Nakhonpathum

Page 1



ตลาดศรีวชิ ยั ...ตลาดปลาสวยงาม

คุณอนุสรณ์ ดอนสุวรรณ ผู้บริหารตลาดศรีวิชัย ให้สัมภาษณ์ถึงเป้าหมายในการ จัดสร้างตลาดศรีวิชัยว่า “เราจัดสร้างตลาดศรีวิชัยก็เพื่อเป็นศูนย์รวมทางการค้าทั้งปลีกและส่ง เป็น ศูนย์รวมทางการค้าครบวงจร เพื่อผู้บริโภคจะได้ของดี มีคุณภาพ และที่สำ�คัญคือ ราคาถูก เมื่อมาเลือกซื้อสินค้าตามความต้องการที่ตลาดศรีวิชัยแห่งนี้ และเรายังมี เป้าหมายเพื่อให้ผู้ขาย หรือชาวบ้านทุก ๆ คน ได้มีที่ทำ�มาค้าขาย มีสถานที่ประกอบ กิจการร้านค้าต่าง ๆ”

ตลาดศรีวิชัย 241/1 ถนนทวาราวดี ต.ห้วยจระเข้ อ.เมือง จ.นครปฐม โทร.034-270-309 SBL OK6.indd 1

5/8/2558 BE 10:14 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่ยอด นิยมอีกแห่งหนึง่ ในจังหวัดนครปฐม ตัง้ อยูท่ ตี่ �ำ บลพระปฐมเจดีย์ อำ�เภอ เมืองนครปฐม เป็นพระสถูปเจดียท์ มี่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย ซึง่ ทางจังหวัดนครปฐมได้ใช้พระปฐมเจดีย์เป็นตราประจำ�จังหวัด

ประวัติความเป็นมา พระปฐมเจดีย์ที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เป็นองค์ที่สร้างขึ้นในสมัย รัชกาลที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2396 โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างครอบพระเจดีย์ องค์เดิม ซึง่ เป็นเจดียเ์ ก่าแก่มฐี านแบบโอคว่ำ�และมียอดปรางค์อยูข่ า้ งบน สันนิษฐานว่ามีอายุอยู่ในตอนต้นพุทธศตวรรษที่ 4 เนื่องจากรูปร่าง ของเจดียแ์ บบโอคว่ำ� มีลกั ษณะคล้ายกับสาญจีเจดียใ์ นอินเดียซึง่ สร้าง สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช การก่อสร้างเจดีย์ครอบองค์ใหม่เสร็จ เรียบร้อยในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2413 รวมเวลาก่อสร้าง 17 ปี พระเจดีย์องค์ใหม่มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงกลม รูประฆังคว่ำ� แบบลังกา มีความสูงจากพื้นดินถึงยอดมงกุฎ 3 เส้น 1 คืบ 10 นิ้ว

(หรือประมาณ 120.5 เมตร) ฐานวัดโดยรอบได้ 5 เส้น 17 วา 3 ศอก (หรือประมาณ 233 เมตร) ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 ได้ทรงบูรณะวัดพระปฐมเจดีย์ให้สง่างาม มากขึ้ น และถื อ ว่ า วั ด พระปฐมเจดี ย์ เ ป็ น วั ด ประจำ � รั ช กาลที่ 6 พระปฐมเจดีย์

ปูชนียวัตถุและสถานที่สำ�คัญภายในวัด พระร่ ว งโรจนฤทธิ์ เป็ น พระพุ ท ธรู ป ยื น ปางประทานอภั ย ประดิษฐานในซุ้มวิหารทางทิศเหนือหน้าองค์พระปฐมเจดีย์ สร้างใน สมัยรัชกาลที่ 6 โดยได้พระเศียร พระหัตถ์ และพระบาท มาจากเมือง ศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ช่างทำ�รูปปั้นขี้ผึ้ง ปฏิ สั ง ขรณ์ ใ ห้ บ ริ บู ร ณ์ เ ต็ ม องค์ ทำ � พิ ธี ห ล่ อ ที่ วั ด พระเชตุ พ นฯ เมือ่ พ.ศ. 2456 แล้วอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในซุม้ วิหารด้านทิศเหนือ ตรงกับบันไดใหญ่ และพระราชทานนามว่า “พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอนิ ทราทิตย์ ธรรมโมภาส มหาวชิราวุธราชปูชนียบพิตร” และทีฐ่ าน

2

SBL OK6.indd 2

5/8/2558 BE 10:14 AM


พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ เ ป็ น ที่ บ รรจุ พ ระบรมอั ฐิ ข องพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วั ด พระปฐมเจดี ย์ ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณชั้ น ลดด้ า น ทิศตะวันออกตรงข้ามพระอุโบสถ ภายในเก็บวัตถุโบราณทีข่ ดุ พบได้จาก สถานทีต่ า่ ง ๆ ในจังหวัดนครปฐม ทัง้ สมัยบ้านเชียง สมัยทวารวดี เช่น พระพุทธรูป หินบดยา ลูกประคำ�ดินเผา กำ�ไลข้อมือ เงินโบราณ ฯลฯ และยั ง เป็ น ที่ เ ก็ บ หี บ ศพของย่ า เหลและโต๊ ะ หมู่ บู ช าซึ่ ง ใช้ ใ นพิ ธี ศ พ ของย่าเหล ซึง่ เป็นสุนขั ทีร่ ชั กาลที่ 6 ทรงโปรดปรานมากและถูกคนลอบ ยิงตาย พระองค์ทรงเสียพระทัยมาก โปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสาวรีย์ ไว้อาลัย พิพธิ ภัณฑ์เปิดให้เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 08.00-16.30น. (ปิดช่วงเวลา 12.00–13.00) พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ พ ระปฐมเจดี ย์ ตั้ ง อยู่ ใ นบริ เ วณ องค์พระปฐมเจดีย์ด้านทิศใต้เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น เป็นที่ เก็บศิลปวัตถุและวัตถุโบราณ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นศิลปะสมัยทวารวดี ที่ ขุ ด พบในจั ง หวั ด นครปฐม สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ โทร.0-3424-2500 พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารทุ ก วั น ยกเว้ น วั น จั น ทร์ อั ง คาร และวั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ เปิ ด ระหว่ า งเวลา 09.00-16.00 น.

ความเชื่อและวิธีการบูชาพระปฐมเจดีย์ การนมัสการพระปฐมเจดีย์ ถือเป็นสิริมงคลและได้อานิสงส์ อย่ า งมาก เนื่ อ งจากเป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ของพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ชาวนครปฐมเชื่อว่าพระร่วงโรจนฤทธิ์ นั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก หากใครอธิษฐานขอพรสิ่งใดก็มักจะได้รับ สิ่งนั้นสมดังปรารถนาในทุกประการ พุทธศาสนิกชน หรือนักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมานมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์ได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-20.00 น. ค่าเข้าชม ชาวต่ างประเทศ 40 บาท โดยทางวั ด ได้ กำ �หนดจัดงานนมัส การ องค์พระปฐมเจดีย์ขึ้นเป็นประจำ�ทุกปี ในวันขึ้น 12 ค่ำ� ถึงวันแรม 15 ค่ำ� เดือน 12 (ประมาณเดือนพฤศจิกายน) รวม 9 วัน 9 คืน ส อ บ ถ า ม เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ด้ ที่ สำ � นั ก ง า น จั ด ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ รั ก ษ า องค์พระปฐมเจดีย์ โทร. 0-3424-2143

Nakhon Pathom 3

SBL OK6.indd 3

5/8/2558 BE 10:14 AM


SBL OK6.indd 4

5/8/2558 BE 10:14 AM


SBL OK6.indd 5

5/8/2558 BE 10:14 AM


SBL OK6.indd 6

5/8/2558 BE 10:14 AM


SBL OK6.indd 7

5/8/2558 BE 10:14 AM


Editor’s Talk

Editor’s Talk

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอำ�นวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการบริหารสายงานการตลาด ปัณณศักดิ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ดวงตา พิมลศิริ, ชนินทร์ อัยวรรณ ปวีณา บัวแก้ว, กฤตศรัณย์ เจริญสินนิธิโชค ช่างภาพ กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์, กฤต คงยั่งยืน, cateye photo กราฟฟิคดีไซน์ ปวีณา บัวแก้ว, กฤตศรัณย์ เจริญสินนิธิโชค ผู้อำ�นวยการฝ่ายขายโฆษณา กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน รุ่งโรจน์ เสาร์ปา, กิตติชัย ศรีสมุทร, กิตติศักดิ์ ศรีสมุทร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ ณัฐพล เกิดไกร, ไชโย อังกาพย์ ฝ่าย IT และประสานงาน ดวงตา พิมลศิริ, ชนินทร์ อัยวรรณ

นครปฐม เป็นจังหวัดที่มีความสำ�คัญทางพระพุทธศาสนามาตั้งแต่อดีตจวบ จนปัจจุบัน นอกจากนี้ยังมีพระราชวังสนามจันทร์ซึ่งนักท่องเที่ยวนิยมเดิน ทางมาเยี่ยมชมมิได้ขาด และที่เป็นเสน่ห์ของนครปฐมอย่างยิ่งคือ มีตลาด โบราณและตลาดพื้นบ้านริมน้ำ� ที่อุดมด้วยอาหารการกินเอร็ดอร่อยและ ของนครปฐมที นครปฐม น จั ง หวั ด ที่ มี ค วาม สินค้าที่ขึ้นชื่อ จนกลายเป็นคำ�ขวัญ ่ว่า “ส้มเป็ โอหวาน ข้าวสาร ญ ทางพระพุ ขาว ลูกสาวงาม ข้าวหลามหวานมัสำน� คัสนามจั นทร์งามล้ทนธศาสนามาตั พุทธมณฑลคู้ ง่ธแต่ านี อ ดี ต จวบจนปั พระปฐมเจดีย์เสียดฟ้า สวยงามตาแม่ น้ำ�ท่าจีจนจุ”บัน นอกจากนี้ยังมีพระราชวัง น ทร์ ซึ่ ง นั ก ท่้จักอนครปฐมให้ งเที่ ย วนิ ยมมเดิ นิตยสาร SBL จะพาคุสนามจั ณผู้อ่านไปทำ�ความรู าก น ทาง ่ ย มชมมิ ด้ ข าด และที ่ เ ป็ นชเสน่ ยิ่งขึ้น ผ่านบทสัมภาษณ์ท่านผู้ว่ามาเยี ราชการจั งหวัดไนครปฐม “นายชาติ าย ห์ ข อง อุทัยพันธ์” พร้อมทั้งท่านรองผู้วนครปฐมอย่ ่าฯ “นายกำ�ธร าตุงยิ ้งสวั่ งสคืดิอ์” และ มี ต“นายจำ� ลาดโบราณและ เจริญ ทิพญพงศ์ธาดา” ไปล้วงลึตลาดพื กข้อมูลด้​้นาบ้นอุ ต สาหกรรมจาก ร น านริมน้ำ� ที่อดุ มด้ว“นายประยู ยอาหารการกิ ติ่งทอง” อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ศักยภาพขององค์ ร เอร็ดอร่และไปดู อยและสิ นค้าที่ขึ้นชื่อ กจนกลายเป็ น ปกครองท้องถิ่น จากบทสัมภาษณ์ “นายวั น ชั ย เล็ ก ประเสิ ร ฐ” ท้ อ งถิ คำ � ขวั ญ ของนครปฐมที่ ว่ า “ส้่นม โอหวาน จังหวัดนครปฐม ท่านนายอำ�เภอ ข้นายกเทศมนตรี การบริหาร น าวสารขาว ลูกและนายกองค์ สาวงาม ข้าวหลามหวานมั ส่วนตำ�บล พร้อมใจนำ�เสนอจุดเด่นทั้งที่ท่องเที่ยวและที่ช็อปปิ้งชื่อดัง สนามจั น ทร์ ง ามล้ น พุ ท ธมณฑลคู่ ธ านี นอกจากนี้ “รศ.ดร.สมบัติ ชิณะวงศ์” รองอธิการบดี มหาวิทยาลัย พระปฐมเจดียเ์ สียดฟ้า สวยงามตาแม่นำ้ �ท่าจีน” เกษตรศาสตร์ จะพาไปชมถนนซากุระกำ�แพงแสน 1 ใน 22 ถนนที่สวยที่สุด ผู้อ่ามนไปทำ�ความรู นิตอยสาร SBL จะพาคุ ้จักนครปฐมให้ มากยิ่งขึ้น ในเมื งไทย และที ่พลาดไม่ ได้คณือคอลั น์เส้นทางธรรมหนุ นนำ�ชีวิต จะพาไป ผ่านบทสั ภาษณ์ทก่านผู ดนครปฐม “นายชาติชาย อุทัยพันธ์” สักมการะพระศั ดิ์สิท้วธิ่า์ยราชการจั ังวัดต่าง ๆงหวั ทั่วนครปฐม พร้อมทัท้​้งาท่ยนี านรองผู ้ว่าาฯวขอบพระคุ “นายกำ�ธรณตุท่า้งนผู สวั้วส่าดิราชการจั ์” และ “นายจำ�เจริ ญ ทิตลอดจน พญพงศ์ธาดา” ้ผมขอกล่ งหวัดนครปฐม ไปล้วงลึหน่ กข้วอยงานราชการต่ มูลด้านอุตสาหกรรมจาก ทอง”บสนุ อุตนสาหกรรมจั าง ๆ และบริษัท“นายประยู ห้างร้านที่ไรด้ให้ติก่งารสนั การจัดทำ� งหวัด นครปฐม และไปดู้งนีศ้อั กย่ยภาพขององค์ ก รปกครองท้ งถิ่ นยและสิ จากบทสั นิตยสารครั างดียิ่ง และขออำ�นาจคุ ณพระศรีรอัตนตรั ่งศักดิ์สมิทภาษณ์ ธิ์ ในสากลโลก โปรดประทานพรให้ ท ก ุ ๆ ท่ า น ประสบแต่ ค วามสุ ข ความเจริ ญ “นายวันชัย เล็กประเสิรฐ” ท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม ท่านนายอำ�เภอ นายกเทศมนตรี และหากมี สิ่งใดขาดตกบกพร่ อง ผมและที มงานใคร่ กราบขออภั และนายกองค์ การบริ หารส่วนตำ�บล พร้อมใจนำ �เสนอจุ ดเด่นทัย้งมา ที่ทณ ่องเที่ยวและ โอกาสนี ้ และขอน้ อ มรั บ ฟั ง คำ�ติ ช มด้ ว ยความยิ น ดี อ ย่ า งยิ ง ่ ครั บ ที่ช็อปปิ้งชื่อดัง นอกจากนี้ “รศ.ดร.สมบัติ ชิณะวงศ์” รองอธิการบดี มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ จะพาไปชมถนนซากุระกำ�แพงแสน 1 ใน 22 ถนนที่สวยที่สุด ........................... ในเมืองไทย และที่พลาดไม่ได้คือคอลัมน์เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต จะพาไปสักการะ พระศักดิ์สิทธิ์ยังวัดต่าง ๆ ทั่วนครปฐม (นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) ท้ายนีผ ้ มขอกล่าวขอบพระคุณท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครปฐม ตลอดจน หน่วยงานราชการต่ าง ๆ และบริ ษัทห้างร้านที่ได้ให้การสนับสนุนการจัดทำ�นิตยสาร บรรณาธิ การอำ�นวยการ

ครั้งนี้อย่างดียิ่ง และขออำ�นาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลโลก โปรดประทานพรให้ทุก ๆ ท่าน ประสบแต่ความสุขความเจริญ และหากมีสิ่งใดขาดตก บกพร่อง ผมและทีมงานใคร่กราบขออภัยมา ณ โอกาสนี้ และขอน้อมรับฟังคำ�ติชม ด้วยความยินดีอย่างยิ่งครับ (นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอำ�นวยการ

ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อรพรรณ มะณี, วิ​ิภา เผือกผ่อง

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จำ�กัด

9/4-6 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com e-mail : sbl2553@gmail.com

SBL OK6.indd 8

ติดต่อคุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 08-1442-4445, 08-4874-3861 e-mail : supakit.s@live.com

5/8/2558 BE 10:14 AM


กฤษณา

การ์เด้นโฮม

k

02-4821400-3, 08-6122-0995 SBL OK6.indd 9

5/8/2558 BE 10:15 AM


Contents นครปฐม 104 23 2 วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร 16 ใต้ร่มพระบารมี 35 วัดอ้อน้อย (ธรรมอิสระ) 40 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯนายกำ�ธร ตุ้งสวัสดิ์ 46 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯนายจำ�เริญ ทิพญพงศ์ธาดา 74 เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด 82 เส้นทางพบประมงจังหวัด 84 เส้นทางพบสนง.พัฒนาชุมชน 86 เส้นทางพบเกษตรจังหวัด 88 เส้นทางการศึกษา ม.เกษตรศาสตร์ (กำ�แพงแสน) 98 คุ้มแม่น้ำ�หม่อมไฉไล...จุดหมายใหม่ของผู้รักสายน้ำ� 100 เส้นทางท่องเที่ยว 112 ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา 116 สวนนกยูงสามพราน 124 เส้นทางพบอำ�เภอเมืองนครปฐม 128 เทศบาลเมืองนครปฐม 130 ทต.มาบแค 132 ทต.โพรงมะเดื่อ 134 วัตรทรงธรรมกัลยาณี 136 วัดดอนขนาก 138 วัดดอนยายหอม

SBL OK6.indd 10

114

53

140 วัดตาก้อง 142 วัดป่าปฐมชัย 144 วัดทัพยายท้าว 146 เส้นทางพบอำ�เภอกำ�แพงแสน 148 วัดหนองศาลา 150 วัดรางหมัน 152 วัดสี่แยกเจริญพร 154 วัดนิยมธรรมวราราม 156 วัดปทุมทองสุทธาราม 158 เส้นทางพบอำ�เภอนครชัยศรี 160 ทต.ขุนแก้ว 162 อบต.ท่าพระยา 164 อบต.ศีรษะทอง 166 อบต.ดอนแฝก 168 อบต.บางระกำ� 170 วัดพระศรีมหาโพธิ์ 174 วัดบางพระ 176 วัดธรรมปัญญารามบางม่วง 178 วัดใหม่สุปดิษฐาราม 180 วัดใหม่สุคนธาราม 182 วัดกลางบางแก้ว

208 183 วัดทุ่งน้อย 184 เส้นทางพบอำ�เภอดอนตูม 186 อบต.ลำ�เหย 188 อบต.ห้วยด้วน 190 วัดหนองกระพี้ 192 วัดห้วยพระ 194 วัดแหลมมะเกลือ 196 วัดสระสี่เหลี่ยม 200 วัดสามง่าม 202 เส้นทางพบอำ�เภอบางเลน 204 วัดลัฏฐิวนาราม 206 เส้นทางพบอำ�เภอสามพราน 208 วัดดอนหวาย 210 วัดหอมเกร็ด 212 วัดสามพราน 214 วัดท่าพูด 216 วัดไร่ขิง 220 เส้นทางพบอำ�เภอพุทธมณฑล 222 อบต.มหาสวัสดิ์ 226 ตลาดศรีวิชัย

5/8/2558 BE 10:15 AM


เส้นทางความงาม ลดน้ำ�หนักอย่างไรให้สุขภาพดี

08 ยังอินเทรนด์ไม่เลิกกับการลดน้ำ�หนักลดส่วนเกินของ สาว ๆ หนุ่ม ๆ เพราะนอกจากจะช่วยให้ได้หุ่นกระชับ ได้สุขภาพ แข็งแรงแล้ว ยังได้ความมั่นใจกลับคืนมาด้วย แต่บางครั้งความ ใจร้อนเร่งรัดด้วยการใช้สตู รลดน้ำ�หนักโหด ๆ ก็สง่ ผลเสียต่อ ร่างกายได้ ศ. นพ.รัชตะ รัชตะนาวิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า มีกระแสในสังคมออนไลน์เกี่ยวกับสูตร ลดน้ำ�หนักแบบต่าง ๆ ที่หลายคนใช้ได้ผลแล้วนำ�มาแบ่งปันกัน โดยเฉพาะสูตรไหนใช้เวลาน้อยแต่ลดน้ำ�หนักได้มาก ๆ ยิ่งน่า สนใจ เช่น การลดน้ำ�หนักสูตรโหดเพียง 3 วัน ลดได้ถึง 4 กิโลกรัม โดยสูตรนี้อาหารหลัก ๆ จะเป็นน้ำ�ส้ม นมสด ขนมปัง ไข่หรือปลา ผัก และมีผลไม้บางมื้อ หากมองตามชนิดอาหารที่ นำ�มาวางแผนการลดน้ำ�หนักแล้ว นับว่าเป็นอาหารทีด่ ตี อ่ สุขภาพ แต่ไม่ใช่ว่าจะมีสุขภาพดีเสมอไป นอกจากนี้ เน้นการปรุงอาหาร ด้วยการต้ม นึ่ง ย่าง แทนการทอดทั้งหมด งดเติมน้ำ�ตาลใน เครื่องดื่ม ล้วนเป็นแนวทางการลดน้ำ�หนักที่ถูกต้อง แต่เมื่อดู ปริมาณอาหารตามสูตรที่ลดน้ำ�หนักแล้ว พลังงานจากอาหารที่ ได้ในแต่ละมื้อน้อยมาก ๆ หากนำ�มาคิดเป็นพลังงานเฉลี่ยต่อวัน ได้เพียง 962 กิโลแคลอรี ซึ่งน้อยกว่าปริมาณอาหารที่เหมาะ สำ�หรับการลดน้ำ�หนักมาก โดยปกติแล้วใน 1 วัน สำ�หรับผูห้ ญิง ทีต่ อ้ งการลดน้ำ�หนักต้องได้รบั พลังงานไม่นอ้ ยกว่า 1,200 กิโล แคลอรี และผู้ชายไม่น้อยกว่า 1,600 กิโลแคลอรี สามารถลด น้ำ�หนักลงอย่างต่อเนื่องสัปดาห์ละครึ่งกิโลกรัม ง่าย ๆ คือลด พลังงานที่ได้จากอาหารวันละ 500 กิโลแคลอรีจะทำ�ให้น้ำ�หนัก ลดลงสัปดาห์ละครึ่งกิโลกรัม

SBL OK6.indd 11

ทางด้าน ดร.นพ.พรเทพ ศิรวิ นารังสรรค์ อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า สูตรลดน้ำ�หนักทีท่ ำ�ได้งา่ ย คือการบริโภคอาหารตาม หลัก food plate model หรือที่รู้จักกันคือ เมนู 211 โดย แบ่งส่วนของจานอาหารออกเป็น 4 ส่วน ครึ่งหนึ่งของจาน เป็นส่วนของผัก สามารถเลือกได้ทั้งผักสด ผักสุก รูปแบบ การปรุงเลือกได้ตามใจ แต่ตอ้ งคำ�นึงถึงน้ำ�มันและน้ำ�ตาลด้วย อีก 1 ส่วน เป็นกลุม่ ข้าวแป้ง ซึง่ ไม่จำ�เป็นต้องกินได้แค่ขนมปัง แผ่นเดียวตามสูตรสุดโหด แต่สามารถกินข้าวได้ 2 ทัพพีต่อ มื้อ หรือขนมปัง 2 แผ่น ถ้าหากกินอย่างอื่นเช่นธัญพืชต่าง ๆ รวมทั้งนมและโยเกิร์ต ควรลดปริมาณข้าวในมื้อนั้น ๆ ลง อีก และ 1 ส่วน ที่เหลือสุดท้ายเป็นเนื้อสัตว์ ต้องเลือกที่ชนิด ไม่ติดหนัง ไม่ติดมัน ปรุงด้วยการต้ม นึ่ง ย่าง เพื่อลด พลังงานจากน้ำ�มัน และเพื่อให้ได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน เพียงพอต้องมีผลไม้อีก 1 จานเล็กร่วมด้วยทุกมื้อ นอกจาก นี้ใน 1 วันควรดื่มนมพร่องมันเนยอีก 1 แก้ว ดื่มน้ำ�เปล่าวัน ละ 6-8 แก้ว ควบคู่กับการออกกำ�ลังกายอย่างน้อยวันละ 30-60 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน เพื่อให้กล้ามเนื้อคงอยู่และ รักษาอัตราการเผาผลาญพลังงานให้คงที่และดีต่อสุขภาพ โดยปกติแล้วการลดน้ำ�หนักที่เหมาะสม และปลอดภัยต่อ สุขภาพควรลดประมาณครึ่งกิโลกรัมต่อสัปดาห์ ซึ่งไม่ได้ลด ทีละมาก ๆ เพราะการลดทีละน้อย ๆ และลดอย่างต่อเนือ่ งกลับ เป็นผลดีในเรื่องการคงสภาพร่างกาย ทั้งอัตราการเผา ผลาญพลังงาน สมรรถภาพทางกาย รวมไปถึงประสิทธิภาพ การทำ�งานต่าง ๆ ด้วย และเน้นการปรับพฤติกรรมการกินที่ ดีให้กับตัวเอง ดูเหมือนวิธกี ารเอาชนะน้ำ�หนักส่วนเกินจะไม่ยากเย็นเท่าไหร่... ใช่ไหมคะ แต่จะยากก็ตรงทีเ่ อาชนะใจตัวเองให้ได้กอ่ น แล้วทุก อย่างจะตามมาเอง เราขอเป็นกำ�ลังใจให้ทุก ๆ ท่านค่ะ

5/8/2558 BE 10:15 AM


SBL OK6.indd 12

5/8/2558 BE 10:15 AM


SBL OK6.indd 13

5/8/2558 BE 10:15 AM


นัดหมายเข้าชมโครงการโทร. 085 911 4442 โครงการ เดอะทรัสต์ คอนโด นครปฐม : อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 2 อาคาร รวม 405 ยูนิต ที่ตั้งโครงการ ถนนเพชรเกษม ตำ�บลสนามจันทร์ อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม ที่ดินโฉนดเลขที่ 1330073 (บางส่วน) เลขที่ดิน 302 (บางส่วน) เนื้อที่โครงการประมาณ 5-2-43 ไร่ ไม่มีภาระผูกพัน เลขที่ใบ อนุญาตก่อสร้าง ตามมาตรา 39ทวิ เลขที่ 3/2556 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2556 เริ่มก่อสร้างมกราคม 2557 แล้วเสร็จประมาณ เมษายน 2558 โอนกรรมสิทธิ์ หลังจากผู้ซื้อชำ�ระเงินครบถ้วนตามสัญญา ผู้ซื้อจะต้องชำ�ระเงินกองทุนและค่าใช้จ่ายส่วนกลางตามกำ�หนดในข้อบังคับนิติบุคคลอาคารชุด

SBL OK6.indd 14

5/8/2558 BE 10:15 AM


LARGER SWIMMING POOL สระว่ายน้�ำ ระบบเกลือที่ใหญ่ที่สุดในตัวเมืองนครปฐม ขนาดยาว 25 เมตร กว้าง 12 เมตร

FITNESS CENTER ห้องออกกำ�ลังกายขนาดใหญ่พร้อมอุปกรณ์มาตรฐานที่ทันสมัย

GREENERY AND PURE AIR พักผ่อนไปกับธรรมชาติในส่วนหย่อมภายในโครงการ

24 HOURS SECURITY SYSTEM ระบบ ACCESS PASS CARD พร้อมระบบรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมง และระบบโทรทัศน์วงจรปิด

PARKING SPACE ที่จอดรถพร้อมระบบรักษาความปลอดภัย

เจ้าของโครงการและผูม้ กี รรมสิทธิใ์ นทีด่ นิ : บริษทั เดอะ คอนฟิเด้นซ์ จำ�กัด ทะเบียนเลขที่ 0105535094136 สำ�นักงานใหญ่ เลขที่ 38 อาคารคิวเฮ้าส์ คอนแวนต์ ชั้น 4 ถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500 กรรมการผู้จัดการ : นายไพโรจน์ วัฒนวโรดม ทุนจดทะเบียน 1,000,000,000 บาท (ชำ�ระเต็มจำ�นวน) *หมายเหตุ : ราคา และโปรโมชั่นพิเศษ อาจเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และเป็นไปตามเงื่อนไขของบริษัทฯ เท่านั้น สามารถ สอบถามรายละเอียดได้ที่สนง.ขายโครงการ

SBL OK6.indd 15

5/8/2558 BE 10:15 AM


ใต้ร่มพระบารมี

โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซขยะ ตามแนวพระราชดำ�ริ

ศิลปิน : สุวิทย์ หลีดุลย์

มีประเทศใดในโลกนีท้ โี่ ชคดีอย่างประเทศไทย เพราะเรามีพระมหากษัตริยท์ ที่ รงห่วงใยพสกนิกรในทุก ๆ เรือ่ ง แม้กระทัง่ เรื่องของ “ขยะ” พระองค์ทรงมีสายพระเนตรอันยาวไกลว่า ปริมาณขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลนับวันมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น และจะส่ง ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม แต่ด้วยพระอัจฉริยภาพของพระองค์ ซึ่งทรงเล็งเห็นคุณค่าจากสิ่งที่น่ารังเกียจ จึงก่อให้เกิด “โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซขยะ ตามแนวพระราชดำ�ริ” ขึ้นเมื่อ 18 ปีที่ผ่านมา จนปัจจุบันนี้มีภาคเอกชน หลายแห่ง นำ�แนวคิดนีไ้ ปต่อยอด และนำ�ผลพลอยได้จากขยะนีม้ าใช้เป็นพลังงานทดแทน ช่วยสร้างผลกำ�ไรได้อย่างมากมาย และ ช่วยลดมลภาวะในโลกได้ด้วย 16

SBL OK6.indd 16

5/8/2558 BE 9:18 PM


พลังงานทางเลือกจากก๊าซขยะ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต พลั ง งานจากหลุ ม ฝั ง กลบขยะมู ล ฝอยแบบถู ก หลั ก สุขาภิบาล (Sanitary Landfill) เป็นการพัฒนาและปรับปรุงระบบฝังกลบขยะมูลฝอย เพื่อลดการปล่อยออก (Emission) ของก๊าซมีเทน ที่เกิดจากกระบวนการย่อยสลาย แบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ภายในหลุมฝังกลบ ซึ่งเป็นก๊าซเรือน กระจก (Green House Gas : GHG) ที่ก่อให้เกิดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศโลก หรือภาวะโลกร้อน (Global Warming) ดังนั้นโครงการผลิตพลังงานโดย ใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นการกู้คืนมีเทน (Methane Recovery) จึงเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ทีส่ ามารถลดปัญหาดังกล่าว และเป็นการทดแทนการ ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิลในการผลิตพลังงาน โดยกลุม่ ประเทศทีม่ กี ารผลิตพลังงานโดยใช้กา๊ ซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ มูลฝอยกันมาก ได้แก่ ประเทศในกลุ่มยุโรป อเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และประเทศในแถบเอเชีย (เกาหลีใต้ ฟิลปิ ปินส์ เป็นต้น) สำ�หรับประเทศไทยเองได้มกี าร ริเริ่มโครงการนำ�ร่องขึ้นในปี พ.ศ. 2538 โดยศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและ สิง่ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขตกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม) ได้เริ่มดำ�เนินโครงการบำ�บัดและใช้ประโยชน์จากขยะ โดยได้รับงบ ประมาณจากมูลนิธชิ ยั พัฒนา เพือ่ จัดตัง้ กองทุนบำ�บัดและใช้ประโยชน์จากขยะ ตามแนว พระราชดำ�ริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ

ผศ.บุ ญ มา ป้ า นประดิ ษ ฐ์ หั ว หน้ า ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก าร วิศวกรรมพลังงานฯ กล่าวว่า “โครงการดังกล่าวดำ�เนิน การบนเนื้อที่ 170 ไร่ มีเป้าหมายในการค้นคว้าแนวทาง การเก็บรวบรวมก๊าซ ทีเ่ กิดจากกระบวนการฝังกลบอย่าง ถูกสุขลักษณะ ซึ่งโครงการดังกล่าวสามารถรองรับขยะ ได้ 7,000 ตันต่อวัน หรือ 1.3 ล้านตันต่อปี” ทางด้านวิศวกรผูค้ วบคุมดูแลโรงไฟฟ้าจากก๊าซ ขยะตามแนวพระราชดำ�ริ นายสิทธิชัย ศรเกตุ กล่าวว่า “ขยะที่ได้ในแต่ละวันจะถูกนำ�เข้าไปร่อนที่โรงแยกขยะเพื่อ แยกประเภท เช่น เหล็ก พลาสติก เศษอาหาร และเศษ แก้ว ให้งา่ ยต่อการย่อยสลาย ทัง้ นีข้ ยะจากเศษวัสดุตา่ งๆ จะนำ�ไปรีไซเคิล ส่วนขยะที่เป็นเศษอาหาร หรือขยะเปียก จะนำ�ไปทิ้งที่บ่อขนาดใหญ่จำ�นวน 3 บ่อ ซึ่งแต่ละบ่อ รองรับขยะได้นบั ล้านตัน สามารถผลิตไฟฟ้าได้เฉลีย่ 15 กิโลวัตต์ต่อวัน และสามารถจ่ายกระแสไฟให้ชุมชนใกล้ เคียงกว่า 200 ครัวเรือนใช้ฟรี”

Nakhon Pathom 17

SBL OK6.indd 17

5/8/2558 BE 10:15 AM


เทคโนโลยีการผลิตก๊าซจากขยะมูลฝอย 1. หลักการทำ�งานของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากหลุมฝังกลบฯ ก๊าซ ชีวภาพที่ได้จากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย เกิดจากปฏิกิริยาการย่อยสลาย ทางชีวเคมีของขยะมูลฝอยในบริเวณหลุมฝังกลบ โดยช่วงแรกจะเป็นการ ย่อยสลายแบบใช้อากาศ จากนั้นจึงเป็นการย่อยสลายแบบไม่ใช้อากาศ ทำ�ให้ได้ก๊าซมีเทน คาร์บอนไดออกไซด์ แอมโมเนีย คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ ไนโตรเจน โดยปริ ม าณของก๊ า ซมี เ ทนและ คาร์บอนไดออกไซด์ทไี่ ด้ จะมีมากกว่าก๊าซชนิดอืน่ ๆ ซึง่ ถ้ามีความเข้มข้นมีเทน มากกว่า 50% ขึ้นไป จะสามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการผลิตพลังงานได้ 2. องค์ประกอบของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากหลุมฝังกลบฯ ได้แก่ 2.1 ระบบบำ�บัดขั้นต้น (Pre-treatment System) ได้แก่ การคัดแยก การ บดย่อยขยะมูลฝอยให้มีขนาดเล็กลง เพื่อปรับปรุงลักษณะสมบัติขยะ มูลฝอย ลดระยะเวลาการบำ�บัดน้ำ�ชะขยะ/การปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่ม อัตราการผลิตก๊าซมีเทน และช่วยให้มีการทรุดตัวของขยะมูลฝอยดีขึ้น 2.2 การดำ�เนินการฝังกลบในพื้นที่ ได้แก่ ระบบฝังกลบแบบพื้นที่ (Area Method) การฝังกลบแบบร่อง (Trench Method) และการฝังกลบแบบ บ่อ (Ram Method) 2.3 ระบบควบคุมทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ระบบรวบรวมน้ำ�ชะขยะ (Leachate Collection System) ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย และระบบติดตาม ตรวจสอบน้ำ�ใต้ดิน (Groundwater Monitoring System) และน้ำ�ผิวดิน 2.4 ระบบรวบรวมก๊าซชีวภาพ ได้แก่ Passive System เป็นระบบควบคุม ก๊าซชีวภาพที่ง่ายที่สุด มักจะใช้งานกับสถานที่ฝังกลบขนาดเล็ก, Active System มักถูกประยุกต์ใช้งานกับสถานทีฝ่ งั กลบขนาดกลางหรือใหญ่ และ Physical Barrier เพื่อป้องกันก๊าซชีวภาพแพร่กระจายออกทางผิวหน้า ของหลุมฝังกลบ ซึ่งรวมถึงระบบติดตามตรวจสอบการรั่วไหลของก๊าซ ชีวภาพ (Perimeter Monitoring System) จากพื้นที่ฝังกลบ

2.5 ระบบผลิตพลังงานจากก๊าซชีวภาพ ทางเลือกในการใช้ประโยชน์ ก๊าซชีวภาพที่ได้จากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอยมีอยู่ 3 แนวทาง คือ การใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีโ่ ครงการหรือพืน้ ทีใ่ กล้เคียงในรัศมีไม่เกิน 3 กิโลเมตร การผลิตกระแสไฟฟ้า (Electricity Generation) โดย ใช้ IC Engine หรือ Gas Engine และการส่งเข้าสู่ระบบท่อก๊าซ (Pipeline Injection) ในรูปของก๊าซคุณภาพปานกลาง (3050%มีเทน) หรือก๊าซคุณภาพสูง (95%มีเทน) 2.6 การปิดพื้นที่ฝังกลบขยะมูลฝอย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ การปิดชัน้ ฝังกลบรายวัน (Daily Cover) การปิดชัน้ ฝังกลบบริเวณ ด้านบนและด้านข้าง (Intermediate Cover) และการปิดชั้นฝังกลบ ขั้นสุดท้าย (Final Cover) ทั้งนี้ในการออกแบบระบบฝังกลบขยะ มูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาลนัน้ จะเป็นไปตามมาตรฐานเกณฑ์การ ออกแบบที่ กำ � หนดโดยกรมควบคุ ม มลพิ ษ และมาตรฐานสากล สำ�หรับการผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะ มูลฝอย 3. พลังงานที่ผลิตได้จากเทคโนโลยีการผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซ ชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ขึ้นอยู่กับปริมาณก๊าซชีวภาพ ทีเ่ กิดจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปริมาณและลักษณะคุณสมบัตขิ ยะมูลฝอย การดำ�เนินงานฝัง กลบในพืน้ ทีแ่ ละความหนาแน่นของชัน้ ฝังกลบขยะมูลฝอย ความชืน้ และระบบการจัดการก๊าซชีวภาพทีเ่ กิดจากหลุมฝังกลบ (ประสิทธิภาพ ระบบรวบรวมก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบเฉลีย่ ประมาณ 70-85%) และระบบผลิตพลังงานที่เลือกใช้

18

SBL OK6.indd 18

5/8/2558 BE 10:15 AM


ประโยชน์ของการผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซจากขยะ ด้านเทคนิค สามารถใช้ประโยชน์จากก๊าซชีวภาพได้หลายทาง เช่น การนำ�ไปผลิตเป็น พลังงานกระแสไฟฟ้า ใช้เป็นเชือ้ เพลิงโดยตรงทดแทนก๊าซธรรมชาติ ใช้เป็นเชือ้ เพลิงสำ�หรับ หม้อไอน้ำ�ในงานอุตสาหกรรม ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับยานพาหนะโดยผ่านกระบวนการ ปรับปรุงคุณภาพก๊าซและทำ�ให้เป็นของเหลว ผลิตเป็นเอธานอล และใช้เป็นแหล่งไฮโดรเจน สำ�หรับเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล โดยใช้ก๊าซชีวภาพเป็น แหล่งพลังงานทดแทน ลดค่าใช้จา่ ยในการดำ�เนินงานของเจ้าของโครงการ เนือ่ งจากมีราย ได้จากการขายไฟฟ้ามาทดแทนลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ด้านสิ่งแวดล้อม ช่วยลดปัญหาเหตุเดือดร้อนรำ�คาญเนื่องจากกลิ่น แมลง และสัตว์พาหะ นำ�โรค ลดปัญหาความเสี่ยงของความเป็นพิษและสารก่อมะเร็ง (Carcinogenic Substance) ในก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะมูลฝอย ลดความเสีย่ งจากการเกิดระเบิดและ ไฟไหม้จากก๊าซชีวภาพทีเ่ กิดจากหลุมฝังกลบ ลดสารประกอบอินทรียร์ ะเหยง่าย (Volatile Organic Compounds) ช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการระเหยก๊าซมีเทนจาก หลุมฝังกลบขยะมูลฝอย นายอำ�พล เสนาณรงค์ องคมนตรี และนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า “โครงการนี้เป็นเรื่องใหม่ของประเทศมีอุปสรรคมากมาย คณะทำ�งานนักวิชาการได้ศึกษา หาความรู้และดูงานในต่างประเทศ และดำ�เนินงานเรื่อยมาตลอดเวลา 15 ปี ประสบปัญหา มากมายทั้งในด้านวิศวกรรมศาสตร์ สังคมศาสตร์ และการบริหารจัดการ อาทิ แก๊สเป็น พิษ น้ำ�ปนเปื้อน ฯลฯ กระทั่งปี 2552 จึงประสบความสำ�เร็จ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 480,080 ยูนิต โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงติดตามความคืบหน้าโครงการ ตลอดเวลา ด้วยแนวพระราชดำ�ริเสมือนเป็นไม้ขีดไฟก้านแรกที่จุดประกายการพัฒนานี้ ทำ�ให้มกี ารนำ�ทีด่ นิ มาหมุนเวียนเพือ่ ใช้ในการฝังกลบขยะ ทำ�ให้เรามีพนื้ ทีก่ ำ�จัดขยะต่อเนือ่ ง ถาวร ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ ไม่เคยมีใครทำ�มาก่อนในโลก จึงเป็นครัง้ แรกของโลก แสดงให้เห็น ว่าพระองค์ทรงพระปรีชาสามารถเป็นเลิศ” โครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซขยะ ตามแนวพระราชดำ�ริ นอกจากจะช่วยลดปัญหา เรื่องขยะที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยและสุขภาพจิตแล้ว ยังช่วยลดผลกระทบที่อาจเกิด ต่อสิ่งแวดล้อมและช่วยลดภาวะโลกร้อน อีกทั้งเป็นการสร้างแนวทางในการผลิตพลังงาน ทดแทน ที่เป็นประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจประเทศไทยในอนาคตได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณแหล่งทีม่ า : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน

Nakhon Pathom 19

SBL OK6.indd 19

5/8/2558 BE 10:15 AM


SBL OK6.indd 20

5/8/2558 BE 10:16 AM


SBL OK6.indd 21

5/8/2558 BE 10:16 AM


¤Ø³ËÍÁËÇÅ ·Ô¾Â ÃÍ´ Í´Õµ¾ÂÒºÒÅÇÔªÒªÕ¾ªÓ¹ÒÞ¡Òà ¼ÙŒÍӹǡÒÃáÅмٌ¡‹ÍµÑé§âçàÃÕ¹ âçàÃÕ¹Ãѵ¹à·ÇÕºÃÔºÒÅ I-Kaigo ºÃÔËÒçҹâ´Â¤³Ò¨ÒàáÅзÕÁ§Ò¹·ÕèÁÕ¤ÇÒÁàªÕèÂǪÒÞ´ŒÒ¹¡ÒôÙáÅÊØ¢ÀÒ¾à´ç¡àÅç¡ áÅмٌÊÙ§ÇÑ «Öè§ÁÕÍØ»¡Ã³ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·Õè¤Ãº¤Ãѹ ä´ŒÁҵðҹ ์¹¡ÒüÅÔµºØ¤Åҡ÷ÕèÁդسÀÒ¾ ãËŒÁÕ¤ÇÒÁࢌÒ㨴ŒÒ¹ Ëҧ¡Ò ¨Ôµã¨ Êѧ¤Á áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¤Çº¤Ù‹ä»¡Ñº¡ÒÃ໚¹¼ÙŒÁդس¸ÃÃÁ áÅШÃÔ¸ÃÃÁ㹡ÒûÃСͺÍÒªÕ¾ âçàÃÕ¹Ãѵ¹à·ÇÕºÃÔºÒÅ I-Kaigo ËÅÑ¡Êٵü٪Œ Ç‹ ÂàËÅ×Í¡ÒþÂÒºÒÅ´ŒÒ¹¡ÒôÙáÅà´ç¡áÅдÙáżÙÊŒ §Ù ÇÑ ÀÒÂ㵌¡ÒäǺ¤ØÁ ¢Í§¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡Òà â´ÂʹѺʹعãËŒ·¹Ø ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒá¡‹¼ÊŒÙ ¹ã¨ÍÒÂص§éÑ áµ‹ 18 »‚¢¹éÖ ä»·Ñ§é ËÞÔ§ áÅÐ ªÒ äÁ‹¨Ó¡Ñ´Çز¡Ô ÒÃÈÖ¡ÉÒ âçàÃÕ¹Ãѵ¹à·ÇÕºÃÔºÒÅ I-Kaigo ä´ŒÃѺ¡ÒÃ͹ØÁѵԨҡ¡ÃÁ¾Ñ²¹Ò½‚Á×Íáç§Ò¹ ¡ÃзÃǧáç§Ò¹ ᵋ§µÑé§ãˌ໚¹Èٹ ½ƒ¡ÍºÃÁ½‚Á×Íáç§Ò¹áÅÐÈٹ ·´ÊͺÁҵðҹ½‚Á×Íáç§Ò¹áË‹§ªÒµÔ ¼ÙÊŒ ÓàÃ稡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¨Ðä´ŒÃºÑ »ÃСÒȹÕºѵà ÃѺÃͧâ´Â¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃáÅÐä´ŒÃѺ ¡Ò÷´ÊͺÁҵðҹ½‚ÁÍ× áç§Ò¹áË‹§ªÒµÔ ¾ÃŒ Í Á·Ñ é § ä´Œ Ã Ñ º ¡ÒÃ¤Ñ ´ àÅ× Í ¡ÃÑ º ·Ø ¹ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ份ƒ¡»¯ÔºÑµÔ§Ò¹´ŒÒ¹¡ÒôÙáÅ ¼ÙŒÊÙ§ÇÑ ³ »ÃÐà·ÈÞÕè»Ø†¹ WWW.ratanataewee.com ratanataewee@gmail.com 85/10-11 ¶.¾Ø·¸Á³±Å ÊÒÂ4 Í.ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨.¹¤Ã»°Á 73210 â·Ã.02-889-9651-2 , â·ÃÊÒà 02-889-9196 SBL OK6.indd 22

5/8/2558 BE 10:16 AM


SBL OK6.indd 23

5/8/2558 BE 10:16 AM


µÑÇá·¹¨íÒ˹‹Ò¨ѧËÇÑ´ÃÐÂͧ

¤Ø³¾ÅÍ (Ìҹ¾ÅÍÂÊÇ ˌҧáËÅÁ·Í§) T.087-110-4532, ¤Ø³ºÕÁ (ÌҹºÕºÕª Í» µÅÒ´¹Ñ´ÊµÒà ) T.081-055-8283, ¤Ø³áÁç¡ (·ÑºÁÒ) T.086-331-6330

SBL OK6.indd 24

5/8/2558 BE 10:16 AM


สารผู้ว่าราชการ จังหวัดนครปฐม นครปฐมเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ศั ก ยภาพครอบคลุ ม เกือบทุกด้าน ด้านการเกษตร เรามีปจั จัยสำ�คัญคือทรัพยากรน้ำ� จึ ง ทำ � ให้ น ครปฐมเป็ น แหล่ ง ผลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ทางการเกษตร ที่มีทั้งปริมาณและคุณภาพ ด้านอุตสาหกรรม เนื่องจากเรา มีความพร้อมทั้งปัจจัยการผลิตและพื้นที่ เราจึงมีโรงงาน อุ ต สาหกรรมแปรรู ป อาหารและเครื่ อ งดื่ ม ที่ มี ศั ก ยภาพ สามารถตอบสนองความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคทั้ ง ในและ ต่างประเทศได้ ประกอบกับเรามีสถาบันอุดมศึกษาหลายแห่ง จึงสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ในการพัฒนาสินค้าให้ได้ มาตรฐานสากลและปลอดภั ย ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว เรามี อู่อารยธรรมโบราณจึงเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และศาสนาที่สำ�คัญ

ด้วยศักยภาพดังที่กล่าวมาข้างต้น ผมจึงพร้อม ทีจ่ ะผลักดันให้จงั หวัดนครปฐม ก้าวไปสูก่ ารเป็นครัวของคนไทย และครัวของโลก สนับสนุนแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชนลุ่มน้ำ�ให้มีความยั่งยืน ตลอดจนสนับสนุน ให้ น ครปฐมเป็ น ศู น ย์ ก ลางโลจิ ส ติ ก ส์ ด้ า นตะวั น ตก ซึง่ ในอนาคตอันใกล้นเ้ี มือ่ โครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำ�ลึกทวาย ในสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์แล้วเสร็จ นครปฐมจะเป็น หนึ่งในเส้นทางเชื่อมโยงกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ�โขงได้ อีกด้วย ณ โอกาสนี้ ผมขอกล่าวขอบคุณ นิตยสาร SBL ซึง่ ให้ความสำ�คัญกับการประชาสัมพันธ์จงั หวัดนครปฐมอย่าง รอบด้าน และขอขอบคุณหน่วยงาน บริษทั -ห้างร้านต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์ในครั้งนี้ด้วยดี ท้ า ยนี้ ผ มขออาราธนาคุ ณ พระศรี รั ต นตรั ย โปรดดลบันดาลให้ทุกท่านจงประสบแต่ความสุขความเจริญ สืบไป ....................................... ( นายชาติชาย อุทัยพันธ์ ) ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม

Nakhon Pathom 25

SBL OK6.indd 25

5/8/2558 BE 10:16 AM


เส้ น ทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด

น ค ร ป ฐ ม เ ป็ น ศูนย์กลางการศึกษา ของภูมิภาค ที่นี่เรามี การจั ด การศึ ก ษา ทุกระดับและมีสถาบัน อุ ด ม ศึ ก ษ า ชั้ น นำ � ตั้ งอยู่ ใ นพื้ น ที่ เ กื อ บ ทุกสถาบัน

26

SBL OK6.indd 26

5/8/2558 BE 10:16 AM


“นายชาติชาย อุทัยพันธ์” ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม แม้ว่าท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม “นายชาติชาย อุทัยพันธ์” เพิ่งย้ายมาดำ�รงตำ�แหน่งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 แต่ท่าน มีหลักในการทำ�งานคือ “รวดเร็ว ถูกต้อง ยั่งยืน” ท่านจึงสานงานบริหาร ราชการจังหวัดนครปฐมให้คืบหน้าได้อย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง เพื่อให้ บรรลุตามวิสยั ทัศน์ของจังหวัดนครปฐม ทีว่ า่ “เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร เกษตรอุตสาหกรรมปลอดภัยที่ได้มาตรฐานสากล และแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน” นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติอย่างสูงจากท่าน กรุณาสละเวลา อันมีค่าให้สัมภาษณ์พูดคุยในหลากหลายประเด็นที่ล้วนแล้วแต่น่าสนใจ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง คื อ บทบาทของการเป็ น ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ที่ ดี ในยุคปัจจุบัน

นครปฐม...เมื อ งเกษตร อุ ต สาหกรรม อารยธรรม การศึกษา

นครปฐมเป็ น จั ง หวั ด ปริ ม ณฑลของกรุ ง เทพมหานคร เราจึ ง เป็ น เป้ า หมายหลั ก ในการพั ฒ นา ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพือ่ รองรับการขยายตัวของกรุงเทพในหลาย ๆ ด้านครับ และนครปฐม ก็ยังเป็นศูนย์กลางของภาคตะวันตก ใครจะไปภาคตะวันตกก็ต้องผ่านจังหวัดนครปฐม เพราะฉะนั้นจุดแข็ง ของเราก็มีหลายด้านครับ - พื้นที่เหมาะสมต่อการทำ�การเกษตร เพราะเรามีทรัพยากรน้ำ�อุดมสมบูรณ์ คือแม่น้ำ�ท่าจีนไหลผ่าน หล่ อ เลี้ ย งพลเมื อ ง มี ร ะบบชลประทานครอบคลุ ม เกื อ บทุ ก พื้ น ที่ สามารถตอบสนองความต้ อ งการ ได้ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และการอุปโภค-บริโภคของประชาชน - เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภูมิภาค ที่นี่เรามีการจัดการศึกษาทุกระดับ และมีสถาบันอุดมศึกษา ชัน้ นำ�ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีเ่ กือบทุกสถาบัน เช่น มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม และ โรงเรียนนายร้อยตำ�รวจ - เป็นอู่อารยธรรมสำ�คัญที่มีประวัติความเป็นมายาวนานนับพันปี นครปฐมเรามีความเจริญรุ่งเรือง มาตั้งแต่สมัยแผ่นดินสุวรรณภูมิ เป็นแหล่งรวมมรดกทางประวัติศาสตร์ที่ควรค่าแก่การศึกษาและท่องเที่ยว จากลักษณะดังกล่าว จังหวัดจึงมีศกั ยภาพในด้านการท่องเทีย่ วเชิงประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมทีโ่ ดดเด่นระดับ ประเทศ - เป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม เพราะมีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่จำ�นวน มากกว่า 3,000 โรง ตั้งอยู่ในพื้นที่ Nakhon Pathom 27

SBL OK6.indd 27

5/8/2558 BE 10:16 AM


รู้จักนครปฐม ในฐานะครัวของคนไทยและชาวโลก

สิ่ ง ที่ ผ มอยากจะให้ ค น ทั่ ว ไ ป รู้ จั ก นครปฐม..ก็คือ หนึ่ง ก า ร เ ป็ น ค รั ว ข อ ง ประเทศและครั ว โลก ส อ ง ก า ร เ ป็ น ศูนย์กลางโลจิสติกส์ ด้านตะวันตก

SBL OK6.indd 28

28

สิ่งที่ผมอยากจะให้คนทั่วไปรู้จักนครปฐม มากกว่าการเป็นแค่เมืองเกษตรกรรม อุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และเมืองแห่งการศึกษา ก็คือ หนึง่ การเป็นครัวของประเทศและครัวโลก เพือ่ ให้จงั หวัดเป็นแหล่งผลิตอาหาร ที่ปลอดภัยได้มาตรฐานสากล เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอาหารไทย ซึ่งจะเห็นได้ว่า นครปฐมเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมที่มีความพร้อม ทั้งพื้นที่และปัจจัย การผลิต ทั้งมีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและเครื่องดื่ม ที่มีศักยภาพสามารถ ตอบสนองความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคและตลาดทั้ ง ภายในและต่ า งประเทศ ที่ ยั ง มี ความต้องการด้านอาหารสูงมาก และเป็นการพัฒนาจังหวัดให้มีความมั่นคงด้านอาหาร นครปฐมมีผลิตภัณฑ์อาหารทีโ่ ดดเด่น ได้แก่ โต๊ะจีนนครปฐม ผลิตภัณฑ์ OTOP ต่าง ๆ ซึ่งจากความได้เปรียบด้านต่าง ๆ ในอนาคตจังหวัดจะเน้นการพัฒนาที่มีคุณภาพ การยกระดับมาตรฐานในการผลิต การบริหารจัดการ เพื่อสร้างขีดความสามารถใน การแข่งขันให้มากขึน้ สอง การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ด้านตะวันตก เนื่องจากเป็นพื้นที่รองรับ การพัฒนาของกรุงเทพมหานครในทุก ๆ ด้าน ทั้งการค้า การลงทุน อุตสาหกรรม การขนส่ง นครปฐมเป็นประตูสภู่ าคใต้ เป็นเส้นทางผ่านไปสูจ่ งั หวัดต่าง ๆ ในกลุม่ ภาคกลาง ตอนล่าง 1 การพัฒนาให้เป็นเมืองศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ฝั่งตะวันตก จะสามารถ เชื่อมโยงการขนส่งสินค้าไปยังภูมิภาคได้อย่างทั่วถึง รวดเร็ว ทันเวลา เป็นการกระจาย ความเจริญไปสูภ่ มู ภิ าค และสามารถเชือ่ มโยงไปยังประเทศเพือ่ นบ้านได้อกี ด้วย โดยในอนาคต จะเป็นเส้นทางเข้าสู่ท่าเรือน้ำ�ลึกทวายในประเทศสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ หากมีการ เปิดตัวท่าเรือภายใน 2–3 ปี ข้างหน้า นักลงทุนจะเข้ามาลงทุน ความเจริญจะเข้ามาอย่างรวดเร็ว จึงจำ�เป็นต้องมีการพัฒนาระบบการระบบโลจิสติกส์ให้ได้มาตรฐาน เพื่อลดระยะเวลา และประหยัดต้นทุน

1 2

5/8/2558 BE 10:17 AM


ทิศทางการพัฒนาจังหวัดตามวิสัยทัศน์

นอกจากนี้ในเรื่องของภาคอุตสาหกรรม จะต้อง รูจ้ กั รับผิดชอบในเรือ่ งระเบียบข้อกฎหมายว่าด้วยวิธดี ำ�เนิน ก า ร ที่ จ ะ ไ ม่ เ ป็ น พิ ษ เ ป็ น ภั ย แ ก่ ชุ ม ช น ผ ม เ ชื่ อ ว่ า ถ้าอุตสาหกรรมไหนทีไ่ ม่ใส่ใจกับสังคม ก็จะอยูก่ บั คนรอบ ข้างไม่ได้ในปัจจุบัน แต่ถ้ามีมาตรฐานในการดำ�เนินการที่ดี ตามกฎหมายตามระเบี ย บที่ ท างราชการเรากำ � หนดไว้ ก็สามารถจะอยูค่ กู่ นั และก็สามารถจะต่อยอดจากผลิตภัณฑ์ การเกษตรไปสูอ่ ตุ สาหกรรมการเกษตร ซึง่ จะเพิม่ ผลผลิต เพิ่มมูลค่าของสินค้าขึ้นไปได้ เพราะฉะนั้นสามสี่อย่างนี้ คงจะมารวมกัน แล้วก็ทำ�ให้การพัฒนานครปฐมเป็นไปได้ ตามวิสัยทัศน์อย่างที่ผมได้เรียนไปครับ

จั ง หวั ด นครปฐมมี วิ สั ย ทั ศ น์ คื อ “เป็ น แหล่ ง ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร เกษตรอุตสาหกรรมปลอดภัยทีไ่ ด้มาตรฐานสากล และแหล่งท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม และ วิถีชีวิตชุมชน” ดังนั้นทิศทางในการพัฒนาก็จะยึดตามวิสัยทัศน์เป็นหลัก ประเด็ น แรก ที่ เ ป็ น แหล่ ง ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตร และเกษตรอุ ต สาหกรรม ตามที่เรียนไปว่า เราเป็นพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารเกษตรสมบูรณ์อยู่ เพราะฉะนัน้ ก็ตอ้ งรักษาตรงนีไ้ ว้ เพราะว่ายิ่งเราอยากจะเป็นครัวโลก เราก็ต้องดูแลระบบการผลิตด้านการเกษตร ให้มคี ณ ุ ภาพและมีมาตรฐานความปลอดภัยสูง แล้วการประมง หมายถึง การเลีย้ งสัตว์ น้ำ�จืดเรามูลค่าสูงนะครับ ปัจจุบนั การเลีย้ งกุง้ ก้ามกรามก็ดี ปลาน้ำ�จืดก็ดี หรือว่าแม้แต่ กุ้งขาวหรือกุ้งที่ต้องใช้น้ำ�กร่อยน้ำ�เค็ม นครปฐมก็จะเลี้ยงได้ ตรงนี้ก็จะเป็นจุดหลัก จุดหนึ่งซึ่งอยู่แถวบางเลนก็มี ที่ดอนตูม กำ�แพงแสนก็มี เพราะฉะนั้นสินค้าเกษตร ของเราก็ต้องมีคุณภาพ มีมาตรฐานความปลอดภัยสูง ส่ ว นประเด็ น เรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย ว ตามที่ ผ มเรี ย นไปว่ า เมื อ งเราเป็ น อู่วัฒนธรรมโบร่ำ�โบราณ การมานครปฐมประมาณ 50 กว่ากิโลจากกรุงเทพฯ นี้ มาสะดวกมาก สามารถที่จะไปเช้าเย็นกลับ แต่ต่อไปเราจะโปรโมทให้นักท่องเที่ยว มาพักค้าง เพราะปัจจุบันที่พักของเรามีคุณภาพ มีมาตรฐาน และมีจำ�นวนมากขึ้น ณ ตอนนี้จะมีผู้ประกอบการมาเปิดกิจการโรงแรมขนาดใหญ่ที่มีมาตรฐานสูง ๆ เพราะฉะนั้นบางทีมาเที่ยววันเดียวอาจยังไม่ครบ ก็มาพักค้างคืนได้ และผมเชื่อว่า กล้วยไม้ของนครปฐมมีชอ่ื เสียง เมือ่ เร็ว ๆ นีก้ ป็ ระกวดกล้วยไม้กนั ไป ทีง่ าน”ช้างชนช้าง” ที่สวนสุวรรณภูมิออร์คิด กำ�แพงแสน ผมมีโอกาสได้ไปเปิดงานได้เดินชมสวยงาม งดงามจริง ๆ เพราะฉะนัน้ นอกจากเหนือจากการมาเทีย่ วแหล่งท่องเทีย่ วทางวัฒนธรรม มาไหว้พระเพราะเราเป็นเมืองพุทธ ก็มาดูวิถีชีวิตชาวบ้านนครปฐมที่ทำ�สวนเกษตร เรื่องผลไม้บ้าง เรื่องกล้วยไม้บ้าง

ยุ ท ธศาสตร์ เ ราคงจะสนั บ สนุ น ให้ เ ป็ น แหล่ ง จั ด จำ � หน่ า ยและส่ ง ออกอาหารสิ น ค้ า เกษตร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ที่ มี ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล แ ล ะ มีความปลอดภัย Nakhon Pathom 29

SBL OK6.indd 29

5/8/2558 BE 10:17 AM


สนองนโยบายภาครัฐ ด้วย 2 โครงการหลัก ตอนนี้ก็มีในเรื่องการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้มีความสวยงาม ตามนโยบายของรัฐบาล คือ “โครงการเมืองสะอาด คนในชาติมีสุข” เราก็มีการขุดลอกคูคลองต่าง ๆ เพื่อให้มีความสวยงาม ให้น้ำ�ไหล สะดวกขึ้น เพราะพวกวัชพืชหรือขยะสิ่งปฏิกูลทั้งหลายที่อยู่ในคลอง ในแม่น้ำ� มันทำ�ให้น้ำ�ไหลไม่สะดวก และทำ�ให้กกั เก็บน้ำ�ไว้ใช้ในหน้าแล้ง ได้น้อย ส่วนหน้าฝนก็น้ำ�ท่วมล้นตลิ่ง แล้วเราก็จะปรับปรุงเกาะกลาง ถนนให้มีความสวยงาม มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ตอนนี้ก็ได้ ประชุมมีการมอบหมายให้กบั แขวงการทางประสานงานกับทางองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทุก ๆ แห่งทีอ่ ยูใ่ นเขตความรับผิดชอบของตัวเอง ให้ชว่ ยกันดู ตรงไหนทีต่ ดิ ขัดสามารถประสานงานไปทางแขวงการทาง ได้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ความเป็นระเบียบสวยงามของถนนหนทางทีจ่ ะเข้าสูจ่ งั หวัด นครปฐม และเส้นทางรถวิ่งในจังหวัดเอง ส่วนอีกเรือ่ งคือการจัดการกับปัญหาขยะ เนือ่ งจากนครปฐม เป็นจังหวัดทีม่ ปี ระชากรตามทะเบียนราษฎร์ประมาณเก้าแสนคน ไม่นบั แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาอยู่ และคนจากที่อนื่ มาอยู่ ขยะของเราวันหนึ่ง ก็ ร่ ว ม ๆ พั น เก้ า ร้ อ ยเก้ า สิ บ ห้ า ตั น นะครั บ เฉลี่ ย แล้ ว ประมาณ เกือบ 1.1 กิโลต่อคนต่อวัน ก็จะมีขยะที่ตกค้างอยู่นะครับ แต่ว่า ในส่วนที่มีการบริการการจัดการให้ถูกระบบ เทศบาลนครนครปฐม จะเป็นผู้ดำ�เนินการ

พอสังเขปนะครับ เพราะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างจะเป็นวิชาการนิดหนึ่ง ตามวิสัยทัศน์ที่ว่าเป็นเรื่องเกษตรปลอดภัยที่ได้มาตราฐานสากล ท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน เพราะฉะนั้นยุทธศาสตร์เราคงจะสนับสนุน ให้ เ ป็ น แหล่ ง จั ด จำ � หน่ า ยและส่ ง ออกอาหารสิ น ค้ า เกษตรอุ ต สาหกรรม ทีม่ มี าตรฐานสากลและมีความปลอดภัย ก็คอื การสนับสนุนเป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชน และก็เป็นจังหวัดที่ประชากร ที่มีคุณภาพ ชีวิต และรักษาวิถีชีวิตลุ่มน้ำ�เกษตรกรรมอย่างยั่งยืน ก็คือของที่เรามีอยู่ รักษาไว้ และการต่อยอดต่าง ๆ อย่าให้กระทบต่อส่วนใดส่วนหนึ่ง ส่วนกลยุทธ์ก็คือ เราก็คงต้องไปเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าให้ได้ ความปลอดภั ย มี ม าตรฐานการผลิต รวมทั้งมีการลดต้ นทุ นการผลิ ต การจัดการโลจิสติกส์ให้มีระบบที่ดีขึ้น ลดระยะเวลาลดต้นทุนในการขนส่ง อะไรต่าง ๆ มีการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าของสินค้า และส่งเสริมการท่องเที่ยว ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนอย่างที่ผมเรียนไป อย่างมาเที่ยวพระราชวัง สนามจันทร์ ซึง่ ปัจจุบนั มีการปรับปรุงขึน้ มาให้มคี วามสวยงาม ผมเคยเข้าไป ตอนเย็น ๆ เห็นนักท่องเที่ยวทั้งต่างชาติทั้งคนไทยมา เห็นชีวิตคนนครปฐม ไปใช้ เ ป็ น สถานที่ อ อกกำ � ลั ง กาย พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ และทางจั ง หวั ด ได้ จัดกิจกรรมดนตรีในวังขึ้นมา ทุกวันเสาร์สี่โมงเย็นถึงหกโมงเย็นก็จะมีผู้ที่ สนใจมานั่งฟังดนตรีบริเวณใกล้วังสนามจันทร์ ซึ่งเป็นภาพที่ดูแล้วร่มรื่น มีชีวิตชีวาในวิถีชีวิตของคนนครปฐมเองนะครับ เพราะฉะนั้นก็มีหลาย ๆ เรื่อง ที่ต้องทำ�ให้สอดคล้องกันกับเรื่องยุทธศาสตร์ครับ

30

SBL OK6.indd 30

เป้าหมายคือภายในปี พ.ศ.2562 จั ง ห วั ด น ค ร ป ฐ ม จ ะ ต้ อ ง มี การบริหารจัดการขยะมูลฝอยให้ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิ ช าการ มุ่ ง สู่ การจัดการอย่างยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ & กลยุทธ์การพัฒนา

5/8/2558 BE 10:17 AM


จากการที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้เห็นชอบ Roadmap การจั ด การขยะมู ล ฝอยและของเสี ย อั น ตราย และ แผนปฏิบตั กิ ารแก้ไขปัญหาในพืน้ ทีว่ กิ ฤตทีต่ อ้ งเร่งแก้ไขปัญหากำ�จัด ขยะมูลฝอยไม่ถูกต้องและตกค้างสะสม (6 จังหวัด) เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 โดยมีแนวทางปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1.กำ � จั ด ขยะมู ล ฝอยตกค้ า งสะสมในสถานที่ กำ � จั ด ขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเก่า) 2. สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) เน้นการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย ตั้งแต่ต้นทาง จัดการขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม กำ�จัดโดยเทคโนโลยี แบบผสมผสานเน้นการแปรรูปเป็นพลังงานหรือทำ�ให้เกิดประโยชน์สงู สุด

3. วางระเบียบ มาตรการ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย 4. สร้ า งวิ นั ย ของคนในชาติ มุ่ ง สู่ ก ารจั ด การที่ ยั่ ง ยื น โดยเน้นให้ความรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน การแก้ไขปัญหา ในพื้นที่วิกฤตที่ต้องเร่งแก้ไขปัญหากำ�จัดขยะมูลฝอยไม่ถูกต้อง และตกค้างสะสม (ระยะเร่งด่วน 6 ด่วน) ทีม่ พี น้ ื ทีเ่ ป้าหมาย คือ เทศบาลนคร นครปฐม ในการดำ�เนินการกำ�จัดขยะมูลฝอยสะสม (ขยะเก่า) จำ�นวน 290,000 ตั น ในวงเงิ น งบประมาณ 225,036,700 บาท (สองร้อยยี่สิบห้าล้านสามหมื่นหกพันเจ็ดร้อยบาทถ้วน) ดังนั้น เพื่อเป็นการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดนครปฐมเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ การนี้จังหวัดนครปฐม ได้ออกคำ�สั่งแต่งตั้ง คณะทำ�งานจัดทำ�แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดนครปฐม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำ�หนดแนวทางบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของจังหวัดนครปฐม ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำ�ไปบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยในพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบอย่างถูกต้อง มีประสิทธิผลเป็นไปตาม หลั ก วิ ช าการ เน้ น การลดและคั ด แยกขยะมู ล ฝอยตั้ ง แต่ ต้ น ทาง และกำ � จั ด ด้ ว ยเทคโนโลยี แ บบผสมผสานที่ เ หมาะสม และมุ่ ง สู่ การจัดการอย่างยั่งยืน เป้าหมายคือภายในปี พ.ศ.2562 จังหวัด นครปฐม จะต้องมีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกต้องตาม หลักวิชาการ มุ่งสู่การจัดการอย่างยั่งยืน

Nakhon Pathom 31

SBL OK6.indd 31

5/8/2558 BE 10:17 AM


ตั้ ง แต่ ผ มมารั บ ราชการที่ นี่ เรื่ อ งแรกที่ ผ มว่ า เป็นปัญหาสำ�คัญของจังหวัดเราก็คอื เรือ่ งยาเสพติด หลักการก็คอื ว่า ทุกรัฐบาลที่เข้ามาก็จะมีนโยบายเรื่องยาเสพติด โดยกำ�หนด ให้เป็นวาระแห่งชาติ รัฐบาลนีก้ เ็ ช่นกันครับ ก็ถอื ว่าเป็นปัญหาสำ�คัญ ยิง่ จากการติดตามข่าวตามสื่อมวลชนแขนงต่าง ๆ ก็จะเห็นว่า จับกุมได้ก็เยอะ แต่ก็ยังไม่หมดไปสักที เพราะฉะนั้นมูลค่าของมัน คงจะมาก ซึ่งถ้าเกิดขึ้นในสังคมใดชุมชนใด คนในสังคมนั้น คงจะไม่มีความสุข เพราะว่ามันจะก่อให้เกิดอาชญากรรมด้านอื่น ๆ ตามมา จากเล็กไปจนใหญ่ เพราะฉะนั้นเรื่องนี้จึงเป็นเรื่อง สำ�คัญทีเ่ ราจะต้องเร่งดำ�เนินการให้ปญ ั หายาเสพติดในจังหวัดเรา หมดไปหรือลดน้อยลงไปให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ ตามโรงงาน อุตสาหกรรม ตามชุมชน ตามโรงเรียนหรือสถานศึกษาต่าง ๆ เราก็รณรงค์เรื่องนี้อยู่ครับ เพราะอย่างที่เรียนไปว่าจังหวัด เรามีอุตสาหกรรมค่อนข้างจะมาก มีโรงเรียนสถานศึกษาก็มาก แล้วก็เป็นจังหวัดที่ใกล้กับกรุงเทพมหานคร ซึ่งอาจจะเป็นแหล่ง นำ�ยาเสพติดมาพักไว้ หรือมาอะไรต่าง ๆ เป็นเส้นทางลำ�เรียง เพื่ อ เข้ า สู่ ก รุ ง เทพฯ เราก็ มี ก ารดำ � เนิ น การเรื่ อ งนี้ ค่ อ นข้ า ง จะเข้มงวด รวมทั้งการนำ�ผู้ติดยามาบำ�บัดให้เข้าสู่กระบวนการ ที่ราชการกำ�หนดไว้ เพื่อให้โอกาสกลับเป็นคนดีกลับคืนสู่สังคม อีกครั้งครับ เราก็ได้มีการประชุมแล้วก็มีมาตรการต่าง ๆ ที่จะ กำ�ชับหน่วยทุกหน่วยงานให้เอาใจใส่เรือ่ งนีเ้ ป็นพิเศษ เพราะถือว่า เรื่องยาเสพติดเป็นปัญหาสำ�คัญเร่งด่วนที่ต้องทำ�ครับ

เร่งสางปัญหาสำ�คัญของเมืองนครปฐม

เราจะต้ อ งเร่ ง ดำ � เนิ น การ ให้ปญ ั หายาเสพติดในจังหวัด เราหมดไป หรือลดน้อยลงไป ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้

32

SBL OK6.indd 32

5/8/2558 BE 10:18 AM


จังหวัดเราเองก็ได้ ดำ � เนิ น การเรื่ อ ง หมู่บ้านรักษาศีล5 ในปีทแ่ี ล้วส่วนหนึง่ และปีนจ้ี ะทำ�ให้ครบ ทุกหมู่บ้าน

เรื่องต่อไปคือเรื่องหมู่บ้านรักษาศีล5 ก็คงจะเป็นนโยบายของรัฐบาลด้วย และก็เป็น แนวดำ�ริของสมเด็จพระมหาราชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช แล้วรัฐบาล ก็ได้กำ�หนดให้สร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมตามพระพุทธศาสนา จังหวัด เราเองก็ได้ดำ�เนินการเรือ่ งหมูบ่ า้ นรักษาศีลห้าในปีทแี่ ล้วส่วนหนึง่ และปีนจี้ ะทำ�ให้ครบทุกหมูบ่ า้ น ครับ มีรถบัสขับเคลือ่ นออกประชาสัมพันธ์ ตัง้ คณะกรรมการออกไปดำ�เนินการชีแ้ จงกับชุมชน หมู่บ้านต่าง ๆ ให้เข้าใจถึงหลักการของหมู่บ้านรักษาศีล5 มีมาตรวัดว่าทำ�อย่างไรจะวัดได้ว่า หมู่บ้านนี้ผ่านเกณฑ์ที่เราตั้ง ซึ่งคาดว่าจะเนินการแล้วเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2558 ที่จะถึงนี้ นะครับ นอกจากนีเ้ ราก็ขยายผลลงในสถานศึกษาด้วย เพือ่ ทีจ่ ะใช้หลักธรรมะนำ�วิถชี วี ติ ของคน ซึ่งคาดว่าถ้าทำ�ได้คงจะเกิดประโยชน์กับคนนครปฐมเราอย่างยิ่ง อีกเรื่องหนึ่งคือ “โครงการ เมืองสะอาด คนในชาติมีสุข” อย่างที่เรียนไปว่าเป็นนโยบายสำ�คัญอย่างยิ่งของกระทรวง มหาดไทย เพราะฉะนั้นเราก็เริ่มดำ�เนินการมา มีการคิกออฟกันไปตั้งแต่ต้นเดือนพฤศจิกายน ปีที่ผ่านมาครับ ตามทีผ่ มเรียนไปนะครับทุกภาคส่วนของจังหวัดเรา จะมีการบรูณาการร่วมกันระหว่าง ทางจังหวัดเอง ทางอำ�เภอ รวมทั้งองค์กรทุกแห่ง ร่วมรณรงค์กำ�จัดขยะลดการทิ้งขยะ สร้างวินัยในการทิ้งขยะ การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของชุมชน ถนน หนทาง สถานทีส่ าธารณะ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว รวมถึงการกำ�จัดผักตบชวาและวัชพืช และสิง่ ปฏิกลู แม่น้ำ�ในลำ�คลองต่าง ๆ ตามโครงการเมืองสวยน้ำ�ใส ก็คงจะรณรงค์ให้เสร็จในรอบปีนี้ครับ

Nakhon Pathom 33

SBL OK6.indd 33

5/8/2558 BE 10:18 AM


ชูศักยภาพจังหวัดเป็นข้อได้เปรียบสู่ AEC

นครปฐมกับการเตรียมพร้อมเข้าสู ่ AEC จังหวัดนครปฐม ดำ�เนินการจัดอบรมเพื่อเตรียมความพร้อม ให้แก่ผู้ประกอบการหรือบุคคลทั่วไป ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ประชาคมอาเซียน เช่น สำ�นักงานพาณิชย์จังหวัดนครปฐม ดำ�เนินการ จัดอบรมหลักสูตร “การพัฒนาผู้ประกอบการเตรียมความพร้อมสู่ตลาด อาเซียน CLMV” ระหว่างวันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 ณ โรงแรม ริเวอร์ อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีผู้เข้าร่วมอบรมทั้งสิ้น 79 ราย ประกอบด้วย เจ้าหน้าทีจ่ ากส่วนราชการภายในจังหวัด จำ�นวน 9 ราย และผู้ประกอบการ จำ�นวน 70 ราย เป็นต้น หน่วยงานภายในจังหวัดนครปฐม ส่งเจ้าหน้าที่ประจำ�หน่วยงาน เข้าร่วมอบรม/ประชุม/สัมมนา/เสวนา เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับประชาคมอาเซียน กับหน่วยงานต่าง ๆ เช่น การประชุมสัมมนาเผยแพร่ความรู้และการรับฟัง ความคิ ด เห็ น เพื่ อ พั ฒ นาบุ ค ลากรและเพิ่ ม ศั ก ยภาพของกลุ่ ม จั ง หวั ด ภาคกลางตอนล่าง 1 เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน ในหัวข้อ “ธุรกิจและ การบริการ” การเสวนาเรื่อง “จุดพลังความคิด เพิ่มโอกาสธุรกิจ พิชิต ตลาด AEC” ,การสัมมนาเรือ่ ง “AEC กับการจดทะเบียนเครือ่ งหมายการค้า ระหว่างประเทศ” ฯลฯ โครงการ/กิจกรรม เพือ่ การกระจาย/เผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจ เบื้องต้นแก่ประชาชนสม่ำ�เสมอ จากการดำ�เนินโครงการจังหวัดนครปฐม พบประชาชน และโครงการออกหน่วยบำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข สร้างรอยยิ้ม ให้ประชาชนเป็นประจำ�ทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งได้รับการสนับสนุน ข้ อ มู ล และความรู้ ต่ า ง ๆ จากหน่ ว ยงานทุ ก หน่ ว ยงานภายในจั ง หวั ด และสำ�นักงานพาณิชย์จังหวัดนครปฐม มีศูนย์ประสานและบริการข้อมูล ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และมีเว็บไซต์ HYPERLINK “http://www. aecthaibiz.com”www.aecthaibiz.com และมีเจ้าหน้าที่ประจำ�ศูนย์ฯ

จังหวัดนครปฐมมีที่ตั้งเหมาะสม ในด้านการเป็นศูนย์กลาง ของภาคกลางและภาคตะวันตก ทำ�ให้มขี อ้ ได้เปรียบหลายด้าน โดยเฉพาะ การขนส่งและการคมนาคมทางบก เนือ่ งจากจังหวัดนครปฐมตัง้ อยูก่ ลาง ภูมิภาค และมีเส้นทางเชื่อมต่อไปได้ทั่วทั้งประเทศ ทำ�ให้ภายในจังหวัด มีจดุ บริการขนส่งทางรถยนต์หลายแห่ง สามารถรองรับการขนส่งสินค้า ไปยังที่ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งจังหวัดยังอยู่ไม่ไกล จากสนามบิ น ดอนเมื อ งและสุ ว รรณภู มิ รวมทั้ งท่ าเรื อ ขนส่ งสิ น ค้ า ที่แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เพื่อส่งออกไปต่างประเทศ นอกจากนี้ จั ง หวั ด นครปฐมยั ง มี ส ถาบั น การศึ ก ษาชั้ น นำ � หลายแห่ง ทำ�ให้จังหวัดมีประชาชนที่มีความรู้ความสามารถ รวมถึง การเป็นหน่วยสนับสนุนหรือเป็นองค์ความรู้ในการพัฒนา สนับสนุน ความรู้ นวัตกรรม หรือเทคโนโลยี เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การเป็น เศรษฐกิจดิจิตอล และในการพัฒนาสินค้าเกษตร/อาหารต่อไป จั ง หวั ด นครปฐมมี วั ต ถุ ดิ บ ทางการเกษตรที่ มี ศั ก ยภาพ ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ และมีผลผลิตที่หลากหลาย เช่น ข้าว ส้มโอ ฯลฯ ทำ�ให้เป็นแหล่งผลิต จำ�หน่ายและส่งออกอาหารสินค้าเกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมทีม่ มี าตรฐานสากลและปลอดภัย มุ่งไปสู่การเป็นครัวโลก ประกอบกับการที่จังหวัดมีองค์กร/สถาบัน การศึกษา ซึง่ สามารถเป็นองค์ความรูใ้ นการพัฒนาสินค้าดังทีก่ ล่าวมาแล้ว และพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม GREEN INDUSTRY เนื่องจากมาตรการ กีดกันทางการค้าหลายรูปแบบ เช่น แรงงานเด็ก การค้ามนุษย์ โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมประมง

34

SBL OK6.indd 34

5/8/2558 BE 10:18 AM


AEC กับปัญหาแรงงานต่างด้าวของนครปฐม

บทบาทสถาบันอุดมศึกษากับการพัฒนา จากทีผ ่ มเรียนไปแล้วว่าเรามีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา จำ�นวนมาก ส่ ว นที่ ห นึ่ ง เขาก็ ผ ลิ ต บุ ค ลากรที่ มี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น มา เพราะฉะนั้นเราก็จะได้บุคลากรที่มีคุณภาพเข้ามาทำ�งานร่วมกับเรา ซึ่งเป็นภาครัฐมากขึ้น ในส่วนทีส่ องสถานศึกษาเป็นแหล่งวิชาความรู้ เป็นแหล่ง วิชาการ เราก็ได้เชิญเขามาร่วมกิจกรรม มาร่วมเป็นคณะทำ�งาน ที่ จ ะมาคิ ด ค้ น พั ฒ นา หรื อ ดึ ง ศั ก ยภาพของจั ง หวั ด เราว่ า เรามี ผลผลิตหรือว่าทรัพยากรในพื้นที่อะไรบ้าง ที่จะทำ�ให้มีมูลค่า เพิ่มได้ เพราะสถาบันการศึกษาจะมีผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ ถ้าเราสามารถดึงผลวิจัยนั้นมาใช้ในการต่อยอดในจังหวัดเราได้ ซึ่งถ้าได้มีความร่วมมือกับสถานศึกษาทุกแห่ง ก็คงจะเป็นประโยชน์ อย่างยิ่งนะครับ เพราะว่าเรามีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา หลายแห่ง ก็คงจะได้มวี ทิ ยาการความรูส้ มัยใหม่ ๆ เข้ามาผนวกกับ การทำ�งานราชการได้มาก

ในโอกาสที่ไทยจะเข้าสู่ AEC จะมีผลกระทบต่อจังหวัดนครปฐม ในเรื่องปัญหาแรงงานต่างด้าวหรือไม่นั้น ต้องดูที่ปัจจัยเหล่านี้ 1. อาชีพทีใ่ ห้การเคลือ่ นย้ายแรงงานเสรีในอาเซียน ประกอบด้วย 8 อาชีพ คือ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล วิศวกร นักสำ�รวจ สถาปัตยกรรม บัญชี และการบริการการท่องเทีย่ ว ซึง่ แรงงานต่างด้าวในจังหวัดนครปฐม มีน้อยมากที่ประกอบอาชีพเหล่านี้ 2. จังหวัดนครปฐมมีแรงงานต่างด้าวทุกกลุม่ ทีม่ ใี บอนุญาตทำ�งาน ถูกต้อง จำ�นวน 120,442 คน เป็นแรงงานฝีมือประมาณ 1,752 คน ชนกลุม่ น้อย 2,563 คน ทีเ่ หลือเป็นแรงงานกรรมกร สัญชาติเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา ประมาณ116,127 คน เป็นเมียนมาร์มากที่สุด รองลงมา คือ กัมพูชาและลาวตามลำ�ดับ จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นคิดว่าการที่ไทยเข้าสู่ AEC ในปลายปี 2558 หรื อปี 2559 นี้จะไม่มีผลกระทบต่อปัญหาแรงงานต่ างด้ าว ในจังหวัดนครปฐม แรงงานต่างด้าวส่วนใหญ่ยังต้องถูกควบคุมด้วย ระเบียบ กฎหมาย เช่นเดิม และปัญหาทีเ่ กิดขึน้ แล้วและยังคงมีอยู่ เช่น ปัญหา ด้านสาธารณสุข การเกิดของบุตรหลานแรงงานต่างด้าว ปัญหาเรื่อง สัญชาติ เรื่องชุมชนต่างด้าว คงยังเป็นปัญหาที่จะต้องแก้ไขกันต่อไป มองต่อไปในอนาคต ถ้าประเทศเมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา มีการ พัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญทัดเทียมกับประเทศไทย มีคา่ แรงขัน้ ต่ำ�ใกล้เคียง กับประเทศไทย แรงงาน 3 สัญชาตินี้ อาจเดินทางกลับประเทศเป็น จำ�นวนมาก ทำ�ให้ประเทศไทยเกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานได้ ซึง่ สถาน ประกอบการควรเตรียมแผนไว้รองรับด้วย

จั ง หวั ด นครปฐมมี วั ต ถุ ดิ บ ทางการ เกษตรทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ ในด้านปริมาณ และคุ ณภาพ และมี ผลผลิ ตที่หลาก หลาย เช่น ข้าว ส้มโอ Nakhon Pathom 35

SBL OK6.indd 35

5/8/2558 BE 10:18 AM


หัวใจสำ�คัญของการเป็นผู้ว่าฯ

จากใจผู้ว่าฯนครปฐมสู่ทุกภาคส่วน

หัวใจสำ�คัญของการดำ�รงตำ�แหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัด สำ�หรับผมคือ 1. ตัง้ ใจทำ�งานให้ดที สี่ ดุ ให้เกิดผลงาน ใช้เวลาให้นอ้ ยทีส่ ดุ ต่องาน แต่ละอย่างแต่ได้ผลงานมากที่สุด 2. มุ่งมั่น ขยัน อดทน ทำ�งานเต็มที่ เพื่อให้เกิดความรู้สึกว่า...ทำ�ได้ สำ�เร็จ มีประสิทธิภาพ แข่งขัน เอาชนะ จนเป็นอุดมการณ์ 3. ใช้วิชาการ เทคโนโลยี ความร่วมมือของเพื่อนร่วมงานเข้ามา ช่วย เพราะเป็นผู้บริหารความสำ�เร็จไม่ได้อยู่ที่เราคนเดียว 4. ต้องมีความคิดริเริ่ม ต้องพัฒนา เปลี่ยนแปลง สร้างผลงาน ขึ้นใหม่ ไม่ให้งานตกค้าง 5. สนับสนุนให้องค์กรที่รับผิดชอบมีความก้าวหน้า มีการพัฒนา อย่างยั่งยืน 6. คำ�นึงถึงการให้ขวัญกำ�ลังใจแก่ผรู้ ว่ มงานและผูใ้ ต้บงั คับบัญชา 7. ให้ความสำ�คัญต่อการอยู่ในพื้นที่ และออกสัมผัสงานมวลชน เป็นประจำ�และสม่ำ�เสมอ ทำ�ให้มีข้อมูลที่ถูกต้องในระยะเวลาอันสั้น

การที่จ ะทำ � ให้ จัง หวั ด นครปฐมเรามี ศัก ยภาพเพิ่ม ขึ้น ในทุก ๆ ด้าน ผมว่าสิ่งสำ�คัญที่สุดคือ การร่วมมือร่วมใจนะครับ การรวมพลังของชาวนครปฐม ทุกภาคส่วนต้องช่วยกันครับลำ�พัง ภาคราชการเอง ก็คงจะทำ�ได้ระดับหนึง่ ภาคธุรกิจเอกชนก็ทำ�ได้ระดับ หนึง่ หากมีการร่วมแรงร่วมใจกันจากทุกภาคส่วน ภาคประชาสังคม เองก็มีส่วนในการให้คำ�แนะนำ� เพราะฉะนั้นหากทุกภาคส่วนเรามา รวมพลังกันในการทำ�งานเพื่อขับเคลื่อนจังหวัดนครปฐมไปใน ทิศทางที่ควรจะเป็น ดูแล้วทุกฝ่ายเห็นพ้องต้องกันเดินขับเคลื่อน ร่วมกัน ผมเชื่อว่านครปฐมเราจะมีศักยภาพในการทีจ่ ะเป็นเมืองทีม่ ี การพัฒนาในอนาคตอันใก้ลนีอ้ ย่างมาก เพราะว่าศักยภาพดีอยูแ่ ล้ว แต่ว่าต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของทุกภาคส่วนมาช่วยกัน ทำ�งานตรงนี้ให้เกิดประโยชน์กับจังหวัดนครปฐมของเราครับ

SBL OK6.indd 36

36

ให้ความสำ�คัญต่อการอยู่ในพื้นที่ และออก สัมผัสงานมวลชนเป็นประจำ�และสม่ำ�เสมอ ทำ�ให้มีข้อมูลที่ถูกต้องในระยะเวลาอันสั้น

5/8/2558 BE 10:19 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดอ้อน้อย (ธรรมอิสระ) หลวงปู่พุทธะอิสระ หรือ พระสุวิทย์ ธีรธมฺโม ท่านเป็นชาวกรุงเทพฯ โดยกำ�เนิด แต่บรรพบุรุษตั้งรกรากอยู่ที่จังหวัดนครปฐม เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2499 การศึกษา เล่าเรียนทางโลก ไม่จบชัน้ ประถมปีที่ 4 ส่วนการศึกษาเล่าเรียนทางธรรมนัน้ จบนักธรรมเอก ท่านเป็นพระทีม่ ปี ฏิปทางดงาม เป็นทีเ่ คารพศรัทธาอย่างสูงสำ�หรับลูกหลานศิษยานุศษิ ย์ และประชาชนทั่วไป คำ�สอนของท่านเป็นธรรมะที่ง่าย ลึกซึ้ง และสามารถนำ�ไปปฏิบัติได้จริง ด้ ว ยวิ ธี ส อนที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ทำ � ให้ ผู้ ฟั ง ธรรมเกิ ด ความเห็ น ที่ ถู ก ตรงและกระจ่ า งชั ด ท่านจึงเป็น “ปูชนียาจารย์” ที่มหาชนเคารพศรัทธายิ่ง มีผู้ถามอยู่เสมอว่า “พุทธะอิสระ” แปลว่าอะไร หลวงปู่ได้ให้ความหมายว่า “พุทธะ” แปลว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ย่อมมีเสรีภาพอิสระต่อตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกได้กลิ่น ลิ้นรับรส กายถูกต้องสัมผัส ไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ ไม่ท�ำ อารมณ์ให้เป็น อะไร เพราะเรามีธรรมะในหัวใจ ย่อมอิสระกับทุกเรื่องที่พบพานเจอะเจอและเห็น ฺ

Nakhon Pathom 37

SBL OK6.indd 37

5/8/2558 BE 10:19 AM


ประวัติการสร้างวัดอ้อน้อย วัดอ้อน้อย (ธรรมอิสระ) เป็นวัดในโครงการเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ทรงมี พ ระชนมายุ 72 พรรษา ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 125/1 หมู่ 17 ถนนมาลัยแมน (กม.17) ตำ�บลห้วยขวาง อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม ที่ดินเดิมเป็นที่ลุ่มมีน้ำ�ท่วมขังสูงท่วมศีรษะ และมีที่ดินดอนอยู่ เพียง 1 ไร่เศษ ซึง่ ได้เริม่ ทำ�การสร้างเมือ่ ต้นปี พ.ศ. 2533 โดยหลวง ปูพ ่ ทุ ธะอิสระ ได้เป็นผูน้ �ำ การพัฒนาบุกเบิกสร้างวัดขึน้ โดยวางรูปแบบ ตามตำ�ราโบราณ และตามหลักพิชัยสงคราม ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมายกฐานะขึ้นเป็นวัดชื่อว่า "วั ด อ้ อ น้ อ ย (ธรรมอิ ส ระ)" ในปี พ .ศ. 2535 และนั บ เป็ น พระมหากรุณาธิคณ ุ ที่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก ได้ เ สด็ จ พระราชดำ � เนิ น เป็ น ประธาน จุ ด เที ย นชั ย ในพิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษกในงานผู ก พั ท ธสี ม าพระอุ โ บสถ วั ด อ้ อ น้ อ ย (ธรรมอิ ส ระ) เมื่ อ วั น ที่ 13 กุ ม ภาพั น ธ์ 2542 เวลา 17.00 น. อนึ่งหลวงปู่กล่าวถึงชื่อวัด "วัดอ้อน้อย (ธรรมอิสระ)" มีความ หมายว่า“ผู้มีธรรมย่อมมีความเป็นอิสระจากการร้อยรัดของกิเลส ทั้งปวง” มิได้หมายความว่าเป็นธรรมที่แปลกไม่เหมือนใคร หรือไม่ ขึ้นกับใครแต่อย่างใด

ศาสนสถานสำ�คัญภายในวัดอ้อน้อยฯ พระอุโบสถมีสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่นของวัด ก่อสร้างขึ้นตามการออกแบบของหลวงปู่พุทธะอิสระ เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2533 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2542 ลักษณะเป็นพระอุโบสถจัตรุ มุขขนาดเล็กชัน้ เดียวเรียบๆ หน้าบัน หันสูท่ ศิ ทัง้ 4 ประดับด้วยกาแลเป็นช่อชัน้ ผนัง 3 ด้านเปิดโล่ง ตกแต่ง ด้วยม่านปูนปัน้ ลวดลายอ่อนช้อยวิจติ รงดงาม เขตพระอุโบสถแบ่งเป็น 3 ชั้น ชั้นในคือตัวพระอุโบสถ, ชั้นกลาง บริเวณระเบียงรอบอุโบสถ ประดิษฐานรูปหล่อ 18 อรหันต์, ชั้นนอกบริเวณปริมณฑลโดยรอบ ตกแต่งด้วยสวนไม้ดัด มีคูน้ำ�โอบล้อมรอบ ให้ความร่มเย็นทั้ง 4 ด้าน

38

SBL OK6.indd 38

5/8/2558 BE 10:19 AM


ภายในพระอุโบสถวิจิตรตระการตาด้วยจิตรกรรมฝาผนังศิลปะ ไทยประยุกต์งดงามทัง้ หลัง แสดงความหมายโดยรวมถึงธรรมชาติ ความ หลากหลายของชีวิต สรรพสัตว์ที่มีอยู่ในโลกภพภูมิต่างๆ ที่เชื่อมโยง อิงแอบอาศัยถึงกัน

พระเจดีย์ศรีมหาโพธิ์ เมือ่ ครัง้ ทีห่ ลวงปูเ่ ริม่ บุกเบิกสร้างวัดอ้อน้อยฯ ใหม่ๆ ในขณะนัน้ ยัง มิได้มพ ี ระอุโบสถอาคารหรือรูปเคารพบูชาใดๆ หลวงปูเ่ ล่าว่า ขณะนัน้ ท่าน นึกอยากจะหาต้นโพธิ์มาปลูกเป็นสัญลักษณ์แทนพระมหาเจดีย์ เพื่อให้ ผู้คนได้กราบไหว้ระลึกถึงพระพุทธเจ้า แต่ยังไม่รู้จะไปเสาะหาจากที่ใด เช้าวันหนึ่งท่านได้ยินเสียงนกตัวใหญ่ที่ไม่เคยเห็นมาก่อนคาบกิ่งไม้เล็กๆ บินอยู่ในอากาศ นกตัวนั้นเมื่อเห็นหลวงปู่ก็ร้องเสียงสดใสไพเราะแล้วก็ ปล่อยกิง่ ไม้เล็กๆ นัน้ ตกลงมา หลวงปูไ่ ด้ให้คนไปเก็บมาพบว่าเป็นต้นโพธิ์ เล็กๆ 3 ต้น ท่านจึงได้นำ�มาปลูกไว้ที่หน้าหอพระกรรมฐาน โดยได้บรรจุ อัฐิธาตุของหลวงปู่ทวดไว้ที่ฐานของต้นโพธิ์ด้วย สำ�หรับทีม่ าของอัฐธิ าตุของหลวงปูท่ วดนัน้ มีความเป็นมาว่า เมือ่ ครัง้ ที่หลวงปู่ออกธุดงค์ไปยังจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท่านได้พำ �นักอยู่ที่ ถ้�ำ ตันหยง จังหวัดยะลา ท่านมีนมิ ติ เห็นพระภิกษุผวิ คล้ำ� ลักษณะแบบชาว ปักษ์ใต้มาหาและชี้ไปยังจอมปลวกในถ้ำ� เมื่อท่านไปขุดดูก็พบอัฐิหลวง ปู่ทวด ข้อนิ้วก้อยเป็นทองแดง จึงได้อัญเชิญมาและนำ�มาประดิษฐานไว้ที่ โคนต้นโพธิ์เพื่อเป็นที่เคารพสักการะของชาวพุทธแต่นั้นมา

โรงเจหอคุณธรรมฟ้า “คุณธรรมฟ้า” ในเบื้องต้นหมายถึง ความกตัญญู กตเวทิตา ตอบแทนคุณ ซึ่งบนผนังกำ�แพงโรงเจจะมีรูปมังกร จารึกข้อความไว้ว่า “พ่อแม่มีคุณธรรม ลูกหลานกตัญญู” มังกร หมายถึงความร่ำ�รวย ความรุ่งเรือง ความเจริญซึ่งเกิดแก่ผู้มีกตัญญูรู้คุณ หลวงปูพ ่ ทุ ธะอิสระ ท่านเป็นผูค้ วบคุมงานก่อสร้างโรงเจทัง้ หมดเอง ท่ า นกล่ า วว่ า การสร้ า งโรงเจนั้ น สร้ า งยากกว่ า สร้ า งวั ด สร้ า งโบสถ์ สร้ า งวิ ห าร เพราะตำ � แหน่ ง ของอาคารวิ ห ารต่ า งๆ ในโรงเจ

รวมทัง้ การประดิษฐานเทพเจ้า รูปเคารพ และสัญลักษณ์มงคลต่างๆ ต้องถูกต้องตรงกับตำ�แหน่งและตัวเลขมงคลตามศาสตร์ฮวงจุ้ย จึงทำ�ให้เป็นโรงเจที่มีรายละเอียดที่ประณีตงดงาม และทำ�ให้ผู้ที่มา ทำ�บุญกราบไหว้ได้รับสิริมงคล โชคลาภ ความผาสุกอย่างแท้จริง สำ � หรั บ ผู้ ที่ ส นใจศึ ก ษาเรื่ อ งธรรมะและกิ จ กรรมทาง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ข อ ง วั ด อ้ อ น้ อ ย ฯ ส า ม า ร ถ ติ ด ต า ม ไ ด้ ที่ FB: หลวงปู่พุทธะอิสระ (Buddha Isara), www.onoi.org, สถานีโทรทัศน์ PSI ช่อง 235, หรือรับชมออนไลน์ผา่ นเว็บไซต์ได้ที่ www.issaradham.com

Nakhon Pathom 39

SBL OK6.indd 39

5/8/2558 BE 10:19 AM


เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด

“นายกำ�ธร ตุ้งสวัสดิ์” รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม 40

SBL OK6.indd 40

5/8/2558 BE 10:19 AM


ลั ก ษณะสำ � คั ญ ของ จังหวัดนครปฐม คือ เ ป็ น เ มื อ ง เ ก ษ ต ร เมืองท่องเที่ยว เมือง แห่ ง การศึ ก ษาและ เป็ น นครแห่ ง ความ สุข สังคมที่มีความ เ จ ริ ญ แ ล ะ มั่ น ค ง ปลอดภัย

นายกำ�ธร ตุ้งสวัสดิ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็นผู้ ที่ มี ค วามรอบรู้ แ ละคุ้ น เคยกั บ ปั ญ หาในจั ง หวั ด นครปฐมเป็ น อย่ า งดี เนื่องจากท่านเคยดำ�รงตำ�แหน่งปลัดจังหวัดนครปฐมมาก่อน เมื่อได้รับ การแต่งตัง้ ให้เป็นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด ท่านได้รบั มอบหมายให้รบั ผิด ชอบดูแลพืน้ ทีอ่ ำ�เภอนครชัยศรี อำ�เภอสามพราน และอำ�เภอพุทธมณฑล และมีอำ�นาจหน้าที่กำ�กับดูแลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการด้าน เศรษฐกิจและความมั่นคง นิ ต ยสาร SBL ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากท่ า นรองผู้ ว่ า ฯกำ � ธร ตุ้ ง สวั ส ดิ์ ให้สัมภาษณ์ในประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

ภาระงานสำ�คัญด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง ภาระงานทีผ่ มได้รบั มอบหมายให้ดแู ลคือการแก้ไขปัญหายาเสพติด และดูแลเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัย นอกจากนี้ผู้ว่าราชการจังหวัด ยังให้ช่วยดูแลพื้นที่สามอำ�เภอ ได้แก่ นครชัยศรี สามพราน และพุทธ มณฑล ลั ก ษณะสำ � คั ญ ของจั ง หวั ด นครปฐม คื อ เป็ น เมื อ งเกษตร เป็นเมืองท่องเทีย่ ว เป็นเมืองแห่งการศึกษาและเป็นนครแห่งความสุข สังคม มีความเจริญ มั่นคงและปลอดภัย นอกจากนี้ผมยังมีหน้าที่กำ�กับดูแล หน่วยงานราชการด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง ดังนี้ Nakhon Pathom 41

SBL OK6.indd 41

5/8/2558 BE 10:19 AM


¡ÃзÃǧ 1.ÁËÒ´ä·Â

2.¤Á¹Ò¤Á 3.¾Åѧ§Ò¹ 4.¾Ò³ÔªÂ

5.ÂصԸÃÃÁ

6.¡ÅÒâËÁ 7.·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ 8.Êӹѡ§Ò¹ÍÑ¡ÒÃÊÙ§ÊØ´

ʋǹ¡ÅÒ§ Èٹ ෤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È áÅСÒÃÊ×èÍÊÒÃ

ʋǹÀÙÁÔÀÒ¤

ʋǹ·ŒÍ§¶Ôè¹

-Êӹѡ§Ò¹¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á ੾ÒÐÂÒàʾµÔ´ -·Õ·è Ó¡Òû¡¤Ãͧ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹·Õè´Ô¹¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á

ͧ¤ ¡ÒúÃÔËÒÃʋǹµÓºÅ ·Ø¡áË‹§

-Êӹѡ§Ò¹à¨ŒÒ·‹ÒÊҢҨѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹á¢Ç§¡Ò÷ҧ¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹á¢Ç§¡Ò÷ҧÊÁØ·ÃÊҤà -Êӹѡ§Ò¹¢¹Ê‹§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹·Ò§ËÅǧª¹º·¨Ñ§ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á Êӹѡ§Ò¹¾Åѧ§Ò¹¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹¾Ñ²¹Ò¸ØáԨ¡ÒäŒÒ¨Ñ§ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹ÊÒ¢ÒªÑ§è µÇ§ÇѴࢵ 0-3 Êӹѡ§Ò¹¾Ò³ÔªÂ ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹¡ÒäŒÒÀÒÂ㹨ѧËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -àÃ×͹¨Ó¡ÅÒ§¹¤Ã»°Á -ʶҹ¾Ô¹¨Ô áÅФØÁŒ ¤Ãͧà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Èٹ ½¡ƒ áÅÐͺÃÁà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ªÒ -ÊÓ§Ò¹¤ØÁ»ÃоĵԨ§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á ºŒÒ¹ÁØ·µÔ Ò -Êӹѡ§Ò¹ºÑ§¤Ñº¤´Õ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Èٹ ½¡ƒ áÅÐͺÃÁà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ËÞÔ§ ºŒÒ¹»ÃÒ³Õ -Êӹѡ§Ò¹Âص¸Ô ÃÃÁ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -·Õ·è Ó¡ÒÃÊÑÊ´Õ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -¡ÃÁÂØ·¸ÈÖ¡ÉÒ·ËÒÃàÃ×Í -âçàÃÕ¹¡ÒúԹ -¡ÃÁ¡ÒÃÊÑµÇ ·ËÒú¡ -Êӹѡ§Ò¹ÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁÀÒ¤·Õè 5 -Êӹѡ§Ò¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐ -Èٹ »ÃÐÊÒ¹§Ò¹»†ÒäÁŒ¹¤Ã»°Á ÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹ÍÑ¡ÒèѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹ÍÑ¡ÒèѧËÇÑ´¤´ÕÈÒÅá¢Ç§ ¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹ÍÑ¡ÒèѧËÇÑ´¤´ÕàÂÒǪ¹ áÅФÃͺ¤ÃÑǨѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á

9.à¡ÉµÃáÅÐÊˡó

-Êӹѡ§Ò¹µÃǨºÑÞªÕÊˡó ¨§Ñ ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -ʶҹվ² Ñ ¹Ò·Õ´è ¹Ô ¹¤Ã»°Á -ÈÙ¹Â Ç¨Ô ÂÑ áÅоѲ¹Ò¡ÒÃà¡ÉµÃ¨Ñ§ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹»ÈØÊµÑ Ç à¢µ 7 -â¤Ã§¡ÒêŻÃзҹ -Êӹѡ§Ò¹¨Ñ´ÃÙ»·Õ´è ¹Ô ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á

-Êӹѡ§Ò¹à¡ÉµÃáÅÐÊˡó ¨§Ñ ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹à¡ÉµÃ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹»ÈØÊµÑ Ç ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹Êˡó ¨§Ñ ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹¨Ñ´ÃÙ»·Õ´è ¹Ô ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á -Êӹѡ§Ò¹»ÃÐÁ§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á

10.Êӹѡ§Ò¹µÓÃǨáË‹§ªÒµÔ

µÓÃǨÀÙ¸ÃÀÒ¤ 7

µÓÃǨÀٸèѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á

ÃÑ°ÇÔÊÒË¡Ô¨/ͧ¤ ¡Ã ÁËÒª¹/ͧ¤ ÍÔÊÃÐ -¡ÒÃä¿¿‡ÒʋǹÀÙÁÔÀÒ¤¨Ñ§ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Á -¡ÒÃä¿¿‡ÒʋǹÀÙÁÔÀÒ¤¨Ñ§ËÇÑ´ ¹¤Ã»°Áࢵ 3 -¡ÒÃä¿¿‡ÒʋǹÀÙÁÔÀÒ¤

ผมดูแลงานเกี่ยวกับ ยาเสพติ ด มาตั้ ง แต่ สมัยเป็นปลัดจังหวัด และเมื่อมาเป็นรองผู้ ว่าฯ ท่านผู้ว่าฯ ก็ได้ มอบให้ดแู ลงานด้านนี้ มาโดยตลอด

ผลการดำ�เนินงานตามนโยบายของคสช. และรัฐบาล ทีท่ ำ�ไปแล้วก็มเี รือ่ งการสร้างความสมานฉันท์ในหมูพ ่ นี่ อ้ งประชาชนคนไทย ให้ทกุ หมูเ่ หล่ามีความรักประเทศชาติ และก็รว่ มมือกันพัฒนาสังคม แก้ไขปัญหาสำ�คัญ ของชาติและจังหวัด

42

SBL OK6.indd 42

5/8/2558 BE 10:19 AM


ปัญหาที่พบบ่อยของชาวนครปฐม ส่วนใหญ่เวลาทีป่ ระชาชนมีปญ ั หาก็จะร้องเรียนมาทางศูนย์ดำ�รงธรรม ก็มเี ยอะ ตั้งแต่แจ้งเบาะแสยาเสพติด แจ้งว่าใครขายยา ใครเสพยา เราก็ไปจัดการแก้ไขให้ ใครค้ายาเราก็ตรวจสอบจับกุม ใครเสพยาก็นำ�ไปเข้าค่ายบำ�บัด และก็แก้ไขปัญหา สังคมให้มันเบาบางจากยาเสพติด จากโจรผู้ร้าย จากสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่มั่นคงปลอดภัย

Nakhon Pathom 43

SBL OK6.indd 43

5/8/2558 BE 10:19 AM


ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ เนื่องจากผมดูแลงานเกี่ยวกับยาเสพติดมาตั้งแต่สมัยเป็นปลัดจังหวัด และเมื่อ มาเป็นรองผูว้ า่ ฯ ท่านผูว้ า่ ฯ ก็ได้มอบให้ดแู ลงานด้านนีม้ าโดยตลอด ในปี 2556 จังหวัด นครปฐมเป็นจังหวัดที่มีผลงานดีเด่นในเขตจังหวัดภาคกลาง ขนาดกลาง และเมื่อปี 2557 เราก็ได้รางวัล และเป็นที่หนึ่งมาตลอดในด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด

เรามี อ งค์ พ ระปฐม เจดียท์ เี่ ก่าแก่และสร้าง มาก่อนใคร มีพุทธ ม ณ ฑ ล ส ถ า น มี สถาบันการศึกษาทาง สงฆ์ มีวัดวาอาราม มากมายเป็ น แหล่ ง ท่องเที่ยว

SBL OK6.indd 44

44

5/8/2558 BE 10:19 AM


ฝากถึงภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงชาว นครปฐม

การที่ เ ราจะพั ฒ นาจั ง หวั ด ให้ ก้าวไกลออกไปนัน้ ก็ตอ้ งมองถึง ศักยภาพทีเ่ รามีอยู่ มองปัญหา และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ต้องเน้น การพั ฒ นาไปตามศั ก ยภาพที่ เรามี

จังหวัดนครปฐมเรานัน้ เป็นจังหวัดทีม่ อี าหาร การกิน มีทุกสิ่งทุกอย่าง เหมือนเราเป็นครัวของโลก เราต้องทำ�ให้จงั หวัดของเราสามารถสนองตอบนโยบาย และยุทธศาสตร์ในการเป็นแหล่งผลิต และจำ�หน่าย สินค้าเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมทีม่ มี าตรฐาน โดย เราตั้งเป้าหมายว่าเราจะเป็นครัวของโลกให้ได้ นอกจากนี้จงั หวัดนครปฐมยังเป็นศูนย์กลาง ของการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ศาสนาและวั ฒ นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรามีองค์พระ ปฐมเจดีย์ที่เก่าแก่และสร้างมาก่อนใคร มีพทุ ธมณฑล สถาน มีสถาบันการศึกษาทางสงฆ์ มีวัดวาอาราม มากมายเป็นแหล่งท่องเที่ยว และเรายังมีตลาดน้ำ� 4-5 แห่ ง มี ทิ ว ทั ศ น์ แ ละวิ ถี ชี วิ ต ชาวบ้ า นริ ม แม่ น้ำ � ท่ า จี น มีพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ มากมาย ดังนั้นการที่เราจะพัฒนาจังหวัดให้ก้าวไกล ออกไปนัน้ ก็ตอ้ งมองถึงศักยภาพทีเ่ รามีอยู่ มองปัญหา และแก้ไขปัญหาร่วมกัน ต้องเน้นการพัฒนาไปตาม ศักยภาพที่เรามี

Nakhon Pathom 45

SBL OK6.indd 45

5/8/2558 BE 10:19 AM


เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด

“นายจำ�เริญ ทิพญพงศ์ธาดา” รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม

นครปฐมในมุมมอง ผมเอง ซึ่ ง มารั บ ราชการที่นี่ ถือเป็น เมื อ งแผ่ น ดิ น ธรรม แผ่นดินทอง

46

SBL OK6.indd 46

5/8/2558 BE 10:19 AM


นายจำ�เจริญ ทิพญพงศ์ธาดา รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครปฐม เป็นชาวจังหวัดภูเก็ต ซึ่งเคยรับราชการใน พื้นที่ภาคใต้มาหลายจังหวัด ก่อนที่จะมาเป็นรองผู้ว่าฯ จังหวัด ศรีสะเกษ และจังหวัดภูเก็ต ท่านรองผู้ว่าฯจำ�เริญ มีหลัก การทำ�งานทีส่ ำ�คัญ คือการทุม่ เททำ�งานด้วยใจรัก ซึ่งก่อให้เกิด ผลงานอันภาคภูมใิ จมากมาย อาทิ พ.ศ.2546 ปฏิบตั งิ านเสีย่ ง ภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา ผลประเมินจังหวัด CEO เป็นอันดับ 1 ของประเทศ ,พ.ศ.2547 ปฏิบัติงานพื้นที่มหาวิบัติภัยสึนามิ จังหวัดพังงา และได้รับคัดเลือกเป็นข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ�) ,พ.ศ.2550 ปฏิบัติงานพื้นที่ชายแดนไทย – พม่า ร่วมแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวในแนวทาง “Ranong Model” และพ.ศ. 2555 รับผิดชอบงานแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัด ภูเก็ต ผลการประเมิน ปปส. เป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ ฯลฯ ทว่าความภาคภูมิใจเหนือสิ่งอื่นใดก็คือ สามารถเข้าไปนั่งอยู่ใน หัวใจของประชาชนได้ นิตยสาร SBL จะพาท่านไปรู้จักกับ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครปฐม “นายจำ�เจริญ ทิพญพงศ์ธาดา” ทั้งเรื่อง ศักยภาพของจังหวัดนครปฐม ภาระงานทีท่ า่ นรับผิดชอบ ตลอด จนแนวคิดและหลักการทำ�งานทีท่ า่ นยึดมัน่ มาตลอดชีวติ การเป็น ข้าราชการ

จุ ด เด่ น หรื อ ศั ก ยภาพ ของจังหวัดนครปฐม

จั ง หวั ด นครปฐม ถื อเป็ น จั งหวั ด เก่า แก่ เป็น เมือง

โบราณสมัยทวารวดี และอยูใ่ กล้กรุงเทพฯ มีพระปฐมเจดียอ์ ายุ มากกว่า 2,400 ปี น่าจะเป็นองค์ปฐมเจดีย์องค์แรกของ ประเทศไทย ความเป็นมาของผู้คนก็มีประวัติศาสตร์ความเป็น เมือง มีวิวัฒนาการของเมือง เนื่องจากอยู่ใกล้กรุงเทพฯ ซึ่งใน อดีตล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 ก็ได้มุ่งหวังให้เมืองนครปฐม เป็น เมื อ งหลวงแห่ ง ที่ 2 ของไทย เนื่ อ งด้ ว ยสมั ย นั้ น มี ภ าวะ สงครามโลกเข้ามา ก็แสดงให้เห็นว่าองค์พระมหากษัตริย์ ทรง เห็นความสำ�คัญของจังหวัดนครปฐมมาตั้งแต่อดีต นอกจากนี้จังหวัดนครปฐมก็มีองค์ประกอบในเรื่อง สภาพแวดล้อม สภาพพืน้ ทีเ่ ราเป็นเมืองดินดำ�น้ำ�ชุม่ มีความอุดม สมบูรณ์ เป็นเมืองทางพระพุทธศาสนา ผู้คนทำ�มาหากินด้าน เกษตรกรรมเป็นพื้นฐาน เป็นอู่ข้าวอู่น้ำ�ของประเทศ มีความ เจริญรุ่งเรืองมาอย่างต่อเนื่อง นครปฐมในมุมมองผมเอง ซึ่ง มารับราชการที่นี่ ถือเป็นเมืองแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง Nakhon Pathom 47

SBL OK6.indd 47

5/8/2558 BE 10:20 AM


ภาระงานสำ�คัญด้านการบริหาร

ผมได้ลงไปชุมชน ได้ พูดคุยกับผู้คน เขาก็ เป็นคนมีเหตุมีผล ซึ่ง การขั ด แย้ ง มั น ขั ด แย้งได้ ต่างความคิด ได้ แตกต่างได้ แต่ก็ไม่ ควรนำ � มาซึ่ ง ความ แตกแยก เพราะเราคน ไทยด้วยกัน

นครปฐมมีรองผู้ว่าฯ อยู่ 2 คน ท่านผู้ว่าฯได้มอบหมายให้ผมดูแลด้าน สังคม และการบริหาร ถือว่าเป็นรองฯ ที่ดูแลฝ่ายบริหาร ส่วนการบริหารในภาพ ใหญ่ของจังหวัด จะเป็นเรือ่ งแผนพัฒนาจังหวัด กับแผนกลุม่ จังหวัดซึง่ ถือเป็นหัวใจ สำ�คัญ และได้ดูแลศูนย์ดำ�รงธรรม ซึ่งเป็นนโยบายสำ�คัญของรัฐบาลในขณะนี้ ซึ่ง เป็นสองส่วนหลัก ๆ และมีแยกย่อยตามวาระงาน หรือภารกิจของกลุ่มงานต่าง ๆ หลายกลุ่ม เช่น กลุ่มงานของกระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม และมีบางส่วนของกระทรวงมหาดไทย หรือใน ส่วนของสำ�นักนายกรัฐมนตรี เช่น กรมประชาสัมพันธ์ และก็หน่วยงานของกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมโดยตรง ซึ่งเป็น ภารกิจหลัก ๆ ของท่านผู้ว่าฯ ที่ได้กรุณามอบหมายให้ผมได้มากำ�กับดูแลเพื่อให้เป็น ไปตามกรอบยุทธศาสตร์ และนโยบายของรัฐบาล ซึ่งเราเข้าใจสภาพบ้านเมืองของ เรา เรื่องของการสร้างความปรองดอง สร้างความสมานฉันท์ และการขับเคลื่อน เศรษฐกิจ รัฐบาลมุ่งหวังที่จะให้พี่น้องประชาชนคนไทยได้อยู่ดีกินดี ลดสภาวะความ ขัดแย้งต่าง ๆ ในสังคม เราก็ต้องสร้างความเข้าใจ เรามองไปข้างหน้า เพื่ออนาคต ของลูกหลานของเรา อนาคตของประเทศ เราจะทำ�อย่างไร อันนี้ก็ต้องไปสร้างความ เข้าใจ ซึ่งผมได้ลงไปชุมชน ได้พูดคุยกับผู้คน เขาก็เป็นคนมีเหตุมีผล ซึ่งการขัดแย้ง มันขัดแย้งได้ ต่างความคิดได้ แตกต่างได้ แต่ก็ไม่ควรนำ�มาซึ่งความแตกแยก เพราะ เราคนไทยด้วยกัน

48

SBL OK6.indd 48

5/8/2558 BE 10:20 AM


ตอนนี้เรามองไปที่ปากท้อง ทำ�อย่างไรจะให้เศรษฐกิจดี ถ้าเศรษฐกิจดี ผู้คนก็มีความสุข แล้วก็จะเข้าใจประชาธิปไตย นี่เป็นเรื่องที่รัฐบาลมุ่งหวัง เราก็ สนองตอ ความเดือดร้อนของประชาชน ความไม่ถูกใจของบุคคลในชุมชนก็มีเป็น เรื่องธรรมดา กลิ่น เสียงจากโรงงานอุตสาหกรรม ความไม่สะดวกต่าง ๆ การถูก เอารัดเอาเปรียบ เราจะทำ�อย่างไรให้เกิดการสร้าง ดุลยภาพ อยูก่ นั ได้อย่างมีความสุข ทำ�ให้เกิดโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว รักษาสิ่งแวดล้อม ดูแลผู้คน อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมาย แล้วก็ปฏิบัติตาม แล้ว ก็ดูแลชุมชน อย่างนี้เราอยู่กันได้ เราเข้าไปดูแลตรงนั้น ท้องถิ่น ผู้นำ�ชุมชน ชาว บ้านต้องช่วยกัน รับผิดชอบร่วม ลงไปพูดคุย สร้างความเข้าใจ แก้ไขปัญหาความ ทุกข์ร้อนของประชาชน ตอนนีร้ ฐั บาลเร่งดำ�เนินการมีอยู่ 2-3 เรือ่ ง เรือ่ งแรก คือ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ของพี่น้องประชาชน ความสงบเรียบร้อยของสังคม ซึ่งเป็น บทบาทของหน่วยที่เกี่ยวข้อง ทั้งฝ่ายตำ�รวจ ทหาร ก็ดี เขาก็ได้ดูแล เราฝ่าย ปกครองก็ไปช่วยซ้ำ�เสริม หรือในระดับพื้นที่เราก็ใช้กลไกของกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน ที่มีอยู่ ช่วยเป็นหูเป็นตาดูแลตามบทบาทหน้าที่ สร้างความร่วมมือให้เรียบร้อย เรื่องปัญหายาเสพติด สิ่งผิดกฎหมายต่าง ๆ ต้องช่วยกันดูแล อันนี้ก็เป็นนโยบาย ของรัฐบาลอยู่แล้ว

เรื่องที่ 2 ก็คือ ศูนย์ดำ�รงธรรม ที่เกี่ยวข้องกับ ความเดือดร้อนของประชาชน ทำ�อย่างไรให้ท้องถิ่น และ ท้ อ งที่ มี บ ทบาทนำ � ในการแก้ ไ ขปั ญ หาของชุ ม ชนอย่ า ง จริงจัง ให้ถอื ว่าเป็นเรือ่ งสำ�คัญ รัฐบาลให้ความสำ�คัญใน เรื่องนี้ เรื่องที่ 3 ก็คือ เรื่องการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบ ประมาณของภาครัฐ ซึ่งจะทำ�อย่างไรเงินที่รัฐบาลอัดฉีด เข้ามาผ่านโครงการพัฒนาต่าง ๆ ทั้งของจังหวัดก็ดี ของ กระทรวงก็ดี ที่ลงมาถึงพื้นที่จังหวัดนครปฐม ทำ�อย่างไร ให้เบิกจ่าย แล้วการทำ�งานรวดเร็ว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ซึง่ ตรงนีก้ จ็ ะทำ�ให้เม็ดเงินไปหมุนอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจ เมือ่ มีเงินไปหมุนอยู่ในระบบเศรษฐกิจเร็วเท่าไหร่ มากเท่าไหร่ พี่น้องประชาชนก็จะได้รับประโยชน์มากเท่านั้น ตรงนี้เป็น ภาระงานที่เร่งด่วน ที่เราก็พยายามทำ�กันอยู่ให้เกิดความ สำ�เร็จมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามนโยบายของรัฐบาล

Nakhon Pathom 49

SBL OK6.indd 49

5/8/2558 BE 10:20 AM


ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ ความภาคภูมิใจนั้นคือ พี่น้องประชาชนได้รับประโยชน์ เรา ก็ภาคภูมิใจแล้ว เช่นการแก้ไขปัญหาทุกเรื่องที่ประชาชนมีความเดือด ร้อน ที่ผ่านมาเรายังขาดความจริงจัง และความต่อเนื่องในการแก้ไข ปัญหา แม้บางทีเรามองเป็นเรื่องเล็กน้อย ข้างบ้านติดกัน ทะเลาะกัน บ้านหนึ่งเลี้ยงสัตว์ ส่งกลิ่นเหม็น จะทำ�อย่างไร เรื่องเล็กกลายเป็น เรือ่ งใหญ่ บางบ้านอยูต่ ดิ กับร้านขายอาหาร ส่งเสียงดังทัง้ คืน อย่าง นีจ้ ะทำ�อย่างไร ดูเหมือนเป็นเรือ่ งง่าย แต่แก้ไขยาก ตรงนีท้ อ้ งถิน่ มีหน้า ทีก่ ็ต้องลงพืน้ ที่ไปดูว่าสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร เราก็มีชุดเคลื่อนที่เร็ว เห็นชาวบ้านมามีปัญหา เราเรียกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมศูนย์ นั่ง รถคันเดียวกันลงพื้นที่เลย จะต้องแก้ไขปัญหาอย่างไร แล้วกลับมา รายงาน ซึง่ ชาวบ้านก็เกิดความภาคภูมใิ จ เราเองก็ทำ�อย่างนีเ้ ป็นเรือ่ ง ปกติ เรามีหน้าที่อยู่แล้ว

ปัญหาที่พบบ่อยของชาวนครปฐม

ชาวนครปฐมเขาพึ่งพาตัวเองได้ ภาพรวมของภาคการเกษตรได้ รับผลกระทบในเรื่องราคาน้อยมาก ไม่เน้นการผลิตจำ�นวนมาก คืออยู่แบบ พอเพียง มีตลาดรองรับตลอด สินค้าก็มีคุณภาพ พี่น้องชาวนครปฐมได้ ผ่านพ้นปัญหาว่าจะผลิตอย่างไรให้ขายของได้ แต่ปัญหาที่นี่คือ จะผลิต อย่างไรให้ขายได้ราคาแพง เช่นว่าส้มโอลูกละเกิน 100 บาททัง้ นัน้ ยิง่ อร่อย ยิ่งแพง ชีวิตของชาวนครปฐม ถ้าไม่ขี้เกียจ ก็ไม่มีปัญหา ไม่อดตาย ด้วย ความเป็นเมืองใกล้กรุงเทพฯ ก็มีทั้งภาคอุตสาหกรรมการเกษตร และ อุตสาหกรรมอื่น ๆ ก็เข้ามามากมาย เข้ามาสร้างงาน สร้างรายได้อย่างมาก เพราะฉะนั้นภาคเศรษฐกิจที่นี่ก็เดินได้ด้วยตัวของเขาเอง แต่ในสภาพสังคม ทั่วไปก็ยังมีคนด้อยโอกาสอยู่บ้าง เราก็ต้องเข้าไปดูแลตรงนั้น

ผมบอกทุกภาคส่วนว่า เราต้องรีบแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดย เร็ว บางเรื่องอย่างน้ำ�ไม่ไหล ไฟไม่สว่าง ทางไม่ดี มีโจร เรารับเรื่อง ไว้หมด เรื่องเหล่านี้ต้องได้รับความร่วมมือจากพี่น้องประชาชนแจ้ง เบาะแส ถ้าเห็นคนมั่วสุมยาเสพติด มีเล่นการพนัน แล้วโทรแจ้งเจ้า หน้าที่ เราส่งคนลงพื้นที่ไปจับเลย ชาวบ้านก็เชื่อมั่น เรื่องปัญหาอะไร ทีค่ า้ งอยูต่ อ้ งรีบแก้ไข ไม่ใช่มแี ต่รายงานกระดาษ ต้องรับรูป้ ญ ั หาจริง ๆ ผมไม่ตอ้ งการโปรโมทนะ ผมบอกเพือ่ นข้าราชการว่าขอให้พวกท่าน ทำ�จริง ผมไม่เอาหน้า ไม่ตอ้ งมาทำ�ข่าวผม เพราะข่าวของผมอยูท่ หี่ วั ใจ ของประชาชน

50

SBL OK6.indd 50

5/8/2558 BE 10:20 AM


ถ้าราชการรักประชาชน ก็ต้องทุ่มเททำ�งานไม่ใช่แค่ 8 ชั่วโมง ต้องมีจิตวิญญาณในความรักต่อประชาชน คือการให้บริการ ท่านต้อง ไม่เลือกปฏิบัติ ถ้าทุกคนใช้หลักนี้ ผมว่าสังคมมันจะดีขึ้น เป็นแผ่นดิน ธรรมแผ่นดินทอง ที่นครปฐมมีวัดเยอะมาก ท่านอยู่ใกล้ธรรมอยู่แล้ว ฝากถึงภาคส่วนต่าง ๆ รวมถึงชาวนครปฐม เมื่อมีธรรมในหัวใจ ท่านก็จะเห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เรามีต้นทุนที่ดี กว่าหลาย ๆ ชาติ ต้นทุนความเป็นคนไทย วัฒนธรรมประเพณี ศีลธรรม พลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในเรื่องของการพัฒนาพื้นที่ พัฒนา ทางศาสนาที่สั่งสมมา ต้องช่วยกันดูแล ประเทศก็คือ พลังของความรัก ให้ทุกคนรักจริง ส่วนราชการก็บอก ว่ารัก รักงาน รักประชาชน รักพื้นที่ ภาคเอกชนบอก...ผมมาทำ�งาน มาลงทุนที่นี่ ผมก็รักผืนแผ่นดินตรงนี้ พี่น้องประชาชนที่อยู่ด้วยกัน ก็บอก...ผมก็รักนครปฐม แล้วรักของท่านคืออะไร ท่านแปลความรัก ของท่านว่าอย่างไร ถ้าท่านรักกัน ความรักของท่านต้องไม่ทำ�ให้คน อื่นเดือดร้อน ถ้าไม่อยากทำ�ให้คนอื่นเดือดร้อน ท่านต้องทำ�ให้ทุก อย่างดีที่สุด ท่านประกอบกิจการภาคอุตสาหกรรม ท่านอยากให้ อุตสาหกรรมท่านดีทสี่ ดุ ท่านก็ตอ้ งเคารพกฎหมาย เป็นกรีน อินดรัส ทรี ท่านอยู่ในชุมชน ท่านรักชุมชนก็อย่าให้มีสิ่งเสพติด ไม่มีสิ่งผิด กฎหมาย ทุกคนรักกัน ก็ตอ้ งเอือ้ อาทรต่อกัน ทัง้ เด็ก คนแก่ คนพิการ สตรี คนด้อยโอกาสต้องเอื้ออาทร

พลังทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในเรือ่ งของการ พัฒนาพื้นที่ พัฒนาประเทศก็คือ พลั ง ของความรั ก ให้ ทุ ก คนรั ก จริง... ถ้าราชการรักประชาชน ก็ ต้องทุ่มเททำ�งานไม่ใช่แค่ 8 ชั่วโมง ต้องมีจิตวิญญาณในความรักต่อ ประชาชน

Nakhon Pathom 51

SBL OK6.indd 51

5/8/2558 BE 10:20 AM


“ทุกๆรอยยิ้มของคุณ...ขอให้เรามีส่วนร่วม”

เพราะรอยยิ้มที่น่าประทับใจ ต้องมีฟันที่ขาวสะอาด

ทำ�ฟัน-จัดฟัน : ให้บริการด้านทันตกรรมครอบคลุมทุกสาขา รากฟันเทียม : นวัตกรรมใส่ฟันปลอมแบบเสมือนฟันธรรมชาติ ทันตกรรมเด็ก : เด็กยุคใหม่ไม่กลัวคุณหมอฟัน ฟันก็ไม่ผุ ฟอกฟันขาว : ฟันขาวๆ ช่วยให้คุณยิ้มอย่างมั่นใจ ศัลยกรรมขากรรไกร : เปลี่ยนแปลงรูปหน้าและรอยยิ้มด้วยวิธีศัลยกรรม

ให้เรา รักษาฟัน ดูแลรอยยิ้ม ให้คุณ

คลินกิ ทันตกรรม สไมล์ เเกลเลอรี่ 45/3 ถ.ทรงพล (ตรงข้ามสาธิต ม.ศิลปากร) ต.สนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทร. 034 108 700, 084 420 9000 SBL OK6.indd 52

www.facebook.com/smilegallery 5/8/2558 BE 10:20 AM


สารอุตสาหกรรม จังหวัดนครปฐม อุตสาหกรรมในจังหวัดนครปฐม ส่วนใหญ่เป็น อุตสาหกรรมแปรรูปผลิตผลจากการเกษตร ทีม่ กี ระบวนการ ผลิตทีห่ ลากหลายและทันสมัย ปัจจุบนั มีโรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัดนครปฐม จำ�นวนทั้งสิ้น 3,154 โรงงาน มีจำ�นวน เงินลงทุนทัง้ สิน้ 285,495,226,479 บาท และก่อให้เกิดการ จ้างงานถึงจำ�นวน 192,158 คน โดยประเภทของอุตสาหกรรม ทีม่ เี งินลงทุนสูงสุดทีส่ ำ�คัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อุตสาหกรรม เครื่องดื่ม มีจำ�นวนโรงงานทั้งสิ้น 52 โรงงาน เงินลงทุน 38,902.157 ล้านบาท ซึ่งเป็นการผลิตเพื่อส่งออกต่าง ประเทศเป็นหลัก อุตสาหกรรมอาหาร มีจำ�นวนโรงงานทัง้ สิน้ 385 โรงงาน เงินลงทุน 23,092.634 ล้านบาท และ อุตสาหกรรมพลาสติก มีจำ�นวนโรงงานทั้งสิ้น 361 โรงงาน เงิ น ลงทุ น 16,743.068 ล้ า นบาท (ข้ อ มู ล ณ วั น ที่ 31 มกราคม 2558) ทว่า ความเจริญก้าวหน้าในด้านอุตสาหกรรม อาจนำ�มาซึ่ง ปั ญ หาที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้น สำ�นักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม จึงให้ความสำ�คัญกับการกำ�กับ ดูแลภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็ได้ดูแล ช่วยเหลืออุตสาหกรรมขนาดย่อมให้อยู่รอดได้ด้วยเช่นกัน ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามวิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ว่ า พั ฒนาและส่ งเสริ ม ประสิทธิภาพการผลิตของวิสาหกิจ การเกษตรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมแปรรูป เพือ่ การแข่งขันและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยบูรณาการหน่วยงานเครือข่าย กระผมในฐานะของอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม รู้สึกยินดี อย่างยิ่งที่ นิตยสาร SBL เห็นความสำ�คัญของการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดนครปฐม โดยการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน และขอ ขอบคุณผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนการ จัดพิมพ์นิตยสารในครั้งนี้ด้วย

............................................. นายประยูร ติ่งทอง อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม Nakhon Pathom 53

SBL OK6.indd 53

5/8/2558 BE 10:20 AM


เส้ น ทางพบ อุตสาหกรรมจังหวัด

ประเภทสาขา อุตสาหกรรมที่มีเงิน ลงทุนสูงสุดทีส่ ำ�คัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อุตสาหกรรมเครื่อง ดื่ ม อุ ต สาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรม พลาสติก

“นายประยูร ติ่งทอง” อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม 54

SBL OK6.indd 54

5/8/2558 BE 10:20 AM


สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ร่วมกับจังหวัดนครปฐม จัดงานแสดงสินค้านครปฐม EXPO 2015 ระหว่างวันที่ 2 – 6 เมษายน 2558 โดยได้ รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม นายชาติชาย อุทัยพันธ์ ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน โดยสำ�นักงานอุตสาหกรรมได้จัดสรรบู๊ทแสดงสินค้า จำ�นวน 150 บู๊ท และได้จดั ให้มีการแสดงกิจกรรมนาทีทองและเพือ่ สนับสนุนการค้าราคาถูก สินค้าได้มาตรฐานโดยตรงจากผู้ผลิต โดยงานนครปฐม EXPO จัดเป็นประจำ�ทุกปี รวมเป็นระยะเวลา 3 ปี แล้ว

สถานประกอบการ อุตสาหกรรมยึดหลัก นิตธิ รรมในการจัดการ มลภาวะให้เ ป็นไปตาม กฎหมาย ดำ � รงไว้ ซึ่ ง ความยุติธรรมในการ จั ด ส ร ร ท รั พ ย า ก ร อย่างเหมาะสม

แม้จะอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมากนัก แต่ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดนครปฐม กลับมีบทบาทสำ�คัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ และต่อชีวิตความเป็นอยู่คนไทย เพราะ นครปฐมเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรทีม่ ที งั้ คุณภาพและปริมาณ นำ�ไปสูก่ ารเป็นผูน้ ำ�ด้าน อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม และอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีความปลอดภัย และได้มาตรฐานสากล “นายประยูร ติง่ ทอง” อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ได้ให้สมั ภาษณ์ถงึ ภาพรวม ด้านอุตสาหกรรมของจังหวัดนครปฐม นโยบายการดำ�เนินงานที่สำ�คัญ ตลอดจนผลการ ดำ�เนินงานทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและการโอบอุ้มกลุ่ม SMEs ดังนี้

Nakhon Pathom 55

SBL OK6.indd 55

5/8/2558 BE 10:20 AM


ภาพรวมด้านอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม อุ ต สาหกรรมในจัง หวัด นครปฐม ส่ว นใหญ่ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมแปรรู ป ผลิตผลจากการเกษตร มีกระบวนการผลิตทีห่ ลากหลายและทันสมัย ปัจจุบนั มีโรงงาน อุตสาหกรรมในจังหวัดนครปฐม ณ วันที่ 31 มกราคม 2558 จำ�นวนทัง้ สิน้ 3,154 โรงงาน โดยจำ�แนกออกเป็นจำ�พวกโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้ดังนี้ จำ�พวกที ่ 2 3 รวม

จำ�นวนโรงงาน 239 2,915 3,154

จำ�นวนเงินลงทุน(บาท) จำ�นวนคนงาน(คน) 3,133,008,387 282,362,218,092 285,495,226,479

3,463 188,695 192,158

วิสยั ทัศน์และนโยบาย สอจ.นครปฐม สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม

มี วิ สั ย ทั ศ น์ ดั ง นี้ คื อ พั ฒ น า แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ประสิทธิภาพการผลิตของวิสาหกิจ การเกษตร อุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมแปรรูป เพื่อการ แข่งขันและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยบูรณาการหน่วยงานเครือข่าย ส่วนนโยบายของสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นครปฐม คือการให้ความสำ�คัญในการดำ�เนินการ ตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรมและจังหวัด นครปฐม

ประเภทอุ ต สาหกรรมที่ มี จำ � นวนโรงงานมากที่ สุ ด 5 อั น ดั บ แรก คื อ อุตสาหกรรมอาหาร จำ�นวน 385 โรงงาน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมพลาสติก จำ�นวน 361 โรงงาน อุตสาหกรรมอื่น ๆ จำ�นวน 329 โรงงาน อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์โลหะ จำ�นวน 300 โรงงาน อุตสาหกรรมเคมี จำ�นวน 285 โรงงาน ประเภทสาขาอุตสาหกรรมที่มีเงินลงทุนสูงสุดที่สำ�คัญ 3 อันดับแรก ได้แก่ อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม มีจำ�นวนโรงงานทั้งสิ้น 52 โรงงาน เงินลงทุน 38,902.157 ล้านบาท คนงาน 4,321 คน ประกอบด้วยการผลิตส่งออกต่างประเทศเป็นหลัก อุตสาหกรรมอาหาร มีจำ�นวนโรงงานทั้งสิ้น 385 โรงงาน เงินลงทุน 23,092.634 ล้านบาท คนงาน 36,363 คน ประกอบด้วยการผลิตและจำ�หน่ายในประเทศเป็นหลัก อุตสาหกรรมพลาสติก มีจำ�นวนโรงงานทัง้ สิน้ 361 โรงงาน เงินลงทุน 16,743.068 ล้านบาท คนงาน 17,887 คน ประกอบด้วยการผลิตและจำ�หน่ายในประเทศเป็นหลัก

56

SBL OK6.indd 56

5/8/2558 BE 10:20 AM


ยุทธศาสตร์และแนวทางการรับมือ AEC การพัฒนาอุตสาหกรรมของจังหวัดนครปฐม มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับการเข้าสู่ AEC ดังนี้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประสานงานการดำ�เนินตามนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมและ จังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสู่ตลาดโลก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป เพื่อลดต้นทุนการผลิต สามารถแข่งขัน ได้อย่างกว้างขวาง และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาสมรรถนะของบุคลากรใน สอจ. และพัฒนาระบบฐานข้อมูลอย่างเป็นระบบ

สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ได้มสี ว่ นช่วยในการ ส่ ง เสริ ม ผู้ ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรมกลุ่ ม ผู้ ผ ลิ ต ชุ ม ชน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนทั้งขนาดกลางและขนาดย่อม และผู้ประกอบการ SMEs โดยได้พฒ ั นาและส่งเสริมในด้านการฝึกอบรม ให้ความรูค้ วาม เข้าใจด้านการประกอบอาชีพ มีการจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ การส่ง เสริมด้านการบริหารจัดการด้านการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมไปถึงการรับรอง มาตรฐาน มผช. อย. หรือ GMP ซึ่งถือเป็นการต่อยอดและเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ให้กับสินค้า สร้างความมั่นใจให้แก่ผู้บริโภค และพัฒนาผู้ ประกอบการให้มีศักยภาพ สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

สอจ.นครปฐม กับการช่วยเหลือกลุ่ม SMEs

พัฒนาการบริหารหน่วยงานเครือ ข่ายในการป้องกันและแจ้งเบาะแส ปัญหามลพิษ

Nakhon Pathom 57

SBL OK6.indd 57

5/8/2558 BE 10:20 AM


ผลการดำ�เนินงานตามนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โครงการบริหารจัดการลุ่มน้ำ�และวางระบบธรรมาภิบาล สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ได้ดำ�เนินโครงการธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม สถานประกอบการอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม โดยวัตถุประสงค์เพื่อให้ชุมชนมี ส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม สถาน ประกอบการอุตสาหกรรมยึดหลักนิติธรรมในการจัดการมลภาวะให้เป็นไปตาม กฎหมาย ดำ � รงไว้ ซึ่ ง ความยุ ติ ธ รรมในการจั ด สรรทรั พ ยากรอย่ า งเหมาะสม คืนประโยชน์ตอ่ สังคม และเพือ่ ให้สถานประกอบการประกอบกิจการอย่างมีจติ สำ�นึก ไม่ก่อผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ซึ่งดำ�เนินการต่อเนื่องกันมาเป็นเวลา 5 ปี มีสถานประกอบการแล้วทั้งสิ้น 31 ราย สำ�หรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มีสถานประกอบการเข้าร่วมโครงการ จำ�นวน 4 ราย ได้แก่

บริษัท ซีนิท กรีน เอ็นเนอร์ยี จำ�กัด 79 ม.8 ต.ทุ่งบัว อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม ประเภท ผลิตพลังงานไฟฟ้าโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากขยะ บริษัท เอเชีย อินดัสเตรียล เท็กซ์ไทล์ จำ�กัด 123 ม.10 ต.ลพพญา อ.บางเลน จ.นครปฐม ประเภท ตีเกลียวเส้นด้าย ปั่นและม้วนเส้นด้าย ทอผ้า บริษัท เอ็ด.เอ็น.อาร์ เอสโซซิเอทส์ จำ�กัด 135 ม.5 ต.ทุ่งกระพังโหม อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม ประเภท ผสมปรุงแต่งสารเคมีเกษตร บริษัท บลูฟาโล่ จำ�กัด 96 ม.9 ต.สระพัฒนา อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม ประเภท ทำ�อาหารผสมหรืออาหารสำ�เร็จรูปสำ�หรับเลี้ยงสัตว์

58

SBL OK6.indd 58

5/8/2558 BE 10:21 AM


ครั้ ง ที่ 1 ตรวจเยี่ ย มให้ คำ � แนะนำ � การจั ด ทำ � ข้ อ มู ล ด้ า น สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นรายสถานประกอบการ และให้สถาน ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการจัดนิทรรศการ ให้ความรู้แก่ชุมชน ในพื้นที่บริเวณรอบโรงงานและประชาชนทั่วไป ให้เข้าเยี่ยมชมสถาน ประกอบการ ผลการดำ�เนินงานและการผลิตของสถานประกอบการ เพื่อเป็นการดำ�เนินงานตามธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี และอันจะเกิด ภาพลักษณ์และทัศนคติทดี่ ตี อ่ สถานประกอบการ ณ สถานประกอบการ จำ�นวนที่เข้าร่วมโครงการฯ ครั้งที่ 2 ตรวจประเมินสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯ และในเดือนกันยายน 2558 สำ�นักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กำ�หนดกิจกรรมปิดโครงการการบริหารจัดการลุ่มน้ำ�และวางระบบ ธรรมาภิบาลสิง่ แวดล้อม และพิธมี อบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ ธรรมาภิบาล สิ่งแวดล้อม

โดยมีการสำ�รวจและคัดเลือกสถานประกอบการอุตสาหกรรม เป้าหมายเพื่อร่วมโครงการ การจัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อร่วม กันหารือเกีย่ วกับการดำ�เนินงานโครงการ และกำ�หนดเกณฑ์การคัดเลือก สถานประกอบการทีจ่ ะเข้าร่วมโครงการ แต่งตัง้ คณะทำ�งานตรวจประเมิน โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบการอุตสาหกรรม ซึ่งทั้ง 4 ราย ได้ร่วมประชุมชี้แจงโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในวันที่ 12 ธันวาคม 2557 ณ ห้องกิ่งเพชร โรงแรมเวล จังหวัด นครปฐม โดยได้ชี้แจงทำ�ความเข้าใจ รายละเอียดแนวทางการดำ�เนิน โครงการให้แก่สถานประกอบการ ที่เข้าร่วมโครงการฯ และคณะทำ�งาน ตรวจประเมินโครงการฯ ซึ่งประกอบด้วยเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ผู้แทนภาคประชาชน สถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการและ หน่วยงานผู้เกี่ยวข้อง มีการกำ�หนดตรวจเยี่ยมสถานประกอบการที่เข้า ร่วมโครงการฯ จำ�นวน 2 ครั้ง

มุง่ สูก่ ารพัฒนาอุตสาหกรรม ไทย ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และชุมชนอย่างยั่งยืน Nakhon Pathom 59

SBL OK6.indd 59

5/8/2558 BE 10:21 AM


สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดและจังหวัดนครปฐมร่วมเข้าเยีย่ มโรงงานอุตสาหกรรม ยูนเิ พรสซิเดนท์ จำ�กัด ในวันที่ 18 มีนาคม 2558 โดยได้รบั เกียรติจากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครปฐม ท่านชาติชาย อุทยั พันธ์ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธี เพือ่ เป็นการรับฟังข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคจากการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากตัวแทนภาคประชาชน เครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม และหัวหน้าส่วนราชการในพื้นที่ และผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรม ยูนิ เพรสซิเดนท์ จำ�กัด ในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อทางราชการ เพื่อนำ� ไปประยุกต์ใช้และนำ�เป็นแนวทาง แบบอย่างในการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่ดีของโรงงานอุตสาหกรรม และข้อคิดด้านทิศทางเศรษฐกิจของ โรงงานอุตสาหกรรม ผูร้ ว่ มเข้าเยีย่ มชม ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครปฐม ,รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครปฐม ,หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดนครปฐม ,ท่านอุตสาหกรรม จังหวัด ,ผู้บริหารบริษัท ยูนิ เพรสซิเดนท์ จำ�กัด ,ตัวแทนภาคประชาชน , หัวหน้าส่วนราชการในท้องถิ่น เป็นต้น เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นทุกเดือน โดยสำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดและจังหวัดนครปฐม โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม ได้ดำ�เนินงานโครงการสร้างและ พัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรมรักษ์สงิ่ แวดล้อม โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เฝ้าระวัง การเกิดผลกระทบด้านมลพิษของสถานประกอบการที่มีผลต่อชุมชน ลด มลพิษด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากสถานประกอบการ และสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือของชุมชนในการป้องกันปัญหามลพิษ มีการดำ�เนินงานกิจกรรมหลัก ๆ ดังนี้ กิ จ กรรมที่ 1 สำ � รวจและกำ � หนดขอบเขตพื้ น ที่ ใ นการดำ � เนิ น การและ ประชาสัมพันธ์โครงการ กิจกรรมที่ 2 จัดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องให้แก่ สมาชิกเครือข่ายทัง้ กลุม่ เดิม และกลุม่ ทีจ่ ะสร้างขึน้ ใหม่ ณ ห้องศรีสง่า โรงแรม ริเวอร์ อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2557 จัดศึกษาดูงาน ณ จ.ฉะเชิงเทราและจังหวัดปราจีนบุรี กิจกรรมที่ 3 พัฒนาการบริหารหน่วยงานเครือข่ายในการป้องกันและแจ้ง เบาะแสปัญหามลพิษทีเ่ กิดในพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 1.จัดกิจกรรมเข้าค่ายเครือข่ายเชื่อมโยงอุตสาหกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมใน จังหวัด เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการเฝ้าระวังการเกิดผลกระทบด้านมลพิษของสถาน ประกอบการที่มีต่อชุมชน และเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างกลุ่มต่าง ๆ 2.จัดทำ�และพัฒนาฐานข้อมูลทะเบียน/ออกบัตรสมาชิกเครือข่าย ทั้งกลุ่มเดิม และกลุ ่มใหม่ 60 SBL OK6.indd 60

5/8/2558 BE 10:21 AM


3. โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว สำ � นั ก งานอุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด นครปฐม ได้ ดำ � เนิ น การโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียว โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และชุมชน ลดข้อร้องเรียนจากผลกระทบ และลดความเสีย่ งทีเ่ กิดจากการ ประกอบกิจการ เกิดการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ชุมชน และอุตสาหกรรม เพือ่ มุง่ สูก่ ารพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและชุมชน อย่างยั่งยืน เกิดภาพลักษณ์และทัศนคติที่ดีต่ออุตสาหกรรมที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดความเข้าใจที่ดีและการยอมรับระหว่าง อุตสาหกรรมและชุมชนที่อยู่โดยรอบ ชุมชนได้รับความเป็นธรรม เข้าถึง โอกาสในการมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ จากการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม จากการเกิดอุตสาหกรรมสีเขียว รวมถึงเกิดเครือข่าย ความร่ ว มมื อ ในการป้ อ งกั น และมี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงพัฒนาภาคอุตสาหกรรม ของไทยสู่ สั ง คมคาร์ บ อนต่ำ � ภายใต้ ก ารดำ � เนิ น งานของโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียว มีโรงงานทีเ่ ข้าร่วมโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวแล้ว จำ�นวน 210 ราย สำ�หรับปี 2558

ภายใต้ ก ารดำ � เนิ น งานของโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียว มี โ รงงานที่ เ ข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร อุตสาหกรรมสีเขียว แล้ ว จำ � นวน 210 ราย สำ�หรับปี 2558

Nakhon Pathom 61

SBL OK6.indd 61

5/8/2558 BE 10:21 AM


เส้นทางพบบุคคลสำ�คัญ

ข้าราชการพลเรือนดีเด่น

“นายทรงเดช ผ่องฉวี” เจ้าพนักงานตรวจโรงงานชำ�นาญงาน สำ�นักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม จั ง หวั ด นครปฐมมอบเกี ย รติ บั ต รและเข็ ม เชิ ด ชู เ กี ย รติ แก่ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำ�ปี 2556 เนื่องในวัน ข้าราชการพลเรือนประจำ�ปี 2557

ÊÓ

ÍÒ¤ ¶.Ê An So 10 Te

วันที่ 30 มีนาคม 2557 ที่บริเวณศาลากองอำ�นวยการ องค์พระปฐมเจดีย์ อำ�เภอเมืองจังหวัดนครปฐม นายวันชาติ วงษ์ชัยชนะ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม เป็นประธาน มอบเกียรติบตั รและเข็มเชิดชูเกียรติให้แก่ “ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำ�ปี 2556” เนื่องในวันข้าราชการพลเรือน ประจำ�ปี 2557 ซึ่งวันข้าราชการพลเรือน ตรงกับวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี

âÃ

16 Í.Ê 16 Om Te

โดย “นายทรงเดช ผ่ อ งฉวี ” เจ้ า พนั ก งานตรวจโรงงาน ชำ�นาญงาน สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครปฐม เป็น 1 ใน 4 ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำ�ปี 2556 ของจังหวัดนครปฐม ทั้ ง นี้ ก ารมอบรางวั ล ดั ง กล่ า วเพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ เ ข้ า ใจถึ ง บทบาทและหน้าทีข่ องข้าราชการในการเป็นผูใ้ ห้บริการ เสียสละ อุทศิ เวลาเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม อีกทั้งเพื่อให้ข้าราชการได้ตระหนัก ถึงเกียรติ หน้าที่ สามัคคี ซื่อสัตย์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของข้าราชการ ตลอดจนยกย่องส่งเสริมข้าราชการที่มีความประพฤติและผลการ ปฏิบัติงานดีเด่น รวมถึงเผยแพร่เกียรติคุณข้าราชการดีเด่นให้ ปรากฏ เป็นการสร้างขวัญและกำ�ลังใจให้ขา้ ราชการกระทำ�ความดีตอ่ ไป 62

SBL OK6.indd 62

5/8/2558 BE 10:21 AM


Êӹѡ§Ò¹ / office

âç§Ò¹ 2 / Plant 2

âç§Ò¹ 1 / Plant 1

âç§Ò¹ 3 / Plant 3

ÍÒ¤ÒÃ͹ØÇµÑ Ô 56/14 «ÍÂÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ҵҡÊÔ¹ 12/1 ¶.ÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ҵҡÊÔ¹ á¢Ç§ºØ¤âÅࢵ¸¹ºØÃÕ ¡ÃØ§à·¾Ï 10600 Anuwat Building 56/14 Soi Somdet Phrachao Taksin 12/1, Somdet PhrachaoTaksin Rd.,Bukkalo,Thonburi,Bangkok 10600 Thailand Tel. (662) 890-4611-27 Fax.(662) 890-4628-30 166-166/1 ËÁÙ‹ 8 «Í¡ѧÇÒÅ 2 ¶.ྪÃà¡ÉÁ µ.ÍŒÍÁãËÞ‹ Í.ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨.¹¤Ã»°Á 73160 166-166/1 Moo 8, Soi Kangwan 2, Petchkasame Rd., Omyai, Sampran, Nakornpathom 73160 Thailand Tel. (662) 420-5170-3, 811-5210-3 Fax.(662) 420-2551

23/396 ËÁÙ‹ 8 «Í¾§É ÈÃÔ ªÔ ÂÑ 2 ¶.ྪÃà¡ÉÁ µ.ÍŒÍÁãËÞ‹ Í.ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨.¹¤Ã»°Á 73160 23/396 Moo 8, Soi Pongsirichai 2, Petchkasame Rd., Omyai, Sampran, Nakornpathom 73160 Thailand Tel. (662) 420-5170-3, 811-5210-3 Fax.(662) 420-2551 119 ËÁÙ‹ 8 «Í¡ѧÇÒÅ 2 ¶.ྪÃà¡ÉÁ µ.ÍŒÍÁãËÞ‹ Í.ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨.¹¤Ã»°Á 73160 119 Moo 8, Soi Kangwan 2, Petchkasame Rd., Omyai, Sampran, Nakornpathom 73160 Thailand Tel. (662) 420-5170-3, 811-5210-3 Fax.(662) 811-5215

www.bangkokpvc.com

SBL OK6.indd 63

5/8/2558 BE 10:21 AM


SHERA Call Center : 0 2 289 9888

SBL OK6.indd 64

5/8/2558 BE 10:22 AM


SBL OK6.indd 65

5/8/2558 BE 10:22 AM


Sindicatum Sustainable Resources Group ( SSR ) เป็นกลุ่มผู้ลงทุนหลักใน

การพัฒนาและบริหารจัดการโครงการพลังงานสะอาดและพลังงานทดแทนจากเชื้อเพลิงต่าง ๆ เช่น ขยะ ชีวมวล ชีวภาพ และแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นการลดก๊าซเรือนกระจกโดยตรง และ/หรือ หลีกเลี่ยงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสู่ ชั้นบรรยากาศ โดยมีการลงทุนและพัฒนาโครงการในหลายประเทศทั่วโลก ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา อินเดีย อินโดนีเซีย ไทย ฟิลิปปินส์ โดยในประเทศไทย SSR ได้ลงทุน พัฒนา และบริหารจัดการโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากก๊าซหลุมฝังกลบขยะ แบบถูกหลักสุขาภิบาลทั้งหมด 3 โครงการ ซึ่งบริหารจัดการโดยบริษัท ซินดิคาร์ทุม ซัสเทนเอเบิล รีซอร์สเซส (ประเทศไทย) จำ�กัด (ซินดิคาร์ทุม) ประกอบด้วย บริษัท บางกอก กรีนเพาเวอร์ จำ�กัด และบริษัท ซีนิท กรีน เอ็นเนอยี จำ�กัด และอีก 1 โครงการที่อยู่ในช่วงการพัฒนา คือ บริษัท เครน รีนิวเอเบิล เอ็นเนอยี จำ�กัด โดย ทั้งหมดเป็นโครงการสำ�คัญของ SSR ในการนำ�ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบขยะมาใช้ประโยชน์ ซึ่งแต่ละโครงการ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 8 เมกะวัตต์ต่อโครงการ และยังเป็นโครงการผลิตกระแสไฟฟ้าจากหลุมฝังกลบ ขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอีกด้วย

ภาพรวมของโครงการ ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย ทุกโครงการของ ซินดิคาร์ทุม ดำ�เนินงานภายใต้ระบบบริหารจัดการสิ่ง แวดล้อม อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสังคม โดย บูรณาการข้อกำ�หนดของระบบบริหารจัดการทีไ่ ด้รบั การ ย อ ม รั บ ใ น ร ะ ดั บ ส า ก ล I S O 1 4 0 0 1 : 2 0 0 4 OHSAS18001:2007 และ IFC Performance Standards 2012 ตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ านโดยหน่วยงาน ของรัฐที่มีหน้าที่กำ�กับดูแล ได้รับการรับรองว่าเป็น โครงการพลังงานทดแทนที่ได้มาตรฐาน สะอาด เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่มีผลกระทบต่อชุมชนโดยรอบ โครงการ และปฏิบัติงานภายได้กฎระเบียบข้อบังคับใน ด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย อย่างดี เสมอมา ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โครงการได้รบั การตรวจ สอบและประเมิ น ผลจากหน่ ว ยงานที่ กำ � กั บ ดู แ ลและ ผู้เชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียง ไม่ว่าจะเป็น คณะกรรมการ องค์กรอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ องค์บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก แห่งประเทศไทย และได้รับการรับรองตามมาตรฐาน ทองคำ� (Gold Standard “GS”) มาตรฐานรับรอง โครงการขั้นสูงบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน

SBL OK6.indd 66

5/8/2558 BE 10:22 AM


รางวัลเกียรติยศ

รับมอบรางวัล Thailand Energy Awards 2014 จาก ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

ในปี 2557 ซิ น ดิ ค าร์ ทุ ม ได้ ค ว้ า รางวั ล เกี ย รติ ย ศด้ า นพลั ง งานไทย Thailand Energy Awards 2014 และรางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Awards 2014 ประเภทโครงการพลังงานหมุนเวียนที่เชื่อมโยงกับระบบ สายส่งไฟฟ้า (On-Grid) นอกจากนีโ้ ครงการเคยได้รบั รางวัล Outstanding Green Initiative award ในปี 2554 และเป็นโครงการต้นแบบในการนำ�พลังงานจากหลุมฝังกลบ ขยะมาใช้ประโยชน์ ซึ่งสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยโครงการมีนิสิตนักศึกษา หน่วยงานราชการภาครัฐ และเอกชน เข้ามาเยี่ยมชมการปฏิบัติงาน สะท้อนให้เห็นถึงการทำ�งาน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและถ่ายทอดเทคโนโลยีระดับประเทศอีกด้วย รับมอบรางวัล ASEAN Energy Awards 2014 จากผู้นำ�อาเซียน ณ สปป. ลาว

การพัฒนาสังคมและการศึกษา

การช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย ปลายปี 2554 ประเทศไทยประสบอุทกภัยร้ายแรง ซินดิคาร์ทมุ ได้ชว่ ยเหลือบริจาคสิง่ ของ และเงินช่วยเหลือให้หน่วยงานราชการ ท้องถิ่นและผู้ประสบภัย ทุนการศึกษา David Raubenheimer SSR ได้จดั ตัง้ กองทุนการศึกษาจำ�นวน 5 ทุน เพือ่ สนับสนุนและเพิม่ โอกาสทางการศึกษาแก่นกั ศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีภูมิลำ�เนาอยู่ในบริเวณใกล้เคียงโครงการ กองทุนพัฒนาชุมชนรอบพื้นโรงไฟฟ้า โครงการของซินดิคาร์ทุมเป็นสมาชิก ภายใต้ ก องทุ น พั ฒ นาชุ ม ชนรอบพื้ น ที่ โ รงไฟฟ้ า ตามแผนการพั ฒ นาของ กระทรวงพลังงาน ทีไ่ ด้เงินสนับสนุนจากการผลิตกระแสไฟฟ้ากระจายลงสูช่ มุ ชน ในทุกๆเดือน และรายได้ส่วนหนึ่งยังนำ�มาสนับสนุนการเข้าเยี่ยมโครงการ จัดนิทรรศการสิง่ แวดล้อม และการสนับสนุนการทำ�กิจกรรมของชุมชนอีกด้วย

จุดหมายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน บริษัท ซีนิท กรีน เอ็นเนอยี จำ�กัด ตำ�บลทุ่งบัว อำ�เภอกำ�แพงแสน ผลิต ไฟฟ้ า จากก๊ า ซหลุ ม ฝั ง กลบขยะ กรุงเทพกำ�แพงแสน ฝั่งตะวันตก

บริษทั บางกอก กรีนเพาเวอร์ จำ�กัด ตำ�บลสระสี่มุม อำ�เภอกำ�แพงแสน ผลิตไฟฟ้าจากก๊าซหลุมฝังกลบขยะ กรุงเทพกำ�แพงแสน ฝั่งตะวันออก SBL OK6.indd 67

การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน บนพืน้ ฐานเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำ�รัสของ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซินดิคาร์ทุมจึงพยายามพัฒนาโครงการที่ผสาน ระหว่างธุรกิจและความยั่งยืน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชน ภาครัฐ และเอกชน ซึ่งกล่าวได้ดังนี้ คุณภาพอากาศ ลดก๊าซซัลเฟอร์ไดอ๊อกไซด์ SO2 และก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ NOx มลพิษทางปล่อง โครงการได้ทำ�การตรวจวัดคุณภาพอากาศที่ปล่อยออกทางปล่อง เป็นประจำ�ทุกปี นอกเหนือจากนี้เครื่องยนต์ผลิตไฟฟ้า ยังเป็นเครื่องยนต์ที่มีปริมาณ การปล่อยมลพิษตำ�่ กว่าระดับมาตรฐานที่กำ�หนดของประเทศไทย สิ่งแวดล้อม สามารถช่วยลดความเสี่ยงต่าง ๆ ได้เช่น ลดความเสี่ยงในการระเบิด จากการสะสมก๊าซ และเพลิงไหม้ ทำ�ให้ภาพรวมด้านความปลอดภัยดีขึ้นอย่างมาก และความเป็นอยู่ของชุมชนก็ยังดีขึ้นอีกด้วย เศรษฐกิจในท้องถิ่นและชุมชน ซินดิคาร์ทุมตระหนักและเชื่อว่าการมีส่วนร่วมกับ ชุมชน จะส่งผลระยะยาวในการส่งเสริมเศรษฐกิจ สังคม และรายได้ ให้กับชุมชุน ไม่ว่าจะเป็นการจัดซื้อจัดจ้าง การจ้างงานระหว่างการก่อสร้าง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ค้า และผูร้ บั เหมาในชุมชน และยังให้ความสำ�คัญกับการจ้างงานในชุมชนระหว่างช่วงดำ�เนินการ

5/8/2558 BE 10:22 AM


ห้างหุน้ ส่วนจำ�กัด ฝอจีเ้ ตีย้ น (ประเทศไทย)

เป็นโรงงานผลิตธูปหอม และนำ�เข้าวัตถุดิบจาก ต่างประเทศ เบอร์โทร 02-6902416 ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ฝอจี้เตี้ยน (ประเทศไทย) 54/20 หมู่ที่4 ต.ท่าตำ�หนัก อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม 73120 SBL OK6.indd 68

5/8/2558 BE 10:22 AM


แสงโสม...สุราคุณภาพของคนไทย โรงงานบริษัท แสงโสม จำ�กัด เดิมเป็นโรงงานของ บริษัท ธารนำ�้ ทิพย์ จำ�กัด ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจากรัฐบาล เมื่อปี พ.ศ. 2514 โดยจดทะเบียนด้วยเงินทุน 20 ล้านบาทพร้อม กับดำ�เนินการก่อสร้างโรงงานบนเนื้อที่ประมาณ 26 ไร่ 2 งาน ณ ริมฝั่งแม่นำ�้ นครชัยศรี บริษัทฯ ได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 โดยสมเด็จพระนางเจ้ารำ�ไพพรรณี พระบรมราชินี ในรัชกาลที่ 7 ในปี พ.ศ. 2520 มี นั ก ธุ ร กิ จ กลุ่ ม หนึ่ ง ประกอบด้ ว ย คุณเถลิง เหล่าจินดา คุณจุล กาญจนลักษณ์ และคุณเจริญ สิรวิ ฒ ั นภักดี เข้าร่วมกิจการของโรงงานสุรา บริษัท ธารนำ�้ ทิพย์ จำ�กัด และเริ่ม ผลิตสุราทีค่ อเหล้าในประเทศนิยมในกลิน่ รส คือ สุราแสงโสม พร้อม กับได้เปลี่ยนชื่อ บริษัท ธารนำ�้ ทิพย์ จำ�กัด มาเป็น บริษัท แสงโสม จำ�กัด โดยแสงโสมขวดแรก ขนาด 750 ซี.ซี. ถือกำ�เนิดขึ้นในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2520

โรงงานสุรามาตรฐาน ISO

ในปี 2551 โรงงานบริษัท แสงโสม จำ�กัด ได้รับการรับรองระบบ ISO 14001:2004 จากบริษัท Bureau Veritas (Thailand) จำ�กัด โรงงานมีระบบบำ�บัดนำ�้ เสียแบบ AERATED LAGOON ชนิดเติมอากาศ เพื่อช่วยการย่อยสลายสารอินทรีย์ในนำ�้ เสีย โดยระบบจะรับนำ�้ จากกระบวนการผลิตและบรรจุ เมื่อผ่านการบำ�บัดแล้วจะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพนำ�้ ทิ้งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน นำ�้ ส่วนหนึ่งจะถูกนำ�กลับมาใช้ในพื้นสีเขียวภายในโรงงาน ส่วนที่เหลือปล่อยสู่แหล่งนำ�้ สาธารณะ ในปี 2552 ได้รบั การรับรอง ระบบ ISO 9001:2008 จากบริษทั Bureau Veritas (Thailand) จำ�กัด ซึง่ ช่วยการปรับปรุงประสิทธิภาพ และลดต้นทุนใน กระบวนการต่าง ๆ ทำ�ให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่น และพึงพอใจผลิตภัณฑ์ของเรา และล่าสุดในปี 2553 ได้รับการรับรองระบบ ISO 22000:2005 ระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร จาก บริษัท Bureau Veritas (Thailand) จำ�กัด เพื่อให้อาหารที่ผลิตมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นต่อผู้บริโภค

แสงโสมร่วมใจภักดิ์ “รักษ์แม่นำ�้ ท่าจีน

บริษทั แสงโสม จำ�กัด ร่วมสนับสนุนโครงการ “รักษ์แม่น�ำ ้ ท่าจีน” เพื่ อ ถวายเป็ น พระราชกุ ศ ล เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลที่ ส มเด็ จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ 60 พรรษา ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2558 โดยบริษัท แสงโสม จำ � กั ด ได้ ส นั บ สนุ น น้ำ � ดื่ ม ช้ า ง จำ � นวน 180 แพ็ ค โดยมี ผู้จัดการโรงงาน คุณวิบูลย์ พลพิทักษ์ รองผู้จัดการโรงงาน คุณวานิชย์ สิงห์เท และหัวหน้าส่วนบริหาร คุณไพศาล ด้วงรักษา พร้อมคณะกรรมการด้าน CSR เข้าร่วมกิจกรรมในครัง้ นี้

SBL OK6.indd 69

5/8/2558 BE 10:22 AM


Product Range Polyester resins

Polyester virgin fibers

ไ ว

Polyester yarns

PET Flakes

Recycled fibers

SBL OK6.indd 70

5/8/2558 BE 10:22 AM


INDORAMA POLYESTER INDUSTRIES PCL. NAKHONPATHOM

บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ากัด (มหาชน) นครปฐม

บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ากัด (มหาชน) ประกอบกิจการผลิตเส้นใยสังเคราะห์และเม็ดพลาสติก มีความมุ่งมั่นในการด�าเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อผลกระทบ ด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการขององค์กร โดยยึดหลัก การด�าเนินธุรกิจที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ ต่อต้านการคอร์รัปชั่น มีจริยธรรม เคารพต่อหลักสิทธิมนุษยชน รักษาข้อมูลของลูกค้า และ ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเป็นกลางทางการเมือง ให้สิทธิเสรีภาพกับพนักงานในการมีส่วนร่วมทางการเมือง มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม เคารพต่อสิทธิในทรัพย์สินและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม

คุณอนิเวส ติวารี

รองประธานบริหาร (ฝ่ ายปฏิบัติการ)

มุ่งมัน่ ในการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์

ได้รับรางวัล CSR-DIW Advance ระดับ 4 วันที่ 11 กันยายน 2556

ได้รับรางวัล CSR-DIW Continuous Award วันที่ 11 กันยายน 2556

และการบริการอย่างต่อเนื่อง และค�านึงถึงผลกระทบ ต่อชุ มชนและสิ่งแวดล้อมรอบๆ องค์กร โดยการปฏิบัติตามกฎหมาย และข้อก�าหนดอื่นๆ หรือแนวปฏิบัติสากลที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ มุ ่งมั่นพัฒนา ปรับปรุ ง เพื่อพัฒนาสร้างรากฐานของ ่ น ความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างต่อเนื่อง และ ยังยื

ได้รับรางวัล Green Industry ระดับ 4 วันที่ 18 ธันวาคม 2555

ได้รับรางวัล CSR-DIW in Supply Chain ได้รบั รางวัล CSR-DIW Advance ระดับ 4 วันที่ 19 ธันวาคม 2555 วันที่ 11 กันยายน 2556

บริษัท อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ จ�ากัด (มหาชน) นครปฐม ได้รับมาตรฐานการรับรอง

ISO 9001:2008, ISO14001:2004, ISO18001:2007, TIS18001:1999, มรท. 8001: 2553 โรงงาน เลขที่ 35/8 หมู ่ 4 ต.ขุนแก้ว อ.นครชั ยศรี จ.นครปฐม 73120 โทรศัพท์ 034-222191-8 โทรสาร 034-222193 ส�านักงานใหญ่ เลขที่ 75/102 อาคารโอเชี่ ยน ทาวเวอร์ 2 ชั้น 37 ซอยสุขุมวิท 19 (วัฒนา) ถนนอโศก แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 02-661-6661 โทรสาร 02-661-6664-5 www.indoramaventures.com

SBL OK6.indd 71

5/8/2558 BE 10:22 AM


SBL OK6.indd 72

5/8/2558 BE 10:22 AM


SBL OK6.indd 73

5/8/2558 BE 10:23 AM


เส้ น ทางพบ ท้องถิ่นจังหวัด

เราเป็นหน่วยงานรัฐทีส่ ง่ เสริม สนับสนุนอปท. ให้มกี ารบริหาร จั ด ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์สุข ของคนในท้องถิ่น

“นางสาวอนงค์ โตโพธิ์ไทย” ท้ท้อองถิ งถิ่น่นจัจังงหวั หวัดดนครปฐม นครปฐม

74

SBL OK6.indd 74

5/8/2558 BE 10:23 AM


สำ�นักงานส่งเสริมการปกครอง ส่ ว น ท้ อ ง ถิ่ น จั ง ห วั ด น ค ร ป ฐ ม เป็นองค์กรทีม่ คี วามเข้มแข็งในการแก้ไข ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นของพี่ น้ อ ง ประชาชนในพื้นที่ มีการพัฒนาชุมชน ที่ ทำ � ให้ ป ระชาชนอยู่ ดี กิ น ดี อี ก ทั้ ง ผู้ บริหารท้องถิน่ และพนักงานในท้องถิน่ ก็ มีความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน “นางสาวอนงค์ โตโพธิไ์ ทย” ท้อง ถิน่ จังหวัดนครปฐม ซึง่ มีคติพจน์ประจำ� ใจว่า “ทำ�วันนี้ให้ดีที่สุด” และมีหลักใน การบริหารงานที่สำ�คัญคือ “ถ้าทุกคน มีความสุข ผลงานก็จะดีไปด้วย โดยจะ เข้าไปดูแลทุกข์สุข รวมทั้งเสริมสร้างให้ เกิดความภาคภูมิใจต่อองค์กร” วันนี้ ท่านท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม กรุณาให้ สัมภาษณ์ถึงนโยบาย แนวทางการส่ง เสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ ผลการ ดำ�เนินที่ผ่านมา ฯลฯ ดังนี้

นโยบายของ สถ.จ.นครปฐม เราเป็นหน่วยงานรัฐที่ส่งเสริม สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้

มีการบริหารจัดการสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ประโยชน์สขุ ของคนในท้อง ถิ่น ซึ่งแนวนโยบายก็ต้องการที่จะสนับสนุนท้องถิ่นให้มีศักยภาพในการบริหาร จัดการสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนพันธกิจก็ได้มีการวางพันธกิจไว้หลาย ๆ ด้าน เพื่อให้สอดคล้องกับการสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Nakhon Pathom 75

SBL OK6.indd 75

5/8/2558 BE 10:23 AM


ยุ ท ธศาสตร์ แ ละ แนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ สำ�นักงาน ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด นครปฐม ประการแรกก็ คื อ สำ � นั ก งานท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด นครปฐมเอง หรื อ สำ�นักงานปกครองท้องถิน่ อำ�เภอนครปฐมเองนัน้ เป็นองค์กรทีม่ สี มรรถนะสูง ซึง่ เมือ่ องค์กรมีความ เข้ ม แข็ ง แล้ ว นั้ น การทำ � หน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีการ บริหารจัดการสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ ก็จะ ดำ�เนินไปได้ด้วยดี ส่วนที่สอง ยุทธศาสตร์การส่งเสริม สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีการ จัดการบริการสาธารณะ รวมทั้งมีการบริหาร จั ด การบ้ า นเมื อ งที่ ดี องค์ ก รเองได้ ส นั บ สนุ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมถึงสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเครือข่ายในการ ทำ�งาน หรือให้มีความร่วมมือกันระหว่างองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ด้ ว ยกั น เอง รวมทั้ ง ให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

แผนการส่งเสริมความเข้มแข็งของอปท.นครปฐม เนื่องจากจังหวัดนครปฐมอยู่ในเขตปริมณฑล ความเจริญก็ได้ เริ่มขยายออกมาสู่จังหวัดแล้ว ซึ่งทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเอง คง ต้องมีการเตรียมการรองรับการเจริญเติบโต เรือ่ งของการเป็นเมืองทีข่ ยาย ออกไป เรื่องของการเป็นเมืองอุตสาหกรรม เรื่องของการเป็นเมืองน่าอยู่ ในเขตปริมณฑล คงต้องให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเองเตรียมความ พร้อมในการทำ�บริการจัดการสาธารณะ โดยเฉพาะในเรือ่ งขยะ ถ้ามีชมุ ชน มากขึ้น มีบ้านจัดสรรมากขึ้น ปัญหาขยะ ปัญหาสังคมก็จะตามมา รวมถึง ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีรายได้ประมาณ 50% ของรายได้ หลักของจังหวัด ซึ่งในภาคอุตสาหกรรมนั้น ก็จะมีทั้งจุดเด่นและก็จุดด้อย แต่จะทำ�อย่างไรอุตสาหกรรมถึงจะอยู่กับคนในชุมชนอยู่ด้วยกันได้

การเข้าสู่ AEC จะมี การเคลื่ อ นย้ า ยทุ น แรงงาน เรื่ อ งของ ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วั ฒ นธรรมต่ า ง ๆ ท้ อ งถิ่ น ต้ อ งเตรี ย ม การในเรื่องนี้

76

SBL OK6.indd 76

5/8/2558 BE 10:23 AM


ปัญหาของ อปท.ที่พบบ่อย จุดอ่อนที่พบในองค์กรก็คือในเรื่องของการบริหารจัดการ ซึ่งท้องถิ่นเริ่มมีปัญหาต่าง ๆ ที่เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากทางจังหวัดอยู่ใน เขตปริมณฑล ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นจะมี ความซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งแนวทางแก้ไขปัญหา ก็คงจะมีการ ประชุม ซักซ้อมทำ�ความเข้าใจ ชี้แจงให้คำ�แนะนำ�กับผู้บริหารท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นท่านนายกฯ หรือท่านปลัดเอง อีกปัญหาที่มักจะได้รับการสะท้อนจากท้องถิ่น คือการทำ�งาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเรือ่ งของความพร้อมของบุคลากร ทีอ่ าจจะเกิดความไม่เข้าใจในปัญหาสำ�คัญบางจุดบางประเด็น ซึง่ อาจจะ ทำ�ให้การแก้ไขปัญหาไม่ตรงจุดนัก ตรงนี้ก็มีเจ้าหน้าที่ของสำ�นักงาน ท้องถิ่นอำ�เภอ คอยเป็นพี่เลี้ยงที่จะช่วยแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น ถ้าหาก เป็นปัญหาที่สำ�คัญ ทางเราก็จะลงไปช่วยอีกทีหนึ่ง

ผลการดำ�เนินงานตามนโยบายของ ภาครัฐ

ผลการดำ�เนินงานตามนโยบายของภาครัฐฯ ก็มหี ลาย เรื่องด้วยกัน เช่น การแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งทางองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ก็ได้มสี ว่ นช่วยได้มาก ในเรือ่ งของการให้ ประชาชนมีความสุข อยู่ดีกินดี ซึ่งทางองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นก็ได้มีการช่วยเหลืออย่างเต็มที่อยู่แล้ว

ผลงานที่ทำ�ให้ภาคภูมิใจก็ คือ เราได้ทำ�บทบาทหน้าที่ ของเราอย่างเต็มที่ ในการ ส่งเสริม สนับสนุนองค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ มี ศักยภาพ

Nakhon Pathom 77

SBL OK6.indd 77

5/8/2558 BE 10:23 AM


ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ

ผลงานที่ทำ�ให้ภาคภูมิใจก็คือ เราได้ทำ�บทบาทหน้าที่ของเราอย่าง เต็มที่ ในการส่งเสริม สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้มศี กั ยภาพ ในการบริการสาธารณะแก่ประชาชน อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีความ สุข อยู่ดีกินดี ก็เป็นความภาคภูมิใจของเรา 78

SBL OK6.indd 78

5/8/2558 BE 10:23 AM


สิง่ สำ�คัญคือการบูรณาการทุกภาค ส่ ว น ภาครั ฐ ท้ อ งถิ่ น และภาค ประชาชน

ฝากถึง อปท.เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ส่วนต่าง ๆ นัน้ การทำ�งานไม่ สามารถปฏิบัติได้ด้วยตัวคนเดียว ต้องมีการบูรณาการทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคส่วนต่าง ๆ และภาคประชาชน ต้องมีการบูรณาการ การทำ�งานร่วมกัน ถ้าทำ�คนเดียวก็อาจจะได้ผลระดับหนึ่ง แต่ถ้าทำ� ร่วมกัน ก็จะทำ�ให้งานสำ�เร็จลุล่วงด้วยดียิ่งขึ้น สิ่งสำ�คัญคือการบู รณาการทุกภาคส่วน ภาครัฐ ท้องถิ่น และภาคประชาชน

Nakhon Pathom 79

SBL OK6.indd 79

5/8/2558 BE 10:23 AM


เส้นทางแหล่งเรียนรู้

วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกฟักข้าว บ้านปลักไม้ลาย

วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ ่ ม ผู ้ ป ลู ก ฟั ก ข้ า วบ้ า นปลั ก ไม้ ล าย เ ล ข ที่ 1 2 7 ห มู ่ 6 ต� ำ บ ล ทุ ่ ง ข ว า ง อ� ำ เ ภ อ ก� ำ แ พ ง แ ส น จั ง หวั ด นครปฐม เกิ ด จากการรวมกลุ ่ ม เกษตรกรผู ้ ป ลู ก ฟั ก ข้ า ว เพื่อรวบรวมผลผลิตน�ำมาแปรรูปเป็นเยื่อแดงแช่แข็ง,เซรั่มบ�ำรุงผิว ละศึกษาดูงานสอนในการแปรรูบต่างๆ และจ�ำหน่ายสู่ท้องตลาดโดย การส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เมื่อปี 2555 ปัจจุบันมี นายวรพล เจนคจบ เป็นประธานกรรมการ และนายวิศาล เก้าลิ้ม เป็นรองประธานกรรมการและฝ่ายไร่

www.vorapoljane.com Tel. 081-9423622 ฟั ก ข้ า วเป็ น พื ช ตระกู ล เถาที่ มี ป ระโยชน์ ท างโภชนาการสู ง สามารถน�ำมาผลิตเป็นอาหารเสริมเพื่อสุขภาพและผลิตภัณฑ์ความ งามได้ เช่น น�ำ้ ฟักข้าว สบู่ก้อนฟักข้าว สบู่เหลวฟักข้าว โลชั่น ฟักข้าว สารสกัด(แคปซูล)ฟักข้าว ครีมทาหน้าฟักข้าว ซอสพริก ฟักข้าว ไอศกรีมฟักข้าว ขนมปังฟักข้าว และเค้กฟักข้าว ซึ่งทาง กลุ่มฯ เน้นระบบการผลิตที่ปลอดภัยจากสารเคมีซึ่งจะเป็นอันตราย ต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกฟักข้าวบ้านปลักไม้ลาย ไม่เพียง แต่จะสร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับสมาชิกและชุมชนเท่านั้น หากแต่ มีการพัฒนาต่อยอดและคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพื่อให้กลุ่มเป็นที่รู้จัก และด�ำเนินการได้อย่างมั่นคงบนพื้นฐานของความพอเพียง

SBL OK6.indd 80

5/8/2558 BE 10:23 AM


ROMAN GROUP มูลไส้เดือนแท้ 100 % ปลอดภัย ไร้สารพิษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

มูลไส้เดือนแท้ 100 % ของฟาร์มโรมัน (สาขาสามพราน และนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม) เป็นผลิตภัณฑ์บำ�รุงและปรับสภาพพื้นที่การเกษตร ไม่ว่าจะเป็นบ่อกุ้ง สวน ผัก สวนผลไม้ สวนยาง ไร่อ้อย ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะปลอดภัย ไร้สารพิษ และเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว มูลไส้เดือนแท้ 100 % ของฟาร์มโรมัน ยังอุดมด้วยธาตุหลัก N.P.K และธาตุรองกว่า 10 ชนิด และมีจุลินทรีย์ 300 กว่าชนิด (ในขณะที่ EM ทั่วไปมีแค่ 80 ชนิด) เช่น ไตรโคเดอร์ม่า ซึ่งช่วยป้องกันโรครากเน่าและเชื้อรา จุลนิ ทรียต์ ระกูลบาซิลลัส ซึง่ ช่วยในการย่อยสลาย และมีโปรไบโอติค-จุลนิ ทรียแ์ อนตี้ แบคทีเรีย ซึ่งจะช่วยปรับค่า ph ได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งในดินและน้ำ� โดยเฉพาะ ในบ่อเลี้ยงกุ้ง และยังสร้างสัตว์หน้าดินและทำ�สีน้ำ�ให้สวย มีค่าอัลคาร์ไลน์และค่าโปร แตสเซียมพอเหมาะที่กุ้งสามารถนำ�ไปใช้ได้ดี นอกจากนี้ มูลไส้เดือนแท้ 100 % ของ ฟาร์มโรมัน ยังมีฮิวมัสหรือสารอาหารที่พืชสามารถดูดซึมนำ�ไปใช้ได้ทันที ผลิตภัณฑ์จากมูลไส้เดือนแท้ 100 % ของฟาร์มโรมัน ประกอบด้วย น้ำ�หมัก มูลไส้เดือน มูลไส้เดือน ขนาดบรรจุตั้งแต่ 1 กิโลกรัม-1 ตัน และไส้เดือนสายพันธุ์ AF 1 สำ�หรับการเพาะเลี้ยง สนใจติดต่อได้ที่ ROMAN GROUP โทร. 089-8078388 คุณโจ หรือดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.farmroman.com

SBL OK6.indd 81

5/8/2558 BE 10:24 AM


เส้ น ทางพบ ประมงจังหวัด “นายอมร พุทธสัมมา” ประมงจังหวัดนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีเกษตรกรที่ประกอบอาชีพประมงน้ำ�จืดเป็น ส่วนใหญ่ ผลผลิตของสาขาประมงโดยทั่วไปได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� มีเกษตรกรด้านการประมงทั้งสิ้น จำ�นวน 8,778 ราย พื้นที่ทำ�การประมง มีจำ�นวนทั้งสิ้น 78,312 ไร่ สัตว์น้ำ�ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ กุ้งก้ามกราม กุ้งขาว ปลาน้ำ�จืด จระเข้ ปลาสวยงาม และสัตว์น้ำ�อื่น ๆ ตามลำ�ดับ มีผู้ประกอบการ ด้านการประมง ทั้งสิ้น 188 ราย ประกอบด้วย ผู้ค้าปัจจัยการผลิต ,ผู้ค้า ,ผู้รวบรวมสัตว์น้ำ� ,แพปลา ,ท่าขึ้นปลา ,โรงงานอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำ� ,กลุ่มและผู้แปรรูปสัตว์น้ำ� ,ผู้นำ�เข้า ผู้ส่งออกสัตว์น้ำ�และผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำ� โดยมีโครงสร้างการผลิต ประกอบด้วย กิจกรรมการเลี้ยงปลาน้ำ� จืดทุกชนิด (ปลานิล ปลาตะเพียน ปลายี่สก ปลาดุก ฯลฯ ) ร้อยละ 75.9 รองลงมาคือการทำ�ฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาวกุ้งก้ามกราม ร้อยละ 22.6 ส่วนการ เพาะพันธุ์ปลาและกุ้ง มีสัดส่วนร้อยละ 1.6 ซึ่งมาจากกิจกรรมการเพาะพันธุ์ และอนุบาลกุ้งทะเล กุ้งก้ามกราม ปลาน้ำ�จืด สัตว์นำ้ �สวยงามและสัตว์นำ้ �อืน่ ๆ

ปัจจัยที่เอื้อต่อการเติบโตด้านประมง

จังหวัดนครปฐมมีพื้นที่อยู่ในเขตปริมณฑลใกล้กรุงเทพใกล้ ตลาด คมนาคม สะดวก ,เป็นจังหวัดที่มีระบบชลประทาน 100% เอื้อต่อการ พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมด้านการประมง เกษตรกรเป็นผู้มีความ ชำ�นาญด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ � เป็นเวลายาวนาน มีการพัฒนาระบบ มาตรฐานฟาร์มสัตว์น้ำ�ทีไ่ ด้มาตรฐาน เนือ่ งจากเป็นเกษตรกรเพาะเลีย้ งสัตว์ น้ำ � เชิ ง พาณิ ช ย์ เ ป็ น ส่ ว นมาก มี แ หล่ ง อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรสั ต ว์ น้ำ � เช่น ปลาหน้าวัด ที่รักษาพืชพันธุ์ เป็นจำ�นวนมาก เอื้อต่อการพัฒนาเป็น แหล่งเพาะและขยายพันธุ์ในธรรมชาติ มีการใช้ระเบียบ-กฎหมายในการ กำ�กับดูแลเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงและการทำ�การประมงในจังหวัด มีองค์กร นอกภาคราชการทีม่ สี ว่ นร่วมในการพัฒนา ฟืน้ ฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ�ในแม่น้ำ� ท่าจีน และลำ�น้ำ�สาขา พร้อมทั้งจังหวัดนครปฐมมีตลาดกลาง ซื้อ-ขาย สัตว์น้ำ�ในพืน้ ที่ และจังหวัดใกล้เคียงทำ�ให้เกษตรกรมีแหล่งจำ�หน่ายผลผลิต 82

SBL OK6.indd 82

5/8/2558 BE 10:24 AM


วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนา

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

วิสัยทัศน์ (Vision) “เป็นแหล่งผลิตสินค้าประมงที่ปลอดภัยได้ มาตรฐาน สืบสานอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์น้ำ�อย่าง ยั่งยืน เพื่อความอยู่ดีมี สุขของประชาชน” ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) 1. อนุรกั ษ์และฟืน้ ฟู ทรัพยากรสัตว์น้ำ�ในแหล่งน้ำ�ให้มคี วามยัง่ ยืนและหลาก หลาย รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตสัตว์น้ำ�เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ 3. พัฒนาฟาร์มผลิตสัตว์น้ำ�และคุณภาพสินค้าประมงให้ได้รับมาตรฐาน ปลอดภัย 4. บริหารจัดการองค์กร และเสริมสร้างองค์ประกอบอื่นๆ เพื่อการปฏิบัติ งานและการบริการให้มีประสิทธิภาพ

การดำ�เนินงานตามนโยบายรัฐบาล ภายใต้ยุทธศาสตร์ และแผนงานเชิงรุกของรัฐบาลในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น คัดเลือกจาก 144 กรม และ 76 จังหวัดในการ ข้อเสนอการ เปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการโดยการ พัฒนากระบวนการให้บริการอนุญาตออกใบกำ�กับการจำ�หน่าย สัตว์น้ำ�และลูกพันธุ์สัตว์น้ำ�ของจังหวัดนครปฐม โดยสำ�นักงาน ประมงจังหวัดนครปฐมได้รับการประเมินผลการดำ�เนินงานที่มี กระบวนงานโดดเด่นจาก 10 กรมและ 10 จังหวัด จากสำ�นักงาน ก.พ.ร.

โครงการสำ�คัญของ สนง.ประมงจังหวัดฯ ด้วยสำ�นักงานประมงจังหวัดนครปฐม ได้รับจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำ�ปี พ.ศ.2558 เพื่อใช้ในการดำ�เนินงานตามแผน ผลผลิต โครงการ กิจกรรมการพัฒนาการประมงของจังหวัดนครปฐมในด้านการ พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรประมง และด้าน การบริหารจัดการองค์กรแบบบูรณาการ รวมถึงการประสานงานด้านการ ประมงในพื้นที่สำ�คัญ ๆ ดังนี้ งบกรมประมง ได้แก่ โครงการส่งเสริมเกษตรกรด้านการประมง ,โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart farmer) ,โครงการพัฒนา คุณภาพสินค้าเกษตรสูม่ าตรฐาน กิจกรรมเตรียมความพร้อมเกษตรกรเข้า สู่มาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� , โครงการประมงอาสา ,โครงการศูนย์ เรียนรู้ด้านการประมง กิจกรรมถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีการประมง , โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชานุเคราะห์และจังหวัดพบ ประชาชน ,โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตสัตว์น้ำ�สวยงามเพือ่ สร้างความ เข้มแข็งในกลุ่มจังหวัด ,โครงการพัฒนาศักยภาพและบ่มเพาะการผลิตปลา สวยงามรายใหม่ ,กิจกรรมการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ�และ ผูป้ ระกอบการด้านประมง ,กิจกรรมการจัดผลิตภัณฑ์มวลรวมระดับจังหวัด (GPP) และการจัดทำ�สถิติประมง และกิจกรรมการบริหารจัดการพื้นที่ การเกษตรที่มีศักยภาพ งบพัฒนาจังหวัด ได้แก่ โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตกุ้ง ก้ามกรามปลอดเชื้อและเพิ่มพูนสัตว์น้ำ�ในแหล่งน้ำ�โดยการมีส่วนร่วม งบพัฒนากลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ได้แก่ โครงการจัดตั้ง กลุม่ และเครือข่ายผูผ ้ ลิตปลาสวยงามเพือ่ สร้างความเข้มแข็ง ,โครงการเพิม่ ผลผลิตสัตว์น้ำ�ในแหล่งน้ำ�สาธารณะ อ่างเก็บน้ำ�โดยชุมชนมีส่วนร่วม และโครงการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำ�ในลุ่มน้ำ�แม่กลองและท่าจีน

1. การสนับสนุนเกษตรกรด้านเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ�จืด (นส.พ.ปัญญา ยังประภากร เจ้าของฟาร์มเพาะเลีย้ งจระเข้ ) โดยได้รบั การคัดเลือก เป็น เกษตรกรดีเด่นระดับชาติ ประจำ�ปี พ.ศ.2556 และฟาร์ม เกษตรกรปราดเปรื่อง ประจำ�ปี พ.ศ.2557 และการสนับสนุน เกษตรกรด้ า นเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ำ � จื ด การเพาะเลี้ ย งจระเข้ (นส.พ.ปัญญา ยังประภากร) โดยได้รับการคัดเลือกเป็นเกษตรกร ดีเด่นระดับชาติ ปี พ.ศ.2556 2. การสนับสนุนเกษตรกรด้านเพาะเลีย้ งสัตว์น้ำ�สวยงามและพรรณ ไม้น้ำ� (น.ส.สิรินุช ฉิมพลี เจ้าของฟาร์มเพาะเลี้ยงปลาสวยงาม) โดยได้รับการคัดเลือกเป็น เกษตรกรดีเด่นระดับเขต และอยู่ในช่วง การคัดเลือกในระดับชาติ ประจำ�ปี พ.ศ.2558

จากใจประมงจังหวัดฯถึงผู้อ่าน จุดเด่นของจังหวัดนครปฐมด้านประมงคือ เป็นแหล่งองค์ ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� มีความเหมาะ สมในด้านพื้นที่ อาทิ แหล่งน้ำ� ซึ่งมีระบบชลประทาน 100 % ระบบ สาธารณูปโภค และแหล่งอาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าสำ�หรับการเพาะ เลี้ยงสัตว์น้ำ� นอกจากนั้นยังมีความเหมาะสมในระบบการคมนาคม ที่ เ อื้ อต่ อระบบการตลาดสิ นค้ า ประมงของประเทศไทย จุดเด่น ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ สรุปสั้น ๆ ว่า ถ้าหากท่านต้องการสินค้าสัตว์ น้ำ�ที่มีคุณภาพหลากชนิด ให้คิดถึงจังหวัดนครปฐม

Nakhon Pathom 83

SBL OK6.indd 83

5/8/2558 BE 10:24 AM


เส้นทางพบ

พั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม “ชุมชนเข้มแข็งตามวิถีพอเพียง และ มี ธรรมาภิ บาล” สวัสดีครับ วันนีผ้ มนายชัยภัค สุนทรหงส์ นาย

คือความมุ่งมั่นของข้าราชการสังกัดสำ�นักงานพัฒนาชุมชน องนครปฐม ขอแนะนำ�เมื องนครปฐม ่เป็น มแข็ง ดำ�เนิน จัอำ�เภอเมื งหวัดนครปฐม ทีต่ อ้ งการจะเห็ นชุมชนทุ กชุมชนมีคทีวามเข้ แหล่ ง อารยธรรม มี ป ระวั ต ค ิ วามเป็ น มานั บ ร้ อ ยปี ชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีธรรมาภิบาล โดยชาวพัฒนา นครปฐม เป็นนเมืส่อวงเก่ าแก่​่งในการขั มีความเจริ ญ่อรุนงานตามภารกิ ง่ เรือง ชุ มชนทุกคนพร้ อมจะเป็ นหนึ บเคลื จไป มานั บ ตั ง ้ แต่ ส มั ย สุ ว รรณภู ม ิ และเป็ น เมื อ งราชธานี ส ำ�คั ญ สู่พี่น้องประชาชนอย่าง “ทั่วถึง เท่าเทียม ถ้วนหน้า” โดยพัฒนากร ในสมัยทวารวดี นครปฐมเป็ นแหล่มงการมี เผยแพร่ พวกเราทำ � งานโดยเน้ น ส่ ง เสริ ส่ ว อนร่ารยธรรม ว มของกลุ่ ม องค์ ก ร จากประเทศอิ น เดี ย และเป็ น ศู น ย์ ก ลางของความเจริ ประชาชน เครือข่ายชุมชนและชุมชน นอกจากนี้ยังให้ญ ความสำ�คัญกับ เมื่อครั้งสมัยก่ยอนรูนข้ องประชาชนตลอดมา นครปฐมมีชื่อเดิมว่า “นครไชยศรี ” กระบวนการเรี จึงปรากฏผลงานรู ปธรรม ซึ ง ่ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู ห ่ ว ั ได้ ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากมัน่ คง มีธรรมาภิบาล วิถี โปรดให้ พอเพี ยง เ ปลี่ ย นชื่ อ จากเมื อ ง “นครไชยศรี ” เป็ น “นครปฐม” นอกจากนี้ชาวพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม ยังมีส่วนร่วมสนับสนุน กองทุนต่าง ๆ ที่จัดตั้งโดยภาคราชการ และส่งเสริมสนับสนุนการ บริหารจัดการ เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงแหล่งทุนในชุมชน ลดความ เหลื่อมล้ำ� อาทิ “กองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง” เป็นโครงการทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นแหล่ง เงินทุนหมุนเวียนให้แก่หมู่บ้าน ๆ ละ 1 ล้านบาท จังหวัดนครปฐมมี จำ�นวน 999 หมู่บ้าน และได้รับจัดสรรและโอนเงินแล้ว ณ ปี พ.ศ. 2552 จำ�นวน 997 กองทุน ซึ่งนอกจากภาคราชการแล้วยังมีเครือ ข่ายสนับสนุนการดำ�เนินงานทุกระดับ ในภาคประชาชนทีด่ แู ลกันเองใน ลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน “กองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี” จังหวัดนครปฐม เพื่อเป็นทุน ในการช่วยเหลือสนับสนุนและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน ที่ครอบครัว ยากจนและด้อยโอกาส ให้ได้รบั การอบรมเลีย้ งดูอย่างถูกต้องเหมาะสม กับวัย ในการช่วยเหลือเด็กยากจน กองทุนจะนำ�เฉพาะดอกผลมาใช้ “กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดนครปฐม” ได้จัดตั้งขึ้น ตั้งแต่ปี 2555 เป็นการให้โอกาสสตรีในพื้นที่ ได้มีส่วนร่วมในการ่วม คิด ร่วมทำ� ร่วมพัฒนา โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรสตรีต่าง ๆ ในการขับเคลื่อนกองทุน เพื่อให้ สตรีได้ใช้ประโยชน์จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ในการสร้างสรรค์ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ เป็นแหล่ง เงินทุนดอกเบี้ยต่ำ� เงินทุนหมุนเวียน ,เป็นแหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนา ศักยภาพสตรีและเครือข่าย ,สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มกันประกอบ อาชีพ สร้างรายได้แก่ครอบครัว ชุมชน และดำ�เนินการให้กลุม่ สตรี ซึง่ เข้าใจสภาพปัญหาและหาแนวทางแก้ปัญหาให้สตรีด้วยกันเอง 84

SBL OK6.indd 84

5/8/2558 BE 10:24 AM


“หมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบจังหวัดนครปฐม” สำ�นักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม ดำ�เนินโครงการพัฒนาหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนน้อมนำ�หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำ�รงชีวติ โดยได้ดำ�เนินการมาตัง้ แต่ปี 2552-2557 มีหมูบ่ า้ นทีเ่ ป็นต้นแบบระดับจังหวัด จำ�นวนทัง้ สิน้ 44 หมูบ่ า้ น เป้าหมายสุดท้ายคือ คนในหมูบ่ า้ นมีคณ ุ ภาพชีวติ ดีและมีความสุข กินอิม่ นอนอุน่ ช่วยเหลือกัน และแบ่งปันซึง่ กันและกัน สูส่ งั คมเกือ้ กูล อย่างยัง่ ยืน “การดำ�เนินงานโครงการหนึง่ ตำ�บล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP” จังหวัดนครปฐม ได้ดำ�เนินการมาตัง้ แต่ปี 2544 เป็นโครงการ ส่งเสริมการสร้างงานในท้องถิน่ ด้วยการนำ�ภูมปิ ญ ั ญาทีม่ อี ยูใ่ นท้องถิน่ มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เด่น ๆ ในชุมชน ถือว่าเป็นการสร้างเศรษฐกิจ ฐานรากให้เข้มแข็ง โดยมีภาครัฐให้การสนับสนุนช่วยเหลือด้านความรู้ เทคโนโลยี การบริหารจัดการ ในปี 2558 สำ�นักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ได้จัดให้มีการเตรียมพร้อมผู้ประกอบการเพื่อเข้าสู่การเปิดประชาคม อาเซียน (AEC) ผลสัมฤทธิข์ องการส่งเสริม โครงการ OTOP ทีเ่ ป็น รูปธรรมทีส่ ดุ คือ ผลการจำ�หน่ายสินค้า OTOP ในรอบปีทผ่ี า่ นมามีผล การจำ�หน่าย ได้เป็นมูลค่า 7,441,489,724 บาท ซึง่ มีผลการจำ�หน่าย อันดับ 1 ของประเทศ เงินจำ�นวนนีก้ ระจายไปสูป่ ระชาชนทุกหมูบ่ า้ นทุก ตำ�บล ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของจังหวัดนครปฐม

ความภาคภูมใิ จของพัฒนาชุมชน ในฐานะผู้แทนทีมข้าราชการพัฒนาชุมชนจังหวัดนครปฐม ได้ สนับสนุนให้กบั ผูน้ ำ�ทีมระดับอำ�เภอ ผูน้ ำ�ทีมระดับตำ�บล นำ�แนวทางตามนโยบาย รัฐบาล กรมการพัฒนาชุมชน และจังหวัดนครปฐมไปสูก่ ารปฏิบตั ิ เพือ่ ให้ผนู้ ำ� ชุมชน กลุม่ องค์กรชุมชน เครือข่าย และชุมชน มีขดี ความสามารถในการ บริหารจัดการชุมชนในยุคปัจจุบนั และทันต่อการเปลีย่ นแปลง โดยมีเป้าหมาย สุดท้าย คือ ชุมชนเข้มแข็งตามวิถพ ี อเพียง เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คง Nakhon Pathom 85

SBL OK6.indd 85

5/8/2558 BE 10:24 AM


เส้ น ทางพบ เกษตรจังหวัด สำ�นักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม สังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา เกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสาหกิจเกษตรชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาเพิม่ ศักยภาพการผลิต การแปรรูป การเพิม่ มูลค่า การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ โดยการศึกษา วิจยั พัฒนา กำ�หนดมาตรฐานและแนวทางในการส่งเสริมการเกษตร ตลอดจนการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร และการให้บริการทางการเกษตร เพื่อให้ เกษตรกรมีอาชีพและรายได้ทมี่ นั่ คง มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และพึง่ ตนเองได้อย่าง ยั่งยืน “นายสุรสิษฐ์ สุทธิเดชารัชต์” เกษตรจังหวัดนครปฐม กล่าวถึงภาพรวม และผลการดำ�เนินงานของสำ�นักงานเกษตรของจังหวัดนครปฐม ดังนี้

ภาพรวมด้านการเกษตรของนครปฐม จังหวัดนครปฐมมีพื้นที่ทำ�การเกษตร จำ�นวน 766,833 ไร่ มีเกษตรกร 52,966 ครัวเรือน โดยส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกข้าวนาปรัง พื้นที่ปลูก 423,608 ไร่ (ร้อยละ 55.2) มูลค่าการผลิต 4,135 ล้านบาท รองลงมา คือข้าวนาปี จำ�นวน 398,750 ไร่ (ร้อยละ 52) มูลค่าการผลิต 3,379 ล้านบาท พืชไร่ (อ้อยและเผือก) พื้นที่ปลูก 79,398 ไร่ (ร้อยละ 10.3) มูลค่าการผลิต 1,192 ล้านบาท ไม้ผลไม้ยนื ต้น พืน้ ทีป่ ลูก 70,300 ไร่ (ร้อยละ 9.2) มูลค่าการผลิต 1,744 ล้านบาท พืชผักและพืชสมุนไพร พื้นที่ปลูก 53,406 ไร่ (ร้อยละ 6.9) มูลค่าการผลิต 1,173.59 ล้านบาท และพืชไม้ดอก ไม้ประดับ พื้นที่ปลูก 17,504 ไร่ (ร้อยละ 2.2) มูลค่าการ ผลิต 1,181 ล้านบาท สภาพการเพาะปลูกพืชโดยทั่วไป จะเป็นการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และการทำ�เกษตรแบบผสมผสาน ไม้ผลเศรษฐกิจทีส่ ำ�คัญ ได้แก่ ส้มโอ ฝรัง่ ชมพู่ มะพร้าวอ่อน มะม่วง มะพร้าวแก่ มะนาว กล้วยน้ำ�ว้า และกล้วยหอม ปลูกมากที่อำ�เภอสามพราน และนครชัยศรี พืชผักและสมุนไพร ได้แก่ หน่อไม้ฝรัง่ กระเจีย๊ บเขียว ข้าวโพดฝักอ่อน คะน้า กวางตุง้ กระเพรา โหระพา แตงกวา ผักบุ้งจีน ผักบุ้งน้ำ� ผักกระเฉด กระชาย มะระจีน ชะอม เป็นต้น ปลูกมากที่อำ�เภอเมืองนครปฐม กำ�แพงแสน และปลูกกระจายทั่วไปในทุก อำ�เภอ กระบวนการผลิตพืชผักจะเน้นให้ความสำ�คัญกับการผลิตตามหลัก เกษตรดีทเี่ หมาะสม (Good agricultural practice : GAP) ส่วนไม้ดอกไม้ ประดับ ได้แก่ กล้วยไม้ตัดดอก กุหลาบร้อยมาลัย มะลิ ดอกรัก เป็นต้น 86

SBL OK6.indd 86

5/8/2558 BE 10:24 AM


โครงการเด่นของเกษตรจังหวัดนครปฐม

เกษตรฯนครปฐมกับการดูแลวิสาหกิจชุมชน

1. โครงการพัฒนาการผลิตพืชปลอดภัยเพื่อการบริโภคในประเทศและ การส่งออก อาทิ กิจกรรมพัฒนาการผลิตและการตลาดพืชผักและไม้ผล กิจกรรมพัฒนาการผลิตและการตลาดส้มโอ กิจกรรมพัฒนาการผลิต และการตลาดกล้วยไม้ 2. โครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตพืชปลอดภัยเพื่อการบริโภค ภายในประเทศและส่งออก อาทิ กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต พืชเศรษฐกิจทีส่ ำ�คัญของกลุม่ จังหวัด (ข้าว พืชผัก ไม้ผล) และการเตรียม ความพร้อมเกษตรกรสู่การตรวจประเมินระบบการผลิตข้าว GAP 200 คน โดยผู้ตรวจประเมินภายนอก 3. โครงการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของกล้วยไม้ไทย อาทิ กิจกรรมถ่ายทอดความรูแ้ ก่เกษตรกรทีเ่ ข้าสูร่ ะบบ GAP ,จัดทำ�ศูนย์เรียน รู้ การผลิ ต กล้ ว ยไม้ GAP , ศูน ย์เรียนรู้การผลิต กล้ ว ยไม้ นอกฤดู และศูนย์เรียนรู้เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ 4. โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ยเพื่อลดต้นทุนการผลิต อาทิ กิจกรรม สนั บ สนุ น การดำ � เนิ น กิ จ กรรมของศู น ย์ จั ด การดิ น ปุ๋ ย ชุ ม ชน จัดกระบวนการเรียนรู้ แปลงเรียนรู้ และจุดสาธิตด้านดินปุย๋ และการใช้ปยุ๋ เพือ่ ลดต้นทุนการผลิต จัดทำ�แปลงเรียนรูศ้ กึ ษาการใช้ปยุ๋ ทางระบบน้ำ� จัด กระบวนการเรียนรู้ แปลงเรียนรู้ และจุดสาธิตการผลิตปุย๋ อินทรีย์ ฯลฯ 5. โครงการลดความเสีย่ งเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพชื อาทิ กิจกรรม พัฒนาศักยภาพศูนย์จดั การศัตรูพชื ชุมชน ,กิจกรรมปรับพฤติกรรมการ ใช้สารเคมีของเกษตรกร และกิจกรรมจัดทำ�เขตควบคุมแมลงวันผลไม้ ตามมาตรฐานการส่งออก

สำ�นักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม ให้ความสำ�คัญกับการ ดู แ ลกลุ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ทั้ ง ในระดั บ จั ง หวั ด และระดั บ อำ � เภอ โดยมีการจัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนระดับจังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน และมีผู้แทนจากหน่วยราชการ ต่าง ๆ เป็นคณะกรรมการ ส่วนในระดับอำ�เภอ ทางสำ�นักงานเกษตร อำ�เภอทุกอำ�เภอ จะมีการประชุมคณะอนุกรรมการฯซึ่งมีนายอำ�เภอ เป็นประธาน ตัวอย่างวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับการส่งเสริม ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกฟักข้าวบ้านปลักไม้ลาย เลขที่ 127 หมู่ 6 ตำ�บลทุ่งขวาง อำ�เภอกำ�แพงแสน ผู้ผลิตน้ำ�ฟักข้าว สารสกัด (แคปซูล) ฟักข้าว สบูก่ อ้ นฟักข้าว สบูเ่ หลวฟักข้าว โลชัน่ ฟักข้าว ครีม ฟักข้าว วิสาหกิจชุมชนสนามจันทร์ เลขที่ 4/30 หมู่ 2 ตำ�บลสนามจันทร์ อำ�เภอเมืองนครปฐม ผู้ผลิตกระเจี๊ยบกรอบ บร็อคโคลี่กรอบ เห็ดหอมกรอบ กล้วยหอมอบกรอบ วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารตำ�บลสระพัฒนา เลขที่ 107 หมู่ 9 ตำ�บลสระพัฒนา อำ�เภอกำ�แพงแสน ผู้ผลิตน้ำ�เห็ดหลินจือ เห็ดสวรรค์ วิสาหกิจชุมชนตำ�บลดอนตูม เลขที่ 110 หมู่ 6 ตำ�บลดอนตูม อำ�เภอ บางเลน ผู้ผลิตผลสดมะเขือเทศราชินี มะเขือเทศราชินีอบแห้ง (รสน้ำ�ผึ้ง สามรส รสบ๊วย)

ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ

การท่องเที่ยวเชิงเกษตรของนครปฐม ล่องเรือชมสวนเลียบคลองมหาสวัสดิ์ ซึ่งมีจุดท่องเที่ยว เชิงเกษตร 4 จุด ได้แก่ จุดที่ 1 การทำ�สวนผลไม้ ไร่นาสวนผสม ชิมผลไม้ตามฤดูกาล นั่งรถอีแต๋นชมสวน และท้องนา จุดที่ 2 การแปรรูปผลผลิตเกษตร ทดลองทำ�ข้าวตังด้วยตัวเอง จุดที่ 3 การทำ�นาบัว กิจกรรมพายเรือชมบัว หรือเก็บบัว และจุดที่ 4 การทำ�สวนกล้วยไม้ ให้ความรู้การทำ�สวนกล้วยไม้ วิสาหกิจชุมชนท่องเทีย่ วเกาะลัดอีแท่น อำ�เภอสามพราน เป็นการนั่ง รถรางชมวิถีด้านการเกษตร เรียนรู้เครื่องมือทำ�การเกษตรตั้งแต่ อดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น การทำ � สวนส้ ม โอ การทำ � นาข้ าวไรซ์ เ บอร์ รี่ และการทำ�บุญไหว้พระ เป็นต้น

1. กิจกรรมศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ดำ�เนินการส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ให้เกษตรกรหันมาใช้สารชีวินทรีย์ เช่น เชื้อราขาวบิวเวอร์เรีย ในการควบคุมแมลงศัตรูพชื และการใช้เชือ้ ราเขียวไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืช อันจะส่งผลดีหลายประการ อาทิ ระบบนิเวศทางการเกษตร ไม่ถกู ทำ�ลาย เกษตรกรและผูบ้ ริโภคปลอดภัย และลดต้นทุนการผลิต ซึง่ ในรอบสองปีทผี่ า่ นมา สำ�นักงานเกษตรจังหวัดนครปฐม ได้ทำ�การถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช แก่เกษตรกรผู้สนใจครอบคลุมพื้นที่ทุกอำ�เภอ จนสามารถจัดตั้งเป็นศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ได้ทั้งหมด 34 ศูนย์ กระจายในทุกอำ�เภอของจังหวัดนครปฐม 2. กิจกรรมศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ในปี 2557 มีการจัดตั้งศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนต้นแบบที่ตำ�บลหินมูล ณ บ้านเลขที่ 39 หมู่ 9 ตำ�บลหินมูล อำ�เภอบางเลน ต่อมาในปี 2558 ได้ดำ�เนินการจัดตั้งเพิ่มอีก 6 ศูนย์ เป็นต้นแบบของแต่ละอำ�เภอ เพื่อบริการตรวจวิเคราะห์ดิน โดยใช้ชดุ ตรวจสอบ N P K ในดินแบบรวดเร็ว พร้อมทัง้ ให้คำ�แนะนำ�การจัดการดินและการใช้ปยุ๋ เบือ้ งต้น ถ่ายทอดความรูด้ า้ นดินปุย๋ จัดให้มแี ปลง เรียนรู้ และจุดสาธิต รวมถึงจัดหา และบริการจำ�หน่ายปัจจัยการผลิต โดยเฉพาะแม่ปยุ๋ คุณภาพดี ให้แก่สมาชิก โดยมีการบริหารจัดการโดยเกษตรกร เพื่อเกษตรกรในชุมชนเอง

ฝากถึงเกษตรกรชาวนครปฐม ปัจจุบนั ผูบ้ ริโภคหันมาให้ความสำ�คัญต่อสุขภาพมากขึน้ อาหารทีบ่ ริโภคจึงเป็นปัจจัยแรกทีใ่ ห้ความสำ�คัญ ถึงแม้จะจ่ายเงินเพิม่ ขึน้ อีกสักนิด ก็พร้อม ที่จะจ่าย ประกอบกับการแข่งขันทางการค้าของสินค้าเกษตรในตลาดต่างประเทศที่มีการกีดกันทางการค้า โดยใช้มาตรการที่มิใช่ภาษี เช่น ความ ปลอดภัยของผู้บริโภคและสุขอนามัยพืช ฯลฯ ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่เกษตรกรจังหวัดนครปฐม ในฐานะผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหารเพื่อการ บริโภคภายในประเทศและการส่งออกแหล่งใหญ่ของประเทศ จะได้หันมาให้ความสำ�คัญของการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่ง แวดล้อมให้มากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อตัวเกษตรกรเอง ต่อสิ่งแวดล้อม และยังเป็นสร้างกุศลต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอีกด้วย Nakhon Pathom 87

SBL OK6.indd 87

5/8/2558 BE 10:24 AM


เส้นทางการศึกษา

พื้นฐานการศึกษาที่นี่เราจะมุ่งเป็นฐานเกี่ยว กับการเกษตร ซึ่งเมื่อเราเป็นมหาวิทยาลัย แล้วก็เป็นแหล่งมุ่งพัฒนาคน มหาวิทยาลัย มีองค์ความรู้ มีคณาจารย์ บุคลากร มีนวัตกรรมที่จะให้ความรู้แก่พี่น้องทั่ว ๆ ไป และนิสิตด้วย

พันธกิจหลักของ ม.เกษตรศาสตร์

มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำ�แพงแสน ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2522 เป็น 1 ใน 4 วิทยาเขต ซึง่ ประกอบด้วยวิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตกำ�แพงแสน วิทยาเขตศรีราชาและ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนครจึง ถื อ ได้ ว่ า เกษตรศาสตร์ เ ป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี นักศึกษามากที่สุดในประเทศไทย เส้นทางการศึกษา ฉบับนี้จะพาท่านไป รู้ จั ก กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิ ท ยาเขตกำ � แพงแสนซึ่ ง มี ร ศ.ดร.สมบั ติ ชิ ณ ะวงศ์ รองอธิ ก ารบดี วิ ท ยาเขต กำ�แพงแสน เป็นผู้พลิกโฉมมหาวิทยาลัยให้ กลายเป็นสถานที่เที่ยวแห่งใหม่ใกล้กรุงเทพฯ

SBL OK6.indd 88

รู้จักม.เกษตรฯ วิทยาเขตกำ�แพงแสน สำ�หรับการก่อตั้งวิทยาเขตกำ�แพงแสน เมื่อ 40 ปีที่แล้ว อธิการบดีสมัยนั้นมองว่า วิทยาเขตบางเขนมีความคับแคบ อาจจะไม่ เพียงพอต่อการรองรับจำ�นวนนักศึกษาที่จะ เพิม่ ขึน้ ในอนาคต จึงมาดูพนื้ ทีเ่ พิม่ เติมตรงนีซ้ งึ่ มีขนาด 8,000 ไร่ จึงของบจากรัฐบาลมา 16 ล้านบาท (ตกไร่ละ 2 พันบาท) แล้วไปขอเงิน กู้จากเวิลด์แบงก์เพื่อพัฒนาพื้นที่ตรงนี้สมัย ก่อนตรงนี้เป็นที่เลี้ยงควายเป็นไร่อ้อย เป็น ที่ดินเลวมาก เราก็มาพัฒนาปรับปรุงและก็ได้ เปิดการเรียนการสอน และเจริญก้าวหน้ามา ตามลำ�ดับ

พั น ธกิ จ หลั ก ของมหาวิ ท ยาลั ย มี 4 ด้าน 1.การเรียนการสอน 2.การวิจัย เพื่ อ ให้ ไ ด้ น วั ต กรรมใหม่ ๆ 3.การบริ ก าร วิชาการ และ 4.การทำ�นุศิลปวัฒนธรรม ซึ่งต้องทำ�ให้ครบทุกด้าน ซึ่งในด้านการเรียน การสอน ก็ไม่จำ�กัดเฉพาะนิสิตที่สอบได้ แต่เราจะสอนใครก็ได้ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร คนทัว่ ไป หรือผูท้ สี่ นใจในด้านการเกษตรหรือ สาขาที่เกี่ยวข้อง ก็มาเรียนรู้กับเราได้ งาน วิจัยเราก็ส่งเสริมให้คณาจารย์ และบุคลากร ทำ�อย่างต่อเนือ่ ง ก็จะได้องค์ความรูใ้ หม่ๆ ซึง่ จะเอาไปสอนนิสติ คนทัว่ ไป บุคลากร นอกจาก นั้ น องค์ ค วามรู้ ที่ เ ป็ น นวั ต กรรมก็ จ ะเอาไป บริการวิชาการ ผ่านการอบรม สัมมนา หรือ ถ่ า ยทอดโดยตรงแก่ เ กษตรกรและคน ทั่วไป เรื่องการทำ� นุศิลปวัฒนธรรมเราก็มี หลากหลายมาก ศิลปวัฒนธรรมที่ดีของไทย เช่น วันปีใหม่ วันสงกรานต์ วันพระ เราก็ ร่ ว ม มื อ กั บ ชุ ม ช น ใ น ก า ร ทำ� นุ ศิ ล ป วัฒนธรรม แล้วก็ให้นิสิต และบุคลากร มี โอกาสร่ ว มกั น ในการออกไปเผยแพร่ ศิ ล ป วัฒนธรรมที่ดี

5/8/2558 BE 10:24 AM


ปฏิรูปการเรียนรู้...สู่ห้องเรียนที่มีชีวิต ใ น ห้ ว ง เ ว ล า ที่ ผ่ า น ม า คำ� ว่ า “มหาวิทยาลัย” ทำ�ให้คนข้างนอกมองว่ามันดู ลึกลับ เข้าถึงได้ยาก ผมก็พยายามที่จะบอกว่า เราต้องปฏิรูปการสอน ปฏิรูปการถ่ายทอด ปฏิรูปการเรียน แทนที่จะนั่งเรียนในชั้นเรียน ธรรมดา ก็เปิดชั้นเรียนให้เจอประสบการณ์ จริงจากข้างนอกด้วยได้ไหมผมเลยได้ออกแบบ “ห้ อ งเรี ย นที่ มี ชี วิ ต ” หรื อ The Living Classroom ขึ้นมา ซึ่งมีทั้งหมด 31 ห้อง มี ทั้งพืช สัตว์ ประมง มีรายการเรียนให้เลือก หลากหลายมาก ซึ่ ง รู ป แบบการเรี ย นก็ จ ะ เปลีย่ นจากเดิม และเมือ่ ทุกคนได้เข้ามาก็จะได้ เรียนรู้ ได้สัมผัสหลาย ๆ อย่าง ได้ยินกับหู ได้ เห็นกับตา ได้กลิ่น ได้สัมผัส ได้มาชม ได้ชิม มาช็ อ ป ได้ ทั้ ง ความรู้ แ ละประสบการณ์ ที่ สามารถนำ�ไปต่อยอดได้ นี่คือแนวคิดใหม่ของ รูปแบบการศึกษาแบบหนึ่ง ซึ่งจะทำ�ให้เกิด ความสนใจมากขึ้ น ดั ง เช่ น ตอนนี้ เ รามี มหาวิทยาลัยชาวนา ซึ่งก็ได้ทำ�นาจริงตามขั้น ตอนต่างๆ ที่ก่อประสิทธิภาพ ซึ่งเรามีความรู้ มี น วั ต กรรมที่ พ ร้ อ มจะถ่ า ยทอดให้ พี่ น้ อ ง เกษตรกร นี่ คื อ แนวคิ ด ที่ เ ราสร้ า งขึ้ น มาในชื่ อ ที่ เรียกว่า “เที่ยวไม่ไกล ไปกำ�แพงแสน เที่ยว วันเดียว เที่ยวไม่หมด” เป็นการมาทัศนา วิชาการ คือได้เที่ยวด้วยได้องค์ความรู้ด้วย เป็นการเปิดพื้นที่ให้เขาเข้ามาหาเรา และให้ เราออกไปหาเขา คือออกไปพบชุมชน พบผูน้ ำ� การเกษตรโดยตรง โดยมีโครงการ 9 บวร (บ=บ้าน ว=วัด ร=โรงเรียน) ซึง่ เป็นส่วน CSR ของมหาวิ ท ยาลั ย และได้รับ รางวัลดีเยี่ย ม ในปี 2556 ซึง่ น้อมนำ�เอาแนวพระราชดำ�ริของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯมาน้อมนำ�ใส่ เกล้า เสร็จแล้วถ่ายทอดไปสู่พี่น้องเกษตรกร แต่ละโครงการมีการต่อยอดทางความคิด และ เผยแพร่สิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมต่อชุมชน เช่น “ไหว้พระ 9 วัด” ส่วนหนึ่งก็มาจาก เพราะการได้ลงพื้นที่ไปตามวัดต่าง ๆ ก็ทำ�ให้ ได้รู้ว่าวัดไหนที่ดี มีผู้คนเคารพศรัทธา

SBL OK6.indd 89

ความภาคภูมิใจในกำ�แพงแสน

ที่เที่ยวไฮไลท์ ในกำ�แพงแสน

สิ่งที่ภาคภูมิใจคือ ผมทำ�ให้พื้นที่ 8,000 ไร่ เป็นต้นแบบสังคมที่มีความผาสุก มี 5 อย่าง 1.Green มีการปลูกต้นไม้ สร้างพื้นที่สีเขียว 2.Clean มี 4 มิติ ได้แก่ พื้นที่หรือดิน-ไม่สกปรก ไม่มีขยะ อากาศ-จะไม่มีการเผาฟาง น้ำ�-ต้อง สะอาด น้ำ�ไม่เน่า ใจ-ต้องบริสุทธิ์ ซึ่งโครงการ 9 บวรก็จะพาคนเข้าวัดบ้าง ทำ�บุญบ้าง 3. Safty ซึ่งเราได้รับรางวัลความปลอดภัยจากมูลนิธิเมา ไม่ขับ จากมูลนิธิรัฐบุรุษ ในปี 2556 ซึ่งไม่มีนิสิต และบุคลากรเสียชีวิตแม้แต่คนเดียวในวิทยาเขต เราอยู่ กั น เป็ น หมื่ น ๆ คน แต่ ก็ ไ ม่ มี อุ บั ติ เ หตุ และมีการรณรงค์ให้สวมหมวกกันน็อค ถ้านิสิต ไม่สวมหมวกกันน็อคห้ามเข้ามหาวิทยาลัย ก็ทำ�ให้ ปลอดภัยในเรื่องการเดินทาง เรื่องอาหารก็ต้อง ปลอดภัย เรื่องขโมยก็พยายามให้ลดลง เรื่องยา เ ส พ ติ ด ก็ ไ ม่ ใ ห้ มี เ ข้ า ม า 4 . H e a l t h y เราสร้ า งบรรยากาศให้ ทุ ก คนพยายามออก กำ�ลังกาย มีสนามกีฬามากขึ้น และเราก็เพิ่งเป็น เจ้าภาพจัดงานกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ซึ่ ง ทำ�ให้ เ รามี ส นามกี ฬ าหลากหลายชนิ ด ทุ ก มุมเมือง มีการออกกำ�ลังกาย แอโรบิก ทำ�ให้ผคู้ น มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ซึ่งก็ได้ร่วมมือกับ หลายๆ หน่วยงาน และ 5.Wealthy คือความ ผาสุก อยู่ดีมีสุข อยู่อย่างพอเพียง

ไฮไลท์จะมีหลายที่ 1. การจัดการฟาร์ม แบบไร้ ข องเสี ย โดยนำ�ผั ก ตบชวามาทำ� ไบโอแก๊ส แล้วนำ�ไปหุงต้ม เอาไปผลิตกระแส ไฟฟ้า เอาไปสูบน้ำ�ในฟาร์ม จากนั้นยังทำ�เป็น ปุ๋ยได้ 2. มหาวิทยาลัยชาวนา ได้ทดลองทำ� นาจริ ง ๆ 3.การปลู ก ผั ก ปลอดสารพิ ษ ทานแล้วปลอดภัย ไม่ใช้เทคโนโลยีมากนัก ไป จนถึงไฮเทคโนโลยีจากอิสราเอล มาปลูกผักใน โรงเรื อ น หรื อ จะมาเที่ ย วงานเกษตร กำ�แพงแสน ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 1-10 ธันวาคม ของทุกปี เป็นกิจกรรมเผยแพร่นวัตกรรมต่างๆ และถื อ เป็ น งานเกษตรแฟร์ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศ มีคนมาเที่ยววันละแสนกว่าคน 10 วันก็ 1 ล้าน 5 แสนคน ซึ่งต่อไปที่นี่ก็จะเป็น อุทยานวิทยาศาสตร์การเกษตรแห่งชาติ เป็น Sport Academy Center และช่วงกุมภามีนา ก็จะมีดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ หรือซากุระ กำ�แพงแสนบานสะพรั่งเป็นสีชมพูสวย จัด เป็น 1 ใน 22 ถนนที่สวยที่สุดในเมืองไทย อยากจะเชิญชวนทุกท่านให้มาเที่ยวมา พักผ่อนได้ตลอดทัง้ ปี เรามีทพี่ กั อาหารการกิน พร้อม การเดินทางก็สะดวก เพราะที่นี่คือ แหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรทีเ่ ป็นต้นแบบทีน่ า่ มา เที่ยวมาก ๆ ครับ

5/8/2558 BE 10:24 AM


สำ�หรับการพักผ่อนอย่างแท้จริง หรือประชุมสัมมนา ท่ามกลางธรรมชาติ We care......

99/1 Moo 9 Tambon Lamhuey ,Amphur Dontoom Nakornprathom Thailand 73150 SBL OK6.indd 90

5/8/2558 BE 10:24 AM


Call: +66 084-388-9405

50 SBL OK6.indd 91

5/8/2558 BE 10:25 AM


SBL OK6.indd 92

5/8/2558 BE 10:25 AM


Trendy Hotel Nakhonpathom www.trendyhotel.net Info@trendyhotel.net 088-4557778 034-218101 SBL OK6.indd 93

5/8/2558 BE 10:25 AM


ใน ภาพบรรยากาศียภบาสยงบ ไร่เคียงดาว เงม ก ล า ง ร่ ม รื่ น ท่ า าติ ธรรมช

บ้ า นไร่ เ คี ย งดาว สถานที่ พั ก ผ่ อ น ท่ามกลางธรรมชาติ เทือกสวนไร่นา ในบรรยากาศสบายๆ สไตรท์คันทรี่ พร้อมเมนูอาหาร ผักไร้สารพิษแห่ง บ้ า นปลั ก ไม้ ล ายที่ ป ลู ก อยู่ โ ดยรอบ บ้านไร่เคียงดาว พร้อมกับปลาดุกนา ปลาช่อนนา สดสะอาดปลอดภัย ที่หา ทานได้ยาก พร้อมฟังดนตรี สไตร์โฟค ซอง เล่นกันสดๆ ศุกร์กับเสาร์หรือ อยากจะขึ้นร้องเพลงในแบบฉบับของ ท่านเอง อาหารมีให้ทา่ นเลือกชิม เลือก รับประทานมากมาย หลากเมนู โดย กุ๊กฝีมือเยี่ยม แล้วท่านจะ...ประทับใจ มิรู้ลืม กับความสงบร่มรื่น เป็นกันเอง

http://ไร่เคียงดาว.com, https://www.facebook.com/RaiKeangDaw SBL OK6.indd 94

5/8/2558 BE 10:26 AM


น ภาพบรรยากาอศนเรอื อัน นอน ห้องน สบาย แสนอบอุ่น

รับจัดเลี้ยง ประชุม สัมนา จองโต๊ะ เลี้ยงในงานเทศกาล และวันสำ�คัญ ต่างๆ

ติดต่อสอบถาม จองห้องพักล่วงหน้า โทร 089-981-1224

ภาพบรรยากาศ อาหารต่างๆ น่าทา น รสชาติถูกใจ

เข้าซอยวัดหนองปลาไหล ตรงไป4กม. อยูซ่ า้ ยมือ บ้านหลักเมตร อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม SBL OK6.indd 95

5/8/2558 BE 10:26 AM


Bann Phai Ngern บ้านไผ่เงินรีสอร์ท

บริการห้องพักบรรยากาศสบายๆ ท่ามกลางความ ร่มรื่นของแมกไม้นานาพันธ์รองรับลูกค้าได้กว่า 60 ถึง 100ท่าน

พร้อมบริการอาหารว่าง coffee shop สโมสร ห้องประชุมย่อย สวนพักผ่อนในราคาสุดประหยัด หาง่าย เส้นทางคมนาคมสะดวกสบาย

บ้านไผ่เงินรีสอร์ท 123 ม.4 ต.กำ�แพงแสน อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม 73140 SBL OK6.indd 96

5/8/2558 BE 10:27 AM


ติดกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน จั ง หวั ด นครปฐม, ค่ า ยลู ก เสื อ กำ � แพงแสน(เมื อ งเก่ า กำ�แพงแสน)และติดกับถนนชมภูพันธุ์ทิพย์ “โครงการ Dream Destinations 2015” สวยสะพรั่งบนเส้นทาง ดอกไม้บาน

โทร.081-8435021 , 091-2655617 โทร/แฟกซ์ 034-355335 Email : khunpol-l@hotmail.com www.facebook.com\BannPhaiNgern SBL OK6.indd 97

5/8/2558 BE 10:27 AM


คุ้มแม่น้ำ�หม่อมไฉไล... จุดหมายใหม่ของผูร้ กั สายน้�ำ

“หม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา” สุภาพสตรีสูงศักดิ์ผู้งามสง่าทุกท่วงท่าท่านนี้ หลาย ๆ ท่านคงรู้จักท่านเป็นอย่างดี วันนี้เราจะพาท่านผู้อ่านไปสัมผัสเสน่ห์ของ “คุม้ แม่นำ้ �หม่อมไฉไล” รีสอร์ตหรูรมิ แม่นำ้ �ท่าจีนทีช่ วนหลงใหลในเอกลักษณ์ของเรือโบราณ “ตั้ ง แต่ เ สด็ จ พระองค์ ช ายใหญ่ ท่ า นได้ สิ้ น ไป ดิ ฉั น ก็ ดู แ ลธุ ร กิ จ หลาย ๆ อย่ า ง เช่น ธุรกิจจิวเวลรีทสี่ ยามพารากอน ซึง่ ทำ�มาเป็นเวลา 30 ปีแล้ว และธุรกิจโรงแรมรีสอร์ททั้งหลายที่เรามีอยู่”

98

SBL OK6.indd 98

5/8/2558 BE 10:27 AM


ปั จ จุ บั น โรงแรมและรี ส อร์ ต ของหม่ อ มไฉไล ประกอบด้ ว ย คุ้ ม ป่ า ธรรมชาติ หม่อมไฉไล กาญจนบุรี ,คุ้มพัทยาหม่อมไฉไล พัทยาใต้ และ คุ้มแม่น้ำ�หม่อมไฉไล นครปฐม ซึ่งมีจุดเด่นคือนำ�เรือเอี้ยมจุ๊นมาออกแบบตกแต่งให้เป็นที่พักสวยหรูอยู่สบายริมสายน้ำ�แห่ง ชีวิต ด้วยมูลค่าการลงทุนกว่าร้อยล้านบาท “หม่อมเองเป็นคนจังหวัดนครปฐม เมื่อถึงจุดหนึ่งของชีวิตวัยผู้ใหญ่คนหนึ่ง เราก็เพียงแค่ อยากกลับบ้านเกิดของเรา ประกอบกับเสด็จพระองค์ชายใหญ่ท่านได้สะสมเรือโบราณเอาไว้ เป็นเรือเวียดนามทีม่ คี วามหมายมาก เพราะท่านต้องการนำ�เรือลำ�นีไ้ ปท่องทะเล แต่หม่อมเป็น คนที่กลัวคลื่นลมทะเล ท่านก็มิได้ขัดใจ เรือลำ�นั้นก็เลยถูกเก็บขึ้นคานไว้ หลังจากที่เสด็จท่าน สิ้นไป เราคิดถึงท่านมาก ก็เลยทำ�ให้เรือลำ�นี้เป็นอนุสรณ์ถึงสิ่งที่ท่านโปรดมาก แล้วก็ย้าย เรือจากพัทยามาสู่แม่น้ำ�ท่าจีน”

นอกจากส่ ว นของโรงแรมเรื อ โบราณ เรื อ นแพ และเรือนไทยแล้ว ทีน่ ย่ี งั มีหอ้ งพักในตึกสไตล์รชั กาลที่ 5 ด้วย โดยเฉพาะส่วนของบ้านเรือนไทยนั้น ชั้นล่างเป็น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ จั ด แสดงเครื่ อ งใช้ ใ นสมั ย โบราณ และอุ ป กรณ์ ป ระกอบการถ่ า ยทำ � ภาพยนตร์ ข องวั ง อัศวินที่หาชมได้ยากยิ่ง และมีรูปปั้นพระแม่อุมาเทวี เพื่อให้ผู้เข้าชมสักการะเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตด้วย ส่ ว นชั้ น บนเปิ ด ให้ บ ริ ก ารจั ด พิ ธี ม งคลสมรสตาม ประเพณีไทย ทั้งพิธีสงฆ์และงานเลี้ยงอันอบอุ่นแบบ ไทย ๆ พร้อมทั้งให้บริการจัดประชุมสัมมนาในเรือ โบราณ ท่ามกลางบรรยากาศที่ผ่อนคลายกับสภาพ ธรรมชาติของสายน้ำ� ต้น ไม้ใบหญ้า และอากาศที่ บริสุทธิ์สดชื่น ก่อนจากกันหม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา ได้กล่าวเชิญ ชวนท่านผู้อ่านว่า “รีสอร์ตนี้หม่อมออกแบบเองทั้งหมด อยากให้เป็น แบบย้อนยุค-ร่วมสมัย เหมาะกับการมาพักผ่อนอยูก่ นั แบบครอบครัว ลองมาสัมผัสดูนะคะ แล้วท่านจะชอบ เหมือนที่หม่อมชอบค่ะ” Nakhon Pathom 99

SBL OK6.indd 99

5/8/2558 BE 10:27 AM


เส้นทางท่องเที่ยว

นครปฐม..เสน่หแ์ ห่งวัด วัง และวิถชี วี ติ ชุมชน “เช้าไป-เย็นกลับขับรถเที่ยว”

ดูเหมือนจะพูด กันติดปากสำ�หรับการเดินทางท่องเที่ยวในจังหวัดปริมณฑลของกรุงเทพ แต่สำ�หรับนครปฐมนั้นมีอะไรให้เที่ยวมากกว่าการมาแค่เช้าถึงเย็นเท่านั้น เราขอพาคุณไปสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วสำ�คัญทีไ่ ม่ควรพลาด โดยเฉพาะการพาบุตร หลานไปเก็บเกี่ยวความรู้จากวัด วัง และวิถีชีวิตอันเรียบง่ายน่ารักของชาว นครปฐมกันค่ะ

นมัสการพระบรมธาตุโบราณ ณ พระประโทณเจดีย์ พระประโทณเจดีย์ เป็นพระเจดีย์โบราณที่สร้างขึ้นในสมัยทวารวดี โดยมี ตำ�นานเล่าว่า พราหมณ์ตระกูลหนึ่งเรียกว่า “โทณะพราหมณ์” ซึ่งเดินทาง แสวงโชคจากชมพูทวีปถึงดินแดนสุวรรณภูมิ ได้นำ� “ทะนานทอง” ที่ใช้บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุกว่าพันองค์ติดตัวมาด้วย โทณะพราหมณ์จึงได้สร้าง เรือนหินขึ้นเพื่อเก็บรักษาทะนานทองเอาไว้

100

SBL OK6.indd 100

5/8/2558 BE 10:27 AM


รูปทรงเดิมของพระประโทณเจดีย์ เป็นทรงโอคว่ำ� ตามลักษณะ ของเจดีย์สมัยทวารวดี เนื่องจากวัดพระประโทณตั้งอยู่กลางเมือง โบราณนครชัยศรี ต่อมา พระประโทณเจดีย ์ หรือ เรือนหินที่ใช้เก็บ รักษาทะนานทองนั้น มีสภาพเป็นเพียงเนินดินทับถมรกร้างมานานนับ พันปี กระทั่งในสมัยล้นเกล้ารัชกาลที่ 4 มาถึงล้นเกล้ารัชกาลที่ 6 จึง ได้มีการสร้างวัดพระประโทณเจดีย์ขึ้น ราว พ.ศ. 2324 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2327 โดยที่ตั้งวัดปัจจุบันอยู่ไป ทางทิศตะวันตกเหนือขององค์พระประโทณเจดีย์ ซึง่ ระหว่างการก่อสร้าง วัดนัน้ ได้ขดุ พบโบราณวัตถุในสมัยทวารวดีเป็นจำ�นวนมาก เช่น พระพุทธ รูป เศียรพระพุทธรูปปูนปัน้ พระดินเผา รวมทัง้ โลหะสำ�ริดรูปพญาครุฑ เหยี ย บนาค ซึ่ ง รั ช กาลที่ 6 ทรงใช้ เ ป็ น เครื่ อ งหมายราชการของ พระองค์ ฯลฯ ซึ่งวัตถุโบราณวัตถุเหล่านี้บางส่วนได้นำ�ไปเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ ปัจจุบนั วัดพระประโทณเจดียว์ รวิหาร เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่บนถนนเพชรเกษม ตำ�บลพระประโทน อำ�เภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม หากท่านได้มาเยือนนครปฐม ลองหา โอกาสไปสักการะ พระประโทณเจดีย์ หนึ่งในสามพระบรมธาตุเจดีย์ โบราณ ซึ่งแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในดินแดน สุวรรณภูมิแต่ครั้งอดีตกาลกันนะคะ

Nakhon Pathom 101

SBL OK6.indd 101

5/8/2558 BE 10:27 AM


“พุทธมณฑล” ศูนย์กลางแห่งพุทธศาสนาโลก

พระพุทธรูปพระประธานพุทธมณฑล

ในฐานะทีเ่ ป็นชาวพุทธ น่าจะมีโอกาสไปเยือนพุทธมณฑลสักครัง้ หนึง่ ในชีวิต เพราะพุทธมณฑลได้รับการยกย่องให้เป็นศูนย์กลางแห่ง พุทธศาสนาโลก จึงเหมาะอย่างยิ่งที่เราจะพาบุตรหลานไปเรียนรู้ถึง ความสำ�คัญและรากเหง้าของพระพุทธศาสนา ผ่านการชมสถานที่ สำ�คัญต่าง ๆ ท่ามกลางความเขียวขจีในพุทธมณฑล และที่สำ�คัญ คือพุทธมณฑลก็อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพด้วย พุทธมณฑล จัดสร้างเนือ่ งในโอกาสมหามงคลกาลทีพ ่ ระพุทธศาสนา เวียนมาบรรจบครบรอบ 2,500 ปี ในวันวิสาขบูชา พ.ศ.2500 โดยรัฐบาลสมัย จอมพล ป.พิบลู สงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี พร้อม ด้วยชาวพุทธทัง้ ประเทศ ได้รว่ มกันจัดสร้างปูชนียสถานขึน้ เป็นพุทธ านุสรณีย์ และได้กราบบังคมทูลเชิญพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯไปทรงประกอบรัฐพิธีก่อฤกษ์พุทธมณฑล ณ บริเวณที่จะก่อสร้างพระพุทธรูปประธานพุทธมณฑล เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2498 ปัจจุบันพุทธมณฑลมีสิ่งที่น่าสนใจหลายแห่ง อาทิ

ซึ่งได้รับพระราชทานนามว่า “พระศรีศากยะทศพลญานประธานพุทธ มณฑลสุทรรศน์” ซึง่ สร้างขึน้ ใจกลางพุทธมณฑล มีความสูง 15.875 เมตร ซึ่งต้นแบบที่อาจารย์ศิลป์ พีระศรี ออกแบบไว้นั้นสูงเพียง 2.14 เมตร แต่ต้องขยายออกไปอีก 7.5 เท่า หรือ 2,500 กระเบียด เพื่อสื่อ ความหมายถึงระยะเวลา 2,500 ปี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ ได้เสด็จฯ ไปทรงเททองพระเกตุมาลาไว้ เมื่อวัน ที่ 18 พฤษภาคม 2524 และได้ประกอบพิธีเชื่อมประกอบพระเศียรกับ องค์พระพุทธรูป เมื่อ 23 สิงหาคม 2525 โดยสมเด็จพระสังฆราช เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธี และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โปรด เกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯ เสด็จฯแทนพระองค์ไปทรง ประกอบพิธสี มโภช เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม 2525 และระหว่างกำ�ลังดำ�เนิน การสร้างอยู่นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จฯทอดพระเนตร การสร้างองค์พระพุทธรูปด้วย

102

SBL OK6.indd 102

5/8/2558 BE 10:27 AM


สังเวชนียสถานสี่ตำ�บล ประกอบด้วย ตำ�บลประสูต ิ ประดิษฐาน

หินรูปดอกบัว 7 ดอก แกะสลักหินเป็นรูปดอกบัวกำ�ลังแย้มบาน ช่วงบนแกะสลักลายนูนรูปพระพุทธบาท กลางฝ่าพระบาทสลักชื่อ แคว้นต่าง ๆ 7 แคว้น ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระธรรม คำ�สั่งสอน ตำ�บลตรัสรู ้ ประดิษฐานหินรูปโพธิบัลลังก์ ช่วงบนแกะ สลักนูนเป็นลายบัวคว่ำ�และบัวหงาย มีรัศมีล้อมรอบช่วงล่าง ตำ�บล ปฐมเทศนา ประดิษฐานหินเป็นรูปธรรมจักร และรูปแท่นที่นั่งของ ปัญจวัคคีย์ทั้งห้า ตำ�บลปรินิพพาน ประดิษฐานหินสัญลักษณ์ รูปแท่นไสยาสน์ ทุกตำ�บลมีพื้นที่ 50 ไร่ อยู่ท่ามกลางสนามหญ้า สวนไม้ดอกไม้ประดับที่งดงาม

วหิ​ิ ารพุทธมณฑล เป็นอาคารชัน้ เดียว สร้างแบบสถาปัตยกรรมไทย ตามแบบวิหารของวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร หอกลอง สร้างขึ้นเพื่อ

ประดิษฐานกลองชัยขนาดใหญ่ ตัวกลองทำ�ด้วยไม้ขนุน และหนังควาย เผือก เส้นผ่าศูนย์กลางมีขนาด 1.60 เมตร ผู้จัดทำ�กลองคือ พระพิชัย ธรรมจาโร วั ด บั ล ลั ง ก์ ศิ ล าอาสน์ อ.ปราสาท จ.สุ ริ น ทร์ เมื่ อ พ.ศ.2526 มหาวิหารประดิษฐานพระไตรปิฎกหินอ่อน สถาปัตยกรรม ไทยรูปทรงจตุรมุข มีพระเจดีย์ 9 ยอด ประดิษฐานในย่านกลาง และเป็นที่จารึกพระไตรปิฎกหินอ่อน ขนาด 1.10 x 2.00เมตร จำ�นวน 1,418 แผ่น มีภาพวาดพระพุทธประวัติอยู่ด้านบนโดยรอบ นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนา และหอสมุด แห่งพระพุทธศาสนา ซึง่ ตัง้ อยูท่ า่ มกลางสวนอันสงบร่มรืน่ ทีจ่ ะช่วย เรียกพลังแห่งความสดชื่นรื่นเย็นให้กับชีวิตได้ ไม่ว่าจะเป็น สวนเวฬุวัน หรื อ สวนไผ่ นั บ ร้ อ ยชนิ ด สวนอั ม พวั น สวนมะม่ ว งพั น ธุ์ ต่ า ง ๆ เกือบร้อยชนิด สวนธรรม หรือสวนกระถินณรงค์ สวนไทร สวนลัฏฐิวนั หรือสวนตาลอยูต่ รงตำ�บลปรินิพพาน และสวนสมุนไพร ซึ่งได้จัดเป็น โครงการนำ�ร่อง เพื่อส่งเสริมให้วัดทั่วประเทศปลูกสมุนไพรในวัด สนใจเข้าเยี่ยมชมเป็นหมู่คณะ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ ที่ ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ พุ ท ธมณฑล โทร. 0 2441 9012, 0 2441 9009, 0 2441 9801-2, 0 2441 9440

Nakhon Pathom 103

SBL OK6.indd 103

5/8/2558 BE 10:27 AM


พระราชวังสนามจันทร์ พระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในอำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม ห่างจากองค์พระ ปฐมเจดีย์ไม่ไกลนัก มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา เป็นพระราชวังที่ พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยังทรงดำ�รงพระยศเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ประทับ ครั้งเสด็จฯ นมัสการ องค์พระปฐมเจดีย์ และทรงเห็นว่านครปฐมเป็นเมืองที่มีชัยภูมิเหมาะสำ�หรับต้านทานข้าศึก จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างในบริเวณที่เรียกว่า เนินปราสาท ซึ่งคาดว่าเป็นพระราชวังเก่าของ กษัตริย์สมัยโบราณ ใช้เวลาก่อสร้างนาน 4 ปี โดยมี หลวงพิทักษ์มานพ (น้อย ศิลปี) ซึ่งต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ เลื่อนยศเป็นพระยาวิศุกรรม ศิลปประสิทธิ์ เป็นแม่งาน และสร้าง เสร็จเมือ่ ปี พ.ศ. 2450 เมือ่ สร้างแล้วเสร็จจึงได้พระราชทานนามว่า “พระราชวังสนามจันทร์” ตามชื่อสระน้ำ�โบราณ 104

SBL OK6.indd 104

5/8/2558 BE 10:27 AM


อาณาเขตกว้างขวางของพระราชวังสนามจันทร์ ประกอบ ด้วยสนามใหญ่อยูก่ ลาง โอบล้อมด้วยถนน และมีคนู ้ำ�ล้อมอยูช่ นั้ นอก อาคารสถานทีท่ ปี่ รากฏในปัจจุบนั ได้แก่ พระทีน่ งั่ พิมานปฐม พระทีน่ งั่ อภิรมย์ฤดี พระทีน่ งั่ วัชรีรมยา พระทีน่ งั่ สามัคคีมขุ มาตย์ พระตำ�หนัก ชาลีมงคลอาสน์ พระตำ�หนักมารีราชรัตบัลลังก์ พระตำ�หนักทับแก้ว พระตำ�หนักทับขวัญ เทวาลัยคเณศวร์ หรือเรียกว่า ศาลพระพิฆเนศวร อนุสาวรีย์ย่าเหล เรือนพระธเนศวร บ้านพักเจ้าพระยารามราฆพ ผู้สำ�เร็จราชการมหาดเล็ก ซึ่งครั้งนั้นเรียกว่า “ทับเจริญ” ปัจจุบันใช้ เป็นสถาบันวัฒนธรรมภูมิภาคตะวันตกพระราชวังสนามจันทร์

พระราชวังสนามจันทร์นับได้ว่าเป็นสถานที่ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรมอยู่บ่อย ครัง้ โดยเฉพาะในช่วงซ้อมรบของพวกเสือป่า พระองค์จงึ ทรงถือโอกาส ออกตรวจตรา และบัญชาการซ้อมรบของพวกเสือป่าด้วยพระองค์เอง เสมอ ปัจจุบันก็ยังมีอาคารซึ่งปลูกสร้างขึ้นเพื่อกิจการของเสือป่าเหลือ อยู่ให้เห็น เช่น อาคารที่พักของเสือป่าม้าหลวง และเสือป่าพรานหลวง กับโรงพยาบาลเสือป่า เป็นต้น ปัจจุบันบางส่วนของพระราชวังสนามจันทร์อยู่ในความดูแล รับผิดชอบของมหาวิทยาลัยศิลปากร และจังหวัดนครปฐม เปิดให้เข้า ชมทุกวัน ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 09.00-16.00 น. (ปิดขายบัตร 15.30 น.) อัตราค่าเข้าชม คนไทย ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 10 บาท พระภิกษุ สามเณร แม่ชี นักศึกษา 10 บาท ชาวต่างประเทศ 50 บาท ติดต่อสอบถามเพิม่ เติมได้ที่ โทร. 0 3424 4236-7 โทรสาร 0 3424 4235 Nakhon Pathom 105

SBL OK6.indd 105

5/8/2558 BE 10:27 AM


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ ตัง้ อยูภ่ ายในบริเวณ วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมือง จังหวัด นครปฐม เป็นอาคารทรงไทยประยุกต์ 2 ชัน้ อยูท่ างทิศใต้ขององค์พระ ปฐมเจดีย์ ใช้เป็นทีร่ วบรวมและเก็บรักษาโบราณวัตถุหายาก ตัง้ แต่สมัย ทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ 12-16 ซึง่ เดิมเก็บรวบรวมไว้ทรี่ ะเบียงคต รอบองค์พระปฐมเจดีย์

106

SBL OK6.indd 106

5/8/2558 BE 10:27 AM


จนกระทัง่ พ .ศ. 2454 ได้ยา้ ยโบราณวัตถุเหล่านีไ้ ปเก็บรักษา ไว้ ใ นวิ ห ารตรงข้ า มพระอุ โ บสถ ซึ่ ง ต่ อ มาเรี ย กว่ า พระปฐมเจดี ย์ พิพิธภัณฑสถาน อยู่ในความดูแลของวัดพระปฐมเจดีย์ และใน พ.ศ. 2477 ได้ยกฐานะเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในความดูแลของกรม ศิ ล ปากร ต่ อ มาเมื่ อ จำ � นวนโบราณวั ต ถุ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทำ � ให้ อ าคาร พิพิธภัณฑสถานหลังเดิมคับแคบ ในพ.ศ. 2510 กรมศิลปากรจึงได้ รับงบประมาณให้สร้างอาคารพิพธิ ภัณฑสถานแห่งใหม่ และเคลือ่ นย้าย โบราณวัตถุจากพิพิธภัณฑสถานหลังเดิม มาจัดแสดงไว้ที่อาคารทรง ไทยประยุกต์หลังปัจจุบนั ภายในแบ่งการจัดแสดงออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

Nakhon Pathom 107

SBL OK6.indd 107

5/8/2558 BE 10:27 AM


ส่วนที่ 1 แนะนำ�ลักษณะทั่วไปของจังหวัดนครปฐม ประวัติความเป็น มาของดินแดนแห่งนี้ การตั้งถิ่นฐานของชุมชนตั้งแต่สมัยก่อน ประวัตศิ าสตร์ การติดต่อรับพุทธศาสนาและวัฒนธรรมจากอินเดีย เข้ามาผสมผสานกับความเชือ่ และวัฒนธรรมท้องถิน่ ภาพปูนปัน้ รูป ชาวต่างประเทศ ศิลาจารึกที่พบบริเวณเมืองโบราณนครปฐม ส่วนที่ 2 เสนอเรื่องราวด้านศาสนาและความเชื่อของชุมชนทวารวดี ในนครปฐมสะท้อนผ่านงานศิลปกรรมประเภทต่าง ๆ โบราณวัตถุ ที่ จั ด แสดงในส่ ว นนี้ ป ระกอบด้ ว ย ชิ้ น ส่ ว นสถาปั ต ยกรรมและ ประติมากรรมประเภทต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูป ภาพสลักเล่าเรื่อง พุทธประวัติ ภาพปูนปั้นเรื่องชาดกประดับฐานเจดีย์และธรรมจักร

ส่วนที่ 3 เรื่องราวของนครปฐมหลังความรุ่งเรืองสมัยทวารวดี จนถึง สมัยทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ โปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสงั ขรณ์ องค์พระปฐมเจดีย์ และเป็นงานสำ�คัญที่สืบเนื่องต่อมาในรัชกาลพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึง่ เป็นช่วงทีน่ ครปฐมได้รบั การยกฐานะ ขึ้นเป็นมณฑลนครชัยศรี และในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้า อยู่หัว โปรดเกล้าฯให้ก่อสร้างพระราชวังสนามจันทร์ขึ้น เมืองนครปฐม ได้รับการพัฒนาเรื่อยมา ปัจจุบนั พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ มีบทบาทในการเก็บรักษา มรดกอันมีคุณค่าทั้งด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชาติ เพื่อ ประโยชน์ในการศึกษาของประชาชนโดยทัว่ ไปเปิดให้บริการทุกวัน ระหว่าง เวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชมชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3427 0300, 0 3424 2500 โทรสาร 0 3424 2500

108

SBL OK6.indd 108

5/8/2558 BE 10:28 AM


หมู่บ้านไทยโซ่ง หมู่บ้านไทยโซ่ง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลบางปลา อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม เป็นหมูบ่ า้ นของชาวไทยเชือ้ สายโซ่ง หรือไทยทรงดำ� หรือไทดำ� ซึง่ อพยพ เข้ามาเมืองไทยในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. 2311 โดยแรกเริ่ม ชาวไทยทรงดำ�ได้เข้ามาอยู่ที่บ้านหนองปรง อำ�เภอเขาย้อย จังหวัด เพชรบุรี ก่อนทีจ่ ะได้ขยับขยายทีท่ ำ�กินไปตามจังหวัดต่าง ๆ เช่น นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สุโขทัย เลย พิจิตร พิษณุโลก วั ฒ นธรรม วิ ถี ชี วิ ต และประเพณี ข องชาวไทยทรงดำ � มี เอกลักษณ์ของตนเอง ในด้านการแต่งกาย ชาวไทยโซ่งชอบใช้เครื่อง แต่งกายสีดำ�หรือสีครามเข้มจนเกือบดำ� ผู้หญิงไว้ผมยาวเกือบ 1 เมตร เพือ่ ทำ�ทรงผมทีเ่ รียกว่า ปัน้ เกล้า ไว้กลางศีรษะและสับปิน่ ไว้ เสือ้ ผ้ามีเสือ้ ก้อม เสื้อฮี ผ้าเปียว ผ้าซิ่นสีครามแก่มีลายทางสีฟ้า เรียกว่า ลายแตงโม ส่วนผู้ชายสวมเสื้อก้อมหรือเสื้อไทแขนยาว กางเกงขายาวเรียกว่า “ส้วง ขา” หรือ “ส้วงก้อม” มีสีดำ� และ “เสื้อฮี” เป็นเสื้อประจำ�ตัวในการประกอบ พิธีกรรมต่าง ๆ

บ้านของชาวไทยทรงดำ�เป็นแบบดั้งเดิมโบราณ เป็นบ้านแบบ เครื่องผูกวัสดุที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นไม้ไผ่ เช่น ฝาบ้าน พื้นบ้าน โครงสร้าง หลังคาสูงชัน มุงด้วยหญ้าแฝก ใต้ถุน อุปนิสัยชาวไทยทรงดำ�เป็นคน รักสงบ ซื่อสัตย์ อดทน ขยันขันแข็ง มีความรักและสามัคคีในหมู่คณะ รักความสนุกสนานเพลิดเพลิน ภายในหมู่บ้านมีหัตถกรรมของชาวไทยทรงดำ�ให้นักท่องเที่ยว ที่สนใจได้เรียนรู้ อาทิ การทอผ้าและการใช้เครื่องจักสานต่าง ๆ ทุก ๆ ปี ในวันที่ 14 เมษายน จะมีงานประจำ�ปีของหมูบ่ า้ นซึง่ ก็คอื งานประเพณี สงกรานต์ หมูบ่ า้ นไทยทรงดำ�ยังมีสนิ ค้าหนึง่ ตำ�บลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ อาทิ เสือ้ ผ้า ข้าวซ้อมมือ ทองม้วน กล้วยฉาบ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้เลือกซือ้ เป็น ของฝากก่อนกลับด้วย นักท่องเทีย่ วทีส่ นใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ กำ�นันไพศาล เพชรรุณ หรือ ผู้ใหญ่บุญเรือน สีเขียว โทร. 08 1803 1792

Nakhon Pathom 109

SBL OK6.indd 109

5/8/2558 BE 10:28 AM


พิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตชาวนาไทย พิพธิ ภัณฑ์วถิ ชี วี ติ ชาวนาไทยบ้านลานแหลม เกิดจากปณิธาน ของอ.เริงชัย แจ่มนิยม ทีต่ อ้ งการถ่ายทอดและอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาเกีย่ ว กับการทำ�นาในอดีตเมื่อราว 30 - 40 ปีที่แล้ว ไว้ให้คนไทยในสมัย นี้ได้รู้ อ.เริงชัยเริ่มเตรียมการทั้งในเรื่องสถานที่และสิ่งก่อสร้างมา ตั้งแต่ พ.ศ. 2532 โดยเริ่มต้นด้วยการปลูกต้นสะเดาเป็นรั้วล้อมรอบ บ้าน รอจนต้นสะเดาโตเต็มที่ จนในปี พ.ศ. 2541 จึงตัดมาทำ�เป็นเสา เรือนพิพิธภัณฑ์ที่ได้วางโครงสร้างไว้ให้เป็น “เรือนไทยเครื่องผูก” โดยใต้ถุนเรือนไทยได้จัดแสดงเครื่องมือเกษตรกรรม และเครื่องมือ ในการดำ�รงชีพแบบพื้นบ้านไว้จำ�นวนหนึ่ง และได้เปิดให้เข้าชมตั้งแต่ วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา การจัดแสดงและเนื้อหาแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ๆ แรกเป็น บริเวณของสำ�นักงาน “กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาบ้านลานแหลม” ใช้เป็น ทีบ่ รรยายสรุปเกีย่ วกับประวัตคิ วามเป็นมาของบ้านลานแหลม และส่วน ที่สองคือ พิพิธภัณฑ์วิถีชีวิตชาวนาไทยบ้านลานแหลม และจัดวาง ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจักสานจากเส้นใยผักตบชวา

อาคารพิพธิ ภัณฑ์ทสี่ ร้างเป็น “เรือนไทยเครือ่ งผูกโบราณ” ใช้ เป็นอาคารจัดแสดงและสาธิตวิถชี วี ติ ชาวนาไทย การจัดแสดงจำ�แนกออก เป็น 2 ส่วน ส่วนใต้ถุนนั้นได้จัดแบ่งพื้นที่เป็น 2 ลักษณะคือ การจัด วางวั ต ถุ สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ พื้ น บ้ า นประเภทต่ า ง ๆ ไว้ เ ป็ น กลุ่ ม เช่ น กลุม่ เครือ่ งมือทำ�นา กลุม่ ใช้สอยในครัวเรือน กลุม่ เครือ่ งมือดักจับสัตว์ น้ำ� และเครื่องมือช่างไม้ เป็นต้น ในบริเวณเดียวกันก็จัดพื้นที่เป็นพื้นที่ สาธิตการสีข้าวเปลือก การฝัด การร่อน การกระทายเมล็ดข้าวที่สีแล้ว เพื่อแยกแกลบออกจากข้าวสาร สำ�หรับชั้นบนของเรือนนั้นยังมีวัตถุสิ่งของไม่มากนัก อาทิ อุปกรณ์ครัว และเชีย่ นหมาก สิง่ ทีส่ ว่ นจัดแสดงชัน้ บนต้องการเน้นก็คอื ต้องการให้ผทู้ ขี่ นึ้ ไปบนเรือนได้สมั ผัสถึงบรรยากาศของบ้านชาวนาไทย ในอดีต จึงได้จัดแสดงเป็นครัวจำ�ลองเอาไว้ หากผู้ที่มาเยี่ยมชมเป็นหมู่คณะต้องการมารับประทานอาหาร ด้วย ก็สามารถขอให้ทางพิพิธภัณฑ์ทำ�อาหารรับรองคณะผู้ที่มาได้ใน ราคามิตรภาพ โดยการติดต่อมาล่วงหน้าเพือ่ อ.เริงชัยจะได้ประสานงาน กับกลุ่มแม่บ้านในการจัดเตรียมอาหาร และมาให้การต้อนรับดูแลเรื่อง อาหารการกิน ร่วมพูดคุยเล่าถึงชีวติ ในอดีต นำ�ชมพิพธิ ภัณฑ์และสาธิต การฝัดข้าวสีขา้ วให้แก่ผทู้ ม่ี าเยีย่ มชม ทีน่ เ่ี ปิดทุกวันเวลา 08.30-17.00 น. อัตราค่าเข้าชม 20 บาท ผู้สนใจสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่โทร. 0 3429 6086, 08 1991 6084

110

SBL OK6.indd 110

5/8/2558 BE 10:28 AM


ศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาไทย ปิยะชนก ศูนย์เรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาไทย ปิยะชนก ตัง้ อยูท่ ต่ี ำ�บลดอนยายหอม อำ�เภอเมืองนครปฐม เป็นแหล่งท่องเที่ยวและเรียนรู้วัฒนธรรมชุมชน ศูนย์เรียนรูแ้ ห่งนีเ้ ป็นบ้านไทยตัง้ อยูก่ ลางสวนผลไม้ บรรยากาศร่มรืน่ มี ก ลิ่ น อายดั้ ง เดิ ม ของชาวไททรงดำ � ที่ เ คยตั้ ง รกรากอยู่ บ ริ เ วณนี้ มีกิจกรรมพักผ่อนเรียนรู้และทดลองทำ�เครื่องหอมไททรงดำ� เช่น การหยอดแป้ ง พวง ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มแต่ ค รั้ ง อดี ต สมั ย คุ ณ ยายยั ง สาว การทำ�เทียนอบขนมโบราณ นักท่องเที่ยวยังสามารถชิมรสชาติความ อร่อยเคล้ากลิ่นหอมของกาแฟอบเทียน ซึ่งนำ�เมล็ดกาแฟโรบัสต้าและ เมล็ดกาแฟอราบิก้าคั่วบดมาใส่หม้อดิน อบควันเทียนให้หอมกรุ่น เพื่อชงเป็นกาแฟเย็นที่มีความหอมและรสชาติเข้มมีเอกลักษณ์เฉพาะ

นอกจากนี้นักท่องเที่ยวยังสามารถแวะรับประทานอาหารบ้าน สวน ที่ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น เช่น ผักสด ใบโหรพา มะละกอ ถั่วฝักยาว มะเขือพวง ผักริมรั้ว ซึ่งนำ�มาประกอบเป็นเมนูอาหารอย่าง เช่น ส้มตำ� ทอดมะละกอท้ายสวน แกงส้ม แกงเขียวหวานกะทิสด มะพร้าวน้ำ�หอม น้ำ�ลูกหม่อน และผลผลิตตามฤดูกาล หรือเลือกซือ้ ของฝากหอม ๆ เช่น แป้งขมิ้น น้ำ�ปรุง ขี้ผึ้งกะทิสด ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาไททรงดำ�ที่ ผลิตจำ�นวนไม่มาก และใช้เครื่องสมุนไพรจากธรรมชาติ เลือกซื้อผัก ผลไม้สดจากสวน นอกจากนี้ ศูนย์การเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย ปิยะชนก ยังเป็น แหล่งศึกษาดูงานชุมชน มีกจิ กรรมเสวนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็นว่าด้วย การพั ฒ นาชุ ม ชนให้ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเข้ ม แข็ ง น่ า อยู่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในสภาวะสังคม ปัจจุบันมี การพาออกนอกสถานที่ โดยเดินทางไปยังหมู่บ้านสะแกราย เพื่อเยี่ยม ชมกิจกรรมชมชุมชน และเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นโดยชุมชน เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 น. - 17.00 น สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ 0 3438 8207, 08 1858 3754 **ขอขอบคุณ ข้อมูลจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

Nakhon Pathom 111

SBL OK6.indd 111

5/8/2558 BE 10:28 AM


ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา...อู่อารยธรรมชุมชน คนริมน้ำ� เหนือลำ�ท่าจีน ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา คือ แหล่งท่องเทีย่ วชนบท ทีเ่ น้นวิถชี วี ติ ชุมชน ริมน้ำ� ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น คลังสมองภูมิปัญญาและปราชญ์ ชาวบ้าน เพื่อให้สืบทอดสู่อนุชนรุ่นหลังต่อไป แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วแห่ ง นี้ เพี ย งท่ า นเดิ น ทางจากพุ ท ธมณฑล ศูนย์กลางแห่งพระพุทธศาสนา เป็นระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร เมือ่ มาถึง จะได้พบกับวัดลำ�พญา พุทธสถานอันร่มรืน่ ด้วยแมกไม้นานาพันธุท์ งี่ ดงาม บรรยากาศสงบร่มเย็น ซึ่งสามารถแวะมนัสการหลวงพ่อมงคลมาลานิมิต พระพุทธรูปอันศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านลำ �พญาแห่งนี้มาช้านาน ซึ่งประดิษฐาน ในพระอุ โ บสถ และถวายสั ง ฆทานเพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล พร้ อ มกั น นี้ ยังสามารถเลือกชมสินค้าหัตถกรรมท้องถิน่ บริเวณซุม้ ทีเ่ รียงรายกันอย่าง หลากหลายรอบวัดลำ�พญา หรือสนใจจะพักนวดสมุนไพรโบราณ ชมการ สาธิตการสีข้าวซ้อมมือ ซึ่งถือเป็นภูมิปัญญาไทยที่ควรสนับสนุนด้วยการ เลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ข้าวซ้อมมือของกลุ่มแม่บ้านตลาดน้ำ� นอกจากนี้ยัง สามารถย้อนรอยวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำ�ท่าจีน ด้วยการชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน และศึ ก ษาค้ น คว้ า คลั ง สมองภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น กั บ ศู น ย์ บู ร ณาการ วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน เมือ่ เข้าสูบ่ ริเวณริมน้ำ�ของตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา จะได้พบกับเรือสินค้า มากมายที่ชาวบ้านนำ�ผลิตผลทางการเกษตรหลากหลายชนิด มาจำ�หน่าย ด้วยราคาย่อมเยา ทั้งสดและสะอาด ได้บรรยากาศของตลาดน้ำ�โดยแท้จริง นอกจากนี้ยังมีแพอาหาร คาว – หวาน และเครื่องดื่ม ที่ทอดตัวยาวเรียงราย ในแม่ น้ำ � ถึ ง 11 หลั ง ด้ ว ยกั น เป็ น ระยะทางยาวประมาณ 250 เมตร นักท่องเทีย่ วสามารถเลือกรับประทานอาหารได้หลากหลายตามความต้องการ หรือจะนั่งพักผ่อนชมบรรยากาศริมน้ำ� ให้อาหารปลานับแสนตัวบริเวณ หน้าวัด ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความสมบูรณ์และบริสุทธิ์ของธรรมชาติ ตลาดน้ำ � วั ด ลำ � พญา เป็ น แหล่ งอารยธรรมความรุ่ งเรื องของ กิจกรรมบนสายน้ำ� และรอยวิถีไทยในอดีต รวมไปถึงบรรยากาศชนบท ที่ ยั ง คงไว้ ซึ่ ง สภาพความอุ ด มสมบู ร ณ์ ควบคู่ ไ ปกั บ วิ ถี ชี วิ ต แบบดั้ ง เดิ ม ที่ชวนให้น่าศึกษาค้นคว้า และเก็บเกี่ยวประสบการณ์ บนสายน้ำ�ร่วมกัน

ของกินของใช้ ภูมิปัญญาไทยล้ำ�ค่า ชื่นชีวาเมื่อมาเยือน

พักผ่อนล่องคงคา

112

SBL OK6.indd 112

5/8/2558 BE 10:28 AM


ประวัติวัดลำ�พญา

ลำ�พระยา คือ นามเดิมของหมู่บ้านในครั้งที่การปกครอง ยังเป็น อำ�เภอบางปลา มณฑลนครชัยศรี มีประวัตเิ ล่าขานว่า สมัยรัชการที่ 5 เจ้าพระยากรมท่าได้ทำ�การขุดคลองบริเวณท้ายตลาดในปัจจุบัน เพื่อทำ�การจับจองที่นา ปัจจุบันจึงได้ชื่อว่า คลองลำ�พญา ชุ ม ชนแห่ ง นี้ มี ช าวบ้ า น 2 กลุ่ ม อพยพมาตั้ ง บ้ า นเรื อ น คือในปลายสมัยรัชการที่ 3 ชาวมอญได้อพยพมาจากสามโคกมาตัง้ บ้านเรือนทางฝั่งตะวัน ตกของแม่น้ำ �ท่าจีน มีอาชีพเกษตรกรรม และอีกกลุม่ หนึง่ คือ ชาวจีนทีอ่ พยพมาตัง้ บ้านเรือนอยูท่ างฝัง่ ตะวันออก ของแม่น้ำ� มีอาชีพค้าขาย จนกลายเป็นตลาดริมน้ำ�ที่คึกคักในสมัย นั้น จนเมื่อครั้งหนึ่งได้มีเจ้าพระยาจากพระนคร ลงเรือมาบวชที่วัด แห่งนี้จนเต็มลำ�เรือ จึงกลายเป็นตำ�นานแห่งลำ�พญา ชุมชนเล็ก ๆ ริมน้ำ�อันสงบร่มเย็น อยู่ทางตอนได้ของอำ�เภอบางเลน จังหวัด นครปฐม ในปัจจุบัน วัดลำ�พญาแห่งนี้ ซึ่งเป็นศาสนสถานอันเก่าแก่ถือกำ�เนิด ในราวปี พ.ศ. 2400 ( เศษ ) คู่ชุมชนแถวนี้มาช้านานนับร้อยปี มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ และพัฒนาให้สวยงามสงบร่มรื่นท่ามกลาง แมกไม้นานาพันธุ์ ริมฝัง่ แม่น้ำ�ท่าจีน เป็นทีป่ ระดิษฐ์สถานของพระพุทธ รูปอันศักดิส์ ทิ ธิ์ อันได้แก่ หลวงพ่อมงคลมาลานิมติ ซึง่ เป็นทีส่ กั การ บูชาของพุทธศาสนิกชนเป็นจำ�นวนมาก เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั สร้างด้วยศิลาแลง พอกปูนและปิดทองทับไว้ ซึง่ จะมีงานนมัสการใน วันแรม 14 ค่ำ� เดือน 4 ถึง วันขึ้น 1 ค่ำ� เดือน 5 รวม 3 วันเป็น ประจำ�ทุกปี

กิจกรรมล่องเรือ–แพ ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา นอกจากการจั ด กิ จ กรรมของตลาดน้ำ � ไว้ บ ริ ก าร นั ก ท่ อ งเที่ ย วแล้ ว เพื่ อ เพิ่ ม ความน่ า สนใจของการมาเยื อ นของ นักท่องเที่ยว สภาวัฒนธรรมตำ�บลลำ�พญา จึงได้จัดบริการหรือ กิจกรรมเสริมพิเศษขึ้น เพื่อบริการนักท่องเที่ยว คือ กิจกรรมล่อง ลำ�น้ำ�ชมธรรมชาติ กิจกรรมล่องลำ�น้ำ�ชมธรรมชาติ ณ ตลาดน้ำ�วัด ลำ�พญา มีหลายบริการและหลายเส้นทางด้วยกัน เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ ว สามารถมีทางเลือกในการชมบรรยากาศของสายน้ำ�อย่างหลากหลาย ซึ่ ง ตลาดน้ำ � ฯ มีเรือ ล่อ งไปนมัส การหลวงพ่ อเปิ่ น ที่ วั ด บางพระ ซึ่งท่านเป็นเกจิอาจารย์ดังแห่งลุ่มแม่น้ำ�นครชัยศรี มีบริการล่องแพ ชมทิวทัศน์สองฝากฝั่งแม่น้ำ�ท่าจีน ชมวัดสุขวัฒนาราม วัดบางภาษี วัดบางปลา ซึ่งมีโบราณสถาน โบราณวัตถุที่น่าสนใจมากมาย

เวลา-ค่าบริการล่องเรือและแพ 1.เรือพญาท่าจีน – วัดบางพระ รอบแรกเวลา 11.30 น. รอบสอง เวลา 12.30 น. รอบสามเวลา 14.00 น. ค่าบริการผู้ใหญ่ 80 บาท เด็ก 30 บาท 2. เรือกระแชง – วัดบางปลา รอบแรกเวลา 12.00 น. รอบสองเวลา 15.00 น. ค่าบริการ ผู้ใหญ่ 70 บาท เด็ก 30 บาท 3. แพลากจูง –วัดสุขวัฒนาราม รอบแรกเวลา 10.00 น. รอบสอง เวลา 12.30 น. รอบสาม เวลา 15.00 น. ค่าบริการผู้ใหญ่ 60 บาท เด็ก 20 บาท 4. เรือกระแชงวัดบางภาษี – วัดบางษี รอบแรกเวลา 11.00 น. รอบ สองเวลา 13.30 น. ค่าบริการผู้ใหญ่ 60 บาท เด็ก 20 บาท 5. เรือแจวโบราณ บริการตลอดทั้งวัน ค่าบริการท่านละ 25 บาท 6. เรือกระแชงสำ�หรับเหมาลำ�บริการ สอบถามที่ 081-6597371/ 081-7634179 / 081-5721143

ข้อมูลการเดินทางสู่ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา

นักท่องเที่ยวที่สนใจ สามารถเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว หรือเลือกใช้บริการรถตู้สายบางเลน-พาต้าปิ่นเกล้า จอดให้บริการ อยู่ด้านข้างโลตัสสาขาปิ่นเกล้า ซึ่งมีบริการทุก 1 ชั่วโมง ใช้เวลาใน การเดินทางประมาณ 50 นาที ถึงตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา มีลานจอดรถ กว้างขวางเพียงพอสำ�หรับนักท่องเที่ยว ซึ่งบริการจอดฟรี มีเจ้า หน้าที่ตำ�รวจอำ�นวยความสะดวกให้ตลอด ทั้งวัน ติดต่อสอบถาม รายละเอียด ได้ที่ “งานประชาสัมพันธ์ตลาดน้ำ�วัดลำ�พญา” โทรศัพท์ 081-7634179 / 081-6597371 / 081-5721143 / 0890658178 6. เรือกระแชงสำ�หรับเหมาลำ�บริการ สอบถามที่ 081-6597371 / 081-7634179 / 081-5721143

Nakhon Pathom 113

SBL OK6.indd 113

5/8/2558 BE 10:28 AM


ตลาดบางหลวง ร.ศ. 122 ตลาดบางหลวงร.ศ. 122 อยู่ห่างจากตัวอำ�เภอบางเลน จังหวัด นครปฐม ไปประมาณ10กว่ากิโลเมตร เป็นตลาดเก่าแก่ทม่ี อี ายุมากกว่า 100 ปี ที่อนุรักษ์ความดั้งเดิมไว้อย่างสมบูรณ์แบบ ลักษณะจะเป็นบ้านเก่าเหล่าเต็ง ไม้ที่มีมาตั้งแต่ ร.ศ.122 ที่ปัจจุบันแม้ว่าจะมี ความเจริญ เข้ามาสู่ตลาดและ ชุมชนบ้าง แต่ที่นี่ก็ยังคงไว้ซึ่งบรรยากาศโบราณ ที่ใครได้มีโอกาสมาเดิน เที่ยวชม หรือสัมผัสบรรยากาศ ก็จะไม่ลืมเลือนเลยทีเดียว

บางหลวง แหล่งอารยธรรมผสมผสานชาติพันธุ์ ไทย จีน ตลาดบางหลวง เป็นตลาดเก่าแก่ของชุมชมชาวไทยและชาวจีน โดย

เริม่ จากชาวจีนทีอ่ พยพเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานทีบ่ างหลวง ซึง่ เริม่ มีการก่อตัง้ ชุมชน บางหลวงมาตัง้ แต่ประมาณ ร.ศ. 122 อยูร่ มิ น้ำ�แม่น้ำ�ท่าจีน ด้านฝัง่ ตะวันออก (หรือแม่น้ำ�สุพรรณบุร)ี ปัจจุบนั บ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัยจะเป็นบ้านไม้สองชัน้ หัน หน้าเข้าหากันซึ่งมีอายุเก่าแก่กว่า 100 ปี

บ้านบางหลวง ตลาดทุนทางวัฒนธรรม ในตลาดเป็นสถาปัตยกรรมในสมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนสภาพ ตลาดจะเป็นห้องแถวไม้สองชั้น มีห้องจำ�นวน 130 ห้อง ปัจจุบันยัง คงสภาพที่สวยงามและเก่าแก่ไว้อย่างสมบูรณ์ ไม่ว่าจะเป็นร้านยาจีน ที่โด่งดัง ได้แก่ ร้านอ่วยแซโอสถ ร้านมินแซ่ฮึง ร้านทำ�ฟันปลอม โบราณ ร้านทำ�ทองแซ่ฮั้ว ร้านบัดกรี-โลหะ ร้านตีเหล็ก และวิกหนัง เก่าดัง้ เดิม วงดนตรีจนี โบราณ(โน๊ตจีนโบราณ) รวมทัง้ รูปแบบวิถชี วี ติ ที่เรียบง่ายของผู้คนชนบท ตลอดจนประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ ได้ผสมกลมกลืนระหว่างวัฒนธรรมไทยจีนที่สืบทอดตลอดมา จึง ทำ�ให้ตลาดบางหลวงเป็นแหล่งท่องเที่ยวตลาดโบราณแห่งใหม่ของ ชาวจังหวัดนครปฐม

114

SBL OK6.indd 114

5/8/2558 BE 10:28 AM


วัฒนธรรมไทย-จีน ถิ่นบางหลวง

ด้วยความผสมผสานเชื้อชาติไทย จีน ก็มีสถานที่ยึดเหนี่ยว จิตใจ ได้แก่วัดบางหลวง (หลวงพ่อทา หลวงพ่อพะเนียงแตก) โรงเจ ศาลเจ้าแม่ทับทิม โรงเรียนเจี้ยนหัว (สอนภาษาจีน) อีกทั้งยังรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย และจีนอย่างเข้มแข็ง ซึง่ มีประเพณีเด่นเป็น อัตลักษณ์ของชุมชน คือ ประเพณีแห่ธงอวยพรฉลองตรุษจีนชาวบาง หลวง ในเทศกาลตรุษจีน ที่สืบทอดมายาวนาน

ตลาดบางหลวงร.ศ. 122 ได้รับสมญานามว่า “ดินแดนแห่งขนมหวานอาหารอร่อย” เนือ่ งจากมีอาหารท้องถิน่ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของชาวบางหลวง ซึง่ มีรสชาติ อร่อยแบบหาตัวจับยาก อาทิ ชุนเปี๊ยะ ขนมสูตรจีนโบราณที่ทำ�เองสด ใหม่ทุก ๆ วัน ,ก๋วยจั๊บน้ำ�ใส ,หมูต้มฉีกใส่ “คาเซา” สูตรเฉพาะ ,ข้าวเกรียบปากหม้อแป้งเหนียวนุ่ม มีไส้ถึง 5 อย่างให้เลือก ประกอบ ด้วย ไส้หวาน หน่อไม้ กุยช่าย ผักกะเฉด และถั่วฝักยาว ,เป็ดพะโล้เนื้อ นุม่ รสดี สูตรจากเมืองจีน ,ขนมจีบแป้งเหนียวนุม่ มีไส้หน่อไม้ ผักกุยช่าย กุ้งแห้ง ,ก๋วยเตี๋ยวหมูตุ๋น เด่นตรงน้ำ�ซุปที่ปรุงได้ที่ด้วยเครื่องเทศตาม สูตรเฉพาะ ,หมูสะเต๊ะพร้อมน้ำ�จิม้ เลิศรส และอาหารพืน้ ถิน่ รสชาติดงั้ เดิม ของชุมชนอีกหลายอย่าง

วันเที่ยวตลาด ตลาดเก่าบางหลวง ร.ศ. 122 เปิดตัง้ แต่เวลา 09 .00 - 17.00 น. ทุกวันเสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติม โทร. 0-3439 9310, 081-9109683, 081-7575133, 086-7988110

การเดินทาง จากจังหวัดนครปฐม ใช้เส้นทางสายมาลัยแมน (นครปฐมสุพรรณบุร)ี ผ่านอำ�เภอกำ�แพงแสน ผ่านมหาวิทยาลัยเกษตรฯ วิทยาเขต กำ�แพงแสน ผ่านทางเข้า โรงเรียนการบินกำ�แพงแสน กลับรถที่แยกเข้า ท่าเสา เข้าถนนกระตีบ-บางหลวง (สาย 3231) อีก 15 กิโลเมตร ถึง ตลาดเก่าบางหลวง ระยะทางรวม 55 กิโลเมตร มีรถตู้ให้บริการ โดย วิ่งจากสนามหลวง ถึงตลาดเก่าบางหลวง ค่าโดยสาร 70 บาท มีรถ ออกทุก 40 นาที คันแรกออกจากสนามหลวงเวลา 06:30 น. และคัน สุดท้ายออกจากตลาดเก่าบางหลวงเวลา 16.45 น.

Nakhon Pathom 115

SBL OK6.indd 115

5/8/2558 BE 10:28 AM


“สวนนกยูงสามพราน” นับเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อี ก แห่ ง หนึ่ ง ที่ มี ค วามสวยงามและใหญ่ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย ภายในสวนมีนกยูงอินเดียทีส่ วยงามมากกว่า 5,000 ตัว ทางสวนสัตว์ของเราเลี้ยงสัตว์ด้วยขนมปังและท่าน ยั ง ไ ด้ สั ม ผั ส กั บ สั ต ว์ ต่ า ง ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด รวมถึงยังมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเป็นธรรมชาติ เหมาะแก่การถ่ายรูปได้เป็นอย่างดี

เชิญแวะเข้ามาเยี่ยมชมและสัมผัสด้วยตัวท่านเอง สนใจติดต่อสอบถามรายละเอียด สวนนกยูงสามพราน 88 ตำ�บลบ้านใหม่ ซอยวัด เทียนดัดอ้อมใหญ่ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม tel. 081-1999-666,086-0000-433 เว็บไซต์ www.peacockpark.net

SBL OK6.indd 116

5/8/2558 BE 10:28 AM


SBL OK6.indd 117

5/8/2558 BE 10:29 AM


โต๊ะจีนนครปฐม

สลิดโภชนา

วิสูตรโภชนา

98/2 หมู่ 5 ตำ�บลตาก้อง อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 202402, 089 9157172

2 หมู่ 2 ตำ�บลนครปฐม อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 267232, 081 9423520

แป๊ะโภชนา

สมเกียรติโภชนา 209 ถนนคึกฤทธิ์อนุสรณ์ ตำ�บลบ่อพลับ อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 214353, 081 9436094

SBL OK6.indd 118

15 ถนนทหารบก ซอย 14 ตำ�บลบ่พลับ อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 214509, 081 4387963

5/8/2558 BE 10:29 AM


โต๊ะจีนนครปฐม

พรชัยโภชนา ท่าตำ�หนัก 42/1 หมู่ที่ 4 ตำ�บลนท่าตำ�หนัก อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โทร. 034 331935, 081 8404160

เมี๊ยกโถชนา 72/2 หมู่ที่ 1 ตำ�บลขุนแก้ว อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โทร. 081 9956696

SBL OK6.indd 119

สมัครอินเตอร์กรุ๊ป 72/1 หมู่ที่ 1 ตำ�บลท่ากระชับ อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โทร. 034 332022, 081 4069878

สุถาวัลย์โภชนา 72/3 หมู่ 1 ตำ�บลขุนแก้ว อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โทร. 081 6299261

5/8/2558 BE 10:29 AM


เส้เส้นทางความเป็ นทางความเป็นมา นมา

นครปฐมเมือองโบราณ งโบราณ รากฐานแห่งพระพุทธศาสนาในไทย เป็นนดิดินนแดนที แดนที่ ม่ มี ปี ประวั ระวัตติ คิ ความเป็ วามเป็นนมายาวนาน มายาวนาน ย้ย้ออนหลั นหลังงไปถึ ไปถึงงสมั สมัยยก่ อ น “นครปฐม” เป็ ประวัติศาสตร์ตตอนปลายยุ งสังงสัคมเกษตรกรรม) หรือเมื ประวั อนปลายยุคคโลหะ โลหะ(ภายหลั (ภายหลั งคมเกษตรกรรม) หรื่ออ2,000-3,000 เมื่อ 2,000-ปี มาแล้ว และมี พัฒวนาการทางประวั ติศาสตร์เรืต่อิศยมาตามลำ�ดั บจวบจนปั บัน จจุบัน 3,000 ปี มาแล้ และมีพัฒนาการทางประวั าสตร์เรื่อยมาตามลำ �ดัจบจุจวบจนปั

120

SBL OK6.indd 120

5/8/2558 BE 10:29 AM


สมัยสุวรรณภูมิ ชาวอิ น เดี ย จากชมพู ทวี ป ได้ เ ดิ น ทางข้ ามมหาสมุ ทรอิ น เดี ย เข้ามาสู่แหลมอินโดจีน เพื่อติดต่อค้าขายกับชาวพื้นเมืองในดินแดน สุวรรณภูมิ ซึ่งครอบคลุมดินแดนที่เป็นประเทศไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว และมาเลเซีย โดยในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 รัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช (ราว พ.ศ. 236) ได้ส่งสมณทูต 2 องค์ คือ พระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดียมาเผยแพร่ พระพุทธศาสนา ซึ่งมีข้อสันนิษฐานว่าศูนย์กลางของการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา คือจังหวัดนครปฐมของไทย เนือ่ งจากพบหลักฐาน ทางโบราณคดีที่สำ�คัญ เช่น พระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักร กวางหมอบ ในขณะที่ พ ม่ า เอง ก็ มี ก ารสั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเป็ น เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า

สมัยทวารวดี นครปฐมได้รับอิทธิพลทางด้านศาสนา ภาษา วัฒนธรรม และศิ ล ปะมาจากชาวอิ น เดี ย ทั้ ง ศิ ล ปะแบบอมราวดี แบบคุ ป ตะ แบบปาละ มาผสานกับศิลปะพื้นเมืองจนกลายเป็นศิลปกรรมที่มีรูป แบบเฉพาะ ที่เรียกว่า “ศิลปะแบบทวารวดี” สังเกตได้จากหลักฐาน ทางโบราณคดีซึ่งพบบริเวณเมืองนครปฐมโบราณเป็นจำ�นวนมาก เช่ น เจดี ย์ จุ ล ปะโทน วั ด พระเมรุ พระปฐมเจดี ย์ โดยเฉพาะ เจดียจ์ ลุ ปะโทน และวัดพระเมรุ เป็นศิลปะแบบทวารวดี ซึง่ รับอิทธิพล วัฒนธรรมอินเดียสมัยคุปตะและหลังคุปตะ นอกจากนั้นยังพบศิลา ธรรมจั ก รจำ � นวนมาก พระพุ ท ธรู ป พระพิ ม พ์ ซึ่ ง หลั ก ฐาน อันล้ำ�ค่าเหล่านี้ได้เก็บไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ นครปฐมในสมัยทวารวดี มีกษัตริย์ปกครองหลายพระองค์ จากการค้นพบซากปราสาทราชวังอยูต่ รงเนินปราสาท ในพระราชวัง สนามจันทร์ เคยทำ�เงินตราขึ้นใช้เองหลายรูปแบบ เช่น เงินตรา รูปสังข์ รูปปราสาท ตราแพะ ตราปรูณกลศ(หม้อน้�ำ ทีม่ นี �้ำ เต็ม) ฯลฯ ศาตราจารย์ยอร์ช เซเดส ได้อ่านจารึกที่เงินตราแล้วแปลได้ความว่า

บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี จึงเป็นหลักฐานยืนยันได้ว่า มี อาณาจักรทวารวดีจริง และมีพระมหากษัตริย์ปกครองแน่นอน ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11-12 เป็นยุคที่อาณาจักรทวารวดี เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในภาคกลางของประเทศไทย จากนั้นก็เข้าสู่ยุค เสื่อม โดยอาณาจักรขอมเริ่มมีอำ�นาจและแพร่ขยายอิทธิพลมายังภาค กลาง โดยพบหลักฐานทางโบราณคดีของขอมปรากฏอยู่หลายแห่ง เช่ น ลวปะ (ลพบุ รี ) ชยปุ ร ะ (ราชบุ รี ) วั ช ระปุ ร ะ (เพชรบุ รี ) สุ ว รรณปุ ร ะ (สุ พ รรณบุ รี ) ศรี ช ยสิ ง ห์ ปุ ร ะ (ปราสาทเมื อ งสิ ง ห์ กาญจนบุ รี ) รวมถึ ง เมื อ งนครปฐมด้ ว ย หลั ก ฐานที่ สำ � คั ญ คื อ พระประโทนเจดีย์ ซึง่ สันนิษฐานว่า ยอดเดิมคงหักพังเสียหาย เมือ่ ขอม เข้ามามีอำ�นาจจึงสร้างยอดปรางค์ขึ้นแทนส่วนที่ชำ�รุดไป จึงกลายเป็น เจดีย์ยอดปรางค์ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 อาณาจักรขอมเสื่อม อำ�นาจ และหลังจากทีพ ่ ระองค์สนิ้ พระชนม์ในปี พ.ศ.1762 บรรดาเมือง ขึ้นและเมืองที่ตกอยู่ในอิทธิพลของขอม ต่างก็แยกตัวเป็นอิสระ และ สร้างศูนย์อ�ำ นาจแห่งใหม่ขึ้นแทนศูนย์อ�ำ นาจของขอม Nakhon Pathom 121

SBL OK6.indd 121

5/8/2558 BE 10:29 AM


สมัยกรุงสุโขทัย อาณาจักรสุโขทัยก่อตั้งขึ้นในปลายพุทธศตวรรษที่ 18 แต่ไม่มี ชื่อนครปฐมปรากฏอยู่ในศิลาจารึก (เนื่องจากชื่อนครปฐมเพิ่งตั้งขึ้น ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์) แต่ดินแดนซึ่งเรียกว่านครปฐมในปัจจุบัน ก็ อ ยู่ ใ นอำ � นาจการปกครองของกรุ ง สุ โ ขทั ย ในรั ช สมั ย พ่ อ ขุ น รามคำ�แหงด้วยเช่นกัน จากศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 2 ได้กล่าวถึง พระเถระผู้เป็นหลาน พ่อขุนผาเมืองชื่อ พระศรีศรัทธาราชจุฬามณี ได้จารึกแสวงบุญ ไปยังลังกาทวีป เมือ่ ปี พ.ศ.1873 หลังจากนัน้ ท่านได้ประกอบมหากุศล มากมาย ทีส่ �ำ คัญคือการปฏิสงั ขรณ์พระบรมธาตุเจดีย์ ทีเ่ รียกตามขอม ว่า พระธม ซึ่งหมายถึง สถูปพระบรมธาตุขนาดมหึมา โดยที่พระมหาเจดีย์องค์นี้ปรักหักพังอยู่กลางป่า ณ เมืองเก่า ที่พระศรีศรัทธาฯ เรียกว่า นครพระกฤษณ์ ซึ่งมีผู้ให้ความเห็นว่าคือ เมืองนครปฐม โบราณ ในครั้งนั้นได้บูรณะพระบรมธาตุจากองค์เดิมสูง 95 วา เพิ่ม เป็น102 วา

สมัยกรุงศรีอยุธยา นั บ ตั้ ง แต่ ส มั ย พระเจ้ า อู่ ท อง (พ.ศ.1893-1912) จนถึ ง สมัยพระยอดฟ้า (พ.ศ.2089 - 2091) เป็นเวลาประมาณ 200 ปี นครปฐมยั ง ไม่ มี ฐ านะเป็ น เมื อ ง จนถึ ง รั ช สมั ย สมเด็ จ พระมหาจักรพรรดิ์ (พ.ศ.2090 - 2111) จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งเมืองใหม่

ขึ้นสามเมือง หนึ่งในสามเมืองนั้นคือ เมืองนครชัยศรี ตามชื่อเมือง โบราณ เมืองนครชัยศรีที่สร้างใหม่นี้ เป็นเมืองขนาดเล็ก ตั้งอยู่ริม แม่น้ำ�ท่าจีน ในเขตตำ�บลท่านา อำ�เภอนครชัยศรี อยู่ห่างจากเมือง เดิมประมาณ 10 กิโลเมตร มีแม่น้ำ�นครชัยศรี หรือแม่น�้ำ ท่าจีนไหล ผ่าน มีฐานะเป็นเมืองจัตวา เป็นเมืองในเขตปกครองชัน้ ใน หรือเมือง ในวงราชธานี ผู้รั้งเมืองมีราชทินนามว่า ออกพระสุนทรบุรีศรีพิ ไชย-สงคราม

สมัยกรุงธนบุรี ในสมัยกรุงธนบุรี มีการเรียกเจ้าเมืองว่า พระยานครชัยศรี แสดงว่ามีความสำ�คัญมากขึน้ ในสมัยกรุงธนบุรเี ส้นทางเดินทัพของ พม่าทางด้านทิศตะวันตก จะผ่านเมืองนครชัยศรีกอ่ นจะเข้ากรุงธนบุรี กองทัพพม่าได้ยกเข้ามาทางเส้นทางนีส้ องครัง้ (พ.ศ.2310 - 2317) สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ทรงยกทัพจากกรุงธนบุรี ไปรับศึกสองครัง้ โดยได้เสด็จไปทางเรือตามคลองด่าน หรือคลองมหาชัย ซึง่ เป็นคลอง ทีเ่ ชือ่ มระหว่างคลองบางกอกใหญ่ กับแม่น้ำ�ท่าจีน เมืองสมุทรสาคร

สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงบสุข และได้เริ่มติดต่อกับชาติตะวันตก สินค้า

122

SBL OK6.indd 122

5/8/2558 BE 10:29 AM


ทีส่ ง่ ออกมีมลู ค่าสูงสุดคือ น้ำ�ตาลทราย ซึง่ มีแหล่งผลิตทีส่ ำ�คัญอยู่ ในบริเวณลุ่มแม่น้ำ�ท่าจีน แขวงเมืองนครชัยศรี ระหว่างปี พ.ศ. 2353 - 2391 ทำ�ให้ชุมชนในย่านนี้ขยายใหญ่โต มีชาวจีนอพยพ เข้ามาอยู่เป็นจำ�นวนมาก นอกจากนี้ยังมีชาวลาวและชาวเขมร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งยัง ทรงผนวชอยู่ ได้เสด็จธุดงค์ไปพบพระปฐมเจดีย์ ทรงเห็นว่าเป็น เจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และประเทศใกล้เคียง เมื่อพระองค์ เสด็จขึ้นครองราชย์ จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์ โดยให้ช่างทหารทำ�แบบเจดีย์ขึ้นใหม่แบบลังกา มีรูปทรงกลม ไม่มี ฐานทักษิณ สูง 17 วา 2 ศอก ครอบเจดีย์องค์เดิม ต่อมา เมื่อปี พ.ศ.2403 เจดีย์ที่สร้างสวมทับองค์เดิมได้พัง ทลายลงมาหลังจากเกิดฝนตกใหญ่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั จึงโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำ เนินการบูรณะพระปฐมเจดียค์ รัง้ ใหญ่ และโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังนครปฐม หรือ ปฐมนคร อยูท่ าง ด้านทิศตะวันออก ติดกับบริเวณพระปฐมเจดีย์ สำ�หรับเป็นที่ประทับ เวลาเสด็ จ ฯ ทรงงานและนมั ส การพระปฐมเจดี ย์ งานบู ร ณะ พระปฐมเจดี ย์ แล้ ว เสร็ จ ในตอนต้ น รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้มกี ารประกอบพิธยี กยอดพระปฐมเจดีย์ เมื่อปี พ.ศ.2413 ยอดพระเจดีย์หล่อด้วยทองเหลือง เป็นรูปยอด นภดล แบบยอดพระปรางค์องค์เดิม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชดำ�ริให้ทำ�ทางรถไฟสายใต้ขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2443 เมื่อทาง รถไฟเสร็จแล้ว โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองนครชัยศรีจากตำ�บลท่านา มาตัง้ ทีบ่ ริเวณพระปฐมเจดีย์ และได้วางผังเมืองใหม่ โดยสร้างอาคาร สถานที่ต่างๆ ขึ้นหลายแห่ง ตลอดจนตัดถนนขึ้นใหม่อีกหลายสาย

ประชาชนจึงอพยพมาอยูท่ เี่ มืองใหม่มากขึน้ ตามลำ�ดับ แต่ยงั คงเรียกว่า “เมืองนครชัยศรี” รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปีพ.ศ. 2450 ทรงมีพระราชดำ�ริที่จะสร้างที่ประทับที่เมืองนครปฐม บริเวณ สระน้ำ�จันทร์ ซึ่งเป็นสระน้ำ�โบราณอยู่ใกล้กับเนินปราสาท ห่างจาก องค์พระปฐมเจดีย์ไปทางทิศตะวันตก พระราชทานชื่อว่า พระราชวัง สนามจันทร์ โดยพระองค์ได้เสด็จฯ มาประทับพระราชวังสนามจันทร์ อยู่เสมอ นอกจากจะเป็นที่แปรพระราชฐานแล้ว ยังใช้เป็นที่ว่าราชการ เลี้ ย งรั บ รองพระราชอาคั น ตุ ก ะอย่ า งเป็ น ทางการ ทั้ ง ชาวไทยและ ชาวต่ า งประเทศ ทำ � ให้ เ มื อ งนครชั ย ศรี เ จริ ญ ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว ในปี พ.ศ.2546 จึงโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อ “เมืองนครชัยศรี” เป็น “เมืองนครปฐม” แต่ตัวมณฑลยังคงเรียกว่ามณฑลนครชัยศรี อยู่ตามเดิม จนกระทั่งยกเลิกมณฑลในรัชกาลที่ 7 จากอดีตจวบจนปัจจุบัน จังหวัดนครปฐมยังคงความสำ�คัญ ทั้ง ในฐานะที่ “เป็นดินแดนแห่งแรกของการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในไทย” เมือ่ สองพันกว่าปีลว่ งมาแล้ว และในปัจจุบนั นครปฐมยังมี “พุทธมณฑล ซึ่งได้รับการยกย่องให้เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาโลก” อีก ด้วย สมควรอย่างยิ่งที่อนุชนชาวนครปฐมและชาวไทย จะร่วมกันภาค ภูมิใจในอดีตอันรุ่งเรือง และร่วมกันอนุรักษ์มรดกอันทรงคุณค่านี้ไว้ ให้คงอยู่คู่ผืนแผ่นดินไทยสืบไป

ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก “พระพุทธศาสนาในประเทศไทย” www.dhammathai.org “ประวัตคิ วามเป็นมาของนครปฐม” www.krubanchang.com “อารยธรรมทวารวดีกับจังหวัดนครปฐม” www.su.ac.th “เมืองเก่าของไทย” www.heritage.thaigov.net Nakhon Pathom 123

SBL OK6.indd 123

5/8/2558 BE 10:29 AM


เส้ น ทางพบ อำ�เภอเมืองนครปฐม สวัสดีครับ วันนีผ้ มนายชัยภัค สุนทรหงส์ นาย อำ�เภอเมืองนครปฐม ขอแนะนำ�เมืองนครปฐม ที่เป็น แหล่งอารยธรรม มีประวัติความเป็นมานับร้อยปี นครปฐม เป็นเมืองเก่าแก่ มีความเจริญรุง่ เรือง มานับตัง้ แต่สมัยสุวรรณภูมิ และเป็นเมืองราชธานีสำ�คัญ ในสมัยทวารวดี นครปฐมเป็นแหล่งเผยแพร่อารยธรรม จากประเทศอินเดีย และเป็นศูนย์กลางของความเจริญ เมื่อครั้งสมัยก่อน นครปฐมมีชื่อเดิมว่า “นครไชยศรี” ซึง่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ โปรดให้ เ ปลี่ ย นชื่ อ จากเมื อ ง “นครไชยศรี ” เป็ น “นครปฐม”

“นายชัยภัค สุนทรหงส์” นายอำ�เภอเมืองนครปฐม อำ�เภอเมืองนครปฐม เป็นอำ�เภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เดิม ชื่อ อำ�เภอพระปฐมเจดีย์ ได้มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ให้เปลี่ยนชื่ออำ�เภอจาก “อำ�เภอพระปฐมเจดีย์” เป็น “อำ�เภอเมืองนครปฐม” เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2546 ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันตกของจังหวัด มีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 24 ตำ�บล ท้องที่อำ�เภอเมืองนครปฐม ประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 29 แห่ง แบ่งเป็นเทศบาล 8 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำ�บล 21 แห่ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ วนจั ง หวั ด 1 แห่ ง ลั กษณะภู มิ ป ระเทศของจั ง หวั ด นครปฐมโดยทั่วไปมีลักษณะเป็นที่ราบ ไม่มีภูเขาและป่าไม้ นครปฐมถือ เป็นเมืองการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และประกอบธุรกิจ นครปฐมมี พืน้ ที่ 417.44 ตารางกิโลเมตร จำ�นวนประชากร 276,702 คน และความ หนาแน่น 662.85 คน/ตารางกิโลเมตร นายอำ�เภอเมืองนครปฐม คือ หลวงพลภักดี นครปฐมมีพระประจำ�บ้าน คือ พระร่วง มีชอ่ื เต็ม “พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ธรรโมภาส มหาวชริราวุธปูชนียบพิตร” เป็นพระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจำ�จังหวัดนครปฐม และเป็นทีเ่ คารพบูชาของพุทธศาสนิกชน ชาวไทยทั่วไป 124

SBL OK6.indd 124

5/8/2558 BE 10:29 AM


แหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ การทีน่ ครปฐมเป็นเมืองทวารวดี หรือเป็นเมืองโบราณ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วชอบเดิน ทางมาท่องเทีย่ ว โดยมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วโบราณ ดังนี้ 1.พพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ ตัง้ อยูภ่ ายในบริเวณวัดพระปฐมเจดีย์ เป็นทีเ่ ก็บรวบรวมและรักษาโบราณวัตถุหา ยาก ตัง้ แต่สมัยทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 ปัจจุบนั อยูใ่ นความดูแลของกรม ศิลปากร ภายในแบ่งการจัดการแสดงออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ประวัตคิ วามเป็นมาของนครปฐม การตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนตัง้ แต่สมัย ก่อนประวัตศิ าสตร์ ส่วนที่ 2 เสนอเรือ่ งราวด้านศาสนาและความเชือ่ ของชุมชนทวารวดีในนครปฐม สะท้อนผ่านงานศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรมประเภทต่าง ๆ เช่น พระพุทธรูป ภาพสลักเล่าเรือ่ งพุทธประวัติ ภาพปูนปัน้ เรือ่ งชาดกประดับฐานเจดีย์ และธรรมจักร ส่วนที่ 3 เรือ่ งราวของนครปฐมหลังความรุง่ เรืองสมัยทวารวดี จนถึงสมัยที่ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ฯ โปรดเกล้าให้ปฏิสงั ขรณ์องค์พระปฐมเจดีย์ และเป็นงานสำ�คัญที่ สืบเนือ่ งต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ซึง่ เป็นช่วงทีน่ ครปฐมได้ รับการยกฐานะขึน้ เป็นมณฑลนครชัยศรี พิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติพระปฐมเจดีย์ มีบทบาทในการเก็บรักษามรดกอันมี คุณค่าทั้งด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของชาติ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาของ ประชาชนทัว่ ไป

2.องค์พระปฐมเจดีย์ นับว่าเป็นปูชนียสถานทีเ่ ก่าแก่ทส่ี ดุ แห่งหนึง่ ใน ประเทศไทย องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้า เป็นทีเ่ คารพบูชา สั ก การะของบรรดาพุ ท ธศาสนิ ก ชนทั่ ว โลก องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นเจดียใ์ หญ่รปู ระฆังคว่ำ�ปากผาย มหึมา สูงจากพืน้ ดินถึงยอดมงกุฎ 120.45 เซนติเมตร ฐานโดยรอบวัด 235.50 เมตร โครงสร้างเป็นซุง รัดด้วยโซ่เส้นมหึมาก่ออิฐถือปูน ประดับด้วยกระเบือ้ ง ปูทบั ประกอบด้วย วิหาร 4 ทิศ กำ�แพงแก้ว 2 ชัน้ กำ�แพงแก้วชัน้ ในโดยรอบ 912 เมตร เสาหารมี 16 ต้น ซุม้ ระฆังบนลานองค์พระปฐมเจดีย์ 24 ซุม้ ปล้องไฉน ทัง้ หมด 27 ป้อง Nakhon Pathom 125

SBL OK6.indd 125

5/8/2558 BE 10:30 AM


3.พระราชวังสนามจันทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 4 ตารางวา สร้างขึ้นโดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สิ่งก่อสร้างพระที่นั่งในพระราชวัง สนามจันทร์ คือ 1. พระที่นั่งพิมานปฐม 2. พระที่นั่งอภิรมย์ฤดี 3. พระที่นั่ง วัชรีรมยา 4. พระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ 5. พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศไนย มีพระตำ�หนัก คือ พระตำ�หนักชาลีมงคลอาสน์ เดิมชื่อ พระตำ�หนักเหล ซึ่งตั้งตามนามของย่าเหล สุนัขทรงเลี้ยงในราชการ 2. พระตำ�หนักมารีราช รัตบัลลังก์ 3. ตำ�หนักทับแก้ว 5. ตำ�หนักทับขวัญ ในเขตพระราชวั ง สนามจั น ทร์ มี ป ระติ ม ากรรมคู่ พ ระราชวั ง คือ อนุสาวรียย์ า่ เหล เป็นอนุสาวรียท์ พ ่ี ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงย่าเหลสุนัขทรงเลี้ยง โดยประดิ ษ ฐานไว้ ห น้ า พระตำ � หนั ก ชาลี ม งคลอาสน์ เทวาลั ย คเณศร์ นั บ ว่ า เป็ น เทพเจ้ า แห่ ง ความรู้ เป็ น ผู้ มี ปั ญ ญาเป็ น เลิ ศ ปราดเปรื่ อ ง ในศิลปวิทยาทุกแขนง และเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลแห่งพระราชวังสนามจันทร์ พระบรมราชานุ ส าวรี ย์ พ ระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เป็นพระบรมรูปอยู่ในพระอิริยาบถประทับนั่ง ฉลองพระองค์ชุดลูกเสือป่า ราบหลวงอย่างเก่าแบบทรงม้า เป็นฝีมือของช่างกรมศิลปากร โรงละคร ที่สร้างขึ้นข้างพระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2461 เป็นโรง ละครที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นโดยโปรด ที่จะมาซ้อมละครอยู่ทุกวันและมีการละเล่นทุกๆ วัน

126

SBL OK6.indd 126

5/8/2558 BE 10:30 AM


ของดีประจำ�จังหวัดนครปฐม

4.พระประโทนเจดีย์ เป็นวัดทีส่ ร้างขึน้ ในสมัยที่อาณาจักรทวารวดีรุ่งเรือง ทางด้านศิลปวัตถุและสถาปัตยกรรม จากการขุดค้นทางโบราณคดี ได้พบ รูปกวางหมอบศิลาฝังอยู่ในแผ่นดิน อิฐโบราณจำ�นวนมาก กวางหมอบ ศิลานั้นเป็นศิลปะแบบทวาราดี ที่ทำ� ตามแบบในอินเดีย ครั้งสมัยพระเจ้า อโศกมหาราช นอกจากนี้ ยั ง มี หลักฐานที่ยืนยันความเป็นมาของวัด พระประโทนเจดีย์ ควบคู่กับความเป็น มาของอาณาจั ก รทวารวดี คื อ เหรียญเงิน 2 เหรียญ ความหมาย ของเหรียญ คือ “บุญของพระราชา แห่งศรีทวารดี”

จังหวัดนครปฐมมีของดีชื่อดังประจำ�จังหวัด ได้แก่ ข้าวหลาม ส้มโอขาวน้ำ�ผึ้ง และทองดี โต๊ะจีน ข้าวหลาม เป็นที่นิยมและเป็นที่รู้จักอย่างมากของคนทั่วไป และนักท่องเที่ยว ที่เดินทางมานครปฐม ภายในช่วงหลังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จมา ทอดพระเนตรการทำ�ข้าวหลาม ทำ�ให้ขา้ วหลามขายได้มากกว่ารายอืน่ ๆ ในยุคนัน้ เรี ย กว่ ายุ ค กลางของข้ าวหลามที่ มี อายุ ตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2500 เป็น ต้น มา ยุคนี้เป็นยุคทองของข้าวหลาม ส้มโอขาวน้ำ�ผึ้งและทองดี เป็นที่ต้องการของตลาดทั่วไป นับเป็นพืชเศรษฐกิจ ทีส่ ร้างรายได้ให้กบั เกษตรกร เนือ่ งจากส้มโอพันธุข์ าวน้ำ�ผึง้ มีรสชาติอมเปรีย้ ว อมหวาน เนื้อแน่นน้ำ�หนักดี เนื้อแห้งถูกคอคนไทย ต่างชาติก็นิยม นำ�ไปไหว้เจ้า ก็เป็นมงคล บริโภคก็อร่อยติดใจ โต๊ ะ จี น อาจจะเรี ย กได้ ว่ า เป็ น สิ น ค้ า ที่ ขึ้ น ชื่ อ ที่ สุ ด ของนครปฐม ด้ ว ยเมนู ที่หลากหลายและรสชาติดีเยี่ยม บริการที่คุ้มค่ากับราคา จึงทำ�ให้หลากหลาย พื้นที่ของประเทศ เรียกใช้บริการจัดเลี้ยงโต๊ะจีนนครปฐมกันเป็นจำ�นวนมาก ในสิ่งที่ผมได้นำ�กล่าวข้างต้น ยังมีอีกหลายอย่างที่ยังไม่ได้กล่าวถึง จึงขอชวนเชิญท่านมาเทีย่ วพักผ่อนในเมืองทวารวดี ดินแดนอารยธรรมโบราณ ทีม่ ที งั้ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว และอาหารการกินหลากหลาย ซึง่ เป็นของดีทขี่ นึ้ ชือ่ แห่ง นครปฐม

Nakhon Pathom 127

SBL OK6.indd 127

5/8/2558 BE 10:30 AM


เส้นทางพบ

เทศบาลเมือง (อ.เมืองนครปฐม)

นายประพัฒน์ ริ้วทองชุ่ม นายกเทศมนตรีเมืองนครปฐม

เทศบาลเมืองนครปฐม “ชุมชนเมืองน่าอยู่ สาธารณูปโภค พร้อมพลัน สุขภาพดีกันถ้วนหน้า” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาเทศบาลเมื อ งนครปฐม ซึ่ ง มี สำ�นักงานเทศบาลตั้งอยู่เลขที่ 117 หมู่ที่ 2 ตำ�บลนครปฐม อำ�เภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันมี นายประพัฒน์ ริ้วทอง ชุ่มดำ�รงตำ�แหน่งนายกเทศมนตรีเมืองนครปฐม

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลเมื อ งนครปฐม มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 22.2 ตร.กม. หรือประมาณ 13,875 ไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน สภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มดินดำ�เหมาะแก่การเกษตรกรรมเป็น พืน้ ทีก่ งึ่ เมืองกึ่งชนบทเหมาะแก่การปลูกสร้างที่อยู่อาศัยเลี้ยงสัตว์ ทำ�การเกษตรเพราะเป็นพื้นที่ที่อยู่ในเขตชลประทานโดยอาศัย แหล่ ง น้ำ � ในคลองชลประทานที่ ไ หลผ่ า นในการทำ � การเกษตร ได้ตลอดปี

ในเขตเทศบาลเมืองนครปฐมมีครัวเรือน 5,385 ครัวเรือน มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 12,590 คน (ทีม่ า สำ�นักบริหารการทะเบียน อำ�เภอเมืองนครปฐม ณ เดือน มกราคม 2558) ประชากร ประกอบอาชีพหลากหลาย อาทิ ผู้ประกอบการโต๊ะจีน, รับจ้างโต๊ะ จีน, รับจ้างทัว่ ไป, ทำ�สวน, เลีย้ งสัตว์, ค้าขาย, รับราชการ ,ประกอบ ธุรกิจขนาดเล็ก และทำ�การเกษตร

ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา ผลการพัฒนาเทศบาลเมืองนครปฐมในปีทผี่ า่ นมา สามารถ แก้ไขปัญหาและความต้องการของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ 1.ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และการคุม้ ครองทางสังคมมีการดำ�เนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติ ด ในพื้ น ที่ , มี ก ารส่ ง เสริ ม การจั ด สวั ส ดิ ก ารให้ แ ก่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ในเขตพื้นที่, มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำ�คัญ, มีการเข้าร่วม ดูแลสุขภาพประชาชน ตามนโยบายหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2. ยุ ท ธศาสตร์ การพัฒ นาด้ านการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อส่งเสริมและพัฒนา การศึกษาศาสนา วัฒนธรรม กีฬาและนันทนาการ ของเด็ก เยาวชน และประชาชนอย่างต่อเนื่อง

128

SBL OK6.indd 128

5/8/2558 BE 10:30 AM


3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ มีการ นำ � เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ที่ ทั น สมั ย มาใช้ ใ นการทำ � งานมากขึ้ น เช่น ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจน การให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตตำ�บล 4. ยุท ธศาสตร์ การพัฒ นาด้านการบริ หารจั ด การน้ำ � มีการขุดเจาะและซ่อมแซมบ่อน้ำ�บาดาลและวางท่อเมนประปาเพิ่ม ขึ้น รวมทั้งมีการก่อสร้างระบบประปาผิวดินขนาดใหญ่เพื่อให้ ประชาชนได้มนี �้ำ สะอาดใช้ในการอุปโภคบริโภคอย่างทัว่ ถึง มีการ ขุดลอกคลองระบายน้ำ�และวางท่อระบายน้�ำ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาเมืองและชุมชน มีการปรับปรุงซ่อมแซมผิวจราจรให้มีสภาพจราจรที่ดี ไม่เป็น หลุมเป็นบ่อ ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมวางท่อระ บายน้ำ�คสล. เพื่อการคมนาคมที่สะดวกและปลอดภัยพร้อมรวม ทั้งยังป้องกันปัญหาน้ำ�ท่วมอีกด้วย การติดตั้งกล้อง CCTV และซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะตามถนนทุกสายในตำ�บล เพื่อป้องกันการก่ออาชญากรรมในเวลากลางคืน 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจชุมชนโครงการ ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ OTOP โครงการส่งเสริมการทำ�น้ำ�หมัก ชีวภาพ ฝึกอบรมอาชีพให้แก่ผู้พิการและอุดหนุนเงินให้แก่กลุ่ม สตรีตำ�บลนครปฐม 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมมีการอุดหนุนเงินให้แก่คณะกรรมการหมูบ่ า้ น เพือ่ ให้ ดูแลรักษาความสะอาดแหล่งน้�ำ การจัดเก็บขยะมูลฝอยไม่ให้มกี าร ปริมาณของขยะตกค้างในตำ�บล

แผนพัฒนาสามปี (2558-2560) เทศบาลเมื อ งนครปฐม ได้ กำ � หนดยุ ท ธศาสตร์ เ พื่ อ ให้ สามารถดำ � เนิ น การไปสู่ วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ กำ � หนดไว้ โดยกำ � หนด ยุทธศาสตร์หลักไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างสังคมให้เข็มแข็ง 3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 4. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการบริ ห ารจั ด การ และบริการ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการน้ำ� Nakhon Pathom 129

SBL OK6.indd 129

5/8/2558 BE 10:30 AM


เส้นทางพบ

เทศบาลตำ�บล (อ.เมืองนครปฐม)

เทศบาลตำ�บลมาบแค “ตำ � บลมาบแคน่ า อยู่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่งแวดล้อมดี ยึดมั่นธรรมาภิบาล” คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลตำ�บลมาบแค ซึง่ มีส�ำ นักงานตัง้ อยู่ หมู่ที่ 10 ตำ�บลมาบแค อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 20.147 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 12,592 ไร่ ปัจจุบนั มี นายเดชอดุลย์ บุญมี เป็นนายกเทศมนตรี ตำ � บลมาบแค และนายน้ำ � ใจ เผื อ กเสน่ ห์ เป็ น ปลั ด เทศบาล ตำ�บลมาบแค

เทศบาลตำ�บลมาบแค มีประชากรรวมทั้งสิ้น 8,304 คน ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรมซึง่ ทำ�รายได้ให้กบั ประชาชน ภายในตำ�บลมากที่สุด โดยพืชที่นิยมปลูก ได้แก่ กระชาย ข้าว พืช ไร่ และพื ช ผั ก โดยทั่ ว ไป นอกจากนี้ ยั ง นิ ย ม เลี้ ย งสั ต ว์ เช่น วัว เป็ด ไก่ เป็นต้น เพื่อบริโภคภายในครัวเรือน และนำ�มา จำ�หน่าย และนอกจากนีย้ งั มีการรวมกลุม่ อาชีพ อาทิ กลุม่ เกษตรกร ทำ�สวน กลุ่มสานหมวกกุ้ยเล้ย(หมวกเจ็ก) กลุ่มเลี้ยงปลาสวยงาม กลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มเลี้ยงกบ เป็นต้น

ข้อมูลทั่วไป เทศบาลตำ � บลมาบแค แบ่ ง เขตการปกครองออกเป็ น 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองอ้อ หมู่ที่ 2 บ้านดอนกลาง หมู่ที่ 3 บ้านดอนตาก่าน หมู่ที่ 4 บ้านอุทัย หมู่ที่ 5 บ้านพะเนียง แตก หมู่ที่ 6 บ้านรางน้ำ�เค็ม หมู่ที่ 7 บ้านสำ�นักคร้อ หมู่ที่ 8 บ้าน ห้ ว ยชั น หมู่ ที่ 9 บ้ า นสวนใหม่ หมู่ ที่ 10 บ้ า นทุ่ ง ตะพรม หมู่ที่ 11 บ้านดุมหัก

130

SBL OK6.indd 130

5/8/2558 BE 10:30 AM


ด้านบริหารจัดการอาทิการอบรมมาตรฐานทางคุณธรรม และจริยธรรมพนักงานเทศบาลการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ ของพนักงานเทศบาลการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน เช่ น การออกหน่ ว ยเคลื่ อ นที่ บ ริ ก ารประชาชนในหมู่ บ้ า นต่ า งๆ การบริการจัดเก็บภาษีเคลือ่ นทีแ่ ละนอกจากนีย้ งั มีการสำ�รวจความ พึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการเป็นประจำ�ทุกปีด้วย

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา 3 ปี ด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน อาทิ การสร้ า งปรั บ ปรุ ง และ ซ่อมแซมถนนในหมู่บ้าน เพื่อทำ�ให้การสัญจรไปมาได้สะดวก บริการระบบประปาบาดาลทีถ่ กู สุขลักษณะ มีระบบไฟฟ้าส่องสว่าง อย่างทั่วถึง เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกสบาย ด้านเศรษฐกิจ อาทิ การส่งเสริมให้มีกลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่ ม เกษตรกรทำ � สวน กลุ่ ม สานหมวกกุ้ ย เล้ ย (หมวกเจ็ ก ) กลุ่มเลี้ ย งปลาสวยงาม กลุ่ม ผลิต ปุ๋ยชีวภาพ กลุ่ม เลี้ ย งกบ ส่งเสริมให้ประชาชนตำ�บลมาบแคยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำ�เนินชีวิต ด้านสังคม อาทิ การจัดการศึกษาในระดับก่อนวัยเรียน ให้มีคุณภาพ การสนับสนุนอาหารกลางวัน อาหารเสริม (นม) ให้ กั บ โรงเรี ย นในตำ � บล การส่ ง เสริ ม และสื บ สานอนุ รั ก ษ์ วัฒนธรรมประเพณี เช่น ประเพณีการทำ�ขนมจีนโบราณหรือ ขนมจีนแป้งหมัก และประเพณีที่สำ�คัญอื่นๆของสังคมไทย การ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การส่งเสริมและสนับสนุนการ กีฬาเพื่อสุขภาพและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ การปรับปรุงภูมิทัศน์ภายในตำ�บล การรักษาความสะอาดเรียบร้อยภายในตำ�บล และการปลูกต้นไม้ เพื่อลดภาวะโลกร้อน

สถานที่ส�ำ คัญ วัดพะเนียงแตก เป็นวัดราษฎร์ตั้งอยู่ในเขตตำ�บลมาบแค อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่ริมคลองท่าเรือ บางพระ อายุ ป ระมาณ 200 กว่ า ปี ม าแล้ ว มี ห ลวงพ่ อ ทา พระเกจิอาจารย์ชอื่ ดังของจังหวัดนครปฐมเป็นอดีตเจ้าอาวาส และ ปั จ จุ บั น มี พระอธิ ก ารทองคำ � จารุ โ ภ เป็ น เจ้ า อาวาส วัดพะเนียงแตกรูปที่ 8 และท่านได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะอำ�เภอเมือง นครปฐม ในปี พ.ศ.2557

Nakhon Pathom 131

SBL OK6.indd 131

5/8/2558 BE 10:30 AM


เส้นทางพบ

เทศบาลตำ�บล (อ.เมืองนครปฐม)

เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ “การบริหารจัดการโปร่งใส ใช้ทรัพยากรคุ้ม ค่าปวงประชามีส่วนร่วม สาธารณูปโภคโดย รวมดี เศรษฐกิจและสังคมล้วน พัฒนายั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ ซึ่งมีส�ำ นักงาน เทศบาลตั้งอยู่เลขที่ 243 หมู่ 5 ตำ�บลโพรงมะเดื่อ อำ�เภอเมือง นครปฐม จังหวัดนครปฐมปัจจุบนั มี นายพิทกั ษ์พล ตันกิตติวฒ ั น์ ดำ � รงตำ � แหน่ ง นายกเทศมนตรี เทศบาลตำ � บลโพรงมะเดื่ อ ซึ่งบริหารงานโดยยึดมั่นในหลักการสำ�คัญคือ เพือ่ ให้เกิดกระบวนการบริหารจัดการในเทศบาลตำ�บลโพรง มะเดื่อ เป็นประโยชน์ต่อประชาชนอย่างรวดเร็ว เป็นธรรมถูกต้อง และประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มทุ ก ขั้ น ตอน และเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล ทุก ๆ กิจกรรม โดยสามารถติดตามประเมินผลได้ใน แต่ละงบประมาณ

ความเป็นมาของ ทต.โพรงมะเดื่อ เดิมตำ�บลโพรงมะเดื่อมีชื่อเรียกว่า “บ้านหัวเข้” เพราะคลอง ตรงข้ามสะพานเกวียนมีตน้ มะเดือ่ ใหญ่อยูต่ น้ หนึง่ มีโพรงใหญ่มาก จนมีจระเข้เข้าไปอาศัยอยู่ได้ต่อมาจระเข้หายไปเหลือแต่โพรงจึงได้ เปลี่ยนชื่อจากบ้านหัวเข้มาเป็น “บ้านโพรงมะเดื่อ” ก่ อนที่ เ ทศบาลตำ �บลโพรงมะเดื่ อจะได้ ย กฐานะนั้ น ได้ เ ป็ น สุขาภิบาลตำ�บลโพรงมะเดือ่ มาก่อนตัง้ แต่ปพ ี .ศ. 2508 จนถึงพ.ศ. 2542 มีการแต่งตั้งโดยตำ�แหน่งตั้งแต่ปีพ.ศ. 2508จนถึงพ.ศ. 2529 และโดยการเลือกตั้งพ.ศ. 2529 จนถึงพ.ศ. 2542 มีผู้ ดำ�รงตำ�แหน่งประธานกรรมการสุขาภิบาลตำ�บลโพรงมะเดือ่ จำ�นวน 15 คนแล้วจึงได้ยกฐานะเป็น “เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อ”

132

SBL OK6.indd 132

5/8/2558 BE 10:30 AM


ข้อมูลพื้นฐานและสภาพทั่วไป เทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อมีขนาดพื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบ ทั้งหมด 14.80 ตร.กม. ครอบคลุมพื้นที่ 2ตำ�บล 8 หมู่บ้านมี ประชากรทั้งหมด 10,569 คน แบ่งเป็นชาย 5,041 คนหญิง 5,528 คน มีครัวเรือนจำ�นวน 3,380 ครัวเรือน จากจำ�นวน ชุมชน 20 ชุมชน สภาพพื้นที่ในเขตเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อมีลักษณะเป็น ทีร่ าบลุม่ ทัว่ ทัง้ บริเวณเป็นแผ่นดินผืนใหญ่ถกู แบ่งย่อยโดยคลองลำ�ธารธรรมชาติและคลองชลประทานพื้นที่ทั้งหมดเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การทำ�เกษตรกรรม

สถานที่น่าสนใจของ ทต.โพรงมะเดื่อ วัดโพรงมะเดือ่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 แต่เดิมวัดโพรงมะเดือ่ ตัง้ อยูต่ รง หมู่บ้านพลับ หรือบ้านหนองหิน ที่ตรงนั้นปัจจุบันยังมีหลักฐาน อยู่เรียกว่า “ทุ่งวัด” และยังมีต้นโพธิ์อยู่ ต่อมาย้ายมาสร้างตรง ท้ายบ้านหนองฉิม และย้ายมาตัง้ ทีต่ ลาดโรงสี มาตลอดจนทุกวันนี้ วัดหว้าเอนเป็นวัดเก่าแก่ที่เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2445 ตัววัดตั้งอยู่ทิศตะวันออกของลำ�น้ำ�บางแขม มีถนนสาย โพรงมะเดื่อ- ลำ�พญา ทางทิศใต้ของวัด บริเวณวัดค่อนข้างโล่ง มีต้นไม้ใหญ่ไม่มากนัก ทีต่ งั้ ชมรมผูส้ งู อายุต�ำ บลโพรงมะเดือ่ ตัง้ อยูท่ ศี่ าลาแม่กมิ เอ็ง วัดโพรงมะเดื่อ ติดกับศาลาการเปรียญวัดโพรงมะเดื่อ ซึ่งจะมี การทำ�กิจกรรมชมรมผู้สูงอายุเป็นประจำ� ทุกวันพระ ขึ้น 15 ค่ำ� เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเดินทางมาทำ�บุญ ศูนย์การแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ บึงลาดโพธิเ์ ป็นอาคาร ทรงแปดเหลี่ยม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำ�บลโพรงมะเดื่อ จัดตั้งขึ้นเพื่อ เป็นศูนย์กลางด้านการบริการข้อมูลข่าวสารการท่องเที่ยวและ แสดงจำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในจั ง หวั ด นครปฐม ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของโรงเรี ย นโสตศึ ก ษาจั ง หวั ด นครปฐม และสำ�นักงานเทศบาลตำ�บลโพรงมะเดื่อส่วนหน้า

ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ คือ ประเพณีท�ำ บุญทอดผ้าป่าของ ชาวไทยเชื้อสายลาวครั่ง จะจัดขึ้นในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือน

เมษายน ประเพณีเริม่ ด้วยการบอกบุญ เรีย่ ไรไปตามหมูบ่ า้ นด้วย ขบวนกลองยาว หรือ ดนตรีพื้นบ้านล่วงหน้าวันงาน ๑-๒ วัน การแห่ธงชาวบ้านจะแห่ออกจากหมู่บ้าน นำ�ขบวนด้วยเสาธง ตามด้วยกลองยาวซึ่งเป็นดนตรีพื้นบ้าน ธงสงกรานต์ ชาวบ้านจะ ทำ�ด้วยไม้ไผ่ทั้งลำ� ยาวประมาณ ๑๐ เมตรขึ้นไป ปลายธงมีกิ่งไผ่ จะนำ�มาแขวนทีธ่ งนัน้ ได้แก่ สิง่ ของเครือ่ งใช้ทมี่ ลี กั ษณะเป็นผืน เช่น เสื่อ พรม ผ้าม่าน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางวัดจำ�เป็นต้องมีไว้ใช้ ตกแต่งให้ สวยงามด้วยดอกไม้สดและดอกไม้แห้ง เมื่อถึงวัดแล้วจะวนรอบ โบสถ์ ๓ รอบ แล้วปักลงกับพืน้ ดิน ตกกลางคืนในงานจะมีมหรสพ สมโภช รุ่งเช้าจึงทำ�พิธีถวายธงบนศาลาวัด เลี้ยงภัตราหารพระ แล้วกรวดน้ำ�อุทิศส่วนกุศลให้ผู้มีพระคุณ แล้วมีการสรงน้ำ�พระ เป็นเสร็จพิธี

Nakhon Pathom 133

SBL OK6.indd 133

5/8/2558 BE 10:30 AM


เส้เส้นนทางธรรมหนุ ทางธรรมหนุนนนำนำ�ชี�ชีววิติต

วัตรทรงธรรมกัลยาณี ภิกษุณีอาราม วัตรทรงธรรมกัลยาณี ตัง้ อยูร่ มิ ถนนเพชรเกษม กม.52-53 หากมาจากกรุงเทพ วัตรตัง้ อยูซ่ า้ ยมือ จุดเด่นคือเป็นวัตรแรกในประเทศไทยที่มีภิกษุณี ล้วน นับเป็นเอกลักษณ์ทช่ี าวนครปฐมภาคภูมใิ จ

ประวัติวัตรทรงธรรมกัลยาณี วัตรทรงธรรมกัลยาณี มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 9 ไร่ เดิมเป็นโฉนดในพระนาม ของพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระมเหสีในรัชกาลที่ 6 ต่อมาเปลี่ยน มือเป็นของวัตรตั้งแต่ พ.ศ.2503 สาเหตุที่ทางวัตร สะกดด้วยคำ�ว่า “วัตร” ซึง่ แปลว่า การปฏิบตั ิ “วัตรทรงธรรมกัลยาณี” จึงหมายถึงสถาน ที่ที่ผู้หญิงมาปฏิบัติธรรม

134

SBL OK6.indd 134

5/8/2558 BE 10:31 AM


รายนามเจ้าอาวาส

ปูชนียวัตถุสำ�คัญของวัตร

เจ้าอาวาสองค์แรกคือ ภิกษุณีวรมัย กบิลสิงห์ โดยท่านไป อุปสมบทมาจากไต้หวัน นับเป็นภิกษุณีรูปแรกของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2514 เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั เป็นรูปทีส่ อง เป็นธิดาของเจ้าอาวาสรูปแรก เดิมชื่อ รศ.ดร.ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ออกบรรพชา พ.ศ.2544 และอุปสมบทเป็นภิกษุณีสายเถรวาทรูปแรกของไทย โดยไปบวช ที่ศรีลังกา เมื่อเป็นภิกษุณีครบ 12 ปี ท่านก็ยังได้รับการแต่งตั้ง เป็น “ปวัตตินี” จากมหานายกที่ศรีลังกาด้วย

ในสวนด้านหลังวัตรประดิษฐาน พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้า มีขนาด หน้าตัก 108 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2548 นับเป็นแห่งแรกใน ประเทศไทย พระไภษัชยคุรุพุทธเจ้าพระองค์นี้ มีพระวรกายสีฟ้า สืบเนื่องจากความเชื่อของชาวธิเบต เพราะมีหินธรรมชาติทเี่ รียกว่า lapis Lasuli เป็นหินที่ชาวธิเบตเชื่อว่ามีคุณสมบัติในการรักษา โรค เมื่อพูดถึงพระพุทธเจ้าที่เป็นหมอยาก็เลยนิยมทำ�สีฟ้า ที่วัตร ทรงธรรมกัลยาณี จึงมีผู้เข้ามากราบไหว้พระไภษัชยคุรุฯ เพื่อขอ ให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บเสมอ และทีว่ ตั รจะมีการสวดพระคาถา 108 จบ ที่พระวิหารทุกเย็นวันพระด้วย

กิจกรรมสำ�คัญทางศาสนา วัตรทรงธรรมกัลยาณี นอกจากจะเป็นวัตรแรกในประเทศไทยที่มี ภิกษุณีล้วนแล้ว ยังจัดให้มีการบรรพชาสามเณรี เป็นประจำ�ปีละ 2 ครั้ง คือวันที่ 6 เมษายน และ 5 ธันวาคม จัดต่อเนื่องกันมาเป็น ครั้งที่ 14 แล้ว มีสตรีที่ออกบวชกับโครงการนี้ประมาณ 500 คน นอกจากนัน้ ทางวัตรยังมีการอบรมชาวต่างประเทศ ทีม่ กั จองเข้ามา เพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรมในหลักสูตร 3 วัน และยังจัดหลักสูตร อบรมให้แก่พนักงานของบริษัท-ห้างร้านด้วย สำ�หรับท่านทีส่ นใจ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ HYPERLINK “http://www. thaibhikkhunis.org หรือ” www.thaibhikkhunis.org หรือ โทร.เข้ามาสอบถามที่ 034-258270

Nakhon Pathom 135

SBL OK6.indd 135

5/8/2558 BE 10:31 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดดอนขนาก วัดดอนขนาก ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 92 หมูท่ ี่ 7 ตำ�บลดอนยายหอม อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นสถานปฏิบตั ธิ รรมประจำ�จังหวัด นครปฐม แห่งที่ 14 ปัจจุบันมีพระครูปฐมคุณากร เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติวัดดอนขนาก วัดดอนขนาก เดิมเป็นที่ดอนที่มีต้นขนากขึ้นอยู่เป็นจำ�นวนมาก ประชาชนจึงได้ เรียกชื่อตามการอนุรักษ์ของท้องถิ่นที่มีป่านั้นว่า “ดอนขนาก” ต่อมาได้จัดสร้าง เป็นสำ�นักสงฆ์ เมือ่ พ.ศ. 2450 โดยนายไล้ อยูศ่ ริ ิ บริจาคทีด่ นิ เป็นทีส่ ำ�นักสงฆ์ จำ�นวน 8 ไร่ และนายหลก กิ่มเพชร บริจาคที่ดินเป็นที่สำ�นักสงฆ์จำ�นวน 4 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา รวมที่ดินทั้งหมด 12 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ต่อมามี นายพุฒ นางอ่วม นายนาคและนายบุตร มีจิตศรัทธาสร้างกุฏิขึ้นรวม 2 หลัง เป็นแบบทรงไทยโบราณ จึงได้นิมนต์พระภิกษุวัดไผ่ล้อม จ.นครปฐมมาจำ�นำ� พรรษา รวม 5 รูป โดยมีพระอาจารย์จ๊ะ เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสรูปแรก ครัน้ ต่อมามีเหตุการณ์ผลัดเปลีย่ นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสอีกหลายรูป จนถึง พระอธิการศรีทอง อังสุทตฺโต เจ้าอาวาส ได้ทำ�การบูรณปฏิสังขรณ์จนเจริญ รุ่งเรืองมาในปี พ.ศ.2499

ท่านเจ้าคุณพระธรรมวาทีคณาจารย์ (หลวงพ่อเงิน) วันดอน ยายหอมเป็นที่ปรึกษา ร่วมกันจัดสร้างอุโบสถขึ้น และจัดงาน ว่างศิลาฤกษ์อุโบสถ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2499 เวลา 08.25 น. ต่อมาเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2501 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา และต่อมาได้กำ�หนดงานผูกพันธสีมา เมื่อวันที่ 17-23 เมษายน พ.ศ. 2508 วัดดอนขนากมีการ พัฒนาขึน้ ตามลำ�ดับ ทัง้ อาคารและสิง่ ก่อสร้างต่าง ๆ ทำ�ให้ทดี่ นิ ของวัดทีม่ อี ยูน่ นั้ คับแคบไม่เพียงพอ ต่อมามีการจัดซือ้ ทีด่ นิ ของ ราษฎรเพิ่มขึ้น โดยจัดซื้อทางทิศตะวันออกจำ�นวน 5 ไร่ เพื่อ สร้างเป็นโรงเรียนวัดดอนขนาก ให้เด็กในหมู่บ้านดอนขนากได้ เป็นที่ศึกษาเล่าเรียน ส่วนทางทิศใต้ทางวัดได้จัดซื้อเพิ่มจำ�นวน 2 ไร่ โดยนายเสงีย่ ม อยูศ่ ริ ิ และครอบครัวบริจาคถวายให้สว่ น หนึง่ ปัจจุบนั จัดสร้างเป็นเมรุสถานและศาลาอเนกประสงค์ ส่วน ทีด่ นิ ทางทิศเหนือ เป็นทีด่ นิ ของนายหลก กิม่ เพชร ถวายให้ประ มารณ 1 ไร่ ต่อมาในปี 2523 พระครูประกาศศาสนธรรมได้ มาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดดอนขนาก ได้ซื้อเพิ่มเติม 25 ไร่ ทางทิศตะวันตกและได้พฒ ั นาถาวรวัตถุตา่ ง ๆ อีกหลายประการ เช่น ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ วิหาร หอระฆัง เมรุ อาคาร เรียนชั้นอนุบาล โรงครัว โรงไฟฟ้า ประปา และวิหารโพธิสัตว์ กวนอิม ในขณะทีก่ ำ�ลังก่อสร้างอยูพ ่ ระครูประกาศศาสนธรรม ได้มรณภาพลง จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2543 พระอธิการคำ�รณ คุ ณ งฺ. กโร (สมณศั กดิ์ ณ สมั ย นั้น )ฺ​ฺ ฺมาดำ �รงตำ�แหน่งเจ้า อาวาสวัดดอนขนาก ได้ดำ�เนินการก่องสร้างต่อจนแล้วเสร็จ และ มีดำ�ริรว่ มกับชาวบ้านดอนขนากในการก่อสร้างพระอุโบสถหลัง ใหม่แทนหลังเก่าที่คับแคบ จนสำ�เร็จลุล่วงภายในเวลาเพียง 4 ปี จึงได้กำ�หนดงานปิดทองฝังลูกนิมิต ในระหว่างวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

136

SBL OK6.indd 136

5/8/2558 BE 10:31 AM


รายนามเจ้าอาวาส และรักษาการ เจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์จ๊ะ พ.ศ. 2450 –2452 2. พระอาจารย์ภ ู พ.ศ. 2452 – 2456 3. พระอาจารย์โต๊ะ พ.ศ. 2456– 2458 4. พระอธิการมี พ.ศ. 2458 – 2479 เจ้า อาวาสรูปที่ 1 5. พระอาจารย์พ่วง พ.ศ. 2479 – 2492 6. พระอาจารย์เช้า พ.ศ. 2492 – 2493 7. พระอาจารย์สิน พ.ศ. 2493 – 2495 8. พระอธิการศรีทอง พ.ศ. 2495 – 2523 เจ้าอาวาสรูปที่ 2 9. พระครูประกาศศาสนธรรม พ.ศ. 2523 – 2542 เจ้าอาวาสรูปที่ 3 10. พระครูปฐมคุณากร พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน เจ้าอาวาสรูปที่ 4

เส้นทางบุญหนุนนำ�ชีวิต วัดดอนขนาก มีงานปฏิบัติธรรมประจำ�ปี วันที่ 1-9 เมษายน ของทุกปี มีบวชพระหมู่ทุกวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี ในทุก ๆ วัน จะมีการสวดมนต์ ทำ�วัตร เช้า - เย็น ตลอดปีมปี ฏิบตั ธิ รรม บวชเนกขัมมชีพราหมณ์ ถือศีล 8 ตลอดปี Nakhon Pathom 137

SBL OK6.indd 137

5/8/2558 BE 10:31 AM


เส้เส้นนทางธรรมหนุ ทางธรรมหนุนนนำนำ�ชี�ชีววิติต

ศาลาธรรมโสฬส

วัดดอนยายหอม วัดดอนยายหอม ตั้งอยู่ที่ตำ�บลดอนยายหอม อำ�เภอเมือง จังหวัด นครปฐม เป็นวัดเก่าแก่ที่มีชื่อเสียงของนครปฐม

ประวัติวัดดอนยายหอม วัดดอนยายหอม เป็นวัดเก่าแก่ไม่ทราบว่าสร้างมาแต่สมัย ใด แต่เริม่ มีชอื่ ปรากฏเมือ่ ประมาณร้อยกว่าปีมาแล้ว โดยมีเจ้าอาวาส องค์แรกชื่อ พระปลัดฮวบ ซึ่งมีชื่อท่านในทำ�เนียบคณะสงฆ์ ร.ศ. 123 (พ.ศ.2847) ว่าเป็นเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม ท่านถึงแก่ มรณภาพเมื่อ พ.ศ. 2466 จากนั้นหลวงพ่อเงินได้รับแต่งตั้งให้ เป็นเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม

ประวัติหลวงพ่อเงิน หลวงพ่อเงิน เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2433 ที่หมู่บ้านดอน ยายหอม บิดาของท่านชื่อ พรหม เป็นคหบดีที่มีฐานะดีในหมู่บ้าน อีกทั้งเป็น ผูม้ วี ชิ าอาคมขลัง หลวงพ่อเงินจึงได้รบั วิชาการศึกษาจากบิดามาตัง้ แต่กำ�เนิด เนื่องจากท่านเป็นคนที่มีปัญญาดีและอุปนิสัยชอบในทางธรรมะ เมื่ออายุ 20 ปี จึงอุปสมบทที่วัดดอนยายหอม โดยมีพระปลัดฮวบเป็นพระ อุปัชฌาย์ ได้รับนามฉายาว่า “จนฺทสุวณฺโณ” ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดดอนยายหอม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ขณะนั้นท่านอายุ 33 ปี พรรษา 13 หลวงพ่อเงินเป็นที่เคารพนับถือของชาวนครปฐมอย่างมาก เนื่องจากท่านมี คุณูปการในการอุปถัมภ์ด้านการศึกษาแก่เด็กและเยาวชน โดยมีโรงเรียน มัธยมศึกษาชือ่ “พ่อเงินวิทยา” สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และในปีพ.ศ.2543ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “พระปฐมวิทยาลัย 2 หลวง พ่อเงินอนุสรณ์” คติธรรมจากหลวงพ่อเงิน “รู้จักพอ ก่อสุข ทุกสถาน จิตหาญ ใจพ้นทุกข์ สุขด้วยธรรม”

138

SBL OK6.indd 138

5/8/2558 BE 10:31 AM


ประวัติหลวงพ่อแช่ม เกิดวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2449 ณ หมู่ที่ 1

ต.ดอนยายหอม อ.เมือง จ.นครปฐม เป็นบุตรของพ่อ เนียม และแม่อ่ำ� อินทนชิตจุ้ย ด้านการศึกษา ท่านได้รับ การศึกษาจากพระโดยการเรียน “หนังสือวัด” อุปสมบท เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2470 ณ พัทธสีมาวัดดอน ยายหอม พระครูอุตตรถารบดี (หลวงพ่อสุข วัดห้วย จระเข้) เป็นอุปัชฌาย์ หลวงพ่อเงินวัดดอนยายหอม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ได้รบั ฉายาว่า “ฐานุสสฺ โถ” ท่าน ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอมเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2520 คติธรรมหลวงพ่อแช่ม แก่กล้วย แก่อ้อย อร่อยหวาน แก่สังขาร หมดรส ไม่สดใส แก่อีกสาม อย่างไม่ดี อัปรีย์จัญไร คือแก่โลภ แก่โกรธ แก่หลง เกิดขึ้นกับผู้ใด ตกประตู อบายทันที

ตำ�นานยายหอม ประชาชนทั่วไปที่เดินทางมาวัดดอนยายหอม นอกจาก จะมาทำ�บุญและร่วมสืบสานงานประเพณีทางศาสนาแล้ว ส่วนมาก นิยมมาบูชาหลวงพ่อเงิน และมักจะไปสักการะรูปปัน้ คุณยายหอม ด้วยเสมอ ตามตำ�นานเล่าว่า ยายหอมเป็นบรรพสตรีต้นตระกู ลวงศาคณาญาติ ซึ่งมีบ้านเกิดที่ตำ�บลดอนยายหอม และเป็นผู้ เลีย้ งพระยาพานในวัยเยาว์ (พระยาพานคือผูส้ ร้างพระปฐมเจดีย์ เพื่อไถ่บาปจากการฆ่าพระยากง-พระราชบิดา และฆ่ายายหอม)

พบหลักหิน เสมาธรรมจักร และกวางหมอบ นับว่าเป็นทีอ่ ศั จรรย์ไม่นอ้ ย เมือ่ หลวงพ่อเงินเริม่ สร้าง อุโบสถ แล้วได้ขุดอิฐทำ�รากที่บริเวณ “โคกยายหอม” อยู่ห่างจาก วัดราวกิโลเมตรเศษ ก็บังเอิญขุดพบโบราณวัตถุทางพระพุทธ ศาสนาอันล้ำ�ค่า คือ พบเสาหินแปดเหลี่ยมขนาดใหญ่ พร้อมทั้ง รูปกวางเหลียวหลังซึ่งทำ�ด้วยหินเนื้อละเอียดเป็นสีเขียว และยัง พบหินที่มีรอยแกะสลักลวดลายต่าง ๆ แบบลายกนกไทยตกเป็น ชิ้น ๆ กระจัดกระจาย ซึ่งเมื่อเอามาประกอบต่อกับเข้าทั้งหมดก็ เป็นรูปเสมาธรรมจักร อันมีความหมายถึงพระพุทธศาสนาได้มา ตั้งมั่นลง ณ ที่นี้ เป็นเวลานานนับพันปีมาแล้ว หลวงพ่อเงิน สันนิษฐานว่า บริเวณนี้คงจะเคยเป็นพุทธธรรมสถานที่เจริญ รุ่งเรืองแห่งหนึ่งในยุคนั้น

Nakhon Pathom 139

SBL OK6.indd 139

5/8/2558 BE 10:31 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดตาก้อง วัดตาก้อง ตั้งอยู่เลขที่ 7 ตำ�บลตาก้อง อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัด นครปฐม ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองนครปฐมประมาณ 7 กิโลเมตร ริม ถนนดอนตูม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินเป็นสังฆาวาสจำ�นวน 16 ไร่ 2 งาน 71 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์อีก 2 แปลง พื้นที่ 97 ไร่ 3 งาน 36 ตารางวา

ประวัติวัดตาก้อง วัดตาก้อง ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�สายโบราณสายหนึ่ง ในสมัย โบราณใช้เป็นเส้นทางเดินเรือไปบ้านยางพระแท่นดงรัง จังหวัด กาญจนบุรี หมู่บ้านตาก้องเป็นหมู่บ้านที่ประชาชนอาศัยอยู่หนาแน่น เป็นเวลานับร้อยปีแล้ว เดิมเรียกว่า บ้านอ้ายก้อง สันนิษฐานว่า คง เรียกตามชื่อเจ๊กก่อง หรือ ก้อง คนจีนซึ่งมีฐานะร่ำ�รวยเป็นเจ้าของ โรงหีบอ้อยในหมู่บ้าน จากการบอกเล่าของท่านผู้เฒ่าเล่าว่า วัดตาก้องสร้างมา เมื่อ พ.ศ. 2225 เดิมมีชื่อเรียกว่า “วัดไพรวัลย์นิกาวาส” เนื่องจาก เดิมที่ตั้งวัดยังเป็นป่าอยู่ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้แบ่งการ ปกครองแยกเป็นหมู่บ้าน ตำ�บล อำ�เภอ หมู่บ้านอ้ายก้องได้ยกฐานะ เป็นตำ�บลชื่อว่า ตำ�บลตาก้อง เข้าใจว่านามวัดไพรวัลย์นิกาวาส คง เปลีย่ นนามไปตามตำ�บลเป็น “วัดตาก้อง”ตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบันนี้

140

SBL OK6.indd 140

5/8/2558 BE 10:31 AM


สักการะหลวงพ่อแช่ม พระเกจิดงั แห่ง นครปฐม หลวงพ่อแช่ม พรหมฺ . สโร เกิดที่บ้าน ตาก้อง ตำ�บลตาก้อง อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ในสมัยรัชกาลที่ 4 ราวปี พ.ศ.2408 เป็นลูกชาวนา บิดาชือ่ กลัด มารดา ชือ่ มา ต่อมาท่านได้นำ�ชือ่ บิดาและมารดามารวม กันตั้งเป็นนามสกุลว่า “มากลัด” ตั้งแต่นั้นมา เมื่ออายุได้ 23 ปี พ.ศ.2431 ท่าน ได้อุปสมบท ณ วัดตาก้อง โดยมีท่านพระครู อุตตรการบดี (หลวงพ่อทา โสณตฺตโร) หรือ หลวงพ่อโสอุดร วัดพะเนียงแตก ตำ�บลมาบแค อำ�เภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็น พระอุปชั ฌาย์ ไม่ทราบนามพระกรรมวาจาจาร ย์ของท่าน เมื่อบวชแล้วท่านได้ปรนนิบัติพระ อุปชั ฌาย์ ทีว่ ดั พะเนียงแตกเป็นเวลา 5 พรรษา

เมื่อรับใช้พระอุปัชฌาย์ และศึกษาพระธรรมวินัย เรียนวิชาคาถาอาคมจากหลวงพ่อทาพอสมควรแล้ว จึงได้ลา ธุ ด งค์ ไ ปที่ ต่ า ง ๆ เช่ น พระปฐมเจดี ย์ พระแท่ น ดงรั ง พระพุทธบาทสระบุรี และครั้งสุดท้ายเดินธุดงค์ไปประเทศ พม่า หลังจากกลับธุดงค์แล้ว ได้ขออนุญาตพระอุปชั ฌาย์มา จำ�พรรษาทีว่ ดั ตาก้องเพือ่ ฉลองศรัทธาญาติโยมของท่าน และ จำ�พรรษาอยู่ที่วัดตาก้องตลอดมา ท่านเป็นภิกษุผู้ปฏิบัติดี ประพฤติชอบตลอดชีวิตการบวชของท่าน ด้วยความรู้และ วิทยาคมที่เรียนมาจากพระอุปัชฌาย์ และที่เรียนมาจากพม่า ในครั้งออกธุดงค์ จึงเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของประชาชนวัด ตาก้อง และประชาชนทัว่ ไป เพราะท่านเป็นพระเกจิอาจารย์รปู หนึ่งที่ทรงวิทยาคมของจังหวัดนครปฐม และในประเทศไทย ท่านสามารถย่นระยะทางไกลให้ใกล้ได้ไปไหนมาไหนท่านชอบ เดินไป ถ้าไปไหนกับญาติโยม เมื่อไปถึงที่หมายก็จะพบว่า หลวงพ่อแช่มนั่งรออยู่แล้วอย่างนี้เป็นประจำ� ในครั้งหนึ่ง ท่านเคยทดลองวิชากับ หลวงปู่บุญ ขนฺธโชติ แห่งวัดกลาง บางแก้วมาแล้ว หลวงปู่บุญยังยกนิ้วให้มาแล้ว และกล่าวกับ ญาติโยมที่ไปด้วยว่า ท่านแช่มนี่เก่งจริง ๆ จึงทำ�ให้เป็นที่ ประจักษ์แก่ประชาชนทั่วไป ชื่อเสียงของท่านจึงเป็นที่ติดปาก แก่คนทั่วไป เมื่อพูดถึงวัดตาก้อง ก็ต้องนึกถึงหลวงพ่อแช่ม พอพูดถึงหลวงพ่อแช่มก็ต้องนึกถึงวัดตาก้อง จึงเป็นสิ่งคู่ บารมีกันมาตลอดดังที่ได้กล่าวมาโดยสังเขป หลวงพ่อแช่ม พรหมฺ . สโร มรณภาพที่วัดตาก้อง เมื่อปีพ.ศ. 2490 พรรษาที่ 59 รวมอายุได้ 82 ปี ปัจจุบันรูปหล่อ หลวงพ่อแช่มประดิษฐานอยู่ที่มณฑปภายในเขตพุทธสถาน วัดตาก้อง เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไป

Nakhon Pathom 141

SBL OK6.indd 141

5/8/2558 BE 10:31 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดป่าปฐมชัย วั ด ป่ า ปฐมชั ย ตั้ ง อยู่ เ ลขที่ 128/2 หมู่ 3 ต.หนองปากโลง อ.เมือง จ.นครปฐม

ประวัติวัดป่าปฐมชัย วัดป่าปฐมชัย เกิดขึ้นโดยการก่อตั้งของ พระครูปลัดนิพนธ์ ธมฺมทีโป โดยมีพิธีวางศิลา ฤกษ์การก่อสร้างเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2552ได้ รั บ การประกาศแต่ ง ตั้ ง เป็ น วั ด ใน สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ในปีพ.ศ.2552 คุณเสกชัยหงษ์ปาน และครอบครัว บริจาคพื้นที่ก่อสร้างวัดจำ�นวน 8ไร่ 4 งาน 21 ตารางวา ในนาม บริษัทละไม แมน จำ�กัด ในปีพ.ศ.2556 ได้รับบริจาคเพิ่ม จำ�นวน8 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา โดยคุณพิชัย จิราธิวัฒน์ ในนามบริษัทเซ็ลทรัล มาร์เก็ตติ้ง กรุ๊ป จำ�กัด ปัจจุบัน มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 17 ไร่ 101 ตารางวา

ศาสนสถานสำ�คัญของวัดป่าปฐมชัย

ปฏิปทาแนวคิดการก่อตั้งวัดและแนวทางการปฏิบัติ วัดป่าปฐมชัย เป็นวัดปฏิบัติตามแนวทางพ่อแม่ครูบาอาจารย์สาย พระกรรมฐาน ในปฏิปทาต้นแบบหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ผู้เปรียบ เสมือนบูรพาจารย์ใหญ่แห่งพระกรรมฐาน และยึดหลักการปฏิบัติข้อ วัตรตามแนวทางขององค์หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ผู้สืบทอด แบบอย่างพระกรรมฐาน (ธรรมยุติ) อย่างแท้จริง โดยมีวัตถุประสงค์การก่อตั้งวัด ดังนี้คือเพื่อเผยแผ่หลัก ธรรมคำ�สอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเป็นสถานที่สำ�หรับ ฝึ ก วิ ปั ส สนากรรมฐาน ,เพื่ อ เป็ น สถานที่ อ บรมเผยแผ่ คุ ณ ธรรมจริยธรรม สำ�หรับหน่วยงานและสถานศึกษา เพื่อให้สามารถนำ�หลัก คุณธรรม-จริยธรรม ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันได้ดียิ่งขึ้น และการก่อสร้างศาสนสถานและถาวรวัตถุทั้งหลายภายในวัด ล้วน เป็ น เพี ย งสิ่ ง ที่ แ สดงถึ ง การสื บ ทอดพระศาสนาแห่ ง องค์ พ ระศาสดา สัมมาสัมพุทธเจ้า อันทรงคุณานัปการประมาณมิได้ เพื่อให้สาธุชน รุ่นหลังได้มีสถานที่ศึกษาธรรมอันประเสริฐไว้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจ ให้ดำ�รงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม

พระเจดี ย์ ชั ย มงคล ศรี ท วารวดี หลวงพ่ อ พระครู ป ลั ด นิพนธ์ ธมฺมทีโป สร้างถวายเป็นพุทธบูชาแห่งองค์พระสัมมาสัม พุทธเจ้า และสร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวฯ องค์พระเจดีย์เป็นรูปทรงระฆังคว่ำ� ทั่วทั้งองค์พระเจดีย์ ฉาบทาด้ ว ยสี ข าวจากปู น ตำ�เปลื อ กหอยตามแบบกรรมวิ ธี โ บราณ ยอดพระเจดีย์ ทำ�จากสเตนเลสเคลือบสีทอง ยอดฉัตร 5 ชั้น ทำ� จากสเตนเลส ฉลุลาย ซึ่งโดยมีเค้าโครงการก่อสร้างจากเจดีย์จุล ประโทน ซึ่ ง ได้ รั บ การออกแบบโดยอาจารย์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วิ ท ยาเขตสนามจั น ทร์ จั ง หวั ด นครปฐม ซึ่ ง ตรงกั บ ปณิธานของหลวงพ่อพระครูปลัดนิพนธ์ ธมฺมทีโป ที่ต้องการสร้าง ให้สอดคล้องกับศิลปะแห่งยุคทวารวดี เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจถึง ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในดินแดนแห่งเมืองนครปฐมเมื่อ ครั้งอดีต โดยใช้งบประมาณการก่อสร้างเฉพาะองค์เจดีย์ภายนอก ทั้งสิ้น 11 ล้านบาท และได้ทำ�การตกแต่งโครงสร้างถาวรภายในห้อง โถงพระเจดีย์ โดยบริษัทเซ็ลทรัล มาร์เก็ตติ้งกรุ๊ปเป็นผู้ออกแบบ และจัดสร้างด้วยงบประมาณ 13 ล้านบาท ในปีพ.ศ.2556 กระทั่ง การก่อสร้างแล้วเสร็จและได้ทำ�การประกอบพิธียกยอดพระเจดีย์ใน วันที่ 26 มกราคมพ.ศ.2557 ส่วนยอดบนสุดเป็นยอดฉัตร ๕ ชั้น ทำ�จากสแตนเลสสีทองฉลุลาย บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับ ประทาน จากสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหา สังฆปรินายกเมื่อพ.ศ.2544 ใช้ระยะเวลาก่อสร้าง 2 ปี 6 เดือน

142

SBL OK6.indd 142

5/8/2558 BE 10:31 AM


องค์ประกอบภายนอก

ฐานชั้นที่ 1 ฐานรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีบันไดทางขึ้นสี่ด้าน ราวบั น ไดเป็ น ปะติ ม ากรรมปู น ปั้ น รู ป พญานาคห้ า เศี ย รทั้ ง สามด้าน รอบฐานมีภาพอวาทานของพระพุทธเจ้าทำ�ด้วยปูน ปั้นประดับ สามารถทำ�ทักษิณาวัตรรอบฐานนี้ได้ ฐานชั้นที่ 2 ทรงฐานเป็นทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีประตูทางเข้า 3 ด้าน ผนั ง ด้ า นนอกประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ยื น แสดงธรรมทั้ ง สองพระหัตถ์ ในแบบศิลปะทวารวดีทั้งสี่ด้าน ด้านละ 4 องค์ และประดิษฐานองค์จำ�ลองพระศิลาขาว ปางแสดงธรรม(นั่ง) ที่ผนังด้านทิศใต้ ฐานชั้นที่ 3 ฐานรูปทรงหกเหลี่ยม มีช่อง กระจกสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดยรอบ 18 ช่อง

องค์ประกอบภายใน

ประตูทางเข้าสามด้านทำ�จากบานประตูไม้สักบานคู่ขนาดใหญ่ แกะสลักลวดลายวิจิตร ด้านบนช่วงฐานหกเหลี่ยมประดับ ด้วยภาพประติมากรรม ศิลปะทวารวดี บอกเล่าเรื่องราวของ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า รอบตัวอาคารจัดแสดงพระบรม สารีริกธาตุ พระอรหันต์ธาตุในสมัยพุทธกาล เกศาและอัฐิ ธาตุของพระอริยสงฆ์ในสมัยปัจจุบัน และประดิษฐานหุ่นปั้น รูปเหมือนพระอริยสงฆ์ 8 องค์ คือ หลวงปู่ทวดเหยียบน้ำ� ทะเลจืด สมเด็จพุทธจารย์โต พฺรหฺมรังสี หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ท่านพ่อลี ธมมฺธโร หลวง ปู่เจี๊ยะ จุณโฑ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน และหลวง ปู่มนัส ปัญญาธ และโถงส่วนกลาง ประดิษฐานพระพุทธ มงกุฎหิรัญเทวาธิราช ปางนาคปรก ขนาดหน้าตัก 30 นิ้ว สูง 3 เมตร เป็นองค์ประธาน

ลานธรรมจักร

สร้างเมื่อพ.ศ.2556 เพื่อใช้เป็นลานปฏิบัติธรรม และเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระไพรีพนิ าศ ขนาดหน้าตัก 50 นิว้ สร้างเมือ่ 29 มิถนุ ายน 2556 เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เนือ่ งในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 100 ปี ประดิษฐาน ณ ศาลาปฏิบัติธรรมไพรีพินาศ วัดป่าปฐมชัย

กิจกรรมสำ�คัญของวัดป่าปฐมชัย

1. มีพิธีทำ�บุญตักบาตร ปฏิบัติธรรม ถือศีลภาวนา ในวันสำ�คัญทาง ศาสนา คือวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้า พรรษา วันออกพรรษา เป็นประจำ�ทุกปี 2. มีพิธีทำ�บุญตักบาตรในเทศกาลต่าง ๆ คือ วันขึ้นปีใหม่ วันเฉลิม พระชนม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ วันเฉลิมพระชนม์พรรษา สมเด็จพระราชินีนาถ และวันสงกรานต์ 3. จัดให้มีการฝึกอบรมสำ�หรับผู้สนใจการปฏิบัติธรรม ศีล 8 ปฏิบัติ ภาวนากรรมฐานเป็นประจำ�ทุกเดือน โดยกำ�หนดให้มกี ารอบรมระยะเวลา 3 วัน คือ ศุกร์,เสาร์,อาทิตย์ ในสัปดาห์สุดท้ายของทุกเดือน โดยไม่มีค่า ใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น 4. จัดอบรมคุณธรรม-จริยธรรมให้กับหน่วยงาน และสถาบันที่มีความ สนใจติดต่อเข้าร่วมการอบรมมาโดยตลอด 5. แสดงธรรมให้กบั หน่วยงานและประชาชนทัว่ ไป ทีน่ มิ นต์ไปแสดงธรรม ตามสถานที่ต่าง ๆ

Nakhon Pathom 143

SBL OK6.indd 143

5/8/2558 BE 10:31 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดทัพยายท้าว วัดทัพยายท้าว ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลหนองปากโลง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

ประวัติของยายท้าว มีการเล่าสืบต่อกันมาว่า ในสมัยก่อนเสียกรุงครั้งที่สอง พระเจ้า เอกทัศน์ทรงส่งแม่ทัพมาตั้งรับทัพของพม่าที่จะเข้ามาทางด่านเจดีย์ สามองค์ เมืองกาญจน์ โดยมีทัพหลวงมาตั้งทัพอยู่ที่ต�ำบลทัพหลวง ในปัจจุบัน และมี “ยายท้าว” เป็นแม่ทัพกองหนุน มาตั้งทัพอยู่บริเวณ ต�ำบลหนองปากโลงในปัจจุบัน พอยายท้าวทราบข่าวว่าพม่าจะยกทัพ เข้ามาจะถึงสุพรรณบุรี ก็ได้ระดมชาวบ้านซึ่งเป็นผู้หญิงเสียส่วนใหญ่ เพราะพวกผู้ชายส่วนมากถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารหมดแล้ว ยายท้าวใช้ ชื่อกองทัพว่า “รุ่นแปดศอก” (ตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่า) แล้วน�ำทัพ เข้าท�ำการสู้รบกับข้าศึก มีชาวบ้านล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก แต่ทัพยาย ท้าวกลับได้รับชัยชนะเหนือข้าศึก ดังนั้นสถานที่ตั้งทัพนี้จึงใช้ชื่อว่า “หมู่บ้านทัพยายท้าว” ตั้งแต่นั้นมา ชาวบ้านทัพยายท้าว ยกย่องบูชายายท้าวเสมือนดังสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำหมู ่ บ ้ า น และมี ก ารสร้ า งรู ป ปั ้ น ยายท้ า วขึ้ น เป็ น อนุ ส รณ์ เพื่อร�ำลึกถึงคุณงามความดี ความกล้าหาญของวีรสตรีไทย และเพื่อ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของชาวบ้าน ปัจจุบันมีชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธา มากขึ้น จึงได้จัดมหรสพสมโภชขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี

144

SBL OK6.indd 144

5/8/2558 BE 10:32 AM


สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด วัดทัพยายท้าว เป็นวัดเก่าแก่และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ประชาชน ในบริเวณวัดทัพยายท้าวมีสิ่งศักดิ์ภายในวัดได้แก่ 1. รูปปั้นยายท้าว (ชาวบ้านเรียกว่ารูปปั้นยาย) ตั้งอยู่ทางเข้า วัดทัพยายท้าว จากค�ำบอกเล่าของชาวบ้านบอกว่า เมื่อก่อนที่นี่มีการ สู ้ ร บกั น ในสมั ย ก่ อ น สถานที่ แ ห่ ง นี้ ถู ก ตั้ ง เป็ น ทั พ ในการสู ้ ร บ ซึ่งยายท้าวเป็นคนน�ำทัพ (จึงถูกเรียกว่าทัพยายท้าว) ซึ่งบริเวณไม่ไกล กันก็มีวัดทัพหลวง (เมื่อก่อนก็เป็นที่ตั้งของทัพหลวงเช่นกัน) ชาวบ้าน ทัพยายท้าวเล่าว่าหากใครมาขอพรยายท้ายส่วนใหญ่มักจะสมหวัง แล้วจะน�ำของมาแก้บนมาถวาย เช่น แว่นตา มีดดาบ หมากพลู 2. รูปหล่อหลวงพ่อสมพงษ์ เจ้าอาวาสรูปเดิมซึ่งเป็นที่รัก ของคนในหนองปากโลง 3. อุโบสถ เป็นการสร้างเลียนแบบศิลปะในสมัย การเดินทาง กรุงศรีอยุธยา มีการตกแต่งประตูหน้าบัน ด้วยงานปูนปั้นด้วยฝีมือ จากกรุงเทพฯ ขับรถมุ่งหน้าสู่ จ.นครปฐม จะผ่านแยกนครชัยศรี ของช่างที่มีชื่อเสียงให้เกิดความสวยงาม หลังคามุงด้วยกระเบื้อง (ท่านา) และผ่านแยกบ้านแพ้ว ขับมาประมาณ 1 กม. จะพบสะพานลอย เคลือบสีแดง อุโบสถทั้งหลังทาด้วยสีขาว เพือ่ เข้าสู่ตัวเมืองนครปฐม ให้ลอดใต้สะพานลอย แล้วขับผ่านไฟแดง เทศกาลงานบุญประจ�ำปี 2 ไฟแดง จากนั้นให้สังเกตป้ายไปทาง จ.สุพรรณบุรี จะมีสะพานลอย วัดทัพยายท้าว จัดงานเทศกาลขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี ภายในงานมี ใหญ่ ให้กลับรถไปทาง จ.สุพรรณบุรี (ลอดใต้สะพานลอยใหญ่) มหรสพมากมาย อาทิ ลิเก หนังตะลุง ภาพยนตร์ การโชว์เครื่องเสียง ขับมาประมาณ 1 กิโลเมตร จากนั้นจะพบสามแยกมาลัยแมน (เป็นไฟ ดนตรี การร่วมสนุกหมุนฝาชี เพื่อน�ำเงินมาท�ำนุบ�ำรุงวัดทัพยายท้าว แดง) ให้เลี้ยวซ้ายมาทาง จ.สุพรรณบุรี ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข สอบถามรายละเอียดได้ที่หลวงพี่หวัน โทร. 086-6289878 321 ขับมาประมาณ 7 กิโลเมตร จะพบปั๊มปตท. แรกทางซ้ายมือ เลยปั๊มปตท. มาประมาณ 300 เมตร จะมีแยกซ้ายมือเขียนว่า “วัดทัพยายท้าว” (เป็นทางลาดยาง) ให้ขับเข้ามาประมาณ 1 กิโลเมตร จะพบวัดทัพยายท้าวอยู่ด้านซ้ายมือ Nakhon Pathom 145

SBL OK6.indd 145

5/8/2558 BE 10:32 AM




เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหนองศาลา วัดหนองศาลาเป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝา่ ยมหานิกาย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 22 ตำ�บลทุง่ ลูกนก อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม บนเนื้อที่ 27 ไร่ 2 งาน 96 ตารางวา ตามโฉนดที่ 21092 ปัจจุบันมี พระอธิการเชื้อ อธิปญฺโญเป็นเจ้าอาวาสวัดหนองศาลา

ประวัติความเป็นมา ชื่อ “หนองศาลา” มาจากชื่อหนองน้ำ�ซึ่งอยู่ในเขตหมู่ที่ 1 ทุ่งลูกนก เพราะมีนกนานาชนิดพร้อมทั้งสัตว์ต่างๆ มาอาศัยและ หากินบริเวณหนองน้ำ� และที่ริมหนองนี้มีผู้สร้างศาลาไว้ (สร้างไว้ เมือ่ ใดไม่ปรากฏหลักฐาน) ให้ผทู้ เี่ ดินทางมานมัสการพระแท่นดงรัง ได้อาศัยพักผ่อนหลับนอนในตอนกลางคืน เนื่องจากมีสัตว์ร้าย อย่างเสือโคร่งออกหากินเสมอปัจจุบันศาลาดังกล่าวชำ�รุดไปตาม กาลเวลา ต่อมาเมื่อมีคนอพยพมาอยู่มากขึ้น จึงสร้างโรงเรียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2482 โดยสร้างจากไม้ไผ่และมุงหญ้าคา เรียกว่า “โรงเรียน บ้านหนองศาลา” ต่อมาในปีพ.ศ. 2484 มีน้ำ�ท่วมมากหลายจังหวัด เรียกกันว่า น้ำ�ท่วมโลก เพราะจังหวัดนี้ไม่เคยมีน้ำ�ท่วมก็เกิด น้ำ � ท่ ว มขึ้ น ในเวลานั้ น มี ห ลวงตาหวั ด หนี น้ำ � มาจากวั ด บางซอ จังหวัดสุพรรณบุรี มาจำ�วัดอยู่ ยายกิ่ม บุญวงษ์และชาวบ้าน

148

SBL OK6.indd 148

5/8/2558 BE 10:32 AM


อีกหลายคนจึงได้อาราธนาท่านให้อยู่ที่นี่ต่อมาจึงตั้งสำ�นักสงฆ์ ขึ้ น เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น และย้ า ยโรงเรี ย นจากบ้ า นยายกิ่ ม มาตั้ ง ที่ นี่ และเปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนวัดหนองศาลา” ซึ่งเดิมทีพื้นที่ตั้งวัดนี้เป็นของยายเข็ม ซึ่งทางด้านตะวันตก จะมีหนองน้ำ� เมือ่ เข้าฤดูน้ำ�หลากผูค้ นจะอพยพมาอาศัยและใช้เป็น ทีเ่ ลีย้ งวัว ไม่คอ่ ยได้ใช้ทำ�ประโยชน์อะไรนอกจากหว่านถัว่ เขียวและ ปลูกละหุง่ ต่อมายายเจือ่ นได้ถวายทีด่ นิ ด้านเหนือเพิม่ พร้อมทัง้ ยายปิน่ ก็ได้ถวายทีด่ า้ นตะวันตกและด้านใต้เพิม่ อีก เนือ้ ทีต่ งั้ วัดจึง เป็นพื้นที่สี่เหลี่ยมดังทุกวันนี้ ส่ ว น หน องน้ำ � ด้ า น ตะวั น ตกของวั ด เรี ย กกั น ว่ า “หนองช้างล้า” (ตามคำ�บอกเล่าของคนเก่าแก่ทอี่ พยพมาอยูก่ อ่ น) เหตุที่เรียกหนองช้างล้าเพราะการเดินทางระหว่างโกสินารายณ์ (ปัจจุบันยังมีสระน้ำ�โบราณอยู่) กับเมืองอู่ทองหรือการเดินทัพ ต้องใช้ชา้ งเป็นพาหนะและช้างเกิดการป่วยล้าไปไม่ไหว เจ้าของจึง เอาสมบัติไปฝังไว้ที่ขอบหนองแล้วปลูกต้มมะขามไว้เป็นที่สังเกต มะขามต้นนั้นออกกิ่งที่โคนต้น ซึ่งเอนขนานไปกับพื้นดินแล้ว หักศอกตั้งตรงขึ้นบริเวณที่ตั้งสมบัติ ภายหลังเจ้าของเดิมได้มา

เข้าฝันจึงมีคนมาขุดเอาสมบัติไปชาวบ้านจึงพากันเรียกตรงนั้นว่า “หนองช้างล้า ต้นมะขามเฒ่า” ต่อมามีการเรียกชื่อวัดเพี้ยนจาก หนองช้างล้าเป็น “หนองศาลา” จนถึงปัจจุบัน

เสนาสนะภายในวัด ในสมัยที่ พระอธิการเชือ้ อธิปโฺ ญ เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้กอ่ สร้าง หลวงพ่ อ จั ก รเพชรพระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละเป็ น ที่ เ คารพบู ช า ของชาวบ้าน และปัจจุบัน พระครูโอพาส ประชานุกูล เป็นเจ้าอาวาสวัด สว่างชาติประชาบำ�รุง ได้ถวายที่ดินจำ�นวน21 ไร่ พร้อมเป็นประทาน สร้างเมรุ ศาลาประกอบพิธีกรรม โรงครัว ห้องน้ำ� 20 ห้อง สมเด็จพระพุทธชินราชขนาดหน้าตักกว้าง 419 นิว้ ซึง่ นับว่าใหญ่ทสี่ ดุ ในอำ�เภอกำ�แพงแสน พร้อมกันนี้ท่านยังได้ขุดสระเพื่อปล่อยปลาไและ ใช้ลอยกระทงตามประเพณีที่สืบสานมาถึงทุกวันนี้

Nakhon Pathom 149

SBL OK6.indd 149

5/8/2558 BE 10:32 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

สักการะหลวงปูแ่ ผ้ว ปวโร...วัดรางหมัน

งานก่อสร้างวิหารหลวงปู่ เมื่อกล่าวถึง หลวงปู่แผ้ว ปวโร ในละแวกเมืองนครปฐม น้อยคนนักที่จะ ไม่รู้จักพระภิกษุ ผู้เปี่ยมด้วยเมตตา เยือกเย็น สุขุม มีวิถีชีวิต แบบเรียบง่าย สมถะ หลวงปู่เป็นพระผู้ใหญ่ที่บรรดาลูกศิษย์ให้ความเคารพนับถือ และยึดถือ เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตน

ชีวประวัติ หลวงปู่แผ้ว ปวโร

หลวงปู่แผ้ว ปวโร เดิมเชื่อ แผ้ว บุญวัฒน์ เกิดเมื่อวันแรม 14 ค่ำ� เดือน 11 ปีกุน ตรงกับวันพุธที่ 7 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2466 ภูมิลำ�เนาเดิมเป็น คนบ้านหนองม่วง ตำ�บลเตาอิฐ อำ�เภอบางแพ จังหวัดราชบุรี บิดาชื่อนายพาน มารดาชื่อ นางจุ้ย ยึดอาชีพทำ�นาเป็นหลัก ชีวิตในวัยเด็ก เมื่อหลวงปู่อายุได้ 2 ปี ครอบครัวได้ย้ายถิ่นฐานมาอยู่ที่หมู่บ้าน หลักเมตร ตำ�บลทุง่ ขวาง อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม ปี พ.ศ.2437 โยม พ่อได้นำ�หลวงปู่ไปฝากเป็นศิษย์ ที่วัดหนองม่วง ตำ�บลเตาอิฐ อำ�เภอบางแพ จังหวัดราชบุรี เพือ่ ให้เรียนหนังสือกับพระสงฆ์ เพราะโรงเรียนสมัยนัน้ จะอยูใ่ น วัดมีพระเป็นครูสอน หลวงปู่อยู่ในความดูแลของหลวงพ่อหงส์ เจ้าอาวาสวัด หนองม่วง ได้ตงั้ ใจศึกษาเล่าเรียนจนถึงชัน้ ประถมปีที่ 3 ก็เลิกเรียนกลางคัน ใน ปี พ.ศ.2479 เนื่องจากโยมพ่อกับโยมแม่ต้องการให้มาช่วยงานบ้าน เมื่อหลวงปู่มีอายุครบ 20 ปี เกิดจิตศรัทธาอยากจะอุปสมบทในบวรพุทธศสา นาตามประเพณี เพื่อทดแทนคุณบิดามารดา จึงได้บรรพชา ณ วัดหนองปลา ไหล อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม เมือ่ วันที่ 15 มิถนุ ายนพ.ศ. 2486 โดย มีพระครูสกุ จิ ธรรมสร(หลวงพ่อหว่าง) อดีตเจ้าอาวาสวัดกำ�แพงแสนเป็นพระอุปั ฌาย์ หลวงพ่อปาน อรกฺโฆ วัดหนองปลาไหล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สนั่น วัดหนองปลาไหล เป็นพระอนุสาวนาจารย์

หลังจากศึกษาพระธรรมวินยั พิจารณาคำ�สอนของ ครูบาอาจารย์อย่างถ่องแท้แล้ว จึงได้ตัดสินใจอย่างแน่วแน่ ว่าจะอุทศิ กายถวายชีวติ อยูใ่ นบวรพระพุทธศาสนาต่อไป เมือ่ ครองเพศสมณะในช่วงแรก หลวงปู่ได้จำ�พรรษาอยู่ที่วัด หนองปลาไหลเป็นเวลา 1 เดือน หลวงปูเ่ ริม่ สนใจการปฏิบตั ิ กรรมฐานอย่างจริงจัง ต่อมาท่านได้มาจำ�พรรษาที่วัดราง หมัน ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2551 ถึงปัจจุบัน โดยมี วัตถุประสงค์เพือ่ เป็นประธานในการสร้างอุโบสถ บำ�รุงรักษา วัด และฉลองศรัทธาของประชาชนบริเวณใกล้เคียงทีม่ าร่วม กันทำ�บุญ พระอธิการสมศักดิ์ อินฺโท (ลูกศิษย์ผู้ใกล้ชิดกับ หลวงปู่แผ้ว) เจ้าอาวาสวัดรางหมันในปัจจุบัน ได้กล่าวถึง ปฏิปทาของหลวงปู่แผ้วว่า

150

SBL OK6.indd 150

5/8/2558 BE 10:32 AM


“หลวงปูแ่ ผ้ว เป็นพระบริสทุ ธิ์ ไม่สนใจในลาภและสมศักดิ์ ไม่ยนิ ดี ที่จะเป็นเจ้าอาวาสวัดใด ๆ แม้จะเป็นความต้องการของพระภิกษุ และชาวบ้าน ซึ่งให้ความเคารพนับถือและศรัทธาในตัวท่านจำ�นวน มาก สาเหตุที่หลวงปู่แผ้วไม่ยอมเป็นเจ้าอาวาสวัดใดเลย ก็เพราะ ว่าหลวงปู่ท่านเป็นพระที่ปฏิบัติมาโดยตลอดและท่านไม่ยึดติดกับ อะไร ท่านไม่ยอมรับเป็นเจ้าอาวาสเพราะภาระนี้มันหนักหนา ท่าน เป็นพระภิกษุทใี่ ห้ความเมตตาต่อทุกคนทุกชนชัน้ อย่างเท่าเทียมกัน มีความเยือกเย็น สุขมุ เรียบง่าย เป็นพระปฏิบตั ทิ งั้ สมถะกรรมฐาน และวิ ปั ส สนากรรมฐานแม้ท่านจะไม่เ คยออกธุดงค์ ดั ง เช่ น พระ เกจิอาจารย์สมัยก่อน” ด้านการศึกษาวิทยาคม หลวงปู่แผ้วเป็นศิษย์ของ หลวงพ่อหว่าง ซึง่ เป็นลูกศิษย์ของ หลวงพ่อทา วัดพะเนียงแตก ตัง้ แต่เป็นสามเณร จึงเท่ากับว่าหลวงปูแ่ ผ้ว เป็นหลานศิษย์ของ หลวงพ่อทา วัดพะเนียง แตก ซึ่งการทำ�พิธีปลุกเสกวัตถุมงคลในอุโบสถ หลวงปู่แผ้วจะนำ� ภาพของหลวงพ่อทาและหลวงพ่อหว่างมาตั้งในพิธีทุกครั้งด้วย ความเคารพนับถือต่อครูบาอาจารย พระอธิการสมศักดิ์เล่าว่า ท่านได้รับการถ่ายทอดวิชามาจากหลวง ปู่แผ้วบ้าง ด้วยวิธี “ให้จำ� ไม่ให้จด เช้า ๆ จะบอก” มีลูกศิษย์ของ หลวงปูแ่ ผ้วบางคนเล่าว่า เคยนำ�ตะกรุดไปให้ทา่ นปลุกเสก หลังปลุก เสกเสร็จรับตะกรุดมาถือในมือ ปรากฏว่าตะกรุดร้อนเหมือนกับถูก นำ�ไปตากแดดเป็นเวลานาน เข้าใจว่าท่านคงสำ�เร็จกสิณ เพราะตาม หลักผู้สำ�เร็จกสิณจะมีพลังจิตสูง ปลุกเสกของได้ขลังกว่าการฝึก จิตให้มสี มาธิอย่างอืน่ พระอาจารย์สมศักดิใ์ ห้ความเห็นอีกว่าหลวง ปูแ่ ผ้วท่านชำ�นาญทางวิปสั สนาธุระ ดังนัน้ เรือ่ งสมถะกรรมฐานจึง ฝึกได้ไม่ยาก เรื่องการศึกษาวิทยาคมนี้ไม่มีใครกล้าสอบถามจาก หลวงปู่แผ้ว เราจึงไม่ค่อยรู้รายละเอียดในเรื่องนี้มากนัก

การบูรณะปฏิสังขรณ์วัดรางหมัน

งานก่อสร้างพระมหาเจดีย์

หลวงปูแ่ ผ้ว ซึง่ เป็นคูส่ วดและเป็นอาจารย์ของหลวงพ่อเจ้าอาวาสฯ คิดว่าเมือ่ อายุมากและร่างกายก็ชราคิดอย่างเดียวว่าทำ�อย่างไรถึงจะทำ�วัดต่าง ๆ ให้เสร็จ สมดังเจตนาของอดีตอุปัชฌาย์หลวงปู่ที่เป็นเหมือนครูบาอาจารย์ นั่นคือ หลวงพ่อหว่างได้สร้างโบสถ์รางหมันไว้ (สร้างเสร็จแค่ฐานกับเสา) ไม่มีใคร สร้างต่อให้เสร็จได้ จึงเป็นความมุ่งมั่นของหลวงปู่แผ้วที่ตั้งใจจะทำ�วัดนี้ให้ สำ�เร็จให้ได้ โบสถ์หลังเก่ากับหลังใหม่นี้อยู่คนละจุดกัน หลังเก่ารื้อออกไป นานแล้ ว หลวงปู่ ห วั งว่ า บั้ น ปลายสุ ด ท้ า ยจะสร้ างให้ เ สร็จสมดั่ งใจของ อุปชั ฌาย์ตนเอง จึงได้สง่ ให้พระสมศักดิม์ าดูแลการก่อสร้างวัดกับโบสถ์ และ เสนาสนะต่าง ๆ ภายในวัด หลังจากนัน้ หลวงปูแ่ ผ้วทีร่ ่ำ�เรียนวิชาจากหลวงพ่อหว่าง ได้สร้างเหรียญใบ ขี้เหล็กตามอาจารย์รุ่นเก่า ๆ โดยการดำ�เนินการของพระอธิการสมศักดิ์ อินฺ โท ตามหลักตำ�รากรรมวิธกี ารสร้าง เช่นเดียวกับของหลวงพ่อหว่างทีไ่ ด้สร้าง เหรียญใบขี้เหล็กมารุ่นหนึ่งเหมือนกัน ซึ่งปัจจุบันเหรียญวัตถุมงคลรุ่นใบ ขี้เหล็กพิมพ์นี้ จัดว่าเป็นพิมพ์หนึ่งที่ได้รับความนิยมมาก เหรียญใบขี้เหล็ก นีเ้ หมือนจะเป็นเหรียญอมตะไปแล้ว เหรียญใบขีเ้ หล็กจัดว่าเป็นของสูง ต้อง ออกเฉพาะงานยกช่อฟ้า อุโบสถ วิหาร เท่านั้น ใบขี้เหล็กมีความทนทานต่อ ดินฟ้าอากาศ และสรรพคุณมากมายในการรักษาโรคต่าง ๆ วัตถุมงคลหลวง ปู่ แ ผ้ ว เป็ น ที่ รู้ จั ก มากเป็ น จุ ด เริ่ ม แรกของการหาเงิ น มาสร้ า งโบสถ์ และ ถาวรวัตถุทางศาสนาหลายๆอย่างภายในวัดรางหมัน จังหวัดนครปฐม Nakhon Pathom 151

SBL OK6.indd 151

5/8/2558 BE 10:32 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

สิ่งศักสิทธิ์

วัดสี่แยกเจริญพร

-พระพุทธมงคลประสิทธิโชคเจริญพร(พระประธานในอุโบสถ) -ล.ป.ทวด พิมพ์ธุดงค์ในอุโบสถ -ล.ป.หลิว นั่งพญาเต่าเรือนในอุโบสถ -ล.พ.เหลือกิน ล.พ.เหลือใช้

วัดสีแ่ ยกเจริญพร ตัง้ อยูท่ ต่ี ำ�บลหนองกระทุม่ อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม ปัจจุบนั มีเจ้าอาวาสคือ พระครูปลัดสาธุวฒ ั น์(คณิสร ฐิตสาโร) อ.เทพ

ประวัติพอสังเขป

วัดสี่แยกเจริญพรก่อตั้งเมื่อประมาณปี พศ. 2516-2518 มีหลวงตาสิงหลฐิต ธัมโม ร่วมกับชาวบ้านได้ก่อสร้างขึ้นมาโดยมีชาวบ้านบริจาคที่ดินให้ โดยใช้ชื่อ สำ�นักสงฆ์บา้ นหนองขโมย(เรียกตามชือ่ ของหมูบ่ า้ นในขณะนัน้ ) ต่อมาได้รบั การ แต่งตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2528 ชื่อวัดสี่แยกเจริญพร 60 หมู่ 4 ตำ�บลหนองกระทุ่ม อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยมีพระครูปลัดสารุ วัฒน์เป็นเจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน กำ�ลังก่อสร้างบูรณะการก่อสร้างต่างๆในวัดให้ ร่มรื่นและสวยงาม

ด้านข้างอุโบสถ

ด้านข้างอุโบสถ

ด้านหลังอุโบสถ

สิ่งก่อสร้างภายในวัด

-ศาลาทำ�บุญ 1 หลัง -กุฎิปูน 2 ชั้น 6 ห้อง จำ�นวน 2 หลัง -กุฎิกรรมฐาน 30 หลัง -โรงครัว 1 หลัง

สิ่งที่กำ�ลังก่อสร้างภายในวัด -อุโบสถประยุกต์สแตนเลสห้อยระฆัง 2,600 ลูกรอบหลังคา -กำ�แพงแก้วรอบอุโบสถ -แต่งองค์พระ ล.พ.เหลือกิน ล.พ.เหลือใช้ -ห้องน้ำ�ห้องสุขา ด้านสถานที่ปฎิบัติธรรม -ปลูกต้นไม้ จัดสวนหย่อมเพื่อความรื่นรมและสวยงาม

ด้านหน้าอุโบสถ

อุโบสถทีก่ ำ�ลังก่อสร้าง

152

SBL OK6.indd 152

5/8/2558 BE 10:32 AM


กราบพระพุทธมงคลประสิทธิโชค หลวงพ่ อ วั ด สี่ แ ยกเจริ ญ พรจั ด ให้ มี พิ ธี เ ททองหล่ อ พระพุทธมงคลประสิทธิโชค ขนาดหน้าตัก 84 นิ้ว ใน วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม 2554 (วันวิสาขบูชา ขึ้น 15 ค่ำ�เดือน6๖) ซึ่งจะนำ�ไปประดิษฐานเป็นพระประธาน ในอุโบสถ โดยมีพระธรรมเสนานี ที่ปรึกษาเจ้าคณะ จังหวัดนครปฐม และเจ้าอาวาสวัดวังตะกู เป็นประธาน ฝ่ายสงฆ์ แปะกงไตเซีย และคณะลูกศิษย์พร้อมด้วยร่าง ทรงองค์เทพต่าง ๆ เป็นประธานฝ่ายเทพ นอกจากนี้ แล้วก่อนเททองหล่อพระเวลา 10.00 น. วัดจัดให้มีพธิ ี ถวายภัตตาหารเพลพระสงฆ์จำ�นวน 585 รูป จาก 100 วัดอีกด้วย

รูปวัตถุมงคล ล.ป.หลิว ปัณณโก วัดไร่แตงทองที่ยังมีให้บูชา

เส้นทางบุญหนุนนำ�ชีวิต ล . พ . เ ห ลื อ กิ น ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น ห น้ า อุโบสถด้านขวา

ล . พ . เ ห ลื อ ใ ช้ ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น ห น้ า อุโบสถด้านซ้าย

ล.ป.หลิว ปัณณโก นั่งพญาเต่าเรือน

เนือ่ งจากวัดสีแ่ ยกเจริญพรเป็นวัดที่ เริม่ ก่อตัง้ โดยได้สร้างโบสถ์ รวมทัง้ กำ � ลั ง ดำ � เนิ น การก่ อ สร้ า งศาสน สถานภายในวัดอีกหลายอย่าง แต่ ยังขาดจตุปัจจัยในการสร้าง จึง บอกบุญมายังพุทธศาสนิกชนร่วม บริจาคได้ที่ ธนาคารกรุงไทย สาขา กำ�แพงแสน ประเภทออมทรัพย์ ชื่อ บัญชี วัดสี่แยกเจริญพร 726-022153-4 หรื อ สอบถามราย ละเอี ย ดได้ ที่ วั ด สี่ แ ยกเจริ ญ พร ต.หนองกระทุ่ ม อ.กำ � แพงแสน จ.นครปฐม โทร.08-1585-4214 และ 08-2293-9714 Nakhon Pathom 153

SBL OK6.indd 153

5/8/2558 BE 10:32 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดนิยมธรรมวรธาราม วั ด นิ ย มธรรมวราราม ตั้ ง อยู่ เ ลขที่ 1 หมู่ 2 ตำ�บลทุ่งบัว อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม (วัดตั้งอยู่ ติดกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ�แพงแสน) พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2522 และประกาศตั้ง วัดเมื่อ 10 สิงหาคม 2503

ประวัติวัดนิยมธรรมวราราม วั ด นิ ย มธรรมวราราม เดิ ม ชื่ อ “วั ด ทุ่ ง ควายหาย” สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2500 โดยมี น ายพิ น กั น ตะเพ็ ง ศึ ก ษาธิ ก ารอำ � เภอในสมั ย นั้ น เป็ น ผู้ บ ริ จ าคที่ ดิ น จำ � นวน 60 ไร่ ถวายพระครูสุกิจธรรมสรณ์ (หลวงพ่อสว่าง) เจ้าอาวาสวัดกำ�แพงแสน ต่อมาภายหลังได้ยกให้สร้างโรงเรียน วัดนิยมธรรมวราราม จำ�นวน 20 ไร่ และได้ถูกทางรถไฟ สายชุมทางหนองปลาดุก – สุพรรณบุรี ตัดผ่านอีกจำ�นวน หนึ่ ง ทำ � ให้ ปั จ จุ บั น เหลื อ เนื้ อ ที่ 40 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา พระครูสุกิจธรรมสรณ์ ได้ส่ง หลวงพ่อสกล ปริสุทฺโม มาเป็นเจ้าอาวาส ซึ่งตอนที่ท่านได้มา อยู่ ใ หม่ ๆ นั้ น ยั ง ไม่ มี ชื่ อ วั ด เพี ย งแต่ ตั้ ง อยู่ ใ นเขต บ้ า นทุ่ ง ควายหาย ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย กชื่ อ วั ด ติ ด ปากว่ า “วัดทุ่งควายหาย” ต่อมาหลวงพ่อสกลจึงได้ปรึกษาหารือกับ ชาวบ้าน และได้ตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดนิยมธรรมวราราม” ตั้งแต่ บัดนั้นเป็นต้นมา หลวงพ่อสกล ได้ดำ�เนินการก่อสร้างถาวรวัตถุที่จำ�เป็น ต่อการปฏิบัติศาสนกิจหลายอย่าง เช่น กุฏิ ศาลาการเปรียญ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2516 พระสมาน สิริปณฺโณ ได้ขึ้นดำ�รง ตำ�แหน่งเจ้าอาวาส และได้ทำ�การก่อสร้างอุโบสถ หอสวดมนต์ หอระฆัง ต่อมาได้รับสมณศักดิ์ เป็นพระครูสิริปัญญารักษ์ จนถึงปี พ.ศ. 2538 ท่านได้ลาออกจากการเป็นเจ้าอาวาส ชาวบ้านจึงได้นิมนต์พระสุริยา ปภากโร วัดทะเลบก มาเป็น เจ้าอาวาสแทน พระสุริยา ปภากโร ได้ดำ�เนินการก่อสร้างกุฏิ ทรงไทยสำ�หรับปฏิบัติธรรม 2 หลัง และซ่อมแซมกุฏิ ศาลา พระอุโบสถบางส่วนที่ทรุดโทรม ให้คงเป็นสถานที่ที่สามารถ ปฏิบัติศาสนกิจได้ดังเป็นอยู่เช่นปัจจุบันนี้

154

SBL OK6.indd 154

5/8/2558 BE 10:33 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดปทุมทองสุทธาราม วัดปทุมทองสุทธาราม เลขที่ 72 หมู่ 5 ตําบลห้วยม่วง อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม เนื้อที่ดิน จำ�นวน 41 ไร่ 2 งาน 99 ตารางวา

ความเป็นมาแต่เดิม

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด วัดปทุมทองสุทธาราม มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนให้ความเคารพ นับถือ คือ พระประธานในอุโบสถ พระจตุภาคี

นายเรี ย บ ปาทอง ชาวบ้ า นหนองสะแก ได้ ทำ � เรื่ อ งขอตั้ ง เป็ น กิจกรรมสืบสานพระพุทธศาสนา ที่พักสงฆ์บ้านหนองสะแก จึงไปนิมนต์พระสงวน นาคสโม มาดูแล ทางวัดมีการทำ�บุญทุกวันพระ และมีกิจกรรม-งานประเพณีไทย พระสงฆ์ ต่ อ มาได้ ทำ � เรื่ อ งขอตั้ ง เป็ น วั ด ปทุ ม ทองสุ ท ธาร าม ที่สืบทอดกันมา เช่น จัดงานรดน้ำ�ดำ�หัวผู้สูงอายุในวันสงกรานต์ จากผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2499 จนถึงปัจจุบัน จัดงานวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม และวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม ทุกปี และจัดงานทำ�บุญให้กับผู้มีพระคุณ

ยุคเริ่มแรกของการสร้างวัด

ในช่วงแรกของการก่อตั้งเป็นวัดนั้น ถาวรวัตถุในวัดมีเพียงศาลา การเปรียญ 1 หลัง โบสถ์จำ�ลอง 1 หลัง ครั้งต่อมาพระครูปทุมธาดา เจ้าอาวาสวัดองค์แรก เล็งเห็นว่าถาวรวัตถุในวัดเริม่ เก่าแก่ทา่ นจึงได้บรู ณะ ใหม่ และพั ฒ นาสิ่ ง ใหม่ ๆ ขึ้ น มา อาทิ อุ โ บสถใหม่ 1 หลั ง กุฏิ 5 หลัง ฌาปนสถาน 1 หลัง สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2516 ผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. 2532

ลำ�ดับเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระครูปทุมธาดา ตั้งแต่ พ.ศ.2502 -2547 รูปที่ 2 พระอธิการพนม ปริชาโน พ.ศ.2548 – ปัจจุบัน ไวยาวัจกร คือ นายเอื้อน ทนุพล

156

SBL OK6.indd 156

5/8/2558 BE 11:21 AM


ปูชนียวัตถุสำ�คัญของวัด องค์ ส มเด็ จ ปฐมมหาพรหมจั ก รพรรดิ์ พ ระชั ย ยะสัมมาสัมพุทธเจ้า หน้าตัก 59 นิว้ เนือ้ สัมฤทธิ(์ องค์แรกของโลก) พระสีวลี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (ทรงม้า) ขนาดเท่า องค์จริง และต้นตะเคียนโบราณจำ�นวน 27 ต้น

คติธรรมจากวัดนิยมธรรมวราราม พระพุทธเจ้าท่านได้ตรัสรู้ว่าโลกนี้เปลี่ยนแปลงยุคสมัย มานาน เช่ น พระพุ ท ธเจ้ า ท่ า นให้ เ ราหาที่ ม าของวงกลม ซึ่งหมายถึง วัฏสงสารในโลกมนุษย์นี้เอง คนทุกคนไม่สามารถ ทราบได้ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง แต่พระพุทธเจ้าท่านทรงรู้ว่าต่อไป จะเกิ ด อะไร ฉะนั้ น พระพุ ท ธเจ้ า เองก็ ไ ม่ ต่ า งจากอะไรกั บ นักวิทยาศาสตร์ พระพุทธเจ้าทรงบำ�เพ็ญเพียรมานาน ก่อนที่ จะตรัสรู้ ท่านสามารถระลึกได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นในโลกภายหน้า ท่านรู้ ท่านเห็น แต่ว่านี่ไม่ใช่ทางดับทุกข์ ท่านจึงได้พยายาม หาหนทางว่าจะทำ�อย่างไร ท่านจึงได้กำ�หนด สมาธิ กำ�หนด ลมหายใจ จนได้รู้ว่า มีเกิดก็มีดับ ซึ่งบรรลุโดยการกำ�หนดลม หายใจนั้นเอง

ประวัติความเป็นมาของต้นตะเคียน เรือดูดทรายทีบ่ อ่ ปฐมไทรทอง ไปดูดโดนต้นแม่ตะเคียน เรือทำ�งานไม่ได้ ผู้จดั การจึงมาหาอาตมา อาตมาจึงบอกให้เอาขึ้น ต้นแรกที่ขึ้น ชื่อเจ้าหญิงมณีทอง อีกไม่กี่วันก็พบอีก เป็นพี่สาว ชื่อเจ้าหญิงมณีบุบผาพี่สาวคนโต อีก 2 วันก็ขึ้นอีก ชื่อเจ้าหญิง เบญจมาศพี่คนรอง อีก 5 วันเรือก็ดูดโคน เรือขยับไม่ได้ รถแมคโครก็จมเลน โยมก็มาตามอาตมา เรือก็ขยับทำ�งานไม่ได้ จึงบอกให้โยมโทรไปหาโยมแม่พัดให้แม่พัด จุดธูปนั่งดู โยมก็ บอกว่า แม่ตะเคียนจะขึ้น ขอธูปเทียนทอง ผ้าสามสี แต่มีเจ้าที่ ตัวดำ�ใหญ่ยืนเหยียบเรือ เหยียบรถแมคโครไว้ เจ้าที่บอกว่า เขาอยู่มาก่อน แม่ตะเคียน เจ้าที่ก็ยกไหเหล้าโบราณแล้วจึงบอกว่า ขอเหล้าเทหนึ่ง ไก่ 2 ตัว จะได้ไหม สิ่งที่เราจะได้ มันมาก กว่านั้น อาตมาจุดธูปบอกไปว่า ขอแม่ตะเคียนขึ้นมาถ้าเจ้าของบ่อ ไม่ให้ อาตมาจะให้เอง สองเท่า แม่ตะเคียนก็ขึ้นง่าย อีกสองวันก็ พบอีกให้โยมดำ�น้ำ�ลงไปผูก ผูกต้นเดีย่ วแม่ตะเคียนก็กลับกอดกัน ขึ้นมา 3 ต้น ทั้งที่ต้นไม้มีรากไม่มีกิ่ง เป็นพี่น้องฝาแฝด ต้นหนึ่ง มีลูก ต่อมาก็เจออีกและก็ขึ้นมาเรื่อยๆ ต้นตะเคียนจมอยู่ใต้ล่าง จมมาสองพันกว่าปี เพราะทีอ่ ำ�เภอกำ�แพงแสน ตรงนีล้ ม่ สลายจึง ถูกฝั่งอยู่ใต้ดินมานาน มีมากเป้นร้อยๆ ต้น

Nakhon Pathom 155

SBL OK6.indd 155

5/8/2558 BE 10:33 AM


อู่ โปชเหน่งการช่าง

ยันยงค์ (เหน่ง) เกษมธาดาศักดิ์ 081-7361261

เคาะ พ่นสี รถยนต์ทุกชนิด ์ ว า ย เ ม อ ่ ย า ค รา เป็นกันเอง าญ น � ำ ช ้ ู ผ ง ่ า ช ย ด โ

กระถินแดง 95 SBL OK6.indd 157

หมู่ 11 ถ.ห้วยขวาง อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม

FAX : 034-204507

5/8/2558 BE 10:34 AM


เส้ น ทางพบ อำ�เภอนครชัยศรี “นายวัชรินทร์ รัตนบรรณกิจ” นายอำ�เภอนครชัยศรี

อำ�เภอนครชัยศรี

เคยเป็นที่ตั้งเมืองเก่าในรัชสมัย ของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี ตัวเมืองอยู่ใกล้ปากคลองบางแก้ว ห่างจากที่ ว่าการอำ�เภอนครชัยศรี ประมาณ 2 กิโลเมตร มีฐานะ เป็นเมือง สังกัดกรมมหาดไทยตลาด ต่อมาได้โปรดเกล้าฯ ให้ โ อนเมื อ งนครชั ย ศรี ไ ปสั ง กั ด กรมท่ า จนมี ก าร ปรับปรุงการปกครองใหม่ เมือ่ พ.ศ. 2437 สมัยสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้จดั ตัง้ กระทรวง มหาดไทยขึ้น จัดรูปแบบการปกครองเป็นแบบมณฑล เทศาภิบาล เมืองนครชัยศรีจึงได้โอนไปสังกัดกระทรวง มหาดไทย ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมณฑลขึ้นโดยรวมเมือง นครชัยศรี สาครบุรี สุพรรณบุรี เข้าไว้ในมณฑล เดียวกันว่า “มณฑลนครชัยศรี” แล้วให้เมืองนครชัยศรี เป็นที่ตั้งมณฑล ซึ่งเป็น 1 ใน 19มณฑล ครอบคลุม 72 หัวเมือง ในปี พ.ศ. 2438

152 158

SBL OK6.indd 158

5/8/2558 BE 10:34 AM


นครชัยศรี ได้มพ ี ฒ ั นาการมายาวนานตัง้ แต่ยคุ ทวารวดี กรุง ศรีอยุธยา รัตนโกสินทร์ มีความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ด้วยศิลป วัฒนธรรม พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์ เพราะมีแม่น้ำ�คูคลอง ไหลผ่าน มีดินที่มีคุณภาพจากตะกอนดินที่ไหลมาจากภาคเหนือจาก จังหวัดชัยนาท สุพรรณบุรี ผสานกับสายน้ำ�ที่ไม่มีวันเหือดแห้ง อีก ทัง้ ผูค้ นทีม่ หี ลากหลายชาติพนั ธุ์ จึงทำ�ให้วถิ ชี วี ติ ของคนทีน่ ครชัยศรี มีแต่ความสุข

ปัจจุบันความเจริญรุ่งเรือง ผ่านนโยบายในแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ต่อเนื่องจนเป็นเมืองเอกปริมณฑลของ กรุ ง เทพฯ มี ค วามมั่ ง คั่ ง ของเศรษฐกิ จ ผ่ า นวิ ถี เ กษตรกรรม อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว และบริการ เสมือนมนต์เสน่ห์ให้นักเดินทาง และนักท่องเที่ยว อดที่จะแวะเวียนมาไม่ได้ ตลาดท่านาหรือตลาด ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ประดุจสวรรค์ของนักชิมอาหาร คาว หวาน เป็ดพะโล้เจียมจันทร์ ก๋วยเตี๋ยวแคะ ปลาช่อนทอดน้ำ�ปลา ขนม มาม่อนจัง และขนมปังเย็นร้านป้อม หมี่เกี๊ยวก๋วยเตี๋ยวปลา ผัดไทย กุ้งสดเจ๊ตุ๊ก ขนมเบื้องญวน ชวนกินส้มโอนครชัยศรีขาวน้ำ�ผึ้งแท้ กล้วยหอมทอง มะละกอแขกดำ� น้ำ�ฝักข้าว น้ำ�สมุนไพรอัญชัน กุ้งเผา สะเดาลวก อีกขนมไทยสารพัด อิม่ แล้วเดินชมสินค้า Antique ประมูล จากกรมศุลกากรของสะสม เฟอร์นิเจอร์แต่งบ้านย้อนยุค แล้วยังมี แหล่งท่องเทีย่ วอีกมากมายตามริมน้ำ�นครชัยศรี วัดกลางบางแก้ว วัด ใหม่สปุ ระดิษฐาราม นิยามกวนข้าวทิพย์ วัดตุก๊ ตา วัดกลางคูเวียง วัด บางพระ มีศิลปะและการเรียนรู้สอดแทรกแยกไม่ออก พิพธิ ภัณฑ์หุ่น ขี้ผึ้งไทย ตำ�บลขุนแก้ว หุ่นปั้นรังสรรค์ขึ้นเสมือนจริง ขาดแต่ลม หายใจ ไม่ไกลทีต่ ำ�บลงิว้ ราย มากมายรถยนต์โบราณ เจษฎามิวเซียม เทคนิค กว่าพันคัน เพื่อแบ่งปันความรู้ยานยนต์ วูดแลนด์เมืองไม้ (Woodland Muangmai) ยังไม่ตายรีบไปดู อยูต่ ำ�บลดอนแฝก เป็น แห่งแรกที่รวมแกะสลักไม้จากทั่วโลกอลังการ อุทยานปลาวัดห้วยพลู ก๋วยเตี๋ยวหมูและไก่ฉีกอร่อยลิ้น ไม่จบสิ้นพิพิธภัณฑ์นกฮูก ตำ�บลไท ยาวาส แหล่งรวมนกฮูกปราชญ์ของตะวันตก และ หยิบยกครกหิน ของจิปาถะภัณฑ์สถานคนโบราณใช้สอย ที่พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัด สำ�โรง ตำ�บลวัดสำ�โรง ไถ่ชีวิตกระบือ ลือเลื่องไสยเวทย์ สุดเขตที่วัด สว่างอารมณ์ อาจารย์แป๊ะ แวะพิพิธภัณฑ์วัดห้วยตะโก โอฬารด้วย ศิลปะขอม วัดกลางบางพระ ศิลปะสักเก้ายอดปลอดภัย ตำ�บลบางแก้ว ฟ้า วัดศีรษะทอง กราบพระราหู แล้วแวะดูเจ้าแม่กวนอิม วัดศรีมหาโพธิ์ ใหญ่โตเสียดฟ้า สะพานเสาวภา ตำ�นานทหารญี่ปุ่นบุก ตำ�บลวัดแค ที่ แน่แท้ปลากัดไทย ยิ่งใหญ่ที่ตำ�บลสัมปทวน และควรแวะชม ศิลาดล เซรามิค ภูมิปัญญาไทยยิ่งใหญ่ไป ทัว่ โลก นับเป็นโชคทีไ่ ด้มาเยือน เมืองนครชัยศรี ของดีจากภูมปิ ญ ั ญา พื้นบ้าน ขนมสอดไส้ ป้าทองย้อย งิ้วราย กิ่งพันธุ์ไม้ ตำ�บลโคกพระ เจีดย์ ลุงทองใบ นวดแผนไทย วัดตุ๊กตา และวัดท่าตำ�หนัก อีกศิลปะ หัวโขนอมฤตเทวา ทูลเกล้า ฯ ถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปุย๋ อินทรีย์ ลุงบุญมี สุขสถาพรเลิศ ตำ�บลแหลม บัว แม่ครัวอาหารไทยน้ำ�พริกเผา นายกวัดแค แน่แท้ว่าวไทย ยิ่งใหญ่ จุฬา ชัยพัชร รัตนเจริญพงษ์ วัดสำ�โรง จักสานผักตบชวา ตระกร้า ของใช้ ป้าพยอม แจ่มนิยม ตำ�บลวัดละมุด ไม้มงคลตำ�บลแหลมบัว ไม่กลัวเพราะส่งออกเมืองนอก อีกงานไม้เครื่องตั้งเถรอดเพลวัดไทร ตำ�บลท่ากระชับ ให้ตั้งหลักที่ศาลหลักเมืองนครชัยศรี ของดีประจำ�ปี มหามงคล ริมคลองบางแก้ว เลิศแล้วเมื่อได้บูชา

Nakhon Pathom 159

SBL OK6.indd 159

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางพบ

เทศบาลตำ�บล (อ.นครชัยศรี)

เทศบาลตำ�บลขุนแก้ว “เทศบาลต�ำบลขุนแก้วเป็นชุมชนเข้มแข็งเป็นแหล่งเรียน รูม้ งุ่ สูก่ ารพัฒนา การศึกษาก้าวไกล ประเพณียงิ่ ใหญ่ ใส่ใจสิง่ แวดล้อม พร้อมโครงสร้างพืน้ ฐาน” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาเทศบาลตำ�บลขุนแก้ว ซึง่ มีส�ำ นักงาน ตั้งอยู่เลขที่9 หมู่ 3 ตำ�บลขุนแก้วอำ�เภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม ระยะห่างจากอำ�เภอนครชัยศรี ประมาณ 5 กิโลเมตรและ ห่างจากจังหวัดนครปฐม ประมาณ 18 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นาย สมศักดิ์ เอี่ยมพินพันธ์ ดำ�รงตำ�แหน่งนายกเทศมนตรีตำ�บลขุน แก้วศักยภาพของตำ�บลขุนแก้ว ศักยภาพของตำ�บลขุนแก้ว เทศบาลตำ�บลขุนแก้ว มีพื้นที่ 10.8 ตารางกิโลเมตรแบ่งเขต การปกครองเป็น 4 หมูบ่ า้ น มีจ�ำ นวนประชากร 7,567 คน จำ�นวน ครั ว เรื อ น 3,136 ครัว เรือ นเนื่อ งจากตำ �บลขุ นแก้ ว มี โ รงงาน อุตสาหกรรมในพื้นที่ จำ�นวน 36 โรงงานประชากรส่วนใหญ่จึง ประกอบอาชีพรับจ้างในโรงงาน รองลงมาคือทำ�การประมง ทำ�สวน เลี้ยงสัตว์และประกอบธุรกิจส่วนตัว

2.นโยบายด้านการพัฒนาสังคม ส่งเสริมสนับสนุนงานสวัสดิการสังคม การสังคมสงเคราะห์ คุณภาพที่ดีกว่า โดยดูแลผู้สูงอายุ เด็ก ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์ และ ผู้ ด้ อ ยโอกาส ,สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม และรณรงค์ ป้ อ งกั น อาชญากรรม และสิ่ ง เสพติ ด เพื่ อ ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สิน ส่งเสริมการปฏิบัติงาน และจัดให้มีการฝึกอบรมของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.) ตำ�บลขุนแก้วฯลฯ 3. นโยบายด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และการ สาธารณสุข ดำ�เนินการก่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็กพร้อมทั้ง ดูแลศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กให้มีสื่อการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะ พร้อม จัดให้มีเครื่องออกกำ�ลังกาย อาหารเสริม (นม) อาหารกลางวัน พัฒนาครูผู้ดูแลเด็กเล็ก ,ส่งเสริมการศึกษาในระบบ และแหล่ง เรียนรู้ชุมชน ให้มีการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ฯลฯ 4.นโยบายด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมสนับสนุนภูมิปัญญาท้องถิ่นและเศรษฐกิจชุมชน สนับสนุนการสร้างงานให้ประชาชนมีรายได้เพิม่ ขึน้ ,จัดให้มกี ารฝึก

นโยบายในการพัฒนา 1. นโยบายด้านการบริการสาธารณะและโครงสร้างพืน้ ฐาน ก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุงรักษา ถนน สะพาน เขื่อนกันดิน ทางเท้า ท่อระบายน้ำ� และซ่อมแซมปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ สาธารณูปโภคให้ใช้การได้ดี การก่อสร้างประตูน้ำ� ในการป้องกัน น้ำ�ท่วมเร่งปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้าน จัดให้มีท่อเมนประปาและ บ่อบาดาลให้เพียงพอแก่ความต้องการของประชาชนฯลฯ 160

SBL OK6.indd 160

5/8/2558 BE 10:35 AM


อบรมอาชีพให้แก่กลุม่ สตรีต�ำ บลขุนแก้ว เพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ในการผลิต ,ส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ให้มีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์การบรรจุหีบห่อให้ทันสมัย ,จัดให้มีการศึกษาดูงาน ของกลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ฯลฯ 5. นโยบายด้านการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์แหล่งน้ำ� โดยการขุดลอก คูคลอง พร้อมกำ�จัดวัชพืช เพือ่ การพัฒนาและฟืน้ ฟูแหล่งน้ำ� ,ส่ง เสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงาน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์รว่ ม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ แม่น้ำ� ลำ�คลอง ,พัฒนาระบบการ จัดเก็บขยะให้มีประสิทธิภาพในเรื่องของบุคลากร งบประมาณ รวมถึงการจัดซือ้ รถยนต์ส�ำ หรับจัดเก็บขยะ ,ส่งเสริมและสนับสนุน การปลูกต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับ เพื่อปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ ของตำ�บลให้มีความสวยงาม เป็นตำ�บลน่าอยู่ฯลฯ

แหล่งเรียนรู้/โบราณสถานที่สำ�คัญ พิพธิ ภัณฑ์หนุ่ ขีผ ้ งึ้ ไทยทีต่ งั้ หมู่ 1 ถนนปิน่ เกล้า-นครชัยศรี ประติมากรรมแห่งชีวิต ที่สะท้อนศาสตร์และศิลปะอย่างมีชีวิตชีวา โบราณสถานวัดประชานารถมีเจดียโ์ บราณศิลปกรรมสมัย อยุธยาปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณ สถานวัดประชานารถ วัดสว่างอารมณ์เป็นวัดร้างมากกว่า 50 ปีเศษ ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ี 4

6. นโยบายด้านการบริหารจัดการที่ดี สนับสนุนการปฏิบตั งิ าน ปรับปรุงและพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเครื่องมือเครื่องใช้ และอาคารสถานที่ ในการให้ บริการประชาชน ,ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกิจการ ของท้องถิ่นให้ประชาชนในตำ�บล ให้มีความเข้าใจมากขึ้น และ สนับสนุนให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการท้องถิน่ ฯลฯ งานประเพณีประจำ�ท้องถิ่น

ผลิตภัณฑ์และของดีตำ�บลขุนแก้ว

ประเพณี แ ข่ ง ขั น เรื อ ยาวและเรื อ มาดพื้ น บ้ า นชิ ง ถ้ ว ย พระราชทาน สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถ ซึง่ เป็นประเพณี ที่จัดขึ้นเป็นประจำ�ทุกปีในเทศกาลงานบุญออกพรรษา โดยจัดขึ้น ณ วัดประชานารถ(โคกแขก) หมู่ที่ ๑ ตำ�บลขุนแก้ว

กลุ่มไม้กวาด ฒ ผู้เฒ่า หมู่ 1 โดย คุณปรานี แก้วชมเชย โทร.082-685-4104 กลุ่มร้อยมาลัยดอกไม้สด หมู่ 1โดยคุณดารินทร์ ผ่องผุด โทร.081-981-1158 ขนมเปี๊ยะ สูตรโบราณ กลุ่มแม่บ้านศาลเจ้า หมู่ 2โดย คุณสำ�เภา วรรณฤมล โทร.089-817-1134 กล้วยฉาบ กลุม่ แม่บา้ น หมู่ 3โดยคุณหนึง่ ฤทัย นิลพรรณ โทร.081-813-8457 น้ำ�มันมะพร้าวสกัดเย็น โดยห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ทรอปิคานา ออยล์ หมู่ 4 โทร 034-326836 ขนมเปี๊ยะหอมบ้านขุนแก้ว หมู่ 3โทร.034-990740 กลุม่ อาชีพตำ�บลขุนแก้ว (ส้มตำ�ยายเพิง้ )โดยคุณนุช เอกจีน หมู่ที่ 1 ต.ขุนแก้ว โทร 086-7531299 Nakhon Pathom 161

SBL OK6.indd 161

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.นครชัยศรี)

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ท่าพระยา “ให้บริการด้วยใจ ใส่ใจการศึกษา พัฒนาคุณภาพ ชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ท่าพระยา ซึ่งมีส�ำ นักงานตั้งอยู่เลขที่ 79 หมู่ที่ 1 ตำ�บลท่าพระยา อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ห่างจากตัวอำ�เภอนครชัยศรี ประมาณ 7 กิโลเมตร ประวัติตำ�บลท่าพระยา ตำ�บลท่าพระยา ได้รับการตั้งชื่อตำ �บลตามตำ�นานที่ เกีย่ วเนือ่ งกับพระมหากษัตริยท์ สี่ ร้างองค์พระปฐมเจดีย์ ทีก่ ล่าวว่า เมื่ อ พระยาพาน พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ยิ่ ง ใหญ่ ใ นสมั ย ทวารวดี ปกครองเมืองในสมัยนั้นต้องเสด็จไปคล้องช้าง ซึ่งกำ�ลังตกมัน และทำ�ความเดือดร้อนให้แก่ราษฎรของพระองค์ที่บางช้าง (อำ�เภอ สามพรานในปัจจุบัน) พระองค์ได้เสด็จทางชลมารคซึ่งใช้เป็นเส้น ทางสัญจรของผู้คนในสมัยนั้น จนเสด็จมาถึงท่าเทียบเรือซึ่ง ปัจจุบันคือบริเวณวัดท่าใน ซึ่งในอดีตเป็นท่าเรือที่ใช้ขนส่งทางน้ำ� ที่สำ�คัญของชุมชนและเมืองในสมัยโบราณ และพระองค์ได้เสด็จ ต่อไปทางชลมารคตามลำ�แม่น้ำ�บางแก้ว เพื่อเสด็จไปออกสู่แม่น้ำ� ใหญ่และเสด็จต่อถึงบางช้างได้สะดวก อาศัยตำ�นานนี้ เมือ่ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 ทรงประกาศยุบมณฑลนครชัยศรี ในปี พ.ศ.2474 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศตั้งตำ�บล “บ้านกวย” เดิม เป็นตำ�บล

“ท่าพระยา” เพราะอาศัยชือ่ พระยาพานอันเป็นมงคลของหมูบ่ า้ นวัด ท่า อันเป็นท่าเรือซึ่งเป็นศูนย์กลางของการขนส่งและคมนาคมใน สมัยโบราณ อีกทั้งเป็นท่าเรือทีพ ่ ระยาพานได้เสด็จมมาประทับเรือ ณ บริเวณนี้จึงได้ตั้งชื่อว่า “ตำ�บลท่าพระยา” คนในชุ ม ชนตำ � บลท่ า พระยา เป็ น คนไทยดั้ ง เดิ ม และ คนไทยเชื้อสายจีนเป็นส่วนมาก และมีลูกหลานได้อาศัยพื้นที่นี้ ทำ�มาหากินสืบต่อๆ กันมา จนกระทั่งความเจริญทางเศรษฐกิจมี มากขึ้น คนในชุมชนบางคนได้ขายที่ดินเพื่อย้ายไปอยู่ที่กรุงเทพ บางส่วนก็ขายเพือ่ ไปทำ�มาหากินทีอ่ นื่ สมาชิกชุมชนทีย่ า้ ยเข้ามาอยู่ ในชุมชนนี้ มาซื้อที่ดินเพื่อตั้งรกราก ประกอบอาชีพทำ�นาและสวน ผัก แต่ผู้ที่อยู่ในชุมชนแต่เดิมยังคงเป็นผู้น�ำ ในการอนุรักษ์ และผู้ ทีเ่ ข้ามาอยูอ่ าศัยใหม่ยงั คงยึดขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเอง และขนบธรรมเนียมประเพณีของท้องถิ่นไว้เป็นอย่างดี จุดเด่นของพื้นที่ อบต.ท่าพระยา เป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลขนาดกลาง มีเนื้อที่รวมกันทั้งสิ้น 10.62 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,637.50 ไร่ พื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พื้ น ที่ ร าบลุ่ ม มี ค วามอุ ด ม สมบูรณ์ เหมาะแก่การทำ�เกษตรกรรม และเลี้ยงสัตว์น้ำ� เช่น กุ้ง ปลา มีคลองบางแก้ว คลองวัดหลวง คลอง 2,3 คลอง 2,3,5 คลองวัว และมีบึงกุ่ม – บึงบางช้าง ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ต.ท่าพระยา ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาช่วงสามปี (พ.ศ.2559-2561)

162

SBL OK6.indd 162

5/8/2558 BE 10:35 AM


1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจระบบการผลิตสินค้าเกษตร เพือ่ การพาณิชย์ และส่งเสริมการสร้างฐานการผลิตในท้องถิน่ ให้ เข้มแข็ง โดยพัฒนาคุณภาพของคน เทคโนโลยี และการบริหาร จัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตและการตลาด มีการส่งเสริมการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริม เพือ่ เป็นการ สร้างงานและเพิ่มรายได้ หรือดำ�เนินการให้ประชาชนมีรายได้เพิ่ม ขึ้น โดยใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาให้มีมาตรฐาน มีคุณภาพ มีการก ระจายรายได้และกระจายตัวด้านเศรษฐกิจอย่างสมดุลทัว่ ทัง้ ตำ�บล เน้นการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยใช้เวทีประชาคมบนพื้นฐานที่ มีดลุ ยภาพแห่งวิถไี ทยและยุคโลกาภิวฒ ั น์ เพือ่ การยกมาตรฐานใน การดำ�รงชีวิตทั้งด้านคุณภาพชีวิต การมีสุขภาพที่ดีและส่งเสริม สวัสดิการชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณูปโภค เน้น การพัฒ นาด้านกายภาพเกี่ยวกั บสาธารณู ปโภค สาธารณูปการต่างๆ เพื่อยกระดับความเป็นอยู่และอำ�นวยความ สะดวกในหมู่บ้าน/ชุมชน และประชาชน โดยชุมชนมีส่วนร่วม 3. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม เน้นการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งโดยใช้เวทีประชาคมบน พื้นฐานที่มีดุลยภาพแห่งวิถีไทยและยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อการยก มาตรฐานในการดำ�รงชีวติ ทัง้ ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนา อย่างยั่งยืน 4.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม มุ่ ง เน้ น ให้ เ ป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บลน่ า อยู่ บ น ดุลยภาพแห่งการอนุรกั ษ์ควบคูไ่ ปกับการใช้ประโยชน์ มีสง่ิ แวดล้อม ทีด่ ี ปราศจากมลภาวะ และประชาชนเข้ามามีบทบาทในการพิทกั ษ์ บ้านเกิด มีการให้ความสำ�คัญกับการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหาร จั ด การและการอนุ รั ก ษ์ ฟ้ื น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ มี ค วาม อุดมสมบูรณ์ โดยปรับกลไกและกระบวนการจัดการเชิงบูรณาการ

ที่เน้นการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นให้เกิดโครงการพัฒนาพื้นที่ส่วน กลางของชุมชนร่วมกัน มีการปลูกฝังพฤติกรรมของคนในท้อง ถิน่ ให้มจี ติ สำ�นึกในการทีจ่ ะอนุรกั ษ์สภาพแวดล้อม และจัดรวบรวม ข้อมูลในพืน้ ทีเ่ พือ่ การติดตามและตรวจสอบอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุขมูลฐาน เน้นการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง เพื่อการยกมาตรฐาน ในการดำ�รงชีวติ ทัง้ ด้านคุณภาพชีวติ การมีสขุ ภาพทีด่ แี ละส่งเสริม สวัสดิการชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาอย่างยั่งยืน 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี เน้นการพัฒนาสมรรถนะระบบบริหารจัดการ ส่งเสริม บุคลากรมีความรูแ้ ละทักษะในการปฏิบตั งิ านพร้อมสร้างจิตสำ�นึก และกระบวนทัศน์ที่ดีในการบริการประชาชน การเพิ่มขีดความ สามารถด้ า นการคลั ง ให้ ส มดุ ล กั บ รายจ่ า ย และการพั ฒ นา เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การบริ ห ารองค์ ก รและงานบริ ก าร ประชาชน พัฒนาระบบบริหารจัดการให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ วิธกี ารบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี ยึดคุณธรรมและจริยธรรมของ องค์กร ภายใต้หลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย จะเน้น การปฏิรูปให้เกิดกลไก การบริหารจัดการที่ดีในทุก ๆ ภาคของ ท้องถิ่น ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในทุกภาคของท้องถิ่น

Nakhon Pathom 163

SBL OK6.indd 163

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.นครชัยศรี)

นายเอนก ตะโกพ่วง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศีรษะทอง

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ศีรษะทอง “โครงสร้างพื้นฐานก้าวหน้า การศึกษาก้าวไกล ใส่ใจ สภาพแวดล้อม น้อมนำ�หลักเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บล ศีรษะทอง ซึ่งมีที่ทำ�การตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ ตำ�บลศีรษะทอง อำ�เภอ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ห่างจากตัวอำ�เภอนครชัยศรีประมาณ ๕ กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดนครปฐมประมาณ 25 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ ๗.๙๖ ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองเป็น ๕ หมู่บ้าน ปัจจุบันมี นายเอนก ตะโกพ่วง ดำ�รงตำ�แหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลศีรษะทอง ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วง ๓ ปี องค์การบริหารส่วนตำ�บลศีรษะทอง ตั้งมั่นในการส่งเสริม การศึกษา พัฒนาคน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ให้มคี วามเจริญ ก้าวหน้าควบคู่คุณธรรม โดยได้กำ�หนดเป็นยุทธศาสตร์ ในการ พัฒนาและแนวทางการพัฒนาในช่วงระยะเวลา ๓ ปี ดังนี้ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑ การพั ฒ นาด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน มีแนวทางในการดำ�เนินงาน ดังนี้ ๑.๑ ก่อสร้างและบำ�รุงรักษาทางบกและทางน้�ำ ๑.๒ ก่อสร้าง พัฒนาระบบน้ำ�ประปา และ ปรับปรุงบำ�รุง รักษาแหล่งน้ำ�เพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ๑.๓ ขยายการบริการไฟฟ้าสาธารณะ และการพัฒนาระบบ

จำ�หน่ายไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการ และบำ�รุงรักษาไฟฟ้า ส่องสว่าง

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม มีแนวทาง ในการดำ�เนินงาน ดังนี้ ๒.๑ ส่ งเสริ ม และสนั บสนุ นกลุ่ ม อาชีพ เพื่อให้มีรายได้ เพิ่มขึ้น ๒.๒ ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทาง

164

SBL OK6.indd 164

5/8/2558 BE 10:35 AM


พระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ๒.๓ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว รวมถึง ปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตพื้นที่ ๒.๔ พัฒนาคุณภาพ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ๒.๕ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปัญหา อาชญากรรม ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๓ การพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ศาสนา วัฒนธรรมและนันทนาการ มีแนวทางในการดำ�เนินงานดังนี้ ๓.๑ พัฒนาและส่งเสริมประสิทธิภาพทางการศึกษา ให้เป็น ไปอย่างมีคุณภาพ ๓.๒ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นหลักธรรมทางศาสนา ๓.๓ สนับ สนุ น ส่ ง เสริ ม การออกกำ �ลั งกาย และการจั ด กิจกรรมด้านการกีฬา

๓.๔ อนุรกั ษ์และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีและภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ การพั ฒ นาด้ า นสาธารณสุ ข และ สิ่งแวดล้อม มีแนวทางในการดำ�เนินงานดังนี ้ ๔.๑ ส่งเสริม สนับสนุนระบบบริการสาธารณสุข เพื่อให้ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ๔.๒ ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพอนามั ย การป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคติดต่อ โรคระบาดต่าง ๆ ๔.๓ ปลูกจิตสำ�นึกให้ประชาชนมีความตระหนักในเรื่องการ รักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาด้านการเมืองและการบริหาร จัดการ มีแนวทางในการดำ�เนินงานดังนี้ ๕.๑ พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีในองค์กร ส่งเสริมการมี

ส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น และส่งเสริมการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ๕.๒ พั ฒนาศั กยภาพและส่ งเสริ ม ความรู้ของบุคลากร ให้มีความรู้ในระเบียบการปฏิบัติงานโดยพัฒนาด้านคุณธรรม และจริยธรรม ควบคู่กันไป ๕.๓ พัฒนาระบบการให้บริการประชาชน กิจกรรมของ อบต.ศีรษะทอง 1.โครงการสืบสานประเพณีสงกรานต์ องค์การบริหาร ส่วนตำ�บลศีรษะทอง ได้ดำ�เนินกิจกรรมขึ้นเพื่อเป็นการสืบสาน

ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามให้คงอยู่ ซึ่งบรรยากาศภายใน งานมีการให้ความรูเ้ กีย่ วกับเรือ่ งยา มีการตรวจสุขภาพให้กบั ผูส้ งู อายุ และกิจกรรมในช่วงท้าย เป็นพิธีรดน้ำ�ขอพรจากผู้สูงอายุ บรรยากาศภายในงานเป็นไปด้วยความสนุกสนาน มีผู้สูงอายุและ ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำ�นวนมาก 2.โครงการสื บ สานประเพณี แห่ เที ย นพรรษา องค์ก าร บริหารส่วนตำ�บลศีรษะทอง ได้ดำ�เนินกิจกรรมแห่เทียนพรรษา ซึง่ เป็นการสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีวฒ ั นธรรมของพุทธ ศาสนา เป็นกิจกรรมที่ด�ำ เนินการร่วมกับสถานศึกษา ผู้นำ�ชุมชน รวมถึงประชาชนในเขตพื้นที่ตำ�บลศีรษะทอง 3.โครงการจุดเทียนชัยถวายราชสดุดเี ฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช ซึ่งได้จัดงานขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชน พรรษา 5 ธันวามหาราช โดยคณะผู้บริหาร สมาชิก อบต. เจ้า หน้าที่ อบต. ผูน้ �ำ ชุมชน หน่วยราชการต่าง ๆ และประชาชนในพืน้ ที่ ได้น้อมถวายความจงรักภักดี ร่วมใจปกป้องและเทิดทูนสถาบัน หลักของชาติให้ดำ�รงอยู่ เป็นศูนย์รวมจิตใจ นำ�มาซึง่ ความรักและ สามัคคีของคนในชาติสืบไป 4.โครงการวันเด็กแห่งชาติ ซึง่ ได้จดั งานขึน้ เพือ่ ให้ประชาชน ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของเด็ก สนใจในการเลี้ยงดูอบรมสั่ง สอนเด็กและเยาวชน ให้ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหา กษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข เพื่อให้เด็กรู้จักหน้าที่ของตนเอง และ อยู่ในระเบียบวินัยอันดี

Nakhon Pathom 165

SBL OK6.indd 165

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.นครชับศรี)

องค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแฝก “ตำ�บลน่าอยู่ ด้วยการบริหารจัดการบ้าน

เมืองที่ดี มีมาตรฐานคุณธรรม น้อมนำ� สู่คุณภาพการให้บริการ” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ข ององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บลดอนแฝก ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำ�บลดอนแฝก อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม ปัจจุบันมี นางมารยาท วงษ์ปิ่น ดำ�รงตำ�แหน่งนายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลดอนแฝก

ข้อมูลทั่วไป อบต.ดอนแฝก มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 17.08 ตร.กม. หรือประมาณ 10,681 ไร่ เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีคลองธรรมชาติ และคลองชลประทาน 8 สาย มีแม่น้ำ�ท่าจีนผ่านกลางระหว่าง ตำ�บล มีพื้นที่รับผิดชอบจำ�นวน 4 หมู่บ้าน มีจ�ำ นวนประชากร รวมทัง้ สิน้ 3,008 คน เป็นชาย 1,432 คน เป็นหญิง 1,576 คน จำ�นวนครัวเรือนรวมทั้งสิ้น 999 ครัวเรือน

นโยบายการบริหารงาน อบต.ดอนแฝก มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายใต้ ป รั ช ญา “พัฒนาต่อเนื่อง เน้นเรื่องทีมงาน บริหารคือหัวใจ”และในอนาคตอัน ใกล้นี้ ผูบ้ ริหารของอบต.ดอนแฝก มีแนวคิดทีจ่ ะขับเคลือ่ นการพัฒนา ให้เป็นไปในทิศทางทีเ่ น้นคุณภาพชีวติ และความสุขของประชาชนมากยิง่ ขึ้น โดยได้วางกรอบแนวทางการพัฒนาตำ�บลไว้ดังนี้ 1. การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมการศึกษา ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริมการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว งานรั ฐ พิ ธี และวั น สำ � คั ญ ต่ า งๆ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การเผยแพร่ และการปฏิบัติด้านคุณธรรมทางศาสนา ตลอดจนสร้างจิตสำ�นึกให้ ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู ศิ ล ปวั ฒ นธรรม จารี ต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ พัฒนา ส่งเสริม และฝึกอบรม อาชีพให้แก่ประชาชน ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิต/ผลผลิตทางการ เกษตรปลอดภั ย จากสารพิ ษ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชน ส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง 3. การพัฒนาด้านสังคม การส่งเสริมสนับสนุนกีฬา และนั น ทนาการ การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น กิ จ การสาธารณสุ ข การรณรงค์ป้องกัน แก้ไข และต่อต้านยาเสพติด ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาสังคม และงานสวัสดิการสังคม ส่งเสริมการดำ�เนินงาน

166

SBL OK6.indd 166

5/8/2558 BE 10:35 AM


ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในทรัพย์สิน และการเสริมสร้างความสมานฉันท์ ในสังคม ความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน การพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก การแพทย์พื้นบ้านและสมุนไพร การแพทย์ฉุกเฉิน 4. การพั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม พั ฒ นา ส่ ง เสริ ม สนับสนุน สร้างจิตสำ�นึกในการดูแลรักษาและการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การกำ�จัดขยะมูลฝอย และ สิ่งปฏิกูลภายในตำ�บล เฝ้าระวังบำ�รุงรักษาแม่น้ำ� ลำ�คลอง แหล่งน้ำ�ต่าง ๆ และการป้องกันน้ำ�ท่วมและเน่าเสีย 5. การพัฒนาด้านการบริการจัดการบ้านเมืองที่ดี การพัฒนาบริหารจัดการที่ดีในองค์กร ส่งเสริมธรรมาภิบาล ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิน่ และส่ง เสริมการปกครองในระบบประชาธิปไตย พัฒนาบุคลากรใน องค์กร ส่งเสริมสวัสดิการแก่คณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาท้องถิน่ ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง สนับสนุนการปฏิบัติงาน ปรับปรุง และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือ เครื่องใช้ และอาคารสถานที่ฝึกอบรมพัฒนาองค์กร 6. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุงรักษา ถนน สะพาน ทางเท้า ท่อระบายน้ำ� ตลอดจน สาธารณูปโภค สาธารณูปโภคต่าง ๆ พัฒนาระบบไฟฟ้า ประปา พัฒนาแหล่งน้ำ� คูคลอง เพื่อการอุปโภค-บริโภค และ การเกษตร พัฒนาระบบจราจร

กิจกรรมและผลงานที่ผ่านมา “สงกรานต์ดอนแฝกเลื่องชื่อ กลองยาวระบือไกล อังกะลุง เสียงใส อร่อยถูกใจไข่หอ่ ข้าวน้�ำ พริกลงเรือ” คือคำ�ขวัญของตำ�บล ดอนแฝก เทศกาลสงกรานต์ เป็นกิจกรรมสืบสานประเพณีอนั ดีงาม ของไทยเพือ่ แสดงความกตัญญูตอ่ ผูส้ งู อายุเพือ่ ให้เด็กและเยาชนได้ เห็นคุณค่าประเพณีอันดีงาม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำ�ชาติให้คงอยู่ สืบไป โดยมีประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำ�นวนมาก วันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวามหาราช จัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชน พรรษา 5 ธันวามหาราช โดยคณะผู้บริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง และประชาชนในพืน้ ที่ ได้นอ้ มถวายความจงรักภักดี ร่วมใจ ปกป้องและเทิดทูนสถาบันหลักของชาติให้ธำ�รงอยู่เป็นศูนย์รวม จิตใจ นำ�มาซึ่งความรักและสามัคคีของคนในชาติสืบไป

สถานที่ท่องเที่ยว Woodland เมืองไม้ เลขที่ 15/1 หมู่ 4 ตำ�บลดอนแฝก ตั้ง อยู่บนพื้นที่เขียวขจีกว่า 100 ไร่ มีระยะทางจากกรุงเทพฯ ถึง โครงการเพียง 50 กิโลเมตร มีสถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง เช่น ตลาดน้ำ�ดอนหวาย สวนสามพราน ฟาร์มจระเข้ และองค์พระปฐม เจดีย์ เป็นต้น

Nakhon Pathom 167

SBL OK6.indd 167

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.นครชับศรี)

องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางระกำ� “โครงสร้างพื้นฐานสะดวก สิ่งแวดล้อมดี ประชาชนมีความสุข” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การ บริ ห ารส่ ว นตำ � บลบางระกำ � ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ เลขที่ 99/3 หมู่ ที่ 1 ตำ � บลบางระกำ � อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทาง ห่ า งจากอำ � เภอนครชั ย ศรี ไ ปทางทิ ศ ใต้ ประมาณ 15กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายพนม กะ สิ เป็ น นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บล บางระกำ� และมีนายดุสิต ใจอารีย์เป็นปลัด องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางระกำ�

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นตำ � บลบางระกำ � มีเนื้อที่ประมาณ 9.69 ตร.กม. หรือ 6,062 ไร่พนื้ ทีโ่ ดยทัว่ ไปเป็นทีร่ าบลุม่ มีล�ำ คลองไหล ผ่านหลายสาย ที่สำ�คัญ คือ บึงกุ่ม-บึงบาง ช้าง (บึงบางระกำ�) เป็นบึงที่กว้างมากเหมาะแก่ การทำ � การเกษตรและการเลี้ ย งสั ต ว์ อบต.

บางระกำ � แบ่ ง เขตการปกครองออกเป็ น 4 หมู่บ้านมีประชากรรวมทั้งสิ้น 4,874 คน (ข้ อ มู ล จากทะเบี ย นราษฎร ณ วั น ที่ 20 มีนาคม 2558) ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ รับจ้างทั่วไปในโรงงานอุตสาหกรรมทำ�การ เกษตร พืชสวน พืชไร่ เลีย้ งสัตว์ นอกจากนัน้ เป็นอาชีพบริการรับราชการ ค้าขาย

ยุทธศาสตร์การพัฒนา 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม มี แนวทางการพัฒนา ดังนี้ ส่งเสริม สนับสนุนกีฬาและนันทนาการ, ส่งเสริม สนับสนุนกิจการสาธารณสุข, แก้ไข ป้ อ งกั น และต่ อ ต้ า นยาเสพติ ด , ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น งานสวั ส ดิ ก ารสั ง คมสงเคราะห์ , การรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย และความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และส่งเสริม

ส นั บ ส นุ น ก า ร ดำ � เ นิ น ง า น บ ร ร เ ท า สาธารณภั ย จั ด หาวั ส ดุ ค รุ ภั ณ ฑ์ และ อุ ป กรณ์ ใ นการป้ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย 2.ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า น เศรษฐกิจ มีแนวทางการพัฒนา ดังนี้ พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้ประชาชน, การฝึ ก อบรมอาชี พ ให้ กั บ ประชาชน และส่งเสริม สนับสนุนผลิตผลทางการ เกษตรปลอดภัยจากสารพิษเพื่อบริโภค 3.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ บริการสาธารณะมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้ ก่อสร้าง ปรับปรุง บำ�รุงรักษาถนน สะพาน ทางเท้า ท่อระบายน้�ำ ท่าเทียบเรือ และระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย, พัฒนาระบบไฟฟ้า -ประปา และ พัฒนาแหล่งน้ำ� คู คลอง และระบบชลประทานเพือ่ การอุปโภค บริโภค การเกษตร และอื่น ๆ 4.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการ ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีแนวทาง การพัฒนา ดังนี้ พัฒนาและส่งเสริมระบบการศึกษา, การเพิ่ ม ช่ อ งทางการรั บ รู้ ข่ า วสารและ

168

SBL OK6.indd 168

5/8/2558 BE 10:35 AM


ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่คณ ุ ธรรมทาง ศาสนา และการเผยแพร่ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5.ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นสิ่ ง แวดล้อม และการท่องเที่ยว มีแนวทางการ พัฒนา ดังนี้ สร้ า งจิ ต สำ � นั ก และตระหนั ก ในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น เฝ้ า ระวั ง และป้ อ งกั น ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม, บำ�รุงรักษาแม่น้ำ� คู คลอง แหล่งน้ำ�ต่างๆ และการป้ อ งกั น น้ำ � ท่ ว ม และ พั ฒ นาและ ส่งเสริมการท่องเที่ยว 6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นการ บริหารจัดการที่ดี มีแนวทางการพัฒนา ดังนี้ พัฒนาการจัดการที่ดีในองค์กร ส่ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนในการ พัฒนาท้องถิ่นและส่งเสริมการปกครองใน ระบอบประชาธิ ป ไตย,ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา บุ ค ลากร และสนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง าน ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และ อาคารสถานที่

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหาร ท้องถิ่น 1.นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร การพัฒนาการเมืองการบริหาร มีความจำ�เป็น ที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติตาม ภารกิ จ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น ตำ�บล ตลอดจนการเสริมสร้างจิตสำ�นึกของ พนักงาน เจ้าหน้าที่และลูกจ้างในการบริการ

ประชาชน ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วและ เกิดความพึงพอใจ 2.นโยบายด้ า นการพั ฒ นาสั ง คม พัฒนาศักยภาพของประชาชนในตำ�บล ทัง้ ใน ด้านการศึกษา สาธารณสุข และการเสริม สร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพือ่ ให้ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 3.นโยบายด้านการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การส่งเสริมและ สนั บ สนุ น ด้ า นการปฏิ รู ป การศึ ก ษา เพื่ อ พัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียน รู้ อันเป็ นเงื่ อนไขไปสู่ ร ะบบเศรษฐกิ จฐาน ความรู้ให้ประชาชนทั้งปวงได้รับโอกาสเท่า เที ย มกั น เพื่ อ ที่ จ ะเรี ย นรู้ แ ละฝึ ก อบรมได้ ตลอดชีวิต และมีปัญญาเป็นทุนไว้สร้างงาน และสร้างรายได้ และนำ�พาท้องถิ่นให้รอดพ้น จากวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ และศาสนา ศิ ล ป วั ฒ นธรรม ให้ เ กิ ด ความรู้ คู่ คุ ณ ธรรม ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิน่ 4. นโยบายพัฒนาสาธารณสุขและส่ง เสริมคุณภาพชีวิตการสร้างภูมิคุ้มกันทาง ด้ า นสุ ข ภาพ ตามแนวทางของกฎหมาย สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ช่ ว ยรณรงค์ ใ ห้ เ กิ ด การ พัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้าน สุขภาพอนามัย เพือ่ เสริมสร้างสุขภาพและลด ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ 5. นโยบายพัฒนาทางเศรษฐกิจใน สภาวการณ์ปัจจุบันซึ่งเกิดความถดถอยทาง เศรษฐกิ จ การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาทาง เศรษฐกิจในท้องถิน่ เป็นการสนับสนุนและเพิม่ ศักยภาพของกลุม่ ให้มคี วามเข้มแข็งและยัง่ ยืน

6. นโยบายด้านการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานพัฒนาโครงสร้างและสภาพแวดล้อม ของตำ�บลเพือ่ ส่งเสริมศักยภาพเศรษฐกิจและ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน และเป็ น การวางรากฐานการพั ฒ นาอย่ า ง ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นการเป็นศูนย์กลางในการ ให้บริการ 7.นโยบายด้ า นการพัฒนาทรัพ ยากร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม จั ด ก า ร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็น ปั จ จั ย เกื้ อ หนุ น ในการดำ � รงชี วิ ต เพื่ อ เอื้ อ อำ�นวยต่อความสมดุลของระบบนิเวศวิทยา เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ แ ล ะ ส นั บ ส นุ น การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการ พัฒนาอย่างยั่งยืน

สถานที่สำ�คัญของ อบต.บางระกำ�

พระสังกัจจายน์ยักษ์ วัดบ่อตะกั่ว

เจดีย์โบราณ วัดบ่อตะกั่ว

บึงบางระกำ� (บึงกุ่ม-บึงบางช้าง) Nakhon Pathom 169

SBL OK6.indd 169

5/8/2558 BE 10:35 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดศรีมหาโพธิ์ วัดศรีมหาโพธิ์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหา นิ ก าย ตั้ ง อยู่ บ้ า นเลขที่ 132 หมู่ ที่ 4ตำ � บลศรี ม หาโพธิ์ อ.นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ 20 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูพิทักษ์โพธิวัฒน์เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติวัดศรีมหาโพธิ์ จากการสันนิษฐานตามโครงการสำ�รวจเตรียมขึน้ ทะเบียน โบราณสถาน กองโบราณคดี กรมศิลปากร ได้ระบุไว้ว่า วัด ศรีมหาโพธิ์ สร้างในสมัยอยุธยาตอนกลางหรือสมัยพระเจ้า เอกาทศรถ ตามประวัติที่ชาวบ้านได้เล่าขานสืบกันมาว่า ครั้งนั้นมีต้น โพธิล์ อยทวนกระแสน้ำ�ในครองบางพระ ซึง่ แยกจากแม่น้ำ�ท่าจีน ชาวบ้านจึงนำ�ต้นโพธิ์นั้นขึ้นมาปลูกในบริเวณนี้และที่ใต้ต้นโพธิ์ นัน้ มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์อายุประมาณ 400 ปีตดิ อยูด่ ว้ ย ชาวบ้านจึงได้อันเชิญพระพุทธรูปขึ้นมาประดิษฐานที่วัดนี้ ด้วย ลักษณะของพระพุทธรูปที่มีเนื้อเป็นหินทรายแดง จึงได้นามว่า “หลวงพ่อแดง”

170

SBL OK6.indd 170

5/8/2558 BE 10:35 AM


รายนามเจ้าอาวาสวัด เมือ่ แรกก่อตัง้ วัดสมัยอยุธยาตอนกลาง พอมีชาวบ้านมาอยูร่ วม กันมากขึน้ จึงได้รว่ มมือร่วมใจกันสร้างวัดขึน้ เพือ่ เป็นทีบ่ ำ�เพ็ญกุศล อันเป็นวิสัยของชาวพุทธแต่ไหนแต่ไรมา เมื่อสร้างวัดขึ้นแล้วก็มีพระ อยูจ่ ำ�พรรษา ในระยะแรกไม่มกี ารบันทึกไว้เป็นหลักฐาน จึงไม่สามารถ ทราบได้โดยตลอดว่ามีพระภิกษุรูปใดบ้างที่เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกและ รูปต่อๆมา จนกระทั่งปี พ.ศ.2486 ได้รวบรวมหลักฐานจากคนเฒ่า คนแก่ในท้องถิ่นที่พอเชื่อถือได้บอกเล่าต่อกันมาไว้เป็นหลักฐานได้ ประมาณ พ.ศ.2486 จนถึงปัจจุบันได้มีพระภิกษุดำ�รงตำ�แหน่งเจ้า อาวาสวัดศรีมหาโพธิ์ พอจะเรียงตามลำ�ดับดังนี้ 1.พระอาจารย์เฉ่ง ยังไม่อาจสืบประวัติได้ 2.พระอาจารย์ทัด ยังไม่อาจสืบประวัติได้ 3.พระอาจารย์ย้อย อินฺทโร 4.หลวงตาปลื้ม นิยามะพ.ศ. 2489-2490 5.หลวงตาพวง พ.ศ. 2490-2492 6.หลวงตาหรั่ง พ.ศ. 2492-2495 7.พระอธิการพิง จนฺทสโร พ.ศ. 2495-2507 8.พระอธิการศรี ธมฺมวโร พ.ศ. 2507-2517 9.พระครูพิทักษ์โพธิวัฒน์ พ.ศ. 2517 - 2554 10. พระอธิการสุนทร กิตติสุนทโร พ.ศ.2554 - ปัจจุบัน

172

SBL OK6.indd 172

5/8/2558 BE 11:21 AM


ต่อมาไม่นานมีผพ ู้ บเห็นลำ�แสงดวงกลมลอยอยูร่ อบๆองค์ พระ จึงตั้งนามให้ใหม่ว่า “หลวงพ่อแดงแสงกายสิทธิ์” บริเวณ ใกล้ๆ กับวิหารของหลวงพ่อแดงฯ ยังมีโบราณสถานอีกอย่าง หนึ่ง คือ พระวิหารหลังเก่า ซึ่งทางกรมศิลปากรได้ตรวจสอบดู แล้วปรากฏว่า มีความเก่าแก่ใกล้เคียงกับองค์หลวงพ่อแดงฯอยู่ มาก คือ ประมาณ 400 ปี ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าสร้างขึ้นมาพร้อม กั น ก็ ไ ด้ และในวิ ห ารหลั ง เก่ า นั้ น ยั ง มี พ ระพุ ท ธรู ป เก่ า แก่ ประดิษฐานอยู่ 9 องค์ คือ พระประธานองค์ใหญ่ 1 องค์ เป็น พระพุทธรูปสลักขึ้นจากเนื้อหินทรายแดงเช่นกัน และถ้าผู้ใด กราบไว้หลวงพ่อแดงแล้ว ต้องมากราบไว้พระพุทธรูปในวิหาร ด้วย เพราะมีความศักดิ์สิทธิ์เหมือนกัน ถือว่าเป็นความศักดิ์สิทธิ์ ร่วมสมัยเดียวกัน ภายหลังได้มีการขนานนามพระพุทธรูปองค์ นี้ว่า “หลวงพ่อตะโกสี”

Nakhon Pathom 171

SBL OK6.indd 171

5/8/2558 BE 10:35 AM


ปูชนียวัตถุสำ�คัญในวัด 1.หลวงพ่อแดงแสงกายสิทธิ์ พระพุทธรูปปางไสยาสน์ เนื้อ เป็นหินทรายแดง มีความเก่าแก่ประมาณ 400 ปี ตามที่กรม ศิลปากรสำ�รวจไว้ 2.หลวงพ่อตะโกสี พระประธานในวิหารหลังเก่า ปางสมาธิ เนื้อหินทรายแดง มีความเก่าแก่สมัยเดียวกัน 3.วิหาร เป็นวิหารที่กรมศิลปากรได้สำ�รวจขึ้นทะเบียนไว้ว่า เป็นโบราณสถานที่เก่าแก่สร้างสมัยอยุธยาตอนกลางและวิหาร หลวงพ่อตะโกสี หลังจากทำ�การบูรณะแล้ว 4.รูปหล่อพระโพธิสัตว์กวนอิม 5.พระโพธิสัตว์กวนอิม ปางมหากรุณาธารณี Nakhon Pathom 173

SBL OK6.indd 173

5/8/2558 BE 11:21 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดบางพระ วัดบางพระ ชื่อเดิมคือ “วัดปากคลองบางพระ” สังกัดมหานิกาย อยู่ ใ นการปกครองคณะสงฆ์ ตำ � บลวั ด ละมุ ด อำ � เภอนครชั ย ศรี จั ง หวั ด นครปฐม มี เ นื้ อ ที่ วั ด 31 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา และธรณีสงฆ์ 22 ไร่ 2 งาน 19 ตารางวา ปัจจุบันวัดบางพระ มีพิธีกรรมความเชื่อที่มีชื่อเสียง คงอยู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน คือ การสักยันต์ และการลงนะหน้าทอง เป็นต้น

ประวัติวัดบางพระ วั ด บ า ง พ ร ะ ส ร้ าง ขึ้ น เ มื่ อ ป ร ะม าณ ปี พ . ศ . 2 2 2 0 ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย แต่ไม่มีหลักฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง ที่แน่ชัด เพราะคนในยุคนั้นมิได้มีการบันทึกกัน แต่มีหลักฐานอ้างอิงได้ ในปั จ จุ บั น ก็ คื อ พระอุ โ บสถหลั ง เดิ ม ซึ่ ง กว้ า งประมาณ 4 วา ยาวประมาณ 8 วา ลักษณะก่ออิฐถือปูน หลังคาลด 2 ชั้น ประกอบ ด้ ว ยช่ อ ฟ้ า ใบระกา ที่ สำ �คั ญ คื อ หลั ง คาซึ่ ง มุ ง ด้ ว ยกระเบื้ อ งดิ น เผา ธรรมดา ที่ ก รมศิ ล ปากรจั ด ให้ อ ยู่ ใ นสมั ย อยุ ธ ยาตอนกลาง ซึง่ พิจารณาแล้ว พระอุโบสถหลังเก่าของวัดบางพระ ช่างทรงคุณค่ายิง่ นัก ภายในประดิษฐานพระประธาน เป็นพระปฏิมากรหินทรายแดง จัดให้อยู่ในสมัยอโยธยาสุพรรณภูมิ (อู่ทอง)

นอกจากนี้ ยั ง มี ภ าพจิ ต รกรรมฝาผนั ง ภายในพระอุ โ บสถ เป็นภาพเก่าแก่ที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในพระพุทธศาสนา เป็ น ภาพเทพชุ ม นุ ม สลั บ กั บ อดี ต ขององค์ พ ระพุ ท ธเจ้ า มี ก าร ปฏิสังขรณ์ เมื่อสมัยรัชการที่ 4 และคงมีการเขียนทับและแก้ไขเพียง เล็กน้อย แต่พื้นกราวน์ดูเบื้องหลังยังคงใช้สีอ่อน มีดอกไม้ร่วงอัน เป็นคติของอยุธยา ภาพทีน่ า่ สนใจอีกภาพหนึ่งก็คือ “ภาพมารผจญ” เป็นภาพทีพ ่ ระพุทธเจ้าทรงจีวรแดง ประทับนัง่ บนดอกบัวแก้วแม่ธรณี บีบมวยผมนับเป็นศิลปะแบบเก่าที่น่าศึกษาเป็น อย่างยิ่ง เป็นภาพที่ เขียนขึ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง สีในภาพเขียนใช้เพียงสี่สี คือขาว ดำ� แดง และเขียวใบแค

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด หลวงพ่อสิทธิมงคล ประดิษฐานภายในพระอุโบสถหลังเดิม เป็นพระประธานปางมารวิชัย เป็นพระปฏิมากรหินทรายแดงลงรัก ปิดทอง หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว ชาวบ้านเรียกกันว่า “หลวงพ่ อ สิ ท ธิ ม งคล” เป็ น องค์ ที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ยิ่ ง นั ก เบื้ อ งหน้ า พระประธานเป็ น พระพุ ท ธปฏิ ม าประทั บ นั่ ง ปางมารวิ ชั ย หน้ า ตั ก กว้าง26 นิ้ว และยังมีพระพุทธปฏิมาประทับนั่งทางด้านขวามือของ องค์พระประธาน 3 องค์ และทางด้านซ้ายมือองค์พระประธาน อีก 3องค์

174

SBL OK6.indd 174

5/8/2558 BE 10:36 AM


การบูรณะปฏิสังขรณ์วัด เจ้าอธิการหิ่ม อินฺทโชโต เจ้าอาวาสวัดบางพระ เป็นพระนักปฏิบัติ กัมมัฏฐาน ซึ่งคุณธรรม มีเมตตาธรรมสูง ในสมัยนั้นท่านได้ชักชวน พระภิกษุสงฆ์และชาวบ้าน ร่วมกันดำ�เนินการก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ ขึน้ มา โดยได้ชกั ลากไม้บริเวณรอบ ๆ วัด (กล่าวกันว่าในสมัยนัน้ บริเวณ รอบ ๆ วัดบางพระเป็นป่าไม้ที่ยังอุดมสมบูรณ์มาก) มาก่อสร้าง อุโบสถไม้ทมี่ ขี นาดใหญ่โตแห่งหนึง่ ในละแวกคุง้ น้�ำ นครชัยศรี โดยสร้าง แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2470 ต่อมาในสมัยพระอุดมประชานาถ (เปิ่น ฐิตคุโณ) เป็นเจ้าอาวาส วัดบางพระ ท่านได้ทำ�การพัฒนาวัดบางพระจนเจริญรุ่งเรืองมาเป็น ลำ�ดับ โดยท่านได้ทำ�การบูรณะอุโบสถหลังใหม่ เนื่องจากอุโบสถหลัง ใหม่นี้สร้างจากไม้ทั้งหลัง จึงชำ�รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา โดยท่าน ได้ทำ�การบูรณะอุโบสถหลังใหม่เป็นคอนกรีต นอกจากนี้ยังทำ�การ บูรณะและก่อสร้างถาวรวัตถุต่าง ๆ เพื่อเป็นสมบัติในพระพุทธศาสนา ไว้อีกมากมาย จวบจนชีวิตของท่าน ปัจจุบนั ท่านพระครูอนุกลู พิศาลกิจ(หลวงพ่อสำ�อางค์ ปภสฺสโร) ได้ด�ำ รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดบางพระ ตั้งแต่ พ.ศ.2545 จนถึงปัจจุบัน ท่านได้พัฒนาวัดให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อจากหลวงพ่อเปิ่นได้อย่างดี

Nakhon Pathom 175

SBL OK6.indd 175

5/8/2558 BE 10:36 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดธรรมปัญญารามบางม่วง (เฮงเส็งยี่) วัดธรรมปัญญารามบางม่วง ตั้งอยู่เลขที่ 108 บ้านบางม่วง ตำ�บลบางช้าง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ของวัดโดย ประมาณจำ�นวน 2 ไร่ โดยด้านหน้าของวัดจะอยู่ติดแม่น้ำ�ท่าจีนหรือ แม่น้ำ�นครชัยศรี ส่วนด้านหลังติดซอยเทียนดัด-คลองใหม่ บริเวณ โดยรอบของวั ด จะเต็ ม ไปด้ ว ยธรรมชาติ ที่ ร่ ม รื่ น เหมาะแก่ ก าร ปฏิบัติธรรม มีการถือศีลกินเจในช่วงเทศกาลประจำ�ทุกปี

ประวัติวัดธรรมปัญญารามบางม่วง วัดแห่งนี้แต่เดิมมานั้นเป็นโรงเจเก่าแก่มีอายุมากกว่า 100 ปีที่ อยู่คู่กับแม่น�้ำ ท่าจีน ชื่อว่า “เฮงเส็งตั๊ว” หรือที่ชาวบ้านรู้จักกันในนาม โรงเจบางม่วง ซึง่ คณะกรรมการบริหารโรงเจโดยตระกูลสุธรรมพิทกั ษ์ ได้มีจิตศรัทธาและเห็นความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา จึงได้ถวาย อาคารโรงเจพร้อมที่ดิน และได้ยกฐานะจากโรงเจจัดตั้งเป็นวัดเมื่อ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ.2548 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นที่พึงทาง จิตใจของพุทธศาสนิกชน วัดแห่งนีถ้ อื ได้วา่ เป็นวัดทีอ่ ยูใ่ นนิกายมหายาน แห่ ง เดี ย วของจั ง หวั ด นครปฐม ที่ สั ง กั ด คณะสงฆ์ อ นั ม นิ ก ายแห่ ง ประเทศไทยโดยมี พระพิสิษฐ์ เถี่ยนบ๊าว หรือองสรภาณอนัมพจน์ ในปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ตระกูลลิ้มประเสริฐ ได้ถวายที่ดินให้กับ วัดเพิ่มเติม เพื่อเป็นที่ตั้งของเสาวิทยุ และใช้ในการประกอบศาสนกิจ ของวัด

สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในวัด ภายในวัดมีสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิห์ ลายแห่ง ได้แก่ พระบรมสารีรกิ ธาตุ ซึ่งอัญเชิญจากรัฐพิหาร พุทธคยา ประเทศอินเดีย พระยูไลไภษัชยคุรุพุทธเจ้า หรือ พระเงินใหญ่ ซึ่งเป็นพระประธานที่ ประดิษฐาน ณ อาคารชั่วคราว เป็นพระที่หล่อด้วยเนื้อเงินยวงเป็นองค์แรกและ องค์ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ปางนั่งขัดสมาธิภาวนา พระหัตถ์ทรงถือ บาตรน้�ำ มนต์ ชุดเทพเจ้าแห่งโชคลาภ (โหงวโล่วไฉ่ซงิ้ ) ไม้หอมเก่าแก่จาก เมืองจีน พระพุทธเจ้า 3 พระองค์ ประดิษฐาน ณ อาคารโรงเจ พระแม่ ก วนอิ ม ปางหมดทุ ก ข์ ห มดโศกหนึ่ ง เดี ย วในเมื อ งไทย เทพเจ้ า หมอเทวดา (ฮั่ ว ท้ อ เซี ย งซื อ ) เทพเจ้ า แห่ ง ความซื่ อ สั ต ย์ และคุณธรรม (กวนอู) เทพเจ้าแห่งการคุ้มครองพระพุทธศาสนา (ยีด้า) ศาลแปะกง มรดกเก่าแก่แห่งบรรพชน ลุ่มแม่น้ำ�ท่าจีนและแมนดา ล่าทรายในรูปแบบสองมิติ ซึ่งโดยปกติก็จะทำ�จากกระดาษ สิ่งทอ และผงทรายย้อมสีซึ่งเปิดให้ชมและอธิษฐานจิตขอพรทุกวัน ทางวัดเปิดผู้มีจิตศรัทาเข้าสักการบูชาทุกวัน ตั้งแต่เวลา 7.00 18.00 น. หากท่านใดประสงค์จะเข้ากราบไหว้หรือเข้าชมเป็นหมู่คณะ โปรดติดต่อได้ทสี่ �ำ นักงานวัด ฯ และทุกวันอาทิตย์มกี จิ กรรมปล่อยสัตว์ และสวดมนต์ ภ าวนา ผู้ ส นใจสามารถสอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ โทร. 0 -329 5341, 0 -3497 9225 หรือ อีเมล์mahayuan@gmail.com หรือทีเ่ ว็บไซต์ www.mahayan.com

176

SBL OK6.indd 176

5/8/2558 BE 10:36 AM


Nakhon Pathom 177

SBL OK6.indd 177

5/8/2558 BE 10:36 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดใหม่สุปดิษฐาราม วัดใหม่สุปดิษฐาราม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 3 ตำ�บลนครชัยศรี อำ � เภอนครชั ย ศรี จั ง หวั ด นครปฐม ได้ รั บ รางวั ล พระราชทาน วิสุคามสีมา ประมาณปีพ.ศ.2495 เนื้อที่กว้าง 8 เมตร และประกอบพิธี ผู ก พั ท ธสี ม าในปี พ.ศ.2495 ปั จ จุ บั น มี พระครู ป ฐมชยาภิ วั ฒ น์ เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติความเป็นมา วัดใหม่สุปดิษฐาราม หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดใหม่” ชื่อเดิมคือ “วั ด ใหม่ ริ ม จวน” เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ตั้ ง ขึ้ น ในสมั ย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ในขณะนั้น (พ.ศ.2438) ทรงจัดการปกครองประเทศเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล โดยพระยา มหาเทพ (บุตร บุญยรัตพันธ์) ดำ�รงตำ�แหน่ง ข้าหลวงมณฑลนครชัยศรี เป็นคนแรก ซึ่งในมณฑลนครชัยศรีนั้นประกอบด้วย เมืองสุพรรณ เมืองสมุทรสาคร และเมืองนครชัยศรี ต่ อ มาพระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ห ลวงเสนี พิ ทั ก ษ์ (ชม สุ น ทราชุ น ) ผู้ ว่ า ราชการเมื อ งพิ จิ ต ร มาเป็ น ผู้ ว่ า ราชการเมื อ งนครชั ย ศรี หลวงเสนีพิทักษ์ผู้นี้ ได้ทำ�ความเจริญต่าง ๆ ให้แก่เมืองนครชัยศรีเป็น จำ � นวนมาก ทางด้ า นศาสนาได้ ส ร้ า งวั ด ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2439 178

SBL OK6.indd 178

5/8/2558 BE 10:36 AM


โดยตั ว วั ด ตั้ ง อยู่ ที่ ทำ � การอำ � เภอเมื อ งนครชั ย ศรี ท างด้ า นทิ ศ เหนื อ โดยมีชื่อเรียกในขณะนั้นว่า “วัดใหม่ริมจวน” หลังจากนั้น พระองค์เจ้าสุปดิษวรฤทธิราช มหามกุฎบุรุษรัตนราชวโรรส พระราชโอรส องค์ที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรง สร้ า งพระอุ โ บสถ พระวิ ห าร สถู ป และมณฑลพระอี ก คู่ ห นึ่ ง ขึ้ น ณ วัดแห่งนี้ จึงได้ชื่อว่า “วัดใหม่สุปดิษฐาราม” มาจนถึงปัจจุบันนี้ ในเดือนกันยายน พ.ศ.2441 หลวงเสนีพทิ กั ษ์ ได้รบั พระราชทาน บรรดาศักดิ์เป็นพระยาสุนทรพิชัยสงคราม และได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง สำ�เร็จราชการมณฑลนครชัยศรีแทน มหาเทพซึง่ ป่วย พระยาสุนทรพิชยั สงครามได้ด�ำ รงตำ�แน่งมาจนถึงสมัย รัชกาลที่ 6 และต่อมาได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็นพระยาศรีวชิ ยั ชนินทร จนกระทั่งในเดือนกันยายน พ.ศ. 2444 เมืองนครชัยศรี ได้ยายไปตั้งที่จังหวัดนครปฐม

รายงามเจ้าอาวาสวัดใหม่สุปดิษฐาราม 1. พระอธิการภู่ ( ท่านเจ้าภู่ ) พ.ศ. 2439-2447 เจ้าอาวาส องค์แรก 2. พระครูคต พ.ศ. 2448 - พ.ศ. 2462 3. พระใบฎีกาแย้ม พ.ศ. 2463 - พ.ศ. 2468 4. พระอธิการเป้า พ.ศ. 2468 - พ.ศ. 2482 5. พระครูพุทธิศิริชัย ( ผูก ) พ.ศ. 2483- พ.ศ. 2522 6. พระอธิการเงิน พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2523 7. พระอธิการสุริยะ สุริโย พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2538 8. พระมหาไสว วรธมฺโม พ.ศ. 2538 - พ.ศ. 2544 9. พระครูปลัดสุวิชัย อภิชโย พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2548 10. พระครูปฐมชยาภิวัฒน์ พ.ศ.2548-ปัจจุบัน

Nakhon Pathom 179

SBL OK6.indd 179

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดใหม่สุคนธาราม วัดใหม่สคุ นธาราม ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 ตำ�บลละมุด อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นวัดหนึ่งเดียวในภาคกลางที่จัดงานบุญประเพณี อั ฏ ฐมี บู ช า นั บ เป็ น งานประจำ � ปี ที่ มี ชื่ อ เสี ย งของจั ง หวั ด นครปฐม ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก ททท.ทุกปี ปัจจุบันวัดใหม่สุคนธารามมี พระครูนวกิจโสภณ เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติวัดใหม่สุคนธาราม วัดใหม่สคุ นธาราม เดิมชือ่ “วัดบัว” หลังจากก่อตัง้ วัดได้ประมาณ 20 ปี ก็ประสบปัญหาเรื่องภัยแล้ง ชาวบ้านจึงเห็นสมควรย้ายวัด ไปตั้ ง ในที่ แ ห่ ง ใหม่ ใ กล้ บ ริ เ วณที่ มี ก ารสั ญ จรทางน้ำ � สะดวก คื อ คลองบางพระในปัจจุบนั เนือ่ งจากสมัยก่อนชาวบ้านส่วนใหญ่สญ ั จร ไปมาทางน้ำ� เป็นหลัก จากนั้นชาวบ้านจึงช่วยกันก่อตั้งวัดขั้นมาใหม่ ในปี พ.ศ.2364 และให้ชื่อว่า “วัดใหม่สุคนธาราม” มี เ จ้ า อาวาสจากอดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น จำ � นวน 8 รู ป ได้ แ ก่ หลวงพ่อคง หลวงปู่หอม หลวงพ่อแสง หลวงพ่อเบี้ยว ปทุมรัตนะ หลวงพ่อวาลย์ สุขโม หลวงพ่อย้อย อินทโร หลวงพ่อเชื้อ สิริปุญโญ และเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระครูนวกิจโสภณ

ประวัติพระครูนวกิจโสภณ พระครูนวกิจโสภณ ชื่อเดิมคือนายโกศล อ่อนส้มกิจ เกิดเมื่อ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2487 ที่หมู่บ้านไผ่นารถ ตำ�บลบางไทรม้า อำ�เภอบางเลน จังหวัดนครปฐม โดยท่านได้บวชที่วัดใหม่สุคนธาราม ในปี พ.ศ. 2512 ในสมัยที่หลวงพ่อย้อย อินทโร เป็นเจ้าอาวาส มีหลวงพ่อฟัก เจ้าอาวาสวัดห้วยพลู เป็นพระอุปชฌาย์ พระครูสพ ุ จน์วรารามภรณ์ และหลวงพ่อย้อย อินทโรเป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลังจากการมรณภาพของ พระอธิการเชื้อ สิริปุญโญ ท่านจึงได้รับ การแต่ ง ตั้ ง ให้ ดำ � รงตำ � แหน่ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ใหม่ สุ ค นธาราม ในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 จวบจนถึงปัจจุบัน

ความเป็นมาของงานอัฏฐมีบูชา ย้อนไปในสมัยพุทธกาล เมื่อคราวพระพุทธเจ้าเสด็จรินิพพาน ที่เมืองกุสินารา เหล่ามัลลกษัตริย์ถวายการสักการบูชาครบ 7 วัน จึงอัญเชิญพระบรมศพไปยังมกุฎพันธนเจดีย์ เพื่อถวายพระเพลิง กำ�หนด 8 ค่�ำ เดือน 6 พระบรมศพห่อด้วยผ้าใหม่ที่ปฐมสมโพธิบอก จำ�นวนไว้ถงึ 500 ชัน้ แต่ละชัน้ ซับด้วยสำ�ลี แล้วอัญเชิญลงประดิษฐาน ในหีบทองทีเ่ ต็มไปด้วยน้�ำ มันหอม ปิดฝาครอบไว้แล้วเชิญขึน้ จิตกาธาน

180

SBL OK6.indd 180

5/8/2558 BE 10:37 AM


(เชิงตะกอน) ที่ทำ�ด้วยไม้หอมนานาชนิด แต่ครั้นได้เวลาจุดไฟทั้ง 4 ด้าน ปรากฏว่าจุดไฟเท่าไหร่ก็ไม่ติด เหล่ามัลลกษัตริย์จึงถาม พระอนุรทุ ธะ พระอนุรทุ ธะแจ้งให้ทราบว่า เพราะเทพผูถ้ วายการดูแล พระบรมศพต้องการให้รอพระมหากัสสปะซึ่งกำ�ลังเดินทางมา ให้มาถึงเสียก่อน ด้วยพระมหากัสสะปะได้ตั้งจิตอธิษฐานว่าขอให้ ท่านได้มีโอกาส กราบพระสรีระของพระพุทธองค์เสียก่อน ตราบที่ ท่านยังมาไม่ถึง ขออย่าให้ไฟจุดติดเลยเป็นอันขาด เมื่อพระมหากัสสะปะเดินทางมาถึงพร้อมพระสงฆ์บริวาร 500 รูป พระองค์และคณะกระทำ�ทักษิณาวัตรครบ 3 รอบ เกิ ด พั ท ธปาฏิ ห าริ ย์ พระพุ ท ธบาทโผล่ ยื่ น ออกมาจากหี บ พระบรมศพ นัยว่าพระพุทธองค์ทรงรับทราบและรับการแสดงความ เคารพจากพระมาหากัสสปะและพระสงฆ์บริวาร แล้วก็พลันเกิด เพลิงทิพย์ดว้ ยพลังเทวาฤทธานุภาพ ภายหลังจากนัน้ เพลิงได้ไหม้ พระสรีระของพระพุทธเจ้าหมดสิ้น เหลือแต่พระอัฐิ พระเกศา พระทนต์ และผ้าอีกคู่หนึ่ง เหล่ามัลลกษัตริย์ได้นำ�น้�ำ หอมหลั่งดับ ถ่านที่จิตกาธาน แล้วอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุไปประดิษฐานที่ สัณฐาคารศาลา ทำ�การสักการบูชาด้วยการฟ้อนรำ� ดนตรีประดับ โคมขับกล่อมและดอกไม้ นานาประการ

สืบสานประเพณีอัฏฐมีบูชา งานอั ฏฐมี บูช า (การบู ช าในดิ ถี ที่ 8) หรือเรีย กอีกอย่างว่า “วันถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระพุทธเจ้า” ปู่บัวเคยเล่าถึงงาน อัฏฐมีบูชาว่า ตั้งแต่ท่านยังจำ�ความได้ วัดใหม่สุคนธารามก็มีการ จั ด งานวั น อั ฏ ฐมี บู ช าทุ ก ๆ ปี ไ ม่ เ คยเว้ น ซึ่ ง เริ่ ม ตั้ ง แต่ ส มั ย หลวงพ่อเบี้ยว ปทุมรัตนะ อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 4 และจัดเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน จึงเป็นเหตุผลที่น่าเชื่อว่า ทางวัดใหม่สุคนธารามได้จัด งานอัฏฐมีบูชา ติดต่อกันมานานนับร้อยปีแล้ว นับเป็นเอกลักษณ์แห่ง เดียวของลุ่มแม่น�้ำ นครชัยศรีแห่งนี้ โดยทุก ๆ ปี เมื่อถึงวันแรม 8 ค่ำ�เดือน 6 (หลังวันวิสาขบูชา 8 วัน) ทุก ๆ หมู่บ้านใน ต.วัดละมุดจะช่วยกันจัดตกแต่งริ้วขบวน ตามเรื่องราวในพุทธประวัติ เรื่องราวในไตรภูมิ ว่าด้วยเรื่องของบาป บุญคุณโทษ มีการแสดงสวยงาม เช่น การรำ�ฟ้อน การแสดงตลก ขบขันแต่แฝงไปด้วยแง่คดิ และคำ�สอนของพระพุทธศาสนา และสุดท้าย จะมีการจุดดอกไม้ไฟ กวด ตะไล ไฟพะเนียง เป็นพุทธบูชา นอกจากนี้ ภายในงานยั ง มี กิ จ กรรมน่ า สนใจอื่ น อาทิ การจำ � ลองพิ ธี ถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้าหลังเสด็จดับขันธปรินิพพาน นิทรรศการ ทางพระพุทธศาสนา การแสดงพระธรรมเทศนา การถวายภัตตาหาร แด่พระสงฆ์ ฯลฯ Nakhon Pathom 181

SBL OK6.indd 181

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดกลางบางแก้ว วั ด ก ล า ง บ า ง แ ก้ ว ตั้ ง อ ยู่ ที่ ตำ � บ ล นครชัยศรีอ�ำ เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันมี พระครูสถิตบุญเขต เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติวัดกลางบางแก้ว วั ด กลางบางแก้ ว เป็ น วั ด โบราณ ริมแม่น�้ำ ท่าจีนแต่เดิมชื่อวัดคงคาราม ภายใน มีโบสถ์ วิหารและพระประธานเก่าแก่ ซึ่งนัก โบราณคดีสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นตั้งแต่สมัย กรุงศรีอยุธยา และมีพิพิธภัณฑ์พระพุทธวิถี นายกก่อตั้งขึ้นโดยพระครูสิริชัยคณารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรีและเป็นเจ้าอาวาส วัดกลางบางแก้วภายในแบ่งออกเป็น 3 ชัน้ ชัน้ หนึ่งจัดแสดงประวัติของหลวงปู่บุญหรือท่าน เจ้ า คุ ณ พุ ท ธวิ ถี น ายก (บุ ญ ขั น ธโชติ ) และหลวงปู่ เ พิ่ ม หรื อ พระพุ ท ธวิ ถี น ายก (เพิ่ ม ปุ ญ ญวสโน) เครื่ อ งรางของขั ง วัตถุมงคลและพระบูชาของหลวงปู่ ชั้นสอง จัดแสดงเครื่องถ้วยชามของใช้ แก้วเจียระไน เ ค รื่ อ ง ท อ ง เ ห ลื อ ง ธ ร ร ม า ส น์ มุ ก ข อ ง หลวงปูบ่ ญ ุ ชัน้ สามจัดแสดงพระบุเงินและพระ บูชาไม้แกะ ธรรมาสน์บุษบกเก่าสลักไม้ลงรัก ปิดทองและกุฏิเก่าของหลวงปู่ที่นำ�มาประกอบ ในลักษณะเดิมเพื่อประดิษฐานหุ่นขี้ผึ้งของ หลวงปู่เหมือนกับสมัยที่ท่านยังมีชีวิตอยู่

พิพิธภัณฑ์ฯ เปิดให้บริการวันพฤหัสบดีถึง วั น อาทิ ต ย์ แ ละวั น หยุ ด นั ก ขั ต ฤกษ์ เวลา 09.00-16.00 น. ค่าเข้าชมผูใ้ หญ่ 20 บาท เด็กนักเรียน นักศึกษา 10 บาท (เข้าชมเป็น หมู่คณะต้องทำ�หนังสือจดหมายติดต่อล่วง หน้ า เรี ย น เจ้ า อาวาสวั ด กลางบางแก้ ว ) สอบถามเพิ่ ม เติ ม โทร.034-331462, 034-332182

ประวัติพระครูสถิตบุญเขต พระครูสถิตบุญเขต หรือ พระอาจารย์ ช่วย ฉายา อาทโร อายุ 75 พรรษา 55 วิทยฐานะนักธรรมเอกปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่ง เจ้าอาวาสวัดกลางบางแก้ว และเจ้าคณะตำ�บล บางกระเบาสถานะเดิมนายบุญช่วย แย้มเกษร เกิ ด วั น 19 ปี เ ถาะตรงกั บ วั น อาทิ ต ย์ เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2482 เป็นชาวตำ�บล ศีรษะทองอำ�เภอนครชัยศรี ท่านอุปสมบท วันที่ 24 เดือนพฤษภาคมพ.ศ. 2502 ณ วัดกลางบางแก้ว โดยมี พระพุทธวิถีนายก (หลวงปู่เพิ่มปุญฺญวสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ สาวนาจารย์ พระธรรมธรมู ล จนฺ ท โชโต เป็นพระกรรมวาจาจารย์และพระปลัดบุญมีชยปาโล เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ตำ�นานเบี้ยแก้ ในช่วงปลายอายุหลวงปู่เพิ่ม หลวงปู่ ได้เรียก “พระอาจารย์ใบ” และ “หลวงปู่เจือ” ขึ้ น ไปพบพร้ อ มด้ ว ยดอกไม้ ธู ป เที ย น เพือ่ ถ่ายทอดวิชาเบีย้ แก้และวิชาบางประการให้ ทั้งสองรูป แล้วกระซิบบอกว่า ถ้าท่านไม่อยู่ แล้ว วิชาเบี้ยแก้ จะได้ไม่สูญไปจากวัดกลาง บางแก้ว แล้วพูดว่า “ให้ใบทำ�ก่อน” หมายถึง ให้พระอาจารย์ใบทำ�ก่อนเหมือนมีความหมาย แฝงเอาไว้ในอนาคต เพราะหลังจากหลวงปู่ เพิ่มมรณภาพพระอาจารย์ใบก็ทำ�เบี้ยแก้ได้ ประมาณ 1 ปี พระอาจารย์ใบก็มรณภาพ จากนัน้ “อาจารย์เซ็ง” ก็ท�ำ เบีย้ อยูไ่ ด้อกี ไม่นาน ก็ ม รณภาพจึ ง ถึ ง วาระของ “หลวงปู่ เ จื อ ” “หลวงปูเ่ พิม่ ” เหมือนจะรูว้ า่ ใครจะต้องทำ�ก่อน ทำ � หลั ง ท่ า นจึ ง สั่ ง ไว้ เ ช่ น นั้ น ตลอดเวลา ที่ผ่านมา “หลวงปู่เจือ” ทำ�เบี้ยแก้ไว้มากมาย มากกว่าทุกหลวงปู่ของวัดกลางบางแก้วรวม กันทั้งหมด

เหรียญหล่อเจ้าสัว หลวงปู่บุญ เแต่กอ่ นชาวบ้านเรียกเหรียญซุม้ กระจัง ครั้นภายหลัง ผู้ที่ได้รับเหรียญนี้ไป ซึ่งเป็น พ่ อ ค้ า แถบนครชั ย ศรี ห ลายราย มี ฐ านะ ร่ำ � รวยขึ้ น จึ ง เรี ย กว่ า เหรี ย ญเจ้ า สั ว ๆ คณะศิษย์สร้างถวายฉลองอายุหลวงปู่บุญ ครบ 80 ปี เมื่อปี 2471

182

SBL OK6.indd 182

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดทุ่งน้อย วัดทุ่งน้อย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ เลขที่ 72 หมู่ที่ 8 ตำ�บลแหลมบัว อำ�เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ประมาณ 33 ไร่

ประวัติวัดทุ่งน้อย วัดทุ่งน้อยเป็นวัดเก่าแก่สร้างตั้งแต่ปี 2450 ในปี พ.ศ. 2470 นายเสง ศรีสุภะ ได้ถวายที่ดินจำ�นวน 21 ไร่ 3 งาน 96 ตารางวา โดยมีแกนนำ�ท่านหนึง่ (ต่อมาคือหลวงพ่อปทุมรฺ ตโน เจ้าอาวาสรูปแรก) นำ � พาชาวบ้ า นบู ร ณะวั ด ทุ่ ง น้ อ ยจนแล้ ว เสร็ จ และได้ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วัดทุ่งน้อย” ตามสถานที่ตั้งคือหมู่บ้านทุ่งน้อย

การบูรณปฏิสังขรณ์วัด วัดทุ่งน้อยมีการก่อสร้างอุโบสถอยู่สองสมัย ในสมัย หลวงพ่ อ มาได้ ส ร้ างอุ โ บสถก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ขนาดกว้ า ง 10 เมตร ยาว 20 เมตร เป็นอาคารทรงไทยมียอดแหลม หลังคาลด 2 ชั้น เริ่มสร้างปี พ.ศ. 2450 และผูกพันธสีมา ปี พ.ศ. 2471 ในสมัยพระครู จันทเขมคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน อุโบสถหลัง เดิมชำ�รุดมาก ไม่สามารถประกอบศาสนกิจได้ จึงได้รเิ ริม่ สร้างอุโบสถ

หลั ง ใหม่ ขนาดกว้ า ง 13.20 เมตร ยาว 36.40 เมตร ในปี พ.ศ. 2524 และผูกพันธสีมาในปี พ.ศ. 2547 ต่อมามีการพัฒนาวัดใน 3 ยุคสมัย คือสมัยหลวงพ่อเอก เจ้ า อาวาสรู ป แรก ได้ ว างรากฐานอาคาร และสถานที่ มี อุ โ บสถ หอสวดมนต์ และกุฏิสงฆ์ ไว้เรียบร้อยเมื่อท่านได้มรณภาพไปแล้ว ในปีพ.ศ. 2506 ก็ได้หยุดการพัฒนาวัดเพราะขาดเจ้าอาวาส จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2513 พระอธิการสุวิทย์ (ส่วย) เกสโร เป็นเจ้าอาวาสก็ได้มี การพัฒนาวัดทุ่งน้อยขึ้นมาอีกครั้ง มีการสร้างศาลาการเปรียญ หลังใหม่ วิหาร และบูรณะอาคารกุฏิสงฆ์ เมื่อท่านได้มรณภาพลง ในปี พ.ศ. 2522 ชาวบ้ า นได้ นิ ม นต์ พ ระครู จั น ทเขมคุ ณ จากวัดลางบางแก้ว ให้มาดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสแทน และท่านก็ได้ด�ำ เนิน การพัฒนาวัดอย่างเป็นลำ�ดับ มีการจัดวางผังวัดใหม่ดังเช่นปัจจุบัน

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด พระพุ ท ธรู ป ศิ ล าแลง ประทั บ นั่ ง ปางมารวิ ชั ย สมั ย อู่ ท อง หน้าตัก 3 ศอก ลงรักดำ�ทั้งองค์ มีพระนาม ศิลามนต์ (หลวงพ่อดำ�) และพระพุทธรูปปูนปั้น ปางนอนหงาย (หลวงพ่อ สนอง) Nakhon Pathom 183

SBL OK6.indd 183

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้ น ทางพบ อำ�เภอดอนตูม อำ�เภอดอนตูม

เสน่ห์ดอนตูม

เป็น 1 ใน 7 อำ�เภอ ของจังหวัดนครปฐม ทำ�เลที่ตั้ง อยูต่ อนกลางค่อนทางเหนือของจังหวัด พืน้ ทีป่ ระมาณ 171.354 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดต่ออำ�เภอบางเลน ทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กั บ อำ � เภอนครชั ย ศรี อำ � เภอเมื อ งนครปฐม และทิ ศ ตะวั น ตกติ ด กั บ อำ � เภอกำ � แพงแสน จั ง หวั ด นครปฐม แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 ตำ�บล 69 หมู่บ้าน มีการจัดตั้งเป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แบ่งเป็น 1 เทศบาล 6 องค์การ บริหารส่วนตำ�บล

ชื่อบ้านนามเมือง “ดอนตูม” มาจากทำ�เลทีต่ งั้ ซึง่ เป็นพืน้ ทีด่ อน ซึง่ อดีตเรียกบริเวณ นี้ว่า “เมืองตูม” สันนิษฐานว่าเป็นชื่อเมืองเก่าในแต่ครั้งโบราณ ต่อมาทางราชการจึงจัดตั้งเป็นอำ�เภอครั้งแรกชื่อ “อำ�เภอสาม แก้ว” ตั้งที่ว่าการอยู่บริเวณตำ�บลห้วยพระ ต่อมาย้ายที่ว่าการ อำ�เภอไปตั้งบริเวณตลาดบ้านยาง และเปลี่ยนชื่อเป็น “อำ�เภอ กำ�แพงแสน” ครั้นปี พ.ศ.2509 ได้จัดตั้งเป็นกิ่งอำ�เภอดอนตูม โดยแยกพืน้ ทีต่ ำ�บลสามง่าม ตำ�บลห้วยพระ ตำ�บลลำ�เหย ตำ�บล ดอนพุทรา ตำ�บลบ้านหลวง ตำ�บลดอนรวก และตำ�บลห้วย ด้วน จากอำ�เภอกำ�แพงแสน ตั้งที่ว่าการกิ่งอำ�เภอบริเวณตำ�บล สามง่าม ต่อมา พ.ศ. 2512 จึงได้จัดตั้งเป็นอำ�เภอดอนตูม

“นายพิษณุ พลอยสุข” นายอำ�เภอดอนตูม

จุดเด่นของอำ�เภอดอนตูม อำ�เภอดอนตูม เป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลากหลายของกลุม่ ชาติพนั ธ์ เช่น กลุม่ ไทยทรงดำ� กลุม่ ลาวครัง่ จีน ไทย ซึง่ ในความหลาก หลายของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ ไม่ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อการดำ�รงชีวติ กลุม่ ต่าง ๆ สามารถปรับวิถชี วี ติ ให้สอดคล้อง กันไป และยังคงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ไว้ได้ อย่างสวยงาม การดำ�เนินชีวิตเป็นไปอย่างเรียบง่ายและสงบ ร่มเย็น เสน่ห์อีกประการหนึ่งคือ การที่อำ�เภอมีที่ตั้งอยู่ใจกลาง ของจั ง หวั ด ทำ � ให้ มี ก ารคมนาคมที่ ส ะดวกสามารถเดิ น ทาง สู่ภูมิภาคต่าง ๆ ได้ง่าย ประกอบกับเป็นพื้นที่ดอนน้ำ�ไม่ท่วม มีระบบชลประทานที่สมบูรณ์ ที่ดินยังมีราคาไม่แพงมากนัก ดังนั้น ด้วยศักยภาพของพื้นที่ดังกล่าวจึงเหมาะสมที่จะรองรับ การขยายตัวของชุมชนจากเมือง หรือการทำ�กิจการต่าง ๆ ทีเ่ ป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างยิ่ง ดังคำ�ขวัญของอำ�เภอดอนตูม “บารมี ห ลวงพ่ อ เต๋ เสน่ ห์ ไ ทยทรงดำ � ตำ � นานเมื อ งโบราณ ธงสงกรานต์ ป ระเพณี หลามยอรสดี เกษตรอิ น ทรี ย์ กสิกรรม” ซึ่งสื่อถึงวิถีชีวิตของชาวอำ�เภอดอนตูมได้อย่างดี 184

SBL OK6.indd 184

5/8/2558 BE 10:37 AM


หมู่บ้านไทยทรงดำ�

หลวงพ่อเต๋ คงสุวัณโณ เมื่อเอ่ยถึงอำ�เภอดอนตูมก็ต้องกล่าวถึง หลวงพ่อเต๋ คงสุวัณโณ หรือที่ชาวบ้านเรียกติดปากว่า หลวงพ่อเต๋ คงทอง แห่งวัดอรัญญิการาม หรือ วัดสามง่าม ท่านเป็นพระสงฆ์ผู้ ประพฤติ ดี ป ระพฤติ ช อบ กอปรด้ ว ยความเมตตาปราณี และมี คุ ณู ป การต่ อ ชาวอำ � เภอดอนตู ม เป็ น อย่ า งยิ่ ง ปั จ จุ บั น เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชนอำ�เภอดอนตูม และประชาชน จังหวัดต่าง ๆ แวะเวียนมากราบสักการะไม่เว้นแต่ละวัน ถึงแม้ว่า ท่านจะมรณภาพไปนานแล้วก็ตาม

ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ คือประเพณีทำ�บุญทอดผ้าป่า ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของกลุม่ ชาติพนั ธุล์ าวครัง่ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นพืน้ ที่ เป็นประเพณีทสี่ บื ทอดกันมากว่าร้อยปี ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ คือประเพณีทำ�บุญทอดผ้าป่าช่วงสงกรานต์ ซึ่งเป็นเวลาว่าง จากการทำ�นาและเป็นฤดูแล้ง เหมาะแก่การที่จะทำ�การปรับปรุง ซ่อมแซมกุฏิ เสนาสนะ และศาสนสถานให้มีความสมบูรณ์ สวยงาม ชาวบ้านจึงชักชวนกันสละทรัพย์สิ่งของนำ�ไปมอบให้ กับวัดใกล้บ้านของตน กิจกรรมของประเพณีแห่ธงสงกรานต์ เริ่มด้วยการบอกบุญเรี่ยไรไปตามหมู่บ้าน พร้อมด้วยขบวน กลองยาวหรือดนตรีพื้นบ้าน วันแห่ธงไม่ได้กำ�หนดวันแน่นอน ขึ้นอยู่กับความสะดวกของชาวบ้าน เช่น จะจัดในวันเสาร์หรือ อาทิตย์ เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความรักสามัคคีและเป็นห่วงโซ่ ร้อยเกี่ยววิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณีของกลุ่มไว้ด้วยกัน

กลุ่ ม ไทยทรงดำ � หรื อ เรี ย กกั น จนคุ้ น ชิ น ว่ า “ไทยโซ่ ง ” มีเอกลักษณ์ในด้านศิลปวัฒนธรรมความเป็นอยู่ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของ การแต่งกาย ผู้ชายไทยทรงดำ�จะนุ่งกางเกงสีดำ�หรือสีครามแก่ ขาสั้น ใต้เข่าเล็กน้อยและแคบ เรียกว่า “ส้วงก้อม” เสื้อเรียกว่า “เสื้อไตย” (เสื้อไทย) ผู้หญิงนุ่งซิ่นสีดำ�หรือสีครามแก่มีลายสีขาวเป็นทางลง เรียกว่า “ผ้าซิ่น” เสื้อเรียกว่า “เสื้อก้อม” ผ้าสไบไทยทรงดำ� (โซ่งดำ�) เรียกว่า “ผ้าเบียว” สำ�หรับหญิงชราจะใช้เป็นผ้าสไบเฉียงเวลาไปทำ�บุญ และมี ป ระเพณี ค วามเชื่ อ เกี่ ย วกั บ การไหว้ ผี อาทิ การเสนเรื อ น และมีวัฒนธรรมการกินอยู่ที่น่าสนใจต่าง ๆ อาชีพโดยส่วนใหญ่ของ ไทยทรงดำ�จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม เลี้ยงสัตว์ ทอผ้า ชาวไทย ทรงดำ � นอกจากจะมี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะในด้า นศิล ปวัฒ นธรรมแล้ว ยังจะมีความรักความสามัคคีในหมู่คณะ และมีวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่มอีกด้วย ถิ่ น ฐานเดิ ม ของไทยทรงดำ � ในประเทศไทยอยู่ ที่ จั ง หวั ด เพชรบุรี การที่มีการกำ�หนด ให้ไทยทรงดำ�ไปอยู่เพชรบุรีนั้นอาจเป็น เพราะจังหวัดเพชรบุรีมีป่าและเขามาก มีหุบห้วย ลำ�ธาร น้ำ�ท่วมไม่ถึง ลักษณะภูมิประเทศคล้ายภูมิประเทศบ้านเก่าเมืองเดิมคือเมืองแถง แคว้นสิบสองจุไท (เดียนเบียนฟู) ในอำ�เภอดอนตูมมีพื้นที่ที่มีกลุ่มไทย ทรงดำ�อาศัยอยู่ คือ บ้านหัวถนน ตำ�บลดอนพุทรา บ้านแหลมกระเจา ตำ�บลลำ�ลูกบัว

เกษตรอินทรีย์ จากกระแสความตื่น ตัว ในการบริโภคอาหารเพื่อสุข ภาพ บนแนวคิดพื้นฐานของเกษตรอินทรีย์คือ การทำ�การเกษตรแบบ องค์รวม ซึ่งแตกต่างอย่างมากจากระบบเกษตรแผนใหม่ที่มุ่งเน้นการ ใช้ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตเฉพาะพืชที่ปลูก ซึ่งเป็น แนวคิดแบบแยกส่วนให้ความสนใจเฉพาะแต่ผลผลิตของพืชหลัก ที่ปลูก อำ�เภอดอนตูมมีกลุ่มเกษตรกรที่ให้ความสำ�คัญในการทำ�การ เกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นระบบการผลิตทางการเกษตร ที่คำ�นึงถึงการ ใช้ ปั จ จั ย การผลิ ต จากสารอิ น ทรี ย์ เพื่ อ รั ก ษาความสมดุ ล ของ ธรรมชาติ อีกทัง้ รักษาสภาพแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมี ร ะบบการจั ด การนิ เ วศวิ ท ยาที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั บ ธรรมชาติ และหลี ก เลี่ ย งการใช้ ส ารสั ง เคราะห์ ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด มลพิ ษ ในสภาพแวดล้อม รวมถึงการนำ�ภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านมาใช้ประโยชน์อกี ด้วยจึงทำ�ให้เกษตรอินทรีย์สร้างรายได้ให้กับประชาชนในอำ�เภอ ดอนตูมได้ไม่น้อย

หมูยอหลาม

หมู ย อหลาม เป็ น หนึ่ ง ในผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องอำ � เภอดอนตู ม ทีม่ ชี อื่ เสียงในด้านรูปแบบ รสชาติอร่อย เป็นหมูยอทีบ่ รรจุในกระบอก ไม้ไผ่ สามารถผ่าออกมารับประทานได้เลย หรือจะนำ�ไปประกอบอาหาร อื่ น ก็ ไ ด้ มี ค วามแปลกใหม่ ในเรื่ องบรรจุ ภัณฑ์ที่พึ่งพิ งธรรมชาติ ผลิ ต โดยกลุ่ ม แปรรู ป เนื้ อสั ต ว์ โดยจดทะเบีย นเป็น วิส าหกิจ ชุม ชน และมีผลิตภัณฑ์อื่นส่งขายอีก เช่น กุนเชียงกล้วย เพื่อสุขภาพ แหนม กระดูกอ่อน ไส้อั่ว หมูแดดเดียว และลูกชิ้น ขอเชิญชวนทุกท่านมาสัมผัสกับ “เสน่ห์ดอนตูม” ซึ่งจะทำ�ให้ ท่านได้รบั ทัง้ ความอิม่ ตา อิม่ ใจและอิม่ ท้องกลับไปอย่างประทับใจไม่รลู้ มื

Nakhon Pathom 185

SBL OK6.indd 185

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ดอนตูม)

องค์การบริหารส่วนตำ�บลลำ�เหย

นายจำ�ปี เหล่าปาสี นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลลำ�เหย องค์การบริหารส่วนตำ�บลลำ�เหย มีทที่ �ำ การตัง้ อยูเ่ ลข ที่ 99/9 หมู่ที่ 5 บ้านป่าแก ตำ�บลลำ�เหย อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม มีระยะทางห่างจากอำ�เภอดอนตูม ประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดนครปฐมประมาณ 26 กิโลเมตรปัจจุบันมี นายจำ�ปี เหล่าปาสี ดำ�รงตำ�แหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนตำ�บลลำ�เหย ซึง่ มีแนวนโยบาย ทิศทาง การบริหารงาน และการพัฒนา โดยมีสาระสำ�คัญสรุปได้ ดังนี้ 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้ครอบคลุมทุกกลุม่ เป้าหมาย ทั้งเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และ ประชาชนทัว่ ไป และพัฒนาในทุกมิติ ทัง้ การศึกษา สุขอนามัย อาชี พ ศี ล ธรรมจรรยา และการพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า น ต่างๆ 2. การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ให้ มี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐาน สะดวก ปลอดภัย และครอบคลุมทั่วถึง 3. การพั ฒ นาการเมื อ งการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมากษัตริยเ์ ป็นประมุข การส่งเสริมวิถี ชีวติ ประชาธิปไตย และสนับสนุนกระบวนการมีสว่ นร่วมอย่าง แท้จริง 4. การอนุรกั ษ์และพัฒนาวัฒนธรรมประเพณีทอ้ งถิน่ และส่งเสริมทำ�นุบำ�รุงศาสนา เพือ่ เป็นเครือ่ งช่วยหล่อหลอม ขัดเกลาสังคมและชุมชน 5. การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ ดำ � รงอยู่ มี ค วามสวยงาม และมี ค วาม ยั่งยืน 6. การพัฒนาระบบเศรษฐกิจชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มีภมู คิ มุ้ กันจากกระแสเศรษฐกิจภายนอก เพิม่ มูลค่าผลผลิต ชุมชน ภายใต้วิถีชีวิต ทรัพยากรและทุนชุมชน ที่มีความเป็น เอกลักษณ์ และทรงคุณค่า

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ลำ�เหย 7. การพัฒนาการให้บริการประชาชนให้มีคุณภาพ มีความสะดวกรวดเร็ว ประชาชนได้รับความพึงพอใจ ภายใต้หลัก ธรรมาภิบาล แนวทางการพัฒนาในทุกมิตดิ งั ทีก่ ล่าวมานัน้ ก็เพือ่ มุง่ สู่ การเป็นเมืองที่มีความเข้มแข็ง เมืองที่มีความน่าอยู่ และเมืองแห่ง สันติสุข ประวัติความเป็นมาตำ�บลลำ�เหย สืบเนื่องมาจากภายในตำ�บลลำ�เหยมีลำ�รางเป็นลำ�น้ำ� และน้ำ� ในลำ�รางได้เกิดการระเหยเหือดแห้งไป ทำ�ให้ชาวบ้านตัง้ ชือ่ ตำ�บลนี้ ว่า “ลำ�เหย” ตำ�บลลำ�เหยเป็นตำ�บลหนึ่งในอำ�เภอดอนตูม จังหวัด นครปฐม มีพื้นที่ประมาณ 35 ตารางกิโลเมตร หรือ 22,068 ไร่ แบ่งเขตการปกครอง 15 หมูบ่ า้ น มีครัวเรือน 2,509ครัวเรือน ศักยภาพของตำ�บลลำ�เหย ประชากรส่ ว นใหญ่ ข องตำ � บลลำ � เหยประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ได้แก่ ทำ�นา ทำ�สวนผัก สวนผลไม้ สวนกล้วยไม้ กระชาย เลี้ยงสัตว์ ที่เหลือประกอบอาชีพหัตถกรรม ปั้นเตาอั้งโล่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ� ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว ค้าขาย และ รับจ้างทั่วไป เนื่ อ งจากระบบการเกษตรในตำ � บลลำ � เหย มี ร ะบบ ชลประทานที่ ดี โดยอาศั ย แหล่ งน้ำ �จากลุ่ ม แม่ น้ำ �ท่าจี น คลอง ท่าสาร – บางปลา คลองชลประทานประกอบกับเกษตรกรมี ศั ก ยภาพสู งมี ทั ก ษะด้ า นการเกษตรที่ ดี และภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น สามารถเรียนรูว้ ทิ ยาการแบบใหม่ ๆ และมีการใช้เทคโนโลยีในภาค

186

SBL OK6.indd 186

5/8/2558 BE 10:37 AM


ชวาลัน รีสอร์ท

ศูนย์วัฒนธรรมตำ�บลลำ�เหย

การเกษตรทีพ ่ ฒ ั นามากขึน้ ระดับหนึง่ พืชเศรษฐกิจทีท่ �ำ รายได้ให้ กับเกษตรกร ได้แก่ ข้าว พืชผักต่าง ๆ อ้อย ไม้ผล และไม้ดอก ไม้ประดับ การเกษตรกรรมของตำ�บลลำ�เหยมีความเป็นไปได้สงู ต่อ การวางแผนจัดการระบบการผลิต เพื่อเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การ พัฒนาของจังหวัดนครปฐม ด้านประมง ประชากรตำ�บลลำ�เหยประกอบอาชีพประมง น้ำ�จืด สัตว์น�้ำ ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ ปลาน้ำ�จืด กุ้งขาว ปลาสวยงาม จระเข้ และสัตว์น�้ำ อืน่ ๆ ส่วนด้านปศุสตั ว์ เกษตรกรส่วนใหญ่ท�ำ การ เกษตรแบบผสมผสาน มีการเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปกับการปลูกพืช หรือเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปกับการเลี้ยงสัตว์น้ำ� กล่าวคือ เลี้ยงโคนม โคเนือ้ ควบคูก่ บั การปลูกข้าวโพดฝักอ่อน, เลีย้ งสุกรควบคูก่ บั การ ปลูกพืชผัก, เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ ควบคู่กับการเลี้ยงปลาซึ่งเป็น ประโยชน์ที่เกื้อกูลกัน สัตว์ที่นิยมเลี้ยงได้แก่ ไก่,เป็ด,สุกร และโค เนื้อ งานประเพณีประจำ�ท้องถิ่น ประชาชนตำ�บลลำ�เหยมีวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ประเพณี ลาวครั่ง ที่สืบ ทอดกัน มารวมทั้งมีพิธี กรรมเซ่ นไหว้ ประจำ�ปี งานบุญประเพณีต่าง ๆ คือบุญเดือนสาม บุญสงกรานต์ บุญเข้าพรรษา งานแห่ธงประเพณีสงกรานต์ และงานประเพณีตาม วันสำ�คัญต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์และของดีเมืองลำ�เหย ผลิตภัณฑ์ธูปหอม โดยกลุ่มทำ�ธูป บ้านทุ่งสีหลง หมู่ที่ 1 คุณบุญสม บุญช่วย เบอร์โทร 084-8021558 กลุ่มทำ�ขนมบ้านทุ่งสีหลง หมู่ที่ 1 ผลิตขนมดอกจอก มะพร้าวแก้ว ขนมต่างๆ คุณจันทร์เพ็ญ แก้วดวงเล็ก เบอร์โทร 091-2211648 ผลิตภัณฑ์ตะกร้าสานจากพลาสติก,โคมประดิษฐ์ ที่ใส่ กระดาษทิชชู่ หมู่ที่ 1 คุณวงเดือน พูนภิญโญ เบอร์ 0861777597 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ปลยวนจากไม้ ไ ผ่ หมู่ ที่ 1 คุ ณ วงเดื อ น พูนภิญโญ เบอร์ 086-1777597 กลุ่ ม เย็ บ ผ้ า บ้ า นทุ่ ง สี ห ลง หมู่ ที่ 1 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ สื้ อ เชิ้ ต ลวดลายต่าง ๆ นางสุรินทร์ หนูบ้านเกาะ เบอร์โทร 086-

วัดลำ�เหย

7943432 เรือปั่นไฟเบอร์กลาส (เรือเป็ด),ถังเก็บน้ำ�,ถังบำ�บัดน้ำ�เสีย หมู่ที่ 1 ผู้ใหญ่มงคล โสภาพ เบอร์โทร 081-8582342 ศูนย์ผลิตข้าววิสาหกิจชุมชน บ้านลำ�เหย หมู่ที่ 2 พันธุ์ ข้าวปลูก,ฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตของพืชผัก ผู้ใหญ่พงษ์ชัย แจ้งธรรมมา เบอร์โทร 087-1560269 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ถั ง ขยะ และบุ้ ง กี๋ จ ากยางรถยนต์ หมู่ ที่ 4 รองเดชา เมืองเชียงหวาน เบอร์โทร 081-9412612 ผลิตภัณฑ์ดอกไม้จากผ้าใยบัว,ดอกไม้จันทน์ ชมรมผู้สูง อายุวัดลำ�เหย หมู่ที่ 4 ประธานชมรม อ.ปราณี เชิญศิริ เบอร์โทร 089-6698411 ผลิตภัณฑ์ น้ำ�พุ น้ำ�ล้น หมู่ที่ 8 คุณปติภณ คงวุฒิกรวรา เบอร์โทร 089-7617491 กลุ่มปลูกผักบ้านทุ่งสีหลง หมู่ที่ 13 ปลูกหน่อไม้ฝรั่ง นายทองใบ พรรณโชติ เบอร์โทร 085-2975625 ผลิตภัณฑ์กระเป๋าแบบต่าง ๆ ตะกร้าจากเส้นพลาสติก หมู่ที่ 13 นายสมใจ ศรียา เบอร์โทร 084-9423432 ผลิตภัณฑ์ตะข้องจักสานไม้ไผ่ หมู่ที่ 13 คุณสายพาน คำ�กงลาด เบอร์โทร 085-1938419 กลุ่มผักปลอดสารพิษบ้านสุขสบาย หมู่ที่ 14 ผู้ใหญ่ ประสาร พันธ์มี เบอร์โทร 081-8581159 ไข่เค็ม,ไข่เป็ดไล่ทุ่ง,ไก่สด หมู่ที่ 14 คุณพานิตา เขียวลี เบอร์โทร 085-2984891 สวนกล้วยไม้ หมู่ที่ 14 คุณประทีป ตะโกอินทร์ เบอร์โทร 087-9215389 ปลูกกระชาย,แปรรูปกระชาย หมู่ที่ 14 นางสุมาลี พันธ์มี เบอร์โทร 081-8581159

Nakhon Pathom 187

SBL OK6.indd 187

5/8/2558 BE 10:37 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.ดอนตูม)

องค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยด้วน ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยด้วน ได้รับการจัดตั้ง เป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตามพระราชบัญญัติสภาตำ�บลและองค์การบริหาร ส่วนตำ�บล พ.ศ. 2537 เป็นองค์การบริหารส่วนตำ�บลขนาด เล็ก มีเขตการปกครองแบ่งเป็น 7 หมู่บ้าน พื้นที่ส่วนใหญ่ เป็นที่ราบลุ่ม ชุ่มชื่น เหมาะแก่การทำ�เกษตรกรรม ทำ�ไร่ ทำ� สวน ทำ�นา เพราะมีคลองชลประทาน และมีน้ำ�เพียงพอใช้ใน การทำ�เกษตรได้ทั้งปี

“ตำ�บลก้าวหน้า เกษตรกรรมก้าวไกล คุณภาพชีวิตสดใส สืบสานประเพณี ไทยท้องถิ่นอันดีงาม”

วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น ตำ�บลห้วยด้วนมีวัฒนธรรมและประเพณีที่โดดเด่น คือ ภาษาพูด การแต่งกายและประเพณี ที่เรียกกันว่า “ชาวลาวครั่ง” ปัจจุบัน ชาวบ้านตำ�บลห้วยด้วน ยังคงอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้อยู่

คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วย ด้วน ปัจจุบัน นายองอาจ ปิ่นพยอม ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนตำ�บลห้วยด้วน ซึง่ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 4 ตำ�บลห้วยด้วน อำ�เภอ ดอนตูม จังหวัดนครปฐม มีระยะทางห่างจากจังหวัด 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่ในการรับผิดชอบประมาณ 13 กิโลเมตร 188

SBL OK6.indd 188

5/8/2558 BE 10:37 AM


ประเพณีแห่ธงสงกรานต์ เป็นประเพณีที่สำ�คัญของตำ�บล ซึ่งสืบทอดกันมาช้านานในหมู่คนไทยเชื้อสายลาวครั่ง การแห่งธง ของวัดทุ่งผักกูด จะแห่ธงสงกรานต์ในวันที่ 14-15 เมษายน ของ ทุกปี ซึ่งวัดทุ่งผักกูด ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำ�บลห้วยด้วน ส่วนวัดกง ลาด จะแห่ธงสงกรานต์หลังวันที่ 13 เมษายน ประมาณ 7 วัน ซึ่ง วัดกงลาดตั้งอยู่หมู่ที่5ตำ�บลห้วยด้วน นอกจากประเพณีแห่ธงสงกรานต์แล้ว ยังมีประเพณีทสี่ �ำ คัญ ของตำ�บลห้วยด้วนอีกมากมาย เช่น ประเพณีการไต้น้ำ�มันวันออก พรรษา, ประเพณีเลี้ยงปีพ่อเฒ่า, ประเพณีทำ�บุญกลางบ้าน ฯลฯ

วัดกงลาด อุโบสถหลังเก่าสร้างปี พ.ศ. 2335 อนุมัติวิสุม คามสีมา ปี 2345 ในปลายรัชการที่ 2 ต้นสมัยรัชการที่ 3 จนถึงปัจจุบันมีอายุได้ 213 ปี เป็นโบราณสถานและเป็นที่เคารพ กราบไหว้ของชาวพุทธศาสนาในท้องถิ่นตลอดมา

วัดทุ่งผักกูด ประกาศตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2380 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2400 เนื้อที่ตั้งวัด 18 ไร่ ที่ธรณีสงฆ์ 12 ไร่ (ตามหลักฐานการประกาศในสมัยนั้น) มี พระอุโบสถ เสมาและเจดีย์ ซึ่งมีอายุร่วม 170 กว่าปี แหล่งท่องเที่ยวที่สำ�คัญ พิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ กลุม่ ชาติภณ ั ฑ์ลาวครัง่ ตัง้ อยูใ่ นวัด ทุ่งผักกูด ตำ�บลห้วยด้วน อาคารพิพิธภัณฑ์มีลักษณะคล้ายกับ บ้านของชาวลาวครั่ง ชั้นล่างจัดแสดงวัตถุต่างๆ ที่ใช้ในการทำ�มา หากิน อาทิ ทะนานใส่ข้าว ไม้คานหลาว ฯลฯ ส่วนอาคารชั้นบน จัด แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับความเชื่อสำ�คัญของชุมชน อาทิ ผีเจ้านาย และผีเทวดา เป็นต้น

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ องค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยด้วน โทร. 0-3420-5130, 0-3496-8640 Nakhon Pathom 189

SBL OK6.indd 189

5/8/2558 BE 10:38 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหนองกระพี้ วัดหนองกระพี้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่บ้านหนองกระพี้ หมู่ที่ 5 ตำ �บลบ้านหลวง อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่โดยประมาณ 13 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวา ตามโฉนดเลขที่ 9069 ปัจจุบันมี พระนิคม จิตฺตทนโต เป็นเจ้าอาวาสวัด

ความเป็นมาของวัด วั ด หนองกระพี้ เป็ น วั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง สร้ า งในสมั ย กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น จากหลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษรและตัว บุคคลที่ใกล้ชิดเหตุการณ์ที่บอกเล่าต่อ ๆ กันพอสรุปได้ว่าวัดนี้เริ่ม ก่ อ ตั้ ง ตรงกั บ สมั ย รั ช กาลที่ 1 ประมาณ ปี พ.ศ.2337 และอี ก หลักฐานหนึ่งที่แสดงว่าวัดนี้เก่าแก่ คือเมื่อประมาณ 40 ปีที่ผ่านมา มีชาวบ้านขุดพบพระบูชาพระเครือ่ งเนือ้ กระเบือ้ งดินเผาปางต่าง ๆ เป็น จำ�นวนมาก อีกทัง้ ทีด่ นิ บริเวณนัน้ มีเศษอิฐหัก เศษกระเบือ้ งกรวดทราย กองทับถมอยู่มากมาย 190

SBL OK6.indd 190

5/8/2558 BE 10:38 AM


ส่วนชื่อของวัดหนองกระพี้ เนื่องมาจากในพื้นที่ติดคลองฝั่ง ทิ ศใต้ ใกล้ ห นองน้ำ �ฝั่งตรงข้ามกับ ที่ตั้งโรงเรีย นบ้ านหลวงวิ ท ยา ในปัจจุบัน บริเวณนั้นมีต้นไม้ชนิดหนึ่งเรียกว่า ต้นกระพี้ ขึ้นอยู่ จำ�นวนมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “วัดหนองกระพี้”

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนให้ความเคารพนับถือ 1. หลวงพ่อทอง เป็นพระประธาน ประดิษฐานในพระอุโบสถ 2. หลวงพ่ อ ดำ � ซี่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางสมาธิ สมั ย สุ โ ขทั ย ประดิษฐานในพระวิหาร

ประวัติการสร้างถาวรวัตถุ อุโบสถ จากคำ�บอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ ได้เล่าสืบกันมาว่าอุโบสถ หลังเดิมของวัดนี้ สร้างด้วยไม้หลังคามุงจาก และต่อมาจึงได้ทำ�การ สร้างเป็นแบบก่ออิฐถือปูน ด้วยการบริจาคของชาวบ้านหนองกระพี้ ส่ ว นอุ โ บสถหลั ง ปั จ จุ บั น นี้ มี ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมแบบทรงไทย โครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเริม่ สร้างมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2516 จนกระทั่งแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2536 เจ้าอาวาสพร้อมคณะกรรมการ วัดได้จัดงานปิดทองฝั่งลูกนิมิต และทำ�การดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพ

ที่สวยงาม จนสำ�เร็จเรียบร้อยด้วยดีทุกประการ ศาลาเมรุ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของวัด พระอธิการสุรินทร์ ชนุตสิ าโร ขณะทีย่ งั เป็นเจ้าอาวาสอยู่ ได้ทำ�หารรือ้ ศาลาหลังเดิมออกแล้ว ทำ�การสร้างใหม่ พ.ศ. 2520 ศาลาการเปรียญ เดิมใช้ศาลาเมรุในการประกอบพิธกี รรมต่าง ๆ เมื่อมีการเผาศพ หรือตั้งศพที่ศาลาการเปรียญ ทำ�ให้ไม่สะดวกในการ ประกอบพิธกี รรมต่าง ๆ ชาวบ้านจึงพร้อมใจการสร้างศาลาหลังปัจจุบนั เริ่มลงมือสร้างในปี พ.ศ.2538 แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2545 วิหารและหอระฆัง วิหารหลวงพ่อดำ�ได้ทำ�การก่อสร้างขึ้นจากการ ปรารภของ พระครู อ าทรธรรมประโชติ (ชั ย วุ ฒิ โชติ ว โร) เจ้ า อาวาส ในสมัยนั้น เนื่องจากเห็นว่า พระหลวงพ่อดำ�ที่เป็นพระประธานอยู่ในอุโบสถ เป็นที่เคารพของชาวบ้าน ซึ่งจะมาทำ�การแก้บนที่ตนเองขอแล้วประสบความ สำ�เร็จอยูเ่ นือง ๆ จึงได้ประชุมคณะกรรมการวัด เพือ่ ทีจ่ ะทำ�การสร้างวิหารให้ หลวงพ่อดำ� เพื่อความสะดวกในการเคารพในองค์หลวงพ่อดำ� ลงมือสร้าง เสร็จในปี พ.ศ.2539 และได้ท�ำ การจัดงานปิดทองหลวงพ่อเป็นงานประจำ�ทุก ปีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

ลำ�ดับรายนามเจ้าอาวาสวัดหนองกระพี้ พระภิกษุคนทา ตั้งแต่ พ.ศ.2337 – พ.ศ.2344(องค์แรก) พระนิคม จิตฺตทนโต ตั้งแต่ พ.ศ.2556 – ปัจจุบัน ไวยาวัจกร (ปัจจุบัน) นายชนวีร์ เผ่าผาง Nakhon Pathom 191

SBL OK6.indd 191

5/8/2558 BE 10:38 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดห้วยพระ วัดห้วยพระ ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ตำ�บลห้วยพระ อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม วัดห้วยพระถือเป็นสำ�นักปฏิบัติธรรมแห่งที่ 15 ของจังหวัดนครปฐม มีพระบรม สารีริกธาตุที่ได้รับมาจากอินเดียประดิษฐานอยู่ภายในวัด มีการปฏิบัติธรรมและ บวชชีพราหมณ์ทุกๆวันสำ�คัญ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ปัจจุบันมี พระครูพิทักษ์ธรรมกิตติเ์ ป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยพระ

ประวัติวัดห้วยพระ วัดห้วยพระ เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้นในราวปี พ.ศ.2401 เดิมที่ตั้งวัดเป็นพื้นที่ ป่ามีพชื พรรณไม้นานาชนิดอุดมสมบูรณ์ และประชาชนตัง้ บ้านเรือนกระจัดกระจาย ตามลำ�ห้วย ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและขายของป่า ต่อมาประชาชนจากชุมชน อืน่ ทั้งคนไทย คนไทยเชื้อสายลาว และคนไทยเชื้อสายจีน ได้อพยพมาตั้งบ้านเรือน มากขึ้นจึงเห็นพ้องให้มีการตั้งวัดขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมยึดเหนี่ยวทางจิตใจและใช้ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จึงร่วมมือกันถางพื้นที่ป่าและปรับพื้นที่เพื่อทำ�การ สร้างวัด ประมาณ 30 ไร่เศษ ซึ่งในบริเวณก่อตั้งวัดมีลำ�ห้วยใหญ่ไหลผ่านทาง ด้านทิศตะวันตก จึงขนานนามว่า “วัดห้วยพระ” ภายในวัดห้วยพระ มีพระพุทธรูปที่สำ�คัญอยู่ 1 องค์ คือหลวงพ่อบำ�เพ็ญ อายุกว่า 500 ปี ประดิษฐานอยู่ภายในวิหารจตุรมุข 192

SBL OK6.indd 192

5/8/2558 BE 10:38 AM


ความสำ�คัญของวัดห้วยพระ ปี พ.ศ.2449 ทางราชการได้ตงั้ อำ�เภอกำ�แพงแสนขึน้ แต่ใน ขณะนั้นยังไม่มีงบประมาณในการก่อสร้างสถานที่ว่าการอำ�เภอ กำ�แพงแสน จึงพิจารณาเห็นว่าวัดห้วยพระนีเ้ ป็นวัดใหญ่และอยูใ่ น ย่านของชุมชนที่มีความเจริญมาก ทางราชการจึงได้มาขออาศัย ใช้ศาลาดินเป็นทีว่ า่ การของอำ�เภอกำ�แพงแสน ขณะนีศ้ าลาดินหลัง ดังกล่าวตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของศาลาการเปรียญ ต่อมาในปี พ.ศ.2453 ทางราชการจึงได้งบประมาณมาทำ�การก่อสร้างที่ ว่าการอำ�เภอกำ�แพงแสน ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านสามแก้ว ตำ�บลห้วยพระ อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม ในปีพุทธศักราช 2484 ประชาชนเห็นความสำ�คัญของ การศึกษาจึงร่วมมือกับทางราชการจัดตั้งโรงเรียนวัดห้วยพระ ขึ้นเป็นโรงเรียนประชาบาลประเภทนายอำ�เภอจัดตั้งจัดการศึกษา ตัง้ แต่ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-4 ดำ�เนินการสอนตามหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการโดยอาศัยศาลาของวัดห้วยพระเป็นสถานที่ เล่าเรียนและเป็นโรงเรียนประจำ�ตำ�บล ครั้นต่อมา การทำ�มาหากินของประชาชนเกิดแร้นแค้นมาก เนื่องจากฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล แห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลา หลายปี เป็นผลทำ�ให้ประชาชนประกอบอาชีพทางการเกษตร ไม่ ไ ด้ ผ ล พากั น อดอยากถึ ง กั บ ต้ อ งเที่ ย วเก็ บ ขุ ย ไผ่ ม าใช้ หุ ง กินแทนข้าว จากสภาพพื้นที่ประกอบอาชีพไม่ได้ผล ประชาชน บางส่วนจึงเริ่มพากันอพยพไปทำ�มาหากินในท้องถิ่นอื่น จึงทำ�ให้ ประชาชนพลเมืองอาศัยอยู่ในท้องถิ่นน้อยลง นับตั้งแต่นั้นมา หมู่บ้านห้วยพระความเจริญตกต่ำ�น้อยลง ใ น ปี พ. ศ . 2 4 9 0 ท าง ร าช ก าร จึ ง ย้ า ย ที่ ว่ า กา ร อำ�เภอกำ�แพงแสน ที่หมู่บ้านสามแก้วไปตั้งอยู่ที่อำ�เภอกำ�แพงแสน ในปัจจุบนั ต่อมาประมาณ 4-5 ปี ทางราชการเริม่ ทำ�การก่อสร้าง

ระบบชลประทานส่งน้ำ�มาเพือ่ ช่วยในการเกษตรกรรม ประชาชนจึงได้ ทำ�นาทำ�ไร่ ได้ผลดีเพิ่มขึ้น และประชาชนที่ไปประกอบอาชีพในท้องถิ่น อื่นจึงอพยพกลับมาอยู่หมู่บ้านห้วยพระมากขึ้นตามลำ�ดับ

การปกครองและการทำ�นุบำ�รุงวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ.2402 เป็นต้นมามีเจ้าอาวาสครองวัดห้วยพระ จนถึงปัจจุบัน ดังมีรายนามต่อไปนี้คือ พ.ศ.2402 ไม่ปรากฏนามเจ้าอาวาส พ.ศ.2450 พระอธิการบุญมา ได้ก่อสร้างอุโบสถและสำ�เร็จ ในปีพ.ศ.2466 ปี พ.ศ.2470-2522 มีเจ้าอาวาสปฏิบัติงานเผยแผ่พระศาสนา คือพระอธิการสังวาลย์ พระอธิการไข่ และพระอธิการเติม หลังจาก นั้ น เป็ น ระยะเวลาหลายปี วั ด ห้ ว ยพระขาดผู้ป กครองดูแล มีเพีย ง เจ้าอธิการวงษ์ เจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน พระเป็นผู้อุปการะโดยมี พระทองดี พระประยงค์ พระบุญธรรม พระตุ๊ทำ�หน้าที่แทนเจ้าอาวาส พ.ศ.2522 ทางคณะสงฆ์ ร่ ว มกั บ ประชาชนในท้ อ งถิ่ น เห็ น สมควรได้แต่งตั้งเจ้าอาวาสขึ้นแทนองค์เก่า จึงอาราธนา พระภิกษุแถว ถิรขิตโต ขึ้นเป็นเจ้าอาวาสวัดห้วยพระตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2522 เจ้าอาวาสจึงได้เชิญชวนประชาชนในท้องถิ่น นี้ทำ�การบูรณปฏิสังขรณ์ พัฒนาและสร้างต่อเติมเสนาสนะต่าง ๆขึ้น นอกจากนีย้ งั ได้เผยแพร่ธรรมเพือ่ ให้ประชาชนได้นำ�ไปประพฤติปฏิบตั ิ ซึ่งนำ�ความผาสุกมาสู่ชุมชนวัดห้วยพระ พ.ศ.2539 ทางคณะสงฆ์ ร่ ว มกั บ ประชาชนในท้ อ งถิ่ น เห็นสมควรอาราธนาพระอธิการคำ�รณ คุณงฺกโร มาเป็นเจ้าอาวาส วัดห้วยพระ ท่านได้บูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่างๆ ของวัดห้วยพระ จนมีความเจริญรุ่งเรืองจนกระทั่งเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2543 จึงได้ รับอาราธนาไปเป็นเจ้าอาวาสวัดดอนขนาก ปัจจุบันวัดห้วยพระมี พระครูพิทักษ์ธรรมกิตติ์ เป็นเจ้าอาวาส สื บ แทนพระอธิ ก ารคำ � รณ คุ ณ งฺ ก โร ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2543 และได้ดำ�เนินการพัฒนาวัดห้วยพระมาจนถึงทุกวันนี้ Nakhon Pathom 193

SBL OK6.indd 193

5/8/2558 BE 10:38 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดแหลมมะเกลือ วั ด แหลมมะเกลื อ เลขที่ 120 หมู่ ที่ 12 บ้ า นแหลมมะเกลื อ ตำ�บลสามง่าม อำ�เภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 18 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา มีที่ธรณีสงฆ์ จำ�นวน 5 แปลง มีเนื้อที่ 73 ไร่ 2 งาน วั ด แหลมมะเกลื อ มี สิ่ ง ศั ก ดิ์ ที่ ป ระชาชนให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ ได้แก่หลวงพ่อมงคลชัยในอุโบสถ หลวงพ่อทองดำ� และพ่อปู่ชีวก

ประวัติวัดแหลมมะเกลือ “แหลมมะเกลือ” เป็นชือ่ หมูบ่ า้ นทีเ่ รียกขานกันตามลักษณะภูมศิ าสตร์ คือแหลมมะเกลือ ซึ่งเป็นพื้นที่ดอนมีต้นไม้หลากหลายชนิดขึ้นเต็มพื้นที่ โดยเฉพาะต้นมะเกลือ ต่อมามีการตั้งบ้านเรือนอยู่กันอย่างถาวรมากขึ้น เรื่อย ๆ จนกลายเป็นชุมชนใหญ่ขึ้นเรียกขานกันว่า “บ้านแหลมมะเกลือ” และชาวบ้านได้ร่วมกันสละทรัพย์และกำ�ลังกายสร้างวัดขึ้นกลางหมู่บ้าน เพื่อเป็นสถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา เรียกชื่อว่า “วัดแหลมมะเกลือ” โดยได้ รั บ พระบรมราชานุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.2438 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปีพ.ศ.2506

194

SBL OK6.indd 194

5/8/2558 BE 10:39 AM


ประวัติการสร้างถาวรวัตถุ อุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2509 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย หลังคาลด 3 ชั้น ชั้นล่างปรับปรุงเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ศาลาการเปรียญ หลังที่ 1 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ชั้นบนเป็นที่พักผู้มาปฏิบัติธรรม ชั้นล่าง เป็นที่พักผู้มาปฏิบัติธรรมและอาคันตุกะผู้มาพัก ศาลาการเปรี ย ญเฉลิ ม พระเกี ย รติ 80 พรรษามหาราชา หลังที่ 2 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2547 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ชั้นบนเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและใช้ในการประกอบพิธีสงฆ์ต่าง ๆ ชั้นล่างเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและใช้ในการประกอบพิธีสงฆ์ต่าง ๆ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ดังนี้ หอระฆัง ศาลาประดิษฐานพระประธานประจำ�วัน 7 วัน มณฑปประดิษฐาน พระพุทธรูปสำ�คัญและพระบูรพาจารย์ และศาลาท่าน้�ำ 2 หลัง โรงเรียน ปริยัติธรรม ตลอดจนมีการปรับภูมิทัศน์บริเวณวัดให้สวยงามร่มรื่น รวมทั้งสร้างลานปฏิบัติธรรม และมีที่พักสำ�หรับผู้ปฎิบัติธรรมอย่าง พอเพียง

ลำ�ดับรายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระชน รูปที่ 2 พระใจ รูปที่ 3 พระสมัย รู ป ที่ 4 พระครู ม นตวิ สุ ท ธิ์ (จำ � ลอง มนฺ ต คุ ตฺ โ ต) ตั้ ง แต่ พ.ศ.2505 – 2549 รูปที่ 5 พระมหาพลลภัตม์ สิกฺขาสโภ ตั้งแต่ พ.ศ. 2549 ปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2550 เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้มกี ารส่งเสริมสนับสนุน ให้พระภิกษุสามเณร เรียนภาษาบาลี และปริยัติสามัญจนถึงระดับ อุดมศึกษา รวมทั้งได้จัดอบรมค่ายคุณธรรมจริยธรรม เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของเยาวชน Nakhon Pathom 195

SBL OK6.indd 195

5/8/2558 BE 10:39 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

196

SBL OK6.indd 196

5/8/2558 BE 10:39 AM


Nakhon Pathom 197

SBL OK6.indd 197

5/8/2558 BE 10:39 AM


198

SBL OK6.indd 198

5/8/2558 BE 10:40 AM


เส้นทางสู่ AEC

วิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อน ของอุตสาหกรรมไทย (ตอนที่ 1) นายสมชาย หาญหิ รั ญ ผู้ อำ � นวยการสำ � นั ก งาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

ได้วิเคราะห์ถึงศักยภาพของภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย ก่อนเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อย่างเต็มรูปแบบในปีนี้ว่า มีทั้ง จุดแข็งและจุดอ่อน และวิเคราะห์ถึงอุตสาหกรรมหลักของไทย 12 กลุ่ม ที่มีศักยภาพในเวทีอาเซียน

จุดแข็งที่สำ�คัญของภาคอุตสาหกรรมไทย ได้แก่ 1. ประเทศไทยมีแรงงานที่มีทักษะฝีมือเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ 2. มีวตั ถุดบิ ทางการเกษตรทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ ในด้านปริมาณและคุณภาพ และมีผลผลิตที่หลากหลาย เช่น ข้าว ยางพารา อ้อย ผักและผลไม้สด เป็นต้น 3. มีที่ตั้งเหมาะสม ในด้านการเป็นศูนย์กลางภูมิภาค ทำ�ให้มีข้อได้ เปรียบหลายด้าน โดยเฉพาะการขนส่ง และ 4. การคมนาคมขนส่งทั้งทางบกและทางอากาศ ครอบคลุมและรองรับ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จุดอ่อนที่สำ�คัญของภาคอุตสาหกรรมไทย ได้แก่ 1. ภาคการผลิตของไทยยังมีประสิทธิภาพต่ำ� เห็นได้จากข้อมูลการ สำ�รวจปัจจัยในการแข่งขันทั้ง 4 ด้าน ที่สถาบัน IMD ได้ดำ�เนินการ สำ�รวจไว้ 2. การขาดแคลนแรงงาน จากค่านิยมเกีย่ วกับการทำ�งาน และการเรียน ที่ผิด ๆ โดยให้ความสำ�คัญกับภาพลักษณ์มากกว่าการนำ�ไปใช้จริง 3. การกระจุกตัวของพื้นที่อุตสาหกรรม ทำ�ให้เกิดปัญหาความเหลื่อม ล้ำ�ทางรายได้ และการอพยพแรงงานเข้ามาหางานทำ�ในกทม. และ ปริมณฑล รวมทั้งในพื้นที่ภาคตะวันออก 4. อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ยังต้องพึง่ พาเงินทุนจากต่างประเทศ และ 5. สินค้าอุตสาหกรรมยังมีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากภาคการเกษตรไม่ มากนัก แม้วา่ ภาคการเกษตรจะมีความสำ�คัญกับประเทศมาอย่างช้านาน

อุตสาหกรรมหลัก 12 กลุ่มที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ได้แก่

อุตสาหกรรมหลัก 12 กลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพใน การแข่งขัน ได้แก่ 1. อุตสาหกรรมยานยนต์ ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต รถยนต์ อันดับ 1 ของอาเซียน มีศักยภาพในการผลิต รถยนต์ที่มีความเฉพาะใน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ รถ ปิกอัพ 1 ตัน รถยนต์ประหยัดพลังงาน หรืออีโคคาร์ และรถยนต์ขนาดเล็กคุณภาพสูง หากเปิด AEC ไทย ควรจะรักษาฐานการผลิตนีไ้ ว้ และส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบ การไทยออกไปตั้งฐานการผลิตยานยนต์ และชิ้นส่วน ในอาเซียน 2. อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน เนื่องจาก ไทยเป็นฐานการผลิตอันดับ 1 ของอาเซียน หลังการ เปิด AEC ไทยอาจได้รับผลกระทบจากการย้ายฐาน การผลิตไปประเทศเพื่อนบ้าน แต่ทั้งนี้ ไทยยังคงเป็น ฐานการผลิตทีวีแอลซีดีของซัมซุง พานาโซนิก และ แอลจี รวมทั้ง ยังรับจ้างผลิตให้กับอีกหลายแบรนด์ ขณะที่ เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้ เย็น เครื่องซักผ้า ฯลฯ ยังมีแนวโน้มที่ดี 3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ไทยยังมีจุดแข็งใน เรื่ อ งแรงงานมี ฝี มื อ เป็ น ที่ ย อมรั บ และมี ร ะบบ สาธารณูปโภคที่พร้อม แต่ยังมีปัญหาการขาดแคลน แรงงาน และในแง่ของมาตรการส่งเสริมการลงทุน ไทย ยังเสียเปรียบมาเลเซีย และสิงคโปร์ ทีใ่ ห้สทิ ธิประโยชน์ ยืดหยุน่ กว่า โดยแนวโน้มการอยูร่ อดจะต้องส่งเสริมให้ เกิดการลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพิ่มสูง และใช้ เทคโนโลยีชั้นสูง ฉบับหน้าเราจะมาดูกันว่ายังมีอุตสาหกรรมประเภทใด อีกบ้าง ที่มีศักยภาพในการแข่งขันในเวทีอาเซียนได้ แล้วพบกันใหม่ค่ะ ขอบคุณที่มา : http://www.thai-aec.com

1. ภาคการผลิตของไทยยังมีประสิทธิภาพต่ำ� เห็นได้จากข้อมูลการ สำ�รวจปัจจัยในการแข่งขันทั้ง 4 ด้าน ที่สถาบัน IMD ได้ดำ�เนินการ สำ�รวจไว้ 2. การขาดแคลนแรงงาน จากค่านิยมเกีย่ วกับการทำ�งาน และการเรียน ที่ผิด ๆ โดยให้ความสำ�คัญกับภาพลักษณ์มากกว่าการนำ�ไปใช้จริง 3. การกระจุกตัวของพื้นที่อุตสาหกรรม ทำ�ให้เกิดปัญหาความเหลื่อม ล้ำ�ทางรายได้ และการอพยพแรงงานเข้ามาหางานทำ�ในกทม. และ ปริมณฑล รวมทั้งในพื้นที่ภาคตะวันออก 4. อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ยังต้องพึง่ พาเงินทุนจากต่างประเทศ และ 5. สินค้าอุตสาหกรรมยังมีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากภาคการเกษตรไม่ มากนัก แม้วา่ ภาคการเกษตรจะมีความสำ�คัญกับประเทศมาอย่างช้านาน Nakhon Pathom 199

SBL OK6.indd 199

5/8/2558 BE 10:40 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

200

SBL OK6.indd 200

5/8/2558 BE 10:40 AM


วัดสามง่าม วัดสามง่ามเป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่เลขที่ 434 หมู่ 4 ตำ�บลสามง่าม อำ � เภอดอนตู ม จั ง หวั ด นครปฐม เป็ น วั ด ที่ มี หลวงพ่ อ เต๋ หรื อ “พระครู ภ าวนาสั ง วรคุ ณ ” เป็ น อดี ต เจ้ า อาวาสที่ ไ ด้ รั บ การขนานนามว่ า “เทพเจ้าแห่งอำ�เภอดอนตูม” วัดสามง่าม เดิมชื่อ “วัดดอนตูม” ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกห่างจาก วัดสามง่ามในปัจจุบนั ประมาณ 3 กิโลเมตร มีอธิการแดงหรือหลวงลุงแดง เป็นเจ้าอาวาส (หลวงลุงแดงมีศักดิ์เป็นลุงของหลวงพ่อเต๋) ในอดีตพื้นที่ บริเวณวัดดอนตูมมีสภาพแห้งแล้งกันดารขาดแคลนน้ำ� ชาวบ้านต่างทยอย อพยพครอบครัวไปอยู่ที่อื่น พระอธิการแดงเห็นว่าอยู่ต่อไปก็คงลำ�บาก จึงย้ายวัดมาก่อสร้างวัดใหม่ที่ตำ�บลสามง่าม เมื่อประมาณปีพ.ศ. 2447 และตั้ ง ชื่ อ ว่ า “วั ด สามง่ า ม” ตามสถานที่ ตั้ ง วั ด ต่ อ มามี ป ระกาศ พระบรมราชโองการพระราชทานเขตวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันศุกร์ที่ 19 มิถนุ ายน ร.ศ.127 ว่า “วัดอรัญญิการาม” ต่อมา หลวงพ่อเต๋ คงทองได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดสามง่าม เมื่ อ ปี พ.ศ.2475 และได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น เจ้ า คณะตำ � บลสามง่ า ม เมื่อ พ.ศ.2476 แต่เดิมวัดสามง่ามยังไม่มีความเจริญ ดังนั้นการเรียน พระปริ ยั ติ ธ รรมตลอดจนการศึ ก ษาของประชาชนจึ งเป็ น ไปด้ ว ยความ ยากลำ�บาก การอนามัยล้าหลังไม่ทนั สมัย การคมนาคมทีต่ ดิ ต่อกับภายนอก ก็เป็นไปด้วยความยากลำ�บาก จากสิง่ ต่าง ๆ ทีก่ ล่าวมานีห้ ลวงพ่อเต๋ทา่ นก็ได้ ดำ�เนินการก่อสร้างจนเป็นที่เรียบร้อย ตลอดจนการก่อสร้างถนนสาย ต่าง ๆ ให้ทันสมัย แม้ทางด้านการปกครองท่านก็ดูแลเอาใจใส่ พระ เณร เป็นอย่างดี มีเมตตา ช่วยเหลือต่อชาวบ้านให้อยู่ดีกินดี และเป็นที่พึ่งทางใจ ในยามที่ชาวบ้านทุกข์ร้อน จนชาวบ้านให้ขนานนามว่า “เทพเจ้าแห่งอำ�เภอดอนตูม” ด้วยคุณงามความดีของท่าน หลวงพ่อเต๋ จึ ง ไ ด้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น ส ม ณ ศั ก ดิ์ เ ป็ น พ ร ะ ค รู สั ญ ญ า บั ต ร ที่ “พระครูภาวนาสังวรคุณ” พระครูภาวนาสังวรคุณ (เต๋คงฺคสุวณฺโณ) มรณภาพ เมื่อวันที่ 24 ธั น วาคม 2524 ในระหว่ า งที่ ท่ า นมี ชี วิ ต ท่ า นได้ ส ร้ า งวั ต ถุ ม งคล และเครื่องรางของขลังไว้มากมาย ต่อมา พระอธิการ แย้ม ฐานยุตฺโต ได้รับแต่งตั้งให้ เป็นเจ้าอาวาสเมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม ปีพ.ศ.2525 จนถึงปัจจุบัน ท่านก็ได้ปฏิบัติหน้าที่ เจ้าอาวาสและปกครองดูแลเอาพระ เณรอย่างมีระเบียบและพัฒนาวัดรุง่ เรือง ขึ้นๆ ไป เจริญรอยตามอย่างเจ้าอธิการเต๋ทุกประการ

Nakhon Pathom 201

SBL OK6.indd 201

5/8/2558 BE 10:40 AM


เส้ น ทางพบ อำ�เภอบางเลน

“นายสมชาติ ธีรสุวรรณจักร” นายอำ�เภอเมืองนครปฐม อำ�เภอบางเลน เป็นอำ�เภอหนึ่งที่เก่าแก่ ตั้งขึ้นเป็นอำ�เภอเมื่อ พ.ศ. 2439 ทีว่ า่ การอำ�เภอเดิมตัง้ อยูท่ บ่ี า้ นบางไผ่นารถ ตำ�บลบางไทรป่า เร่ิม ใช้ชื่อว่า “อำ�เภอบางไผ่นารถ” ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอำ�เภอไป ตัง้ อยูใ่ นเขตตำ�บลบางปลา ใช้ชอ่ื ว่า “อำ�เภอบางปลา” ภายหลัง ได้ เปลี่ยนแปลงชื่ออำ�เภอบางปลาเป็น “อำ�เภอบางเลน” และได้ย้ายที่ ว่ า การอำ � เภอ มายั ง ท้ อ งที่ ห มู่ ที่ 8 ตำ � บลบางเลน อำ � เภอ บางเลน จนกระทั่งปัจจุบัน

ศักยภาพของอำ�เภอบางเลน อำ�เภอบางเลน แบ่งเขตการปกครอง เป็น 15 ตำ�บล, 180 หมูบ่ า้ น มี 4 เทศบาลตำ�บล และ 15 องค์การบริหารส่วนตำ�บล พื้นที่ เหมาะแก่การเกษตร ทั้งปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์ การประมง โดยการเกษตรที่กล่าวข้างต้น เป็นการเกษตรเพื่อธุรกิจ รวมถึง ธุรกิจส่งออก เช่น ฟาร์มกล้วยไม้ขนาดใหญ่ การเลี้ยงเป็ด โดย ส่งไข่เป็ดขายได้เฉลี่ย 12 ล้านฟอง/ เดือน และการเลี้ยงไก่ ส่งขายไข่ไก่ได้เฉลีย่ 75 ล้านฟอง/ เดือน เลีย้ งปลาเฉลีย่ ได้เดือน ละ 15,359,376 กิโลกรัม เลีย้ งกุง้ เฉลีย่ ได้เดือนละ 9,239,531 กิโลกรัม 202

SBL OK6.indd 202

5/8/2558 BE 10:40 AM


118 ปี ของดีอำ�เภอบางเลน

สถานที่ท่องเที่ยว ตลาดน้ำ�วัดลําพญา และตลาดน้ำ�บางหลวง ร.ศ.122 เปิดให้บริการ ในทุกวันเสาร์ – อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ มีอาหารทีเ่ ป็นทีร่ จู้ กั กัน ดีคอื เป็ดพะโล้ และขนมเปีย๊ ะ ทีย่ อมรับกันว่าอร่อยมาก

เพื่อเป็นการน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาท สมเด็ จ พระจุ ลจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หัว รั ช กาลที่ 5 และเปิดโอกาสให้ ชาวบางเลนทุกภาคส่วน ได้แสดงถึงความจงรักภักดี ความสมานฉันท์ สามัคคี เป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน เกิดความภาคภูมิใจ รวมทั้งส่งเสริม การท่องเทีย่ ว ตลอดจนเป็นการแสดงของดีในด้านต่าง ๆ เช่น ประเพณี วัฒนธรรม และการประกอบอาชีพ อำ�เภอบางเลน จึงจัดงาน “118 ปี ของดีอำ�เภอบางเลน” ขึ้นระหว่งวันที่ 20-26 มีนาคม 58 โดยมี กิจกรรมในงานดังนี้ ชมขบวนแห่จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนราชการ รวมทั้ง ชมรมต่ า งๆ ที่แ สดงถึ ง วั ฒ นธรรม ประเพณี ไ ทยในอดี ต และประเพณีท้องถิ่นในแต่ละพื้นที่ เช่น ขบวนของตำ�บลบางหลวง จะมี ก ารแต่ ง กายและวั ฒ นธรรมคนไทยเชื้ อ สายจี น วั ฒ นธรรม คนไททรงดำ� ขบวนกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ชมขบวนรถโบราณทีห่ าชม ได้ยากยิง่ ในยุคปัจจุบนั ชมขบวนรถมอเตอร์ไซค์บิ๊กไบท์ และการโชว์ พารามอเตอร์ที่น่าตื่นเต้นเร้าใจ ขบวนกลองยาว+แตรวง ประกวดของดีบางเลน เช่น ประกวดปลาคุณภาพ ประกวด กล้วยไม้ ประกวดไข่ไก่ ไข่เป็ด ประกวดสินค้าโอท็อป ประกวดหนูน้อย สุขภาพดี การแข่งขัน เช่น แข่งตะกร้อลอดห่วง แข่งขันกินกุ้งกินปลา โดยผู้สมัครไม่ต้องเสียค่าใช่จ่ายใดๆทั้งสิ้น และมีเงินรางวัลในการ แข่ ง ขั น และการแข่ ง ขั น ตำ � ส้ ม ตำ � ลี ล า ประกวดสาวงามบางเลน ชมนิทรรศการความเป็นมาของอำ�เภอบางเลน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงาน ได้ทราบถึงประวัตคิ วามเป็นมา ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั และนิทรรศการ ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ

Nakhon Pathom 203

SBL OK6.indd 203

5/8/2558 BE 10:40 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดลัฏฐิวนาราม วัดลัฏฐิวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 104 หมู่ 9 ตำ�บลบางหลวง อำ�เภอ บางเลน จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันมีพระอธิการโกเมท อินฺทปญโญ พธ.ม. เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติวัดลัฏฐิวนาราม วัดลัฏฐิวนาราม ก่อสร้างเมื่อประมาณปีพ.ศ.2473 สถานที่สร้าง วัดเดิมเป็นป่าช้าของหมู่บ้าน เมื่อหลวงปู่เพชรธุดงค์ผ่านมาเห็นว่า ชุมชนนี้ไม่มีวัดอยู่ใกล้ ๆ ชาวบ้านต้องเดินทางไปทำ�บุญลำ�บาก จึง ได้ตั้งเป็นสำ�นักสงฆ์ขึ้นมาเพื่อให้ญาติโยมได้ประกอบการทำ�บุญ สร้างกุศล ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2498 หลวงปู่โพธิ์ วัดบางซอ อ.สองพี่น้อง จ.สุพรรณบุรี ได้ธดุ งค์ผา่ นมาแวะพักปักกลด เห็นว่าทีแ่ ห่งนีย้ งั ไม่มี พระพุทธรูปองค์ใหญ่ประจำ�สำ�นักสงฆ์ จึงได้คิดสร้างไว้ให้เป็น อนุสรณ์สักการบูชาคุณพระพุทธเจ้า และให้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจญาติโยม จึงได้สร้างพระก่ออิฐถือปูนหน้าตักกว้าง 3 ศอก 1 คืบ สูง 5 ศอก 1 คืบ เป็นศิลปะแบบชาวบ้าน ได้รับการพุทธาภิเษก เบิกเนตรจากหลวงพ่อวุน่ วัดบางซอ ซึง่ เป็นพระผูท้ รงวิทยาคุณใน สมัยนั้น เดิมเรียกนามท่านว่า “หลวงพ่อหน้าขาว” ต่อมาได้เปลี่ยน มาเรียกนามท่านว่า “หลวงพ่อปาฏิหาริย์” เพราะความศักดิ์สิทธิ์ที่ ท่านได้ช่วยเหลือชาวบ้านที่มาขอพึ่งบารมีท่าน ให้ได้รับในสิ่งที่ บนบานบอกกล่าวสำ�เร็จ ต่อมาในปี พ.ศ.2504 จึงได้รบั การจัดตัง้ ประกาศให้เป็นวัดนามว่า “วัดลัฏฐิวนาราม” แปลว่าอารามแห่งสวน ตาลหนุ่ม 204

SBL OK6.indd 204

5/8/2558 BE 10:40 AM


ประวัติหลวงพ่ออินทร์ หลวงพ่ออินทร์ วัดสระสี่มุม หรือที่ชาวบ้านขนาน นามท่านว่า “เทพเจ้าแห่งบ้านสระสี่มุม” เดิมชื่อ เวสน์ นามสกุล เกตุแก้ว เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2429 ได้เข้าสูร่ ม่ กาสาวพัสตร์ เมือ่ วันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2450 โดยมีหลวงพ่อเอก เจ้าอาวาสวัดตะเคียน เป็นพระอุปัชฌาย์ แต่เดิม ท่ า นจำ � พรรษาอยู่ ที่ วั ด สว่ า งอารมณ์ จั ง หวั ด สุรนิ ทร์ ต่อมาท่านได้ออกเดินธุดงค์ผา่ นหลายต่อ หลายจังหวัดจนกระทั่งมาถึงจังหวัด นครปฐม ชุมชนลาวโซ่ง(ไทยทรงดำ�) ซึ่งในยุคสมัยนั้นแถบ อำ�เภอกำ�แพงแสนนั้นยังเป็นป่ารกชัฏเต็มไปด้วย สิงสาราสัตว์นานาชนิด แต่ไม่นานนักก็มีบรรดา ญาติโยมในละแวกนั้น ต่างให้ความเลื่อมใสและ เคารพนับถือในตัวหลวงพ่ออินทร์ โดยได้ชว่ ยกัน แผ้วถางป่าและถวายที่ดินให้หลวงพ่ออินทร์ เพื่อ ที่จะได้สร้างวัดสระสี่มุม วัดลัฏฐิวนารามได้รับการอุปถัมภ์จากหลวงปู่อินทร์ อินฺทปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดสระสีม่ มุ อ.กำ�แพงแสน จ.นครปฐม เพราะท่านเป็นพระ เกจิที่ชาวชุมชนให้ความเคารพนับถือมาก เพราะท่านเป็นคนตำ�บล สวาย อำ�เภอ เมืองสุรินทร์ และท่านเป็นสหธรรมิกกับหลวงปู่ดุลย์ ท่านเก่งในทางคงกะพัน แคล้วคลาด เมตตามหานิยม หลวงพ่อ อินทร์ทา่ นยังเป็นเกจิรนุ่ พีข่ องหลวงพ่อเต๋ ซึง่ หลวงพ่อเต๋ให้ความ นับถือมากเปรียบเหมือนพระอาจารย์ของท่าน ถึงขนาดทีใ่ นงานพิธี ปลุกเสกวัตถุมงคลของหลวงพ่อเต๋ ก็ได้นิมนต์หลวงพ่ออินทร์มา ช่วยปลุกเสก และในขณะทีห่ ลวงพ่ออินทร์มาถึงนัน้ หลวงพ่อเต๋ได้ เดินลงมาต้อนรับและได้ก้มกราบที่เท้าของหลวงพ่ออินทร์ด้วย นอกเหนือจากความอุป ถัม ภ์ของหลวงพ่ ออิ น ทร์ แ ล้ ว ในปี พ.ศ.2535 หลวงปู่เล็กและหลวงปู่โต๊ะ เจ้าอาวาสวัดท่าพระ กรุงเทพมหานคร ได้อนั เชิญเจ้าแม่กวนอิม มาประดิษฐานไว้ให้เป็น ที่สักการระบูชา 1 องค์

Nakhon Pathom 205

SBL OK6.indd 205

5/8/2558 BE 10:40 AM


เส้ น ทางพบ “นายศิริศักดิ์ ศิริมังคะลา” อำ�เภอสามพราน นายอำ�เภอสามพราน

“เมื อ งสามนายพราน พุทธสถานวัดไร่ขงิ รสดียงิ่ ผลไม้ ดอนหวายตลาดริมน้ำ� ลือนาม นายร้ อ ยตำ � รวจ งามยิ่ ง ยวด วัฒนธรรม อุตสาหกรรมรุง่ เรือง ฟูเฟื่องทัศนาจร”

คือคำ�ขวัญของอำ�เภอสามพราน ซึง่ มี ที่ว่าการอำ�เภอตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 7 ตำ�บลสามพราน อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ห่างจากตัวจังหวัด นครปฐม 28 กิโลเมตร

วิสัยทัศน์นายอำ�เภอสามพราน “เป็นหนึ่งด้านอาหารปลอดภัย เกษตรและอุตสาหกรรมได้ มาตรฐาน ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ พัฒนาคุณภาพชีวิตตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงและมีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี”

ที่มาของชื่ออำ�เภอสามพราน

206

SBL OK6.indd 206

ในอดีตพื้นที่อำ�เภอสามพรานเป็นป่าดงรกชัฏเป็นที่อยู่อาศัย ของสั ต ว์ ป่ า นานาชนิ ด รวมทั้ ง เป็ น ที่ ชุ ม นุ ม ของช้ า งโขลงใหญ่ ด้ ว ย ช้างโคลงนี้ชอบลงมาหากินและเหยียบย่ำ�จนเส้นทางกลายเป็นทางน้ำ�และ ลำ�คลอ จนชาวบ้านในสมัยนั้นได้เรียกกันว่า “คลองบางช้าง” ครั้งหนึ่ง หัวหน้าโขลงช้างเกิดตกมัน ดุรา้ ยมากและได้สร้างความเสียหาย ชาวบ้าน ไม่สามารถปราบได้ถึงแม้จะพยายามสักเพียงใด ในขณะนั้นได้มีนาย พรานสามคนเดินทางมายังคลองปากลัด (ปัจจุบันเรียกว่า วัดท่าข้าม) ได้ทำ�การปราบช้างตกมันเชือกนัน้ โดยใช้ความเชีย่ วชาญและความสามัคคี จนในทีส่ ดุ ก็สามารถปราบช้างตกมันได้สำ�เร็จ ชาวบ้านจึงได้เรียกบริเวณ ที่นายพรานทั้งสามปราบช้างได้สำ�เร็จว่า “ สามพราน “ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า “ตำ�บลสามพราน”

5/8/2558 BE 10:41 AM


ประวัติศาสตร์ของที่ว่าการอำ�เภอสามพราน

สถานที่ท่องเที่ยวโดดเด่น

ในอดีตอำ�เภอสามพรานนั้นมีชื่อเรียกว่า “อำ�เภอตลาดใหม่” ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2439 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว รัชกาลที่ 5 โดยสร้างขึ้นในที่ดินของพระยาสุนทรบุรีศรีพิชัย สงครามรามภักดีสุริยะพาหะ ( อี้ กรรณสูต ) ซึ่งพื้นที่บริเวณนั้น เรียกว่า ตลาดใหม่ ปีพทุ ธศักราช 2458 ได้ยา้ ยทีท่ ำ�การไปสร้างใหม่ในตำ�บลสามพราน เนื่องจากที่ทำ�การเดิม คับแคบ ให้บริการประชาชนได้ไม่สะดวก และ พร้อมกับเปลีย่ นชือ่ เป็น “อำ�เภอสามพราน” ตามชือ่ สถานทีต่ งั้ ทีว่ า่ การ อำ�เภอสามพราน ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของมณฑลนครชัยศรี ต่อมาปี พ.ศ. 2474 ทางราชการยุบมณฑลนครชัยศรีลง อำ�เภอ สามพรานจึงขึ้นอยู่กับเมืองราชบุรีอยู่ระยะหนึ่ง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2476 ได้ยบุ มณฑลทัง้ หมดทัว่ พระราชอาณาจักร อำ�เภอสามพราน จึงได้ขึ้นอยู่กับจังหวัดนครปฐม ตามพระราชบัญญัติระเบียบการ บริหารราชการของราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2476

อำ�เภอสามพรานมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียง ได้แก่ วัดไร่ ขิง ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน สวนสามพราน (โรสกา ร์เด้น) และตลาดริมน้ำ�วัดดอนหวาย นอกจากนี้ยังมีแหล่งเรียนรู้อีก หลายแห่ง ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้และฝึกอบรมวิถีชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 5 ตำ�บลบางช้าง โทร 081-303-8556 การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเกาะลัดนางแท่น มีจุดจำ�หน่ายบัตร ณ วัดไร่ ขิ ง และกลุ่ ม อาชี พ ผลไม้ ส ดและผลผลิ ต เกษตรแปรรู ป ตำ � บล คลองใหม่ หมายเลขโทรศัพท์ 034-980189

ข้อมูลทั่วไป อำ � เภอสามพราน มี พื้ น ที่ 249.35 ตร.กม. หรื อ 155,843.75 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 16 ตำ�บล 137 หมู่บ้าน (26 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1-14 ต.ไร่ขิง, หมู่ 7 และ 8 ต.สามพราน, หมู่ 1 และ 2 ต.ท่าตลาด, หมู่ 1 และ 5 ตำ�บลบ้านใหม่,หมู่ 5 ต. ยายชา และ หมู่ 7 ต.คลองใหม่ อยู่ภายใต้การปกครองส่วน ท้องถิ่น คือ เทศบาลเมืองไร่ขิง สามพราน และกระทุ่มล้ม) สำ�หรับ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลตำ�บล 2 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำ�บล 12 แห่ง รวม 17 แห่ง อำ�เภอสามพรานมีประชากร ประกอบด้วยคนไทยเชื้อชาติต่างกัน นับถือศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และอืน่ ๆ อยูก่ ระจายผสมกลมกลืน กันอยู่ในท้องถิ่น ปี พ.ศ. 2556 รายได้เฉลี่ยครัวเรือน 298,073 บาทต่อปี และรายได้เฉลี่ยบุคคล 90,974 บาทต่อปี (ที่มาข้อมูล : ข้อมูลจำ�เป็นพื้นฐาน สำ�นักงานพัฒนาชุมชนอำ�เภอสามพราน) โดย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำ�สวนผลไม้ ไม้ดอก ไม้ ประดับ อาทิ กล้วยไม้ ปลูกพืชไม้ยนื ต้น และไม้ลม้ ลุก เช่น ส้มโอ ขนุน ฝรั่ง ชมพู่ มะละกอ มะม่วง และผักต่าง ๆ การทำ�นา การเลี้ยงสัตว์ เพื่อการบริโภคและการค้า ได้แก่ ไก่ สุกร และเป็ด และการเพาะเลี้ยง สัตว์น้ำ� ได้แก่ ปลาน้ำ�จืด กุ้งขาว ตลอดจนเลี้ยงจระเข้ (ฟาร์มจระเข้ และลานแสดงช้างสามพราน) นอกเหนือจากอาชีพเกษตรกรรมแล้ว อำ�เภอสามพรานยังเป็นพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่จำ�นวน มาก ประชากรบางส่วนจึงประกอบอาชีพรับจ้างเป็นพนักงานตาม โรงงานต่าง ๆ

OTOP 5 ดาว อำ�เภอสามพราน ปี 2555 อำ�เภอสามพราน มีสินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว ได้แก่ กล้วยหอมอบเนย กลุ่มอาชีพผลไม้สดและผลผลิตเกษตร แปรรู ป 034-980189 , ส้ ม โอ โดยนายธนกฤต ไทยทวี 02-4821985 ,ฝรั่งไทยไส้ขาว ไส้แดง โดยนางสรัญณัชช์ ชินช่งจู่ 081-9043545 ,ไอศกรี ม กะทิ โรงงานเชอร์ รี่ ไ อศกรี ม 034-321263 ,ส้มโอนครชัยศรี กลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนส้ม โอนครชัยศรี 081-3402867 ,กระเป๋าหนังแท้ วัฒนาเลเธอร์ฟลิ ด์ 02-4821372-4 ,มะพร้าวน้ำ�หอม โดยน.ส.รัตนา ทองไถ่ผา 084-6555563 ,รองเท้ า ชาย โดยนายสมบู ร ณ์ วี ร ะกุ ล 081-4854850 , สังวาลย์คอทองคำ�แท้ฝังเพชรแท้ โดยนางกอบ บุญ เกตุบญ ุ ลือ 081-9425630 ,ขาหมูพะโล้ ตรานายอูด๊ นครปฐม 02-4205835-8 Nakhon Pathom 207

SBL OK6.indd 207

5/8/2558 BE 10:41 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดดอนหวาย วัดดอนหวาย หรือ วัดคงคารามดอนหวาย เป็นวัดเก่าแก่ทสี่ ร้างขึ้นในช่วงปลาย รัชกาลที่ 3 ถึงต้นรัชกาลที่ 4 ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ�นครไชยศรี ตำ�บลบางกระทึก อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั คือพระเมธีธรรมานันท์

ประวัติวัดคงคารามดอนหวาย เดิมบริเวณสถานที่ตั้งวัดดอนหวายนั้น เป็นที่ตั้งโรงหีบอ้อยซึ่งมีชาวจีนเป็น เจ้าของที่ดิน ภายหลังได้ยกที่ดินของตนจำ�นวน 9 ไร่ 3 งาน 60 ตารางวา ให้ เป็นที่สร้างวัดขึ้น ซึ่งเดิมทีนั้นมีชื่อว่า “วัดโคกหวาย” เพราะบริเวณที่สร้างวัดเป็น ที่เนินสูง มีต้นหวายขึ้นเป็นจำ�นวนมาก (บางคนเรียกเชิงหวาย) ต่อมาท่านเจ้า คุณธรรมราชานุวัตร ซึ่งเป็นผู้สร้างวัดองค์ที่ 2 ได้พิจารณาเห็นว่า เป็นชื่อที่ไม่ เหมาะสมและไม่เป็นมงคลนาม จึงได้เปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “วัดคงคารามดอนหวาย” เหตุทเี่ อาคำ�ว่า “คงคา” นำ�หน้านัน้ เพราะเห็นว่าวัดตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่น้ำ�ท่าจีน ประชาชน จึงนิยมเรียกสั้น ๆ ว่า “วัดดอนหวาย”

พระเมธีธรรมานันท์ เจ้าอาวาส

ประวัติผู้ริเริ่มสร้างวัด ผู้ริเริ่มสร้างวัดดอนหวาย คือ สมเด็จพุฒาจารย์ (พุก) ซึ่ง เกิดในสมัยรัชกาลที่ 1 ท่านได้เป็นอธิบดีสงฆ์องค์ที่ 6 ของวัด มหาธาตุ ในสมั ย รั ช กาลที่ 3 ถึ ง รั ช กาลที่ 4 ได้ เ ลื่ อ น สมณศักดิเ์ ป็น พระธรรมราชานุวตั ร ไปจำ�พรรษาอยูว่ ดั ศาลา ปูน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และเป็นเจ้าคณะใหญ่กรุงเก่า ท่านได้เริม่ สร้างวัดโคกหวาย โดยใช้แบบร่างของวัดในกรุงเก่า และอาศัยศรัทธาจากประชาชนในท้องถิ่นร่วมกันสร้างเมื่อ พ.ศ. 2394

208

SBL OK6.indd 208

5/8/2558 BE 10:41 AM


สถานที่สำ�คัญในวัดดอนหวาย อุโบสถ อุโบสถหลังเดิมเป็นทรงโรง หน้าบรรณ ชั้นลด เป็นเสา สีเ่ หลีย่ มใหญ่และผนังรับหลังคา แต่อโุ บสถทีเ่ ห็นนีส้ ร้างขึน้ ใหม่ ในปี พ.ศ.2529 ลักษณะเป็นอาคารทรงไทยหลังคาซ้อน 3 ชัน้ มีมุขทั้งหน้า-หลัง หน้าบรรณตกแต่งลายธรรมจักร ซุ้มเหนือ ประตูและหน้าต่าง ตกแต่งทรงยอดมณฑปทัง้ หมด มี “หลวงพ่อ วิไลยเลิศ” พระพุทธรูปปางมารวิชยั เป็นพระประธาน ทีส่ ร้างตาม แบบศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น แต่มีการบูรณะซ่อมแซม ให้ พุ ท ธลั ก ษณะสวยงามขึ้ น และจั ด ทำ � เม็ ด พระสพขึ้ น ใหม่ ทั้งหมด ลงรักปิดทองทั้งองค์ ด้านซ้าย-ขวามีพระโมคคัลลานะ และพระสารีบตุ ร ใบเสมารอบอุโบสถทำ�ด้วยหินแกรนิตแกะสลัก ลายประจำ�ยามและลายกนกแบบทีเ่ ห็นได้ทวั่ ไป ซึง่ นิยมทำ�ขึน้ แถว เมืองชายทะเลที่มีหินแกรนิตในสมัยรัชกาลที่ 3 วิหาร วัดดอนหวายได้บูรณะวิหารขึ้นใหม่ แต่คงแบบเดิมไว้ทุก อย่ า ง และได้ อั ญ เชิ ญ หลวงพ่ อ วิ ส าหาร มาประดิ ษ ฐานให้ ประชาชนได้กราบไหว้ ใกล้กบั วิหารมีเจดียร์ ปู สีเ่ หลีย่ มย่อมุมไม้ สิบสองขนาดใหญ่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก ส่วนทางทิศใต้เป็น เจดีย์ทรงลังกาฐานสูงมียักษ์แบก ได้บูรณะขึ้นใหม่ตามแบบ เดิม ซุม้ ประตูประดับด้วยปูนปัน้ รูปพญานาคแล้วลงฝุน่ สีฟา้ และ สีน้ำ�ตาลงดงามดี ส่วนนอกกำ�แพงแก้ว มีมณฑปประดิษฐาน รอยพระพุทธบาท 1 หลัง ระเบียงตกแต่งด้วยกระเบื้องเคลือบ ฉลุลายโปร่งแบบจีน ซึ่งนิยมมากในรัชกาลที่ 3 ต่อมามณฑป ได้ถูกรื้อถอนออกไปไม่เหลือร่องรอยให้เห็นอีก สำ�นักงานวัดโทร 034-393706

การปกครองในปัจจุบัน ปัจจุบันวัดคงคารามดอนหวายมีพระเมธีธรรมานันท์ เป็นเจ้าอาวาส ซึ่ง นามเดิมของท่านคือ สำ�เริง เสมอจิต ฉายา “ธมฺมานนฺโท” ท่านได้รับการ แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดคงคารามดอนหวาย เมือ่ วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 จนถึงปัจจุบัน

Nakhon Pathom 209

SBL OK6.indd 209

5/8/2558 BE 10:41 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดหอมเกร็ด วัดหอมเกร็ด ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 70 หมู่ 4 ตำ�บลหอมเกร็ด อำ�เภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม

ประวัติวัดหอมเกร็ด วัดหอมเกร็ด เดิมเรียกว่า วัดไร่ หรือ วัดบ้านไร่ อยู่ใกล้ริมแม่นำ้ � นครชัยศรี สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ ในระหว่างรัชกาลที3่ ถึงรัชกาลที4่ โดยกลุม่ ชาวมอญ และกลุม่ ชาวจีน ในสมัยรัชกาลที5่ หลวงพ่อรุง่ เดินธุดงค์มาจากราชบุรี ได้แวะปักกลดใกล้บริเวณทุง่ นาแถวนี้ เมือ่ ชาวบ้านพบเห็นจึงเกิดความเลือ่ มใส และ ได้นมิ นต์ให้ทา่ นได้จำ�พรรษา ต่อมาพืน้ ทีบ่ ริเวณดังกล่าวเกิดแห้งแล้งมาก ชาวบ้าน ทางบริเวณบ้านหัวไทรซึง่ มีบา้ นเรือนติดกับแม่นำ้ �จึงได้นมิ นต์หลวงพ่อรุง่ ให้ไปจำ� พรรษาอยูใ่ นทีใ่ หม่ให้ชอ่ื “วัดหอมเกร็ด” 210

SBL OK6.indd 210

5/8/2558 BE 10:41 AM


ประวัติพระครูไพศาลธรรมวาที

ชาวบ้านเรียกท่านว่า “หลวงพ่อห้อย”ท่านเกิดเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2415 โยมบิดาชื่อมั่ง โยมมารดาชื่อเมือง ท่านอุปสมบท ในปีพ.ศ. 2435 โดยมีพระครูปุริมานุรักษ์ วัดสุขประดิษฐาราม เป็นพระ อุปัชฌาย์ หลวงพ่อรุ่ง วัดหอมเกร็ด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ หลวงพ่อ แจ่ม วัดทรงคนอง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “ปุญ.ญสส” ได้ศึกษาวิทยาการต่าง ๆ จาก พระอาจารย์ทั้งสามรูปนี้ นอกจากนี้ยังได้ เรียนกับสมเด็จพระสังฆราชแพ ขณะที่สมเด็จพระสังฆราชฯ ยังดำ�รง สมณศักดิ์ที่พระธรรมโกษาจารย์วัดสุทัศน์อีกด้วย หลังจากที่หลวงพ่อ ห้อยบวชได้ประมาณ 3 พรรษา หลวงพ่อรุ่งเจ้าอาวาสวัดหอมเกร็ดก็ มรณภาพ คณะศิษย์จึงได้นิมนต์หลวงพ่อห้อยเป็นเจ้าอาวาส

“เจดีย์พระปฐมน้อยคู่วัด พระประธานหลวงพ่อโตคู่โบสถ์ หลวงพ่อรุ่งหลวงพ่อห้อยคู่สร้าง หลวงพ่อเพ้งผู้นำ�สาธุชน เทพประทานพรแม่สร้อยทองคู่เรือดัง” เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูจารุวัฒนคุณ ชาวบ้านเรียกท่านว่า “หลวงพ่อเพ้ง” เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2490 โยมบิดาชื่อ ตี้ง แซ่เอี๋ยว โยมมารดาชื่อ กิมเฮง แซ่ลี้ อุปสมบทเมือ่ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 โดยมี พระครูถาวรวิทยาคม วัดสรรเพชญ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวิจักษ์ธรรมประจิต วัดไทยาวาส เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูสิรพรหมจริยคุณ วัดหอมเกร๋็ด เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “จารุวณโณ” . พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาส ราษฎร์ ชั้นโท ราชทินนามที่”พระครูจารุวัฒนคุณ” พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งเป็นเทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้น เอก (ทผจล.ฃอ.) พ.ศ. 2556 ได้รับการแต่งตั้งเป็น เทียบผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ (ทผจล.ชพ.) ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าคณะตำ�บลไร่ขิง

SBL OK6.indd 211

Nakhon Pathom 211

5/8/2558 BE 10:41 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

ปูชนียวัตถุที่สำ�คัญ

วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) วัดสามพราน (พุทโธภาวนา) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 92/8 หมูท่ ี่ 7 ตำ�บลสามพราน อำ�เภอ สามพราน จังหวัดนครปฐม ปัจจุบนั มีพระครูปฐมวรวัฒน์ ผศ.ดร. เป็นเจ้าอาวาส วัดสามพรานได้เปิดสอนปฏิบตั ธิ รรมแก่ประชาชนทัว่ ไป และมีผสู้ นใจในการปฏิบตั ิ ธรรม-ฝึกฝนอบรมจิตเป็นประจำ�ทุกวันพระ วันอาทิตย์ และวันสำ�คัญทาง พระพุทธศาสนา

ประวัติวัดสามพราน (พุทโธภาวนา) มูลเหตุทท่ี ำ�ให้มกี ารสร้างวัดสามพรานขึน้ นัน้ มาจากความคิดของนางสาวสุดาภรณ์ ชุ้นสามพราน ผู้มีจิตศรัทธาอย่างมั่นคงในบวรพระพุทธศาสนา และได้เห็นพ้อง กับคณะญาติมติ รว่า ในท้องทีเ่ ขตอำ�เภอสามพรานมีประชานชนจำ�นวนมากสนใจ ในการปฏิบัติธรรม แต่ยังไม่มีสถานที่เป็นสำ�นักในการปฏิบัติธรรม จึงได้ถวาย ที่ดินจำ�นวน 5 ไร่ 3 งาน 52 ตารางวา เพื่อจัดตั้งเป็นสำ�นักปฏิบัติธรรม จาก นัน้ คณะกรรมการมีพระอาจารย์จำ�ลอง กิตตฺ ปิ ญฺโญ (หลวงพ่อภาวนาพุทโธ),นาย สุธน จุลสิทธิโยภา, นางสาวสุดาภรณ์ – นางสาวสุวิมล ชุ้นสามพราน เป็นต้น ร่วมกับท่านสาธุชนทัง้ หลาย ได้รว่ มกันสร้างทีพ ่ ำ�นักสงฆ์ และสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม และใช้ชอื่ ครัง้ แรกว่า “สำ�นักสงฆ์พทุ โธภาวนา ชุน้ สามพราน” ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2526 และได้รับการจัดตั้งเป็นวัดในพระพุทธศานา มีนามว่า “วัดสามพราน” เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2528 ต่อมาพระราชคุณาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม จึงได้ แต่งตัง้ พระอาจารย์จำ�ลอง กิตตฺ ปิ ญฺโญ ให้ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดสามพราน เป็นรูปแรก เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2529 และทางวัดได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้วัดได้รับราชทานวิสุงคามสีมา ตามประกาศ ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2531 เป็นต้นมา

วัดสามพรานได้ดำ�เนินการก่อสร้างศาสนวัตถุ-ถาวรวัตถุ ต่าง ๆ มากมาย ไว้เป็นสมบัติของพระพุทธศาสนา และ เพื่อใช้เป็นสถานที่เอื้ออำ�นวยต่อการปฏิบัติศาสนกิจของ คณะสงฆ์ และเหล่าพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป พร้อมกับใช้เป็น สถานที่ศึกษาด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และ จิตรกรรม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ พุทธศาสนิกชน กัลยาณ ชนต่อไปในอนาคต สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ มีดังนี้ โรงเจ 4 ชั้น กว้าง 45.75 เมตร ยาว 56.00 เมตร เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กพื้นขัดหินอ่อน ชั้นที่ 1 ใช้เป็น พิพิธภัณฑ์เก็บสิ่งของต่าง ๆ ของวัดทั้งหมด และใช้เป็น สถานที่ปฏิบัติธรรมตามโอกาส โดยเฉพาะสื่อธรรมที่ สำ�คัญ คือ ภาพพระมาลัยโปรดสัตว์นรก ชั้นที่ 2 เป็น ภาพจิตรกรรมที่แสดงถึงการมีชีวิตอย่างมีความสุขสงบ อันเกิดจากอำ�นาจของการประพฤติตามศีล ชั้นที่ 3 เป็น ภาพจิตรกรรมทีส่ อื่ ถึงข้อปฏิบตั ทิ งั้ หลายของผูก้ ระทำ�ให้ แจ้งนิพพาน ซึง่ ต้องอาศัยธุดงค์คณ ุ อันประเสริฐ อันเป็น ข้อวัตรปฏิบัติเพือ่ ขัดเกลาจิตใจ ชั้นที่ 4 ประดิษฐาน พระ ประธานพุทโธภาวนา ซึง่ บริเวณฐานชุกชีทงั้ หมดเป็นภาพ แกะสลักด้วยหินทรายของพระพุทธองค์ปางต่าง ๆ 60 ปาง เช่น ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน เป็นต้น อุโบสถ กว้าง 13.10 เมตร ยาว 21.10 เมตร ฐานพระ ประธานในพระอุโบสถ เป็นปูนปั้นรูปทรงกลมรีเหมือน ฉัตรมีทงั้ หมด 27 ชัน้ และชัน้ ที่ 27 จะเป็นชัน้ ทีป่ ระดิษฐาน องค์พระประธานขนาดหน้าตักกว้าง 3 นิ้ว ซึ่งหล่อด้วย ทองคำ�แท้ ส่วนชั้นที่ 1-26 จะมีพระสาวกขนาดหน้าตัก กว้าง 3 นิ้ว เรียงรายอยู่รอบ ๆ ฐานพระประธานจำ�นวน 1,250 องค์ เปรียบเหมือนเหล่าพระอรหันต์ทม่ี าชุมนุมกัน โดยมิได้นดั หมาย พระวิหาร กว้าง 12.35 เมตร ยาว 18.50 เมตร ซึ่ง ปัจจุบันการก่อสร้างพระประธานพุทโธภาวนา อุโบสถ วิหารแก้ว รวมทั้งโรงเจ 4 ชั้น ยังไม่เสร็จสมบูรณ์ดี นอกจากนี้ภายในวัดยังมี ถนนรอยบุญ (108 โค้ง) ,สะพานธรรมจักร ,สะพานพญามังกร ,สะพานพญานาค ,สะพานปลาโลมา ,พญาเต่าโพธิสัตว์ ,พระแม่กวนอิม โพธิสัตว์ ,พญาช้างโพธิสัตว์ ,พญานกยูงโพธิสัตว์ ,พญา กระต่ายโพธิสัตว์ ,พิพิธภัณฑ์เรือสำ�เภาไทย-จีน-ฝรั่ง และกุฏิพญามังกร

212

SBL OK6.indd 212

5/8/2558 BE 10:41 AM


ชีวประวัติหลวงพ่อจำ�ลอง กิตฺติปญฺโญ

ประวัติปูชนียวัตถุสำ�คัญ

พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร ฉายา กิตฺติปญฺโญ อดีตเจ้าอาวาสวัด สามพราน (พุทโธภาวนา) ท่านเป็นชาวกาฬสินธุ์ บรรพชาเป็นสามเณร เมื่ออายุ 12 ปี ณ วัดกกต้อง บ้านกุดบอด ต.สงเปลือย อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ ได้ศึกษาเล่าเรียนเขียนอักษรธรรมโบราณ ต่อมาได้ศึกษา หลักสูตรธรรมวินัยแบบนวกภูมิ และเรียนวิปัสสนากรรมฐานกับหลวง พ่อใหญ่ หรือพระครูปทุมวรกิจ ณ สำ�นักวัดป่าขวัญเมืองระบือธรรม อ.บรบือ จ.มหาสารคาม และได้เข้ามาศึกษาด้านสมถะกรรมฐาน และ วิ ปั ส สนากรรมฐาน ในสำ � นั ก วั ด ป่ า อุ ด มสมพร อ.พรรณานิ ค ม จ.สกลนคร โดยมีหลวงปู่ฝั้น อาจาโร เป็นผู้สอนกรรมฐาน และเป็น บั้นปลายชีวิตของหลวงปู่ด้วย ท่านได้ศึกษาอยู่ระยะหนึ่ง จึงได้กราบลา ครู บ าอาจารย์ เ พื่ อ เข้ า มาศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ เปรี ย ญธรรมใน กรุงเทพมหานคร โดยเริม่ แรกพักอยูว่ ดั ใหม่ยายมอญ เขตบางกอกน้อย และได้ไปเรียนศึกษาบาลีที่วัดชัยพฤกษ์ เมื่ออายุย่างเข้า 23 ปี จึงได้ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ จำ�ลอง ฉายา กิตฺติปญฺโญ ณ วัดโพธิ์ทอง ต.บางมด อ.บางขุนเทียน กรงเทพฯ

กุฏิ 108 เกจิอาจารย์ มังกรตะกายฟ้า เสาหลักปักค้ำ�ฟ้า เพื่อสื่อความ หมายให้ผู้มาสัมผัส ได้มีจิตมั่นคง รอบรู้ มองเห็นการณ์ไกล แก้ปัญหา ชีวิตได้อย่างถูกต้องตามหลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า คือมีความรู้ แตกฉานในการแก้ปัญหาชีวิตได้ เหมือนคำ�ว่า เกจิอาจารย์ ซึ่งหมายถึง รอบรู้แตกฉานในธรรมวินัยชั้นสูงนั้นเอง ตุ่ ม มหาสมบั ติ ในอดี ต หลวงพ่ อ ภาวนาพุ ท โธ เคยปั ก กรดอยู่ ป่ า ช้ า ที่ กาฬสินธุ์ และนิมิตว่ามีสองตายายบอกให้ไปเอาตุ่มสมบัติที่ต้นไทร รุ่งเช้า ท่านไปบิณฑบาตกลับมา ได้กรวดน้ำ�ให้สองตายาย และใช้ด้ามกลดขุดเห็น ตุ่มสมบัติ มีเงิน ทอง มีระฆัง มีกระดิ่ง มีฉิ่ง มีฉาบ มีฆ้อง ของใช้คน โบราณ พอตกกลางคืนสองตายายมาเข้าฝันบอกว่าได้บญ ุ แล้วจะไปเกิดบน สวรรค์ ขอให้เอาสมบัติไปสร้างเก็บไว้หน้าองค์พุทโธ พญามังกรด้วย คน ที่มาทำ�บุญทำ�ทานจะจะมีเงินมีทอง ทรัพย์สมบัติจะหลั่งไหลเข้าบ้านร่ำ�รวย ทุกคน ก่อนโยนปัจจัยทุกครั้งให้ตั้งจิตอธิษฐานก่อนจะสำ�เร็จทุก พระแม่กวนอิมโพธิสัตว์ พระโพธิสัตว์ของพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับพระอวโลกิเตศวรโพธิสตั ว์ ซึง่ มีตน้ กำ�เนิดจากพระสูตร มหายานในอินเดีย และได้ผสมผสานกับความเชือ่ พืน้ ถิน่ ดัง้ เดิมของจีน คือ ตำ�นานเรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ก่อให้เกิดเป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาค สตรีขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณา ให้เด่นชัดยิ่งขึ้น ดังเช่นความรักของมารดาที่มีต่อบุตร ผู้ใดนึกถึงเมตตา และคุณความดีของพระองค์ พระองค์จะเสด็จมาช่วยเหลือผู้นั้น

ชีวประวัติพระครูปฐมวรวัมน์,ผศ.ดร. พระครูปฐมวรวัมน์,ผศ.ดร. เจ้าอาวาสวัดสามพราน (พุทโธภาวนา) ภูมิลำ�เนาเดิมอยู่ที่จังหวัดกาฬสินธุ์ ด้านการศึกษาทางธรรม ท่านสอบ ได้นักธรรมชั้น เอก สำ�นักเรียนจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ. 2525และสอบ เปรียบธรรม 3 ประโยค สำ�นักเรียนจังหวัดกาฬสินธุ์ พ.ศ.2546 การ ศึกษาทางโลก สำ�เร็จปริญญาตรี พ.ธ.บ. (รัฐศาสตร์) จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คณะสังคมศาสตร์ ประเทศไทย พ.ศ. 2535 .สำ�เร็จปริญญาโท M.A. สาขาวิชาจิตวิทยาคลินิก จากมหาวิทยา ลัยมรัฐวาด้า ประเทศอินเดีย พ.ศ.2538 และสำ�เร็จปริญญาเอก สาขา จิตวิทยา ชือ่ ย่อ Ph.D จากสถาบันมหาวิทยาลัยมรัฐวาด้า คณะจิตวิทยา ประเทศอินเดีย พ.ศ.2544 เกียรติคุณอื่น ๆ อาทิ พ.ศ. 2547 ได้รับประกาศนียบัตรการให้คำ� ปรึกษา จากมหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย และเป็นอาจารย์พเิ ศษสอน วิปัสสนากรรมฐาน สอนวิชาธุดงควัตร และสอนวิชาศีลธรรม ต่อมาได้ บรรจุเป็นอาจารย์เจ้าหน้าที่ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เลขที่ 762 ส่วนงานคณะมนุษย์ศาสตร์

SBL OK6.indd 213

Nakhon Pathom 213

5/8/2558 BE 10:41 AM


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดท่าพูด วัดท่าพูด เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึง่ ตัง้ อยูต่ ดิ แม่นำ้ � นครไชยศรี หรือแม่น้ํา ท่า จีน ตำ�บลไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ประวัติวัดท่าพูด วัดท่าพูด เดิมชือ่ ว่า “ วัดเจตภูต” ต่อ มาคำ�กร่อนจนกลายเป็น “วัดตะพูด” และ “วัด ท่าพูด” ตามลำ�ดับ ประวัติการก่อสร้างวัด เมื่อใดไม่ปรากฏแน่ชัด นอกจากหลักฐาน ทางโบราณคดี มีจารึกที่อิฐมอญ 3 ก้อน ก้อนที่หนึ่ง ปีมะเมีย ก้อนที่สอง จุลศักราช พันร้อย ศก อุโบสถ ก้อนที่สามอิฐตาโค ตา คา เมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกันจะตรงกับสมัย พ.ศ. 2281 ซึ่งสันนิษฐานได้ว่าเป็นที่เริ่มก่อ ตั้งวัดขึ้นนั่นเอง

ปูชนียวัตถุสำ�คัญในวัด พระจุฬามณีวัดท่าพูด สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 ผู้สร้างชื่อนายช่วงเป็นผู้เลื่อมใสใน พระพุทธศาสนาอย่างมาก และสนใจเรือ่ งพระกัมมัฏฐาน คราวหนึง่ ได้เกิดนิมติ มองเห็นพระจุฬามณีเจดีย์ บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ด้วยเหตุแห่งความเลื่อมใสจึงได้ขายที่นา 50 ไร่ นำ�มาสร้างพระจุฬามณีเจดีย์ ถวายไว้ในพระพุทธศาสนา เพื่อให้ประชาชนได้มากราบไหว้สักการบูชา เมื่อมีการบูรณะในปี พ.ศ.2527 ได้พบพระเขีย้ วแก้วภายในพระจุฬามณีเจดีย์ ลักษณะเป็นแก้วใสเจือสีเหลือเล็กน้อย กว้างยาวประมาณ 2x4 เซนติเมตร คล้ายลูกโป่งในท้องปลาตะเพียน ชาวบ้านเรียกว่า “โป่งปลาตะเพียน” ภายหลังบูรณะ ได้ทำ�พิธีและนำ�บรรจุไว้ที่เดิม เป็นการจำ�ลองเอาโลกสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ลงมาสร้างไว้ ณ วัดท่าพูดแห่งนี้ เพื่อให้ทุกคนมีโอกาสมากราบไหว้และสักการะพระจุฬามณีเจดีย์ เพื่อเป็นพุทธบูชา เช่นเดียวกับเหล่า เทพยดาทั้งหลายทั้งปวง และยังเป็นพระธาตุประจำ�ผู้เกิดปีจอ ดังนั้น บุญที่ได้จากการไหว้บูชาและสร้าง กุศลกับพระธาตุนั้น เชื่อกันว่าแรงนัก หากผู้ใดปฏิบัติบูชาด้วยจิตใจบริสุทธิ์และหมั่นกราบไหว้บูชาตาม กำ�ลังจะเกิดสิริมงคลต่อตนเองและครอบครัว

ความสำ�คัญของวัดท่าพูดในอดีต

จากหลักฐานของวัดตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในช่วงรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 4 วัดท่าพูดเป็นแหล่งเพาะบ่มความดีงาม ด้านคุณธรรม จริยธรรม และสรรพความรู้ทั้งปวง โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้ให้ความรู้ ดังนั้นรากฐานการศึกษาไทยจะเริ่มจากวัดและสู่โรงเรียน ตามลำ�ดับ ผลผลิตจะกลายเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ แม้ภายหลังที่โรงเรียนเริ่มมีภาครัฐเข้ามาจัดการอย่างเป็น ระบบ วัดก็ยังคงเป็นผู้อุปถัมภ์โรงเรียนอยู่เสมอ 214

SBL OK6.indd 214

5/8/2558 BE 10:42 AM


พระยานมาศสมัยกรุงธนบุรี

แหล่งเรียนรู้สำ�คัญภายในวัด พระครู ว รดิ ตถานุ ยุต เจ้ า อาวาสวั ด ท่ า พู ด เจ้าคณะตำ�บลบ้านใหม่

ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า ต า ก สิ น มหาราช

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

อาคาร 1 หอพระไตรปิฎก อาคาร 2 กุฎิเจ้าอาวาส อาคาร 3 อาคารโรงเรียน (หลังเก่า) พระปริยตั ธิ รรม

ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น สานเสือ่ เตย สานหมอนเตย แกะสลักผลไม้

ประกอบของเล่น ประดิษฐ์ของเล่นด้วยวัสดุ เถรอดเพล ในขวดแก้ว จากธรรมชาติ

แผนที่ ทางมาวัดพอสังเขป

พิพธิ ภัณฑ์พนื้ บ้านวัดท่าพูด มีการรวมรวบภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระยานมาศ ทีส่ มเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทรงถวายให้แก่พระรด พร้อมกับกาน้ำ�ชาและกระโถนถม ปัทม์ พิพิธภัณฑ์ก่อตั้งขึ้นหลังการมรณภาพของท่านพระครู พิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดท่าพูด เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 โดยใช้หอไตรของวัดเป็นพิพิธภัณฑ์ชั่วคราว และ เปิดให้ประชาชนเข้าชมครั้งแรกในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งเป็นวันพระราชทานเพลิงศพอดีตเจ้าอาวาส ในการจัดทำ� พิพิธภัณฑ์ได้มีการรวบรวมโบราณวัตถุเก่าแก่และมีค่า นำ�มาทำ� ทะเบียนและเก็บรักษาไว้ในพิพธิ ภัณฑ์แห่งนี้ โดยมีอาคารจัดแสดง ทั้งสิ้น 3 หลังคือ อาคารหลังแรก เดิมเป็นหอไตรของวัด สิ่งของสำ�คัญ ที่นำ�มาจัดแสดงไว้ได้แก่ พระยานมาศ กระโถนถมปัทม์ กานํ้าชา และหัวเรือกัญญา (ซึง่ เป็นสิง่ ของทีส่ มเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระราชทานแด่หลวงพ่อรด เจ้าอาวาสองค์แรกของวัดท่าพูด) พระพุทธรูปจารึกตัวอักษรไทยบนอิฐมอญที่ใช้ก่อสร้างพระ อุโบสถ เป็นต้น ส่วนชั้นบนจัดแสดงพระพุทธรูป สิ่งของเครื่อง ใช้ต่าง ๆ ที่ชาวบ้านนำ�มาถวายวัด อาทิ ตะเกียง ถ้วย ชาม เครื่อง จักสาน เป็นต้น อาคารหลังที่สอง เดิมเป็นกุฏิของท่านเจ้าอาวาสองค์ ก่อน(พระครูพศิ าลสาธุวัฒน์) ชั้นล่างจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ ของพระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เครื่องลายคราม ธนบัตร เปลือก หอย เถรอดเพล เป็นต้น โดยสิง่ ของจำ�นวนหนึง่ ได้ขนย้ายมาจาก หอไตร เพื่อมาจัดแสดงไว้ที่อาคารหลังใหม่นี้ส่วนชั้นบนเดิมนั้น เป็ น นิ ท รรศการชั่ ว คราวจั ด แสดงกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของทาง พิพิธภัณฑ์ ต่อมาในกลางปี พ.ศ. 2548 ทางพิพิธภัณฑ์ได้ ดัดแปลงชั้นบน เป็นคลังวัตถุของพิพิธภัณฑ์ ้ ระธรรมลายรดน้ำ� อาคารหลังทีส่ าม ชัน้ บนจัดแสดงตูพ ตาลปัตร หนังสือพิมพ์เก่าย้อนยุค รูปถ่ายเก่าของวัด เป็นต้น ส่วนชั้นล่างจัดแสดง เครื่องสูบน้ำ�รุ่นต่าง ๆ ที่ใช้วิดน้ำ�เข้านา ซึ่ง ปัจจุบันชาวบ้านเลิกใช้แล้ว จึงนำ�มาถวายให้วัด เพื่อจัดแสดงใน พิพิธภัณฑ์ พิพธิ ภัณฑ์วดั ท่าพูดเปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 09.0016.00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม ทั้งนี้ต้องติดต่อล่วงหน้า เพื่อทาง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ จ ะได้ เ ตรี ย มวิ ท ยากรนำ � ชม ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ก ารฝึ ก เยาวชนจากโรงเรียนวัดท่าพูด เพื่อเป็นมัคคุเทศก์น้อย เยาวชน ท้องถิ่นกลุ่มนี้ ยังเข้ามามีส่วนร่วมในงานพิพิธภัณฑ์ ด้านการ ทำ�ทะเบียนและงานอนุรักษ์วัตถุ ซึ่งเป็นหนึ่งในกิจกรรมของการ ร่วมมือกันระหว่างพิพิธภัณฑ์วัดท่าพูด และศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร ในโครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ที่หวังจะ ให้พพ ิ ธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ ไม่ใช่แค่โกดังเก็บของเก่า แต่เป็นพิพธิ ภัณฑ์ ทีม่ ชี วี ติ เป็นแหล่งเรียนรูข้ องชุมชน ขณะเดียวกัน ก็แสดงวิถแี ห่ง ตัวตนให้กับคนข้างนอกได้ทำ�ความรู้จักและเรียนรู้ด้วย Nakhon Pathom 215

SBL OK6.indd 215

5/8/2558 BE 10:42 AM


ÊÁà´ç¨¾ÃÐà·¾Ãѵ¹ÃÒªÊØ´ÒÏ ÊÂÒÁºÃÁÃÒª¡ØÁÒÃÕ

àʴ稾ÃÐÃÒª´Óà¹Ô¹à»š¹Í§¤ »Ãиҹ ¡©ÑµÃ¡Ò§¡Ñé¹ËÅǧ¾‹ÍÇÑ´äË¢Ô§ Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ·Õè òô ¡Ã¡®Ò¤Á ¾.È.òõõ÷ àÇÅÒ ñó.ðð ¹. ³ ÇÑ´äË¢Ô§ ¾ÃÐÍÒÃÒÁËÅǧ ¨.¹¤Ã»°Á

ÇÑ ´ äË ¢ § Ô µÑé§ÍÂÙ‹·ÕèÃÔÁáÁ‹¹íéÒ·‹Ò¨Õ¹ËÃ×ÍàÃÕ¡ÍÕ¡ª×èÍ

Ç‹ÒáÁ‹¹íéÒ¹¤ÃªÑÂÈÃÕ µ.äË¢Ô§ Í.ÊÒÁ¾ÃÒ¹ ¨.¹¤Ã»°Á à» ´ãËŒ¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹¡ÃÒº äËÇŒÊÑ¡¡ÒÃÐ µÅÍ´ òô ªÑèÇâÁ§

ÊÌҧâ´Â “ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒà(¾Ø¡)” ÁÕͧ¤ ËÅǧ¾‹ Í ÇÑ ´ äË ¢Ô § «Öè § ໚ ¹ ¾ÃÐ¾Ø · ¸ÃÙ » »Ò§ÁÒÃÇÔ ªÑ  ໚¹¾ÃлÃиҹ·ÕèªÒǹ¤Ã»°Áà¤Òþ¹Ñº¶×Í ÃÐËÇ‹Ò§ Çѹ¢Öé¹ ñó ¤íèÒ à´×͹ õ ¶Ö§áÃÁ ó ¤íèÒ à´×͹ õ áÅÐ ª‹Ç§à·È¡ÒŵÃØɨչ·Ø¡»‚ ¨ÐÁÕ§Ò¹à·È¡ÒŹÁÑÊ¡Òà » ´·Í§ËÅǧ¾‹ÍÇÑ´äË¢Ô§»ÃШӻ‚ «Öè§à»š¹§Ò¹ãËÞ‹ ¢Í§ªÒǹ¤Ã»°Á à´ÔÁ໚¹ÇÑ´ÃÒɯà µ‹ÍÁҨ֧¡ °Ò¹Ð¢Öé¹à»š¹¾ÃÐÍÒÃÒÁËÅǧ ªÑé¹µÃÕ ª¹Ô´ÊÒÁÑÞ àÁ×èÍÇѹ·Õè ñð ¡Ã¡®Ò¤Á ¾.È. òõóó 216

SBL OK6.indd 216

5/8/2558 BE 10:42 AM


§

ͧ¤ ËÅǧ¾‹ÍÇÑ´äË¢Ô§

¾ÃлÃиҹÍÂÙ‹ÀÒÂã¹¾ÃÐÍØâºÊ¶ ໚¹ ¾Ãоط¸ÃÙ»»Ò§ÁÒÃÇԪѠ˹ŒÒµÑ¡¡ÇŒÒ§ ô ÈÍ¡ ò ¹ÔéÇàÈÉ ÊÙ§ ô ÈÍ¡ ñö ¹ÔéÇàÈÉ »ÃдÔÉ°Ò¹ÍÂÙ‹ º¹°Ò¹ÍÂÙ‹º¹°Ò¹ªØ¡ªÕ õ ªÑé¹ àº×éͧ˹ŒÒ¼ŒÒ·Ô¾Â ÁÕ ¾ÃйÒÁÒÀÔä¸Â Â‹Í Ê.¸. Ëѹ¾ÃоѡµÃ ä»·Ò§·ÔÈ ÍØ´Ã (·ÔÈà˹×Í) «Öè§Ë¹ŒÒÇÑ´ÁÕáÁ‹¹éÓ¹¤ÃªÑÂÈÃÕËÃ×Í áÁ‹¹éÓ·‹Ò¨Õ¹äËż‹Ò¹ ¾Ø·¸ÅѡɳÐ໚¹ÊÁÑÂàªÕ§áʹ Êѹ¹ÔɰҹNjÒ໚¹½‚Á×ͪ‹Ò§ÊÁÑÂä·ÂŌҹ¹Ò áÅÐŌҹ ªŒÒ§ µÒÁµÓ¹Ò¹ àÅ‹ÒÇ‹ÒÅ͹éÓÁÒ áÅÐÍÑÞàªÔÞ¢Öé¹äÇŒ·Õè ÇÑ´ÈÒÅÒ»Ù¹ ÇÑ´äË¢Ô§¹Õé ÊÁà´ç¨¾ÃÐÁËÒÊÁ³à¨ŒÒ¡ÃÁ ¾ÃÐÂÒÇªÔ Ã ÞÒ³ÇâÃÃÊ ¾ÃÐÃÒª·Ò¹¹ÒÁãËé Ç è Ò ÇÑ´Á§¤Å¨Ô¹´ÒÃÒÁ(äË¢§Ô ) ᵋªÒǺŒÒ¹àÃÕ¡¡Ñ¹àµçÁ æ Ç‹Ò ÇÑ ´ Á§¤Å¨Ô ¹ ´ÒÃÒÁäÃè ¢ Ô § ¨¹¡ÃÐ·Ñ è § àËÅ× Í áµè ª × è Í ÇÑ´äˢԧ㹷ÕèÊØ´ ÇÑ´äË¢Ô§ ໚¹ÇÑ´·Õè¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹ ÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñ¹´Õ ¹ÔÂÁà´Ô¹·Ò§ä»¹ÁÑÊ¡ÒÃËÅǧ¾‹ÍÇÑ´äË¢Ô§ ¡Ñ¹ÍÂÙ‹àÊÁÍ

˹ѧÊ×Í»ÃÐÇѵÔÇÑ´äË¢Ô§¡Å‹ÒÇäÇŒÇ‹Ò ÊÁà´ç¨¾ÃоزҨÒà(¾Ø¡) ä´Œ ÍÑÞàªÔÞÁÒ¨Ò¡ÇÑ´ÈÒÅÒ»Ù¹ â´Â¹ÓŋͧÁÒ·Ò§¹éÓ ´é Ç Â¡Ò÷í Ò á¾äÁé ä ¼è Ë Ã× Í ·Õè à ÃÕ Â ¡¡Ñ ¹ Çè Ò á¾ÅÙ ¡ ºÇº ÃͧÃѺͧ¤ ¾Ãл¯ÔÁҡó àÁ×èͶ֧˹ŒÒÇÑ´äË¢Ô§¨Ö§ ä´ŒÍÑÞàªÔÞ¢Öé¹»ÃдÔÉ°Ò¹äÇŒÀÒÂã¹ÍØâºÊ¶ µÃ§¡ÑºÇѹ ¢Ö¹é ñõ ¤èÓ à´×͹ õ «Öè§à»š¹Çѹʧ¡ÃÒ¹µ ¾Í´Õ¨Ö§ÁÕ »ÃЪҪ¹¨Ó¹Ç¹ÁÒ¡ÁÒªØÁ¹ØÁ¡Ñ¹ ã¹¢³Ð·ÕèÍÑÞàªÔÞ Í§¤ ËÅǧ¾‹Í¢Ö鹨ҡᾠÊÙ‹»ÐÃÓ¾Ô¸Õä´Œà¡Ô´ÍÑȨÃàáʧᴴ·Õèá¼´¨ŒÒ¡ÅѺ¾ÅѹËÒÂä» ¤ÇÒÁÌ͹ÃÐÍØ ã¹Çѹʧ¡ÃÒ¹µ ¡çºÑ§à¡Ô´ÁÕàÁ¦´ÓÁ×´·ÐÁÖ¹ ÅÁ»˜›¹ »†Ç¹ ¿‡Ò¤Ð¹Í§ áÅкѹ´ÒÅãËŒÁÕ½¹â»ÃÂŧÁÒ·ÓãËŒ à¡Ô´¤ÇÒÁàÂ繩èÓáÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ» µÔ ÂÔ¹´Õ¡Ñ¹â´Â·ÑèÇ Ë¹ŒÒ »ÃЪҪ¹·ÕèÁÒµ‹Ò§¡ç¾Ò¡Ñ¹µÑ駨ԵÃ͸Ôɰҹ໚¹ ˹Öè§à´ÕÂǡѹ Ç‹Ò “ËÅǧ¾‹Í¨Ð·ÓãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁËÁàÂç¹ à»š¹ÊØ¢ ´Ñº¤ÇÒÁÌ͹ÌÒ¤ÅÒ¤ÇÒÁ·Ø¡¢ ãËŒËÁ´ä» ´Ø¨ÊÒ½¹·ÕèàÁ·¹Õ´ÅãËŒªØ‹Á©èÓ à¨ÃÔާ͡§ÒÁ´ŒÇ Nakhon Nakhon Pathom Pathom 217 217

SBL OK6.indd 217

5/8/2558 BE 10:42 AM


¸ÑÞÞÒËÒéйÑé¹” ´Ñ§¹Ñé¹ Çѹ´Ñ§¡Å‹ÒÇ·ÕèµÃ§¡ÑºÇѹ ʧ¡ÃÒ¹µ ËÃ×ÍÇѹ¢Öé¹»‚ãËÁ‹¢Í§¤¹ä·Â ·Ò§ÇÑ´¨Ö§ä´Œ ¶×Í໚¹ÇѹÊÓ¤ÑÞ áÅÐä´Œ¨Ñ´ãËŒÁÕ§Ò¹à·È¡ÒŹÁÑÊ¡Òà » ´·Í§»ÃШӻ‚ËÅǧ¾‹ÍÇÑ´äË¢Ô§ Ê׺µ‹ÍÁÒ¨¹¶Ö§·Ø¡ Çѹ¹Õé

218

SBL OK6.indd 218

5/8/2558 BE 10:42 AM


คุณรัตนา โพธิ์นิมิตร ผูจัดการสาขา นครปฐม

เทสโกโลตัสสาขานครปฐม ตัง้ อยูเ ลขที่ 1048 ถ.เพชรเกษม ต.สนามจันทร อ.เมือง จ.นครปฐม เบอรโ ทรศัพท 034-213700 แฟกซ 034-213726 เปดบริการ เวลา 08.00 – 22.00 น. ทุกวัน สาขาในจังหวัดนครปฐมมี สาขานครชัยศรี สาขาศาลายา สาขาสามพราน สาขากำ�แพงแสน สาขาบางเลน และ Express มากหมายพร้อมให้บริการลูกค้าทุกท่าน

SBL OK6.indd 219

5/8/2558 BE 10:42 AM


เส้ น ทางพบ อำ�เภอพุทธมณฑล

“ชุมชนพุทธมณฑล เป็นเมืองพุทธศาสนา การศึกษา และวัฒนธรรม เป็นแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัย ชุมชนน่าอยูอ่ าศัย มีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี อนุรกั ษ์สภาพแวดล้อมธรรมชาติ และ พื้นที่เกษตรกรรม” คือวิสยั ทัศน์ของอำ�เภอพุทธมณฑล ซึง่ มีทวี่ า่ การอำ�เภอ ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 5 ตำ�บลศาลายา อำ�เภอพุทธ มณฑล จังหวัดนครปฐม

“นายวรณัฎฐ์ หนูรอต” นายอำ�เภอพุทธมณฑล

ประวัติความเป็นมา อำ�เภอพุทธมณฑลเป็นอำ�เภอทีต่ งั้ ขึน้ ใหม่ทสี่ ดุ และมีพนื้ ทีน่ อ้ ย ที่สุดในจังหวัดนครปฐม มีประวัติการจัดตั้งเป็นอำ�เภอดังนี้ วันที่ 1 เมษายน 2534 จัดตั้งกิ่งอำ�เภอพุทธมณฑล โดยแยก พืน้ ทีต่ ำ�บลศาลายา ตำ�บลคลองโยง และ ตำ�บลมหาสวัสดิ์ จาก อำ�เภอนครชัยศรี วันที่ 28 สิงหาคม 2534 จัดตั้งสุขาภิบาลศาลายาในท้องที่ บางส่วนของตำ�บลศาลายา และวันที่ 5 ธันวาคม 2539 ยก ฐานะเป็น อำ�เภอพุทธมณฑล โดยมีคำ�ขวัญอำ�เภอว่า “ดินแดน ธรรมะ พระปางลีลา การศึกษาก้าวหน้า พัฒนาคุณธรรม”

220

SBL OK6.indd 220

5/8/2558 BE 10:42 AM


ข้อมูลทั่วไป

จุดเด่นของอำ�เภอพุทธมณฑล

อำ�เภอพุทธมณฑล มีพน้ื ที่ 76,329 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขต การปกครองออกเป็น 3 ตำ�บล 18 หมูบ่ า้ น ได้แก่ ตำ�บลศาลา ยา 6 หมูบ่ า้ น ตำ�บลคลองโยง 8 หมูบ่ า้ น และตำ�บลมหา สวัสดิ์ 4 หมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ การทำ�นา และการทำ�สวนผลไม้ เช่น ส้ม โอ และมะพร้าว

อำ�เภอพุทธมณฑล เป็นทีต่ ง้ั ของสถาบันการศึกษาชัน้ นำ�มากมาย อาทิ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ สถาบันกันตนา สถาบันวิชาการทหารเรือชัน้ สูง กองบังคับการฝึกอบรม ตำ�รวจกลาง (โรงเรียนนายสิบตำ�รวจ) วิทยาลัยนาฏศิลป์ โรงเรียนมหิดล วิทยานุสรณ์ ฯลฯ

สถานที่ท่องเที่ยวสำ�คัญ พุทธมณฑล สร้างขึน้ ในวาระฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เพือ่ เป็นแหล่ง เรียนรูพ ้ ระพุทธศาสนา เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปสำ�คัญ และยังมี พระไตรปิฎกหินอ่อนด้วย หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) หน่วยงานจัดการอนุรักษ์ฟิล์ม ภาพยนตร์ สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม คลองมหาสวัสดิ์ - ประเพณีตกั บาตรท้องน้ำ� - พายเรือชมนาบัว สัตตบุษย์ หรือ ฉัตรขาว บัวบูชาพระ บัวขาวซ้อน ดอกใหญ่ - เยือนชีวติ ชุมชนริมน้ำ� ลองนัง่ รถอีแต๋นชมนาข้าวและสวนดอกไม้

Nakhon Pathom 221

SBL OK6.indd 221

5/8/2558 BE 10:42 AM


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อ.พุทธมณฑล)

องค์การบริหารส่วนตำ�บลมหาสวัสดิ์ “สิ่งแวดล้อมเด่น เน้นสุขภาพดี วิธีแก้ปัญหาฉับไว ใส่ใจการอนุรักษ์”

บางส่วนประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงปลา

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของอบต.มหาสวัสดิ์ 1. การดำ�เนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว

คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตำ�บลมหาสวัสดิ์ ซึ่ง มีส�ำ นักงานตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 2 ถนนศาลายา - นครชัยศรี ตำ � บ ล มหาสวั ส ดิ์ อำ � เภอพุ ท ธมณฑล จั ง หวั ด นครปฐ ม ปัจจุบนั มีนายสุเทพ เพ็งนาเรนทร์ เป็นนายกองค์การบริหารส่วน ตำ�บลมหาสวัสดิ์

ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนตำ�บลมหาสวัสดิ์ มีพนื้ ทีใ่ นความรับผิด ชอบประมาณ 12.97 ตร.กม. หรือ 8,106 ไร่ สภาพภูมิประเทศ เป็นทีร่ าบลุม่ มีคลองธรรมชาติและคลองส่งน้�ำ ไหลผ่านหลายสาย มีผลทำ�ให้เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก เขตการปกครอง อบต.มหาสวัสดิ์ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบ จำ�นวน 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านศาลานกกระจอก หมู่ที่ 2 บ้ า นคลองมหาสวั ส ดิ์ หมู่ ที่ 3 บ้ า นศาลาดิ น และหมู่ ที่ 4 บ้านคลองโยง ประชากร มีประชากรจำ�นวนทั้งสิ้น 8,884 คน ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ได้แก่ การทำ �นา รองลงมา คือ รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ อาชีพถัดมาเป็นการ ประกอบอาชีพการทำ�สวน ได้แก่ สวนผลไม้ (มะม่วง มะพร้าว กล้วย มะนาว มะละกอ) สวนผัก สวนกล้วยไม้ นาบัว และไม้ดอกไม้ประดับ 222

SBL OK6.indd 222

5/8/2558 BE 10:42 AM


1.1 การจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.2 พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว 2. การดำ�เนินงานด้านการบริการสาธารณะ 2.1 การพั ฒ นาด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐาน และ สาธารณูปโภคต่างๆ 2.2 การพัฒนาแหล่งน้ำ� คูคลอง แหล่งน้�ำ เพื่อการ อุปโภคบริโภค และการเกษตร 3. การดำ�เนินงานด้านการพัฒนาด้านสังคม 3.1 ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนการให้บริการสาธารณสุข 3.3 การป้องกัน และรักษาความสงบเรียบร้อยความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 3.4 ส่งเสริมสนับสนุนการดำ�เนินงานด้านสาธารณภัย

5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าทางการเกษตร ปลอดภัยจากสารพิษ 6. การดำ�เนินงานด้านการบริหารจัดการที่ดี 6.1 พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีในองค์กร และส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น

อบต.มหาสวัสดิ์ชวนเที่ยวเชิงเกษตร

3.5 การป้องกัน และแก้ปัญหายาเสพติด 3.6 ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น งานสวั ส ดิ ก าร และ สังคมสงเคราะห์ 4. การดำ � เนิ น งานด้ า นการศึ ก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 4.1 พัฒนาการศึกษา และส่งเสริมระบบการศึกษา 4.2 ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การเผยแพร่ คุ ณ ธรรม จริยธรรมทางศาสนา และการเผยแพร่ศลิ ปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การดำ�เนินงานด้านเศรษฐกิจ 5.1 พัฒนาส่งเสริม และอบรมอาชีพให้แก่ประชาชน 5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตสินค้าทางการเกษตร ปลอดภัยจากสารพิษ 6. การดำ�เนินงานด้านการบริหารจัดการที่ดี 6.1 พัฒนาการบริหารจัดการที่ดีในองค์กร และส่ง เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น

ขอเชิญนักท่องเที่ยวลองมาล่องเรือชมสวนเลียบคลอง มหาสวั ส ดิ์ ชมการทำ � นาบั ว กิ จ กรรมพายเรื อ ชมบั ว เก็ บ บั ว และแวะชมการแปรรู ป ผลิ ต ผลการเกษตรของกลุ่ ม แม่ บ้ า น เกษตรกร มหาสวัสดิ์ และซื้อสินค้าหลากหลายได้ที่ศูนย์จำ�หน่าย สินค้า OTOP ชุมชน อาทิ ข้าวตังหน้าต่างๆ กล้วยอบน้ำ�ผึง้ กล้วย ฉาบ ผลไม้หยี ขนมทองม้วน ไข่เค็มเสริมไอโอดีน กระเป๋าสาน น้ำ� ฟักข้าว น้�ำ ยาล้างจาน ข้าวไรซ์เบอรี่ เป็นต้น

Nakhon Pathom 223

SBL OK6.indd 223

5/8/2558 BE 10:42 AM


DENTAL TECHNOLOGY UPDATE

เทคโนโลยี ่ ส มั ย ใหม่ และ นวั ต กรรม เพื ่ อ

สุขภาพช่องปาก และ ฟัน

ปัจจุบันเทรนด์ของการดูแลสุขภาพที่มาแรงและอยู่ในกระแส ตลอดเวลาก็คือ สุขภาพช่องปากและฟัน ด้วยนวัตกรรมของ อุปกรณ์เครือ่ งมือทีท่ นั สมัย วัสดุทางทันตกรรมใหม่ๆ ไปจนถึง การทำ�ศัลยกรรมขากรรไกรเพื่อแก้ไขรูปร่าง ใบหน้าการสบ ฟันทีผ่ ดิ ปกติ มีความรูอ้ ะไรใหม่ๆบ้างทีต่ อ้ งอัปเดทกันอย่ารอช้า ผศ.ทพ. สมยศ ลือเวศย์วณิช ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้าน ศัลยกรรมช่องปาก จะมาเล่าให้ฟัง

เครื่องเอกซ์เรย์ฟันระบบดิจิตอล การใช้ฟิล์มเพื่อถ่ายเอกซ์เรย์ในปัจจุบันกลายเป็นเรื่องล้าสมัย ไปเสียแล้วข้อดีของการใช้ แผ่นรับภาพ(imaging plate) แทน การใช้ฟิล์มแบบเดิม คือปริมาณรีงสีที่คนใข้ ได้รับจะน้อยกว่า เดิมหลายเท่าตัว อีกทั้งเป็นเทคโนยี่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เนือ่ งจากไม่ตอ้ งใช้สารเคมีในการล้างฟิลม์ และประหยัดเนือ้ ที่ ในการจัดเก็บ เพราะสามารถเก็บเป็นไฟล์ภาพในคอมพิวเตอร์ได้

รากฟันเทียม แข็งแรง และสวยงาม เสมือนฟันธรรมชาติ ข้อเข่าเทียม หรือ ลิ้นหัวใจเทียมคือสิ่งเทียม ที่ต้องใส่ เข้าไปในร่างกายเพื่อทดแทนอวัยวะที่ชำ�รุด หรือที่ต้อง สูญเสียไป รากฟันเทียมก็เช่นกัน สามารถทดแทนฟันที่ ถูกถอนไปได้ ขั้นตอน เริ่มจากการผ่าตัดเล็กๆ ใส่สกรู โลหะที่ทำ�จากไททาเนี่ยม ให้ยืดกับกระดูกขากรรไกร จากนั้ น ก็ ใ ส่ ค รอบฟั น บนแกนยื ด ที่ ติ ด รากฟั น เที ย ม ก็จะได้ฟนั เทียมทีเ่ สมือน ฟันธรรมชาติกลับมา ใช้งานได้ อีกครั้ง

SBL OK6.indd 224

5/8/2558 BE 10:42 AM


เครื่ อ งพ่ น อนุ ภ าคเกลื อ ทำ � ความ สะอาดและขจัดคราบฟัน AIR-FLOW คราบหินปูน คราบเครื่องดื่ม เช่น ชา กาแฟ โดยเฉพาะ คราบทีเ่ กิดการสูบบุหรี่ บนตัวฟันเป็นเรือ่ งทีช่ วนให้คนไข้ ต้องมาใช้บริการขูดหินปูนและขัดฟันเป็นประจำ� ปัจจุบัน การขั ด คราบบนตั ว ฟั น ไม่ ต้ อ งใช้ ม อเตอร์ จ ากหั ว กรอ และผงขั ด ละเอี ย ด มาขั ด อี ก ต่ อ ไป ด้ ว ยเครื่ อ ง AIR-FLOWสามารถพ่นอนุภาคเกลือ พร้อมกับละอองน�้ำ ฉีดล้างคราบฟันได้อย่างสะอาด หมดจด พร้อมให้กลิ่น เลมอน

ศัลยกรรมขากรรไกรเพื่อแก้ไขรูป ร่ า งใบหน้ า และการสบฟั น ที่ ผิ ด ปกติ มาถึงยุคที่การทำ�ศัยกรรมแก้ไขข้อบกพร่องบนใบหน้า ไม่ใช่เป็นเรื่องไกลตัวหรือน่าอายอีกต่อไปแล้ว ไม่ว่าจะ เป็น กรามยื่น ฟันเหยิน คางเบี้ยว หน้าสั้น หรือ หน้ายาวเหมือน แก้วหน้าม้า ทันตแพทย์ที่เชี่ยวชาญ เรือ่ งการผ่าตัดขากรรไกร สามารถทำ�ให้ คนไข้รปู หน้า และการสบฟันผิกปกติกลับมาสวย หล่อโดยไม่ต้องบิน ไปไกลถึง เกาหลี

BEFORE

AFTER

BEFORE

AFTER

ด้วยความปรารถนาดี ให้ทุกคนมีสุขภาพปากและฟันที่แข็งแรง คลินิกทันตกรรม สไมล์ เเกลเลอรี่ 45/3 ถ.ทรงพล (ตรงข้ามสาธิต ม.ศิลปากร) ต.สนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 โทร. 034-108-700, 084-420-9000 www.facebook.com/smilegallery SBL OK6.indd 225

5/8/2558 BE 10:42 AM


µÅÒ´ÈÃÕÇԪѠÈٹ ÃÇÁÊÔ¹¤ŒÒà¡ÉµÃ¤ÃºÇ§¨Ã

¶ŒÒ¾Ù´¶Ö§µÅÒ´¤ŒÒÊ‹§¢Í§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á µŒÍ§Â¡ãËŒ “µÅÒ´ÈÃÕÇԪє ÍíÒàÀÍàÁ×ͧ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á à¾ÃÒÐ໚¹µÅÒ´ ¤ŒÒÊ‹§¢¹Ò´ãËÞ‹ áÅÐ໚¹Èٹ ÃÇÁÊÔ¹¤ŒÒà¡ÉµÃ¤ÃºÇ§¨Ã ·ÕÁè ¡Õ ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃÍ‹ҧ໚¹Ãкº à¾×Íè ÍíҹǤÇÒÁÊдǡãËŒ ·Ñé§á¡‹¼ÙŒ¤ŒÒáÅмٌÁÒ㪌ºÃÔ¡Òà ¤Ø ³ Í¹Ø Ê Ã³ ´Í¹ÊØ Ç Ãó ¼Ù Œ º ÃÔ Ë ÒõÅÒ´ÈÃÕ ÇÔ ªÑ  ãËŒÊÑÁÀÒɳ ¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒèѴÊÌҧµÅÒ´ÈÃÕÇÔªÑÂÇ‹Ò “àÃҨѴÊÌҧµÅÒ´ÈÃÕÇԪѡçà¾×èÍ໚¹Èٹ ÃÇÁ·Ò§¡Òà ¤Œ Ò ·Ñé § »ÅÕ ¡ áÅÐÊ‹ § ໚ ¹ ÈÙ ¹  à ÇÁ·Ò§¡ÒäŒ Ò ¤ÃºÇ§¨Ãà¾×è Í ¼Ù Œ º ÃÔ â À¤¨Ðä´Œ ¢ ͧ´Õ ÁÕ ¤Ø ³ ÀÒ¾ áÅзÕè Êí Ò ¤Ñ Þ ¤× Í ÃÒ¤Ò¶Ù ¡ àÁ×èÍÁÒàÅ×Í¡«×éÍÊÔ¹¤ŒÒµÒÁ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Ò÷ÕèµÅÒ´ÈÃÕÇÔªÑÂáË‹§¹Õé áÅÐàÃÒÂѧÁÕ໇ÒËÁÒÂà¾×èÍãËŒ¼ÙŒ¢Ò ËÃ×ͪÒǺŒÒ¹·Ø¡æ¤¹ä´ŒÁÕ·Õè ·íÒÁÒ¤ŒÒ¢Ò ÁÕʶҹ·Õè»ÃСͺ¡Ô¨¡ÒÃÌҹ¤ŒÒµ‹Ò§æ”

¼ÙŒºÃÔËÒõÅÒ´ÈÃÕÇԪѠÂѧ䴌¡Å‹ÒǶ֧¨Ø´à´‹¹¢Í§µÅÒ´áË‹§¹ÕéÇ‹Ò “¨Ø´à´‹¹¢Í§µÅÒ´¹Õé¤×Í à»š¹áËÅ‹§¡ÒäŒÒ·ÕèÁÕ¤ÇÒÊдǡʺÒ ÁÕ·Õè¨Í´ ö¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ µÑ§é ÍÂÙã‹ ¹Â‹Ò¹ªØÁª¹ä»ÁÒÊÑÞ¨ÃÊдǡ·Ø¡àÊŒ¹·Ò§ÁÕÊ¹Ô ¤ŒÒ¾ÃŒÍÁ ºÃÔ¡ÒûÃÐ·Ñºã¨·Ø¡æ ·‹Ò¹ ·Ñé§ã¹´ŒÒ¹¤Ø³ÀÒ¾áÅÐÃÒ¤ÒäÁ‹á¾§ áÅÐÁÕãËŒàÅ×Í¡ «×éÍ໚¹¨íҹǹÁÒ¡” ¹Í¡¨Ò¡¨Ø´à´‹¹´Ñ§·Õè¡Å‹ÒÇÁÒ¢ŒÒ§µŒ¹ àÁ×èÍäÁ‹¹Ò¹ÁÒ¹ÕéµÅÒ´ÈÃÕÇÔªÑÂÂѧ䴌 à» ´â«¹µÅÒ´¡ÅÒ§»ÅÒÊǧÒÁ“ÈÃÕÇªÔ ÂÑ Í¤ÇÒÁÒà à¡çµ” ¢Ö¹é â´Â໚¹µÅÒ´¡ÅÒ§ ¤ŒÒÊ‹§»ÅÒÊǧÒÁáË‹§áá¢Í§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á «Öè§ä´ŒÃѺ¡ÒÃʹѺʹعâ´Â Êíҹѡ§Ò¹»ÃÐÁ§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°Á´ŒÇ ÈÃÕÇÔªÑÂͤÇÒÁÒà à¡çµà»š¹Èٹ ÃÇÁ¢Í§»ÅÒÊǧÒÁËÅÒ¡ËÅÒª¹Ô´ ·Ñ駻ÅÒ¹íéҨ״áÅлÅÒ·ÐàŹ͡¨Ò¡¹ÕéÂѧ໚¹Èٹ ÃÇÁ¢Í§¡ÒúÃÔ¡ÒÃà¡ÕèÂǡѺ »ÅÒÊǧÒÁ ÍÒ·Ô ¡ÒúÃÔ¡ÒÃÃѺ¨Ñ´µÙŒ»ÅÒÊǧÒÁ ¨íÒ˹‹ÒÂÍØ»¡Ã³ µ¡áµ‹§ µÙ Œ » ÅÒ áÅÐäÁŒ ¹íé Ò ·Õè ã ªŒ ¨Ñ ´ ᵋ § µÙ Œ » ÅÒ à»š ¹ µŒ ¹ ·Ñé § ¹Õé 㠹ʋ Ç ¹¢Í§µÅÒ´¡ÅÒ§ »ÅÒÊǧÒÁ¹Õé ¨Ðà» ´ãËŒà¡ÉµÃ¡Ã¢Ò¿ÃÕ·¡Ø ÇѹÍҷԵ à¾×Íè ʹͧ¹âºÒ¢ͧ ¼ÙÇŒ Ò‹ ÃÒª¡ÒèѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á ·Õµè ÍŒ §¡ÒÃʹѺʹعãËŒà¡ÉµÃ¡Ã¼ÙàŒ ÅÕÂé §»ÅÒä´Œ¹Òí »ÅÒÁÒ¢ÒÂãËŒ¼ÙŒ«×éÍâ´ÂµÃ§äÁ‹µŒÍ§¼‹Ò¹¾‹Í¤ŒÒ¤¹¡ÅÒ§

226

.indd 2

12/5/2558 13:16:38


¿ÃÕ¿ÃÕ¿ÃÕ! à» ´áŌǵÅÒ´¡ÅÒ§»ÅÒÊǧÒÁÈÃÕÇÔªÑÂͤÇÒÁÒà à¡çµ ·Ø¡ÇѹÍҷԵ ໠´ãËŒÁµÕ ÅÒ´¹Ñ´»ÅÒÊǧÒÁ·‹Ò¹¨Ðä´Œ¾º¼Ù«Œ Í×é ÁÒ¡ÁÒ µÅÒ´ ¡ÅÒ§»ÅÒÊǧÒÁ ÈÃÕÇÔªÑÂͤÇÒ ÁÒà à¡çµáË‹§¹Õé໚¹µÅÒ´áË‹§áááÅÐáË‹§ à´ÕÂÇ·Õèà» ´ãËŒ¢Ò ¿ÃÕ¿ÃÕ 5 »‚àµçÁ ¢ÍàªÔ޼ٌʹ㨷Õè ÍÂÒ¡¨ÐÁÕἧ¤ŒÒ»ÅÒ ÊǧÒÁÁÒŧ·ÐàºÕ¹¡Ñ¹ä´ŒàžÌÍÁä´ŒÊÔ·¸Ôì¢Ò¿ÃÕ 5 »‚àµçÁ ¹Ñºä´ŒÇ‹ÒµÅÒ´¡ÅÒ§»ÅÒÊǧÒÁÈÃÕÇÔªÑÂͤÇÒÁÒà à¡çµ¨Ð໚¹Íա˹Öè§ ª‹Í§·Ò§ã¹¡ÒáÃе،¹ãËŒà¡Ô´¡ÒþѲ¹Ò¾Ñ¹¸Ø »ÅÒÊǧÒÁÃͧÃѺ¤ÇÒÁ µŒÍ§¡ÒâͧµÅÒ´àª×èÍÁâ§ÃÐËÇ‹Ò§¼ÙŒ¼ÅÔµ ¼ÙŒÃǺÃÇÁ ¼ÙŒ«×éÍ áÅмٌʋ§ÍÍ¡ ·Ñé§ÃкºáÅзÕèÊíÒ¤ÑÞÂѧ䴌ʹѺʹعà¤Ã×Í¢‹ÒÂà¡ÉµÃ¡Ãµ‹ÍÂÍ´¸ØáԨÊÑµÇ ¹íéÒÊǧÒÁ¢Í§¨Ñ§ËÇÑ´¹¤Ã»°ÁãˌࢌÁá¢ç§´ŒÇÂ

µÅÒ´»ÅÒÊǧÒÁ µÅÒ´¢ÒÂÊ‹§»ÅÒÊǧÒÁáË‹§áá㹨ѧËÇÑ´¹¤Ã»°Á à» ´ ãËŒ¢ÒÂÊ‹§»ÅÒÊǧÒÁÁչѴ¡Ñ¹·Ø¡àÂç¹ÇѹÍҷԵ ·Ø¡ÍҷԵ ¢Í àªÔÞàÅ×Í¡«×Íé »ÅÒÊǧÒÁÊíÒËÃѺ¼Ù·Œ µÕè ÍŒ §¡ÒùíÒ仨íÒ˹‹ÒÂËÃ×Í µŒÍ§¡ÒùíÒä»àÅÕÂé §µÅÒ´¢Í§àÃÒÁÕ»ÅÒÊǧÒÁ໚¹¨íҹǹÁÒ¡ãËŒ àÅ×Í¡ÊÃÃÁÒ¡ÁÒÂã¹ÃÒ¤ÒÊ‹§·Õè¶Ù¡¡Ç‹Ò·ÕèÍ×è¹æ *·‹Ò¹ã´Ê¹ã¨Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè Tel. 034-270309, 087-8513346, 088-6448644

Ìҹ෾ÊØÇÃó¿Òà Á ¤Ø³³Ã§¤ à´ª àªÔ§ªÇ¹ Tel. 088-2060243 ¤Ø³â¡ÇÔ· ÈùØÇѵà ¼ÙŒ¼ÅÔµ»ÅÒËÁÍÊÕµÃСÙÅ»ÅÒ Tel. 086-1724327 ËÁÍÁÒÅÒÇÕ·Ø¡ÊÒ¾ѹ¸Ø ºÃÔ ¡ ÒÃ¨Ñ ´ µÙ Œ » ÅÒÊǧÒÁ ¨Ñ´Ê‹§·ÑèÇ»ÃÐà·È ¡ÒÃѹµÕâ´Â¡ÃкÕèÁ×Í˹Öè§ä

Ìҹ»ÅÒ¡ÃкÕèÁ×Í˹Öè§

ºÃÔÉ·Ñ ä·Â·çÍ» ¿ ª ͤÅÍ ÃŒÒ¹à¨ áÍŽÇ µŒ¹äÁŒ¹íéÒ Tel. 082-4923854 àÃÕÂÁ ¨íÒ¡Ñ´ ¤Ø³¡ÑÅÂÒÃѵ¹ Á³ÕâªµÔ Tel. 091-1161135 ¼ÙÃŒ ǺÃÇÁ»ÅÒÊǧÒÁ·Ø¡ª¹Ô´ Ê‹§ÍÍ¡·ÑèÇâÅ¡

Ìҹ ¾ÕÍÒà ´ÃÒ¡ŒÍ¹ 1 ´Ã.»³Ô¸Ò¹ ᡌǨѹ·ÇÕ Tel. 089-8896654 ¨íÒ˹‹Ò »ÅÒÍâÃÇÒ¹‹Ò ·Ø¡ÊÒ ¾Ñ¹¸Ø à¡Ã´àÍà·‹Ò¹Ñé¹

¨íÒ˹‹Ò¾ÃóäÁŒ¹íéÒǧÒÁ ·Ø¡ÊÒ¾ѹ¸Ø ¢ÒÂÊ‹§»ÃÐà·È

Ìҹ»ÃÕÂÒÀÒ »ÅÒÊÇÂ

Ìҹ»ÅÒµÕ빌ÍÂ

Ìҹ¿Í§¡Ðà¿Â

¤Ø³»ÃÕÂÒÀÒ à¹ÃÒ¹¹· Tel.086-8092191 ¨í Ò Ë¹‹ Ò Â»ÅÒ µÃС٠Š¿ÅÒÇ àÇÍà ÎÍà ¹ à¡Ã´àÍ ààÅС،§ à¤Ã¿ ª ·Ø¡ª¹Ô´

¤Ø³¡ÔµµÔ¾§È ºØÞÇÔ¸ÇÒà¨ÃÔÞ Tel.097-1393367 ¨í Ò˹‹ Ò»ÅÒÊǧÒÁà¡Ã´àÍ ·Ø¡ª¹Ô´ºÃÔ¡ÒÃÊ‹§·Ø¡¨Ñ§ËÇÑ´

¤Ø³¾ÕàÁËÈÑ¡´ÔìÊع·Ã Tel. 087-6783063 ¨íÒ˹‹Ò»ÅÒ¨íҾǡ»ÅÒáÁ‹¹íéÒ »ÅÒÊǧÒÁ·Ø¡ª¹Ô´»ÅÒá»Å¡ ËÒÂÒ¡ ¾ÃŒÍÁÍØ»¡Ã³ »ÅÒ ÊǧÒÁ

Ìҹ¾Õá͹´ ¾Õ¿ ªá¿¤â·ÃÕè ä·ÂᏴ ¤Ø³ÊÁºÑµÔáÅФسà´ÇÔ´ Tel. 088-0308838 ÃŒ Ò ¹¾Õ á ͹´ ¾Õ ¿ ª ῤâ·ÃÕè ä·ÂᏴ ¼Ù Œ Ê ‹ § ÍÍ¡»ÅÒ ÊǧÒÁ ¨íҾǡ»ÅÒ¡ÃÐູ âÁâµâË á »Å¡æ ËÅÒ¡ËÅÒ ÊÒÂ¾Ñ ¹ ¸Ø »ÅÒµÃС٠Š¿ÅÒÇ àÇÍà ÎÍà ¹ à¡Ã´àÍ·Ø¡ª¹Ô´

¿Òà Á·Í§ÃÑ¡É ¿Òà Á ¤Ø³ªÒÅÔÊÒ ·Í§ÃÑ¡É (µÔëÇ) Tel. 086-1682803 ¤Ø³¨ÔÃÒÂØ·¸ ·Í§ÃÑ¡É (µ Ð) Tel. 093-8619464 ໚¹¿Òà Á»ÅÒ¡Ñ´ÊǧÒÁÁÕ»ÅÒ ¡Ñ´ËÅÒ¡ËÅÒÂÊÒ¾ѹ¸Øà¡Ã´àÍ ãËŒàÅ×Í¡·Ø¡ª¹Ô´

ÌҹÁ´á´§Á´´íÒ»ÅÒÊÇ ¤Ø³¬ÀÑ·Ã à¾ç§á¨‹Á Tel. 090-2591214 ¤Ø³¹ÄÁÅ à¾ç§á¨‹Á Tel. 093-8781082 ¨íÒ˹‹Ò»ÅÒÊǧÒÁ·Ø¡ª¹Ô´·Ñé§ »ÅÕ¡áÅÐÊ‹§

Ìҹ¾ÕÍÒà ´Òà ¡Í¹ 2 ¤Ø³¹ÃÔ¹·Ã ¹ÒÇÒÃѵ¹ Tel. 087-1648934 ¨íÒ˹‹ÒµÒÁÂØ‹§·Ø¡ÊÒ¾ѹ¸Ø » Å Ò Ê Í ´ ·Ø ¡ ª ¹Ô ´ ¾ à Œ Í Á ÍØ»¡Ã³ »ÅÒÊǧÒÁ NAKHON PATHOM 227

.indd 3

12/5/2558 13:16:44


โต๊ะจีนนครปฐม

ยุทธพงษ์โภชนา

เอี๊ยวเจริญโภชนา

69 หมู่ 4 ตำ�บลนครปฐม อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 267444, 081 9814033

26 หมู่ 4 ตำ�บลนครปฐม อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 267438, 081 9437353

ณัทพงศ์โภชนา

สุพจน์โภชนา

12 หมู่ 4 ตำ�บลนครปฐม อำ�เภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034 267432, 08 18806389

53/1 หมู่ 4 ตำ�บลห้วยขวาง อำ�เภอกำ�แพงแสน จังหวัดนครปฐม โทร. 034 261970, 08 14979776

SBL OK6.indd 229

5/8/2558 BE 10:42 AM


µÅÒ´Ê´ÈÃÕÇªÔ ÂÑ áË‹§¹Õé ໚¹µÅÒ´¤ŒÒÊ‹§ÊءêíÒáËÅÐ ·ÕèÊÁºÙó áÅФúǧ¨Ã·ÕèÊØ´ ÁÕ·Ñ駢Ò»ÅÕ¡áÅТÒÂÊ‹§ä» ·ÑèÇ·Ø¡ÀÒ¤¢Í§»ÃÐà·Èä·Â ËÒ¡·‹Ò¹ã´ÁÕ¤ÇÒÁ»ÃÐʧ¤ ·Õè ¨Ð㪌ÊءêíÒáËÅеŒÍ§ÁÒ·ÕèµÅÒ´Ê´ÈÃÕÇԪѠáË‹§¹Õé·‹Ò¹¨Ð ä´ŒÃºÑ ÊÔ¹¤ŒÒä´ŒµÃ§µÒÁ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ·‹Ò¹áÅШÐäÁ‹¼´Ô ËÇѧà¾ÃÒзÕè¹ÕèÁÕÊÔ¹¤ŒÒ¤Ãº¶ŒÇ¹ÊءâͧàÃÒ¶Ù¡Êآ͹ÒÁÑ ÍÕ¡·Ñé§ÂѧÁÕÃÒ¤Ò໚¹¡ÅÒ§ ÍÕ¡·Ñé§Âѧ¶Ù¡¡Ç‹Ò·ÕèÍ×è¹æ ÍÕ¡´ŒÇÂ

µÅÒ´ÈÃÕÇÔªÑÂ...µÅÒ´à¢Õ§ËÁ٠ÌҹàÎÕªÑÂÇѲ¹ (µÅÒ´ÈÃÕÇÔªÑÂ) Tel. 081 736 4277 087 760 7887

ÌҹËÁÙਠ¡ÒÞ Tel. 081 818 5556 081 819 5098

ÌҹËÁÙà·¾»Ãзҹ Tel. 080 055 9777 099 191 9996

ÌҹËÁÙàÎժѠTel. 097 092 5688 ÌҹËÁ٤س¡ÔµµÔªÑ ÍÒÀÒÇ§È ¶ÇÔ¹ Tel. 080 788 8894 080 111 1434

ÌҹàÎÕÂËÅÕ à¨ ËÞÔ§ Tel. 089 056 6950

ÌҹËÁÙਠÃÕ Tel. 087 997 4896

ÌҹËÁ٤سáÍç´ Tel. 081 455 3710 081 995 2196 ÌҹËÁÙàÎÕ¡؋ÂÊØêÑ ÍÒÀÒÇ§È ¶ÇÔ¹ Tel. 081 986 0841 081 629 0379

228

.indd 4

12/5/2558 13:17:10


SBL OK6.indd 230

5/8/2558 BE 10:42 AM


SBL OK6.indd 231

5/8/2558 BE 10:42 AM


SBL OK6.indd 232

5/8/2558 BE 10:42 AM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.