ บั น อี ก กลุ ่ ม หนึ่ ง อพยพมาตาม ล�ำแม่น�้ำโขง มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ดอนหินตั้ง เพื่อประกอบอาชีพท�ำไร่ ท�ำนา ท�ำสวน โดยตั้งชื่อว่า บ้านด่านปากมูล คือ ต�ำบลโขงเจียม ปัจจุบัน

ลักษณะภูมิประเทศ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 101.89 ตารางกิโลเมตร หรือ 63,683 ไร่ สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบ ดินลักษณะเป็นดินปนทราย มีโขดหิน มีแหล่งน�้ำธรรมชาติติดกับพื้นที่ คือ แม่น�้ำมูลและแม่น�้ำโขง ซึ่งเป็นแม่น้�ำที่มีต้นก�ำเนิดจากที่ราบสูงของทิเบตไหลผ่านทางตอนเหนือ ของประเทศไทยลงมา เยื้องไปทางทิศตะวันออก ไหลเข้าสู่ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและกัมพูชา

สิบ เอกพิ พั ฒน์ พราวศรี

ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม (อบต : ขนาดกลาง ) มี ส� ำ นั ก งานตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 707 หมู่ 1 ต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี ปัจจุบัน สิบเอกพิพัฒน์ พราวศรี ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม

ที่ตั้งและอาณาเขต พื้นที่ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง

ทิศเหนือ : จดต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอโขงเจียม กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันออก : จดสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ทิ ศ ตะวั น ตก : จดต� ำ บลหนองแสงใหญ่ อ�ำเภอโขงเจียม ทิศใต้ : จดต�ำบลค�ำเขือ่ นแก้ว อ�ำเภอสิรนิ ธร อ�ำเภอโขงเจียม 66

3

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 66

18/12/2563 17:07:08


WORK L IFE

เขตการปกครอง

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม มีเขตการปกครองทั้งหมด 12 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านแก่งตะนะ, หมู่ที่ 2 บ้านค�ำผักกูด , หมู่ที่ 3 บ้านห้วยสะคาม, หมู่ที่ 4 บ้านหัวเห่ว, หมู่ที่ 5 บ้านตุงลุง, หมู่ที่ 6 บ้านปากห้วยแคน, หมู่ที่ 7 บ้านห้วยหมากใต้, หมู่ที่ 8 บ้านเวินบึก, หมู่ที่ 9 บ้านดอนสวรรค์, หมู่ที่ 10 บ้านท่าแพ, หมู่ที่ 11 บ้านหัวเห่ว พัฒนา และ หมู่ที่ 12 บ้านผาประตูทอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม มีการเลือกตั้งท้องถิ่น เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2556 โดยเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น ในคราวเดียวกัน จ�ำนวนประชากรผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง รวมทั้งหมด 3,667 คน แบ่งตามเขตการเลือกตั้ง จ�ำนวน 12 เขตการเลือกตั้ง

ประเพณีและงานประจ�ำปี

ต�ำบลโขงเจียมมีพื้นที่ติดแม่น�้ำขนาดใหญ่ 2 สาย คือแม่น�้ำมูลและ แม่น�้ำโขง จึงมีงานประเพณีและงานประจ�ำปีที่ส�ำคัญ คือ งานประเพณี แข่งเรือ โดยจะหมุนเวียนการจัดงานตามหมู่บ้านที่ติดแม่น�้ำและมีพื้นที่ เหมาะสม ซึ่งจะจัดในช่วงเดือนพฤศจิกายนหรือเดือนธันวาคมของทุกปี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.

.indd 67

67

18/12/2563 17:07:14


WO R K LI FE

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาท้องถิ่น

ภาษาถิ่นของต�ำบลโขงเจียม ส่วนใหญ่พูดภาษาอีสานหรือภาษาลาว และยังมีหนึ่งหมู่บ้านในเขตพื้นที่ต�ำบลโขงเจียม ที่มีภาษาถิ่นของตนเอง คือ ภาษาบรู ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษากลุ่มตระกูลมอญ-เขมร อพยพมาจากประเทศลาวข้ามแม่น�้ำโขงมาอยู่ฝั่งไทยริมแม่น�้ำโขงที่บ้าน เวินบึก อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนใหญ่มีอาชีพจักสาน เครื่องใช้ในครัวเรือน เช่น การสานหวด การจักตอก สานเสื่อเตย เป็นต้น

ทรัพยากรธรรมชาติ

มี โขดหิ น ที่ ส วยงามหลายแห่ ง มี แ ม่ น�้ ำ โขงสี ปู น แม่ น�้ ำ มู ล สี ค ราม ลานหิน และเกาะแก่งมากมาย มีพันธุ์ไม้ป่าและดอกไม้ป่าที่ขึ้นตาม ธรรมชาติมีมากมายหลายชนิด มีพื้นที่ป่าเป็นป่าดิบ มีสภาพค่อนข้าง อุดมสมบูรณ์ มีสัตว์ป่าขนาดเล็ก เช่น กระรอก กระแต พังพอน ค่าง บ่าง และนก มีแหล่งน�้ำธรรมชาติมีแม่น�้ำมูลและแม่น�้ำโขง และยังมีปลาน�้ำจืด หลากหลายชนิด เช่น ปลาบึก ปลากด ปลาคัง ปลาเคิง ปลาอีตู๋ ปลาโจก ปลาเนื้ออ่อน เป็นต้น ท�ำให้ชาวบ้านในเขตพื้นที่ต�ำบลโขงเจียมมีอาหาร บริโภคอย่างเพียงพอ

ติดต่อ ส�ำนักงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลโขงเจียม

ตั้งอยู่เลขที่ 707 หมู่ 1 ต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34220 โทรศัพท์/โทรสาร 0-4535-1223 E-mail : www.saokjlocal.go.th 68

3

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 68

18/12/2563 17:07:23


เรือนอรวิน รีสอรท์

Ruan Orawin resort

ให้บริการห้องพักหลายแบบ บรรยากาศดี ร่มรื่น เงียบสงบ มีสนามวิ่งเล่นสำ�หรับเด็ก และมุมน่ารัก สำ�หรับถ่ายรูป ที่พักเหมาะแก่การพักผ่อน จะมา คนเดียว หรือมากับครอบครัว เรายินดีให้บริการ ในห้องพักมีเครื่องอำ�นวยความสะดวกครบครัน ใหม่สะอาด ปลอดภัย มาอุบลครั้งใดอย่าลืมแวะพัก ที่ เรือนอรวิน รีสอร์ท นะคะ

เรือนอรวิน รีสอร์ท

ที่ตั้ง เลขที่ 15/1 หมู่ 18 ถนนอุบล-ตระการ ตำ�บลไร่น้อย อำ�เภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

โทร. 064 0966 814


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ แหล่ ง ไม้ ก วาดวั ง ใหม่ ดงบากวั ฒ นธรรมดี น�้ ำ ตกสวยใสแซหั ว แมว

หนองแสง-น้ อ ย ใหญ่ วั ง อ่ า ง ผ้ า กาบบั ว สวยหลากสี ด งมะไฟ ไหลมองเรื อ แจวชาววั ง สะแบง

ค� ำ ขวั ญ อบต.หนองแสงใหญ่

นายประเสริฐ ทองค�ำ

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่

ประวัติความเป็นมา บ้านหนองแสงใหญ่ ตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวัน เดือน ปี ใดไม่ปรากฏ แต่จาก การสัมภาษณ์นายจันทร์สี ทองเทพ อดีตก�ำนันต�ำบลหนองแสงใหญ่ เล่าว่า มีราษฎรจ�ำนวน 3 - 4 ครัวเรือน อพยพมาจากบ้านแคน ต�ำบลดงบัง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดยการน�ำของ นายลุน ดุมแก้ว ได้มาจับจองที่ดินเพื่อท�ำนาและท�ำไร่ แล้วก็ตั้งบ้านเรือนอยู่ใกล้บริเวณหนองน�้ำใหญ่ ที่มีน�้ำตลอดปี ในเวลาต่อมามีญาติพี่น้องอพยพตามมารวมอยู่ด้วยเป็น 9 หลังคาเรือน จนกระทั่งถึง ปี พ.ศ. 2459 ทางราชการจึงได้จัดตั้งเป็นหมู่บ้านตามพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ ของกระทรวงมหาดไทยให้ชื่อว่า “หนองแสงใหญ่” ตามชื่อของหนองน�้ำใหญ่ที่มีต้นแสงปกคลุมอยู่ โดยรอบ และได้แต่งตั้งให้นายลุน ดุมแก้ว เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรกซึ่งอยู่ในเขตปกครองท้องที่ของ ต�ำบลโขงเจียม อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2506 ทางราชการได้ยกฐานะบ้านหนองแสงใหญ่ขึ้นเป็นต�ำบลมีชื่อว่า “ต�ำบลหนอง แสงใหญ่” ประกอบด้วยหมู่บ้านต่างๆ อยู่ในเขตการปกครองรวม 9 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองแสงใหญ่ บ้านวังสะแบงใต้ บ้านวังสะแบงเหนือ บ้านดงบาก บ้านดงมะไฟ บ้านหนองแสงน้อย บ้านวังอ่าง บ้านกุดเรือค�ำ และบ้านวังใหม่ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และได้รับยกฐานะจากสภาต�ำบล บ้านหนองแสงใหญ่ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2542

นายจิร โรจน์ อินทะสร้อ ย

ประธานสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่

คณะผู้บริหาร

สมาชิกสภาท้องถิ่น

ส�ำนักงานปลัด

กองคลัง

กองช่าง

กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

นางพนิต นันท์ วีสเพ็ญ

ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่

70

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 70

18/12/2563 15:51:43


WORK L IFE

ท�ำเลที่ตั้ง ต�ำบลหนองแสงใหญ่เป็น 1 ใน 5 ต�ำบลในเขตอ�ำเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่โดยประมาณ 42,386 ไร่ 1 งาน หรือ 67.818 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ จรดกับต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก จรดกับต�ำบลโขงเจียม, ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ จรดกับต�ำบลค�ำเขื่อนแก้ว อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก จรดกับต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร, ต�ำบลค�ำไหล อ�ำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี โดยต�ำบลหนองแสงใหญ่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี เป็นระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร

จ�ำนวนประชากร/จ�ำนวนครัวเรือน

จ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 5,690 คน ชาย 2,875 คน หญิง 2,815 คน จ�ำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,552 ครัวเรือน ความหนาแน่นเฉลี่ย 83.90 คน ต่อตารางกิโลเมตร

เพิ่มรายชื่อผู้น�ำชุมชน ดังนี้

หมู่ที่ 1 บ้านหนองแสงใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านวังสะแบงใต้ หมู่ที่ 3 บ้านวังสะแบงเหนือ หมู่ที่ 4 บ้านดงบาก หมู่ที่ 5 บ้านดงมะไฟ หมู่ที่ 6 บ้านหนองแสงน้อย หมู่ที่ 7 บ้านวังอ่าง หมู่ที่ 8 บ้านกุดเรือค�ำ หมู่ที่ 9 บ้านวังใหม่

นายอัครพล สุนทราวงศ์ ผูใ้ หญ่บา้ น นายอะรินัน สมดี ผูใ้ หญ่บา้ น นายไพบูลย์ ทรัพย์ศิริ ผูใ้ หญ่บา้ น นายธนศักดิ์ นาจาน ผูใ้ หญ่บา้ น นายประเสริฐ สายเบาะ ผูใ้ หญ่บา้ น นายสวา วังแก้ว ผูใ้ หญ่บา้ น นายเดชา บุญคอบ ผูใ้ หญ่บา้ น นายสายอาลัย วารสินธ์ ก�ำนัน นายบุญเที่ยง ริมทอง ผูใ้ หญ่บา้ น

แหล่งท่องเที่ยว

น�้ำตกแซหัวแมว เป็นแหล่งน�้ำธรรมชาติของล�ำห้วยตุงลุง ตั้งอยู่ที่ หมูท่ ี่ 8 บ้านกุดเรือค�ำ ต�ำบลหนองแสงใหญ่ อ�ำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เส้นทาง ทางหลวง 2222 พิบูล - โขงเจียม กิโลเมตร ที่ 20 เลี้ยวเข้าหมู่บ้าน กุดเรือค�ำ จะอยู่ก่อนถึงหมู่บ้านประมาณ 3 กิโลเมตร

ประวัติความเป็นมาของน�้ำตกแซหัวแมว

น�้ำตกแซหัวแมว เดิมมีชื่อว่า แซหัวเสือ ซึ่งเรียกขานมาตั้งแต่รุ่นปู่ย่า ตายาย ก่อนที่จะเรียกชื่อว่า แซหัวแมว คนเฒ่าคนแก่มีการเรียกเพี้ยนไป จากเดิม แต่ก่อนตรงบริเวณแซหัวแมวเป็นแหล่งท�ำมาหากิน เป็นแหล่ง หาปลาของชาวบ้านในแถบนั้น เมื่อเวลาที่ชาวบ้านออกมาหาปลาบริเวณนี้ ก็จะเจอหัวของสัตว์ที่มีลายคล้ายเสือซ่อนอยู่ตรงตามซอกหิน ก็เลยเรียก ตรงบริเวณนั้นว่าแซหัวเสือ แต่ความเชื่อของชาวบ้านหากบอกว่าเป็นเสือ เมื่อเวลาออกไปหากินก็จะได้พบเจอแต่เสือ จึงเรียกเพี้ยนไปจากเสือเป็น แมวจาก “แซหัวเสือ” จึงได้ชื่อว่า “แซหัวแมว” จนมาถึงปัจจุบัน แซหัวแมว มีลักษณะเป็นแก่งหิน มีน�้ำตก 3 ชั้น โดยประมาณ มีขนาด แก่งหินระยะทางสั้นๆ อยู่ในแม่น�้ำสาขาของแม่น�้ำมูล (ล�ำห้วยตุงลุง) ที่มี ต้นน�ำ้ อยูท่ วี่ ดั ขุมค�ำ อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราธานี น�ำ้ ตกแซหัวแมว จะมีความสวยงามและมีน�้ำมากในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี และตอนปิด เขื่อนปากมูลจะมีลักษณะเป็นแก่งหินธรรมดา “น�้ำตกแซหัวแมว”

สินค้า OTOP

1.ผ้ากาบบัว 2.ไม้กวาดดอกหญ้า

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 71

71

18/12/2563 15:51:47


กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

WO R K LI FE

กิจกรรมที่ส�ำคัญ

พิ ธี รั บ พระราชทานพระบรมฉายาลั ก ษณ์ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาส พระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562

โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม แก่ผู้บริหาร สมาชิก และ พนักงานขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองแสงใหญ่ ณ วัดป่าภูปัง

โครงการเยาวชนรักษ์ถิ่น รักษ์สิ่งแวดล้อม

“งานบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 ”

ร่วมงานบุญประจ�ำปี “แห่ผะเหวดเข้าเมือง”

ร่วมกิจกรรมวันครู

กิจกรรมร่วมประเพณีท�ำบุญข้าวสาก

72

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 72

18/12/2563 15:51:50


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

73

19/12/2563 10:32:28


WO R K LI FE

เทศบาลเมืองเดชอุดม “ สร้ า งชุ ม ชนให้ รุ ่ ง เรื อ ง พั ฒ นาเมื อ งให้ น ่ า อยู ่ ” วิ สั ย ทั ศ น์ เ ทศบาลเมื อ งเดชอุ ด ม

ประวัติความเป็นมา

เทศบาลเมืองเดชอุดม เป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ได้รับการจัดตั้งเป็นสุขาภิบาลเมืองเดช ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2499 ต่อมาเปลี่ยนแปลงฐานะจาก สุขาภิบาลเมืองเดชเป็นเทศบาลต�ำบลเมืองเดช เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 จากนั้น เปลี่ยนแปลงฐานะจากเทศบาลต�ำบลเมืองเดช เป็นเทศบาลเมืองเมืองเดช เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2550 และเปลี่ยนชื่อเป็น “เทศบาลเมืองเดชอุดม” เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเทศบาลเมืองเดชอุดมอยู่ในการก�ำกับดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัดและ กระทรวงมหาดไทย โดยมีนายกเทศมนตรีเมืองเดชอุดมเป็นผู้บริหารสูงสุด มีภารกิจอ�ำนาจหน้าที่ ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง

นายสุ ชาติ โพธิ์ งาม

ปลัดเทศบาลปฏิบัติหน้าที่นายกเทศมนตรีเมืองเดชอุดม

เทศบาลเมืองเดชอุดม ตั้งอยู่เลขที่ 345 ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่รวมทั้งหมด 8.10 ตารางกิโลเมตร ทั้งนี้อ�ำเภอเดชอุดมเป็นอ�ำเภอ ที่จะต้องเป็นทางผ่านอ�ำเภอต่างๆ เช่น อ�ำเภอ นาจะหลวย อ�ำเภอน�้ำยืน อ�ำเภอทุ่งศรีอุดม เป็นต้น

74

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 74

18/12/2563 16:04:50


WORK L IFE

พัฒนาคุณภาพชีวิตท้องถิ่นชุมชน

เทศบาลเมืองเดชอุดมยังท�ำหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต หลายด้าน ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ การจัดอบรมให้กับ นักเรียนเยาวชนในเขตเทศบาล การพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านกีฬา เด็ก เยาวชน และประชาชน รวมไปถึงการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานในเขต เทศบาล และการส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกด้าน

ส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

เทศบาลเมืองเดชอุดมส่งเสริมขนบธรรมเนียมประเพณีของไทยหลายงาน ทั้งประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง และประเพณีที่ถือว่าเด่นที่สุด คือ งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา โดยมีการจัดประกวดต้นเทียน พรรษา ขบวนแห่เทียน และส่งต้นเทียนเข้าร่วมจัดงานในระดับจังหวัด ได้รับรางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศ ประเภทเทียนโบราณติดต่อกันหลายปี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 75

75

18/12/2563 16:04:59


WO R K LI FE

สักการบูชา “เจดีย์หลวงพ่ออ้วน” วัดเวตวันวิทยาราม

ชวนเที่ยววัด และสถานที่ส�ำคัญของเทศบาลเมืองเดชอุดม

ด้วยแรงแห่งศรัทธา “พระใหญ่รัตนมุนีศรีเมืองเดช” วัดแสงเกษม วัดแสงเกษม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองแสง หมู่ที่ 7 ตําบลเมืองเดช อําเภอ เดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อ ที่ 57 ไร่ 4 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2464 ตามประวัติความเป็นมาเล่าว่า ในบริเวณบ้านหนองแสงนี้มีหนองน�้ำแห่งหนึ่งอยู่ด้านทิศตะวันออก รอบๆ หนองน�้ำมีต้นแสงอยู่เป็นจ�ำนวนมาก อยู่ติดกับล�ำน�้ำโดมใหญ่ เดิมมีชื่อว่า “วัดหนองแสง” ตามชื่อหมู่บ้าน ต่อมาพระเกษมศักดิ์ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าคณะอําเภอ ตัดคําว่า “หนอง” ออก ต่อด้วยชื่อของท่านเป็น “แสงเกษม” ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดแสง” หรือ “วัดแสงเกษม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา อาคารเสนาสนะที่ส�ำคัญในวัด ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ มีปูชนียวัตถุ คือ พระประธานปางมารวิชัย 3 องค์ พระพุทธรูปแกะด้วยหิน พระพุทธรูปยืนสูง 1.20 เมตร ปัจจุบัน วัดแสงเกษมได้ก่อสร้างพระใหญ่ รัตนมุนีศรีเมืองเดช หน้าตักกว้าง 29 เมตร สูง 33 เมตร ฐาน 2 ชั้น เพื่อ เป็นสิริมงคลให้ประชาชนได้มากราบไหว้สักการบูชาตั้งจิตอธิษฐานรักษา ศีลภาวนาเพื่อความพ้นทุกข์ทางใจ 76

3

วัดเวตวันวิทยาราม ตั้งอยู่เลขที่ 435 บ้านป่าก่อ ถนนเวตวัน หมู่ที่ 8 ตําบลเมืองเดช อําเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 32 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2480 โดยนายทัน พวงแก้ว ผู้ใหญ่บ้านและชาวบ้าน สร้างกุฏิถาวร ขึ้น 1 หลัง ด้วยไม้ตะเคียนมุงด้วยสังกะสี โดยขอรื้อศาลาการเปรียญวัดร้าง (วัดหลวง บ้านเมืองเก่าในปัจจุบัน) มาปลูกเป็นศาลาการเปรียญชั่วคราว แล้วตั้งชื่อวัดว่า วัดเวตวันวิทยาราม เพราะตามป่าพื้นบ้านมีต้นหวายขึ้น อยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงน�ำค�ำว่า “วนะ” หรือ “วันนะ” แปลว่า “ป่า” และ “เวตตะ” แปลว่า “หวาย” แล้วเติมค�ำว่า วิทยาราม ลงท้าย วัดเวตวันวิทยาราม มีสถานที่ส�ำคัญๆ อันได้แก่ ศาลาการเปรียญ พระอุโบสถ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2515 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 25 เมตร ยาว 40 เมตร เจดีย์หลวงพ่อ พระครูพิพัชพัฒนา โกศล (หลวงพ่ออ้วน) อดีตเจ้าอาวาสและอดีตเจ้าคณะ ต� ำ บลเมื อ งเดชที่ ม รณภาพไปแล้ ว และปี 2547 ได้ ก ่ อ สร้ า งศาลา การเปรียญหลังใหม่ด้วยแรงศรัทธาของสาธุชนเพื่อปฏิบัติกิจทางศาสนา

ท่องศูนย์รวบรวมลายไทย

ศึกษาหินโบราณ (ทับหลังนารายณ์) ณ วัดเมืองเดช วัดเมืองเดช เดิมมีชื่อว่า “วัดประดิษฐ์ธรรมาราม” ตั้งอยู่ที่บ้านเมือง ใหม่ หมู่ที่ 17 ต�ำบลเมืองเดช อ�ำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ 50 ไร่ 56 ตารางวา โดยเมื่อปี 2505 ได้รับความเห็นชอบจากมหาเถร สมาคมว่า อ�ำเภอเดชอุดม ยังไม่มีชื่อสอดคล้องเข้ากับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จึงได้ประกาศชื่อวัดในพระพุทธศาสนาว่า “วัดเมืองเดช” มีการ ท�ำอุโบสถทุกกึ่งเดือน อบรมพระภิกษุสามเณรทุกวันธรรมสวนะ เป็นวัด ตัวแทนของชาวอ�ำเภอเดชอุดม โดยเฉพาะวันแห่เทียนเข้าพรรษาร่วมกับ จังหวัดอุบลราชธานี วัดเมืองเดช มีปูชนียวัตถุและปูชนียสถานส�ำคัญมากมาย อาทิ หิน โบราณ (ทับหลังนารายณ์) เดิมได้มาจากที่ว่าการอ�ำเภอ ปัจจุบันเก็บไว้ หน้าวิหารพระสังกัจจายน์ มีอุโบสถ 2 ชั้น มีป่าไม้ร่มรื่นและศูนย์รวบรวม ลายไทยของชาวอ�ำเภอเดชอุดม

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 76

18/12/2563 16:05:02


มาเที่ยวอุบลฯ ต้องมาที่นี่

ทุ่งนาจอนนี่มือปราบ สถานที่แห่งนี้เป็นโลเคชันกลางทุ่งนาที่เปิด ให้บริการเป็นคาเฟ่ จุดถ่ายรูป และที่พัก ในที่เดียวกัน ซึ่งในช่วงนี้ทุ่งนาก�ำลังเขียว ขจีและชุ่มชื่นเป็นอย่างมาก มีสะพานไม้ ทอดยาวไปในทุ่งนา พร้อมกับมุมถ่ายรูป สวยๆ มากมายน่าไปเช็กอิน

อีกหนึ่งไฮไลท์ของที่นี่นั่นก็คือ “สถาปัตยกรรมองค์พญานาค พ่อปูศ่ รีสทุ โธ” ขนาดใหญ่ ทีเ่ ป็น ที่เคารพสักการะของชาวไทย ประดิษฐานอยู่ด้านหน้าให้ นักท่องเที่ยวได้เข้ามากราบไหว้ บูชากันอีกด้วย ทุ่งนาจอนนี่มือปราบ: บ้านนาแก ต�ำบลระเว อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ติดต่อ : 096-831-1266 จอนนี่มือปราบ ให้บริการ ที่พักโฮมสเตย์ และจุดกางเต้นท์ ร้านอาหารไทย ยุโรป อีสาน คอฟฟี่ เวลาเปิด - ปิด : 08.00 - 18.00 น.


WO R K LI FE

เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล “บ้ า นเมื อ งน่ า อยู ่ ผู ้ ค นใฝ่ ธ รรม งามล�้ ำ หอไตร งานใหญ่ แ ข่ ง เรื อ ใส่ ใ จการศึ ก ษา พั ฒ นาบ้ า นเมื อ ง ลื อ เลื่ อ งประเพณี วั ฒ นธรรม” “ความสุ ข ของประชาชน คื อ ความสุ ข ของเรา” (Happiness of the people is our pleasure)

เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล ตั้งอยู่ด้านทิศ เหนือของจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 30 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 9,900 คน มีประวัติความ เป็นมาเกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมประเพณีใน อดี ต ที่ ย าวนาน ปั จ จุ บั น มี พื ช เศรษฐกิ จ คื อ ข้าวหอมมะลิ จนได้รับฉายาว่า “ตระการเมือง ข้าวหอม พรั่งพร้อมวัฒนธรรม” และเป็น ศูนย์กลางในการเชื่อมโยงสู่แหล่งท่องเที่ยวที่ ส�ำคัญของอีสาน อาทิเช่น เมืองเขมราฐธานี ผาแต้ ม ดิ น แดนประวั ติ ศ าสตร์ ผาชนะได เห็นตะวันก่อนใครในสยาม แม่น�้ำสองสีและ วัดเรืองแสง เป็นต้น “เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล เป็นแผ่นดิน แม่ทดี่ ฉิ นั รักและผูกพันมาทัง้ ชีวติ ดิฉนั มีเพือ่ นฝูง เป็นกัลยาณมิตรมากมาย ทีร่ ว่ มสร้างบ้านแปงเมือง เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี และมี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง สม�่ำเสมอ 8 ปีที่ผ่านมา ดิฉันมีความจริงใจ ในการพัฒนาท้องถิ่น ดังผลงานที่ปรากฏ เช่น งานบุญประเพณีต�ำบล, โครงการขยายถนน รองรับยานพาหนะในการขนส่ง, ปรับปรุง บ�ำรุง รักษาทางสาธารณะประโยชน์, ส่งเสริมอาชีพ เกษตรกรรม สุ ด ท้ า ยดิ ฉั น ขอขอบพระคุ ณ พ่อแม่พนี่ อ้ งทีร่ ว่ มมือ ร่วมแรงร่วมใจ สนับสนุนให้ ดิฉันและคณะบริหารเทศบาลต่อไป”

นางจันทนา พิทักษ์พ รพัลลภ นายกเทศมนตรีต�ำบลตระการพืชผล

วัดพระบรมธาตุ ศาลหลักเมือง

สวนเฉลิมพระเกียรติ

78

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 78

18/12/2563 15:49:35


WORK L IFE

หอไตรหนองขุหลุ

ตั้งอยู่ที่บ้านขุหลุ ต�ำบลขุหลุ อ�ำเภอตระการพืชผล เป็นหอไตรที่ตั้งอยู่ ในหนองน�้ำ หนองขุหลุ สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2459-2461 โดยหลวงปู่สิงห์ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัย ตัวอาคารหอไตรเป็นสถาปัตยกรรมแบบท้องถิ่น อีสาน สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง ภายในเป็นห้องทึบส�ำหรับเก็บคัมภีร์ใบลาน มีประตูทางเข้าอยูท่ างด้านทิศใต้ทางเดียวเท่านัน้ มีชอ่ ฟ้า ใบระกา หางหงส์ และคันทวยท�ำด้วยไม้แกะสลักลวดลายแสดงถึงฝีมือของช่างท้องถิ่น

อนุสาวรีย์พระอมรดลใจ(อ้ม) เจ้าเมืองตระการพืชผล

อนุสาวรีย์พระอมรดลใจ (อ้ม) สร้างขึ้นเพื่อสดุดีและเชิดชูเกียรติ เจ้าเมืองคนแรกแห่งเมืองตระการพืชผล เป็นโลหะหล่อรูปเหมือนพระอมร ดลใจ (อ้ม) สร้างเสร็จและวางศิลาฤกษ์ เมื่อ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ตั้งอยู่ที่บริเวณสวนสาธารณะหนองขุหลุ บ้านขุหลุ ต�ำบลขุหลุ อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2406 พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้าน สะพือเป็นเมืองตระการพืชผล และตั้งท้าวสุริยวงษ์ เป็นพระอมรดลใจ เจ้าเมืองตระการพืชผล (ซึ่งช่วงเวลาเดียวกับที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งบ้านกว้างล�ำชะโด ต�ำบลปากมูลเป็นเมืองพิบูลมังสาหาร และเมือง มหาชนะชั ย ในคราวเดี ย วกั น ) อ� ำ เภอตระการพื ช ผล เทศบาลต� ำ บล ตระการพืชผล และชาวเมืองตระการพืชผลร่วมใจกันจัดงานพิธีบวงสรวง พระอมรดลใจ (อ้ม) เจ้าเมืองตระการพืชผลคนแรกที่บริเวณอนุสาวรีย์ พระอมรดลใจ (อ้ม) เป็นประจ�ำทุกปีในช่วงต้นเดือนธันวาคม พร้อมจัด กิจกรรมท้องถิ่น เช่น การแข่งว่าวโบราณ การแข่งขันเดี่ยวพิณ แคน และ โหวด เพื่ออนุรักษ์และรักษาประเพณีไทย ในบริเวณลานอนุสาวรีย์และ สวนสาธารณะหนองขุหลุด้วย

เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล

ถนนเกษมสมบัติ 1 ต�ำบลขุหลุ อ�ำเภอตระการพืชผล อุบลราชธานี 34130 โทรศัพท์: 045 481 820 Facebook : ส�ำนักงาน เทศบาลต�ำบลตระการพืชผล UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 79

79

18/12/2563 15:49:39


กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

WO R K LI FE

กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

ตรวจเยี่ยมโรงเรียนในสังกัด

กิจกรรมงานประเพณีแห่เทียนพรรษา ตรวจเยี่ยมผู้สูงอายุในเขตเทศบาล

กิจกรรมงานประเพณีลอยกระทง

80

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 80

18/12/2563 15:49:43


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

19/12/2563 10:32:44


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ย “ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี มี คุ ณ ธรรม อยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งมี ค วามสุ ข ทุ ก ครอบครั ว สร้ า งเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง” วิ สั ย ทั ศ น์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ย ท�ำเลที่ตั้งต�ำบล ต�ำบลขามเปี้ยเป็น 1 ใน 22 ต�ำบล และ 1 เทศบาล ในเขตอ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่น ใกล้เคียง 4 ส่วน คือ ต�ำบลเซเป็ด, ต�ำบลตระการ, อ�ำเภอตระการพืชผล, ต�ำบลท่าเมือง, อ�ำเภอ ดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี และต�ำบลจานลาน อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ดังนี้ ทิศเหนือติดกับ ต�ำบลไหล่ทุ่ง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออกติดกับ ต� ำ บลตระการ,ต� ำ บลเซเป็ ด อ� ำ เภอตระการพื ช ผล จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ ต�ำบลจานลาน อ�ำเภอพนา จังหวัดอ�ำนาจเจริญ ทิศใต้ ติดกับ ต�ำบลท่าเมือง อ�ำเภอดอนมดแดง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โดยต� ำ บลขามเปี ้ ย อยู ่ ห ่ า งจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอตระการพื ช ผล จั ง หวั ด อุบลราชธานี ไปทางทิศใต้เป็นระยะทางประมาณ 14 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากศาลากลางจังหวัด อุบลราชธานีประมาณ 50 กิโลเมตร

ประวัติ อบต.ขามเปี้ย

นายประหยั ด ละม่ อม

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ย

82

.

3

สภาต�ำบลขามเปี้ย ถูกก่อตั้งขึ้น ตาม พระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 โดยได้ก่อสร้างที่ท�ำการสภาต�ำบลขามเปี้ย ในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านขามเปี้ย โดยมีประธาน สภาต�ำบลดังนี้ 1. นายสมร สุขศรี 2. นายชลวิทย์ สืบเชื้อ 3. นายสมคิด ขันตี 4. นายอ่อน บุญตาม และได้เปลี่ยนเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ย ปี พ.ศ. 2542 และก่อสร้างที่ท�ำการองค์การ บริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ยในพื้นที่ใหม่ ข้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลขามเปี้ยในปัจจุบัน และ ปี พ.ศ.2557 ได้สร้างที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ยแห่งใหม่ ณ ป่าดอนตับเต่าสาธารณะ ประโยชน์ น.ส.ล. เลขที่ อบ.2356 เป็นที่ท�ำการเลขที่ 136 ที่หมู่ 8 บ้านศรีสุข ซึ่งมีพื้นที่ 53 ไร่ 3 งาน โดยมี ผู ้ บ ริ ห ารผ่ า นมาแล้ ว 3 สมั ย ดั ง นี้ 1. นายจ� ำ นงค์ ที อุ ทิ ศ พ.ศ. 2542-2552 2. นายลุน ทิพย์โอสถ พ.ศ. 2552-2556 3. นายประหยัด ละม่อม พ.ศ. 2556-ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 82

18/12/2563 15:25:45


WORK L IFE

วัดอุตตมผลาราม วัดอุตตมผลาราม

ชาวบ้านขามเปี้ยได้นับถือศาสนาพุทธมาแต่บรรพบุรุษและร่วมกัน สร้างวัดขึ้นมาเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและตามลักษณะพื้นที่ สร้างวัดอุตตมผลาราม น่าจะสร้างวัดในป่าดงใหญ่เนื่องจากมีป่าต้นยาง นาต้นใหญ่หลายต้นจนเป็นที่เรียกขานของคนทั่วไปว่า บ้านขามเปี้ย ต้นยางใหญ่ ต้นยางทั้งใหญ่และสูงเป็นที่อยู่ของนกกระยาง ต่อมาถูกฟ้าผ่า เมื่อปี พ.ศ.2533 จึงได้ตัดโค่นลงเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ เช่น ท�ำกุฏิ ท�ำศาลาสถานที่สร้างวัดเป็นที่ลาดเอียงลงไปทางด้านทิศใต้ของทุ่งนาที่ ทุ่งนาจะมีหนองใหญ่อยู่หนองหนึ่งแต่ก่อนจะมีน�้ำซึมออกอยู่ตลอดปี ชาวบ้านเรียกว่าน�้ำออกบ่อหรือน�้ำค�ำ ชาวบ้านใช้หนองน�้ำแห่งนี้เป็นที่ดื่ม กิ น และท� ำ เป็ น สิ ม น�้ ำ ของพระสมั ย นั้ น เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ ท� ำ สั ง ฆกรรมของ พระสงฆ์ ชาวบ้านเรียกว่าหนองสิมจนถึงปัจจุบัน

ประวัติ บ้านขามเปี้ย

ตั้งมาประมาณ 200 กว่าปี มีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าไว้ว่าประมาณก่อน พ.ศ. 2300 ได้ มี ช นเผ่ า 2 กลุ ่ ม ย้ า ยมาตั้ ง ถิ่ น ฐาน กลุ ่ ม หนึ่ ง ย้ า ยมาจาก หนองบัวล�ำภู อีกกลุ่มย้ายมาจากบ้านโนนป่าหวายนาโหนน ลุ่มแม่น�้ำมูล อ�ำเภอวาริน ได้มาตัง้ ถิน่ ฐานครัง้ แรกอยูท่ ศิ ตะวันตกบ้านขามเปีย้ อยูด่ นิ โนน (โพนใหญ่) โนนใหญ่ๆของหมู่บ้านขามเปี้ย สมัยนั้นมี โนนหุ่ง โนนบัว โนนตูม โนนดงยาง กลุ่มหนึ่งอยู่ทางทิศเหนือวัด คนโบราณชอบหาที่อยู่ ที่น�้ำไม่ท่วมและไม่ไกลจากล�ำน�้ำส�ำหรับใช้ในการท�ำการเกษตรทางทิศ ตะวันตกก็มีร่องน�้ำไหลผ่าน (ฮ่อง) ไหลลงสู่ล�ำเซบก ด้านทิศใต้หนองน�้ำ มีต้นมะขามเตี้ยมีล�ำต้นใหญ่แต่ไม่สูงล�ำต้นจะเป็นตะปุ่มตะปํ่าคนโบราณ จึงตั้งชื่อบ้านตามลักษณะของต้นมะขามต้นนี้ว่า บ้านขามเปี้ย ปัจจุบัน ต้นมะขามนี้ได้หักโค่นลงและได้เผาทิ้งหมดแล้ว แต่เดิมบ้านขามเปี้ยแบ่ง ออกเป็น 4 คุ้ม ก็จะมีผู้น�ำแต่ละคุ้มจนมาถึงช่วง พ.ศ.2480 ก็จัดแบ่งเป็น 2 หมู่ คือ หมู่ 1 และหมู่ 4 หลายปีต่อมาชนกลุ่มที่อยู่ทิศตะวันตกก็มา รวมกันกับชนกลุ่มโนนบ้านขามเปี้ยจึงกลายเป็นชนกลุ่มใหญ่เป็นหมู่บ้าน มาจนถึงปัจจุบัน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 83

83

18/12/2563 15:25:49


WO R K LI FE

ประเพณีวัฒนธรรม

การแข่งขันเรือยาว เป็นประเพณี มรดกวัฒนธรรมทางสายน�ำ้ ที่สะท้อน ถึงวิถชี วี ติ ทีผ่ กู พันกับสายน�ำ ้ เรือและผูค้ น บนพืน้ ฐานความสามัคคีพร้อมเพรียง เป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกันของคนในชุมชม ที่จะต้องขยันหมั่นซ้อมพาย ทุ่มเท ทัง้ แรงกายแรงใจ และเสน่หข์ องเกมกีฬาประเภทนีอ้ กี อย่างก็คอื จังหวะ ความ พร้อมเพรียงในการพาย การจ้วงพายให้เร็วขึน้ เมือ่ เข้าใกล้เส้นชัย การแข่งขัน ที่ให้คนดูได้ลุ้นอยู่ตลอดเวลา และการพากย์เสียงของพิธีกรประจ�ำสนาม ทีต่ อ้ งยอมรับว่าสร้างความตืน่ เต้นเร้าใจให้กบั การแข่งขันได้ไม่นอ้ ยเลยทีเดียว

บุญบั้งไฟ หรือบุญเดือนหก

ป่าซ้งใหญ่

เริ่มมีการอนุรักษ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 โดย พระครูอุดมพัฒนากร อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอตระการพืชผล และอดีตเจ้าอาวาส วัดอุตตมผลาราม ได้น�ำพี่น้องประชาชนเข้ามาดูแล ร่วมแบ่งแนวเขต ตามล�ำเซบกล้อมรอบ เป็นป่าซ้งใหญ่ เพื่อหยุดการเผาป่า ด้วยท�ำแนวกันไฟ ท�ำถนนทางเดิน และเส้นหลักเพื่อให้เข้าดูแลป่าได้อย่างสะดวกสบาย กลายเป็นป่าชุมชม ที่ให้ชุมชนเข้าไปใช้ประโยชน์ หาของป่าและดูแลป่าด้วยพลังของชุมชน 84

.

3

มี ต� ำ นานมาจากนิ ท านพื้ น บ้ า นของภาคอี ส านเรื่ อ งพระยาคั น คาก เรือ่ งผาแดงนางไอ่ ได้กล่าวถึง การทีช่ าวบ้านได้จดั งานบุญบัง้ ไฟขึน้ เพือ่ เป็น การบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาลเทพบุตร ซึง่ ชาวบ้านมีความเชือ่ ว่า พระยาแถน มีหน้าทีค่ อยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมีความชืน่ ชอบ ไฟเป็นอย่างมาก หากหมูบ่ า้ นใดไม่จดั ท�ำการจัดงานบุญบัง้ ไฟบูชา ฝนก็จะ ไม่ตกถูกต้องตามฤดูกาล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลขามเปี้ย เลขที่ 136 หมู่ 8 บ้านศรีสขุ ต�ำบลขามเปีย้

อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ 045-210868 / เว็บไซต์ http://www.khampear.go.th

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 84

18/12/2563 15:25:54


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 13

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 25/11/2562 09:25:59 AM


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง “ดิ น แดนป่ า อุ ด ม ชื่ น ชมธรรมชาติ ภาพวาดภู โ ลง ภู น กหงส์ ภู พ ระ สู ง สง่ า ภู ผ าผึ้ ง งามซึ้ ง ผ้ า กาบบั ว ” ค� ำ ขวั ญ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลท่ า หลวง

ลักษณะภูมิประเทศ

จัดอยู่ในเนื้อที่ประเภทป่าสงวนแห่งชาติ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และประกาศเป็นป่าชุมชนโครงการป่าดงขุมค�ำที่กรมป่าไม้อนุมัติ เมื่อวันที่ 14กันยายน พ.ศ.2549 พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นเนินเขา พืน้ ทีส่ ว่ นมากเป็นลานหินสลับดิน สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย มีหินทรายโผล่เป็นลานหินกระจัดกระจายทั่วพื้นที่ และมีห้วยที่ส�ำคัญคือ คลองคุด คลองตุงลุง ห้วย เหล่านี้ส่วนใหญ่จะไหลลงสู่แม่น�้ำโขง

เขตการปกครอง

มี 1 เขตการปกครอง คือ องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง ประกอบด้วย 9 หมู่บ้านคือ 1.บ้านหนองบัว 2.บ้านท่าหลวง 3.บ้านนาส้มมอ 4.บ้านโนนสมบูรณ์ 5.บ้านเทวัญ 6.บ้านแก้งอะฮวน 7.บ้านเลิงนกทา 8.บ้านหนองสะโน และ 9.บ้านแก้งอะฮวนใต้

นายประสงค์ วั งค�ำลุ น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 บ้านหนองสะโน ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก อ� ำ เภอตระการพื ช ผลไปทางทิ ศ ตะวั น ออก ประมาณ 28 กิโลเมตร และมีเนื้อที่อยู่ในเขต รับผิดชอบทั้งหมด 52 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 51,250 ไร่ มีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 3,754 คน เป็นชาย 1,866 คน หญิง 1,787 คน จ�ำนวนครัวเรือน 912 ครัวเรือน ประชากร ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ โดยมีวิสัยทัศน์ดังนี้ “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว ส่งเสริมอาชีพประชาชน พัฒนาคนสูเ่ ทคโนโลยี”

ติดต่อ

.

3

องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34130 โทร. 045-429-554 www.taluangubon.go.th

86

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 86

พันธกิจ (mission)

1. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านการเกษตร ส่งเสริมการวางแผนการ ผลิตสินค้าด้านการเกษตร และเพิ่มคุณภาพผลผลิตทางด้านการเกษตร 3.ส่งเสริมอาชีพ ให้ความรู้ เกี่ยวกับอาชีพแก่ประชาชนให้สามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้ 4. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต พัฒนาสังคม สร้างความเข้มแข็งชุมชน รักษาความสงบเรียบร้อยภายในต�ำบล พัฒนาสาธารณูปโภคให้ครอบคลุมทั่วทั้งต�ำบล และให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาแหล่งน�้ำ การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการท่องเที่ยว 5. พัฒนาการจัดการสาธารณสุข เสริมสร้าง ศักยภาพสาธารณสุขภายในต�ำบลเพื่อแก้ไขปัญหาสุขอนามัยภายในต�ำบล 6. พัฒนาการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย สร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการท้องถิ่น ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแก่ประชาชน พัฒนาการบริหารจัดการ ทรัพยากรในองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง และ 7. เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

17/12/2563 15:45:37


WORK L IFE

แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

ภูนกหงส์ ภู น กหงส์ อยู ่ ที่ บ ้ า นแก้ ง อะฮวน หมู ่ 6 ต� ำ บลท่ า หลวง อ� ำ เภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี เป็นสถานที่ท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ และเป็นแหล่งปฏิบตั ธิ รรมอันสงบร่มเย็น เหมาะทัง้ ต่อการพักผ่อนหย่อนใจ โดยมี ส� ำ นั ก สงฆ์ ที่ ถื อ ก� ำ เนิ ด ขึ้ น ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2537-2538 นั บ ตั้ ง แต่ “หลวงปูเ่ สถียร นามะทัดสี” หรือทีช่ าวบ้านเรียกขานกันว่า “หลวงปูใ่ หญ่” ได้ธุดงค์และปฏิบัติธรรมกรรมฐานที่ถ�้ำโลกุตระของภูแห่งนี้ ประวัติภูนกหงส์ ตามคัมภีร์ใบลานเก่าแก่บันทึกไว้ว่า ภูนกหงส์แห่งนี้ เคยเป็นเมืองเก่าของพระมหาโพธิสัตว์ สุวรรณหงส์ เป็นพระชาติหนึ่งของ พระสมณโคดมพุทธเจ้าของเราในปัจจุบัน ภูโลง อยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติผาแต้ม ได้มีการค้นพบโลงศพของมนุษย์ อยู่ภายในซอกหิน ซึ่งไม่ถูกแดดไม่ถูกฝนอยู่บนภูโลง เข้าใจว่าเป็นโลงศพ ของมนุษย์สมัยก่อน ส่วนของกระดูกและสิ่งของภายในโลงหายไปก่อนที่ จะค้นพบ ลักษณะของโลงใหญ่มาก ไม้ที่ใช้ท�ำโลงบางส่วนผุพังไปตาม ธรรมชาติ แต่ยงั คงสภาพส่วนใหญ่อยู่ ซึง่ น่าเรียนรูแ้ ละน่าศึกษาเป็นอย่างมาก

ประเพณีและงานประจ�ำปี

จัดกันตามความเชื่อที่ยึดถือปฏิบัติกันมาทุกปีและตามจารีตประเพณี เช่นประเพณีลอยกระทง, วันสงกรานต์ และวันออกพรรษา สินค้าพื้นบ้านและของที่ระลึกจากกลุ่มแม่บ้าน อาทิ กระติบข้าวจาก ไหลหรือกก, ทอเสื่อ -สาด จากไหล หรือ กก, กระเป๋าจากซองกาแฟ, ไม้กวาดทางมะพร้าว, กระถางต้นไม้ และ บ่อปูน ที่ท�ำจากปูน UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 87

87

21/12/2563 15:47:03


WO R K LI FE

โครงการกิจกรรมขององค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง

1. โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ “วันแม่แห่งชาติ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2563”

5. งานพิธีรับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่อง ในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 ของ หน่วยงาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

6. จัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ปี 2563 ขึน้ ในวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2563 2. โครงการฝึกอบรมชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจ�ำองค์การ บริหารส่วนต�ำบลท่าหลวง ปี 2563

7. โครงการตั้งจุดตรวจ / จุดบริการประชาชน และอ�ำนวยความ ปลอดภัยให้แก่ประชาชน ระหว่างวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.2562 – 2 มกราคม พ.ศ.2563 3. โครงการท้องถิ่นอาสา ปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติฯ ปี 2563 ร่วมกับ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงเรียนบ้านเทวัญ และจิตอาสาในต�ำบลท่าหลวง ใน วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.2563

4. กิจกรรมเสวียนล้อมต้นไม้ (เสวียนรักษ์โลก) ลดขยะ ลดปัญหาหมอก ควัน PM 2.5 และสร้างปุ๋ยบ�ำรุงดินให้ต้นไม้ วันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2563 88

.

3

8. กจิ กรรมสร้าง “ฝายมีชวี ติ ตามศาสตร์พระราชา” บ้าน วัด โรงเรียน รวมใจ โดยได้รับความร่วมมือจากก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จิตอาสาพระราชทาน อ�ำเภอตระการพืชผล หน่วยงานราชการในต�ำบลท่าหลวง และประชาชน ในต�ำบลท่าหลวง ณ บ้านแก้งอะฮวนใต้ หมู่ที่ 9 ในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2562

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 88

17/12/2563 15:45:45


WORK L IFE

ที่ว่าการอ�ำเภอนาตาล “พระเจ้ า ใหญ่ อ งค์ ตื้ อ ล�้ ำ ค่ า ภู ถ�้ ำ ทองเด่ น สง่ า เกาะแก่ ง งามตา สู ง ค่ า โบราณคดี ” ค� ำ ขวั ญ ของอ� ำ เภอ

นายศรายุ ท ธ เจี ย รมาศ นายอ�ำเภอนาตาล

นาตาลไม่ได้มีแค่โขง

อ�ำเภอนาตาล อยู่ติดแม่น�้ำโขงเกือบยี่สิบ กิโลเมตร มีหมู่บ้านที่ตั้งชุมชนอยู่ติดโขงนับสิบ แห่ง บางช่วงแม่น�้ำโขงหดแคบ จึงเป็นที่ตั้งของ หมู่บ้านคู่ขนานสองฝั่ง ชาวบ้านข้ามโขงไปมา หากันได้ไม่ต่างจากข้ามถนน บางหมู่บ้าน เป็น ที่ ตั้ ง ของด่ า นพรมแดน เป็ น ประตู รั บ คนเข้ า ประเทศ บางหมู่บ้าน ริมโขงมีแก่งหินใหญ่โต มองเห็นเป็นสิ่งสวยงามอย่างน่าอัศจรรย์ไม่อาจ เห็นได้ในที่อื่น เช่นนี้ ความเป็นอ�ำเภอนาตาลกับแม่น�้ำโขง จึงผูกติดกันเป็นเหมือนเหรียญสองด้าน ใครพูดถึง อ�ำเภอนาตาล ภาพแม่น�้ำโขงก็ลอยมาทันที จน อาจกลบความเป็นอ�ำเภอนาตาลส่วนอื่นไปสิ้น อ�ำเภอนาตาลไม่ได้มีแค่โขง ความงามอัน น่าอัศจรรย์อื่น เหมือนถูกซ่อนอยู่ในผืนป่าถัด ขึ้นมาจากฝั่งโขง มีอยู่วันหนึ่ง (4 กรกฎาคม 2563) ผมเข้าไปในป่าดงคันไทร มีเขาลูกหนึ่ง ขนาดย่อมๆ จนแทบถูกป่าซ่อนมิด มีผาชันจน ชาวบ้านเรียกภู นานมาแล้วมีคนชื่อทอไปอยู่ เป็นหมอธรรม จนได้ชื่อภูธรรมทอ

ผมไปภูถ�้ำทองทางบ้านหนองบัว ต�ำบลพะลาน มองไกลๆองค์พระพุทธรูปสีทองบนภูถ�้ำทอง ปรากฏต่อสายตาอยู่เหนือผืนป่า มากไปกว่านั้น ยังมีหินก้อนใหญ่ รูปป้านกลมดั่งกลองสะบัดชัย ใหญ่ยักษ์ตั้งอยู่ริมผา แม้ส่วนฐานเล็ก แต่ตั้งมั่นอยู่ได้เหมือนตั้งไข่ได้สมดุล เพราะติดผาชัน จึงไม่อาจขึน้ ภูธรรมทอทางบ้านหนองบัว ผมต้องเลียบผาไปหาตีนภูทางบ้านค้อน้อย ต�ำบลกองโพน แล้วไต่ขึ้นภูธรรมทอทางนี้ บนยอดภู เหมือนได้อยู่ในอ้อมกอดของผืนป่าดงคันไทร สี่ทิศไม่เห็นอะไรอื่น นอกจากสีเขียว สบายตาตัดกับเวิ้งฟ้าและปอยเมฆ สีของท้องฟ้านาตาลบนภูธรรมทอ ราวกับจิตรกรเอาสีฟ้าไปแต้ม ฟ้า ผมยืนอยู่ในจุดที่รู้สึกเหมือนมีคนดึงปอยเมฆลงมาใกล้ ก่อนพระอาทิตย์จะลับหายไปในผืนป่าดงคันไทร ผมไปที่หินใหญ่ก้อนนั้น แม้ว่ามองบนยอดภู ไม่อาจเห็นเป็นรูปกลอง แต่ผมได้เห็นก้อนหินกลายเป็นสีทอง เปล่งปลั่งอย่างน่าอัศจรรย์เมื่อได้ถ่าย รูปพร้อมแสงตะวันฉายในเวลาห้าโมงเย็น ใช่ไหมว่า ความงามอันน่าอัศจรรย์ ไม่ได้ปรากฏให้เห็นตลอดเวลา ถ้าผมมาภูธรรมทอเวลาอื่น ผมก็อาจเห็นหินก้อนนี้เป็นอย่างอื่น ยอดภูที่ซ่อนอยู่ในผืนป่าดงคันไทร สมัยโน้นคนโบราณ เขาเรียกภูธรรมทอ แต่สมัยนี้ คนปัจจุบัน เขาเรียกภูถ�้ำทอง เมื่อก่อนว่ากันว่า ภูนี้เคยมีถ�้ำแต่เดี๋ยวนี้ ไม่มีใครหาเจอ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 89

89

18/12/2563 18:15:53


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล “องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ร่ ว มงาน ร่ ว มท� ำ ร่ ว มคิ ด ชี วิ ต ปลอดภั ย อนามั ย สมบู ร ณ์ เพิ่ ม พู น การศึ ก ษา ประชาชนเป็ น สุ ข ” วิ สั ย ทั ศ น์ (vision) การพั ฒ นา

นายอภิ วั ต ร พวงพุ ฒ

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล เป็น หน่วยการปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ที่ มีบทบาทส�ำคัญต่อ การพัฒนาและสร้าง ความเจริ ญ ให้ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ชุ ม ชนในพื้ น ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล

90

.

5

“พันธกิจ” (Mission)

1. ส่งเสริมสนับสนุนประชาชน ร่วมงาน ร่วมท�ำ ร่วมคิด มีคุณภาพชีวิตที่ดี 2. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 3. ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง 4. ส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการด้านสาธารณสุขของประชาชน 5. ส่งเสริมสนับสนุนแผนชุมชน 6. ส่งเสริมการศึกษาให้ก้าวล�้ำทันสมัย ประชาชนมีการศึกษาที่ดี 7. ประชาชนอยู่ดีมีสุข มีรายได้เพิ่มขึ้น 8. เด็ก เยาวชน ประชาชนห่างไกลยาเสพติด

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 90

18/12/2563 12:03:41


WORK L IFE

อาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ ติดกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลกองโพน และ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลพะลาน ทิศใต้ ติดกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลม่วงใหญ่ และ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลสองคอน ทิศตะวันออก ติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศตะวันตก ติดกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลพังเคน

ลักษณะภูมิประเทศ

ต�ำบลนาตาล มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและมีความลาดชัน พื้นที่บางส่วนเป็นภูเขาในบางพื้นที่เมื่อถึงฤดูฝน น�้ำจะไหลท่วมไร่นาของ ราษฎร เนื่องจากต�ำบลนาตาลมีแม่น�้ำโขงไหลผ่านและเป็นพรมแดนกั้น ระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

เนื้อที่

ต�ำบลนาตาล มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 50.913 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 31,821 ไร่

ประชากร

ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 11,937 คน แบ่งเป็นชาย 6,022 คน แบ่งเป็นหญิง 5,915 คน เป็นพื้นที่ชายแดนตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย หมู่ที่ 1 บ้านนาตาล หมู่ที่ 2 บ้านลุมพุก หมู่ที่ 14 บ้านดอนดู่ หมู่ที่ 3 บ้านเหมือดแอ่ หมู่ที่ 15 บ้านโนนบก หมู่ที่ 4 บ้านคันพะลาน หมู่ที่ 16 บ้านนานคร หมู่ที่ 5 บ้านนากลาง หมู่ที่ 17 บ้านโนนงาม หมู่ที่ 6 บ้านนาคอม หมู่ที่ 18 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 7 บ้านนาสะตัง หมู่ที่ 8 บ้านแก้งไฮ หมู่ที่ 9 บ้านดอนงิ้ว หมู่ที่ 11 บ้านดอนนาม่อง หมู่ที่ 12 บ้านนาม่วง หมู่ที่ 13 บ้านโพธิ์ทอง

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

5

.indd 91

91

18/12/2563 12:03:43


WO R K LI FE

กิจกรรมที่ทาง อบต.นาตาล จัดขึ้น

1. วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2563 การแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น กิจกรรมภายใต้โครงการ อบต.นาตาล สืบสานประเพณี ลอยกระทง ในส่วน ของการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ได้รับความร่วมมือจาก โรงเรียนด�ำรง วิทยา,โรงเรียนบ้านนาตาลใต้,กลุ่มสภาวัฒนธรรมต�ำบลนาตาล,ชมรม ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลนาตาล, กลุ่มดอกฝ้ายริมโขง

92

.

5

กิจกรรมภายใต้โครงการ

อบต.นาตาล สืบสานประเพณีลอยกระทง ในส่วนของการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 92

18/12/2563 12:03:48


WORK L IFE

เมือ่ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2563 เข้าร่วมพิธเี ปิด โครงการฝึกอบรมชุด ปฏิบตั ิการจิตรอาสาภัยพิบัติ ประจ�ำองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด อุบลราชธานี รุน่ ที่ 106 ระหว่างวันที่ 14-16 พฤศจิกายน 2563 ณ กรมทหาร พรานที่ 23 ค่ายสรรพสิทธิป

เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2563 นายอภิวัตร พวงพุฒ นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาตาล พร้อมด้วย นายส่งศักดิ์ สุภโครต รองนายก และ นายปฏิภาณ ลุมบุดดา และเจ้าหน้าที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล ลงพื้นที่ติดตามการด�ำเนินงานโครงการในเขตต�ำบลนาตาล

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

5

.indd 93

93

18/12/2563 12:03:53


WO R K LI FE

สินค้าผลิตภัณฑ์ OTOP วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตผ้าย้อมครามและแปรรูปต�ำบลนาตาล

ตั้งอยู่เลขที่ 263 หมู่ 16 ต�ำบลนาตาล อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ : 086-2626745 Facebook : ผ้าชมดาว ผ้าฝ้ายย้อมคราม

แหล่งท่องเที่ยว

หาดชมดาว แก่งหินงาม

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล

ที่อยู่ : หมู่ที่ 16 ต�ำบลนาตาล อ�ำเภอนาตาล จังหวัดอุบลราชธานี โทรศัพท์ : 045-305086 E-mail : tambonnatan54@gmail.com Facebook : องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาตาล 94

.

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 94

18/12/2563 12:04:02


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

19/12/2563 10:33:04


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน “พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน พั ฒ นาต� ำ บลตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล” วิ สั ย ทั ศ น์

นายเอกราช สู งสง่ า

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน ตัง้ อยู่ เลขที่ 276 หมู่ที่ 13 ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ ต�ำบลหนองสะโน ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตกของที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ บุณฑริก 18 กิโลเมตร จากทีว่ า่ การอ�ำเภอถึงบ้าน หนองสะโน หมู่ที่ 1 อันเป็นที่ตั้งของต�ำบล และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล โดยมีพนื้ ทีเ่ ขตรับผิดชอบ 145 ตารางกิโลเมตร มีประชากรเป็นชาย 8,465 คน เป็นหญิง 8,465 คน รวมทั้งหมด 16,930 คน

มีอาณาเขตพื้นที่ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลบ้านแมด อ�ำเภอบุณฑริก ทิศใต้ ติดต่อกับ

ต�ำบลโนนค้อ อ�ำเภอบุณฑริก ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลบัวงาม อ�ำเภอบุณฑริก ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�ำบลโสกแสง อ�ำเภอนาจะหลวย และอ�ำเภอเดชอุดม

ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบล หนองสะโน ตั้งอยู่เลขที่ 276 หมู่ที่ 13 ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี 34230 โทรศัพท์ / แฟกซ์ 045-868-080 96

.

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 96

19/12/2563 11:30:43


WORK L IFE

ประวัติความเป็นมา

แต่เดิมต�ำบลหนองสะโนขึน้ อยูก่ บั ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอบุณฑริก ต่อมา ปีพ.ศ. 2508 ทางราชการได้แบ่งแยกเขตการปกครองเป็นต�ำบลหนองสะโน มีจ�ำนวน 8 หมู่บ้าน มีอาชีพหลักคือ ท�ำนา และอาชีพเสริมคือ รับจ้าง, ทอผ้าไหม ปัจจุบนั มี นายเอกราช สูงสง่า ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลหนองสะโน

ทีมงานองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน

นายก 1 คน รองนายก 2 คน เลขานุการ 1 คน สมาชิกสภาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ 46 คน รวมฝ่ายการเมือง 50 คน, ข้าราชการส่วนท้องถิน่ 10 คน, พนักงานจ้าง 44คน, พนักงานจ้าง(เงินอุดหนุนทั่วไป) 8 คน, ข้าราชการครู (เงินอุดหนุนทั่วไป) 12 คน รวมฝ่ายประจ�ำ 74 คน

ผลงานที่ผ่านมา อาทิ

เมือ่ วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2563 องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน ได้ จั ด โครงการป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หายาเสพติ ด เพื่ อ ให้ ผู ้ น� ำ ชุ ม ชน ประชาชนมีความรูเ้ กีย่ วกับพิษภัยของยาเสพติด เพือ่ ป้องกันการแพร่ระบาด ยาเสพติดในชุมชนและสนับสนุนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหา ยาเสพติดอย่างเป็นรูปธรรม ในการสร้างแนวร่วมในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดอย่างเป็นระบบ โดยดึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาเป็นแนวร่วม และเครือข่ายให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยบรรลุวตั ถุประสงค์ ณ ศูนย์พฒั นา คุณภาพชีวติ และส่งเสริมอาชีพผูส้ งู อายุ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสะโน ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

5

.indd 97

97

19/12/2563 11:30:45


WO R K LI FE

การส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชน

“บ้านสมพรรัตน์” สืบสานงานแม่-สานต่องานพ่อ หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว “ระเบิดจากข้างใน”

บ้านสมพรรัตน์ อ�ำเภอบุญฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นหมู่บ้าน 1 ใน โครงการ “หมู่บ้านโอทอปเพื่อการท่องเที่ยว 8 เส้นทาง” เป็น 1 ในเส้น ทางสู่พื้นที่ “อีสานใต้” เชื่อมโยงตั้งแต่นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี เพื่อส่งเสริมตามนโยบายการท่องเที่ยวเมือง รองของรัฐบาล โดยบ้านสมพรรัตน์ อ�ำเภอบุญฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นหนึง่ ในหมูบ่ า้ นส่งเสริมโอทอปเพือ่ การท่องเทีย่ ว มีการปลูกหม่อนเลีย้ งไหม ซึ่งในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาได้จัดงานขึ้นภายใต้แคมเปญ “ช็อป ชม ชิม” ชม...การแสดงพื้นบ้าน อาทิ ฟ้อนกลองยาว โดยสมาชิกในหมู่บ้านสม พรรัตน์ จากนั้นก็ “ช็อป” สินค้าดี-สินค้าเด่นของบ้านสมพรรัตน์อันเลื่อง ชือ่ ติดดาวเป็น “ผลิตภัณฑ์ OTOP” คือ “ผ้าไหม” ภายใต้ “โครงการส่งเสริม ศูนย์ศิลปาชีพบ้านสมพรรัตน์” ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ใน พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมราษฎรเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 พระราชทานเงินเป็นทุนแก่ชาวบ้านสมพรรัตน์ และ ทรงรับไว้เป็นสมาชิกศูนย์ศิลปาชีพ ภายหลังชาวบ้านสมพรรัตน์ได้ถวาย ผลิตภัณฑ์ผ้าไหม ปัจจุบันมีสมาชิก 522 คน จากทั้งหมด 5 อ�ำเภอ ผ้าไหมลายพื้นเมืองของบ้านสมพรรัตน์ที่ได้รับความนิยม อาทิ ผ้าไหม มัดหมี่ ผ้าไหมลายนกยูง ผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติ ปัจจุบันยังมีผลิตภัณฑ์ที่มี ส่วนประกอบของผ้าไหม อาทิ ผ้าห่ม กระเป๋า และยังส่งออกผ้าไหมไปยัง ประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย จึงเป็นการสร้างอาชีพ-รายได้เฉลี่ยคน 300,000 – 500,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้สมาชิกยังได้รับการจัดสวัสดิการไม่ต้อง หันไปหาการกู้เงินนอกระบบ และยังมี “ธนาคารผ้าไหม” เพื่อรับผ้าไหม ของสมาชิกเพื่อจ�ำหน่าย-เป็นหมู่บ้านเข้มแข็งจากข้างในอีกด้วย นอกจากนีน้ กั ท่องเทีย่ วทีม่ โี อกาสมาเยีย่ มชมวิถชี วี ติ -ของดีบา้ นสมพรรัตน์ แล้ว ยังจะได้รบั “ประสบการณ์” ใหม่ๆ ผ่าน “ศูนย์การเรียนรูห้ ม่อนไหม”, “ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติ” เพื่อประกอบอาชีพอีกด้วย

98

.

5

ส�ำหรับกิจกรรมตามแนวโครงการพระราชด�ำริของบ้านสมพรรัตน์ ภายใต้ กรมพัฒนาชุมชน จึงประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. “สืบสานงานแม่” คือ การทอผ้าไหม และ 2. “สานต่องานพ่อ” ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การเพาะพันธุ์ปลา ขณะที่กิจกรรมอื่นๆ ที่นักท่องเที่ยวจะได้สัมผัส อาทิ การเยี่ยมชมศาสนสถาน-ยอดเจดีย์วัดสมพรรัตนาราม ที่สามารถชมวิว ทิวทัศน์ของหมู่บ้าน ปิดท้ายด้วยการ “ชิม” อาหารพื้นถิ่นบนแพกลางแม่น�้ำ และในอนาคต ยังมีแผนที่จะท�ำเป็น “โฮมสเตย์” เพื่อรองรับนักท่องเที่ยว โดยมีกลยุทธ์ คือ การชู “จุดเด่น” ของผ้าไหม ซึ่งการันตีด้วยรางวัลคุณภาพ-ผลิตภัณฑ์ OTOP ของบ้านสมพรรัตน์จึงใช้เป็นแม่เหล็ก “ดึงดูด” ให้นักท่องเที่ยว เดินทางมาและ “ลูกเล่น” ต่างๆ มากมายจากศิลปวัฒนธรรมประเพณี พื้นบ้าน รวมไปถึงอาหารอร่อยและที่พักคุณภาพในบรรยากาศอันอบอุ่น

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 98

19/12/2563 11:30:50


WORK L IFE

แหล่งท่องเที่ยว วัดใหม่ทองเจริญ

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

5

.indd 99

99

19/12/2563 11:30:57


WO R K LI FE

ปราสาทธาตุนางพญา (คูห้วยธาตุ) ต�ำบลหนองสะโน อ�ำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นโบราณสถาน ก่อด้วยศิลาแลงและหินทราย เป็นปราสาทหลังเดียว หันหน้าไปทางทิศ ตะวันออก มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า สิ่งก่อสร้างส�ำคัญประกอบด้วย อาคารรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า 1 หลัง ส่วนยอดหรือหลังคาหักพังลงหมดแล้วเหลือ เฉพาะฐาน มีกำ� แพงศิลาแลงล้อมรอบ ด้านหน้าท�ำเป็นซุ้มประตู (โคปุระ) ก่อด้วยศิลาแลงและหินทรายด้านทิศตะวันออก 1 ด้าน ถัดจากตัวปราสาท ไปทางทิศเหนือ มีอา่ งเก็บน�ำ้ (บาราย) ขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่าโบราณสถาน แห่งนีน้ า่ จะเป็นสิง่ ก่อสร้างแบบเขมรสมัยบายน ประมาณต้นพุทธศตวรรษที่ 18 ปราสาทแห่งนี้แสดงถึงอิทธิพลอาณาจักรขอมในด้านการเมืองการ ปกครองและศาสนาที่พบในบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี

ทุกวันที่ 13 มกราคม ของทุกปีจะมีการบวงสรวงและสมโภชปราสาท พระธาตุนางพญาและส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีบุญคุณลานเพื่อให้ เด็ก เยาวชน และประชาชนชาวต�ำบลหนองสะโนได้บำ� รุงรักษา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ให้ลกู หลานสืบทอดให้คงอยูส่ บื ไป อาทิ ขบวนแห่ พระแม่โพสพและขบวนประเพณีฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ กรมศิลปากรได้ประกาศขึน้ ทะเบียนปราสาทนางพญา (คูหว้ ยธาตุ) เป็น โบราณสถานของชาติโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 53 ตอนที่ 34 วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2479 และก�ำหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ในราชกิจ จานุเบกษา เล่ม 98 ตอนที่ 177 วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2524 พืน้ ทีป่ ระมาณ 2 ไร่ 2 งาน 52 ตารางวา

กิจกรรมประจ�ำปี ประเพณีบุญคูณลาน

100

.

5

สมโภชน์ปราสาทธาตุนางพญา

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 100

19/12/2563 11:31:04


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE

www.sbl.co.th

SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง

Book of sbl.indd 16

. - 19/04/2562 14:30:07 PM


WO R K LI FE

อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร วิ สั ย ทั ศ น์ “มุ ่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ และผลผลิ ต ทางการเกษตรของประชาชนอ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร ต� ำ มแนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ”

นายฤทธิ สรรค์ เทพพิ ทักษ์

อนุสาวรีย์พระบ�ำรุงราษฎร์ ( จูมมณี ) เป็นเจ้าเมืองพิบลู มังสาหารคนแรก ชาวอ�ำเภอ พิบูลมังสาหารให้ความเคารพนับถือ และ นิยมยกย่อง เรียกขานนามท่านว่า พระจูมมณี โดยทุกวันที่ 5-6 ธันวาคม ของทุกปี ก�ำหนด จัดพิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์พระบ�ำรุงราษฎร์ (จู ม มณี ) และบุ ญ คู ณ ลานกุ ้ ม ข้ า วใหญ่ ณ วงเวียนหน้าสถานีตำ� รวจภูธรพิบลู มังสาหาร

นายอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร

ค�ำขวัญอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร พิบูลมังสาหารงามวิ ไล พระบ�ำรุงราษฎร์เด่นตระการตา เลื่องลือเมืองฆ้อง ผ่องแผ้วบวรวัดดอนธาตุ

พระปรมาภิ ไธยล�้ำค่า มหาสงกรานต์แก่งสะพือ เกริกก้องวัดภูเขาแก้ว วิจิตรมาศศาลหลักเมือง

อ�ำเภอพิบูลมังสาหารตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ออกของจังหวัดอุบลราชธานี ห่างจากจังหวัด อุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร ตามเส้นทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 217 ปัจจุบันที่ว่าการ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ตั้งอยู่ถนนเทศบาล 2 ต� ำ บลพิ บู ล อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี

ศาลหลั ก เมื อ งอ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2562 ด้วย ความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ของชาวอ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร สมทบทุนสร้างศาลหลักเมือง อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร เพือ่ เป็นศูนย์รวมจิตใจของ ชาวอ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร ซึ่ ง จะด� ำ เนิ น การ สมโภชและพุทธาภิเษกศาลหลักเมืองอ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร ภายในเดือนเมษายน 2564 นี้ 102

หินพระปรมาภิไธย สืบเนื่องจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จประพาสแก่งสะพือ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2498 เพื่อเป็น อนุสรณ์ทลี่ น้ เกล้าฯ ได้เสด็จเยีย่ มพสกนิกรครัง้ นี้ ทางราชการจึงได้จดั เตรียมศิลาทรายทีข่ ดุ พบในบริเวณ วัดสระแก้ว(วัดใต้)ไว้ เมื่อล้นเกล้าฯ ทั้งสองพระองค์เสด็จมาถึงชั่วระยะเวลาหนึ่งแล้ว จึงทูลเกล้าฯ ขอพระบรมราชานุญาตให้ทรงลงพระปรมาภิไธย โดยทรงจารึกลงบนแผ่นศิลาทรายด้วยชอล์กสีขาว และทางราชการได้ให้ช่างแกะสลักรอยจารึกเพื่อให้มีความชัดเจน และคงทนถาวร ต่อมาภายหลังได้ วางตั้ ง แท่ น ประดิ ษ ฐานพระปรมาภิ ไ ธยขึ้ น ทั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ การควบคุ ม จากสถาปนิ ก ของส� ำ นั ก งาน ส่วนทรัพย์สินของพระมหากษัตริย์เป็นผู้วางแผนและออกแบบแปลน ส�ำหรับแท่นหินที่น�ำมาเป็น แท่นประดิษฐานนัน้ ได้มาจากบริเวณน�ำ้ ตกเซน้อย เป็นหินรูปร่างสีเ่ หลีย่ มด้านไม่เท่า มีฐานกว้างปลาย สอบเข้า และมุมขวามีรอยเว้าคล้ายปากนกอ้ากว้าง จึงได้สลักหินพระปรมาภิไธยให้มีขนาดพอดีกับ รอยเว้าแล้วน�ำมาเชื่อมยึดด้วยซีเมนต์ พร้อมกับจัดวางก้อนหินปลูกไม้ประดับตามหลักการจัดสวน ให้เกิดความสวยงาม ส่วนหินก้อนด้านซ้ายได้แกะสลัก “แก่งสะพือ” ตามชื่อแก่งที่ตั้ง หลังจาก ด�ำเนินการแล้วเสร็จจึงได้จัดงานเฉลิมฉลองหินพระปรมาภิไธยในช่วงวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 30 ธันวาคม 2510 หินพระปรมาภิไธย จึงเป็นอนุสรณ์สถานทีเ่ ด่นเป็นสง่า และล�ำ้ ค่าคูบ่ า้ นคูเ่ มือง พิบลู มังสาหารจนถึงปัจจุบนั

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

2

.indd 102

18/12/2563 18:05:09


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

แก่งสะพือ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ “สะพือ” เป็นภาษาส่วย (บรู) เพีย้ นมาจาก ค�ำว่า “กะไซผืด” กะไซ แปลว่า งู, ผืด แปลว่า ใหญ่ แก่งสะพือเป็นโขดหิน ธรรมชาติทขี่ วางล�ำน�ำ้ มูลลักษณะเหมือนงูใหญ่ขวางล�ำน�ำ้ มีกอ้ นหินน้อยใหญ่ สลับซับซ้อน ในฤดูแล้งระดับน�้ำตื้นใสมีพุ่มไม้และสายน�้ำกระทบก้อนหิน แตกกระเซ็นเป็นฟองขาว ท�ำให้เกิดเป็นทัศนียภาพทีส่ วยงามมาก นอกจากนีแ้ ล้ว ในเดือนเมษายนของทุกปี ช่วงเทศกาลสงกรานต์ เทศบาลเมืองพิบลู มังสาหาร ได้จัดงานประเพณีมหาสงกรานต์แก่งสะพือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและ ประเพณีอันดีงามตลอดมาด้วย

WORK L IFE

วัดดอนธาตุ เป็นวัดที่ตั้งอยู่บนเกาะกลางล�ำน�้ำมูลในพื้นที่ต�ำบลทรายมูล เป็นสถาน ที่เงียบสงบร่มรื่นและที่สัมปรายะ เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ของสงฆ์เป็น อย่างยิง่ ความส�ำคัญคือวัดแห่งนีเ้ คยเป็นทีป่ ฏิบตั ธิ รรมพระอาจารย์เสาร์ กัน ตสีโล พระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โต พระอาจารย์ใหญ่แห่งกองทัพธรรม ปัจจุบนั วัดยังคงรักษาที่พ�ำนักปฏิบัติธรรมเอาไว้เป็นอนุสรณ์

วัดภูเขาแก้ว

สร้างเมือ่ พ.ศ. 2480 ส�ำหรับให้พระสงฆ์ปฏิบตั กิ มั มัฎฐาน จุดทีน่ า่ สนใจ ของวัดภูเขาแก้ว คือ พระอุโบสถที่ประดับด้วยกระเบื้องเคลือบทั้งหลังและ เป็นฝีมอื ของช่างพืน้ บ้าน โดยการออกแบบของอดีตเจ้าอาวาส พระครูพบิ ลู ธรรมภาณ(พระอาจารย์โชติ) โดยการน�ำรูปแบบศิลปะไทย ซึ่งถ่ายทอดอยู่ ในส่วนบนของอุโบสถทีห่ ลังคาเป็นโครงสร้างมีมกุ ลดหลัน่ กันสีช่ นั้ ทัง้ ด้านหน้า และด้านหลังประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกาหงส์ โดยมีคันทวยรองรับชายคา เป็นรูปนาคอยู่โดยรอบ ส่วนบริเวณกลางหลังคาตกแต่งเป็นยอดปราสาท ขอมทั้งสิ้น ทั้งนางอัปสรหรือท�ำวรบาล ที่ยืนเคียงคู่อยู่ที่ประตูอุโบสถ ส่วน ภายในพระอุโบสถจะตกแต่งด้วยภาพนูนสูง อยู่เหนือประตูหน้าต่างขึ้นไป เป็นภาพเกี่ยวกับพระธาตุที่ส�ำคัญของประเทศไทย พร้อมทั้งเล่าเรื่องราว ประวัตขิ องพระธาตุแต่ละองค์โดยสังเขป ในชัน้ ล่างของพระอุโบสถยังใช้เป็น ศาลาการเปรียญและนั่งปฏิบัติกัมมัฎฐาน

โบราณสถานดอนขุมเงิน

หัตถกรรมตีฆ้องบ้านทรายมูล ต�ำบลทรายมูล การท�ำฆ้องด้วยการตีมือที่สืบทอดกันมากว่า 30 ปี เอกลักษณ์ของฆ้องบ้านทรายมูลคือ มี 9 จูม ชุมชนบ้านเป็นทัง้ แหล่งผลิตและ จ�ำหน่ายฆ้องของจังหวัดอุบลราชธานี เป็นงานหัตถกรรมในครัวเรือนที่สร้าง รายได้เสริมหลังฤดูเกษตรกรรม ตั้งอยู่บริเวณโรงเรียนบ้านสะพือ หมู่ที่ 6 ต�ำบลโพธิ์ศรี ซึ่งตั้งอยู่ฝั่งซ้าย ของแม่น�้ำมูล ห่างจากโบราณคดีศาลเจ้าปู่ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 1,300 เมตร โดยได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราช กิจจานุเบกษา เล่มที่ 118 ตอนพิเศษ 124 ง เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2544 มีเนือ้ ที่ 1 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา สภาพปัจจุบันเป็นซากฐานปราสาท หิน พบแหล่งหินทรายขนาดใหญ่ และอิฐจ�ำนวนมาก พบชิ้นหินทรายเป็น ส่วนประกอบของอาคารด้านสถาปัตยกรรมหลายชิ้น UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 103

103

18/12/2563 18:05:12


WO R K LI FE

เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร “ชุมชนน่าอยู่ คนมีคุณภาพ ยึดมั่นธรรมาภิบาล”

ตั้งอยู่เลขที่ 69/14 ถนนพิบูล ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34110 โทร. 045-441-115 เว็บไซต์ http://phibuncity.go.th/ E-mail : phiboon.municipal@gmail.com

รางวัลเกียรติยศ “นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2559”

นายไพศาล ปีตาภา นายกเทศมนตรีเมืองพิบูลมังสาหาร ผูบ้ ริหารหนุม่ รุน่ ใหม่ไฟแรง ได้ รั บ ความไว้ ว างใจอย่ า งท่ ว มท้ น จากพี่ น ้ อ งชาวพิ บู ล มั ง สาหารในการเลื อ กตั้ ง นายกเทศมนตรีนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 จนถึงปัจจุบัน ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจกับส�ำนึก รักบ้านเกิดในนามกลุม่ คุณธรรม ได้เน้นการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และศึกษาต่อยอด วางนโยบาย ในการบริหารจัดการองค์กร ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเพิ่มศักยภาพการให้ บริการแก่พี่น้องชาวพิบูลมังสาหาร โดยเน้นการพัฒนาคนควบคู่ไปกับความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ และสังคม อาทิ การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ด้านการพัฒนา การศึกษา ด้านการสาธารณสุข ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคมและ การรักษาความสงบเรียบร้อย และด้านการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งผลงานการพัฒนาปรากฏเห็นเป็นที่ประจักษ์ จนได้รับรางวัล “นักบริหารดีเด่นแห่งปี 2559” สาขานวัตกรรมท้องถิน่ โดยได้รบั มอบประกาศเกียรติคณ ุ และโล่จากท่าน พลอากาศเอกชลิต พุกผาสุก องคมนตรี ซึ่งเป็นประธานในพิธีขณะนั้น

นายไพศาล ปีตาภา นายกเทศมนตรีเมืองพิบูลมังสาหาร

แม้จะได้รบั รางวัลเกียรติยศบนเส้นทางแห่งชีวติ นักการเมือง ท้ อ งถิ่ น แต่ น ายไพศาล ปี ต าภา นายกเทศมนตรี เ มื อ ง พิบูลมังสาหาร ยังมีการศึกษาต่อยอดและพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้ทันต่อสภาวการณ์ความเปลี่ยนแปลงของ ยุคโลกาภิวฒั น์ โดยเข้ารับการศึกษาต่อ ณ สถาบันพระปกเกล้า ในหลักสูตร “การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุน่ ที่ 18” ซึง่ ส�ำเร็จการศึกษาและได้รบั ประกาศนียบัตรชัน้ สูง ซึ่งมอบให้โดย นายชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา ในนาม ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า เมือ่ ปี พ.ศ.2561 104

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 104

18/12/2563 9:21:38


WORK L IFE

โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

1.โครงการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว “กินข้าวแลงแงงฝ้ายค�ำ” เป็นโครงการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญมีที่ตั้ง ณ สวนสาธารณะ ภู ห ล่ น อ� ำ เภอเมื อ งพิ บู ล มั ง สาหาร ซึ่ ง เต็ ม ไปด้ ว ยความงดงามของ ต้นสุพรรณิการ์ ซึ่งชาวอุบลราชธานี ขนานนามว่า “ดอกฝ้ายค�ำ” จะบาน ระหว่างเดือน ธันวาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์สวยงามอร่ามตา

2. โครงการปรับปรุงห้องน�้ำสาธารณะเพื่อให้บริการประชาชนในเขต พิบูลมังสาหารและอ�ำเภอใกล้เคียง เป็นการบริการสาธารณะขั้นพื้นฐาน โดยให้บริการฟรีเพื่อสุขอนามัยที่ดีของพี่น้องประชาชน

3. โครงการปรับปรุงบ�ำรุงรักษาสนามกีฬากลางอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร เพื่อเด็กและเยาวชนได้มีสถานที่ออกก�ำลังกายและใช้ในการจัดการแข่งขัน กีฬาต่างๆของเด็กและเยาวชน รวมทั้งส่งเสริมการแข่งขันกีฬาชาวบ้าน และกีฬาชาวคุ้มทั้ง6คุ้มวัด 17 ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร

4.จัดตั้งเครื่องออกก�ำลังกายชุมชนเพื่อส่งเสริมการออกก�ำลังกายให้ แก่เด็กเยาวชนตลอดจนผู้สูงวัยภายในเขตเทศบาล โดยจัดให้มีเครื่องออก ก�ำลังกายหลากหลายชนิด และเป็นการให้บริการฟรีไม่คิดค่าใช้จ่ายเพื่อ สุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง

5. โครงการก่อสร้างลานคอนกรีตอเนกประสงค์ ณ บริเวณสนามกีฬา กลางอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร โดยเทศบาลฯได้ด�ำเนินการก่อสร้างลาน คอนกรีตเสริมเหล็กขนาดใหญ่ เพื่อใช้ส�ำหรับการจัดกิจกรรมต่างๆ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 105

105

18/12/2563 9:21:43


กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

WO R K LI FE

โครงการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและโครงสร้างพื้นฐาน

1. การเดินทางบนท้องถนนปลอดภัย กับ โครงการติดตัง้ ไฟฟ้าส่องสว่าง เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของพี่น้องประชาชนผู้สัญจรไปมา ยามค�ำ่ คืนบนถนนหลวง ต�ำบลพิบลู อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561

2. ถนนมัน่ คง กับ โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กสายสร้างค�ำ ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อความปลอดภัย ในการเดินทางแก่ผู้ใช้รถใช้ถนน

3. เส้นทางแข็งแรง กับ โครงการปรับปรุงถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีต ถนนพิบูล ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 106

.

3

4. ซ่อมบ�ำรุงอยู่เสมอ กับ โครงการปรับปรุงถนนแอสฟัลท์ติกคอนกรีต ถนนไชยมงคล ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

5. สว่างทั้งกลางวันและกลางคืน กับ โครงการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง (ไฮแมท) ยามค�่ำคืน ภายในเขตเทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร ต�ำบลพิบูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

6. ชีวิตมั่นคงเริ่มต้นที่พื้นฐานการศึกษา กับ โครงการปรับปรุงศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กภูหล่น ต�ำบลพิบลู อ�ำเภอพิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 106

18/12/2563 9:21:50


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

19/12/2563 10:33:28


WO R K LI FE

เทศบาลต�ำบลกุดชมภู “กุ ด ชมภู ถิ่ น แม่ มู ล เกื้ อ กู ล พุ ท ธศาสน์ หาดทรายเกาะแก่ ง เรื อ แข่ ง เลื่ อ งลื อ ระบื อ กลองเส็ ง รี บ เร่ ง พั ฒ นา ลื อ ชาพระเจ้ า ใหญ่ ”

ประวัติความเป็นมา

เทศบาลตําบลกุดชมภู ตั้งอยู่ที่บ้านแก่งเจริญ หมู่ที่ 5 ต�ำบลกุดชมภู อ�ำเภอ พิบลู มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ บริเวณนีย้ งั เป็นทีต่ งั้ ของแก่งไก่เขีย่ สถานที่ ท่องเทีย่ วส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของต�ำบลกุดชมภู อยู่ห่างจากอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ประมาณ 3 กิ โ ลเมตร เดิ ม ที่ มี ฐ านะเป็ น สภาตํ า บลกุ ด ชมภู และเมื่ อ วั น ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลกุดชมภู โดยประกาศกระทรวงมหาดไทยเรือ่ งการจัดตัง้ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ต่อมาเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2556 องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู ได้รับการยกฐานะอีกครั้งเป็นเทศบาลตําบลกุดชมภู ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู เป็นเทศบาลตําบล กุดชมภู มีจ�ำนวนหมู่บ้าน 19 หมู่บ้าน อีกทั้งยังเป็น 1 ใน 4 ของเทศบาลต�ำบล ทั้งหมดภายในอ�ำเภอพิบูลมังสาหารมีประชากร จ�ำนวน 14,979 คน แยกเป็น ชาย 7,439 คน หญิง 7,540 คน ครัวเรือน 4,303 ครัวเรือน ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2563

นายอภิ ชาติ เศรษฐมาตย์

ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรีต�ำบลกุดชมภู

108

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 108

21/12/2563 15:44:06


WORK L IFE

ปัจจุบันเทศบาลต�ำบลกุดชมภู ไม่มีคณะผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งประกาศคณะรักษาความสงบ แห่งชาติที่ 85/2557 ข้อ 11 ในกรณีที่ผู้บริหารครบวาระหรือว่างลงให้ปลัดองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติหน้าที่นายกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ดังนั้น เทศบาลต�ำบลกุดชมภูจึงมีนายอภิชาติ เศรษฐมาตย์ ปลัดเทศบาล ปฏิบัติหน้าที่ นายกเทศมนตรี ต�ำบลกุดชมภู มีสมาชิกสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู ที่มาจากการสรรหาและแต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการจังหวัด อุบลราชธานี จ�ำนวน 12 คน ปัจจุบัน มี 11 คนถึงแก่กรรม 1 คน โดยมี นายนิยม สายเสนา ประธานสภา เทศบาลต�ำบลกุดชมภู ผศ.ดร.สิริพร แสนทวีสุข รองประธานสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู และ นางเพ็ญศิริ มุขสมบัติ เลขานุการ สภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู จนถึงปัจจุบัน

อาณาเขต

นายนิยม สายเสนา

ประธานสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู

ทิศเหนือ ติดต่อ แม่น�้ำมูล เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร ต�ำบลโพธิ์ศรี ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อ ต�ำบลดอนจิก อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก ติดต่อ ต�ำบลคันไร่ อ�ำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อ ต�ำบลโพธิ์ไทร อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

ผศ.ดร. สิริพ ร แสนทวีสุข

รองประธานสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู

“กุดชมภู” แดนดินแห่งธรรมชาติ เกษตรกรรม วัฒนธรรมอันดีชุมชนแห่งที่ราบลุ่มแม่น�้ำมูล ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

นางเพ็ญศิริ มุข สมบัติ

เลขานุการสภาเทศบาลต�ำบลกุดชมภู ฝ่ายปกครองมี นายทรงพล ลาภเย็น ด�ำรงต�ำแหน่ง ก�ำนันต�ำบลกุดชมภู UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 109

109

21/12/2563 15:44:08


WO R K LI FE

1

2

3

4

5

รางวัลที่ภาคภูมิใจ

1. รางวัลการบริหารจัดการที่ดี อันดับที่ 1 ประจ�ำปี พ.ศ. 2549 องค์การบริหารส่วนต�ำบลกุดชมภู 2. รางวัลการบริหารจัดการที่ดี อันดันที่ 1 ประจ�ำปี พ.ศ.2551 โดย คณะกรรมการกระจายอ�ำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมกับ กระทรวงมหาดไทย 3. รางวัลชนะเลิศ องค์การบริหารส่วนต�ำบลที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ. 2554 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 4. รางวัลผ่านเกณฑ์การประเมิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 (รอบที่ 2) 5. ได้รับรางวัล การประกวดศูนย์ช่างประจ�ำชุมชนเทิดไท้องค์ราชัน รางวัลดีเด่นระดับภาคและระดับประเทศประจ�ำปี 2553 และ 2554

กิจกรรมและการพัฒนาที่ส�ำคัญ ของเทศบาลต�ำบลกุดชมภู

3.ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

4.ด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. ด้านสาธารณสุข

อาสาสมัครบริบาลออกดูแล ผู้ป่วยติดเตียง

110

5

มีการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 110

21/12/2563 15:44:12


WORK L IFE

เทศบาลต�ำบลกุดชมภู

มีโรงเรียนประถมศึกษาในพื้นที่ จ�ำนวน 6 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา จ�ำนวน 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�ำนวน 4 แห่ง วัดและ ส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน 21 แห่ง มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญหลายแห่ง เช่น แก่งไก่เขี่ย, แก่งไฮ,แก่งบั้งไฟ แก่งหินโด่, เกาะดอนค�ำพวง, หาดหินบ้าน หินลาด, หินนางแกะ, หาดบ้านดอน และยังมีเขือ่ นริมตลิง่ ไว้ทอ่ งเทีย่ วอีกด้วย ส�ำหรับจุดแลนมาร์คบ้านดอนส�ำราญ เป็นจุดชมวิวล�ำน�ำ้ มูล เป็นสถานที่ ให้ประชาชนได้พักผ่อนและออกก�ำลังกาย อีกทั้งยังมีสถานที่ท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรม เช่น วัดพุทธรักษา สถานที่ประดิษฐานของพระเจ้าใหญ่ และ วัดกุดชมภู หรือ วัดวิหารเจดีย์ศรีชมพู ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานสรีร สั ง ขารของพระครู พิ บู ล นวกิ จ หรื อ หลวงปู ่ ค�ำบุ คุ ต ตฺ จิ ต โต อดี ต เจ้าอาวาส พระสุปฏิปันโนที่ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ เป็นที่เลื่อมใสศรัทธา เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน และมีนักท่องเที่ยวมากราบสักการบูชา เรื่อยมาจนปัจจุบัน

ภายในต�ำบลกุดชมภู แก่ ง ไก่ เ ขี่ ย ตั้งอยู่ที่

บ้านแก่งเจริญ หมู่ที่ 5 ต�ำบลกุด ชมภู อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี แก่งไก่เขี่ย เป็นแก่ง หิ น ทอดยาวขวางล� ำ น�้ ำ มู ล จาก เหนื อ ไปสู ่ ใ ต้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เองตาม ธรรมชาติ ที่ร่องน�้ำกลางแก่งมีรอย จ� ำ หลั ก ศิ ล าเป็ น คล้ า ยรอยไก่ จ�ำนวน 97 รอย ปรากฏอยู่บนก้อน หิน 3 ก้อน ลักษณะรอยเกลีย้ งเกลา สวยงาม ซึ่งเป็นแหล่งอารยธรรม อันเก่าแก่ มาช้านาน

แก่งไฮ

วัดพุทธรักษา

สิมกลางน�้ำ วัดสระปทุมมาลัย

สถานที่ท่องเที่ยว

พระเจ้าใหญ่แก่นเมือง

ตั้งอยู่ที่ บ้านหินลาด หมู่ที่ 6 ต�ำบลกุดชมภูอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี แก่งไฮ เป็น แก่งหินที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะเป็นลานหินขนาดใหญ่ที่ อยู่ในล�ำห้วยกว้าง สามารถมองเห็น ลานหินได้ในฤดูแล้งและฤดูฝนมีน�้ำ ใ ส ส ะ อ า ด ม อ ง เ ห็ น ล า น หิ น ไ ด ้ สวยงามมีสภาพเป็นธรรมชาติ ร่มรืน่ มีต้นไม้และไม้เถาวัลย์ขึ้นสองข้าง ล�ำห้วย โดยเฉพาะต้นไม้ยืนต้นชื่อ ต้ น ไฮ ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย กแก่ ง หิ น บริเวณนี้ว่า “แก่งไฮ”

หลวงปู่ค�ำบุ คุตตฺจิตโต UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

มีการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้และป้องกัน

.indd 111

111

21/12/2563 15:44:16


WO R K LI FE

เกาะดอนค�ำพวง

แก่งบั้งไฟ

ตัง้ อยูท่ กี่ ลางแม่นำ�้ มูล มีสภาพเป็นเกาะกลางล�ำน�ำ้ มูล ด้วยน�ำ้ มูลแตกออก เป็น 2 สาย บริเวณแก่งกลางมีร่องน�้ำลึกทางบ้านชายฝั่งซ้ายดอนค�ำพวงนี้ เป็นดอนใหญ่ที่สุดในล�ำน�้ำมูล มีเนื้อที่คลอบคลุมพื้นที่ต�ำบลกุดชมภู ต�ำบล ทรายมูล อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ต�ำบลคันไร่ อ�ำเภอสิรินธร นอกจากนี้ยังเป็นที่ ตั้งวัดป่าดอนค�ำพวง ซึ่งเป็นวัดที่ชาวบ้านให้การศรัทธา เคารพและนิยมไป ปฏิบตั ธิ รรมตลอดปี ตลอดทัง้ เป็นสถานทีผ่ ลิตสมุนไพรเพือ่ รักษาโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต ท้องผูก ริดสีดวงทวาร และครีมขัดหน้าสมุนไพร เป็นต้น

วัดวิหารเจดีย์ศรีชมพู (วัดหลวงปู ่ค�ำบุ คุตตฺจิตโต )

หินนางแกะ

ตั้งอยู่ที่ บ้านหินสูง หมู่ที่ 4 ต�ำบลกุดชมภู อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี หินนางแกะเป็นหินสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ คนโบราณ เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตของวิญญาณเจ้าแม่นางแกะ ผู้คนจึงให้ความเคารพ ย�ำเกรง ปัจจุบนั ยังเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีส่ ำ� คัญอีกแห่งหนึง่ ในต�ำบลกุดชมภู ศาลาการเปรียญหินอ่อน วัดแก่งศิลา ริมแม่น้ �ำมูล ชุมชนท่องเที่ยวโอทอปนวัตวิถี บ้านดอนส�ำราญ หมู่ท่ี 9

ดอนส�ำราญโฮมสเตย์

112

5

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 112

21/12/2563 15:44:22


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th

Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56

06/07/61 14:25:11


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ “สร้ า งพื้ น ฐานเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ส่ ง เสริ ม มาตรฐานการศึ ก ษา มุ ่ ง พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต มี ส าธารณู ป โภคอย่ า งทั่ ว ถึ ง รวมความเป็ น หนึ่ ง ในชุ ม ชน” วิ สั ย ทั ศ น์

ต�ำบลนาโพธิ์มีที่ตั้งห่างจากอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ประมาณ 28 กิโลเมตร และเข้าสู่ตัวจังหวัด อุบลราชธานี ประมาณ 48 กิโลเมตร โดยประชาชนจะอาศัยรถประจ�ำหมู่บ้านและรถยนต์ส่วนตัว เป็นพาหนะในการเดินทาง

ประวัติความเป็นมา

บ้านนาโพธิ์ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457 โดยมีราษฎรอพยพจากถิ่นอื่นๆ มาตั้งรกรากท�ำมาหากิน ร่วมกัน จึงเรียกหมู่บ้านดังกล่าวว่า “บ้านนาโพธิ์หนองแหน” โดยเป็นหมู่บ้านหนึ่งของต�ำบลไร่ใต้ ต่อมาได้ขอแยกออกมาเป็นบางส่วน และเปลี่ยนชื่อหมู่บ้านเป็นบ้านนาโพธิ์ หมู่ที่ 1 ต่อมาได้มีราษฎร หมู่อื่นขอแยกตาม คือ หมู่ที่ 3 บ้านเลิงบาก ที่แยกมาจากหมู่ที่ 12 บ้านไร่ใต้, หมู่ที่ 4 บ้านโนนสวาง แยกมาจากหมู่ที่ 10 บ้านไร่ใต้, หมู่ที่ 5 บ้านชาดฮี ได้แยกหมู่บ้านมาจากบ้านเดื่อ โดยอยู่ในเขต รับผิดชอบของต�ำบลโพธิ์ไทรในปัจจุบัน และต่อมาทางราชการได้ยกฐานะบ้านนาโพธิ์ขึ้นเป็นต�ำบล นาโพธิ์ ต่อมา หมู่ท่ี 6 บ้านนางามซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของต�ำบลไร่ใต้ได้ก็ขอแยกมาขึ้นอยู่กับ ต�ำบลนาโพธิ์

นายลอง บุ ญ เถิ ง

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ ตั้งอยู่ที่ ถนน รพช. บ้านนาโพธิ์ หมู่ 1 ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดย ต�ำบลนาโพธิ์ในปัจจุบัน มีหมู่บ้านในความรับ ผิดชอบทั้งหมด จ�ำนวน 11 หมู่บ้าน มีพื้นที่ 71.21 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 44,045 ไร่ มีจํานวนประชากร จากข้อมูลสํานักทะเบียน ราษฎร์ ข องอํ า เภอพิ บู ล มั ง สาหาร พบว่ า ณ เดือนมกราคม พ.ศ. 2559 ของตําบลนาโพธิ์ มีประชากร 8,359 คน จําแนกเป็นชาย 4,231 คน หญิง 4,128 คน และมีจํานวนครัวเรือน 2,539 ครัวเรือน ประชากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพท�ำนา เนื่องจากพื้นที่ของต�ำบลนาโพธิ์มี ความเหมาะสมในการท�ำการเกษตร

114

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 114

18/12/2563 11:39:51


WORK L IFE

พันธกิจ

การพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่มีความเข้มแข็ง โดยได้รับบริการสาธารณะ โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ จ� ำ เป็ น เพื่ อ รองรั บ การขยายตั ว ของชุ ม ชนและ เศรษฐกิจ, ส่งเสริมการศึกษาทุกระดับ, ส่งเสริมและเน้นการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชน และอนุรักษ์ประเพณีท้องถิ่นไม่ให้สูญหาย

จุดมุ่งหมายและภารกิจ

พัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานให้สมบูรณ์ตามความเหมาะสมของ ชุมชน, พัฒนาทางด้านการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่ า งสู ง สุ ด , พั ฒ นาสภาพสิ่ ง แวดล้ อ มและความเป็ น อยู ่ ข องชุ ม ชนให้ ทัดเทียมมาตรฐานที่ควรจะเป็น, พัฒนาทางด้านสาธารณสุข เน้นทางด้าน การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพและบริการผู้เจ็บป่วย, พัฒนาทาง ด้านสังคม ให้เกิดความสงบ ปลอดภัย รวมถึงพัฒนาสังคมให้เป็นสังคม แห่งศีลธรรม จริยธรรมและลดปัญหายาเสพติด, พัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความยั่งยืนแก่เศรษฐกิจชุมชน, พัฒนางานของเทศบาลให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตาม ค�ำขวัญของเทศบาลว่า “บริการประชาชนคืองานของเรา” โดยมีกิจกรรมในปีพ.ศ.2563 ดังนี้ 1. โครงการส่ ง เสริ ม ประเพณี ล อยกระทงต� ำ บลนาโพธิ์ ประจ� ำ ปีงบประมาณ 2563 2. โครงการฝึ ก อบรมเยาวชนสดใสห่ า งไกลยาเสพติ ด ประจ� ำ ปีงบประมาณ 2563

“บริการประชาชนคืองานของเรา”

ติดต่อ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34110 โทร. 045-384-027 ต่อ 102 www.naphopibun.go.th E-mail : palad@naphopibun.go.th UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 115

115

18/12/2563 11:39:54


กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

WO R K LI FE

ท่องเที่ยวทางธรรมบ้านนาโพธิ์

วัดอรุณวดี

ตัง้ อยูท่ เี่ ลขที่ 140 หมูท่ ี่ 2 บ้านนาโพธิ์ ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี วัดอรุณวดีก่อตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2467 มีเนื้อที่ทั้งหมด 40 ไร่ ปัจจุบันพระครูอรุณวิหารกิจ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดอรุณวดี ตั้งแต่วันที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 พระครูอรุณวิหารกิจ ก�ำเนิดเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2514 บ้านนาโพธิ์ ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอ พิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี โยมบิ ด า ชื่อนายประเสริฐ สาจันทร์ โยมมารดาชื่อ นางบุญมี ประสานพิ ม พ์ ปั จ จุ บั น วั ด อรุ ณ วดี มี พ ระพุ ท ธมงคล ซึง่ เป็นที่เคารพนับถือของชาว ต�ำบลนาโพธิ์และเป็น แหล่งเรียนรู้ด้านศาสนา

วัดป่าโพธิ์สุวรรณ ตัง้ อยูท่ เี่ ลขที่ 99 หมูท่ ี่ 7 บ้านนาโพธิน์ อ้ ย ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี “วัดป่าโพธิ์สุวรรณ” ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2544 มีเนื้อที่ทั้งหมด 59 ไร่ 1 งาน ปัจจุบัน “พระครูสุวรรณโพธิเขต” ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่าโพธิส์ วุ รรณ ตัง้ แต่วนั ที่ 12 เดือนกันยายน พ.ศ. 2545 “พระครูสุวรรณโพธิเขต” ก�ำเนิดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2489 ปีจอ บ้านนาโพธิ์ ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โยมบิดาชื่อ นายสิ ง ห์ นารั ต น์ โยมมารดาชื่ อ นางปิ ่ น นารั ต น์ ปัจจุบันวัดป่าโพธิ์สุวรรณเป็นศาสนสถานที่ส�ำคัญของ ชาวต� ำ บลนาโพธิ์ เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ และเป็ น ศูนย์กลางของคนในชุมชน

116

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 116

18/12/2563 11:40:01


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

19/12/2563 10:33:47


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก “ชุ ม ชนสามั ค คี เกษตรอิ น ทรี ย ์ ถ ้ ว นหน้ า พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ ยั่ ง ยื น ” วิ สั ย ทั ศ น์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล 1 ใน 13 องค์การบริหารส่วน ต�ำบลของอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ได้รับการยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และที่ท�ำการ องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก ตั้งอยู่ที่บ้านดอนจิก หมู่ที่ 14 เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาด กลางขึ้นอยู่กับ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร อยู่ทางทิศใต้ ของอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ห่างจากอ�ำเภอ พิบูลมังสาหาร ประมาณ 10 กิโลเมตร บนถนนพิบูล บุณฑริก อยู่ห่างจากจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 55 กิโลเมตร

นายหนู สี สาสี ม า

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก

118

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 118

17/12/2563 15:56:26


WORK L IFE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 100.80 ตาราง กิโลเมตร (60,435 ไร่) แยกได้ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านดอนจิก หมู่ที่ 13 บ้านดอนใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านภูมะหรี่ หมู่ที่ 14 บ้านดอนจิก หมู่ที่ 3 บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 15 บ้านโคกสะอาด หมู่ที่ 4 บ้านบุ่งค�ำ หมู่ที่ 16 บ้านนาเจริญ หมู่ที่ 5 บ้านนาดี หมู่ที่ 17 บ้านสมบูรณ์สามัคคี หมู่ที่ 6 บ้านโนนล�ำดวน หมู่ที่ 18 บ้านม่วงงาม หมู่ที่ 7 บ้านไทรงาม หมู่ที่ 19 บ้านทุ่งแสงตะวัน หมู่ที่ 8 บ้านม่วงฮี หมู่ที่ 20 บ้านโนนเจริญ หมู่ที่ 9 บ้านห้วยแดง หมู่ที่ 21 บ้านใหม่ผาสุข หมู่ที่ 10 บ้านแก่งยาง หมู่ที่ 22 บ้านแก่งเจริญสุข หมู่ที่ 11 บ้านม่วงแมด หมู่ที่ 23 บ้านทุ่งเทวา หมู่ที่ 12 บ้านแสง

โครงการเกษตรอินทรย์

อาณาเขต

องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลดอนจิ ก มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ กั บ องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ต่างๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลกุดชมภู, ต�ำบลโพธิ์ไทร และต�ำบลคันไร่ อ�ำเภอสิรินธร ทิศใต้ ติดต่อกับ ต�ำบลโนนกลาง, ต�ำบลอ่างศิลา และต�ำบลหนองบัวฮี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลฝางค�ำ และต�ำบลคันไร่ อ�ำเภอสิรินธร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�ำบลหนองบัวฮี, ต�ำบลนาโพธิ์, ต�ำบลโพธิ์ไทร และต�ำบลไร่ใต้

โครงการสัตว์ปลอดโรค คนปลอดภัยจากโรคพิษสุนัขบ้า

สินค้า OTOP ของต�ำบลดอนจิก ปรับปรุงซ่อมแซมถนน

ร่วมสืบสานอนุรักษ์ผ้าไทย

ประชุมสภา

มอบบ้านพักอาศัยให้ผู้ยากไร้ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 119

119

17/12/2563 15:56:30


WO R K LI FE

วัดแก่งเจริญสุข

ตั้งอยู่ หมู่ที่ 22 ต�ำบลดอนจิก อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

แก่งล�ำดวน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก 120

.

3

เลขที่ 342 หมู่ที่ 14 อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี 34110 เว็บไซค์ : www.Donjik.go.th, เฟสบุ๊ส : องค์การบริหารส่วนต�ำบลดอนจิก หมายเลขโทรศัพท์ : 045-959-675 แฟกซ์ : 045-959-741 E-mail:Donjik๒๓@hotmail.com

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 120

17/12/2563 15:56:34


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

121

19/12/2563 10:34:03


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวฮี “หนองบั ว ฮี เ ข้ ม แข็ ง ร่ ว มแรงพั ฒ นา ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต สร้ า งเศรษฐกิ จ มั่ น คง ด� ำ รงไว้ ซึ่ ง วั ฒ นธรรม” วิ สั ย ทั ศ น์

โดยแบ่งเป็นพื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 1,690 ไร่ พื้นที่ท� ำการเกษตรประมาณ 38,059 ไร่ มีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขต อบต. เต็มทั้งหมู่บ้าน 16 หมู่บ้าน มีประชากรจากข้อมูลจากฝ่ายทะเบียน ราษฎร์อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร เดือน มิถุนายน พ.ศ.2563 เป็นชาย 5,308 คน เป็นหญิง 5,249 คน รวมทั้งหมด 10,557 คน มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ ดั ง นี้ ทิ ศ เหนื อ ติ ด กั บ บ้ า นม่ ว งฮี ต� ำ บลดอนจิ ก อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร ทิศใต้ ติดต่อกับบ้านโนนเค็ง ต�ำบลกุดประทาย อ�ำเภอเดชอุดม ทิศตะวันออก ติดกับบ้านโนนโพธิ์ ต� ำ บลอ่ า งศิ ล า อ� ำ เภอพิ บู ล มั ง สาหาร และ ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด กั บ บ้ า นโนนสวาง ต� ำ บลนาโพธิ์ อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร

ภูมิประเทศ

พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเหมาะแก่การท�ำการเกษตร ดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายและ บางส่วนหน้าดินลูกรัง ป่าไม้ธรรมชาติหลากหลายสายพันธุ์ ทิศตะวันออกของต�ำบลมีแม่น�้ำไหลผ่าน 1 สาย คือ ล�ำห้วยกว้าง

ทรัพยากรธรรมชาติ

นายผดุ ง ค�ำ มา

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวฮี

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวฮี ตั้งอยู่ ทางทิศใต้อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ซึ่งอยู่ห่างจาก ตัวอ�ำเภอพิบูลมังสาหาร ประมาณ 16 กิโลเมตร มีเนื้อที่โดยประมาณ 96 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 39,757 ไร่

122

.

3

ป่าไม้ธรรมชาติในเขตต�ำบลหนองบัวฮียังมีความอุดมสมบูรณ์ ส่วนมากเป็นป่าสะเบาะตามหัวไร่ ปลายนาและเป็นป่าตามที่ดินสาธารณะประโยชน์ มีป่าชุมชนที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวฮี ได้อนุรักษ์ไว้ 2 แห่งคือ 1. วัดป่านาหว้า บ้านนาหว้า หมู่ที่ 15 เนื้อที่ประมาณ 40 ไร่ 2. ที่พักสงฆ์หนองบัวฮี บ้านหนองบัวฮี หมู่ที่ 2 เนื้อที่ประมาณ 50 ไร่

สภาพทางเศรษฐกิจ

ราษฎรของต�ำบลหนองบัวฮีส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะการท�ำนา การปลูก ผักสวนครัว การเลี้ยงสัตว์ไว้ใช้งานและเพื่อบริโภค รองลงมาคือ อาชีพรับจ้าง

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 122

18/12/2563 17:01:03


WORK L IFE

การท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม 3 แห่ง คือ 1. โบสถ์โบราณวัดบ้านบัวแดง ที่บ้านบัวแดง หมู่ที่ 5 2. ศาลาโบสถ์วัดป่าบ้านนาหว้า หมู่ที่ 15 3. หลวงปู่แดง วัดสว่างวงศ์ บ้านหนองบัวฮี

โบสถ์โบราณ บ้านหินลาด บ้านบัวแดง

ศาลาโบสถ์วัดป่าบ้านนาหว้า

พระอุปัชฌายะแดง วุฒิธมฺโม วัดสว่างวงศ์ บ้านหนองบัวฮี UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 123

123

18/12/2563 17:01:09


WO R K LI FE

สินค้าและบริการ OTOP

1.กลุ่มจักสาน บ้านดอนงัว ม.8 สนใจสินค้า ติดต่อคุณหนูบ่าย 088-0820438 2.กลุ่มทอผ้าบ้านดูอึ่ง ม.6 สนใจสินค้า ติดต่อคุณอั้ว 080-5558930

ศูนย์การเรียนรู้การท่องเที่ยวเชิงเกษตร

เฮือนฮ่วมแฮง บ้านหนองบัวฮี หมู่ที่ 2 ฝึกอบรมฝึกอาชีพ พร้อมอาหารที่พัก บริการครบครัน ติดต่อคุณอัมพร วาภพ :083-1019282

เฮือนฮ่วมแฮง บ้านหนองบัวฮี

ติดต่อ 124

.

3

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบัวฮี อ�ำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี รหัสไปรษณีย์ 34110 โทร. 045-429305 โทรสาร 045-429306 www.nongbuahi.go.th E-mail : nongbuahi.ubon@gmail.com

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 124

18/12/2563 17:01:19


บ้านนาคาเฟ่ Baan Na Cafe

คาเฟ่ที่น�ำเสนอวิถีชีวิตชาวอีสานผ่านเมนูและวัตถุดิบ ท้องถิ่น โดยดัดแปลงออกมาให้เป็นเมนูอาหารที่ทาน ง่ายให้ทุกคนได้สัมผัสความเป็นอีสานแท้ๆ ในร้านมีทั้ง โซนบ้านต้นไม้,โซนทุ่งนา และโซนห้องแอร์ ใครอยาก จะชิลดื่มด�่ำกับบรรยากาศแบบไหนเลือกได้ตามชอบ เลยจ้า ชุดปลานึ่งบ้านนา ปลานิลนึ่งสมุนไพรตัวโตๆ เสิร์ฟพร้อมจิ้มแจ่ว ข้าวเหนียวอัญชัน และข้าวเหนียว น�ำ้ ฟักข้าว ชุดหมูหมักปลาร้า หมูสามชั้นหมักปลาร้าหอมๆ ทอดกรอบ ทานคู่ข้าวเหนียวอัญชัน ชุดข้าวบ้านนา ในเซตจะมีหมูฝอย หมูแดดเดียว ส้มหมู ที่นำ� ไปห่อใบตองและจี่บนไฟ พร้อมแจ่วปลาร้า ชุดข้าวปูนา ปูนาทอดกรอบและจี่กระดอง (จี่กระดอง หรือ อ่องปู ทางอุบลจะเรียกจี่กระดอง) คือการน�ำมันปูมาปรุงรส และน�ำไปย่างไฟ ทานคู่กับ ป่นปูและแจ่วพริกสด

Baan Na Cafe

อ.วารินช�ำราบ จ.อุบลราชธานี เปิดทุกวันตั้งแต่เวลา 9:00-18:00 น. 08-0419-8491


WO R K LI FE

เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ “วาริ น เมื อ งน่ า อยู ่ ผู ้ ค นน่ า รั ก และสุ ข ใจ”

บ่อน�้ำโจ้ก แหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองวารินช�ำราบ

นายจี ระชั ย ไกรกั งวาร นายกเทศมนตรีเมืองวารินช�ำราบ

เทศบาลเมื อ งวาริ น ช� ำ ราบ เดิ ม ชื่ อ ว่ า “บ้านค�ำน�้ำแซบ” ยกฐานะจากเทศบาลต�ำบล ขึ้นเป็น “เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ” ตามการ ประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษาลงวั น ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2538 ปัจจุบนั มีพนื้ ที่ 12.9 ตาราง กิโลเมตร มีชมุ ชนในเขตเทศบาล ทัง้ สิน้ 28 ชุมชน ดวงตราสัญลักษณ์เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ เป็นรูปพระแม่ธรณีหลัง่ น�ำ้ สังข์ หมายถึง มีนำ้� ไหล ตลอดปีไม่ขาดสาย เนื่องจากในเขตเทศบาล เมืองวารินช�ำราบมีแหล่งน�้ำชื่อ “ล�ำค�ำน�้ำแซบ” ไหลผ่านและมี “น�้ำโจ้ก” ที่มีน�้ำซับไหลซึมอยู่ ตลอดทั้งปี

เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ มีแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งชื่อว่า “น�้ำโจ้ก” ซึ่งเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติมีน�้ำไหลรินตลอดทั้งปี ชาวบ้านได้ตั้งชื่อว่าบ่อน�้ำโจ้ก ตามเสียงน�้ำที่ไหลดังโจ้กๆ จากค�ำบอกเล่าของชาวบ้าน ว่ากันว่า แหล่งน�้ำโจ้กนี้ ในช่วงสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา ได้ มี ท หารญี่ ปุ ่ น ออกลาดตระเวนหาแหล่ ง น�้ ำ จนมาพบน�้ ำ ซั บ (น�้ ำ ที่ ผุ ด ออกมาจากผิ ว ดิ น ) ณ บริเวณบ้านค�ำน�้ำแซบ ต่อมาชาวบ้านที่อยู่ในละแวกนั้นจึงได้มาใช้แหล่งน�้ำนี้ในการอุปโภค บริโภค จนกระทั่งในปี พ.ศ.2530 ทางหน่วยงานส่วนท้องถิ่น ได้ท�ำการบูรณะปรับปรุงบ่อ น�ำ้ โจ้กใหม่ เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในวโรกาสทีท่ รงมีพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ และนับจากนั้นเป็นต้นมาจึงได้มีการน�ำน�้ำจาก แหล่งน�้ำโจ้ก ไปใช้ประกอบพระราชพิธีส�ำคัญต่างๆ และในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 แหล่งน�้ำโจ้กได้รับการคัดเลือกให้เป็น 1 ใน แหล่งน�้ำศักดิ์สิทธิ์ของจังหวัดอุบลราชธานี จากแหล่ง น�้ำศักดิ์สิทธิ์ 108 แห่งทั่วประเทศ เพื่อใช้ประกอบ พิ ธี พ ลี ก รรมตั ก น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ จั ด ท� ำ น�้ ำ อภิ เ ษกใน งานพระราชพิ ธี บ รมราชาภิ เ ษก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10

หลอมใจไทวาริน พญาเทียน ความภาคภูมิใจของชาววารินช�ำราบ

ในปี พ.ศ.2557 วัดผาสุการาม ร่วมกับหน่วยงานทุกภาคส่วนและประชาชนชาวอ�ำเภอ วารินช�ำราบ ได้รวมใจกันสร้าง “พญาเทียน” ต้นเทียนประเภทแกะสลักขนาดใหญ่ ที่มีความ สูงกว่า 5 เมตร ด้วยมีศรัทธาที่จะสร้างต้นเทียนพรรษาที่มีขนาดใหญ่ สวยงามกว่าต้นเทียนใดๆ ที่เคยสร้างมา เพื่อเป็นความภาคภูมิใจของชาววารินช�ำราบ และได้ส่งเข้าร่วมการประกวดใน งานประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษาจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี เรื่ อ ยมาซึ่ ง “พญาเที ย น” ของคุ ้ ม วัดผาสุการาม อ�ำเภอวารินช�ำราบ ได้รับรางวัลชนะเลิศถ้วยรางวัลพระราชทานจาก สมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานประเพณี แห่เทียนเข้าพรรษาจังหวัดอุบลราชธานี ประจ�ำปี 2562 ที่ผ่านมา 126

1

.

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 126

18/12/2563 17:50:33


สั ย ทั ศ น์ (Vision)

WORK L IFE

เทศบาลต�ำบลบุ่งไหม นายอนั น ต์ ค�ำริ กาบุ ต ร นายกเทศมนตรีต�ำบลบุ่งไหม

เทศบาลต�ำบลบุ่งไหม ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตําบล บุง่ ไหม อําเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี โทรศั พ ท์ : 045-953384, 045-953382 อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอวารินช�ำราบ ประมาณ 9 กิ โ ลเมตร ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ประมาณ 15 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 630 กิ โ ลเมตร มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 23,066 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา คิดเป็น 39.30 ตารางกิ โ ลเมตร มี อ าณาเขต ทิ ศ เหนื อ จด แม่น�้ำมูล ทิศใต้ ติดต่อกับ เขตทหาร มทบ.22 และพื้ น ที่ ต� ำ บลค� ำ ขวาง ทิ ศ ตะวั น ออก เทศบาลต�ำบลท่าช้าง และอ�ำเภอสว่างวีระวงศ์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ เขตทหาร มทบ.22 และ เทศบาลต�ำบลแสนสุข เทศบาลเมืองวารินช�ำราบ มีหมู่บ้านในเขตปกครอง ทั้งหมด 12 หมู่บ้าน เต็มส่วนทั้ง 12 หมู่บ้าน และมีลักษณะภูมิเทศ โดยทั่วไปของตําบลบุ่งไหมเป็นที่ราบลุ่มตั้งอยู่ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างเป็นพื้นที่ ส�ำหรับที่อยู่อาศัย

พิธีรับมอบพระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

กีฬาต�ำบลบุ่งไหม

ลอยกระทง

บุญบั้งไฟ 2 ปีมีหนึ่งครั้ง

งานแข่งเรือหาปลา

งานวันผู้สูงอายุ

ผลิตภัณฑ์ ปลาส้ม

ตะกร้าสาน เส้นพลาสติก

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ต�ำบลบุ่งไหม อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ย ส้ ม ปลาจี น ,ปลามั น ,ปลาตะเพี ย น,แหนมหมู , แหนมปลา,หม�่ ำ เนื้ อ , หม�่ำขี้ปลา,ส้มไข่ปลา,ส้มปลาสร้อย โทร : 093-5725740 , 061-5977820 ตะกร้าสาน เส้นพลาสติก ที่ตั้งอยู่ ม.6 บ้านค�ำกลาง ต�ำบลบุ่งไหม อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัด อุบลราชธานี โทร : 080-8944695

น�้ำตกผาแหงน

แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ น�้ำตกผาแหงน บ้านราชธานีอโศก ต�ำบลบุ่งไหม อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี กิจกรรมและประเพณี งานบุญบั้งไฟ, งานลอยกระทง หมู่ 1 บ้านวังกางฮุง และหมู่ 3 บ้านกุดระงุม สับเปลี่ยนแต่ละปี, งานแข่งขันเรือหาปลา หมู่ที่ 8 บ้านท่ากกเสียว, วันที่ 13 เมษายน ทุกๆ ปีเป็นงานวันผู้สูงอายุ UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 127

127

18/12/2563 16:37:10


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน “อบต.โนนโหนน เป็ น องค์ ก รแห่ ง การบริ ก ารตอบสนองเจตนารมณ์ การกระจายอ� ำ นาจสู ่ ท ้ อ งถิ่ น ” วิ สั ย ทั ศ น์

เขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน แบ่งเป็นจ�ำนวน 12 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านโนนโหนน หมูท่ ี่ 2 บ้านนาโหนนเหนือ หมูท่ ี่ 3 บ้านคอนสาย หมูท่ ี่ 4 บ้านหนองคูเหนือ หมูท่ ี่ 5 บ้านนาโหนนน้อย หมู่ที่ 6 บ้านนาโหนนใต้ หมู่ที่ 7 บ้านหนองคูออก หมู่ที่ 8 บ้านหนองคูตก หมู่ที่ 9 บ้านหนองคูใต้ หมู่ที่ 10 บ้านหนองขาม หมู่ที่ 11 บ้านโนนโหนนตก และ หมู่ที่ 12 บ้านใหม่รุ่งเรือง มีประชากร รวมทั้งสิ้น 6,655 คน เป็นชาย 3,232 คน เป็นหญิง 3,423 คน จ�ำนวนบ้านรวม 1,865 หลังคาเรือน ราษฎรส่วนใหญ่มีอาชีพท�ำการเกษตร ท�ำนาข้าว ท�ำสวนผักผลไม้ สวนยางพารา ท�ำไร่มัน ส�ำปะหลัง ปลูกข้าวโพด เพาะเห็ดฟาง เห็ดขอนขาว เพาะไม้ดอกไม้ประดับ เช่น เฟื่องฟ้า ทองอุไร เป็นต้น รองลงมาเป็นอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ ไม้กวาดจากทางมะพร้าว, สานหมวก ใบตาล, เย็บผ้า เป็นต้น และมีอาชีพค้าขาย รวมไปถึงอาชีพรับจ้าง ได้แก่ รับจ้างท�ำงานในโรงงาน อุตสาหกรรม และรับจ้างทั่วไป ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 7 แห่ง คือ 1.วัดบูรพาราม 2.วัดศิริวัฒนาราม 3.วัดบ้านคอนสาย 4.วัดป่าบ้านหนองคู 5.วัดบ้านนาโหนนน้อย 6. วัดบ้านหนองคู 7.วัดศรีบุญเรือง

นายวิ เชี ย ร จั น ทุ ม า

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน ตั้งอยู่ หมูท่ ี่ 2 ถนนวารินฯ-กันทรลักษ์ ต�ำบลโนนโหนน อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ปัจจุบนั นายวิเชียร จันทุมา ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน ต�ำบลโนนโหนน ตัง้ อยูใ่ นเขตอ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ระยะทางห่างจากอ�ำเภอ วารินช�ำราบประมาณ 8 กิโลเมตร และห่างจาก ที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ไปทาง ทิศใต้ ประมาณ 23 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 23,156 ไร่ มี พื้ น ที่ ป ่ า ชุ ม ชนในที่ ส าธารณะ ประโยชน์ เรียกว่า “โนน” ได้แก่ โนนเอียด และ โนนทุ่ง มีป่าช้าสาธารณะ และดอนปู่ตา ซึ่ง ราษฎรใช้เป็นพืน้ ทีเ่ ลีย้ งสัตว์และเก็บผัก เก็บเห็ด เก็บสมุนไพรตามธรรมชาติบางชนิด 128

.

3

การท่องเที่ยว

- สักการบูชาหลวงพ่อโตโคตะมะ วัดศรีบญุ เรือง บ้านหนองขาม และ วัดบูรพาราม บ้านโนนโหนน และท่องเที่ยว วัดป่าพุทธโพธิญาณ (สาขาวัดหนองป่าพง) - ป่าชุมชนบ้านคอนสาย ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีต้นสนสองใบเกิดขึ้นในพื้นที่ป่าชุมชน - กุดโง บ้านคอนสาย หมู่ที่ 3 เป็นแหล่งน�้ำตามธรรมชาติ มีนกมาอาศัยอยู่ตามฤดูกาล - ป่าโนนทุ่ง หมู่ที่ 2 ป่าไม้ที่มีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ ใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ - ป่าอนุรักษ์ป่าชุมชนโนนเอียด มีพื้นที่ 249 ไร่ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ในโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 128

18/12/2563 16:46:16


WORK L IFE

กิจกรรมเด่นขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน

1.โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “การรักในทรัพยากร คือ การรักชาติรักแผ่นดิน รักที่เป็นสมบัติของ ตัวเอง การที่จะท�ำให้เขารักษาประเทศชาติหรือรักษาสมบัติของเขานั้น ท�ำได้โดยก่อให้เกิดความรักความเข้าใจ ถ้าใครไม่รู้จักกัน เราก็ไม่มีความ สัมพันธ์ ไม่มีความผูกพันต่อกัน แต่ว่าให้รู้จักสิ่งนั้นว่าคืออะไร หรือว่า ท�ำงาน ก็จะรู้สึกชื่นชม และรักหวงแหนสิ่งนั้นว่าเป็นของตน และจะท�ำให้ เกิดประโยชน์ก็ได้” จากพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งด�ำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในครั้งนั้น องค์การบริหารส่วนต�ำบล โนนโหนน เห็นพ้องต้องกันในการร่วมสนองพระราชด�ำริ ในโครงการ อพ.สธ. โดยด�ำเนินกิจกรรมตามศักยภาพความพร้อมและเพื่อจัดตั้ง “ศูนย์ อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นต�ำบลโนนโหนน” เพื่อเป็นฐาน ทรัพยากรในการพึ่งตนเองสู่เศรษฐกิจพอเพียง เกิดประโยชน์แท้แก่ชุมชน ต�ำบลโนนโหนน และประเทศชาติต่อไปในอนาคตเป็นการปลูกจิตส�ำนึก ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่น มีฐานข้อมูลและ เป็นแหล่งเรียนรู้ทรัพยากรท้องถิ่น

2. โครงการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ต�ำบลโนนโหนนมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ประกอบไปด้วยหมู่บ้าน 12 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 6,625 คน ซึ่งในจ�ำนวนนี้เป็นประชากรสูง อายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป 1,132 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 17.08 ของ ประชากรทั้งหมด และมีแนวโน้มจะมีจ�ำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น และ ก� ำ ลั ง จะก้ า วเข้ า สู ่ สั ง คมสู ง อายุ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ เ มื่ อ ประชากรผู ้ สู ง อายุ มี สัดส่วนถึงร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมด เพื่อเป็นการสร้างการรองรับ สังคมสูงวัยให้กับชุมชน องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนโหนน จึงจัดท�ำ โครงการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ครอบคลุม 5 มิติ ประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาพ ด้าน สังคม และจิตใจ กิจกรรมที่ด�ำเนินการ ได้แก่ การออมต้นไม้ การออม 3 วัย จัดตั้งวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมการนวดแผนไทย การจัดตั้งจิตอาสา ช่างชุมชน และมีการขยายผลในการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในชุมชนเพื่อรองรับ สังคมสูงวัย ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

3. การบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือ พื้นที่ เป็นการขับเคลื่อนงานบริบาลในชุมชนและกองทุนร่วมกับ สปสช. เขตสุขภาพที่ 10 โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ ผู้สูงอายุได้รับการดูแล อย่างทัว่ ถึงและยัง่ ยืน โดยกองทุนระบบการดูแลระยะยาว ด้านสาธารณสุข ส�ำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC) โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลนาโหนนน้อย ต�ำบลโนนโหนน อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 129

129

18/12/2563 16:46:20


WO R K LI FE

ผลิตภัณฑ์ชุมชน ต�ำบลโนนโหนน

กลุ่มหมวกจักสาน

หมวกใบตาลหลากทรง บ้านหนองคู เป็นผลิตภัณฑ์ของผู้สงู อายุ และชาวบ้านหนองคู จ�ำหน่าย ในราคาส่งและปลีก ติดต่อได้ที่ นางมะลิ พรหมบุตร โทรศัพท์ 0868677416 กลุ่มไม้กวาด

ไม้กวาดทางมะพร้าว บ้านหนองขาม

ผู้ติดต่อประสานงาน นายนพวิทย์ ทีค�ำแก้ว โทร. 0872443119

สินค้าจักสาน

ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน มีร้านจ�ำหน่ายสินค้าเครื่องจักสาน ริมถนน ทางหลวงหมายเลข 2178 บ้านนาโหนนน้อย กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ

ไม้ดอกไม้ประดับ

จ�ำหน่ายโดย กลุม่ วิสาหกิจชุมชนไม้ดอกไม้ประดับบ้านหนองคู มีให้เลือกชม ประมาณ 30 สวน ไม้ดอกไม้ประดับหลากหลายชนิด เช่น เฟือ่ งฟ้า ทองอุไร ติดต่อได้ที่ นายระพิน โคตรธารินทร์ ประธานกลุม่ โทรศัพท์ 094-2611991 130

.

3

ฟาร์มเห็ดบ้านหนองคู มีเห็ดหลายชนิด ได้แก่ เห็ดฟาง เห็ดขอน เห็ดนางฟ้า

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 130

18/12/2563 16:46:28


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อย “มุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาบ้ า นเกิ ด จริ ง ใจ โปร่ ง ใส พึ่ ง พาได้ ” วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการพั ฒ นาองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลค้ อ น้ อ ย

องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อย ตั้งอยู่ บ้านหินแห่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลค้อน้อย อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี มีระยะห่างจากที่ท�ำการอ�ำเภอส�ำโรงประมาณ 14 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลาง จังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 53 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 52 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 32,500 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อ ต�ำบลขามป้อม, ทิศใต้ ติดต่อ ต�ำบลหนองกุง อ�ำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ, ทิศตะวันออก ติดต่อ ต�ำบลโคกสว่าง, ทิศตะวันตก ติดต่อ ต�ำบลหนองไฮ องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อย มีเขตการปกครองในความรับผิดชอบ 17 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านอาเลา หมู่ที่ 2 บ้านทรายโหง่น(ทรายทอง) หมู่ที่ 3 บ้านหินแห่ หมู่ที่ 4 บ้านเหล่ากลาง หมู่ที่ 5 บ้านโนนสูง หมู่ที่ 6 บ้านค้อน้อย หมู่ที่ 7 บ้านสร้างแก้ว หมู่ที่ 8 บ้านค�ำสว่าง หมู่ที่ 9 บ้านโคกสว่าง หมู่ที่ 10 บ้านกระแอกน้อย หมู่ที่ 11 บ้านโนนหล่อง หมู่ที่ 12 บ้านหนองไฮน้อย หมู่ที่ 13 บ้านหนองแวง หมู่ที่ 14 บ้านส�ำโรงน้อย หมู่ที่ 15 บ้านค้อน้อยเหนือ หมู่ที่ 16 บ้านหินเจริญ และหมู่ที่ 17 บ้านพรสวรรค์

ประชากร

นายสวั สดิ์ สร้ อยมาลุ น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อย

มีประชากรชาย จ�ำนวน 3,943 คน ประชากรหญิง จ�ำนวน 3,942 คน รวมประชากรทั้งหมด 7,885 คน และ มีจ�ำนวนหลังคาเรือน 1,952 หลังคาเรือน (ข้อมูลจากฝ่ายทะเบียนและบัตร อ�ำเภอส�ำโรง ณ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563)

นายอัครวิ ทย์ เดชารั ตนชาติ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อย

132

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 132

18/12/2563 15:32:00


WORK L IFE

ภูมิประเทศ พื้นที่ทางกายภาพส่วนใหญ่เป็นที่ราบ มีลักษณะเป็นดิน ร่วนปนทราย เหมาะแก่การเกษตรและเลี้ยงสัตว์ มีแหล่งน�้ำเล็กๆ ทั้งที่ เป็นสาธารณะประโยชน์และส่วนตัวกระจัดกระจายอยู่เกือบตลอด ภูมิอากาศ มีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล 3 ฤดู ลักษณะของดิน โดยทั่วไปเป็นดินร่วนปนทราย ลั ก ษณะของแหล่ ง น�้ ำ มี แ หล่ ง น�้ ำ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง น�้ ำ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตาม ธรรมชาติ ซึง่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลค้อน้อยได้ดำ� เนินการปรับปรุงก่อสร้าง ขึ้นใหม่เพื่อเพียงพอกับการอุปโภค-บริโภค และเพื่อใช้ในการเกษตรแก่ ประชาชน ลักษณะของไม้และป่าไม้ ในเขตต�ำบลค้อน้อยไม่มีป่าไม้ แต่มีต้นไม้ ที่ชาวบ้านปลูกลักษณะของไม้เป็นไม้ยืนต้น และไม้ผลัดใบ

พันธกิจการพัฒนา

พันธกิจที่ 1 พัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานให้มมี าตรฐาน มีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชนอย่างยั่งยืน พันธกิจที่ 2 พัฒนาเศรษฐกิจของท้องถิ่นให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่างยั่งยืน พันธกิจที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีอย่าง ยั่งยืน พันธกิจที่ 4 จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็นระบบ และใช้การได้อย่างยั่งยืน พันธกิจที่ 5 พัฒนาระบบให้บริการประชาชนให้มีมาตรฐาน สร้าง ระบบบริหารแบบมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย สร้างองค์กรที่เข้มแข็งเพื่อการ พัฒนาอย่างยั่งยืน พันธกิจที่ 6 จัดระเบียบชุมชนให้ชุมชนในท้องถิ่นสามารถอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุขอย่างยั่งยืน

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 133

133

18/12/2563 15:32:04


กิจกรรมงานประเพณีสงกรานต์

WO R K LI FE

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา

1. มีการคมนาคมสะดวก 2. มีระบบสาธารณูปโภค เพียงพอและทั่วถึง 3. การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพตามแนวธรรมาภิบาล 4. ประชาชนมีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ 5. ส่งเสริมการศึกษา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี 6. ประชาชนมีสุขภาพดี 7. จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้ได้อย่างยั่งยืน 8. ชุมชนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน 9. ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุได้รับการดูแล 10. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพในการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น

ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม

การนับถือศาสนาในพืน้ ทีต่ ำ� บลค้อน้อย มีผทู้ นี่ บั ถือศาสนาพุทธ คิดเป็น ร้อยละ 100 โดยมีสถาบันและ องค์กรทางศาสนาที่ประชาชนยึดถือเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ดังนี้ ส�ำนักสงฆ์ 2 แห่ง คือ 1. ส�ำนักสงฆ์โคกสว่าง 2. ส�ำนักสงฆ์หนองไฮน้อย วัด 11 แห่ง ดังนี้ 1.วัดบ้านอาเลา 2.บ้านทรายทอง 3.วัดบ้านหินแห่ 4.วัดบ้านเหล่ากลาง 5.วัดโนนสูงสุทธาวาส 6.วัดบ้านค้อน้อย 7.วัดป่าประชา สามัคคี 8.วัดบ้านสร้างแก้ว 9.วัดบ้านค�ำสว่าง 10.วัดบ้านกระแอกน้อย 11.วัดโนนหล่อง

กิจกรรมส�ำคัญของส�ำนักงาน กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่ กิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมวันเด็ก

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น

ประชาชนในเขตต�ำบลค้อน้อยได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการทอเสื่อเตย วิธีการท�ำไม้กวาดดอกหญ้า และไม้กวาดทางมะพร้าว

ภาษาถิ่น ภาษาอีสาน สินค้า OTOP ของต�ำบลค้อน้อย เสื่อเตย และ เสื่อเตยพับ ปอกหมอนท�ำจากเสื่อเตย

134

.

3

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 134

18/12/2563 15:32:04


UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 135

135

19/12/2563 10:34:22


WO R K LI FE

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น “ต� ำ บลน่ า อยู ่ เชิ ด ชู ภู มิ ป ั ญ ญา น� ำ พาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เคี ย งคู ่ คุ ณ ธรรม” วิ สั ย ทั ศ น์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี 34360 โทรศัพท์/โทรสาร 045-210834-6 Facebook : ประชาสัมพันธ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น อ.ส�ำโรง

ค่านิยม (Values)

ชาวโนนกาเล็นทุกคนคือคุณภาพ เราท�ำงานเป็นทีม รักกัน ช่วยเหลือกัน รักศักดิ์ศรีโนนกาเล็น

พันธกิจ (Mission)

นายวรพจน์ พรรณวิ ไ ล

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ อ�ำเภอส�ำโรง อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอส�ำโรง 3 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากจังหวัดอุบลราชธานี ประมาณ 30 กิโลเมตร อาณาเขต ติดต่อกัน ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลบอน ต�ำบลท่าลาด และต�ำบลห้วยขะยุง อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต�ำบลโนนกลาง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันออก มีอาณาเขต ติดต่อกับ ต�ำบลส�ำโรง อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต�ำบลบก อ�ำเภอโนนคูณ และต�ำบลหนองหัวช้าง อ�ำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ปัจจุบนั นายวรพจน์ พรรณวิไล ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล ,นายสมบัติ ลาธุลี รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล และ นายสงค์ ค�ำแสนราช รองนายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล 136

.

3

M 1 พัฒนาต�ำบลน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่ โดยสร้างสภาวะแวดล้อมที่ดี M 2 สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อต่อยอดการผลิต M 3 ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็น เป็นสุข” M 4 ปลูกฝังค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมในการท�ำงาน

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น (Goals)

G 1 ประชาชนมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ดี มีความสุข อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีเมืองและชุมชนน่าอยู่ G 2 ประชาชนใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และค�ำสอนตามหลักศาสนาในการด�ำรงชีพและการท�ำงาน G 3 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปราศจากความยากจน พอมี พอกิน พึ่งตนเองได้ G 4 ประชาชนได้รับบริการจากวัฒนธรรมและค่านิยมใหม่ในการบริการเพื่อประชาชน และมี ความศรัทธาต่อการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามหลักธรรมาภิบาล

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 136

18/12/2563 9:52:58


WORK L IFE

แนะน�ำที่เที่ยว

วัดป่าศรีมงคล (วัดป่าบ้านเปือย)

ตั้งอยู่ที่ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี ตาม ประวัตคิ วามเป็นมา หลวงปูส่ ี สิรญิ าโณ วัดป่าศรีมงคล (วัดป่าบ้านเปือย) ท่ า นเป็ น คนบ้ า นเปื อ ย ต� ำ บลโนนกาเล็ น อ� ำ เภอส� ำ โรง จั ง หวั ด อุบลราชธานี ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ. 2468 อุปสมบทที่วัดบ้านเปือย เมื่อ พ.ศ. 2488 โดยมีพระครูศรีสุนทรเป็นพระอุปัชฌาย์ ได้ฟังธรรมจาก พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภัทโท) เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2505 และ มาอยู ่ กั บ หลวงปู ่ ช าเมื่ อ ปี 2512 ท่ า นเป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ รุ ่ น แรกของ หลวงพ่ อ ชา สุ ภั ท โท และต่ อ มาเป็ น ประธานสงฆ์ วั ด ป่ า ศรี ม งคล (สาขาที่ 13) บ้านเปือย ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี ตั้งแต่ พ.ศ.2517 ถึงปัจจุบัน

OTOP ผลิตภัณฑ์ประจ�ำต�ำบล กลุ่มสตรีทอผ้าขิต หมอนขิต ผ้าลายกาบบัว ตั้งอยู่เลขที่ 32 หมู่ 7 บ้านโพนงาม ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มสตรีหมอนขิดบ้านโพนเมือง ตั้งอยู่เลขที่ 70/1 โพนเมือง หมู่ 8 ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี

กลุ่มแม่บ้านแปรรูปจิ้งหรีดทอง ตั้งอยู่เลขที่ 1 โปร่งค�ำ หมู่ 11 ต�ำบล โนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี กลุม่ แม่บา้ นเกษตรหมอนขิด ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 32 หมู ่ 7 ต� ำ บล โนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัด อุบลราชธานี กลุ่มเกษตรโพนงามสามัคคี ตั้งอยู่เลขที่ 11 โพนงาม หมู่ 7 ต�ำบล โนนกาเล็น อ�ำเภอส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มธรรมชาติรีไซเคิล ตั้งอยู่เลขที่ 206 โพนงาม หมู่ 7 ต�ำบลโนนกาเล็น อ�ำเภอ ส�ำโรง จังหวัดอุบลราชธานี

UBON RATCHATHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

3

.indd 137

137

18/12/2563 9:53:00


WO R K LI FE

กิจกรรมองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น

1. พิ ธี รั บ พระราชทานพระบรมฉายาลั ก ษณ์ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว

7. โครงการอบรมคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ส� ำ หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร ส.อบต. ข้าราชการ ลูกจ้าง ประจ�ำปี 2563 ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น ณ วัดน�้ำเที่ยง

8. ธนาคารขยะรีไซเคิล อบต.โนนกาเล็น กิจกรรมรับซือ้ ขยะ แต่ละหมูบ่ า้ น 2. โครงการฝึกอบรมชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติ ประจ�ำองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดอุบลราชธานีที่ อบต.ค้อน้อยและ อบต.โนนกาเล็น ระหว่างวันที่ 22 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2563 ณ กรมทหารพรานที่ 23 ค่ายสรรพสิทธิประสงค์

3. โครงการส่งเสริมอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2563 ณ กลุ่มแม่บ้านบ้านโพธิ์เมือง ต�ำบลนาแวง อ�ำเภอ เขมราฐ

4. โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยใน ชุมชน ประจ�ำปี 2563

5. โครงการอบรมด้านอาชีพ ประจ�ำปีงบประมาณ 2563

138

.

3

6. กีฬาต้านยาเสพติด อบต.โนนกาเล็น ประจ�ำปี 2563

9. โครงการคัดแยกขยะอันตราย ภัยร้ายท�ำลายสุขภาพ ประจ�ำปี พ.ศ. 2563

10. จุดตรวจ การควบคุมการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ณ จุดตรวจ บ้านแคน ต.ส�ำโรง อ.ส�ำโรง

11. โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ถึงแนวทางการควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออก

12. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อ โคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับ อสม.ในพื้นที่ต�ำบลโนนกาเล็น ณ ห้อง ประชุมองค์การบริหารส่วนต�ำบลโนนกาเล็น

SBL บันทึกประเทศไทย I อุบลราชธานี

.indd 138

18/12/2563 9:53:04


ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

Magazine

AD_

.indd 146

www.sbl.co.th

9/12/2562 14:33:51


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

WWW.SBL.CO.TH

.indd 140

19/12/2563 10:35:03


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.