“มีแบบบานและอพารทเมนท ใหเลือกกวา 200 แบบ”
สาขากาญจนบุรี
277/81-82 ถ.แสงชูโต ต.บานเหนือ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
034-518-268, 090-197-6424 / www.pd.co.th
ความเป็นมาของ ค่ายสมพล โตรักษา ผมมีที่ดินส่วนหนึ่งด้านขวา ของ ยังโทน เฮ็ลธ์ปาร์ค รีสอร์ท เนื้อที่ประมาณ 50 ไร่ มีทัศนียภาพสวยงาม ล้อมรอบด้วย ทิวเขา เหมาะสำ�หรับทำ�ค่ายกิจกรรมต่างๆ ค่ายลูกเสือ-เนตร นารี-ยุวกาชาด พร้อมฐานกิจกรรมมากกว่า 15 ฐาน ตลอด จนการเดินป่าโดยเน้นความปลอดภัย ความเป็นธรรมชาติ ความสะอาด อาหารอร่อย มีอาคารที่พัก และหอประชุม รองรับได้ตั้งแต่ 100 – 1,500 คน โดยส่วนตัวผมเป็นคนรัก ธรรมชาติ และเคยเป็นครูสอนลูกศิษย์เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว จึงได้จัดตั้งค่ายกิจกรรมขึ้น โดยนำ�ชื่อคุณพ่อมาตั้งเป็นชื่อ ค่ายกิจกรรมนี้ว่า “ค่ายสมพล โตรักษา”
“วุ้นเส้นท่าเรือ ตราสิงห์โต... คุณภาพที่ส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น”
อาหารที่อร่อยถูกปากรสชาติถูกใจ ล้วนปรุงจากวัตถุดิบที่ได้คุณภาพและ สดใหม่ เช่นเดียวกับ “วุ้นเส้นตราสิงห์โต” คือวุ้นเส้นที่ผลิตจากถั่วเขียวแท้ๆ คุณภาพดี ด้วยกรรมวิธกี ารผลิตทีพ่ ถิ พี ถิ นั จึงครองใจผูบ้ ริโภคมานานกว่า 60 ปี วุ้นเส้นตราสิงห์โต...ชื่อที่ครองใจผู้บริโภคมากว่า 60 ปี
คุณส่งเสริม อิสระกาญจน์กุล คือหนึ่งในทายาทรุ่นที่สองของโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ ผู้ผลิตวุ้นเส้นคุณภาพตราสิงห์โต ปัจจุบันเขาคือผู้ดูแล “โรงงานวุ้นเส้นท่าเรือพระแท่น” อำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เล่าให้ฟังว่า โรงงานวุ้นเส้นท่าเรือแห่งแรก กำ�เนิดขึ้นที่ตำ�บลท่าเรือ จังหวัดกาญจนบุรี ในปี พ.ศ. 2496 โดย นายจู แซ่อึ้ง บิดา ผู้เคี่ยวกรำ�การผลิตวุ้นเส้นมานานเป็นสิบๆ ปี เพราะเคยเป็นลูกหม้อเก่าของนายเอื้อน กำ�ปันทอง ผู้ผลิตวุ้นเส้นรายแรกๆ ของไทย นายจูมคี วามตัง้ ใจทีจ่ ะผลิตวุน้ เส้นคุณภาพดีจากถัว่ เขียวแท้ๆ 100% จึงเจาะจงคัดสรรเฉพาะวัตถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ สดใหม่ ปราศจากมอดแมลง เพื่อให้ได้เส้นวุ้นที่มีความใส เหนียวนุ่ม และเส้นไม่อืดไม่เละ ที่สำ�คัญคือผลิตด้วยมือแทบจะ ทุกกระบวนการ แล้วนำ�มาผึ่งจนแห้งด้วยแสงอาทิตย์แทนการอบด้วยเครื่อง เพื่อให้ได้วุ้นเส้นที่มีเนื้อสัมผัสไม่แข็งกระด้าง ด้วยความใส่ใจและพิถีพิถันในทุกขั้นตอนการผลิต วุ้นเส้นท่าเรือ หรือ วุ้นเส้นตราสิงห์โต ก็ได้รับการบอกกล่าวแบบ ปากต่อปากของลูกค้า จนมีชื่อเสียงครองใจผู้บริโภคชาวไทยมากว่า 60 ปี
ซื่อสัตย์ จริงใจ คือหัวใจของโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ
”
คุ ณ ส่ ง เสริ ม ทายาทรุ่ น ที่ ส องกล่ า วถึ ง ธุ ร กิ จ วุ้ น เส้ น ของ ครอบครัวที่เติบโตอย่างมั่นคงมาจนทุกวันนี้ว่า เตี่ยพูดมาตลอดว่า ที่เรามีชื่อเสียงขึ้นมาได้ เพราะ ‘ความซื่อสัตย์’ เมื่อ บอกว่าจะใช้แป้งถัว่ เขียวแท้ 100% เราก็ตอ้ งทำ�ให้ได้ แม้บางช่วงถัว่ เขียวราคา แพงมาก ท่านก็ไม่ฉวยโอกาสเอาแป้งอื่นมาผสมเพื่อลดต้นทุน ผมจำ�ได้ว่าบาง ช่วงถึงขั้นต้องปิดโรงงานชั่วคราวเพราะถั่วเขียวแพง หลายครั้งที่หลายคน แนะนำ�ให้ทา่ นลองผสมแป้งชนิดอืน่ ดูบา้ ง เพือ่ จะได้ผลิตสินค้าได้อย่างต่อเนือ่ ง แต่ท่านบอกว่าถ้าทำ�อย่างนั้น มันก็ไม่ซื่อสัตย์กับลูกค้า
”
ด้วยความซื่อสัตย์และจริงใจ ด้วยการรักษาคุณภาพให้ได้ มาตรฐาน และด้วยกระบวนการผลิตแบบดัง้ เดิมทีส่ ง่ ต่อจากรุน่ สูร่ นุ่ “วุ้นเส้นท่าเรือ ตราสิงห์โต” จึงเป็นวุ้นเส้นยี่ห้อแรกๆ ที่ผู้บริโภค นึกถึง แม้จะไม่ได้ลงทุนโฆษณาผ่านสื่อมากมายก็ตาม
”
ทุกวันนี้วุ้นเส้นทั่วประเทศมีไม่น่าจะเกิน 20 แบรนด์ มูลค่าตลาดรวม กว่าพันล้านบาท สินค้าของเราราคาสูงกว่าตลาด 2 เท่า แต่กินส่วนแบ่งกว่า 50% ของตลาดวุ้นเส้น เพราะคอนเส็พท์ของเราคือ ผลิตวุ้นเส้นจากถั่ว เขียวแท้ 100% เพือ่ ตอบสนองต่อกลุม่ ผูบ้ ริโภคทีต่ อ้ งการวุน้ เส้นคุณภาพดี เส้นใส ไม่ขุ่น เหนียวนุ่ม ปรุงเสร็จแล้วเก็บไว้ได้นาน เส้นไม่อืด ไม่เละ ผู้ป่วยที่ควบคุมเรื่องอาหาร ก็สามารถรับประทานได้
”
แตกไลน์สินค้า&บริการให้เข้าถึงผู้บริโภค
ปัจจุบนั กิจการของโรงงานวุน้ เส้นท่าเรือเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ปีละไม่ต่ำ�กว่า 20 % และมีการขยายโรงงานเพิ่มเติมอีกสอง แห่ง คือ โรงงานวุ้นเส้นท่าเรือพระแท่น อำ�เภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี และโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ ตำ�บลคลองขลุง จังหวัด กำ�แพงเพชร ซึ่งโรงงานทั้งสามแห่งมีกำ�ลังการผลิตรวมกว่าสอง ตันต่อวัน ทั้งนี้ทายาทรุ่นสองตั้งเป้าหมายที่จะครองส่วนแบ่งทางการ ตลาดทัง้ ในและต่างประเทศเพิม่ ขึน้ ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มี ความหลากหลาย และเข้าถึงทุกกลุม่ ผูบ้ ริโภคให้มากขึน้ รวมถึงการ เปิดศูนย์จ�ำ หน่ายผลิตภัณฑ์ของโรงงาน อาทิ วุน้ เส้น แป้งถัว่ เขียว ซ่าหริ่ม และของฝากคุณภาพอื่นๆ เพื่อให้นักท่องเที่ยวซื้อหา ของฝากติดไม้ตดิ มือก่อนกลับบ้าน โดยเปิดให้บริการทัง้ ในจังหวัด กาญจนบุรีและกำ�แพงเพชรด้วย ระยะเวลามากกว่าหกสิบปีของโรงงานวุ้นเส้นท่าเรือ คือ บทพิสจู น์ให้เห็นแล้วความซือ่ สัตย์และจริงใจจากรุน่ สูร่ นุ่ เท่านัน้ ที่ทำ�ให้วุ้นเส้นตราสิงห์โต ยืนหยัดคู่ครัวและครองใจผู้บริโภค ชาวไทยไม่เสื่อมคลาย
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดถ้ำ�พระธาตุ วัดถ้ำ�พระธาตุ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ บ้านบนเขาแก่งเรียง ตำ�บล ท่ากระดาน อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี
ประวัติวัดถ้ำ�พระธาตุ
ในอดีตบ้านบนเขาแก่งเรียงนี้ไม่มีวัด เวลามีวันสำ�คัญทาง ศาสนา หรือมีงานประเพณีต่าง ๆ ชาวบ้านจะนิมนต์พระจากต่าง หมู่บ้านมาทำ�ศาสนกิจ ดังนั้น นายมาก บุญทอง จึงได้สร้างเรือนไม้ ยกพื้นหนึ่งหลังบนจอมปลวกขนาดใหญ่กลางที่นา หลังคามุงสังกะสี เพือ่ ใช้เป็นทีพ่ กั ของพระภิกษุซงึ่ เดินทางมาจากหมูบ่ า้ นอืน่ เนือ่ งจาก การเดินทางในสมัยนัน้ ยากลำ�บากโดยเฉพาะในฤดูฝนทีม่ กั จะเกิดพายุ ลมแรง จนบางครั้งทั้งพระภิกษุและชาวบ้านทรงตัวถูกแรงลมพัดตก คันนาบ่อยครัง้ นายมากจึงสร้างทีพ่ กั สงฆ์ชวั่ คราวไว้ให้ และต่อมาใน ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ บุตรหลานชาวบ้านทีไ่ ปบวชพระแล้วกลับมาจำ�พรรษา ได้น�ำ พระพุทธรูปปูนปัน้ สีเขียวมาประดิษฐานยังทีพ่ กั สงฆ์แห่งนีด้ ว้ ย ในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ หลวงพ่อเกิน(ทวี) แห่งวัดเขารัก ได้ติดตาม หลวงพ่อลำ�ไย วัดทุ่งลาดหญ้ามาเที่ยวที่หมู่บา้ น ภายหลังได้นำ�ทหาร 4
จากกองพล ๙ ช่วยสร้างสำ�นักสงฆ์ขนึ้ ใหม่ โดยย้าย จากจอมปลวกกลางนามาอยู่ข้างภูเขา ได้ทำ�บันได ปูนขึน้ ไปยังวัดบนเขา สร้างพระพุทธรูปปูนปัน้ และ พระปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ และสร้างที่พักสงฆ์หลังเล็กๆ บนเขา ด้านข้างสร้างศาลาการเปรียญที่อยู่ฝั่งตะวันตก (ภายหลังได้ มอบให้โรงเรียนไปสร้างโรงอาหาร) และได้ตั้งชื่อว่า “สำ�นักสงฆ์ผา ทองคลองเนินเขา” ด้านหน้าสร้างศาลพ่อปู่กล่อมนางนอน เป็นรูป ปัน้ นักรบโบราณในท่านัง่ มือถือขวานวางบนตัก ภายหลวงพ่อเกินได้ กลับไปที่วัดเขารัก นายมาก บุญทอง จึงได้ถวายที่ดินเพิ่มเป็น ๑๔ ไร่ บริเวณที่เป็นสวนมะพร้าวอยู่ด้านหน้า พ.ศ. ๒๕๕๓ พระประเสริฐ บุญจันทร์ ซึง่ จำ�พรรษาทีส่ �ำ นักสงฆ์ ผาทองคลองเนินเขา ได้ร่วมกับชาวบ้านพัฒนาจากสำ�นักสงฆ์และ ขอเป็นวัด โดยได้ใช้ชื่อ “วัดถ้ำ�พระธาตุ” เพราะมีถ้ำ�ที่มีหินงอก หินย้อยสวยงาม เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป จึง ทำ�ให้วดั ถ้�ำ พระธาตุมผี มู้ จี ติ ศรัทธามาช่วยสร้างอาคารต่าง ๆ เพิม่ ขึน้ จนกระทั่งพ.ศ. ๒๕๓๖ ได้มีการทอดจุลกฐิน ซึ่งมีพิธีการมากมาย ต้องสร้างกี่ทอผ้า กวนข้าวทิพย์ฯ และเป็นกฐินที่ฝนตกหนักจนน้ำ� ท่วมในวันงาน พ.ศ. ๒๕๔๓ พระประเสริฐ บุญจันทร์ ได้ย้ายไปจำ�พรรษาที่
ต่างจังหวัด ในปีถัดมาชาวบ้านได้เดินทางไปวัดท่ากระดานเพื่อพบ พระครู สิ ริ พุ ท ธิ คุ ณ เจ้ า คณะตำ � บลท่ า กระดาน เพื่ อ ขอนิ ม นต์ พระอธิการบุญเกิด ทุลลฺโภ มาเป็นเจ้าอาวาสวัดถ้ำ�พระธาตุ วันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๔ ชาวบ้านได้จัดงานฉลองตราตั้ง เจ้าอาวาส ซึ่งเจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์เป็นผู้มอบ และเริ่มมีการ พัฒนามาอย่างต่อเนื่องจากความศรัทธาของชาวบ้านและสาธุชน หลังจากนัน้ กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณีของวัดและ ชาวบ้าน ก็กลับมาเป็นปกติดังเช่นในอดีต
พระพุทธเสาร์ ๕ (ปิดทองแท้ทั้งองค์)
การก่อสร้างและปรับปรุงเสนาสนะ
พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ สร้างเมรุ ,พ.ศ. ๒๕๔๗ สร้างศาลาธรรม สังเวช ,พ.ศ. ๒๕๔๘ สร้างโรงครัวและห้องน้�ำ สร้างกุฏิเจ้าอาวาส ,สร้างถนนคอนกรีตสู่เมรุ พ.ศ. ๒๕๕๒ สร้างหอระฆัง ,สร้างที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปบนเขาปัญจวัคคีย์ ทาสีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ซ่อมบันไดปูน ทาสีพระพุทธ/พระปัญจวัคคีย์ และสร้างซุ้มประตู ทางเข้าวัด เป็นซุ้มไม้หลังคามุงกระเบื้องเกล็ด , ซ่อมแซมศาล เจ้าแม่ตะเคียนทอง และเปลี่ยนหลังคาศาลพ่อปู่กล่อมนางนอน โบราณสถาน และวัตถุ ที่สำ�คัญของวัดถ้ำ�พระธาตุ ๑. หลวงพ่อโต หรือหลวงพ่อใหญ่ ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ ไม่แพ้ หลวงพ่อใหญ่วดั อืน่ ๆ ในเรือ่ งขอพรขอโชค ล้วนแต่สมหวังกันทุกราย มีเหตุการณ์ความเหลือเชื่อของหลวงพ่อใหญ่ ครั้งหนึ่งมีขโมยมือดี ขึ้นไปขโมยแจกันทองเหลือง หนัก ๒๐ กิโลกรัม ไป ๑ ใบ ทางวัดก็ ยังจับขโมยไม่ได้ มาวันหนึง่ ได้มคี นมาหาหลวงปู่ ๔-๕ คน เป็นคนใน ครอบครัวเดียวกัน มาให้หลวงปู่รดน้ำ�มนต์ ถวายสังฆทาน อยู่บ้าน ไม่ได้ ไปไหนมาไหนเหมือนมีคนเดินตามตลอด เวลากินข้าวก็เหมือน มีคนมาตบหัวจนชามข้าวกระเด็น และโยมคนนัน้ ได้น�ำ เอาเศษแจกัน ทองเหลือง มาคืนในสภาพแตกยับเยิน เพราะโยมคนนีร้ บั ซือ้ ของเก่า นั่นเอง ซึ่งสรุปก็คือ ขโมยได้นำ�ไปขายให้ร้านรับซื้อของเก่า ทำ�ให้ เจ้าของร้านรับซื้อของเก่า ประสบเหตุการณ์เช่นนี้ ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ ๒. ศาลเจ้าแม่ตะเคียนทอง ซึ่งต้นตะเคียนทองต้นนี้ มีอายุ ราวๆ ๕๐๐ กว่าปี ความศักดิ์สิทธิ์ ความเฮี้ยนไม่ต้องพูดถึง สุดยอด ของความศักดิส์ ทิ ธิ์ เดิมทีเป็นศาลหลังเล็กๆ แต่เนือ่ งจากความเมตตา จาก แม่ตะเคียนทอง ที่มีคนมาขอโชค ขอลาภ ขอการงาน เมื่อ ประสบความสำ�เร็จก็นำ�สิ่งของมาถวาย เช่น ชุดไทย ที่ทุกวันนี้มา เป็น ๑๐๐ ชุด และได้มีการสร้างศาลหลังใหม่ให้แม่ตะเคียนทอง ในช่วงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ของทุกปี จะมีการจัดงานที่ศาลแม่ ตะเคียนทอง เป็นศาลที่ทุกคนเคารพ และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ชาวบ้านทุกคน และคนต่างจังหวัดก็ได้แห่แหนมาขอโชค ขอลาภ จากแม่ตะเคียนทอง มาแล้วก็จะได้เจอต้นตะเคียนทองที่ใหญ่ที่สุด แน่นอน
เจดีย์หอยหิน ๑,๐๐๐ ปี
ศาลเจ้าแม่ตะเคียนทอง อายุ ๕๐๐ กว่าปี
KANCHANABURI 5
จุ ด สำ � คั ญ ของวั ด ที่โ ดดเด่น ก็คือ โบสถ์มุก ที่มีสีข าวทั้ งหลั ง ซึง่ ตอนนีไ้ ด้มกี ารดำ�เนินการก่อสร้างแล้ว ๗๐ % ของการก่อสร้างทัง้ หมด ทั้งนี้ก็ได้ความศรัทธาจากชาวบ้านในพื้นที่และต่างจังหวัด ร่วมกันนำ� ผ้าป่ามาถวายร่วมในการสร้างโบสถ์หลังนี้ให้เสร็จสมบูรณ์ สวยงามตาม ที่ได้ตั้งใจของผู้ริเริ่มการก่อสร้างในครั้งนี้ และวัดถ้ำ�พระธาตุนี้ก็เป็นวัด เดียวที่มีการหล่อพระประธาน ในเขตพื้นที่ศรีสวัสดิ์ และปิดทองแท้ทั้ง องค์พร้อมด้วย สาวกอีก สององค์ และได้มีคนร่วมสร้างบุญสร้างกุศลใน การขอเป็นเจ้าภาพต่างๆ ในการสร้างโบสถ์ เพือ่ เป็นสถานทีส่ �ำ คัญในการ ประกอบกิจของพระสงฆ์ต่อไป ติดต่อสอบถาม และร่วมทำ�บุญได้ที่ ๑. พระอุกฤษ์ สิริธฺมโม ( หลวงพี่เอ็ม ) ๐๘๔-๕๓๔–๘๒๕๔ ๒. ศิษย์หลวงปู่บุญเกิด ทฺลลฺโภ ๐๘๔-๘๔๑-๗๗๔๖
6
บริษัท แพลตินั่ม กาญจน์ จำ�กัด
ผู้แทนจำ�หน่ายรถมอเตอร์ไซค์นำ�เข้าทุกชนิด โทร 089-911-4335
ติดต่อ089-911-4335 คุณสุขนิพล เหลืองพฤกษชาติ E-mail: platinum_kan@hotmail.com 286/48-49 ถ.แสงชูโต อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าญาณรังษี
วัดป่าญาณรังษี ตั้งอยู่ ณ บ้านหนองพงพวย ตำ�บลท่ากระดาน อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดป่าซึ่ง พระญาณรังษี (จวบ สุภัทโท) อดีตรองเจ้าอาวาส วัดราชสิทธาราม กรุงเทพมหานคร เป็นผูด้ �ำ ริให้สร้างขึน้ ปัจจุบนั เป็นสถานทีป่ ฏิบตั อิ นั สงบร่มรืน่ ณ เขื่อนศรีนครินทร์ ประวัติความเป็นมาของวัด
วัดป่าญาณรังษี สร้างขึ้นจากดำ�ริของพระครูวิจิตรวิหารวัตร หรือ พระญาณรังษี (หลวงปู่จวบ) โดยได้รับการบริจาค ที่ดินจากคุณเขม (บุตรชายเถ้าแก่เม้งและคุณแม่กิมฮุ้น แห่ง“ร้านศรีสุพรรณ”) ทว่าช่วงก่อนพิธีวางศิลาฤกษ์ก่อสร้างวัด หลวงปู่จวบมรณภาพลงเสียก่อน พระอาจารย์วี-ลูกศิษย์ของหลวงปู่จวบ ซึ่งได้มาจำ�พรรษาในถ้ำ�ใกล้บริเวณที่สร้างวัด จึงได้สานต่อเจตนารมณ์ของหลวงปู่จวบจนสำ�เร็จเป็น “วัดป่าญาณรังษี” ตามที่หลวงปู่ให้นามไว้ 8
ประวัติพระญาณรังษี
หลวงปูจ่ วบ หรือ พระญาณรังษี (จวบ สุภทั โท) เป็นผูส้ บื ทอดสาย วิปสั สนากัมมัฏฐาน ตามแนวของสมเด็จพระสังฆราชญาณสังวร (สุ ก ไก่ เ ถื่ อ น) จากพระครู สั ง วร สมาธิ วั ต ร(หลวงปู่ แ ป๊ ะ ) จนมีความเชีย่ วชาญและได้เป็นอาจารย์อบรมวิปสั สนากัมมัฏฐาน แก่ศษิ ยานุศษิ ย์ จนท่านได้ฉายา “หลวงพ่อตาทิพย์” เนือ่ งจากท่าน สามารถนั่งสมาธิหยั่งรู้ถึงเหตุการณ์ในอดีต อนาคต ปัจจุบันได้ ทำ�ให้มีศรัทธาจากญาติโยมทั่วสารทิศ มาขอให้ท่านช่วยชี้แนะ การดำ�เนินชีวติ ทีถ่ กู ต้องตามทำ�นองคลองธรรม ปฏิปทาของท่าน เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่ญาติโยมที่พบเห็น และได้อบรมสั่งสอน ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ข องท่ า นให้ เ ป็ น ผู้ มี ค วามเมตตาซึ่ ง กั น และกั น ท่านได้ช่วยเหลือวัดว่าอารามเป็นจำ�นวนมาก โดยเฉพาะวัดบ้าน เกิดและใกล้เคียง หลวงปู่ให้การสงเคราะห์ญาติโยมตลอดเวลา จนกระทั่ ง ท่ า นได้ ม รณภาพลงด้ ว ยโรคชรา เมื่ อ เช้ า วั น ที่ 15 มกราคม พ.ศ.2550 เมื่อเวลา 04.04น. ที่โรงพยาบาลธนบุรี สิริรวม อายุ 94 ปี 73 พรรษา
วัตถุมงคลหลวงปู่จวบ
หลวงปู่ จ วบ ได้ ศึ ก ษาวิ ช าอั ก ขระขอมและเลขยั น ต์ การปลุกเสกอักขระเลขยันต์ จากเกจิอาจารย์ทมี่ ชี อื่ เสียงหลายท่าน และได้จดั ทำ�วัตถุมงคล เช่น พระผงหมอดินยาใบโพธิ์ ตระกรุดกันภัย น้ำ�เต้ากันภัย น้�ำ เต้าเรียกเงินเรียกทอง ผ้ายันต์ เหรียญรูปหล่อ พระผงสมเด็จ พระผงพระร่วงเปิดโลก มีดหมอ และน้ำ�พระพุทธ มนต์ค้าขายดี น้ำ�พระพุทธมนต์ปัดเป่ารักษาโรคภัย และยังได้ ศึกษาศาสตร์วิชาแขนงต่างๆ ทางโหราศาสตร์ เช่น การตั้งชื่อ พิ ธี ก รรมบวงสรวง สะเดาะเคราะห์ ต่ อ ชะตา พิ ธี ก รรมรั บ ดาวนพเคราะห์ทงั้ 9 เจิมรถยนต์ เจิมบ้านเรือน เสริมบารมีลงนะ หน้าทอง นะมหานิยม นะเรียกเงินเรียกทอง จตุโรบังเกิดทรัพย์ ยันต์ตรีนิสิงเห การยกเสาเอกบ้านเรือนและบริษัทห้างร้าน การวางศิลาฤกษ์ การอธิษฐานจิตให้ค้าขายดี อธิษฐานจิตวัตถุ มงคลเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ฯลฯ ซึ่งเป็นเมตตามหานิยม ค้าขาย ร่�ำ รวยเงินทอง และทำ�ให้ลาภผลทวีเพิม่ พูน สมบูรณ์พนู ผล ทั้งทางโลกและทางธรรม จึงเป็นประโยชน์แก่ศิษยานุศิษย์และ ประชาชน
ลำ�ดับสมณศักดิ์หลวงปู่จวบ
ปี พ.ศ.2490 ได้รับการแต่งตั้งเป็น พระปลัดฐานานุกรม ในพระปริ ยั ติ โ กศล อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด ราชสิ ท ธารามฯ (พระสังวรานุวงเถร(สอน)) ปี พ.ศ.2494 ได้รับการแต่งตั้งเป็น พระครูปลัดฐานานุกรม ในพระสังวรานุวงศ์เถระ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชสิทธารามฯ (พระสังวรานุวงเถร (สอน)) ปี พ.ศ.2500 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครู สัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระอารามหลวง ชั้นโท (จปร.) ในนามว่า “พระครูวิจิตรวิหารวัตร” ปี พ.ศ.2504 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครู สัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระอารามหลวง ชั้นเอก ปี พ.ศ.2507 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครู สัญญาบัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ ปี พ.ศ.2534 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นรองเจ้าอาวาส พระอารามหลวง ชั้นเอก ปี พ.ศ.2542 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชาคณะ ชั้นสามัญ ในราชทินนามว่า “พระญาณรังษี” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542
ผลงานบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ วั ด ราชสิ ท ธาราม ราชวรวิหาร
ในสมั ย ที่ ท่ า นเป็ น ผู้ ช่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด ราชสิ ท ธาราม ราชวรวิ ห าร ได้ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระงานบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ที่ พระธรรมรัตนวิสทุ ธิ์ เจ้าอาวาสวัดราชสิทธารามราชวรวิหาร ได้ เป็นประธาน ดังนี้ คือ เปลี่ยนช่อฟ้า ใบระกาและกระเบื้องของ พระอุโบสถ, บูรณะฐานชุกชีพระประฐานในอุโบสถ, ลงรักปิดทอง พระประธานและพระสาวก, บู ร ณะซุ้ ม ประตู พ ระอุ โ บสถ, บู ร ณะโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม, ปู หิ น อ่ อ นระเบี ย งรอบ พระอุโบสถ, บูรณะกุฏวิ ปิ สั สนารอบพระอุโบสถ, บูรณะพระตำ�หนัก เก๋ ง จี น และพระตำ � หนั ก จั น ทร์ และซ่ อ มแซมธรรมมาสน์ ใ น ศาลาการเปรียญ พร้อมลงรักปิดทอง
ผลงานสาธารณกุศลในถิ่นมาตุภูมิ
ด้านการศาสนา หลวงปูจ่ วบเป็นประธานสร้างอุโบสถ ศาลา การเปรียญ กุฏิสงฆ์ ศาลาบำ�เพ็ญกุศล และเมรุ ที่วัดทุ่งจาน ต.นกออก อ.ปักธงชัย จ.นครราชสีมา และเป็นประธานสร้าง อุโบสถ มณฑปวิหารจัตรุ มุข กุฏสิ งฆ์ ศาลาเอนกประสงค์ แทงค์น�้ำ สระเก็บน้ำ� ถนนลูกรังทางเข้าวัด ติดตั้งหมอแปลงไฟฟ้าและ เสาไฟฟ้า ที่วัดบ้านทองหลางน้อย ต.ดอนตะหนิน อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา ด้านการศึกษา หลวงปู่จวบได้บริจาคเงินให้เป็นสมบัติของ โรงเรียนภูว่ ทิ ยา อ.โนนแดง จ.นครราชสีมา และสร้างอาคารเรียน สนามวอลเล่ย์บอลและห้องสมุดให้แก่โรงเรียนวัดบ้านทองหลาง น้อย ต.ดอนตะหนิน อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา
KANCHANABURI 9
คลิ...ภาพลั นิกทันกษณ์ ตกรรมของขวั ญ ใหม่ของการทำ�ฟัน หากลองนึกถึงภาพคลินกิ ทันตกรรมในใจ หลายๆ ท่านคงนึกภาพการทำ�ฟันในห้องสีเ่ หลีย่ ม ที่อื้ออึงไปด้วยเสียงกรอฟันอันน่ากลัว แต่วันนี้ขอแนะนำ�คลินิกทันตกรรมแห่งใหม่ นั่นก็คือ “คลินิคทันตกรรมของขวัญ” ซึ่งตั้งอยู่ในโครงการบุญชูคอมเพล็กซ์ ข้างห้างโลตัส อำ�เภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี คลินกิ ทันตกรรมภาพลักษณ์ใหม่ ทีจ่ ะทำ�ให้คณ ุ ตลอดจนบุตรหลาน ที่คุณรัก ประทับใจและอยากเดินเข้าไปใช้บริการทุกๆ วัน
“
“ที่ส�ำ คัญคือเจ้าหน้าที่ของเราได้รับการฝึก อบรมมาเป็นอย่างดี มีความยินดีให้บริการ ทุกท่านด้วยความเต็มใจ เรามีระบบโทรแจ้ง เตือนนัดคนไข้ล่วงหน้า และคนไข้จะได้รับทราบ รายละเอียด ขั้นตอนการรักษา รวมทั้งการ ค่ารักษา ก่อนทำ�การรักษาทุกครั้งค่ะ”
“
“
ในต่างประเทศ เช่น อเมริกา เยอรมนี ญี่ปุ่น มีคลินิกทันตกรรม ที่สร้างเอาใจเด็กๆ อยู่บ้างเหมือนกัน เราก็อยากเป็นคลินิกหนึ่ง ที่ทำ�แบบนั้นบ้าง ก็เลยลองออกแบบห้องทำ�ฟันเด็กให้เหมือนนั่ง ทำ�ฟันอยู่ในป่า มีต้นไม้ สัตว์นานาชนิด และมีการ์ตูนเปิดให้ดูตอน ทำ�ฟันด้วยนะคะ เพื่อกลบเสียงกรอฟัน พอทำ�ฟันเสร็จก็จะได้ รางวัลเป็นของขวัญก่อนกลับบ้านด้วยค่ะ
“
ไม่เพียงแต่การจัดบรรยากาศให้เด็กๆ รู้สึกประทับใจกับการ ทำ�ฟันแล้ว ที่ “คลินิกทันตกรรมของขวัญ” ยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อการ รักษาสุขภาพฟันที่ดีของทุกๆ ในครอบครัวอย่างครบวงจร ดังที่คุณ หมอขวัญได้กล่าวไว้ว่า “เรามีความมุ่งมั่นที่จะให้บริการด้านทันตกรรมแบบครบวงจร อาทิ ทันตกรรมทั่วไป ทันตกรรมหัตถการ ทันตกรรมประดิษฐ์ ปริทันต์วิทยา การรักษารากฟัน ศัลยศาสตร์ช่องปาก ทันตกรรม สำ�หรับเด็ก การฟอกสีฟัน ทันตกรรมจัดฟัน ครอบฟัน ทันตกรรม
รากเทียม และการดูแลสุขภาพในช่องปากอื่นๆ” นอกเหนือจากความใส่ใจในทุกรายละเอียดของการให้บริการ ทันตกรรมแล้ว ที่นี่ยังเป็นคลินิกปลอดเชื้อ เนื่องจากเครื่องมือทุก ชนิดได้ผ่านการทำ�ให้ปราศจากเชื้อ และมีการควบคุมการติดเชื้อ ที่เข้มงวด โดยใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์เครื่องมือที่ทันสมัย ซึ่ง ได้รบั การรับรองว่าผ่านกรรมวิธกี ารฆ่าเชือ้ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงเช่นเดียว กับมาตรฐานโรงพยาบาล สมดังเจตนารมณ์ของคุณหมอขวัญ หรือ ทพญ. อชิรญา ดวนด่วน ที่ว่า
“
“
“คลินิกทันตกรรมของขวัญ” ดำ�เนินงานโดย คุณหมอขวัญ หรื อ ทพญ. อชิ ร ญา ดวนด่ ว น ซึ่ ง สำ � เร็ จ การศึ ก ษาด้ า นทั นต แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในปี 2550 และสำ�เร็จการ ศึกษาระดับปริญญาโท สาขาทันตกรรมสำ�หรับเด็ก มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ในปี 2555 ซึ่งจากการที่คุณหมอขวัญได้ไปศึกษาต่อที่ จังหวัดเชียงใหม่ อยู่ 2 ปีนนั่ เอง คุณหมอขวัญประทับใจและชืน่ ชอบ การจัดตกแต่งร้านทำ�ฟันหลายๆ แห่งของเชียงใหม่ จึงเกิดแนวคิดว่า ...ถ้ า จะเปิ ด คลิ นิ ก ทั นตกรรม ก็ อ ยากตกแต่ ง คลิ นิ ก ให้ ส วยงาม น่าเข้า และทำ�ให้ทกุ คนรูส้ กึ อบอุน่ เหมือนอยูบ่ า้ น พร้อมซึง่ สิง่ อำ�นวย ความสะดวกต่างๆ เช่น บริการ Internet WiFi ฟรี มีทจี่ อดรถสะดวก สบายกว้างขวาง ยิ่งไปกว่านั้น สิ่งที่ต้องการมากที่สุดคือทำ�อย่างไร ให้เด็กรู้สึกอบอุ่นกับสถานที่และไม่กลัวการทำ�ฟันอีกต่อไป
“คลินิกของเรา อยากเห็นทุกท่านมีรอยยิ้ม ที่สดใส พร้อมกับมีสุขภาพฟันที่ดีค่ะ ” “คลินิกทันตกรรมของขวัญ” เปิดให้บริการทุกวัน โดยวัน จันทร์-ศุกร์ เวลา 10.00-20.00 น. ส่วนวันเสาร์ อาทิตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-17.00 น. สามารถโทรศัพท์นัด หมาย และสอบถามอัตราค่ารักษาบริการ ได้ที่ คลินิกทันตกรรม ของขวัญ 092-2642432
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วั ล ลภ อารี ร บ, ดร.สุ มิ ท แช่ ม ประสิ ท ธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอำ�นวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด ปัณณศักดิ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ จุฑามาศ ว่องเลขา, สิริวลักษณ์ สังข์พิทักษ์, อิสระพงศ์ เกลอดู ช่างภาพ กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์ กราฟิคดีไซน์ อิสระพงศ์ เกลอดู วีรภัทร สุระหิรัญ ผู้อำ�นวยการฝ่ายขายโฆษณา กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน รุ่งโรจน์ เสาร์ปา, กิตติชัย ศรีสมุทร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ ณัฐพล เกิดไกร ฝ่าย IT และประสานงาน จุฑามาศ ว่องเลขา, สิริวลักษณ์ สังข์พิทักษ์ ผ่ายการเงิน-การบัญชี ดวงตา พิมลศิริ บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จำ�กัด 9/4-8 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com
EDITOR’S
หลังจากที่ประเทศไทยเตรียมพร้อมเรื่อง AEC กันมาหลายปี ในที่ สุ ด เราก็ เ ข้ า สู่ AEC อย่ า งเป็ น ทางการในอี กไม่ กี่ เ ดื อ นนี้ นิตยสาร SBL จึงถือโอกาสเปิดตัวฉบับแรกในปี 2558 ด้วยการ แนะนำ� “จังหวัดกาญจนบุรี” จังหวัดที่จะมีบทบาทสำ�คัญยิ่งใน ฐานะของการเป็นประตูการค้าเชือ่ มเศรษฐกิจระหว่างกลุม่ ประเทศ อนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง (พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และไทย) เข้ากับนานาอารยประเทศผ่านท่าเรือน้ำ�ลึกทวาย ของสหภาพ เมียนมาร์ ซึ่งจะก่อสร้างแล้วเสร็จในไม่ช้านี้ นิตยสาร SBL ขอขอบพระคุณ ท่านวันชัย โอสุคนธ์ทิพย์ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ท่ า นรองผู้ ว่ า ฯ ทั้ ง สองท่ า น ท่านท้องถิ่นจังหวัด ท่านอุตสาหกรรมจังหวัด ท่านนายอำ�เภอทั้ง 13 อำ�เภอ และองค์กรปกครองท้องถิ่นต่างๆ ที่กรุณาบอกเล่าเรื่อง ราวที่น่าสนใจของจังหวัดกาญจนบุรีให้เราได้รับทราบ โดยเฉพาะ ในเรื่องของสถานที่ท่องเที่ยวในกาญจนบุรีซึ่งกำ�ลังเป็นที่สนใจของ นักท่องเทีย่ วทัง้ ไทยและต่างชาติ และทีส่ �ำ คัญคือในฉบับนีเ้ ราได้รบั ความเมตตาจากท่านเจ้าอาวาสวัดต่างๆ ในเมืองกาญจน์ ที่กรุณา ให้เราได้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้คนทัว่ ไปได้รจู้ กั ประวัตคิ วามเป็น มาและความสำ�คัญของวัดต่างๆ มากขึน้ ถือเป็นการเปิดศักราชใหม่ ด้วยสิ่งที่เป็นสิริมงคลอย่างยิ่งครับ ท้ายนี้ผมต้องขอขอบพระคุณอย่างสูงต่อบริษัท-ห้างร้านต่างๆ ทีใ่ ห้การสนับสนุนการจัดพิมพ์นติ ยสารจนสำ�เร็จลุลว่ งอยูใ่ นมือของ ท่านผูอ้ า่ นขณะนี้ ท้ายนีข้ อความสุข สวัสดีทงั้ ปวงจงมีแด่ทกุ ท่านครับ และหากมีสงิ่ ใดขาดตกบกพร่อง ผมและทีมงานใคร่กราบขออภัยมา ณ โอกาสนี้ และขอน้อมรับฟังคำ�ติชมด้วยความยินดีอย่างยิ่งครับ ติดต่อคุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-1442-4445,08-4874-3861 e-mail : supakit.s@live.com
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอำ�นวยการ
จินตนา มิวสิค
รับผลิต เวที rooftop งานคอนเสิรต์ และสถานที่จัดเสี้ยง บริการให่เช่า และจำ�หน่าย เบอร์โทร 0817589171 facebook อ๊อด จิน ID LINE aad7589171
นาย ศิริชัย จินตนา (คุณ อ๊อด)
CONTENTS กาญจนบุรี
282 วัดพระธาตุโป่งนก
25
เส้นทางพบผู้ว่าฯ
58 วัดเขื่อนท่าทุ่งนา
104
เส้นทางท่องเที่ยว หน้า 18 ใต้ร่มพระบารมี 25 เส้นทางพบผู้ว่าฯนายวันชัย โอสุคนธ์ทิพย์ 40 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯนายกาศพล แก้วประพาฬ 48 เส้นทางพบรองผูว้ า่ ฯ นายบุญญะพัฒน์ จันทรอุไร 61 เส้นทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด 72 เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด 82 เส้นทางพบพัฒนาชุมชน 96 เส้นทางพบท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด 124 เส้นทางพบอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี 58 วัดเขื่อนท่าทุ่งนา 128 ทต.ท่ามะขาม 130 อบต.หนองหญ้า 133 อบต.ช่องสะเดา
120
เส้นทางความเป็นมา 134 อบต.บ้านเก่า 136 อบต.เกาะสำ�โรง 138 อบต.วังเย็น 140 อบต.แก่งเสี้ยน 141 วัดถ้ำ�มังกรทอง 142 มจร.กาญจนบุรี 144 วัดไชยชุมพลฯ 146 วัดทัพศิลา 148 วัดน้ำ�พุร้อนฯ 150 วัดโพธิสัตว์บรรพต 152 วัดเขาเม็งฯ 154 วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ 157 วัดหัวนา 158 วัดถ้ำ�พุหว้า
159 เส้นทางพบอำ�เภอไทรโยค 161 ทต.วังโพธิ์ 162 วัดวังโพธิ์การาม 164 เส้นทางพบอำ�เภอท่าม่วง 22 วัดถ้ำ�แฝด 166 ทต.วังศาลา 167 วัดวังขนายฯ 168 วัดมโนธรรมาราม 172 วัดใหญ่ดงรัง 174 วัดโพธิ์ศรีสุขาราม 176 วัดหนองตากยาฯ 179 วัดบ้านถ้�ำ 180 สำ�นักปฏิบัติธรรมรตนบารมี
22
วัดถ้�ำ แฝด
8 วัดป่าญาณรังษี
18
252 เส้นทางพบอำ�เภอเลาขวัญ 254 วัดหนองนกแก้ว 256 วัดเกาะแก้ว
ใต้ร่มพระบารมี
182 เส้นทางพบอำ�เภอท่ามะกา 184 เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น 186 วัดพระแท่นดงรัง 188 วัดดอนชะเอม 190 วัดเขาช่องพัฒนา 192 วัดเขาสูงแจ่มฟ้า 194 วัดเขาสะพานแร้ง 196 วัดสนามแย้ 198 วัดหนองโรง 200 วัดกระต่ายเต้น 202 วัดเขาใหญ่
218 เส้นทางพบอำ�เภอพนมทวน 66 วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม 220 ทต.ดอนเจดีย์ 222 ทต.รางหวาย 224 ทต.ตลาดเขต 226 อบต.พนมทวน 228 อบต.ดอนตาเพชร 230 อบต.ทุ่งสมอ 232 อบต.พังตรุ 234 วัดลาดขาม 236 วัดพังตรุ
204 เส้นทางพบอำ�เภอทองผาภูมิ 206 ทต.ทองผาภูมิ 208 ทต.สหกรณ์นิคม 210 ทต.ท่าขนุน 212 ทต.ลิ่นถิ่น 213 อบต.ห้วยเขย่ง 214 อบต.ชะแล 216 อบต.หินดาด
238 เส้นทางพบอำ�เภอสังขละบุรี 240 อบต.ไล่โว่ 242 อบต.หนองลู 244 เส้นทางพบอำ�เภอหนองปรือ 246 ทต.หนองปรือ 248 ทต.สมเด็จเจริญ 250 วัดหนองหูช้าง
258 เส้นทางพบอำ�เภอห้วยกระเจา 260 ทต.ห้วยกระเจา 262 อบต.ดอนแสลบ 264 วัดสระลงเรือ 266 เส้นทางพบอำ�เภอบ่อพลอย 268 ทต.บ่อพลอย 270 วัดหนองกระทุ่ม 273 วัดเสาหงส์พัฒนาราม 274 เส้นทางพบอำ�เภอด่านมะขามเตี้ย 276 อบต.จระเข้เผือก 278 วัดท่าเสด็จ 280 วัดหินแท่นลำ�ภาชี 282 วัดพระธาตุโป่งนก 286 เส้นทางพบอำ�เภอศรีสวัสดิ์ 4 วัดถ้ำ�พระธาตุ 8 วัดป่าญาณรังษี 288 อบต.ด่านแม่แฉลบ 290 ทต.เขาโจด
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการห้วยองคต อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ
สืบเนือ่ งจากแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซึง่ ทรงเน้นเรือ่ ง “การบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยให้ราษฎรได้อยู่อาศัยและทำ�กินร่วมกับการคงอยู่ของธรรมชาติอย่างเกื้อหนุนกัน คือไม่ท�ำ ลายซึ่ง กันและกันตามหลักการฟื้นฟูและสร้างสมดุลในระบบนิเวศวิทยา ทำ�ให้ทกุ ชีวติ มีความผาสุก และมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ” จึงก่อให้ เกิดโครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายแห่งทั่วประเทศ หนึ่งในนั้นคือ “โครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ” อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี 18
ความเป็นมาของโครงการฯ
โครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ก่อตั้งขึ้น ตามแนวพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2533 โดยทรงมีพระราชกระแสรับสั่งกับ นายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสาน งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) และ เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา อธิบดีกรมชลประทาน พร้อมคณะ เจ้าหน้าที่ว่า ...ได้ทราบว่าพระราชญาณรังสี (พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก) ได้ไปดำ�เนินการพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณตำ�บลหนองปรือ อำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี จึงให้เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาไปนมัสการ พระอาจารย์จันทร์ คเวสโก เพื่อช่วยประสานและสนับสนุนการ ดำ�เนินงานในโครงการดังกล่าวนี้ โดยร่วมกับกรมชลประทาน พิ จ ารณาก่ อ สร้ า งอ่ า งเก็ บ น้ำ � ตามลำ � น้ำ � ต่ า งๆ ของห้ ว ยตะเพิ น ในเขตอำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี และอำ�เภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อจัดหาน้ำ�ช่วยเหลือราษฎรในเขตโครงการ ทำ�ให้มีน้ำ�ทำ�การเพาะปลูก อุปโภคบริโภคได้ตลอดปี และสมควร ปลูกป่าตามบริเวณขอบอ่างเก็บน้ำ�ต่างๆ ที่ทำ�การก่อสร้างด้วย ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนเป็นอย่างดี ต่อมาได้พระราชทานพระราชดำ�ริให้ดำ�เนินการจัดหาที่ดิน จำ�นวนหนึ่ง เพื่อนำ�มาวางแผนและจัดทำ�โครงการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เพื่อพัฒนาและช่วย เหลือประชาชนในบริเวณพื้นที่ดังกล่าวให้ได้อยู่อาศัยและทำ�กินกับ ธรรมชาติอย่างเกื้อหนุนกัน และพระราชทานชื่อว่า “โครงการ ห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ” อีกทั้งได้พระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์ และเงินงบประมาณจากมูลนิธิชัยพัฒนาเข้า ร่วมสนับสนุนโครงการ ทั้งนี้ การดำ�เนินงานโครงการเป็นแนวทางการพัฒนาตาม แนวพระราชดำ�ริ ที่ให้ฝ่ายต่างๆ ประสานการทำ�งานร่วมกัน ทั้งภาคราชการ ราษฎร และองค์กรศาสนายึดหลัก หรือเรียกสั้นๆ
ว่า “บวร” โดยมี พระอาจารย์ญาณรังสี (พระอาจารย์จนั ทร์ คเวสโก) วัดป่าชัยรังสีอ�ำ เภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร พระราชมงคลญาณ วั ด ปากน้ำ � พระภาวนาวิ สุ ท ธาจารย์ วั ดไตรมิ ต รวิ ท ยาราม กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ร่วมสนับสนุนและประสานการดำ�เนิน งานต่างๆ
ที่ตั้งของโครงการฯ
โครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลสมเด็จเจริญ อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี มีพื้นที่ ครอบคลุม 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 2 บ้านเขาหินตั้ง หมู่ที่ 3 บ้านห้วยแม่ระวัง หมู่ที่ 4 บ้านม่วงเฒ่า และหมู่ที่ 5 บ้านบารมี รวมเป็นพื้นที่โครงการทั้งหมดประมาณ 20,625 ไร่
วัตถุประสงค์
1. เพื่อดำ�เนินการบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่าง เหมาะสม ให้กลับคืนสู่สภาพเดิมที่มีความอุดมสมบูรณ์ โดยการ แบ่งแยกพื้นที่ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ทั้งในด้านการอนุรักษ์ การฟืน้ ฟูสภาพป่า เป็นแหล่งต้นน้�ำ ลำ�ธาร การจัดสรรทีอ่ ยูอ่ าศัย ที่ทำ�กิน และพื้นที่ส่วนกลาง ในการก่อสร้างสาธารณูปโภคที่ จำ�เป็นต่างๆ 2. เพือ่ ดำ�เนินการจัดระเบียบชุมชน ให้ราษฎรได้เข้าอยูอ่ าศัย และทำ�กินในพื้นที่ที่ได้ดำ�เนินการจัดสรรไว้แล้วอย่างเหมาะสม และถูกต้อง 3. เพื่อดำ�เนินการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ให้ราษฎร ได้อาศัยทำ�กินในลักษณะพึ่งตนเอง ควบคู่ไปกับการบริหาร ทรัพยากรได้อย่างยั่งยืน 4. เพื่อดำ�เนินการตามแนวคิดเรื่อง “บวร” (บ้าน วัด ราชการ และโรงเรียน) พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตไทย ด้วยความร่วมมือร่วมใจกันของทุกๆ ฝ่าย
KANCHANABURI 19
แผนการดำ�เนินงาน
1. แผนงานด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการ จัดระเบียบชุมชน 1.1 งานพัฒนาแหล่งน้ำ�เพื่อการเกษตร ก่อสร้างอ่างเก็บน้�ำ จำ�นวน 5 แห่ง พร้อมระบบส่งน้ำ�เข้าพื้นที่การเกษตร พร้อมทั้ง ขุดสระน้ำ�ในพื้นที่การเกษตร และขุดลอกลำ�ห้วยเป็นระยะๆ 1.2 งานพัฒนาด้านสาธารณูปโภค ดำ�เนินการก่อสร้างถนน ลูกรัง ถนนลาดยางและถนนคอนกรีตในบริเวณแปลงทีด่ นิ ทำ�กิน และแปลงทีอ่ ยูอ่ าศัย จัดสร้างระบบไฟฟ้า ระบบประปา โทรศัพท์ ทางไกลผ่านดาวเทียม จัดสร้างโรงพยาบาลขนาด 30 เตียง 1 แห่ง โรงเรียนมัธยม 1 แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง ศูนย์ การศึกษานอกโรงเรียน 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ง และวัด 4 แห่ง 1.3 งานจัดแปลงที่อยู่อาศัย และแปลงที่ดินทำ�กินให้แก่ ราษฎร โดยดำ�เนินการจัดแปลงที่อยู่อาศัยและอาคารพาณิชย์ รวมทั้งสิ้น จำ�นวน 1,146 แปลง พื้นที่ 1,013-0-61 ไร่ และ จัดแปลงเกษตรในพืน้ ทีเ่ ขตส่งน้�ำ อ่างเก็บน้�ำ ทัง้ 5 แห่งโดยจัดพืน้ ที่ แปลงละ 8 ไร่ จำ�นวน 906 แปลง เนื้อที่รวมทั้งสิ้น 7,248 ไร่ 2. แผนงานด้านพัฒนาสังคม ดำ�เนินการให้มีการรวมกลุ่ม ต่างๆ เพือ่ ให้ราษฎรมีสว่ นร่วมในการพัฒนาท้องถิน่ และช่วยเหลือ ชุมชน ตลอดจนสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างความสามัคคี ได้แก่ คณะกรรมการสตรีหมู่บ้าน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และกลุ่มอาชีพ เป็นต้น 20
3. แผนงานด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ดำ�เนินการส่งเสริมให้ เกษตรกรทำ�การเกษตรแบบผสมผสาน มีการปลูกพืชหลายชนิด และเลี้ยงสัตว์ มีการรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ จัดหาอาชีพเสริมให้แก่ ราษฎร ยกตัวอย่างเช่น การปลูกผักปลอดสารพิษ การส่งเสริมการ ปลูกไม้ผล และการส่งเสริมการเลี้ยงไก่ไข่ เป็นต้น 4. แผนงานด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการปลูกป่าในพื้นที่ที่ได้จัดไว้เป็นพื้นที่อนุรักษ์ และฟื้นฟูสภาพ ป่าบริเวณภูเขา เชิงเขา และเหนืออ่างเก็บน้ำ�ตามแนวคลอง ชลประทาน เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ โดยเริ่มดำ�เนินการตั้งแต่ ปี 2534 เป็นต้นมา เพื่อให้สภาพป่าไม้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธาร นอกจากนี้ ได้ดำ�เนินการปลูกป่าในพื้นที่ ส่วนกลางบริเวณชุมชน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปลูกป่า และดูแลบำ�รุงรักษา
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีโ่ ครงการให้มคี วาม เป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2. ฟื้นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล้อมให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์ และสร้างความชุ่มชื้นให้ผืนป่า 3. ดำ�เนินการตามแนวพระราชดำ�ริ “บวร” (บ้าน วัด ราชการ และโรงเรียน) ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวิถีชีวิตของ ราษฎร 4. ศึกษาถึงความคิดเห็นของประชาชนในพืน้ ที่ และผูท้ มี่ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย ที่มีต่อจุดแข็งจุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคในด้าน สิง่ แวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี เพือ่ พัฒนารูปแบบการ บริหารจัดการโครงการฯ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง *ขอขอบคุณภาพและข้อมูลจาก* โครงการ “สื่ออาสา...สืบสานพระราชดำ�ริ” สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.) KANCHANABURI 21
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดถ้ำ�แฝด... แดนพุทธธรรม สถานบารมี วัดถ้ำ�แฝด ตั้งอยู่ที่ตำ�บลเขาน้อย อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดหนึ่งที่เป็นที่รู้จัก แพร่หลายไกลไปถึง ต่างแดน เพราะเป็นต้นตำ�นานของดี “เหล็กไหล” และวัตถุมงคลนานาชนิด ประวัติวัดถ้ำ�แฝดโดยย่อ
วัดถ้ำ�แฝด ก่อตั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2500โดย หลวงพ่อสัมฤทธิ์ คัมภีโร หรือ พระครูกาญจนกิจจาทร ปฐมเจ้าอาวาส ผู้เป็นพระเกจิอาจารย์ผู้ทรงอิทธิคุณองค์หนึ่งในยุคปัจจุบันนี้ หลวงพ่อสัมฤทธิ์ ได้เดินธุดงค์มายังสถานที่ ถ้ำ�แฝดแห่งนี้ ท่านเห็นว่าเป็นสถานที่สงบเหมาะแก่การเจริญสมาธิภาวนา จึงปักกลดปฏิบัติธรรมและจำ�พรรษาอยู่ ซึ่งขณะนั้นเป็นป่าเขาที่รกชัฏก็ท่านค่อยๆ พัฒนาขึ้นจนเป็นสำ�นักสงฆ์ และสร้างเป็นวัดขึ้นด้วยความมุ่งหมายที่จะ ทำ�นุบำ�รุงสถานที่แห่งนี้สำ�หรับพุทธบริษัท 4 สืบไปในภายภาคหน้า 22
วัดถ้ำ�แฝด
หลวงพ่อสัมฤทธิ์ได้ให้นามวัดว่า “วัดถ้ำ�แฝด” จากลักษณะ ภูเขาทรงกลมทีม่ ถี �้ำ หลายแห่งและมีถ�้ำ ทีค่ กู่ นั ปัจจุบนั ถ้�ำ ทีไ่ ด้รบั การ พัฒนามีอยูเ่ พียงหนึง่ ถ้�ำ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปพระประธาน ในถ้�ำ และยังมี หลวงปูท่ วด หลวงปูโ่ ต ขนาดเท่าองค์จริงประดิษฐาน อยู่ ใ นถ้ำ � เป็ น ที่ สั กการบูช าของพุทธศาสนิก ชน ภายในถ้ำ � แฝด ยังเป็นสถานที่ทำ�วัตรสวดมนต์ เจริญกรรมฐานของพระภิกษุสงฆ์ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา เคยมีผทู้ มี่ ฌ ี านสัมผัสกล่าวว่า ดินแดนนี้ มีเมืองลับแล สำ�นักใหญ่แห่งมหาฤาษีและภูมเิ ทวดา เป็นมิตลิ ะเอียด ซ้อนกันอยู่ บางวันอาจได้ยินเสียงสวดมนต์ หรือเห็นลำ�แสงสว่าง พุ่งมาจาเหนือยอดเขาเป็นอัศจรรย์ นับได้ว่าหลวงพ่อสัมฤทธิ์ท่านเป็นปฐมเจ้าอาวาสที่สร้างวัด ขึ้นมาได้ด้วยกลดและบาตร พร้อมทั้งดวงจิตที่เต็มเปี่ยมไปด้วย ความศรัทธาในพระศาสนา เจริญรอยตามครูบาอาจารย์ทไี่ ด้ปฏิบตั ิ ต่อเนื่องสืบต่อกันมา หลวงพ่อสัมฤทธิ์ คัมภีโร มรณภาพเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2539 รวมสิริอายุกาล 73 พรรษา นับได้ว่าเป็นการ สูญเสียพระเกจิอาจารย์องค์ส�ำ คัญไป ยังความเศร้าเสียใจในหมูศ่ ษิ ย์
สิ่งสำ�คัญภายในวัดถ้ำ�แฝด
ภายหลั ง การมรณภาพของหลวงพ่ อ สั ม ฤทธิ์ ปรากฏเป็ น อั ศ จรรย์ ใ นบุ ญ ฤทธิ์ ข องท่ า น เพราะสั ง ขารไม่ เ น่ า เปื่ อ ยตาม ธรรมชาติ อีกทัง้ เส้นผมและเล็บกลับงอกเองได้ตามธรรมชาติ ทาง วัดจึงนำ�สังขารของท่านบรรจุในโลงแก้วแล้วนำ�มาประดิษฐานที่ วิหารมณฑป เพือ่ น้อมระลึกนึกถึงคุณงามความดีของท่าน และเพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชนทัง้ ไกลและใกล้ ได้มาบูชาสักการะขอพึง่ บุญบารมี หลวงพ่อสัมฤทธิ์ คัมภีโร ก็สมความปรารถนาไปตามๆ กัน มณฑป ยังมีความสดสวยงดงามสามารถมองเห็นทัศนียภาพของแม่น้ำ� แม่กลอง เขื่อนแม่กลอง เห็นไกลไปถึงอำ�เภอท่าม่วง และเมือง กาญจนบุรีด้วย บนยอดภูเขาวัดถ้ำ�แฝด ยังมี วิหารพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ฯ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้ ประชาชนทั่วไปได้น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และสักการ บูชาขอให้การค้าขาย และธุรกิจเจริญรุ่งเรืองประสบความสำ�เร็จ นอกจากนี้ บ นยอดภู เ ขาวั ด ถ้ำ � แฝดยั ง มี วิ ห ารพระพุ ท ธ ชิ น ราชศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธชิ น ราชองค์ จำ � ลอง (องค์จริงประดิษฐานอยู่ที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก) จัดเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามที่สุด
มณฑปหลวงพ่อสัมฤทธิ์
ในประเทศไทย และได้รับการขนานนามว่าเป็นพระพุทธรูป ที่ ง ดงามที่ สุ ดในโลกองค์ ห นึ่ ง โดยวั ด ถ้ำ � แฝดได้ ห ล่ อ องค์ พระพุทธชินราชจำ�ลองขึ้นแล้วปิดด้วยทองคำ�แท้ และนำ�มา ประดิษฐานอยูใ่ นพระวิหารบนยอดเขาวัดถ้�ำ แฝด โดยหันพระ พักตร์ไปยังเมืองกาญจนบุรี บ่งบอกถึงความเจริญรุง่ เรืองของ ชาวเมืองกาญจนบุรี ทีม่ ากราบไหว้ขอพรหลวงพ่อพุทธชินราช และที่ เ ชิ ง ภู เ ขาถ้ำ � แฝดมี วิ ห ารใหญ่ พ ระโพธิ สั ต ว์ พระแม่กวนอิม ประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม พระโพธิสตั ว์องค์ สำ�คัญของพุทธศาสนามหายาน และมีผู้เลื่อมใสศรัทธาใน พระโพธิสัตว์องค์นี้มากมายทั่วโลก โดยตั้งหันหน้าออกภูเขา ซึง่ ถูกต้องตามหลักฮวงจุย้ โดยลักษณะของเจ้าแม่กวนอิมเป็น ปางประทานพรประทับบนดอกบัว อันเป็นปางทีบ่ �ำ เพ็ญบารมี สำ�เร็จ จึงเหมาะสำ�หรับการอธิษฐานขอพรให้ท่านคุ้มครอง ปกปักรักษา ปลอดภัยจากอุบัติภัยทั้งหลายทั้งปวง สมหวังใน สิง่ ทีต่ นเองพึงปรารถนา ขอให้ครอบครัวอยูเ่ ย็นเป็นสุข และ ให้ประสบความสำ�เร็จในทุกประการ วิหารพระศรีอริยเมตไตรย์ ถูกออกแบบเป็นอาคารสามชัน้ สำ � หรั บ ปฏิ บั ติ ธ รรม ชั้ น สามเป็ น ห้ อ งกว้ า งใหญ่ ส ามารถ ปฏิบัติธรรมได้ 500 ท่าน ชั้นสองเป็นห้องกว้างสำ�หรับพัก การปฏิบัติธรรม ด้านหน้าทำ�เป็นวิหารประดิษฐานพระศรี อริยเมตไตรย พระโพธิสัตว์ผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า พระองค์ที่ 5 และองค์สดุ ท้ายแห่งภัทรกัปนี้ ท่านทีม่ าพุทธธรรม สถานบารมี วัดถ้�ำ แฝด เชิญมากราบไหว้อธิฐานบารมี ขอให้พน้ ทุกข์ และสำ�เร็จตามความปรารถนาในยุค พระศรีอริยเมตไตรย์
KANCHANABURI 23
วิหารพระแม่กวนอิม
ปฏิบัติธรรมในถ้ำ�แฝด
ปฏิบตั ธิ รรมวัดถ้�ำ แฝด วันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา
ปฏิบัติธรรมในถ้ำ�แฝด อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ประดิษฐานท้าวมหา พรหมชินปัญชะระ ซึ่งในอดีตกาลครั้นองค์สมณโคดมเจ้าตรัสรู้ อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ครานัน้ มีอคั รสาวกเบือ้ งซ้ายและเบือ้ งขวา ของพระพุทธเจ้า คือ พระโมคคัลลานะ ผูเ้ ลิศในอิทธิฤทธิ์ และพระ สารีบุตร ผู้เลิศในปัญญา ในขณะนั้นมีเด็กน้อยนามว่า “ชินนะ” บุตรของมะติโตะพราหมณ์และนางยะถานา พราหมณี โคตร ปัญจะระ เลือ่ มใสในองค์พระศาสดาแห่งพระพุทธศาสนาแต่ครัง้ เยาว์วยั จึงได้บวชเป็นสามเณรและเป็นศิษย์ของพระโมคคัลลานะ สามเณรชินนะ ทรงภูมิปัญญา เป็นที่เฉลียวฉลาดเป็นอย่างยิ่ง ศรั ท ธาในการบิ ณ ฑบาตอย่ า งสงบ ขยั น หมั่ น เพี ย รเป็ น นิ จ ครั้นอายุได้เพียง 7 ปี ก็สำ�เร็จอรหันต์ ครั้นย่างเข้าสู่วัยหนุ่ม รูปร่างของท่านชินนะปัญจระงดงาม เป็นที่ต้องตาต้องใจสตรีเพศ จึงมีสตรีเพศต่างหลงใหลในตัวของ ท่านชินะเป็นอย่างยิ่ง แต่ท่านยึดพรหมจรรย์เป็นสรณะจึงมีแต่ ความสงบ ท่านชินนะ นับว่าเป็นผู้รอบรู้พิธีการต่างๆ ของโลก วิญญาณ ท่านสามารถสวดมนต์ พระคาถา ได้อย่างเยี่ยมยอด ยามท่านสวดพระคาถาไม่ว่าบนโลกหรือสวรรค์ เสียงของท่าน จะก้องกังวาลทั่วนรกภูมิ และสวรรค์สามสิบสามชั้น เทพพรหม ได้ยินจะสะเทือนจิตออกจากสมาบัติ เพื่อรับทราบพิธีการที่ท่าน ชินนะจัดขึ้น แล้ววันหนึ่ง ขณะที่ท่านชินนะ ได้ออกบิณฑบาต โปรดสัตว์ ได้มหี ญิงผูห้ นึง่ ซึง่ แอบหลงรักท่านชินนะ มิอาจยับยัง้ ใจเอาไว้ได้ จึงได้โผผวาเข้ากอดท่านชินนะอย่างลืมตัว ท่านชินนะ เห็นอาการของผู้หญิงคนนั้นกระทำ�แก่ท่าน ดังนี้ ก็บังเกิดความ สังเวชอย่างใหญ่หลวง อันพรหมจรรย์ของท่านต้องมาแปดเปือ้ น เสียดังนี้ ความยึดมั่นในพรหมจรรย์ของท่านต้องมาสะบั้นลง ท่านจึงดำ�ริขึ้นว่า........ ตัวท่านนี้มีรูปงามเช่นนี้ ย่อมก่อให้เกิด อกุศลกรรมแก่อิตถีเพศ เป็นการสร้างบาปให้เกิดขึ้นด้วยรูปกาย 24
นี้เป็นเหตุ จะมีอีกสักเท่าใดกันหนอ ที่ปรารถนาล่วงพรหมจรรย์ ของท่านเช่นหญิงคนนี้ ท่านจึงละสังขารไว้เมือ่ ยังไม่ถงึ กาล อายุทา่ นเพียง 23 ปี 6 เดือน กายละเอียดไปบังเกิดในพรหมโลก เป็นหัวหน้ารูปพรหม 16 ชั้น ควบคุมดูแลชั้นพรหม เพื่อสืบสานสายงาน อาณาจักร พุทธจักร มรรคผล นิพพาน แด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเพื่อดำ�รงคติ ตามหน้าทีท่ รี่ บั มอบหมายมาจากต้นธาตุ ต้นธรรม วงศ์มงั กร ฉะนัน้ รูปจำ�ลองของท่านจึงเป็นรูปยืน เท้าเหยียบเต่าและงู ตำ�แหน่ง ผู้พิชิตมาร ดังปรากฏอยู่ทุกวันนี้ พระโอวาทของท่านมีว่า……
“
เกิดเป็นมนุษย์มีเวลาสั้นมาก ควรจะใช้เวลาให้เป็น ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม และมีคณ ุ ค่าต่อจิตวิญญาณของ ตนเอง การจะทำ�งานเพื่อมนุษยชาตินั้น ต้องมีใจเด็ด เดี่ยว ยอมทนทุกข์เพื่อสุขในบั้นปลาย เรื่องส่วนรวม ต้องมาก่อนส่วนตัว งานนั้นก็สำ�เร็จได้
”
จึงขอเชิญสาธุชนมากราบไหว้พระรัตนตรัย ตลอดถึงสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ประจำ�พุทธธรรมสถานบารมี...วัดถ้ำ�แฝด ต.เขาน้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี ได้ทุกวันทุกเวลา และขออนุโมทนาในบุญ กุศลบารมีกับทุกๆ ท่านที่มาปฏิบัติธรรม พระชลัช สุจิตโต (หั ว หน้ า สถานี วิ ท ยุ พ ระพุ ท ธศาสนา FM 95.25 MHz วัดมโนธรรมาราม และผู้ดูแล พุทธธรรมสถานบารมี วัดถ้ำ�แฝด ติดสอบถามโทร 085-377-9462 )
สารผู้ว่าราชการ
จังหวัดกาญจนบุรี
จั ง หวั ด กาญจนบุ รี เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ งในสิ บ จั ง หวั ด ซึ่ ง คณะกรรมการนโยบายพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เห็ น ชอบให้ เ ป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษของประเทศไทย เพราะมีแนวชายแดนติดต่อกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ เป็นระยะทางกว่า 370 กิโลเมตร มีช่องทาง เข้า - ออก ตามแนวชายแดนประมาณ 43 จุด โดยมี ช่องทางการค้าที่สำ�คัญสองแห่งคือ จุดผ่านแดนชั่วคราว ด่านพระเจดียส์ ามองค์ อำ�เภอสังขละบุรี และจุดผ่านแดน ถาวรที่บ้านพุน้ำ�ร้อน อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี นอกจาก นี้กาญจนบุรียังมีขีดความสามารถในการเป็นศูนย์กลาง เศรษฐกิจของภาคตะวันตก ที่จะกระตุ้นการพัฒนาภาค อุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมต่างๆ ของภาคตะวันตก ได้เป็นอย่างดี ประกอบกั บ กาญจนบุ รี เ ป็ น จั ง หวั ด ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นแนว ระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ หรือ Southern Economic Corridor ของกลุ่ม GMS อันได้แก่ประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย โดยมีจุดเชื่อมโยงไปยังท่าเรือน้ำ�ลึก ทวาย สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และอยู่ใน ตำ�แหน่งที่เป็นศูนย์กลางของประเทศอาเซียน จึงเป็น จังหวัดที่มีศักยภาพในการเชื่อมโยงกับประเทศในกลุ่ม อาเซียนทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จังหวัด กาญจนบุรีจึงกำ�หนดวิสัยทัศน์การพัฒนาไว้ว่า “เมืองแห่งการท่องเที่ยว ศูนย์กลางการค้าภาคตะวัน ตกสู่สากล สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” กระผม ในฐานะผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด กาญจนบุ รี จะเร่งรัดดำ�เนินการโครงการต่างๆ ที่จะส่งผลดีต่อการ พัฒนาในภาพรวมของจังหวัด และจะเฝ้าระวังพร้อมหา แนวทางแก้ไขผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชน โดยมีเป้าหมายหลักในการทำ�งานคือประชาชนอยูด่ ี กินดี มีความสุข ท้ายนี้กระผมขอขอบคุณนิตยสาร SBL ที่กรุณา ประชาสัมพันธ์จังหวัดกาญจนบุรีให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง และขอบคุณหน่วยงานราชการต่าง ๆ องค์กรภาคเอกชน และบริษัทห้างร้านทีใ่ ห้การสนับสนุนด้วยดี และโอกาสนี้ ใคร่ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยได้โปรดประทานพร ให้ทุกๆ ท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป
(นายวันชัย โอสุคนธ์ทิพย์) ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี KANCHANABURI 25
เส้ น ทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด
“นายวัผู้วน่าราชการจั ชัย งโอสุ ค นธ์ ท พ ิ ย์ ” หวัดกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีศักยภาพในการเป็น เขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน และมีขีด ความสามารถ เป็นศูนย์กลางทาง เศรษฐกิจภาคตะวันตก
26
จังหวัดกาญจนบุรกี �ำ ลังเป็นทีส่ นใจไม่เฉพาะในสายตาของกลุม่ ประเทศ อาเซียนเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประเทศที่มีเศรษฐกิจเข้มแข็งอื่นๆ ด้วย เพราะเป็นจุดเชื่อมต่อกับเมืองทวายที่กำ�ลังมีเมกะโปรเจ็ค นั่นคือโครงการ ก่อสร้างท่าเรือน้�ำ ลึกทวาย ดังนัน้ ในฐานะของผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาญจนบุรี จึงต้องรับบทหนักเพื่อสานต่อนโยบายสำ�คัญของประเทศและของอาเซียน ทีม่ งุ่ หวังให้กาญจนบุรเี ป็นประตูการค้า และ Logistic ด้านตะวันตกของไทย และ Southern Economic Corridor ของกลุ่ม GMS ด้วย นิตยสาร SBL ได้รบั เกียรติอย่างสูงจากท่านผูว้ า่ ฯ วันชัย โอสุคนธ์ทพิ ย์ ให้สัมภาษณ์ในหลากหลายประเด็น ทั้งภาพรวมและศักยภาพที่โดดเด่น ของจังหวัด โครงการต่างๆ มากมายที่กำ�ลังเกิดขึ้นในจังหวัดกาญจนบุรี และการเตรียมพร้อมรับมือกับผลกระทบทั้งในแง่บวกและลบ ที่กำ�ลังจะ เกิดขึ้นในไม่ช้านี้
KANCHANABURI 27
จังหวัดกาญจนบุรี ได้ให้ความสำ�คัญกับ นโยบายของ คสช. และรัฐบาลในทุกเรื่อง โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ให้ประชาชนอยู่เย็น เป็นสุข
28
กาญจนบุรี...ศูนย์กลางการค้าภาค ตะวันตกสู่สากล
จังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดชายแดนติดต่อ กับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ระยะทาง 370 กิโลเมตร มีจดุ ผ่านแดน 2 แห่ง คือ จุดผ่านแดนถาวร บ้ า นพุ น้ำ � ร้ อ น ต.บ้ า นเก่ า อ.เมื อ งกาญจนบุ รี และจุ ด ผ่ อ นปรนทางการค้ า และการท่ อ งเที่ ย ว บ้านพระเจดีย์สามองค์ ต.หนองลู อ.สังขละบุรี (อยู่ระหว่างการขอยกระดับเป็นจุดผ่านแดนถาวร) จั ง หวั ด กาญจนบุ รี มี ศั ก ยภาพในการเป็ น เขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษชายแดนและมี ขี ด ความสามารถ เป็ น ศู น ย์ ก ลางทางเศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ตก ในด้ า นการค้ า การลงทุ น ชายแดนได้ อ ย่ า งดี เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนกาญจนบุรเี มือ่ เชือ่ มโยง กับท่าเรือน้ำ�ลึกทวาย จะทำ�ให้สามารถขนส่งและ แปรรูปวัตถุดบิ และสินค้าสู่ตลาดโลกได้อย่างสะดวก ยิง่ ขึน้ โดยจะเป็นพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจหลักทีจ่ ะกระตุน้ การ พัฒนาอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรมต่างๆ ของภาค
ตะวันตก สภาพทางเศรษฐกิจในปี 2556 กาญจนบุรี มีผลิตภัณฑ์มวลรวมประมาณ 90,000 ล้านบาท มากเป็นอันดับที่ 24 ของประเทศ และลำ�ดับที่ 2 ของจั ง หวั ด ภาคตะวั น ตก รายได้ เ ฉลี่ ย ประมาณ 110,000 บาท/คน/ปี เป็นลำ�ดับที่ 26 ของประเทศ ลำ�ดับที่ 4 ของจังหวัดในภาคตะวันตก ปั ญ หาชายแดนในพื้ น ที่ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ยังคงมีปญ ั หาผูห้ ลบหนีเข้าเมืองและแรงงานต่างด้าว ผิ ด กฎหมายอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และเพิ่ ม ระดั บ ความ รุนแรงมากขึ้น เนื่องจากยังมีความจำ�เป็นในการใช้ แรงงานทางภาคอุตสาหกรรมและภาคเอกชนเป็น จำ�นวนมาก ที่สำ�คัญคือเป็นพื้นที่นำ�เข้าผู้หลบหนี เข้าเมือง มีช่องทางธรรมชาติประมาณ 43 ช่องทาง ผ่านชายแดนที่สามารถใช้เดินทางเข้า – ออกผ่าน ชายแดนได้โดยสะดวก ถึงแม้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องได้ ดำ�เนินการป้องกัน สกัดกัน้ จับกุมแรงงานต่างด้าวหลบ หนีเข้าเมือง/ผู้นำ�พา/ขบวนการนำ�พาอย่างต่อเนื่อง แต่กย็ งั ไม่สามารถสกัดกัน้ การหลัง่ ไหลการเข้ามาของ แรงงานต่างด้าวเหล่านี้ได้ เนื่องจากการเฝ้าระวังไม่
ยกระดับจุดผ่อน ปรนทางการค้าและ การท่องเที่ยวบ้าน พระเจดีย์สามองค์ เป็นจุดผ่านแดนถาวร เพื่อเชื่อมโยงเขต เศรษฐกิจพิเศษบ้าน พุน้ำ�ร้อน
KANCHANABURI 29
เมืองกาญจน์กับศักยภาพด้านการท่องเที่ยว
สามารถทำ�ได้ตลอดเวลา
วิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
จังหวัดกาญจนบุรีเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในแนวระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวันตก ที่เชื่อมโยงกับโครงการท่าเรือน้ำ�ลึก ทวาย ซึง่ อยูใ่ นตำ�แหน่งทีเ่ ป็นศูนย์กลางของประเทศอาเซียน จึงเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพในการเชื่อมโยงกับประเทศในกลุ่ม อาเซียนทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ภายใต้ วิสยั ทัศน์ทวี่ า่ “เมืองแห่งการท่องเทีย่ ว ศูนย์กลางการค้าภาค ตะวันตกสู่สากล สังคมอยู่เย็นเป็นสุข” โดยมียุทธศาสตร์ใน การพัฒนาจังหวัด ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1. ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และวิถีวัฒนธรรม ชุมชนอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2. ส่งเสริมและพัฒนาการค้า การลงทุนสู่สากล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3. ส่งเสริมความเป็นเมืองน่าอยู่ 30
จังหวัดกาญจนบุรเี ป็น “เมืองประวัตศิ าสตร์ ธรรมชาติ อัศจรรย์ สวรรค์นักผจญภัย” มีศักยภาพในการท่องเที่ยว ระดับสูง เป็นแหล่งท่องเที่ยวหลักของภูมิภาคตะวันตก อุดมด้วยทรัพยากรทาง การท่องเทีย่ วทีส่ วยงามและหลากหลาย ทัง้ สถานทีส่ �ำ คัญทางประวัตศิ าสตร์ แหล่งโบราณสถาน และ แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ มีการส่งเสริมให้มีการท่อง เที่ยวเชิงอนุรักษ์ ส่งผลให้จ�ำ นวนผู้เยี่ยมเยือนในปีที่ผ่านมา ทั้งหมดประมาณ 6 ล้านคน มีรายได้จากการท่องเที่ยว ถึง 11,910.25 ล้านบาท โดยในจำ�นวนผู้มาเยี่ยมเยือนใน จังหวัดกาญจนบุรโี ดยส่วนใหญ่ มีทงั้ ชาวไทยและต่างชาติจะ เดินทางเข้ามาเทีย่ วในวันเดียวโดยไม่คา้ งคืนมากกว่าจำ�นวน นักท่องเที่ยวที่เข้ามาพักแรมทั้งนี้ นักท่องเที่ยวจะใช้ระยะ เวลาในการพำ�นักอยู่ในจังหวัดเฉลี่ยเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม นักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติจะใช้เวลาในการพำ�นักอยูใ่ นจังหวัด มากกว่านักท่องเที่ยวคนไทย นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ที่ เ ข้ า มาเที่ ย วในจั ง หวั ด กาญจนบุ รี 5 อั น ดั บ แรกคื อ ชาวอังกฤษ ชาวเกาหลี ชาวอเมริกัน ชาวรัสเซียและ ชาวเนเธอร์แลนด์ ตามลำ�ดับ สินค้าสำ�คัญที่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านที่สำ�คัญ ได้แก่ น้ำ�มันดีเซล น้ำ�มันเบนซิน เบียร์ กาแฟสำ�เร็จรูป รถยนต์นงั่ นมและอาหารเสริม น้�ำ มันปาล์ม เครือ่ งปรุงอาหาร และอุปกรณ์ก่อสร้าง ส่วนสินค้านำ�เข้าจากประเทศเพื่อน บ้านทีส่ �ำ คัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ โค-กระบือ ไม้ไผ่ ขีเ้ ลือ่ ย
ปัญหาสำ�คัญของเมืองกาญจน์และแนวทาง แก้ไข
เฟอร์นิเจอร์ไม้ ไม้แปรรูป สังกะสี
สนองสองนโยบายสำ�คัญของ คสช.-รัฐบาล
จังหวัดกาญจนบุรี ได้ให้ความสำ�คัญกับนโยบาย ของ คสช. และรัฐบาลในทุกเรื่อง โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ให้ ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข อาทิ 1. นโยบายด้านการจัดระเบียบสังคม จังหวัดกาญจนบุรมี แี ผนงาน และผลการดำ�เนินงานในการ จัดระเบียบสังคม เช่น การจับกุมยาเสพติด การตรวจสถาน บริการ หอพัก อาคารให้เช่า โรงงาน สถานประกอบการ ตรวจสอบจับกุมผู้จำ�หน่ายหรือเสพยาเสพติด โดยจัดตั้ง ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารจั ด ระเบี ย บสั ง คมระดั บ จั ง หวั ด /อำ � เภอ ออกตรวจตราสถานการณ์ตามแผนการตรวจ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 2. จัดตั้งศูนย์บริการ One Stop Service จังหวัดกาญจนบุรีได้จัดตั้งศูนย์บริการ One Stop Service ตั้งอยู่ ณ บริเวณห้างสรรพสินค้า เทสโก้ โลตัส กาญจนบุรี เป็นจุดให้บริการเบ็ดเสร็จ การให้บริการ รับเรือ่ งส่งต่อ และการให้บริการข้อมูลข่าวสาร โดยเปิดให้ บริการตัง้ แต่ วันจันทร์-วันศุกร์ ตัง้ แต่เวลา 08.30-17.30 น. วันเสาร์ ตั้งแต่ 08.30-16.30 น. (หยุดวันอาทิตย์และ วันหยุดนักขัตฤกษ์) ซึ่งเป็นการอำ�นวยความสะดวกให้ ประชาชนในการเข้าถึงบริการของรัฐ โดยให้บริการใน ด้านรับเรื่องราวร้องทุกข์ โดยศูนย์ดำ�รงธรรมจังหวัดฯ งานบัตรประจำ�ตัวประชาชน งานทะเบียน โดยอำ�เภอเมืองฯ และการชำ�ระภาษีรถยนต์ รถจักรยานยนต์ โดยสำ�นักงาน ขนส่งจังหวัด มีผมู้ ารับบริการประมาณเฉลีย่ 150 คน/วัน
ประการแรก ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นคือ ปัญหา แรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ที่ลักลอบเข้ามาทำ� งาน ในพื้นที่จังหวัด ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการควบคุมแรงงาน ต่างด้าว จังหวัดได้แก้ไขโดยให้มีการลงทะเบียนแรงงาน ต่างด้าวในจังหวัด ให้ครอบคลุมแรงงานต่างด้าวทุกคน ที่เข้ามาทำ�งาน เพื่อให้สามารถตรวจสอบและควบคุมได้ จะทำ�ให้การแก้ไขปัญหาการลักลอบเข้ามาทำ�งานของ แรงงานต่างด้าวเป็น...และสะดวกต่อการตรวจสอบ ประการที่สอง ปัญหาพื้นที่การพัฒนาของจังหวัด กาญจนบุรี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่หวงห้ามไว้ใช้ในราชการ ทหาร การพัฒนาต่างๆ จำ�เป็นต้องขอใช้พนื้ ทีจ่ ากฝ่ายทหาร ประการทีส่ าม ปัญหาโครงสร้างพืน้ ฐาน และระบบ โลจิสติกส์ เนือ่ งจากรัฐบาลมีนโยบายให้จงั หวัดกาญจนบุรี เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ดังนั้น จังหวัดจึงต้อง เร่งรัดให้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการ พัฒนาดังกล่าว ซึ่งบางอย่างต้องเป็นการดำ�เนินการของ หน่วยงานในระดับกระทรวง ทบวง กรม จังหวัดจึงได้ ขอรับการสนับสนุนการดำ�เนินการไปยังหน่วยงานดัง กล่าวในการเร่งรัดการดำ�เนินงานในพื้นที่จังหวัด เช่น การบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ เ พื่ อ การพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายแดน บ้านพุน้ำ�ร้อน การเร่งรัดการก่อสร้างทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์) สาย 81 บางใหญ่-กาญจนบุรี และช่วงที่ 2 กาญจนบุรี – บ้านพุน้ำ�ร้อน เป็นต้น การขยายเส้นทางคมนาคมทางกาญจนบุรี – อำ�เภอ. สังขละบุรี และในตัวจังหวัด ประการที่ สี่ ปั ญ หาการขาดแคลนน้ำ � ในพื้ น ที่ อำ�เภอห้วยกระเจา อำ�เภอหนองปรือ อำ�เภอเลาขวัญ อำ�เภอ บ่อพลอย เพื่อที่จะพัฒนาเป็นฐานการผลิตทางเกษตร เกษตรอุตสาหกรรมเพือ่ สนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษของ จังหวัด ในการแก้ไขปัญหาจังหวัดได้ขอรับการสนับสนุน งบประมาณจากกรมชลประทาน และจัดสรรงบพัฒนา จังหวัดในการดำ�เนินการมาเป็นลำ�ดับ
เป็นประตูการค้า และ Logistic ด้านตะวันตกของไทย และ Southern Economic Corridor ของกลุ่ม GMS จากทะเลจีน ไปทะเลอันดามัน
KANCHANABURI 31
พัฒนาบ้านพุน�้ำ ร้อนให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
เนื่ อ งจากจั ง หวั ด กาญจนบุ รี เ ป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในสิ บ จังหวัด ซึ่งคณะกรรมการนโยบายพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เห็ น ชอบให้ เ ป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษของประเทศไทย จังหวัดกาญจนบุรีจึงได้ดำ�เนินการเตรียมความพร้อมเพื่อ ผลักดันเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ดังนี้ 1. ด้านพื้นที่ (1) การจัดทำ�ผังเมืองรวมจังหวัดกาญจนบุรี โดยแบ่ง พื้นที่การใช้ประโยชน์ประเภทต่างๆ เพื่อนำ�ไปสู่การอยู่ดีมีสุข และรองรับการพัฒนาด้านการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ ว ชายแดนอย่างยั่งยืน (2) การจัดทำ�ผังชุมชนบ้านพุน้ำ�ร้อน จังหวัดกาญจนบุรี ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ศกึ ษาและจัดทำ�ผังเมือง เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนบ้านพุน�้ำ ร้อน พร้อมกำ�หนดการใช้ ประโยชน์ทดี่ นิ ประเภทต่างๆ ไว้รองรับแล้ว เช่น พืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย เกษตรกรรม ศูนย์ราชการ พาณิชยกรรม การท่องเที่ยว อนุรักษ์พื้นที่ธรรมชาติ นันทนาการ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม สถาบั น ราชการเพื่ อ ความมั่ น คงทางทหาร และการใช้ ประโยชน์กิจการศุลกากร และการสาธารณูปโภค ซึ่งพื้นที่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตพระราชกฤษฎีกาในเขตหวงห้ามไว้ใช้ใน ราชการทหาร พ.ศ.2481 ซึ่งต้องทำ�ความตกลงกับกระทรวง กลาโหมและกระทรวงการคลัง (กรมธนารักษ์) (3) การวางผังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งภายใน พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษไว้พร้อมแล้ว เพื่อรองรับการพัฒนา พืน้ ทีเ่ ชือ่ มต่อกับถนนเส้นทางพิเศษระหว่างเมือง และเชือ่ มโยง ไปยังท่าเรือน้�ำ ลึกทวาย ประเทศสหภาพเมียนมาร์ กับท่าเรือ น้ำ�ลึกแหลมฉบัง (4) การเตรียมการเพื่อยกระดับจุดผ่อนปรนทางการค้า และการท่องเที่ยวบ้านพระเจดีย์สามองค์ เป็นจุดผ่านแดน ถาวร เพื่อเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจพิเศษบ้านพุน้ำ�ร้อนและ เตรียมการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษของจังหวัดกาญจนบุรี 32
จังหวัดกาญจนบุรีกับเมืองทวาย ได้มีความร่วมมือทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การท่องเที่ยวและการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างต่อเนื่อง ต่อไป 2. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (1) จั ง หวั ด ได้ ดำ � เนิ น การปรั บ ปรุ ง ถนนเป็ น ผิ ว คสล. กว้าง 6.00 เมตร ยาว 1,700 เมตร บริเวณ บ้านพุน้ำ�ร้อน ตำ�บลบ้านเก่า อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี (2) จังหวัดโดยศูนย์สร้างทางกาญจนบุรี จะดำ�เนินการ ก่อสร้างปรับปรุงทางหลวงหมายเลข 3229 สายแยกทางหลวง หมายเลข 323 – แควน้อย (บ้านเก่า) – บ้านลำ�ทราย – บ้านพุน�้ำ ร้อน เป็นทางมาตรฐานชั้น 1 (3) ศูนย์สร้างทางกาญจนบุรี จะดำ�เนินการก่อสร้าง ทางหลวงไปบรรจบชายแดนไทย – เมียนมาร์ (ชายแดน บ้านพุน้ำ�ร้อน) เพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมระหว่างไทย – เมียนมาร์ ระยะทาง 300 เมตร (4) การบริหารจัดการระบบสาธารณูปโภคบริเวณเขต เศรษฐกิจพิเศษชายแดน -ระบบไฟฟ้า พื้นที่ดังกล่าวมีการขอใช้กระแสไฟฟ้า ในพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง (การไฟฟ้ า อำ � เภอด่ า นมะขามเตี้ ย ) ซึง่ อยูห่ า่ งจากพืน้ ทีป่ ระมาณ 60 กม. ซึง่ มีปญ ั หาเกีย่ วกับการ จ่ายกระแสไฟฟ้าไม่เพียงพอ -ระบบประปา กรมโยธาธิการและผังเมืองได้มกี ารจัดสรร งบประมาณเพื่อดำ�เนินการก่อสร้างระบบประปาขนาดใหญ่ ในพื้นที่ เพื่อรองรับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งขณะนี้อยู่ ระหว่างดำ�เนินการ และหลังดำ�เนินการแล้วเสร็จจะมีการส่ง
ในปีงบประมาณ 2558 จังหวัดกาญจนบุรี จัดงานแสดงสินค้าร่วมกับหอการค้าและ สภาอุตสาหกรรม โดยเชิญผู้ประกอบการ เมืองทวายนำ�สินค้ามาแสดงและจำ�หน่าย
มอบให้พื้นที่ดูแลต่อไป
ผลกระทบของโครงการท่ า เรื อ น้ำ � ลึ ก ทวายต่ อ กาญจนบุรี
โครงการดั ง กล่ า วนี้ มี ป ระโยชน์ ต่ อ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี และประเทศไทยอย่างมาก แต่ในขณะเดียวกันก็ส่งผลกระทบ ทั้ ง เชิ ง บวกและเชิ ง ลบ ซึ่ ง อาจเกิ ด ขึ้ น กั บ ประชาชนที่ อ าศั ย ตามแนวตะเข็บชายแดนทั้งสองประเทศ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการเปิดจุดผ่านแดน 1. เป็นประตูการค้า และ Logistic ด้านตะวันตกของไทย และ Southern Economic Corridor ของกลุ่ม GMS (เวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์) จากทะเลจีนไปทะเลอันดามัน เป็นโครงการร่วมของรัฐบาลไทย กับสหภาพเมียนมาร์ ซึ่งส่งผลต่อประเทศในกลุ่ม GMS 2. เป็นจุดการค้าชายแดนที่สำ�คัญระหว่างประเทศไทยกับ สหภาพเมียนมาร์ เพราะอยู่ใกล้กรุงเทพฯ มากที่สุด 3. ส่ ง เสริ ม การค้ า การลงทุ นในจั ง หวั ด กลุ่ ม จั ง หวั ด ในประเทศและระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในสาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมาร์ ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม 4. ส่งเสริมการท่องเที่ยวด้านตะวันตกของไทยและระหว่าง กับประเทศเพื่อนบ้าน 5. ช่วยลดอัตราการอพยพแรงงานเข้ามาในประเทศไทย 6. เป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์อันดี ระหว่างประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน ผลกระทบเชิงบวก 1. จั งหวั ดจะมีเส้น ทางเชื่อ มโยงทางการค้าจากจั งหวั ด กาญจนบุรีไปยังทวายด้านทางบกที่มีระยะทางประมาณ 160 กิโลเมตร 2. เป็นการขยายเขตการค้าของจังหวัดกาญจนบุรีไปยัง ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 3. สามารถที่จะเพิ่มอาชีพและรายได้ของประชาชนชาว จังหวัดกาญจนบุรี ทัง้ อาชีพด้านการบริการ การท่องเทีย่ ว และอืน่ ๆ 4. ประเทศไทยและจังหวัดกาญจนบุรีมีความสัมพันธ์อันดี กับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ผลกระทบเชิงลบ มีการเคลือ่ นย้ายแรงงานไปทำ�งานในสาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ หากโครงการท่าเรือน้�ำ ลึกทวาย สามารถเริม่ ดำ�เนินการ
KANCHANABURI 33
โครงการได้เร็วขึ้น
เน้นนโยบายด้านการศึกษาให้พร้อมรับมือ ในปีงบประมาณ 2558 จังหวัดกาญจนบุรีจัดงาน แสดงสินค้าร่วมกับหอการค้า และสภาอุตสาหกรรม โดยเชิญผู้ประกอบการ เมืองทวายนำ�สินค้ามาแสดง และจำ�หน่าย
34
จังหวัดกาญจนบุรไี ด้มนี โยบายให้สถานศึกษาในระดับการศึกษา พืน้ ฐาน และระดับอุดมศึกษา โดยขอให้สถานศึกษาทัง้ ในระบบและ นอกระบบ จัดการเรียนการสอนสอดแทรกการเรียนรู้ที่จะสนอง ตอบต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ศักยภาพของพื้นที่จังหวัด และความต้องการทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม ความมั่นคงที่ จะเกิดขึ้น ในการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เช่นให้มี การเรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพที่สามารถรองรับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อยกระดับฝีมือแรงงาน การให้บริการ ด้านการท่องเที่ยวที่มีมาตรฐาน การเรียนภาษาประเทศเพื่อนบ้าน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาอื่นๆ ที่สำ�คัญ รวมถึงการศึกษา วัฒนธรรมประเพณีของประเทศไทยและเพื่อนบ้าน เพื่อการเชื่อม โยงและเชื่อมโยงด้านการค้า การท่องเที่ยว และวัฒนธรรมต่อกัน เพื่อเป็นการเตรียมบุคลากรรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมถึงการเตรียมการรับผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ทัง้ ทางบวกและทางลบ
ผมอยากเห็นจังหวัด กาญจนบุรีมีความ เจริญก้าวหน้า ทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม มีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดี โดยมี เป้าหมายคือประชาชน อยู่ดี กินดี มีความสุข
จับมือเมืองทวายเพื่อการพัฒนาครบทุกมิติ
จังหวัดกาญจนบุรีกับเมืองทวาย ได้มีความร่วมมือทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การท่องเทีย่ วและการพัฒนาคุณภาพชีวติ อย่างต่อ เนื่อง โดยผู้บริหารของจังหวัดกาญจนบุรี ข้าราชการ ภาคเอกชน และประชาชนได้มกี ารเสริมสร้างความร่วมมือและความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนและประชาชนมาโดยตลอด ในด้านเศรษฐกิจ จังหวัดกาญจนบุรีได้น�ำ หัวหน้าส่วนราชการ ภาคเอกชน หอการค้าจังหวัดกาญจนบุรี สภาอุตสาหกรรมจังหวัด กาญจนบุรี และผู้ประกอบการ นักธุรกิจไปเดินทางไปเมืองทวาย สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เพือ่ เชือ่ มความสัมพันธ์ทางการค้า และการท่องเทีย่ วกับหอการค้าและสภาอุตสาหกรรมภาคตะนาวศรี มาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ยงั ไม่มกี ารเปิดจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน�ำ้ ร้อน – ทิกิ เมือ่ มีการเปิดจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน�้ำ ร้อน – ทิกิ ประชาชน ทัง้ สองประเทศได้มกี ารไป-มาระหว่างกันเพือ่ การท่องเทีย่ ว เพือ่ ซือ้ ขายสินค้าระหว่างกัน การซือ้ สินค้าอุปโภคบริโภค การเข้ามาทำ�งาน ของแรงงานต่างด้าว และในปีงบประมาณ 2558 จังหวัดกาญจนบุรกี �ำ หนดให้มกี าร จัดงานแสดงสินค้าร่วมกับหอการค้าและสภาอุตสาหกรรม โดยเชิญ ผู้ประกอบการเมืองทวายนำ�สินค้ามาแสดงและจำ�หน่าย และมี กิจกรรมการจับคูธ่ รุ กิจระหว่างผูป้ ระกอบการของจังหวัดกาญจนบุรี กับผู้ประกอบการชาวเมียนมาร์ เพื่อเชื่อมโยงการค้าและการลงทุน ระหว่างกัน และขยายตลาดการค้าให้เพิ่มมากขึ้น ในด้านสังคมและการท่องเที่ยว จังหวัดกาญจนบุรีได้มีการ เชือ่ มโยงความสัมพันธ์ ระหว่างชาวทวายและชาวจังหวัดกาญจนบุรี โดยได้มกี ารจัดงานเชือ่ มความสัมพันธ์กาญจนบุรี – ทวาย ในโอกาส ครบรอบ 1 ปี เปิดจุดผ่านแดนบ้านพุน�้ำ ร้อน – ทิกิ โดยมีการจัดกิจกรรม การประกวดนางงามชาวไทยและชาวเมียนมาร์ กะเหรี่ยง มอญ มีการจัดการแข่งขันขีจ่ กั รยานข้ามประเทศ เพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว การจัดบูธแสดงและจำ�หน่ายสินค้า โดยเชิญทางเมียนมาร์รว่ มออก บูธและจำ�หน่ายสินค้า การร่วมกิจกรรมการปลูกป่าอาเซียน รวมถึง การเชิญผูบ้ ริหารภาคตะนาวศรีและเมืองทวายมาร่วมงาน เพือ่ เสริม สร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างไทย –เมียนมาร์ ซึง่ ได้รบั ความร่วม มือเป็นอย่างดี และจะเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ชายแดนให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมดังกล่าว KANCHANABURI 35
จากใจผู้ว่าฯ ถึงชาวกาญจนบุรี
ในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ผมอยากเห็นจังหวัดกาญจนบุรีมีความเจริญ ก้าวหน้า ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม มีชีวิต ความเป็นอยูท่ ดี่ ี โดยมีเป้าหมายคือประชาชน อยู่ดี กินดี มีความสุข มีสุขภาพแข็งแรง มี ค วามปลอดภั ยในการดำ � รงชี วิ ต ดั ง นั้ น จึงขอให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมใน การพัฒนาจังหวัดให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว
เร่งรัดโครงการใหญ่เพื่อให้เมืองกาญจน์ก้าวไกล
จังหวัดกาญจนบุรี ได้เร่งรัดดำ�เนินการโครงการสำ�คัญ ๆ ดัง ต่อไปนี้ 1. การจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตามนโยบาย รัฐบาล เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถด้านการแข่งขันของประเทศใน ด้านเศรษฐกิจ 2. การเร่งรัดการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการ เจริญเติบโตของเมืองและด้านเศรษฐกิจ 3. การพัฒนาศูนย์ดำ�รงธรรมจังหวัดกาญจนบุรี ให้สามารถ ให้บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 36
4. ส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด เพื่อดึงดูดให้นักท่อง เที่ยวมาท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อเพิ่ม รายได้จากการท่องเที่ยว โดยได้สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรม ด้านการท่องเทีย่ วอย่างต่อเนือ่ ง และกระจายไปตามอำ�เภอต่างๆ เพื่ อ เป็ น การกระจายรายได้ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชนและเป็ น การ ประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัดกาญจนบุรี
2
เฟส2
ภาพและบรรยากาศจำลอง
บ้านหรูบนทำเลที่ดีที่สุด
เพียง 20 หลังเท่านั้น *เง�่อนไขเปนไปตามที่บร�ษัทกำหนด อาจเปลี่ยนแปลงไดโดยมิตองแจงใหทราบลวงหนา
WWW.THERICHKAN.COM
(ใกล้บิ๊กซีท่าเรือ)
082-295-1414
สยามนิสสัน กาญจนบุรี (เยื้องๆโฮมโปรกาญจนบุรี) 65/7 ม.1, ถ.แสงชูโต ต.ท่าล้อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034 622-441-3
ดาวยางกาญจน์ ออโต้แมกซ์ (ตรงข้ามศาลากลาง) 275, 277, 279 ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034-671-551
โรงเรี ย นวี ร ศิ ล ป์ ...วินัยดี มีจรรยา วิชาเด่น
โรงเรียนวีรศิลป์ เป็นโรงเรียนเอกชนสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนบริหารงานโดย คณะบาทหลวงมิสซังโรมันคาทอลิก เขตราชบุรี (สังฆมณฑลราชบุร)ี ได้รบั อนุญาตจัดตัง้ โรงเรียน เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2491 จัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย ถึงระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (อนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้น) ปัจจุบันมีนักเรียน 2,889 คน ห้องเรียนระดับปฐมวัยจำ�นวน 21 ห้อง ห้องเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำ�นวน 43 ห้อง ห้องสมุดและ ห้องประกอบการที่ทันสมัย สวยงาม จำ�นวน 12 ห้อง บุคลากรครูจำ�นวน 140 คน ครูตา่ งชาติ 7 คน
โรงเรียนวีรศิลป์มุ่งเสริมสร้างและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มี คุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ สามารถทำ�งานและดำ�เนินชีวิตอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับปรัชญาการศึกษาชาติ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น “คนดี มีความสามารถ และมีความสุข” จั ด การเรี ย นการสอนแบบมี ส่ ว นร่ ว ม โดยผู้ บ ริ ห าร คณะครู ผูป้ กครอง และผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง ร่วมกันวางแผน กำ�หนดรูปแบบและ แนวทางการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับปรัชญาการจัดการศึกษา ของโรงเรียนในเครือสังฆมณฑลราชบุรี ที่ว่า “คุณธรรม นำ�วิชา พัฒนาสุข” และตามคำ�ขวัญของโรงเรียน “วินยั ดี มีจรรยา วิชาเด่น” ทั้งนี้ เพื่อบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาอย่าง มีคุณภาพ
เป้าหมายในการดำ�เนินงานของโรงเรียน ตามหลักสูตรการ ศึกษาปฐมวัย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเติบโตเป็น ผู้ใหญ่ที่ดีของสังคม มีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์-จิตใจ และสังคม เคารพในความแตกต่าง ระหว่างบุคคล และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึง่ มีจดุ มุง่ หมายให้ผเู้ รียนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพจิตทีด่ ี มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน เรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง คิดเป็น ทำ�เป็น มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตาม หลักสูตร และสอดคล้องตามนโยบายเพือ่ สร้างสรรค์ประเทศไทย ให้เข้มแข็ง โดยการสร้างค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ทีม่ งุ่ เน้นในด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย ์ ซือ่ สัตย์ สุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุง่ มัน่ ในการทำ�งาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
นอกจากนี้ โรงเรียนวีรศิลป์ ยังมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีทักษะเพื่อ การดำ�รงชีวิตในศตวรรษที่ 21 คือ 1) ทักษะชีวิตและอาชีพ (ภาวะผู้นำ�และความร่วมมือ ความยืดหยุน่ และการปรับตัว การริเริม่ และความเป็นตัวของตัวเอง มีมนุษย์สัมพันธ์และเป้าหมายในชีวิต สร้างสรรค์งานอย่างมี คุณภาพและรับผิดชอบต่อส่วนรวม) 2) ทักษะทางสังคม การเข้าใจความต่างทางวัฒนธรรมและ กระบวนทัศน์ 3) ทักษะด้านการใช้คอมพิวเตอร์ สือ่ เทคโนโลยี สารสนเทศ 4) ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม (ความคิดสร้างสรรค์ และนวั ต กรรม คิ ด อย่ า งมี วิ จ ารณญาณและการแก้ ปั ญ หา การสื่อสารและการใช้ภาษา)
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โรงเรียนวีรศิลป์ เลขที่ 558 หมู่ 2 ถนนแสงชูโต (สายเก่า) ตำ�บลท่าม่วง อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71110 โทร.034 611041 หรือ www.veerasilp.ac.th
เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด
นายกาศพล แก้วประพาฬ ................................................................................................................................................
รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ............................................................................................................
นายกาศพล แก้วประพาฬ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่ง รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาญจนบุรี ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2555 โดยได้รบั มอบหมายให้ก�ำ กับ ดูแลส่วนราชการทีม่ ภี ารกิจเกีย่ วกับด้านเศรษฐกิจและสังคม เช่น สำ�นักงาน จังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานคลัง จังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานพาณิชย์จังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานพัฒนา ธุรกิจการค้าจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น วันนี้ท่านได้สละเวลาอันมีค่าให้ นิตยสาร SBL ได้สัมภาษณ์พูดคุย ถึงภารกิจสำ�คัญที่ทำ�ให้ท่านเกิดความภาคภูมิใจ ในฐานะรองผู้ว่าราชการ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ฝ่ า ยเศรษฐกิ จ และสั ง คม นั่ น ก็ คื อ การจั ด ทำ � แผน ยุทธศาสตร์จงั หวัดกาญจนบุรเี พือ่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) กาญจนบุรีพร้อมรับ AEC ด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สำ�หรับการเตรียมความพร้อมของจังหวัดกาญจนบุรีนั้น ในฐานะที่ ผมได้รับมอบหมายให้บริหารจัดการเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ได้มีการประสานกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) และ การวิเคราะห์ผลกระทบ ทางบวกและลบที่จะเกิดขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 จังหวัดกาญจนบุรีได้นำ�ข้อมูลดังกล่าวมาประกอบการจัดทำ�ยุทธศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อให้สามารถรองรับความร่วมมือระหว่างประเทศ ภายใต้ประชาคมอาเซียน ซึ่งนับเป็นผลงานที่ภาคภูมิใจ โดยได้กำ�หนดเป็น ยุทธศาสตร์จงั หวัดกาญจนบุรเี พือ่ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ดังนี้
40
การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนครั้งที่ 2 โครงการออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนบ้านพุน�้ำ ร้อน จังหวัดกาญจนบุรี
โครงการออกหน่วยบริการทางสังคมกระทรวงการพัฒนาสังคม
KANCHANABURI 41
ต้อนรับพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี เปิดโครงการเพาะกล้าน้อย
ร่วมพิธีมอบเงินนักเรียนในพระบรมราชานุเคราะห์
42
วิสัยทัศน์
“เมืองแห่งการท่องเที่ยว ศูนย์กลางการค้าภาคตะวัน ตกสู่สากล สังคมอยู่เย็นเป็นสุข”
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรีเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
ได้กำ�หนดพันธกิจของจังหวัดได้ ดังนี้ (1) พัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดให้มีมูลค่าทาง เศรษฐกิจควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวให้ คงสภาพเดิมไว้ให้มากที่สุด (2) ส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่ มีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหารและ พลังงานอย่างเหมาะสมและยั่งยืน สามารถสร้างมูลค่า เพิ่มสอดคล้องกับความต้องการและมีมาตรฐานปลอดภัย ต่อผู้บริโภคทั้งภายในและต่างประเทศ พัฒนาและบริหาร จัดการทรัพยากรการผลิตทางการเกษตรและโครงสร้างพืน้ ฐานการเกษตรอย่างเพียงพอ (3) ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์โดยใช้องค์ความรู้ เพื่อสร้างความแตกต่างและความโดดเด่น (4) พัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อสังคม และอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน (5)พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนและสั ง คม กาญจนบุรีให้มีความเข้มแข็งและดำ�รงชีวิตตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (6) พัฒนาให้จังหวัดกาญจนบุรี เป็นศูนย์กลางการ ท่องเที่ยว การค้า การลงทุน การผลิตสินค้าและบริการ ในภูมิภาคอาเซียนบนฐานปัญญา นวัตกรรม ความคิด สร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากพันธกิจดังกล่าว พบว่า พันธกิจข้อ 6 เกี่ยวกับ AEC โดยตรง ซึ่งภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด กาญจนบุรี ได้กำ�หนดประเด็นยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ที่ เกี่ยวข้องกับ AEC ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ “การส่งเสริมและพัฒนาจังหวัด กาญจนบุรี ให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน” เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ “ทุกภาคส่วนในจังหวัด กาญจนบุ รี มี ค วามพร้ อ มรองรั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน”
ประธานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ
ร่วมงานกิจกรรมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ KANCHANABURI 43
ประธานโครงการจังหวัดเคลื่อนที่และคลินิกมหาดไทย กลยุทธ์น�ำ ไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของเป้าประสงค์ฯ ได้แก่ 1) พัฒนาบุคลากรทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพในการพัฒนา คุณภาพสินค้าและบริการและการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน 2) ยกระดับทักษะฝีมือแรงงานเพื่อเตรียมความพร้อมของ แรงงานไทยเข้าสู่ตลาดแรงงานในภูมิภาคอาเซียน 3) ส่ ง เสริ ม การใช้ แ ละการอนุ รั ก ษ์ ภ าษาท้ อ งถิ่ น และ การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องควบคู่กับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาต่างประเทศหลัก รวมทั้งการเรียนรู้ภาษาสากลอื่น ที่เหมาะสมและภาษาประเทศเพื่อนบ้าน ตลอดจนการเรียนรู้ วัฒนธรรมและสร้างความเข้าใจในวิถชี วี ติ ของคนในกลุม่ ประเทศ อาเซียนเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน 4) ยกระดั บ การให้ บ ริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพและบริ ก ารด้ า น สาธารณสุ ข และความต้ อ งการอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ มาตรฐานการให้บริการเพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นศูนย์กลางการให้บริการ สุขภาพของภูมิภาค 5) พัฒนาระบบสาธารณูปโภคเพื่อรองรับการพัฒนาและ ความต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาการขนส่งและ โลจิสติกส์ให้มปี ระสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล สามารถเชือ่ ม โยงอำ�นวยความสะดวกในการเดินทาง การค้า และการขนส่ง สินค้าชายแดนและผ่านแดน 6) พัฒนาการท่องเที่ยว การค้า การลงทุน การผลิตสินค้า และบริการให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน การเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน กลยุทธ์ฯ ข้างต้นประกอบด้วย แผนปฏิบตั งิ านตามระยะเวลา ต่างๆ มีเป้าประสงค์หลักเพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาจังหวัดกาญจนบุรี ให้มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และพัฒนาให้จังหวัดกาญจนบุรี เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยว การค้า การลงทุนการผลิตสินค้าและบริการในภูมิภาคอาเซียน บนฐานปัญญา นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
44
แถลงข่าวงานสะพานข้ามแม่น�้ำ แควที่การท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย
ประธานแถลงข่าวจัดงานสะพานข้ามแม่น�้ำ แควที่กาญจนบุรี ประวัติการศึกษาและการรับราชการ “นายกาศพล แก้วประพาฬ” รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี
ประวัติการศึกษา - ปริญญาตรี รัฐศาสตร์การปกครอง มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง ปีที่สำ�เร็จการศึกษา พ.ศ.2521 - ปริญญาโท วิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่สำ�เร็จการศึกษา พ.ศ.2530 ประวัติการรับราชการ ปี 2522 – 2526 ปลัดอำ�เภอ (เจ้าพนักงานปกครอง 3,4) จังหวัดสกลนคร ปี 2530 เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 5 โครงการจัดทำ�เลขประจำ�ตัวประชาชน กรมการปกครอง ปี 2533 หัวหน้าฝ่ายอำ�นวยการ ระดับ 6 สำ�นักงานจังหวัดพังงา สำ�นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปี 2538 หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ระดับ 7 สำ�นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปี 2539 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 7 ว.ช. สำ�นักงานปลัด กระทรวงมหาดไทย ปี 2544 หัวหน้ากลุม่ งานสารสนเทศ (ระดับ 8) สำ�นักงาน ก.ถ. สำ�นักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปี 2547 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดหนองบัวลำ�ภู (ระดับ 8) ปี 2549 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง (ระดับ 8) ปี 2550 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดเพชรบูรณ์ (ระดับ 9) ปี 2551 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดเชียงใหม่ (ระดับ 9) ปี 2552 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดกาญจนบุรี (ระดับ 9) ปี 2554 หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดระยอง (ระดับ 9) ปี 2555 – ปัจจุบัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี
ประธานเปิดงานของดีชายแดนใต้
KANCHANABURI 45
“กิ ต ร ิ น ิ จิ ว เวลรี ” ่ ที่สุดแห่งร้านอัญมณีเมืองกาญจน์ หากคุณเป็นผู้หนึ่งซึ่งปรารถนาจะเป็นเจ้าของอัญมณีน้ำ�งาม “กิติริน จิวเวลรี่” คือศูนย์รวมอัญมณีหลากหลายชนิด เช่น พลอยไพลิน, เพชร, บุษราคัม, ทับทิม, สตาร์, และนิลเมืองกาญจน์ ซึ่งผ่านการคัดสรรและ ควบคุมการเจียระไนอย่างพิถีพิถัน โดย คุณกิติวุฒิ ปิตตะรงค์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านอัญมณีมานานกว่า 40 ปี และเป็นผู้คร่�ำ หวอด ในวงการพลอยเจ้าแรกๆ ของอำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี นอกจากนี้ท่านยังเป็นรองประธานฝ่ายอุตสาหกรรมอัญมณี สภาอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี และรองประธานหอการค้าฝ่ายอัญมณี จังหวัดกาญจนบุรีอีกด้วย
พลอยไพลิน...ที่สุดของ “กิติริน จิวเวลรี่”
“เอกลั ก ษณ์ ข องพลอยเมื อ งกาญจน์ คื อ พลอยไพลิ น (Blue Sapphire)” คุณกิติวุฒิ ปิตตะรงค์ กล่าวถึงอัญมณีขึ้น ชื่อของอำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี “ไพลิ น เป็ น หนึ่ ง ในพลอยที่ี มี สี ส วยชนิ ด หนึ่ ง ของ ประเทศไทย ต่างชาติจะนิยมมากเป็นอันดับต้นๆ ของโลก โดยเฉพาะพลอยเมื อ งกาญจน์ สี จ ะออกน้ำ �เงิ น กำ �มะหยี่ ชั ด สวยและไม่เหมือนใคร พลอยไพลินน้ำ�หนึ่งราคาจะสูงที่สุด ตกกะรั ต หนึ่ ง เป็ น แสน สี จ ะออกน้ำ � เงิ น สวย เนื้ อ สะอาด และไฟดีรองลงมาเป็นน้ำ�สองพิเศษจะเป็นสีน้ำ�เงินคล้ายๆ น้ำ�หนึ่ง เพียงแต่สีจะดร้อปลงนิดหน่อย และมีน้ำ�รองลดหลั่น กันมาอีกหลายเฉดสี” ที่ “กิติริน จิวเวลรี่” พลอยไพลินถือเป็นอัญมณีที่โดดเด่น ที่สุดของร้าน เนือ่ งจากคุณกิตวิ ฒ ุ ไิ ด้คดั สรรพลอยไพลินทีม่ คี ณ ุ ภาพ ตรงตามคุณสมบัตขิ องอัญมณีทส่ี วยงามทีส่ ดุ จากแหล่งพลอยไพลิน ของอำ�เภอบ่อพลอย ผ่านการออกแบบสร้างสรรค์โดยทีมดีไซเนอร์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญ ซึ่ ง ได้ นำ � เรื่ อ งของการออกแบบและดี ไ ซน์ เข้ า มาผสมผสาน จึ ง ทำ � ให้ พ ลอยไพลิ น ดู เ ด่ น สะดุ ด ตา และมีเอกลักษณ์ งดงามตามสไตล์ของ “กิติริน จิวเวลรี่” มากยิ่งขึ้น ไม่เพียงแต่เครื่องประดับสวยๆ หลากหลายรูปแบบแล้ว ทางร้านยังนำ�อัญมณีมาประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์ที่ควรค่าแก่การ เป็นเจ้าของ อาทิ พระพุทธรูปที่ทำ�จากนิล ภาพติดพลอยหลาก สีสันจากธรรมชาติ ซึ่งมีทั้งพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 5 ภาพสมเด็จพระพุฒาจารย์โต (พฺรหฺมรํส)ี และภาพสถานทีส่ �ำ คัญ ต่างๆ ในจังหวัดกาญจนบุรี อีกทั้งยังมีกล่องใส่เครื่องประดับที่ แกะสลักด้วยเครื่องยิงเลเซอร์ลงบนไม้สักทอง เป็นต้น
มองหาอัญมณีน�้ำ งาม ต้องทีร่ า้ น “กิตริ นิ จิวเวลรี”่ คุณกิติวุฒิ ในฐานะของผู้ที่คร่ำ�หวอดในแวดวงอัญมณี
มากว่า 40 ปี โดยก่อตั้ง กิติริน จิวเวลรี่ โชว์รูมใหญ่ขึ้น ในปี 2550 อยู่ ที่ อ.เมื อ ง จ.กาญจนบุ รี ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ค้นพบและแหล่งผลิตพลอยน้ำ�เงิน เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวที่ จังหวัดกาญจนบุรี ท่านได้กล่าวถึงเส้นทางของอัญมณีน�้ำ งามว่า “ก่อนทีจ่ ะเป็นอัญมณีสวยงาม เริม่ มาจากขุดขึน้ มาเป็นก้อน แล้วเรามาคัดสรร พลอยสวยนีส่ จี ะสวย น้�ำ จะดี เล่นไฟ แล้วราคา จะแพง สีสวยๆ ราคาจะสูงมาก แล้วเราก็จะเจียระไน ตามรูปร่าง ของพลอยที่เราได้ คือพลอยนี่ต้องทำ�ให้ได้น้ำ�หนักและได้รูป ร่างสวย ถึงจะขายได้ราคา ถ้าพลอยดิบมีรูปทรงคล้ายหัวใจ ก็ ต้องเจียระไนให้เป็นรูปหัวใจ ถ้ารูปร่างเป็นไข่หรือกลมก็ตอ้ งเจีย เป็นไข่หรือเป็นทรงกลมเพือ่ รักษาน้�ำ หนักและรูปร่างให้สมบูรณ์ มากที่สุด ไพลินมีหลายเกรด เกรดสวยเลยก็คือพลอยสะอาด แต่ถ้าเกรดไม่ดีเกรดต่ำ� ราคากะรัตหนึ่งแค่หลักร้อยหลักพัน”
สำ�หรับลูกค้าที่ซื้ออัญมณีจากร้านกิติริน จิวเวลรี่ สามารถ มัน่ ใจได้วา่ อัญมณีทผี่ า่ นการคัดสรรโดยคุณกิตวิ ฒ ุ นิ นั้ เป็นอัญมณี แท้และมีคณ ุ ภาพในระดับมาตรฐานสากลแน่นอน เพราะอัญมณี ของทางร้าน ได้ผา่ นการรับรองการตรวจสอบคุณภาพ จากสถาบัน อัญมณีศาสตร์ทไี่ ด้รบั การยอมรับทัว่ โลก อย่าง GIA Gemological Institute Of America อีกทัง้ ทางร้านยังเป็นสมาชิกโครงการซือ้ ด้วยความมัน่ ใจ “Trading Standards buy with confidence” ที่มีมาตรฐานการค้า การบริการ และจริยธรรม ในการประกอบ ธุรกิจ ตามทีก่ �ำ หนดโดยคณะกรรมการพัฒนาธุรกิจอัญมณี และ เครื่องประดับไทย กระทรวงพาณิชย์ “ทางร้านของเราให้ความสำ�คัญกับรายละเอียดทุกขัน้ ตอน ในทุกกระบวนการผลิต เราใส่ใจคุณภาพของการคัดเลือก วัตถุดบิ ค้นคว้าวิจยั และตรวจสอบอย่างละเอียดเพือ่ ให้อญ ั มณี ที่ดีที่สุด โดยใช้มาตรฐานระดับสูง และใช้ช่างฝีมือที่มีความ แม่นยำ�และมีความปราณีต พิถพี ถิ นั ในทุกกระบวนการ เพือ่ ให้ อัญมณีของเรามีความสมบูรณ์แบบ และเป็นที่พึงพอใจแก่ ผู้สวมใส่เครื่องประดับที่มาจากร้านของเรา” ด้วยความซือ่ สัตย์-จริงใจ และความพิถพี ถิ นั ในการคัดสรร และการเจียระไนอัญมณี ที่สั่งสมมานานกว่า 40 ปี จนได้รับ เกียรติบัตรรับรองในระดับประเทศ จึงทำ�ให้ “กิติริน จิวเวลรี่” โดยคุณกิตวิ ฒ ุ ิ ปิตตะรงค์ เป็นร้านอัญมณีขนึ้ ชือ่ ของเมืองกาญจน์ ที่ ลู ก ค้ า ทั้ ง ชาวไทยและต่ า งชาติ นิ ย มมาซื้ อ หาจั บ จองเป็ น เจ้าของอยู่เสมอ
เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด
นายบุญญะพัฒน์ จันทรอุไร ......................................................................................................................................................................
รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ...............................................................................................
ภารกิจแค่ 2 คำ�สั้นๆ “บำ�บัดทุกข์กับบำ�รุงสุข” ก็จะแตกออกไปได้หลายๆ ร้อยประการ
48
นายบุ ญ ญะพั ฒ น์ จั น ทรอุ ไ ร คุ้ น เคยกั บ การบริ ห ารราชการจั ง หวั ด กาญจนบุรีมาอย่างดี เพราะท่านเคยดำ�รงตำ�แหน่งปลัดจังหวัดกาญจนบุรีมา ก่อนที่จะได้รับการแต่งตั้งให้ดำ�รงตำ�แหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่ ง วั น นี้ ท่ า นได้ ส ละเวลาอั น มี ค่ าให้ นิตยสาร SBL สั ม ภาษณ์ พู ด คุ ย เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ก ารทำ � งานของท่ า น หลั ก การและแนวคิ ดในการทำ � งาน ตลอดจน ผลงานการบริหารราชการที่ผ่านมาอย่างเป็นกันเอง
จากปลัดรุ่น 1,500 สู่รองผู้ว่าเมืองกาญจน์
ผมเรียนประถมถึงมัธยมที่โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และต่อเข้า คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ในปี 2516 แล้วก็ต่อปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ที่มหาวิทยาลัยเกษตรฯ เมื่อปี 2527 ครับ ผมมาเริ่ ม รั บ ราชการเป็ น ปลั ด อำ � เภอครั้ ง แรก เมื่ อ มกราคม ปี 2522 เขาเรี ย กปลั ด รุ่ น 1,500 ปลั ด รุ่ น นี้ จ ะไม่ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กที่ ล ง เพราะเป็ น รุ่ น ที่ จะไปขจั ด เงื่ อ นไขสั ง คม เนื่ อ งจากตอนนั้ น ผู้ ก่ อ การร้ า ยคอมมิ ว นิ ส ต์ เ ยอะ ผมก็ถูกส่งไปอยู่ทางใต้ที่สุราษฎร์ธานี ชีวิตรับราชการก็วนเวียนอยู่สุราษฎร์ฯ แล้ ว ก็ ย้ า ยขึ้ น มาก็ ม าช่ ว ยราชการที่ ก องอำ � นวยการรั ก ษาความมั่ น คงภายใน แล้วก็ไ ปทำ� ที่ ศู นย์ ชาวเขา ซึ่ งเป็ นคนที่ ไ ปคอยดู พี่ น้อ งชาวเขาเผ่ า กระเหรี่ ยง มู เ ซอแดง ตามแนวตะเข็ บ ชายแดน ตั้ ง แต่ อำ � เภอพบพระ จั ง หวั ด ตาก ไปเชียงราย ไปพะเยา ไปจัดที่ทำ�กินให้เขา แล้วกลับเข้ามารับราชการที่กองราชการส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง ดูแล พวกเทศบาล สุขาภิบาลทั้งหมด หลังจากนั้นสอบเลื่อนระดับเป็นระดับ 6 ของ ข้าราชการกรมการปกครอง ได้คะแนนเป็นอันดับที่ 1 ของผู้มีสิทธิสอบทั้งประเทศ แล้วมาสอบเข้าโรงเรียนนายอำ�เภอ เป็นรุน่ ที่ี 37 (พ.ศ. 2537) เริม่ บรรจุเป็นนายอำ�เภอ ตั้งแต่ปี 39 แล้วก็เป็นนายอำ�เภอเรื่อยมานานมากร่วม 16 ปี เพิ่งมาเปลี่ยนเป็น ปลัดจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อ 2 ปีที่แล้ว และได้รับความไว้วางใจให้ดำ�รงตำ�แหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี เมื่อปี 2557 ซึ่งจะเกษียณอีก 2 ปีข้างหน้า
KANCHANABURI 49
ความภาคภูมิใจโดยส่วน รวมของฝ่ายปกครองเรา คือการแก้ไขปัญหาให้พี่ น้องประชาชนได้
50
อำ�นาจไม่ได้อยู่ที่ พระแสงศัสตรา แต่อำ�นาจที่แท้จริง อยู่ที่ราษฎรรักและ ศรัทธา
“บำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข” คือภารกิจสำ�คัญ
ภารกิ จ ของปลั ด จั ง หวั ด ก็ จ ะทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น หัวหน้าของนายอำ�เภอ เพราะนายอำ�เภอทุกอำ�เภอ ปลัดจังหวัดจะเป็นคนทำ�หน้าทีก่ �ำ กับดูแล เพราะเป็น ผู้ แ ทนกรมการปกครองในภู มิ ภ าคที่ สู ง สุ ด คื อ ปลัดจังหวัด ทำ�หน้าที่ดูแลในเรื่องกรมการปกครอง ทั้งระบบ ซึ่งเป็นภารกิจที่กรมการปกครองในฐานะ ผูบ้ ริหารแทนท่านผูว้ า่ ฯ ในส่วนของกรมการปกครอง ภารกิจที่กรมการปกครองได้รับมอบจากกระทรวง มหาดไทย รับมอบจากรัฐบาล ผมจะเป็นตัวประสาน ตัวเชือ่ ม ตัวกำ�กับดูแล ลงไปจนถึงกำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น หมู่บ้าน อันนี้เป็นภารกิจคร่าวๆ ในเรื่องของปลัดจังหวัด เราต้องพูดในภาพรวม คือ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เพราะเรา มี บุ ค ลากรตั้ ง แต่ ห มู่ บ้ า นขึ้ น มาจนถึ ง ท่ า นผู้ ว่ า ฯ จนถึงระดับรัฐบาล หัวใจหลักของกรมการปกครอง ของกระทรวงมหาดไทยทีท่ กุ คนยึดถือคือ “การบำ�บัด ทุกข์ บำ�รุงสุข” ภารกิจแค่ 2 คำ�สั้นๆ บำ�บัดทุกข์ กับบำ�รุงสุข ก็จะแตกออกไปได้หลายๆ ร้อยประการ ทุกรัฐบาลจะต้องยึดถือ เพราะในปัจจุบัน ถึงเป็น รัฐบาลชุดนี้ก็จะต้องนึกถึงประชาชนเป็นศูนย์กลาง คื อ การบำ � บั ด ทุ ก ข์ บำ � รุ ง สุ ขให้ กั บ พี่ น้ อ งประชาชน ไม่วา่ จะเป็นศูนย์ด�ำ รงธรรม ศูนย์ปรองดองฯ จุดประสงค์ คื อ พี่ น้ อ งประชาชนมี ทุ ก ข์ เ ราจะบำ � บั ด ทุ ก ข์ เ ขา อย่างไร คือกระบวนการแก้ไขปัญหา บำ�รุงสุขเรา จะสนับสนุนให้เขามีสุขได้อย่างไร ในเรื่องเศรษฐกิจ เรื่องชาวนา เรื่องอะไรต่างๆ เป็นภารกิจหน้าที่ของ กระทรวงมหาดไทย ทั้งหมดนี่เป็นภาพรวม
ขานรับนโยบายสำ�คัญจากท่านผู้ว่าฯ
ก็มีเรื่องศูนย์ดำ�รงธรรม ที่จะลงไปถึงหมู่บ้าน ซึ่งกระทรวง มหาดไทยโดยกรมการปกครอง จะมีศูนย์ดำ�รงธรรมในระดับจังหวัด และศูนย์ดำ�รงธรรมในระดับอำ�เภอ ซึ่งในระดับอำ�เภอจะมอบหมาย ให้ท่านนายอำ�เภอเป็นประธาน ในฐานะตัวแทนข้าราชการภูมิภาค เป็ นหัวหน้า ส่ วนราชการภูมิ ภ าค แล้วก็จะแยกย่อ ยไปเป็นตำ �บล จะมีศนู ย์ด�ำ รงธรรมตำ�บล ซึง่ จะมีปลัดอำ�เภอ มีขา้ ราชการ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องรวมถึงภาคเอกชน รวมทั้งข้าราชการครู พี่น้องพัฒนา ชุมชน ทต. อบต. ร่วมกันเป็นคณะทำ�งาน ถ้าเกิดปัญหาในหมู่บ้าน ศู น ย์ ดำ � รงธรรมตำ � บลจะลงไปแก้ ไ ขปั ญ หาก่ อ นเพราะอยู่ ใ นพื้ น ที่ โดยทางศูนย์ด�ำ รงธรรมจังหวัดจะเป็นพีเ่ ลีย้ งร่วมกับทางทหาร เพราะ ทางทหารก็ลงไปอยูใ่ นศูนย์ด�ำ รงธรรมอำ�เภอ ในตำ�บลด้วย เราทำ�งาน ร่วมกัน บูรณาการด้วยกันทุกกระทรวง โดยมีท่านนายอำ�เภอเป็น ประธาน ถ้าเป็นจังหวัดก็ท่านผู้ว่าฯเป็นประธาน เรื่องใดที่สามารถ แก้ไขได้ ก็จะแก้ไขโดยสำ�เร็จเรียบร้อย ผมกราบเรี ย นว่ า ทุ ก ๆ เรื่ อ งที่ เ ป็ น ปั ญ หาของพี่ น้ อ ง ประชาชนใน 100 เรื่อง 95 เรื่อง เราสามารถบูรณาการโดย ศูนย์ดำ�รงธรรมตั้งแต่ระดับอำ �เภอถึงจึงหวัดสามารถทำ�การแก้ไข ปัญหาและชีแ้ จงให้กบั พีน่ อ้ งประชาชนจนได้ขอยุติ ส่วนทีเ่ หลือ 5 เรือ่ ง เป็นเรือ่ งทีข่ ดั แย้งกับกฏหมาย บางเรือ่ งศาลมีค�ำ พิพากษาแล้ว บางเรือ่ ง ก็อยู่ในกระบวนการพิจารณาหรือต้องรอมติหรือความเห็นชอบจาก คณะรัฐมนตรี ซึ่งเกินอำ�นาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ที่จะสามารถ ชี้ขาดได้ เพราะฉะนั้นเรื่องต่างๆ เหล่านี้ จำ�เป็นต้องอาศัยเวลา และต้องชี้แจงให้พี่น้องประชาชนเข้าใจ ส่วนใหญ่ในการแก้ไขปัญหา ให้กับพี่น้องประชาชน ก็จะดำ�เนินการอย่างรวดเร็ว สมมุติว่า พี่น้อง ประชาชนที่เดือนร้อนขึน้ มา ศูนย์ด�ำ รงธรรมก็จะมีเจ้าหน้าที่ คอยรับ เรื่องประสานงานทางโทรศัพท์ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานใด ก็จะ ประสานกันภายในช่วยกันดำ�เนินการแก้ไข KANCHANABURI 51
ภูมิใจที่ได้แก้ไขปัญหาให้ประชาชน
เรื่องความภาคภูมิใจก็มีทุกเรื่อง ความภูมิใจของ เราในส่วนใหญ่จะทำ�งานสนองนโยบายผูว้ า่ ฯ เรือ่ งทุก เรือ่ งเราจะสนับสนุนท่านผูว้ า่ ฯตลอด ความภาคภูมใิ จ โดยส่ ว นรวมของฝ่ า ยปกครองเราคื อ การแก้ ไ ข ปัญหาให้พี่น้องประชาชนได้ในหลายๆ เรื่องภัยแล้ง ภัยหนาว น้ำ�ท่วม เราสามารถเข้าไปอยู่กับพี่น้อง ประชาชนได้ทนั ทีทกุ ครัง้ นีค่ อื ความภูมใิ จทีเ่ ราสามารถ ไปแก้ไขให้เขา คือเวลาเขามีทกุ ข์เราไปเป็นเพือ่ นเขาได้ ทั้ ง ท่ า นผู้ ว่ า ฯ รองผู้ ว่ า ฯ ทั้ ง ผม ทั้ ง นายอำ � เภอ สมมติบ้านไฟไหม้ปุ๊บเราไปถึงหมด เพียงไม่นานถึง ขอให้เรารู้ข่าว เพราะเดี๋ยวนี้เราใช้ Line จะเป็น Line ของผู้สื่อข่าว ของนักหนังสือพิมพ์ มีข่าวอะไร ปุ๊บเราจะรู้ แล้วเราจะเข้าไปร่วมกันทั้งทหารด้วย ผมว่ า จั ง หวั ด กาญจนบุรี อาจเป็น จัง หวัดต้น แบบ เรามีกองผพลทหารราบที่ 9 ทีต่ งั้ อยูท่ จี่ งั หวัดกาญจนบุรี มีอยู่ 4-5 กองพัน จะแบ่งทุกกองพันรับผิดชอบ แต่ ล ะอำ � เภอ สมมติ อำ � เภอเมื อ งเกิ ด ภั ย พิ บั ติ ไม่ ต้ อ งรอสั่ ง พอรู้ ปุ๊ บ ทางกองพั น จะออกมาเลย ทหาร เครือ่ งมือ เครือ่ งจักรกล ยุทธภัณฑ์ ท่านนายอำ�เภอ จะรูก้ นั จะออกไปช่วยเหลือประชาชน ไม่เกิน 24 ชม. ทหารถึง ข้าราชการถึง อบต.ถึง บูรณาการร่วมกัน ผมว่ า เราเป็ น จั ง หวั ด เดี ย วในประเทศไทยที่ มี ก าร บู ร ณาการ ไม่ ไ ด้ เ พิ่ ง มาบู ร ณาการตอน คสช. แต่เราทำ�กันมาหมดแล้วตั้ง 4-5 ปี ก่อน 52
ราษฎรมีความสุขคือหลักการทำ�งาน
หลั ก ที่ ผ มยึ ด หลั ก ที่ ข้ า ราชการกระทรวง มหาดไทยยึดคือ พระราชดำ�รัสของสมเด็จกรม พระยาดำ�รงฯ การปกครองสมัยก่อนเราเป็นเจ้าคุณ เทศาภิ บ าล(เจ้ า เมื อ ง) ที่ อ อกไปรั บ ผิ ด ชอบ ในแต่ละจังหวัด ผมอ่านในประวัตทิ า่ นทีท่ า่ นกล่าว ถึงเจ้าคุณเทศาภิบาลที่จะไปเป็นเจ้าเมืองไว้ว่า ...อำ�นาจไม่ได้อยูท่ พี่ ระแสงราชศัสตรา แต่อ�ำ นาจ ที่แท้จริงอยู่ที่ราษฎรรักและศรัทธา ถ้าเผื่อราษฎร รักและศรัทธาเจ้าคุณ แม้แต่ในหลวงก็เอาเจ้า คุณออกไม่ได้ เพราะว่าในหลวงก็ทรงปรารถนาที่ จะให้ราษฎรมีความสุข นี่คือหัวใจของข้าราชการ กรมการปกครอง หมายความว่าเราปฏิบตั หิ น้าที่ ถึงเรามีอ�ำ นาจ แต่เราไม่ได้ใช้อ�ำ นาจ เราใช้ความเสียสละให้ราษฎร รักและศรัทธา และอีกตัวหนึ่งที่ผมจบนิติศาสตร์ เป็นหลักของผมเอง กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย วางหลักให้นกั กฎหมาย เพราะนั ก กฎหมายส่ ว นใหญ่ มี ง านสั ง คมมาก ท่านบอกว่า...เรือ่ งกินเหล้าเมายาพ่อไม่วา่ แต่อย่า กินสินบาทคาดสินบน ประพฤติตนเฉกเช่นซึ่ง คนพาลนี่คือสิ่งที่นักกฎหมายเก่าๆ จะสั่งสอนกัน เพราะเรือ่ งกินเหล้าเมายาไม่วา่ แต่อย่ากินสินบาท คาดสินบน เพราะมันจะทำ�ให้เกิดความเดือดร้อน
ผู้บังคับบัญชาเป็นบุคคลดลใจ
ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาทุ ก คนเป็ น ไอดอลหมดครั บ เพราะแต่ละท่านทีข่ นึ้ มาเป็นผูบ้ งั คับบัญชาต้องยอมรับ ถึงท่านจะอย่างนี้ แต่ท่านก็มีดีอย่างโน้น อย่างท่าน ผูว้ า่ ฯ วันชัย ท่านเป็นคนทีป่ ระสานงานเก่ง ถ้าพูดภาษา ชาวบ้านคือ พวกเยอะ ท่านจะมีพรรคพวกคนในวงการ และท่ า นสามารถแก้ ปั ญ หาได้ เ ร็ ว เพี ย งแต่ ย กหู โทรศัพท์ปุ๊บ บางท่านก็เก่งในเรื่องของการวางแผน ชอบคิดวางแผนเรื่องโน้นเรื่องนี้จะทำ�อย่างไร
ฝากให้เที่ยวกาญจน์ 12 เดือน 13 อำ�เภอ
ผมอยากจะให้ ช่ ว ยกั น ชู เ รื่ อ งการท่ อ งเที่ ย ว เพราะทั้ง 13 อำ�เภอของกาญจนบุรีจะมีแหล่งท่อง เที่ยวประจำ� ตอนนี้ท่านผู้ว่าฯท่านพยายามส่งเสริม ให้มีกิจกรรมทุกเดือน ในเดือนธันวามีสัปดาห์ข้าม แม่น�้ำ แควที่เป็นงานประจำ� เดือนมกราจัดเคาท์ดาวน์ ปีใหม่ที่สะพานมอญ สังขละบุรี โฮมสเตย์ตอนนี้เต็ม ไปถึงเดือนพฤษภาคม พระสงฆ์จะเดินมาตามสะพาน มอญข้ามมาจากฝั่งโน้นมาบิณฑบาต เรียนเชิญพี่น้อง ประชาชนมาท่องเที่ยวมาตักบาตรกัน เดือนกุมภามี เทศกาลแห่งความรัก จัดในแพที่เขื่อนศรีนครินทร์ เดื อ นเมษาก่ อ นฝนตกมี จั ด งานเทศกาลคาวบอย ซึ่งผมขอเรียนว่าเราส่งออกโคเนื้อเป็นอันดับหนึ่งของ ประเทศไทยครับ
กรมหลวงราชบุรี ดิเรกฤทธิ์ พระบิดา แห่งกฎหมายไทย ท่านบอกว่า...เรื่อง กินเหล้าเมายาพ่อไม่ ว่า แต่อย่าถือสินบาท คาดสินบน ประพฤติ ตนเฉกเช่นซึ่งคนพาล
KANCHANABURI 53
คุณแม่กิมไน้...อนันตพลพลอยกาญจน์ เจียระไนหินสีดำ�สู่นิลล้ำ�ค่า ชื่อของ “อนันตพลพลอยกาญจน์” เป็นที่รู้จักกันดีทั้งในแวดวง ผู้ ค้ า อั ญ มณี แ ละผู้ ห ลงใหลในเหลี่ ย มคมแวววาวของแร่ รั ต นชาติ ซึ่งผู้อยู่เบื้องหลังความสำ�เร็จของอนันตพลพลอยกาญจน์นั้นก็คือ “คุณแม่กมิ ไน้ สิรพิ ฤกษา” หญิงเก่งผูเ้ จียระไนหินสีด�ำ ไร้คา่ ให้กลายเป็นนิล ล้ำ�ค่าและประธานศูนย์ฝึกวิชาชีพการเจียระไนนิล จังหวัดกาญจนบุรี ดิฉันนางกิมไน้ สิริพฤกษา เป็นคนอำ�เภอบ่อพลอย จังหวัด กาญจนบุรแี ต่ก�ำ เนิด อาชีพ พอ่ แม่คา้ ขายและขุดพลอย สมัยเรียน หนังสือเสาร์ – อาทิตย์ก็ไปช่วยเตี่ยและแม่ขุดพลอย พลอยและนิลอยูใ่ นสายแร่เดียวกัน พลอยจะมีราคาแพงมาก นิลคนจะไม่สนใจ สมัยก่อนคนจะขุดพลอยด้วยชะแลงขุดใช้ แรงงานคน ปี 2530 พ่อค้านักลงทุนได้ไปทำ�การขุดพลอยโดยใช้ เครื่องมือทันสมัยใช้รถแม็คโครขุดโกยขึ้นมาได้พลอยและนิลเป็น จำ�นวนมาก พ่อค้าทัว่ ไปจะใช้เครือ่ งมือแยกล้างเลือกเอาแต่พลอย ส่วนนิลก็จะเทกองทิ้งถมถนนเป็นจำ�นวนมากมหาศาลไม่มีใคร สนใจ นิลจะมี 3 ชนิด 1. นิลตัน สำ�หรับเจียรเหลี่ยมเนื้อแข็ง จะมีความแวววาว 2. นิลเสี้ยน จะนำ�มาเจียระไนแบบไม่มีเหลี่ยม 3. นิลติดเหล็ก เหมาะสำ�หรับจะทำ�พระบูชาเป็นนิลหาได้ยาก และเป็นนิลป้องกันและขจัดภัยร้ายทั้งปวง
สมัยเป็นเด็กสนใจชอบไปดูชาวบ้านเจียระไนพลอย – นิล เป็น ประจำ�ทุกวัน ไม่มีใครสอนให้ ใช้ครูพักลักจำ� นิลเจียระไนแล้วจะมี ความสวยงามแวววาวมาก สีดำ�สนิท จึงได้สะสมนิลมาโดยตลอด คิดไว้วา่ นิลมีมากราคาทีไ่ ม่แพง เจียระไนแล้วสวยงามไม่แพ้อญ ั มณี สีอนื่ ๆ เลย ถ้ามีโอกาสจะเปิดสอนให้แก่เยาวชนทีย่ ากจนด้อยโอกาส ให้มาเรียนเป็นช่างเจียระไนพื้นบ้านโดยไม่คิดค่าใช้จา่ ย ด้วยความชอบนิลมาตัง้ แต่เด็ก ๆ จึงมุง่ มัน่ ตัง้ ใจจริงทีจ่ ะพัฒนา นิลให้เป็นทีร่ จู้ กั ของชาวไทยและชาวต่างชาติให้ได้ และได้ฝกึ อาชีพให้ กับเยาวชนผูด้ อ้ ยโอกาสไม่มงี านทำ�เพือ่ เลีย้ งตนเองและครอบครัวได้ ปี 2532 เริ่ ม จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ฝึ ก วิ ช าชี พ เจี ย ระไนนิ ล อ.เมื อ ง จ.กาญจนบุรี อยูส่ ว่ นหนึง่ ใน ร้านอนันตพลพลอยกาญจน์ สนับสนุน โดยพัฒนาชุมชนจังหวัด ได้หาเด็ก เยาวชนผู้สนใจมาฝึกสอน อุตสาหกรรมจังหวัดสนับสนุนเครื่องจักรและวิทยากรมาสอนให้ และทางร้านจะมีช่างผู้ชำ�นาญการอยู่ในร้านประจำ�ช่วยสอนอีก
1 ปี มีครั้งเดียว เห็ดโคนป่าเมืองกาญจน์ ที่อนันตพลพลอยกาญจน์ ทางหนึ่งด้วย จะพิจารณารูปแบบต่างๆ เยาวชนก็เริ่มเจียระไนได้ และมีผลงานมากขึน้ เรือ่ ยๆ ด้วยแรงบันดาลใจจะทำ�นิลถวายสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ จึงมีแรงบันดาลใจอธิษฐานจิตว่า... ขอให้ดิฉันคิดได้ ทำ�ได้ในเรื่องของนิล ถ้าดิฉันจะคิดทำ�รูปแบบอะไร ขอให้คดิ ได้ ทำ�ได้ส�ำ เร็จ ถ้าทำ�ได้ส�ำ เร็จแล้วดิฉนั จะนำ�นิลผลิตภัณฑ์ นี้ไปน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และเริ่มคิดทำ�นิลเป็นสัญลักษณ์ จังหวัดกาญจนบุรี จำ�นวน 4 ตู้ กว้างประมาณ 90 ซม. X 120 ซม. มีประตูเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ำ�แคว ปราสาทเมืองสิงห์ เจดีย์ 3 องค์ เป็นนิลแท้ทงั้ หมด น้อมเกล้าถวายสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ปี 2536 และอย่างต่อเนื่อง พระองค์ทา่ นทรงชืน่ ชม นิลจังหวัดกาญจนบุรวี า ่ มีความสวยงาม มากและชื่ นชมดิ ฉั น ว่ า มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ ดี แ ละพั ฒ นานิ ล เป็นรูปแบบได้หลายรูปแบบตามที่เราต้องการได้ ทั้งเครื่องประดับ และของที่ระลึก พระองค์ทรงให้ดิฉันดูรูปแบบต่างๆ ในพระตำ�หนัก จิตรลดารโหฐาน และทรงรับสั่งให้อนุรักษ์นิลไว้ให้เยาวชนรุ่นหลัง และผู้สนใจได้มาเรียนรู้ได้ เพราะต่อไปนิลก็จะน้อยและหมดลง ดิฉันรับคำ�ของพระองค์อย่างจดจำ�ไม่ลืมจะพยายามทำ�ให้สำ�เร็จ ปีมหามงคล 2558 นี้ วันที่ 30 มกราคม 2558 ได้น�ำ พระพุทธรูป ต่างๆ หน้าตัก 9 นิ้ว จำ�นวน 9 องค์ พร้อมโต๊ะหมู่บูชา และ ครอบครัวพญาเต่าเรือนนิลเจียระไน จำ�นวน 17 ตัว นำ�น้อมเกล้า ถวายพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินีนาถ ณ ศาลาศิริราช 100 ปี โรงพยาบาลศิริราช พระพุทธรูป รูปต่างๆ เครือ่ งประดับ และของทีร่ ะลึก ผ่านการอธิษฐาน จิตปลุกเสกแล้วจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังราชฯ หลวงปู่หลิว หลวงพ่ออุตตมะ หลวงพ่อลำ�ใย ผลงานการสร้างสรรค์พฒ ั นานิลรูปแบบต่างๆ ได้รบั รางวัลต่างๆ มากมาย เช่น สินค้าคุณภาพดีเด่น สินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว เป็นของฝากจากจังหวัดกาญจนบุรีอันล้ำ�ค่า เพราะนิลดีมีที่เดียว ที่จังหวัดกาญจนบุรี ด้ ว ยพระบารมี อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ของสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ
พระบรมราชินนี าถ ทุกครัง้ ทีม่ โี อกาสสำ�คัญๆ ดิฉนั และครอบครัว โดยการนำ�ของผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาญจนบุรี ได้น�ำ ผลิตภัณฑ์นลิ มาน้อมเกล้าฯ ถวายพระองค์ท่าน พระองค์ท่านได้แนะนำ�ให้ กำ�ลังใจในการพัฒนารูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เป็นแรงใจใน การพัฒนานิลจนเป็นทีร่ จู้ กั ของชาวไทยและชาวต่างชาติ นับได้วา่ พระองค์ทา่ นได้เมตตาเด็กและเยาวชนทีม่ าเรียนเป็นช่างเจียระไน พืน้ บ้าน และศูนย์ฝกึ วิชาชีพเจียนระไนนิล อนันตพลพลอยกาญจน์ และครอบครัวของดิฉันอย่างหาที่สุดมิได้
ดีเลือกบ้ใกล้าน เลืใหญ่ ถู ก อกกาญจน์สิริ บ้านหรู สไตล์รีสอร์ท
ราคาเริ่มต้น 2.59 ล้านบาท โทร.081-8265556, 081-8266669 www.facebook.com/KansiriHome
ร้านดอกไม้ FLORIST FORYOU. ฟลอริส ฟอ ยู. รับจัดดอกไม้สด ดอกไม้ประดิษฐ์ ครบวงจร ช่อ กระเช้า แจกัน พวงหรีด รับจัดงานนอกสถานที่ งานพิธีต่างๆ รับจัดขบวนขันหมาก งานแต่ง และมีอุปกรณ์จัดงานให้เช่าครบวงจร ในราคาย่อมเยาว์ และบริการทีเ่ ป็นกันเอง
ที่อยู่ 31/6 ต.บ้านใต้ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 (สี่แยกไฟแดงชุกโดน ตรงข้ามทางเข้า รพ.ธนกาญจน์)
บริหารงานโดย คุณหยก
FACEBOOK: www.facebook.com/floristforyou Line id: floristforyou Tel. 034513032. 0890099916
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเขื่อนท่าทุ่งนาประชาสรรค์ วัดเขื่อนท่าทุ่งนาประชาสรรค์ (โป่งปัด) ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำ�บลช่องสะเดา อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ในอดีตมีพระครูสุนทรกาญจนคุณ (หลวงพ่อแก่น) เป็นเจ้าอาวาสที่พัฒนาวัดเขื่อนท่าทุ่งนาฯ จนเจริญรุ่งเรือง
58
ประวัติวัดเขื่อนทุ่งนา
ในอดีตก่อนที่จะมีการสร้างเขื่อน การทางเดินของชาวเมือง กาญจน์ส่วนใหญ่จะเดินทางด้วยเกวียน หรือไม่ก็ทางเรือโดยล่องไป ตามลำ�น้ำ�แควใหญ่ ซึง่ หากประสงค์จะเดินทางจากเมืองกาญจนบุรี ไปอำ�เภอศรีสวัสดิ์ จะต้องใช้เวลานานถึงสองวัน เมือ่ มาถึงระหว่าง ทางคือหมู่บ้านท่าทุ่งนาก็มืดค่ำ�พอดี ชาวบ้านก็มักจะนอนพักที่พัก สงฆ์ท่าทุ่งนา รุ่งเช้าจึงได้เดินทางต่อไปยังอำ�เภอศรีสวัสดิ์ ภายหลัง ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ได้มาสำ�รวจพืน้ ทีจ่ งึ ได้เอาทีบ่ ริเวณหมูบ่ า้ น ท่าทุ่งนาและที่สำ�นักสงฆ์ ไปเป็นที่จัดสรรทัพศิลา ส่วนชาวบ้านฝั่ง ตะวันออกไม่ถูกเขตของการไฟฟ้า ต่อมาเมื่อทางราชการเริ่มสร้าง โรงไฟ้ฟ้าขึ้น ทุกคนก็กระจัดกระจายไปอยู่ช่องแควใหญ่ พระครูสุนทรกาญจนคุณ (หลวงพ่อแก่น) มาจำ�พรรษายัง ที่พักสงฆ์ท่าทุ่งนา ในปี 2528 ท่านกับชาวบ้านได้ช่วยกันพัฒนา สำ�นักสงฆ์ โดยเริ่มจากการสร้างศาลาวัดขึ้น แล้วชาวบ้านจึงทำ� เรื่องเข้าไปหาทางราชการเพื่อขอสร้างวัด แต่ก็ไม่สำ�เร็จ หลังจาก นั้นหลวงพ่อแก่นก็ได้สร้างเสนาสนะต่าง ๆ อาทิ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ พระประธาน ฯลฯ คุณเลย จอนจัด อธิบดีกรมศาสนาใน สมัยนัน้ จึงทำ�เรือ่ งขอจัดตัง้ เป็นวัดโดยใช้ชอื่ ว่า “วัดเขือ่ นท่าทุง่ นา” หลวงพ่อแก่น จึงเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเขื่อนท่าทุ่งนา ต่อมาปี 2536 ทางวัดจัดงานฝังลูกนิมติ พร้อมสร้างโบสถ์ หลวง พ่อลำ�ไย พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดทุ่งลาดหญ้า ตำ�บลลาดหญ้า อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ได้ของบมาให้สร้างโบสถ์และเจดีย์ สำ�หรับตัง้ รูปรับรองเจ้าเมืองท่ากระดาน ซึง่ เป็นคนมอญและถูกข่มขี่ จากพม่า และได้หลบหนีเข้ามาทางด่านเจดีย์ 3 องค์
KANCHANABURI 59
กิจกรรมสำ�คัญประจำ�ปีของวัด
ในเดือนเมษายนของทุกปี วัดเขื่อนทุ่งนาจะมีการบวชสามเณร เพื่อให้ ความรู้และอบรมบ่มเพาะเด็กและเยาวชนให้เป็นคนดีมีศีลธรรม เป็นการใช้ เวลาว่างในช่วงปิดเทอมให้เกิดประโยชน์ และเพื่อสืบสานพระพุทธศาสนาให้ อยู่คู่กับสังคมไทยต่อไป ซึ่งทางวัดเขื่อนท่าทุ่งนาได้จัดบวชสามเณรมาอย่างต่อ เนือ่ งทุกปี จนเป็นทีร่ จู้ กั กันดีในหมูพ่ ทุ ธศาสนิกชน ซึง่ จะมาร่วมกันเป็นเจ้าภาพ งานบวชสามเณรอย่างเนืองแน่นทุกปี 60
เส้ นทางพบ อุตสาหกรรมจังหวัด
“นายวิชัย ณัฐรังสี” อุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี KANCHANABURI 61
ท่านอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี “นายวิชัย ณัฐรังสี” ได้กรุณาให้สัมภาษณ์กับนิตยสาร SBL เกี่ยวกับภาพรวม จุดเด่น และข้อได้เปรียบของภาค อุตสาหกรรมเมืองกาญจน์ในเวทีอาเซียน วิสัยทัศน์ และนโยบายการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนผล การดำ�เนินงานโครงการต่างๆ เช่น โครงการ OPOAI, โครงการช่วยเหลือ SMEs และโครงการธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ภาพรวมด้านอุตสาหกรรมที่โดดเด่น
พูดถึงอุตสาหกรรมทีโ่ ดดเด่นนะครับ ทีน่ เี่ ราจะเป็นโรงงานเกีย่ ว กับการผลิตน้ำ�ตาลทราย เพราะเรามีโรงน้�ำ ตาลถึง 7 โรงด้วยกัน ถ้าคิดถึงปริมาณวัตถุดบิ ทีเ่ รานำ�มาผลิตเป็นตันอ้อย เรามีสดั ส่วนถึง 10 % ของประเทศ ยกตัวอย่างเช่นฤดูกาลผลิตปีทผี่ า่ นมาประเทศไทย เรามีการหีบอ้อยได้ถึงร้อยล้านตัน แล้วโรงงานน้ำ�ตาลก็น่าจะเป็น อุตสาหกรรมทีท่ �ำ รายได้เข้าจังหวัดมากทีส่ ดุ นะครับ คิดง่ายๆ ว่าตัน ละหนึ่งพันบาท เราทำ�ได้ถึงสิบล้านตัน ก็คือหมื่นล้าน และในส่วน ของอุตสาหกรรมที่มีมากที่สุด เรามีโรงงานทำ�มันเส้นถึง 185 โรง ก็ถือว่าเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีจำ�นวนมากที่สุด รองลงไปก็เป็น โรงงานขุดทราย ตักดินประมาณ 160 โรง ส่วนตัวเลขรายได้จาก ข้อมูลอุตสาหกรรมที่สรุปเมื่อปี 54 เรามีสัดส่วนรายได้ 22,987 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 30.1% ของ GPP
62
เราจะเป็นจังหวัดที่ได้เปรียบ จังหวัดอื่นๆ ตรงที่ว่าเราเป็น ประตูผ่านไปสู่โครงการทวาย
วิสัยทัศน์ และนโยบาย
วิสัยทัศน์ของเราจะเน้นเรื่องการพัฒนาอุตสาหกรรมที่มา จากการแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตร และพัฒนาอุตสาหกรรม ประเภท SMEs หรื อ วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และวิสาหกิจชุมชน ที่เน้นพัฒนาการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพ และมาตรฐาน เมื่อเราตั้งวิสัยทัศน์แล้ว นโยบายหลักๆ ของเราก็จะโฟกัส ไปที่อุตสาหกรรมที่มาจากการแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตร อุตสาหกรรม SMEs และวิสาหกิจชุมชน ซึ่งมีการช่วยเหลือให้ พัฒนาเข้าสู่ระบบมาตรฐาน คือพยายามชักจูงให้ขอ “มาตรฐาน ผลิตภัณฑ์ชุมชน” หรือ มผช. เพื่อเป็นการรับประกันคุณภาพให้ กับผู้บริโภคนะครับ อีกส่วนหนึ่งก็คือเรื่องการรวบรวมกลุ่มเป็น คลัสเตอร์ (Clusters) อาจจะเป็นการรวมกลุ่มโรงงานน้ำ�ตาล กลุ่มโรงงานกระดาษ กลุ่มโรงงานที่มีปริมาณมาก เช่นโรงปุ๋ย ถ้าเขาสามารถที่จะพัฒนาศักยภาพเป็นคลัสเตอร์ได้ ก็จะทำ�ให้มี ความเข้มแข็งยิง่ ขึน้ สุดท้ายคือเรือ่ งของการพัฒนาทีจ่ ะต้องควบคู่ ไปกับการดูแลสิง่ แวดล้อม เราก็เน้นในเรือ่ งของอุตสาหกรรมสีเขียว เรื่องของการใช้ธรรมภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ ในโรงงานเพือ่ ให้ประชาชนทีอ่ ยูร่ อบๆ โรงงานได้มสี ว่ นร่วม แล้วก็ สามารถทำ�ให้ชุมชนกับโรงงานอยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุขนะครับ
ข้อได้เปรียบของเมืองกาญจน์เมื่อเข้าสู่ AEC
เนือ่ งจากว่ากาญจนบุรเี ราเป็นเมืองหน้าด่านทีจ่ ะเปิดประตูไปสู่ ประเทศพม่า ซึ่งขณะนี้ก็มีโครงการท่าเรือน้ำ�ลึกทวาย หรือเรียกว่า “ทวายโปรเจ็ค” เราจะเป็นจังหวัดที่ได้เปรียบจังหวัดอื่นๆ ตรงที่ว่า เราเป็นประตูผ่านไปสู่โครงการทวาย เราก็จะมีนิคมอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ มีถนนหนทางที่จะเชื่อมต่อจากชายแดนประเทศไทยไป สู่ทวายนะครับ ตรงนี้เราจะได้ประโยชน์มาก เพราะว่า ฝั่งโน้นเป็น โปรเจ็คใหญ่ ผลดีทอี่ าจเกิดขึน้ คือเราอาจจะมองว่าเราสามารถทีจ่ ะ ไปผลิตสินค้าอะไรที่ฝั่งนู้นได้บ้าง เราสามารถที่จะส่งวัตถุดิบอะไร ไปจำ�หน่ายเข้าศูนย์นิคมฯที่ประเทศพม่าได้บ้าง ในขณะเดียวกัน เราก็อาจจะนำ�วัตถุดบิ ทีเ่ ขาผลิตได้ มาเป็นตัวตัง้ ต้นผลิตผลิตภัณฑ์ใน บ้านเราได้เช่นเดียวกันครับ ตรงนี้ ก็ จ ะเป็ น จุ ด แข็ ง ของกาญจนบุ รี ต้ อ งมองๆ ไว้ ว่ า เมื่อ AEC เกิดขึ้น เราจะได้เปรียบอะไรบ้างในเรื่องของการลงทุน หรือแม้กระทั่งไปถึงการค้าก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากว่าเรามีด่าน พรหมแดนถาวร ซึ่งเรียกว่าด่านพุน้ำ�ร้อน ก็สามารถที่จะซื้อขาย สินค้าผ่านแดนตรงนี้ ซึ่งปัจจุบันมีการซื้อขายอยู่แล้ว แต่ถ้าต่อไปมี ความก้าวหน้ามีการพัฒนามากขึน้ มีเส้นทางมากขึน้ ก็จะทำ�ให้มลู ค่า การซื้อขายเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ขณะเดียวกันในเรือ่ งของการท่องเทีย่ วก็จะตามมา เมือ่ เปิด AEC ก็จะมีการข้ามไปข้ามมาระหว่างเรากับพม่า เมือ่ การท่องเทีย่ วเพิม่ ขึน้ ตรงนี้เองจะทำ�ให้กาญจน์ได้เปรียบในเรื่องศักยภาพการท่องเที่ยว มากยิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันนี้เราก็มีตัวเลขนักท่องเที่ยวเยอะอยู่แล้ว ปีหนึง่ มีประมาณ 6-7 ล้านคน ถ้าเปิด AEC ขึน้ มาก็นา่ จะมีจ�ำ นวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วเพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วอาจจะมาเที่ ย วที่ เมื อ งกาญจน์ แ ล้ ว ก็ ข้ า มไปค้ า งคื น เมื อ งทวายได้ เ ช่ น เดี ย วกั น ตรงนี้ทำ�ให้การท่องเที่ยวของเราก็จะมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้นด้วย
อุตสาหกรรมที่เป็นจุดแข็งในเวทีอาเซียน
จุดแข็งของกาญจนบุรีคือ เราเป็นเมืองเกษตร เราใช้วัตถุดิบ ทางการเกษตรค่อนข้างเยอะมาผลิตอุตสาหกรรม ยกตัวอย่าง เช่นอ้อย ก็นำ�มาทำ�เป็นน้ำ�ตาล มันสำ�ปะหลังก็มาทำ�มันเส้นบ้าง โรงแป้ ง บ้ า ง ในเรื่ อ งของผั ก ผลไม้ ก ระป๋ อ งก็ เ ช่ น เดี ย วกั น ไม่ว่าจะเป็นข้าวโพดอ่อน ข้าวโพดหวาน สับปะรด เราก็สามารถ ผลิตเป็นข้าวโพดบรรจุกระป๋อง สับปะรดกระป๋อง ซึ่งขณะนี้ก็มี หลายโรงงานด้วยกัน รวมถึงผลไม้อบแห้งต่างๆ เช่น พวกมะม่วง สับปะรด มะละกอ เปลือกส้มโอ ก็มีหลายโรงงานที่เค้าทำ�กัน ตรงนี้ถือเป็นจุดแข็งที่เราจะนำ�มาพัฒนาศักยภาพของเรา นอกจากนี้เราก็มีโรงงานกระดาษถึงประมาณ 10-11 โรง ด้วยกัน เป็นโรงงานกระดาษทีผ่ ลิตบรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษเขียนๆ หรือ แม้กระทั่งผลิตภัณฑ์ไม้อัด เราก็มีศักยภาพที่จะผลิตสินค้า ตัวนี้ก็ เป็นจุดแข็งของเรา ขณะเดียวกันเราก็มีโรงานสุราซึ่งสามารถนำ� กากน้ำ�ตาลมาเป็นวัตถุดิบในการผลิตสุรา เรามีโรงงานถึง 5 โรง ด้วยกัน รวมไปถึงโรงงานผลิตปุ๋ย มีถึง 100 โรง ก็แสดงว่าเรามี ศักยภาพในเรื่องของการนำ�วัตถุดิบในพื้นที่มาผลิตเป็นปุ๋ย ไม่ว่าจะ เป็นปุ๋ยอินทรีย์ หรือว่าปุ๋ยผสมต่าง ๆ แม้กระทั่งปุ๋ยเคมี ก็สามารถ ที่จะผลิตผสมรวมกันเพื่อเป็นโปรดักส์ไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศ และภายในประเทศด้วย อันนี้คือจุดแข็งที่เรามีอยู่ แล้วก็สามารถ ที่จะต่อยอดขึ้นไปได้อีก
และในส่วนของการที่จะเปิดตลาด เราก็สามารถเชื่อมโยง ไปทีท่ วาย เมือ่ ทวายมีการพัฒนาจนสามารถทีจ่ ะเดินทางไปมา หาสูก่ นั อย่างสะดวกแล้ว เราก็มชี อ่ งทางทีจ่ ะนำ�สินค้าเหล่านีไ้ ป ขายประเทศที่สามได้โดยผ่านท่าเรือน้ำ�ลึกทวาย ขณะเดียวกัน การขนส่งสินค้าก็สามารถขนส่งจากประเทศทางฝั่งตะวันออก ผ่านแหลมฉบังเชื่อมโยงไปยังกาญจนบุรี แล้วก็ส่งไปยังทวาย จากนั้นก็ส่งออกไปยังประเทศต่อๆ ไปได้ครับ
ปัญหาหลักของภาคอุตสาหกรรมเมืองกาญจน์
ปั ญ หาหลั ก ของเราขณะนี้ น ะครั บ ผมคิ ด ว่ า ปั ญ หา แรกน่ า จะเป็ น เรื่ อ งของสิ่ ง แวดล้ อ ม ในเมื่ อ เรามี โ รงงาน มากมาย ประเด็นที่ตามมาคือการร้องเรียนจากประชาชน ว่ า ได้ รั บ ผลกระทบจากการประกอบการโรงงาน จากน้ำ � เสีย ฝุ่นละออง หมอกควันต่างๆ มีการนำ�กากอุตสาหกรรม อันตรายมาทิ้งในพื้นที่ ก็เป็นประเด็นที่เราจะต้องพิจารณา เป็นเรื่องเร่งด่วน เราต้องแก้ไขและสร้างจิตสำ�นึกให้กับทาง โรงงานในเรื่ อ งของการมี จิ ต ตระหนั ก ที่ จ ะช่ ว ยกั น ดู แ ลสิ่ ง แวดล้อม และป้องกันมลภาวะต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งตรงนี้เอง เราก็มีโครงการของสำ�นักงานอยู่แล้ว เรียกว่า “โครงการธร รมภิบาลสิ่งแวดล้อม” เป็นการสร้างการมีส่วนรวมระหว่าง ประชาชนกับโรงงาน และภาครัฐก็เข้าไปร่วมด้วยเป็นการ ทำ�งาน 3 ประสาน เพื่อให้มีการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ มีการเข้าไปตรวจสอบโรงงาน การแก้ไขปัญหาต่างๆ เกิดขึ้น ขณะเดียวกันในเรื่องของการคืนกำ�ไรให้สังคม เราก็ให้ทาง โรงงานได้มีส่วนช่วยเหลือทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง การศึกษา การสาธารณสุข การทำ�บุญต่างๆ เราก็สร้างจิตสำ�นึกให้ มีการคืนกำ�ไรให้สงั คมบ้าง และในส่วนของการทีท่ �ำ ให้อยูร่ ว่ มกัน อย่างสันติสุข คือ สามารถที่จะปฏิบัติตามโครงการธรรมาภิ บาลสิ่งแวดล้อม และนำ�ไปสู่การอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนครับ
ดูแลสถานประกอบการ& SMEs เต็มที่
คือในส่วนนี้เราจะมีฝ่ายส่งเสริม เข้าไปดูแลในทุกๆ ด้าน เช่น ผู้จัดการโรงงานก็จะสามารถขอคำ�แนะนำ�ต่างๆ เรื่อง กรรมวิธีการผลิต การขอกู้เงิน การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ การ บริ ห ารจั ด การเรื่ อ งต่ า งๆ ก็ ต าม ถ้ า มี ปั ญ หาก็ ม าติ ด ต่ อ ที่ สำ � นั ก งาน เราก็ ส ามารถที่ จ ะให้ บ ริ ก ารได้ ถ้ า มั น นอก เหนื อ จากที่ เ ราจะให้ บ ริ ก ารได้ เราก็ ส ามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล หรื อ ติ ด ต่ อ สอบถามหน่ ว ยงานที่ เ ป็ น ต้ น เรื่ อ ง รวมไปถึ ง กลุ่ ม SMEs กลุ่ ม OTOP ต่ า งๆ มี ก ารส่ ง เสริ ม กั น มา ตลอด ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการให้ความรู้เรื่องการผลิต การบริหารจัดการ ลดต้นทุน ประหยัดพลังงาน บรรจุภัณฑ์ รวมถึงการตลาด เราก็สามารถส่งเสริมทุกด้าน ในเรื่องการ ตลาดเราก็มกี ารจัดการแสดงสินค้าต่างๆ ทัง้ ในประเทศและต่าง ประเทศ เรามีการพาผูป้ ระกอบการของเราซึง่ เป็นผูป้ ระกอบการ SMEs ไปดูงานต่างประเทศ ทั้งพม่า กัมพูชาไปเปิดตลาด เพื่อให้เขามีโอกาสทั้งในปีที่ผ่านมาและในปีนี้ เราคาดว่าถ้ามี โครงการเช่นนี้อีก เราก็จะส่งเสริมและพาไปดูงานด้วย
KANCHANABURI 63
จุดแข็งของกาญจนบุรีคือ เรา เป็นเมืองเกษตร เราใช้วัตถุดิบ ทางการเกษตรค่อนข้างเยอะมา ผลิตอุตสาหกรรม โครงการ OPOAI ถูกใจผู้ประกอบการ
โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันอุตสาหกรรม แปรรูปการเกษตรในภูมภิ าค หรือ OPOAI นีเ้ ราทำ�ต่อเนือ่ งมา เป็น เวลา 6 ปี เป็นโครงการที่ประสบความสำ�เร็จพอสมควร เพราะ ว่า เราทำ�มาอย่างต่อเนื่อง แล้วมีฟีดแบคกลับมาก็คือ ผู้ประกอบ การชมเชยว่าโครงการนี้ทำ�ให้เขามีศักยภาพมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น ในเรื่ อ งของการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพในโรงงาน การลดต้ น ทุ น การบริหารโลจิสติกส์ รวมไปถึงการพัฒนาด้านบรรจุภัณฑ์ ซึ่งโครงการนี้เราเน้นแผนงานหกด้านด้วยกันนะครับ ได้แก่ ประการแรกคือเรื่องของการบริหารจัดการเรื่องโลจิสติกส์ คือลด ต้นทุนในเรื่องของการขนส่ง การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ ต่างๆ สองคือ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คือทำ�อย่างไรที่ จะทำ�ให้ผู้ประกอบการสามารถที่จะผลิตสินค้านี้เพิ่มขึ้น โดยลด ต้นทุน สามคือ เรื่องการปรับปรุงคุณภาพและพัฒนางาน คือทำ� อย่างไรให้กระบวนการผลิตสามารถ พัฒนาให้มีการผลิตอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นไปตามระบบต่างๆ ได้ สี่คือ การลดต้นทุน และพลังงาน ห้าคือ พัฒนามาตรฐาน คือทำ�อย่างไรให้สินค้านั้น พัฒนาไปถึงการได้รับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ เรื่องมาตรฐานอื่นๆ หรือในเรื่องมาตรฐานสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย สุดท้ายคือ การตลาดทำ�อย่างไรจึงสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเขาไปได้อย่าง 64
กว้างไกลยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นตลาดในประเทศ หรือทำ�อย่างไรถึงจะ ไปขายต่างประเทศ การเชื่อมโยงไปกับกลุ่ม AEC ตลอดจนไปถึง ประเทศอื่นๆ ในโลก
ฝากถึงภาคอุตสาหกรรมและชาวกาญจน์
ในห้าปีทผี่ า่ นมา เรามีการทำ�โครงการธรรมภิบาลสิง่ แวดล้อมไป แล้ว แล้วก็มีโรงงานเข้าร่วมไปแล้ว 25 โรง แล้วปีนี้ทำ�อีก 5 โรง ก็เป็น 30 โรง แต่ถ้าเทียบกับสัดส่วนในจังหวัดเรา ซึ่งมีโรงงานถึง 1,500 โรง ถือเป็นสัดส่วนที่ต่ำ� จึงอยากให้มีการขยายผล ถึงแม้ว่า ทางสถานประกอบการเองยังไม่พร้อมที่จะเข้าร่วมโครงการของเรา แต่กอ็ ยากจะให้เตรียมความพร้อมไว้เพือ่ รองรับในอนาคต และถ้ายัง ไม่เข้าโครงการก็สามารถที่จะนำ�หลักการปฏิบัติไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิด ผลดีกับสถานประกอบการของท่านได้ โดยหลักการแล้วโครงการธร รมภิบาล เป็นการเชือ่ มประสานระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน และ สถานประกอบการ โดยเน้นในเรื่องของชุมชน กับสถานประกอบ การเป็นตัวหลัก คือทำ�อย่างไรให้บ้านหรือชุมชนเข้าใจถึงโรงงาน เข้าใจว่าโรงงานผลิตสินค้าอะไร จะมีของเสียอะไรที่จะปล่อยออกมา และมีการบำ�บัดอย่างไรบ้าง และก็มีส่วนร่วมในการที่ให้ชาวบ้าน เข้าไปแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น แก้ไขปัญหาร่วมกัน เช่นกรณีที่มี การปล่อยน้ำ�เสีย มีการปล่อยเขม่าควันออกมา อยากจะให้ชาวบ้าน เข้าไปรับรู้รับทราบ แล้วช่วยกันคิดแนวทางแก้ไข ขณะเดียวกันก็ สามารถให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆ เข้าไปตรวจเยี่ยมในโรงงานได้ เป็นการเปิดบ้านให้ชุมชนเข้าไปรับรู้รับทราบ ขณะเดียวกันต้อง นำ�หลักกฎหมายมาใช้ประกอบการ ในการทำ�ธุรกิจ ต้องถือปฏิบตั ติ าม กฎหมาย ที่เรียกว่า หลักนิติธรรม ต้องใช้หลักกฎหมายในการปฏิบัติ ก็พยายามอยู่ในกรอบของกฎหมาย สุดท้ายคือทำ�อย่างไรให้เขากับ ท่านอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืน คือเอาหลักการต่างๆ เหล่านีม้ าดำ�เนินการ เพื่อให้ทุกคนมีความเข้าใจร่วมกัน และมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ ปัญหา ก็จะทำ�ให้อยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนและสันติสุข
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจกาญจนบุรี คอมเทค ท่าม่วง เปิดสอน 2 ระดับ ระดับปวช. และระดับปวส.
ใน 2 ประเภทวิชา • ประเภทวิ ช าช่ า งอุ ต สาหกรรม (สาขางานยานยนต์ และไฟฟ้ า กำ � ลั ง ) • ประเภทวิ ช าพาณิ ช ยกรรม และบริ ห ารธุ ร กิ จ (สาขางานการบั ญ ชี , การตลาด, คอมพิวเตอร์ธุรกิจ และธุรกิจค้าปลีก) โดยมี รอบการเรียน และระบบ การเรียน ที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และสถานประกอบการ • รอบการเรียน (รอบเช้า เรียนวันจันทร์-วันศุกร์ และรอบบ่ายสมทบ เรียนวันอาทิตย์วันเดียว) • ระบบการเรียน (ระบบปกติ และระบบทวิภาคี ผู้เรียนได้เรียนในวิทยาลัย พร้อมทั้งฝึกประสบการณ์วิชาชีพกับสถานประกอบการ) KOMTECH สถานศึกษาที่เป็นเลิศ ในระบบการดูแล ติดตาม และเปิดโอกาสทางการศึกษา ที่ตั้ง 293/2 หมู่ 2 ตรงข้ามการไฟฟ้าอำ�เภอท่าม่วง ตำ�บลวังขนาย อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71110 WEBSITE : WWW.KOMTECH.AC.TH FACEBOOK : WWW.FACEBOOK.COM/KOMTECH.KANCHANABURI
เส้นทางธรรมหนุนชีวิต
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม หรื อ วัดบ้านไร่ ตั้ ง อยู่ เ ลขที่ 29/9 สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด ตำ�บลพระแท่น อำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยู่ห่างจาก วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม หรือ วัดบ้านไร่ เคยเป็นวัดหนึ่งใน พระแท่นดงรัง ประมาณ 2 กิโลเมตร ปัจจุบันมีเนื้อที่ประมาณ 18 ไร่ เส้นทางทัวร์ไหว้พระ 9 วัด จังหวัดกาญจนบุรี โดยรถขสมก. โดยใช้ชื่อ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ พระครูใบฎีกา เสริมภพ ปิยะธัมโม โปรแกรมว่ า “ไหว้หลวงปู่ปาน ปิดทองลูกนิมิต ซื้อที่ดินถวายวัด ประวัติวัดราษฎร์ศรัทธาธรรม รับวัตถุมงคล” เนือ่ งจากวัดบ้านไร่เป็นวัดสายหลวงปูป่ าน โสนันโท และ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ� ซึ่งได้ทำ�พิธีสวดที่วัดนี้ นอกจากนั้นภายในวัดยังมี ในอดีตบริเวณที่ตั้งวัดเป็นทุ่งนากว้าง เวลาชาวบ้านจะไปทำ�บุญที่ หลวงพ่อวัดไร่ขิง องค์จ�ำ ลองให้กราบสักการะด้วย วัดในหมูบ่ า้ นอืน่ จะต้องเดินทางด้วยความยากลำ�บากและเดินด้วยระยะ ทางไกลมาก ชาวบ้านจึงรวบรวมเงินกันเพื่อซื้อที่ดินและสร้างเป็น ร่วมสร้างเส้นทางบุญหนุนนำ�ชีวิต สำ�นักสงฆ์ขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีทางศาสนาและเทศกาลสำ�คัญ โดยใช้ ปัจจุบัน พระครูใบฎีกา เสริมภพ ปิยะธัมโม เจ้าอาวาสวัดฯ ชื่อว่า “สำ�นักสงฆ์บ้านไร่จิตศรัทธาธรรม” อันบ่งบอกถึงที่มาของการ กำ�ลังดำ�เนินการก่อสร้างอุโบสถและศาลาการเปรียญ ซึง่ ยังขาดปัจจัยใน ก่อตั้งได้เป็นอย่างดี การก่อสร้างจำ�นวนมาก จึงขอบอกบุญมายังเชิญพุทธศาสนิกชนทัง้ หลาย ต่อมาได้มกี ารขอจัดตัง้ เป็นวัดโดยใช้ชอื่ ว่า “วัดบ้านไร่” และเมือ่ ไม่ ร่วมสร้างเส้นทางบุญหนุนนำ�ชีวิตได้ที่ โทร 093-526-6953 นานมานีม้ กี ารเปลีย่ นชือ่ วัดเป็น “วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม” เพือ่ สือ่ ถึงความ ศรัทธาของชาวบ้านที่ร่วมแรงร่วมใจกันก่อตั้งวัดขึ้นนั่นเอง 66
KANCHANABURI 67
โดยที ม งานพยาบาลวิ ช าชี พ และผู้ ช่ ว ยพยาบาล นักกายภาพบำ�บัด ที่ได้รับวุฒิบัตรตามหลักสูตรการดูแล ผู้สูงอายุที่ได้ผ่านการอบรมและมีประสบการณ์ ถ้ า ท่ า นกำ � ลั ง มองหาสถานที่ ดู แ ลผู้ สู ง อายุ แ ละ ผู้ ป่ ว ยพั ก ฟื้ น เราขอเป็ น ตั ว แทนในการดู แ ลเอาใจใส่ ส่ ง เสริ ม และฟื้ น ฟู สุ ข ภาพอย่ า งใกล้ ชิ ด เปรี ย บประดุ จ ญาติ มิ ต รในครอบครั ว เดี ย วกั น เพื่ อ ให้ ผู้ สู ง อายุ มีสขุ ภาพกายใจ รวมทัง้ ดำ�เนินชีวติ อย่างมีความสุขตลอดไป
การบริการให้การดูแล
ดูแลผู้สูงอายุทั่วไปที่สามารถดูแลช่วยเหลือตัวเองได้ ดูแลผูป้ ่วยระยะพักฟื้น ที่มีโรคทางกายที่ต้องดูแลใกล้ชิด ดู แ ลผู้ ป่ ว ยที่ มี ปั ญ หาทางสมอง ทางการเคลื่ อ นไหว อัมพฤกษ์ อัมพาต ดูแลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ช่วยดูแลต่างๆ เช่น สายให้อาหาร ทางสายยาง ท่อเจาะคอ ออกซิเจน พ่นยาขยายหลอดลม ผู้ป่วยที่มีแผลกดทับเรื้อรัง ข้อยึดติด บริการแพทย์ตรวจโรคทั่วไปและพบแพทย์ตามนัด สถานทีต่ งั้ บ้านอบอุน่ รัก
เลขที่ 168 / 30 - 31 หมู่ 3 ตำ�บลปากแพรก อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ 71000 โทร 086 - 3356740, 087 - 1589372, 034 - 515529, 034 - 622674
CONTAINER FOR LIVING ...แนวคิดทันสมัย ในสไตล์ที่เป็นคุณ ตู้คอนเทนเนอร์...
เป็นอะไรได้มากกว่าที่คุณคิด ! บริษัท แค็บ ซี คอนสตรัคชั่น จำ�กัด เราคือผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสร้างบ้าน ร้านค้า โรงแรม รีสอร์ท ห้องพัก สำ�นักงาน จากตู้คอนเทนเนอร์ และรับสร้างบ้านเหล็กแนวโมเดิร์น ตามความฝันของคุณ...ให้เป็นจริงได้ ด้วยทีมงานคุณภาพ ทัง้ งานออกแบบโครงสร้าง ออกแบบตกแต่งภายใน ดูหน้างาน เพื่อทำ�แลนด์สเคป พร้อมสร้างภาพเสมือนจริง 3 D design ก่อนเริ่มงานจริง เพื่อให้คุณได้รับความพึงพอใจในสไตล์ที่ เป็นคุณ พร้อมทั้งบริการจัดส่งทั่วประเทศ
ตู้คอนเทนเนอร์...ตอบโจทย์เรื่อง งบบานปลายได้อยู่หมัด ด้วยคุณสมบัติ
สะดวกและรวดเร็วในการก่อสร้าง ลดปัญหาเรื่องช่างผู้รับเหมา โครงสร้างมีความแข็งแรง ลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับฐานราก เคลื่อนย้ายได้ ขยับได้ ต่อเติม ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้งานได้หลากหลาย
บริษัท แค็บ ซี คอนสตรัคชั่น จำ�กัด บอรแกห้บาพรอมใั ิ ้ ตกแต่งภายใน ปรับปรุง ดัดแปลง ต่อเติม ตูค้ อนเทนเนอร์และบ้านพักอาศัย ทั่วไป เสมือนคุณได้อยู่บ้านหลังใหม่ในเวลาอันรวดเร็วและในงบประมาณ ที่คุณพึงพอใจ บริษัทฯ มีบริการ ให้เช่าตู้คอนเทนเนอร์สำ�หรับใช้เป็น สำ�นักงาน ร้านค้า ห้องพัก ให้เช่าเป็นรายเดือน รายวัน หรือออกงาน อีเว้นท์ต่างๆ
บริษัท แค็บ ซี คอนสตรัคชั่น จำ�กัด
41/หมู่ 1 ตำ� 2 บลท่าล้ออำ�เภอท่าม่วงจังหวัดกาญจนบุรี71000สายด่วนโทร0.34-604-23048,2-951-567088,6-414-6010,280-987-4560 ชมผลงานตัวอย่างได้ที่ http://www.cab-c.com หรือ https://www.facebook.com/containerhomethailand และhttps://www.facebook.com/cubeandbuild.container
ไอคิวกาญจนบุ ออดิ โ อ รี สาขา1 ประดับยนต์ท่าล้อ ที่อยู่ 5712 ม.1 ถ.แสงชูโต ต.ท่าล้อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
สาขา2 เต้นท์ท่าล้อ
ที่อยู่ 10417 ม.1 ต.ท่าล้อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
ร้านแรมโบ้ ไทร์สปอร์ต โทร. 0991865333 82/1 หมู่ 22 ถ. กาญจนบุรี-สุพรรณบุรี กม.33 ต. รางหวาย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี ผลิตและจำ�หน่าย เสื้อโปโล เสื้อคอวี คอกลม เสื้อโฆษณาและกิจกรรม เสื้อกีฬา ชุดพละงานโรงเรียนกางวอล์มขาสันขายาว พร้อมงานปักงานสกรีน
ร้าน ธนาธิป สปอร์ต โทร. 0899102112 204/283 ม.3 ถนนพัฒนาการเลียบทางรถไฟ ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 จำ�หน่ายและจัดทำ� เสื้อโปโล เสื้อกิจกรรม ชุดพละงานโรงเรียน งานสั่งและออกแบบ เสื้อยืดคอกลมคอวี พร้อมงานปักงานสกรีน
เส้นทางพบ
ท้องถิ่นจังหวัด
ท่านผู้ว่าฯวันชัย (โอสุคนธ์ทิพย์) ท่านเน้นย้ำ�ในเรื่องของการท่องเที่ยว
72
“นายขจร ศรีชวโนทัย” ท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี สำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด กาญจนบุ รี หรื อ สถ.จ.กาญจนบุ รี มี “นายขจร ศรีชวโนทัย” ดำ�รงตำ�แหน่งท้องถิ่นจังหวัดฯ ที่เน้นทำ�งานในเชิงรุกและเน้นการบูรณาการ ความร่วมมือจากหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ทำ�ให้การดำ�เนินงานของสถ.จ.กาญจนบุรีสำ�เร็จ ลุล่วงด้วยดี นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจากท่านท้องถิ่นจังหวัดกาญจนบุรี ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับ วิสยั ทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา ตลอดจนนำ�เสนอผลการดำ�เนินงานทีโ่ ดดเด่น และแนวทางการพัฒนา ที่ฝากให้กับ อปท.กาญจนบุรี ฯลฯ
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของ สถ.จ.กาญจนบุรี
วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์ของสำ�นักงานฯ เราจะดำ�เนินการ ควบคู่ ส อดคล้ อ งไปกั บ วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละยุ ท ธศาสตร์ ข องจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ด้ ว ย โดยเฉพาะในประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ เ รื่ อ งของ การท่องเทีย่ ว จังหวัดกาญจนบุรมี ที รัพยากรธรรมชาติทเี่ อือ้ ประโยชน์ ในการส่ ง เสริ ม และเพิ่ ม รายได้ ใ ห้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ อ ยู่ แ ล้ ว ฉะนั้นจังหวัดกาญจนบุรีจึงเห็นประโยชน์ตรงนี้ จึงเร่งพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวให้เกิดประโยชน์ ซึ่งในส่วนของสำ�นักงานฯ เราก็ทำ�ให้ สอดคล้อง เพราะว่าจังหวัดกาญจนบุรีนี้ สำ�นักงานส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นฯ เรากำ�กับดูแลการปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ซึ่งมีทั้งหมด 122 แห่ง รวม อบต. ด้วยศักยภาพในการพัฒนา แหล่งท่องเทีย่ วต่างๆ หรือแม้กระทัง่ ต่อยอดให้บริการเพือ่ เพิม่ รายได้ ของประชาชน เรื่องนี้สำ�คัญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่อยู่ใน การกำ�กับดูแลของสำ�นักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นฯ จังหวัด ก็สามารถจะบูรณการร่วมกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดและวิสัยทัศน์ ของจังหวัดได้
ภาพรวมของ อปท.กาญจนบุรี
อย่างทีเ่ รียนไปแล้วว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เรามี 122 แห่ง
ซึ่งมีศักยภาพในเรื่องการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอยู่แล้ว เพียงแต่ ในภาพของจังหวัดนี่ เราอาจจะต้องไปสนับสนุนให้การดูแล เป็นที่ปรึกษาแต่บางแห่งมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีรายได้ น้อย แต่มแี หล่งท่องเทีย่ ว ตรงนีไ้ ม่เพียงแต่ส�ำ นักงานท้องถิน่ จะขึน้ ตรงกับกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ อาจมีหลายหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าในงบจังหวัด งบของกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ซึ่งเป็นส่วนที่เราต้องทำ�งานร่วมกันอยู่แล้ว ทั้งหมดนี่ คือภาพรวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดกาญจนบุรคี รับ
สถ.จ.กาญจน์กับการเพิ่มศักยภาพ อปท.
องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีคน มีงบประมาณ มีเครือ่ งจักร ที่จะพัฒนาในพื้นที่อยู่แล้ว เพราะการพัฒนาในพื้นที่ ก็จะทำ�ให้ เศรษฐกิจ สังคม ความเป็นอยู่ของประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น เพียงแต่ว่าเราเอาทรัพยากรที่มีอยู่มาต่อยอด ในส่วนของการ พัฒนาองค์กรส่วนท้องถิ่น เราก็จะดูในส่วนที่เขาขาด แล้วเราก็ จะเติมในส่วนทีเ่ ขาขาด เช่น ความรูใ้ นการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม เราจะต้องประสานกับกระทรวงทรัพย์ฯ ในเรื่องการท่องเที่ยว ก็ประสานกระทรวงท่องเที่ยวฯ หรือเรื่องงบประมาณเราก็จะ ดูเป็นสเต็ป ดูงบประมาณจังหวัด ถ้าจังหวัดไม่สามารถบริการ งบประมาณได้ดพี อ เพราะเราต้องแลดูทงั้ จังหวัด เราก็จะส่งเรือ่ ง
KANCHANABURI 73
การทำ�โครงการแต่ละโครงการ ให้ประสบความสำ�เร็จจะต้อง พึ่งพาหลายหน่วย ไปให้กระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวข้องอีกที
ปัญหาในภาพรวมของ อปท.กาญจน์
ประเด็นแรกคือเรื่องงบประมาณ ตามปกติแล้วองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น จะจั ด เก็ บ ภาษี เ อง แต่ ส่ ว นใหญ่ จ ะมี รายได้จากการจัดเก็บน้อยกว่าภาษีส่วนกลางที่ส่งมาอุดหนุนเรา ดังนัน้ การพัฒนาในพืน้ ทีก่ อ็ าจจะต้องรองวดภาษีแต่ละงวด ทำ�ให้ การพัฒนาไม่เกิดความต่อเนื่อง อันนี้คือปัญหาเรื่องงบประมาณ อีกหนึ่งปัญหาคือเรื่องบุคคลากร ซึ่งปกติจะมีสำ�นักงานปลัดฯ ที่ ดู แ ลด้ า นการศึ กษา ด้านสาธารณสุข แต่ถ้ามองทางด้ า น การท่องเที่ยวเรายังด้อยอยู่ เพราะต้องอาศัยบุคลากรมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน ที่จะทำ�ให้แหล่งท่องเที่ยวนั้นเป็นที่ ติดตาติดใจของนักท่องเที่ยวต่างชาติหรือคนในชาติเอง แต่ส่วน ใหญ่เรื่องพื้นๆ เราก็ทำ�ได้หมด แต่พอลงในรายละเอียดเช่น 74
เรื่องการให้ความรู้เฉพาะเรื่อง การติดต่อประสานงานระหว่างสถานที่ ท่องเที่ยวแต่ละแห่งเพื่อเชื่อมโยงกันบูรณาการร่วมกัน การประสาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องท่องเที่ยว ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ตรงนี้ เ ขาอาจจะเก่ งไม่ เ ท่ า คนที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถในด้ า นของ การท่องเทีย่ วโดยตรง ส่วนใหญ่กจ็ ะไปก็อปปี้ ซึง่ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วแต่ละที่ จะไม่เหมือนกัน ของเรานีเ้ ป็นธรรมชาติแบบป่าเขา การล่องแพ การเดินป่า กางเต็นท์พักแรม ก็จะต่างไปอีกแบบหนึ่ง ถ้าเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทางทะเลก็จะเน้นเรือ่ งของอาหารการกิน เรือ่ งทีพ่ กั ทีเ่ ป็นทะเล ก็แตกต่าง กันแล้ว จุดนี้ก็จะทำ�ให้เขาขาดโอกาสไป
แผนเตรียมพร้อมสู่ AEC
แผนเตรียมพร้อมสู่ AEC ในพื้นฐานจริงๆ ส่วนหนึ่ง อบจ. ได้ให้ ความสำ�คัญในการให้ความรู้ในเรื่องของภาษา ไม่ว่าจะเป็นภาษาเพื่อน บ้านอย่างพม่า และภาษาอังกฤษ ซึง่ อบจ. ได้ให้ทางมหาวิทยาลัยราชภัฎ ดำ�เนินการ นี่คือส่วนหนึ่งในเรื่องของการเตรียมความพร้อม นอกจากนี้ เราก็เตรียมความพร้อมในด้านคุณภาพของคนของเราเอง ในเรื่องที่อาจ จะต้องติดต่อการค้าระหว่างเขตพืน้ ที่ ไม่วา่ จะเขตรอยต่อระหว่างจังหวัด กับจังหวัด เขตรอยต่อระหว่างประเทศ เช่นของเราติดประเทศพม่า ก็จะมีการประสานงานติดต่อในแต่ละด่านเข้าเมืองต่างๆ เช่นของอำ�เภอ สังขละบุรีก็มีด่านเจดีย์สามองค์ ตอนนี้เราก็มีเพิ่มมาคือด่านพุน้ำ�ร้อน ถ้าหากด่านนี้สามารถดำ�เนินการได้เสร็จสมบูรณ์ครบถ้วนครบทุกตอน จะสามารถขนถ่ายสินค้าออกไปสู่พม่าสู่ทวาย แล้วก็ไปออกทางทะเล อันดามัน ตรงนี้ก็ต้องบูรณาการร่วมกัน แล้วก็เข้าใจว่ารัฐบาลก็ให้ความ
สำ�คัญในส่วนของเศรษฐกิจด้านนี้
การรับนโยบายจากผู้ว่าฯ
ท่านผู้ว่าฯวันชัย (โอสุคนธ์ทิพย์) ท่านเน้นย้ำ�ในเรื่องของ การท่องเที่ยว ท่านมาอาทิตย์แรกก็มาดูแลในเรื่องสะพานมอญ เพราะว่าตรงนีเ้ ป็นจุดสำ�คัญ เป็นไฮไลท์ส�ำ คัญของจังหวัดกาญจนบุรี แล้ ว สะพานนี้ อ ยู่ น านมากเป็ น สะพานเก่ า แก่ ซึ่ ง คนมาจั ง หวั ด กาญจนบุรี ถ้าไม่ดูสะพานข้ามแม่น�้ำ แคว ก็ต้องไปดูสะพานมอญ ท่านมาอาทิตย์สองอาทิตย์ ท่านก็จัดพิธีทำ�บุญแล้ว เพราะสะพาน ซ่อมมาเป็นปี เราจัดงานแสงสีเสียงในช่วงที่เราเปิดสะพานไป แต่ช่วงปีใหม่ท่านผู้ว่าฯวันชัย ท่านจะจัดงานแสงสีเสียง ก็จะมี ไฮไลท์หลายๆ เรื่อง แล้วทางสังขระฯ ก็ได้เตรียมพร้อมที่จะรองรับ อยู่แล้ว เราก็จะทำ�ให้เป็นสากลขึ้น เพราะสมัยก่อนเราขึ้นไปก็ ติดขัดเรื่องที่พัก ต้องไปอยู่แคมป์ ไปกางเต็นท์ ซึ่งอาจจะไม่ได้รับ ความสะดวกเท่าไหร่ แต่ตอนนี้ทำ�ให้เป็นสากลเพิ่มขึ้น ซึ่งท่านก็ เน้นย้ำ�ตรงนี้มาครับ
ผลการดำ�เนินงานที่โดดเด่นของ สถ.จ.กาญจน์
เรื่องของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเราทำ�มาสัก สองปีแล้ว เพราะว่าส่วนใหญ่กาญจนบุรี เราก็เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว พอบู ม ขึ้ น มา สิ่ ง ที่ สำ � คั ญ คื อ ป้ อ งกั นไม่ ใ ห้ ท รั พ ยากรที่ เ รามี อ ยู่ หมดสภาพไป หรื อ เสี ย หาย หรื อ สกปรกรกรุ ง รั ง ตอน นี้ ก็ มี โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า พื้ น ที่ ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ค ล อ ง ส ว ย
น้ำ � ใ ส เ ก็ บ ข ย ะ ใ ห้ ถู ก ที่ ถู ก ท า ง ต ร ง นี้ มั น ต่ อ เ นื่ อ ง กั น เรามองว่ า จะไปพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วอย่ า งเดี ย วไม่ ไ ด้ ต้องพัฒนาสิ่งที่รองรับต่างๆ ถึงสามารถทำ�ให้การท่องเที่ยวมีความ ยั่งยืน ทำ�อย่างไรให้สิ่งเหล่านี้อยู่อย่างยั่งยืน และก็มีคนมาเที่ยวได้ ตลอดเวลา ถ้าเป็นไปได้ต้องต่อยอดสิ่งที่มีอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี ไม่เฉพาะสะพานมอญกับสะพานข้ามแม่น้ำ�แคว น้ำ�ตกเราก็มีชื่อ อย่างน้ำ�ตกไทรโยค เขื่อนหลายที่ หรือวัดวาอารามแต่ละที่ก็เป็น สถานทีส่ �ำ คัญๆ อยูเ่ หมือนกัน แต่เราอาจจะมองผ่านไป การมาท่อง เทีย่ วถ้ามาแล้วครบวงจร คนจะอิม่ ในการท่องเทีย่ วทริปนัน้ เช่น วิง่
สิ่งที่สำ�คัญคือป้องกันไม่ให้ ทรัพยากรที่เรามีอยู่ หมดสภาพไป หรือเสียหาย หรือสกปรกรกรุงรัง
KANCHANABURI 75
งานที่สำ�เร็จหลายเรื่อง จากการที่เราบูรณาการ ร่วมกันทุกปีที่เห็นชัดคือ สะพานข้ามแม่น้ำ�แคว... อีกที่หนึ่งคือสะพานมอญ
ไปสะพานมอญเสร็จแล้วก็กลับ มันก็เร็วไม่มีความต่อเนื่อง เรามี อีกหลายที่นะครับที่สำ�คัญอยู่เหมือนกัน
ผลงานแห่งความภูมิใจ
จริงๆ แล้วสำ�นักงานฯเราก็ไม่สามารถทำ�โดยองค์กรเดียว ได้หรอก มีการบูรณาการระหว่างสำ�นักบริหารการปกครอง ท้อ งที่ (สน.ปท.) กรมการปกครอง โดยท่านปลั ดจั งหวั ดฯ สำ�นักงานท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัด มีหลายหน่วยงานรวมทัง้ ภาค เอกชนอย่างเช่นหอการค้า เพราะการทำ�โครงการแต่ละโครงการ ให้ประสบความสำ�เร็จจะต้องพึ่งพาหลายหน่วย อย่างที่บอกว่า องค์กรการปกครองส่วนท้อ งถิ่นเราไม่ส ามารถดำ�เนินการได้ ถ้าเราขาดความรู้เฉพาะด้าน เช่น เราจะไปลิงค์กับหอการค้าใน เรื่องของโรงแรม ถ้าเราไม่ไปประสานกับเขา มีแค่หน่วยงานผม หน่วยงานเดียวมันทำ�ไม่ได้ ต้องไปประสานบูรณาการร่วมกัน ต้องเป็นยูนิตี้เป็นหนึ่งเดียวในจังหวัดเรา ส่วนท่านผู้ว่าฯ ท่านก็ อาจจะไปลิงค์กับประเทศเพื่อนบ้าน ไปลิงค์กับจังหวัดใกล้เคียง ทำ�ทริปร่วมกันก็แล้วแต่ นัน่ เป็นระดับของผูบ้ ริหารระดับสูงต่อไป แต่ในส่วนของผม ผมเป็นหัวหน้าส่วนราชการ ผมก็จะต้องลิงค์ กับส่วนราชการเดียวกัน พร้อมกับภาคเอกชนด้วย เพื่อให้งาน มันสำ�เร็จลุล่วงไปได้ งานที่สำ�เร็จหลายเรื่องจากการที่เราบูรณาการร่วมกันทุกปี ที่เห็นชัดคือ สะพานข้ามแม่น�้ำ แคว คนก็อยากจะไปดูทางรถไฟ อีกที่หนึ่งคือสะพานมอญ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ต้องไปดูว่า เขาทำ�อย่างไรโดยไม่ตอ้ งตอกเสาเข็มลงไป แต่ใช้ไม้ปกลงไปทำ�ให้
76
ถ้าเราอยู่ในบ้านอย่างเดียว ไม่บอก เพื่อนบ้านหรือไม่บอกจังหวัดอื่นให้รู้ว่า เรามีของดีอะไรบ้าง... คนอื่นก็จะไม่รู้
เกิดสะพานไม้แบบถาวรหลายๆ ปีได้
จากใจท้องถิ่นฯกาญจน์ ถึงผู้บริหาร อปท.
อย่างที่ผมเรียนไว้ตั้งแต่ทีแรกว่า ศักยภาพบางที่ มีพอ บางทีไ่ ม่มพี อ ตรงนีเ้ ป็นจุดสำ�คัญว่าเราจะสามารถ ดำ � เนิ น การได้ เ สร็ จ สมบู ร ณ์ ทุ ก อย่ า งโดยไม่ มี ปั ญ หา ได้ ห รื อ ไม่ ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น จะทำ � งานแค่ ใ นอบต. หรื อในเทศบาลตั ว เองเพีย งแค่นั้น ยังไม่พ อ เราจะ ต้องขอความร่วมมือกับภาคเอกชน หรือบริษัทต่างๆ ที่ทำ�การประชาสัมพันธ์นี่เป็นส่วนสำ�คัญ เพราะถ้าเรา อยู่ในบ้านอย่างเดียว ไม่บอกเพื่อนบ้านหรือไม่บอก จังหวัดอื่นให้รู้ว่าเรามีของดีอะไรบ้างภายในจังหวัด หรื อ ภายในอบต.ท่ า นมี อ ะไรบ้ า ง คนอื่ น ก็ จ ะไม่ รู้ เพราะฉะนัน้ การสือ่ สาร หรือการประชาสัมพันธ์มสี ว่ น สำ�คัญอย่างสูง เราไม่ได้มองแค่เราอยู่ในอบต. หรืออยู่ แค่ในเทศบาลพอแล้ว สิ่งที่เราจะต้องมองต่อไปคือเรา ต้องขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการ หรือผู้จัดการ ชุมชนต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการประชาสัมพันธ์ ในสิง่ ทีเ่ รามีอยูไ่ ด้ เพือ่ ทำ�ให้พนื้ ทีข่ องเรามีรายได้เพิม่ ขึน้ ได้ครับ
KANCHANABURI 77
ประสารค้าวัสดุ
จำ�หน่าย อิฐบล็อค หิน ปูน ทราย ไม้ อุปกรณ์ก่อสร้างทุกชนิด และเครนรับจ้าง
โทร 034-611-845, 081-299-0935
ประสารคอนกรีต จำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์คอนกรีต คอนกรีตผสมเสร็จ
บริษัท ประสารคอนกรีต (กาญจนบุรี) จำ�กัด จำ�หน่าย ผลิตภัณฑ์คอนกรีต คอนกรีตผสมเสร็จ 15/2 ม.3 ต.ทุ่งทอง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี จำ�กัด โทร. 083-2399954, 081-8583310 แฟกส์ 034-611363
บ่อทรายโชคธนสาร
บริการ ขายทรายหยาบ ทรายละเอียด ทรายถม กรวดคัดพิเศษ โทร 081-9429008 081-981-8411
คุณชัยพิทักษ์ จึงเจริญธนสาร (ฮั้ว) บริการ ขายทรายหยาบ ทรายละเอียด ทรายถม กรวดคัดพิเศษ ที่อยู่ 111 ตำ�บลตะคร้ำ�เอน อำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71130
โปโลเมคเกอร์ เป็นโรงงานตัดเย็บเสื้อโปโล เสื้อยืด พร้อมบริการงานปัก และสกรีนโลโก้ ครบวงจร สะสมประสบการณ์กว่า 28 ปี จากการเริ่มตัดเย็บเสื้อยืด ส่งขายให้กับร้านค้าที่โบ้เบ๊ ประตูน้ำ ตั้งแต่ปี 2534 ปัจจุบันมีสาขาให้บริการ 6 สาขา โดยเน้นการจำหน่าย สินค้าภายในประเทศ กลุ่มลูกค้าธุรกิจ และหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน ห้างร้านต่างๆ โดยเน้นการขาย ด้วยความจริงใจ ใส่ใจ เข้าใจ เข้าใจเนื้อผ้าไปจนกระทั้งเส้นด้าย และขั้นตอนการตัดเย็บ เราให้้ความสำคัญกับความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก โดยแนะนำสินค้าให้เหมาะสม ตามความต้องการและราคาที่เหมาะสม
P085
เส้พัฒนนาการจั ทางพบ งหวัด
นายเรืองฤทธิ์ กรมเกลี้ยง พัฒนาการจังหวัดกาญจนบุรี
สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี “ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนมีความสุข” คือ วิสยั ทัศน์ทขี่ า้ ราชการสังกัดสำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี ภายใต้การนำ�ของนายเรืองฤทธิ์ กรมเกลีย้ ง พัฒนาการจังหวัดกาญจนบุรี ต้องการทีจ่ ะเห็นตลอดระยะเวลาทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรไี ด้เปิดเขตการพัฒนาชุมชน ข้าราชการ สังกัดสำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดประกอบด้วย พัฒนาการจังหวัด นักวิชาการพัฒนาชุมชน พัฒนาการอำ�เภอ พัฒนากร ได้ทมุ่ เทแรงกาย แรงใจ เพือ่ ขับเคลือ่ นงานให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ ด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมโดยการรวมกลุม่ โดยในปี 2557 มีกลุ่ม/องค์กรในการกำ�กับดูแล จำ�นวน 2,424 กลุ่ม/องค์กร สมาชิก 438,000 คน มีเงินกองทุนของ รัฐบาลที่จัดสรรมาให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงแหล่งทุนในความรับผิดชอบ จำ�นวน 2,414,000,000 บาท ด้วยวิธกี ารทำ�งานทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน อีกทัง้ ยังให้ความสำ�คัญกับกระบวนการเรียนรูข้ องประชาชน จึงปรากฏผลงานรูปธรรมในการสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง และทำ�ให้เศรษฐกิจฐานรากมีความมั่นคง ประชาชนจึงมีความสุข ในด้านการสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง มีตัวอย่างรูปธรรมในระดับหมู่บ้าน เช่น “เปลี่ยนขยะ เป็นน้ำ�มัน ใช้วัฒนธรรมนำ�การพัฒนา ร่วมรักษาชุมชนให้ปลอดภัยยาเสพติด สู่การสร้างชุมชนเข้ม แข็งด้วยแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงบ้านสวนงิ้ว” หมูบ่ า้ นสวนงิว้ หมู่ 11 ตำ�บลจรเข้เผือก อำ�เภอด่านมะขามเตีย้ เป็นตัวอย่างรูปธรรมในการน้อมนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิตประจำ�วันของประชาชน และได้รับการคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ของจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2557 ซึ่งบ้านสวนงิ้ว มีกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็งด้วยกระบวนการที่สำ�คัญประกอบด้วย ในด้านสังคม คนในหมู่บ้านได้ร่วมกันกำ�หนดข้อปฏิบัติของหมู่บ้าน จัดกิจกรรมพัฒนาที่เน้นให้ประชาชนมีความรัก สามัคคี มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพื่อนบ้าน เพื่อให้เป็นแรงผลักดันที่สำ�คัญในกระบวนการสร้างชุมชนเข้มแข็ง นอกจาก นี้ยังมีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ซึ่งนำ�รายได้ส่วนหนึ่งมาจัดตั้งกองทุนสวัสดิการของชุมชน เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
82
ในด้านเศรษฐกิจ มีกจิ กรรมครัวชุมชน สนับสนุนให้ประชาชน ผลิตสิ่งของใช้เอง ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มเพาะ เห็ดนางฟ้า กลุ่มทำ�หน้ากากอนามัย กลุ่มแกะสลักกรอบพระ ในด้านการอนุรกั ษ์ทรัพยากรฯ ได้สง่ เสริมให้ประชาชนมีการคัด แยกขยะ และนำ�ขยะมาผลิตน้�ำ มันไบโอดีเซล ทัง้ นี้ พลังความสำ�เร็จ ในการพัฒนาหมู่บ้านที่สำ�คัญ ได้แก่ พลังความรู้ที่หมู่บ้านสวนงิ้ว ได้สั่งสม และประมวลความรู้นำ�มาจัดกิจกรรมภายในศูนย์เรียนรู้ ชุมชน และมีกจิ กรรมแลกเปลีย่ นความรูก้ นั อย่างต่อเนือ่ ง บ้านสวนงิว้ จึงเป็นหมู่บ้านที่เข้มแข็งเป็นตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมของจังหวัด กาญจนบุรี “จากเวทีประชาคม สู่การพัฒนาหมู่บ้านให้เข้มแข็งตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หมูบ่ า้ นหนองปลิง หมู่ 7 ตำ�บลดอนแสลบ อำ�เภอห้วยกระเจา เป็นตัวอย่างรูปธรรมของชุมชนทีเ่ ข้มแข็งอีกแห่งหนึง่ ทีป่ ระชาชนได้ น้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในวิถีชีวิต โดยกิจกรรมการพัฒนาสู่ความเข้มแข็งประชาชนให้ความสำ�คัญ กับ “การคิด และตัดสินใจร่วมกัน” ผ่านเวทีประชาคมของหมู่บ้าน ทำ�ให้ทกุ คนในหมูบ่ า้ นมีความรูส้ กึ เป็นเจ้าของ และสมัครใจเข้ามามี ส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ การบริหารหมู่บ้าน เน้นการ กระจายอำ � นาจด้ ว ยการแบ่ ง หมู่ บ้ า นออกเป็ น 13 คุ้ ม บ้ า น ประชาชนมีความเชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น จึ ง “ปลู ก ทุ ก อย่ า งที่ กิ น กิ น ทุ ก อย่ า งที่ ป ลู ก ” เพื่ อ ลดรายจ่ า ย “นำ�ภูมปิ ญ ั ญาของชุมชน” มาเพิม่ รายได้ดว้ ยการตัง้ กลุม่ อาชีพ เช่น กลุ่มทอผ้า กลุ่มทำ�ขนมฯ มีกิจกรรม “โรงเรียนชาวนา” เพื่อเป็น สถาบันในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ในการประกอบอาชีพหลัก ของคนในหมู่บ้าน จัดตั้ง “กองทุนชุมชน” เพื่อเป็นสวัสดิการช่วย เหลือกันของคนในชุมชน เช่น ทุนการศึกษานักเรียน เงินสงเคราะห์ ผู้ประสบภัย ฯ การพัฒนาหมู่บ้าน ให้ความสำ�คัญกับการช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โดยใช้แนวคิด “ชุมชนจะเข้มแข็งได้ ต้องเกิดจาก ฐานราก ความร่วมมือ ร่วมใจ ของคนในชุมชน” ในด้านการสร้างความสุขให้กับประชาชน ได้ดำ�เนินการผ่าน โครงการหนึ่งตำ�บล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ซึ่งมีตัวอย่างรูปธรรม กลุ่ม OTOP ที่ประสบความสำ�เร็จสามารถสร้างงาน สร้างรายได้ จำ�นวนมาก ตัวอย่างเช่น กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าว ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มผลิตขึ้น ภายใต้แนวคิด “ขายข้าวที่ไม่ใช่ข้าว” โดยการนำ�ข้าวที่ปลูกใน หมู่บ้านซึ่งมีปริมาณมาก และหากขายในรูปข้าวสารสมาชิกกลุ่ม จะมีรายได้น้อย กลุ่มจึงนำ�ข้าวมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น นำ�จมูกข้าวมาผลิตเป็นเครื่องดื่ม ภายใต้ชื่อ “จมูกข้าวรุ่งอรุณ” ที่เป็นเครื่องดื่มจำ�นวน 4 สูตร คือ จมูกข้าวหอมนิล, จมูกข้าวหอม มะลิใบเตย จมูกข้าวผสมงาดำ� และข้าวกล้องเพาะงอก นอกจาก นี้ยังมีผลิตภัณฑ์ “จมูกข้าวกล้องหอมมะลิอบกรอบ” ภายใต้คำ�ว่า “กุก๊ กิก๊ ” ทานแล้วอารมณ์ดี ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ ช้นวัตกรรมสมัยใหม่ ผสมผสานกับภูมปิ ญ ั ญาและวัตถุดบิ ของคนในท้องถิน่ สามารถนำ�มา พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์จ�ำ หน่ายเพิม่ รายได้ให้กบั สมาชิกลุม่ เพิม่ มากขึน้ ผูส้ นใจสามารถติดต่อได้ทนี่ างสนอง สอนใจ บ้านเลขที่ 46/5 หมูท่ ี่ 4 ตำ�บลทุง่ สมอ อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท์ 089-7584520
ผ้าขาวม้าร้อยสี เป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นความภาคภูมิใจของ ประชาชนบ้านหนองขาว อำ�เภอท่าม่วง ทีไ่ ด้ผสมผสานภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นในอดีตที่มีการแปรรูปฝ้ายมาปั่นเป็นด้ายและนำ�มาทอ เป็นผ้าย้อมด้วยสีธรรมชาติ และในปัจจุบันได้ปรับปรุงด้วยการ ใช้ไหมประดิษฐ์มาทอเป็นผ้าและย้อมด้วยสีสดใสสวยงาม จนได้ ชื่อว่า “ผ้าร้อยสี” นอกจากนี้ กลุ่มยังได้พัฒนาลายทอที่มีความ โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะ “ผ้าลายตาจัก” ถือว่าเป็น เอกลักษณ์ของผ้าบ้านหนองขาว ปัจจุบันกลุ่มได้นำ�ผ้ามาพัฒนา เป็นผลิตภัณฑ์ของใช้มากมาย เช่น นำ�มาตัดเย็บเป็นเสื้อผ้า สำ�หรับสุภาพบุรุษ เสื้อผ้าสุภาพสตรี หมวก ร่ม กล่องใช้สิ่งของ เครื่องใช้ ฯลฯ ผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่ กลุ่มสตรีสหกรณ์ บ้านหนองขาว เลขที่ 196/5 หมูท่ ี่ 2 บ้านหนองขาว อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท์ 034-586101, 034-659144 เครือ่ งดนตรีไทย เป็นการพัฒนาความรูข้ องภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ทีใ่ นอดีตเป็นผูร้ ใู้ นทางช่างทำ�เกวียนและช่างทำ�คันไถ มาประดิษฐ์ เครื่องดนตรีไทยที่มีมาตรฐานประกอบกับเป็นคนที่มีความสนใจ ดนตรีไทย ทำ�ให้คุณสมชัย ชำ�พาลี ได้นำ�ความรู้ด้านช่างของ ตนมาผลิตดนตรีไทย และเครื่องดนตรีที่มีความโดดเด่นของกลุ่ม ได้แก่ ขิม คุณสมชัย ได้แกะสลักลายไทยโดยบรรจงปาดลาย ด้วยความประณีตให้มคี วามคม ชัด และลึก แต่แฝงไปด้วยความ อ่อนช้อย และงดงาม นอกจากนี้ยังมีการลงรักปิดทอง ซึ่งเป็น เครือ่ งดนตรีทไ่ี ม่เหมือนคนอืน่ และยังสร้างชือ่ เสียงจนเป็นทีย่ อมรับ มากทีส่ ดุ จนถึงปัจจุบนั นอกจากนี้ คุณสมชัยยังมีเครือ่ งดนตรีไทย อื่นๆ อีกมากมาย เช่น ระนาด กลอง ซอต่างๆ ฯลฯ ผู้สนใจ สามารถติดต่อได้ทกี่ ลุม่ สมชัยดนตรีไทย เลขที่ 49 หมูบ่ า้ นเขาปูน ตำ�บลหนองหญ้า อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท์ 034-521270,081-9133632 กล้วยกรอบบานาน่า เป็นการเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส เมื่อครั้งที่ประเทศไทยประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ กลุ่มสตรี พัฒนากล้วยน้ำ�ว้าไทย บ้านทุ่งสมอ อำ�เภอพนมทวน ได้ร่วมกัน คิดที่จะนำ�วัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นมาเพิ่มมูลค่า ประกอบกับในเขต พืน้ ทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรเี ป็นแหล่งผลิตกล้วย ปัจจุบนั กลุม่ ได้พฒ ั นา ผลิตภัณฑ์จากกล้วยในหลายรูปแบบ ซึ่งกล้วยกรอบบานาน่า เป็นขนมที่แปรรูปจากกล้วยซึ่งเป็นผลไม้ที่มีประโยชน์ใช้วัตถุดิบ จากธรรมชาติปราศจากวัตถุกนั เสีย ไม่ใส่ผงชูรส ไม่ใส่สผี สมอาหาร ไม่ใส่แป้ง ใช้กล้วยน้ำ�ว้า 100 % ผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่ กลุ่มสตรีพัฒนากล้วยน้ำ�ว้าไทย เลขที่ 22 หมู่ 3 ตำ�บลทุ่งสมอ อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท์ 034-659078, 081-4087889
KANCHANABURI 83
สหกรณ์การเกษตรท่าม่วง จำ�กัด ประวัติความเป็นมา
สหกรณ์การเกษตรท่าม่วง จำ�กัด เกิดขึ้นครั้งแรกจากการ รวมตัวของเกษตรกรในอำ�เภอท่าม่วง ได้รับการจดทะเบียนเป็น ประเภทสหกรณ์ธนกิจ เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ต่อ มาได้จดทะเบียนควบรวมกับสหกรณ์ที่ดินสองวังสามัคคี จำ�กัด ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2518 โดยใช้ชื่อว่า “สหกรณ์การเกษตรท่าม่วง จำ�กัด” มีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 293 หมู่ 2 ถนนแสงชูโต(สายเก่า) ต.วังขนาย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 71110 ปัจจุบันสหกรณ์มีการดำ�เนินธุรกิจที่หลากหลาย เพื่อตอบ สนองความต้องการของสมาชิก โดยยึดหลักความพึงพอใจของ สมาชิกเป็นหลัก ภายใต้การบริหารงานซึง่ ประกอบด้วยฝ่ายบริหาร จำ�นวน 15 คน และฝ่ายจัดการ 13 คน
วิสัยทัศน์สหกรณ์
“เป็ น สหกรณ์ ที่ พั ฒ นาธุ ร กิ จ มี ม าตรฐาน บริ ก ารฉั บ ไว สร้างความเชื่อมั่น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของสมาชิก”
นโยบาย
สหกรณ์บริหารงานเพื่อประโยชน์ของสมาชิกเป็นสำ�คัญ สถานภาพของสหกรณ์ (ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2557) - จำ�นวนสมาชิก 1,336 คน (สังกัดใน 12 ตำ�บล ของอำ�เภอท่าม่วง) - ทุนเรือนหุ้น 48,769,160.00 บาท - ทุนสำ�รอง 32,970,563.52 บาท - ทุนสะสมอื่น 8,481,467.97 บาท - เงินรับฝาก 109,635,772.72 บาท - ทุนดำ�เนินงานหมุนเวียน 245,170,931.77 บาท - กำ�ไรสุทธิประจำ�ปี 7,075,689.78 บาท
84
การดำ�เนินธุรกิจของสหกรณ์ฯ
ธุรกิจสินเชือ่ สหกรณ์จา่ ยเงินกูใ้ ห้สมาชิก เพือ่ การลงทุนในการ ทำ�การเกษตร เป็นเงิน 155,000,000 บาท ธุรกิจซื้อ สหกรณ์จัดหาสินค้าอุปโภค - บริโภค และวัสดุ การเกษตรมาจำ�หน่ายให้สมาชิก สิ้นปีมีเงินปันผลและเงินเฉลี่ย คื นให้ ส มาชิ ก ที่ ทำ � ธุ ร กิ จ กั บ สหกรณ์ โดยใช้ เ งิ น ทุ น หมุ น เวี ย น 23,053,000 บาท ธุรกิจบริการ (ปั๊มน้ำ�มัน) สหกรณ์เป็นตัวแทนของบริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน) ตั้งปั๊มน้ำ�มันชุมชน เพื่อลด ต้นทุนให้สมาชิก โดยใช้ทุนดำ�เนินงานปีละ 4,400,000 บาท ธุรกิจรวบรวม - สหกรณ์รวบรวมอ้อยของสมาชิกในนามโควต้า ของสหกรณ์ส่งโรงงานน้ำ�ตาล ใช้ทุนประมาณ 7,600,000 บาท นอกจากนี้ยังมีตลาดกลางข้าวเปลือกและเครื่องคัดเมล็ดพันธุ์ข้าว ในพืน้ ที่ 10 ไร่ เพือ่ รวบรวมข้าวเปลือกและผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วปลูก เพื่อจำ�หน่าย โดยใช้เงินทุนหมุนเวียน 71,872,000 บาท
สวัสดิการของสหกรณ์
1. สวัสดิการช่วยเหลือสมาชิกกรณีประสบภัยธรรมชาติ 2. สวัสดิการช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลสมาชิก 3. สวัสดิการช่วยเหลือบุตรสมาชิกแรกเกิด 4. สวัสดิการทุนการศึกษาแก่บุตรสมาชิก 5. สวั ส ดิ ก ารเงิ น สงเคราะห์ ฌ าปนกิ จ ประธานกลุ ่ ม และ เลขานุการกลุ่ม 6. สวัสดิการเงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุส�ำ หรับสมาชิกอายุ 75 ปี ขึ้นไป 7. สวัสดิการ เยี่ยมสมาชิก “อยู่ดี มีสุข” **ข้อมูลติดต่อ โทรศัพท์ / FAX 034-611541 E:Mail skk_thamuang@hotmail.co.th
สหกรณ์การเกษตรพนมทวน จำ�กัด ได้เริ่มก่อตั้งและจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ฯ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 5 มิ ถุน ายน 2513 ปัจ จุบัน สำ�นัก งานสหกรณ์ การเกษตรพนมทวน จำ�กัด ตั้งอยู่เลขที่ 178/1 หมู่ 3 ตำ�บล พนมทวน อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
การดำ�เนินงานของสหกรณ์
1. สินเชื่อการเกษตร จัดหาวัสดุการเกษตรเพื่อจำ�หน่ายให้ สมาชิกไปประกอบอาชีพ 2. การจัดหาสินค้ามาจำ�หน่าย เช่นสินค้าอุปโภคบริโภค สถานีบริการน้ำ�มัน สถานีบริการปั๊มแก๊ส LPG 3. ธุรกิจแปรรูป น้ำ�ดื่ม และข้าวสาร 4. ธุรกิจรับฝากเงิน มี 4 ประเภท 4.1 ออมทรัพย์สัจจะ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 บาทต่อปี 4.2 ออมทรัพย์ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 บาทต่อปี 4.3 ออมทรัพย์พิเศษ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 บาทต่อปี 4.4 ออมทรัพย์กองทุนชำ�ระหนี้ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2 บาทต่อปี 5. ธุรกิจสินเชือ่ ให้กไู้ ม่เกิน 1,000,000 บาทอัตรา 9 บาทต่อปี มีการจัดชั้นสมาชิก มีเงินปันผล เฉลี่ยคืน และส่วนลดดอกเบี้ย
ด้านเงินทุนสหกรณ์
สหกรณ์เอกนอกจากมีทนุ ของตัวเอง จากการถือหุน้ และจาก การสะสมทุนต่างๆแล้ว สหกรณ์ยังระดมทุนจากการรับฝากเงิน สมาชิกและกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินต่างๆ เพื่อให้เกิดความ สมดุลและไม่เกิดภาวะความเสี่ยง
ด้านบุคลากร
สหกรณ์มีบุคลากรประกอบด้วย คณะกรรมการ และเจ้า หน้าที่ คณะกรรมการเป็นตัวแทนสมาชิกทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ เข้า มาบริหารงานสหกรณ์แทนสมาชิกทั้งหมด
KANCHANABURI 85
ยังโทน เฮ็ลธ์ปาร์ค รีสอร์ท 86
ประวัติ ยังโทน เฮ็ลธ์ปาร์ค รีสอร์ท เดิมเป็นพืน้ ทีท่ �ำ การเพาะปลูกต้นหม่อน เลีย้ งไหม ไร่ออ้ ย ไร่มนั สำ�ปะหลัง สวนผลไม้ผสมไม้เบญจพรรณต่าง ๆ ได้แก่ ต้นตะเคียน ต้นมะค่า ต้นยาง ต้นตะแบกฯลฯ บนเนื้อที่ประมาณ 100 ไร่ ต่อมา เมื่อปี 2537 ดร.สมศักดิ์ โตรักษา กรรมการผู้จัดการ ได้ พั ฒ นาเปิ ด หน้ า แม่ น้ำ � แควน้ อ ยและตกแต่ ง สถานที่ ป ลู ก สร้ า ง รีสอร์ท บ้านพัก ห้องประชุมขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ขยายเนื้อที่เพิ่ม อีกกว่า 200 ไร่ เปิดค่ายลูกเสือ-เนตรนารี ค่ายวิชาการ และท้าย สุด โรงแรมจำ�นวน 35 ห้อง ไว้คอยบริการ นอกจากนี้ ยังได้ทำ�การอนุรักษ์สัตว์ต่างๆ เช่น ควายพันธุ์ไทย กว่า 30 ตัว ม้า วัว และหมูป่า กระต่ายป่า อึ่ง สัตว์หายาก จักจั่น งวงช้าง (ลำ�ตัวเหมือนตั๊กแตนปีกสีเขียวจุดขาว ปากยาว) แมลงทับ หิ่งห้อย ด้วงกว่าง (แมลงนักรบ) กระรอก กระแต บ่าง (กระรอก ชนิดหนึ่ง ตัวเล็กๆ สามารถบินได้ หรือคนพื้นที่เรียกว่า “ร่อน”) นกนานาชนิด นกหัวขวานลาย นกกะลาหัวจุก นกขมิ้นเหลืองอ่อน นกกระจาบ นกกระจิบ นกแก้ว ทางรีสอร์ทเน้นให้บริการอาหารสุขภาพ สะอาด ผักผลไม้ปลอด สารพิษ อากาศ ที่บริสุทธิ์ ไม้หอมนานาพันธุ์ บรรยากาศเย็นสบาย ริมสองฝัง่ แม่น�้ำ แควน้อย และความเป็นธรรมชาติของหาดทรายขาว ไว้ต้อนรับ AEC (ASEAN ECONOMIC COMMUNITY)
KANCHANABURI 87
CHECK INN RESORT เช็คอินน์ รีสอร์ท
ºÃÔ¡ÒÃËéͧ¾Ñ¡ÃÒÂÇѹ áÍÃì ·ÕÇÕ ¹éÓÍØè¹ Free Wi-Fi
µÔ´èÍË駾ѡ 097-003-8538 CHECK INN RESORT àªç¤ÍÔ¹ì ÃÕÊÍì· 4/3 ¶¹ÍÔâ´Õà«Õ µÓºÅ·èÒÁТ ÍÓàÀÁ×ͧ ¨Ñ§ËÇ´¡Ò¹ºØÃÕ
GREEN RIVER HILL RESORT หนึ่งเดียวในกาญจนบุรี กับบรรยายกาศหาดทรายคล้ายทะเล ให้คุณได้สัมผัสกับธรรมชาติที่แสนสงบ ผ่อนคลายอากาศบริสุทธิ์
ติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับที่พัก : Tel : 081-1424046, 081-9021080 Fax : 0-3469-6228 Email (ฝ่ายขาย) : greenriverhill_99@hotmail.com Line : swp.p 153 หมู่ 1 ซอย6 ถนนหมู่บ้านท่ากระดาน, ต.ท่ากระดาน อ.ศรีสวัสดิ์ (กาญจนบุรี) ประเทศไทย
แผนที่
ออโรรารี ่ สอรท ์ กาญจนบุรี แหล่งรวมเรื่องราว ทางประวัติศาสตร์
ความทรงจำ�สุดแสนประทับใจ ทีไ่ ม่อาจลืมเลือน ชมอุทยานแห่งชาติน�้ำ ตกเอราวัณทีม่ คี วามสูงถึง 7 ชัน้ ออโรร่ารีสอร์ท กาญจนบุรี บ้านพักเรือนไม้ ตกแต่งด้วยศิลปะแบบไทยผสมผสานด้วยกลิ่นอาย วัฒนธรรมตะวันตก โอบล้อมด้วยไม้ดอก ที่ประดับอย่างสวยงาม อย่างลงตัว เชิญชิ้มอาหารรสเลิศที่ใส่ใจในการปรุง ทุกขั้นตอนที่ห้งอาหารริมน้� ำ
ห้องพัก
เยอร์บีล่า จำ�นวน 16 ห้อง ราคา 3,000 บาท คาลล่า ลิลลี่ จำ�นวน 16 ห้อง ราคา 4,500 บาท โรสแมรี ่ จำ�นวน 8 ห้อง ราคา 6,000 บาท สวิท วิลเลี่ยม จำ�นวน 18 ห้อง ราคา 9,000 บาท
ต้อนรับคุณเหมือน สมาชิกในครอบครัว Email: au_kanchanaburi@auroraresort.com Website: www.auroraresort.com
ที่อยู่ 194 หมู่1 ตำ�บลลาดหญ้า อำ�เภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี 71190 โทร034-589-833
เดืDUENSHINE อนฉาย รีREสSORT อร์ท ที่พักริมน้ำ�สะดวกสบาย กระท่อมหลังน้อยในสวน หรือนอนบนแพ
เมื่อมาเที่ยวกาญจนบุรีเพียง 7 กิโลเมตร จากตัวเมือง กาญจนบุรี ท่านจะได้พบกับเดือนฉายรีสอร์ท โรงแรม ใกล้ตัวเมืองกาญจนบุรี ติดแม่น้ำ�แควใหญ่ บรรยากาศ ธรรมชาติริมน้ำ�แวดล้อมไปด้วยต้นไม้ใหญ่ร่มรื่นในสวน และสนามหญ้ า เขี ย วขจี นั่ ง เล่ นชมวิ ว แม่ น้ำ � แควใหญ่ บ น แพ พั ก ริ ม น้ำ � เพ ลิ ด เพ ลิ นกั บ กิ จ ก ร ร ม ต่ า ง ๆ เดินเล่นออกกำ�ลังกายท่ามกลางสวนสวย ตกปลา ล่องแพ พายเรือคายัค หรือสระว่ายน้ำ�ริมแม่น�้ำ แควใหญ่ สำ � หรั บ หน่ ว ยงานราชการ บริ ษั ท และคณะทั ว ร์ เดื อ นฉายรี ส อร์ ท บริ ก ารแนะนำ � สถานที่ ศึ ก ษาดู ง าน ทำ � กิ จ กรรม CSR บริ ก ารจั ด กิ จ กรรม walk rally ด้ ว ยที ม งานที่ มี ป ระสบการณ์และสามารถจัดโปรแกรม ท่องเที่ยวกาญจนบุรีพร้อมทีมงานนำ�เที่ยว บริการท่านด้วย ห้องพัก 3 สไตล์โรงแรม บังกะโล แพพักพร้อมสิ่งอำ�นวย ความสะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น น้ำ�อุ่น ทุกห้อง เพียง 5 นาที จากรีสอร์ทสามารถสัมผัสแหล่งท่องเที่ยวยามค่�ำ คืน
เห็ดโคนหลนพร้อมผักเครื่องเคียง
ปลาทับทิมทอดกระเทียม
ต้มยำ�เห็ดโคน
แกงป่าปลาคัง
ผัดบล็อกเคอรี่กุ้งสด
LOCATION
99/9 หมู่ 3 ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 ติดต่อสำ�รองห้องพัก Tel. 034-653369-70, Fax. 034-653346 Mobile. 081-7360044, 081-7802088 Website: http://www.duenshine.com/ Email: info@duenshine.com
แผนที่
เส้นทางพบ
ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
นายนเรศ จุ ล บุ ต ร ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี สำ�นักงานการท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี เป็นหน่วยงานสำ�คัญในการพัฒนาและขับเคลือ่ นการท่องเทีย่ ว กีฬา และนันทนาการของจังหวัดกาญจนบุรีจนเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคตะวันตก และเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศ นิตยสาร SBL ได้รบั เกียรติจาก “ท่านนเรศ จุลบุตร” ท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี ให้สมั ภาษณ์ในหลากหลาย ประเด็นทั้งด้านการท่องเที่ยวและกีฬา ดังนี้
กาญจนบุรี...ที่เที่ยวหลากหลายเที่ยวได้ทั้งปี
จังหวัดกาญจนบุรี ถือเป็นจังหวัดที่น่าท่องเที่ยวเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ เพราะเป็นจังหวัดที่อุดมสมบูรณ์ด้วย ทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณี อีกทั้งยัง มีการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงอนุรักษ์ เชิงวัฒนธรรม เชิงสุขภาพ และเชิงผจญภัย ส่งผลให้มีรายได้เข้าจังหวัดจำ�นวน ไม่น้อยในแต่ละปี และในส่วนของข้อได้เปรียบของจังหวัดกาญจนบุรีระยะทางไม่ไกลมากนัก ใช้เวลาในการขับรถ จากกรุงเทพฯ ประมาณสองชั่วโมง หรือสามารถไปเช้า-เย็นกลับได้ อีกทั้งยังเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ในทุกๆ เดือนยังมี กิจกรรมส่งเสริมการท่องเทีย่ วมากมาย อาทิ กิจกรรมการปัน่ จักยาน กิจกรรมงานประเพณีทอ้ งถิน่ และงานประจำ�ปีตา่ งๆ ของจังหวัดไว้รองรับนักท่องเที่ยวอยู่ตลอดเวลา 96
จุดเด่นด้านกิจกรรมท่องเที่ยวที่ไม่จำ�เจ
เมือ่ กล่าวถึงจังหวัดกาญจนบุรี หลายคนอาจจะนึกถึงภาพแหล่ง ท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์สมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 และธรรมชาติ ทีส่ วยงามมีเอกลักษณ์ ไม่วา่ จะเป็นถ้�ำ น้�ำ ตก ภูเขา แม่น�้ำ แต่ในความ เป็นธรรมชาติทหี่ ลากหลายเหล่านีข้ องจังหวัดกาญจนบุรี มิเคยทำ�ให้ นักท่องเที่ยวรู้สึกจำ�เจได้เลยในทุกครั้งที่มาเยือน นั่นเป็นเพราะว่า กาญจนบุ รี มี ก ารผสมผสานกิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วให้ เ ข้ า กั บ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ได้อย่างลงตัว อาทิ กิจกรรมการล่องแพ/ ถ่อแพ กิจกรรมแช่บอ่ น้�ำ ร้อน กิจกรรมนัง่ ช้าง/เดินป่า กิจกรรมปีนเขา ชมธรรมชาติ กิจกรรมปั่นจักรยานชมธรรมชาติ กิจกรรมศึกษา เส้นทางแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ณ ถนนปากแพรก และกิจกรรมโหนสลิง (Zip Line) เป็นต้น
ภาพรวมด้านการกีฬาที่โดดเด่น
สำ�นักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี ในฐานะ หน่วยงานที่มีภารกิจในการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ประชาชนของจังหวัดกาญจนบุรี ขับเคลื่อนโดยการใช้กิจกรรมกีฬา และนันทนาการ ซึง่ เป็นกิจกรรมทีก่ อ่ ให้เกิดอารมณ์สขุ สนุกสนาน เพลิดเพลิน ไม่เป็นอบายมุขหรือเป็นภัยต่อสังคม อีกทั้งยังสามารถ ช่วยพัฒนาร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ให้คนมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยและมีความสมัครสมานสามัคคีในกลุ่ม อันเป็นการ เสริมสร้างให้ประชาชนในจังหวัดมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น โดยในปีที่ ผ่านมาได้ด�ำ เนินงานโครงการสนับสนุน และส่งเสริมการกีฬาต่างๆ อาทิ โครงการสนับสนุนกิจกรรมกีฬาและนันทนาการ สานสัมพันธ์ ไทย – เมียนมาร์ ณ จุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำ�ร้อน, โครงการ ปั่นรักษ์ พิทักษ์โลก รณรงค์การเป็นเจ้าบ้านที่ดี, โครงการสุดยอด มหกรรมนันทนาการ “การแสดงแสง สี เสียง การละเล่นพื้นเมือง กีฬาพื้นบ้าน” คืนความสุขให้ประชาชน เป็นต้น
ด่านฯ บ้านพุน้ำ�ร้อน กับการท่องเที่ยวเมืองกาญจน์
การเปิดด่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำ�ร้อน ตำ�บลบ้านเก่า อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นการเปิดเส้นทางธุรกิจ เชือ่ มต่อ ระหว่างประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ได้แก่ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจมากขึ้น โดยคาดว่า นักธุรกิจส่วนใหญ่ที่จะมาลงทุนเกี่ยวกับอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ทวาย น่าจะใช้เวลามาพักผ่อนที่กาญจนบุรีด้วย เช่น เล่นกอล์ฟ นวดสปา เป็นต้น และคาดว่าหากการก่อสร้างโครงการท่าเรือน้�ำ ลึกทวายเสร็จสิน้ กาญจนบุ รี จ ะมี นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ชาวไทยและต่ า งชาติ เ ดิ น ทาง เข้ามาเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ดี สายการบินโซล่าร์แอร์ ยังเตรียมที่ จะเปิดบินในเส้นทางอู่ตะเภา-กาญจนบุรี ในเร็วๆ นี้ ซึ่งจังหวัดอยู่ ระหว่างการปรับปรุงและเตรียมความพร้อมของสนามบินพล.ร.9 กาญจนบุรี ให้บริการสนามบินเชิงพาณิชย์เป็นครัง้ แรก เพือ่ รองรับ นักท่องเที่ยวรัสเซียที่บินเข้าอู่ตะเภาด้วยเครื่องบินเช่าเหมาลำ� หรือ ชาร์เตอร์ไฟลต์ จากการเปิดด่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำ �ร้อน ส่งผลให้ นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้ามายังจังหวัดกาญจนบุรี ขยายตัวราว 10% ขณะที่โครงการทวายจะกลายเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก และที่สำ�คัญยังจะเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของอาเซียนอีกด้วย จึ ง เป็ นโอกาสที่ ดี ที่ จ ะส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วจั ง หวั ด กาญจนบุ รี เชือ่ มโยงไปสูเ่ มืองทวาย ประเทศพม่าได้ ทัง้ นีค้ นเมืองกาญจน์ ก็จะ
ได้รับประโยชน์มากมายจากธุรกิจ ต่างๆ เช่น ปั๊มน้ำ�มัน โรงแรม ร้านอาหาร ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าต่างๆ ร้านขายของฝากและ ของที่ระลึก บริษัททัวร์ท้องถิ่น เป็นต้น
การเตรียมพร้อมรับมือกับ AEC
จังหวัดกาญจนบุรี ได้กำ�หนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา การท่ อ งเที่ ย วจั ง หวั ด กาญจนบุ รี ป ระจำ � ปี 2555-2559 เพือ่ เป็นการรองรับการเข้าสูก่ ารเปิดประชาคมอาเซียนในปี 2558 โ ด ยไ ด้ กำ � ห น ด วิ สั ย ทั ศ น์ ก า ร พั ฒ น า ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย วไ ว้ คือ “เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์” พร้ อ มกั บได้ จั ด ทำ � แผนงาน/โครงการด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดกาญจนบุรี ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป็นรูปธรรม โดยการส่งเสริมการ ท่องเทีย่ ว การจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การท่องเทีย่ ว การเชือ่ มโยง เส้นทางท่องเที่ยวของอาเซียน และการสร้างมาตรการจูงใจให้ นักท่องเที่ยวที่มีสัญชาติอาเซียนให้เดินทางในภูมิภาค โดยจัด โปรแกรมทัวร์พาเที่ยวทวาย อำ�นวยความสะดวกเรื่องผ่านแดน การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว กับ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดียและรัสเซีย เน้นการกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยว ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนและประเทศเครือข่ายให้มากขึน้ การส่งเสริมให้เกิดความเชื่อมโยงของเส้นทางท่องเที่ยว ในกลุ่ม ประเทศอาเซียน (ASEAN Tourism Connectivity Corridors) และพัฒนาผูป้ ระกอบการให้ปรับตัว พัฒนาบุคลากรด้านการท่องเทีย่ ว สร้างองค์ความรู้ความเข้าใจการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนให้กับ บุคลากรด้านการท่องเที่ยว เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี 2558 ต่อไป
ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ
สำ � นั ก งานการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าจั ง หวั ด กาญจนบุ รี มีความภาคภูมิใจ ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาและขับเคลื่อน การท่องเที่ยว กีฬา และนันทนาการของจังหวัด ทำ�ให้จังหวัด กาญจนบุรี เป็นศูนย์กลางของภูมิภาคตะวันตก เป็นที่นิยมของ นักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ จากสถิตใิ นปี 2556 มีจำ�นวนนักท่องเที่ยว และนักทัศนาจรที่มาท่องเที่ยวจังหวัด กาญจนบุรี จำ�นวน 6,413,556 คน รายได้จากการท่องเที่ยว และนักทัศนาจร จำ�นวน 13,416.54 ล้านบาท (ที่มา : ข้อมูล เบือ้ งต้นจากกรมการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา) ทำ �ให้ เ รามี กำ � ลั งใจและพลั ง ผลั ก ดั น ที่ ขั บ เคลื่ อ นภารกิ จ ของ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ให้จังหวัดกาญจนบุรีก้าวไป ข้ า งหน้ า อย่ า งครบวงจรและยั่ ง ยื น ทั้ ง การพั ฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วที่ ห ลากหลาย ประชาชน อยู่ดีกินดี มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงจากการได้เล่นกีฬา ออกกำ�ลังกาย และทำ�กิจกรรมนันทนาการ เป็นต้น
ยินดีต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วยมิตรไมตรี
จังหวัดกาญจนบุรีมีความพร้อมทั้งด้านสถานที่ท่องเที่ยว ด้านสถานที่พัก ร้านอาหาร ความปลอดภัยสำ�หรับนักท่องเที่ยว รวมทั้ง กระผมและชาวจังหวัดกาญจนบุรีทุกคน ก็พร้อมที่จะ เป็นเจ้าบ้านที่ดี ต้อนรับผู้มาเยือนทุกท่านด้วยความเต็มใจและ มิตรไมตรีที่ดี ในตลอดทั้งปี ทุกฤดู และทุกรูปแบบการท่องเที่ยว ที่ท่านต้องการ KANCHANABURI 59
FELIX RIVER KWAI “เฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท กาญจนบุรี”
โรงแรมเฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท กาญจนบุรี เป็นโรงแรม กึ่งรีสอร์ทระดับ 5 ดาวของจังหวัดกาญจนบุรี ระยะทางเพียง 129 กิโลเมตร จากรุงเทพฯ และห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรี เพียง 6 กิโลเมตร โรงแรมมีพื้นที่ทั้งหมด 130 ไร่ ตั้งอยู่ ริมแม่น้ำ�แควใหญ่และใกล้กับสะพานข้ามแม่น้ำ�แควซึ่งเป็น สะพานประวัติศาสตร์ และเป็นโรงแรมฯ เพียงแห่งเดียวที่ มีพื้นที่ติดแม่น้ำ�แควใหญ่ยาวที่สุด มีห้องพักรวม 255 ห้อง พร้อมด้วยกิจกรรมและสิ่งอำ�นวยความสะดวกอย่างครบครัน เช่น สปา, สระว่ายน้ำ� 2 สระ, สนามเทนนิส, ฟิตนิสเซ็นเตอร์, รถจักรยาน, พายเรือแคนนู, กิจกรรมวอลค์แรลลี่ และบริการฟรี สำ�หรับการใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และห้องประชุมสัมมนา ขนาดใหญ่สามารถจัดได้ถงึ 800 ท่าน และห้องประชุมขนาดย่อย ตั้งแต่ 20-100 ท่าน รวม 14 ห้อง และในกรณีที่ลูกค้าต้องการ เปลี่ยนบรรยากาศจากการจัดเลี้ยงในห้องแอร์ ทางโรงแรมฯ ขอแนะนำ�จัดอาหารเย็นบริเวณริมแม่น�้ำ แควใหญ่ หรือจัดอาหาร เย็นพร้อมล่องแพ และชมทัศนียภาพสองฝั่งแม่น้ำ�แควใหญ่
จุดเด่นของโรงแรมฯ 1. โรงแรมเฟลิกซ์ เป็นโรงแรมเดียวในจังหวัดกาญจนบุรีที่มีพื้นที่ติด แม่น้ำ�ยาวที่สุด 2. เป็นโรงแรมฯ ทีม่ พี นื้ ทีส่ �ำ หรับทำ�กิจกรรมเช่น Walk Rally, Sport day 3. มีห้องประชุม Pailin Convention ที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดกาญจนบุรี 4. มีบริการ Wifi Internet สำ�หรับลูกค้าทุกท่าน 5. ห้องอาหารริมแม่น�้ำ ขนาด 100 ท่าน ชือร้าน Thai Riviera 6. มีบริการ Spa ภายในโรงแรมฯ
RESORT รีสอร์ท“ ระดับห้าดาว ของจังหวัดกาญจนบุรี
” ปลาแซลมอนย่าง เสิรฟ์ พร้อมซอสตะไคร้
• เป็ดปักกิ่ง
• ปลาคังฉู่ฉี่
• เป็ดผัดหนำ�เลี๊ยบ กุ้งผัดซอสเอ็กซ์โอ
สนใจข้อมูลเพิ่มเติมกรุณาติดต่อที่ 9/1 หมู่ 3 ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทรศัพท์ 034-551000 หรือแฟกซ์ 034-551033 สำ�นักงานขายกรุงเทพฯ 0-2634-4111 หรือ อีเมลล์ sales@felixriverkwai.co.th, website: felixriverkwai.co.th
“ถ้�ำ ผาทาร์ซาน ริเวอร์แคว รีสอร์ท”
ขอต้อนรับ สู่ “ถ้ำ�ผาทาร์ซาน ริเวอร์แคว รีสอร์ท” เพียง 12 กม. จากศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี รีสอร์ทฯ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำ แควน้อย แวดล้อมด้วยทัศนยภาพแห่งขุนเขา
พบกับ บ้านแนวๆ หลากหลายสไตล์ 6. ปิงปอง >> กิจกรรมมีค่าใช้จ่าย >> โซนหน้าผา 1. บ้านถ้ำ� (พักรวม 10-15 คน) 1. แพเธค คาราโอเกะ (จัดเลี้ยงลงแพ) 2. บ้านทาร์ซาน (พักหลังละ 2 คน) 2. ดนตรี คาราโอเกะ (สนามหญ้าริมแม่น้ำ�/ 3. บ้านผาไม้ (พักหลังละ 2 คน) ห้องจัดเลี้ยง) 4. บ้านบัวแก้ว (พักหลังละ 2-4 คน) 3. Walk Rally ภาคทฤษฎี และเข้าฐานกิจกรรม 4. ห้องประชุมสัมมนา >> โซนแม่น้ำ�แควน้อย 1. บ้านต้นตอรัก (พักหลังละ 2 คน) 2. บ้านกอหญ้า (พักหลังละ 4 คน) 3. บ้านอิงตะวัน (พักห้องละ 2-4 คน) 4. บ้านอิงธารา (พักห้องละ 2-4 คน) พบกับ กิจกรรม มากมายภายในรีสอร์ท >> ฟรี กิจกรรม 1. กระโดดหอข้ามน้ำ� 2. พายเรือคยัค เส้นทางการเดินทางมารีสอร์ท 3. จักรยาน 1. ตรงเข้าตัวเมืองกาญจนบุรี 4. จักยานน้�ำ 2. พอถึง สามแยกศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี 5. ข้ามสะพานเชือก ให้เลี้ยวซ้ายไปตาม ถนนกาญจนบุรี-ด่านมะขามเตี้ย 3. ตรงไป ข้ามสะพานแม่น้ำ�แม่กลอง ไปทางวัดถ้ำ�มังกรทอง 4. ตรงไปเรื่อยๆ สังเกตุป้าย ถ้ำ�ผาทาร์ซานฯ ตามสามแยก 5. รีสอร์ทฯ จะอยู่ทางขวามือ ให้เลี้ยวขวา เข้าซอยไป 3 กม.
ถ้ำ�ผาทาร์ซาน ริเวอร์แคว รีสอร์ท เลขที่ 224 หมู่ 2 ถ.กาญจนบุรี-ด่านมะขามเตี้ย อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 Email : tarzanresort@gmail.com Website : www.tarzanresort.com Mobile. 086-3723333, 080-2384444, 084-1042222 Office. (034) 532222 Fax. (034) 531234
โรงแรม ราชศุภมิตร
(R.S.Hotel) จ.กาญจนบุรี โรงแรมราชศุภมิตร จ.กาญจนบุรี ถื อ เป็ น เกี ย รอย่ า งยิ่ ง ที่ ท างคณะของ ท่านสนใจที่จะเข้ามาใช้บริการจัดกิจกรรม สำ�หรับหน่วยงานของท่าน จัดเป็นศูนย์จดั สัมมนาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ใน จังหวัดกาญจนบุรตี งั้ บนพืน้ ทีก่ ว่า 80 ไร่ ที่จอดรถกว้างขวางโดยอยู่ห่างจากตัว เมืองเพียง 3 กม.ห่างจากสะพานข้ามแม่น�้ำ แควเพียง 2 กม. มีห้องพักมากว่า 350 ห้อง ห้อง สัมมนา 10 ห้อง สามารถจุได้ตั้งแต่ 20-1500 ท่าน พบ กับสวนกล้วยไม้ และสวนกรวดทีท่ อดยาวตกแต่งได้ลงตัว ให้ท่าน ในเนื้อที่ กว่า 5 ไร่ ได้พักผ่อน กับธรรมชาติ สถานที่กว้างขวางเหมาะที่ จะทำ�กิจกรรมได้อีกมากมาย
ราชศุภมิตร (อาร์.เอส. โฮเต็ล) ที่อยู่ 264 หมู่ 5 ถ.แสงชูโต ท่ามะขาม เมืองกาญจนบุรี กาญจนบุรี 71000 โทร 034-625-128-30 แฟกซ์. 034-625127 สำ�นักงานกรุงเทพ 2074/103 ถ.เจริญกรุง เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร 02-292-1655-6 แฟกซ์ 02-291-9956 http://www.rshotelkanchanaburi.com
เส้นทางท่องเที่ยว
เที่ยวสบ๊ายสบาย ไปกาญจนบุรี แม้กาญจนบุรจี ะเป็นจังหวัดทีน่ กั ท่องเทีย่ วหลายท่านคุน้ ชินมาแต่ออ้ นแต่ออก แต่เชือ่ ว่าคงไม่มใี ครเคยเทีย่ ว เมืองกาญจน์ได้ทั่วทุกที่ เพราะหากมานั่งนับสถานที่ท่องเที่ยวในแต่ละอำ�เภอแล้ว จะต้องตาลายกันเลยทีเดียว SBL ขอเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนอีกครั้ง แต่เจาะจงเลือกเฉพาะที่เที่ยวเด่นๆ โดยจัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ มาแนะนำ�ค่ะ 104
สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
โบราณสถานในเขตเมืองกาญจน์เก่า ตั้งอยู่ในเขตตำ�บล ลาดหญ้า อำ�เภอเมือง ในอดีตบริเวณนีเ้ คยเป็นเมืองหน้าด่าน คอย สกัดกั้นการเดินทัพของพม่าซึ่งยกเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ ปัจจุบันยังคงเหลือร่องรอยของแนวกำ�แพงดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีป้อมค่ายอยู่ทั้ง 4 มุม นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานที่สร้าง ขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งอยู่ใกล้เคียงกัน ได้แก่
วัดป่าเลไลยก์ เดิมมีพระพุทธรูปปางมารวิชยั ประดิษฐานอยู่ ภายในมณฑป แต่ถูกคนลักลอบเจาะอกพระจนทะลุ จึงได้เรียก กันว่า “วัดผ่าอก” ต่อมาชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างพระพุทธรูป ปางป่าเลไลยก์ขึ้นแทน วัดขุนแผน มีโบราณสถานสำ�คัญ ได้แก่ พระปรางค์ พระอุโบสถ เจดีย์ประจำ�ทิศ เจดีย์รายและวิหาร ปัจจุบนั มองเห็นได้เฉพาะพระปรางค์เท่านัน้ วัดแม่หม้าย โบราณ สถานแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ทิศเหนือมีเจดีย์ทรงกลมขนาด ใหญ่มีฐานประทักษิณ วิหารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า และทิศใต้มีวิหาร ขนาดกลาง เจดีย์ราย และกำ�แพงแก้วล้อมรอบ ทั้งสองกลุ่มมี สระล้างกระดูกอยู่ระหว่างกลาง นอกจากนี้ยังมีวัดนางพิม หรือ วัดกาญจนบุรีเก่า รวมอยู่ในบริเวณนั้นด้วย
KANCHANABURI 105
สะพานข้ามแม่น�้ำ แคว และทางรถไฟสายมรณะ สร้างขึ้น ในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เพือ่ ใช้เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ผา่ น ไปยังพม่า เป็นสะพานที่สร้างโดยเชลยศึกชาวอังกฤษ อเมริกัน ออสเตรเลีย ฮอลันดาและนิวซีแลนด์ ประมาณ 61,700 คน และกรรมการชาวจีน ญวน ชวา มลายู ไทย พม่า อินเดีย ซึ่ ง หลายหมื่ น ชี วิ ต ได้ สั ง เวยให้ กั บ การสร้ า ง จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า “ทางรถไฟสายมรณะ” จุ ด ที่ น่ า ส นใ จ บ น เ ส้ น ท า ง ร ถ ไ ฟ ส า ย ม ร ณ ะ นี้ คื อ ถ้ำ � กระแซ เป็ น ถ้ำ � ขนาดเล็ ก ๆ ติ ด กั บ เส้ น ทางรถไฟสาย กาญจนบุ รี – น้ำ � ตก ซึ่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วสามารถเข้ าไปสั ก การะ ขอพรหลวงพ่ อ ถ้ำ � กระแซ ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ ที่ ชาวบ้ า นในเขตพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งให้ ค วามนั บ ถื อ รวมทั้ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ แ วะเวี ย นมาที่ นี่ ต่ า งก็ นิ ย มที่ จ ะสั ก การะกั น ใกล้กนั มี สะพานถ้�ำ กระแซ หรือทีเ่ รียกว่า “โค้งมรณะ” ซึง่ อยูไ่ ม่ ไกลจากถ้�ำ กระแซและสถานีรถไฟถ้�ำ กระแซมากนัก เป็นสะพาน ไม้เลียบหน้าผาที่มีความยาวกว่า 450 เมตร ซึ่งเป็นจุดที่สร้าง ยากและยังเชือ่ กันว่าจุดนีเ้ ป็นจุดทีอ่ นั ตรายทีส่ ดุ ของเส้นทางรถไฟ อีกทัง้ ในอดีตเชือ่ กันว่าเคยเป็นทีพ่ กั ของเชลยศึกเมือ่ ครัง้ สร้างเส้น
106
ทางรถไฟสายมรณะจากไทยไปพม่า ปัจจุบันทางรถไฟสายนี้สุดปลายทางที่บ้านท่าเสาหรือสถานี น้�ำ ตก ระยะทางจากสถานีกาญจนบุรีถึงสถานีน�้ำ ตกประมาณ 77 กิโลเมตร การรถไฟแห่งประเทศไทยเปิดบริการเดินรถบนเส้นทาง สายนี้ทุกวัน และจัดรถไฟขบวนพิเศษสายกรุงเทพฯ-น้ำ�ตกทุกวัน
เสาร์-อาทิตย์และวันหยุดราชการ วัดวังก์วเิ วการาม (อ.สังขละบุร)ี เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว Unseen Thailand หรือเป็นที่รู้จักในชื่อว่า “วัดใต้น�้ำ ” เดิมเป็นเพียงสำ�นักสงฆ์ ที่สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2498 ด้วยพลังความศรัทธาต่อหลวงพ่ออุตตมะ จุดที่ตั้งของวัดนี้เรียกว่า สามประสบ เพราะมีแม่น้ำ�บิคลี่ ซองกาเลีย และรันตี ไหลมาบรรจบกันก่อนจะรวมเป็นแม่น้ำ�แควน้อย ในปี พ.ศ. 2505 ได้รบั อนุญาตจากกรมการศาสนาให้ใช้ชอื่ ว่า “วัดวังก์วเิ วการาม” (ตามชื่ออำ�เภอเดิม คืออำ�เภอวังกะ-สังขละบุรี) ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยได้ ก่อสร้างเขื่อนเขาแหลม หรือ เขื่อนวชิราลงกรณ์ ทำ�ให้น้ำ�ท่วมตัว อำ�เภอเก่า วัด และหมู่บ้านชาวมอญทั้งหมด ทางวัดจึงได้ย้ายมาอยู่ บนเนินเขาในที่ปัจจุบัน หลายคนจึงเรียกกันว่าเมืองบาดาล ซึ่งหาก มาเที่ยวในช่วงฤดูร้อน (มีนาคม – เมษายน) น้ำ�หลังเขื่อนจะลดลง มาก จะสามารถเดินเข้าไปเยี่ยมชมโบสถ์เก่าได้ แต่หากมาช่วงปลาย ฝนต้นหนาว อาจจะได้เห็นแค่บางส่วนของตัวโบสถ์ที่โผล่พ้นน้� ำ หรือ
เห็นเพียงยอดหอระฆังเดิมเท่านั้นที่สูงพ้นน้ำ� โบราณสถานดอนเจดีย์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นดอนเจดีย์ อำ�เภอพนมทวน โดยกรมศิลปากรทำ�การสำ�รวจเมือ่ ปี พ.ศ. 2525 ได้พบโครงกระดูก ในบริเวณนี้หลายร้อยโครง ตลอดจนดาบโบราณ กรามช้างและ เครื่องม้าเป็นจำ�นวนมาก และพบซากเจดีย์สมัยกรุงศรีอยุธยาอยู่ ด้วย จากหลักฐานที่ขุดพบทำ�ให้เชื่อว่าบริเวณนี้เคยเป็นสนามใน การทำ�ยุทธหัตถีสมัยกรุงศรีอยุธยา ระหว่างสมเด็จพระเนรศวรฯ และสมเด็จพระมหาอุปราชา กษัตริย์แห่งพม่า ที่ดอนเจดีย์แห่งนี้มีต้นข่อยขนาดใหญ่ ที่อยู่ห่างจากเจดีย์ ประมาณ 100 เมตร เชือ่ กันว่าเป็นต้นข่อยทีส่ �ำ คัญทางประวัตศิ าสตร์ ดังพระราชพงศาวดารกล่าวไว้ว่า...ครั้งเหลือบไป ฝ่ายทิศขวาของ พระหัตถ์ ก็เห็นช้างเศวตฉัตรหนึ่งยืนอยู่ ณ ฉายาข่อย มีเครื่อง สูงและทหารหน้าช้างมาก ก็เข้าพระทัยถนัดว่า ช้างมหาอุปราชา พระเจ้าอยูห่ วั ทัง้ สอง ก็ขบั พระคชสารตรงเข้าไป ทหารหน้าข้าศึกก็ วางปืนจ่ารงคมณ ฑกนกสับตระเบงแก้ว ระดมยิงมิได้ตอ้ งพระองค์
และคชสาร สมเด็จพระนเรศวรเป็นเจ้า ตรัสร้องเรียกด้วย พระสุ ร เสี ย งอั น ดั ง ว่ า “พระเจ้ า พี่ เ ราจะยื น อยู่ ใ นร่ ม เล่ า เชิญออกมาทำ�ยุทธหัตถีดว้ ยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มกี ษัตริยท์ จี่ ะได้ยทุ ธหัตถีแล้ว” พระมหาอุปราชาได้ ฟังดังนัน้ แล้วอายพระทัย มีขตั ติยราชมานะ ก็ปา้ ยคชสารออกรบ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับวันวลิต ได้กล่าว ไว้วา่ ในการกระทำ�ยุตถหัตถี ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กับพระมหาอุปราชา ได้กระทำ�ใกล้กับวัดร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งจะตรง กับสภาพพืน้ ทีเ่ จดียย์ ทุ ธหัตถี บ้านดอนเจดียแ์ ห่งนี้ ยังมีวดั ร้างอยู่ ทางทิศใต้ของเจดียร์ ะยะทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ปัจจุบนั คือวัด บ้านน้อย และยังมีเจดียแ์ ละโบสถ์เก่าแก่ให้เห็นตราบเท่าทุกวันนี้ จากหลักฐานต่าง ๆ น่าจะเป็นที่ยืนยันได้ว่า เจดีย์ยุทธหัตถี บ้านดอนเจดีย์ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี เป็นเจดีย์องค์ที่สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงสร้างขึน้ หลังจากทีพ่ ระองค์ทรงกระทำ� ยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระมหาอุปราชา เมื่อพ.ศ. 2315 KANCHANABURI 107
สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
เขาช้างเผือก เป็นยอดเขาที่สูงที่สุดของอุทยานแห่งชาติ ทองผาภูมิ มีความสูงประมาณ 1,249 เมตร จากระดับน้ำ�ทะเล ปานกลาง เป็นเส้นทางเดินป่าที่สวยงาม มีระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร เส้นทางเดินเขามีลักษณะเป็นป่าโปร่งสลับกับทุ่งหญ้า มีจดุ ไฮไลท์ของการเดินทางอยูท่ ี่ “สันคมมีด” สันเขาทีส่ วยงามและ น่าหวาดเสียวทีส่ ดุ แต่เมือ่ ขึน้ ไปถึงบนยอดเขาจะสามารถมองเห็น วิวได้รอบทิศทาง เส้นทางพิชิตยอดเขาช้างเผือก เหมาะสำ�หรับ นักท่องเที่ยวที่นิยมการผจญภัย และมีร่างกายที่แข็งแรง โดยจะ ใช้เวลาเดินเท้าจากหมูบ่ า้ นอีตอ่ งประมาณ 6 ชัว่ โมง และต้องพัก ค้างคืนแบบกางเต้นท์บนยอดเขา ซึ่งในแต่ละปีทางอุทยานแห่ง ชาติทองผาภูมิ จะประกาศเปิดให้นักท่องเที่ยวขึ้นเขาช้างเผือก ซึ่งผู้ที่ขึ้นเขาต้องจองล่วงหน้า 7 วัน และส่งรายชื่อ สกุล เลขที่ บัตรประชาชน พร้อมทีอ่ ยูม่ าให้กอ่ นล่วงหน้า และให้นกั ท่องเทีย่ ว ขึน้ ได้จ�ำ กัดจำ�นวน วันละ 60 คน เท่านัน้ สามารถสอบถามข้อมูล ได้ที่อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ โทร.0-3451-0979,08-13820359 หรืออีเมล์ thongphaphumoffice@gmail.com
น้ำ�ตกผาสวรรค์ ตั้งอยู่ในบริเวณอุทยานแห่งชาติกุยบุรี (อ.ทองผาภูมิ) เป็นน้ำ�ตกที่มีขนาดใหญ่ ไหลลดหลั่นกันถึง 7 ชั้น และยังคงความสมบูรณ์ของธรรมชาติอยู่มาก โดยเฉพาะชั้น ที่สูงที่สุดซึ่งมีความสูงประมาณ 80 เมตร การเดินทางเข้าไป สู่ตัวน้ำ�ตกนั้นใช้เวลาประมาณ 40 นาทีในการเดินเท้าเข้าไป เนื่องจากที่ตั้งของน้ำ�ตกผาสวรรค์อยู่ในป่าลึก บริเวณน้ำ�ตกมีสิ่ง อำ�นวยความสะดวกอีกมากมาย ทั้งที่พัก หรือสถานที่กางเต็นท์ ศูนย์บริการนักท่องเทีย่ ว ห้องประชุมสัมมนา ห้องน้� ำ ร้านอาหาร เช่น ซุ้มการเวก และถนนทางเดินในอุทยานแห่งชาติกุยบุรีก็มี 108
ความสะดวกเช่นกัน น้�ำ พุรอ้ นหินดาด ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกุยมัง่ ตำ�บลหินดาด อ.ทองผาภูมิ เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง ปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวนิยมแวะ มาแช่น�้ำ ที่นี่กันเป็นจำ�นวนมาก เพราะเชื่อกันว่าการอาบน้ำ�แร่แช่ น้ำ�พุร้อน มีประโยชน์ต่อร่างกาย เพราะมีสรรพคุณในการรักษา และบรรเทาอาการของโรคต่างๆ ได้ เช่น บรรเทาอาการปวด กระดูก ปวดกล้ามเนื้อ เหน็บชา ไขข้อ ช่วยให้เลือดหมุนเวียน ได้สะดวก ขยายหลอดเลือดทำ�ให้ระบบเผาผลาญในร่างกายดีขึ้น ช่วยขยายรูขมุ ขน ช่วยให้ขบั สิง่ อุดตันใต้ผวิ หนัง ทำ�ให้ผวิ พรรณดูสดใส ช่วยผ่อนคลายทั้งร่างกาย และจิตใจ ทำ�ให้รู้สึกกระชุ่มกระชวย เป็นการลดความเครียดได้อย่างหนึ่ง อีกทั้งบริเวณริมบ่อน้ำ�พุร้อน รายล้อมด้วยธรรมชาติ และมีลำ�ธารน้ำ�เย็นซึ่งเป็นน้ำ�ที่ไหลลงมา จากน้ำ�ตกผาตาดที่อยู่ใกล้กันให้ลงเล่นน้ำ�ได้
อุทยานแห่งชาติลำ�คลองงู (อ.ทองผาภูมิ) เป็นอุทยานฯ ทีเ่ หมาะสำ�หรับนักผจญภัยและนิยมไพรมาก เพราะภายในพืน้ ทีไ่ ม่ เพียงจะได้สัมผัสกับความหลากหลายทางด้านพรรณพืชและสัตว์ ป่าจำ�นวนมากเท่านั้น แต่ยังมี ถ้ำ�เสาหิน ซึ่งมีเสาหินธรรมชาติ ที่สูงที่สุดในโลกให้ชม ซึ่งที่นี่จะต้องว่ายน้ำ�เข้าไประยะทาง 700 เมตร โดยเจ้าหน้าที่จะเตรียมเสื้อชูชีพให้ เพราะภายในถ้ำ�เสาหิน จะมีธารน้ำ�จากลำ�ห้วยคลองงูไหลตลอดทั้งปี เมื่อว่ายน้ำ�จนมาถึง บริเวณกลางถ้� ำ จะได้พบกับความงามและยิ่งใหญ่ของเสาหินปูน ขนาดใหญ่ สูงประมาณ 61 เมตร โดยเสาหินนีส้ �ำ รวจโดยนายเคฟ แมน นักสำ�รวจถ้�ำ ทีม่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ ในโลก และยังมีหนิ งอกหินย้อย หินลายไม้ทสี่ วยงามน่าตืน่ ตาตืน่ ใจให้ชมอีกด้วย แต่ถ�้ำ เสาหินนัน้ มี ข้อจำ�กัดคือเที่ยวได้เฉพาะฤดูร้อนเท่านั้น แต่ถ้าจะมาเที่ยวในฤดูอื่นคือฝนหรือหนาว ต้องไปผจญภัย กั น ที่ ถ้ำ � นกนางแอ่ น อยู่ ห่ า งจากหน่ ว ยพิ ทั ก ษ์ อุ ท ยานฯเขา พระอินทร์ ประมาณ 4 กิโลเมตร ที่นี่เป็นถ้ำ�ขนาดใหญ่ที่มี ลำ�ธารน้�ำ จากลำ�ห้วยคลองงูไหลผ่านตลอดทัง้ ปีเหมือนทีถ่ �้ำ เสาหิน แต่ จ ะมี กิ จ กรรมทั้ ง การเดิ น ล่ อ งแพ ว่ า ยน้ำ � และปี น เชื อ ก เพื่อขึ้นไปชมความงามภายในถ้ำ� ซึ่งมีหินงอกหินย้อยที่เต็มไปด้วย ผลึกแคลไซต์แวววาวสวยงาม หินคล้ายถ้วยเวิล์ดคัพขนาดใหญ่ และหินปูนที่แผ่กว้างคล้ายกับม่านของน้ำ�ตกสวยงาม เรียกว่าได้
ถูกใจนักผจญภัยตัวจริง น้ำ�ตกเกริงกระเวีย ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ของอุทยานแห่งชาติ เขาแหลม (อ.สังขละบุร)ี เป็นน้�ำ ตกขนาดเล็กทีเ่ กิดจากลำ�ห้วยเกริงก ระเวียไหลผ่านลดหลัน่ กันมาตามหินปูน จนเกิดเป็นน้�ำ ตกในอ้อมกอด ของธรรมชาติทสี่ วยงามร่มรืน่ เหมาะแก่การเล่นน้�ำ และแวะพักผ่อน
หย่อนใจระหว่างเดินทางเป็นอย่างยิ่ง อุทยานแห่งชาติเอราวัณ เป็นอุทยานฯที่ได้รับรางวัล ยอดเยี่ยม ประเภทแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ภาคกลาง จาก การประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ครั้งที่ 6 ประจำ�ปี 2549 เนื่องมีการบริการเทียบเท่าระดับสากล ไม่ว่าจะเป็นรถ กอล์ฟสำ�หรับผู้สูงอายุและคนพิการที่ประสงค์จะเข้าชมน้ำ�ตก ซึ่งอยู่ห่างจากที่จอดรถถึงน้�ำ ตกชั้นแรกประมาณ 700 เมตร เดิมทีมีชื่อว่า อุทยานแห่งชาติเขาสลอบ ต่อมาเปลี่ยนชื่อ เป็นอุทยานแห่งชาติเอราวัณเนื่องจากชัน้ สูงสุดของน้ำ�ตกเป็น ธรรมชาติทมี่ ลี กั ษณะคล้ายหัวช้างเอราวัณ มีแหล่งท่องเทีย่ วที่ น่าสนใจ คือน้�ำ ตกเอราวัณ เป็นน้�ำ ตกที่ใหญ่และสวยงามบน ฝัง่ แม่น�้ำ แควใหญ่ ต้นน้�ำ เกิดจากลำ�ห้วยม่องไล่ไหลผ่านลงจาก ยอดเขาและผาสูง 2,100 เมตร น้ำ�ตกเอราวัณมีความยาว 1,500 เมตร แบ่งเป็น 7 ชั้น แต่ละชั้นมีลักษณะเป็นอ่าง สามารถเล่นน้ำ�ได้ และยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติเอราวัณ ระยะทาง 1,060 เมตร ใช้เวลาประมาณ 30 นาที ผ่านป่าดิบเขา จุดชมวิวและป่าผลัดใบที่สวยงาม ในบริเวณอุทยานฯ มีบา้ นพักและสถานทีก่ างเต็นท์ส�ำ หรับ นักท่องเที่ยว สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรุงเทพฯ โทร. 0 2562 0760 วันจันทร์ - ศุกร์ ตั้งแต่เวลา 08.30-18.00 น. วันเสาร์ ตั้งแต่ เวลา 09.00-15.30 น. หรือเว็บไซต์ www.dnp.go.th หรือ ที่อุทยานแห่งชาติเอราวัณ หมู่ 4 ตำ�บลท่ากระดาน อำ�เภอ ศรีสวัสดิ์ กาญจนบุรี โทร. 0 3457 4222, 0 3457 4722, KANCHANABURI 109
0 3457 4234 อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ มีพื้นที่ครอบคลุมอยู่ ในท้องที่อำ�เภอไทรโยค อำ�เภอศรีสวัสดิ์ และอำ�เภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่ 953,500 ไร่ มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่า สนใจคือ ถ้ำ�สวรรค์ เป็นถ้ำ�ที่เพิ่งค้นพบใหม่ อยู่บริเวณหมู่บ้าน ต้นมะพร้าว ตำ�บลแม่กระมุง อำ�เภอศรีสวัสดิ์ ลักษณะถ้ำ�เป็น เหมือนอุโมงค์ธรรมชาติ ที่ผนังถ้ำ�จะมีภาพวาดของคนโบราณ ถ้�ำ เนรมิต เป็นถ้�ำ ขนาดใหญ่แบ่งเป็นหลายห้อง มีหนิ งอกหินย้อย รูปทรงต่างๆ แปลกตา และสวยงามมาก และยังมีถ�้ำ ใหญ่อกี 3 ถ้�ำ ได้แก่ ถ้ำ�น้ำ�มุด ถ้ำ�พระปรางค์และถ้ำ�พระโค ซึ่งการไปชม ถ้ำ � ควรติ ด ต่ อ ผู้ นำ � ชมหรื อ ติ ด ต่ อ เจ้ า หน้ า ที่ ข องทางอุ ท ยานฯ เขื่อนศรีนครินทร์ การเดินทางควรใช้รถกระบะหรือรถยนต์ ขับเคลื่อนสี่ล้อ น้ำ�ตกห้วยแม่ขมิ้น ตั้งอยู่ริมทะเลสาบเขื่อน ศรีนครินทร์ เป็นน้�ำ ตกทีม่ คี วามสวยงามแวดล้อมด้วยพันธุไ์ ม้ปา่ นานาชนิด น้ำ�ตกแบ่งออกเป็น 7 ชั้น แต่ละชั้นมีความสูงและ ความสวยงามต่างกันไป ทางอุทยานฯ ได้ท�ำ เส้นทางเดินสำ�หรับ ขึน้ ไปชมน้�ำ ตกแต่ละชัน้ และยังเป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ สามารถเที่ยวชมได้ตลอดทั้งปี ในบริ เ วณอุ ท ยานฯ มี บ้ า นพั ก และสถานที่ ก างเต็ น ท์ สำ�หรับนักท่องเที่ยว รวมทั้งร้านอาหารสวัสดิการ สอบถาม ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช กรุงเทพมหานคร โทร. 0 2562 0760 หรือ www.dnp.go.th
110
หรือที่ทำ�การอุทยานฯ โทร. 0 3451 6667-8 เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวร เป็นแหล่งมรดกโลกของ ประเทศไทย โดยการลงทะเบียนของยูเนสโก ระหว่างวันที่ 9-13 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ณ เมืองคาร์เทจ ประเทศตูนิเซีย กินพื้นที่ ครอบคลุม 6 อำ�เภอ ของ 3 จังหวัด ได้แก่ อำ�เภอบ้านไร่อำ�เภอ ลานสัก อำ�เภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี อำ�เภอสังขละบุรี อำ�เภอ ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี และอำ�เภออุม้ ผาง จังหวัดตาก มีพนื้ ที่ 2,279,500 ไร่ หรือ 3,647 ตารางกิโลเมตร ที่มาของชื่อเขตรักษา พันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวร มาจากเมือ่ ครัง้ ทีส่ มเด็จพระนเรศวรทรง ใช้เป็นฐานที่มั่นเพื่อเตรียมการรบกับพม่า ในปี 1590 และ 1605 จึงเป็นที่มาของชื่อที่เรียกกันว่า “ทุ่งใหญ่นเรศวร” ซึ่งหมายถึงทุ่ง หญ้าใหญ่ของสมเด็จพระนเรศวร เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร มีลักษณะทางภูประเทศ เป็นภูเขาสลับซับซ้อน และเป็นต้นกำ�เนิดของแม่น้ำ�ลำ�ธารที่สำ�คัญ เช่น แม่น�้ำ แควน้อยและแม่น�้ำ แควใหญ่ สภาพพื้นที่มีความสูงโดย เฉลี่ยอยู่ที่ 800 - 1,200 เมตรจากระดับน้�ำ ทะเล และมีเขาใหญ่ เป็นยอดเขาที่สูงที่สุด มีความสูง 1,800 เมตรจากระดับน้ำ�ทะเล สัตว์ป่าที่มักพบอยู่ในแถบเอเชียอาคเนย์ก็จะพบได้ในพื้นที่ป่าแห่งนี้ รวมทั้งสัตว์ป่าหายากและสัตว์ป่าสงวน เช่น เลียงผา ควายป่า กระซู่ สมเสร็จ นอกจากนัน้ ยังมีรอ่ งรอยและรายงานการพบเห็นอยู่ ตามแหล่งต่างๆ ส่วนสัตว์คุ้มครองอื่นๆ ที่พบได้แก่ ช้างป่า กระทิง วัวแดง กวาง เก้ง เสือชนิดต่างๆ หมี ค่าง บ่าง ชะนี ลิงลม ลิง ต่างๆ พญากระรอก ชะมด อีเห็นต่างๆ หมีขอ ลิ่น และสัตว์อื่นๆ อีกหลายชนิด รวมทั้งไก่ฟ้าหลังเทา ไก่ฟ้าพญาลอ เป็ดหงษ์ เป็ดก่า นกเงือกชนิดต่างๆ นกแก้ว นกพญาไฟ นกขุนทอง นกกระทาดง
นกหัวขวานต่างๆ เป็นต้น ก็พบมากในป่าแห่งนี้ อุทยานแห่งชาติถ้ำ�ธารลอด หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า อุทยาน แห่ ง ชาติ เ ฉลิ ม รั ต นโกสิ น ทร์ ตั้ ง อยู่ ใ นท้ อ งที่ อำ � เภอศรี ส วั ส ดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นอุทยานแห่งชาติที่มีเนื้อที่ไม่มาก แต่มี สภาพป่าอุดมสมบูรณ์ มีจุดเด่นและธรรมชาติที่สวยงาม เช่น น้ำ�ตก หน้าผา และถ้ำ�ธารลอด ที่นับว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ที่เกิด จากการยุบตัวของหินปูน มีเพดานเป็นรูปโดมขนาดใหญ่สวยงาม เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เด่นเป็นพิเศษ ประกอบกับการกัด เซาะของน้ำ�ทำ�ให้เขาหินปูนกลายเป็นสะพานธรรมชาติขนาด มหึมา และมีหลักฐานแสดงถึงด้านประวัติ-ศาสตร์เป็นทางเดิน ทัพของพม่าและกองทัพญี่ปุ่น บริ เ วณถ้ำ � ธารลอดมี ส ภาพป่ า ที่ ส มบู ร ณ์ เ ป็ น ที่ อ าศั ย ของ สัตว์ป่านานาชนิด เช่น นกเอี้ยงถ้ำ� ค้างคาวหน้ายักษ์ทศกรรณ จงโคร่ง งูทางมะพร้าวลายขีด ผึง้ หลวง และลำ�ธารทีไ่ หลลอดผ่าน ถ้ำ�มีปลาในกลุ่มปลาสร้อยเช่น ปลาซิว ปลาจาด ปลาซิวควาย แถบดำ� รวมไปถึงกุ้ง อาศัยอยู่อย่างชุกชุม ในบริเวณพื้นที่ส่วนที่ เปิดโล่งติดกับป่าจะพบนกกระแตแต้แว้ด นกกระปูดใหญ่ และกบ หนอง ส่วนในบริเวณพืน้ ทีท่ ใี่ กล้กบั หมูบ่ า้ นและพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม จะพบ กวางป่า เก้ง หมูปา่ นกปรอดหัวสีเขม่า นกอีเสือสีน�้ำ ตาล นกตะขาบทุ่ง กิ้งก่าหัวแดง ตุ๊กแกบ้าน คางคกบ้าน เป็นต้น KANCHANABURI 111
112
สถานที่ท่องเที่ยวอินเทรนด์
สะพานอุตตมานุสรณ์ (สะพานมอญ) จัดเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ทีม่ ชี อื่ เสียงแห่งหนึง่ ของจังหวัดกาญจนบุรี และเป็นสะพานไม้ทยี่ าว ที่สุดในประเทศไทย คือยาวประมาณ 850 เมตร อยู่ในตัวอำ�เภอ สังขละบุรี ตัวสะพานไม้เดิมสร้างขึน้ จากพลังแห่งศรัทธา โดยหลวง พ่ออุตตมะ เจ้าอาวาสวัดวังก์วเิ วการาม ดำ�ริให้สร้างขึน้ ในปี 25292530 เพือ่ ใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมาของชาวมอญและชาวไทยฝัง่ ตัวอำ�เภอสังขละบุรีที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ ทว่าเมือ่ กลางปี 2556 เกิดฝนตกหนักจนสะพานได้พงั ทลายขาด เป็น 2 ท่อน แต่ปจั จุบนั ได้รบั การสร้างใหม่โดยเหล่าทหารค่ายสุรสีห์ พระวัดวังก์วเิ วการาม ชาวบ้านสังขละบุรี และผูศ้ รัทธาจำ�นวนมาก ร่ ว มมื อ ร่ ว มใจกั น ซ่ อ มแซมสะพานไม้ จ นเสร็ จ เป็ น ที่ เ รี ย บร้ อ ย และเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2557 ทำ�ให้เมื่อ ปลายปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวเดินทางมาพักผ่อน ชมทะเลหมอก และถ่ายรูปกับบรรยากาศสายหมอกที่ปกคลุมทั่วสะพานมอญกัน อย่างล้นหลาม โดยเฉพาะในวันสิน้ ปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ยังมีการจัดงาน
KANCHANABURI 113
เคาท์ดาวน์ฉลองอย่างยิ่งใหญ่ด้วย ด่านน้ำ�พุร้อน ตั้งอยู่ ณ ตำ�บลบ้านเก่า อำ�เภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี เป็นด่านถาวรที่อยู่ตรงข้ามกับด่านทิกิ เมืองทวาย รัฐตะนาวศรี ในประเทศพม่า สภาพของด่านศุลกากรและด่าน ตรวจคนเข้าเมืองทางฝั่งไทย รัฐบาลไทยได้ประกาศให้เป็นด่าน ถาวรเมื่อกลางปี 2556 ในด้านของบรรยากาศการค้าขายใน บริเวณด่านชายแดนนัน้ ไม่คกึ คักมากนัก เนือ่ งจากเพิง่ เปิดเป็นจุด ผ่านแดนถาวรได้ไม่นาน แต่กเ็ ป็นอีกหนึง่ สถานทีซ่ งึ่ นักท่องเทีย่ ว สามารถเยี่ยมชม และจับจ่ายซื้อสินค้าต่างๆ ได้ และในอนาคต ด่านแห่งนี้จะเป็นประตูเชื่อมการค้าและความสัมพันธ์ระหว่าง
กลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขงได้ ด่านเจดียส์ ามองค์ ในอดีตเป็นเส้นทางเดินทัพของญีป่ นุ่ ใน สงครามโลกครัง้ ที่ 2 และของพม่าในครัง้ โบราณกาล แต่เดิมเรียก บริเวณนีว้ า่ “หินสามกอง” ปัจจุบนั กลายเป็นตลาดพรมแดนทีค่ กึ คัก เรียกว่า “ตลาดพญาตองซู” มีสนิ ค้าจำ�พวกเครือ่ งประดับตกแต่ง ทำ�จากไม้แกะสลัก ผ้าทอ ไม้สนเนื้อแดง และเฟอร์นิเจอร์ รวม ถึงบรรดาของป่าต่าง ๆ แต่การซือ้ ดอกไม้ปา่ นัน้ เป็นสิง่ ทีต่ อ้ งห้าม 114
เนื่องจากผิดกฎหมาย วัดลำ�ปากแข้ง (อ.ศรี ส วั ส ดิ์ ) เป็ น วั ด ที่ มี โ บสถ์ ส แตนเลส แห่งเดียวในโลก วัดนี้เป็นวัดเก่าแก่สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2484 อยู่ด้านเหนือเขื่อนศรีนครินทร์ ต่อมาพระครูพิพัฒน์กาญจนาคม (พระอาจารย์อาคม) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้ท�ำ การบูรณปฏิสงั ขรณ์ ถาวรวัตถุอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ และจัดสร้างโบสถ์สแตนเลส ขึ้นเป็นแห่งแรกของเมืองไทย เพื่อให้เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม ทางศาสนาได้ ตัวโบสถ์แม้จะสร้างจากสแตนเลส แต่มลี วดลายไทยวิจติ รงดงาม โดยเฉพาะบริเวณซุ้มประตูโบสถ์และหน้าต่าง ยามต้องแสงแดดจะ ส่องประกายระยิบระยับ เมือ่ เข้าไปภายในจะมีอากาศโปร่งเย็นสบาย เพราะใส่ฉนวนกันความร้อนไว้ โบสถ์นี้สร้างขึ้นจากแรงศรัทธาของ ชาวบ้านทีช่ ว่ ยกันบริจาคทรัพย์ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา นับเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ใน อ.ศรีสวัสดิ์ ด้วยเหตุที่วัด ตั้งอยู่บนเกาะกลางน้ำ�ของเขื่อนศรีนครินทร์ การไปชมจึงต้องนั่ง เ รื อ ห า ง ย า ว จ า ก ห มู่ บ้ า น ท่ า ก ร ะ ด า น ไ ป เ ขื่ อ น ซึ่ ง จ ะ
กิ น เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 3 - 4 ชั่ วโ ม ง ห รื อ จ ะ นั่ ง ส ปี ด โ บ๊ ต ก็ จ ะ ใ ช้ เ ว ล า ป ร ะ ม า ณ 1 ชั่ ว โ ม ง เ ท่ า นั้ น พร้อมมิตร ฟิล์ม สตูดิโอ สำ�หรับผู้ที่ชื่นชอบและประทับ ใจกั บ ฉากอั น ยิ่ งใหญ่ อ ลั ง การและย้ อ นยุ ค ของภาพยนตร์ เรื่องตำ�นานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ต้องไม่พลาดไปที่ “พร้อมมิตร ฟิลม์ สตูดโิ อ” สถานทีถ่ า่ ยทำ�ภาพยนตร์ซงึ่ ตัง้ อยูใ่ น เขตพื้นที่ของกรมทหารราบที่ 19 ค่ายสุรสีห์ จังหวัดกาญจนบุรี ทีน่ นี่ กั ท่องเทีย่ วสามารถชมสถานทีจ่ �ำ ลองต่างๆ ทีม่ คี วามงดงาม ตระการตา เช่น วัดมหาเถรคันฉ่อง ห้องเก็บพระแสงปืนต้น อาณาจักรหงสาวดี สีหสาสนบัลลังก์ พระทีน่ งั่ สรรเพชรปราสาท ท้องพระโรงหงสาวดี เป็นต้น นอกจากสถานที่ต่างๆ แล้วยัง มีการบรรยายถึงภูมิหลังในการถ่ายทำ�ภาพยนตร์เรื่องตำ�นาน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และยังมีกิจกรรมอื่นๆ ให้ร่วม สนุก เช่น การแต่งกายชุดประวัติศาสตร์ ขี่ม้า ขี่ช้าง นั่งเกวียน และยังมีจุดจำ�หน่ายของที่ระลึกสำ�หรับนักท่องเที่ยวอีกด้วย
พร้อมมิตร ฟิลม์ สตูดโิ อ เปิดให้เข้าชมทุกวันตัง้ แต่เวลา 9.00 น ถึง 17.00 น ค่าเข้าชมสำ�หรับผู้ใหญ่ชาวไทยอยู่ที่ 100 บาท เด็กอายุไม่เกิน 12 ปี 50 บาท ชาวต่างชาติ 200 บาท แต่หาก เข้าชมพร้อมกันเป็นหมู่คณะจะได้ส่วนลด 10% ใช้เวลาในการ เข้าชมประมาณ 1 ชั่วโมง 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง ขอขอบคุณข้อมูลจาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย KANCHANABURI 115
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด เปิดโชว์รูม Honda สุดหรู บริหารงานโดย
คุณสรวุฒิ รื่นพานิช ทายาทคนเล็ก ตระกูล รื่นพานิช ต่อยอดความสำ�เร็จที่ จ.กาญจนบุรี เมื่อ 8 ปี ที่แล้วตระกูล รื่นพานิช ได้เข้าสู่วงการรถยนต์ เป็นครั้งแรก ได้ทุ่มเงินลงทุนกว่า 200 ล้านบาท เพื่อสร้างโชว์รูมและ ศูนย์บริการ HONDA ที่ครบวงจร และทันสมัย ณ ถนนพุทธมณฑลสาย4 ภายใต้พื้นที่ กว่า 13 ไร่ ในชื่อ บริษัท พุทธมนต์สาย4 ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด โดย บริษัทฯได้เติบโตอย่างรวดเร็วจนกลายเป็นโชว์รูม ยอดนิยม มียอดขายติด TOP 10 ของประเทศภายในระยะเวลา เพียง 5 ปี จากผลการดำ�เนินงานที่ยอดเยี่ยม ทำ�ให้ทาง HONDA เชื่อมั่นในศักยภาพของเรา จึงแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนจำ�หน่ายรถยนต์ HONDA อย่างเป็นทางการใน จ.กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2553 โชว์รูม HONDA สุดหรู ใหญ่ และทันสมัยที่สุดใน เมืองกาญจน์ ภายใต้ชื่อ บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด มีพื้นที่กว่า 10 ไร่ เงินลงทุนกว่า 200 ล้านบาท โชว์รูมจอดรถได้ 12 คัน ศูนย์บริการ 20 ช่องซ่อม รองรับรถซ่อมได้ 80 คัน/วัน ศูนย์ซ่อมตัวถังและสี (Body&Paint) 30 ช่องซ่อม สามารถซ่อมรถได้ 400 คัน/เดือน เริ่มเปิดดำ�เนินการและได้รับกระแสตอบรับอย่างล้นหลาม จากคนเมืองกาญจน์ ทั้งลูกค้าเข้ามาซื้อรถ ใช้บริการเปลี่ยนถ่ายน้ำ�มันเครื่อง อะไหล่ ยางรถยนต์ และยังมาใช้บริการศูนย์ซอ่ มตัวถังและสี (Body&Paint) ซึง่ เรารับซ่อมรถทุกยีห่ อ้ นอกจากนีเ้ รายังให้บริการพ่นกันสนิม เคลือบสี และศูนย์เคลือบแก้วซึ่งได้มาตรฐานในระดับสูง และทางบริษัทฯ ยังขยายสาขาเพิ่มอีกหนึ่งแห่งภายใต้ชื่อ บริษัทมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด ตั้งอยู่ที่ ต.ท่าไม้ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี ภายใต้พื้นที่ 10 ไร่ ด้วยเงินลงทุนกว่า 80 ล้านบาท เป็นโชว์รูมแบบทันสมัย สามารถรองรับรถซ่อมได้ 40คัน/วัน เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าHONDA ใน จ.กาญจนบุรี
THE NEW HONDA HR-V “ผมเชื่อว่าถ้าเราตั้งใจจะทำ�อะไร จงทำ�มันให้เต็มที่ และดีที่สุด สุดท้ายแล้วผลลัพธ์มันก็จะ ออกมาดีตามที่เราตั้งใจ” “ผมยินดีที่ได้รับโอกาสมา ทำ�งานที่ จ.กาญจนบุรี แม้ผม จะไม่ได้เติบโตที่นี่ แต่ผมก็รู้สึก ว่าที่นี่เป็นบ้านของผม” หากลูกค้าท่านไหน สนใจเกี่ยว กับรถ HONDA โทรมาคุย ได้ครับ 099-1579900 ขอบคุณครับ
คุณสรวุฒิ รื่นพานิช กรรมการผู้จัดการ บริษทั เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด และ บริษทั เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด ตัวแทนจำ�หน่าย และบริการอย่างเป็นทางการ เปิดตัว “HONDA HR-V” ใหม่ สุดยอดยนตรกรรมแห่งการดีไซน์ และเทคโนโลยี ชี้นสูงสู่ตลาด กาญจนบุรี ซึง่ สวยสง่า สมภาพลักษณ์ รถ SPORT CROSSOVER ระดบั พรีเมียม การันตี ด้วยยอดขายอันดับ1 ทีญ ่ ปี่ นุ่ และมยี อดจอง มากว่า 10,000 คัน ในระยะเวลาเพียง 3 เดือน นับจากเปิดตัว ให้สาวก HONDA ได้ ยลโฉม และทดลองขับอย่างใกล้ชิด ณ บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด โทร. 034-513-123 และ บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด โทร.034-543-111
โชว์รูมกว้างขวางจอดรถได้ 12 คัน
พื้นที่แจ้งซ่อม ทันสมัยใน จ.กาญจนบุรี
ห้องพักรับรองโอ่โถง มีสิ่งอำ�นวยความสะดวกแบบครบครัน
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด
พนักงานซ่อมสี และตัวถัง
ศูนย์บริการเคลือบแก้วแบบครบวงจร
พื้นที่ซ่อมบำ�รุง
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด เลขที่ 8 ม.1 ถ.แสงชูโต ต.ท่าล้อ อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 71000 โทร.034513123 http://www.facebook.com/muangkanhonda บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด เลขที่ 11 ม.6 ต.ท่าไม้ อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี 71120 โทร.034543111 http://www.facebook.com/pages/honda-lukkae-family
การ์เด้นโฮม 2 (ปากแพรก)
ปลอดโปร่ง ร่มรื่น ใกล้ชิดธรรมชาติ
แบบบ้านทิวลิป ภาพและบรรยากาศจำ�ลอง
แบบบ้านทิวลิป แผนที่โครงการ
แตกต่างอย่างมี...ระดับ
แปลนพื้น
กับบ้านคุณภาพ มาตรฐานที่คุณวางใจ ใกล้ตัวเมือง ศูนย์ราชการ ห้างสรรพสินค้า เข้า-ออก สะดวก ใกล้ถนนบายพาส
โครงการ การ์เด้นโฮม 2 (ปากแพรก)
แบบบ้านไอริส ภาพและบรรยากาศจำ�ลอง
แบบบ้านไอริส
แปลนพื้นชั้น 1
แปลนพื้นชั้น 2
เชิญชมโครงการและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
081-291-7135, 081-829-4076, 081-567-5678
เส้นทางความเป็นมา
กาญจนบุรี...
อัญมณีล้ำ�ค่า ในหน้าประวัติศาสตร์ชาติไทย
120
กาญจนบุรี เป็นจังหวัดชายแดนทางภาคตะวัน ตกของไทย ทีม่ พี ฒ ั นาการด้านประวัตศิ าสตร์ ที่น่าสนใจทุกยุคทุกสมัย โดยสรุปดังนี้ พัฒนาการในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีการค้นพบหลักฐานของมนุษย์ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์จ�ำ นวน มาก โดยเฉพาะเครือ่ งมือในยุคหิน คือประมาณ 500,000 - 10,000 ปีก่อน ที่ถูกขุดพบอย่างบังเอิญโดย ดอกเตอร์ แวนฮิกเกอเรน นั ก มนุ ษ ยวิ ท ยาชาวฮอลั น ดา เชลยศึ ก ที่ ถู ก เกณฑ์ ม าสร้ า ง ทางรถไฟ โดยพบระหว่างการก่อสร้างบริเวณสถานีบ้านเก่า ต.จระเข้เผือก อ.เมือง ต่อมามีการขุดพบหลักฐานของมนุษย์สมัย หินกลาง เช่น เครื่องมือและภาชนะดินเผาแบบง่ายๆ และพบ หลักฐานในสมัยหินใหม่ ซึง่ ชุมชนเริม่ รูจ้ กั การเพาะปลูก เลีย้ งสัตว์ มีพิธีกรรมต่างๆ รู้จักทำ�ภาชนะดินเผา เครื่องประดับ และ เครือ่ งจักรสาน รวมถึงสมัยโลหะทีม่ หี ลักฐานจากการค้นพบเครือ่ ง มือสำ�ริดมากมายในบริเวณนี้
KANCHANABURI 121
พัฒนาการในสมัยทวารวดี
ในสมัยทวารวดี ซึ่งเป็นยุคประวัติศาสตร์ มีการพบซาก โบราณสถานและโบราณวัตถุ ที่ ต.ปรังเผล อ.สังขละบุรี (ปัจจุบนั เป็นพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน้�ำ เขือ่ นเขาแหลม) โดยเจดียท์ คี่ น้ พบมีลกั ษณะ เดียวกับจุลประโทณเจดีย์ จ.นครปฐม เจดีย์ ทีบ่ า้ นคูบวั จ.ราชบุรี และที่เมืองอู่ทอง จ.สุพรรณบุรี นอกจากนี้ ยังพบฐานเจดีย์และ พระพิมพ์สมัยทวารดีจ�ำ นวนมาก ทีบ่ า้ นท่าหวี ริมแม่น�้ำ แควใหญ่ ต.ลาดหญ้า อ.เมือง อีกด้วย แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ริมแม่น้ำ�หลาย แห่งเป็นทั้งเส้นทางคมนาคมที่สำ�คัญ และเป็นที่ตั้งชุมชนหรือ เมืองโบราณ ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั ชุมชนโบราณทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงกัน ด้วย
พัฒนาการในสมัยขอมเรืองอำ�นาจ
ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16-18 ขอมได้แผ่อิทธิพลเข้ามาใน ประเทศไทย ซึง่ พบหลักฐานสำ�คัญคือ การสร้างปราสาทเมืองสิงห์ เป็นศิลปะขอมสมัยบายน ซึง่ มีอายุในช่วงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในพุทธศตวรรษที่ 18 นอกจากนี้ยังพบหลักฐานที่เป็นศิลปะ ขอมสมัยเดียวกันที่เมืองครุฑ และเมืองกลอนโด อ.ไทรโยค ด้วย
พัฒนาการในสมัยสุโขทัย
ในสมัยสุโขทัย พบหลักฐานในพงศาวดารเหนือกล่าวว่า กาญจนบุรตี กเป็นเมืองขึน้ ของสุพรรณบุรี แต่ยงั ไม่มหี ลักฐานอืน่ ระบุแน่ชัด
พัฒนาการในสมัยอยุธยา
กาญจนบุรีมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านสำ�คัญคอยสกัดกั้นการเดิน ทัพของพม่าซึง่ ยกเข้ามาทางด่านเจดียส์ ามองค์ โดยตัวเมืองตัง้ อยู่ ทีบ่ า้ นท่าเสา ต.ลาดหญ้า ใกล้เขาชนไก่ ปัจจุบนั ยังคงเหลือร่องรอย ของแนวกำ�แพงดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีป้อมค่ายอยู่ทั้ง 4 มุม นอกจากนีย้ งั มีโบราณสถานทีส่ ร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาซึง่ อยู่ ใกล้เคียงกันหลายแห่ง และบทบาทที่สำ�คัญยิ่งของกาญจนบุรีในสมัยอยุธยาก็คือ ที่บ้านดอนเจดีย์ อำ�เภอพนมทวนในปัจจุบัน เคยเป็นสนาม ในการทำ�ยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระเนรศวรฯ และสมเด็จ พระมหาอุปราชา กษัตริย์แห่งพม่า จากการพบหลักฐานทาง โบราณคดีมากมาย อาทิ โครงกระดูกหลายร้อยโครง ดาบโบราณ กรามช้าง และเครื่องม้าเป็นจำ�นวนมาก และพบซากเจดีย์สมัย กรุงศรีอยุธยาอยู่ด้วย
พัฒนาการในสมัยธนบุรี-ต้นรัตนโกสินทร์
กาญจนบุรี ยังคงเป็นเมืองหน้าด่านสำ�คัญของแผ่นดินสยาม สืบเนือ่ งมาจนถึงสมัยกรุงธนบุรี และสมัยต้นรัตนโกสินทร์ โดยใน สมัยรัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองกาญจนบุรีมาตั้งใหม่ที่ บ้านปากแพรก เพื่อมาตั้งรับทัพพม่าที่เดินทัพลงมาตามลำ�น้ำ� แม่กลองหมายจะเข้าตีกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างกำ�แพงเมือง และป้อมปราการขึ้นเป็นการถาวร ณ เมืองกาญจนบุรีใหม่ ซึ่งตั้งอยู่ ณ ตำ�บลปากแพรก อันเป็นสถานที่บรรจบของแม่น้ำ� แควใหญ่และแม่น�้ำ แควน้อย ซึง่ มีความเหมาะสมทางยุทธศาสตร์ 104
และด้ า นการค้ า และได้ แ ยกกาญจนบุ รี อ อกจากสุ พ รรณบุ รี นับแต่นั้นเป็นต้นมา โดยมีพระราชประสงค์เพื่อติดต่อค้าขายกับ เมืองราชบุรี และทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชวรินทร์ เจ้ากรม พระตำ�รวจ เป็น “พระยาประสิทธิสงครามฯ” เจ้าเมืองกาญจนบุรี นอกจากนั้นยังตั้งหัวเมืองเล็กๆ ตามรายทางเพื่อให้เป็นหน้าด่าน อีกเจ็ดแห่งด้วย ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการจัดรูปแบบการปกครองประเทศ ใหม่ เป็นมณฑลเทศาภิบาล เมืองกาญจนบุรถี กู โอนมาขึน้ กับมณฑล ราชบุรี และแบ่งการปกครองเป็นสามอำ�เภอ คือ อ.เมือง อ.เหนือ (ปัจจุบันคือ อ.ท่าม่วง) และ อ.ใต้ (ปัจจุบัน คือ อ.พนมทวน) และ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2467 ได้ตั้งอำ�เภอเพิ่มอีกสองแห่ง คือ อ.ท่ามะกา และ อ.ทองผาภูมิ กับ กิ่ง อ.สังขละบุรี
พัฒนาการในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ญีป่ นุ่ ตัดสินใจสร้างทางรถไฟ จากสถานีหนองปลาดุก จ.ราชบุรี ผ่านกาญจนบุรี โดยสร้างเลาะริม แม่น้ำ�แควน้อยไปเชื่อมกับทางรถไฟที่สร้างมาจากพม่าที่ด่านเจดีย์ สามองค์ เส้นทางรถไฟสายนีม้ ชี อื่ เสียงโด่งดังไปทัว่ โลก ในฐานะของ “เส้นทางรถไฟสายมรณะ” เพราะต้องสังเวยด้วยชีวติ เชลยศึกและ กรรมกรรับจ้างหลากหลายเชือ้ ชาตินบั หมืน่ ๆ ชีวติ จนมีผเู้ ปรียบไว้ ว่าจำ�นวนผูเ้ สียชีวติ มีมากเท่ากับจำ�นวนหมอนรองรางรถไฟนัน่ เลยที เดียว ปัจจุบนั มีการยกย่องให้ “สะพานข้ามแม่น�้ำ แคว” ซึง่ เป็นส่วน หนึ่งของเส้นทางรถไฟสายมรณะนี้ เป็นสัญลักษณ์แห่งสันติภาพ เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจชาวโลกให้ตระหนักถึงภัยพิบัติของสงคราม
KANCHANABURI 123
เส้ น ทางพบ อดีตนายอำ�เภอเมือง
นายศรัอำท�เภอเมื ธาองกาญจนบุ คชพลายุ ก ต์ รี “สุสานสัมพันธมิตร พิพิธภัณฑ์บ้านเก่า เรื่องเล่าสงครามเก้าทัพ งามสรรพสวนศรีนครินทร์ แดนถิ่นประวัติศาสตร์ ชมธรรมชาติแม่น้ำ�แคว” คือคำ�ขวัญของอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ซึง่ มีทวี่ า่ การอำ�เภอตัง้ อยูท่ ี่ ถนนแสงชูโต ตำ�บลปากแพรก อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันมี นายศรัทธา คชพลายุกต์ เป็น นายอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี 124
ประวัติความเป็นมา
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช กษัตริยข์ องพม่า คือพระเจ้าปดุง ยกทัพเข้ามาตีไทย ทางด่านเจดีย์สามองค์ และทางด่านต่างๆ รวม 9 ทัพ จึงเรียกสงครามครัง้ นัน้ ว่า “ สงคราม 9 ทัพ ” เกิดการสูร้ บ ระหว่างไทยกับพม่า ณ ทุ่งลาดหญ้า (ปัจจุบันเป็นตำ�บล หนึ่งของอำ�เภอเมือง) ซึ่งเดิมทีเดียว ทุ่งลาดหญ้านี้เป็น เมืองกาญจนบุรมี าก่อน อยูร่ มิ แม่น�้ำ แควใหญ่ใกล้เขาชนไก่ เป็นเมืองที่เป็นทั้งสนามรบ และทางผ่านของกองทัพไทย และพม่า แต่ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรือ่ ยมาเกิดการสูร้ บบ่อย ครัง้ ราษฎรจึงอพยพมาอยูท่ ตี่ �ำ บลปากแพรก ซึง่ เป็นทีร่ วม ของแม่น้ำ� 2 สาย คือแม่น้ำ�แควน้อย กับแม่น้ำ�แควใหญ่ กลายเป็นแม่น้ำ�แม่กลอง ต่อมากลายเป็นชุมชนใหญ่ขึ้น มีการคมนาคมสะดวก พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงเห็ น ว่ า เป็ น ชั ย ภู มิ ที่ เ หมาะ จึ งโปรดฯ ให้ ตั้ ง เมื อ ง กาญจนบุรีขึ้นใหม่ ที่ตำ�บลปากแพรกฝั่งตะวันออกของ แม่ น้ำ � แม่ ก ลอง ต่ อ มา พ.ศ.2374 พระบาทสมเด็ จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 3 โปรดฯ ให้กอ่ สร้างป้อม และกำ�แพงเมืองขึ้นใหม่อย่างแข็งแรง (ตรงฝั่งตะวันออก ของแม่น้ำ�แม่กลองยังคงเหลือประตูเมือง และซากของ กำ�แพงเมืองให้เห็น) โดยมีพระราชประสงค์เพื่อติดต่อ ค้าขายกับเมืองราชบุรี
อำ � เภอเมื อ งกาญจนบุ รี จึ ง มี ค วามสำ � คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์และโบราณคดี และได้รับการยกฐานะเป็น อำ�เภอเมื่อปี พ.ศ.2460 ที่ว่าการอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี หลังเดิมตั้งอยู่ ถ.หลักเมือง ต.บ้านเหนือ ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2497 ได้ย้ายมาตั้งอยู่ ถ.แสงชูโต ต.ปากแพรก จนถึงปัจจุบัน
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี มีพื้นที่ 1,236.28 ตาราง กิโลเมตร แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น13 ตำ�บล 101 หมู่บ้าน ประชนส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก ได้แก่ ทำ�ไร่อ้อย มันสำ�ปะหลัง เลี้ยงสัตว์ ทำ�นา และอาชีพเสริม ได้แก่ การทำ�ผลิตภัณฑ์อาหารจากเห็ดโคน ทำ�ผลิตภัณฑ์และ เครื่องประดับจากนิล มีผลผลิตทางการเกษตรที่สำ�คัญ ได้แก่ มันสำ�ปะหลัง และอ้อย KANCHANABURI 125
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
จากจุดเด่นของอำ�เภอเมืองกาญจนบุรที มี่ แี ม่น�้ำ สำ�คัญไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำ�แควใหญ่ และแม่น้ำ�แควน้อย ซึ่งไหลมาบรรจบกันที่ ตำ�บลปากแพรก กลายเป็นแม่น�้ำ แม่กลองก่อนจะไหลสูอ่ �ำ เภอท่าม่วง จึงทำ�ให้เกิดการท่องเทีย่ วซึง่ เป็นทีน่ ยิ มคือ การนัง่ เรือชมทัศนียภาพ ของริมฝัง่ สองแคว ซึง่ มีทา่ เรือบริการ ณ บริเวณท่าเรือใต้สะพานข้าม แม่น้ำ�แคว และท่าเรือวัดไชยชุมพลที่อยู่บริเวณใกล้กัน นอกจากนี้ ในเขตอำ�เภอเมืองยังมีสถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ อาทิ สะพานข้ามแม่น�้ำ แคว อนุสรณ์สถานสำ�คัญในสมัยสงครามโลก ครั้งที่สอง ซึ่งถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์จากไทยไป สูพ่ ม่า ซึง่ เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ การสร้างเต็มไปด้วยความลำ�บาก โรคภัย และการขาดแคลนอาหาร ทำ�ให้เหล่าเชลยศึกหลายคนต้องเสียชีวติ ปัจจุบันทางรถไฟสายมรณะนี้ยังคงเปิดใช้อยู่ โดยมีขบวนรถไฟวิ่ง จากสถานีกาญจนบุรีถึงสถานีน้ำ�ตกทุกวัน สุสานทหารสัมพันธมิตรดอนรัก เป็นสถานที่บรรจุศพทหาร เชลยศึ ก สั ม พั น ธมิ ต รที่ เ สี ย ชี วิ ตในระหว่ า งการสร้ า งทางรถไฟ สายมรณะ ตั้งอยู่ริมถนนแสงชูโต บนทางหลวงหมายเลข 323 เยื้องสถานีรถไฟกาญจนบุรี สุสานสัมพันธมิตรช่องไก่ อยูห่ า่ งจากตัวอำ�เภอเพียง 2 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากริมฝั่งแม่น้ำ�แควน้อย ประมาณ 20 เมตร บริเวณนี้ เคยเป็นที่ตั้งค่ายของเชลยศึกขนาดใหญ่สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
126
ซึ่งเรียกว่า “ค่ายเชลยศึกช่องไก่” พิพิธภัณฑ์สงครามอักษะและเชลยศึก ตั้ง อยู่ใ นวั ดไชย ชุมพลชนะสงคราม (วัดใต้) ลักษณะ เป็นกระท่อมไม้ไผ่มุงด้วย แฝกและที่นอนยกสูงจากพื้นแคบๆ ทำ�จากไม้ไผ่ ซึ่งจำ�ลองจาก ที่อยู่ของเชลยศึกในอดีต ภายในจัดแสดงภาพถ่าย ภาพเขียน หนังสือพิมพ์ และบทความที่แสดงถึงความเป็นอยู่ของเชลยศึก รวมถึงเครื่องมือเครื่องใช้ และอาวุธต่างๆ ในสมัยสงครามด้วย พิพิธภัณฑ์ทางรถไฟไทย – พม่า ตั้งอยู่ตรงกันข้า มกับ สุสานทหารสัมพันธมิตรดอนรัก จัดการแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์การสร้างทางรถไฟสายมรณะ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า ตั้งอยู่ตำ�บลบ้า นเก่ า ห่างจากตัวเมืองประมาณ 35 กิโลเมตร เป็นสถานที่ขุดพบ หลักฐานทางโบราณคดีของมนุษย์สมัยหินยุคใหม่ ซึ่งเป็นการขุด พบหลักฐานยุคก่อนประวัติศาสตร์เป็นแห่งแรกในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2506 วัดถ้ำ�เขาปูน อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร บนทางหลวงหมายเลข 3228 บริเวณวัดเเห่งนี้เคยเป็นค่ายเชลย ศึกในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีถ�้ำ ขนาดกลางอยูใ่ นวัด สามารถ เดินทาง ไปได้ทั้งทางรถและทางเรือ
KANCHANABURI 127
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.เมือง)
โครงการวันพ่อแห่งชาติ
นายวิษณุ บุญญรัตน์ นายกเทศมนตรีต�ำ บลท่ามะขาม
เทศบาลตำ�บลท่ามะขามอำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 12 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายวิษณุ บุญญรัตน์ เป็นนายกเทศมนตรีตำ�บลท่า มะขาม
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลตำ�บลท่ามะขาม มีพื้นที่ทั้งหมด 26.25 ตร.กม. ประกอบด้วย 5 หมูบ่ า้ นพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ใช้ในด้านการเกษตรกรรม ประเภทพืชไร่และ การทำ�นาข้าว ซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวท่า มะขาม บริเวณริมสองฝั่งแม่น้ำ�แควใหญ่มีชุมชนอยู่อาศัยอย่าง หนาแน่น ส่วนพื้นที่เพื่อการพาณิชยกรรม จะตั้งอยู่เรียงราย บริเวณริมถนนแสงชูโต และถนนสายหลักภายในหมู่บ้าน
นโยบายการบริหาร เทศบาลท่ามะขาม
1.ด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานมุง่ เน้นการก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุงรักษา ซ่อมแซมถนน สะพาน ระบบระบายน้�ำ ระบบไฟฟ้าระบบประปา และจัดระบบชลประทานให้ทั่วถึง เท่าเทียมกันและสนับสนุนให้มีสวนสาธารณะ 2.ด้านการศึกษา วัฒนธรรม และประเพณีส่งเสริม และสนั บ สนุ น การศึ ก ษาในระดั บ ต่ า งๆ สนั บ สนุ น อุ ป กรณ์ การเรี ย นการสอนให้ มี คุณภาพและเพีย งพอ และสนับ สนุ น ทุนการศึกษาให้แก่เด็กนักเรียนเพื่อบรรเทาภาระของผู้ปกครอง พัฒนาศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กให้สมบูรณ์แบบ ส่งเสริมและสนับสนุน งานประเพณีตา่ งๆ อนุรกั ษ์ และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี ให้มีความยั่งยืนสืบไป 3.ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวส่งเสริมอาชีพ เพิ่ม รายได้ของครัวเรือน กลุ่มสตรี โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนการทำ�เกษตรกรรม ตามแนวทฤษฎีใหม่ของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ และเกษตรอินทรีย์ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ 128
เทศบาลตำ�บลท่ามะขาม และผลผลิตทางการเกษตรจัดทำ�โครงการของดีหนึ่งตำ�บลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ประสานงานกับการรถไฟแห่งประเทศไทยและการท่อง เที่ยวแห่งประเทศไทย ในการจัดทำ�การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และ ประสานงานกับสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ในการจัด ทำ�โครงการตลาดสดน่าซื้อ 4.ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมด้านการ รักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชน การรักษาความสะอาด และการจัดระบบการกำ�จัดขยะมูลฝอยอย่างถูกวิธีดูแลด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ และพลานามัยของประชาชนให้สมบูรณ์ แข็ง แรง ในทุกกลุ่มอายุอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม โดยเน้นการป้องกัน โรคมากกว่าการรักษา เน้นการให้บริการใกล้บ้านใกล้ใจป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ และโรคระบาดทุกชนิดส่งเสริม อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ดีอยู่แล้วให้คงอยู่ และส่วน ที่ไม่ดีต้องพัฒนาให้ดีขึ้น ส่งเสริมให้มีสวนส่งเสริมสุขภาพ เครื่อง ออกกำ�ลังกาย 5.ด้านการกีฬาและนันทนาการส่งเสริมและพัฒนาการ กีฬา กีฬาทางน้ำ� และนันทนาการแก่เด็ก เยาวชน ประชาชน และ ผู้สูงอายุ ปลูกฝังความมีน้ำ�ใจเป็นนักกีฬา ทำ�ให้เกิดความรัก ความ สามัคคีในชุมชนปรับปรุงสนามกีฬาเทศบาลตำ�บลท่ามะขามให้ได้ มาตรฐาน และมีอุปกรณ์ในการเล่นกีฬาอย่างเหมาะสมและเพียง พอจัดคอร์สติวโดยสถาบันที่มีชื่อเสียงให้กับเด็กนักเรียน ส่วนเด็ก ชอบกีฬาจะเปิดคอร์สฝึกสอนด้านกีฬาทุกสัปดาห์ และจะส่งเสริม ให้เด็กได้เรียนต่อในโรงเรียนที่เป็นต้นแบบของกีฬานั้นๆ และกีฬา ที่เด็กสนใจ 6.ด้านสังคม และสวัสดิการสังคมสงเคราะห์สง่ เสริมดูแล สวัสดิการให้กับประชาชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกกลุ่มอายุ เพื่อให้ ประชาชนมีความเข็มแข็ง มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และสามารถพึง่ ตนเอง ได้ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ จะได้รับเบี้ยยังชีพ ตามหลัก เกณฑ์นโยบายของรัฐบาลทุกคน และทั่วถึงป้องกันและปราบปราม
โครงการวันแม่แห่งชาติ
โครงการสืบสารประเพณีแห่เทียนพรรษา
ยาเสพติดส่งเสริม ปลูกฝังความรูร้ กั สามัคคี จัดระเบียบชุมชน รักษา ความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ การป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยตอบสนองนโยบายของรัฐบาล และให้ความ ร่วมมือกับส่วนราชการต่างๆ ตลอดจนการรณรงค์สร้างชุมชนให้ เข้มแข็ง และพึง่ ตนเองได้จดั ให้มกี ารอบรม ศึกษาดูงานนอกสถานที่ เพื่ อ เพิ่ ม พู น ความรู้ ค วามสามารถทางด้ า นอาชี พ และสร้ า ง ประสบการณ์แก่กลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรี ผู้น�ำ ชุมชน และการพัฒนา บุคลากรของพนักงานเทศบาล 7.ด้านการเมือง การบริหารบริหารงานด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ โดยยึดการบริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน ใน เขตรับผิดชอบของเทศบาลตำ�บลท่ามะขามสร้างขวัญและกำ�ลังใจ ให้กับข้าราชการ พนักงานประจำ� และพนักงานชั่วคราวพัฒนา และส่งเสริมในการนำ�เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ และเพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่ประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพประสานงานกับหน่วยงานต่างๆทัง้ ภาครัฐ และ เอกชนเพื่อเพิ่มกลยุทธ์ในการพัฒนาเทศบาลตำ�บลท่ามะขาม และ งบประมาณและจัดทำ�เว็บไซต์ของเทศบาลอย่างจริงจัง เพื่อให้ ประชาชนได้แนะนำ� หรือให้ข้อมูลกับเทศบาลในการพัฒนาบริหาร งานอย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการฝึกอบรมทบทวนเตรียมความพร้อม ให้กับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้เยาวชน
โครงการสายใยรักครอบครัวอบอุน่
โครงการวันเด็กแห่งชาติ
โครงการวันสิ่งแวดล้อมโลก
KANCHANABURI 129
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
นายพิสิษฐ์(ลิขิต) เขาถ้�ำ ทอง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองหญ้า
“โครงสร้างพื้นฐานครบครัน เศรษฐกิจ มั่นคง ประชาชนมีสุข การบริหารโปร่งใส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บล หนองหญ้า ซึง่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 บ้านช่องกระเหรีย่ ง ตำ�บลหนองหญ้า อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ห่างจากที่ว่าการ อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 16 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายพิสิษฐ์ เขาถ้ำ�ทอง ดำ�รงตำ�แหน่งนายกองค์การบริหาร
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองหญ้ามีพนื้ ทีท่ งั้ หมด ประมาณ 42.62 ตร.กม. หรือ 26,415 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร เช่น ทำ�ไร่ ทำ�นา ทำ�สวน เลี้ยงปลา และรับจ้าง จุดเด่นของ อบต.หนองหญ้า คือ มีการรวมกลุ่มอาชีพ มากมาย เช่น กลุ่มผลิตเก้าอี้ฮ่องเต้ ไม้เท้า แจกัน กรอบรูป ,กลุม่ ผลิตตะกร้าสาน กระเป๋า พัด กระเช้า ,กลุม่ ผลิตกล้วยหวาน กรอบ ,กลุ่มผลิตขนมเปี้ยะโบราณ ,กลุ่มสารพัดขนมทั้งไทย-ฝรั่ง ่มขนมไทยสู ตรโบราณ,กลุ ่มผลิตขนมทองม้วนสด – ทองม้วน ส่,กลุ วนตำ �บลหนองหญ้ า แห้ ง .กลุ่ ม ผลิ ต เครื่ อ งจั ก รสานไม้ - พลาสติ ก และกลุ่ ม นวด แผนไทย-ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพร ฯลฯ
แนวทางการพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองหญ้า มีความมุง่ หมายในการ พัฒนาท้องถิน่ ให้เกิดความเป็นรูปธรรมในด้านต่างๆ โดยปรับปรุง และพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อรองรับการขยายตัวของ
130
องค์การบริหารส่วนตำ�บล หนองหญ้า เมืองในอนาคตส่งเสริมอาชีพอละเศรษฐกิจให้มั่นคง ภายใต้หลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งพั ฒ นาระบบการศึ ก ษา และการ สาธารณสุข ประชาชนในพื้นที่ต้องได้รับการศึกษาที่ดี มีสุขภาพ อนามัยทีด่ ขี นึ้ ตลอดจนอนุรกั ษ์สบื สานศิลปวัฒนธรรมอันดีงามและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นพัฒนาระบบการบริหารการจัดการ ส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของประชาชนการบริหารงานโปร่งใส ยุติธรรม ชุมชน เข้มแข็งภายใต้หลักธรรมาภิบาล และสร้างจิตสำ�นึกประชาชนใน ท้องถิ่น ร่วมกันอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน มีกิจกรรมส่งเสริมการ ท่องเที่ยวและประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจและเพื่อประชาสัมพันธ์การท่อง เที่ยวให้เป็นที่รู้จักโดยทั่วกันองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองหญ้า ขอแนะนำ�สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญหลายแหล่ง ดังนี้ 1.วัดถ้ำ�เขาปูน ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านเขาปูน ภายในถ้ำ�มีพระพุทธ รูปปรางค์ต่าง ๆ อยู่ในลักษณะท่ายืนและนอน มีโขดหินที่สวยงาม นักท่องเทีย่ วสามารถเดินทางไปชมวัดถ้�ำ เขาปูนได้ทงั้ ทางบกและทาง น้ำ� โดยเฉพาะทางน้�ำ จะมีทัศนียภาพของแม่น้ำ�แควน้อยที่สวยงาม โดยทางวัดมีทา่ เทียบเรือและมีรา้ นค้าขายของฝากของทีร่ ะลึกให้แก่ นักท่องเที่ยว 2.สุสานสัมพันธมิตร (เขาช่องไก่)ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 บ้านเขาปูน เป็น สุสานที่บรรจุศพเชลยศึกสัมพันธมิตรในสงครามโลก ครั้งที่ 2 รวม 1,750 หลุม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นทหาร อังกฤษ บริเวณนี้เคยเป็นที่ตั้ง ของค่ายเชลยศึกขนาดใหญ่ 3.สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี (สวนหิน)ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านหนองหญ้า (วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีกาญจนบุรี) มี เนื้อที่ 600 ไร่ ประชาชนทั่วไปเรียกว่า “สวนหิน” หรือ “อุทยาน หิน” เพราะในบริเวณนั้นมีหินงอกเป็นรูปสัตว์นานาชนิดเรียงราย อย่างมีระเบียบกินพื้นที่กว่า200 ไร่ 4.โรงงานผลิตเครื่องดนตรีไทยตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านเขาปูนโดย นายสมชัย ชำ�พาลี ได้นำ�เอาประสบการณ์ที่ได้พบเห็นเครื่องดนตรี ไทยหลากหลายชนิดและหลากหลายลวดลาย มาประดิษฐ์เครื่อง ดนตรีไทยทีม่ ลี วดลายสวยงามและมีเสียงไพเราะจำ�หน่าย อีกทัง้ ยัง เคยประดิษฐ์เครื่องดนตรีไทยใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งสามารถเล่น บรรเลงได้จริง เป็นรายแรก และรายเดียวของประเทศ 5.วัดถ้ำ�พุหว้าธรรมกายารามตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งนาคราช เหมาะสำ�หรับผู้ที่จะเดินทางไปปฏิบัติธรรมเจริญศีลภาวนา บรรยากาศโดยรอบสะอาดร่มรื่น เงียบสงบโอบล้อมด้วยภูเขาและ ป่าไม้ ภายในถ้�ำ เต็มไปด้วยหินงอก หินย้อยที่สวยงาม 6.วัดเมตตาธรรมโพธิญาณตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งนาคาราช ตัววัดเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีน ซึ่งนักท่องเที่ยวนิยมมาสักการะ เจ้าแม่กวนอิมองค์ใหญ่แกะสลักจากไม้สูง 12 เมตร นอกจากนั้น ยังมีเจ้าแม่กวนอิมปางต่าง ๆ ที่เเกะสลักจากไม้หอมกว่า 100 ปาง และยังมีองค์ไท้ส่วยเอี้ยหลายปางให้กราบไหว้ ขอโชค แก้ปีชง สะเดาะเคราะห์ เสริมชะตาบารมี
วัดถ้ำ�เขาปูน
สุสานพันธมืตร
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
วัดถ้�ำ พุหว้าธรรมกายาราม
โรงงานผลิตเครื่องดนตรีไทย
KANCHANABURI 131
วัดเมตตาธรรม
ตะกร้าสาน
ขนมเปี๊ย
กล้วยหวานกรอบ
ขนมปังไส้
132
สนใจสอบถามข้อมูลกลุ่มอาชีพและสถานที่ท่องเที่ยว ติดต่อ อบต.หนองหญ้า ได้ที่เบอร์โทร. 0-3455-2006-7 http://www.nongya.com
เส้ นทางพบ องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
“ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟูประวัติศาสตร์ เกษตรกรเพื่ออาหารที่ ยั่งยืนสู่ประชาคมอาเซียน” คือวิสัยทัศน์ของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลช่องสะเดา ซึ่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 123 หมู่ที่ 6 ตำ�บลช่องสะเดา อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี อยูห่ า่ งจากตัวเมือง กาญจนบุรี ประมาณ 45 กิโลเมตร
ข้อมูลทั่วไป
สภาพพื้ น ที่ โ ดยทั่ วไปของอบต.ช่ อ งสะเดา เป็ น พื้ น ที่ ราบลุ่มมีแม่น้ำ�แควใหญ่ไหลผ่าน มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 231.17 ตร.กม. หรือประมาณ 144,481.25 ไร่ และมีหมูบ่ า้ น ทั้งสิ้นจำ�นวน 7 หมู่บ้าน มีประชากรประมาณ 3,670 คน และมีจ�ำ นวนครัวเรือนทัง้ หมด 1,622 ครัวเรือน อาชีพหลัก ของประชาชนคื อ เกษตรกรรม อาทิ ทำ �ไร่ อ้ อ ย ไร่ มั น สำ�ปะหลัง อีกทั้งยังทำ�สวน ทำ�นา,เลี้ยงสัตว์ รองลงมาคือ ประกอบอาชีพรับจ้าง โดยแหล่งท่องเทีย่ วในตำ�บลช่องสะเดา ประกอบด้วย อุทยานประวัติศาสตร์สงครามเก้าทัพ ,ถ้ำ� ตาด้วง และเขื่อนท่าทุ่งนา
ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ช่องสะเดา ธรรมมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาด้านจัดระเบียบชุมชนและสังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 6 การพั ฒ นาด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาด้านศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ปั จ จุ บั น อบต.ช่ อ งสะเดา อยู่ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารงานของ นางสาวปภัสร์ลภัส แดงกูล นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลช่อง สะเดา โดยพัฒนาตำ�บลช่องสะเดาภายใต้หลักการบริหารซึ่งเน้น การทำ�งานเป็นทีม ทั้งคณะผู้บริหาร สมาชิกสภา ส่วนราชการ กำ�นัน-ผู้ใหญ่บ้าน ร่วมกับประชาชนชาวตำ�บลช่องสะเดา ซึ่งทุก ท่านล้วนทำ�งานอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ มีความเสียสละเพื่อ ประโยชน์ส่วนรวม โดยยึดถือแนวทางการดำ�เนินงานด้วยความ ซือ่ สัตย์ สุจริต อันก่อให้เกิดประโยชน์สขุ ของประชาชนภายในตำ�บล ช่องสะเดา และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างเป็น รูปธรรม
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 1 การพั ฒ นาด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และการ ท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านศักยภาพของคนและ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 4 การพั ฒ นาด้ า นประสิ ท ธิ ภ าพทาง การเมือง การบริหาร และการพัฒนาด้านบุคลากรตามหลัก KANCHANABURI 133
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเก่า ต�ำบลบ้านเก่าเป็นต�ำบลหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีที่มีความ ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นอย่างยิ่ง เนือ่ งจากปรากฏหลักฐานว่าต�ำบลบ้านเก่า เป็นถิน่ อารยธรรม ของมนุ ษ ย์ ส มั ย หิ น ใหม่ โดยเชลยศึ ก ชาวฮอลั น ดา ในสมั ย สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้ค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ สมัยดังกล่าว ต�ำบลบ้านเก่าอยูใ่ นความดูแลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านเก่า ซึง่ มีทที่ ำ� การอยูห่ มู่ 1 ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี โดยตั้งอยู่ห่างจากอ�ำเภอเมืองไปทางทิศตะวันตก เฉียงใต้ ประมาณ 32 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายประสาน สงวนพันธ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเก่า ประวัติความเป็นมา ต�ำบลบ้านเก่า เดิมเป็นเพียงหมู่บ้าน ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ใน เขตต�ำบลจระเข้เผือก อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย ต่อมาได้แยกออก จากต�ำบลจระเข้เผือก จัดตั้งเป็นต�ำบลบ้านเก่า (ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย) เมือ่ ปี พ.ศ. 2516 โดยแบ่งการปกครองออก เป็น 7 หมู่บ้ าน ปัจจุบันต�ำบลบ้ านเก่ามีหมู่บ้ านอยู่ในเขต รับผิดชอบทั้งสิ้น 15 หมู่บ้าน และได้ยกฐานะจากสภาต�ำบลบ้าน เก่าขึ้นเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเก่า ตามประกาศของ ทางกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2539
134
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเก่า มีพนื้ ทีใ่ นความรับผิดชอบ ทั้งหมด 203.7 ตร.กม. หรือประมาณ 122,220 ไร่ ภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเชิงเขาสลับภูเขาสูง มีแม่น�้ำสายส�ำคัญไหล ผ่านคือแม่น�้ำแควน้อย ซึง่ เปรียบเสมือนเป็นเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อ เลี้ยงภาคเกษตรกรรม (เพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์) ตลอดจนยังคง มีสภาพป่าไม้ทคี่ อ่ นข้างอุดมสมบูรณ์ และยังคงได้เห็นป่าบางชนิด อยู่บ้าง เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่หน่วยงานทหารคอยควบคุมดูแลอยู่ โดยเฉพาะหมูบ่ า้ นทีอ่ ยูต่ ดิ ชายแดนกับประเทศสหภาพเมียนมาร์ คือบ้านห้วยน�้ำขาว หมู่ที่ 2 , บ้านตะเคียนงาม หมู่ที่ 10 , บ้าน พุน�้ำร้อน หมู่ที่ 12 และบ้านใหม่ห้วยน�ำ้ ขาว หมู่ที่ 15 ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรม โดยแยกเป็นอาชีพท�ำไร่ (อ้อย, มันส�ำปะหลัง, ข้าวโพด ,ผักสวน ครัว และผลไม้) ร้อยละ 83 อาชีพเลีย้ งสัตว์ ร้อยละ 10 (ได้แก่ โค, ไก่, เป็ด, หมู และปลาน�้ำจืดชนิดต่าง ๆ) และภาคบริการ และรับจ้าง ร้อยละ 7 สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเก่า มีแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ที่ ช าวกาญจนบุ รี แ ละจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย งรู ้ จั ก เป็ น อย่ า งดี ก็ คื อ “พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติบ้านเก่า” ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้านท่าโป๊ะ
วัดบ้านพุน้ำ�ร้อนรัตนคีรี
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่า
ที่ทำ�การจุดผ่านแดนถาวรบ้านพุน้ำ�ร้อน
กิจกรรมจักรยานสานสัมพันธ์
ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี (บริเวณ ทางหลวง หมายเลข 3229) ภายในพิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติบา้ นเก่านี้ เป็นสถานทีจ่ ดั เก็บ รวบรวมหลักฐานทางโบราณคดี อาทิ เครื่องมือเครื่องใช้ของ มนุษย์สมัยโบราณ มีการจัดการวางรูปแบบให้นักท่องเที่ยวทั้งคน ไทยและคนต่ า งชาติ ไ ด้ ช มอย่ า งเป็ น สั ด ส่ ว น และสวยงาม มีเจ้าหน้าที่คอยให้ความรู้ ค�ำแนะน�ำ และตอบข้อซักถามให้แก่ นักท่องเที่ยว เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงด้านข้อมูลแก่ผู้สนใจที่ อยากรู้ จึงถือว่าพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติบ้านเก่า เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่น่าเที่ยวชมแห่งหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี กิจกรรมส�ำคัญของ อบต.บ้านเก่า มอบผ้าห่มกันหนาว ประจ�ำปี 2558 อบต.บ้านเก่า น�ำโดยนาย ประสาน สงวนพันธ์ นายกอบต.บ้านเก่า พร้อมด้วยก�ำนัน, ผูใ้ หญ่ บ้าน สมาชิกสภาอบต.บ้านเก่า ร่วมกับอบจ.กาญจนบุร ี โดยท่าน นพดล สงวนพันธ์ รองนายกอบจ.กาญจนบุร ี พร้อมเจ้าหน้าทีอ่ บจ. กาญจนบุร ี ได้มอบผ้าห่มกันหนาว ประจ�ำปี 2558 เพือ่ ช่วยเหลือ และบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนให้กับผู้ประสบปัญหาภัยหนาว ชาวต�ำบลบ้านเก่า ทีย่ งั ขาดแคลนเครือ่ งกันหนาว และอยูใ่ นภาวะ ยากล�ำบาก โดยเฉพาะผูด้ อ้ ยโอกาส เด็ก สตรีคนพิการ ผูส้ งู อายุ และครอบครัวยากจน ในวันศุกร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2558 ณ บริเวณหน้าที่ท�ำการอบต.บ้านเก่าต�ำบลบ้านเก่าอ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และยังมีโครงการเดินวิง่ ปัน่ จักรยานสานสัมพันธ์ ไทย-พม่า จะจัดขึน้ ทุกปีประมาณเดือนมิถนุ ายน และวันที่ 13
มิถนุ ายน เป็นวันเปิดด่านพุนำ�้ ร้อน-ทวาย วันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2558 นายประสาน สงวนพันธ์ นายกอบต.บ้ า นเก่ า เป็ น ประธานในพิ ธี ท่ า นสมาชิ ก สภาฯ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย คณะกรรมการสถานศึกษา ตลอดจน ข้ า ราชการอบต.บ้ า นเก่ า ได้ ร ่ ว มกั น จั ด งานวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ประจ�ำปี 2558 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2558 ณ โรงเรียนบ้านพุนำ�้ ร้อนรัตนคีรี (อบต.บ้านเก่า1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท�ำแผนการพัฒนาท้องถิ่น เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ อบต.บ้านเก่าร่วมกับพัฒนาชุมชน อ�ำเภอ เมืองกาญจนบุร ี จัดขึน้ เพือ่ ให้ประชาชนในหมูบ่ า้ นทราบถึงสภาพ ความเป็นอยู ่ ทราบปัญหาและความต้องการของตนเอง ครอบครัว และชุมชน และส่งเสริมให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาท้อง ถิ่นของตน โดยผ่านกระบวนการจัดเก็บข้อมูล นับแต่การก�ำหนด ปัญหาความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ตลอดจนค้นหาสาเหตุ และแนวทางการแก้ไข โดยใช้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นแนวทางในการ จัดกิจกรรม/โครงการต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการที่แท้จริงของชุมชน โดยมีขั้นตอนการด�ำเนินการ คื อ 1.อบรมอาสาสมั ค รผู ้ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล วั น ที่ 18 ธั น วาคม 2557 ณ ห้องประชุมบานานา รีสอร์ท หมู่ที่ 8 ต�ำบลบ้านเก่า อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป้าหมายอาสาสมัครผู้จัดเก็บ ข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท�ำแผนการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิต จ�ำนวน 127 คน 2.จัดเก็บข้อมูล ตั้งแต่ ธันวาคม – มกราคม 2557 3. บันทึกข้อมูล กุมภาพันธ์ 2557 KANCHANABURI 135
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
นายธนาสิทธิ์ จันทร์โสม นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลเกาะสำ�โรง
“พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชนดี มีศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมมีส่วนร่วม รวมแหล่งท่องเที่ยว” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ข อ ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บล เกาะสำ�โรง ซึ่งมีส�ำ นักงานตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 3 ตำ�บล เกาะสำ�โรง อำ�เภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ระยะทางระหว่างอำ�เภอเมืองกาญจนบุรถี งึ ตำ�บลเกาะสำ�โรง ประมาณ 13 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 3209 สายกาญจนบุรี-ด่านมะขามเตี้ยปัจจุบันมี นายธนาสิทธิ์ จันทร์โสม ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล เกาะสำ�โรง
พันธกิจ
1.พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต จั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คมและ สงเคราะห์ให้กับประชาชน มีความมั่นคงในการดำ�รงชีวิต เพื่อให้สังคมอยู่ดีมีสุข 2.ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรเครือข่ายการเรียนรู้ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนโดยใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ 4.อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวและสนับสนุนการท่อง เที่ยวให้ได้มาตรฐาน 136
องค์การบริหารส่วนตำ�บล เกาะสำ�โรง 5.บริ หารจั ด การและเสริ ม สร้ า งความเข้ าใจของสังคมต่อ คุ ณ ค่ า ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มให้ อ ยู่ บ นพื้ น ฐาน วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่มีคุณภาพ
ข้อมูลทั่วไป
เนื้อที่ทั้งหมด 46,250 ไร่ หรือประมาณ 74 ตารางกิโลเมตร อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลเกาะสำ�โรงทั้งหมด แบ่งเขต การปกครองออกเป็ น 9 หมู่ บ้ า น มี แ ม่ น้ำ � แควน้ อ ยไหลผ่ า น หมู่ที่1,2,3,4,5,7,9 มีพื้นที่เพื่อการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ประมาณ 60 % ที่อยู่อาศัยประมาณ 25 % ที่ดินเพื่อการปศุสัตว์ 5% ที่ดินว่างเปล่า 10 % และพื้นที่หมู่ที่ 1,5,8 และ 9 ทั้งหมดและ หมูท่ ี่ 3 บางส่วนทีเ่ ป็นพืน้ ทีใ่ นเขตกองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 1
นโยบายการบริหารงาน
1.นโยบายด้านโครงสร้างพื้นฐาน อบต.เกาะสำ�โรง มุง่ มัน่ ทีจ่ ะยกระดับการพัฒนาด้านโครงสร้าง พื้ น ฐานให้ ไ ด้ ม าตรฐาน เพื่ อ สนั บ สนุ น การค้ า การลงทุน และ การเกษตร และตอบสนองความต้องการของประชาชนอย่างมี ประสิทธิภาพ
2.นโยบายด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกระบวนการสร้าง รายได้-ลดรายจ่าย ให้กับประชาชนทุกระดับ โดยจะส่งเสริมแนวทางเศรษฐกิจแบบ พอเพียงตามศักยภาพของชุมชนในระดับฐานรากของตำ�บล 3.นโยบายด้ า นสั ง คม การศึ ก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม สาธารณสุข และการกีฬา สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนได้รับโอกาสเท่าเทียมกัน ในด้านการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนปัญญา ไว้เป็นทุนไว้สร้างงานและ สร้างรายได้ โดยยึดหลักการศึกษา สร้างชาติสร้างคนและสร้างงาน 4.นโยบายด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว อบต.มีนโยบายที่สนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวแบบ บูรณาการเพิ่มและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีศักยภาพมากขึ้น 5.นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มโดยการ รณรงค์ให้ประชาชนเห็นคุณค่าและมีจิตสำ�นึกรักธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งจัดหาพลังงานทดแทนอย่างเหมาะสม 6.นโยบายด้านการเมืองการบริหาร ส่งเสริมสนับสนุนการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยโดยมุ่ง เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในทุกๆด้าน ได้แก่ การสนับสนุนการ มีส่วนร่วมขององค์กรภาคประชาชน โดยเน้นการ “ร่วมคิด ร่วม ทำ� ร่วมตัดสินใจ และการตรวจสอบของภาคประชาชนให้เกิด
แหล่งท่องเที่ยวและ OTOP ภายในตำ�บล
ความโปร่งใส”
1.ต้นจามจุรียักษ์ 2.วัดถ้ำ�มังกรทอง (แม่ชีลอยน้�ำ ) 3.วัดถ้ำ�มุนีนาถ (เจดีย์มุณีกาญจน์) 4.สนามขี่ม้ากองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 1 กรมการ สัตว์ทหารบก 5.ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากชาเชี ย วใบหม่ อ น(กาญจนาชาเขี ย วใบ หม่อน) KANCHANABURI 137
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
นายรุง่ คมข�ำ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังเย็น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังเย็น “พร้อมสาธารณูปโภค สาธารณูปการ บริหารงานโปร่งใส ใช้ชวี ติ พอเพียง ฟังเสียงประชาชน” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลวังเย็น ซึง่ มี ส�ำนักงาน ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 ต�ำบลวังเย็น อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรีไปทางทิศตะวันตกประมาณ 23 กิโลเมตร โดยมี นายรุง่ คมข�ำ เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลวังเย็น ข้อมูลทัว่ ไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังเย็น มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 27.26 ตร.กม. หรือประมาณ 17,037.75 ไร่ แบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองออกเป็น 7 หมูบ่ า้ น มีจำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ 5,695 คน แยกเป็น ชาย 2,853 คน หญิง 2,842 คน (ข้อมูลจากทะเบียนราษฎรอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี ของเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557) ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าวโพด อ้อย เลีย้ งสัตว์ จักสาน และมีอาชีพ 2 อย่าง ควบคูก่ นั เช่น รับจ้าง-เกษตรกรรม รับจ้าง-ค้าขาย และเกษตรกรรมอุตสาหกรรม เป็นต้น จุดเด่นของพืน้ ที่ ต�ำบลวังเย็นมีสภาพพืน้ ทีร่ าบลุม่ มีภเู ขา และแม่นำ�้ แควน้อยขนาบ ข้าง อีกทัง้ ยังมีเส้นทางรถยนต์ และเส้นทางรถไฟประวัตศิ าสตร์สมัย 138
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทีค่ ขู่ นานกันไปตามแนวพืน้ ทีข่ องต�ำบล หากได้ มีการพัฒนาให้มีการท่องเที่ยว อาจจะเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หรือเชิงนิเวศ จักเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมในด้านการพัฒนา ซึง่ จะท�ำให้ตำ� บลวังเย็นได้รบั การพัฒนา เป็นการกระตุน้ ระบบเศรษฐกิจ ในชุมชนให้เข้มแข็งได้อย่างรวดเร็วอย่างแน่นอน ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ยุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงสามปีขององค์การบริหารส่วนต�ำบล วังเย็น ซึง่ ได้วเิ คราะห์สภาพปัญหาความต้องการของประชาชนในพืน้ ที่ ประสานกับแนวทางการด�ำเนินการให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ โดยได้กำ� หนดเป็น 5 ยุทธศาสตร์ โดยเรียงล�ำดับก่อน-หลัง ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 1.1 แนวทางการพัฒนาที่ 1 การก่อสร้าง ปรับปรุงบ�ำรุงรักษา ถนน สะพาน 1.2 แนวทางการพัฒนาที่ 2 การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งน�ำ้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค 1.3 แนวทางการพัฒนาที่ 3 การก่อสร้าง ปรับปรุงทางระบายน�ำ้ เพือ่ ป้องกันอุทกภัย 1.4 แนวทางการพัฒนาที่ 4 ขยายเขตไฟฟ้า และไฟฟ้าแสงสว่าง
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 2.1 แนวทางการพัฒนาที่ 1 พัฒนาและส่งเสริมอาชีพเพือ่ เพิม่ รายได้ให้แก่ประชาชน
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร 4.1 แนวทางการพัฒนาที่ 1 ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การ ประชาสัมพันธ์ และการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
2.2 แนวทางการพัฒนาที่ 2 พัฒนา และส่งเสริมการเกษตรกรรม
4.2 แนวทางการพัฒนาที่ 2 การพัฒนารายได้
2.3 แนวทางการพัฒนาที่ 3 พัฒนาแหล่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตร
4.3 แนวทางการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาบุคลากร
2.4 แนวทางการพัฒนาที่ 4 การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม 3.1 แนวทางการพัฒนาที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพอนามัย ของ ประชาชน 3.2 แนวทางการพัฒนาที่ 2 ส่งเสริมกีฬา และนันทนาการ 3.3 แนวทางการพัฒนาที่ 3 ส่งเสริมการศึกษา 3.4 แนวทางการพัฒนาที่ 4 ควบคุมป้องกัน และระงับโรคติดต่อ 3.5 แนวทางการพัฒนาที่ 5 พัฒนาคุณภาพชีวติ 3.6 แนวทางการพัฒนาที่ 6 การป้องกันและรักษาความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพย์สนิ 3.7 แนวทางการพัฒนาที่ 7 การอนุรกั ษ์ และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีไทย
4.4 แนวทางการพัฒนาที่ 4 การพัฒนา และปรับปรุงเครือ่ งใช้ สถานที่ การปฏิบตั งิ าน เพือ่ บริการประชาชน 4.5 แนวทางการพัฒนาที่ 5 การส่งเสริมประชาธิปไตย และ กระบวนการประชาสังคม 4.6 แนวทางการพัฒนาที่ 6 การจัดท�ำผังเมืององค์การบริหารส่วน ต�ำบล ยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม 5.1 แนวทางการพัฒนาที่ 1 การใช้ประโยชน์ในที่ดิน การมี กรรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ ท�ำกิน และการดูแลทีส่ าธารณประโยชน์ 5.2 แนวทางการพัฒนาที่ 2 การสร้างจิตส�ำนึก และการตระหนัก ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม 5.3 แนวทางการพัฒนาที่ 3 การบ�ำบัด และการจัดการขยะ
3.8 แนวทางการพั ฒ นาที่ 8 การช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ระสบภั ย สังคมสงเคราะห์ และการสนับสนุนนโยบายภาครัฐ KANCHANABURI 139
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.เมือง)
นายสมชาย ฟักทอง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลแก่งเสี้ยน
“ตำ�บลน่าอยู่ มุ่งสู่เทคโนโลยี การศึกษาดี มีคุณธรรม นำ�พัฒนาอย่างยั่งยืน”
องค์การบริหารส่วนตำ�บล แก่งเสี้ยน
คือวิสัยทัศน์ของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลแก่งเสี้ยน ซึ่งมี สำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 225 หมู่ที่ 5 ตำ�บลแก่งเสี้ยน อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยูห่ า่ งจากอำ�เภอเมืองกาญจนบุรปี ระมาณ 20 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายสมชาย ฟักทอง เป็น นายกองค์การ บริหารส่วนตำ�บลแก่งเสี้ยน และมี ส.ต.ท.เสน่ห์ ดำ�ดี เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลแก่งเสี้ยน
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแก่งเสีย้ น มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 87.52 ตร.กม. หรือ 54,700 โดยแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 4 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 5,657 มีจำ�นวนครัวเรือน 2,236 ประชากรประกอบอาชีพปลูกพืชผัก พืชไร่ และเลี้ยงสัตว์ เช่น วัว ไก่ หมู แพะ และรับจ้าง
นโยบายการบริหาร
1. นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร พั ฒ นาอบต. แก่งเสีย้ นให้เป็นองค์กรธรรมาภิบาล และเป็นหน่วยบริการสังคม ที่ดี ,ส่งเสริมองค์กรชุมชนและคณะกรรมการชุมชน ,สนับสนุน การประสานงานและการสร้ า งเครื อ ข่ า ยการทำ � งาน ,เพิ่ ม ประสิทธิภาพในการจัดเก็บและพัฒนารายได้ ให้มคี วามทัว่ ถึงและ เป็นธรรม 2. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม สร้ า งเสริ ม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และจิ ต สาธารณะของคนในชุ ม ชน, ดำ � เนิ น การ สวัสดิการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อย โอกาส ให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และได้รบั บริการอย่างทัว่ ถึงและเป็น ธรรม ,สนับสนุนด้านการกีฬา, ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด, สร้างสังคมที่อยู่ดีมีสุข, ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน ตลอดจนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยต่าง ๆ 140
3. นโยบายการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียนให้ได้มาตรฐาน สนับสนุน ด้านการศึกษา การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและ วัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น พัฒนาแหล่งวัฒนธรรม โบราณ วัตถุและโบราณสถาน 4. นโยบายพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวติ สร้าง เสริมสุขภาพของประชาชน ,ควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรค ติดต่อ ,สนับสนุนงานของกลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมูบ่ า้ น (อสม.) 5. นโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมกลุ่มอาชีพให้เติบโต และเข้มแข็ง ,ส่งเสริมด้านการเกษตร ,สร้างรายได้และลดรายจ่าย ในครัวเรือนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 6. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ขยายเขตไฟฟ้า และติดตั้งไฟฟ้า สาธารณะ ,ป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำ�ท่วมขังในชุมชน ,พัฒนา แหล่งน้ำ�สำ�หรับการอุปโภค บริโภค 7. นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สร้างจิตสำ�นึกที่ดีและเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ,ส่งเสริมการรักษาความ สะอาดและการจัดระเบียบของชุมชนและสถานที่ต่าง ๆ ให้เป็น เมืองน่าอยู่ ,ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมและกำ�จัดมลภาวะ
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดถ้ำ�มังกรทอง วัดถ�้ำมังกรทอง ตั้งอยู่ที่หมู่ 7ต�ำบลเกาะส�ำโรง อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โดยห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรปี ระมาณ 7 กิโลเมตร วัดถ�้ำมังกรทองมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักแพร่หลายจาก “แม่ชีลอยน�้ำ”
ประวัติความเป็นมา วัดถ�้ำมังกรทอง เป็นวัดเก่าแก่อายุกว่า 100 ปี เจ้าอาวาสองค์ แรกคือหลวงพ่อติ๊ว(ศิษย์วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร) เป็น ผูไ้ ปบุกเบิกพืน้ ทีแ่ ละสร้างส�ำนักสงฆ์ขนึ้ ในปี 2447 ต่อมาปี พ.ศ. 2473 ได้ประกาศแต่งตั้งเป็นวัดมีนามว่า “วัดถ�้ำมังกรทอง” เนื่องจากมี ถ�้ำขนาดเล็กอยู่บนยอดเขา มีเนื้อที่เขตธรณีสงฆ์ 36 ไร่ ทางขึ้นวัดมี ราวบันไดสร้างเป็นรูปมังกรสองตัวขนาดใหญ่ขนานกันไปจนสุดทางที่ ปากถ�้ำ มีบันไดทั้งหมด 95 ขั้น ที่ตรงปากถ�้ำมีหินใหญ่ท�ำเป็นหน้าสิงโต ดูนา่ เกรงขาม หลวงปู ่ ติ้ ว ได้ ป รั บ พื้ น ที่ ภ ายในถ�้ ำ และสร้ า งปู น กั้ น ห้ อ งปฏิ บั ติ กรรมฐาน 2 ห้อง บ่อน�้ำภายในถ�้ำโบกปูนแล้วเสร็จและสร้างศาลา ทรงไทย 1 หลังโดยใช้เสาไม้สักทั้งหลังมุงด้วยกระเบื้องแผ่นเหล็ก
ใช้เป็นศาลาท�ำบุญในวันพระ ศาลาทรงไทยยังไม่แล้วเสร็จท่านก็มา มรณภาพเสียก่อนในปี พ.ศ. 2477 หลังจากนั้นมาหลวงปู่เปลี่ยนได้ส่ง พระมารักษาการจากวัดไชยชุมพลชนะสงคราม (วัดใต้) มีนามว่า พระอธิการบุญนาค มาจ�ำพรรษาที่วัดถ�้ำมังกรทอง
แหล่งท่องเที่ยวชม “แม่ชีลอยน�้ำ” ในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ และวันพระ จะมีผู้มาแวะชมมังกร และนมัสการหลวงพ่อใหญ่ หลวงพ่อวัดบ้านแหลม และชมแม่ชลี อยน�ำ้ ซึ่งเริ่มจากมีแม่ชีทองสุข ศรีประกอบ สามารถอธิษฐานให้ลอยน�้ำ นั่งสมาธิในน�้ำ เดินในน�้ำ นอนในน�้ำโดยที่ไม่จม ตอนแรก ๆ ก็ไปลอย ที่ริมแม่น�้ำแควน้อย ห่างจากวัดประมาณ 1 ก.ม. ท�ำให้ลำ� บากต่อการ เดินทาง พระครูพิพัฒน์ สิทธิสาร เจ้าอาวาสวัดถ�้ำมังกรในขณะนั้นจึง อนุญาตให้ขดุ สระภายในวัดเพือ่ ให้แม่ชที องสุขได้ลอยน�ำ้ ให้คนชมโดยมี ทั้งคนไทยและชาวต่างชาติสนใจมาชมจ�ำนวนมาก เมื่อสิ้นสุดบุญของ แม่ชีทองสุขแล้วก็มีลูกศิษย์ที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาลอยตัวต่อๆ กันมา จนถึงปัจจุบัน KANCHANABURI 141
เส้นทางธรรมหนุนชีวิต
วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม ชาวบ้านเรียกทั่วไปว่า “วัดใต้” เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ เลขที ่ 227 ถนนไชยชุมพล ตำ�บลบ้านใต้ อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ประวัติความเป็นมาของวัด วัดไชยชุมพลชนะสงคราม เป็นวัดโบราณไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เพียงแต่เล่าต่อ ๆ กันมาว่า พระยาตาแดงเป็นผู้สร้าง ประวัตขิ องวัดแห่งนีม้ คี วามสัมพันธ์เกีย่ วเนือ่ งกับการทำ�สงครามระหว่าง ไทยกับพม่า คือ ใน พ.ศ. 2328 พระเจ้าปะดุงของพม่า โปรดให้ยกทัพใหญ่หลาย ทัพเข้าตีไทย หวังจะตีไทยให้ราบคาบ เนื่องจากไทยเพิ่งจะสถาปนา กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานี เมื่อพ.ศ.2325 ในการรบครั้งนั้นทัพหนึ่ง ของพม่ายกทัพเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ เมืองกาญจนบุรี ครั้ง นั้น พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ 144
ให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ยกทั พ ไปตั้ ง รั บ ที่ ตำ � บล ลาดหญ้า ริมเขาชนไก่ และลงมาตัง้ รับทีต่ �ำ บลปากแพรก อันเป็นบริเวณ ทีต่ งั้ วัดไชยชุมพลชนะสงครามแห่งนี้ เหตุทเี่ รียกตำ�บลปากแพรกเนือ่ งจาก เป็นที่ซึ่งลำ�น้ำ�สองสายคือ แควน้อย (แควไทรโยค) กับแควใหญ่ (แคว ศรีสวัสดิ์) ที่แควทั้งสองไหลมาบรรจบกัน การรบในครั้งนั้นไทยสามารถ ต้านทัพพม่าไว้ได้ เมืองกาญจนบุรีเดิมนั้นตั้งอยู่ที่บ้านท่าเสา ตำ�บลลาดหญ้า ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้ย้ายเมืองมาอยู่ที่ ตำ�บลปากแพรก คือ ที่ตั้งเมืองกาญจนบุรี ในปัจจุบัน เมื่อ พ.ศ. 2374 โปรดให้สร้างกำ�แพงเมืองและสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ดังจารึกในการสร้าง เมืองกาญจนบุรีว่า “พระพุทธศักราชล่วงแล้ว 2374 พระพรรษาเศษ เดือนล่วง 10 เดือน วันล่วง 10 วัน จุลศักราช 1183 ปีเถาะ นักษัตร ตรีศกล่วง พระยา
พระหลวง ขุน หมื่น กรมการ 560 คน ก่ออิฐทั้งสิ้น 2,573,500 ศิลา ราก ป้ อ มรากกำ � แพงแสนปู น 617 เกวี ย น ทำ � แล้ ว วั น พฤหั ส บดี แรม 13 ค่ำ�เดือน 4 ปีมะโรง ฯลฯ เดชะข้าพระพุทธเจ้าได้สร้างวัดและ ปฏิสังขรณ์พระอารามในแขวงเมืองกาญจน์ 4 อารามในกรุงเทพฯ 1 อาราม ฯลฯ ” ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 ฉบับ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ กล่าวถึงเจ้าเมืองกาญจนบุรขี ณะนัน้ คือ “พระยา ประสิทธิสงคราม รามภักดี ตรีพิเศษ ประเทศนิคม ภิรมย์ราไชยสวรรค์ พระยากาญจนบุร”ี ไม่ปรากฏชือ่ เดิมว่าอะไร แต่เรียกกันว่า พระยาตาแดง หรือเจ้าเมืองตาแดง และเล่ากันว่า เป็นผูส้ ร้างวัดไชยชุมพลชนะสงคราม แห่งนี้ เมื่อย้ายเมืองกาญจนบุรีมาอยู่ที่ตำ�บลปากแพรก วัดและหมู่บ้าน บริเวณตัวเมือง วัดใดบ้านใดที่อยู่ด้านเหนือเมืองชาวบ้านก็เรียกว่า “วัดเหนือ บ้านเหนือ” วัดใดบ้านใดที่อยู่ด้านใต้เมืองชาวบ้านก็เรียกว่า “วัดใต้ บ้านใต้” วัดไชยชุมพลชนะสงครามตั้งอยู่ทางใต้ของตัวเมืองจึง เรียกกันทั่วไปว่า วัดใต้ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม มีเนื้อที่ 44 ไร่ 2 งาน 41 ตาราง วา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2484 โปรดให้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2521 โบราณสถาน สถานที่ และสำ�คัญภายในวัด พระอุ โ บสถ เป็ น ศาสนสถานสำ � คั ญ ที่ สุ ด ของวั ด ไชยชุ ม พล ชนะสงคราม เป็นพระอุโบสถหลังใหม่ ทีส่ ร้างขึน้ แทนหลังเดิม เมือ่ พ.ศ. 2550 ทำ � พิ ธี ผู ก พั ท ธสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 16 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2507
พระอุโบสถหลังใหม่ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 เป็นอาคารชั้นเดียวโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กผนัง ก่ออิฐ ถือปูน หลังคา 3 ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบ ภายในประดิ ษ ฐานพระประธานศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี อ ายุ ห ลายร้ อ ยปี (อัญเชิญจากที่อื่นมา) ประดิษฐานในพระอุโบสถหลังเก่า ต่อมาอัญเชิญมาประดิษฐาน เป็นประพระประธานหลังใหม่) เป็นพระพุทธรูปศิลาแลง ปางตรัสรู้ ขนาดหน้าตัดกว้าง 4 ศอก 1 คืบ สูง 5 ศอก 1 คืบสร้างสมัย ทวารวดี ทิพยนาวาอาชาไนย ภายในวัดไชยชุมพลชนะสงครามมีสงิ่ ก่อสร้าง ที่สวยงามอยู่แห่งหนึ่ง สร้างเป็นรูปเทวดาถือธรรมจักรขี่ม้าสีขาวกำ�ลัง ทะยานฝ่าคลืน่ นำ�นาวาลำ�หนึง่ ตรงกลางเป็นเรือนโถงสีเ่ หลีย่ มยอดเจดีย์ สิ่งก่อสร้างแห่งนี้คือ เมรุพระราชทานเพลิงศพพระธรรมคุณาภรณ์ (ไพบู ล ย์ กตปุ ญฺ โ ญ) อดี ต เจ้ า อาวาสองค์ ห นึ่ ง ของวั ด ไชยชุ ม พล ชนะสงคราม ท่านเป็นผู้สร้างความเจริญให้แก่วัด ทั้งด้านการก่อสร้าง ถาวรวัตถุ สาธารณวัตถุ การส่งเสริมการศึกษาของพระภิกษุสามเณร และกุลบุตรกุลธิดาชาวจังหวัดกาญจนบุรที วั่ ไป เมือ่ ท่านถึงแก่มรณภาพ แล้ว วัดไชยชุมพลชนะสงครามและญาติโยมผู้นับถือศรัทธาพระธรรม คุณาภรณ์ หรือหลวงพ่อไพบูลย์ จึงได้สร้างเมรุลักษณะสวยงามวิจิตร ดังกล่าว เพื่อเป็นที่ปลงศพท่าน และเมื่อเสร็จสิ้นงานพระราชทานเพลิง ศพพระธรรมคุณาภรณ์แล้ว วัดมิได้ใช้เมรุแห่งนี้ปลงศพผู้ใดอีก แต่เก็บ ไว้ให้เป็นที่ระลึกถึงคุณูประการของพระธรรมคุณาภรณ์ ให้คนรุ่นหลังได้ รับทราบกันต่อไป
KANCHANABURI 145
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโพธิสัตว์บรรพตนิมิต...แดนธรรมพุทธศิลป์ล้านนา วัดโพธิสัตว์บรรพตนิมิต ตั้งอยู่ที่ตำ�บลหนองหญ้า อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดที่มีลักษณะพุทธศิลป์แบบล้านนา ด้วย เหตุที่วา่ ครูบาเจ้าบุญคุ้ม ปสันโน เจ้าอาวาส ซึ่งเคยธุดงค์ไปถึง จังหวัดเชียงใหม่เพื่อศึกษาวิชาจาก หลวงปู่หล้า ตาทิพย์ วัดป่าตึง อำ�เภอสันกำ�แพง จังหวัดเชียงใหม่ ครูบาบุญคุม้ จึงเกิดความประทับ ใจในความงดงามอลังการของพุทธศิลป์แบบล้านนา และเมื่อปี 13 ปีที่แล้ว ครูบาเจ้าบุญคุ้ม เกิดนิมิตหมายที่เป็น มงคลว่า...ต่อไปสถานที่อันเป็นที่ตั้งของวัดแห่งนี้จะมีความเจริญ รุ่งเรือง ท่านจึงได้ริเริ่มสร้างวัดขึ้นบนที่ดินรกร้างเปล่า ด้วยบารมี ความเพียร และความอดทนของท่าน จึงทำ�ให้วัดโพธิสัตว์บรรพต นิมิตมีความสวยงามน่าเลื่อมใสศรัทธา ตลอดจนเป็นแหล่งรวม วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามของล้านนาไว้ จากวั น นั้ น จวบจนวัน นี้ มีลูก ศิษย์ทั้งไทยและต่ า งประเทศ จำ�นวนมาก เดินทางมาปฏิบัติธรรม สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และชม ความงดงามภายในวัด อาทิ พระเจ้าทันใจ พระเจ้าคำ�หลวง เจ้า แม่กวนอิมหยกขาวองค์ใหญ่ เจดีย์สิริมงคลชัยศิลปะล้านนา และ วิหารจุฬามณี โดยในช่วงงานบุญใหญ่ทางวัดจัดให้มีขบวนแห่ตุง 150
และเสลี่ ย งอั น สวยงามยิ่ งใหญ่ ท่ า มกลางความร่ ม รื่ น ของ แมกไม้นานาพันธุ์ จึงขอเชิญพุทธศาสนิกชน ร่วมทำ�บุญสร้างวิหาร พระธาตุ และเสนะต่าง ๆ เพื่อสืบสานพระศาสนา ได้ที่ 081-917-6583 , 085-266-5931
KANCHANABURI 151
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ
วัดเมตตาธรรมโพธิญาณ (WAT METTADHARMABODHIYAN) ตั้งอยู่เลขที่ 99/8 หมู่ 7 ต.หนองหญ้า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี เป็นวัด ฝ่ายมหายานจีนนิกาย ภายในวัดมีองค์พระและเทพเจ้าจีนหลายองค์ให้ สาธุชนสักการบูชาและขอพรให้เกิดสิริมงคลในชีวิต ประวัติความเป็นมาของวัด
ปี 2537 พระภิกษุขรินทร์ ฉายา “เย็นหมง” จากวัดโพธิ์เย็น ได้ เดินธุดงค์มาถึงบริเวณวัดแห่งนี้ ซึ่งเดิมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม เมื่อท่าน ได้ขึ้นไปปฏิบัติธรรมบนภูเขาด้านทิศเหนืออยู่นานประมาณ 5 เดือน ท่านเกิดนิมติ ว่าดินแดนแห่งนีเ้ ป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ มีชยั ภูมทิ ดี่ คี อื มีภเู ขา ล้อมรอบ ลักษณะเป็นรูปค้างคาวทะยานเวหา เหมาะแก่การสร้างวัด เพือ่ เผยแพร่พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานจีนนิกาย จึงได้เริม่ ด�ำเนินการ ก่อสร้างศาลาหลังแรก ขนาดศาลา 30 x75 เมตร ปูพื้นไม้มะค่าโมง สร้างส�ำเร็จเมื่อ พ ศ 2542 และได้รับการประทานชื่อศาลาจาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาปริณายก ว่ า “ศาลาโพธิ ญ าณเฉลิ ม พระเกี ย รติ ” ปั จ จุ บั น ศาลาโพธิ ญ าณ เฉลิมพระเกียรติใช้เป็นทีป่ ระดิษฐานพระประธานของวัด คือองค์ซำ� เป้า ฮุกโจ้ หรือพระเจ้าสามภพ นอกจากนีย้ งั ใช้เป็นสถานทีป่ ระกอบศาสนา พิธีต่าง ๆ
นอกจากนี้ พระภิกษุขรินทร์ ยังได้ดำ� เนินโครงการก่อสร้างศาลา ห้าหลัง ตามธาตุทั้งห้าคือธาตุทอง ธาตุไม้ ธาตุน�้ำ ธาตุไฟ ธาตุดิน ซึ่ง แต่ละธาตุกเ็ อือ้ เฟือ้ ช่วยเหลือเกือ้ กูลซึง่ กันและกัน ส�ำหรับองค์พระและ เทพเจ้าต่าง ๆ ทางวัดเน้นสร้างด้วยไม้ เนื่องจากไม้มีคุณสมบัติพิเศษ คือมีรุกเทวดาสิงสถิต และสามารถดูดทรัพย์ได้เป็นอย่างดีเลิศ องค์พระและเทพเจ้าศักดิ์สิทธิ์ เทพเจ้าโชคภาค (ไฉ่ซงิ้ เอีย้ ) สัญลักษณ์ของความร�ำ่ รวย มือขวา ถือหยูอ่ ี่ มือซ้ายถือก้อนทอง ด้วยนัยเป็นการประทานพรให้สำ� เร็จสมหวัง ในสิ่งที่ปรารถนา
เทพเจ้าคุ้มครองชะตา (ไท้ส่วย) การไหว้เทพเจ้าไท้ส่วยเอี้ย เป็นความเชื่อและประเพณีปฏิบัติของชาวจีน โดยเฉพาะคนที่มีดวง ชะตาตกต�ำ่ หรือชง วิธแี ก้ไขดวงชะตาจะมีการท�ำพิธนี ำ� ซึง้ ปักเต๋าเก็งหรือ พิธสี วดมนต์เสริมดวงชะตา ส�ำหรับผูไ้ ม่ชงก็สามารถท�ำได้เพือ่ ให้อยูเ่ ย็น เป็นสุข คุณประโยชน์สำ� หรับการไหว้องค์ไท้ส่วยนั้น จะท�ำให้ผู้ที่กราบ ไหว้ท�ำอะไรราบรื่นไม่ติดขัด หากดวงดีอยู่แล้วก็จะส่งผลให้ดียิ่งขึ้น เจ้าพ่อเสือ (เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี๊ย) หรือ เฮียงเทียนเสี่ยงตี่ เป็น เทพเจ้าที่ส�ำคัญองค์หนึ่งซึ่งได้รับความเลื่อมใสเป็นที่สุด เป็นตัวแทน
กลุ่มดาวเต่าด�ำ ด้วยศรัทธาที่ว่ามีพลังในการปกปักอภิบาลและปราบ ปรามศัตรู พิชติ มาร หรือสิง่ เลวร้ายทัง้ หลาย โดยเฉพาะในช่วงเทศกาล ตรุษ อันเป็นช่วงทีจ่ ะย่างก้าวเข้าสูค่ าบเวลาใหม่ของปี ผูค้ นจะกราบไหว้ องค์ตั่วเหล่าเอี๊ยเพื่อความเป็นสิริมงคล
ได้ศึกษาวิชาแพทย์ และมีความเชี่ยวชาญในการเยียวยา รักษาโรคทุก ชนิด และท่านยังเป็นหมอที่เปี่ยมด้วยคุณธรรม และเมตตาธรรมอัน สูงส่ง สาธุชนทัว่ ไปนิยมบูชาเพือ่ คุม้ ครองตน ให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง และมีอายุยืนยาวยิ่ง ๆ ขึ้นไป
เทพปรองดอง (ฮัว่ ฮะ) เป็นเทพเจ้าแห่งความปรองดอง และเป็น สัญลักษณ์ของความรักใคร่สามัคคี สาธุชนทั่วไปนิยมบูชาเพื่อขอพรให้ เกิดความรัก ความสามัคคีในคู่ครอง ครอบครัว ส�ำนักงานและองค์กร ต่าง ๆ ที่ตนสังกัดอยู่
เทพเจ้าแห่งความซื่อสัตย์ (กวนอู่) ในแง่พุทธศาสนาถือว่าท่าน เป็ น หนึ่ ง ในพระสั ง ฆารามปาลโพธิ สั ต ว์ ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ป กปั ก ษ์ รั ก ษา พระพุทธศาสนา ส�ำหรับทางเต๋ายอมรับนับถือท่านว่าเป็นนักรบทีเ่ ก่งกาจ หาตัวจับยาก อีกทัง้ ยังเป็นเลิศในทางซือ่ สัตย์ สาธุชนทัว่ ไปนิยมบูชาเพือ่ ความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน โดยเฉพาะในวงการราชการทั่วไป
เทพเจ้าสามตา (ชาหมักเอี๊ย) เป็นเทพเจ้าที่มีอิทธิฤทธิ์ ด้านการ ปกป้องคุ้มกันภัย มีอิฐทองสามเหลี่ยมอยู่ในมือ เพื่อประทานให้ผู้ที่ สักการบูชาท่าน สาธุชนทัว่ ไปนิยมบูชาท่าน เพือ่ ของให้ชว่ ยป้องกันและ ก�ำจัดเหตุ เภทภัยต่าง ๆ โดยเฉพาะวิญญาณภูตผีปีศาจ และสิ่งชั่วร้าย ต่าง ๆ โพธิสตั ว์มาริจี (เต๋าบ้อหง่วงกุง) ทรงเป็นพระมารดาแห่งดวงดาว ทั้งหลาย เป็นศูนย์กลางแห่งจักรวาล ควบคุมการโคจรทั้งหลายของ ดวงดาวในจักรวาล ซึง่ มีอทิ ธิพลต่อชะตาชีวติ ของสรรพสัตว์และสรรพ สิ่งทั้งปวง ทรงเป็นพระผู้ให้ก�ำเนิดองค์ไท่ส่วยเอี๊ย เป็นอนุตรธรรม สมเด็ จ พระมารดาเจ้ า ทรงอิ ท ธิ ฤ ทธิ์ แห่ ง พลั ง อ� ำ นาจทั้ ง หลายทั้ ง ปวง เป็นอสงไขย ไม่ขึ้นอยู่กับการเวลา ไม่มีดับสูญ เป็นอมตะ หมอเทวดา (ฮัว่ ท้อเซียงซือ) หรือฮูโต๋ว ชาวจีนจะให้ความเคารพ นับถือ และยกย่องว่าเป็นบรมครูทางการแพทย์แผนโบราณของจีน ท่าน
พระพิฆเณศวร เป็นเทพที่มีผู้คนนับถือและเคารพมากที่สุด เนื่องจากเป็นเทพที่มีพระกรุณาเป็นหนึ่งในเทพทั้งหมด และถือว่าเป็น ปฐมเทพที่จะได้รับการบูชาก่อนเริ่มพิธีกรรมต่าง ๆ เนื่องจากได้รับพร จากศิวเทพ เพราะความเฉลียวฉลาดและเป็นเทพทีม่ สี ติปญ ั ญาล�ำ้ เลิศ พระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ (กวนอินปางพันเนตรพันกร) เปรียบเสมือนว่าท่านได้ใช้พระเนตรพันดวงตรวจดูเหล่าสรรพสัตว์ทั่ว สากลโลก ให้ปราศจากความทุกข์ยากล�ำเค็ญ หลุดพ้นจากวัฏสงสาร อันเป็นทุกข์นี้ พระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ กวนอิม 84 ปาง ท�ำจากไม้ เนื้อหอม สูงองค์ละ 2.6 เมตร แกะสลักด้วยความประณีตได้สัดส่วน มีลักษณะงดงาม พระพักตร์มีเมตตา เพื่อโปรดเหล่าสรรพสัตว์ให้ครบ ทุกภูมิ
ได้ศึกษาวิชาแพทย์ และมีความเชี่ยวชาญในการเยียวยา รักษาโรคทุก ชนิด และท่านยังเป็นหมอที่เปี่ยมด้วยคุณธรรม และเมตตาธรรมอัน สูงส่ง สาธุชนทัว่ ไปนิยมบูชาเพือ่ คุม้ ครองตน ให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ให้มีสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง และมีอายุยืนยาวยิ่ง ๆ ขึ้นไป เทพเจ้าแห่งความซื่อสัตย์ (กวนอู่) ในแง่พุทธศาสนาถือว่าท่าน เป็ น หนึ่ ง ในพระสั ง ฆารามปาลโพธิ สั ต ว์ ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ ป กปั ก ษ์ รั ก ษา พระพุทธศาสนา ส�ำหรับทางเต๋ายอมรับนับถือท่านว่าเป็นนักรบทีเ่ ก่งกาจ หาตัวจับยาก อีกทัง้ ยังเป็นเลิศในทางซือ่ สัตย์ สาธุชนทัว่ ไปนิยมบูชาเพือ่ ความก้าวหน้า ในหน้าที่การงาน โดยเฉพาะในวงการราชการทั่วไป พระพิฆเณศวร เป็นเทพที่มีผู้คนนับถือและเคารพมากที่สุด เนื่องจากเป็นเทพที่มีพระกรุณาเป็นหนึ่งในเทพทั้งหมด และถือว่าเป็น ปฐมเทพที่จะได้รับการบูชาก่อนเริ่มพิธีกรรมต่าง ๆ เนื่องจากได้รับพร จากศิวเทพ เพราะความเฉลียวฉลาดและเป็นเทพทีม่ สี ติปญ ั ญาล�ำ้ เลิศ พระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ (กวนอินปางพันเนตรพันกร) เปรียบเสมือนว่าท่านได้ใช้พระเนตรพันดวงตรวจดูเหล่าสรรพสัตว์ทั่ว สากลโลก ให้ปราศจากความทุกข์ยากล�ำเค็ญ หลุดพ้นจากวัฏสงสาร อันเป็นทุกข์นี้ พระอวโลกิเตศวรมหาโพธิสัตว์ กวนอิม 84 ปาง ท�ำจากไม้ เนื้อหอม สูงองค์ละ 2.6 เมตร แกะสลักด้วยความประณีตได้สัดส่วน มีลักษณะงดงาม พระพักตร์มีเมตตา เพื่อโปรดเหล่าสรรพสัตว์ให้ครบ ทุกภูมิ
156
วัดหัวนา
น้ำ�คำ�หลวงพ่อ
จะเป็นสมณะเพราะศีรษะโล้นก็หาไม่ จะเป็นสมณะเพราะนุ่งเหลืองห่มเหลืองก็หาไม่ จะเป็นสมณะเพราะไม่มีภรรยาก็หาไม่ จะเป็นสมณะเพราะศึกษามีความรู้มากก็หาไม่ ผู้ใดถึงพร้อม มีใจอันบริสุทธิ์ ไม่อาลัยเสียดายในชีวิต หมั่นทำ�ความดี มีความเป็นอยู่ถึงพร้อมด้วยธรรม ผู้นั้นแล สมณะ พระครูกาญจนมงคลเขต (บาง สนฺตจิตฺโต) วัดหัวนา ตำ�บลปากแพรก อำ�เภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 08-4536-7547 เบอร์โทรติดต่อเจ้าอาวาส เลขบัญชีวดั 713-197-3939 ธนาคารกรุงไทยสาขากาญจนบุรี ชือ่ บัญชี” วัดหัวนา (พระมหาทองดี โชติปญฺโญ)”
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายสุทธิพนายอำ งษ์�เภอไทรโยค ตันบุญยศิริเดช “เมืองชายแดน แคว้นประวัติศาสตร์ ธรรมชาติงดงาม นามไทรโยค” อำ�เภอไทรโยค เป็นหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีที่มีต้นทุน หรือศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยวที่มีความสมบูรณ์และ หลากหลาย ทัง้ ในด้านประวัตศิ าสตร์ ธรรมชาติสวยงดงาม อาหารรสชาติอร่อย และอืน่ ๆ อีกมากมาย เช่น กิจกรรมดูเสือ ขี่ช้าง ล่องแพชมธรรมชาติบรรยากาศแม่น้ำ�แควน้อย นอกจากนั้นยังมีโรงแรม/รีสอร์ท จำ�นวนมากที่สามารถบริการและ รองรับนักท่องเทีย่ วได้เป็นอย่างดี การเดินทางไปอำ�เภอไทรโยคไปได้ทงั้ ทางรถยนต์และรถไฟ ด้วยระยะทางประมาณ 180 กิโลเมตร ซึ่งไม่ไกลจากกรุงเทพนัก
KANCHANABURI 159
ของดีในอำ�เภอไทรโยคที่เป็นสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยว ให้มาเยือนได้เป็นอย่างดี ได้แก่ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ เช่ น อุ ท ยาน ประวัตศิ าสตร์เมืองสิงห์ ทางรถไฟสายมรณะ ถ้�ำ กระแซ พิพธิ ภัณฑ์ ช่องเขาขาด
แหล่งท่องเที่ยวทางด้านธรรมชาติที่สวยงดงามตระการตา เช่น น้ำ�ตกไทรโยคน้อย น้ำ�ตกไทรโยคใหญ่ ถ้ำ�ดาวดึงส์ ถ้ำ�ละว้า บรรยากาศแม่น้ำ�แควน้อยสองฝั่งแม่น้ำ�เต็มไปด้วยภูเขา ป่าไม้ที่มี ความเขียวชอุ่มท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติที่บริสุทธิ์
แหล่งอาหารที่มีรสชาติอร่อยมากๆ เช่น แกงป่า ผักหวานป่า เห็ดโคน เมนูปลาน้�ำ จืดหลากหลายชนิด หากท่านมาอำ�เภอไทรโยค แล้วต้องลองรับประทานจะไม่ผิดหวังกลับไป 160
กิจกรรมอืน่ ๆ ทีห่ าดู ชมได้ยาก เช่น กิจกรรมขีช่ า้ งริมฝัง่ แม่น�้ำ แควน้อย กิจกรรมดูเสือ กอดเสือ การแสดงของกลุม่ ชาติพนั ธุม์ อญ และทีส่ �ำ คัญต้นกำ�เนิดเพลงเขมรไทรโยคแบบดัง้ เดิม ยังสามารถรับ ฟังรับชมได้ที่อำ�เภอไทรโยคแห่งเดียว จากศักยภาพดังกล่าวข้างต้น ผมในฐานะนายอำ�เภอไทรโยค จึงมีวิสัยทัศน์ในการทำ�งาน ดังนี้ “มุ่งมั่นการทำ�งาน บูรณาการทุกภาคส่วน พัฒนาอำ�เภอ ไทรโยคให้น่าอยู่ น่าเที่ยว” ผมจึงได้ประสานภาคส่วนราชการ ท้องถิ่น และภาคเอกชน ผูป้ ระกอบการธุรกิจท่องเทีย่ วอำ�เภอไทรโยค ร่วมจัดโครงการส่งเสริม การท่องเทีย่ วอำ�เภอไทรโยค ระหว่างวันที่ 20 - 22 กุมภาพันธ์ 2557 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว และของดี อำ � เภอไทรโยคให้ รู้ จั ก แพร่ ห ลายมากยิ่ ง ขึ้ น ส่ ง เสริ ม การรวม กลุ่ ม ของผู้ ป ระกอบการให้ เ ข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด กิ จ กรรม ส่งเสริมสนับสนุนผู้ประกอบการ ร้านค้า ชุมชนให้มีรายได้จากนัก ท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น และส่งเสริมผู้ประกอบการต่างๆ ให้มีการ พัฒนาและยกระดับคุณภาพของสินค้าและการบริการเชิงคุณภาพ เพือ่ เตรียมการรองรับการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน ในปี 2558 ทำ�ให้ เกิดภาพลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงบวก และคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยว มาเทีย่ วอำ�เภอไทรโยคเพิม่ มากขึน้ ทำ�ให้มรี ายได้จากธุรกิจการท่องเทีย่ ว กระจายเพิม่ มากขึน้ เป็นสิง่ ทีผ่ มต้องการให้เกิดขึน้ กับอำ�เภอไทรโยค ต้องการให้เป็นเมืองน่าอยู่ น่าเทีย่ ว จึงขอเชิญทุกท่านมาเยือนไทรโยค แล้วจะประทับใจไม่รลู้ มื ดังคำ�กล่าวของอาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ที่ว่า “เมืองชายแดน แคว้นประวัติศาสตร์ ธรรมชาติงดงาม นามไทรโยค”
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ไทรโยค)
กีฬาชุมชนต่อต้านยาเสพติด
นายเชิดชัย ซิบเข นายกเทศมนตรีต�ำ บลวังโพธิ์
เทศบาลตำ�บลวังโพธิ์
“เทศบาลตำ�บลวังโพธิ์ เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่คุณภาพ ชี วิ ต ที่ ดี มี ค วามพร้ อ มทางการศึ ก ษาพั ฒ นา แหล่งท่องเที่ยวและสิ่งแวดล้อม เพียบพร้อม ธรรมาภิบาล”
สินค้าOTOP เด่น
คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลตำ�บลวังโพธิซ์ งึ่ มีส�ำ นักงานตัง้ อยูเ่ ลข ที่ 999 หมูท่ ี่ 1 ตำ�บลลุม่ สุม่ อำ�เภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ไ ปทางทิ ศ เหนื อ ประมาณ 50 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายเชิดชัย ซิบเขเป็นนายกเทศมนตรีต�ำ บล วังโพธิ์
เขตเทศบาลตำ�บลวังโพธิ์ เป็นชุมชนขนาดเล็กไม่ค่อยเจริญนัก ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่เรียบง่ายแบบสังคมชนบทที่มีความ อบอุ่นสงบเรียบร้อยดี และเป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งพอสมควร โดยทต.วังโพธิ์ ได้พยายามมุ่งเน้นด้านการส่งเสริมอาชีพ เพื่อให้ ประชาชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และมีรายได้เพิ่มขึ้นตลอด จนพัฒนาและส่งเสริมการท่องเทีย่ วเพือ่ ช่วยให้เศรษฐกิจดีขนึ้ นอก จากนีย้ งั ได้สง่ เสริมการศึกษาและวัฒนธรรมท้องถิน่ เพือ่ สร้างความ สามัคคีและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งประชาชนในท้องถิ่นได้ให้ ความร่วมมือด้วยดี
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลตำ�บลวังโพธิ์มีพื้นที่ทั้งหมด 5.2 ตร.กม. หรือ ประมาณ 3,250 ไร่ ในเขตเทศบาลตำ�บลวังโพธิ์ มี2 ชุมชน คือ ชุมชนถ้ำ�กระแซ และ ชุมชนถ้ำ�ชะนีมีประชากรทั้งสิ้น 2,017 คน จำ�นวนครัวเรือน 794 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ.วันที่ 31 พฤษภาคม 2557) ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ค้าขายและรับจ้างทั่วไป
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ สะพานโค้งถ้ำ�กระแซ(ทางรถไฟสายมรณะ) เป็นบริเวณ ที่ทางรถไฟเลียบหน้าผาสูงชัน อีกด้านหนึ่งเป็นลำ�น้ำ�แควน้อย โค้งมรณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างสถานีรถไฟลุม่ สุม่ กับสถานีรถไฟวังโพ เป็น จุดที่มีนักท่องเที่ยวนิยมมาชมมากถึงวันละ 300 – 500 คน ถ้ำ�กระแซเคยเป็นที่พักของเชลยศึกภายในถ้ำ�โปร่งและมี พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิม์ องจากหน้าถ้�ำ มาทีบ่ ริเวณทางรถไฟจะเห็น ทิวทัศน์ที่งดงามมาก แค้มป์ชา้ งวังโพอยูใ่ กล้กบั สถานีรถไฟวังโพธิ์ มีการแสดงช้าง นั่งช้างและล่องแพเปิดตั้งแต่เวลา 08.00 น.-18.00น.
ขนมเทียนแก้ว โดย นางบานเย็น ชูชาติ ศิลปะจากรากไม้ โดย นายประเสริฐ โพธิ์ทอง
จากใจนายกเทศมนตรี ตำ�บลวังโพธิ์
เทศบาลเคลื่อนที่ฝึกอาชีพ และบริการซ่อมบำ�รุง
โครงการครอบครัวสัมพันธ์
โครงการแว่นสวยตาใสใส่ใจผู้สูงอายุ
โครงการวันแม่แห่งชาติ
KANCHANABURI 161
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายวินายอำบูล�เภอท่ ย์ าม่ปัวง้นศิริ “ท่าม่วงเมืองคนดี มีวัดสวย รวยความหวาน ชลประทานดีเยี่ยม สวยเรี่ยมผ้าทอ นวลลอองามแท้ อาบน้ำ�แร่วัดวังขนาย” คือคำ�ขวัญอำ�เภอท่าม่วง ซึ่งที่ว่าการอำ�เภอตั้งอยู่ ณ ตำ�บลท่าม่วง บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 323 ห่างจาก ที่ตั้งของจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 12 กิโลเมตร และมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 610.97 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีนายวิบูลย์ ปั้นศิริ ดำ�รงตำ�แหน่งนายอำ�เภอท่าม่วง
ประวัติอำ�เภอท่าม่วง
อำ�เภอท่าม่วงจัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2441 ทีบ่ า้ นท่าไม้รวก ตำ�บลม่วงชุมในปัจจุบนั โดยมีการเปลีย่ นชือ่ อำ�เภออยูห่ ลาย ครั้งตามถิ่นที่ตั้ง ได้แก่ อำ�เภอใต้ อำ�เภอวังขนาย ต่อมา พระวรภักดิ์พิบูลย์ นายอำ�เภอสมัยนั้นเห็นว่า อำ�เภอตั้งอยู่ในเขต พืน้ ทีต่ �ำ บลท่าม่วง และอยูท่ า้ ยตลาดท่าม่วงซึง่ เป็นตลาดใหญ่ จึงขออนุญาตเปลีย่ นชือ่ เป็นอำ�เภอท่าม่วง โดยมีผลตัง้ แต่ในปี พ.ศ. 2482 จากนั้นในปี พ.ศ. 2489 ได้ย้ายที่ว่าการอำ�เภอมาอยู่ที่ตั้งปัจจุบัน 164
ข้อมูลทั่วไปของอำ�เภอท่าม่วง
ปัจจุบันอำ�เภอท่าม่วงมี 13 ตำ�บล 120 หมู่บ้าน มีองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 17 แห่ง ประกอบด้วยองค์การบริหารส่วน ตำ�บล 8 แห่ง เทศบาลตำ�บล 9 แห่ง มีประชากรรวมทั้งสิ้น 106,535 คนแยกเป็น ชาย 51,477 คน หญิง 55,058 คน มีความหนาแน่นเฉลีย่ ต่อพืน้ ทีป่ ระมาณ 174.37 คน/ตารางกิโลเมตร จำ�นวนครัวเรือน 39,692 ครัวเรือน อาชีพหลักของราษฎรในพื้นที่ คือเกษตรกรรม มีพืชสำ�คัญคือข้าวและอ้อย
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำ คัญของอำ�เภอท่าม่วง
วัดถ้�ำ เสือ เป็นวัดทีม่ คี วามประณีตสวยงาม ตัง้ อยูบ่ นเขาทีไ่ ม่สงู นักจึงสามารถเดินเท้าขึ้นไปหรือโดยสารด้วยรถไฟฟ้าได้ สิ่งสำ�คัญ ภายในวัดถ้ำ�เสือ ได้แก่ หลวงพ่อชินประธานพร พระพุทธรูป ปางประทานพร ประดิษฐานอยูบ่ นเขา พุทธลักษณะงดงาม บริเวณ องค์พระประดับด้วยกระเบื้องโมเสกสีทองทั้งองค์ พระเจดีย์เกศ แก้วปราสาท เป็นพระเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยมสูง 9 ชั้น ประดิษฐาน พระพุทธรูปอยูโ่ ดยรอบ ส่วนบนสุดประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ พระอุโบสถอัฏมุข ภายในประดิษฐานพระประธาน ผนังประดับด้วย ปูนปั้นเรื่องราวในพุทธประวัติ วัดถ้ำ�เขาน้อย ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2426 โดยสถาปัตยกรรม รูปเคารพ และศิลปะภายในวัด เป็นแบบจีนแทบทั้งสิ้น ชั้นล่าง มีพระประธานคือ พระศรีอ าริยเมตไตรย หรือ พระสังกัจจายน์ พระทีม่ รี า่ งกายอวบอ้วนสมบูรณ์ ใบหน้ายิม้ แย้มแจ่มใส ติดกันเป็น ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปอรหันต์ 18 พระองค์ ที่มีท่าทางแฝงด้วย คติธรรม ที่วิหารกลางเป็นที่ประดิษฐานพระกวนอิมโพธิสัตว์ หรือ พระอวโลกิเตศวรภาคหนึง่ ด้านหลังมีวหิ ารพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ตามแบบมหายาน ต่อไปเป็นพระพุทธบาทจำ�ลอง จากนัน้ ขึน้ บันได ต่อไปชมพระเจดีย์คีรีบรมธาตุ “บ่วงฮุกถะ” แปลว่า เจดีย์หมื่น พระองค์ หากขึ้นถึงเจดีย์ชั้น 7 เป็นที่ประดิษฐานขององค์พระบรม สารีริกธาตุ ซึ่งการได้กราบนมัสการถือเป็นมงคลชีวิตอย่างสูงสุด บ่อน้�ำ ร้อนวัดวังขนาย เป็นน้ำ�แร่ที่มีความร้อนประมาณ 40 องศาเซลเซียส จึงเหมาะสำ�หรับ “ธาราบำ�บัด” จึงมีบริการหลาย รูปแบบ ทั้งแช่เท้า แช่ทั้งตัวแบบนอน และแบบนั่ง ช่วยผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ คลายเครียด และช่วยให้การหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น เปิดบริการทุกวันตั้งแต่ 05.00-21.00 น. หาดทรายท่าล้อ ตั้งอยู่ที่ ต.ท่าล้อ เป็นหาดทรายที่อยู่ติดกับ แม่น้ำ�แม่กลอง ชายหาดมีความยาวประมาณ 500 เมตร ลาดลง สู่แม่น้ำ�แม่กลองที่บริเวณวัดท่าล้อ บริเวณโดยรอบมีทัศนียภาพที่ สวยงาม เขือ่ นแม่กลอง เดิมชือ่ เขือ่ นวชิราลงกรณ์ เป็นเขือ่ นแห่งแรก ของจังหวัดทีส่ ร้างขึน้ บนแม่น�้ำ แม่กลอง เพือ่ การชลประทานทัง้ ใน จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี จนถึงนครปฐม และยังใช้เพือ่ ป้องกันน้�ำ ท่วม ช่วยไล่น�้ำ ทะเลหนุนทีจ่ งั หวัดสมุทรสงคราม และยังเป็นแหล่งเพาะ
พันธุ์ปลาน้ำ�จืดมากมาย
จากใจนายอำ�เภอท่าม่วง
สำ�หรับการบริหารงานของผม นายวิบลู ย์ ปัน้ ศิริ นายอำ�เภอท่าม่วง จะมุ่งเน้นการทำ�งานแบบบูรณาการร่วมกันของทุกภาคส่วนใน พืน้ ที่ ทัง้ หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ กำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น กลุม่ องค์กรต่างๆ รวมไปถึงภาคเอกชนในพืน้ ที่ เพราะ ภารกิจงานของอำ�เภอนั้นเป็นภารกิจที่จะต้องปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมายจากทุกกระทรวงทุกกรมที่มีนโยบายเข้ามาในพื้นที่ ดังนัน้ ผมจึงมุง่ เน้นการทำ�งานแบบบูรณาการทุกภาคส่วนทีจ่ ะร่วม มือร่วมใจกันปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ เพื่อให้ประชาชนได้รับ ประโยชน์อย่างเต็มที่สมดังเจตนารมณ์ของกรมการปกครองที่จะ “บำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข” ให้กับพี่น้องประชาชน ทั้งนี้ผมได้ให้ความสำ�คัญกับการทำ�งานตามนโยบายของ รัฐบาล และคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) รวมไปถึง นโยบายของหน่ ว ยเหนื อ ตามอำ � นาจหน้ า ที่ ข องนายอำ � เภอ ไปปฏิบัติให้ผลอย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการของประชาชน ดังเช่น โครงการ หมู่บ้าน 1 ตัน : แปรรูปผักตบชวา เพิ่มมูลค่าให้แผ่นดิน ซึ่งเป็นนโยบายของ กระทรวงมหาดไทยตั้งเป้าหมายจะต้องกำ�จัดผักตบชวาเพื่อเปิด ทางน้ำ�ให้ประชาชนได้สัญจร เปิดทางระบายน้ำ� ฯลฯ โดยที่ผ่าน มาผมได้ลงนามแต่งตั้งคณะทำ�งานโครงการ 1 หมู่บ้าน 1 ตัน : แปรรู ป ผั ก ตบชวา เพิ่ ม มู ล ค่ า ให้ แ ผ่ น ดิ น อำ � เภอท่ า ม่ ว ง เพือ่ ร่วมกันขับเคลือ่ นนโยบายดังกล่าวให้ส�ำ เร็จ รวมทัง้ สัง่ การให้ อปท.ร่วมกับคณะกรรมการหมูบ่ า้ น (กม.) และกำ�นัน ผูใ้ หญ่บา้ น แต่งตั้งคณะทำ�งานตามโครงการฯ ในระดับตำ�บลและหมู่บ้าน เพื่อดำ�เนินโครงการดังกล่าวให้สำ�เร็จเป็นรูปธรรม โดยในวันที่ 5 ธันวาคม 2557 อำ�เภอได้เปิดตัวโครงการ (kick off) โครงการ 1 หมู่บ้าน 1 ตัน โดยมีนายวันชัย โอสุคนธ์ทิพย์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นประธาน ณ บ้านสระกลอย หมูท่ ี่ 5 ตำ�บล รางสาลี่ อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี ขณะนีอ้ �ำ เภอท่าม่วง ได้ดำ�เนินโครงการไปเรียบร้อยแล้วกว่าร้อยละ 60 ซึ่งคาดว่า ภายในเดือนมกราคม 2558 จะดำ�เนินการให้ส�ำ เร็จเสร็จสิน้ ครบ KANCHANABURI 165
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ท่าม่วง)
กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
นายปรีชา บัวบาน นายกเทศมนตรีต�ำ บลวังศาลา
“พื้นฐานมั่นคง ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาสิ่ง แวดล้อม พร้อมสู่คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตำ�บลวังศาลาซึง่ มีส�ำ นัก งานตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ที่ 5 ตำ�บลวังศาลา อำ�เภอท่าม่วง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี โดยห่ า งจากอำ � เภอท่ า ม่ ว งประมาณ 6 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายปรีชา บัวบาน เป็นนายกเทศมนตรีต�ำ บล วังศาลา
เทศบาลตำ�บลวังศาลา 5. สร้างชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง มีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ห่าง ไกลยาเสพติด 6. ส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีท้องถิ่น 7. ส่งเสริมการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว และอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมอย่าง ยั่งยืน
ประวัติความเป็นมา
จากบันทึกเมื่อปี พ.ศ. 2477 เดิมบ้านวังศาลาชื่อว่า “บ้าน วังเหรา” ซึง่ ชาวบ้านเล่าว่ามีสตั ว์ประหลาดลักษณะตัวเป็นจระเข้ เขาเหมือนควาย ว่ายน้�ำ มุ่งตรงมายังต้นพลับ ซึ่งมีศาลเจ้าที่ชาว บ้านนับถืออยู่ และใต้น้ำ�ยังมีถ้ำ�ใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยของตัวเหรา ต่อมาได้มีการเปลี่ยนชื่อมาเป็น “บ้านวังศาลา” ปัจจุบันเทศบาลตำ�บลวังศาลา มีพื้นที่ทั้งหมด 39 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น10 หมู่บ้าน มีประชากรทั้ง สิ้น 11,703 คน 3,448 ครัวเรือน
การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ
พันธกิจ
1. มี ก ารพั ฒ นาด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานให้ มี ม าตรฐาน ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีสุขภาพที่แข็งแรง ให้ประชาชนดำ�รงชีวิตตามทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 3. ส่งเสริมการพัฒนาด้านการศึกษาทั้งในระบบและนอก ระบบ ส่งเสริมให้นกั เรียนทีย่ ากจนมีโอกาสทางการศึกษามากขึน้ 4. ปรับปรุงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้เป็นสัดส่วน เพื่อเตรียม ความพร้อมให้กับเด็กก่อนวัยเรียนให้มีมาตรฐานเทียบเท่ากับ สถานศึกษาของเอกชน 166
โครงการแข่งขันกีฬา ท้องถิ่นสัมพันธ์ ต้านยาเสพติด
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
หลวงพ่อสมปราถนา
หลวงพ่อสรรเพชร
พระครูกาญจนสุตาคม
วัดวังขนายทายิการาม วั ด วั ง ขนายทายิ ก าราม ตั้ ง อยู่ ที่ ต.วั ง ขนาย อ.ท่ า ม่ ว ง จ.กาญจนบุ รี เป็ น วั ด ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเนื่ อ งจากมี บ่ อ น้ำ � แร่ ร้ อ น ตามธรรมชาติที่มีสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการเสื่อมสภาพของ ร่ า งกายได้ ห ลายชนิ ด และมี ห ลวงพ่ อ สรรเพชญ...หลวงพ่ อ ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวกาญจนบุรีเคารพศรัทธา
ความเป็นมาของบ่อน้�ำ แร่ร้อน
เมื่อปี 2536 พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าอาวาสวัดวังขนาย ทายิการามรูปปัจจุบัน ได้ฝันว่า มีแม่แต่งชุดขาวมาบอกว่า...ให้ เจาะบ่อน้ำ�บริเวณหน้าวัดให้ชาวบ้านใช้ แล้ววัดจะเจริญ เจ้า อาวาสจึงให้กรมทรัพยากรธรณี เข้ามาสำ�รวจและเจาะบ่อน้�ำ หน้า วัด ในปี พ.ศ.2540 เมื่อเจาะแล้วพบว่าน้�ำ บาดาลใต้ดินมีความ ร้อนถึง 42 องศาเซลเซียส จนกระทั่งปี 2541 คุณสุรพันธ์ เชาว์กุลจรัสศิริ (ผู้จัดการ บริษัท แสงโสม จำ�กัด) ได้เสนอแนะให้นำ�น้ำ�ในบ่อนี้ส่งไป วิเคราะห์ที่ ม.เกษตรฯ กำ�แพงแสน เมื่อเอาน้ำ�แร่ไปวิจัยแล้ว ปรากฏว่า ในน้ำ�มีแร่ธาตุอยู่หลายชนิด ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อ ร่างกาย ดังนั้น ทางวัดวังขนายจึงจัดสร้างบ่อน้ำ�แร่ขึ้นมา เพื่อ ให้ประชาชนลงไปแช่และอาบน้ำ� โดยมีทั้งบ่อนั่งและบ่อนอน สำ�หรับไว้บริการให้กบั ประชาชนทัว่ ไป และเหมาะกับคนเลือดลม
บ่อน้�ำ แร่
เดินไม่สะดวก ปวดเมื่อยตามร่างกาย โรคผิวหนัง โรคปวดกระดูก และเป็นอัมพฤกษ์ ซึ่งบ่อน้าพุร้อนนี้จะเปิดให้บริการตั้งแต่เวลา 05.00-21.00 น. ของทุกวันโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น (ผู้ที่ จะอาบน้�ำ ร้อนควรเตรียม เสื้อผ้าสำ�หรับมาเปลี่ยนด้วย)
ประวัติหลวงพ่อสรรเพชญ
หลวงพ่อสรรเพชญ พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องชาวบ้ า นวั ง ขนาย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ทำ�ด้วยเนื้อศิลาแลง สร้าง ขึ้นในสมัยอยุธยา มีขนาดหน้าตักกว้าง 29 นิ้ว ในปี พ.ศ. 2539 พระครู ก าญจนสุ ต าคม ได้ ส ร้ า งวิ ห ารกาญจนาภิ เ ษก พร้ อ ม ทั้งหิรัญเจดีย์ เพื่อเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยสมเด็จ พระสังฆราชฯ ได้เสด็จมาบรรจุไว้บนหิรัญเจดีย์ และในวิหารแห่ง นี้ยังเป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อสรรเพชญ หลวงพ่อโต หลวงพ่อ เสนาะ และพระประจำ�วัน จึงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนมากราบ ขอพรหลวงพ่อสรรเพชญเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต สนใจสอบถามรายละเอี ย ดติ ด ต่ อ วั ด วั ง ขนายทายิ ก าราม โทร 034-611022 หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.watwangkhanai. com KANCHANABURI 167
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต การบู ร ณะในช่ ว งต้ น กรุ ง ธนบุ รี เ ป็ น ราชธานีนั้น ได้มีชาวบ้านชื่อ “นางโน” หรือ “แม่ย่านางโน” ซึ่งเป็นแม่ค้าชาวจีนพายเรือ ค้ า ขายผ่ า นบริ เ วณวั ด และเกิ ด เหตุ ก ารณ์ ประหลาดเมือ่ อยู่ ๆ ไม่สามารถพายเรือเคลือ่ น ไปได้ นางโนจึงตัง้ จิตอธิษฐานกับพระนอน หรือ พระพุทธไสยาสน์ว่า หากตนสามารถพายเรือ ไปค้าขายได้จะกลับมาบูรณะองค์พระนอน ซึ่ง ถูกพวกมิจฉาชีพทุบเจาะเพือ่ หาพระเครือ่ งและ แก้ ว แหวนเงิ น ทอง เมื่ อ นางโนพายเรื อ ต่ อ ไปได้ นางจึงได้เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงสำ�คัญใน การบูรณะองค์พระ โดยใช้ปูนหมักปูนตำ�ผสม ฉาบหุม้ พระนอนองค์เดิมให้ใหญ่ขนึ้ กว่าเดิมแล ดูสวยงาม ชาวบ้านจึงเรียกวัดนีว้ า่ “วัดนางโน” และต่ อ มาภายหลั ง ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “วั ด มโนธรรมราม”
ศาสนวัตถุสำ�คัญของวัด
ระเบียงคด ล้อมรอบพระปรางค์เจดีย์ ภายในเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ สมัย
วัดมโนธรรมาราม...สำ�นักปฏิบัติธรรมดีเด่น จ.กาญจนบุรี วัดนางโน หรือ วัดมโนธรรมาราม ตั้ง อยู่เลขที่ 90/4 หมู่ที่ 3 ตำ�บลม่วงชุม อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดได้รับ การอนุ มั ติ จ ากมหาเถรสมาคมให้ จั ด ตั้ ง เป็ น “สำ�นักปฏิบตั แิ ห่งที่ 4” ของจังหวัดกาญจนบุรี และในปี 2556 ได้รับคัดเลือกให้เป็น “สำ�นัก ปฏิบัติธรรมดีเด่น” ของจังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบนั มี พระครูวสิ ทุ ธิกาญจนคุณ เป็น เจ้าอาวาสวัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2526 และได้ ดำ�เนินงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม อย่างหลากหลาย ได้แก่ การบูรณะวัดและ ศาสนวั ต ถุ ภ ายในวั ด การปฏิ บั ติ ธ รรมบวช เนกขัมมะ ถือธุดงควัตร (หนึ่งใจให้ธรรมะ) จัดอบรมปฏิบัติธรรม ประกอบพิธีบูชาครู เพื่อ ความเป็นสิรมิ งคลและเสริมบารมี จัดพิธฉี ลอง พระปรางค์และพระนอนทุกปี 168
ประวัติความเป็นมา
วัดมโนธรรมาราม หรือ วัดนางโน เป็น วัดเก่าแก่วดั หนึง่ ในจังหวัดกาญจนบุรี สร้างขึน้ ในระหว่างปี พ.ศ.2076-2089 ในรัชสมัยสมเด็จ พระไชยราชาธิราช แห่งราชวงศ์สุวรรณภูมิ จากหลักฐานที่ปรากฏอยู่คาดว่าเดิมเป็นวัดที่ เคยมีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน และได้ชำ�รุด ทรุดโทรมไปเป็นระยะ ๆ อันเนื่องมาจากศึก สงครามระหว่างไทยกับพม่า เมื่อศึกสงคราม สงบลงแล้วประชาชนก็กลับมาอยู่ถิ่นเดิม และ ได้บูรณะวัดอีกเป็นอยู่เช่นนี้ตลอดมา ครั้นเสีย กรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า วัดนี้จึงได้ร้างไปนาน เมื่อสงครามสงบลงแล้วประชาชนก็กลับมาตั้ง ถิ่ น ฐานทำ � มาหากิ น กั นใหม่ และได้ ช่ ว ยกั น บูรณปฏิสังขรณ์วัดนี้อีก
อยุธยา หลังคาระเบียงคดมุงด้วยกระเบือ้ งกาบ กล้วยที่มักใช้กันในสมัยโบราณ พระปรางค์เจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงปรางค์ สมัยอยุธยาตอนต้น ก่ออิฐถือปูน มีซมุ้ เรือนธาตุ ทั้งสี่ด้าน ส่วนบนสุดประดับด้วยยอดนภศูล พระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานอยูภ่ ายใน ระเบียงคด เป็นพระพุทธไสยาสน์สมัยอยุธยา ซึ่งมีพุทธลักษณะงดงาม เดิมทีก่อนการบูรณะ ด้านหลังองค์พระได้ถูกมิจฉาชีพเจาะเพื่อหา สมบัติ ตั้งแต่พระเศียรจรดพระบาท จนเป็น เหตุให้องค์พระเสียหาย วิหารหลวงพ่อแบน (พระครูประสิทธิ ธรรมญาณ) ภายในวิหารมีสงั ขารซึง่ ไม่เน่าเปือ่ ย ของหลวงพ่อแบน อดีตเจ้าอาวาสวัด บรรจุอยู่ ในโลงแก้วเพื่อให้สาธุชนได้สักการบูชา โดย สังขารของท่านนอกจากจะไม่เน่าไม่เปือ่ ยแล้ว ยัง มีผมและเล็บงอกยาวขึน้ อย่างน่าอัศจรรย์
ประวัติหลวงพ่อแบน พระเกจิดัง ฝั่งตะวันตก
หลวงพ่อแบน หรือ พระครูประสิทธิ ธรรมญาณ (แบน) กันตะสาโร อดีตเจ้าอาวาส วัดมโนธรรมาราม และอดีตรองเจ้าคณะตำ�บล ม่ ว งชุ ม อำ � เภอท่ า ม่ ว ง จั ง หวั ด กาจนบุ รี หลวงพ่อแบนเป็นพระเกจิชื่อดังของภาคตะวัน ตกรูปหนึ่งที่สาธุชนเลื่อมใสศรัทธา เนื่องจาก ท่านมีความประพฤติเรียบร้อย มีอนิ ทรียส์ งั วร สำ�รวมกายวาจาใจ มีสติไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ท่านสำ�รวมเป็นปกติ จึงเป็นที่เลื่อมใส
ของพุทธศาสนิกชนทั่วไป ในด้านปฏิบัติ ท่านมี ความเคร่งครัดมาก เจริญสติปฏั ฐานสี่ อบรม บ่มอินทรีย์ของท่านให้แก่กล้าตลอดระยะเวลา 35 ปี ไม่เคยขาดตกบกพร่อง แม้กระทัง่ กิจวัตร ท่านทำ�วัตรสวดมนต์เช้า-เย็น ลงอุโบสถฟังพระ ปาฏิโมกข์ โดยท่านสวดเองบ้างหรือใช้ให้ พระลูกวัดสวดบ้าง การเจริญวิปสั สนา กำ�หนด ปฏิบัติ ยืน เดิน นั่ง นอน ไม่เคยขาด แม้ ในช่วงยามเจ็บป่วย ท่านก็ไม่ละทิ้งการปฏิบัติ ในอดีตหลวงพ่อแบนเป็นพระที่สนใจใฝ่ ศึกษาพระธรรม โดยได้เดินธุดงค์ไปศึกษากับ ครูบาอาจารย์ชื่อดังในหลายจังหวัด ทั้งเหนือ กลาง อีสาน และใต้ เช่น ศึกษาวิชาธรรมกาย กับพระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด) วัดปากน้�ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ศึกษาวิปัสสนา กรรมฐาน กับพระเทพสิทธิมุนี อาจารย์ใหญ่ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ (โชดก) วัดมหาธาตุยุวรา
ชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร เป็นต้น หลวงพ่อแบนเคยเป็นครูสอนปริยตั ธิ รรม แผนกนักธรรม วัดศรีโลหะราษฎร์บ�ำ รุง ในปี พ.ศ. 2502 เป็นครูสอนปริยัติธรรม แผนกนัก ธรรม วัดมโนธรรมาราม และเป็นกรรมการ สอบประโยคธรรมสนามหลวงทุกๆ ปี ต่อมาได้ เปิดโรงเรียนปริยตั ธิ รรม แผนกนักธรรม ตรี โท เอก มีภกิ ษุสามเณรเข้ารับการศึกษาเป็นประจำ� ทุก ๆ ปี (จนถึงปี 2525 ซึ่งท่านได้มรณภาพ) นอกจากนั้นยังได้จัดกิจกรรมอบรมศีล ธรรมแก่นักเรียน สถานศึกษา และหน่วยงาน ราชการอื่น ๆ และในปี 2515 ท่านได้จัดตั้ง
มู ล นิ ธิ เ พื่ อ การศึ ก ษา เพื่ อ สงเคราะห์ ทุ น การศึกษาแก่เด็กยากจนตามโรงเรียนต่าง ๆ ด้วย ในปีพ.ศ. 2517 หลวงพ่อแบน เป็น ประธานเปิดการประชุมปฏิบตั ธิ รรมทีว่ ดั มโนธร รมาราม เพือ่ ฝึกอบรมวิปสั สนากรรมฐาน ถือ
ธุดงควัตรประจำ�ปี และสมาทานธุดงควัตรใน ช่วงวันมาฆบูชาของทุกปี จนกระทั่งท่านได้ มรณภาพลงในปี 2525
พระครูวิสุทธิกาญจนคุณ เจ้าอาวาสนักพัฒนา
ภายหลั ง จากหลวงพ่ อ แบนมรณภาพ “พระครูวิสุทธิกาญจนคุณ” ได้ดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้าอาวาส มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 จนถึง ปัจจุบัน พระครูวิสุทธิกาญจนคุณ เคยเป็น พระลูกวัดซึ่งรับใช้ใกล้ชิดกับหลวงพ่อแบนมา โดยตลอด ท่ า นจึ ง สานต่ อ เจตนารมย์ ข อง หลวงพ่อแบนโดยเปิดการอบรมประชุมปฏิบัติ ธรรม ถือธุดงควัตรมาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งท่านยังเป็นพระนักพัฒนา ทำ�การบูรณ ปฏิสังขรณ์โบราณสถานสำ�คัญ ๆ ภายในวัด อาทิ ปี พ.ศ. 2533 ได้ทำ�การบูรณะวิหาร พระนอน และวิหารคด โดยก่ออิฐถือปูน อิฐ ใหญ่เท่าเดิม ใช้ปูนหมักปูนตำ� หลังคามุง กระเบื้องดินเผากาบกล้วย คล้ายเทพพนม มองไกลๆเหมือนมาก แต่เป็นลายดอกไม้ ใช้ งบประมาณการก่อสร้าง 2,908,995 บาท ได้ รับเงินจากการอุปถัมภ์โดย “ลูกสาวตระกูล ถาวรธนสาร” และสาธุชนทั่วไป ปี พ.ศ. 2541 ได้สร้างพระพุทธรูปใหม่ ตามแบบศิลปะอู่ทอง-สมัยต้นอยุธยา แล้ว ทาสีทองทั้งองค์แทนพระพุทธรูปองค์เก่า ๆ ที่ชำ�รุดแตกหัก โดยใช้วิธีสร้างองค์ใหม่ครอบ องค์ เ ก่ าไว้ ใช้ ง บประมาณในการก่ อ สร้ า ง ทั้งสิ้น 1,350,000 บาท
KANCHANABURI 169
ปี พ.ศ. 2551 ได้ทำ�การบูรณะพระนอน ใหม่ เพราะปูนสมัยใหม่ ได้ผุกร่อนกะเทาะ หลุด กรมศิลปากรเห็นว่าควรจะทุบปูนที่ฉาบ ไว้ก่อนนั้นออกให้หมด จึงเห็นพระหินขาวองค์ เดิม ไม่ใช่หยกแต่เป็นหินขาวชนิดดี หลังจาก นั้นช่างกรมศิลป์ใช้ปูนหมักปูนตำ�หุ้มพระหิน ขาว ไว้ดังเดิม แล้วลงลักปิดทองสวยงาม อร่ามตา พร้อมปรับปรุงภายในด้วยปูกระเบือ้ ง ใหม่ ใช้ ง บประมาณการบู ร ณะใหม่ ทั้ ง สิ้ น 2,599,955 บาท
ฐานโชว์ อิ ฐให้ เ ห็ น ความเก่ า ทางวั ดได้ ข อ อนุญาตจากกรมศิลป์บูรณะเอง ซึ่งทางกรม ศิลปากรได้เขียนแบบแปลนให้ใหม่ แต่ต้องให้ ทางวั ด ดำ � เนิ น การเองทั้ ง หมด พร้ อ มทั้ ง ปู กระเบื้องอิฐดินเผารอบรอบวิหารคด และรอบ องค์พ ระปรางค์ โดยให้ ก รมศิ ล ปากรเป็ น ผู้ ควบคุมดูแลการบูรณะจนสำ�เร็จใน 2 ปี ใช้ งบประมาณ 4,549,454 บาท ในปี พ.ศ. 2553 ได้ทำ�การบูรณะโบสถ์ เก่า ด้านหลังวิหารพระนอน ใหม่ เพราะโบสถ์
ในปี พ.ศ. 2552 ได้บูรณะพระปรางค์ ขึ้นรูปใหม่ โดยหุ้มพระปรางค์องค์เดิมไว้ด้วย ปูนหมักปูนตำ�เหมือนแบบโบราณ ส่วนฐาน พระปรางค์ใช้อิฐแบบเก่าก้อนใหญ่ ก่อเป็น
หลังเดิมชำ�รุดเหลือแต่ฐาน บูรณะแล้วเสร็จ ในหนึ่งปี ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 1,533,159 บาท
170
เชิญบวชเนกขัมมะเสริมสิริมงคล ปั จ จุ บั น วั ด มโนธรรมาราม มี พุทธศาสนิกชนและนักท่องเที่ยวเดินทาง มากราบสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อาทิ พระ นอน พระศรีอริยเมตตรัย เจ้าแม่กวนอิม แม่ย่าตะเคียนทอง อยู่เนืองนิจ นอกจาก นี้ ภ ายในวั ด ยั ง มี อุ ท ยานวั ง มั จ ฉา เพื่ อ ประชาชนได้ ม าพั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจและให้ อาหารปลาอีกด้วย อีกทั้งที่ตั้งของวัดซึ่งอยู่ ติดกับทะเลสาบเหนือเขื่อนแม่กลอง จึง ทำ � ให้ บ รรยากาศวั ด สงบร่ ม รื่ น ร่ ม เย็ น เหมาะกับการเป็นสถานปฏิบัติธรรมด้าน วิ ปั ส สนา ซึ่ ง ทางวั ด ยั ง เปิ ด โอกาสให้ ประชาชนที่สนใจมาบวชเนกขัมมะ โดยมี พระครูวิสุทธิกาญจนคุณ ท่านเจ้าอาวาส ได้ เ มตตาในการเผยแผ่ ธ รรมมะและการ ปฏิบัติธรรม
KANCHANABURI 171
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ต.หนองขาว อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี ประวัตวิ ดั ใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) วัดใหญ่ดงรัง(ส้มใหญ่) เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่สร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงสุโขทัย มาแล้ว เป็นวัดที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน แต่เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา แตกพ่ายแพ้แก่พม่า ท�ำให้วัดถูกเผาท�ำลาย และพม่าได้กวาดต้อนผู้คน และทรัพย์สินไปเป็นจ�ำนวนมาก แต่ก็ยังมีวัตถุที่ยังหลงเหลือให้เห็นอยู่ ในปัจจุบัน ดังเช่น พระอุโบสถเก่า พระวิหารเก่า เจดีย์ หอระฆัง สระน�ำ้ เก่า เป็นต้น แต่เป็นทีน่ า่ เสียดายทีพ่ ระอุโบสถเก่า พระวิหารเก่า ที่สร้างด้วยอิฐแดงก้อนใหญ่ กว้าง 6 นิ้ว ยาว 12 นิ้ว ได้ถูกรื้อถอน ไปสร้างวัดอินทาราม และโรงเรียนบ้านห้วยตะลุง โดย พระครูกาญจน โกวิท (หลวงพ่อยอม) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอท่าม่วง อนุมัติให้คณะครู และนักเรียนโรงเรียนวัดอินทาราม มาขนเคลื่อนย้ายและน�ำไปสร้าง 172
ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน มีการกล่าวถึง วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) ซึ่งเชื่อกันว่า ขุนไกร (พ่อของพลายแก้ว) เคยมาเรียนวิชาที่วัดนี้ และพลายแก้วเองก็เคยมาบวชเณรที่วัดนี้ด้วย ดังมีเนื้อความว่า
...ครั้นว่ามาถึงวัดส้มใหญ่
เอาข้าวของตั้งไว้ศาลาหน้า
แม่พาพลายแก้วผู้แววตา
ไปกราบไหว้วันทาท่านสมภาร
ท่านเจ้าขาฉันพาลูกมาบวช
ช่วยเสกสวดสอนให้เป็นแก่นสาร
ด้วยขุนไกรบิดามาถึงกาล
จะได้อธิษฐานให้ส่วนบุญ
อีกทั้งวิชาการอ่านเขียน
เจ้าจะได้รำ�่ เรียนเสียแต่รุ่น
ฝ่ายท่านอาจารย์สมภารบุญ
ทอดใจใหญ่ครุ่นแล้วว่ามา
อนิจจาขุนไกรบรรลัยแล้ว
อันลูกชายพลายแก้วเหมือนหนักหนา
รูปอาลัยให้คิดถึงบิดา
จะเลี้ยงลูกให้สีกาอย่าระคาง...
ปลายปี 2524 คือช่วงกลางเดือนสิบสอง พระอาจารย์คะนึง ซึ่งเคยจ�ำ พรรษาทีว่ ดั โมกมันขันธาราม ได้เดินทางมาจ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั ใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) ตามค�ำบอกกล่าวของ พระครูวิสิฐ กาญจนกิจ ซึ่งสมัยนั้นท่านพระครูวิสิฐ กาญจนกิจ ยังเป็นเด็กหนุ่มอายุ 18 ปี ยังไม่ได้อุปสมบท ท่านบอกกับพระ อาจารย์คะนึงว่ามีวัดร้างอยู่ที่คลองชลประทาน สายท่าล้อ-หนองขาว ชาว บ้านนิยมเรียกขานวัดร้างแหล่งนี้ว่า “วัดใหญ่” พระอาจารย์คะนึง ได้มาอยู่จ�ำพรรษาแรกที่นี่ในปี 2525 ซึ่งตรงกับ ปีสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี พอดี เสนาสนะส�ำคัญในวัด หอระฆังวัดใหญ่ดงรัง เป็ น หอระฆั ง ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ กิ จ ของสงฆ์ และยั ง เป็ น ระฆั ง ที่ ใ ช้ ด ี เป็นสัญณาณรวบรวมไพร่พลของไทยคราวท�ำสงครามกับพม่า ในสมัยกรุง ศรีอยุธยา ปัจจุบนั วัดใหญ่ดงรัง (ส้มใหญ่) เป็นอีกหนึง่ สถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรมและสถานทีท่ อ่ ง เทีย่ ว เนือ่ งจากภายในวัดยังมีโบราณสถานที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองให้ เห็น และมีการบูรณะไว้อย่างสมบูรณ์ KANCHANABURI 173
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโพธิ์ศรีสุขาราม
ประวัติวัดโพธิ์ศรีสุขาราม
วัดโพธิ์ศรีสุขาราม ตั้งอยู่ที่ต�ำบลวังศาลา อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัด กาญจนบุรี เดิมเป็นเพียงที่พักสงฆ์ตั้งอยู่บริเวณสุสานวัดในปัจจุบัน มี หลวงตาวอน และหลวงตาปั้น เป็นผู้ปกครองดูแล และอยู่ในสังกัดวัด วังศาลา ต่อมาย้ายมาอยู่บริเวณวัดในปัจจุบัน โดยมีหลวงพ่อกริ่ง เป็น ผู้น�ำชาวบ้านสร้างวัดขึ้นในปี พ.ศ.2487 และมีนายอาจ หลงรอด บริจาคบ้านเก่า 1 หลัง ต่อมาได้มกี ารแต่งตัง้ หลวงพ่อกริง่ เป็นเจ้าอาวาส วัดรูปแรกให้ชื่อว่า “วัดหัวพงษ์” ต่อมาใน ปี พ.ศ.2497 ได้เปลี่ยนชื่อ เป็น “วัดโพธิ์ศรีสุขาราม” จนถึงปัจจุบัน
ประวัติหลวงพ่อกริ่ง
เดิมชื่อ บัญชา จินดากูล เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2460 บุตรนายนาค นางเทียม จินดากูล ที่บ้านพนมทวน อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี อุปสมบทเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2483 ณ วัดท่าเรือ โดย มีพระครูวรวัต ตวิบูลย์ เป็นอุปัชฌาย์ พระอธิการวุ้น เป็นกรรมวาจา จารย์ และพระใจ เป็นอนุสาวนาจารย์ สังกัดวัดวังศาลา อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี แต่จำ� พรรษาทีพ่ กั สงฆ์วดั หัวพงษ์ ภายหลังได้ไปศึกษาวิชา และจ�ำพรรษาทีว่ ดั ศีรษะทอง กับหลวงพ่อน้อย เพือ่ ศึกษาเล่าเรียนพระ ธรรมวินัย และอาคมจากท่านหลวงพ่อน้อย 174
หลวงพ่อกริ่ง มรณภาพเมื่อวันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ขึ้น 14 ค�ำ่ เดือน 8 ปี วอก สิริรวมอายุ 75 ปี 52 พรรษา พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
2487 2488 2490 2504 2491 2526 2527
เป็นเจ้าอาวาสวัดหัวพงษ์ เป็นกรรมวาจาจารย์ สอบได้นักธรรมเอก สังกัดวัดหัวพงษ์ เป็นพระปลัดบัญชา ปญญฺพโล (จินดากูล) เป็นพระครูวิธานกาญจนกิจ เป็นเจ้าคณะตำ�บลหนองกุ่ม เขต 2 เป็นพระอุปัชฌาย์
วัตถุมงคลของหลวงพ่อกริ่ง
ราหูตะกั่ว กะลาตาเดียว เข็มกลัดหน้าหมวก รูปเหมือนขนาด บูชา และขนาดเล็ก เหรียญ 3 รุ่น ได้แก่ รุ่นท�ำบุญฉลอง 60 พรรษา (60เหรี ย ญ) รุ ่ น เลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู วิ ธ านกาญจนกิ จ (เหรียญจินดากูล) และรุ่นบูชาครู (ห้าพลัง) พระเนื้อดินพิมพ์ต่าง ๆ ผ้ายันต์ ตะกรุด และพระบูชาอีกจ�ำนวนมาก
KANCHANABURI 175
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
สำ�นักปฏิบัติธรรม “ภาวนาบารมี” สำ�นักปฏิบตั ธิ รรม “ภาวนาบารมี” ตัง้ อยูบ่ นสถานทีอ่ นั สงบร่มเย็น กว่า 35 ไร่ ณ ตำ�บลหนองตากยา อำ�เภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
ร่วมสร้างทานบารมียิ่งใหญ่
สำ�นักปฏิบตั ธิ รรม “ภาวนาบารมี” กำ�หนดจัดงานประจำ�ปีทกุ เดือน เมษายน จะมีการบรรพชาสามเณรและบวชศีลจาริณี ให้กับเยาวชน ประวัติความเป็นมา จำ � นวนร้ อ ยคน เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ลแด่ พ ระบาทสมเด็ จ สำ�นักปฏิบัติธรรมภาวนาบารมี เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม พระเจ้าอยู่หัว ฯ และการถือศีล กินเจ แจกทาน ตลอด 13 วัน ใน พ.ศ. 2553 โดย แม่ชภี าวนา รัตนไชยญาณ พร้อมคณะศรัทธาสานุศษิ ย์ เทศกาลกินเจ โดยจัดติดต่อกันมาเป็นปีที่ 5 ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นการปฏิบัติธรรม สวดมนต์ ภาวนา ถือศีล จึงขอเชิญชวนผู้มีจิตศรัทธา ร่วมสร้างทานบารมีอันยิ่งใหญ่ได้ที่ ซึง่ จะมีการปฏิบตั ธิ รรมทุกวัน ๆ ละ 4 เวลา และจะมีการสวดมนต์ถวาย สำ�นักปฏิบัติธรรม “ภาวนาบารมี” ตำ�บลหนองตากยา อำ�เภอท่าม่วง พระพรแด่ในหลวงทุกวันจันทร์ ตั้งแต่เวลา 18.00 น. – 21.00 น. จังหวัดกาญจนบุร ี โทรศัพท์ 081-019-6555 หรือติดตามข้อมูลข่าวสาร ปูชนียวัตถุสำ�คัญ ของทางสำ�นัก ฯ ได้ท่ี www.facebook.com/แม่ชภี าวนา รัตนไชยญาณ, ภายในสำ � นั ก ฯ มี พ ระศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อ งค์ ใ หญ่ ห ลายองค์ อาทิ www.facebook.com/สำ�นักปฏิบตั ธิ รรมภาวนาบารมี พระแก้ ว มรกตเป็ น พระประธาน พระพุ ท ธชิ น ราช หลวงพ่ อโสธร สมเด็จโต พรหมรังสี หลวงพ่อปาน หลวงพ่อเงิน พระพุทธรูปปาง นาคปรก พระประจำ�วันจันทร์ เจ้าแม่กวนอิม พระพิฆเณศวร พ่อปู่ชีวก พ่อปู่ขาว พระแม่ธรณี พระราหู และเกจิครูบาอาจารย์อีกมากมาย และ ขณะนีก้ �ำ ลังก่อสร้าง หลวงปูท่ วด เหยียบน้ำ�ทะเลจืด เป็นองค์ทองเหลือง หน้าตัก 12 เมตร สูง 16 เมตร 180
KANCHANABURI 181
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
อำ�เภอท่ามะกา “ประตูเมืองสู่เมืองกาญจน์ พุทธสถานพระแท่น พงตึกแคว้นอารยธรรม ย่านอุตสาหกรรมน้ำ�ตาลทราย” คือคำ�ขวัญของอำ�เภอท่ามะกา ซึง่ มีทวี่ า่ การอำ�เภอตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ถนนแสงชูโต ตำ�บลท่ามะกา อำ�เภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุร ี โดยอยูห่ า่ งจากจังหวัดกาญจนบุรไี ปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 30 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 97 กิโลเมตร
182
ประวัติความเป็นมา อำ�เภอท่ามะกา เดิมชื่อว่า อำ�เภอลาดบัวขาว ตั้งขึ้นเป็นครั้ง แรกเมื่อ พ.ศ. 2445 โดยเอาพื้นที่เขตตำ�บลท่าผา ต.ธรรมเสน และ ต.ลาดบัวขาว รวมกันตัง้ เป็นอำ�เภอลาดบัวขาว ในสมัยนัน้ ยังขึน้ อยูก่ บั จ.ราชบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2453 สมัยขุนศรีสรนาสน์นิคม หรือมหา จันทร์ ปุญสิริ เป็นนายอำ�เภอ ได้ย้ายที่ว่าการอำ�เภอพระแท่น จาก ต.พงตึก มาตัง้ ใหม่ทหี่ มูบ่ า้ นถ้�ำ มะกา อยูท่ างด้านฝัง่ ขวาของแม่น�้ำ แม่ กลอง โดยซือ้ ทีด่ นิ ของขุนอารักษ์รณ ุ กิจ จำ�นวน 10 ไร่ 20 ตารางวา เป็นเงิน 120 บาท และที่ดินของนายชื่นจำ�นวน 2 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา เป็นเงิน 120 บาท รวมเป็นเนื้อที่ของอำ�เภอ 12 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา ใช้เป็นที่สร้างที่ว่าการอำ�เภอพระแท่นหลังใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 สมัยขุนรามบุรีรักษ์ (แอร่ม สุนทรศารทูล) เป็นนายอำ�เภอ จึงได้เปลี่ยนชื่ออำ�เภอใหม่จาก อำ�เภอพระแท่น เป็น อำ�เภอท่ามะกา เนื่องจากที่ท่าน้ำ�หน้าอำ�เภอมีต้นมะกาต้นใหญ่ แต่ อำ�เภอท่ามะกาในขณะนั้นยังคงขึ้นอยู่กับท้องที่ จ.ราชบุร ี จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2480 จึงได้โอนมาขึ้นกับท้องที่ จ.กาญจนบุรี จนถึงปัจจุบัน
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ พระแท่นดงรัง ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ตำ�บลพระแท่น ห่างจาก ที่ทำ�การอำ�เภอประมาณ 16 กิโลเมตร เป็นปูชนียสถานที่ชาวพุทธ ให้ความเคารพนับถือเนื่องจากมีแท่นศิลา ซึ่งเชื่อว่าเป็นที่บรรทม ของพระพุทธเจ้าทรงปรินิพพาน โดยในวันขึ้น 10 ค่ำ� เดือน 4 หรือประมาณเดือนมีนาคมของทุกปี จะมีพุทธศาสนิกชนเดินทาง มานมัสการพระแท่นดงรังเป็นประจำ� โบราณสถานพงตึก ตั้งอยู่ใกล้กับวัดดงสัก หมู่ที่ 4 ตำ�บลพง ตึก ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอ ประมาณ 6 กิโลเมตร พงตึกเป็นเมือง โบราณซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยทวารวดี มีอายุประมาณ 1,000-2,000 ปี วัตถุโบราณที่ขุดค้นพบได้นำ�ไปเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และบางส่วนยังเก็บรักษาไว้ที่วัดดงสัก
ข้อมูลทั่วไป อำ�เภอท่ามะกา มีพื้นที่ 340.809 ตร.กม แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น17 ตำ�บล 153 หมู่บ้าน ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น 21 แห่ง ได้แก่ เทศบาลเมือง 1 แห่ง เทศบาลตำ�บล 8 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำ�บล 12 แห่ง ประชากรมีอาชีพทางเกษตรเป็นหลัก มีรายได้เฉลี่ยประมาณ 50,000 บาทต่อปี โดยพื้นที่เกษตรกรรมของอำ�เภอท่ามะกา มีทั้งสิ้น 134,482 ไร่ พืชทางเศรษฐกิจที่สำ�คัญ คือ อ้อย 75,055 ไร่ ข้าว 44,177 ไร่ ไม้ผล 3,595 ไร่ พืชผัก 1,643 ไร่ ประชากรประมาณร้อยละ 10 ประกอบอาชีพอยู่ในโรงงาน อุตสาหกรรม เนื่องจากเขตพื้นที่โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่มาก โดย เฉพาะโรงงานน้ำ�ตาล มีจำ�นวน 6 โรงงาน และยังมีโรงงานผลไม้ กระป๋อง โรงงานไม้อัด โรงงานฟอกย้อม โรงงานน้ำ�ตาลทรายแดง โรงงานผลิตปุ๋ย โรงงานวุ้นเส้น ฯลฯ KANCHANABURI 183
เส้นทางพบ
เทศบาลเมือง (อ.ท่ามะกา)
งานวันลอยกระทง
งานวันพ่อ
งานวันแม่
นางสาวปุณยวีร์ โพธิพิพิธ นายกเทศมนตรีเมืองท่าเรือพระแท่น
เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น
เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น ตั้งอยู่ในเขตอำ�เภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรีห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 28 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพฯ ทางประมาณ 100 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นางสาวปุณยวีร์ โพธิพิพิธ ดำ�รงตำ�แหน่งนายก เทศมนตรีเมืองท่าเรือพระแท่น
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลเมืองท่าเรือพระแท่น มีพื้นที่ ทั้งหมด 7.26 ตร.กม. ครอบคลุมตำ�บลท่าเรือทัง้ ตำ�บลและตำ�บลตะคร้�ำ เอนบางส่วน มี ประชากรทั้งสิ้น 12,064 คน จำ�นวน 4,647 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ 31 มกราคม 2555) มีประเพณีที่สำ�คัญของท้องถิ่น คือ งานประเพณีลอยกระทงเนื่องในเทศกาลกินเจ ในเขตเทศบาล มีโรงเรียนรัฐบาล 4 แห่ง ได้แก่ โรงเรียน วัดใหม่เจริญผล ,โรงเรียนวัดตะคร้�ำ เอน ,โรงเรียนท่าเรือพิทยาคม และโรงเรียนวัดท่าเรือ ส่วนโรงเรียนเอกชนมี 3 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนอนุชนศึกษา โรงเรียนศิริวิทยานุบาล และโรงเรียน ราษฎร์บำ�รุง
นโยบายของนายกเทศมนตรีเมืองท่าเรือพระแท่น
1. ด้านสังคม – เศรษฐกิจ จัดให้มีศูนย์บริการผู้สุงอายุ –เยาวชน และประชาชนทั่วไป ,จัด ให้มีการแข่งขันกีฬา ประชาชน และ เยาวชน เพื่อสร้างความ รักความสามัคคีในชุมชน ,จัดให้มีการฝึกอบรมและศึกษาดูงาน ของคณะกรรมการชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้มคี วามรูค้ วามสามารถเพิม่ เติม เพือ่ บริการประชาชนในชุมชน ของตนเอง ,จัดให้มกี ารส่งเสริมกระตุน้ เศรษฐกิจ ให้พอ่ ค้า แม่คา้ และจัดให้มีระบบ WiFi (ฟรี) เพื่อจัดบริการให้เข้าถึงการบริการ ของเทศบาลได้สะดวกรวดเร็วครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเริ่มเขต ตลาดนำ�ร่อง 184
2. ด้านการศึกษา ขอรับการสนับสนุนอาคารเรียน สื่อการสอน จากกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นให้ทันสมัยตลอดเวลา ,จัดฝึกอบรมครูให้มีความรู้ และทักษะเพิม่ เติมตลอดเวลา เพือ่ ประโยชน์แก่บตุ รหลานของท่าน ,จัดหาอุปกรณ์ที่ทันสมัย เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ดนตรี กีฬา และจัดให้มีครูสอนภาษาต่างประเทศ เช่น อังกฤษ จีน เป็นต้น โดยขอความร่วมมือจากสมาคมสันนิบาต เทศบาลแห่งประเทศไทย จัดครูมาสอน 3. ด้านศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี ส่งเสริมให้พี่น้องประชาชนตลอดจนเยาวชนประกอบกิจกรรมทาง ศาสนา ซึง่ เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจของประชาชนทำ�ให้มคี ณ ุ ธรรม และความสุข ,สนับสนุนการพัฒนาวัด และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเขต เทศบาล ให้ตรงความต้องการของประชาชน และส่งเสริมให้เป็น แหล่งศึกษาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. ด้านการรักษาความปลอดภัย ปรับปรุงสัญญาณไฟจราจร ให้สามารถใช้งานได้ตลอดเวลา ,จัดให้ มีกล้องวงจรปิดตามสถานทีต่ า่ ง ๆ ทีม่ คี วามไม่ปลอดภัย เพือ่ ป้องกัน อาชญากรรมและอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ ,ให้มีเวรยามรักษาความ ปลอดภัย ทั้งกลางวันและกลางคืนเตือนภัยในเรื่องอาชญากรรม อุบัติภัย และโจรกรรม ทั้ง 19 ชุมชน 5. ด้านการสาธารณสุข ส่งเสริมผลักดันศูนย์แพทย์ให้เป็นโรงพยาบาลขนาดเล็ก เพื่อดูแล ชีวติ และสุขภาพทีด่ ไี ด้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ,จัดให้มกี ารลอก ท่อระบายน้ำ�อย่างสม่ำ�เสมอ ,จัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ให้มีความสามารถเพิ่มเติม เพื่อประสานงานและบริการ ประชาชนได้ โดยประสานงานกับทางสาธารณสุขอำ�เภอ และ จังหวัด เพื่อให้มีการพัฒนาตลอดเวลา และส่งเสริมความรู้และ สนับสนุน พ่อค้า แม่ค้า ในการประกอบอาชีพในตลาดสดให้ถูก
ก๋วยจั๊บหมูกรอบเจ๊ฟ้า
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
โรงงานวุ้นเส้นท่าเรือตราสิงโตทอง
ข้าวเกรียบปากหม้อเจ๊นุ้ย
ก๋วยเตี๊ยวเนื้อท่าเรือ
โรงเจเข่งซิ่วตั๊ว
วัดท่าเรือ
วัดตะคร้�ำ เอน
สุขลักษณะเป็นประจำ� 6. ด้านการโยธาและสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงดูแล ถนน และตรอก ซอย ให้สญ ั จรไปมาสะดวก โดย มีการวางระบบท่อระบายน้ำ�ทั้งพื้นที่ ,สวนสาธารณะทุกแห่งต้อง สะอาด ห้องน้ำ�พร้อมใช้งาน ร่มรื่น และสวยงาม สะอาดอยู่เสมอ, จัดให้มกี ล้องวงจรปิดในสวนสาธารณะ และปรับปรุงเสาไฟฟ้า และ เกาะกลางถนน ให้ มี ไ ฟที่ ส่ อ งสว่ า ง และสวยงามแก่ ผู้ สั ญ จร ไปมา
กิจกรรมสำ�คัญในปี 2557
- การจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 87 พรรษา 5 ธันวาคม 2557 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 - การจัดงานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรม ราชินีนาถวันที่ 12 สิงหาคม 2557 ณ สำ�นักงานเทศบาลเมือง ท่าเรือพระแท่น
นายกฯชวนชิมของอร่อย ท่าเรือ
ข้าวเกรียบปากหม้อนุ้ย ,ก๋วยเตี๋ยวหมูเจ๊จวน ก๋วยเตี๋ยวติดแอร์ ,ก๋วยเตี๋ยวเนื้อท่าเรือ ,ก๋วยจั๊บหมูกรอบเจ๊ฟ้าและวุ้นเส้นท่าเรือตรา สิงห์โต
โรงเจเข่งซิ่วตั๊ว
สถานที่พักผ่อนในเขตเทศบาล
สวนหลวง ร.9 สวนสาธารณะแห่งนีม้ พี นื้ ที่ 32 ไร่ 3 งาน ภายใน สวนประกอบด้วยศาลาเฉลิมพระเกียรติ สระน้�ำ สวนหย่อม สวน สุขภาพ สถานที่พักผ่อนและสนามกีฬา ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว เป็นศูนย์ที่ให้บริการข้อมูลแหล่งท่อง เที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรีและในเขตเทศบาลให้แก่นักท่องเที่ยว ทั่วไปที่ผ่านมาท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรี
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
- รับมอบโล่เกียรติคุณเป็นหน่วยงาน “การพัฒนาที่อยู่อาศัย ทั้งเมืองโดยชุมชนท้องถิ่นเป็นแกนหลัก” แบ่งปันที่ดินรัฐ เพื่อที่ อยูอ่ าศัยทีม่ นั่ คงคืนความสุขให้คนจนอย่างยัง่ ยืนเนือ่ งในงานวันที่ อยู่อาศัยโลก 2557 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ - รางวัลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพดีเด่นระดับจังหวัด - รับโล่ประกาศเกียรติคุณรางวัลกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นดีเด่น ภายในงานมหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิน่ หรือพืน้ ที่ ของสำ�นักหลักประกันสุขภาพแห่ง ชาติเขต 5 KANCHANABURI 185
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนชะเอม วัดดอนชะเอม ตัง้ อยูห่ มู่ 2 ต.ดอนชะเอม อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี สังกัดมหานิกาย มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 44 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา ตามโฉนด เลขที่ 56366 ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2466 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ. 2472 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 16 เมตร ยาว 28 เมตร ได้รบั แต่ง ตัง้ ให้เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2470 ต่อมาได้ทำ� การสร้างอุโบสถหลังใหม่เมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2557 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 28 เมตร ยาว 44 เมตร อาคารเสนาสนะอืน่ ประกอบไปด้วย ศาลาการเปรียญกว้าง 24 เมตร ยาว 35 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หอสวดมนต์กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏสิ งฆ์ 1 หลัง กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 18 เมตร ยาว 35 เมตร 188
สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิข์ องวัดดอนชะเอม
สมเด็จองค์ปฐมแห่งวัดดอนชะเสร้างขึน้ ตามแบบพุทธลักษณะจาก วัดจันทราราม (วัดท่าซุง) จังหวัดอุทยั ธานี มีขนาดหน้าตักกว้าง 2.90 เมตร ความสูง 3.49 เมตร หล่อด้วยทองสัมฤทธิท์ งั้ องค์ ถึง 200 กิโลกรัม ด้วยแรงศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาวบ้านดอนชะเอมและผูม้ จี ติ ศรัทธา อี ก หนึ่ ง สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ป ระดั บ ด้ ว ยนิ ล แท้ จ ากแรงศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชน มีความสูง 9.00 เมตร ซึง่ น่าจะเป็นองค์ใหญ่ทสี่ ดุ ใน โลก พระสีวลีเถระ เป็นพระมหาเถรทีไ่ ด้รบั การยกย่องในทางผูม้ ลี าภมาก ด้วยอ�ำนาจบุญทีท่ า่ นได้บำ� เพ็ญสัง่ สมมาตัง้ แต่อดีตชาติ เป็นปัจจัยส่งผล ให้ทา่ นเจริญด้วยลาภสักการะ โดยมีเทพยดา นาค ครุฑ และมนุษย์ทงั้ หลาย น�ำมาถวายโดยมิขาดตกบกพร่อง ไม่วา่ ท่านจะอยูใ่ นทีใ่ ด ๆ ชาว พุทธมีความเชือ่ ว่า ผูใ้ ดบูชาพระสีวลีแล้วจะท�ำให้เกิดโชคลาภและความ ร�ำ่ รวย
หลวงพ่อขาว
เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั สร้างด้วยปูนซีเมนต์ผสมนิลทัง้ องค์ มีขนาดหน้าตักกว้าง 5.50 เมตร สูง 8.90 เมตร ปูชนียวัตถุทสี่ ำ� คัญที่ ชาวบ้านดอนชะเอมให้ความเคารพและศรัทธา และได้เทปูนหล่อองค์พระ แล้วเสร็จภายในวันเดียว พระครูสงั ฆรักษ์สมศักดิ์ สมศักดิ์ สิรมิ งฺคโล เจ้าอาวาสวัดดอนชะเอม กล่าวว่าสร้างหลวงพ่อเพือ่ เป็นพุทธบูชา และ เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจของชาวพุทธ
หลวงพ่อโต พระประธานประจ�ำอุโบสถ
เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ มีขนาดหน้าตักกว้าง 5.90 เมตร สูง 8.19 เมตร หล่อด้วยทองเหลืองทั้งองค์ นับว่าเป็นพระพุทธรูปที่มี พุทธลักษณะที่งดงามเป็นอย่างมาก ปัจจุบัน หลวงพ่อโตแห่งวัดดอน ชะเอม ประดิษฐานเป็นพระประธานในอุโบสถหลังใหม่ ซึ่งจะมีการ จัดงานสมโภชผูกพัทธสีมา ปิดทองฝังลูกนิมิต ระหว่างวันที่ 18-28 กุมภาพันธ์ 2558 นี้
งานประจ�ำปี
นอกจากการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา แล้ว วัดดอนชะเอม ยังมีกำ� หนดจัดงานประจ�ำปี ดังนี้ 1. งานมุทติ าจิต หลวงปูป่ ลืม้ อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนชะเอม ทอด ผ้าป่าสามัคคีและเทศกาลสงกรานต์ ระหว่างวันที่ 13-17 เมษายน ของทุกปี 2. งานปริวาสกรรม วัดดอนชะเอม ในวันที่ 21-30 พฤศจิกายน ของทุกปี ซึ่งในแต่ละปี จะมีพระภิกษุสงฆ์จากทั่วประเทศ ได้เข้ามา ประพฤติปริวาสเป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ ยังมีสามเณร อุบาสก - อุบาสิกา ได้เข้ามาร่วมปฏิบตั ธิ รรมด้วยเป็นจ�ำนวนมาก พุทธศาสนิกชนจะได้รว่ ม ท�ำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ 3. การจัดกิจกรรมสวดมนต์ขา้ มปี ในวันสิน้ ปีเก่า วันที่ 31 ธันวาคม และต้อนรับปีใหม่ วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี
KANCHANABURI 189
เส้นทางธรรมหนุนชีวิต
วัดเขาสูงแจ่มฟ้า ประวัติวัดเขาสูงแจ่มฟ้า
หลวงปู่ทวดเหยียบน้ำ�ทะเลจืด
ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นสำ�นักสงฆ์ พ.ศ.2521 โดยมีหลวงพ่อไล้ และ หลวงพ่อยงค์ วัดลูกแก ก่อตั้งขึ้นได้มีพระภิกษุฆ์ จำ�พรรษามา โดยตลอดและได้รับความศรัทธาของชาวบ้านเขาสูงเป็นอย่างดี ต่อมาได้ยกระดับฐานะเป็นวัดเขาสูงแจ่มฟ้า จึงมีการแต่งตั้ง เจ้าอาวาสวัดโดยมีพระครูวินัย ธรธเกรียงไกร (พธ.บ. ปริญญา โท) เป็นเจ้าอาวาสวัด พ.ศ.2544 จนถึงปัจจุบัน การก่อสร้างวัตถุถาวรในพระพุทธศาสนาโดยครูวินัยธรธ เกรียงไกร จึงมีการก่อสร้างอุโบสถหลังแรก วันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม พ.ศ.2549
ประวัติหลวงปู่ทวดเหยียบน้ำ�ทะเลจืด
สร้าง 29 ตุลาคม พ.ศ.2556 เกิดขึ้นโดยการตั้งจิตอธิษฐาน นิมิตฝันของพระครูวินัย ธรธเกรียงไกร (อาจารย์เม่น) ฝันว่าหลวง ปู่ทวดนั่งสีขาวมุกสว่างเรืองแสงองค์ใหญ่ ขนาด 9.99 เมตร สูง 12 เมตร นัง่ อยูบ่ นฐานทีห่ น้าวัดเขาสูงภูเขาโอบห้อมล้อมธรรมชาติ เขียวชอุม่ จึงจัดการก่อสร้างขึน้ และมีเหตุการณ์อศั จรรย์หลายอย่าง ให้กับผู้คนที่มากราบไหว้แล้วประสบผลสำ�เร็จ 192
พระพุทธไสยาสน์
ประวัติพระพุทธไสยาสน์
ยาว 32 เมตร สูง 9 เมตร จัดสร้างโดยพระครูวินัยธรธเกรียงไกร สร้าง 9 กันยายน 2557 การก่อสร้างพระนอนองค์ใหญ่นเี้ ป็นปางของคน เกิดวันอังคาร ปางทีย่ งั มีชวี ติ อยู่ เพือ่ เป็นพุทธบูชาของผูท้ มี่ คี วามศรัทธา ในพระพุทธศาสนาได้กราบไหว้ให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและ ครอบครัว เพราะการเกิดมาเป็นมนุษย์ทกุ คนต้องมีพระประจำ�วันเกิดของ แต่ละวัน แต่ทา่ นพระครูวนิ ยั ธรธเกรียงไกร (อาจารย์เม่น) สร้างพระนอน นั้นก็เพื่อความสุขสบายของคนที่ได้มากราบไหว้สักการบูชา
ประวัติพระพิฆเนศ ปางเรียกทรัพย์
สร้าง 19 มีนาคม พ.ศ.2557 เกิดขึ้นโดยการดูดวงฮวงจุ้ยของ ดร.สุรเสกข์ พงษ์หาญยุทธ ที่อาจารย์เม่น พระครูวินัยธรธเกรียงไกร ให้ความเคารพนับถือกัน โดยเป็นอาจารย์สอนในสมัยที่อาจารย์เม่น เรียนจบปริญญาโท ทีม่ หาลัยรามคำ�แหงท่านได้บอกให้สร้างพระพิฆเนศ องค์ใหญ่ตั้งอยู่ที่ทางเข้าหน้าวัดแล้วจะเกิดโชคลาภวาสนาแก่คนที่มา กราบไหว้ทั่วไป
พระพิฆเนศ ปางเรียกทรัพย์
ประวัติพระโพธิสัตว์กวนอิม
พระโพธิสัตว์กวนอิม
เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรซึ่งมีชาติกำ�เนิดก่อให้เกิด เป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีเพื่อแสดงออกถึงความเมตตา กรุณาให้โดดเด่นชัดยิ่งขึ้น ดั่งเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตรมา จุตใิ นโลกมนุษย์ เพือ่ มาช่วยปลดเปลือ้ งทุกข์ภยั แก่มวลมนุษย์ทงั้ หลาย พระครูวนิ ยั ธรธเกรียงไกรจึงจัดสร้างพระแม่กวนอิมปางนอนเสวยสุข ยาว 12 เมตร สูง 7 เมตร 12 สิงหาคม พ.ศ.2557 พระแม่กวน อิมปางนอนเสวยสุขเป็นลักษณะที่นอนยิ้มแย้มแจ่มใสเป็นพระที่มี ความเมตตานอนตะแคงหันด้านขวา พระหัตถ์ขวารองรับพระเศียร พระหัตถ์ซ้ายถือดอกบัวนอนเสวยสุขนอนบนดอกบัว โดยมีความ อ่อนช้อย ชายริ้วผ้าสวยงามเต็มไปด้วย พระบารมีผู้ทรงเมตตา KANCHANABURI 193
เส้นทางธรรมหนุนชีวิต
วัดสนามแย้
“ผู้ใดให้ที่พักอาศัย ผู้นั้นเชื่อว่าให้สิ่งทั้งปวง” (สังยุตตนิกาย สคาถวรรค)
“ผู้ให้ที่พักอาศัย ฯลฯ ย่อมมีบุญเจริญในกาลทุกเมื่อ ทั้งกลางวัน ทั้งกลางคืน เขาตั้งอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นผู้ไปสวรรค์” (วน โรปสูตร) ในวิหารทานกถา พระพุทธองค์ทรงยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า การ ถวายวิหาร(วัด) ทีอ่ ยูอ่ าศัยแก่ภกิ ษุสงฆ์ เป็นสมุฏฐานก่อให้เกิดประโยชน์ สุข ทั้งผู้รับและผู้ถวาย ซึ่งทรงแสดง อานิสงส์ไว้ว่า เป็นยอดของ สังฆทาน เป็นปัจจัยให้ประสบความเกษมศานต์ จนบรรลุถงึ พระนิพพาน เป็นที่สุด โดยตรัสไว้ว่า “เสนาสนะทีอ่ ยูอ่ าศัย ย่อมบรรเทาความหนาว ความร้อน ป้องกัน เนื้อร้าย ป้องกันงู และยุงได้ ป้องกันฝนก็ได้ แม้ลมแดดกล้าที่ปรากฏ ขึ้น ก็บรรเทาได้” 196
ดังนั้นการถวายกุฎีวิหารที่อยู่อาศัยแก่พระสงฆ์เพื่อเร้นอยู่ของผู้ ต้องการความสงบ เพื่อความสุข เพื่อฌานการเพ่ง เพื่อวิปัสสนา การ เห็นแจ้ง พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญว่าเป็นทานอันเลิศ วัดสนามแย้ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลสนามแย้ อ�ำเภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี ปัจจุบัน พระใบฎีกาทมขนฺติสาโร เจ้าอาวาสวัดสนามแย้ ก�ำลังด�ำเนินการสร้างกุฏใิ หม่ทดแทนหลังเดิมทีถ่ กู ไฟไหม้เสียหาย ซึง่ การ ก่อสร้างครั้งนี้ต้องใช้งบประมาณในการก่อสร้างจ�ำนวนมาก จึงขอเรียน เชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมท�ำบุญ ได้ที่ 081-1930965 ก็ด้วยอานิสงส์ได้สร้างกุฎีให้เป็นทานนั้นแล อันเป็นบุญให้ถึง ความสุข ๓ ประการ คือ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ
KANCHANABURI 197
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองโรง
วัดหนองโรง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 ตำ�บลยางม่วง อำ�เภอท่ามะกา จังหวัด กาญจนบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 14 ไร่ ปัจจุบันมี พระใบฎีกา ฐานวโร เป็นเจ้าอาวาส ประวัติวัดหนองโรง วัดหนองโรงเป็นวัดทีเ่ ก่าแก่วดั หนึง่ ตามประวัตเิ ท่าทีพ่ อจะทราบ ได้เป็นสำ�นักสงฆ์นานเท่าใดไม่ปรากฏ แต่ประกาศเป็นวัดถาวรเมื่อปี พ.ศ. 2430 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2524 เดิมทีชอื่ “วัดโพธิศ์ รีสร้อย” เหตุทตี่ อ้ งเปลีย่ นชือ่ วัดเพราะขัดกับชือ่ ของ หมู่บ้าน เพราะหมู่บ้านนั้นชื่อหนองโรง คณะกรรมการและชาวบ้านยุค นัน้ เห็นว่า ชือ่ วัดกับหมูบ่ า้ นไม่ตรงกัน ประชาชนทัว่ ไปฟังแล้วก็เกิดความ สับสน จึงปรึกษาหารือกันเปลี่ยนชื่อวัดโพธิ์ศรีสร้อย เป็นชื่อ “วัดหนอง โรง” มาจนถึงปัจจุบัน สิ่งที่น่าสนใจในวัด วัดหนองโรง เป็นวัดทีม่ จี ดุ น่าสนใจอยูห่ ลายอย่าง โดยเฉพาะด้าน หลังของฐานองค์พระประธานในอุโบสถจะมีทางเดินเล็ก ๆ ให้เดินลอด ใต้โบสถ์เพื่อสะเดาะเคราะห์ต่อชะตา นอกจากนี้ยังมีจุดเด่นคือใต้ต้น 198
กร่างอายุหลายร้อยปี อดีตเจ้าอาวาสได้สร้างถ้ำ�จำ�ลองไว้ ภายในมีรอย พระพุทธบาทพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ ส่วนห้องอื่น ๆ ในถ้ำ�จะมี พระพุทธรูปและเจ้าแม่กวนอิมให้สักการะขอพร ลำ�ดับเจ้าอาวาสในอดีต-ปัจจุบัน 1. พระอธิการบอน (เจ้าอาวาสองค์แรก) 2. พระอธิการขันธ์ 3. พระอธิการมล 4. พระครูสม อตฺตธมโม 5. พระเหลือ (รักษาการ) 6. พระแบน (รักษาการ) 7. พระครูเมธีกาญจนคุณ (บุญชู เขมจาโร) หรือหลวงพ่อบุญชู หนึ่งในพระเกจิดังแห่งภาคตะวันตก 8. พระใบฎีกา ฐานวโร เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน พุทธศาสนิกชนท่านใดสนใจเยี่ยมชมวัด หรือประสงค์จะร่วม ทำ�บุญเพือ่ สืบสานพระพุทธศาสนาให้เจริญยิง่ ขึน้ สืบไป สามารถติดต่อ ได้ที่ โทร. 088-5790365
KANCHANABURI 199
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดกระต่ายเต้น
วัดกระต่ายเต้น ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 80 หมู่ 2 ตำ�บลท่าไม้ อำ�เภอท่ามะกา ยังพบกระต่ายอยู่มากพอสมควร แต่ปัจจุบันเดี๋ยวนี้หาไม่เจอแล้ว จังหวัดกาญจนบุรี เนื้อที่โดยรวมของวัดประมาณเกือบ 80 ไร่ ตั้งอยู่ การบูรณปฏิสังขรณ์ที่สำ�คัญ กลางหมู่บ้านกระต่ายเต้น มีบ้านเรือนอยู่รอบวัด แต่จะสังเกตได้ง่าย ประมาณปี พ.ศ. 2481 พระครูวรวัตตวิบูลย์ (เฉื่อย) เจ้าคณะ เพราะหลวงพ่อท่านจะปลูกต้นสักไว้เพื่อแสดงขอบเขตพื้นที่ของวัด อำ�เภอท่ามะกาในสมัยนัน้ ได้นมิ นต์พระอาจารย์ทอน ฐานุตตฺ โร จาก ประวัติความเป็นมาของวัดกระต่ายเต้น วัดหวายเหนียวให้มาอยู่ที่วัดกระต่ายเต้น เมื่อท่านได้มาอยู่ที่นี่และได้รับ ไม่สามารถทราบได้วา่ ใครเป็นผูร้ เิ ริม่ สร้างวัดกระต่ายเต้น แต่ตาม แต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสแล้วนั้น ก็เริ่มทำ�การบูรณะวัดนี้ทันที ท่านเล่า หลักฐานที่หน้าโบสถ์หลังเก่าซึ่งมีเจดีย์ยอดฉัตรเป็นทองเหลืองโบราณ ให้ผู้เขียนฟังว่า ท่านมาเป็นสมภารลำ�บากจริง ๆ อาหารจะฉันก็มีน้อย สวยงามมาก สลักชื่อไว้ที่เจดีย์ว่า...ทายกงาน ผู้สร้าง และจากการที่ผู้ มาก สมัยนั้นชาวบ้านมีความศรัทธาน้อย ท่านคิดอยากจะกลับวัดเดิม เฒ่าผู้แก่เคยเล่าให้ผู้เขียนฟังตอนอุปสมบทใหม่ ๆ ว่า...วัดกระต่ายเต้นนี้ หลายครัง้ แต่กค็ ดิ ถึงเจ้าคณะอำ�เภอทีม่ นั่ ใจในตัวท่าน จึงส่งท่านมา ท่าน มีชาวรามัญอพยพมาจากอำ�เภอโพธารามบ้าง อำ�เภอบ้านโป่งบ้าง มา เริ่มงานทำ�โบสถ์ก่อน เพราะมีการปิดทองฝังลูกนิมิตไว้แล้วแต่ไม่ได้ทำ� จับจองที่ท�ำ ไร่ท�ำ นาประกอบอาชีพ ต่อมามีคนมากขึ้น ก็ร่วมกันสร้างวัด อะไรไว้ เ ลย ท่ า นต้ อ งก่ อ สร้ า งใหม่ ทั้ ง หมดใช้ เ วลาหลายปี จึ ง สำ � เร็ จ ขึ้น เหตุที่ชื่อว่า “วัดกระต่ายเต้น” หรือหมู่บ้านกระต่ายเต้นนั้น ก็เพราะ เรียบร้อย ต่อมาก็สร้างโรงเรียนให้เด็ก ๆ ลูกชาวบ้านอีกหนึ่งหลังอย่าง ว่าในสมัยก่อนนัน้ มีกระต่ายชุกชุมมาก สามารถพบเห็นได้งา่ ย เพราะเป็น สวยงาม สมัยนัน้ ให้ชอื่ ว่า “โรงเรียนฐานุตตฺ โรกีพานิชราษฎร์วทิ ยา” ซึง่ ที่ดอนสูงน้ำ�ไม่ท่วม ตอนที่ผู้เขียนบวช พ.ศ. 2504 วัดยังเป็นป่าอยู่มาก มีนายมงคล กีพานิช ร่วมกันสร้างด้วยในสมัยนัน้ ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2505 พอหน้าฝนทีไร พระก็ช่วยกันถากช่วยกันถางรอบ ๆ วัด ให้โล่งสะอาด หลวงพ่อทอน ฐานุตฺตโร ได้ท�ำ การสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่ หมด 200
เงิ นไปประมาณห้ า แสนบาท สมั ย นั้ น ถื อ ว่ า มากอยู่ ทำ � อยู่ ห ลายปี จึ ง เสร็จเรียบร้อย ต่อมาปี พ.ศ. 2509 เริ่มบูรณะกุฏิสงฆ์เป็นการใหญ่ เพราะว่าวัด เดิมนั้นทรุดโทรมมาก มาสร้างไว้เป็นหลัง ๆ มีหอฉันอยู่ตรงกลางเดินได้ รอบ บางทีพระเดินไม่ระวัง พลัดตกใต้ถุนไปก็เคยมี หลวงพ่อทอนเริ่ม สร้างหอสวดมนต์กอ่ น และมีหอฉันอยูต่ รงกลาง มีกฏุ อิ ยูส่ องข้างแถวละ 7 ห้อง หลวงพ่อทอน ฐานุตฺตโร ท่านเป็นพระที่มีความชำ�นาญในการ ก่อสร้างมาก ทำ�ให้วัดกระต่ายเต้นมีความเจริญสวยงาม ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2520 หลวงพ่อทอนได้ดำ�เนินการก่อสร้างเมรุ ทำ�มาได้ประมาณสองปีเศษ เมรุยังไม่เสร็จ ทำ�ได้ประมาณถึงยอดแต่ยัง ไม่ได้มีลวดลายอะไร ท่านก็มรณภาพเสียก่อน ก็มีคณะกรรมการวัดสมัย นั้นมีโยมพ่อชอน อรภักดี เป็นกรรมการใหญ่ ดำ�เนินการก่อสร้างต่อจน เสร็จเรียบร้อยอย่างสวยงาม ในยุคสมัยหลวงพ่อทอน ฐานุตตฺ โร เป็นเจ้าอาวาส ท่านทำ�ความ เจริญให้แก่วัดกระต่ายเต้นเป็นอย่างมาก โดยมีโยมเป็นกำ�ลังสำ�คัญใน สมัยนั้นคือ โยมพ่อชอน อรภักดี เป็นกรรมการใหญ่ของวัด เป็นผู้เสีย สละให้กบั วัดเป็นอย่างมาก และเป็นผูน้ �ำ ทีม่ ศี ลี ธรรม เป็นทีเ่ คารพนับถือ ของคนทั่วไป คู่บารมีหลวงพ่อทอน ฐานุตฺตโร มาตลอด จนหลวงพ่อ ทอน ฐานุตฺตโร มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2522 อายุ 69 ปี ในสมัยของหลวงพ่อพระครูกาจนยติกิจ (แฉล้ม ยติกโร) ท่าน ได้บรู ณะและซ่อมแซมสิง่ ปลูกสร้าง เช่น ศาลาการเปรียญ กุฏสิ งฆ์ และ ศาลาธรรมสังเวช พร้อมทัง้ ปลูกต้นไม้เพือ่ ปรับปรุงทัศนียภาพของวัด ให้ เป็นสถานที่ร่มรื่นน่าพักผ่อนอาศัย ส่วนตัวแล้วท่านชอบปลูกต้นไม้
จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้มีต้นไม้ที่สูงและใหญ่มาก ต่อมาพระอุโบสถก็เกิดการเสื่อมโทรมหลังจากที่ได้ใช้งานมานาน หลายปี ดังนั้นหลวงพ่อแฉล้ม พระภิกษุสามเณร และคณะกรรมการ ของทางวัดมีความคิดเห็นทีจ่ ะทำ�การก่อสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ให้ใหญ่ กว่าเดิม เพื่อที่จะได้รองรับพระภิกษุสามเณรที่ลงมาทำ�สังฆกรรมเกี่ยว กับงานในทางพระพุทธศาสนาสืบต่อไป หลวงพ่อแฉล้ม จึงได้ด�ำ เนินการ ก่อสร้าง เมื่อปีพ.ศ. 2549 แล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2552 ภายในพระอุโบสถ จะมีจิตรกรรมฝาผนังที่สวยและงดงามมาก แล้วได้ปิดทองฝังลูกนิมิต ภายในปีนั้นเลย เป็นเพราะบารมีของหลวงพ่อแฉล้ม รวมทั้งพระภิกษุ สามเณร และชาวหมู่บ้านกระต่ายเต้น และหมู่บ้านใกล้เรือนเคียงที่ได้ ร่วมกันบริจาคทุนทรัพย์ ร่วมกันสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ที่สวยงามเป็น สง่าอย่างยิ่ง สิง่ ก่อสร้างทีส่ �ำ คัญอีกอย่างหนึง่ ทีห่ ลวงพ่อพระปลัดสมัย สมจิตโฺ ต ท่านตัง้ ใจจะก่อสร้างนัน้ ก็คอื มณฑปหรือวิหารบูรพาจารย์ หลวงพ่อท่าน อยากทีจ่ ะให้คณ ุ โยมชาวบ้าน พร้อมทัง้ ลูก ๆ หลาน ๆ ได้มาเคารพกราบ ไหว้บรรพบุรุษ และอดีตท่านเจ้าอาวาส บุคคลผู้ที่ได้สร้างสถานที่แห่งนี้ ให้เป็นวัด จึงได้สร้างรูปหล่อของอดีตท่านเจ้าอาวาสทั้งสองท่านไว้ จุดประสงค์กเ็ พือ่ ให้คณ ุ โยมชาวบ้านได้มสี งิ่ ทีไ่ ว้ยดึ เหนีย่ วจิตใจ และเสริม สร้างความดีของตนเอง ดังนั้นใน ปีพ.ศ. 2556 หลวงพ่อพระปลัดสมัย สมจิตโฺ ต จึงได้ประชุมและปรึกษาหารือกันกับทางคุณโยมคณะกรรมการ ของทางวัด จึงได้บูรณะมณฑปหรือวิหารบูรพาจารย์หลังเก่า ซึ่งอยู่ บริเวณด้านหน้าวัด ท่านจึงได้ย้ายมาสร้างใหม่ทางซ้าย เพราะต้องการ ให้ญาติโยมได้มากราบไหว้บูชาท่านอดีตเจ้าอาวาสของวัดกระต่ายเต้นนี้ KANCHANABURI 201
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายจำนายอำ�รั�เภอทองผาภู ส กังน้มิ อย “อำ�เภอบริการงานสากล พัฒนาคนให้มีคุณภาพ เสริมสร้างอุตสาหกรรมเกษตรเชิงอนุรักษ์ สร้างตลาดแหล่งท่องเที่ยวในท้องที่” คือวิสัยทัศน์ของอำ�เภอทองผาภูมิ ซึ่งมีที่ว่าการอำ�เภอตั้งอยู่บ้านท่าขนุน หมู่ที่ 1 ตำ�บลท่าขนุน อำ�เภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยู่ห่างจากจังหวัดกาญจนบุรีไปทางทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 146 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายจำ�รัส กังน้อย ดำ�รงตำ�แหน่ง นายอำ�เภอทองผาภูมิ
ประวัติความเป็นมา
อำ�เภอทองผาภูมเิ คยเป็นหัวเมืองเก่าแก่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระองค์ทรงเล็งเห็นว่ามีชมุ ชนทีห่ นาแน่นบริเวณแม่น�้ำ แควน้อย จึงได้ตงั้ หัวเมืองขึน้ ได้แก่ เมืองสังขละบุรี เมืองทองผาภูมิ เมืองไทรโยค ส่วนหัวเมืองทางแม่น้ำ�แควใหญ่ ได้แก่ เมืองศรีสวัสดิ์ เมืองท่ากระดาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดยุทธศาสตร์ด้าน การข่าวแพร่ไปถึงประเทศพม่าว่าไทยมีกำ�ลังเข้มแข็ง พม่าจะได้ไม่กล้ารุกราน อีกทั้งยังเป็นเมืองกันชนคอยส่งข่าวข้าศึก ที่จะมารุกรานให้เมืองหลวงทราบด้วย 204
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอทองผาภูมิ เป็นอำ�เภอที่มีเนื้อที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัด กาญจนบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 3,655.171 ตร.กม. หรือประมาณ 2 ล้าน 3 แสนไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 7 ตำ�บล 45 หมู่บา้ น จำ�นวน 3,561 ครอบครัว ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม โดยใช้แรงงานต่างด้าวเป็นหลัก ราษฎรมีรายได้เฉลี่ย 56,966.70 บาท/คน/ปี มีพชื เศรษฐกิจทีส่ �ำ คัญ ๆ ได้แก่ ข้าวโพด มันสำ�ปะหลัง ยางพารา
จุดเด่นของสภาพพื้นที่
สภาพพื้นที่ของอำ�เภอทองผาภูมิส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าเขาสูง สลับซับซ้อน โดยจัดแบ่งพื้นที่ป่าไม้ที่สำ�คัญออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 4 แห่ง คือ ป่าห้วยขาแข้ง ป่าเขา ช้างเผือก ป่าเขาพระฤาษี และป่าเขาน้ำ�โจน พื้นที่อุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง คืออุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ อุทยานแห่งชาติเขาแหลม (ติดอำ�เภอสังขละบุร)ี และอุทยานแห่งชาติล�ำ คลองงู พืน้ ทีเ่ ขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า 1 แห่ง คือ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ซึ่ง อยู่ในเขตพื้นที่ตำ�บลชะแล
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
บ่อน้ำ�พุร้อนหินดาด เป็นบ่อน้ำ�ร้อนที่ผสมแร่ขึ้นมาจากใต้ดิน ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำ�บลหินดาด เชื่อกันว่ารักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ด ี น้ำ�ตกผาตาด เกิดจากน้ำ�ห้วยแม่คำ�มูลหมู่ที่ 8 ตำ�บลหินดาด มีเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าขนาดเล็ก ซึ่งได้รับเงินสนับสนุนจาก ประเทศออสเตรเลีย สร้างมอบเป็นที่ระลึกในวาระรัตนโกสินทร์ ครบ 200 ปี เมื่อ พ.ศ.2525 น้�ำ ตกผาสวรรค์ หรือ “น้�ำ ตกผาตาดใหญ่” หรือ “น้�ำ ตกปูรติ กิ๊ กรี”้ เป็นน้ำ�ตกที่สูงไม่ต่ำ�กว่า 100 เมตร ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ตำ�บลชะแล อยู่ใกล้กับเมืองเนินสวรรค์
น้�ำ ตกคลิตี้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำ�บลชะแล ใกล้กับเหมืองคลิตี้ เป็นน้ำ�ตกยังคงความเป็นธรรมชาติไว้อย่างมาก เพราะเส้นทาง เข้าออกลำ�บากและอยู่ไกลจึงมีคนไปเที่ยวน้อย บึงเกริงกระเวีย ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำ�บลชะแล เป็นบึงกว้างอยู่ ในเขตหวงห้ามล่าสัตว์ป่าเกริงกระเวีย (กรมป่าไม้) บรรยากาศ เหมาะสำ�หรับการพักแรมเป็นหมู่คณะ ตลาดชายแดนบ้านอีต่อง ตั้ ง อยู่ ห มู่ ที่ 1 ตำ � บลปิ ล๊ อ ก ห่างจากตัวอำ�เภอทองผาภูมิประมาณ 67 กิโลเมตร มีสินค้าที่ ระลึกของพม่า และสามารถมองเห็นทัศนียภาพฝัง่ พม่าได้ เพราะ เส้นเขตแดนอยู่บนสันเขา เจดีย์โบอ่อง เจดีย์ทรงพม่านับเป็นโบราณสถานที่สำ�คัญ และขึ้นชื่อของอำ�เภอทองผาภูมิ อยู่ในบริเวณอ่างเก็บน้ำ�เขื่อน วชิราลงกรณ์ ทุกปีจะมีการจัดงานเทศกาลในวันขึน้ 15 ค่�ำ เดือน 4
จากใจนายอำ�เภอ
สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของอำ�เภอทองผาภูมิ ขึ้นอยู่กับการ ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรร้อยละ 85 ส่วนที่เหลือจะ เป็นรายได้ที่มาจากการประกอบอาชีพประมง ปศุสัตว์ ค้าขาย และการท่องเที่ยว จึงควรส่งเสริมการผลิตสินค้าทางการเกษตร ให้เป็นสินค้าเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน และสามารถเพิ่ม มูลค่าและการส่งออกของสินค้าทางการเกษตร รวมทั้งการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ซึ่งเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติไปพร้อมกับการท่องเที่ยว และเป็นการนำ�ทรัพยากรธรรมชาติซึ่งมีอยู่มากมายในอำ�เภอมา สร้างรายได้ให้กับอำ�เภออีกทางหนึ่ง KANCHANABURI 205
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ทองผาภูมิ)
นายประเทศ บุญยงค์ นายกเทศมนตรีต�ำ บลทองผาภูมิ
“เมืองทองผาภูมิน่าอยู่ เป็นศูนย์กลาง การค้าการท่องเที่ยว” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลตำ�บลทองผาภูมิ ซึ่งมีพันธกิจส่ง เสริมเรือ่ งต่าง ๆ และยังเน้นในเรือ่ งการส่งเสริมอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในหลายด้านด้วยกัน เมื่อคุณเดินเข้ามาติดต่องานที่เทศบาลตำ�บลทองผาภูมิ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี อาจแปลกใจอยู่ไม่น้อย เพราะที่หน้า สำ�นักงานเทศบาลจะมีป้ายเขตปลอดกล่องโฟมติดอยู่ หลายคน อาจสงสัยทำ�ไมต้องติดป้ายนี้ด้วย ซึง่ การติดป้ายเขตปลอดกล่องโฟม เป็นนโยบายส่วนหนึง่ ของ ผูบ้ ริหาร นายประเทศ บุญยงค์ นายกเทศมนตรีต�ำ บลทองผาภูมิ ร่วมกับคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาล ปลัดและพนักงาน เทศบาลฯ ทีร่ ว่ มถือปฏิบตั ติ าม “โครงการพนักงานร่วมใจลดโลก ร้อนด้วยมือเรา” มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2555 เป็นโครงการต่อเนือ่ งจาก ที่เทศบาลตำ�บลทองผาภูมิ เข้าร่วมโครงการพัฒนาท้องถิ่นอย่าง ยั่งยืน LA 21 ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม จัดทำ�เวที ประชาคมแบบบูรณาการเน้นการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน เพือ่ จั ด ทำ � แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ นให้ ป ระชาชนอยู่ ดี มี สุ ข จั ด ขึ้ น เพื่ อ เป็นการรณรงค์ให้พนักงานใส่ใจในเรื่องสิ่งแวดล้อม ไม่ใช้กล่อง โฟม เพื่อเป็นการณรงค์ลดสภาวะโลกร้อนและรณรงค์ให้พี่น้อง ในชุมชนริมฝั่งแควน้อย ชุมชนพัฒนาทองผาภูมิ และชุมชนวัง ท่าขนุน ลดการใช้กล่องโฟม นอกจากนี้แล้ว ทางเทศบาลตำ� บลทองผาภูมิยังได้จัดทำ� “โครงการธนาคารขยะเคลื่อนที่” เพื่อปลุกจิตสำ�นึกประชาชนให้ เห็นความสำ�คัญของปัญหาขยะมูลฝอย โดยงานกองช่างนำ�ร่อง
206
เทศบาลตำ�บลทองผาภูมิ จัดโครงการธนาคารขยะเคลือ่ นที่ เพือ่ ลดปริมาณขยะมูลฝอยในเขต เทศบาลฯ ซึ่งจะมีรถยนต์ออกรับซื้อขยะในชุมชน ทุกวันพุธของ สัปดาห์ เพื่อให้ชุมชนรู้จักคัดแยกขยะและเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน และทางเทศบาลตำ�บลทองผาภูมิยังร่วมกับสำ�นักงานพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จัด “โครงการแยกขยะก่อนทิ้ง สร้างสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน” ซึ่งจัดขึ้นเพื่อปลุกจิตสำ�นึกและให้ความ รูก้ บั เด็กและเยาวชนในเรือ่ งการคัดแยกขยะก่อนทิง้ ให้ความรูเ้ รือ่ ง การกำ�จัดขยะอย่างถูกวิธแี ละตระหนักถึงปัญหาขยะ เนือ่ งจากขยะ มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น เพราะขาดความรู้ ความเข้าใจและขาด จิตสำ�นึกที่ดีในการจัดการขยะที่มาจากทุกครัวเรือนในชุมชน
นอกจากนีย้ งั มีโครงการทีเ่ ทศบาลตำ�บลทองผาภูมริ ว่ มกับสำ�นัก งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ.กาญจนบุรี ติดตั้งถังดัก ไขมันตามบ้านเรือน ที่ท�ำ ให้เกิดมลภาวะน้�ำ เสียต่อแม่น�้ำ แควน้อย โดยคัดเลือกบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ติดกับริมแม่น้ำ�แควน้อย หรือบ้าน เรือนทีส่ ร้างผลกระทบทางน้�ำ แล้วทำ�การติดตัง้ ถังดักไขมันให้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้มีการปล่อยไขมันลงไปสู่แม่น้ำ� ซึ่งจะทำ�ให้เกิดปัญหา น้ำ�เน่าเสียได้ ทั้งหมดนี้เป็นส่วนหนึ่งของภารกิจของเทศบาลตำ�บลทองผาภูมิ ทีไ่ ด้ด�ำ เนินการในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ให้ทองผาภูมเิ ป็นเมืองน่าอยู่ ให้พน่ี อ้ งประชาชนมีความเป็นอยูด่ มี สี ขุ เพือ่ ให้สมกับวิสยั ทัศน์ทว่ี า่ ไว้
KANCHANABURI 207
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ทองผาภูม)ิ
เทศบาลตำ�บลสหกรณ์นิคม “ตำ�บลน่าอยู่มุ่งสู่เกษตรก้าวหน้าการศึกษาดีมีคุณธรรมนำ�พัฒนาอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตำ�บลสหกรณ์นิคม ซึ่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 114 หมู่ 1 ต.สหกรณ์นิคม อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี โดยอยู่ห่างจากอำ�เภอทองผาภูมิ 18 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี 125 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสำ�รวม ใจซื่อ เป็นนายกเทศมนตรีตำ�บลสหกรณ์นิคม (สมัยที่ 2 ) และมีนายเฉลิมพล สันติธรรมสุทธิ์ และนางสาววารี ผาภูมิเกริก เป็นรองนายกฯ
ความเป็นมาของ ทต.สหกรณ์นิคม เทศบาลตำ�บลสหกรณ์นิคมได้รับยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตำ�บลสหกรณ์นิคม เมื่อ วันที่ 27 ตุลาคม 2552 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยมีนายสำ�รวม ใจซื่อ เป็น นายกเทศมนตรีต�ำ บลสหกรณ์นิคม คนแรก (จากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2553 จนครบวาระวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2557) และจากการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2557 กกต.จังหวัดกาญจนบุรีได้รับรองผลการเลือกตั้งให้ นายสำ�รวม ใจซื่อ ดำ�รงตำ�แหน่งนายก เทศมนตรีตำ�บลสหกรณ์นิคมอีกหนึ่งสมัย
ข้อมูลทั่วไป
ตำ�บลสหกรณ์นิคมมีเนื้อที่ทั้งหมด 101,250 ไร่ หรือ 162 ตร.กม. แบ่งการปกครองเป็น 6 หมู่บ้านประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านสหกรณ์นิคม มีนาย พงษ์ศักดิ์ หงษาดี เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านสะพานลาว มีนาย วิจารย์ อ่อนคำ� เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านสหกรณ์ มีนาย ชูชีพ บัวสว่าง เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านดินโส มีนาย วรสิทธิ์ ปั้นเหน่งเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านห้วยสมจิตร มีนาย ชูชาติ นันท์อาณาเขต เป็นกำ�นันตำ�บล หมู่ที่ 6 บ้านสองงาน มีนาย พิเชษ มาลี เป็นผู้ใหญ่บ้าน
รายชื่อประธานชุมชน
นางอำ�พร หงษาวดี นางสยาม แสงชมภู นายอำ�พล แป้นอ้อย นางวรรณ มรกต ร.ต.ประกิจ สองสว่าง นายสมชาย นิกาจิ๊ 208
ประธานชุมชนหมู่ที่ ประธานชุมชนหมู่ที่ ประธานชุมชนหมู่ที่ ประธานชุมชนหมู่ที่ ประธานชุมชนหมู่ที่ ประธานชุมชนหมู่ที่
1 2 3 4 5 6
บ้านสหกรณ์นิคม บ้านสะพานลาว บ้านสหกรณ์ บ้านดินโส บ้านห้วยสมจิตร บ้านสองงาน
นายสำ�รวม ใจซื่อ นายกเทศมนตรีต�ำ บลสหกรณ์นิคม
จุดชมวิวเนินสวรรค์
ผาสวรรค์ชั้นที่ 7 ผาสวรรค์ หน่วยพิทักษ์ อช.เขื่อนศรีนครินทร์
แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น (แถลงการณ์เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557)
1. ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของภาคประชาชนในการร่วมแสดงความคิดเห็น ร่วมวางแผนและร่วม ตัดสินใจ ส่งเสริมให้เข้าร่วมเป็นตัวแทนภาคประชาชน 2. ยุทธศาสตร์การจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา AEC ส่งเสริมการเรียนรู้ เพือ่ เตรียมความพร้อมส�ำหรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยสนับสนุน ให้มีการสอนภาษาต่างประเทศและการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และ เหมาะสมกับการเรียนรู้ในแต่ละช่วงวัย 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานปรับปรุงภูมทิ ศั น์พนื้ ทีภ่ ายใน เทศบาลให้ มี ค วามสวยงามเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย เพิ่ ม จุ ด ไฟฟ้ า แสงสว่างสาธารณะ ป้ายจราจร ป้ายเตือนและขยายเขตบริการน�้ำ ประปาให้ครอบคลุมเขตเทศบาล 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เร่งด�ำเนินการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีอยู่ในต�ำบลและประสานของงบประมาณจากรัฐบาล 5. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมงานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สนับสนุน และเพิ่มศักยภาพการท�ำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน โดยการพัฒนาองค์ความรู้ สร้างแรงจูงใจ และสนับสนุนการท�ำงานอย่าง ต่อเนื่อง 6. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการส่งเสริมสวัสดิการชุมชน การพัฒนา คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการ ให้ได้รับ การดูแลอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
สถานที่ท่องเที่ยวที่โดดเด่นของตำ�บลสหกรณ์นิคม
1. น�้ำตกผาสวรรค์เป็นน�้ำตกที่มีขนาดใหญ่สวยงามและยัง คงความสมบูรณ์ของธรรมชาติอยู่มาก มีชั้นต่าง ๆ ลดหลั่นกันถึง 7 ชัน้ ตัวน�ำ้ ตกอยูใ่ นป่าลึกต้องอาศัยการเดินเท้าต่ออีก 40 นาทีชว่ งเวลา ที่สวยงามที่สุดจะอยู่ในช่วงเดือนกรกฎาคม – มกราคม การเดินทาง อยู ่ ห่ า งจากตั ว เมื อ งกาญจนบุ รี ป ระมาณ 155 กิโลเมตรโดยใช้ ทางหลวงหมายเลข 323 กาญจนบุรี – ทองผาภูมิ บริเวณกิโลเมตร ที่ 110 ผ่านบ้านสหกรณ์นิคมเข้าไปประมาณ 15 กิโลเมตรและเลี้ยว ขวาบริเวณทางแยกดินลูกรังอีก 13 กิโลเมตรหรือใช้เส้นทางเชือ่ มต่อ จากน�้ำตกผาตาดแล้วเดินเท้าต่ออีก 40 นาทีจึงจะถึงตัวน�้ำตก หรือ ใช้เส้นทางจากน�้ำตกห้วยแม่ขมิ้น ผ่านเหมืองเนินสวรรค์ หมู่บ้าน สะพานลาวระยะทางประมาณ 42 กิโลเมตรถึงทางแยกบริเวณ โครงการปลูกป่าเลี้ยวซ้ายอีก 13 กิโลเมตรถึงที่จอดรถเดินเท้าต่ออีก 40 นาทีก็จะถึงถ้าเดินทางในฤดูฝนควรใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อ 2. นำ�้ ตกลอยช้างเผือกสวนพฤกษศาสตร์ตงั้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 บ้าน สหกรณ์นคิ ม บริเวณสวนพฤกษศาสตร์ อยูห่ า่ งจากทต.นิคมประมาณ 1 กม. เป็นนำ�้ ตกทีไ่ หลลดหลัน่ ตามพืน้ ที่ มีทวิ ทัศน์งดงาม มีเกาะแก่ง ตามธรรมชาติ มีบรรยากาศสงบร่มรืน่ เหมาะส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจ นักท่องเทีย่ วสามารถกางเต็นท์พกั แรมได้ อีกทัง้ การเดินทางก็สะดวก และสามารถไปเที่ยวได้ทุกฤดูกาล 3. จุ ด ชมวิ ว เนิ น สวรรค์ ที่ ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 2 บริ เ วณด่ า น ตรวจเนินสวรรค์ของอุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์อยู่ห่างจาก ทต.สหกรณ์นิคม 30 กม.ที่นี่เป็นจุดชมทัศนียภาพอ�ำเภอทองผาภูมิ และบ้านสะพานลาวต�ำบลสหกรณ์นิคม ชมทะเลหมอกในยามเช้า หรือดืม่ ดำ�่ กับบรรยากาศอันแสนโรแมนติกของพระอาทิตย์ลบั เนินเขา ในยามเย็น นักท่องเที่ยวสามารถกางเต็นท์พักแรมได้ การเดินทาง ไปมาสะดวกและไปเทีย่ วได้ทกุ ฤดูกาลโดยเฉพาะในหน้าหนาวไม่ควร พลาดอย่างยิ่ง
ผาสวรรค์ชั้นที่ 2 อ่างหินกินรี
น้ำ�ตกรอยช้างเผือก ผาสวรรค์ชั้นที่ 3 อ่างถ้ำ�แก้ว
KANCHANABURI 209
132
LOPBURI 133
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ทองผาภูม)ิ
น้ำ�พุร้อนลิ่นถิ่น
นายประเสริฐ ถิ่นผาสุวรรณ
“ พระพุทธบาทคูห่ ล้า ทอดสุดตาเขาตะนาวศรี ห้วยลิน่ ถิน่ แควน้อยคูช่ วี ี เกษตรดี ป่าอุดม ถิน่ สมบูรณ์ ” คือค�ำขวัญประจ�ำต�ำบลลิน่ ถิน่ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้การปกครอง ของเทศบาลต�ำบลลิ่นถิ่น โดยมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 90/1 หมู่ 6 ต�ำบลลิ่นถิ่น อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันมี นายประเสริ ฐ ถิ่ น ผาสุ ว รรณ เป็ น นายกเทศมนตรี ต� ำ บล ลิ่นถิ่น ซึ่งบริหารงานตามวิสัยทัศน์ที่วา่ “ชุมชนน่าอยู่ มุ่งสู่การพัฒนารอบด้าน ส่งเสริมการ เรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญา สู่คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน” ข้อมูลทั่วไป ทต.ลิน่ ถิน่ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบประมาณ 253 ตร.กม. หรือ ประมาณ 158,125 ไร่ แบ่งการปกครองเป็น 7 หมู่บ้าน มี ประชากรรวมทั้งสิ้น 6,835 คน (ข้อมูล ณ กันยายน 2557) ประกอบด้วยหลากหลายเชื้อชาติ/ชนเผ่า เช่น ไทย กระเหรี่ยง กระหร่าง มอญ พม่า ลาว ประชากรส่วนใหญ่ท�ำสวนยางพารา มันส�ำปะหลัง ข้าวโพด ขมิ้น ปาล์ม ข้าวไร่ และปลูกผลไม้ วัฒนธรรมประเพณี 1.ประเพณี “สู่ขวัญวันกินข้าวห่อ” (ไคจุง ลาค๊อก อองมีทงุ ) เป็นประเพณีของชนเผ่ากระเหรีย่ ง จัดขึน้ ทีห่ มู่ 5 บ้าน หนองบาง ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 9
212
เทศบาลตำ�บลลิ่นถิ่น 2. ปิดทองรอยพระพุทธบาท (แระแซะ) มีขึ้นในขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 เพื่อสักการะบูชารอยพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้า และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในชุมชน 3. ประเพณี น วดข้ า ว เป็ น วิ ถี ชี วิ ต และความเชื่ อ ที่ แสดงออกถึงความเคารพต่อพระแม่โพสพของชาวกระเหรีย่ ง จัดให้ มีขึ้นประมาณเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ณ หมู่ 6 บ้าน หนองเจริญ แหล่งท่องเที่ยวในต�ำบลลิ่นถิ่น 1.น�้ ำ พุ ร ้ อ นลิ่ น ถิ่ น ที่ ตั้ ง หมู ่ 6 บ้ า นหนองเจริ ญ หลักกิโลเมตรที่ 171 ถูกค้นพบ เมื่อปี พ.ศ. 2492 จุดเด่นคือ มีน�้ำพุร้อนที่เกิดขึ้นในแม่น�้ำแควน้อย ซึ่งปัจจุบัน เทศบาลต�ำบล ลิ่นถิ่น ได้พัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของต�ำบลลิ่นถิ่น อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี โดยใช้งบประมาณของเทศบาล และได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจากกรมการท่องเที่ยว 2. น�้ำตกนิขุฮุ ที่ตั้ง หมู่ 5 บ้านหนองบาง อยู่กลางหุบ ป่าเขา จะมีน�้ำไหลตลอดปีและจะมีน�้ำมากในช่วงฤดูฝน 3. ส�ำนักสงฆ์ถ�้ำพระบาท (แระแซะ) ที่ตั้ง หมู่ 4 บ้าน ลิ่นถิ่น เป็นสถานที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนยอดเขา และคนใน ชุมชนให้ความเคารพนับถือ ระยะทางขึน้ ยอดเขาพระบาท ประมาณ 730 ขั้นบันได
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ทองผาภูม)ิ
นายพลทอง ศรีมุกข์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยเขย่ง
“มุ่ ง พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เพิ่ ม รายได้ ชุ ม ชน สร้างความร่วมมือภาคประชาชน ใส่ใจส่งเสริมสุขภาพ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ห้วยเขย่ง
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยเขย่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 37/1 หมูท่ ่ี 8 ตำ�บลห้วยเขย่ง อำ�เภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบนั มี นายพลทอง ศรีมกุ ข์เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล ห้วยเขย่ง มีเนือ้ ที่ 407 ตร.กม. หรือประมาณ 254,875 ไร่ แบ่ง เขตการปกครองเป็น 8 หมูบ่ า้ น มีประชากรทัง้ สิน้ 9,519 คน ประชากรส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ด้ า นการเกษตร ได้ แ ก่ ปลู ก ข้ า ว ข้ า วโพด ยางพารา มั น สำ � ปะหลั ง ยางพารา สักสวนผลไม้ ชนิดต่างๆ บางส่วนเลี้ยงสัตว์ และทำ�ประมง น้ำ�จืด
แหล่งท่องเที่ยวที่สำ�คัญ
โป่ ง พุ ร ้ อ นเป็ น พุน�้ ำ ร้อ นที่ผุดขึ้ น ใกล้บริ เ วณหน่ว ยพิ ทั ก ษ์ อุทยานแห่งชาติ ฯ ที่ ทภ.3 (โป่งพุร้อน) มีน�้ำพุร้อนอยู่ 2 จุด จุดที่ 1 อยู่ทางด้านทิศตะวันออก มีอุณหภูมิ 45 องศาจุดที่ 2 ทางด้านทิศตะวันตก มีอุณหภูมิประมาณ 65 องศา เป็นที่พัก ของช้างป่าที่มักจะลงมากินโป่งบริเวณนี้ ฟอสซิลหอย 280 ล้านปีเป็นฟอสซิลหอยที่เพิ่งถูกค้นพบเมื่อ ปลายปี 2548 ในบริเวณถ�้ำยอดเขานิชา ต�ำบลห้วยเขย่ง มีทั้ง ฟอสซิลหอยแบรคิพอด (Brachiopod) หรือหอยตะเกียง (Iamp shell) ถ�้ำ 28 (สองแปด) ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านไร่ป้า ภายในมีหินงอก หินย้อยที่สวยงามแปลกตา เป็นที่อยู่อาศัยของค้างคาวกิตติ ปัจจุบนั อยูใ่ นแผนของการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ ตามโครงการขยาย ผลโครงการหลวงต�ำบลห้วยเขย่ง น�้ำตกโป่งกระดังงาเป็นน�้ำตกขนาดเล็กที่มีความสวยงาม สายน�้ำตกจะไหลลดหลั่นลงมาเกิดเป็นชั้นต่างๆ อีก 4 ชั้น ใน แต่ละชั้นก็จะมีความสวยงามที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
พุหนองปลิงตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 บ้านท่ามะเดือ่ เป็นป่าพุนำ�้ จืดทีม่ คี วาม หลากหลายทางชีวภาพสูงมาก ซึ่งนักวิจัยโครงการ BRT ได้ใช้ พื้นที่นี้วิจัยได้พบพืชสัตว์ที่หลากหลาย พุปูราชินีตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านท่ามะเดื่อเป็นป่าพุน�้ำจืดซึ่งเป็น แหล่งที่อยู่ของปูราชินีที่ใหญ่ที่สุดในปัจจุบันนับได้ว่าพุปูราชินี เป็น สิ่งมหัศจรรย์หนึ่งในสามของต�ำบลห้วยเขย่งปูราชินีถูกค้นพบโดย นายสุ พ ล ดวงพล และได้ รั บ การตั้ งชื่ อ ว่ า ปู ร าชิ นี เพื่อถวาย พระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถเนือ่ งใน วโรกาสเจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ ในพ.ศ. 2535 ต้นไม้ยักษ์ตั้งอยู่ในป่าห้วยเขย่ง เป็นต้นขมิ้นด�ำหรือไข่เขียว ขนาดใหญ่อยู่กลางหุบเขา ปัจจุบันคงเหลืออยู่เพียงต้นเดียว วัด โดยรอบประมาณ 14 เมตร มีพูพอนและกิ่งก้านที่แผ่ออกกว้าง บึงน�ำ้ ทิพย์ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 8 บ้านรวมใจ เป็นบึงน�ำ้ ใสสีเขียวมรกต ความใสของน�้ำเมื่อสะท้อนกับหน้าผาและต้นไม้จะสวยงามดังภาพ วาดของจิตกรเป็นอีกหนึง่ ของความมหัศจรรย์ทธี่ รรมชาติสร้างสรรค์ ให้กับโลกใบนี้ KANCHANABURI 213
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ทองผาภูมิ)
องค์การบริหารส่วนต�ำบลชะแล องค์การบริหารส่วนต�ำบลชะแล ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 19/5 หมู่ 3 ต�ำบล ชะแล อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี มีระยะทางห่างจาก จังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 190 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากที่ ว่าการอ�ำเภอทองผาภูมิไปทางทิศเหนือประมาณ 35 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายบรรจง รสจันทร์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลชะแล ประวัติความเป็นมา ต�ำบลชะแล จัดตัง้ เป็นต�ำบลมาก่อน ร.ศ. 120 ประชากรทัง้ หมด เป็ น ชาวกระเหรี่ ย ง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ สั ญ ชาติ ไ ทยมาตั้ ง แต่ บรรพบุรุษ และได้อาศัยอยู่ในต�ำบลชะแลมาหลายชั่วอายุคน แต่ อดีตชาวบ้านจะอยู่กระจัดกระจายเป็นกลุ่มเล็ก ๆ แต่ละกลุ่มรวม กันอยู่ประมาณ 5 – 6 ครัวเรือน โดยมีการย้ายถิ่นที่อยู่บ่อยครั้ง เนื่องจากท�ำไร่เลื่อนลอยไปเรื่อย ๆ แต่เนื่องจากในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลชะแล เป็นพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ คือ ป่าสงวนน�้ำโจน , ป่าสงวนเขา พระฤาษี , ป่าสงวนเขาบ่อแร่แปลงที่ 1 และมีอทุ ยานแห่งชาติ 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานฯเขาแหลม , อุทยานฯล�ำคลองงู และอุทยานฯ เขื่อนศรีนครินทร์ จึงท�ำให้ราษฎรในพื้นที่ต้องประสบปัญหาเรื่อง ที่ดินท�ำกินเรื่อยมา จนกระทั่งราวปี พ.ศ. 2529 – 2540 นายชัชวาล เกรียงแสน ภู ซึง่ เป็นก�ำนันต�ำบลชะแล ในขณะนัน้ ได้ถวายฎีกาแด่องค์สมเด็จ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องจากได้รับความเดือดร้อน 214
เรื่องที่ดินท�ำกิน เพราะทางราชการได้ประกาศเขตอุทยานแห่ง ชาติเขาแหลมทับที่ท�ำกินทั้งหมู่บ้านทิพุเย ท�ำให้มีการกระทบ กระทั่งกันระหว่างราษฎรและเจ้าหน้าที่ป่าไม้ จนกระทั่งสมเด็จ พระนางเจ้าฯ ได้มพี ระราชเสาวนียใ์ ห้รบั ต�ำบลชะแลเข้าเป็นต�ำบล ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ พร้อมทั้งได้เสด็จฯมา เยี่ยมราษฎรครั้งแรก เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2540 ณ บ้านทิพุเย หมู่ที่ 3 ต�ำบลชะแล และครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2545 ณ บ้านคลิตี้ หมู่ที่ 4 ต�ำบลชะแล ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลชะแล มีพื้นที่ประมาณ 1,017,000 ไร่ หรือ 1,627.2 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองเป็น 7 หมู่บ้าน มีประชาชนทัง้ หมด 9,682 คน มีจำ� นวน 1,815 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555) ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพ เลี้ยงไหม, ปลูกผักกาดขาว, ปลูกข้าวไร่ และมีการท�ำสวนผลไม้ เช่น เงาะ ผลิตภัณฑ์ OTOP ต�ำบลชะแล สตรอเบอร์รี่ ในท้องที่ต�ำบลชะแลสามารถปลูกสตรอเบอร์รี่ ได้ โดยเริ่มออกผลผลิตตั้งแต่เดือนธันวาคม ถึง กุมภาพันธ์ กลุ่มสตรีท�ำไม้กวาดบ้านห้วยเสือ จัดตั้งขึ้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2541 เนื่องจากต้องการให้สมาชิกใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว เป็นการน�ำเอาวัตถุดิบธรรมชาติมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเกิดรายได้ ปัจจุบันมีสมาชิก 20 คน
รายละเอียดผลิตภัณฑ์ เป็นการน�ำลายผ้ากระเหรี่ยงที่สวยงาม มาประดิษฐ์เป็นชินงานที่ประณีต ผ้าหนาคงทน ราคาขายปลีก 700-1,000 บาท วัตถุดิบที่ใช้ ด้ายประดิษฐ์ สถานที่จ�ำหน่าย กลุ่ม อาชีพสตรีกระเหรี่ยง บ้านทิพุเย หมู่ 3 ต�ำบลชะแล อ�ำเภอ ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี 71180 สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ น�้ำตกคลิตี้ล่าง ตั้งอยู่หมู่บ้านคลิตี้ล่าง ในเขตอุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์ น�ำ้ ตกคลิตี้ล่าง เกิดจากล�ำห้วยคลิตี้ มีต้นก�ำเนิด ทีเ่ ขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวร ซึง่ ไหลผ่านหมูบ่ า้ นคลิตบี้ น คลิตี้ล่าง และเกิดเป็นน�้ำตก จากนั้นจึงไหลออกไปรวมกับห้วย ล�ำคลองงู ทีเ่ ขือ่ นศรีนครินทร์ ลักษณะของน�้ำตกเป็นน�ำ้ ตกหินปูน ขนาดกลางและมีน�้ำไหลตลอดปี มีชั้นลดหลั่นกันไปหลายชั้น ชั้น สูงสุดประมาณ 20 เมตร และมีบางช่วงเป็นแหล่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ กว้าง 50 เมตร จุดเด่นที่น่าสนใจ เป็นบริเวณทางเดินเข้าน�ำ้ นก และบริเวณรอบๆ น�้ำตกยังเป็นสภาพป่าที่สมบูรณ์ มีเส้นทาง ส�ำหรับผู้สนใจศึกษาธรรมชาติ และดูนก ได้เดินเที่ยวชม ซึ่งนกที่ พบทั่วไป เช่น นกขุนทอง นกแซงแซว นกโพระดก นกปรอด นก จับแมลง นกกางเขนดง บางครั้งถ้าท่านโชคดีอาจได้พบ นก กก นกเงือกกรมช้างอีกด้วย น�้ำตกผาแตก ตั้งอยู่ใน หมู่ 3 บ้านทิพุเย ซึ่งเป็นชุมชนกระเห รี่ยงดั้งเดิมของต�ำบลชะแล ลักษณะของน�้ำตก เป็นน�้ำตกหินปูน
ขนาดกลาง ไหลแผ่ว้างไปตามชั้นต่างๆ มีต้นไม้ปกคลุม ร่มรื่น แต่ละชัน้ ก็จะมีความสวยงามแตกต่างกันไป ชัน้ ทีส่ งู สุดประมาณ 8 เมตร ส�ำหรับการเดินทางเที่ยวชม ต้องอาศัยการเดินน�ำของผู้ ช�ำนาญ ระยะทางห่างจากตัวหมู่บ้าน 7 กิโลเมตร การเดินตาม ชั้นต่างๆต้องอาศัยความระมัดระวัง เพราะต้องเดินทวนกระแส น�ำ้ ขึน้ ไป โดยเฉพาะในฤดูฝน น�้ำจะไหลแรงมาก ต้องระมัดระวัง เป็นพิเศษ และมีคนเดินน�ำทางไปด้วย ถ�้ำนกนางแอ่น ตั้งอยู่ใน เขตหมู่บ้านเขาพระอินทร์ หมู่ที่ 5 เป็นถ�้ำหินปูน ขนาดใหญ่ ความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ตาม ผนังถ�ำ้ จะมีผลึกหินปูนขนาดใหญ่ ที่สวยงามอยู่มากมาย สิ่งที่น่า สนใจภายในถ�ำ้ ก็คอื หินงอกทีม่ รี ปู ร่างคล้ายถ้วยฟุตบอลโลก เวิลด์ คัพ ซึ่งมีขนาดใหญ่มาก นอกจากนั้นยังมีภาพเขียนโบราณ ตาม ผนังถ�ำ้ กว่า 30 ภาพ ซึง่ ยังไม่สามารถพิสจู น์ได้วา่ มีอายุยาวนาน เท่าใด ถ�้ำเสาหินและถ�้ำใหญ่ ตั้งอยู่ใน เขต หมู่ที่ 5 บ้านภูเตย เป็น ถ�้ำขนาดใหญ่ ความยาวประมาณ 1,130 เมตร สิ่งที่น่าสนใจ ภายในถ�ำ้ ก็คอื เสาหินปูนขนาดใหญ่ซงึ่ ก่อตัวมานานนับล้านปี สูง ประมาณ 62.5 เมตร จัดได้ว่าเป็นเสาหินตามธรรมชาติทสี่ ูงทีส่ ุด ในโลก ถ�ำ้ ใหญ่ หรือชาวบ้านเรียกว่า ถ�ำ้ ปลาวาฬ เพราะมีลกั ษณะ คล้ายปลาวาฬเป็นถ�้ำ ขนาดใหญ่ ที่อยู่ใกล้ถ�้ำนกนางแอ่น ปาก ถ�้ำกว้างประมาณ 50 เมตร ภายในถ�ำ้ จะเป็นโถงขนาดใหญ่ ซึ่ง สามารถจุคนได้เป็นจ�ำนวนมาก
KANCHANABURI 215
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ทองผาภูม)ิ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล หินดาด “พุน้ำ�ร้อนหินดาด ผาตาดธารใส ป่าไม้เขียวขจี มากมีการเกษตร สุดเขตถ้ำ�หม่องกะลา ข้าวเหนียวงาขนมทองโย๊ะ” คือค�ำขวัญของต�ำบลหินดาด ต�ำบลหินดาดอยูห่ า่ งจากจังหวัด กาญจนบุรี ประมาณ 122 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 205 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 128,125 ไร่ แบ่งการปกครอง เป็น 8 หมู่บ้าน ปัจจุบันมี นายยุทธนา อิ่มประสิทธิชัย เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหินดาด ส�ำนักงานองค์การ บริหารส่วนต�ำบลหินดาด ตั้งอยู่เลขที่ 41/8 หมู่ที่ 5 ต�ำบล หินดาด อ�ำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี
ประวัติของตำ�บลหินดาด
สมัยก่อนชุมชนบ้านหินดาดเป็นหมูบ่ า้ นของชาวกะเหรีย่ ง ซึง่ อาศัยอยู่ก่อน แต่ด้วยสภาพพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศที่ อุดมสมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วย แม่น�้ำแควน้อย ล�ำห้วย ซึ่งมี น�้ำไหลตลอดปีจึงท�ำให้มีผู้คนจากที่ต่าง ๆ อพยพเข้ามาประกอบ อาชีพ ท�ำการเกษตรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงปัจจุบันนี้
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลหินดาดมีสภาพภูมิปะเทศเป็นเขาสลับซับซ้อนเป็น ส่วนใหญ่ มีพื้นที่ราบตามแนวระหว่างภูเขาและพื้นที่ราบลุ่ม ระหว่างแม่น�้ำแควน้อย ซึ่งไหลผ่านกลางระหว่างต�ำบล แบ่ง ต�ำบลออกเป็นสองฝั่ง ๆละ 4 หมู่บ้าน แยกเรียกตามทิศทาง การขึ้นลงของดวงอาทิตย์ว่า หินดาดตะวันออกและหินดาด ตะวันตก องค์การบริหารส่วนตำ�บลหินดาด แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านวังหิน ,หมู่ที่ 2 บ้านหม่องกะลา ,หมู่ที่ 3 บ้านหินดาดตะวันตก ,หมู่ที่ 4 บ้านหนองพลู ,หมู่ที่ 5 บ้านหินดาดตะวันออก ,หมู่ที่ 6 บ้านกุยมั่ง ,หมู่ที่ 7 บ้าน ดงโคร่ง และหมู่ที่ 8 บ้านวังผาตาด
216
นายยุทธนา อิ่มประสิทธิชัย นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหินดาด
ศักยภาพของ อบต.หินดาด
ด้านการศึกษา ต�ำบลหินดาดเป็นต�ำบลขนาดกลาง มีโรงเรียนระดับ ประถมศึกษา จ�ำนวน 4 แห่ง ซึ่งเพียงพอต่อการบริการของราษฎร ในต�ำบลหินดาด นอกจากนีย้ งั มีศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก จ�ำนวน 1 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต�ำบลหินดาด หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลหินดาด ด้านสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล จ�ำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านหินดาด (ให้บริการ พื้นที่ หมู่ที่ 1-4) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้าน กุยมั่ง (ให้บริการพื้นที่ หมู่ที่ 5-8) และมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) อยู่ทุกหมู่บ้าน เพื่อท�ำการเป็นผู้ช่วยของสาธารณสุขอีก ส่วนหนึ่งด้วย ด้านการคมนาคม เส้นทางการคมนาคมติดต่อกันระหว่างต�ำบล กับอ�ำเภอ รวมทั้งการคมนาคมไปจังหวัด มีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 323 จ�ำนวน 1 สาย มีถนนสายในหมู่บา้ นซึ่งก่อสร้าง โดยส�ำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท จ�ำนวน 5 สาย คือ สายบ้าน หินดาดตะวันออก-บ้านดินโส ระยะทาง 3.2 ก.ม. สายบ้านพุถ่องบ้านปรังกาสี ระยะทาง 6 ก.ม. สายแยกน�้ำพุร้อนหินดาด-บ้านวัง ผาตาด ระยะทาง 1 ก.ม. สายบ้านหินดาดตะวันตก ระยะทาง 1 ก.ม. และสายบ้านวังหิน ระยะทาง 1.350 ก.ม.
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
น้ำ�พุร้อนหินดาด หรือน้ำ�พุร้อนกุยมั่ง ตั้งอยู่ที่บ้านกุยมั่ง ตำ�บลหินดาด เป็นบ่อน้ำ�ร้อนธรรมชาติริมลำ�ธาร มีสรรพคุณใน การบรรเทาโรคภัยไข้เจ็บหลายอย่าง แต่ละวันมีนักท่องเที่ยวมาแช่น้ำ�พุร้อนเป็นจำ�นวนมาก โดยทาง อบต.หินดาด จะมีการ รักษาความสะอาดล้างบ่อและดูแลเปลี่ยนถ่ายน้ำ�ใหม่ทุกวันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ ในเวลา 21.00 น.
น้ำ�ตกผาตาด เป็นน้ำ�ตกขนาดใหญ่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ มีความสวยงามมีชั้นน้ำ�ตกลดหลั่นกันไปถึง 3 ชั้น แต่ละชั้นมีความกว้างความสูงที่ตระการตา และมีนำ�้ มากในช่วงปลายฤดูฝน KANCHANABURI 217
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายวินายอำระ�เภอพนมทวน ทองพิจิตร “พนมทวนชวนใจให้ชื่นชม ทวนพนมคมขลังครั้งศึกสมัย พนมมือถือทวนขบวนชัย ทวนดินน้ำ�ลมไฟทวนใจคน ทวนหัวใจมิให้ไหลไปทางต่ำ� กระแสธรรมทวนสู่อกุศล พนมทวนพนมธรรมน้อมนำ�คน เติมคุณค่าเข้มข้นคนบ้านทวน” อำ�เภอพนมทวน เป็นอำ�เภอหนึง่ ในสามอำ�เภอยุคแรกตัง้ จังหวัดกาญจนบุรี เดิมชือ่ ว่าอำ�เภอเหนือ เนือ่ งจากเป็นชุมชน ที่อยู่ทางทิศเหนือของที่ตั้งจังหวัด ต่อมาเมื่อปีพุทธศักราช 2374 ในสมัยรัชกาลที่ 3 จึงเปลี่ยนชื่อจากอำ�เภอเหนือเป็น อำ�เภอบ้านทวน เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่เป็นภูเขา (พนม=ภูเขา) และแม่น้ำ�ไหลทวนไปทางทิศเหนือ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงปรับปรุงการปกครองของหัวเมืองใหม่ อำ�เภอบ้านทวนจึงได้รับ การเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “อำ�เภอพนมทวน” เมื่อ พ.ศ. 2433 ปัจจุบัน อำ�เภอพนมทวน มีศักยภาพทางด้านการท่องเที่ยวใน ทั้งด้านประวัติศาสตร์ ธรรมชาติที่มีความสมบูรณ์ สินค้า OTOP หลากหลาย และอื่นๆ อีกมากมาย ความประทับใจในอำ�เภอพนมทวน ที่เป็นความภาคภูมิใจและสิ่งดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยือนได้เป็นอย่างดี ได้แก่
218
แหล่งท่องเที่ยวทางด้านประวัติศาสตร์
โบราณสถานบ้านดอนเจดีย์ ตั้งอยู่ที่บ้านดอนเจดีย์ หมู่ที่ 2 ตำ�บลดอนเจดีย์ ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรีไปตามเส้นทางสาย กาญจนบุรี – อูท่ อง ประมาณ 15 กม. โดยผูท้ จี่ ะไปชมจะต้องขับรถ เลีย้ วเข้าไปยังบริเวณหลังโรงเรียนวัดทุง่ สมอ กรมศิลปากรได้ท�ำ การ สำ�รวจเมือ่ ปี พ.ศ.2525 ได้พบโครงกระดูกในบริเวณนีห้ ลายร้อยโครง ตลอดจนตามโบราณ กรามช้าง และเครือ่ งม้า ฯลฯ เป็นจำ�นวนมาก และซากเจดีย์สมัยกรุงศรีอยุธยาอยู่ด้วย ปัจจุบันมีศาลสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชตั้งอยู่ในบริเวณดังกล่าวด้วย พระบรมราชานุสาวรียส์ มเด็จพระนเรศวรมหาราช ตัง้ อยูใ่ กล้ กับโบราณสถานดอนเจดีย์ โดยเมือ่ ปี พ.ศ. 2542 จังหวัดกาญจนบุรี และประชาชนผูม้ จี ติ ศรัทธาทัว่ ประเทศ ได้บริจาคเงินสมทบทุนสร้าง พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประทับช้าง ไว้เพือ่ เป็นอนุสรณ์สถานให้ปวงชนชาวไทย ได้ถวายสักการะรำ�ลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณที่ทรงพระปรีชาสามารถ ได้รับชัยชนะในการ ทำ�สงครามยุทธหัตถี สามารถปกป้องเอกราชของชาติไทยไว้ได้ใน สมัยกรุงศรีอยุธยา
แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ตั้งอยู่ภายในโรงเรียนวัด สาลวนาราม ปัจจุบนั มีการจัดสร้าง “พิพธิ ภัณฑ์บา้ นดอนตาเพชร” อยูภ่ ายใน โรงเรียน เพื่อนำ�เสนอข้อมูลและเรื่องราวก่อนประวัติศาสตร์ของ บ้านดอนตาเพชร ทีไ่ ด้จากการดำ�เนินงานด้านโบราณคดีมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2518 ผ่านภาพและคำ�บรรยายต่างๆ รวมทั้งโบราณวัตถุ หลุมขุดค้นจำ�ลอง และหุ่นจำ�ลองแสดงภาพวิถีชีวิตในอดีต
แหล่งท่องเที่ยวทางด้านธรรมชาติที่น่าตระการตา
ป่าชุมชนบ้านห้วยสะพานสามัคคี ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยสะพาน หมู่ที่ 2 ตำ�บลหนองโรง เดิมมีชื่อเรียกว่า ป่ารังหนา เป็นป่าเต็งรัง ผสมเบญจพรรณ มีพนั ธุไ์ ม้นานาชนิด มีสตั ว์ปา่ มากมาย ตลอดจน พืชสมุนไพรจำ�นวนมาก และเป็นแหล่งเรียนรู้ป่าชุมชนและการ อนุรักษ์ป่า และเคยได้รับรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จากการประกวด “โครงการกล้ายิม้ คนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน” ระดับประเทศ ลำ�ดับที่ 1 ในปี พ.ศ.2555
แหล่งหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว
อำ�เภอพนมทวนมีหมู่บ้านโอท็อปที่เป็นแหล่งช็อปปิ้งโดนใจ นักท่องเที่ยว โดยมีสินค้า OTOP ให้เลือกหลากหลาย อาทิ กล้วยทอดกรอบ บานาน่าหลากรส, ข้าวกล้องหอมมะลิแดง ตำ�บลทุ่งสมอ, น้ำ�พริกแม่พะเยาว์, เสื้อสำ�เร็จรูป (โปโลโอทอป), Hard OTOP ของตำ�บลรางหวาย ฯลฯ เพือ่ ส่งเสริมการสร้างงาน และสร้างรายได้แก่ชมุ ชน และสามารถจูงใจให้บคุ คลทัว่ ไปเข้ามา ศึกษาเรียนรู้ และท่องเที่ยวในหมู่บ้าน โดยสามารถรองรับ นักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาเยีย่ มชมและใช้จา่ ยในหมูบ่ า้ นให้ได้รบั ความ ประทับใจ และอยากกลับมาเที่ยวซ้ำ�อีก
จากใจนายอำ�เภอพนมทวน
จากศั ก ยภาพดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ผมในฐานะนายอำ � เภอ พนมทวน มีวสิ ยั ทัศน์ในการบริหารงานอำ�เภอของข้าพเจ้าภายใต้ แนวคิดประชาคมอาเซียน (ASEAN COMMUNITY) จะมุง่ เน้น ที่การส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการสร้างจิตสำ�นึก ไม่แบ่ง แยกภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ให้ทุกอนุภาคใน อำ�เภอบูรณาการร่วมกัน ภายใต้กรอบแนวคิดที่ว่า “ทีมงานของ อำ�เภอพนมทวน และประชาชนในอำ�เภอพนมทวน ต้องเป็นหนึง่ เดียวกัน” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยว และของดีอ�ำ เภอพนมทวนให้รจู้ กั กันแพร่หลายมากยิง่ ขึน้ ส่งเสริม การสนับสนุนกลุ่มหมู่บ้าน ผู้ประกอบการ ร้านค้า ชุมชนให้มี รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น โดยให้มีการพัฒนาศักยภาพ และยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP เพื่อเตรียมการรองรับเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ผมในฐานะนายอำ�เภอพนมทวน จึงขอเชิญ ชวนนักท่องเทีย่ วทุกท่านมาเยือนอำ�เภอพนมทวน ดังคำ�กล่าวทีว่ า่ “แคว้นประวัตศิ าสตร์อนั ล้�ำ ค่า สูธ่ รรมชาติอนั งดงาม นามพนมทวน ชวนใจให้ชื่นชม OTOP” KANCHANABURI 219
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.พนมทวน)
เทศบาลตำ�บลดอนเจดีย์ เจดีย์ยุทธหัตถี อยู่ที่ไหน?
เจดียย์ ทุ ธหัตถี ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นดอนเจดีย์ หมู่ ที่ 2 ต.ดอนเจดีย์ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี เชื่อกันว่าเป็นเจดีย์ยุทธหัตถีที่สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช ทรงกระท�ำยุทธหัตถีชนะ สมเด็จพระมหาอุปราชา กษัตริย์แห่งพม่า ดังปรากฏหลักฐานพอสรุปได้ดังนี้ 1.ในพืน้ ทีบ่ ริเวณเจดียย์ ทุ ธหัตถีและบริเวณ ใกล้เคียงชาวบ้านพบกระดูกช้าง กระดูกม้า กรามช้าง กะโหลกช้าง และกระดูกคนอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ แสดงว่าสถานทีแ่ ห่งนีจ้ ะ ต้องเป็นทีก่ ระท�ำสงครามครัง้ ยิง่ ใหญ่ หากไม่ เช่นนั้นแล้วคงจะไม่มีมากมายถึงขนาดนี้ 2.ชาวบ้านดอนเจดียไ์ ด้พบเครือ่ งศาสตราวุธ เครือ่ งช้าง เครือ่ งม้า ซึง่ ประกอบด้วย หอก ดาบ ยอดฉัตร โกลนม้า ขอสับช้าง โซ่ลา่ มช้าง แป้นครุฑจับนาค แป้นครุฑขีส่ งิ ห์จบั นาค 3.ชาวบ้านดอนเจดียส์ ว่ นใหญ่ใช้นามสกุล คชายุทธ มาลาพงษ์ และดอนเจดีย์ นามสกุล เหล่านี้มีความหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์เจดีย์ และการตัง้ นามสกุลได้ตงั้ ในสมัย รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นช่วงเริ่มในการค้นหาเจดีย์ยุทธหัตถี 4. ชื่อต�ำบลตระพังตรุ หนองสาหร่าย ที่ ระบุในพระราชพงศาวดาร เป็นสถานทีท่ มี่ อี ยู่ ใน อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี จริง ซึ่งแต่เดิม ขึน้ อยูก่ บั แขวงเมืองสุพรรณบุรี ต่อมาภายหลัง
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช
220
เจดีย์ยุทธหัตถีบ้านดอนเจดีย์ก่อนบูรณะ
ได้มีการแบ่งเขตการปกครองโดย อ.พนมทวน มาขึ้นกับ จ.กาญจนบุรี ในสมัยรัชกาลที่ 3 5. เส้นทางการเดินทัพของพม่า – ไทย โดย ทัพพม่าจะเข้ามาทางด่านเจดียส์ ามองค์ ทุง่ ลาด หญ้า - เขาชนไก่ - เมืองกาญจนบุรเี ก่า - ปากแพรก - พนมทวน (บ้านทวน) - อู่ทอง-สุพรรณบุรี - ป่าโมกเข้าอยุธยา จะเห็นได้ว่าเจดีย์ยุทธหัตถี องค์ นี้ ตั้ ง อยู ่ ใ นเส้ น ทางการเดิ น ทั พ คื อ ที่ อ�ำเภอพนมทวน 6. เจดียย์ ทุ ธหัตถีองค์นี้ อยูใ่ กล้กบั ล�ำน�ำ้ ทวน ซึง่ เป็นล�ำน�ำ้ ทีอ่ ยูใ่ นเส้นทางการเดินทัพ ในการ
เจดีย์ยุทธหัตถีหลังบูรณะ
เดิ นทั พ ซึ่ งมี ค นเป็ นจ�ำนวนมากจ� ำ เป็นต้องมี เสบียงอาหาร น�ำ้ ดื่ม น�้ำใช้ จึงเป็นไปได้ที่เส้น ทางการเดินทัพจะเดินไปตามล�ำน�้ำ ล�ำน�้ำทวน เป็นล�ำน�้ำที่ไหลผ่านอ.พนมทวน แล้วลงสู่ลำ� น�ำ้ จระเข้สามพัน ไป อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ซึ่ง ตรงกับเส้นทางการเดินทัพดังกล่าว และตรง ตามพระราชพงศาวดารทีก่ ล่าวไว้วา่ “ล�ำน�ำ้ ทวน สายน�้ ำ ยุ ท ธศาสตร์ ใ กล้ ส นามยุ ท ธ” เจดี ย ์ ยุทธหัตถีองค์นี้ อยู่ใกล้กับล�ำน�้ำทวน โดยมี ระยะห่างประมาณ 150 เมตร ปัจจุบนั ยังมีหลัก ฐานที่ปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจน 7. เจดีย์ยุทธหัตถีบ้านดอนเจดีย์ เป็นเจดีย์ที่ มีลกั ษณะคล้ายกับเจดียท์ วี่ ดั ช้าง จังหวัดอยุธยา ซึ่งเป็นที่น่าเชื่อถือได้ว่า เจดีย์ยุทธหัตถีองค์นี้ สร้างในสมัยอยุธยา 8. ในพระราชพงศาวดารได้กล่าวไว้ว่า ช้าง ศึกได้กลิ่นน�้ำมันคชสารก็ตกมันตลบปะปนกัน เป็ น อลหม่ า น พลพม่ า รามั ญ ก็ โ ทรมยิ ง ธนู
ภาพลำ�น้ำ�ทวนในอดีตที่ไหลผ่านใกล้กับบริเวณ องค์เจดีย์อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี
หลวงพ่อดอกไม้ http://www.lanpothai.com/
หน้าไม้ปนื ไฟ ระดมเอาพระคชสารสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทัง้ สองพระองค์ และธุมาการก็ตลบมืดเป็นหมอกมัวไป แสดงว่าที่ทรงกระท�ำยุทธหัตถี พื้นที่จะต้องเป็นดินปนทรายจึงมีฝุ่นคลุ้งไปทั่ว จากพงศาวดารที่ได้กล่าว มานี้ ท�ำให้สอดคล้องกับพื้นที่บริเวณเจดีย์ยุทธหัตถีแห่งนี้ เนื่องจาก พื้นที่รอบองค์พระเจดีย์ เป็นที่ดอนและดินปนทราย ซึ่งหลักฐานที่ ประจักษ์ชดั คือ หมูบ่ า้ นทีอ่ ยูต่ ดิ กับองค์พระเจดีย์ ชือ่ ว่าหมูบ่ า้ นหลุมทราย เพราะพื้นที่นี้มีทรายมาก 9. ที่ดอนเจดีย์แห่งนี้มีต้นข่อยขนาดใหญ่ ซึ่งเชื่อกันว่า เป็นต้นข่อย ที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ อยู่ห่างจากองค์เจดีย์ประมาณ 100 เมตร ดังพระราชพงศาวดารกล่าวไว้วา่ ครัง้ เหลือบไปฝ่ายทิศขวาของพระหัตถ์ ก็เห็นช้างเศวตฉัตรช้างหนึ่งยืนอยู่ ณ ฉายาข่อย มีเครื่องสูง และทหาร หน้าช้างมาก ก็เข้าพระทัยถนัดว่า ช้างพระมหาอุปราชา พระเจ้าอยู่หัว ทัง้ สอง ก็ขบั พระคชสารตรงเข้าไป ทหารหน้าข้าศึกก็วางปืนจ่ารงคมณฑ กนกสับตระแบงแก้ว ระดมยิง มิได้ต้องพระองค์และคชสาร สมเด็จ พระนเรศวรเป็นเจ้าตรัสร้องเรียกด้วยพระสุรเสียงอันดังว่า พระเจ้าพี่ เรา จะยืนอยูใ่ ยในร่มเล่า เชิญออกมาท�ำยุทธหัตถีดว้ ยกันให้เป็นเกียรติยศ ไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มีกษัตริย์ที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว พระมหา อุปราชาได้ฟงั ดังนัน้ แล้วละอายพระทัยมีขตั ยราชมานะก็บา่ ยพระคชสาร ออกมารบ 10.เมือ่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ฟันพระมหาอุปราชาขาดคอช้าง แล้ว ทัพไทยได้ไปทันพอดี จึงไล่ฆา่ ฟันทหารพม่าอย่างมันมือ จากตระพัง ตรุไปถึงกาญจนบุรี ทหารไทยฆ่าผู้คนพม่า 20,000 คน จับช้างใหญ่สูง 6 ศอก ได้ 300 เชือก ช้างพลายพัง 500 เชือก ม้าอีก 2,000 เศษจะ เห็นว่าจากเจดีย์ยุทธหัตถีบ้านดอนเจดีย์ ไปถึงกาญจนบุรี มีระยะทาง ประมาณ 17 กิโลเมตร ซึ่งระยะห่างกันไม่มากนัก จึงเป็นไปได้ที่ ทหารไทยจะไล่ฆ่าฟันพม่าในวันเดียวถึงเมืองกาญจนบุรี 11.ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ได้กล่าวไว้ว่า การท�ำ ยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา ได้ กระท�ำใกล้กับวัดร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งจะตรงกับสภาพพื้นที่เจดีย์ยุทธหัตถี บ้ า นดอนเจดี ย ์ แ ห่ ง นี้ ซึ่ ง มี วั ด ร้ า งอยู ่ ท างทิ ศ ใต้ ข องเจดี ย ์ ร าว
1.5 กิโลเมตร ปัจจุบัน คือ วัดบ้านน้อย และยังมีเจดีย์และโบสถ์ เก่าแก่ให้เห็นอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ จากหลักฐานดังกล่าวที่อ้างมานี้ น่าจะเป็นที่ยืนยันได้ว่าเจดีย์ ยุทธหัตถีบ้านดอนเจดีย์ อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี เป็นเจดีย์องค์ ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างขึ้นหลังจากที่พระองค์ทรง กระท�ำยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระอุปราชา เมื่อ พ.ศ. 2135
ประวัติ หลวงพ่อดอกไม้ ปทุมรตโน วัดดอนเจดีย์ จ.กาญจนบุรี “พระครูวัตตสารโสภณ” หรือ “หลวงพ่อดอกไม้ ปทุมรตโน” พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งวัดดอนเจดีย์ ที่ชาวเมืองกาญจนบุรีให้ ความเลือ่ มใสศรัทธาก่อนทีห่ ลวงพ่อดอกไม้จะมาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาสวัดดอนเจดีย์ ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดอินทาราม (วัดหนอง ขาว) ต่อมาท่านได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นพระครูวตั ตสารโสภณ เป็นพระ อุปัชฌาย์และเจ้าคณะแขวงอ�ำเภอพนมทวน ในสมัยหลวงพ่อดอกไม้ยงั มีชวี ติ อยู่ ท่านได้สร้างความเจริญให้ กับวัดดอนเจดีย์อย่างมาก เช่น สร้างหมู่กุฏิ พระอุโบสถศาลา การเปรียญ หอระฆัง เป็นต้น และริเริ่มจัดตั้งโรงเรียนขึ้น โดย อาศัยศาลาการเปรียญเป็นที่เรียน ต่อมาได้สร้างเป็นโรงเรียนวัด ดอนเจดีย์อย่างที่เห็นในปัจจุบัน และท่านได้อบรมชาวบ้านด้วย ธรรมทีเ่ รียบง่าย แต่สามารถท�ำให้เข้าใจถึงพระธรรมได้อย่างลึกซึง้ จนเป็นที่เคารพนับถือของ ชาวบ้านทั้งใกล้และไกลตลอดจนชาว บ้านต่างถิน่ ก็เคารพนับถือท่านมากเดินทางมาร่วมถวายปัจจัยสร้าง เสนาสนะและถาวรวัตถุให้กับวัดอย่างสม�ำ่ เสมอ หลวงพ่อดอกไม้ มรณภาพเมื่อปี 2476 สิริอายุ 73 ปี พรรษา 52 แม้ท่านมรณภาพจากไปนานแล้ว แต่เกียรติคุณและ คุณงาม ความดีของท่านยังคงอยู่ในจิตใจของชาวดอนเจดีย์ จนทุกวันนี้ โดยทางวัดได้จดั งานปิดทองรูปหล่อองค์หลวงพ่อดอกไม้เป็นประจ�ำ ทุกปี
KANCHANABURI 221
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.พนมทวน)
เทศบาลต�ำบลรางหวาย “อยู่อย่างสะอาด อยู่อย่างฉลาด อยู่อย่างปลอดภัยและมั่นคง” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลรางหวาย ซึง่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การอ�ำเภอพนมทวนไปทางทิศเหนือ ประมาณ 18 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 41 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายค�ำรณ เบ็ญพาด ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำ� บลรางหวาย ข้อมูลทัว่ ไป เทศบาลต�ำบลรางหวาย มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 45,564 ไร่ หรือ ประมาณ 54.21 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 20 หมูบ่ า้ น มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 7,203 คน 2,384 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนา ท�ำไร่ และ เลี้ ย งสั ต ว์ รายได้ เ ฉลี่ ย ของครั ว เรื อ นประมาณ 23,000 บาท/ปี ผลผลิตหรือสินค้าทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ข้าว มันส�ำปะหลัง กุง้ ก้ามกราม โค แพะ แกะ และเป็ด ฯลฯ ยุทธศาสตร์การพัฒนา เทศบาลต�ำบลรางหวาย ได้กำ� หนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ทีส่ นับสนุนและเชือ่ มโยงกันไว้ รวม 8 ด้าน ดังต่อไปนี้
222
1. นโยบายการพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 4. นโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุข 5.นโยบายการพั ฒนาด้ านทรั พยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม 6.นโยบายการพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร 7.นโยบายการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 8.นโยบายการพัฒนาด้านการท่องเทีย่ วและกีฬา
KANCHANABURI 223
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.พนมทวน)
นายสาทิส ภัทรพงษ์กาญจน์ นายกเทศมนตรีตำ�บลตลาดเขต
“ตลาดเขตเมืองน่าอยู่ คู่สิ่งแวดล้อม พร้อมการศึกษา พัฒนาชุมชน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของ เทศบาลต�ำบลตลาดเขต ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 300 หมู่ที่ 7 ต�ำบลรางหวาย อ�ำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยู่ห่างจากจังหวัด กาญจนบุรี ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 38 กิ โ ลเมตร (ตามถนนสายกาญจนบุ รี - อู ่ ท อง) ปั จ จุ บั น มี นายสาทิส ภัทรพงษ์กาญจน์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลตลาดเขต
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลตลาดเขต แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านโคราช ,หมู่ที่ 4 บ้านหนองจอก ,หมู่ที่ 5 บ้านตลาดเขต ,หมู่ที่ 7 บ้านงิ้วราย ,หมู่ที่ 9 บ้านห้วย กรด ,หมู่ที่ 11 บ้านหัวเขา ,หมู่ที่ 13 บ้านศรีพนมเขต และ หมูท่ ี่ 15 บ้านตลาดใหม่ มีจำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ 4,239 คน แยกเป็นชาย 2,020 คน เป็นหญิง 2,259 คน
พันธกิจการพัฒนาท้องถิน่ 1 . พั ฒ น า แ ล ะ ส ่ ง เ ส ริ ม ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค สาธารณูปการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ เพียงต่อ ความต้องการ ของประชาชน 2.ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ได้รับการ ศึกษา การบริการสังคม การประกอบอาชีพอย่างทั่วถึง 3.เพิ่มประสิทธิภาพการสร้างความมั่นคง ปลอดภัยใน 224
เทศบาลตำ�บลตลาดเขต ชีวิต 4.ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และการ บริการจัดการที่ดี 5.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการดูแลรักษา และจัดการอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนา
1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน แนวทางการ พัฒนา เช่น ก่อสร้างและปรับปรุงคุณภาพโครงข่ายถนน ทางเท้า และท่อระบายน�้ำให้ได้มาตรฐานและให้มีกฎหมายบังคับใช้ส�ำหรับ การผังเมือง และพัฒนาและส่งเสริมระบบสาธารณูปโภคและ สาธารณูปโภค 2.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ แนวทางการพัฒนา เช่น สร้างงานและพัฒนาเครือข่ายชุมชนส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจ และการพาณิชย์ในระดับท้องถิน่ และประชาสัมพันธ์ศกั ยภาพชุมชน และประสานงานกับแหล่งจ้างงานในท้องถิ่น 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ พัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชนและสังคม แนวทางการพัฒนา เช่น การป้องกันรักษาและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชน และการให้บริการสาธารณสุข ,ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความ สามารถแก่เยาวชน ,พัฒนาชุมชนทีอ่ ยูอ่ าศัยและส่งเสริมสวัสดิการ สังคม การพัฒนาด้านการป้องกันบรรเทาสาธารณภัยและการรักษา ความสงบภายในและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในชุมชน และ อนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนาประเพณี 4.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร แนวทาง
การพัฒนา เช่น การพัฒนาด้านการบริหารและการจัดการ และการ พัฒนาด้านการเมือง 5.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา เช่น การบริหารและการจัดการ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และป้ อ งกั น รั ก ษาและส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิ่งแวดล้อม
กิจกรรมเด่นในรอบปีที่ผ่านมา โครงการจัดงานวันเฉลิมพระเกียรติ เนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ วันที่ 5 ธันวาคม 2557 เพื่อแสดงความจงรักภักดี และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ และส่งเสริมอาชีพผูส้ งู อายุ จัด ฝึกอบรมสานตระกร้า ,กระเป๋าจากเส้นพลาสติก เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถเลีย้ งชีพ พร้อมทัง้ ส่งเสริมการพัฒนาให้ผสู้ งู อายุและคนใน ชุมชนได้เรียนรู้อาชีพเสริม ที่สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัว โครงการวันเด็กแห่งชาติ ทต.ตลาดเขต ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของเด็กและเยาวชน จึงจัดงานวันเด็กขึน้ เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสแสดงออกถึงความสามารถในด้านต่าง ๆ พร้อมทั้งได้ตระหนักถึงวินัยและหน้าที่ของตนเอง และประพฤติ ปฏิบตั ติ นตามหลักค่านิยม 12 ประการ ยึดมัน่ ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โครงการตลาดเขตมอบรั ก สู ่ น ้ อ งแรกเกิ ด เพื่ อ สร้ า ง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกให้เกิดขึ้นภายในครอบครัว สร้าง ครอบครัวให้เข้มแข็ง และเพือ่ ให้พอ่ แม่ตระหนักถึงหน้าทีแ่ ละความ รับผิดชอบในการเลี้ยงดู โครงการปัน่ จักรยานเพือ่ สุขภาพ โดยกองทุนหลักประกันสุข ภาพของทต.ตลาดเขต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านตลาด เขต พร้อมด้วยชมรมปั่นจักรยานบ้านตลาดเขต จัดขึ้นเพื่อให้เกิด การรวมกลุ่มปั่นจักรยานเพื่อออกก�ำลังกาย ส่งเสริมให้ประชาชนมี เจตคติที่ดีในการออกก�ำลังกาย พร้อมทั้งเพื่อปรับเปลี่ยน ส่งเสริม
พฤติกรรมสุขภาพในการรับประทานอาหารและการก�ำลังกายที่ เหมาะสม การมีสมรรถภาพร่างกายทีแ่ ข็งแรง สมบูรณ์ มีสขุ ภาพ ดีห่างไกลโรค งานสาธารณสุข เทศบาลต�ำบลตลาดเขต ได้รับเข็มเชิด ชูเกียรติ ในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2557 (ประเภทสรรเสริญ ชั้น 5) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�ำบลตลาดเขต ได้รบั โล่พร้อม ประกาศนียบัตรครูผู้ดูแลเด็ก/ผู้ดูแลเด็กดีเด่น ประจ�ำปี 2557 ในงานมหกรรมการจัดการศึกษาท้องถิ่น จากกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่น สินค้าโอท็อป ของทต.ตลาดเขต ที่ขึ้นชื่อ คือในต�ำบลราง หวายมีโรงงานผลิตเสื้อยืด เสื้อโปโล ได้แก่ ร้านโปโลเมคเกอร์ PoloMaker ปัจจุบันมีก�ำลังการ ผลิตกว่า 50,000 ตัวต่อเดือน และได้รบั คัดสรรเป็นสุดยอดสินค้าโอทอป ระดับห้าดาวในปี 2551 และร้านฮาร์ท โอท็อป โดยใช้ชอื่ HART SPORT WEAR (โลโก้ รูปหัวกวาง) ผลิตและพัฒนาสินค้าหลากหลาย และได้ขยายมา ผลิ ต เสื้ อ ปั ก ตราสั ญ ลั ก ษณ์ (โดยขออนุ ญ าตจากส� ำ นั ก ราช เลขาธิการแล้ว) โดยใช้ แบรนด์ว่า OTOP GROUP
สินค้าดี อารหารเด่น ส่วนอาหารทีข่ นึ้ ชือ่ คือ ขนมปังโตโต้ (THE TOTO) ทีเ่ น้น วัตถุดิบสดใหม่และกรรมวิธีการผลิตที่ท�ำให้เนื้อขนมปังนุ่ม หอม ไส้ขนมหวานมันกลมกล่อม จนรายการตลาดสดสนามเป้าได้ เดินทางมาชิมถึงทีต่ ลาดเขต และขนมปังทีข่ นึ้ ชือ่ ความอร่อยก�ำลัง เปิดตัวในตลาดเขต มงคลชัย ชิฟฟ่อนมะพร้าวน�ำ้ หอม เน้นถึงถึง เนื้อเค้ก เบานุ่ม สดจากมะพร้าวน�้ำหอมแท้ๆ ของอร่อยจาก ตลาดเขต ต้องลอง มงคลชัย ชิฟฟ่อนมะพร้าวน�ำ้ หอม และขนมปังที่ขึ้นชื่อความอร่อยก�ำลังเปิดตัวในตลาดเขต มงคลชัย ชิฟฟ่อนมะพร้าวน�้ำหอม เน้นถึงถึงเนื้อเค้ก เบานุ่ม สดจากมะพร้าวน�้ำหอมแท้ๆ ของอร่อยจากตลาดเขต ต้องลอง มงคลชัย ชิฟฟ่อนมะพร้าวน�ำ้ หอม KANCHANABURI 225
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.พนมทวน)
นายจำ�ลอง หมูม่ ว่ ง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลพนมทวน
“พัฒนาสาธารณูปโภค มุ่งสู่โลกเพื่อการศึกษา เสริมสร้างปัญญาให้ความรู้ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บล พนมทวน ซึ่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 339 หมู่ 8 ถนน กาญจนบุร-ี อูท่ อง ตำ�บลพนมทวน อำ�เภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบุรี ปัจจุบนั มี นายจำ�ลอง หมูม่ ว่ ง เป็น นายกองค์การ บริหารส่วนตำ�บลพนมทวน และนายวิวฒ ั น์ พงษ์รตั นกาญจน์ เป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ�บลพนมทวน ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำ�บลพนมทวน มีพนื้ ที่ 36 ตร.กม. หรือประมาณ 22,500 ไร่ มีครัวเรือน 799 หลัง ประชากร 2,294 คน แบ่งเป็นเพศชาย 1,141 คน เพศหญิง 1,153 คน แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมูบ่ า้ น ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชี พในภาคเกษตรกรรมประมาณร้ อ ยละ 90 ประกอบด้วยการทำ�นา ทำ�ไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด พริก ถั่ว ต่าง ๆ และมีการปลูกพืชสวนครัวเพือ่ ประกอบอาหารกินเอง นอกจากนี้ยังมีการประกอบอาชีพนอกเหนือจากภาค เกษตรกรรม ประมาณ ร้อยละ 10
ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาของ อบต.พนมทวน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นดังนี้ 1.จัดหาบริการพื้นฐานที่จำ�เป็นแก่การดำ�เนินชีวิต และ ความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น ถนน ไฟฟ้า ประปา โทรศั พ ท์ เป็ น ต้ น โดยให้ ส อดคล้ อ งกั บ ผั ง เมื อ งรวมที่ กำ�หนดไว้ 2.ปรับปรุงและซ่อมแซม ถนน ทางเท้า และท่อระบายน้�ำ
226
องค์การบริหารส่วนตำ�บล พนมทวน ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 2 ด้ า นการพั ฒ นาระบบการศึ ก ษา และ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นดังนี้ 1.ให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของชุมชน ส่งเสริมการ เรียนการสอน ส่งเสริมและสนับสนุนอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) เพือ่ ให้เด็กและเยาวชนมีสขุ ภาพพลานามัยทีส่ มบูรณ์แข็งแรง 2.ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และคุณค่าทาง สังคม ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น ดังนี้ 1.ให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน เพื่อให้เกิดการพัฒนา ประชากร การศึกษา สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน สวัสดิการและสังคมสงเคราะห์ และสภาพความเป็นอยู่ ทัง้ ระดับบุคคล ชุมชน และสังคมรวมทัง้ สนับสนุนอุปกรณ์ดา้ นกีฬา เพื่อให้ประชาชนได้ออกกำ�ลังกายร่วมกัน 2.ปลูกฝังจิตสำ�นึกให้ประชาชนมีความเอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน ส่งเสริมกิจกรรมที่สร้างความสมัครสมาน สามัคคีภายในชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการพัฒนาการเกษตร และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นดังนี้ 1.ปลูกจิตสำ�นึกให้ประชาชนตระหนักถึงคุณค่า และมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม 2.ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านการเกษตร
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 5 ด้ า นการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการเมื อ ง การบริหารการพัฒนาบุคลากร ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่นดังนี้ 1.การส่ ง เสริ ม ความรู้ และส่ ง เสริ ม การฝึ ก อบรมให้ ค วามรู้ แ ก่ ผู้ บ ริ ห าร สมาชิ ก สภา พนั ก งานส่ ว นตำ � บลและพนั ก งานจ้ า ง เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงาน 2.การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การให้ความรู้กับประชาชนในระบอบ การปกครองแบบประชาธิ ป ไตย สิ ท ธิ เสรี ภ าพและความรู้ ต่ า งๆ เสริมสร้างความรู้และจิตสำ�นึกการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชน ในตำ�บล 3.พัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้ และระบบการบริหารการจัดการให้มี ประสิทธิภาพสูงสุด ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการพัฒนาศักยภาพคน และความเข้มแข็งของ ชุมชน ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น ดังนี้ 1.พัฒนาคน ชุมชน และสังคม ด้านการศึกษา สาธารณสุข ตลอด จนการสังคมสงเคราะห์ประชาชนในด้านการจัดการศึกษา งานพัฒนา สังคม งานพัฒนาคุณภาพชีวติ งานสาธารณสุข งานฝึกอบรมประชาชน งานพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรี งานสงเคราะห์ประชาชน และงาน สวัสดิการสังคม 2.การรักษาความสงบเรียบร้อยของชุมชน ลดอาชญากรรมและการ แก้ไขปัญหายาเสพติด เพื่อให้เป็นเมืองน่าอยู่ ยุทธศาสตร์ที่ 7 ด้านการพัฒนาระบบการบริหาร และการจัดการ ด้านเศรษฐกิจ ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น ดังนี้ 1.สนับสนุนให้ชมุ ชนร่วมคิดร่วมทำ� ใช้หลักการมีสว่ นร่วม และพึง่ พา ตนเอง โดยการฝึกอาชีพ ส่งเสริมอาชีพ จัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ จัดลานค้าชุมชน โดยสอดแทรกแนวคิดเรื่องการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองในทุกโอกาส 2.สนับสนุนและส่งเสริมการท่องเทีย่ วของท้องถิน่ ให้เป็นทีน่ ยิ มอย่าง แพร่หลาย เพื่อให้เกิดการซื้อขายอันเป็นการเพิ่มรายได้แก่ท้องถิ่น
วัดลาดขาม และวัดดอนงิว้ เป็นวัดสำ�คัญทีช่ าวบ้านในอำ�เภอ พนมทวน ให้ความเคารพสักการะ และเป็นวัดศักดิส์ ทิ ธิเ์ ป็นทีน่ บั ถือ ศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป
KANCHANABURI 227
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.พนมทวน)
นายอภิรักษ์ คชนา นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนตาเพชร
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ดอนตาเพชร
“ชุมชนก้าวหน้า พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สร้างสรรค์สังคมน่าอยู่ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาท้องถิน่ ขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ดอนตาเพชรตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ตำ�บลดอนตาเพชร อำ�เภอพนมทวน จั ง หวั ด กาญจนบุ รี อยู่ ห่ า งจากที่ ว่ า การอำ � เภอพนมทวน 9 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากศาลากลางจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 36 ปัจจุบันมีนายอภิรักษ์ คชนา เป็นนายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลดอนตาเพชร
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนตาเพชร มีเนื้อที่ประมาณ 68,520 ไร่ หรือ109.20 ตร.กม.แบ่งการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 6,046 คน จำ�นวน 1,755 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555) ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำ�นา ทำ�ไร่และเลี้ยงสัตว์ รายได้เฉลีย่ ของครัวเรือนประมาณ 20,000 บาท/ปี ผลผลิตหรือ สินค้าที่สำ�คัญของตำ�บล ได้แก่ ข้าว มันสำ�ปะหลัง อ้อย และ เลี้ยงสัตว์ ได้แก่กุ้งก้ามกราม
ศักยภาพของอบต.ดอนตาเพชร
ด้านการคมนาคม เส้นทางคมนาคมในพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนตำ�บลดอนตาเพชร มีความยาว ประมาณ 105.575กิโลเมตร แยกเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 15.575 ก.ม. ถนนลาดยาง 25 ก.ม ถนนลูกรัง 65 ก.ม. ด้านการไฟฟ้า ในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนตาเพชร มีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน ด้านการศึกษาโรงเรียนระดับประถมศึกษา จำ�นวน 4 แห่ง 228
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (อนุบาล 3 ขวบ) จำ�นวน 3 แห่ง และที่อ่าน หนังสือพิมพ์ประจำ�หมู่บ้าน จำ�นวน 13 แห่ง ด้านสถาบันและองค์กรทางศาสนา มีวัด / สำ�นักสงฆ์ จำ�นวน 7 แห่ง ด้านสาธารณสุข มีสถานีอนามัยประจำ�ตำ�บลสำ�หรับให้บริการ แก่ประชาชน จำ�นวน 1 แห่ง ได้แก่สถานีอนามัยบ้านหนองโพธิ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินตำ�บลดอนตาเพชรมี จุดตรวจประจำ�ตำ�บล จำ�นวน 2 แห่ง ได้แก่ จุดตรวจบ้าน หนอง โพธิ์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 และ หมู่ที่ 6 (เยื้องที่ทำ�การอบต.ดอนตาเพชร)
วัตถุประสงค์การพัฒนา
เพือ่ สร้างสรรค์ให้ชมุ ชนหมูบ่ า้ นเป็นเมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน บน พื้นฐานของความสมดุล แห่งวิถีชีวิต และขนบธรรมเนียมประเพณีของไทย ตลอดจน ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ทุกคน ได้รบั โอกาสในการศึกษาการบริการสังคม การประกอบอาชีพ การ พัฒนาศักยภาพทัง้ ร่างกาย จิตใจ สติปญ ั ญา ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน การสาธารณสุขเพื่อให้เกิดการบริหารจัดการที่ดีใน องค์การบริหารส่วนตำ�บล และส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน เพือ่ สร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลังของ อบต. ให้มคี วามมัน่ คง มีทรัพยากรการเงิน ครอบคลุมการพัฒนาทุกด้าน ทัง้ ด้านการพัฒนา งาน การพัฒนาการบริหาร การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และ โครงสร้างพื้นฐาน
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำ�บลดอน ตาเพชร อยู่ภายในบริเวณโรงเรียนวัดสาลวนาราม โดยสันนิษฐาน ว่าบริเวณที่ขุดพบโบราณวัตถุเป็นพื้นที่สำ�หรับใช้ในการประกอบ พิธีกรรมการฝังศพของมนุษย์ในอดีตโดยเป็นการฝังศพครั้งที่ 2 (Secondary Burial) คือ เมื่อมนุษย์ตายลงได้มีการนำ�ศพไปฝังไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่งจนศพเน่าเปื่อยเหลือเพียงกระดูก แล้วจึงนำ�กระดูก เหล่านัน้ มาประกอบพิธตี ามความเชือ่ อีกครัง้ หนึง่ ซึง่ อาจจะเป็นการ ขุดหลุมฝัง หรือใส่ลงไปในภาชนะแล้วนำ�ไปฝัง ซึ่งจากการขุดครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ.2523-2524 พบว่ามีทั้งการบรรจุกระดูกมนุษย์ลงใน ภาชนะ ซึ่งที่พบเป็นกระดูกเด็ก และการขุดหลุมฝังทั้งโครงพร้อม กับเครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ได้แก่ เครื่องมือเหล็กประกอบด้วย ดาบ ขวาน สิ่ว มีด แหลน ใบหอก เสียม หัวลูกศร เป็นต้น เครื่องใช้สำ�ริด ประกอบด้วย ภาชนะทรงขัน ทรงกระบอก เป็นต้น เครือ่ งประดับ ได้แก่ ลูกปัดหินคาร์เนเลีย่ น ลูกปัด หินอาเกต ลูกปัด แก้วสีฟ้า สีน้ำ�เงิน สีแดง สีเขียว กำ�ไลแก้ว เครื่องประดับทำ�จาก สำ�ริด เช่น กำ�ไลเครื่องประดับทำ�จากหิน เช่น ต่างหู นอกจากนี้ ยังมีเศษภาชนะดินเผาเนื้อดิน (Earthenware) เป็นต้น ซึง่ เป็นทีน่ า่ สังเกตว่าโบราณวัตถุทกุ ชิน้ ทีพ่ บจะอยูใ่ นสภาพชำ�รุด แตก หักงอ ทั้งสิ้น โดยมีร่องรอยชัดเจนว่าถูกทุบหรือกะเทาะให้ แตกหัก ซึง่ น่าจะเกิดขึน้ จากความเชือ่ ว่าการทำ�ลายสิง่ ของดังกล่าว ฝังลงไปกับผูต้ ายเสมือนเป็นการทำ�ให้ตายลงไปเช่นเดียวกันกับผูต้ าย เพื่อให้ผู้ตายนำ�ไปใช้ในโลกหน้าได้ ปัจจุบันโบราณวัตถุดังกล่าวเก็บ รั ก ษาไว้ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พ ระนครกรุ ง เทพฯ และ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเก่ากาญจนบุรี
KANCHANABURI 229
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.พนมทวน)
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งสมอ
นายณัฐพล แผนกุล นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งสมอ
“หลวงพ่อในโบสถ์รวมใจช่างลายปูนปั้น ผลิตภัณฑ์กล้วย น้ำ�ว้า ราชาข้าวซ้อมมือ เลื่องลือเจียระไนพลอยนิล รักษ์ถิ่น ทุ่งสมอ” คื อ คำ � ขวั ญ ของตำ � บลทุ่ ง สมออำ � เภอพนมทวน จั ง หวั ด กาญจนบุรีซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ทุ่งสมอปัจจุบัน มีนายณัฐพล แผนกุล(แท้) ดำ�รงตำ�แหน่งนายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลทุ่งสมอโดยบริหารงานให้เป็นไปตาม วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “โครงสร้างพื้นฐานสมบูรณ์ เพิ่มพูนคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ พอเพียง ชุมชนเข้มแข็ง สังคมอยูเ่ ย็นเป็นสุข การบริหารจัดการ ดี ทำ�งานแบบมีส่วนร่วม”
230
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน ต�ำบลทุ่งสมอตั้งอยู่ห่างจากอ�ำเภอพนมทวนไปทางทิศตะวัน ตกเป็นระยะทาง 9 กิโลเมตร และอยู่หา่ งจากจังหวัดกาญจนบุรี 15 กิโลเมตร มีพื้นที่จ�ำนวน 9,375 ไร่ หรือประมาณ 15 ตาราง กิโลเมตรแบ่งเขตพื้นที่การดูแลเป็น 4 หมู่บ้าน มีประชากรรวม 3,116 คน ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต�ำบลหนองโรง, ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอ พนมทวน ทิศใต้ ติดต่อกับ ต�ำบลดอนเจดีย์ อ�ำเภอพนมทวน, ต�ำบล หนองขาว อ�ำเภอท่าม่วง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต�ำบลดอนเจดีย์, ต�ำบลพนมทวน อ�ำเภอพนมทวน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต�ำบลหนองโรง อ�ำเภอพนมทวน, ต�ำบลหนองขาว อ�ำเภอท่าม่วง
สินค้าหนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ตำ�บลทุ่งสมอ (OTOP)
สินค้าแปรรูปจากกล้วย “บานาน่า” โดย: กลุ่มสตรีกล้วยน้ำ�ว้าไทย
สินค้าข้าวกล้องหอมมะลิซอ้ มมือทุง่ สมอ โดย:กลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรทุง่ สมอสามัคคี
สินค้าแปรรูปจากข้าวหอมมะลิ “จมูกข้าว รุ่งอรุณ” โดย: กลุ่มสตรีอาสาพัฒนา เกษตรตำ�บลทุ่งสมอ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิถีชุมชน
-
กลุ่มเจียระไนพลอยนิล กลุ่มขนมไทยบ้านดอนปรก กลุ่มผ้าทอผ้าขาวม้า, ผ้าไทย กลุ่มงานเขียนลายปูนปั้น กลุ่มงานประดิษฐ์ดอกไม้สด
พระประธานหลวงพ่อในโบสถ์ (หลวงพ่อเทพมงคล)
รูปหล่อพระปลัดหรุง รุ่งเช้า อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งสมอ
พระสังขจาย สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 ทรงปลูกต้นราชพฤกษ์(คูน) ณ วัดทุ่งสมอ เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2532
พระเทพสารเวที เลขาสมเด็จพระสังฆราช องค์ท1่ี 9 เดินทาง มานมัสการพระประธานหลวงพ่อในโบสถ์ (หลวงพ่อเทพมงคล) และรูปหล่อหลวงพ่อหรุง รุง่ เช้า เป็นพระจำ�ทุกปี
สภาพเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ พระโพธิ์สัตว์กวนอิม
โบสถ์เก่าแก่สมัยปลายกรุงศรีอยุธยาถึง ตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ 200 กว่าปี
ต�ำบลทุ่งสมอมีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มภาคกลางมีคลองชลประทานน�้ำไหลผ่าน ตลอดทัง้ ปี ประชาชนในเขตพืน้ ทีข่ องต�ำบลทุง่ สมอ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำไร่ ท�ำนา ลองลงมาคือรับจ้าง ค้าขาย รับราชการและอื่นๆ
แหล่งท่องเที่ยว สิ่งศักดิ์สิทธิ์
วัดทุ่งสมอ เป็นวัดขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั้งในและนอก พื้นที่ ภายในวัดมีโบสถ์เก่าแก่สมัยปลายกรุงศรีอยุธยาถึงตอนต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อายุ กว่า 200 ปี ประชาชนทั่วไปมักจะนิยมมากราบไหว้ขอพรองค์พระประธานหลวงพ่อใน โบสถ์ (หลวงพ่อเทพมงคล) นอกจากนี้ยังมีรูปปั้นขนาดใหญ่ของพระโพธิ์สัตว์กวนอิม และพระสังขจาย ให้ประชาชนกราบไหว้ขอพรด้วย วัดทุ่งสมอจึงเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ นิยมมาสักการะเพื่อเสริมสิริมงคลให้กับชีวิต KANCHANABURI 231
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.พนมทวน)
องค์การบริหารส่วนตำ�บล พังตรุ ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำ�บลพังตรุ มีเนือ้ ที่ 55.22 ตาราง กิโลเมตรหรือประมาณ 34,512.5 ไร่ สภาพพืน้ ทีเ่ หมาะแก่ การเพาะปลูกและอยูใ่ นเขตโครงการชลประทานคลองส่งน้�ำ 5 ซ้าย 2 ซ้าย มีจ�ำ นวนหมูบ่ า้ น 20 หมูบ่ า้ น ประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีผลผลิตที่สำ�คัญคือ อ้อย และข้าว
ประวัติความเป็นมาของต�ำบลพังตรุ
ตำ�บลตระพังตรุ เคยเป็นที่ตั้งทัพของพม่า ในคราว สงครามยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับ พระมหาอุปราชา และเป็นที่ฝังพระศพของพระมหาอุป ราชาไว้ ณ ที่ตำ�บลตระพังตรุนี้ ในการชนะศึกครั้งนี้ ทำ�ให้ กรุงศรีอยุธยาหรือชนชาติสยามเป็นเอกราชไม่ต้องขึ้นกับ พม่าและประกาศศักดาภินิหารของสมเด็จพระนเรศวร มหาราชให้แผ่ขจรขจายไปในอารยประเทศและอยูใ่ นรำ�ลึก จิตใจของคนไทยตลอดมา
“บ้านเมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ตำ�บลพึ่งตนเอง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลพังตรุ ซึ่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่ หมู่ที่ 13 ตำ�บลพังตรุ อำ�เภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยู่หา่ งจากที่ ว่าการอำ�เภอพนมทวนประมาณ 9 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลางจังหวัด กาญจนบุรีประมาณ 35 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายอลงกรณ์ ตะพัง เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลพังตรุ
232
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ โบสถ์เก่าวัดสิงห์ทะยานปัจจุบันตั้งอยู่ในโรงเรียนวัดเบญพาด หมู่ที่ 2 ตำ�บลพังตรุ สภาพเป็นกำ�แพงอิฐ 4 ด้าน ภายในประดิษฐานพระพุทธ รูปปางสมาธิ มีประวัตเิ กีย่ วกับโบสถ์นวี้ ่าในสงครามระหว่างไทยกับพม่า ทหารไทยได้หนีเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในโบสถ์ ทหารพม่าไม่กล้าตามเข้าไป จึงจุดไฟเผาโบสถ์ ทำ�ให้โบสถ์ถูกไฟไหม้เสียหายมีสภาพอย่างที่เห็นใน ปัจจุบัน บริเวณด้านหลังโบสถ์มีเจดีย์สภาพชำ�รุดพังทลายอยู่หนึ่งองค์ เหตุทเี่ รียกว่าวัดสิงห์ทะยานเพราะแต่เดิมมีสงิ ห์ศลิ าแรงคูต่ งั้ อยูห่ น้าโบสถ์ ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศให้เป็นโบราณสถาน ตามประกาศลงวัน
ที่ 10 พฤษภาคม 2547 วัดพังตรุ (วัดใต้) เป็นวัดที่มีพระจำ�พรรษาอยู่ด้านใต้ติดกับโรงเรียน วัดพังตรุ เป็นวัดใหญ่มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ ภายในวัดประดิษฐานรูป เหมือนของพระครูนวิ ฐิ ชยากร หรือหลวงพ่อหมุน เจ้าอาวาสวัดพังตรุรปู ก่อนซึ่งท่านเป็นพระที่ชาวบ้านในละแวกนี้ให้ความเคารพศรัทธาเนื่อง จากท่านถือกำ�เนิดที่บ้านพังตรุ ประกอบกับการที่ท่านเป็นพระที่มีความ ตัง้ ใจในการพัฒนาบ้านเกิดให้มคี วามเจริญในทุก ๆ ด้าน และด้วยบุคลิก ส่วนตัวที่ทา่ นเป็นพระที่มีเมตตาจิตสูงจึงทำ�ให้เป็นที่รักเคารพของชาว บ้าน ภายในบริเวณด้านหน้าวัดตรงทางเข้ามีเนินดินอยู่ตรงกลางล้อม รอบด้วยเจดีย์ 4 องค์ แต่ละองค์ยังคงสภาพที่สมบูรณ์พอสมควรทำ�ให้ เห็นรูปทรงเดิมได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ในบริเวณวัดยังเป็นแหล่งค้น พบโครงกระดูกคน กระดูกและเครื่องช้าง ม้า ศาสตราวุธ ยุทธภัณฑ์ จำ�นวนมาก กรมศิลปากรได้ประกาศให้เป็นโบราณสถาน ตามประกาศ
ลงวันที่ 10 พฤษภาคม 2547 ประวั ติ ห ลวงปู่ ข าว ในสมั ย อยุ ธ ยา พวกพม่ า ยกทั พ กวาดต้ อ นผู้ ค นนั บ พั น นั บ หมื่ น จากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา จะกลั บ ประเทศพม่ า พวกพม่ า แบ่ ง พวกเชลยออกเป็ น กลุ่ ม ๆ กลุ่มไม่เกิน 500 คน เพราะง่ายต่อการดูแลและควบคุม ทัพเชลยกลุ่มหนึ่งที่มีพระภิกษุที่ชื่อพระขาวถูกควบคุมเป็น เชลยมาด้วย ได้เดินผ่านมาทางหนองน้ำ�พังตรุซึ่งเป็นช่วง หน้าฝนทีก่ ารเดินทางยากลำ�บาก ทัพพม่าจึงสร้างค่ายและสร้าง คุกเพือ่ ขังนักโทษไม่ให้หนี เชลยชายไทยได้ปรึกษาหลวงพ่อขาว เพื่อวางแผนจะแหกคุกพม่า ในวันเพ็ญเดือน 9 ซึ่งฝนตกหนัก กำ�ลังมีน้ำ�หลากมา น้ำ�ในหนองน้ำ�ก็ท่วมล้นออกมาถึงบริเวณที่ ขังเชลยและที่พักของพวกพม่า พวกทหารกลัวจมน้ำ� จึงเกิด ความวุน่ วายในกองทัพเชลยหัวหน้าคนไทย และหลวงพ่อขาว จึงได้โอกาสขณะชุลมุนกันและช่วยกันทำ�ลายโซ่ตรวน และ ค่ายคุมขังพวกเชลย แล้วหลวงพ่อขาวแต่งชุดขาวไปนั่งสมาธิ ที่ ดิ น โป่ ง ใต้ ต้ น แจงใหญ่ เพื่ อ คอยบอกทางหนี ใ ห้ ช าวบ้ า น แต่ทหารพม่าเห็นหลวงพ่อขาวนึกว่าผีปา่ จึงเกิดความหวาดกลัว เชลยไทยทัง้ หมดจึงเข้ามาต่อสูแ้ ย่งอาวุธและหนีออกมาจากคุก ได้หมด แต่หลวงพ่อขาวกลับถูกทหารพม่าฆ่าตายใต้ต้นไม้ ชาวบ้านที่หนีรอดออกมาเมื่อทราบข่าวจึงได้สร้างศาลาไว้ที่ใต้ ต้นแจงใหญ่และร่วมกันใช้ปูนปั้นรูปหลวงพ่อขาวไว้เพื่อให้คน รุ่นหลังได้กราบไหว้
KANCHANABURI 233
วัดลาดขาม Wat Lad Kham เที่ยวทั่วไทย แวะไปวัดลาดขาม ต.พนมทวน อ.พนมทวน จ.กาญจนบุ รี นมั ส การปิ ด ทองพระพุ ท ธเจ้ า 28 องค์ พระพุทธเจ้าแสนเหรีญ หนึ่งเดียวในโลก ที่จะเป็นตำ�นานแห่ง พุทธศิลป์ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ให้อนุชนรุ่นหลังได้เล่่าขนาน ร่วมกันสร้างงานพถทธศิลป์โดยการหยอด ติด แตะ แปะ เหรียญ พระพุทธเจ้าแสนเหรียญ อานิสงส์มากมี บารมี มากมาย ท่องเที่ยวแดนธรรมะวัดลาดขาม พระพุทธเจ้าเก้าแสนเหรียญ เป็นพระพุทธรูปที่เลื่องลือใน ด้านความศักดิส์ ทิ ธิ์ และความแปลกมหัศจรรย์ ด้วยข้อเท็จจริง ทีว่ า่ องค์พระปฏิมากรนีไ้ ด้ถกู รังสรรค์ขน้ึ มาจากเหรียญเงินตราๆ จำ�นวนนับแสนเหรียญ ชาวบ้านจึงพากันเรียกท่านว่า (หลวงพ่อ เก้าแสนเหรียญ) “หลวงพ่อพระพุทธเจ้าแสนเหรียญ” เป็น พระพุทธรูปปางพิชติ มาร ขนาดความสูง 87 นิว้ หน้าตักกว้าง 59 นิว้ องค์ปฏิมากรสร้างด้วยเหรียญสตางค์แดง เหรียญรัชกาล ที่ 5 เหรียญรัชกาลที่ 8 เหรียญรัชกาลที่ 9 ซึง่ พระครูปลัดเพลิน เตชธัมโม และสาธุชนผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมบริจาค เพือ่ นำ�มา สร้างองค์พระพุทธเจ้าแสนเหรียญองค์ เมื่อได้มากราบไหว้ อธิษฐานหลวงพ่อเก้าแสนเหรียญซึง่ สร้างขึน้ จากเงินเหรียญที่ เป็ น มงคล และเป็ น พระพุ ท ธรู ป องค์ ที่ร วมชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เข้าไว้ในองค์เดียวกัน เหมือนกับได้อธิษฐาน ขอพรแห่งโชคลาภความมัน่ คง ความร่�ำ รวยสืบไป พระท่ากระดานสนิมแดง เป็นพระประจำ�จังหวัดกาญจนบุรี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ตั้งแต่สมัยสงครามไทยกับพม่าจนถึง ปัจจุบันนี้ จึงได้รับสมญานามว่า
“พระท่ากระดานยอดขุนพลชนะศึก” เป็นพระที่ครบเรื่อง เมตตา ค้าขาย แคล้วคลาด อยู่ยง คงกระพันชาตรี ชาวจังหวัดกาญจนบุรี มีพระท่ากระดานเกือบ จะทุกบ้าน ไว้ป้องกันภัยอันตราย ส่วนกรุพระท่ากระดานนั้น มีหลายกรุ ส่วนใหญ่จะนิยมทุกกรุของพระท่ากระดานที่มีสนิม แดง มีรักปิดทองคำ� ดังนั้น กรุพระท่ากระดานวัดลาดขาม จึงเป็นกรุหนึ่งที่มี ความนิยมมาก ในบรรดาเซียนที่เก็บสะสมพระท่ากระดาน ของดีจังหวัดกาญนบุรี ของดีที่หายากในวันนี้ 234
พระท่ากระดาน รุ่นยอดขุนพลชนะศึก กรุวัดลาดขาม ชุดใหญ่ 13 พิมพ์
พิมพ์ที่ ๑ พิมพ์ปกโพธิ์
พิมพ์ที่ ๑๓ พระท่ากระดาน กรุวัดลาดขาม
พิมพ์ที่ ๒ พิมพ์หน้ากลาง พิมพ์ที่ ๓ พิมพ์หน้าแก่ พิมพ์ที่ ๔ พิมพ์หน้าหนุ่ม ปิดทอง มลคล เกศบิด
พิมพ์ที่ ๗ พิมพ์หน้าหนุ่ม พิมพ์ที่ ๘ พิมพ์หน้าหนุ่ม เกศบัวตูม เกศยาว
พิมพ์ที่ ๕ พิมพ์หน้ากลาง พิมพ์ที่ ๖ พิมพ์หน้าอู่ทอง
พิมพ์ที่ ๙ พิมพ์หน้าปู่ฤษี พิมพ์ที่ ๑๐ พิมพ์มอญแปลง
พิมพ์ที่ ๑๑ พิมพ์เณรจิ๋ว พิมพ์ที่ ๑๒ พิมพ์เณรจิ๋ว เกศยาว
พระขุนแผนเนื้อดินเคลือบน้ำ�ว่าน 108 ชนิด พิธีพุทธาภิเษก วัดโยเดียเมืองทวายประเทศพม่า
เนื้อดำ�
เนื้อเขียว
เนื้อดำ�
เนื้อแดง
เนื้อเขียว
เนื้อแดง
พิมพ์ทรงพลกลาง
พิมพ์ทรงพลใหญ่
เนื้อดำ�
เนื้อเขียว
เนื้อแดง
พิมพ์ทรงพลเล็ก
วัดลาดขาม ตั้งอยู่ที่เลขที่ 1 หมู่ 9 ตำ�บลพนมทวน อำ�เภอพนมทวน จ. กาญจนบุรี KANCHANABURI 235
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดพังตรุ วัดพังตรุ เป็นวัดเกีย่ วข้องกับประวัตศิ าสตร์ยทุ ธหัตถี เป็นทีต่ งั้ ทัพไทย ได้สร้างสมัยปลายอยุธยามี 2 วัด คือ วัดพังตรุเหนือ(วัดร้าง) ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 และวัดพังตรุใต้(วัดปัจจุบนั ) ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 20 ต�ำบลพังตรุ อ�ำเภอ พนมทวน จ.กาญจนบุรี อยูห่ า่ ง 500 เมตร ประวัติวัดพังตรุ
วั ด พั ง ตรุ ห รื อ “วั ด ใต้ ” เป็ น วั ด เก่ า แก่ คู ่ หมู ่ บ ้ า นตระพั ง กรุ ม าตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาตอน ปลาย จากหลักฐานซากอิฐโบราณที่ค้นพบทั้ง วัดเหนือ (วัดร้าง) และวัดใต้ (วัดพังตรุใน ปัจจุบัน) ซึ่งห่างกันประมาณ 500 เมตร ท�ำให้ รู้ว่าบริเวณนี้เป็นหมู่บ้านใหญ่และพบสระน�้ำที่ ขุดไว้ใช้ในสมัยโบราณปรากฏอยู่ทั้ง 2 วัด ซึ่ง สระน�้ำที่ขุดไว้ใช้นี้เอง เป็นที่มาของชื่อหมู่บ้าน “ตระพังกรุ” (ตระพัง หมายถึง สระน�้ำหรือ หนองน�้ำที่ขุดขึ้นโดยมีการกรุก้นสระด้วยอิฐ หรือหิน) แต่จากการศึกสงครามระหว่างไทยกับพม่า นั้นท�ำให้หมู่บ้านตระพังกรุและวัดร้างไปกว่า 300 ปี นั บ จากสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลายถึ ง รัตนโกสินทร์ตอ่ มามีชาวบ้านจากบ้านบางหลวง อ.บางเลน จ.นครปฐม เข้ามาอยู่เป็นรุ่นแรก 236
และได้จบั จองทีด่ นิ ท�ำไร่นาเรือ่ ยมาจนบัดนี้ แต่ หลวงพ่อขาว ท่านเป็นพระทีไ่ ด้รบั ความเคารพ เนื่องจากเป็นคนต่างถิ่น จึงเรียกชื่อหมู่บ้าน ศรัทธาจากเชลยคนไทยอย่างมาก และท่านเอง ว่า“ตระพังกรุ”เป็น “พังตรุ” มาถึงทุกวันนี้ ก็เป็นชาวเมืองสองแคว เป็นพระวิปัสสนา จึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านแถบนี้และ ประวัติหลวงพ่อปู่ขาว วัดพังตรุเหนือ(วัดร้าง) มีเจดีย์รายรอบ เชลยศึก วิหารหลวงปูข่ าว มีประวัตวิ า่ ในสมัยศรีอยุธยา เชลยที่เป็นแกนน�ำได้ปรึกษาหลวงพ่อขาว กองทัพพม่ายกทัพเข้ามากวาดต้อนผูค้ นนับหมืน่ เพือ่ วางแผนแหกคุกพม่า และได้กำ� หนดวันแหก จากกรุงศรีอยุธยากลับพม่า และแบ่งเชลยศึก คุกในวันเพ็ญเดือน 9 ซึง่ ฝนตกหนักและก�ำลัง ออกเป็นกลุ่มๆ ละไม่เกิน 500 เพราะง่ายต่อ มีนำ�้ หลากมา น�ำ้ ในหนองก็ไหลท่วมล้นออกมา การควบคุม กลุ่มหนึ่งมีพระภิกษุที่ชื่อ “พระ บริเวณทีค่ มุ ขังและทีพ่ กั ของพม่า จึงเกิดความ ขาว” หรือ “หลวงพ่อขาว” ถูกควบคุมเป็นเชลย วุ ่ น วายโกลาหล เชลยแกนน� ำ คนไทยและ มาด้วย โดยกลุ่มของหลวงพ่อขาวนี้ได้เดินผ่าน หลวงพ่อขาว จึงช่วยกันท�ำลายโซ่ตรวนและค่าย ทางหนองน�ำ้ พังตรุ แขวงเมืองสุพรรณฯ (เมือ คุมขัง หลวงพ่อขาวแต่งชุดขาวไปนัง่ สมาธิทดี่ นิ งกาญจน์ในปัจจุบัน) และหยุดพักแรมบริเวณ โป่งใต้ต้นแจงใหญ่ เพื่อคอยบอกทางหนีให้ หนองสาหร่าย เขตเมืองดอนเจดีย์ ซึ่งขณะนั้น ชาวบ้าน ทหารพม่าเห็นหลวงพ่อขาวนึกว่าเป็น เป็นช่วงฤดูฝนท�ำให้การเดินทางล�ำบาก กองทัพ ผีปา่ ต่างกลัว ท�ำให้เชลยไทยทัง้ หมดเข้าต่อสูแ้ ละ พม่าจึงสร้างคุกและค่ายกักกันนักโทษไม่ให้หนี แย่งอาวุธจากพม่าได้ และช่วยกันท�ำลายคุกแล้ว
ฆ่าทหารพม่า กระทั่งเชลยคนไทยต่างหนีออก มาจากคุกได้หมด แต่หลวงพ่อขาวกลับถูกทหาร พม่าฆ่าตายใต้ตน้ ไม้ ชาวบ้านทีห่ นีรอดมาได้เมือ่ ทราบข่าวจึงได้กลับมาสร้างศาลใต้ตน้ แจงใหญ่ เพื่อให้คนรุ่นหลังได้รับรู้เรื่องราวความเมตตา ของท่าน และเพือ่ ให้ชาวบ้านได้กราบไหว้บชู า ท่านด้วย โดยมีคุณปู่ท่านหนึ่งเล่าว่า...วันดี คืนดีก็มีคนเห็นหลวงปู่ขาวมานั่งสมาธิใต้ต้น แจงใหญ่ คนทีเ่ ห็นก็จะเป็นคนโชคดีมโี ชคลาภ
ประวัติพระพุทธเมตตามาตุรัตน ปฏิมากร
พระพุทธเมตตาองค์นี้มีหน้าตักกว้าง 84 นิ้ว (2.14 เมตร) สูง 105 นิ้ว (2.67 เมตร) เป็น ศิ ล ปะไทยอิ น เดี ย ผสมกั น สร้ า งด้ ว ยปู น หล่ อ เสริมเหล็ก เริ่มสร้างเมื่อ 10 มิถุนายน ถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ.2554 พระครูนิวิฐชยากร หรื อ หลวงพ่อหมุน อดีตอาวาสวัดพังตรุรูปก่อนท่านเป็นพระที่ชาว บ้านในละแวกนีใ้ ห้ความเคารพศรัทธาเนือ่ งจาก ท่านถือก�ำเนิดที่บ้านพังตรุ ประกอบกับการที่ ท่านเป็นพระที่มีความตั้งใจในการพัฒนาบ้าน เกิดให้มคี วามเจริญในทุก ๆด้าน และด้วยบุคลิก
ส่วนตัวที่ท่านเป็นพระที่มีเมตตาจิตสูงจึงท�ำให้ เป็นทีร่ กั เคารพของชาวบ้าน ทางวัดจึงจัดสร้าง รู ป เหมื อ นของท่ า นไว้ ใ ห้ ช าวบ้ า นกราบไหว้ สักการบูชา
KANCHANABURI 237
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
อำ�เภอสังขละบุรี
นายสถิต วิทิตยนตรการ ปลัดอำ�เภอหัวหน้ากลุ่มงานบริหารงานปกครอง รักษาราชการแทน นายอำ�เภอสังขละบุรี
“สะพานไม้ ด่านเจดีย์ นทีสามประสบ มรดกทุ่งใหญ่ไทย กระเหรี่ยง รามัญ สารพันธรรมชาติ อภิวาทหลวงพ่ออุตตมะ เมืองสังขละชายแดน สุดแคว้นตะวันตก” คือคำ�ขวัญของอำ�เภอสังขละบุรี ซึ่งตั้งอยู่ด้านตะวันตกสุดของจังหวัดกาญจนบุรี และมีพื้นที่ติดกับสหภาพเมียนม่าร์ ปัจจุบนั มี นายสถิต วิทติ ยนตรการ ปลัดอำ�เภอหัวหน้ากลุม่ งานบริหารงานปกครอง รักษาราชการแทนนายอำ�เภอสังขละบุรี
ประวัติความเป็นมาของอำ�เภอสังขละบุรี
อำ�เภอสังขละบุรี เดิมเรียกว่า “สังเคลียะ” ซึ่งเป็นภาษาพม่า และ “สังคละ” เป็นภาษาเรียกของชนพื้นเมืองเดิม มีความหมายว่า การผสมผสานคละเคล้าของคนต่างชาติพนั ธุท์ อี่ าศัยอยูใ่ นพืน้ ทีอ่ �ำ เภอสังขละบุรี ตามประวัตศิ าสตร์อ�ำ เภอ สังขละบุรเี ป็นเมืองหน้าด่านขึน้ ตรงกับเมืองกาญจนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี นั้น ทหารฝ่ายพม่ามักยกทัพเข้ามาโจมตีกรุงศรีฯ โดยผ่านเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์ของอำ�เภอสังขละบุรี จึงทำ�ให้เกิด เรื่องราวในหน้าประวัติศาสตร์ชาติไทยมากมาย ในปี พ.ศ. 2438 ได้รับการยกฐานะเป็นอำ�เภอ ชื่อ “อำ�เภอวังกะ” ต่อมาได้ยุบอำ�เภอวังกะเป็นกิ่งอำ�เภออีกหลายครั้ง จนปี พ.ศ. 2482 มีฐานะเป็นกิ่งอำ�เภอสังขละบุรี และยกฐานะเป็นอำ�เภอสังขละบุรี เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน 238
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอสังขละบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดกาญจนบุรีประมาณ 230 กิโลเมตร มีพื้นที่ติดกับสหภาพเมียนม่าร์ รวมระยะทาง 170 กม. มีเนือ้ ที่ 3,500 ตารางกิโลเมตร และแบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองออก เป็น 1 เทศบาล 3 อบต. 20 หมู่บา้ น ได้แก่ เทศบาลตำ�บลวังกะ ตำ�บลหนองลู ตำ�บลปรังเผล ตำ�บลไล่โว่ อำ�เภอสังขละบุรีได้รับการขนานนามจากผู้มาเยือนมากมาย อาทิ เมืองสามหมอก ดินแดนสามวัฒนธรรม, เมืองแห่งสายน้ำ� ขุนเขา และผืนป่าอันอุดม, เมืองที่มีความงามหลากหลายทางเชื้อ ชาติและวัฒนธรรมของพีน่ อ้ งต่างเผ่าพันธุ์ ทัง้ มอญ กระเหรีย่ ง ไทย ลาว พม่า ฯลฯ
สถานที่ท่องเที่ยวอันโดดเด่น
สะพานมอญ อยู่ในตัวอำ�เภอสังขละบุรี เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “สะพานอุตตมานุสรณ์” เป็นสะพานไม้ที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาวถึง 475 เมตร สร้างข้ามลำ�น้ำ�ซองกาเลียสำ�หรับให้ ประชาชนฝั่งตัวอำ�เภอสังขละบุรีและฝั่งหมู่บ้านชาวมอญเดินข้าม สัญจรไปมา บริเวณสะพานแห่งนีเ้ ป็นจุดชมวิวทะเลสาบเขือ่ นวชิรา ลงกรณ์ทสี่ วยงาม สามารถมองเห็นลำ�ห้วยสายต่างๆ คือ ซองกาเลีย บีคลี่ และรันตี ที่ไหลมารวมกันเป็นสามประสบ ด่านเจดีย์สามองค์ เขตสิ้นสุดชายแดนไทยด้านทิศตะวันตก ตั้งอยู่ ที่ตำ�บลหนองลู พระเจดีย์สามองค์นี้ แต่เดิมเรียกว่า “หินสามกอง” เป็นที่สักการะของคนไทยโดยทั่วไปก่อนเดินทางออกจากเขตแดน ไทยเข้าสู่เขตแดนพม่า ต่อมาในปี พ.ศ. 2472 พระศรีสุวรรณคีรี เจ้าเมืองสังขละบุรี ได้เป็นผูน้ �ำ ชาวบ้านก่อสร้างเจดียข์ นาดเล็กสาม องค์ดงั ทีเ่ ห็นในปัจจุบนั นอกจากนีด้ า่ นเจดียส์ ามองค์ยงั เป็นช่องทาง เดินทัพที่สำ�คัญของไทยและพม่าในอดีต ปัจจุบันบริเวณด่านเจดีย์ สามองค์ มีรา้ นขายสินค้าจากประเทศพม่า ซึง่ นักท่องเทีย่ วสามารถ ข้ามชายแดนเข้าไปชมตลาดพญาตองซู ซึ่งเป็นตลาดชายแดนที่มี การจำ�หน่ายสินค้าของพม่าได้
วัดวังก์วเิ วการาม อยูเ่ ลยจากตัวอำ�เภอสังขละบุรไี ปประมาณ 6 กม. เป็นวัดจำ�พรรษาของ “หลวงพ่ออุตตมะ” ซึง่ เป็นทีเ่ คารพ นับถือของประชาชนชาวไทย ชาวมอญ รวมทั้งชาวกระเหรี่ยง และพม่าที่อาศัยอยู่ในบริเวณนั้น ภายในวิหารที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ� ประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อนอันงดงาม ชาวบ้านเรียกกันว่า “หลวงพ่อขาว” จากวัดวังก์วเิ วการาม แยกไปอีก 1 กิโลเมตร จะเป็น ที่ตั้งของเจดีย์แบบพุทธคยา ฐานมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส บรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ส่ ว นที่ เ ป็ น กระดู ก นิ้ ว หั ว แม่ มื อ ขวา ขนาดเท่าเมล็ดข้าวสาร บริเวณใกล้เจดีย์มีร้านจำ�หน่ายสินค้า จากพม่าหลายร้าน อาทิ ผ้านุ่ง ผ้าโสร่ง แป้งพม่า เครื่องไม้ ในช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ข องทุ ก ปี มี ก ารจั ด งานคล้ า ยวั น เกิ ด หลวงพ่ออุตตมะ ในงานมีกิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วยพิธีกรรม ทางศาสนา การแข่งขันชกมวยคาดเชือก การแสดงของชมรม วัฒนธรรมท้องถิ่น เช่น การรำ�แบบมอญ การรำ�ตงของชาว กะเหรี่ยง และในงานประชาชนจะพร้อมใจกันแต่งกายตามแบบ วัฒนธรรมของชาวไทยรามัญ และจัดเตรียมสำ�รับอาหารทูนบน ศีรษะเดินไปถวายพระสงฆ์ที่วัด เมื อ งบาดาล ในอดี ต เป็ น ที่ ตั้ ง ของวั ด วั ง ก์ วิ เ วการาม ซึง่ หลวงพ่ออุตตมะและผูอ้ พยพชาวกะเหรีย่ งและมอญได้รว่ มก้น สร้างขึ้นเมื่อปี 2496 ในบริเวณที่เรียกว่า สามประสบ ต่อมาใน ปี 2527 มีการก่อสร้างเขื่อนเขาแหลมทำ�ให้น้ำ�เข้าท่วมตัวอำ�เภอ สังขละบุรเี ก่ารวมทัง้ วัดนีด้ ว้ ย จึงได้ยา้ ยวัดมาอยูบ่ นเนินเขา ส่วน วัดเดิมได้จมอยู่ใต้น้ำ�มานานนับสิบปี ในช่วงฤดูแล้งราวเดือน มีนาคม-เมษายน เป็นช่วงน้ำ�ลดจะสามารถสังเกตเห็นตัวโบสถ์ ของวัดได้อย่างชัดเจน และสามารถนั่งเรือไปเที่ยวชมได้ แต่ใน ช่วงน้ำ�ขึ้นน้ำ�จะท่วมสูงเกือบทั้งหมด เหลือเพียงยอดของโบสถ์ ให้เห็นเท่านั้น ที่นี่จึงกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวอันซีนไทยแลนด์ ในชื่อ “เมืองบาดาล” KANCHANABURI 239
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.สังขละบุร)ี
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ไล่โว่ องค์การบริหารส่วนตำ�บลไล่โว่ตั้งอยู่เลขที่ 49 หมู่ที่ 1 ตำ�บลไล่โว่อ�ำ เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี โดยตำ�บลไล่โว่ ตัง้ อยูใ่ นเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ทุง่ ใหญ่นเรศวรฝัง่ ตะวันตกมีเนือ้ ที่ ประมาณ 1,789.23 ตร.กม.ปัจจุบนั มี นายสมชาย วุฒพิ มิ ลวิทยา เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลไล่โว่
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตกาลชาวกะเหรีย่ งจากพม่าได้อพยพเข้ามาในไทยหลาย ครั้ง มีคำ�บอกเล่ากันว่าในสมัยกรุงธนบุรีช่วง พ.ศ. 2317 ชาว กะเหรี่ยงจากหมู่บ้านเมกะวะในเขตเมืองเมาะละแหม่ (เมาะตะ มะ) ได้อพยพเข้ามาอยู่ในทุ่งใหญ่เซซาโว่ (ปัจจุบันคือเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร) เพราะโดยนิสัยแล้วชาวกะเหรี่ยง นั้นรักสงบ หลีกเลี่ยงสงคราม ชาวกะเหรี่ยงจึงเลือกที่จะตั้งที่อยู่ อาศัยลึกเข้าไปในป่าใหญ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2365 สมัยรัชกาลที่ 3 ชาวกะเหรี่ยงกลุ่มนี้ ได้ชว่ ยขับไล่ทหารพม่าออกจากสยาม พระเจ้าแผ่นดินสยามจึงได้ แต่งตั้งหัวหน้ากะเหรี่ยงให้เป็นเจ้าเมืองสังขละบุรี มีบรรดาศักดิ์ เป็น “พระศรีสุวรรณคีรี” (ที่ตั้งของเมืองสังขละบุรีในยุคนั้นคือ บ้านสะเนพ่อง ตำ�บลไล่โว่ในปัจจุบัน) และมีเจ้าเมืองสืบทอด ตำ�แหน่งกันมา 5 ท่าน จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เปลี่ยน ฐานะเมืองสังขละบุรีเป็นอำ�เภอ พระศรีสุวรรณคีรีที่ 5 (ทะเจียง โปรย เสตะพันธ์) ได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นนายอำ�เภอคน
240
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำ�บลไล่โว่แบ่งการปกครองออกเป็น 6 หมู่บ้าน ได้แก่บ้านสะเนพ่อง บ้านกองม่องทะ บ้านเกาะสะเดิ่ง บ้ า นไล่ โ ว่ - ซาละวะ บ้ า นทิ ไ ล่ ป้ า และบ้ า นจะแก โดยชาวบ้าน ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชือ้ สายกะเหรีย่ ง มีประชากรรวม 3,129 คน มีจ�ำ นวนครัวเรือน 755 ครัวเรือน (ข้อมูลจากสำ�นักทะเบียนราษฎร์ อำ�เภอสังขละบุรีณ เดือนกันยายน 2557) โดยประชากรส่วนใหญ่ มีอาชีพด้านการเกษตร ได้แก่ ปลูกพืชไร่ ทำ�สวน และทำ�นา
อบต.ชวนเที่ยวศูนย์วัฒนธรรมอบต.ไล่โว่ ฯ
องค์การบริหารส่วนตำ�บลไล่โว่ตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวบ้าน จึงจัดตั้ง “อาคารศูนย์วัฒนธรรมอบต. ไล่โว่ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา (ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง)” เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลด้านวิถีชีวิต ความเชื่อ การดำ�รงชีวิต อยู่คู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร รวมทั้งการ อนุรกั ษ์สบื สานวัฒนธรรมประเพณีของชาวไทยเชือ้ สายกะเหรีย่ งใน ตำ�บลไล่โว่ อำ�เภอสังขละบุรี ภายในอาคารจัดแสดงนิทรรศการโดย แบ่งเนือ้ หาออกเป็น 12 ส่วนซึง่ แต่ละส่วนจัดแสดงไว้อย่างน่าสนใจ และมีชวี ติ ชีวาอย่างยิง่ นับเป็นความสำ�เร็จทีน่ า่ ชืน่ ชมสนใจสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ อบต.ไล่โว่ 034-595496
อบต.ชวนสักการะ “พระแก้วขาว” คูเ่ มืองสังขละบุรี
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ฯ รัชกาลที่ 3 แม้ภัยศึกสงครามจากพม่าจะลด แต่ภัยคุกคามที่อันตรายและ น่ า กลั ว กว่ า คื อ ภั ย ล่ า อาณานิ ค มของพวกฝรั่ ง ชาติ ต ะวั น ตก ที่ แผ่อทิ ธิพลขยายดินแดนรอบๆประเทศสยาม รัชกาลที่ 3 จึงดำ�เนิน สัมพันธ์ไมตรีต่อเจ้าเมืองสังขละบุรี โดยพระราชทานพระแก้วขาว หรือ พระพุทธรัตนสังขละบุรีให้เป็นพระคู่บ้านคู่เมืองสังขละบุรีแด่ พระศรีสุวรรณคีรี เจ้าเมืองสังขละบุรี โดยหวังว่าเจ้าเมืองเหล่านั้น ไม่ขึ้นกับพวกฝรั่งต่างชาติ
น้ำ�พุร้อนสุริยะ แปลกตรงที่ไหลออกมาจากเทือกเขาที่แบ่งเขต แดนไทยพม่า คล้ายน้�ำ ตกเล็กๆทีซ่อนตัวอยู่ในถำ�้ การเดินทางเข้า ต้องให้น้องๆทหารพรานที่สุริยะพาเข้า ไม่งั้นรับรองหลง การเดิน ทางจากสังขละบุรีมีบางช่วงของเส้นทางต้องวิ่งเข้าพม่าโดยต้องวิ่ง เข้าพม่าที่บ้านพุจือแล้วกลับเข้าไทยอีกครั้งที่บ้านเลตองคุ ก่อนต่อ ไปยังริมนำ�ส้ รุ ยิ ะ นำ�พ้ รุ อ้ นทีไ่ หลออกมาแล้วค่อยตกลดหลัน่ ผ่านชัน้ เดขามีลกั ษณะเป็นแอ่งๆคล้ายนำ�ต้ กทีซ่ อ่ นตัวอยูใ่ นหุมเขาท่ามกลาง ธรรมชาติทรี่ ม่ รืน่ อีกสถานทีท่ แี่ นะนำ�ให้คนทีช่ นื่ ชอบการเดินทางที่ ท้าทายต้องหาโอกาสไป
สืบงานประเพณีส�ำ คัญของตำ�บลไล่โว่
งานประเพณีฟาดข้าว 15 ค่ำ� เดือน 1 ของทุกปีหรือ ประมาณเดือน พ.ย.-ธ.ค. เป็นประเพณีทมี่ มี าแต่โบราณของชาว กะเหรี่ยง จัดขึ้นเพื่อเป็นการขอบคุณและขอขมาพระแม่โพสพที่ ทำ�ให้ข้าวอุดมสมบูรณ์โดยแต่ละหมู่บ้านจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพ จัดงาน ในงานมีกิจกรรมรื่นเริงต่าง ๆ เช่น การแข่งขันฟาดข้าว การร้องเพลงพืน้ บ้าน การแสดงพืน้ บ้าน การแข่งขันกีฬาพืน้ บ้าน และการทำ�บุญถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ประเพณีบุญข้าวใหม่หรือโบวบือส้องคู จัดในวันขึ้น 13 ค่ำ� เดือน 2 ของทุกปี หรือในช่วงเดือนมกราคมเป็นการทำ�บุญก่อน เริ่มต้นการทำ�ไร่ในฤดูกาลใหม่ บางท่านก็ว่าถือเป็นการทำ�บุญ ถวายข้าวใหม่แด่พระพุทธเจ้าด้วย ซึ่งในงานบุญนี้จะมีพิธีกรรม ทีส่ �ำ คัญ คือ พิธบี ชู าแม่โพสพและผูกข้อมือผูม้ าร่วมงานโดยชาว กะเหรีย่ งในตำ�บลถือว่าถ้าหมูบ่ า้ นใดจัดประเพณีฟาดข้าวก็จะต้อง จัดทำ�บุญข้าวใหม่ด้วย ซึ่งจะจัดด้วยกัน 3 วัน 3 คืน ภายในงาน มีการละเล่นต่าง ๆ มากมาย เช่น การเปิดร้านค้าสวรรค์ การ รำ�ตง KANCHANABURI 241
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.หนองลู)
องค์การบริหารส่วนตำ�บล หนองลู
สวัสดิการผู้พิการ
“เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี” คือวิสยั ทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองลูซงึ่ มีส�ำ นักงานตัง้ อยูท่ ี่ เลขที่ 308 หมู่ที่ 3 ตำ�บลหนองลู อำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 220 กิโลเมตร หนองลูเป็นคำ�ที่มาจากภาษากระเหรี่ยง หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่งที่อยู่ใน ตระกู ล ตาล ลั ก ษณะใบตรงโคนแคบ นำ � มาใช้ มุ ง หลั ง คาบ้ า นของชาว กระเหรี่ยง องค์บริหารส่วนตำ�บลหนองลูประกาศจัดตั้งจากสภาตำ�บล ในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 ปัจจุบันมีนายภูวพล รัศมีฤกษ์เศรษฐ์ ดำ�รงตำ�แหน่งนายกองค์บริหารส่วนตำ�บลหนองลูซงึ่ มีแนวทางการทำ�งานคือ “ร่วมคิด ร่วมทำ� ร่วมสร้างสรรค์ เพื่อชุมชน”
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองลู มีเนื้อที่ประมาณ 1,267 ตร.กม. หรือ ประมาณ 791,875 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 หมู่บา้ น ตำ�บล หนองลู มีสภาพพื้นที่ร้อยละ 70 เป็นภูเขาสูง มีพื้นที่ราบลุ่มเป็นบางส่วน และมีพื้นที่ราบอยู่ระหว่างแนวภูเขา ประมาณร้อยละ 10 และประมาณ ร้อยละ 20 เป็นที่พื้นที่เก็บกักน้ำ�ของเขื่อนวชิราลงกรณ์ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น พื้นที่ปา่ สงวนแห่งชาติป่าเขาช้างเผือกและพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาแหลม จำ�นวนประชากรที่มีสัญชาติไทย 8,501 คน และประชากรแฝง 12,979
242
คน รวม 21,480 คน ประชาชนในพื้นที่ประกอบด้วย คน ไทย กระเหรี่ยง มอญ และพม่า เป็นที่มาของวัฒนธรรม
นโยบายการบริหารงาน อบต.หนองลู ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาขององค์การบริหาร ส่ ว นตำ � บลหนองลู น ั ้ น ยึ ด ถื อ ปั ญ หาความต้ อ งการของ ประชาชนเป็นหลักในการแก้ไขปัญหา ไม่ว่าจะเป็นการ พัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ แวดล้อม การส่งเสริม การท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการ ผลิตสินค้าเกษตรและเกษตรอุตสาหกรรมที่ปลอดภัย การ ยกระดับคุณภาพชีวิต สังคมฐานความรู้และสิ่งแวดล้อมให้ เป็นเมืองน่าอยู่ การพัฒนาการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและความมั่นคง ซึ่งอยู่ภายใต้ อำ�นาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ตามมาตรา 67 และมาตรา 68 แห่งพระราชบัญญัตสิ ภาตำ�บลและองค์การ บริหารส่วนตำ�บล พ.ศ. 2537 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542) การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานพัฒนาระบบการ คมนาคมขนส่งอย่างเป็นระบบการสาธารณูปโภคสาธารณูปการ
แนวทางการทำ�งาน
บริการประชาชน
ซองกาเรีย
ประเภณีฟาดข้าว
เพิ่มพื้นที่สีเขียว
ตะเคียนทอง
ลดปัญหาสังคม การพัฒนาการบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ดี �ำ เนินงานให้มปี ระสิทธิภาพ และให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชนในบริหารจัดการ ด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ การท่องเที่ยว และฟื้นฟูสถานที่ท่องเที่ยว ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพระบบการผลิตสินค้าเกษตรและเกษตร อุตสาหกรรมที่ปลอดภัยพัฒนาแหล่งน้ำ�เพื่อการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมปลูกพืชพลังงานทดแทน และพืชเกษตรอุตสาหกรรม การยกระดับคุณภาพชีวิต สังคมฐานความรู้และสิ่งแวดล้อมให้เป็น เมืองน่าอยู่ส่งเสริมสนับสนุนงานสาธารณสุขและสวัสดิการแบบองค์กร รวมแก่ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเอดส์ กลุ่มเด็กและเยาวชนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่ ด้านการส่งเสริมประชาธิปไตยและความมั่นคงส่งเสริมสนับสนุน การมีสว่ นร่วมของประชาชนอย่างต่อเนือ่ งในการเทิดทูนและเชิดชูสถาบัน พระมหากษัตริย์ และระบอบประชาธิปไตย
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
เนือ่ งจากองค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองลู มีพนื้ ทีท่ ตี่ ดิ ต่อกับชายแดน ประเทศพม่า และยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่หลายแห่งอาทิ ด่านเจดีย์สาม องค์ จุดชมวิวรันตี จุดเล่นน้�ำ ซองกาเรีย น้�ำ ตกตะเคียนทอง ถ้�ำ แก้วสวรรค์ บันดาล องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองลูจงึ มีแนวความคิดในการทำ�งาน อีกอย่าง คือ การมุ่งมั่นพัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวให้ให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง ถ้ำ�แก้วสวรรค์บันดาลตั้งอยู่ห่างจากด่านเจดีย์สามองค์ ประมาณ 1 กิโลเมตร เป็นถ้ำ�ที่มีบริเวณกว้าง แบ่งเป็นถ้ำ�ต่างๆ อีก 4 ถ้ำ� คือ ถ้ำ�วัง บาดาล ถ้ำ�มรกต ถ้ำ�แก้ว และถ้ำ�สวรรค์บันดาล ซึ่งแต่ละถ้ำ�จะมีความ สลับซับซ้อนแตกต่างกันไป
เจดีย์สามองค์
ด่านเจดีย ์สามองค์ เป็นจุดผ่อนปรนที ่เชื ่อมระหว่าง กาญจนบุรีของไทยกับเมืองทวายของพม่า มีร้านขายของ สินค้าต่างๆ ทั้งจากไทยและพม่า เช่น เครื่องประดับ เฟอร์นิเจอร์ไม้ ของที่ระลึก ฯลฯนอกจากนี้ยังมีสถานที่ สักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิพ์ ระสยามเทวาธิราช หลวงปูจ่ อ้ น ศาลา สันติภาพไทย-ญี่ปุ่น และทางระไฟสายมรณะที่ยังเหลืออยู่ จุดชมวิวรันตีเป็นจุดเริ่มต้นของการเดินทางขึ้นมายัง อำ � เภอสั ง ขละบุ รี บริ เ วณสะพานรั น ตี ยามพระอาทิ ต ย์ ตก ตะวั น ทอดแสงลงที่ ผิ ว น้ำ � สร้ า งความประทั บ ใจแก่ นักท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก จุ ด เล่ น น้ ำ � ซองกาเรี ย อยู ่ บ ริ เ วณสะพานข้ า มแม่ น ้ ำ � ซองกาเรีย ห่างจากตัวอำ�เภอสังขละบุรีไปทางชายแดน ด่านเจดีย์สามองค์ ประมาณ 8 กิโลเมตร เป็นจุดที่เหมาะ กับการเล่นน้ำ�เพราะมีธารน้ำ�ใส ไหลเย็น และมีซุ้มอาหาร ไว้บริการนักท่องเที่ยว บรรยากาศเหมาะสำ�หรับปิกนิก คลายร้อน น้ำ�ตกตะเคียนทอง เป็นน้ำ�ตกที่ขึ้นอยู่กับเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร ในบริเวณเทือกเขาตะนาวศรีที่กั้น แนวชายแดนไทย – พม่า จะมีป้ายบอกทางเข้าอยู่ขวามือ ก่อนถึงเจดีย์สามองค์
KANCHANABURI 243
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายวุนายอำฒ�เภอหนองปรื ิกร สุขอ ีนัย “ห้วยองคตรุ่งเรือง เมืองเกษตรกรรม งามล้ำ�ถ้�ำ เนรมิต แหล่งผลิตหัตถกรรม” สะท้อนให้เห็นถึงจุดเด่นของอำ�เภอหนองปรือ ซึ่งมีที่วา่ การอำ�เภอ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำ�บลหนองปรือ อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี
ข้อมูลทั่วไปของอำ�เภอหนองปรือ
อำ�เภอหนองปรือ มีพื้นที่ 502.2 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 ตำ�บล 43 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำ�บลหนองปรือ (22 หมูบ่ า้ น) ตำ�บลหนองปลาไหล (14 หมูบ่ า้ น) และตำ�บลสมเด็จเจริญ (7 หมูบ่ า้ น) มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ 4 แห่ง ประกอบด้วยเทศบาลตำ�บล 3 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำ�บล 1 แห่ง มีประชากรทั้งสิ้น 31,097 คน แยกเป็นชาย 15,667 คน หญิง 15,430 คน 10,450 ครัวเรือน อาชีพหลักของราษฎรในพื้นที่คือ เกษตรกรรม พืชที่ปลูกเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ อ้อย มันสำ�ปะหลัง สับปะรด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 244
นายอำ�เภอชวนเที่ยวโครงการห้วยองคตฯ
จากสภาพพืน้ ทีท่ สี่ ดุ แสนจะแห้งแล้ง อันเป็นผลกระทบจากการ บุกรุกทำ�ลายป่าของราษฎร จนเกือบจะกลายเป็นทะเลทราย แต่ดว้ ย สายพระเนตรอันยาวไกล และน้�ำ พระราชหฤทัยทีเ่ ปีย่ มล้นด้วยพระ เมตตาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทำ�ให้เกิด “โครงการ ห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ที่ จะฟื้นฟูสภาพป่า และจัดสรรที่ทำ�กินให้แก่ราษฎรภายในโครงการ เพื่อให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้ในขณะที่ระบบนิเวศน์ทางธรรมชาติ ก็อุดมสมบูรณ์ แต่จากการดำ�เนินงานที่ผ่านมา แม้สภาพพื้นที่ของโครงการ ห้วยองคตฯ จะอุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติ มีพื้นที่ราบสามารถ ทำ�การเกษตรได้มาก แต่เนื่องจากฝนตกใต้อ่างเก็บน้ำ� ทำ�ให้ไม่ สามารถเก็บกักน้ำ�ได้เลย โครงการห้วยองคตฯ จึงปรับยุทธศาสตร์ จากการใช้พนื้ ทีเ่ พือ่ ให้ราษฎรทำ�การเกษตรอย่างเดียว มาเป็นการชู ประเด็นเรือ่ งท่องเทีย่ วขึน้ เพือ่ เติมเต็มความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกร ในพื้นที่ โดยภายในโครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ มีจุดที่น่าสนใจให้ศึกษาเรียนรู้มากมาย อาทิ เยี่ยมชมเรือนประทับแรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่สวยงาม ศึกษาองค์ความรู้เรื่องแก้มลิง การทำ�ฝายแม้ว ศึกษาแนวพระราชดำ�ริการพัฒนาแหล่งน้�ำ การฟืน้ ฟู ระบบนิเวศทีร่ ม่ รืน่ สวยงาม หญ้าแฝกกำ�แพงธรรมชาติทมี่ ชี วี ติ รวม ทัง้ การอนุรกั ษ์ดนิ และน้�ำ และเข้าศูนย์เรียนรู้ “บ้านใต้หล้าพระบารมี” พบกับสวนสมุนไพร “ทรงพลัง” และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งระหว่างทางจะได้สัมผัสกับความร่มรื่นสวยงามของธรรมชาติ และสนุกตืน่ เต้นกับกิจกรรมทีเ่ ราทำ�เพือ่ คุณทุกคน พร้อมการบริการ ที่พักและอาหารครบครัน
ด้วยใจนายอำ�เภอหนองปรือ
สำ � หรั บ การบริ ห ารงานของกระผม นายวุ ฒิ ก ร สุ ขี นั ย นายอำ � เภอหนองปรื อ ผมจะมุ่ ง เน้ น ผลสำ � เร็ จในการทำ � งาน เพื่อบำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุขของประชาชน ทั้งนี้ยังได้นำ�บริบทการ ทำ�งานตามนโยบายของรัฐบาล ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี และตามอำ�นาจหน้าทีข่ องนายอำ�เภอไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลเป็นรูปธรรม สอดคล้ อ งกั บ สภาพปั ญ หาและความต้ อ งการของประชาชน โดยปัจจุบันเน้นการปกป้องสถาบันสำ�คัญของชาติ การป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด การปราบปรามลักลอบตัดไม้ทำ�ลายป่า การแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง การส่งเสริมเกษตรกรรม การอำ�นวยความเป็นธรรมด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ทั้งคดีแพ่ง และอาญา ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ซึ่งการปฏิบัติงานที่ผ่านมาได้รับความร่วมมือจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำ�นัน ผู้ใหญ่บา้ น ฯลฯ คณะกรรมการหมู่บา้ น ตลอดจน อสม. ซึ่งเป็นกลไกสำ�คัญในพื้นที่ เป็นอย่างดี ทำ�ให้การทำ�งานของนายอำ�เภอบรรลุผลสำ�เร็จได้อย่าง มีประสิทธิภาพ KANCHANABURI 245
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.หนองปรือ)
เทศบาลตำ�บลหนองปรือ นายชำ�เรือง แห้วเพ็ชร นายกเทศมนตรีต�ำ บลหนองปรือ
กิจกรรมสำ�คัญในปี 2558 โครงการเทศบาลเคลื่อนที่ ประจำ�ปีงบประมาณ 2558
“รู้หน้าที่ มีน้ำ�ใจ วินัยดี มีความร่วมมือ” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาของเทศบาลตำ � บลหนองปรื อ อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี โดยอยูห่ า่ งจากอำ�เภอเมือง กาญจนบุรี ประมาณ 75 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายชำ�เรือง แห้วเพ็ชร ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำ บลหนองปรือ
ข้อมูลทั่วไป เทศบาลตำ�บลหนองปรือ ได้ยกฐานะจากสุขาภิบาลตำ�บล หนองปรือ ตามพระราชบัญญัตเิ ปลีย่ นแปลงฐานะของสุขาภิบาล เป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มี พื้นที่ 12.57 ตร.กม. หรือประมาณ 7,856 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ ตำ�บลหนองปรือ หมู่ที่ 1 (บางส่วน) และหมู่ที่ 4 (บางส่วน) มีประชากรรวม 4,542 คน แยกเป็นชาย 2,250 คน หญิง 2,292 คน มีจำ�นวนบ้านเรือน 1,578 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2558) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้ แ ก่ ไร่ อ้ อ ย ข้ า วโพดหวาน ทำ � นา เลี้ยงสัตว์
246
เทศบาลตำ�บลหนองปรือ จัดทำ�โครงการเทศบาลเคลือ่ นที่ ประจำ � ปี ง บประมาณ 2558 เพื่ อ ฝึ ก อาชี พ และให้ บ ริ ก าร ประชาชน โดยออกหน่วยเคลื่อนที่ไปในชุมชน เพื่อเผยแพร่ ข่าวสารของทางเทศบาลให้คนในชุมชนได้รับทราบ รวมถึง รั บ ฟั ง ปั ญ หาเพื่ อ นำ � มาแก้ ไ ข สร้ า งขวั ญ และกำ � ลั งใจให้ กั บ ประชาชน ทำ�ให้ประชาชนมีอาชีพเสริมและสร้างความเข้าใจ กับประชาชนที่มาติดต่อขอรับบริการงานด้านต่าง ๆ ของ เทศบาล เพือ่ ให้ประชาชนเกิดความเข้าใจและภาพลักษณ์ทดี่ ตี อ่ หน่วยงาน ก่อให้เกิดความผูกพัน ความไว้วางใจ ทั้งนี้ ทต.หนองปรือได้ออกหน่วยเคลื่อนที่ไปแล้ว 2 ครั้ง คือ วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 ณ สถานตรวจสภาพ รถยนต์เอกชน (ตรอ.) และวันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ 2558 ณ บริเวณลานหน้าศาลเจ้าเขามุสิ โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การ ฝึกอาชีพตัดผมชาย / ตัดผมหญิง ,สอนทำ�ไอศครีม ,อาชีพนวด แผนไทย ,ช่างซ่อมพัดลม หม้อหุงข้าว เตารีด โทรทัศน์ เครื่องเสียง วิทยุ วีซีดี ดีวีดี ,ช่างยนต์ เช่น ถ่ายน้�ำ มันเครื่อง ปะยาง เปลี่ยนหลอดไฟ ตั้งโซ่รถจักรยานยนต์ ,ให้บริการด้าน สาธารณสุข เช่น ตรวจสุขภาพเบื้องต้น ตรวจวัดความดัน
ตรวจเบาหวานและตรวจสุขภาพฟัน และกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการตอบคำ�ถาม กิจกรรมวาดภาพระบายสี กิจกรรม รั ก การอ่ า น และรั บ ชำ � ระภาษี ป ระจำ � ปี 2558 เป็ น ต้ น โครงการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (กิจกรรมการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น : การถักสานตะกร้า พลาสติกจากเส้นพลาสติก)
เป็นเทียนตามไฟ สำ�หรับอ่านและเขียนหนังสือบ้าง และบูชา พระบ้าง ซึ่งต่อมาการนำ�เอาขี้ผึ้งไปถวายพระภิกษุสงฆ์ได้กลาย เป็นประเพณีประจำ�ปีทที่ �ำ สืบต่อกันมา จึงได้มกี ารจัดทำ�ปราสาท ผึง้ ขึน้ ตัวปราสาททำ�ด้วยโครงไม้ไผ่และบุดว้ ยกาบต้นกล้วยเพือ่ ให้มีการเสียบประดับประดาแต่งด้วยดอกไม้อันทำ�มาจากน้ำ�ผึ้ง วิธีท�ำ ดอกไม้ขี้ผึ้ง เริ่มต้นในวันท้ายสงกรานต์ คือวันที่ 17 เมษายนของทุ ก ปี เป็ น วั น พิ ธี แ ห่ ป ราสาทผึ้ ง เมื่ อ ถึ ง วั น นี้ ชาวบ้านก็จะนำ�ขี้ผึ้งนี้รวมกันใส่กระทะใบใหญ่ตั้งไฟเคี่ยวให้ ละลาย ต่อจากนั้นก็จะเอาผลมะละกอผลเล็ก ๆ มาแกะเป็นรูป ดอกไม้ต่าง ๆ ตามต้องการ แล้วเอาผลมะละกอนี้ลงชุบในขี้ผึ้ง แล้วยกขึน้ จุม่ ภาชนะทีใ่ ส่น�้ำ เย็นเอาไว้ ขีผ้ งึ้ ก็จะหลุดออกมาเป็น ดอกไม้ที่ทำ�เอาไว้ แล้วนำ�ดอกไม้ขี้ผึ้งนี้ไปเสียบประดับที่ตัว ปราสาททำ�ให้ดูสวยสดงดงาม เมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้คนใน บ้านก็พากันออกมาตั้งขบวนแห่ปราสาทผึ้งนี้ไปรอบ ๆ หมู่บ้าน แล้วกลับมาทีว่ ดั ตามเดิม ต่อจากนัน้ ก็จะทำ�พิธถี วายปราสาทผึง้ แด่พระภิกษุสงฆ์ พอตกค่ำ�ลงก็จะนิมนต์พระภิกษุสงฆ์สวด พระพุทธมนต์เย็น ในตอนเช้าของวันรุ่งขึ้นจะมีการทำ�บุญ ตั ก บาตร ถื อ เป็ น การฉลองปราสาทผึ้ ง เป็ น อั น เสร็ จ พิ ธี แ ห่ ปราสาทผึ้ง
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำ�บล หนองปรือ พบว่าผูส้ งู อายุในตำ�บล หนองปรือเมือ่ เข้าสูว่ ยั ชราแล้ว จะพบภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการเจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง และการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลงทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจและสังคมมีจำ�นวนเพิ่มขึ้นทุกปี จากข้อมูลการ ลงทะเบี ย นขอรั บ เงิ น เบี้ ย ยั ง ชี พ ฯ และได้ ทำ� การสำ � รวจความ ต้องการของผูส้ งู อายุในชุมชน พบว่าผูส้ งู อายุดงั กล่าวแม้วา่ สุขภาพ ร่างกายจะไม่แข็งแรง แต่ทุกคนจะมีความรู้ความสามารถที่จะ ถ่ายทอดให้ลูกหลานได้ทราบ เช่น การถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการจักรสาน อาหารพื้นบ้าน ขนมพื้นบ้าน ฯลฯ และกิจกรรม ดังกล่าวยังส่งเสริมการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับผู้สูง อายุได้อีกทางหนึ่ง
ประเพณีสำ�คัญของตำ�บลหนองปรือ การแห่ปราสาทผึ้ง ตามตำ�นานเล่าว่าในสมัยก่อนชาวบ้าน นำ�ขี้ผึ้งมาถวายพระภิกษุสงฆ์ เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ได้นำ�ขี้ผึ้งมาทำ�
KANCHANABURI 247
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.หนองปรือื )
เทศบาลตำ�บลสมเด็จเจริญ “เป็นองค์กรทีม่ กี ารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล มี ก ารบริ ก ารประชาชนอย่ า งเป็ น เลิ ศ ส่ ง เสริ ม การ ศึกษาฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น ปรับปรุงพัฒนาระบบ สาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานให้ครอบคลุมเต็ม พื้นที่” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตำ�บลสมเด็จ เจริญ ซึ่งมีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 5/5 หมู่ที่ 5 ตำ�บล สมเด็ จ เจริ ญ อำ �เภอหนองปรือ จัง หวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันมีนายบุญลือ รัตนทอง เป็นนายกเทศมนตรี ตำ�บลสมเด็จเจริญ ตำ � บลสมเด็ จ เจริ ญ เดิ ม เป็ น พื้ น ที่ ส่ ว นหนึ่ ง ของ ตำ�บลหนองปรือ อำ�เภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี และได้แยกการปกครองเป็นอีกตำ�บลหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2533 ใช้ชื่อว่าตำ�บล “สมเด็จเจริญ”ซึ่งมาจากพระนาม เดิ ม ของสมเด็ จ เจริ ญ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระ สังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งมีพระนามเดิมว่า “เจริญ คชวัตร” โดยพระเทพสิทธิญาณรังสี (จากวัด ป่าชัยรังสี อำ�เภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร) ซึ่งขณะนั้นเป็นเจ้าอาวาสวัดถ้ำ�วังหิน ตำ�บลหนองปรือ ได้กราบทูลขอใช้ชื่อเดิมของพระองค์ท่านเป็นชื่อตำ�บล โดยมุ่งหวังจะได้เป็นสิริมงคล และถวายเป็นเกียรติแด่ พระองค์ท่าน เนื่องจากพระองค์ท่านประสูติที่อำ�เภอ พนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี
เทศบาลตำ�บลสมเด็จเจริญ มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 65,462 ไร่ (ประมาณ 104.74 ตารางกิ โ ลเมตร) และเป็ น ที่ ตั้ ง ของโครงห้ ว ยองคตอั น เนื่ อ งจาก พระราชดำ�ริครอบคลุมพื้นที่ 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 3, หมู่ที่ 4 ,หมู่ที่ 5 และ หมู่ที่ 7 มีเนื้อที่ประมาณ 25,625 ไร่ (ประมาณ 41 ตารางกิโลเมตร) และ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 6,386 คน แยก เป็นชาย 3,243 คนและเป็นหญิง 2,743 คน และมีครัวเรือนทั้งหมด 2,310 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่อ้อย ข้าวโพด มันสำ�ปะหลัง
248
1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสาธารณูปการ 1.1 การก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุง รักษา ถนน ท่อระบายน้ำ� 1.2 การพัฒนาระบบไฟฟ้า 1.3 การพัฒนาระบบประปา 2.ยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาความยากจนและส่งเสริมอาชีพ 2.1 การพัฒนาแหล่งน้�ำ เพื่อการเกษตร 3.ยุทธศาสตร์การจัดการสาธารณสุขและเสริมสร้างสุขภาพ 3.1 การกำ�จัดขยะมูลฝอย 3.2 การส่งเสริมสุขภาพประชาชนและการบริการด้านสาธารณสุข 3.3 การป้องกันและเฝ้าระวังโรค 4.ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาและส่งเสริมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี 4.1 การพัฒนาการศึกษาเด็กก่อนวัยเรียนประถมศึกษา 4.2 การอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมประเพณีและสืบสานวัฒนธรรม 5.ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมคุณภาพชีวติ และการสังคมสงเคราะห์ 5.1 ศูนย์เรียนรู้เพื่อการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริ 5.2 การสังคมสงเคราะห์แก่ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม 5.3 การพัฒนาสังคมสร้างความเข้มแข็งชุมชน 6.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารการจัดการบ้านเมืองที่ดี 6.1พัฒนาการบริหารการจัดการ และเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร 6.2 การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 7.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7.1 การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้และแหล่งน้ำ� ฯลฯ 7.2 การเพิ่มพื้นที่สีเขียว การปลูกต้นไม้ที่สาธารณะ ก่อสร้างสวน หย่อม ฯลฯ
1. โครงการวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ล อดุลยเดชธันวามหาราชประจำ�ปี 2557 2. โครงการสืบสานประเพณีสรงน้ำ�พระวันครอบครัวและวันผู้สูงอายุ แห่งชาติ เนื่องในวันสงกรานต์ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
โครงการห้วยองคตอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เรือนประทับแรม วัดสมเด็จเจริญ วัดถ้ำ�วังหิน วัดถ้ำ�เนรมิต ถนนสะเดาเรียง
KANCHANABURI 249
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองหูช้าง วัดหนองหูช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 9 บ้านหนอง หูช้าง หมู่ที่ 12 ต�ำบลหนองปรือ อ�ำเภอหนอง ปรือ จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหา นิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 10 ไร่ 11 ตารางวา และมีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 2 แปลง เนื้อที่ 18 ไร่ 25 ตารางวาได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2538 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร
การปลูกพืชไร่ ท�ำให้ช้างเข้ามากินและเหยียบ ย�่ำพืชไร่เสียหายชาวบ้านจึงได้ขับไล่ช้างให้หนี ไปอยูร่ วมกันทีห่ นองน�ำ้ ดังนัน้ ชาวบ้านจึงเรียก บริเวณดังกล่าวว่า “หนองหูช้าง” ต่อมามีชาว บ้านมาตัง้ บ้านเรือนมากขึน้ จึงมีผรู้ เิ ริม่ สร้างวัด โดยมีพระอาจารย์มานัส อุตตฺ มวํโส เป็นผูร้ เิ ริม่ และได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดหนองหูช้าง”
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถ กว้าง 6 เมตรยาว 18 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ.2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก วัดหนองหูช้างตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2483 เดิ ม ภายในมี จิ ต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ งพุ ท ธประวั ติ บริเวณที่สร้างวัดนี้เป็นป่า และต่อมาได้มีชาว ศาลาการเปรียญ กว้าง 23 เมตร ยาว 36 บ้านเข้ามาตั้งบ้านเรือนอาศัยท�ำมาหากินโดย เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2534 เป็ น อาคาร
ความเป็นมาของวัดหนองหูช้าง
250
คอนกรีตเสริมเหล็ก ฝาผนังมีภาพวาดและ ลวดลายเกี่ยวกับวรรณคดีไทย หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารไม้ กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 10 หลังเป็นอาคารไม้ 2 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลัง และตึก 6 หลัง วิหาร กว้าง 12 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมือ่ พ.ศ. 2500 เป็น อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กนอกจาก นี้มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ คือโรงครัว คลังพัสดุ โรงจอดรถ กุฏชิ ี 3 หลัง หอสวดมนต์ ชี และหอกระจายข่าว
ปูชนียวัตถุสำ�คัญ
หลวงพ่อใหญ่ประทานพรพระประธาน ประจ�ำวัด รูปแบบคันธาระสีดำ� ขนาดหน้าตัก กว้าง 79 นิว้ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2536 เป็นพระคู่ วัดมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2539 โดยคณะศรัทธาช่วยกัน สร้างถวายตามนิมติ ของท่านเจ้าอาวาส (พระครู สังฆรักษ์สมควร ปัชโชโต) ในสมัยนัน้ หลวงพ่อ ใหญ่ประทานพร เป็นพระที่ชาวบ้านศรัทธา เลือ่ มใสและต่างพากันมากราบไหว้และบนบาน ศาลกล่าวกันอยู่เป็นเนืองนิตย์ ทั้งการขอให้ สมหวังในการมีบตุ ร ในหน้าทีก่ ารงาน และการ สอบเข้าต่างๆ ปัจจุบนั ทางวัดมีการจัดงานประจ�ำปีถวาย ใน ช่วงวันที่ 13-16 เมษายน ของทุกปี และจะมี ขบวนแห่องค์หลวงพ่อใหญ่ประทานพรองค์ จ�ำลองออกเพื่อประพรมน�้ำพระพุทธมนต์ตาม บ้านเรือน ในวันที่ 16 เมษายน ของทุกปีกอ่ น การสรงน�ำ้ พระและรดน�ำ้ ด�ำหัวผูเ้ ฒ่าของหมูบ่ า้ น
การบริหารและการปกครอง
รูปที่ 1 พระมานัส อุตตฺ มวํโส พ.ศ. 2483 - 2492
รูปที่ 2 พระบุญยิง่ อริญชฺ โย พ.ศ. 2493 - 2501 รูปที่ 3 พระจัด จิตตฺ สาโร พ.ศ. 2502 - 2518 รูปที่ 4 พระอธิการคง จิตตฺ คโม พ.ศ. 2518 - 2534 รูปที่ 5 พระครูประโชติกาญจนธรรม (ปชฺโชโต) พ.ศ. 2535 ถึง ปัจจุบนั โดยพระครู ป ระโชติ ก าญจนธรรมได้ น� ำ หลวงพ่อใหญ่ประธานพรและทรงประฑานให้ มาประดิ ษ ฐานที่ วั ด หนองหู ช ้ า งและได้ รั บ ประธานพระบรมสารีริกธาตุ จากสมเด็จพระ สังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มาประดิษฐาน ณ วัดหนองหูชา้ งเมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 29 เดือน กันยายน พุทธศักราช 2548 ต่อมาเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2549 ได้อญ ั เชิญพระพุทธสีล ปรมัต มาประดิษฐาน ณ วัดหนองหูชา้ งเพือ่ เป็นการเฉลิมฉลองขึน้ ครองราชย์ 60 ปี ปัจจุบนั จัดตัง้ เป็นศูนย์ฝกึ วิชาชีพศิลปะไทยโบราณ (ช่าง สิบหมู่) และศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนาแห่ง ประเทศไทย เครือข่ายวัดหนองหูช้างจังหวัด กาญจนบุ รี และสถานี วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง พระพุทธศาสนาแห่งชาติ (วิทยุเพื่อการศึกษา และเผยแผ่ธรรม)
เชิญร่วมสร้างศาลาปฏิบัติธรรม เฉลิมพระเกียรติ
วัดหนองหูช้างได้จัดบวชและปฏิบัติธรรม มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก เทศกาลบุ ญ และมี พุทธศาสนิกชนมาบวชและถือศีลในวันหยุด พักผ่อน มีการอบรมธรรมะขององค์กรหรือ หน่วยงานต่างๆ อยู่เสมอซึ่งเดิมศาลาที่ใช้ ปฏิบัติธรรมมีความเก่าแก่จึงล้มพังลงไป ในปี พ.ศ. 2551 จึงทูลขอพระกรุณาจากพระเจ้า วรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชา ทินดั ดามาตุ ทรงวางศิลาฤกษ์ศาลาปฏิบตั ธิ รรม เฉลิมพระเกียรติหลังใหม่ขึ้นในปี พ.ศ.2554 และได้เสด็จฯ เททองหล่อพระประธานประจ�ำ ศาลาปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ซึ่งคาดว่าศาลานี้จะ ส�ำเร็จใช้งานได้ ในปี พ.ศ.2559 นี้ วั ด หนองหู ช ้ า ง จึ ง ขอเชิ ญ ชวนพุ ท ธ ศาสนิกชนร่วมท�ำบุญบริจาคทรัพย์เพื่อสร้าง ศาลาปฏิ บั ติ ธ รรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ไ ด้ ต าม จิตศรัทธา KANCHANABURI 251
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายชาญวินายอำ ทย์�เภอเลาขวั ศุภกิญจจานุสรณ์ “โบสถ์เก่ามิ่งขวัญ อีสานภาคกลาง ชุมทางเกษตรกรรม ผ้าทองามล้ำ� แหล่งน้ำ�ห้วยเทียน หลวงพ่อเยี่ยมรวมใจ งามวิไลเบญจรงค์ มั่นคงด้วยน้ำ�ใจ” คือคำ�ขวัญอำ�เภอเลาขวัญ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดกาญจนบุรี โดยห่างจากตัวจังหวัดเป็น ระยะทาง 90 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายชาญวิทย์ ศุภกิจจานุสรณ์ ดำ�รงตำ�แหน่ง นายอำ�เภอเลาขวัญ
252
ข้อมูลทั่วไปอำ�เภอเลาขวัญ
อำ � เภอเลาขวั ญ มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 850 ตารางกิ โ ลเมตร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ลาดชายเขา และที่ราบลุ่ม ทางทิศตะวัน ตกเฉียงใต้เป็นที่ราบสูงและภูเขา อำ�เภอเลาขวัญแบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 7 ตำ�บล 90 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 ต.เลาขวัญ (16 หมูบ่ า้ น) หมูท่ ี่ 2 ต.หนองโสน (11 หมูบ่ า้ น) หมูท่ ี่ 3 ต.หนองประดู่ (12 หมูบ่ า้ น) หมูท่ ี่ 4 ต.หนองปลิง (18 หมูบ่ า้ น) หมูท่ ี่ 5 ต.หนองนกแก้ว (10 หมู่บ้าน) หมู่ที่ 6 ต.ทุ่งกระบ่ำ� (14 หมู่บา้ น) และหมู่ที่ 7 ต.หนองฝ้าย (9 หมู่บ้าน) ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม ได้แก่ ทำ�ไร่ออ้ ย ทำ�ไร่มนั สำ�ปะหลัง ส่วนอาชีพรองคือ ปลูกหน่อไม้ฝรัง่ ปลูกพืชผักสวนครัว เลี้ยงวัวเนื้อ เลี้ยงวัวขุน เลี้ยงสัตว์อื่นๆ
วิสัยทัศน์ (Vision) อำ�เภอเลาขวัญ
เลาขวัญเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร และปศุสตั ว์ ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการพัฒนาที่ยั่งยืน
พันธกิจ (Mission) อำ�เภอเลาขวัญ
ทำ�ให้อ�ำ เภอเลาขวัญเป็นเมืองน่าอยู่ ประชาชนอยูด่ มี คี วามสุข
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตมีราษฎรเชือ้ สายลาวอพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานอยูบ่ า้ นเกาะเก่า และมีวัดหนองสระจิกด่าน ตั้งอยู่ห่างจากหมู่บ้านไป 2 กิโลเมตร สันนิษฐานว่าวัดนีส้ ร้างขึน้ มาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ราษฎรจึงมีความ เลื่อมใสศรัทธา คิดจะบำ�รุงบูรณะวัด เพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวทางใจ จึ ง ได้ บ อกกล่ า วไปยั ง หมู่ บ้ า นอื่ น ๆ ให้ ช่ ว ยเหลื อ บำ � รุ ง บู ร ณะ วัดราษฎรหมู่บ้านอื่นๆ จึงได้เรียกชาวบ้านชุมชนนี้ตามความคิด ใฝ่ฝนั ทีจ่ ะบำ�รุงบูรณะวัดว่า “ชาวลาวฝัน” ต่อมาจึงเรียกได้เพีย้ นเป็น “หมู่บ้านเลาขวัญ” เมื่อมีราษฎรจากอำ�เภอบ่อพลอยมาอยู่เพิ่มมาก ขึน้ จึงได้ขยายตัวเป็นตำ�บลเลาขวัญ ขึน้ อยูก่ บั อำ�เภอพนมทวน จังหวัด กาญจนบุรี และต่อมาได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำ�เภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2519
นายอำ�เภอชวนเทีย่ วงาน “วันโคบาล อ.เลาขวัญ”
เนือ่ งด้วยอำ�เภอเลาขวัญเป็นอำ�เภอทีม่ กี ารเลีย้ งโคเป็นอันดับ ต้นๆ ของประเทศ จึงมีการจัดงานประเพณี “วันโคบาลอำ�เภอ เลาขวัญ” เป็นประจำ�ในช่วงเดือนมกราคมของทุกปี เพือ่ เป็นการ รักษาเอกลักษณ์และสืบทอดประเพณีอันดีงาม รวมทั้งเป็นการ ส่งเสริมการท่องเที่ยวและการประกอบอาชีพของประชาชน ในพื้นที่ และถือว่าเป็นงานที่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ในอันที่จะสร้างความอยู่ดีกินดีของประชาชน มุ่งหวังที่จะทำ�ให้ เศรษฐกิจในครัวเรือนดียิ่งขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ อันเป็นการส่งเสริมกิจการภาคการเกษตร KANCHANABURI 253
การบริหารและปกครอง
เจ้าอาวาสวัดหนองนกแก้ว เท่าที่ปรากฏนาม มีดังนี้ รูปที่หนึ่ง หลวงพ่อผาด พยตฺโต พ.ศ.2506 -2520 รูปที่สอง พระอธิการจะ พ.ศ.2521-2522 รูปที่สาม พระอธิการหลิ่น จนฺทสโร พ.ศ.2523-2531 รูปที่สี่ พระอธิการสำ�เนียงสคนฺโธ พ.ศ.2531-2542 รูปที่ห้า พระอธิการลำ�ไย สมาจาโร พ.ศ.2542-2546 รูปที่หก พระอธิการบุญธรรม พ.ศ.2547-2549 รูปที่เจ็ด พระอธิการจุติเขมิโย พ.ศ.2550-2552 ปัจจุบัน พระอธิการปัญญา จนฺทวํโล่ เป็นเจ้าอาวาสผู้ดำ�เนิน การก่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ พร้อมโรงครัว และห้องน้�ำ
วัตถุมงคลดังของวัดหนองนกแก้ว
เหรียญหลวงพ่อทองดีวดั หนองนกแก้ว รุน่ สร้างอุโบสถ ปี 2537 เป็นที่กล่าวขานกันว่า หลวงพ่อทองดีเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อ ดังรูปหนึ่งแห่งภาคตะวันตก ท่านเป็นพระที่มีอาคมขลังปลุกเสก วัตถุมงคลที่มีพุทธคุณเน้นหนักไปทางแคล้วคลาด และคงกระพัน ปัจจุบันเหรียญหลวงพ่อทองดียังเป็นที่นิยมในหมู่นักเลงพระ
KANCHANABURI 255
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองนกแก้ว วัดหนองนกแก้วตั้งอยู่ที่บ้านหนองนกแก้ว เลขที่ 59/1 หมู่ที่ 1 ตำ�บลหนองนกแก้ว อำ�เภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 35 ไร่ 1 งาน 22 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือและทิศใต้จดทุ่งนา ทิศตะวันออก จดถนน สายตลาดใหม่ – เลาขวัญ ทิศตะวันตก จรดทุ่งนา
ประวัติวัดหนองนกแก้ว
วัดหนองนกแก้ว ตั้งเมื่อ พ.ศ.2484 หลวงพ่อทองดีได้เดิน ธุดงค์มาใกล้บอ่ น้�ำ ซึง่ เป็นสระบัว ขณะเดียวกันนัน้ มีชาวบ้านอยู่ เพียง 3-4 หลังคาเรือน ได้นมิ นต์ให้ทา่ นอยูแ่ ละสร้างทีพ่ กั สงฆ์ให้ ต่อมามีชาวบ้านอพยพมามากขึน้ จึงสร้างเป็นสำ�นักสงฆ์ เรียกว่า “วัดสระแก้ว”ครัน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2504 ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “สำ�นักสงฆ์ หนองนกแก้ว” เนื่องจากมีหนองน้ำ�อยู่ใกล้สระบัวแก้ว ซึ่งเป็น หนองน้ำ�ของบ้านหนองนกแก้ว จึงตั้งชื่อตามชื่อของหมู่บ้าน ปีพ.ศ.2505 ได้ขออนุญาตตัง้ วัดและได้ตงั้ ชือ่ วัดว่า วัดหนองนกแก้ว หลังจากนั้น หลวงพ่อทองดีได้ย้ายไปที่อื่น และมีพระสงฆ์รูปอื่น มาอยูแ่ ทนจนถึงปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วัน ที่ 15 มกราคม พ.ศ.2513 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร 254
เสนาสนะสำ�คัญภายในวัด
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 7.50 เมตร ยาว 20 เมตรสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 10 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2549 กุฏิสงฆ์ จำ�นวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลัง และตึก 1 หลังศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 10 เมตร ยาว 14เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ.2530 ปูชนีย์วัตถุสำ�คัญได้แก่ พระประธานประจำ�อุโบสถ
การบริหารและปกครอง
เจ้าอาวาสวัดหนองนกแก้ว เท่าที่ปรากฏนาม มีดังนี้ รูปที่หนึ่ง หลวงพ่อผาด พยตฺโต พ.ศ.2506 -2520 รูปที่สอง พระอธิการจะ พ.ศ.2521-2522 รูปที่สาม พระอธิการหลิ่น จนฺทสโร พ.ศ.2523-2531 รูปที่สี่ พระอธิการสำ�เนียงสคนฺโธ พ.ศ.2531-2542 รูปที่ห้า พระอธิการลำ�ไย สมาจาโร พ.ศ.2542-2546 รูปที่หก พระอธิการบุญธรรม พ.ศ.2547-2549 รูปที่เจ็ด พระอธิการจุติเขมิโย พ.ศ.2550-2552 ปัจจุบัน พระอธิการปัญญา จนฺทวํโล่ เป็นเจ้าอาวาสผู้ดำ�เนิน การก่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ พร้อมโรงครัว และห้องน้ำ�
วัตถุมงคลดังของวัดหนองนกแก้ว
เหรียญหลวงพ่อทองดีวดั หนองนกแก้ว รุน่ สร้างอุโบสถ ปี 2537 เป็นที่กล่าวขานกันว่า หลวงพ่อทองดีเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อ ดังรูปหนึ่งแห่งภาคตะวันตก ท่านเป็นพระที่มีอาคมขลังปลุกเสก วัตถุมงคลที่มีพุทธคุณเน้นหนักไปทางแคล้วคลาด และคงกระพัน ปัจจุบันเหรียญหลวงพ่อทองดียังเป็นที่นิยมในหมู่นักเลงพระ
KANCHANABURI 255
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเกาะแก้ววนาราม
วัดเกาะแก้ววนาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำ�บลหนองโสน อำ�เภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี ประวัติวัดเกาะแก้ววนาราม วัดเกาะแก้ววนาราม เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ.2543 โดยการนำ�ของ พระครูวิบูลโพธิธรรม(หลวงปู่น่วม นาถสีโล วัดโพธิ์ศรีเจริญ) ประธาน ฝ่ายสงฆ์ และครอบครัวอารยางกูร (โรงสีไฟบ้านกร่าง,ไร่พิมพ์ใจ) เป็น ประธานฝ่ายฆราวาส พร้อมทั้งชาวบ้านเกาะแก้ว หมู่ 4 ต.หนองโสน อ.เลาขวัญ จ.กาญจนบุรี และผู้มีจิตศรัทธาจากทั่วทุกสารทิศ โดยทำ�การ วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2543 ความเป็นมา เมื่อปี พ.ศ. 2538 ได้มีคนมาบอกขายที่ดินซึ่งเป็นที่ตั้ง วัดเกาะแก้ววนารามในปัจจุบันนี้ กับคุณพ่อห่ง อารยางกูร ซึ่งเป็น บิดาของลูก ๆ ตระกูลอารยางกูร เจ้าของโรงสีไฟบ้านกร่างและไร่ พิมพ์ใจ ท่านได้บอกกับลูก ๆ ให้รวมกันซื้อที่ดินผืนดังกล่าวเอาไว้ หลังจากคุณพ่อห่ง อารยางกูรได้ลว่ งลับไปแล้ว ในปี พ.ศ. 2541 ด้วย ความรำ�ลึกถึงคุณพ่อห่งและคุณแม่สงวน อารยางกูร บรรดาลูกและหลาน ได้มีความเห็นชอบร่วมกันที่จะสร้างวัดขึ้น ณ บริเวณที่ดินดังกล่าว เพื่ออุทิศให้กับท่านทั้งสอง โดยได้ขอคำ�ปรึกษารวมถึงนิมนต์พระครูวิบูล โพธิธรรม (หลวงปู่น่วม นาถสีโล) เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และได้ก�ำ หนด ให้วัดมีชื่อว่าเกาะแก้ววนาราม มีลูกแก้วพร้อมแท่นและเสมาหินทราย ตั้งบนเกาะกลางน้ำ� เป็นสัญลักษณ์ ตามนิมิตที่หลวงพ่อหินกองได้ให้ไว้ สาเหตุที่ให้มีการตั้งชื่อว่า “วัดเกาะแก้ววนาราม” นั้น ก็เพราะที่ดิน
256
ในส่วนดังกล่าวเป็นเคยทีร่ กร้าง และไม่สามารถทำ�มาหากินได้เหมือน ที่ดินอื่น ๆ ทั่วไป เพราะเมื่อได้ประกอบการไม่ว่าจะเป็นพืชไร่อันใด ก็ ต ามแล้ ว ก็ มั ก จะมี เ หตุ อั น เป็ น ไปให้ เ สี ย หายจนไม่ ส ามารถ เก็บเกีย่ วผลผลิตได้ตามใจทีป่ รารถนาไว้ หลายครัง้ หลายคราจนเป็นที่ น่าอัศจรรย์ และยังมีเหตุอันน่าอัศจรรย์ใจที่สำ�คัญอีกอย่างหนึ่งนั้น ก็คือ เมื่อถึงคราวหน้าน้ำ�หลากของทุก ๆ ปี พื้นที่บริเวณตรงส่วนนี้ ก็ จ ะขั ง นองเต็ ม ไปด้ ว ยน้ำ � ป่ า ที่ ไ หลทะลั ก ลงมาจากพื้ น ที่ สู ง ทาง ทิ ศ ตะวั น ตก แต่ ใ นส่ ว นของพื้ น ที่ ที่ มี ก ารสร้ า งวั ดในปั จ จุ บั น นั้ น ไม่ปรากฏว่ามีน้ำ�ท่วมขังแต่อย่างใด และไม่ว่าฝนจะตกหนักขนาด ไหนก็ตาม น้ำ�ที่ตกลงในพื้นที่ตรงส่วนที่เป็นวัดนี้ จะไหลรวมเป็น รางน้�ำ แล้วหายลงสูห่ ลุมซึง่ มีลกั ษณะเป็นปล่องลึก และไม่ปรากฏน้�ำ ที่ว่านั้นไหลลงและรวมอยู่ ณ ที่ใด ด้วยเหตุนี้พื้นที่จึงมีลักษณะเป็น เกาะที่ลอยเด่นอยู่กลางน้ำ�อย่างเห็นได้ชัด จึงเป็นที่มาของคำ�ว่า “เกาะแก้ว” และด้วยเหตุว่าพื้นที่ตรงนี้เคยรกร้างว่างเปล่าจากการ ทำ�กิน จึงมีลกั ษณะเป็นป่ารกในครัง้ ก่อนจึงได้น�ำ เอาความหมายนีม้ า เติมต่อท้ายเป็นคำ�สนธิวา่ “วนาราม” (วะนะ แปลว่า ป่า) + (อาราม แปลว่า วัดหรือที่อยู่ของนักบวช) ทั้งหมดนี้จึงกลายเป็นที่มาของ คำ�ว่า “วัดเกาะแก้ววนาราม” ประวัติของหลวงพ่อหินกอง (พระศักดิ์สิทธิ์คู่วัด) ครั้ ง หนึ่ งในขณะที่ ท่ า นกำ � ลั ง แผ่ ญ าณผ่ า นการประทั บ ทรง หลวงพ่อท่านจึงได้บอกกล่าวแก่บรรดาศิษย์วา่ แท้ทจี่ ริงแล้วจิตญาณ ของท่านมิได้เป็นเทพหรือเป็นเทวดา เหมือนที่หลาย ๆ คนเข้าใจ หากแต่เดิมนั้นท่านเคยมีชีวิตอยู่จริงในสมัยอยุธยา และก็เคยใช้ชีวิต
ครอบครัวมีภรรยาและมีบุตรเหมือนคนทั่ว ๆ ไป แต่ต่อมาใน ภายหลังท่านเกิดความเบื่อหน่ายในเพศฆราวาส ท่านจึงได้ขอลา บรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เพื่อประพฤติพรหมจรรย์ในพระ ธรรมวินยั ส่วนภรรยาของท่านก็ได้ขอบวชชีเนกขัมมะ เป็นผูถ้ อื ศีล พรหมจรรย์ตลอดชีวิตด้วยเหมือนกัน สำ�หรับหลวงพ่อหินกองนั้น ท่านเล่าว่า ตัวท่านเองได้มีโอกาสฝากตัวร่ำ�เรียนสรรพวิทยาคม ต่าง ๆ จากพระฤาษีตาไฟ และท่านก็ได้มสี ว่ นร่วมในการสร้างพระ เครื่องพระบูชาซึ่งต่อมาได้กลายเป็นที่นิยมของผู้คนในยุคปัจจุบัน อาทิ พระนางพญา พระผงสุพรรณ พระท่ากระดาน พระมเหศวร และอื่น ๆ อีกหลายชนิดที่สร้างกันในยุคนั้นด้วย เมื่อได้รู้เรื่องราว ดังนี้แล้ว บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายจึงต่างพากันขนานนามของท่าน เสียใหม่ว่า..”หลวงพ่อหินกอง” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ปฏิปทาสัมมาปฏิบัติของ “หลวงพ่อหินกอง” ท่านได้เป็นที่ตั้ง แห่งศรัทธาของบรรดาศิษยานุศษิ ย์ทงั้ หลาย ในเรือ่ งของการชีแ้ นะ แนวทางในการดำ�เนินชีวติ ให้อยูใ่ นศีลในธรรมตามหลักคำ�สอนของ พระพุทธศาสนา อีกทั้งยังเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้คนทั้งหลายในเรื่อง ของการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ โดยเฉพาะในส่วนของคำ�สั่งสอนนั้น ผู้ใดก็ตามที่ยดึ เหนี่ยวเอาคำ�สอนของท่านมาปฏิบตั ิ ก็มักจะประสบ ความสำ�เร็จในชีวิตจนเป็นที่เลื่องลือขจรกระจายไปทั่ว สำ�หรับ เครือ่ งบูชาครูในสมัยนัน้ เมือ่ มีผตู้ กทุกข์ได้ยากมาขอความช่วยเหลือ ท่านก็จะตั้งไว้เพียงแค่บุหรี่ใบตอง 5 มวน กับเงินหกสลึง (1 บาท 50 สตางค์) เท่านัน้ ท่านบอกว่าการทีเ่ ราได้ชว่ ยเหลือผูค้ นทีก่ �ำ ลังตกทุกข์ ได้ยาก เพื่อให้เขาอยู่เย็นเป็นสุขนั้น นับว่าเป็นการสร้างบารมี ซึ่งมีค่า มากกว่าเงินทองทั้งโลกมากองรวมกันเสียอีก ด้วยเหตุนี้ท่านจึงเป็นที่รัก และเคารพศรัทธาต่อบุคคลทั่วไป ที่ได้ยินเรื่องราวความเป็นมา และ ปฏิปทาของท่านจากบรรดาผู้คนที่นับถือ และเป็นจำ�นวนไม่น้อยที่ได้ หลั่งไหลพากันมาเพื่อขอฝากตัวเป็นศิษย์ของท่าน สำ�หรับโอวาทธรรมคำ�สั่งสอนขององค์หลวงพ่อหินกองนั้น ศิษย์ผู้ที่ เคยอยู่ใกล้ชิดท่านได้เล่าให้แก่ผู้เขียนฟังว่า ..“ปกติท่านมักจะสอนให้ ลูกศิษย์ทกุ ๆ คนได้ตงั้ ตนอยูใ่ นศีลในธรรม มิให้ประกอบการอันเป็นทุจริต เบียดเบียนผู้อื่น แม้ว่าจะเป็นเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็ไม่ควรทำ� เพราะ เป็นการสร้างบาปกรรม ก่อให้เกิดการอาฆาตพยาบาท และการจองเวร กันไม่รู้จักจบสิ้น” โดยเฉพาะในส่วนของการดำ�รงชีพอยูใ่ นสังคมนัน้ ท่านก็จะเน้นหนัก และสอนย้ำ�เตือนลูก ๆ เอาไว้ว่า “ ลูก ๆ ทุกคนจะต้องรูจ้ กั กิน รูจ้ กั ใช้ รูจ้ กั มัธยัสถ์อดออม และใช้สอย อย่างประหยัด เพราะว่าการดำ�รงชีวิตต่อไปในวันข้างหน้า โลกใบนี้มัน จะอยู่ยากขึ้นไปทุกทีทุกขณะ จิตใจของผู้คนในทุก ๆ สังคมก็จะเปี่ยมล้น ไปด้วยความโลภ ความเห็นแก่ตัว เอารัดเอาเปรียบ ระคนไปด้วยความ โหดร้าย เข่นฆ่าราวีซึ่งกันและกัน คนที่มีศีลมีธรรมประจำ�ใจของตน เท่านั้น จึงจะอยู่รอดปลอดภัย มีสติมีปัญญาประคับประคองตนเองและ ผู้ที่อยู่รอบข้าง ให้ฟันฝ่าอุปสรรคและความทุกข์ยากเหล่านี้ไปได้ ลูก ๆ
ไม่จ�ำ เป็นต้องไปคดโกงตามใครต่อใครเขา เพราะไม่วา่ จะอย่างไร สิง่ ทีล่ กู บริโภคเข้าไปนั้น ในไม่ช้าก็จะต้องกลายเป็นของปฏิกูลอยู่ดี และสำ�หรับ ผู้ อื่ นไม่ ว่ า เขาจะเป็ นใครก็ ต ามที่ ป ระพฤติ ต นเป็ น คนชั่ ว ช้ า สามานย์ ขาดศีลธรรมเป็นครรลองของชีวิต ลูกก็ไม่ต้องไปสนใจหรืออิจฉาอะไร เขาเหล่านั้น ในทางตรงกันข้าม พวกเหล่านั้นกลับกลายเป็นบุคคลที่น่า สมเพชเวทนายิ่งนัก เพราะในอีกไม่ช้า กรรมอันเกิดจากการกระทำ� ความชั่วของเขาเอง ก็จะนำ�พาให้ตัวเขาตกต่ำ� และหอบหิ้วเขาลงสู่ อบายภูมิต่อไป จงจำ�เอาไว้นะลูกนะ ! พ่อจะไม่กล่าวว่าใครดีหรือใครชั่ว แต่พ่อจะบอกให้ลูก ๆ ทุกคนจงเลือกทางเดินในบั้นปลายชีวิตของตนเอง ว่าจะไปมืดหรือไปสว่าง โดยที่ลูกสามารถจะเลือกได้จากการกระทำ�ใน วันนี้ วันที่ลูกยังมีชีวิตอยู่!” ..สำ�หรับโอวาทธรรมเหล่านี้ นับได้ว่าเป็นการให้โอวาทแก่บรรดา ศิษยานุศิษย์ของท่านเป็นครั้งสุดท้าย เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2541 หลัง จากนั้นไม่ปรากฏว่าองค์หลวงพ่อหินกอง ท่านได้มีการแผ่ญาณประทับ ทรงอีกเลย จากข้อมูลที่มีการจดจำ�และนำ�มาเรียบเรียงในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ ก็จะเห็นได้วา่ ทุก ๆ ถ้อยคำ�ของอริยะธรรมทีส่ อนสัง่ นัน้ ล้วนแล้วแต่เป็น หลั ก ธรรมคำ � สอนที่ ส อดคล้ อ งกั น กั บ องค์ ส มเด็ จ พระชิ น วรสั ม มาสั ม พุทธเจ้า มิได้ผิดเพี้ยนแต่ประการใด นับว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอันน่าจดจำ� และทำ�การบันทึกไว้เป็นคติเตือนใจแก่อนุชนรุ่นหลังสืบไปตราบนาน เท่านาน..!!!! KANCHANABURI 257
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
ร้อยโท นายอำ ทศพล ไชยโกมิ น ทร์ �เภอห้วยกระเจา “แหล่งหนองนาทะเล เสน่ห์ไทยทรงดำ� หัตถกรรมทอผ้า พระปรางค์ล�้ำ ค่าเขารักษ์ เลื่องลือนักวัวลาน ถิ่นฐานรำ�แคน ดินแดนรำ�เหย่ย งามเอยประเพณีแห่เทียน” คือคำ�ขวัญของอำ�เภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี ซึง่ ตัง้ อยูห่ า่ งจากจังหวัดกาญจนบุรไี ปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 55 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 165 กิโลเมตร ปัจจุบันมี ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ เป็นนายอำ�เภอห้วยกระเจา
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอห้วยกระเจา มีเนื้อที่ประมาณ 622 ตร.กม. หรือประมาณ 388,700 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็น ที่ราบเชิงเขา พื้นที่บางส่วนเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะสำ�หรับทำ�การเกษตร พืชเศรษฐกิจที่สำ�คัญ ได้แก่ ข้าว มันสำ�ปะหลัง และอ้อย นอกจากนี้ ยังมีการทำ�ฟาร์มเลี้ยงไก่เป็นจำ�นวนมากอีกด้วย ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 ตำ�บล 73 หมู่บา้ น มีเทศบาลตำ�บล 2 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำ�บล 2 แห่ง มีประชากรทั้งสิ้น 34,101 คน จำ�นวนบ้าน 10,754 หลังคาเรือน รายได้ประชากรเฉลี่ย 72,569 บาท/คน/ปี 258
งานประเพณีสำ�คัญ
1. งานสืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยทรงดำ� 2. งานสืบสานวัฒนธรรมประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
วัดสระลงเรือ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำ�บลสระลงเรือ สันนิษฐานว่า วัดดังกล่าวน่าจะสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง มีโบราณสถาน และโบราณวัตถุที่สำ�คัญ ได้แก่ พระเจดีย์ และพระพุทธรูปปูนปั้น ปางมารวิชยั นอกจากนีย้ งั มีเรือสุพรรณหงส์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก และ มีการก่อสร้างหลวงพ่อโตองค์ใหญ่อีกด้วย วัดเขารักษ์ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 ตำ�บลดอนแสลบ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นยอดเขา ภายในวัดมีโบราณสถานทีส่ �ำ คัญคือพระปรางค์เขารักษ์ เป็นโบราณ สถานแบบขอม รูปทรงคล้ายฝักข้าวโพด สูง 20 เมตร โครงการจัดสร้างพระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถคัน ธารราฐอนุสรณ์ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ภายในโครงการมีการ ก่อสร้างพระพุทธรูป ชื่อพระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถคัน ธารราฐอนุสรณ์ เป็นพระพุทธรูปปางคันธารราฐ หรือปางขอฝน สร้างด้วยโลหะสำ�ริด ความสูง 32 เมตร ยืนอยู่บนฐานสูง 8 เมตร ตั้งอยู่ที่ลานประทักษิณเสมือนเขตพุทธาวาส บริเวณโดยรอบ ประกอบด้วย อาคารนิทรรศการซึ่งเป็นศูนย์เรียนรู้ข้อมูลเกี่ยวกับ การก่อสร้างพระพุทธเมตตา รวมทั้งจัดแสดงประวัติความเป็นมา ของพระพุทธศาสนา อาคารประกอบต่างๆ และการปรับปรุงภูมิ ทัศน์โดยรอบให้เปรียบเสมือนพุทธอุทยาน ทีม่ ลี านปฏิบตั ธิ รรม รวม ถึงจัดสร้างสาธารณูปโภคพืน้ ฐานทีจ่ �ำ เป็น บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 340 ไร่ โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระมหากรุณา รับโครงการดังกล่าวไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่ 12 พฤษภาคม 2554
ทิศทางในการพัฒนาอำ�เภอห้วยกระเจาในอนาคต
อำ � เภอห้ ว ยกระเจากำ � หนดทิ ศ ทางในการพั ฒ นาอำ � เภอ โดยเน้นไปทีก่ ารส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงศาสนาและวัฒนธรรม เพื่อให้นักท่องเที่ยวได้รู้จักอำ�เภอห้วยกระเจา ในฐานะอำ�เภอที่มี แหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและวัฒนธรรมที่สำ�คัญของประเทศ โดยยึด “หลัก 3 เตรียม 3 ร่วม” ซึ่ง “หลัก 3 เตรียม” ได้แก่ เตรียมคน คือ เตรียมความพร้อมของบุคลากรในพื้นที่เพื่อ เข้าไปมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว เตรียมตัว คือ การปลูกจิตสำ�นึกให้นักเรียน นักศึกษาและ ราษฎรในพื้นที่รู้สึกว่าตัวเองเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่นั้น เตรียมต้อนรับ คือ การต้อนรับนักท่องเทีย่ วเข้ามาในพืน้ ทีซ่ งึ่ เราต้องพร้อมที่จะอำ�นวยความสะดวกและต้อนรับนักท่องเที่ยว เช่น ด้านความปลอดภัย ด้านการคมนาคม และแหล่งสถานทีพ่ กั ร้านอาหาร ร้านของฝากและของที่ระลึก เป็นต้น อย่างไรก็ตาม “หลัก 3 เตรียม” นี้ จะสำ�เร็จได้ ต้องเสริมด้วย “หลัก 3 ร่วม” คือ ร่วมใจ ร่วมคิด และ ร่วมมือ KANCHANABURI 259
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ห้วยกระเจา)
นายสิริพงศ์ สืบเนียม นายกเทศมนตรีต�ำ บลห้วยกระเจา
เทศบาลตำ�บลห้วยกระเจา
“ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดเกษตรกรรม เลิศล้ำ�ภูมิปัญญาท้องถิ่น” คือวิสัยทัศน์การบริหารของเทศบาลตำ�บลห้วยกระเจา ซึ่งมี สำ�นักงานตั้งอยู่ที่ 156 หมู่ที่ 6 ต.ห้วยกระเจา อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี ปัจจุบันมี นายสิริพงศ์ สืบเนียม ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำ บลห้วยกระเจา
คณะผู้บริหาร
1. นายสิริพงศ์ สืบเนียม ตำ�แหน่ง นายกเทศมนตรีตำ�บลห้วย กระเจา 2. นายวิโรจน์ สืบดา ตำ�แหน่ง รองนายกเทศมนตรีตำ�บลห้วย กระเจา 3. นายอภิชาติ สืบศักดิ์ ตำ�แหน่ง รองนายกเทศมนตรีต�ำ บลห้วย กระเจา 4. นายธนากร มังกร ตำ�แหน่ง เลขานุการนายกเทศมนตรี 5. นายฉลอม บุตรพุ่ม ตำ�แหน่ง ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลห้วยกระเจา ตั้งอยู่ห่างจากอำ�เภอห้วยกระเจา ไปทางทิศใต้ประมาณ 500 เมตร อยูห่ า่ งจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 60 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 230 ตร.กม. หรือ ประมาณ 143,750 ไร่ มีจำ�นวนหมู่บ้านทั้งหมด 21 หมู่บ้าน มีประชากร ชาย 4,395 คน หญิง 4,498 คน รวมทั้งสิ้น 8,893 คน จำ�นวน 3,043 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2557) ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
260
นโยบายการบริหาร เทศบาลห้วยกระเจา 1. การพัฒนาด้านการเมือง การบริหาร จะส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริยท์ รงเป็นพระประมุขของประเทศเน้นความมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาเทศบาลฯ และมีส่วนร่วมทางการเมือง บริหารงานโดยยึดหลักธรรมา ภิบาล ซื่อสัตย์ ยุติธรรม มีจริยธรรม มีคุณธรรม มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ให้ความสำ�คัญกับการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ การประชุมชี้แจง เน้นการจัดตั้งชุมชนและ สภาองค์กรชุมชน 2. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ให้ความสำ�คัญกับการพัฒนาด้านสาธารณูปโภค โดยดำ�เนินการ ก่อสร้างและปรับปรุงถนน วางท่อระบายน้�ำ ในเขตชุมชน หมูบ่ า้ น ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ แสงสว่างในทุกชุมชนของหมู่บ้านให้ ทั่วถึง สนับสนุนโครงการน้ำ�ประปาใสสะอาด ทำ�การปรับปรุง ระบบผลิตน้ำ�ประปา และขยายท่อน้ำ�ประปาให้ทั่วถึง พัฒนา แหล่ ง น้ำ � เพื่ อ การเกษตร ปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ เ ทศบาลตำ � บล ห้วยกระเจา ให้เป็นเมืองน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยว 3. การพัฒนาด้านสังคม และความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน จะส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมของอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน จะเพิ่มความสามารถในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย พัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนเครื่องมือ เครื่องใช้ในการรักษาความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน และสนับสนุนกิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกันและปราบ
ปรามยาเสพติด 4. การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และ ประเพณี จะสนับสนุนส่งเสริมการศึกษา ให้ความสำ�คัญกับวันสำ�คัญทาง ศาสนา รักษาศิลปวัฒนธรรมอันดี สืบสานงานประเพณีให้คงอยู่ คู่สังคมไทยตลอดไป 5. การพัฒนาด้านสาธารณสุขและคุณภาพชีวิต จะส่งเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนในเขตเทศบาลฯ ให้แข็ง แรง ดูแลเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส จะได้รับ สวัสดิการที่ดีขึ้น มากขึ้นกว่าเดิม และจะสนับสนุนกิจกรรมของ อสม. 6. การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ และจัดระบบกำ�จัดขยะ บำ�บัดน้ำ�เสีย ตลอดจนปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามเป็นเมืองน่าอยู่ 7. การพัฒนาด้านกีฬา จะสนับสนุนการแข่งกีฬาภายในเทศบาลฯ เพื่อสร้างความสามัคคี ให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติด สนับสนุนการสร้างลานกีฬาภายใน ชุมชน 8. การพัฒนาด้านการประกอบอาชีพ และส่งเสริมการมี รายได้ จะส่ งเสริ ม สนั บ สนุน การประกอบอาชีพ การเกษตร ปศุ สั ต ว์ สนับสนุนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรและปศุสัตว์ สนับ สนุนการรวมกลุ่มอาชีพต่างๆ 9. การพัฒนาด้านบุคลากร จะส่งเสริมและสนับสนุน การศึกษาดูงาน/การอบรม แก่ผู้บริหาร คณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาเทศบาล พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ� และพนักงานจ้าง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการปฏิบัติ งาน KANCHANABURI 261
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ห้วยกระเจา)
นายธษิฒ ประกอบธรรม นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแสลบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ดอนแสลบ
“มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพร้อม ก้าวหน้า การศึกษาศาสนาก้าวล้� ำ น้อมนำ� เศรษฐกิจพอเพียง”
ทำ�ไร่ เลี้ยงสัตว์ มีผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ได้แก่ ผ้าทอบ้าน หนองปลิง มีดเหน็บบ้านดอนแสลบ
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแสลบ ซึ่งมี สำ�นักงานตั้งอยู่ที่ 333 หมู่ที่ 1 ตำ�บลดอนแสลบ อำ�เภอห้วย กระเจา จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ทางทิศเหนือห่างจากจังหวัด กาญจนบุรปี ระมาณ 50 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายธษิฒ ประกอบ ธรรม เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล ที่มาจากการเลือกตั้ง โดยประชาชนตั้งแต่ปี 2556-ปัจจุบัน
- พระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถคันธารราฐอนุสรณ์ วัดทิพย์สุคนธาราม องค์พระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถคันธารราฐอนุสรณ์ ซึง่ เป็นพระพุทธรูปคันธารราฐหรือปางขอฝน ทีห่ ล่อด้วยโลหะสำ�ริด สูงถึง ๓๒ เมตร ประดิษฐาน ณ ลานประทักษิณ วัดทิพย์สุคน ธาราม ต.ดอนแสลบ อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระมหากรุณารับ โครงการจัดสร้างองค์พระพุทธเมตตาประชาไทย ฯ ไว้ในพระบรม ราชินูปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้นไป ทั้งนี้เพื่อเป็นการรำ�ลึกถึงสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ซึ่งเป็นผู้ริเริ่ม แนวคิดที่จะสร้างพระพุทธรูปองค์นี้ รวมทั้งจะได้มีศาสนสถานที่ สำ�คัญเป็นศูนย์รวมจิตใจความเคารพสักการะของพุทธศาสนิกชน ชาวไทย เกิดแหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรมแห่งใหม่ อันเป็นการส่ง เสริมการท่องเที่ยวของไทยสืบไป - พระพุทธนิมิตคีรีรักษ์ประทานพร (พระใหญ่ล้านดวงใจ) วัดเขารักษ์ “พระพุทธนิมิตคีรีรักษ์ประทานพร” เป็นองค์พระใหม่ปาง ประทานพร องค์เดียวของจังหวัดกาญจนบุรีที่ประดิษฐานอยู่บน ยอดเขา ที่มีหน้าตักกว้าง 10 เมตร สูง 15 เมตร เนื่องจากเป็น พระองค์ใหญ่ทสี่ ร้างจากพลังแห่งศรัทธา จากหลากหลายผูค้ น และ หลากหลายสถานที่ จึงมีชื่อเรียกกันอีกว่า “พระใหญ่ล้านดวงใจ” สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล ในวโรกาสอันเป็นมหามงคลพระชนมายุครบ 80 พรรษา และเป็น พุทธานุสติระลึกถึงพระคุณอันประเสริฐของพระพุทธเจ้า และเป็น ทัสสนานุตริยะ
ประวัติความเป็นมา
“ชุมชนดอนแสลบ” ดั้งเดิมคือ “คนบ้านกรับ” ซึ่งย้ายมาอยู่ ดอนแสลบ เพราะพื้นที่บ้านกรับอยู่กันหนาแน่นจึงขยายมาอยู่ บ้านดอนแสลบ และเหตุทเี่ รียกว่า “ดอนแสลบ” เพราะทีต่ งั้ ของ พื้นที่นั้นมีต้นไม้ชนิดหนึ่งเรียกว่า “ต้นแสลบ” จึงเรียกว่า “บ้าน ดอนแสลบ” ตำ�บลดอนแสลบ เดิมขึ้นอยู่กับอำ�เภอพนมทวนได้ แยกมาขึ้นอยู่กับกิ่งอำ�เภอห้วยกระเจา เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2537 และยกฐานะเป็นอำ�เภอห้วยกระเจา เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2540
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแสลบ จัดตั้งขึ้นตามพระราช บัญญัติสภาตำ�บลและองค์การบริหารส่วนตำ�บล พ.ศ.2537 ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ทั้งหมด 141 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 88,125 ไร่ มีจ�ำ นวนหมู่บ้านในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 24 หมู่บ้าน มีประชากร รวม 12,261 คน แยกเป็นชาย 6,011 คน และเป็นหญิง 6,250 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรโดยการทำ�นา 262
สถานที่สำ�คัญและแหล่งท่องเที่ยว
การดำ�เนินงานตามยุทธศาสตร์และแนวทาง การพัฒนา 3 ปี
1. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ ก่อสร้าง ซ่อมแซม ปรับปรุงถนนภายในหมู่บ้าน ก่อสร้างวางท่อ ทางระบายน้ำ� ติดตั้ง ไฟฟ้าสาธารณะภายในหมู่บ้าน และขยายเขตไฟฟ้าแรงต่�ำ ฯลฯ 2. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ อาทิ ส่งเสริมการสร้างงาน สร้าง อาชีพ สร้างรายได้และการประกอบอาชีพให้กบั ประชาชน สนับสนุน และจัดหาเงินทุนให้กลุ่มองค์กรเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมครัว เรือน และสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยว 3. การพัฒนาด้านสังคม อาทิ การสนับสนุนสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก คนชราและผู้ด้อยโอกาสในสังคม สนับสนุนการป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ การสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4. การพัฒนาด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อาทิ การส่ง เสริ ม สนั บ สนุ น ด้ า นสาธารณสุ ข ชุ ม ชน การอนามั ย ครอบครั ว ส่งเสริมการสร้างสุขภาพ การกีฬา และการออกกำ�ลังกาย และ ส่งเสริมสนับสนุนการดูแลรักษาและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อาทิ การ บริหารจัดการ การศึกษาในอำ�นาจหน้าทีใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพ ส่งเสริม
การศาสนา และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมอนุรกั ษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. การพัฒนาด้านการเมืองการปกครองและบริหารจัดการ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศขององค์การบริหารส่วนตำ�บล และ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการ
กิจกรรมที่สำ�คัญขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ดอนแสลบในปี 2557
-กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติประจำ�ปี 2557 -กิจกรรมโครงการเสริมสร้างการเรียนรูม้ งุ่ สูค่ วามเป็นเลิศทาง ปัญญา -กิจกรรมโครงการสืบสานประเพณีวนั สงกรานต์ วันผูส้ งู อายุ -กิจกรรมโครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยติด เตียง -กิจกรรมปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 82 พรรษา พระแม่ฟา้ ของ แผ่นดิน -กิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา -กิจกรรมรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
KANCHANABURI 263
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายสมศันายอำก�ดิเภอบ่์ โพธ์ ศ รี ท อง อพลอย แหล่งแร่พลอยไพลิน หลวงพ่อนิลเลื่องลือไกล ปล่องภูเขาไฟปรากฏ สับปะรดหวานฉ่ำ� งามล้ำ�ถ้ำ�ผาวังจันทร์ อำ�เภอบ่อพลอย มีที่ว่าการอำ�เภอตั้งอยู่เลขที่ 54/1 ถนนสายใน ตำ�บลบ่อพลอย อำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีพื้นที่ 967.2 ตร.กม. ปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 ตำ�บล 80 หมู่บ้าน โดยมี นายสมศักดิ์ โพธ์ศรีทอง เป็น นายอำ�เภอบ่อพลอย
ประวัติความเป็นมา
มีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่าในสมัยโบราณ มีหมู่บ้านซึ่งมีนิลและหินสีต่างๆ อยู่เป็นจำ�นวนมาก ตามลำ�น้ำ�และเนินเขา เมื่อมีคนมาพบเห็นจึงได้น�ำ หินสีติดตัวมา และเข้าใจว่าหินสีนั้นไม่มีค่า ต่อมาความทราบถึงกรมการเมืองกาญจนบุรี และ ทราบว่าหินสีนนั้ เป็นพลอย จึงได้แต่งตัง้ ชาวกระเหรีย่ งคนหนึง่ เป็นหัวหน้าปกครองชาวกระเหรีย่ งด้วยกัน ทำ�หน้าทีร่ วบรวม พลอยส่งไปเมืองกาญจนบุรีปีละครั้ง และเจ้าเมืองกาญจนบุรีได้ส่งพลอยนนั้นไปยังกรุงเทพฯ เรียกว่า “ส่งส่วยพลอย” ในหมู่ บ้ า นดั ง กล่ า วมี บึ ง สำ � หรั บ ล้ า งพลอย เรี ย กว่ า “บึ ง หั ว แหวน” จากกิ ต ติ ศั พ ท์ เรื่ อ งหมู่ บ้ า นมี พ ลอยสี ต่ า งๆ เป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้ราษฎรในที่ต่างๆ อพยพเข้ามาเพื่อแสวงโชคขุดพลอย และตั้งเป็นหมู่บ้านชื่อว่า “บ้านบ่อพลอย” ขึน้ กับอำ�เภอพนมพวน เมือ่ ชุมชนหนาแน่นมากขึน้ ได้ประกาศยกฐานะเป็นกิง่ อำ�เภอบ่อพลอย ขึน้ กับอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี ต่อมาเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2506 จึงมีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น อำ�เภอบ่อพลอย 266
สถานที่น่าสนใจในเขตอำ�เภอบ่อพลอย
บ่อพลอย อยู่ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรีประมาณ 48 กม. ระหว่างทางผ่านเข้าสู่เขตอำ�เภอบ่อพลอย จะเห็นเหมืองพลอยอยู่ ทั่วไป และในตัวอำ�เภอบ่อพลอยก็มีร้านขายพลอยอยู่หลายร้าน พลอยที่ได้จากเหมือง ได้แก่ พลอยไพลิน นิล และบุษราคัม กลุ่มผ้าทอมัดหมี่กี่กระตุก ตำ�บลหนองกร่าง สินค้าโอท็อประ ดับ 3 และ 4 ดาว โดยเริ่มมีการทอผ้ามัดหมี่มาตั้งแต่ พ.ศ. 2534 ปัจจุบันมีแหล่งผลิตอยู่ 7 ครัวเรือน ลวดลายที่นิยมทอ ได้แก่ ลายต้นสน ลายข้าวหลามตัด ลายปลา ลายนก โดยทอเป็นผ้าพื้น ทอผ้ามัดหมี่ และการทอผ้าขาวม้า สนนราคาตัง้ แต่ 150 บาทขึน้ ไป ปัจจุบนั มีศนู ย์ศกึ ษาเรียนรูด้ า้ นการทอผ้ามัดหมีด่ ว้ ย สนใจติดต่อได้ที่ นางสาวชะลอ แผนสมบูรณ์ ที่อยู่ 261 หมู่ที่ 6 ตำ�บลหนองกร่าง โทรศัพท์ 087-056-3288 ไร่คุณมน ตั้งอยู่บนพื้นที่ 150 ไร่ ของตำ�บลหนองกุ่ม ห่างจาก ตัวเมืองกาญจนบุรี ประมาณ 35 กิโลเมตร ไปตามถนนสาย กาญจนบุร-ี บ่อพลอย (ทางหลวงหมายเลข 3086) ก่อนถึงซาฟารีปาร์ค 1 กิโลเมตร (ตรงข้ามวัดหนองกระทุม่ ) เป็นสวนเกษตรแบบผสมผสาน สวนผักปลอดสารพิษ และโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์นานาชนิด อาทิ น้ำ�นมข้าวโพด ไอศกรีมน้ำ�นมข้าวโพด ฯลฯ และทางไร่ยังจัดเป็น ฐานการเรียนรู้ฟาร์มสเตย์ มีการนำ�ชมไร่ข้าวโพด ไปเก็บข้าวโพด จากนั้นจะนำ�ข้าวโพดที่ได้มาแปรรูปเป็นน้ำ�นมข้าวโพด ไอศกรีม ข้าวโพด นำ�กากที่ได้มาทำ�ลูกชิ้น นำ�ซังและเปลือกข้าวโพดไปเป็น อาหารวัว ให้ลงมือปฏิบัติเพื่อให้เข้าใจในการประยุกต์ใช้ประโยชน์ จนหมด โดยใช้ ผ ลผลิ ต ที่ ไ ด้ ม าอย่ า งคุ้ ม ค่ า ที่ สุ ด นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ที่สนใจติดต่อขอเข้าชมล่วงหน้าได้ที่คุณมนรัตน์ สารภาพ โทร. 034-531-487, 081-944-7971 เปิดตั้งแต่เวลา 08.00-17.00 น. (ไม่เสียค่าเข้าชม) ร้านนิล (อาหารจากเห็ดโคน) ระดับห้าดาว เมื่อจะเริ่มเข้า ฤดูหนาวที่จังหวัดกาญจนบุรีจะมีฝนตกสลับกับอากาศร้อนอบอ้าว เป็นช่วงจังหวะที่เห็ดโคนจะออกผลผลิต เป็นเห็ดที่มีราคาแพงและ
นิยมบริโภค โดยนำ�มาทำ�เป็นอาหารได้หลายชนิด เช่น ต้มยำ� เห็ดโคน แกงเขียวหวาน ข้าวต้มเห็ดโคน แกงเลียง เห็ดเปรี้ยว เห็ดโคนย่าง ยำ�เห็ดโคน เห็ดโคนผัดน้�ำ มันหอย แกงป่าเห็ดโคน ฯลฯ ซึ่งทางร้านอาหารนิลเป็นร้านที่ได้รับรางวัลมากมาย อาทิ ประกาศนียบัตร “ถูกปากนักชิม” ปี 2550 จังหวัดกาญจนบุรี, ร้านอาหารห้าดาว ปี 2551/2552/2554/2555 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, รางวัลชนะเลิศ กับสารพัดเมนูเห็ดโคน อาทิ แกงป่าเห็ดโคน เห็ดโคนผัดน้ำ�มัน ยำ�เห็ดโคน และรางวัล ชนะเลิศจานนี้ทีเด็ด รายการจานเด็ด 7 ย่านน้ำ� สถานีโทรทัศน์ ช่อง 7 “เห็ดโคน” หรือ “เห็ดปลวก” เป็นเห็ดป่าเติบโตได้ดีใน สภาพธรรมชาติความชืน้ และอุณหภูมทิ พี่ อเหมาะมีรปู ร่างเหมือน เห็ดทั่วไป คือ มีก้านเห็ดและหมวกเห็ด ดอกใหญ่ โคนอวบหนา มี ก ลิ่ น เฉพาะตั ว มั ก เกิ ด ตามพื้ น ที่ บ ริ เ วณจอมปลวกภายหลั ง แมลงเม่าอพยพออกจากรังปลวก มีการอพยพของปลวกที่เรา เรียกว่า แมลงเม่าอพยพออกจากรังปลวกเดิม เพื่อสร้างรังใหม่ และเมือ่ ฝนตกชุกจนมีความชุม่ ชืน้ เหมาะสมบวกกับสภาพอากาศ จึงทำ�ให้เกิดตุม่ ดอกเห็ดเล็กๆ เจริญเติบโตจนกลายเป็นเห็ดโคนที่ ลือชื่อ “เห็ดโคน” เห็ ดโคน สามารถนำ � มาทำ � อาหารได้ ห ลากหลายชนิ ด เพราะเห็ดโคนเป็นเห็ดทีม่ รี สชาติทนี่ า่ รับประทาน แถมยังเป็นเห็ด หายากมักขึ้นอยู่ตามป่าเขา และที่ส�ำ คัญที่สุด ก็คือ “เห็ดโคน” จะเกิดขึ้นเพียงปีละครั้งเท่านั้น คือ ในช่วงกันยายนถึงมกราคม ของทุกปี “เห็ดโคน” เมืองกาญจนบุรนี นั้ จะแตกต่างจาก “เห็ดโคน” ที่อื่น คือ เห็ดเมืองกาญจน์จะมีรสหวานกรอบอร่อยกว่าเห็ดโคน จังหวัดอื่นๆ การรับประทาน “เห็ดโคน” ให้อร่อยหลังทำ�ความ สะอาดเสร็จ เราปรุงเห็ดง่ายเพียงใส่น้ำ� และเกลือลงไปตั้งไฟ ให้เดือดเพียงเท่านี้ท่านก็จะได้น้ำ�ต้มเห็ดรสหวานตามธรรมชาติ สวนสั ต ว์ เ ปิ ด ซาฟารี ป าร์ ค ห่ า งจากตั ว เมื อ งประมาณ 40 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 3086 (กาญจนบุรีบ่อพลอย) จนถึงกิโลเมตรที่ 21 จะเห็นป้ายสวนสัตว์เปิดทาง ซ้ายมือ นับเป็นสวนสัตว์เปิดแห่งแรกของกาญจนบุรี ซึ่งนักท่อง เที่ยวจะได้สัมผัสกับสัตว์นานาชนิด เช่น กวาง หมี เสือ สิงโต ม้าลาย ยีราฟ อูฐ ฯลฯ อย่างใกล้ชิด พักผ่อนชมสวนผีเสื้อ และสวนดอกไม้ นักท่องเที่ยวสามารถขับรถเข้าไปเที่ยวชมได้ ด้วยตนเอง สำ�หรับผู้ที่ไม่ได้น�ำ รถส่วนตัวมา ทางสวนสัตว์ได้จัด รถไว้คอยบริการนักท่องเที่ยว เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00–18.00 น. สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 034-628-270-1 KANCHANABURI 267
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.บ่อพลอย)
งานเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
งานเทศกาลเห็ดโคน
เทศบาลตำ�บลบ่อพลอย อำ � เภอบ่ อ พลอยเป็ น แหล่ ง อั ญ มณี ที่ ขึ้ น ชื่ อ ของไทย และ เป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ซึง่ อัญมณีที่ขนึ้ ชือ่ ได้แก่ พลอยไพลิน (สีน้ำ�เงิน) พลอยบุษราคัม (สีเหลือง) สตาร์ และนิล ซึ่ง แหล่งแร่อัญมณีในจังหวัดกาญจนบุรีนี้จะมีอยู่เฉพาะเขตอำ�เภอ บ่อพลอยเท่านัน้ ถือเป็นความภาคภูมิใจของชาวอำ�เภอบ่อพลอย ที่มีอัญมณีล�้ำ ค่าอยู่ในพื้นที่ เทศบาลตำ�บลบ่อพลอย มีสำ�นักงานตั้งอยู่เลขที่ 99 ม.1 ต.บ่อพลอย อ.บ่อพลอย จ.กาญจนบุรี อยู่ห่างจากกาญจนบุรี 40 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากรุงเทพมหานคร 210 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายชัยเชษฐ พัฒนะพิชัย ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกเทศมนตรี ตำ�บลบ่อพลอย
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลบ่อพลอย มีพนื้ ที่ 7 ตร.กม. มีพนื้ ทีค่ รอบคลุม 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 , 2 , 11 (บางส่วน) ตำ�บลบ่อพลอย และหมู่ที่ 1 (บางส่วน) ตำ�บลช่องด่าน เทศบาลได้ด�ำ เนินการ จัดตัง้ ชุมชนขึน้ โดยมีคณะกรรมการของแต่ละชุมชนมีหน้าทีเ่ ป็น ตัวกลางในการประสานงานระหว่างเทศบาลกับชุมชน เพื่อ ตอบสนองความต้องการของประชาชน รวมทั้งให้ความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรมของเทศบาล มีทั้งหมด 11 ชุมชน ดังนี้ ชุมชน เขาพระศรี ,ชุมชนเขาแก้ว ,ชุมชนจามรฟาร์ม ,ชุมชนพาณิชย์ ,ชุมชนพัฒนาวัดรัชดาภิเษก ,ชุมชนตลาดสดหินใหญ่ ,ชุมชนเขา เตีย้ ,ชุมชนวัดเขาวงจินดาราม ,ชุมชนหัวเขา ,ชุมชนพลอยไพลิน 1 และชุมชนพลอยไพลิน 2 ในเขตเทศบาลมีประชากร 7,145 คน มีจำ�นวน 2,350 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2555) ประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรม , พาณิชยกรรม เช่ น การค้ า ขายอั ญ มณี และการเจี ย ระไนพลอย/นิ ล และ อุตสาหกรรม เช่น ทำ�เหมืองพลอย การทำ�รองเท้า โรงกลึง เหล็กดัด โรงงานเจียระไนพลอย ฯล
268
ศักยภาพที่โดดเด่นของ เทศบาลตำ�บลบ่อพลอย
ด้านการคมนาคม มีเส้นทางการคมนาคมที่ส�ำ คัญ คือ ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 3068 (ถนนสายลาดหญ้า – บ่อพลอย) เป็นเส้นทาง คมนาคมสายหลักของชุมชน เป็นถนนลาดยางแอสฟัลติกส์ ขนาดเขต กว้าง 40 เมตร และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3342 (ถนนสายอูท่ อง – บ่อพลอย) เป็นถนนลาดยางแอสฟัลติกส์ ด้านการบริการสาธารณูปโภค มีการให้บริการด้านการไฟฟ้าและ แสงสว่างสาธารณะโดยการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีครัวเรือนที่ใช้บริการ ไฟฟ้าประมาณ 1,903 ครัวเรือน และมีการให้บริการน้ำ�ประปาโดยการ ประปาส่วนภูมภิ าค มีครัวเรือนทีใ่ ช้บริการประปาประมาณ 1,039 ครัว เรือน ด้านการศึกษา ในเขตทต.บ่อพลอยมีสถาบันการศึกษาทัง้ หมด 4 แห่ง คือ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลตำ�บลบ่อพลอย โรงเรียนอนุบาลบ่อพลอย โรงเรียนบ่อพลอยรัชดาภิเษก และมหาวิทยาลัยรามคำ�แหงวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติจังหวัดกาญจนบุรี โดยสามารถให้บริการทางการศึกษา ได้ตั้งแต่ชั้นเด็กเล็ก (เตรียมประถม) จนถึงระดับปริญญาโท ด้านการสาธารณสุข การสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม ใน เขตทต.บ่อพลอยมีโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง และกำ�ลังขยายเป็นขนาด 90 เตียง โดยมีแพทย์ จำ�นวน 7 คน พยาบาลจำ�นวน 56 คน ทันตแพทย์ 2 คน เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข 4 คน ด้านสังคมสงเคราะห์ และสวัสดิการสังคม ทต.บ่อพลอยให้การสงเคราะห์คนชรา ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ด้วยการตั้งงบประมาณเบี้ย ยังชีพ และการสงเคราะห์นมผงเด็กทารกทีม่ ฐี านะยากจน และมีการทำ� ประกันสังคมในกรณีที่เข้าเกณฑ์ที่ต้องประกันตน ด้านความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ เขตทต.บ่อพลอยอยูใ่ นการ ดูแลของสถานีต�ำ รวจภูธรอำ�เภอบ่อพลอย และมีหน่วยป้องกันและระงับ อัคคีภยั ของทต.บ่อพลอยเป็นกำ�ลังหลัก นอกจากนีย้ งั มีหน่วยกำ�ลังสมทบ คือ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) เป็นกำ�ลังสำ�รอง ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีแหล่งน้ำ�ที่เกิดจากการ ทำ�สัมปทานเหมืองพลอยในอดีต ซึ่งกลายเป็นแหล่งเก็บกักน้�ำ ที่น�ำ ไป
อัญมณีของดีบ่อพลอย
ลานลาวา บรรยากาศ ทต.บ่อพลอย
ใช้ในการยังชีพของชุมชน และไว้ใช้ในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย นอกจากนี้ ยังมีบ่อน้ำ�ผุดธรรมชาติ ปล่องภูเขาไฟ ทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากรธรณีทสี่ �ำ คัญ คือ ทรัพยากรแร่ธาตุ ได้แก่ แร่รัตนชาติ เช่น พลอยไพลิน บุษราคัม นิล ด้านการจัดการขยะ ปัจจุบันในเขตทต.บ่อพลอยจะมีปริมาณ ขยะประมาณ 8 ตัน/วัน ทางเทศบาลจะใช้วธิ จี ดั เก็บและกำ�จัดขยะ แบบฝังกลบ ส่วนขยะที่สามารถนำ� กลับมาใช้ใหม่หรือผลิตใหม่ จะถูกคัดแยกออกโดยกลุ่มชนอาชีพเก็บของเก่าขาย
ชุมชน ทต.บ่อลพลอย
แหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่น
ระหว่างที่เดินทางมายังทต.บ่อพลอย จะเห็นเหมืองพลอยตาม สองข้างทาง งานหัตถกรรมพืน้ บ้าน และร้านจำ�หน่ายอัญมณีทดี่ งึ ดูด นักท่องเที่ยวได้มากที่สุด และทต.บ่อพลอยมีโครงการที่จะพัฒนา ปล่องภูเขาไฟแห่งเดียวในประเทศไทย และบ่อน้ำ�ผุดธรรมชาติ วัดเขาวงจินดาราม เพื่อเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาให้เป็น มรดกสืบทอดถึงลูกหลาน และเป็นการส่งเสริมรายได้ให้กับท้องถิ่น ชาวทต.บ่อพลอย จึงอยากเชิญชวนนักท่องเที่ยวได้แวะมา เยี่ยมชมร้านจำ�หน่ายอัญมณี ลานลาวา แหล่งกำ�เนิดภูเขาไฟ หลวงพ่อนิลประทานพรซึ่งสร้างจากนิลน้ำ�หนักกว่า 40 ตัน วัดถ้ำ� ผาวังจันทร์ สวนสัตว์เปิดซาฟารีปาร์ค สนามกล์อฟบลูแซฟไฟร์ฟ แอนด์ รีสอร์ท สนามกล์อฟกรังด์ปรีซ์กล์อฟคลับ โรงแรมเก็ทอิน พลอยสวยรีสอร์ท แอทเมืองพลอย รีสอร์ท บ้านลาวา ฯลฯ และ เรายังมีร้านอาหารรสชาติเยี่ยม เช่น ครัวเก็ทอิน ร้านอาหารนิล ร้านอาหารซิ่ว ครัวบ้านดอน เป็นต้น และในช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี จะมีการจัดงาน “เทศกาล เห็ดโคน อัญมณีของดีบ่อพลอย”และงานกาชาดเป็นประจำ�ทุกปี จึงขอฝากประชาสัมพันธ์และเชิญชวนทุกท่านได้มาเยี่ยมชมของดี อำ�เภอบ่อพลอย ซึ่งถือว่าอำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี เป็น สถานทีน่ า่ ท่องเทีย่ วและเป็นแหล่งเรียนรูด้ า้ นทรัพยากรธรรมชาติที่ น่ามาสัมผัสและเที่ยวชมเป็นอย่างยิ่ง และมีระยะทางห่างจาก อำ�เภอเมืองเพียง 40 กิโลเมตรเท่านั้น
เห็ดโคนของดี ทต.บ่อพลอย
KANCHANABURI 269
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองกระทุ่ม วัดหนองกระทุ่ม ตั้งอยู่บ้านหนองกระทุ่ม หมู่ที่ 2 ต. หนองกุ่ม อ. บ่อพลอย จ. กาญจนบุรี เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญและวัดแรกในอ�ำเภอ บ่อพลอย จ. กาญจนบุรี และทุก ๆ ปีจะมีประเพณีแห่เทียนจ�ำน�ำ พรรษาอย่างยิ่งใหญ่อลังการ
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด หลวงพ่อสิทธิผล พระประธานในอุโบสถ หลวงพ่อรวย – หลวงพ่อทันใจ ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวบ้าน และประชาชนทั่วไป นับถือสักการบูชากราบไว้ขอพร เพื่อให้มีโชคลาภ วาสนา มั่งมีศรีสุข และเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต หลวงพ่อประจวบ นิพฺภโย อดีตเจ้าอาวาสวัดหนองกระทุ่ม เป็นที่เคารพของชาวบ้านหนองกระทุ่ม
270
วิหารกลางน�ำ้ ”พระครูพทิ กั ษ์กาญจนคุณ” (หลวงพ่อประจวบ นิพโฺ ย) สร้างขึน้ เพือ่ ระลึกถึง พระครูภทิ กั ษ์กาญจนคุณ ผูก้ อ่ สร้างและท�ำนุบำ� รุง บูรณะถาวรวัตถุภายในวัดหนองกระทุ่ม ซึ่งท่านยังเป็นพระอุปัชฌาย์ ของคนทัง้ หลาย ฉะนัน้ ชาวบ้านและเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั สร้างขึน้ เพือ่ ให้ศิษยานุศิษย์และสาธุชนทั่วไป ได้เคารพสักการบูชากราบไว้ขอพร เรือสุพรรณหงส์สร้างด้วยไม้ตะเคียนทองอายุพันปี ความยาว 15.50 ม. กว้าง 0.80 ม. ซึ่ง เจ้าอาวาส และชาวบ้าน ร่วมกัน สร้างขึ้น
กิจกรรมส�ำคัญประจ�ำปีของวัด ประเพณีแห่เทียนจ�ำน�ำพรรษา งานแห่เทียนจ�ำน�ำพรรษาวัด หนองกระทุ่ม เป็นงานประเพณีที่ชาวบ้านหนองกระทุ่มจะจัดขบวน แห่เทียนพรรษาไปยังวัดหนองกระทุม่ เป็นการร่วมสืบสานประเพณีรว่ ม กันของคนในท้องถิน่ และเพือ่ สืบทอดเจตนารมณ์ของ หลวงพ่อประจวบ นิพภฺ โย อดีตเจ้าอาวาส ผู้ริเริ่มประเพณีแห่เทียนจ�ำน�ำพรรษาซึ่งจะจัด ขึ้นในวันแรม 1 ค�่ำ เดือน 8 ของทุกปีโดยชาวบ้านจะเตรียมจัดงานพิธี เปิดอย่างเป็นทางการบริเวณท้ายหมู่บ้านหนองกระทุ่ม และจะเริ่ม เคลื่อนขบวนแห่จากจุดพิธีเปิดมายังวัดหนองกระทุ่ม ภายในขบวน ประกอบด้วย 1. ขบวนธง ประกอบด้วยธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ ตามด้วยพานพุ่มผ้าป่าของชาวบ้านที่จัดนางฟ้าถือพานพานพุ่มผ้าป่า 2. ขบวนเทียนพรรษา ประกอบด้วยรถบุปผชาติของแต่ละหมูบ่ า้ น และ ชาวบ้านที่ร่วมแห่ขบวนน�ำเทียนจ�ำน�ำพรรษามาถวายวัด 3. ขบวนม้า ประกอบด้วยม้าเต้นแต่งกายสวยงาม ม้าทีม่ ลี กั ษณะดีมา้ สวย 4. ขบวน วัวเทียมเกวียน 5. ขบวนแตรวง ขบวนกลองยาวและขบวนแฟนตาซี จะประกอบด้วยการแต่งกายล้อเลียนต่าง ๆ การละเล่นที่สนุกสนาน
6. ขบวนนรก – สวรรค์ มีการแสดงบทบาทสมมุติ นรก –สวรรค์ ใน ขุมต่าง ๆ หลังจาก เคลื่อนขบวนมาที่วัด และเสร็จจากการถวายเทียน จ�ำน�ำพรรษาแล้ว ม้าที่น�ำมาร่วมในงาน จะมีการประกวด การแข่งขัน เพื่อประชันความสวยงามของม้าที่นำ� มาร่วมในงาน
หลวงพ่อประจวบ นิพฺภโย
KANCHANABURI 271
272
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
ลำ�ดับเจ้าอาวาสวัด
วัดเสาหงส์พัฒนาราม วัดเสาหงส์พัฒนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ตำ�บลหนองกุ่ม อำ�เภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในปี พ.ศ. 2525 ปัจจุบันมี พระครูกาญจนสิริพัฒน์ (สมชาย) เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดเสาหงส์พัฒนาราม
วัดเสาหงส์ฯ ได้เริ่มสร้างเป็นที่พักสงฆ์ ในปี พ.ศ. 2513 โดยชาวบ้านได้ร่วมใจกันถากถางพื้นที่ และร่วมใจกันบริจาคที่ดิน จำ�นวน 15 ไร่ 1 งาน 69 ตารางวา เพื่อให้เป็นสถานที่สร้างวัด ให้ประชาชนและภิกษุสงฆ์ได้บ�ำ เพ็ญบุญ และเป็นทีย่ ดึ เหนียวจิตใจ ประจำ�หมู่บ้าน เนื่องจากชาวบ้านมีความลำ�บากในการเดินทางไป ทำ�บุญยังหมู่บ้านอื่น ซึ่งมีระยะทางไกล กันดาร และเสียเวลามาก ดังนั้นชาวบ้าน ผู้ใหญ่ และกำ�นัน จึงได้ประชุมปรึกษาหารือกัน ซึ่งที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้สร้างวัด และตั้งชื่อว่า “วัดเสาหงส์” ตามชื่อหมู่บ้านซึ่งเป็นที่รู้จักของประชาชนทั่วไป
ในช่วงแรกเริ่มการก่อสร้างเป็นสำ�นักสงฆ์นั้น คณะศรัทธาได้ นิมนต์ พระอบ (ไม่ทราบฉายา) มาอยู่จำ�พรรษาและได้บูรณะ ก่อสร้างวัดเรือ่ ยมา โดยลำ�ดับทีข่ องประธานสงฆ์ ตัง้ แต่เริม่ ก่อสร้าง วัด มีดังนี้ พ.ศ. 2513 -2515 พระอบ พ.ศ. 2515-2520 พระอธิการลาภ พ.ศ. 2527-2533 พระการพิทักษ์ ตโนนุโท พ.ศ. 2534-ปัจจุบัน พระครูกาญจนสิริพัฒน์
เหตุการณ์สำ�คัญของวัด วัดเสาหงส์ฯ มีพิธีวางศิลาฤกษ์ เพื่อสร้างอุโบสถ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ 2536 โดยการนำ�ของกำ�นันวัฒนา ตั้งประกอบ แม่ชีสมปอง นาดี คุณณฐสิรี พิมพ์ลาภา และคณะชาวชลบุรี โดย ร่วมกับชาวบ้านเสาหงส์ บ้านหนองจิก และผู้นำ�ชุมชน รวมถึง ผู้มีจิตศรัทธาจากสถานที่ต่าง ๆ ร่วมกันบริจาคทรัพย์ จนดำ�เนิน การสร้างเสร็จสมบูรณ์ ใน พ.ศ. 2540 โดยมีคณะสงฆ์ พระเดช พระคุณ พระเทพเมธากร เจ้า คณะจั งหวั ด กาญจนบุรี และ พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอบ่อพลอย เป็นประธาน ในการจัดงานผูกพัทธสิมาปิดทองฝังลูกนิมิต KANCHANABURI 273
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายอำ�เภอชาญ เสมสวั ส ดิ ์ นายอำ�เภอด่านมะขามเตี้ย “เมืองชายแดน แคว้นขุนด่าน ชุมชนโบราณ สายธารภาชี” คือคำ�ขวัญประจำ�อำ�เภอด่านมะขามเตีย้ ซึง่ มีทวี่ ่าอำ�เภอตัง้ อยูท่ ี่ ตำ�บลด่านมะขามเตีย้ อำ�เภอด่านมะขามเตีย้ จังหวัด กาญจนบุรี อยู่ห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 30 ก.ม. ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3209
ประวัติความเป็นมา
อำ�เภอด่านมะขามเตีย้ เป็นพืน้ ทีท่ มี่ กี ารตัง้ หมูบ่ า้ นมากว่า 200 ปี สมัยก่อนเป็นด่านตรวจคนเข้าออกตามแนวชายแดน ของเมืองกาญจนบุรี ในยามปกติราษฎรจะใช้เป็นเส้นทางเพื่อการค้าขายสินค้าและของป่านานาชนิด โดยบริเวณแห่งนี้มี ต้นมะขามอยู่ต้นหนึ่งซึ่งเตี้ยมาก ขึ้นอยู่ริมหนองน้ำ�ใหญ่ มีช่องเดินทางติดต่อชายแดนพม่า มีผู้คนเดินทางเข้าออกเป็น จำ�นวนมาก ต่อมาทางราชการได้จัดตั้งโรงพักขึ้นมีเจ้าหน้าที่คอยตรวจจับผู้กระทำ�ความผิด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ด่าน ตรวจตราผู้คนที่ผา่ นสัญจรไปมา ซึ่งต่อมาเรียกว่า “ด่านมะขามเตี้ย” 274
เมื่อครั้งที่พม่ายกทัพมาตีไทยในศึกสงครามเก้าทัพ ซึ่งตรงกับ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ในครัง้ นัน้ “ขุนด่าน” พร้อมด้วยทหารไทยที่ประจำ�ด่านได้ต่อสู้ ประจัญบาน กับทหารพม่าอย่างไม่เกรงกลัวข้าศึกที่มีมากกว่าจนตัวตายกลาง สนามรบ ณ บริเวณด่านแห่งนี้ ด้วยความกล้าหาญ และเสียสละ พลีชพี เพือ่ ชาติบา้ นเมือง ประชาชนจึงร่วมกันสร้าง “ศาลเจ้าพ่อขุนด่าน” ขึน้ เพือ่ เป็นทีเ่ คารพสักการะและระลึกถึงคุณงามความดีของท่านสืบมา พร้อมกับจัดให้มีงานสักการะดวงวิญญาณของท่านเป็นประจำ�ทุกปี ในระหว่างวันที่ 20 – 21 เมษายน
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอด่านมะขามเตี้ย มีพื้นที่ประมาณ 623 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ราบเชิงเขาและที่ราบลุ่มแม่น้ำ�แควน้อยและลำ�ห้วยภาชี โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 4 ตำ�บล 41 หมู่บ้าน ได้แก่ ตำ�บลด่านมะขามเตี้ย มีจำ�นวน 12 หมูบ่ า้ น ตำ�บลกลอนโด มีจำ�นวน 11 หมูบ่ า้ น ตำ�บลจรเข้เผือก มีจำ�นวน 12 หมูบ่ า้ น ตำ�บลหนองไผ่ มีจำ�นวน 6 หมูบ่ า้ น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำ�บลด่าน มะขามเตีย้ 2. องค์การบริหารส่วนตำ�บลด่านมะขามเตีย้ 3. องค์การ บริหารส่วนตำ�บลกลอนโด 4. องค์การบริหารส่วนตำ�บลจรเข้เผือก 5. องค์การบริหารส่วนตำ�บลหนองไผ่
2.3 ประเพณีการ “สืบผี” ชาวไทยทรงดำ� ถือว่าเป็นการสืบสกุล ผู้สืบพิธีคือ ลูกชายของบ้าน ส่วนลูกสาวจะต้องไปถือผีที่บา้ นสามี 2.4 ประเพณีวฒ ั นธรรมการทำ�บุญข้าวหลาม หรือ “การทำ�บุญ ข้าวจี่” ของชาวไทยเชื้อสายญวน ที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ หมู่ 8 ตำ�บลกลอนโด จะมีการเผาข้าวหลามเพื่อทำ�บุญในช่วงกลางเดือน 3 ของทุกปี ส่วนทีเ่ หลือจากทำ�บุญแล้วชาวบ้านจะนำ�ไปแจกจ่ายให้ กับญาติพี่น้องและเพื่อนบ้านได้รับประทานกัน 3. ท่องเที่ยวศาสนสถาน 3.1 วัดพระธาตุโป่งนก ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ตำ�บลด่านมะขามเตี้ย เป็นที่เก็บอัฐิธาตุขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า บนยอดเขามีทิวทัศน์ สวยงามมาก 3.2 วัดท่าเสด็จ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นท่าเสด็จ ตำ�บลจรเข้เผือก อำ�เภอ ด่านมะขามเตี้ย เป็นสำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดกาญจนบุรี เป็นสถานที่สวนสวยงามริมลำ�น้ำ�ภาชี และที่บ้านท่าเสด็จในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จ ประพาสลำ�น้ำ�แควน้อย ไปอำ�เภอไทรโยค ขณะเดินทางเกิดพายุ ลมแรงจึงได้นำ�เรือเข้าไปหลบบริเวณลำ�น้ำ�ภาชีแห่งนี้ จึงเรียกว่า บ้านท่าเสด็จและเป็นที่ตั้งของวัดท่าเสด็จ 3.3 วัดหินแท่นลำ�ภาชี ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำ�บลหนองไผ่ เป็นวัด ทีม่ อี โุ บสถสำ�เภาแก้วร้อยล้านทีส่ วยงามลักษณะเป็นอุโบสถตัง้ อยูใ่ น เรือสำ�เภาแก้วสีขาว และเป็นทีป่ ระดิษฐานหลวงพ่อทันใจทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ พระพุทธชินราชจำ�ลอง หลวงพ่อโสธร หลวงปู่โต หลวงปู่ทวด ทุก องค์มีหน้าตัก 6 เมตร 3.4 วัดหนองหญ้าปล้อง ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ตำ�บลจรเข้เผือก เป็นวัดที่ประดิษฐาน สมเด็จองค์ปฐมที่หน้าลานวัด ขนาดหน้าตัก กว้าง 10 วา 1 ศอก 8 นิ้ว ความสูง 16 วา ทรงพระนามว่า “สมเด็จพระพุทธสิกขี” พระองค์ทรงเป็นต้นพระวงศ์ของสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ 4. ท่องเที่ยวเชิงเกษตร อำ�เภอด่านมะขามเตีย้ มีจดุ เด่นการทำ�เกษตรแบบผสมผสาน ซึง่ มี อยูห่ ลายหมูบ่ า้ นเป็นแหล่งเรียนรูท้ างการเกษตรต้นแบบ มีการปลูก หน่อไม้ฝรัง่ มากที่สุดมีรสดีและส่งออกทำ�รายได้ให้กบั เกษตรกรเป็น อย่างดี ปัจจุบันมีหน่วยงานและประชาชนเข้ามาศึกษาและเรียนรู้ วิถีชีวิตด้านการเกษตรเป็นจำ�นวนมาก
สถานที่ท่องเที่ยวและงานประเพณีส�ำ คัญ
1.ท่องเที่ยวเชิงทรัพยากรธรรมชาติ อำ�เภอด่านมะขามเตี้ยประกอบด้วยแหล่งน้ำ�ธรรมชาติ ป่าไม้ และลำ � ห้ ว ยต่ า งๆ มี แม่ น้ำ � แควน้ อ ย ลำ � ภาชี ห้ ว ยลำ � ทราย และห้วยขลุง ดังนัน้ พืน้ ทีโ่ ดยทัว่ ไปของด่านมะขามเตีย้ จึงเป็นพืน้ ที่ ราบลุ่มเชิงเขา มีทรัพยากรธรรมชาติเป็นป่าเขาและลำ�น้ำ�สวยงาม ซึ่งสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนเชิงธรรมชาติได้ อย่างสวยงามร่มรื่น 2. ท่องเที่ยวทางประเพณีวัฒนธรรม 2.1 งานประเพณีบญ ุ กลางบ้านหรือบุญกลางแจ้ง ของหมูบ่ า้ น ท่าไม้ยาว ตำ�บลด่านมะขามเตี้ย เป็นการทำ�บุญให้กับหมู่บ้านตาม ความเชื่อว่าจะทำ�ให้หมู่บา้ นมีความเจริญรุ่งเรือง ไม่มีอันตราย 2.2 ประเพณีที่สืบทอดตามเชื้อชาติของชาวไทยทรงดำ� หมู่ 3 หมูบ่ า้ นแหลมทองชาวไทยทรงดำ�หรือไทยโซ่ง ตำ�บลกลอนโด ซึง่ เป็น ประเพณีการไหว้ผีบรรพบุรุษ ทำ�กันทุกครัวเรือน เรียกว่าประเพณี “เสนเรือน” คือพิธีเซ่นผีเรือน KANCHANABURI 275
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ด่านมะขามเตี้ย)
องค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้เผือก องค์การบริหารส่วนต�ำบลจระเข้เผือก ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 236 บ้านท่าโป่ง หมู่ที่ 3 ต�ำบลจระเข้เผือก อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอ�ำเภอ ด่านมะขามเตีย้ โดยอยูห่ า่ งจากอ�ำเภอด่านมะขามเตีย้ เป็นระยะ ทาง 18 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี 38 กิโลเมตร ปัจจุบันมี จ.ส.ต. บรรเทิง ชะอุ่ม เป็นนายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลจรเข้เผือก ประวัติความเป็นมา ต�ำบลจรเข้เผือก เดิมชือ่ ว่า “บ้านบน-บ้านล่าง” เป็นชุมชน ทีอ่ าศัยอยูร่ มิ แม่นำ�้ แควน้อย จากค�ำบอกเล่าของขุนเศวตกุมภีร์ (ผัน ชาลวันกุมภีร์) อดีตผู้น�ำชุมชนเล่าว่า...เมื่อครั้งพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาส ต้ น ตามล� ำ น�้ ำ แควน้ อ ยไปไทรโยคได้ ท อดพระเนตรเห็ น จระเข้เผือก ขนาด 6 ศอก บริเวณล�ำน�ำ้ ใกล้บา้ นบน ซึง่ บริเวณ นั้นเป็นชายหาดกว้างใหญ่พื้นที่ประมาณ 10 ไร่ จึงทรงให้ตั้ง พลับพลาประทับแรมได้ และได้เสด็จเยี่ยมราษฎรด้วยพระ เมตตาแล้วถามว่าบ้านนี้ชื่อว่าบ้านอะไร นายผัน ผู้นำ� ชุมชนได้ กราบทูลว่าเรียกว่า บ้านบน-บ้านล่าง พระองค์จึงทรงพระ เมตตาตั้งชื่อว่า “บ้านจระเข้เผือก” ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลจระเข้เผือก มีพื้นที่ทั้งหมด 369 ตร.กม. หรือประมาณ 230,625 ไร่ และแบ่งการปกครองออก 276
เป็น 12 หมู่บ้าน ได้แก่ 1. บ้านท่าเสด็จ หมู่ที่ 1 ,บ้านจระเข้ เผือก หมู่ที่ 2 ,บ้านท่าโป่ง หมู่ที่ 3 ,บ้านท่ามะไฟ หมู่ที่ 4 , บ้ า นไทรทอง หมู ่ ที่ 5 ,บ้ า นหนองโสน หมู ่ ที่ 6 ,บ้ า น หนองหญ้าปล้อง หมู่ที่ 7 ,บ้านหนองกวาง หมู่ที่ 8 ,บ้านเนิน สวรรค์ หมู่ที่ 9 ,บ้านทุ่งทองพัฒนา หมู่ที่ 10 ,บ้านสวนงิ้ว พัฒนา หมู่ที่ 11 และบ้านหินสีพัฒนา หมู่ที่ 12 มีประชากรจ�ำนวนกว่าหมื่นคน มีจำ� นวนครัวเรือน 3,428 ประชากร 10,539 คน ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด มัน ส�ำปะหลัง และการท�ำสวน เช่น มะม่วง มะนาว ดีปลี ฯลฯ เลี้ยงสัตว์ และรับจ้าง สถานที่ส�ำคัญของต�ำลจรเข้เผือก วัดท่าเสด็จ หมู่ที่ 1 บ้านท่าเสด็จ ในอดีตเคยเป็นสถานที่ ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ฯ เคยเสด็ จ ประพาสไทรโยคและได้ประทับบริเวณหุบเขาริมล�ำภาชี ซึง่ เป็น ที่ตั้งของ “วัดท่าเสด็จ” ปัจจุบันวัดท่าเสด็จเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัด กาญจนบุรี แห่งที่ 1 โดยได้ทำ� หน้าที่เป็นแหล่งอบรมให้ความรู้ ด้านศีลธรรมคุณธรรมแก่เด็กเยาวชนในโรงเรียนและสถาน ศึกษา และเป็นสถานที่ฝึกอบรมปฏิบัติธรรมให้แก่ประชาชน องค์กรและสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งเป็นสถานที่ที่ชาวต�ำบลจรเข้ เผือกได้จัดท�ำบุญและงานประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ
KANCHANABURI 277
คุณธรรม วัฒนธรรม : ต�ำบลจรเข้เผือก
"พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ ประดิษฐาน ณ วัดท่าเสด็จ"
"จระเข้เผือก” เป็นชุมชนที่อาศัยอยู่ริมแม่น้ำ�แควน้อย เดิมชื่อว่า “บ้านบน-บ้านล่าง” จากคำ�บอกเล่าของขุนเศวตกุมภีร์ (ผัน ชาลวันกุมภีร)์ อดีตผูน้ �ำ ชุมชนได้เล่าว่าเมือ่ ครัง้ พระบาทสมเด็จพระะจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัวฯ รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้นตามลำ� น้�ำ แควน้อยไปไทรโยคได้ทอด พระเนตรเห็นจระเข้เผือก ขนาด ๖ ศอก บริเวณลำ�น้ำ�ใกล้บ้านบน ซึ่งบริเวณนั้นเป็นชายหาดกว้าง ใหญ่พื้นที่ประมาณ ๑๐ ไร่ จึงทรงให้ตั้ง พลับพลาประทับแรมได้ เสด็จเยี่ยมราษฎรด้วยพระเมตตาแล้วถามว่า บ้านนี้ชื่อว่าบ้านอะไรนายผัน ผู้นำ�ชุมชนได้กราบทูลว่าเรียกว่า บ้านบนบ้านล่าง พระองค์จึงทรงพระเมตตา ตั้งชื่อว่า บ้านจรเข้เผือก เมื่อเสด็จ ประพาสต้นไทรโยคแล้วระหว่างเสด็จพระราชดำ�เนินกลับได้ประทับ บริเวณหุบเขาริมลำ�ภาชี (บริเวณวัดท่าเสด็จในปัจจุบัน) ราษฎรเมื่อได้ ทราบว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ของสยามประเทศจึงได้เฝ้ารับ เสด็จและได้รบั พระเมตตาเป็นทีป่ ลาบปลืม้ ปีติ จากพระราชนิพนธ์ระยะ ทางเสด็จประพาสไทรโยคในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ ปีฉลู จุลศักราช ๑๒๓๙ (พ.ศ.๒๔๒๐) ทรงนิพนธ์ไว้ว่า “...๒ โมงเช้าไป ถึงลำ�พาชีเป็นทีห่ ลัก ๗๐๐ เข้าไปในลำ�น้�ำ ประมาณ ๑๐ เส้น ดูน�้ำ มากกว่า เมื่อมาคราวก่อน...เราเคยไปเที่ยวทางน้ำ�จนถึงกลอนโดและขึ้นมาถึง จระเข้เผือก จึงได้ให้ชื่อเรือคะนู ๒ ลำ� ชื่อกลอนโดลำ� ๑ ชื่อจระเข้เผือก ลำ�หนึ่ง...”
“วัดท่าเสด็จ” สถานที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้เคยเสด็จพระราชดำ�เนิน ปัจจุบันเป็นสำ�นักปฏิบัติธรรม ประจำ�จังหวัดกาญจนบุรี แห่งที่ ๑ ได้ทำ�หน้าที่เป็นแหล่งอบรมให้ความรู้ด้านศีลธรรมคุณธรรมแก่เด็กเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาและ เป็นสถานที่ฝึกอบรมปฏิบัติธรรมให้แก่ประชาชน องค์กรและสถาบันต่าง ๆ รวมทั้งเป็นสถานที่ที่ชาวตำ�บลจรเข้เผือกได้จัดทำ�บุญและงาน ประเพณีในเทศกาลต่าง ๆ
วัดท่าเสด็จ 278
กำ�นันนิตยา บุญคุ้ม กำ�นันตำ�บลจรเข้เผือกคนปัจจุบันได้ให้ข้อมูลที่นา่ สนใจว่าจากชุมชนบ้านจรเข้เผือกเมื่อ ๑๓๘ ปีก่อน นั้น ปัจจุบันนี้ได้เป็นตำ�บลจรเข้เผือก มี ๑๒ หมู่บ้าน ประชากร ๓,๒๒๗ ครัวเรือน จำ�นวนประชากรกว่าหมื่นคน มีพื้นที่ ๓๖๙ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณกว่า ๒๓๐,๐๐๐ ไร่ อาชีพส่วนใหญ่ของประชากรคือเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกพืชไร่ เช่น อ้อย ข้าวโพด มันสำ�ปะหลัง และการทำ�สวน เช่น มะม่วง มะนาว ดีปลี ฯลฯ ส่วนการคมนาคมจากเดิมที่สัญจรทางน้ำ�ก็เปลี่ยนมา เป็นการใช้รถยนต์เป็นหลัก แม้สภาพแวดล้อมและการดำ�รงชีวติ จะเปลีย่ นไปตามยุคสมัย แต่ชาวตำ�บลจรเข้เผือกยังคงสำ�นึกใน พระมหากรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ การพัฒนาในพื้นที่ตำ�บลจรเข้เผือกจึงมุ่งเน้นให้ราษฎรมีความ สงบสุขใช้ชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา “คุณธรรม” จึงเป็นเรื่องสำ�คัญที่มุ่งเน้นปลูกฝังให้แก่เด็กและเยาวชนให้ราษฎรมีการใช้ จ่ายและเลีย้ งชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง มีการใช้สารชีวภาพทดแทนสารเคมี การนำ�วัสดุเหลือใช้มาใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น นำ�พลาสติกมากลั่นเป็นน้ำ�มันเชื้อเพลิง การปลูกพืชผักสวนครัว ตำ�บลจรเข้เผือกภายใต้การบริหารของกำ�นันนิตยา บุญคุ้ม ได้ วางแนวทาง “คุณธรรม วัฒนธรรม นำ�การพัฒนา” จึงได้มกี ารประสานงานอย่างใกล้ชดิ ระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการร่วมมือกับโรงเรียน สถานศึกษา และวัดต่าง ๆ ในพื้นที่ ให้ความรู้ศีลธรรมและอบรมจริยธรรมแก่นักเรียนหลาย โรงเรียนกำ�หนดอัตลักษณ์เป็น “โรงเรียนวิถีพุทธ” การประสานงานแบบบวร คือ บ้าน วัด โรงเรียน และราชการนั้นช่วยให้ เด็กและเยาวชนได้อยู่ในครอบครัวอย่างมีความสุข ดำ�รงรักษาความเป็นไทย ใช้ชีวิตที่ดีงามตามครรลองศีลธรรมแห่งพระพุทธ ศาสนา รักษาขนบธรรมเนียมความเป็นไทยที่มีวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามให้ยั่งยืนสืบต่อไปตลอดกาล
กำ�นันนิตยา บุญคุ้ม กำ�นันตำ�บลจรเข้เผือกคนปัจจุบัน
การนำ�พลาสติกมาผลิตเป็นน้ำ�มันเชื้อเพลิง
ทำ�บุญตักบาตรตามประเพณีชาวพุทธในตำ�บลจรเข้เผือก KANCHANABURI 279
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหินแท่นลำ�ภาชี
วัดหินแท่นล�ำภาชี ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 190 หมู่ 3 ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอ ด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีหลวง พ่อทันใจ ประดิษฐานในอุโบสถเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวต�ำบล หนองไผ่ ปัจจุบันพระครูถาวรกาญจนธรรมเป็นเจ้าอาวาส ประวัติความเป็นมา
วัดหินแท่นล�ำภาชี ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2481 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 โดย เมื่อ 40 กว่าปีมา แล้ว วัดได้รับบริจาคที่เนินเขาอีก 100 ไร่ พระครูถาวรกาญจนธรรม ได้ดแู ลรักษาผืนป่าโดยรอบ และท�ำการปลูกป่าทดแทนทีโ่ ดนตัดไป เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ กิจกรรมและจุดเด่นของวัด วัดหินแท่นล�ำภาชี เป็นวัดที่สนับสนุนกิจกรรมทางด้านงาน ศาสนา ศิ ล ปวั ฒ นธรรมเป็ น ประจ� ำ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ ก่ อ ตั้ ง 280
“ส�ำนักสงฆ์ปา่ เขาน้อยธรรมรังษี” (สาขาวัดหินแท่นล�ำภาชี) ซึง่ อยูเ่ ลย วัดไปราว 800 เมตร ,จัดการปฏิบัติธรรมเข้าค่ายพุทธบุตร และเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่เปิดให้คนนอกพื้นที่ได้มาเยี่ยมชมและสัมผัสความ อลังการของ “อุโบสถเรือส�ำเภาแก้ว” นับร้อยล้าน หนึ่งเดียวใน ประเทศไทย ซึ่งนับเป็นอุโบสถที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดกาญจนบุรีก็ว่าได้ ร่วมสร้างทางบุญหนุนน�ำชีวิต ปัจจุบันทางวัดก�ำลังก่อสร้างพระพุทธชินราช หลวงพ่อโสธร หลวงปูโ่ ต หลวงปูท่ วด วิหารหลวงปูโ่ ต โรงครัว และก�ำลังปรับภูมทิ ศั น์ ส�ำนักสงฆ์ฯ จึงขอบอกบุญมายังพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาทั้งหลาย สมทบทุนสร้างทางบุญได้ที่ พระครูถาวรกาญจนธรรม (เจ้าอาวาส วัดหินแท่นล�ำภาชี) โทรศัพท์ 085-2964691 / 090-1394564 หรือที่ Facebook ชื่อ ส�ำนักสงฆ์ป่าเขาน้อย สาขาวัดหินแท่น กาญจนบุรี เลขที่บัญชีวัด 713-0-20838-4 พระครูถาวรกาญจนธรรม ธนาคารกรุงไทย สาขากาญจนบุรี
KANCHANABURI 281
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
ทางบุญสายใหม่ในเส้นทางธรรม...
วัดพระธาตุโป่งนก
วัดพระธาตุโป่งนก ตั้งอยู่หมู่ 4 บ้านโป่งนก ตำ�บลด่านมะขามเตี้ย อำ�เภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ภายในบริเวณวัดซึง่ ตัง้ อยูบ่ นยอดเขาโป่งนก มีพระมหาสถูปเจดียเ์ ป็นทรง ระฆังคว่ำ� มีชื่อว่า “พระมหาสถูปเจดีย์ศรีมหาธาตุ” ซึ่งประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และมี รอยพระพุทธบาทจำ�ลองประดิษฐานอยู่ 282
เมื่อหลวงพ่อท่านได้มาพักจำ�พรรษาที่หมู่บ้านโป่งนกแล้ว และได้บูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่เป็นที่พักสงฆ์ที่เหมาะแก่การ ปฏิบัติธรรมมากขึ้น และให้ชื่อว่า “สำ�นักปฏิบัติธรรมศิลปจิตร” ให้ธรรมเป็นทานแก่ญาติโยมทุกวัน มีญาติโยมเข้าฝึกปฏิบตั ธิ รรม ทุกวันต่อเนือ่ งมากบ้างน้อยบ้าง โดยมีทพี่ กั เป็นอาคารโรงแฝกกว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร ซึ่งหลวงพ่อทำ�ขึ้นเอง แต่ว่าสถานที่ใน การปฏิบัติธรรมก็ยังไม่เอื้ออำ�นวยดี เพราะยามฝนตกลมพัดก็ ทำ�ให้การปฏิบัติธรรมเกิดความลำ�บากมากขึ้น หลวงพ่ อ จึ ง ไปขอความเมตตาจากท่ า นพลเอกธนเดช ประทุมรัตน์ เจ้ากรมการทหารช่าง ให้มาดำ�เนินการก่อสร้างทีพ่ กั ปฏิบตั ธิ รรมให้ใหม่ เป็นอาคารเอนกประสงค์ กว้าง 12 ยาว 28 เมตร นับว่าเพียงพอต่อการเปิดสอนหลักธรรมขณะนั้น
วิสัยทัศน์ของหลวงพ่อศิลปจิตร
ประวัติวัดพระธาตุโป่งนก
หลังจากหลวงพ่อศิลปจิตร หรือ พระอธิการศิลปจิตร รมจิตโฺ ต (เจ้าอาวาสวัดพระธาตุโป่งนกรูปปัจจุบนั ) กลับจากธุดงค์ เมื่อปี 2544 และได้มาพักที่บ้านโป่งนกระยะหนึ่ง จากนั้นได้รับ อาราธนาจากโยมแม่สม้ ฉุน ฉ่�ำ เกตุ และลูกๆ ญาติโยมหลายท่าน ให้มาจำ�พรรษาในหมู่บ้านโป่งนก ซึ่งอดีตเคยเป็นที่พักสงฆ์เล็กๆ และถูกทิ้งร้างไปแล้ว
หลวงพ่อศิลปจิตร พิจารณาเห็นว่า...พุทธศาสนาของเรา ปัจจุบัน มักมีเรื่อมัวหมองจากผู้ไม่ประสงค์ดีต่อพระพุทธศาสนา ก็ดี หรือลัทธิอื่นๆ เข้ามาจาบจ้วงอยู่เสมอ จากผู้ที่ถือเอาความ เป็นเลิศของพระพุทธศาสนาไปปลอมแปลงทำ�มาหากินเลี้ยงชีพ และเพือ่ ผลประโยชน์สว่ นตนจนร่�ำ รวย และจากชาวพุทธเองต่าง หย่อนยานละทิง้ หลักธรรมอันประเสริฐของพระพุทธเจ้า แล้วจาบ จ้วงศีลประพฤตินอกศีล ทำ�ให้พระสงฆ์ปรากฏข่าวในสื่อต่างๆ ไม่หยุดหย่อน จึงทำ�ให้หลวงพ่อปรารถนาอย่างแรงกล้าทีจ่ ะดำ�รงไว้ซงึ่ หลัก ธรรมคำ�สอนและศีลธรรม จึงตั้งมั่นที่จะเปิดวัดปฏิบัติธรรมขึ้น เพื่อให้ธรรมะแก่สาธุชนอย่างจริงจัง และไม่หวังผลประโยชน์ อื่นใดตามแนวทางองค์พระศาสดา ดั้งนั้น วัดพระธาตุโป่งนก จะไม่กระทำ�สิ่งใดๆ เป็นประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อพวกพ้องใดๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่มีการสร้างเครื่องรางของขลังที่เป็นการสร้าง พุทธพาณิชย์ตา่ งๆ นานา ดังทีว่ ดั และสำ�นักอืน่ ๆ กระทำ�โดยทัว่ ไป และการบวชต่างๆ ของลูกหลานชาวบ้านก็มิได้เสียค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งมีการปฏิบัติธรรมทุกวันด้วยหลักธรรมอันเข้าใจง่ายตรงไป ตรงมา นี่จึงเป็น...ทางบุญสายใหม่ ในเส้นทางธรรมที่วัดแห่งนี้ KANCHANABURI 283
ธรรมทัศน์จากหลวงพ่อศิลปจิตร
“พระพุทธศาสนา จะยั่งยืนมั่นคง ฝูงชนจะนับถือศรัทธา อย่างสนิทใจ” ขึ้นอยู่กับชาวพุทธของเรานี่เอง ประกอบด้วยพุทธบริษัท 4 พระภิกษุสงฆ์ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา โดยเฉพาะผู้นำ� หรือผู้ ทำ�หน้าทีป่ ระกาศพระศาสนา จะต้องปฏิบตั ติ นให้ถกู ต้องตามหลัก พระธรรมวินัย ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งต่อหน้าสาธารณชน และลับหลัง ได้วา่ ทัง้ เบือ้ งต้น เบือ้ งกลาง เบือ้ งปลาย มิใช่ตอ่ หน้า สาธารณชนปฏิบตั อิ ย่างหนึง่ พอลับหลังก็ปฏิบตั อิ กี อย่างหนึง่ และ ต้องยอมรับว่า ความลับไม่มีในโลก เมื่อทำ�อะไรลงไปแล้ว หรือ พูดอะไรออกไป ก็ต้องมีคนรู้เห็นหรือได้ยินได้ฟัง แม้ยังไม่มีคน รู้เห็นได้ยินได้ฟัง ตัวท่านและตัวเรานี่เองเป็นผู้รู้ผู้เห็นได้ยินได้ ฟังทั้งสิ้น พระภิกษุสงฆ์ในสมัยพุทธกาลมีความละอายต่อบาปมาก มีจติ สำ�นึกต่อการกระทำ�ทีไ่ ม่ถกู ต้องเป็นอย่างยิง่ ก็เพราะพระพุทธ องค์ทรงปฏิบตั พิ ระองค์เองให้เป็นแบบอย่างทีด่ ี ทรงใช้เมตตาธรรม ปกครองสงฆ์ ด้ ว ยความเมตตา เช่ น ภิ ก ษุ รู ป ใดประพฤติ ผิ ด พลาด พระองค์ ท่ า นก็ จ ะเรี ย กมาตรั ส ถามว่ า เธอรู้ ไ หม? ว่าที่เธอทำ�ไปนั้นถูกหรือผิด ผู้มีจิตสำ�นึก หรือละอายต่อบาป จะยอมรับทันทีวา่ ข้าพระพุทธเจ้าผิดไปแล้วพระเจ้าข้า พระพุทธ องค์กท็ รงใช้เมตตาประทานอภัย และทรงตรัสตักเตือนเมือ่ เห็นว่า เป็นความผิดครัง้ แรก และยอมรับผิดแต่โดยดีวา่ อย่าให้เกิดมีขนึ้ อีก ก่อนกระทำ�สิง่ ใดให้คดิ ให้ดกี อ่ นว่าสิง่ ทีจ่ ะทำ�ไปนัน้ มีผลกระทบให้ 284
ผูอ้ นื่ เดือดร้อนหรือไม่ ถ้าทำ�แล้วผูอ้ นื่ เดือดร้อน หรือเสียหายก็ไม่พงึ กระทำ� ถ้ากระทำ�ลงไปผลก็จะย้อนกลับมาที่ตนเอง ทำ�ให้ตนเองมี ผลได้รับความเดือดร้อนไปด้วย แม้ไม่มีใครรู้ใครเห็น แต่ผลเบื้อง ต้นก็ทำ�ให้เราไม่สบายใจ แม้เรื่องจะส่งผลเล็กน้อยความสบายใจ ก็จะเกิดขึ้นทันที ยิ่งเป็นเรื่องไปก่อบาปถึงการทำ�ให้ผู้อื่นเสียหาย ถึงแก่ชีวิต หรือตายไป กฎหมายบ้านเมืองก็ย่อมจะส่งเจ้าหน้าที่มา จับกุมคุมขัง ทำ�ให้หมดอิสรภาพ ความทุกข์ยอ่ มเกิดขึน้ ทัง้ ต่อตนเอง ครอบครัว พ่อแม่ สามี ภรรยา ลูกหลาน และคนเคียงข้างจะพากัน เดือดร้อนไปด้วยอย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยงได้เลย เรื่องของคนหรือปุถุชนนั้น ย่อมมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน อยู่เสมอ ความคิดเห็นทั้งถูกและผิด ย่อมเป็นทิฐิ แล้วยากที่จะ ทำ�ให้มีความเห็นที่ตรงกันทุกสิ่งไป ก็เป็นเหตุให้โต้เถียงกัน ขัดแย้ง วิวาทกันอยู่ร่ำ�ไป “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่วิวาทโต้เถียงกับใครในโลก แต่โลกย่อมวิวาทโต้เถียงกับเรา” สำ�หรับพระอริยะเจ้าผู้เข้าถึงธรรม ก็ย่อมไม่มีอะไรโต้เถียงกับ ใคร ใครจะทิฐอิ ย่างใด ก็ปล่อยเป็นเรือ่ งของเขาไปดังพุทธพจน์ตอน หนึง่ ว่า “ภิกษุทงั้ หลาย สิง่ ใดอันบัณฑิตทัง้ หลายในโลกกล่าวว่ามีอยู่ แม้เราตถาคตก็กล่าวว่า สิ่งนั้นว่ามีอยู่ สิ่งใดอันบัณฑิตทั้งหลายใน โลกกล่าวว่าไม่มี แม้เราตถาคตก็กล่าวสิ่งนั้นว่ามี ” นีก่ เ็ ป็นอีกเหตุผลหนึง่ ในหลายๆ เหตุผลทีเ่ ราได้น�ำ มาพิจารณา ด้วยเหตุดว้ ยผลทีพ่ ระพุทธศาสนาของเราเปราะบาง และมีผนู้ บั ถือ พระพุทธศาสนากันอย่างไม่ถูกต้อง นับถือกันแบบเปลือกๆ หรือ กระพี้ไม่ถึงแก่นแท้ของพระพุทธศาสนา หรือเพียงได้บันทึกไว้ใน สำ�เนาทะเบียนบ้านเท่านั้น แต่จิตใจยังไม่เข้าถึงพระพุทธศาสนา อย่างแท้จริงไม่ บางคนอาจจะพูดได้ว่า ไม่มีศาสนาเสียด้วยซ้ำ� ยังฆ่าสัตว์ ทำ�ร้ายฆ่าคน เบียดเบียนผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน วุน่ วายอยูไ่ ม่หยุด เพราะไม่เข้าใจและไม่ซาบซึง้ ในหลักธรรมคำ�สอน ของพระพุทธศาสนา จึงนำ�เอาความเชื่อทุกสิ่งมาปะปนกันจนแยก ไม่ออกว่า อะไรเป็นคำ�สอนของพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นคำ� บอกเล่า ตำ�นาน นิทาน หรือลัทธิ ศาสนา ไม่รู้จักแยกแยะดีชั่วว่า อะไรควรอะไรไม่ควร จนบางครั้งมีผู้ถามว่า...พระพุทธเจ้าของเรา มีจริงไหม ชาวพุทธบางคนยังไม่กล้าตอบทันทีวา่ จริงหรือไม่จริง นัน่ ก็เพราะเขายังขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดการได้รู้ได้เห็นสิ่งที่เป็น เครื่องยืนยัน หรือคำ�สอนที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ ดังนัน้ จึงเป็นหน้าทีข่ องผูน้ �ำ ผูบ้ ริหารบ้านเมืองทุกองค์กร ควรจะ ได้รว่ มกันพิจารณาให้ความเห็นและแนะนำ�ทางทีด่ คี วรจะได้รบั การ ระดมสมองกันทุกฝ่าย และทำ�ความเข้าใจกันให้ถูกต้อง ชัดเจน มาร่วมกันร่วมอยู่ ร่วมปฏิบัติร่วมกัน จนเกิดความเข้าใจกันดี และ ผูน้ �ำ ทัง้ หลายก็มาร่วมวางแผนร่วมกันจัดแนวทางปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปใน แนวทางเดียวกัน เมือ่ หัวหรือผูน้ �ำ เห็นพ้องต้องกัน แล้วนำ�มาสัง่ การ ผูร้ องรับในการปฏิบตั ิ ผูป้ ฏิบตั ทิ กุ ระดับทุกคนจะไม่ตะขิดตะขวงใจว่า ผู้ นำ � หรื อ เจ้ า นายผู้ ห ลั ก ผู้ ใ หญ่ ไ ม่ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ไม่ ท ราบแนวทาง พอผู้น้อยได้รับคำ�สั่งให้ปฏิบัติครั้นปฏิบัติกลับมาแล้วอาจไม่ถูกใจ หรื อ อาจได้ ผ ลไม่ เ ป็ น ที่ พ อใจ ก็ จ ะทำ �ให้ ก ารปฏิ บั ติ มี อุ ป สรรค ไม่สามารถก้าวหน้าตามประสงค์ได้ จึงขอให้ทา่ นผูน้ �ำ ทัง้ หลายได้พา กันลดทิฐิ แล้วมาร่วมแรงร่วมใจเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน พระพุทธ ศาสนาของเราจะคงอยู่คู่ฟ้าดินตลอดไป และนั้นก็หมายความว่า ไม่มีใครมาทำ�หลายพระพุทธศาสนาได้ เจริญพร พระอธิการศิลปจิต รมจิตฺโต
ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่ แพรหรูเหนือเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวัดกาญจนบุรี
อนันตาริเวอร์ฮิลส์ Ananta River Hills Resort สบาย สบาย สไตล์อนันตา แพหรูเหนือเขื่อน ศรีนครินทร์ ทีท่ �ำ ให้คณ ุ มีความสุขและพบกับความสนุกบน เครื่องเล่น แทรมโพลีน พายเเรือแคนนูนบนผืนนำ�้ ท่ามกลางธรรมชาติ ล่องแพเปียกเล่นนำ�ช้ มวิวเขือ่ นช่วง พระอาทิตย์ตก ทำ�ให้คณ ุ มีความสุขทีส่ ดุ สำ�หรับการพักผ่อน ณ จุดทีผ่ นื นำ�้ แผ่นฟ้า และทิวเขามาบรรจบแต่ง แต้ม ด้วยแพอันหรูหราพร้อมสิง่ อำ�นวยความสะดวก ก่อ ให้เกิดการลงตัวของการพักผ่อน ผสมผสานกับบรรยากาศ อันเป็นส่วนตัว ท่านสามารถจองทีพ่ กั ได้ทางโทรศัพท์หรือทาง Email ิ สร์ ส อน ันตาริเวอร์ฮล ี อร์ท
270 หมู่ 5 บ ้านหม่องกระแทะ ต. ท่ากระดาน อ. ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 71250 Tel: 087-588-1970, 081-445-4488, 081-907-2228, 034-510-569 Email: anatariverhills@gmail.com www.anantariverhills.com www.facebook.com/ anantariverhillsresort
เส้นทางพบ นายอำ�เภอ
นายเสรี คงอยู ่ นายอำ�เภอศรีสวัสดิ์ ศรีสวัสดิ์เมืองน่าเที่ยว “ป่าสวย น้ำ�ใส ปลาตัวใหญ่ คนน้ำ�ใจงาม” คือคำ�ขวัญประจำ�อำ�เภอศรีสวัสดิ์ ซึ่งเป็น 1 ใน 13 อำ�เภอของจังหวัดกาญจนบุรี โดยห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี ประมาณ 110 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 240 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายเสรี คงอยู่ เป็นนายอำ�เภอ คนที่ 35 บริหารราชการตามวิสัยทัศน์ ที่วา ่ “บริการเชิงรุก ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม น้อมนำ�เศรษฐกิจพอเพียง”
ข้อมูลทั่วไป
อำ�เภอศรีสวัสดิ์ มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 3,296 ตร.กม. ปัจจุบนั แบ่งการปกครองออกเป็น 6 ตำ�บล 33 หมูบ่ า้ น การปกครองท้องถิน่ มีเทศบาลตำ�บล 2 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำ�บล 5 แห่ง มีประชากรประมาณ 23,000 คน มี 7,884 ครัวเรือน โดยประชากรมีหลายชาติพันธุ์ เช่น กระเหรี่ยง (โบว์) ขมุ ข่าสอูด (อูด) ละว้า ลาว (ไทยอีสาน) ไทยพวน และพม่า จุดเด่นของอำ�เภอศรีสวัสดิ์ เป็นทีต่ งั้ ของเขือ่ นศรีนครินทร์ ซึง่ จุน�้ำ ได้มากถึง 17,745 ล้าน ลบ.ม.และเป็นแหล่งผลิตกระแส ไฟฟ้าอันดับต้นของประเทศไทย และรายล้อมไปด้วยเขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเอราวัณ อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ สลักพระ เป็นต้น 288
รีสอร์ท The Hub Arawan เป็นต้น
จากใจนายอำ�เภอศรีสวัสดิ์
ประวัติความเป็นมา
อำ�เภอศรีสวัสดิ์ เคยเป็นแหล่งอารยธรรมยุคก่อนประวัตศิ าสตร์ และมีประวัตกิ ารตัง้ หมูบ่ า้ นมานานกว่า 200 ปี โดยมีฐานะเป็นเมือง หน้าด่านขึน้ ตรงต่อเจ้าเมืองกาญจนบุรี ต่อมาทางราชการได้จดั การ ปกครองใหม่ และมีการเปลี่ยนแปลงฐานะหลายครั้งจนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2508 ได้ยกฐานะเป็นอำ�เภอศรีสวัสดิ์ แต่ในปี พ.ศ. 2519 มีการสร้างเขื่อนศรีนครินทร์ จึงได้ย้ายที่ว่าการอำ�เภอศรีสวัสดิ์มา ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำ�บลด่านแม่แฉลบ จนถึงปัจจุบัน
แหล่งท่องเที่ยวของอำ�เภอศรีสวัสดิ์
1. น้ำ�ตกเอราวัณ ตั้งอยู่บริเวณหมู่ที่ 4 ตำ�บลท่ากระดาน ในเขตของอุทยานแห่งชาติเอราวัณ แบ่งเป็น 7 ชั้น ชั้นบนสุดจะ มีลักษณะคล้ายหัวของช้างที่มีงายื่นออกจากภูผา 2. น้�ำ ตกแม่หว้ ยขมิน้ ตัง้ อยูบ่ ริเวณหมูท่ ี่ 7 ต.ด่านแม่แฉลบ ใน เขตของอุทยานแห่งชาติเขือ่ นศรีนครินทร์ เป็นน้�ำ ตกทีส่ วยงามมาก ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย มี 7 ชั้น คล้ายกับน้ำ�ตกเอราวัณ 3. เขื่อนศรีนครินทร์ ตั้งอยู่บริเวณ ม.4 ต.ท่ากระดาน มีจุดชม วิวทีน่ า่ สนใจบริเวณสันเขือ่ น สวนเวลารำ�ลึก และอ่างเก็บน้�ำ เหนือ เขื่อน พร้อมบริการที่พักและจัดกิจกรรมท่องเที่ยวตามฤดูกาล 4. โบสถ์สแตนเลส วัดปากลำ�ขาแข้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต.เขาโจด สร้างมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2484 โดยประชาชนและผู้มีจิตศรัทธารวม แรงรวมใจกันสร้างเพื่อให้เป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนา 5. ถ้ำ�พระธาตุ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต.ท่ากระดาน อยู่ในเขตอุทยาน แห่งชาติเอราวัณ ภายในมีหนิ งอกหินย้อยวิจติ รงดงามมาก ทีแ่ ปลก คือ เป็นหินที่โปร่งแสง 6. แพพัก รีสอร์ท ทีส่ วยงามหลายแห่งตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน้�ำ เหนือเขื่อนศรีนครินทร์ และริมแม่น้ำ�แควใหญ่ เช่น เลคเฮฟเว่น รีสอร์ท รักน้�ำ รีสอร์ท “มัลดีฟน้�ำ จืดแห่งแรกของเมืองไทย” อนันตา
“ริเริม่ รอบรู้ รวดเร็ว รอบคอบ” เป็นสโลแกนการปฏิบตั งิ านของ นายเสรี คงอยู่ นายอำ�เภอศรีสวัสดิ์ ที่ได้มาดำ�รงตำ�แหน่ง เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2556 โดยเล็งเห็นว่าภูมิศาสตร์ของอำ�เภอศรีสวัสดิ์ ที่มีอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา ่ เขตห้ามล่าสัตว์ป่า พื้นที่ ราชพัสดุ พื้นที่ ส.ป.ก. เขตป่าไม้ ซึ่งจะต้องทำ�งานกับประชาชนใน พืน้ ทีโ่ ดยต้องรับรูส้ ภาพปัญหาทีด่ นิ ทำ�กินทีเ่ กิดขึน้ แล้วบูรณาการร่วม กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อลดการขัดแย้งในพื้นที่ โดยใช้ระเบียบ กฎหมายและการปกครองทางรัฐศาสตร์เข้ามาใช้ ในประเด็นด้านการพัฒนาพืน้ ทีด่ า้ นการเกษตร ได้นอ้ มนำ�ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาปฏิบัติ โดยตั้งศูนย์เรียนรู้อยู่ข้างอำ�เภอ ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ และได้จัด ตั้งคณะทำ�งานจากภาคส่วนราชการ เอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน อส. เยาวชน นักเรียน เข้ามาดำ�เนินการ โดยมีจุดมุ่งหมายสำ�คัญเพื่อให้ เป็นศูนย์เรียนรู้ของคนในอำ�เภอและคนจังหวัดอื่น โดยไม่ต้องให้คน กาญจนบุรีไปดูงานนอกพื้นที่ เพราะมีค่าใช้จ่ายมาก อีกทั้งคนที่มา ดูงานในศูนย์แห่งนี้ จะต้องซื้อผลิตภัณฑ์ด้านการเกษตรที่ปราศจาก สารพิษ มีคุณภาพ นำ�ติดมือกลับไปบ้าน ซึ่งจะเป็นการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ศูนย์เรียนรู้ของอำ�เภอศรีสวัสดิ์แห่งนี้ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันอำ�เภอศรีสวัสดิ์ได้มีการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน เพื่อร่วมกันพัฒนามาตรการด้านความปลอดภัยในการ จราจร การเดินทางท่องเที่ยว ทั้งทางบกและทางน้ำ� การจัดระเบียบ แพพักรีสอร์ท เพื่อดูแลนักท่องเที่ยวให้มีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ เป็นรูปแบบหนึง่ ใน “ศรีสวัสดิโ์ มเดล (Sri Sawat Model)” ได้จัดงบประมาณขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง จัดฝึก อบรมการกูภ้ ยั ทางน้�ำ ให้กบั ส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ในด้านการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้ให้ทกุ อบต.ทุกเทศบาล จัดทำ�โครงการ TO BE NUMBER ONE ซึ่งเป็นโครงการของ ทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ให้กับเยาชนในพื้นที่ทุกแห่ง อีกทั้งอำ�เภอยังได้มีโครงการสำ�คัญอื่นๆ อีกมากมาย เช่น โครงการ พัฒนาพื้นที่จากงบประมาณกองทุนพัฒนารอบโรงไฟฟ้า, โครงการ เปิดโลกศรีสวัสดิ์ ซึ่งเน้นการแข่งกีฬาทางน้ำ� การตกปลา ไตรกีฬา, โครงการให้อาหารช้างป่าทางอากาศ, โครงการ 60 ฝาย 600 ไร่ ตามรอยพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ และโครงการอื่ น ๆ ตามแนวทางนโยบายของรัฐบาล KANCHANABURI 289
เส้นทางพบ
องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ศรีสวีสดิ)์
นายสุมล จันทร์ค�ำ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลด่านแม่แฉลบ
“หมู่บ้านเข้มแข็ง ด้วยการบริหารจัดการที่ดี คนมีการศึกษา พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ ทุกชีวิตอยู่ดีกินดี ตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” “คือวิสัยทัศน์ของ องค์การบริหารส่วนตำ�บลด่านแม่แฉลบ ซึง่ มีส�ำ นักงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1/2 หมู่ 3 ตำ�บลด่านแม่แฉลบ อำ�เภอ ศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันมี นายสุมล จันทร์ค�ำ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลด่านแม่แฉลบ
ประวัติความเป็นมา
ตำ�บลด่านแม่แฉลบเป็นตำ�บลเก่าแก่ซึ่งชาวบ้านได้อพยพมา อยู่อาศัย เนื่องจากเห็นว่ามีทำ�เลดีเพราะเป็นช่องด่านระหว่าง ภูเขาและลำ�ห้วยแม่แฉลบ ในสมัยรัชกาลที่ 1 ซึ่งยังต้องระแวด ระวั ง เรื่ อ งที่ ท หารพม่ า จะยกทั พ เข้ าโจมตี แ ผ่ น ดิ น สยาม จึ ง โปรดเกล้าฯ ให้มกี ารตัง้ เมืองหน้าด่าน เรียกว่า “เมืองศรีสวัสดิ”์ ขึ้นตรงกับเจ้าเมืองกาญจนบุรี
ข้อมูลทั่วไป
ตำ�บลด่านแม่แฉลบ สภาพพืน้ ทีเ่ ดิมอยูร่ มิ แม่น�้ำ แควใหญ่ ซึง่ มีพนื้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ ต่อมาปี 2519 พืน้ ทีต่ �ำ บลนีน้ �้ำ ท่วมเนือ่ งจาก มีการสร้างเขื่อนศรีนครินทร์ จึงต้องอพยพชาวบ้านมาอยู่บน ที่ราบสูงภูเขา โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ ได้จัดสรรที่ดินให้แก่ ราษฎรเป็นที่อยู่อาศัยและทำ�กิน ปัจจุบันแบ่งการปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน คือ บ้านท่าสนุ่น (หมู่ 1, 4) บ้านพุน้ำ�เปรี้ยว (หมู่ 2) บ้านด่านแม่แฉลบ (หมู่ 3) บ้านโป่งหวาย (หมู่ 5) บ้านดงเสลา (หมู่ 6) บ้านปากเหมือง (หมู่ 7) และบ้านหาดแตง (หมู่ 8) ประชาชนที่อาศัยอยู่ภายใน เขตส่วนมากประกอบอาชีพหลักได้แก่ ทำ�ไร่ เลี้ยงสัตว์ ค้าขาย อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้าง ประมง หัตถกรรม 290
องค์การบริหารส่วนตำ�บล ด่านแม่แฉลบ แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ
1.น้�ำ ตกห้วยแม่ขมิ้น อยู่ห่างจากที่ทำ�การอุทยานแห่งชาติเขื่อน ศรีนครินทร์ เพียง 100 เมตร เป็นน้ำ�ตกที่สวยงามมากที่สุดแห่ง หนึ่งของประเทศไทย เกิดจากลำ�ห้วยแม่ขมิ้นที่ไหลผ่านเทือกเขา หินปูนลดหลั่นลงมาเป็นชั้น ๆ ก่อให้เกิดน้ำ�ตกที่สวยงามทั้งหมด 7 ชั้น คล้ายกับน้ำ�ตกเอราวัณ แต่ละชั้นมีชื่อเรียกเรียงลำ�ดับจากชั้น ที่ 1 - 7 ดังนี้ คือ ดงว่าน ม่านขมิ้น วังหน้าผา ฉัตรแก้ว ไหลจน หลง ดงผีเสือ้ และร่มเกล้า ระยะทางรวม 2,270 เมตร โดยอุทยาน แห่งชาติได้จดั ทำ�เส้นทางศึกษาธรรมชาติของป่าเบญจพรรณและป่า เต็งรัง โดยจะผ่านจุดชมทิวทัศน์ของอ่างเก็บน้ำ�เขื่อนศรีนครินทร์ 2.ภาพเขียนสีโบราณ อายุสามพันปี ตั้งอยู่ที่บ้านด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ ภาพเขียนกระจายหลายจุดตามหน้าผาหิน จุดแรกเป็น ภาพกลุ่มคนประมาณ 5 คน กำ�ลังทำ�กิจกรรมบางอย่าง และภาพ วาดคนยืนโดดเดีย่ ว จุดที่ 2 เป็นภาพของกลุม่ คนทีก่ �ำ ลังทำ�กิจกรรม รื่นเริงบันเทิง หรือพิธีกรรมบางอย่าง มีการใช้ใบไม้ปกปิดร่างกาย ท่อนล่าง มือถือภาชนะดินเผา จุดที่ 3 เป็นภาพของกลุ่มคนเช่นกัน บางส่วนของภาพเริ่มหลุดลอกออก แต่ยังนับว่าภาพเขียนสีที่นี่ยัง สมบูรณ์อยู่มากทีเดียว 3. ทะเลสาบเหนือเขื่อนศรีนครินทร์ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อน ใจ ทีเ่ น้นความเป็นธรรมชาติอย่างแท้จริง เพราะมีบรรยากาศเงียบ สงบเป็นส่วนตัว มีอากาศเย็นสบายจึงเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว ซึ่งสามารถมาพักค้างคืนนับดาวสุกสกาวบนแพพัก หรือจะเช่าแพ ลอยลำ�อ้อยอิ่งกลางทะเลสาบเพื่อตกปลาเขื่อนตัวบิ๊กเบิ้ม หรือจะ ล่องแพชมความงามของน้ำ�ตกห้วยแม่ขมิ้นก็ได้ สอบถามรายละเอียดเกีย่ วกับสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วหรือแพพัก ติดต่อ ได้ที่ อบต.ด่านแม่แฉลบ โทร.034-597106 กิจกรรม อบต.ด่านแม่แฉลบชวนเพือ่ นทำ�ฝาย ร่วมเครือข่าย คน กฟผ. จัดกิจกรรมเพือ่ ชักชวนให้ประชาชนในเขตพืน้ ทีแ่ ละอาสาสมัคร ร่วมกันพัฒนาแหล่งต้นน้�ำ ลำ�ธาร โดยผ่านกิจกรรมสร้างฝายชะลอ น้ำ� อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ประชาชนได้มีน้ำ�กินน้ำ�ใช้ตลอดปี
KANCHANABURI 291
เส้นทางพบ
เทศบาลตำ�บล (อ.ศรีสวัสดิ)์
เทศบาลตำ�บลเขาโจด “ตำ�บลน่าอยู่ มุ่งสู่เกษตรก้าวหน้า การศึกษาดี มีคุณธรรม นำ�การพัฒนา อย่างยั่งยืน” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ข องเทศบาลตำ � บลเขาโจด ซึ่ ง มี สำ � นั ก งาน เทศบาลตั้งอยู่เลขที่ 200 หมู่ 4 ตำ�บลเขาโจด อำ�เภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี ปัจจุบันมี ด.ต.สมรัก พรหมชนะ เป็นนายก เทศมนตรีต�ำ บลเขาโจด
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลตำ�บลเขาโจดได้รับการยกฐานะขึ้นจากอบต.เขาโจด เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2556 มีเนื้อที่รวม 922 ตร.ก.ม. หรือ 576,250 ไร่ อยู่ในเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ และอุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ แบ่งเขตการปกครองเป็น 5 หมู่บ้าน มี 1,316 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทย เชื้อสายกะเหรี่ยง ที่เข้ามาอาศัยอยู่ในพื้นที่มาดั้งเดิม ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว ข้าวโพด พืชผักสวนครัว รับจ้าง ทั่วไป และบริการการท่องเชิงอนุรักษ์ แพพัก-แพล่อง
สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ
พื้นที่ของตำ�บลเขาโจด เป็นที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ อาทิ วัดปากลำ�ขาแข้ง โบสถ์สแตนเลสแห่งเดียวในโลก,ถ้ำ�ธาร ลอดใหญ่ และถ้ำ�ธารลอดน้อย,น้ำ�ตกไตรตรึงษ์,น้ำ�ตกธารเงินธารทอง และทิวเขากำ�แพง เป็นต้น 292
ปางช้างไทรโยค...
บ้านอันแสนอบอุ่นของช้างไทย
ยินดีต้อนรับสู่...ปางช้างที่ใหญ่ที่สุดในกาญจนบุรี ปางช้างไทรโยค คือบ้านอันแสนอบอุ่นของ ช้างไทย ในอ้อมกอดขุนเขา แมกไม้ และสายน้ำ� เพื่อให้คุณได้สัมผัสบรรยากาศอันบริสุทธิ์สดชื่น ท่ามกลางพฤกษ์ไพร พร้อมด้วยบรรดาช้างแสน เชื่องมากถึง 38 เชือก ที่รอการมาเยือนจากท่าน ทุกวัน จันทร์ - อาทิตย์ ตั้งแต่ 08.00 - 15.30 น. • ตืน่ ตาตืน่ ใจกับรูปแบบการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ อาทิ นัง่ ช้างและล่องเเพไปตามสายน้�ำ เเควน้อย • ชมการเเสดงช้างน้อยเเสนรู้ พร้อมการ บรรยายความรู้เรื่องช้าง ในหลายๆ ภาษา • สนุกสนานกับการให้อาหารช้างใหญ่ ป้อน นมไวตามิลค์ให้ชา้ งน้อยเเสนรู้ พร้อมถ่ายรูปกับช้าง และกิจกรรมอาบน้ำ�ให้ช้าง ฯลฯ ปางช้างไทรโยค 30/2 ม.3 ต.ลุ่มสุ่ม อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี 71150 โทร.034-591-255 หรือ www.elephantpark.com Saiyok Elephant Park 30/2 Moo 3 Lumsoom Saiyok Kanchanaburi Tel.66(34)591255, 081-878-9979. (Eng. Spoken 082-061-3928)
รู้จัก “ปางช้างไทรโยค” ปางช้างไทรโยค กาญจนบุรี เปิดบริการตั้งเเต่ ปี 2540 โดยคุณไชยพงค์ แสนดี ลูกหลานตระกูล ช้างธรรมดาคนหนึ่ง ที่มีเพียงหนึ่งสมอง สองมือ สามปัญญาที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ มาใช้ ใ นการเลี้ ย งดู แ ละฝึ ก ฝนช้ า งจนเชื่ อ ง และปล่อยให้ช้างผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ จึงมีช้าง ตกลู ก มากที่ สุ ด ทำ � ให้ ป างช้ า งไทรโยคเป็ น ปาง ช้างที่ใหญ่ที่สุดในกาญจนบุรี เป็นเจ้าของพ่อพันธุ์ ช้างคู่แฝดผู้เชือกแรกของโลก และมีนักท่องเที่ยว นิ ย มมาท่ อ งเที่ ย วมากที่ สุ ด เพราะเป็ น สถานที่ สวยงามร่มรื่นด้วยธรรมชาติ เเวดล้อมด้วยป่าเขา และสายน้ำ� จึงมีกองถ่ายละคร ภาพยนตร์ โฆษณา นิ ย มมาใช้ เป็ น สถานที่ ถ่ า ยทำ � เกื อ บ 100 เรื่ อ ง ในระยะเวลา 20 ปี ตั้งเเต่เปิดปางช้างไทรโยค ความขยัน อดออม และสูช้ วี ติ ของคุณไชยพงค์ แสนดี ทำ � ให้ เ ขาได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ ไ ด้ รั บ พระราชทานปริญญาบัตร จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ เป็นความภาคภูมิใจที่แม้เขาจะไม่ได้ร่ำ�เรียนมาสูง แต่ก็ประสบความสำ�เร็จจากมหาวิทยาลัยชีวิตได้
สายธารไอยรา รีสอร์ท
โทร. 034-532-031 091-871-3663, 091-792-7117 กิจกรรมในรีสอร์ท ล่องแพ ลอยคอ ขี่ช้างท่องไพร ขับรถ ATV สุดมัน มินิฟาร์มแกะ
ห้องพักสวย ริมแม่น้ำ�แควน้อย
...ที่สุดของพักผ่อนในอ้อมกอดของขุนเขาและ สายธาร บนพื้นที่กว่า 30 ไร่ของสายธารไอยรา รีสอร์ท รีสอร์ทริมแม่น้ำ�แควน้อยที่ผสมผสาน ความงามของธรรมชาติกบั แนวคิดเรือ่ งการอนุรกั ษ์ ไว้ได้อย่างลงตัว และตัง้ อยูใ่ กล้กบั สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว สำ�คัญมากมาย เช่น อุทยานปราสาทเมืองสิงห์ น้�ำ ตก ไทรโยคน้อยและใหญ่ สถานีรถไฟถ้ำ�กระแซ ฯลฯ สุขสบาย ในบ้านพักสไตส์ปีกไม้ซึ่งตกแต่งอย่างสวยงาม เพียบพร้อม ด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวกครบครัน เช่น ทีวี ตู้เย็น น้�ำ อุ่น และฟรีไวไฟ อิ่มเอม กับความสุขจากเสียงเพลงในห้องคาราโอเกะ อิ่มอร่อย กับอาหารทะเลสด ๆ ส่งตรงจากท้องทะเลอันดามันเมืองทวาย สู่ไอยรา ทวาย ซีฟู๊ดส์ เพลิดเพลิน กับการว่ายน้�ำ ในสระ(ขนาดกะทัดรัด) สนุกสนาน กับกีฬาและกิจกรรมโปรด อาทิ ฟุตบอล ขีจ่ กั รยาน ขีช่ า้ ง ท่องไพร ล่องแพไม้ไผ่ หรือชมการแสดงของช้างแสนรู้ที่ปางช้างไทรโยค ซึ่งทำ�การแสดงมาแล้วทั่วประเทศ พิเศษสุด ! สายธารไอยรา รีสอร์ท และปางช้างไทรโยค ยินดีรับ งานสถานที่ถ่ายหนังและละคร และรับจัดงานเลี้ยงสังสรรค์-งานประชุม สัมมนา ด้วยห้องที่มีขนาดตั้งแต่ 50-300 คน สนใจสำ�รองห้องพักหรือจัดเลี้ยงสรรสรรค์ได้ที่ สายธารไอยรา รีสอร์ท โทร.034-532-031 091-871-3663 ,091-792-7117 Email: iyara_saiyok.@hotmail.com Website: www.elephantpark.com face book: สายธารไอยรา รีสอร์ท Line:086-412-6644
สาขากาญจนบุรี
277/81-82 ถ.แสงชูโต ต.บานเหนือ อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
034-518-268, 090-197-6424 / www.pd.co.th
“มีแบบบานและอพารทเมนท ใหเลือกกวา 200 แบบ”
ศูนย์กลางความทันสมัย ใหญ่ที่สุดในเมืองกาญจน์ บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด
Call.034-513123 Call.034-543111
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด
การบริการทุกระดับ ประทับใจ ด้วยที่สุดแห่งบริการ มาตราฐานฮอนด้า ศูนย์ซ่อมตัวถังและสีครบวงจร
มุมหนังสือสำ�หรับลูกค้า
มุมกาแฟสดรับรองลูกค้า
มุมบริการเก้าอี้นวดไฟฟ้า
ศูนย์เคลือบแก้วครบวงจร
แคมเปญโดนใจ
ห้องรับรองโอ่โถง กว้างขวาง
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล จำ�กัด Call.034-513123
บริษัท เมืองกาญจน์ ฮอนด้า ออโตโมบิล ลูกแก จำ�กัด Call.034-543111