Ayutthaya

Page 1


»¡Ë¹éÒã¹AD ÍԪԵѹ.pdf 1 9/7/2557 15:07:25

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD àºÕÂÃì·Ô¾Âì.pdf 1 8/7/2557 9:00:17

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD ÇÃóÀ¾.pdf 1 30/6/2557 8:03:09

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD ÁÔµ«Ù.pdf 1 3/7/2557 11:55:17

½†Ò¢ÒÂáÅÐÈٹ ºÃÔ¡ÒÃ

à» ´ºÃÔ¡Ò÷ءÇѹ

ÁÒ໚¹¤Ãͺ¤ÃÑÇÁÔµ«Ù¡ÑºàÃÒÊÔ¤Ð!

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ºÃÔÉÑ· ÁÔµ«ÙÍÂظÂÒ (ä·Â¸Ò´Ò) ¨íÒ¡Ñ´ Çѧ¹ŒÍÂ

035-215040 ÍÂظÂÒ

035-235015 ÊÒÂàÍà«ÕÂ

035-346888


AD ÍÒ»Ôâ¡é.pdf 1 30/6/2557 7:45:09

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

AAPICO HITECH PUBLIC COMPANY LIMITED

99 Moo 1, Hitech Industrial Estate Tambol Ban-Lane, Ampur Bang Pa-In, Ayuthaya 13160 THAILAND Tel : (66 35) 350880 Fax : (66 35) 350881 E-mail : aapico@aapico.com Website : www.aapico.com

AAPICO AMATA COMPANY LIMITED

700/483 Amata Nakorn Industrial Estate, Moo2, Tambol Ban-Kao, Ampur Panthong, Chonburi 20160 THAILAND Tel : 66(0) 38 717200 Fax : 66 (0) 38 717187

AAPICO FORGING PUBLIC COMPANY LIMITED Tel : 66(0) 38 213355-59 Fax : 66 (0) 38 213360

AAPICO PRECISION COMPANY LIMITED Tel : 66(0) 38 213355-59 Fax : 66 (0) 38 213360

AAPICO PLASTICS PUBLIC COMPANY LIMITED Tel : 66(0) 2 3153456 Fax : 66 (0) 2 3153334

AAPICO ITS COMPANY LIMITED

99 Moo 1, Hitech Industrial Estate Tambol Ban-Lane, Ampur Bang Pa-In, Ayuthaya 13160 THAILAND Tel : (66 35) 350880 Fax : (66 35) 350881 E-mail : aapico@aapico.com Website : www.aapico.com


p.006AD àÍçÁ.«Õ+·ÇÕ¼Å+¹Ôâ»Ã.pdf 1 7/7/2557 13:24:11

บริษัท นิโปร (ประเทศไทย) จํากัด

NIPRO (THAILAND) CORPORATION LIMITED

ประกอบกิจการผลิตเครื่องมือแพทย

C

M

Y

TEL.0-3520-1618-24 10/2 หมู 8 ต.บางนมโค อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110

ºÃÔÉÑ· ·ÇռżÅÔµÀѳ± ¨íÒ¡Ñ´

CM

MY

CY

CMY

K

ºÃÔÉÑ· àÍçÁ.«Õ.àÍÊ.ʵÕÅ ¨íÒ¡Ñ´ ( ÁËÒª¹ ) ໚¹¼ÙŒ¼ÅÔµâ¤Ã§ÊÌҧàËÅç¡

¢¹Ò´ãËÞ‹·Ñé§ã¹»ÃÐà·È áÅÐ µ‹Ò§»ÃÐà·ÈÁÕ¡íÒÅѧ¡ÒüÅÔµ »ÃÐÁÒ³ 4,000-5,000 µÑ¹ µ‹Íà´×͹ ÁÕ¨íҹǹ¾¹Ñ¡§Ò¹»ÃÐÁÒ³ 550 ¤¹»˜¨¨ØºÑ¹ÊÔ¹¤ŒÒÃŒÍÂÅÐ 90 Ê‹§ä»Âѧ»ÃÐà·ÈÞÕè»Ø†¹ â´ÂºÃÔÉÑ·Ï ä´ŒÃѺÁҵðҹ S Grade ¨Ò¡»ÃÐà·ÈÞÕè»Ø†¹, AISC , ISO 9001 : 2008, ISO / IEC 17025 : 2005, OHSAS 18001 : 2007 áÅÐ EN ISO 3834 Part2

70 Moo 2 Changyai Bangsai Ayutthaya 13290 Tel : 035-283191-4 , 035-372961-6 Fax : 035-372967 , 035-283314 Website : www.mcssteel.com E-mail : info@mcssteel.co.th


AD à¨ÕÂàÁé§ Ë¹éÒ7.pdf 1 30/6/2557 7:51:40

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


p.007AD à¤Ã×èͧËÍÁ.pdf 1 9/7/2557 14:56:07

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


E d i t o r ’s T a l k คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต, นิเวศน กันไทยราษฎร ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แชมประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพยเกิด ฝายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษศักดิ์ พรณัฐวิฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด ปณณศักดิ์ ศิลปรังสรรค กองบรรณาธิการ ชานันท หัสสรังสี, จุฑามาศ วองเลขา ชางภาพ กร พงศไพบูลยเวชย กราฟคดีไซน ศศิธร ดวงแสง, ชานันท หัสสรังสี ผูอํานวยการฝายขายโฆษณา กชกร รัฐวร ผูจัดการฝายโครงการ วิษณุ เกิดศิริ, เปรมยุดา ประพฤติธรรม ประสานงานภาครัฐ ชัชชัย สุโกสิ ฝายขาย ชนิกานต นาคสวัสดิ์ ฝาย IT และประสานงาน ชานันท หัสสรังสี, จุฑามาศ วองเลขา ฝายการเงิน-การบัญชี ดวงตา พิมลศิริ

นิตยสาร SBL เคยนําเสนอเรื่องราว ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปเมื่อชวง ตนป 2556 เมื่อเราไดหวนกลับมาเยี่ยม เยือนอยุธยาอีกครั้ง เรายิ่งพบวาจังหวัดนี้ ยังมีเรื่องราวนาสนใจอีกมากมาย ที่พรอม ใหคุณผูอานไดสัมผัส อาทิ ทานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี กับภารกิจสําคัญ ที่ ส อดรั บ กั บ นโยบายของ คสช.ท า น ผู  ว  า ฯ วิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง นําเสนอไอเดีย การชวยเหลือชาวนาอยางยั่งยืน พรอม ความพยายามทํ า ให ข  า ราชการเป น ที่ พึ่ ง ของประชาชนได โครงการพุ ท ธ อุทยานมหาราช อ.มหาราช ตนแบบการสรางสังคมอุดมคติ คุณูปการของ พระอุบาลี พระอริยสงฆผูเสียสละและอุทิศตนใหแกการเผยแผพระพุทธศาสนา ยังดินแดนตนกําเนิด เรื่องราวความเกงกลาของนายขนมตม นักมวยคาดเชือก แหงอโยธยา ที่ไปสรางเกียรติภูมิของแมไมมวยไทยและชนชาติไทยใจหาญให เปนที่ประจักษบนผืนแผนดินพมา กิจกรรม “วันเดียวเที่ยวอยุธยา” ณ อนุสรณ สถานฯ ทุง หันตรา ซึง่ นักทองเทีย่ วจะไดทงั้ ความสนุกสนาน ความรู และของทีร่ ะลึก ประทับใจเพียงหนึง่ เดียวติดมือกลับบาน และทีจ่ ะขาดไมไดคอื หนวยงานราชการ ตางๆ พรอมทัง้ องคกรปกครองทองถิน่ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึง่ เปนฟนเฟอง สําคัญในการขับเคลื่อนใหอยุธยาเจริญกาวหนา ตางพรอมใจกันนําเสนอผลการ ดําเนินงานที่โดดเดน และพรอมจะอาแขนรับการเขามาของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในไมชานี้ ทายนี้ กระผมในนามของนิตยสาร SBL ใครขอขอบพระคุณหนวยงาน หรือองคกรทั้งของภาครัฐและเอกชน ที่ใหการสนับสนุนการดําเนินงานดวยดีมา โดยตลอด และขอถือโอกาสนี้ กราบขออภัยหากมีสิ่งใดขาดตกบกพรอง และ ขอนอมรับคําติชมทุกประการครับ ดวยรักและขอบคุณจากใจ

บริษัท สมารท บิซิเนส ไลน จํากัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 เบอรโทร 02- 522-7171 www.smart-sbl.com

ติดตอคุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค โทรศัพท 08-1442-4445, 08-4874-3861 e-mail : supakit.s@live.com

(ศุภกิจ ศิลปรังสรรค) บรรณาธิการอํานวยการ


หจก.อู น.พุแคเจริญยนต บริการ ตอตัวถังรถบรรทุก - ดั้มพ ตอพวง รถทุกชนิด โดยชางผูชํานาญงาน ราคาเปนกันเอง หจก. อู น.พุแคเจริญยนต

53 หมู 10 ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี 18240 Tel : 036-369324, 036-230009 Phone : 081-3727336, 087-2406569 Fax : 036-369581 e-mail : n.pukae@hotmail.com

คุณคํานึง เกตุชีพ


Contents 98

146

170

ใตรมพระบารมี เสนทางพบปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เสนทางพบผูวาราชการจังหวัด เสนทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด เสนทางพบทองถิ่นจังหวัด เสนทางอนุรักษ เสนทางพบ สนง.เกษตร เสนทางพบ สนง.ทชจ. เสนทางพบ สนง.พัฒนาชุมชน เสนทางพบ สนง.ทองเที่ยวและกีฬา เสนทางพบ สนง.วัฒนธรรม เสนทางพบ สพป.อย. 1 เสนทางพบ สพป.อย. 2 รร.อนุบาลพระนครศรีอยุธยา วัดใหญชัยมงคล วัดพนัญเชิงฯ วัดทาการอง

58

174

90

158

90 18 23 31 43 52 58 66 68 70 72 74 78 82 87 90 94 96

96

98 102 106 110 116 118 122 124 126 128 130 132 135 136 138 140 142 145 146 152 155 156 158 160 162

พิพิธภัณฑพระอุบาลี วันเดียวเที่ยวอยุธยา รําลึกนายขนมตม นายก อบจ.สตรีดีเดน แผนที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อบต.บานปอม ทต.ทาหลวง อบต.โพธิ์เอน ทต.อรัญญิก อบต.หนองปลิง อบต.สนามชัย อบต.ตานิม ทต.ภาชี อบต.กระจิว ทต.อุทัย อบต.บานหีบ อบต.บานชาง อบต.หนองไมซุง พุทธอุทยานมหาราช อบต.บานใหม อบต.วังนอย ทต.ลําตาเสา อบต.พยอม ทต.ลาดบัวหลวง อบต.สิงหนาท

94 164 168 170 174 180 181 184

ทต.บานสราง ทต.บางกระสั้น อบต.บานโพ เสนทางพบเกษตรกรดีเดน เสนทางสุขภาพ เสนทางความงาม เสนทางสู AEC

31


AD Zojorushi.pdf 1 30/6/2557 8:10:26

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


AD ¢éÒǵÃҩѵÃ.pdf 1 24/6/2557 14:33:30

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


º·¤ÇÒÁ ¢éÒǵÃҩѵÃ.pdf 1 24/6/2557 14:32:52

¢ŒÒÇÊÕÊ´¨Ò¡µÃҩѵÃ... ·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹à¾×èͼٌºÃÔâÀ¤

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

“¢ŒÒǵÃҩѵÔ ¾ÅÔ¡â©Áǧ¡ÒâŒÒÇä·Â à» ´µÑÇ New Segment “¢ŒÒÇÊÕÊ´” à·Ã¹´ ãËÁ‹¢Í§¡ÒúÃÔâÀ¤¢ŒÒÇ â´ÂÂÖ´¤Í¹à«ç»µ “¢ŒÒÇÊÕÊ´ ¨Ò¡µÃҩѵà àª×èÍ㹤ÇÒÁÁÕªÕÇÔµ” ·ÕèÃѺ»ÃСѹ¤ÇÒÁÊ´ãËÁ‹ àËÁ×͹à¾Ôè§à¡ÕèÂÇ ¨Ò¡·Ø‹§¹Ò ÁÑè¹ã¨ã¹¤Ø³ÀÒ¾ ¤Ñ´àÅ×Í¡¨Ò¡áËÅ‹§·Õè´Õ·ÕèÊØ´ã¹ÀÒ¤ÍÕÊÒ¹¤Çº¤ØÁ ·Ø¡¢Ñ鹵͹¡ÒüÅÔµ ¹ÒÂÊØàÁ¸ àËÅ‹ÒâÁÃҾà »Ãиҹ¤³Ð¼ÙŒºÃÔËÒà ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ¡ÒäŒÒ ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È (ÃѺ¼Ô´ªÍº¸ØáԨ¢ŒÒÇáÅÐÍÒËÒÃ) à¤Ã×Íà¨ÃÔÞâÀ¤Àѳ± à» ´à¼ÂÇ‹Ò ¢ŒÒǵÃҩѵõÃÐ˹ѡáÅÐÂÖ´ÁÑè¹»ÃѪÞÒ 3 »ÃÐ⪹ ¢Í§·‹Ò¹ »Ãиҹ¸¹Ô¹· à¨ÕÂÃǹ¹· ÁÒâ´ÂµÅÍ´¤×Í äÁ‹Ç‹Ò¨Ð·íÒ¸ØáԨ㴸ØáԨ¹Ñé¹ µŒÍ§¡‹ÍãËŒà¡Ô´»ÃÐ⪹ 3 »ÃСÒà ¤×Í »ÃÐ⪹ µ‹Í»ÃÐà·ÈªÒµÔ »ÃÐ⪹ µ‹Í»ÃЪҪ¹ áÅлÃÐ⪹ µ‹ÍºÃÔÉÑ· ¨Ö§Ã‹ÇÁÁ×͡ѺªÒǹÒã¹â¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ »ÅÙ¡¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅÔ »‚ 2556/57 à» ´µÑÇ “¢ŒÒÇÊÕÊ´” (Fresh Milling) «Ö觶×Í໚¹¤ÃÑé§áá¢Í§àÁ×ͧä·Â·Õè¼ÙŒºÃÔâÀ¤¨Ðä´ŒÃѺ»Ãзҹ¢ŒÒÇ·ÕèÍØ´Áä»´ŒÇ ¤Ø³¤‹Ò áÅФÇÒÁÍËÍ·Õèᵡµ‹Ò§¨Ò¡¢ŒÒÇÊÒ÷ÑèÇä»à¾ÃÒÐ໚¹¢ŒÒÇ·Õ輋ҹ¡Ãкǹ ÇÔ¸Õ¡ÒÃÊÕÊ´æáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒèѴà¡çºÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁÊ´ãËÁ‹¢Í§¢ŒÒÇà»Å×Í¡ ·Õè¨Ð·íÒãËŒ ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ÃÙŒÊÖ¡àËÁ×͹䴌ÃѺ»Ãзҹ¢ŒÒÇ ·Õèà¾Ôè§à¡çºà¡ÕèÂÇÁÒ¨Ò¡Ãǧ¢ŒÒÇâ´ÂµÑé§ à»‡ÒËÁÒÂÂÍ´¢Ò» ´ÊÔé¹»‚ ¾.È. 2558 ´ŒÇÂÁÙŤ‹Ò 100 ŌҹºÒ· à¤Åç´ÅѺ¢Í§¢ŒÒÇÊÕÊ´¨Ò¡µÃҩѵà àÃÔèÁ¨Ò¡¡ÒäѴàÅ×Í¡áËÅ‹§ à¾ÒлÅÙ¡·Õè´Õ·ÕèÊØ´ ã¹á¶ºÀÒ¤ÍÕÊÒ¹ ¨Ò¡á»Å§¹Òà¡ÉµÃ¡ÃÊÁÒªÔ¡ ·ÕèࢌÒËÇÁ â¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ»ÅÙ¡¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅԡѺ·Ò§ºÃÔÉÑ· ÃÇÁ¡Ç‹Ò 5,000 äË ã¹ »‚¡ÒüÅÔµ 56/57 â´ÂºÃÔÉÑ·Ï ä´Œà¢ŒÒÁÒª‹Ç´ÙáÅàÃ×èͧ¢Í§Ãкº¡ÒúÃÔËÒà ¨Ñ´¡ÒáÒÃà¡ÉµÃ µÑé§áµ‹á»Å§¹Ò ¨Ñ´ËÒàÁÅ紾ѹ¸Ø ¾ÃŒÍÁ·Ñé§ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¢Ñ鹵͹¡ÒûÅÙ¡¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅÔãˌ䴌¼Å¼ÅÔµ´Õ ÃÒ¤ÒÊÙ§ µŒ¹·Ø¹µíèÒ ÍÕ¡·Ñé§ ÃѺ«×éÍ¢ŒÒÇà»Å×Í¡¤×¹â´ÂµÃ§¨Ò¡à¡ÉµÃ¡ÃÊÁÒªÔ¡·íÒãËŒ¢ŒÒÇ·Ø¡àÁÅç´·Õèä´ŒÁÒ à»‚›ÂÁä»´ŒÇ¤سÀÒ¾áÅÐÊÒÁÒöµÃǨÊͺŒ͹¡ÅѺ䴌·Ø¡¢Ñ鹵͹¡ÒüÅÔµ â¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ»ÅÙ¡¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅÔ ã¹¤ÃÑ駹Õé ¹Ñºà»š¹¤ÇÒÁËÇÁ Á×ÍÃÐËÇ‹Ò§ºÃÔÉÑ·Ï ¡ÑºªÒǹҼٌ»ÅÙ¡¢ŒÒÇËÍÁÁÐÅÔ à¾×èÍÊÌҧ¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ ËÇÁ¡Ñ¹ ¤×Í ºÃÔÉÑ·ÏÁÑè¹ã¨ã¹¤Ø³ÀÒ¾¢Í§Çѵ¶Ø´ÔºµÒÁÁҵðҹ¢Í§¢ŒÒÇ µÃҩѵâ³Ðà´ÕÂǡѹ¡çµÃÐ˹ѡ¶Ö§»˜ÞËÒ´ŒÒ¹¡ÒõÅÒ´¢Í§à¡ÉµÃ¡Ã¼ÙŒ

»ÅÙ¡¢ŒÒÇ â´ÂÃѺ«×éÍÇѵ¶Ø´Ôºã¹ÃÒ¤Ò·ÕèÊÙ§¡Ç‹ÒÃÒ¤Ò·ŒÍ§µÅÒ´¨Ð·íÒãËŒà¡ÉµÃ¡Ã ÁÕ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨ÁÒ¡¢Öé¹ à¾ÃÒÐÁÕµÅÒ´ÃͧÃѺ¼Å¼ÅÔµ·Õèṋ¹Í¹ «Ö觺ÃÔÉÑ·Ï ä´Œ´íÒà¹Ô¹¡ÒÃâ¤Ã§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁÏ Í‹ҧµ‹Íà¹×èͧ áÅÐã¹»‚ 57/58 ¨Ðà¾ÔèÁ ¾×é¹·Õè¡ÒÃà¾ÒлÅ١໚¹ 8,696 äË àÍ¡Åѡɳ ¾ÔàÈɢͧ “¢ŒÒÇÊÕÊ´” àÃÔèÁ´ŒÇ¡ÒäѴ¢ŒÒÇà»Å×Í¡ Ê´ãËÁ‹äÁ‹à¡Ô¹ 3 à´×͹ ¡‹Í¹¨Ð¹íÒÁÒ¼‹Ò¹¡Ãкǹ¡ÒÃà¡çºÃÑ¡ÉҤسÀÒ¾ãËŒ ¤§¤ÇÒÁÊ´ãËÁ‹ àËÁ×͹à¾Ôè§à¡çºà¡ÕèÂǨҡÃǧ ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃà¡çº¢ŒÒÇ änj㹠Grain Cooler ·ÕèÍسËÀÙÁÔ¤§·Õè 25 ͧÈÒà«Åà«ÕÂÊ ¡‹Í¹¨Ð¹íÒÁÒ ¡Ðà·ÒÐà»Å×Í¡ãˌ໚¹¢ŒÒǡŌͧ à¾×èͺÃèØŧ¶Ø§ÀÒÂã¹ 24 ªÑèÇâÁ§ ¨Ò¡âçÊÕ ¢Í§µÃҩѵà áŌǨѴà¡çºã¹µÙŒáª‹ ³ ¨Ø´¢Ò·ÕèÍسËÀÙÁÔ 15 ͧÈÒà«Åà«ÕÂÊ ·íÒãËŒ¢ŒÒÇ·Õèä´ŒÁÕ¡ÅÔè¹ËÍÁ¡Ç‹Ò ¹Ø‹Á¡Ç‹Ò ÍËÍÂ¡Ç‹Ò áÅÐÁդس»ÃÐ⪹ ÁÒ¡¡Ç‹Ò ¢ŒÒÇÊÒ÷ÕèÍÒÂØ෋ҡѹ ᵋ¼‹Ò¹¡ÒâѴÊÕÁÒ¹Ò¹ ¢³Ð¹Õé ¢ŒÒÇÊÕÊ´ÁÕÇÒ§¨íÒ˹‹Ò·Õè⫹ Eathai ¢Í§ËŒÒ§ Central Embassy «Ö觨ÐÁÕà¤Ã×èͧÊÕ¢ŒÒÇ Magic Mill ÊաѹẺʴæ áÅÐ ÊÒÁÒöàÅ×͡䴌NjҵŒÍ§¡ÒÃÊÕẺ¢ŒÒÇ¢ÒÇ ËÃ×Í¢ŒÒǡŌͧ(ÁÕ¨ÁÙ¡¢ŒÒÇ-Germ Rice) ä´ŒÍÕ¡´ŒÇ áÅÐÀÒÂã¹»‚ 2557 ¹Õé ·Ò§ºÃÔÉÑ·Ï ÁÕá¼¹¡ÒâÂÒÂÊÒ¢Ò·Õè¨íÒ˹‹Ò ¢ŒÒÇÊÕʴËÇÁ¡Ñº Tops ¨íҹǹ 16 ÊÒ¢Ò ä´Œá¡‹ » ›¹à¡ÅŒÒ, ¾ÃÐÃÒÁ 2, Ãѵ¹Ò¸ÔàºÈà , ºÒ§¹Ò, ¾ÃÐÃÒÁ 3, ᨌ§ÇѲ¹Ð, ÅÒ´¾ÃŒÒÇ, ªÔ´ÅÁ, ¾ÃÐÃÒÁ 9, ÃÒª¾Ä¡É , ÊØ¢ÒÀÔºÒÅ 3, ¿ Çà¨Íà ¾Òà ¤ÃѧÊÔµ, ºÒ§ÃÑ¡, ¾Ø·¸Á³±Å, ῪÑè¹äÍᏴ áÅкҧᤠ໚¹µŒ¹


AD ÃéÒ¹¹ÒÂãË­è1.pdf 1 30/6/2557 7:46:57

‹ÒÂ í¨ Ë¹à¿Íà ¹Ôà¨ÍÃ à¡‹Ò ãËÁ‹ §Ò¹ÁØ¡ ä·Â¨Õ¹ à¤Ã×èͧà§Ô¹ Ò

Ìҹ¹ÒÂãËÞ‹

C

M

Y

CM

MY

à¤Ã×èͧ·Í§àËÅ×ͧ §Ò¹¡ÃÐàº×éͧ ¢Í§ÊÐÊÁ ¢Í§µ¡áµ‹§ºŒÒ¹

ÃѺ«×éÍ¢ÒÂáÅ¡à»ÅÕè¹ ·Ñ駻ÅÕ¡ áÅÐ Ê‹§

5 0 3 9 4 6 0 0 â·Ã.08

CY

CMY

K

70 Á.5 µ.ËѹÊѧ Í.ºÒ§»ÐËѹ ¨.¾Ãй¤ÃÈÃÕÍÂظÂÒ


AD ºÔ꡺ÐËÁÕè.pdf 1 30/6/2557 7:54:27

ÊÒ¢Ò ÍÂظÂÒ

¶¹¹ÊÒÂàÍàªÕÂ

ºÔ꡺ÐËÁÕè & Êàµç¡

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

â·Ã.035-706-501


AD ÈÃÕÍÂظÂÒ.pdf 1 3/7/2557 13:07:43

ºÃÔÉÑ· ÈÃÕÍÂظÂÒàËÃÕÂ޷ͧ ¨íÒ¡Ñ´

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

126 Á.8 µ.˹ͧ¢¹Ò¡ Í.·‹ÒàÃ×Í ¨.¾Ãй¤ÃÈÃÕÍÂظÂÒ

â·Ã.089-891-5300, 084-775-3618


AD ÈÃÕÍÂظÂÒ.pdf 2 3/7/2557 13:07:43

ºÃÔÉÑ· ÈÃÕÍÂظÂÒàËÃÕÂ޷ͧ ¨íÒ¡Ñ´

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


ใตรมพระบารมี

โครงการฟารมตัวอยาง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ

สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ เนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตองประสบปญหาอุทกภัยอยูบ อ ยครัง้ ทําให ราษฎรไดรบั ความเดือนรอนและทุกขยากอยาง ตอเนือ่ ง สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรม ราชินีนาถ จึงพระราชทานความชวยเหลือ แกราษฎร ผานการจัดตั้ง “โครงการฟารม ตัวอยางอันเนื่องมาจากพระราชดําริ” ณ หนองงู เ ห า ตํ า บลบางระกํ า อํ า เภอ นครหลวง เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2553

ที่มาโครงการ สมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรม ราชิ นี น าถ ได มี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ พระราชทานความช ว ยเหลื อ ให แ ก ผู  ประสบความเดือดรอนจากภาวะอุทกภัย โดยทรงมอบให พลเอก ณพล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ และคณะ เดินทาง มาพบปะประชาชนจากตํ า บลบางระกํ า และตํ า บลปากจั่ น จํ า นวน 150 คน ที่ ศาลาประชาคมอําเภอนครหลวง ไดแจง

วัตถุประสงคของโครงการและสอบถาม ความสมั ค รใจในการเลื อ กอาชี พ ที่ ถ นั ด และเดินทางไปดูสถานที่บริเวณหนองงูเหา สาธารณประโยชน จากนั้ น ทรงมอบให พลเอก ณพล บุ ญ ทั บ รองสมุ ห ราช องครักษ เปนประธานคณะทํางาน ดําเนิน การ “โครงการฟารมตัวอยางอันเนื่อง มาจากพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจา สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ” ที่ บ ริ เ วณ หนองงูเหาสาธารณประโยชนหมูที่ 4, 5, 6 ตําบลบางระกํา อําเภอนครหลวง

โครงการฟาร์มตัวอย่าง

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในสมเด็จพ เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เพื่อช่วยเหลือราษฎรที่ประสบอุทกภัย หน ตําบลบางระกํา อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอย

18


วัตถุประสงค เพื่อพระราชทานความชวยเหลือใหแกผูประสบ ความเดือดรอนจากภาวะอุทกภัย ในรูปแบบของการ ทําฟารมตัวอยาง ซึง่ ประกอบดวยกลุม อาชีพตามความ สนใจของราษฎรในพื้นที่ โดยแบงออกเปน 6 กลุม ได แ ก กลุ  ม เลี้ ย งปลา เลี้ ย งกุ  ง และแปรรู ป อาหาร กลุมเพาะเห็ด กลุมทําการเกษตร กลุมเลี้ยงไก เปด กลุมหัตถกรรม กลุมทํานา กลุมแมบาน การบริหารโครงการ นายเรวัต อัมพวานนท นายอําเภอนครหลวง จัด Farm Workshop ทุกวันเสาร เวลา 10.00 น. เพื่อ ติดตามงาน แกปญ  หาการดําเนินงาน ตลอดจนวางแผน กิจกรรม

Ayutthaya 19


ผลการดําเนินงาน โครงการฟารมตัวอยางฯ ฟารมตัวอยาง อันเนือ่ งมาจากพระ ราชดําริฯ หนองงูเหา อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผลการดําเนิน งาน อาทิ • การปรับปรุงภูมทิ ศั น มีการปรับปรุง พืน้ ทีด่ า นทิศทางตะวันตกเฉียงใตประมาณ 47 ไร พร อ มติ ด ตั้ ง เครื่ อ งสู บ นํ้ า ทํ า การ ระบายนํ้ า ลงสู  ค ลองธรรมชาติ เพื่ อ นํ า พื้นดินสวนที่เหลือประมาณ 37 ไร มาใชใน การปลูกขาวแบบขึ้นนํ้า พรอมปลูกพืชผัก สวนครัวบนคันนา • การปลู ก พื ช บริ เ วณขอบหนอง ได นํ า พื ช ล ม ลุ ก มาปลู ก ได แ ก ถั่ ว ลิ ส ง ทานตะวั น มะเขื อ เทศ พื ช ผั ก สวนครั ว เหนื อ ขอบบ อ ขึ้ น ไปได ป ลู ก ไม ที่ เ รี ย กว า “หลุมพอเพียง” จํานวน 50 หลุม ตนกลวย ที่สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาตินํา

กระชังปลา

กระชังกบ

มาให 200 ตน ขนุนพันธมหาราช เห็ด เจริญงดงามดี ใน ชวงตอไปสถานีพัฒนาที่ดินจะนํามะพราวนํ้าหอมมาปลูก คั่นระหวางตนมะมวง • การกอสรางอาคารและโรงเรือนในฟารม ได กอสรางอาคารผลิตปุยหมักขนาด 3 x 5 เมตร ติดกับโรงเห็ด • การประชาสัมพันธกิจกรรมของฟารม วันที่ 14 กุมภาพันธ 2554 “เทศกาลแจกรอยยิ้ม ชิ ม อาหารอร อ ยวั น แห ง ความรั ก ” ภายในงานมี ก าร จํ า หน า ยอาหารจากผลิ ต ผลในฟาร ม ผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ม ชน การแขงขันพายเรือผลัด 4 x 100 เมตร มีการประกวดเรือ โบราณกวา 30 ลํา กลางคืนมีแหเรือไฟ 2 ลํา ขบวนเรือ สงตัวเจาสาว การจดทะเบียนสมรสบนแพกลางหนองงูเหา การปลูกไมมงคลประจําวันเกิดหรือราศีเกิด เปนตน วันที่ 26 กุมภาพันธ 2554 เอกอัครราชทูตโปรตุเกส ประจําประเทศไทยพรอมภริยาและบุตรไดเดินทางมาถาย ทํารายการ “กุสุมาพาทูตเที่ยวไทย” วันที่ 4 มีนาคม 2554 พิธีกรรายการ “อําเภอยิ้ม” ของ มหาดไทยแชนแนล ไดมาถายทําภาพกิจกรรมของฟารม ตัวอยาง วันที่ 20 มีนาคม 2554 พลเอก ณพล บุญทับ รอง สมุหราชองครักษ ในสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ และคณะนายทหารจากกองราชองครักษ ไดเดินทางมารวม กิจกรรม “ฟารมตัวอยาง อยุธยาไตรกีฬา ครั้งที่ 8” 20


ผูวาฯกับโครงการฟารมตัวอยางฯ นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผู  ว  า ราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปดเผยถึง ความคื บ หน า โครงการฟาร ม ตั ว อย า ง อันเนื่องมาจากพระราชดําริในสมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ วา จากการที่อําเภอนครหลวงประสบอุทกภัย เมื่ อ ป 2554 ทํ า ให ร าษฎรได รั บ ความ เดื อ ดร อ นกว า 9 พั น ครั ว เรื อ น สมเด็ จ พระนางเจ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ มี พระราชเสาวนียใหจัดตั้งหมูบานเศรษฐกิจ พอเพียงเพื่อชวยเหลือผูประสบอุทกภัยขึ้น บนพื้นที่ 180 ไร ที่ตําบลบางระกํา เพื่อเปด

โอกาสใหราษฎรเลือกอาชีพที่ตนเองถนัด ประกอบอาชีพ ซึ่งในชวง 8 เดือนที่ผานมา มีผลผลิตออกจําหนายแลว สามารถสราง รายไดใหกับราษฎรในพื้นที่ในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ ทางอําเภอนครหลวงจะนําผลผลิตที่ ไดจากโครงการฯ นําขึ้นทูลเกลาฯ ถวาย “ดําเนินการมาเปนเวลา 8 เดือน เปนการเตรียมคน สถานที่ เริม่ เขาสูช ว ง ทีจ่ ะมีผลผลิตตอบแทน ตัง้ เปาเมือ่ ครบ 1 ป ก็จะหาทางสรางรายได เพือ่ แบงเบา พระราชภาระของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ที่ใหการสนับสนุน คาแรง งบประมาณการบริหารจัดการ ภายในฟารมใหลดนอยลง ทุกวันนี้มี คาใชจายประมาณ 4 แสนบาท” ผูว า ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลาววา การดําเนินการในโครงการฟารม ตั ว อย า งฯ จะทํ า ให ร าษฎรมี ร ายได จ าก ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้นอยางยั่งยืน

Ayutthaya 21


AD »ØëÂÁéÒºÔ¹ µÃ§¢éÒÁÊÒûÅÑ´.pdf 1 30/6/2557 7:47:28

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


Ayutthaya 23


เส้นท�งพบกระทรวงอุตส�หกรรม

ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

นับตั้ งแต่ คณะรั ก ษ�คว�มสงบแห่ ง ช�ติ หรื อ คสช. เข้ามาแก้ไขปัญหาของบ้านเมืองคืนความสงบสุข ให้คนในชาติ และบริหารประเทศให้เดินหน้าต่อไปได้ กระทรวงอุตส�หกรรม โดย “ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี” ปลัดกระทรวงอุตส�หกรรม จึงขานรับนโยบายด้าน อุ ต สาหกรรมของคสช. ซึ่ ง สอดรั บ กั บ คำ า ขวั ญ ของ กระทรวงฯ ที่ว่า “กระทรวงอุตสาหกรรม เปนที่พึ่งของ ผูประกอบการและประชาชนอยางแทจริง” ทำ�องคกรโปร่งใสต�มนโยบ�ย คสช. เพื่อให้การทำางานของกระทรวงอุตสาหกรรมมีความ โปร่งใส ตามนโยบายการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของ คสช. กระทรวงฯจึงได้แต่งตัง้ คณะกรรมการประเมิน ผลการจัดทำามาตรฐานความโปร่งใส ของ ของสำ�นักง�น ปลัดกระทรวงอุตส�หกรรม เพื่อให้การบริหาร ราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นที่เชื่อ ถือไว้วางใจจากประชาชน รวมถึงเพื่อป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต 24


กระทรวงอุตสาหกรรมในวันนี้ จะให้บริการแบบ “ข้าราชการมืออาชีพ” โดยยึดหลักการของวัฒนธรรม “ASSA-ASIA”

ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าว ประกอบด้วยผู้แทนจากหน่วย งานภายในและภายนอกรวม 8 ท่าน ได้แก่ รองปลัดกระทรวง อุตสาหกรรมเป็นประธาน ผูแ้ ทนจากภาควิชาการ ผูแ้ ทนจากกลุม่ ผู้ใช้บริการ และผู้แทนสื่อมวลชน เป็นต้น โดยคณะกรรมการจะ ทำาหน้าที่ตรวจสอบและประเมินผลความโปร่งใสในการทำางาน ของข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานใน 4 มิติ ได้แก่ ด้าน นโยบายผูบ้ ริหาร ด้านการเปดเผยข้อมูล ด้านการใช้ดลุ ยพินจิ และ ด้านกลไกรับเรื่องร้องเรียน กระทรวงอุตสาหกรรมในวันนี้ จะให้บริการแบบ “ข้าราชการ มืออาชีพ” โดยยึดหลักการของวัฒนธรรม “ASSA-ASIA” คือ Advise (ให้คำาแนะนำา) Service (ให้การบริการ) Support (ให้การ สนั บ สนุน) Assist (ให้ การช่ วยเหลือ ) และ Accountability (รับผิดชอบ) Suggestion (เสนอแนะ) Integrity (ซื่อตรง) และ Assa (อาสา) เร่งรัดออกใบอนุญ�ต รับนโยบ�ย คสช. กระทรวงอุ ต ส�หกรรม ได้ปรับลดขั้นตอนการอนุญาต ทั้งหมด จากเดิมกำาหนดภายใน 90 วัน ลดลงเหลือ 45 วัน กรณี เป็ น โรงงานใหญ่ ที่ มี ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม และ 30 วั น ในกรณี ทั่วไป อย่างไรก็ตามนโยบายของ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง ผู้บัญช�ก�รทห�รอ�ก�ศ รองหัวหน้�คณะรักษ�คว�มสงบ แห่งช�ติ (คสช.) ในฐานะ หัวหน้�ฝ�ยเศรษฐกิจ มีนโยบายให้ลด ลงเหลือ 30 วันในทุกกรณี ซึ่งสามารถทำาได้หากเอกสารประกอบ คำาขออนุญาตครบถ้วน เมื่อเจ้าหน้าที่ลงรับเรื่องก็นับเป็นวันที่ 1 ในการดำาเนินการตามขั้นตอน ซึ่งเจ้าหน้าที่จะต้องออกใบรับเรื่อง ราวคำาขอฯพร้อมกับระบุวนั ทีใ่ ห้มารับใบอนุญาตแก่ผยู้ นื่ คำาขอด้วย โดยเร็วๆ นี้กระทรวงฯ จะประกาศให้ทราบโดยทั่วกันว่า ผูป้ ระกอบการจะต้องเตรียมเอกสารประกอบคำาขออนุญาตใดบ้าง คาดว่าไม่เกิน 10 รายการ เพื่อแก้ไขปัญหาการขอเอกสารเพิ่ม ในส่วนของการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) จะยึดหลักมาก่อนได้กอ่ น (First in First out) โดยกรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) แจ้งว่าสามารถเริ่มดำาเนินการได้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป ระหว่างนีผ้ ปู้ ระกอบการสามารถตาม เรื่องได้ ผ่านทางเว็บไซตของ กรอ. หรือ ศูนยอำานวยความสะดวก ให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบการ (Service Center for Investor and Entrepreneur: SCIE) ซึ่งเป็นบริการใหม่ของกระทรวงฯ ที่ แสดงถึงคุณภาพและความโปร่งใส ที่ผู้ขออนุญาตจะสามารถ ติดตามตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน Ayutthaya 25


ทั้งนี้การปรับลดขั้นตอนการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบ กิจการโรงงาน (รง.4) จาก 90 วันเหลือ 30 วัน อาจทำาให้หลายฝาย เป็นห่วงในคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความปลอดภัยของ ประชาชนที่อยู่โดยรอบโรงงานอุตสาหกรรม แต่ขอย้ำาว่าแม้กระทร วงฯ จะลดระยะเวลาการพิจารณาลง แต่ยังคงให้มีความเข้มงวด ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องทุกฉบับ เพราะหากเข้มงวดถูกต้องตั้งแต่ ก่อนก่อสร้างโรงงาน และมีการกำาหนดเงือ่ นไขในการออกใบอนุญาต ตามความเหมาะสมของแต่ละประเภทโรงงานแล้ว จะช่วยลดปัญหา ข้อร้องเรียนต่างๆ จนถึงการลดอุบัติเหตุอุบัติภัยได้ โดยกระทรวง อุตสาหกรรมมีมาตรการในการกำากับดูแลภาคอุตสาหกรรมอย่าง ใกล้ชิด เช่น การตรวจโรงงานตามแผน และใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ตัง้ แต่การติดตัง้ อุปกรณตรวจวัดคุณภาพอากาศ และระบบตรวจวัด คุณภาพน้ำาแบบออนไลน

ขอยํ้าว่าแม้กระทรวงฯ จะลดระยะเวลาการ พิจารณาลง แต่ยังคงให้มีความเข้มงวดตาม กฎหมายที่เกี่ยวข้องทุกฉบับ 26

เปดศูนยอำ�นวยคว�มสะดวกนักลงทุน กระทรวงอุตส�หกรรม ได้เปด “ศูนยอำ�นวย คว�มสะดวกให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบก�ร” (Service Center for Investor and Entrepreneur: SCIE) เพื่อติดตามเรื่องราวการขออนุญาตต่างๆ ที่ อยู่ในอำานาจหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม โดย ศูนยฯ จะติดต่อประสานงานกับทุกหน่วยงานในสังกัด กระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งเป็นศูนยฯให้คำาแนะนำา แก่ ผู้ ป ระกอบการในการปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนต่ า งๆ ยึดมั่นการบริการที่มีประสิทธิภาพ และสะดวกรวดเร็ว โดยได้มอบหมายให้น�ยหทัย อูไ่ ทย ผูต้ รวจร�ชก�ร กระทรวงอุตส�หกรรม เป็น ผู้อำ�นวยก�รศูนยฯ มีที่ทำาการ ณ ห้องโถงชั้น 1 อาคารสำานักงานปลัด กระทรวงอุตสาหกรรม ศูนย SCIE จะมีรองอธิบดี 1 คนและเจ้าหน้าที่ จาก 4 หน่วยงานออกใบอนุญาตสลับกันมาประจำา การ โดยมีอำานาจหน้าที่ คือ 1) รับเรื่องราวข้อขัดข้อง ต่างๆ จากนักลงทุนและผู้ประกอบการทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศในการติดต่อกับหน่วยงานในสังกัด กระทรวงอุตสาหกรรม 2) ให้ศนู ยฯ ติดตามเรือ่ งราวการ พิจารณาคำาขออนุญาตต่างๆ จากหน่วยงานในสังกัด ให้ เป็นไปตามข้อกำาหนดตามกฎหมายหรือกำาหนดระยะ เวลาต่างๆ ตามระเบียบหรือประกาศแล้วแต่กรณี และ 3) ให้ศูนยฯ อธิบายและชี้แจงนักลงทุนและผู้ประกอบ การอย่างชัดเจน ในขั้นตอนต่างๆ พร้อมกับแจ้งวันที่ จะให้มารับใบอนุญาตฯ หรือกำาหนดเวลาแล้วเสร็จใน เรื่องนั้นๆ และจะรายงานการติดตามเรื่องการอนุญาต ของศูนยฯ ต่อปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมทราบทุกวัน ในกรณีที่นักลงทุนและผู้ประกอบการทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ มีปัญหาอุปสรรคอันเนื่องมาจาก การขออนุญาต หรือติดต่อประสานงานในเรื่องต่างๆ กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆในสั ง กั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม ทั้ง 22 หน่วยงาน สามารถแจ้งขอรับความช่วยเหลือ ต่ อ ศู น ย SCIE ดั ง กล่ า วโดยตรง หรื อ ติ ด ต่ อ ได้ ที่ โทร. 0 2202 3866 โทรสาร 0 2202 3877 ในวัน เวลา ราชการ หรือ www.industry.go.th (click ทีศ่ นู ยอาำ นวย ความสะดวกให้กับนักลงทุนและผู้ประกอบการ)


(สสว.) เพื่อหารือแนวทางการสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) โดยคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ได้ เข้ามานำาเสนอแนวคิดที่รวบรวมจากผู้ประกอบการเอสเอ็มอีทั่ว ศูนย์ SCIE เป็นบริการใหม่ของ ประเทศมี 3 ประเด็น คือ 1.การระดมสมองเพื่อนำาเสนอมาตรการ กระทรวงฯ ที่แสดงถึงคุณภาพและ ในการสนับสนุน SMEs เสนอโครงการเร่งด่วนที่ชื่อว่า “SMEs ความโปร่งใส ที่ผู้ขออนุญาตจะสามารถ Live Strong” เพื่อสร้างความเข้มแข็งในทุกด้านที่จำาเป็น 2.การ จัดตั้งสภาเอสเอ็มอี เพื่อเป็นตัวแทนของเอสเอ็มอีรายย่อยในการ ติดตามตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน ประสานนโยบายกับภาครัฐ จากที่ปัจจุบันมีรูปแบบเป็นสมาคมฯ และ3.การปรับปรุงหลักสูตรโครงการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจ อุตสาหกรรม (คพอ.) ของ กสอ. ทีใ่ ช้มากว่า 30 ปี ให้ทนั สมัยกับยุค ย้ำ�นโยบ�ยโรงง�นสีข�ว กระทรวงอุตส�หกรรม มีบันทึกสั่งการหน่วยงาน ดิจติ อลไอที และให้มกี ารเชือ่ มโยงธุรกิจสร้างสัมพันธภาพระหว่าง ในสังกัด และอุตสาหกรรมจังหวัด ให้ร่วมกันปราบปราม สมาชิกเก่าและใหม่หลังจบโครงการ และหยุดยัง้ การแพร่ระบาดของยาเสพติด ตามคำาสัง่ คสช. 41/2557 โดยขอความร่วมมือสถานประกอบการทุกโรงงาน ที่อยู่ในการกำากับดูแล ให้เฝ้าระวัง ตรวจสอบ มิให้มีการ ซุกซ่อน จำาหน่าย และเสพยาเสพติด ในสถานประกอบ การ หากพบการกระทำาผิด ให้แจ้งหน่วยงานที่รับผิดชอบ โดยทันที (จากข้อมูลล่าสุดในปัจจุบนั ประเทศไทยมีโรงงาน ทั้งสิ้น 138,177 โรง จ้างคนงาน 5.4 ล้านคน) พร้อมกัน นี้ได้สั่งการกำาชับให้เจ้าหน้าที่ของกระทรวงอุตสาหกรรม (ประมาณ 4,627 คน) ห้ามเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด โดยเด็ดขาด หากพบการกระทำาผิด ให้แจ้งหน่วยงานที่รับ ผิดชอบ และลงโทษตามกฎหมายอย่างเด็ดขาดโดยทันที ม�ตรก�รช่วยเหลือเอสเอ็มอีร�ยย่อย กระทรวงฯ มีการประชุมร่วมกับสม�คมส่ ง เสริ ม และสิง่ ทีส่ มาคมฯ เสนอขอการสนับสนุนผ่านทางกระทรวงฯ ผู้ป ระกอบก�รวิ ส �หกิ จ ขน�ดกล�งและขน�ดย่ อ ม ไทย (ATSME) กรมส่งเสริมอุตส�หกรรม (กสอ.) และ เพือ่ ผลักดันต่อ ได้แก่ 1) กองทุนเพือ่ ผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาด สำ�นักง�นส่งเสริมวิส�หกิจขน�ดกล�งและขน�ดย่อม กลางและขนาดย่อม“รัฐร่วมเอกชน” 2) โครงการเตรียมพร้อม เอสเอ็มอีสู่ตลาดอาเซียน AEC 3) การพัฒนาแรงงานภาคบริการ และภาษา 4) โครงการส่งเสริม E-Commerce สำาหรับ SMEs 5) โครงการประเมินศักยภาพเพือ่ ปรับตัวสูส่ ากล 6) โครงการสร้าง นวัตกรรมจากงานวิจัย 7) โครงการพัฒนาฝีมือแรงงานช่างเชื่อม สามจี และ 8) การตั้งจุดกระจายสินค้าเอสเอ็มอีภายในประเทศ ลักษณะเป็น SMEs Plaza หรือ SMEs Center รวมถึงในประเทศ เพื่อนบ้าน เพื่อแสวงหาโอกาส ขายสินค้าได้ตลอดปี ซึง่ ในเบือ้ งต้นนัน้ ได้มอบให้ กสอ. ประสานกับ สสว. พิจารณา ว่า เรื่องใดที่ดำาเนินการได้เลย ก็ขอให้เร่งดำาเนินการ สำาหรับ Ayutthaya 27


มาตรการส่งเสริมเอสเอ็มอีที่ตรงกันก็จะเร่งดำาเนินการ โดยแบ่ง ความรับผิดชอบให้ชดั เจนว่าหน่วยงานใดจะเป็นเจ้าภาพ ส่วนการ จัดตั้งสภาเอสเอ็มอี เพื่อเป็นองคกรเดียวที่ทำาหน้าที่เป็นตัวแทน ของเอสเอ็มอีทั่วประเทศ ขอให้เชิญเครือข่ายจาก SMEs ทุกกลุ่ม เข้าร่วมหารือกันด้วย โดยจะเร่งสรุปข้อเสนอต่างๆ เพื่อหารือเชิง นโยบายต่อ คสช.ต่อไป จัดก�รขยะให้กรีน ปัจจุบันพบว่ามีกากหรือขยะอุตสาหกรรมปนอยู่ในบ่อขยะ จึงเป็นโจทยทหี่ น่วยราชการต้องนำากลับมาพิจารณา และปรับปรุง ระบบการบริหารจัดการกากอุตสาหกรรมให้ดีขึ้น และตอบโจทย เรื่องการลักลอบทิ้งขยะอุตสาหกรรมให้ได้

โครงการเร่งด่วนที่ชื่อว่า “SMEs Live Strong” เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ในทุกด้านที่จําเป็น 28

โดยหลักวิชาการแล้ว การจัดการขยะให้กรีน ต้อง เริ่มต้นที่แหล่งกำาเนิด คือไม่ให้เกิดของเสีย ใช้ให้เป็น ของดีให้หมดหรือใช้วัตถุดิบให้หมด ทำาได้อย่างนี้จะเกิด ประโยชนที่สองต่อ นอกจากเป็นการลดการใช้ทรัพยากร แล้ว ยังไม่เกิดของเสียทีต่ อ้ งไปกำาจัดอีกด้วย หากมีของเสีย เกิดขึน้ ก็ควรจะพิจารณาส่งต่อให้ผทู้ สี่ ามารถใช้ประโยชน ต่อไปได้ เช่น ใช้เป็นวัตถุดิบสำาหรับอุตสาหกรรมอื่น หรือ ใช้เป็นพลังงานในเตาเผาอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาต เหล่านีเ้ ป็นหลักการการจัดการเพือ่ ให้เกิด zero waste to landfill หมายถึงไม่ให้มีของเสียฝังกลบ เพราะหลุมฝัง กลบมีประเด็นทีต่ อ้ งติดตามควบคุมดูแลทัง้ ในช่วงใช้งาน และในช่วงที่ปดการใช้งานแล้ว เรื่องนี้ทำาให้สหภาพยุโรปออกกฎหมายห้ามฝังกลบ สำาหรับของเสียบางประเภท โดยเฉพาะของเสียทีส่ ามารถ ใช้ประโยชนได้อีก และของเสียที่ย่อยสลายได้ โดยมี แนวคิดว่าการฝังกลบของเสียจะเป็นหนทางสุดท้ายเมื่อ จนปัญญาหาวิธีการจัดการอื่น ในการฝังกลบจะก่อให้เกิดกาซมีเทนจากการย่อย สลายอินทรียสารในขยะ หากมีการสะสมมากก็อาจจะ ติดไฟได้ดว้ ยตัวเอง ดังนัน้ การลดการฝังกลบจะลดความ เสีย่ งในการก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อม และทำาให้ลดการปลดปล่อยมีเทนซึง่ เป็นกาซเรือนกระจก ด้วย (กาซมีเทนมีศกั ยภาพในการทำาให้เกิดภาวะโลกร้อน 23 เท่าของคารบอนไดออกไซด) แต่นี่ไม่ได้หมายความว่าการเผาทำาลายขยะจะเป็น วิธีที่ได้รับการยอมรับ แต่หมายความว่าเราจะต้องหา วิธีจัดการเอาทรัพยากรกลับมาใช้เป็นประโยชนให้ได้ เป็ น ลำ า ดั บ แรกก่ อ นกรณี บ่ อ ขยะที่ แ พรกษา จั ง หวั ด สมุทรปราการนี้ มีกฎหมายที่เกี่ยวข้องถึง 12 ฉบับ และ มีหน่วยราชการทีเ่ กีย่ วข้องหลายหน่วยงาน และมีเอกชน จำานวนมากทีท่ าำ ผิดกฎหมายด้วย คำาถามทีว่ า่ ใครจะต้อง รับผิดชอบก็คงต้องว่ากันไปตามเนื้อผ้า ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาพบว่ามีหลายท้องถิ่นหันมา สนใจเทคโนโลยีจัดการขยะมูลฝอยแบบใช้ความร้อน ซึ่ง มี อ ยู่ หลายตั ว ด้ ว ยกั น และแน่ นอนที่ จ ะต้ อ งคิ ด ค่ า ความคุ้มทุนด้วยว่าเหมาะสมไหมกับประโยชนที่จะได้ รับ เช่น การร่อนเอาพลาสติกมาทำาเป็นแท่งเชื้อเพลิง หรือเอามาทำาไพโรไลซิสเป็นน้ำามันดำา ซึ่งต้องคำานึงถึง


ภาคประชาชน ต้องมีส่วนร่วม ในการบริโภคสินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมี ความรับผิดชอบต่อสังคม ปัจจัยทางเทคนิคในเรื่องคุณสมบัติและการปนเปอนของ พลาสติกที่ได้ การจัดการปัญหามลพิษที่เกิดขึ้น รวมถึง ปัจจัยเศรษฐศาสตร คือ มูลค่าของผลิตภัณฑที่ได้ ซึ่งขึ้น อยู่กับค่าเชื้อเพลิงในตลาด หลายโครงการมีอันต้องพับ ไปหรือหยุดประกอบกิจการเนื่องจากอุปสรรคจากทั้งสอง ปัจจัยที่กล่าวมา แต่นนั่ ไม่ได้หมายถึงให้ละเลยการฟน ฟูบอ่ ขยะชุมชน แต่ตอ้ งมีการบูรณาการกันระหว่างผูผ้ ลิต คือ บ่อขยะ และ ผู้บริโภค คือ อุตสาหกรรม ต้องมาดูว่าผู้บริโภคต้องการ อะไร แล้วผู้ผลิตต้องทำาอย่างไรถึงจะส่งมอบสินค้าตาม ที่ลูกค้าต้องการได้ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นเพื่อให้การจัดการขยะเป็นกรีน จึงไม่ได้อยู่แค่ ที่เทคโนโลยีจัดการขยะ แต่อยู่ที่การลดการเกิดขยะและ แยกขยะเพือ่ ให้นาำ กลับไปใช้ประโยชนได้ แต่ทสี่ าำ คัญทีส่ ดุ คือ การบูรณาการการทำางาน และการแก้ปัญหาร่วมกัน ของส่วนราชการ และผูเ้ กีย่ วข้องอย่างเป็นระบบครบวงจร

ยั่งยืนด้วยสีเขียว นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนตามแนวทาง “อุตสาหกรรมสีเขียว” (Green Industry :GI) เป็นการจัดทำา นโยบายแบบบูรณาการเพื่อมุ่งสู่การเป็นสังคมคารบอนต่ำา (Low Carbon Society) และสอดคล้องกับนโยบายของประเทศในเรื่อง การพัฒนา “สูก่ ารผลิตและการบริโภคอย่างยัง่ ยืน” (Sustainable Consumption and Production) ดังนั้น “อุตสาหกรรมสีเขียว” จึงมีความสอดคล้องกับภาคส่วนอื่นๆ ปัจจุบนั การส่งเสริมประชาชนและผูบ้ ริโภคให้เลือกซือ้ สินค้า หรือเลือกใช้บริการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมในประเทศไทย ยังมีขอ้ จำากัด เนือ่ งจากจำานวนสินค้าและ บริการของกลุ่มนี้ในตลาด ยังมีจำานวนน้อย ดังนั้น นโยบายการ พัฒนาอุตสาหกรรมตามแนวทาง “อุตสาหกรรมสีเขียว” จึงเป็น ตัวเร่งทีส่ าำ คัญในการส่งเสริมให้มกี ารผลิตสินค้า และบริการทีเ่ ป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมและรับผิดชอบต่อสังคม ในท้องตลาดมากขึ้น “กรอบความคิด” หรือ “ทัศนคติ” ที่มีความสำาคัญอย่างยิ่ง อีกประการหนึ่ง ต่อการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม เพื่อก้าวสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืนและเป็นเลิศในอนาคต ได้แก่ การบูรณาการ หรือการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน - ภาคอุตสาหกรรม ต้องมีความมุ่งมั่นและ ตัง้ ใจในการประกอบการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม - ภาครั ฐ ต้ อ งมี ค วามโปร่ ง ใสใน การจัดทำานโยบายและการดำาเนินการ ตลอดจนสร้างการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่วนอย่างจริงใจ - ภาคประชาชน ต้องมีจิตสำานึก และมี ส่ ว นร่ ว มในการปรั บ เปลี่ ย น พฤติ ก รรมการบริ โ ภคสิ น ค้ า และ บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ในวันนี้ ก�รพัฒน�อย่�งยัง่ ยืน จึง เปนเรือ่ งทีภ่ �คอุตส�หกรรมหลีกเลีย่ ง ได้ย�ก จึงมีแต่ควรจะต้องยึดเอ�หลักก�ร ของ “อุตส�หกรรมสีเขียว” ไปประยุกต ปฏิบัติ เพร�ะ “อุตส�หกรรมสีเขียว” เปน “อุตส�หกรรมแห่งอน�คต” อย่�งแท้จริง

Ayutthaya 29


AD »µ·ÍÂظÂÒ.pdf 1 7/5/2556 13:58:09


สารผูวาราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้ชื่อว่าเป็นเมือง อู่ข้าว-อู่น�้า มาแต่อดีต เพราะมีพื้นที่ราบลุ่มเหมาะ แก่ ก ารเพาะปลู ก และยั ง มี แ ม่ น�้ า ไหลผ่ า น 4 สาย ซึ่ ง ในป จ จุ บั น อยุ ธ ยามี พื้ น ที่ เ พาะปลู ก ข้ า ว ราวหนึ่ ง ล้ า นไร่ และด้ ว ยความที่ อ ยุ ธ ยาเคย เป็ น ราชธานี ม านานกว่ า สี่ ร ้ อ ยปี จึ ง กลายเป็ น อู ่ อารยธรรมที่ ส� า คั ญ ของประเทศไทย และเป็ น รากเหง้ า ของวิ ถี ชี วิ ต ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ตลอดจน ประเพณี ที่ ดี ง ามของคนไทย ซึ่ ง ร่ อ งรอยแห่ ง ความเจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งในอดี ต ได้ ก ลายเป็ น มรดก การท่ อ งเที่ ย วทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒ นธรรม ที่ส�าคัญ จนได้รับการยกย่องให้เป็นเมือง “มรดก โลก” ทางวั ฒ นธรรม จากองค์ ก าร UNESCO ซึง่ ส่งผลให้จงั หวัดมีรายได้จากการท่องเทีย่ วจ�านวน ไม่น้อย นอกจากนี้ อ ยุ ธ ยายั ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการ คมนาคมขนส่ง ทั้งทางบก ทางน�้า และทางราง จึงมีผปู้ ระกอบการมาตัง้ โรงงานแปรรูปสินค้าเกษตร คลังสินค้าขนาดใหญ่ และโรงงานอุตสาหกรรมที่ หลากหลาย เพื่อจัดเก็บสินค้าและผลิตสินค้าส่ง ไปยังกรุงเทพมหานคร และส่งออกไปต่างประเทศ โดยในปีงบประมาณ 2556 มีโรงงานอุตสาหกรรม ที่ได้รับอนุญาตประกอบการทั้งหมดจ�านวน 2,270 โรงงาน มีเงินทุนรวม 389,381.38 ล้านบาท จาก องค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้ ท�าให้เศรษฐกิจของ อยุธยามีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องทุกปี ถ้าเราทําอยุธยาของเราให้นาอยู นาลงทุน และนาเที่ยว ก็จะเปน ระยะเวลากว่าห้าปีครึ่ง หรือประมาณ 2,000 ประโยชนแกคนอยุธยาเอง เราจะสามารถเพิ่มรายได้ของเรา สามารถ วั น ที่ ผ มมาด� า รงต� า แหน่ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด เพิ่มชีวิตความเปนอยูของเราให้ดีขึ้นได้ด้วยตัวเราเอง พระนครศรีอยุธยา ผมมีความภาคภูมใิ จอย่างยิง่ ทีไ่ ด้ ท�าหน้าทีข่ า้ ราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซึ่งมีโอกาสรับใช้ชาวอยุธยาให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ ดีขึ้นอย่างเต็มก�าลังความสามารถ และในโอกาสนี้ (นายวิทยา ผิวผ่อง) ผมอยากเรียนฝากพี่น้องชาวอยุธยาว่า... ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา Ayutthaya 31


เสนทางพบ

ผูวาราชการจังหวัด 2,000 วัน หรือกวาหาปครึ่ง ซึ่ง “นายวิทยา ผิวผอง” ผูวาราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ทุม เททัง้ เวลา ความ คิด จิตใจ และศักยภาพทั้งหมดที่มี ให กับการพัฒนาจังหวัดอยุธยาจนมีความ เจริ ญ ก า วหน า ขึ้ น อย า งเป น รู ป ธรรม ผานโครงการตางๆ มากมายทีท่ า นริเริม่ ขึ้ น ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให บ รรลุ เ ป า หมายของ ราชการที่วา...ประชาชนอยูดีมีสุข นิตยสาร SBL ไดรบั เกียรติอยางสูง จากทาน เปดใจใหสมั ภาษณถงึ แนวคิด สําคัญในการทํางาน ความมุงหวังตอ ระบบราชการไทย รวมถึ ง แนวทาง การสร า งความเข ม แข็ ง ให กั บ ชาวนา ไทย และผลงานแหงความภาคภูมิใจ ของทาน ในฐานะที่เปนขาราชการใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

32

ศูนยกลางจากอดีตถึงปจจุบัน คือรากฐานสําคัญสู AEC “อยุ ธ ยาเป็ น ราชธานี เ ก่ า ของประเทศไทยเรามาถึ ง สี่ ร ้ อ ยกว่ า ปี ความเป็นราชธานีเก่า คือเป็นศูนย์กลางของประเทศมาแต่เดิม จึงเป็น รากเหง้าของความเป็นคนไทย วิถชี วี ติ ศิลปวัฒนธรรม สิง่ ต่างๆ ทีเ่ ราใช้ชวี ติ อยู่ในประเทศไทยในขณะนี้ 80% มาจากวิวัฒนาการสมัยกรุงศรีอยุธยา สิ่ ง นี้ คื อ จุ ด เด่ น ของอยุ ธ ยา นอกจากนี้ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางของประเทศ จะท�าให้เป็นศูนย์กลางของการคมนาคม การขนส่ง เป็นศูนย์กลางของ ศิลปวัฒนธรรม วิถชี วี ติ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในเรือ่ งของการเป็นศูนย์กลางใน เรื่องอู่ข้าวอู่น�้าของประเทศด้วย “การทีเ่ ราเป็นศูนย์กลางของประเทศ ศูนย์กลางวัฒนธรรม การคมนาคม ในขณะเดียวกันเราก็มีประวัติศาสตร์เรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับนานาชาติอยู่ โดยตัวของอยุธยาเอง มีความสัมพันธ์เรื่องการค้า ความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ ความสัมพันธ์เรื่องศาสนา เรื่องของการอยู่อาศัยของผู้คนที่เข้ามา ท�ามาหากินในอยุธยา อันนี้เป็นจุดเด่นอีกประการหนึ่งที่ท�าให้คนอยุธยา สามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับความเป็นสากล หรือความเป็นนานาชาติได้ ง่าย เพราะความเป็นมาของอยุธยาเป็นในลักษณะนี้มาโดยตลอด คือมี หมู่บ้านของนานาชาติอยู่ในพื้นที่ อ�าเภอพระนคร หรือในเขตเมือง มีคนต่าง ชาติต่างภาษาอยู่ด้วยกัน ดังนั้นการที่เราจะเปดเป็น AEC หรือประชาคม อาเซียน ก็คอื การน�าคนหลายชาติหลายภาษามาพบปะกัน มาติดต่อค้าขาย กัน มาท่องเทีย่ วมาพบกัน คนอยุธยาเขาได้เปรียบตรงนี้ เพราะเขาคุน้ เคยกับ บรรยากาศแบบนี้มาตั้งแต่บรรพบุรุษ และความเป็นอยู่ในขณะนี้ก็ยังเป็น เมืองนานาชาติอยู่ เรามีหมู่บ้านฮอลันดา หมู่บ้านญี่ปุน หมู่บ้านโปรตุเกส หมูบ่ า้ นฝรัง่ เศส ซึง่ คนเหล่านัน้ ส่วนหนึง่ สืบทอดเชือ้ สายมาจากชาวต่างชาติ”


นายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระบบโลจิสติกส ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอยุธยา “ถ้าจังหวัดเราเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ ของประเทศ เป็นศูนย์กลางการขนส่งทางน�้า ทางบก ทางราง ก็จะท�าให้อยุธยาเจริญเติบโต ได้ มีคนอยากจะมาลงทุน มีคนอยากจะมา อยู่อาศัย เพราะเข้ากรุงเทพก็สะดวก ขนส่ง ก็ ง ่ า ย ผู ้ ป ระกอบการก็ ใ ช้ ก ารขนส่ ง ทางน�้ า ลดค่าใช้จ่ายไปได้ถึง 3-4 เท่า คนอยู่อยุธยา ถ้ามีทางด่วน มีทางพิเศษสามารถที่จะวิ่งเข้า กรุงเทพได้ภายใน 30 นาที หรือรถไฟไฮสปีด 15 นาที คนก็มาอยู่อยุธยา ไม่ต้องไปอยู่แออัด ในเมืองหลวง ผมเชื่อว่าถ้าเรามีระบบโลจิสติ กส์ของประเทศไทย ทั้งทางบก ทางราง และ ทางน�้าที่สมบูรณ์แบบ คนก็จะมาลงทุน มาอยู่ อาศัยในอยุธยาเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจอยุธยาก็จะ หมุนได้ดว้ ยตัวมันเอง ซึง่ เราก็โชคดีทมี่ โี ครงการ ของรัฐบาลเก่าหรือโครงการของเราเองมากมาย เช่น เรามีมอเตอร์เวย์จากบางปะอินไปโคราช มี มอเตอร์เวย์จากบางปะอินไปนครสวรรค์ เรามี โทลเวย์จากรังสิตมาลงที่ต่างระดับบางปะอิน ที่ต่างระดับบางปะอินเรามีทางพิเศษที่จะไป บางปะหัน ไปลพบุรี ไปนครสวรรค์ ถ้าโครงการ เหล่ า นี้ เ สร็ จ ในปี 60 ผมเชื่ อ ว่ า อยุ ธ ยาจะมี เศรษฐกิจดีกว่านี้ 2-3 เท่าตัว”

รากเหง้าของความเป็นคนไทย วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม สิ่งต่างๆ ที่เราใช้ชีวิต อยู่ในประเทศไทยในขณะนี้ 80% มา จากวิวัฒนาการสมัยกรุงศรีอยุธยา สิ่งนี้คือจุดเด่นของอยุธยา Ayutthaya 33


เปลี่ยนคานิยมระบบราชการ เพื่อประชาชนอยูดีมีสุข “ตอนนี้ที่เราเน้นคือ สิ่งที่ท�าให้ประเทศเราประสบปญหา อยู่คือ วัฒนธรรมองค์กรของราชการ ซึ่งมีจุดอ่อนอยู่ 2-3 ประเด็น หนึ่งคือเน้นในเรื่องความเป็นนิทรรศการ คือไม่เป็น จริงเป็นจัง เป็นการโชว์เฉยๆ แต่เราต้องเปลี่ยนวัฒนธรรม องค์กรตรงนี้ให้ได้ ระบบราชการต้องมุ่งความส�าเร็จมากกว่า เดิม คือเราต้องท�างานลักษณะกึง่ เอกชนหรือเอกชนเลย ระบบ ราชการเดิมไม่ได้ค�านึงถึงความคุ้มค่า ไม่ค�านึงถึงผลส�าเร็จ เพราะว่าไม่ใช่เงินของตัวเอง ไม่ใช่งบประมาณของตัวเอง สอง คือ การประเมินผลในระบบราชการก็ไม่ได้เอาจริงเอาจังอะไร เพราะฉะนั้ น ข้ า ราชการก็ แ ค่ ท� า งานให้ มั น เสร็จๆ ไป จะได้ผลไม่ได้ผล จะคุ้มค่าไม่ คุ้มค่า ไม่ต้องรับผิดชอบ เราต้องเปลี่ยน ค่ า นิ ย มตรงนี้ ใ หม่ เปลี่ ย นวั ฒ นธรรม องค์กรของระบบราชการใหม่ ต้องมุ่ง ความส�าเร็จ มุ่งความคุ้มค่า ซึ่งมัน ก็รวมไปถึงความโปร่งใส การ ตรวจสอบได้ เพื่ อ ให้ บ รรลุ เปาหมายมากขึ้น “ซึ่ ง เป า หมายในการ ท� า งานของผม หรื อ ที่ ผ ม บ อ ก กั บ เ พื่ อ น ร ่ ว ม ง า น ตลอดว่าเปาหมายของราชการ คือ ประชาชนอยู่ดีมีสุข คุณจะ เป็นสรรพากร คุณจะเป็นสัสดี คุ ณ จะเป็ น ช่ า งโยธา หรื อ คุณจะเป็นปลัด อ�าเภอ หรือ

34

คุณจะเป็นอะไรก็ตาม เปาหมายในการท�างานของคุณ ไม่ใช่ท�างานบนโตะของคุณให้ส�าเร็จ ไม่ใช่เขียนแบบให้ จบ ไม่ใช่เก็บภาษีให้ได้ ไม่ใช่รกั ษาคนให้หายปวย...สิง่ นัน้ เป็นเพียงแค่เครือ่ งมือหรือทิศทางไปสูค่ วามส�าเร็จเท่านัน้ “คุณต้องตั้งเปาหมายในการท�างานของพวกคุณ ให้ เลยไปถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนให้ได้ ไม่ใช่ว่าคุณ เก็บภาษีครบแล้วจบไม่ใช่ ไอ้ภาษีที่คุณเก็บมา คุณจะท�า อย่างไรให้เป็นประโยชน์ตอ่ ประชาชน บ้านทีค่ ณ ุ ออกแบบ มาไม่ใช่ว่าคุณออกแบบเสร็จแล้ว กว้างยาวเท่านั้นเท่านี้ วัสดุเท่านั้นเท่านี้แล้วจบ...ไม่ใช่ ถ้าท�าอย่างนั้น ท�าได้แค่ นั้น เราจ้างบริษัทเอกชนมาออกแบบ จ้างบริษัทเอกชน มาเก็บภาษีง่ายกว่า ควบคุมได้ดีกว่าที่จะต้องมีระบบ ราชการ ทีจ่ ะต้องดูแลกันตลอดชีวติ แต่ประสิทธิภาพการ ท�างานอาจจะต�่ากว่าที่เราจ้างบริษัทเอกชนมาท�าด้วยซ�้า ฉะนั้นสิ่งที่จะทดแทนความเป็นข้าราชการได้คือ ต้องเอา เปาหมายในการดูแลประชาชนมาเป็นเครือ่ งชดเชยในการ ท�างานของข้าราชการ” ไอเดียเด็ด ชวยชาวนาเขมแข็ง “เราคุยกับชาวนาเรามา 3-4 ปีแล้วว่า อย่าหวังเพียง ราคาข้าวสูง เราพูดมาตลอดว่าชาวนาจะยืนอยู่ได้ จะมี รายได้พอ มีความเป็นอยู่ที่ดี ชาวนาต้องไม่หวังราคาข้าว สูง เพราะหนึง่ เป็นโครงการของรัฐบาลเป็นนโยบายซึง่ อาจ จะเปลี่ยนแปลงได้ ฉะนั้นถ้าชาวนาหวังพึ่งรัฐ แต่เมื่อเกิด การเปลี่ยนแปลงก็จะเกิดผลกระทบกับชาวนา ดังนั้นเรา ต้องยืนอยู่บนความมั่นคงและปลอดภัย อย่างที่เราเสนอ ให้กับชาวนาคือ ลดต้นทุนการผลิต ตอนนี้ชาวนาจ้างเขา ทุกขั้นตอน ใช้เครื่องจักรทั้งหมด ไม่มีการใช้แรงงานคน จ้างเขาไถ จ้างเขาด�า จ้างเขาฉีดยาฆ่าแมลง จ้างเขาเกีย่ ว จ้างเขาขนส่งไปโรงสี ตอนนีเ้ ราพยายามให้เขารวมกลุม่ กัน 100 ไร่ขึ้นไป แล้วก็ให้เขาซื้อเครื่องจักรกลในการเกษตร เอง โดยกู้จากสหกรณ์ กู้จากกลุ่ม ตั้งกลุ่มขึ้นมาแล้วก็ใช้ ถ้าเขามีเครื่องมือการเกษตรหรือเครื่องจักรกลการเกษตร ของเขาเอง เขาก็จะจ่ายเพียงค่าน�้ามันเท่านั้นเอง จาก 300 บาท มันจะเหลือไม่เกิน 150 บาท ฉะนั้นสิ่งที่เรา รณรงค์ คือคุณต้องลดต้นทุนการผลิต โดยการมีเครือ่ งจักร กลเป็นของกลุ่ม เพื่อไม่ต้องจ้างเขา แต่ท�ากันเอง “ถ้าใครรวมกลุ่มได้ เราก็แจกเครื่องสีข้าวเป็นรางวัล เพราะถ้าชาวนาขายข้าวทัง้ หมด เขาต้องไปซือ้ ข้าวเปลือก


ของตัวเองกลับมาในราคาที่ต่างกัน 4-5 เท่า แต่ถ้าเขาเก็บ ข้าวเปลือกไว้สว่ นหนึง่ พอเวลาจะทานก็เอามาสีครัง้ ละถัง ครั้งละสองถัง ค่าใช้จ่ายก็จะอยู่ในกลุ่ม คนที่ดูแลเครื่อง ก็ได้ปลายข้าว ได้ร�า ได้แกลบไว้ใช้ คนที่เป็นสมาชิกก็มา สีฟรี อย่างนี้เขาก็มีข้าวกิน ซึ่งลดค่าใช้จ่ายที่จะไปซื้อข้าว ตัวเองกลับมากิน เพราะขายข้าวเปลือกเกวียนละแค่หมื่น กว่าบาท แต่ซอื้ ข้าวสารเกวียนละสามหมืน่ ข้าวตัวเองแท้ๆ แต่ทผี่ า่ นมาชาวนาเขาไม่เก็บข้าวไว้เพราะเขาไม่มเี ครือ่ งสี

ผมเชื่อว่าถ้าเราเป็นโลจิสติกส์ของ ประเทศไทย...คนก็จะมาลงทุน มาอยู่ อาศัยในอยุธยาเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจอยุธยา ก็จะหมุนได้ด้วยตัวมันเอง

ตอนนีเ้ ราแจกเครือ่ งสีประจ�ากลุม่ ให้ เขาก็เก็บข้าวส่วนหนึง่ ไว้ แล้วเอามาสีกินได้ในภายหลัง “นอกจากนี้เราก็มี โครงการปลูกข้าวกินเอง เพื่อสอน ให้คนรู้จักกระบวนการในการท�านา และสามารถที่จะท�าด้วย ตัวเองได้ แทนที่จะมานั่งโทรศัพท์สั่งอย่างเดียว แต่ตัวเองต้อง รู้ ว่าถ้ามีนา 2-3 ไร่ต่อครอบครัว ก็ท�าเองได้ นอกจากนี้เราขอ ให้เกษตรกรในอยุธยาลดการผลิตลงเหลือปีละ 2 ครั้ง เพื่อให้ สอดคล้องกับนโยบายรับจ�าน�าข้าวที่จะรับจ�าน�าปีหนึ่งไม่เกิน 2 ครั้ง แต่เราเน้นในเรื่องการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ เราต้องการ พันธุ์ข้าวปลูกดี ต้องบ�ารุงรักษาดี น�้าพอดี ถ้า 2 ครั้งต่อปีเรา สามารถควบคุมตัวนี้ได้ จะช่วยลดต้นทุนการผลิต และลด ความเสี่ยง คือลดการลงทุนไปหนึ่งครั้งโดยท�านาเพียงแค่ 2 ครั้ง แต่ได้ผลผลิตเท่ากับท�านา 3 ครั้งก็จะได้ค่าตอบแทน หรือผลตอบแทนที่เท่ากันหรือมากกว่าโดยไม่ต้องเสี่ยงกับ การถูกน�้าท่วม “ที่ส�าคัญคือรู้อยู่แล้วอยุธยาหน้าน�้า น�้าท่วมคุณจะไป เสี่ยงท�าไม เราก็เสนอว่าไม่ได้ให้คุณเลิกหรือหยุดเราให้คุณ รวมกลุ่ม รวมแล้วกลุ่มนี้ 100 ไร่ 200 ไร่ เราก็จะปล่อยน�้าเข้า นา หาที่เอาน�้าไปเก็บเพื่อไม่ให้เกิดอุทกภัย ถ้าเรามีทุ่งนาอยู่ เก้าแสนกว่าไร่ แล้วเราเอาไปเก็บได้สักครึ่งหนึ่งรับรองน�้าไม่ ท่วมอยุธยา ใครที่ร่วมโครงการกับเรา เราไปท�าขอบเขตของ กลุ่มเขาให้ 500 ไร่ 1,000 ไร่ เราก็ปล่อยน�้าเข้าไปเก็บ แล้วเรา ก็แจกพันธุก์ งุ้ พันธุป์ ลาทีม่ นั ตัวใหญ่หน่อย กะว่าสีเ่ ดือนเนีย่ เขา มีผลผลิตจากกุ้งจากปลาที่เราแจก ตอนที่เขาเกี่ยวข้าวข้าวที่ มันตกอยู่ในทุ่งนา ซังข้าว ตอข้าว วัชพืชที่ยังอยู่เมื่อปล่อยน�้า เข้าไปก็จะเป็นอาหารปลาอย่างดี คราวนี้ปลากินพืช ก็ไม่ต้อง ให้อาหาร มันมีอาหารของมันเอง ที่ส�าคัญ คือ พวกโรค แมลง ศัตรูพชื ทัง้ หลาย โดนน�า้ ท่วม โดนปลากินไปหมด แล้วเราก็แช่ นาตั้งสามสี่เดือนมันปรับปรุงคุณภาพดินไปในตัว ความชื้น และตะกอนของน�้าที่ตกไปก็จะไปเป็นปุ๋ยธรรมชาติให้ ยิ่งเรา เลีย้ งปลาเลีย้ งกุง้ ไอ้พวกนีข้ ปี้ ลา เมือกปลา คาวปลา มันท�าให้ เป็นปุย๋ ต่อพืน้ ดิน ฉะนัน้ เรามัน่ ใจว่าจากสามเหลือสอง แล้วมา เพิม่ ผลผลิตให้คณ ุ หนึง่ เราดูเรือ่ งพันธุข์ า้ วปลูก สองดูเรือ่ งการ ปรับปรุงดินตรงนี้ เรามัน่ ใจว่าเราสามารถเพิม่ ผลผลิตได้ 20 % โดยที่ไม่ต้องลงทุนเพิ่ม “นี่ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราคิ ด ว่ า ถ้ า เขาท� า อย่ า งนี้ ร่ ว มโครงการ ตรงนี้ ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตให้ได้ เว้นการเสี่ยง ชาวนาเราไม่จ�าเป็นต้องพึ่งราคาข้าวที่สูง เพราะอะไร ที่เรา Ayutthaya 35


ต้องอาย ถ้าเราเป็นเกษตรกรก็ให้ลูกไป เรี ย นเกษตร ลู ก ก็ จ ะกลั บ มาอยู ่ กั บ เรา เพราะเรามีทุนทางสังคมอยู่ เราจะได้ใช้ เรามีที่นา เรามีเครื่องมือทางการเกษตร เรามีภูมิปญญา มีประสบการณ์ท�านา ท�า สวน ท�าไร่ แต่ถ้าลูกเราไปเรียนเป็นช่างกล เป็ น เจ้ า หน้ า ที่ ก ารเงิ น การบั ญ ชี ลู ก เรา ต้องไปแข่งกับคนอื่นที่มีทุนทางสังคมสูง กว่า ท�าให้มีโอกาสชนะเขาน้อย แต่ถ้าลูก เรากลับมาใช้ทุนทางสังคมที่พ่อแม่มี ลูก จะแข่งกับคนอื่นได้ เราอย่าไปดูถูกอาชีพ เกษตรว่าจน ที่จนเพราะเรายังท�าไม่ถูก เรายังต้นทุนสูง เรายังผลผลิตต�่า เรายัง ไม่มกี ารรวมกลุม่ เรายังไม่รจู้ กั ใช้เครือ่ งทุน แรง ดังนัน้ ถ้าลูกเราเรียนในสาขาทีเ่ รามีทนุ ทางสังคมแล้วมาต่อยอดกับอาชีพของเรา ผมว่าไม่ตอ้ งกลัวอดตาย แทนทีเ่ ราจะเลือก หนทางอนาคตให้ลูกด้วยการไล่ลูกออก จากบ้าน เรามาเรียกลูกเรากลับมาอยู่กับ บ้านเถอะครับ”

เน้นว่าไม่ต้องพึ่งราคาข้าวที่สูง ไม่ใช่ว่าเราไม่อยากให้ชาวนามีรายได้สูง แต่ข้าวมันเป็นตัวแปรส�าคัญของค่าครองชีพ เพราะคนไทยทุกคนกินข้าว คนทีข่ ายรองเท้าแตะก็กนิ ข้าว คนทีข่ สี่ ามล้อก็กนิ ข้าว คนทีเ่ ป็นข้าราชการก็กนิ ข้าว คนที่เป็นนายแบงค์ก็กินข้าว ผมจึงบอกชาวนาว่า อย่าไปหวังเรื่องราคา ข้าวสูง คุณต้องหวังว่า คุณมีส่วนต่างของผลผลิตสูง คือคุณต้องลดต้นทุน คุณให้ต�่า คุณต้องเพิ่มผลผลิตคุณให้สูง คุณต้องหลีกเลี่ยงความเสี่ยงให้ได้ “แล้ ว ทุ ก วั น นี้ เราไล่ ลู ก เราออกจากบ้ า นทุ ก ครอบครั ว เลย ให้ ลู ก ไปเรี ย นสาขาวิ ช าอื่ น ที่ ไ ม่ ใ ช่ อ าชี พ ของครอบครั ว ฉะนั้ น เราบอกว่ า ไม่ 36

เศรษฐกิจพอเพียง ทางเลือกทางรอด ของคนไทย “ ปรั ช ญาเศรษฐกิ พ อเพี ย งของ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ถ้ า เราเอามาใช้ ใ ห้ เ ป็ น ประโยชน์ให้มันตรงกับที่พระราชโอวาทก็ จะเป็นประโยชน์ เศรษฐกิจพอเพียงก็คือ พออยู่ พอกิน พึ่งพากัน เกื้อกูลกัน มีหลัก ประกันในชีวิต ผมว่าเราเอามาใช้กันไม่ ตรงนัก เรามาบอกว่าต้องท�าทุกอย่าง ต้อง ประหยัด ต้องไม่สุรุ่ยสุร่าย ไม่ใช้ในเรื่องที่ ไม่เป็นประโยชน์ ที่จริงไม่ใช่ ที่จริงก็คือว่า ท�าอย่างไรให้คนในสังคมดูแลช่วยเหลือกัน “ในโครงการนี้เรามีการเก็บสถิติหรือ ว่ า เก็ บ การใช้ จ ่ า ยของแต่ ล ะครั ว เรื อ น เรียกว่าบัญชีครัวเรือนท่านบอกว่าให้จดไว้ แล้วเราน�ามาดูว่าควรจะใช้อะไรไม่ควรใช้ อะไร แล้วเราต่อยอดไปจากนีอ้ กี แทนทีจ่ ะ


เศรษฐกิจพอเพียงก็คือ พออยู่ พอกิน พึ่งพากัน เกื้อกูลกัน มีหลักประกัน ในชีวิต... เรามาบอกว่าต้องท�าทุกอย่าง ต้องประหยัด ต้องไม่สุรุ่ยสุร่าย ที่จริง ไม่ใช่ ที่จริงก็คือว่าท�าอย่างไรให้คนใน สังคมดูแลช่วยเหลือกัน

ดูเป็นรายบ้าน แต่ดูเป็นรายหมู่บ้าน หรือรายต�าบลว่าคนในหมู่บ้านนี้ เดือนหนึ่งกินอะไรบ้าง กินไข่ไก่ 600 ฟอง ใช้สบู่ 500 ก้อน กินน�้าปลา 300 ขวด กินผัก กินปลา แล้วเรามาดูกันว่าในหมู่บ้านเรานี่มีอะไรที่ เราผลิตได้ คนนีห้ มูน่ ที้ า� น�า้ ปลาเก่ง หมูน่ ที้ า� สบูเ่ ก่ง ท�าสบู่ ไม่ใช่ทกุ ครัว เรือนท�าสบู่ ทุกครัวเรือนท�าน�้าปลา ไม่ใช่ทุกครัวเรือนปลูกผัก เลี้ยงไก่ ไม่ใช่ เราแบ่งกันท�าตามถนัด และก็คา้ ขายกันในหมูบ่ า้ น ผมเคยซือ้ สบู่ ลักส์ สบู่ไลฟ์บอย สบู่ปาล์มโอลีฟ ผมมาให้คุณสมศรีในหมู่บ้านนี้ซึ่งมี

Ayutthaya 37


ทักษะในการท�าสบู่ และทุกคนในหมูบ่ า้ นซือ้ สบูส่ มศรีไปใช้ สบู่ สมมติว่าก้อนละ 15 บาท สมศรีอาจจะขายไม่ถึง 15 บาท ถ้า ลูกค้าในหมูบ่ า้ นรวมกันซือ้ สบูส่ มศรี 300 ก้อน สมศรีกจ็ ะปลด ตัวเองจากความเป็นคนยากจนทีม่ รี ายได้ตา�่ กว่าเกณฑ์ 30,000 จากเงินของคนในหมูบ่ า้ นทีช่ ว่ ยกัน สบูส่ มศรีอาจจะหอมสูส้ บู่ ลักส์ไม่ได้ แต่มนั จะหอมกว่าตรงทีเ่ ราเสียเงินไป 15 บาท เราได้ สบูม่ าหนึง่ ก้อนแต่เราได้ชว่ ยสมศรีให้มคี วามเป็นอยูด่ ขี นึ้ แล้ว ผมเชื่อว่าถ้าทุกหมู่บ้านท�าได้อย่างนี้ เวลาเรามีงานบวชลูก มี งานศพ พ่อ แม่ บุพการี มีงานแต่งลูกสาว สมศรีทเี่ ราซือ้ สบูเ่ ขา ทุกวัน ต้องมาช่วยเรา ไม่เหมือนกับซื้อจากโรงงาน นี่คือหลัก พึ่งพาตัวเอง เศรษฐกิจพอเพียง คุณไม่ต้องใช้สบู่ที่หอมมาก คุณไม่ต้องกินน�้าปลาที่อร่อยที่สุด แต่สิ่งที่คุณกินคุณใช้เป็น รายได้ของคนในหมู่บ้านคุณ คุณช่วยเขาให้มีรายได้ คุณให้ เขาอยู่ในสังคมได้ เขาก็จะช่วยคุณ อันนี้คือการพึ่งพาซึ่งกัน และกัน”

เรามีความเป็นชาติ เป็นบ้านเมือง เป็น ประเทศได้ในขณะนี้ เพราะพระมหากษัตริย์ เพราะบรรพบุรุษปกปอง คุ้มครอง แผ่นดินนี้ไว้ให้เรา 38

เทิดทูน 3 สถาบันหลักของชาติไทย คือสิง่ ทีภ่ าคภูมใิ จ “ชาติเราอยู่ได้ เพราะสถาบันหลัก 3 สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ฉะนัน้ เปาหมายทีผ่ มภูมใิ จทีไ่ ด้มา อยู่ที่นี่คือ ดูแลสามสถาบันนี้อย่างเป็นรูปธรรม และก็มีผล งานทีภ่ มู ใิ จได้ น�าเสนอคนอืน่ ได้ เรือ่ งแรกคือเรือ่ งสถาบัน พระมหากษัตริย มาอยู่ที่นี่เรามีโครงการพระราชด�าริ เรา ได้สนองภารกิจ และพระราชกรณียกิจของพระบรมวงศา นุวงศ์ และของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ หลายครั้ง ที่เราได้รับเสด็จฯ ได้ถวายงาน เรื่องที่ส�าคัญคือเราท�าให้ ประชาชนได้เห็นความส�าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ ตั้งแต่อดีตมาจนปจจุบัน ว่าเรามีความเป็นชาติเป็นบ้าน เมืองได้ เป็นประเทศได้ในขณะนี้ เพราะพระมหากษัตริย์ เพราะบรรพบุรุษปกปอง คุ้มครองแผ่นดินนี้ไว้ให้เรา เป็น มรดกให้ มีภาษาเป็นของตัวเอง มีวฒ ั นธรรมเป็นของตนเอง มีความเป็นชาติเป็นของเราเอง ถ้าเราไม่มพี ระมหากษัตริย์ เป็นผูน้ า� ไม่มบี รรพบุรษุ ทีเ่ สียสละหรือมีความสามารถ เราก็ คงเป็นเหมือนชาติอนื่ ทีไ่ ม่มปี ระเทศ มีแต่ความเป็นเชือ้ ชาติ ของเขา เช่น มอญ กะเหรีย่ ง ไทยใหญ่ แต่เรามีประเทศไทย ประเทศสยามเพราะอะไร เพราะบรรพบุรุษเรา พระมหา กษั ต ริ ย ์ ใ นอดี ต ท� า สงครามป อ งกั น แผ่ น ดิ น ไว้ ถื อ ดาบ ถือหอก ถือง้าว เข้าไปสู้กันตัวต่อตัว ตาต่อตา ฟนต่อฟน แลกกันด้วยเลือดเนื้อและชีวิต นี่คือสิ่งที่บรรพบุรุษหรือ พระมหากษัตริย์แสดงไว้ หรือว่าท�าไว้ให้เรา ผมพยายาม ให้คนในประเทศไทย ในอยุธยา คิดถึงในเรื่องนี้ให้มาก “สิ่งที่ภูมิใจที่สุดของเรา คือการรับเสด็จที่ทุ่งมะขาม หย่อง (วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2555) หลังจากที่น�้าท่วม อยุธยา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนาง เจาฯ พระบรมราชีนีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ เสด็จฯมาให้ก�าลังใจคนอยุธยา ทรงเยี่ยมประชาชน ทีถ่ กู น�า้ ท่วม ทอดพระเนตรการแสดง ทรงติดตามโครงการ พระราชด�าริของพระองค์ทา่ นทีท่ งุ่ มะขามหย่อง ซึง่ เป็นพืน้ ดินแห่งพระมหากรุณาธิคุณ ที่พระองค์ท่านทรงผูกพันกับ แผ่นดินนี้ซึ่งมีประวัติศาสตร์เรื่องราวมาตั้งแต่สมัยพระ สุริโยทัย สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ท่าน ทรงน�าเรื่องราวนั้นมาสร้างพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระ สุริโยทัย และพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวร มหาราช เพือ่ ให้เด็กและเยาวชน คนไทยได้รปู้ ระวัตศิ าสตร์


หน้านี้ว่า พื้นแผ่นดินตรงนี้เป็นที่ที่บรรพบุรุษ และพระมหา กษัตริย์ไทยในอดีตได้ สละชีพ สละเลือดเนื้อแลกไว้ “ฉะนัน้ เราก็เลยก�าหนดว่าวันที่ 25 พฤษภาคมของทุกปี ซึง่ เป็นวันทีเ่ สด็จฯ เป็นวันส�าคัญของจังหวัด เราจะมีการเฉลิม ฉลองเพือ่ ร�าลึกถึงการเสด็จพระราชด�าเนินของพระองค์ทา่ น มีการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมของคนอยุธยาไว้โดยการประกวดเรือ ประกวดเพลงเรือซึง่ เป็นวิถชี วี ติ ของคนอยุธยาทีอ่ ยูก่ บั สายน�า้ มาตลอด รวมทัง้ เราก็จะให้พนี่ อ้ งประชาชน ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนทัว่ ไป มาร่วมกันปลูกข้าวในทีน่ าของพระองค์ทา่ น 7 ไร่ ที่อยู่ริมทุ่งมะขามหย่อง เราลงมือปลูกข้าวในวันที่ 25 พฤษภาคม เมื่อเกี่ยวในเดือนกันยายน ก็น�าไปทูลเกล้าฯ ถวายเป็นพันธุ์ข้าวปลูก ซึ่งพระองค์ท่านจะได้พระราชทาน ให้ กั บ ประชาชนหรื อ เกษตรกรต่ อ ไป เพราะฉะนั้ น วั น นี้ ก็จะเป็นวันส�าคัญของคนอยุธยา ที่จะแสดงความจงรัก

ภักดี เชิดชู เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ และส�านึกใน พระมหากรุณาธิคุณโดยน�าพระบรมราโชบาย น�าโครงการ พระราชด� า ริ ข องพระองค์ ท ่ า น มาท� า ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่อเนื่องกันไปทุกปี “เรื่องที่สองคือสถาบันศาสนา อยุธยาถือว่าเป็น จังหวัดที่มีวัดมากที่สุด มีวัดส�าคัญ มีวัดหลวงอยู่ถึง 14 วัด มากที่สุดในประเทศไทย ยกเว้นกรุงเทพ ยังมีวัดร้างอีก 500 กว่าวัด มีวัดที่มีภิกษุอยู่ 500 กว่าวัด มีคนมาไหว้พระ เก้าวัดภายในครึ่งวันก็ไหว้กันครบแล้ว แต่เราก็มีเรื่องของ พระสงฆ์ รู ป หนึ่ ง เป็ น พระสงฆ์ ไ ทยที่ มี คุ ณู ป การต่ อ พุทธศาสนาอย่างยิ่งคือพระอุบาลีมหาเถระ ซึ่งผมไปทราบ เรื่องราวของท่านเมื่อคราวไปศรีลังกา ก็กลับมาคิดว่าท�า อย่างไรให้คนไทยได้รู้จักพระอุบาลีมหาเถระ เพราะว่าคน ไทยเราไม่รู้จักเลย ท่านเดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ ศรีลังกา เมื่อ พ.ศ.2296 มาถึงตอนนี้ ก็ 261 ปี ปีที่แล้ว พ.ศ. 2556 เราก็ร่วมมือกับประเทศศรีลังกา สร้างพิพิธภัณฑ์พระ อุบาลีมหาเถระขึน้ ทีว่ ดั ธรรมาราม อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเฉลิมฉลอง วาระครบ 260 ปี ในการเดินทางไปเป็นสมณทูตของท่าน เปิดให้ผู้คนเข้าชม เรื่ อ งราวของพระพุ ท ธศาสนา ความเป็ น มาเป็ น ไปของ พระพุ ท ธศาสนา ประวั ติ ข องพระอุ บ าลี ม หาเถระ ภิ ก ษุ ที่ยิ่งใหญ่ และมีคุณูปการต่อพุทธศาสนาอย่างยิ่งองค์นี้ แสดงถึงผลงานและความเสียสละของท่านที่ได้เดินทาง ไปฟื้นฟูพระพุทธศาสนาที่ประเทศศรีลังกา จนท�าให้เกิด พุทธศาสนานิกายสยามวงศ์และท�าให้ประเทศศรีลงั กากลับ มาเป็นแผ่นดินแห่งพุทธภูมอิ กี ครัง้ ตอนนีก้ ไ็ ด้เปิดพิพธิ ภัณฑ์

Ayutthaya 39


พระอุ บ าลี ม หาเถระให้ ป ระชาชนเข้ า ชมแล้ ว นี่ก็คือเรื่องที่สองที่ผมท�าให้กับอยุธยา “เรื่องที่สามคือความเปนชาติ เราน�าเสนอ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติหรืออย่างเกื้อกูล ของคน อยุธยา ไม่ว่าจะเป็นคนต่างชาติ ต่างภาษา ต่าง ศาสนามาอยูใ่ นอยุธยา เราถือว่าเป็นคนในอยุธยา หมด ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้วคิดอย่างนี้ คน อยุธยาอาจมีความคิดที่แตกต่างกัน เสื้อแดง เสื้อ เหลือง เสือ้ ฟา เสือ้ ขาว แต่สงิ่ ทีม่ นั เป็นเครือ่ งยึดโยง ไม่ให้เขาทะเลาะกันคือวิถีชีวิตเดิม คนมุสลิมอยู่ ในหมู่บ้านคนไทยพุทธ คนไทยพุทธอยู่ในหมู่บ้าน มุสลิมไม่เคยทะเลาะกัน วัดมีงานมุสลิมก็มาช่วย มุสลิมมีงานพระก็ไปช่วย มันหาที่ไหนในโลกไม่ ได้ สิง่ นีค้ อื ความเป็นชาติ ความเป็นวิถชี วี ติ ของคน อยุธยา สิ่งเหล่านี้มันจะท�าให้คนอยุธยาสามารถ ที่จะพัฒนาบ้านเมืองของตนเองในโอกาสที่เราจะ เข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้จากวิถีชีวิตแบบนี้ เรา จะปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นได้ เพราะเรามองคน ต่างชาติว่าเป็นคนในบ้านเดียวกับเรา เราไม่ได้ มองคนต่างชาติเหมือนคนแปลกหน้า เราก็อยู่กับ คนต่างชาติหรือคนแปลกหน้ามาห้าหกร้อยปีแล้ว ถ้าจะมีคนต่างชาติเพิ่มมาอีกคนสองคนก็ไม่น่ามี อะไรแตกต่างไปจากเดิม และการที่เข้าไปหาเขา การจะคบค้าสมาคม มันเป็นวิถีชีวิตเดิม อันนี้คือ ความเป็นชาติ “แต่สิ่งที่ผมคิดว่าเป็นรูปธรรมมากกว่านั้นก็ คือ เมื่อผมมาใหม่ๆ ศาลากลางแห่งนี้คนมองไม่ เห็น เพราะหนึ่งเพิ่งย้ายออกมาจากข้างใน คนก็ถาม ศาลากลางอยู่ที่ไหน ตอนแรกก็มืดครึ้มทางเข้า-ออกก็ ไม่ได้อยูข่ า้ งหน้า เข้า-ออกด้านข้าง ฉะนัน้ คนทีผ่ า่ นถนน สายเอเชียมองไม่เห็น ไม่รู้ว่าศาลากลางอยู่ที่ไหน สิ่งที่ ผมท�าคือ หนึ่งผมท�าหน้าบ้านศาลากลางซึ่งเป็น CITY HALL เป็นศาลาประชาคม ศาลากลางของจังหวัดที่ เป็นศูนย์รวมของจังหวัดให้คนเห็น คนที่มาศาลากลาง เขาจะได้ภูมิใจว่าคนอยุธยาไม่ได้น้อยหน้าใคร สถานที่ ราชการสวยงามสะอาดเรียบร้อย สะดวกสบาย แล้วเรา ก็นา� เสนอส่วนทีม่ นั เป็นความส�าคัญ เช่นแหล่งท่องเทีย่ ว 40


สถานทีส่ า� คัญ วิสยั ทัศน์ของคนอยุธยาให้เขาเห็นจากหน้าบ้าน “นี่คือสิ่งที่ผมคิดว่าผมท�าให้อยุธยาอย่างเป็นรูปธรรม คน มาตรวจสอบ มาถ่ายรูปได้ มาสัมผัสได้ว่ามันคืออะไร ห้าปี ครึ่ง หรือประมาณ 2,000 วันที่ใช้ชีวิตที่นี่จนเหมือนกับว่าเป็น บ้านเกิดเมืองนอน วิถชี วี ติ ผมอยูท่ นี่ ไี่ ม่เคยไปค้างคืนทีก่ รุงเทพ เลย ห้าปีครึ่งอยู่ที่นี่จนชิน นี่ก็ใจหายถึงเวลาที่จะเกษียณอายุ ราชการสิ้นเดือนกันยายนนี้ ต้องเปลี่ยนที่นอนไปนอนที่อื่น ไป

ในโอกาสที่เราจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ได้ เข้าสู่ความเป็นสากลจากพื้นฐานตรงนี้ จากวิถีชีวิตแบบนี้ เราจะปรับตัวให้เข้ากับ คนอื่นได้ เพราะเรามองคนต่างชาติ ว่าเป็นคนในบ้านเดียวกับเรา

นอนที่ใหม่จะไม่คุ้นแต่ก็คิดว่าสิ่งที่เราได้ฝากไว้กับคนอยุธยา ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของทุ่งมะขามหย่อง พิพิธภัณฑ์พระอุบาลี ศาลากลางจังหวัด หรืออนุสรณ์สถานแห่งความจงรักภักดี ทุ่งหันตรา ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว เป็นแหล่งรายได้ เป็นแหล่ง ความรู้ของคนอยุธยา นับเป็น Master Piece ชิ้นหนึ่ง ที่ท�าขึ้น เพื่อคนอยุธยา จะเป็นประโยชน์ต่อคนอยุธยาในอนาคตอย่าง มากมายนั้น จะท�าให้คนอยุธยาคิดถึงเราบ้าง” ศักยภาพของเมืองอยุธยา&บุคลากร คือความประทับใจ “หนึ่งคือ อยุธยาเป็นศูนย์กลางของประเทศไทยมาแต่ ในอดีต มาถึงขณะนี้ก็ยังเป็นศูนย์กลางถึงจะไม่ได้เป็นที่ตั้ง

เมืองหลวงก็ตาม แต่เราถือว่าเรามีศักยภาพ มีทุนสูง มี ทีม่ าทีไ่ ป มีเรือ่ งราว เราจะท�าอะไรก็ตาม ก็สามารถใช้สร้าง ความสนใจให้คนได้ ท�าอะไรที่นี่ลงแรงน้อยก็สามารถ ประสบความส�าเร็จได้ง่าย เพราะมีทุนเดิมสูงอยู่แล้ว “สองคือ ข้าราชการทีม่ าอยูท่ นี่ ี่ ล้วนแต่เป็นข้าราชการ ชั้นหัวกะทิทั้งนั้น เพราะถือว่าเป็นหัวเมืองหลักอยู่ใกล้ กรุงเทพ คนที่มาอยู่ที่นี่ส่วนใหญ่ก็จะอาวุโส อาวุโสใน ทางราชการไม่ ใ ช่ แ ก่ แต่ อ าวุ โ สที่ ว ่ า มี ต� า แหน่ ง สู ง มี ประสบการณ์สูง เขาจึงเลือกมาอยู่ที่เมืองอยุธยา ฉะนั้น เมื่อเราท�าโครงการอะไร หรือคิดโครงการอะไรขึ้นมา เรา ก็มีบุคลากรหรือเพื่อนร่วมงานที่สามารถช่วยพาโครงการ เราไปสู่เปาหมายปลายทางได้ อันนี้คือความประทับใจ ของการท�างานอยู่ที่นี่ “ผมเชื่อว่าห้าปีกว่าๆ เท่าที่ได้ท�างาน ก็คุ้มกับที่เขา จ่ายเงินเดือนให้กับผม แต่ผมก็คงไม่ได้หนีไปจากอยุธยา เลย ก็คงจะได้แวะเวียนกลับมา ได้ดูได้ท�าอะไรให้กับคน อยุธยาอีกตามโอกาสหรือจังหวะ หรือตามเทศกาลต่างๆ ผมก็คงฝากพี่น้องอยุธยาไว้ว่า ถ้าเราท�าอยุธยาของเราให้ น่าอยู่ ให้มนั น่าลงทุน ให้มนั น่าเทีย่ ว ก็จะเป็นประโยชน์แก่ คนอยุธยาเอง เราก็จะสามารถเพิม่ รายได้ของเรา สามารถ เพิ่มชีวิตความเป็นอยู่ของเราให้ดีขึ้นได้ด้วยตัวเราเอง” Ayutthaya 41


p.042AD ¡ÒúԹàª×èÍà¾ÅÔ§.pdf 1 8/7/2557 12:54:50

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


สารอุตสาหกรรมจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดที่เป็นราชธานีเก่า เป็นนครประวัติศาสตร์ เป็นเมืองมรดกโลก มีแม่น�้าไหลผ่าน 4 สาย ได้แก่ แม่นา�้ เจ้าพระยา แม่นา�้ ป่าสัก แม่นา�้ น้อย แม่นา�้ ลพบุรี และเป็นจังหวัดทีม่ กี ารลงทุนอุตสาหกรรมมากเป็นอันดับ ต้นๆ Positioning ในการลงทุนภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ และชิน้ ส่วนของรถยนต์ ปัจจุบนั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีโรงงานอุตสาหกรรม กว่า 2,300 โรง ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรม 3 แห่ง เขตประกอบ การอุตสาหกรรม 2 แห่ง และในสวนอุตสาหกรรม ชุมชน อุตสาหกรรม อีกหลายแห่ง นอกจากนัน้ ยังมีโรงงานทีก่ ระจาย อยูใ่ นพืน้ ทีต่ า่ งๆ ของจังหวัดมีเงินลงทุน 3.8 แสนกว่าล้านบาท มีการจ้างงานมกากว่า 250,000 คน โดยเฉพาะปี 2557 นี้ มี ผูล้ งทุนในภาคอุตสาหกรรมทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตประกอบกิจการ โรงงาน (รง.4) แล้ว 37 โรงงาน เงินลงทุน 5 พันกว่าล้านบาท มี การจ้างงานเพิม่ ขึน้ 1,500 คน และอยูใ่ นขัน้ ตอนการขออนุญาต อีกหลายราย อย่างไรก็ตามความเจริญเติบโตในภาคอุตสาหกรรม ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ก็ต้องค�านึงถึงผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจน คุ ณ ภาพชี วิ ตของชุ มชนที่ อยู ่ โ ดยรอบโรงงาน ซึ่ง เป็น เรื่อ ง ท้าทายทีจ่ ะต้องท�าให้ผปู้ ระกอบกิจการโรงงานสามารถอยูร่ ว่ ม กับชุมชน ภาคเกษตรกรรม การท่องเที่ยว แหล่งน�้าธรรมชาติ

(นายสุรศักดิ์ เฉลิมเกียรติทวี) อุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Ayutthaya 43


เสนทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด

นายสุรศักดิ์ เฉลิมเกียรติทวี

อุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

44


สถานการณ์บ้านเมืองมีความสงบขึ้น ภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัวลงทุน เพิ่มขึ้น มีการเร่งรัดการใช้จ่าย มีมาตรการ ปองกันปญหาด้านอุทกภัยเปนรูปธรรม เกิดความเชื่อมั่นของผู้ลงทุน

อุตสาหกรรมอยุธยากับอนาคตที่สดใส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดที่มีท�าเลที่ตั้งที่เหมาะสม กับการท่องเที่ยว เมืองน่าอยู่ และน่าลงทุน เป็นจุดศูนย์กลางการ เดินทางทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก และภาคใต้ ซึ่งช่วง กลางปีงบประมาณ 2557 สถานการณ์บ้านเมืองมีความสงบขึ้น ภาค อุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัวลงทุนเพิม่ ขึน้ มีการเร่งรัดการใช้จา่ ย มีมาตรการป้องกันปัญหาด้านอุทกภัยเป็นรูปธรรม เกิดความเชือ่ มัน่ ของ ผูล้ งทุน ประกอบกับพืน้ ทีข่ องจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีนคิ มอุตสาหกรรม 3 แห่ง ประกอบด้วย นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบ้าน หว้า(ไฮเทค) นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร เขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แห่ง ได้แก่ เขตประกอบการ บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ากัด (มหาชน) เขตประกอบการ แฟคเตอรี่แลนด์วังน้อย พร้อมทั้งมีชมชน อุตสาหกรรม และสวนอุตสาหกรรมอีกหลายแห่ง ประกอบกับมีสถาน ประกอบกิจการขนาดใหญ่มชี อื่ เสียง ทีเ่ ป็นแม่เหล็กทีด่ งึ ดูดผูป้ ระกอบ กิจการทีเ่ ป็น Subcontract อืน่ มาตัง้ อยูใ่ กล้ ซึง่ การประกอบกิจการปัจจุบนั จะใช้ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just – in - time Production Systems) ประกอบกับมีโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั อนุญาตแล้ว 7 โรง และอยูร่ ะหว่างการขออนุญาตอีก 3 โรง และในบางพืน้ ทีม่ กี ารเดิน ท่อกาซธรรมชาติผา่ น มีการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ให้เชือ่ มโยงอย่าง บูรณาการ (Logistics Network Integration ) ระบบการขนส่งสนับสนุนและ ทางหลวงพิเศษ (Motorway) การขนส่งทางน�า้ รถไฟรางคู่ รถไฟความเร็ว สูง ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต รวมทัง้ ศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าของห้าง สรรพสินค้า ใหญ่ทไี่ ด้มาลงทุนตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีแ่ ล้ว จากข้อมูลดังกล่าวข้าง ต้น ท�าให้นกั ลงทุนเห็นศักยภาพของจังหวัด เมือ่ มีการลงทุนแล้วจะได้ เปรียบกว่าพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ Ayutthaya 45


“ศูนยบริการทันใจ” รวดเร็ว-โปรงใส ตามนโยบาย คสช. การเร่งรัดการพิจารณาออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) ที่ค้างการพิจารณา ต้องยอมรับว่ามีปัญหาอุปสรรคพอสมควร ทั้งในด้านข้อกฎหมาย เอกสารประกอบการพิจารณาต้องครบถ้วน การประกาศฯ รับฟังข้อความคิดเห็นจากประชาชน และความเห็นจาก อ�าเภอ อปท. และประชาชน เกี่ยวกับความเหมาะสมของท�าเลที่ตั้ง โรงงาน ซึ่งต้องบูรณาการกับทุกภาคส่วน พร้อมทั้งมีการปรับเปลี่ยน ระยะเวลาในการออกใบอนุญาต/ขยายโรงงาน จากเดิม 90 วัน เป็น 30 วัน ต้องปรับเปลีย่ นยุทธศาสตร์ ปรับปรุงฐานข้อมูล ขัน้ ตอนการด�าเนิน การ ติดตามผลและตรวจสอบเร่งรัดเจ้าหน้าที่ฯ ที่รับผิดชอบอย่างเป็น ระบบฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ปรับปรุงความล่าช้าของการด�าเนิน การทีส่ ามารถให้บริการได้โดยไม่ตอ้ งรอนาน เช่น การแจ้งเปลีย่ นแปลง เลขทีต่ งั้ /ส�านักงาน/ขยาย และการแจ้งประกอบฯ การเปลีย่ นแปลงการ ติดตั้งเครื่องจักรที่ไม่เข้าข่ายขยายฯ การโอนใบอนุญาตฯ ส่วนการต่อ อายุใบอนุญาตฯ ให้ตรวจสอบความถูกต้องก่อนใบอนุญาตสิน้ อายุ จึง ได้จัดตั้ง “ศูนยบริการทันใจ” (Express Services Center) เพื่อให้ บริการกับผูป้ ระกอบกิจการ ประชาชน ด้วยความรวดเร็ว ใช้เวลาในการ ด�าเนินการไม่เกิน 30 นาที สามารถรับเอกสารกลับได้เลย ซึ่งได้รับการ ตอบรับจากผู้ประกอบกิจการ และประชาชนที่มารับบริการอย่างดียิ่ง อุตสาหกรรมจะยิ่งใหญ ตองรับผิดชอบใหญยิ่ง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะมองด้านตัวเลขทางเศรษฐกิจ อย่างเดียวไม่ได้ ต้องค�านึงถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามมาอย่าง มากมายเช่นกัน โดยเฉพาะปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัยจาก การประกอบกิจการภาคอุตสาหกรรม ปัญหาจากประชากรแฝงมากมาย ปัญหาด้านสังคม ปัญหาการขาดแคลนโครงสร้างพืน้ ฐาน จุดทีส่ า� คัญผู้ ประกอบกิจการและชุมชนจะต้องสนับสนุนช่วยเหลือเกือ้ กูลร่วมมือซึง่ กัน และกัน ซึง่ จะน�าไปสูก่ ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน และอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุข การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมสูอ่ ตุ สาหกรรมฐาน ความรูเ้ ชิงสร้างสรรค์ และ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ครั้งแรกที่เข้ารับราชการที่กองสิ่งแวดล้อมโรงงาน กรมโรงงาน อุตสาหกรรม ดูแลโรงงาน ที่มีน�้าทิ้งจากการประกอบกิจการโรงงาน เกิดปัญหาแม่น�้าเน่าเสีย ต้องตรวจเฝ้าระวังการลักลอบระบายน�้าเสีย ลงในแหล่งรับน�า้ ตรวจเฝ้าระวังตลอด 24 ชม. โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ต่อมาก็ให้ดแู ลตรวจสอบ ทัง้ มลพิษทางน�า้ และอากาศ เพราะฉะนัน้ ใน ด้านการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมดังกล่าว จึงเป็นประสบการณ์ ที่ สะสมมาตั้งแต่เริ่มเข้ารับราชการ

อาศัยประสบการณ์ที่ได้รับจากการ รับราชการตั้งแต่ครั้งแรก หาสาเหตุที่ท�าให้เกิด ปญหา โดยต้องดูขั้นตอนการผลิต ตั้งแต่เริ่มต้น วิเคราะห์หาสาเหตุ แจ้งให้แก้ไขจุดที่เกิดปญหา 46

ศูนย์บริการทันใจ Express Services Center


โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร จัดการน�้าในโรงงานอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์ที่จะลดปริมาณการใช้น�้าลง ร้อยละ 5 และน�าน�้าเสียที่บ�าบัดแล้ว มาใช้ประโยชน์ร้อยละ 5 ภารกิจพิชิตปัญหาโรงงานอุตสาหกรรม ปัญหาเหตุเดือดร้อนจากการประกอบกิจการโรงงาน เป็น ปัญหาทีใ่ ห้ความส�าคัญในการด�าเนินการอย่างเร่งด่วน แนวคิด เราต้องคิดว่าเป็นผู้ได้รับความเดือดร้อนเอง ก็จะทราบว่า ประชาชนทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อนต้องการอะไร ใช่ครับ ต้องการ ให้ความเดือดร้อนได้รบั การแก้ไขโดยเร็ว และต้องยุตไิ ม่เกิดขึน้ อีกโดยเร็ว จึงได้แบ่งการร้องเรียนจากการประกอบกิจการไว้ 2 ลักษณะ 1. เหตุเดือนร้อนร�าคาญครั้งคราว 2. เหตุเดือดร้อน ร�าคาญซ�้าซาก ส�าหรับเหตุเดือดร้อนร�าคาญซ�้าซาก เป็นเหตุ เดือดร้อนที่แก้ไขได้ยาก แต่เป็นความเดือดร้อนที่ต้องแก้ไข โดยเร็วที่สุด เป็นความเดือดร้อนส่งผลกระทบต่อประชาชน เป็นเวลานาน และบ่อยครั้งซ�้าซากไม่จบสิ้น ซึ่งอาจเกิดตาม ฤดูการผลิต หรือความบกพร่องของโรงงาน จึงต้องแก้ไขโดย อาศัยความร่วมมือหลายฝ่ายทัง้ โรงงานอุตสาหกรรม ประชาชน ในพื้นที่ อปท. และส่วนราชการ เข้าไปร่วมกันแก้ไขปัญหาให้ ยุตโิ ดยเร็วไม่ตอ้ งเสียเวลาไปแก้ไขอีกจะได้ไปพัฒนาด้านอืน่ ๆ ต่อไป อาศัยประสบการณ์ทไี่ ด้รบั จากการ รับราชการตัง้ แต่ครัง้ แรกหาสาเหตุที่ท�าให้เกิดปัญหา โดยต้องดูขั้นตอนการผลิต ตั้งแต่เริ่มต้น วิเคราะห์หาสาเหตุแจ้งให้แก้ไขจุดที่เกิดปัญหา ซึ่งบางครั้งกว่าจะหาสาเหตุเจอต้องเฝ้าดูกันเป็นวันๆ เลย ก�าหนดแผนการตรวจสอบก�ากับดูแลโรงงานทีม่ ปี ญ ั หาด้านสิง่

แวดล้อม ความปลอดภัย โรงงานทีม่ กี ารจัดท�าประเมินความเสีย่ ง กาก ของเสียอันตราย โรงงานที่ต้องปฏิบัติตามรายงานวิเคราะห์ผลกระทบ ด้านสิง่ แวดล้อม โรงงานใดทีป่ ล่อยมลพิษออกนอกโรงงานก็ดา� เนินการ ตามกฎหมายอย่างเฉียบขาด อุตสาหกรรมเป็นมิตร ประชาชนเป็นสุข ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ มีวิถีชีวิตด้านการเกษตร วันหนึ่งพบว่า มีการมาก่อสร้างอะไรไม่รู้ อยู่ใกล้กับชุมชนที่เขาอยู่เหมือนสิ่งแปลก ปลอม ต่อมารู้ว่าเป็นโรงงานอุตสาหกรรมไม่รู้ว่าท�าอะไร มีมลพิษหรือ มีสารเคมีที่ส่งผลกระทบหรือไม่อย่างไร ค�าถามเหล่านี้ต้องมีค�าตอบ ดังนั้น นโยบายต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรม ให้ด�าเนินการโครงการต่างๆ ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานเข้าร่วมเป็น โครงการที่ดูแลด้านสิ่งแวดล้อมความปลอดภัย เปิดเผยข้อมูลซึ่ง สามารถให้ผปู้ ระกอบการฯ สามารถอยูร่ ว่ มกับชุมชนได้อย่างมีความสุข

ได้แก่ โครงการธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อมสถานประกอบการ โครงการส่ง เสริมและพัฒนาการบริหารจัดการน�า้ ในโรงงานอุตสาหกรรม โครงการ สร้างและพัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการ อุตสาหกรรม สีเขียว และให้ผู้ประกอบกิจการมีการใช้คู่มือปฏิบัติงาน ประจ�าโรงงาน เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการสามารถปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อก�าหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย ซึ่งผู้ประกอบกิจการจะสามารถลดปัญหาต่างๆ ลงได้ นอกจากนี้ยัง มีโครงการของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 (พระนครศรีอยุธยา ,สระบุรี ,ปทุมธานี ,นนทบุรี ) มีการด�าเนินการโครงการดังนี้ 1. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการน�้าในโรงงาน อุตสาหกรรมขึ้นเมื่อปีงบประมาณ 2554 – 2556 โดยมีระยะเวลา ด�าเนินการ 3 ปี มีวัตถุประสงค์ที่จะลดปริมาณการใช้น�้าลงอย่างน้อย ร้อยละ 5 และน�าน�้าเสียทีบ่ า� บัดแล้วมาใช้ประโยชน์อย่างน้อยร้อยละ 5 ในการด�าเนินการจะคัดเลือกโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ กี ารปล่อยน�า้ ทิง้ 500 ลบ.ม./วัน มาพัฒนาและปรับปรุงระบบการผลิตให้สามารถใช้นา�้ ลด ลง โดยก�าหนดไว้จะด�าเนินการปีละ 200 โรงงาน เป็นเวลา 3 ปี มีโรงงาน ทีร่ ว่ มโครงการทัง้ สิน้ 601 โรง รวมปริมาณน�า้ ใช้รวมทัง้ สิน้ 17,833,958 Ayutthaya 47


ลบ.ม./เดือน โรงงานสามารถประหยัดได้รวมทัง้ สิน้ ปีละ 1,289,225 ลบ.ม./ เดือน และโครงการควบคุมบริหารจัดการน�า้ ทิง้ ในคลองสาธารณะเขต อุตสาหกรรม 2. โครงการควบคุมบริหารจัดการน�้าทิ้งในคลองสาธารณะเขต อุตสาหกรรม ระยะเวลาด�าเนินโครงการ 3 ปี ตั้งแต่ปี 2554 – 2556 เป็นโครงการที่มีหัวหน้ากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ได้รับมอบ หมายให้สา� นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าภาพ หลักในการด�าเนินการ 2.1 ติดตั้งระบบสารสนเทศของระบบตรวจสอบคุณภาพน�้า อัตโนมัตขิ องกลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนบน 1 เพือ่ วิเคราะห์และรายงาน ผลสถานการณ์น�้าให้ผู้เกี่ยวข้อง 2.2 ติดตัง้ ระบบเตือนภัยเมือ่ คุณภาพน�า้ เกินเกณฑ์มาตรฐาน ที่ก�าหนด และบันทึกข้อมูลรายงานสถานการณ์คุณภาพน�้าทั้งทาง ฟิสกิ ส์และเคมี โดยมีการติดตัง้ ระบบตรวจสอบคุณภาพน�า้ ทัง้ หมด 19 จุด ท�าให้ทราบปัญหาการเกิดน�า้ เน่าเสียมาจากส่วนใด เพือ่ ทีจ่ ะเข้าไป แก้ไขปัญหาได้ทันที ไม่ต้องรอให้เกิดการร้องเรียน

มีการติดตั้งระบบตรวจสอบคุณภาพน�้า ทั้งหมด 19 จุด ท�าให้ทราบปญหาการเกิดน�้าเน่า เสียว่ามาจากส่วนใด เพื่อที่จะเข้าไปแก้ไขปญหาได้ ทันที ไม่ต้องรอให้เกิดการร้องเรียน 48

จุดยุทธศาสตรของกิจการเหมืองแรและอุตสาหกรรม พื้นฐาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไม่มีประทานบัตรเหมืองแร่ แต่มีการประกอบกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับแร่ รวมทั้งกิจการ ต่อเนื่องจากแร่หลายชนิด เช่น โรงแต่งแร่ โรงถลุงแร่ ร้านซื้อ แร่ เก็บแร่ รวมทัง้ การน�าเข้าและส่งแร่ออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจุดยุทธศาสตร์ส�าคัญของ การขนส่งทางน�้า โดยเฉพาะแม่น�้าป่าสักที่อ�าเภอนครหลวง และกลุ ่ ม โรงงานอุ ต สาหกรรมต่ า งๆ ทั้ ง ในและนอกนิ ค ม อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นแหล่งที่ใช้แร่เป็นวัตถุดิบในการผลิตเป็น ล�าดับต้นๆ ของประเทศรองจากสระบุรี และสมุทรปราการ เช่น โรงงานผลิตขวดแก้ว กระจก ทีต่ อ้ งใช้แร่ทรายแก้วเป็นวัตถุดบิ หรือโรงงานกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์และอิเลคทรอนิกส์ ทีใ่ ช้ โลหะสังกะสีเป็นวัตถุดบิ ในการผลิต รวมทัง้ โรงงานผลิตยิปซัม่ บอร์ดที่ใช้แร่ยิปซั่มเป็นวัตถุดิบในการผลิต 1. การประกอบธุรกิจแร การซื้อแร่และเก็บแร่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีสถานประกอบการเกี่ยวกับ การซื้อแร่และเก็บแร่จ�านวน 17 ราย กระจายตัวอยู่ในอ�าเภอ ต่างๆ ทีเ่ ป็นกลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมและการขนส่งทางน�า้ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นร้านซือ้ และเก็บแร่เหล็ก แมงกานีส พลวง สังกะสี ยิปซั่ม ทรายแล้ว และแร่อื่นๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิค การส่งแร่ออกนอกราชอาณาจักร อ�าเภอนครหลวง และอ�าเภอท่าเรือ เป็นจุดยุทธศาสตร์ ส�าคัญในการขนส่งล�าเลียงสินค้าทางน�้า เนื่องจากมีต้นทุนต�่า และขนส่งได้ในปริมาณมากในคราวเดียว โดยหลักๆ แล้วจะ เป็นการส่งออกแร่เหล็ก แมงกานีส โดโลไมต์ หินอุตสาหกรรม ชนิดหินปูนที่ใช้ส�าหรับท�าปูนขาว และแร่ยิปซั่ม ซึ่งเหมือง แร่ ทั่ ว ประเทศจะท� า การขนแร่ ม าเก็ บ กองยั ง เขตจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา และขอใบอนุญาตส่งออกต่ออุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีความสะดวกต่อผู้ประกอบ การทั้งการขออนุญาต และการขนถ่ายล�าเลียงสินค้าตาม แม่น�้าป่าสัก-แม่น�้าเจ้าพระยา-อ่าวไทย จนกระทั่งไปขนถ่าย ขึ้นเรือเดินสมุทรที่เกาะสีชัง ไปยังต่างประเทศ ในครึ่งปีแรกของปี 2557 มีแร่เหล็ก ยิปซั่ม และแร่ แมงกานีส ที่ผลิตในประเทศและส่งออก รวมทั้งแร่ที่น�าเข้า มาจากต่างประเทศและส่งออกเป็นสินค้าผ่านแดน ประมาณ 85,000 เมตริกตัน มูลค่าโดยรวมประมาณ 450 ล้านบาท 2. อุตสาหกรรมพื้นฐาน เป็นอุตสาหกรรมทีต่ อ่ เนือ่ งจากแร่ ทัง้ การพัฒนาคุณภาพ แร่และการใช้แร่เพื่อให้มีมูลค่าเพิ่มทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณ และคุณค่าด้านการน�าไปใช้ประโยชน์ ดังนี้


โรงแต่งแร่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีโรงแต่งแร่จ�านวน 4 โรง กระจาย ตัวไปในท้องที่ต่างๆ ตามแหล่งยุทธศาสตร์การขนส่งและการใช้ แร่ ดังนี้ 2.1 โรงแต่งแร่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเกษตร จ�านวน 2 โรง ใน ท้องทีอ่ า� เภอนครหลวง ท�าการแต่งแร่ แบไรต์ โดไลไมต์ ทีใ่ ช้สา� หรับ อุตสาหกรรมปุย และอาหารสัตว์ 2.2 โรงแต่งแร่ในกลุ่มอุตสาหกรรมเซรามิค จ�านวน 1 โรง ใน ท้องที่อ�าเภอภาชี ท�าการแต่งแร่หลายชนิด ซึ่งน�ามาจากเหมือง อืน่ รวมทัง้ น�าเข้าจากต่างประเทศ มาท�าการบดแต่ง ปรับปรุง และ พัฒนาให้มีคุณภาพและมูลค่าสูงขึ้น และป้อนให้กับกลุ่มโรงงาน เซรามิคในพื้นที่จังหวัดสระบุรีเป็นหลัก โรงถลุงแร่ มีจ�านวน 1 โรง ในพื้นที่อ�าเภอลาดบัวหลวง เป็นโรงถลุง แร่พลวงที่น�าแร่ทั้งจากเหมืองในประเทศและน�าเข้ามาจากต่าง ประเทศ มาถลุงให้เป็นโลหะพลวง หรือฝุ่นพลวงออกไซด์ และ

ภาคประชาชน ต้องมีส่วนร่วมในการบริโภค สินค้าและบริการ ที่เปนมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม

ป้อนให้กับอุตสาหกรรมต่อเนื่อง จ�าพวกการหล่อโลหะ การผลิต โลหะที่ต้องการแรงเสียดทานสูง รวมทั้งอุตสาหกรรมสี ทั้งในและ ต่างประเทศ 3. การปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดตาม กฎหมายวาดวยแร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจุดยุทธศาสตร์ในการขนส่งรวม ทั้งเป็นแหล่งพักแร่เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร ดังนั้นจึงมีการ ลักลอบขนถ่ายแร่ลงเรืออยู่บ่อยครั้ง ซึ่งสํานักงานอุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รว่ มกับกรมสอบสวนนคดีพเิ ศษ ใช้มาตรการเฝ้าระวังป้องปรามที่เข้มงวดรวมทั้งการปราบปรามที่ เด็ดขาด โดยมีการตรวจยึดแร่เหล็กและเรือล�าเลียงขนถ่ายสินค้า ในแม่น�้าป่าสัก ของขบวนการลักลอบท�าแร่เถื่อน ที่จะลักลอบส่ง แร่ไปต่างประเทศ ได้แร่และของกลางมูลค่าประมาณ 50 ล้านบาท ความคาดหวังตอผูประกอบการอุตสาหกรรม การปรับเปลี่ยนและพัฒนาอุตสาหกรรม สู่อุตสาหกรรมฐาน ความรู้เชิงสร้างสรรค์ การขยายตัวของอุตสาหกรรมจากภาพของ อุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษมลภาวะ เป็นอุตสาหกรรมที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม การน�าแนวคิดอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (EcoIndustrial Town) มาใช้อย่างจริงจัง ซึ่งขณะนี้เริ่มลงมือท�าแล้วใน บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จ�ากัด (มหาชน) และเมื่อมีภาค อุตสาหกรรมเกิดในพื้นที่ ประชาชนให้การตอบรับ อยากให้มา อยู่แล้วสร้างความเจริญ สร้างรายได้ ชุมชน มีงานท�าแทนการต่อ ต้าน โดยคาดหวังภาคอุตสาหกรรมเป็นอุตสาหกรรมสะอาด และ อุตสาหกรรมสีเขียว เพือ่ ให้อตุ สาหกรรมและประชาชนสามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และยั่งยืน Ayutthaya 49


หจก.อู น.พุแคเจริญยนต บริการ ตอตัวถังรถบรรทุก ดั้มพ ตอพวง รถทุกชนิด โดยชางผูชํานาญงาน ราคาเปนกันเอง อู น.พุแคเจริญยนต ไดกอตั้งขึนเมื่อป 2538 โดยคุณคํานึง เกตุชีพ และทีมชางผู ชํานาญการ ดานรถยนตและรถบรรทุก ทุกชนิด รวมทั้งการตอกระบะคั้มพรถบรรทุกใหมพรอม ลูกพวง เทเลอรดั้มพ กระบะพื้นเรียบ เปนตน และตอมาในป 2547 ไดจดทะเบียนเปน หางหุนสวนจํากัด เพื่อรองรับลูกคาในเครือ ขายผูประกอบกิจการทางดานโลจิสติกส และ รับงานของบริษัทประกันภัยทุกบริษัท โดยมุง เนนงานดสนคุณภาพสูงทั้งงานซอมและงาน ตอกระบะดั้มพ รวมถึงงานในดานตางงๆ เชน งานเคาะ พนสี งานดัดคัชซีรถ ชวงลาง งานดาน เครือ่ งยนต และอืน่ ๆ อีกมากมาย ดวยเครือ่ งมือ และเทคโนโลยีทที่ นั สมัย พรอมดวยบุคคลากรผู มากดวยความสามารถและประสบการณ

คุณคํานึง เกตุชีพ

หจก. อู น.พุแคเจริญยนต 53 หมู 10 ต.พุแค อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี 18240

Tel : 036-369324, 036-230009 Phone : 081-3727336, 087-2406569 Fax : 036-369581 e-mail : n.pukae@hotmail.com



เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด

มีเปาหมายให อปท. สรางความอยูดี มีสุข ใหกับพี่นองประชาชนในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา

52


นายวีรณรงค อังคารชุน

ทองถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา “รวดเร็ว ถูกตอง และเปนไปตามนโยบาย” คื อ คติ พ จน์ ป ระจ� ำ ใจของ “นายวี ร ณรงค อั ง คารชุ น ” ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่งได้ปฏิบัติภำรกิจตำมวิสัยทัศน์ของกรมส่ ง เสริ ม การปกครอง เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เป็นมืออำชีพและเป็นกลไกส�ำคัญ ในกำรพัฒนำจังหวัด พระนครศรีอยุธยำให้เจริญก้ำวหน้ำอย่ำงยัง่ ยืน โดยยึด หลักกำรบริหำรงำนทีส่ ำ� คัญคือ “ทํางานตามนโยบาย ผูบังคับบัญชา เปนกันเองกับผูใตบังคับบัญชา ให ทุกคนไดมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น รับ ฟงขอเสนอแนะ และคิดหาวิธีการทํางานเพื่อให งานออกมาดีที่สุด” ทั้งนี้ท่ำนได้รับแรงบันดำลใจใน กำรท�ำงำนจำก “นายวิทยา ผิวผ่อง” ผู้ว่าราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีสไตล์กำรท�ำงำนที่ ท่ำนยกย่องชืน่ ชมคือ...การมองปญหาอยางรอบดาน มุงเนนที่เปนรูปธรรม ตองมีขอมูลในเชิงลึก และ เขาถึงปญหาอยางรวดเร็ว นิตยสาร SBL ขอน�ำเสนอบทสัมภำษณ์ ท่าน วีรณรงค อังคารชุน เกี่ยวกับเป้ำหมำยและแนวทำง

สนับสนุนบุคลากรทางการศึกษาของ อปท.ใหมีความรูและศึกษาเกี่ยวกับ AEC

กำรพัฒนำ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ให้มีควำม เข้มแข็งและยั่งยืนก่อนที่จะก้ำวสู่กำร เป็น AEC ดังนี้ ภาพรวมของ อปท.อยุธยา องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ใน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยำ ประกอบ ด้วยองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบำลนคร 1 แห่ง เทศบำลเมือง 3 แห่ง เทศบำลต�ำบล 32 แห่ง และ องค์กำร บริหำรส่วนต�ำบล 121 แห่ง โดยทุกแห่ง ต่ำงมีศักยภำพของตัวเองที่แตกต่ำงกัน ไป และด้วยควำมที่พระนครศรีอยุธยำ เป็นเมืองมรดกโลก เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทำงประวัติศำสตร์ที่ส�ำคัญ หน่วยงำน ภำคเอกชนจึงให้ควำมสนใจที่จะเข้ำมำ ร่วมมีสว่ นด�ำเนินกำรด้ำนต่ำงๆ เช่น กำร จัดท�ำสื่อประชำสัมพันธ์ กำรสนับสนุน กิจกรรมต่ำงๆ ของท้องถิ่น ส่งเสริม อปท. ให้เข้มแข็ง & สร้าง ความอยู่ดีมีสุข ในบทบำทภำรกิจหน้ำที่ และวิสัยทัศน์ของ กรมส่ ง เสริ ม การปกครอง คือ เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูงในกำร ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็ น กลไกในกำรพั ฒ นำจั ง หวั ด และ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ได้ อ ย่ ำ ง Ayutthaya 53


การบริหารงานหรือการกําหนด นโยบายในการปฏิบัติงาน ตองมาจากประชาชนในพื้นที่

54


ยั่ ง ยื น ส� ำ นั ก งำนฯ จึ ง ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ใ ห้ สอดคล้อง คือเป็นหน่วยงำนหลักในกำรส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกในกำร พัฒนำจังหวัด โดยมีเป้ำหมำยให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ สำมำรถ ปฏิบัติงำนตำมอ�ำนำจหน้ำที่ของ อปท. ได้อย่ำง ถูกต้อง ตำมกฎหมำย ระเบียบวิธีปฏิบัติ สร้ำง ควำมอยู่ดีมีสุขให้กับพี่น้องประชำชนในจังหวัด พระนครศรีอยุธยำ

แผนการรุกและรับก่อนเข้าสู่ AEC องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี อ�ำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับกำรจัดกำรศึกษำ ทั้งที่จัดกำรศึกษำโดยองค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น เอง หรื อ สนั บ สนุ น งบ ประมำณในกำรภำรกิจด้ำนกำรศึกษำ ให้ ห น่ ว ยงำนอื่ น โดยเฉพำะจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยำเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทำงประวัตศิ ำสตร์ จึงถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญ และเร่ ง ด่ ว น ในเบื้ อ งต้ น ส� า นั ก งาน Ayutthaya 55


ส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดฯ ได้ ส นั บ สนุ น ให้ อ งค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่น มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ เตรียม กำรรับผลกระทบจำกปญหำสังคมและ สำธำรณสุข พัฒนำทักษะควำมรู้ด้ำน ภำษำอังกฤษ และภำษำของประเทศ เพือ่ นบ้ำน และมุง่ เน้นให้ อปท.สนับสนุน บุคลำกรทำงกำรศึกษำของ อปท.ให้มี ควำมรู้และศึกษำเกี่ยวกับ AEC เพื่อให้ น�ำไปถ่ำยทอดให้กับนักเรียนเพื่อน�ำไป ถ่ำยทอดให้แก่บุคคลในครอบครัว

ผลการด�าเนินงานตามนโยบายภาครัฐ ส� า นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จังหวัดฯ ให้ควำมส�ำคัญกับนโยบำยของรัฐบำลที่ ต้องน�ำมำปฏิบัติในระดับท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ของ พี่น้องประชำชนอย่ำงเต็มที่ ไม่ว่ำจะเป็นปญหำด้ำน ยำเสพติด ซึง่ ได้สง่ เสริมให้ อปท.เห็นควำมส�ำคัญและ ตระหนักถึงปญหำเหล่ำนี้ หรือแม้แต่เรื่องกำรเร่งรัด เบิกจ่ำยงบประมำณเพือ่ กระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศ ทั้งงบประมำณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ของส�ำนักงำนก็จะก�ำชับเจ้ำหน้ำที่ให้ถือปฏิบัติด้วย ควำมรวดเร็ว

การสงเสริมให อปท. มีความเปนมืออาชีพ ดวยการใหความรู แนะนําการปฏิบัติงาน และการจัดโครงการฝกอบรม

56


ภารกิจที่ สถจ.อยุธยา ภาคภูมิใจ กำรร่วมมือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ให้ร่วม สนับสนุนในกิจกรรมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ จ�ำนวนหลำย กิจกรรม เช่น ในเรื่องกำรร่วมสร้ำงพิพิธภัณฑ์พระอุบำลี กิจกรรม ต่ำงๆ ในสวนสำธำรณเฉลิมพระเกียรติทงุ่ หันตรำ ทีย่ งั ต้องอำศัยงบ ประมำณจำกองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ นอกจำกจะสร้ำงอนุสรณ์ สถำนแห่งควำมจงรักภักดีเสร็จเรียบร้อยแล้ว ยังต้องใช้งบประมำณ ปรับปรุงดูแลและขับเคลื่อนกิจกรรมต่ำงๆ เพื่อให้ทุ่งหันตรำมีชีวิต ชีวำ และเป็นที่รู้จักแก่ประชำชนทั่วไปและต่ำงจังหวัด เพื่อสร้ำง รำยได้ให้แก่ประชำชนในพื้นที่ได้ต่อไปในอนำคต นโยบายต้องมาจากประชาชนในพื้นที่ แนวทำงกำรส่งเสริมให้เกิดควำมร่วมมือระหว่ำง อปท. ต่ำงๆ กับประชำชนในพื้นที่ โดยส่วนใหญ่แล้วมีควำมร่วมมือที่ดีต่อกัน เพรำะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยที่ใกล้ชิดกับประชำชน มำกที่สุด ดังนั้น กำรบริหำรงำนหรือกำรก�ำหนดนโยบำยในกำร ปฏิบัติงำน ต้องมำจำกประชำชนในพื้นที่

อยากใหอปท.ตางๆ มีความรัก ความสามัคคี ความเอื้ออาทร ความรวมมือระหวางทองถิ่น

ทิศทางการพัฒนาสู่ อปท.มืออาชีพ กำรส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีควำมเป็นมือ อำชีพ ด้วยกำรให้ควำมรู้ แนะน�ำกำรปฏิบัติงำน โดยกำรสอนงำน และกำรจัดโครงกำรฝกอบรมให้ควำมรู้แก่ผู้บริหำร สมำชิกสภำ พนักงำนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่ำงสม�ำ่ เสมอ โดยเฉพำะ ด้ำนกฎหมำยต่ำงๆ โดยเชิญวิทยำกรผู้ทรงคุณวุฒิทำงหน่วยงำน ต่ำงๆ เช่น กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น วิทยำกรจำก ปปช. ศำลปกครองกลำง และ สตง.เป็นต้น งำนด้ำนกำรประชำสัมพันธ์ สนง. ได้พฒ ั นำปรับปรุงเว็บไซต์ของ สนง.ให้มคี วำมทันสมัยเพือ่ เป็น ช่องทำงให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในกำรประชำสัมพันธ์งำน และกิจกรรมต่ำงๆ เพื่อให้เป็นที่รู้จักแก่ประชำชนทั่วไป

ฝากถึง อปท. และภาคส่วนต่างๆ เนื่ อ งจำกองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยำ ส่ ว นมำกแล้ ว เป็ น อปท.ที่ มี รำยได้น้อย ต้องอำศัยงบประมำณโดยกำรจัดสรรจำกรัฐบำล สถจ.อยุธยา จึงต้องชี้แนะให้องค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ใช้ เ งิ น งบประมำณให้ คุ ้ ม ค่ ำ เพื่ อ แก้ ไ ขป ญ หำควำมเดื อ ดร้ อ นของพี่ น ้ อ งประชำชนในพื้ น ที่ รวมทัง้ ส่งเสริมให้มกี ำรเพิม่ รำยได้โดยกำรพัฒนำกำรจัดเก็บรำยได้ให้มปี ระสิทธิภำพ และลดรำยจ่ำย ทีไ่ ม่จำ� เป็น นอกจำกนี้ สถจ.อยุธยา ก็อยำกให้อปท.ต่ำงๆ มีควำมรัก ควำมสำมัคคี ควำมเอือ้ อำทร ควำมร่วมมือระหว่ำง ท้องถิ่น รวมถึงกำรบูรณำกำรกับภำคส่วนต่ำงๆ ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ และกำรจัดกิจกรรมต่ำงๆ จะท�ำให้ท้องถิ่น มีควำมเจริญก้ำวหน้ำและเข้มแข็ง Ayutthaya 57


เสนทางการอนุรักษ

เราอยากทําใหพอยิ้ม

พูดถึง “วังชางอยุธยา แลเพนียด” หลายๆ ทานคงจะคุน เคยกัน ดี เพราะชางของทีน่ ไี่ ดรว มงานสําคัญๆ ทัง้ ในระดับจังหวัด ระดับ ประเทศ และระดับนานาชาติ นับครั้งไมถวน ผูซึ่งอยูเบื้องหลัง ความสําเร็จของชางแสนรูเ หลานีค้ อื “คุณลายทองเหรียญ มีพนั ธ”ุ หรือคุณออม ชายหนุมวัยกลางคน ผูทุมเทเกือบทั้งชีวิตใหกับการ อนุรักษสายพันธุชางไทย คุณออมเลาถึงแรงบันดาลใจที่ทําใหเขากาวสูเสนทางสายนี้วา เริ่มจากคุณพอซึ่งปลูกฝงเรื่องคุณคาของชีวิตสัตวใหเขาตั้งแตอายุได เพียงสิบขวบ จากนั้นมาเขาก็ เริ่มสนใจและรํ่าเรียนทางดาน สัตววิทยา และไดสง ตอคําสอน จากรุนปูสูรุนหลาน “พอจบออกมาเราก็ อ ยู  กับสัตวมาตลอด ทําฟารม กุง ทําฟารมโคนม แตมันก็ เปนอะไรที่ยังไมใช ตอนนั้น มีลูกก็สอนลูกใหเห็นคุณคา ของชี วิ ต ระหว า งสั ต ว ที่ มี ราคาแพงกั บ สั ต ว ที่ มี ร าคา ถูก อยางเชนปลาหางนกยูง 58

50 สตางค กับสุนัขหลายหมื่น เราก็สอนเขาใหเขารักสัตว และเห็นคุณคา วามันก็คอื ชีวติ เหมือนกัน เราตองทุม เทการ รักษาใหเทากัน ถาปลาหางนกยูงไมสบายเราก็ตอ งพาไปหา หมอ ไมใชปลอยใหปลาหางนกยูงตายเพราะมันราคา 50 สตางค อยางนั้นไมได” ความรักและเมตตาตอสัตวอยางเทาเทียมของเขา ไดบม เพาะ ใหเด็กผูหญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่งมีจิตใจออนโยนและรักสัตว และ ปจจุบันไดกลายเปนสัตวแพทยหญิงที่ชวยดูแลรักษาชางใน วังชางอยุธยาดวย เมื่ อ ถามถึ ง ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ของวั ง ช า งอยุ ธ ยา แลเพนียด คุณออมบอกวาเกิดจากอานุภาพแหงความเชื่อมั่น และศรัทธาอันแรงกลา ที่จะทําโครงการอนุรักษสายพันธุชาง ไทยเพื่อใหพอยิ้ม “คือจริงๆ แลวผมเปนคนมีความเชื่อในสิ่งลี้ลับมาก แลวก็ไดเขามาอยูในเพนียดหลวง ซึ่งชาวบานจะกลัวมาก แตเราเขามาอยูอยางกลมกลืนดวยความเคารพ ความ ศรัทธา แลวความเชือ่ มัน่ ก็สรางทุกอยางใหกบั มนุษย อยาง โครงการนี้ก็ทําดวยแรงกลาเพราะเราทําในสิ่งที่ชอบ โดย สวนตัวเราก็ชอบพระนเรศวร และเราอยากทําใหพอยิ้ม อยากทําใหทานคลายใจ ใหทานไดรูวามีคนกลุมหนึ่งนะที่ สนใจปญหาเรื่องชางที่มีปญหามาอยูตลอด นี่คือสิ่งที่เรา ลงทุนกัน 20 ป ลูกชางเราเกิดมานี่ 58 แลว อีกไมเกินเดือนก็ 60 เรายังไมเคยขายลูกชางเราเลย และไมเคยขายชางออก ไปเลยแมแตเชือกเดียว เพราะเราคิดวาเราสะสมสมบัตทิ มี่ ี คาที่สุดของโลกเอาไว” ทายสุด คุณออม แหงวังชางอยุธยา แลเพนียด ไดฝาก แงคิดดีๆ ที่ไดจากความผูกพันใกลชิดกับชาง...สัตวที่มีขนาด ใหญที่สุดในโลกวา “สัตวมนั เปนโลกอีกโลกหนึง่ ถาใครรักสัตวหรือรักตนไม ก็จะมีทผี่ อ นคลายใหตวั เอง และยิง่ เราเขาใจสัตวได เราก็จะ เขาใจมนุษยคนอืน่ ได หรือบางทีตัวเราเองไมเขาใจมนุษย คนอืน่ เลย แตเราอยูก บั สัตวเราก็มคี วามสุขได มันมีทงั้ สอง มุม สัตวจะกลอมเกลาเราใหเห็นวาเราสามารถแชรกันได”


AD º.¤ÅͧÊǹ¾ÅÙ.pdf 1 23/6/2557 14:47:31

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


º·¤ÇÒÁ¤ÅͧÊǹ¾Ù.pdf 1 23/6/2557 14:45:40

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

“ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤ ÍҳҨѡÃáË‹§äÅ¿ŠÊäµÅ ¢Í§¤¹·Ñ¹ÊÁÑ” ´ŒÇÂÃٻẺ¡ÒÃ㪌ªÕÇÔµ·Õèà»ÅÕè¹ä»Í‹ҧÃÇ´àÃçǢͧ¤¹Âؤ¹Õé·íÒãËŒËÅÒÂÊÔè§ËÅÒÂÍ‹ҧµŒÍ§ÁÕ¡ÒûÃѺà»ÅÕè¹ µÒÁä»´ŒÇ “Èٹ ¡ÒäŒÒÍÂظÂÒ¾Òà ¤” ¡çઋ¹à´ÕÂǡѹ ¶Ö§áÁŒ¨Ð໚¹Èٹ ¡ÒäŒÒ㹴ǧ㨢ͧªÒÇÍÂظÂÒÁÒ¹Ò¹¡Ç‹Ò 15 »‚áÅŒÇ ¡çÍÂÙ‹ã¹ÃÐËÇ‹Ò§¡ÒûÃѺà»ÅÕè¹ÊÙ‹ÃÙ»Åѡɳ ãËÁ‹ã¹¹ÒÁ¢Í§ “ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” ÍҳҨѡÃáË‹§äÅ¿ŠÊäµÅ ¢Í§¤¹·Ñ¹ÊÁÑ ¤Ø³»ÃÒ³Õ ´‹Ò¹ªÑÂÇÔâè¹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍíҹǡÒà ºÃÔÉÑ· ¤ÅͧÊǹ¾ÅÙ ¨íÒ¡Ñ´ ¡Å‹ÒǶ֧ÈÑ¡ÂÀÒ¾¡ÒÃàµÔºâµ¢Í§¸ØáԨÈٹ ¡ÒäŒÒÇ‹Ò “»‚ 55 ໚¹ª‹Ç§·ÕèàÈÃÉ°¡Ô¨ã¹ ÍÂظÂÒ¤‹Í¹¢ŒÒ§·Õè¨ÐºÙÁ áÅÐÁÕ»ÃЪҡÃὧ·ÕèÁÒ·íÒ§Ò¹ã¹ÍÂظÂÒà¡×ͺ 3 áʹ¤¹ ã¹µÑǨѧËÇÑ´àͧ¡çÁÕ»ÃЪҡûÃÐÁÒ³ 7-8 áʹ »ÃСͺ¡ÑºÍÂظÂÒ¡ç໚¹à«ç¹àµÍà ¢Í§ÀÒ¤¡ÅÒ§ Èٹ ¡ÒäŒÒÍÂظÂÒ¾Òà ¤àͧ¡çÁÕ¼ÙŒÁÒ㪌ºÃÔ¡Òä‹Í¹¢ŒÒ§Ë¹Òṋ¹ ¾×é¹·Õè¢ÒÂàÃÔèÁäÁ‹¾Íµ‹Í¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ¼ÙŒàª‹Ò ÍÕ¡·Ñ駷Õè¨Í´Ã¶¢Í§àÃÒ¡çàµçÁµÅÍ´ àÃÒàŤԴNjÒÁѹäÁ‹¾Íµ‹Í¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃáŌǹРàÃÒµŒÍ§¢ÂÒ µŒÍ§ÃÕâ¹àÇ·ãËŒ Èٹ ´Ù·Ñ¹ÊÁÑ¢Öé¹ µŒÍ§·íÒÍÐäÃãËŒ¤¹ÍÂظÂÒáÅФ¹¨Ñ§ËÇÑ´ã¡ÅŒà¤Õ§ÁÒ㪌ÍÂظÂÒ ¾Òà ¤ÁÒ¡¢Öé¹”ÃٻẺ¢Í§¡ÒûÃѺâ©ÁÊÙ‹ “ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” ¹Õé ¶Ù¡Í͡Ẻ ÁÒà¾×èÍãËŒµÍºÊ¹Í§µ‹Í¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃáÅÐäÅ¿ŠÊäµÅ ¢Í§¤¹ÍÂظÂÒàͧ “â¤Ã§¡ÒÃàÃÒ¨ÐÍ͡Ẻ㹤͹àÊç¾· à«ÁÔàÍÒ· ´Íà àËÁ×͹ ¤ÍÁÁÙ¹ÔµÕé ÁÍÅÅ ·Õè¡íÒÅѧÎÔµµÍ¹¹Õé ໚¹¡ÒüÊÁ¼ÊÒ¹¡Ñ¹ÃÐËÇ‹Ò§ÍÔ¹´Íà ÁÍÅÅ «Öè§à»š¹ËŒÒ§·ÕèÍÂÙ‹ã¹Ã‹Á¡Ñº¤ÍÁÁÙ¹ÔµÕé ÁÍÅÅ à¾×èÍãËŒ¹‹Òà´Ô¹ÁÒ¡¢Öé¹ áÅŒÇàÃÒ¡çÁͧNjҵ͹¹Õé¿Øµ«ÍÅ¡íÒÅѧÎÔµ àÃÒ¡çÍÂÒ¡ãËŒÍÂظÂÒÁÕʹÒÁ ¿Øµ«ÍÅ ÁÕ¿ µà¹Êà«ç¹àµÍà à¾×èÍãˌ໚¹Ê¶Ò¹·ÕèÍÍ¡¡íÒÅѧ¡ÒÂãËŒ¤¹ÍÂظÂÒ ä´ŒÁÒ㪌·ÕèÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤ä´Œ·Ø¡Çѹ” ¤Ø³»ÃÒ³Õ ´‹Ò¹ªÑÂÇÔâè¹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍíҹǡÒÃ


º·¤ÇÒÁ¤ÅͧÊǹ¾Ù.pdf 2 23/6/2557 14:45:42

” é Õ ¹ æ Ç ç Ã à ‹ Á Ë ã Á © â ¤ Ã Ò ¾ é Õ µ Ô « Ò “ÍÂظÂ

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

“àÃÒ¡ç¨Ñº¤Í¹àÊç¾· ¹Õé ᵋàÃÒäÁ‹ä´Œ¤Ô´ ¢Í§àÃÒ¤¹à´ÕÂÇàÃÒ·íÒà«Íà àÇ ÊÑÁÀÒɳ ¼ÙŒÁÒ㪌 ºÃÔ¡Òáçä´ŒÍÍ¡ÁÒÇ‹Òà¢ÒÍÂҡ䴌ˌҧ·Õè·Ñ¹ÊÁÑ ÁÒ¡¢Öé¹ µÍºÊ¹Í§äÅ¿ŠÊäµÊ ÁÒ¡¢Öé¹ÍÂÒ¡ä´Œ¾×é¹ ·ÕèÊÕà¢ÕÂÇ ÍÂҡ䴌ʶҹ·ÕèÍÍ¡¡íÒÅѧ¡Ò ÍÂÒ¡ 䴌ʶҹ·Õè¨Í´Ã¶·Õè¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÁÒ¡¢Öé¹ à»š¹Èٹ ¡ÅÒ§¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒËÃ×ÍÁÕ·ÕèàÃÕ¹¾ÔàÈÉ¡ç´Õ à¢Ò¨Ð ä´ŒäÁ‹µŒÍ§Ê‹§ÅÙ¡ä»àÃÕ¹·ÕèÍ×è¹ ÁÕÌҹÍÒËÒÃàÂÍÐæ àÃÒ¡çàÍҼŨҡ¡ÒÃà«Íà àÇ ·Ñé§ËÅÒ·Ñ駻ǧÁÒ »ÃÐÁÇÅáÅСç·íÒ¡ÒÃÍ͡ẺNjÒàÃÒ¤ÇèеŒÍ§ÁÕ ÍÐäúŒÒ§ ÁÕ⫹ÍÐäúŒÒ§ã¹â¤Ã§¡ÒâͧàÃÒà¾ÃÒÐ ¾×é¹·Õè¢Í§àÃÒ¤‹Í¹¢ŒÒ§àÂÍеÑé§ 101 äË Áѹ¡ç àËÁ×͹໚¹àÁ×ͧ·ÕèÃÇÁ·Ø¡Í‹ҧänj㹹Õé ÁÒ㪌ªÕÇÔµ ÍÂÙ‹ä´ŒàÅÂʋǹâ¤Ã§¡Òõ‹Íä»ã¹Í¹Ò¤µàÃÒ¡ç¨Ð ÊÌҧµÖ¡á¶ÇÊíÒËÃѺ¤¹·ÕèÍÂÒ¡·íÒ¸ØáԨᵋNjÒäÁ‹ ÍÂÒ¡ÍÂÙ‹ã¹ËŒÒ§¨Ðä´ŒÁÕÍÔÊÃÐÁÒ¡¢Öé¹à¾ÃÒÐã¹ËŒÒ§¡® ¡µÔ¡ÒàÂÍÐÅѡɳÐàËÁ×͹໚¹«ÔµÕéàÃÒ¡çàÅÂÁÒÃÕ áºÃ¹´ ª×èͧ͢àÃÒãËÁ‹à»š¹...ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” â©ÁãËÁ‹¢Í§ “ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” ÍҳҨѡ÷ÕèÃǺÃÇÁäÅ¿ŠÊäµÅ ¤¹ÃØ‹¹ãËÁ‹änj͋ҧ ¤Ãº¤ÃѹáÅÐãËÞ‹·ÕèÊØ´¹Õé ¨Ðà» ´ãËŒªÒÇÍÂظÂÒ ÊÑÁ¼ÑʡѺ¤ÇÒÁá»Å¡ãËÁ‹ä´ŒÀÒÂã¹à´×͹ÊÔ§ËÒ¤Á ·Õè¨Ð¶Ö§¹Õé “µÍ¹¹Õé ⠤ç¡ÒÃʹÒÁ¿Ø µ «ÍÅÊÃŒ Ò § àÊÃç¨áÅŒÇ ¨Ðà» ´ã¹ÍÕ¡Êͧà´×͹¢ŒÒ§Ë¹ŒÒ ໚¹ ʹÒÁ¿Øµ«ÍÅÍÔ¹´Íà ¢¹Ò´Áҵðҹ 3 ʹÒÁ ºÃÔàdzã¡ÅŒæ ¡Ñ¹¡ç¨ÐÁÕÌҹ¢ÒÂà¤Ã×èͧ¡ÕÌÒ áÅÐ ¡çÁÕÌҹÍÒËÒ÷ÕèÍÂÙ‹´ŒÒ¹¹Í¡áÅŒÇàÃÒ¡ç¨Ñ´â«¹¹Ôè§ ãËÁ‹·Ñé§ËÁ´·Õè¨Í´Ã¶¡ç¨Ð·íÒËÅѧ¤ÒãËŒ¡Ñº¼ÙŒãªŒºÃÔ¡Òà à¾ÔèÁ¢Öé¹ áÅÐÁÕ·Õè¨Í´Ã¶ªÑé¹ãµŒ´Ô¹ÁÒ¡¢Öé¹ ¹Í¡¨Ò¡ ¹Ñé¹àÃÒÂѧÁդ͹àǹªÑè¹ÎÍÅÅ «Öè§ÊÒÁÒö¨Ø¤¹ä´ŒÍÕ¡ 2,000 ¤¹ à¾ÃÒÐàÃÒÍÂÒ¡ãËŒÁÕÍÒ¤Ò÷Õ褋͹¢ŒÒ§ ãËÞ‹ ໚¹ÍÕàÇŒ¹· ÎÍÅÅ ·Õè㪌㹡ÒÃáÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ

“ËÃ×Í㪌¨Ñ´¡ÒûÃЪØÁä´Œ¤×Í·Ø¡¤¹ÁÒ㪌»ÃÐ⪹ µ‹Ò§æ ä´Œ â´ÂäÁ‹ÁÕ¢ŒÍ¨íÒ¡Ñ´ áÅÐàÃÒ¡çÍÂÒ¡ãËŒ ໚¹Èٹ ÃÇÁ¢Í§¤Ãͺ¤ÃÑÇ ¤×Íà´ç¡æ ÁÒàÃÕ¹ ¾ÔàÈÉ áÁ‹ÁÒªçÍ»» œ§ ¾‹Íä»àÅ‹¹¡ÕÌÒä´Œ¤ÃºÇ§¨Ã áÅÐÁÒä´Œº‹Í¢Öé¹” Íա˹Ö觤ÇÒÁᵡµ‹Ò§·Õè¨Ðä´ŒÊÑÁ¼Ñʨҡ “ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” ¤×Í ¡ÒÃ໚¹Èٹ ÃÇÁ¢Í§ ¤ÇÒÁºÑ¹à·Ô§áÅÐʶҹ·Õè¾Ñ¡¼‹Í¹ÂÒÁ¤íèҤ׹´ŒÇ “àÃÒÁͧNjҵ͹àÂç¹æ ¤¹ÍÂظÂÒäÁ‹ÃÙŒ Ç‹Ò¨Ðä»ä˹ ËÃ×ͶŒÒ仡ç¨Ðä»ÍÂÙ‹µÒÁ¨Ø´µ‹Ò§æàÃÒ ÍÂÒ¡¨ÐãËŒ¤¹ÁÒ㪌ªÕÇÔµµÍ¹àÂç¹·Õè¹Õèä´Œ´ŒÇÂàÃÕÂ¡Ç‹Ò à»š¹Èٹ ÃÇÁ·ÕèáΧ¤ àÍÒ· ¡çÇ‹Òä´Œà¾ÃÒе͹àÇÅÒ¡Å Ò§¤× ¹ ÁÕ Ã Œ Ò ¹ÍÒËÒÃÍÂÙ ‹ ´ Œ Ò ¹¹Í¡·Õè » ´ ´Ö ¡ ˹‹ Í Â ËÃ×ͺÃÔàdzÍÒ¤ÒþҳԪ ·ÕèÍÂÙ‹´ŒÒ¹¹Í¡ ¡çÊÒÁÒö » ´ËÅѧà·Õ觤׹ä»áÅŒÇ µÕ˹Öè§ µÕÊͧ à¾×èÍãËŒ¤¹ ä´ŒÁÒ㪌ªÕÇÔµàÇÅÒ¡ÅÒ§¤×¹”

¡‹Í¹¨º¡ÒÃʹ·¹Ò ¤Ø³»ÃÒ³Õ ´‹Ò¹-ªÑÂÇÔâè¹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃÍíҹǡÒà 䴌¡Å‹ÒǶ֧¡ŒÒÇ Â‹Ò§¢Í§¸ØáԨÈٹ ¡ÒäŒÒ¨Ò¡Çѹáá ÊÙ‹Çѹ·Õèä´Œ ·Ø‹Á§º¡Ç‹Ò˹Ö觾ѹŌҹºÒ·à¾×èÍ»ÃѺÃÙ»Åѡɳ áÅÐ ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÊÙ‹ “ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤” Ç‹Ò “àÁ×èÍ 15 »‚·ÕèáÅŒÇ ÍÒ¨¨ÐÁÕ¤¹à¢ŒÒˌҧ àÃÒà©ÅÕèÂÇѹÅÐäÁ‹¶Ö§ËÁ×蹤¹áµ‹ÂÍ´àÃÒ¡çâµ¢Öé¹ àÃ×èÍÂæ ¨¹ÁÒ ³ »˜¨¨ØºÑ¹ à©ÅÕèÂáÅŒÇÇѹ˹Öè§ ¡ç»ÃÐÁÒ³ 8 ËÁ×蹤¹ àÊÒà ÍҷԵ ºÒ§Çѹ ¡ç໚¹áʹáÅŒÇá·¹·Õèà¢Ò¨ÐµŒÍ§à¢ŒÒ仫×éͧ͢㹠¡ÃØ§à·¾Ï ¡çà»ÅÕè¹ÁÒ«×éͧ͢ã¹ÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤ ¨Ò¡¡Ò÷íÒà«Íà àÇ ¤ÇÒÁ¶Õèâ´Âà©ÅÕè¡ç¨ÐÁÒÍҷԵ ÅÐ 1 ¤ÃÑé§ áµ‹ºÒ§¤¹¡çÁÒÍҷԵ ÅÐ 3 ¤ÃÑé§ ºÒ§¤¹ÁÒ¡Ô¹¢ŒÒÇ·Õè¹Õè·Ø¡Çѹ à¾ÃÒÐàÃÒÊÒÁÒö µÍºÊ¹Í§äŵ ÊäµÅ ¢Í§ÅÙ¡¤ŒÒä´ŒºÒ§¤¹äÁ‹à¤Â ࢌÒÌҹ» œ§Â‹Ò§ äÁ‹à¤Â¡Ô¹ä¨á͹· äÁ‹à¤Â¡Ô¹âÍ-ÍÔªÔ äÁ‹à¤Â¡Ô¹ÊØ¡ÕéẺÃÒ§ËÁع àÃÒ¡ç໚¹¼ÙŒ¹íÒÊÔè§ ãËÁ‹æ ·Õè㹡Ãا෾ÏÁÕ ËÃ×Í·ÕèÍ×è¹æ ÁÕ àÍÒÁÒãËŒ¤¹ ÍÂظÂÒáÅФ¹¨Ñ§ËÇÑ´ã¡ÅŒà¤Õ§ÅÐáÇ¡¹Õéä´ŒÁÒ㪌 ºÃÔ¡ÒÃà¾×èÍà¾ÔèÁËÃ×Íà»ÅÕè¹á»Å§ãËŒªÕÇÔµà¢ÒÁÕÊÕÊѹ ÁÒ¡¢Öé¹ ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ÁÒ¡¢Öé¹ ¡ç¢Í½Ò¡·Ø¡·‹Ò¹ãËŒ ÁÒªçÍ»» œ§·ÕèÈٹ ¡ÒäŒÒÍÂظÂÒ«ÔµÕé¾Òà ¤ à¾ÃÒÐ àÃҾÌÍÁãËŒºÃÔ¡Òä‹Ð”


เสนทางคนรักรถ

»ÃÐàÊÃÔ° ÍÍⵌ à«Íà ÇÔÊ »ÃÐàÊÃÔ° ÍÍⵌ à«Íà ÇÔÊ เพื่อนแทของคนรักรถ

คุณประเสริฐ บุญอวน ผูบริหาร “ประเสริฐ ออโต เซอรวิส”

“ตรงไปตรงมา ซื่อสัตยตอลูกคา ทําใหดีที่สุด” คือคติประจําใจของ คุณประเสริฐ บุญอวน ผูบริหาร “ประเสริฐ ออโต เซอรวิส” ตัวแทนจําหนายและติดตั้ง แกสรถยนตเวอรซุสซึ่งลูกคาที่มาใชบริการตางมั่นใจ และประทับใจในความทุมเทและความใสใจในทุกรายละเอีย ดของเขา คุณประเสริฐเลาวา เขาเคยทํางานเปนผูจัด การศูนยบริการดานรถยนตและอะไหลของบริษัทสยา มกลการอยูประมาณ 10 ป จนเมื่อป 2537 เขาจึง เบนเข็มมาประกอบธุรกิจสวนตัวดานยานยนตที่ครํ่า หวอดมานาน “ตอนนั้นผมลงทุนประมาณ 7 แสนบาท ใชเวลาไมนานก็ใชหนี้ที่ยืมพี่ชายมาไดหมด เพราะผมไป อบรมเรื่องการติดตั้งแกสกับกระทรวงแรงงานบาง กระทรวงพลังงานบางซึ่งเปนตัวสรางความมั่นใจให กับลูกคาวา ผมไมไดมาติดตั้งโดยที่ไมไดมีความรูนะ อีกอยางผมเรียนมาทางดานวิศวะฯ เกี่ยวกับกระบวน การการผลิตซึ่งก็เปนตัวการรองรับการติดตั้งอยู เหมือนกัน

สนใจติดตอ โทร.

อันนี้ก็เปนสิ่งหนึ่งที่สรางความเชื่อมั่นใหกับลูกคา อีกอยางหนึ่งก็คือ แบรนดสินคาที่มันติดตลาดแลว” นอกเหนือจากองคความรู ประสบการณทํางาน และ สินคาแบรนดคุณภาพอยาง Versus จะทําใหเขาประสบ ความสําเร็จไดอยางรวดเร็วแลว หัวใจสําคัญที่ขาดไมได ก็คือคติประจําใจที่เขายึดมั่นมาตลอด “ตรงไปตรงมา ซื่อสัตยตอลูกคา ทําใหดีที่สุดเทาที่เราทําได” ซึ่งจุดนี้ เองทําใหลูกคาสวนใหญที่มาใชบริการ ตางบอกกัน ปากตอปากถึงคุณภาพและการบริการจาก ประเสริฐ ออโต เซอรวิส โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคโลกออนไลน ที่เพียงแคคลิก ลูกคาก็จะทราบไดวารานไหน ที่ใด บริการดี และถือเปนกระบอกเสียงใหกับธุรกิจนั้นๆ โดย อัตโนมัติ

081-347-0972, 035-234-090


“ลูกคาสวนใหญก็มาตามคําแนะนําบางสวนการโปรโมทก็เพิ่งมามีชวงหลังๆเพราะการตลาดผม ก็ไมคอยเกง ที่อื่นเขาทีมเซลสวิ่งไปตามศูนย แตเราทํางานคนเดียว เราก็ประหยัดไวแลวเอามาบริการดีๆ ใหลูกคาดีกวา เปนสวนลดใหลูกคาไป เพราะถาเทียบราคากับที่อื่นแลว ของผมถูกที่สุดในจังหวัดอยุธยา ที่อื่นเขาติดแพงกวานี้ประมาณ 2,000 ผมถึงบอกวาการตลาดผมไมคอยเกงแตผมคิดวาสิ่งที่ทําใหลูกคาบอก ตอๆ กัน เพราะผมเนนวาเราตองมี 1. ความซื่อสัตย 2. ความปลอดภัย 3. การดูแลหลังการขายครับ”

กอนจากกัน คุณประเสริฐ บุญอวน ผูบริหาร “ประเสริฐ ออโต เซอรวิส”ไดกลาวทิ้งทายวา “สิ่งที่ผมทํา ผมตั้งใจวาตองทําใหมันดี วันนี้ดีแคนี้ พรุงนี้ก็ตองดีขึ้นอีกนิด พยายามพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ แตกอนนี้ก็เปนดินหินดินทรายเหมือนอูทั่วไปแหละก็พัฒนามาเรื่อยๆ พอมีอะไรหนอยก็เอามาใหลูกคา มีหอง ลูกคา มีกาแฟบริการเพื่อใหลูกคาสบายขึ้นบางเปนสิ่งตอบแทนลูกคาที่มาใชบริการที่นี่ผมก็อยากใหคนที่อยู ในอยุธยาและในเขตปริมณฑลที่เคยใชบริการของผมหรือไมเคยใช ก็ลองมาใชบริการของอูประเสริฐดูบาง เพราะนอกจากความซื่อสัตยและความจริงใจแลวบริการหลังการขายนี่ ผมจะดูแลใหเปนอยางดีทุกคันครับ”


AD à¨ÃÔ­·ÃѾÂì¶ÒÇÃ.pdf 1 30/6/2557 7:52:07

ºÃÔÉÑ· à¨ÃÔÞ·ÃѾ ¶ÒÇà ¤ŒÒàËÅç¡ ¨íÒ¡Ñ´

C

M

Y

CM

MY

CY

ºÃÔËÒÃâ´Â

´Ã.¸¹¹¹· ÊÔÁÁÒ¡ØÅ

¡ÅÂØ·¸ ¡ÒõÅÒ´ÊíÒËÃѺâç§Ò¹¤Ñ´á¡¢ÂÐà¾×èÍÃÕä«à¤ÔÅ ã¹»ÃÐà·Èä·Â

ÃѺ«×éÍ-¢Ò àÈÉàËÅç¡·Ø¡ª¹Ô´ ÃѺ»ÃÐÁÙÅàÈÉàËÅç¡âç§Ò¹

CMY

K

TEL.081-732-8333 1/3 ËÁÙ‹8 µ.µÅÒ´à¡Õº Í.ºÒ§»ÐÍÔ¹ ¨.¾Ãй¤ÃÈÃÕÍÂظÂÒ


เสนทางพบการทางพิเศษฯ

กทพ. เชื่อมตอสองเมืองหลวงไทย

ขยายทางดวน “อุดรรัถยา-พระนครศรีอยุธยา”

การทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) กระทรวงคมนาคม จัดทําโครงการทางพิเศษสายอุดรรัถยาพระนครศรีอยุธยา เพื่อเชื่อมตอสองเมืองหลวงไทย กรุงเทพมหานครสูพระนครศรีอยุธยา รวมถึงพัฒนาเมือง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการทองเที่ยว ซึ่งกอใหเกิดประสิทธิภาพในการเดินทาง การขนสงสินคา และจะเปน ประโยชนตอเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ กทพ.ไดมีการรวมลงนามในบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือในการพิจารณาการเชื่อมตอทางพิเศษจาก กรุงเทพมหานครเขาสูจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2557 ที่ผานมา ซึ่งมี นายอัยยณัฐ ถินอภัย ผูว า การการทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) และ นายวิทยา ผิวผอง ผูว า ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนผูร ว มลงนาม ณ หองรับรองศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อีกทัง้ เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2557 กทพ. ไดจดั การ ประชุมสัมมนาครั้งที่ 1 ปฐมนิเทศโครงการ งานศึกษาความเหมาะสม ทางดานวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน และ ผลกระทบสิ่งแวดลอม ณ โรงแรมวรบุรี อโยธยา คอนเวนชั่น รีสอรท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อใหประชาชนและ ผูม สี ว นเกีย่ วของทุกฝาย ไดรบั ทราบขอมูลโครงการอยางถูกตอง และนําเสนอขอมูล ความเปนมา วัตถุประสงค ขอบเขต การศึกษา และแนวทางการศึกษา รวมทัง้ รับฟงความคิดเห็นจากผูม สี ว น เกี่ยวของและหนวยงานในพื้นที่ เพื่อรวบรวมขอคิดเห็นตางๆ และนําไป วิเคราะห เพื่อดําเนินการโครงการฯ ใหสอดคลองกับความตองการของ ประชาชนสวนใหญในทองถิ่น การดํ า เนิ น โครงการทางพิ เ ศษสายอุ ด รรั ถ ยา-พระนครศรี อยุธยา เปนกาวแรกของการกอสรางทางพิเศษ ที่เชื่อมตอระหวาง กรุงเทพมหานครกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อดีตเมืองหลวงของไทย กทพ. รูสึกภูมิใจที่ไดมีสวนรวมในการพัฒนาโครงขายใหครอบคลุม ทั่วถึงยิ่งขึ้น โครงการนี้จะดําเนินการขยายทางพิเศษอุดรรัถยาไปจนถึง อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมุงเนนถึงการพัฒนา เมือง อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และการทองเที่ยว และดวยสาเหตุ อันเนื่องมาจากมีการขยายตัวของที่อยูอาศัย และการใชพื้นที่ในเชิง พาณิชย และอุตสาหกรรมขนาดใหญ รวมถึงบริเวณดังกลาวมีนิคม อุตสาหกรรมขนาดใหญตั้งอยูเปนจํานวนมาก โครงการนี้จะทําใหเกิด ประสิทธิภาพในการเดินทาง การขนสงสินคา และจะเปนประโยชนตอ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ อีกทั้งการเดินทางของประชาชนสวนใหญจะใชทางหลวงแผนดิน หมายเลข 32 เปนเสนทางหลักในการเดินสูภาคกลางตอนบนและ ภาคเหนือ ปจจุบันเสนทางสายนี้เริ่มเกิดปญหาการจราจรติดขัด ดังนั้น เพื่อเปนการพัฒนาโครงขายทางพิเศษและรองรับความตองการในการ เดินทางและขนสงสินคา กทพ. จึงไดวางแผนการตอขยายโครงขายทาง พิเศษอุดรรัถยา ไปบรรจบกับทางหลวงแผนดินหมายเลข 32 บริเวณ อ.บางปะหัน เพื่อเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเดินทางที่สะดวก รวดเร็ว และสามารถเชือ่ มโยงกับพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร นอกจากนี้ กทพ. ยังไดมี การวางแผนใหมกี ารเชือ่ มตอจากทางพิเศษฯไปยังศูนยศลิ ปาชีพบางไทร ซึง่ รวมระยะทางประมาณ 35 กิโลเมตร ทัง้ นี้ ไดผนวกการศึกษาปรับปรุง ทางพิเศษอุดรรัถยา ชวงบางพูน-บางไทร ระยะทาง 16 กิโลเมตร ซึ่งเปน ทางพิเศษระดับดินใหเปนทางพิเศษยกระดับอีกดวย Ayutthaya 65


เสนทางพบเกษตรจังหวัด

นายไพศาล สังขมงคล

เกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

วิสัยทัศน และเปาประสงค

สํานักงานเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป น องค ก รที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการส ง เสริ ม และ พัฒนาการเกษตรทีย่ งั่ ยืน โดยมีเปาประสงครวมดังนี้ 1. มีขีดความสามารถในการแขงขันทางการ ตลาดสินคาเกษตรสู AEC 2. ยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร องคกร เกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน 3. เปนตนแบบการทํางานสงเสริมการเกษตรสู smart officer อยางมีประสิทธิภาพ

ยุทธศาสตรการพัฒนา

1. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การจัดการสินคาเกษตร และเชื่อมโยงตลาดสูมาตรฐาน สากล โดยมีเปาประสงคพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันทางการตลาดสู AEC โดยใชกลยุทธ ลดตนทุนการผลิต การใชสารชีวภัณฑแทนสารเคมี, การพัฒนาคุณภาพการผลิตพืช/การจัดการ สินคาเกษตรใหปลอดภัยและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม, และเชือ่ มโยงกับระบบการผลิตและการตลาด สูม าตรฐานสากล ผลทีจ่ ะไดรบั คือ เกษตรกร/แปลง/ฟารมทีผ่ า นมาตรฐานความปลอดภัยของจังหวัด เพิ่มมากขึ้น 66

2. พัฒนาเกษตรกร องคกรเกษตรกรและ วิสาหกิจชุมชน ใหมีความเขมแข็ง เปาประสงค พัฒนาประสิทธิภาการผลิต การจัดการสินคา เกษตรและเชื่อมโยงตลาดสูมาตรฐานสากล โดยมีกลยุทธพัฒนาการผลิตสินคาและบริการ ใหไดรับรองมาตรฐาน (Primary GMP), พัฒนา รูปแบบบรรจุภัณฑที่แปลกใหมนาสนใจเปน เอกลักษณ และ สงเสริมและพัฒนาแหลงเรียน รูก ารผลิตอาหารแปรรูปทีไ่ ดมาตรฐานของชุมชน ผลที่จะไดรับคือ ผลิตภัณฑอาหารแปรรูปที่ได รับรองมาตรฐาน (Primary GMP) เพิ่มมากขึ้น 3. พัฒนาศักยภาพงานสงเสริมการเกษตร ระบบสารสนเทศ และการใหบริการทางการ เกษตร ใหพรอมรับการเปลีย่ นแปลง เปาประสงค เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต การจัดการ สินคาเกษตร และเชื่อมโยงตลาดสูมาตรฐาน สากล โดยมี ก ลยุ ท ธ ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การ ทํางานของเจาหนาทีส่ ง เสริมการเกษตรสู Smart Extension office, สงเสริมสนับสนุนการใช เทคโนโลยีสารสนเทศทีท่ นั สมัย ทันตอเหตุการณ และสงเสริมการใหบริการทางการเกษตรในพืน้ ที่ อยางมีประสิทธิภาพ ผลที่จะไดรับ คือ ความ สํ า เร็ จ ของการพั ฒ นาศั ก ยภาพงานส ง เสริ ม การเกษตร สู Smart office

การยกระดับภาคการเกษตรสู AEC

1. พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต การ จัดการสินคาเกษตร เพื่อเพิ่มความสามารถใน การแขงขัน และเชือ่ มโยงตลาดสูม าตรฐานสากล 2. ลดตนทุนการผลิต การใชสารชีวภัณฑ แทนการใชสารเคมีหรือลดปจจัยการผลิตที่ไม จําเปน ปลูก-พืชพันธุดี ตรงตามความตองการ ของตลาด พั ฒ นาคุ ณ ภาพการผลิ ต พื ช /การ


จัดการสินคาเกษตรใหปลอดภัยและเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม 3. การจัดอบรมใหความรูดานพืช การ จั ด การผลิ ต พื ช ปลอดภั ย การแปรรู ป ถนอม อาหาร การตลาด เพื่อเตรียมความพรอมรับ สถานการณเขาสู AEC 4. ปรับกระบวนการผลิตและวิธีการผลิต ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและคุ ณ ภาพโดยให ค วาม สําคัญตอการพัฒนาและยกระดับคุณภาพคน 5. สรางมูลคาเพิ่มของวัตถุดิบการเกษตร โดยสงเสริมการแปรรูปผลผลิตการเกษตร ลด ต น ทุ น การผลิ ต และยกระดั บ คุ ณ ภาพและ มาตรฐานของสินคาเกษตรและผลิตภัณฑ ให ตรงกับความตองการของตลาดผูบริโภคทั้งใน และตางประเทศ 6. เพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ทั ก ษะของ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ใหมีขีดความ สามารถในการเปนผูประกอบการได สามารถ ตัดสินใจและวางแผนการผลิตเชื่อมโยงกับการ ตลาด การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ มีการ ใชระบบขอมูลขาวสารดานการผลิต ราคาสินคา และการตลาดเปนเครือ่ งมือในการทําธุรกิจ รวม ทั้งการแปรรูปสินคาและการตลาด 7. ผลิตและพัฒนาบุคลากรในภาคการ ผลิตที่แทจริง(Smart farmer) เพื่อใหทันกับ การปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิตและตลาด แรงงาน โดยพัฒนากลไกและสรางเครือขาย ความร ว มมื อ ให เ กิ ด ความเชื่ อ มโยงระหว า ง สถาบันการศึกษา สถาบันฝกอบรม สถาบัน เฉพาะทาง และสถานประกอบการในภาคการ ผลิตตางๆ

3 โครงการสําคัญเพื่อยกระดับเกษตรกร อยุธยา

โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) (กลุมสงเสริมและพัฒนา เกษตรกร) พัฒนาอาสาสมัครเกษตรหมูบาน จํ า นวน 1,456 ราย โดยมี ก ารจั ด เวที เ รี ย นรู  บทบาทหน า ที่ ข องอาสาสมั ค รฯ การจั ด ทํ า บัญชีครัวเรือนเกษตรกร การผลิตสินคาเกษตร ปลอดภั ย เพื่ อ ยกระดั บ อาสาสมั ค รฯให เ ป น เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) โครงการลดความเสี่ยงการระบาดศัตรู พืช (กลุมอารักขา) เพื่อปองกันการระบาด ศัตรูพืชอยางมีประสิทธิภาพ โดยการจัดตั้งศูนย

จัดการศัตรูพชื ชุมชน (ศจช.) อบรมแกนนํา ศจช. โดยใชกระบวนการเรียนรูแ บบมีสว นรวม มีกลุม เปาหมายคือเกษตรกร 16 อําเภอๆ ละ 1 ศูนยๆ ละ 25-30 ราย โครงการปลูกขาวกินเอง (กลุมสงเสริม และพั ฒ นาการผลิ ต ) ป ญ หาสํ า คั ญ ของ เกษตรกรผูปลูกขาวในอยุธยา ไดแก ตนทุน การผลิ ต ต อ ไร สู ง เมล็ ด พั น ธุ  ข  า วไม เ พี ย งพอ และขาดความระมั ด ระวั ง ในการใช ส ารเคมี ซึ่ ง ป ญ หาเหล า นี้ ทํ า ให ต  น ทุ น การผลิ ต สู ง ขึ้ น และส ง ผลกระทบต อ สภาพแวดล อ มและสุ ข อนามั ย ของ ฯลฯ เพื่ อ เป น การแก ป  ญ หาดั ง กลาว จึงดําเนินการโครงการปลูกขาวกินเอง โดยใหชาวนาจากกทม.และจังหวัดใกลเคียง มารวมทํานากับชาวนาอยุธยา รวมเรียนรูว ธิ กี าร ทํานา (โยนกลา) วิถชี วี ติ การทํานา ปลูกขาวดวย ตนเอง และไดขาวที่ปลอดภัยไปรับประทาน ในครัวเรือน และแจกญาติพี่นอง ตลอดจนได ทองเที่ยวแหลงที่สําคัญของอยุธยา เปนการ ประชาสัมพันธใหคนไทยและชาวตางชาติไดรจู กั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ผลการดําเนินงานที่ภาคภูมิใจ

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ (กลุมสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร) ไดแก 1. โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพือ่ พัฒนาเด็กและเยาวชน ให มี ชี วิ ต ความเป น อยู  ที่ ดี ขึ้ น โดยมุ  ง เน น ให นักเรียน ครู และผูป กครอง รวมกันทําการเกษตร

ในโรงเรี ย น แล ว นํ า ผลผลิ ต ที่ ไ ด ม าประกอบ อาหารกลางวัน ซึง่ นอกจากจะชวยแกปญ  หาการ ขาดแคลนอาหารกลางวันแลว ยังทําใหนกั เรียน ไดรบั ความรูด า นโภชนาการ และดานการเกษตร แผนใหมที่สามารถไปใชประกอบอาชีพตอไป 2. โครงการสายใยรักแหงครอบครัว ใน พระราชูปถัมภของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อสรางความรักความ อบอุน ใหกบั สถาบันครอบครัว โดยไดดาํ เนินงาน ตั้งแตป 2550 จนถึงปจจุบัน มีการดําเนินงาน ครอบคลุมทุกอําเภอๆ ละ 1 จุด ยกเวนอําเภอ บางบาล ดําเนินการ 2 จุด รวม 17 จุด มีสมาชิก ที่เขารวมโครงการฯ ทั้งหมด 2,038 คน โครงการพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตร สู  ม าตรฐาน (พื ช ผั ก ) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่อพัฒนาเกษตรกรใหสามารถผลิตพืชผักที่ ปลอดภั ย จากสารเคมี แ ละการปนเป  อ นของ จุลนิ ทรีย เพือ่ ใหเกษตรกรไดรบั ความรูเ รือ่ งระบบ การจัดการคุณภาพการปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ ี (GAP พืช) และมีความรูเ รือ่ งเกษตรอินทรีย และ เพือ่ สรางโอกาสทางการตลาดใหสามารถแขงขัน ไดทั้งตลาดภายในและตางประเทศ โครงการศูนยจดั การศัตรูพชื ชุมชน เพือ่ ถายทอดความรูความเขาใจอยางถูกตองใน กระบวนการควบคุมศัตรูพืช โดยวิธีการเรียนรู ดวยตนเองจากโรงเรียนเกษตรกร ทําใหเกษตร มี ค วามรู  ค วามเข า ใจ มี ทั ก ษะ และสามารถ แกปญหาไดดวยตนเอง ปจจุบันมีการตั้งศูนย จัดการศัตรูพืชชุมชนขึ้นในพื้นที่ 16 อําเภอๆ ละ 1 ศูนย โดยมีสมาชิกศูนยละ 30 คน

การชวยเหลือเกษตรกรจากโครงการรับจํานําขาว ประเด็นปญหา 1. เกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปลูกขาวไมพรอมกัน และไมตรงตามกรอบระยะเวลาการรับจํานําตามที่รัฐบาล กําหนด คือ นาป 1 ครั้ง เก็บเกี่ยวเดือนตุลาคม 56-28 กุมภาพันธ 2557 และนาปรัง 1 ครั้ง เก็บเกี่ยวเดือน ตุลาคม 57-30 กันยายน 2557

แนวทางการชวยเหลือ 1. นําเสนอใหรัฐบาลรับจํานําปละ 2 ครั้ง โดยไมตอง กําหนดเปนกรอบระยะเวลานาป – นาปรัง

2. ผลผลิตเฉลี่ยตอไรตํ่า ขาวนาป 625 กก./ไร ทําให 2. จัดทําขอมูลตนทุนและผลผลิตของเกษตรกรที่ เกษตรกรไมสารมารถนําผลิตที่ไดมากกวาเขารวมโครงการ ไดตามความเปนจริง เสนอให กขช. ไดรับทราบ รับจํานําได ตองขายในราคาที่ตํ่ากวาโครงการรับจํานํา เพื่อปรับผลผลิตเฉลี่ย/ไรใหสูงขึ้น เปน 900 กก./ไร (ตนทุนการผลิตขาวเฉลี่ย 4,800บ./ไร) 3. เกษตรกรนําขาวเปลือกไปเขารวมโครงการรับจํานํากับ รัฐบาลแลว ปรากฏวายังไมไดรับเงินจากรัฐบาล

3. ติดตอประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน การคาภายในจังหวัด,ธกส,มติที่ประชุม ครม. นํามา แจงและประชาสัมพันธใหเกษตรกรไดทราบ Ayutthaya 67


เสนทางพบสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

นายสุรชัย อจลบุญ

ผูอํานวยการสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม พระนครศรีอยุธยา

สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สนง.ทสจ.อย.) เป น หน ว ยงานราชการ สวนภูมิภาค ในสังกัดกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมีพันธกิจ ในการสงวน อนุรักษ พั ฒ นาและฟ  น ฟู ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ การใช ป ระโยชน อ ย า งยั่ ง ยื น โดย ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ป ระชาชนและทุ ก ฝายทีเ่ กีย่ วของมีสว นรวม เพือ่ ใหสอดคลอง กับวิสัยทัศนของ สนง.ทสจ.อย. ที่วา “รวม อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางรูคุณคา และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี เพื่อ คุณภาพชีวิตของประชาชน” ยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สนง.ทสจ.อย.) ได กํ า หนดยุ ท ธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธในการพัฒนาไวดังนี้ คือ 68

ยุทธศาสตร - เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - สงเสริมการมีสว นรวมของประชาชนใน การรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติและความ สมบูรณของระบบนิเวศ - รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหอยูใน ระดั บ มาตรฐานคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มเพื่ อ คุณภาพชีวิตของประชาชน เปาประสงค - เสริมสรางการมีสวนรวมของทุกภาค สวนในการอนุรักษ รักษา ฟนฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน - อนุรักษ ปองกัน รักษา ฟนฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอยูในระดับที่ เหมาะสมเพื่อคุณภาพชีวิตของประชาชน กลยุทธ - สงเสริมการมีสว นรวมของทุกภาคสวน ในการอนุรกั ษ รักษา ฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอม และศิลปกรรม ของทุกภาคสวน - กํากับ ดูแล เฝาระวัง อนุรักษ รักษา และฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ใหอยูในระดับมาตรฐาน อํานาจหนาที่ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สนง.ทสจ.อย.) มีอาํ นาจหนาทีใ่ นการปฏิบตั ิ ภารกิจดังนี้คือ - จั ด ทํ า แผนจั ด การสิ่ ง แวดล อ มของ จังหวัดและแผนปฏิบัติก ารเพื่อ การจัดการ คุณภาพสิ่งแวดลอมในระดับจังหวัด รวมทั้ง ติดตาม ประเมินผล และตรวจสอบสถานการณ สิ่งแวดลอมของจังหวัด - ดําเนินการตามกฎหมายวาดวยปาไม กฎหมายวาดวยปาสงวนแหงชาติ กฎหมาย วาดวยสวนปา กฎหมายวาดวยเลื่อยโซยนต กฎหมายวาดวยการสงวนและคุม ครองสัตวปา


และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามที่ไดรับ มอบหมาย - กํากับ ดูแลการประกอบกิจการนํา้ บาดาล ตามกฎหมายวาดวยนํ้าบาดาลและกิจการ ประปา - สงเสริม เผยแพร และสรางการมีสวน รวมของประชาชนในการสงวน อนุรักษ และ ฟ  น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ของจังหวัด - รวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หนวยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วของหรือทีไ่ ดรบั มอบหมาย โครงการสําคัญในรอบปที่ผานมา สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (สนง.ทสจ.อย.) ไดดําเนินโครงการสําคัญๆ ในรอบปที่ผานมาดังนี้ - โครงการประชาอาสาปลูกปา 800 ลาน กลา 80 พรรษา มหาราชินี เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ - โครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - โครงการปรับปรุงภูมิทัศนหอนาฬกา อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดี (ทุง หันตรา) - โครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมกับกองทุนพัฒนาไฟฟา โรงไฟฟาวังนอย - โครงการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการ จั ด การสิ่ ง แวดล อ มโดยการมี ส  ว นร ว มของ ชุมชน กิจกรรมพระนครศรีอยุธยาเมืองสะอาด สนั บ สนุ น ชุ ม ชนลดนํ้ า เสี ย และปลอดขยะ (Zero Waste)

แนวนโยบายเรงดวนในการแกไขปญหา สนง.ทสจ.อย.มีแนวนโยบายเรงดวน เพื่อดําเนินการแกไขปญหาดานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่พบบอยครั้ง อาทิ ปญหาปริมาณขยะ ควรดําเนินการแกไข โดยการสงเสริมใหมีการคัดแยกขยะ ตั้งแต ตนกําเนิดของขยะ เชน บาน โรงเรียน วัด ฯลฯ ปญหานํ้าเนาเสียของชุมชนอันเกิด จากครัวเรือน ควรดําเนินการแกไขโดยการ สงเสริมใหครัวเรือนมีการกําจัดของเสียหรือ บําบัดนํ้าเบื้องตน กอนปลอยออกสูแหลง นํ้าสาธารณะ และปญหาที่จะพบบอยไดใน หนารอนคือ ปญหาไฟไหมกองขยะ ควร ดําเนินการโดยบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของ อยางเครงครัด รวมมือแกไขใสใจสิ่งแวดลอม ถึงแมวาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะ ประสบปญหาทางดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมอยูบาง แตชาวอยุธยาซึ่ง เปรียบไดกับเจาของบาน จึงควรมีสวนรวม ในการดูแลแกไข และปองกันปญหาตางๆ ที่ จะเกิดขึ้นได เชน - มี ค วามตระหนั ก ในบทบาทและ หน า ที่ ที่ พึ ง มี ต  อ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ มในจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง อาจก อ ให เ กิ ด การเปลี่ ย นความคิ ด และ พฤติกรรมไปในทิศทางที่สงเสริมการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - การลดการเสือ่ มสูญ คือไมใชทรัพยากร อยางฟุม เฟอย ควรใชทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมใหคุมคาที่สุด - การนํากลับมาใชซํ้า คือ การนําวัสดุที่ สามารถใชงานซํ้าไดมาใชใหม เชน การใชถุง หูหิ้วใสสิ่งของ ฯลฯ

- การนํากลับมาใชประโยชนใหม คือ การนําวัสดุเครือ่ งมือเครือ่ งใชทชี่ าํ รุดหรือเสือ่ ม สภาพมาใชประโยชนใหม - การลดปญหาขยะ เชน การใชภาชนะ ที่นํามาใชซํ้าได เชน ปนโต กลองขาว การใช กระดาษทัง้ 2 หนา การใชวสั ดุธรรมชาติทยี่ อ ย สลายงายแทนการใชโฟมหรือวัสดุทยี่ อ ยสลาย ยาก เชน ใบตอง กาบกลวย รวมทัง้ การบริจาค เสื้อผา เครื่องนุงหม - การคัดแยกขยะ โดยแยกขยะออกเปน 4 ประเภท ไดแก ขยะยอยสลายได ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย จากใจ ผอ. ถึงชาวอยุธยา การดูแลและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ไมไดเปนเรื่องของหนวยงาน ใดหนวยงานหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต เปนเรื่องของทุกภาคสวน ไมวาจะเปนหนวย งานราชการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูมี สวนไดสว นเสีย ชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และผู  ที่ เ ข า มาอาศั ย หรื อ ทํ า งานในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ความตระหนักและความรวมมือรวมใจ ของทุกฝายเทานั้น ที่จะชวยใหการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหเปนไป อยางมีประสิทธิภาพได กระผมจึงอยากใหทกุ ภาคสวนมีจติ สํานึกในการอนุรกั ษ บํารุงรักษา ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ให มี ค วามอุ ด ม สมบูรณและคงอยูสืบตอไป Ayutthaya 69


เสนทางพบสนง.พัฒนาชุมชน

สํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

นายประมวล มุงมาตร พัฒนาการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุ ธ ยา สังกัดกรมการพัฒนาชุมชน ตั้งอยู ณ ศูนยราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี นายประมวล มุงมาตร พัฒนาการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา บริหารงานตามวิสยั ทัศนที่ วา “เปนหนวยงานหลัก ในการบริหารจัดการ ชุมชนใหนา อยู” ภายใตกรอบการดําเนินงาน ตาม พันธกิจ ดังนี้คือ พัฒนาการการเรียนรู และการมีสวนรวมของคนในชุมชน สงเสริม และพัฒนาการการบริหารจัดการชุมชน สงเสริม อาชี พ และการดํ า เนิ น ชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และพั ฒ นาองค ก รและ เครือขายในการทํางานเชิงบูรณาการ ประเด็นยุทธศาสตร 1. สงเสริมและพัฒนาสินคา OTOP 2. สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชุมชน 3. สงเสริมกระบวนการเรียนรูและการมี สวนรวมทุกภาคสวนในการบริหารจัดการชุมชน

70

4. พัฒนาขีดสมรรถนะองคกร สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดใหความสําคัญกับประเด็นยุทธศาสตร การสงเสริมและพัฒนาสินคา OTOP ซึ่งเปน นโยบายสําคัญของรัฐบาล ที่ตองการใหเกิด การสรางงาน สรางอาชีพ สรางรายได และสราง โอกาสใหประชาชน โดยการสงเสริม สนับสนุน ใหประชาชนในหมูบาน/ชุมชน นําทรัพยากร และภู มิ ป  ญ ญาของท อ งถิ่ น มาพั ฒ นาเป น สินคาและบริการเพื่อเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑใหมี เอกลักษณทโี่ ดดเดนสวยงาม ซึง่ มีภาครัฐใหการ สนับสนุน ดานวิชาการ องคความรู เทคโนโลยี สมั ย ใหม และการเข า ถึ ง แหล ง เงิ น ทุ น เพื่ อ พัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การผลิตและการตลาด การพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน และเชื่อมโยงสินคาจากหมูบาน/ ชุมชนสูตลาดทั้งในประเทศและตางประเทศ การส ง เสริ ม ให ผู  ผ ลิ ต ผู  ป ระกอบการ OTOP มีความพรอมและมีความเขมแข็งกอน เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนม ดวยการ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห มี คุ ณ ภาพ มาตรฐาน บรรจุ ภั ณ ฑ มี ค วามเหมาะสม ส ง เสริ ม การ

ขายด ว ยเครื อ ข า ยไอที แ ละเครื อ ข า ยชุ ม ชน ผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ม ป ลอมปนไม เ ป น มลพิ ษ ต อ สิ่งแวดลอม คุณภาพสูงพรอม ราคามาตรฐาน บรรจุ ภั ณ ฑ ส วยหรู เชื่ อ มโยงการท อ งเที่ ย ว ตลอดจนมีการฝกอบรมใหผูผลิต ผูประกอบ การ OTOP เปนนักขายมืออาชีพและอบรม ภาษาตางประเทศ การสงเสริมและพัฒนาสินคา OTOP สุดยอดผลิตภัณฑ OTOP เดนจังหวัด (Provincial Star OTOP:PSO) จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ไดคัดสรรผลิตภัณฑ ที่มี เอกลักษณภูมิปญญาทองถิ่น มีคุณคาเปนที่ นิ ย ม มี ศั ก ยภาพด า นการผลิ ต และด า นการ ตลาด เปนผลิตภัณฑที่นิยมของผูบริโภคเปนที่ รูจักอยางแพรหลาย เปนของฝาก ของที่ระลึก ใครมาเทีย่ วอยุธยาแลวไมซอื้ ผลิตภัณฑเหลานี้ กลับไปฝาก ผูที่เคารพ นับถือ คนที่อยูทางบาน ถือวามาไมถึงอยุธยาไดแก โรตีสายไหม,ผลิต ภัณฑอรัญญิก,ผาขาวมาและผลิตภัณฑผา ขาวมา, สบูและแชมพูสมุนไพรจากธรรมชาติ และนํ้าลูกยอ ทั้งนี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได คั ด เลื อ กสุ ด ยอดผลิ ต ภั ณ ฑ OTOP เด น จังหวัด ไดแก เครื่องใชบนโตะอาหารจาก


Junction โรงแรมปทุมวัน ปริ้นเซส เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร โดยมีการแสดงมินิแฟชั่นโชว จากนางแบบและนายแบบ จากกลุม บุคคลแนว หนาในสังคม และนิทรรศการกระเปาผาทอจาก เกลียว ตลอดจนเปดโอกาสใหผูที่สนใจสั่งจอง กระเปาที่ไดออกแบบพิเศษมาเพื่องานนี้โดย เฉพาะ รายไดสวนหนึ่งมอบใหมูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย

สแตนเลส ของ บริษัท โพธิ์ทอง อรัญญิกแฮนดดิเวอรค จํากัด อําเภอนครหลวง (โดยนายพสิษฐ นาคะบุตร) ไดรับรางวัลชนะเลิศ การประกวดผลิ ต ภั ณ ฑ OTOP ดีเดนระดับประเทศ ป 2556 การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ โ ดยเครื อ ข า ย องคความรู (Knowledge–Based OTOP : KBO) เป น การบู ร ณาการและผนึ ก กํ า ลั ง ของ สถาบันการศึกษาในพื้นที่จังหวัด องคกร ปกครองสวนทองถิ่น เชน อบต. อบจ. เทศบาล เครือขายกลุมผูผลิต OTOP หนวยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวของ ปราชญชาวบาน ผูทรง คุณวุฒิ สนับสนุนสงเสริมใหกลุมผูผลิต OTOP ผลิตสินคาที่มีคุณภาพไดมาตรฐาน สามารถ จํ า หน า ยได ใ นตลาดทั้ ง ในและต า งประเทศ และป 2556 จังหวัดพระนครศรีอยุธยาไดสง ผล งานเครือขายองคความรู (Knowledge-Based OTOP : KBO) ผลิตภัณฑ “ผาทอ อยุธยา” ได รับรางวัลชมเชยการประกวดผลงานเครือขาย องคความรู (Knowledge-Based OTOP : KBO ระดับประเทศ การจั ด งาน Bangkok Runway & Charity Exhibition นายวิ ท ยา ผิ ว ผ อ ง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได สนับสนุนการดําเนินงานโครงการหนึ่งตําบล หนึง่ ผลิตภัณฑ อยางตอเนือ่ ง ดวยการสนับสนุน ใหชุมชน ไดใชทรัพยากรและภูมิปญญาทอง ถิ่นผนวกกับองคความรูสมัยใหม เพื่อยกระดับ มาตรฐานของสินคา OTOP โดยเฉพาะกระเปา ที่ทํามาจากผาทอเกลียวผักตบชวา ที่มีการ ตั ด เย็ บ อย า งประณี ต พิ ถี พิ ถั น จนกลายเป น

กระเปาถือสวยงามคุณภาพเยีย่ ม ไมแพกระเปา ซุปเปอรแบรนด จากตางประเทศ และเมื่อปที่ ผานมากระเปาผาทอเกลียวผักตบชวาไดเปด ตัวเปนครั้งแรกของโลกบนรันเวยแฟชั่น ใน ฐานะ Green Product สรางความประทับใจ และจุดกระแสแฟชั่นใหกลุมเซเลบริตี้ของไทย และตางประเทศ เพื่ อ เป น การขยายผลสํ า เร็ จ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจึ ง ร ว มกั บ บริ ษั ท ที วี อาลาคารต จํากัด จัดงาน Bangkok Otop Runway&Charity Exhibitions ขึ้นอีก ในวัน ที่ 31 มีนาคม 2557) ณ ชั้น B หอง Executive

ศูนยผาขาวมาทุงหันตรา นายวิทยา ผิ ว ผ อ ง ผู  ว  า ราชการจั ง หวั ด และนาง วาสินี ผิวผอง นายกเหลากาชาดจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ ใน การสงเสริม สนับสนุนกลุมอาชีพทอผาขาวมา ดวยการนําผาขาวมา มาสรางคุณคา สราง มูลคาเพิ่ม พัฒนารูปแบบการใชประโยชนให สวยงามทันสมัยในยุคปจจุบัน เชน นํามาตัด เย็บเปนเสื้อผา กางเกง หมวก รองเทา กระเปา หมอน ของใช ของฝาก ของที่ระลึก เครื่อง ประดับ ผามาน ผาปูโตะ ฯลฯ พรอมทั้งรณรงค ให ข  า ราชการ และประชาชนสวมใส เ สื้ อ ที่ ตั ด เย็ บ จากผ า ขาวม า และริ เ ริ่ ม จั ด งาน อยุธยา...สงเสริมภูมิปญญาผาขาวมาไทย ในป พ.ศ. 2552 มีการเดินแบบชุดผาขาวมา ใน ป พ.ศ. 2553 มีการเดินแบบแฟชัน่ ชุดผาขาวมา นานาชาติ และป พ.ศ. 2554 ในงานยอยศยิง่ ฟา อยุธยามรดกโลก ซึ่งการจัดงานดังที่กลาวมา ทําใหประชาชนในจังหวัดเกิดความตื่นตัว และ เห็นความสําคัญของผาขาวมามากขึน้ นอกจาก นี้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไดจัดตั้ง “ศูนยผา ขาวมาทุง หันตรา” ณ อนุสรณสถานแหงความ จงรักภักดี (ทุงหันตรา)โดยรวบรวมผาขาวมาที่ ผลิตในประเทศไทยมากกวา 40 จังหวัดและ ผาขาวมาจากนานาประเทศ ทั่วโลก พรอมทั้ง ผลิตภัณฑจากผาขาวมาหลากหลายชนิด ป 2556 ในการประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี อย า งเป น ทางการนอกสถานที่ ณ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยจั ง หวั ด พระนครศรี อยุธยา ไดตัดเสื้อสูทจากผาขาวมามอบให คณะรัฐมนตรี ทําใหกระแสการนําผาขาวมา มาสรางคุณคา มูลคาเพิ่ม แพรกระจายไป ทั่วประเทศ ผลทําใหกลมทอผาขาวมา กลุม ตัดเย็บเสื้อผาทั่วประเทศ หันมาตัดเย็บเสื้อผา จากผาขาวมา สงไปขายตามเทศกาลตางๆ และ ไดรับความสนใจ ความตองการจากประชาชน ทําใหกลุมฯ มีรายไดเพิ่มขึ้นอยางมาก ผลิต ไมทันความตองการ Ayutthaya 71


เสนทางพบทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด

นายพิ ช ย ั เป ย  มทองคํ า ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พระนอนวัดสะตือมาไว ซึ่งนักทองเที่ยวก็จะ ไดศกึ ษาความเปนมาทัง้ เรือ่ งขนบธรรมเนียม ประเพณีของแตละอําเภอ สวนรูปแบบของกิจกรรม “วั น เดี ย ว เที่ ย วอยุ ธ ยา” ก็ จ ะมี ก ารจั ด กิ จ กรรม Walk Rally เพื่ อ ให ผู  ที่ เ ข า ร ว มกิ จ กรรม ได ไ ปหาคํ า ตอบ ซึ่ ง จะมี ก ารจั ด คํ า ตอบ ไว ตามจุ ดสํ า คั ญ ของแต ละอํา เภอเพื่อ ชิง ของรางวั ล นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมกี ฬ า อีกคือ ฟุตซอล เซปก-ตะกรอ เปตอง และ กิจกรรมทางนํ้า เชน ลองแพ ลองซุง และ พายเรื อ ชิ ง ธง ซึ่ ง นั ก ท อ งเที่ ย วสามารถ เข า ชมได ฟ รี ส ว นการเข า ร ว มกิ จ กรรม Walk Rally จะมีคา ใชจา ยเปนคาจัดกิจกรรม สํ า นั ก งานท อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เปนหนวยงานหลัก และคาอาหารกลางวันคนละ 150 บาท สวน ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการท อ งเที่ ย วไปสู  ค วามยั่ ง ยื น พร อ มทั้ ง พั ฒ นากี ฬ าขั้ น พื้ น ฐาน กิ จ กรรมกี ฬ าจะมี ค  า ใช จ  า ยซึ่ ง กํ า หนดไว เพื่ อ นํ า ไปสู  ม าตรฐานสากล โดยมี นายพิ ชั ย เป  ย มทองคํ า ท อ งเที่ ย วและกี ฬ า แตกตางกันแลวแตชนิดกีฬาครับ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เป น ผู  บ ริ ห าร สํ า นั ก งานท อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึง่ ทานกรุณาแนะนํากิจกรรม เทศกาล และสถานทีท่ อ งเทีย่ วทีโ่ ดดเดน แนะนําที่เที่ยวใหมโดนใจ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พรอมบอกกลาวถึงการเตรียมความพรอมใหแกบคุ ลากรดาน นอกจากอนุ ส รณ ส ถานแห ง ความ การทองเที่ยวกอนสูประชาคมอาเซียนดวย จงรักภักดี (ทุงหันตรา) ที่กลาวไปแลว เราก็ ยั ง มี ส ถานที่ ท  อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรคื อ “วันเดียวเที่ยวอยุธยา” เฮฮา ประทับใจ ไดความรู สวนแตงเมลอนและแคนตาลูป ที่อําเภอ กิจกรรม “วันเดียวเที่ยวอยุธยา” เปนกิจกรรมที่ทานผูวาฯ วิทยา ผิวผอง มีดําริให จัดขึ้นเพื่อผูเขารวมกิจกรรม ทั้งประชาชนในจังหวัด ตางจังหวัด และชาวตางชาติ ไดมาเห็น สถานทีท่ อ งเทีย่ วแหงใหมของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คืออนุสรณสถานแหงความจงรัก ภักดี (ทุงหันตรา) ซึ่งเปนสวนเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 80 พรรษา มีลกั ษณะคลายเมืองจําลอง ยกสถานทีเ่ ดนๆ ของดีของขึน้ ชือ่ ของแตละอําเภอทัง้ 16 อําเภอ มาไวที่นี่ ไมวาจะเปนปราสาทนครหลวงของอําเภอนครหลวง บานทรงไทยของอําเภอ บางประหั น สถานี ร ถไฟและหั ว รถจั ก รรถไฟของอํ า เภอภาชี อํ า เภอท า เรื อ ก็ จํ า ลอง 72


บางไทร ซึ่ ง เป น แหล ง ผลิ ต และจํ า หน า ย แตงเมล อ น และแคนตาลู ป หลากหลาย สายพันธุ มีผลผลิตตลอดปสามารถเดินลง ไปชมภายในสวน และทดลองชิมได พรอม ทั้ ง สามารถเลื อ กซื้ อ เป น ของฝากให กั บ ครอบครัวได อยุธยา...เที่ยวไดตลอดป มีดีตลอดศก จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ไดจัด กิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยวในวันสําคัญ ตางๆ ที่เคยจัดมาอยางเปนประจําทุกป ปนี้ เราก็ยังคงมีการจัดกิจกรรมกันเชนเดิม เชน งานยอยศยิ่งฟาอยุธยามรดกโลก ในชวง เดือนธันวาคม ภายในงานจะมีการแสดง แสง สี เสียงบริเวณอุทยานประวัติศาสตร พระนครศรีอยุธยา การออกราน มหรสพ การแสดงศิ ลปวัฒนธรรมพื้นบาน สินคา เกษตร สินคาหนึง่ ตําบลหนึง่ ผลิตภัณฑ หรือ จะเปนงานลอยกระทงตามประทีปศูนย ศิลปาชีพบางไทร วันที่ 6 พฤศจิกายน จะ มีกจิ กรรมการแสดงแสง สี เสียง และสือ่ ผสม การประกวดกระทง โคมแขวน การประกวด นางนพมาศ การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย พื้นบาน และการออกรานจําหนายสินคา อุปโภคและบริโภค การแสดงภาคบันเทิง เวลากลางคืน ณ ศูนยศิลปาชีพบางไทร อําเภอบางไทร สวนในตัวเมืองอยุธยาก็จะ มีการจัดงานลอยกระทงกรุงเกา (สี่มุม เมื อ ง) มี ก ารประกวดกระทง โคมแขวน การประกวดนางนพมาศ การประกวดนาง นพมาศนานาชาติ การประกวดรองเพลง ลูกทุง การแสดงทางวัฒนธรรมไทยพื้นบาน และการออกรานจําหนายสินคาอุปโภคและ บริโภค

ผนวกการท อ งเที่ ย วและกี ฬ าให เ ป น หนึ่งเดียว จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยามี ง าน มหกรรมไหว ค รู ค รอบครู ม วยไทยโลก (ไหว ค รู ม วยไทยนายขนมต ม ) ซึ่ ง จั ด ต อ เนื่องเปนประจําทุกปชวงวันที่ 17 มีนาคม ในกิจกรรมดังกลาวจะรวมงานทองเที่ยว และกีฬาเขาดวยกัน เปนการเผยแผศิลปะ การตอสูปองกันตัวแบบไทย สูสายตาชาว ตางชาติและนักทองเที่ยวที่มารวมงาน ทั้งนี้ จะมีนักมวยไทยจากหลากหลายประเทศ เข า ร ว มงานดั ง กล า ว อาทิ ประเทศจี น ญี่ปุน อุสเบกีสถาน เยอรมนี สเปน อังกฤษ เวียดนาม เกาหลี เปนตน เตรี ย มรั บ มื อ AEC เพื่ อดู แลนั ก เที่ ย ว ตางชาติ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได มี โอกาสจัดกิจกรรมตางๆ เพื่อเตรียมความ พรอมของบุคลากรดานการทองเทีย่ ว ในการ รองรับการเปนประชาคมอาเซียน (AEC) ได เริ่มกิจกรรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรดาน การทองเที่ยวดานการใชภาษาตางประเทศ อาทิ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ที่ นิ ย มใช เ ป น ภาษาหลั ก ในการเข า สู  ประชาคมอาเซี ย นเพื่ อ การสื่ อ สารนํ า ทองเที่ยวและการชวยเหลือนักทองเที่ยว

ฝากถึงนักทองเที่ยวและชาวอยุธยา ก อ นอื่ น ผมของฝากชาวอยุ ธ ยาทุ ก ท า นว า ท า นสามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ ตั ว เป น เจาบานที่ดีไดงายๆ คือการยิ้ม การทักทาย การใหความชวยเหลือ การสอดสองดูแล ความปลอดภัยแกนกั ทองเทีย่ ว สวนหนวยงาน ทองเที่ยวคงจะตองชวยจัดระบบ ทั้งเรื่อง ของการจอดรถยนต การติดตั้งปายบอกฅ สถานที่ การรักษาความสะอาดใหนา ดู นาอยู สุดทายของเชิญชวนนักทองเที่ยว ได เขามาเที่ยวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมี ทัง้ การทองเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร มีโบราณ สถาน มี วั ด ที่ ส วยงาม มี แ หล ง ท อ งเที่ ย ว เชิงเกษตร สวนแตงเมลอน และแคนตาลูป สวนกลวยไม ตะโกดัด มีอาหารอรอย หรือ จะนั่งเรือชมทัศนียภาพยามเย็นและคํ่าคืน ก็ไดครับ

Ayutthaya

73


เสนทางพบสนง.วัฒนธรรมจังหวัด

อัจฉรา ออนจันทร วัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา “วั ฒ นธรรมไม ใ ช ข องคนใดคน หนึ่ง วัฒนธรรมเปนของทุกคน” จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปน ราชธานีเกา 417 ป ความเจริญรุงเรื่อง ในอดี ต ยั ง มี ใ ห เ ห็ น จากหลั ก ฐานทาง ประวั ติ ศ าสตร ไม ว  า จะเป น โบราณ สถาน โบราณวัตถุที่ไดมีการจัดแสดงใน พิพธิ ภัณฑหลายแหงเชน พิพธิ ภัณฑสถาน แหงชาติเจาสามพระยา พิพธิ ภัณฑสถาน แห ง ชาติ จั น ทรเกษม และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ทองถิ่นตางๆ ในทุกอําเภอ พื้นที่ในทุกอนู ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาสืบคนจาก

74

หลักฐานทางประวัติศาสตรและคําบอก เลาจะมีเรื่องราวทางประวัติศาสตรทั้งสิ้น ภู มิ ป ระเทศของกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี แมนํ้าสามสายใหญๆ เปนหัวใจในการ ดําเนินชีวิตตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ใน อดีตใชเสนทางคมนาคมทางนํ้าเปนหลัก กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเป น เมื อ งท า ที่ สํ า คั ญ ใน แถบทวีปเอเชียมีการทําการคาขายกับ หลายประเทศ ทําใหกรุงศรีอยุธยามีความ สัมพันธกับหลายประเทศ ไมวาจะเปน ญีป่ นุ โปรตุเกส ฮอลันดา เปอรเซีย ฝรัง่ เศส และอีกหลายประเทศ ยังมีหลักฐานการ ตัง้ หมูบ า นของประเทศตาง ๆ อยูใ นจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ด า นศาสนา พระอุ บ าลี ม หาเถระ พระภิกษุสงฆในสมัยกรุงศรีอยุธยาไดนํา พระพุทธศาสนาไปเผยแพรในประเทศ ศรี ลั ง กา ในขณะที่ ป ระเทศศรี ลั ง กา พระพุ ท ธศาสนาเสื่ อ มโทรมลง ไม มี พระภิกษุสงฆ มีแตสามเณร ทําใหไมมี พระภิ ก ษุ ส งฆ สื บ ทอดพระพุ ท ธศาสนา ศรีลังกาไดขอพระภิกษุไทยไปเผยแพร และฟ  น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง ตรงกั บ สมั ย พระเจ า อยู  หั ว บรมโกศฯ ในสมั ย กรุงศรีอยุธยา พระเจาอยูหัวบรมโกศฯ พิ จ ารณาให พ ระอุ บ าลี ม หาเถระ และ พระสงฆ ไ ทยจํ า นวน 18 รู ป เดิ น ทาง ไปประเทศศรีลังกา ซึ่งการเดินทางของ คณะสงฆไทยครั้งแรกไมสําเร็จเกิดเรือ อับปาง ตองเดินทางครัง้ ทีส่ องจึงสําเร็จใช ระยะเวลาในการเดินทางสามเดือน และ เผยแพร ฟ  น ฟู พ ระพุ ท ธศาสนาสํ า เร็ จ ใชระยะเวลาเจ็ดป ทําใหพระพุทธศาสนา ในศรี ลั ง กาเป น พระพุ ท ธศาสนานิ ก าย สยามวงศเจริญรุง เรืองมาจวบจวนปจจุบนั

จากบริบทที่กลาวมาขางตนจะเห็น ไดวาสภาพวิถีชีวิตวัฒนธรรมของจังหวัด พระนครศรี อ ยุ ธ ยามี แ บบหลากหลาย การทํางานทางดานวัฒนธรรมในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จะตองรูใหลึก และจะ ทําโดยลําพังไมได โดยสวนตัวจะทํางาน ใน Concept “วั ฒ นธรรมไม ใ ช ข อง คนใดคนหนึ่ง วัฒนธรรมเปนของทุก คน” เพราะฉะนั้นจะทํางานในบทบาท วั ฒ นธรรมจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จะสงเสริมและกระตุนใหทุกคนรักและ หวงแหนวั ฒ นธรรมของตนเอง ทุ ก คน เปนเจาของวัฒนธรรม โดยใชระบบการ สรางเครือขายทางวัฒนธรรม เครือขาย


วัฒนธรรมในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีทุกระดับตั้งแตระดับตําบล อําเภอ และ จังหวัด เปนจังหวัดทีม่ าเครือขายทีเ่ ขมแข็ง ในระดับตนๆ ของประเทศไทย นอกจากเครื อ ข า ยวั ฒ นธรรมที่ เขมแข็ง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยายัง โชคดี อี ก อย า งหนึ่ ง คื อ ผู  ว  า ราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาคนปจจุบัน คือ นายวิทยา ผิวผอง เปนผูที่ใหความ สําคัญกับงานทางดานวัฒนธรรม เปน ผูนําในการทํางานรวมกันกับเครือขาย วั ฒ นธรรมโดยมี สํ า นั ก งานวั ฒ นธรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนผูประสาน ให เ กิ ด กิ จ กรรมทางด า นวั ฒ นธรรมใน หลายด า น จะขอกล า วมาเป น เพี ย ง ตัวอยางเล็กนอยเชน ความสัมพันธกับตางประเทศ ไดสรางความสัมพันธกับประเทศ ตางๆ มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม เชน ประเทศศรีลังกา ประเทศญี่ปุน เปอรเซีย ฝรั่งเศส ในเทศกาลอยุธยา-นานาชาติ การสร า งความสั ม พั น ธ กั บ นานา ประเทศทําอยางตอเนื่องทําให มี MOU รวมกัน เปนขอตกลงและการใหความ

ร ว มมื อ กั น ระหว า งสองประเทศ เช น ประเทศศรี ลั ง กา ได ม อบพระอุ บ าลี มหาเถระแกะสลักดวยไมมะฮอกกานีให กับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ จังหวัด พระนครศรีอยุธยาไดทํา MOU กับเมือง แคนดี้ ตกลงรวมกันเปนพีน่ อ งกัน จังหวัด พระนครศรีอยุธยาไดจัดสรางพิพิธภัณฑ พระอุบาลีขึ้นที่วัดธรรมารามโดยความ รวมมือกันในวาระโอกาสที่ป พ.ศ. 2556 เปนปครบรอบ 260 ปแหงการเดินทาง เพื่อไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกา ของพระอุบาลีมหาเถระ ภูมิปญญาพื้นบาน การแสดงพื้นบาน จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาได จั ด งานเปดโลกทัศนวัฒนธรรมขึ้น โดยนํา ภูมิปญญาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ออกมาเผยแพร ที่ทําใหคนหันมาสนใจ และรูจักกันทั้งประเทศในครั้งที่พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา พระบรมราชิ นี น าถ พร อ มด ว ยสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราช กุ มารี เสด็ จทุ  ง มะขามหย อง เมื่ อวั นที่ 25 พฤษภาคม 2555 ไดนําเพลงเรือ ซึ่ง เปนเพลงพื้นบานในอดีต แสดงตอหนา

พระพักตร ทั้งสามพระองค ทําใหเพลง เรือไดรบั ความสนใจ และเมือ่ มีงานแตละ ครั้งก็จะนําเพลงพื้นบานที่มีอยูในจังหวัด พระนครศรีอยุธยาออกมาเผยแพรตอไป บทสรุป งานวัฒนธรรมเปนเรื่องเกี่ยวกับวิถี ชีวิตตั้งแตเกิดจนตาย วัฒนธรรมจังหวัด เปนผูแทนกระทรวงวัฒนธรรมที่ตั้งอยูใน พื้นที่แตละจังหวัดทําหนาที่อนุรักษ ฟนฟู สงเสริม สนับสนุน งานวัฒนธรรมในพื้นที่ การรั ก ษาวั ฒ นธรรมคื อ การรั ก ษาชาติ ถาทุกคนรูห นาทีข่ องแตละคนชวยกันดูแล รักษาวัฒนธรรมของตนเองใหเขมแข็ง และดํารงอยูแ ลว ประเทศชาติกจ็ ะมีความ สงบประชาชนมีความสุข ประเทศชาติจะ มีความมั่นคงสืบไป

Ayutthaya 75


เสนทางพบประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัด

ดร.จิระพันธุ พิมพพันธุ ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สุภาพสตรีทานนี้ คือผูที่มีบทบาททั้ง ในดานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยางยิ่ง แม ปจจุบันทานจะมีทั้งคุณวุฒิและวัยวุฒิเปน ที่เคารพนับถือ แกบุคคลทั่วไป แตทานยัง ดูแข็งแรงสดใส กระฉับกระเฉง จนแทบไม นาเชื่อวา...นี่หรือคือสุภาพสตรีสูงวัยที่อายุ อานามล ว งเข า เลขแปดแล ว ท า นผู  นี้ คื อ ดร.จิระพันธุ พิมพพันธุ ประธานสภา วัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่ง ทานไดสละเวลาอันมีคาพูดคุยถึงบทบาท ของสภาวัฒนธรรมจังหวัด และภารกิจดาน การสงเสริมวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

76

บทบาทและภารกิจของสภาวัฒนธรรมจังหวัดฯ กอนอื่นตองเรียนชี้แจงวา บทบาทและ ภารกิ จ ของสภาวั ฒ นธรรมกั บ วั ฒ นธรรม จังหวัดกอนนะคะ คือวัฒนธรรมจังหวัดนั้น เปนขาราชการของกระทรวงวัฒนธรรมโดยตรง สวนของของเราก็เปนองคกรวัฒนธรรม ที่ขึ้น กับกระทรวงวัฒนธรรมเหมือนกัน แตเปนการ รวมตัวกันของประชาชนที่มุงมั่นจะจรรโลง วัฒนธรรมของจังหวัดใหดีขึ้น ซึ่งในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ก็จะมีองคกรและเครือ ขายมากมาย เชน เครือขายวิชาการ เครือขาย ด า นสร า งสรรค วั ฒ นธรรม เครื อ ข า ยด า น นักคิด ดานนักปราชญชาวบาน 4-5 เครือขาย ก็มารวมตัวกันเขา แลวก็เลือกกรรมการและ ประธานขึ้นมา บทบาทหนาทีข่ องเราก็คอื ทําอยางไร จะรักษาประเพณี วัฒนธรรมของจังหวัด เราใหไดนานไดมาก ยกตัวอยางเชน ประเพณี สงกรานตของเราที่ทําทุกป ทําอยางไรจะ รักษาไวใหเปนแบบโบราณของเราไวได เชน มีเด็กที่เปนหัวแกละหัวจุก หรือประเภทที่ เปนนุง ผานุง มาตักบาตรหรือมากอเจดียท ราย อะไรแบบนี้ ซึ่งยุคหลังๆ ตอมาจะหายไป เรา ก็พยายามจะฟนฟูขึ้นมา ครั้ ง หนึ่ ง มี ก ารเป ด งานวั น มรดกโลก เป น งานของกาชาดและจั ง หวั ด เราก็ เ อา วัฒนธรรมแตละอําเภอ 16 อําเภอมาแสดง กัน บางอําเภอก็จะมีลําตัด บางอําเภอก็มี คํากลอน บางอําเภอก็มีการแตงเรือ บาง อําเภอก็จะมีเด็กหัวแกละหัวจุก มีการรดนํ้า มีการบวชนาค เพราะฉะนั้นแตละอําเภอก็ จะแตกตางกันออกไป แลวในงานก็มีการ ประกวดกัน อยางเรื่องของอาหารพื้นบาน ก็ มีแกงบอนอําเภอบางปะอิน ซึ่งเดี๋ยวนี้เราลืม ไปแลว แกงบอนจะอรอยมากเหมือนแกงสม แกงขีเ้ หล็กอําเภออุทยั แกงสมอําเภอนครหลวง ก็จะมีแกงตางๆ แลวก็จะมีพวกขนม อยาง ขนมกงจากผั ก ไห ขนมกระยาสารทจาก นครหลวง และก็กจิ กรรมตางๆ ทีเ่ ราพยายาม สืบเสาะหาคนนํามาลงทะเบียนไว แลวพยายาม รณรงคใหเขาทําตอ แลวก็สนับสนุนเขา

รอยแรงรวมใจ รักษาไวซึ่งวัฒนธรรม ทางจังหวัดก็ชว ยมากเลย เขามีวฒ ั นธรรม จังหวัด มีวฒ ั นธรรมอําเภออีก 16 อําเภอ และ มีวฒ ั นธรรมตําบลอีก 219 ตําบล ถาจําไมผดิ มีเยอะมาก นักวิชาการเหลานั้นจะชวยกัน สืบคนวัฒนธรรม นอกจากทีเ่ ห็นประจักษ เชน ทําพัด ทํางอบ ทํามีด ก็ตอ งสืบคนของโบราณ ของโบราณสืบคนอะไรบาง เชน มีไหมเพลง เหเรือครัง้ โบราณ ซึง่ เมือ่ ครัง้ ทีใ่ นหลวงเสด็จฯ ที่ ทุ  ง มะขามหย อ ง ก็ มี เ พลงเห เ รื อ โบราณ เพลงกลอมลูกมีไหม ลําตัดสมัยโบราณมี ไหม ลิเกของเราก็มีเปนลิเกที่มีชื่อเสียงมาก นอกจากนั้นก็มีพิธีทําขวัญขาว ซึ่งเดี๋ยวนี้ ไมมีแลว เราก็พยายามรื้อฟนพิธีทําขวัญ ขาว หลังจากที่เราลองทําแยกหนาที่จาก วัฒนธรรมจังหวัด ไปสูอ าํ เภอ ไปสูต าํ บล ไปสูหมูบาน จึงทําใหวัฒนธรรมของเรา ไมสูญหาย แลวก็เพิ่มพูนหรือคงไวซึ่ง วัฒนธรรมที่ดีงามของเราไวไดคะ และงานอีกสวนที่เราพยายามติดตาม คือ เรื่องคนที่สูงอายุตั้งแต 90 ขึ้นไปมีกี่คน แลวทานสามารถเลาอะไรใหเราฟงไดไหม เราก็จะบันทึกเปนประวัตศิ าสตร ทานอาจจะ หลงลืมบาง แตก็ยังดีกวาที่ไมรูอะไรเลย อัน นีก้ ไ็ ปทํามา แลวปรากฏวาคนอยุธยามีตงั้ แต อายุ 90-100 ปคนสุดทาย 104 ป มีมากกวา 10 คน บางทานก็เลาวาสมัยกอนนั้นมีพิธี หัวลานชนกันอะไรแบบนี้ เปนเรือ่ งทีส่ นุกสนาน เมื่อกอนนั้นทําอะไรกิน ก็มาเลาใหฟง เราก็ พยายามเก็บขอมูลจากผูสูงอายุนี้ไว


อี ก จุ ด หนึ่ ง ที่ ดี คื อ ท า นผู  ว  า ราชการ จังหวัด (นายวิทยา ผิวผอง) ตองการให วัฒนธรรมของเราเปนตัวนําในการประกอบ พิธีตางๆ เชน พิธีมงคลสมรส พิธีศพ ทํา อยางไรถึงจะถูกตอง วิธีการกราบไหว การ จุดธูปบูชา การทําขวัญนาค หรืออะไรตางๆ ทําใหมันถูกตองตามวัฒนธรรมดั้งเดิม ก็เลย ขอใหทางวัฒนธรรมของเราจัดการอบรมที่ เรียกวา “พิธีกรนอย” เปนการอบรมเด็กตาม โรงเรียนตางๆ ขณะเดียวกันก็ใหตวั วัฒนธรรม ทีเ่ ปนรองประธานก็ดี หรือวาประธานก็ดี เปน คนไปบรรยายประกอบ ฉะนั้นระยะหลังๆ การทําพิธีตางๆ จึงดูดีขึ้น เมื่อกอนที่เรายัง ไมไดทําบางครั้งก็ทํากันไมคอยถูกตองตาม แบบแผนนัก อันนีเ้ ปนนโยบายของทานผูว า ฯ ในการที่อนุรักษฟนฟูการประกอบพิธีกรรม ตางๆ ใหเปนไปตามแบบโบราณ ฟน วัฒนธรรมไทยใหเขมแข็ง กอนกาวไกล สูอาเซียน เมื่อไมนานมานี้ ทานนายกอบจ. และ ท า นวั ฒ นธรรมจั ง หวั ด ได จั ด อบรมเรื่ อ ง “วัฒนธรรมไทยกาวไปสูอาเซียน” ดิฉันก็

ไปเปนวิทยากรบรรยาย เรารูวาอาเซียนมีถึง 10 ประเทศ เราก็มามองดูประเทศตางๆ วา แตละประเทศที่เขายังคงรักษาวัฒนธรรม ของเขาไวได เชน ประเทศลาวถาจะไปติดตอ กับราชการตองนุง ผาซิน่ ซึง่ เราก็ยงั ไมเขมงวด ขนาดนั้น ทีนี้เราก็เลยคิดวาปนี้ป 57 เหลือ อีกไมกเี่ ดือนจะถึงป 58 เราตองรีบรณรงควา ทําอยางไร เด็กของเราจะเขาใจวาวัฒนธรรม ไทยเปนเรื่องสําคัญ แมแตภาษาพูด ภาษา พูดก็เปนวัฒนธรรมไทย กิริยามารยาท การ ไหว การเคารพผูใหญก็เปนวัฒนธรรมไทย ดิฉนั เลาใหเขาฟงวา...รูไ หมวาตางชาติ เห็นเราไหว เห็นเรายิม้ เขารูเ ลยวาเราเปนคน ไทย เพราะคนไทยจะไหวไมเหมือนใคร ยิ้ม ไมเหมือนใคร เพราะฉะนั้นเราตองรักษาไว เราก็จะฝกเด็กทั้งเรื่องการแตงกาย การไหว การยิม้ การพูด รวมทัง้ การรับประทานอาหาร ให รู  จั ก การรั บ ประทานอาหารไทยๆ บ า ง เหมือนกับตางชาติ เชน ประเทศอินโดนีเชีย หรือมาเลเซียเขาทานอาหารของเขา แตของ เราควรจะมีอะไรบงบอกวาเปนคนไทยบาง เด็กในปจจุบันทานนํ้าพริกเปนไหม...อะไร แบบนี้ เราก็จะไปฝกเขา เพราะนี่เปนเรื่อง ใหญที่เราจะตองคิดทําภายใน 5- 6 -7 เดือน นี้ เราก็กาํ ลังหางบประมาณอยูเ พราะตองไป รณรงคตามโรงเรียน ไปตามหมูบาน เพื่อจะ รักษาเอกลักษณไทยของเราไว เพราะอีกไม กี่วันก็จะมีคนตางแดนตั้ง 9 ประเทศ เดินเขา มาอยูใ นประเทศไทย ถาเราไมเขมแข็งพอเรา ก็อาจจะตามเขาไปโดยไมรูตัว

ร ว มรั ก ษาวั ฒ นธรรม-ประเพณี ที่ ดี ง าม ของอยุธยา ในฐานะที่ ดิ ฉั น ก็ เ ป น คนอยุ ธ ยา นะคะ ดิฉันคิดวาอยุธยานี่เปนเมืองที่ ดี ที่ สุ ด ในโลกเพราะถาพูดถึงวัตถุโบราณ ดิฉันไปหลายประเทศมาก อิตาลี อียิปต ไป มาหมดแลว ไมมีสวนไหนเลยที่จะเหมือน ประเทศไทย เพราะว า ประเทศไทยเรามี โบราณสถาน มี โ บราณวั ต ถุ ม ากมายโดย เฉพาะในอยุธยามองทางไหนก็จะมีโบราณ วัตถุ และยิ่งกลางคืนก็ยิ่งสวย แสง สี เสียง สวยมาก ฉะนั้นดิฉันอยากจะใหชาวอยุธยา ชวยกันรักษาไวซงึ่ สิง่ เหลานี้ โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ประเพณีของอ ยุยาที่เราเปนเมืองราชธานีเกา และเปนนคร แหงประวัติศาสตร อยากจะใหรักษาไว โดย เฉพาะวัฒนธรรมของเราทัง้ ดานการพูด ดาน อาหาร ดานการแตงกาย ความเปนมิตรไมตรี กับชาวตางชาติ การสวัสดีดวยการยิ้มแยม แจมใส ดิฉนั หวังเปนอยางยิง่ วาคนอยุธยา ซึง่ เปนคนในเมืองหลวงเกา 417 ป จะรักษาไว ซึ่งวัฒนธรรมไทยเพื่อใหเปนตัวอยางที่ดีของ คนทั่วประเทศคะ

Ayutthaya 77


เส้นทางพบส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1

(Phranakhon Si Ayutthaya Primary Education Service Area Office 1)

ส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 มีโรงเรียน ในสังกัดทั้งภาครัฐและเอกชน จ�านวน 210 โรงเรียน มีนักเรียน จ�านวน 56,947 คน ผู้บริหาร-ครู และบุคลากร จ�านวน 2,850 คน มีเขตพื้นที่รับผิดชอบใน 9 อ�าเภอ ได้แก่ อ� า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา อ� า เภอท่ า เรื อ อ�าเภอนครหลวง อ�าเภอบางปะหัน อ�าเภอ บ้ า นแพรก อ� า เภอภาชี อ� า เภอมหาราช อ� า เภอวั ง น้ อ ย และอ� า เภออุ ทั ย ปั จ จุ บั น มี นายภิ ร มย์ นั น ทวงค์ ด�ารงต�าแหน่ง ผู ้ อ� า นวยการส� า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเปาประสงค์ วิ สั ย ทั ศ น์ ส� า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก าร ศึ ก ษาประถมศึ ก ษาพระนครศรี อ ยุ ธ ยา เขต 1 เป็ น องค์ ก รหลั ก ในการส่ ง เสริ ม สนับสนุน การจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอย่าง ทั่วถึง มีคุณภาพได้มาตรฐาน 78

พั น ธกิ จ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และ พัฒนาการจัดการศึกษา ให้ประชากรวัย เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ เน้ น พั ฒ นาผู ้ เ รี ย นให้ มี ค วามรู ้ คุ ณ ธรรม จริยธรรม และความสามารถตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน เปาประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รบั โอกาส ในการศึ กษาภาคบั ง คั บ อย่า งมีคุณภาพ ทั่วถึง และเสมอภาค 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถ ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษามีความเข้มแข็ง สามารถบริหาร จัดการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และ


ขับเคลื่อนการศึกษาภาคบังคับ สู่คุณภาพ ระดับมาตรฐานสากล หลักการบริหารงานตามนโยบาย “โรงเรียนดีทุกอย่าง” ส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 เป็น หน่วยงานที่สนับสนุน ส่งเสริมการศึกษา โดยมุ ่ ง นั ก เรี ย นเป็ น ส� า คั ญ จากแนวคิ ด ดังกล่าว จึงได้ก�าหนดนโยบาย “โรงเรียนดี ทุกอย่าง” ซึ่งได้แก่ 1. นักเรียนดี – นิสัยดี ความรู้ดี ความ สามารถดี สุขภาพดี และบุคลิกภาพดี 2. ครู-บุคลากรดี – ความรู้ดี สอนดี บุ ค ลิ ก ภาพดี ประพฤติ ดี และมี เ มตตา ต่อศิษย์ 3. ผูบ้ ริหารดี – ความรูด้ ี ความสามารถ ดี มีคณ ุ ธรรมดี บุคลิกภาพดี เป็นผูน้ า� ทางการ เปลี่ยนแปลง 4. การเรียนการสอนดี – ยึดมาตรฐาน และตัวบ่งชี้ตามหลักสูตร เน้นผู้เรียนเป็น ส�าคัญ เน้นกระบวนการคิด (คิด ท�า น�าเสนอ) ผู้เรียนปฏิบัติจริง เรียนรู้อย่างมีความสุข 5. การบริหารดี – โปร่งใสและเป็นธรรม ความรับผิดชอบต่อผลส�าเร็จของงาน การ มีส่วนร่วมของทุกฝ่ายเน้นประโยชน์สูงสุด แก่ผู้เรียน 6. อาคารสถานที่ดี – สะอาด ร่มรื่น สวยงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ ส้วมสุขสันต์ 7. สื่ออุปกรณ์ดี – เพียงพอ พร้อมใช้ ทันสมัย ใช้จริง แนวทางสู่โรงเรียน 7 ดี ทิศทางการท�างานให้ได้ผลดีดังว่าทั้ง 7 อย่ า ง ซึ่ ง เป็ น งานที่ เ ราท� า กั น อยู ่ แ ล้ ว ดูเหมือนง่าย แต่เวลาท�าอาจยากในบางแง่ บางมุม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องของผล ที่เกิดกับนักเรียน ซึ่งนักเรียนจะดีได้ ก็ต้อง พัฒนาผ่านกระบวนการที่ดี ทั้งระบบบริหาร จัดการและการเรียนการสอน โดยมีปัจจัย สนับสนุนพร้อมพรั่ง ปัจจัยส�าคัญยิ่งไม่ใช่ ใครที่ไหนคือพวกเราที่เอาใจใส่นั่นเอง

การวัดผล และประเมินผลปฏิบัติงานตาม โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ในรอบปีการศึกษา ให้เสร็จสิ้น และเตรียมวางแผนใหม่เพื่อปี การศึกษาต่อไป

การสร้างเสริมประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพของการศึกษา การพัฒนาเด็ก ให้มศี กั ยภาพทีจ่ ะเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ครูจะ ต้องเป็นผู้สนับสนุนส่งเสริม บทบาทของครู ในการสร้างแรงบันดาลใจให้ลูกศิษย์ สร้าง โอกาสให้กับลูกศิษย์ ให้นักเรียนมีทักษะ ในการคิด มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน เร่งปฏิรูปการ เรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกันโดย มุง่ ทีค่ ณ ุ ภาพผูเ้ รียน และผลสัมฤทธิ์ บุคลากร ทุกคนมีหน้าที่ ท�าตามหน้าที่ ความคิดดีส่ง ผลต่อการปฏิบัติงาน ครูท�าการสอนให้ครบ มั่นใจว่านักเรียนก็จะได้รับประโยชน์และมี คุณภาพครบสมบูรณ์ตามหลักสูตร รวมถึง

สพป.อย.เขต 1 เตรียมพร้อมสู่ AEC ส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 มีแผนการ เตรียมความพร้อมให้กับโรงเรียนในสังกัด ก่อนเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ใน ปี 2558 ดังนี้ 1. การพั ฒ นาการเรี ย นรู ้ ภ าษา อังกฤษ แบบ EBE (English Bilingual Education) ปีการศึกษา 2557 (สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ ศิลปะ) โดยจะขยายให้เต็ม พื้ น ที่ ส� า หรั บ โรงเรี ย นขนาดเล็ ก ให้ มี 1 ห้ องเรี ยนในระดั บชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนขนาดกลางขึ้นไป ระดับชั้นประถม ศึกษาปีที่ 1 และระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 2. การพัฒนาครูภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร แบบ CLT (Communicative Language) เป็นการเตรียมครูสอนภาษา อังกฤษชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนละ 1 คน 3. การพัฒนาครูภาษาอังกฤษให้มี ทักษะตามกรอบมาตรฐานสากล CEFR (The Common Europran Framework of Referrence for Language) ส�าหรับครู ผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาสระดับมัธยมศึกษา 4. การพัฒนาการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ แบบ CLE (Concentrated Language Encountered) โดยให้โรงเรียนเตรียมครูชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 อบรม เน้นการสอนภาษา เพื่อการสื่อสารตามธรรมชาติ 5. จั ด ตั้ ง ศู น ย์ PEER (Primary Education English Resoure Center ) เพื่อ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลงานหรือวิธีปฏิบัติ ที่ เ ป็ น เลิ ศ ภาษาอั ง กฤษส� า หรั บ ผู ้ บ ริ ห าร สถานศึกษา ครูและนักเรียน 6. การวางแผนพั ฒ นาตนเอง ID Plan (Individual Development Plan) Ayutthaya 79


การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยมี วัตถุประสงค์พฒ ั นาคนให้มคี วามสามารถใน การใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สารดีขนึ้ กว่า เดิม เปาหมายคือข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษาทุ ก คนทั้ ง ในส� า นั ก งานเขต พื้นที่การศึกษาและโรงเรียน(ยกเว้นนักการ/ ภารโรง)ส�าหรับครู ผู้บริหาร บุคลากรใน ส�านักงาน 7. การสอนแบบ MEP (Mini Emglish Program) ด้วยภาษาอังกฤษในทุก วิชายกเว้นภาษาไทย และสังคมศึกษา ที่ โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา 8. จัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา ระดับ อ� า เภอ ได้แก่ โรงเรียนวัดใหญ่ชัยมงคล (ภาวนารั ง สี ) อ� า เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา โรงเรี ย นประชาผดุ ง วิ ท ย์ อ� า เภอท่ า เรื อ โรงเรียนนครหลวง(พิบูล ย์ประเสริฐวิทย์) อ�าเภอนครหลวง โรงเรียนชุมชนวัดระโสม อ�าเภอภาชี โรงเรียนชุมชนวัดสุเมธ อ�าเภอ มหาราช โรงเรียนโพธิ์ราษฎร์บ�ารุง อ�าเภอ บ้านแพรก โรงเรียนวังน้อยวิทยาภูมิ อ�าเภอ วังน้อย และโรงเรียนเชาวน์วัศ อ�าเภออุทัย 9. ให้ความรู้แก่นักเรียน เกี่ยวกับ ความร่วมมือของประชาคมอาเซียน ซึ่ง ประกอบด้วย 3เสาหลัก ได้แก่ ความร่วม มือในด้านการเมือง และความมั่นคง ด้าน เศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม โรงเรียน Wold Class มาตรฐานสากล ส�านักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถม ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 มีโรงเรียน มาตรฐานสากล (World-class Standard School) เป็ น โรงเรี ย นที่ จั ด ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการพั ฒ นาผู ้ เ รี ย นให้ มี ศั ก ยภาพเป็ น พลโลก (World Citizen) ยกระดั บ การจั ด เรี ย นการสอนเที ย บเคี ย ง มาตรฐานสากล (World Class Standard) และยกระดับการบริหารจัดการด้วยระบบ คุณภาพ ( Qulity System Management) ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่เทียบ เคียงกับหลักสูตรมาตรฐานสากล โดยน�า 80

โรงเรี ย นโดยพั ฒ นาบุ ค ลากรหลั ก ของ โรงเรี ย นมาตรฐานสากลเกี่ ย วกั บ การจั ด ท� า แผนกลยุ ท ธ์ ส� า หรั บ ผู ้ เ รี ย นจะต้ อ งมี คุ ณ ลั ก ษณะที่ มี ค วามเป็ น เลิ ศ วิ ช าการ สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล�้าหน้าทาง ความคิ ด ผลิ ต งานอย่ า งสร้ า งสรรค์ ซึ่ ง ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1 มีโรงเรียนระดับ Wold Class จ� า นวน 3 โรงเรียน ได้แ ก่ โรงเรี ย นอนุ บ าลพระนครศรี อ ยุ ธ ยา และ โรงเรี ย นวั ด นาค จั ด การศึ ก ษาในระดั บ ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 โรงเรี ย นประตู ชั ย จั ด การศึ ก ษาในระดั บ ชั้ น ประถม ศึ ก ษาปี ที่ 6 และชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3

จุดเด่นจากหลักสูตรต่างๆ เช่น หลักสูตร English Program (EP) หลักสูตรความเป็น เลิศเฉพาะทาง (วิทย์-คณิต ภาษา อาชีพ ดนตรี กีฬา)โดยทุกหลักสูตรปรับเนื้อหาวิชา พื้นฐานต่างๆ ให้มีความเข้มข้นเทียบเคียง กับมาตรฐานสากล และจัดให้มกี จิ กรรมการ เรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน รายวิชา เพิ่มเติม 3 วิชา ได้แก่ ทฤษฎีองค์ความ รู้ (Theory of Knowledge) การเขียนเรียง ความขั้นสูง (Extended Essay) และการ สร้างโครงงาน ( Create Project Work) การ พัฒนาการเรียนสาระการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ โดยใช้ ภ าษาอั ง กฤษ การ พัฒนาครูผู้สอนในสาระการเรียนรู้ภาษา ต่างประเทศที่ 2 (ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ ปุ ่ น และอื่ น ๆ) สาระการเรี ย นรู ้ คณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์ เ พื่ อ ใช้ ภ าษา อั ง กฤษในการจั ด การเรี ย นการสอน การ พัฒนาผู้บริหารโรงเรียนในการใช้ IT และ การใช้ภาษาอังกฤษ พัฒนาระบบบริหาร

โครงการช่วยเหลือนักเรียนให้มีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น 1. โครงการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ นั ก เรี ย นยากจนขาดแคลน ส� า นั ก งาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน�า ดอกผลไปช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องทุนการ ศึกษา การประสบอุบัติภัยต่างๆ เป็นรางวัล การกระท�าความดีและการบรรเทาทุกข์ที่ เกิดจากการขัดสน ยากจน ขาดแคลน โดย ปัจจุบันมียอดกองทุนดังนี้ 1.1 กองทุ น เมตตาเยาวชน จ� า นวน 5,307,617.77 บาท 1.2 กองทุนหลวงพ่อรวย ปาสาทิโก จ�านวน 1,000,000 บาท 2. โครงการจิ ต อาสาพั ฒ นาที่ อ ยู ่ อาศัยนักเรียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วย เหลื อ นั ก เรี ย นที่ ป ระสบปั ญ หาที่ อ ยู ่ อ าศั ย ช�ารุดทรุดโทรมให้มีที่พักอาศัยให้มีสภาพ แข็งแรง ปลอดภัย โดยมีเปาหมายในการ สร้างบ้านให้นกั เรียนยากจนให้กลุม่ โรงเรียน ละ 1 หลัง จ�านวน 23 หลังๆ ละ 100,000150,000 บาท ซึ่งขณะนี้ด�าเนินการไปแล้ว จ�านวน 21 หลัง 3. การดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ พ้ น ภั ย ยาเสพติ ด จากสภาพสั ง คมที่ เปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ ว ของจั ง หวั ด


พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ท� า ให้ เ กิ ด ปั ญ หายา เสพติดในหมู่เยาวชนที่เข้ามาเกี่ยวข้องใน ด้ า นการด� า รงชี วิ ต และระบบการศึ ก ษา ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ได้ตระหนังถึงภัย ดังกล่าว จึงได้ด�าเนินการจัดระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียนให้พน้ ภัยยาเสพติด โดยเร่ง ส่งเสริมทักษะชีวิตให้แก่นักเรียน พัฒนาวิธี การเรียนรูจ้ ากนักเรียนเป็นรายบุคคล ส�ารวจ จัดท�าข้อมูลเพื่อคัดกรองพฤติกรรมนักเรียน ทีถ่ กู ต้อง เป็นปัจจุบนั และน�าไปสูก่ ารด�าเนิน การที่มีประสิทธิภาพ บูรณาการการด�าเนิน งานเพื่ อ ป อ งกั น แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด กั บ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า งเป็ น ระบบ จัดกิจกรรม “จิตสังคมบ�าบัด” เพื่อปองกัน การแพร่ระบาดของยาเสพติดเข้าสู่สถาน ศึกษา และพัฒนาบริการแนะแนว โดยจัด กิจกรรมพัฒนานักเรียนเพื่อนที่ปรึกษาด้วย อีกวิธหี นึง่ ซึง่ จากการด�าเนินการดังกล่าวท�าให้ ทุกภาคส่วนในสังคมมีทัศนคติ และความ เชื่อที่ถูกต้องตรงกันว่า “เด็กไม่ใช่ปัญหา ของสังคม” แต่ปัญหาสังคมส่งผลกระทบ ต่ อ พฤติ ก รรมเด็ ก ซึ่ ง พฤติ ก รรมของเด็ ก สามารถเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีได้ ผลการด�าเนินงานที่โดดเด่นของ สพป. อย.เขต 1 1. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้ สั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ มโยงกั น โดยมุ ่ ง คุ ณ ภาพ ผู้เรียน และผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน การปฏิรูป การเรียนการสอนยุคใหม่ การพัฒนาระบบ การสอน การวัดผล การประเมินผลให้ได้ มาตรฐาน และเชื่อมโยงกับหลักสูตร การ เรี ย นการสอน การพั ฒ นาผู ้ เ รี ย น ค� า ว่ า “ปฏิรปู การเรียนรู”้ ทีว่ า่ มีพลังมากมาย เพราะ เป็นตัวต้นเหตุที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทัง้ หัว ทัง้ ตัว และจิตใจของผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ภาพ ดี ขึ้ น เราต้ อ งการเด็ ก ที่ มี ทั ก ษะในการ

ท�างาน รู้จักคิด รู้จักแก้ปัญหา มีการท�างาน ร่วมกัน ใช้สื่อและการสื่อสารที่ท�าให้เกิด ความรวดเร็วฉับไว ในระหว่างที่ลงมือท�าครู จะเติมอะไรลงไปก็สุดแต่ใจปรารถนา ตรง นี้เป็นสิ่งส�าคัญที่ให้พวกเราช่วยกันท�าให้ ส�าเร็จ มันเป็นคุณภาพแท้ๆ ของเด็กเลยที เดียว ผลจากการปฏิรูปการเรียนรู้จึงเกิด ความส�าเร็จของการจัดการศึกษา ท�าให้ได้ รับรางวัลต่างๆ จากการท�ากิจกรรมในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับชาติที่ผ่านมา 2. โครงการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ นักเรียนยากจนขาดแคลน ส�านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ น�าดอกผลไปช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องทุน การศึกษา การประสบอุบัติภัยต่าง ๆ 3. โครงการจิ ต อาสาพั ฒ นาที่ อ ยู ่ อาศั ย นั ก เรี ย น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ช่วยเหลือนักเรียนทีป่ ระสบปัญหาทีอ่ ยูอ่ าศัย ช�ารุดทรุดโทรมให้มีที่พักอาศัยให้มีสภาพ แข็งแรง ปลอดภัย

คิ ด วิ เ คราะห์ การแก้ ป ั ญ หา การใช้ ICT การสื่ อ สาร การมี จิ ต สาธารณะ มี ส� า นึ ก ต่ อ ส่ ว นรวม นั่ น คื อ ความสามารถในการ ท�างานมากกว่ามีความสามารถในการจดจ�า เนื้ อ หา วิ ธี ก ารในการสอนเด็ ก จึ ง จ� า เป็ น ต้องปรับให้สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการโดย การให้เด็กลงมือท�าจริงๆ ก้าวข้ามการมีเพียง ความรู้ไปสู่การคิดให้ได้ เพราะการลงมือ ท�าจริงๆ จะท�าให้เด็กรู้จักวางแผนในการ

ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ถนนอยุธยา-อ่างทอง ต�าบลลุมพลี อ�าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ ๐-๓๕๒๖-๘๕๔๑-๒ โทรสาร ๐-๓๕๗๐-๔๘๐๒ http://www.aya 1.go.th

ทิศทางการพัฒนาของ สพป.อย.เขต 1 การยกระดับคุณภาพนักเรียน เพื่อให้ นักเรียนมีจิตส�านึกในความเป็นไทย มีจิต สาธารณะอยู่อย่างพอเพียงพร้อมสู่ AEC มีภูมิ คุ ้ม กันการเปลี่ ยนแปลงในสัง คมพหุ วัฒนธรรม ให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์แก้ ปัญหาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีทักษะจ�าเป็น ในศตวรรษที่ 21 PISA ในปี 2558 มีอันดับ สูงขึ้น ผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระหลักเพิ่มขึ้น 3 เปอร์เซ็นต์ ของฐานเดิม โดยมีแนวปฏิบัติ ในการท�ากิจกรรมหน้าเสาธงครบถ้วนให้ นักเรียนรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ส�านึกบุญคุณผู้ท�าประโยชน์

หลักสูตรดี ครูดี เด็กดีแน่ หลักสูตรแย่ ครูดี ยังพอไหว หากเด็กแย่ ครูดี มีทางไป หากครูแย่ แก้อะไร ไม่ได้เลย ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม Ayutthaya 81


เส้นทางพบส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา

นายดําหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.เขต

สพป.อย.2 กับการพัฒนา ความเปนอยุธยาของนักเรียน ส� า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 เป็นหน่วยงาน ทางการศึกษา ท�าหน้าทีส่ ง่ เสริมการจัดการศึกษขั้นพื้นฐาน ในพื้นที่ ของอ�าเภอบางปะอิน บางบาล บางไทร บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง และอ�าเภอ เสนา ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมีที่ตั้งอยู่ที่อ�าเภอเสนา ซึ่งมี นาย ด� า หริ งิ ม สั น เที ย ะ เป็ น ผู ้ อ� า นวย การส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ได้ ให้ ค วามส� า คั ญ ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ของนักเรียน โดยเฉพาะเรื่องของความ ภาคภู มิ ใ จในตนเอง ความมี ส� า นึ ก รั ก บ้านเกิด มีอัตลักษณ์ที่ส�าคัญ จึงได้ส่ง เสริมและพัฒนาคุณลักษณะความเป็น 82


จุ ด เน้ น นั ก เรี ย นทุ ก คนมี ค วาม ส�านึกในความเป็นไทย และมีคณ ุ ลักษณะ ความเป็นอยุธยา การจัดท�ากรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่ 1. การก� า หนดเป้ า หมายและ จุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ สอดคล้องกับ ความต้องการในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น 2. การจัดท� าสาระการเรียนรู้ท้อง ถิ่น โดยเน้นกรอบสาระการเรียนรู้เกี่ยว กับจังหวัดให้สถานศึกษาน�าไปใช้ โดย บูรณาการในกลุม่ สาระการเรียนรู้ หรือจัด ท�ารายวิชาเพิม่ เติม หรือจัดท�าในกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนตามที่เห็นเหมาะสม เพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะโดดเด่น คือ “ความเป็นอยุธยา” ตามค�าขวัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้แก่ ราชธานี เก่า อู่ข้าวอู่น�้า เลิศล�้ากานท์กวี และ คนดีศรีอยุธยา อยุธยาของนักเรียน ทั้งนี้ได้จัดท�าเป็นงานวิจัยเรื่องการบริหาร จัดการเรียนรูส้ คู่ วามเป็นอยุธยาของนักเรียนประถมศึกษา โรงเรียนสังกัดส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 ซึ่งเป็นผลงานที่เรามีความภาค ภูมิใจที่จะน�าสาระส�าคัญ ให้ท่านได้รับทราบ ดังนี้ จัดท�ากรอบหลักสูตรระดับทองถิ่นซึ่งได้ก�าหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดเน้น ดังนี้ นโยบาย ส่งเสริมสนับสนุนให้นกั เรียนมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ตามหลักสูตร และมีคณ ุ ลักษณะความ เป็นอยุธยา วิสัยทัศน์ ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 2 เป็นองค์การคุณภาพที่มุ่งส่งเสริม และบริการการจัดการศึกษาให้ทวั่ ถึง เสมอภาค มีคณ ุ ธรรม และ คุณภาพ เน้นความเป็นอยุธยา ก้าวสู่สากล พันธกิจ พัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะความเป็นอยุธยา Ayutthaya 83


ราชธานีเก่า หมายถึง การพัฒนา จากแบบทดสอบ แบบสังเกตพฤติกรรม ความรู้ ความเข้าใจ และความภูมิใจของ และแบบสอบถาม เลิ ศ ล�้ า กานท์ ก วี หมายถึ ง การ นั ก เรี ย นเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ค วามเป็ น มา ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ราชวงศ์ พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และ กษัตริยข์ องกรุงศรีอยุธยา ความรูเ้ กีย่ วกับ โบราณสถาน โบราณวัตถุที่ส�าคัญสมัย อยุธยา รวมทัง้ ประวัตศิ าสตร์สมัยอยุธยา ทีเ่ กีย่ วข้องในท้องถิน่ ทีต่ นอาศัยอยู่ ซึง่ วัด ได้จากแบบทดสอบและแบบสอบถาม อู ่ ข ้ า วอู ่ น�้ า หมายถึง การพัฒนา ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และความ ภู มิ ใ จของนั ก เรี ย น ที่ เ กี่ ย วกั บ อาชี พ และภู มิ ป  ญ ญาท้ อ งถิ่ น ประกอบด้ ว ย เกษตรกรรม การท�าหัตถกรรม การท�า อาหารคาว-หวานทีม่ กี ารประดิษฐ์ อาหาร ที่มีเครื่องเคียง รวมทั้งสินค้าที่มีชื่อเสียง ของจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งวัดได้ 84

ความภู มิ ใ จของนั ก เรี ย น ในด้ า นการ แต่งค�าประพันธ์ ที่ได้ศึกษาเรียนรู้จาก วรรณคดีทมี่ คี ณ ุ ค่าในสมัยอยุธยา รวมทัง้ บทร้องในการละเล่นของเด็กไทย บทร้อง


บทประพั น ธ์ ส� า นวนโวหารในท้ อ งถิ่ น อยุธยา ที่แสดงอารมณ์ในด้านต่างๆ ซึ่ง วัดได้จากแบบทดสอบและแบบสอบถาม คนดี ศ รี อ ยุ ธ ยา หมายถึ ง การ พั ฒ นาความรู ้ ความเข้ า ใจ และการ ประพฤติปฏิบตั ติ นของนักเรียน ตามแบบ อย่างคุณธรรมของคนดีศรีอยุธยา รวม ทั้งการประพฤติปฏิบัติตนของนักเรียน ตามคนดี ข องอยุ ธ ยาสมั ย ป จ จุ บั น ใน ด้านความกตัญูกตเวที ความซื่อสัตย์ สุ จ ริ ต ความกล้ า หาญ ความเสี ย สละ ความอดทน อดกลัน้ พึง่ ตนเอง ความขยัน หมั่นเพียร จงรักภักดีต่อสถาบันพระมหา กษัตริย์ ซึ่งวัดได้จากแบบทดสอบและ แบบสังเกตพฤติกรรม ก� า หนดกรอบแนวคิ ด ในการพั ฒ นา ความเป็นอยุธยาของนักเรียน เริ่ ม จากการศึ ก ษาสภาพป จ จุ บั น ป ญ หา ในการบริ ห ารจั ด การเรี ย นรู ้ สู ่ ความเป็ น อยุ ธ ยาของโรงเรี ย น ศึ ก ษา กระบวนการบริหารจัดการศึกษา ศึกษา จุ ด เด่ น จุ ด ด้ อ ย โอกาสและอุ ป สรรค ในการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ความเป็น อยุธยาของโรงเรียนในสังกัด เพื่อน�ามา ก�าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ แผน งาน/โครงการ ในการบริหารจัดการเรียน

รูส้ คู่ วามเป็นอยุธยาของนักเรียน จั ด ท� า คู ่ มื อ การบริ ห าร จั ด การเรี ย นรู ้ แ ละคู ่ มื อ ครู การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ สู ่ ความเป็นอยุธยาของนักเรียน ประกอบด้ ว ยคู ่ มื อ ครู ก ารจั ด กิจกรรมการเรียนรู้สู่ความเป็น อยุ ธ ยา ตามค� า ขวั ญ จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา และเอกสาร ประกอบการจั ด กิ จ กรรมการ เรียนรู้ของนักเรียน ตั้งแต่ระดับ ชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 รวมทั้ง สิ้น 48 เล่ม ผลส� า เร็ จ ของการพั ฒ นา ความเป็นอยุธยา “อาสาสมั ค รน� า เที่ ย ว รุ ่ น เยาว์ เล่ า ประวั ติ ศ าสตร์ ” เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยา น่ า เที่ ย ว โดยนั ก เรี ย นมี ค วามรู ้ ความ เข้ า ใจประวั ติ ศ าสตร์ ข องจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และสามารถเป็ น ยุวมัคคุเทศก์ น�าเที่ยวสถานที่ส�าคัญใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การแสดงผลการด� า เนิ น งานการ บริหารจัดการเรียนรู้สู่ความเป็นอยุธยา ของศูนย์พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน

การศึกษาอ�าเภอ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นแต่ละอ�าเภอ รวม 7 ศูนย์ ประกอบด้วย ศูนย์พัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอ�าเภอ บางปะอิน บางบาล บางไทร บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง และอ�าเภอเสนา ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนมีความ รู้ ความเข้าใจ ความพึงพอใจ และความ ภูมิใจในความเป็นอยุธยา ตามค�าขวัญ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาอยู ่ ใ นระดั บ มากทุกด้าน Ayutthaya 85


เสนทางพบสถาบันการศึกษา

ตัง้ อยูเ ลขที่ 1 หมูท ี่ 3 ตําบลทาวาสุกรี อําเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป ด ทํ า การสอนตั้ ง แต ชั้ น อนุ บ าลป ที่ 1-ชั้ น ประถมศึกษาปที่ 6 ปจจุบันมีนักเรียน 1,904 คน ผู  อํ า นวยการโรงเรี ย นคนป จ จุ บั น คื อ นายจําเนียร คุณเผือก วิสัยทัศน นักเรียนมีความพรอมทุกดานเต็มศักยภาพ มีคณ ุ ธรรมนําความรู สูค วามเปนเลิศทางวิชาการ สืบสานความเปนไทย ใสใจเศรษฐกิจพอเพียง ภายใตการมีสวนรวมของบุคลากร และชุมชน ที่เขมแข็ง

โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา

นายจําเนียร คุณเผือก

นายอํานาจ เภทพอคา

นายธวิช สุดใจ

โครงการพิเศษที่ดําเนินการ คําขวัญ 1. โครงการจัดการเรียนการสอน “เรี ย นดี มี นํ้ า ใจ รู  วิ นั ย พลานามั ย ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเปน สมบูรณ” ภาษาอังกฤษ (MEP) เพื่ อ ใช ภ าษาอั ง กฤษเป น สื่ อ ในการ ปรัชญาโรงเรียน พั ฒ นาศั ก ยภาพ ความรู  ความสามารถ “เพียบพรอมคุณธรรม เลิศลํ้าวิชาการ และทักษะภาษาอังกฤษของผูเรียน ที่คํานึง สืบสานเอกลักษณไทย” ถึ ง ความสามารถพื้ น ฐานในการใช ภ าษา สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม คานิยมอันดี 86

นางกัญชรส เนตรนุช

งาม ตลอดจนการจัดการเรียนรู ตามบริบท ของความเปนไทยผสมผสานกับความเปน สากล โดยเปดสอนตั้งแตระดับชั้นประถม ศึกษาปที่ 1-6 ระดับ ชั้นละ 2 หองเรียน 2. โครงการความเปนเลิศสูอ จั ฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เพื่อพัฒนาความสามารถดานทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณิตศาตร ใหสงู ขึน้ การเรียนการสอนจัดใหเรียนประจํา


ห อ งเรี ย นปกติ แ ละโรงเรี ย นจั ด ห อ งเรี ย น พิเศษทางดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร เพิ่มเติมเรียนในวันเสารเวลา 08.30 น.15.30 น. 3. โครงการเรียนภาษาจีน ด ว ยคณะกรรมการสถานศึ ก ษา โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา ไดเห็น วาภาษาจีน จะเปนภาษาสําคัญในอนาคต ทัง้ ในดานการศึกษา ดานเศรษฐกิจ จึงอนุมตั ิ ใหโรงเรียนไดเปดทําการเรียนการสอนภาษา จีน ตั้งแตระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-6 สัปดาหละ 1 ชั่วโมง โดยไดจางครูผูสอน ชาวจีนมาจัดกิจกรรม 4. โครงการชวนกันทําดี วันนีว้ นั พระ ในปจจุบันนี้ เด็กไทยเราหางไกลจาก ศาสนาและหลักธรรมคําสอนของศาสนา โรงเรี ย นจึ ง จั ด กิ จ กรรม เพื่ อ ส ง เสริ ม ให เด็กไดใกลชิดศาสนา และซึมซับหลักธรรม คําสั่งสอนของศาสนา โดยนักเรียนใสเสื้อ สีขาวที่มีขอความดานหลังวา “ชวนกันทําดี วันนีว้ นั พระ” สําหรับนักเรียนทีน่ บั ถือศาสนา

อื่นจะไมมีขอความดานหลัง นักเรียนทุกชั้น จะเวียนไปทําบุญที่วัดในวันพระ สวดมนต และฟงธรรม 5. คายวิชาการ เพื่อพัฒนานักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 ใหมีทักษะทางวิชาการเต็มศักยภาพ และพร อ มสํ า หรั บ การศึ ก ษาต อ ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 1 โดยจั ด กิ จ กรรมค า ย วิ ช าการในกลุ  ม สาระการเรี ย นรู  ภ าษา ไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาตาง ประเทศ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ในชวงปดภาคเรียนที่ 1 และติวเขมเติมเต็ม ศั ก ยภาพในช ว งเดื อ นมกราคม ถึ ง เดื อ น กุมภาพันธ โดยเนนสอนซอมสําหรับนักเรียน ที่ยังไมเขาใจเนื้อหาในทุกสาระการเรียนรู และการสอนเสริมสําหรับนักเรียนที่มีความ สามารถพิเศษ สงผลให C ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2556 คะแนนเฉลี่ ยของโรงเรี ยน สู ง กว า คะแนนเฉลี่ ยระดั บ ประเทศทุ กกลุ  ม สาระ การเรียนรู C ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2556 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร มี นักเรียนไดคะแนนเต็ม 100 คะแนน จํานวน 8 คน 6. โครงการพัฒนาหลักสูตรสูม าตรฐาน สากล (World-Class Standard School) เป น นวั ต กรรมการจั ด การศึ ก ษา ที่ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ นํ า มาใช เ ป น มาตรการเร ง ด ว นในการยก ระดั บ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของไทย โดย ไดดําเนินการนํารองรุนที่ 1 จํานวน 500 โรงเรี ย น ทั้ ง ในระดั บ ประถมศึ ก ษาและ มัธยมศึกษา ตั้งแตปการศึกษา 2553 และ รุนที่ 2 จํานวน 232 โรงเรียน โดยมีเปาหมาย หลักของการยกระดับคุณภาพ คือ เปนเลิศ ทางการศึกษา สือ่ สารสองภาษา ลํา้ หนาทาง ความคิด ผลิตงานอยางสรางสรรคและรวม กันรับผิดชอบตอสังคมโลก โดยมีเครื่องมือ สําคัญในการพัฒนา คือ การศึกษาคนควา ดวยตนเอง (Independent Study : IS)

โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา ได เขารวมโครงการในรุนที่ 1 มีการดําเนินการ ตามเปาหมายหลักอยางตอเนื่อง สงผลใหผู เรียนมีคุณภาพ มีผลงานเปนที่ประจักษ ทั้ง ในระดับประเทศและตางประเทศ 7. โครงการปลูกตนจิตสาธารณะ โรงเรียนไดจัดทําโครงการ “ปลูกตน จิตสาธารณะ” สงเสริมใหผูเรียนมีความรูคู คุณธรรม สรางจิตสํานึกใหมีจิตสาธารณะ ที่มุงทําประโยชน และสรางสิ่งที่ดีงามให สังคม โดยใหนักเรียนทุกคนฝกการมีสวน รวมทํากิจกรรมสาธารณะ นําขวดนํ้าดื่มที่ ดืม่ หมดแลว จัดเก็บรวมกันไวเปนสวนกลาง แลวนําไปขาย นําเงินที่ขายได ไปจัดซื้อกลา ตนไม นํากลาไมไปปลูกรวมกันในสถานที่ ที่สําคัญตางๆ ซึ่งเปนการสอนใหผูเรียนมี จิตสาธารณะดวยการปฏิบัติจริง ผลการดําเนินงานของโรงเรียนอนุบาล พระนครศรีอยุธยา 1. ได รั บ รางวั ล พระราชทาน ระดั บ ประถมศึกษา ขนาดใหญ ในปการศึกษา 2549

Ayutthaya 87


2. ไดรับรางวัลพระราชทาน ระดับกอนประถมศึกษาขนาดใหญ ในปการศึกษา 2550 3. นักเรียนไดรับรางวัลพระราชทาน ระดับประถมศึกษา ขนาด ใหญ ในปการศึกษา 2552 ไดแก เด็กหญิงวงศรวี โตทวิวงศ 4. นักเรียนไดรบั การคัดเลือกเปนตัวแทนประเทศไทย เขารวมการ แขงขันคณิตศาสตรนานาชาติ จํานวน 4 คน ไดแก เด็กชายณัฐนนท ตั้งจิตธรรม เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวม แขงขันคณิตศาสตรนานาชาติ ณ ประเทศอินเดีย ป 2009 ไดรับรางวัล เหรียญเงิน เด็กชายณัฐนนท ตั้งจิตธรรม เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวม แขงขันคณิตศาสตรนานาชาติ ณ ประเทศอินโดนีเซีย ป 2010 ไดรับ รางวัลเหรียญทอง เด็กชายภูผา ทองรักษ เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวมแขงขัน วิทยาศาสตรนานาชาติ ณ ประเทศฟลิปปนส ป 2011 ไดรับรางวัล เหรียญเงิน เด็กชายสุภวัช อินทปชฌาย เปนตัวแทนประเทศไทยเขารวม แขงขันคณิตศาสตรนานาชาติ ณ ประเทศอินเดีย ป 2011 ไดรับรางวัล รางวัลเหรียญทอง ประเภททีมและประเภทกลุม รางวัลเหรียญเงิน ประเภทบุคคล 5. นักเรียนไดรับรางวัลยุวกาชาดดีเดน ประจําป 2555 ไดรับโล พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ไดแก เด็กหญิงกัลยณัช วงศสุกรรม 7. นักเรียนไดรับการคัดเลือกเปนตัวแทนของมูลนิธิยุวทูต 6. นักเรียนไดรับเหรียญทองระดับประเทศ กิจกรรมประกวด มารยาทไทยในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63 ประจําปการ ความดี กระทรวงการตางประเทศ ไปรวมกิจกรรม ณ ประเทศ ศึกษา 2556 ณ เมืองทองธานี ไดแก เด็กหญิงกานตอง ลพพึ่งชู และ ศรีลังกา ไดแก เด็กชายศรันย สุวรรณพงษ เว็บไซตของโรงเรียน http://www.anubanay.ac.th/ เด็กชายคหบดี จันทกะพอ

88


p.086AD ÀÑ·Êì +»Ô´¹Ô¡+sbl.pdf 1 9/7/2557 12:22:13

ËÇÁà´Ô¹·Ò§ä»¡ÑºàÃÒ

SBL MAGAZINE

(¹ÔµÃÊÒÃàÊŒ¹·Ò§ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅз‹Í§à·ÕèÂÇ) www.smart-sbl.com

µÔ´µ‹Íŧâ¦É³Ò C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Tel. 0-2522-7171 ºÃÔÉÑ· ÊÁÒà · ºÔ«Ôà¹Ê äŹ ¨Ó¡Ñ´

52 «ÍÂÃÒÁÍÔ¹·ÃÒ 99 á¡ 2 ¶¹¹ÃÒÁÍÔ¹·ÃÒ á¢Ç§¤Ñ¹¹ÒÂÒÇ à¢µ¤Ñ¹¹ÒÂÒÇ ¡ÃØ§à·¾Ï 10230 â·Ã. 0-2522-7171 á¿¡« . 0-2971-7747 E-mail : sbl2553@gmail.com


เสนทางพบสํานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โดย...นายธัญเทพ หมื่นยุทธ

วัดใหญชัยมงคล… ชัยชนะและศักดิ์ศรีของชาติไทย จากวัดปาแกว สูวัดเจาพระยาไทย วัดใหญชยั มงคล เดิมชือ่ “วัดปาแกว” หรือ “วัดเจาพระยาไทย” ตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของเกาะพระนคร (ปจจุบันเปนพื้นที่ ตําบลคลองสวนพลู อําเภอพระนครศรีอยุธยา) คาดวาสรางราว พ.ศ. 2043 เปนทีพ่ าํ นักของพระสงฆไทยซึง่ ไปบวชทีส่ าํ นักพระวันรัตนวงศ ในลังกา หรือที่เรียกเปนภาษาไทยวา “คณะปาแกว” พระสงฆคณะ ปาแกว ที่เดินทางกลับมายังกรุงศรีอยุธยา ได ทําใหพระพุทธศาสนาในสมัยนั้นเจริญรุงเรืองมากขึ้น จนวัดปาแกว ไดกลายเปนวัดชั้นนําทางดานอรัญวาสี พระเถระที่ควบคุมดูแลวัด จึงไดนามวา “สมเด็จพระวันรัตน” (พระพนรัตน) ตามพระนาม พระวันรัตนมหาเถระในลังกาทวีป ตอมาจึงเรียกชื่อวัดปาแกวอีก อยางหนึ่งวา “วัดเจาพระยาไทยคณะปาแกว” วัดปาแกว หรือ วัดเจาพระยาไทย เปนวัดที่มีบริเวณกวางใหญ ชาวบานจึงพากันเรียกสัน้ ๆ วา “วัดใหญ” และเปนวัดทีม่ คี วามสําคัญ ทางประวัตศิ าสตร ในฐานะทีเ่ ปนพระอารามหลวง ซึง่ มีพระเจาแผน ดินทรงผนวชหลายพระองค และเปนที่ประกอบการพระราชพิธี สําคัญๆ โดยอุโบสถของวัดเคยเปนที่ซึ่งคณะบุคคลที่คิดกําจัดขุนว รวงศาธิราชกับทาวศรีสุดาจันทร มาประชุมเสี่ยงเทียนอธิษฐาน ซึ่ง การครัง้ นัน้ ก็สาํ เร็จผลดี จึงอัญเชิญพระเฑียรราชาลาผนวช ขึน้ ครอง ราชยสมบัติ ทรงพระนามวา “สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ” ปูชนียวัตถุสําคัญของวัดใหญชัยมงคล ปูชนียวัตถุสาํ คัญของวัดใหญชยั มงคลทีย่ งั มีใหเห็นจนปจจุบนั คือ พระเจดียช ยั มงคล ซึง่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงโปรดฯ

90

ใหสรางขึ้น เพื่อเปนอนุสรณแหงอภัยทานแกเหลาแมทัพที่ไมยอม กรีฑาทัพเขาชวยเหลือพระองค และเพื่อเปนอนุสรณแหงชัยชนะใน สงครามยุทธหัตถี ในป พ.ศ. 2135 พระเจดี ย  ชั ย มงคลเป น พระเจดี ย  ที่ มี ค วามสู ง ใหญ ที่ สุ ด ใน พระนครศรีอยุธยา โดยมีความสูงจากพืน้ ดินราว 1 เสน 10 วา ทัง้ นีเ้ พราะ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงมีพระราชประสงคที่จะลบลาง ความอัปยศแกกรุงศรี จากสาเหตุที่พระเจาหงสาวดีบุเรงนอง ไดเขายึดกรุงศรีอยุธยาเมือ่ พ.ศ.2112 ในรัชกาลสมเด็จพระมหินทราธิราช ซึ่งในครั้งนั้น พระเจาหงสาวดีบุเรงนอง ไดสรางพระเจดียใหญแบบ มอญขึ้นเพื่อเปนอนุสรณแหงชัยชนะ และใหเรียกพระเจดียนั้นวา “ภูเขาทอง” ชาวบานจึงพากันเรียกวัดนั้นวา “วัดภูเขาทอง” จึงนับไดวา พระเจดียชัยมงคล เปนปูชนียวัตถุสําคัญยิ่งของ กรุงศรีอยุธยาและของชาติไทยในปจจุบนั เพราะเปรียบเสมือนเครือ่ ง


เตือนใจใหคนไทยไดระลึกถึงความกลาหาญ และความเสียสละ ของ พระมหากษัตริยและบรรพบุรุษไทย ที่ไดพลีชีพปกปองเอกราชของ ชาติไทยมาจนถึงทุกนี้ สวนปูชนียวัตถุสําคัญอีกแหงของวัดใหญชัยมงคลคือ อุโบสถ ซึ่งเปนที่ประดิษฐาน พระพุทธชัยมงคล พระประธานศักดิ์สิทธิ์ ของวัด ซึง่ ในสมัยตอมามีการคนพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยูใ นอุโบสถ ดวย นอกจากนี้แลว ภายในวัดยังมี วิหารพระพุทธไสยยาสน โบราณสถานศาลาดิน และศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ กอสรางแลวเสร็จในป พ.ศ. 2544 อีกดวย จากวัดรางสูวัดราษฎร ราวป พ.ศ. 2309 กอนที่จะเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองนั้น กองทัพหงสาวดีไดยกพลมาประชิดพระนครศรีอยุธยา และกองทัพ บางสวนไดยึดเอาวัดปาแกวหรือวัดใหญเปนฐานที่มั่น หลังจากตี กรุงศรีอยุธยาไดสําเร็จ ในป พ.ศ. 2310 แลว วัดปาแกวก็ถูกทิ้งให กลายเปนวัดราง ตนไมขึ้นปกคลุมจนมีสภาพเหมือนปา

Ayutthaya

91


ในสมัยตอมา พระฉลวย สุธมฺโม แสวงหาสถานที่ปฏิบัติ ธรรม จึงไดชกั ชวนคณะศรัทธาใหชว ยกันถากถางตนไม และเมือ่ พระ ฉลวยจะออกจาริกอีกครั้ง จึงไดไปนิมนตพระครูภาวนาพิริยคุณ (เปลื้อง วิสฏโฐ) เจาอาวาส วัดยม อําเภอบางบาล ใหมาปกครอง ดูแลวัดใหญชัยมงคลตอ พระครูภาวนาพิริยคุณ จึงไดนําคณะพระ ภิกษุสงฆ สามเณร และแมชี ฟน ฟูวดั แหงนีจ้ นไดรบั การยกฐานะจาก วัดรางเปนวัดราษฎร ทีม่ พี ระภิกษุจาํ พรรษา ตัง้ แตป พ.ศ. 2500 และ ไดชื่อวา “วัดใหญชัยมงคล” ตอมาพระครูภาวนาพิริยคุณ ไดรับพระราชทานสมณศักดิ์เปน “พระครูภาวนารังสี” จนถึงพ.ศ. 2536 ทานไดมรณภาพลง พระครู พิสทุ ธิบ์ ญ ุ สาร (แกน ปุญ ฺ สมฺปนฺโน) ผูช ว ยเจาอาวาสจึงไดรบั การ แตงตั้งเปนเจาอาวาส ในป พ.ศ.2537 พระครูพิสุทธิ์บุญสาร มีความชํานาญพิเศษดานนวกรรม การแสดงพระธรรมเทศนา การอบรมกรรมฐานและบรรยายธรรม และเปนพระที่มีทัศนะในการปกครองวัดคือ “สามัคคี ระวังสตรี และเงินตรา” ปจจุบันพระครูพิสุทธิ์บุญสาร อายุ 69 ป พรรษา 47 ดํารงสมณศักดิ์ พระครูเจาอาวาสอารามราษฎร เทียบเทาผูชวย เจาอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก วัดใหญชัยมงคล...วัดพัฒนาตัวอยางดีเดน ป จ จุ บั น วั ด ใหญ ชั ย มงคล ภายใต ก ารปกครองดู แ ลโดย พระครู พิ สุ ท ธิ์ บุ ญ สาร (แก น ปุ ฺ ญ สมฺ ป นฺ โ น) เจ า อาวาส พระมหาสํารอง ชยธมฺโม และ พระมหาบรรณ ปฺญาธโร ผูช ว ย เจาอาวาส และคณะศรัทธา ไดชว ยกันพัฒนาวัดในหลายๆ ดาน อาทิ ดานการพัฒนาถาวรวัตถุ วัดใหญชัยมงคลไดรับการยกยอง ใหเปน วัดพัฒนาตัวอยาง ในป พ.ศ. 2539 และตอมายังไดรับการ ยกยองอีกวาเปน วัดพัฒนาตัวอยางที่มีผลงานดีเดน พ.ศ. 2547 ดานการพัฒนาบุคคลากร วัดใหญชยั มงคล ไดพฒ ั นาบุคคล ากรพระภิกษุจนเปนที่ยอมรับ เห็นไดชัดจากการที่พระภิกษุจาก วั ด ใหญ ชั ย มงคล ได รั บ การคั ด เลื อ กให ไ ปดํ า รงตํ า แหน ง เป น เจาอาวาสวัดตางๆ ในเขตอําเภอพระนครศรีอยุธยาพรอมกันถึง 3 รูป ในป พ.ศ. 2551

92

ดานการพัฒนาการศึกษาปริยัติธรรม วัดใหญชัยมงคล มี การเรียนการสอนหลักสูตรพระปริยัติธรรมทั้งแกพระสงฆ สามเณร แมชี อุบาสก อุบาสิกา นักเรียนนักศึกษา ตลอดจนผูต อ งขังในเรือนจํา ปจจุบนั มีหลักสูตรตางๆ ดังนี้ นักธรรมชัน้ ตรี นักธรรมชัน้ โท นักธรรม ชัน้ เอก ธรรมศึกษาตรี ธรรมศึกษาโท ธรรมศึกษาเอก หลักสูตรระยะ สัน้ สําหรับพระภิกษุใหม หลักสูตรศีลธรรมสําหรับนักเรียน หลักสูตร ศีลธรรมสําหรับผูตองขัง หลักสูตรพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ด า นการพั ฒ นาจิ ต ใจ วัดใหญชัยมงคล รักษามาตรฐาน การปฏิบัติธรรมตามแนวทางของหลวงปูพระครูภาวนารังสี อดีต เจาอาวาส ที่เนนในเรื่องของกิจวัตร และพระกรรมฐาน พรอมทั้ง เปดกวางใหผูที่ใฝในการปฏิบัติ ไดมาฝกหัดขัดเกลาในขั้นเบื้องตน จนที่ สุ ด วั ด ใหญ ชั ย มงคลได รั บ การคั ด เลื อ กจากมหาเถร สมาคม ใหเปนสํานักปฏิบตั ิ ธรรมประจํ า จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา แหงที่ 3


รวมทําบุญกับวัดใหญชัยมงคล มั่นใจศรัทธา บูชาเกิดผล ขอเชิญ ที่วัด ทําบุญดวยตัวทานเอง แตหากไมสะดวกสามารถโอนเขาบัญชีได ดังนี้ “ธนาคารธนชาต สาขาอยุธยา ชือ่ บัญชีวดั ใหญชยั มงคล ประเภท ออมทรัพย เลขทีบ่ ญ ั ชี 343-2-30834-9” โอนแลวกรุณาแจงรายละเอียด มาที่ info@watyaichaimongkol.net ขอขอบพระคุณ : ขอมูลวัดใหญชัยมงคล จัดทําโดย พระมหานัธนิติ สุมโน

Ayutthaya

93


เสนทางพบสํานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โดย...นายธัญเทพ หมื่นยุทธ

เมื่ อ เอ ยถึ ง วั ด พนั ญ เชิ ง ฯ ต า งพากั น นึ ก ถึ ง องค “หลวงพ อ โต” หรื อ “พระพุ ท ธไตรรั ต น นายก” พระพุทธรูปปางมารวิชยั ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ในประเทศไทย ซึ่งเปนที่เคารพสักการะของชาวไทย และตางชาติมาชานาน โดยเฉพาะวันหยุดเสารอาทิตย หรือชวงเทศกาลก็มกั จะคลาคลํา่ ไปดวยผูค น ที่เดินทางไปกราบไวขอพรจากทาน ปูนียวัตถุสําคัญ พระพุ ท ธไตรรั ต นนายก (หลวงพ อ โต) พระพุทธรูปปูนปนปางมารวิชัย หนาตักกวาง 7 วา 10 นิ้ว สูงตลอดรัศมี 9 วา 2 ศอก สรางเมื่อปชวด พ.ศ.1867 ก อนสร า งกรุ ง ศรี อยุ ธ ยาเปน ราชธานี 26 ป แตไมสามารถระบุไดวา ใครเปนผูส ราง ปจจุบนั องคพระปดทองใหมทั้งองคจนงดงามมลังเมลือง ซึ่งความศักดิ์สิทธิ์ขององคหลวงพอโตนี้ เคยมีชาว กรุงเกาเลาวา ในอดีตกาลกอนเสียกรุงศรีอยุธยา แก พม า มี นํ้ า พระเนตรไหลออกมาจรดพระนาภี จากปาฏิหาริยนี้เองจึงยิ่งเปนที่เลื่อมใสศรัทธา แก พุ ท ธศาสนิ ก ชนทั้ ง ชาวไทย ชาวไทยเสื้ อ ชายจี น และชาวต า งชาติ ต า งมาสั กการะขอพร ใหชีวิต ประสบแตความสุขความเจริญ นอกจากนีย้ งั มี พระ พุทธรูปทอง และพระพุทธรูปนาก ปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย และพระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชัย สมัยอยุธยา ประดิษฐานอยูในพระวิหารดวย

สักการะหลวงพอโต….

วัดพนัญเชิงวรวิหาร 94

เทศกาลประจําปของวัดพนัญเชิง ในแตละปวัดพนัญเชิงจะมีเทศกาลประจําปที่ สําคัญๆ 4 งาน ซึ่งนักทองเที่ยวและพุทธศาสนิกชน สามารถเขารวมงานไดดังนี้คือ 1.งานสงกรานต 13 มษายน เปนงานใหญมี การนมัสการและเวียนเทียนประทักษิณรอบองคพระ ติดตอกันถึง 5 วัน 2. งานสรงนํ้าและหมผาถวาย วันแรม 8 คํ่า เดือนเมษายน มีการสรงนํ้าและเปลี่ยนผาหมผืน ใหม สวนผืนเกาทีใ่ ชมาตลอด 1 ป จะฉีกเปนชิน้ เล็กๆ แจกจายใหนําไปบูชา 3. งานทิ้งกระจาดหรืองานงิ้วเดือน 9 จะมี การแสดงงิ้วและมหรสพอื่นๆ เลนประชันกันอยาง ครึกโครม จะมีผูคนนับหมื่นหลั่งไหลกันมานมัสการ นับเปนงานทิ้งกระจาดที่ใหญที่สุดในประเทศไทย เลยทีเดียว


4. งานตรุษจีน เปนงานใหญอีกงานหนึ่ง จะมีการเปดประตู พระวิหารหลวงไวทั้งวันทั้งคืนตลอด 5 วันที่จัดงาน พระเทพรัตนากร เจาอาวาสนักพัฒนา แหงวัดพนัญเชิง พระเทพรัตนากร ฉายา กตสาโร อายุ 70 พรรษา 50 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปจจุบันดํารงตําแหนง เจาอาวาสวัดพนัญเชิง พระอาราม หลวงชั้นโท และเจาคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมณศักดิ์ พ.ศ. 2531 เปนพระครูสัญญาบัตรผูชวยเจาอาวาสพระอาราม หลวง ชั้นเอก ในราชทินนามที่ “พระครูสาธุกิจโกศล”

พ.ศ. 2536 เปนพระครูสัญญาบัตร รองเจาอาวาสพระอาราม หลวง ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2542 เป น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ที่ “พระพิ พั ฒ น วราภรณ” พ.ศ. 2547 ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปนกรณีพิเศษ ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 72 พรรษา 12 สิงหามหาราชินี เปนพระราชาคณะชั้นราช ที่ “พระราชรัตนวราภรณ บวรศาสนกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” พ.ศ. 2552 ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ ในวโรกาสวัน เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2552 เปนพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ “พระเทพรัตนากร สุนทรศีลาจาร สุวิธานศาสนกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี” รางวัลและเกียรติคุณที่ไดรับ พ.ศ. 2537 ไดรับพระราชทานรางวัลเสาเสมาธรรมจักร ใน ฐานะผูบ าํ เพ็ญคุณประโยชนตอ พระพุทธศาสนา สาขาอนุรกั ษมรดก ไทยทางพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2546 ไดรับการถวายปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะหศาสตร จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2547 ไดรับรางวัล “บุษราคัมมณีศรีราชภัฏ” ประจําป พุทธศักราช 2546 จากทางสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา และ ไดรับการถวายปริญญากิตติมศักดิ์ ครุศาสตรบัณฑิต สาขาการ บริหารการศึกษา พ.ศ. 2549 ได รั บ การถวายปริ ญ ญาปรั ช ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา จากมหาวิ ท ยาลั ย รามคําแหง พ.ศ. 2552 ไดรับการถวายโลเกียรติคุณพรอมเกียรติบัตร และเข็ม “มทร.สุวรรณภูมิเกียรติคุณ” สาขาภาษาและวรรณกรรม จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ พ.ศ 2554 รางวัลผูทําคุณประโยชนตอพระพุทธศาสนา ภายในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย

Ayutthaya

95


เสนทางพบสํานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

โดย...นายธัญเทพ หมื่นยุทธ

วัดทาการอง…

สุขาเจริญตา ธรรมะเจริญใจ

วั ด ท า การ อ ง ตั้ ง อยู  ที่ ห มู  6 ตํ า บลบ า นป อ ม อํ า เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานวาสราง ขึน้ ในสมัย สมเด็จพระไชยราชาธิราช ราวป พ.ศ. 2076 และกลาย เปนวัดรางมาตั้งแตครั้งกรุงศรีอยุธยาแตก ในป พ.ศ.2310 ปจจุบัน พระครูสุทธิปญญาโสภณ เจาอาวาสวัดทาการอง ไดพัฒนา สิ่งตางๆในวัดใหสวยงามเจริญตาเจริญใจขึ้น จนกลายเปนวัดที่ พุทธศาสนิกชนและนักทองเทีย่ วนิยมมาสักการบูชาขอพรจาก หลวง พอรัตนมงคล หรือ หลวงพอยิ้ม พระพุทธรูปเกาแกและศักดิ์สิทธิ์ สมัยอยุธยา ทีม่ พี ทุ ธลักษณะงดงามยิง่ โดยเฉพาะพระโอษฐทงี่ ดงาม และยิ้มใหแกผูมาสักการะขอพรเสมอ สุขาเจริญตา ธรรมเจริญใจ พระครูสุทธิปญญาโสภณ ไมเพียงแตจะพัฒนาสิ่งตางๆ ใน วัดใหสวยงามเจริญหูเจริญตาขึน้ เทานัน้ แมกระทัง่ เรือ่ งของหองสุขา 96

ที่หลายๆ วัดมองขาม ทานก็พัฒนาจนไดรางวัลสุดยอดสวมแหงป ระดับจังหวัดถึง 3 ปซอน จากกรมอนามัยมา กระทรวงสาธารณสุข โดยทานไดเริ่มปรับปรุงสวมไปพรอมๆ กับการพัฒนาวัดแหงนี้ เพือ่ ใหญาติโยมทีเ่ ขามาทําบุญ มีความพึงพอใจ ใหมคี วามสุข ความ สบายใจ ที่ไดใชสวมสะอาด พรอมทั้งหวังผลใหคนที่มาใชสวม ได นํารูปแบบการดูแลไปปรับใช กับสวมที่บานดวย ทานยํ้าวาไมตอง ลงทุนสรางใหมใหเสียงบประมาณ เพียงแตปรับปรุงสวมที่มีอยู ให สะอาด ปลอดภัย และพอเพียงคือรูจักใชวัสดุที่หาไดในทองถิ่น เชน


ใชพชื สมุนไพรอยาง มะกรูดมากําจัดกลิน่ ในหองสวม หาตนไมที่ มีอยูม าตกแตงใหดสู วยงามสบายตา เปนตน จุดเดนของสวมใน วัดคือ การแยกสวมสําหรับผูชาย-ผูหญิง สวมสีมวงสําหรับสาว ประเภทสอง สวมสําหรับคนพิการและผูสูงอายุ ที่มีสิ่งอํานวย ความสะดวกพิเศษ และทุกหองยังมีการติดเครื่องปรับอากาศ และชองระบายอากาศ เพื่อใหมีความโปรงสบาย และอางลาง มือ ถังขยะ ไวพรอม และมีรองเทาแตะใหเปลี่ยนกอนเขาไปใช หองสวม เพื่อกันสิ่งสกปรกที่ติดมากับรองเทาอีกดวย ลาสุด วัดทาการองเพิ่งเปดอาคารสวมสาธารณะหลังใหม โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกูล อดีตรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง สาธารณสุ ข และผูบริหารกรมอนามัย ผูวาราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา รวมเปนประธาน ในพิธีเปดอาคารสวม สาธารณะดังกลาวดวย และพรอมที่จะสงเสริมสนับสนุนใหวัด ทาการอง เปนตนแบบของการดูแลสวมสาธารณะใหสะอาด นา ใช ตามโครงการพัฒนาสวมสาธารณะไทยตอไป

รานอรอยริมนํ้าวัดทาการอง ที่วัดทาการองนี้ ยังมีสิ่งที่นักทองเที่ยวไมควรพลาดอยางยิ่งคือ การเลือกชิมเลือกช็อปปงของอรอยที่หากินไดยากที่บริเวณตลาดนํ้า และตลาดริมนํ้า ซึ่งจะมีพอคาแมขายนําอาหารไทยโบราณมาจําหนาย มากมาย อาทิ ขนมหวานแบบไทยๆ สารพัดที่วางมาเต็มลําเรือ ขนม ไขปลาโบราณ มีลักษณะเหมือนพวงไขสีสมๆของปลาโรยหนาดวย มะพราวขูดขาวนากิน ทองมวนสดนุมเหนียวหวานมันหอมงา วุนนํ้าผล ไมสีสวยสดนารับประทานใสในกระทงใบตอง ไอศกรีมกะทิสด เมี่ยงคํา ทรงเครือ่ ง ทอดมันปลากรายหอมๆ หมูสะเตะนํา้ อาจาดรสเลิศ ยําแหนม ปลาสม กวยเตีย๋ วเรือ ปลาหมึกยัดไสอวบอวนพรอมนํา้ จิม้ รสจีด๊ จาด กวย จั๊บนํ้าขน ผัดไท สาธยายไมหมด แตรับรองวาพุงกางแนๆ คะ อิม่ อรอยแลวก็อยาลืมไปทําทานใหอาหารปลาทีแ่ พริมนํา้ ดวย นะคะ หรือจะไปนั่งเรือชมวิถีชีวิตริมเจาพระยาก็ไดคะ รับรองวา คุณจะประทับใจกับการมาเยือนวัดทาการองไมลืมเลยคะ

Ayutthaya

97


เสนทางทองเที่ยว

พิพิธภัณฑ

พระอุบาลีมหาเถระ พระสมณฑูตแหงสยามประเทศ

98


ประเทศไทยเราไดรับ การยกยองใหเปนศูนยกลางพุทธศาสนาโลก นํามา ซึง่ ความภาคภูมใิ จสูเ หลาพุทธศาสนิกชนอยางมาก ปจจุบนั มีวัดไทยกระจายอยูทั่วโลก และพระภิกษุสงฆไทยหลายรูปก็ไดรับ นิมนตไปเผยแผพระพุทธศาสนาอยูม ไิ ดขาด แตเราชาวพุทธหลายคนอาจยัง ไมทราบมากอนวาเมือ่ 261 ปทแี่ ลวนัน้ ประเทศไทยก็เคยสงสมณทูตไปฟน ฟูพระพุทธ ศาสนา บนดินแดนศรีลงั กาซึง่ เปนตนกําเนิดแหงพุทธศาสนา หนึง่ ในพระภิกษุสงฆทเี่ สียสละ เดินทางไปดวยความยากลําบากในครั้งนั้นคือ พระอุบาลีมหาเถระ ดังนั้น เพื่อเปนการเฉลิมฉลองในโอกาสครบ 260 ป (พ.ศ. 2556) แหงการสถาปนา พระพุทธศาสนาสยามนิกาย ในประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา และ เพื่อนอมระลึกถึงพระอุบาลีมหาเถระ พระอริยสงฆที่ทําคุณประโยชนตอพระพุทธศาสนา รัฐบาลศรีลังกาและจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจึงไดรวมกันจัดสราง พิพิธภัณฑพระอุบาลี มหาเถระ ขึ้น ณ วัดธรรมาราม อําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พระสมณทูตผูสละชีพเพื่อธรรมพลี นายวิทยา ผิวผอง ผูว า ราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ไดเลาถึงมูลเหตุของการ จัดสราง พิพธิ ภัณฑพระอุบาลีมหาเถระ วา “ขอเทาความกอนวา ในอดีตเรารับ พุทธศาสนามาจากศรีลังกา แตวาศรีลังกา เองถูกอาณานิคมรุกรานบาง มีการเปลี่ยน กษัตริยบาง พระพุทธศาสนาถูกทําลายจน ยุคหนึ่งไมมีพระอยูเลย เณรก็บวชกันเองไม ได เพราะไมมีพระอุปชฌาย ไมมีพระกรรม วาจาจารย แตมีกษัตริยองคหนึ่งตองการ จะฟนฟูพุทธศาสนาใหกลับคืนมาสูแผนดิน ศรีลงั กา จึงไดทาํ เรือ่ งมาขอพระมหากษัตริย Ayutthaya

99


ไทย ซึง่ ตรงกับสมัยพระเจาอยูห วั บรมโกศ กษัตริยอ งคที่ 31 ของกรุงศรีอยุธยา ประมาณ พ.ศ.2294 พระเจาอยูหัวบรมโกศ ก็เลือก พระสงฆที่มีความรูความเชี่ยวชาญในเรื่อง พระไตรปฎก ในเรือ่ งของวิปส สนากรรมฐาน เรื่องของพระธรรมวินัย คัดเลือกได 18 รูป แลวสงไปเปนพระธรรมทูตที่ศรีลังกา” “พระภิ ก ษุ ก ลุ  ม นี้ ก็ มี พ ระอุ บ าลี ม หา เถระ กับพระอริยมุนี และพระรูปอื่นๆ การ เดิ น ทางครั้ ง แรกไม ป ระสบความสํ า เร็ จ เพราะเรือแตกที่นครศรีธรรมราช แตพระ ทั้งหมดก็ยังยืนยันวาจะเสียสละไปเผยแพร ไปฟนฟูพุทธศาสนาที่ศรีลังกา แมจะตอง ใชเวลาเดินทาง 5 เดือน 4 วัน อยูบนเรือ สินคาของชาวฮอลันดา เรือก็แวะไปเมือง โนนเมืองนี้ นี่คือความยากลําบากในการ เดินทางกวาจะไปถึงศรีลังกา พระเจาอยูหัว บรมโกศก็ พ ระราชทานพระพุ ท ธรู ป พระ ไตรปฏก พระพุทธบาทจําลอง เพื่อที่จะนํา ไปฟนฟูพุทธศาสนาใหม กษัตริยศรีลังกา ก็ พ ระราชทานสวนดอกไม ใ ห เ ป น วั ด ผู ก พัทธสีมา มีการสรางโบสถ มีการบวชกุลบุตร กุลธิดา เพราะทีน่ นั่ มีพระภิกษุณี และก็มกี าร บวชพระสงฆถึง 700 รูป มีการบวชสามเณร 3,000 รูป แลวทานก็วางหลักศาสนาใหม กรรมวิธีในทางศาสนา การสวดพระปริตร การใหศีลใหพร การอาราธนาศีล ศาสนพิธี ตางๆ ก็ดูวาที่เมืองไทยเปนอยางไร เพราะ เราเปนคนไปปรับปรุงฟนฟูใหเขา”

100

“แตพระอริยมุนีทานอยูไดเพียง 3 ป ก็มรณภาพที่นั่น สวนพระอุบาลีอยูไดอีก 6 ปทาน ก็มรณภาพที่นั่น คนศรีลังกาก็นับถือทานเหมือนตัวแทนพระพุทธเจา เพราะทําใหศรีลังกา กลับมาเปนพุทธภูมิอีกครั้งหนึ่ง สมัยกอนพระพุทธเจาเสด็จไปที่ศรีลังกาเอง ไปเผยแพร ไปสอน ไปแกปญหา ความขัดแยงของคนที่นั่น พอศาสนาพุทธเสื่อมสลายไป พระอุบาลี กับพระอริยมุนีทําใหพุทธศาสนากลับมาเจริญรุงเรืองในศรีลังกาอีกครั้ง และเขาปฏิบัติ เครงครัดกวาเรา เขาอยูในหลักศาสนามากกวาเรา ความศรัทธาก็สูงกวาเรา ทางโนนเขาเก็บ อัตถบริขาร เก็บกุฏิ เก็บเรือ่ งราวของทานไวเปนอยางดี รวมทัง้ พระราชสาสนของพระเจาอยูห วั บรมโกศ ที่สงไปกับพระอุบาลีเขาก็ยังเก็บไว” “กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เขียนถึงทานวาการที่พระอุบาลีไดเปนสมณฑูตไปฟนฟู พุทธศาสนาที่ศรีลังกา เปนการสละชีพเพื่อเปนธรรมพลี คือเอาชีวิตไปสานตอ หรือไปฟนฟู ศาสนาใหศรีลังกาทั้งชีวิต เปนการเสียสละอยางยิ่ง เพราะพระสงฆไปชุดนั้น 18 รูป ไดกลับ มาเมืองไทย 7 รูปเทานั้น มรณภาพที่นั่น 11 รูป อันนี้คือการเสียสละชีวิตเพื่อเปนธรรมพลี ทานมองวาเปนเรื่องที่ยิ่งใหญมาก”


ชมอะไรในพิพิธภัณฑพระอุบาลีมหาเถระ ภายในอาคารพิพิธภัณฑพระอุบาลีมหาเถระ จัดแบงเนื้อหาการนําเสนอ ออกเปน 7 โซน โดยมีแนวคิดหลักในการนําเสนอเรื่อง “ธรรมพลี” ของพระอุบาลี มหาเถระ ซึ่งประกอบดวย ความเสียสละ ความวิริยะ อุตสาหะ และผลงานการ กอบกู ฟนฟูพระพุทธศาสนา ดังนี้ โซน 1 อาจาริยบูชา พระอุบาลีมหาเถระ เปนเรือ่ งราวพระอุบาลีมหาเถระ ขามนํา้ ขามทะเล ในภารกิจกอบกูพ ระพุทธ ศาสนา ภายในโซนนี้มีรูปเคารพพระอุบาลี ซึ่งแกะสลักจากไมมะฮอกกานี มีความสูง 1.80 เมตร นํ้าหนัก 117 กิโลกรัม ตั้งอยูบนแทนกลางหองหนา ธรรมมาสน วัดธรรมาราม

โซน 2 ประดิษฐานลังกาวงศในสยาม นํ า เสนอ Timeline การรั บ อิ ท ธิ พ ลพระพุ ท ธ ศาสนาลังกาวงศในประเทศไทย โซน 3 วิกฤติพระพุทธศาสนาบนแผนดิน ลังกา นํ า เสนอภาพพุ ท ธศาสนาในลั ง กา สาเหตุ ที่ พระพุทธศาสนาเสื่อมจนสูญสิ้นไปจากลังกา โซน 4 ภารกิจกอบกูพระพุทธศาสนา นําเสนอในเรื่องความวิริยะอุตสาหะ และความ มุงมั่นของพระอุบาลีมหาเถระ ในการเดินทางขาม นํ้าขามทะเล เพื่อกอบกูและฟนฟูพระพุทธศาสนา นําเสนอดวย Multimedia Light and Sound โซน 5 ประดิษฐานสยามวงศในลังกา นําเสนอเรื่องราวการเผยแพรพระพุทธศาสนา ในลังกา และนําเสนอผลงานพระอุบาลีที่ไดเผยแพร พระพุทธศาสนาตลอด 3 ป กอนมรณภาพ โซน 6 สายสัมพันธสองแผนดิน นํ า เสนอความสั ม พั น ธ ร ะหว า งประเทศไทยศรีลังกา เนื่องในโอกาสครบรอบ 260 ป ในป พ.ศ. 2556 แหงการประดิษฐานสยามวงศในประเทศศรีลงั กา นําเสนอผาน Slide Show ภาพถายจากนิทรรศการชุด “Two Nation One Family” โซน 7 เที่ยวเมืองเกาเขาถึงธรรม นําเสนอเสนทางการทองเที่ยวเพื่อเรียนรูพระพุทธ ศาสนาลังกาวงศ ที่ประดิษฐานในประเทศไทยในสมัย อยุธยา

พิพิธภัณฑพระอุบาลีมหาเถระ วัดธรรมาราม เปดใหเขาชมอยางเปนทางการ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556 สนใจเขาชม และเที่ยวโบราณสถานวัดธรรมาราม ไดที่ หมู 6 อูทอง ประตูชัย อําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทรศัพท 035 723 346

Ayutthaya 101


เสนทางทองเที่ยว

า ย ธ ุ ย อ ว ่ ั ท ว ย ่ ี ท ัวนเดียวณเ สถานฯ ทุงหันตรา ณ อนุสร

บนเนื้อที่กวา 143 ไร ของ อนุสรณสถานแหง ความจงรักภักดี (ทุงหันตรา) เปนสถานที่ทองเที่ยว สํ า คั ญ แห ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง ทางจังหวัด ฯ จัด สรางขึ้นบนสวนสาธารณะเฉลิ มพระเกียรติเดิม เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 สัญลักษณโดดเดนของทีน่ คี่ อื พระพุทธรูปปางประจํา พระชนมวาร ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ความสูง 9.84 เมตร ซึ่งสรางขึ้นจากนํ้าพักนํ้าแรง และความจงรักภักดีของชาวอยุธยาทั้ง 16 อําเภอ นอกจากนี้ ภ ายในยั ง มี ก ารจํ า ลองเอาจุ ด เด น หรื อ เอกลักษณสําคัญของอําเภอตางๆ ทั้ง 16 อําเภอ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาไว ณ ที่แหงนี้ดวย 102


อยุธยาเมืองจําลอง เอาใจคนไทย ทานผูวาฯ วิทยา ผิวผอง ไดกลาวถึงความนาสนใจของ อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดี (ทุงหันตรา) วา “อยุธยามี 16 อําเภอ แตละอําเภอก็มีจุดเดนของตนเอง มี แหลงทองเที่ยว มีวัฒนธรรม มีวิถีชีวิต มีภูมิปญญาของตนเอง แต คนมาเที่ยวอยุธยาสวนใหญจะไมคอยไดคางคืน และคนไทยเราจะ ไมชอบเคลื่อนยาย หมายถึงลงจุดนี้ แลวตองยายไปจุดนั้น จุดโนน แบบนักทองเที่ยวตางชาตินี่เขาขี่จักรยานจากจุดหนึ่งไปจุดหนึ่ง แต คนไทย เขาใหเดินหรือใหเคลือ่ นยายหนอย ก็เรียกวาวงแตก บอกให เดินไปอีกหนอย 200 เมตร ไมไปแลว นอนแลว ถาตองยายอําเภอ จากอําเภอพระนครไปอําเภอภาชี ไมมีใครอยากไปแลว พอไปถึงก็ ไมลงแลวบอกขอนอนรอในรถ”

Ayutthaya

103


“ดัง้ นัน้ เราจึงจําลองเอาความหลากหลายทางวัฒนธรรม ความ หลากหลายทางภูมิปญญาของแตละอําเภอมาไวในสถานที่เดียว เลยคือที่ อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดี (ทุงหันตรา) แลวก็ จัดเปนกิจกรรมทองเที่ยวในชื่อ วันเดียวเที่ยวทั่วอยุธยา เราใหเขา เดิน หรือวาใหเขานั่งรถรางรอบหนึ่ง เขาจะไดเห็นความเปนอยุธยา ทัง้ 16 อําเภอ ทัง้ ประวัตศิ าสตร เรือ่ งราวภูมปิ ญ  ญาของคน 16 อําเภอ จะอยูในเมืองจําลองที่เดียว” วันเดียวเที่ยวอยุธยา เพื่อประชาสัมพันธ อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดีฯ (ทุงหันตรา) ใหประชาชนโดยทั่วไปและผูที่มาทองเที่ยวไดรูจักมาก ยิ่งขึ้น จังหวัดฯจึงไดจัดทําโครงการ “วันเดียวเที่ยวอยุธยา” ขึ้นทุก วันเสาร-อาทิตย ระหวางวันที่ 15 กุมภาพันธ จนถึง 20 กันยายน 2557 ซึ่งนักทองเที่ยวจะไดสนุกสนาน เพลิดเพลิน และไดรับความ รูจากกิจกรรมทองเที่ยวหลากหลายรูปแบบ อาทิ

การแขงขัน Walk Rally เพลิดเพลินกับการแขงขัน 18 ฐาน ความรู ในบริเวณเมืองจําลอง โดยวิทยากรผูมากประสบการณ นอกจากสรางความสุข ยังแฝงสาระความรูเกี่ยวกับเมืองอยุธยา และชวยหลอหลอมทีมผูเขารวมกิจกรรม ใหสมัครสมานกลมเกลียว เหมาะสําหรับการทําทีม Work การแขงขันกีฬา ทาประลองความสามารถกับหลากหลายชนิด กีฬา อาทิ ตะกรอ ฟุตบอล เปตอง กีฬาทางนํ้า รวมเชียรและเปน กําลังใจ เรียนรูกฎ กติกา มารยาท และลุนรับรางวัลสําหรับผูชม ควบคุมการแขงขัน โดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิ WorkShop สงเสริมความรู ภูมิปญญาทองถิ่น ชมการสาธิต ภูมิปญญาทองถิ่นของแตละอําเภอ อาทิ ปนอิฐ ตีมีด สานงอบ ทําสบู อาหารชาววังฯ และรวม WorkShop นําผลงานที่มีเพียง หนึ่งเดียวในโลกกลับบานเปนที่ระลึก ทั้งนี้ทานผูวาฯ ไดกลาวถึง WorkShop ซึ่งเปนไฮไลตของ กิจกรรมวันเดียวเที่ยวอยุธยาวา “แตละอําเภอจะนําเสนอวิดีโอ พรีเซ็นเทชั่นเรื่องละ 3 นาที เพื่อให คนที่ ม าท อ งเที่ ย วได รั บ สาระของ เรื่องราวนั้นอยางเปนรูปธรรม ไมใช เพียงรูจักชื่อเฉยๆ เราอยากใหเขา รูเรื่องราวของแตละอําเภอ แลวนํา กลับไปใชเปนประโยชนได แลวไมใช เพียงสัมผัสดวยสายตา แตไดเห็น กระบวนการโดยที่ไมตองลงมือทํา ยกตัวอยางเรือ่ งการตีมดี เขาก็จะเห็น กระบวนการจากเหล็กแผนหนึง่ กลาย มาเปนมีดทีใ่ ชในการประกอบอาหาร วาตองใชกระบวนการมากนอยแค ไหน เขาไมตองตีมีดกับเรา แตเขา เอามีดที่เราตีเสร็จแลวกลับไปเปนที่ ระลึกได แลวใหเขาไปตอยอดหรือมี

104


สวนรวมกับสิง่ ทีไ่ ดรบั อีก เชน เอามีดไปตอกตราเปนชือ่ -นามสกุลเขา เปนมีดประจําตระกูล หรือวามาแตงลวดลายของมีดใหเปนอยางที่ เขาอยากไดดวยฝมือของเขาเอง” “หรือในเรื่องของสบู คือตอนนี้สินคาโอท็อปของเราทําสบูขาย กันเยอะ แตวา เราตองหาจุดใหไดวา ทําอยางไรใหเขาอยากซือ้ สบูข อง เรา วิธกี ารของเราก็คอื วา เราสอนวิธที าํ สบูใ หเขาดูวา จากวัตถุดบิ จน กลายเปนสบูท าํ อยางไร แตสบูข องเราจะมีขอ ความ หรือวามีขอ ความ ใสแทนชื่อยี่หอของสบูเดิม เชน รักเธอคนเดียว รักคุณเทาฟา ดวยรัก และคิดถึง สบูกอนนี้จะมีมูลคาทันทีเลย ผมเชื่อวาเขาอยากจะซื้อ เอาไปฝากคนอืน่ คนทีไ่ ดรบั ก็จะเซอรไพรส เปนวิธกี ารตอยอดสินคา หรือภูมิปญญาที่เราผลิตใหเปนที่ประทับใจ หรือเปนที่นาสนใจแก คนที่มาเที่ยวได” “หรืออยางบางอําเภอเขามีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เชน หลวงปู ทวดองคใหญที่สุดในโลกเขาก็เอาหลวงปูทวดจําลองมาตั้งไว แลวทําอยางไรถึงจะเชื่อมโยงภูมิปญญาเขากับหลวงพอทวด กับความเชื่อของคน เขาก็ทําเปนลูกประคํายิงเลเซอรเปนตัว อักษร ลูกหนึ่งตอหนึ่งคําเปนคาถาบูชาหลวงพอทวด นะโม โพธิสัตโต อาคันตายะ อิติภควา ทําเปนเซ็ทให วานี่คือคาถา บูชาหลวงพอทวดนะ และก็มีที่รอย มีตะขอ มีจี้ให เขาก็มา รอยเอง รอยไปก็ทองคาถาบูชาหลวงพอทวดไป ตอหนาองค จําลองหลวงพอทวด หรือถาเขาไมรอยเอง จะซื้อไปฝากคน อื่นมันก็มีความหมาย หรือหลวงพอปาน ที่อําเภอเสนา เรามี ผายันตหลวงพอปาน เราก็จะทําเปนที่สกรีนคาถาใหเขาสกรีน เอง เขาก็จะเห็นคาถาหลวงพอเขาก็จะจําได เหลานีค้ อื สิง่ ทีเ่ รา อยากใหเขามาเที่ยวอยุธยา เมืองจําลองเที่ยวแควันเดียวทั่ว อยุธยา แลวไดทั้งความรู ไดมีสวนรวม ไดของที่ระลึกกลับไป ซึ่งที่นี่จะเปนศูนยการเรียนรู ศูนยการทองเที่ยว และศูนยการ พักผอนของคนอยุธยาดวย”

แวะช็อปจุใจ ที่ศูนยโอท็อปผาขาวมาโลก เมือ่ สนุกสนานกับการเทีย่ วแบบไดสาระความรูแ ละของทีร่ ะลึก ทั้ง 16 อําเภอแลว กอนกลับอยาพลาดช็อปสินคา OTOP ของที่ ระลึก เครื่องเงิน สินคาจักสาน มีดอรัญญิก โรตีสายไหม ผลไมกวน ราคายอมเยาใหเลือกช็อปจุใจ โดยเฉพาะผลิตภัณฑจากผาขาวมา ของศูนยโอท็อปผาขาวมานานาชาติ “เรารณรงคในเรื่องของผาขาวมามา 4 ถึง 5 ป ตอนนี้ ติดตลาดแลว” ทานผูวาฯ กลาวอยางภาคภูมิใจ “ผมเชื่อวาใน ประเทศไทยจะมีแหลงผลิตผาขาวมาหลายสิบจังหวัด แตทุก คนจะติดปากวาผาขาวมาอยุธยา เราก็พยายามสนับสนุนคน ทีผ่ ลิตในจังหวัดเราและตางจังหวัดดวย โดยเรารับเปนตัวแทน จําหนายผาขาวมาจากทุกจังหวัด รวมทั้งตางประเทศดวย ฉะนั้นถาใครจะมาซื้อผาขาวมาของทุกจังหวัดในประเทศไทย มาที่ศูนยทุงหันตราศูนยเดียวซื้อไดหมดทุกราย จะเอาแบบ อีสาน ภาคเหนือ ภาคใต ภาคกลาง หรือจะเอาแบบประเทศ ลาว พมา เวียดนาม อินโดนีเซีย เรามีใหเลือกหมด ฉะนั้น จุดเดนศูนยผาขาวมาอยุธยาคือ เปนศูนยจําหนายผาขาวมา นานาชาติ”

และทั้งหมดนี้คือเรื่องราวที่นาสนใจของกิจกรรม “วันเดียว เทีย่ วทัว่ อยุธยา” ณ อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดีฯ (ทุง หันตรา) ที่เที่ยวใหมใกลๆ กรุงเทพฯ ที่เราไมอยากใหคุณพลาดคะ สนใจ สอบถามเพิม่ เติมไดที่ สํานักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชัน้ 2 ศาลา กลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดตอ : นายสมเกียรติ มวงงาม มือถือ : 089-9009533 โทร./โทรสาร 035-336554 ตอ 22 Ayutthaya

105


เสนทางทองเที่ยว

รําลึก

นายขนมตม…

วีรบุรุษนักสูแหงอโยธยา “คนไทยนี้มีพิษสงรอบตัว แมมือเปลายังเอาชนะคนไดถึง เกาคนสิบคน นีห่ ากวามีเจานายดี มีความสามัคคีกนั ไมขดั ขากันเอง และไมเห็นแกความสุขสวนตัวและโคตรตระกูลแลว ไฉนเลย กรุงศรีอยุธยาจะเสียทีแกขาศึก” คือขอความซึ่งพระเจามังระ แหงกรุงอังวะ ตรัสแกขุนนาง พมา ในคราวที่ “นายขนมตม” ขึ้นชกตอหนาพระที่นั่งและ สามารถเอาชนะนักมวยพมาไดอยางราบคาบถึงสิบคน และ ในภาวะที่บานเมืองของเราขณะนี้ ตองการคนฝมือดี ที่เปยมดวย คุณธรรมและความเสียสละ ประกอบกับความสมัครสมานสามัคคีใน หมูป ระชาชนคนไทย เพือ่ นําพาประเทศกาวพนวิกฤติ เราจึงอยากจะเชิญ ชวนทานผูอาน ไดรวมกันรําลึกถึงวีรกรรมของ “นายขนมตม” วีรบุรุษ ผูเปยมดวยความจงรักภักดีตอชาติ ศาสน กษัตริย และสรางชื่อเสียง เกียรติประวัติใหเปนที่ประจักษ เพื่อใหเกิดกําลังใจตอสูกับวิกฤตครั้งนี้ ใหได อยาใหใครประเทศไหนตองมาดูหมิ่นคนไทยดังเชนที่ พระเจามังระเคยตรัสไว จากเด็กกําพรา สูวีรบุรุษนักสูแหงอโยธยา นายขนมตม เกิดวันอังคาร เดือนยี่ ปมะเมีย พ.ศ. 2293 ในสมัยพระเจาอยูหัวทายสระ ที่บาน กุม (ปจจุบันคือ ตําบลบานกุม อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) บิดาชื่อนายเกิด มารดาชื่อนางอี่ มีพี่นอง 2 คนคือ นางเอื้อย และนายขนมตม นายขนมตมตองไปอยูว ดั ตั้งแตอายุราว 10 ป เพราะพอแมและพี่ สาวถูกทหารพมาฆาตายหมด เมื่อเริ่มเขา วัยหนุม นายขนมตมไดฝกฝนวิชาแมไม มวยไทย จนถึงสมัยพระเจาเอกทัศน กรุง ศรีอยุธยาถูกพมาตีแตกเปนครั้งที่สอง นาย ขนมตมและชาวอโยธยาบางสวนจึงถูกกวาดตอนไปเปนเชลยศึกที่ เมืองพมา 106


ในพงศาวดารกลาววา เมื่อพระเจามังระโปรดใหปฏิสังขรณและกอ เสริมพระเจดียช เวดากองในเมืองยางกุง เปนการใหญนนั้ ครัน้ งานสําเร็จลง ในป พ.ศ. 2317 พอถึงวันฤกษงามยามดี คือวันที่ 17 มีนาคม จึงโปรดให ทําพิธียกฉัตรใหญขึ้นไวบนยอดเปนปฐมฤกษ แลวไดทรงเปดงานมหกรรม ฉลองอยางมโหฬาร ขุนนางพมากราบทูลวา “นักมวยไทยมีฝมือดียิ่งนัก” พระเจามังระ จึงตรัสสั่งใหเอาตัวนายขนมตม นักมวยดีมีฝมือตั้งแตครั้งกรุงเกามาถวาย พระเจามังระไดใหจัดมวยพมาเขามาเปรียบกับนายขนมตม โดยจัดใหชก ตอหนาพระที่นั่ง ปรากฏวานายขนมตมชกพมาไมทันถึงยก นักมวยพมา ก็แพถึงเกาคนสิบคนก็สูไมได พระเจามังระทอดพระเนตรแลวถึงกับทรง ยกพระหัตถตบพระอุระ ตรัสสรรเสริญนายขนมตมวา “คนไทยนี้มีพิษสง รอบตัว แมมือเปลายังเอาชนะคนไดถึงเกาคนสิบคน นี่หากวามี เจานายดี มีความสามัคคีกัน ไมขัดขากันเอง และไมเห็นแกความ สุขสวนตัว และโคตรตระกูลแลว ไฉนเลย กรุงศรีอยุธยาจะเสียทีแก ขาศึก” (ขอมูล : ศูนยขอมูลกลางทางวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม) Ayutthaya 107


จากศาลพอปู สูอ นุสาวรีย “นายขนมตม” ชาวตําบลบานกุม ตางรําลึกถึงความ สามารถและเกียรติประวัติของนายขนมตม ซึ่งไดรับการยกยองใหเปนบรรพบุรุษผูเกง กลาแหงบางบาล โดยลูกหลานชาวบาน กุมตางพาเรียกทานวา “พ อ ปู  ข นมต ม ” และสรางศาลพอปูขนมตมไวที่บริเวณวัด จุ ฬ ามณี ตํ า บลบ า นกุ  ม อํ า เภอบางบาล เพือ่ สักการะขอพรใหสมหวังและเกิดกําลังใจ ในการดําเนินชีวิต ตอมาในป 2555 มีการกอตั้ง “ชมรม คนบานกุมบางบาลลูกหลานนายขนม ตม” ขึ้น เพื่อจัดสรางอนุสาวรียนายขนมตม โดยจัดสรางเปนรูปหลอโลหะขนาด 2 เทา ตั้งอยูบนฐานเกาเหลี่ยม ฐานทั้งเกาดานจะ เปนประติมากรรมนูนตํา่ ทาแมไมมวยไทยทัง้ 9 ทา ไดแก ทาจระเขฟาดหาง ทาปกษา แหวกรัง ทาชวาซัดหอก ทาหักงวงไอยรา ท า หั ก คอเราวั ณ ท า วิ รุ ณ หกกลั บ ท า ยก เขาพระสุเมรุ ทาปกลูกทอย และทาอิเหนา แทงกฤช นอกจากอนุ ส าวรี ย  น ายขนมต ม ที่ โรงเรียนวัดจุฬามณีแลว ชาวพระนครศรีอยุธยา ยังพรอมใจกันสราง “อนุสาวรีย นายขนมตม” ไวที่บริเวณสนามกีฬากลาง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อเปนอนุสติ เตือนใจและใหลกู หลานไทยยึดถือเปนแบบ อยาง ในความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยสืบไป 108


รําลึกครูมวยไทย “นายขนมตม” จากวี ร กรรมที่ น ายขนมต ม ชกชนะนั ก มวยพม า เมื่ อ วั น ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2317 จึงถือวาวันที่ 17 มีนาคม ของทุกป เปน วันเกียรติประวัติของนักมวยไทย และเปนวันมวยไทย จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา จึงรวมกับ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (สํานักงานพระนครศรีอยุธยา) และหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดจัด งาน “ ไหวครูมวยไทยนายขนมตม” ขึ้นเปนประจําทุกป ณ สนาม กีฬากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยในปนี้จัดขึ้นเปนครั้งที่ 10 ระหวางวันที่ 13-21 มีนาคม 2557 ที่ผานมา ทั้ ง นี้ เ พื่ อ รํ า ลึ ก ถึ ง นายขนมต ม นั ก มวยไทยที่ ส ร า งชื่ อ เสี ย ง เกียรติยศใหกับสยามประเทศ และเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวของ จังหวัดฯ ซึง่ ปนมี้ นี กั มวยชาวตางชาติตอบรับเขารวมกวา 60 ประเทศ รวมเกือบพันคน กิจกรรมภายในงานนี้ประกอบดวย พิธีบวงสรวง อนุสาวรียนายขนมตมที่สนามกีฬากลางฯ พิธีไหวครูและครอบครู มวย จัดอบรมศิลปะการปองกันตัวแบบไทย จัดแขงขันชกมวยไทย และจัดนิทรรศการมวยไทยนายขนมตม สําหรับนักทองเที่ยวผูชื่นชอบศิลปะแมไมมวยไทย สามารถ เดินทางไปสักการะอนุสาวรียนายขนมตม ตนตํารับแหงศิลปะการ ตอสูของไทย ไดที่โรงเรียนวัดจุฬามณี หมูที่ 6 ต.บานกุม อ.บางบาล จ.พระนครศรี อ ยุ ธ ยา อยู  ห  า งจากทุ  ง มะขามหย อ ง ประมาณ 6 กม.ตามเสนทางหลวงหมายเลข 347 ขึ้นทางเหนือแลวเลี้ยวเขา ทางหลวงหมายเลข 309 ไปทางอ.ปาโมก ก็จะถึงทางแยกซายมือ เขาวัดจุฬามณีคะ

Ayutthaya 109


เสนทางพบบุคคลสําคัญ

นางสมทรง พันธเจริญวรกุล นักการเมืองทองถิ่นสตรีดีเดน (ประเภทองคการบริหารสวนจังหวัด) 110


ด้วยความรัก ความผูกพัน และความ อบอุ่นเปนกันเอง... ท�าให้ผู้คนที่รู้จัก ท่าน มักเอ่ยนามของท่านอย่างสนิทสนม ว่า “ซ้อ”

“นางสมทรง พันธเจริญวรกุล” ดํารงตําแหนง นายก องค ก ารบริ ห ารส ว นจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา มา เปนสมัยที่ 3 ทานไดสรางผลงานจนเปนที่ประจักษแก สายตาประชาชนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาอยาง ตอเนื่องและสมํ่าเสมอ จนไดรับการยกยองชื่นชมจาก ผูคนทั่วไปและไดรับรางวัลการรันตีผลงานมากมาย ท า นนายกฯสมทรง มีความเสียสละเพื่อประโยชน สวนรวม อันกอใหเกิดความสุขกับพีน่ อ งประชาชนอยางเสมอ มาและทั่วถึง อีกทั้งการบริหารงบประมาณทางราชการและ เสียสละงบประมาณสวนตัวใหกับสังคมสวนรวมอยางเสมอ ภาค และไดรับประโยชนอยางสูงสุดอยางทั่วถึง ทานไมเคย เลือกที่รัก มักที่ชัง โดยใหความสําคัญกับทุกคน และดูแล เอาใจใสทั้งภายในองคกร และนอกองคกร ประสานความ รวมมือกับองคกรภายนอก ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค ประชาชน ที่มีจิตอาสา มารวมงานกันอยางอบอุน ยึดระบบ การทํางานเปนทีม ยึดหลักความสมัครสมานสามัคคี ความ มีนํ้าใจ จิตใจที่แข็งแกรง และความตั้งใจจริงของทาน จึง เปนกาวใจที่ดีในการประสานความรวมมือจากทุกภาคสวน ดวยหัวใจที่เต็มเปยมไปดวยการเสียสละเพื่อสวนรวม อยางแทจริง และทํามาอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอ เปนระยะ เวลายาวนานเกือบ 10 ป ผลงานของทานจึงเปนที่ประจักษ ชัดและเปนที่ยอมรับของทุกองคกร ทุกหนวยงาน โดยเฉพาะ อยางยิ่ง...ชนะใจประชาชนอยางทวมทน ทานจึงเปนที่รัก และเปนที่พึ่ง ของประชาชนอยางแทจริง ดวยความรัก ความ ผูกพัน และความอบอุนเปนกันเองระหวาง นายก อบจ. หญิง นางสมทรง พันธเจริญวรกุล กับพีน่ อ งประชาชนและ หนวยงานตางๆ ทําใหผูคนที่รูจักทาน มักเอยนามของทาน อยางสนิทสนมวา “ซ อ สมทรง” อีกทั้งทานยังไดรับการ ขนานนามอันบงบอกถึงบุคลิก และลักษณะที่โดดเดนของ ตัวทานอยางหลากหลาย อาทิ “หญิงเหล็ก” “แมพระของชาววังนอย” “นึกอะไรไมออกบอก ซอ สมทรง” “พี่สาวใหญ ผูมีแตให” นายกฯ สมทรง พันธเจริญวรกุล เสียสละประโยชน สวนตน โดยไมหวังสิ่งตอบแทนอื่นๆ ซึ่งแรงบันดาลใจที่ ทําให “หญิงเหล็กนายก อบจ.” ในวัย 66 ป กับ 6 เดือน Ayutthaya 111


ทานนี้ มีกําลังใจและมีพลังที่จะปฏิบัติภารกิจอยางไม เห็นแกเหน็ดเหนื่อยก็คือ “รอยยิ้มและความสุขของ ประชาชน” เกียรติประวัตอิ นั เกิดจากความตัง้ ใจในการทําคุณ งามความดีของทาน การันตีไดจากรางวัลตางๆ ทีไ่ ดรบั มากมาย อาทิ รางวัลแมดเี ดนในระดับจังหวัดและระดับชาติ รางวัลสตรีไทยดีเดน รางวัลนักการเมืองทองถิ่น ประเภทองคการ บริหารสวนจังหวัด รางวัลครอบครัวรมเย็น รางวัลผูใหการสนับสนุนศาสนาอิสลาม ฯลฯ ทานนายกฯ สมทรง พันธเจริญวรกุล กลาว เปดใจวา “ทุ ก รางวั ล ที่ ไ ด รั บ ล ว นเป น ความภาคภู มิ ใ จ สําหรับดิฉันทั้งสิ้น ที่ทุกองคกร ทุกหนวยงานเห็นถึง ความตั้งใจจริงของดิฉัน และมีอีกรางวัลที่ดิฉันรูสึกวา เปนรางวัลชีวิต ที่ดิฉันจะไมมีวันลืม จะเปนพลังแรง ใจใหดิฉันทํางานเพื่อประชาชนตอไป อยางไมหยุดยั้ง ก็คือ...รางวัลที่ประชาชนรวมตัวกันเองจัดงานแสดง ความยินดีทดี่ ฉิ นั ไดรบั รางวัลตางๆ จากภาครัฐมอบให และในงานวันนัน้ ไฮไลตของงานทีด่ ฉิ นั ไมทราบมากอน เลย คือประชาชนไดมอบรางวัลใหดฉิ นั เปนสายสะพาย แตไมมีมงกุฎนะคะ และขอความบนสายสะพายนั้นมี ขอความทีอ่ า นแลวทําใหดฉิ นั รับรูไ ดทนั ทีวา ประชาชน รักดิฉันไมนอยไปกวาที่ดิฉันรักประชาชนเลย” “ดิ ฉั น จึ ง หายเหนื่ อ ยและมี พ ลั ง ขึ้ น อย า งน า อัศจรรย และความคิดของดิฉันในเวลานั้น ก็คือ...ไม วาสุขหรือทุกขประการใด ดิฉนั จะอยูเ คียงขางกับพีน่ อ ง ประชาชนชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยาตลอดไป ดิฉนั ไมมวี นั ทอดทิง้ ประชาชน เพราะรางวัลทีป่ ระชาชนมอบ ใหดิฉันคือคําวา ‘นายกของประชาชน’ ” “ตลอดระยะเวลาเกื อ บ 3 สมั ย ที่ ป ระชาชน มอบความไววางใจใหดิฉันมาดํารงตําแหนงอันทรง เกียรตินี้ ดิฉันไดใชความความรูความสามารถ และ ประสบการณที่ดิฉันมีใหกับประชาชน ทํางานตาม นโยบายที่ไดใหไวกับประชาชน 8 ดาน ซึ่งนโยบายใน แตละดาน ดิฉันจะใหความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวา 112


ข้อความบนสายสะพายนั้นมีข้อความ ที่อ่านแล้ว ท�าให้ดิฉันรับรู้ได้ทันทีว่า ประชาชนรักดิฉัน ไม่น้อยไปกว่าที่ดิฉัน รักประชาชนเลย นายกของประชาชน

Ayutthaya 113


ดิฉันไม่มีวันทอดทิ้งประชาชน เพราะรางวัล ที่ประชาชนมอบให้ดิฉันคือค�าว่า ‘นายกของประชาชน’ 114

กัน โดยจะเนนในเรือ่ งทีจ่ ะทําใหพนี่ อ งประชาชนมีความสุข มีสขุ ภาพ มีความเปนอยูท ดี่ ี สงเสริมทุกสาขาอาชีพในเรือ่ ง เศรษฐกิจ และสงเสริมสนับสนุนดานการศึกษา ใหเด็ก และเยาวชนไดพฒ ั นาอยางเต็มศักยภาพ เด็ก สตรี คนชรา ผูดอยโอกาส คือกลุมที่ดิฉันจะไมละเลย ปรับปรุงสนาม กีฬาเพื่อสงเสริมการออกกําลังกายของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย”


จากความมุ่งมั่นของดิฉันในเรื่องของ สิ่งแวดล้อม ท�าให้ดิฉันได้รับเกียรติ รับ ‘บัตรประจ�าตัวอาสาสมัครพิทักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ทสม)’

“ในด า นสิ่ ง แวดล อ ม ดิ ฉั น ให ค วามสํ า คั ญ เป น อย า งยิ่ ง สนั บ สนุ น ทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชน โดยเฉพาะเยาวชนให มี จิตสํานึก และเห็นความสําคัญของสิ่งแวดลอม อนุรักษแมนํ้า คู ค ลอง ดิ ฉั น รณรงค เ ชิ ง รุ ก ในการสร า งจิ ต สํ า นึ ก ในทุ ก พื้ น ที่ โดยมีเ ครือขายอาสาสมัครพิทักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล อ มประจํ า หมู  บ  า น (ทสม) ซึ่ ง เป น กลไกสํ า คั ญ ในการ ขับเคลื่อน และจากความมุงมั่นของดิฉันในเรื่องของสิ่งแวดลอม ทําใหดิฉันไดรับเกียรติ รับ ‘บัตรประจําตัวอาสาสมัครพิทักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม (ทสม)’ จาก กรม สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ในป พ.ศ.2555 และไดรับมอบ เสื้อเครือขาย ทสม. จาก ผศ.ดร.กิติชัย รัตนะ อาจารยประจํา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งเปนอีกหนึ่งสิ่ง ที่ดิฉันภูมิใจมากคะ” Ayutthaya 115




เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตําบล (อ.พระนครศรีอยุธยา)

องคการบริหารสวนตําบลบานปอม นโยบายการบริหารงานองค์การบริหาร ส่วนตําบล 1. ด้านโครงการสร้างพื้นฐาน 1) การก่อสร้าง ท�านุบา� รุงรักษา ปรับปรุง ซ่อมแซมถนน สะพาน ทางระบายน�้า 2 ) การพัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ การเกษตร เช่น ขุดลอก คู คลอง และแหล่งกักเก็บน�้า 3) การพั ฒ นาแหล่ ง น�้ า เพื่ อ อุ ป โภค บริโภค การขยายเขตการประปา ส่งเสริม ข้อมูลทั่วไป องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตํ า บลบ้ า นป้ อ ม ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 3 ต� า บลบ้ า นป้ อ ม อ� า เภอ การประปาหมู่บ้านและประปาผิวดิน 4) การพัฒนา ปรับปรุงขยายบริการ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพนื้ ทีค่ วามรับผิดชอบจ�านวน 11 หมูบ่ า้ น เนือ้ ที่ โดยรวมประมาณ 15.15 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 9,466 ไร่ จ�านวนประชากรรวมทัง้ สิน้ ไฟฟ้าสาธารณะ ระบบแสงสว่าง 2. ด้ า นสั ง คม การศึ ก ษา ศาสนา 6,881 คน เป็นชาย 3,285 คน เป็นหญิง 3,596 คน จ�านวนครัวเรือนรวมทัง้ สิน้ 2,202 ครัวเรือน ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปญญา 1) สนั บ สนุ น การป้ อ งกั น และแก้ ไ ข ปัญหายาเสพติด 2) การสร้างความอบอุ่นในครอบครัว ส่งเสริมบทบาทของสถาบันครอบครัว 3) การส่งเสริมการแข่งขันกีฬาทุกระดับ การออกก�าลังกายและนันทนาการ 4) สนับสนุนการศึกษาทัง้ ในระบบ และ นอกระบบทุกระดับตามแนวทางการปฏิรูป การศึกษาให้สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น “สภาพแวดล้อมน่าอยู่ สาธารณูปโภคพร้อมพลัน การศึกษาสร้างสรรค์ความรู้ สู่คุณภาพชีวิต พัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืน” คือวิสยั ทัศน์ (vison) ขององค์การบริหารส่วนตําบลบ้านป้อม ปัจจุบนั มี นายอภิชาติ สุขสมบูรณ์ ซึ่งเป็น “คนรุ่นใหม่ ไฟแรง” ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบล บ้านป้อม ผูท้ มุ่ เทให้กบั งานบริหารจัดการจน อบต.บ้านป้อมได้รบั การคัดเลือกเป็น “องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี” ประจ�าป 2555 จาก คณะกรรมการการ กระจายอํานาจ สํานักปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี

118


5) สนับสนุนให้โอกาสประชาชนทุกวัย เข้าถึงการสื่อสารไร้พรมแดน รวมทั้งการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6) สนับสนุนให้ประชาชนทุกระดับ ได้ มีโอกาสเข้าถึงแหล่งเรียนรู้อย่างเสมอภาค และเป็นธรรม 7) ส่งเสริมกิจกรรมทางศาสนาทั้ง 3 ศาสนา ท�านุบ�ารุง รักษา และบูรณะโบราณ สถาน โบราณวัตถุ ศาสนาสถาน 8) ส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสาน วัฒนธรรมแหล่งมรดกโลก ประเพณีทสี่ า� คัญ และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.ด้านการสาธารณสุข การสังคม สงเคราะห์ 1) ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมของ ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานต�าบล/หมู่บ้านและ 2) ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกัน แก้ไข โรคระบาดและโรคภัยต่าง ๆ 3) ส่งเสริมสนับสนุนการช่วยเหลือ และ สงเคราะห์แก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมผู้สูง อายุ และผู้พิการ 4) สนับสนุนสวัสดิภาพ ส่งเสริมความ เข้มแข็งทางด้านความรู้ ความช�านาญการ ในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกลุม่ อาสาสมัคร เช่น อปพร. อสม. เป็นต้น 4. ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว 1) การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งใน ชุมชนให้พงึ่ ตนเองตามแนวทางพระราชด�าริ เพิ่มรายได้ของประชาชน กลุ่มออมทรัพย์ ต่าง ๆ ให้เกิดทุนหมุนเวียนในการประกอบ อาชีพ 2) ส่งเสริมและสร้างอาชีพเสริมให้กับ ประชาชน เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัว 3) การพัฒนาโบราณสถาน และโบราณ วัตถุให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4) จัดตั้งจุดประชาสัมพันธ์การท่อง เที่ยวประจ�าต�าบล 5. ด้านสิ่งแวดล้อม 1) ส่งเสริมการสร้างจิตส�านึกในการ รักษาความสะอาดของบ้านเมือง การก�าจัด ขยะอย่างถูกวิธี

2) พัฒนาสภาพแวดล้อม และปรับปรุง สภาพภูมิทัศน์ให้สวยงาม 3) ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มตามแนวพระ ราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราชเสาวนี ย ์ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรมราชินีนาถ 6. ด้ า นการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย 1) ฝึกอบรมและทบทวนอาสาสมัคร ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(อปพร.) 2) จัดโครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยเบื้องต้น 3) จัดหาแนวทางในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยอย่างยั่งยืน 7. ด้านการบริหารและการเมือง 1) บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม

หลักการมีส่วนร่วม หลักความถูกต้อง หลัก ความโปร่งใสและตรวจสอบได้ หลักความ คุ้มค่า 2) พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบการ บริหารขององค์การบริหารส่วนต�าบลให้มี ความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ 5 ด้าน คือ ด้านบุคลากร ด้านการพัฒนารายได้ ด้าน ยานพาหนะ ครุภณ ั ฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ ด้านการ บริหารจัดการ 3) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการบริหารงานองค์การบริหาร ส่วนต�าบล 4) สนับสนุนการเลือกตัง้ ทุกระดับให้มี ความบริสุทธิ์ ยุติธรรม 5) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้ง ฝ่ายการเมืองและฝ่ายประจ�าในด้านองค์ ความรู้และการบริการประชาชน

119


6 เดื อ น 6 ผลงานเพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ชาวบ้านป้อม 1. การแก้ ไ ขปั ญ หาน�้ า ท่ ว ม นาย อภิชาติ สุขสมบูรณ์ นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลบ้านป้อม ได้ทุ่มเททั้งแรงกาย แรงใจ ในการช่วยเหลือพี่น้องชาวบ้านป้อม อย่ า งสุ ด ความสามารถ รวมทั้ ง ติ ด ต่ อ ประสานงานขอรับการช่วยเหลือจากหน่วย งานต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชน ท� า ให้ พี่น้องชาวบ้านป้อมได้คลายความทุกข์โศก จากปัญหาน�้าท่วม และรู้สึกว่าเกิดความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2. การปรับปรุงภูมทิ ศั น์ทงั้ 11 หมูบ่ า้ น เพื่ อ รองรั บ การท่ อ งเที่ ย วที่ ก� า ลั ง ขยายตั ว โดยเริ่ ม จากการตั ด แต่ ง ต้ น ไม้ ถางหญ้ า ท�าความสะอาดถนนเส้นทางท่องเที่ยวและ ถนนสายรองภายในหมู่บ้าน 3. การแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม รณรงค์ ให้ประชาชนคัดแยกขยะ นอกจากจะท�าให้ ประชาชนชนมีอาชีพ มีรายได้แล้ว ยังท�าให้ ลดภาวะโลกร้อนอีกด้วย 4. จัดกิจกรรมดีๆ ให้กับกลุ่มเด็กและ เยาวชนในช่วงปดเทอมภาคฤดูร้อน ดังนี้ กิจกรรม “เตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคม อาเซียนภาษาอังกฤษปดเทอม” กิจกรรม อบรม “มัคคุเทศก์น้อย” กิจกรรม ส่งเสริม คุ ณ ธรรม และจริ ย ธรรมให้ กั บ เด็ ก และ เยาวชน 5. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันและ บรรเทาภัยฝ่ายพลเรือน(อพปร.) 6. ฝึ ก อบรมการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบ ภัยเบื้องต้นซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมหนีไฟ ประจ�าป 2557 แหล่งท่องเที่ยวสําคัญ ในเขต อบต.บ้านป้อม 1. วัดกษัตราธิราชวรวิหาร เป็นวัด โบราณสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีพระ ปรางค์เป็นประธานของวัด ในสมัยรัชกาล ที่ 1 เจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ กรม พระราชวัง และกรมขุนอิศรานุรักษ์ (เกศ) ทรงปฏิสงั ขรณ์ขนึ้ ใหม่ทงั้ พระอาราม ในสมัย 120

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดกษัตราธิราช” สถานที่สําคัญภายในวัด คือ พระ ประธานในพระอุโบสถที่มีแท่นฐานผ้าทิพย์ ปูนปัน ฝมอื ประณีตงดงาม ใบเสมาของพระ อุโบสถเป็นใบเสมาคูแ่ กะสลักลวดลายวิจติ ร บรรจง และมีพระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่เคารพ นับถือ คือ หลวงปู่เทียม

2. วัดไชยวัฒนาราม เป็นพระอาราม หลวงเก่ า ในสมั ย อยุ ธ ยาตอนกลาง ที่ มี ความสวยงามเป็นอันดับต้นๆ ของอุทยาน ประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้น ในรั ชสมั ย พระเจ้ า ปราสาททอง เมื่อ ป พ.ศ. 2173 เพื่ออุทิศถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระราชมารดา ความสําคัญของวัดไชยวัฒนาราม ที่มีมาในอดีต ได้แก่ เป็นที่บ�าเพ็ญพระ ราชกุศลของพระมหากษัตริย์ เป็นที่ถวาย พระเพลิ ง พระศพพระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละ พระบรมวงศานุ ว งศ์ เป็ น ที่ พ� า นั ก ของ พระราชาคณะฝ่ายอรัญวาสี เป็นที่บรรจุ พระอั ฐิ ก รมพระราชวั ง บวรสถานมงคล เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ (เจ้าฟ้ากุ้ง) และเจ้าฟ้า สังวาล 3. วัดท่าการ้อง เป็นวัดโบราณที่มีมา แต่สมัยอยุธยาตอนกลาง โดยการรวมวัด 2


วัดเข้าด้วยกัน คือ วัดท่าและวัดการ้อง สร้าง ขึ้นราว พ.ศ. 2092 ประวัติศาสตร์กล่าวว่า สร้างในสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราชสมัย อยุธยาตอนต้น อีกทัง้ ก่อนอยุธยาจะเสียกรุง บริเวณแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งค่ายของแม่ทัพ ใหญ่ แห่งพม่า คือ เนเมียวสีหบดี ปัจจุบัน ยังคงเหลือสถาปัตยกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา หลายแห่ ง ได้ แ ก่ ศาลาการเปรี ย ญไม้ สั ก ริ ม แม่ นํ้ า เจ้ า พระยา พระอุ โ บสถ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรั ต นมงคลหรื อ หลวงพ่อยิม้ เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 วัดท่า การ้องได้ถูกดัดแปลงเป็นโรงเรียนนายร้อย ฝ่ายช่างเทคนิค โดยได้ใช้ศาลาการเปรียญ เป็นห้องเรียน

ปัจจุบันวัดท่าการ้องได้รับการพัฒนา โดยพระครู สุ ท ธิ ป  ญ ญาโสภณ (เจ้ า อาวาส) จนมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม ห้องน�้า สะอาด ตลาดน�้ากรุงเก่งที่สร้างงานสร้าง อาชีพให้แก่คนในชุมชน ตลอดจนเป็นแหล่ง เรียนรู้แก่คนทุกวัย 4. วั ด ธรรมมาราม เป็นวัดโบราณ สร้างแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในอดีตเมื่อพม่า ยกทัพมาล้อมกรุงศรีอยุธยาคราใด ก็จะมา ตั้งค่ายที่วัดนี้ทุกครั้ง เพื่อควบคุมเส้นทาง

คมนาคมทางน�้า เพราะเหนือวัดนี้ไปเพียง เล็กน้อยคือที่หัวแหลม เป็นปากน�้าลพบุรี ไหลมาบรรจบกั บ แม่ น�้ า เจ้ า พระยา อั น เป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญแห่งหนึ่ง และ ป้ อ งกั น การเคลื่ อ นย้ า ยก� า ลั ง ของไทยมา จากภายนอกเสริ มก� าลัง ในเมือ งหลวงได้ เป็นอย่างดี เพราะด้านหลังวัดธรรมาราม เป็นทุ่งกว้าง มีชื่อว่า “ทุ่งประเชต” อันเป็น หนึ่ ง ในสามของทุ ่ ง ที่ มี ก ารสั ป ระยุ ท ธกั น อย่างโชกโชนระหว่างไทยกับพม่า ทุง่ ทัง้ สาม มีนามดังนี้ คือ ทุง่ พุดเลา ทุง่ ชายเคือง และ ทุ่งประเชต 5. พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พ ระอุ บ าลี มหาเถระ มี พิ ธี เ ป ด เมื่ อ วั น ที่ 26 ธั น วาคม 2556 ณ วั ด ธรรมาราม เพื่อเฉลิมฉลอง 260 ป (พ.ศ. 2556) แห่ ง การสถาปนาพระพุ ท ธศาสนา สยามนิ กาย ในประเทศสาธารณรัฐ สั ง คมนิ ย มประชาธิ ป ไตยศรี ลั ง กา น้ อ มระลึ ก ถึ ง พระอุ บ าลี ม หาเถระ พระอริ ย สงฆ์ ที่ ท� า คุ ณ ประโยชน์ ต ่ อ พระพุทธศาสนา สมควรยกย่องให้เป็น บุคคลส�าคัญของโลกแห่งปอีกด้วย จากใจ..นายอภิ ช าติ สุ ข สมบู ร ณ์ (นายกนวล) ถึงพี่น้องชาวบ้านป้อม “ผมพรอมที่จะพาชุมชนของ เรา พัฒนาสูความเปนเลิศ ทั้งทาง ดานคุณภาพชีวิตที่ดี ไฟฟา ถนน นํ้าประปา ปรับปรุงภูมิทัศนชุมชนให นาอยู มีความรูเทาเทียมกัน มีสุขภาวะ ที่ ดี สนั บ สนุ น และพั ฒ นาภู มิ ป  ญ ญา ทองถิ่นของชุมชนบานปอม ใหพี่นอง ประชาชนมีรายไดเพิม่ มากขึน้ สนับสนุน ใหเยาวชนหางไกลยาเสพติด ดูแลผูสูง วัย ผูดอยโอกาส ใหมีความเปนอยูอยาง ปกติสุขในสังคม พรอมพัฒนาทุกๆ ดาน อยางยั่งยืนครับ”

ติดต่อนายกองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านป้อม

โทร 08-9901-6654 ID CODL : panpom 1

Ayutthaya 121


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.ทาเรือ)

เทศบาลตําบลทาหลวง

“เทศบาลตําบลทาหลวง จะเปนเมืองนาอยู ชุมชนเขมแข็ง แหลง ทองเที่ยวยั่งยืน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ข องเทศบาลตํ า บลท า หลวง ซึ่ ง มี สํ า นั ก งานตั้ ง อยู  เ ลข ที่ 104 ถนนสายทาเรือ-ทาลาน หมูที่ 7 ตําบลจําปา อําเภอทาเรือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ปจจุบนั เทศบาลตําบลทาหลวง มี นายเชษฐา ปทุมรังสี เปน นายกเทศมนตรี ซึ่งไดเขารับประทานโลประกาศเกียรติคุณ “องคกร ตนแบบ” ดานการพัฒนาระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร (กรมอนานัยที่ 1) โดย พระเจาวรวงคเธอ พระองคเจาศรีรัศม พระวรชายา ในสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช วันที่ 16 สิงหาคม 2555 ณ ศูนยประชุมอิมแพ็ค เมืองทอง ธานี อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สถานที่สําคัญของ ทต.ทาหลวง วัดสะตือ (พุทธไสยาสน) วัดสะตือ ตัง้ อยูเ ลขที่ 140 บานทางาม หมูท ี่ 6 ตําบลทาหลวง อําเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ศาลาดินหรือวิหารสมเด็จ หลังเดิมเปนอาคารไมโปรงมุงดวยสังกะสี ลักษณะการกอสรางใชสลักเดือยแทนตะปู สมเด็จพุฒาจารยโต ไดมาพักอาศัย เมื่อคราว มาคุมการกอสรางองคพระพุทธไสยาสน ตอมาไดมีการปรับปรุงและ กอสรางวิหารคูเปนอาคารชุดเชื่อมตอกับศาลาดิน ศาลานํ้าหรือศาลาริมแมนํ้า ปาสัก เจดียยอมุมไมสิบสอง ตั้งอยูบริเวณเศียรองคพระพุทธไสยาสน วัดสะตือ สรางขึน้ เปนวัดนับแต พ.ศ. 2400 เดิมตัง้ อยูท างทิศเหนือขึน้ ไปไม ไกลนัก ทีเ่ รียกวา วัดสะตือ เพราะมีตน สะตือใหญเปนนิมติ ตอเมือ่ สมเด็จพระพุฒ าจารย (โต) พรหมรังสี ไดมาดําเนินการสรางพระพุทธไสยาสนแลว วัดสะตือจึง ไดยา ยมาตัง้ ทีบ่ ริเวณพระนอนนีแ้ ละ เรียกนามตามชือ่ ตําบลวา “วัดทางาม” กาล ตอมา สมเด็จพระพุทธเจาหลวง รัชกาลที่ 5 ไดเสด็จไปทรงนมัสการพระพุทธบาท ไดเสด็จขึ้นที่ทาตําบลนี้ 2 ครั้ง แตนั้นมาจึงเรียกตําบลวา “ตําบลทาหลวง” และ เรียกนามวัดวา “วัดทาหลวง” แตตอ มากลับไปเรียกวา “วัดสะตือ” ตามนามเดิม 122

อีก ซึ่งยุติตองกันกับการเสด็จประพาสตนครั้งที่ 2 ตามจดหมายเหตุรชั กาลที่ 5 ระบุไวตอนหนึง่ วา “วัน ที่ 31 กรกฎาคม ร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) ไดกินขาวกลางวัน ทีว่ ดั ทางาม ทรงทําครัวและเสวยทีต่ รงบริเวณใตเศียรพระ นอนใหญ และทีเ่ รียกกันวา ทาหลวง นัน้ เกิดขึน้ ใหม เพราะ พระจุลจอมเกลาฯ เสด็จมานมัสการรอยพระพุทธบาท 2 ครั้ง ขึ้นที่ทางามทั้ง 2 ครั้ง ตามพระราชนิพนธ รัชกาลที่ 5 ในจดหมายเหตุเรื่องเสด็จประพาสตน ครั้งที่ 2 วัดทางาม ดังกลาวนั้นหมายถึง “วัดสะตือ” ในปจจุบัน และ ที่วัดนี้


มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้ง อยู  ใ นบริ เ วณที่ดินของวัด วัด สะตือ ไดรับ พระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2498 เขตวิสุงคามสีมา กวาง 10 เมตร ยาว 24 เมตร การกอสรางพระพุทธไสยาสน ในป พุทธศักราช 2413 กอนที่เจาประคุณสมเด็จ พุฒาจารยโต จะมรณภาพ 3 ป สมเด็จฯโต มรณภาพเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2415 (ที่ กรุงเทพฯ) ไดมาทําการกอสรางพระพุทธรูป กออิฐถือปูนปางพุทธไสยาสน ณ หมูบาน ที่ ถื อ กํ า เนิ ด ที่ วั ด ท า งาม ป จ จุ บั น คื อ วั ด สะตือ ตําบลทาหลวง อําเภอทาเรือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งพระนอนใหญมีขนาด ยาว 1 เสน 6 วา สูง (ตั้งแตพื้นถึงรัศมี) 8 วา ฐาน ยาว 1 เสน 10 วา กวาง 4 วา 2 ศอก หรือ ยาว 52 เมตร กวาง 9 เมตร สูง 16 เมตร องคพระโปรง เบื้องพระปฤษฎางค ทําเปน ชองกวาง 2 ศอก สูง 1 วา สถานที่กอสราง องคพระประดิษฐานอยูกลางแจง ณ ที่ริม คูวัด ดานตะวันออก ซึ่งอยูริมแมนํ้าปาสัก งานประจําปวัดสะตือ พระพุ ท ธไสยาสน ตั้ ง แต อ ดี ต จนถึ ง ปจจุบัน ไดมีผูมากราบไหว บนบาน เมื่อ ไดรับความสําเร็จก็แกบนดวยขนมจีนทั้ง กระจาด โดยมีค วามเชื่อ วาเปนของชอบ ของพวกทาส เนื่องจากในสมัยที่ทําการชวย สมเด็จ สรางพระนอนมักทําขนมจีนมาเลี้ยง พระพุทธไสยาสน (หลวงพอโต) เปนพระพุทธ

รู ป ที่ มี ข นาดใหญ ม าก มี อ ายุ ก ารสร า งที่ ยาวนานกวารอยป ทางกรมศิลปากร ไดจด ทะเบียนขึ้นเปนโบราณสถาน เมื่อป 2543 ปจจุบันมีประชาชนจากทั่วสารทิศ เดินทาง มานมัสการกราบไหวมีการขอพรและโชค ลาภตาง ๆ ซึ่งมักจะประสบผลตามที่ตั้งใจ ขอไว มีการแกบนดวยการปดทอง การนํา อาหารคาวหวานมาถวาย ซึ่งจะตองนํามา ถวายกอนเวลา 12.00 น. มีการรํากลองยาว ไปรอบ ๆ องคพระพุทธไสยาสนตามจํานวน รอบที่ บนไว เคยมีผูมาบนและประสบผล สําเร็จจึงรําแกบนเปน 1,000 รอบ (1 รอบ องคพระนอน ยาวประมาณ 122 เมตร)

นักเรียนและชุมชน การประกวดทูตสืบสาน ประเพณี ล อยกระทง และมี ก ารแสดงให ชมฟรี วันพอแหงชาติ วันที่ 5 ธันวาคม ของ ทุกป ทต.ทาหลวง ไดรวมงานวันพอแหง ชาติ ณ ที่วาการอําเภอทาเรือ มีกิจกรรมวาง พานพุม ถวายปน โตพระภิกษุสงฆ ในชวงคํา่ ไดมีการจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคล ณ ลานจอดรถวัดสะตือ โครงการจักรยานเพื่อนอง นายกฯ เชษฐา ปทุมรังสี พรอมคณะ ผูบริหาร เปนประธานในพิธีมอบจักรยานให แกนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดถลุงเหล็กฯ จํานวน 50 คัน โดยมอบใหกับเด็กนักเรียน ชั้นป.4-ป.6 ที่มีความประพฤติดี เรียนดี แต ขาดทุนทรัพย

กิจกรรมสําคัญของ ทต.ทาหลวง วันขึ้นปใหม วันที่ 1 มกราคมของทุก ป เทศบาลตําบลทาหลวง จัดกิจกรรมวัน ขึ้นปใหม ทําบุญถวายภัตตราหารเชาแด พระสงฆ เพื่อเปนสิริมงคลแกตนเองและ ครอบครัว วั น ป ย มหาราช วั น ที่ 23 ตุ ล าคม ของทุกป นายเชษฐา ปทุ ม รั ง สี นายก เทศมนตรี ตํ า บลท า หลวง พร อ มด ว ย คณะผูบริหาร ไดนําพวงมาลาดอกไมสัก การะและถวายบังคม บริเวณหนาที่วาการ อํ า เภอท า เรื อ เพื่ อ เป น การรํ า ลึ ก ถึ ง พระ มหากรุณาธิคุณ ประเพณีลอยกระทง ทต.ทาหลวง ไดจัดกิจกรรมประเพณีลอยกระทงขึ้นทุกป โดยมีการประกวดกระทงประดิษฐประเภท Ayutthaya 123


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.ทาเรือ)

องคการบริหารสวนตําบลโพธิ์เอน อาชีพเกษตรกรรม 72% (เกษตรกรมีที่ดิน เปนของตนเอง) เปนขาราชการ พนักงาน โรงงาน อุ ต สาหกรรมรั บ จ า ง 11% และ อาชีพอื่นๆ 17%

“ตํ า บลเข ม แข็ ง ส ง เสริ ม การ ศึกษา สิ่งแวดลอมที่ดี เศรษฐกิจพอ เพียง ดํารงไวซึ่งวัฒนธรรม คุณภาพ มั่นคงอยางยั่งยืน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ก ารพั ฒ นาของ องคการบริหารสวนตําบลโพธิ์เอน ตํ า บลโพเอน อํ า เภอท า เรื อ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง ตั้ ง อยู  ท างทิ ศ ใตหางจากที่วาการอําเภอประมาณ 8 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 10.42 ตร.กม. หรือประมาณ 6,510 ไร โดยมี นายภูวดล สุภาทร เปน นายกองคการ บริหารสวนตําบลโพธิ์เอน ประวัติความเปนมา ในสมั ย โบราณ ตํ า บลโพธิ์ เ อนมี ตนโพธิ์เอนขึ้นอยูริมแมนํ้าปาสัก ตอมา มีศิลาถูกนํ้าพัดลอยตามกระแสนํ้ามา ชาวบานไดชวยกันนําศิลาไปผูกไวกับ ตนโพธิ์ กระแสนํ้าที่แรงทําใหตนโพธิ์ได เอนตามศิลา และในที่สุดก็ไมสามารถ รั้งศิลานั้นไวได ศิลาจึงลอยตามกระแส นํ้าไปอยูที่วัดนครหลวงจนถึงปจจุบันนี้ สวนชาวบานบริเวณตนโพธิเ์ อนจึงพากัน เรียกวา “ หมูบานโพธิ์เอน ” ซึ่งปจจุบันก็ คือตําบลโพธิ์เอน 124

นโยบายการบริหารงาน 1. นโยบายดานโครงสรางพืน้ ฐาน ให ความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน ในงานสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เพื่อ ให ป ระชาชนได รั บ ความสะดวกและ ปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย สิ น โดยมี แนวทางการดําเนินการดังนี้

ขอมูลทั่วไป ตําบลโพธิ์เอน เปนพื้นที่ที่มีความอุดม สมบู ร ณ เนื่ อ งจากมี แ ม นํ้ า ป า สั ก และคลอง ชลประทานไหลผานกลางตําบล ซึ่งในพื้นที่มี คลองชลประทาน 2 สาย ถนนสายหลัก 2 เสน แบงการปกครองเปน 6 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานกระดาษ หมูท ี่ 2 บานโพเอน หมูท ี่ 3 บานบาง มวง หมูที่ 4 บานสามเรือน หมูที่ 5 บานตะเคียน ดวน หมูที่ 6 บานใหมสามเรือน โดยมีประชากร รวมทั้งสิ้น 3,147 คน แยกเปนชาย 1,467 คน เปนหญิง 1,680 คน ประชากรสวนใหญประกอบ


1.1 ดานการคมนาคม กอสราง ซอมแซม และบํ า รุ ง รั ก ษาถนนภายในหมู  บ  า น ให ประชาชนสะดวกและปลอดภัยในการสัญจร 1.2 ดานระบบประปา สราง ปรับปรุง ซอมแซมระบบประปาใหสามารถผลิตนํ้า ใหเพียงพอกับความตองการของประชาชน และพัฒนานํ้าใหมีคุณภาพดีขึ้น 1.3 ดานไฟฟาและแสงสวาง ขยาย เขตไฟฟาใหครบทุกหลังคาเรือน ขยายเขต และซอมแซมไฟสาธารณะ เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ ของประชาชน 2. นโยบายทางด า นการพั ฒ นา คุณภาพชีวติ ใหความสําคัญกับการพัฒนา การคุ ณ ภาพชี วิ ต การศึ ก ษา สวั ส ดิ ก าร ต า งๆ และความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพยสนิ โดยมีแนวทางการดําเนินการดังนี้ 2.1 ด า นคุ ณ ภาพชี วิ ต เสริ ม สร า ง สุ ข ภาพของประชาชน ส ง เสริ ม การกี ฬ า ปองกันและเฝาระวังโรคติดตอ ใหความ รู  เ รื่ อ งสาธารณสุขมูล ฐาน จัด ใหมีส ภาพ แวดลอมที่ดี 2.2 ดานการศึกษา พัฒนาคุณภาพการ ศึกษาของโรงเรียนในเขตอบต. ปรับปรุงศูนย เด็กเล็กใหมสี ภาพแวดลอมทีด่ ี มีการจัดการ เรียนการสอนทีด่ มี คี ณ ุ ภาพ และเพียงพอตอ ความตองการของประชาชน สนับสนุนแหลง การเรียนรูใหกับประชาชนในเขตพื้นที่ 2.3 ด า นสวั ส ดิ ก ารสั ง คม ให ก าร สงเคราะหและพัฒนาคุณภาพชีวติ ผูส งู อายุ, ผูพิการ, ผูดอยโอกาสในสังคม สนับสนุน กิจกรรมของกลุม สตรี กลุม อสม. และองคกร ตางๆที่ทําคุณประโยชนใหกับสังคม 2.4 ดานการปองกันและแกไขปญหา ยาเสพติด สนับสนุนกิจกรรมชุมชน/หมูบาน เขมแข็ง เพื่อใหการปองกันและปราบปราม ยาเสพติดเปนไปอยางตอเนื่อง 2.5 ดานความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสิน สงเสริมกิจกรรมของอาสาสมัคร ปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านดานการชวย เหลือผูประสบภัยตาง ๆ

3. นโยบายทางด า นทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แกไขปญหา ขยะมูลฝอย และสรางจิตสํานึกใหประชาชน ตระหนักถึงปญหาขยะมูลฝอย แกไขปญหา นํา้ ทวมขัง ปรับปรุงแหลงนํา้ บําบัดและฟน ฟู ทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมลง ฯลฯ 4. นโยบายดานเศรษฐกิจ ใหความ สําคัญกับการสงเสริมการประกอบอาชีพทั้ง ในดานเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม โดย สนับสนุนการทําเกษตรกรรมใหเหมาะสมกับ พื้นที่ ถายทอดความรูในการประกอบอาชีพ ตางๆ เพื่อสรางรายไดเพิ่มขึ้น สนับสนุน อุตสาหกรรมในครัวเรือน ฯลฯ 5. นโยบายดานศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี สื บ สานขนบธรรมเนี ย ม ประเพณีไทย วัฒนธรรมและวิถีชีวิตความ เปนใหคงอยูตอไป 6. นโยบายดานการเมืองการบริหาร ยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี โดย เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ในทุกขั้นตอน เพื่อความโปรงใสและตรวจ สอบได นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเขา

มาใชเพื่อใหการบริการประชาชนรวดเร็ว มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จั ด ฝ ก อบรมและพั ฒ นา พนักงานของอบต.และลูกจางอยางตอเนือ่ ง ฯลฯ กิจกรรมสําคัญ จัดงานวันพอแหงชาติ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2556 จัดกิจกรรมวันเด็กแหงชาติ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2557 มอบผาหมตานภัยหนาวแกชาวตําบล โพเอน วันที่ 15 มกราคม พ.ศ.2557 จัดโครงการฝกอบรมปองกันและระงับ อัคคีภัยเบื้องตน วันที่ 30-31 มีนาคม พ.ศ. 2557 Ayutthaya 125


เสนทางพบเทศบาลตําบลอรัญญิก อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

เทศบาลตําบลอรัญญิก “หั ต ถกรรมมี ด ลื อ ลั่ น โบราณ สถานวั ด ใหญ เ ทพนิ มิ ต วิ ถี ชี วิ ต ฝ  ง นํ้าปาสัก เอกลักษณประเพณีไหวครู บูชาเตา” คื อ คํ า ขวั ญ ของเทศบาลตํ า บล อรัญญิกซึ่งมีสํานักงานตั้งอยูเลขที่ 99 หมูที่ 8 ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูหางจาก จังหวัดฯ ประมาณ 30 กิโลเมตร เทศบาล ตําบลอรัญญิก โดยไดรบั การยกฐานะจาก สุขาภิบาลอรัญญิก เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ประกอบดวย 3 ตําบล ไดแก ตําบล ทาชาง (8 ชุมชน) ตําบลพระนอน (4 ชุมชน) และ ตําบลสามไถ (7 ชุมชน) รวมพื้นที่ ทั้ ง สิ้ น 35 ตารางกิ โ ลเมตร ป จ จุ บั น มี นายไพบูลย ศรีสขุ เปน นายกเทศมนตรี โดยบริ ห ารงานภายใต วิ สั ย ทั ศ น ก าร พัฒนาที่วา

126

“อรัญญิกเมืองนาอยู มีดลือชื่อคู บาน ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ไทย เศรษฐกิจ พอเพียง กาวไกลในทางพัฒนา ประชา มีสุข” จุดเดนของอรัญญิก เทศบาลอรัญญิก เปนแหลงผลิต มี ด อรั ญ ญิ ก ที่ มี คุ ณ ภาพ มี เ อกลั ก ษณ โดยการนํ า เอาภู มิ ป  ญ ญาท อ งถิ่ น มา สร า งสรรค ใ ห เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี ค วาม โดดเดน มีชื่อเสียงเปนที่รูจักอยางแพร หลายทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยมีประวัติความเปนมาเกี่ยวกับ มี ด อรั ญ ญิ ก ว า หมู  บ  า นต น โพธิ์ (ม.6 ต. ทาชาง) และบานไผหนอง (ม.7 ต.ทาชาง) เปนแหลงผลิตมีดมาตั้งแตครั้งโบราณ ในสมัยกอนมีตลาดการคา มีโรงบอนอยู ทีบ่ า นอรัญญิก (ปจจุบนั คือตําบลปากทา


อําเภอทาเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ซึ่งอยูไมไกลจากบานตนโพธิ์ และบาน หนองไผมากนัก ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร มีผูคนนําสินคามาซื้อขายแลก เปลี่ยนกันมากมายในยุคนั้น ชาวบานก็ นําเอามีดไปขาย เมื่อคนที่ซื้อไปใชเห็น วาคุณภาพดี จึงบอกตอๆ กันไปวามีด คุณภาพดี “อรัญญิก” เลยเรียกติดปาก ไปหาซื้อมีดที่ตองไปอรัญญิก ที่จริงแลว คื อ หมู  บ  า นต น โพธิ์ หมู  บ  า นไผ ห นอง และหมูบานอื่นๆ จึงเปนที่มาของคําวา “มีดอรัญญิก และเมื่อครั้งที่มีการจัดตั้ง สุขาภิบาลในเขตชุมชนของตําบลทาชาง ตํ า บลสามไถ และตํ า บลพระนอน จึ ง ได นํ า ชื่ อ ของมี ด อรั ญ ญิ ก มาตั้ ง เป น ชื่ อ สุ ข าภิ บ าลอรัญญิก และเปลี่ยนแปลง ฐานะเป น เทศบาลตํ า บลอรั ญ ญิ ก ใน ปจจุบัน สืบสานประเพณี “ไหวครู บูชาเตา” “ไหวครู บูชาเตา” เปนประเพณี เก า แก ข องชาวอรั ญ ญิ ก ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เพื่ อ ไหว ค รู ช  า งตี มี ด ดาบของบ า นต น โพธิ์ และบานไผหนอง ตําบลทาชาง อําเภอ นครหลวง สืบเนื่องจากบรรพบุรุษของ ชาวบานตนโพธิ์ และไผหนองนั้น เปน ชาวเวียงจันทน ที่เขามาตั้งรกรากตั้งแต สมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน และสิ่งที่ ชาวบานตําบลทาชางทุกคนยังคงยึดถือ ปฏิบัติสืบตอกันมาจนเปนประเพณีคือ ไหวครู บูชาเตา ซึ่งทุกบานจะจัดขึ้นใน ชวงเชาตรูของวันพฤหัสบดี ที่ตรงกับวัน ขึน้ 7 คํา่ เดือน 6 (ประมาณเดือนเมษายน -พฤษภาคม) ของทุกป ตามแตค วาม สะดวก ทั้งนี้เพื่อรําลึกถึงพระคุณครูบา อาจารยที่ไดสืบทอดศิลปะการตีมีดดาบ และเพื่อความเปนสิริมงคลของตน

พิ ธี ก รรมเริ่ ม จาก ผู  ทํ า พิ ธี ไ หว ค รู กลาวบทชุมชนเทวดา ไหวพระรัตนตรัย จากนั้ น ก็ ก ล า วอั น เชิ ญ ครู บ าอาจารย ตลอดจนพระบู ร พาจารย ทั้ ง ครู ไ ทย ครูลาว ครูจนี ครูมอญ ทีไ่ ดประสิทธิประสาท วิชาตีเหล็กให มารับเครือ่ งบูชาสังเวยและ ประสาทพรใหแกผูเขารวมพิธี ใหประสบ แตความสุขความเจริญ ทําการปดทอง เครื่องมือทุกชิ้น และทํานํ้ามนตธรณีสาร ประพรมเครือ่ งมือและผูเ ขารวมพิธที กุ คน เพื่อความเปนสิริมงคล

สนใจ OTOP อรั ญ ญิ ก ติ ด ต อ เทศบาลตําบลอรัญญิก เลขที่ 99 หมูท ี่ 8 ตําบลทาชาง อําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13260 โทร.035-761491 Fax.035-761492

Ayutthaya 127


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.นครหลวง)

องคการบริหารสวนตําบลหนองปลิง “เกษตรกรรมกาวหนา การศึกษาดี เดน เศรษฐกิจรุงเรือง พลเมืองสุขภาพ ดี มีอาชีพเสริมทีเ่ หมาะสม การคมนาคม ทันสมัย รวมใจพัฒนา รักษาสิง่ แวดลอม เพียบพรอมวัฒนธรรม นําสูช มุ ชนเขมแข็ง” คือวิสยั ทัศนของ องคการบริหารสวน ตําบลหนองปลิง ซึง่ มีสาํ นักงานตัง้ อยูห มูท ี่ 1 ตําบลหนองปลิง อําเภอนครหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 11.05 ตร.กม. หรื อ ประมาณ 6.905 ไร ปจจุบันมี นายสํ า รวย กองอรรถ เปน นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองปลิง และ นายไพศาล มุงทวีเกียรติ เปน ปลัด องคการบริหารสวนตําบลหนองปลิง ขอมูลทั่วไป องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลหนอง ปลิ ง แบ ง เขตการปกครองออกเป น 5 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานมาบพระจันทร หมูที่ 2 บานดอนกลาง หมูที่ 3 บานหนอง โคก หมูที่ 4 บานสระขุด หมูที่ 5 บานหนอง ปลิง มีจาํ นวนประชากรรวมทัง้ สิน้ 2,089 คน ประชากรสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรม ซึ่ง ทํารายไดใหกับประชากรภายในตําบลมาก ที่สุด โดยพืชที่นิยมปลูก ไดแก ขาว ผลไม 128

พืชไร และพืชผักทั่วไป นอกจากนี้เกษตรกร สวนใหญยังนิยมเลี้ยงสัตว เชน ไก เปด วัว ควาย ฯลฯ เพือ่ บริโภคภายในครอบครัว และ นําบางสวนมาจําหนายเพื่อเปนรายไดเสริม ยุทธศาสตรการพัฒนาในชวง 3 ป ยุทธศาสตรที่ 1 : ดานโครงสราง พื้นฐาน วัตถุประสงค เพื่อมุงหวังให ตําบล หนองปลิง ไดมีเสนทางคมนาคมที่ครบถวน และตอบสนองตอความตองการของชุมชน ในทุกดานมีระบบประปาที่ถูกสุขลักษณะ

มีแหลงนํ้าใชที่เพียงพอตอการเกษตรกรรม และคมนาคม การระบายนํ้าที่ดี มีระบบ แผนการควบคุมการวางผังเมืองที่ดี มีไฟฟา สองสวางอยางทั่วถึงมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใหบริการแกประชาชน ยุทธศาสตรที่ 2 : ดานการสงเสริม คุณภาพชีวิต วั ต ถุ ป ระสงค มุ  ง หวั ง เพื่ อ ยกระดั บ คุณภาพชีวิตของประชาชนในตําบลใหได รับโอกาสในการศึกษาการพัฒนาศักยภาพ ทางด า นร า งกาย จิ ตใจ สติป ญ ญา การ กีฬา ภูมิปญญาทองถิ่น และรูรักษาสงเสริม ภูมิปญญา ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วั ฒ นธรรมอั น ดี ง ามของท อ งถิ่ น เพื่ อ ให ประชาชน เด็กและเยาวชนในพื้นที่ไดรับ


การศึกษาอยางทั่วถึง เพื่อใหประชาชนไดมี สุขภาพ สุขภาพจิต และสติปญญาที่ดีและ มีประสิทธิภาพ เพื่อสงเสริมใหประชาชน ไดออกกําลังกายและเลนกีฬาอยางทั่วถึง และเพื่อสงเสริมอนุรักษภูมิปญญา และ ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมอันดี ของทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ 3 : ดานการจัดระเบียบ ชุมชน / สังคม และความสงบเรียบรอย วัตถุประสงค เพือ่ รักษาสงบเรียบรอย และความปลอดภัยในชีวติ ทรัพยสนิ สงเสริม ใหชุมชนไดมีสวนรวม ในการปกครองและ การพั ฒ นาท อ งถิ่ น ตนเอง การยกระดั บ ใหประชาชน ผูนําชุมชนสมาชิกตลอดจน ขาราชการ ลูกจางในตําบลเปนผูมีความ รู ความสามารถในทุกดาน สามารถพึ่งพา ตนเองได เป น สั ง คมที่ เ ข ม แข็ ง มี ค วาม ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ยุทธศาสตรที่ 4 : ดานการวางแผน สงเสริมการลงทุน และพานิชยกรรม วัตถุประสงค เพือ่ สงเสริมประสิทธิภาพ

ตลอดไปรวมทั้ ง ให มี ก ารพั ฒ นาการจั ด กิจกรรมการแสดงเพลงพื้นบานการแสดง ของกลุมชนที่มีประเพณีและวัฒนธรรมของ ตนเองใหมีประสิทธิภาพอยางยั่งยืนตอไป ยุทธศาสตรที่ 6 : ดานศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น วัตถุประสงค เพือ่ อนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรม จารี ต ประเพณี และภู มิ ป  ญ ญาท อ งถิ่ น เพื่อสงเสริมและสนับสนุนวัฒนธรรมและ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ และเพือ่ รักษาและสงเสริม ภูมิปญญาขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น การวางแผนและความร ว มมื อ ระหว า ง องคกรและประชาชนในทองถิน่ เพือ่ สงเสริม การลงทุน การพานิชยกรรม และการพัฒนา เศรษฐกิ จ ภายในพื้ น ที่ และเพื่ อ อนุ รั ก ษ รักษา ฟนฟูวัฒนธรรมทองถิ่น ยุทธศาสตรที่ 5 : ดานการบริหาร จัดการ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และการทองเที่ยว วัตถุประสงค มุงพัฒนาปรับปรุงดาน การผังเมือง และพัฒนาบูรณะแหลงทอง เที่ยวที่เปนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ สถานที่ทองเที่ยวทางประวัติศาสตร โบราณ วัตถุและวัฒนธรรมพื้นบานใหคงอยูยั่งยืน

จากใจนายกฯ องคการบริหารสวนตําบลหนองปลิง ไดดําเนินการปรับปรุงการบริหารและการ บริ ก ารประชาชนให ถู ก ต อ งตามหลั ก ธร รมาภิ บ าล ประสานการพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง การบริหารโครงสรางพื้นฐานดานอุปโภค และสาธารณูปโภคใหไดมาตรฐาน เพียง พอแก ก ารขยายตั ว ของชุ ม ชนในอนาคต ทั้ ง ยั ง ส ง เสริ ม ให ป ระชาชนได ป ระกอบ อาชีพเสริม เพื่อเพิ่มรายไดลดรายจายให เพียงพอแกการดํารงชีพ และยังสงเสริม ภูมิปญญาทองถิ่น ฟนฟูศิลปวัฒนธรรม พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ให เปนชุมชนที่นาอยูอยางยั่งยืน และมีความ สุขทุกครัวเรือน Ayutthaya 129


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บางไทร)

องคการบริหารสวนตําบลสนามชัย

ขอมูลทั่วไป องคการบริหารสวนตําบลสนามชัย มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 17.90 ตาราง กิ โ ลเมตร หรื อ ประมาณ 11,184 ไร ประกอบดวยเขตพื้นที่ของทั้ง 2 ตําบล รวมกัน คือ ตําบลสนามชัยและตําบล บานแปง รวม 11 หมูบาน สภาพพื้นที่มี ลักษณะเปนทีร่ าบลุม ประชากรสวนใหญ จะตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ ริเวณฝง แมนาํ้ ลําคลอง และประกอบอาชีพดานการเกษตรเปน หลัก โดยมีการทํานา ทําสวน ทําไร และ มี ก ารรวมกลุ  ม ของประชาชนในพื้ น ที่ เพื่อสรางผลิตภัณฑของทองถิ่นจําหนาย เชน การทําดอกไมประดิษฐ การทําไร แคนตาลู ป การทํ า ขนมอบ ขนมกลี บ ลําดวน ขนมเปยะ เปนตน

“การเกษตรยั่ ง ยื น เป น พื้ น ฐาน ขยายโอกาสด า นการศึ ก ษา พั ฒ นา สุ ข ภาพอนามั ย ชาวประชาร ว มใจ ภายใตหลักธรรมาภิบาล” คือวิสัยทัศนขององค ก ารบริ ห าร ส ว นตํ า บลสนามชั ย ซึ่ ง มี ที่ ทํ า การ ตัง้ อยูเ ลขที่ 55 หมู 6 ตําบลสนามชัย อําเภอ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตัง้ อยู หางจากที่วาการอําเภอบางไทร ไปทาง ทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ประมาณ 4 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายอมร ขมิ้นสน ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหาร สวนตําบลสนามชัย กิจกรรมและผลงานที่ผานมา เทศกาลสงกรานต เปนกิจกรรม สืบสานประเพณีอันดีงามของไทย เพื่อ แสดงความกตัญูตอผูสูงอายุ เพื่อให เด็กและเยาวชนไดเห็นคุณคาประเพณี อันดีงาม ซึ่งเปนเอกลักษณประจําชาติ ใหคงอยูสืบไป โดยมีประชาชนเขารวม กิจกรรมเปนจํานวนมาก

130

วันพอแหงชาติ 5 ธันวามหาราช จัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช โดยคณะผูบริหาร ขาราชการ เจาหนาที่ ลูกจาง และประชาชนในพื้นที่ ไดนอม ถวายความจงรักภักดี รวมในปกปองและ เทิดทูนสถาบันหลักของชาติใหธํารงอยู เปนศูนยรวมจิตใจ นํามาซึ่งความรักและ สามัคคีของตนในชาติสืบไป

สถานที่สําคัญและสถานที่ทองเที่ยว เจดีย วัดสนามไชย ตั้ ง อยู  ก ลางสวนบริ เ วณสามแยก บางไทร ซึ่งเปนสวนที่แมนํ้านอยไหลมา บรรจบกับแมนาํ้ เจาพระยา เปนเจดียท รง สี่เหลี่ยมยอมุมไมสิบสอง อายุประมาณ 211 ป ฐานมีบันไดขึ้น 3 ทางคือ ทาง


ทิศเหนือ ทิศใต และทิศตะวันตก กรม ศิลปากรไดขึ้นทะเบียนเปนโบราณสถาน ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และ ได รั บ การบู ร ณะจากสํ า นั ก โบราณคดี ที่ 3 กรมศิลปากร เปนที่เรียบรอยแลว เจาอาวาสวัดสนามไชย องคปจจุบันคือ พระครูปลัดอภิชาติ ขนฺติโก หลวงพอวัดนอย วัดสิงหสุทธาวาส หลวงพอวัดนอย เปนพระพุทธรูป ซึ่ ง ประดิ ษ ฐาน ณ พระวิ ห าร วั ด สิ ง ห สุทธาวาส หมูที่ 3 ตําบลบานแปง เปน พระพุทธรูปปูนปนสมัยอูทอง ไมปรากฏ แน ชั ด ว า ผู  ใ ดสร า ง แต สั น นิ ษ ฐานว า สร า งในสมั ย ต น กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เป น พระประธานองคใ หญสุด ในพระวิหาร และยังมีพระพุทธรูปรวมอยูบนแทนชุกชี อีก 9 องค รวมเปน 10 องค

ชื่อของหลวงพอวัดนอยนี้ มีชื่อเรียก หลายชื่อดวยกัน อาทิ หลวงพอพุทธกมล หลวงพอพิสดารโลก หลวงพอภิญญะ ลามะจักสุรัตนบวรสุวร ฯลฯ ตามตํานาน เลาวาชือ่ ของหลวงพอวัดนอย สันนิษฐาน วานาจะมาจากคําวา “เจานอย” ซึ่งใน สมัยรัชการที่ 3 มีพระสงฆรูปหนึ่งชอบ ปลี ก วิ เ วกได ม าบวชและจํ า พรรษาที่ วัดนี้ จนกระทั่งไดมรณภาพลง ชาวบาน จึงเรียกพระพุทธรูปองคนี้วา “หลวงพอ เจานอย” หรือ “หลวงพอนอย” ตามชื่อ พระสงฆรูปดังกลาว หลวงพอวัดนอยเปนพระพุทธรูปที่ ชาวบานในเขตอําเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เคารพศรัทธาและ มักจะมาบนบานศาลกลาวขอใหสมหวัง อยูเสมอ หากประสบความสําเร็จก็จะ แกบนดวยไขตมหรือละคร และหากบาน

ใดจัดงานบวช กอนที่จะนํานาคไปทําพิธี ที่วัด มักจะแหนาคมาสักการะหลวงพอ นอยทุกครัง้ จนเปนประเพณีสบื ตอกันมา จนถึงปจจุบัน ส ว นวั ด น อ ยนี้ เ ดิ ม ที เ ป น วั ด ร า ง มี เพียงวิหารอยูหลังเดียว ปจจุบันไดขอ อนุ ญ าตสํ า นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา แหงชาติ รวมเปนวัดเดียวกันกับวัดสิงห สุทธาวาส เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2552 เจาอาวาสวัดสิงหสุทธาวาส องคปจจุบัน คือ พระอธิการแสนศักดิ์ จิตตะทันโต

Ayutthaya 131


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บางปะหัน)

องคการบริหารสวนตําบลตานิม

“โครงสรางพืน้ ฐานครอบคลุม สนับสนุน กีฬาและการศึกษา รักษาสภาพแวดลอม สงเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ใ นการพั ฒ นาท อ งถิ่ น ของ องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลตานิ ม ซึ่ ง ตั้ ง อยูหมูที่ 2 ตําบลตานิม อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูหางจากอําเภอ บางปะหัน ไปทางทิศตะวันออกราว 3 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 11.84 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,375 ไร แบงเขตการปกครองออกเปน 8 มี ประชากรทั้งหมด 3,582 คน ประชากรสวน ใหญประกอบอาชีพรับจางทั่วไป และอาชีพ เกษตรกร องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลตานิ ม มี นายสุพจน นาราคราม ดํารงตําแหนง นายก องคการบริหารสวนตําบลตานิม โดยบริหาร งานภายใต ก รอบพั น ธกิ จ คื อ “ให บ ริ ก าร และดําเนินการจัดทําโครงสรางพื้นฐานที่ จําเปนแกประชาชนในพื้นที่ ใหไดความ สะดวกและมีมาตรฐาน สนับสนุนกีฬาใน กลุมเด็กและเยาวชน” ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาตามแผนพั ฒ นา 3 ป (2558-2560) 1.ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสราง พื้นฐาน 1.1 กอสราง ปรับปรุง บํารุง ซอมแซม รักษาถนน ทอระบายนํ้า 1.2 กอสราง ปรับปรุง ซอมแซม ระบบ ประปาหมูบาน 1.3 ปรับปรุง ซอมแซม ขยายเขตจําหนาย ไฟฟาและไฟฟาสาธารณะ 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการสง เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต 132

2.1 การสงเสริมและพัฒนาอาชีพ 2.2 สงเสริมและพัฒนาดานการเกษตร 2.3 สงเสริมและสนับสนุนดานการศึกษา และการกีฬา 2.4 เพิม่ ชองทางในการรับรูขอมูลขาวสาร ที่ทันสมัยใหกับประชาชน 2.5 สงเสริมสุขภาพอนามัย 2.6 สงเสริมสวัสดิการชุมชน 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการจัด ระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความ สงบเรียบรอย 3.1 การรักษาความสงบเรียบรอยและ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 3.2 การมีสว นรวมทางดานการเมืองทองถิน่ 4. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นการ บริหารจัดการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม 4.1 การสรางจิตสํานึกและความตระหนัก ในการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม

4.2 การจัดการขยะ 4.3 การปองกันนํ้าทวม 5. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นศิ ล ป วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมปิ ญญา ทองถิ่น 5.1 การสงเสริมและอนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ 6. ยุทธศาสตรการบริหารและจัดการ ขององคการบริหารสวนตําบล 6.1 การพัฒนาบุคลากรและงานกิจการ สภา 6.2 การบริหารจัดการองคกร ผลการพัฒนาในปงบประมาณ 2556 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสราง พื้นฐาน แนวทางการพั ฒ นา การก อ สร า ง ปรั บ ปรุ ง บํ า รุ ง ซ อ มแซมรั ก ษาถนน ท อ ระบายนํ้ า ได แ ก ก อ สร า งถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) หมูท ี่ 2 ต.บางนาง รา กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) บริเวณขางบาน นางทองคํา หมูที่ 4 ต.ตานิม วางทอระบายนํ้าคอนกรีตเสริมเหล็ก (คสล.) พรอมบอพัก หมูที่ 2 ต.ตานิม ขุดดินวางทอ ระบายนํ้า หมูที่ 3 ต.ตานิม ซอมแซมสะพาน ไม หมูที่ 4 ต.บางนางรา กอสรางรั้วหนา อบต. ตานิม จัดซุมเฉลิมพระเกียรติ ถมดินปรับปรุง


ภูมิทัศนในเขตพื้นที่ อบต.ตานิม กอสรางที่ตั้ง เครื่องออกกําลังกายในพื้นที่ อบต.ตานิม แนวทางการพั ฒ นา การก อ สร า ง ปรับปรุง ซอมแซมระบบประปาหมูบาน ไดแก อุดหนุนประปาหมูบ า น หมูท ี่ 2 ต.ตานิม อุดหนุนประปาหมูบาน หมูที่ 3 ต.บางนางรา แนวทางการพัฒนาดานการปรับปรุง ซอมแซม ขยายเขตไฟฟา ไฟฟาสาธารณะ ได แ ก ขยายเขตไฟฟ า สาธารณะ หมู  ที่ 4 ต.ตานิม 2. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นการ สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางการพัฒนาการสงเสริมและ พัฒนาดานการเกษตร ไดแก จัดซื้อวัสดุ การเกษตร แนวทางการพั ฒ นา ส ง เสริ ม และ สนั บ สนุ น ด า นการศึ ก ษาและการกี ฬ า อาหารกลางวัน ไดแก การจัดบริการอาหาร เสริม (นม) แกศพด. วัดโตนด และศพด. บาน ตานิม สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการ ศึกษา จัดซื้อวัสดุ/อุปกรณกีฬา สนับสนุน กิจกรรมการแขงขันกีฬาระดับอําเภอ แนวทางการพัฒนา การเพิ่มชองทาง ในการรับรูขอมูลขาวสารที่ทันสมัยใหกับ ประชาชน ไดแก จัดซื้อหนังสือพิมพหมูบาน อินเตอรเน็ตตําบลบริการประชาชน ปรับปรุง ซอมแซมระบบเสียงตามสาย/หอกระจายขาว สื่อสารประชาสัมพันธ แนวทางการพั ฒ นาการส ง เสริ ม สุ ข ภาพอนามั ย ได แ ก สนั บ สนุ น กิ จ กรรม ด า นสาธารณสุ ข มู ล ฐาน โครงการพั ฒ นา

สาธารณสุขมูลฐาน หมูที่ 1-4 ต.ตานิม และ หมู  ที่ 2-5 ต.บางนางร า โครงการควบคุ ม ปองกันโรคไขเลือดออก โครงการปองกันโรค พิษสุนขั บา และคุมกําเนิดสุนขั (แมว) สงเสริม กิจกรรมการออกกําลังกายแกประชาชน ตรวจ สุขภาพกลุมวัยทอง / ผูสูงอายุ แนวทางการพั ฒ นา การส ง เสริ ม สวัสดิการชุมชน ไดแก สงเคราะหเบี้ยยังชีพ ผูสูงอายุ คนพิการและผูปวยเอดส สนับสนุน เกี่ยวกับกิจกรรม สังคมสงเคราะหดานอื่นๆ อุดหนุนกิ่งกาชาดอําเภอบางปะหัน 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการจัด ระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความ สงบเรียบรอย แนวทางการพั ฒ นาการรั ก ษาความ สงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน ไดแก โครงการปองกันและ แกไขปญหายาเสพติดในชุมชน อุดหนุนศูนย ป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หายาเสพติ ด ตั้ ง จุ ด บริการประชาชนในชวงเทศกาลปใหม ตั้งจุด บริการประชาชนในชวงสงกรานต แนวทางการพั ฒ นา การมี ส  ว นร ว ม ทางด า นการเมื อ งท อ งถิ่ น ได แ ก อบต. เคลื่อนที่ (จัดประชุมประชาคมหมูบาน) สง

เสริมอบรมใหความรูแกประชาชนและศึกษา ดูงาน อุดหนุน อสม.ตําบลตานิม และ ตําบล บางนางรา 4. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นการ บริ ห ารและจั ด การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ แนวทางการพัฒนา การจัดการขยะ ไดแก จัดการขยะชุมชนเขต องคการบริหาร สวนตําบล รายจายใหไดมาซึง่ บริการ (คาจาง เหมาคนงานเก็บขยะ) คาธรรมเนียมในการ เก็บขนขยะมูลฝอย 5. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นการ พั ฒ นาด า นศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม จารี ต ประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น แนวทางการพัฒนาการสงเสริมและ อนุรักษศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่น ไดแก สงเสริมการ ดําเนินกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี โครงการธรรมทัศน สงเสริมคุณธรรม กิจกรรม ถวายเทียนพรรษา กิจกรรมทําบุญและรดนํ้า ดําหัวผูสูงอายุในวันสงกรานต กิจกรรมวัน สําคัญอื่นๆ ของทางราชการ อุดหนุนที่ทําการ ปกครองอําเภอบางปะหัน อุดหนุนที่ทําการ ปกครองจังหวัด 6. ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาด า นการ บริหารจัดการองคการบริหารสวนตําบล แนวทางการพั ฒ นา การพั ฒ นา บุคลากร ไดแก จัดสงบุคลากร อบต.เขารับ การฝกอบรมจากหนวยงานอื่นๆ สนับสนุน และสงเสริมใหบคุ ลากรไดรบั การศึกษาสูงขึน้ แนวทางการ พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร จัดการองคกรเพื่อเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการให บริการประชาชน ไดแก จั ด ซื้ อ วั ส ดุ / อุ ป กรณ / ค รุ ภั ณ ฑ  สํ า นั ก ง า น สนับสนุนโครงการจัดตั้ง ศูนยรวมขอมูลขาวสาร การจั ด ซื้ อ จั ด จ า งของ อปท. ระดั บ ตํ า บล งบ ประมาณดํ า เนิ น การ บริหารงานบุคคล Ayutthaya 133


p.134AD sbl.pdf 1 9/7/2557 12:26:41

ËÇÁà´Ô¹·Ò§ä»¡ÑºàÃÒ

SBL MAGAZINE

(¹ÔµÃÊÒÃàÊŒ¹·Ò§ÍصÊÒË¡ÃÃÁáÅз‹Í§à·ÕèÂÇ) www.smart-sbl.com

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

µÔ´µ‹Íŧâ¦É³Ò

Tel. 0-2522-7171 ºÃÔÉÑ· ÊÁÒà · ºÔ«Ôà¹Ê äŹ ¨Ó¡Ñ´

52 «ÍÂÃÒÁÍÔ¹·ÃÒ 99 á¡ 2 ¶¹¹ÃÒÁÍÔ¹·ÃÒ á¢Ç§¤Ñ¹¹ÒÂÒÇ à¢µ¤Ñ¹¹ÒÂÒÇ ¡ÃØ§à·¾Ï 10230 â·Ã. 0-2522-7171 á¿¡« . 0-2971-7747 E-mail : sbl2553@gmail.com


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.ภาชี)

“ภาชีเมืองนาอยู การคมนาคมสะดวก สิ่งแวดลอมไมเปนพิษ กาวนําดานเศรษฐกิจ ทุกชีวิตปลอดภัย” คือวิสยั ทัศนของเทศบาลตําบลภาชี ซึง่ ตัง้ อยูเ ลขที่ 111 หมู 2 ตําบลภาชี อําเภอภาชี จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยตั้งอยูหางจากตัวอําเภอเมืองฯ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 30 กิโลเมตร ไดรับการยกฐานะจากสุขาภิบาลเปนเทศบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีพื้นที่ รับผิดชอบประมาณ 7.47 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่จํานวน 7 หมูบาน 14 ชุมชน ปจจุบันมี นายสเกน จันทรผดุงสุข ดํารงตําแหนง นายกเทศมนตรีตําบลภาชี

เทศบาลตําบลภาชี ประวัติความเปนมาของอําเภอภาชี ที่มาของการตั้งชื่ออําเภอวา “ภาชี” สืบเนื่องจากบริเวณที่ตั้งของ อําเภอ เปนทางแยกของทางรถไฟสายเหนือ และสายตะวันออกเฉียง เหนือ เดิมชาวบานเรียกวา “ปาซี” ซึ่งแปลวา แบงหรือแยก และตอมาได เรียกเพี้ยนเปน “ภาชี” ในเบือ้ งตนไดมกี ารจัดสรางทีท่ าํ การอําเภอขึน้ เรียกวา “ทีท่ าํ การบาน ภาชี” โดยมีเขตการปกครองประกอบดวย ตําบลพระแกว ตําบลไผลอ ม และ ตําบลดอนหญานาง ซึ่งเดิมตําบลดังกลาวขึ้นอยูกบั อําเภอนครหลวง และ ตําบลโคกมวง ตําบลกระจิว ตําบลหนองนํ้าใส ซึ่งขึ้นอยูกับอําเภออุทัย ในป พ.ศ. 2479 ทางราชการไดเห็นความสําคัญของที่ทําการบาน จึงยกฐานะของที่ทําการบานภาชีขึ้นเปน “กิ่งอําเภอภาชี” อยูในความ ควบคุมดูแลของอําเภออุทยั ตอมามีความเจริญกาวหนามากขึน้ ประชากร หนาแนนขึ้น และเนื่องจากบริเวณที่ตั้งที่เปนชุมทางรถไฟบานภาชี มี ถนนยุทธศาสตรตดั ซอยมาจากถนนพหลโยธิน ยาวประมาณ 19 กิโลเมตร จึงเปนอําเภอที่มีความสําคัญทางยุทธศาสตร ดานการคมนาคม และ การคาขาย จึงยกฐานะจากกิ่งอําเภอภาชีเปนอําเภอภาชี เมื่อป พ.ศ. 2496 โดยแยกออกจากอําเภออุทัย มีเขตการปกครองรับผิดชอบ 8 ตําบล คือ ตําบลภาชี ตําบลโคกมวง ตําบลหนองนํ้าใส ตําบลไผลอม ตําบล ดอนหญานาง ตําบลระโสม ตําบลพระแกว และตําบลกระจิว สํานักงานเทศบาลตําบลภาชี เลขที่ 111 หมู 2 ตําบลภาชี อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13140 โทรศัพท 0-3531-1021 โทรสาร. 0-3531-1506 website : www.phachi.go.th Facebook : เทศบาลตําบลภาชี

สถานที่สําคัญของตําบลภาชี ในพื้นที่ตําบลภาชี เปนที่ตั้ง ของ “สถานีรถไฟชุมทางบาน ภาชี” ซึง่ สรางขึน้ กอนป พ.ศ. 2490 แต ไ ด ถู ก ระเบิ ด พั ง เสี ย หายสมั ย สงครามโลกครั้ ง ที่ 2 จึ ง ได มี ก าร สรางสถานีรถไฟใหมขึ้นทดแทนในป พ.ศ. 2490 แลวเสร็จในป พ.ศ. 2492 โดยสรางเปนอาคารชั้นเดียวหลังคา ไมถือปูน มีเนื้อที่ยาว 30 เมตร กวาง 15 เมตร หลังจากสรางเสร็จไดทําการ เปดใชงานเมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2492 โดยมีนายพิเชษฐ มีลาภ เปน นายสถานีรถไฟคนแรกของสถานีรถไฟชุมทางบานภาชี อายุการ ใชงานของสถานีรถไฟนับแตสรางเสร็จจนถึงปจจุบันเปนเวลา 65 ป นับเปนชุมทางรถไฟที่สําคัญแยกไปภาคเหนือ และภาคอีสาน มี รถไฟผานทั้งขาขึ้นและขาลงวันละ 140 ขบวน มีผูโดยสารใชงาน วันละประมาณ 1,500 คน ซึ่งสวนมากเปนนักเรียนและผูที่ทํางาน จากใจนายกฯ “ผมและสมาชิกทุกทาน ไดรบั ความไววางใจจากพีน่ อ งชาวภาชี ให มีโอกาสเขามาพัฒนาตําบลภาชีของเรา ผมและสมาชิกทุกทาน ตลอด จนขาราชการ พนักงานลูกจางเทศบาลตําบลภาชี ขอทุมเทแรงกาย แรงใจในการพัฒนาทองถิน่ ใหเจริญกาวหนา แกไขปญหาความเดือดรอน ในดานตางๆ เพือ่ ใหพนี่ อ งตําบลภาชีมคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ครับ” Ayutthaya 135


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.ภาชี)

องคการบริหารสวนตําบลกระจิว “เกษตรกรรมนําทาง เสนทางรถไฟ ถิ่นไทยชาวมอญ องคกรเขมแข็ง” คื อ คํ า ขวั ญ ประจํ า ตํ า บลกระจิ ว ซึ่ ง อยูภายใตการบริหารของ องคการบริหาร สวนตําบลกระจิว เลขที่ 40/5 หมูท ี่ 3 ตําบล กระจิว อําเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13140 อยูหางจากอําเภอภาชีไปทางทิศใต ประมาณ 7 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 8,581 ไร หรือประมาณ 13.73 ตร.กม. ป จ จุ บั น มี นายคุ ณ พจน แพรดํ า ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวน ตํ า บลกระจิ ว โดยบริ ห ารตามวิ สั ย ทั ศ น การพัฒนาตําบลกระจิวที่วา “เปนแหลงผลิตขาวคุณภาพ การ คมนาคมสะดวก การศึกษากาวหนา การ กีฬากาวไกล ประชาชนมีสุขภาพดี รักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม นอมนําวิถีพอเพียง เคียงคูสิ่งแวดลอม” ประวัติความเปนมา สันนิษฐานวา “ตําบลกระจิว” เดิมเปน ที่ อ ยู  ข องชนชาวมอญ ซึ่ ง อพยพจากทาง ภาคเหนือ อันเนื่องมาจากสาเหตุทางการ เมือง ในอดีตบริเวณนี้เปนที่ราบลุมมีแมนํ้า ไหลผ า น มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ เ หมาะสม แกการทํามาหากิน อีกทั้งการขนสงสินคา 136

ขอมูลทั่วไป องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลกระจิ ว แบงการปกครองเปน 8 หมูบาน มีครัวเรือน ทั้งหมด 1,049 ครัวเรือนจํานวนประชากร รวม 3,801 คน เพศชาย 1,812 คน เพศหญิง 1,989 คน ราษฎรสวนใหญประกอบอาชีพทํา นาเปนหลัก และรับจางเปนอาชีพรอง สวน แรงงานในวัยหนุม สาวจะประกอบอาชีพ รับจางในยานอุตสาหกรรมนอกเขตพื้นที่ ยุทธศาสตร และแนวทางการพัฒนา 3 ป 1. ดานการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน อาทิ ปรับปรุงและซอมแซมถนนในหมูบาน และระหวางพื้นที่อื่นเพื่อใหการสัญจรไป มาได ส ะดวก ขยายกํ า ลั ง กระแสไฟฟ า

ก็ทําไดสะดวก ชาวบานจึงตั้งบานเรือนอยู บริเวณลํานํ้าหนาวัดขุมแกว (หมูที่ 1 ใน ปจจุบนั ) คนสวนใหญมกั เรียกชาวบานกลุม นี้วาชาวหมูบานกระจิว ซึ่งคําวา “กระจิว” เปนภาษามอญแปลวาเลียบฝงแมนํ้า ตํ า บลกระจิ ว เดิ ม เป น สภาตํ า บล ต อ มาได ย กฐานะขึ้ น เป น องค ก ารบริ ห าร สวนตําบล ในป พ.ศ. 2540 และยกฐานะขึน้ เปนองคการบริหารสวนตําบลขนาดกลาง ตามประกาศ ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2551 จนถึงปจจุบัน


ใหเพียงพอติดตั้งไฟฟาสาธารณะใหทั่วถึง ขุดลอกคู คลอง ทีต่ นื้ เขิน รณรงคใหประชาชน ช ว ยกั น ดู แ ลรั ก ษาแหล ง นํ้ า และขุ ด ลอก วัชพืชอยางสมํ่าเสมอ ฯลฯ 2. ดานการพัฒนาเมืองนาอยูและ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม อาทิ ปรับปรุงภูมิทัศน จัดซื้อรถขยะ กอสรางเตา เผาขยะ สรางจิตสํานึกและความตระหนัก ในทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม สงเสริมการปลูกตนไมในสวนสาธารณะฯลฯ 3. ดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม พัฒนาคุณภาพชีวิต และการรักษาความ สงบเรียบรอย อาทิ จัดอบรมใหเด็กและ เยาวชนไดรับทราบถึงปญหาและโทษของ ยาเสพติด และหาทางปองกัน อบรมปองกัน โรคติดตอตางๆ สนับสนุนการจัดตั้งกลุม อาชีพ จัดหาแหลงเงินทุน หรือจัดตั้งกลุม ออมทรัพยฯ ฯลฯ 4. ดานการพัฒนาศิลปวัฒนธรรม ศาสนา และภูมิปญญาทองถิ่น อาทิ จัด อบรมใหความรูแกเด็กและเยาวชนในดาน วั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น จั ด งานวั น สํ า คั ญ ทาง

ศาสนา วั น สํ า คั ญ ทางรั ฐ พิ ธี จั ด กิ จ กรรม วั น สํ า คั ญ ต า งๆ ส ง เสริ ม ดารผลิ ต สิ น ค า ภูมิปญญาทองถิ่น ฯลฯ 5. ดานการพัฒนาการกีฬาและการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน อาทิ สนับสนุนจัดสราง สวนสาธารณะ สวนสุขภาพ และลานกีฬา เพือ่ การพักผอนหยอนใจ ออกกําลังกาย และ ทํากิจกรรมสันทนาการ สนับสนุนการจัดตั้ง วงดนตรีไทย การแขงขันกีฬา จัดตั้งศูนย พัฒนาเด็กเล็ก อบรมใหความรูแกครูพี่เลี้ยง เด็ก จัดซื้ออาหารเสริมนม และอาหารกลาง วันสําหรับเด็กอนุบาล สนับสนุนการจัดจาง ครูผูฝกสอนดานกีฬา ฯลฯ 6. ดานการพัฒนาดานการเมืองการ บริ ห าร อาทิ จัดตั้งทีมงานในการปฏิบัติ หนาที่แตละดาน ปรับปรุงระบบการทํางาน ปรับปรุงระบบขอมูลสารสนเทศ ฝกอบรม ใหความรูแกพนักงาน ลูกจาง ผูน าํ ชุมชน ศึกษาดูงาน การปรับลดการใชจา ยงบประมาณ การเผยแพรใหความรู อํานาจหนาที่ของ อบต.ใหประชาชนทราบ ฯลฯ 7. ด า นการพั ฒ นาด า นการคลั ง อาทิ จัดทําขอมูลขาวสาร การมีสวนรวม ของประชาชน การจัดซื้อจัดจางที่บริสุทธิ์ โปรงใสสามารถตรวจสอบได อบรมใหความ

รูใ นการเกษตรแผนใหม เพือ่ ใหใชทดี่ นิ อยาง เต็มที่ สงเสริมการสรางงานและจางงานใน พื้นที่ เผยแพรความรูในการประกอบอาชีพ เสริม ฯลฯ กิจกรรมสําคัญ - จัดงานปรองดองสมานฉันท วันที่ 16 มิถุนายน 2557 - มอบเงินกองทุนชวยเหลือชาวนา วัน ที่ 3 มิถุนายน 2557 - จัดงานประเพณีสงกรานต วันที่ 10 เมษายน 2557 - จั ด งานวั น เด็ ก แห ง ชาติ วั น ที่ 10 มกราคม 2557 - จัดงานวันพอแหงชาติ 4 ธันวาคม 2556 - เปดศูนยไอที 2 กันยายน 2556 Ayutthaya 137


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.อุทัย)

เทศบาลตําบลอุทัย

“สาธารณู ป โภคครบครั น สร า ง สรรคเมืองนาอยูแบบมีสวนรวมและ ยั่งยืน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ข อง เทศบาลตํ า บล อุทัย ซึ่งตั้งอยูเลขที่ 88 หมูที่ 12 ตําบล อุทยั อําเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูหางจากตัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 15 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายอรรถพร บุญจิตรากุล ดํารงตําแหนง นายกเทศมนตรี ตําบลอุทัย

อาวุธใหชอื่ วา “บานธนู” หมูบ า นทีใ่ หเสบียง อาหารใหชื่อวา “บานขาวเมา” หมูบานที่ นางโพและนายพรานกับพรรคพวกรวมใจ กันสูร บกับพมาใหชอื่ วา “บานโพสาวหาญ” กับ “บานพรานนก” และบริเวณที่นําทัพ มาถึงตอนสวางและมีชัยชนะ จึงใหชื่อวา “อุทัย” หมายความวา แสงอาทิตยรุงอรุณ และคลองแยกบริเวณทีม่ ชี ยั ชนะนัน้ ก็ใหชอื่ วา “คลองชนะ” ซึ่งใชเปนชื่อประจําตําบล นั้นๆ จนถึงปจจุบันนี้

เปดดินแดนอุทัย ในอดีตอําเภออุทัยมีสภาพพื้นที่อุดม สมบูรณเหมาะกับการเกษตร ประชากร จึงมีอาชีพทําการเกษตรเปนจํานวน แต ด ว ยที่ ตั้ ง ของอํ า เภออุ ทั ย อยู  ห  า งจากตั ว เมืองไมกี่กิโลเมตร อีกทั้งยังเปนเมืองแหง อุตสาหกรรม จึงทําใหอําเภออุทัยเจริญ กาวหนาอยางรวดเร็ว และในปจจุบันนี้ กลายเปนเมืองแหงอุตสาหกรรมไปเสีย แลว แตก็ยังพอมีประชากรจํานวนหนึ่งที่ ยังคงทําอาชีพการเกษตรอยูบาง สวนชื่ออําเภออุทัยนั้น คนเฒาคนแก เลาสูกันวา ตอนที่พระยาตาก (สิน) ไดไป ทําศึกกับพมาจนมีชยั ชนะ และไดสถาปนา กรุงศรีอยุธยา พระยาตาก (สิน) ก็ไดใหชื่อ หมูบานที่เคยนําทัพผาน เชน หมูบานที่ทํา

ขอมูลทั่วไปของตําบลอุทัย เทศบาลตําบลอุทัย เดิมเปนสุขาภิ บ าลตํ า บลอุ ทั ย ต อ มาได มี พ ระราช บัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเปน เทศบาล พ.ศ.2542 จึงไดรับการยกฐานะ

138

เปนเทศบาลตําบลอุทัย โดยมีผลบังคับใช ตั้งแตวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีพื้นที่ใน ความดูแล 3.95 ตารางกิโลเมตร แบงเขต การปกครองออกเปน 8 ชุมชน มีจํานวน ประชากรทั้งสิ้น 4,155 คน แยกเปนชาย 2,012 คน เปนหญิง 2,143 คน ประชากร สวนใหญประกอบอาชีพรับจาง คาขาย และเกษตรกรรม


ยุทธศาสตรการพัฒนา นายอรรถพร บุญจิตรากุล นายก เทศมนตรีตาํ บลอุทยั มีนโยบายการพัฒนา ในดานตางๆ ดังนี้ 1. นโยบายดานโครงสรางพื้นฐาน - พัฒนาเกี่ยวกับการประปาใหมีนํ้า ประปาที่ไดมาตรฐาน ครอบคลุมทุกพื้นที่ - ปรั บ ปรุ ง ถนนหาทางเพื่ อ อํ า นวย ความสะดวกในการคมนาคมและการ สัญจรไปมาของประชาชน - ปรั บ ปรุ ง รางระบายนํ้ า พร อ มวาง ทอระบายนํ้าตามถนนสายตางๆ เพื่อรับ ปริมาณนํ้าฝนในชวงฤดูฝน และปองกัน ปญหานํ้าทวมในอนาคต - ปรับปรุงภูมิทัศนในเขตเทศบาลให ดูสะอาดและสวยงาม บานเมืองจะไดนา อยูนาอาศัย 2. นโยบายดานสังคม - ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น พระพุ ท ธ*ศาสนา ทั้ ง ในด า นกิ จ กรรมวั น สํ า คั ญ ของทางพระพุทธศาสนา และหลักธรรม ศีลธรรมตางๆ - สงเคราะหเบี้ยยังชีพใหแกผูพิการ ผู  สู ง อายุ และสนั บ สนุ น ผู  ย ากไร ผู  ด  อ ย โอกาส - ให ค วามร ว มมื อ ในการป อ งกั น ปราบปราม และแกไขปญหายาเสพติด - สงเสริมและสนับสนุนการกีฬาเพื่อ สุขภาพ และใชเวลาวางใหเกิดประโยชน พรอมทั้งปองกันปญหาการติดยาเสพติด - สงเสริมและอนุรกั ษ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีของทองถิ่นและของชาติ 3. นโยบายดานการศึกษา - สงเสริมเด็กทีเ่ รียนดีแตยากจน โดย การแจกทุนการศึกษา - สนั บ สนุ น โรงเรี ย นเกี่ ย วกั บ การ ศึกษาและการเรียนรูของเด็กนักเรียน รวม ถึ ง การพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง สถานศึ ก ษาให มี ความพรอมมากขึ้น

- จัดตั้งศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เพื่อให เด็กไดมีสถานที่เรียนรูกอนเขาเรียนในชั้น อนุบาลตอไป 4. นโยบายดานสาธารณสุข - สงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมใน การดูแลรักษาความสะอาดและกําจัดขยะ มูลฝอย - สงเสริมใหประชาชนออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพพลานามัยที่ดีและแข็งแรง - จัดทําโครงการสาธารณสุขเคลือ่ นที่ ในการตรวจรางกาย ทําหมันและฉีดวัคซีน ปองกันโรคพิษสุนขั บาสําหรับสุนขั และแมว - มีการสงเสริมและพัฒนาทองถิ่นให สะอาด ปราศจากมลพิษตางๆ - สงเสริมใหรานคาจําหนายอาหาร และผลิตอาหารทีส่ ะอาดถูกสุขอนามัยดวย โครงการ กรีน ฟูด กูด เทส 5. นโยบายด า นการรั ก ษาความ ปลอดภัย - จัดสงบุคลากรเขารับการอบรมดาน การรักษาความปลอดภัยในดานตางๆ - จัดซื้ออุปกรณและเครื่องมือที่ทัน สมัย เพื่อใชในการรักษาความปลอดภัย - มีการจัดทําแผนปฏิบัติการ

- จัดเวรยามเพือ่ รักษาความปลอดภัย และรับแจงเหตุดวนเหตุราย - มี ก ารเตรี ย มความพร อ มในการ รักษาความปลอดภัย เพื่อจะไดมีความ พรอมในการออกปฏิบัติการจริง 6. นโยบายดานการจัดการ - มีการวางแผนการบริหารงาน ตรวจ สอบ และประเมินผลงานของเทศบาล - ดําเนินการตามโครงการใหเปนไป ตามความตองการของประชาชน - มีการจัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อใชในการบริหารจัดการและบริการ - สงเสริมและพัฒนาบุคลากรใหมี ความรู ความสามารถ และสามารถใช เทคโนโลยีในดานตางๆ ได 7. นโยบายดานเศรษฐกิจ - มีการจัดทํางบประมาณ โดยยึดถือ ยุทธศาสตรการพัฒนาแนวทางการปฏิบัติ และใชจายเงินงบประมาณอยางคุมคา - มีการพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษี ตางๆ ที่เปนรายไดของเทศบาล - สงเสริมและพัฒนาอาชีพกลุม แมบา น และกลุมอาชีพตางๆ ในเขตเทศบาล - จัดตลาดนัดชุมชนเพื่อใหประชาชน ไดคาขาย

Ayutthaya 139


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.อุทัย)

“มุง สูก ารพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สงเคราะห ผู  ด  อ ยโอกาสทางสั ง คม นําพาการเรียนรูสูชุมชน เปนสังคม แหงการพัฒนาที่ยั่งยืน” คือวิสัยทัศนขององค ก ารบริ ห าร ส ว นตํ า บลบ า นหี บ ซึ่ ง ตั้ ง อยู  ห มู  ที่ 1 อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีเนื้อที่ทั้งหมด 22.21 ตารางกิโลเมตร ปจจุบันมี นายสมศักดิ์ งามสมสุข ดํารง ตําแหนง นายกองคการบริหารสวน ตําบลบานหีบ ประวัติความเปนมา กล า วกั น ว า ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เป น ราชธานี บริ เ วณตํ า บลบ า นหี บ นี้ เปนคายพักของทหารพมา ซึ่งปจจุบันคือ โรงเรียนวัดบานหีบ หมู 1 ในปจจุบนั โดย ทหารพมาไดขนหีบเงินหีบทองที่ไดจาก

140

องคการบริหารสวนตําบลบานหีบ

โดยแบงการปกครองออกเปน 12 หมูบ า น เปนหมูบ า นทีอ่ ยูน อกเขตเทศบาลทัง้ หมด มีประชากรทั้งสิ้น 3,624 คน แยกเปน ชาย 1,820 คน หญิ ง 1,804 คน มี ความหนาแนนเฉลี่ย 115 คน/ตร.กม. ขอมูลทั่วไป องคการบริหารสวนตําบลบานหีบ ราษฎรส ว นใหญ ป ระกอบอาชี พ ด า น ไดรบั การยกฐานะตามประกาศกระทรวง การเกษตร ไดแก การทํานา ปลูกผัก สวน มหาดไทย ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 อาชีพอืน่ ๆ ไดแก รับจางทํางานในโรงงาน การปลนสะดมชาวบานมาไวที่บริเวณนี้ และไดขนานนามบริเวณนีว้ า “บานหีบ” หรือ “ตําบลบานหีบ”

นโยบายการบริหารงาน อบต.บานหีบ นายสมศั ก ดิ์ งามสมสุ ข นายก องคการบริหารสวนตําบลบานหีบ ได แถลงนโยบายการบริหารงาน ตอสภา องคการบริหารสวนตําบลบานหีบ โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1. นโยบายดานโครงสรางพืน้ ฐาน ประกอบดวย ปรับปรุง ซอมแซมเสนทางคมนาคม ขนสงระหวางหมูบาน ตําบล อําเภอให ได ม าตรฐาน, ซ อ มแซมถนนดิ น ลู ก รั ง ภายในหมูบ า นและถนนสายหลัก, พัฒนา ระบบการกอสราง ปรับปรุง บํารุงรักษา สาธารณูปโภคตางๆ, สงเสริมการขยาย การใหบริการดานอุปโภคบริโภค, สงเสริม


มาตรการในการปองกันและแกไขปญหา นํ้าทวม 2. นโยบายดานเศรษฐกิจ ประกอบ ดวย ส ง เสริ ม ความรู  แ ก เ กษตรกรตาม แนวทางทฤษฎีใหม, สงเสริมใหเกษตร สามารถจัดหาปจจัยการผลิตที่สําคัญๆ, สงเสริมโครงการตางๆ ขององคกรภาค ประชาชน, สงเสริมและสนับสนุนการ ลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมขนาดเล็ ก หรื อ อุ ต สาหกรรมในครั ว เรื อ น, ส ง เสริ ม กิจกรรมที่สอดคลองตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง, จัดหานํ้าใหเพียงพอสําหรับ การเกษตรและการอุปโภคบริโภค 3. นโยบายดานสังคมและสงเสริม คุณภาพชีวิต ประกอบดวย เสริ ม สร า งความเป น ป ก แผ น แก สถาบันครอบครัวโดยใชมาตรการจูงใจ, สงเสริมภูมิปญญาทองถิ่นตามแนวทาง โครางการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ, สง เสริมการจัดกิจกรรมรวมกันของชุมชน, สงเสริมใหมีการชวยเหลือดูแลผูสูงอายุ ผูพิการไมใหเปนผูถูกทอดทิ้งทางสังคม, สนั บ สนุ น กิ จ กรรมต า งๆ ของสถาบั น ศาสนา, ใหความรวมมือกับสวนราชการ ในการป อ งกั น ปราบปรามยาเสพติ ด ตลอดจนเฝาระวัง 4. นโยบายดานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบดวย การเพิ่มขีดความสามารถของครูผู ดูแลเด็ก, สนับสนุนการจัดการเรียนการ สอนใหมีความสอดคลองกับสถานภาพ, ปรับปรุงภูมิทัศนศูนยพัฒนาเด็กเล็กให เหมาะสมกั บ การเรี ย น, จั ด หาทุ น การ ศึกษาใหนักเรียนที่ขาดแคลน, สงเสริม อนุรักษวัฒนธรรม จารีตประเพณีทองถิ่น ที่เปนเอกลักษณและจุดเดนของ อบต., สงเสริมงานศิลปะ, สงเสริมการจัดงานรัฐ พิธี การจัดกิจกรรมงานวันสําคัญตางๆ, สงเสริมการจัดแขงขันกีฬาประเภทตางๆ

ทีจ่ ดั ขึน้ , จัดทําแหลงประชาสัมพันธขอ มูล ขาวสาร 5. นโยบายดานการเมืองและการ บริหาร ประกอบดวย สนับสนุนการจัดทําแผนยุทธศาสตร การพั ฒ นาและแผนพั ฒ นาตํ า บล, สนั บ สนุ น บุ ค ลากรผู  ป ฏิ บั ติ ง านของ องคการบริหารสวนตํา บล ผูนําชุมชน ใหมีการเพิ่มพูนความรูความเขาใจใน บทบาทหนาที่ ระเบียบ กฎหมาย, พัฒนา ศั ก ยภาพและขี ด ความสามารถของ องคกรอยางตอเนื่องเพื่อรองรับภารกิจ ถายโอนจากสวนราชการตางๆ, สนับสนุน การมี ส  ว นร ว มของทุ ก ภาคส ว นในการ บริหารและการตรวจสอบ

6. นโยบายดานการจัดระเบียบ ชุมชน/สังคม ประกอบดวย สงเสริมกระบวนการมีสวนรวมของ ประชาชน ชุมชน กลุม อาสาสมัคร ,พัฒนา ระบบปองกัน บรรเทาและระงับอุบัติภัย เพื่ อ ให ส ามารถช ว ยเหลื อ ผู  ป ระสบภั ย ไดอยางรวดเร็ว ,สงเสริมสนับสนุนการ พัฒนาสังคมเพื่อใหชุมชนนาอยูสังคมมี ความสุข 7. นโยบายดานการสงเสริมการ ทองเที่ยว ประกอบดวย ประชาสั ม พั น ธ ส ถานที่ ท  อ งเที่ ย ว ผานสือ่ ตางๆ, รณรงคและประชาสัมพันธ เกี่ยวกับอุบัติเหตุโดยมีการแนะนําเสน ทางคมนาคมเพือ่ ปองกันและลดอุบตั เิ หตุ 8. นโยบายสาธารณสุข ประกอบ ดวย รณรงคและเผยแพรใหความรูค วาม เขาใจแกประชาชนถึงอันตรายจากโรค ภัยตางๆ, สงเสริมประชาสัมพันธความรู ความเขาใจในดานการดูแลรักษาสุขภาพ อนามัย, สงเสริมโครงการภาครัฐและ ภาคเอกชนที่มุงบําบัด รักษา ฟนฟูผูติด ยาเสพติด, สนับสนุนงบประมาณดาน สาธารณสุขเพือ่ ปองกันและระงับการเกิด โรคติดตอ, การเสนอรางขอบังคับตําบล วาดวยการสาธารณสุขเพื่อควบคุมดูแล กิ จ การที่ เ กี่ ย วข อ งและมี ผ ลกระทบต อ สุขภาพอนามัยของประชาชน 9. นโยบายด า นการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ประกอบดวย สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน องคกรตางๆ เขามามีสว นรวมในการอนุรกั ษ ป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หาสิ่ ง แวดล อ ม, สงเสริมดานอนามัยสิง่ แวดลอม, สงเสริม การจัดสรางสวนสุขภาพประจําหมูบาน, พั ฒ นาพื้ น ที่ ข องตํ า บลให มี ภู มิ ทั ศ น ที่ สวยงาม รมรื่น เปนระเบียบเรียบรอยโดย มุงไปสูความเปนชุมชนนาอยู Ayutthaya 141


เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตําบล (อ.อุทัย)

องคการบริหารสวนตําบลบานชาง

ตําบลบ้านช้างเปน 1 ใน 11 ต�าบล ของอ�าเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มี พืน้ ทีท่ งั้ หมด 4,175 ไร่ แบ่งการปกครองออก เป็น 7 หมูบ่ า้ น โดยมีทที่ า� การองค์การบริหาร ส่วนต�าบลบ้านช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ปัจจุบันมี นายวิทยา คงเวหน ด�ารงต�าแหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านช้าง และ มี ส.ต.อ.บุญธรรม เกิดผล เป็น ปลัด องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านช้าง

142

ประวัติความเปนมา กล่าวกันว่าในสมัยที่กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี บริเวณต�าบลบ้านช้างเป็นที่พักของ ช้างปาที่จับต้อนได้ และยังเป็นสถานที่คัดเลือกช้างปาเข้าเพนียด หรือ เพนียดคล้องช้างใน ปัจจุบนั เพือ่ น�าช้างไปใช้ในราชการสงคราม จึงขนานนามบริเวณสถานทีแ่ ห่งนีว้ า่ “บ้านช้าง” หรือ “ต�าบลบ้านช้าง” ในปัจจุบนั โดยได้รบั การยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�าบล เมือ่ วัน ที่ 9 กรกฎาคม 2547 และปรับขนาดจากเล็กเป็นขนาดกลางเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2553 เขตองค์การบริหารส่วนตําบลบ้านช้าง องค์การบริหารส่วนตําบลบ้านช้าง แบ่งการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อ-สกุล ผู้ใหญ่บ้าน-กํานัน หมู่ที่ 1 บ้านโตนดเตี้ย นายเผอิญ มีทีปี หมู่ที่ 2 บ้านขวิดเหนือ นายสมบัติ ประสพสม หมู่ที่ 3 บ้านขวิดใต้ นางขวัญเรือน บุญญิกา หมู่ที่ 4 บ้านช้าง นายสมศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ หมู่ที่ 5 บ้านช้าง นางจ�าแรง คงโพธิ์ หมู่ที่ 6 บ้านกลาง นายทศพร จันทร์รัศมี(ก�านัน) หมู่ที่ 7 บ้านล�าตาเสา นางสุดา เหมือนแม้น


สภาพข้อมูลทั่วไป เนื่ อ งจากลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของ ต�าบลบ้านช้างเป็นที่ราบลุ่ม มีความอุดม สมบู ร ณ์ ทรั พ ยากรน�้ า และดิ น เหมาะสม แก่การท�าการเกษตร ราษฎรส่วนใหญ่จึง ประกอบอาชีพทางการเกษตร มีพนื้ ทีท่ า� การ เกษตรจ�านวน 3,261 ไร่ โดยการท�านาเป็น อาชีพหลัก ทั้งนี้เพราะพื้นที่นาของต�า บล อยู ่ ใ นเขตชลประทาน จึ ง สามารถผั น น�้ า เข้าคลองส่งน�้าชลประทานได้ จึงสามารถ ท�านาได้ตลอดปีโดยไม่มีปัญหาใดๆ และ มีอาชีพรับจ้างเป็นอาชีพรอง (รับจ้างมีทั้ง รั บ จ้ า งทั่ ว ไป และรั บ จ้ า งประจ� า ในย่ า น อุตสาหกรรม) ศักยภาพของอบต.บ้านช้าง ด้านการศึกษาและศาสนา ในพื้นที่ของ อบต.บ้านช้าง มีโรงเรียน ประถมศึกษา 1 แห่ง คือโรงเรียนบ้านช้าง หมู่ที่ 3 มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ของ อบจ. พระนครศรีอยุธยา ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�าบลบ้าน ช้าง และมีทอี่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�าหมูบ่ า้ น 1 แห่ง มีวัด 1 แห่ง คือวัดเทพกุญชร หมู่ที่ 3 ด้านสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล 1 แห่ง และศูนย์สาธารณสุขมวลชนประจ�า หมู่บ้าน 7 แห่ง

ด้านสังคมสงเคราะห์ มีศนู ย์สงเคราะห์ ราษฎรประจ�าหมู่บ้าน 7 แห่ง การบริการพื้นฐาน/สาธารณูปโภค การคมนาคม ใช้เส้นทางที่แยกออก จากทางหลวงจังหวัดฯ อ�าเภออุทยั ถนนสาย หลักคือ ถนนบ้านสร้าง-ยายกะตา ซึ่งเชื่อม ต่อระหว่างบ้านยายกะตา หมู่ที่ 4 ต�าบล อุทัย, ต�าบลบ้านช้าง หมู่ที่ 1-7 และหมู่ที่ 1 ต�าบลบ้านสร้าง อ�าเภอบางปะอิน และ เชื่อมต่อกับต�าบลล�าตาเสา อ�าเภอวังน้อย, ต� า บลหนองน�้ า ส้ ม อ� า เภออุ ทั ย จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ส่วนเส้นทางที่ใช้กันใน ต�าบลคือ ถนนเลียบคลองช่องสะเดาทั้งสอง ฝัง่ ซึง่ เป็นเส้นทางทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างหมูบ่ า้ น ต่าง ๆ ตลอดทั้งต�าบล ไฟฟ้ า ต�าบลบ้านช้าง มีไฟฟ้าครบ ทั้ง 7 หมู่บ้าน อยู่ในความรับผิดชอบของ เขตการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าควั ง น้ อ ยอ� า เภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ประปา ต�าบลบ้านช้างใช้น�้าประปา ทั้ง 7 หมู่บ้าน การมีสว่ นร่วมในการพัฒนาท้องถิน่ ของคนในชุมชน อบต.บ้านช้าง มีกลุ่ม มวลชนจั ด ตั้ ง ขึ้ น ดั ง นี้ ลู ก เสื อ ชาวบ้ า น ตัวแทนประชาคมต�าบลทุกหมู่ อาสาสมัคร สาธารณสุขมวลชนทุกหมู่ คณะกรรมการ ศู น ย์ กี ฬ าต� า บล กลุ ่ ม สตรี อ าสาพั ฒ นา ต�ารวจชุมชน กลุ่มอาชีพต่างๆ กลุ่มท�านา, กลุ่มสตรีตัดเย็บเสื้อผ้าโหล, กลุ่มเยาวชน คณะกรรมการต่อต้านยาเสพติด ชมรมผู้สูง อายุต�าบลบ้านช้าง

143


เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ต ่ า งๆ ที่ สําคัญของ อบต.บ้านช้าง มียานพาหนะ และเครื่ อ งมื อ จ� า เป็ น เพื่ อ ใช้ บ ริ ก ารประ ชาน ได้แก่ รถยนต์ปกอัพ 3 คัน รถตู้ 1 คัน รถบรรทุกน�า้ ดับเพลิงเอนกประสงค์ 1 คัน รถ กระเช้าไฟฟ้า 1 คัน รถกู้ชีพกู้ภัย 1 คัน รถ ฟาร์มแทรกเตอร์พร้อมเครื่องตัดหญ้าไหล่ ทาง 1 คัน รถจัดเก็บขยะ 1 คัน ผลการดําเนินงานที่ผ่านมา งานด้านสาธารณสุข • ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี สุ ข ภาพ ร่างกายแข็งแรงด้วยการออกก�าลังกายใน โครงการ “อบต.บ้านช้างไร้พุง” • การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรมด้าน สุขภาพ กองทุนหลักประกันสุขภาพต�าบล บ้านช้าง อ�าเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ประกวดหนูน้อยสุขภาพดีเริ่มต้นที่ นมแม่

• รณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก • ตั้งจุดตรวจหาสารเสพติด ด้านการส่งเสริมการศึกษา วัฒนธรรม และประเพณี • จัดงานวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช โดยชาวต�าบลบ้านช้าง ร่วมใจ แสดงความจงรักภักดี • มอบทุ น การศึ ก ษาให้ กั บ เด็ ก ด้ อ ย โอกาส รร.บ้านช้าง • เปดโอกาสให้เด็กนักเรียนโรงเรียน บ้านช้าง ทัศนศึกษา+เยีย่ มชม อบต.บ้านช้าง • จัดประเพณีสงกรานต์ รดน�้าด�าหัวผู้ สูงอายุของต�าบลบ้านช้าง ด้านการบริหาร • จัดงาน 120 ปีมหาดไทย ท้องถิ่น ร่วมใจบริการประชาชน • จัดประชาคมหมู่บ้าน

งานด้านส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ • ส่ ง เสริ ม OTOP ต� า บลบ้ า นช้ า ง ให้ เ ป็ นที่ รู ้ จั ก ซึ่ ง ได้ แ ก่ งานถักไหมพรม, เชื อ กถั ก (สนใจติ ด ต่ อ ได้ ที่ คุ ณ รุ ่ ง รั ต น์ 081-573-9252 )

14

แผนภู มิโครงสร้ างการแบ่ 10. แผนภู มิโครงสรางการแบ งสวนราชการงส่วนราชการ โครงสรางสวนราชการองคการบริหารสวนตําบลบานชาง ปลัดองคการบริหารสวนตําบลบานชาง (นักบริหารงาน อบต.๘) รองปลัดองคการบริหารสวนตําบลบานชาง (นักบริหารงาน อบต.๗)

สํานักงานปลัด (นักบริหารงานทั่วไป ๖) 1. งานบริหารทั่วไป 2. งานนโยบายและแผน 3. งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 4. งานกฎหมายและคดี ๕. งานสวัสดิการและพัฒนาสังคม

144

สวนการคลัง (นักบริหารงานคลัง ๖) 1. งานการเงินและบัญชี 2. งานพัฒนาและจัดเก็บรายได 3. งานทะเบียนทรัพยสินและพัสดุ

สวนโยธา (นักบริหารงานชาง ๗) 1. งานกอสราง 2. งานออกแบบและควบคุมอาคาร 3. งานประสานสาธารณูปโภค ๔. งานรักษาความสะอาด


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.อุทัย)

องคการบริหารสวนตําบลหนองไมซุง

“ชุมชนเขมแข็ง ศูนยรวมแหลงเพาะ เห็ดฟาง ใสใจสิง่ แวดลอม พรอมสงเสริม การทองเทีย่ ว” คือวิสัยทัศนการพัฒนาของ องค ก าร บริหารสวนตําบลหนองไมซุง ซึ่งตั้งอยู เลขที่ 27 ต.หนองไมซงุ อําเภออุทยั จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยตั้งอยูทางทิศตะวัน ออกห า งจากอํ า เภออุ ทั ย ประมาณ 14 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายชลิต หามนตรี ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวน ตําบลหนองไมซงุ ขอมูลทัว่ ไป ตําบลหนองไมซงุ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 20.99 ตร.กม. หรือประมาณ 9,423 ไร พืน้ ทีส่ ว น ใหญเปนพืน้ ทีน่ า และทีเ่ ลีย้ งปศุสตั ว มีคลอง ชลประทานเปนแหลงนํ้าหลักในการทําการ เกษตร แบงการปกครองออกเปน 9 หมูบ า น ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทางการ เกษตรและหัตถกรรม และบางสวนประกอบ อาชีพรับจางในโรงงานอุตสาหกรรม พันธกิจการพัฒนาองคการบริหารสวน ตําบล - พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐาน ระบบ สาธารณูปโภค และสาธารณูปการตาง ๆ

- สงเสริมอาชีพ ทัง้ อาชีพหลักและอาชีพ เสริม เพิ่มความรูและทักษะเกี่ยวกับอาชีพ ใหแกประชาชน - สงเสริมการศึกษา การศาสนา ศิลป วัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ - จั ด ให มี ก ารสั ง คมสงเคราะห และ สวัสดิการสังคมแกคนชรา คนพิการ คนยากไร ผูประสบสาธารณภัย และผูประสบปญหา ตาง ๆ ทีส่ มควรไดรบั การสงเคราะห เปนตน - สงเสริมกระบวนการประชาคม การ พัฒนาแบบประชาชนมีสวนรวม ประชาชน ไดรบั รูข อ มูลขาวสารตางๆ ขององคการบริหาร สวนตําบลโดยชองทางการประชาสัมพันธทมี่ ี ประสิทธิภาพ - ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการ พัฒนา คุณภาพบุคลากรขององคการบริหารสวน ตําบลี เพื่อการใหบริการประชาชน โดยยึด หลักธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหารจัดการ บานเมืองทีด่ ี - ปองกันและแกไขปญหาสังคมตางๆ เชน ปญหายาเสพติด ปญหาอาชญากรรม เปนตน - สงเสริมกิจกรรมดานสาธารณสุข เชน การออกกํ า ลั ง กาย การป อ งกั น โรคต า งๆ เปนตน

- ปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอม เชน ปญหาขยะ ปญหานํ้าเนาเสีย ปญหา วัชพืชในลําคลองปญหามลพิษจากสารเคมี ตางๆ เปนตน แผนพัฒนาสามป (ป พ.ศ. 2557-2559) 1. การบริหารภารกิจเพือ่ ใหเกิดประโยชน สุขแกประชาชน 2. การบริหารงานเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ตอภารกิจ ของ อปท. 3. การบริหารภารกิจยางมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุม คาในเชิงภารกิจ 4. การลดขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน 5. การปรับปรุงภารกิจของ อปท. 6. การอํ า นวยความสะดวกและตอบ สนองความตองการของประชาชน 7. การประเมินผลการปฏิบตั งิ าน โครงการที่มีการบูรณาการการปฏิบัติ งานร ว มกั บ ส ว นราชการ หรื อ อปท. ประกอบดวย 1. ดานโครงสรางพืน้ ฐาน 2. ดานการสงเสริมคุณภาพชีวติ 3. ดานการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และ การรักษาความสงบเรียบรอย 4. ดานการวางแผน การสงเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการทองเทีย่ ว 5. ดานการบริหารจัดการและการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดลอม 6 ) ดานศิลปะ วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ Ayutthaya 145


บนเส้นทางธรรม

ความเปนมาและเปาหมาย

โครงการพุทธอุทธยานมหาราช เกิดขึน้ จากแนวคิดทีต่ อ้ งการ เห็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ โดยยึดตามหลักการ “บวร” อันหมายถึง บ้าน วัด โรงเรียน หรือรวมถึงหน่วยราชการ และองค์กรเอกชน มูลนิธิ ซึ่งแต่ละภาคส่วนไม่ว่าจะเป็น บ.บ้าน อัน หมายถึง ชุมชน บุคคล หรือชาวบ้าน ว.วัด หรือคณะสงฆ์ อันเป็น หน่วยงานที่ส่งเสริมคุณธรรม และธ�ารงไว้ซึ่งหน้าที่ในการสร้างเสริม ความเป็นคนดีมีศีลธรรม และ ร. โรงเรียน องค์กรด้านการศึกษา หน่วยงานราชการ ได้มีการรวมตัวกันท�าภารกิจอันเป็นประโยชน์ต่อ สังคม ได้ท�าในสิ่งที่เป็นมิติใหม่ของสังคม ให้เป็นต้นแบบของการ บริหารจัดการในลักษณะแบ่งหน้าที่กันท�า แต่มีเป้าหมายสุดท้าย ร่วมกัน คือประโยชน์สขุ ของสังคม ช่วยเหลือ เอื้อเฟอต่อชุมชน สังคม และประชาชน ด้วยวิธีการที่ยั่งยืนโดยเริ่มต้นด้วยการ เสียสละประโยชน์สุขส่วนตน รวมถึง ก�าลังทรัพย์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เป็นโครงการเพื่อสังคม

โครงการพุทธอุทยานมหาราช… มิติใหมเพื่อประโยชนสุขตอสังคม 146


“บ” หมายถึง บ้าน หรือชาวบ้าน ชุมชน สังคม ประชาฃนทั่ว ไป ทัง้ ทีใ่ กล้โครงการและรวมถึงประชาชนทัว่ ไปทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์ จากโครงการนี้ในด้านต่างๆ เช่น ความเจริญของพื้นที่ การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างคุณธรรม สร้างจิตส�านึกให้รจู้ กั การเสียสละเพือ่ ส่วน รวม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมทางอ้อม ให้กับผู้ที่ได้มาเยี่ยมชมที่ โครงการ และน�าแนวทางไปประยุกต์ใช้ “ว” หมายถึง วัด มูลนิธิ องค์กรการกุศล ทีจ่ ะต้องพัฒนาปรับตัว ปรับแนวคิดใหม่ว่าต้องท�าเพื่อสังคมส่วนรวม ไม่คิดแบบธุรกิจ แต่ ต้องคิดแบบการให้กลับคืนแก่สังคมอย่างไร ให้แบบมีคุณค่า แบบ มีปัญญา สร้างจิตส�านึกที่ดีแก่ประชาชน “ร” หมายถึง ราชการ โรงเรียน การเข้ามามีส่วนร่วมของภาค ส่วนราชการ เพื่อประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประชาชนในด้าน ต่างๆ

ด้วยเหตุนี้จึงได้เกิดแรงบันดาลใจว่าต้องลงมือท�าเท่านั้นจึงจะ ส�าเร็จ และได้ซื้อที่ดินจ�านวน 200 ไร่ จากบสก. ซึ่งนับว่าเป็นความ โชคดีที่ได้ที่ดินที่เหมาะสมทั้งขนาด ท�าเล และสภาพแวดล้อมที่ยัง ที่มาของชื่อโครงการพุทธอุทธยานมหาราช ที่มาของชื่อ “โครงการพุทธอุทธยานมหาราช” เนื่องจากตั้ง คงเป็นธรรมชาติ จึงได้หารือร่วมกับคณะสงฆ์ โดยมี สมเด็จพระวัน อยู่บนพืน้ ที่รอยต่ออ�าเภอบางปะหันและอ�าเภอมหาราช ของจังหวัด รัต รักษาการเจ้าคณะใหญ่ธรรมยุต วัดบวรนิเวศ และสมเด็จ พระนครศรีอยุธ ยา ต่อเนือ่ งกับอ�าเภอป่าโมก อ�าเภอเมือง ของจังหวัด พระธีรญาณมุนี วัดเทพศิรนิ ทราวาส เลขาธิการคณะสงฆ์ธรรม อ่างทอง ซึ่งเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์เป็นเส้นทางเดินทัพของสมเด็จ ยุต กรรมการมหาเถรสมาคม ตลอดจนพระเถระผู้ใหญ่หลาย พระนเรศวรมหาราช จึงได้ใช้ชอื่ ว่า “พุทธอุทยานมหาราช” เพือ่ ความ รูป ซึ่งทางคณะสงฆ์ผู้ใหญ่ก็ได้เห็นชอบ และมีหลักการเป้าหมาย เป็นสิริมงคลจากความตั้งใจของ ของ นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิ เดียวกันเพื่อด�าเนินการตั้งวัดขึ้นมาใหม่ รวมถึงสร้างโรงเรียนขึ้นมา พัฒน์ ประธานมูลนิธพ ิ ระเทวราชโพธิสตั ว์ ร่วมกับคณะสงฆ์ได้มี ในพื้นที่เดียวกัน นอกจากนี้ ทางคณะสงฆ์ยังมีความตั้งใจจะให้เป็น แนวคิดดังกล่าว และมีปณิธานแน่วแน่ทจี่ ะด�าเนินโครงการให้ประสบ “โครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ ความส�าเร็จและเป็นรูปธรรม เพือ่ ให้เป็นตัวอย่างในท่ามกลางกระแส เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ” ของสังคม ทีม่ แี ต่การเอาก�าไรและประโยชน์สว่ นตนเป็นตัวตัง้ จนละ ปัจจุบันได้ตั้งวัดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ชื่อว่า “วัดวชิรธรรมาราม” มี ลืมหลักที่ว่า “ทุกคนตายแล้วเอาอะไรไปไม่ได้” และมีแต่คนเอา เจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศ รักษาการเจ้าอาวาส เปรียบซึ่งกันและกัน ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน ก่อให้เกิดความ รูปแรก เสียหายในทุกภาคส่วน ล้วนด�าเนินไปในทางที่เสื่อมสลายในระยะ ยาว และสังคมไทยสอนหรือบอกกันยาก ต้องท�าให้เห็น แม้ว่าจะ เป็นเรื่องยากล�าบาก ซึ่งต้องใช้พละก�าลัง แรงกาย แรงใจ และทุน ทรัพย์จ�านวนมากก็ตามที เพื่อให้เป็นสถานที่เห็นด้วยตาอย่างเป็น รูปธรรม และปฏิบัติไปตามปณิธานที่ตั้งใจไว้ เพื่อให้เกิดผลอย่าง แท้จริงว่า โครงการลักษณะนี้สามารถท�าได้จริง หากทุกฝ่ายร่วมมือ ร่วมใจกันด้วยความเสียสละ

Ayutthaya 147


การด�าเนินโครงการ

1. สร้างสถานที่ท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้เป็นศูนย์รวมใจของประชาชน และเพื่อ ให้เลีย้ งตัวเองได้จากการท่องเทีย่ ว ซึง่ จะมีความยัง่ ยืน จึงได้สร้างรูปเหมือนหลวงพ่อทวดเหยียบน�า้ ทะเลจืด ซึง่ เป็น พระเถระที่ประชาชนทั่วประเทศมีความศรัทธา และจะเป็นรูปเหมือนตัวแทนพระสงฆ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก หน้าตัก 24 เมตร ความสูงรวมฐาน 51 เมตรสร้างด้วยปูนหุ้มโลหะส�าริดเคลือบสีทอง ซึ่งตามประวัติในสมัยกรุง ศรีอยุธยา หลวงพ่อทวดเคยได้เดินทางมาพ�านักอยู่ที่กรุงศรีอยุธยาเป็นระยะเวลาหลายสิบป และได้สร้างคุณ ประโยชน์ให้กับบ้านเมืองในสมัยนั้น ซึ่งเป็นการน้อมร�าลึกถึงบารมีธรรมแห่งพระเถระรูปส�าคัญของประเทศไทย ในอดีต 2. โครงการสร้างวัดใหม่ขนึ้ มาทัง้ หมดประกอบด้วย อุโบสถ กุฏสิ งฆ์ หอฉัน เสนาสนะศาลาอเนกประสงค์ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ และถวายพระราชกุศลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีนาถ โดยมี พล.อ.ต. อาวุธ เงินชูกลิ่น ศิลปนแห่งชาติ และอาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร ศิลปนแห่งชาติ เป็น ผู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมการสร้างวัดของคณะสงฆ์ธรรมยุต โดยมีสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศฯ เป็นประธานอ�านวยการ สมเด็จพระธีรญาณมุนี วัดเทพศิรนิ ทราวาส เป็นประธานด�าเนินการ พร้อมด้วยคณะกรรมการมหาเถรสมาคมฝ่ายธรรมยุตทั้งหมด โดยมีส�านักงานทรัพย์สินส่วน

หลวงปูทวดพระเถระคู่แผ่นดินกรุงศรีอยุธยา

นามหลวงปู่ทวด คนทั่วไปจะรู้จักกันว่าท่านเป็นพระเมืองใต้เพียงเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว ท่านมีความเกี่ยวพันกับกรุงศรีอยุธยา อย่างยิ่ง ก่อนที่จะเดินทางกลับไปจ�าพรรษาอยู่ที่วัดพะโคะ จังหวัดสงขลา และวัดช้างให้ ตามล�าดับต�านานประวัติของท่านนั้น มี บันทึกจารึกไว้อย่างเป็นทางการในเอกสารเก่าโบราณครั้งแผ่นดินกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า “พระต�าราบรมราชูทิศเพื่อกัลปนาหัว เมืองพัทลุง” ซึ่งจารึกไว้กว่า 400 ปล่วงมาแล้ว เป็นเอกสารประวัติศาสตร์ที่สามารถยืนยันการมีตัวตนจริงของหลวงปู่ทวดได้ และที่ ส�าคัญท่านมีสมณศักดิ์เป็นถึง “สมเด็จพระราชาคณะ” ที่ สมเด็จพระราชมุนีสามีรามคุณูปมาจารย์ มีความหมาย คือ เป็นพระ อาจารย์ที่มีคุณอันยิ่งใหญ่ ต่อพระราชฉายาเดิมของท่านคือ พระภิกษุ ปู สามีราโม จึงมีนามว่า “สามีราม” อยู่ในสมณศักดิ์ ท่านบวช ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และต่อมาจึงได้มาศึกษาเล่าเรียนต่อที่กรุงศรีอยุธยา ท่านได้ประกอบคุณงามความดี เป็นผู้เรียงอักขระพระไตรปฎก 84000 พระธรรมขันธ์ จากเมล็ดทองค�าที่ราชทูตจากลังกามา ท้าประลองภูมิธรรม เมื่อครั้งสมัยอยุธยา และทราบด้วยญาณว่าอักขระถูกแอบเก็บไว้ 7 ค�า คือค�าว่า สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ อัน เป็นหัวใจพระอภิธรรมคัมภีร์ จนกระทั่งท�าให้ราชทูตจากลังกายอมศิโรราบ ในความสามารถและสติปัญญาอันเลิศล�้าของพระภิกษุ ปู สามีราโม กู้ชื่อกรุงศรีอยุธยาไว้ได้ จากนั้นท่านจึงเป็นที่เคารพบูชาของพระเจ้าแผ่นดิน และประชาชนอย่างมาก ท่านได้พ�านักจ�าา พรรษาอยู่กรุงศรีอยุธยายาวนานหลายสิบป แล้วจึงได้จาริกธุดงค์กลับไปปักษ์ใต้ ดังนั้น หลวงปูทวด จึงเปรียบเสมือนพระอริยสงฆ์คู่แผ่นดินของกรุงศรีอยุธยา นับตั้งแต่อดีตกาลกว่า 400 ปก่อนจวบจนยุค ปัจจุบนั นี้ หาใช่เพียงพระดังจากแดนใต้เท่านัน้ มหาสังฆบารมีของท่านยิง่ ใหญ่ไปทัว่ แผ่นดินไทย ถือกันว่า ท่านคือ พระศรีอริยเมต ไตรโพธิสัตว์ จุติลงมาโลกมนุษย์ เพื่อบ�าเพ็ญบารมี โปรดสรรพสัตว์ ทุกผู้ทุกนาม

148


พระมหากษัตริย์ เป็นผู้วางผังโครงการและสนับสนุนการก่อสร้าง วิหาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามพระพุทธรูปประจ�าวิหารว่า “พระพุทธเมตตา เสนานาถ” และตราสัญลักษณ์ 84 พรรษา ให้กองทัพบกเป็น เจ้าภาพ อัญเชิญประดิษฐานเป็นพระประธานประจ�าวิหาร 3. การสร้างโรงเรียนระดับชั้นมัธยม ด�าเนินการต่อเนื่องหลัง จากสร้างวัดเรียบร้อยแล้ว รวมถึงการช่วยเหลือสนับสนุนโรงเรียน ในชุมชนใกล้เคียง เพื่อยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษา 4. โครงการศูนย์แสดงและจ�าหน่ายสินค้า SME และโอท็อป ถาวร เพื่อสร้างโอกาสในทางการจ�าหน่ายให้กับผู้ผลิต ภายใต้ ระบบสหกรณ์และระบบธุรกิจเพือ่ สังคม (SOCIAL ENTERPRISE) ภายใต้แนวคิดประโยชน์สุขของทุกฝ่าย โดยไม่เอาก�าไรสูงสุดเป็น

ตัวตัง้ เป็นรูปแบบนวัตกรรมใหม่ของธุรกิจเพือ่ สังคม (INNOVATION SOCIAL ENTERPRISE) หรือ ISE 5. พื้นที่การค้าส�าหรับชุมชน เพื่อให้ชาวบ้านได้มีที่ขายสินค้า ชุมชน สินค้าโอท็อป ซึ่งต้องใช้หลักดึงคนมาก่อนเพื่อให้ชาวบ้านได้ ค้าขายได้อย่างยัง่ ยืน ให้มคี วามหลากหลาย ช่วยคนให้มที ที่ า� กิน และ ระบายสินค้าภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน และสร้างโอกาสให้กบั ผลผลิตท้อง ถิ่น ซึ่งจะต้องสร้างชุมชนใหม่ขึ้นมาผนวกกับชุมชนดั้งเดิม และปลูก ฝังให้เกิดการรับผิดชอบต่อการอยู่ร่วมกันในชุมชน 6. โครงการพัฒนาพื้นที่ตามแนวพระราชด�าริ เศรษฐกิจพอ เพียง ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง โครงการพุทธอุทยานมหาราช กั บ สถาบั น เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ ราช นครินทร์ อ�าเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา พร้อมหน่วยงานภาค รัฐ อาทิ กรมพัฒนาที่ดิน ส�านักงานเกษตรจังหวัด และ โครงการ แก้มลิง ตามพระราชด�าริ หนองเจ็ดเส้น มูลนิธิชัยพัฒนา ใน พื้นที่ของจังหวัดอ่างทอง ซึ่งอยู่ติดกับโครงการพุทธอุทยานมหาราช

Ayutthaya 149


เพื่อบริหารจัดการน�้า และด้านการเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า 7. พื้นที่เกษตรและการอนุรักษ์ธรรมชาติคืนสู่หลักการ ใน น�้ามีปลา ในนามีข้าว เน้นความเขียวสดชื่นตามธรรมชาติแนว อนุรักษ์ แหล่งน�้าและต้นไม้ มีการท�านา ปลูกไม้ผล ไม้ดอก ไม้กินได้ ไม่ท�าลายธรรมชาติ น�าเสนอทฤษฎี “บ้านนอกคอกนา พาชีวิต เปนสุข สงบ ร่มเย็น” 8. โครงการหอศิลปกรุงสยามและพิพิธภัณฑ์ จัดตั้งหอศิลป เพื่อเป็นสถานที่แสดงงานนิทรรศการทางด้านศิลปะแขนงต่างๆ เช่น ประติมากรรม จิตรกรรม ฯลฯ เปดเวทีให้กับผู้สร้างสรรค์งาน ศิลป ได้มสี ถานทีแ่ สดงและจ�าหน่ายผลงาน โดยจะมีการจัดกิจกรรม หมุนเวียนตลอดทั้งป เพื่อพัฒนาฝมือเชิงช่างของคนไทย ยกระดับ สร้างมูลค่า ทั้งยังให้ความรู้และการศึกษาแก่เยาวชนและผู้ที่สนใจ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. เป็นตัวอย่างแก่คนที่มีก�าลังในด้านต่างๆ ที่จะได้เห็นว่า โครงการแบบนี้ สามารถท�าได้จริง 2. ประชาชนจะได้ประโยชน์ในหลายๆ ด้านทัง้ ส่งเสริมศีลธรรม เศรษฐกิจ สังคม ยกระดับชุมชน ปลูกฝังการเอื้อเฟอเผื่อแผ่ การรู้จัก เสียสละ และการให้ต่อสังคม

150


3. ท�าให้เห็นว่า เราต้องรักษา และอยู่ร่วมกับธรรมชาติ 4. ความยั่งยืนและสัมฤทธิ์ผลในระยะยาวอย่างเป็นรูปธรรม ตามหลักการ “บวร” 5. สร้างสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของท้องถิ่น และประเทศ ชาติขึ้นมา 6. ประชาชนได้มีที่ท�ามาหากิน และขายสินค้าที่เกี่ยวเนื่องได้ 7. เป็นตัวอย่างการคิดแบบสร้างสรรค์ แนวครีเอทีฟ อีโคโนมิค โดยการประยุกต์มิติทางวัฒนธรรม สังคม ประวัติศาสตร์ และ พระพุทธศาสนาเข้าด้วยกันอย่างยั่งยืน 8. จะเป็นศูนย์การประชุม อบรม สัมมนา ทางด้านคุณธรรม จริยธรรมของประเทศไทย

เกียรติยศแห่งชีวิตที่ขอฝากไว้ในแผ่นดิน

นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพฒ ั น์ ประธานมูลนิธพ ิ ระเทวราช โพธิสัตว์และนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลบ้านใหม่ ได้กล่าว ถึงความภาคภูมิใจในการจัดสร้างพุทธอุทยานมหาราช ว่า “ขอเรียนวาสถานทีแ่ หงนีส้ รางขึน้ จากอุดมคติของผม และไดรบั ความรวมมือจากหลายๆ ฝายไมวาจะเปนคณะสงฆ ระดับพระเถระ ชัน้ ผูใ หญ ซึง่ ผมไดหารือกับทานวาผมจะทําโครงการในลักษณะนีข้ นึ้ โดยทีไ่ มเอากําไร ไมเอาเงินเปนตัวตัง้ คิดเพียงวา....ตายแลวก็ขอฝง ชือ่ ไวในแผนดินนี้ วาไดสรางขึน้ จากคนเล็กๆ คนหนึง่ ผมใชเงิน สวนตัว 60 ลานซื้อที่ดินเปลาๆ ขึ้นมา อยางหลวงปูทวดองคนี้ถือวา เปนหลวงปูทวดที่ใหญที่สุดในประเทศไทยในขณะนี้ ใหญกวาวัด หวยมงคล 3 เทา เป น เกี ย รติ ย ศ เกี ย รติ ป ระวั ติ ใ นชี วิ ต ของ ผมเองก็คือวา สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยไดเปน เจาภาพบริจาคเงินสรางวิหาร เปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 94 ลาน บาท ซึ่งถือวาเปนเกียรติประวัติยิ่งใหญสูงสุดในชีวิตของผม และพระประธานของวัด ทานผูบ ญ ั ชาการทหารบก พลเอกประยุทธ จันทรโอชา เปนเจาภาพในนามกองทัพบกสรางพระพุทธรูปองคนี้ ดวยมูลคา 8 ลาน 5 แสนบาท และเปนพระพุทธรูปองคเดียวในมหารัช สมัย 84 พรรษา ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระราชทาน นามวา พระพุทธเมตตาเสนานาถ และสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จแทนพระองคในการเท ทองหลอพระพุทธรูป ที่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แลว ก็ไดอญ ั เชิญมาประดิษฐานทีต่ าํ บลบานใหม อําเภอมหาราช จังหวัด พระนครศรีอยุธยาแหงนี้ นับวาเปนเกียรติประวัตขิ องอําเภอมหาราช และตําบลบานใหม เปนสิ่งที่นาภาคภูมิใจ” และฃื่อวัดวฃิรธรรมาราม ก็มาจากฃื่อของนายวัฃรพงศ์ ที่เป็น ผู้ยกที่ดินถวายสร้างวัด

โครงการพุทธอุทยานมหาราช มูลนิธิพระเทวราชโพธิสัตว์ วัดวชิรธรรมาราม 115 หมู่ 4 ต.บ้านใหม่ อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา 13150 โทรศัพท์ 089-2400239 แฟกซ์ 035-639250 http://www.facebook.com/TheBigLuangphorthuad

Ayutthaya 151


เส้นทางพบองคการบริหารส่วนตําบล (อ.มหาราช)

“ชุมชนเกษตรอินทรีย ละมุดดีบาน ใหม พระใหญหลวงปูทวด” คื อ ค� า ขวั ญ ของ ตํ า บลบ้ า นใหม่ อ�าเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของ โครงการพุ ท ธอุ ท ยาน มหาราช ซึ่งสร้างสรรค์ขึ้นจากอุดมคติของ นายวัชรพงศ ระดมสิทธิพัฒน ประธาน มูลนิธิพระเทวราชโพธิสัตว ผู้ซึ่งอาสา เข้ามาดูแลรับใช้พี่น้องชาวต�าบลบ้านใหม่ ในฐานะของ นายกองคการบริหารส่วน ตําบลบ้านใหม่ พลิกมิติใหม่ ให้ตําบลบ้านใหม่ นายวัชรพงศ ระดมสิทธิพฒ ั น นายก อบต.บ้านใหม่ ได้กล่าวในงานสภากาแฟ ซึ่งจัดขึ้นที่พุทธอุทยานมหาราช เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2557 ว่า

152

องคการบริหารสวนตําบลบานใหม อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา “บ้ า นใหม่ เ ป็ น อบต.ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีอยู่ด้วยกันแค่ 4 หมู่ คนแค่สองพันกว่าคนเท่านั้นเอง เมื่อ ผมได้รบั ความไว้วางใจจากพีน่ อ้ งชาวต�าบล บ้านใหม่เข้ามาเป็นนายกฯ ผมก็เปลีย่ นโลโก้ ใหม่ เปลีย่ นค�าขวัญใหม่เป็น...ชุมชนเกษตร อินทรีย ละมุดดีบา นใหม พระใหญหลวง ปูทวด ส่วนวิสัยทัศนการพัฒนาของอบต. บ้านใหม่ของผมคือ ทําใหประชาชนอยูด มี ี สุขอยางยั่งยืน ตามหลักการ “บวร” บ้าน วัด และราชการ ไม่ต้องรวยสุดขีด แต่ทุก คนสามารถมีอยู่มีกิน 3 มื้อ ไม่อดไม่อยาก

มีกินทุกมื้อไปจนกระทั่งตาย ใช้ชีวิตตามที่ ในหลวงท่านบอกคือ พออยู่ พอกิน พอเพียง พอใช้ พอมี นั่นคือเรามีความสุข” “ผมไม่ใช่นกั การเมือง และไม่เคยคิดจะ มาเล่นการเมือง แต่ที่มาเป็นนายกองค์การ บริหารส่วนต�าบลครั้งนี้ ก็เพราะความขัด แย้ง แข่งขันกัน และผมเข้าข้างใครไม่ได้ จึง ต้องออกตรงกลาง คือ ลงสมัครเองไปเลย ผมไม่ใช่คนอยุธยา ทั้งทะเบียนบ้านมีผมคน เดียว ไม่มีญาติ พี่น้อง ไม่มีเพื่อนร่วมรุ่น มา แบบข้ามาคนเดียว ม้วนเดียวจบ สุดท้ายชาว บ้านเลือกผมเป็นนายก


เพราะชาวบ้านต้องการเห็นการเปลีย่ นแปลงของชุมชน ต้องการ ความหวังที่ดีกว่า ต�าบลบ้านใหม่ แม้จะอยู่ติดสายเอเชีย แต่ก็ล้า หลังมากจนได้ชอื่ ว่า อบต.อนาถา ทีส่ ดุ ในอยุธยา หรืออาจจะบ๊วยอยู่ อันดับท้ายๆ ของประเทศ แม้แต่เงินเดือนของข้าราชการและพนักงาน องค์การบริหารส่วนต�าบลก็ไม่มจี ะจ่าย พูดไปคงเป็นเรือ่ งตลก แต่มนั คือเรือ่ งจริง ซึง่ หลังจากทีผ่ มเริม่ เข้ามาบริหารในองค์การบริหารส่วน ต�าบลบ้านใหม่ได้ไม่ถึงหกเดือน ทุกอย่างเริ่มเข้าสู่ระบบ โครงการ ไม่น้อยกว่า 40 โครงการ ได้รับการถูกผลักดันออกมา ถนนหนทาง ตรอกซอกซอย น�า้ ประปา รถขยะ ถังขยะ ไฟฟ้า ฯลฯ และคุณภาพชีวติ ของคนในต�าบลบ้านใหม่เริ่มเปลี่ยนแปลงเห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนต�าบลง่ายมาก เพราะ เขามีงบประมาณจัดสรรมาให้ มีคนให้ มีอ�านาจให้ มีระเบียบให้ ยึดถือปฏิบัติ และที่ส�าคัญไม่ได้คิดก�าไร ขาดทุน แบบบริษัทธุรกิจ มีที่ไหนในโลก ที่ให้นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล มีหน้าที่ใช้เงิน ให้คุ้มค่ากับงบประมาณ เราก็แค่ท�าตามหน้าที่ตรงไปตรงมา ไม่มี นอกไม่มใี น ไม่มบี นโต๊ะใต้โต๊ะ ดังนัน้ องค์การบริหารส่วนต�าบลบ้าน ใหม่ยคุ นี้ จะต้องไม่มกี ารทุจริตเด็ดขาดและผมเป็นนายกปากจัด จน ชาวบ้านให้ฉายา เพราะพูดตรงไปตรงมาชัดเจน ไม่มอี า�้ อึง้ ถูกคือถูก ผิดคือผิด ไม่มเี อาใจชาวบ้านแบบไร้สาระหรือแบบรักษาคะแนนนิยม ด่าสวนได้ทุกตลาด เพราะผมไม่ใช่นักการเมือง แต่ผมมาท�าหน้าที่ เพื่อบ้านเมือง เพื่อประเทศชาติ คนที่จะมาอยู่ตรงนี้ได้ต้องพร้อมจะ เสียสละได้ ที่ส�าคัญต้องตัดใจได้กับผลประโยชน์ที่มีผู้มาเสนอให้ แม้บางคนจะไม่ชอบใจแต่เราต้องยึดถือความถูกต้องมากกว่า ทีจ่ ะท�าให้ทกุ คนถูกใจ แต่ไม่ถกู ต้อง ถ้าเป็นแบบนัน้ ไม่เอา ซึง่ สุดท้าย ชาวบ้านเข้าใจและเริม่ คิดถึงส่วนรวม คิดถึงเหตุและผลความถูกต้อง มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลถึงคุณภาพของชุมชน ท�าให้ชุมชนเข้มแข็งใน ระยะยาว ทุกคนจะได้ประโยชน์เท่าเทียมกัน บนเส้นทางของนายก อบต. มือใหม่ มีอะไรทีน่ า่ สนใจและอยาก ท�าอีกมากวันนี้ เพื่อเปลี่ยนแปลงประเทศของเราชุมชนของเรา อย่า รังเกียจการเมือง สุดท้ายแล้วการเมืองมีผลต่อวิถชี วี ติ ของตัวเราและ ลูกหลานของเราอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ คนดีมีคุณภาพต้องลงมาสู่

การเมืองในทุกระดับโดยเฉพาะท้องถิน่ ทีใ่ กล้ชดิ ประชาชนมากทีส่ ดุ คนดีชั่วไม่ได้อยู่ที่ลมปากใคร ทุกอย่างอยู่ที่การกระท�าของเราเอง เงินทองตายไปเอาไปไม่ได้เหลือเพียงแต่อนุสรณ์ความดีทที่ งิ้ ไว้มใิ ห้ อนุชนรุ่นหลัง สังคมไทย คนดี คนเก่ง ยังมีอีกมากแต่มักจะทนแรง เสียดทานไม่ได้ ใจไม่ถึงและเก่งแต่ไม่กล้าเลยถอยกันหมด สังคม ก�าลังเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่าน ชาวบ้านคิดได้ คิดเป็น มากขึ้นแพ้ชนะ อนาคตอยู่ที่คุณภาพของคนและผลของงานเท่านั้น ฟื้นชีวิตละมุดร้อยปี ของดีบ้านใหม่ “ชาวบ้านปลูกละมุดกินเป็นเรื่องปกติ ตอนที่ผมหาเสียง ผม ไปเห็นต้นละมุดแต่ชาวบ้านไม่ได้สนใจ ปล่อยเหี่ยวตามยถากรรม ทิ้งๆ ขว้างๆ ชาวบ้านขายอยู่โลละ 5 บาท 10 บาท และก็ไม่รู้จะขาย ใคร พอผมเป็นนายกฯ ผมสั่งส�ารวจละมุดว่ามีกี่ต้น ในอ�าเภอบ้าน ใหม่มี 600 กว่าต้น ต้นที่อายุตา�่ สุด 50 ปี อายุสงู สุด 120 ปี โอ้โห... น่าทึง่ หวาน กรอบอร่อย ผมเอามาขายที่นี่ (พุทธอุทยานมหาราช) โลละ 50 บาทหมดก่อน เพราะผมใส่เรือ่ งราวลงไปบอกว่านีค่ อื ละมุด อันดับหนึ่งของพระนครศรีอยุธยา ละมุดต้นเก่าโบราณ อายุ 50 ปี 70 ปี 80 ปี 100 ปี หวาน กรอบ อร่อย หากินยาก 1 ปีมีหนเดียว มีน้อยมาก พอคนเริ่มรู้ว่ามีคุณค่า หากินได้ยาก มันจะฉุดละมุด ในต�าบลตามไปด้วยทั้งหมด 153


“ผมเอาคอนเซ็ปทมาจากต้นชาเมือง จีนที่ยูนนาน ชาอายุ 1,500 ปี คนจะกินชา ต้นนี้ มีสตางคอย่างเดียวกินไม่ได้นะ ต้อง ประมูล ชาต้นนี้ปีหนึ่งผลิตได้ไม่มาก แต่ เขาประมูลชาต้นนี้ปีหนึ่งเป็นล้าน โดยขาย ความเป็น 1,500 ปี กินแล้วอาจจะอายุยืน น้องๆ ต้นชา ใครกินละมุดบ้านใหม่ต้น 120 ปี อาจจะอายุยืนสักประมาณ 118 ปี ใกล้ๆ กับต้นละมุด ผมพยายามใส่ Story เรื่องราว ให้มนั มีคณ ุ ค่า และก็ผลักดันว่าเราเป็นละมุด ปลอดสารพิษ ก็ท�าให้ละมุดมีราคาขึ้น จาก 5 บาท 10 บาท เป็น 20-30 หรือ 50 บาท ชาวบ้านก็มีรายได้เพิ่ม เขาอยู่ได้ เดือนหนึ่ง ได้ 2,000-3,000 บาท ปีหนึ่งก็หลายหมื่น บาท จากที่ไม่มีรายได้ ได้แต่ตัดทิ้ง ตอนนี้ ต้นละมุดบ้านใหม่เริ่มหวง เริ่มดูแลกันมาก ขึน้ ต่อไปดีไม่ดอี าจขายได้โลละ 70-80 บาท นะครับ ผมอยากให้ละมุดบ้านใหม่ เหมือน ทุเรียนเมืองนนทให้ได้ ” 4 แนวทางสู่ชีวิตดีมีสุข “ผมมี 4 แนวทาง คือ ริเริ่ม สนับสนุน สร้างสรรค และส่งเสริม ริเริ่มธุรกิจเพื่อ สังคม (Social Enterprise) ซึ่งเป็นเทรนด ของโลกแห่งอนาคต การประกอบธุรกิจทุก วันนี้ ทุกคนท�าเพื่อก�าไร แต่คุณเป็นทุกข คุ ณ ต้ อ งตะเกี ย กตะกายหาความร�่ า รวย แต่ธุรกิจเพื่อสังคมหมายความว่าผลก�าไร 30% 50% หรือ 70% คืนให้สังคม คือเรา อยูไ่ ด้ สังคมก็อยูไ่ ด้ดว้ ย มีความสุขด้วยนีค่ อื Social Enterprise ท่านมีชัย วีระไวทยะ และมูลนิธิต่างๆ อย่างแม่ฟาหลวง ดอยตุง ท�าตัวนี้อยู่ และรัฐบาลก็ตั้งกองทุน เกี่ยวกับ ธุรกิจเพื่อสังคม แต่ยังไม่แพร่หลาย ซึ่งผม จะเอามาบริหารควบคู่กับระบบราชการของ บ้านใหม่ สนับสนุน พัฒนาและสงเสริม ผลผลิ ต เกษตรอิ น ทรี ย  เมื่อเรามีบริษัท บริหารจัดการได้ เราก็ส่งเสริมให้ชาวบ้าน ปลูกแล้วเอาผลผลิตมาขาย สรา งสรรค การท อ งเที่ ย วระดั บ ประเทศ คื อ พุ ท ธ อุทยานมหาราช เรามีที่ขายของ มีคนมา เที่ยวมาซื้อของ บ้านใหม่มี 2,000 คน เลี้ยง 154

คนได้แน่นอน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้าง รายได้ สงเสริมการแปรรูปสินคาเกษตร “ครั ว ชุ ม ชน คนบ้ า นใหม่ ” ผมจะท� า ร้ า น ข้าวแกงที่ชาวบ้านจะท�าอาหารมาขายบ้าน ละหนึ่งอย่าง เช่น บ้านนี้พะโล้อร่อยเอา มา บ้านนี้ท�าแกงไก่อร่อยเอามา บ้านนั้น ท�าผัดขิงอร่อยหรือ ท�าแกงเผ็ดอร่อย ไปท�า มาผมมีคนขายให้ คุณไม่ต้องท�าเจ้าเดียว 10 หม้อ ไม่มีทางอร่อย แต่ถ้าคุณช�านาญ 1 อย่าง ท�ามามีรายได้รายวันแน่นอน 500 บาทต่อวัน แล้วถามว่าเอาวัตถุดิบมาจาก ไหน ก็ปลูกไง ผลิตเอง แปรรูปเอง ขายเอง ด้วยคนในท้องถิ่น คนในชุมชน ฉะนั้นชุมชน

อยู่ได้ ยั่งยืนและเติบโตแข็งแกร่ง แต่ทุกคน ต้องไม่โลภนะ เอาพออยู่ พอกิน พอใช้และ พอเพียงก่อน เราอยู่ได้ ตื่นขึ้นมามีข้าวกิน 3 มื้อ ลูกมีเงินไปโรงเรียน นี่คือสิ่งที่ผมจะท�า และก็จะพัฒนาปจจัยพื้นฐาน น�้า ไฟ ถนน ภูมทิ ศั น นีค่ อื พืน้ ฐานทัว่ ไป แต่หวั ใจสําคัญ คือหลักคิดครับ หลักคิดคือหัวใจที่ตอง เปลี่ยนแปลง เพราะความคิดของคนไทย นี้คิดซ�้าซาก ยกตัวอย่าง เห็นเขาขายไอ้นี่ดี ก็จะขายตามกันอย่างนี้ สุดท้ายก็ทะเลาะ กันก่อนเพราะว่าขายเหมือนกัน แล้วก็เจง เหมือนกัน เพราะฉะนัน้ ต้องเปลีย่ นความคิด เสียใหม่ เปลี่ยนวิธีคิดใหม่”


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.วังนอย)

“องคการบริหารสวนตําบลวังนอย เปนชุมชนนาอยู เปนตําบลการเกษตร สงบรมเย็น เปนตําบลนาอยู คูคุณธรรม ชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนอยูดีมีสุข” คือวิสยั ทัศนการพัฒนาของ องคการบริหารสวนตําบลวังนอย ซึง่ มีสาํ นักงานตัง้ อยูเ ลขที่ 59 หมู 3 ตําบลวังนอย อําเภอวังนอย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมตําบลนี้เคยเปนพระราชวังเดิม ในสมัยกรุงศรีอยุธยา อยูติดกับพระราชวังบางปะอิน เมื่อมีการตั้งตําบลขึ้นมาจึงใชชื่อวา “ตําบล วังนอย”ปจจุบันมี นายอําพล อัจจาครุ เปน นายกองคการบริหารสวนตําบลวังนอย

องคการบริหารสวนตําบลวังนอย

ขอมูลทั่วไป 5. การพัฒนาดานการบริหารจัดการ และ อบต.วั ง น อ ย มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 26 อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ตร.กม. หรือประมาณ 16,250 ไร แบงการ 6. การพัฒนาการสาธารณสุข ปกครองออกเปน 8 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 7. การพัฒนาดานการเมืองการบริหารองคการ บานลาดทราย หมูที่ 2 บานลาดทราย หมู บริหารสวนตําบล ที่ 3 บานบึงวังนอย หมูที่ 4 บานคลองหก หมูที่ 5 บานคลองหา หมูที่ 6 บานคลองสี่ กิจกรรมเดนในป 2556 หมูท ี่ 7 บานคลองสี่ และหมูท ี่ 8 บานคลอง ของ อบต.วังนอย กิจ รรมวันสงกรานต หก ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพทํา นา รับจางตามโรงงานอุตสาหกรรม รับจาง อบต.วังนอย ไดจดั กิจกรรม ทั่วไป คาขาย และอาชีพเสริมรายไดของ รดนํ้ า ดํ า หั ว ผู  สู ง อายุ ใน ชุมชน หมู 1-8 กลุมแมบาน กิจกรรมปลอยปลาคืน สูธรรมชาติ อบต.วังนอย พันธกิจของ อบต.วังนอย รวมกับ โรงเรียนวัดมณฑล 1. การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่ดี 2. การพัฒนาดานสังคมและคุณภาพ ประสิทธิ์ ปลอยปลาคืนสูธรรมชาติ ชีวิต กิจกรรมถวายเทียนพรรษา อบต.วังนอย รวมกับโรงเรียน 3. การพั ฒ นาด า นการศึ ก ษา เด็ ก วัดมณฑลประสิทธิ์ ถวายเทียนพรรษา ณ วัดมณฑลประสิทธิ์ เยาวชน และประชาชน และวัดสันติธรรมาราม (วัดตาลเดี่ยว) 4. การพัฒนาดานเศรษฐกิจ Ayutthaya 155


เสนทางพบเทศบาลเมืองลําตาเสา (อ.วังนอย)

เทศบาลเมืองลําตาเสา “เปนองคกรที่มุงสูความเปนเมือง นาอยูอยางยั่งยืน” คือวิสัยทัศนการพัฒนาของ เทศบาล เมืองลําตาเสา ซึ่งตั้งอยูหางจากจังหวัด พระนครศรีอยุธยาไปทางทิศใตระยะทาง 21 กิโลเมตร และอยูหางจากกรุงเทพมหานคร ไปทางทิศเหนือระยะทาง 65 กิโลเมตร เทศบาลเมืองลําตาเสา มีเนื้อที่ 36 ตารางกิ โ ลเมตร มี พื้ น ที่ ก ารปกครองของ เทศบาลเมืองลําตาเสา ครอบคลุม 4 ตําบล จํานวน 17 หมูบาน 26 ชุมชน ปจจุบันมี นางสมศรี ตันจรารักษ ดํารงตําแหนงนายก เทศมนตรีเมืองลําตาเสาและเปนประธาน สันนิบาตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

156

พันธกิจการพัฒนาทองถิ่น 1. พัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสรางพื้นฐาน 2. รักษาความสะอาด รวมทั้งกําจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 3. จัดใหมีและบํารุงสวนสาธารณะ สถานที่พักผอนหยอนใจ 4. สงเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูสูงอายุและคนพิการ 5. ปองกันและระงับโรคติดตอ 6. สงเสริมการศึกษาอบรม และการประกอบอาชีพ 7. รักษาความสงบเรียบรอยของทองถิ่น 8. บํารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ศาสนา และวัฒนธรรมอันดีของทองถิน่ 9. สงเสริมการมีสวนรวม และการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา 3 ป (พ.ศ. 2558-2560) ยุทธศาสตรที่ 1 ดานโครงสรางพื้นฐานและสิ่งแวดลอม แนวทางการพัฒนา 1.1 ปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและการผังเมือง 1.2 ปรับปรุงและพัฒนาการจัดเก็บขยะและสิ่งปฏิกูล 1.3 สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรที่ 2 ดานคุณภาพชีวิตและสังคม แนวทางการพัฒนา 2.1 สงเสริมและสนับสนุนดานสุขภาพและการสาธารณสุข 2.2 สงเสริมและสนับสุนนดานการศึกษา การกีฬา และนันทนาการ 2.3 สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจ


2.4 ส ง เสริม การสังคมสงเคราะห และพั ฒ นา คุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ และ ผูดอยโอกาส ยุทธศาสตรที่ 3 ดานความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน แนวทางการพัฒนา 3.1 ส ง เสริม และสนับสนุนการปอ งกันภัยจาก อาชญากรรมและยาเสพติด 3.2 ส ง เสริม และสนับสนุนการปอ งกันภัยจาก อุบัติเหตุจราจร 3.3 ส ง เสริม และสนับสนุนการปอ งกันภัยจาก สาธารณภัยอื่นๆ ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดี แนวทางการพัฒนา 4.1 ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การมี ส  ว นร ว มของ ประชาชนและสรางความเขมแข็งใหชุมชน 4.2 พัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพ มีคุณธรรม และจริยธรรม 4.3 ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใชและ ระบบการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ 4.4 สงเสริมและสนับสนุนการประชาสัมพันธ และ การเผยแพรขอมูลขาวสาร ยุทธศาสตรที่ 5 ดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและภูมิปญญาทองถิ่น แนวทางการพัฒนา 5.1 สงเสริมและบํารุงการศาสนา 5.2 สงเสริมและสนับสนุนการอนุรักษและฟนฟู ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีทองถิ่น 5.3 สงเสริมและสนับสนุนการอนุรักษภูมิปญญา ทองถิ่น ผลการดําเนินงานที่ผานมา • โครงการจัดงานวันเทศบาล ประจําป 2557 วันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2557 ณ อาคารอเนกประสงค เทศบาลเมืองลําตาเสา • โครงการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวา มหาราช ประจําป พ.ศ. 2556 โดยมีพิธีวางพานพุม และจุ ด เที ย นชั ย ถวายพระพรชั ย มงคล ในวั น ที่ 4 ธันวาคม 2556 และกิจกรรมพิธีบรรพชา/ อุปสมบท เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ • โครงการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด เชิงรุก วันที่ 10 กรกฎาคม 2556

• โครงการ No place for Drug ของตํารวจภูธรภาค 1 • “สภากาแฟชาววั ง ” กิจกรรมพบปะหารือกับผูวาราชการจังหวัดฯ ณ อนุสรณสถานแหงความจงรักภักดี (ทุงหันตรา) วันที่ 8 สิงหาคม 2556 • มอบวัสดุ อุปกรณ ชวยเหลือผูประสบอุทกภัย หมูที่ 7 ตําบลําไทร วันที่ 26 มิถุนายน 2556 สถานที่สําคัญของเทศบาลเมืองลําตาเสา • ศูนยพัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองลําตาเสา • ศูนยฟตเนส เทศบาลเมืองลําตาเสา และชมรมแอรโรบิค • ศูนยบริการขอมูลขาวสารอินเตอรเน็ทตําบล • ศูนยปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย เมืองลําตาเสา (035-271-939) และ หนวยพยาบาลฉุกเฉิน โทร.1669 • กลุมสตรีชุมชนเทศบาลเมืองลําตาเสา แปรรูปอาหาร (นํ้าพริกเผา) และ นํ้ายาอเนกประสงค

ติดตอเทศบาลเมืองลําตาเสา หมายเลขโทรศัพท 035-275797-8 E-mail www.lamtasao.go.th Facebook เทศบาลเมืองลําตาเสา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Ayutthaya 157


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.วังนอย)

องคการบริหารสวนตําบลพยอม

นายผดุงศักดิ์ ทองสาร นายกเทศมนตรีตําบลสรางโศก

“พยอมงามนํ้ า ใส ฝ ก ใฝ ใ นธรรม เลิศลํ้าเศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตดี สามัคคี ปรองดอง” คือคําขวัญขององคการบริหารสวน ตํ า บลพยอม ซึ่งมีสํานักงานตั้งอยูเลขที่ 999 หมูที่ 5 ต.พยอม อ.วังนอยจ.พระนครศรีอยุธยา ปจจุบนั มี นายลือชัย แสงเงินออน เปน นายกองคการบริหารสวนตําบลพยอม สภาพทั่วไปของอบต.พยอม ตําบลพยอม มีพื้นที่ทั้งหมด 20.92 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 13,075 ไร แบ ง เขตปกครองออกเป น 5 หมู  บ  า น มี ประชากรรวมทั้งสิ้น 12,414 คน ประชากร ในตําบลพยอมสวนใหญประกอบอาชีพดาน การเกษตรกรรม คาขาย รับจางทั่วไป และ รับจางในโรงงานอุตสาหกรรม วิสัยทัศน “พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน มุงเนน การศึกษา ดูแลคุณภาพชีวิต สงเสริม เศรษฐกิจชุมชน” พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การเปน ผู  นํ า รุ  น ใหม ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น ก  า วไกล นายก ลือชัย แสงเงินออน ไดวางแผนพัฒนาเพือ่ รองรับความเจริญกาวหนาทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ สูช าวพยอม เพือ่ ใหชาวพยอมมีคณ ุ ภาพชีวติ ที่ดีขึ้น และสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลง 158

ในอนาคต สิ่งที่สําคัญคือตองใหประชาชน มีสวนรวมไปดวยกัน ใหประชาชนรวมคิด รวมเติมเต็มสิ่งที่ขาดหายไป เขาใจ และ เขาถึง โดยคํานึงถึงประโยชนของประชาชน เปนสําคัญ รวมใจเปนหนึ่งเดียว เพื่อใหการ พัฒนาไปถึงจุดหมายปลายทาง ตามแผน ยุ ท ธศาสตร ที่ ว างไว เพื่ อ ให ช าวพยอมมี คุณภาพชีวิตที่ดี และดํารงชีวิตอยางเปนสุข มุง เนนการศึกษา การพัฒนาสรรสราง สิ่งใดก็ตาม จะประสบผลสําเร็จไดนั้นตอง เริ่มตนที่คน จึงมุงเนนในเรื่องการพัฒนาคน โดยเริม่ ตนและใหความสําคัญกับการพัฒนา เด็กเล็กเปนจุดเริ่ม เพราะเด็กเล็กเปนชวงที่ สําคัญที่สุดของชีวิต หากดูแลอยางถูกตอง จะสงผลใหเติบโตเปนผูใหญที่มีคุณภาพทั้ง สติปญญาและบุคลิกภาพ ที่ผานมาพบวา เด็กในชวงกอนวัยเรียน ถือเปนชวงทองของ ชีวิต วัยดังกลาวมักถูกละเลย จึงทําใหเด็ก สวนใหญมีปญหาเรื่องการพัฒนาการลาชา เราจึงเนนที่การพัฒนาเด็ก ตองการสราง ศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่มีการบริหารจัดการ อยางมีคณ ุ ภาพ สะอาด ปลอดภัย ซึง่ จะชวย สงเสริมการเรียนรูของเด็กเล็กที่มีคุณภาพ มากขึ้น และเมื่อมีการเชื่อมตอกันทั้งดาน

การศึกษาและสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ ควบคูกันไปแลวนั้น จะทําใหอนาคตในวัน ขางหนาพวกเขาเหลานี้ จะเปนกําลังสําคัญ ในการพั ฒ นาตํ า บลของเราต อ ไปในวั น ขางหนา ดู แ ลคุ ณ ภาพชี วิ ต นโยบายดู แ ล คุณภาพชีวิต ไดตระหนักถึงปญหาในดาน สุขภาพ จึงไดเกิดแนวคิดที่จะกอตั้ง “ศูนย การแพทย ค รอบครั ว และชุ ม ชน” ขึ้น เพื่อรองรับการใชบริการดานสุขภาพของ ประชาชนในพืน้ ที่ ต.พยอม และเพือ่ เปนการ ชวยคัดกรองโรคเบือ้ งตน สรางมาตรฐานการ ดูแลสุขภาพที่ดีใหกับประชาชนในพื้นที่ จึง ไดนําแผนงานเขาสูสภาอบต.พยอม เพื่อรับ ฟงความเห็นขาราชการ เมือ่ เสนอผานสภา ก็ เขาสูข นั้ ตอนการจัดตัง้ ศูนยรวมถึงการศึกษา ดูงานจากทีต่ า งๆ ทัง้ หนวยงานรัฐและเอกชน โดยจะมีการใหบริการแบบบูรณาการ ทัง้ การ รักษา สงเสริม ปองกัน และฟนฟูสภาพ เขา ดวยกัน ทําใหชอ งวางระหวางศูนยการแพทย ครอบครัว และโรงพยาบาลหมดไป ส ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน การส ง เสริมอาชีพ อบต.พยอมไดกอตั้งศูนยฝก อาชีพชุมชนนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ รวม


กับ กศน.อําเภอวังนอย เปดหลักสูตรอบรม นวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ ซึ่งเราไดจัดอบรม ไปแลวถึง 3 รุน และยังไดจัดใหมีการนวด แผนไทยเพื่อฟนฟูสมรรถภาพของรางกาย แบบตอเนื่องในกลุมผูปวยเรื้อรังและผูปวย ติดเตียงในเขต อบต.พยอม เพื่อใหการนวด แผนไทยเปนอีกอาชีพหนึ่ง ที่สรางรายไดที่ มัน่ คงใหกบั ชาวพยอม สอดคลองกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนเขมแข็ง มีการแลก เปลี่ยนความรู และสรางมาตรฐานทั้งดาน ทักษะความชํานาญในการใชความรูว ชิ าการ นําไปประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนา ยุ ท ธศาสตร ที่ 1 การพั ฒ นาด า น โครงสรางพื้นฐาน การพัฒนาบานเมืองใหมีความเจริญ รุงเรือง สะดวกสบาย กับการใชชีวิตประจํา วันของประชาชนดานสาธารณูปโภค ตอง ประกอบไปดวย ถนน ประปา แสงสวาง ฯลฯ ดังนั้นอบต.พยอมจึงไดมีโครงการกอสราง ตางๆ เพื่อความสะดวกสบายในการสัญจร และความสวยงาม ควบคูก บั ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนตําบล พยอม ยุทธศาสตรที่ 2 ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานเศรษฐกิจ การพั ฒ นาศั ก ยภาพทางด า น เศรษฐกิ จ ของท อ งถิ่ น มิ ใ ช เ พี ย งการ พั ฒ นาที่ ตั ว บุ ค คล แต ต  อ งสนั บ สนุ น ภูมิปญญาทองถิ่น พัฒนาคนใหมีอาชีพ เพื่อใหประชาชนตําบลพยอม สามารถ สรางอาชีพเลี้ยงตนเองและอยูในสังคม ดวยความกินดีอยูดี อีกทั้งยังสนับสนุนดาน การฝกอาชีพใหชุมชนมีชองทางในการทํา กิน โดยจัดทําโครงการดังนี้ โครงการศูนย ฝกอาชีพนวดแผนไทยเพื่อสุขภาพ สงเสริม อาชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรที่ 3 ยุทธศาสตรการ พัฒนาดานคุณภาพชีวิตและคุณคาทาง สังคม เพื่อสงเสริมและพัฒนาดานคุณภาพ ชีวิต เด็ก สตรี เยาวชน และประชาชน รวม

ถึงการดูแลรักษาความสงบเรียบรอยและ ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินของ ประชาชนในพื้นที่ตําบลพยอม ยุทธศาสตรที่ 4 ยุทธศาสตรการ พั ฒ นาด า นการศึ ก ษา ศาสนา ศิ ล ป วั ฒ นธรรม ประเพณี และภู มิ ป  ญ ญา ทองถิ่น อบต.พยอมเล็งเห็นถึงการสนับสนุน ดานการศึกษาทั้งใน และนอกระบบ การ ศึกษาในระดับกอนวัยเรียน ระดับประถม

และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา โดยประสานการ สนับสนุนงบประมาณใหกับโรงเรียนตางๆ และศูนยพฒ ั นาเด็กเล็ก อบต.พยอม รวมไป ถึงการพัฒนาสงเสริมดานกีฬา นันทนาการ สื บ สานวั ฒ นธรรม และประเพณี ท  อ งถิ่ น อบต.พยอม พรอมสนับสนุนและสงเสริม ด า นการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และส ง เสริ ม สนับสนุนกิจกรรมกีฬา และนันทนาการของ เด็กและเยาวชน รวมถึงการอนุรักษ สืบสาน วัฒนธรรม และประเพณีทองถิ่นที่ดี ยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรการ พั ฒ นาด า นสร า งจิ ต สํ า นึ ก และความ ตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม เรงพัฒนาและดูแลรักษาความสะอาด ในพื้ น ที่ ตํ า บลพยอม พร อ มทั้ ง เฝ า ระวั ง รักษา บําบัด ฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน ยุทธศาสตรที่ 6 ยุทธศาสตรการ พั ฒ นา ด า นการเมื อ งการบริ ห ารและ การพัฒนาบุคลากร บริหารกิจการบานเมืองที่ดีตามหลัก ธรรมาภิบาล โปรงใสตรวจสอบได และสง เสริมสนับสนุนวิธีชีวิตประชาธิปไตย การมี สวนรวมของประชาชน เรงปรับปรุงพัฒนา ประสิทธิภาพการบริการสะดวก รวดเร็ว เปน ธรรม และมีประสิทธิภาพ ดวยความตั้งใจ ทํางานดวยความมุงมั่น ของขาราชการ เจาหนาที่ พนักงาน ลูกจาง อบต.พยอม บวกกับปณิธานและวิสัยทัศนอันกวาง ไกล ของคณะผูบริหารอบต.พยอม โดย ยึ ด หลั ก บนพื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ คื อ เสี ย ง ทุกเสียงของชาวตําบลพยอมตองรับฟง เพื่อที่จะไดมีความพรอมในการที่จะแกไข ป ญ หา ความเดื อ ดร อ น และตอบสนอง ความต อ งการของประชาชนชาวตํ า บลพ ยอม ใหอยูดี กินดี มีความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสนิ อันจะทําใหอบต.พยอมพัฒนา ไปสูทิศทางในดานตาง ๆ พรอมกับพี่นอง ประชาชนชาวตําบลพยอม อยางยัง่ ยืนตอไป ในอนาคตขับเคลือ่ นสูอ นาคตทีด่ กี วา ความ สุขที่ดีสามารถสรางได ดวยศักยภาพใหม ของชาวพยอม Ayutthaya 159


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.ลาดบัวหลวง)

เทศบาลตําบลลาดบัวหลวง

“เทศบาลน า อยู  แหล ง นํ้ า เพี ย งพอ ทองเที่ยวเชิงนิเวศน เกษตรปลอดภัย อนามัยคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจเฟองฟู ควบคูการศึกษา แหลงพัฒนายั่งยืน” คือวิสัยทัศนการพัฒนาเทศบาลตําบล ลาดบัวหลวง ซึ่งตั้งอยูหางจากตัวจังหวัด พระนครศรีอยุธยาไปทางทิศตะวันตกเฉียง ใต ประมาณ 65 กิโลเมตร มีพื้นที่ 3.8 ตร.กม. ประดวย 2 หมูบาน คือหมูที่ 2 และหมูที่ 3 ตําบลลาดบัวหลวง ปจจุบันมี ด.ต.ลพ บุ ต รดี ดํ า รงตํ า แหน ง นายกเทศมนตรี ลาดบัวหลวง และมี นายพันวิทย ชูจักร ดํารงตําแหนง ปลัดเทศบาลลาดบัวหลวง สภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยภาพรวม ประชากรภายในเขตทต.ลาดบัวหลวง ทั้งหมดมี 2,645 คน แยกเปนชายจํานวน 1,294 คน หญิง จํานวน 1,351 คน มีจํานวน ครัวเรือนประมาณ 593 ครัวเรือน ประชากร สวนใหญประกอบอาชีพทางดานการเกษตร (ทํานา ทําสวนผลไม และเลี้ยงสัตว) และ คาขาย และมีความเปนอยูแบบพึ่งพาอาศัย กันและกัน ใหความชวยเหลือและสงเสริม

160

ตอกัน ทําใหเศรษฐกิจของชุมชนมีรายได คล อ งตั ว เพราะมี ก ารซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย น สินคาและบริการภายในชุมชน และภายใน เขตทต.ลาดบัวหลวงมีโรงงานอุตสาหกรรม 2 แห ง ด วยกั น คื อ โรงงานเรเซอร จํ า กั ด และโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องหอมไทยจีน จํากัด สรุปผลการดําเนินงานในปที่ผานมา ในรอบปที่ผานมา ทต.ลาดบั ว หลวง ไดมุงเนนแกไขปญหาและตอบสนองความ ตองการของประชาชนในทองถิ่นเปนสําคัญ อาทิ 1. การพัฒนาทองถิ่น ดานโครงสรางพืน้ ฐาน กอสราง ปรับปรุง และซ อ มแซมเส น ทางการคมนาคมให ไ ด มาตรฐาน ปรั บ ปรุ ง และขยายระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการใหเพียงพอ และทั่วถึง สามารถตอบสนองความตองการ ของประชาชนมากที่สุด ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เทศบาลไดกาํ หนดแนวทางการพัฒนา บําบัด และฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

และสร า งจิ ต สํ า นึ ก ในด า นการกํ า จั ด ขยะ มูลฝอย ศึกษาระบบการจัดวางระบบนํ้าเสีย ดานเศรษฐกิจ ไดกําหนดแนวทางการ พัฒนา สงเสริมสนับสนุนอาชีพ และกลุม อาชีพใหแกประชาชนในทองถิ่น ตลอดจน สนับสนุนสถานที่ทองเที่ยวเชิงเศรษฐกิจ ด า นการพั ฒ นาสั ง คม เทศบาลได กําหนดแนวทางไว 7 แนวทางประกอบดวย การพัฒนาใหการรักษาและสงเสริมสุขภาพ อนามั ย ของประชาชน ส ง เสริ ม กี ฬ าและ นันทนาการในชุมชน สงเสริมดานการศึกษา ทั่วไปในระบบและนอกระบบ ดําเนินการสง เสริมศิลปวัฒนธรรมประเพณี สงเสริมความ เขมแข็งของชุมชน สงเสริมสวัสดิการและ สังคมสงเคราะห ด า นการเมื อ ง-การบริ ห าร เทศบาล ไดดําเนินการจัดซื้อ วัสดุ-อุปกรณเครื่องมือ เครื่ อ งใช ใ นการปฏิ บั ติ ง านส ว นต า งๆของ เทศบาล ซึ่งทําใหสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิ บั ติ ง านการบริ ห ารของเทศบาลได มากขึ้น และไดพัฒนาสงเสริมประสิทธิภาพ การปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งานเทศบาลและ ลูกจาง ในการใหบริการประชาชน สามารถ สรางความเชือ่ มัน่ ศรัทธาและไววางใจใหกบั ประชาชนเปนอยางดี 2. การพัฒนาดานการเมืองการบริหาร ประชาชนในเขตเทศบาล ไดรับการสง เสริมใหมีสวนรวมทางการเมืองการบริหาร มากขึ้น และในชุมชนก็มีการรวมกลุมของ ชุมชน ประชาชน กลุมอาชีพ และกลุมอาสา สมัครตางๆ มากขึ้น รวมทั้งเทศบาลไดใช


ระบบเสี ย งตามสาย เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ ขาวสารของทางราชการใหประชาชนไดรับ ทราบขอมูล ดานการดําเนินการเกี่ยวกับการรักษา ความสงบเรียบรอย ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสิน โดยมีระบบการแจงเพลิงไหม ตลอด 24 ชั่วโมง การอบรมอาสาสมัครปอง ภัยฝายพลเรือน โดยประชาชนในทองถิ่นได ใหความสนใจเปนจํานวนมาก และชวยลด ความรุนแรงของปญหาเมื่อเกิดอัคคีภัยและ อุบัติเหตุตางๆ ได ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาใน ชวงสามป 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสราง พื้นฐาน แนวทางการพัฒนา 1. ขยายระบบบริการดานโครงสราง พืน้ ฐานทัง้ ทางบก ทางนํา้ ถนน ไฟฟา ประปา และดานอื่นๆ 2. พัฒนาแหลงนํ้าเพื่ออุปโภคบริโภค 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานคุณภาพ ชีวิตและสวัสดิการสังคม แนวทางการพัฒนา 1. การสงเสริมและพัฒนาอาชีพ 2. การสงเสริมและพัฒนาการศึกษา

3. การสงเสริมและพัฒนาดานสาธารณะสุข 4. การปองกันยาเสพติด 5. การสงเคราะห สตรี เด็ก ผูสูงอายุ ผู ดอยโอกาส ผูพิการ ผูปวยเอดส 6. การสงเคราะหและชวยเหลือผูประสบ ภัยพิบัติ 3. ยุ ท ธศาสตร ด  า นการจั ด ระเบี ย บ ชุ ม ชน สั ง คม และการั ก ษาความสงบ เรี ย บร อ ยและรั ก ษาความปลอดภั ย ใน ชีวิตและทรัพยสิน แนวทางการพัฒนา 1. ดานความสงบเรียบรอย และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน 2. การส ง เสริ ม ความเข ม แข็ ง ของ ชุมชน/การมีสวนรวม 3. การสงเสริมประชาธิปไตย/การมี สวนรวม 4. ยุทธศาสตรดานเศรษฐกิจ / การ วางแผน / สงเสริมการลงทุนและพาณิชย แนวทางการพัฒนา 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผน 2. การสงเสริมการลงทุนและพาณิชย 5. ยุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอมและ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ แนวทางการพัฒนา 1. สรางจิตสํานึกและตระหนักในการ

จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. จัดระบบบําบัดนํ้าเสีย 3. กําจัดและจัดการขยะ 4. ป อ งกั น และแก ไ ขป ญ หาจากภั ย ธรรมชาติ 6. ยุทธศาสตรดานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมประเพณี และภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ แนวทางการพัฒนา สงเสริมคุณธรรม ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญา ทองถิ่น 7. ยุทธศาสตรดา นการบริการประชาชน แนวทางการพัฒนา 1. พัฒนาและสงเสริมการนําเทคโนโลยี สมัยใหมมาใชเพื่ออํานวยความสะดวกแก ประชาชนอยางรวดเร็ว โดยการบริการแบบ เบ็ดเสร็จ ครบวงจร ณ จุดเดียว 2. พั ฒ นาประชาสั ม พั น ธ เผยแพร ขอมูลขาวสารตางๆ 8. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปสูค วาม ยั่งยืน แนวทางการพัฒนา สงเสริมการสราง และพัฒนาการรวมกลุมอาชีพ 9. ยุทธศาสตรดานการเมือง บริหาร และการพัฒนาทรัพยากรบุคคล แนวทางการพัฒนา 1. สงเสริมและปลูกฝงอุดมการณให แกประชาชนในทองถิ่นมีความรูความเขาใจ ในรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข 2. ส ง เสริ ม เพิ่ ม บุ ค ลากรให มี ค วาม รู ความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ใหเกิด ประสิทธิภาพมากขึ้น 3. พัฒนาวัสดุ-อุปกรณ และสถานที่ ใหเพียงพอเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน Ayutthaya 161


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.ลาดบัวหลวง)

องคการบริหารสวนตําบลสิงหนาท ของ ตําบลสิงหนาท มีกลุมอาชีพที่โดดเดน ดังนี้

“เปนศูนยการบริการที่ดี สนับสนุน การศึกษา สรางสุขภาพที่ดี ขจัดมลพิษ สิง่ แวดลอม พรัง่ พรอมการคมนาคม สราง คานิยมทางวัฒนธรรม หนุนนําการเปน เขตปลอดยาเสพติ ด ยกระดั บ คุ ณ ภาพ ชีวิตประชาชน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ก ารพั ฒ นาขององค ก าร บริหารสวนตําบลสิงหนาท ซึ่งตั้งอยูเลขที่ 7 หมูที่ 5 ตําบลสิงหนาท อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปจจุบันมี นาย ชัยวิทย พีเทียรพงศ เปน นายกองคการ บริหารสวนตําบลสิงหนาท มีรองนายกฯ 2 ทานคือ นายไอยุป พระจันทรศรี และ นายสมาน ยินดีสิทธิ์ และมี นายชาญชัย สุ ร วั ฒ นาประเสริ ฐ เป น ปลั ด องค ก าร บริหารสวนตําบลสิงหนาท องคการบริหารสวนตําบลสิงหนาท มี พื้นที่รับผิดชอบรวมทั้งสิ้น 17,199 ไร คิดเปน พื้นที่ 27,519 ตารางกิโลเมตร แบงเขตการ ปกครองออกเปน 7 หมูบาน ซึ่งประชาชนสวน ใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม อาทิ ทํานา ปลูกไมผลและพืชผักตางๆ ปลูกหญาแพงโก ลา เลี้ยงโคเนื้อ เลี้ยงแพะ ฯลฯ ทั้งนี้ องคการ บริหารสวนตําบลสิงหนาท นําโดย นายกฯ ชัยวิทย พีเทียรพงศ ไดสงเสริมการรวม กลุมอาชีพของชาวตําบลสิงหนาท ใหมีความ มัน่ คงและเกิดการพัฒนาอยางยัง่ ยืนตามแนว พระราชดําริเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ ในพืน้ ที่

126

กลุมปศุสัตว หมูที่ 1 จําหนายสบู นมแพะ นํ้านมแพะ เนื้อแพะ และเนื้อโค คุณภาพดี ในอดี ต ชาวชุ ม ชนหมู  ที่ 1 ส ว นใหญ ประกอบอาชีพเลี้ยงแพะ และโคเนื้อเพื่อการ บริโภคนํ้านมและเนื้อ เมื่อไดรับการสนับสนุน จากปศุ สั ต ว อํ า เภอและปศุ สั ต ว จั ง หวั ด ประกอบกับทางกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไดเขา มาใหความรูเรื่องของการใชพลังงานทดแทน จากมูลสัตว เพื่อผลิตเปนแกสหุงตมสําหรับ ใชในครัวเรือน นายสมศักดิ์ แสงสุวรรณ ประธานกลุมปศุสัตว หมูที่ 1 จึงไดรวบรวม คนในชุ ม ชนเพื่ อ จั ด ตั้ ง เป น “กลุ  ม ปศุ สั ต ว หมูที่ 1” ขึ้น โดยมีการดําเนินงานในรูปแบบ ของธนาคารโค กระบือ ดวยการใหยืมตาม เงื่อนไขที่กลุมกําหนด ปจจุบันกลุมปศุสัตว หมูที่ 1 มีสมาชิก 40 ราย แบงเปนสมาชิกผูเลี้ยงแพะ จํานวน 21 ราย และผูเลี้ยงโคเนื้อ จํานวน 19 ราย แพะที่เลี้ยงสวนใหญเปนแพะพันธุพื้นเมือง และพันธุเนื้อผสม (บอซาแน) ซึ่งนอกจากการ เลี้ยงเพื่อบริโภคเองแลว ปจจุบันทางกลุมฯ ยังไดแปรรูปผลผลิตเปนสินคาจําหนายดวย อาทิ สบูนมแพะ นํ้านมแพะ เนื้อแพะ และ เนื้อโคคุณภาพดี ผูท สี่ นใจสัง่ ซือ้ สินคา หรือตองการศึกษา ดูงาน ติดตอไดที่ องคการบริหารสวนตําบล สิ ง หนาท โทร.081-9464417 หรื อ นาย สมศักดิ์ แสงสุวรรณ กลุมปศุสัตว หมู 1 ตําบลสิงหนาท อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โทร. 091-1022285

กลุมศูนยขาวชุมชนนิคมการเกษตร ตําบลสิงหนาท หมูที่ 4 จําหนายพันธุขาว และขาวไรซเบอรี่เพื่อสุขภาพ สืบเนื่องจากวิถีชีวิตของชาวนาไทยสวน ใหญ ตองพึ่งพาฟาฝนตามธรรมชาติเปนหลัก ปไหนฝนดีผลผลิตขาวที่ไดก็จะดี หากปไหน ฝนแลงหรือนํ้าทวมก็จะสงผลเสียหายอยาง หนัก ประกอบกับชาวนาสวนใหญตองการ เพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นโดยหวังที่จะมีรายได เพิ่มมากขึ้น จึงนิยมใสปุยเคมีและใชสารเคมี ในการกําจัดศัตรูขาว จากความเชื่อดังกลาว นี้ ไมเพียงทําใหชาวนาตองไปกูหนี้ยืมสินเพื่อ จายคาปุยคายาเปนวงจรตอเนื่องแลว ยังสง ผลเสียตอสุขภาพของชาวนาในระยะยาวดวย ชาวนาหมูที่ 4 ตําบลสิงหนาท ก็เปน หนึง่ ในบรรดาชาวนาทีต่ อ งประสบปญหาจาก อาชีพที่เรียกไดวาเปนกระดูสันหลังของชาติ และนีเ่ องจึงเปนจุดเริม่ ตนให นายกฯชัยวิทย พีเทียรพงศ ซึ่งเปนผูนําหมูบานในขณะนั้น นายดํารง ไตรอุโภค นายสายัณต นุชคุม และ นายจําเนียร ทองพุม ไดรวมกลุม เพือ่ ปลูกขาว พันธุพ นื้ เมืองขึน้ ในป พ.ศ. 2549 โดยมีแนวคิด หลักคือ การทํานาแบบปลอดสารพิษ ตอมาในป 2550 มีหนวยงานตางๆ เขา มาสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานของกลุ  ม เช น สํานักงานปฏิรูปที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ไดให ความรูเรื่องการปรับปรุงดิน เครื่องคัดแยก เมล็ ด พั น ธุ  สมาชิ ก ในกลุ  ม ฯจึ ง ได ป รั บ ปรุ ง พืน้ ทีท่ าํ นาใหม และปลูกขาวเมล็ดพันธุ กข41 กข47 กข31 กข 49 ทวาการดําเนินงานก็ยัง ไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร เนื่องจากยัง ไม ไ ด มี ก ารศึ ก ษาความต อ งการของตลาด ประกอบกั บ ในป นั้ น ต อ งประสบป ญ หาฝน ตกหนัก สมาชิกในกลุม ฯจึงไดรว มกันคิดแกไข ปญหา โดยเริ่มจากการศึกษาความตองการ


ของตลาด ซึ่งพบวาลูกคาสวนใหญตองการ เมล็ดพันธุขาว กข41 กข47 กข31 โดยเฉพาะ พันธุขาวที่ลูกคาตองการและมีราคาสูงที่สุด คือ กข49 สวนขาวสําหรับบริโภคทีไ่ ดรบั ความ นิยมจากผูบริโภคมากที่สุดและมีราคาดีคือ ขาวหอมมะลิปทุมฯ และขาวไรซเบอรี่ ซึ่งมี สรรพคุณในการตอตานอนุมูลอิสระ ปองกัน โรคมะเร็ ง ลดความเสี่ ย งต อ โรคเบาหวาน โรคสมองเสื่อม โรคหัวใจ ชวยลดระดับไขมัน และโคเรสเตอรอล ชะลอความชรา และชวย เรื่องระบบขับถาย ป จ จุ บั น กลุ  ม ศู น ย ข  า วชุ ม ชนนิ ค ม การเกษตรตํ า บลสิ ง หนาท มีสมาชิก 32 ราย มีเงินทุนหมุนเวียนภายในกลุมประมาณ 520,000 บาท โดยสมาชิกในกลุมฯ จะปลูก พันธุขาวซึ่งเปนที่ตองการของตลาดเพื่อให สามารถจําหนายไดในราคาสูง โดยเฉพาะขาว ไรซเบอรี่ อยางไรก็ตามสมาชิกในกลุมฯตาง ยึดมั่นในแนวคิดสําคัญที่วา...ขาวและเมล็ด พันธุข า วทีป่ ลูก จะตองใชวธิ กี ารดูแลรักษาโดย ธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารพิษ เพือ่ สุขภาพที่ ดีของชาวนาและผูบ ริโภค อีกทัง้ ยังเปนการลด ตนทุนการผลิต ซึ่งสงผลใหสมาชิกในกลุมฯ มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอยางเห็นไดชัด สนใจสั่งซื้อเมล็ดพันธุขาว กข41 กข31 กข47 และกข49 และข า วสํ า หรั บ บริ โ ภค ไดแก ขาวหอมมะลิปทุมฯ และขาวไรซเบอรรี่ หรือตองการศึกษาดูงานติดตอไดที่ องคการ บริหารสวนตําบลสิงหนาท โทร.081-9464417 หรือ นายสายันต นุชคุม นิคมเกษตรเศรษฐกิจ พอเพี ย ง หมู  4 ตํ า บลสิ ง หนาท อํ า เภอ ลาดบั ว หลวง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โทร. 081-5867232 กลุม ผักปลอดสารพิษบานหลุมทองหลาง หมูท ี่ 5 จําหนายผักปลอดสารพิษมาตรฐาน GAP อาชีพหลักของชาวบานหลุมทองหลาง

หมูที่ 5 ตําบลสิงหนาท คือการทํานา ทําสวน และปลูกผักพื้นบาน เชน กระเพราะ โหราพา ผักบุงจีน ตะไคร มะเขือพวง ฯลฯ เพื่อสงขาย ใหกับตลาด แตในอดีตที่ผานมา ชาวบาน มักจะประสบปญหาพืชผักถูกกดราคาจาก พอคาคนกลาง ในขณะที่ตนทุนการผลิตก็สูง ขึ้นเพราะตองใชสารเคมี ทําใหมีรายรับไมพอ กับรายจาย กํ า นั น บั ญ ชา พวงสวั ส ดิ์ นายโชติ สายด ว ง และนางชม อ ย สายด ว ง จึ ง เกิ ด แนวคิ ด ว า หากชาวบ า นยั ง ปลู ก พื ช ผั ก โดย ใชสารเคมีและตางคนตางทําแบบนี้ จะไม สามารถตอรองราคากับพอคาได จึงกอตัง้ เปน “กลุม ผักปลอดสารพิษบานหลุมทองหลาง หมูท ี่ 5” ขึน้ เพือ่ รวมกลุม กันปลูกพืชผักปลอด สารพิษ ซึ่งนอกจากจะสงผลดีตอสุขภาพทั้ง ของเกษตรกรผูปลูกและผูบริโภคแลว ยังชวย ลดตนทุนการผลิต ผลผลิตที่ไดก็มีคุณภาพดี และสามารถจําหนายไดราคาดีอีกดวย ทั้งนี้สมาชิกที่เขารวมกลุมตองปฏิบัติ ตามข อ กํ า หนดของกลุ  ม คื อ การปลู ก ผั ก ที่ไดมาตรฐาน GAP (Good agricultural practice) ซึ่ ง เป น การผลิ ต พื ช เพื่ อ ให ไ ด ผลผลิ ต ได ม าตรฐานปลอดภั ย ปลอดศั ต รู พืช และคุณภาพถูกใจ ซึ่งเมื่อไดผลผลิตตาม เกณฑมาตรฐานแลว จะนํามาจําหนายใหกับ ศูนยกลางรับซือ้ และตรวจสอบคุณภาพผัก ซึง่ ตั้งอยูที่บานของกํานันบัญชาดวย ปจจุบันกลุมผักปลอดสารพิษบานหลุม ทองหลาง หมูที่ 5 มีสมาชิก 50 คน ปลูกผัก พื้นบาน มากกวา 20 ชนิด เชน ผักหวาน บาน ใบบัวบก ผักแพรว ดอกแขยง คาวทอง ลาเที ย โต คึ่ น ฉ า ย เป น ต น ซึ่ ง ป จ จุ บั น ผั ก ปลอดสารพิษของกลุม ฯไมไดสง ขายเฉพาะใน ประเทศไทยเทานั้น แตยังสงออกไปจําหนาย ยังประเทศตางๆ เชน เยอรมัน อังกฤษ และ ประเทศในกลุ  ม สหภาพยุ โ รปด ว ย โดยส ง ผานบริษัท all way fresh บริษัท ไทยพัฒนา

ฟูด บริษัท PDI บริษัท ชัชวาลย และบริษัท ธนะศาสตร ทํ า ให ส มาชิ ก ในกลุ  ม มี ร ายได ประมาณ 10,000 บาทตอเดือน จึงนับได วาการดําเนินงานของกลุมผักปลอดสารพิษ บานหลุมทองหลาง ประสบความสําเร็จอยาง มาก เพราะนอกจากจะสร า งรายได ใ ห กั บ คนในชุมชนแลว คนในชุมชนและผูบริโภคยัง ไดรับประทานผักปลอดสารพิษที่สดใหมได คุณภาพ ซึง่ จะชวยใหสขุ ภาพรายกายแข็งแรง และปลอดภัยจากสารเคมีทอี่ าจเปนสาเหตุให เกิดโรครายดวย สนใจสัง่ ซือ้ ผักปลอดสารพิษ หรือตองการ ศึกษาดูงาน ติดตอไดที่ องคการบริหารสวน ตํ า บลสิ ง หนาท โทร.081-9464417 หรือ กํานันบัญชา พวงสวัสดิ์ เลขที่ 25 หมู 5 ตําบลสิงหนาท อําเภอลาดบัวหลวง จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โทร. 089-8043854 Ayutthaya 127


เส้นทางพบเทศบาลตําบล (อ.บางปะอิน)

เทศบาลตําบลบานสราง

เทศบาลตําบลบ้านสร้าง ได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลมาเป็น เทศบาลต�าบลบ้านสร้าง เมือ่ พ.ศ.2542 อยูใ่ นเขตพืน้ ทีข่ องต�าบลบ้านสร้าง อ�าเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเทศบาลขนาดกลาง อยูห่ า่ ง จากตัวจังหวัดประมาณ 13 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 7.06 ตารางกิโลเมตร แบ่งการบริหารออกเป็น 8 หมู่บ้าน 18 ชุมชน ปัจจุบันมี นายมาโนช หัทยามาตย เป็นนายกเทศมนตรี นายวุฒิชัย หัทยามาตย และ นายบุญมาก มวงมัง่ มี เป็นรองนายกเทศมนตรี และมี นายวีระ แสงรัสมี เป็นประธานสภาเทศบาล

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาล ด้ า นเศรษฐกิ จ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขาย รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น เย็บผ้าโหล การเกษตรกรรม อาชีพเกษตรกรรมที่ส�าคัญ ได้แก่ การท�านา และ การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไก่ไข่ เลี้ยงเป็ด และประมง เป็นต้น การพาณิ ช ยกรรมและการบริ ก าร การประกอบธุรกิจการค้า ได้แก่ ร้านขาย เสื้อผ้ากีฬา ร้านขายอาหาร และร้ายขาย ของช� า จ� า นวน 175 แห่ ง มี ก ารลงทุ น ด้านธุรกิจบ้านจัดสรร อาคารชุด อาคาร พาณิชย์ตา่ งๆ และมีตลาดสดเทศบาลต�าบล บ้านสร้าง จ�านวน 1 แห่ง การอุ ต สาหกรรม ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรม ในครัวเรือน เช่น การเย็บผ้า-โหล ซึ่งเขต 126

ทต.บ้านสร้างนับเป็นแหล่งเย็บผ้าโหลที่ส�าคัญและใหญ่ ที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นอกจากนี้แล้ว ยังมีการ รับประกอบชิน้ งานย่อยในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ ฯลฯ จากนิคมอุตสาหกรรม โรจนะ การปศุสัตว ส่วนใหญ่อยู่บริเวณพื้นที่ หมู่ 5 ต�าบล บ้านสร้าง ซึ่งมีการท�าฟาร์มไก่ไข่ ผลิตไข่ไก่ ออกจ�าหน่าย


ในพื้นที่ต่างๆ จ�านวนมาก นับว่าเป็นแหล่ง อุตสาหกรรมด้านปศุสัตว์ในการผลิตไข่ไก่ที่ ใหญ่ที่สุดในภาคกลาง ด้านสังคม ศาสนา ประชาชนส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 100 ของ จ�านวน ประชากรทัง้ หมด มีวดั 2 วัด คือวัดบ้านสร้าง และวัดกลางเกาะระก�าหรือวัดท�าใหม่ และมี ศาลเจ้า 1 แห่ง คือ ศาลเจ้าพ่อร่มขาว กีฬาและนันทนาการ มีสถานที่การ ออกก�าลังกาย สวนสาธารณะ และสนาม เด็ ก เล่ น ในชุ ม ชนต่ า งๆ โดยมี ส นามกี ฬ า เอนกประสงค์ 6 แห่ง และสวนสาธารณะ 9 แห่ง และมีสนามฟุตซอลในร่มทีไ่ ด้มาตรฐาน และสนามหญ้าเทียม 1 แห่ง วัฒนธรรมประเพณี เทศบาลได้ให้ ความส� า คั ญ อย่ า งมาก และส่ ง เสริ ม การ รวมกลุม่ ของประชาชนทีม่ วี ถิ ชี วี ติ ทีแ่ สดงถึง อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียม ประเพณีของท้องถิ่น โดยจัดให้มีประเพณี วั น สงกรานต์ ใ นเดื อ นเมษายนของทุ ก ปี ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ช่วงเดือนพฤษภาคม, ประเพณี แ ห่ เ ที ย นเข้ า พรรษาช่ ว งเดื อ น กรกฎาคม และประเพณี ล อยกระทง ช่ ง เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี ด้านการศึกษา เทศบาลได้ให้ความ ส�าคัญ เกี่ยวกับการศึกษาของเยาวชนใน

ท้องถิ่นเป็นอย่างมาก ปัจจุบันมีศูนย์พัฒนา เด็กเล็กของเทศบาลจ�านวน 2 แห่ง ซึ่งใน อนาคตทางเทศบาลจะมี ก ารยกฐานะให้ เป็นโรงเรียนอนุบาล เพื่อรองรับจ�านวนเด็ก ที่เพิ่มขึ้น และมีโรงเรียนระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาของสังกัด สพฐ. ในพื้นที่ อีก 2 โรงเรียนคือ โรงเรียนวัดบ้านสร้าง และ โรงเรียนวัดท�าใหม่ การสาธารณสุ ข เทศบาลต� า บล บ้านสร้าง ให้ความส�าคัญการส่งเสริมสุข ภาพของประชาชน ตั้ ง แต่ แ รกเกิ ด ถึ ง สู ง อายุ การควบคุมและป้องกันโรค การรักษา พยาบาลและการฟื้นฟูสุขภาพ การควบคุม และป้ อ งกั น ยาเสพติ ด การควบคุ ม และ ป้องกันโรคจากสัตว์สู่คน โดยมีจุดมุ่งหมาย ให้ประชาชนสุขภาพดี ปราศจากโรคภัยไข้ เจ็บ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งสามารถให้ บริการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งต�าบล 1. มี ห น่ ว ยบริ ก ารการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น (EMS) มีรถพร้อมอุปกรณ์การปฐมพยาบาล เบื้องต้น ให้บริการประชาชนในเวลาเกิด อุ บั ติ เ หตุ ฉุ ก เฉิ น หรื อ การปฐมพยาบาล เบื้องต้นอื่นๆ โดยไม่เสียค่าบริการใดๆ 2. มี ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ บสมุ น ไพรเพื่ อ สุขภาพ (Bansang Spa) โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ การดู แ ลสุ ข ภาพของประชาชน และ กระตุ้นเตือนให้ประชาชนให้เกิดการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อการมีสุขภาพ

อนามัยที่ดี ด้วยวิธีการทางธรรมชาติ โดยใช้ สมุนไพรธรรมชาติ 3. มีศูนย์บริการสาธารณสุข 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลลาน เท ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดของกระทรวง สาธารณสุข

127


นโยบายของนายกเทศมนตรี กระผม นายมาโนช หั ท ยามาตย นายกเทศมนตรี ตํ า บลบ้ า นสร้ า ง ได้ ก�าหนดแนวนโยบายในการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่นของเทศบาลต�าบลบ้านสร้าง โดยจะยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นเป้าหมายการพัฒนาท้องถิ่น ด้วยการ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการร่วม คิด ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมก�าหนดทิศทาง การพัฒนาให้เป็นไปตามความต้องการของ ประชาชน เปดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วม ในการจัดท�าแผนพัฒนาเทศบาล เพื่อผลัก ดันการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นไปสู่ เป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์ อีกทั้งเป็นการ อาศั ย ความร่ ว มมื อ จากประชาชนในเขต เทศบาลให้เกิดความตระหนัก ในการแก้ไข ปัญหาร่วมกัน อันน�าไปสูค่ วามร่วมมืออย่าง จริงจัง ระหว่างฝายการเมือง ฝายพนักงาน ประจ�า กลุ่มองค์กรเอกชน และประชาชน เพื่ อ สร้ า งประชาคมในเขตเทศบาลให้

เข้มแข็ง การเดินหน้าในการแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น และการพัฒนาในทุกด้านอย่าง สอดคล้องกันตามความเหมาะสมของท้องถิ่น มุ่งเน้นการบริหารจัดกิจการบ้านเมืองที่ ดี หรือการยึดหลัก “ธรรมาภิบาล” เป็นส�าคัญอันหมายถึงการบริหารราชการด้วยความ ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ยึดถือประโยชน์ ของส่วนรวมเป็นเป้าหมายของการพัฒนา นอกจากนี้ ในการบริหารของเทศบาลต�าบล บ้านสร้าง กระผมให้ความส�าคัญกับการท�างานในเชิงบูรณาการ ประสานความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน จากความต้องการของหลายฝาย ทัง้ ภาคประชาชน ชุมชน กลุม่ องค์กรต่างๆ และ หน่วยงานภาครัฐอืน่ ๆ ในระดับท้องถิน่ ไปจนถึงระดับจังหวัด ระดับภูมภิ าค และสอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลต่อไป 164


Ayutthaya 165


เสนทางพบเทศบาลตําบล (อ.บางปะอิน)

นายผดุงศักดิ์ ทองสาร นายกเทศมนตรีตําบลสรางโศก

“บางกระสัน้ เมืองนาอยู เชิดชูวฒ ั นธรรม ไทย หางไกลยาเสพติด พัฒนาคุณภาพ ชีวิต เศรษฐกิจรุงเรือง” คือคําขวัญของตําบลบางกระสั้น ซึ่ง อยูในการปกครองของ เทศบาลตําบลบาง กระสั้น เลขที่ 89 หมูที่ 6 ตําบลบางกระสั้น อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่ ง ได รั บ การยกฐานะเป น เทศบาลตํ า บล ตั้งแตวันที่ 23 สิงหาคม 2550 ปจจุบันมี นายสมทรง ลีวัฒนะ ดํารงตําแหนง นายก เทศมนตรีตําบลบางกระสั้น ซึ่งมีสโลแกน ประจําตัววา “นายกที่มีแตให” ขอมูลทั่วไป ตํ า บลบางกระสั้ น ตั้ ง อยู  ห  า งจาก อําเภอบางปะอิน เปนระยะทางประมาณ 5 กิ โ ลเมตร และอยู  ห  า งจากตั ว จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ประมาณ 22 กม. มีเนือ้ ที่ ทั้งหมด 18.912 ตร.กม. หรือประมาณ 11 ,820 ไร เทศบาลตําบลบางกระสั้น แบง การปกครองออกเปน 17 หมูบาน จํ า นวนประชากร ณ เดื อ น มี น าคม 2556 ประมาณ 11,415 คน แยกเปนชาย 5,333 คน หญิง 6,082 คน มีจํานวนครัว เรือน จํานวน 4,563 ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพรับจางในกระบวนการผลิต ของโรงงานอุตสาหกรรม คนงานทั่วไป และ 168

เทศบาลตําบลบางกระสั้น คนงานเกษตร ซึ่งรายไดของประชากรสวน ใหญ ตอคนตอป จะมีรายไดเฉลี่ยประมาณ 42,000-100,000 บาท : คน : ป วิสัยทัศนการพัฒนา ตําบลเขียวสะอาด มีความอุดมสมบูรณ จากแม นํ้ า เจ า พระยา ระบบชลประทาน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โครงสร า งพื้ น ฐานทั่ ว ถึ ง สุ ข ภาพอนามั ย ดี ถ  ว นหน า มี ค วามสงบ สันติสุข ปลอดยาเสพติด ประชาชนมีอาชีพ และรายได เปนแหลงการคาอุตสาหกรรม ทุกภาคสวนมีสวนรวมในการพัฒนา การ ศึ ก ษามี คุ ณ ภาพ อนุ รั ก ษ ศิ ล ปะประเพณี วัฒนธรรม นโยบายการบริหาร การพัฒนาทองถิ่นของทต.บางกระสั้น นัน้ เปนการสรางความเขมแข็งของชุมชน ใน

การรวมคิด รวมแกไขปญหา รวมสราง รวม จัดทําสงเสริมความเขมแข็งของชุมชน ใน เขตพื้นที่ของทต.บางกระสั้น ใหมีสวนรวม ในการพัฒนาทองถิ่นในทุกดาน การพัฒ นาทต.บางกระสัน้ จะสมบูรณได จําเปนตอง อาศัยความรวมมือของชุมชนในพื้นที่ ให เกิดความตระหนักรวมกันแกไขปญหา และ ความเขาใจในแนวทางการแกไขปญหากัน อยางจริงจัง ทต.บางกระสั้นยังไดเนนใหคน เปนศูนยกลางของการพัฒนาในทุกกลุม ทุก วัยของประชากร นอกจากนั้นยังไดเนนการ สงเสริม และสนับสนุนใหการศึกษา และ พัฒนาเยาวชนใหพรอมที่จะเปนบุคคลากร ที่มีคุณภาพ โดยยึดกรอบแนวทางในการ จัดระเบียบการศึกษา สวนดานการพัฒนา อาชี พ จะเน น พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ชุ ม ชนพึ่ ง ตนเองในทองถิ่น และยังจัดใหตั้งเศรษฐกิจ พอเพียงโดยสวนรวม


ผลการดําเนินงาน 48 โครงการในป 2556 ยุ ท ธศาสตร ที่ 1 การพั ฒ นาด า น โครงสรางพื้นฐาน ดําเนินโครงการทั้งสิ้น 5 โครงการ ใชงบประมาณจํานวน 8,172,500 บาท อาทิ โครงการขุดลอกลํารางสงนํา้ และ โครงการกอสราง ปรับปรุงถนน ยุ ท ธศาสตร ที่ 2 การพั ฒ นาด า น เศรษฐกิจชุมชน ดําเนินโครงการทั้งสิ้น 1 โครงการ ใชงบประมาณจํานวน 999,000 บาท ไดแก โครงการจางงานเพือ่ แกไขปญหา การวางงาน ยุ ท ธศาสตร ที่ 3 การพั ฒ นาด า น คุณภาพชีวติ และคุณคาทางสังคม ดําเนิน โครงการทั้งสิ้น 34 โครงการ ใชงบประมาณ จํานวน 16,385,050 บาท ไดแก โครงการจัด งานประเพณีลอยกระทง สงกรานต แหเทียน พรรษา โครงการ 5 ธันวามหาราช โครงการ วันแมแหงชาติ อุดหนุนที่ทําการปกครอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุดหนุนที่ทําการ ปกครองอําเภอบางปะอิน โครงการจัดหา สือ่ การเรียนการสอนของศูนยพฒ ั นาเด็กเล็ก โครงการพัฒนากาเรียนรูเ ด็ก และผูป กครอง ของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก อุดหนุนคาอาหาร กลางวันโรงเรียนในเขตตําบลฯ โครงการจัด ซื้อวัสดุ ครุภัณฑประจําศพด. สนับสนุนคา ใชจายการบริหารสถานศึกษาฯ โครงการ ศึกษาดูงานสําหรับบุคลากรทางการศึกษา โครงการสงเคราะหเบี้ยยังชีพผูสูงอายุ คน พิการ และผูปวยเอดส โครงการสงเคราะหผู ประสบภัยพิบัติ โครงการจัดงานวันเด็กแหง ชาติ โครงการจัดหาและสนับสนุนอุปกรณ กีฬาประจําหมูบาน โครงการปองกันและ ควบคุมโรคพิษสุนขั บา โครงการปองกันและ ควบคุมโรคไขเลือดออก โครงการปองกัน

และคบคุมโรคไขหวัดนก โครงการปองกัน และควบคุ ม โรคไข ห วั ด 2009 อุ ด หนุ น กองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ อุดหนุน วัดบางเคียนวิเชียรฉายเพื่อดําเนินโครงการ สงเสริมความรวมมือวัด บาน โรงเรียนเพื่อ ปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด โครงการ ปองกันและแกไขปญหายาเสพติดตําบล โครงการเพิม่ พูนประสิทธิภาพ จนท. ปองกัน และบรรเทาสาธาณภัย/อปพร. โครงการ จั ด หาอุ ป กรณ ใ นการปฏิ บั ติ ง านสํ า หรั บ เจาหนาที่ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย โครงการสายตรวจชุมชน ยุ ท ธศาสตร ที่ 4 การพั ฒ นาด า น ระบบจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม ดํ า เนิ น โครงการทั้ ง สิ้ น 3 โครงการ ใชงบประมาณจํานวน 1,641,214 บาท ไดแก โครงการบางกระสั้นเมืองนาอยู โครงการจัดหาภาชนะรองรับขยะมูลฝอย

โครงการจัดหาเครื่องมือเครื่องใชในการเก็บ และกําจัดขยะมูลฝอย ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาดานการ บริหารจัดการ ดําเนินโครงการทั้งสิ้น 13 โครงการ ใชงบประมาณจํานวน 1,617,449 บาท ได แ ก โครงการฝ ก อบรม สั ม มนา และศึ ก ษาดู ง านทั้ ง ในและต า งประเทศ ของผูบริหารทองถิ่นฯ โครงการฝกอบรม เสริ ม สร า งคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรมพนั ก งาน เทศบาล และชุมชนในตําบลบางกระสั้นฯ การอุ ด หนุ น ศู น ย ร วมข อ มู ล จั ด ซื้ อ จั ด จ า ง องคกรปกครองสวนทองถิน่ โครงการแขงขัน กีฬา พนักงานเทศบาลบางกระสั้น โครงการ ส ง เสริ ม การมี ส  ว นร ว มของประชาชนใน การบริหารราชการสวนทองถิ่น โครงการ สนับสนุนการเลือกตั้งระดับชาติและระดับ ทองถิ่น โครงการปรับปรุงและ พัฒนาเว็บไซต ทต.บางกระสั้น โครงการจัดทําและทบทวนแผน ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา/แผน พั ฒ นาสามป โครงการอบรม และทั ศ นศึ ก ษาแก ผู  นํ า ชุ ม ชน และประชาชน เพื่อพัฒนาทอง ถิน่ โครงการลดขัน้ ตอนและขยาย เวลาปฏิบัติราชการเพื่อบริการ ประชาชน โครงการแข ง ขั น กี ฬ าทศบาล สัมพันธ โครงการจัดซื้อครุภัณฑตางๆ ของ หนวยงานในเทศบาลตําบลบางกระสั้น

Ayutthaya 169


เสนทางพบองคการบริหารสวนตําบล (อ.บางปะอิน)

องคการบริหารสวนตําบลบานโพ “ทองถิน่ นาอยู เชิดชูคณ ุ ธรรม งามลํา้ นํา้ ใจ ไพรฟาหนาใส ชีวิตทรัพยสินปลอดภัย หาง ไกลยาเสพติด พิชติ ความยากจน บนพืน้ ฐาน เศรษฐกิจพอเพียง” คื อ วิ สั ย ทั ศ น ข ององค ก ารบริ ห ารส ว น ตํ า บลบ า นโพ ซึ่ ง ตั้ ง อยู  เ ลขที่ 23/2 ตํ า บล บานโพ อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรี-อยุธยา ปจจุบนั มี นายรัตนะ พันธุส วัสดิ์ ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบลบานโพ ขอมูลทัว่ ไป องคการบริหารสวนตําบลบานโพ มีพื้นที่ ทัง้ หมด 13.564 ตร.กม. โดยแบงเปนพืน้ ทีใ่ นตําบล บานโพ 7.959 ตร.กม. และตําบลขนอนหลวง 5.605 ตร.กม.แบงเขตการปกครองเปน 14 หมูบาน อยู ในตําบลบานโพ 9 หมูบ า น และตําบลขนอนหลวง 5 หมูบ า น มีประชากรทัง้ สิน้ 4,639 คน สวนใหญ ประกอบอาชีพรับจาง ทัง้ ในโรงงานอุตสาหกรรม และรั บ จ า งทั่ ว ไป บางส ว นประกอบอาชี พ รั บ ราชการ คาขาย ประมงพืน้ บาน และทําเกษตรกรรม

170

นโยบายการพัฒนาของผูบ ริหาร 1. ดานการบริหารจัดการองคการ มีนโยบายในการบริหารจัดการองคการ เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริการ 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การปฏิบตั ิ การตรวจสอบ และการ ประเมินผลตามมาตรฐานและความพึงพอใจของ ผูร บั บริการ 2. ดานโครงสรางพืน้ ฐาน มีนโยบายกอสรางและปรับปรุงโครงสราง พืน้ ฐานทุกชนิด เพือ่ รองรับความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ ตามความตองการของประชาชน รวม ทัง้ เพือ่ ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาองคการบริหาร สวนตําบล และยุทธศาสตรจงั หวัด 3. ดานเศรษฐกิจและอาชีพ มีนโยบายมุงเนนการพัฒนาดานเศรษฐกิจ ให มี คุ ณ ภาพ สนั บ สนุ น และส ง เสริ ม ให แ ก ประชาชน และสรางมูลคาเพิ่มของสินคาและ บริการ เพือ่ สรางรายไดใหกบั ชุมชน 4. ดานการศึกษา มี น โยบายให ป ระชาชนมี ส  ว นร ว มในการ พัฒนาการศึกษา และสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น พรอมทัง้ นําหลักธรรมทางศาสนา พัฒนาคุณภาพ ของคนดานการศึกษา 5. ดานการเมืองการปกครอง มีนโยบายมุงเนนสงเสริมและสนับสนุนการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริยเ ปนประมุข สงเสริมการบริหารการพัฒนา 6. ดานการพัฒนาการสงเสริมคุณภาพชีวติ มีนโยบายมุงเนนการพัฒนาคุณภาพของคน เพื่อใหสอดคลองกับการเจริญเติบโต และการ

เปลีย่ นแปลงของวิทยาการสมัยใหม สนับสนุนการ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ของประชาชนตามกลุม อายุ ซึง่ จะนําไปสูค วามสุขของครอบครัว และชุมชน 7. ดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี มี น โยบายมุ  ง เน น ฟ  น ฟู ป ระเพณี ใ นตํ า บล บานโพ ตําบลขนอนหลวง ใหประชาชนมีสวน รวมสงเสริมวัฒนธรรมและจารีตประเพณี และ ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ พรอมทัง้ การนําหลักธรรมทาง ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี มาใชในชีวิต ประจําวัน 8. ดานความปลอดภัยชีวติ และทรัพยสนิ มีนโยบายมุงเนนการบริการประชาชนทุก ระดับ และใหประชาชนสามารถพึง่ พาตนเองได ตลอดจนสรางความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ การประชาสัมพันธใหความรูด า นการปองกันและ บรรเทาสาธารณภัย ใหแกประชาชน 9. ดานการใหบริการ มีนโยบายเพื่อใหการบริการที่สะดวกสลบาย แกชาวอบต.บานโพ อาทิ จัดหนวยชุมชนสัมพันธ สงเสริมการออกกําลังกาย จัดตั้งศูนย Hotline ของ อบต. เพื่อแจงเหตุฉุกเฉิน จัดหนวยบริการ เคลื่อนที่ จัดตั้ง Web site ขององคการบริหาร สวนตําบล ฯลฯ สถานทีท่ อ งเทีย่ วสําคัญในเขต อบต.บานโพ หมูบานเสากระโดง และวัดทองบอ เปน ชุมชนมอญที่เครงครัดในศาสนา ประเพณี และ วัฒนธรรมที่สืบทอดมาชานาน มีสิ่งที่นาสนใจ ไดแก เสากระโดงเรือสําเภาโบราณ พระพุทธรูป หยก อายุ 2,000 ป คัมภีรใบลาน คัมภีรงาชาง


คัมภีรใบขอย ศาลาการเปรียญซึ่งเปนศิลปะแบบ มอญ พิพิธภัณฑพื้นบานวัดทองบอ และศูนย ศึกษาชุมชนชาวมอญ จัดแสดงสิ่งของเครื่องใช สมัยโบราณตางๆ มากมาย ตลาดโกงโคง เปนตลาดยอนยุคที่ผูซื้อตอง โกงโคงซือ้ สินคาตามแบบฉบับตลาดโบราณ และ พบกับวิถชี วี ติ ของไทยในอดีตทีถ่ กู รือ้ ฟน ขึน้ มาเพือ่ อนุรกั ษวฒ ั นธรรมไทยเอาไว เกาะพระ เปนเกาะกลางแมนํ้าเจาพระยา ซึ่งชาวบานมีความเปนอยูอยางเรียบงายและ มี ชี วิ ต ผู ก พั น กั บ สายนํ้ า และมี จุ ด เด น ที่ ส ภาพ แวดล อ มทางธรรมชาติ ที่ ยั ง คงสภาพเดิ ม จึ ง มี ก ารจั ด โครงการส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ บริ เ วณเกาะพระ หมู  ที่ 5, 7 ตํ า บล บานโพ เพือ่ สัมผัสกับวิถชี วี ติ ชาวเกาะพระ ศาสนสถานทีส่ าํ คัญของตําบลบานโพ วัดบานพาสน ตั้งอยูที่ หมู 1 ตําบลบานโพ สรางราวป พ.ศ.2200 ในวัดมีพระพุทธรูปทีส่ าํ คัญ ทีค่ นนิยมบูชาคือ “หลวงพอมงคล” วัดโพธิ์ สรางราวปพ.ศ.2300 มีรูปเหมือน สมเด็จพระพุฒาจารย โต พรหมรังสี และรูปเหมือน หลวงปูคง และมี “หลวงพอโพธิ์ทองศักดิ์สิทธิ์” พระพุทธรูปปูนปน ปางมารวิชยั ศิลปะสมัยอยุธยา วัดบานเลนสระกระจับ สรางขึน้ เมือ่ ป พ.ศ. 2295 ปูชนียวัตถุสําคัญ ไดแก พระพุทธรูปสมัย เชียงแสน และพระประธานในพระอุโบสถ วัดทองบอ ทีต่ งั้ ชุมชนมอญบานเสากระโดง ตัง้ อยูท หี่ มูท ี่ 4 ตําบลขนอนหลวง อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวั ติ ค วามเป น มา หมู  บ  า นเสากระโดง เดิมเรียกกันตามภาษามอญวา กวานปราสาท และวั ด ทองบ อ ก็ มี ก ารเรี ย กกั น แต เ ดิ ม ว า เพียรปราสาท ตอมาไดเปลี่ยนมาเปนวัดทองบอ เนือ่ งจากบริเวณทีต่ งั้ หมูบ า นในอดีต เปนดานขนอน

สมัยกรุงศรีอยุธยา มีการใชเรือสําเภา ในการขนสง สินคา และเดินทางเกิดเหตุ อัปปางลงเรือพรอม เสากระโดง ลอยมาติดอยูแ ถวหมูบ า นนี้ จนทําให ผูค นผานไปมา เรียกหมูบ า นวาหมูบ า นเสากระโดง ปจจุบัน เสากระโดงไดเก็บรักษาไว ในบริเวณ วัดทองบอ เปนโบราณวัตถุ และสัญลักษณของ หมูบ า นเสากระโดง วัฒนธรรมประเพณี ชาวบาน ในชุมชนมอญบานเสากระโดง เครงครัดในศาสนา จะรวมถือศีลฟงธรรม ในวันพระและวันสําคัญ ทางศาสนา รวมทั้งรวมกิจกรรมทางศาสนา เชน เทศกาลสงกรานต เทศกาลเขาพรรษา ประเพณี การตักบาตรนํ้าผึ้ง เทศกาลออกพรรษา การแห โน แมที่วัฒนธรรมไดเปลี่ยนไปตามสภาพสังคม ทีเ่ ปลีย่ นไปแตพระภิกษุสงฆทวี่ ดั ทองบอ ยังรักษา เอกลักษณการสวดพระอภิธรรมภาษามอญตลอด มา ประเพณีสงกรานตมกี าร แหโน (หางหงส-ธง ตะขาบ) การละเลนพืน้ บาน การแตงกายชุดมอญ การรับประทานขาวแช วัดโปรดสัตว มีพระพุทธรูปประธานประจํา อุโบสถ ซึ่งเปนที่เคารพสักการะของประชาชน ตําบลขนอนหลวง และตําบลใกลเคียง จะมีงาน ปดทองพระประธานเปนประจําทุกๆ ป ในเวลา ปกติประชาชนทีส่ ญ ั จรทางนํา้ ผานหนาอุโบสถ จะ ทําความเคารพ และจะวักนํา้ เสยศีรษะบาง วักนํา้ ขึน้ มาประพรมสินคาทีจ่ ะนําไปขายบาง วัดทําเลไทย ในอุโบสถมีพระประธานปาง สมาธิ สรางประมาณ พ.ศ.2359 วิหารดานเหนือ ประดิษฐาน “หลวงพอดํา” พระพุทธรูปโบราณ วิหารดานใต ประดิษฐานรูปหลอ “สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช” และ “สมเด็จพระเจาตากสิน มหาราช”

สมุ ด โน ต ปกไม อั ด , นํ้ า ยาล า งจานกลิ่ น ผล ไม, ปลอกหมอนเย็บดวยมือ ติดตอไดที่ คุณ อรุ ณี ราชอิ ท ร โทร.081-9472358 กระเป า ผ า ลดโลกร อ น ติ ด ต อ ได ที่ คุ ณ โม โทร.035 -795661 เปาแกว ติดตอไดที่ คุณการตูน โทร. 086-1369692 ถักโครเชรูปตุกตา, ถักโครเชร กลองกระดาษทิชชู, เสื้อถักดวยไหม ติดตอ ไดที่ คุณเล็ก ไวยจิรา โทร.083-7857213 นํ้ายา เอนกประสงค ติดตอไดที่ คุณอรรถพล ผลเกิด โทร.083-8198856 บานรักสมุนไพร ติดตอไดที่ คุ ณ เพ็ ญ สุ ข ธรรมโอรส โทร.089-2427615 ตระกราปานศรนารายณ ติดตอไดที่ คุณกาหลง โพธิ์งาม โทร. 087-7682899 ดอกไมผลิตจาก ตนโสน ติดตอไดที่ คุณสุจนิ ต จําแนกทรัพย โทร. 089-0490946 ตระกราทางมะพราว ติดตอไดที่ คุณประนอม ภาคาแพทย โทร. 080-4396348 โคมไฟไมแกะสลัก ติดตอไดที่ คุณปรัชฌาวัฒน พรหมสาขา ณ สกลนคร โทร. 081-3850609 สินคา OTOP “ถาวร พารค” ศูนยการคาแหง ใหม ในอําเภอบางปะอิน “เงินทุกบาท ทุกสตางค ที่ทานจับจายใชสอยภายในศูนย จะจายคืนภาษี ใหกบั ชุมชน” รานอาหารแนะนําในเขตตําบลบานโพ ไดแก รานครัวธนากร (เมนูเด็ด พลากุง แมนาํ้ , แกงคัว่ หอยขม) รานครัวกันเอง (เมนูเด็ด ผัดซีโ่ ครงเมีย นอย, ตมยําปลาเคา) รานครัวเดน (เมนูเด็ด ปลา ตะเพียนไรกาง, ตมยําปลามา) รานสวนอาหาร บานไผ (เมนูเด็ด เมีย่ งปลาเผา, ฉูฉ ปี่ ลานํา้ เงิน)

อบต.บานโพ ชวนชิมชวนช็อปสินคา OTOP ขนมเบื้ อ ง ติ ด ต อ ได ที่ คุ ณ ขวั ญ ยื น ไวย โภคา โทร.083-7101625 กระจกรูปการตูน, โคมไฟไมแกะสลัก, พวงกุญแจทําจากไมอัด, Ayutthaya 171


p172-173º·¤ÇÒÁàºÕÂÃì.pdf 1 9/7/2557 14:21:21

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


p172-173º·¤ÇÒÁàºÕÂÃì.pdf 2 9/7/2557 14:21:25

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K


เส้นทางพบเกษตรกรดีเด่น

อีกหนึ่งความภูมิใจของ

คุณลุงมานิตย แยมประยูร

คุ ณ ลุ ง มานิ ต ย์ หรื อ นายมา นิตย์ แย้มประยูร เกษตรกรดีเด่น ชา วอ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่ง นิตยสาร SBL เคยแนะน�าให้ท่านผู้ อ่านรูจ้ กั ไปเมือ่ ปทผี่ า่ นมา ในปนี้ คุณ ลุงมานิตย์มีเรื่องราวเกี่ยวกับความ ภาคภูมิใจของท่านมาบอกเล่า นอก เหนื อ จากการพิ สู จ น์ ใ ห้ โ ลกเห็ น ว่ า เกษตรกรไทยก็ไม่น้อยหน้าใคร สร้างบ้านเรือนไทย อนุสรณ์เพื่อคน รุ่นหลัง ปัจจุบันสวนเกษตรของคุณลุงมา นิตย์ ไม่เพียงแต่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยว เชิ ง เกษตรกรรมเท่ า นั้ น แต่ ยั ง เป็ น ที่ ศึกษาดูงาน และที่ฝึกงานของเกษตรกร ทั่วไทย และนักศึกษาด้านพืชสวนจาก มหาวิทยาลัยชัน้ น�าด้วย ซึง่ ในอดีตเคย มีนักศึกษาประดับปริญญา เอกจากญี่ ปุ  น มาขลุ ก อยู ่ กั บ คุ ณ ลุ ง เพื่ อ เก็ บ เกีย่ วความรูจ้ นกระทัง่ ส�าเร็จเป็น ดร. มา แล้วด้วย

174


ด้วยเหตุทมี่ ผี มู้ าขอฝึกงานและต้อง พักอยู่ที่สวนเป็นเวลานาน คุณลุงจึงเกิด แรงบันดาลใจในการสร้างบ้านเรือนไทย ขึ้น โดยใช้งบประมาณราว 4 ล้านบาท สร้างจากไม้เนื้อแข็งที่เป็นไม้มงคลด้วย “บ้านหลังนี้มีร้อยล้านพันล้าน ก็สร้างไม่ได้ เพราะสร้างจากไม้พยุง และไม้ชิงชัน” คุณลุงเกริ่นน�าก่อนจะเล่าถึงที่มา ของการปลูกบ้านเรือนไทยหลังนี้ว่า “บ้านหลังโน้นที่ลุงสร้างไว้ก็ยก ให้ลูกสาวคนเล็กไป ทีนี้ลุงก็อยากมี บ้านของตัวเองไว้อยู่เองบ้าง เพราะ อนาคตมันไม่แน่นอน ลูกดีก็ดี เดี๋ยว ไม่ดีมันไล่เราไม่ให้อยู่บ้าน เราก็ต้อง ปลูกเตรียมไว้ แล้วที่นี่เราก็ให้ลูกไป” “ แ ล ้ ว ลุ ง ก็ คิ ด ว ่ า อ ย า ก ห า บรรยากาศดีๆ ปลูกแล้วน�้าไม่ท่วม ปลูกบนภูเขาเลย ให้มันสูงเลย เรา มาปลูกไว้ตรงนี้ เพื่อให้เด็กที่ดูงาน ฝึ ก งานไว้ พั ก ผ่ อ น คนมาหาผมมา เยี่ยมผมก็ใช้พักผ่อนได้ ท�าอะไรได้ เราก็มาอยู่ด้วย ลุงก็ตั้งใจไว้อย่างนี้ นะ”

บ้านเรือนไทยของคุณลุงมานิตย์ มีลักษณะเด่นคือเป็นเรือนไทยโบราณ ทรงปั้นหยา เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาการ สร้างบ้านตามแบบฉบับโบราณไว้ ซึ่ง นอกจากจะให้ความสวยงามอย่างไทย แท้แล้ว ยังเหมาะกับสภาพอากาศ 3 ฤดู ในบ้านเราด้วย “บ้านลุงจะประหยัดค่าใช้จ่าย เรื่ อ งไฟฟ้ า คื อ มั น อยู ่ สู ง มั น ก็ เ ย็ น หน้าลมใต้ ก็รับลมใต้ได้ หน้าลม เหนือ ลุงก็รับลมเหนือได้ ลุงปลูก หอคอยไว้ ส องด้ า นเลย รั บ ลมทั้ ง เหนื อ ทั้ ง ใต้ ว างแผนไว้ เ สร็ จ ท� า ที เดียวให้มนั จบ ไม่ตอ้ งท�าหลายเทีย่ ว ลุงอายุป่านนี้แล้วท�างานไม่เคยผิด พลาดเพราะใช้หลักธรรมะเสมอ ท�า อะไรก็อยากจะทิง้ ไว้ให้คนรุน่ หลังได้ ดูได้เห็น” ภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น ปั จ จุ บั น สวนของคุ ณ ลุ ง มานิ ต ย์ จะปลู ก ล้ ว ยไม้ น านาชนิ ด เช่ น พั น ธุ ์ แคทลียา แวนด้า ม็อคคาร่า กล้วยไม้ ตระกูลช้าง และตระกูลหวาย จ�าหน่าย Ayutthaya 175


พัฒนาสายพันธุ์ใหม่ๆ ที่เน้นเรื่องกลิ่น หอมมาก่อนเป็นอันดับแรกเสมอ โดยมี ทายาทคือลูกชายและลูกสาวทีม่ ารับไม้ ต่อจากคุณลุง “ตอนนี้ ก็ มี ค นโตแหละครั บ มา ท� า ทั้ ง เพาะเมล็ ด ติ ด ป ก จะเก่ ง เรื่องสายพันธุ์ ก็เอาพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ ที่ดีๆ มาผสมกันก็ใช้ได้หมด ก็ถือว่า เก่งแทนผมได้ครับ” คุณลุงกล่าวอย่าง ภาคภูมิใจ

ทั้งในและต่างประเทศ อาทิ ญี่ปุน จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย และที่ปากคลอง ตลาด สร้างรายได้ให้กับครอบครัวปละ กว่า 2 ล้านบาทเลยทีเดียว “การปลูกต้นไม้ของลุงนี่ไม่ค่อย มีปญหาเหมือนคนอื่นเขา ลุงปลูก ต้นไม้ไม่ค่อยเหมือนใคร เพราะลุง เล่นม็อคกับแคท เพราะคนปลูกกัน น้อย ตลาดเขานิยมปลูกหวายกัน ลุง ก็ไม่เอา ลุงก็หนั มาเล่นม็อคกับแคทลี ยา เพราะว่าการปลูกม็อค ปลูกแคทนี่ รายได้มันช้า ต้องใช้เวลา ในขณะที่ สวนกล้วยไม้ของคนอื่นๆ จะปลูกไม้ หวายซะ 80 เปอร์เซ็นต์” ถึ ง แม้ ว ่ า กล้ ว ยไม้ จ ะสร้ า งทั้ ง ชื่ อ เสี ย งและรายได้ ใ ห้ กั บ คุ ณ ลุ ง และ ครอบครัวมากว่า 20 ป ทว่าปัจจุบนั สวน กล้วยไม้ของคุณลุงมานิตย์ ก็ยังมีการ 176

เคล็ดลับสู่เกษตรกรมืออาชีพ เ ป ็ น ที่ ท ร า บ กั น ดี ว ่ า จั ง ห วั ด พระนครศรีอยุธยานั้น มักจะถูกน�้าเอ่อ ท่วมอยู่บ่อยครั้ง สวนเกษตรบนพื้นที่ กว่า 120 ไร่ของคุณลุงมานิตย์ ก็หนีไม่ พ้นเช่นกัน หลังจากเผชิญน�้าท่วมหนัก ในป 2549 คุณลุงได้วางแผนปองกัน พื้นที่สวนด้วยคันดินกั้นน�้าสูงเกือบ 5

เมตร และปรับที่สวนให้สูงขึ้นด้วย ใน ขณะที่ฤดูแล้งอยุธยาก็เป็นอีกพื้นที่หนึ่ง ที่ขาดแคลนน�้าเพื่อการเกษตร ซึ่งในจุด นี้คุณลุงได้เล่าถึงการรับมือกับปัญหา เรื่องน�้าแล้งว่า “ ก่อนจะปลูกอะไร ลุงต้องเตรี ยมไว้หมดทุกอย่าง ลุงมีบ่อพักน�้าตั้ง 4 ไร่ 5 ไร่ เตรียมพักน�้าไว้ก่อน ถ้า น�้าในคลองชลประทานไม่ปล่อยมา ก็ใช้น�้าในบ่อได้อะไรได้ การจัดการ ของลุงใช้ระบบนีห้ มด คือคิดก่อนท�า ไม่ใช่ปญหาเกิดแล้วค่อยมาท�า ไม่มี ครับชีวิตลุง” นอกจากการบริหารจัดการน�า้ อย่าง มีประสิทธิภาพแล้ว การวางแผนก่อน ลงมือปลูกพืชเพือ่ การค้า และคุณสมบัติ ของการเป็ น เกษตรกรที่ ดี ก็ มี ค วาม ส�าคัญไม่แพ้กนั ทีจ่ ะท�าให้เกษตรกรผูน้ นั้ ประสบความส�าเร็จ


ต้นไม้สักต้นสองต้นในบ้านของตัว เอง ให้มันร่มรื่น อากาศจะได้ดีขึ้น กันโลกร้อนด้วย เราจะได้สร้างป่า ในชุมชนเรา อ�าเภอเรา จังหวัดเรา ลุงก็อยากจะฝากไว้ให้อนุรักษ์ต้นไม้ กัน อยากจะให้ปลูกต้นไม้กันเยอะๆ โลกจะได้ไม่ร้อน ฝนก็จะตกต้องตาม ฤดูกาล นีแ่ หละครับทีล่ งุ อยากฝากไว้” แหละทั้ ง หมดนี้ คื อ แนวคิ ด และการด� า เนิ น ชี วิ ต ของ “คุ ณ ลุ ง มานิ ต ย์ แย้ ม ประยู ร ” เกษตรกร ดี เ ด่ น แห่ ง อ� า เภอเสนา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา คนธรรมดาที่ไม่ ธรรมดา

“ลุงก็อยากจะฝากไว้นะ เราเป็น เกษตรกรไม่ว่าจะปลูกกล้วยไม้ จะ ปลูกข้าว หรือเกษตรกรรมทุกสิ่งทุก อย่ า ง อยากให้ เ กษตรกรเรา ขยั น อดทน ซื่ อ สั ต ย์ ก่ อ นจะปลู ก อะไร คิดสักนิดนึง ดูตลาดว่าตลาดเมือง นอกต้องการไหม ผู้บริโภคต้องการ ไหม เราก็ปลูกตัวนั้นไป ไม่ใช่ว่าเรา ไม่ได้มองตลาดเลย แล้วเรามาปลูก ไป เราก็จะพลาด นี่แหละครับการ ท�างานของผม อยากให้เกษตรกรดู เป็นตัวอย่าง คือคิดก่อนท�า”

คนธรรมดาก็ท�าให้โลกน่าอยู่ได้ ใครทีม่ โี อกาสไปเทีย่ วทีส่ วนเกษตร ของคุณลุงมานิตย์ คงจะติดใจกับสภาพ สวนที่อุดมสมบูรณ์ ร่มรื่นด้วยไม้นานา พันธุ์ ทั้งไม้พื้นถิ่นและไม้หายาก ไม่นับ รวมกล้วยไม้สสี วยหลากหลายสายพันธุ์ จนนึกอยากจะมีสวนที่ร่มรื่นบ้าง คุณลุง มานิตย์จึงฝากวิธีง่ายๆ ที่จะช่วยให้บ้าน ของเรา ชุมชนของเรา และโลกของเรา น่าอยู่ว่า “เราจะมีทแี่ ค่รอ้ ยตารางวา หรือ ไร่สองไร่ ก็ชว่ ยกันอนุรกั ษ์ตน้ ไม้ ปลูก Ayutthaya 177


โรงแรม สวีท อินน Sweet inn 80 หมู 9 ต.บานกรด อ.บางประอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 13160

T.081-991-9480, 035-706716-8


โรงแรม สวีท อินน


เสนทางสุขภาพ

กินใหอารมณดีกันเถอะ

คุณเคยสงสัยไหมคะวา บางวันคุณก็จะอารมณ ดี สดชื่น กระปรี้กระเปรา โลกสวยทั้งวัน แตบางวันดู เหมือนเปนวันโลกแตก ทําอะไรก็แยไปหมด หรือไมก็ รูสึกเหนื่อยหนาย เซื่องซึม ไมอยากทําอะไรเลย มีงานวิจัยคนพบวาอาหารที่เรากินเขาไปนั้น มีผลตอ อารมณของคนเราคะ เรามาดูกันวาจะรับประทานอาหาร อะไรและอยางไร จึงจะทําใหอารมณดีขึ้นได 1. ตองรับประทานอาหารใหครบทุกมื้อ โดยเฉพาะ อาหารเชา อาจจะหาอาหารงายๆ เชน ขนมปงโฮลวีทสัก แผน หรือ ขนมปงกรอบธัญพืชสัก 2-3 แผนรองทอง อยา

ปลอยใหทองวางเด็ดขาด ระหวางวันก็อาจจะรับประทานมื้อเล็กๆ แตบอยขึ้น เพื่อ ปองกันไมใหระดับนํ้าตาลในเลือดตก 2. รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู อยางพอเพียงกับความตองการของรางกาย หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูงและมีคาดัชนีนํ้าตาลสูง 3. เลือกรับประทานอาหารที่มีคาดัชนีนํ้าตาลตํ่า เชน ขาวซอมมือ ขาวกลอง ขนมปงโฮลวีท ผักและผลไมที่มีเสนใยมาก และมีรสไมหวาน เพราะรางกายจะคอยๆ ยอยและดูดซึมชาๆ สงผลใหระดับนํ้าตาลในเลือดคงที่สมํ่าเสมอ 4. งดดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มนํ้าดํา และแอลกอฮอล หันมาดื่มนํ้าสกัดจากผัก หรือผลไมสด นํ้าผลไมคั้นสด หรือนํ้าเปลาธรรมดาแทน 5. ออกกําลังกายอยางตอเนื่องสัก 20 นาทีตอวัน เพราะรางกายจะหลั่งฮอรโมน แอนโดรฟนออกมา ทําใหคณ ุ รูส กึ สดชืน่ กระปรีก้ ระเปรา และมีความสุข และทีส่ าํ คัญ จะชวยลดความกังวลและความเครียดลงได เพียงงายๆ แคนี้ คุณก็เปนเจาของอารมณดี สดชืน่ รืน่ เริงไดทงั้ วันแลวคะ

นอนใหสุขภาพดีกันเถอะ วาดวยเรื่องกินใหอารมณดีไป แลว คราวนี้มาดูกันวา การนอนของ เราจะมีผลอยางไรตอสุขภาพกายและ สุขภาพใจอยางไรกันคะ บางคนเชื่อวาตองนอนใหครบ วันละ 8 ชั่วโมง แตในความเปน จริง แตละคนตองการเวลาใน การนอนที่แตกตางกัน หากนอน หลับอยางมีคณ ุ ภาพแลวก็ไมจาํ เปนตองนอนใหครบ 8 ชัว่ โมง ก็สามารถตื่นอยางสดชื่น กระปรี้กระเปราไดเชนกัน ควรนอนหลับกอนหาทุม เพราะเปนชวงเวลาที่รางกายผลิต สารและฮอรโมนตางๆ ที่จําเปนตอรางกาย โดยเฉพาะเด็กและวัยรุน รางกายจะผลิตโกรทฮอรโมนออกมาชวยเรื่องการเจริญเติบโตของ รางกาย และทําใหสูงไดอีกดวย ไมควรดื่มแอลกอฮอลกอนนอน เพราะจะทําใหรูสึกปวดหัว หนักหัว และไมกระปรี้กระเปราตอนตื่นนอน และถาดื่มแอลกอฮอล บอยๆ จะทําใหเกิดภาวะตับอักเสบ ซึ่งเปนสาเหตุของโรคตับแข็ง หรือ โรคตับอักเสบได ไมควรออกกําลังกายกอนนอน เพราะคิดวาเมือ่ รางกายออนเพลีย จากการออกกําลังกายจะทําใหหลับดีขนึ้ ทัง้ นีเ้ พราะขณะออกกําลังกาย เลือดจะถูกสูบฉีดมาหลอเลีย้ งกลามเนือ้ และผิวหนัง ทําใหรา งกายเกิด อุณหภูมิสูงขึ้น อาจจะทําใหนอนไมหลับได ตืน่ นอนใหเปนเวลา เพราะคนทํางานสวนใหญคดิ วาวันหยุดหรือ เสาร-อาทิตยไมตองรีบไปทํางาน จึงขอหลับเอาแรงชดเชยวันที่ตอง ตื่นเชา แตผลกลับตรงกันขามยิ่งนอนตื่นสายมากเทาไหร รางกายก็ ยิ่งเหนื่อย เพลีย อาจปวดเมื่อยเนื้อตัวได ใครที่เคยเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับเรื่องการนอนหลับพักผอน ก็ยัง ไมสายทีจ่ ะแกไขพฤติกรรมการนอนของเราใหถูกตอง เพื่อใหมี สุขภาพกายและใจที่ดีกันนะคะ


ระวั ง ! โรคผิวหนังที่มากับหนาฝน

เสนทางความงาม

ผานหนารอนหฤโหดมาได ทําเอาหลายๆ คนเริ่มเย็น อกเย็นใจ เพราะไมตองกลัววาผิวพรรณจะดํากราน เหี่ยวแกเพราะแดดเผา แตคุณทราบหรือไมคะวา อากาศชื้นๆ แฉะๆ ในฤดูฝนนี้ ก็อาจเปนสาเหตุ ใหเกิดโรคผิวหนังไดคะ ดังนั้นเราจึงมีวิธีรับมือกับ ปญหาผิวในหนาฝนมาฝากคะ การดูแลเสนผมและหนังศีรษะ เมื่อผมเปยกฝน ควรสระผมดีกวาเช็ดแหงเฉยๆ เพราะนํ้าฝนอาจมีเชื้อ ไวรัสซึง่ เปนสาเหตุของโรคหวัด เหมือนทีห่ ลายๆ คนพูดวา ฝนตกหยิมๆ มักจะทําใหเปนหวัดคัดจมูกได ทีแ่ ทกม็ สี าเหตุ จากเชือ้ ไวรัสจากนํา้ ฝนนีเ่ อง เมือ่ สระผมแลวควรเปาแหงทุก ครั้ง เพื่อปองกันการเกิดเชื้อราบนหนังศีรษะคะ ซึ่งอาการที่ บงบอกวาเกิดเชื้อราแลวคือ คันศีรษะ เสนผมหักเหลือแตตอ สั้นๆ มีเม็ดบวมคลายเปนฝ ซึ่งหากมีอาการดังกลาวควรไป พบแพทยทันที การดู แ ลผิ ว หน า หากผิ ว หน า เป ย กฝนควร ล า งออกด ว ยนํ้ า สะอาดทั น ที ที่ สํ า คั ญ อย า ขยี้ ต า ขณะที่ใบหนาหรือมือเปยกฝน เพราะเชื้อโรคอาจ เขาสูดวงตาได นอกจากนี้ในหนาฝนยังอาจพบวา จะมีสิวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะความชื้นในอากาศทําให เชื้ อ แบคที เ รี ย ซึ่ ง เป น สาเหตุ ข องสิ ว เจริ ญ เติ บ โต ได ดี ยิ่ ง ได สั ม ผั ส กั บ นํ้ า ฝนที่ มี เ ชื้ อ โรค ฝุ  น ละออง หรือสารเคมี ก็ยิ่งทําใหเกิดสิวไดงาย จึงควรทําความ สะอาดผิวหนาวันละ 2 ครัง้ และทาดวยมอยสเจอไรเซอร อยางสมํ่าเสมอ

การดูแลผิวพรรณทั่วเรือนราง หาก ตัวเปยกฝนควรอาบนํ้าและเปลี่ยนเสื้อผา ใหมทนั ที เพือ่ ปองกันผิวอับชืน้ ซึง่ เปนสาเหตุ ใหเชื้อราทําลายผิวได ลองสังเกตดูนะคะ วาตามหนาอกและลําตัว โดยเฉพาะตาม ซอกหลืบที่อับชื้นไดงาย เชน ขอพับ รักแร ขาหนีบ หรือใตราวนม ฯลฯ มีวงดางสีขาว สี เ นื้ อ หรื อ สี นํ้ า ตาลร ว มกั บ มี ขุ ย สี ข าวๆ หรื อไม และอาจคนมีอ าการคัน รว มดว ย ถามีแสดงวาโรคเกลื้อนกําลังมาเยือนคะ รีบไปพบแพทยดกี วาปลอยใหคนั คะเยอเสีย บุคลิกนะคะ และหากเปนไปไดควรสวมใส เสื้อผาที่ทําจากเสนใยฝายบางๆ ที่ระบาย ความชื้นไดดี จะทําใหสบายเนื้อสบายตัว ไดมากทีเดียวคะ การดูแลเทา เมื่อนํ้าทวมขังเราคงหนี ไมพนที่จะตองลุยนํ้ากันอีก โรคนํ้ากัดเทา อาจถามหานะคะ สังเกตดูตามซอกนิ้วเทา นะคะ วามีผิวลอกเปนขุยขาวๆ เปอยยุย หรือไม และที่นากลัวกวาคือในที่ที่มีนํ้าขัง อาจมีพยาธิบางชนิด ที่พรอมจะชอนไชเขา เทาเราไดคะ ถาเลี่ยงไดก็เลี่ยงนะคะ แตถา เลี่ยงไมไดก็รีบลางเทาแลวเช็ดใหแหงคะ และถาเริ่มมีอาการของโรคที่วาก็ควรไปหา แพทยทันทีนะคะ ทราบขอมูลอยางนี้กันแลว ก็อยา ปลอยใหความเย็นชุมฉํ่าจากสายฝนมา ทํารายทําลายผิวของเราไดนะคะ


Hanapella º·¤ÇÒÁ 1.pdf 1 15/11/2556 17:31:25


Hanapella º·¤ÇÒÁ2.pdf 1 15/11/2556 17:30:14

¹ŒÍ§Êµ Í» ¾ÃÔµµÕéà§Ô¹ÅŒÒ¹

¤Ø³»Ø‡Á਌Ңͧ¼ÅÔµÀѳ±


เสนทางสู AEC

อีกไมกี่เดือนแลวนะคะ ที่ AEC จะเขา มามีบทบาทตอวิถีชีวิตของผูคนในประเทศ สมาชิก ซึ่งแตละประเทศตางก็มีธรรมเนียม ปฏิบัติ วัฒนธรรม และขอหามที่แตกตาง กัน เราจึงขอนําเสนอสิ่งที่เปนขอหามหรือ สิ่งที่ไมควรกระทํา ในประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพูชา มา ฝากคะ เผือ่ วาคุณๆ มีโอกาสเขาไปเยือนหรือ ลงทุนทําธุรกิจทีน่ นั่ จะไดทราบถึงธรรมเนียม ปฏิบัติของเขาลวงหนาคะ

สิ่งที่ควรทํา-ไมควรทําในลาว สิ่งที่ควรทํา C ชาวลาวกลาวทักทายดวยคําวา “สบายดี” C ควรเคารพต อ กฎระเบี ย บ และ วัฒนธรรมอันดีงามของชาวลาว ดวยความ สุภาพ C รักษาความสะอาดของสถานที่ทอง เที่ยวตางๆ C แตงกายใหสุภาพเรียบรอยเมื่อจะ เขาชมหรือถายภาพวัดและพระพุทธรูป C ควรถอดรองเทากอนเขาบาน โบสถ วิหาร หรือสถานที่ที่มีปายหามใสรองเทา C กอนจะถายรูปบุคคลใดตองไดรับ อนุญาตกอน สิ่งที่ไมควรทํา D หามแจกจายหรือเผยแพรใบปลิว ตางๆ โดยไมไดรับอนุญาต D หลีกเลีย่ งการพูดคุย วิพากษวจิ ารณ ในประเด็นทีอ่ าจกอใหเกิดการโตแยงรุนแรง เชน การเมืองการปกครอง 184

ขอหามและธรรมเนียมปฏิบัติใน และ

ลาว กัมพูชา

D การจับมือถือแขน การกอด และการ จูบกันในที่สาธารณะถือเปนสิ่งที่ไมสุภาพ D การมีเพศสัมพันธกบั ชาวลาวทีไ่ มใช คูสมรสเปนเรื่องผิดกฎหมาย D หามพักคางคืนทีบ่ า นคนลาวโดยไม แจงตอผูใหญบานกอน Dไมควรแตะตอง หรือเขาชมในบริเวณ สถานที่ที่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์กอนไดรับอนุญาต D เพศหญิงไมควรแตะตอง หรือสัมผัส พระสงฆและสามเณร D ไมควรสัมผัส หรือแตะตองศีรษะ ผูอื่น เพราะชาวลาวถือวาศีรษะเปนของสูง D ไมควรใชเทาชีห้ รือเตะสิง่ ของ เพราะ ถือวาไมสุภาพ และไมใหเกียรติผูอื่น สิ่งที่ควรทํา-ไมควรทําในกัมพูชา สิ่งที่ควรทํา C คํากลาวทักทายคือ “อรุณซัวซะเดย” (สวัสดีตอนเชา) และ “ทิวาซัวซะเดย” (สวัสดี ตอนเที่ยง-เย็น) C ควรใหความเคารพตอผูส งู อายุ เชน ใหผูสูงอายุเริ่มรับประทานอาหารกอนผูอื่น C หากไดรบั เชิญไปรับประทานอาหาร ควรใหเจาของบานเริ่มรับประทานกอนผู มาเยือน C เมื่อเดินผานผูที่กําลังสนทนากันอยู ควรกมศีรษะเล็กนอย C เมื่อขับขี่ยานพาหนะผานวัดควร ชะลอความเร็วลง และควรถอดหมวกทุก ครัง้ เมือ่ เขาเขตวัด และเมือ่ พบพระภิกษุสงฆ C ตองถอดรองเทากอนเขาบานผูอื่น ทุกครั้ง C เวลาสงของใหผูอื่นควรสงพรอมกัน สองมือ หรือไมก็สงของดวยมือขวา สิ่งที่ไมควรทํา D ไมควรวิพากษวจิ ารณการเมือง และ หามถายภาพสัญลักษณทางทหาร

D ไม ค วรเรอหรื อ แคะฟ น ขณะรั บ ประทานอาหาร D ไมควรเดินขามเทาคนอื่น และไม ควรชี้เทาไปที่ผูอื่น โดยเฉพาะผูหญิงควรนั่ง เก็บปลายเทา D เมื่อเขาเขตวัดไมควรใชมือถือ หรือ เครื่องเลน MP3 ไมสงเสียงดัง และไมสวม หมวก D ผูหญิงไมควรแตงหนาจัด หรือแตง ตัวไมสุภาพเมื่อเขาเขตวัด D ไมควรเปดของขวัญตอหนาผูให ทันที และไมควรหอของขวัญดวยกระดาษสี ขาว เพราะถือวาเปนสีของการไวทุกข D หามสัมผัสศีรษะของคนอื่น เพราะ ถื อ ว า ศี ร ษะเป น ส ว นที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ของ รางกาย D ในที่ ส าธารณะผู  ห ญิ ง ไม ค วรใส กระโปรงสัน้ และโชวหวั ไหล ผูช ายควรใสเสือ้ มีปกและกางเกงขายาว D ไมควรแตะเนื้อตองตัวชาวกัมพูชา ที่เปนเพศตรงขาม เพราะอาจทําใหเขาใจ ผิดกัน


p09 HANA.pdf 1 16/11/2556 12:04:52

µÑÇá·¹¨íÒ˹‹Ò¨ѧËÇÑ´ÃÐÂͧ

¤Ø³¾ÅÍ (Ìҹ¾ÅÍÂÊÇ ˌҧáËÅÁ·Í§) T.087-110-4532, ¤Ø³ºÕÁ (ÌҹºÕºÕª Í» µÅÒ´¹Ñ´ÊµÒà ) T.081-055-8283, ¤Ø³áÁç¡ (·ÑºÁÒ) T.086-331-6330


AD F&N.pdf 1 29/1/2557 17:20:11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.