Prachinburi

Page 1






พฤกษา รีสอรท “ถูกสะอาด บรรยากาศภายใตสวนผลไม ” รีสอรททามกลางธรรมชาติ แวดลอมไปดวย ตนไมนานาชนิด ความรมรื่นเงียบสงบเปนสวนตัว พรอมดวยบริการแบบพี่นองเปนกันเอง ดวยรอยยิ้ม พักผอนแบบสบายๆในหองพักระดับเกรด A เติมเต็ม ความสุขที่ขาดหาย ที่เรา พฤกษารีสอรท ปราจีนบุรี

ที่อยู 79 ม.7 ต.ดงบัง อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี ติดตอคุณสุกฤษฎิ์ 089-509-1121, 087-328-3715

www.pruksaprachin.com



บานพักระดับมาตรฐาน แอร+ทีวี+ตูเย็น+นํ้าอุน+โตะรับรอง รื่นรมใกลแหลงธรรมชาติ บรรยากาศดี มีรานอาหาร สวนพักผอน ที่ออกกําลังกาย พื้นที่ปงยาง - บริการที่พักรายวัน 24 ชม. - ราคาที่พัก 400 -700 บาท/คืน พรอมอาหารเชา - ฟรี WiFi เร็วแรง 50 M สํารองที่พัก 0-3721-6839, 08-8331-3003, 08-4103-7444 9/9 ม.8 ต.บานพระ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230

www.wannidagardenresort.com



GRAND GARDEN

ที่อยู 90 ม.6 ต.บานพระ อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี 25230 เบอรติดตอ 037-213-363, 086-500-3815




รางวัลแหงความภาคภูมิใจในดานการจัดการของเสีย

บริษัท ฮิตาชิ คอนซูมเมอร โปรดักส (ประเทศไทย) จํากัด กอตั้งเมื่อป พ.ศ.2513 เปนโรงงานผลิตเครื่องใชไฟฟาภายในบานอาทิ ตูเ ย็น เครือ่ งซักผา เครือ่ งดูดฝุน หมอหุงขาว ไดรบั การรับรองมาตราฐาน ISO 9001:2008 ดานคุณภาพและ มาตราฐาน ISO 14001:2004 ในดาน การจัดการสิ่งแวดลอม 1. รางวัล “3Rs Award” ป 2558 2. รางวัล “3Rs plus Award” ระดับเหรียญเงินป 2558 โครงการสงเสริมการใชประโยชนกากของเสียโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม

บริษัท ฮิตาชิ คอนซูมเมอร โปรดักส (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 610/1 หมู 9 ต.หนองกี่ อ.กบินทรบุรี จ.ปราจีนบุรี

¤Õ¹Ô¤"ª×è͹Õé·Õè¤Ø³Çҧ㨠¤Á ·¹ »ÃÐËÂÑ´ »ÅÍ´ÀÑÂ"

ºÃÔÉÑ· ¼ÅÔµÊÔ¹¤ŒÒ»ÃÐàÀ· Ἃ¹µÑ´ Ἃ¹à¨ÕÂà âÅËзءª¹Ô´ ÃÇÁ·Ñé§ ¡ÃШ¡ ËԹ͋͹ ¡Í¹¡ÃÕµ áÅÐËÔ¹à¨ÕÂùÑ ËÅÒ¡ËÅÒª¹Ô´ ÀÒÂ㵌¡ÒèѴ¨íÒ˹‹Ò â´Â ºÃÔÉÑ· ¤Õ¹Ô¤-à«ÅÊ (»ÃÐà·Èä·Â) ¨íÒ¡Ñ´

ºÃÔÉÑ· ¤Õ¹Ô¤-ä·Â ¨íÒ¡Ñ´ (âç§Ò¹) 225 Á.7 µ.⤡»‚º Í.ÈÃÕÁâËʶ ¨.»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ 25190 Tel : (066) 37 276954 - 7 Fax : (066) 37 276958 ºÃÔÉÑ· ¤Õ¹Ô¤-à«ÅÊ (»ÃÐà·Èä·Â) ¨íÒ¡Ñ´ (Êíҹѡ§Ò¹¢ÒÂ) 819/62 «.»ÃÔÂÒ¹¹· ¶.ÊҸػÃдÔÉ° 57 ºÒ§â¾§¾Ò§ ÂÒ¹¹ÒÇÒ ¡·Á. 10120 Tel : (066) 2 295 3752 - 58 Fax : (066) 2 295 3759 E-Mail : sales@kinikthai.co.th Website : www.kinikthai.co.th


SSM HOTEL

หองพักราคาประหยัด สะอาด สะดวก บรรยากาศดี แอร นํ้าอุน ตูเย็น เคเบิ้ลทีวี สํารองหองพัก 037-218-878, 086-043-3851 ที่อยู 20 ม.4 ต.หนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ์ จ.ปราจีนบุรี 25140


¾Ñ¡¼‹Í¹ÂŒÍ¹Í´Õµ·Õè...¾Ô¾Ô¸Àѳ± ÍÂÙ‹ÊØ¢ÊØÇÃó

¾Ô¾Ô¸Àѳ± ÍÂÙ‹ÊØ¢ÊØÇÃó µÑé§ÍÂÙ‹·Õè 135 ¶.»ÃÒ¨Õ¹µ¤ÒÁ µ.´§¢ÕéàËÅç¡ Í.àÁ×ͧ ¨.»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ ÍÂÙ‹Ë‹Ò§¨Ò¡µÑÇàÁ×ͧ»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ ä»·Ò§ Í.»ÃШѹµ¤ÒÁ »ÃÐÁÒ³ 6 ¡ÔâÅàÁµÃ àÁ×èÍ·‹Ò¹ä´Œ¡ŒÒÇࢌÒÊÙ‹¾Ô¾Ô¸Àѳ± áË‹§¹Õé ·‹Ò¹¨Ðä´Œ¾º¡ÑºµÐà¡Õ§¨íҹǹÁËÒÈÒÅ «Öè§ÁÕ á¢Ç¹ÍÂÙ‹·Ø¡ æ ·Õè äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹µÒÁ·Õè¨Í´Ã¶ Ìҹ¤ŒÒ º¹à¾´Ò¹ µÒÁÍÒ¤Òõ‹Ò§ æ áÁŒ¡ÃзÑè§ËŒÍ§¹íéÒÍÕ¡´ŒÇ ¾Ô¾Ô¸Àѳ± áË‹§¹Õé ÁÕÍÒ¤Ò÷Ñé§ËÁ´ 5 ÍÒ¤Òà «Ö觻ÃСͺ仴ŒÇ ÍÒ¤Ò÷Õè 1 ÍÒ¤ÒÃÃÒªÒÇ´Õ ¨Ñ´áÊ´§à¤Ã×èͧà§Ô¹ à¤Ã×èͧ·Í§àËÅ×ͧ àµÒÃÕ´âºÃÒ³ à¤Ã×Íè §»˜¹œ ´Ô¹à¼Ò µÙàŒ Âç¹ãªŒ¹Òíé Áѹ¡ Ò´ ໚¹µŒ¹ ªÑ¹é Êͧ ¨Ñ´áÊ´§µÐà¡Õ§਌ҾÒÂØËÅÒ¡ËÅÒÂÂÕËè ÍŒ µÐà¡Õ§àÃ×Í µÐà¡Õ§©ÒÂÊäÅ´ ÏÅÏ

ÍÒ¤Ò÷Õè 2 ÍÒ¤ÒÃÅÕÅÒÇ´Õ ÁÕ·Ñé§ËÁ´ 6 ˌͧ «Ö觨ѴáÊ´§ÊÔ觢ͧ ໚¹ËÁÇ´ËÁًᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ä» ÍÒ·Ô ¶ŒÇªÒÁâºÃÒ³ ¶Ò´¡ÃÐàº×éͧ ⶾ٠¢Ç´¹íÒé ÁÐà¹ç´ àªÕÂè ¹ËÁÒ¡·Í§àËÅ×ͧ ¢Ñ¹Å§ËÔ¹ àµÒ¹íÒé Áѹ¡ Ò´ µÐà¡Õ§Åҹö¨Ñ¡ÃÂÒ¹ ö¨Ñ¡ÃÂҹ¹µ âºÃÒ³ ¢Í§à´ç¡àÅ‹¹Êѧ¡ÐÊÕ ÊÒÁŌͶպ ¾Ãм§ ¾ÃÐàËÃÕÂÞ ¾ÃÐà¤Ã×èͧ·Õè¢Ö鹪×èͧ͢»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ µÃÒªÑè§ áÅÐà¤Ã×èͧµÇ§ÇÑ´ã¹ÃٻẺµ‹Ò§ æ ໚¹µŒ¹ ÍÒ¤Ò÷Õè 3 ÍÒ¤ÒêǹªÁ ¨Ñ´áÊ´§ÃٻࡋҢͧàÁ×ͧ»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ áÅÐÀÒ¾¶‹Ò¤ÃÑ駷Õè¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ (ÃѪ¡ÒÅ·Õè 9) àÊ´ç¨ÏÁÒàÂ×͹¨Ñ§ËÇÑ´»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ áÅÐÁÕ˹ѧÊ×Íà¡‹Ò Ë¹Ñ§Ê×Í¡Òà µÙ¹ áʵÁ»Š Å͵àµÍÃÕèÃØ‹¹·Õè 1 ¢Í§ÃÑ°ºÒÅÊÂÒÁ ÏÅÏ ÍÒ¤Ò÷Õè 4 ÍÒ¤ÒÃ਌ҾÒÂØ à»š¹ÍÒ¤ÒÃÃÙ»·Ã§µÐà¡Õ§਌ҾÒÂØ ÊÙ§ 13 àÁµÃ «Ö觹ѡ·‹Í§à·ÕèÂÇÊÒÁÒö¢Öé¹ä»ªÁÇÔÇâ´ÂÃͺ䴌 áÅÐ ÊÒÁÒö¾Ñ¡¼‹Í¹Ë‹͹ã¨ä»¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ ÍÒ·Ô º‹Í»ÅÒ áÅй¡ ÊǧÒÁ¹Ò¹Òª¹Ô´ â´Â੾Òй¡ÂÙ§ä·Â·ÕèËÒ´Ùä´ŒÂÒ¡áÅŒÇ áÅÐÂѧ ÁÕº‹ÍോÒÃÇÁ件֧º‹Í¨ÃÐࢌÍÕ¡´ŒÇ ÍÒ¤Ò÷Õè 5 ÍÒ¤Òÿ‡Ò»ÃдÔÉ° ¨Ñ´áÊ´§àÃ×ÍËÅÒ¡ËÅÒª¹Ô´ áÅÐàÃ×͹¼Ù¡·ÕèÊÌҧ¨Ò¡äÁ‹ä¼‹ «Öè§ä´Œ¨Ñ´áÊ´§¢ŒÒǢͧà¤Ã×èͧ㪌㹠¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹ÊÁÑ¡‹Í¹ãËŒàÂÒǪ¹ä´ŒÈÖ¡ÉÒÍÕ¡´ŒÇÂ

หลบพักความวุนวายในสังคมเมือง มาพักผอนยอนอดีตที่ พิพิธภัณฑอยูสุขสุวรรณ â·ÃÈѾ· 037-218511, 037-218512 Fax 037-218513 Á×Ͷ×Í 081-2958218 E-mail : yusuksuwan@hotmail.com www.yusuksuwan.com

76



โครงการพัฒนาสวนพระองค ตำบลบางแตน “ขาวซอมมือหรือขาวกลองเรากินทุกวัน เพราะวามีประโยชนรางกายแข็งแรง ขาวขาวเอาของดีออกไปหมด ขาวกลองนี่ดีคนบอกวาเปนขาวของคนจน เราก็เปนคนจน”

โครงการพัฒนาสวนพระองค ตำบลบางแตน สถานทีต่ ง้ั หมูท ่ี 10 บานบางแตนนอย ตำบลบางแตน อำเภอ บานสราง จังหวัดปราจีนบุรี

สรุปแนวพระราชดำริ

โครงการพัฒนาสวนพระองค์ เปนโครงการที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ทรงใชทด่ี นิ และพระราชทรัพยสว นพระองคจดั ทำโครงการ พัฒนาในรูปแบบตางๆ ที่งาย ไมยุงยากซับซอนแตสอดคลองกับสภาพ ความเปนอยูแ ละระบบนิเวศนโดยรวมของธรรมชาติ ตลอดจนสภาพทาง สังคมของชุมชนนั้นๆ เพื่อเปนตัวอยางใหกับ ประชาชนไดนำไปศึกษา และนำไปปฏิบัติตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง ใหเกิดความเปนอยูอยาง พอมีพอกินไมเดือดรอน โดยเฉพาะในชวงทีป่ ระเทศกำลังอยูใ นภาวะถดถอย ซึง่ ไดรบั การสนับสนุนจาก สวนราชการ เอกชน และประชาชนทีเ่ กีย่ วของ

16

พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

ความเปนมาของโครงการฯ ในป พ.ศ.2514 นายประกัน กาญจนวัฒน และภริยา ไดทลู เกลาฯ ถวายที่ดินริมแมน้ำบางปะกง ต.บางแตน อ.บานสราง จ.ปราจีนบุรี เนือ้ ที่ 88 ไร แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และ ตอมาในป พ.ศ.2527 นายอำเภอบานสรางขณะนั้น รวมกับพระครู โกศลถาวรกิจ เจาอาวาส วัดบางแตน และชาวบานไดซื้อที่ติดกับ พื้นที่เดิมอีก 55 ไร ถวายแด พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เมือ่ คราวเสด็จฯ ณ ศูนยศกึ ษาการพัฒนา เขาหินซอนสำนักงานจัดการ ทรัพยสินสวนพระองค ซึ่งเปนผูดูแลที่ดิน แปลงนีอ้ ยู ไดฝากพืน้ ที่ ใหศนู ยศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซอนใชประโยชน ทำการพัฒนา เปนแหลงน้ำ และการประมงเพื่อชวยเหลือเกษตรกรซึ่ง ดูแลโดย กรมชลประทานและกรมประมง


ตอมาในป พ.ศ.2539 สำนักงานจัดการทรัพยสินสวนพระองค ไดซื้อที่ดินขางเคียงเพิ่มเติมรวมเปนเนื้อที่ทั้งสิ้น 384 ไร ตนป 2541 นายกวี อังศวานนท และนายชูเกียรติ ลิ่มอรุณ จากสำนักงานจัดการ ทรัพยสนิ สวนพระองคไดปรึกษากับ นายประโยชน เจริญธรรม ผูอ ำนวยการ ศูนยวจิ ยั ขาวปราจีนบุรขี ณะนัน้ เพือ่ นำทีด่ นิ มาพัฒนาสนับสนุนโครงการ ทฤษฎีใหม และสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงสำหรับเปนแบบ อยางแกเกษตรกรบริเวณใกลเคียง หรือผูท ส่ี นใจไดเขาไปศึกษา และนำสิง่ ที่ เปนประโยชนไปปฏิบตั เิ ปนการสนับสนุนกระแสพระราชดำรัสเมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2540 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลา ใหชื่อวา “โครงการพัฒนาสวนพระองค” เริ่มดำเนินงานตั้งแตเดือน กุมภาพันธ 2541 จนถึงปจจุบัน

วัตถุประสงคของโครงการ 1. จัดทำโครงการขาวครบวงจร 2. ทดสอบและพัฒนาการปลูกพืชแบบผสมผสาน 3. สนับสนุนดานวิชาการแกเกษตรกร และผูส นใจบริเวณ รอบโครงการและจังหวัดใกลเคียง

หนวยงานรับผิดชอบ หนวยงานหลัก 1. โครงการพัฒนาสวนพระองค สำนักงานจัดการทรัพยสิน สวนพระองค 2. ศูนยวจิ ยั ขาวปราจีนบุรกี องวิจยั และพัฒนาขาวกรมการขาว พื้นที่ดำเนินการ หนวยงานประสาน มีพน้ื ทีด่ ำเนินการทัง้ หมด 384 ไร แบงเปนสวนของกิจกรรมตางๆ 1. สำนักงานเกษตรและสหกรณจงั หวัดปราจีนบุรแี ละหนวยงาน ตามความเหมาะสมของการดำเนิ นงาน ดังนี้ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณในจังหวัดปราจีนบุรี 2. สำนักงานจังหวัดปราจีนบุรี ำเภอบานสรางองคการบริหาร สวนตำบลบางแตน และหนวยงานอื่นๆในจังหวัดปราจีนบุรี กิจกรรม พื้นที่ (ไร)

นาขาว เกษตรผสมผสาน วนเกษตร ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง ตลาดเพื่อชุมชน แหลงน้ำเพื่อการเกษตร คูคลองและถนน อาคารสิ่งปลูกสราง เลี้ยงกุงระบบปด รวม

77 24 4.5 11 6 126.5 11 124 384

Prachinburi 17


กิจกรรมยอยที่ 3 การแปรสภาพขาวจากพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทีต่ รัสไวเมือ่ ครัง้ เสด็จเยีย่ มโครงการพัฒนา สวนพระองคตำบลบางแตน เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2541 ความวา “ขาวซอมมือหรือขาวกลองเรากินทุกวัน เพราะวามีประโยชน รางกายแข็งแรง ขาวขาวเอาของดีออกไปหมด ขาวกลองนีด่ ี คนบอกวาเปนขาวของคนจน เราก็เปนคนจน” ขาวทีด่ ำเนินการผลิตเปนเมล็ดพันธุ มีทง้ั ขาวทีม่ คี ณุ สมบัตใิ นการ หุงตมที่เปนขาวรวนแข็ง เชน พันธุบางแตน พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 และสุพรรณบุรี 3 และยังมีพันธุขาวที่มีคุณสมบัติการหุงตมที่ออนนุม คลายพันธุข า วขาวดอกมะลิ 105 คือพันธุป ทุมธานี 1 เพือ่ ใหการดำเนินกิจกรรม ครบวงจรตามวัตถุประสงค คณะทำงานจึงไดนำขาวสวนหนึ่งที่ไมผาน มาตรฐานเมล็ดพันธุข ยายนำมาแปรรูปใน 2 ลักษณะคือ แปรรูปเปนขาวกลอง และขาวขาวเพือ่ จำหนายในรูปของขาวกลองโดยตรง และขาวสามแมโพสพ ทีผ่ สมกับขาวกลอง และขาวหอมมะลิแดงในราคาทีไ่ มแพง และเปนไปได

กิจกรรมที่ 2 เกษตรแบบผสมผสาน

กิจกรรมหลักของโครงการ

ประกอบดวย 4 กิจกรรมหลัก ดังนี้ • ขาวครบวงจร • เกษตรแบบผสมผสาน • ตลาดเพื่อชุมชน • การถายทอดเทคโนโลยี

กิจกรรมที่ 1 ขาวครบวงจร

ประกอบดวย 3 กิจกรรมยอย ไดแกการผลิตเมล็ดพันธุขาว ธนาคารเมล็ดพันธุ และการแปรสภาพขาว กิจกรรมยอยที่ 1 การผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจำหนายใน พืน้ ที่ 77 ไร ปละ 2 ฤดู โดยผลิตเมล็ดพันธุท เ่ี กษตรกรนิยมปลูกในพืน้ ที่ เชน พันธุ กข31 กข41 กข49 กข57 กข61 บางแตน และ ปทุมธานี 1 กิจกรรมยอยที่ 2 ธนาคารเมล็ดพันธุจากพระราชดำรัสของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทีต่ รัสไวเมือ่ ครัง้ เสด็จเยีย่ มโครงการพัฒนา สวนพระองคตำบลบางแตน เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2541 ความวา “พันธุขาวที่ไดอยานำไปขาย ใหเขายืมไปเมื่อเก็บเกี่ยว ไดใหนำมาคืน จัดทำเปนธนาคารเมล็ดพันธุ” ดังนั้นคณะทำงานจึงไดจัดทำกิจกรรม ธนาคารเมล็ดพันธุข า วโดยใหเกษตรกรในเขต จังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และนครนายกยืมเมล็ดพันธุข า ว ไปปลูกหลักเกณฑการยืมกำหนดครอบครัว ละไมเกิน 250 กิโลกรัม อัตราคืน 1:1.25 กิโลกรัม ใหนำมาคืนภายใน 6 เดือนหลังจากวันยืม โดยไดรับคำรับรองจากผูนำทองถิ่น

18

จัดทำแปลงสาธิตและพัฒนาการเกษตรในรูปแบบตางๆ เปนการ ใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพทำใหมีรายไดเพิ่มเติมจาก กิจกรรมหลัก กิจกรรมการเกษตรแบบผสมผสานมีพน้ื ทีท่ ง้ั หมด 24 ไร มีการดำเนินงาน ในกิจกรรมยอย ดังนี้ 2.1 การปลูกไมผลพืชแซม พืน้ ที่ 7 ไรเศษ ปลูกมะพราวน้ำหอม เปนพืชหลักจำนวน 334 ตน เนือ่ งจากเปนพืน้ ทีด่ นิ เปรีย้ วจึงทำใหผลผลิต มะพราวไมดีเทาที่ควรสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดปราจีนบุรี จึงไดปรับปรุง บำรุงดินโดยการใชปนู มารลและการปลูกพืชปุย สด แตอยางไรก็ตามพืน้ ที่ แปลงมะพราวยังมีปญหาการระบายน้ำหลังจากฝนตกหนักจะพบน้ำทวม อยูเสมอจำเปนตองไดรับการแกไขตอไป 2.2 สาธิตการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษพื้นที่ปลูก 2 ไรเศษ ปลูกผัก 4-5 ชนิด ไดแก คะนา กวางตุง กวางตุงฮองเต ผักบุง และ ผัดกาดขาว สลับหมุนเวียนตามฤดูกาล และตามความตองการของตลาด เนนการไมใชสารเคมีปลูกแบบปกติในที่โลงแจง 2.3 สาธิตการปลูกไมผล ไมยนื ตนหัวไรปลายนา เชน ปลูกสะเดาไทย ขี้เหล็ก และมะพราวน้ำหอม รอบบริเวณแปลงนา จำนวน 1,500 ตน เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพื้นที่ 2.4 แปลงปลูกพืชหมุนเวียน พืน้ ที่ 4.5 ไร พืชอืน่ ทีใ่ หผลตอบแทน เร็วกวาเชน ผักหวานบานขาวโพดฝกสด ชะอม มะเขือเปราะ บวบหอม ถั่วฝกยาว และมะระ เปนตน 2.5 แปลงวนเกษตร มีพนั ธุไ มตา งๆ กวา 32 ชนิดแสดงในแปลง พื้นที่ 4.5 ไร เหมาะสำหรับการศึกษาทองเที่ยวเชิงเกษตร 2.6 กิจกรรมการผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษการปลูกผัก


กิจกรรมที่ 3 ตลาดเพื่อชุมชน

จุดซื้อขายสินคาบริเวณหนาโครงการ พัฒนาสวนพระองค ตำบลบางแตน ไดจดทะเบียนเปนสหกรณบริการตลาดเพือ่ ชุมชนบางแตน จำกัด เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ 2543 ดำเนินการในพื้นที่ 6 ไร โดยมี วัตถุประสงคเพื่อจัดตั้งกองทุนตลาดชุมชน จำหนายวัสดุอุปกรณปจจัย การผลิต ผลผลิตทางการเกษตรทัง้ ของโครงการฯ และผลผลิตของเกษตรกร ในพืน้ ทีใ่ กลเคียง รวมทัง้ สิน้ คาอุปโภคบริโภคมาจัด จำหนายใหแกสมาชิก และบุคคลทั่วไปในราคาถูกปจจุบันอยูในการ ดำเนินงานของสหกรณ บริการตลาดเพือ่ ชุมชนบางแตน จำกัด มีสมาชิกถือหุน จำนวน 504 ราย มีทุนเรือนหุน รวมทั้งสิ้น 1,230,700.-บาท โดยจัดหาสินคามาจำหนาย ดังนี้ ปุยและดิน ยาปราบศัตรูพืชพันธุขาวสินคาทั่วไป และสนับสนุนให สมาชิกกูย มื เงินระยะสัน้ เพือ่ ประกอบ อาชีพการเกษตรเมือ่ เดือนกรกฎาคม 2550 สหกรณไดเปดบริการจำหนายน้ำมันเชือ้ เพลิง แกสมาชิกและบุคคลทัว่ ไป นอกจากนีย้ งั มีตลาดนัดหนาโครงการฯ ทุกวันอังคาร พฤหัสบดี และวันเสาร เปนการสรางงานสรางรายไดใหกับเกษตรกรในพื้นที่ และใกลเคียงใหมี การอยูดีกินดี พึ่งพาตนเองไดตอไป

กิจกรรมที่ 4 การถายทอดเทคโนโลยี

โครงการพัฒนาสวนพระองคตำบลบางแตน มีโอกาสใหความรู แกผเู ขาเยีย่ มชม ทัง้ ชาวไทยและตางประเทศโดยการสาธิตแบบมีสว นรวม การบรรยาย/ดูงาน การผลิตเมล็ดพันธุข า วการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ การปลูกผักแบบไรดนิ และกิจกรรมอืน่ ๆ ตัง้ แต ป 2542 - 2551 มีผเู ขาชม และศึกษาดูงาน จำนวน 378 คณะ จำนวน 19,520 ราย ในป 2552 ศึกษาดูงาน 10 คณะ จำนวน 274 คน ป 2553 ศึกษาดูงาน 8 คณะ จำนวน 416 คน ป 2554 ศึกษาดูงาน 13 คณะ จำนวน 1,066 คน ป 2554 ศึกษาดูงาน 2 คณะ จำนวน 117 คน ป 2556 ศึกษาดูงาน 4 คณะ จำนวน 325 คน ป 2557 ศึกษาดูงาน 2 คณะ จำนวน 280 คน รวมศึกษา ดูงานทั้งหมด 419 คณะ จำนวน 21,998 ราย

Prachinburi 19









เสนทางพบ รองผูวาราชการจังหวัด

บทบาทและหนาที่ของรองผูวาราชการจังหวัด

แนวทางการดำเนินงาน

การเขาสูประชาคมอาเซียนในชวงปลายป พ.ศ. 2558 จะทำ ใหเกิดการเปลีย่ นแปลงและสงผลกระทบตอประเทศไทยในหลาย ดาน ซึ่งประเทศไทยจำเปนตองเตรียมความพรอมรับผลกระทบ จากสภาวะแวดลอมทัง้ ทางเศรษฐกิจและสังคมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง ไปอยางรวดเร็ว กอปรกับปจจุบัน ประเทศไทยกำลังอยูในชวง ของการเปลีย่ นผานเชิงโครงสรางดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ โครงสรางประชากรที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปสูสังคมผูสูงอายุ รวมทั้งปญหาความขัดแยงทางการเมืองที่มีผลตอความเชื่อมั่น ทางเศรษฐกิจและการลงทุน รองผูว า ราชการจังหวัด ในฐานะผูช ว ยสัง่ การและปฏิบตั ริ าชการ แทน หรือรักษาราชการแทนผูวาราชการจังหวัดและเปนผูบังคับ บัญชาขาราชการสังกัดการบริหารราชการสวนภูมิภาค รองจาก ผูว า ราชการจังหวัดจึงเปนกลไกหลักของจังหวัดในการบูรณาการ การทำงานในสวนภูมิภาคของหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ภาคเอกชน และ ภาคประชาชน เพื่อบริหารการพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลในเชิง ภารกิจของรัฐ ในการบำบัดทุกข บำรุงสุขใหกับประชาชน เพื่อ ใหประชาชนอยูร ว มกันในชุมชน/หมูบ า นดวยความผาสุกตลอดไป

1. ดานแผนงาน 1.1 สนับสนุนบทบาท / ภารกิจของผูวาราชการจังหวัด ในการจัดทำวิสยั ทัศนและยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดโดยผาน กระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน มารวมคิดรวมทำ รวม ขับเคลื่อนยุทธศาสตร โครงการ/กิจกรรม ตลอดจนนโยบาย สำคัญของผูวาราชการจังหวัด ใหบรรลุเปาหมายตามนโยบาย ของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และ สวนราชการที่เกี่ยวของ รวมทั้งความตองการของประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การดำเนินงานตามนโยบายและโครงการที่สำคัญของรัฐบาล เชน การเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ในป พ.ศ. 2558 (AC 2015) การเสริมสรางความปรองดองสมานฉันท และเทิดทูนพิทกั ษรกั ษาไวซง่ึ สถาบันพระมหากษัตริยก ารปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด การเตรียมการปองกันปญหาอุทกภัย และภัยแลง เปนตน 1.2 ใหการสนับสนุนผูวาราชการจังหวัดในการกำกับดูแล โครงการสำคัญ (Flagship Project) ของสวนราชการทีผ่ วู า ราชการ จังหวัดมอบหมายใหกำกับดูแลการปฏิบัติราชการเพื่อสนับสนุน การทำงานของแตละสวนราชการใหบรรลุเปาหมายที่สำคัญ โดยติดตามและประสานการปฏิบัติ เพื่อใหโครงการเหลานี้ บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายของรัฐบาลอยางมีประสิทธิภาพ และตอบสนอง ความตองการของประชาชนในพื้นที่

ตองเปนนักปกครองที่รูคน รูงาน รูพื้นที่ และที่สำคัญตองเปนนักบริหารคุณธรรม

นายสมฤกษ บัวใหญ

รองผูวาราชการจังหวัดปราจีนบุรี “ทานสมฤกษ บัวใหญ” รับราชการในตำแหนงรองผูว า ราชการจังหวัดปราจีนบุรี เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2556-ปจจุบัน โดยกำกับดูแลงานดานเศรษฐกิจ สิง่ แวดลอมและบริหารจัดการ รวมถึงรับผิดชอบนโยบายทีส่ ำคัญ ไดแก งานดานการวางแผน ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด งานศูนยดำรงธรรมจังหวัด งานดานการคุมครองผูบริโภค งานดานสิ่งแวดลอม งานเกี่ยว กับการเสริมสรางจริยธรรมและธรรมาภิบาล เปนตน

32

ประวัติการศึกษา ทานสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จาก คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโท จากคณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประวัติการทำงาน ทานเคยเปนนักพัฒนาชุมชน เจาหนาที่ วิเคราะหนโยบายและแผน หัวหนาฝายตาง ๆ ของ สนง.จังหวัด และหัวหนาสำนักงานจังหวัดในหลายจังหวัด แตไมวา จะปฏิบตั ิ หนาที่ในตำแหนงใด ทานก็มีคติพจนประจำใจที่ยึดมั่นเสมอ คือ “ ทำวันนี้ใหดีที่สุด สิ่งที่ผานไป ลวนผานพนไปแลว ”

Prachinburi 33


โครงการหวยโสมงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เปนโครงการกอสรางอางเก็บน้ำขนาดใหญ

2. ดานบริหารงาน 2.1 สนับสนุนผูวาราชการจังหวัดในการติดตามสอดสอง ดูแล และรับทราบปญหาความเดือดรอน หรือความตองการ ของราษฎรในพื้นที่ดวยการบริหารงาน ภายใตกรอบแนวคิด 4 แนวทาง ไดแก 1. การบริหารจัดการดวยยุทธศาสตรเชิงรุก (OS Strategy) โดยการนำขอมูลสภาพแวดลอมในสวนของจุดแข็งและโอกาส มาพิจารณารวมกันเพื่อกำหนดเปนกลยุทธในการบริหารหรือ แกไขปญหาในเชิงรุก 2. การบริหารจัดการดวยยุทธศาสตรเชิงปองกัน (ST Strategy) คือการนำขอมูลสภาพแวดลอมในสวนของจุดแข็งและขอจำกัด มาพิจารณารวมกันในการบริหารการปองกันปญหาภายในจังหวัด 3. การบริหารจัดการดวยยุทธศาสตรเชิงการแกไข (WO Strategy) ดวยการนำขอมูลสภาพแวดลอมของจังหวัดในประเด็นจุดออน และโอกาสมาเปนหลักในการกำหนดทิศทางการแกไขปญหา ตางๆ 4. การบริหารจัดการดวยยุทธศาสตรเชิงรับ (WT Strategy) โดยนำขอมูลการประเมินจุดออนและขอจำกัดของจังหวัดมา ประมวลผลรวมกันและกำหนดเปนยุทธศาสตรการดำเนินงาน ของจังหวัดในเชิงรับ ทั้งนี้ การบริหารงานเชิงกลยุทธใน 4 แนวทางขางตนนี้ ถือเปนกระบวนทัศนหลักในการปฏิบัติงานเพื่อมุงผลสัมฤทธิ์ (accountability for results) เปนสำคัญ 2.2 สนับสนุนผูว า ราชการจังหวัดในการแกไขปญหาสำคัญ ในพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาวะวิกฤต เชน กรณีภัยพิบัติ ตางๆ รองผูวาราชการจังหวัดจะตองเปนผูใตบังคับบัญชาที่ ยืนหยัดเคียงบาเคียงไหลกับผูวาราชการจังหวัด ในการชวย เหลือเกื้อกูลและแกไขปญหาตาง ๆ ใหลุลวงไปดวยความ รวดเร็วและทันเหตุการณ 2.3 สนับสนุนผูวาราชการจังหวัดในการประชาสัมพันธ ผลงานของรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย และ จังหวัด เพื่อให ผูบังคับบัญชา และประชาชนทั่วไปไดรับทราบขอมูลความ คืบหนาและผลการดำเนินงาน ที่เกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่

34

4. ดานบริหารทรัพยากรและงบประมาณ สนับสนุนผูว า ราชการจังหวัดในการกำกับดูแล และติดตามผล การปฏิบตั งิ านของสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ อำเภอ และ องคกร ปกครองสวนทองถิน่ ใหเปนไปตามนโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม และโครงการ/แผนงาน/กิจกรรมของจังหวัดซึ่งจะตองเทาทัน ตอกระบวนทัศนการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม (New Public Management) ที่มุงผลสัมฤทธิ์เปนหลัก (Resulted Based Management) โดยยึ ด ถื อ กรอบในการปฏิ บ ั ต ิ ง านตาม ขั้นตอน ดังนี้ 1. กำหนดประเด็นการดำเนินงานและการบริหารจัดการ ที่มีความชัดเจน 2. ควบคุมและติดตามการปฏิบัติงานใหเปนไปตามกรอบ ที่วางไว แตยังคงไวซึ่ง ความคลองตัวและยืดหยุนตอความ เปลี่ยนแปลงสูง 3. ควบคุมและติดตามการเบิกจายเงินงบประมาณใหเปน ไปตามแผนปฏิบัติการ หรือ ตามขอสั่งการที่คณะรัฐมนตรี/ สำนักงบประมาณกำหนด 4. ควบคุมและติดตามการดำเนินงานใหเปนไปตามตัว ชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ และแผนปฏิบัติราชการ 5. ควบคุมและติดตามการประเมินผลการดำเนินงานของ สวนราชการตางๆ ใน 4 มิติ ไดแก 1. มิตดิ า นประสิทธิผล (Productivity และ Value for money) 2. มิติดานคุณภาพการใหบริการ 3. มิติดานประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 4.-- มิติดานการพัฒนาองคการ 3. ดานบริหารทรัพยากรบุคคล สนับสนุนผูวาราชการจังหวัดในการบริหารงานบุคคล การกำกับดูแลและพัฒนาบุคลากร ทุกภาคสวนในจังหวัดให มีศักยภาพและประสิทธิภาพ เพื่อใหการขับเคลื่อนนโยบาย รัฐบาลและภารกิจของจังหวัดบรรลุเปาหมายตามวิสัยทัศน ดวยการบูรณาการทุกภาคสวนไวดว ยกันและกำหนดเปนวาระ พื้นที่หรือวาระของจังหวัดเปนเปาหมายดวน ทั้งนี้การดำเนิน การดังกลาวจะเกิดขึน้ ไดกต็ อ เมือ่ บุคลากรทุกภาคสวนมีศกั ยภาพ ใกลเคียงกัน รวมถึงตองไดรับการสนับสนุนเรื่องขวัญและ กำลังใจในการปฏิบัติงานที่ดี

Prachinburi 35


การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล

คุณสมบัติของรองผูวาราชการจังหวัด การปฏิบตั งิ านในฐานะรองผูว า ราชการจังหวัดในการสัง่ การ และปฏิบตั ริ าชการแทนตามทีไ่ ดรบั มอบหมายในฐานะผูใ ตบงั คับ บัญชาของผูวาราชการจังหวัดนั้น ตองเปนนักบริหารจัดการ ที่มีความรูความสามารถมีความมุงมั่นตั้งใจ ไมหวั่นไหวตอ ความกดดันและมีความฉลาดทางอารมณ ในการบริหาร ที่สามารถบริหารงานภายใตภาวะขอจำกัด หรือสภาวะวิกฤต และการบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ์เปนสำคัญ รวมทั้ง ตองเปนนักปกครองที่รูคน รูงาน รูพื้นที่ และที่สำคัญตอง เปนนักบริหารคุณธรรม โดยยึดหลักปฏิบัติสำคัญในชีวิต 3 สวน ไดแก การครองตน ครองคน และ ครองงานอันจะ เปนสวนสำคัญในการสนับสนุนการทำงานของผูวาราชการ จังหวัด ใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ในดานตาง ๆและกอใหเกิด ประโยชนสุขตอประชาชนและราชการโดยรวมได

36

การจะบรรลุสูเปาหมายได ทุกภาคสวนจะตอง เขามามีสวนรวมในกระบวนการพัฒนารวมคิด รวมทำรวมขับเคลือ่ นยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด

ภาระงานที่กำกับดูแลเปนพิเศษ สวนใหญเปนงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจในจังหวัด เชน โครงการหวยโสมงอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริซง่ึ เปนโครงการ กอสรางอางเก็บน้ำขนาดใหญ ความจุ 295 ลานลูกบาศกเมตร ซึง่ จะชวยแกปญ หาน้ำทวมและภัยแลงไดเปนอยางดี พืน้ การเกษตร ไดรับประโยชน 111,300 ไร และการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ภายในจังหวัด จำนวน 538 ตัน/วันโดยนำขยะมาใชเปนเชือ้ เพลิง ในการผลิตไฟฟา ตามนโยบายรัฐบาล

นโยบายของรัฐบาลทีแ่ ถลงตอสภานิตบิ ญั ญัตแิ หงชาติ ในสวน ที่เกี่ยวของกับกระทรวงมหาดไทย และจังหวัดปราจีนบุรี มี 11 เรื่อง ไดแก การปกปองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย การรักษาความมั่นคงของรัฐและการตางประเทศ การลดความ เหลือ่ มล้ำของสังคม และการสรางโอกาสการเขาถึงบริการของรัฐ การศึกษาและเรียนรู การทำนุบำรุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม การยกระดับคุณภาพบริการ ดานสาธารณสุขและสุขภาพของ ประชาชนการเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ การสงเสริม บทบาทและการใชโอกาสในประชาคมอาเซียน การพัฒนาและ สงเสริมการใชประโยชนจากวิทยาศาสตรเทคโนโลยี การวิจัย และพัฒนาและนวัตกรรม การรักษาความมัน่ คงของฐานทรัพยากร และการสรางสมดุลระหวางการอนุรกั ษกบั การใชประโยชนอยาง ยัง่ ยืนการสงเสริมการบริหารราชการแผนดินทีม่ ธี รรมาภิบาลและ การปองกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในสวนของจังหวัดจะตองเรงรัดดำเนินการ ไดแก ดาน เศรษฐกิจ ดวยการเรงรัดการเบิกจายงบประมาณภาครัฐ ใหได ตามเปาหมายที่รัฐบาลกำหนด เปนการรวมกระตุนเศรษฐกิจ อีกทางหนึ่งดวยการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน ซึ่งตองทำความเขาใจใหกับพี่นองประชาชน การสรางบานเมือง ใหนาอยู โดยการบริหารจัดการขยะมูลฝอยโดยสงเสริมใหเกิด กลไกการคัดแยกขยะหรือนำกลับมาใชใหม นำขยะไปใชเปน เชื้อเพลิงในโรงไฟฟาพลังงานขยะชุมชน

ผลการดำเนินงานที่ภาคภูมิใจ

สวนใหญจะเปนการดำเนินการแกไขปญหาความเดือดรอน ใหแกประชาชน เชน การแกไขปญหาการบุกรุกพืน้ ทีถ่ นนใชเปน ที่ขายสินคาหาบเร แผงลอย ที่บริเวณสี่แยกนเรศวรโดยการยาย พอคาแมคา คิวรถตู/รถโดยสาร วินมอเตอรไซคแลวจัดระเบียบ ใหมใหไปอยูท บ่ี ริเวณศูนย OTOP ของจังหวัดพืน้ ทีเ่ ดิมก็ปรับปรุง ใหสวยงาม เปนการคืนความสุขใหพน่ี อ งประชาชนในการใชเสน ทางสัญจรไปมาดวยความปลอดภัย

ฝากถึงภาคสวนตาง ๆ และชาวปราจีนฯ จังหวัดปราจีนบุรี ไดกำหนดวิสัยทัศนวา“เมืองนาอยูอุตสาห กรรมสีเขียว แหลงทองเทีย่ วเชิงนิเวศและสุขภาพ” ซึง่ การจะบรรลุ สูเปาหมายได ทุกภาคสวนจะตองเขามามีสวนรวมในกระบวน การพัฒนารวมคิดรวมทำรวมขับเคลื่อนยุทธศาสตร การพัฒนา จังหวัด เพราะจังหวัดปราจีนบุรีเปนของพี่นองประชาชนชาว จังหวัดปราจีนบุรีทุกทาน

Prachinburi 37





เสนทางพบ

หัวหนาสํานักงานจังหวัด

นายนภา บุณยเกียรติ หัวหนาสํานักงานจังหวัดปราจีนบุรี “นายนภา บุณยเกียรติ” ดํารงตําแหนง หัวหนาสํานักงาน จังหวัดปราจีนบุรี ตัง้ แตป พ.ศ.2556-ปจจุบนั ทานสําเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตรบณั ฑิต (รัฐศาสตร) จากมหาวิทยาลัย รามคําแหง และระดับปริญญาโทพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารทรัพยากรมนุษยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ดานการรับราชการ ทานเริ่มรับราชการในตําแหนง ปลัดอําเภอ จ.อุดรธานี ซึ่งในขณะนั้นเปนพื้นที่สูรบ และชวงชิง มวลชนกับ ผกค. โดยทานไดรวมทํางานมวลชนจนสามารถยุบ เลิกเขตงาน 555 ของกลุม สหายลองใหกลับเขามาเปนผูร ว มพัฒนา ชาติไทยได กอนจะยายไปเปนผูชวยจาจังหวัด จ.สมุทรปราการ, จ.ศรีสะเกษ, จ.นครราชสีมา และเปนเจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 6 สนจ.นครราชสีมา, เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 6 สนจ.ศรีสะเกษ ,นักการขาว 6 สนจ.พระนครศรีอยุธยากอนจะ ไดรบั มอบหมายใหไปชวยราชการสํานักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตั้งแตพ.ศ.2542-2543 ซึ่งทานภาคภูมิใจที่ไดมีสวนในการเสนอ นายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภัย) ใหเห็นชอบเรือ่ งเลือ่ นเงินเดือน กรณีพิเศษในอัตรา 1% ของขาราชการในพื้นที่ของ ศอ.บต. หลังจากนั้นไดไปรับตําแหนงเจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 7 (หัวหนาฝายอํานวยการ) สนจ.อํานาจเจริญ และสนจ.สระแกว และไปเปนเจาหนาทีว่ เิ คราะหนโยบายและแผน 8 สนจ.มุกดาหาร, เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน 8 ว สนจ.สมุทรปราการ, เจาหนาที่วิเคราะหงานบุคคล 8 สนจ.สมุทรปราการ และเปน นักทรัพยากรบุคคล ระดับชํานาญการพิเศษ สนจ.สมุทรปราการ ในระหวางนีท้ า นเขารับการฝกอบรม หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุน ที่ 56 กระทรวงมหาดไทย (20 มกราคม-27 พฤษภาคม 2554) จากนัน้ มาดํารงตําแหนงหัวหนาสํานักงานจังหวัดจันทบุรี (อํานวย การระดับสูง) และปจจุบนั คือ หัวหนาสํานักงานจังหวัดปราจีนบุรี (อํานวยการระดับสูง) นิตยสาร SBL ไดรบั เกียรติอยางสูงจากทานนภา บุณยเกียรติ กรุณาสละเวลาอันมีคาใหสัมภาษณพูดคุยถึงบทบาทหนาที่ และ คุณสมบัติที่ดีของหัวหนาสํางานจังหวัด ตลอดจนไดแสดงทัศนะ ตอการทํางานของทานจิตรา พรหมชุตมิ า ผูว า ราชการจังหวัดปราจีนบุรี หญิงเกงในดวงใจของชาวปราจีนบุรี

44


บทบาทของหัวหนาสํานักงานจังหวัด หัวหนาสํานักงานจังหวัดตองทําทุกวิถที าง ใหเปนทีย่ อมรับ ของผูว า ราชการจังหวัด และทํางานประสานความรวมมือในลักษณะ เปนพันธมิตรกับสวนราชการในการชวยอํานวยการ และสนับสนุน การปฏิบัติราชการของผูวาราชการจังหวัด เปนศูนยกลางในการ ประสานงานกับทุกภาคสวนทัง้ สวนราชการในสวนกลางทีอ่ ยูใ นจังหวัด สวนภูมภิ าค สวนทองถิน่ องคกรเอกชน การอํานวยการความเปนธรรม แกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชน นอกจากนีย้ งั เปนผูข บั เคลือ่ นการบูรณาการแผนงาน/โครงการ ของสวนราชการใหมที ศิ ทาง สอดรับกับยุทธศาสตรชาติยทุ ธศาสตร กระทรวง แปลงไปสูก ารปฏิบตั ใิ นระดับจังหวัด ใหบรรลุวสิ ยั ทัศน พันธกิจของจังหวัด ใหเกิดประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบขอมูล สารสนเทศเพื่อการบริหาร การประมวลผลขอมูลเพื่อใหทันกับ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพื่อรองรับการเขาสูประชาคม อาเซียน รวมทัง้ เชือ่ มโยงขอมูลกับสวนราชการสวนกลางในฐานะ ที่เปนศูนยขอมูลของจังหวัด ประการสุดทายคือพัฒนาบุคลากร ของสํานักงานจังหวัดใหรองรับกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในปจจุบนั รวมถึงสวนราชการอื่นๆ ในจังหวัด ใหมีความรู ความสามารถ ในการปฏิบัติราชการ

Prachinburi 45


“ตองมีทศั นคติ และความมุง มัน่ ทีจ่ ะทําหนาที่ ขับเคลื่อนสํานักงานจังหวัดใหเป น ที่ยอมรับ เป น ทีน่ า เชือ่ ถือ และเป น ทีไ่ ววางใจ”

หลักการบริหารงานสํานักงานจังหวัด 1. หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ซึ่งนั่นคือการ บริหารงานโดยใชหลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุมคา 2. หลักการทํางานเปนทีม การทํางานเปนทีมเปนสิง่ จําเปน สําหรับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงาน มีบทบาทสําคัญทีจ่ ะนําไปสูค วามสําเร็จของงานทีจ่ ะตองอาศัยความ รวมมือของบุคลากรเปนอยางดี และบุคลากรทุกคนนั้นจะตอง มีเปาหมายเดียวกันมีการวางแผนการทํางานรวมกันมีอุดมการณ ที่แนนอน

46


คุณสมบัติของหัวหนาสํานักงานจังหวัดที่ดี

ตองมีทศั นคติ และความมุง มัน่ ทีจ่ ะทําหนาทีข่ บั เคลือ่ น สํานักงานจังหวัดใหเปนทีย่ อมรับเปนทีน่ า เชือ่ ถือ และเปนทีไ่ ววางใจ ของผูบ งั คับบัญชาและสวนราชการ กลายืนหยัดในสิง่ ทีถ่ กู ตองเปนธรรม มองประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้ง ตองอุทศิ ทัง้ แรงกาย แรงใจ ทุม เททุกอยาง เพือ่ เปาหมาย ที่จะทําใหสํานักงานจังหวัดเปนที่ยอมรับของทุกฝายใหมากที่สุด ตองนําพาผูใตบังคับบัญชา ใหรวมกันขับเคลื่อนงาน และภารกิจของจังหวัด ของสํานักงานจังหวัดใหได สรุปคือการปฏิบตั หิ นาทีใ่ นตําแหนงหัวหนาสํานักงานจังหวัด ตองอาศัยภาวะผูน าํ และความสามารถในการใชความรูท างวิชาการ เทคโนโลยีสมัยใหม และประสบการณมาเปนแนวทางในการ บริหารงาน ตองสามารถประสานความรวมมือของหนวยงานภาครัฐ และภาคประชาชน เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว และไมวา สภาพสังคมไทยจะมีการเปลี่ยนแปลงไปอยางไรก็ตาม หัวหนา สํานักงานจังหวัดจะตองปรับเปลี่ยนบทบาท ทั้งในแนวความคิด วิธกี ารทํางาน ความประพฤติใหสอดคลองกับสภาวการณปจ จุบนั สามารถปฏิบัติงานตามนโยบายและภารกิจได และประพฤติ และวางตัวอยางเหมาะสมเปนทีย่ อมรับ และเปนแบบอยางใหผใู ต บังคับบัญชาเลือ่ มใส ศรัทธา เพือ่ นําพาสํานักงานจังหวัดใหบรรลุ เปาหมายทีก่ าํ หนดไว และบุคลากรทุกคนยอมรับถือความถูกตอง เพื่อบรรลุเปาหมายรวมอันเดียวกัน “ทานมีความกลาหาญและกลายืดหยัดในสิง่ ทีถ่ กู ตอง เป น ธรรมโดยไมหวัน่ ไหว สิง่ นีเ้ ป น จุดเดนทีผ่ มยอมรับนับถือ”

Prachinburi 47


“หลายสิง่ หลายอยางทีท่ า นทําไวใหกบั คนปราจีนบุรี ผมเชือ่ วาในวันนีแ้ ละวันขางหนา คนปราจีนบุรจี ะระลึกถึงทานครับ” ทัศนะตอทานผูว า ฯหญิงเกงและแกรง

เทาทีไ่ ดทาํ งานกับทานผูว า ฯจิตรา พรหมชุตมิ า มา 1 ป 7 เดือน ผมมองวาในเนื้อแทของทานมีความออนหวาน นุมนวล มีความเปนกุลสตรี แตในบทบาทของความเปนผูว า ราชการจังหวัด ผมวาทานมีความรับผิดชอบตอตําแหนงหนาทีแ่ ละพีน่ อ งประชาชน สูงมากทานเขมแข็งและแข็งแกรงมาก มีจติ วิญญาณของขาราชการ ทีท่ าํ งานเพือ่ ประโยชนสขุ ของประชาชนสูงมากจริงๆ ไมเคยมีวนั หยุด ไมเคยดืม่ เหลา เทีย่ วเตร หรือเกีย่ วกับอบายมุขใดๆ ทัง้ สิน้ ทานมี ความกลาหาญและกลายืดหยัดในสิง่ ทีถ่ กู ตอง เปนธรรมโดยไมหวัน่ ไหว สิ่งนี้เปนจุดเดนที่ผมยอมรับนับถือในผูหญิงคนนี้จริงๆ ทานผูวาฯจิตรา เปนตัวอยางของผูหญิงที่มารับหนาที่ สําคัญของชาติบา นเมืองโดยเฉพาะในชวงแหงการปฏิรปู แมจะเปน ผูห ญิงแตมจี ดุ เดนทีเ่ ปนคนทํางาน มีจดุ ยืนบนพืน้ ฐานของประโยชน สวนรวมและเพื่อจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งในสถานการณแบบนี้ถาไม เกงจริง ไมทาํ งานจริงไมมจี ดุ ยืนทีม่ นั่ คงดุจหินผาอาจจะตานแรงพายุ ทีเ่ กรีย้ วกราดไมได นีค่ อื จุดเดนของความเปนผูห ญิงสําหรับผูห ญิง คนนี้ครับ หลายสิ่งหลายอยางที่ทานทําไวใหกับคนปราจีนบุรี ผมเชือ่ วาในวันนีแ้ ละวันขางหนาคนปราจีนบุรจี ะระลึกถึงทานครับ

48


“ผมภูมใิ จทีม่ สี ว นรวมสรางพระพุทธทวารวดีศรีปราจีน

สิรนิ ธรโลกนาถ และมีสว นทีท่ าํ ใหรัฐบาลเป น เจาภาพโครงการพุทธอุทยานโลกฯ

ผลการดําเนินงานที่ภาคภูมิใจ

ผมชอบทีพ่ วกเราชาวสํานักงานจังหวัดชวยกันทํางานให เปนทีย่ อมรับของหลายๆ ฝายไดพฒั นาปรับปรุงศูนยราชการจังหวัด หองประชุม อาคารหอประชุม บานพักผูวาฯ รองผูวาฯ หัวหนา สํานักงาน บานพักเจาหนาที่ รวมทั้งของบประมาณสรางแฟลต ใหขา ราชการสํานักงานจังหวัด ผมภูมใิ จทีม่ สี ว นรวมสรางพระพุทธ ทวารวดีศรีปราจีน สิรินธรโลกนาถ และมีสวนที่ทําใหรัฐบาลเปน เจาภาพโครงการพุทธอุทยานโลกฯ ซึง่ โครงการนีเ้ ชือ่ วาถาทุกฝาย รวมมือกันจะทําความเจริญรุง เรือง ความรัก ความสามัคคี ใหเกิดกับ จังหวัดปราจีนบุรใี นอนาคตเปนอยางมากครับ ถึงแมผมจะเกษียณ อายุราชการไปแลว แตกม็ คี วามผูกพันกับโครงการนี้ และจะรวมแรงรวมใจ ชวยผลักดันโครงการพุทธอุทยานโลกฯ ใหเปนมรดกทางอารยธรรม แหงความเจริญรุง เรืองของจังหวัดปราจีนบุรใี นอนาคต ซึง่ เปนสิง่ ทีภ่ มู ใิ จและคิดวาคุมค  ากับระยะเวลาทีไ่ ดมารับราชการทีจ่ งั หวัดปราจีนบุรี ในชวงเกือบ 2 ป ที่ผานมาครับ

Prachinburi 49


<EV ¤CMT-;ÂĽ <EVKS9 9T@Ta$ +lT$S6¤CMT-;ÂĽ LlT;S$*T;bM‰ 7Sh*OD[ 9Wg ¡ ;V'COZ7LTM$EEC= ;9O* _G%9Wg ´¾œ¹­ CÂŤÂŽ OÂŤJEWET-T +ÂŤ-G<ZEW LlT;S$*T;LT%T7Sh*OD[ 9Wg ¡ _%7OZ7LTM$EEC$<V;9E <ZEW _G%9W g ¹²¹Ž¹ CÂŤÂś OÂŤ$<V;9E <EZ W +ÂŤ=ET+W;<ZE W _= ;>[ >GV7-Vh;L I;OW_Gf'9EO;V'L `GR-Vh;L I;DT;D;7 7 T*e L *%TD9Sh*b;`GR7 T*=ER_9Ja6DCW$lTGS*$TE>GV7 =ERCT5 °­ G T;-V;h 7 O_6YO;CW@;S$*T;=ERCT5 ²­­ '; a6D<EVK9S c6 E<S $TEL *_LEVC+T$ ÂżĂŒĂ† `GRc6 E<S $TEES<EO* 2T; ÆĂ?ĂŒ Ž¹­­Ž¡¯­­¾Š Ă‘Ă? Ž³œ¹œ

We offer One-Stop Service

‡ International Air Freight Forwarding ‡ International Sea Freight Forwarding ‡ Customs Brokerage

‡ Domestic Transportation ‡ Packing and Moving ‡ Warehouse and Distribution KWE-Kintetsu World Express (Thailand) Co., Ltd. Kintetsu Logistics (Thailand) Co., Ltd. 99 Soi Ladprao 28, Ratchadapisek Road, Chankasem, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand Tel : (66) 2792 5999, 2515 3888 Fax : (66) 2511 5720 – 8 E-mail : kwebkk.mailbox@kwe.com



¨Í§Çѹ¹Õé â»ÃâÁªÑè¹¾ÔàÈÉ ·Ø¡ÃØ‹¹

੾ÒÐ ¤Ù ¢w Τ à·‹Ò¹Ñé¹

´Í¡àºÕéÂ

»ÃÒ¨Õ¹ºØÃÕ 037-218525 ©ÐàªÔ§à·ÃÒ 038-820750 ÊÐá¡ŒÇ 037-421509

ʋǹŴÊÙ§ÊØ´

0%

100,000

¿ÃÕ...»ÃСѹÀѪÑé¹1

THE ALL NEW EVEREST

¤ ªÙw Ý |zÐ z ª ¡² iÙ ¢²

1,269,000

ʋǹŴÊÙ§ÊØ´

¿ÃÕ...»ÃСѹÀѪÑé¹1

100,000

Åç͵ÊØ´·ŒÒÂ!!! ËÁ´áÅŒÇËÁ´àÅÂ

‹§Áͺ! Ê Á Í Œ à ÁÕö¾ ʋǹŴÊÙ§ÊØ´

40,000

µŒ¹áºº¡ÃÐºÐ Ü Ù ¤Ð«w h|


สารอุตสาหกรรม จังหวัดปราจีนบุรี

ในป 2556 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) ของปราจีนบุรมี มี ลู คา เทากับ 182,201 ลานบาท ซึง่ เปนมูลคาการผลิตจากสาขาอุตสาหกรรม ถึง 71.2% ( 129,987 ลานบาท ) ของทัง้ หมด ไมเพียงเทานัน้ อุตสาหกรรม ที่สำคัญของจังหวัดปราจีนบุรี ลวนสงผลตอการพัฒนาประเทศ และ การเนินชีวิตในยุคปจจุบันทั้งสิ้น อาทิ อุ ต สาหกรรมชิ ้ น ส ว นยานยนต เป น กิ จ การเกี ่ ย วกั บ รถยนต รถจั ก รยานยนต เครื ่ อ งยนต ร ถพ ว ง หรื อ ส ว นประกอบ เป น ต น อุตสาหกรรมกระดาษและผลิตภัณฑจากกระดาษ เนื่องจากจังหวัด ปราจีนบุรมี วี ตั ถุดบิ เปนจำนวนมาก โดยเฉพาะไมยคู าลิปตัส อุตสาหกรรม ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนการผลิต ประกอบ ดัดแปลง เครื่องมือ หรือเครือ่ งไฟฟา เครือ่ งรับวิทยุ โทรทัศน เครือ่ งกำเนิดไฟฟา ฮารดดิสก ไดร เปนตน อุตสาหกรรมอาหาร ซึง่ นำวัตถุดบิ ทีไ่ ดจากภาคการเกษตร มาแปรรูป อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เปนการผลิตเสื้อผา สำเร็จรูป และเครื่องแตงกาย และอุตสาหกรรมพลาสติกซึ่งสวนใหญ เปนอุตสาหกรรมที่ผลิตสินคาปอนเปนวัตถุดิบใหกับอุตสาหกรรมอื่นๆ เชน อุตสาหกรรมยานยนต โรงงานผลิตปุย โรงงานน้ำตาล เปนตน ดวยเหตุที่การผลิตในภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดปราจีนบุรี มีความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศดังที่กลาวมาขางตน สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี จึงใหความสำคัญกับนโยบาย ดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหภาคอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับชุมชน และสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน และเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศน (Vision) ของจังหวัดที่วา

…………………………………. (นายสมคิด ตัณฑศรีสุข) อุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี


เสนทางพบ อุตสาหกรรมจังหวัด

ภาพรวมดานอุตสาหกรรมในปราจีนบุรี

ในป 2556 ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด Gross Provincial Product : GPP มีมูลคาเทากับ 129,987 ลานบาท โดยมี อุตสาหกรรมที่โดดเดน และมูลคาการลงทุนสูง ไดแก อุตสาหกรรมกระดาษ มีจำนวน 27 โรงงาน เปนโรงงานขนาดใหญหลายโรงงาน ซึง่ เปนบริษทั ในเครือ Double A เงินลงทุน 34,723,757,730 บาท คนงาน 3,395 คน อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มีจำนวน 46 โรงงาน เงินลงทุน 33,082,891,191 บาท คนงาน 17,963 คน อุตสาหกรรมขนสง (ชิ้นสวนยานยนต) มีจำนวน 62 โรงงาน เงินลงทุน 20,530,269,505 บาท คนงาน 7,159 คน นอกจากนี้ในพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี ยังมีเขตประกอบการ อุตสาหกรรม จำนวน 1 แหง คือเขตอุตสาหกรรมกบินทรบุรี มีพน้ื ที่ 2,563 ไร จำนวนโรงงาน 63 โรง และมีสวนอุตสาหกรรม จำนวน 3 แหง คือ 1. สวนอุตสาหกรรม บริษทั สหพัฒนาอินเตอรโฮลดิง้ จำกัด อำเภอกบินทรบุรี มีพื้นที่ 2,068 ไร จำนวนโรงงาน 27 โรง 2. สวนอุตสาหกรรม บริษัท 304 อินดัสเตรียลปารค จำกัด อำเภอศรีมหาโพธิ มีพื้นที่ 7,500 ไร จำนวนโรงงาน 75 โรง 3. สวนอุตสาหกรรม บริษทั สวนอุตสาหกรรมโรจนะ ปราจีนบุรี จำกัด อำเภอศรีมหาโพธิ มีพน้ื ที่ 3,998 ไร จำนวนโรงงาน 10 โรง

นายสมคิด ตัณฑศรีสุข

อุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี

“พัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวสูสากล อยูรวมกันกับชุมชนอยางยั่งยืน ” คือวิสยั ทัศนการบริหารงานของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรี ปจจุบนั มี “นายสมคิด ตัณฑศรีสขุ ” อุตสาหกรรม จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการกำกับดูแลภาคอุตสาหกรรม ใหมีความเติบโตอยางยั่งยืนควบคูกับการรักษาสภาพ แวดลอมและความเอาใจใสตอชุมชนรอบขาง

54

กลุมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก เชน ชิ้นสวนยานยนต ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส กระดาษ ผลิตภัณฑจากกระดาษ สิ่งทอและและเสื้อผาสําเร็จรูป

ปจจัยเสริมภาคอุตสาหกรรมเขมแข็ง

จังหวัดปราจีนบุรีมีปจจัยซึ่งทําใหภาคอุตสาหกรรมมีความเขมแข็ง ดังนี้ 1. ทําเลทีต่ งั้ เหมาะสมในดานการคมนาคมติดตอกับภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง สูช ายแดนกัมพูชา และเชื่อมโยงกับทาเรือนํ้าลึก สนามบินนานาชาติ 2. มีเขตประกอบการอุตสาหกรรมและสวนอุตสาหกรรมที่เอื้อตอการลงทุน 3. มีสถาบันการศึกษาในพื้นที่ที่พรอมตอการสรางบุคลากร และองคความรูดานเทคโนโลยี ที่สามารถแขงขันไดในตลาดโลก 4. เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ เหมาะแกการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร 5. เปนแหลงวัตถุดบิ ทีม่ คี ณุ ภาพดานการเกษตร สมุนไพร เครือ่ งจักรสาน เชน ใบลานและกกทีส่ ามารถนําไปพัฒนาเปนผลิตภัณฑ ชุมชนสูตลาดสากลได 6. กลุม อุตสาหกรรมในพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก เชน ชิน้ สวนยานยนตไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส กระดาษ ผลิตภัณฑจากกระดาษ สิ่งทอและและเสื้อผาสําเร็จรูป 7. ภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวรองรับตอการเพิ่มขึ้นของตลาดแรงงาน 8. จังหวัดปราจีนบุรีมีการจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือกับประเทศจีน (นครฉางชุน)

Prachinburi 55


อยากใหภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความ “ สําคัญของชุมชน และสังคม ใหสามารถอยูรวมกัน ไดอยางเหมาะสม ”

บผิดชอบตอสังคม “เพืสร่อสรางจิางภูตสํมาิคนึุมกกัในการรั นใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมใหยั่งยืน” ฝากถึงผูประกอบการอุตสาหกรรม

อยากใหภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสำคัญ นโยบายชวยเหลือกลุม SMEs ของชุมชน และสังคมใหสามารถอยูรวมกันไดอยางเหมาะสม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรไี ดดำเนินกิจกรรม และใหชว ยกันรักษาสิง่ แวดลอมโดยไมปลอยของเสีย และมลพิษ ตามโครงการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม โดยใชทนุ ทางวัฒนธรรม สรางความเดือดรอนใหกับชุมชน และภูมปิ ญ ญา:งานมาตรฐานผลิตภัณฑชมุ ชนเพือ่ เปนการเพิม่ ขีดความสามารถ และยกระดับการผลิตของผูผลิตชุมชน นโยบายสำคัญดานสิ่งแวดลอม ใหผลิตสินคาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน โดยดำเนินกิจกรรม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดปราจีนบุรไี ดดำเนินโครงการ ดังนี้ เครือขายอุตสาหกรรมรักษสิ่งแวดลอม จังหวัดปราจีนบุรี 1. ประชาสัมพันธใหผผู ลิตชุมชนทีม่ ผี ลิตภัณฑยงั ไมไดมาตรฐาน ซึ่งไดรับงบประมาณจากกระทรวงอุตสาหกรรมทุกป และได และผลิตภัณฑที่มีการเปลี่ยนมาตรฐานใหมายื่นขอ มผช. จัดกิจกรรม เชน การสัมมนาและศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มองค 2. รับคำขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน (มผช.) พรอม ความรูท างวิชาการในการพัฒนาดานอุตสาหกรรมการอนุรกั ษ เก็บตัวอยางสงหนวยตรวจสอบ สิ่งแวดลอม และสรางจิตสำนึกในการรับผิดชอบตอสังคม 3. กิจกรรมการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ และการ เพื่อสรางภูมิคุมกันใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมใหยั่งยืน ใหคำปรึกษาแนะนำดานการผลิตและดานบรรจุภัณฑ และพัฒนาเครือขายในการปองกันและแจงเบาะแสปญหา 4. สงเสริมและประชาสัมพันธประโยชนในการเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ มลพิษทีเ่ กิดในพืน้ ที่ เพือ่ ใหสามารถแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม ทีไ่ ดรบั มผช. ใหกบั ผูบ ริโภค โดยการรวมออกหนวยบำบัดทุกข โดยไดดำเนินโครงการสำคัญ 2 โครงการ ไดแก บำรุงสุข สรางรอยยิ้มใหประชาชนจังหวัดปราจีนบุรี 1. โครงการการบริหารจัดการและวางระบบธรรมาภิบาล 5. ติดตามคุณภาพผลิตภัณฑที่ไดรับการรับรอง มผช. สิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมของภาคประชาชน

56

น บุ ร ี เ มื อ งน า อยู  “อุปราจี ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ และสุขภาพ ”

วัตถุประสงค - เพื่อใหความสำคัญและสงเสริมการบริหารจัดการและวาง ระบบธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอมรวมทั้งเปดโอกาสใหประชาชน เขามามีสว นรวมในการแกไขปญหาโรงงานกอมลพิษสิง่ แวดลอม - เพื่อการใหบริการและขอมูลขาวสารกับประชาชนที่ถูกตอง - เพื่อรวบรวมขอมูล ความคิดเห็นของประชาชน มาใชใน การกำหนดแนวทางการปฏิบัติงานในปตอไป - เพือ่ สงเสริมและสรางเครือขายรวมกันในการบริหารราชการ แบบมีสว นรวมอยางแทจริง ใหแกขา ราชการะดับจังหวัด และ องคกรเครือขายอุตสาหกรรม - เพื่อกระตุนและผลักดันใหเกิดตนแบบที่ดี (Best Practice) ในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร งานของจังหวัด - เพื่อขยายฐานการสรางความรูความเขาใจและเสริมสราง ความเขมแข็ง และกลไกการมีสวนรวมในระดับจังหวัด ซึ่ง เปนการวางแนวทางในการบริหารราชการแบบมีสวนรวม 2. โครงการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรมใหเปนโรงงานสีเขียว วัตถุประสงค - เพื่อผลักดันการดำเนินงานดาน Green Industry ของ จังหวัดปราจีนบุรีใหประสบความสำเร็จตามนโยบายรัฐบาล - เพื่อสนับสนุนแนวทางการดำเนินงานบริหารจัดการที่ดีให แกผปู ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรม เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ในการแขงขัน ควบคูกับการรักษาสิ่งแวดลอม ที่เกิดผลใหทั้ง โรงงานอุตสาหกรรมชุมชน สามารถอยูร ว มกันในสังคมโดยรวม ไดอยางเหมาะสม - ประชาสัมพันธและรณรงคใหโรงงานอุตสาหกรรมตื่นตัว และตระหนักในเรื่องอุตสาหกรรมสีเขียว

Prachinburi 57


เสนทางทองเที่ยว

58


ปราจีนบุรี เที่ยวสุขใจ สนุกไดทั้งป เยี่ยมชมแหลงโบราณสถาน และ สนุกกับการผจญภัย

Prachinburi 59


ปราจีนบุรี…เที่ยวสนุก สุขไดทั้งป ปราจีนบุรี ไมเพียงแตจะเปนประตูสูกัมพูชาเทานั้น โบราณสถานหมายเลขที่ 25 เปนเทวาลัยกอดวยศิลาแลงอายุราว แตที่นี่ยังมีสถานที่ทองเที่ยวหลากหลายใหคุณเลือกไปสัมผัสได พุทธศตวรรษที่ 11-12 โบราณสถานสระแกว เปนสระน้ำโบราณ ตลอดทั้งป ไปเที่ยวพรอมกันเลยนะคะ ที่ขุดลึกลงไปในชั้นของศิลาแลงธรรมชาติ ผนังขอบสระทุกดาน มีการแกะสลักภาพนูนต่ำเปนรูปสัตวตาง ๆ เชน รูปชาง สิงห เที่ยวถิ่นโบราณสถาน หมู กินรี งูพันเสา สัตวเหลานี้เปนสัตวชั้นสูงสันนิษฐานวาเปน โบราณสถานเมืองศรีมโหสถ ตัง้ อยูท บ่ ี า นโคกวัด ตำบลโคกปบ สระน้ำศักดิส์ ทิ ธิท์ ใ่ ี ชประกอบพิธที างศาสนาอายุราวพุทธศตวรรษ ที่ 6-11 อำเภอศรีมโหสถ เปนเมืองโบราณสมัยทวารวดีขนาดใหญมเี นือ้ ที่ ประมาณ 700 ไร ลักษณะของเมืองมีคเู มือง และคันดินกำแพงเมือง ลอมรอบคูนำ้ หลักฐานสวนใหญทพ่ี บมักจะเกีย่ วเนือ่ งกับศาสนา พราหมณหรือฮินดู เชน เทวาลัย เทวรูป ศิวลึงค โบราณสถานที่สำคัญ ประกอบดวยกลุมโบราณสถาน กลางเมือง อายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 เปนหมูเ ทวาลัยฐานกอดวย ศิลาแลง ดานบนกอดวยอิฐ ดานหลังมีบอน้ำกอดวยศิลาแลง ภูเขาทอง เปนเจดียรูปกลมลักษณะเหมือนโอคว่ำ สมัยทวารวดี

60


เทวสถานพานหิน ตั้งอยูที่บานโคกขวาง ตำบลหนองโพรง อ.ศรีมหาโพธิ เปนโบราณสถานที่กอดวยศิลาแลงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดใหญ มีมขุ ยืนออกไปทัง้ สีด่ า น สันนิษฐานวาประดิษฐานเทวรูป พระนารายณ มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 ในสมัยพระเจาชัยวรมันที่ 1 แหงเจนละ ตรงกลางของซากเทวาลัยมีฐานของเทวรูปซึง่ แตเดิม ตะแคงอยูลักษณะคลายพาน จึงเรียกวา “พานหิน” นอกจากนี้ ยังพบศิลาแลงทรงกลม สกัดเปนรูปฐานเชิง การเดินทาง จากตัวเมืองปราจีนบุรี ไปตามทางหลวง การเดินทาง เทวสถานพานหินอยูเ ลยจากทีว่ า การอำเภอ หมายเลข 319 ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร เลีย้ วซายไปตาม ศรีมหาโพธิ ไปทางบานโคกขวางประมาณ 2 กิโลเมตร แลวแยกขวา ทางหลวงหมายเลข 3070 อีกประมาณ 1 กิโลเมตร เมืองโบราณ ไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร จะอยูท างดานขวามือ โบราณสถานสระมรกต ตั้งอยูที่วัดสระมรกต ตำบลโคกไทย อำเภอศรีมโหสถ เปนกลุมโบราณสถานที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมเขมรโบราณ ลักษณะทีเ่ ห็นปจจุบนั คือรากฐานอาคารทีก่ อ ดวยศิลาแลงและอิฐ ซึง่ กอสรางซอนทับกันหลายยุคหลายสมัยราวพุทธศตวรรษที่ 14 - 18 นอกจากนีย้ งั พบ รอยพระพุทธบาทคู สลักอยูบ นศิลาแลง ลักษณะเดนคือที่ฝาพระบาทสลักเปนรูปธรรมจักรนูนทั้งสองขาง และยังมีการสลักรูปกากบาทเปนหลุมตรงกลางเพือ่ ใชปก ฉัตรหรือรม สันนิษฐานวาสรางขึน้ สมัยทวารวดีถงึ สมัยลพบุรี ราว พ.ศ. 1484 วัดขนาดความกวางรวมของพระบาททั้งสองขางรวม 3.10 เมตร พระบาทขางซายยาว 3.50 เมตร พระบาทขางขวายาว 3.30 เมตร จึงนับวาเปนรอยพระพุทธบาทที่มีขนาดใหญที่สุด และเกาแก ทีส่ ดุ ในประเทศไทย และในวันมาฆบูชาของทุกป จังหวัดปราจีนบุรี ไดจัดงานเทศกาล “มาฆปูรมีศรีปราจีน” ขึ้นที่โบราณสถาน วัดสระมรกต และมีการเวียนเทียนรอบรอยพระพุทธบาทคูด ว ย การเดินทาง จากตัวเมืองปราจีนบุรไี ปตามถนนสุวนิ ทวงศ ใชเสนทางหมายเลข 319 สายปราจีนบุรี-อำเภอพนมสารคาม ระยะทางประมาณ 23 กิโลเมตร แลวเลีย้ วซายไปอีกประมาณ 500 เมตร ก็จะถึงกลุม โบราณสถานแหงนี้

Prachinburi 61


การเดินทาง จากตัวเมืองปราจีนบุรีไปตามทางถนน ปราจีนบุร-ี ประจันตคาม เสนทางหลวงหมายเลข 3452 แลวเลีย้ ว ขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 33 จนถึงสี่แยกประจันตคาม แลวเลี้ยวซายไปตามถนน รพช. และเดินเทาตอไปอีกประมาณ 500 เมตร จนถึงตัวน้ำตกตะครอ น้ำตกธารทิพย ตัง้ อยูท บ่ี า นเนินหินตัง้ ตำบลหนองแกว เปนธารน้ำที่ไหลผานชั้นหินตางระดับ บางชวงไหลผานลานหิน บริเวณกวาง บางชวงเปนแองน้ำลึก สามารถลงเลนน้ำไดมลี านหิน สำหรับนัง่ พักผอน การเดินทาง ใชเสนทางเดียวกันกับน้ำตกตะครอ จะมีทางแยกซายมือ ตรงบริเวณกิโลเมตรที่ 9 และเขาไปอีก ประมาณ 9 กิโลเมตร น้ำตกสมปอย ตัง้ อยูท บ่ี า นเขานอย ตำบลบุฝา ย เปนน้ำตก ที่ไมสูงมากนัก ไหลลดหลั่นผานแกงหิน เปนระยะทางยาว ประมาณ 400 เมตร มีแองน้ำทีล่ งเลนน้ำไดตลอดลำธาร การเดินทาง ใชเสนทางเดียวกันกับน้ำตกธารทิพย กอนถึงน้ำตกตะครอจะมี แยกซายมือบริเวณกิโลเมตรที่ 14 เขาไปจนถึงตัวน้ำตกอีกประมาณ 1.5 กิโลเมตร

ประจันตคาม…อำเภอแหงตำนานน้ำตก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย(ททท.) ภาคกลางเขต 8 (นครนายก สระแกว ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา) บันทึกเอาไววา อำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เปนอำเภอทีม่ นี ำ้ ตกมาก ที่สุดในประเทศไทย โดยมีน้ำตกนอยใหญอยูภายในอำเภอถึง 17 แหงดวยกัน แตเราขอแนะนำน้ำตกที่สำคัญ 4 แหง ไดแก น้ำตกตะครอ ตั้งอยูที่บานตะครอ ตำบลบุฝายอยูหาง จากดานตะครอ ประมาณ 500 เมตร เปนน้ำตกทีม่ ลี กั ษณะเปน แกงน้ำกวางมีสะพานแขวนทอดขามน้ำตกตะครอ ฝงซายของ ลำธารเปนเนินเขา สวนทางดานฝง ขวาเปนปาโปรง เหมาะแกการ พักผอน จากน้ำตกตะครอจะมีทางเดินเทาตอไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบน้ำตกสลัดได เปนน้ำตกทีม่ คี วามสวยงามแตควร ติดตอขอเจาหนาที่นำทางจาก หนวยพิทักษอุทยานแหงชาติ เขาใหญ 10 ที่ตั้งอยูบริเวณน้ำตกตะครอ

62


ผจญภัยแกงหินเพิง อ.นาดี แกงหินเพิง ตั้งอยูที่ตำบลสะพานหิน อำเภอนาดี เปน แกงหินขนาดใหญและสวยงามอยูในลำน้ำใสใหญ ในเขตความ รับผิดชอบของอุทยานแหงชาติเขาใหญที่ 9 อำเภอนาดี ที่นี่เปน แหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง ที่เหมาะแกการลองเรือยางที่ทาทาย และสนุกสนาน โดยเฉพาะในชวงฤดูฝนราวเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน เปนชวงที่มีปริมาณน้ำหลากลนแกง และไหลลดหลั่นเปนชั้นๆ เหมาะสำหรับการลองแกงหินเพิง หากพนชวงฤดูฝนไปแลว แกงหินเพิงนี้จะกลายเปนลานโขดหินกวางใหญ การเดินทาง ใชเสนทางสายอำ เภอกบินทรบุรี-จังหวัด นครราชสีมา เสนทางหลวงหมายเลข 304 จากปากทางกิโลเมตร ที่ 11 เขาไปประมาณ 25 กิโลเมตร แลวจอดรถไวทห่ี นวยพิทกั ษ อุทยานแหงชาติ เขาใหญ หนวยความรับผิดชอบที่ 9 และตอง เดินเทาเขาไปอีกประมาณ 45 นาที ก็จะถึงแกงหินเพิง

Prachinburi 63


เที่ยวแลวสุขภาพดีที่ รพ.เจาพระยาอภัยภูเบศร โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร ตัง้ อยูท ถ่ ี นนปราจีนอนุสรณ หางจากตัวเมืองประมาณ 2.5 กิโลเมตร ที่นี่มีจุดที่นาสนใจ หลายแหง อาทิ

อาคารเจาพระยาอภัยภูเบศร โดดเดนดวยอาคารสองชั้นสไตลบาโรค มีมุขดานหนา ตรงกลางเปนโดม ผนังดานนอกเปนปูนปน ลายพฤกษาประดับซุม ประตูและหนาตาง ภายในตกแตงแบบตะวันตก สรางขึน้ เมือ่ ป 2452 จากทรัพยสินสวนตัวของเจาพระยาอภัยภูเบศร (ชุม อภัยวงศ) เมื่อแรกสรางนั้น ตั้งใจใหเปนที่ประทับของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 5) ซึง่ มีหมายกำหนดการเสด็จ ประพาสเมืองปราจีน อยางไรก็ตามอาคารดังกลาวสรางเสร็จสิน้ หลังจากรัชกาลที่ 5 เสด็จสวรรคตในป 2453

64

เจาพระยาอภัยภูเบศรไมเคยใชอาคารหลังนี้เปนการ สวนตัวเลย และหลังจากจากทีเ่ จาพระยาอภัยภูเบศร ถึงแกอสัญกรรม ลูกหลานของทานเจาพระยาฯไดถวายอาคารนีแ้ ดพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) หลังจากนั้นพระนางเจา สุวัทนาวรราชเทวี ในรัชกาลที่ 6 ผูไดรับมรดกเปนอาคารหลังนี้ ไดบริจาคใหรฐั บาลนำไปใชเปนโรงพยาบาล ในชือ่ “โรงพยาบาลปราจีนบุร”ี เปดทำการเมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน 2484 ในป 2509 ไดเปลีย่ นชือ่ เปน “โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร” ไดใชเปนอาคารรักษาผูป ว ย จนถึงป 2513 ในป 2533 กรมศิลปากรไดขน้ ึ ทะเบียนตึกเจาพระยาอภัยภูเบศร เปนโบราณสถานแหงชาติ จากนั้นในป 2542 สมาคมสถาปนิก สยามในพระบรมราชูปถัมภ มอบรางวัลอาคารอนุรักษดีเดนให อาคารแหงนี้ดวย ปจจุบันอาคารเจาพระยาอภัยภูเบศรเปน แหลงทองเที่ยวที่สำคัญที่ไมควรพลาดของปราจีนบุรี


พิพิธภัณฑการแพทยแผนไทย

อยูภายในอาคารเจาพระยาอภัยภูเบศรที่นี่เปนศูนยการ รวบรวมและอนุรกั ษตำรายาไทย สมุนไพรไทย การแพทยแผนไทย และการแพทยพื้นบานของจังหวัดปราจีนบุรี อีกทั้งยังเปนแหลง การศึกษา คนควา วิจยั และเผยแพรความรูเ กีย่ วกับวิถชี วี ติ ของ คนทองถิ่น ที่เกี่ยวของกับสมุนไพร และการแพทยของทองถิ่น

ศูนยการเรียนรูด า นการแพทยแผนไทยและสมุนไพรภาคประชาชน โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร จัดใหมีการเผยแพร ความรูดานการแพทยแผนไทยและสมุนไพรใหกับประชาชนซึ่ง นักทองเที่ยวสามารถเขารวมกิจกรรมไดทุกวันเสาร-อาทิตย และ วันหยุดนักขัตฤกษ เวลา 08:30 น. - 16:00 น. สอบถาม เพิ่มเติมไดที่ 037-211088 ตอ 3333 หรือ 087-5820597 (ในวัน อภัยภูเบศรเดยสปา เปนศูนยสขุ ภาพองครวมภายใตแนวคิดหลัก 3 ประการคือ และเวลาราชการ) คนหาความสมดุล ไดรับคำปรึกษาและการบำบัดอยางเขาใจ และการฟน ฟูสขุ ภาพ โดยใหบริการในรูปแบบของเดยสปาทีค่ ำนึงถึง ขอขอบคุณขอมูลจาก การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย และขอมูลแหลงทองเทีย่ ว คุณประโยชนทางโภชนาการและทางยาจากธรรมชาติตามแนว ทางแพทยแผนไทย นอกจากนีท้ น่ี ย่ี งั เปนศูนยฝก อบรมแกผสู นใจ จังหวัดปราจีนบุรี ประกอบกิจกรรมไทยสปาดวย

Prachinburi 65


เสนทางพบ

บุคคลสําคัญ

รำลึก 3 ผูมีคุณูปการตอจังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี แมจะเปนจังหวัดชายแดนดานตะวันออก แตกลับมีบทบาทสำคัญตอประเทศไทยในหลากหลายดาน ทัง้ ดาน ประวัตศิ าสตรไทย ดานการทองเทีย่ ว ดานอุตสาหกรรม และดาน การแพทยแผนไทย ซึง่ ผูท เ่ี ปรียบเสมือนอิฐกอนแรกทีว่ างรากฐาน ใหปราจีนบุรีแข็งแกรงเชนทุกวันนี้ได อาจจะมีนอยคนนักที่รูจัก บทบาทของทานเหลานั้น บทความนี้จะพาทานผูอานไป “ รำลึก 3 ผูมีคุณูปการ ตอจังหวัดปราจีนบุรี” ซึ่งประกอบดวย เจาพระยาอภัยภูเบศร ( ชุม อภัยวงศ ) ผูก อ สรางอาคารเจาพระยาอภัยภูเบศร ซึง่ ปจจุบนั คือทีต่ ง้ั ของโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร ทีม่ ชี อ่ื เสียงในดาน สมุนไพรและการแพทยแผนไทยในระดับสากล พระปรีชากลการ หรือ “เจาพอสำอาง” อดีตผูว า ราชการเมืองปราจีนบุรที ม่ี บี ทบาท สำคัญในการสรางถนนหนทาง สถานที่ราชการ อาคารตางๆ

เจาพระยาอภัยภูเบศร (ชุม อภัยวงศ) ตนตระกูลอภัยวงศนน้ั คือ เจาพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ซึ่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชได ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหรบั ราชการอยูท ก่ี มั พูชา เพราะขณะนัน้ เกิดการจลาจลเหลือแตนักองคเองซึ่งยังทรงพระเยาวอยู เมื่อ

66

นักองคเองเติบใหญไดพระราชทานภิเษกใหปกครองกัมพูชา และทรงมีพระราชดำรัสขอเมืองพระตะบอง เสียมราฐ ศรีโสภณ ใหเจาพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ครอบครองตรงตอกรุงเทพฯ ตัง้ แต พ.ศ.2337 เพือ่ เปนบำเหน็จแกเจาพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ที่ปกครองกัมพูชาโดยเรียบรอยมาถึง 12 ป สวน เจาพระยาอภัยภูเบศร (ชุม อภัยวงศ) ผูกอสราง อาคารเจาพระยาอภัยภูเบศรนัน้ เกิดเมือ่ วันที่ 29 กรกฎาคม 2404 ที่จังหวัดพระตะบอง เปนบุตรเจาพระยาคทาธรธรณินทร์ (เยีย) ผูส ำเร็จราชการเมืองพระตะบอง และทานผูห ญิงทิมเมือ่ เจริญวัย มีอายุสมควรเขารับราชการได บิดาจึงไดนำเขาถวายตัวเปนมหาดเล็ก วิเศษอยูมณฑลกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ป พ.ศ.2449 เกิดการผันแปรทางการเมืองระหวาง ประเทศไทยกับอินโดจีนของฝรัง่ เศส ซึง่ กัมพูชาตก อยูใ ตอำนาจ การปกครองของฝรั่งเศส และเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2450 เจาพระยาอภัยภูเบศรจึงไดกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุล จอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 5) ขอพระราชทานพระราชานุญาต อพยพเข า มารั บราชการสนองพระเดชพระคุ ณ ในกรุงเทพฯ ทานจึงอพยพครอบครัวและผูติดตามเขามาอยูในประเทศไทยที่ เมืองปราจีนบุรี


ป พ.ศ. 2452 ทานเจาพระยาอภัยภูเบศร ใชทรัพยสิน สวนตัวสรางตึกใหญสองชั้นสไตลบาโรคงดงามและโดดเดนเปน เอกลักษณ เมือ่ แรกสรางนัน้ ทานตัง้ ใจใหเปนทีป่ ระทับของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 5) ซึง่ มีหมายกำหนดการ เสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี อยางไรก็ตามอาคารดังกลาวสรางเสร็จ สิน้ หลังจากรัชกาลที่ 5 เสด็จสวรรคตในป 2453 ตอมาในป พ.ศ.2455 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ( รัชกาลที่ 6 ) ไดเสด็จ ประพาสเมืองปราจีนบุรี เจาพระยาอภัยภูเบศรจึงขอพระราชทาน พระบรมราชวโรกาส ใชตกึ หลังนีเ้ ปนทีร่ บั เสด็จไดอยางเรียบรอย และสมพระเกียรติ เจาพระยาอภัยภูเบศรไมเคยใชอาคารหลังนี้เปนการ สวนตัวเลย จนกระทั่งทานปวยเปนโรคเรื้อรังมาหลายปจนถึง วันที่ 27 สิงหาคม 2465 ทานถึงแกอสัญกรรมหลังจากที่ทาน อสัญกรรมแลว พระยาอภัยวงศวรเศรษฐ (ชวง อภัยวงศ) บุตรชาย ทีเ่ กิดจากหมอมสอิง้ ซึง่ เปนบุตรวัยอาวุโสกวาคนอืน่ ไดรบั พินยั กรรม ใหเปนผูจัดการมรดก

ตอมาป พ.ศ. 2467 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ไดทรงอภิเษกสมรสกับพระนางเจาสุวทั นาพระวรราชเทวี ซึง่ เปน ธิดาของพระยาอภัยภูเบศร (เลือ่ ม อภัยวงศ) ซึง่ เปนพีช่ ายของพระยา อภัยวงศวรเศรษฐ (ชวง อภัยวงศ) จึงไดถวายตึกเจาพระยาอภัยภูเบศร และสิ่งปลูกสราง ใหแดพระนางเจาสุวัทนาพระวรราชเทวี และ พระนางเจาฯ ไดนอ มเกลาถวายแดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว ตอมาพระองคไดทรงมอบตึกหลังนี้คืนใหกับพระนาง เจาสุวทั นาพระวรราชเทวี หลายปตอ มาพระนางเจาฯ ไดทรงมอบตึก หลังนีใ้ หกบั รัฐบาลเพือ่ ใชเปนโรงพยาบาลและประโยชนตอ สวนรวม ตึกหลังนีจ้ งึ เปนอาคารสำหรับแผนกผูป ว ย ในแหงแรกของ โรงพยาบาลปราจีนบุรี ซึง่ เปนโรงพยาบาลในสวนภูมภิ าคกลุม แรก ที่เปดบริการแกสาธารณชน โดยเปดใหบริการเมื่อป พ.ศ.2484 ตอมาในป พ.ศ.2509 ไดเปลีย่ นชือ่ เปนโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร เพือ่ เปนเกียรติแกเจาพระยาอภัยภูเบศร และในป 2533 กรมศิลปากร ไดขน้ึ ทะเบียนตึกเจาพระยาอภัยภูเบศรเปนโบราณสถานแหงชาติ นอกจากนีใ้ นป 2542 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ไดมอบรางวัลอาคารอนุรกั ษดเี ดนใหอาคารแหงนี้ ตอมาอาคารหลังนี้ ไดใชเปนพิพิธภัณฑการแพทยแผนไทย ปจจุบนั โรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร ยังเปนทีร่ จู กั สำหรับแนวทางการดูแลสุขภาพแบบองครวม และบูรณาการ การแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกเขาสูบ ริการการแพทย ทีไ่ ดมาตรฐาน มีศนู ยสขุ ภาพองครวมอภัยภูเบศรซึง่ ใหบริการเดยสปา รวมถึงเปนศูนยฝกอบรมแกผูสนใจประกอบกิจกรรมไทยสปา เพือ่ รองรับการแขงขันในอุตสาหกรรมสปาของประเทศไทย ซึง่ มี อัตราการเติบโตปละ 15 - 20% นอกจากนี้ชื่อ “อภัยภูเบศร” ยังเปนที่รูจักอยางกวางขวางในฐานะของแบรนดผลิตภัณฑสมุน ไพรระดับตนของประเทศไทย อันเนือ่ งมาจากการทีโ่ รงพยาบาล เปนผูบุกเบิกงานดานการพัฒนาสมุนไพรมานานกวา 30 ป

Prachinburi 67


ในอนาคตอันใกล หากโครงการอภัยภูเบศรเวชนคร หรือ โครงการพัฒนา Health Complex (ซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่เกือบ 200 ไร บริเวณใกลเขาใหญ) แลวเสร็จที่นี่จะเปนองคกรทีเซล (TCELS) หรือ ศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตรของประเทศไทย ที่ไมเพียงแตจะมีความสำคัญในระดับภูมิภาคอาเซียนเทานั้นแต จะมีบทบาทสำคัญในระดับโลกเลยทีเดียว จึงนับไดวา “เจาพระยาอภัยภูเบศร (ชุม อภัยวงศ)” คือ ผูท อ่ี ยูเ บือ้ งหลังความสำเร็จของโรงพยาบาลเจาพระยาอภัยภูเบศร โรงพยาบาลทีส่ วยคลาสสิคทีส่ ดุ ในประเทศไทย และโรงพยาบาล ที่กลายเปนสถานที่ทองเที่ยวสำคัญของจังหวัดปราจีนบุรีดวย

พระปรีชากลการ

พระปรีชากลการ หรือ นายสำอาง อมาตยกุล เปนบุตร ของพระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด) เกิดเมือ่ วันอาทิตย แรม 13 ค่ำ เดือน 9 ปฉลู ตรีศก จุลศักราช 1203 ตรงกับวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2384 พระปรีชากลการ สำเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตร จากสกอตแลนด ประเทศอังกฤษไดถวายตัวเปนมหาดเล็กใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 4) เมือ่ พ.ศ.2401 พ.ศ.2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระ กรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายสำอาง อมาตยกุล ไปชวยพระยากระสาปนกจิ โกศล (โหมด) บิดาทำงานทีโ่ รงกระสาปนสทิ ธิการซึง่ เปนโรงกษาปณ แหงแรกของไทยไดรับพระราชทานเบี้ยหวัดโดยลำดับ ครั้นถึง พ.ศ.2411 โปรดเกลาฯ ใหทำแทนเคลื่อนที่ได สำหรับตัง้ กลองทีจ่ ะทอดพระเนตรสุรยิ ปุ ราคาหมดดวงทีเ่ กาะจาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ นายสำอาง ไดจัดทำขึ้นจนเปนที่พอ พระราชหฤทัยจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานเงินรางวัล 3 ชัง่

68

ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์ เปน พระปรีชา กลการ เมือ่ พ.ศ.2412 และโปรดเกลาฯ ใหเปนเจากรมกระสาปน สิทธิการแทนบิดา เมือ่ อายุได 28 ป ตอมาใน พ.ศ.2413 คราวงาน เฉลิมพระชนมพรรษา โปรดเกลาฯให พระบรมวงศานุวงศ และ ขาทูลละอองธุลพี ระบาทจัดทำซุม ประทีปโคมไฟประกวด พระปรีชา กลการ ไดจดั ทำซุม จุดดวยไฟแกส ประกวดไดท่ี 1 ไดรบั พระราชทาน พระปรีชา กลการ ไดจดั ทำซุม จุดดวยไฟแกส ประกวดไดท่ี 1 ไดรบั พระราชทานเหรียญในงานเฉลิมพระชนมพรรษา ดานหนึ่งของ เหรียญเปนตรา พระเกีย้ ว อีกดานหนึง่ เปนอักษร ส.พ.ป.ม.จ ไขวและ ไดรบั พระราชทาน เหรียญบุษปมาลาดว ตอมาไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปนนายดานพรอม ดวยพระยามนตรีสรุ วิ งศ์ (ชืน่ ) เมือ่ ครัง้ ยังเปนเจาหมืน่ เสมอใจราช พระยาศรีสรราช (หนู) เมือ่ ยังเปนพระยาสุรทรานุกจิ ปรีชา พระยา ราชพงศา (ชม) เมื่อยังเปนหลวงโกษาทำตึกแถวถนนบำรุงเมือง ครัน้ ทำตึกเสร็จแลว ไดรบั พระราชทานหีบหมากทองคำเปนบำเหน็จ ความชอบ ปลายป พ.ศ.2414 เสด็จพระราชดำเนินประพาสเมืองสิงคโปร เมืองปนงั เมืองมะละกา เมืองมรแหมง เมืองยางกุง เมืองกัลกัตตา เมืองอัครา เมืองมันดาริด และเมืองบอมเบย ในอินเดีย โดยเรือ พระที่นั่งชื่อบางกอก โปรดเกลาฯใหพระปรีชากลการ (สำอาง) ตามเสด็จเปนนายชางผูค วบคุมเครือ่ งยนตในเรือพระทีน่ ง่ั ไดรบั พระราชทานเครื่องยศ เสื้อปก กระบี่ หมวกยอดและพระเกี้ยว พ.ศ.2416 โปรดเกลาฯใหพระปรีชากลการทำบอทองทีเ่ มือง กบินทรบุรี และเมืองปราจีนบุรี โดยไดจัดตั้งเครื่องจักรทำทอง ทีเ่ มืองกบินทรบรุ ี และสรางตึกทีจ่ ะจัดตัง้ เครือ่ งจักรทีเ่ มืองปราจีนบุรี อีกแหงหนึ่ง พระปรีชากลการ ไดทำสำเร็จจึงไดรับพระราชทาน ตราภัทราภรณ ( มงกุฎสยามชั้นที่ 4 ) เปนบำเหน็จความชอบ


ตอมา พ.ศ.2419 พระยาอุไทยมนตรี (ขลิบ) ผูว า ราชการ เมืองปราจีนบุรถี งึ แกกรรม จึงทรงโปรดเกลาฯให พระปรีชากลการ วาราชการเมืองปราจีนบุรี แทนตอไป พระปรีชากลการเปนผูวา ราชการเมืองปราจีนบุรีอยูเพียง 4 ป ก็ตองโทษประหารชีวิต เมื่ออายุได 38 ป อยางไรก็ตาม ชาวปราจีนบุรี ก็ยงั ถือวาทานมีคณุ ปู การ ตอเมืองปราจีนฯ จึงเรียกวา “เจาพอสำอาง” มีรปู ปน ของทานตัง้ อยู ในศาลบริเวณหนาสถานีตำรวจภูธร อำเภอเมืองปราจีนบุรี มีคน ไปกราบไวบชู ากันทุกกวัน บางครัง้ กอนฤดูเขาพรรษาทีม่ กี ารบวช กอนทีจ่ ะนำนาคไปอุปสมบททีว่ ดั ญาติโยมจะนำเจานาคไปกราบลา เจาพอสำอางกอน และมีเรือ่ งเลาสืบทอดกันเรือ่ ยมา เกีย่ วกับความ ศักดิ์สิทธิ์เจาพอสำอาง ในหนังสือประวัตกิ ารและความทรงจำ ของรองอำมาตยโม หลวงบำรุงรัฐนิกร (บุศย อเนกบุณย) ไดเขียนบันทึกถึงเหตุการณ กอนทีเ่ พชฌฆาตจะลงดาบประหารชีวติ พระปรีชากลการไดกลาว อยางนาสงสารวา

….โบสถสรางขึน้ ยังไมทนั แลว เพราะไดเมียฝรัง่ ตัวจึงตาย แดดรอนดังนี้ ทำไมจะไดสติ เมื่อตายแลวเราจะไปอยูที่หลังคา แดงโนน … ก็ปรากฏมีวัดหลวงปรีชากูลมาจนถึงปจจุบันนี้ถึงแมวา พระปรีชากลการ จะมีชะตากรรมตองโทษทัณฑดวยการถูก ประหารชีวติ ทานก็ไดสรางคุณประโยชนใหแกแผนดิน และจังหวัด ปราจีนบุรไี วไมนอ ย เชน การสรางถนน สถานทีร่ าชการ อาคาร ตางๆ โรงงานเครื่องจักรสำหรับทำทอง บูรณะและสรางอุโบสถ หลวงปรีชากูล เปนตน ปจจุบันมีสถานที่ที่เกี่ยวของกับประวัติของพระปรีชา กลการ เชน บอทองนางชิง ตำบลบอทอง อำเภอกบินทรบุรี และมีศาลเจาพอสำอาง อำเภอเมืองปราจีนบุรี เปนสถานทีส่ ำคัญ ทีช่ ้ใี หเห็นวา“เจาพอสำอาง” ยังคงเปนทีเ่ คารพบูชาของชาวอำเภอ เมืองปราจีนบุรีจนถึงทุกวันนี้

Prachinburi 69


70


ร.อ.หลวงมลายบรจักร ร.อ.หลวงมลายบรจักร์ หรือ บุญมี โลสุวรรณ เกิดเมื่อ วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2439 เปนบุตรอำมาตยโทพระอุดรพิสดาร (หมาย โลสุวรรณ) และนางบุญ โลสุวรรณ มีภรรยาชื่อนางจรูญ มลายบรจักร (นามสกุลเดิม ภวภูตานนท ณ มหาสารคาม) มีบุตรธิดา 7 คน ร.อ.หลวงมลายบรจักรสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายรอย ทหารบกกระทรวงกลาโหม (ปจจุบนั คือโรงเรียนนายรอยพระจุลจอม เกลา) เมือ่ สำเร็จการศึกษาแลวไดเลือ่ นยศเปนวาที่นายรอยตรีบญุ มี โลสุวรรณ เริ่มรับราชการที่กรมทหารปนใหญ จังหวัดรอยเอ็ด แลวยายมาทีก่ รมทหารปนใหญโคกกระเทียม จังหวัดทหารบกลพบุรี ไดเลือ่ นยศเปนนายรอยโทขุนมลายบรจักร์และนายรอยเอกหลวง มลายบรจักร์ตามลำดับ พ.ศ.2473 ยายไปรับราชการที่มณฑลทหารบกจังหวัด นครราชสีมา สังกัดกรมทหารปนใหญ และในป พ.ศ.2474 รับราชการ ที่มณฑลทหารบกจังหวัดปราจีนบุรี

หลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 ไดโอนยาย มารับราชการตำรวจ เมือ่ พ.ศ.2476 (สมัยพลเอกหลวงอดุลเดชจรัส เปนอธิบดีกรมตำรวจ ) ไดรบั ราชการตำรวจทีจ่ งั หวัดฉะเชิงเทรา เมื่อ พ.ศ.2476 และเมื่อ พ.ศ.2477 เปนผูบังคับการกองตำรวจ สันติบาลทีจ่ งั หวัดสงขลา จนกระทัง่ ถึง พ.ศ.2478 ยายมารับราชการ ตำรวจภูธรประจำจังหวัดปราจีนบุรี ร.อ.หลวงมลายบรจักรถึงแกกรรมขณะนำกำลังตำรวจ เขาทำการจับกุมผูร า ยทีอ่ ำเภอศรีมหาโพธิ เมือ่ เชาวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2479 โดยถูกคนรายชือ่ เสือชู ยิงเสียชีวติ พรอมกับตำรวจอีก 2 นาย สิริรวมอายุได 40 ป พันเอกพระศรีราชสงครามซึง่ เปนขาหลวงประจำจังหวัด ปราจีนบุรใี นขณะนัน้ เห็นวาการเสียชีวติ ของ ร.อ.หลวงมลายบรจักร กับตำรวจอีก 2 นาย เปนการเสียชีวติ ในการปฏิบตั หิ นาทีร่ าชการ จึงใหสรางอนุสาวรียไวเพื่อเปนเกียรติแกผูเสียชีวิตทั้ง 3 ทานไว ณ บริเวณดานหนาที่วาอำเภอเมืองปราจีนบุรีในปจจุบัน

Prachinburi 71







Oji Paper (Thailand) Ltd. Oji Label (Thailand) Ltd.

309 Moo 10 Tambol Tha-Toom Amphur Srimahaphot Prachinburi 25140 Tel.(66-37)208-865-7 Fax (66-37)208-870-1 L;S<L;Z;$TE+S69lTM;S*LYO+S*MIS6=ET+W;<ZEW

L;S<L;Z;$TE+S69lTM;S*LYO+S*MIS6=ET+W;<ZEW

<EVKS9 OZ7LTM$EEC> T_'GYO< @GTL7V$c9D +lT$S6 ¤CMT-;¼

¾¾¾ MC[ ¹ 8;;9T*MGI*LTD ¯° 7lT<GM;O*a@E* OlT_BOJEWCMTa@:V +S*MIS6=ET+W;<ZEW

<EVKS9 D[c;_7f6OG[CV_;WDC OV;6SL7EWh +lT$S6 <EVKS9 ;VIL _IVE G O[ ¤=ER_9Jc9D¼ +lT$S6

�å誏Š¯³ŽŠ¾Ž­°Š²



วัดสง่างาม

วัดสง่างาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านบางบริบูรณ์ ต�าบลบาง บริบรู ณ์ อ�าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เป็นวัดทีม่ ผี นู้ ยิ มมาลอด ใต้พระอุโบสถเพือ่ ขอพรต่าง ๆ ปัจจุบนั มี พระครูสริ พิ ฒั นโสภณ (เสริม ฐิตธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติวัดสง่างาม

เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2446 บนพื้นที่ 20 ไร่ 3 งาน 91 ตารางวา จดทะเบียนวัด ปีพทุ ธศักราช 2456 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 เมษายน พุทธศักราช 2460 และวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2517 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาอีกครั้ง เมื่อได้ก่อสร้างพระอุโบสถขึ้นใหม่ จวบ จนถึงปัจจุบัน วัดสง่างาม มีเนื้อที่ 36 ไร่ 3 งาน 78 ตารางวา มีอายุครบ 100 ปี ในปีพุทธศักราช 2546

รายนามเจ้าอาวาสวัดสง่างาม หลวงพ่อฮวบ พระอธิการกลีบ

.indd 2

พ.ศ.2446 - พ.ศ.2452 พ.ศ.2452 - พ.ศ.2461

พระอาจารย์เพิ่ม (รก.) พ.ศ.2461 - พ.ศ.2462 พระอธิการลิ พ.ศ.2462 - พ.ศ.2464 พระอธิการไผ่ (รก.) พ.ศ.2464 - พ.ศ.2465 พระอธิการพู่ (รก.) พ.ศ.2465 - พ.ศ.2466 พระครูศิลวิสุทธาจารย์ (ผิว สีลวิสุทฺโธ) พ.ศ.2466 - พ.ศ.2528 พระครูสิริพัฒนโสภณ (เสริม ฐิตธมฺโม) พ.ศ.2528 - ปัจจุบัน

18/9/2558 17:17:30


ลอดพระอุโบสถขอพร-ปิดทองหลวงปู่ผิว

วัดสง่างามเป็นอีกหนึง่ วัดทีม่ คี วามสง่างามสมกับชือ่ ทว่า ในอดีตที่ผ่านมาน�้าในแม่น�้าปราจีนบุรีจะท่วมสูงบริเวณรอบ พระอุโบสถประมาณ 1 เมตร ท�าให้พระภิกษุลงไปท�าสังฆกรรม ต่างๆ นั้นเป็นไปด้วยความล�าบาก ดังนั้นทางวัดจึงได้ท�าการ ยกฐานพระอุโบสถให้สูงขึ้นประมาณ 1.59 เมตร ในขณะที่ได้ ท�าการบูรณะอยู่นั้นได้มีประชาชนที่มีความศรัทธาเลื่อมใสได้ มาลอดใต้ท้องพระอุโบสถ โดยตั้งจิตอธิษฐานให้หายจากโรค ภัยต่างๆ รวมทั้งโชคลาภ ซึ่งประชาชนที่สมหวังและประสบ ความส�าเร็จได้บอกต่อๆ กันไปจนเป็นที่รู้จักของประชาชน จ�านวนมาก และเป็นวัดแห่งแรกที่ได้มีการยกพระอุโบสถขึ้น ของประเทศไทย

.indd 3

ปั จ จุ บั น นี้ ยั ง คงมี ป ระชาชนจ� า นวนมากทั้ ง ในจั ง หวั ด ปราจีนบุรีและจังหวัดต่างๆ เดินทางมาลอดใต้ท้องพระอุโบสถ และปิดทองหลวงปูผ่ วิ (พระครูสลี วิสทุ ธาจารย์) ซึง่ เป็นอดีตเจ้า อาวาสเพื่อขอพรกันเป็นจ�านวนมากทุกวัน โดยเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์ และวันหยุดราชการต่างๆ จะมีประชาชนเหมารถทัวร์ มาที่วัดนี้เป็นจ�านวนมาก ส�าหรับผู้ที่สนใจต้องการเข้าเยี่ยมชมนั้น ทางวัดจะเปิดให้ สามารถเข้าชมได้ในเวลา 08.30 - 16.30 น. หรือสอบถามราย ละเอียดเพิ่มเติมได้ที่โทรศัพท์ 0 3721 4490, 08 6097 5803

18/9/2558 17:17:44



IS6'T9OGV$ OS'E_9I6TCW'T`OG

³³ 8;;`$ I@V+V7E 7lT<GM; T_CYO* OlT_BO_CYO*=ET+W;<ZEW +S*MIS6=ET+W;<ZEW ¯²­­ _IGTCVL.T IS;OT9V7D ­µ«°­ ;« BTKTc9D ®®«­­ ;« BTKTOS*$FK _IGTCVL.T IS;:EEC6T IS;+S;9E IS;@Z: IS;JZ$E IS;_LTE ®¶«­­ ;« IS;OS*'TE IS;@FMSL<6W ­³«­­ ;« a9EJS@9 ­°´ ¯®® °²° a9ELTE ­°´ ¯®® °²°

Prachinburi 83


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดปาทรงคุณ

ป พ.ศ. 2478 ซื้อที่สวนมะมวงของนายเอี่ยม นางสอน จันทรอํ่า เนื้อที่ 5 ไร 1 งาน 30 ตารางวา ปลูกเปนกุฏิมุงจากหลังเล็ก ๆ เมื่อ ประชาชนทราบก็มาฟงเทศน ฝกหัดนั่งสมาธิจากพระอาจารยสิงห วัดปาทรงคุณ ตั้งอยูเลขที่ 140 หมูที่ 10 ตําบลดงพระราม มิไดขาด กระทัง่ ป พ.ศ. 2480 คือวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2480 ก็ไดรบั อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี โดยตัง้ อยูท างทิศเหนือของคายจักรพงษ อนุญาตใหสรางเปนวัดไดตามกฎหมาย โดยเจาพระคุณสมเด็จพระมหา มณฑลทหารบกที่ 2 ปจจุบนั มี พระครูปลัดธีระชัย อชิโต เปนเจาอาวาส วีรวงศ ใหนามวา “วัดปาทรงคุณ” นับจากนัน้ เปนตนมา วัดปาทรงคุณก็ไดรบั การพัฒนาใหเจริญขึน้ วัดปาทรงคุณ รูปปจจุบนั เปนลําดับ โดยเหลาพุทธศาสนิกชนผูมีจิตศรัทธาไดบริจาคทุนทรัพย ประวัติวัดปาทรงคุณ เพือ่ ทํานุบาํ รุงและสรางเสนาสนะภายในวัดเรือ่ ยมาจวบจนปจจุบนั นี้ ทานเจาคุณพระปราจีนมุนี อดีตเจาอาวาสวัดมะกอกสีมาราม และอดีตเจาคณะจังหวัดปราจีนบุรี – นครนายก เขาไปกราบสมเด็จ พระมหาวีรวงศ (อดีตเจาอาวาสวัดบรมนิวาส และเจาคณะมณฑล) ลําดับเหตุการณสําคัญ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2514 จัดงานหลอรูปเหมือนของ พระญาณ ว่าทางภาคตะวันออกยังไมมีวัดฝายวิปสสนาธุระ ดังนั้นทานเจา พระคุณสมเด็จฯจึงมีบัญชาให พระอาจารยสิงห ขนฺตยาคโม ธุดงค วิศษิ ฎสมิทธิวรี าจารย (พระอาจารยสงิ ห ขนฺตยาคโม) โดยทูลอาราธนา ไปทางปราจีนบุรี พรอมดวยพระอาจารยมหาปน ปฺญาพโล (นองชาย) สมเด็จพระอริยวงศาตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุษฐายี) ทรงเปน พระติดตามอีกสองรูป และสามเณรสองรูป จึงเดินทางมุงตรงมาสู องคประธานเททองหลอ และมีผูบัญชาการมณฑลทหารบกที่ 2 เปน ดงพระราม นายพร บรรลือคุณ จึงนิมนตใหเขาไปพักในสวนมะมวง ประธานฝายฆราวาส และใหความอุปการะเปนอยางดี

..…………………………………………………………

84

วันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2518 จัดงานยกชอฟาใบระกาอุโบสถ โดยมีเจาพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เปนองคประธานฝายสงฆ พลตรีเทศ ยศไกร ผูบัญชาการมณฑล ทหารบกที่ 2 เปนประธานฝายฆราวาส วันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2521 จัดงานผูกพัทธสีมา สมเด็จ พระอริยวงศาตญาณ สมเด็จพระสังฆราช เสด็จเปนองคประธานเปดงาน ทรงเจิมเทียนชัย ผูวาราชการจังหวัดปราจีนบุรี เปนประธานฝาย ฆราวาส

พระราชปราจีนมุนี ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดวยการสรางโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดปาทรงคุณ และเปดศูนยการศึกษาในระดับปริญญาตรี จากมมร. วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ประจําวัดปาทรงคุณ โดยจัด ใหมกี ารเรียนการสอนวิชาปริยตั ธิ รรม และวิชาสามัญใหแกภกิ ษุสามเณร และฆราวาสทั่วไปไดมาศึกษาเลาเรียน

นอกจากนี้พระราชปราจีนมุนี ยังอุทิศตนเพื่อการเผยแผและ สืบสานพระพุทธศาสนา ใหเจริญรุงเรืองมาอยางตอเนื่อง อาทิ จาริก ประวัติพระราชปราจีนมุนี ศึกษาดูงานและเผยแผพระพุทธศาสนาในหลายประเทศ และสรางวัด พระราชปราจีนมุนี (ณรงคชัย รกฺขิตสีโล) เกิดเมื่อวันที่ 20 หลายแหง จนไดรับรางวัลสดุดีมากมาย โดยเฉพาะได รับประทาน เกียรติบตั ร ดานการสงเสริมกิจการคณะสงฆ จากสมเด็จพระสังฆราช ธันวาคม พ.ศ. 2478 ต.ทาคันโท อ.ทาคันโท จ.กาฬสินธุ ตําแหนง อดีตเจาคณะจังหวัดปราจีนบุรี – สระแกว (ธ) อดีต สกลมหาปริณายก และไดรับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร จาก เจาอาวาสวัดปาทรงคุณ ประธานศูนยการศึกษาปราจีนบุรี มหาวิทยาลัย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี นับวาเปนจริยานุวตั ร ปฏิปทา ที่สมควรไดรับการยกยองและอนุโมทนาเปนแบบอยางสืบไป มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย

Prachinburi 85


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดบางคาง

…………………………………………………

อาคารเสนาสนะสําคัญ

อุโบสถ สรางเมือ่ พ.ศ. 2479 ศาลาการเปรียญ สรางเมือ่ พ.ศ. 2510 กุฏสิ งฆ จํานวน 9 หลัง เปนอาคารไม ศาลาฌาปนสถาน สรางเมือ่ พ.ศ.2512 มณฑปจัตุรมุข สรางเมื่อพ.ศ.2513 หอระฆัง 9 ลูก ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ สรางเมือ่ พ.ศ.2515 ศาลากระจก สําหรับปฏิบตั ธิ รรม ถวายเปนพระราชกุศล แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ สรางเมือ่ พ.ศ.2516

วัดบางคาง ตัง้ อยูเ ลขที่ 4 หมูท ี่ 5 ถนนโคกกระจับสันทรีย์ ตําบลรอบเมือง อําเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี สังกัด คณะสงฆมหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 43 ไร 2 งาน 89 ตารางวา ส.ค.1 เลขที่ 6/2598 อาณาเขต ทิศเหนือจดถนนรอบเมืองพัฒนา ทิศใตและทิศตะวันออกจดทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันตกจดแมนาํ้ บางประกง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด 1. พระพุทธรูปปางลีลา สูง 12 เมตร พระโมคคัลลา พระสารีบตุ ร มีที่ธรณีสงฆ จํานวน 6 แปลง เนื้อที่ 109 ไร 46 ตารางวา และชางคูบ ารมี สรางเมือ่ พ.ศ.2554 ประวัติวัดบางคาง วัดบางคาง ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2411 มีอายุประมาณ 147 ป 2. พระราชาอนุสาวรียส มเด็จพระเจาตากสินมหาราช และรูปหลอ เปนแหลงประวัตศิ าสตรในทองถิน่ ทีน่ า สนใจอีกแหงหนึง่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับ พระครูดว ง เกสโร (อุปช ฌาย) สรางเมือ่ พ.ศ.2514 สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายตอกับสมัยธนบุรี เนือ่ งจากเมือ่ คราวที่ 3. มณฑปพระสังกัจจายน สรางเมือ่ พ.ศ.2515 สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ทรงรวบรวมไพรพลประมาณ 500 คนเศษ 4. รูปหลออดีตเจาอาวาส ฝาวงลอมพมามาทางตะวันออก ผานแขวงนครนายก ปราจีนบุรี ลําดับเจาอาวาสปกครองวัด วัดบางคางยังยืนหยัดอยูท กุ วันนี้ ตามประวัตศิ าสตรสบื สาน ไดมาพักแรม ณ วัดบางคาง กอนเดินทางตอไปยังเมืองระยอง เมืองจันทบุรี เพือ่ ใชเปนทีต่ งั้ มัน่ ในการกอบกูอ สิ รภาพ คําวา “บางคาง” นัน้ ตอเนื่องกันมามีเจาอาวาสปกครองวัดบางคางถึง 9 รูป ไดแก 1. พระครูเมือง (พระมาจากทีอ่ นื่ ) 2. พระปลัดเมือง (พระทีอ่ ยูบ า นตึกปน) เปนคําในภาษาจีนแตจวิ๋ ออกเสียงเรียกเมืองปราจีนวา “มัง่ คัง่ ” วัดบางคาง ไดรบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. 2479 3. พระแทน 4. พระหลี 5. พระครูเงิน 6. พระอาจารยเขียน 7. การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พระใบฎีกาสุภาพ บัวหลวง (พ.ศ.2474-2480) 8. พระอาจารยสวุ รรณ พ.ศ. 2483 เทพสังวาล (พ.ศ. 2481-2488 )

86

และ 9.พระครูสนุ ทรธรรมประยุต หรือ หลวงพอเสนาะ ปญญาวโร ปจจุบนั “หลวงพอเสนาะ ปญญาวโร” หรือ “พระครูสนุ ทรธรรม (พ.ศ. 2489 – ปจจุบนั ) ประยุต” สิรอิ ายุ 96 ป พรรษา 75 เปนพระเถระทีม่ อี าวุโสสูงอีกรูปหนึง่ ของเมืองปราจีนบุรี ยังมีสขุ ภาพแข็งแรง มีความเมตตา มีศลี าจารวัตร ประวัติพระครูสุนทรธรรมประยุต พระครูสุนทรธรรมประยุต หรือ หลวงพอเสนาะ เปนบุตร ปฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ ดํารงตนอยางสมถะเรียบงาย เรือ่ งทําวัตรเชา – ของโยมพอทอง-โยมแมนมิ่ ชาวเมือง เกิดวันพฤหัสบดี เดือน 7 ปมะแม เย็น เปนประจํามิไดขาด ทุกวันพระจะขึน้ ศาลาการเปรียญเทศนา พ.ศ. 2462 เกิดที่บานมอญ หมูที่ 5 ตําบลรอบเมือง อําเภอเมือง โปรดญาติโยมทีม่ าทําบุญ ซึง่ การเทศนของทานนัน้ ไพเราะเสนาะหู สรางความประทับใจและความศรัทธาใหแกผไู ดยนิ ไดฟง อยางยิง่ ปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี อุปสมบท เมือ่ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2483 ณ พัทธสีมา ความสําคัญของวัดบางคางในปจจุบัน วัดบางคาง ไดฉายาวา “ปญญาวโร” พระครูดว ง เกสโร เปนพระอุปช ฌาย ในวันที่ 28 ของทุกป เนื่องในวันพระเจาตากสินมหาราช อาจารยสวุ รรณ เทพสังวาลย เปนพระกรรมวาจา พระอธิการเชย ผูว า ราชการจังหวัดปราจีนบุรี ไดประกอบพิธถี วายสักการะพระบรม เปนอนุสาวนา ประชุมสงฆ 28 รูป ญัตติเสร็จเวลา 13.41 น. ราชานุสาวรียส มเด็จพระเจาตากสินมหาราช ณ วัดบางคาง อําเภอ ภายในพระอุโบสถวัดบางคาง เมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีขาราชการตํารวจ และ ผลงานเปนพระอุปช ฌาย เปนทีป่ รึกษาเจาคณะอําเภอเมือง ประชาชนเขารวมพิธี การสรางพระบรมราชานุสาวรียส มเด็จพระเจาตากสินมหาราช ปราจีนบุรี พ.ศ. 2514 ปจจุบนั ดํารงตําแหนง เจาอาวาส วัดบางคาง เปนพระนักเทศน นักสงเสริมกิจกรรมดานศาสนาและวัฒนธรรม ริเริ่มโดยพระครูสุนทรธรรมประยุต และชาวจังหวัดปราจีนบุรี ประเพณีทอ งถิน่ และดวยเหตุทที่ า นเปนผูใ ฝเรียนรู มีความจําเปนเลิศ เพือ่ เปนการนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคณุ และพระปรีชาสามารถ เปนผูส งั เกตการณ จึงเก็บเกีย่ วประสบการณ ความรูต า ง ๆ จากครู ของพระองคทที่ รงปราบยุคเข็ญ กอบกูช าติไทยใหพน ภัยจากขาศึก บาอาจารย ในลักษณะครูพกั ลักจํา ศึกษาวิชาอาคมตาง ๆ รวมทัง้ ศัตรูผมู ารุกรานเมือ่ ครัง้ กรุงศรีอยุธยาใกลจะเสียแกพมา โดยประกอบ การเขียนอักขระเลขยันต ทานไดศกึ ษาจากคัมภีรใ บขอยเปนตําราโบราณ พิธเี ปดเมือ่ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2544 จนสามารถอานออก เขียนได และนํามาปฏิบตั ฝิ ก ฝนจนมีพลังจิตแกกลา

Prachinburi 87


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดเขาพระธรรมขันธ

…………………………………………………………….

วัดเขาพระธรรมขันธ หมูท ี่ 15 ต.เนินหอม อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 67 ไร 78 ตารางวา ปจจุบันมี พระอธิการวิรัตน วิสุทฺโธ (หลวงตาหนู) เปนเจาอาวาส

ประวัติวัด

เจาอาวาสปจจุบนั

88

ในป พ.ศ.2530 ไดเริม่ ดําเนินการสรางไดคน พบรอยพระพุทธบาท ทีแ่ ทนหินใหญ จึงดําเนินการสรางมณฑปครอบรอยพระพุทธบาท ใชชอื่ วา “มณฑป พระพุทธบาท เฉลิมพระเกียรติ ปกาญจนาภิเษก” โดยไดรบั อาราธนาทานเจาประคุณสมเด็จพุฒาจารย (อาจ อาสภ มหาเถร) ผูปฏิบัติหนาที่แทนสมเด็จพระสังฆราช เจาอาวาส วัดมหาธาตุยวุ ราช รังสฤษฎิ์ มาทรงประกอบพิธกี ารเปดเจิมปดรอย พระพุทธบาท และวางศิลาฤกษ ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2539 พรอมดวยนายวิเชียร เปาอินทร ผูวาราชการจังหวัดปราจีนบุรี และประกอบพิธเี ฉลิมฉลอง สมโภช นมัสการปดทองพระพุทธบาท เปนปฐมฤกษ ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2544 โดยอาราธนาทานเจาคุณ สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตรกุรมหาเถร) วัดเทพศิรนิ ทราวาส เปนประธาน วันที่ 22 มกราคม 2546 ไดดาํ เนินการวางศิลาฤกษสรางเจดีย บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ กวาง 9 วา สูง 19 วา โดยมีชอื่ วา “เจดีย พุทธญาณบารมีศรีปราจีน” (เจดียพุทธบูชา) วันที่ 11 กุมภาพันธ 2546 สํานักพระพุทธศาสนาแหงชาติ ไดประกาศตั้งเปนวัดขึ้นในพระพุทธศาสนา มีนามวา “วัดเขา พระธรรมขันธ” ตามที่ นายเกษม ศิริวัฒนภัทรา ไดรับอนุญาต ใหสรางวัด ป 2549 ดําเนินการสรางอุโบสถ จากการดูแลของรักษาการ เจาอาวาส พระอาจารยวนิ ยั ธรวินยั สิรมิ งฺ คโล เริม่ ดําเนินการสราง อุโบสถ โดยมีสมเด็จพระพุทธสิกขีทศพลญาณที่ 1 สมเด็จองคปฐม เปนพระประธานในโบสถ มีการวาดภาพจิตกรรมฝาผนังเกี่ยวกับ พุทธประวัติไวอยางสวยงาม ปจจุบันการกอสรางยังไมแลวเสร็จ ป 2557 ดําเนินการสรางพระมหาอุปคุต โดยมีชอื่ วา “หลวงพอ ประทานทรัพย” เพือ่ ถวายเปนพุทธบูชาแหงโชคลาภและโภคทรัพย ทัง้ หลาย ในมณฑปพระพุทธบาท มีการประดิษฐานของหลวงพอ ศักดิ์สิทธิ์ “หลวงพอทันใจ” ซึ่ง หลวงปูพุม จกฺกวโร เจาคณะ จังหวัดปราจีนบุรี ไดนาํ มาไวเพือ่ ใหพทุ ธศาสนิกชนไดกราบไหวบชู า

โดยมีพระราชสันทัศกาจารย (หลวงปูพ มุ จกฺกวโร, พ.ขันทอง) เปนประธานสงฆในการกอตัง้ และมีนายเกษม ศิรวิ ฒั นภทั รา (เถาแก เล็ก) เปนผูม อบทีด่ นิ ใหสรางถวายรวมกับกลุม ชาวบานทีม่ จี ติ ศรัทธา โดยเริม่ จากการสรางเปนศูนยวปิ ส สนากัมมัฏฐาน ทีไ่ ดมพี ระภิกษุสงฆ แมชี พราหมณและพุทธศาสนิกชนมาปฏิบตั ธิ รรมกันอยางตอเนือ่ ง กิจกรรมทางพระศาสนา ตอมาไดมกี ารกอสรางสวนตางๆ อีกมากมาย อาทิ สังฆปาโมกข ปจจุบนั วัดเขาพระธรรมขันธไดมกี ารจัดกิจกรรมงานประจําป ศาลาอเนกประสงค กุฏพิ ระภิกษุสงฆ อาคารปฏิบตั ธิ รรม โรงครัว ไดแก การตักบาตรเทโวโรหณะ ซึง่ จัดขึน้ ในวันแรม 1 คํา่ เดือน 11 หองเก็บพัสดุ หลังออกพรรษาทุกป, งานเทศนมหาชาติ ซึ่งจะจัดขึ้นระหวาง ลําดับเหตุการณสําคัญ ชวงเดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม, การบวชชีพราหมณ เนกขัมมะ ในป พ.ศ.2523 ไดเริม่ ดําเนินการสรางศูนยปฏิบตั ธิ รรมโดยการ ฯลฯ ปลูกสวนปา เพื่อเปนแหลงธรรมชาติและการอนุรักษ ตอมาไดมี การสรางกุฏิและสวนตางๆ โดยในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2527 ไดดาํ เนินการเปดปฐมฤกษเพือ่ เฉลิมพระเกียรติของสมเด็จพระเจาอยูห วั

Prachinburi 89



วัดหนองกระจับ

วัดหนองกระจับ ต�ำบลดงพระรำม อ�ำเภอเมืองปรำจีนบุรี จังหวัดปรำจีนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย วัดหนองกระจับ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2537 เดิมทีเป็นส�ำนักสงฆ์ บ้ำนหนองกระจับ ได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อวันที่ 2 กรกฎำคม พ.ศ.2551

เจ้าอาวาสปกครองวัด

เจ้ำอำวำสรูปแรก คือ พระครูสังฆรักษ์ถนอม สิริปัญโญ ปัจจุบันมี พระครูจันทศีลวิสุทธิ์ เป็นเจ้ำอำวำส ตั้งแต่ พ.ศ.2549 ถึงปัจจุบัน

.indd 2

18/9/2558 15:24:42


.indd 3

18/9/2558 15:24:59





วัดดงคุย (ดอนเจดีย์)

วัดดงคุย (ดอนเจดีย์) เลขที่ 49 หมู่ 1 ต�ำบลโนนห้อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดปรำจีนบุรี 25000 ก่อตั้งวัดเมื่อ 2 สิงหำคม พ.ศ.2504 ได้รับ พระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ พ.ศ.2517 มีเจ้ำอำวำสรูปแรกคือ พระครูสังฆรักษ์ (เทียม เขมาภิรโต)

สถานที่ส�าคัญ / สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด

อุโบสถวัดดอนเจดีย์ เป็นอุโบสถที่มีควำมส�ำคัญทำงศำสนำและ เป็นอุโบสถที่มีควำมสวยงำมด้วยภำพจิตรกรรมพุทธประวัติ และมี พระประธำนประจ�ำอุโบสถ ,หลวงพ่อพุทธเศรษฐี พระพุทธรูป ,วิหารหลวง พ่อเทียม

ประวัติพระอธิการกฤษฎี กตปุญฺโญ

ส� า หรั บ ญาติ โ ยมที่ ส นใจการปฏิ บั ติ ธ รรม พระอธิการกฤษฎี กตปุญฺโ ญ เป็น เจ้ ำอำวำสวั ด ดอนเจดี ย ์ รู ป วิ ป ั ส สนากรรมฐานก็ ข อเชิ ญ ชวนให้ ท ่ า นมายั ง ปัจจุบัน พื้นเพท่ำนเป็นชำวอ�ำเภอพระพุทธบำทน�้ำพุ จังหวัดสระบุรี วัดดงคุย (ดอนเจดีย)์ ได้สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ตัวท่ำนเองเเป็น พระสำยวิปัสสนำ (วัดป่ำ) บวชพระมำได้พรรษำที่ 19 พระอธิการกฤษฎี กตปุญฺโญ โทร. 086-1009561

.indd 1

18/9/2558 14:47:32


หลวงพ่อเพชร

สักการะหลวงพ่อเพชร วัดแจ้ง หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิเพชร ศิลปะเชียงแสน หน้าตักกว้าง 38 ซม. สูง (รวมฐาน) 49 ซม. เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ซึ่งเป็นที่เคารพสักการบูชาของชาว ปราจีนบุรีและประชาชนทั่วไป ประดิษฐานภายในอาคารกุฏิ เจ้าอาวาสวัดแจ้ง ต�าบลหน้าเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัด ปราจีนบุรี

ประวัติความเป็นมา

เจ้าพระยาบดินทร์เดชา จึงได้ท�าพิธีอัญเชิญพระพุทธ รูปมากับกองทัพด้วย ระหว่างทางได้พักค้างแรมที่หมู่บ้าน แห่งหนึ่ง จึงได้สร้างวัดขึ้นวัดหนึ่งชื่อว่า “วัดแจ้ง” และน�า พระพุทธรูปมาประดิษฐานไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงชัยชนะ และขนานนามพระพุทธรูปว่า “หลวงพ่อเพชร” เนื่องจาก ดวงพระเนตรทั้งสองข้างขององค์พระประดับด้วยเพชรแท้ เม็ดเขื่อง

ในครั้งที่ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาล ที่ 3) โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) สมุหนายก ยกทัพไปช่วยเขมรปราบญวนระหว่างเดินทางกลับ ได้พบพระพุทธรูปประดิษฐานอยูท่ เี่ จดียเ์ ก่าแก่ผพุ งั ปกคลุมด้วย ต้นโพธิ์ขนาดใหญ่ กลางทุ่งโล่งซึ่งไฟก�าลังเผาผลาญจนโล่ง เตียน แต่เกิดความอัศจรรย์ เพราะเปลวไฟไม่ได้เผาไหม้ดงไม้ ที่องค์พระพุทธรูปประดิษฐานอยู่

.indd 1

18/9/2558 14:48:50


อุโบสถในเรือสุพรรณหงส์ อยู่ในน�้ำ

วัดศรีเงินเจริญสุข วัดศรีเงินเจริญสุข ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ต�ำบลโนนห้อม อ�ำเภอ เมื อ งปรำจี น บุ รี จั ง หวั ด ปรำจี น ตั้ ง วั ด เมื่ อ พ.ศ.2479 ได้ รั บ พระรำชทำนวิสุงคำมสีมำเมื่อ พ.ศ.2535 ซึ่งเจ้ำคณะปกครอง ฝ่ำยสงฆ์ได้ปกครองดูแลตลอดมำจนถึงปัจจุบัน

พระมหำวิชำญเตชธมฺโม เจ้ำอำวำส

.indd 1

พระพุทธโสธรขำวศักดิ์สิทธิ์ในอุโบสถ

ต้นตะเคียนศักดิ์สิทธฺ์อำยุพันปี

18/9/2558 14:27:37


เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนคืออะไร

เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network : AUN) เปนโครงการความรวมมือระดับอุดมศึกษา ทีส่ ำคัญของอาเซียน จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ป 2538 สมาชิกของเครือขายประกอบดวย มหาวิทยาลัยในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จำนวน 26 แหง ทีต่ ง้ั ของสำนักงานเลขานุการ AUN อยูท จ่ี ฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย การสรางเครือขายนี้เปนความพยายามของอาเซียน ที่จะเชื่อมโยงสถาบันอุดมศึกษาของประเทศสมาชิกอาเซียน เพือ่ ชวยขับเคลือ่ นความรวมมือดานการศึกษา การวิจยั การแลกเปลีย่ นความรู ซึง่ จะมีสว นสำคัญในการพัฒนาของภูมภิ าค อยากระนัน้ เลยเมือ่ ตัวเปยกแฉะแลวรีบอาบน้ำทำความความสะอาดรางกายและเช็ดใหแหงกอนเกลือ้ นถามหาดีกวาคะ กิจกรรมที่สำคัญของเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน เชน การเชิญมหาวิทยาลัยชั้นนำในภูมิภาคมารวมศึกษา วิจยั แลกเปลีย่ นนักศึกษาและบุคลากร การเรียนรูร ว มกันผานระบบสารสนเทศ ซึง่ ทีผ่ า นมาเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน ไดจัดทำกิจกรรมที่สำคัญตอการศึกษามากมาย เชน ASEAN Study Programme, Student and Faculty Exchange Programme, Scholarships for Graduate Students at ASEAN Countries, Information Networking among ASEAN Universities และ Collaborative Research เปนตน

การโอนหนวยกิตในระดับอุดมศึกษาของอาเซียน

เปนความรวมมือระหวางมหาวิทยาลัยในเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN University Network : AUN) ซึง่ ขณะนี้ เปนความรวมมือระหวาง 26 มหาวิทยาลัยใน 10 ประเทศสมาชิกอาเซียนในสาขาวิชาตาง ๆ ทีเ่ ปดสอนเปนหลักสูตรภาษาอังกฤษ ยอมรับมาตรฐานหลักสูตรวิชาระหวางกัน เปดใหนักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาที่สนใจ ในมหาวิทยาลัยของประเทศอื่น ในอาเซียนได และนับเปนหนวยกิตการเรียนตามที่เครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนกำหนด

สถาบันอุดมศึกษาไทยกับเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียน สำหรับอุดมศึกษาทยมีความสัมพันธกับเครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนในหลายดาน ไดแก การดำเนินการในการ เขาถึงขอมูล ดานการศึกษาระดับอุดมศึกษาในอาเซียน การสรางความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับอาเซียนใหถงึ แกนตอคณาจารย ผูป ฏิบตั งิ านและนักศึกษา การสรางความตระหนักในบทบาทหนาทีแ่ ละความรวมมือในความเปนอาเซียน การเตรียมการกำหนด บทบาทหนาทีแ่ ละกิจกรรมในดานการศึกษา วิจยั บริหาร วิชาการและการแลกเปลีย่ นวัฒนธรรม และการดำเนินการตามแผน และกิจกรรมความรวมมือของสมาชิกและสมาชิกเครือขายสมทบ นอกจากนีเ้ ครือขายมหาวิทยาลัยอาเซียนยังรวมมือกับประเทศจีน และประเทศอืน่ ๆ ในเอเชีย เพือ่ มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกแกนกั ศึกษาในประเทศอาเซียน เพือ่ ไปเรียนใน ประเทศอื่นๆ เชน ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน และประเทศเกาหลี ในชื่อทุน “AUN Scholarship” อีกดวย ขอขอบคุณ : กรมอาเซียน กระทรวงตางประเทศ

Prachinburi 103






ศาลาการเปรียญ

วัดอัมพวันครุฑธาวาส (วัดวังชัน) วัดอัมพวันครุฑธาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่ 4 บ้าน วังชัน ต�าบลบางกุ้ง อ�าเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระครูอัมพร คุณารักษ์ (หลวงพ่อ กุหลาบ)

ประวัติความเป็นมา

วัดอัมพวันครุฑธาวาส เป็นวัดเก่าแห่งหนึ่ง ซึ่งก่อตั้ง มากว่าร้อยปี โดยตั้งอยู่บริเวณคุ้งน�้าวนบ้านวังชัน และวัด เคยได้รบั รางวัล “วัดต้นแบบทีม่ คี วามสะอาดและสงบเงียบ” จากกระทรวงสาธารณสุข อีกทั้งทางวัดมีโบราณสถาน โบราณวัตถุมากมาย ซึ่ง ทางวัดได้อนุรักษ์ไว้ ดังเช่นเครื่องใช้สอยต่างๆ

.indd 2

วิหาร

โล่ ป ระกาศเกี ย รติ คุ ณ กรม อนามัย มอบไว้เพื่อแสดงว่า วัดวังชัน เป็นวัดส่งเสริมสุข ภาพดี เ ด่ น ระดั บ จั ง หวั ด ประจ�าปี 2553

18/9/2558 15:53:11


พระประธานในอุโบสถ

พระยืน

หลวงพ่อโต

อุโบสถ

ศาลาหกเหลี่ยมกลางน�้า

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด

พระพุทธรูป, หลวงพ่อโสธร, วิหาร, หลวงพ่อโต

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

พระครูอัมพร คุณารักษ์ (หลวงพ่อกุหลาบ)

.indd 3

ในช่วงวันหยุด ญาติโยมและนักท่องเที่ยวสามารถเดิน ทางมาชมโบราณสถานและท�าบุญที่วัดได้ซึ่งจะมีกิจกรรม บุญต่างๆ และผู้อ่านที่มีจิตศรัทธาประสงค์จะร่วมสร้างเส้น ทางบุญกับทาง วัดอัมพวันครุฑธาวาส สามารถติดต่อได้ที่ พระครูอมั พร คุณารักษ์ (หลวงพ่อกุหลาบ) โทร. 081-8646254

18/9/2558 15:53:32


วัดใหม่ดงกระทงยาม วัดใหม่ดงกระทงยาม ตั้งอยู่ที่ต�ำบลดงกระทงยำม อ�ำเภอศรีมหำโพธิ จังหวัดปรำจีนบุรี ปัจจุบันมี พระอธิการ วัชระ ชุติธโร เป็นเจ้ำอำวำสวัด

ประวัติวัดใหม่ดงกระทงยาม

วัดใหม่ดงกระทงยามเดิมชือ่ “วัดดงกระทงยำม” ต่อมำ พระครูศรีพนาภิรมย์ (ปลั่ง) ได้ประชุมหำรือชำวบ้ำน และมี มติให้ใช้ชื่อ “วัดใหม่ดงกระทงยำม” เพรำะชำวบ้ำนแถบนี้ เดิมอพยพมำจำกเวียงจันทร์เป็นกลุ่มๆ กลุ่มที่ 1 มีพระแก้วกล้ำ ภรรยำชื่อ อุมำ กลุ่มที่ 2 มีคุณยำยฮวด กลุ่มที่ 3 มีขุนแสวง เป็นหัวหน้ำ มำตั้งบ้ำนเรือน เรียกว่ำ “บ้ำนใหม่” และได้สร้ำงวัดขึ้น

รายนามเจ้าอาวาสวัด

หลวงตำใด (พระป้ำนทำม) พระบุดตำ (หลวงหน้ำ ก�ำนันพอน อำรี หรือ ขุนยำมยุตกิจ) หลวงปู่ดวงดี พิมพงษ์

.indd 2

พระอำจำรย์วนั ดี พรมสุทธิกลุ พระนวนพิมพงษ์พระครูบรรหำร ธรรมกิจ (พัน กุศลพันธ์) พระครุอุดมวุฒิญำณ (ผล ไชยเชื้อ) พระอธิกำรบุญมี ฐำนวโร พระอธิกำรสมบุญ เขมทฺตโตพระ ขุนทอง วิจิตรโต พระอิกำรเย็น กตปุญโญพระใบฎีกำบรรจง คงฺคปญโญ และ พระอธิการวัชระ ชุติธโร (1 สิงหาคม 2557 ถึงปัจจุบัน)

ปูชนียวัตถุที่ส�าคัญ

พระประธาน สร้ำงในสมัยเจ้ำอำวำส รูปที่ 3 เป็นพระ ประธำนประจ�ำอุโบสถมำแล้วถึง 2 หลัง มีผบู้ นั ทึกไว้วำ่ “หลวง ปู่ดวงดี ผู้สร้ำงเพ่งกระแสเทียนติด”

18/9/2558 17:29:36


รูปหล่อหลวงปูพัน ธมฺธโร (พระครูบรรหำรธรรมกิจ) อดีต เจ้ำอำวำส รูปที่ 6 และเจ้ำคณะต�ำบลดงกระทงยำม

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด

พระพุทธรูเก่าแก่ อายุราว 700 - 800 ป

วัดใหม่ดงกระทงยาม มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชำวบ้ำนนับถือและ ศรัทธำมำกทีส่ ดุ ก็คอื หลวงปูพ นั ธมฺมธโร หำกใครทีม่ เี รือ่ งเดือด เนือ้ ร้อนใจก็จะไปบนบำนศำลกล่ำวขอให้ทำ่ นช่วย และส่วนใหญ่ จะประสบผลส�ำเร็จแทบทุกรำย จึงท�ำให้เกิดพลังศรัทธำเป็น อย่ำงมำก เมื่อถึงเดือน 3 ขึ้น 15 ค�่ำของทุกปจะมีงำนใหญ่คือ พิธีปดทองหลวงปู่ พร้อมงำนประเพณีบุญข้ำวหลำมทุกป ซึ่งจะ มีผู้คนต่ำงถิ่นมำร่วมงำนเป็นจ�ำนวนมำก พระพุทธรูเก่าแก่ อำยุรำว 700 - 800 ป สร้ำงขึ้นใน ยุคพระโพธิสาราชเจ้า โดยกลุ่มผู้อพยพสมัยนั้นได้น�ำติดตัวมำ และเมือ่ ได้สร้ำงวัดขึน้ ก็ได้ถวำยให้วดั ไว้ตงั้ แต่นนั้ เป็นต้นมำ เคย มีโขมยมำลักไปหลำยครั้ง แต่ก็ไม่มีผู้ใดจะเก็บไว้ได้ต้องน�ำมำ คืนไว้ที่วัดดังเดิม เป็นพระศักดิ์สิทธิของวัด ที่มีชำวบ้ำนเลื่อมใส ศรัทธำอีกองค์หนึ่ง

ประเพณีส�าคัญของวัด

วัดใหม่ดงกระทงยาม เป็นวัดที่ยังคงอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี ดัง้ เดิมไว้มำกมำย นอกจำกนีภ้ ำยในวัดยังมี พิพธิ ภัณฑ์ พื้นบ้านไทยพวนซึ่งเป็นสถำนที่รวบรวมและจัดแสดงถ้วยชำม งำนหัตถกรรม และวัฒนธรรมไทยพวนในอดีต งำนประเพณีประจ�ำปของ วัดใหม่ดงกระทงยามได้แก่ เดือน 3 ขึน้ 3 ค�ำ่ พิธสี ขู่ วัญข้ำว สูข่ วัญควำย สูข่ วัญเกวียน เดือน 3 ขึ้น 15 ค�่ำ ประเพณีบุญข้ำวหลำม (งำนประจ�ำป ปดทองหลวงปู่พัน ธมฺมธโร) เดือน 6 ขึ้น 15 ค�่ำ ประเพณีสลำกภัตมะม่วง เดือน 6 และเดือน 12 ข้ำงขึ้นทุกป พิธีไหว้ศำลปู่ตำ เดือน 9 แรม 14 ค�่ำ ประเพณีบุญห่อข้ำว หรือสำร์ทพวน เดือน 12 ขึ้น 12 ค�่ำ ประเพณีบุญผะเหวด (พระเวส) หรือ เทศน์มหำชำติ และทำงวัดยังมีกำรปฏิบัติธรรมให้กับผู้สูงอำยุมำร่วมกัน ปฏิบัติทุกวันตั้งแต่เวลำ 19.00 น. ถึง เวลำ 21.00 น. ทุกวัน โดย มีผู้สูงอำยุมำร่วมกิจกรรมเป็นจ�ำนวนมำก

.indd 3

18/9/2558 17:29:57


วัดปรือวนาราม

วัดปรือวนาราม (ปรือวายใน) ตั้งอยู่เลขที่ 61 หมู่ 8 ต�าบล หนองโพรง อ�าเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ภายในวัดเป็น สถานที่สงบร่มเย็นด้วยร่มไม้นานาพันธุ์ด้วยเนื้อที่จ�านวน 30 ไร่ เศษ ปัจจุบันมีพระครูสมุห์มงคล ปภสฺสโร ด�ารงต�าแหน่งเป็น ช่วยสร้างศาลาการเปรียญ เมือ่ พ.ศ.2516 ซึง่ มี หลวงตายัง เป็น เจ้าอาวาส ประธาน จนส�าเร็จ ต่อมาเริ่มสร้างพระอุโบสถเมื่อ พ.ศ. 2523 โดยมีพระอธิการเล็ก ซึ่งเป็นประธานในการก่อสร้าง และเป็น ประวัติวัดปรือวนาราม วัดปรือวนาราม เริ่มตั้งเมื่อ พ.ศ.2497 พร้อมกับโรงเรียน เจ้าอาวาสวัดนี้ พร้อมด้วยประชาชนผูม้ จี ติ ศรัทธาช่วยกันบริจาค ปรือวายใหญ่ ซึ่งขณะนั้นนายสวัสดิ์ ประดับวิทย์ เป็นศึกษาธิการ ในการก่อสร้าง อ�าเภอ นายจ�านง เจริญทรัพย์ เป็นครูใหญ่ หลวงตาลืม ศิริจันโท สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด เป็นประธานฝ่ายฆราวาส และมี ตาแก้ว นามี,ตาโน ไวพานิชกา ภายในวัดมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้าน ร,ตาละ อาจ-หาญ และประชาชน ได้ชว่ ยกันคิดริเริม่ และสร้างขึน้ ปรือวายในมากว่า 50 ปี คือ หลวงปู่สุข หลวงพ่อด�าและหลวง ต่อมา พ.ศ.2511 โรงเรียนเกิดอัคคีภัย จึงได้ย้ายไปอยู่ข้าง พ่อในโบสถ์ ใครที่ก�าลังทุกข์กาย ทุกข์ใจ เมื่อมากราบสักการะ นอกทุกวันนี้ ส่วนวัดก็คงอยู่ที่เดิม ต่อมาพระและประชาชนได้ ขอพร ล้วนแล้วจะส�าเร็จทุกครั้งไป

.indd 2

18/9/2558 17:37:28


รายนามเจ้าอาวาส

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัดปรือวนาราม ได้มีพระภิกษุ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสมาแล้วประมาณ 10 รูป เท่าทีส่ อบถาม จากอุบาสก-อุบาสิกา ดังที่จ�าได้ ดังนี้ 1.หลวงตาลืม ศิริจนฺโท พ.ศ. 2497 - 2502 2.ไม่ปรากฏนาม พ.ศ. 2502 - 2508 3.หลวงตาแถว พ.ศ. 2508 - 2516 4.หลวงตายัง พ.ศ. 2516 - 2523 5.พระอธิการเล็ก พ.ศ. 2523 - 2535 6.หลวงตาน้อย พ.ศ. 2535 - 2540 7.พระอาจารย์ธวัชชัย พ.ศ. 2540 - 2545 8.พระอาจารย์สมบูรณ์ พ.ศ. 2545 - 2551 9.พระมหาประพันธ์ ณฏฺฐิโก พ.ศ. 2551 - 2553 10.พระครูสมุห์มงคล ปภสฺสโร พ.ศ. 2553 - ปัจจุบัน

ประวัติพระครูสมุห์มงคล ปภสฺสโร

พระครูสมุห์มงคล ปภสฺสโร อายุ 45 พรรษา 18 วิทยฐานะ น.ธ. เอก วุฒทิ างโลก ป. 4 วัดปรือวนาราม ต�าบลหนองโพรง อ�าเภอ ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี งานปกครอง พ.ศ. 2553 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดปรือวนาราม พ.ศ. 2553 เป็นเจ้าอาวาสวัดปรือวนาราม พ.ศ. 2558 มีพระภิกษุจ�าพรรษา 12 รูป สามเณร 14 รูป แม่ชี 3 ท่าน ศิษย์วัด 11 คน งานด้านการเผยแผ่พระศาสนา มีการจัดท�าโครงการบรรพชาอุปสมบทภิกษุสามเณรเฉลิม พระเกียรติฯ เป็นประจ�าช่วงเดือนเมษายน และมีการสวดมนต์ ข้ามปี ในวันที่ 31 ธันวาคม สนใจติดต่อ 089-7207608 งานด้านสงเคราะห์ ได้มีการรับให้การดูแลอนุเคราะห์สงเคราะห์แก่สามเณร และเด็กผูด้ อ้ ยโอกาสก�าพร้าพ่อก�าพร้าแม่และขาดแคลนทุนทรัพย์ ส่งให้ศึกษาเล่าเรียนในระดับประถมจนถึงระดับปริญญาตรี

.indd 3

18/9/2558 17:37:47


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดใหมนาบุญ

..………………………………………………………… วัดใหมนาบุญ เลขที่ 438 หมู 3 ตําบลกรอกสมบูรณ อําเภอ สถานที่สําคัญ / สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี เปนวัดราษฎร สังกัดคณะสงฆ อุโบสถ พระพุทธรูป ศาลาทานํา้ และสมเด็จองคปฐม หลวงปู มหานิกาย มีทา นพระครูบญุ เขตตาภรณ เปนเจาอาวาสรูปปจจุบนั ดาสิรา นาราดา เปนสถานทีป่ ระดิษฐสถาน พระบรมสารีรกิ ธาตุ ซึง่ มี ความงดงาม และเปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชน ประวัติวัด วัดใหมนาบุญ เดิมชื่อวัดวังทะลุ กอตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2527 ไดพระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2535 มีเนือ้ ทีใ่ นโฉนด 40 ไร กิจกรรมสําคัญในทางพระพุทธศาสนา - วัดใหมนาบุญ จัดใหมีการถวายมหาสังฆทานเปนประจํา ในปจจุบนั มีพระและเณรจําพรรษา 27 รูป (พระ 26 รูป เณร 1 รูป) ทุกวันอาทิตยตน เดือน ตลอดป และมีการออกโรงทานแจกญาติโยม คนงานและผูรับการสงเคราะห 20 คน ที่มาปฏิบัติธรรมและทําบุญสังฆทานดวยครับ รายนามเจาอาวาส - สอนการปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐานในวันเสารแรกของทุกเดือน 1. พระอาจารยธี ตลอดป โดยมีกําหนดใหพักปฏิบัติฯ เปนเวลา 1 วัน 1 คืน 2. พระเบา สุธิณโณ - การเวียนเทียนทุกวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา 3. พระครูบุญเขตตาภรณ เจาอาวาสรูปปจจุบัน

118

รวมสรางเสนทางบุญ

ปจจุบนั วัดใหมนาบุญ กําลังสรางพระบรมธาตุ มหาจุฬามณี เจดียศ รีมหาโพธิ์ ซึง่ จะเปนสถานทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ ขนาดกวาง 40 เมตร ยาว 40 เมตร สูง 60 เมตร โดยใชงบ ประมาณ 100 ลานบาท จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนผูม จี ติ ศรัทธา รวมสรางเสนทางบุญไดที่ พระครูบุญเขตตาภรณ เจาอาวาส วัดใหมนาบุญ โทร. 085-0823061 อีเมล : kacharphisit@gmail.com

Prachinburi 119


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรม

.………………………………………………………………………………………………… วัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรม ตั้งอยู ณ เลขที่ 359/1 หมูที่ 1 ตําบลกรอกสมบูรณ อําเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี มีที่ดิน ทั้งหมด 32 ไร 1 งาน 24 ตารางวา ปจจุบันมี พระครูประสุตศีลคุณ เปนเจาอาวาสวัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรมและเจาคณะตําบลกรอก สมบูรณ

ประวัติวัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรม

วั ด ราษฎร เ จริ ญ ศรั ท ธาธรรม ก อ ตั้ ง เมื่ อ ป พ.ศ. 2506 โดยไดรับการบริจาคที่ดินจาก ผูใหญจอย นางแสวง เหมือนสอน เดิมชาวบานเรียกวา “วัดกรอกดวน” เพราะตัง้ อยูท หี่ มูบ า นกรอกดวน (ตอมามีการเปลี่ยนชื่อเปนหมูบานกรอกสมบูรณ) เริ่มแรกดวยการ สรางกุฏิไมหลังเล็กๆ เปนที่อยูของสงฆ ป พ.ศ. 2507 เริ่มสราง ศาลาการเปรียญหลังแรก เปนอาคารไม หลังคามุงสังกะสี ไดรับ หนังสืออนุญาตใหสรางวัด เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2522 และไดรับ การประกาศตั้งวัดใน พระพุทธศาสนา เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2527 ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2529

120

รายนามเจาอาวาส

หลวงพอโต สิรจิ นฺโท นามสกุล ไทยเจริญ (พ.ศ. 2506 - 2507) พระอาจารยบญุ ลือ (พ.ศ. 2507-2510) หลวงพอทองคํา (พ.ศ. 2510 - 2512) พระอาจารยทวี พหุสสฺ โุ ต นามสกุล เมตตาวิรยิ ะ (พ.ศ. 2512 - 2526) หลวงพอสวิง ฐิตธมฺโม นามสกุล คงทรัพย (พ.ศ. 2526 - 2528) พระ อาจารยผานิต (ผอง) พุทฺธสโร (พ.ศ. 2528 - 2529) หลวงพอสวิง ฐิตธมฺโม นามสกุล คงทรัพย (พ.ศ. 2529 - 2530) พระครูประสุตศีลคุณ (ประจักษ ปยสีโล) พ.ศ. 2530 – ปจจุบนั

อาคารเสนาสนะ

1. อุโบสถ สรางเมื่อ พ.ศ. 2524 - เสร็จเมื่อป พ.ศ. 2536 2. ศาลาการเปรียญ สรางเมือ่ วันที่ 20 มกราคม 2537 เปนอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก 2 ชัน้ สวนศาลาหลังเการือ้ ออกเพือ่ นําไม ไปสรางกุฏสิ งฆ 3. กุฏิสงฆ จํานวน 12 หลัง สรางเมื่อ พ.ศ. 2512 - 2542 ปจจุบัน กําลังปรับเปลีย่ นเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยทําไปแลว 10 หอง 4. ศาลาเอนกประสงค สรางเมือ่ วันที่ 8 กุมภาพันธ 2544 5. แทงนํา้ ประปารูปบาตร สรางเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2530 เปนคอนกรีต เสริมเหล็ก จุนาํ้ ได 12,000 ลิตร โดยมีผใู หญสงั วาลย นางจรูญ เสนนอย เปนเจาภาพ

6. เมรุเผาศพ สรางเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2530 โดยมีแมบุญธรรม เหมือนสอนและนายวิเชียร นางนอย เหรียญพงษนาม เปนเจาภาพ - ปพ.ศ. 2553 สรางเมรุหลังใหม 7. ซุมประตูหนาวัด เปนคอนกรีตเสริมเหล็ก สรางเมือ่ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2537 โดยมีคณุ แมหนู มีเชาว คุณแมมณี เตมิยานนท เปนเจาภาพ 8. เจดียบ รรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ สรางเมือ่ วันที่ 14 พ.ค. 2523 ตอมามีการบูรณะใหม ทาสีทองที่เห็นในปจจุบัน 9. หองสุขา 1 หลัง จํานวน 10 หอง สรางเมือ่ พ.ศ. 2542 10. ศาลาพักรอน 1 หลัง เปนอาคารไม หลังคามุงสังกะสี สรางเมื่อ พ.ศ. 2525 11. ศาลาแปดทิศ (แปดเหลี่ยม) สรางเมื่อ พ.ศ. 2551 12. ศาลาเสาหา (หาเหลีย่ ม) สรางเมือ่ พ.ศ. 2551 13. ซือ้ ทีด่ นิ เพิม่ เติม ทางดานทิศตะวันออก จํานวน 7 ไร 14. กุฏสิ งฆ คอนกรีต 2 ชัน้ จํานวน 20 หองนอน 13 หองนํา้ , หองสมุด, หองสวด มนตไหวพระ สรางเมือ่ พ.ศ. 2552 15. ศาลาบําเพ็ญ กุศลศพ สรางเมื่อ พ.ศ. 2555 16. หอระฆัง สรางเมื่อ พ.ศ. 2555 มี ผูใ หญสละ ชืน่ อุรา เปนเจาภาพ 17. กําแพงศิลาแลง สรางเมือ่ พ.ศ. 2553

ปูชนียสถานสําคัญ

พระพุทธบรมธาตุเจดียศ รีมหาโพธิ สรางเมือ่ วันที่ 14 พฤษภาคม 2523 – 31 ตุลาคม 2525 จึงแลวเสร็จ เพื่อประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุเปนพุทธบูชา เมื่อป พ.ศ. 2523 พระอาจารยทวี พหุสฺสุโต เดินทางไปธุดงค-ปริวาสถิน่ ลานนาไทย เชียงใหม-เชียงราย-ลําปาง-ลําพูน ไดนาํ พระบรมสารีรกิ ธาตุมาเปนมิง่ ขวัญกําลังใจของชาวกรอกสมบูรณ เพือ่ ไดบชู ากราบไหวเปนพุทธสรณียะของพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป สิน้ เงิน คากอสรางทัง้ หมด 67,779.75 บาท เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2548 เวลา 13.15 น. ไดประกอบพิธี อันเชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ ประดิษฐานเหนือยอดเจดีย โดย นายชํานาญ วิเศษเดนชัย ไดนาํ พระบรมสารีรกิ ธาตุมามอบให พระครูประสุตศีลคุณ เจาคณะตําบลกรอกสมบูรณ เจาอาวาส วัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรม ภายในองคเจดียช นั้ กลาง ประดิษฐาน พระพุทธรูป 4 องค คือ พระแกว มรกต หนาตัก 9 นิ้ว สรางโดย กํานันจอย ชุมชื่น, พระพุทธชินราช สรางโดย นายสํารวย นางอรุณ อยูเมือง, พระสุโขทัย สรางโดย นางบุญ จูเจริญ, พระพุทธโสธร สรางโดย นางไข โพธิ์เกิด, ทั้งหมด มีขนาดหนาตัก 15 นิว้

ชั้นฐานเจดียภายในบรรจุพระเครื่อง รอบฐานเจดีย 4 ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูป 4 องค ทิศบูรพา หลวงพอพุทธชินราช ทิศทักษิณ หลวงพอสุโขทัย ทิศปจฉิม หลวงพอพุทธโสธร ทิศอุดร หลวงพอทันใจ หนาตัก 35 นิว้ และ 30 นิว้ โดยนายชํานาญ นางธัญรส วิเศษเดนชัย และครอบครัว, นายกิมใช นางสนิท สายพนัส และครอบครัว เปนประธาน พรอมดวยชาวกรอกสมบูรณทกุ ทานเปนกรรมการสนับสนุน การจัดงาน ขออนุชนทั้งหลาย จงชวยกันรักษาไวเปนปูชนียสถาน อันศักดิส์ ทิ ธิค์ บ ู า นเมืองของเราสืบไป

ประวัติพระครูประสุตศีลคุณ

พระครู ป ระสุ ต ศี ล คุ ณ ฉายา ป ย สี โ ล ชื่ อ -นามสกุ ล เดิ ม คื อ นายประจักษ จันทรงาม ปจจุบนั อายุ 53 ป วันเกิด เกิดจริง 20 มกราคม 2505 แจงเกิด 20 กรกฎาคม 2506 สถานะเดิมกอนบวช อยูที่บาน เลขที่ 77 / 1 หมู 1 ตําบลกรอกสมบูรณ อําเภอศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี บุตรของนายสําราญ-นางแสวง จันทรงาม การศึกษา นักธรรมชัน้ เอก, ปริญญาตรีพทุ ธศาสตรบณั ฑิต (พธบ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา, ปริญญาโทบริหารการศึกษา (M.Ed.) มหาวิทยาลัยรามคําแหง บทบาท ทางสังคม เปนพระอุปช ฌาย มีหนาทีใ่ นการเปนประธาน งานบวชพระ ภายในเขตตําบลกรอกสมบูรณ, เปนพระธรรมทูต ประจําอําเภอศรีมหาโพธิ, เปนกรรมการสถานศึกษาโรงเรียน วัดราษฎรเจริญศรัทธาธรรม และ โรงเรียนกรอกสมบูรณวทิ ยาคม, เปนประธานในการกอสราง และพัฒนาวัด และเปนประธานจัดกิจกรรม เกีย่ วกับการสงเสริมพระพุทธศาสนา คุณธรรมที่ควรยึดเปนแบบอยาง 1. เปนผูมีเมตตา ตอเพื่อน มนุษยท่ัวไป 2. เปนผูทําตนใหเปนประโยชนตอสังคม 3. เปนผูมี ความมุงมั่นคุณธรรม จริยธรรมตอสังคม 4. เปนผูพัฒนาทองถิ่นที่อยู อาศัยใหเจริญกาวหนา 5. เปนผูสงเสริมผูดอยโอกาสทางการศึกษา 6. เปนผูฝ ก ใฝเรียนรู อยูเ สมอ คุณธรรมทีส่ ามารถนําไปใชในชีวติ ประจําวัน 1. เปนผูใ ฝรู อยูเ สมอ 2. พัฒนาชุมชน ทองถิน่ ของตนเอง 3. มีความ ปรารถนาดีตอเพื่อนมนุษย 4. ทําตนใหเปนประโยชนตอสังคมและ ประเทศชาติ

Prachinburi 121


วัดโพธิญาณ

วัดโพธิญาณ เลขที่ 154 หมู่ 1บ้านเกาะเค็ดตําบล หนองโพรงอําเภอศรีมหาโพธิจังหวัดปราจีนบุรีเจ้าอาวาสรูป ปัจจุบันคือ พระครูสันติโพธิคุณ

ประวัติวัดโพธิญาณ

วัดโพธิญาณ เดิมไม่ทราบแน่ชัดว่าก่อตั้งเมื่อใด และ ใครเป็นคนสร้างวัด แต่มีผู้บอกเล่าว่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2339 แต่เดิมชาวบ้านเรียกว่าวัดหลวงพ่อดํา เป็นวัดป่าที่ยังไม่มี พระประธาน ชาวบ้านจึงได้ได้เอาไม้ตะเคียนมาบวงสรวง แล้วแกะสลักให้เป็นรูปพระแบบศิลปะเขมร เพราะแต่ก่อน มีชาวเขมรอพยพมาอยู่ในพื้นที่จึงสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นวัด แรกที่ได้สร้างในจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อวัดเริ่มมีความเจริญ ขึน้ ได้มกี ารสร้างหลวงพ่อใหญ่เป็นพระประธานประดิษฐาน ในอุโบสถมาภายหลังมีการเคลื่อนย้ายอุโบสถ 2 ครั้งแล้ว เนื่องจากมีสภาพเก่าแก่ทรุดโทรมตามกาลเวลา

.indd 2

18/9/2558 15:33:47


ล�าดับเจ้าอาวาส

1. หลวงพ่อพุธเจ้าคณะเขต 2. หลวงพ่อเติม(รักษาการณ์) 3. หลวงพ่อแย้ม (รักษาการณ์) 4. หลวงพ่อชู 5. หลวงพ่อภพ 6. พระใบฎีกา ทรัพย์ 7. พระครูสันติโพธิคุณ พ.ศ.2520 - ปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

พระครูสนั ติโพธิคณุ ได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์วดั ให้มคี วาม เจริญรุง่ เรืองเรือ่ ยมาจวบจนปัจจุบนั พุทธศาสนิกชนท่านใด ประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญ ติดต่อได้ที่ เจ้าอาวาสวัด โทร. 086-1481816

.indd 3

18/9/2558 15:34:04


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วัดนพคุณทอง

……………………………………………. วัดนพคุณทอง ตั้งอยูหมูที่ 7 ตําบลหนองโพรง อําเภอ ศรีมหาโพธิ จังหวัดปราจีนบุรี ไดรับคัดเลือกใหเปนวัดตัวอยาง เปนวัดพัฒนาประจําตําบล ในป พ.ศ.2550 และเปนวัดตนแบบ ปจจุบันมี พระครูขันตินพคุณ เปนเจาอาวาส

ประวัติวัดนพคุณทอง

วัดนพคุณทอง เดิมชือ่ “วัดโคกทอง” กอตัง้ เมือ่ ราวป พ.ศ.2466 บริเวณวัดเปนทีโ่ คกลอมรอบดวยทุง นา มีศาลาการเปรียญ มีอโุ บสถ มีกฏุ ิ เสนาสนะ มีพระจําพรรษาแตละป 6-10 รูป ซึง่ มีพระเปนหัวหนาสงฆ ไมสามารถออกมาบิณฑบาต และบําเพ็ญศาสนกิจได อีกทัง้ ญาติโยม พุทธศาสนิกชน ผูม ศี รัทธาไมสะดวกแกการเดินทางมาทําบุญทีว่ ดั ดังนัน้ คณะกรรมการและทายกทายิกาไดหารือกันหาทีต่ งั้ ใหม เพือ่ ยายวัดโคกทอง ในทีส่ ดุ ไดยา ยวัดมาตัง้ อยูท บี่ า นโคกขวาง หมูท ี่ 7 ต.หนองโพรง เมือ่ ป พ.ศ.2500 และเปลีย่ นชือ่ ใหมวา “วัดนพคุณทอง” โดยชาวบานผูม จี ติ ศรัทธาบริจาคทีด่ นิ ใหสรางศาลาอเนกประสงค เพื่อบําเพ็ญศาสนกิจ ตอมาไดสรางศาลาการเปรียญ โบสถ เมรุ กุฏเิ สนาสนะ วิหาร และมีผบู ริจาคทีด่ นิ บางและทางวัดซือ้ เพิม่ บาง ทําใหปจจุบันเนื้อที่โดยรวม 35 ไร 2 งาน 1 ตารางวา มีพระสงฆ จําพรรษาตั้งแต 10 - 30 รูป

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด

พระนอนวัดนพคุณทอง เปนพระพุทธรูปปางไสยาสนขนาด ใหญ ประดิษฐานในวิหารพระนอนวัดนพคุณทอง เปนพระพุทธรูป ที่ประชาชนทั่วไปเลื่อมใสศรัทธา

รายนามหัวหนาสงฆและเจาอาวาส

พระอาจารยบุญ พระอาจารยกุล พระอาจารยทองดี สุสังวะโร พระครูสุวรรณวรโชติ พ.ศ.2516 - 2538 พระอาจารยบญุ เลิศ ธัมมะกาโม รักษาการเจาอาวาส พ.ศ.2538 2541 พระครูขันตินพคุณ เปนเจาอาวาส พ.ศ.2541 - ปจจุบัน

124

Prachinburi 125


เสนทางพบ นายอําเภอกบินทรบุรี

นายสุรศักดิ์ จิตอารีรัตน นายอำเภอ กบินทรบุรี

อขายการพัฒนาตองกาวไกล “สรางทุกองคกรใหแกรงกลใหา เครืประชาชนมี สวนรวม และยึดหลักธรรมมาภิบาล ”

คือวิสัยทัศนและแนวทางการพัฒนาของอำเภอกบินทรบุรีซึ่ง ตัง้ อยูท างทิศตะวันออกของจังหวัดปราจีนบุรี หางจากจังหวัด 58 กิโลเมตร อำเภอกบินทรบุรี แบงพื้นที่การปกครองเปน 14 ตำบล 193 หมูบานมี เทศบาล 3 แหง และองคการบริหารสวนตำบล 14 แหง มีจำนวน ประชากร 133,148 คน เปนชาย 65,727 คน หญิง 67,421 คน

กบินทรบุรี…ในอดีต

เมื่อครั้งสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชซึ่งมีสงครามติดพัน อยูก บั ทัพเมืองตางๆ ของพมาไดมกี องกำลังของเขมรซึง่ อยูท างภาคตะวันออก เขามากอกวนอยูเ ปนประจำพระองคทรงมอบหมายใหพระยาศรีไสยณรงค และพระยาสีหราชเดโช นำทัพไปปราบญวนซึ่งเขามารุกรานเขมรซึ่ง เปนทัพเมืองประเทศราชขวาราชอาณาจักรสยาม กบินทรบุรีเปนแหลง ชุมนุมไพรพล ยุง ฉางสะสมเสบียงอาหารมีฐานะเปน เมืองกบินทรบรุ จี น กระทั่งเมื่อป พ.ศ.2469 มีการปรับปรุงการปกครองมีการลดฐานะให เปนอำเภอ ขึ้นอยูกับจังหวัดปราจีนบุรี

126

แตเดิมทีว่ า การอำเภอกบินทรบรุ ี ตัง้ อยูท ข่ี า งหนุมาน (ปจจุบนั ตำบลเมืองเกา) เมือ่ ป 2449 ไดยา ยทีว่ า การไปตัง้ ที่ บานปากน้ำบริเวณ ทีบ่ รรจบกันของแควหนุมาน กับ แควพระปรง เนือ่ งจากทีเ่ ดิมมีความแหงแลง และการคมนาคมไมสะดวก และเมื่อ พ.ศ.2528 ไดมีการจัดสราง ที่วาการอำเภอหลังใหม ริมถนนสาย 304 หมูที่ 2 ตำบลกบินทร คือ ทีต่ ง้ั ปจจุบนั โดยอำเภอเมืองสระแกว อำเภอเขาฉกรรจ อำเภอวังน้ำเย็น และอำเภอวังสมบูรณ จังหวัดสระแกวลวนแลวแตเคยอยูใ นเขตปกครอง อำเภอกบินทรบุรีทั้งสิ้น

2. โรงงานบริเวณใกลเคียงกับจุดตัดถนน เชน ศูนยอตุ สาหกรรม หนองกี่ ศูนยอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน นิคมอุตสาหกรรมไฮเทคใน ปจจุบันขับเคลื่อนการจางงานและระบบเศรษฐกิจสำคัญของประเทศ 3. งานบริการสนับสนุนกิจการอุตสาหกรรม ไดแก สถานีขนสง โดยสารประจำทาง สถานีขนสงสินคาภูมภิ าค โกดังและอาคาร ทีพ่ กั สินคา กรรมวิธีของศุลกากร อยูในแผนงานดำเนินกรสนับสนุนเต็มที่ 4. เปนแหลงแรงงานสำคัญ และจำนวนมากกวา 150,000 คน สามารถสนับสนุนกิจการอุตสาหกรรมไดเต็มที่ 5. การคมนาคม อีก 3 ป ทางขึ้นเขาใหญจะเปนถนน 4 เลน ศักยภาพของอำเภอกบินทรบุรี โดยตลอดถนนจะไดรบั มาตรฐาน พาหนะจากแหลมฉบัง ทีจ่ ะขึน้ หรือลง อำเภอกบินทรบุรี เปนอำเภอขนาดใหญพิเศษประกอบดวย จากอีสานทัง้ หมด จะใชเสนทางนี้ ถนนสายนีจ้ ะเต็มไปดวยรถยนตนานาชนิด หนวยราชการสวนกลาง 17 หนวย ,หนวยราชการสวนภูมิภาคสายการ 6. การขนสงทางรถไฟจะชวยลดตนทุน และมีความสำคัญ บังคับบัญชาขึน้ กับจังหวัดปราจีนบุรี 9 แหง , หนวยราชการสวนภูมภิ าค แหลงโบราณสถานและพระสำคัญ สายการบังคับบัญชาขึน้ กับอำเภอกบินทรบรุ ี 11 แหง ,โรงงาน อุตสาหกรรม 1. วัดหลวงบดินทรเดชา เคยเปนสถานที่กระทำ พิธีถือน้ำ 3 ศูนย จำนวน 221 แหง ,ธนาคาร 18 แหง ,รานคา ผูป ระกอบการทัว่ ไป พิพัฒนสัตยากอสรางตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 800 แหง และมีสนามกอลฟมาตรฐาน 18 หลุม 2 แหง 2. วัดบรรพตเขมาราม(เขาแจงแมง) นอกจากนีพ้ น้ื ทีอ่ ำเภอกบินทรบรุ ยี งั เปนแหลงเกษตรกรรมขนาดใหญ 3. หลวงพอบุญมา วัดบานแกง ตำบลวังตะเคียน เกจิชื่อดัง โดยสามารถแยกประเภทการทำเกษตรไดดงั นี้ คือ ฟารมปศุสตั ว 130 แหง เปนที่เคารพบูชาแกสาธารณชนทั่วไป ,ขาว 123,739 ไร ,ออย 17,017 ไร ,ขาวโพด 28,250 ไรและมันสำปะหลัง 4. หลวงพอบรรหารกบินทรเขต รูปปน เจาคณะอำเภอ กบินทรบรุ ี 130,097 ไร เมื่อป 2475 ณ โรงเรียนบรรหารวิทยา ตำบลเมืองเกา 5. หลวงพอพุก วัดพระยาทำ ความสำคัญในอนาคต 1. ถนนสายสุวรรณศรไปกัมพูชา ตัดกับ สาย 304 หนองคาย 6. หลวงพอโชติ และหลวงพอฉิม แหงวัดเพชรเอิม ตำบลวังดาล -แหลมฉบัง ที่กบินทรบุรี จึงเปนศูนยกลางการเชื่อมตอที่สำคัญ 7. ศาลเจาพอพระปรง ตัง้ อยูท ร่ี อยตอระหวาง อำเภอกบินทรบรุ ี

Prachinburi 127


เส้นทางพบ องคการบริหารสวนตําบลนนทรี

พันธกิจ (Mission) การพัฒนาทองถิ่น

อบต.นนทรี ไดกำหนดภารกิจหลักหรือพันธกิจ (Mission) ในการดำเนินกิจการ ดังตอไปนี้ การพัฒนาเมืองนาอยู โครงสรางพื้นฐานพัฒนาการ คมนาคม ไฟฟาสาธารณะ การระบายน้ำการพัฒนาและฟนฟู แหลงน้ำเพือ่ การอุปโภค บริโภค และเพือ่ การเกษตรใหกบั ประชาชน การผั ง เมื อง การปรั บปรุ ง ไฟฟ า สาธารณะ ขยายเขตไฟฟา สาธารณูปโภค สาธารณูปการตาง ๆ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน การสาธารณสุข การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สงเสริมความเขมแขงของชุมชน การนั น ทนาการ และส ง เสริ ม กิ จ กรรมการกี ฬ าการป อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย จัดสวัสดิการและสังคมสงเคราะห การพัฒนาสงเสริมการประกอบอาชีพและยกระดับรายได การสงเสริมการตลาดชุมชน สินคาพืน้ เมืองสนับสนุนระบบเศรษฐกิจ ชุมชนการแทรกแซงราคาพืชผล สนับสนุนกลุมอาชีพตางๆ และการจัดตั้งกลุมที่เปนธรรม สามารถพึ่งตนเองได การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล นายกองคการบริหารสวนตำบลนนทรี การพัฒนาอนุรักษ การปองกันการทำลายการบำบัด และฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม โดยการมีสว นรวม ของประชาชน อยางยั่งยืน การพัฒนารูปแบบการรักษาความมั่นคง ความสงบ “ นนทรีเปนเมืองที่นาอยู คนมีความรูคูวัฒนธรรมอันดีงาม เรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน

นายประเสริฐ แววนำ

คุณภาพชีวิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ”

คือวิสัยทัศน ( Vision) การพัฒนาองคการบริหาร สวนตำบลนนทรี อำเภอกบินทรบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรโี ดยมีระยะหาง จากอำเภอกบินทรบรุ ี ประมาณ 20 กิโลเมตร ปจจุบนั มี นายประเสริฐ แววนำ ดำรงตำแหนง นายกองคการบริหารสวนตำบลนนทรี และนายสมาน พัฒใส เปน ประธานสภา อบต.นนทรี

ขอมูลทั่วไป อบต.นนทรี ตัง้ อยูใ นภาคตะวันออกของประเทศหางจาก กรุงเทพมหานคร ประมาณ 150 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทาง ประมาณ 1 ชั่วโมง 45 นาที เปนจุดเชื่อมโยงการคมนาคมจาก กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคตะวันออก อบต.นนทรี มีเนื้อที่โดยประมาณ 67.38 ตร.กม. หรือ ประมาณ 42,113 ไร มีจำนวนหมูบ า นในเขตปกครองรวม 16 หมูบ า น ภูมิประเทศสวนใหญเปนที่ราบดินรวนปนทราย ตอนบนเปนที่ ราบเชิงเขาพื้นที่ประกอบดวยลำคลองหลายสาย ซึ่งเหมาะกับ การทำการเกษตรประชาชนสวนใหญจงึ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม

128

ยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ.2559 - 2563)

จากการวิเคราะหศกั ยภาพและโอกาสการพัฒนาเปนการ นำหลักเทคนิคมาใชในการพิจารณาขอมูล เพือ่ นำไปสูก ารกำหนด ยุทธศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยพิจารณาปจจัยสภาวะ แวดลอมภายในทองถิ่นปจจัยสภาวะแวดลอมภายนอก ซึ่งทำให สามารถตระหนักถึงจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค เพือ่ เปน การประเมินศักยภาพและกำหนดทิศทางเปาหมายในอนาคตได อยางถูกตองเหมาะสมกับสถานการณ อบต.นนทรี จึงกำหนด ยุทธศาสตรการพัฒนา (พ.ศ.2559-2563 ) 6 ดาน ดังนี้ ยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาดานโครงสรางพืน้ ฐาน เพือ่ พัฒนา ระบบโครงสรางพืน้ ฐานใหไดมาตรฐาน ใหมกี ารคมนาคมทีส่ ะดวก มีระบบไฟฟาทั่วทุกหมูบาน พัฒนาแหลงน้ำอุปโภค บริโภคและ การเกษตรใหเพียงพอตลอดปไฟฟาสาธารณะและตามครัวเรือน ประชาชนในเขตตำบลนนทรี เพือ่ องคการบริหารสวนตำบลนนทรี เปนเมืองนาอยู

ยุทธศาสตรท่ี 2 พัฒนาดานคนและสรางสังคมใหเขมแข็ง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ดี และเสริมสรางความ เขมแข็งของชุมชนใหมีความเขมแข็ง ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาดานเศรษฐกิจและแกไขปญหา ความยากจน เพือ่ ใหประชาชนมีรายได มีอาชีพมีงานทำและพัฒนา ฝมือแรงงานหรือ การจัดตั้งกลุมที่เปนรูปธรรม ยุทธศาสตรที่ 4 พัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม เพือ่ อนุรกั ษและสงเสริมการ บริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหอยูในสภาพดี ยุทธศาสตรท่ี 5 พัฒนาดานการบริหารจัดการบานเมือง ทีด่ ี เพือ่ ใหเกิดการบริหารจัดการทีด่ ใี นการบริหารงานในองคการ บริหารสวนตำบลนนทรี และสงเสริมกระบวนการการมีสวนรวม ของประชาชน ยุทธศาสตรท่ี 6 พัฒนาดานการรักษาความมัน่ คงความ สงบเรียบรอย และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ เพือ่ ดูแล รักษาความมั่นคงความสงบเรียบรอยและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพยสินของประชาชน

Prachinburi 129


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลเมืองเกา

การบริหารงาน 1.ดานเศรษฐกิจและโครงสรางพื้นฐาน สงเสริมการเกษตรแบบครบวงจรในดานการผลิต การตลาด การแปรรูป โดย การนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช พัฒนาดานโครงสรางพืน้ ฐานตาง ๆ เชน การคมนาคม การขนสง แหลงนํา้ ถนนหนทาง ไฟฟา ประปา เปนตน และการพัฒนาการตลาด วัตถุดิบ การเกษตร อุตสาหกรรมในครัวเรือน รวมทัง้ การสรางเครือขายการรวมกลุม เพือ่ พึง่ ตัวเองตามนโยบายเศรษฐกิจ ชุมชนแบบพึ่งตนเอง 2. ดานสังคม สาธารณสุข ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน พัฒนา สงเสริม ระบบสาธารณสุข การยกระดับคุณภาพชีวิต การ สรางเครือขายองคกร ชุมชนเขมแข็งในทองถิ่น การเผาระวังการปองกัน แกไขปญหายาเสพติด สนับสนุนการใหความรูการประกอบอาชีพแก ผูวางงาน ผูสูงอายุ ผูพิการ ในดานการสังคมสงเคราะห สวัสดิการตางๆ ของผูดอยโอกาส

วัดแกวฟารังษี…สถานทีส่ าํ คัญของต.เมืองเกา

วัดแกวฟารังษี ตั้งอยูบานหนองรี หมูที่ 5 ตำบลเมืองเกา กอตั้งเมื่อ พ.ศ.2302 เดิมชือ่ วัดหนองรู ตอมาป พ.ศ.2430 พระครูบรรหารกบินทรเขตต (หลวงพอแกว) เจาคณะอำเภอกบินทรบรุ ไี ดเปลีย่ นชือ่ วัดเปนวัดแกวฟารังษี ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา เพื่อ พ.ศ.2471 มีเหตุการณสำคัญ คือ พระยาบดินทรสิงหเสนี ไดใชบริเวณนี้เปนกองบัญชาการตั้งแนวรบไลตี ขาศึกในระหวางสงครามปราบเขมร

นายพรประสิทธิ์ หนูแกว นายกองคการบริหารสวนตำบลเมืองเกา วยใจ โปรงใสยุติธรรม “สงเสริบริมการดวัฒนธรรม หนุนนำการศึกษา

พัฒนาแหลงน้ำ นอมนำเศรษฐกิจพอเพียง

คือวิสัยทัศนขององคการบริหารสวนตําบลเมืองเกา ซึ่งมีที่ทําการตั้ง อยูเลขที่ 264 ม.5 ต.เมืองเกา อ.กบินทรบุรี จ.ปราจีนบุรี รหัสไปรษณีย 25240 โทรศัพท 037575260 เว็บไซต www.muangkao.go.th ปจจุบนั มี นายพรประสิทธิ์ หนูแกว ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบล เมืองเกา

3. ดานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สงเสริมการใหความรูดานการศึกษาแกเด็ก เยาวชน ใหทองถิ่น สวัสดิการ การนันทนาการ การออกกําลังกาย การสรางเครือขายองคกร บํารุงรักษาศาสนา จารีตประเพณีและภูมิปญญาอันดีงามของทองถิ่น

ขอมูลทัว่ ไป

กิจกรรมสําคัญ

อบต.เมืองเกา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 47 ตร.กม.หรือประมาณ 29,375 ไร หางจากอําเภอกบินทรบุรีประมาณ 13 กม. การคมนาคม ติดถนน 304 ฉะเชิงเทรา – นครราชสีมา มีพื้นที่รับผิดชอบ จํานวน 21 หมูบาน มี จํานวนประชาคม รวมทั้งสิ้น 11,102 คน เปนชาย 5,402 คน หญิง 5,700 คน จํานวนครัวเรือน 3,206 ครัวเรือน

130

วันพอแหงชาติ 5 ธันวามหาราช จัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช โดยคณะผูบริหารขาราชการ เจาหนาที่ สมาชิกสภา กํานัน ผูใหญบาน และประชาชนในพื้นที่ ไดนอมถวายความจงรักภักดี รวมใจปกปองและเทิดทูนสถาบันหลักของชาติ ใหธํารงอยูเปนศูนยรวม จิตใจ นํามาซึ่งความรักและสามัคคีของคนในชาติสืบไป กีฬาตานยาเสพติด จัดการแขงขันกีฬาของชุมชนหมูบ า นเพือ่ สราง ความสามัคคีในชุมชน และใหใชเวลาวางใหเปนประโยชนเพื่อหางไกล ยาเสพติด ซึ่งเปนภัยรายบอนทําลายชาติ

ผักกระเฉดชะลูดนํา้ ของดีต.เมืองเกา ผักกระเฉดชะลูดน้ำในตำบลเมืองเกานัน้ มีทม่ี าจากหมูบ า นของเกษตรกร ที่ตั้งอยูริมแควหนุมาน ตำบลเมืองเกา สวนใหญจะปลูกผักกระเฉดไวขาย สงในตลาด ครั้งหนึ่งเกิดอุทกภัยทำใหผักกระเฉดที่ปลูกไวจมน้ำเสียหาย และมีผักกระเฉดบางสวนชะลูดน้ำขึ้นมา เกษตรกรจึงเก็บไปขายในตลาด พบวาจำหนายไดราคาดี เพราะมีรสชาติอรอยและกรอบมากกวาผักกระเฉด แบบเดิม ไมวา จะใชผดั แกงสม รับประทานสดกับน้ำพริก ยำ ชุบแปงทอด ฯลฯ ก็เปนทีน่ ยิ มกันมาก เกษตรกรจึงหันมาปลูกผักกระเฉดชะลูดน้ำกันอยาง แพรหลาย นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุมแมบานทำผักกระเฉดชะลูดน้ำใน ชุมชนดวย

Prachinburi 131


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลวังทาชาง

ยุทธศาสตรการพัฒนา องคการบริหารสวนตำบลวังทาชาง ไดกำหนดยุทธศาสตร การพัฒนาไวทั้งหมดดังนี้ 1. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานโครงสรางพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานเศรษฐกิจ 3. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานสังคม การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม สาธารณสุข และการกีฬา 4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานทรัพยากรธรรมชาติสง่ิ แวดลอม 5. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการเมืองการบริหารจัดการทีด่ ี

แหลงทองเที่ยวสำคัญ วัดเขาถ้ำเทพพิทกั ษ์ ตัง้ อยูท ่ ี บานเขาถ้ำ หมูท ่ ี 10 ตำบลวังทาชาง อำเภอกบินทรบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี กอตัง้ เปนวัดเมือ่ ราวป 2549 บนเนือ้ ที่ 25 ไร 2 งาน ปจจุบนั พระครูสทิ ธิปญ ญาวุธ หรือ หลวงพอสมใจ ฉายา ปญญาวุโธ อายุ 57 ป หลวงพอสมใจอุปสมบท ณ.วัดวิโสธนาราม ตำบลตาดทอง อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร หลวงพอสมใจทานได รับการแตงตัง้ เปนพระปลัดสมใจ ปญญาวุโธ ในวันที่ 9 มีนาคม ป พ.ศ.2544 และไดพระราชทานสมณะศักดิเ์ ปนพระครูชน้ั โทในวันที่ 22 มกราคม พ.ศ.2556 ณ.วัดโสธรวราราม ชือ่ วาพระครูสทิ ธิปญ ญาวุธ เปนเจาอาวาส

นางสาวภัทริน ภูมณี

นายกองคการบริหารสวนตำบลวังทาชาง “บานเมืองนาอยู เชิดชูการเกษตร สืบสานประเพณี” คือวิสัยทัศนการพัฒนาขององคการบริหารสวนตำบล วังทาชาง ซึ่งตั้งอยูหมูที่ 3 ตำบลวังทาชาง อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีระยะทางหางจากจังหวัดปราจีนบุรี 94.5 กิโลเมตร ปจจุบันมี นางสาวภัทริน ภูมณี ดำรงตำแหนง นายกองคการบริหารสวนตำบลวังทาชาง

ประวัติความเปนมา ตำบลวังทาชาง เดิมเปนหมูบ า นหนึง่ ของตำบลวังตะเคียน เดิมชือ่ วา “บานทาชาง” เนือ่ งจากแตกอ นมีชา งและสัตวปา อืน่ ๆ จำนวนมาก ชางมักลงไปอาบน้ำและดืม่ น้ำทีค่ ลองวังทาชางเปน ประจำเมือ่ ประมาณป พ.ศ. 2515 ไดเริม่ มีประชาชนเขามายูอ าศัย และทำมาหากินมากขึ้น ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนบานวังทาชาง และไดแยกเปนตำบลวังทาชาง เมื่อ พ.ศ. 2528 โดยเปน 1 ใน 14 ตำบลของอำเภอกบินทรบุรี

ขอมูลทั่วไป

องคการบริหารสวนตำบลวังทาชาง มีพื้นที่รับผิดชอบ ประมาณ 246 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 153,750 ไร มี 23 หมูบาน จำนวนหลังคาเรือน 4,446 หลังคาเรือน ประชากร ทั้งสิ้น 16,061 คน แยกเปนชาย 8,028 คน หญิง 8,033 คน

132

วัดวังดินสอ ตั้งอยูเลขที่ 18 บานวังดินสอ หมูที่ 1 ตำบลวังทาชาง สังกัดคณะสงฆมหานิกาย และมีหลวงปูม ว ง ยโสธโร เปนเจาอาวาสองคแรก ประวัตกิ ารกอตัง้ วัดเริม่ จาก หลวงปูม ว ง ยโสธโร ไดเดินทาง จากบานเมืองจันทร อำเภอเมืองจันทร (เดิมอำเภออุทมุ พรพิสยั ) จังหวัดศรีสะเกษ เพือ่ ไปจำวัดในจังหวัดทางภาคใต ราวป 2514-2515 และโจรใตปาระเบิดใสกุฏิหลายตอหลายครั้ง จึงทำใหทานตอง เดินทางมาจำวัดทีบ่ า นโปรงใหญ ราวป 2516-2518 เมือ่ ทานไดตง้ั วัดโปรงใหญเสร็จเรียบรอย ทานจึงไดเดินทางมาทีห่ มูบ า นวังดินสอ และกอตัง้ วัดวังดินสอ โดยประกาศตัง้ วัดเมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2521 มีเนื้อที่ 10 ไร 2 งาน 21 ตารางวา สำนักปฏิบัติธรรมเขาถ้ำน้ำทิพย ตั้งอยูหมูที่ 10 ตำบล วังทาชาง อำเภอกบินทรบุรี จังหวัดปราจีนบุรี

Prachinburi 133


Ùi | Î Ü ¡ ¢³ª|¡Ù i Ù

134

z¤Ø ¤e ª}i x |Ú ¡ Ø Ð


วัดท่าข่อย

วัดท่าข่อย ตั้งอยู่เลขที่ 75 หมู่ 14 ต�ำบลเมืองเก่ำ อ�ำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปรำจีนบุรี เป็นวัดรำษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหำนิกำยเจ้ำอำวำสองค์ปัจจุบันคือ พระครูวรดิษฐ์ กิตติสาร

ความส�าคัญของวัดท่าข่อย

วัดท่ำข่อยมีควำมเจริญเรื่อยมำ เพรำะได้รับกำรอุปถัมภ์ จำกส�ำนักพุทธศำสนำ และญำติโยมผู้มีจิตศรัทธำ ภำยในวัด มีโบรำณสถำน และโบรำณวัตถุที่สวยงำมและทรงคุณค่ำทำง ประวัติศำสตร์ อันแสดงให้เห็นถึงควำมเจริญรุ่งเรืองของวัดมำ แต่อดีตกำล

.indd 2

18/9/2558 15:13:48


สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด

พระพุ ท ธรู ป สมั ย สุ โ ขทั ย พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง ประเทศไทยซึ่งมีควำมงดงำมน่ำเลื่อมใสศรัทธำ และมีสำธุชน ไปกรำบไหว้สักกำรบูชำอยู่เสมอ

ร่วมสรางเสนทางบุญ

พุทธศำสนิกชนผูม้ จี ติ ศรัทธำสำมำรถร่วมสร้ำงเส้นทำงบุญ กับวัดท่ำข่อย ได้ทพี่ ระครูวรดิษฐ์ กิตติสาร โทร. 080 - 092 2927

พระครูวรดิษฐ์ กิตติสาร

.indd 3

18/9/2558 15:14:22


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

พระค รปู รชี าธรรมวมิ ล

วัดโพธิ์ศรีถาวร

..………………………………………………………… วัดโพธิศ์ รีถาวร ตัง้ อยูเ ลขที่ 9/1 หมู 6 ตําบลวังตะเคียน รายนามเจาอาวาสและผูปกครองวัด

อําเภอกบินทรบรุ ี จังหวัดปราจีนบุรี มีเนือ้ ที่ 12 ไร 2 งาน 37 ตารางวา หลวงปูเ ทพ (มรณภาพ) หลวงปูเ อีย่ ม สุวณฺโณ (มรณภาพ) โดยมี หลวงปูเ อีย่ ม สุวณฺโณ ซึง่ เปนอดีตเจาอาวาสวัด ทีญ่ าติโยม อาจารยสนิท (ลาสิกขา) หลวงพอเคน ติกขฺ วณฺโณ พ.ศ.2495 ใหความเลื่อมใสศรัทธา และเคารพนับถือมากเนื่องจากทาน 2530 (มรณภาพ) พระครูประโชติรัตนาภรณ (จต.อุปชฌาย) มีบทบาทในการบริหารวัดและชุมชนเปนอยางมาก พ.ศ.2530 - 2551 (มรณภาพ) พระอธิการเอก โชติวโร (พ.ศ.2551 ปจจุบัน) ประวัติวัด วัดโพธิศ์ รีถาวร มีความเปนมาไมชดั เจน ทราบเพียงคราวๆ กิจกรรมสําคัญของวัด การแสดงธรรมประจําทุกวันพระ การเวียนเทียนในวันสําคัญ วา วัดสรางขึน้ ประมาณ พ.ศ.2466 (ตามหนังสือรับรองสภาพวัด) ไดรบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2534 อยูใ นการปกครอง ทางพระพุทธศาสนา ถวายพระพร ในวันที่ 12 สิงหาคม และ ของคณะสงฆฝายมหานิกาย ปจจุบันมีเสนาสนะดังนี้ อุโบสถ วันที่ 5 ธันวาคม ถือศีลอุโบสถ ปฏิบตั ธิ รรมวันพระและวันสําคัญ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิชั้นเดียว 3 หลัง ศาลา อืน่ ๆ ปจจุบนั อยูใ นการดูแลและบริหารของพระครูปรีชาธรรมวิมล ธรรมสังเวช 1 หลัง เมรุ 1 หลัง หองนํา้ -สวม 2 หลัง หอระฆัง ซึ่งเปน รองเจาอาวาส 1 หลัง วิหาร 1 หลัง ศาลาเอนกประสงค 1 หลัง

138


วัดบรรพตเขมาราม พระครูพรหมญาณประยุต

พระอธิการอ้น มนุญโญ

พระครูบรรพตเขมาภิวัฒน์

อุโบสถ พระเจดีย์

พระปางป่าเลไลย์

วัดบรรพตเขมาราม เลขที8่ 5 หมู่ 4 ต�ำบลนำแขม อ�ำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปรำจีนบุรี 25110 ปัจจุบันมี พระครูบรรพต เขมาภิวัฒน์ เป็นเจ้ำอำวำสองค์วัด และเจ้ำคณะต�ำบลนำแขม

ประวัติวัด

วัดบรรพตเขมาราม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2486 ได้รับอนุญำต ให้สร้ำงวัด พ.ศ.2490 ผูกพัทธสีมำ ปี พ.ศ.2500 มีพระครู พรหมญาณประยุต (หลวงพ่อบู่) เป็นผู้สร้ำงวัด เดิมวัดมีเนื้อที่ 100 ไร่ ปัจจุบันนี้มีเนื้อที่ 994 ไร่ 12 ตำรำงวำ โดยมี คุณโยม ปั่ง สุกัญญา นางพิน สุกัญญา เป็นคนถวำยที่ดินให้กับทำงวัด

ล�าดับเจ้าอาวาส

1. พระครูพรหมญำณประยุต (หลวงพ่อบู่) 2. พระอธิกำรอ้น มนุญโญ 3.พระครู บ รรพตเขมำภิ วั ฒ น์ เ ป็ น พระครู แ ละ

.indd 1

พระนอน

พระอุปชั ฌำย์ ปัจจุบนั ท่ำนด�ำรงต�ำแหน่งเจ้ำคณะต�ำบลด้วย

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด

พระนอน พระเจดีย์ อุโบสถ พระปำงป่ำเลไลย์สถำนที่ ทรงตรัสรู้ เทวทูต 4 ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พุ ท ธศำสนิ ก ชนสนใจร่ ว มสร้ ำ งเส้ น ทำงธรรมกั บ วัดบรรพตเขมาราม ติดต่อที่ พระครูบรรพตเขมาภิวัฒน์ โทร. 081-6672372

18/9/2558 14:57:27


เสนทางพบ นายอําเภอประจันตคาม

การเกษตรกรรม อำเภอประจันตคามมีพื้นที่การเกษตร ทั้งสิ้น 98,687 ไร ครอบครัวเกษตรกรจำนวน 3,794 ครัวเรือน สภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจทีส่ ำคัญๆ ไดแก ขาวนาป ไมผลไมยนื ตน พืชไร ไมดอกไมประดับ พืชผัก ปศุสตั ว ไดแก โค กระบือ สุกร ไก ไกพน้ ื บาน และเปด การอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับอนุญาต ดำเนินการและประกอบการ จำนวน 5 แหง

ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรน้ำ ลำน้ำที่สำคัญของอำเภอประจันตคามไดแก ลำน้ำประจันตคาม มีโครงการแมน้ำประจันตคามวางระบบรางน้ำ ทั้งหมด 3 ตำบล มีพื้นที่ทางการเกษตรที่ไดรับประโยชน จำนวน 25,000 ไร มีแหลงตนน้ำไหลมาจากเทือกเขาใหญทางทิศเหนือผาน ตอนกลางทองที่อำเภอประจันตคาม หางจากตลาดประจันตคาม ประมาณ 800 เมตร ไหลลงสูแมน้ำปราจีนบุรีที่บานชองแคบตำบล ประจันตคาม เปนระยะทางยาว 27 เมตร ทรัพยากรปาไม้ มีพน้ื ทีป่ า ไมทส่ี ำคัญ ไดแกพน้ื ทีเ่ ขตอุทยาน แหงชาติเขาใหญ ในทองทีต่ ำบลโพธิง์ าม ตำบลหนองแกว ตำบลบุฝา ย ตำบลคำโตนด และตำบลดงบัง

สถานที่สำคัญและสถานที่ทองเที่ยว

นายพิพิธ ภาระบุญ นายอำเภอ ประจันตคาม

อำเภอประจันตคาม ที่วาการอำเภอประจันตคามตั้ง อยูห มูท ่ ี 2 ตำบลประจันตคามอยูท างทิศตะวันออกของจังหวัดปราจีนบุรี การคมนาคมติดตอระหวางอำเภอกับจังหวัดทางหลวงแผนดิน สายสุวรรณศร ระยะทางประมาณ 19 กิโลเมตร สายปราจีนตคาม ระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร และสาย ประจันตคาม-ศรีมหาโพธิปราจีนบุรี ระยะทางประมาณ 38 กิโลเมตร ปจจุบนั มี นายพิพธิ ภาระบุญ ดำรงตำแหนง นายอำเภอ ประจันตคาม

ประวัติความเปนมา

อำเภอประจันตคาม เดิมมีฐานะเปนเมืองเมือ่ กอนเมือง เรียกวา “บานกบแจะ” ตามประวัติ ทาวอุเทน ทาวสรอย เพลีย้ เมืองแสน เปนผูรวบรวมไพรพลที่ถูกกวาดตอนมาจากเมืองเวียงจันทร เมืองมหาชัย และอีกหลายเมืองในภาคอีสานของประเทศไทย ผานมาทางเมืองทาอุเทน นครพนม และกาฬสินธุ เรื่อยลงมา (ในครัง้ ทีไ่ ทยยกทัพไปปราบเจาอนุวงษ เมืองเวียงจันทร แลวก็เลย ถือโอกาสกวาดตอนมาดวย) มีการรวบรวมคนที่ถูกกวาดตอน ตั้งเปนหมูบานขนาดใหญขึ้น

140

ตอมาไดรับการยกฐานะขึ้นเปนเมืองเรียกวา “ เมือง ประจันตคาม ” ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูห วั แหงกรุงรัตนโกสินทร ทาวอุเทนไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เปนหลวงภักดีเดชะ วาราชการเมืองประจันตคามตั้งแตนั้นมา ตอมาปรากฏวาหลวงภักดีเดชะ เจาเมืองคนแรกมีความชอบใน ราชการสงคราม ในดานการสูรบปราบปรามกองทัพญวนซึ่งยก มาตีกรุงพนมเปญครั้งแรก และไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เปนพระภักดีเดชะ ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั พระองคทรงดำริปฏิรปู การปกครองหัวเมือง จึงทรงยุบ เมืองประจันตคามลง เปน “อำเภอประจันตคาม” ในป พ.ศ. 2448 มีนายอำเภอเปนหัวหนา ปกครองบังคับบัญชาขึ้นตรงตอจังหวัดปราจีนบุรีจนถึงปจจุบัน เปนเวลากวา 107 ป มีนายอำเภอ 43 คน

สภาพทั่วไปและสภาพทางเศรษฐกิจ อำเภอประจันตคาม มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 904.005 ตาราง กิโลเมตร เปนรอยละ 18.38 ของพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี การปกครอง แบงเขตการปกครองตาม พ.ร.บ. ลักษณะ ปกครองทองที่ พ.ศ.2457 เปน 9 ตำบล จำนวน 106 หมูบาน มีเทศบาล 2 แหง คือ เทศบาลตำบลประจันตคาม และเทศบาล ตำบลโพธิ์งาม และมีองคการบริหารสวนตำบล 8 แหง คือ อบต.ประจันตคาม อบต.คำโตนด อบต.เกาะลอย อบต.ดงบัง อบต.บานหอย อบต.หนองแกว อบต.บุฝา ย และอบต.หนองแสง ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 54,187 คน แยกเปน ชาย 26,395 คน หญิง 27,729 คน (หมายเหตุขอ มูล เดือนธันวาคม 2557)

หลวงพอเส็งวัดศรีประจันตคาม อยูห มูท ่ี 6 ตำบลประจันตคาม เลือ่ งลือกันวาคำพูดของหลวงพอเส็งศักดิส์ ทิ ธิม์ าก ในยุคสมัยทีท่ า นมีอายุอยู ไดรบั ความเชือ่ ถือในเรือ่ งความศักดิส์ ทิ ธิจ์ ากสิง่ บูชาของทานทัง้ จังหวัดปราจีนบุรี ทานไดมรณภาพแลว เมือ่ ป พ.ศ.2506 หลวงพอเอียวัดบานดาน อยูห มูท ่ี 5 ตำบลเกาะลอย ประชาชน เชือ่ ถือศรัทธาทานมรณภาพเมือ่ วันที่ 17 กรกฎาคม 2511 น้ำตกแกงสลัดได อยูห มูท ่ี 8 ตำบลบุฝา ย สภาพเปนแหลงน้ำ ไหลตามหุบเขา เทือกเขาใหญมนี ำ้ มากไหลเชีย่ วเฉพาะหนาฝนไหลลดระดับ ตามแกงหินสองฟากมีเนินเขาเปนปาโปรง เหมาะแกการเดินเลนและพักผอน น้ำในแกงใสสะอาดสามารถเลนไดเปนอยางดี หางจากถนนสุวรรณศร ประมาณ 15 กิโลเมตร น้ำตกตะครอ อยูท ช่ี น้ั ลางลงมาของแกงสลัดไดหางจากถนน สุวรรณศร ประมาณ 13 กิโลเมตร ตามเสนทาง อบจ.มีสภาพเปนธาร น้ำไหลบริเวณกวางการคมนาคมสะดวกเปนที่นิยมของคนในทองถิ่น และขางเคียงเปนทีท่ ำการของหนวยรักษาปาของอุทยานแหงชาติเขาใหญ น้ำตกสมปอย อยูในบริเวณตอนลางลงมาจากน้ำตกตะครอ อีกชัน้ หนึง่ น้ำตกธารทิพย อยูห า งจากถนนสุวรรณศรไปตามถนน อบจ. ประมาณ 12 กิโลเมตร ตำบลหนองแกวการคมนาคมยังไมสะดวกนัก มีสภาพหลายชัน้ ทัง้ ผาสูงและธารน้ำไหลมีความสวยงามนาประทับใจ

OTOP อำเภอประจันตคาม

เถาวัลยประดิษฐ บานนก 3 ชอง แหลงผลิตอยูท ่ี ตำบลโพธิง์ าม อำเภอประจันตคาม ไมกวาดดอกหญา แหลงผลิตอยูที่ตำบลประจันตคาม และตำบลโพธิ์งาม อำเภอประจันตคาม หัตถกรรมจักสานจากไมไผ เฟอรนิเจอรไมไผ่ แหลงผลิตอยูที่บานโงงและบานโพธิ์งาม อำเภอประจันตคาม ทำเปนโตะเกาอี้ ชุดรับแขกสนาม ชัน้ วางของ ฯลฯ มีจำหนายตามริมทางที่แหลงผลิตบนถนนสาย 33

Prachinburi 141


เสนทางพบ เทศบาลตําบลโพธิ์งาม

ขอมูลทั่วไป

เทศบาลตำบลโพธิ์งาม มีเนื้อที่ประมาณ 323.60 ตร.กม. หรือ ประมาณ 202,250 ไรแบงพื้นที่การปกครอง เปน 19 หมูบาน มีประชากร ทั้งสิ้น 10,544 คน แยกเปน ชาย 5,146 คน หญิง 5,398 คน ประชากรของ ตำบลโพธิง์ าม สวนใหญมีอาชีพผลิตสินคาหัตถกรรมพื้นบาน เชน จักสาน ไมกวาด หมวกและหัตถกรรมไมไผ (ทำโตะ เกาอี้ ชุดรับแขก บันได) เกษตรกรรม (ทำนา ทำสวนไมไผตง ไมดอก ไมประดับ และปลูกยางพารา บางสวน) เลี้ยงสัตว เชน วัว ไก หมู และอาชีพอื่นๆ เชน คาขาย รับจาง ฯลฯ ผลการพัฒนา ทต.โพธิ์งามในปที่ผานมา

นายบันเทิง ปญญาดี นายกเทศมนตรีตำบลโพธิ์งาม

“ตำบลโพธิ์งามนาอยู มุงสูการพัฒนา

ประชาชนมีความสุข ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพีย”ง คือวิสยั ทัศนการพัฒนาของเทศบาลตำบลโพธิง์ าม ซึง่ ตัง้ อยูใ นพืน้ ทีข่ องอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรโี ดย อยูหางจากอำเภอประจันตคาม ประมาณ 7 กิโลเมตร ปจจุบนั มี นายบันเทิง ปญญาดี ดำรงตำแหนงนายกเทศมนตรี ตำบลโพธิง์ าม และมี จาเอกสมบัติ ฤทธิบ์ รู ณ เปน ปลัดเทศบาล

142

5. การดำเนินงานดานสาธารณสุข 1. การดำเนินงานดานเศรษฐกิจ - จัดซื้อเครื่องพนยากำจัดยุงชนิดฝอยละออง พรอมทั้งยา - มีการฝกอบรมและสงเสริมอาชีพเกษตรกรรม เพื่อกำจัดพาหะนำโรคไขเลือดออก 2. การดำเนินการดานสังคม - อุดหนุนงบประมาณศูนยเฉลิมพระเกียติชวยเหลือ ผูปวย - มีการรณรงคปอ งกันยาเสพติด และแกไขปญหายาเสพติด ติดเชื้อไวรัสเอดส - จัดใหมีการเผยแพรใหความรูเรื่องปญหาโรคเอดสแก - จัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตรและการแพทย ประชาชน - จัดใหมีบริการขอมูล ขาวสารดานสาธารณสุข - อุดหนุนงบประมาณในการจัดเก็บประมูลความจำเปน - จัดซื้ออาหารเสริมและสงเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย พื้นฐาน - อุดหนุนตามโครงการสรางความเขมแขงของชุมชน 6. การดำเนินงานดานการเมือง การบริหาร - ติดตั้งระบบควบคุมไฟฟาภายในอาคารสำนักงาน และเอาชนะความยากจน - จัดซือ้ ครุภณั ฑเครือ่ งใชสำนักงาน พรอมอุปกรณตา งๆเพือ่ - จัดใหมีไฟฟาและแสงสวางตามลานกีฬาหมูบาน เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน - อุดหนุนกลุมสงเสริมการปกครองจังหวัดในการชวย - สนับสนุนและสงเสริมการรวมกลุมในรูปของประชาคม เหลือผูประสบภัย หมูบานประชาคมตำบล 3. การดำเนินงานดานโครงสรางพื้นฐาน - จัดสรรงบประมาณใหบคุ ลากรฝกอบรมและศึกษาดูงานเพือ่ - สรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กภายในหมูบ า นและระหวาง เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน หมูบาน - จัดสรรงบประมาณในการฝกอบรมสมาชิกและคณะผูบ ริหาร - วางทอระบายน้ำภายในหมูบาน ใหเขาใจบทบาท อำนาจหนาทีเ่ พือ่ เสริมสรางประสิทธิภาพใน - ซอมแซม ปรับปรุงพื้นผิวและกอสรางถนนลูกรังภายใน การบริหารงาน หมูบาน 7. การดำเนินการดานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4. การดำเนินงานดานแหลงน้ำ - อุดหนุนการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร - สำรวจและซอมแซมระบบประปาหมูบานพรอมทั้ง - จัดงานวันเด็กแหงชาติ ขยายเขตประปา - จัดหาอาหารกลางวัน และอาหารเสริม(นม)ใหแกโรงเรียน - ขุดเจาะบอบาดาลในหมูบานที่ขาดแคลนน้ำ - จัดงานรัฐพิธี และประเพณีทอ งถิน่ รวมกับอำเภอประจันตคาม - มีการขุดลอกคลอง และแหลงน้ำที่ตื้นเขิน และหนวยงานอื่น - มีการจัดการแขงขันกีฬาชนิดตาง ๆ - จัดซื้ออุปกรณการศึกษา อุปกรณกีฬา ใหแกโรงเรียนและ ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 8. การดำเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - จัดกิจกรรมดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม - จัดทำสื่อประชาสัมพันธและเผยแพรความรูเกี่ยวกับการ อนุรักษสิ่งแวดลอมสถานที่ทองเที่ยว น้ำตกธาราวสันต หมูท ่ี 13 ตำบลโพธิง์ ามเปนน้ำตกทีม่ นี ำ้ ใสสะอาดธรรมชาติ บริสุทธิ์ บรรยากาศรมรื่นเหมาะแกการพักผอน

Prachinburi 143


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลประจันตคาม

นายนัฐพล เดชสุภา

นายกองคการบริหารสวนตำบลประจันตคาม องคการบริหารสวนตําบลประจันตคามถือเปนหนวยงาน องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ตองทําหนาที่บริการสาธารณะ เพือ่ บําบัดทุกข บํารุงสุข ตอบสนองความตองการของประชาชน อยางใกลชิด และจริงใจ และทุมเทปฏิบัติหนาที่อยางเขมแข็ง เต็มกําลังความสามารถ ซึ่งในชวงเวลาที่ผานมา การบริหารราชการของกระผม ซึ่งเปนผูนําสูงสุดของหนวยงาน ไดเนนกระบวนการมีสวนรวม ของประชาชน ไดแกไขปญหาหลายๆ ดานโดยเฉพาะปญหาดาน คุณภาพชีวติ และโครงสรางพืน้ ฐาน และในปจจุบนั องคการบริหาร สวนตําบลประจันตคาม ไดนอมนําโครงการเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มาใชใหพนักงานขาราชการ และประชาชน นําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน เพื่อที่จะชวยแกไข ปญหาดานเศรษฐกิจในครอบครัว และจะนําความผาสุกมาสูส งั คม และประเทศตอไป

144

Prachinburi 145


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลคําโตนด

สืบสานวัฒนธรรม-ประเพณีทด่ี งี าม

นายสุชาติ เดชสุภา

นายกองคการบริหารสวนตำบลคำโตนด

“ คำโตนดนาอยู นำสูชุมชนเขมแข็ง แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ พัฒนาเกษตรและภูมิปญญาทองถิ่น ” คือวิสัยทัศน การพัฒนาขององคการบริหารสวนตำบลคำโตนด ซึง่ ตัง้ อยูด า นทิศตะวันออกของอำเภอประจันตคาม หางจากตัวอำเภอประจันตคาม ประมาณ 13 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายสุชาติ เดชสุภา ดำรงตำแหนง นายกองคการบริหารสวนตำบลคำโตนด

ขอมูลทัว่ ไป องคการบริหารสวนตำบลคำโตนด มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 249.9 ตร.กม. หรือ ประมาณ 156,187.5 ไร สภาพภูมปิ ระเทศสวนใหญ เปนทีร่ าบลุม เชิงเขา บางหมูบ า นติดอุทยานแหงชาติเขาใหญ แบงพืน้ ทีก่ ารปกครอง เปน 18 หมูบ า น มีจำนวนประชากรทัง้ สิน้ 7,285 คน แยกเปนชาย 3,596 คน หญิง 3,689 คน และมีจำนวนครัวเรือนทัง้ สิน้ 2,272 หลังคาเรือน ( ทีม่ า : สำนักงานทะเบียน อำเภอประจันตคาม ขอมูล ณ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2557) ประชาชน สวนใหญประกอบอาชีพทาง เกษตรกรรม และรับจางทั่วไป เชน ทำนาป นาปง และเลีย้ งสัตว ควบคูก นั ไป ทำสวน ไดแก ไผเลีย้ ง, มะมวง, มะไฟ, ฝรัง่ , กระทอน, ลำไย, สมเขียวหวาน ฯลฯ และทำไร ไดแก ปลูกมัน สำปะหลังฯลฯ งานหัตถกรรมในครัวเรือน เชน หัตถกรรมเถาวัลย การเย็บหมวก การผูกไมกวาด เปนตน และอีกสวนหนึง่ ก็เขาทำงาน ในโรงงานอุตสาหกรรม ในเขตอำเภอ/จังหวัด

146

องคการบริหารสวนตำบลคำโตนด สืบสานและอนุรักษ ประเพณีทอ งถิน่ และวัฒนธรรมอันดีงามมาตอเนือ่ ง อาทิ พิธีกรรมสูขวัญขาวตำบลคำโตนด จะเริ่มทำพิธีโดยให เจาของนาฝายหญิงนุง ขาวหมขาวเปนผูท ำพิธใี นเวลาเชาตรูโ ดยเตรียม เครือ่ งเรียกขวัญ ไดแก กระบุงใสใบคูณ ใบยอ ขาวสุก น้ำ ขาวตมมัด เผือกมันตม หมาก 1 คำ นอกจากนีเ้ ตรียมอุปกรณเครือ่ งบายศรีสขู วัญ และขันธหา (พานใสดอกไมและเทียนจำนวนอยางละ 5 คู) แลวนำสิง่ ของเหลานี้หอดวยผาขาว ใสกระบุงที่ตกแตงเรียบรอยแลวนำขอฉาย คอนกระบุงมอบหมายใหแมบา นหรือพอบาน นำไปเรียกขวัญแมโพสพ ตามทองนาของตน เมือ่ เรียกขวัญจนทัว่ ทุง นาพอสมควรแลว จึงคอนกระบุง กลับบานโดยไมพดู กับใครเลย สวนทางบานจะจัดเตรียม บายศรีปากชาม 1 ทีซ่ ง่ึ ประกอบดวย ขันธหา อาหาร เครือ่ งแตงตัว 1 สำรับ ไดแก เสือ้ ผาใหม เครื่องประดับ เครื่องแตงตัว แกวแหวนเงินทอง หวีกระจก จากนั้น หมอขวัญที่แตงกายนุงขาวหมขาวคอยทำพิธีหรือเจาของนาฝายชาย เตรียมสูข วัญขาว สวนชาวนาฝายหญิงจะคอนกระบุง เรียกขวัญกลับบาน เมื่อมาถึงยุงนำกระบุงไปไวในยุง หมอขวัญเริ่มทำพิธีขวัญขาวในยุง จุดธูปเทียนและกลาวคำสูขวัญขาว พิธีสูขวัญขาวจะใชเวลา ประมาณ 20-30 นาทีเปนอยางมาก จากนั้นเสร็จพิธีนำอาหารไปรับประทานได และเปดยุงขาวไว 3 วัน จึงนำขาวไปกินหรือขายตอไป ประเพณีวันสงกรานต รวมสักการะอนุสาวรียพระภักดีเดชะ (ทาวอุเทน) วีรบุรุษของชาวปราจีนบุรี ชมขบวนแห และการประกวด เทพีสงกรานต รวมพิธสี รงน้ำพระ และรดน้ำด้ำหัวผูส งู อายุ ชมการละเลน มหกรรมดนตรีอนุรักษวัฒนธรรมพื้นบาน และเลือกซื้อสินคา OTOP ประเพณี บ ุ ญ บั ้ ง ไฟ บุ ญ บั ้ ง ไฟเป น หนึ ่ ง ในฮี ต สิ บ สองเดื อ น ของชาวอีสาน นิยมทำกันในเดือน 6 หรือเดือน 7 อันเปนชวงฤดูฝน เขาสูการทานา ตกกลา หวาน ไถ เพื่อเปนการบูชาแถนขอฝนใหตก ตองตามฤดูกาล เหมือนกับการแหนางแมว นอกจากนี้ยังมี ประเพณีแหเทียนพรรษา โครงการปฏิบัติธรรม และ โครงการวันพอแหงชาติ ฯลฯ

รางวัลแหงความภาคภูมิใจ

ผูบริหารแหงป 2557 โครงการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนา ยุคใหม สถาบันรัชตภาคย โดยสมัชชานักจัดรายการขาววิทยุโทรทัศน หนั ง สื อ พิ ม พ แ ห ง ประเทศไทย ได ม อบโล ร างวั ล เกี ย รติ ค ุ ณ ให แ ก นายสุชาติ เดชสุภา นายกองคการบริหารสวนตำบลคำโตนด ณ วันที่ 29 กรกฎาคม 2557 ณ ศูนยประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ กรุงเทพมหานคร

ผู  น ำท อ งถิ ่ น ดี เ ด น ประจำป 2557 (รางวั ล สิ ง ห ท อง) นายสุชาติ เดชสุภา นายกองคการบริหารสวนตำบลคำโตนด ไดเขา รับประทานโลรางวัลธรรมาภิบาล “สิงหทอง” รางวัลผูบ ริหาร และนักพัฒนาองคกร ดีเดนแหงป 2557 โดยมี ฯพณฯ พลเอกพิจิตร กุลละวณิชย องคมนตรี เปนประธานมอบรางวัล “สิงหทอง” องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ ่ น ดี เ ด น ทางด า นวั ฒ นธรรม ประจำป 2557 ( สาขาการอนุรักษและ สืบสานวัฒนธรรมของทองถิ่น) โดย กระทรวงวัฒนธรรม รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร ประเภทประชาชนทั่วไป ชนะเลิศระดับประเทศไทย “มหกรรมกีฬาทองถิ่นไทคัพ ครั้งที่ 12 วันที่ 17 มกราคม 2557 ณ สนามกีฬากลาง จ. นครสวรรค รางวัลชนะเลิศประกวดกองเชียร ประเภทประชาชนทั่วไป ชนะเลิศระดับประเทศไทย “มหกรรมกีฬาทองถิ่นไทคัพ ครั้งที่ 13” วันที่ 20 มกราคม 2558 ณ สนามกีฬากลาง จ. นครสวรรค

Prachinburi 147


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลดงบัง

ยุทธศาสตรที่ 3 สงเสริมการศึกษาเพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ใหมีคุณคา รักษา ฟนฟูขนบธรรมเนียม ยุทธศาสตรที่ 4 สงเสริมการศึกษาเพือ่ พัฒนาทรัพยากรมนุษยให มีคณุ คา รักษา ฟน ฟูขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมทองถิน่

ศักยภาพของพื้นที่ อบต.ดงบัง 1. ปาชุมชนบานโนนหินผึง้ ตัง้ อยูใ นพืน้ ทีห่ มูท ี่ 3 บานนา ,หมูท ี่ 4 บานโนน(หัวหิน) และ หมูท ี่ 5 บานสวนผึง้ ตําบลดงบังอําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี เปนปาชุมชนพืน้ ราบทีม่ สี ภาพเปนปาทีค่ อ นขางสมบูรณ มีเนือ้ ที่ 447 ไร เปนสถานทีค่ วรแกการทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ เปนแหลงรวม สมุนไพรนานาชนิด และแหลงผลิตอาหารใหแกชุมชนปาชุมชนผืนนี้ เปรียบเสมือนแกวสารพัดนึกของชุมชนเปนแหลงที่ชุมชนไดใชประโยชน รวมกันคือ ประการแรก หาของปามาเปนอาหารในครัวเรือน เชน พวกเห็ด พวกพืช แมลงเล็ก ๆ ประการทีส่ อง ชุมชนไดหาของปานํามาเปนยาสมุนไพรรักษาโรค เวลาเจ็บปวย

นายสมนึ ก สมใจ นายกองคการบริหารสวนตำบลดงบัง

“ ยางใหญสูงสงา ประชาสามัคคี

ดำรงชีวีดั้งเดิม เสริมรายไดผาทอมือ

คือคําขวัญ องคการบริหารสวนตําบลดงบัง ซึ่งตั้งอยู เลขที่ 88 หมูท ี่ 1 ตําบลดงบัง อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี หางจากทีว่ า การ อําเภอประจันตคาม ประมาณ 11 กิโลเมตร ปจจุบนั มี นายสมนึก สมใจ ดํารงตําแหนงนายกองคการบริหารสวนตําบลดงบัง บริหารงานภายใต วิสยั ทัศนการพัฒนาตําบลทีว่ า “ ชุมชนนาอยู เศรษฐกิจพัฒนา สงเสริมการศึกษา รวมรักษาธรรมชาติปาชุมชน ”

ขอมูลทัว่ ไป

องคการบริหารสวนตําบลดงบัง มีพื้นที่ 24.592 ตร.กม. หรือ 15,370 ไร แบงเขตการปกครองเปน 10 หมูบาน มีประชากรรวมทั้งสิ้น จํานวน 4,159 คน มีจาํ นวนครัวเรือน 1,249 ครัวเรือน (ขอมูล ณ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558) ในพื้นที่ อบต.ดงบัง มีกลุมอาชีพที่ประสบผลสําเร็จในการ ดําเนินงาน เชน กลุม สตรีผา ทอมือตําบลดงบังกลุม วิสาหกิจชุมชนตําบลดงบัง เพื่อสังคม(ผลิตภัณฑจากถานไมไผ) เปนตน

ยุทธศาสตรการพัฒนา

ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาชุมชน และสภาพแวดลอมสะอาดสวยงาม การสาธารณสุขและอนามัยทีป่ ลอดภัย สาธารณูปโภค สาธารณูปการ ครบครัน ภายใตการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี ยุทธศาสตรที่ 2 การสงเสริมและพัฒนากลุม อาชีพ และผลิตภัณฑชมุ ชน ใหมีความเขมแข็ง

148

- รางวั ล ตำบลพั ฒ นาระบบสุ ข ภาพชุ ม ชน ประจำป พ.ศ. 2556 จัดโดย แผนงานพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน - ปาชุมชนตัวอยางระดับภาค โครงการ “ คนรักษปา ปารักชุมชน” ประจำป พ.ศ. 2553 จัดโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กรมปาไม และบริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) - รางวัลนวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเดน ระดับจังหวัด ประจำป พ.ศ. 2552 จัดโดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) - ปาชุมชนตัวอยางระดับจังหวัด โครงการ “ คนรักษปา ปารักชุมชน” ประจำป พ.ศ. 2551 จัดโดย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม กรมปาไม และบริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) รางวัลแหงความภาคภูมิใจ - รางวัลกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ - รางวัลตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยัง่ ยืน ระดับดีมาก ดีเดนระดับเขต ประจำป พ.ศ. 2551 “ ดานการมีสวนรวม ” จัดโดย ประจำป พ.ศ. 2556 จัดโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) - รางวัลตำบลตนแบบดูแลผูสูงอายุระยะยาวดีเดน ประจำป - รางวัลการบริหารจัดการที่ดี ประจำป พ.ศ. 2548 จัดโดย พ.ศ. 2556 จัดโดย กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย

ประการทีสส่ี าม ยึดอาชีพหาของปาเพือ่ ขาย จำหนายเพือ่ การดำรงชีพ ของครอบครัว ประการสุดทาย เปนแหลงทองเทีย่ วสวนสุขภาพของคนในชุมชน ซึง่ ในแตละปจะมีนกั ทองเทีย่ วหรือผูท ส่ี นใจในเรือ่ งปา มาทองเทีย่ ว หรือมาศึกษาเรียนรูปาชุมชนแหงนี้เปนจำนวนมาก 2. โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ( ฐานทรัพยากร ทองถิน่ อพ.สธ.ตำบลดงบัง )

Prachinburi 149


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลหนองแกว

ในพื้นที่ อบต.หนองแกว มี สถานทีท่ อ งเทีย่ วทีข่ นึ้ ชือ่ คือ

ขอมูลทั่วไป องคการบริหารสวนตําบลหนองแกว มีพื้นที่ 89.16 ตารางกิโลเมตร มีจาํ นวนหมูบ า นทัง้ หมด 12 หมูบ า น มีประชากรทัง้ สิน้ 4,647 คน แยกเปน ชาย 2,227 คน หญิง 2,420 คน ประชาชนประกอบอาชีพรับจางทั่วไป ,พนักงานบริษัท,เกษตรกรรม เชน ทํานาและทําสวน,คาขาย เชน เพาะ พันธุตนไมประดับและปลูกไมกฤษณา,รับราชการ องคการบริหารสวนตําบลหนองแกว ไดกาํ หนดยุทธศาสตรการพัฒนา และแนวทางการพัฒนา โดยแบงออกเปน 4 ยุทธศาสตร ดังนี้

นางปวีณา เทศยุคุณธร

นายกองคการบริหารสวนตำบลหนองแกว

นํ้าตกธารทิพย

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาตําบลนาอยู สูชุมชนเขมแข็ง กําหนดแนวทางการพัฒนาไว 3 แนวทาง 1. การบริการขั้นพื้นฐานที่ดี โดยจัดใหมีสาธารณูปโภค และบริการ สาธารณะครบครัน ระบบการคมนาคมทีด่ ี เชือ่ มโยงถึงกันไดอยางทัว่ ถึง 2. การสาธารณสุขและสิง่ แวดลอมทีด่ ี โดยจัดใหมกี ารบริการสาธารณสุข ที่มีคุณภาพทั่วถึง โดยเนนทั้งดานการสรางสุขภาพ และการซอมแซม สุขภาพ พรอมการจัดการสิง่ แวดลอมใหนา อยู โดยยึดการมีสว นรวมของ ประชาชนเปนสําคัญ

อนามน้ำตกสวย ดินแดนรวยไมไผ “หัตลืถกรรมอั นอำไพ น้ำตาลใสใหรสดี” คือคําขวัญขององคการบริหารสวนตําบลหนองแกว ซึง่ ตัง้ อยูเ ลขที่ 44/1 หมูท ี่ 4 ตําบลหนองแกว อําเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี หางจาก อําเภอ 4.5 กิโลเมตร ปจจุบันมี นางปวีณา เทศยุคุณธร ดํารงตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบลหนองแกว ซึง่ บริหารงานภายใตวสิ ยั ทัศน การพัฒนาที่วา

าอยู สูชุมชนเขมแข็ง พัฒนาแหลงทองเที่ยว “มุงตำบลน บริการดวยคุณธรรม นำสูการพัฒนาที่ยั่งยืน ”

ประวัติอบต.หนองแกว

องคการบริหารสวนตําบลหนองแกว ไดรับการยกฐานะขึ้นจากสภา ตําบลหนองแกว เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2540 โดยกําหนดใหใช ตนตาล เปนตราสัญลักษณขององคการบริหารสวนตําบลหนองแกว เนือ่ ง จากมีตนตาลเปนจํานวนมาก

150

3. การแกไขปญหาความยากจนและเสริมรายได โดยสงเสริมใหประชาชน มีงานทํา มีรายไดมั่นคงเพียงพอตอการดํารงชีพ คาครองชีพไมสูง มีที่ ทํากินและทีอ่ ยูอ าศัยอยางพอเพียงสรางความเขมแข็งใหแกเศรษฐกิจฐานราก โดยสรางโอกาสใหแกเกษตรกรไดพฒั นาความรู เขาถึงแหลงเงินทุน และ สงเสริมพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาแหลงทองเที่ยว กําหนดแนวทาง การพัฒนาไว 2 แนวทาง 1. การบริหารจัดการแหลงทองเทีย่ วทีด่ ี โดยประสานหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ควบคุมการพัฒนาแหลงทองเที่ยวในทิศทางที่ยั่งยืน มีความปลอดภัย และใหบริการที่ดี 2. การอนุรกั ษ ฟน ฟู พัฒนาแหลงทองเทีย่ ว และสิง่ อํานวยความสะดวก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 การใหบริการที่ดี กำหนดแนวทางการพัฒนา ไว 3 แนวทาง 1. การพัฒนาบุคลากร และเจาหนาที่ในทุกระดับ ใหมีจิตสำนึกที่ดีใน การใหบริการประชาชน 2. สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และการทำงานอยางมีประสิทธิภาพ โปรงใส ตรวจสอบได ตามหลักการบริหารจัดการบานเมืองที่ดี 3. ปรับปรุง พัฒนา จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณสำนักงานใหทันสมัย

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาแบบยั่งยืน กำหนดแนวทางการพัฒนา ไว 3 แนวทาง 1. การพัฒนาคน สรางชุมชนเขมแข็ง โดยพัฒนาคนใหมศี กั ยภาพ มีโอกาส ไดรบั การศึกษาอยางทัว่ ถึง มุง เนนใหเปนคนดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีวนิ ยั มีสุขภาพดี 2. เสริมสรางความเขมแข็งชุมชน การรักษาความสงบเรียบรอย ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การแกปญหายาเสพติดในชุมชน โดยการ มีสวนรวมของชุมชนในทุกดาน 3. สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพทุกระดับ ทั้งในระบบ และนอกนอกระบบทุกชวงวัย

Prachinburi 151


เสนทางพบองคการบริหาร สวนตําบลบุฝาย

นายสมชาย ศรีกล่ำ

นายกองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย

น้ำตกสมปอย

บุฝายนาอยู ชุมชนเขมแข็ง แหลงทองเที่ยวเชิงอนุรักษ เกษตรปลอดภัยไดมาตรฐาน

คื อ วิ ส ั ยทั ศ น ขององคก ารบริห ารสวนตํา บลบุฝ  ายอำเภอ ประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ปจจุบันมี นายสมชาย ศรีกล่ำ เปน นายกองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย

สารจากนายกองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย

กระผมนายสมชาย ศรีกล่ำ นายกองคการบริหารสวนตําบลบุฝา ย มีความรูสึกยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดรับความไววางใจจากชาว ตำบลบุฝาย ไดใหโอกาสผมและคณะผูบริหารทุกทานเขามาทำหนาที่ บริหารงาน ในตำบลบุฝายกระผมพรอมคณะผูบริหารสมาชิกสภาอบต. ขาราชการและพนักงานจาง อบต.บุฝาย ไดมีความตระหนักถึงภาระ หนาทีใ่ นการดำเนินการบริหารจัดการใหตำบลบุฝา ย เปนพืน้ ทีท่ ไ่ี ดรบั การพัฒนา และมีความเจริญกาวหนาในทุกๆ ดานใหเปนไปตามนโยบายที่กระผม ไดแถลงไวตอสภาองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย เมื่อวันศุกรที่ 29 พฤศจิกายน 2556 ณ หองประชุม สภาองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย ดังนี้

152

น้ำตกตะครอ น้ำตกตะครอ 1. นโยบายดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 2. นโยบายดานการพัฒนาคน สังคม และคุณภาพชีวิต 3. นโยบายดานสังคม และความเขมแข็งของชุมชน 4. นโยบายดานการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม 5. นโยบายดานศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมปิ ญ ญาทองถิน่ 6. นโยบายดานการเมืองและการบริหาร สุดทายนี้ กระผมพรอมผูบริหารทุกทาน ขอขอบคุณสมาชิก สภาอบต. ขาราชการและพนักงานจางกำนัน ผูใหญบานทุกหมูเหลา และทีข่ าดไมไดคอื ประชาชนชาวตำบลบุฝา ย ทุกทานทีไ่ ดให ความรวมมือ ในกิจกรรมตางๆ ใหเปนไปไดดวยดีมาตลอด และหวังเปนอยางยิ่งวา จะไดรับความรวมมือดวยดีเสมอไป นายสมชาย ศรีกล่ำ นายกองคการบริหารสวนตําบลบุฝาย


รับมือกับหนาฝนอยางไร....ใหไกลโรค แมวา ฤดูฝนปนจ้ี ะมาชาและมีปริมาณฝนตกนอยกวาทุกป แตกม็ ผี ลตอสุขภาพโดยเฉพาะในเด็กเล็กและผูส งู อายุทม่ี ี ภูมติ า นทานโรคนอย ดร.นพ.พรเทพ ศิรวิ นารังสรรค อธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดใหคำแนะนำเรือ่ งการดูแล สุขภาพดวยการรับประทานอาหาร เพื่อสรางภูมิตานทานโรคหวัดที่จะมากับหนาฝนไวดังนี้คะ ประชาชนควรดูแลสุขภาพตัวเองเปนพิเศษในชวงฤดูฝน โดยเฉพาะกลุม เด็กเล็กและผูส งู อายุ เพือ่ ใหรา งกายสามารถปรับสภาพ ตอการเปลีย่ นแปลงของอากาศ และปองกันการเกิดโรคตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับระบบทางเดินหายใจ โดยเฉพาะโรคไขหวัด เพราะหากปวย เปนไขหวัดและไมมกี ารดูแลสุขภาพทีด่ ี อาจสงผลใหเปนโรคหลอดลมอักเสบและโรคปอดบวมในทีส่ ดุ ปจจัยหนึ่งที่ทำใหรางกายแข็งแรงตานทานโรคได คือการรับประทานอาหารที่ดีมีประโยชน โดยเลือกอาหาร ที่ปรุงสุกใหม และมีผักผลไมเปนสวนประกอบในมื้ออาหารนั้นดวย โดยเลือกผักผลไมตามฤดูกาลที่ใหผลผลิตในหนาฝน เชน มะเขือเปราะ มะนาว ถั่วพู ชะอม ผักหวาน ใบขี้เหล็ก เห็ดโคน กลวยน้ำวา สมโอ เงาะ ทุเรียน มะเฟอง และสมเขียวหวาน เปนตน เนือ่ งจากผักผลไมตามฤดูกาลจะมีราคาถูกและมีสารตกคางจากยาฆาแมลงนอยกวาผลไมนอกฤดูกาล เพราะถูกรบกวนจากศัตรูนอ ยกวา โดยเฉพาะผักผลไมทม่ี รี สเปรีย้ วตามธรรมชาติ และผักใบเขียวซึง่ เปนแหลงของวิตามินซี จะชวยลดโอกาสการเกิดโรคหวัด เพิ่มภูมิตานทานในรางกาย นอกจากนี้ยังเปนแหลงของวิตามินและแรธาตุชนิดอื่นๆ และใยอาหารที่รางกายตองการเพื่อใหระบบตางๆ ทำงานอยางเปนปกติ ทัง้ นี้ เวลาปรุงอาหารไมควรใชความรอนนานเกินไป เพราะจะทำใหวติ ามินซีถกู ทำลาย ควรใชไฟแรงและใชระยะเวลาสัน้ ๆ หรือเลือกกินผักผลไมสดแทน และหมัน่ ออกกำลังกายเปนประจำสัปดาหละ 5 วัน วันละอยางนอย 30 นาที อยากระนัน้ เลยเมือ่ ตัวเปยกแฉะ แลวรีบอาบน้ำทำความความสะอาดรางกายและเช็ดใหแหงกอนเกลือ้ นถามหาดีกวาคะ

การดูแลสุขภาพดวยวิธดี งั กลาว ไมเพียงแตจะชวยใหสขุ ภาพดีในชวงฤดูฝนแลว ยังสงผลตอสุขภาพทีด่ ี ในระยะยาวอีกดวย

ขอขอบคุณ : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

Prachinburi 153


เสนทางการศึกษา

โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาวัดแจง “ สุวิชาโน ภวัง โหติ ผูรูดีเปนผูเจริญ ” มุงมั่นพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหเปนคนดี มีคุณธรรม คือปรัชญาของ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษาวัดแจง “ ซึง่ ตัง้ อยูเ ลขที่ 1 หมูท ่ี 1 ตำบลประจันตคาม อำเภอประจันตคาม จริยธรรม มีความรู เปนผูนำศาสนทายาทที่ดี ใชเทคโนโลยีอยาง จังหวัดปราจีนบุรี สังกัดมหาเถรสมาคม สำนักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ เหมาะสม อนุรักษสิ่งแวดลอมและภูมิปญญาไทย มีความสามารถ เปดสอนตัง้ แตระดับชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 -6 อยูใ นเขตพืน้ ทีบ่ ริการ ในการประกอบอาชีพ การศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 ในแตละป โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาวัดแจง ปจจุบนั โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษาวัดแจง โดยมี มีจำนวนนักเรียนเพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ นักเรียนสวนใหญ 80% อยูใ นเขต พระครูมงคลธรรมโสภณ เปนผูอ ำนวยการโรงเรียน พระครูสทุ ธโพธิกจิ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพักอาศัยอยูในวัดแจง 20% การจัด เปนรองผูอ ำนวยการ และพระครูพศิ าลสรวุฒิ (จักราวุธ) เปนผูจ ดั การ การศึกษาเปนแบบผสมระหวางวิชาทางพระพุทธศาสนากับสามัญ ศึกษา ซึ่งนักเรียนที่เขาศึกษาแหงนี้ ตองศึกษา 3 ดาน คือ ดาน บริหารงานใหเปนไปตามวิสัยทัศนที่วา ธรรมศึกษา ดานบาลีศึกษา และดานสามัญศึกษา

ประวัติวัดแจง

วัดแจง (เมืองเกา) ถือวาเปนวัดที่เกาแกคูบานคูเมืองมานาน มีอายุราวกวา 200 ป บริเวณที่ตั้งวัดเปนเมืองเกา หรือเปน ฐานทัพเดิมหลังจากยกทัพไปตี - ปราบ เขมร เมือ่ ไดชยั ชนะกลับ มาถึงฐานทัพ “สวางพอดี” จึงใชชอ่ื วา “วัดแจง” สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เสด็จวัดแจง เมือ่ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2540

154

ปจจุบันวัดแจงมี พระครูโอภาส ปญญาวัฒน เปนเจาอาวาส ในป พ.ศ.2536 พระครูพพิ ฒั นวหิ ารกิจ ไดดำเนินการขออนุญาต ภายในวัดมีปชู นียวัตถุและโบราณวัตถุสำคัญ ไดแก พระพุทธสัมฤทธิ์ จัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมหลังเกาภายในวัดเปนหองเรียน พ.ศ. 2368 ประดิษฐานในอุโบสถหลังที่ 2 สถานทีบ่ รรจุศพพระภักดีเดชะ พรอมนีไ้ ดเปดศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑขน้ึ ภายในวัด จำนวน 3 หองเรียน พระพุทธสรรเพชร พ.ศ.2234 ประดิษฐานที่ศาลาการเปรียญ และไดขยายเครือขายเปดศูนยเด็กกอนเกณฑเพิ่มตามวัดในเขต อำเภอประจันตคามอีก 17 ศูนย ประวัติและเหตุการณสำคัญของโรงเรียน พ.ศ.2540 พระครูพิพัฒนวิหารกิจ เจาอาวาสวัดแจง ไดดำเนิน วัดแจง ใหการสนับสนุนดานการศึกษาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน การสรางอาคารเรียนคอนกรีตเสริมเหล็กแบบทรงไทย 3 ชั้น บน ดวยดีเสมอมา ทั้งแผนกธรรม บาลีมัธยมศึกษา และศูนยอบรม เนื้อที่ 23 ไร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เด็กกอนเกณฑ และไดปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการเปดเรียนตาม ทรงเจิมแผนศิลาฤกษ ในวันที่ 30 เมษายน 2540 ณ พระตำหนัก หลักสูตรตางๆ มาโดยตลอด จะเห็นไดจากเมือ่ พ.ศ.2509 เปดเปน นนทบุรี และสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา โรงเรียนแผนกธรรม ตอมาป พ.ศ.2518 ไดเปดการศึกษาผูใหญ สังฆปรินายก เสด็จเปนองคประธานวางศิลาฤกษ เมื่อวันที่ 18 ระดับ 3-4 สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน ตุลาคม 2540 ป พ.ศ.2530 พระครูพิพัฒนวิหารกิจ (ลี อินทสาโร) เจาอาวาส พรอมกันนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร วัดแจง ไดเปดการเรียนการสอนใหม ชื่อวาโรงเรียนพระปริยัติ เสด็จฯเปนองคประธานเปดอาคารเรียน เมือ่ วันที่ 11 มิถนุ ายน 2542 ธรรมแผนกธรรม - บาลี - มัธยม ขึ้น และเปนโรงเรียนผูใหญ ปพ.ศ.2556 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร แบบชั้นเรียนเบ็ดเสร็จพื้นฐาน ระดับ 3 (ป.6) ระดับ 4 (ม.3) มี เสด็จฯทรงยกฉัตรทองคำ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุขึ้นสูยอดหอ พระมหาสุธน สิรมิ งคโล ทำหนาทีเ่ ปนครูใหญ พรอมกับนัน้ ไดเนน พระไตรปฎก เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2556 การเรียน ฝายนักธรรม บาลี ใหมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น

ติดตอสอบถามไดที่ : โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาวัดแจง โทรศัพท 0-3729-2029 โทรสาร 037-292147 E-mail : jintana_k7@hotmail.com

Prachinburi 155


พระพุทธรูปหลวงพ่อพระพุทธรัตนบรรเทาทุกมหาลาภ ประดิษฐานในพระวิหาร เป็นพระประจ�าหมู่บ้าน

วัดบ้านด่านศรัทธาอุดม วัดบ้านด่านศรัทธาอุดม ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 (บ้านด่าน) ต�าบลเกาะลอย อ�าเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี ปัจจุบันมี พระครูสังวรธรรมกิจ เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติความเป็นมาของวัด

วัดบ้านด่านศรัทธาอุดมไม่ปรากฏหลักฐานว่าวัดนี้ตั้ง ขึ้นเมื่อใด แต่เล่ากันต่อ ๆ มาว่าวัดนี้มีต้นยางใหญ่ 2 ต้น อุโบสถ อยู่คู่วัด คะเนว่าต้นยางใหญ่คู่นี้มีอายุกว่า 150 ปีแล้ว วัดนี้ก็ น่าจะตั้งขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกันกับต้นยางใหญ่คู่นี้นั้นเอง รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัด “บ้านด่าน” ในอดีตนั้นเป็นด่านภาษีอากรในชนบท เจ้าอาวาสวัดบ้านด่านศรัทธาอุดม เท่าที่ทราบนามมีดังนี้ มีหน้าที่เก็บภาษีอากรผู้ผ่านด่าน เป็นหมู่บ้านของคนที่มี 1. พระอุปัชฌาย์ทุย 2. พระอาจารย์เคน ความรู้ มีศีลธรรม มีจรรยาเรียบร้อย วัดบ้านด่านศรัทธา 3. พระอาจารย์บา 4. พระอาจารย์ทัด อุดมจึงได้รับการอุปถัมภ์ทุกๆ ด้าน จาก 3 หมู่บ้านด้วยกัน 5. พระครูสังวรกิตติคุณ (เอียกฺโตโก) พ.ศ.2482 - 2521 คือ บ้านด่าน บ้านโนนเจ๊ก และบ้านเกาะลอย สืบต่อๆ กัน 6. พระครูสังวรธรรมกิจ (สมจิตต์ ถิรธมฺโม) พ.ศ.2521 มาจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน

.indd 2

18/9/2558 15:14:31


หุ่นขี้ผึ่งหลวงพ่อเอีย ประดิษฐานอยู่ที่กุฏิ ตึกกิติคุณ

พระยืนแกะสลักจากต้นยางใหญ่

ประวัติหลวงพ่อเอีย เทพเจ้าแห่งวัดบ้านด่าน

พระครูสังวรกิตติคุณ (หลวงพ่อเอีย) เกิดที่บ้านด่าน หมู่ 5 ต.เกาะลอย อ.ประจันตคาม จ.ปราจีนบุรี เมือ่ วันอังคาร ที่ 9 พฤษภาคม 2448 บิดาชื่อ เธียวมารดาชื่อ มา ขยันคิด ทั้งสองถึงแก่กรรมตั้งแต่หลวงพ่อเอียยังเยาว์ การบรรพชา อุปสมบทหลวงพ่อได้บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2465 ตอนนั้นอายุได้เพียง 17 ปี เพราะ จิตใจเลื่อมใสศรัทธาในพระศาสนา ศึกษาปริยัติธรรมเป็นที่ เข้าใจดีแล้ว จึงได้ธุดงควัตรไปศึกษากฤตยาคมศิลปศาสตร์ จากหลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท ซึ่งหลวง ปู่ศุขท่านส�าเร็จวิชาธาตุทั้ง 4 ดิน น�้า ลม ไฟ ท่านสามารถผูก หุ่นให้เฝ้าวัดได้ สะเดาะกุญแจ ล่องหนหายตัวได้ ระเบิดน�้าได้ ซึง่ ครัง้ หนึง่ ท่านเคยระเบิดน�า้ ไปท�าตะกรุดให้กบั กรมหลวงชุม พรเขตต์อุดมศักดิ์ ท่านสามารถท�าได้สารพัดอย่าง ) หลวงพ่อเอียได้ถวายตัวเป็นศิษย์ปรนนิบัติรับใช้ และ ศึกษาวิชาไสยเวทย์อยู่กับหลวงปู่ศุขพอเข้าพรรษาก็กลับมาจ�า พรรษาทีว่ ดั บ้านด่านหลวงพ่อเอียเล่าว่า ท่านได้ศกึ ษาพุทธาคม กับหลวงปูศ่ ขุ องค์เดียวในระยะทีท่ า่ นเล่าเรียนไสยเวทย์กฤตยา คมกับหลวงปู่ศุขอยู่นั้น ท่านเห็นกรมหลวงชุมพรเขตต์อุดม ศักดิ์ เสด็จไปๆมาๆหาหลวงปู่อยู่เสมอเป็นประจ�า พร้อมกับ พ.ต.อ.พระกล้ากลางสมร ก็ได้ไปศึกษาไสยเวทอยูก่ บั หลวงปูศ่ ขุ เมื่อหลวงพ่อเอียอายุได้ 20 ปี จึงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนา เมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2468 ณ.พัทธสีมา วัดสัมพันธ์ ต.สัมพันธ์ อ.ศรีมหาโพธิ ปราจีนบุรี พระครูสังวร กิจ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระอธิการอ้วนวัดชัยมงคล เป็นพระกร รมวาจาจารย์ พระอธิการเคน เจ้าอาวาสวัดบ้านด่าน เป็นอนุ สาวนาจารย์

.indd 3

รูปหล่อเหมือน หลวงปู่สุข หลวงพ่อเอีย ประดิษฐานอยู่ที่มณฑป

นอกจาก ท่านจะเล่าเรียนกฤตยาคมกับหลวงปู่ศุข แล้ว หลวงพ่อเอีย ยังเล่าว่าท่านได้พบอาจารย์อีกองค์หนึ่ง ซึ่งเชี่ยวชาญในด้านไสยเวทย์เหมือนกันชื่อ พระอาจารย์โก ลั่นฟ้า เป็นการพบกันโดยบังเอิญ ท่านเป็นพระธุดงค์มาจาก ประเทศลาว ได้ธดุ งค์รอนแรมมาปักกลด บริเวณวัดบ้านด่าน หลวงพ่อได้นิมนต์ให้จ�าพรรษาอยู่ที่วัด อยู่ได้ 6 เดือนกว่า ท่านก็กลับไป ขณะที่จ�าพรรษาอยู่ที่วัด ท่านได้ศึกษาวิชา ไสยเวทย์จากพระอาจารย์โกลัน่ ฟ้ามากมาย เมือ่ ครบก�าหนด ท่านกลับขณะที่หลวงพ่อก�าลังครองจีวรอยู่ เพื่อที่จะออกไป ส่ง ปรากฏว่าพระอาจารย์โกลั่นฟ้าหายไปแล้ว หลวงพ่อรีบ ติดตามเท่าไรก็ไม่ทนั นับว่าพระอาจารย์โกลัน่ ฟ้า องค์นสี้ า� เร็จ วิชา ย่นระยะทางได้อย่างแน่นอน เพราะเหตุที่หลวงพ่อเอีย ท่านเชี่ยวชาญในกฤตยา คมด้านไสยเวทย์ โดยศึกษามาจากอาจารย์ต่างๆ หลาย ท่าน ประกอบกับท่านมีวิชาอาคมแก่กล้าในทางเพ่งกสิณ ท�าน�้ามนต์อีกด้วย ชื่อเสียงเกียรติคุณของหลวงพ่อเอียจึง เลื่องลือระบือไกล ผู้คนต่างหลามไหลไปให้ท่านรักษาแม้แต่ คนบ้า เสียจริต สติฟั่นเฟือน ตลอดจนผู้ถูกคุณไสย ภูตผี ปีศาจ หรือถูกกระท�าย�่ายี ซึ่งต่างก็พากันหายมานักต่อนัก แล้ว หลวงพ่อไม่เคยเรียกร้องเงินทองเป็นค่ารักษาเลยแม้แต่ รายเดียว บางรายเป็นหนักรักษาอยู่ที่วัดเป็นแรมเดือนก็มี บางรายเป็นไม่มากรักษาสาม-สี่วันก็หาย แต่ทางวัดเป็นผู้ ออกค่าใช้จา่ ยเองทัง้ หมด ท�าให้หลวงพ่อต้องรับภาระใช้จา่ ย เดือนละหลายหมื่นบาท นับว่าหลวงพ่อเป็นเทพเจ้าผู้สูงส่ง ด้วยเมตตาธรรมโดยแท้จริง หลวงพ่อเอีย ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านด่าน ตั้งแต่ พ.ศ.2482 จนถึงวันมรณภาพ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2521 สิริอายุรวม 73 ปี

18/9/2558 15:14:43


วัดทัพช้าง

วัดทัพช้าง (เมืองใหม่) ตั้งอยู่เลขที่ ๖๙ หมู่ที่ ๔ บ้านเมืองใหม่ ถนนสุวรรณศร ต�าบลประจันตคาม อ�าเภอประจันตคาม จังหวัด ปราจีนบุรี ปัจจุบันมี พระครูกิตติสารประสิทธิ์ เป็นเจ้าอาวาสวัด

ประวัติความเป็นมา

วัดทัพช้าง (เมืองใหม่) เป็นวัดที่สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เดิมมีชื่อว่า “วัดบ้านโนนหม่อน” แต่ ชาวบ้านมักเรียกกันว่า “วัดบ้านโนนหินแห่” ในสมัยนั้น ท่านท้าว อุเทน ได้คุมก�าลังพลเป็นทัพหัวเมืองไปช่วยทัพหลวงท�าศึกสงคราม เมื่อเสร็จสิ้นจากการท�าศึกสงครามแล้ว ท่านจึงได้รวบรวมไพร่พล จากเวียงจันทร์มาพักอาศัยบริเวณบ้านเมืองเก่า แล้วสร้างเป็นเมือง ขึน้ เรียกว่า “ประจันตคาม” ซึง่ แปลว่า “บ้านปลายแดน” เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๓๗๖ ต่อมาท่านได้พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระภักดีเดชะ” และเป็นเจ้าเมืองประจันตคามท่านแรก ชาวเมืองประจันตคามได้พากันข้ามคลองหนองหลวงมาปลูก หม่อนเพื่อเลี้ยงไหมบริเวณบ้านเมืองใหม่ในปัจจุบัน แต่ถูกน�้าท่วม แทบทุกปี จึงย้ายมาสร้างบ้านเรือนที่บ้านโนนหม่อนหรือ “บ้านโนน

.indd 2

หินแห่” เมื่อมีชาวบ้านย้ายมาอยู่กันมากขึ้น พระภักดีเดชะ (ท้าว ค�า) เจ้าเมืองประจันตคามท่านที่ ๒ จึงได้มอบหมายให้ “หลวงศรี วิเศษ” (ท้าวสุวรรณ) ผู้ช่วยราชการฝ่ายขวา ย้ายมาดูแลความเป็น อยู่ของชาวบ้าน คนส่วนใหญ่จึงมักเรียกชื่อของหมู่บ้านอีกชื่อหนึ่ง ว่า “บ้านเมืองใหม่” ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๗ หลวงศรีวิเศษ (ท้าวสุวรรณ) พร้อม กับชาวบ้านได้ร่วมใจกันสร้างวัดขึ้นที่ท้ายหมู่บ้านทางด้านทิศตะวัน ตกแล้วเรียกชื่อตามชื่อของหมู่บ้านว่า “วัดบ้านโนนหม่อน” และได้ อาราธนาพระอาจารย์พุก พุทฺธสโร มาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก จนถึง ปี พ.ศ.๒๓๙๖ จึงได้ย้ายไปอยู่ที่อื่น ต่อจากนั้นชาวบ้านได้อาราธนา พระอาจารย์โคตร อินฺทสโร มาเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ ๒ เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๙๙ ท่านได้ย้ายวัดมาตั้งทางทิศเหนือของหมู่บ้านเพราะเห็นว่า เหมาะสมกว่า ซึ่ ง ในอดี ต พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ เคยเป็ น ที่ พั ก กองทั พ ช้ า งของ เจ้าพระยาบดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนีย์) เมื่อครั้งเป็นแม่ทัพ ยกไปช่วยเมืองพนมเปญขับไล่ญวน ในปี พ.ศ.๒๓๗๘ ดังนั้น จึงได้เปลี่ยนชื่อวัดมาเป็น “วัดทัพช้าง” หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “วัดเมืองใหม่” รวมอายุตั้งแต่เริ่มตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๗ จนถึง ปัจจุบันรวมทั้งสิ้น ๑๗๑ ปี นับได้ ๗ รัชกาล

18/9/2558 14:35:58


รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัด

๑.พระครู อ ธิ ก ารพุ ก พุ ทฺ ธ สโร (พ.ศ.๒๓๘๗ - ๑๓๙๖) ๒.พระครูโคตร อินฺทสโร (พ.ศ.๒๓๙๖ - ๒๔๒๒) ๓.พระครูแค่น สิริวณฺโณ(พ.ศ.๒๔๒๒ - ๒๔๓๗) ๔.พระครูค�า เตชวโร (พ.ศ. ๒๔๓๗ - ๒๔๕๑) พระอาจารย์จู จรประสิทธิ์ (รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ.๒๔๕๑) ๕.พระอธิการเบ้า ปคูโณ (พ.ศ.๒๔๕๒ - ๒๔๕๓) ๖.พระอธิการพัน อาภากโร (พ.ศ.๒๔๕๓ - ๒๔๖๒) ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๔๖๒ - พ.ศ.๒๔๖๓ มีเพียงผู้รักษาการแทน ตามล�าดับคือ พระขาว ปริสุทฺโธ ,พระบิน รวิวงฺโส ,พระตา จกฺกวโร (พลเจริญ), พระจุ่น สิริวณฺโณ (ผลาหาญ), และพระริน กตปุญฺโญ ๗.พระอธิการเส็ง พุทฺธปาลิดต (พระครูวิมลสีลาจารย์ (พ.ศ. ๒๔๖๓ - ๒๔๖๗) ๘.พระอธิการทองดี สุวณฺโณ (พ.ศ.๒๔๖๗ ๒๔๗๖) ๙.พระอธิการบุญมาก อภิปุญฺโญ (พ.ศ.๒๔๗๖ - ๒๔๗๘) ๑๐.พระอธิการค�าพอง อินฺทสโร (พ.ศ.๒๔๗๘ - ๒๔๘๑) พระส�าราญอภินนฺโท (รักษาการเจ้าอาวาสอยู่ ๑ ปี) ๑๑.พระอธิการสมจิตร ธมฺมกาโม (พ.ศ.๒๔๘๒ - ๒๔๘๘) ๑๒.พระอธิการค�ามี พรหมฺสโร (พระครูพรหมสราธิคุณ พ.ศ.๒๔๘๘ - ๒๕๐๘) ๑๓.พระครูชัยแสงองฺสโุ ร (พ.ศ.๒๕๐๘ - ๒๕๓๙) พระครูสมจวน จิตตฺ ธมฺโม (รักษาการ

.indd 3

เจ้าอาวาสไปจนถึงวันที่ ๒๘ ม.ค. พ.ศ.๒๕๔๐) และ ๑๔. พระครู กิตติสารประสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๔๐ - ปัจจุบัน ประวัติพระครูกิตติสารประสิทธิ์ พระครูกติ ติสารประสิทธิ์ เป็นบุตรชายนายบุญมาก - นางบุญยู้ โสตะการ เกิดเมือ่ วันจันทร์ที่ ๑๘ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ ทีบ่ า้ น เลขที่ ๕๑ หมูท่ ี่ ๓ ต�าบลประจันตคาม อ�าเภอประจันตคาม จังหวัด ปราจีนบุรี อุปสมบทเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๒๑ ต�าแหน่งทางการปกครอง ๑.ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสทัพช้าง เมื่อวันพุทธที่ ๒๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๔๐ -ปัจจุบัน ๒.ได้ รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รพั ด ยศในราชทิ น นาม “พระครูกิตติสารประสิทธิ์” เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๑ ๓.ได้รับตราตั้งเป็นเจ้าคณะต�าบลประจันตคาม เมื่อวันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๓ ๔.ได้รับตราตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๔

18/9/2558 14:36:17


เสนทางพบ นายอําเภอศรีมโหสถ

อุตสาหกรรมและพานิชยกรรม

อุตสาหกรรมและพานิชยกรรม มีบทบาทสำคัญตอการพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมในระดับทองถิน่ เปนอยางมากซึง่ ในพืน้ ทีส่ ว นใหญของ อำเภอศรีมโหสถ มีการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม จำนวน 11 แหง นอกจากนัน้ ยังมีการประกอบกิจการขนาดเล็กอีกเปนจำนวนหนึง่ ดานพานิชยกรรม มีการคาประเภทสินคาอุปโภค บริโภค พืชผลทางการเกษตร และสินคาเบ็ดเตล็ด

แหลงทองเที่ยวสำคัญ

1. โบราณสถานเมืองศรีมโหสถ ตัง้ อยูท บ่ี า นโคกวัด ตำบลโคกปบ เปนเมืองโบราณสมัยทวารวดีขนาดใหญ 2. โบราณสถานสระมรกต อายุราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 เปน ศาสนสถานที่ผสมผสานกันระหวางพุทธศาสนากับศาสนาอินดู 3. รอยพระพุทธบาทคู สลักลงบนพื้นศิลาแลงธรรมชาติอายุ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-13 4. ตนโพธิ์ศรีมหาโพธิ เปนตนโพธิ์เกาแกซึ่งปลูกโดยนำหนอ พระศรีมหาโพธิมาจากเมืองอนุราธปุระ ประเทศลังกา 5. หลวงพอทวารวดี พระพุทธรูปหินทรายปาง เสด็จจากดาวดึงส ประดิษฐานในวิหารหนาที่วาการอำเภอศรีมโหสถ

งานประเพณีสำคัญ

1. งานมาฆปูรมีศรีปราจีน บริเวณโบราณสถานสระมรกตกำหนด จัดในชวงวันมาฆบูชา หรือวันเพ็ญเดือนสาม ของทุกป 2. งานประเพณีแหและประกวดบัง้ ไฟ และนมัสการตนโพธิศ์ รีมหาโพธิ

นายอภิรศักดิ์ พฤกษชาติ นายอำเภอ ศรีมโหสถ

Í·ÇÒÃÇ´Õ µŒ¹ÈÃÕÁËÒ⾸ÔÂ×¹¹Ò¹ “äËÇŒËÅǧ¾‹ÁÒ¦»Ù ÃÁÕà·È¡ÒÅ Ê׺ÊÒ¹ºØÞºÑé§ä¿ คือคำขวัญประจำ อำเภอศรีมโหสถ ซึ่งตั้งอยูทางทิศใตของ จังหวัดปราจีนบุรี โดยตั้งอยูหางจากจังหวัดปราจีนบุรี 27 กิโลเมตร

ขอมูลทั่วไป อำเภอศรีมโหสถ มีพื้นที่ 130 ตร.กม. หรือ 83,125 ไรแบง การปกครองออกเปน 4 ตำบล 24 หมูบ า น มีองคกรปกครองสวนทองถิน่ จำนวน 4 แหง ไดแก ทต.โคกปบ อบต.โคกปบ อบต.โคกไทย และอบต.ไผชะเลือด มีประชากรรวม 18,202 คน ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยมีพน้ื ทีก่ ารเกษตรทัง้ สิน้ 71,280 ไร มีผลผลิตทางการเกษตรทีส่ ำคัญ ไดแก มะมวง สมโอ ขนุน สมเขียวหวาน มันสำปะหลัง ถัว่ ลิสง ถัว่ เหลือง และขาวโพด เปนตน มีการเลี้ยงสัตวที่สำคัญ ไดแก โค,กระบือ สุกร

160

âºÃҳʶҹ¾Ãкҷ¤Ù‹ ÊŒÁâÍãËÞ‹ÃÊ´Õ

สินคาโอท็อป

1 .นางดลนภา พันธธรรม บานเลขที่ 2 หมูที่ 3 ตำบลโคกปบ ผลิตกระเปาแฟชั่นและกระเปาพลาสติกรูปทรงตางๆ 2. กลุมแมบานเกษตรกรไผชะเลือด บานเลขที่ 70 หมูที่ 2 ตำบลไผชะเลือด ผลิตพวงหรีด และดอกไมจันทน 3. นางอัมพร พุกถึก บานเลขที่ 62 หมูที่ 3 ตำบลคูลำพัน ผลิตรองเทาบุรุษ-สตรี 4. กลุมแมบานเกษตรกรไผชะเลือด บานเลขที่ 62/2 หมูที่ 3 ตำบลไผชะเลือด ผลิตหมี่กรอบ, ไขเค็ม 5. กลุม เครือ่ งหนังศรีมโหสถ บานเลขที่ 76 หมูท ่ี 8 ตำบลโคกปบ ผลิตรองเทาสตรี 6. นางสาวเกษร อ่ำอินทร บานเลขที่ 127 หมูท ่ี 7 ตำบลโคกไทย ผลิตสรอยคอ สรอยขอมือ ตางหูจากหินสีและลูกปด 7. น.ส.จรวย กันสถิตย์ บานเลขที่ 119/1 หมูท ่ี 3 ตำบลโคกปบ ผลิตทองมวน 8. นายเอนก บรรลือวงศ บานเลขที่ 78 หมูที่ 2 ตำบลโคกปบ ผลิตแผนปายไมและ พวงกุญแจไม 9. นางขวัญยืน เทพบุตร บานเลขที่ 36/5 หมูท ่ี 2 ตำบลไผชะเลือด ผลิตไขเค็ม 10. นางสมพร บุรวี งศ์ บานเลขที่ 2/6 หมูท ่ี 2 ตำบลไผชะเลือด ผลิตกลวยฉาบ และกลวยสุกทอดกรอบ 11. นางเฉลา สองแสงจันทร์ บานเลขที่ 76 หมูท ่ี 3 ตำบลโคกไทย ผลิตขนมหมอแกง, ขนมเม็ดขนุนเผือก, ขนมเม็ดขนุนถั่ว, ขนมชั้น 12. นายวรพนธ ศรีทองคำ บานเลขที่ 81/3 หมูท ่ี 3 ตำบลไผชะเลือด ผลิตสรอยคอรอยนิลกาฬ ,สรอยขอมือรอยหินแกวขนเหล็ก ,สรอยคอไหมทอง ,จี้เงินแกวโปงขาม ,ตางหูหินทิเบตการต 13. นายศิรภิ รู นิ ท ศรีทองคำ บานเลขที่ 81 หมูท ่ี 3 ตำบลไผชะเลือด ผลิตกำไร สรอยคอ ตางหู และแหวนจากพลอยแท บุษราคัม พลอยทับทิม โกเมน พลอยสตารไพลิน และเงิน 14. นายสมพงษ กิตติสุนทรโรภาศ บานเลขที่ 16/1 หมูที่ 1 ตำบลไผชะเลือด ผลิตไมกวาดดอกหญา, ไมกวาดกานมะพราว 15. นางอุบล ออนนอม บานเลขที่ 26 หมูท ่ี 1 ตำบลไผชะเลือด ผลิตไมกวาดดอกหญา 16. น.ส.โชติกา แกลวกลา บานเลขที่ 206 หมูท ่ี 1 ตำบลโคกไทย ผลิตเกล็ดน้ำหอม ,เจล ,เม็ดหอมปรับอากาศ 17. กลุมหมวกจักสานบานหนองสะแก บานเลขที่ 107 หมูที่ 8 ตำบลโคกไทย ผลิตหมวกจากไมไผ พลาสติก ผา , หมวกคาวบอย ฯลฯ 18. นางมนัส สนามนอย บานเลขที่ 25/1 หมูท ่ี 8 ตำบลโคกปบ ผลิตกระเปาสะพาย ,กระเปาคลองแขน ,กระเปาไหมลิ่มใสสตางค ,กระเปาใสแทบเลต ,กระเปาใสเครื่องสำอาง

Prachinburi 161


เสนทางพบองคการบริหาร สวนตําบลโคกไทย

4. บานหนองเกตุ 5. บานโปงตะเคียน 6. บานหนองแสง 7. บานโคกพนมดี​ี

สถานทีส่ ำคัญ ในพืน้ ทีข่ ององคการบริหารสวนตำบลโคกไทยมี โบราณสถาน และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ชาวบานนับถือ อยู 3 แหง คือ 1.เจดียพระธาตุพุทธมณฑล ตั้งอยูที่วัดแสงสวางบาน โคกไทย หมูที่ 2 2. รอยพระพุทธบาทคู ตั้งอยูที่โบราณสถานสระมรกต บานสระขอย หมูที่ 1 3. ศาลปูตาบาน ตั้งอยูที่บานโคกไทย หมูที่ 3

นายเบิ้ม ฉัตรชูสิน

นายกองคการบริหารสวนตำบลโคกไทย องคการบริหารสวนตำบลโคกไทย องคการบริหารสวนตำบลโคกไทย เปนตำบลหนึง่ ในเขต อำเภอ ศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ตั้งอยูเลขที่ 99/1 หมู 4 บานหนองเกตุ ตำบลโคกไทย อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี โทร. 037-218936 ปจจุบนั มีผดู ำรงตำแหนง นายกองคการบริหาร สวนตำบลโคกไทย คือ นายเบิ้ม ฉัตรชูสิน

ขอมูลทัว่ ไป องคการบริหารสวนตำบลโคกไทย อยูท างทิศ ตะวันออก ของอำเภอ ศรีมโหสถหางจากอำเภอศรีมโหสถประมาณ 10 กิโลเมตร มีประชากรทัง้ สิน้ ประมาณ 6,356 คน จำนวนครัวเรือน 2,352 ครัวเรือน มีเนื้อที่รวมทั้งสิ้น 26,480 ไร หรือ 46 ตารางกิโลเมตร แบงเปน 7 หมูบาน ดังน 1. บานสระขอย 2. บานโคกไทย 3. บานโคกไทย

162

สินคา OTOP ในตำบลโคกไทยมีผลิตภัณฑที่เปนสินคา OTOP คือ ตะกราทางมะพราว ของนางบุญเลีย้ ง ดอนมอญ บานโคกไทย หมูท ่ี 3

สถานที่ทองเที่ยว โบราณสถานสระมรกต ตั้งอยูที่วัดสระมรกต หมูที่ 1 บานสระขอยตำบลโคกไทย เปนกลุมโบราณสถานที่เกี่ยวของกับ วั ฒ นธรรมเขมรโบราณ และมี ร อยพระพุ ท ธบาทคู  เ ป น รอย พระพุทธบาท ทีม่ ขี นาดใหญทส่ี ดุ และ เกาแกทส่ี ดุ ในประเทศไทย จังหวัดปราจีนบุรีมีการจัดงานเทศกาล “มาฆปูรมีศรีปราจีน” ขึ้นเปนประจำทุกป ในวันมาฆบูชา

Prachinburi 163


ชุมชนแหงความเชื่อ วัดโคกวัด

โรงเรียนเทวรักษ

โรงเรียนเทวรักษ ( THEWARAK SCHOOL)

วั.……………………………………………………… ดอารักขเทวดา โคกวัด หมูบานโคกวัด เปนแหลงอารยธรรมโบราณสมัยทวารวดี ทีต่ อ งเสือ่ มสลายไปเพราะสงคราม แตยงั มีรอ งรอยของโบราณสถาน และเทวสถานอยูหลายแหง จากการเทียบเคียงกับหลักฐานทาง ประวัติศาสตร ทําใหแนใจวาบรรพชนตนกําเนิดสวนใหญเปน คนลาว(พวน) ที่เขามาเพราะถูกตอนมาเปนเชลย ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 3 ราวป พ.ศ.2371 (ค.ศ.1828) ป ค.ศ.1899 บาทหลวงรองแดล ซึง่ ดูแลกลุม คริสตชนในระหวางนัน้ ไดมาพบปะกลุมชนที่ยายมาทํากิน ณ หมูบานแหงนี้ คุณพอ เห็นวา ชุมชนนี้มีความสนใจขาวดีของพระคริสต จึงไดรวมมือ กับชาวบานสรางวัดหลังแรกขึ้นตั้งชื่อวา “วัดเทวดารักษาตัว โคกวัด” ป ค.ศ.1945 วัดหลังแรกถูกเผาจากการเบียดเบียนศาสนาในสมัย สงครามอินโดจีน บาทหลวงบุญชู ระงับพิษ ไดรับมอบหมาย มาดูแลชุมชนคริสตชนโคกวัด คุณพอและสัตบุรุษไดชักลาก ไมในปา และสรางวัดแทนวัดหลังที่ 1 ซึ่งถูกเผาไป

“วิชาดี กีฬาเดน เนนคุณธรรม นําวินัย ใจซื่อสัตย พัฒนาตอเนื่อง”

เมือ่ บาทหลวง ซาอูล (อรุณ) ธรรมธาดา เขาดูแลกลุม คริสต ชนโคกวัด คุณพอมีความเห็นวา วัดหลังที่ 2 มีความทรุดโทรมอยางมาก คุณพอจึงไดสรางวัดหลังที่ 3 ซึง่ เปนวัดหลังปจจุบนั โดยสรางเสร็จในป ค.ศ.1960 ไดรบั การเสกโดย พระสังฆราช สงวน สุวรรณศรี ในป ค.ศ.1961 ปจจุบนั วัดอารักขเทวดา โคกวัด มี บาทหลวง ดร.ลือชัย จันทรโป๊ เปนเจาอาวาส และ บาทหลวงปรีชา สวัสดี เปนผูช ว ยเจาอาวาส ตารางเวลาพิธีบูชาขอบพระคุณ จันทร - เสาร เวลา 19.00 น. วันอาทิตย เวลา 06.00, 08.30 น. โทรศัพท/Fax : 037-276148 หรือ E-mail : watkhokwat@hotmail.com www.facebook.com/วัดอารักขเทวดา โคกวัด

164

โรงเรียนเทวรักษ ตั้งอยูเลขที่ 224 หมู 2 ตําบลโคกปบ อําเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี โรงเรียนเทวรักษเปนโรงเรียน คาทอลิก สังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี ซึง่ เปนกลุม โรงเรียนทีม่ เี ปาหมาย และนโยบายเดียวกัน ในการบริหารงานเพือ่ พัฒนาโรงเรียนใหมคี ณุ ภาพ ไดอนุญาตใหเปดการสอนเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2490 โดยมี บาทหลวงวรงค สุขพัฒน เปนเจาของเปดสอนระดับชั้นประถม ศึกษาปที่ 1 ถึงชัน้ ประถมศึกษาปที่ 4 มี ขณะนัน้ มีครูจาํ นวน 2 คน และนักเรียนจํานวน 63 คน และจากจุดเริม่ ตนเล็กๆ นีเ้ อง ผานเวลากวา 67 ป โดยมี คณะบาทหลวงมิสซังโรมันคาทอลิกสังฆมลฑลจันทบุรี และภคินคี ณะ รักกางเขนแหงจันทบุรี รวมกันทํางานอยางมุงมั่นเพื่อใหโรงเรียน มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง มุงสรางเสริมและพัฒนาผูเรียนใหเปน ผูมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู สามารถทํางานและดําเนินชีวิต อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข เนนการจัดการเรียนการสอน แบบมีสว นรวม โดยผูบ ริหาร คณะครู ผูป กครองและผูม สี ว นเกีย่ วของ รวมกันวางแผนกําหนดรูปแบบและแนวทางการจัดการศึกษาตาม ปรัชญาของโรงเรียนที่วา “การศึกษาเพื่อพัฒนาชีวิต” ปจจุบันมี บาทหลวง ดร.ลือชัย จันทรโป เปนผูลงนาม แทนผูรับใบอนุญาต บาทหลวงปรีชา สวัสดี เปนผูจัดการ และ ซิสเตอรกลั ยา ยุตธิ รรม เปนผูอ าํ นวยการ มีนกั เรียนทัง้ สิน้ 2,025 คน บุคลากรครู 96 คน ครูตางชาติ 6 คน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โรงเรียนเทวรักษ 224 หมู 2 ต.โคกปบ อ.ศรีมโหสถ จ.ปราจีนบุรี 25190 โทร 0-3727-6921-2 โทรสาร 0-3727-7005 www.facebook.com/โรงเรียนเทวรักษ ปราจีนบุรี http://www.thewarakschool.com

Prachinburi 165


เสนทางพบ นายอําเภอบานสราง

นายสมชาย ชำนิ นายอำเภอบานสราง “หลวงพอจาดเลื่องลือชื่อ นามระบือกุงใหญ เสื่อกกเสริมรายได นาขาวเรืองรอง แผนดินทองบานสราง” คือคำขวัญของอำเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งตั้งอยู ทางทิศตะวันตกเฉียงใตหา งจากตัวจังหวัดปราจีนบุรปี ระมาณ 20 กิโลเมตร และมีระยะทางหางจากกรุงเทพมหานครประมาณ 90 กิโลเมตรเศษ ปจจุบันมี นายสมชาย ชำนิ เปน นายอำเภอบานสราง

ประวัติความเปนมา

ปจจุบนั ยังมีคซู ง่ึ เปนทางชางขามไปยังปาดงละครทองทีจ่ งั หวัดนครนายก อยูต ดิ หมูท ่ี 8,10 ตำบลบานสราง ในปจจุบนั ยังมีชอ่ื ทองทีแ่ ละวัดทีเ่ กีย่ วกับ ชางอยูห ลายแหง เชน วัดทาชาง วัดคเชนพนารามฯลฯ เมือ่ มีความนิยม เลีย้ งชาง และเปนทองทีท่ ม่ี ชี า งมากนีเ่ อง ชาวบานจึงขนานนามทองทีน่ ว้ี า “ บานชาง ”แตสำเนียงของชาวเวียงจันทรเรียกบานชางวา “ บานสราง ” ป ร.ศ. 123 (พ.ศ. 2448) ทางราชการไดยกฐานะทองทีแ่ หงนีจ้ ดั ตัง้ เปนอำเภอชือ่ “อำเภอบานสราง” ตัง้ อยูท างทิศตะวันตกเฉียงใตของจังหวัด ปราจีนบุรี และมีอาคารที่วาการอำเภอตั้งอยูริมฝงแมน้ำบางประกง เมือ่ วันที่ 9 ธันวาคม 2525 ไดยา ยสถานทีต่ ง้ั ทีว่ า การอำเภอมาอยูร มิ ถนน สายบานสราง - บางขนาก หางจากทีว่ า การหลังเกาประมาณ 1 กิโลเมตร

แตเดิมพื้นที่อำเภอบานสรางเปนพื้นที่ปาไมเบญจพรรณเปนที่ อยูอ าศัยของสัตวนานาชนิด สัตวทม่ี มี ากทีส่ ดุ คือ ชางปา เนือ่ งจากสมัยโบราณ มีกลุมชนจำนวนมาก ซึ่งไมมีถิ่นฐานที่อยูแนนอนไดอพยพมาจากเมือง เวียงจันทร เนือ่ งจากขุนนางผูใ หญตา งแยงชิงอำนาจกัน บานเมืองระส่ำระสาย ประชาชนอพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานทุง อำเภอบานนา ทุง ดงละคร อำเภอเมืองนครนายก และที่อำเภอบานสราง ซึ่งขณะนั้นยังไมมีนายทองถิ่นนี้ ขอมูลทั่วไป เมือ่ ชาวเมืองเวียงจันทรไดอพยพมาตัง้ ถิน่ ฐาน กระจัดกระจาย อำเภอบานสราง มีพื้นที่จำนวน 367 ตร.กม. หรือจำนวน อยูตามริมฝงแมน้ำบางประกง และริมคลองทั่วไปเพราะเปนที่ราบลุม 229,375 ไร มีแมน้ำสำคัญ คือ แมน้ำบางปะกง แมน้ำปราจีนบุรี และ เหมาะแกการเพราะปลูกชาวเวียงจันทรเลี้ยงชาง หลักฐาน อางอิงคือ แมน้ำนครนายก

166

อำเภอบานสราง มีพื้นที่จำนวน 367 ตร.กม. หรือจำนวน 229,375 ไร มีแมน้ำสำคัญ คือ แมน้ำบางปะกง แมน้ำปราจีนบุรี และ แมน้ำนครนายก การปกครอง/ประชากร อำเภอบานสราง แบงเขตการปกครองออก เปน 9 ตำบล 88 หมูบาน มีองคกรปกครองสวนทองถิ่น 8 แหง ไดแก เทศบาล ตำบล 1 แหง องคการบริหารสวนตำบล 7 แหง มีประชากรรวม 31,348 คน (ทีม่ า : สำนักงานทะเบียนอำเภอ ณ เดือน กุมภาพันธ 2558) ดานเศรษฐ กิจดานเกษตรกรรม มีพื้นที่เกษตรกรรมจำนวน 121,455 ไร ไดแก นาป นาปรัง กก พืชสวน ผัก (ที่มา : เกษตรอำเภอ ณ เดือน กุมภาพันธ 2558) ดานปศุสตั ว มีพน้ื ทีเ่ ลีย้ งสัตว จำนวน 1,806 ไร ไดแก โคเนือ้ กระบือ สุกร แพะ ไกไข ไกพน้ื เมือง (ทีม่ า : ปศุสตั วอำเภอ ณ เดือน กุมภาพันธ 2558) ดานประมง มีพื้นที่เลี้ยงปลา 26,169 ไร เลี้ยงกุง 9,398 ไร (ที่มา : ประมงอำเภอ ณ เดือน กุมภาพันธ 2558) ดานอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรม ไดแก บริษทั ที.ซี. ฟารมาซูตคิ อล อุตสาหกรรม จำกัด ,บริษทั ไทยสแตนเลสสตีล จำกัด ,บริษทั ยูนแิ ลมป จำกัด ,บริษทั อินเตอรแปซิฟก เปเปอร จำกัด และบริษทั ปราจีนบุรกี ลาส อินดัสทรี จำกัด

สถานทีท่ อ งเทีย่ วสำคัญ 1. โครงการพัฒนาสวนพระองค ตัง้ อยูบ ริเวณพืน้ ทีห่ มู 10 ตำบล บางแตนโดยในป พ.ศ.2514 นายประกัน กาญจนวัฒน และภริยา ไดทลู เกลาฯ ถวายทีด่ นิ ริมแมนำ้ บางประกง ตำบลบางแตน อำเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี เนือ้ ที่ 88 ไร แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และตอมาในป พ.ศ.2527 นายอำเภอบานสราง ไดรว มกับเจาอาวาสวัดบางแตนพระครูโกศลถาวรกิจ และชาวบานซือ้ ทีด่ นิ ติดกับทีเ่ ดิมอีก 55 ไร ถวายแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เมือ่ คราวเสด็จฯ ณ ศูนยศกึ ษาการพัฒนาเขาหินซอนสำนักงานจัดการทรัพยสนิ

สวนพระองคซึง่ เปนผูด แู ลทีด่ นิ แปลงนีอ้ ยูไ ดฝากพืน้ ทีใ่ หศนู ยศกึ ษาการพัฒนา เขาหินซอนใชประโยชนทำการพัฒนาเขาหินซอนใหประโยชนทำการพัฒนา เปนแหลงน้ำและการประมงเพือ่ ชวยเหลือเกษตรกร ซึง่ ดูแลโดยกรมชลประทาน และกรมประมงตอมาในป พ.ศ. 2539 สำนักงานจัดการทรัพยสนิ สวนพระองค ไดซอ้ื ทีด่ นิ ขางเคียงเพิม่ เติมรวมเปนเนือ้ ทีท่ ง้ั สิน้ 384 ไร ตนป พ.ศ. 2541 ไดปรึกษากับ ผูอำนวยการศูนยวิจัยขาวปราจีนบุรีเพื่อนำที่ดินมาพัฒนา สนับสนุนโครงการเกษตรทฤษฏีใหม และสงเสริมระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง สำหรับเปนแบบอยางแกเกษตรกรบริเวณใกลเคียง หรือผูท ส่ี นใจเขาไปศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหใชชอ่ื โครงการนีว้ า “โครงการพัฒนาสวนพระองค” ซึ่งประกอบดวย โครงการขาวครบวงจร โครงการเกษตรแบบผสมผสานโครงการตลาดเพือ่ ชุมชน โดยเมือ่ วันพุธ ที่ 18 พฤศจิกายน 2541 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เสด็จฯ ไปทรงเกีย่ วขาว ทีโ่ ครงการพัฒนาสวนพระองค ตําบลบางแตน อําเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี 2. วัดบางกระเบา ตัง้ อยูห มูท ่ี 6 ตำบลบางกระเบาเปนวัดเกาแก และมีอดีตเจาอาวาส คือ พระครูสทิ ธิสารคุณ (หลวงปูจ าด) ซึง่ เปนพระเกจิ อาจารยชอ่ื ดัง เปนทีเ่ คารพนับถือของประชาชนทัว่ ไป และวัดยังเปนแหลง ทีอ่ ยูอ าศัยของฝูงคางคาวแมไกซง่ึ เกาะอยูบ นตนไมใหญขา งอุโบสถ จำนวนมาก และเยีย่ มชมสถานทีต่ า งๆบริเวณวัดทีร่ ม รืน่ สวยงาม 3. วัดบางแตน ตัง้ อยูห มูท ่ ี 2 ตำบลบางแตน วัดบางแตน วัดนีเ้ คยเปน ทีป่ ระทับพักแรมของ ร.5 ครัง้ เสด็จประพาสมณฑลปราจีนบุรี พ.ศ.2451 ภายในวัดดานนอกจัดแสดงเรือบิณฑบาตพระราชทานจาก ร.5 ภายในพิพธิ ภัณฑ ทองถิน่ วัดบางแตนจัดแสดงพระพุทธรูปสมัยตางๆ พระเครือ่ งปน โตสมัยรัชกาล ที่ 5 ธงชางเผือก เครือ่ งถวยชาม ตะเกียงโบราณ คัมภีรใ บลานฯลฯ สิง่ ทีจ่ ดั แสดงทรงคุณคาทัง้ ทางประวัตศิ าสตร และคุณคาทางโบราณวัตถุอยางยิง่ 4. วัดกระทุม แพว ตัง้ อยูท ห่ี มู 4 ตำบลกระทุม แพวเปนวัดพัฒนา ตัวอยางดีเดนเฉลิมพระเกียรติ 1 ใน 9 วัด ของประเทศไทยสิง่ ทีพ่ ลาดไมได การนมัสการรูปหลอหลวงเหมือนหลวงพอจาด เกจิอาจารยชอ่ื ดังของชาวบาน สรางและปราจีนบุรี เปนทีเ่ คารพศรัทธาของชาวกระทุม แพว ศาลาเรือนไม ทีส่ ะอาดสวยงาม และรอบวัดไดรบั การจัดแตงอยางเปนระเบียบ สวยงาม 5. หลวงพอโตวัดบางเตย ตัง้ อยูท ห่ ี มูท ่ ี 3 ตำบลบางเตย “หลวงพอโต” เปนทีส่ กั การบูชาของชาวบานมาชานานมีตำนานเลาวา สมัยนัน้ พระพุทธองค หลวงพอนีม้ ขี นาดใหญชาวบานจึงเรียกวา หลวงพอโตประดิษฐานประจำอุโบสถ เปนศิลปะแบบสมัยอยุธยา องคพระสรางดวยทองเหลืองปจจุบนั มีชาวบาน มากราบนมัสการเปนประจำทุกวัน 6. ตลาดไนทพลาซา สินคาโรงเกลือบานสราง ตัง้ อยูบ ริเวณตลาดสด อำเภอบานสรางมีสนิ คาจากศูนยรวมสินคา ราคาถูกสงตรงจากตลาดโรงเกลือ มีสนิ คามือสองจำหนายจำนวนมากมายจำหนาย

Prachinburi 167


เสนทางพบ

องคการบริหารสวนตําบลบางกระเบา

สภาพเศรษฐกิจ ประชากรสวนใหญประกอบอาชีพ ทำนาปรัง มีพื้นที่ทำนาจำนวน 13,598 ไร ไดผลผลิตจำนวน 16,771 ตัน/ป และประชากรบางสวนทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เพราะในเขตพืน้ ที่ อบต.บางกระเบาเปนทีต่ ง้ั โรงงานไทยสแตนเลส สตีล จำกัด (ผลิตเครื่องครัวสแตนเลส) และโรงงานมิตรแมน จำกัด (ผลิตพลาสติก) อบต.บางกระเบามีสนิ คาโอท็อปทีข่ น้ึ ชือ่ คือ เสื่อแปรรูป

นายศิริ เงินเกิด นายกองคการบริหารสวนตำบลบางกระเบา “ ชุมชนพัฒนา เกษตรกรรมกาวหนา เศรษฐกิจพึ่งพา ประชาชนอยูดีมีสุข” คื อ วิ ส ั ย ทั ศ น ก ารพั ฒ นาองค ก ารบริ ห ารส ว นตำบล บางกระเบา ซึ่งมีที่ทำการองคการบริหารสวนตำบลตั้งอยูหมูที่ 6 ตำบลบางกระเบา อำเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ระยะทาง หางจากอำเภอบานสรางประมาณ 3 กิโลเมตร และระยะทาง หางจากจังหวัดปราจีนบุรี ประมาณ 23 กิโลเมตร ปจจุบันมี นายศิริ เงินเกิด ดำรงตำแหนงนายกองคการบริหารสวนตำบล บางกระเบา

ประวัติ อบต.บางกระเบา

องคการบริหารสวนตำบลบางกระเบา จัดตั้งขึ้นตาม พระราชบัญญัตสิ ภาตำบลและองคการบริหารสวนตำบล พ.ศ. 2537 โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540

ขอมูลทั่วไป องคการบริหารสวนตำบลบางกระเบา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 15,000 ไร หรือ 24 ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองเปน 9 หมูบาน ลักษณะภูมิประเทศเปนพื้นที่ราบลุมแมน้ำ มีแมน้ำ ปราจีนบุรีไหลผานแยกเขตพื้นที่ออกเปน 2 ฝงจึงเหมาะแกการ เพาะปลูก

สถานทีท่ อ งเทีย่ ว วัดบางกระเบา (พระอารามหลวง) เปนพระอารามหลวง แหงแรกของจังหวัดปราจีนบุรี ตั้งอยูตำบลบางกระเบา อำเภอ บานสราง มีอายุมากกวา 170 ป ชื่อของวัดแหงนี้ มาจากการ ตั้งชื่อตามชื่อตนกระเบาที่มีอยูมากมายใน บริเวณวัดแหงนี้ ปจจุบันมี พระราชภัทรธาดา พระสงฆผูได สมญานามวา “หลวงพอนักพัฒนา” เปนเจาอาวาสวัด และดำรงตำแหนง เจาคณะจังหวัดปราจีนบุรี อีกดวย วัดบางกระเบาเปนวัดทีม่ อี ดีตเจาอาวาสคือ พระครูสทิ ธิสารคุณ หรือ หลวงพอจาด เปนพระเกจิอาจารยชอ่ื ดังทีม่ คี าถาอาคมแกกลา และสรางวัตถุมงคลไวมากมายในสมัยสงครามอินโดจีน ทานจึง วัดบางกระเบาแหงนี้ ยังมีสิ่งที่นาสนใจและดึงดูด เปนทีเ่ คารพสักการะของชาวปราจีนบุรี นอกจากนีภ้ ายในวัดยังมี นักทองเทีย่ วจำนวนมากคือ คางคาวแมไก่ สัตวแปลกของอำเภอ สิ่งที่นาสนใจมากมาย อาทิ เยี่ยมชมเรือกงของรัชกาลที่ 5 ที่ได บานสราง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งคางคาวแมไกไดอพยพมาอาศัย พระราชทานไวที่วัด ,ชมมณฑปหลวงพอจาด ,พระมหาเจดีย อยูบ นตนจามจุรแี ละตนตะเคียนใหญในวัดนี้ ซึง่ มีจำนวนประมาณ (อยูระหวางการกอสราง) และชมพิพิธภัณฑของใชหลวงพอจาด 2,000 ตัวทีเดียว คางคาวแมไกที่มาอาศัยเกาะอยูตามกิ่งไมที่ วัดแหงนี้ เปนคางคาวทีม่ ขี นาดใหญกวาคางคาวทีเ่ ราเห็นทัว่ ๆ ไป มีลำตัวขนาดใหญเทาๆ แมไกพันธุพื้นเมืองเลยทีเดียวลักษณะ ของลำตัวมีความกวางถึง 3 นิว้ ยาวประมาณ 10 นิว้ เมือ่ กางปกบิน จะมีความยาวของปกถึง 24 นิ้ว จะออกหากินในเวลาเย็นชวงที่ พระอาทิตยตกดิน โดยบินเกาะกลุมเปนฝูงออกหากินผลไมสุก เชน กลวย และมะมวงสุกเปนอาหารและจะกลับเขารังในตอนรุง สาง เชื่อกันวาคางคาวฝูงนี้ออกหากินไปไกลถึงจังหวัดนครนายกและ ฉะเชิงเทราเลยทีเดียว โดยปกติเมือ่ นักทองเทีย่ วไหวพระพุทธรูป และกราบนมัสการ พระสงฆเสร็จแลว มักจะมาถายรูปกับคางคาวแมไกพระเอกของทีน่ ่ี เสร็จแลวสามารถเดินไปชมทิวทัศนทส่ี วยงามริมแมนำ้ บางปะกง หรือที่ชาวปราจีนบุรีพากันเรียกอีกชื่อหนึ่งวา แมน้ำปราจีนบุรี ที่ไหลมาจากตัวเมืองปราจีนบุรีผานบริเวณวัดแหงนี้ดวย การเดินทาง บางกระเบาอยูบ นถนนสาย บานสราง-บางแตน ต.บางกระเบา จังหวัดปาจีนบุรี หางจากทีว่ า การอำเภอบานสราง ประมาณ 6 กิโลเมตร


เสนทางพบองคการบริหาร สวนตําบลบางแตน

พันธกิจ(mission)

พันธกิจที่ 1 พัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นบาน พันธกิจที่ 2 สงเสริมอนุรักษขนบธรรมเนียมปะเพณีทองถิ่น พันธกิจที่ 3 บริหารจัดการสิ่งแวดลอมใหเกิดสภาวะแวดลอมที่ ดีและยั่งยืน พันธกิจที่ 4 บริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมมาภิบาล พันธกิจที่ 5 สงเสริมแหลงเรียนรูช มุ ชนตนแบบตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ 6 สงเสริมการศึกษา การสาธารณสุข

กลุมอาชีพและสินคา OTOP

ถั่วกรอบแกว ของกลุมแมบานเกษตรกรบางแตนสามัคคีและ กลุม ทอผาเอนกประสงค หมูท ่ี 2 ตำบลบางแตน

สถานที่สำคัญ/สถานที่ทองเที่ยว

1. โครงการพัฒนาสวนพระองค 2. พิพธิ ภัณฑพน้ื บานวัดบางแตน ตำบลบางแตนอำเภอบานสราง จังหวัดปราจีนบุรี

ประเพณีทส่ี ำคัญของตำบลบางแตนและนามาเทีย่ วชม

นายบุญเตือน อินคง

นายกองคการบริหารสวนตำบลบางแตน

บางแตนตำบลนาอยู คูวัฒนธรรมดีงามล้ำเลิศ “ เชิดชูรักษสิ่งแวดลอม พรอมระบบบริหารจัดการบานเมืองที่ดี มีแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ”

ขอมูลพื้นฐาน

อบต.บางแตน มีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 36.26 ตร.กม. หรือ ประมาณ 22,622 ไร แบงพื้นที่การปกครองเปน 13 หมูบาน มีจำนวน ประชากรรวม 4,245 คน พืน้ ทีข่ องตำบลบางแตนอยูห า งกรุงเทพมหานคร และสนามบินสุวรรณภูมเิ ปนระยะทาง 64 กม. ตำบลบางแตน ทิศตะวันตกเฉียงใต ติดจังหวัดฉะเชิงเทรา ทิศตะวันตก ติดจังหวัดนครนายก ตำบลบางแตน ยังเปนทางผานไปยัง จังหวัดนครราชสีมา

เรือและปน โตของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวใน การเสด็จประภาสปราจีนบุรี

170

1.ประเพณีสงกรานต 2.ประเพณีแหพระทางน้ำและแขงขันเรือยาว 3.ประเพณีลอยกระทง


อุปสรรคผิวสวย ยามฝนเยือน ฤดูฝนไมเพียงแตจะนำพาความฉ่ำเย็นสดชื่นมาใหเราเทานั้น แตความอับชื้นอบอาวที่มากอนและหลังฝนตก อาจเปนสาเหตุใหผิวหนังของเราเปนที่เพาะเชื้อราไดงาย ๆ เชนกัน เรามาดูกันวามีโรคผิวหนังอะไรบางที่เราควรปองกัน กอนจะเกิดอาการคันคะเยอ ทำใหเสียบุคลิกภาพกันคะ 1. โรคเกลือ้ นทีเ่ กิดจากเชือ้ รา Malassezia furfur ลักษณะเปนวงดางๆ สีขาว สีเนือ้ หรือสีนำ้ ตาล รวมกับขุยสีขาวๆ และมีอาการคัน มักพบบริเวณหนาอกและลำตัวของคนทีอ่ อกกำลังกาย คนทีม่ เี หงือ่ ออกมาก หรือตากฝนแลวไมยอมอาบน้ำ อยากระนัน้ เลยเมือ่ ตัวเปยกแฉะแลวรีบอาบน้ำทำความความสะอาดรางกายและเช็ดใหแหงกอนเกลือ้ นถามหาดีกวาคะ 2. โรคทีเ่ กิดจากเชือ้ ยีสตในกลุม Candida มักเกิดในคนทีภ่ มู คิ มุ กันไมคอ ยดี เชน ผูท เ่ี ปนเบาหวาน หรือคนทีม่ นี ำ้ หนักมาก ลักษณะเปนผืน่ สีแดงแฉะ มีอาการคันมาก มักพบตามบริเวณขอพับ รักแร ขาหนีบ หรือใตราวนม โรคนีร้ กั ษาใหหายไดดว ยการ ทายาฆาเชือ้ ราตามระยะเวลาทีแ่ พทยแนะนำคะ 3. โรคที่เกิดจากเชื้อรากลุม Dermatophytes เชื้อรากลุมนี้จะพบทั่วไปในสภาพแวดลอมและสัตวเลี้ยงอยาง สุนัขและแมว ซึ่งสภาพอากาศรอนอบอาวจะชวยใหเชื้อเจริญเติบโตและแพรพันธุไดดีมาก และเกิดไดหลายตำแหนง ในรางกายตัง้ แตศรี ษะจรดปลายเทา อาทิ กลากทีศ่ รี ษะ ลักษณะเปนวงกลมมีขอบเขตชัดเจน มีสะเก็ดหรือขุย อาจมีผมรวง ผมหักรวมดวย หากอักเสบมากจะกลายเปนชันนะตุได โรคเชือ้ ราทีเ่ ล็บ มักเกิดตรงปลายเล็บหรือดานขาง ลักษณะมีสขี าว หรือเหลืองปนน้ำตาล ตอมาใตเล็บจะหนาขึ้นและดันเล็บใหยกขึ้น สวนมากพบในผูสูงอายุเพราะเล็บยาวชาและ มีโอกาสติดเชื้อราไดงาย โรคสังคัง ลักษณะเปนตุมแดงเล็กๆ คอยๆ ขยายกวางออกจนเปนวงกลม มีขอบเขตชัดเจน มีอาการคัน มักพบบริเวณขาหนีบ ตนขา ขอพับ ตนขา และโรคน้ำกัดเทา ลักษณะเปนขุยขาวๆ หรือเปยกยุย หรืออาจถึงขัน้ เปนแผลมีนำ้ เหลืองเยิม้ ทีผ่ วิ การรักษาคือควรลางเทาใหสะอาดดวยสบูแ ละเช็ดใหแหง ใชครีมกันเชือ้ ราหรือโรยแปงฝุน ที่เทา เรียกวาทุกเพศทุกวัยมีสทิ ธิเ์ ปนโรคผิวหนังในหนาฝนได ดังนัน้ หมัน่ สังเกตตัวเองทุกซอกทุกมุม หากพบความผิดปกติ ของผิวหนัง ก็ควรรีบปรึกษาแพทยเฉพาะทางผิวหนังเพือ่ ใหการรักษาอยางเหมาะสมและหายขาดคะ

Prachinburi 171


เสนทางธรรมหนุนนําชีวิต

วดัอนิทาราม

………………………………………………… วดัอนิทาราม ตง้ัอยเูลขท่ี 42 หมทู่ี 5 ตาํบลบางยาง อาํเภอ บานสราง จงัหวดัปราจนีบรุี เปนวดัพฒันาตวัอยางอกีวดัหนง่ึของ อาํเภอบานสราง ซง่ึมสีง่ิทน่ีาสนใจคอื หลวงพอคมุ-พระศกัดส์ิทิธ์ิ พพิธิภณัฑพน้ืบาน และสวนสมนุไพรนานาชนดิ

ประวตัคิวามเปนมา

เมอ่ืประมาณ พ.ศ. 2397 หรอืประมาณ 161 ปมาแลว บรเิวณ วดัอนิทารามเปนปาไมเลก็ๆ มสีตัวประเภทลงิอาศยัอยู มผีรูทูานหนง่ึ ไดเลาวา ในขณะนน้ัหมบูานเรยีกกนัวา บานวดั มบีานเรอืนอยไูมมากนกั และมพีระธดุงคชอ่ื พระบญุเรอืง มาปกกลดในบรเิวณวดัอนิทาราม ชาวบานในหมบูานและบรเิวณใกลเคยีงไดมาทาํบญุกบัพระรปูน้ี และ ไดนมินตใหทานอยกูบัพวกเรา และทานไดรบัปากกบัพวกชาวบานวา จะรวมกบัชาวบานสรางวดัอนิทาราม ตอมามผีศูรทัธาเลอ่ืมใส ชอ่ืนายรน่ื ซง่ึเปนตนตระกลู “รน่ืกลน่ิ” ไดบรจิาคทด่ีนิเพอ่ืใชเปนสถานทส่ีรางวดั

172

หลงัจากนน้ัชาวบานไดพรอมใจกนัสรางกฏุใิหพระบญุเรอืง เปนทอ่ียอูาศยั ตามประวตัพิระบญุเรอืง เปนชาวจงัหวดัสมทุรสาครหรอื สมทุรปราการ (ไมทราบแนชดั) แตพระบญุเรอืงรปูนเ้ีปนเพอ่ืนกบั กรมหลวงชมุพรเขตอดุมศกัด์ิ หลงัจากทพ่ีระบญุเรอืงมาอยทูว่ีดัน้ี นานพอสมควร ไดรวมกบัชาวบานสรางพระอโุบสถเพอ่ืใชประกอบ ศาสนกจิตามแนวทางพระพทุธศาสนา และตอมาพระบญุเรอืงไดรบั แตงตง้ัเปนเจาอาวาสวดัอนิทาราม เดมิทนีน้ั วดัอนิทารามมชีอ่ืวา “วดัอนิทนลิ” ตามความเขาใจ ของผูเขียนสันนิษฐานวาบริเวณวัดมีตนอินทนิลข้ึนอยูมาก คนใน สมัยน้ันจึงใชช่ือตนไมมาต้ังเปนช่ือวัด ตอมาทางกรมการศาสนา ไดจดัใหมรีะเบยีบตง้ัชอ่ืวดั โดยใหใชคาํลงทายวา “ราม” ตอจาก คาํวา “อาราม” แปลวา “วดั” เมอ่ืเปนดงันว้ีดัอนิทนลิ จงึเปลย่ีน มาเปน “วัดอินทาราม” หมายความวา วัดของพระอินทร ฉะน้ัน สญัลกัษณของวดัจงึมสีเีขยีว ซง่ึเปนสปีระจาํของพระอนิทร ในขณะทพ่ีระบญุเรอืงดาํรงตาํแหนงเจาอาวาสนน้ั ไดเดนิทางไปหา กรมหลวงชมุพรฯ โดยเรอืแจวไป โดยมลีกูศษิยอายปุระมาณ 10 ปเศษ (ถามชีวีติอยอูายปุระมาณ 100 กวาป) ไดเดนิทางไปกบัพระบญุเรอืงและ ชาวบานอกี 2-3 คน ชวยกนัแจวเรอืไปพบ กรมหลวงชมุพรเขตอดุมศกัด์ิ

หรอืขอพร มกัประสบผลสาํเรจ็และเปนทเ่ีลอ่ืมใสศรทัธา เชอ่ืกนัโดยทว่ัๆ ไป ปากตอปาก กจ็ะบอกเลาตอๆ กบัไปจนเปนเหตใุหเกดิความศรทัธา ทางลกูศษิยไดเลาใหฟงวากรมหลวงชมุพรฯ ไดถวายหอนง่ัของทานมา ดงันน้ั คณะกรรมการวดัจงึไดจดังานประจาํป ปดทองหลวงพอคมุ สรางเปนโบสถเกา (หอนง่ั หมายถงึ บานทอ่ียอูาศยัของคนโบราณซง่ึ ถวายเปนการสกัการะในชวงกลางเดอืน 4 ทกุป ตอมาจากเรอืนใหญ สาํหรบัใชเปนทน่ีง่ัเลนของผมูฐีานะดใีนสมยันน้ั เงนิทนุนธิหิลวงพอคมุ หอนง่ัจงึไมนยิมตฝีา) เงนิทนุมลูนธิหิลวงพอคมุ กอตง้ัเมอ่ืวนัท่ี 13 เมษายน พ.ศ. 2520 นอกจากนก้ีรมหลวงชมุพรฯ ยงัถวายเตยีงนอนใหพระบญุเรอืง นาํโดยพระอาจารยชอบ จนทฺวโํส พรอมดวยประชาชนชาววดัอนิทาราม 1 หลงั มลีกัษณะขาเตยีงเปนรปูเทาสงิห มลีายเครอืวลัย ลงรกัปดทอง 90 รายช่ือ รวมใจกันบริจาคทรัพย เปนเงินท้ังหมด 9,000 บาท ปจจบุนัเหลอืเศษไมขางเตยีงไวเปนอนสุรณ เพ่ือต้ังเปนเงินกองทุนใหประชาชนกู โดยคิดดอกเบ้ียรอยละ 2 บาทตอเดอืน เรม่ิแรกใหกรูายละ 500 บาท จาํนวน 18 ราย เมอ่ืได สง่ิศกัดส์ิทิธภ์ิายในวดั ดอกเบย้ีมาพระอาจารยชอบ สง่ัใหเอาดอกเบย้ีไปสรางอโุบสถทกุๆ ป จนถงึพ.ศ. 2530 พระอาจารยชาํนาญ เจาอาวาสลาํดบัตอมา วดัอนิทารามนน้ัมี หลวงพอคมุ เปนพระพทุธรปูทศ่ีกัดส์ิทิธ์ิ สันนิษฐานวา สรางในยุคปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือราวตนกรุง ไดสง่ัใหเอาดอกเบย้ีสะสมใหทนุมากขน้ึ เพอ่ืนาํไปบรูณะวดั หรอืการ รตันโกสนิทร ในสมยักอนชาวบานประสบความเดอืดรอน เจบ็ปวย อยางอน่ืๆ แตใหทนุอยคูงเดมิ หรอืจะมผีบูรจิาคเพม่ิทนุตอมาจนถงึ อุทกภัย วาตภัย ตลอดจนผูประกอบอาชีพทําไร ทํานา คาขาย ทกุวนัน้ี คดิบญัชรีวมยอดเงนิทง้ัสน้ิ เมอ่ืวนัท่ี 22 ตลุาคม พ.ศ. 2545 มกัจะมาบนหลวงพอคมุใหชวยเหลอื และประสบผลสาํเรจ็แทบทกุราย เปนจาํนวนเงนิทง้ัสน้ิ 1,057,921.81 บาท (หนง่ึลานหาหมน่ืเจด็พนัเการอย จนเปนทเ่ีคารพเลอ่ืมใสของประชาชนทว่ัไปจนถงึยคุปจจบุนั ซง่ึอยใูน ยส่ีบิเอด็บาทแปดสบิเอด็สตางค) ชวงการประสบปญหาดานภาวะเศรษฐกจิ กย็งัมพีทุธศาสนกิชนทว่ัไป จงึนบัไดวาเงนิทนุมลูนธิหิลวงพอคมุ นไ้ีมเพยีงแตจะชวยให ไดมากราบไหวสกัการบชูาปดทองหลวงพอคมุเปนประจาํ ดวยอภนิหิาร ชาวบานมีแหลงเงินกูไวใชในยามจําเปนแลว ยังชวยจรรโลง ความศกัดส์ิทิธข์ิองหลวงพอคมุ ชาวบานสวนมากเมอ่ืมาสกัการะหลวงพอ พระพทุธศาสนาใหเจรญิรงุเรอืงสบืเนอ่ืงมาจนถงึปจจบุนัดวย

Prachinburi 173


เสนทางพบ นายอําเภอนาดี

โครงการ/กิจกรรมเดนที่ดำเนินการ

นายนพดล งามเหลือ นายอำเภอ นาดี “หินเพิงลองแกง นาดีแหลงอุทยาน ปาลานทะเลหมอก”

ทิศทางการพัฒนาอำเภอนาดี

ภายใตวสิ ยั ทัศน อำเภอนาดีนา อยู เชิดชู สงเสริมการทองเทีย่ ว เชิงนิเวศน การเกษตรกาวหนา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเปนเสมือนเข็มทิศกำหนดแนวทางการดำเนินงานของอำเภอโดยการ นำของนายนพดล งามเหลือ นายอำเภอนาดี ไดกำหนดทิศทางการ ดำเนินงานรวมกับทุกภาคสวน โดยศึกษาขอมูลจากวิถีชีวิตของพี่นอง ประชาชน ศาสนาและวัฒนธรรม สภาพภูมปิ ระเทศบริบททางสังคมโดยรวม 1. ดานศาสนาวัฒนธรรม ประวัติความเปนมา 2. ดานสังคมและคุณภาพชีวิต อำเภอนาดี เดิมอยูในเขตการปกครองของอำเภอกบินทรบุรี 3. ดานความมัน่ คงและรักษาความสงบเรียบรอย จังหวัดปราจีนบุรีแตเนื่องจากอำเภอกบินทรบุรีมีพื้นกวางใหญและในบาง 4. ดานการปองกันและปราบปรามยาเสพติด พืน้ ทีม่ กี ารแทรกซึมของพรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศไทย กระทรวงมหาดไทย 5. ดานบรรเทาสาธารณภัย จึงประกาศใหแยกตำบลนาดี สำพันตา ทุงโพธิ์ และสะพานหินออกจาก อำเภอกบินทรบรุ รี วมกันจัดตัง้ เปนกิง่ อำเภอนาดี เมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 และไดรบั การยกฐานะขึน้ เปนอำเภอนาดีเมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2524

ขอมูลทั่วไป

อำเภอนาดี เปน 1 ใน 7 อำเภอของจังหวัดปราจีนบุรี ตัง้ อยูท าง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดปราจีนบุรี อยูห า งจากตัวจังหวัดประมาณ 70 กิโลเมตร หางจากกรุงเทพฯ 198 กิโลเมตร โดยมีพน้ื ทีท่ ง้ั หมดจำนวน 1,337 ตร.กม. หรือประมาณ 796,248 ไร แบงพื้นที่การปกครองออกเปน 6 ตำบล 63 หมูบาน 6 องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีเทศบาล 1 แหง อบต. 6 แหง อาชีพหลักของราษฎรในพืน้ ที่ คือ เกษตรกรรม ทำนา ทำไร ปลูกมันสำปะหลัง การทำสวนผลไมและการปศุสัตว

174

1.โครงการรายการวิทยุ “อำเภอนาดี พบประชาชน” ออกอากาศ ทางคลื่นวิทยุ FM 98.25 MHz ในวันอังคารที่ 2 และ 4 ของ ทุกเดือน ระหวาง เวลา 12.30-13.00 น. เพื่อใหสวนราชการตางๆ เผยแพรและ ประสัมพันธผล การปฏิบัติงานตามนโยบายของรัฐบาลงานตามนโยบาย ของจังหวัดปราจีนบุรี และงานในความรับผิดชอบ ของแตละหนวยงาน ใหสวนราชการตางๆ ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปดำเนินการจัดรายการ 2. โครงการ “ทำบุญวันพระ สวนราชการละ 1 ปนโต” เพื่อให พุทธศาสนิกชนไดทำบุญในวันพระตามวัดตางๆ ในพื้นที่ ชำระจิตใจให งดงามทำใหจติ ใจเอิบอิม่ และเสริมสรางความสามัคคี ระหวางสวนราชการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น กำนัน ผูใหญบาน และประชาชนโดยเชิญ ชวนหัวหนาสวนราชการ ขาราชการและบุคลากรเขารวมกิจกรรมโดยนำ ปนโตอาหารรวมถวายภัตตาหารแดพระภิกษุสงฆ จำนวน 1 ปนโต และ ปจจัยตามกำลังทรัพย 3. โครงการ “วันผูส งู อายุ อำเภอนาดี” โดยไดเห็นความสำคัญ ของผูสูงอายุซึ่งเปนวัยที่สามารถสรางความสัมพันธความอบอุนใหกับลูก หลานในครอบครัวและชุมชนไดเปนอยางดี ตลอดจน สรางคุณงามความดี ตางๆ ทีป่ ระจักษและเปนแบบอยางเพือ่ ให ลูกหลานไดถอื ปฏิบตั ติ ามเพือ่ แสดงออกถึงความรักและเคารพตอ ผูสูงอายุในพื้นที่อำเภอนาดีและเปน การสืบสานอนุรักษประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย 4. โครงการ “นาดีสัมพันธ แบงปนสูนอง” โดยมีแนวคิดให สถานประกอบการที่มีศักยภาพ ฟารมเลี้ยงสัตวในพื้นที่เปน สวนหนึ่งใน การสงเสริมและพัฒนาการศึกษาของนักเรียน สรางเสริมใหเยาวชนเติบโต อยางเขมแข็ง และยัง่ ยืน โดยใหการสนับสนุน ชวยเหลือในสิง่ ทีจ่ ำเปน เชน ทุนการศึกษา อุปกรณการเรียนฯลฯ 5. โครงการดูแลผูสูงอายุ ผูดอยโอกาสในพื้นที่ เพื่อใหการ ชวยเหลือใหสามารถดำรงชีวติ ไดเทาเทียมกับผูอ น่ื ในสังคม และ ประสาน หนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาใหความชวยเหลือตอไป

ใชเวลาเดินทางประมาณ 6 ชัว่ โมง ทานจะไดพบตนน้ำแหลงกำเนิดของ น้ำตก ตนไมขนาดใหญดอกไมปานานาชนิด ทานจะไดชมพระอาทิตย ตกดินที่หนาผาทามกลางทะเลหมอก และอากาศที่หนาวเหน็บ 2. อางเก็บน้ำทับลาน บนอุทยานแหงชาติทบั ลานมีอา งเก็บน้ำ ทับลานเปนแหลงทองเทีย่ วทีส่ ำคัญมีววิ ภูเขา สายน้ำ และแหลงตกปลา ยังมีตน ไมดกึ ดำบรรพตระกูลปาลม คือ ตนลาน ทีข่ น้ึ เองตามธรรมชาติ เปนแหลงสุดทายของประเทศมีอายุถึง 70 ป เมื่อออกดอกก็จะตาย แต จะมีผลและเม็ดงอกเปนตนใหม หลายรอยตนโดยรอบเนื่องจากใบลาน มีความเหนียวทนทาน ชาวทับลาน จึงนำมาทำผลิตภัณฑจักสาน เชน หมวกใบลาน กระเปา ของใชตา งๆ ซึง่ สรางชือ่ เสียงใหกบั ชาวอำเภอนาดี อยางมาก 3. น้ำตกหวยคำภู หรือ ถ้ำพระ อยูใ นพืน้ ทีห่ มูท ่ี 3 ตำบลแกงดินสอ ลำน้ำตกไหลจากหนาผาสูง ประมาณ 1 กิโลเมตร สภาพเปนปาโปรง ตอนบนลำธารมีถ้ำเคยมีพระสงฆจำศีลระยะหนึ่ง มีน้ำไหลผานในชวง เดือน มิถุนายน-พฤศจิกายน การเดินทางสะดวกโดยรถยนตจากถนน 304 ไปบานทุง โพธิ-์ เขาขาดถึงตัวลำธารตอนทายลำธาร เปนฝายกักเก็บ น้ำชลประทานที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ 4. การลองแกงหินเพิง อำเภอนาดี เปนอำเภอทีม่ คี วามสำคัญ ในการทองเทีย่ วเริม่ ตนทีต่ น น้ำตกวังเหว ไหลลงจากยอดเขาใหญระยะทาง ประมาณ 80 กิโลเมตร ผานน้ำตกวังกีบสมุทรมายังน้ำตกแกงหินเพิง ลักษณะการลองแกงจะเปนเสมือนขัน้ บันได เปนเสนทางน้ำทีห่ นาตืน่ ตา ประทับใจใหทั้งการออกกำลังกาย และเปนการพักผอนในชวงวันหยุด สุดสัปดาหไดเปนอยางดี และจะมีแกงวังไทรเปนแหลงน้ำสำหรับเลนน้ำ หลังจากลองแกง 5. โครงการตามพระราชดำริ “โครงการหวยโสมงอันเนื่องมา จากพระราชดำริ จังหวัดปราจีนบุร”ี หมูท ่ี 12 ตำบลแกงดินสอ อำเภอนาดี เปนอางเก็บน้ำขนาดความจุ 295 ลูกบาศกเมตร มีพื้นที่ผิวอางฯที่ระดับ กักเก็บ ประมาณ 16,250 ไร ซึง่ สันเขือ่ นจะแลวเสร็จใน เดือนธันวาคมพ.ศ. 2559 ซึง่ คาดวาหลังจากกอสรางแลวเสร็จจะเปนสถานทีท่ อ งเทีย่ วทีส่ วยงามอีก แหงหนึ่ง

ที่พักแรม

1. สวนนงนุช-ปราจีนบุรี โทร. 037-401371 2. สวนศักดิ์สุภารีสอรท โทร. 037-282305 3. วังตะพาบรีสอรท โทร. 037-451204 4. เหนือฝายแคมป โทร. 081-9183829 5. ผึ้งหลวง แคมปกราวด โทร.081-4027174

รานอาหารรสเลิศ

1. รานปาจำป ทีต่ ง้ ั หมูท ่ ี 1 ตำบลบุพราหมณ โทร. 089-8450665 ,080-1747171 3. ไกยา งเลิศทิพย ทีต่ ง้ั หมูท ่ี 4 ตำบลบุพราหมณ โทร. 089-8468375 สถานที่ทองเที่ยวที่นาสนใจ 1. เขาทุง เปนเทือกเขาที่มีความสวยงาม และทาทายคลาย 4. กวยเตี๋ยวลุงสด ที่ตั้งหมูที่ 2 ตำบลทุงโพธิ์ โทร. 080-6175672 ภูกระดึง มีระยะทางการเดินประมาณ 10 กิโลเมตร สามารถทองเที่ยว 5. สมตำเจเรียน ที่ตั้งหมูที่ 2 ตำบลสำพันตา โทร. 087-9832708 ไดตลอดป โดยเฉพาะฤดูหนาวจะมีหมอกลงจัด อุณหภูมติ ำ่ จนน้ำเปนน้ำแข็ง ของฝากขึ้นชื่อ ในชวงเชา การเขาชมตองไปพรอมเจาหนาทีข่ องอุทยาน มีลกู หาบสัมภาระ 1. ผลิตภัณฑจากใบลาน ในทองที่ หมูที่ 1, 6 ตำบลบุพราหมณ 2. ขนมเขียว หมูที่ 1 ตำบลสำพันตา

Prachinburi 175


วัดทุ่งวิจิตร

วั ด ทุ ่ ง วิ จิ ต ร ต� ำ บลสะพำนหิ น อ� ำ เภอนำดี จั ง หวั ด ปรำจีนบุรี ประเภทวัดวัดรำษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหำนิกำย

ประวัติวัด

วัดทุ่งวิจิตร ก่อตั้งเมื่อประมำณ พ.ศ.2504 เดิมทีเป็นที่พัก สงฆ์ธรรมดำ ต่อมำได้รับอนุญำตให้สร้ำงเป็นวัดเมื่อวันที่ 20 ตุลำคม 2523 ตั้งเป็นวัดทุ่งวิจิตรวันที่ 9 กรกฎำคม 2529 ได้ รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำ เมื่อวันที่ 8 กันยำยน 2531

เจ้าอาวาสปกครองวัด

เจ้ ำ อำวำสรู ป แรก คื อ พระอธิ ก ารหนู เขมะปั ญ โญ (หนู มีศิลป์) เป็นเจ้ำอำวำสตั้งแต่ปี พ.ศ.2515 - พ.ศ.2543 ปัจจุบนั มี พระอธิการสิรยิ ะวงศ์ ถิระปัญโฺ ญ เป็นเจ้ำอำวำส ตั้งแต่ 1 มกรำคม พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน

พระอธิการสิริยะวงศ์ ถิระปัญฺโญ

.indd 1

18/9/2558 14:46:58



170


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.