Located in Ayutthaya, Thailand’s old capital city, The “@ Ayutthaya” reflects the city’s spirit in a harmonious blend of tradition and contemporary sophistication. Not far from the city center. Within reach of Rochana Industrial Area. And only1Km away from the Government house. The International airport happens to be just 50 kms. From the hotel. Pattaya is easily accessible from the hotel as you can easily access to the Inbound and Outbound Express Way to Pattaya. Exquisite interiors, impeccable service and fine cuisine combine to make this the Ayutthaya’s most graceful and elegant hotel. The hotel’s ideal for business travel or holidays to explore the cultural wonders of Ayutthaya. This is a place for those looking for something ditterent from a typical 5 star hotel; something simple yet elegant, modern and comfortable.
Reservations Contact number tel. 081-7809440 , 035-346747-9
วัดใหญ่ชัยมงคล
เป็นวัดเก่าแก่แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีประวัตยิ อ้ นหลัง ไปไม่ต�่ำกว่า ๖ ร้อยปี เป็นที่ตั้งของพระเจดีย์ชัยมงคลที่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงให้สร้างครั้งทรงมีชัยใน ยุทธหัตถี
Editor’s Talk คณะที่ปรึกษา
ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แชมประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์
ฝายกฎหมาย
สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร
บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล
บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด ปณณศักดิ์ ศิลปรังสรรค์
กองบรรณาธิการ
ดวงตา พิมลศิริ, ชนินทร์ อัยวรรณ, ปวีณา บัวแกว
ชางภาพ
กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์, นัฐดนัย ค�าทอง
กราฟคดีไซน
ปวีณา บัวแกว, กรภัทร กิ่งปุณยวีร์, พิเชฐ แซฟุ้ง
ผูอํานวยการฝายขายโฆษณา กชกร รัฐวร
ผูจัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน กิตติศักดิ์ ศรีสมุทร, ไพรัตน์ กลัดสุขใส, สรยุทธ แกวปยะฉัตร, ดีธนะ จุโลทัย
ผูจัดการประสานงานโครงการภาครัฐ คชฤทธิ์ ชุมอูป
ฝาย IT และประสานงาน
ดวงตา พิมลศิริ,ชนินทร์ อัยวรรณ ผายการเงิน-การบัญชี อรพรรณ มะณี, ละอองดาว ช�านิวัตร, อุสา แกวเพชร
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอด เวลา แม้ว่านิตยสาร SBL จะน�าเสนอเนื้อหาของจังหวัดนี้อย่างต่อเนื่อง ทุกปี แต่เราก็พบว่าเมือ่ มาเยือนอยุธยาครัง้ ใด ก็จะได้พบกับโครงการใหม่ ๆ หรือสถานที่ท่องเที่ยวและวัดวาอารามที่น่าสนใจ ที่เชื่อว่าหลาย ๆ ท่าน อาจจะยังไม่เคยมาสัมผัส อาทิ วัดบางเดือ่ อ�าเภอบางปะหัน ซึง่ ในอดีตสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงเลือกเป็นหนึง่ ในชัยภูมสิ า� คัญเพือ่ ตัง้ กองบัญชาการในการกอบกูเ้ อกราช ปัจจุบันวัดบางเดื่อมีพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชนั่งบัลลังก์ ขนาดเท่าองค์จริง หอจดหมายเหตุ พระเจดียบ์ รรจุอฐั หิ มืน่ หาญศึกฯ ทหาร เสือในสมเด็จพระเจ้าตากฯ และพระเจดีย์อัฐิเหล่าทหารหาญไทย เพื่อให้ คนยุคใหม่ได้ร�าลึกถึงพระปรีชาสามารถของพระองค์ และความกล้าหาญ เสียสละ สามัคคีของกองทัพไทย โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา โรงสีข้าว อันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ปัจจุบนั เป็นแหล่ง ถ่ายทอดความรู้ในการบริหารจัดการธุรกิจข้าวชุมชนอย่างเป็นระบบ และ น�าวัสดุเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ที่เรียกว่า “Zero Waste Hundred Used” ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์ จะมาบอกกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในจังหวัด ซึ่งล้วนแล้วแต่ ส่งผลดีตอ่ ชีวติ ความเป็นอยูข่ องชาวเมืองกรุงเก่าทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต ภายใต้นโยบาย “อยุธยาเมืองประวัตศิ าสตร์ เมืองสะอาดปลอดขยะต้นแบบ” และทีจ่ ะพลาดไม่ได้คอื ท่านนายอ�าเภอและผูบ้ ริหารองค์กรปกครองท้องถิน่ ต่างพร้อมใจกันน�าเสนอวิสยั ทัศน์ ผลการด�าเนินงาน ตลอดจนทีเ่ ทีย่ ว ทีก่ นิ และที่ช็อปปิ้งที่น่าสนใจมากมาย ท้ายนีผ้ มขอขอบพระคุณท่านอภิชาติ โตดิลกเวชช์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ตลอดจนหน่วยงานราชการ บริษัท-ห้างร้าน และ ศาสนสถานต่าง ๆ ที่เห็นความส�าคัญของการประชาสัมพันธ์จังหวัด พระนครศรีอยุธยาให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชน และในโอกาสนี้จึงใคร่ขอ อาราธนาสิง่ ศักดิสทิ ธิใ์ นสากลโลก โปรดประทานพรให้ทกุ ๆ ท่าน ประสบ แต่ความสุขความเจริญตลอดไป
บริษัท สมารท บิซิเนส ไลน จํากัด 9/4-8 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com E-mail : sbl2553@gmail.com
................................. (นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�านวยการ
ติดตอ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861E- mail : supakit.s@live.com (นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�านวยการ
Contents พระนครศรีอยุธยา 20 25 38 45 52 56 64 88 90 92 94 98 100 102 104 112 114 116 118 120 124 126 128 130 134 140 142 144 146 148 150 152 154 156 158 172 174
ใต้ร่มพระบารมี เส้นทางพบผู้ว่าฯ เส้นทางพบรองผู้ว่าฯ เส้นทางพบอุตสาหกรรมจังหวัด เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด เส้นทางพบ สพป.อยุธยา เขต 1 เส้นทางท่องเที่ยว เส้นทางพบอ.พระนครศรีอยุธยา อบต.บ้านป้อม อบต.สวนพริก อบต.เกาะเรียน วัดอโยธยา วัดกษัตราธิราชวรวิหาร วัดใหญ่ชัยมงคล วัดตูม วัดท่าการ้อง วัดไผ่โสมนรินทร์ วัดกลางคลองตะเคียน เส้นทางพบอ.บางปะหัน อบต.ทับน�้า อบต.บ้านลี่ อบต.พุทเลา อบต.ตานิม อบต.โพธิ์สามต้น วัดบางเดื่อ วัดตาลเอน วัดผึ่งแดด วัดทางกลาง วัดโคก เส้นทางพบอ.บางปะอิน ทต.ปราสาททอง วัดชุมพลนิกายารามราชวิหาร วัดยม เส้นทางพบอ.วังน้อย ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดศรีประชา วัดชูจิตธรรมาราม
20
172
25
158
64 180 184 186 188 192 194 196 198 200 202 204 208 210 212 214 216 218
112
188 ม.มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ วัดล�าบัว เส้นทางพบอ.ลาดบัวหลวง วัดโตนด (1) วัดสามบัณฑิต วัดพรานนก วัดโตนดเตี้ย วัดโคกมะยม เส้นทางพบอ.มหาราช ทต.มหาราช อบต.บ้านใหม่ วัดกุฎีทอง วัดไชย เส้นทางพบอ.บ้านแพรก ทต.บ้านแพรก เส้นทางพบอ.ท่าเรือ วัดสะตือ
222 224 226 228 230 234 236 237 238 240 242 246
เส้นทางพบอ.บางบาล วัดสีกุก เส้นทางพบอ.บางซ้าย วัดพรหมนิมิต วัดหน้าต่างนอก(อ.บางไทร) วัดสิงห์สุทธาวาส(อ.บางไทร) วัดร้อยไร่(อ.นครหลวง) วัดเรือแข่ง(อ.นครหลวง) วัดส�ามะกัน(อ.นครหลวง) วัดมารวิชัย(อ.เสนา) วัดตะโก (อ.ภาชี) วัดพระแก้ว(อ.ภาชี)
กรรณสูตรฟาร์ม เสน่ห์ กรรณสูตร เจ้าพ่อไข่แฝด ผู้ยึดคติ
“นักสู้ที่ดีต้องไม่มีวันยอมแพ้”
เพราะความสามารถที่แท้จริงคือ “การรู้จักแก้ปัญหาไม่ใช่อยู่ที่ปริญญาความรู้ หรือความจ�า” และความส�าเร็จของชีวิตก็ไม่ได้อยู่ที่โชค ผู้ชาย คนนี้จึงประสบความส�าเร็จในชีวิต ด้วยความ มานะ พยายาม เมื่อไก่ในฟาร์มให้ผลผลิตเป็น
“ไข่แฝด กว่า 500 ฟองต่อวัน” วันนี้ นายเสน่ห์ กรรณสูตร ได้รบั ปริญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ คณะเกษตรศาสตร์ สาขาสัตวบาลจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ยิ่งตอกย�้าความส�าเร็จในชีวิต ของชายวัย 63 ปี ที่เรียนจบเพียงชั้น ป.4 และนี่คือเกร็ดชีวิตอีกหนึ่งเรื่องราวที่น่าศึกษา
บริหารงานโดย... คุณเสน่ห์ กรรณสูตร เลขที่ 112 หมู่ 5 ต.บ้านสร้าง อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา 13170
โทร.0-3533-0330 แฟกซ์. 0-3533-0094
ฟาร์มจระเข้ศรีอยุธยาและบริษัทศรีอยุธยา เหรียญทอง จ�ำกัด ก่อตั้งโดยนายวิเชียร เรืองเนตร ซึ่งด�ำเนินธุรกิจด้านการเพาะเลี้ยงจระเข้ และเครื่องหนังจระเข้แบบครบวงจร มีความช�ำนาญมากกว่า 10 ปี ตั้งแต่ การเพาะเลีย้ งจระเข้ แปรรูปเป็นเนือ้ สด, เนือ้ อบแห้ง,และผลิตภัณฑ์เครือ่ งหนัง จระเข้ ด�ำเนินงานโดย ทีมช่างผู้เชี่ยวชาญด้านการ ออกแบบ และตัดเย็บ จึงท�ำให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่าสินค้าของเราเป็นสินค้าที่มีคุณภาพอย่างแน่นอน
126 หมู่8 ต�ำบลหนองขนาก อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13130 โทร. 035-254045, 086-767-6723
โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา... Zero Waste Hundred Used
“
คนไทยจะกินข้าว ท�ำไมต้องไปเสียค่าน�้ำมัน ในการขนข้าวเปลือกไปสีในเมือง และขนข้าวสารจากเมืองกลับมายังหมู่บ้าน ท�ำไมเราไม่คิดสร้างโรงสีชุมชนให้ กับเกษตรกรในหมู่บ้าน เกษตรกรก็จะได้สีข้าวเอาไว้กินเอง แกลบที่ได้ ใช้ท�ำ เป็นเชื้อเพลิง หรือใช้หมักเป็นปุ๋ยคืนกลับสู่พื้นดินให้กับพืช
“
(พระราชด�ำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
20
ทีต่ งั้
โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา (ศูนย์สาธิตและพัฒนาพลังงาน ทดแทนแบบครบวงจร) เลขที่ 99/9 หมู่ 4 บ้านตะพังโคลน ต�ำบล ลาดบัวหลวง อ�ำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความเป็นมา
เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2551 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชานุมัติให้ส�ำนักงาน มูลนิธชิ ยั พัฒนา ร่วมกับกระทรวงพลังงาน และเครือเจริญโภคภัณฑ์ ด�ำเนินการโครงการศูนย์สาธิตและพัฒนาพลังงานทดแทนจากข้าว ครบวงจร ในบริเวณพื้นที่ของมูลนิธิชัยพัฒนา ต�ำบลลาดบัวหลวง อ�ำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยจัดตั้งระบบโรงสี ข้าวชุมชน เพือ่ รองรับกิจกรรมการส่งเสริมการผลิตข้าวแบบลด ละ เลิก การใช้สารเคมี ในพื้นที่สาธิตการท�ำนาของมูลนิธิชัยพัฒนา รวมทั้ง เป็นตัวอย่างพร้อมถ่ายทอดความรูใ้ นการแปรรูปข้าว และการบริหาร จัดการธุรกิจข้าวของชุมชนอย่างเป็นระบบ การเพิ่มมูลค่าผลผลิต และการน�ำวัสดุเหลือทิ้งมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น แกลบจากโรงสี ข้าวไปผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้า และการผลิตน�้ำมันร�ำ เป็นต้น ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานมีความประสงค์ที่จะทูลเกล้าฯ ถวายสิทธิบัตร เครื่ อ งผลิ ต ก๊ า ซจากชี ว มวล (Gasifier) ซึ่ ง เป็ น กรรมสิ ท ธิ์ ข อง กระทรวงพลังงาน แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ผ่านมูลนิธชิ ยั พัฒนา เนือ่ งในโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเจริญพระชนมายุครบ 80 พรรษา
การด�ำเนินงาน
ส�ำนักงานมูลนิธิชัยพัฒนา จัดท�ำแผนการด�ำเนินงานโครงการ ศูนย์สาธิตและพัฒนาพลังงานทดแทนจากข้าวครบวงจร (การผลิต ข้าวครบวงจร) ให้ด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ ตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ ดังนี้ - การรับซื้อข้าวเปลือก จากเกษตรกรในโครงการลด ละ เลิก การใช้สารเคมีในแปลงนาของมูลนิธชิ ยั พัฒนาและเกษตรกรในโครงการ - กระบวนการสีข้าวและการบรรจุถุง เพื่อจ�ำหน่ายภายใต้ตรา ภัทรพัฒน์ และตราโรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา - การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือก โดยได้มีการน�ำแกลบ จากการสีข้าวไปผลิตก๊าซโดยระบบ Gasifier ซึ่งพลังงานที่ได้จะถูก น�ำไปใช้ในการอบข้าวและผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งต่อไปจะได้มีการ พัฒนาในการน�ำพลังงานทางเลือกอื่น เช่น ลม และแสงอาทิตย์ เข้ามาใช้งานร่วมด้วย - การสนับสนุนและบริจาคข้าว ให้กับประชนชนที่เดือดร้อน จากภัยธรรมชาติ และขาดแคลนอาหารตามภูมภิ าคต่างๆทัว่ ประเทศไทย - งานวิจัยและพัฒนา ในส่วนของกระบวนการสีข้าว พลังงาน ทางเลือก และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ จากข้าว และวัสดุเหลือ ใช้จากการสีข้าว เป็นต้น โดยในระยะแรกท�ำการสีข้าวเปลือกวันละ 2 ตัน เพื่อน�ำข้าวที่ ผลิตได้ทั้งข้าวสารและข้าวกล้อง บรรจุถุงจ�ำหน่ายให้กับบุคคลทั่วไป ภายใต้ตราสินค้า “ภัทรพัฒน์” โดยมีข้าวส่งขายประมาณเดือนละ 20,000 กิโลกรัม ซึ่งการด�ำเนินงานสามารถเข้าสู่จุดคุ้มทุนภายใน ระยะเวลา 5 ปี เริม่ ด�ำเนินการเต็มรูปแบบเมือ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2553 Ayutthaya 21
อาคารและเครื่องจักร
โรงสี ข ้ า วมู ล นิ ธิชั ย พั ฒ นา มี อ าคารและเครื่ อ งจั ก รต่ า ง ๆ ประกอบด้วย จุดรับข้าวเปลือก ไซโล โรงสีข้าวชุมชน CP-R 1000 ที่มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์เป็นผู้ถวาย เครื่องอบลดความชื้นข้าวเปลือก เครือ่ งผลิตไฟฟ้าจากชีวมวล (Gasifier) พร้อมตัวอาคารประกอบ โดย มอบหมายให้ บริษัท เกรท อะโกร จ�ำกัด กลุ่มธุรกิจพืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ์ เป็นผู้ออกแบบและด�ำเนินการก่อสร้างทั้งหมด และเครื่องหีบน�้ำมันร�ำ ที่กระทรวงพลังงานเป็นผู้ถวาย
ประโยชน์ที่ได้จากโครงการ
1.สามารถรองรับข้าวเปลือกในบริเวณพืน้ ทีอ่ ำ� เภอลาดบัวหลวง และในเขตอ�ำเภอใกล้เคียงของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและอ�ำเภอ ต่ า ง ๆ ของจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง เข้ า สู ่ โ รงสี ไ ด้ ไ ม่ ต�่ ำ กว่ า 3,000 ไร่ สามารถสีแปรรูปข้าวได้วันละ 24 ตัน ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ 200 กิโลวัตต์ชั่วโมง 2.สามารถน�ำเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรทีเ่ กิดขึน้ จากท้องนา เช่น แกลบ ฟาง และตอซังข้าว มาแปรเปลี่ยนเป็นพลังงานที่ก่อให้ เกิดประโยชน์ ได้รำ� ข้าวสามารถน�ำไปสกัดเป็นน�ำ้ มันร�ำ การน�ำร�ำไป จ�ำหน่ายเป็นอาหารสัตว์ และขี้เถ้าสามารถน�ำไปใช้เป็นปุ๋ยบ�ำรุงดิน ซึง่ เป็นการช่วยลดพลังงาน และสามารถใช้พลังงานจากข้าวได้อย่าง ครบวงจรอย่าง 22
จากโรงสีข้าวต้นแบบสู่ศูนย์การเรียนรู้
โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนาแห่งนี้ นอกจากจะท�ำหน้าที่หลักคือ การสีข้าวแล้ว ที่นี่ยังมีขั้นตอนการจัดการข้าวอย่างมีระบบ โดยน�ำ วั ส ดุ เ หลื อ ใช้ จ ากทุ ก ขั้ น ตอนมาใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งคุ ้ ม ค่ า “Zero Waste Hundred Used” ซึ่งทุกกระบวนการผลิตจะน�ำเอาสิ่งที่ เหลือใช้จากกระบวนการการสีข้าวไปสร้างเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น น�ำข้าวหักและปลายข้าวไปท�ำผลิตภัณฑ์โจ๊กส�ำเร็จรูป น�ำร�ำข้าวไป หีบท�ำเป็นน�้ำมันร�ำข้าวบริสุทธิ์ น�ำแกลบไปเข้าระบบ Gasification เพื่อให้ได้แก๊สไปใช้ในการเดินเครื่องยนต์และผลิตกระแสไฟฟ้าน�ำ กลับมาใช้ในโรงงาน และน�ำขี้เถ้าแกลบไปใช้ผสมกับดินเพื่อใช้ใน การเพาะปลูก เรียกได้วา่ จะไม่มสี งิ่ เหลือใช้ทไี่ ร้ประโยชน์ในโรงสีขา้ ว แห่งนี้ ปัจจุบัน โรงสีข้าวมูลนิธิชัยพัฒนา เปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้า ศึกษาดูงานทั้งในเรื่องของกระบวนการปลูกข้าวแบบ ลด ละ เลิก การใช้สารเคมี รวมถึงกระบวนการผลิตข้าวเริ่มตั้งแต่การสีข้าว จนถึงการบรรจุถุง และการดูงานในเรื่องของการผลิตและการใช้ พลังงานทดแทนจากแกลบด้วยระบบ Gasifier *ขอขอบคุณ : ข้อมูลจากมูลนิธิชัยพัฒนา
Ayutthaya 23
พิเศษสุด!
คืนละ
500.-
บาท
ยินดีต้อนรับ เปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง
สารผู้ว่าราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา เคยเป็นราชธานีทมี่ คี วามเจริญ รุ่งเรืองมากว่า 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง ถึ ง 33 พระองค์ เป็ น ดิ น แดนศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ มี วั ด มากกว่ า 1,000 แห่ง เป็น ดิน แดนอู่ข้า วอู่น�้ำ และ เป็นศูนย์กลางการค้าที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จากร่องรอยอารยธรรมดังกล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน ได้รับเลือกเป็น “เมืองมรดกโลก” แห่งแรกของประเทศไทย ในปี 2534 และเป็น 1 ใน 8 เมืองท่องเที่ยวยอดนิยมที่มี ผู้คนเข้ามาท่องเที่ยวจ�ำนวนมากเกือบ 7 ล้านคนต่อปี นอกจากนี้ พ ระนครศรี อ ยุ ธ ยายั ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการ คมนาคมทั้งทางน�้ำและทางบก หรือที่เรียกว่า “สี่แยก ประเทศไทย” ซึ่งมีความส�ำคัญต่อปัจจุบันและอนาคต ของประเทศไทยอย่างมาก ด้วยเล็งเห็นว่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีความ โดดเด่นและมีศักยภาพในหลายๆ ด้าน จึงได้ก�ำหนด ทิศทางการพัฒนาจังหวัดฯโดยชูยุทธศาสตร์เรื่องน�้ำ ท่องเที่ยว และเมืองน่าอยู่ก้าวสู่สากล ซึ่งที่ผ่านมาจัง หวัดฯ ได้ด�ำเนินโครงการส�ำคัญ อาทิเช่น การแก้ไข ปั ญ หาอุ ท กภั ย การจั ด การแก้ ไ ขปั ญ หาภั ย แล้ ง โครงการ “หมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล ห้ า ” และกาบริ ห าร จัดการขยะมูลฝอย นอกเหนือจากการวางระบบการ ท� ำ งานในลั ก ษณะการคิ ด เชิ ง กลยุ ท ธเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น ยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัด อันเป็นนโยบาย ของ คสช. และรัฐบาล ที่ได้สร้างอนาคตที่ดีด้านชีว อนามัยให้แก่ชาวอยุธยาและลูกหลาน กระผมหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าทุกภาคส่วน รวมถึงชาว อยุธยาเองจะร่วมแรงร่วมใจและสมัครสมานสามัคคี กั น เพื่ อ พั ฒ นาจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาให้ ก ้ า วสู ่ สากลได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และเข้ ม แข็ ง ตามแนวพระ ราชด� ำ ริ เ รื่ อ งความพอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว และโอกาสนี้ขอขอบคุณ นิตยสาร SBL ตลอดจนหน่วยงานราชการ และ ภาคเอกชนต่ า งๆ ที่ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ ของการ ประชาสั ม พั น ธ์ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาให้ เ ป็ น ที่ รู้จักแก่สาธารณชนทั่วไป
.................................................................. (นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์) ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Ayutthaya 25
เส้นทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด
26
“นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์”
ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไม่เพียงแต่จะมีความส�ำคัญ ในด้านประวัติศาสตร์ของชาติไทยเท่านั้น แต่อยุธยายังได้รับการยกย่องให้เป็นเมืองที่เปลี่ยนแปลงโลก เป็นสี่แยกประเทศไทย เป็นจุดหมายของนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะชาวจีน และเป็นอนาคตของประเทศไทยด้วย การมาเยือนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของนิตยสาร SBL ครั้งนี้ ได้รับเกียรติจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา “นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์” บอกกล่าวถึงความเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในจังหวัด ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลดีต่อชีวิตความเป็นอยู่ของชาวเมืองกรุงเก่า ทั้งในปัจจุบันและอนาคตอย่างแน่นอน
Ayutthaya 27
พระนครศรีอยุธยา... เมืองที่เปลี่ยนแปลงโลก จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีจุดเด่นหลายๆ ด้าน เช่น ความ เป็นเมืองหลวงเก่า ซึ่งมีแค่ 2 จังหวัดเท่านั้นที่ใช้เรียกชื่อนี้ เวลาผ่านมา 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ 33 พระองค์ ซึ่งเป็น ความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมั ย เป็ น ราชธานี ซึ่ ง ส่ ง ผลต่ อ กรุ ง เทพมหานครในด้ า น อารยธรรม ไม่ ว ่ า จะเป็ น การสร้ า งวั ด กรุ เ ทพฯสมั ย สร้ า ง เมืองใหม่นั้นก็ไม่มีแบบ เพราะฉะนั้นก็ต้องดูแบบจากอยุธยา เป็นส่วนใหญ่ และชื่อวัดต่างๆ ในกรุงเทพฯก็จะพ้องกับชื่อวัด ในอยุธยา รวมทั้งผังเมือง คูคลองต่างๆ จะมีลักษณะคล้ายกัน เมืองอยุธยา ได้ชื่อว่าเป็นเมืองประวัติศาสตร์ของโลก ใน ค.ศ.1970 เราได้รับการยกย่องว่าเป็นเมือง 16 แห่งของโลกที่ ยิ่งใหญ่ ที่เปลี่ยนแปลงโลก เพราะอยุธยาในอดีตเป็นชุมชนเป็น เมื อ งแห่ ง การค้ า ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ มี เปอร์เซียเข้ามา ค้าขายกับเราในสมัยอยุธยา คือ ท่านเฉกอะ หมัด ซึ่งเป็นจุฬาราชมนตรีคนแรกของไทย และพระเจ้าแผ่น ดิ น ได้ ท รงแต่ ง ตั้ ง ขึ้ น เป็ น กรมเจ้ า ท่ า ฝั ่ ง ขวา ท� ำ หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบการค้าขายกับยุโรปทั้งหมด ส่วนกรมเจ้าท่าฝั่งซ้ายก็คือ รับผิดชอบค้าขายกับชาวจีน
28
นอกจากนีเ้ มืองอยุธยายังเป็นเมืองมรดกโลกทีไ่ ด้รบั เลือกเป็น แห่งแรกจาก 5 แห่งของประเทศไทย จากยูเนสโก เมื่อปี 2534 เป็นเมืองหลัก 1ใน 8 เมืองของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ที่มีผู้คนเข้ามาท่องเที่ยว 6 .7 ล้านคนต่อปี และก�ำลังจะเพิ่มเป็น 7 ล้านคนต่อปี อยุธยายังเป็นแผ่นดินอันศักดิส์ ทิ ธิ์ มีวดั จ�ำนวนมากล�ำดับต้นๆ ของประเทศเกือบ 1,000 วัด เป็นดินแดนอู่ข้าวอู่น�้ำ มีความ อุดมสมบูรณ์จากพื้นที่การเกษตร เพราะเรามีแม่น�้ำ 4 สาย คือ แม่น�้ำน้อย แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำป่าสัก และแม่น�้ำลพบุรี ซึ่งเราเคยเป็นพื้นที่ปลูกข้าวเป็นอันดับหนึ่งของไทย
ประการสุดท้ายคือ เป็นจุดศูนย์กลางการคมนาคมทั้งปัจจุบัน และอนาคต เรามีระบบการขนส่ง 2 ส่วน คือการขนส่งทางบก เราเป็นศูนย์กลางเรื่องการขนส่งที่เรียกว่า “สี่แยกประเทศไทย” ซึ่ง 46 จังหวัดทั้งภาคเหนือ อีสาน ตะวันออก จะต้องเดินทาง ผ่านอยุธยา เรามีถนน 5 สาย ได้แก่ สายเอเชีย สายพหลโยธิน สายตลิ่งชัน-สุพรรณ วงแหวนรอบนอก วงแหวนบางปะอิน และอนาคตก็จะมีการขนส่งทางน�้ำ ซึ่งมีความพร้อมที่จะพัฒนา ต่อไป และเนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจุดเด่นมาก จึง ต้องมีการจัดล�ำดับความส�ำคัญ (Priority) ในเรื่องต่างๆ ที่ต้อง ด�ำเนินการ ตามความต้องการของพี่น้องประชาชน ,ความร่วม มือของภาคเอกชน /ประชาชน และนโยบายของรัฐบาล
ชูยุทธศาสตร์เรื่องน�้ำ ท่องเที่ยว เมืองน่าอยู่ การพัฒนาหลักๆ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา คือ เรื่องน�้ำ เรื่องการท่องเที่ยว เรื่องเมืองน่าอยู่ ก้าว สู่สากล ยุทธศาสตร์แรกเรื่องน�้ำ เรามองอนาคตของอยุธยาไว้คือ
ที่อยุธยานั้นมี 2 อ�ำเภอ คืออ�ำเภอนครหลวง และอ�ำเภอท่าเรือ ซึ่งที่ผ่านมาถูกปล่อยทิ้งไว้ตามธรรมชาติ ซึ่งจริงๆ แล้ว 2 อ�ำเภอ นี้เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ และเป็นอนาคตของอยุธยา และประเทศไทยด้วย เพราะประเทศไทยมีการขนส่งทางน�้ำ 2 ระบบ หนึ่งคือการขนส่งทางคอนเทนเนอร์ ที่ท่าเรือแหลมฉบัง สองที่ อ ยุ ธ ยาจะเป็ น การขนส่ ง สิ น ค้ า เกษตร ที่ ส ่ ง ออกทาง อ� ำ เภอนครหลวง และอ� ำ เภอท่ า เรื อ ซึ่ ง เอกชนก็ พั ฒ นาไป ก่ อ นส่ ว นราชการแล้ ว จะเห็ น ว่ า มี ท ่ า เรื อ ขนาด 500 ตั น กรอส เฉพาะที่อ�ำเภอนครหลวงมี 52 ท่าเรือ อ�ำเภอท่าเรือ อีก 19 ท่าเรือ รวมเป็น 71 แห่ง
Ayutthaya 29
เพราะฉะนั้นยุทธศาสตร์เรื่องน�้ำจึงมีความส�ำคัญและเป็น อนาคตของทางจังหวัดอยุธยา ซึ่งตอนนี้เราได้รับงบประมาณ จากกรมเจ้าท่า 2,000 ล้านบาท เพื่อศึกษาโครงการการสร้าง ท่าเรือ และปรับปรุงเรื่องเร่งด่วนบางจุด เช่น การป้องกันตลิ่ง พัง ซึ่งชาวบ้านได้ร้องเรียนเข้ามา ซึ่งคิดว่าราคาการก่อสร้าง โครงการคงเป็นหมื่นล้านบาท แต่เทียบกับผลประโยชน์ที่จะได้ รับก็มหาศาลเช่นกัน
ยุทธศาสตร์เรื่องการท่องเที่ยว อยุธยาเป็นเมืองหลักใน
การท่องเที่ยว คนมาเที่ยว 6-7 ล้านคน แต่มีรายได้ 12,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งถือว่าเป็นรายได้ที่น้อย แม้ GDP ของอยุธยา จะเป็นอันดับ 5 ของประเทศ และรายได้รวม 3.7 แสนล้าน บาทต่อปีก็ตาม
ที่ผมได้บอกว่าจะเป็นอนาคตของประเทศไทยก็คือ ระบบ การขนส่งทางน�้ำนั้น จุดไหนที่ไกลที่สุดจากทะเล แล้วยังเดิน เรือได้จะต้องมีน�้ำลึก 4-5 เมตร ขึ้นไป ซึ่งเป็นจุดที่ดีที่สุดคือ ที่ อ�ำเภอนครหลวง กับอ�ำเภอท่าเรือ ซึ่งเป็นจุดสุดท้ายที่น�้ำ เดินทางไปถึง ปกติระยะทาง 100 กิโลเมตร เป็นจุดคุ้มทุน เท่ากับการขนส่งทางบก ซึ่งได้ผลก�ำไร และยิ่งไกลจากทะเล เท่าไหร่ก็ยิ่งคุ้มมาก นี่คือผลประโยชน์ที่เราได้รับ แต่ของเรา มาได้ถึง 200 กิโลเมตร เป็นจุดคุ้มทุนที่เอกชนมอง และเปรียบ เทียบกับการขนส่งทางบก ช่วยลดต้นทุนได้ 37 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งภาคเอกชนพัฒนาไปหมดแล้ว ทั้ง เอสซีจี ซีพี ข้าวตราฉัตร ปูนซีเมนต์ ถั่วเหลือง มันส�ำปะหลัง ปุ๋ย อยู่ที่นี่ทั้งหมด ราชการ ตามไม่ทันเอกชน เพราะเขาลงทุนไปหมดแล้ว ที่นี่ รวมทั้งถ่านหิน ส่วนใหญ่ถ่านหินที่นี่จะส่งไปโรงปูนซีเมนต์ ที่จังหวัดสระบุรี เพราะฉะนั้น ตอนนี้มีสินค้าที่น�ำเข้าและส่ง ออก 2 อ�ำเภอนี้ ปีละ 27 ล้านตัน ซึ่งเป็นจ�ำนวนที่มาก สามารถ หยิบยกขึ้นมาเป็น Hub หรือเป็นศูนย์กลางของการเดินเรือ การขนส่งสินค้าการเกษตร สินค้าทางเหนือ - อีสาน ส่งผ่าน เข้ามาที่อยุธยา เพราะมีทั้งโรงงาน และเป็นที่ตั้งการขนส่ง ทางเรือ เพราะเขาต้องการลดต้นทุน แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่า ราชการเราจะเดินเร็วหรือเดินช้า ถ้าเดินเร็วก็ปรับได้เร็ว
30
ยกตัวอย่าง จังหวัดภูเก็ต คนมาเที่ยว 1 ล้านคน รายได้ 2 แสนล้านบาท ชลบุรี คนมาเที่ยว 7-8 ล้านคน รายได้ 2 แสน ล้านบาท แต่อยุธยาผู้คนที่มาเที่ยวเป็นจ�ำนวนมาก แต่รายได้ เก็บได้น้อย ไม่สามารถเก็บเงินไว้ได้ เราก็ต้องมาพิจารณาดูว่า ท�ำอย่างไรที่จะยกระดับการท่องเที่ยวของเราให้มีคุณภาพมาก ขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่นักท่องเที่ยวก็จะเป็นชาวต่างชาติ
ปัญหาอย่างหนึ่งของอยุธยา คืออยู่ใกล้กรุงเทพฯ ห่างกัน เพียงแค่ 70 กิโลเมตร เหมือนเป็นทางผ่าน ตอนนี้ทางอยุธยา เราก็ได้สร้างโรงแรมเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับผู้มาเที่ยวได้แวะพักที่ นี่ ตอนนี้ก็มีนักท่องเที่ยวจากจีนเข้ามามากขึ้น ซึ่งเมื่อดูจาก เว็ บ ไซต์ ก ารท่ อ งเที่ ย วของรั ฐ บาลจี น แล้ ว พบว่ า อยุ ธ ยาได้ รางวัลติดอันดับ 1 ใน 10 ของเมืองจุดหมายปลายทางที่คนจีน ชอบมาเที่ยวมาก และได้รางวัลแหล่งช็อปปิ้งที่คนจีนโหวตเข้า มามากก็คือตลาดน�้ำอโยธยา ซึ่งเราก็ได้มีการปรับเปลี่ยน และ ปรับปรุงสินค้า เพื่อให้สอดคล้องกับการรองรับการท่องเที่ยว เหล่านั้น
ยุทธศาสตร์เรื่องเมืองน่าอยู่ เราไม่ต้องปรับอะไรมาก
เพราะเรากินบุญเก่า อยุธยาเป็นเมืองแห่งสายน�้ำ ที่เราได้ รางวั ล จากยู เ นสโกไม่ ใ ช่ จ ากโบราณสถาน แต่ เ ป็ น ชุ มชน วั ฒนธรรม วิ ถี ชีวิต เราได้ ร างวั ล สาขาวั ฒนธรรม อยุ ธ ยามี ชุ ม ชนโบราณ ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม ชุ ม ชนคนจี น ชุ ม ชนโปรตุเกส ชุ ม ชนฝรั่ ง เศส ชุ ม ชนญี่ ปุ ่ น และในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม อุ ต สาหกรรมกั บ การเกษตร ก็ ส ามารถอยู ่ ร ่ ว มกั น ได้ มี อุ ต สาหกรรมระดั บ กลางและสู ง ซึ่ ง จะอยู ่ ใ นนิ ค มอย่ า ง เป็ น ระเบี ย บ มี ม าตรฐาน และใช้ พื้ น ที่ ท างอุ ต สาหกรรม น้ อ ยมาก ไม่กระทบต่อการเกษตร
4 โครงการหลักเพื่อเมืองอยุธยาน่าอยู่ 1.การแก้ไขปัญหาน�้ำท่วม
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ 2 ฝั่ง คือฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออก กายภาพของพื้นที่จะลาดเทจากฝั่งตะวัน ออกไปฝั่งตะวันตกซึ่งเป็นที่ลุ่มต�่ำ น�้ำก็จะมารวมกันตรงนี้ มี อ�ำเภอเสนา อ�ำเภอผักไห่ อ�ำเภอบางบาล อ�ำเภอบางซ้าย ถึง อ�ำเภอลาดบัวหลวง ฝั่งตะวันออก พื้นที่เขตเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีคนอยู่อาศัยมาก เป็นพื้นที่เกษตรกรรม โดยมีแม่น�้ำเจ้าพระยาแบ่งเขตแดนตรง กลางพอดีเลย ท�ำอย่างไรถึงจะแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมฝั่งตะวัน ออก แม่น�้ำเจ้าพระยามีถนนสายเอเชียเป็นเขื่อน เพราะ เป็นเส้นทางคู่ขนานกับแม่น�้ำเจ้าพระยา แต่ก็มีส่วนที่ยังช�ำรุด ทรุดโทรม ตรงนี้ก็ต้องเสนอโครงการให้กับทางรัฐบาลอนุมัติ งบประมาณมาเพื่อซ่อมแซมป้องกันส่วนต่างๆ ไม่ให้ท่วมพื้นที่ เขตเศรษฐกิจเหล่านั้น
ส่วนฝั่งตะวันตก เป็นพื้นที่รับน�้ำตรงนี้ แต่ก่อนไม่ได้ปรับ อะไร เพราะพื้นที่กว้างถึง 3 แสนไร่ เราจึงได้เรียกกรมชล ประทานไปดูคลองทั้งหมด และเป็นพื้นที่ลุ่มต�่ำ มีแม่น�้ำน้อยซึ่ง รับน�้ำได้ปริมาณที่น้อยมาก ที่ผ่านมาชาวบ้านต้องทนรับสภาพ แต่ที่ผมท�ำคือแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าก่อน เพื่อไม่ให้ ประชาชนเดือดร้อน โดยการน�ำเรือไปให้พื้นที่ และมีการซ่อม เรือมากกว่าหนึ่งพันล�ำ ใช้งบสี่แสนกว่าบาท ส่วนการแก้ไข ปัญหาในระยะยาวก็คือ ใช้วิธีการพร่องน�้ำ คล้ายกับเขื่อน มี 4 ประตู คือ 1. ประตูน�้ำบรมธาตุ 2. ประตูน�้ำกรรณสูต 3. ประตูน�้ำยางมณี 4. ประตูน�้ำผักไห่ ทุกประตูวัดความเร็วน�้ำ ได้หมด สามารถค�ำนวณปริมาณน�้ำได้หมด ทุ่งบางบาลจุน�้ำได้ 120 ล้านคิว ซึ่งการแก้ไขคือ เราก็พร่องน�้ำออกไปก่อน แต่ ส่วนใหญ่จะเก็บน�้ำไว้เพื่อเตรียมท�ำนา ท่านก็ลองชั่งใจดูว่าจะ อยู่กับน�้ำท่วม Ayutthaya 31
กระบวนการผลิตข้าว ระยะเวลา 110 วัน ซึ่งเขาปลูกข้าวหนี น�้ำเพราะที่อยุธยาถึงเดือนสิงหาคมน�้ำก็ท่วมแล้ว เขาก็จ�ำเป็น ต้องปลูกในเดือนพฤษภาคมเพื่อไม่ให้ได้รับผลกระทบจากน�้ำ มาก ในขณะที่เดือนสิงหาจะเป็นฤดูปลูกข้าวของภาคเหนืออีสาน ภาคใต้ปลูกข้าวเดือนกันยายน ครั้งเดียว ภาคกลาง จะปลู ก ข้ า ว 2 ถึ ง 3 ครั้ งต่ อ ปี เนื่ อ งจากระบบชลประทาน สมบูรณ์พร้อม แบ่งเขตเป็นเจ้าพระยาตอนบนกับตอนล่าง แต่ปัจจุบันยังไม่ได้การจัดสรรเรื่องปล่อยน�้ำที่ดีพอ ซึ่งพื้นที่ ปลู ก ข้ า วส่ ว นล่ า งมี ม ากกว่ า แต่ ไ ด้ รั บ น�้ ำ ในปริ ม าณที่ น ้ อ ย ซึ่งไม่ปริมาณสมดุลกับความต้องการ 2 เดือน หรือพร่องน�้ำออกไปก่อน ซึ่งมีวิธีการจัดการน�้ำจาก การพร่องน�้ำ เพราะมีคลองรองรับน�้ำทั้งหมดอยู่แล้ว ถึงแม้น�้ำจะท่วม ก็ท่วมเมตรเดียว ดีกว่าท่วม 3 เมตร ให้ เจ้าของพื้นที่และชลประทาน ไปเซตระบบขึ้นมา คือเราจะไม่ ปล่อยให้น�้ำท่วมชาวบ้านอย่างนี้ แต่มันมีวิธีบริหารจัดการน�้ำ ที่ท�ำได้ ซึ่งมันเป็นวิทยาศาสตร์ สามารถค�ำนวณได้ น�้ำท่วม ปริมาณเท่าไหร่ก็น�ำออกเท่านั้น ซึ่งแต่ก่อนยังไม่ได้บริหาร จัดการเรื่องน�้ำดีพอ แล้วเวลาที่น�้ำท่วม ชาวบ้านก็ไม่ค่อยออกจากบ้านเพราะ กลัวโดนขโมยทรัพย์สิน ตรงนั้นเราอาจจะช่วยเหลือเขาไม่ทั่ว ถึง ถ้าเขาออกมาที่ศูนย์รับผู้อพยพ เราก็จะดูแลอย่างดี ถ้าเจ้า หน้าที่เข้าไปแจกอาหารในบริเวณพื้นที่น�้ำท่วม ก็ได้ไม่ถึง 30 หลั ง คาเรื อ น ผมคิ ด วิ ธีแ ก้ ไ ขคื อ คิ ด โครงการโรงรั บ จ� ำ น� ำ ทรัพย์สินของมีค่า เทศบาลก็มีโรงรับจ�ำน�ำที่รับฝากทั้งหมด รับ ฝากฟรี ช ่ ว งน�้ ำ ท่ ว ม เราก็ จั ด เตรี ย มสถานที่ รั บ ฝากของมี ค ่ า ต่างๆ ให้พร้อม ซึ่งโครงการนี้ก็เคยท�ำมาแล้ว ตอนผมเป็นรอง ผู้ว่าฯ ที่จังหวัดสมุทรสาคร
2.การจัดการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ที่อยุธยาปลูกข้าวไป 6 แสนไร่ จากพื้นที่ 1 ล้านไร่ ซึ่งเรา ก็ได้ประชาสัมพันธ์ให้ไม่ปลูกข้าวในช่วงหน้าแล้งนี้ 4 แสนไร่ ฝั่งตะวันตกบางส่วนไม่ปลูกข้าวเพราะเป็นที่เนิน น�้ำเข้าไม่ถึง ชาวบ้านก็ไม่เสี่ยงปลูกข้าว ส่วนฝั่งอ�ำเภอบางบาล อ�ำเภอ เสนา อ�ำเภอผักไห่ คือพื้นที่ลุ่มต�่ำ ซึ่งชาวบ้านเขาปลูกข้าว ก่ อ นที่ รั ฐ บาลจะมี ก ารประกาศชะลอการปลู ก ข้ า ว คื อ ปลู ก ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม รัฐบาลประกาศ 9 มิถุนายน ซึ่ง จุดนี้โทษชาวนาก็ไม่ได้ ทั้ง 6 แสนไร่ ปลูก 3 เดือน
32
3.กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาวัด ภายใต้โครงการ “หมู่บ้านรักษาศีลห้า”
เริ่มท�ำโครงการที่แพร่เป็นที่แรก เป็นโครงการของท่านเจ้า ประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ หลวงพ่อวัดปากน�้ำ ท่านเป็นคนริเริ่ม ซึ่งมีแนวคิดจากการสร้างความปรองดอง โดยให้ส�ำนักพุทธฯ ประสาน ที่อยุธยาก็ได้เริ่มหลายพื้นที่ ก็ได้รับความร่วมมือจากคณะสงฆ์ ซึ่งจะท�ำส่วนเดียวไม่ได้ ต้องร่วมกันระหว่างคณะสงฆ์ กับจังหวัดๆ จะช่วยน�ำคนเข้า วัด เราท�ำอยู่หลายเรื่อง หนึ่งคือเดินสาย แบ่งเป็น 4 สาย ผู้ ว่าฯ เดิน 1 สาย รองผู้ว่าฯ 2 สาย และปลัดจังหวัด น�ำส่วน ราชการไปสวดมนต์ทุกวันพระ ปีหนึ่งได้ประมาณ 200 วัด สองคือให้พระช่วยคัดพระนักเทศน์ให้ และให้ท่านไปบรรยาย ตามโรงเรียนต่างๆ เพื่อปลูกฝังศีลธรรมให้กับเด็ก สามคือท�ำ โรงพักรักษาศีลห้า ซึ่งโครงการนี้สามารถวัดผลสัมฤทธิ์ได้จากเว็บไซต์ว่ามี ประชาชนสนใจโครงการมากน้ อ ยเพี ย งใด ซึ่ ง ประชาชนที่ สนใจสมั ค รเข้ า ร่ ว มโครงการ ต้ อ งคี ย ์ ข ้ อ มู ล เลขบั ต รประจ� ำ ตั ว ประชาชน 13 หลั ก เข้ า ไปในเว็ บ ไซต์ ซึ่ ง เรามี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการเป็ น อั น ดั บ 13 ของประเทศ จ� ำ นวนผู ้ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการตรงนี้ไม่เน้นมากนัก เพราะต้องการเน้นคุณภาพของ ผู้ที่จะเข้าร่วมโครงการ และประชาชนได้รัประโยชน์จากโครง การนี้มากกว่า แต่ถึงตอนนี้หมู่บ้านรักษาศีลห้าในจังหวัด ก็มี จ�ำนวนมากกว่าครึ่งหนึ่งของหมู่บ้านรักษาศีลห้าทั้งหมดแล้ว
4.การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นนโยบายของ คสช. และรัฐบาล ซึ่งแต่ก่อนนั้นก็ ยังไม่มีคนแก้ไขปัญหานี้ อปท.ทุกที่มีปัญหาเรื่องขยะ มีการ ใช้ ง บของประเทศเป็ น เงิ น มากมายในการจั ด การขยะ คื อ เราต้ อ งช่ ว ยกั น ลดปริ ม าณขยะจากชาวบ้ า น และองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีจ�ำนวนที่น้อยลง เพราะถ้าหากลด ปริ ม าณขยะได้ ก็ ส ามารถน� ำ งบประมาณไปจั ด การเรื่ อ งอื่ น ได้ เช่ น ด้ า นการศึ ก ษา ด้ า นสาธารณู ป โภค
กระบวนการ Sanitary Landfill (การฝังกลบถูกวิธี) ได้ มาตรฐาน ปูด้วยพลาสติกซึ่งอยู่ได้ถึง 50 ปีเป็นอย่างต�่ำ มี การเตรียมบ่อขนาดที่จะรับปริมาณขยะ 1.7 ล้านตัน และ ก�ำลังท�ำบ่อส�ำรองอีก 1 บ่อ บ่อขยะ 2 แห่งนี้ ได้เตรียมอนาคต ให้ชาวอยุธยา บ่อหนึ่งอยู่ได้ 17 ปี บ่อที่ 2 อยู่ได้ 34 ปี กรณีที่ ไม่ขุดขยะมาเผาเลย แต่ถ้าขุดมาเผาซึ่งอยู่ในเฟส 2 นั้น คือ โรงคัดแยก กับโรงเผาขยะ ก็จะสามารถใช้ได้อีกนาน
ต้นแบบโครงการการจัดการขยะ มี 4 เรื่อง
ซึ่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับเลือก โครงการ การ จัดการขยะแบบน�ำร่อง โดยกระทรวง มหาดไทย และใช้งบ ของกระทรวง มหาดไทย เราได้หาพื้นที่ 372 ไร่ จากอ�ำเภอ มหาพราหมณ์ และ อ�ำเภอบางบาล คัดเลือกบริษัทเอกชน มาด�ำเนินการ ซึ่งต้องย้ายขยะ 2 แสนตัน ที่อ�ำเภอบ้านป้อม ซึ่งมีปริมาณขยะสูง 10 เมตร กินพื้นที่ 31 ไร่ ขยะอยู่มา 30 ปี ชาวบ้านเดือดร้อนมาก ซึ่งต้องแก้ไขเป็นขั้นตอน คือ ขุ ด บ่ อ จ� ำ นวน 1 บ่ อ รองรั บ ขยะได้ 1.7 ล้ า นตั น โดยฝั ง กลบถู ก วิ ธี ไม่ ก ระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม แล้ ว ให้ ก ารไฟฟ้ า มาท� ำ RDF. โรงงานคัดแยกขยะ น�ำไปท�ำเชื้อเพลิง และผลิตไฟฟ้า
1. Sanitary Landfill (การฝังกลบถูกวิธี) 2. ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 3. การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน โดยให้ชาวบ้าน และ อบต. ใกล้เคียงเข้าร่วมจัดการขยะร่วมกัน 4. การผลิตไฟฟ้า คือ ขยะทุกชิ้นมีค่า เราจะขุดขึ้นมาเผา น�ำไป ท�ำเชื่อเพลิงและ ผลิตไฟฟ้า บางจังหวัดท�ำขั้นตอน Sanitary Landfill หรือฝังกลบถูกวิธีอย่างเดียว บางจังหวัด ท�ำโรงไฟฟ้าอย่างเดียว แต่ของอยุธยาเรามีครบทุกขั้นตอน มี ครบทั้ ง ล� ำ ดั บ ต้ น (Sanitary Landfill) กลาง (พลั ง งาน) ปลาย (ประชาชนมี ส ่ ว นร่ ว ม) ภาคประชาชนก็ มี ส ่ ว นร่ ว ม สามารถจะลดปริ ม าณขยะของเขาเอง เป็ น ต้ น แบบของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ทั่วทั้งประเทศ ซึ่งเราเตรียม โครงการไว้ 4 โซน ของภาครัฐ 2 แห่ง และเอกชน 2 แห่ง
Ayutthaya 33
ประชาชนเป็นผู้น�ำการพัฒนาสู่ AEC สถาบันการศึกษาก็มีส่วนช่วยได้มาก ในจังหวัดมีมหาวิทยาลัย 3 แห่ง ระดับอาชีวะและเทคนิค 7 แห่ง บรรดาโรงเรียนต่างๆ รวมถึงชาวอยุธยาก็มี ความตื่นตัวมากขึ้น เราก็ใช้พลังตรงนี้ในการเตรียมคนเพื่อเข้าสู่ AEC ขณะนีป้ ญ ั หาทีพ่ บคือ ไปเยีย่ มโรงงานๆ ก็บอกขาดแรงงาน ไปมหาวิทยาลัย เด็กจบมาก็ไม่มีงานท�ำ คือดีมานด์และซับพลาย ไม่ตรงกัน เราก็ใช้วิธีการให้ กระทรวงแรงงาน และหอการค้าหารูปแบบการจัดการ โดยให้ประธานสภา อุ ต สาหกรรมเป็ น ประธาน ช่ ว ยแก้ ไ ขปั ญ หานี้ ใ ห้ ผ ม ซึ่ ง ก็ จ ะโยงต่ อ ในการ บริหารจัดการจังหวัด จั ง หวั ด อยุ ธ ยาจะมี ส ่ ว นราชการที่ แ ตกต่ า งจากที่ อื่ น ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ ทุ ก จังหวัดจะมีส่วนราชการ 100-120 หน่วย แล้วแต่ว่าเป็นจังหวัดระดับใหญ่ ระดับกลาง ระดับเล็ก ส่วนที่ขึ้นตรงกับผู้ว่าฯ มี 34 หน่วยงาน คือส่วนภูมิภาค นอกจากนั้นก็คือส่วนกลาง ซึ่งมีอยู่ในจังหวัดจ�ำนวนมากกว่าส่วนภูมิภาค ผม ได้ปรับลดโครงสร้างระบบงานให้เหลือ 4 ลู่ ได้แก่ 1.เศรษฐกิจ 2.ความมั่นคง 3.สังคม และ4.การบริหารจัดการ โดยแยกย่อยเป็น 23 วาระงาน แล้วแต่ว่า ทางส่วนราชการจะจัดสรรบุคลากรอย่างไร
34
การปรับโครงสร้างตรงนีก้ เ็ พือ่ ต้องการให้มกี ารท�ำงาน ร่วมกันเกิดการบูรณาการ แต่จังหวัดไหนที่มีการพัฒนา ได้รวดเร็วนั้น ก็ต้องให้ประชาชนเป็นผู้น�ำการพัฒนา ต้องให้คน 8 แสนคน คือภาคประชาชนในจังหวัดน�ำ ข้าราชการ บริหารจัดการจังหวัดเอง ขอให้ท�ำโครงการ เพื่อพัฒนาจังหวัดของท่านเองแล้วเสนอมาทางจังหวัด เพราะผมและข้ า ราชการ มาแล้ ว ก็ ไ ป เมื่ อ ท่ า นคิ ด โครงการมาเสนอที่จังหวัด ส่วนข้าราชการก็ไปเป็นพี่ เลี้ยงคอยสนับสนุน เราก็จะท�ำโครงการ และเตรียมงบ ประมาณไว้ให้ พี่น้องประชาชนต้องมีส่วนร่วม ถึงจะมี การพั ฒ นาได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ยกตั ว อย่ า งตอนที่ ผ มเป็ น รองผู ้ ว ่ า ฯ จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร คนในพื้ น ที่ แ ละภาค เอกชนเข้มแข็งมาก จัดงานอะไร เอกชนเขาด�ำเนิน การเองทั้งหมด เราแทบไม่ต้องลงไปจัดการอะไร ซึ่ง เขาก็ ไ ด้ ล งขั น บริ ห ารกั น เองระหว่ า งภาคเองชนด้ ว ย กัน ได้เงิน 20 ล้าน เขาท�ำเองทั้งหมด
ประวัติย่อ “นายอภิชาติ โตดิลกเวชช์” ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัน / เดือน / ปี เกิด วันที่ 31 สิงหาคม 2501 ภูมิล�ำเนา จังหวัดแพร่ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) - ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) - ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) การศึกษา - Cert. Senior Executive Development Program at National Graduate Institute For Policy Studies in Japan โดยทุน ของส�ำนักงาน ก.พ. พ.ศ. 2555 - หลักสูตรผู้บริหารกระทรวงยุติธรรมระดับสูง กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2554 - หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน (ปรอ 22) พ.ศ. 2552 - หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 48 พ.ศ. 2548 - หลักสูตรนายอ�ำเภอ รุ่นที่ 41 พ.ศ. 2542 - Cert.Disaster Management ของสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) โดยทุนของ UNDP (ประเทศแคนาดา) พ.ศ. 2531 - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - รัฐศาสตรบัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติรับราชการ - ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (1 ตุลาคม 2557) - ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2555 - รองผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2551 - ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารการทะเบียน พ.ศ. 2550 - ปลัดจังหวัดสิงห์บุรี พ.ศ. 2549 - ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการปกครอง กรมการปกครอง (ผู้ตรวจราชการกรมฯ) (จวค 9 ชช) พ.ศ. 2549 - หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดลพบุรี พ.ศ. 2548 - หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2547 - ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดชัยนาท (โครงการน�ำร่องจังหวัดทดลองแบบบูรณาการ) พ.ศ. 2545 - หัวหน้าฝ่ายช่วยอ�ำนวยการ กองกลาง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2540 - เลขานุการรองปลัดกระทรวงมหาดไทย (นายชัยวัฒน์ หุตะเจริญ) พ.ศ. 2535 - เจ้าพนักงานปกครอง กองป้องกันฝ่ายพลเรือน กรมการปกครอง พ.ศ. 2531 - ปลัดอ�ำเภอ จังหวัดล�ำปาง พ.ศ. 2527 Ayutthaya 35
*เราได้รับการยกย่องว่าเป็นเมือง 16 แห่งของโลกที่ยิ่งใหญ่ ที่เปลี่ยนแปลงโลก... เป็นเมืองแห่งการค้าที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ *อ�ำเภอนครหลวง และอ�ำเภอท่าเรือ...เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพ และเป็นอนาคตของอยุธยา และประเทศไทยด้วย *อยุธยาเป็นเมืองแห่งสายน�้ำ ที่เราได้รางวัลจากยูเนสโกไม่ใช่จากโบราณสถาน แต่เป็นชุมชน วัฒนธรรม วิถีชีวิต *มีวิธีบริหารจัดการน�้ำที่ท�ำได้ ซึ่งมันเป็นวิทยาศาสตร์ สามารถค�ำนวณได้ น�้ำท่วมปริมาณเท่าไหร่ก็น�ำออกเท่านั้น ซึ่งแต่ก่อนยังไม่ได้บริหารจัดการเรื่องน�้ำดีพอ *เราต้องช่วยกันลดปริมาณขยะจากชาวบ้าน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีจ�ำนวนที่น้อยลง เพราะถ้าหากลดปริมาณขยะได้ ก็สามารถน�ำงบประมาณไปจัดการเรื่องอื่นได้ *ขยะทุกชิ้นมีค่า เราจะขุดขึ้นมาเผาน�ำไปท�ำเชื้อเพลิงและผลิตไฟฟ้า บางจังหวัดท�ำขั้นตอน Sanitary Landfill บางจังหวัดท�ำโรงไฟฟ้าอย่างเดียว แต่ของอยุธยาเรามีครบทุกขั้นตอน *สถาบันการศึกษาก็มีส่วนช่วยได้มาก...รวมถึงชาวอยุธยาก็มีความตื่นตัวมากขึ้น เราก็ใช้พลังตรงนี้ในการเตรียมคนเพื่อเข้าสู่ AEC *ปัญหาที่พบคือ ไปเยี่ยมโรงงานๆ ก็บอกขาดแรงงาน ไปมหาวิทยาลัย เด็กจบมาก็ไม่มีงานท�ำ คือดีมานด์และซับพลาย ไม่ตรงกัน
36
AYUTTHAYA GOLF CLUB
16/2 หมู่ 1 ตำ�บลเกาะเรียน พระนครศรีอยุธยา 13000 Tel. 035-703664-6 Mobile AIS. 086-1288022 Fax. 035-703667 E-mail : pairoj@aygolfclub.com http://www.ayutthayagolf.com/
เส้นทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด
นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี
รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
38
“นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี”
ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง “รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา” เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2557 โดยได้รับมอบหมายให้ดูแลด้านเศรษฐกิจ และการบริหารจัดการตามนโยบายของ คสช. ท่านวีร์รวุทธ์ ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย ระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิดา้ ) ประวัตกิ ารรับราชการของท่าน เริม่ จากการเป็นปลัดอ�ำเภอ บุคลากร ปลัดอ�ำเภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจ�ำกิ่งอ�ำเภอบ้านด่าน และนายอ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ นายอ�ำเภอด�ำเนินสะดวก นายอ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี รองอธิการวิทยาลัย การปกครอง ผู้อ�ำนวยการส่วนบัตรประจ�ำตัวประชาชน ปลัดจังหวัดอุทัยธานี ปลัด จังหวัดนนทบุรี และรองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี โดยผลการด�ำเนินงานของท่าน การันตีได้จากประกาศเกียรติคุณหลายครั้ง ได้แก่ นายอ�ำเภอทีม่ ผี ลงานดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2552 ข้าราชการพลเรือนดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2547 นายอ�ำเภอที่มีผลงานดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2546 และ รางวัลคนดีศรีสังคม สาขาพัฒนาท้องถิ่น ปี 2544 Ayutthaya 39
นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจาก ท่านวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี ให้สัมภาษณ์ในหลากหลายประเด็น ดังนี้
เพิ่มจ�ำนวนนักท่องเที่ยว = เพิ่มรายได้ให้จังหวัด ภาระงานที่ท่านผู้ว่าฯมอบหมายให้ดูแลเป็นพิเศษคือ เรื่อง การจัดระเบียบสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่เป็นมรดกโลก ที่ เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ รวมทั้งถนนหนทางต่าง ๆ ที่เราต้อง จัดระเบียบ เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ของจังหวัด และวิสัย ทัศน์ของจังหวัดที่เป็น “เมืองน่าอยู่ ก้าวสู่สากล” เพราะเราเป็น เมืองท่องเที่ยว และมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวในจังหวัด 6 ล้านกว่า คนต่อปี และท่านผู้ว่าราชการจังหวัดได้วางยุทธศาสตร์ และตั้ง เป้าหมายไว้ว่าจะเพิ่มจ�ำนวนนักท่องเที่ยวให้ได้ถึง 7 ล้านคนต่อ ปี ซึ่งจะท�ำให้รายได้จังหวัดปรับเพิ่มขึ้น จากหนึ่งหมื่นสองพัน ล้าน ต่อปี ถ้าเป็นไปได้ก็อยากจะให้ถึงสี่ถึงห้าหมื่นล้านบาทต่อปี
40
จัดการขยะถูกวิธี เพื่อชีวีชาวกรุงเก่า ประการแรกเลยก็คือ เรื่องขยะ เพราะสิ่งแรกที่เห็นชัดเจน เลยก็คือ ปัญหาขยะที่ตกค้างสะสมมา 20 กว่าปี ซึ่งอยู่ที่กอง ภูเขาขยะ ในพื้นที่ 32 ไร่ ของเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ซึง่ กองขยะเหล่านีส้ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และต่อชุมชนของ ชาวบ้านในละแวกต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา ทั้ง ในเรื่องของกลิ่น ทั้งในเรื่องของน�้ำ แล้วนอกนั้นก็ยังมีฝุ่นละออง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของประชาชน ใน บริเวณนั้นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะสุขภาพกายและจิตใจ และอีกอย่างหนึง่ ก็คอื ไฟไหม้ ซึง่ จะเกิดไฟไหม้ขยะอยูเ่ รือ่ ยๆ ไฟไหม้ครัง้ หนึง่ ก็จะส่งผลในเรือ่ งของมลภาวะ เป็นกลุม่ ควัน เป็น ฝุ่นละอองอย่างมาก กระทรวงมหาดไทยจึงมอบหมายให้ท�ำใน เรื่องของโครงการบ่อขยะต้นแบบ ซึ่งตอนนี้สิ่งที่เราท�ำให้เกิด ขึ้นก็ คือ
1. เราต้องสร้างบ่อก�ำจัด หรือบ่อฝังกลบขยะที่ถูกวิธี ให้เห็น ชัดเจนว่าเราท�ำได้ 2. การขนย้ายขยะที่กองเป็นภูเขา 230,000 ตัน น�ำไปทิ้งลงใน บ่อขยะ และฝังกลบขยะอย่างถูกวิธี ซึ่งการฝังกลบขยะที่ถูกวิธี จะไม่ท�ำให้เกิดมลภาวะต่อสิ่ง แวดล้อมของชุมชน น�้ำเสียไม่ไหลกระจายออกไป กลิ่นไม่มี ไฟ ไม่ไหม้ และถูกหลักวิชาการ คือไม่ส่งผลกระทบในเรื่องสุขภาพ เราต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จโดยเร็วใน 60 วัน ต้องขนขยะ และฝังกลบลงดินให้หมด ซึ่งก็เป็นไปตามเป้าหมายที่วางเอาไว้ เราก็ได้แสดงให้เห็นว่าบ่อขยะบ่อใหม่นั้น เป็นบ่อที่เราท�ำได้ ถูกต้อง ได้มาตรฐานแล้ว เราได้น�ำผู้คนในชุมชนแถวนั้น ซึ่งมี อยู่ 6 ต�ำบล ไปดูสถานที่จริงว่าเราสามารถด�ำเนินการจัดการ ขยะได้จริง ชาวบ้านเขาก็ให้การยอมรับ และรับรู้ว่าต้องร่วม มือกันแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ราชการ และชาว บ้าน ซึ่งเราก็ต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน คือต้อง ด�ำเนินการจัดการขยะให้เสร็จตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ซึ่งทาง เราก็ได้ว่าจ้างบริษัทที่มีมาตรฐานอย่าง บริษัทอิตาเลี่ยนไทยให้ มาด�ำเนินการ ซึ่งประหยัดงบประมาณ ไป 4 ล้าน จากเดิมตั้ง งบประมาณไว้ 372 ล้านบาท แต่ใช้งบประมาณไป 368 ล้าน บาท
ส่วนบ่อขยะเก่า เราก็ท�ำให้เป็นสวนสาธารณะ สวน สุขภาพ บ่อขยะที่ใหม่ เราก็จะมีการก่อสร้างเฟส 2 โดย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะลงมาท�ำเรื่อง RDF แปลงขยะให้ เป็นเชื้อเพลิง แล้วน�ำไปปั่นเป็นไฟฟ้ามาใช้ได้อีก ซึ่งสิ่ง เหล่ า นี้ ก็ ส ามารถที่ จ ะรองรั บ ในการแก้ ป ั ญ หาขยะใน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเราได้วางไว้เป็น 4 โซนได้
บ่อขยะต้นแบบ ผลงานที่ภาคภูมิใจ เรื่องที่ส�ำคัญที่สุดเลยก็คือ บ่อฝังขยะที่ ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล ก็จะเป็นบ่อฝังขยะที่ถูกสุขลักษณะ และก็รักษา สิ่งแวดล้อมชุมชน ซึ่งเรียกว่าเป็นโครงการน�ำร่อง เป็นต้นแบบ ของการก�ำจัดขยะแบบถูกวิธี โดยทางรัฐบาลมอบหมายให้ กระทรวงมหาดไทย และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด�ำเนิน โครงการเป็นต้นแบบให้กับท้องถิ่นอื่น ๆ ทั่วประเทศ
Ayutthaya 41
หวังให้เกษตรกรอยุธยา ลืมตาอ้าปากได้ จังหวัดเราเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น�้ำ เรามีแม่น�้ำ 4 สาย พื้นที่ส่วน ใหญ่เป็นพื้นที่ท�ำนา ซึ่งมีอยู่ประมาณ 1,500,000 ไร่ สิ่งหนึ่งที่ เราพยายามจะช่วยเหลือเกษตรกรก็คือ พยายามลดต้นทุนการ ผลิตให้กับเขา และท�ำให้ราคาพืชผลทางการเกษตรไม่ตกลง พื้นที่ก็มีทั้งที่ลุ่มที่ดอน เราก็ต้องให้การช่วยเหลือ ให้ความรู้กับ ชาวบ้านในเรื่องการเกษตร การปรับเปลี่ยนแปรรูปสินค้า และ การสร้างรายได้เสริม
42
บุคคลดลใจ ท่านวิบูลย์ สงวนพงศ์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ถือว่าท่าน เป็นคนเก่ง ท�ำงานมีหลักวิชาการ ท่านกล่าวว่าท่านดูอยู่ 4 เรื่อง คือเรื่องงาน งบ ระบบ คน ซึ่งก็ครอบคลุมทั้งหมด แล้วท่านก็น�ำ เอาเรื่องของความสนใจ ความกระตือรือร้น ความใส่ใจมา ท�ำงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ การวางตัวของท่านก็สามารถประสาน กับทุกภาคส่วนได้ ซึ่งเราก็มองว่าท่านสามารถท�ำได้เป็นอย่างดี อีกท่านก็คอื ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ท่านอภิชาติ โตดิลกเวชช์ ท่านเป็นผู้ที่เก่งมาก ท่านเป็นผู้บริหารพร้อมทั้งเป็นนักวิชาการ ท่านสามารถบริหารจัดการวิชาการมาท�ำเป็นความรู้ แล้วก็ผลัก ดันให้การท�ำงานต่าง ๆ เดินไปได้ด้วยดี มีการบูรณาการคนจาก ทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันในการท�ำงาน ทั้งภาคเอกชน และ ประชาชนด้วย
“
*เรื่องการจัดระเบียบสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ที่เป็นมรดกโลก... ที่เราต้องจัดระเบียบ เพื่อให้เป็นไปตาม ยุทธศาสตร์ของจังหวัด และวิสัยทัศน์ของจังหวัด *ท่านผู้ว่าฯ ตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะเพิ่มจ�ำนวน นักท่องเที่ยวให้ได้ถึง 7 ล้านคนต่อปี ซึ่งจะท�ำให้ รายได้จังหวัดปรับเพิ่มขึ้น *เราได้น�ำผู้คนในชุมชนแถวนั้น ซึ่งมีอยู่ 6 ต�ำบล ไปดูสถานที่จริงว่าเราสามารถด�ำเนินการ จัดการขยะได้จริง ชาวบ้านเขาก็ให้การยอมรับ และรับรู้ว่าต้องร่วมมือกันแก้ไขปัญหาร่วมกัน *การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะลงมาท�ำเรื่อง RDF แปลงขยะให้เป็นเชื้อเพลิง แล้วน�ำไปปั่น เป็นไฟฟ้ามาใช้ได้อีก
“
Ayutthaya 43
บริษทั ไฮ-เทครับเบอร์โปรดัคส์จ�ำกัด HI-TECH RUBBER PRODUCTS CO.,LTD
บริษัท ไฮ-เทค รับเบอร์ โปรดัคส์ จ�ำกัด เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2540 โดยเป็นผูผ้ ลิตยางท้อร้อยสายไฟในรถยนต์ และชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทเี่ ป็นผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตเพื่อส่งทั้งภายในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ โดยเน้นที่จะพัฒนากระบวน การผลิต และผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ตามระบบบริหารคุณภาพส�ำหรับอุตสาหกรรม ยานยนต์ ISO/TS16949:2009 ดัง่ นโยบายทางด้านคุณภาพทีว่ า ่ “มุง่ มัน่ สร้างสรรค์ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง เน้นเรื่องคุณภาพ ส่งงานได้ฉับไว ลูกค้าพอใจ” และมุ่งมั่นที่จะ ด�ำเนินการควบคุมและตระหนักถึงความส�ำคัญของสิง่ แวดล้อม โดยมีระบบการจัดการ สิ่งแวดล้อม ISO14001:2004
HI-TECH RUBBER PRODUCTS CO.,LTD 103/10 Saharattana Nakhon Industrial Estate Moo.4 Bangprakru Nakhonluang Ayutthaya 13260 Thailand. Tel : 0-3571-6472 ext.605 Fax : 0-3571-6470
เส้นทางพบ อุตสาหกรรมจังหวัด
“นายสุรศักดิ์ เฉลิมเกียรติทวี” อุตสาหกรรมจังหวัด พระนครศรีอยุธยา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แม้จะได้ชอื่ ว่าเป็นเมืองมรดกโลก แต่ขณะเดียวกันก็เป็นเมืองทีม่ ภี าคอุตสาหกรรมทีโ่ ดดเด่น โดยมีจำ� นวนโรงงานทัง้ หมด 2,472 โรงงาน มีเงินลงทุน 563,408 ล้านบาท จ�ำนวนคนงาน 273,578 คน (ข้อมูล ณ เดือน กันยายน 2558) คุ้นเคยกับปัญหาพร้อมเดินหน้าโครงการใหญ่ ผมเคยรับราชการที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยามาแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2545-2551 ในต�ำแหน่งหัวหน้าฝ่ายโรงงานอุตสาหกรรม และไปรับต�ำแหน่งอุตสาหกรรมจังหวัดต่างๆ มาแล้ว 4 จังหวัด ก่อนมาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นครั้งที่ 2 ในต�ำแหน่งอุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อ 29 พฤษภาคม 2556 – ปัจจุบัน (กันยายน 2558) เหมือน กับมาบ้านเดิมที่เคยอยู่ ท�ำให้สามารถรู้ปัญหาในแต่ละพื้นที่ ผู้ประกอบกิจการก็คุ้น เคย ท�ำให้ทราบปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ของผูป้ ระกอบกิจการ และสามารถ ขับเคลือ่ น Ayutthaya 45
ภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรมได้ทันที ได้แก่ โครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมสถานประกอบกิจการ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาการบริหารจัดการน�้ำในโรงงาน อุตสาหกรรม โครงการสร้างและพัฒนาเครือข่ายอุตสาหกรรม รักษ์สิ่งแวดล้อม โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ด�ำเนินการ ข้ อ มู ล เรื่ อ งของดั ช นี อุ ต สาหกรรมระบบแจ้ ง เตื อ นภั ย ล่ ว ง หน้าต่าง ๆ ส�ำหรับเป็นข้อมูลให้กับผู้ประกอบกิจการหรือหน่วย งานภาครัฐ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการมีการใช้คู่มือปฏิบัติงาน ประจ�ำโรงงาน เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการสามารถปฏิบัติตาม กฎหมายระเบียบข้อก�ำหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย และโครงการน�ำกากอุตสาหกรรมเข้าสู่ระบบฯ ทั้ ง หมด ด� ำ เนิ นการตามพระราชบัญญัติก ารอ�ำนวยความ สะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการและเข้าร่วม ทีมพัฒนาจังหวัดร่วมกับภาคส่วนราชการอื่น ๆ
ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ 1.ได้รับมอบหมายจากทางจังหวัด โดยจังหวัดมีการ ก�ำหนดกลุ่มภารกิจ (Cluster) เพื่อการขับเคลื่อนด้านสังคม ด้านความมั่นคง ด้านบริหารจัดการ ส�ำนักงานอุตสาหกรรม จังหวัดได้รับมอบหมายด�ำเนินการด้านเศรษฐกิจ Agenda อุตสาหกรรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีนโยบายสร้างภาค การผลิต มีเป้าประสงค์เพื่อพัฒนาภาคการผลิตให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและสร้างโอกาสในการแข่งขัน โดยมีกลยุทธ์ 1) เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และลดต้ น ทุ น ของผู ้ ประกอบการอุ ต สาหกรรม 46
2) สนั บ สนุ น การใช้ เ ทคโนโลยี ส ะอาดและอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน 3) ส่งเสริมพัฒนาสถานประกอบกิจการ สูอ่ ตุ สาหกรรม สีเขียว 4) สนับสนุนการสร้างและขยายภาคีเครือข่ายด้าน อุตสาหกรรม 2.โครงการควบคุ ม บริ ห ารจั ด การน�้ ำ ทิ้ ง ในคลอง สาธารณะ ซึ่งเป็นโครงการของกลุ่มจังหวัดภาคลางตอนบน 1 - ติดตั้งระบบสารสนเทศของระบบตรวจสอบคุณภาพ น�้ำอัตโนมัติเพื่อวิเคราะห์และรายงานผลสถานการณ์น�้ำให้ผู้ เกี่ยวข้อง -ติ ด ตั้ ง ระบบเตื อ นภั ย เมื่ อ คุ ณ ภาพน�้ ำ เกิ น เกณฑ์ มาตรฐาน ที่ ก� ำ หนดและบั น ทึ ก ข้ อ มู ล รายงานสถานการณ์ คุณภาพน�้ำทิ้งทางฟิสิกส์ เคมี โดยมีการติดตั้งระบบตรวจสอบ คุณภาพน�้ำทั้งหมด 6 จุด บริเวณคลองโคกมะยม ท�ำให้ทราบ ปั ญ หาการเกิ ด น�้ ำ เน่ า เสี ย มาจากภาคอุ ต สาหกรรม ภาค เกษตรกรรม หรือจากชุมชนและสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาได้ ทันท่วงที 3.โครงการตรวจเยี่ ย มผู ้ ป ระกอบกิ จ การและรั บ ฟั ง และแก้ไขปัญหาอุปสรรคของการประกอบกิจการโรงงาน 4. โครงการเปลี่ยนแปลง CSR ของผู้ประกอบกิจการ ในนิคมฯ เขตประกอบกิจการ และผู้ประกอบกิจการอื่น ๆ เพื่อ ช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบปัญหาฝนทิ้งช่วง
ทางเลือกของ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเคยเป็นราชธานีเก่าและ เป็นราชธานีมานานกว่า 400 ปี พื้นที่ทั่วไปเป็นพื้นที่ราบ ลุ่มเหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น�้ำส�ำคัญ ๆ ไหลผ่าน 4 สาย จึงเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น�้ำมาตั้งแต่อดีตแล้ว
ปัจจุบันอยุธยามีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก มีการ พูดว่าอยุธยาเป็น 4 แยกประเทศไทย เนื่องจากมีการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน และเส้นทางคมนาคมที่เชื่อมโยงถึงกันอย่าง สะดวกรวดเร็วขึ้น เป็นศูนย์การคมนาคมขนส่งทั้งทางบก ทาง น�้ำ และระบบราง สามารถเดินทางได้ทุกภาคของประเทศ สังเกตได้จากภาคเอกชนที่มีชื่อเสียงมาตั้งศูนย์การกระจาย สินค้าขนาดใหญ่ในจังหวัด และเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางน�ำ้ จากแม่นำ�้ ป่าสักในเขตอ�ำเภอนครหลวง อ�ำเภอท่าเรือ มีทา่ เรือ ทัง้ หมดประมาณ 72 แห่ง มีการขนส่งวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ์ทาง เกษตร เช่น ข้าวโพด มันเส้น และข้าว ถ่านหิน ปูนซิเมนต์ ท�ำให้ สามารถลดค่าใช้จา่ ยในด้านโลจิสติกส์ ลงได้ถงึ 20 - 30% ปัจจัยที่ส�ำคัญในด้านพลังงานที่ใช้ในการผลิตที่ส�ำคัญ คือ กระแสไฟฟ้า หากกระแสไฟฟ้าดับหรือแรงดันไฟฟ้าตกชั่ว ขณะ (Voltage Dip) ส่งผลกระทบด้านการผลิต การเตรียม วัตถุดิบเกิดการสูญเสีย จากโรงงานที่ได้รับรวมเป็นค่าใช้จ่ายที่ เสียหายค่อนข้างสูง ซึ่งได้รับการแก้ไขให้ลดน้อยลงโดยได้ร่วม กับท่านผู้ว่า ฯ และหัวหน้าส่วนราชการด�ำเนินการโครงการ ตรวจเยี่ ย มและรั บ ฟั ง และแก้ ไ ขปั ญ หาอุ ป สรรคจากการ ประกอบกิจการ ซึ่งมีผู้ประกอบกิจการกล่าว่าตั้งแต่ตั้งโรงงาน
Ayutthaya 47
มา 25 ปี ยังไม่เคยมีผู้ว่าราชการจังหวัด และส่วนราชการ ต่างๆ เข้ามารับฟังปัญหา อุปสรรค และแก้ไขปัญหาของการ ประกอบกิจการเหมือนครั้งนี้ ซึ่งโครงการนี้เป็นประโยชน์แก่ผู้ ประกอบกิจการเป็นอย่างมาก และปัจจุบันมีโรงงานผลิต กระแสไฟฟ้าที่สะอาดที่ขออนุญาตในพื้นที่ทั้งหมด 10 โรงงาน เพี ย งพอต่ อ การใช้ ไ ฟฟ้ า ในพื้ น ที่ ประกอบกั บ ในนิ ค ม อุ ต สาหกรรมและเขตประกอบการในพื้ น ที่ สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ้าได้เอง ผลิตน�้ำเพื่ออุตสาหกรรมและจ�ำหน่ายไอ น�้ำกับโรงงานที่มีความต้องการ หากโรงงานไหนต้องการใช้ ก๊ า ซเป็ น เชื้ อ เพลิ ง ก็ ส ามารถเดิ น ท่ อ ก๊ า ซเข้ า โรงงานได้ เ ลย เนื่องจากมีเส้นท่อก๊าซผ่าน - จากอัตราค่าจ้างขั้นต�่ำ 300 บาท ทั้งประเทศ ส่งผล ดีให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยผู้ประกอบกิจการจะเลือก หาท�ำเลที่ตั้งในพื้นที่ที่เหมาะสมและสามารถลดต้นทุนการผลิต จากการขนส่งวัตถุดิบขนส่งสินค้าที่มีระยะใกล้ ท�ำให้ประหยัด ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ลงได้อีกทางหนึ่งแทนการขนส่งไกลๆ ที่ไม่ ช่วยประหยัดด้านค่าแรง และปัจจุบันการประกอบกิจการ จะ ท�ำงานแบบทันเวลาที่ก�ำหนด (Just-in-time Production Systems) โดยมีการควบคุมวัตถุดิบผลิตภัณฑ์เก็บ (Stock) ให้น้อยที่สุด การขนส่งให้มีระยะทางใกล้ที่สุดขจัดการสูญเสีย จากการผลิต 48
- มี ม าตรการป้ อ งกั น ปั ญ หาด้ า นอุทกภัยที่ เป็นรูปธรรม มีการบริหารจัดการด้านน�้ำอย่างเป็นระบบฯ ป ร ะ ก อ บ กั บ ท า ง เ ข ต ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร แ ล ะ นิ ค ม อุตสาหกรรมได้สร้างเขื่อนป้องกันน�้ำครอบคลุมทั้งหมด แล้ ว ท� ำ ให้ ผู ้ ป ระกอบกิจการเกิดความมั่น ใจเพิ่ม ขึ้น ประกอบกับอยุธยามีระบบชลประทานที่ดี หากฝนตกใน จังหวัดเท่าไรน�้ำจะไม่ท่วม เหมื อ นจั ง หวั ด อื่ น ๆ ที่ มี ก าร เสนอข่ า วทางสื่อสารมวลชน และสภาวะฝนทิ้งช่วงใน ปีที่ผ่านมาในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้รับผลกระทบ ภาคเกษตรเพี ย งเล็ ก น้ อ ย ภาคอุตสาหกรรมไม่ได้ รับผลกระทบแต่อย่างใด และปี 59 มี ค วามเป็ น ห่ ว ง เรื่ อ งภั ย แล้ ง เนื่องจากน�้ำต้นทุนในเขื่อนต่าง ๆ มีปริมาณ น้อย และมีการเสนอข่าวให้มีการปลูกพื้นที่ใช้น�้ำน้อยแต่ก็ ยั ง ไม่ มี ผ ลกระทบกั บ การใช้ น�้ ำ ในภาคอุ ต สาหกรรมใน พื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอย่างแน่นอน เนื่องจาก เป็นจังหวัดปลายน�้ำ เป็นจุดรวมน�้ำของแม่น�้ำสายต่างๆ
* ส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด มีเป้า ประสงค์เพื่อพัฒนาภาคการผลิตให้เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อมและสร้างโอกาสในการแข่งขัน * ปัจจุบัน มีโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ที่ ส ะอาดที่ ข ออนุ ญ าตในพื้ น ที่ ทั้ ง หมด 10 โรงงานเพียงพอต่อการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ * มีมาตรการป้องกันปัญหาด้านอุทกภัย ที่เป็นรูปธรรม มีการบริหารจัดการน�้ำอย่าง เป็นระบบฯ และนิคมอุตสาหกรรมได้สร้าง เขื่อนป้องกันน�้ำครอบคลุมทั้งหมดแล้ว * สภาวะการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม ทั้งหมด (กันยายน 2558) มีจ�ำนวนโรงงานทั้งหมด 2,472 โรงงาน มีเงินลงทุน 563,408 ล้านบาท
สภาวะการลงทุนภาคอุตสาหกรรม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ปี 2556 – 2558 ด�ำเนินการ พิจารณาอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน จ�ำนวน246 โรงงาน มีเงินทุน 44,138 ล้านบาท จ�ำนวนแรงงาน 10,140 คน และ สภาวะการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมทั้งหมด (กันยายน 2558) มีจ�ำนวนโรงงานทั้งหมด 2,472 โรงงาน มีเงินทุน 563,408 ล้านบาท จ�ำนวนคนงาน 273,578 คน ซึ่งมีค�ำขอที่ได้ยื่นขอ อนุญาตและผ่านการพิจารณาของทางจังหวัดแล้ ว ซึ่ ง อยู ่ ระหว่ า งการพิ จ ารณาของกรมโรงงานอุ ต สาหกรรมอี ก ประมาณ 10 ค�ำขอฯ มีประเภทโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ชิ้น ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ มีเงินลงทุนรวมประมาณ 6 พัน กว่าล้านบาท Ayutthaya 49
ส่ ว นหนึ่ ง ของปั ญ หาอุ ป สรรคต่ อ การลงทุ น ในภาค อุตสาหกรรมที่ต้องบูรณาการ - ปัญหาด้านต้นทุนแรงงานสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ในลักษณะงานที่คล้ายคลึงกัน เช่น สิ่งทอ อุปกรณ์ไฟฟ้าบาง ชนิด รองเท้า เป็นต้น ได้ย้ายฐานการผลิตไปบ้างแล้ว ผู้ ประกอบกิจการโดยเฉพาะ SME ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงิน ทุนได้ง่าย หรือได้รับการลดหย่อนด้านภาษีต่าง ๆ เหมือนกับ อุตสาหกรรมต่างชาติ หรือโรงงานขนาดใหญ่ท่ีได้รับการส่ง เสริมการลงทุนได้ลดหย่อนภาษีเครื่องจักร วัตถุดิบ หรือภาษี นิติบุคคล เมื่อก่อนยังได้ค่าแรง ปัจจุบันค่าแรงเป็นแรงงาน ของประเทศเพื่อบ้านเกือบหมดแล้ว SME ไม่จ�ำเป็นต้องผลิต สิ น ค้ า ส่ ง ออก หากเป็น ผู้ประกอบกิจการที่เป็น ของคนไทย ก็ ค วรจะมี ก ารช่ ว ยเหลือ ด้า นภาษีต่า ง ๆ มิฉ ะนั้น ผู้ประกอบ กิจการของไทยก็จะอยู่ยาก
- เรื่องการพิจารณาเกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ ได้มีพระราช บั ญ ญั ติ ก ารอ� ำ นวยความสะดวกในการพิ จ ารณาการอนุ ญ าตของทาง ราชการ แต่หากพิจารณาในด้านเอกสารยังไม่พิจารณาเป็นแนวทางเดียวกัน หรือใช้ดุลพินิจก็ท�ำให้เกิดปัญหากับผู้ประกอบกิจการ เช่น มีโรงงานใดที่เป็น โรงงานนโยบายที่ไม่อนุญาตให้ตั้ง/ขยายโรงงานบ้าง หรืออาคารที่มีอยู่เดิม หากจะขออนุญาตตั้งหรือขยายโรงงานต้องได้รับการรับรองจากวิศวกรผู้ได้ รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมรับรองความมั่ น คงแข็ ง แรงโดย ระดั บ วุ ฒิ จ� ำ ได้ ว ่ า มี ห นั ง สื อ เวี ย น
ถ้าเป็นอาคารชั้นเดียวที่มีการออกแบบรับน�้ำหนักของการวาง เครื่องจักรแล้วไม่ต้องรับรองยกเว้นอาคารตั้งแต่สองชั้นขึ้นไป เอกสารดั ง กล่ า วก็ ห าไม่ พ บท� ำ ให้ เ ป็ น ภาระของผู ้ ป ระกอบ กิจการเป็นอย่างมาก เพราะฉะนั้นควรมีการรวบรวมข้อหารือ แนวทางปฏิบัติต่าง ๆ รวบรวมจัดระเบียบระบบไว้ในระบบ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสะดวกสามารถสืบค้นและอ้างอิงได้เหมือน กับกระทรวงการคลัง 50
บริษัท เทอราโกร เฟอร์ติไลเซอร์ จ�ำกัด Terragro Fertilizer Co., Ltd. ผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายปุ๋ยคุณภาพสูง
เส้นทางพบ ท้องถิ่นจังหวัด
“นายธนา ยันตรโกวิท” ท้องถิ่นจังหวัด พระนครศรีอยุธยา
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในคณะท�ำงานเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของจังหวัด และเพื่อสนองตอบต่อนโยบาย ของ คสช. นโยบายรัฐบาล และนโยบายกระทรวงมหาดไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานการแก้ไขปัญหาขยะภายใต้นโยบาย
“อยุธยาเมืองประวัติศาสตร์ เมืองสะอาดปลอดขยะต้นแบบ” นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจาก “นายธนา ยันตรโกวิท” ท้องถิ่นจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ผู้มีหลักการบริหารงานที่ว่า “งานได้ผล คนเป็นสุข” พร้อมคติ ประจ�ำใจที่ท่านยึดมั่นเสมอมาคือ...มีสองวันที่เราท�ำอะไรไม่ได้คือ วันวานกับวันพรุ่งนี้ ดังนั้นเราต้องท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด ท่านท้องถิ่นจังหวัดฯได้สละเวลาให้สัมภาษณ์ถึงการส่ง เสริมให้ อปท.มีส่วนร่วมในการพัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 54
ภาพรวม ของ อปท.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 3 แห่ง เทศบาลต�ำบล 32 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 121 แห่ง โดยทุกแห่งต่างมีศักยภาพ ของตัวเอง ที่แตกต่างกันไปตามสภาพพื้นที่ และด้วยเหตุที่ พระนครศรีอยุธยาเป็นเมืองมรดกโลก เป็นแหล่งท่องเที่ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญ และเป็นทั้งเมืองอุตสาหกรรม หน่วย งานภาคเอกชนต่างให้ความสนใจที่จะเข้ามาร่วมมีส่วนด�ำเนิน การในด้านต่างๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งก็ต้อง เข้ามามีบทบาทและร่วมบริหารงานในทุกๆ ด้าน
วิสัยทัศน์ และนโยบาย ของ สถ.จ.พระนครศรีอยุธยา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ของ สถจ.พระนครศรีอยุธยา ในฐานะที่เป็นราชการส่วนภูมิภาค ต้องปฏิบัติงานภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ข องจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา 3 ประเด็ น ยุทธศาสตร์ ที่แบ่งเป็นกลุ่มภารกิจ (Cluster) จ�ำนวน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมั่นคง และด้าน บริหารจัดการ และ 23 กระบวนงาน โดยส�ำนักงานส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นจังหวัด ร่วมเข้าเป็นคณะท�ำงาน จ�ำนวน 16 กระบวนงาน ร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของจังหวัดเพื่อ สนองตอบต่อ นโยบาย ของ คสช. นโยบายรัฐบาล และ นโยบายกระทรวงมหาดไทย 16 กระบวนงานดังกล่าว ได้แก่ กระบวนงานสานต่อโครงการพระราชด�ำริและเศรษฐกิจพอ เพียง พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนสู่สากล เพิ่มมูลค่าด้านการท่อง เที่ยว การส่งเสริมสุขภาพและสุขภาวะทางสังคม ปกป้องและ เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ ด้านบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม อยุธยาเมืองสะอาด เป็นต้น ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีแผนพัฒนาท้องถิ่น ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดและด้วยบทบาทภารกิจที่ ส�ำคัญของส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด ที่จะ ต้องส่งเสริมและสนับสนุนการจัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิ่นให้มี
วิสัยทัศน์ ของ สถจ. คือ “เป็นหน่วยงานหลักในการ ส่ ง เสริ ม องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ เ ป็ น กลไกในการ พัฒนาจังหวัด”
โดยมีนโยบายส�ำคัญ ซึ่งประกอบด้วย
1.พัฒนาบุคลากรของส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้อง ถิ่นจังหวัดให้เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง 2.ส่งเสริมการจัดท�ำแผนพัฒนาท้องถิ่นให้สอดคล้องกับ แผนยุ ท ธศาสตร์ จั ง หวั ด และตอบสนองความต้ อ งการของ ประชาชน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย 3.ส่งเสริมระบบการบริหารงานบุคคลของ อปท. ให้เป็น ไปตามหลักคุณธรรมและเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร อปท.ให้ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4.ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารจัดการของ อปท. ให้มี ศั ก ยภาพในการจั ด บริ ก ารสาธารณะภายใต้ ห ลั ก การบริ ห าร กิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี และส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มของภาค ประชาชน 5.พัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการติดตาม ประเมิ น ผลการพั ฒ นาขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ มี ประสิทธิภาพ Ayutthaya 55
ผลการด�ำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล
ความเชื่อมโยงและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัดเพื่อ การพั ฒ นาจั ง หวั ด ไปสู ่ จุ ด มุ ่ ง หมายเดี ย วกั น และตอบสนอง ความต้องการของประชาชน
ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดฯ ให้ความ ส�ำคัญกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องน�ำมาปฏิบัติในระดับท้อง ถิ่ น เพื่ อ ประโยชน์ ข องพี่ น ้ อ งประชาชนอย่ า งเต็ ม ที่ เช่ น นโยบายเร่ ง ด่ ว นในการแก้ ไ ขปั ญ หาขยะของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นโครงการน�ำร่องการป้องกันและ แก้ไขปัญหาภัยธรรมชาติ ปัญหาด้านยาเสพติด ก็จะส่งเสริม ให้ อปท.ให้ความส�ำคัญและตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้และมี ส่วนร่วมช่วยในการแก้ไขปัญหาให้ส�ำเร็จลุล่วง หรือแม้แต่ เรื่องการเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของ ประเทศ ทั้งงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ของส� ำ นั ก งานก็ จ ะก� ำ ชั บ เจ้ า หน้ า ที่ ใ ห้ ถื อ ปฏิ บั ติ ด ้ ว ยความ รวดเร็ว ซึ่งเรื่องดังกล่าวนี้ได้ผนวกรวมอยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์ การท�ำงานของจังหวัด
แผนการเตรียมความพร้อมสู่ AEC องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอ�ำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการ จัดการศึกษา ทั้งที่จัดการศึกษาโดยองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นเอง หรือสนับสนุนงบประมาณในการภารกิจด้านการศึกษา ให้หน่วยงานอื่น โดยเฉพาะจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็น แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ จึงถือเป็นเรื่องส�ำคัญและ เร่งด่วน ในเบื้องต้น ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัด ได้สนับสนุนได้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีการ ประชาสัมพันธ์ สร้างความตื่นตัวให้แก่ประชาชน และให้มี ความรู้ความเข้าใจเพื่อเตรียมการรับผลกระทบจากปัญหา เช่น ปัญหาสังคมและสาธารณสุข พัฒนาทักษะความรู้ด้านภาษา อังกฤษและภาษาของประเทศเพื่อนบ้าน และมุ่งเน้นให้ อปท. สนับสนุนบุคลากรทางการศึกษาของ อปท.ให้มีความรู้และ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ AEC เพื่ อ ให้ น� ำ ไปถ่ า ยทอดให้ กั บ นั ก เรี ย น เพื่อน�ำไปถ่ายทอดให้แก่บุคคลในครอบครัว
ผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ การด� ำ เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาขยะของจั ง หวั ด พระนคร ศรีอยุธยา ภายใต้นโยบายอยุธยาเมืองประวัติศาสตร์ เมือง สะอาดปลอดขยะต้นแบบ เนื่องจากจังหวัดมีขยะสะสม 4 แสนตัน มีขยะ ณ ต�ำบลบ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา ที่ สร้ า งปั ญ หาให้ กั บ จั ง หวั ด ทั้ ง สภาพภู มิ ทั ศ น์ ที่ ไ ม่ ส วยงาม ประชาชนต้องสูดดมกลิ่นขยะที่หมักหมมมาเป็นเวลาช้านาน แต่ในปี 2558 จังหวัดพระนครศรีอยุธยาสามารถแก้ไขปัญหา ขยะสะสมได้ โดยขนย้ายขยะเก่า 223,865 ตัน ไปฝังกลบ อย่างถูกสุขลักษณะ ณ ต�ำบลมหาพราหมณ์ ที่อยู่ห่างไป 4 กม. และปรับปรุงสถานที่ให้สวยงามมีความพร้อมในการเป็นศูนย์ ก�ำจัดขยะน�ำร่องของจังหวัดและประเทศ ปัจจุบันได้เป็น สถานที่ศึกษาดูงานการจัดการขยะให้แก่ส่วนราชการ และ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเรื่องนี้ ส�ำนักงานได้มีส่วนร่วมรับผิดชอบตั้งแต่ขั้นการ เป็นเลขานุการคณะกรรมการระดับจังหวัดร่วมกับส�ำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด โดยมีส่วนร่วมขับ
56
4.บริหารจัดการ โดยให้เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นเจ้าภาพในการจัดการ เป็ น ผู ้ ดู แ ลที่ ดิ น สิ่ ง ก่ อ สร้ า ง วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ให้ เ ป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ของโครงการ มีศูนย์ประสานงานและบริหารงาน ร่วมกัน 9 อปท. ที่สมัครใจเข้าร่วมในการบริหารจัดการ 5.การจัดท�ำบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในการน�ำขยะไป ก�ำจัด ณ สถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอย ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพื้นที่ใกล้เคียง แสดงความประสงค์ขอใช้บริการ เคลื่ อ นการท� ำ งานตลอดมา โดยเฉพาะงานด้ า นการ ประชาสั ม พั น ธ์ ร ณรงค์ ส ร้ า งความรู ้ ค วามเข้ า ใจในการ 2 ประเด็นส�ำคัญ คือ - สร้างความมั่นใจในการก่อสร้างสถานที่ก�ำจัดขยะแห่ง ใหม่ รวมทั้งการขนย้ายภูเขาขยะของเดิม ปริมาณไม่น้อย กว่า 220,000 ตัน มาฝังกลบอยู่หลักสุขาภิบาล และ - การสร้างความเข้าใจในเรื่อง การลดปริมาณขยะตั้งแต่ ต้นทางและการแปรรูปขยะให้เกิดมูลค่า ซึง่ งานทัง้ สองประเด็นนีไ้ ด้รบั ความร่วมมือจากส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่ส�ำคัญคือภาค ประชาชนเป็นอย่างดี ท�ำให้ต้องผ่านปัญหาอุปสรรคต่างๆ ไปได้ ในแต่ละขั้นตอน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ก�ำหนดวาระของจังหวัดด้าน การจัดการขยะ “อยุธยาเมืองประวัติศาสตร์ เมืองสะอาด ปลอดขยะต้นแบบ” และยึดหลักด�ำเนินการเพื่อให้เกิดความ ยั่งยืน ดังนี้ 1.การฝังกลบอย่างถูกวิธีไม่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อม กลิ่น เสียง มลพิษ 2.สร้างขยะให้มีค่า โดยน�ำขยะมาคัดแยกเป็นเชื้อเพลิง แล้วน�ำไปใช้ผลิตพลังงาน 3.ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม ลดปริมาณขยะ เปลี่ยน พฤติกรรมผู้บริโภคให้มีการคัดแยกขยะ และการเพิ่มมูลค่า ของขยะ
ฝากถึงอปท.เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งที่ส�ำคัญมากส�ำหรับการท�ำงานในปัจจุบันและอนาคตก็ คือ การท�ำงานบนหลักของความสุจริต โปร่งใส ซึ่งจะท�ำให้ การบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อประชาชนอย่างแท้จริง รวมทั้งยังเป็นการช่วยให้ภาพ ลักษณ์ของประเทศในด้านความโปร่งใสดีขึ้นด้วย ทั้งนี้ยัง เป็นการช่วยแก้ไขภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่มีข่าวในเรื่องการทุจริต ประพฤติมิชอบ จ�ำนวนมาก ด้วย เรื่องที่ส�ำคัญอีกประการหนึ่งในการพัฒนาให้ท้องถิ่นมี ความเจริญก้าวหน้า คือ อปท.ต้องสามารถค้นหาศักยภาพของ ตนเองและน�ำมาก�ำหนดจุดยืนในการพัฒนา (Positioning) เพื่อให้การพัฒนาท้องถิ่นมีกรอบการท�ำงานที่ชัดเจน และเกิด ผลประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง ตามหลักการของท่าน ผู้ว่าราชการจังหวัด โดยการก�ำหนด Positioning ดังกล่าวต้อง ท�ำจากเรื่องที่มีศักยภาพ ,เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยส่วน รวม สร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้ชุมชน และไม่เริ่มต้น จากศูนย์ คือมีการด�ำเนินการอยู่แล้วในท้องถิ่น
Ayutthaya 57
เส้นทางการศึกษา
สพป.พระนครศรีอยุธยา เขต1 ก.ไก่ ข.ไข่.......หากได้เดินผ่านโรงเรียน จะได้ยินส�ำเนียงของเด็ก ๆ ที่ท่องตามครูบอก จากวันนั้นจนถึงวันนี้ การสั่งสอนของครูที่มีต่อนักเรียนเต็มไปด้วยจิตวิญญาณ เจตนา และความหวังที่จะให้ลูกศิษย์เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม และประเทศชาติในอนาคต “ครูคือผู้ให้” ค�ำนี้มีความหมายและยิ่งใหญ่ ความภาค ภูมิใจของครูจะมีก็ต่อเมื่อได้ยินเสียง “สวัสดีครับครู ครูสบายดี นะครับ ผมไปท�ำงานที่.....ครับ” เป็นค�ำพูดที่ครูอยากได้ยินมาก ทีส่ ดุ ถึงแม้วา่ ลูกศิษย์แต่ละคนจะไม่เท่าเทียมกันในอนาคต บาง คนอาจจะโชคไม่ดีต้องผ่านคุกตารางมา เมื่อมาเจอะเจอครูก็ ยกมือไหว้ “สวัสดีครับครู” การศึกษาเป็นสิ่งที่ต้องมีการพัฒนาปฏิรูปอยู่ทุกขณะ ตั้งแต่มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาเป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน ก็ยังต้องมีการพัฒนาปฏิรูปกันตลอด ครู นักเรียน บทเรียน ทักษะได้มกี ารสืบทอดตามเจตนารมณ์มาจนถึงปัจจุบนั จากการด�ำเนินงานที่ผ่านมา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ได้บริหารจัดการ ศึกษาทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านสังคม ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และ ด้านสติปัญญา ภายใต้การน�ำของนายอารักษ์ พัฒนถาวร ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา 58
พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ซึ่งใช้หลักการมีส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วน โดยน�ำกรอบแนวคิด “ค่านิยม 12 ประการ” เชื่อมโยง บูรณาการกับกรอบแนวคิดอื่น ๆ ท�ำให้เกิดความส�ำเร็จหลาย ด้าน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 ได้เร่งรัดพัฒนาการจัดการ ศึกษาแก่เยาวชนอย่างจริงจัง และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิด ขึ้น เช่น
1.การศึกษา
ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ได้จัดกิจกรรมงาน “มหกรรมนาฏ ดุริยศิลป์เทิดไท้องค์นครินทร์ แผ่นดินสยาม” เมื่อวันที่ 30 มี น าคม 2558 ซึ่ ง เป็ น การน� ำ เสนอผลงานด้ า นการดนตรี นาฏศิลป์ไทยของนักเรียน เพือ่ เป็นการแสดงถึงความจงรักภักดี และความส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ในสถาบันพระมหากษัตริย์ และในโอกาสเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษา ชุ ด “พระมหาชนก” ณ บริ เ วณวั ด มหาธาตุ อ� ำ เภอพระนครศรีอยุธยา เพือ่ เป็นการเปิดพืน้ ทีใ่ ห้เด็กได้แสดงออก ซึ่งความสามารถในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทักษะทางวิชาการ วิชาชีพ ศิลปะ ดนตรี ซึ่งการ แสดงล้วนแต่เป็นเวทีต่อยอดความรู้ ความสามารถของนักเรียนอย่างต่อเนื่อง นับได้ว่าเป็นการสร้างโอกาสที่ดียิ่งให้แก่เด็กไทยทุก ๆ คน ได้มาแสดงความสามารถเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ และที่ส�ำคัญถือเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการ พัฒนาคุณภาพทางด้านการศึกษา เพราะจะเป็นแรงจูงใจที่ท�ำให้นักเรียน ครู ตลอดจนสถานศึกษา ได้มีการพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน ทีม่ งุ่ เน้นให้คนไทยและการศึกษาไทยมีคณ ุ ภาพและได้มาตรฐานสากล ใฝ่รู้ สามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ใฝ่ดี มี คุณธรรมพื้นฐาน มีจิตส�ำนึกและค่านิยมที่พึงประสงค์ คิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาได้
2.คุณธรรม จริยธรรม
ส� ำ นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า พระนครศรีอยุธยา เขต 1 ได้จัดกิจกรรมในการประกาศ เจตนารมณ์ “ต่อต้านการทุจริต สร้างจิตส�ำนึกไทยไม่โกง” โครงการ “ไม่ให้ ไม่รบั ” คอร์รปั ชัน่ “ฉัน” ไม่ขอรับ ในกิจกรรม “การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ชาติไทย เพือ่ แม่ของแผ่นดิน” ในวันที่ 27 สิงหาคม 2558 ณ ถนนป่าโทน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการ บูรณาการร่วมกันในการเสริมสร้างทัศนคติ ค่านิยมความ ซื่อสัตย์สุจริต แก่บุคคลภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชา สังคม ในการป้องกันและต่อต้านการทุจริต การสร้างเครือข่าย ในการเฝ้าระวังและต่อต้านการทุจริต โดยให้ทุกภาคส่วนเข้า มามีส่วนร่วมในการสอดส่องเฝ้าระวัง สกัดกั้นมิให้เกิดการ ทุจริต และเป็นการลดช่องว่างปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น
Ayutthaya 59
โรงแรมวี เ อส
( VS HOTEL )
โรงแรมวีเอส
55 หมู่ 8 ต�ำบลอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Tel : 081-5652471
หมอท�ำขวัญนาค
วินัย รุ่งปราการ 081-5652471
บวชนาคปีนี้ อย่าลืม ให้พี่วินัยไปท�ำขวัญนาค
โรงแรมกรี น เฮาส์
โรงแรมกรีนเฮาส์
54 หมู่1 ต�ำบลเกาะเรียน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 13000 Tel. 086-7778314 081-6682001 คุณเจริญ
สนามกอล์ฟเมืองเอก วังน้อย Muangake Golfs
สนามกอล์ฟ เมืองเอก วังน้อย เป็นสนามกอล์ฟแห่งที่ 3
ของเมืองเอกกรุ๊ป ประกอบด้วย 18 หลุม ตั้งอยู่ทางตอนเหนือ ของสนามบินดอนเมือง ใช้เวลาประมาณ 25 นาทีไปทางอยุธยา โครงสร้างหลักของสนามคือ การจัดวางแต่ละสนามด้วยการมีบ่อน�้ำ นักกอล์ฟต้องเล่นด้วยความแม่นย�ำมากกว่าเคย MUANG AKE WANG NOI GOLF COURSE DAY T-OFF VISITOR 400 WEEKDAY 06.00 – 12.59 300 13.00 – 14.59 200 15.00 – 17.00 WEEKEND 06.00 – 12.59 900 500 13.00 – 14.59 300 15.00 – 17.00 ทางสนามขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงราคา
GUEST 300 300 200 800 500 300
GOLF CART 500 500 300 600 600 350
CADDY 250 250 150 250 250 150
TEL : 035-214828 FAX: 035-214828 MOBILE : 087-9192728 ,087-0649286,087-0649287
บริษัท ฟอร์จูน คันทรี จ�ำกัด (วังน้อย) 85 ม.4 ถ.พหลโยธิน ต.ล�ำไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา
เส้นทางท่องเที่ยว
ท่องเที่ยววิถีไทย
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ก�ำหนดให้ ปี 2558 เป็น “ปีท่องเที่ยววิถีไทย” เพื่อร่วมกันอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของไทย ที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว และนับวันจะเลือนหายไปตามยุคสมัย เส้นทางท่องเที่ยว จะพาคุณไปสัมผัสการท่องเที่ยววิถีไทยใน 2 รูปแบบ คือ ท่องเที่ยววิถีไทยในงานเทศกาล และสัมผัสวิถีชีวิตชาวกรุงเก่าเข้าตลาดพื้นบ้าน
ท่องเที่ยววิถีไทยในงานเทศกาล งานเทศกาลส�ำคัญของอยุธยาที่จัดขึ้นตลอดทั้งปีนั้น บาง เทศกาลจัดขึ้นเพื่อสืบสานประเพณีที่มีมาช้านาน บางเทศกาล จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีไทย โดยได้จ�ำลองเอาวิถี ชีวิตของผู้คนชาวกรุงเก่าในยุคโบราณที่หาชมได้ยากยิ่ง ให้ นักท่องเที่ยวได้สัมผัสอย่างตื่นตาตื่นใจ เรามาดูกันว่าเทศกาล ส�ำคัญ ๆ ที่ควรค่าแก่การลาหยุดไปเที่ยวที่อยุธยานั้นมีอะไร บ้างค่ะ 64
ไปเมืองกรุงเก่า
“ยอยศยิ่งฟ้า อยุธยามรดกโลก”
งานนี้พลาดไม่ได้เลยค่ะ เพราะเป็นเทศกาลใหญ่ของจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ที่หลายหน่วยงานร่วมกันจัดขึ้นรวม 10 วัน 10 คืนกันเลยทีเดียว โดยจะจัดขึ้นในช่วงสัปดาห์ที่สอง ของเดือนธันวาคมของทุกปี ณ บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองที่พระนครศรีอยุธยา ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม ใน ปี 2534 จากคณะกรรมการมรดกโลก แห่งองค์การสหประชาชาติ โดยในปีที่ผ่านมามีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ซึ่งจะเริ่มด้วยพิธีบวงสรวงพระเจ้าอู่ทอง และพิธีบูชาพระบร มสารีริกธาตุ พิธีเปิดงาน “ยอยศยิ่งฟ้า อยุธยามรดกโลก” ซึ่งภายในงานมีการออกร้านกาชาด การจ�ำหน่ายสินค้า OTOP และการแสดงแสงเสียงที่ยิ่งใหญ่ตระการตา ณ วัดมหาธาตุ ซึ่งก่อนเข้างานได้มีการจ�ำลองบรรยากาศตลาดย้อนยุคสมัย กรุงศรีอยุธยา ให้นักท่องเที่ยวและชาวอยุธยาได้ซื้ออาหาร และนั่งชมการแสดง “โขน” นาฏศิลป์ชั้นสูงของไทย โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ซึ่งจัดแสดงตลอดทั้ง 10 คืน เรียกได้ว่าไปงาน “ยอยศยิ่งฟ้า อยุธยามรดกโลก” งานเดียว จะได้สัมผัสทั้งวิถีชีวิตของชาวอยุธยาแบบย้อนยุค และยังได้ชม การแสดงโขน มรดกล�้ำค่าของไทยที่หาชมได้ยากยิ่ง
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชั้น 2 อาคาร 4 ชั้น โทร. 0 3533 6563, 0 3533 5244 หรือ ททท.ส�ำนักงานพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 6076-7 ,0 3532 2730 (ในเวลาราชการ) Ayutthaya 65
“อยุธยามหาสงกรานต์ ในเทศกาลสงกรานต์ ระหว่าง วันที่ 13 – 15 เมษายน ของทุกปี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ร่วมกับ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) จัดงาน “อยุธยามหาสงกรานต์ สืบสานวิถีไทย” ขึ้น ณ ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา (อาคารศาลากลางหลังเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
66
สืบสานวิถีไทย” ซึ่งในปี 2558 นี้ รัฐบาลได้ประกาศให้เป็นปีท่อง เที่ยววิถีไทย จึงมีการเชิญชวนนักท่องเที่ยวให้ร่วมแต่ง กายด้วยชุดไทยหรือผ้าไทยไปท�ำบุญตักบาตรและเล่นน�้ำ สงกรานต์ รดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ ปล่อยนก ปล่อยปลา สัมผัสบรรยากาศย้อนยุค ก่อเจดีย์ทราย สรงน�้ำพระพุทธ รูป สักการะศาลหลักเมือง และพิธีท�ำบุญเมืองประจ�ำปี ซึ่ง จัดขึ้นในวันที่ 13 เมษายน ไม่เพียงเท่านั้นค่ะ วังช้างอยุธยา แล เพนียด ยังพา น้องช้างที่แปลงร่างมาหลากหลายสีสันสวยงามน่ารัก มา เล่นน�้ำกับนักท่องเที่ยวที่บริเวณถนนศรีสรรเพชญ์ ด้าน หน้าอาคารเรือนไทยของ ททท.อยุธยา ด้วย และที่พลาด ไม่ได้คือมีการจ�ำลองตลาดย้อนยุคมาไว้ ซึ่งเงินบาทของเรา ต้องน�ำไปแลกเป็น “เบี้ย” (จ�ำลอง) แบบโบราณก่อน จึงจะ น� ำ ไปซื้ อ หาอาหารไทยทั้ ง คาว,หวานมารั บ ประทาน ได้ ตลาดจัดขึ้นที่บริเวณด้านหลังศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา (อาคารศาลากลางหลังเก่า)
แต่ถ้าอยากไปสัมผัสกับประเพณีสงกรานต์แบบ รามัญ หรือมอญ ต้องไปที่วัดทองบ่อ อ�ำเภอบางปะอิน ค่ะ เพราะที่นี่มีการอนุรักษ์และสืบสานประเพณีสงกรานต์ ของชาวมอญไว้เต็มรูปแบบ ตั้งแต่ การแต่งกายแบบมอญ ร่วมท�ำบุญตักบาตรแบบมอญ สรงน�้ำพระจากรางไม้ไผ่ การ แห่หงส์ และแห่ “โน่” (ธงตะขาบ) ในช่วงบ่ายของวันที่ 14 เมษายนด้วย สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ททท. ส�ำนักงานพระนครศรีอยุธยา โทร. 0 3524 6076 – 7 Ayutthaya 67
“ลอยกระทงกรุงเก่า” ช่วงเทศกาลลอยกระทง ไม่เพียงแต่จะมีนักท่องเที่ยว ต่างชาติมาร่วมงานกันจ�ำนวนมากแล้ว ชาวไทยเอง ก็ไม่พลาดงานสนุกประจ�ำปีนี้เช่นกัน งานลอยกระทง ในอยุธยามีการจัดขึ้นหลายแห่ง ซึ่งนักท่องเที่ยว สามารถเลือกได้ว่า จะไปลอยกระทงที่ไหน ในบรรยากาศแบบใด เช่น 68
ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทรฯ มีการจ�ำลอง “พระราชพิธีชักโคม ลอยพระประทีป” ตามแบบสมัยกรุงศรีอยุธยา เพื่อ ให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับบรรยากาศการลอยกระทง ตามประทีปของราชส�ำนักในสมัยโบราณ ซึ่งนับเป็นงานลอยกระทงที่ยิ่งใหญ่งานหนึ่งของประเทศ ภายในงานยังกิจกรรมมากมาย อาทิ การประกวดกระทง และโคมแขวน การประกวดนางนพมาศ การแสดงแสง-เสียง และสื่อผสม การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทยพื้นบ้าน การออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภค และมหรสพต่าง ๆ โดยในปีที่ผ่านมายังมีการจัดงานแบบย้อนยุค น�ำ เสนอตลาดน�้ำ การแสดงเพลงเรือ เพลงพื้นบ้านภาคกลาง ฯลฯ ซึ่งในปัจจุบันนี้หาชมได้ยากแล้ว เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา จัดงาน “ลอยกระทงกรุงเก่า” โดยจัด พื้นที่และการแสดงทางวัฒนธรรมจ�ำนวน 5 แห่งไว้ต้อนรับนักท่องเที่ยว ได้แก่ 1) บริเวณด้านหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติวังจันทรเกษม 2) บริเวณ ใต้สะพานปรีดี–ธ�ำรง 3) บริเวณด้านหน้าเจดีย์สุริโยทัย 4) บริเวณโบราณ สถานป้อมเพชร 5) วัดพนัญเชิงวรวิหาร องค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา (อบจ.) จัดงาน “ลอยกระทงกรุงเก่า” ที่บริเวณ อนุสรณ์ สถานแห่งความจงรักภักดี ทุ่งหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา โดยมีกิจกรรมสวดมนต์ท�ำวัตรเย็น ชมลิเก และ ร่วมพิธีอาบน�้ำเพ็ญ ตามความเชื่อแบบโบราณว่าจะช่วยปัดเป่าเคราะห์ร้ายและท�ำให้เกิดสิริมงคลแก่ชีวิต ใน เวลา 24.00 น. โดยมี พระอาจารย์แดง วัดป้อมรามัญ เป็นผู้ประกอบพิธี องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอเสนา จัด “งานลอยกระทง คืนความสุขให้กับประชาชน” มีกิจกรรมส�ำคัญคือ การแข่งขันเรือพาย แข่งขันเรือยนต์ ร�ำวงย้อนยุค ประกวดนางงามแม่ม่าย ประกวดหนูน้อย นพมาศ พร้ อ มกั บ นิ ม นต์ พ ระสงฆ์ น� ำ กล่ า วขอขมาพระแม่ ค งคา เพื่ อ เป็ น การระลึ ก ถึ ง พระคุ ณ ของพระแม่ ค งคา สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร โทร : 0-3536-6252-4, 0-3528-3246-50 เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา โทร : 0-3525-2168 อบต.บ้านโพธิ์ โทร : 035-743982 หรือททท. ส�ำนักงานพระนครศรีอยุธยา โทร : 0 3524 6076 - 7 Ayutthaya 69
“แห่เทียนพรรษากรุงเก่า-แห่เทียนทางน�ำ้ คลองลาดชะโด“ ก่ อ นวั น เข้ า พรรษา 1 วั น พุ ท ธศาสนิ ก ชน ชาวอยุธยาจะร่วมแรงร่วมใจกันจัดขบวนแห่เทียน พรรษาอย่างสวยงามตระการตา ทัง้ ทางบกและ ทางน�้ำ เพื่อน�ำเทียนไปถวายและร่วมท�ำบุญกุศ ลตามวัดต่าง ๆ โดยขบวนทางบกเริ่มที่บริเวณ หน้าพิพิธภัณฑ์จันทรเกษม แต่ถ้าอยากสัมผัส บรรยากาศแบบโบราณ ที่มีวิถีชีวิตผูกพันกับ สายน�้ำละก็ ต้องไปร่วมงานประเพณีแห่เทียน พรรษาทางน�้ ำ คลองลาดชะโด อ� ำ เภอผั ก ไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
70
นักท่องเที่ยวจะตื่นตาตื่นใจกับขบวนเรือแห่เทียนพรรษาทางน�้ำ ที่ประดับตกแต่ง อย่างสวยงาม นอกจากนี้ยังได้ชมวิถีชีวิตริมสายน�้ำ ชมการประกวดบ้านสวนริมคลอง การแข่งขันกีฬาพื้นบ้านลาดชะโด การจัดการแสดงภาพถ่ายวิถีชีวิตชาวลาดชะโด และการจ�ำลองบรรยากาศตลาดน�้ำย้อนยุค
ปกติงานประเพณีแห่เทียนพรรษาทางน�้ำคลองลาดชะโด จะจัดขึ้นทุกปี ทว่าในปี 2558 ทางคณะผู้จัดประกาศงดจัดงาน เนื่องจากประสบปัญหาน�้ำแล้ง ทั้งนี้หากคุณอยากไปสัมผัส บรรยากาศแห่ พ ลั ง ศรัทธาริมสายน�้ำ สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ เทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา (กองการศึกษา) โทร. 0 - 3525 - 2168 Ayutthaya 71
“อยุธยามรดกโลก เทศกาลสานสัมพันธ์ พุทธ-อิสลาม-คริสต์”
เป็นที่ทราบกันดีว่าในสมัยอาณาจักรกรุงศรีอยุธยารุ่งเรือง มีการสานสัมพันธไมตรี กับต่างชาติ (ทั้งยุโรปและเอเชีย) ต่างศาสนา (ทั้งอิสลามและคริสต์) ดังนั้นเพื่อเป็นการส่ง เสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และส่งเสริมความสัมพันธ์เชิงวัฒนธรรม ระหว่าง 3 ศาสนา ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต์ จึ ง มี การจัดงาน “อยุธยามรดกโลก เทศกาลสานสัมพันธ์ พุทธ-อิสลาม-คริสต์” ขึ้น ซึ่งในปีนี้จัดขึ้น ระหว่างวันที่ 4-6 กันยายน 2558 เวลา 16.00 น. - 22.00 น. ณ วัดไชยวัฒนา ราม ภายในงานประกอบด้วย 4 กิจกรรมหลักคือ
72
นิทรรศการเชิงวิชาการเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ผ่าน 3 ศาสนาในกรุงศรีอยุธยา คือ พุทธ อิสลาม คริสต์ ตลอด ระยะทางจะได้ยินเสียงเห่เรือเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ ขับกล่อม ซึ่งใน ส่วนนี้จะมีการจ�ำลองสถานที่ต่าง ๆ ให้ถ่ายภาพ อาทิ ป้อมเพชร ซึ่ง เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการค้ากับอารยประเทศ, วัดพระศรีสรรเพชญ์ ศูนย์รวมจิตใจชาวพุทธ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี, หมู่บ้าน ฮอลันดา และโบสถ์ยอเซฟชุมชนศาสนาคริสต์, มัสยิดกุฎีช่อฟ้า มัสยิดแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาและ ลานสาธิตวัฒนธรรม 3 เชื้อ ชาติ 3 ศาสนา เป็นต้น กิจกรรมสาธิตนิทรรศการมีชีวิตในแต่ละวัน อาทิ ประดิษฐ์ หัตศิลป์เป็นพุทธบูชา (พุทธ) เช่น มาลัยตุ้ม บุหงา พานพุ่ม และ กระทงใบตอง , วัฒนธรรมอยุธยา-เปอร์เซีย สะท้อนความสัมพันธ์ สู่อาหารการกิน (อิสลาม) เช่น สาธิตโรตีสายไหม ชิมเคบับ สาธิต การท�ำขนมกะหรี่ปั๊บ และท้าวทองกีบม้า ราชินีขนมไทย สืบสาย ใยไทย-โปรตุเกส (คริสต์) การสาธิตการประดิษฐ์กระทงใบตอง, มาลัยพุ่ม, พานพุ่ม, ขนมกะหรี่ปั๊บ, ขนมทองเอก, ขนมเสน่ห์จันทร์ เป็นต้น และพบกับการออกร้านจ�ำหน่ายสินค้าของที่ระลึก ที่มา พร้อมการจัดรูปแบบจ�ำลองเป็นตลาดเก่าเมืองกรุงศรีฯ เพื่อเป็นก ระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่นอีกทางหนึ่งด้วย การล่องเรือชมวัฒนธรรม สายน�้ำ สายสัมพันธ์ 3 ศรัทธา วันละ 3 รอบ รอบละ 100 คน โดยการล่องเรือจะเริ่มที่ท่าน�้ำวัด ไชยวัฒนาราม ไปยังวัดธรรมาราม แล้วเลี้ยวกลับผ่านพระต�ำหนักฯ มุ่งหน้าไปยังป้อมเพชร แล้วจึงเลี้ยวขวาตามล�ำน�้ำ ไปยังหมู่บ้าน ญี่ปุ่น และกลับล�ำมายังท่าวัดไชยวัฒนารามดังเดิม โดยตลอดระยะ เวลาการล่องเรือจะมีวิทยากรให้ความรู้ตลอดเส้นทาง และที่พลาดไม่ได้คืองานเทศกาลอาหารและการออกร้าน จ�ำหน่ายสินค้าของที่ระลึก ประกอบไปด้วยสินค้าดี ๆ ทั่วเมืองกรุงศรีอยุธยา มาให้ได้จับ จ่ายใช้สอย ไม่ว่าจะเป็นอาหารการกิน ข้าวของเครื่องใช้ ภายใต้ แนวคิดตลาดย้อยยุค ซึ่งผู้ขายต้องท�ำการแต่งกายชุดโบราณ ใช้ ภาชนะเป็นวัสดุธรรมชาติ มากถึง 80 ซุ้ม พร้อมการแสดง แสง สี เสียง สื่อผสม เล่าขานถึงความสัมพันธ์ 3 ศาสนา ในแผ่นดินกรุง ศรีอยุธยาทั้ง ศาสนา พุทธ อิสลาม และคริสต์ Ayutthaya 73
สัมผัสวิถีชีวิตชาวกรุงเก่า
เข้าตลาดพื้นบ้าน “ตลาดหัวรอ 200 กว่าปี”
ตลาดหัวรอ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลหัวรอ ภายในเกาะเมืองอยุธยา เป็นตลาดสดที่มีความคึกคัก มีชีวิตชีวา ที่ไม่ว่านักท่องเที่ยวชาวไทยหรือต่างชาติที่ได้มาเที่ยวอยุธยาแล้ว เป็นต้องแวะไป สัมผัสวิถีชีวิตของชาวกรุงเก่าในบรรยากาศจริงเสียงจริง ตลาดหัวรอมีความส�ำคัญนับแต่อดีตสมัยอาณาจักรกรุง ศรีอยุธยารุง่ เรือง จวบจนปัจจุบนั อายุอานามก็เก่าแก่กว่า 200 ปี เลยทีเดียว สาเหตุของชือ่ “ตลาดหัวรอ” เนือ่ งจากบริเวณเกาะ เมืองอยุธยาเคยเป็นอดีตราชธานีในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งมี ชัยภูมิโดดเด่น เพราะล้อมรอบด้วยแม่น�้ำสายหลักถึง 3 สาย ได้แก่ แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำป่าสัก และแม่น�้ำลพบุรี ซึ่งแต่ ไหนแต่ไรมาอยุธยาต้องเผชิญกับปัญหาน�้ำหลากในช่วงฤดูฝน ชาวกรุงเก่าในอดีตจึงได้คิดค้นการบริหารจัดการปัญหาน�้ำท่วม เมืองอยุธยาจากภูมิปัญญา ด้วยการปัก “รอ” ซึ่งเป็นเครื่องมือ ช่วยชะลอน�้ำไม่ให้ไหลแรงปะทะกับตัวเมือง และสร้างความ เสียหายแก่พ้ืนที่ชุมชน ประกอบกับพื้นที่ชุมชนหัวรอแห่งนี้เคย รุ่งเรืองมาแต่อดีต เพราะเป็นแหล่งค้าขายที่ส�ำคัญมาตั้งแต่ สมัยอยุธยา อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางน�้ำ ที่ เชื่อมต่อระหว่างใจกลางเมืองและนอกเมือง ชาวเมืองกรุงเก่า อยุธยาจึงขนานนามตลาดแห่งนี้ว่า “ตลาดหัวรอ” 74
ปัจจุบนั “ตลาดหัวรอ” อยูใ่ นความดูแลของส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ ทีม่ งุ่ มัน่ ส่งเสริมให้เป็นตลาดท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ ที่ผู้มาเยือนสามารถเรียนรู้และสัมผัสได้ถึงวิถีชีวิต การกินอยู่ดั้งเดิม และอัธยาศัยไมตรีของชาวชุมชนตลาดหัวรอ และที่นี่ยังเป็นแหล่งรวมทั้งอาหารสด อาหารแห้ง และของ อร่อยขึน้ ชือ่ มากมาย อีกทัง้ ยังได้ชอื่ ว่าตลาดทีไ่ ม่เคยหลับเพราะ เปิดตลอด 24 ชัว่ โมงกันเลย
“ตลาดลาดชะโด 100 ปี”
ตลาดลาดชะโด เป็นตลาดเก่าแก่ในเขตอ�ำเภอผักไห่ มีอายุเก่าแก่กว่า 100 ปี ซึ่งชาว ชุมชนลาดชะโดได้ร่วมกันอนุรักษ์อาคารบ้านเรือนในชุมชน จนได้รับพระราชทานรางวัล อนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น เมื่อปี พ.ศ. 2549
ตลาดริมน�้ำแห่งนี้ในอดีตมีสภาพเป็นเรือนแพค้าขายของ ชาวจีน ที่ตั้งอยู่สองฝั่งคลองลาดชะโด และเป็นศูนย์กลางการ ค้าขายทางน�้ำ ต่อมาได้ขยับขยายขึ้นมาสร้างเป็นเรือนแถวไม้ ริมฝั่งคลองเพื่อค้าขาย จนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีความ เจริญ มีวัด โรงเรียน ศาลเจ้า โรงสี และโรงหนัง ซึ่งสภาพ ชุมชนตลาดลาดชะโดได้รับการอนุรักษ์ไว้ให้มีบรรยากาศแบบ เดิม ๆ ทีน่ จี่ งึ มักจะมีกองถ่ายหนังและละครมาใช้เป็นโลเกชัน่ ถ่ายท�ำอยูบ่ อ่ ยครัง้ เช่น ดงดอกเหมย ความสุขของกะทิ เป็นต้น นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ม าเยื อ นที่ นี่ ไม่ เ พี ย งแต่ จ ะได้ ดื่ ม ด�่ ำ บรรยากาศตลาดโบราณริมน�้ำเท่านั้น ยังจะได้ช็อปชิมอิ่มอร่อย กับอาหารหลากหลายทั้งคาวหวาน โดยเฉพาะขนมไทย ๆ ที่ บางอย่างหาชิมได้ยาก อิ่มท้องแล้วอย่าลืมแวะไปชมพิพิธภัณฑ์ ที่จัดแสดงภาพถ่ายของชุมชน และข้าวของเครื่องใช้ในอดีตไว้ ให้ชมด้วย แต่ถ้าจะให้ครบรสชาติการเที่ยวตลาดริมน�้ำจริง ๆ ต้องล่องเรือชมวิถีชีวิตชาวบ้านริมคลองลาดชะโด ใช้เวลาแค่ 30 นาที คุณก็จะได้เก็บเกี่ยววิถีชีวิตที่สมจริงยิ่งกว่าในละคร ด้วยค่ะ
การเดินทาง จากอ�ำเภอผักไห่ ใช้เส้นทาง 3454 เลยตัวตัว อ�ำเภอไปประมาณ 500 เมตร มีทางแยกเลี้ยวซ้ายไปตลาด ลาดชะโดประมาณ 2 กิโลเมตร และก่อนถึงตลาดลาดชะโดมี ท่าเรือที่สามารถเช่าเรือไปตลาดลาดชะโดได้ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมที่ เทศบาลต�ำบลลาดชะโด โทรศัพท์ 0 3574 0263 - 4
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, วัฒนธรรมอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ททท. ส�ำนักงานพระนครศรีอยุธยา และเว็บไซต์ 108-1009 ภารกิจเที่ยว โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย Ayutthaya 75
โรงแรมสวีท อินน์ Sweet inn
โรงแรมสวีท อินน์ Sweet inn 80หมู9่ ต�ำบลบ้านกรวดอ�ำเภอบางปะอินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา133160 Tel. 081-991-9480 ,035-706716-8
The Society Ayutthaya Resort สถานทีอ่ นั พรัง่ พร้อมด้วย บรรยากาศธรรมชาติกบั การบริการทีเ่ ป็นมิตรและความเอาใจใส่ทจี่ ะท�ำให้ทา่ น อยากปล่อยเวลาให้ผ่านไปช้าๆ และตื่นเช้าเพื่อเดินเล่นและดื่มด�่ำกับธรรมชาติ
The Society Ayutthaya Resort ที่อยู่ : 90 หมู่ 6 ถนนหัวลาน-ดอนพุทธทรา ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13210 โทรศัพท์ : 035-773567 facebook : The Society Ayutthaya Resort
เส้นทางสู่ AEC
วิสัยทัศน์ประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558 กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศได้เผยแพร่ เอกสารเรือ่ ง “วิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียนภายหลังปี 2558 และแผนงานประชาคมอาเซียน” โดยมีสาระส�ำคัญและ โครงสร้างของวิสัยทัศน์ฯ ดังนี้คือ วิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียน ค.ศ. 2025 ระบุภาพรวม ของอาเซียนในอีก 10 ปีข้างหน้าที่จะต้องมีการรวมตัวกัน อย่างลึกซึ้งมากขึ้น ทั้งในด้านการเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม โดยประชาคมอาเซียน จะต้องเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยภาค ส่วนต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนประชาคม เป็น ประชาคมทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของกฎเกณฑ์ และมองไปข้างหน้า (forward-looking) โดยอาเซียนไม่ควรถดถอยจากทีเ่ ป็นอยู่ ในทุกด้านทั้งนี้ วิสัยทัศน์ฯ ประกอบด้วย 3 ส่วนส�ำคัญ ได้แก่ 1.ความส�ำเร็จในการสร้างประชาคมอาเซียนโดย อ้างอิงเอกสารที่เป็นรากฐานส�ำคัญของอาเซียน อาทิสนธิ สัญญามิตรภาพและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ (TAC) วิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ. 2020 (ASEAN Vision 2020) ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 (Bali Concord II) กฎบัตรอาเซียน แผนงานการจัดตั้ง ประชาคมอาเซียน ปี 2552-2558 และปฏิญญาบาหลีว่า ด้วยเรื่องประชาคมอาเซียนในประชาคมโลก (Bali Concord III)
2.วิสยั ทัศน์ประชาคมอาเซียนในอีก 10 ปีขา้ งหน้า โดยแบ่งออกเป็น วิสัยทัศน์ในภาพรวม (overarching vision) วิสัยทัศน์ในด้านประชาคมการเมืองและความ มั่ น คงอาเซี ย น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นและ ประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี ย น โดยเน้ น ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ลดความเหลื่อมล�้ำในภูมิภาค และส่งเสริมให้มีสังคมอาเซียนที่เอื้ออาทร 3.การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่องค์กรต่าง ๆ ของอาเซียน โดยเฉพาะส�ำนักเลขาธิการอาเซียนและการ สนับสนุนการจัดตั้งหน่วยงานต่าง ๆ ของอาเซียนใน ประเทศสมาชิกอาเซียนให้มากขึ้น
Ayutthaya 79
เส้นทางความเป็นมา
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ...พระผู้เป็นต�ำนานแห่งบางปะอิน
จังหวัดพระนครศรีอยุธยามีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญหลายแห่ง อาทิ วัดไชยวัฒนาราม วัดพระศรีสรเพชญ์ วัดชุมพลนิกายาราม ซึ่งสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ทรงโปรดเกล้าฯให้สถาปนาขึ้น โดยเฉพาะพระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ ซึ่งแม้จะได้รับการบูรณ ปฏิสังขรณ์ใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5 แต่พระที่นั่งนี้ก็ได้กลายเป็น สัญลักษณ์ส�ำคัญที่สุด เมื่อเอ่ยถึงพระราชวังบางปะอิน
82
เส้นทางความเป็นมา จึงขอน�ำเสนอพระราชประวัติของ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักร อยุธยา พระองค์ที่ 24 ซึ่งทรงครองราชย์ ระหว่าง พ.ศ. 2173 - พ.ศ.2199 และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาท ทอง ราชวงศ์ล�ำดับที่ 4 ของอาณาจักรอยุธยา ผู้ทรงมีพระ มหากรุณาธิคุณต่อแผ่นดินสยาม ทั้งในด้านการศึกสงคราม กฎหมาย และพระศาสนา
Ayutthaya 83
วัดไชยวัฒนาราม
พระชาติกำ� เนิด
มีต�ำนานเล่าว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งที่สมเด็จ พระเอกาทศรถ ยังทรงด�ำรงพระยศพระมหาอุปราช วันหนึ่ง พระองค์ได้เสด็จประพาสทางชลมารค เมื่อถึงบริเวณเกาะ บ้านเลน เรือพระที่นั่งถูกพายุใหญ่พัดจนล่มลง สมเด็จพระ เอกาทศรถทรงว่ายน�้ำขึ้นไปบนเกาะนี้ และได้หญิงชาวเกาะ นามว่า “อิน” เป็นบาทบริจาริกา จึงเป็นเหตุให้คนทั่วไปเรียก เกาะนี้ต่อมาว่า “เกาะบางปะอิน” ต่อมานางอินเกิดตั้งครรภ์ คลอดบุตรชาย สมเด็จพระเอกาทศรถจะทรงรับเป็นพระ โอรสก็ละอายพระทัย จึงทรงให้ออกญาศรีธรรมาธิราชรับ ไปเลี้ยงตั้งแต่เด็กจนกระทั่งเติบใหญ่ แต่อีกหลักฐานหนึ่งเกี่ยวกับพระชาติก�ำเนิด ซึ่งมีผู้จัดท�ำ พระราชประวัติสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง และเผยแพร่ ในเฟซบุ๊คชื่อ “สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ราชวงศ์” มี ใจความโดยสรุปว่า 84
...ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง นายห้าง ชาวเนเธอร์แลนด์ชื่อ เยเรเมียส ฟานฟลีต(Jeremias Van Vliet) ได้เขียนบันทึกชื่อ “Historical Account of King Prasat Thong” ค.ศ.1640 (พ.ศ.2183) บันทึกไว้ว่า พระ บิดาของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง คือ ออกญาศรีธรรมาธิ ราช ซึ่งเป็นพระปิตุลาแท้ ๆ ของพระเจ้าทรงธรรม กล่าวคือ สมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงเป็นลูกพี่ลูกน้องกับสมเด็จ พระเจ้าทรงธรรม ซึ่งเรื่องนี้สอดคล้องกับเอกสารค�ำให้การ เชลยไทย สมัยเสียกรุงครั้งที่ 2 ทั้งสองเรื่องคือค�ำให้การขุน หลวงหาวัด และค�ำให้การชาวกรุงเก่า ซึ่งกล่าวว่าพระเจ้า ปราสาททองเป็นเชื้อพระวงศ์ฝ่ายพระมารดาของพระเจ้า ทรงธรรม...
การปราบดาภิเษก
ในรัชสมัยสมเด็จพระเชษฐาธิราช พระยาศรีวรวงศ์ได้เลือ่ น ขึ้นเป็นเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์ มีอ�ำนาจและอิทธิพลมาก ท�ำให้สมเด็จพระเชษฐาธิราช เกิดความระแวงและคิดก�ำจัด แต่เจ้าพระยากลาโหม ฯ รู้ตัวก่อนและควบคุมพระองค์สมเด็จ พระเชษฐาธิราชได้ แล้วอัญเชิญพระอาทิตยวงศ์ พระราชโอรส สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมขึ้นครองราชย์ เจ้าพระยากลาโหมสุรยิ วงศ์ได้ปราบดาภิเษกขึน้ เป็นพระเจ้า แผ่ นดิน เมื่อปี พ.ศ.2173 เมื่อมีพระชนมายุได้ 30 พรรษา (ฟานฟลีต บันทึกว่าพระเจ้าปราสาททอง เสด็จขึ้นครองราชย์ ใน ค.ศ.1629 หรือ พ.ศ.2172 แต่พระราชพงศาวดารกล่าวว่า ครองราชย์ในจุลศักราช 992 ปีมะเมีย หรือพ.ศ.2173) ทรง พระนาม
ว่า สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 5 แล้วทรงสถาปนาราชวงศ์ใหม่เป็นราชวงศ์ปราสาททอง ส่วนพระนามว่า “ปราสาททอง” นั้น จากค�ำให้การชาว กรุงเก่าและค�ำให้การขุนหลวงหาวัดระบุว่า เมื่อทรงครองราชย์ แล้วทรงพระสุบินว่าได้ขุดค้นพบปราสาททองหลังหนึ่งฝังอยู่ใน จอมปลวกที่พระองค์เคยประทับเล่นเมื่อทรงพระเยาว์ จึงให้คน ไปขุดที่จอมปลวกนั้นและพบปราสาททองเหมือนที่ทรงพระ สุบิน จึงเป็นที่มาของพระนามว่า “พระเจ้าปราสาททอง” วัดพระศรีสรรเพชญ์
พระราชกรณียกิจ
- เสด็จยกทัพไปตีเขมร ซึง่ เป็นประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา แต่ได้แข็งเมืองมาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ท�ำให้ เขมรกลับมาเป็นหัวเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาดังเดิม - ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ หัวเมืองประเทศราชทาง ใต้ คิดกบฏยกทัพไปตีเมืองสงขลาและเมืองพัทลุง พระองค์ได้ ส่งกองทัพไปปราบปรามได้ราบคาบ แต่ในขณะเดียวกันก็เสีย เมืองเชียงใหม่ และหัวเมืองล้านนาแก่พม่า - ในรัชสมัยของพระองค์ มีการตรากฎหมายที่ส�ำคัญ เช่น พระไอยการลักษณะอุทธรณ์ พระไอยการลักษณะมรดก พระ ไอยการลักษณะกู้หนี้ และพระธรรมนูญ - ในปีจุลศักราช 1000 ตรงกับปีขาล (พ.ศ.2181) ซึ่งมีความ เชื่อกันว่าจะเกิดเหตุร้ายแรงถึงขั้นกลียุค พระองค์จึงทรงให้จัด พิธีลบศักราช เปลี่ยนจากปีขาลเป็นปีกุน แล้วแจ้งให้หัวเมือง น้อยใหญ่รวมทั้งเมืองประเทศราช ให้ใช้ปีศักราชตามที่ทาง กรุงศรีอยุธยาก�ำหนดขึ้นมาใหม่
- ในปี พ.ศ.2175 พระองค์ ไ ด้ โ ปรดเกล้ า ฯ ให้ ส ร้ า ง พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ พร้อมทั้งหมู่พระราชนิเวศ และวัดชุมพลนิกายาราม ขึ้นที่บางปะอิน อันเป็นสถานที่ ประสูติของพระองค์ ส�ำหรับไว้เป็นที่แปรพระราชฐาน (สมเด็จ พระเจ้าปราสาททอง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พระที่นั่งไอศวรรย์ทิพยอาสน์ขึ้น เพื่อฉลองการที่พระราชเทวี ประสูติสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระนารายณ์ราชกุมารพระที่นั่ง องค์ นี้ ใ ช้ เ ป็ น ที่ ป ระทั บ ของพระมหากษั ต ริ ย ์ ใ นสมั ย กรุ ง ศรีอยุธยา จนกระทั่งเสียกรุงให้แก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 จึงถูก ปล่อยให้รกร้างไป ต่อมาในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ พระที่นั่งขึ้นใหม่ ) - พระองค์ทรงมีความเลื่อมใสศรัทธาในพระบวรพุทธ ศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ได้ทรงสถาปนาวัดส�ำคัญ ๆ หลายวัด เช่น วัดไชยวัฒนาราม วัดพระศรีสรรเพชญ์ และวัดชุมพลนิกายา ราม และได้โปรดเกล้า ฯ ให้ปฏิสังขรณ์พระปรางค์วัดมหาธาตุ และโปรดที่ จ ะเสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น ทางชลมารค ไปทรง นมั ส การรอยพระพุ ท ธบาทที่ ส ระบุ รี เป็ น ต้ น อาจกล่าวได้ว่า สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ไม่เพียงแต่ จะทรงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ต่ อ แผ่ น ดิ น สยามในสมั ย อาณาจักรอยุธยาเท่านั้น แต่สิ่งที่พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯให้ สร้างขึ้นนั้น ยังส่งผลให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในปัจจุบัน ได้รับการยกย่องให้เป็นเมืองมรดกโลกทางประวัติศาสตร์ ซึ่ง ดึงดูดให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติมาเยี่ยมเยือน ตลอดทั้งปี Ayutthaya 85
ครัวนายพัน Krua Nai pan บรรยากาศสบายๆ ภายในร้านตกแต่งแบบไทยๆ เรียบง่ายดูอบอุ่นด้านเมนูก็ มีหลากหลายรายการ..ตั้งแต่ส้มต�ำยันอาหารทะเล
ครัวนายพัน Krua Nai pan
อยูใ่ กล้ๆโรงบาลพระนครศรีอยุธยา 63/21 ม.3 ต.ประตูชยั อ.อยุธยา จ.อยุธยา 13000 Tel. 061-4942252 ,035-901646
เวลา เปิ ด – ปิ ด 10.00 น. - 21.00น. ติด ต่ อ เบอร์ 086-4041697 ที่อยู ่ 4/29 ถนนโรจนะ ต�ำบลหอรัตนไชย อ�ำเภออยุ ธ ยา จั งหวัด อยุธยา 13000 (ปากทางเข้ า ศาลเจ้า แม่ทับ ทิม )
เส้นทางพบ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
นายสุชน ภัยธิราช
นายอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา “เมืองหลวงเก่า ชนเผ่าโบราณ สืบสานงานท้องถิ่น แผ่นดินมรดกโลก” คื อ ค� ำ ขวั ญ ของอ� ำ เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา ซึ่ ง มี ที่ ว่าการอ�ำเภอ ตั้งอยู่บนถนนปรีดีพนมยงค์ ต�ำบลหอรัตนไชย อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมี นายสุชน ภัยธิราช ด�ำรงต�ำแหน่งนายอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์อ�ำเภอที่ว่า
“
เป็นศูนย์กลางแห่งการท่องเที่ยวมรดกโลก ทางวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมดี บ้านเมืองน่าอยู่ ประชาชนอยู่ดีมีสุข ชุมชนเข้มแข็ง ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
“
88
ประวัติอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา
อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า “อ�ำเภอรอบ กรุง” ตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2440 มีที่ว่าการอ�ำเภอเดิมเป็นเรือน ไม้ชั้นเดียว ตั้งอยู่บริเวณบ้านพักปลัดจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตรงข้ามกับโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ในปัจจุบัน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2460 ได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอจากที่เดิมไปอยู่บริเวณวัดซอง ตลาดหัวรอ ต่อมาในปี พ.ศ.2475 มีการเปลี่ยนชื่อจาก “อ�ำเภอ รอบกรุง” เป็น “อ�ำเภอกรุงเก่า” เพื่อให้เข้ากับสภาพพื้นที่ซึ่ง เป็นเกาะ อันเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงเก่าเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี จนถึงปี พ.ศ.2500 ได้เปลี่ยนชื่ออ�ำเภอกรุงเก่า เป็น “อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา” ต่อมาเมื่อวันที่ 12สิงหาคม พ.ศ.2516 ได้ย้ายที่ ว่ า การอ� ำ เภอไปตั้ ง อยู ่ ใ กล้ กั บ ที่ ท� ำ การประปาเทศบาลเมื อ ง พระนครศรีอยุธยา ข้างป้อมเพชร ริมถนนอู่ทอง ต�ำบลประตู ชัย ต่อมาในปี พ.ศ.2527 ทางอ�ำเภอได้รับงบประมาณจากทาง จังหวัด เพื่อก่อสร้างที่ว่าการอ�ำเภอหลังใหม่อีกครั้ง เนื่องจากที่ ตั้งที่ว่าการเดิมนั้นคับแคบเกินไป จึงย้ายมาสร้างใหม่บริเวณ ถนนโรจนะ ติดกับสหกรณ์จังหวัด ต�ำบลหอรัตนชัย และใช้มา จนกระทั่งทุกวันนี้
ประเพณีและวัฒนธรรมส�ำคัญ
งานประเพณีท้องถิ่นที่ส�ำคัญ ได้แก่ งานสงกรานต์ งานทิ้งกระจาดวัดพนัญเชิง งานลอยกระทง งานแข่งเรือ ยาว และงานอยุธยามรดกโลก
ข้อมูลทั่วไป
อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ 130.58 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองย่อย เป็น 21 ต�ำบล แต่ละ ต�ำบลแบ่งออกเป็น หมู่บ้านรวม 150 หมู่บ้าน มีองค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น 15 แห่ ง ประกอบด้ ว ย เทศบาลนคร พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เทศบาลเมื อ งอโยธยา และองค์ ก าร บริหารส่วนต�ำบลอีก 13 แห่ง มีประชากร ชาย 67,394 คน หญิง 73,455 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2558) อาชีพหลักของประชากรคือเกษตรกรกรรม อาชีพรองคือ รับจ้าง มีผลผลิตทางการเกษตรที่ส�ำคัญ คือ ข้าว
ผลงานดีเด่นของนายอ�ำเภอ
นายสุชน ภัยธิราช นายอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา มี หลักในการท�ำงานคือ ทุกเรื่อง ทุกปัญหา สามารถท�ำได้ แก้ ปัญหาได้ โดยการบูรณาการ การปฏิบัติทุกภาคส่วน โดยท่าน ได้รับการเสนอชื่อให้เป็น 1 ใน 12 นายอ�ำเภอที่มีผลงานดีเด่น เพื่อคัดเลือกอ�ำเภอแหวนเพชร ประจ�ำปี 2558 (พื้นที่ปกติ) โดยมีผลการด�ำเนินงานส�ำคัญ ได้แก่
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1. ป้อมและปราสาท ได้แก่ ป้อมเพชร ป้อมประตู ข้าวเปลือก 2. พระราชวังและต�ำหนัก ได้แก่ พระราชวังหลวง หรือพระราชวังโบราณ ซึ่งประกอบด้วยพระที่นั่งต่างๆ เช่น พระที่นั่งสุริยาอมรินทร์ พระที่นั่งสรรเพชรปราสาท พระที่นั่ง จักรวรรดิไพชยนต์ พระที่นั่งตรีมุข วังจันทร์เกษมหรือวังหน้า วังหลัง 3. วัดที่ส�ำคัญ ได้แก่ วัดพระศรีสรรเพชร วิหารพระ ราชมงคลบพิตร วัดพระงาม วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัด สุวรรณดาราราม วัดพุทไธศวรรย์ วัดไชยวัฒนาราม วัด หน้าพระเมรุ วัดพนัญเชิงวรวิหาร วัดภูเขาทอง วัดกุฎีดาว วัดกษัตราธิราชวรวิหาร วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร สถานที่ท่องเที่ยวด้านอื่น ๆ ได้แก่ พิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติจันทร์เกษม พิพิธภัณฑ์แห่งชาติเจ้าสามพระยา เจดีย์ ศรีสุริโยทัย เพนียดคล้องช้าง ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธ ยา หมู่บ้านญี่ปุ่น หมู่บ้านโปตุเกส สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบ รมราชชนนี บึงพระราม พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย พระบรมราชานุ สาวรีย ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ อนุ ส รณ์ สถานแห่ ง ความจงรัก ภัก ดี
1.การป้องกันและแก้ไขปัญหาในฐานะผู้อ�ำนวยการ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารป้ อ งกั น และ แก้ ไ ขปั ญ หายาเสพติ ด (ศป. ปส.อ.พระนครศรีอยุธยา) 2. การช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ระสบภัยแล้ง จ�ำนวน 65 ราย พื้นที่ 1,585 ไร่ ซึ่งใช้ งบประมาณราชการ 100,000 บาท (นายอ�ำเภอประสานของบช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนเร่งด่วนจากจังหวัด) และเกษตรกร ผู้น�ำท้องที่สมทบ 100,000 บาท 3. การเสนอโครงการพัฒนาในพื้นที่จากงบประมาณ พัฒนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประจ�ำปี 2559 โดยการร่วม คิดและเห็นพ้องในการด�ำเนินการ ซึ่งได้รับอนุมัติจ�ำนวน 2 โครงการ คือ โครงการก่อสร้างแพตลาดน�้ำกรุงศรีอยุธยา พร้อมเรือ เป็นเงิน 13 ล้านบาทเศษ และ โครงการก่อสร้าง สนามฟุตบอลหญ้าเทียม พร้อมอาคารมีหลังคา และอัฒจันทร์ เป็นเงิน 4,700,000 บาท 4. การพัฒนาปรับปรุงทีว่ า่ การอ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา โดยใม่ใช้งบประมาณจากราชการ 5.ร่วมเป็นคณะกรรมการด�ำเนินการแก้ไขปัญหาบ่อ ขยะ ต.บ้านป้อม อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา จนแล้วเสร็จ Ayutthaya 89
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านป้อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมี นายอภิชาติ สุขสมบูรณ์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านป้อม ซึ่งในปี 2558 ได้ด�ำเนินกิจกรรมตามนโยบาย การพัฒนาท้องถิ่น และเพื่อสนองนโยบาย ของรัฐบาล ดังต่อไปนี้
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านป้อม กิจกรรมเคารพธงชาติ
อบต.บ้ า นป้ อ ม จั ด กิ จ กรรมเคารพธงชาติ ทุ ก เช้ า เพื่ อ ให้ ข้ า ราชการ พนั ก งาน และโรงเรี ย นในพื้ น ที่ ข องอบต.บ้ า นป้ อ ม เกิดส�ำนึกรักสมัครสามัคคี และหวงแหนในความเป็นชาติที่เป็น ปึกแผ่นมั่นคงทุกวันนี้ได้ สนองตอบนโยบายของ คสช.และรัฐบาล พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เพือ่ แสดงความรักสามัคคีของคนในชาติ
โครงการหล่อเทียนและถวายเทียนจ�ำน�ำพรรษา ประจ� ำ ปี 2558
อบต.บ้านป้อม ส่งเสริมประเพณีทางศาสนาและวัฒนธรรม อั น ดี ง ามที่ สื บ ทอดต่ อ เนื่ อ งจากอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น จึ ง จั ด ให้ มี ก าร หล่อเทียนและถวายเทียนจ�ำน�ำพรรษา ในเทศกาลเข้าพรรษาและ วันอาสาฬหบูชา เพือ่ ให้พทุ ธศาสนิกชน ข้าราชการ ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น นักเรียน ประชาชนได้มีโอกาสได้เข้าถึงพระพุทธศาสนาด้วยวิธีง่ายๆ และไม่ลำ� บาก
90
โครงการส่งเสริมสุขภาพหนูน้อยนมแม่ ประจ�ำปี 2558
อบต.บ้านป้อม เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการเลี้ยงทารก แรกเกิด เพื่อให้มีพัฒนาการที่ดีและเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่อย่าง มีคุณภาพ จึงจัดโครงการรณรงค์ให้มารดาที่คลอดบุตรใหม่ๆ เลี้ยงดู บุตรด้วยนมแม่ เพื่อสร้างสายใย ความรัก ความอบอุ่น จากแม่สู่ลูก และสู่อนาคต และมีการสอนคุณแม่มือใหม่ให้รู้จักวิธีการให้นมแม่ ที่ถูกต้อง พร้อมกับสังเกตการพัฒนาของลูกน้อย และจัดกิจกรรม ทดสอบการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกาย จิตใจ และการตอบสนอง การแสดงออกในด้านต่างๆ เพือ่ เป็นแนวทางให้แก่คุณแม่
วันเด็กแห่งชาติ 2558
อบต.บ้านป้อม เล็งเห็นความส�ำคัญของเด็กและเยาวชน จึงเห็นสมควร จัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนได้แสดงออก เป็นการเสริมสร้างความสามัคคี รู้จักการ ให้อภัย เอือ้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ มีน�้ำใจนักกีฬา เพื่อให้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีของชาติในอนาคต หนึ่งในกิจกรรม คือ ให้เด็กและเยาวชนได้นั่งเก้าอี้นายก อบต.
วันแม่แห่งชาติ 2558
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ทรงจัดกิจกรรม Bike For Mum เพือ่ เทิดพระเกียรติ เนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ 12 สิ งหาคม 2558 โดยการปั่นจักรยาน เพื่อแสดงความรักที่มี ต่อแม่ และแสดงความสามัคคีของประชาชนในชาติ อบต.บ้านป้อม ได้เล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญดังกล่าว จึงได้จดั กิจกรรม Bike For Mum ขึน้ ณ อบต.บ้านป้อม โดยมีประชาชน ครู นักเรียน สมาชิกสภา อบต. ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านและพนักงานเข้าร่วมกิจกรรม จ�ำนวนมาก
โครงการรณรงค์คัดแยกขยะก่อนทิ้ง
อบต.บ้านป้อม จัดโครงการรณรงค์คัดแยกขยะก่อนทิ้ง สร้าง จิตส�ำนึกการรักความสะอาด โดยจัดอบรมให้กบั นักเรียน และประชาชน ได้มีความรู้ ความเข้าใจ การคัดแยกขยะที่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ ขยะประเภทใดมีอันตราย ประเภทใดไม่สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ การท�ำปุ๋ยชีวภาพ
โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5
วันพ่อแห่งชาติ 2557
วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันเฉลิม พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันเป็นทีเ่ คารพรัก เทิดทูน และทรงเป็นศูนย์รวม ดวงใจของปวงชนชาวไทยทุกคน อบต.บ้านป้อม จึงจัดกิจกรรมเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และ แสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ขอพระองค์ทรงพระเจริญ
เป็ น โครงการในด� ำ ริ ข องสมเด็ จ พระมหารั ช มั ง คลาจารย์ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ส มเด็ จ พระสั ง ฆราช ตามมติ มส. โดยการท�ำวัตรสวดมนต์เย็น รักษาศีล 5 อบต.บ้านป้อม ร่วมกับวัดท่าการ้อง จัดกิจกรรมสวดมนต์ ท�ำวัตรเย็น โดยมีประชาชน พนักงานคณะผู้บริหาร ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมาก
โครงการสอนน้องลอยน�ำ้
โครงการสอนน้องลอยตัวในน�ำ้ เป็นโครงการ ริเริม่ ใหม่ เนือ่ งจาก อบต.บ้านป้อม อยูต่ ดิ แม่นำ�้ เจ้าพระยา ฤดูนำ�้ หลากเสีย่ งต่อภาวะน�ำ้ ท่วม สถิตเิ ด็กจมน�ำ้ เสียชีวติ มีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ จึงริเริม่ โครงการ เพือ่ สอนให้เด็กนักเรียน ในระดั บ ชั้ น อนุ บ าล ได้ เ รี ย นรู ้ วิ ธีก ารลอยตั ว ในน�้ ำ การใช้วสั ดุอปุ กรณ์ใกล้ตวั ในการเอาชีวติ รอด การเรียนรู้ วิธีการหรือภาษามือต่าง ๆ ในการขอความช่วยเหลือ ขณะจมน�ำ้ หรือเห็นคนจมน�ำ้
Ayutthaya 91
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวนพริก
“สวนพริกต�ำบลน่าอยู่ สาธารณูปโภคพร้อม สิ่งแวดล้อมดี คนมีคุณธรรม เลิศล�้ำ การศึกษา เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวก้าวหน้า น�ำสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลสวนพริก ตัง้ อยูห่ มูท่ ่ี 2 ต�ำบลสวนพริก อ�ำเภอพระนคร ศรีอยุธยา จังหวัพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ ไปทางทิศเหนือ ประมาณ 5 กิโลเมตร ปัจจุบัน มี นายสมชาย ธาราพงษ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวนพริก
ประวัติความเป็นมา ต�ำบลสวนพริก จัดตั้งขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏแน่ชัด แต่ตามหลัก ฐานและค�ำบอกเล่าของราษฎรสันนิษฐานได้ว่า ในสมัยรัชกาล ที่ 5 สมเด็จพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ามหามาลากรมพระยา บ�ำราบปรปักษ์ ได้มาสร้างวัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหารขึ้น และมีราษฎรอพยพเข้ามาอยู่อาศัยท�ำมาหากินตามริมแม่น�้ำ ลพบุรี และจัดตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้นเป็นต�ำบลสวนพริก ค�ำว่า “สวนพริ ก ” มาจากชื่ อ คลองสายหนึ่ ง ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ตื้ น เขิ น ใช้ประโยชน์ไม่ได้ 92
ข้อมูลทั่วไป
อบต.ต�ำบลสวนพริก เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาดกลาง มีเนื้อที่ประมาณ 6.7 ตร.กม. หรือประมาณ 4,187.5 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มน�้ำท่วมขัง เหมาะแก่การท�ำการ เกษตร และเลี้ยงสัตว์ มีแม่น�้ำลพบุรี และคลองบางขวด ซึ่งเป็น คลองขนาดใหญ่ไหลผ่านพื้นที่ทั้ง 6 หมู่บ้าน วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร
วัดป้อมรามัญ
จ�ำนวนหมู่บ้าน/ประชากร ต�ำบลสวนพริกแบ่งการ ปกครองเป็น 6 หมู่บ้าน ประกอบด้วยประชากรชาย 1,991 คน หญิง 2,083 คน รวม 4,074 คน จ�ำนวนครัวเรือน 1,262 ครัวเรือน สภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ในต�ำบลสวน พริก ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ลูกจ้างบริษัทเอกชน รองลงมาคือ ประกอบอาชีพท�ำอิฐ การเกษตร และรับราชการ โดยมีการรวมกลุ่ม ประกอบอาชีพ ได้แก่ กลุ่มนวดแผนโบราณและอบสมุนไพร กลุ่มท�ำ อิฐมอญโบราณ กลุ่มท�ำกรงนก และกลุ่มอาชีพแกะสลักไม้ การศึกษา มีโรงเรียน 2 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ (ขยายโอกาสถึงระดับ ม.3) หมู่ 1 และโรงเรียนต�ำหนักเพนียด หมู่ 3 และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (วัดสว่างอารมณ์) หมู่ 1
วัดสว่างอารมณ์
เพนียดคล้องช้าง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา ได้แก่ วัดสว่างอารมณ์ หมู่ 1, วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร หมู่ 2, วัดป้อมรามัญ หมู่ 4 และวัดกลางรามัญ หมู่ 5 วัดกลางรามัญ
สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเพนียด
กลุ่มนวดแผนโบราณและอบสมุนไพร
หมู่ 2 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสวนพริก หมู่ 4
หมูท่ ี่ 3
ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ มีปอ้ มยามต�ำรวจ
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ กลุ่มท�ำอิฐมอญโบราณ
กลุ่มอาชีพสานผักตบชวา
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญในเขตต�ำบลสวนพริก และเป็น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วส� ำ คั ญ แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ได้แก่ เพนียดคล้องช้าง (พระที่นั่งเพนียด) ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 3 บ้านเพนียด วัดบรมวงศ์อิศรวรารามวรวิหาร เป็นพระอาราม หลวงชั้นโท สร้างในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ 2 บ้านพริก สวน วัดป้อมรามัญ ตั้งอยู่บริเวณหมู่ 4 มีพ่อปู่ชูชกขนาดใหญ่ที่สุด ในโลก วัดสว่างอารมณ์ ตั้งอยู่บริเวณหมู่1 และวัดกลางรามัญ ตั้ง อยู่บริเวณหมู่ 5 ซึ่งเป็นวัดที่สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
กลุ่มท�ำกรงนก
กลุ่มแกะสลักไม้ Ayutthaya 93
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน “พัฒนาสิ่งแวดล้อม พร้อมใจบริการ ประสานงานริเริ่ม ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น”
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน ซึ่งมีส�ำนักงาน ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บลเกาะเรี ย น อ� ำ เภอพระนครศรี อ ยุ ธ ยา จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมี นายศักราช อัมวงษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งนายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน และนางสาวเยาวมาลย์ณฤมล มั่นใจอารยะ ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน
ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน ได้ยกฐานะมาจากสภาต�ำบลเกาะเรียน
เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวัน ที่ 19 มกราคม 2539 ต่อมาเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2547 กระทรวงมหาดไทย ประกาศ ได้ประกาศยุบรวมองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองสวนพลู และสภา ต�ำบลบ้านรุน รวมกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน 94
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 14.25 ตารางกิโลเมตร หรือ 8,499ไร่ มีเขตความรับผิดชอบ 3 ต�ำบล 14 หมู่บ้าน ประกอบด้วย ต�ำบลเกาะเรียน 7 หมู่บ้าน ต�ำบลคลองสวนพลู 3 หมู่บ้าน ต�ำบลบ้านรุน 4 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากรในพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 7,080 คน แยกเป็นชาย 3,289 คน คิดเป็นร้อยละ 46.45 และหญิง 3,791 คน คิดเป็นร้อยละ 53.55 ความหนาแน่นเฉลี่ย 496.84 คน/ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มแม่น�้ำและเป็นพื้นที่นา มีแม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน และมีคลองซอยแยกหลายสาย เหมาะที่จะเป็นแหล่งผลิตพืชผลทางการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง
ศูนย์รวมจิตใจคนในชุมชน วัดช่างทอง
ต.เกาะเรียน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
วัดทรงกุศล
ต.เกาะเรียน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม
ต.บ้านรุน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา
แหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญ หมูบ่ า้ นญีป่ นุ่ เล่าเรือ่ งราวประวัตศิ าสตร์อยุธยา สมัยทีอ่ ยุธยารุง่ เรื่องถึงขีดสุด มีการค้าขายกับนานาชาติ หลายประเทศรวมั้งญี่ปุ่น จนเป็นชุมชนญี่ปุ่นเกิดขึ้นในไทย ยามาดะ นางามาซะ หรือ ออกญา เสนาภิมขุ ผูน้ ำ� และหัวหน้าหมูบ่ า้ นญีป่ นุ สมัยนัน้ ได้ตงั้ กองอาสาญีป่ นุ่ ขึ้ น และช่ ว ยปราบกบฎ จนได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ถึ ง เจ้ า เมื อ ง นครศรีธรรมราช ...ศูนย์ศกึ ษาประวัตศิ าสตร์อยุธยา แห่งนีจ้ งึ น่าสนใจ ไม่น้อย และรอบบริเวณยังจัดเป็นสวนแบบญี่ปุ่น เพื่อระลึกถึงชาว ญี่ปุ่นในสมัยนั้นด้วย Ayutthaya 95
ผลิตภัณฑ์ในชุมชน มี 3 อย่าง
ดอกโสนประดิษฐ์ (OTOP) จากกลุ่มแม่บ้านต�ำบลคลองสวนพลู ขนมไทย ป้ามะลิ ภาดาพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต�ำบลเกาะเรียน พรมเช็ดเท้า จากกลุ่มแม่บ้านต�ำบลบ้านรุน
กิจกรรมวันพ่อ
กิจกรรมวันสงกรานต์
กิจกรรมแห่เทียนพรรษา
โครงการบริการแพทย์ฉุกเฉินและผู้ป่วยใน ชุมชน
กิจกรรมวันเด็ก
กิจกรรมหมู่บ้านรักษาศิล5
สิ่งดีๆ ตามนโยบายผู้บริหาร โดยนายกศักราชฯ ในปีงบประมาณ 2557-2558 ที่ผ่านมา
กิจกรรมแจกเบี้ยผู้สูงอายุและคนพิการ
โครงการท�ำความสะอาดเพื่อแผ่นดินฯ
96
- กิจกรรมวันพ่อ ประจ�ำปี 2557 - กิจกรรมวันเด็ก ประจ�ำปี 2558 - กิจกรรมวันสงกรานต์ ประจ�ำปี 2558 โครงการสูงวัย อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีศักดิ์ศรี - กิจกรรมแห่เทียนพรรษา ประจ�ำปี 2558 - โครงการบริการแพทย์ฉุกเฉินและผู้ป่วยในชุมชน - กิจกรรมหมู่บ้านรักษาศีล 5 ณ วัดไก่เตี้ยพฤฒาราม - กิจกรรมแจกเบี้ยผู้สูงอายุและคนพิการ - โครงการท�ำความดีเพื่อแผ่นดิน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ *สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเกาะเรียน โทรศัพท์ 035-259863 แฟกซ์ 035-259866 หรือ www.khorean.go.th
วัดไชยวัฒนาราม เป็นโบราณสถาน อันเป็นมรดกโลก
แผนทีท่ างน�ำ้ วัดไก่เตี้ย
วัดโปรดสัตว์ วัดท�ำเลไทย
วัดพุทไธศวรรย์
วัดบางกะจะ
วัดช่างทอง
วัดทรงกุศล วัดพนัญเชิงวรวิหาร
ตลาดน�้ำกรุงศรี มีเรือแจว สมัยรัชกาลที่ 5 มีเรือขายผลิตภัณฑ์และอาหารพื้นบ้าน พร้อมทั้งชมการสาธิต ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ส�ำคัญของจังหวัด อาทิ เช่น การท�ำผลิตภัณฑ์ จากดอกโสน การท�ำขนมไทยแบบโบราณ เป็นต้น
วัดเกาะแก้ว
"นโยบายเชิงรุก สนับสนุนปีแห่งการท่องเทีย่ ววิถไี ทย โครงการตลาดน�ำ้ กรุงศรี จัดสร้าง ขึน้ บริเว ณ วัดช่างทอง โดยมีการย้อนยุคของตลาดน�ำ้ ทีเ่ ป็นวิถธี รรมชาติทแี่ ท้จริง”
หลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง
วัดพุทไธศวรรย์
วัดท�ำเลไทย
วัดโปรดสัตว์
วัดบางกะจะ
วัดเกาะแก้ว
วัดไชยวัฒนาราม Ayutthaya 97
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดอโยธยา วัดอโยธยา (วัดเดิม) ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็น โบราณสถานแห่งชาติ เมื่อ พ.ศ.2486 โดยประกาศในราชกิจ จานุเบกษา เล่มที่ 60 ตอนที่ 39 วันที่ 20 กรกฎาคม 2486 ปัจจุบันมี พระครูสังฆรักษ์ปัญญาพล ปญฺญาพโล เป็นเจ้าอา วาสวัดอโยธยา
ประวัติความเป็นมา
วัดอโยธยาตั้งอยู่บริเวณตอนเหนือของเขตอนุรักษ์เมือง เก่าอโยธยา ในท้องที่ต�ำบลหันตรา อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรียกได้อีกอย่างว่า “วัดศรีอโยธยา” หรือ “วัดเดิม” ตามต�ำนานในพงศาวดารเหนือเชื่อว่า บริเวณ ของวัดนี้เคยเป็นพระราชวังสมัยอโยธยา ต่อมาเมื่อกษัตริย์ผู้ ปกครองเมืองได้ถวายพื้นที่วังให้สร้างเป็นวัด จึงได้ชื่อว่า วัด เดิม อันเป็นศูนย์กลางของเมืองอโยธยาริมแม่น�้ำป่าสัก ก่อนที่ พระเจ้าอู่ทองจะสถาปนากรุงศรีอยุธยา ณ หนองโสน
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่กล่าวขานถึงของพระอุโบสถ (สร้างขึ้นใหม่บนฐานที่เคยเป็นพระอุโบสถเก่าในสมัยอยุธยา) คือพระฉาย หรือเงาของพระพุทธศรีอโยธยา พระประธานใน อุโบสถได้ปรากฏขึ้นบนหน้าบันอย่างประหลาด ช่างที่บูรณะ 98
พระอุโบสถจึงมิกล้าแตะต้องหน้าบันส่วนนีแ้ ต่อย่างใด คงพระฉาย ของพระพุทธศรีอโยธยาไว้ให้เป็นที่สักการะแก่มหาชน
เหตุการณ์ส�ำคัญของวัดอโยธยา
วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม 2516 เวลา 10.45 น. พระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม ราชินนี าถ เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ ไปทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้ากฐินต้น ณ วัดอโยธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และทรงเยี่ยมราษฎร ในการนี้ผู้มีจิตศรัทธา หลายคนเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเงินโดยเสด็จพระราชกุศลตามพ ระราชอัธยาศัย แล้วทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเงิน ทัง้ หมดให้แก่การศึกษาธิการจังหวัด เพือ่ น�ำไปใช้ในการบูรณะและ ปฏิสังขรณ์วัดอโยธยา
พระครูสังฆรักษ์ปัญญาพล ปญฺญาพโล
Ayutthaya 99
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร
วัดกษัตราธิราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ตั้งอยู่ริม แม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เลขที่ 15 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตรงข้ามกับโรงงานสุราของ กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง (บริเวณวังหลังเดิม)วัดนี้มีเนื้อที่ 37 ไร่ 69 วา
ประวัติวัดกษัตราธิราชวรวิหาร
วัดนี้เป็นวัดโบราณ มีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเดิมชื่อ “วัดกระษัตรา” หรือ “วัดกระษัตราราม” แต่จะสร้างเมื่อใดและใคร เป็นผู้สร้างไม่ปรากฏหลักฐาน ขณะที่ชื่อของวัดชวนให้ท่านผู้รู้ส่วนมาก สันนิษฐานว่า คงจะเป็นวัดทีพ่ ระมหากษัตริยห์ รือพระบรมวงศานุวงศ์ครัง้ กรุงศรีอยุธยาพระองค์ใดพระองค์หนึง่ ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสงั ขรณ์ขนึ้ ดังนั้น วัดนี้จึงมีชื่อว่าวัดกระษัตรา หรือ วัดกระษัตราราม ซึ่งหมายความ ว่า เป็นวัดของพระมหากษัตริย์ หรือวัดของพระเจ้าแผ่นดิน หลักฐานส�ำคัญที่แสดงว่าวัดนี้มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาคือมีการ กล่าวชื่อ กระษัตรา ในเอกสารหนังสือประชุมพงศาวดารภาคที่ 63 เรื่อง กรุงเก่า ว่าด้วยแผนที่กรุงศรีอยุธยา ตอนหนึ่งมีความว่า… “…ด้านขื่อประจิมทิศ เรือจ้างบ้านชัย ข้ามออกไป วัดไชยราม (วัดไชย 100
วัฒนาราม) เรือจ้างวังหลวงข้ามออกไปวัดลอดฉอง (วัดลอด ช่อง) เรือจ้างด่านข้ามออกไป (วัด) กระษัตรา เรือจ้างข้ามออก ไปธาระมา ด้านขื่อปัจจิมทิศ มีเรือจ้างสี่ต�ำบล….” จากการพิจารณาตามความดังกล่าวมา เข้าใจว่า เมือ่ ครัง้ กรุงศรีอยุธยา ณ บริเวณภูมิสถานที่ตั้งวัดกษัตราธิราช ซึ่งอยู่ ตรงข้ามกับวังหลัง (วัดสวนหลวง) คงเป็นท่าเรือจ้างทีม่ ชี อื่ เสียง แห่งหนึง่ และคงมีประชาชนพลเมืองข้ามฟากไป-มาเป็นประจ�ำ ด้วยบริเวณแถบนีม้ ตี ลาดย่านการค้าทีเ่ ป็นแหล่งชุมชนอยูห่ ลาย แห่ง ซึง่ มีกล่าวไว้ในพงศาวดาร เช่น ตลาดกวนลอดช่อง ตลาด เรือจ้างวัดธาระมา (วัดธรรมาราม) ตลาดบ้านป้อมตรงขนอน ปากคู ตลาด(หัว) แหลมคลองมหานาค ฯลฯ ในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) กล่าวออกชือ่ วัดกษัตราธิราชเป็นครัง้ แรก เมือ่ พ.ศ. 2303 ในแผ่นดินสมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ความว่า “….ครัน้ ณ วันเดือน 5 แรม 14 ค�ำ่ ปีมะโรงโทศก (พ.ศ.2303) พม่าเอาปืนใหญ่มาตั้ง ณ วัดราชพลี วัดกษัตรายิงเข้าในกรุง พระเจ้าอยูห่ วั ทรงช้างต้นพลายแสนพลพ่ายไปทอดพระเนตร ก�ำชับหน้าที่ ณ วัดสวนหลวงสบสวรรค์และป้อมมหาชัย ครัน้ เพลาเย็น พม่าเลิกทัพข้ามฟากไปข้างวัดภูเขาทอง…..” ส่วนต�ำบลทีต่ งั้ วัดทีม่ ชี อื่ ว่า “ต�ำบลบ้านป้อม” นัน้ ก็เป็นชือ่ ที่มีมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในแผ่นดินสมเด็จพระมหาจักร พรรดิทรงโปรดให้สร้างป้อมไว้ที่นอกพระนครด้านตะวันตก อยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก มีชื่อว่า “ป้อมจ�ำปาพล” บริเวณทีต่ งั้ ป้อมอยูเ่ หนือวัดท่าการ้องขึน้ ไป ตรงข้ามปากคลอง
วัดภูเขาทองซึ่งในปัจจุบันนี้ยังมีซากป้อมปรากฏอยู่บ้างเพียงเล็ก น้อยและวัดทีต่ งั้ อยูใ่ นบริเวณป้อมนัน้ ก็ยงั เรียกชือ่ ว่า “วัดป้อม” อยู่ ถึง 2 วัดด้วยกันคือ วัดป้อมใหญ่และวัดป้อมน้อย (วัดป้อมเหนือ วัดป้อมใต้ ก็เรียก) ปัจจุบันเป็นวัดป้อมใหญ่บริเวณด้านหลังวัด กษัตราธิราชมีทุ่งกว้างอยู่แห่งหนึ่งเรียกกันมาแต่โบราณว่า “ทุ่ง ประเชต” มีวัดวรเชษฐตั้งอยู่ที่ชายทุ่งนี้ ในค�ำให้การชาวกรุงเก่า ว่า เมื่อมังมหานรธายกเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยา มาตั้งค่ายล้อม กรุงฯ ทีต่ ำ� บลต่างๆ 8 แห่งทางทิศตะวันตกของทีต่ งั้ วัดนี้ นอกจาก นั้น เคยปรากฏว่าพม่าได้ยึดเอาที่นี้เป็นที่มั่นตั้งกองทัพเข้าตีกรุง ศรีอยุธยาหลายครั้งดังปรากฏเรื่องราวอยู่ในพระราชพงศาวดาร แล้วตามหลักฐานต่างๆ ที่ปรากฏตามเอกสารดังกล่าวมา แสดง ให้รวู้ า่ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดกษัตราธิราช จักต้องเป็นวัดทีม่ ชี อื่ เสียงและเป็นวัดส�ำคัญวัดหนึ่ง วัดกษัตราธิราช คงจะถูกข้าศึกท�ำลายอย่างยับเยินเมือ่ คราว เสียกรุงฯ ครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2310 หรือก่อนหน้า นัน้ เนือ่ งจากทีต่ งั้ วัดอยูไ่ ม่ไกลกับวัดท่าการ้อง วัดลอดช่องและวัด วรเชษฐ ซึ่งเป็นวัดที่ตั้งค่ายของพม่ามากนัก ผู้คนจึงพากันอพยพ หลบหนีภัยสงคราม แม้พระสงฆ์ก็คงจะอยู่ไม่ได้ วัดจึงต้องร้างไป ในที่สุดและคงจะตกเป็นวัดร้างมาเป็นเวลาหลายปี จากหลักฐานต่างๆ ทีป่ รากฏตามเอกสารดังกล่าวมา ถ้าหาก จะนับจาก พ.ศ. 2303 จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2558) ก็เป็นเวลานาน ถึง 255 ปี แสดงให้รู้ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาวัดกษัตราธิราช จัก ต้องเป็นวัดที่มีชื่อเสียงและมีความส�ำคัญวัดหนึ่งซึ่งมีหลักฐาน ความเป็นมาอย่างต่อเนื่องอันยาวนาน Ayutthaya 101
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดใหญ่ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคล วั ด ใหญ่ ชั ย มงคล เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ ทาง ประวัติศาสตร์มากที่สุด และเป็นวัดที่มีนักท่องเที่ยวนิยมมา เที่ยวมากที่สุดวัดหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด้านหลัง วัดมีต�ำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธา เข้ามากราบไหว้
ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคล สร้างขึ้นในรัชสมัย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา ตามต�ำนานกล่าวว่า เมื่อ พ.ศ. 1900 สมเด็จพระเจ้าอู่ทองได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ ขุดศพเจ้าแก้ว ซึง่ ทิวงคตด้วยอหิวาตกโรคขึน้ มาเผา ทีป่ ลงศพ นั้นโปรดฯให้สถาปนาเป็นพระอาราม นามว่า “วัดป่าแก้ว” ต่อมาคณะสงฆ์สำ� นักวัดป่าแก้วบวชเรียนมาจากส�ำนัก รัตนมหาเถระ ในประเทศศรีลังกาคณะสงฆ์นี้เป็นที่เคารพ เลื่อมใสแก่ชาวกรุงศรีอยุธยาเป็นอันมาก ท�ำให้ผู้คนต่างมา บวชเรียนในส�ำนักสงฆ์คณะป่าแก้วมากขึ้น สมเด็จพระเจ้า อู่ทอง จึงทรงตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จพระวันรัตน์ มี ต�ำแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวา คู่กับ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ซึ่งมี ต�ำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคันถธุระ 102
เรื่องราวส�ำคัญในประวัติศาสตร์ของวัดป่าแก้วมีอยู่ว่า อุโบสถของวัดเคยเป็นทีซ่ งึ่ ขุนพิเรนทรเทพ และพรรคพวก มา ประชุ ม เสี่ ย งเที ย นเพื่ อ จะเป็ น นิ มิ ต หมายในการไปปราบ ขุนวรวงศาและท้าวศรีสดุ าจันทร์ วิธกี ารเสีย่ งเทียนคือการฟัน่ เทียนขึ้นมา 2 เล่ม เล่มหนึ่งแทนตัวขุนวรวงศา(กษัตริย์ที่นัก วิชาการหลายท่านไม่นับรวมว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์อยุธยา) เทียนอีกเล่มหนึ่งแทนตัวพระเฑียรราชา หน่อเนื้อเชื้อกษัตริย์ อันหลบหลีกปัญหาการแย่งชิงบัลลังก์ และไปบวชอยู่ที่วัดราช ประดิษฐาน เมื่อจุดเทียนขึ้นพร้อมกัน เทียนเล่มที่เป็นตัวแทน ของขุนวรวงศา มีเหตุให้ดับลงก่อน จึงถือว่าการล้มล้างจะเป็น ผลส�ำเร็จ
ครัน้ ปราบขุนวรวงศาได้รบั ผลส�ำเร็จ จึงอัญเชิญพระเฑียร ราชาลาผนวช ขึ้นครองราชย์สมบัติ ทรงพระนามว่า สมเด็จ พระมหาจั ก รพรรดิ พ.ศ.2104 ในรัชกาลของสมเด็จพระ มหาจักรพรรดินั้นเอง ได้มีพระบรมราชโองการให้เอาสังฆราช วัดป่าแก้วไปส�ำเร็จโทษ ฐานฝักใฝ่ให้ฤกษ์ยามแก่ฝ่ายกบฏพระ ศรีศิลป์ ต่อมาปีพ.ศ. 2135 ในสมัยพระนเรศวรมหาราช มี เหตุการณ์ส�ำคัญที่ชวนให้เข้าใจว่ามีการสร้างปฏิสังขรณ์เจดีย์ ประธานวัด เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศที่พระองค์ทรงได้ชัยชนะ เหนือพระมหาอุปราชแห่งพม่า จึงท�ำให้เชื่อว่าเป็นที่มาของชื่อ “วัดใหญ่ชัยมงคล”
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
เจดีย์ชัยมงคล อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ่ที่ สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ทรงรบชนะ มังกะยอชวาพระมหาอุปราช ของหงสาวดี ที่ ต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี เมื่อกลับมาสู่ พระนครแล้ว พระองค์จะประหารชีวติ เหล่าทหารทีต่ ามไปไม่ทนั ช่วงเวลาที่รออาญา สมเด็จพระพันรัตน์ พระสังฆราช พร้อม ด้วยพระสงฆ์ 25 รูป ได้ขอพระราชทานอภัยโทษ โดยให้เหตุผล ว่าพระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่แวดล้อมด้วยหมู่ มารก่อนทีจ่ ะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้า หาญ และเก่งกาจของพระองค์ให้ขจรกระจายไปทั่วแคว้นทั่ว
พระครู พิสุทธิ์บุญสาร
แผ่นดิน สมเด็จพระนเรศวรจึงโปรดเกล้าฯให้สร้างเจดียอ์ งค์ ใหญ่ขนึ้ เพือ่ เป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะและความมีนำ�้ พระทัย ของพระองค์ทมี่ ตี อ่ เหล่าทหารเหล่านัน้ และพระราชทานนาม ว่า “เจดีย์ชัยมงคล” พระอุโบสถ ภายในอุโบสถมีพระพุทธรูปส�ำคัญหลาย องค์ ส่วนทีเ่ ป็นองค์ประธานเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ปัน้ ด้วยหินทรายตลอดทั้งองค์ ส่วนที่เป็นจีวรลงรักปิดทอง ประดับแก้ว ส่วนทีไ่ ม่ใช่จวี รนัน้ ว่างเว้นเห็นเป็นเนือ้ หินทราย ที่สวยงาม วิหารพระพุทธไสยาสน์ ภายในประดิษฐานพระพุทธ ไสยาสน์ ซึ่งสร้างขึ้นในแผ่นดินของ สมเด็จพระนเรศวร มหาราช พระพุทธรูปองค์นไี้ ด้รบั การปฏิสงั ขรณ์ใหม่ในปี พ.ศ. 2508 นักท่องเที่ยวสามารถถ่ายรูปจากมุมนี้ออกไปสู่วิวด้าน หลังที่เห็นเป็นองค์เจดีย์ชัยมงคล เดินต่อไปตามทางเดินก็จะ พบ ศาลเจ้าพ่อสิทธิชัย ซึ่งตั้งอยู่ทางซ้ายมือ การเดินทาง หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสาย เอเชีย (ทางหลวงหมายเลข 32) เลี้ยวซ้ายตรงสี่แยกเข้า อยุธยา ตรงเข้ามาจะพบวงเวียนเจดีย์วัดสามปลื้ม ให้เลี้ยว ซ้ายไปอีก 1.5 กม. วัดใหญ่ชัยมงคล จะอยู่ทางซ้ายมือ เปิด 8.30-16.30 น. คนไทยเข้าฟรี ชาวต่างชาติเสีย 20 บาท Ayutthaya 103
104
วัดตูม วัดตูม พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ริม คลองวัดตูม และริมถนนอยุธยา-อ่างทอง ห่างจากตัวเมือง อยุธยาประมาณ ๖-๗ กิโลเมตร ในท้องที่ต�ำบลวัดตูม อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เนื้อที่ทั้งหมด 15 ไร่เศษ
ประวัติวัดตูม
วัดตูมเป็นวัดโบราณครั้งสมัยกรุงอโยธยา และเป็นวัด ส� ำ หรั บ ลงเครื่ อ งพิ ชั ย สงครามมาแต่ เ ก่ า ก่ อ น ในสมั ย กรุ ง รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ ๔ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้า พระกฐิน ณ วัดตูมนี้หลายครั้ง ฉะนั้นวัดนี้จึงเป็นพระอาราม หลวงทีม่ คี วามส�ำคัญวัดหนึง่ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตัง้ แต่ รัชกาลที่ ๔ เป็นต้นมา
Ayutthaya 105
รายนามเจ้าอาวาสวัดตูม ๑.หลวงปู่ปาน ๒.หลวงพ่อแผน ๓.หลวงพ่อเล็ก ๔.พระอธิการชุ่ม ๕.พระครูพทุ ธวงศาจารย์ (รุง่ จิตตฺ ปาโล) ปี พ.ศ.๒๔๗๕-๒๔๘๕ ๖.พระสมุห์อู๋ โกสลฺโล (รักษาการ) ๗.พระครูศริ ปิ ณ ุ ยาทร (ถนอม ปุญญ ฺ สิร)ิ ปี พ.ศ.๒๔๘๕-๒๕๒๓ ๘.ท่านเจ้าคุณพระสุวรรณวิมลศิล (รักษาการ) ๙.พระครูสริ ปิ ญ ุ ญาทร (วิชยั จรณธมฺโม) เมือ่ วันที่ ๑ พ.ศ.๒๕๒๕ - พ.ศ.๒๕๔๙ ๑๐.พระสิทธิพัฒโนดม (สมชัย ธุรวาโห) (รักษาการเมื่อ ๑๗ ก.ค. ๒๕๔๙) ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสเมือ่ วันที่ ๒๔ ก.พ. ๒๕๕๐ จนถึงปัจจุบนั
ประวัติพระสิทธิพัฒโนดม พระครูสิทธิพัฒโนดม เกิดในตระกูล “อารีจิตพานิช” มี โยมบิดาชื่อฉอย โยมมารดาชื่อ นิภา เกิดที่ต�ำบลท่าดินแดง อ�ำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมือ่ วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๔๙๒ อุปสมบท เมื่อวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๑๒ ณ พัทธสีมาวัด โคกทอง มีพระมงคลวราจารย์ (หลวงพ่อเชิญ) เป็นพระอุปชั ฌาย์ จารย์ ได้รบั ฉายาว่า “ธุรวาโห” ปัจจุบนั เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอผักไห่ การศึกษา พระปริยัติธรรมสอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนัก วัดโคกทอง พ.ศ.๒๕๑๕ เกียรติประวัติและสมณศักดิ์ พ.ศ.๒๕๑๔ เป็นครูสอนปริยัติธรรมและองค์สวดปาติโมกข์ มา จนถึงปัจจุบัน พ.ศ.๒๕๑๘ เป็นรองเจ้าอาวาสวัดโคกทอง และเป็นพระกร รมวาจาจารย์ พ.ศ.๒๕๒๔ เป็นเจ้าคณะต�ำบลกุฎี พ.ศ. พ.ศ.๒๕๒๕ เป็นพระอุปชั ฌาย์จารย์ และได้รบั พระราช ทาน สมณศักดิเ์ ป็นพระครูเจ้าคณะต�ำบล ชัน้ ตรีที่ “พระครูวรกิจวิธาน” 106
พ.ศ.๒๕๒๗ เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๒๘ เป็นธรรมทูตสาย ๒ ประจ�ำอ�ำเภอผักไห่ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูเจ้า คณะต�ำบลชัน้ โท พ.ศ.๒๕๓๒ วันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๒ ได้รบั พระราชทาน รางวัล “ธรรมจักร” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ในฐานะผูท้ ำ� คุณประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา พ.ศ.๒๕๓๕ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูเจ้า คณะต�ำบลชัน้ เอก พ.ศ.๒๕๔๒ วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๒ รักษาการแทนเจ้าคณะ อ�ำเภอผักไห่ และวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้า คณะอ�ำเภอผักไห่ พ.ศ.๒๕๔๓ วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้า อาวาสวัดโคกทอง พ.ศ.๒๕๔๕ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูเจ้า คณะอ�ำเภอชัน้ เอก พ.ศ.๒๕๔๖ วันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๔๖ สมเด็จพระสังฆราช ประทานพัด หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ.๒๕๔๖ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๖ สมเด็จพรสังฆราช ประทานพัด วัดพัฒนาทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ.๒๕๔๘ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘ ได้รบั โล่เกียรติคณ ุ จาก ส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความมุ่งมั่น พัฒนาวัด จนประสบความส�ำเร็จผ่านเกณฑ์ วัดสะอาด ฆราวาส สุขใจ ระดับดีมาก พ.ศ.๒๕๔๙ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๙ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผู้ รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาสวั ด ตู ม (พระอารามหลวง) อ� ำ เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๕๕๐ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ ได้รบั พรบัญชาเป็น เจ้าอาวาสพระอารามหลวงวัดตูม อ�ำเภพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๕๕๐ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผูร้ กั ษาราชการแทนเจ้าอาวาส วัดโคกทอง พ.ศ.๒๕๕๐ ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นเจ้าอาวาส พระอารามหลวงชัน้ เอก พ.ศ.๒๕๕๒ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๒ สภามหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถวายปริญญาพุทธศาสตรมหา บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ.๒๕๕๓ ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระราชา คณะที่ พระสิทธิพฒ ั โนดม
Ayutthaya 107
ผลงาน ๑. ด�ำเนินการก่อสร้างบูรณปฏิสังขรณ์-พัฒนา วัดโคกทอง ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๒ - พ.ศ.๒๕๔๐ ๒. ด�ำเนินการจัดตั้งทุนนิธิไว้ประจ�ำวัดโคกทอง โดยใช้ชื่อ ทุนนิธิว่า “หลวงพ่อเชิญ พระครูวรกิจวิธานอุปถัมภ์” ๓. ด�ำเนินการจัดสร้างโรงเรียนวัดโคกทอง (บวรวิทยา) จัดตั้งทุนนิธิให้กับเด็กนักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน ตลอดจนจัดสร้าง ส�ำนักงานการประถมศึกษาอ�ำเภอผักไห่ ส�ำนักงานศึกษาธิการอ�ำเภอ ผักไห่ ห้องสมุดประชาชนอ�ำเภอผักไห่ ฯลฯ
108
Ayutthaya 109
พระนักพัฒนาดีเด่นแห่งพระอารามหลวงวัดตูม พระสิทธิพัฒนโนดม เจ้าคณะอ�ำเภอผักไห่ เจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดตูม เมตตาให้ นิตยสาร SBL สัมภาษณ์ท่านเพื่อให้สาธุชนได้รับทราบแนวทางในการปฏิบัติตน และการด�ำเนินชีวิตเพื่อประโยชน์สุขแก่สังคมโดยรวม ดังนี้
เจตนาบวชเพื่อทดแทนพระคุณ
“สมัยเด็ก ๆ อาตมาชอบเล่นบวชพระ บวชเป็นหลวงพ่อตามประสาเด็กชนบท พอโต ก็ตั้งใจที่จะบวชตามประเพณี และบวชเพื่อตอบแทนพระคุณบิดามารดา ก็ได้บวชที่วัดโคกทอง ต�ำบลกุฎี อ�ำเภอผักไห่ จังหวัดอยุธยา เพราะได้ทราบกิตติศพั ท์ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อเชิญ ว่าท่านเป็นพระที่อยู่ในศีลาจารานุวัตรและข้อปฏิบัติ จึงเป็นที่เคารพของผู้คน เมื่อบวชแล้ว หลวงพ่อเชิญท่านได้ชี้แนะแนวทางเรื่องการอุปสมบท อาตมาบวชยังไม่ได้พรรษา ก็มีความ คิดจะลาสิกขาบท ก็ได้ไปกราบเรียนหลวงพ่อเชิญ หลวงพ่อท่านบอกว่า บวชพระก็ช่วย ญาติโยมได้ ขอให้ตั้งใจและสวดมนต์อธิษฐาน เพื่อแรงจูงใจให้ครอบครัวเจริญรุ่งเรืองได้ ด้วยแรงศรัทธาที่ท่านได้ปรารภไว้อาตมาก็ได้บวชต่อไป” “ในขณะนั้นวัดโคกทองมีการบูรณปฏิสังขรณ์อาคารสถาน อาตมาได้พัฒนาวัดช่วย หลวงพ่อเชิญในด้านต่าง ๆ เรื่อยมา และได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดูแลในเรื่องสาธารณูปการ การศึกษา ดูแลงานราชการต�ำบล ๑๓ พรรษา และท่านก็ได้แต่งตั้งอาตมาเป็นเจ้าคณะต�ำบล ๑๘ พรรษา, เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ ๑๗ พรรษา ดูแลปฏิบัติงานช่วยหลวงพ่อเชิญ ท่านมา โดยตลอด ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๒ ถึง พ.ศ.๒๕๔๐”
บูรณะวัดโคกทอง สร้างโรงเรียน-โรงพยาบาลผักไห่
“ตอนทีห่ ลวงพ่อเชิญท่านอายุ ๖๐ กว่า อาตมาบวชยังไม่ถงึ พรรษาที่ ๑๐ ตอนนัน้ อาตมา เป็นฐานานุกรม ของเจ้าคณะอ�ำเภอผักไห่ พระอุดม พิทยากร วัดตึกคชหิรญ ั ท่านก็บอกว่า ช่วย รับงานสร้างสาธารณูปการให้ด้วย เพราะท่านจะเดินสายวิปัสสนา กรรมฐาน อาตมาก็ได้สนอง พระเดชพระคุณ ได้มีการพัฒนาดูแลบูรณะวัดมา ๓๐ พรรษา” “สมัยนัน้ ยังหาปัจจัยได้ยาก อาตมาก็ได้ดแู ลมาตลอด รับช่วงเรือ่ งการสร้างสาธารณูปโภค การศึกษา ซึ่งได้สร้างอาคารเรียนทั้งหมด ซื้อที่ดินให้กับโรงเรียนวัดโคกทอง โดยไม่ได้ใช้งบ ประมาณของทางราชการเลย ซึ่งใช้งบประมาณ ๓๐-๔๐ ล้านบาท อาตมาก็ได้ตัดถนน สร้างสะพานข้ามแม่นำ�้ น้อย สถานีอนามัย โรงพยาบาลผักไห่ และขณะนีก้ ำ� ลังสร้างอาคารผู้ ป่วยใน โรงพยาบาลผั ก ไห่ ขนาด ๓๐ เตี ย ง พร้ อ มอุ ป กรณ์ ก ารแพทย์ ด ้ ว ย เพิ่ ง ถอด ผ้ า ป่ า ไป เมื่อ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๘ ได้ปัจจัยมา ๑๘ ล้านเศษ ซึ่งก็จะมอบให้โรงพยาบาล ผักไห่ทั้งหมด ตอนนี้ก�ำลังด�ำเนินการสร้างสาธารณูปการถวายพระเดชพระคุณหลวงพ่อ เชิญ และหลวงพ่อเพิ่ม”
สนับสนุนการศึกษาเพื่อพัฒนาชาติ
“หากว่าเราไม่ช่วยในด้านนี้ เด็กจากชนบทก็จะด้อยต่อการศึกษา เมื่อด้อยต่อการ ศึกษา ก็ด้อยต่อการพัฒนา จะน�ำความเจริญไปสู่ชุมชน สู่ประเทศชาติก็เป็นเรื่องยาก สิ่งใด ที่จะช่วยพระศาสนาได้ สิ่งใดที่จะช่วยประเทศชาติได้ เราก็จะต้องลงไปดูแลช่วยเหลือ อาตมาจะลงพื้นที่เองทุกอย่าง ไม่ว่าเรื่องการศึกษา การคมนาคม การกระจายผลิตทางการ เกษตรไปสู่ตลาดส่วนกลาง การสร้างถนน การสร้างสะพาน เพื่อให้ผู้เจ็บป่วยได้รับความ สะดวกในการเดินทางไปรักษาที่ตัวอ�ำเภอ บางครั้งการลงพื้นที่ก็ท�ำให้ได้รับความล�ำบาก แต่ก็ ต้องดูแลทุกส่วนในส่วนที่เกี่ยวข้องขณะที่อาตมาอยู่ที่วัดโคกทอง”
ท�ำดีเพื่อตอบแทนวัด มิใช่เพื่อรางวัล
“อาตมาเองก็ไม่ได้ตั้งใจหรือไม่คิดว่าจะได้รางวัลต่าง ๆ ซึ่งก็เจริญพรตอบแทนมาเอง
110
หลวงพ่อเชิญได้ปรารภกับอาตมาว่า...เมื่อเราบวชอยู่ เราต้องบวชให้วัดได้อาศัยเรา เราไม่ ได้มาบวชเพื่อเรามาอาศัยวัด คือพระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านได้ให้ไว้เป็นอุดมคติเตือนใจ” “อาตมาก็ได้ยึดมั่นเรื่องการกตัญญูด้วย ซึ่งก็เป็นสิ่งส�ำคัญ ความจริงรางวัลต่าง ๆ ที่ได้มา นั้น ล้วนแต่ถวายเพื่อหลวงพ่อเชิญ ด้วยความเคารพศรัทธา เทิดทูนท่าน เพราะท่าน เป็นพระปฏิปันโน อาตมาก็ได้ท�ำให้ท่านทุกอย่างในเรื่องเกียรติคุณ เกียรติยศ อิสริยยศ ถวาย เพระเดชพระคุณท่านทุกอย่าง ผลเหล่านนัน้ สะท้อนกลับมาสูอ่ าตมาเอง เจริญพรโดยอัตโนมัติ โดยมิได้เรียกร้อง อาตมาเป็นพระทีแ่ ตกต่างจากองค์อนื่ ๆ อยูอ่ ย่างหนึง่ คือ การจะได้อะไรมา พระเถระผู้ใหญ่ท่านเมตตามาให้ทุกอย่างเลย จะพูดได้ว่าไม่เคยไปเอ่ยปากขอเลย” “อาตมาสังเกตตัวเราเองว่าอาตมาได้ทำ� ทุกอย่าง เรียกว่างานคณะสงฆ์ทไี่ ด้บญ ั ชาลมา อาตมาก็สนองทุกอย่าง ตอนนั้นมีการรณรงค์ให้พระสงฆ์ช่วยเหลือประชาชน อาตมาก็ตั้งทุน การศึกษาสงเคราะห์ จัดหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล และอาตมาได้พระครูสัญญาบัตร ในปีนั้นเพราะพระผู้ใหญ่ท่านจัดถวายให้”
วัดตูมจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
“แต่เดิมอาตมาเคยได้ยินแต่ชื่อวัด แต่อาตมา ก็ไม่เคยมาที่วัด ซึ่งจริง ๆ แล้วไม่น่าจะ เป็นอาตมาที่ได้มาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดนี้ เพราะอาตมาไม่เคยรู้จักวัดตูมมาก่อน ไม่เคยมาวัดตูม และไม่เคยได้ปรารภกับท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ หรือปรารภกับหลวงพ่อท่านเจ้าคณะจังหวัด” “หลังจากอดีตท่านเจ้าอาวาสวัดตูมท่านมรณภาพ พระเดชพระคุณหลวงพ่อท่านเจ้า คณะจังหวัด พระเทพวรเมที ท่านอยู่วัดบรมวงศ์ (วัดบรมวงศ์ อิศรวรารามวรวิหาร) ท่านก็ได้ กราบเรียนเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาธีราจารย์ วัดชนะสงคราม ว่าบัดนี้ เจ้าอาวาสวัดตูม ท่านมรณภาพ ท่านจะให้ใครมารักษาการณ์ ซึ่งตอนนั้นตอนนั้นอยุธยามี ๑๔ พระอารามหลวง ช่วงนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจริญพระชนมพรรษาครบ ๘๐ พรรษา และทางวัดตูม ก็ต้องการบูรณะวัดเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ท่าน ท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯจึงได้ ปรารภขึ้นว่าอยากได้พระสงฆ์ที่จะมาดูแลในด้านนี้จริง ๆ แล้วในฐานะที่เจ้าคณะจังหวัดเป็นผู้ บังคับบัญชาใกล้ชิด ซึ่งท่านก็ทราบว่าควรจะให้ท่านใดมา จึงได้เลือกอาตมาให้มารักษา การณ์” “ตอนแรกอาตมาก็ไม่อยากมา เพราะอยูว่ ดั โคกทองและเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ เอกแล้ว ก็เพียงพอแล้ว และได้พัฒนาวัดมามากแล้ว ใช้งบกว่า ๑๐๐ ล้านบาทในการพัฒนาวัด ขอหยุด แล้ว ท่านเจ้าคณะจังหวัด โทรมาหาอาตมาตอน ๔ ทุ่ม ว่าให้มาช่วยรักษาการณ์ที่วัดตูม ซึ่งขณะนั้นวัดมีความทรุดโทรมมาก การงานมรณภาพที่วัดก็ยังคั่งค้างอยู่ อาตมาก็กล่าวกับ ท่านว่า จะช่วยอยู่รักษาการณ์จนงานพระราชทานเพลิงศพเสร็จสิ้น แล้วจึงหาพระเถระ มาแทนอาตมา” “เมือ่ งานดังกล่าวแล้วเสร็จ ท่านก็ให้ชว่ ยบูรณะพระอุโบสถอีกหลังก่อน ซึง่ อาตมาก็รบั จะบูรณะให้ ใช้งบ ๔ ล้านกว่าบาท ตอนนั้นได้ ๕๘ พรรษา คืนหนึ่งฝันเห็นในหลวงเสด็จมามา ที่วัดตูมพระองค์เดียว อาตมาเชื่อว่าเรื่องของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เรื่องของวาสนา เรื่องของบารมี ด้วยพระองค์เข้านิมิตฝัน อาตมาจึงได้อยู่ปฏิบัติหน้าที่เป็นเจ้าอาวาสวัดตูมต่อไป ซึ่งเมื่อมา อยูท่ วี่ ดั ตูมแล้ว ก็มชี าวบ้านมาท�ำบุญกว่า ๑๐๐ ล้านบาท ก็มคี วามตัง้ ใจบูรณะ ก่อสร้าง จนเห็น เป็นรูปธรรมอยู่ในปัจจุบัน” ตอนท้ายของการสัมภาษณ์ท่านพระสิทธิพัฒนโนดม เจ้าคณะอ�ำเภอผักไห่ และ เจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดตูม ได้กล่าวให้คติธรรมว่า “เราต้ อ งมี ค วามจริ ง ใจในการปฏิ บั ติ ถ้ า ท� ำ ให้ ช าวบ้ า นศรั ท ธาได้ ก็ ต ้ อ งท� ำ ให้ สม�่ำเสมอ ต้องมีความประพฤติดี ปฏิบัติชอบ เรื่องของสงฆ์ก็ต้องท�ำอะไรให้ชัดเจนเกิดเป็น รูปธรรม สามารถที่จะชี้แจงญาติโยมได้ เน้นไปในเรื่องว่าต้องรู้จักพอเพียง อย่าเบียดเบียน วัด ให้วัดได้อาศัยเรา” Ayutthaya 111
วัดท่าการ้อง วัดท่าการ้อง ตั้งอยู่ที่หมู่ 6 ต�ำบลบ้านป้อม อ�ำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันสังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย วัดท่าการ้องเป็นวัดหนึ่งในโครงการ “ไหว้พระมหา มงคลของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา” (โครงการไหว้พระเก้า วัด) ปัจจุบันมีพระสงฆ์จ�ำพรรษา 9 รูป เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ พระครูสิทธิปัญญาโสภณ
ประวัติวัดท่าการ้อง
วัดท่าการ้อง สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จ พระชัยราชา ประมาณปี พ.ศ.2076 ช่วงนั้นแผ่นดินค่อนข้าง สงบพระพุ ท ธศาสนาเจริญรุ่งเรือ งดี อีก ทั้งวัดนี้ยังใช้เป็นที่ ประทั บ พั ก ผ่ อน เพื่ อ เผยแพร่ศาสนาของลัทธิลังกาวงศ์อีก ด้ ว ย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้สร้างเพราะอยู่นอกเขต พระบรมมหาราชวัง วัดท่าการ้องได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นวัด ใน พ.ศ.2275 ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อพ.ศ.2285 แต่หลังเสีย กรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2310 เป็นต้นมา วัดท่าการ้องกลายเป็นวัด ร้างมีสภาพช�ำรุดทรุดโทรมเป็นอย่างมาก ต่อมาได้รับการบูรณ ปฏิสังขรณ์ขึ้นมาใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงรัชกาล 3-5 112
“...พลายงามงามลาพ่อลูกผูกอาลัย ตามย่ามาพ้นทับทีห่ บั เผย ไม่ลมื เลยเหลียวหน้าน�ำ้ ตาไหล ทัง้ ขุนแผนแสนสวาทเพียงขาดใจ ต่างอาลัยลาลับวับวิญญา ไปขึ้นช้างข้างวัดท่าการ้อง พอเดือนส่องสว่างกลางเวหา ออกข้ามทุ่งกรุงศรีอยุธยา รีบกลับมาถึงบ้านกาญจนบุรี...”
วัดท่าการ้องในปัจจุบัน
วัดท่าการ้องถูกกล่าวถึงหลายครัง้ ในพระราชพงศาวดา รฉบับพระราชหัตถเลขา เรื่องศึกหงสาวดีครั้งที่ 1 ,หนังสือไทย รบพม่า ตอนสมเด็จพระเจ้าเอกทัศ พ.ศ.2309 โดยเฉพาะที่ถูก กล่าวถึงใน “ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด” ตอนพม่ายกทัพเข้า ล้อมกรุง (คราวเสียกรุงครั้งที่ 2) กล่าวว่าบรรดาทัพพม่ายก ล้อมกรุงไว้รอบ แม้ถึงฤดูน�้ำหลากก็ไม่กลับไปอย่างที่คาดหมาย ท�ำให้ราษฎรในกรุงศรีอยุธยาหวาดหวั่นภัยสงคราม และยิ่งมี สิ่งที่ท�ำลายขวัญของผู้คนมากไปกว่านั้นคือ การน�ำเอาเพลง ยาวพยากรณ์มาบอกเล่ากันเป็นทางลับ ซึ่งข้อความเนื้อหาล้วน น่ากลัว ทั้งยังเกิดอาเพศประหลาดหลายประการ ...ด้วยแผ่นดินกรุงศรีอยุธยาจะถึงกาลขาด จึงอาเพศ เห็นประหลาดนิมิต พระประธานวัดพระเจ้าพะแนงเชิง น�้ำ พระเนตรไหลลงมาจรดพระนาภี ใ นสั น นั้ น วั ด พระศรี ส รร เพชญ์พระบรมไตรโลกนาถพระอรุณแตก ดวงพระเนตรตก อยู่ที่ตักเป็นอัศจรรย์ จากวัดท่าการ้องบินมา เสียบอกตาย อยู่บนปลายยอดนภศูลวัดมหาธาตุโดยอาเพศ รูปพระนเรศวร ในโรงพระแสงกระทืบพระบาทสนั่นไปทั้งสี่ทิศ อากาศวิปริตร ไปต่าง ๆ บอกเหตุลางจะเสียกรุงศรี... ในวรรณคดีก็ได้กล่าวถึงวัดท่าการ้อง อาทิ เสภาเรื่อง ขุ น ช้ า งขุ น แผน ตอนนางทองประศรี พ าพลายงามกลั บ กาญจนบุรีกลับจากไปเยี่ยมขุนแผนที่คุกนครบาลว่า
วัดท่าการ้อง ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ และได้รับการ พัฒนาเรื่อยมาจนทุกวันนี้เป็นวัดที่มีความสะอาด ร่มรื่น มีสิ่ง อ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จ�ำเป็น เช่น การให้บริการน�้ำดื่ม ผ้าเย็น รวมถึงห้องน�้ำ ห้องสุขาที่ถูกสุขลักษณะ และขณะนี้ทาง วัดท่าการ้องก�ำลังท�ำการบูร ณปฏิสังขรณ์โบราณสถานและ ถาวรวัตถุภ ายในวัด เพื่อให้เป็นที่ศึกษาประวัติ ศ าสตร์ และ วัฒนธรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยไม่ทิ้งหน้าที่หลักของวัดคือ ที่ พึ่งทางจิตใจของประชาชนเพื่อการน้อมน�ำไปสู่คุณธรรมความดี และนับเป็นบุญที่สมเด็จพระสังฆราช ทรงมีเมตตา พระราชทานพระบรมสารีรกิ ธาตุมาประดิษฐาน ณ วัดท่าการ้อง และมีหลวงพ่อยิม้ เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนทีม่ าสักการะ คณะใดที่ต้องการให้จัดปาฐกถาธรรมก็จะจัดให้ในเวลาสั้นๆ โดยพิจารณาหัวข้อในการอบรมให้เหมาะสมแก่หมู่คณะ ซึ่ง ท�ำให้เกิดศรัทธาพึงพอใจ จึงเกิดค�ำกล่าวว่า “...มาแล้ว...ต้อง มาอีก” เมื่อมีความพอใจจะน้อมน�ำตนเองและครอบครัวมา สู่วัด การน�ำไปสู่ความดีอื่น ๆ ก็ตามมา การให้ก่อนโดยไม่หวัง ผลตอบแทนของวัดท่าการ้อง จึงเป็นที่มาของความศรัทธา โดยปราศจากเงื่อนไข ให้วัดได้ท�ำหน้าที่ของวัด ที่จะจูงพุทธ บริษัทไปสู่ความดีที่สูงขึ้นในล�ำดับต่อไป
Ayutthaya 113
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดไผ่โสมนรินทร์ วัดไผ่โสมนรินทร์ ตั้งอยู่ในพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำป่าสัก ต�ำบล บ้านเกาะ อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 15 ไร่ 10 ตารางวา ปัจจุบนั มีพระครูเวฬุวนั พัฒนาทร เป็นเจ้าอาวาส และยั ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า คณะต� ำ บลสวนพริ ก อ� ำ เภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย
ประวัติความเป็นมา
วัดไผ่โสมนรินทร์ สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2320 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาแล้วในปี พ.ศ.2325 ประวัติความ เป็นมาตามค�ำบอกเล่าโดยหลวงพ่อวัย (พระธรรมญาณมุนี อดีตเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เจ้าอาวาสวัดพนัญ เชิงวรวิหาร ในสมัยทีย่ งั ด�ำรงสมณศักดิท์ ี่ “พระเทพโบราณ คณาจารย์”) และทายก ทายิกา ผูเ้ ฒ่าชาววัดไผ่โสมนรินทร์ ความว่า วัดไผ่โสมนรินทร์ เดิมมีชอื่ ว่า “วัดนาคนิลพล” ครัน้ นัน้ วัดที่พื้นที่มากกว่า 15 ไร่ เพราะแม่น�้ำป่าสักไม่ได้ไหลผ่าน ด้านหน้าวัดเหมือนในปัจจุบนั แต่วา่ ไหลอ้อมทีว่ ดั ออกไปทาง ทิศตะวันตก แต่เนื่องจากกระแสน�้ำจากแม่น�้ำป่าสักได้ไหล เปลีย่ นทิศทางในช่วงหน้าน�ำ้ หลาก กระแสน�ำ้ ได้กดั เซาะตาม 114
ร่องน�้ำซึ่งเดิมเป็นร่องทางเดินของสัตว์ป่า ที่เดินลงไปหากินน�้ำ ริมแม่น�้ำป่าสักข้างวัดทางทิศเหนือ นานปีเข้าร่องน�้ำนั้นก็มี ขนาดกว้างใหญ่และมีความลึกมากขึ้น ดังนั้น ทายก ทายิกา ในสมัยนัน้ จึงช่วยกันขนย้ายเสนาสนะของวัดถอยร่นเข้ามาด้าน ใน เพือ่ ให้พน้ จากกระแสน�ำ้ หลาก สิง่ ก่อสร้างอันเป็นเจดียว์ หิ าร ทีไ่ ม่อาจรือ้ ถอนได้ จึงต้องหักโค่นพังทลายลงสูก่ ระแสน�ำ้ ไปมาก เหลืออยู่เพียงอุโบสถหนึ่งหลังที่เป็นของเก่าดั้งเดิม แต่ก็ได้รับ การบูรณะขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.2500 ส่วนชื่อของวัดจากเดิมที่มีนามว่า “วัดนาคนิลพล” นั้น ในช่วงยุคสมัยรัชกาลที่ 6 ทางราชการได้จัดให้มีการตั้งค่ายฝึก ทหารซ้อมรบในเขตทุ่งบ้านเกาะ ทุ่งบ้านโพธิ์ ทุ่งบ้านมาบ พระจันทร์ จึงได้มีการให้ก�ำลังพลออกแสวงหาไม้ไผ่ เพื่อมาส
มหาระฆังทองธรรมจักก์
เนื่องด้วยในปี พ.ศ.2549 ระฆังที่ พระภิ ก ษุ ข องวั ด ไผโสมนริ น ทร์ ที่ ใ ช้ ตี ใ ห้ สัญญาณในการท�ำวัตรสวดมนต์ของพระสงฆ์ พร้อมด้วยทายก ทายิกา คณะกรรมการชาว วัดไผ่โสมนรินทร์ จึงได้ร่วมกันเททองหล่อ ระฆังใบใหม่ขึ้น โดยให้ชื่อว่า “มหาระฆัง ทองธรรมจักก์” ขนาดกว้าง 1.29 เมตร สูง 2.59 เมตร และในการนี้ได้จัดให้มีการเท ทองหล่อ “พระพุทธรูปปางห้ามสมุทรทรง เครื่องเทวราช” เพื่อน�ำมาประดิษฐาน ณ ศาลาอเนกประสงค์พัฒนาชุมชน ซึ่งตั้งอยู่ ภายในวัดไผ่โสมนรินทร์ด้วย
ร้างค่ายจ�ำลองในการซ้อมรบ และได้มาพบป่าไผ่ซงึ่ ขึน้ หนาแน่น ในบริเวณเขตวัดนาคนิลพล เมื่อทางราชการได้ไม่ไผ่ไปท�ำค่าย จ�ำลองเกิดประโยชน์แก่ทางราชการเป็นอันมาก จึงได้ทูลเกล้า ทูลกระหม่อมถวายรายงาน จึงได้ขนานนามให้วัดใหม่ว่า “วัด ไผ่” ชาวบ้านเห็นว่าเป็นนามที่เป็นสิริมงคล ได้มาโดยในหลวง พระราชทานให้ จึงพร้อมใจกันเปลี่ยนชื่อวัดจาก “วัดนาคนิล พล” มาเป็น “วัดไผ่” เมื่อเวลาผ่านมาในช่วงปี พ.ศ.2490 วัดไผ่มีความทรุด โทรมเป็นอันมาก สาธุชนในตระกูลโสมนรินทร์ ได้เข้ามาช่วย บูรณะวัดให้มีความเจริญขึ้นตามล�ำดับ จึงได้รับเกียรติจากชาว วัดไผ่ พร้อมใจกันยกย่องให้น�ำนามสกุล “โสมนรินทร์” มาต่อ ท้ายชือ่ วัดไผ่ จึงมีชอื่ เต็มจนถึงปัจจุบนั ว่า “วัดไผ่โสมนรินทร์”
ศาสนสถานและปูชนียวัตถุส�ำคัญ
ศาสนสถานและปู ช นี ย วั ต ถุ ส� ำ คั ญ ภายในวั ด ได้ แ ก่ อุโบสถ ประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย ผนังอุโบสถยัง มีภาพวาดสีน�้ำมันเกี่ยวกับพุทธประวัติ พระประธานประจ�ำ ศาลาการเปรียญ ปูชนียวัตถุอนื่ ๆ อาทิ พระศรีอริยเมตไตรย์ พระพุทธลีลา พระพุทธฉายา เป็นต้น Ayutthaya 115
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดกลางคลองตะเคียน
วัดกลางคลองตะเคียน (วัดกลางปากราน) ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ปาก คลองตะเคียนบน ต�ำบลปากกราน อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน 49 ไร่ ปัจจุบันมี พระครูพจิ ติ รกิจจาทร เป็นเจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลส�ำเภาล่ม
ประวัติวัด
วัดกลางคลองตะเคียน สร้างขึน้ ในสมัยอยุธยาตอนต้น สร้างคูก่ บั วัดนาค ตั้งอยู่ท่ามกลางชุมชนชาวไทยพุทธ มุสลิม และคริสต์ หลังปี พ.ศ.2310 กรุงศรีอยุธยากลายสภาพเป็นเมืองแตกวัดจึงตกเป็นวัดร้าง เพราะการศึกสงคราม ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2430 วัดกลางคลองตะเคียน ได้รบั การบูรณะพัฒนาทัง้ กุฏิ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ (หลังเก่า) และ ได้พัฒนาขึ้นมาตามล�ำดับโดย ขุนศาลายาฝิ่น และการดูแลของอดีต เจ้าอาวาสและพระพุทธศาสนิกชน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด
พระสมเด็จกริ่ง และพระประธานประจ�ำอุโบสถ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปั จ จุ บั น ทางวั ด ก� ำ ลั ง ก่ อ สร้ า งอุ โ บสถหลั ง ใหม่ ส องชั้ น เพื่ อ สาธารณะประโยชน์และเพื่อกิจในทางพระพุทธศาสนาอีกมากมาย โดยมีสะพานบุญเชื่อมต่อจากศาลาการเปรียญและอุโบสถหลังใหม่ จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมเป็นเจ้าภาพสร้างอุโบสถตามก�ำลัง ทรัพย์กำ� ลังศรัทธา และท�ำพิธเี สริมมงคลชีวติ ครอบครัว หน้าทีก่ ารงาน 116
ปรับโชคชะตาชีวิตให้ดีขึ้น ด้วยธรรมะของพระพุทธเจ้า และอ�ำนาจบารมีแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สถิต ณ สถานที่แห่ง นี้ โดยติดต่อสมทบทุนสร้างได้ที่ พระครูพิจิตรกิจจาทร โทร.081-852-2994
บริษัท เอ็ม.ซี.เอส.สตีล จํากัด ( มหาชน ) เปนผูผลิตโครงสรางเหล็ก
ขนาดใหญทั้งในประเทศ และ ตางประเทศมีกําลังการผลิต ประมาณ 4,000-5,000 ตัน ตอเดือน มีจํานวนพนักงานประมาณ 650 คน ปจจุบันสินคารอยละ 90 สงไปยังประเทศญี่ปุน โดยบริษัทฯ ไดรับมาตรฐาน S Grade จากประเทศญี่ปุน, AISC, ISO 9001 : 2008, ISO / IEC 17025 : 2005, OHSAS 18001 : 2007, EN ISO 3834 Part2 และ ISO 14001 : 2004
70 Moo 2 Changyai Bangsai Ayutthaya 13290 Tel : 035-283190-5 , 035-372961-6 Fax : 035-372968 Website : www.mcssteel.com E-mail : info@mcssteel.co.th
เส้นทางพบ อ�ำเภอบางปะหัน
นายนิธิวัชร์ จันทร์เฉลียว นายอ�ำเภอบางปะหัน
สารนายอ�ำเภอบางปะหัน
อ�ำเภอบางปะหัน เดิมชือ่ ว่า “อ�ำเภอนครใน” ตัง้ อยู่ บริเวณริมแม่น้�ำลพบุรีฝั่งตะวันออกในท้องที่ต�ำบลเกาะเลิ่ง ภายหลังต�ำบลเกาะเลิง่ ถูกยกเลิกพืน้ ทีถ่ กู แบ่งแยก จึงเปลีย่ น ชือ่ เป็นต�ำบลบางปะหันตามชือ่ หมูบ่ า้ นเก่าแก่ทเี่ ป็นทีต่ งั้ ต่อมา ทางราชการมีนโยบายให้เปลีย่ นชือ่ อ�ำเภอตามชือ่ ต�ำบล จึงได้ เปลีย่ นชือ่ อ�ำเภอนครใน เป็นอ�ำเภอบางปะหัน จากท�ำเนียบ รายชื่อนายอ�ำเภอที่ปรากฏหลักฐาน มีขุนเรืองประศาสตร์ เป็นนายอ�ำเภอบางปะหันล�ำดับที่ 1 ตัง้ แต่ พ.ศ. 2458 – 2462
ค�ำขวัญอ�ำเภอบางปะหัน คือ
“
งอบสวยวิจติ ร อิฐทนทาน มันเทศหอมหวาน งามตระการบ้านทรงไทยเมืองชัยพระเจ้าตาก
“
118
อ� ำ เภอบางปะหั น มี ส ภาพพื้ น ที่ เ ป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม มี แม่น�้ำลพบุรี และแม่น�้ำป่าสักไหลผ่าน เหมาะสมกับการ ท�ำการเกษตร นอกจากนั้นยังมีเส้นทางการคมนาคมติดต่อ ขนส่งสินค้าการท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ 4 สาย คือ 1.ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (ถนนสายเอเชีย) 2.ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 3.ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 และ 4.ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3298
นอกจากนั้นยังมีสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ห ลายแห่ ง เช่ น ค่ า ยโพธิ์ ส ามต้ น ต� ำ บล โพธิ์สามต้นพระพุทธรูปหลวงพ่อใหญ่วัดอินกัลยา ภาพถ่าย จิตรกรรมฝาผนังที่วัดพระงาม ต�ำบลบางเดื่อ แหล่งชุมนุม นกและปลาวัดตาลเอน ต�ำบลตาลเอน เป็นต้น ตลอดระยะเวลาเกือบ 100 ปี ที่ผ่านมาหลังจาก เสร็จสิ้นการท�ำนา เกษตรกรชาวไร่ชาวนาก็จะใช้เวลาว่าง ในการจักสานงอบใบลานทีเ่ หมาะแก่การสวมใส่ทำ� นา ท�ำสวน ท�ำไร่ และได้มกี ารพัฒนาจนเป็นสินค้าส่งออก และเป็นของ ที่ระลึกสวยงามคงความเป็นไทย บางรายก็ปลูกมันเทศที่ แตกต่างจากที่อื่นเพราะมันเทศจะ มีเนื้อนุ่ม หอม หวาน หากน�ำมาเผาหรือเชื่อม บางครอบครัวประกอบ อาชีพเผาอิ ฐ มอญซึ่ ง ปั จ จุ บั น ยั ง คงอนุ รั ก ษ์ ก ารท� ำ แบบ ดั้ ง เดิ ม ตามบรรพบุรุษ บางครอบครัวมีฝีมือตกทอดกันมาสู่ รุ่นลูกหลานคือการสร้างบ้านทรงไทยทีส่ วยงาม เป็น เอกลักษณ์ สามารถ เคลื่อนย้ายได้อย่างสะดวก อ�ำเภอบางปะหันยังเป็นที่ตั้งของค่ายโพธิ์สามต้น มีป ระวั ติ ศ าสตร์ ที่ น ่ า สนใจปั จ จุ บั น มี ก ารสร้ า งศาล สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราชขึ้นและเป็นที่เคารพของ คนไทยจ� ำ นวนมากที่ เ ดิ น ทางมากราบไหว้ บู ช าศาล สมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งทุกคนเชื่อมั่น เคารพ ศรัทธาในพระบุญญาบารมีของพระองค์ท่านตลอดมา ในปี พ.ศ. 2554 อ�ำเภอบางปะหันประสบปัญหา มหาอุทกภัยในทุกต�ำบล หมู่บ้าน แต่ประชาชนทุกคนก็ร่วม ไม้รว่ มมือช่วยเหลือกันจนผ่านพ้นวิกฤตมาได้ดว้ ยดี ตราบจน ปัจจุบันเริ่มมีปัญหาภัยแล้งที่ส่งผลกระทบกับประชาชนซึ่ง นับวันจะเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น แต่นับเป็นโอกาสดีที่ผู้น�ำ
ท้องถิ่น ท้องที่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนเริ่มมองเห็น ปัญหาและร่วมกับค้นหาแนวทางแก้ไข โดยการน�ำเสนอ โครงการแก้ไขปัญหาขาดแคลนน�้ำในการท�ำการเกษตรของ ประชาชนในพื้นที่ต�ำบลทับน�้ำ ต�ำบลบ้านม้า ซึ่งเป็นพื้นที่ ปลูกข้าวและมันเทศที่เป็นผลผลิตที่มีชื่อเสียงของอ�ำเภอ บางปะหัน นั่นคือโครงการขุดลอกหนองปลากราย หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านม้า งบประมาณ 1,350,000 บาท และโครงการ ก่อสร้างสถานีสูบน�้ำระบบไฟฟ้า 1,066,000 บาท สถานที่ ด�ำเนินการก่อสร้าง หมู่ที่ 4 ต�ำบลทับน�้ำ ซึ่งทั้งสองโครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากรัฐบาล ของท่านพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ตามนโยบาย การแก้ไขปัญหาภัยแล้งและส่งเสริมอาชีพให้แก่เกษตรกร ของอ�ำเภอบางปะหันได้อย่างยั่งยืน ชาวอ�ำเภอบางปะหั นจึงขอกราบขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ผมขอเชิญชวนทุกท่านหากมีเวลาและโอกาสได้ โปรดแวะเยี่ยมชมสินค้า OTOP เครื่องจักสาน งอบใบลาน กราบไหว้ ห ลวงพ่ อ ใหญ่ วั ด อิ น กั ล ยา และไหว้ ส มเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช ณ ค่ายโพธิ์สามต้น ซึ่งอยู่ห่างจาก จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเพียง 15 กิโลเมตร เท่านัน้ เองครับ Ayutthaya 119
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลทับน�ำ้
“การบริหารจัดการน�้ำต่อสู้ภาวะวิกฤตภัยแล้ง” โดย นายกฤตภพ เฉื่อยฉ�่ำ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทับน�้ำ อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
ภายหลั ง จากเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงการบริ ห าร ประเทศของรัฐบาล ส่งผลกระทบต่อแนวคิดการบริหาร งาน และนโยบายต่าง ๆ ซึง่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ถึงแม้จะมีฐานะเป็นนิติบุคคล สามารถบริหารกิจการ งานของตนเองได้ แต่ก็ต้องเป็นไปตามกฎหมายและ นโยบายของรัฐบาลได้ทรี่ บั มา ซึง่ เราจะได้รบั ผลกระทบ ทั้งส่วนที่ได้รับประโยชน์มากหรือน้อยแตกต่างกัน อัน เนื่องจากในแต่ละท้องถิ่นนั้นย่อมมีศักยภาพทางด้าน เศรษฐกิ จ สั ง คม ค่ า นิ ย ม การเมื อ ง ที่ แ ตกต่ า งกั น แต่ในเรื่องของนโยบายและการแก้ไขปัญหาในท้องถิ่น แต่ละแห่งนั้น ผู้บริหารของท้องถิ่นต้องมีวิสัยทัศน์ของ ตนเอง เพื่ อ ให้ ส ามารถผ่ า นพ้ น วิ ก ฤตการณ์ ต ่ า ง ๆ ไปได้ ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชน์สุขของพี่น้องประชาชน 120
โดยวิกฤตปัญหาที่หนักหนาสาหัสที่สุดของพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลทับน�้ำ คือ วิกฤตปัญหาภัยแล้ง ที่นับวันยิ่งทวีความ รุนแรงขึ้น ซึ่งปัญหานี้ไม่เพียงแต่เป็นปัญหาในพื้นที่เท่านั้น แต่ ยังขยายวงกว้างจนกลายเป็นปัญหาของประเทศในปัจจุบัน พื้นที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลทับน�้ำ ประกอบด้วย ต.ทับน�้ำ และ ต.บ้าน ม้า มีพื้นที่รวม 12.56 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,850 ไร่ สภาพพื้นที่ โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มน�้ำท่วมถึง ตามสภาพภูมิศาสตร์พื้นที่ ชุมชนรายล้อมไปด้วยพื้นที่นาและพื้นที่เกษตรอื่น ๆ จากจ�ำนวน พื้นที่ทั้งสิ้น 7,850 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ท�ำนาใน ต.ทับน�้ำ 3,939.25 ไร่ พื้นที่นาใน ต.บ้านม้า 1,422.75 ไร่ และอีก 67 ไร่ เป็นพื้นที่ท�ำการ เกษตรและปศุสัตว์ เช่น ไร่มัน ไร่เผือก ไร่ข้าวโพด พืชผักสวนครัว เลี้ยงโค เลี้ยงกระบือ เลี้ยงม้า เลี้ยงเป็ด เป็นต้น โดยรวมแล้วร้อยละ 70 หรือ 5,429 ไร่ ของพื้นที่ทั้งหมดเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประชาชน ใน ต.ทับน�้ำ และ ต.บ้านม้า จึงมีวิถีชีวิตแบบชนบท พึ่งพาอาศัย การประกอบเกษตรกรรม คือ ท�ำนา และท�ำไร่มัน เป็นหลัก โดยวิถี ชีวิตหลักของประชาชนในพื้นที่ จะท�ำนาปี ในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม และท�ำนาปรังช่วงเดือน พฤศจิกายน – เมษายน ส่วน การท�ำไร่มัน จะท�ำช่วงปลายเดือนมีนาคม และเก็บเกี่ยวช่วงเดือน กรกฎาคม การท�ำการเกษตรนั้นต้องอาศัยน�้ำเป็นหลัก ซึ่งมีความส�ำคัญ ต่อการหล่อเลี้ยงพืชสวน ไร่นา และปศุสัตว์ หากขาดน�้ำชีวิตของ เกษตรกรก็ แ ทบขาดใจ ซึ่ ง เกษตรกรและประชาชนในพื้ น ที่ ต.ทับน�้ำ และ ต.บ้านม้านั้น ได้รับความเดือดร้อนจากภาวะวิกฤต ปัญหาภัยแล้งในช่วงฤดูแล้ง คือตั้งแต่ประมาณปลายเดือนมกราคม และประสบปัญหาอุทกภัยในช่วงฤดูน�้ำหลาก ช่วงเดือนตุลาคม ซ�้ำซากทุกปี อันเนื่องจากพื้นที่ท�ำการเกษตร ต.ทับน�้ำ และ ต.บ้าน ม้า อยู่นอกเขตชลประทาน และคลองหลักที่ผ่านพื้นที่นั้นเป็นคลอง ทิ้งน�้ำ ฉะนั้น พื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทานจะเป็นพื้นที่ท�ำการ เกษตรที่ต้องพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลัก คือ ได้รับน�้ำจากน�้ำฝน น�้ำ จากหนอง คลอง บึง ที่ได้รับการกักเก็บเอาไว้เป็นหลัก หากน�้ำตาม ธรรมชาติมีไม่เพียงพอ ฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วง หรือน�้ำที่ไหลผ่าน คลองหลัก คือ คลองทับน�้ำ ไม่ได้รับการชะลอการไหล หรือกักเก็บ เอาไว้ น�้ำก็ไหลไปสู่แม่น�้ำเจ้าพระยาจนหมดและแห้งคลอง พืชผล ทางการเกษตร ก็จะได้รับความเสียหายอย่างหนัก โดยเฉพาะการ ปลู ก ข้ า วที่ ต ้ อ งใช้ น�้ ำ ปริ ม าณมากตลอดทั้ ง ปี ซึ่ ง การท� ำ การ เกษตรดังกล่าวนั้นเป็นอาชีพหลักของประชาชนในพื้นที่ เป็นราย ได้ที่น�ำมาเลี้ยงครอบครัว เรียกได้ว่าเป็นชีวิตของเกษตรกรในพื้นที่
หากขาดแคลนน�้ำแล้ว พื้นที่การเกษตรจะได้รับความเสียหาย ซึ่ง หากคิดเป็นมูลค่าความเสียหายจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวได้ ปีละ 2 ครั้ง จะมีมูลค่าถึงประมาณปีละ 96,516,000 บาท (พื้นที่ นา 5,362 ไร่/ผลผลิตข้าวไร่ละ 1 ตัน/ราคาขายต่อตัน 9,000 บาท/ ผลผลิตข้าวปีละ 2 ครั้ง) นโยบายหลักภายใต้การบริหารงานของ นายกฤตภพ เฉื่อยฉ�่ำ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลทั บ น�้ ำ จึ ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ ปัญหาวิกฤตภัยแล้งที่จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวิถีชีวิตความ เป็ น อยู ่ ความอยู ่ ดี กิ น ดี ข องพี่ น ้ อ งประชาชนในพื้ น ที่ ซึ่ ง นั บ วั น ปัญหาวิกฤตภัยแล้งจะยิ่งทวีความรุนแรงขึ้น หากไม่เร่งหาวิธีการ แก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน ป้องกันความเสียหายอันจะเกิดกับพื้นที่ การเกษตรในช่วงฤดูแล้ง และแก้ไขปัญหาน�้ำท่วมน�้ำช่วงฤดูน�้ำ หลาก จึงได้มีการบริหารจัดการน�้ำได้แต่ละปีอย่างต่อเนื่อง และ รวบรวมข้อมูลปัญหา วิธีการที่จะแก้ไข ด้วยการประชุมปรึกษา หารือกับผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำทางการเมือง พี่น้องประชาชน เกษตรกร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเร่งหาวิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และมุ ่ ง หวั ง ให้ ส ามารถบริหารจัดการน�้ำและแก้ไขวิกฤตปัญหาภัย แล้งในพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายพื้นที่ในการ กักเก็บน�้ำ การบริหารจัดการน�้ำให้เป็นเครือข่ายโยงใยกันในพื้นที่ และให้เกษตรกรผู้ท�ำนาสามารถท�ำนาได้ปีละ 2 ครั้ง และโครงการที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น การและก่ อ ให้ เ กิ ด นวั ต กรรมใน การบริหารจัดการน�ำ้ เพือ่ ต่อสูว้ กิ ฤตภัยแล้งของ อบต.ทับน�ำ้ ประกอบ ด้วยการด�ำเนินงานดังต่อไปนี้ Ayutthaya 121
5. การตั้งกลุ่มสหกรณ์ผู้ใช้น�้ำ เพื่อให้เกษตรกรมีความเข้มแข็ง และท�ำข้อตกลงส�ำหรับการบริหารจัดการน�้ำร่วมกันในภาวะวิกฤต ภัยแล้ง ซึ่งมีผลดีต่อการลดความขัดแย้งในการใช้น�้ำ ท�ำให้การ บริหารจัดการน�้ำเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และทราบจุดมุ่งหมายที่ จะด�ำเนินต่อไปในอนาคต 6. โครงการปรับปรุง พัฒนาคลองสาน และก่อสร้างโรงสูบน�้ำ พลังงานไฟฟ้า บริเวณคลองสาน หมู่ที่ 1 ต.ทับน�้ำ ซึ่งเป็นจุดที่ใช้ ส�ำหรับการวางเครื่องสูบน�้ำเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้ง ซึ่งเมื่อ การก่อสร้างแล้วเสร็จจะท�ำให้การสูบน�้ำจากคลองบางกุ้งที่เชื่อมต่อ กั บ แม่ น�้ำ เจ้ า พระยาเป็ นไปด้ ว ยความสะดวก ลดปัญหาด้า นงบ ประมาณในการสูบน�้ำ ช่วยเพิ่มปริมาณน�้ำและแก้ไขปัญหาวิกฤตภัย แล้งได้อย่างยั่งยืน 1. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ได้ด�ำเนินโครงการขุดลอก คลอง เพื่ อ ขยายล� ำ คลองและขุ ด ลอกคลองที่ ตื้ น เขิ น รวมทั้ ง ก�ำจัดวัชพืชที่กีดขวางทางน�้ำ เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการกักเก็บน�้ำและ ขยายทางเดินน�้ำให้ไหลสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยใช้ทั้งงบประมาณ ของ อบต.ทับน�้ำ และขอสนับสนุนงบประมาณหรือเครื่องจักรกล จากหน่วยงานราชการอื่น 2. โครงการขุดคลองซอยขนาดเล็ก เพื่อขยายทางเดินน�้ำจาก แหล่งน�้ำหลักเข้าสู่พื้นที่ท�ำการเกษตรของประชาชนที่ห่างไกลจาก แหล่งน�้ำ โดยขอความอนุเคราะห์และท�ำความตกลงให้ใช้พื้นที่ของ เกษตรกรบางส่วนในการขุดคลองซอย
3. โครงการก่อสร้างฝายคันดินกั้นน�้ำ, ฝายน�้ำล้น คสล., ท่อ ลอดเหลี่ยมพร้อมประตูปิด-เปิด ระบายน�้ำ, ฝาย มข. 2527 เพื่อใช้ ชะลอการไหลของน�้ำในคลองต่าง ๆ และปิด-เปิด ระบายน�้ำ เพื่อกัก เก็บน�้ำไว้ใช้ส�ำหรับการเกษตรและอุปโภค ส่งผลให้น�้ำในคลองใน แต่ละพื้นที่มีการกักเก็บน�้ำไว้ใช้อย่างเพียงพอ 4. โครงการสูบน�้ำไว้ใช้เพื่อการเกษตรและการอุปโภคในภาวะ วิ ก ฤตภั ย แล้ ง โดยการตั้ ง เครื่ อ งสู บ น�้ ำ ขนาดใหญ่ บ ริ เ วณ ปากคลองสาน หมู่ที่ 1 ต.ทับน�้ำ ที่เชื่อมต่อกับคลองบางกุ้ง ต.บ้าน กุ่ม อ.บางบาล (เชื่อมต่อจากแม่น�้ำเจ้าพระยา) เพื่อเพิ่มปริมาณน�้ำ ในคลองทับน�้ำ ก่อนที่น�้ำจะไหลออกจากคลองลงสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา จนหมด 122
7. โครงการขุดลอกหนองปลายกลาย หมู่ที่ 3 ต.บ้านม้า พร้อม ก่อสร้างประตูปิด-เปิด ระบายน�้ำ เป็นโครงการที่ขยายการเชื่อม โยงแหล่งน�้ำให้มีความเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายติดต่อกันอย่างสมบูรณ์ และเป็นระบบ เพื่อขยายพื้นที่ในการกักเก็บน�้ำ โดยให้สามารถขยาย พื้นที่ท�ำนาปีละ 2 ครั้ง จาก 1,200 ไร่ ให้เพิ่มขึ้นได้อีก 800 ไร่ เป็น พื้นที่ได้รับประโยชน์ 2,000 ไร่ มูลค่าผลผลิตปีละ 36,000,000 บาท 8. โครงการก่อสร้างโรงสูบน�ำ้ พลังงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ บริเวณ ปากคลองบางกุ้ง หมู่ที่ 9 ต.บ้านกุ่ม อ.บางบาล ซึ่งเป็นโครงการ ขนาดใหญ่ ใช้งบประมาณ 30,000,000 บาท ที่เพิ่มพื้นที่ที่จะได้รับ ประโยชน์ ให้แก่พื้นที่ท�ำการเกษตรที่คลองบางกุ้งไหลผ่าน และ ระบายน�้ำสู่คลองต่าง ๆ ในพื้นที่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ 7 ต�ำบล
คือ ต�ำบลทับน�้ำ ต�ำบลบ้านม้า ต�ำบลบ้านลี่ ต�ำบลพุทเลา ต�ำบล บางเสด็จ ต�ำบลโรงช้าง และต�ำบลบ้านกุ่ม พื้นที่เกษตรกรรม 40,000 ไร่ และชุมชนสองฝั่งคลองกว่า 6,000 ครัวเรือน เป็นการ บูรณาการการบริหารจัดการน�้ำอย่างยั่งยืน โดยจะสร้างรายได้ให้แก่ เกษตรกร ประมาณ 50 ล้านบาทต่อปี 9. โครงการทีเ่ ป็นโครงการเพือ่ เพิม่ รายได้ เพิม่ อาชีพ และเป็น แหล่งเรียนรู้ในการพึ่งพาตนเองในพื้นที่ อบต.ทับน�้ำ 9.1 โครงการชุมชนเข้มแข็งผลิตอาหารรับประทานใน 45 วัน โดยใช้ “กระบวนการเรียนรู้ฟื้นฟูผู้ประสบภัยต้นแบบเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก” ตามแนวทางพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ ให้ประชาชนมีความรู้ในการปลูกพืชผัก การเลี้ยงสัตว์ สามารถ พึ่งพาตนเองได้ในภาวะวิกฤต ลดรายจ่ายในครัวเรือน และสร้าง รายได้ และสามารถขยายความรู้ไปสู่ครัวเรือนและชุมชน 9.2 โครงการเพาะพันธุโ์ คเนือ้ เพือ่ เพิม่ รายได้และส่งเสริมทักษะ การประกอบอาชีพและเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร 9.3 โครงการเพาะพันธุ์ปลาน�้ำจืด เพื่อส่งเสริมอาชีพการจั บ สัตว์น�้ำ เพิ่มพันธุ์ปลาและรักษาพันธุ์ปลาในแหล่งน�้ำธรรมชาติ เพิ่มรายได้ให้แก่ประชาชน ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จของการบริหารจัดการน�้ำต่อสู้วิกฤตภัย แล้งนี้ เกิดจาก นายกฤตภพ เฉื่อยฉ�่ำ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลทับน�้ำ มีวิสัยทัศน์ที่จะแก้ไขปัญหาวิกฤตภัยแล้งที่เกิดขึ้นใน พื้ น ที่ ใ ห้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น โดยมองไปในอนาคตว่ า จะด� ำ เนิ น โครงการต่อเนื่องไปในทิศทางใด โดยมีการด�ำเนินโครงการที่เป็น รูปธรรมอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จากปัจจัยพื้นฐานที่พื้นที่ ต.ทับน�้ำ และ ต.บ้านม้า มีแหล่งน�้ำหลักในแต่ละหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน และประชาชนมีอาชีพท�ำการเกษตรเป็นอาชีพหลัก โดยเฉพาะ พื้นที่นามีถึงประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมด ภัยแล้งจึงเป็น ปั ญ หาหนั ก ที่ น� ำ ความเสี ย หายมาสู ่ พื้ น ที่ ท� ำ การเกษตร ท� ำ ให้ ประชาชนสูญเสียรายได้ หากขาดน�้ำก็เหมือนขาดชีวิต ประชาชนจะ อยู่ได้อย่างไรหากไม่มีน�้ำเพื่อท�ำการเกษตรและการอุปโภค จึงริเริ่ม ด้วยการด�ำเนินการขุดลอกคลอง ลอกวัชพืช เพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน�้ำ และระบายให้ทางเดินน�้ำสะดวกมากยิ่งขึ้น จากนั้น มีการก่อสร้าง
ฝายขนาดเล็ก ประตูปิด-เปิดระบายน�้ำ เพื่อทดน�้ำและกักเก็บน�้ำใน แต่ละช่วง เพื่อการบริหารจัดการน�้ำที่ทั่วถึงทุกหมู่บ้าน และด�ำเนิน การสูบน�้ำเข้าสู่คลองสายหลักเพื่อเพิ่มปริมาณน�้ำในคลองก่อนที่น�้ำ จะไหลสู่แม่น�้ำเจ้าพระยาจนหมด รอจนกว่าจะถึงฤดูฝน ที่จะ สามารถกักเก็บน�้ำไว้ใช้ได้เพิ่มเติม จากนั้นด�ำเนินโครงการที่มีขนาด ใหญ่ขึ้น คือการขุดลอกหนองปลากรายเพื่อเป็นแก้มลิงในการกักเก็บ น�้ำไว้ใช้ และเป็นแหล่งน�้ำที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบ สามารถน�ำน�้ำไป หล่อเลี้ยงพื้นที่ท�ำการเกษตรได้อย่างทั่วถึง และด�ำเนินโครงการ
ก่อสร้างโรงสูบน�้ำด้วยไฟฟ้าควบคู่กันไป โดยในปีงบประมาณ 2558 ได้ด�ำเนินการก่อสร้างโรงสูบน�้ำขนาดเล็กในบริเวณที่ใช้ตั้งเครื่อง สูบน�้ำเข้าสู่คลองสายหลักเป็นประจ�ำทุก ๆ ปี เพื่อให้การสูบน�้ำ ด�ำเนินการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ลดความสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ส�ำหรับสูบน�้ำได้ และขอรับการสนับสนุนเพื่อก่อสร้างโรงสูบน�้ำ ด้วยไฟฟ้าขนาดใหญ่ เพื่อก่อสร้างบริเวณปากคลองบางกุ้ง เพื่ อ สู บ น�้ ำ จากแม่ น�้ ำ เจ้าพระยาโดยตรง เข้าสู่คลองสายหลักและได้ รับประโยชน์ในหลายต�ำบล ซึ่งเป็นโครงการบูรณาการร่วมกัน โดย ความส�ำเร็จของโครงการนั้น จ�ำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจาก ประชาชนในพื้นที่ ประชาชนต้องมีความสามัคคี มีความเข้มแข็ง ตั้งใจที่จะร่วมกันพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น โดยร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำ เพือ่ น�ำพาท้องถิน่ ของตนเองให้เจริญก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืนต่อไป Ayutthaya 123
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลพุทเลา “ เศรษฐกิจยั่งยืน พื้นฐานมั่นคง ด�ำรงคุณธรรม เกษตรกรรมดีเด่น เน้นการพัฒนา น�ำพาประชาสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ” คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของ นายโอฬาร ธูปะเตมีย์ นายกองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลพุ ท เลาอ� ำ เภอบางปะหั น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ต�ำบลพุทเลามีพื้นที่ติดกับถนนสาย บางปะหัน – ปทุมธานี ซึ่งเป็นเส้นทางที่สามารถเดินทางสู่ตัว อ�ำเภอบางปะหัน ตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา กรุงเทพมหานคร และจังหวัดอืน่ ๆ ได้สะดวก จึงเป็นจุดเด่นทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาต�ำบล
ประวัติความเป็นมาของต�ำบลพุทเลา
ต�ำบลพุทเลา เดิมมีตน้ ไม้ใหญ่ทหี่ นาแน่น และมีประชาชน อพยพเข้ามาตัง้ ถิน่ ฐาน เนือ่ งจากมีลำ� คลองใหญ่ไหลผ่าน และได้ สร้างวัดชื่อวัดเสาหินใหญ่เป็นรูปอินทรีกับยอดเสาหินและสร้าง โบสถ์แบบโบราณชั้นเดียวตั้งอยู่ก่ึงกลางภายในผนังโบสถ์เขียน ภาพลวดลายสวยงาม จึ ง ได้ ชื่ อ บ้ า นตามวั ด คื อ วั ด นนทรี ย ์ และเรียกคลองพุทเลา
ศาสนาสถานส�ำคัญของต.พุทเลา
วัดนนทรีย์
วัดนนทรีย์ เป็นวัดเก่าแก่วดั หนึง่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2300 และได้วสิ งุ คามสีมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2310 ปัจจุบนั มีพระครูวจิ ติ รการ โกศลเป็นเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะอ�ำเภอบางปะหัน ในอดีต มีพระครูธรรมการ (หลวงพ่อเพ็ชน์) เกจิอารจารย์ชื่อดังที่เป็นที่ รู้จักในประเทศไทยมาช้านาน เป็นเจ้าอาวาส วัดนี้ไม่ปรากฏ นามผู ้ ส ร้ า ง แต่ มี ชื่ อ ปรากฏในพระราชพงศาวดาร สมั ย พระบรมราชาที่ 3 (พระทีน่ งั่ สุรยิ าอมรินทร์) ดังความตอนหนึง่ ว่า ...ครั้นแล้ว กองทัพพม่ายกมาจากเมืองสุพรรณบุรี ยกมาตามท้องทุ่ง พบกองทัพไทยตั้งค่ายรายรับอยู่ต�ำบลล�ำน�้ำ เอกราชเป็ น หลายค่ า ย ก็ ขั บ พลทหารข้ า มน�้ ำ แยกออกเป็ น หลายกอง เข้าตีค่ายทัพไทยทุก ๆ ค่าย ได้รบกันเป็นสามารถ พลทัพไทยฝีมอื อ่อน สูพ้ ม่ามิได้กแ็ ตกฉานทิง้ ค่ายเสียทุก ๆ ค่าย 126
พ่ายหนีกระจัดพลัดพรายไม่เป็นหมวดกอง และเจ้าพระยามหาเสนา (พระอภัยราชา) แม่ทพั ไทยนัน้ ขึน้ ช้างหนีมาถึงทุง่ “วัดนนทรีย”์ ทัพพม่าควบไล่ติดตามมาทัน พุ่งด้วยหอกซัดถูกตายตกจาก หลังช้าง และพระยายมราชก็ต้องหอกซัดเป็นหลายแห่ง หนี มาได้ถึงพระนคร... ภายในวัดมีพระอุโบสถทรงโบราณชัน้ เดียวก่ออิฐถือปูน ไม่มชี อ่ ฟ้า ใบระกา หน้าบันของพระอุโบสถนี้ และหน้าต่างประดับ ถ้วยจานเบญจรงค์ ผนังภายในพระอุโบสถมีภาพจิตรกรรมชาดก ต่าง ๆ เต็มทุกด้าน มีการซ่อมครัง้ หนึง่ เมือ่ สมัยหลวงพ่อสมุหด์ ษิ ฐ์ เป็นเจ้าอาวาส และสร้างใหม่ในสมัยพระครูโอภาสกิตติคณ ุ เป็น เจ้าอาวาส ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จฯ มาทรงเป็นประธานในพิธียกช่อฟ้าพระอุโบสถเมื่อปีพ.ศ.2525 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระปรมาภิไธยย่อ ภปร. ประดั บ ไว้ ที่ ผ ้ าทิพย์ด้า นหน้า ของพระประธานในพระ อุโบสถด้วย การเดินทาง :ถนน 347 เลีย้ วเข้า หมูท่ ี่ 8 ต.พุทเลา
อธิษฐาน บนบานขอโชคลาภ อีกทัง้ ยังมีศาลเจ้าแม่ตะเคียนทอง ตัง้ อยูด่ า้ นหน้าวัดกลางถนน ชาวบ้านทัง้ ใกล้และไกลมากราบไหว้ ขอพรเรื่ อ งโชคลาภ และการท� ำ มาหากิ น และแห่ ง สุ ด ท้ า ย ศาลปู่เจ้าภูมิวัดโคก อยู่ใกล้กับก�ำแพงด้านทิศใต้ของโบสถ์ การเดินทาง : ถนนอยุธยา-อ่างทองสายเก่า ก.ม. 31 ต.พุทเลา อ.บางปะหัน จ.พระนครศรีอยุธยา
กิจกรรมเด่นของอบต.พุทเลา
โครงการประเพณีแห่เทียนวันเข้าพรรษา ประจ�ำปี งบประมาณ 2558 อบต.พุทเลาได้จัดท�ำโครงการประเพณีแห่เทียนวันเช้า พรรษา ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 ณ วัดโคก, วัดนนทรีย์ วัดกุฎลี าย, วัดช้าง และวัดโพธิพ์ ระเจ้าตาก ขึน้ เพือ่ เป็นการส่งเสริม อนุรกั ษ์ ขนบธรรมเนียม ประเพณีทเี่ ป็นศิลปวัฒนธรรมอันดีของ ท้องถิน่ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน โครงการวันแม่แห่งชาติ ประจ�ำปีงบประมาณ 2558 เพื่ อ เป็ น การแสดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ต ่ อ สถาบั น พระมหากษัตริย์ และเป็นการน้อมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่ ท รงมี ต ่ อ ปวงชนชาวไทย ของสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชินีนาถ และยังเป็นการกระตุ้นเตือนให้เยาวชน ตระหนักถึงพระจริยาวัตรอันงดงาม ณ วัดนนทรีย์ ต�ำบลพุทเลา อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โครงการปั ่ น จั ก รยานเพื่ อ สุ ข ภาพผู ้ สู ง อายุ และ จักรยานสานรักษ์ อบต.พุทเลา ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการให้ประชาชน หันมาสนใจในการออกก�ำลังกาย จึงได้จดั ท�ำโครงการปัน่ จักรยาน เพือ่ สุขภาพผูส้ งู อายุ และจักรยานสานรักษ์ ขึน้ ในเขตต�ำบลพุทเลา ในวันที่ 14 สิงหาคม 2558 เพือ่ เป็นการรวมกลุม่ บุคคลทีม่ คี วาม สนใจในการปั่นจักรยานเพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ ประชาชนมีสขุ ภาพทีด่ รี า่ งกายแข็งแรงห่างไกลโรค และเป็นการ ส่งเสริมให้ประชาชนมีเจตคติที่ดีต่อการออกก�ำลังกาย
วัดโคก
สร้างขึ้น ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายประมาณ พ.ศ. 2290 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2300 ภายในวัดโคกมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ถึงสี่อย่าง คือ หลวงพ่อเกศแก้ว พิกุลทองเป็นพระพุทธรูปปรางค์มารวิชัย เนื้อโลหะสัมฤทธิ์ สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ที่มีพุทธลักษณะที่งดงามพระพักตร์ ยิ้มแย้มเปี่ยมเมตตาสูงยิ่งเป็นพระประธานในอุโบสถ ในเศียร หลวงพ่อมีนำ�้ มนต์ศกั ดิส์ ทิ ธิอ์ ยูใ่ นเศียรท่าน มีชาวบ้านเคารพนับถือ มาขอน�ำ้ มนต์ไปรักษาอาการเจ็บป่วยไข้ เชือ่ ว่าช่วย ปัดเป่าโรคภัย และน�ำความสุขความส�ำเร็จมาให้ หลวงพ่อนาค เป็นพระพุทธรูป ปรางค์นาคปรกสมัยลพบุรี แกะสลักจากหินทรายเขียว มีพทุ ธลักษณะ ที่งดงามสง่าอ่อนช้อย ซึ่งเคยถูกโจรกรรมมาหลายครั้งแต่ก็ได้ กลับคืนมาทุกครั้ง เป็นพระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ มีผู้มากราบไหว้ Ayutthaya 127
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านลี่
“ชุมชนเกษตรกรรม หัตกรรมพื้นบ้าน ก้าวล�้ำพัฒนา สู่บ้านเมืองน่าอยู่ควบคู่คุณธรรม”
เสริมผิวจราจร หมู่ที่ 2, 3 และ 4
โครงการปรับปรุงถนนลอดใต้สะพาน หมู่ที่ 1
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านลี่ ซึ่งมี
ส�ำนักงานตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านลี่ อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัด พระนครศรีอ ยุธยา อยู่ห่างจากอ�ำเภอบางปะหัน ประมาณ 4 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายประสงค์ จิตต์จ�ำนงค์ เป็นนายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านลี่
ประวัติความเป็นมา
เดิมราษฎรในต�ำบลส่วนหนึ่งเป็นชาวมอญอพยพ มีอาชีพ อย่างหนึ่งเรียกว่า “ลี่” หรือ “ท�ำลี่” ซึ่งหมายถึงท�ำอุปกรณ์ดัก ปลาชนิดหนึ่ง และเป็นที่เข้าใจของคนทั่วไปเมื่อถามถึงการท�ำลี่ ประกอบกับเป็นชุมชนเล็กๆ จึงเรียกว่า “บ้านลี่” ซึ่งกลายเป็น ชื่อต�ำบลในเวลาต่อมา
ข้อมูลทั่วไป ต�ำบลบ้านลี่ มีสภาพพื้นที่ทั่วไปเป็นที่ราบลุ่มถึงลุ่มมาก มี พื้นที่ทั้งหมด 5.49 ตารางกิโลเมตร (3,430 ไร่) มีหมู่บ้านภายใต้ การดูแลของอบต.บ้านลี่ 5 หมู่บ้าน มีประชากร 2,357 คน อาชีพหลักของประชาชนคือเกษตรกรรม รองลงมาคือประกอบ อาชีพรับจ้างทั่วไป 124
ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะหมู่ที่ 5
ปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้าน
แนวทางการพัฒนา ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านลี่ อยู่ภายใต้การ บริหารงานของ นายประสงค์ จิตต์จ�ำนงค์ นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลบ้านลี่ โดยมีความมุ่งมั่นพัฒนาต�ำบลบ้านลี่ ให้ เ กิ ด ความเป็ น รู ป ธรรมในด้ า นต่ า งๆ โดยปรั บ ปรุ ง และ พั ฒ นาระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานให้ ค ลอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ประชาชนได้รับความสะดวก พัฒนาคุณภาพชีวิต จัดสวัสดิการ สั ง คมและสงเคราะห์ ใ ห้ กั บ ประชาชน เพื่ อ ให้ ป ระชาชนมี ความมั่นคงในการด�ำรงชีวิต สังคมอยู่ดี มีสุข ส่งเสริมการ เรี ย นรู ้ ใ ห้ เ ด็ ก เยาวชน ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การพั ฒ นา อาชีพ อนุรักษ์สืบสานศิลปวัฒนธรรมอันดีงามและภูมิปัญญา ท้องถิ่น
ผลการด�ำเนินงานด้านต่าง ๆ
ขุดลอกคลอง แหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ วัดประมุง เดิมเป็นวัดร้าง ซึ่งเชื่อกันว่าสร้างมาตั้งแต่สมัย อยุธยา ต่อมามีพระอาจารย์ทอง ได้ธุดงค์มาพักที่วัดร้างแห่งนี้ และได้สร้างเป็นวัดขึ้นมา มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์คือพระประธานในพระ อุโบสถ พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ศิลปะสมัยอยุธยา ซึ่ง ชาวต�ำบลบ้านลี่ให้ความเคารพนับถือกันทั่วไป ของแก้บนที่ นิยมน�ำมาถวายคือ พวงมาลัย, รูปหล่อหลวงพ่อทอง เจ้า อาวาสองค์แรก ก็เป็นที่เคารพนับถือในความศักดิ์สิทธิ์เช่นกัน
โครงการผู้สูงอายุ
โครงการแห่เทียนเข้าพรรษา
จ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ วัดอินกัลยา สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง มี พระพุทธรูปศักดิ์สิทธ์ประจ�ำวัดคือ หลวงพ่อปาน เป็นพระพุทธ รูปปางสมาธิ ประดิษฐานในประอุโบสถเก่า มีเรื่องเล่าว่าเมื่อ สมเด็จพระนารายณ์ ยกทัพไปตีเชียงใหม่ ในปี พ.ศ.2224 เมื่อ ชนะศึกกลับมาได้ทรงน�ำพระแก้วบุษราคัมมาด้วย และมีเรื่อง เล่าถึงความศักดิสิทธิ์ว่า เมื่อพระองค์เจ้าปาน พระราชโอรสใน พระเพทราชา มาอุปสมบทและจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดอินกัลยาแห่ง นี้ เป็นที่เคารพนับถือมีลูกศิษย์ลูกหามาก และได้สิ้นพระชนม์ใน ปี พ.ศ.2308 บรรดาศิษย์อาลัยอาวรณ์มาก ได้ท�ำพิธีอัญเชิญ ดวงพระวิญญาณเข้าสิงสถิตในพระแก้วบุษราคัม และเมื่อพม่า ยกทัพมาตีอยุธยา พ.ศ.2309 ลูกศิษย์จึงได้น�ำปูนมาพอกพระ แก้วบุษราคัมและลงรักปิดทองหุ้มเอาไว้ จึงมิได้ถูกท�ำลาย ปัจจุบันเป็นที่เคารพศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์
โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ดนตรีไทย
โครงการหนูน้อยเรียนรู้สู่โลกกว้าง
โครงการวันพ่อ
ตั้งจุดตรวจ Ayutthaya 125
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตานิม
“โครงสร้างพื้นฐานครอบคลุม สนับสนุนกีฬาและการศึกษา รักษาสภาพแวดล้อม ส่งเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ในการพัฒนาท้องถิ่น (Vision) ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตานิม ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลตานิม อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอบางปะหัน ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 3 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายพนัส คงสัตย์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตานิม
ข้อมูลทัว่ ไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตานิม มีขนาดพื้นที่โดย ประมาณ11.84 ตร.กม. หรือประมาณ 7,375 ไร่ เขตรับผิดชอบมี 2 ต�ำบล คือ ต�ำบลตานิมและ ต�ำบลบางนางร้า รวม 8 หมู่บ้าน จ�ำนวน 1,116 ครัวเรือน มีประชากรทัง้ หมด 3,582 คน
จุดเด่นของพืน้ ที่
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มถึงลุ่มมาก มีแม่นํ้าลพบุรี และมีล�ำคลองชลประทานบางแก้ว (สายอยุธยา-มหาราช) ตัดผ่านในบริเวณพืน้ ที่ จึงเหมาะส�ำหรับท�ำเกษตรกรรม (นาข้าว) การเพาะปลูกพืชหมุนเวียนและการท�ำอุตสาหกรรมเนื่องจาก มีถนน สายเอเชีย (AH2) เป็นศูนย์กลางเดินทาง และมีเส้น ทางหลักสะดวก ในการเดินทางสู่ตัวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และอ�ำเภอใกล้เคียง 128
ศักยภาพชุมชนและพืน้ ที่
มีการรวมกลุม่ ของประชาชน โดยจัดตัง้ เป็นกลุม่ อาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) จ�ำนวน 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มอาชีพ จักสานงอบใบลาน, กลุม่ อาชีพจักสานตะกร้าปอป่าน, กลุม่ อาชีพ จักสานตระแกรงไม้ไผ่และกลุ่มอาชีพจักสานกระจาดไม้ไผ่
พันธกิจ
ปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานทีจ่ ำ� เป็นแก่ประชาชนในพืน้ ทีใ่ ห้ได้รบั ความสะดวกและมีมาตรฐาน สนับสนุนกีฬาในกลุ่มเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติด
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ผลการด�ำเนินงานประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย 4. ยุทธศาสตร์ด้านการวางแผน ส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรมและการท่องเที่ยว 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการ และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านบริหารจัดการที่ดี
1. โครงการฝึกอบรมความรู้และการจัดตั้งชมรมผู้ผลิต สินค้าชุมชน (OTOP) 2. โครงการฝึกอบรมและซ้อมแผนป้องกันและระงับ อัคคีภัยในสถานศึกษา 3. โครงการค่าย ”พลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด” 4. โครงการฝึกอบรมผูน้ ำ� ต้นแบบวินยั จราจรและอาสาจราจร 5. โครงการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมเพื่อป้องกันและลด อุบัติเหตุทางถนนในช่วงเทศกาลฯ 6. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 7. โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก 8. โครงการติดตั้งกล้องวงจรปิด cctv ทั้งสองต�ำบล 9. โครงการก่อสร้างถนน คสล. จ�ำนวน 7 เส้น 10. โครงการก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ จ�ำนวน 1 แห่ง 11. โครงการซ่อมแซมสะพานไม้ข้ามคลอง จ�ำนวน 1 แห่ง 12. โครงการก่อสร้างถนนดินลูกรัง จ�ำนวน 2 เส้น 13. โครงการขุดลอกล�ำรางสาธารณะ จ�ำนวน ๔ แห่ง 14. โครงการอุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเพื่อขยายเขต ไฟฟ้าสาธารณะ ทั้งสองต�ำบล ฯลฯ
Ayutthaya 129
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์สามต้น
”
พื้นที่ต�ำบลน่าอยู่คู่เมือง ประวัติศาสตร์มุ่งพัฒนาท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนป็น หลักเพื่อประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน
”
คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์สามต้น ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 48/6 หมู่ที่ 8 ต�ำบลโพธิ์สามต้น อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูห่ า่ งจากอ�ำเภอบางปะหัน ประมาณ 3 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายประสาร สุขร่าง ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์สามต้น
ประวัติความเป็นมา เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีก่อนที่จะเสีย กรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่าครัง้ ทีส่ อง พม่าได้ยกทัพก�ำลังพลมา ประมาณ 500,000 คน มาล้อมรอบกรุงศรีอยุธยาและจัดตัง้ กองทัพเพื่อเตรียมก�ำลังพลที่บ้านโพธิ์สามต้นซึ่งมีประชาชน ชาวไทยอาศัยก่อนหน้านั้นอยู่แล้ว เนื่องจากก�ำลังพลของ กรุงศรีอยุธยามีน้อยจึงพ่ายแพ้แก่พม่า และอยู่เป็นเมือง อาณานิคมของพม่าระยะหนึ่ง ต่อมาประมาณปีพ.ศ.2310 สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทรงท�ำสงครามชนะพม่าพร้อมทัง้ ประกาศอิสรภาพ เมื่อเหตุการณ์เข้าสู่สภาวะปกติ บริเวณบ้านโพธิ์สามต้นซึ่ง เป็ น แหล่ ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยพื ช พั น ธุ ์ ธัญ ญาหาร จึ ง มี ประชาชนอพยพ เข้ามาตัง้ หลักแหล่งท�ำมาหากินเป็นจ�ำนวน มาก ต่อมาได้ยกฐานะเป็นต�ำบลเรียก“ต�ำบลโพธิ์สามต้น” 130
ข้อมูลทั่วไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิ์สามต้นมีพื้นที่รวม 2 ต�ำบล คือต�ำบลโพธิ์สามต้นและต�ำบลขยาย มีเนื้อที่โดย ประมาณ 12.25 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 14 หมู่ อยู่ในเขตต�ำบลโพธิ์สามต้นจ�ำนวน 8 หมู่บ้าน และอยู่ ในเขตต� ำ บลขยายจ� ำ นวน 6หมู ่ บ ้ า น มี ป ระชากรทั้ ง สิ้ น 5,097 คน แยกเป็นชาย 2,423 คน หญิง 2,674 คน จ�ำนวน ครัวเรือน 1,688 ครัวเรือน (ณ เดือนมกราคม 2558) ประชากร
ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ การท�ำอิฐมอญ และอาชีพรับจ้าง พันธกิจ 1.การจัดให้มี และบ�ำรุงรักษาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค 2.ส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน และ สร้างรายได้ 3.การพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารการจัดการ และคุณภาพชีวิตของชุมชน 4.ส่งเสริมด้านการศึกษา 5.การพัฒนาสภาพสิง่ แวดล้อม และศิลปวัฒนธรรม ท้องถิ่น และการท่องเที่ยว
กลุ่มประสานใจ
Ayutthaya 131
วัดม่วง
ค่ายโพธิ์สามต้น สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ วัดม่วงมีโบสถ์เก่าแก่ภายในมีภาพวาดสีโบราณ อายุประมาณ 200กว่าปี ค่ายโพธิส์ ามต้นเป็นบริเวณทีอ่ ยูบ่ นเส้นทางเดินทัพ ระหว่างกรุงศรีอยุธยากับหัวเมืองฝ่าย เหนือ ปรากฏหลักฐาน ในสมัยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ คราวสงครามไทยพม่า พ.ศ. 2091 พระเจ้าตะเบ็งชะเวตีน้ ำ� ทัพหลวง เสด็จยกทัพมาตัง้ ค่ายหลวง ณ ทุง่ พุทเลา แล้วเสด็จทรงช้างพระทีน่ งั่ กระโจมทอง น�ำก�ำลัง กองหลวงข้ามโพธิ์สามต้น มาตามทุ่งเพนียดเสด็จยืนช้าง ณ วัดสามวิหาร เตรียมเข้าตีกรุงศรีอยุธยา 132
Leather Craftsmanship อุตสาหกรรมผลิตและฟอกหนังสำ�เร็จรูป
ECCO TANNERY (THAILAND) is a world leading leather manufacturer. We are a part of ECCO Group, the a world leading Danish footwear manufacture with over than 10,000 employees And with subsidiaries as well as cooperated partners all over the world. here is an opportunity for dynamics and energetic individuals who like a challenging job to be a part of our bright future with promising career advancement to be part of our Thailand operation, which located in Ayutthaya province and to be part of our global success.
เส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
134
วัดบางเดื่อ...อนุสรณ์สถานแห่งพระเจ้าตาก Wat Bang Duea memorial King Taksin
วัดบางเดื่อ เดิมชื่อวัดดอกมะเดื่อ สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๓๐๐ ได้รับพระราชวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๗ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ ระหว่างแม่น�้ำป่าสักกับแม่น�้ำลพบุรี ในท้องที่อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในอดีต สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงเลือกเป็นหนึง่ ในชัยภูมสิ ำ� คัญเพือ่ ตัง้ กองบัญชาการ ในการกอบกูเ้ อกราช ปัจจุบนั วัดบางเดือ่ ไม่เพียงแต่จะเป็นสถาน ที่ปฏิบัติธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นอนุสรณ์สถานให้คนยุคใหม่ได้ ร�ำลึกถึงพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และความกล้าหาญ เสียสละ สามัคคีของกองทัพ และเป็นแหล่ง เรียนรู้พระราชประวัติด้านต่าง ๆ ของพระองค์ด้วย Wat Bang Duea is located in Bang Pahan District, Phra Nakhon Si Ayutthaya. . Wat Bang Duea is Maha nikaya temple, built in 1,757 but the temple has been granted-Sima ngakham (official Buddhism boundary sign) in 1,844. King Taksin used Wat Bang Duea to be the secret base command for reestablishment the independence. Ayutthaya 135
ก�ำแพงค่ายสิบเส้น ค่ายพม่าโพธิส์ ามต้นฟากตะวันออกจึงอยู่ ในระยะฉกรรจ์ของปืนเรือจากกองกลางของกองเรือเจ้าตาก “เดือน ๑๐ เดือน ๑๑ เดือน ๑๒ สามเดือนนีเ้ ปนปริมณฑลน�ำ้ นาคเอาหัวไปอยู่บูรพ์หางไปประจิม เสนาผู้ใดน�ำพลแต่ ประจิม แม้นมีฤทธิ์ดั่งพระนารายณ์ก็ดี แลพระยาผู้นั้นใน ยุทธนั้นก็ปราชัยแล” ครั้นรุ่งเช้าเป็นวันพฤหัสบดีขึ้น ๑๔ ค�่ำ เดือน ๑๒ (วันที่ ๕ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๓๑๐) เพลา สามโมงเศษ เจ้าตากจึงสัง่ ให้เคลือ่ นพลตามเกล็ดนาคจากทิศ ตะวันออก เข้าตีคา่ ยพม่าโพธิส์ ามต้นฟากตะวันออกพร้อมกัน ทัง้ สามกอง ทหารพม่ามอญในค่ายได้ยนิ ชือ่ เจ้าตากเป็นแม่ทพั ก็ขวัญกระเจิงมิเป็นอันต่อรบ เพลาสายพระยังไม่ฉนั เพล ค่าย ฟากตะวันออกก็แตก เจ้าตากไม่รอช้า เห็นศึกก�ำลังเป็นเปรียบ หลังจากกรุงศรีอยุธยาถูกพม่าตีแตก เจ้าตากพร้อมก�ำลังพล จึงตรัสสั่งให้ท�ำบันไดแล้วพาดปีนเข้าก�ำแพงค่ายใหญ่ฟาก ถอยไปตั้งหลักจัดเตรียมกองทัพเรือที่เมืองจันทบุรี เป็นเวลา ๓ ตะวันตกในเพลาบ่าย สุกพี้ ระนายกองบัญชาการรบอยูจ่ นตัว เดือน แล้วทรงยกทัพมาทางเรือถึงปากทางแม่น�้ำเจ้าพระยา เข้า ตายพร้อมด้วยพลทหารมอญจ�ำนวนมาก ตีค่ายธนบุรีแตก และทรงจัดวางคนให้รักษาเมืองธนบุรีเรียบร้อย “กลศึกเจ้าตาก” ในครั้งนั้น สามารถขับไล่พม่ามอญ แล้ว กองเรือเจ้าตากก็เคลื่อนขบวนเพื่อจะเข้าโจมตีค่ายพม่าที่ ออกจากแผ่นดินไทยได้สำ� เร็จ และทรงสถาปนากรุงธนบุรเี ป็น โพธิส์ ามต้น ครัน้ ขบวนผ่านเข้าทางปากแม่นำ�้ ลพบุรี พระองค์ทรง ราชธานี หลังจากเสร็จสิน้ ศึกใหญ่ครัง้ นัน้ แล้ว วัดบางเดือ่ ก็ได้ เลือกชัยภูมยิ ทุ ธศาสตร์สำ� คัญในการตัง้ กองบัญชาการทีว่ ดั บางเดือ่ ถูกทิง้ ร้างมานาน สิง่ ปลูกสร้างรวมถึงพระอุโบสถได้ชำ� รุดผุพงั ซึ่งเป็นที่เนินสูง ๒๕ วา หรือที่เรียกว่า “ชัยภูมิครุฑนาม” เป็นฐาน ไปตามกาลเวลา บัญชาการรบ เนื่องจากมีคลองบางเดื่อเชื่อมล�ำน�้ำลพบุรีและป่า * เรียบเรียงโดย นาวาอากาศตรี ดร.สหัสชัย มหาวีระ สักเป็นทางรุกทางถอย ดังความตอนหนึ่งว่า “เขาตั้งที่นาคฤาไกร เราตั้งใหญ่ที่ครุฑธเหินเวหา มีเขาจอมปลวกต้นไม้ ต้นหนึง่ สูงใหญ่ นามครุฑอย่าได้อางขนาง” กองเรือเจ้าตากจอดปรับขบวนสงบนิง่ เพือ่ รอเวลาเข้าบดขยี้ ข้าศึก โดยหลวงพิชยั อาสาคุมเรือไล่ ๒๐ ล�ำ พลรบพันหนึง่ เป็นก องหน้า พระเชียงเงินและหลวงพรหมเสนา คุมเรือรบ ๖๐ ล�ำ พลรบจีนไทยรวมสามพันเป็นกองกลาง หมืน่ ราชเสน่หาคุมเรือไล่ ๒๐ ล�ำ พลรบพันหนึ่งเป็นกองหนุน ทั้งสามกองวางก�ำลังรบตาม ล�ำน�้ำลพบุรีเรียงรายตั้งแต่บ้านลาวลงมาถึงบางชวด ห่างแนว
วัดบางเดื่อ กับ “กลศึกเจ้าตาก”
136
การบูรณปฏิสังขรณ์วัดบางเดื่อ
* พล.อ.เทียนชัย สิริสัมพันธ์ และผู้มีจิตศรัทธา ได้ ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ สร้างพระประธานเพิม่ ขึน้ อีกหนึง่ องค์ สร้างศาลาเพื่อใช้ประกอบพิธีทางศาสนา และสร้างสะพาน ข้ามคลองชลประทาน * พล.อ.สม ขัตตพันธ์ พร้อมคณะผู้มีจิตศรัทธา ร่วม กันสร้างพระเจดีย์ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับเหล่าทหารหาญ ๕๐๐ นาย ที่ร่วมรบกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พล.อ.เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พล.อ.สุจินดา คราประยูร
พล.อ.อายุพูล กรรณสูต
พล.ร.ท.นพพร วุฒิรณฤทธิ์
พ.อ.อ.สุรศาสตร์ วิเศษลา
พล.อ.สม ขัตตพันธ์
* พล.อ.สุจินดา คราประยูร พล.อ.อายุพูล กรรณสูต พลตรีธนู ชัยเสนะบัณฑิต และนายประสงค์ เลี้ยงสัจธรรม ได้รว่ มกันสร้างพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชนัง่ บัลลังก์ ขนาดเท่าองค์จริง พร้อมทั้งสร้างพระต�ำหนักที่ ประทับ โดยมีผู้ร่วมบริจาคอีกหลายท่าน อาทิ นายเจริญ สิริ วัฒนภักดี นายบุญธรรม ทองไข่มกุ ต์ และ ดร.อดิสยั โพธารา มิค ฯลฯ * พล.อ.อายุพลู กรรณสูต จัดสร้างห้องน�ำ้ ศาลาปฏิบตั ิ ธรรม ปลูกต้นไม้และปรับภูมิทัศน์วัดให้ร่มรื่นสวยงาม และ ได้สร้างศาลาเพื่อประดิษฐานเรือพระที่นั่ง ฯ และรูปปั้นบิดา มารดา
* พล.ร.ท.นพพร วุฒิรณฤทธิ์ ผู้ที่มีอุปการะวัดบางเดื่อ และช่วยเหลือ คุณ หนุ่มบางเดื่อ ตลอดเวลาที่เข้ามาบูรณะ * พ.อ.อ.สุรศาสตร์ วิเศษลา (หนุ่ม บางเดื่อ) เมื่อ มิถนุ ายน ปี ๒๕๕๖ ได้เข้ามาบุกเบิกและด�ำเนินการสร้างบูรณะ สิ่งต่าง ๆ อีกครั้ง ภายในวัด โดยได้ออกแบบและจัดสร้าง หอ จดหมายเหตุ โรงทานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พร้อม ออกแบบลั ก ษณะหน้ า บั น เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนปัจจัยต่าง ๆ จาก ผู้มีจิตศรัทธาต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช Ayutthaya 137
ปูชนียวัตถุและสถานที่ส�ำคัญในวัด
๑. หลวงปู่ขาว พระพุทธรูปเก่าแก่ศิลปะอยุธยา ประดิษฐาน ในอุโบสถ ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะและเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาว บางเดื่อ ๒. พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงบัลลังก์ เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและพระอัจฉริย ภาพของมหาราชวีรกษัตริย์ไทย ๓. หอจดหมายเหตุ โรงทานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คือแหล่งเรียนรูพ้ ระราชประวัตดิ า้ นต่าง ๆ ของพระองค์ เพือ่ เทิดทูน พระเกียรติสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และเป็นโรงทาน ความ รู้ ปัญญา กาย ต่อผู้เข้าเยี่ยมชมศึกษา ๔. เรือพระที่นั่งทรงรบสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งมี เจ้าของโรงสีทา่ นหนึง่ ได้นมิ ติ จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ว่า มีเรือพระทีน่ งั่ ทีท่ รงประทับในคราวเสียกรุงศรีอยุธยา จมอยูใ่ นแม่นำ�้ ย่านนั้น เมื่อไปยังจุดที่ได้รับแจ้งตามนิมิต ก็พบเรือพระที่น่ังอยู่ใน สภาพสมบูรณ์แม้เวลาจะผ่านมากว่าสองร้อยปีแล้วก็ตาม ปัจจุบัน ประดิษฐานที่ศาลาเรือพระที่นั่ง 138
Sacred objects and important places in the temple
1.Luang Por Khaw – Buddha Statue from Ayuthya Period 2.Statue of King Taksin in the position of sitting on the throne 3.Library of the King Taksin - represent the king biography and history, 4.The king Tasin’s boat 5.The emblem in front of the chapel 6.Pagoda of the soldiers to lost their life in Ayuthaya reestablishment
๕. ตราหน้ า บั น หอจดหมายเหตุ โรงทานสมเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช มีลกั ษณะเป็นโครงสามเหลีย่ ม ท�ำ ลวดลายแกะสลักเป็นซุม้ คล้ายซุม้ โขง ตรงกลางมีรปู ดวงตรา มหาเดช ซึ่ ง เป็ น ดวงตราประจ� ำ พระองค์ ส มเด็ จ พระเจ้าตากสินมหาราช อยูเ่ หนือ “นกยูง” ซึง่ หมายถึงความ เป็นมหาราช เหนือตรามีพระมาลาพระองค์ ภายใต้พาหนะ นักรบทรงอ�ำนาจ กล้าหาญ “ม้าโผน” รายล้อมด้วย “วานร “หมายถึง พละก�ำลังทางบก และ “พญานาค” ผูม้ ฤี ทธิท์ างน�ำ้ ยอดปลายปราสาทมี “นกฮูก” อยูเ่ หนือสุด หมายถึง พระอัจฉ ริยภาพ ส่วนฐานของซุ้มท�ำเป็นท่อนไม้สองข้างท�ำเป็นท่อน ไม้แปดเหลี่ยมสลักลวดลาย ซึ่งท�ำปลายเสาทั้งสองข้างเป็น รูปหัวเม็ด โดยมี “หงส์” ยืนประกอบทั้งสองข้างสวยงาม ๖. พระเจดีย์อัฐิทหารหาญไทยที่ร่วมถวายชีวิตเป็น ชาติพลี จ�ำนวน ๕๐๐ นาย อนุสรณ์สถานอีกแห่งนี้ซึ่งถือว่า มีคุณค่ายิ่งและอยู่ใกล้ กับ ยุทธภูมิค่ายโพธิสามต้น ทหาร หาญผู้เสียสละ รวมใจเอาเลือดทาแผ่นดินเป็นชาติพลี กอบ กูเ้ อาอิสรภาพเหนือดินแดน น�ำเอาภูมปิ ระเทศขวานทองแห่ง นี้มา ให้พี่น้องชาวสยาม ทุกคน ได้อยู่ดีมีสุขทุกวันนี้ ถ้าจะมี อนุสรณ์สถานบอกเล่าความส�ำคัญ คุณค่าของความสามัคคี ความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวกัน ความเสียสละ ความภักดีด้วย สุจริต ทีค่ วรค่าแก่การเชิดชูใน พระอัจฉริยะภาพของมหาราช วีรกษัตริย์ ที่ได้น�ำทหารหาญร่วมรบเอาเลือดทาแผ่นดิน ส่ง มอบแผ่นดิน สินทรัพย์และอิสรภาพเหนือดินแดน ให้เรามี ถิ่นฐานมั่นคงในทุกวันนี้ คุณค่าและความเสียสละของบรรพ ชนในยุคสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
กิจกรรมส�ำคัญภายในวัดบางเดื่อ
จัดให้มีการปฏิบัติธรรมเพื่อน้อมถวายอุทิศบุญกุศลแด่ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตัง้ แต่เวลา ๐๗.๓๐ - ๑๑.๐๐น. ณ ลานธรรม ลานโพธิ์ ศาลา พล.อ.อายุพูล กรรณสูต และกิจกรรมเดินจงกรมวิปัสสนา ภายใน “สวนวิมุตติ ธรรม” ทุกวันอาทิตย์
Activity in the temple
Meditation for the merit of the great King Taksin on every Sundays at 7.30 – 11.00 am at Lantham Lanpho General Aryupoon Kanasut Pavillion. Vipassana Meditation every Sundays at Suanvimuttitham.
Ayutthaya 139
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดตาลเอน...ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแห่งที่ 15 วัดตาลเอน เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 วัดตาลเอน ต�ำบลตาล เอน อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยาแห่งที่ 15 (ตามแนวสติปฏั ฐานสี)่
ประวัติวัดตาลเอน
จากการบอกเล่าสืบต่อมากันคือ วัดตาลเอนเป็น 1 ใน 3 วัด ที่สร้างพร้อมกันโดยสามพี่น้องคือ วัดตาลเอน วัดทางกลาง และวัดบางเพลิง ผูส้ ร้างวัดตาลเอนคือ “เจ้า เทพศักดิ์” ผู้เป็นพี่ แต่สร้างในปีใด ใครเป็นเจ้าอาวาสไม่ ปรากฏหลักฐาน แต่จากหลักฐานทางโบราณวัตถุ เช่น พระประธาน เก่าแก่ในอุโบสถที่เป็นศิลปะสมัยอยุธยา และพระเจดีย์หลังองค์พระ อุโบสถ จึงสันนิษฐานว่าถูกสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รบั การบูรณ ปฏิสังขรณ์ เมื่อปีพ.ศ.2360 (สมัยรัชกาลที่ 2) และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2371 เมื่ อ ปี พ.ศ.2516 พระครู พิ ทั ก ษ์ ศี ล คุ ณ (พระมหาสรั่ น ) เจ้าอาวาสได้ร่วมกับชาวตาลเอนรื้ออุโบสถเดิมเพื่อท�ำการสร้างใหม่ เมื่อขุดรากฐานพบแผ่นจารึกมีชื่อ “หลวงพ่อแช่ม” เป็นเจ้าอาวาส แต่จะเป็นเจ้าอาวาสที่ท�ำการก่อสร้างครั้งแรก หรือเจ้าอาวาสซึ่ง ท�ำการซ่อมแซมสมัยต่อ ๆ มา ก็ไม่อาจทราบได้
ล�ำดับเจ้าอาวาสและรักษาการ
หลวงพ่อแช่ม, พระอาจารย์คำ� , พระอาจารย์กณ ั หา จนฺทโชโต
140
ได้ปฏิสงั ขรณ์วดั จนมีความรุง่ เรือง, พระอาจารย์ฟอง กนฺตสีโล (พระครูโศภนธรรมภาณ) พระนักเทศน์ที่ท�ำให้วัดเป็นสถาน ศึกษาปริยัติธรรมที่เจริญมาก, พระมหาสรั่น รกฺขิตตสีโล, พระอาจารย์ ท วี อตฺ ถ โกสโร (รั ก ษาการ),พระภิ ก ษุ ด� ำ รง มณุญโญ (พระครูสถิตธรรมคุณ), พระเฉลียวฐานสุโข แต่ท่าน สุขภาพไม่ค่อยดีจึงขอลาออก และเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ พระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์
อาคารเสนาสนะและสิ่งศักดิ์สิทธิ์
อุโบสถ สร้างในสมัยอยุธยา บูรณะในสมัยรัชกาลที่ 2 มี พระประธานเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ชื่อว่า “หลวงพ่อ ปลัง่ ” ,พระวิหารหลวงพ่อเกตุและหลวงพ่อขาว บูรณะในสมัย พระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์, พระมณฑป นายสระ-นางแสง
จันทร์ปรุง ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และหลวงพ่อ ประทานพร, ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ทรงไทยขนาดใหญ่ เสามีขนาด 2 คนโอบ หน้าบันเป็นไม้ แกะสลักรูปพระนารายณ์ ทรงครุฑ,หมู่กุฏิสงฆ์โบราณ มี 11 หลัง และมีหอฉันประดับด้วย ไม้ฉลุ นอกจากนีย้ งั มี ศาลเจ้าแม่กวนอิมพระโพธิสตั ว์ ประดิษฐาน รูปปั้นพระโพธิสัตว์เจ้าแม่กวนอิม รูปปั้นพระสังกัจจายน์ และรูป ปั้นพระปิยมหาราช, ห้องเรียนวัดตาลเอน อดีตเคยเป็นหอฉัน ภัตตาหารเก่า, โรงเรียนประชาบาล 1 หลัง สร้างสมัยหลวงพ่อ ฟอง บู ร ณะสมั ย พระครู วิ สุ ท ธิ์ ภ าวนาประสิ ท ธิ์ , หอประชุ ม อเนกประสงค์ สร้างสมัยพระอธิการเฉลียว ฐานสุโข, หอระฆัง พร้อมระฆังจากเมืองมัณฑะเลย์ , พระเจดียโ์ บราณ แบบย่อมุมไม้ สิบสอง บูรณะสมัยพระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์, ก�ำแพงแก้ว โบราณพร้อมพระเจดีย์ สมัยรัชกาลที่ 2 บูรณะสมัยพระครูวสิ ทุ ธิ์ ภาวนาประสิทธิ์, ศาลาทรงไทยตรีมุข, ศาลาปฏิบัติธรรม “80 ปี พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม), อาคารอเนกประสงค์ “พรชัยมงคล หลวงพ่อจรัญเมตตา”, อาคารรวมใจบุญ ที่พักผู้ ปฏิบัติธรรม สร้างในสมัยพระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์ ฯลฯ
ประวัติพระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์
พระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์ วิ. (จิรยุทธ์ ฉายา อธิฉนฺโท) อายุ 40 พรรษา 21 วิทยฐานะ น.ธ. เอก, ป.บส. ปัจจุบันด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดตาลเอน เจ้าส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัด พระนครศรีอยุธยาแห่งที่ 15 และเจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดตาลเอน แผนกธรรมและบาลี บรรพชา พ.ศ.2534 ณ.วัดชุมพลนิกายารามราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพระญาณรังสี เป็นพระอุปชั ฌาย์ โดย อยูใ่ นความดูแลของพระโสภนพัฒโนดม พ.ศ. 2538 ณ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี พระอุปัชฌาย์ พระราชสุทธิญาณมงคล พระกร รมวาจาจารย์ พระครูสังฆรักษ์ชูชัย อริโย พระอนุสาวนาจารย์ พระครูปัญญาประสิทธิคุณ ความช�ำนาญพิเศษ งานการสอน ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน, งานการจัดอบรม, งานการบรรยาย, งาน สาธารณูปการ, งานสาธารณสงเคราะห์
สมณศักดิ์ - พระธรรมธร ฐานานุกรมใน พระเทพสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) เจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2547 - พระครูสมุห์ ฐานานุกรมใน พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) เจ้าคณะจังหวัดสิงห์บรุ ี เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2547 - พระครูปลัดกิตติวฒ ั น์ ฐานานุกรมใน พระธรรมกิตติโสภณ วัดสระเกศ ราชวรมหาวิหาร เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2557 - พระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์ วิ. พระราชทานเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2557
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เชิญชวนร่วมปฏิบัติธรรม ณ วัดตาลเอน ส�ำนักปฏิบัติธรรม วิปัสสนากรรมฐาน ในแนวทางสติปัฏฐานสี่ ของพระเดชพระคุณ พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน ซึ่งพระครูวิสุทธิ์ภาวนาประสิทธิ์ ได้น�ำมาเผยแผ่ให้กับผู้ที่สนใจ ในการปฏิบตั ธิ รรม ติดต่อได้ที่ ส�ำนักงานวัดตาลเอน โทร.035-778552, 095-815-9718 หรือ ติดต่อขอเข้าอบรมโครงการปฏิบตั ธิ รรม มือถือ 087-563-5510 (แม่ชีอร), มือถือ 081-513-5221 (โยมนก) ติดต่อมูลนิธิวัดตาลเอน (พระครูสมุห์จิรยุทธิ์ อธิฉนฺโท) โทร 035778-504 Ayutthaya 141
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดผึ่งแดด วั ด ผึ่ ง แดด เป็ น วั ด ราษฎร์ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 68 บ้ า น ทับน�้ำ หมู่ที่ 4 ต�ำบลทับน�้ำ อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ในอดีตมี พระอธิการจีน ติสฺสเถร เป็นอดีตเจ้าอาวาส ที่บุคลทั่วไปให้ความเคารพนับถือกันมาก เรียกว่าเป็นเกจิดัง ที่มีพุทธคุณเป็นเลิศในการปกป้องคุ้มภัยแก่ผู้ที่มีวัตถุมงคล ของท่านประจ�ำกาย
ความส�ำคัญของวัดผึ่งแดด
จากหลักฐานทีเ่ คยพบจากวัด ระบุวา่ เดิมชือ่ “วัดจันทร์ เชษฐา” ปัจจุบนั มีหลวงพ่อสงัด ปวฑฺฒโน หรือ พระครูสนั ติ สุนทร เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้พัฒนาก่อร้างสร้างวัดอย่าง ถาวร เช่นขยายพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ กุฏิสงฆ์ ขณะนี้ก�ำลังก่อสร้างวิหาร พระบรมธาตุเจดีย์ศรี พุทธสาสน์ ตลอดจนท�ำสวนไม้ให้เป็นอุทยานการศึกษา และ พิพิธภัณฑ์เครื่องใช้พื้นบ้าน นอกจากนี้ ท างวั ด ได้ อ นุ ญ าต ให้ ใ ช้ ที่ ดิ น ของวั ด จั ด 142
สร้าง “ศูนย์สาธิตเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ”ตามแนวทาง พระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ซึ่ ง เป็ น โครงการสนับสนุนของ มูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยาม ยาก สภากาชาดไทย ธนาคารเพื่อการเกษตร และสหกรณ์ การเกษตร (ธกส.) องค์การบริหารส่วนต�ำบลทับน�้ำ เพื่อผลิต พืชผักและเลี้ยงสัตว์ไว้จ�ำหน่าย และเอาไว้รับประทานในครัว เรือน เป็นต้น และเพื่อเป็นต้นแบบให้ชาวบ้านทั่วไปได้ศึกษา เรียนรู้ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตร
พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของวัดผึ่งแดด
วัดผึง่ แดด มีพระพุทธรูปทีช่ าวพุทธใกล้เคียงเคารพนับถือ กันมากคือ หลวงพ่อแพ หลวงพ่อภู่ ตลอดจนแม่ตะเคียน 3 พี่ น้อง ซึ่งอยู่รอบอุโบสถ
การเดินทางไปที่วัด
ใช้เส้นทางสายเอเชีย (หมายเลข 32) แล้วเลี้ยวเข้าสาย หมายเลข 329 ไปอีกราว 3 กิโลเมตร จะพบทางเข้าวัด สอบถาม เพิ่มเติมได้ที่ พระสุรพล จิรเปโม โทร.089-457-0637
Ayutthaya 143
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดทางกลาง วัดทางกลาง ตั้งอยู่เลขที่ 77 หมู่ที่ 4 ต�ำบลทางกลาง อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูร่ มิ ฝัง่ ขวาของ แม่น�้ำลพบุรี มีพื้นที่ตั้งวัด 40 ไร่ ปัจจุบันมี พระครูสังฆรักษ์สายัณห์ ติกฺขปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดทางกลาง
วัดทางกลาง สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.2310 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2315 บางคนเรียกวัดนีว้ า่ “วัดทองกลาง” เป็นวัดทีท่ า่ นเจ้าอาวาส พระภิกษุ สามเณร และญาติโยมได้อุปถัมภ์ ดูแล บูรณะ ซ่อมแซมวัดมาอย่าง สม�ำ่ เสมอ ท�ำให้วดั ทางกลางมีอาคารเสนาสนะทีม่ นั่ คง ถาวร งดงาม ครบถ้วน ทั้งพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวด มนต์ ฌาปนสถาน กุฏิ ฯลฯ โดยสถาปัตยกรรม หรือสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในวัด เป็น สิง่ สะท้อนถึงภูมปิ ญ ั ญา ความรอบรู้ ความสามารถ ความคิด และจิตใจของชาวพุทธวัดทางกลางได้เป็นอย่างดี เช่น ศาลา ท่าน�ำ้ ซึง่ ปัจจุบนั แม้จะไม่มเี รือสัญจรมาเทียบท่า แต่กเ็ ป็นที่ 144
นัง่ พักผ่อนอันน่ารืน่ รมย์ เพราะเป็นสถาปัตยกรรมรัตนโกสินทร์ ที่มีรูปทรงสวยงามมาก หอระฆัง และหอกลอง ที่ยังคงรักษา ไว้ให้ได้เห็นอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หอกลองนั้น นับวันก็จะหา ดูได้อยากขึ้นทุกที
ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุ ท ธรั ต น์ ม งคลศรี ส รรเพชญ์ บ รมไตรโลกนาถ (หลวงพ่อขาว) พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปูน ปั้นปางสมาธิ ขนาด 2 เท่าของคนจริง มีพุทธลักษณะงดงาม สมส่วน ประวัติความเป็นมาไม่เป็นที่แน่ชัด แต่เป็นที่เคารพ
ศรัทธาของญาติบ้านทางกลาง และญาติโยมกรุงเทพ ฯ และ ต่างจังหวัด ใครที่ได้มีโอกาสมากราบไหว้สักการบูชาอธิษฐาน ขอพร มักจะประสบความส�ำเร็จสมหวัง และญาติโยมก็มักจะ น�ำละครโรงเล็กมาเล่นแก้บน ถ้าอธิษฐานแก้บนด้วยการบวช จะดีมาก หอพระ เป็นสถานทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ และ พระพุทธแก้วสารพัดนึก (หลวงพ่อด�ำ) พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ และยังใช้เป็นที่ในการเจริญสติภาวนาอีกด้วย หลวงพ่ อ ทั น ใจ พระพุ ท ธรู ป ที่ ส ร้ า งด้ ว ยศรั ท ธาของ ญาติโยมบ้านทางกลาง โดยสร้างเสร็จภายใน 1 วัน เป็น พระพุทธรูปหล่อปูน ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 5.50 เมตร พระศิวลี บรรจุพระธาตุศิวลี ให้ญาติโยมได้มาสักการ บูชา เพื่อความเจริญรุ่งเรืองมีโชคมีชัย
รายนามเจ้าอาวาส
พระอาจารย์ดัด ,หลวงพ่อชุ่ม ,พระครูวิบูลวิหารการ (พ.ศ.2499) , พระปลัดบุญลือ กิจจฺ สาโร และปัจจุบนั มี พระครู สังฆรักษ์สายัณห์ ติกฺขปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส
บทบาทของวัดต่อชุมชน
วัดทางกลางไม่เพียงแต่จะเป็นแหล่งรวมใจของชาวพุทธ ในต�ำบลทางกลางหมูท่ ี่ 1 ,2 ,3 และ 4 และใกล้เคียง ได้อาศัย เป็นที่บ�ำเพ็ญกุศลและปฏิบัติศาสนกิจในโอกาสและประเพณี ต่างๆ และทางวัดยังได้สร้างกุฏิกรรมฐาน เพื่อให้ญาติโยม
ได้มาประพฤติปฏิบัติกรรมฐาน เจริญสติภาวนาเพิ่มบุญกุศล สร้างบารมีให้กับตัวเองอีกด้วย นอกจากนี้วัดทางกลางยังได้ แบ่งปันเนื้อที่ส่วนหนึ่งให้เป็นที่ตั้งของโรงเรียนประถมศึกษา คือโรงเรียนวัดทางกลาง และเป็นที่ตั้งของสถานีอนามัย ประจ�ำต�ำบลอีกด้วย
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ความเจริญ ความเสื่อม ล้วนเป็นอนิจจัง แต่ตราบใด ที่พุทธศาสนิกชนยังคอยดูแล อุปถัมภ์บ�ำรุงอยู่วัดทางกลาง ก็จะยังคงเป็นที่พึ่งทางจิตวิญญาณ ช่วยชุบเลี้ยงจิตใจ เป็น ศูนย์รวมใจของชุมชนได้เสมอ และเป็นศาสนสถานทีจ่ ะช่วย สืบสานพระพุทธศาสนาให้ดำ� รงคงอยูต่ ลอดไป สาธุชนสนใจ ร่วมสร้างเส้นทางบุญติดต่อได้ที่ พระครูสังฆรักษ์สายัณห์ ติกฺขปญฺโญโทร.0-357-781-11,089-952-5233 “ทางกลาง” ทางแห่งผู้ ทางที่ทรงเดินน�ำ อริยมรรคแปดจ�ำ พระพุทธองค์คิดค้น
มีธรรม หลุดพ้น ปฏิบัติ เถิดนา ประจักษ์แล้วสอนเรา. Ayutthaya 145
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโคก วัดโคก ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 4 ต�ำบลพุทเลา อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา มีทดี่ นิ 23 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา และมีทธี่ รณีสงฆ์จำ� นวน 8 ไร่ 1 งาน 19 ตารางวา วัดโคกได้รับการดูแลจากเจ้าอาวาสคือ พระครูรัตน กิจจารักษ์ (แก้ว อรุโณ) พระภิกษุ สามเณร ชาวพุทธทั้งในชุมชนและต่างถิ่น จึงเป็นวัดที่สงบ ร่มรื่น สวยงาม มีอาคารเสนาสนะที่มั่นคง แข็งแรง เหมาะ สมในการประกอบศาสนากิจและกิจกรรมตามประเพณี
ประวัติวัดโคก
วัดโคก สร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ประมาณ พ.ศ.2290 ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2300 ภายในวัดโคกมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ ถึงสีแ่ ห่ง คือ หลวงพ่อเกศแก้วพิกลุ ทอง หลวงพ่อนาค ศาลเจ้าแม่ตะเคียนทอง ศาลปู่เจ้าภูมิวัดโคก และหลวงพ่อทันใจ หน้าตัก 5 เมตร หลวงพ่อทันใจ อธิษฐานสิง่ ใด ได้สมปรารถนาทันใจ (ให้อธิษฐานครัง้ ล่ะ 1 อย่าง เท่านัน้ ) เมือ่ ได้แล้ว อธิษฐานใหม่ได้
อาคารเสนาสนะ
พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ หอฉัน อย่างละ 1 หลัง และ มีกุฏิสงฆ์จ�ำนวน 8 หลัง กุฏิพระกรรมฐาน 5 หลัง หอระฆัง และฌาปณสถาน อย่างละ 1 หลัง มีโรงเรียนวัดโคก (ธูปะเตมีย์อุปถัมภ์) อยู่ในบริเวณวัด และ เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด แห่งที่ 19 146
ความเชื่อของชุมชนที่มีต่อวัด
1. น�้ำในเศียรหลวงพ่อเกศแก้วพิกุลทองเป็นน�้ำมนต์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ผูท้ เี่ คารพศรัทธาเชือ่ ถือน�ำไปใช้ในทางทีช่ อบธรรมจัก สัมฤทธิ์ผล 2. ในสมัยก่อน มักจะมีผู้พบเห็นพระธาตุเสด็จผ่านโบสถ์ วัดโคกในวันเพ็ญ กลางเดือนเสมอ 3. หากจุดพลุบริเวณหน้าโบสถ์ พลุจะไม่ดัง 4. พวกมิจฉาชีพที่มาลักทรัพย์หรือจับปลาในสระ มักจะ ปรากฏหลักฐานให้เห็นชัดเสมอ
หลวงพ่อเกศแก้วพิกุลทอง
พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั เนือ้ โลหะส�ำริด หนักตักกว้างประมาณ 1.5 เมตร เศียรหลวงพ่อ ส่วนบนเปิดออกได้ ด้านในจะเป็นช่องว่างและมีน�้ำซึมออกมา เอง ถือเป็นน�้ำมนต์ศักดิ์สิทธิ์ มีเรื่องเล่าว่า มีชายสติไม่ดีปีนขึ้น ไปเล่นและพบน�้ำดังกล่าว จึงวักน�้ำดื่มกิน เมื่อตื่นขึ้นมาก็กลับ กลายเป็นคนปกติ ชาวบ้านจึงได้ไปสักการะอธิษฐาน เป็นทีเ่ ชือ่ ถือกันจนทุกวันนี้ ปัจจุบัน ทางวัดน�ำน�้ำในเศียรหลวงพ่อเกศแก้วพิกุลทอง มาใส่โอ่งน�ำ้ มนต์ไว้ ซึง่ ทางวัดก็เปิดประตูโบสถ์ให้ชาวบ้านและ คนทั่วไปได้มาสักการะ และขอน�้ำมนต์ได้ทุกวันตั้งแต่เวลา 08.00 - 17.00 น.
หลวงพ่อนาค
พระพุทธรูปปางนาคปรก ศิลปะสมัยลพบุรี แกะสลักจาก หินทรายเขียว อายุเก่าแก่นบั พันปี ขนาดหน้าตักกว้างประมาณ 60 เซ็นติเมตร อยูค่ กู่ บั วัดโคกมานานตัง้ แต่สมัยใดไม่ทราบประวัตทิ มี่ า กล่าวกันว่า มีพระพุทธรูปแบบเดียวกันมี 2 องค์ อีกองค์หนึ่งอยู่ จังหวัดสุโขทัย คือ “หลวงพ่อศิลา” เป็นที่น่าอัศจรรย์ว่า หลวงพ่อนาคเคยถูกโจรกรรมไปหลาย ครัง้ แต่กไ็ ด้คนื กลับมาทุกครัง้ ครัง้ สุดท้ายเมือ่ ปี พ.ศ. 2546 ปัจจุบนั ทางวัดได้ลงรักปิดทองหลวงพ่อนาค และมีผมู้ ากราบไหว้ อธิษฐาน ของหายก็ได้คืน บนบานขอโชคลาภเป็นประจ�ำไม่ขาด
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
สาธุชนท่านใดสนใจมาสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์วัดโคก หรือ ประสงค์ จ ะร่ ว มสร้ า งเส้ น ทางบุ ญ และผู ้ ที่ ส นใจปฏิ บั ติ ธ รรม ได้ทุกวัน สามารถติดต่อได้ที่ พระครูรัตนกิจจารักษ์ (แก้ว อรุโณ) เบอร์โทรศัพท์ 035-713290, 089-9242748, 08-11881815
Ayutthaya 147
เส้นทางพบ อ�ำเภอบางปะอิน
นายวีระชัย นาคมาศ นายอ�ำเภอบางปะอิน
“ พระราชวังเลิศล�้ำ หลวงพ่อ ด�ำคู่เมือง รุ่งเรือง อุตสาหกรรม มีศีลธรรม ชาวบางปะอิน
“
คือค�ำขวัญอ�ำเภอบางปะอิน ซึ่งเป็น 1 ใน 16 อ�ำเภอ ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากจังหวัดไปทางทิศใต้ ประมาณ 15 กิ โ ลเมตร อ� ำ เภอบางปะอิ น มี เ นื้ อ ที่ ป ระมาณ 229.098 ตร.กม.หรือประมาณ 143,213 ไร่ เป็นเมืองเกษตรกรรม เมืองท่องเทีย่ ว เมืองอยูอ่ าศัย และเมืองอุตสาหกรรมทีอ่ ยูร่ ว่ มกัน ได้อย่างลงตัว
ประวัติความเป็นมา
อ�ำเภอบางปะอินตั้งขึ้นในลักษณะแขวงในสมัยกรุง
148
ศรีอยุธยาเป็นราชธานี อยู่ในเขตการปกครองของขุนอุไทยเรียก ว่า “แขวงขุนอุไทย” มีการปกครองกว้างขวางถึงอ�ำเภออุทัย อ�ำเภอวังน้อย และอ�ำเภอภาชีในปัจจุบัน ต่อมาสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระยาชัยวิชติ ผูร้ กั ษากรุง ได้แบ่งแขวงอุไทยออกเป็น 2 ส่วน ส่วนเหนือเรียกว่า แขวงอุไทย ใหญ่ ส่วนด้านใต้เรียก แขวงอุทัยน้อย อ�ำเภอนี้มีชื่อเรียกว่า แขวงอุทยั จนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มกี ารจัดระเบียบการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิบาล และเปลี่ยนชื่อแขวงเป็นอ�ำเภอ อ�ำเภอ นี้จึงได้ชื่อว่า “อ�ำเภออุทัยน้อย” ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2450ได้เปลี่ยน
ชือ่ เป็น “อ�ำเภอพระราชวัง” ต่อมาเปลีย่ นเป็น “อ�ำเภอบางปะอิน” จนถึงปัจจุบัน
วิสัยทัศน์อ�ำเภอ
อาศัยศักยภาพพืน้ ทีเ่ ป็นศูนย์กลางการค้าและการลงทุน ภาคเกษตร และอุตสาหกรรม ผลิตสินค้า อาหาร และบริการที่ ได้มาตรฐาน การคมนาคมสะดวก ควบคู่กับการอนุรักษ์ฟื้นฟู แหล่งท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพชีวิต ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข
พันธกิจของอ�ำเภอ
1. น�ำภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ 2. ดูแลให้การปฏิบตั ิ และบังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อย และเป็นธรรมในสังคม 3. จัดให้มกี ารคุม้ ครอง ป้องกัน ส่งเสริม และช่วยเหลือ ประชาชน และชุมชนที่ด้อยโอกาส เพื่อให้ได้รับความเป็นธรรม ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ในการด�ำรงชีวิตอย่างพอเพียง 4. จัดให้มีการบริการภาครัฐเพื่อให้ประชาชนสามารถ เข้าถึงได้อย่างเสมอหน้า รวดเร็ว และมีคุณภาพ 5. จัดให้มีการส่งเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ให้สามารถด�ำเนินการตามอ�ำนาจ และ หน้าทีข่ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และให้มขี ดี ความสามารถ พร้อมทีจ่ ะด�ำเนินการตามภารกิจทีไ่ ด้รบั การถ่ายโอนจากกระทรวง/ ทบวง/กรม 6. ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ นื่ ตามทีค่ ณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอืน่ ของรัฐมอบหมายหรือทีม่ กี ฎหมายก�ำหนด
จุดเด่นของพื้นที่
อ�ำเภอบางปะอิน เป็นที่ตั้งโครงการนิคมอุตสาหกรรม 2 แห่ง ได้แก่ 1.นิคมอุตสาหกรรมบางปะอินด้วยพื้นที่ตั้งของนิคมฯ นีต้ งั้ อยูบ่ นโครงข่ายทางหลวงแผ่นดิน ( ถนนสายเอเชีย ) ท�ำให้ สามารถขนย้ายสินค้าไปยังภูมภิ าคต่างๆของประเทศได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว ปัจจุบันมีโรงงานที่ตั้งอยู่ภายในนิคมอุตสาหกรรม บางปะอิน 86 แห่ง 2. นิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า( ไฮเทค )เป็นโครงการ นิคมอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินธุรกิจของผู้ประกอบ
การอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดย่อม ( SMEs ) ตามแนว ทางของแผนพัฒนาผู้ประกอบการของกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบนั มีโรงงานทีต่ งั้ อยูภ่ ายในนิคมอุตสาหกรรมบ้านหว้า( ไฮเทค ) 122 แห่ง
แหล่งท่องเทีย่ ว วัด วัง วิว เทีย่ วบางปะอิน
วัดนิเวศธรรมประวัตริ าชวรวิหาร เป็นวัดไทยสไตล์ยโุ รป แห่งเดียวในประเทศไทย พระราชวังบางปะอิน สถาปัตยกรรม ทีส่ วยงาม เป็นพระราชวังโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาเกาะบางปะอิน วัดทองบ่อและตลาดโก้งโค้ง Ayutthaya 149
เส้นทางพบ เทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลปราสาททอง “ เป็นเลิศด้านการศึกษา คมนาคมสะดวก สิ่งแวดล้อมดี มีเศรษฐกิจพอเพียง ” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลปราสาททอง ซึ่ง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 159 หมู่ 11 ต�ำบลบ้านเลน อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบนั นายวันชัย จุฑานพรัตน์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลปราสาททอง ประวัติความเป็นมา เทศบาลต�ำบลปราสาททองเดิมเมื่อปี พ.ศ.2538 ได้รับ การยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านเลน และเปลี่ยนชื่อ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลปราสาททอง ตามประกาศกระทรวง มหาดไทยเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2548ต่อมาได้รับฐานะเป็น “เทศบาลต�ำบลปราสาททอง” ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2549 และมีผลตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2550 เป็นต้นไป ข้อมูลทั่วไป เทศบาลต�ำบลปราสาททองมีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 10.48 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 6,550 ไร่ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม โดยมีแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญได้แก่ แม่น�้ำเจ้าพระยาอยู่ด้านทิศตะวันตก ของต�ำบล ซึง่ เป็นแนวเขตระหว่างต�ำบลปราสาททองกับต�ำบลบ้านแป้ง นอกจากนีม้ คี ลองบางหงส์และคลองบ้านเลนเป็นแหล่งน�ำ้ ส�ำคัญไหล ผ่านหมู่ที่ 1,2 และ3 พันธกิจการพัฒนา 1.ด้านการศึกษา - จัดให้มีการเรียนการสอนอย่างเสมอภาคตามพระราช บัญญัติการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและสร้างโอกาสทางการศึกษา เพื่อความเป็นเลิศทางการศึกษาให้กับประชาชน - จัดให้มแี หล่งค้นคว้าและเรียนรูท้ เี่ พียบพร้อมและทันสมัย อย่างทั่วถึง เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกหลักสูตร - ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มี มาตรฐานและเร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่าง มีความสุข มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนาตนเองให้มคี ณ ุ ภาพ 150
ชีวิตที่ดีอย่างต่อเนื่อง - พัฒนาครูให้เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนา การจุด กระบวนความรู้ให้มีประสิทธิภาพ - พัฒนาส่งเสริมให้นกั เรียนทุกคนได้เรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ - ส่งเสริมและสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันที่สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการ - พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ เพือ่ ให้ สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษา - พัฒนาอาคารสถานทีแ่ ละวัสดุอปุ กรณ์ทเี่ กีย่ วข้องกับการ จั ด การเรี ย นการสอนเพื่ อ รองรั บ การศึ ก ษาแบบบู ร ณาการอย่ า ง ก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริมให้ประชาชนและองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาของเทศบาล 2.ด้านอาชีพ - จัดให้มกี ารส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างงาน และการ สร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจพอเพียง - จัดให้มีการพัฒนาและส่งเสริมการฝึกอบรมอาชีพแก่ สมาชิกในชุมชนอย่างต่อเนือ่ ง และส่งเสริมให้มกี ารจัดการด้านคุณภาพ ชีวิต และอาชีพที่ดีในทุกชุมชนเอง 3.ด้านสุขอนามัย - จัดให้มีการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานที่ดี มีคุณภาพ และทั่วทั้งชุมชน - จัดให้มีการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เด็ก คนพิการ และเผย แพร่ความรู้ด้านสุขศึกษา - จัดให้มีการควบคุมป้องกันโรค และพาหะน�ำโรคทุกชนิด ในพืน้ ทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ และเร่งก�ำจัดหนู ยุง แมลงอย่างต่อเนือ่ ง - จัดให้มีการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพและสุขาภิบาล ของอาหาร และสถานประกอบการของผู้ประกอบการค้าร้านอาหาร และแผงลอยล้อเลื่อนให้ถูกสุขลักษณะสะอาด ปลอดภัย - จัดกิจกรรมเทศบาลพบประชาชน เพื่อน�ำบริการด้าน สาธารณสุข และอืน่ ๆไปสูช่ มุ ชนเพือ่ รับฟังปัญหาและข้อคิดจากชุมชน โดยใกล้ชิด - จัดให้มีการรณรงค์แก้ไขปัญหายาเสพติด และโรคเอดส์ อย่างต่อเนื่องจริงจัง
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้เด็ก เยาวชน และประชาชน ทุกกลุม่ ได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา 4.ด้านสวัสดิการสังคม - จัดให้มีการสงเคราะห์แก่ผู้ยากไร้ ผู้สูงอายุ ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถพึ่ง ตนเองได้ - จั ด ให้ มี ก ารส่ ง เสริ ม ด้ า นสุ ข ภาพ จิ ต ใจสวั ส ดิ ก ารแก่ ประชาชน ทั้งในการกีฬาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ โดยจัดให้มีสนาม กีฬาและสถานที่ออกก�ำลังกายตลอดจนอุปกรณ์กีฬาและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกอย่างเหมาะสม 5.ด้านเกษตรอินทรีย์ - จัดให้มีการให้ความรู้และอบรมการใช้สารอินทรีย์ในการ ท�ำการเกษตร - พัฒนาและส่งเสริมการเกษตรแบบใช้สารอินทรีย์ปลอด สารพิษ 6.นโยบายด้านการวางแผนส่งเสริมการลงทุนและพาณิช ยกรรม - จัดให้ประชาชนได้มีส่วนในการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น - จัดให้มมี าตรการในการเพิม่ ประสิทธิภาพการวางแผน ส่ง เสริมการลงทุนและพานิชยกรรม 7.นโยบายด้านการบริหารกิจการที่ดี - ส่งเสริมการสร้างจิตส�ำนึกและพัฒนาความสามารถของ บุคลากร โดยจัดการฝึกอบรมโครงการต่างๆเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงาน - จัดให้มีการเสริมสร้างประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลใน การบริหารจัดการ - จัดให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและ การตรวจสอบควบคุม 8.นโยบายด้านการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ความยั่งยืน - จัดให้มีการฝึกอบรมและส่งเสริมความร่วมมือในการขับ เคลื่อนแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง - จัดให้มกี ารเพิม่ รายได้ ลดรายจ่ายให้แก่ประชาชนเพือ่ ให้ สามารถด�ำรงชีวิตในสภาวะเศรษฐกิจที่มีค่าครองชีพเพิ่มขึ้น 9.นโยบายด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว - พัฒนาพื้นที่ในเขตเทศบาลต�ำบลปราสาททองให้มีความ สวยงามน่าอยู่ และเป็นแหล่งท่องเที่ยว - จัดให้มสี ถานทีใ่ นการแสดงสินค้าชุมชนเพือ่ จ�ำหน่ายให้แก่ นักท่องเที่ยว Ayutthaya 151
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดชุมพลนิกายารามราชวิหาร วัดชุมพลนิกายาราม เป็นพระอารามหลวงชัน้ โท ชนิด ราชวรวิหาร ตั้งอยู่หัวเกาะบางปะอิน หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านเลน อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดต่อกับเขต อุ ป จารพระราชวั ง บางปะอิ น ห่ า งจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ บางปะอินประมาณ 1 กิโลเมตร อาณาเขตวัดมีเนือ้ ทีโ่ ดยยาว ประมาณ 4 เส้นเศษ
ประวัติการสร้างวัด
วัดชุมพลนิกายาราม เป็นวัดโบราณสมัยอยุธยาเป็น ราชธานี พระเจ้าปราสาททอง ทรงสถาปนาขึ้น เมื่อปีวอก จัตวาศก ศักราช 994 (พ.ศ.2173) สาเหตุที่ทรงสร้างวัด นี้ เนือ่ งจากบ้านเลน บางปะอิน เป็นถิน่ ก�ำเนิดของพระองค์ ดังปรากฏในต�ำนานพระที่นั่งเกาะบางปะอินว่า เมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชาได้เป็นพระเจ้าแผ่นดิน ในกรุงศรีอยุธยา ทรงพระนามสมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ ที่ 1 ในจุลศักราช 918 ปีมะโรง อัฐศก มีพระราชโอรสสองพระ องค์ พระองค์ใหญ่พระนามสมเด็จพระนเรศวร พระองค์นอ้ ย ทรงพระนามสมเด็จพระเอกาทศรฐอิศวรบรมนารถ ในกาล ครั้งหนึ่งที่เสด็จพระราชด�ำเนินลงไปทางใต้แล้วเสด็จกลับ พอเกิ ด พายุ พั ด หนั ก มื ด มั ว เรื อ พระที่ นั่ ง ล่ ม ลงตรงเกาะ 152
บางปะอินนี้ สมเด็จพระเอกาทศรฐทรงว่ายน�ำ้ มาขึน้ เกาะนี้ ได้ พบบ้านแห่งหนึ่ง เจ้าของบ้านนั่งผิงไฟอยู่ สมเด็จพระเอกา ทศรฐเสด็จเข้าไป ทรงขออาศัยผิงไฟ ทอดพระเนตรเห็นหญิง เจ้าของบ้าน (คือนางอิน) พิศดูเห็นมีรูปโฉมงามต้องพระทัย ก็ เสด็จอยู่ด้วยหญิงนั้นคืนหนึ่ง รุ่งขึ้นเสด็จกลับไป ตั้งแต่นั้นมา หญิงนั้นก็มีครรภ์ เมื่อครบก�ำหนดก็คลอดเป็นบุตรชาย ครั้นโต ขึ้นได้รับราชการสืบมา แต่มิได้ปรากฏว่าเป็นพระเจ้าลูกเธอ ภายหลังได้เป็นที่พระมหาอ�ำมาตย์ ครั้นสมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ ที่ 1 เสด็จสวรรคต สมเด็จ พระนเรศวรราชโอรสได้ดำ� รงสิรริ าชสมบัติ ทรงพระนามสมเด็จ พระศรีสรรเพ็ชญ์ที่ 2 ครั้นสวรรคต สมเด็จพระเอกาทศรฐได้ ด�ำรงสิริราชสมบัติ ทรงพระนามสมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ที่ 3
ครั้งสวรรคตแล้ว สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าศรีเสาวภาคย์ ได้ด�ำรงสิริราชสมบัติ ทรงพระนามสมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ที่ 4 ในรัชสมัยของพระองค์ ได้เกิดเหตุการณ์เรือของญีป่ นุ่ ได้ปล้น ราษฎร และได้บุกเข้าไปในพระนคร ตลอดจนจับตัวพระศรี เสาวภาคย์ บังคับให้ทรงปฏิญาณสัญญาว่ามิให้ผใู้ ดท�ำร้ายพวก ญี่ปุ่น แล้วได้แล่นเรือหนีโดยน�ำตัวพระสังฆราชไปเป็นตัว ประกัน เมื่อเสด็จสวรรคต จุลศักราช 964 ปีขาล จัตวาศก ได้ พร้อมใจอัญเชิญพระอินทราชาซึ่งทรงผนวชอยู่ให้ขึ้นครอง ราชย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาทรงธรรม พระองค์ ทรงเป็นนักปราชญ์รอบรูใ้ นวิชาหลายด้าน ทรงเป็นกษัตริยท์ ไี่ ม่ นิ ย มการศึ ก สงคราม ขณะที่ ท รงประชวรหนั ก มี พ ระราช ประสงค์ จ ะมอบราชสมบั ติ ใ ห้ พ ระเชษฐาธิ ร าชกุ ม าร หรื อ พระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ได้ขึ้นครองราชย์ ประมาณ 8 เดือน คิดเกรงว่าเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์จะ คิดแย่งราชสมบัติ จึงทรงหาทางก�ำจัด แต่ความนี้ได้รู้ไปถึง เจ้าพระยากลาโหมสุรยิ วงศ์เสียก่อน จึงได้ยกก�ำลังบุกเข้าไปใน วังหลวง แต่พระเชษฐาธิราชได้เสด็จหลบหนีไป เมือ่ พระยาเดโช พระยาท้ายน�้ำตามไปทัน เจ้าพระยากลาโหมฯ จับสมเด็จพระ เชษฐาธิราชและสั่งส�ำเร็จโทษเสีย และอัญเชิญสมเด็จพระ อาทิตยวงศ์ พระอนุชาสมเด็จพระเชษฐาธิราช ขึ้นครองราชย์ พระชนมายุ 10 พรรษา โดยมีเจ้าพระยากลาโหมฯเป็นผู้ส�ำเร็จ ราชการ เมื่อครองราชย์ได้เพียงเดือนเศษ จึงอัญเชิญพระองค์ ออกจากราชสมบัติ แล้วอัญเชิญเจ้าพระยากลาโหมฯ ซึ่งเป็น โอรสของสมเด็จพระเอกาทศรฐ อันเกิดแต่หญิงชาวบ้าน (นาง อิน) ขึน้ ครองราชย์สมบัติ และทรงพระนามว่าพระเจ้าปราสาท
ทอง หรือ สมเด็จพระศรีสรรเพ็ชญ์ที่ 5 ครั้นจุลศักราช 994 ปีวอก จัตวาศก พระราชเทวีทรงประสูติพระราชบุตรองค์ หนึ่ง นามว่าพระนารายณ์ราชกุมาร ในปีนั้นจึงทรงสร้าง พระทีน่ งั่ ไอยศวรรย์ทพิ ยอาสน์ทเี่ กาะบางปะอิน แล้วจึงสร้าง พระอารามเคียงพระราชนิเวศน์ มีพระเจดีย์วิหาร เป็นอาทิ เสร็จสมบูรณ์ พระราชทานนาม “วัดชุมพลนิกายาราม”
เสนาสนะและปูชนียวัตถุส�ำคัญ
เสนาสนะและปูชนียวัตถุสำ� คัญทีม่ ปี รากฏอยูใ่ นปัจจุบนั ได้แก่ พระอุโบสถ หลังคาลด 3 ชั้น มีมุขเด็จ หน้า-หลัง ภายในพระอุโบสถประดิษฐานพระประธานทั้ง 7 องค์ที่ผนัง อุโบสถ ได้แก่ องค์ที่ 1 พระวิปัสสี ปางมารวิชัย องค์ที่ 2 พระสิขี ปางมารวิชยั องค์ที่ 3 พระเวสสภู ปางมารวิชัย องค์ ที่ 4 พระกกุสันธะ ปางสมาธิ องค์ที่ 5 พระโกนาคม ปาง สมาธิ องค์ที่ 6 พระกัสสป ปางมารวิชัย และองค์ที่ 7 พระ โคดม ปางมารวิชัย Ayutthaya 153
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดยม วัดยม ตั้งอยู่เลขที่ 25 หมู่ที่ 1 บ้านยม ต�ำบลวัดยม อ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัด คณะสงฆ์ มหานิกาย พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบลุม่ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยา มีที่ดินตั้งวัด 25 ไร่ และมีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 3 งาน 33 ตารางวา
ประวัติวัดยม
วัดยม สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2195 โดยกรมศิลปากรระบุว่า สมเด็จพระนเรศวร มหาราช เป็นผู้สร้างขึ้น ได้รับพระราชทานวิสุงคาม เมื่อวัน ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 ทางวัดได้เปิดสอนปริยัติธรรม แก่พระภิกษุสามเณร นอกจากนี้ยังมีการจัดตั้งโรงเรียน ประถมศึกษาขึน้ ในวัด เนือ้ ทีป่ ระมาณ 4 ไร่ และให้สร้างห้อง สมุดประชาชนขึ้นไว้บริการด้วย
27 เมตร สร้างเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2522 เป็นอาคารคอนกรีต ทรงไทย หอสวดมนต์ กว้าง 7.60 เมตร ยาว 11.60 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2514 เป็นอาคารทรงไทยโบราณ กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 9 หลัง โครงสร้างเป็นอาคารไม้
พระอุโบสถ กว้าง 6.33 เมตร ยาว 18.15 เมตร สร้าง ขึ้นมาเมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยา ก่อด้วยอิฐโบราณแผ่นใหญ่ มี เสมาคูท่ ำ� ด้วยศิลาแรง ศาลาการเปรียญ กว้าง 13 เมตร ยาว
พระประธาน ในพระอุโบสถ และพระพุทธรูปอื่น ๆ รวม ทัง้ สิน้ 28 องค์ นอกจากนีม้ พี ระเจดียเ์ ก่าแก่ทสี่ ร้างขึน้ สมัยกรุง ศรีอยุธยา ขนาดกว้างด้านละ 3 วาเศษ
อาคารเสนาสนะ
154
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
การบริหารและปกครอง
1.หลวงพ่อรุ่ง 2.หลวงพ่อเทศ 3.หลวงพ่องอก พรหมสโร 4.พระอาจารย์พร 5.พระปลัดแหวน 6.พระอาจารย์อั๋น 7.พระอาจารย์แสวง 8.พระอาจารย์พร 9.พระอธิการทองสุก จารุธมฺโน 10.พระปลัดอุดม ธมฺมสาโร (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) - 15 พ.ย. 2534 11.พระปลัดอุดม ธมฺมสาโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.2534 - ปัจจุบัน
Ayutthaya 155
เส้นทางพบ อ�ำเภอวังน้อย
นายฐากูร ชวนะพงศ์ นายอ�ำเภอวังน้อย
“เมืองข้าวงาม นามวังน้อย ร้อยพันศิลป์ ดินแดนสงฆ์” คือค�ำขวัญของอ�ำเภอวังน้อย ซึ่งมีที่ว่าการอ�ำเภอ ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลล�ำไทร อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประวัติความเป็นมา
อ�ำเภอวังน้อยได้รับการยกฐานะจัดตั้งเป็นอ�ำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2450 โดยมีชื่อว่าอ�ำเภออุทัยน้อยต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น อ�ำเภอวังน้อย ในปีพ.ศ. 2458 โดยรวมพืน้ ทีบ่ างส่วนของอ�ำเภอ ข้ า งเคี ย งของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยาและจั ง หวั ด สระบุ รี ดังนี้ - แบ่งพืน้ ทีจ่ ากอ�ำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จ�ำนวน 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลล�ำไทร ต�ำบลบ่อตาโล่ ต�ำบลพะยอม และ ต�ำบลวังน้อย - แบ่งพื้นที่จากอ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรี อ ยุ ธยา จ�ำนวน 1 ต�ำบล คือ ต�ำบลล�ำตาเสา - แบ่งพื้นที่จากอ�ำเภอหนองแคจังหวัดสระบุรี จ�ำนวน 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลข้าวงาม ต�ำบลวังจุฬา ต�ำบลชะแมบ ต�ำบล สนับทึบ และต�ำบลหันตะเภา 156
สภาพทั่วไป /ภูมิศาสตร์
อ�ำเภอวังน้อยตัง้ อยูท่ างทิศใต้ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพนื้ ที่ 224 ตาราง กิโลเมตร ระยะทางห่างจากตัวจังหวัด 23 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพฯ 65 กิโลเมตร โดยมีอาณาเขตของอ�ำเภอ ดังต่อไปนี้ • ทิศเหนือ ติดต่อกับอ�ำเภออุทัยและอ�ำเภอบางปะอินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ทิศใต้ ติดต่อกับอ�ำเภอหนองเสือและอ�ำเภอคลองหลวง (จังหวัดปทุมธานี) • ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด ต่ อ กั บ อ� ำ เภอหนองแค (จั ง หวั ด สระบุรี) • ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ต่ อ กั บ อ� ำ เภอบางปะอิ น จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา
ลักษณะภูมิประเทศ
พื้นที่ของอ�ำเภอเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองชลประทานที่เป็น คลองส่งน�้ำสายหลัก จ�ำนวน 2 สาย คือ คลองระพีพัฒน์อยู่ ด้านทิศใต้ของอ�ำเภอ ไหลมาจากแม่น�้ำป่าสักผ่านอ�ำเภอส่งไปสู่ คลองรังสิต ในเขตจังหวัดปทุมธานี และคลองนครหลวงไหล มาจากแม่น�้ำป่าสักผ่านอ�ำเภอนครหลวง อ�ำเภออุทัย ไปสิ้น สุดที่อ�ำเภอบางปะอิน นอกจากนี้ยังมีคลองระบายน�้ำทิ้งอีก 4 สาย ประกอบด้วยคลอง 6 คลอง 26 คลอง 27 และคลอง 28 แต่ปริมาณน�้ำก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการท�ำการเกษตร ของเกษตรกรในพื้นที่อ�ำเภอ
สถานที่ท่องเที่ยว
อ�ำเภอวังน้อยมีสถานที่ท่องเที่ยวทางศาสนาที่ส�ำคัญ คือ มหา จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์หลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเล จืด มหาวิยาลัยสงฆ์ (วัดชูจิตธรรมาราม) ตลาดน�้ำทุ่งบัวชม และเป็ น จุ ด ผ่ า นไปสู ่ ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาและจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครนายก / จังหวัดสระบุรี ฯลฯ
ของฝากขึ้นชื่อ
เค้กบ้านสวน, เค้กมาลี, น�้ำพั้นซ์, ครัววังน้อย Ayutthaya 157
เส้นทางการศึกษา ตัง้ แต่การศึกษาพระพุทธศาสนาในรูปแบบมหาวิทยาลัย ได้ เกิดขึ้นครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยนาลันทาแห่งชมพูทวีป จนมาถึง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประเทศไทย ซึง่ เป็น ดินแดนสุวรรณภูมทิ ไี่ ด้สบื ทอดพระพุทธศาสนาตลอดมาและได้ ท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาจนรุ่งเรือง
158
Ayutthaya 159
160
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระปิยะมหาราช รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมจักรีวงศ์ ทรงมี พ ระราชด� า ริ ส ถาปนา สถาบั น การศึ ก ษาพระพุทธศาสนาชั้นสูงขึ้น ในครั้ง แรก ทรงย้ายโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรม จากวัด พระศรีรัตนศาสนาดาราม มาสถาปนาเป็น “มหาธาตุ วิทยาลัยยุวราชรังสฤษฎ์” เมื่อพุทธศักราช 2430 วันที่ 13 กันยายน พุทธศักราช 2439 มีพระบรม ราชโองการเปลี่ยนนามใหม่ว่า “มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย” เพื่อให้เป็นสถานศึกษาพระไตรปิฎกและวิชา ชัน้ สูงส�าหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ การศึกษาตามพระราชประสงค์ของล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 ในรูปแบบมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ได้เปิดด�าเนินการอย่าง เป็นทางการเมือ่ วันศุกร์ที่ 18 กรกฎาคม พุทธศักราช 2490 โดยการริเริ่มของ พระพิ ม ลธรรม (ช้ อ ย ฐาน ทตตเถร) อธิ บ ดี ส งฆ์ วั ด มหาธาตุ รู ป ที่ 15 พร้ อ ม พระเถระ จ�านวน 57 รูป โดยเปิดสอนคณะพุทธศาสตร์ เป็นคณะแรก ต่อมาภายหลังจึงเปิดคณะครุศาสตร์ คณะ มนุ ษ ยศาสตร์ คณะสั ง คมศาสตร์ และบั ณ ฑิ ต วิทยาลัย ตามล�าดับ
Ayutthaya 161
ม
หาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Mahachulalongkornrajavidyalaya University
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้พัฒนาการเรียนการสอนและการบริหารภายในองค์กรให้ เข้าสู่ระบบสากล เพื่อผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้พระพุทธ ศาสนา สังคมและประเทศชาติอย่างมีคุณภาพ พุทธศักราช 2512 มหาเถรสมาคมได้ออกค�าสั่งมหาเถรสมาคม รับรอง มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็น มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย พุ ท ธศั ก ราช 2527 รั ฐ สภาได้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ ก�าหนดวิทยฐานะผู้ส�าเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิตของ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึง่ เป็นการรับรองศักดิแ์ ละสิทธิ แห่งปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยอย่างสมบูรณ์ พุ ท ธศั ก ราช 2540 รั ฐ สภาได้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ออกเป็นกฎหมาย รับรองสถานภาพของมหาวิทยาลัย ให้มสี ถานะเป็นนิตบิ คุ คล และเป็นมหาวิทยาลัยในก�ากับของรัฐ และเปลี่ยนนามจาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็น “มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”
162
สุภาษิต
ปัญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
ปรัชญา
จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม
วิสัยทัศน์
“เป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาทีผ่ ลิตคนดีและ คนเก่ ง อย่ า งมี ส มรรถภาพ จั ด การศึ ก ษาและวิ จั ย ดี อ ย่ า งมี คุณภาพ บริการวิชาการดีอย่างมีสุขภาพ บริหารดีอย่างมี ประสิทธิภาพ”
พันธกิจ
1. ด้านการผลิตบัณฑิตและการ พั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการสอนที่ มี คุณภาพและมาตรฐาน ได้พฒ ั นาบัณฑิต ที่ ไ ด้ รับ การศึ ก ษาให้เป็น ผู้มีภูมิคุ้น กัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปัญญา มีความรับผิดชอบ มีทกั ษะวิเคราะห์และ การสือ่ สาร เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั งิ านได้ ทุกแห่งทั่วโลก สิ่งส�าคัญอีกประการหนึ่งคือการพัฒนาการจัดการเรียน การสอน ในระดับประกาศนียบัตร ระดับปริญญาตรี ปริญญา โทและปริญญาเอก ปัจจุบนั มีนสิ ติ จ�านวน 26,483 รูป/คน และ ในจ�านวนนี้เป็นนิสิตชาวต่างประเทศเกือบ 2,000 รูป/คน ซึง่ นับว่ามีนสิ ติ ต่างประเทศมาศึกษาเล่าเรียนมากทีส่ ดุ อันดับ 2 ของประเทศไทย และจะพัฒนาเพื่อให้เป็นอันดับ 1 ในอนาคต อันใกล้นี้ Ayutthaya 163
2. ด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์ความรู้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพการวิจยั ทางพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ เพื่อเป็น ศูนย์กลางแห่งการวิจยั งานด้านพระพุทธศาสนา ทีผ่ า่ นมา ได้ผลิตงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่และประยุกต์ ธรรมะไปใช้ในการพัฒนาจิตใจและสังคม ในส่วนคณาจารย์ ของมหาวิทยาลัยได้ผลิตผลงานทางด้านวิชาการเป็นจ�านวน มาก จนเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ มี คณาจารย์ของมหาวิทยาลัยด�ารงต�าแหน่งเป็นศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์หลายรูป/คน ผลงานชิ้ น ส� า คั ญ ซึ่ ง ปรากฏเป็ น ประวั ติ ศ าสตร์ ทางด้านคัมภีร์พระพุทธศาสนา คือ การช�าระและจัด พิมพ์พระไตรปิฎกฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิ ท ยาลั ย ปั จ จุ บั น ได้ รั บ การยอมรั บ โดยทั่ ว กั น ว่ า เป็ น พระไตรปิฎกฉบับแปลจากภาษาบาลีมาสู่ภาษาไทยที่ใช้ ภาษาร่วมสมัย สามารถอ่านและเข้าใจได้ง่าย การแปล อรรถกถาฉบับภาษาบาลีเป็นภาษาไทย เพื่อความสะดวกใน การศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎก นอกจากนัน้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ยังได้รวบรวมสาระส�าคัญในพระไตรปิฎกทั้ง 45 เล่ม จัดท�า ขึ้นเป็นฉบับย่อมีชื่อว่า พระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรม และ หนังสือ เก็บเพชรจากพระไตรปิฎก 164
3. ด้านบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนและ สังคมระดับชาติและนานาชาติ นับเป็นผลงานที่โดดเด่นของ มหาวิ ท ยาลั ย จากการประเมิ น ผลงานของส� า นั ก งานคณะ กรรมการการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยได้รับผลการประเมินใน ระดับสูงสุดตลอดมา ในแต่ ล ะปี ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ด� า เนิ น การบริ ก ารวิ ช าการ แก่สงั คมในหลาย ๆ ด้าน ได้แก่ โครงการพระบัณฑิตอาสาพัฒนา ชาวเขา โดยส่งนิสิตไปปฏิบัติงานบนพื้นที่ภาคเหนือตอนบน โครงการพัฒนาพระสงฆ์ 3 จังหวัดชายแดนใต้ จัดโครงการ บรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน จัดตั้งโรงเรียนพระพุทธ ศาสนาวันอาทิตย์ อบรมพระธรรมฑูตสายต่างประเทศ จัดตั้ง สถาบันวิปสั สนาธุระ เพือ่ ฝึกอบรมวิปสั สนากรรมฐานทัง้ ในระดับ ประเทศและระดับนานาชาติ จัดตัง้ ส่วนวางแผนและพัฒนาอบรม เพื่อให้การฝึกอบรมแก่บุคลากรของส่วนราชการ เอกชน สถาน ศึกษา องค์กรต่าง ๆ และประชาชนทัว่ ไป ซึง่ ในแต่ละปีจะมีผเู้ ข้า รับการฝึกอบรมเป็นจ�านวนมาก นอกจากนีม้ หาวิทยาลัยยังได้ให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย พิบัติต่างๆ โดยจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิ ตั้งศูนย์ ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยซึ่งเป็นศูนย์ขนาดใหญ่ ณ มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย เมื่อพุทธศักราช 2554 โดยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงให้มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับมูลนิธิชัยพัฒนา และโรงเรียน
จิตลดา ด�าเนินการ รวมทัง้ จัดตัง้ ศูนย์ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยแผ่นดิน ไหวครั้งใหญ่ที่ประเทศเนปาล เมื่อพุทธศักราช 2558 ที่ผ่านมา 4. ด้านการท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยได้เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ทางด้านการ ท�านุบา� รุงศิลปวัฒนธรรม ให้เอือ้ ต่อการศึกษาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ เพือ่ เน้นการสร้างจิตส�านึกและความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย สนับสนุน ให้มีการน�าภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน 5. ด้านการพัฒนาระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิ บาล มหาวิทยาลัยได้มกี ารพัฒนาระบบบริหารจัดการ โดยน�าหลักธร รมาภิ บ าลทั้ ง 6 ประการมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการบริ ห ารงานของ มหาวิทยาลัย เพือ่ ให้เกิดประโยชน์ในการบริหารงานภายในองค์กรได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด แก่ผบู้ ริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ รวมถึง นิสิตทุกรูปทุกคน
Ayutthaya 165
มจร วังน้อย พระนครศรีอยุธยา นับตั้งแต่พุทธศักราช 2542 เป็นต้นมา พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิ ท ยาลั ย ได้ ด� า เนิ น การจั ด สร้ า งที่ ท� า การของมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ใหม่ ณ ต� า บลล� า ไทร อ� า เภอวั ง น้ อ ย จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา แรกเริ่ม นายแพทย์รัศมี คุณหญิงสมปอง วรรณิสสร ได้ถวายที่ดินจ�านวน 84 ไร่ 1 งาน 37 ตารางวา และต่อมามหาวิทยาลัยจึงจัดซื้อที่ดินเพิ่มเติม รวมทั้งสิ้น 325 ไร่เศษ และได้ย้ายที่ท�าการไปอยู่ที่ส�านักงานใหญ่ของ มหาวิทยาลัย ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พุทธศักราช 2551
อาคารที่ส�าคัญที่สร้างแล้ว ประกอบด้วย อาคารพิพิธภัณฑ์พระไตรปิฎก อาคารส�านักงานอธิการบดี อาคารส�านักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคารหอพักอาคันตุกะ 92 ปี ปัญญานันทะ อาคารมหาจุฬาบรรณาคาร สมเด็จพระปิยมหาราช อาคารหอฉัน 72 ปี พระวิสุทธาธิบดี อาคารเรียนรวม (6 ชั้น) อาคารหอพักนิสิต (2 หลัง) อุโบสถกลางน�้า อุปถัมภ์โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ อาคารหอประชุม มวก.48 พรรษา มหาวชิราลงกรณ อาคารวิปัสสนาธุระ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) อาคารสถานพยาบาลมหาวิทยาลัย อุปถัมภ์โดย มูลนิธิร่วมกตัญญู อาคารเรียนวิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ อาคารหอพักนิสิตวิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ อาคารหอสมุดวิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ สิ้นมูลค่าก่อสร้างกว่า 3,000 ล้านบาท 166
เพือ่ รองรับการเป็นศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้จดั ตัง้ ส�านักหอสมุด และเทคโนโลยีสารสนเทศ สถานบันภาษา วิทยาลัยพุทธศาสตร์นานาชาติ วิทยาลัยพระธรรมฑูต ศูนย์อาเซียนศึกษา และมีการ ขยายสาขาออกไปยังภูมภิ าคต่าง ๆ ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ประกอบด้วย วิทยาเขต 10 แห่ง ได้แก่
1. วิทยาเขตหนองคาย 2. วิทยาเขตเชียงใหม่ 3. วิทยาเขตนครศรีธรรมราช 4. วิทยาเขตขอนแก่น 5. วิทยาเขตนครราชสีมา 6. วิทยาเขตอุบลราชธานี 7. วิทยาเขตสุรินทร์ 8. วิทยาเขตแพร่ 9. วิทยาเขตพะเยา 10. วิทยาเขตบาลีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
วิทยาลัยสงฆ์ 17 แห่ง ได้แก่
1. วิทยาลัยสงฆ์เลย 2. วิทยาลัยสงฆ์นครพนม 3. วิทยาลัยสงฆ์ล�าพูน 4. วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ 5. วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช พิษณุโลก 6. วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ 7. วิทยาลัยสงฆ์ปัตตานี 8. วิทยาลัยสงฆ์นครน่าน เฉลิมพระเกียรติฯ 9. วิทยาลัยสงฆ์พุทธโสธร ฉะเฉิงเทรา 10. วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย 11. วิทยาลัยสงฆ์นครล�าปาง 12. วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ 13. วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ 14. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี (วัดไร่ขิง) 15. วิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด 16. วิทยาลัยสงฆ์พอ่ ขุนผาเมือง เพรชบูรณ์ 17. วิทยาลัยสงฆ์ราชบุรี
โครงการขยายห้องเรียน 3 แห่ง ได้แก่
1. ห้องเรียนคณะพุทธศาสตร์ วัดพิกุลทอง จังหวัดสิงห์บุรี 2. ห้องเรียนวิทยาเขตนครศรีธรรมราช วัดพัฒนาราม จังหวัดสุราษฏ์ธานี 3. ห้องเรียนคณะพุทธศาสตร์ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม จังหวัดกาญจนบุรี
หน่วยวิทยบริการ 14 แห่ง ได้แก่
1. หน่วยวิทยบริการคณะพุทธศาสตร์ วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา 2. หน่วยวิทยบริการวิทยาเขตขอนแก่น วัดอภิสิทธิ์ จังหวัดมหาสารคาม 3. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ วัดพระรูป จังหวัดเพชรบุรี 4. หน่วยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช วัดท่านา จังหวัดตาก 5. หน่วยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ วัดหนองขุนชาติ จังหวัดอุทัยธานี 6. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ วัดใหญ่อินทราราม จังหวัดชลบุรี 7. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ วัดป่าประดู่ จังหวัดระยอง 8. หน่วยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช วัดหนอนไม้ จังหวัดอุตรดิตถ์ 9. หน่วยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ วัดบรมธาตุ จังหวัดก�าแพงเพชร 10. หน่วยวิทยบริการวิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ วัดพฤกษะวันโชติการาม จังหวัดพิจิตร 11. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ พุทธมณฑลจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 12. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี 13. หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ วัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว 14. หน่วยวิทยบริการคณะมนุษยศาสตร์ สาวิกาสิกขาลัย กรุงเทพมหานคร
มีสถาบันสมทบ 6 แห่ง ได้แก่
1. มหาปัญญาวิทยาลัย สงขลา 2. Ching Chueh Buddhist Sangha University สาธารณรัฐไต้หวัน 3. Donggook Buddhist Chonbop College ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต้ 4. Sri Lanka Internationa Buddhist Acedemy (SIBA) ประเทศศรีลังกา 5. Buddhist College of Singapore ประเทศสิงค์โปร์ 6. The Dhamma Gate Buddhist College ประเทศฮังการี
Ayutthaya 167
พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตโต) อธิการบดี
ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนาของโลก
นอกจากนีท้ างมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ยังได้พัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ภายใต้ชื่อว่า MCUNET ขึ้น เพื่อใช้เชื่อมต่อระหว่างส่วนกลาง วิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ ห้ อ งเรี ย น หน่ ว ยวิ ท ยบริ ก าร และสถาบั น สมทบ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพสูงสุดในการเรียนการสอน พร้อมทัง้ จัดตัง้ สถานี โทรทัศน์ของมหาวิทยาลัย โดยมีชื่อว่า สถานีโทรทัศน์ MCU TV ซึง่ เป็นอีกหนึง่ เครือ่ งมือส�าคัญในการเผยแพร่การเรียนการ สอนทางไกลทั้งในประเทศและต่างประเทศทั่วโลก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นอกจากจะมี บทบาทส�าคัญในการผลิตบัณฑิตทุกระดับให้มีคุณภาพ มีโลก ทัศน์กว้างไกลและมีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาแล้ว ทางมหาวิทยาลัยฯ ยังมีบทบาทในการเป็นศูนย์กลางการศึกษา พระพุทธศาสนาของโลก ที่ปรากฏชัดเมื่อมหาวิทยาลัยพุทธ ศาสนาทั่วโลกกว่า 100 มหาวิทยาลัย ได้มีมติจัดตั้ง สมาคม มหาวิ ท ยาลั ย พระพุ ท ธศาสนานานาชาติ (IABU) เมื่ อ พุทธศักราช 2550 ก�าหนดให้ส�านักงานใหญ่ของมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นที่ตั้งของสมาคม และมีมติ เลือก พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตโต) อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นประธานสมาคม และได้จดั การประชุมใหญ่ของสมาคมมหาวิทยาลัยพุทธศาสนา นานาชาติขึ้นที่ส�านักงานใหญ่ ระหว่างวันที่ 13-15 กันยายน พุทธศักราช 2551 168
พระราชวรเมธี ดร. รองอธิการบดี
Ayutthaya 169
จากนัน้ ทางมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้รว่ มกับ สมาคมมหาวิ ท ยาลั ย พุ ท ธศาสนานานาชาติ จั ด ท� า โครงการสห บรรณานุกรมต�าราทางพระพุทธศาสนา (Union Catalogue of Buddhist Texcts –UCBT) ร่วมกันเป็นครัง้ แรกของโลก เพือ่ ให้ได้รายการ ต�าราทางพระพุทธศาสนา ทั้ง 4 ภาษาหลัก นั่นก็คือ ภาษาบาลี ภาษา สันสกฤต ภาษาจีน และภาษาธิเบต ที่สามารถออนไลน์ได้ทั่วโลก เพื่อ ความสะดวกในการค้นคว้า พร้อมทัง้ ได้จดั ตัง้ สถาบันภาษา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพือ่ เป็นแหล่งศึกษาและพัฒนาภาษาต่าง ประเทศของพระภิกษุสามเณร ให้สามารถศึกษาและน�าไปเผยแผ่ พระพุทธศาสนาให้แก่ชาวพุทธทั่วโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
170
บทบาทของมหาวิทยาลัยไม่ได้มีเพียงเท่านั้น มหาวิทยาลัยยังมี บทบาทในการเชือ่ มโยงสานสัมพันธุก์ บั ชาวพุทธ และผูน้ า� ศาสนาทัว่ โลก ในการจั ด การประชุ ม นานาชาติ กล่ า วคื อ การจั ด การประชุ ม สุดยอดผู้น�าชาวพุทธ การจัดการประชุมก่อตั้งสภาผู้น�าศาสนาโลก การ จัดการประชุมสุดยอดผู้น�าเยาวชนโลกเพื่อสันติภาพ การจัดฉลอง วิสาขบูชาที่ส�านักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ มหานครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา จัดพิธีฉลองวันวิสาขบูชา วันส�าคัญสากลของโลก จัดตั้งสภาสากลวันวิสาขบูชาโลก โดยมีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัยเป็นส�านักงานใหญ่ พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตโต) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นประธาน
พุทธศักราช 2558 ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพใน การจัดวิสาขบูชาโลก ครั้งที่ 12 ซึ่งการจัดประชุมครั้งนี้นอกจากจะ ถวายเป็นพุทธบูชาแล้ว ยังได้เน้นย�้าความเป็นศูนย์กลางของ พระพุทธศาสนาโลก และที่ส�าคัญยังจัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมมายุ 60 พรรษา 5 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน พุทธศักราช 2558
นับแต่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้สนองพระ ราชปณิธานของล้นเกล้ารัชการที่ 5 พระมหากษัตริ ย์ ผูท้ รงมีคณุ ปู การ ต่อวงการพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแสดงให้เห็นถึงความพร้อมด้านศักยภาพใน การรองรับนิสิต และสามารถผลิตบัณฑิตอย่างมีคณ ุ ภาพออกสูส่ งั คม โลก พร้อมทัง้ ก้าวสูค่ วามเป็นนานาชาติ เพือ่ เป็นศูนย์กลางการศึกษา พระพุทธศาสนาของโลก อย่างแท้จริง
Ayutthaya 171
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดศรีประชา วัดศรีประชา ตัง้ อยูท่ ี่ 164/55 บ้านครอง 6 หมูท่ ี่ 1 ต�ำบล ชะแมบ อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 22 ไร่ 3 งาน 37 ตารางวา วัดศรี ประชาได้รับเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ในปีพ.ศ. 2539 ปัจจุบันมีพระภิกษุจ�ำพรรษา 28 รูป สามเณร 2 รูป มีพระ นักศึกษา 10 รูป ศึกษาระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยมหา มกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย
ประวัติวัดศรีประชา
วัดศรีประชา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2500 เดิมเรียกว่าวัด ใหม่ยายน้อมบ้าง (ตามชือ่ ของผูถ้ วายทีด่ นิ สร้างวัด) หรือวัดใหม่ บัวชมบ้าง (ตามชือ่ หมูบ่ า้ น) เพราะระยะนัน้ การสร้างวัดขึน้ ใหม่ ทางกรมการศาสนายังไม่อนุมัติตั้งชื่อวัด วัดศรีประชา สร้างโดยหลวงปู่พิง วิลาภิรโต ท่านเคย เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดยมนาตามธรรม ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือ ศรัทธาของญาติโยมทัว่ ไปยิง่ นัก ทว่าญาติโยมต�ำบลชะแมบและ ต�ำบลล�ำตาเสา ที่ไปท�ำบุญที่วัดยมนาตามธรรมนั้น เดินทางไป มาล�ำบากมากเพราะสมัยนัน้ ยังไม่มรี ถวิง่ เรือหางยาวก็ไม่มี คุณ ยายน้อม ตาสกุล นายทองหล่อ เจริญสุข และนายทองสุข จึง ได้ถวายที่ดินเป็นจ�ำนวน 23 ไร่ 3 งาน ให้เป็นที่ธรณีสงฆ์เพื่อ ท�ำการสร้างวัด ญาติโยมจึงไปอาราธนานิมนต์หลวงปูพ่ งิ มาเป็น 172
เจ้าอาวาส หลวงปูพ่ งิ เห็นว่าผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดยมนาตามธรรม ได้มีความสามารถที่จะเป็นเจ้าอาวาสแทนท่านได้ ท่านจึงได้ รับปากมาสร้างวัดกับญาติโยมที่บ้านบัวชม ต�ำบลชะแมบ ต่อมาพ.ศ. 2503 ทางกรมศาสนาแต่งตั้งชื่อ “วัดศรี ประชา” จนทุกวันนี้ ต่อมา พ.ศ.2505 หลวงปู่พิงได้รับการแต่ง ตั้งให้เป็นพระครูชั้นประทวน หลวงปู่พิงท�ำการพัฒนาบริเวณ วัด อาทิเช่น ยกระดับถมที่ให้สูงแล้วท�ำการก่อสร้างกุฏิ ศาลา การเปรียญ หอสวดมนต์ สมัยก่อนนั้นท�ำการก่อสร้างด้วยไม้ เนื้ อ แข็ ง ต่ อ มาท� ำ การสร้ า งอุ โ บสถอี ก หลั ง หนึ่ ง เป็ น แบบ คอนกรีตเสริมเหล็ก
พ.ศ. 2514 หลวงปูพ่ งิ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็น พระครูสญ ั ญา บัตร พัดยศ ชั้นตรี พระนามว่า “พระครูประชาพัฒนกิจ” ต่อ มาหลวงปู่พิงถึงแก่มรณภาพด้วยโรคหัวใจล้มเหลว เมื่อวัน พฤหัสบดีที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2522 ขึ้น 8 ค�่ำ เดือน 6 ปีมะแม เวลา 10.09 นาฬิกา รวมพรรษาทั้งหมด 56 พรรษา
ล�ำดับเจ้าอาวาส-ผู้ช่วยเจ้าอาวาส
พระครูประชาพัฒนกิจ (หลวงปู่พิง) อดีตเจ้าอาวาสรูปที่ 1 มรณภาพเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 พระครูพจิ ติ รวิหารการ (หลวงพ่อส�ำเภา บ่อตาโล่) อดีต เจ้าอาวาสรูปที่ 2 มรณภาพเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2550 พระครูอาทรสังฆกิจ (พระเยาว์ จัน่ เจริญ) อดีตผูช้ ว่ ยเจ้า อาวาส รูปที่ 1 มรณภาพเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2550 พระครูปลัดอภิชาติ สุวณฺณโชโต (ทรงกิจวิศวการ) เจ้า อาวาสรูปที่ 3 ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน
ประวัติพระครูปลัดอภิชาติ สุวณฺณโชโต
พระครูปลัดอภิชาติ ฉายา สุวณฺณโชโต อายุ 39 พรรษา 13 วิทยฐานะ ป.ธ.- น.ธ.เอก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ ต�ำบลวังน้อย และเจ้าอาวาสวัดศรีประชา ต�ำบลชะแมบ อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิทยฐานะ พ.ศ.2551 ส�ำเร็จชั้นปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหามกุฎ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย อ�ำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2544 สอบได้นักธรรมชั้นเอก วัดศรีประชา ส�ำนัก เรียนคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา งานด้านการเผยแผ่ พ.ศ.2550 ครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน พ.ศ. 2551 ครูสอนพระปริยตั ธิ รรมแผนกนักธรรม ประจ�ำ อ�ำเภอวังน้อย
งานด้านการพัฒนาวัดศรีประชา สร้างกรงสุนัขภายใน วัด ,สร้างเสาหงส์รอบวัด 5 ต้น, ถมดินหน้าโบสถ์, สร้างพระ สิวลีและพระมาลัย สูง 3 เมตร, สร้างโรงครัวและสร้างรั้ว ก�ำแพงวัด งานบู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ถ าวรวั ต ถุ ซ่ อ มหลั ง คาศาลา การเปรียญ, เดินสายไฟฟ้ารอบวัด, เดินท่อน�ำ้ เพือ่ สาธารณูปโภค รอบวัด, บูรณะอุโบสถ (ซ่อมหลังคา), ทาสีก�ำแพงโบสถ์, สร้าง ประตูก�ำแพงรอบโบสถ์, ติดกระจกสีหน้าบันอุโบสถ, บูรณะ เมรุ,บูรณะเสนาสนะอดีตเจ้าอาวาส 1 หลัง, ย้ายฐานสถูปเจดีย,์ ซ่อมศาลพระภูมิเจ้าที่วัด, บูรณะเสนาสนะสงฆ์ 4 หลัง, ติด กล้องวงจรปิดภายในวัด 16 ตัว และก่อสร้างรั้วเขตสังฆาวาส Ayutthaya 173
วัดชูจิตธรรมาราม
พระอารามหลวง
WatChujitdhammaram Temple
174
วัดชูจิตธรรมาราม พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 57 หมู่ที่ 1 ต�ำบลสนับทึบ อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ รหัสไปรษณีย์ 13170 ถนนพหลโยธิ น ระหว่ ำ งหลั ก กิ โ ลเมตรที่ 73-74 สำย กรุงเทพมหำนคร-สระบุรี ภำยในบริเวณมหำวชิรำลงกรณรำชวิทยำลัย โทร. 081-4501210 โทรสำร. 035-745060 It is located in Sanupthub sub-district, Wangnoi district, Phra Nakorn Sri Ayuddhaya province 13170 on Phahonyothin Road which is between the route pole of 73-74 ,BangkokSaraburi Province. For more information, Tel. 08 1450 1210, 0 3574 5060 and Fax. 0 3574 5060
Ayutthaya 175
ประวัติความเป็นมา
ด้วยพระด�ำริของสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐำยีมหำเถร)วัดมกุฏกษัตริยำรำมขณะทรงด�ำรงต�ำแหน่งนำยก สภำกำรศึกษำมหำมกุฎรำชวิทยำลัย ที่ว่ำ “ ควำมส�ำคัญของกำรศึกษำของคณะสงฆ์ในปัจจุบนั นี้ จะต้องอนุวตั ิ ให้ทันกับควำมเจริญของโลกซึ่งเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลำ” พระองค์จงึ ทรงเปิดโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสำมัญศึกษำแห่ง แรกขึ้น ที่บริเวณหลังวัดมกุฏกษัตริยำรำม กรุงเทพมหำนคร ชื่อว่ำ “โรงเรียนวชิรมกุฎ” เมื่อวันที่ 1 ตุลำคม พ.ศ. 2514 ในปีเดียวกันนี้ นายฉบับและคุณนายสงวน ชูจติ ารมย์ ได้มจี ติ ศรัทธำ ถวำยที่ดิน จ�ำนวน 186 ไร่ (ต่อมำได้มีผู้บริจำคซื้อถวำยเพิ่มเติมเป็น 736 ไร่) ให้เป็นที่ตั้งสถำนศึกษำของคณะสงฆ์ขยำยกำรศึกษำออกไปสู่ชนบท ขณะทีท่ รงเตรียมกำรจะด�ำเนินงำนภำยหลังชำวบ้ำนเก็บเกีย่ วเสร็จสิน้ แล้ว แต่พระด�ำริดังกล่ำวยังมิทันสัมฤทธิ์ผลพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์เสียก่อน เมื่อวันที่ 18 ธันวำคม พ.ศ.2514 ต่อมำปี พ.ศ.2516 สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตำจำโร) วัดมกุฏกษัตริยำรำมพร้อมด้วยพระเถรำนุเถระผู้มีบทบำทในกำรจัดกำร ศึกษำของคณะสงฆ์หลำยรูป ได้รว่ มกันก่อตัง้ สถำบันสงฆ์แห่งนีข้ น้ึ เริม่ แรก ใช้ชื่อว่ำ“สภำกำรศึกษำมหำมกุฎรำชวิทยำลัย” สำขำวังน้อย ต่อมำเมื่อ วันที่20 มีนำคม พ.ศ.2520 ได้รับพระมหำกรุณำธิคุณ พระรำชทำนพระ นำมำภิไธยในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ว่ำ “มหำ วชิรำลงกรณรำชวิทยำลัย” และทรงพระรำชทำนพระนำมำภิไธยย่อว่ำ “ม.ว.ก.” ภำยใต้เสมำธรรมจักร พร้อมทั้งพระรำชทำนสุภำษิตว่ำ “วชิรูปม จิตโฺ ต สิยำ” (พึงเป็นผูม้ จี ติ แกร่งประดุจเพชร) ในปีพ.ศ.2519 ได้ขอตัง้ เป็น วัดชือ่ “วัดชูจติ ธรรมาราม” เพือ่ เป็นเกียรติแก่วงศ์สกุลชูจติ ำรมย์ ผูถ้ วำย 176
พระประจ�าพระชนมวาร ภปร
พระประจ�าชนมวาร สก
ที่ดินเพื่อกำรก่อตั้งครั้งแรก ได้รับพระรำชทำนวิสุงคำมสีมำในปี พ.ศ. 2521 และในวันที่ 29 พฤษภำคม พ.ศ.2555 ได้รบั พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ให้ยกวัดชูจิตธรรมำรำม เป็นพระอำรำมหลวง ชั้นตรี ชนิดสำมัญ ปัจจุบันมี พระราชวัชราภรณ์ (สมพงษ์ฐิตว�โส) เป็นเจ้ำอำวำสมี พระภิกษุจ�ำพรรษำ 34 รูป และสำมเณรจ�ำนวน 362 รูป
History
The institution was established by the intention and determination of the Supreme Patriarch, Somdet Pra Ariyawongsakatayarn Somdet Phra Sangharaja (Juan Utthayee Mahathera), Makutkrasattriyaram Temple who held the position of the President of Mahamakutrajawitthayalai Council, stating that “ The importance of the studies of the Sangha community at present needs to be globalized with the growth of the world which changes all the time.” Following that, he, therefore, launched the first Prapariyattitham School at the back area of Makutkasattriyaram Temple, Bangkok which was officially named as “ Wachiramakut School” on October 1, 1971. In the same year, Mr. Chabub and Mrs. Sa-ngaun Chujittarom had a will to donate 73.5386 acres (186 Rai) of land. Later, some donators donated more areas of land to be 290.991 acres in total (736 Rai) as the place of Sangha community’s studies which was expanded to rural areas. However, while the Supreme Patriach was preparing to set up the institution after the farmers in that area nfi ished their harvest, he passed away on December 1971. Therefore, his contemplation was not implemented until later in 1973, Somdet Phra Buddha Chinnawong ( Prachaub Kantajaro) of Makutkasattriyaram Temple with some senior monks who played a significant role in Sangha community’s education had altogether established this institution. At first, it was named as “ Mahamakut Buddhist Council, Wangnoi Branch”. Later on March 20, 1977, it received the royal patronage from His Royal Highness Crown Prince Maha Vajiralongkorn to name itself as “ Maha Vajiralongkorn Buddhist College” and the prince then gave the abbreviation of the institution as “ MVK” within the logo of the Dhamma wheel and its motto as “ Vajiru Pama Jitto Siya” ( having a strong mind as a diamond). In 1976, the institution had also asked for the official name of the temple from the government office as “ Chujitdhammaram Temple” in honor of Chujitarom clan who initially donated the land for the foundation. Later in 1978, the temple received the royal patronage and recognition of the temple area (Visung Cama Sima) and on May 29, 2012, it received the royal patronage to upgrade it to the royal temple at primary level. At present, Phra Rajwacharaphorn (Sompong Thitawangso) is the abbot of the temple and there are 34 monks and 362 novices who reside in. Ayutthaya 177
ด้านการศึกษา
ในกำรจัดตั้งสถำบันแห่งนี้ขึ้นได้วำงวัตถุประสงค์ไว้ 6 ประกำร คือ 1.เพื่อเป็นสถำบันกำรศึกษำชั้นสูงของคณะสงฆ์ 2.เพื่อเป็นสถำนที่พักอำศัยเล่ำเรียนของพระภิกษุ - สำมเณร 3.เพื่อเป็นสถำนที่พักอำศัยเล่ำเรียนวิชำกำรทำงพระพุทธศำสนำของชำว ต่ำงประเทศ 4.เพือ่ เป็นศูนย์กลำงกำรศึกษำค้นคว้ำทำงวิชำกำรชัน้ สูงเกี่ยวกับพระพุทธ ศำสนำ 5.เพื่อเป็นสถำนที่อบรมในด้ำนกำรปฏิบัติธรรม 6.เพื่อเป็นสถำนที่ศึกษำฝึกอบรมพระภิกษุผู้จะปฏิบัติศำสนกิจในระดับสูง เช่น งำนด้ำนกำรปกครอง กำรเผยแผ่ กำรสำธำรณูปกำร เป็นต้น โดยได้มีกำรจัดกำรศึกษำขึ้นดังต่อไปนี้ 1.จัดกำรศึกษำหลักสูตรกำรศึกษำของคณะสงฆ์ไทย ได้แก่ กำรเรียนนัก ธรรม และภำษำบำลี 2.จัดกำรศึกษำหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ของกระทรวงศึกษำธิกำร โดยเปิดท�ำกำรสอนในระดับมัธยมศึกษำตอนต้นและตอนปลำยในนำมของ โรงเรียนมหำวชิรำลงกรณรำชวิทยำลัย 3.จัดกำรศึกษำในระดับอุดมศึกษำ ปริญญำตรีศำสนศำสตรบัณฑิต และ ระดับปริญญำโทในนำมของวิทยำเขตมหำวชิรำลงกรณรำชวิทยำลัย ซึ่งเป็น วิทยำเขตของมหำวิทยำลัยมหำมกุฎรำชวิทยำลัย
ด้านอาหารและการเป็นอยู่
ด้วยมีพระภิกษุ-สำมเณรเข้ำพักศึกษำเล่ำเรียนอยู่เป็นจ�ำนวนมำกและตั้ง อยู่ห่ำงจำกชุมชนจึงไม่สะดวกที่จะออกรับบิณฑบำต และอำหำรได้มำไม่เพียง พอส�ำหรับพระภิกษุ - สำมเณรซึ่งอยู่กันเป็นจ�ำนวนมำก จึงจ�ำเป็นต้องจัดตั้ง โรงครัวประกอบอำหำรเช้ำ-เพล ปัจจุบันใช้จ่ำยด้ำนค่ำภัตตำหำรประมำณวัน ละ 25,000- 30,000 บำท นับว่ำเป็นภำระหนักพอสมควรส�ำหรับผู้บริหำร 178
แต่ด้วยแรงศรัทธำของท่ำนพุทธศำสนิกชนที่เล็งเห็นถึงควำมส�ำคัญ ของกำรศึกษำส�ำหรับพระภิกษุ - สำมเณร จึงได้บริจำคทรัพย์ตั้ง กองทุนมูลนิธิขึ้นชื่อว่ำ “มูลนิธิมหำวชิรำลงกรณรำชวิทยำลัย” เพื่อ น�ำดอกผลมำเป็นค่ำใช้จ่ำย
ด้านการรักษาพยาบาล
ด้วยวัดชูจิตธรราราม พระอารามหลวงแห่งนี้ ตั้งอยู่ห่ำงไกล จำกโรงพยำบำลเมื่อมีพระภิกษุสำมเณรอำพำธ จึงเกิดควำมล�ำบำก ในกำรรักษำพยำบำล ต่อมำได้มีท่ำนผู้มีจิตศรัทธำสร้ำงตึกเพื่อเป็น สถำนพยำบำล จ�ำนวน 1 หลัง เป็นที่ท�ำกำรตรวจรักษำพระภิกษุ สำมเณรอำพำธ และตรวจรักษำประชำชนโดยทั่วไปในละแวกใกล้ เคียง ด�ำเนินงำนในรูปของมูลนิธิ กล่ำวคือ ได้รบั พระมหำกรุณำธิคณ ุ จำกสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระรำชทำน นำมมูลนิธินี้ว่ำ “มูลนิธิสิรินธร” ปัจจุบันมีพยำบำลประจ�ำ 4 ท่ำน อยู่ เวรปฏิบตั หิ น้ำทีต่ ลอด 24 ชัว่ โมง และมีนำยแพทย์ทำ� กำรตรวจรักษำ โรคทั่วไปสัปดำห์ละ 1 วัน ตรวจรักษำโรคตำ สัปดำห์ละ 1 วัน และ แพทย์ตรวจรักษำฟัน สัปดำห์ละ 1 วัน
ร่วมสืบสานพระพุทธศาสนา
ผู้ที่มีควำมประสงค์จะน�ำบุตรหลำนเข้ำมำศึกษำเล่ำเรียน ในระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 และมัธยมศึกษำปีที่ 4 สำมำรถ ติดต่อได้ที่โรงเรียนมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย 035745039 www.mvk.ac.th หรือท่านใดมีจติ ศรัทธาประสงค์จะถวายภัตตาหารเพลแก่ พระภิกษุสามเณร เนื่องในโอกาสต่าง ๆ ของชีวิต เพื่อบ�ารุง พระศาสนาและร่วมกันสร้างศาสนทายาทสามารถติดต่อได้ที่ 081 4501210, 035 754060
Education
In establishing the institution, 6 purposes had been set up as follows; •To be a higher educational institute of the Sangha community. •To be a living place for studies of monks and novices. •To be a living place for Buddhist studies of foreigners. •To be a center of Buddhist studies and Buddhism at a higher level. •To be a training place for Dhamma practices. •To be a training place for monks who practice Buddhist missions at a higher level such as missions on governance, propaganda and public services etc. The temple offers the education to the monks and the novices as follows; •The curriculum of Thai Sangha Community such as Dhamma and Pali language •The compulsory curriculums of the Ministry of Education which cover lower and higher levels of secondary education on behalf of “ Mahavajiralongkorn Buddhist College” •The tertiary education (Bachelor’s degree) and graduate studies (Master’s degree) on behalf of Mahamakut Buddhist College Campus which is one of the campuses of Mahamakut Buddhist University
Food and Living
With the large number of monks and novices who stay to study in the temple which is far away from the community, it is not convenient for monks and novices to walk to receive arms and foods are not enough for them. Therefore, the temple has set up a canteen which cooks and prepares foods at morning and lunch times for them. It is nowadays that the temple pays for foods for monks and novices for about 25,000-30,000 Bath a day. This is a heavy task for the temple’s administrators. However, with strong faith of Buddhist disciples who saw the importance of the education of monks and novices at the earlier stage, they donated some money to establish a foundation named “ Mahavajiralongkorn Buddhist College Foundation”. The purpose of this foundation is to bring nfi ancial interest which incurs for payment for food for the monks and novices.
Medication and Nursing
Due to the far away location of the temple from the hospital, when monks and novice are ill, it is difficult for them to get medication and nursing. Later, a group of people who had faith in the temple constructed a nursing building as a place to give medical treatments to monks and novices and people who are sick and live nearby. The operation is performed in the form of the foundation. That is to say, it received the royal patronage from Her Royal
Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn to name itself as “ Sirindhorn Foundation”. At present, the foundation has 4 nursing staff who are on duty for 24 hours and there is a doctor who works once a week to give general medical treatments which include eye check up and a dentist who works once a week to give teeth check up to patients.
Joining hands to inherit Buddhism
For those who are interested to send their sons to study in Matthayom Suksa 1 ( Lower Secondary Level) and Matthayom Suksa 4 ( Upper Secondary Level), please contact Mahavajiralongkorn Buddhist College directly at Tel. 035745039 (www.mvk.ac.th). In this case, if those who want to offer lunch time food to monks and novices on different and auspicious occasions of life to support Buddhism and joins hands to create Buddhist in inheritors, please feel free to contact at Tel. 08 1450 1210 and 0 3574 5060. Ayutthaya 179
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ปรัชญา/ปณิธาน
ความเพียรเลิศ อดทนเยี่ยม เปี่ยมกตัญญู รู้สัจจะ
วิสัยทัศน์
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย เป็นสถานศึกษาและปฏิบัติ มีวัตถุประสงค์ ให้การศึกษา ฝึกอบรมปฏิบตั จิ ติ ภาวนา ส่งเสริมและให้บริการทาง วิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ รวมทัง้ การท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม
180
ประวัติความเป็นมา
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย เปิดท�ำการ เรียนการสอนครัง้ แรก เมือ่ วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2526 โดย พระเดชพระคุ ณ พระเทพโมลี (ประจวบ กนฺ ต าจาโร) (ต�ำแหน่งสูงสุดคือ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์) อดีตอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร และผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมหาวชิ ราลงกรณราชวิทยาลัย เป็นองค์ประธานเปิดการศึกษา มีนักศึกษารุ่นแรก จ�ำนวน 11 รูป และเป็นวิทยาเขตแห่ง แรกของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จากจ�ำนวน 7 วิทยเขต 3 วิทยาลัย
วัตถุประสงค์
ความส�ำคัญของการศึกษาของคณะสงฆ์ในปัจจุบันนี้ จะต้องอนุมตั ใิ ห้ทนั กับความเจริญของโลกซึง่ เปลีย่ นแปลงอยู่ ตลอดเวลา จากพระด�ำริของ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายีมหาเถร) วัดมกุฏกษัตริ ยาราม ขณะทรงด�ำรงต�ำแหน่งนายกสภาการศึกษามหามกุฏ ราชวิทยาลัย มีพระประสงค์ที่จะขยายการศึกษาของคณะ สงฆ์ให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ในปี พ.ศ.2513-2514 ได้ทรง จัดตัง้ คณะกรรมการขึน้ คณะหนึง่ ท�ำหน้าทีร่ า่ งหลักสูตรพระ ปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา และประกาศใช้เป็นหลักสูตร หนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ.2514 สมัย ฯพณฯ สุกจิ นิมมานเหมินทร์ ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การระทรวง ศึกษาธิการ เมือ่ กระทรวงประกาศใช้หลักสูตรแล้ว พระองค์ ท่านได้เปิดโรงเรียนพระปริยัติธรรมแห่งแรกขึ้น ชื่อว่า “โรงเรียนวชิรมกุฏ” ซึ่งตั้งอยู่บริเวณหลังวัดมกุฏกษัตริยา ราม กรุงเทพมหานคร เป็นสาขาแห่งหนึง่ ของสภาการศึกษา มหามกุฏราช-วิทยาลัย โดยใช้หลักสูตร พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2514 Ayutthaya 181
พิธีประทานปริญญาบัตร
จัดแสดงนิทรรศการ เทศกาล วันมาฆบูชา
โครงการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา
โครงการ อบรมค่ายพุทธบุตร
ในปีเดียวกันนี้ นายฉบับ-คุณนายสงวน ชูจิตตารมย์ ได้มีจิตศรัทธา ถวายที่ดินจ�ำนวน 186 ไร่ ที่ ต�ำบล 6 สถานศึกษาของคณะสงฆ์ ขยาย การศึกษาออกไปสูช่ นบทและเปิดท�ำการสอน พระภิกษุสามเณรขึน้ ได้ทรง วางวัตถุประสงค์ ในการจัดตั้งสถาบันสงฆ์ แห่งนี้ไว้ 6 ประการ คือ 1.เพื่อเป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของคณะสงฆ์ 2.เพื่อเป็นสถานที่พักอาศัยเล่าเรียนของพระภิกษุสามเณร 3.เพื่อเป็นสถานที่พักอาศัยเล่าเรียนวิชาการทางพระพุทธศาสนาของ ชาวต่างประเทศ 4.เพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการชั้นสูงเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา 5.เพื่อเป็นสถานที่อบรมในด้านการปฏิบัติธรรม 6.เพือ่ เป็นสถานทีศ่ กึ ษาฝึกอบรมพระภิกษุผจู้ ะปฏิบตั ศิ าสนกิจในระดับ สูง เช่น งานด้านการปกครอง การเผยแผ่ การสาธารณูปการ เป็นต้น ขณะทีท่ รงเตรียมการจะด�ำเนินงานภายหลังชาวบ้านเก็บเกีย่ วข้าวเสร็จ สิน้ แล้ว แต่พระด�ำริดงั กล่าวยังไม่ทนั สัมฤทธิผ์ ล พระองค์ทรงสิน้ พระชนม์ เสี ย ก่ อ น เมื่ อ วั น ที่ 18 ธั น วาคม พ.ศ.2514 ต่ อ มาปี พ.ศ.2516 พระเถรานุเถระ ผูม้ บี ทบาทในการจัดการศึกษาของคณะสงฆ์ฝา่ ยธรรมยุติ หลายรูป เช่น 1) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ฯ วัดบวรนิเวศวิหาร 2) สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) วัดเทพศิรินทราวาส 3) สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) วัดมกุฏกษัตริยาราม 4) พระเทพเมธาจารย์ (สุวรรณ กญฺจโน) วัดมกุฏกษัตริยาราม 5) พระธรรมวราจารย์ (แบน กิตฺติสาโร)วัดบวรนิเวศวิหาร 6) พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินฺธโร) วัดธรรมมงคล 7) พระเทพปัญญากวี (บรรจง กลฺลิโต) วัดมกุฏกษัตริยาราม 182
โดยร่วมกันก่อตั้งสถาบันสงฆ์แห่งนี้ขึ้น เริ่มแรกใช้ชื่อว่า สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย สาขาวังน้อย เป็นทีร่ จู้ กั กันของประชาชนโดยทัว่ ไปว่า วิทยาลัยสงฆ์วงั น้อย ในปี พ.ศ. 2519 ได้ขอตั้งเป็นวัดชื่อ วัดชูจิตธรรมราม เพื่อเป็นเกียรติ แก่วงศ์สกุลชูจติ ารมย์ผถู้ วายทีด่ นิ เพือ่ การก่อตัง้ ครัง้ แรก ต่อ มาเมือ่ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2520 ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานพระนามาภิไธย ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราชฯ สยามมกุฏราชกุมารว่า มหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย และทรงพระราชทานพระนามาภิไธยย่อว่า ม.ว.ก. ภายใต้ สีมาธรรมจักร พร้อมทั้งพระราชทานสุภาษิตว่า วชิรูปมจิตฺ โต สิยา (พึงเป็นผูม้ จี ติ แกร่งประดุจเพชร) ให้เป็นตราประจ�ำ วิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย ตัง้ อยูบ่ นถนน พหลโยธิน ระหว่างกิโลเมตรที่ 73-74 สายกรุงเทพมหานคร -สระบุรี ภายในวัดชูจิตธรรมาราม เลขที่ 57 หมู่ที่ 1 ต�ำบล สนับทึบ อ�ำเภอวังน้อย จังหวัพระนครศรีอยุธยา รหัส ไปรษณีย์ 13170 หมายเลขโทรศัพท์ที่จะติดต่อ วิทยาเขต มหาวชิราลกรณ ราชวิทยาลัย 0-3574-5037-8 โทรสาร 0-3574-5037
พระราชบัณฑิต อธิการบดี
พระราชวัชราภรณ์ รองอธิการบดี และจ�ำนวนบุคลากรประจ�ำวิทยาเขตฯ รวมทั้ง อาจารย์และเจ้า หน้าที่ ทั้งหมด 45 รูป/คน โดยเป็นพระภิกษุ จ�ำนวน 9 รูป และ คฤหัสถ์ จ�ำนวน 36 คน
ด้านการศึกษา
ธารน�้ำใจไหลสู่พุทธภูมิ Pray for Nepal
ด้านการบริหาร
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลง กรณราชวิทยาลัย ภายใต้พระราชบัญญัติ พ.ศ.2540 ได้แบ่งส่วน งานการบริหารงานของวิทยาเขตออกเป็น 3 ส่วนงาน คือ 1) ส�ำนักงานวิทยาเขต 2) ศูนย์บริการวิชาการ 3) วิทยาลัยศาสนศาสตร์ โดยมี รองอธิการบดี ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนอธิการบดี เป็นผู้ บังคับบัญชา ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดีตั้งแต่อดีต – ถึง ปัจจุบัน มีดังนี้ 1) พระเทพพุทธิมุนี (สันต์ ชุตินฺธโร) 2) พระราชวราภรณ์ (อนันต์ ญาณวีโร) 3) พระราชบัณฑิต (ธรณิศ ชาคโร) 4) พระราชวัชราภรณ์ (สมพงษ์ ชิตวํโส) องค์ปัจจุบัน ปัจจุบันวิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย มีบุคลากร ท�ำหน้าที่บริหารงานประจ�ำ วิทยาเขตประกอบด้วย 1) พระราชวัชราภรณ์ รองอธิการบดี 2) พระมหาโชควรรธน์ อาภากโร ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน วิทยาเขต 3) พระครูวภิ ชั ธรรมวิจติ ร ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยศาสนศาสตร์ 4) พระครูพิลาศสรธรรม ผู้อ�ำนวยการศูนย์บริการวิชาการ 5) นายบุญล�่ำ จั่นทอง ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายคฤหัสถ์
วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัยจัดการศึกษาใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา คื อ หลั ก สู ต ร ศาสนศาสตรบั ณ ฑิ ต ใช้ อั ก ษร ย่ อ ว่ า ศน.บ. โดยใช้ ร ะบบการจั ด การศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รของ มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณ ราชวิทยาลัยได้เปิดการเรียนการสอนตามล�ำดับดังต่อไปนี้ ในปี 2526 ได้เปิดสอนวิชาศาสนาบังคับและวิชาพื้นฐานทั่วไป ใน 2 ระดับ ชั้น คือ ศาสนศาสตรปีที่ 1 และปีที่ 2 ส่วนชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 ต้องเข้าไปศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วัดบวร นิ เ วศวิ ห าร กรุงเทพมหานคร (รุ่นที่ 4 เป็นรุ ่ น สุ ด ท้ า ยที่ เ ข้ า ไป ศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร) ในปี 2531 เปิดการเรียนการสอน 2 คณะคือ 1) คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ 2) คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชาเอก สังคมวิทยา ในปี 2534 เปิดการเรียนการสอน เพิ่มอีก 1 คณะคือ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ในปี 2542 เปิดการเรียน การสอนเพิ่มอีก 1 คณะคือ คณะศาสนาและปรัชญา สาขาวิชา ปรัชญา ในปี 2545 เปิดการสอนเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คือ 1) คณะ สังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง ปัจจุบันได้เปิด สอนตามหลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย มหามกุฏราชวิทยาลัย ดังนี้ คณะศึ ก ษาศาสตร์ สาขาวิ ช าเอกการสอนภาษาอั ง กฤษ คณะ สั งคมศาสตร์ สาขาวิชาเอกรัฐศาสตร์การปกครอง คณะศาสนา และปรั ช ญา สาขาวิ ช าปรั ช ญา ขออนุ มั ติ เ ปิ ด โครงการบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา (ระดั บ ปริ ญ ญาโท) ได้ เ ปิ ด สอนตามหลั ก สู ต รของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 1 สาขาวิชาดังนี้ 1) สาขาวิชา พระพุ ท ธศาสนาและปรั ช ญา และในปี ก ารศึ ก ษาข้ า งหน้ า มี โครงการเปิดสาขาวิชาอื่นๆ ศึกษาเพิ่มขึ้นอีก และสามารถติดต่อ ได้ทุกวันที่ www.mrc.ac.th FB แวะวังวิทยาเขตมหาวชิราลง กรณราชวิทยาลัย Ayutthaya 183
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดล�ำบัว วัดล�ำบัว ต�ำบลหันตะเภา อ�ำเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระมหารุ่งอรุณ สุวโร เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดล�ำบัว
วัดล�ำบัว สร้างขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2526 โดยมี นางน้อม ตามสกุล เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ ให้เป็นทีส่ ร้างวัด และมี นายส�ำรวย วิงเจริญ ก�ำนันต�ำบลหันตะเภา เป็นผู้ ติ ด ต่ อ ขออนุ ญ าตตั้ ง วั ด จากทางราชการ และกระทรวง ศึกษาธิการได้ประกาศให้ตั้งวัด เมื่อวันที่ 7 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2536 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า วั น ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร.
ศาสนวัตถุ
พระประธานในอุโบสถ พุทธลักษณะ ปางพระพุทธชิน ราช สร้างเมื่อ พ.ศ. 2530 พร้อมด้วยพระอัครสาวก พระประธานในศาลาการเปรียญ พระสีวลี ประดิษฐานยืนอยู่ลานวัดด้านหน้า 184
พระมหารุ่งอรุณ สุวโร
เสนาสนะ
อุโบสถ กว้าง 7.5 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2535 ลักษณะ เป็นอาคารคอนกรีตเหล็ก ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 32 เมตร สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2533 สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนี้ยังมี กุฏิสงฆ์ สร้างด้วยไม้ จ�ำนวน 10 หลัง ,วิหาร , ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 1 หลัง ,หอสวดมนต์ 1 หลัง ,ฌาปนสถาน 1 หลัง และหอระฆัง 1 หลัง
ล�ำดับเจ้าอาวาส
พระมหาเต็ม คุณวีโร พ.ศ. 2533 พระอธิการล�ำยอง กมฺมสุทฺโธ พระมหายุทธพล ปภสฺสโร พระมหารุ่งอรุณ สุวโร พ.ศ. 2555-ปัจจุบัน Ayutthaya 185
เส้นทางพบ อ�ำเภอลาดบัวหลวง
นายฤทธิสรรค์ เทพพิทักษ์ นายอ�ำเภอลาดบัวหลวง
ลาดบัวหลวงแสนสวย แดนปฏิรูปที่ดิน ถิ่นเกษตรกรรม สายน�้ำ พระยาบันลือ เลื่องชื่อสองศาสนา ชาวประชา “พอเพียง”
คือค�ำขวัญอ�ำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ว่าการอ�ำเภอลาดบัวหลวงตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ต�ำบลลาดบัวหลวง อยู่ห่างจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประมาณ 65 กิโลเมตร และห่างจาก กรุงเทพ ฯ ประมาณ 69 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายฤทธิสรรค์ เทพพิทักษ์ เป็นนายอ�ำเภอลาดบัวหลวง
ประวัติอ�ำเภอลาดบัวหลวง
ก่อนปี พ.ศ.2457 อ�ำเภอลาดบัวหลวงมีสภาพเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ของอ� ำ เภอราชคราม ซึ่ ง ต่ อ มาเปลี่ ย นเป็ น อ� ำ เภอ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สภาพพื้นที่เป็นที่รกร้าง ว่างเปล่า ต่อมาในปี พ.ศ.2480 ทางราชการได้ประกาศยก ฐานะจากต� ำ บลขึ้ น เป็ น กิ่ ง อ� ำ เภอลาดบั ว หลวง อยู ่ ใ นความ ปกครองของอ�ำเภอบางไทร มีต�ำบลขึ้นอยู่ในความปกครอง 3 ต�ำบล คือ ต�ำบลสิงหนาท ต�ำบลลาดบัวหลวง และต�ำบล คู้สลอด ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2490 ทางราชการได้ ประกาศยกฐานะจากกิ่งอ�ำเภอ ขึ้นเป็นอ�ำเภอลาดบัวหลวง ได้แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล โดยแยกส่วนหนึ่ง ของต�ำบลลาดบัวหลวงไปตั้งเป็นต�ำบลหลักชัย และต�ำบลสาม เมือง แยกส่วนหนึ่งของต�ำบลสิงหนาทไปตั้งเป็นต�ำบล 186
ลักษณะเด่นของอ�ำเภอลาดบัวหลวง
ด้านศาสนา
พระยาบันลือ ส่วนต�ำบลคู้สลอดคงเดิมไว้ และเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.2536 ได้มีการแยกต�ำบลสิงหนาทออกเป็น 2 ต� ำ บล คื อ ต� ำ บลสิ ง หนาท และต� ำ บลคลองพระยาบั น ลื อ รวมเป็น 7 ต�ำบล ซึ่งใช้เป็นเขตการปกครองมาจนถึงปัจจุบันนี้
ข้อมูลทั่วไป
อ�ำเภอลาดบัวหลวง มีเนื้อที่โดยประมาณ 199 ตาราง กิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มและทุ่งนา มีคลองส�ำคัญไหล ผ่าน 10 สาย คือ คลองพระยาบันลือ คลองญีป่ นุ่ คลองหลักชัย คลองบางซ้าย คลองเมฆขลา คลองสาน คลองชลประทานสาย 4 คลองลากฆ้อน คลองขุนศรี และคลองพิสนธิ์ นอกจากนีย้ งั มีคลอง ซอยอีก 23 คลอง จากสภาพพืน้ ทีด่ งั กล่าวจึงท�ำให้มนี ำ�้ อุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การกสิกรรมเป็นอย่างยิง่ ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก คือการท�ำนา ปีละ 2-3 ครั้ง ท�ำสวนผลไม้ อาทิ เมล่อน มะพร้าวน�้ำหอม มะม่วง ฝรั่ง ส้มโอ ชมพู่ ละมุด กล้วยหอม กระท้อน เป็นต้นเพาะปลูก พืชไร่ เช่น อ้อยคัน้ น�ำ้ และพืชผักพืน้ บ้านปลอดภัยตามเกษเลีย้ ง สัตว์น�้ำ อาทิ ปลาตะเพียน ปลานิล ปลายี่สก ปลาสวาย ปลา ดุก ปลาทับทิม ปลาช่อน ปลาบู่ กบและตะพาบน�้ำ เลี้ยงสัตว์ เช่น โค แพะ แกะ สุกร เป็ด ไก่ และนกกระทาอาชีพรอง คือ การรับจ้างในภาคการเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งตั้ง อยู่ในพื้นที่จ�ำนวน 10 แห่ง และพื้นที่ใกล้อีกหลายแห่ง
ประชากรส่วนของอ�ำเภอลาดบัวหลวงจะนับถือศาสนา พุ ท ธประมาณ 60% และศาสนาอิ ส ลามประมาณ 40% ประชากรทั้ง 2 ศาสนา สามารถอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มีความสมัครสมานสามัคคี และมีประเพณีหรือเทศกาลทีส่ ำ� คัญ อาทิ ประเพณีสงกรานต์ แห่เทียนจ�ำน�ำพรรษา ลอยกระทง พิธี ถือศีลอด วันตรุษอีดลิ้ ฟิตรี วัดตรุษอีดลิ้ อัดฮา วันเมาลิด เป็นต้น ด้านสาธารณสุข มีสถานบริการด้านสาธารณสุข ดังนี้ - โรงพยาบาลขนาด 30 เตียง จ�ำนวน 1 แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล จ�ำนวน 8 แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จ�ำนวน 5 แห่ง - คลินิกแพทย์ จ�ำนวน 1 แห่ง - แผนไทย จ�ำนวน 2 แห่ง - โรงงานผลิตยาแผนไทย จ�ำนวน 1 แห่ง
ด้านสาธารณูปโภค
- ระบบประปาเทศบาล จ�ำนวน 2 แห่ง - ระบบประปาหมู่บ้าน จ�ำนวน 30 แห่ง ตามท้องถิ่น - หน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า จ�ำนวน 1 แห่ง
ด้านการสื่อสาร
- หน่วยบริการผู้ใช้โทรศัพท์ จ�ำนวน 1 แห่ง - ไปรษณีย์ จ�ำนวน 1 แห่ง
กิจกรรมส�ำคัญของอ�ำเภอ
อ� ำ เภอลาดบั ว หลวงเน้ น การบริ ก ารและการเข้ า ถึ ง ประชาชนจึงมีการออกหน่วยบริการตามโครงการหน่วยบ�ำบัด ทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน และโครงการศูนย์ ด�ำรงธรรมอ�ำเภอยิ้ม...เคลื่อนที่ Ayutthaya 187
188
วัดโตนด ๑ วัดโตนด (๑) ต�ำบลข้าวเม่า อ�ำเภออุทัย จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมี พระครูศรีชยาภรณ์ (สุจิตฺโต) เป็นรองเจ้าคณะต�ำบลธนู รักษาการเจ้าคณะต�ำบลธนู และ เจ้าอาวาสวัดโตนด (๑)
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
“สมเด็จพระศรีรัตนมหามิ่งมงคลบรมศาสดา สัมมา สัมพุทธเจ้า” หรือที่ชาวบ้านเรียกขานว่า “หลวงพ่อปู่ พระประทานโชค” พระประธานใน อุโบสถ ซึ่งอัญเชิญมาจากวัดพระญาติการามโดยทางน�้ำ เป็น พระโบราณที่มีอายุหลายร้อยปี และมีความศักดิ์สิทธิ์มาก มัก จะมีชาวบ้านมาขอพรแล้วประสบความส�ำเร็จดังที่ขอมากมาย พระปางประทานพร เป็นศิลปะช่วงอาณาจักรสุโขทัย และลพบุรี โดยสร้างขึ้นจากชิ้นส่วนของพระหิ น ภู เ ขาจาก หลายวัด โดยสมเด็จพระมหาธีราจารย์ ได้น�ำชิ้นส่วนพระมา ประกอบแล้วขึงด้วยลวด จากนั้นจึงฉาบปูนปั้นแล้วลงรักปิด ทองค�ำแท้ด้วยองค์เอง Ayutthaya 189
พิธีการส�ำคัญของวัด
พิธีวางศิลาฤกษ์วิหารจตุรมุข “มหานิยม” ในวันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖ มหาอุบาสิกา ดร.อุไรศรี คนึงสุข เกษม ประธานในพิ ธีว างศิ ล าฤกษ์ และบริ จ าคทรั พ ย์ ส ร้ า งวิ ห ารจตุ ร มุ ข เป็ น จ� ำ นวนเงิ น ๒๐ ล้ า น และ มหาอุ บ าสถ ด.ร.ณรงค์ มี ฐ านะ ประธานการก่ อ สร้ า งวั ด โตนด(๑)
190
พิธีแห่ผ้าห่มองค์พระประธาน
ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๘ ของทุก ๆ ปี หรือเทศกาล เข้าพรรษา วัดโตนด (๑) จัดให้มีการแห่ผ้าห่มเพื่อถวายให้พระ ประธานในอุโบสถ คือองค์ “หลวงพ่อปู่ พระประทานโชค”
ประวัติเจ้าอาวาสวัดโตนด (๑) เจ้าอาวาส ฉายา อายุ
พระครูศรีชยาภรณ์ สุจิตฺโต ๖๔ ปี, พรรษา ๔๔, เปรียญธรรม ๖ ประโยค, นักธรรมชั้นเอก
ต�ำแหน่ง ปัจจุบัน รองเจ้าคณะต�ำบลธนู รักษาการเจ้าคณะ ต�ำบลธนู เจ้าอาวาสวัดโตนด (๑) พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นครูพระปริยติธรรมแผนกบาลี พ.ศ. ๒๕๓๕ เป็นเจ้าอาวาสวัดโตนด (๑) ต�ำบลข้าวเม่า อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นรองเจ้าคณะต�ำบล ต�ำบลธนู อ�ำเภออุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นเจ้าส�ำนักเรียนสหศึกษาบาลี คณะสงฆ์ อ�ำเภออุทัย พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นรองประธานบริหารการศึกษา พระปริยัติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นรองประทานโครงการแสงธรรม ส่องโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นพระจริยานิเทศประจ�ำจังหวัด พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นผู้รักษาการเจ้าคณะต�ำบลธนู พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นพระอุปัชฌาย์ รุ่นที่ ๔๘/๒๕๕๗
Ayutthaya 191
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสามบัณฑิต วัดสามบัณฑิต ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 บ้านสามบัณฑิต ตำ�บล สามบัณฑิต อำ�เภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ ประมาณ 195 ไร่ ภายในวัดมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่เคารพสัก การะคือพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ประวัติความเป็นมา
วัดสามบัณฑิต สร้างเมื่อ พ.ศ.2225 ปลายรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช วัดสามบัณฑิต มีความเกี่ยว เนื่องกับประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาคือ เมื่อทัพ พระยาตากได้รบั ชัยชนะทีท่ งุ่ ชายเคืองแล้ว ก็ได้เร่งรีบเดินทาง ต่อไปจนถึงบ้านสามบัณฑิต เวลาประมาณยามสามของรุง่ ขึน้ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2309 พระยาตากให้ทหารพักผ่อนเพียง ชัว่ งีบ ซึง่ ขณะนัน้ ภายในพระนครเกิดเพลิงไหม้ขนึ้ และได้เผา ผลาญวัดราชบูรณะและวัดมหาธาตุ ไปหยุดเพียงวัดฉัทหันต์ วิหารบ้านเรือนที่ไฟไหม้ครั้งนั้นมากกว่าหนึ่งหมื่นหลัง แสง สว่างโชติช่วงมองเห็นจากบ้านสามบัณฑิตนี้ ยังความเศร้า สลดโทมนัสแก่พระยาตากและเหล่าทหารเป็นอย่างยิ่ง 192
ครัน้ รุง่ สางพระยาตากเห็นว่าไม่ไกลจากทีพ่ กั ทัพนัก มีวดั อยู่แห่งหนึ่งจึงถามเหล่าทหารว่าใครรู้จักชื่อวัดนี้บ้าง ปรากฏ ว่าไม่มีใครทราบ พอดีขณะนั้นมีภิกษุ 3 รูปออกบิณฑบาต พระยาตากจึงได้กล่าวขึน้ ว่า...ข้ารูแ้ ล้วว่าวัดนีช้ อื่ “สามบัณฑิต” เมื่อสอบถามเส้นทางจากพระภิกษุเพื่อไปยังบ้านพรานนก ซึ่ง เป็นหมูบ่ า้ นใหญ่หลายร้อยหลังคาเรือน พระภิกษุได้ชที้ างและ อวยพรให้พระยาตากประสบความสำ�เร็จในการกลับมากอบกู้ กรุงศรีอยุธยา จากบ้านสามบัณฑิตนี้ พระยาตากนำ�กองกำ�ลังตัดทุ่ง เพือ่ ตรงไปยังบ้านพรานนก ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร แต่ ระหว่างทางก่อนถึงบ้านพรานนก ทหารพม่าที่ติดตามมาก็ได้ ไปทันกันที่บ้านโพสาวหาญ (ก่อนถึงบ้านพรานนก ประมาณ 3 กิโลเมตร) จึงเกิดการปะทะกันอีกครั้งเป็นครั้งที่สาม การ ปะทะกันที่บ้านโพสาวหาญได้เกิดวีรสตรีสองพี่น้อง ซึ่งชาว บ้านได้ปั้นรูปปั้นของทั้งสองท่านไว้ เพื่อเป็นการรำ�ลึกคุณงาม ความดี จึงขอเชิญท่านแวะกราบไหว้ขอพร และร่วมรำ�ลึกถึง วีรกรรมของท่าน ซึง่ ต่อไป อบจ.จะได้กอ่ สร้างขึน้ ใหม่ให้สมกับ เกียรติยศวีรสตรีผู้กล้า
หลังจากเหตุการณ์ทัพพระยาตากผ่านไปแล้ว วัดสาม บัณฑิตก็กลายเป็นวัดร้าง กระทั่งเมื่อ พ.ศ.2455 มีพระ ธุดงค์ชอื่ หลวงพ่อเป้า มาปักกลดบริเวณต้นโพธิใ์ หญ่เป็นเวลา นาน ชาวบ้านเลื่อมใสในกิจวัตรของท่านจึงร่วมกันสร้างกุฏิ ให้ท่านหลังหนึ่ง และต่อมามีผู้ถวายเพิ่มขึ้นอีก 3 หลัง จึง ได้ตั้งเป็นวัดขึ้นใหม่ โดยมีหลวงพ่อเป้าเป็นเจ้าอาวาส และ มีเจ้าอาวาสสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
Ayutthaya 193
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต วัดพรานนก ตั้งอยู่เลขที่ 116 หมู่ 2 ตำ�บลโพ สาวหาญ อำ�เภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัด พรานนกมีปูชนียวัตถุสำ�คัญ ได้แก่ “หลวงพ่อแดง” และอนุ ส รณ์ ส ถานสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช ปัจจุบนั มี พระครูพศิ ษิ ฏ์บญ ุ ญากร (หลวงพ่อทรัพย์ทวี) เป็นเจ้าอาวาสวัดพรานนก
วัดพรานนก
ประวัติวัดพรานนก
วัดพรานนก สร้างขึ้นเมื่อประมาณพ.ศ. 2300 นับเป็นวัดหนึ่งที่มี เรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ในสมัยเสียกรุง ศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยพระยาตากได้สู้รบฝ่าวงล้อมทัพพม่าข้าศึก มาพัก ทัพที่วัดพรานนก และประกาศกู้ชาติ ณ สถานที่แห่งนี้ ตามคำ�กล่าวที่ ว่า “แม้ยังมีชีวิตอยู่ จะกลับการกู้กรุงศรีอยุธยา” พระยาตากจึงรวบรวม ไพร่พลจากวัดพรานนก ไปตามเส้นทางเดินทัพผ่านสระบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง และจันทบุรี และย้อนกลับมากู้กรุงศรีอยุธยาสำ�เร็จ แต่ บ้านเมืองถูกเผาทำ�ลายเสียหายมากยากแก่การบูรณะ จึงดำ�ริย้ายเมือง มาสร้างใหม่ท่ีกรุงธนบุรี และสร้าง “หมู่บ้านพรานนก” ซึ่งเราจะคุ้นเคย ว่าตัง้ อยูท่ ฝี่ งั่ ธนบุรี แท้ทจี่ ริงท่านได้จ�ำ ลองชือ่ มาจาก “บ้านพรานนก” และ “วัดพรานนก” ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อรำ�ลึกถึงวีรชนและจุด เริ่มต้นแห่งการกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช นั่นเอง
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
สาธุชนท่านใดสนใจร่วมสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ติ ดต่ อได้ ที่ พระครูพิศิษฏ์บุญญากร โทร.089-996-5247 พระสม ฐานิสสฺโร เลขาเจ้าอาวาส,ผูช้ ว่ ยเลขามูลนิธสิ มเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โทร. 087-991-6649 หรือโอนเข้าบัญชี พระครูพิศิษฏ์บุญญากร (หลวงพ่อทรัพย์ทวี) วัดพรานนก ชื่อบัญชี วัดพรานนก เลขที่บัญชี 073-477385-6 ธ.กรุงเทพ สาขาโรจนะ 194
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาราชธานี ขณะที่ไทยกำ�ลังอ่อนแอ เนื่องจากขาดศึกสงครามมาเป็นเวลานาน พระเจ้ามังระกษัตริย์พม่า เห็นเป็นโอกาส จึงส่งกองกำ�ลังมาตีหวั เมืองใหญ่นอ้ ยของไทย และใน ทีส่ ดุ ได้ยกกำ�ลังเข้าล้อมพระนครไว้ แม่ทพั นายกองทีม่ คี วามสามารถ ขาดกำ�ลังใจที่จะต่อสู้ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ครั้งเป็นเจ้าเมืองตาก ได้ถูก เกณฑ์มาช่วยรักษาพระนครพิจารณาเห็นว่า ไทยจะต้องเสียกรุงแก่ พม่าเป็นแน่แท้ พระยาตากจึงรวบรวมสมัครพรรคพวกได้ประมาณ 500 คน ตีฝ่าวงล้อมพม่าออกไปทางค่ายวัดพิชัย และพักแรม ณ บ้านพรานนก รุง่ ขึน้ วันอาทิตย์ ขึน้ 5 ค่�ำ เดือนยี่ จุลศักราช 1128 ตรงกับวันที่ 4 มกราคม 2309 กองทหารพม่าประกอบด้วยพลม้า 30 ม้า พลเดิน เท้าประมาณ 200 คน ยกพลผ่านมาพบทหารไทยที่ออกไปหาเสบียง อาหาร จึงเข้าไล่ตอ้ นจับ พระองค์ทรงเห็นเหตุการณ์ดงั นัน้ ทรงตัดสิน พระทัยฉับพลัน เสด็จขึน้ ทรงม้าพร้อมด้วยทหารเอกคูพ่ ระทัยอีก 4 ม้า ขับทะยานเข้าต่อสู้กับทหารพม่า 30 ม้า พระองค์ทรงใช้ความกล้า หาญ เข้าทำ�การรบบนหลังม้าด้วยความรวดเร็ว ส่งผลให้ทหารพม่า ถูกฆ่าตาย และแตกพ่ายกระจัดกระจายไปสิ้น นับเป็นชัยชนะอย่าง เด็ดขาด จากนั้นคนไทยจึงเริ่มฮึกเหิมต่อสู้อย่างไม่เกรงกลัว จึงถือได้ ว่าแสงสว่างแห่งเอกราชได้เรืองรองขึ้นแล้ว ณ เวลานั้น เพื่อระลึกถึงวีรกรรมของบรรพบุรุษนักรบไทย โดยพลตรียุทธ พันธ์ มกรมณี ผู้บัญชาการศูนย์การทหารม้า จึงได้ร่วมกับพระสงฆ์ ประชาชน และชาวบ้านพรานนก ตำ�บลโพธิ์สาวหาญ อำ�เภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พร้อมใจกันสร้างอนุสรณ์สถานขึ้น และ ได้อัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ประทับบน หลังม้าศึก ยืนรายล้อมด้วยทหารเอกคูพ่ ระทัย 4 ท่าน คือ หลวงพิชยั อาสา หลวงพรหมเสนา ขุนอภัยภักดี และหมืน่ ราชเสน่หา จากศูนย์ การทหารม้า ค่ายอดิศร จังหวัดสระบุรี ประดิษฐานไว้ ณ วัดพรานนก ตำ�บลโพธิ์สาวหาญ อำ�เภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อวันที่ 4 มกราคม พุทธศักราช 2534 Ayutthaya 195
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโตนดเตี้ย วัดโตนดเตี้ย ตั้งอยู่เลขที่ 47 บ้านโตนดเตี้ย หมู่ที่ 4 ตำ�บลอุทัย อำ�เภออุทยั จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 13 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูเกษม พัฒนาภรณ์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดโตนดเตี้ย และรองเจ้าคณะ อำ�เภออุทัย
ประวัติวัดโตนดเตี้ย
วัดโตนดเตี้ย สร้างขึ้นเมื่อประมาณสมัยอยุธยาตอนกลางถึง ตอนปลาย ไม่สามารถระบุปี พ.ศ. ได้แน่ชัด ต่อมาวัดถูกทิ้งร้างในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น จนกระทั่งปี พ.ศ. 2425 วัดโตนดเตี้ยได้รับการ ยกฐานะเป็นวัด และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2445 วั ด โตนดเตี้ ย ได้ รั บ พระกรุ ณาธิ คุ ณจากพระเจ้ า หลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิตยิ าภา ทรงเป็นองค์ประธานในการบูรณปฏิสงั ขรณ์ วิหารศักดิ์สิทธิ์ที่ประดิษฐาน “หลวงพ่อใหญ่” โดยสร้างเป็นวิหารทรง ไทยโบราณสมัยกรุงศรีอยุธยาด้วยไม้สักทองทั้งหลังครอบวิหารเดิม และคงสภาพโครงสร้างเดิมของวิหารเก่าไว้ และทรงดำ�ริให้มีการ ดำ�เนินการศึกษาทางโบราณคดี
วัดโตนดเตี้ยกับประวัติศาสตร์ชาติไทย
ในพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ได้กล่าวถึงเหตุการณ์ ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ไว้ว่า พระยาตากได้ใช้เส้นทางเดินทัพ บริเวณคลองแม่น�้ำ นี้ โดยได้พบร่องรอยหลักฐานจากวัดและชุมชนต่าง 196
ๆ เช่น พระพุทธรูปหินทราย ฐานของโบราณสถาน และชิน้ ส่วนภาชนะดินเผา บ่งบอกถึงการมีชุมชนในอดีต และวัด โตนดเตีย้ ก็นา่ จะมีสว่ นสัมพันธ์ในเหตุการณ์ดงั กล่าว เพราะ วัดตัง้ อยูร่ มิ คลองช่องสะเดา ซึง่ ห่างจากคลองหันตรา คลอง อุทัย คลองชนะ ประมาณ 2.5 กิโลเมตร
สรุปผลการด�ำเนินงานด้านโบราณคดี
เดิมวิหารหลังนี้เป็นอุโบสถก่ออิฐถือปูน โดยพบหลัก ฐานการใช้งานตั้งแต่ราวสมัยอยุธยาตอนปลายหรือราว รัตนโกสินทร์ตอนต้น ต่อมามีการบูรณะขึน้ มาใหม่ในรัชกาล ที่ 5 และต่อมาราวรัชกาลที่ 6-7 ได้ปรับปรุงอุโบสถเป็น โครงสร้างไม้ ฐานก่ออิฐถือปูน และปรับตำ�แหน่งการวาง ผังอุโบสถใหม่ และมีการซ่อมบำ�รุงเรือ่ ยมา จนมีการมุงและ บุผนังอุโบสถด้วยสังกะสี จนปี พ.ศ. 2535 ได้ถอนอุโบสถ
หลังนี้เป็นวิหาร และในปี พ.ศ. 2552 ได้บูรณปฏิสังขรณ์เป็น รูปแบบอาคารไม้เรือนไทยในปัจจุบันนี้ หลังจากการบูรณปฏิสังขรณ์วิหารศักดิ์สิทธิ์เสร็จแล้ว ทำ�ให้วิหารศักดิ์สิทธิ์มีขนาดกว้างยาวกว่าเดิมเล็กน้อย และมา อยูช่ ดิ กับพระอุโบสถหลังใหม่มากเกินไป ทำ�ให้มอี ปุ สรรคในการ ประกอบพิธที างศาสนา และสภาพภูมทิ ศั น์ไม่สวยงาม พระเจ้า หลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงมีพระดำ�ริให้มีการ ปรับปรุงภูมทิ ศั น์รอบ ๆ วิหารศักดิส์ ทิ ธิใ์ ห้สวยงาม โดยให้เคลือ่ น ย้ายพระอุโบสถให้ห่างจากวิหารศักดิ์สิทธิ์ที่บูรณะเสร็จแล้ว
การเคลื่อนย้ายพระอุโบสถ
วัดโตนดเตีย้ ได้ด�ำ เนินการเคลือ่ นย้ายพระอุโบสถ ซึง่ มีน�้ำ หนัก 500 ตัน ให้เคลื่อนไปทางทิศเหนือในระยะทาง 7 เมตร มีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นที่ปรึกษา และ ควบคุมการดำ�เนินงานโดยนายธเนศ วีระศิริ รองเลขาธิการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยการตัดเสาโบสถ์ที่เป็น คอนกรีตทั้งหมดแล้วใช้แม่แรงไฟฟ้าขนาด 35 ตัน จำ�นวน 26 ตัว รับน้ำ�หนักโบสถ์มาวางบนล้อเลื่อนจำ�นวน 34 ตัว โดยตัว ล้อวางอยู่บนรางเหล็กขนาดหนา 15 นิ้ว และใช้แม่แรงไฟฟ้า จำ�นวน 6 ตัว ในการดันโบสถ์ออกจากจุดเดิม ซึ่งการย้ายพระ อุโบสถในลักษณะไกลถึง 7 เมตรแบบนี้ ถือเป็นแห่งแรกของ ประเทศไทย
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด
1.หลวงพ่อใหญ่ สร้างขึ้นสมัยอยุธยา เป็นพระพุทธรูป
ปูนปั้นลงรักปิดทอง ปางมารวิชัยนั่งขัดสมาธิราบ พระพักตร์กลม รี เม็ดพระศกแหลม พระหนุเสีย้ ม ชายสังฆาฏิตดั ตรง นิว้ พระหัตถ์ เสมอกัน 4 นิว้ พระเนตรประดับมุข ประดิษฐานในวิหารศักดิส์ ทิ ธิ์ 2. พระพุทธเศวตรมงคล (หลวงพ่อขาว) องค์เดิมเป็น หินทรายแต่ชำ�รุดทรุดโทรมมาก ต่อมาคุณบุญพันธ์ แขวัฒนะ ได้ ทำ�การบูรณะจนได้องค์พระพุทธรูปสมบูรณ์และสวยงาม และมี พุทธศาสนิกชนมาสักการะขอพรอยู่ตลอดเวลา 3. พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปทีส่ ร้างเสร็จใน 1 วัน และ มีการบรรจุหวั ใจพระเจ้า ตลอดจนวัตถุมงคลและสิง่ ของมีคา่ ไว้ใน องค์พระ จึงเชื่อว่ามีพระพุทธานุภาพบันดาลให้เกิดโชคลาภและ สมปรารถนาได้ทันอกทันใจ 4. พระพิฆเนศ สร้างด้วยไม้ชยั พฤกษ์ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม 2550 เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในทุก วันแรม 4 ค่ำ� เดือน 9 จะมีพิธีคเนศวร์จตุรถี และพิธีอารตี เพื่อ บูชาไฟและขอพรต่อองค์พระพิฆเนศ 5. พระราหู แกะสลักจากหินทรายทั้งก้อน นอกจากนี้ภายในวัดยังมีอุทยานมัจฉา เพื่ออนุรักษ์พันธุ์สัตว์ น้ำ�ในเขตวัด (คลองช่องสะเดา) เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาสครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และมีครอบครัวคุณคล้าว-คุณทองกวาว (กระบือประทาน ในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา) Ayutthaya 197
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโคกมะยม วัดโคกมะยม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 50 หมูท่ ี่ 5 บ้านโคกมะยม ต�ำบล คานหาม อ�ำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ 12 ไร่ ปัจจุบันมี พระครูอดุลพัฒนากร เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดโคกมะยม
วัดโคกมะยม สร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อประมาณปีพ.ศ.2398 ณ บริเวณทีซ่ ง่ึ เคยใช้เป็นสถานทีเ่ ลีย้ งม้าในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กาลต่อมาวัดขาดผูท้ ำ� นุบำ� รุงจึงกลายเป็นวัดร้างไประยะ หนึ่ง ต่อมาได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ให้มีความเจริญ รุง่ เรืองขึน้ ตามสมควร ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ประมาณ พ.ศ.2453 เกี่ยวกับการศึกษาได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ หลวงพ่อดวงดี (องค์เล็ก) พระพุทธชินราชทรงเครื่อง (องค์ใหญ่) พ.ศ.2523 พระพุทธมารดา พระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2548 หน้าตักกว้าง 108 นิ้ว ประดิษฐานอยู่ทางเข้าซุ้ม ปูชนียวัตถุส�ำคัญ ประตูวัดโคกมะยม พระพุทธรูปปางชนะมารแล้วตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิหลวงพ่อดวงดี เป็นพระเก่าสมัยพระนครศรีอยุธยา ญาณ พระประธานในโบสถ์ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย เนื้อ พระพุทธชินราชทรงเครื่อง ปูน ขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิ้ว สูง 99 นิ้ว สร้างเมื่อ พ.ศ.2453 พระแก้วมรกตองค์ใหญ่ พระพุทธเมตตา ประดิษฐานอยู่หน้าศาลาการเปรียญวัด รูปหล่อเกจิจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โคกมะยม 198
รายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการลิ่ม พ.ศ.2450-2481 2. พระอธิการทอง พ.ศ.2482-2485 3. พระครูสุนทรกิตติโสภณ พ.ศ.2511-2520 4. พระครูสุขุมธรรมรส พ.ศ.2522-2523 5. พระอธิการสงัด อตตทนโต พ.ศ.2523-2543 6. พระครูอดุลพัฒนากร พ.ศ.2543 - ปัจจุบัน วัดโคกมะยมนับเป็นวัดที่มีความส�ำคัญยิ่ง และเป็นศูนย์ รวมจิตใจของประชาชนบ้านโคกมะยม สมควรเป็นสถานทีค่ วร ได้รบั การอนุรกั ษ์และท�ำนุบำ� รุงให้เป็นแหล่งศึกษาหาความรูใ้ น เรื่องเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม Ayutthaya 199
เส้นทางพบ อ�ำเภอมหาราช
นายถิรพันธ์ ศุกระศร นายอ�ำเภอมหาราช
“
มหาราชแขวงนครใหญ่ หลากหลายวัฒนธรรม ลุ่มน�้ำสามสาย แหล่งขายพริกมัน จักสานไม้ไผ่ ต�ำหนักไทเจ้าปลุก
“
คือค�ำขวัญของอ�ำเภอมหาราช ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 24 กิโลเมตร ทีว่ า่ การอ�ำเภอตัง้ อยูส่ ามแยกแม่นำ�้ ลพบุรกี บั คลองบางแก้ว ฝัง่ ตะวันตก ของต�ำบลหัวไผ่ หมู่ที่ 6 มีพื้นที่ 120.156 ตารางกิโลเมตร หรือ 75,097.5 ไร่ ปัจจุบนั มี นายถิรพันธ์ ศุกระศร เป็น นายอ�ำเภอมหาราช
ค�ำร�่ำลือเรียกขานต�ำนานประวัติศาสตร์
อ� ำ เภอมหาราช ซึ่ ง เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม มากที่ สุ ด ของจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ประกอบกับตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน�้ำสามสาย คือ ลุ ่ ม แม่ น�้ำ เจ้ า พระยา ลุ่มแม่น�้ำลพบุรี และลุ่มแม่น�้ำป่าสั ก ซึ่ งมี 200
ล�ำคลอง คือ คลองบางแก้ว คลองบางพระครู เชื่อมติดต่อกับแม่น�้ำ ทัง้ 3 อยูใ่ นอ�ำเภอมหาราช เมือ่ ถึงฤดูนำ�้ หลาก น�ำ้ ในลุม่ น�ำ้ ทัง้ 3 สาย สามารถไหลรวมมาบรรจบกันได้ จึงแลเห็นแต่เป็นพื้นน�้ำอังเวิ้งว้าง กว้างใหญ่ในหลายต�ำบล จนได้ชื่อว่า “ทะเลมหาราช” ผืนน�ำ้ ทีม่ อี าณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลมาก กินพืน้ ที่ 9 ต�ำบล จาก 12 ต�ำบลของทั้งอ�ำเภอมหาราช มีพื้นที่ประมาณ 9,300 ไร่ ความลึกของระดับน�ำ้ ในทะเลมหาราชนัน้ ไม่มหี ลักฐานปรากฏแน่ชดั แต่สามารถอ้างอิงได้จากต้นข้าวในทะเลมหาราช ตามหลักฐานปรากฏ ทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์ทอ้ งฟ้าจ�ำลองและศูนย์วจิ ยั ข้าวพระนครศรีอยุธยา มีตน้ ข้าว ตั้งแสดงไว้ ความสูง 5 เมตร 60 เซนติเมตร จึงได้รับการกล่าวขาน
ว่า เป็น “ต้นข้าวยาวที่สุดในโลก” ทะเลมหาราชยังคงเป็นแหล่งอาหารที่หล่อเลี้ยงประชาชน อ�ำเภอมหาราช ไม่วา่ จะเป็นแหล่งปลูกข้าว แหล่งประมง แหล่งค้าขาย สินค้าทางการเกษตร และภาพบรรยากาศตัง้ แต่ความรุง่ เรืองในวันวาน จนถึงอู่ข้าวอู่น�้ำจวบจนปัจจุบันของทะเลมหาราชแห่งนี้ จะยังคงอยู่ ในความทรงจ�ำของชาวมหาราช ชั่วลูก ชั่วหลานสืบไป
งานเทศกาลประเพณีที่ส�ำคัญ
ประเพณีกวนข้าวทิพย์ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณี ท�ำขวัญข้าว และประเพณีแห่นางแมวขอฝน
สถานที่ท่องเที่ยว
1.หลวงพ่อทวดองค์ใหญ่ ณ พุทธอุทยานมหาราช เป็นรูป เหมือนหลวงพ่อทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก หน้าตัก 24 เมตร ความสูงรวมฐาน 51 เมตร สร้างด้วยปูนหุม้ โลหะส�ำริด เคลือบสีทอง ประดิษฐานอยู่ ณ พุทธอุทยานมหาราช ซึง่ สร้างขึน้ เพือ่ ให้เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เพือ่ ให้ เป็นศูนย์รวมใจของประชาชน และเป็นแหล่งรวมสินค้า OTOP อัน จะก่อให้เกิดรายได้จากการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 2.วัดกุฎที อง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 7 ต�ำบลพิตเพียน เป็นทีป่ ระดิษฐาน ของพระพุทธมหามุนศี รีมหาราช หรือชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อโต” ซึง่ สร้างโดยสมเด็จพระพุทธจารย์ (โต พรหมรังสี) เป็นพระพุทธรูป ปางสะดุ้งมาร ตามแบบสมัยอยุธยา พระพักตร์ยิ้ม สร้างด้วยการก่อ อิฐถือปูน เมื่อประมาณ พ.ศ.2400
3.วัดท่าตอ ตั้งอยู่หมู่ท่ี 3 ต�ำบลท่าตอ สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2300 เป็นทีป่ ระดิษฐานของพระพุทธรูปทรงเครือ่ งปางมารวิชยั นามว่า “หลวงพ่อสังวาลมงคล” สร้างในสมัยอยุธยา นอกจากนีย้ งั มี เจดียโ์ บราณสมัยอยุธยา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เสด็จฯมายังวัดท่าตอถึง 2 ครั้ง และทรงนมัสการหลวง พ่อสังวาลทุกครั้ง 4. พระต�ำหนักเจ้าปลุก ตั้งอยู่ที่บ้านกลาง หมู่ที่ 4 ต�ำบล เจ้าปลุก ปัจจุบันเรียกว่า วัดหน้าวัว (ร้าง) สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นใน สมัยต้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พร้อม ๆ กับที่โปรดให้ ปฏิสังขรณ์เมืองลพบุรีเป็นราชธานีส�ำรอง โดยสร้างเป็นพระต�ำหนัก ประทับร้อนกลางทาง เวลาเสด็จพระราชด�ำเนินจากพระนครศรีอยุธยา ไปเมืองลพบุรี 5. ศูนย์ทอผ้าด้วยมือวัดน�ำ้ เต้า ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 ต�ำบลน�ำ้ เต้า กลุ่มทอผ้าด้วยมือต�ำบลน�้ำเต้า ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ จัดให้เป็นโครงการในพระราช ประสงค์ มีชื่อว่า “โครงการทอผ้าในพระบรมราชินูปถัมภ์วัดน�้ำเต้า” ตั้งแต่ พ.ศ.2520 6.ร้านอาหารสีแ่ ยกเจ้าปลุก ซึง่ ในบริเวณสีแ่ ยกเจ้าปลุกนัน้ ประชาชนทีส่ ญ ั จรผ่านไปมาต้องหยุดพักรับประทานอาหาร ซึง่ อาหาร ทีม่ ชี อื่ เสียง ได้แก่ ปลาช่อนเผาเจ้าปลุก นอกจากนีย้ งั สามารถซือ้ หาปลา ชนิดต่าง ๆ อันได้แก่ ปลาช่อน ปลาเนื้ออ่อน ปลาดุก ปลาสวาย ทั้งที่ท�ำเป็นปลาแดดเดียวและปลาย่าง รวมถึงสินค้าที่ท�ำจากปลา ชนิดอื่น ๆ เช่น น�้ำปลา เป็นต้น Ayutthaya 201
เส้นทางพบ เทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลมหาราช
“
สิง่ แวดล้อมไม่เป็นพิษ คุณภาพชีวติ ดีถว้ นหน้า การศึกษาได้มาตรฐาน สืบสานประเพณี
“
คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลมหาราช ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอมหาราช โดยอยู่ห่างจากตัวจังหวัดไปทางทิศ เหนือประมาณ 24 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายละเมียด เขียววิมล ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี เทศบาล ต�ำบลมหาราช ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลมหาราช เดิมเป็น “สุขาภิบาลมหาราช” ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบลมหาราช ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 มีพื้นที่ 13.52 ตร.กม.หรือ 8,450 ไร่ แบ่งเขต การปกครองเป็น 10 หมู่บ้าน ดังนี้คือ หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 6 ต�ำบล หัวไผ่ และหมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 4 ต�ำบลมหาราช ประชากร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 มีจ�ำนวนทั้ง สิ้น 3,325 คน เป็นชาย 1,610 คน เป็นหญิง 1,715 คน จ�ำนวน ครัวเรือน 1,333 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ การเกษตร (ได้แก่ การท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ ผลผลิตทางการ เกษตรที่ส�ำคัญได้แก่ ข้าว มะม่วง กล้วย ขนุน ละมุด ข้าวโพด ชมพู่) รองลงมาคืออาชีพค้าขายและรับจ้าง
ผลงานโดดเด่นของเทศบาลต�ำบลมหาราช 1.โครงการส่งเสริมฝึกอาชีพในชุมชน เนื่องจากราย ได้ของประชากรอยู่ในเกณฑ์ไม่ดีนัก ทต.มหาราชจึงส่งเสริม ให้มีการ “ฝึกอาชีพ สร้างรายได้ ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง” ท�ำให้ ความเป็ น อยู ่ ข องประชากรดี ขึ้ น บ้ า ง โดยมี ก ารรวมกลุ ่ ม ประกอบอาชีพขึ้น อาทิ 202
“กลุ่มผลิตภัณฑ์พื้นบ้านต�ำบลมหาราช”
จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดยการน�ำของนางสิริมา นิวาศานนท์ อยู่บ้านเลขที่ 80/3 หมู่ 1 ต.มหาราช ซึ่งได้เรียนรู้ การฝึกอาชีพการจักสานจาก ทต.มหาราช ประกอบกับนางสิริ มามีความรู้พื้นฐานด้านการจักสานอยู่แล้ว จึงสามารถถ่ายทอด ให้กับคนในชุมชนจนรวมกลุ่มขึ้นมาได้ ปัจจุบันมีจ�ำนวนสมาชิก 18 คน โดยการน�ำเส้นปอป่านมาประยุกต์ใช้แทนไม้ไผ่เพื่อให้ เหมาะกับสมัยนิยม โดยใช้ชอื่ ว่า “กระบุงร่วมสมัย” โดยอนุรักษ์ ลายไทยดอกพิกุล มีจุดเด่นคือ มีลายจูงนางขอบบน ซึ่งปัจจุบัน
มีคนท�ำได้น้อย ดังนั้นกลุ่มฯจึงได้สืบสานภูมิปัญญาไว้ให้คนรุ่น หลังสืบต่อไป “กลุ่มแม่บ้านต�ำบลหัวไผ่” ผลิตจักสานเส้นพลาสติก ภายใต้ชื่อ “ปทิตตา” กลุ่มแม่บ้านต�ำบลหัวไผ่ จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2555 โดย การน�ำของนางปรีเปรม ผดุงพรต บ้านเลขที่ 22 หมู่ 2 ต.หัวไผ่ ซึ่งได้เรียนรู้การฝึกอาชีพจาก ทต.มหาราช และรวมกลุ่มกันขึ้น ในชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์ ท�ำให้มีรายได้มาสู่ครอบครัวและ ชุมชน ลักษณะโดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ คือใช้พลาสติกเส้น แบนสีสันต่าง ๆ ซึ่งเหนียวและทนทานขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ หลากหลายรูปแบบ มีความสวยงาม ประณีต เรียบร้อย เหมาะส�ำหรับใช้เป็นของใช้ ของขวัญ หรือของฝาก
“ต�ำบลหัวไผ่” ท�ำการเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทต.มหาราช สนับสนุนการท�ำเกษตรทฤษฎีใหม่ตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกษตรกรสร้างภูมิคุ้มกัน ให้ พ ร้ อ มส� ำ หรั บ การเปลี่ ย นแปลงและการแข่ ง ขั น ทาง เศรษฐกิจ และให้เหมาะส�ำหรับเกษตรกรในปัจจุบัน ด้วย เหตุผลเป็นการผลิตเพื่อการบริโภคในครอบครัวเป็นอันดับแรก ได้แก่ มีไร่นาสวนผสม แหล่งน�้ำและการเลี้ยงปลา ด้วยการลด ต้นทุนการผลิต การเพิ่มรายได้ ตามศักยภาพของพื้นที่และ ความถนัดของเกษตรกร ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหมู่บ้านรักษาศีล 5 ทต.มหาราชร่ ว มกั บ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา ส�ำนักงานเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการรณรงค์และลงนามข้อตกลงโครงการ สร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพุทธ ศาสนาหมู่บ้านรักษาศีล 5 เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2558
3.มหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรษา 12 สิงหาคม พระบรมราชินีนาถ ทต.มหาราช ร่ ว มกั บ อ� ำ เภอมหาราช จั ด พิ ธีเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่อง ในโอกาสพระราชพิ ธีม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 83 พรรษา 12 สิงหาคม 2558 บริเวณหอประชุมกาญจนาภิเษก อ�ำเภอมหาราช เพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดี ความสมัคร สมานสามัคคี และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระองค์มีต่อ พสกนิกรชาวไทย 4. รับเกียรติบัตร จากส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ทต.มหาราช ได้รับเกียรติบัตรจากส�ำนักงานตรวจเงิน แผ่นดิน ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการเสริมสร้าง ธรรมาภิบาล โดยใช้แนวคิดพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จากการเข้าร่วมประเมินการเสริมสร้างธรรมาภิบาล ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามบัญญัติ 20 ประการ เพื่อ เป็ น องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
Ayutthaya 203
เส้นทางพบ องค์การบริหารส่วนต�ำบล
“
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สร้างรายได้สู่ชุมชน พัฒนาคนสู่คุณภาพชีวิตที่ดี มีความสามัคคีปลอดภัย บริหารงานด้วยคุณธรรม มุ่งน�ำการศึกษา น�ำพาเศรษฐกิจพอเพียง
“
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ คือวิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 64 ม.3 ต.บ้านใหม่ อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมีนายวัชรพงษ์ ระดมสิทธิพัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่ งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
โครงการพุทธอุทยานมหาราช เกิดจากความตัง้ ใจของ นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ประธานมูลนิธิพระเทวราช โพธิสัตว์และนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ ซึ่ง ต้องการเห็นโครงการที่มีประโยชน์ต่อสาธารณะ ตามหลักการ “บวร” ได้แก่บ้าน วัด โรงเรียน และต้องการท�ำกิจกรรมันเป็ น ประโยชน์ต่อสังคม รวมถึงส่งเสริมคุณธรรมเผยแผ่พระพุทธ ศาสนารักษาสิ่งแวดล้อม พัฒนาท้องถิ่นด้วยวิธยี งั่ ยืน อีกทัง้ ยัง มีปณิธานแน่วแน่ที่จะด�ำเนินโครงการให้ประสบความส�ำเร็จ เป็นรูปธรรม 204
โครงการพุทธอุทยานมหาราช ตั้งอยู่ไม่ไกลจากถนนสายเอเชีย ซึ่งเมื่อ พ้นเขตเมืองอยุธยาแล้วไม่นานก็จะเห็นองค์หลวงปู่ทวดนั่งหันหน้าไปทางทิศ เหนือโดยเฉพาะเวลากลางคืนใครเดินทางผ่านมาสายนี้คงจะเห็นพระองค์ใหญ่ สีทองสุกสว่างตลอดทั้งคืน ซึ่งตั้งเด่นตระหง่านอยู่ไม่ไกลนักจากถนนสายเอเซียก็ จะมีทางแยกเข้าไปด้านใน มีหลักกิโลใหญ่ ๆ เป็นจุดสังเกต หลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ขนาดหน้าตักกว้าง 24 เมตร ความสูงรวมฐาน 51 เมตร สร้างจากปูนหุ้มสัมฤทธิ์เคลือบสีทองประดิษฐาน ณ โครงการพุทธ อุทยานมหาราชซึ่งเป็นรอยต่อของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัด อ่างทองนี้จัดเป็นหลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ที่สุดในโลกและนับว่าเป็นรูปเหมือนพระ สงฆ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกด้วยเช่นกัน การเดินทางโครงการพุทธอุทยานมหาราชตั้งอยู่ที่หลักกิโลเมตรที่ 44 ทางหลวงหมายเลข 32 (ถนนสายเอเชีย)ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอมหาราช จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ต�ำแหน่งที่ตั้งเป็นรอยต่อของอ�ำเภอบางปะหัน อ�ำเภอ มหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และอ�ำเภอป่าโมก อ�ำเภอเมืองฯจังหวัด อ่างทอง
กิจกรรมของอบต.บ้านใหม่ 1. กิจกรรมวันสงกรานต์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ โดยการน�ำของ นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านใหม่จัดงานประเพณีวันสงกรานต์ขึ้นในวันที่ 13 เมษายน ประกอบด้วยกิจกรรมรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ เลี้ยง อาหาร และเล่นเกมเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุ กับลูกหลานในต�ำบล
Ayutthaya 205
3. กิจกรรมปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 84 พรรษา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ จัดกิจกรรมปลูก ต้นไม้เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรม ราชินีนาถโดยร่วมกับวัดวชิรธรรมาราม โรงเรียนวัดสุเมธ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชนทุกภาคส่วนรวมกันจัด กิจกรรมด้วยความจงรักภักดี
2. กิจกรรมแห่เทียนเข้าพรรษา
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลบ้ า นใหม่ ร ่ ว มสื บ สาน ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา โดยในเขตพื้นที่องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบ้านใหม่ มีวัดทั้งหมด 3 วัดด้วยกัน คือ วัดธรรมรส ซึ่งมีหลวงพ่อเพชรเป็นที่เคารพสักการะ ของคนในต�ำบลบ้านใหม่ อยู่ในพื้นที่หมู่ 2 ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดสุเมธ มีหลวงพ่อแป้นเป็นหลวงพ่อที่มีความศักดิ์ และเป็นที่เคารพของชาวบ้านในต�ำบลบ้านใหม่ วัดสุเมธตั้งอยู่ ในพื้นที่หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอมหาราช จังหวัด พระนครศรีอยุธยา วัดวชิรธรรมาราม หรือ วัดหลวงปู่ทวด เป็นพระ อารามหลวง โดยชื่อวัดนั้นมาจากชื่อของผู้บริจาคสถานที่สร้าง วัดและเป็นผู้ริเริ่มสร้างวัดนั้นคือ นายกฯวัชรพงศ์ ระดมสิทธิ พัฒน์บริเวณวัดตั้งอยู่ในเขตของต�ำบลหันสัง อ�ำเภอบางปะหัน พระนครศรีอยุธยา ส่วนองค์หลวงปู่ทวดนั้นตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ของต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และในปี 2558 นี้ วัดวชิรธรรมารามได้รบั พระราชทาน เทียนจ�ำน�ำพรรษา ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวฒ ั นาพรรณวดี 206
4.ตลาดนัดชุมชน
เพื่อสนองตอบแนวนโยบายของรัฐบาล ฯพณฯ นายก รัฐมนตรี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เพื่อเป็นการกระตุ้น เศรษฐกิจของประเทศ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ จึง ร่วมกับพัฒนาชุมชนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดให้มีตลาด นัดชุมชนขึ้น โดยภายในกิจกรรมจัดให้มีการน�ำสินค้า OTOP ของจั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย งมา จ�ำหน่าย โดยมีนายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี และ นายสืบศักดิ์ เอี่ยมวิจารณ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น ประธานในพิธีเปิดงาน
5. กิจกรรมวันจุดเทียนชัยถวายพระพรเนื่องในวัน เฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 12 สิงหาคม
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ โดยการน�ำของ นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านใหม่เป็นผู้น�ำจุดเทียนชัยถวายพระพรสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ โดย ภายในงานมีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ทหาร และประชาชนร่วมลงนามถวาย พระพร และร่วมจุดเทียนชัยด้วยความจงรักภักดี
6. กิจกรรมวันจุดเทียนชัยถวายพระพรเนื่องในวัน เฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 5 ธันวาคม
องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ โดยการน�ำของ นายวัชรพงศ์ ระดมสิทธิพัฒน์ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลบ้านใหม่ เป็นผู้น�ำจุดเทียนชัยถวายพระพรพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ โดยร่วมกับ สมาชิกสภาต�ำบลองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านใหม่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ทหาร ต�ำรวจและประชาชนร่วมลงนามถวาย พระพร และร่วมจุดเทียนชัยด้วยความจงรักภักดี Ayutthaya 207
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดกุฎีทอง วัดกุฎที อง ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 7 ต�ำบลพิตเพียน อ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นทีป่ ระดิษฐานของ “พระพุทธมหามุนีศรีมหาราช” หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อโต” ซึ่งสร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ปัจจุบัน มี พระครูสุวรรณ ธมฺมโกวิท เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดกุฎีทอง
วัดกุฎีทอง เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์วัดพิตเพียน ตั้งอยู่ริม แม่นำ�้ ลพบุรี เป็นพืน้ ทีร่ าบยืน่ ออกไปเป็นรูปเกาะครึง่ วงกลม มีน�้ำล้อมรอบ 3 ด้าน มีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี กระทัง่ ถึงวันที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ.2400 ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัด กุฎีทอง” สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2410 ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ครัง้ สมเด็จพระพุฒจารย์ (โต พรหมรังสี) ทรงผนวชอายุ 20-25 พรรษา ได้เสด็จธุดงค์มา จ�ำพรรษาที่วัดกุฎีทอง ท่านได้เล่าเรียนวิชาอาคมกับพระ อาจารย์คง เจ้าส�ำนักในสมัยนั้น ต่อมาพระอาจารย์คง มรณภาพเมือ่ อายุ 107 ปี สมเด็จฯโตได้เดินทางธุดงค์กลับมา จากลพบุรีพอดี จึงมีโอกาสทดแทนพระคุณอาจารย์และเพื่อ เป็นอนุสรณ์ระลึกถึงพระอาจารย์คง สมเด็จฯโตจึงได้สร้าง 208
พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระพักตร์ยิ้ม สร้างด้วยการก่ออิฐ ถือปูนมีขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 10 เมตร สูง 18 เมตร ชาว บ้านพากันขานนามว่า “หลวงพ่อโต” ตามนามผูส้ ร้างและตาม ขนาดขององค์พระ
เหตุการณ์ส�ำคัญของวัด
พุทธศาสนิกชนและเจ้าอาวาสในอดีต เคยด�ำริจะ สร้างวิหารคลุมองค์หลวงพ่อโต แต่เมื่อเริ่มท�ำก็เกิดฟ้าผ่า ลงมาหลายครั้ง ท�ำให้พระเกตุมาลาช�ำรุด ต่อมาสมัย พระอาจารย์สืบ อนุจาโร เป็นเจ้าอาวาส ได้เป็นประธาน บูรณะประมาณ 1 ปี จึงแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2515 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาเป็นองค์ประธานประกอบพิธยี ก พระเกตุมาลา และพระราชทานนามใหม่ว่า “พระพุทธ มหามุนีศรีมหาราช” “พระพุทธมหามุนีศรีมหาราช” หรือ “หลวงพ่อโต” เป็นหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ที่มีคนนับถือมาก และนิยมมาบน หลวงพ่อแล้วแก้บนด้วยการวิ่งรอบ ๆ องค์หลวงพ่อ สมัย เมือ่ ยังมีการสัญจรทางน�ำ้ คนทีพ่ ายเรือผ่านหรือนัง่ เรือยนต์ ผ่านมาตามแม่นำ�้ ลพบุรี มักพากันยกมือไหว้ทว่ มหัวเพือ่ ขอ พรหลวงพ่อทุกครั้งที่ผ่านหน้าวัด
Ayutthaya 209
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดไชย (วัดร้าง) วั ด ไชย ต� ำ บลมหาราช อ� ำ เภอมหาราช จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เป็นวัดร้างในอดีตที่ถูกต้องตามกฎหมาย เพราะมีหลักฐานว่าสร้างก่อน ปีพ.ศ. 2484 ที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน แต่ถูกทิ้งร้างมานับ 100 ปี โดยมีหลักฐานว่าวัดสร้างขึ้นในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนต้นคือ ซากเจดียป์ รักหักพัง 1 องค์ทสี่ ร้างครอบ ระฆังคอม้าของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ได้ขาดตกลงขณะ ที่สู้รบกับพม่า และหลวงพ่อไชย-พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์จ�ำนวน 5 องค์ ทีป่ ระดิษฐานอยูก่ ลางแจ้งแต่มตี น้ ไม้ขนึ้ ปกคลุมจ�ำนวนมาก ประมาณปี พ.ศ.2527 มีพระธุดงค์ผา่ นมาชาวบ้านจึงนิมนต์ ให้พกั จ�ำพรรษาทีว่ ดั ไชยชาวบ้านได้ชว่ ยกันพัฒนาสร้างกุฏิ วิหาร หอระฆัง และสร้างเจดียใ์ หม่ครอบเจดียอ์ งค์เก่าทีช่ ำ� รุดหักพัง นับ แต่นนั้ มาก็มพี ระภิกษุและสามเณรมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั เรือ่ ยมา ทว่า ใน ปีพ.ศ.2554 ได้เกิดน�้ำท่วมใหญ่จนพระภิกษุสงฆ์ต้องอพยพ ไปอยู่ที่อื่น ท�ำให้โจรเข้ามาขโมยสิ่งของ และท�ำลายสิ่งมีค่า เช่น พระพุทธรูป พระพรหม เป็นต้นทางเจ้าคณะต�ำบลมหาราชจึงมี ค�ำสั่งให้ พระบุญสืบ สุภฺทโท มาดูแลวัดตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน พ.ศ.2555 จนถึงปัจจุบัน เมื่อพระบุญสืบ สุภฺทโท ได้เข้ามาดูแลก็ได้ปรับสภาพภูมิ ทัศน์โดยรอบบริเวณวัดด้วยการถมดิน ปลูกต้นไม้ สร้างศาลา สร้างกุฏถิ าวร และบูรณปฏิสงั ขรณ์ “หลวงพ่อไชย” 5 องค์ทเี่ ริม่ ช�ำรุดจากการถูกน�้ำท่วม ปัจจุบันเป็นที่พักอาศัยที่เกือบสมบูรณ์ และมีพระภิกษุจ�ำพรรษา 4 - 5 รูป ทุกพรรษา 210
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดไชย ขอเรียนเชิญผูม้ จี ติ ศรัทธา บริจาคทุนทรัพย์ในการพัฒนา วัดเพือ่ สืบสาน พระพุทธศาสนาให้เจริญรุง่ เรืองสืบไปชัว่ ลูกหลาน ติดต่อสอบถามได้ทโี่ ทรศัพท์ พระบุญสืบ สุภทฺ โท โทร. 083-6955938
บริษัท นิโปร (แห่งประเทศไทย) จำ�กัด
NIPRO (THAILAND) CORPORATION LIMITED ประกอบกิจการรผลิตเครื่องมือแพทย์
TEL.0-3520-1618-24 10/2 หมู่ 8 ต.บางนมโค อ.เสมา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110 p09 HANA.pdf 1 16/11/2556 12:04:52
µÑÇá·¹¨íÒ˹‹Ò¨ѧËÇÑ´ÃÐÂͧ
¤Ø³¾ÅÍ (Ìҹ¾ÅÍÂÊÇ ˌҧáËÅÁ·Í§) T.087-110-4532, ¤Ø³ºÕÁ (ÌҹºÕºÕª Í» µÅÒ´¹Ñ´ÊµÒà ) T.081-055-8283, ¤Ø³áÁç¡ (·ÑºÁÒ) T.086-331-6330
เส้นทางพบ อ�ำเภอบ้านแพรก
นายประพันธ์ ตรีบุบผา นายอ�ำเภอบ้านแพรก
เปิดประตูพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน...มรดกล�้ำค่าของคนบ้านแพรก อ�ำเภอบ้านแพรก ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ห่างจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 52 กิโลเมตร เป็นอ�ำเภอ ที่อยู่ส่วนบนสุดของจังหวัด จึงได้รับสมญานามว่า “มงกุฎแห่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา” เนื่องจากพื้นที่อ�ำเภอมีรูปร่างคล้ายมงกุฎ อ�ำเภอบ้านแพรกมีมนต์เสน่หแ์ ห่งพัดสาน ชุมชนโบราณ และถิน่ เกิดของลิเกหอมหวล ราชาลิเกชือ่ ดังของฟ้าเมืองไทย มัดใจผูม้ าเยือน ด้วยรักและผูกพันมิเสื่อมคลาย
ประวัติความเป็นมา
บ้านแพรก เดิมมีชื่อเรียกว่า “บ้านแพรกส�ำพะเนียง” เป็นต�ำบลหนึง่ ในอ�ำเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ต่อมา เมื่อปี พ.ศ.2480 ได้รับการยกฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอบ้านแพรก หลังจากนัน้ เมือ่ วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ.2502 ได้ประกาศให้เป็น อ�ำเภอบ้านแพรก ประกอบด้วย 5 ต�ำบล 27 หมู่บ้าน มีพื้นที่ ประมาณ 40 ตร.กม. มีประชากร 9,063 คน ส่วนใหญ่มีอาชีพ ท�ำนา มีความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่เรียบง่ายและสงบ เน้นการ พึ่งพาตนเองเป็นหลักการส�ำคัญ บ้านแพรกเป็นชุมชนทีม่ มี าตัง้ แต่โบราณ การตัง้ ถิน่ ฐาน บ้านเรือนจะเป็นกลุม่ บริเวณริมแม่นำ�้ เพราะแม่นำ�้ เป็นแหล่งหล่อ เลี้ยงชีวิตทั้งการอุปโภค บริโภค รวมทั้งการสัญจร โดยแบ่งการ ตั้งถิ่นฐานเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี้ 1. แนวแม่นำ�้ ลพบุรี ซึง่ ภายหลังได้เปลีย่ นทางเดิน มีวดั ทีต่ งั้ อยูใ่ นอ�ำเภอบ้านแพรก ริมแม่นำ�้ นี้ ถึง 15 วัด ได้แก่วดั ท้าวอูท่ อง 212
(วั ด หลวงพ่ อ ด� ำ ) ตั้ ง อยู ่ ที่ ต.บ้ า นใหม่ ,วั ด โบสถ์ บ ้ า นแพรก (วัดบ้านแพรกตะวันตกหรือวัดโบสถ์โพธิท์ อง) ต.บ้านแพรก ,วัด เขียนลาย(วัดบ้านแพรกตะวันออก) ต.บ้านแพรก ,วัดหลวงพ่อเขียว (วัดพุม่ ข้าวเขียวหรือวัดพระเขียว) ต.ส�ำพะเนียง ,วัดส�ำพะเนียง ต.ส�ำพะเนียง และมีวัดร้างจ�ำนวน 10 วัด ปัจจุบนั แม่นำ�้ ลพบุรสี ายเก่าเปลีย่ นทางเดินบริเวณหน้า วัดหลวงพ่อเขียวไหลลัดมาเชือ่ มคลองน้อยบริเวณหน้าวัดส�ำพะเนียง ทิ้งร่องรอยทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมไว้ได้ให้คนรุ่นหลัง ศึกษากัน 2. บริเวณคลองน้อย ล�ำคลองเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุง ศรีอยุธยา แยกมาจากแม่น�้ำลพบุรีที่วัดหมูสี อ�ำเภอเมืองลพบุรี ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือไหลเข้าเขตอ�ำเภอบ้านแพรก ผ่านวัดไก่เตี้ย วัดหลวงพ่อขาว(วัดนครโปรดสัตว์) ต.คลองน้อย และวัดส�ำพะเนียง ไปบรรจบกั บ แม่ น�้ ำ ลพบุ รี ส ายเก่ า ซึ่ ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของชุ ม ชน บ้านแพรกกลุ่มแรก
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ บ ้ า นแพรก...แหล่ ง เรี ย นรู ้ ต้นแบบเพื่อชุมชน
จากการศึกษาการตั้งชุมชนบ้านแพรกโบราณในอดีต ในบริเวณแม่นำ�้ ลพบุรสี ายเก่า โดยอาจารย์ประสาน เสถียรพันธุ์ หัวหน้าฝ่ายสัมพันธ์ชุมชน โรงเรียนบ้านแพรกประชาสรรค์ ร่วมกับบุคคลส�ำคัญและกรรมการหมู่บ้านก่อตั้งพิพิธภัณฑ์พื้น บ้าน-บ้านแพรก “แหล่งเรียนรู้ต้นแบบเพื่อชุมชน” ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ.2526 มีเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจให้ศกึ ษาค้นคว้าหารากเหง้าวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ ข้อมูลหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม ของชุมชนลุ่มแม่น�้ำลพบุรีอันเป็นมรดกตกทอดจากบรรพบุรุษสู่ ลูกหลานพิพธิ ภัณฑ์แห่งนีต้ งั้ อยูท่ โี่ รงเรียนบ้านแพรกประชาสรรค์ ต�ำบลส�ำพะเนียง ริมถนนบางปะหัน-ลพบุรี ดังต่อไปนี้ - การตั้ ง ถิ่ น ฐานของชาวบ้ า นแพรกชุ ม ชนโบราณ (แนวแม่น�้ำลพบุรีสายเก่า) มีวัดตั้งอยู่ถึง 15 วัด พบหลักฐาน ด้านประวัตศิ าสตร์ตงั้ แต่สมัยสุโขทัยสืบทอดมาถึงกรุงศรีอยุธยา มีการเชื่อมโยงทางการค้า การคมนาคม การเมืองการปกครอง ของอาณาจักรใกล้เคียงกับชุมชนโบราณบ้านแพรก มากว่า 600 - 700 ปี - มีการขุดพบเครือ่ งปัน้ ดินเผาจากแหล่งเตาเผาบางปูน จ.สุพรรณบุรี จากแห่งเตาเผาศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย และแหล่ง เตาเผาแม่นำ�้ น้อย จ.สิงห์บรุ ี ตุก๊ ตาโบราณสมัยสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จ�ำนวนนับ 1,000 ชิ้น ในเขตชุมชนโบราณบ้านแพรก - มีการจัดเก็บและรวบรวมสมุดข่อยโบราณ (สมุดไทย) ที่น่าสนใจ เช่น วรรณคดีไทย กฎหมายไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา เกี่ยวกับเรื่องทาส, เรือ, การชกมวย, การเก็บภาษีอากร บันทึก บัญชีไพร่พลทีม่ บี า้ นแพรกปรากฏอยู่ จ.ศ. 1215, พิธเี รียงหมอน, ต�ำรายาโบราณ จ�ำนวน 200 เล่ม - แหล่งศึกษาวัฒนธรรมของชาวอ�ำเภอบ้านแพรก เช่น เพลงพื้นบ้าน, เพลงกล่อมเด็ก, เพลงเกี่ยวข้าว, เพลงเรือ, เพลง ฉ่อย, เพลงแห่นางแมว, ลิเกหอมหวล (ราชาลิเกชือ่ ดังของเมืองไทย) งานหั ต กรรมพื้ น บ้ า นที่ มี ชื่ อ เสี ย ง อาทิ พั ด สานบ้ า นแพรก, ตุก๊ ตาเศียรกะบาล บ้านแพรก ส�ำพะเนียง, ประเพณีแห่นางแมว เป็นต้น
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พื้ น บ้ า นนี้ มี เ พี ย งแห่ ง เดี ย วในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยาเป็นแหล่งความรู้ที่ก่อประโยชน์ต่อการศึกษา เป็นศูนย์ศึกษาข้อมูลในระดับท้องถิ่น ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ เยาวชนและบุคคลที่สนใจในการค้นคว้าประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ของลุม่ แม่นำ�้ ลพบุรี ท่านใดสนใจติดต่อได้ที่ โรงเรียนบ้านแพรก ประชาสรรค์ โทรศัพท์ 035-386120 หรือทีว่ า่ การอ�ำเภอบ้านแพรก โทรศัพท์ 035-386111,386840
ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก อ.บ้านแพรก
หลังจากชมพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน-บ้านแพรกแล้ว ท่าน สามารถมาชม ชิม และช็อปปิง้ สินค้าชุมชน ตามวิถชี วี ติ เศรษฐกิจ พอเพียงทีศ่ นู ย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากอ�ำเภอบ้านแพรก (ใกล้วงเวียนพระ ตลาดบ้านแพรกไม่ไกลจากพิพิธภัณฑ์) ซึ่งได้ รับรางวัลชนะเลิศระดับภาค ของกรมการพัฒนาชุมชน จะได้ สินค้าจากชุมชน เช่น พืชผักปลอดสารพิษ กระยาสารท กะหรีป่ บ๊ั พัดสานบ้านแพรก ฯลฯ เรียกว่าได้อรรถรสในการเรียนรูว้ ถิ ชี วี ติ คนบ้านแพรก “บ้านแพรก เพชรงาม” เพลิดเพลินกันล่ะครับ Ayutthaya 213
เส้นทางพบ เทศบาลต�ำบล
เทศบาลต�ำบลบ้านแพรก
“เทศบาลน่าอยู่ แหล่งคู่ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจักสาน ประสานความร่วมมือของชุมชน อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปราศจากมลพิษ คุณภาพชีวิตได้มาตรฐาน การบริการเป็นเลิศ เปิดกว้างทางการศึกษา ส่งเสริมการกีฬา แหล่งพัฒนายั่งยืน”
คือวิสัยทัศน์การพัฒนาเทศบาลต�ำบลบ้านแพรก หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านแพรก อ�ำเภอบ้านแพรก จั ง หวัด พระนครศรีอยุธยา ปัจจุบัน มีน ายสรวิ ช ญ์ ทั บทิ ม สุ ข ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลบ้านแพรก นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น 1.นโยบายด้ า นการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน จะ ก่อสร้างปรับปรุงถนนสายหลัก สายรอง และถนนซอยใน ชุมชนต่าง ๆ ให้เป็นถนนคอนกรีตหรือแอสฟัลท์ติกคอนกรีต พร้อมท่อระบายน�้ำ และพัฒนาตัดถนนเส้นใหม่เพื่อความ สะดวกในการสัญจรของประชาชน ขยายเขตการให้บริการ ไฟฟ้าสาธารณะและไฟฟ้าแสงสว่างอย่างทั่วถึง ก่อสร้าง ปรับปรุงล�ำรางสาธารณะส�ำหรับส่งน�้ำเพื่อการเกษตรกรรม และพัฒนาการผลิตน�้ำประปาที่สะอาด มีปริมาณที่เพียงพอต่อ ความต้องการใช้น�้ำ 2.นโยบายด้ า นการอ� ำ นวยความสะดวกและการ บริการประชาชน จะพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนโดย การน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเข้ า มาใช้ เพื่ อ ความสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการติดตาม เน้นการบริการด้วยอัธยาศัยไมตรี อ�ำนวยความสะดวกทุกด้านตามที่ประชาชนร้องขอในอ�ำนาจ หน้าที่ พัฒนาช่องทางในการติดต่อสือ่ สารกับเทศบาลให้ดยี งิ่ ขึน้ 214
2.นโยบายด้ า นการอ� ำ นวยความสะดวกและการ บริการประชาชน จะพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนโดย การน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเข้ า มาใช้ เพื่ อ ความสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการติดตาม เน้นการบริการด้วยอัธยาศัยไมตรี อ�ำนวยความสะดวกทุกด้านตามที่ประชาชนร้องขอในอ�ำนาจ หน้าที่ พัฒนาช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับเทศบาลให้ดี ยิ่งขึ้น
3. นโยบายด้านเศรษฐกิจ จะส่งเสริมระบบเศรษฐกิจ แบบพอเพี ย งตามแนวพระราชด� ำ ริ ข องพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว พัฒนาตลาดและส่งเสริมให้เกิดแหล่งค้าขาย ใหม่ ๆ พัฒนาและส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพ มีงานท�ำ มี รายได้ ร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาสินค้าชุมชน และจัดหา ตลาดส�ำหรับการจ�ำหน่ายสินค้า ส่งเสริมผู้ประกอบการให้เข้า มาลงทุนในพื้นที่เพื่อการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น 4.นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม จะพัฒ นาระบบการ จัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจรให้ทันสมัยยิ่งขึ้น รณรงค์ให้ ประชาชนเห็นความส�ำคัญของการใช้ประโยชน์จากขยะ และ ถนนในเขตเทศบาลไม่มีขยะตกค้าง ควบคุมมลพิษทางอากาศ ฝุ่นละออง และเสียง ขยายเขตรองรับน�้ำเสียเพื่อน�ำไปบ�ำบัด ให้ทั่วถึงยิ่งขึ้น ดูแลรักษาระบบนิเวศน์แม่น�้ำลพบุรี สถานที่ สาธารณะให้ยังคงสวยงามเป็นปอดของชุมชน
หลวงพ่อเภา
5.นโยบายด้านสวัสดิการและคุณภาพชีวิต จะส่ง เสริมกิจกรรมนันทนาการและการจัดสวัสดิการต่าง ๆ แก่ผู้ สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ให้การสงเคราะห์เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ พิการ ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม และผู้ป่วยเอดส์ เพิ่มพื้นที่สี เขี ยว และปรั บ ปรุ ง สวนสาธารณะ พัฒ นาศูน ย์กีฬาของ โรงเรียนและสถานที่สาธารณะให้เป็นสถานที่ออกก�ำลังกาย อย่างทั่วถึงทุกแหล่งชุมชน 6.นโยบายด้านการศึก ษา จะส่งเสริมการจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีมาตรฐานและเท่าเทียมโดยเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ในโรงเรียน จัดให้มีศูนย์ พัฒนาทักษะความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมการ กีฬาและนันทนาการแก่เด็กและเยาวชน เพิ่มทักษะความรู้ ภาษาอังกฤษ สร้างโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต 7.นโยบายด้านสาธารณสุข จะพัฒนาศูนย์บริการ สาธารณสุขให้มีความทันสมัย ครบวงจร ส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนทุกวัย ส่งเสริมให้มีการออกก�ำลังกายเพื่อเป็นภูมิ ต้านทานโรค พัฒนาบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ควบคุม โรคติดต่อโรคระบาดไม่ให้เกิดขึ้นในพื้นที่ ฯลฯ
หลวงพ่อเขียว
8.นโยบายด้านประเพณี ศิลปวัฒนธรรม จะจัดและ ส่งเสริมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทศกาลประเพณีไทยตลอดทั้ง ปี โดยร่วมกับชุมชนในการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาและ การละเล่นพื้นบ้าน โดยการเชิดชูเกียรติและจัดให้มีการแสดง ถ่ายทอดในโอกาสต่าง ๆ 9.นโยบายด้านการท่องเที่ยว จะพัฒนาและส่งเสริม ให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เพื่อสร้างรายได้และอาชีพ ให้แก่ประชาชน 10.นโยบายด้านการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน จะส่งเสริมกิจกรรมหรือโครงการต่าง ๆ ที่ด�ำเนินการ โดยชุมชน เพื่อให้เกิดความสามัคคีและการรวมกลุ่มในการ พัฒนาชุมชน ดูแลและอ�ำนวยความสะดวกทุกเรื่องตามความ ต้องการของชุมชน ฯลฯ 11.นโยบายด้ า นความมั่ น คงปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สิน จะจัดระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและ ทรั พ ย์ สิ น ของประชาชนให้ ร อบด้ า น เพื่ อ ความมั่ น ใจของ ประชาชนและผู้ที่เดินทางเข้ามาในเทศบาลต�ำบลบ้านแพรก 12.นโยบายการพัฒนาองค์การเทศบาล จะพัฒนา โครงสร้างองค์การเทศบาลให้มีความทันสมัย โปร่งใส กระชับ คุ้มค่า และมีประสิทธิภาพในการท�ำงานเพื่อประชาชนในท้อง ถิ่น ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้ของบุคลากรในองค์การ เน้ น การท� ำ งานเป็ น ที ม แบบมี ส ่ ว นร่ ว มและใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชน
ตามที่กระผมได้แถลงนโยบายต่อสภาเทศบาลต�ำบล บ้านแพรก จะด�ำเนินการด้วยความมุ่งมั่น และขอรับรองว่าน โยบายอันจะน�ำไปสู่ประโยชน์สุขของประชาชนที่กล่าวมา ข้างต้นนี้ จักได้น�ำไปสู่การปฏิบัติต่อไป (ภายใต้งบประมาณ ที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด) Ayutthaya 215
เส้นทางพบ อ�ำเภอท่าเรือ
นายวิทิต ปิ่นนิกร นายอ�ำเภอท่าเรือ
“ อโต ถิ่นก�ำเนิดหลวงพ่ แดนตะโกดัดงาม เย็นสายน�้ำนามป่าสัก วิวสวยนักเขื่อนพระรามหก “
คือค�ำขวัญอ�ำเภอท่าเรือ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ห่างจากจังหวัดระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร อ�ำเภอท่าเรือ เดิมชื่อ อ�ำเภอนครน้อย ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออ�ำเภอดังเช่นปัจจุบัน
สภาพทั่วไป
อ� ำเภอท่ า เรื อ เป็น ที่ร าบเหมาะแก่ก ารท�ำเกษตรกรรม มี แ ม่ น�้ ำ ป่ า สั ก ไหลผ่ า น ความยาวประมาณ 25 กม. มี ค ลอง ชลประทานที่ ส� ำ คั ญ คื อ คลองระพี พั ฒ น์ ซึ่ ง เริ่ ม ต้ น คลองที่ อ� ำ เภอ ท่าเรือ บริเวณเหนือเขื่อนพระราม 6 216
ด้านเศรษฐกิจ
อ�ำเภอท่าเรือแต่เดิมเป็นเขตเกษตรกรรม มีการเพาะปลูก ข้าวและการเพาะเลี้ยงพันธุ์ปลาจากสายน�้ำแห่งแม่น�้ำป่าสัก มี โรงงานอุตสาหกรรม และสถานประกอบการอืน่ ๆ จ�ำนวน 51 แห่ง
ด้านวัฒนธรรม และประเพณี
อ�ำเภอท่าเรือมีขนบธรรมเนียมประเพณีคล้ายกับอ�ำเภอ อื่นๆ ในภาคกลาง มีการรักษาประเพณีประจ�ำภาคสืบทอดมจนถึง ปัจจุบัน โดยเฉพาะประเพณีที่เกี่ยวข้องกับวันส�ำคัญทางศาสนา เช่น จัดให้มีการท�ำบุญตักบาตรร่วมกันในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันเข้าพรรษา ตลอดจนงานประเพณีวันสงกรานต์
ด้านการปกครอง
อ�ำเภอท่าเรือ แบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองออกเป็น10 ต�ำบล 84 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.ต�ำบลท่าหลวง (10 หมู่บ้าน) 2. ต�ำบลจ�ำปา (9 หมู่บ้าน) 3. ต�ำบลท่าเจ้าสนุก (9 หมู่บ้าน) 4. ต�ำบลศาลาลอย (15 หมู่บ้าน) 5. ต�ำบลปากท่า (8 หมู่บ้าน) 6. ต�ำบลโพธิ์เอน (6 หมู่บ้าน) 7. ต�ำบลหนองขนาก (10 หมู่บ้าน) 8. ต�ำบลบ้านร่อม (9 หมู่บ้าน) 9. ต� ำ บลวั ง แดง (8 หมู ่ บ ้ า น) 10.ต� ำ บลท่ า เรื อ อ�ำเภอท่าเรือแบ่งหน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น 11 แห่ง ดังนี้ เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง ได้แก่ เทศบาลต�ำบลท่าเรือ และเทศบาลต�ำบลท่าหลวง องค์การบริหารส่วนต�ำบล10 แห่ง ได้แก่ อบต.จ�ำปา, อบต.ท่าหลวง, อบต.บ้านร่อม, อบต.ศาลาลอย, อบต.วังแดง, อบต.โพธิ์เอน, อบต.ปากท่า, อบต.หนองขนาก และ อบต.ท่าเจ้าสนุก
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
วัดสะตือ พระพุทธไสยาสน์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลท่าหลวง (เขตเทศบาลต�ำบลท่าหลวง) ตั้งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น�้ำป่าสัก ห่าง จากเขื่อนพระราม 6 ประมาณ 1 กิโลเมตร(ทางน�้ำ) ฝั่งแม่น�้ำตรง กันข้ามเป็นวัดไก่จ้น หมู่ที่ 10 ต�ำบลท่าหลวง ซึ่งเป็นถิ่นก�ำเนิด ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) และท่านได้ก่อสร้าง พระพุทธรูปปางไสยาสน์ขึ้นที่วัดสะตือแห่งนี้ เมื่อปี พ.ศ.2414 ก่อน ท่านมรณภาพ 2 ปี ซึ่งพระพุทธไสยาสน์มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ เคารพนับถือเลื่อมใส ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนชาวท่าเรือ ชาวอยุธยา และชาวพุทธโดยทั่วไป และเนื่องจากสมเด็จพระพุฒา จารย์ ทรงใช้ แ รงงานทาสในการสร้ า งองค์ พ ระ ท่ า นจึ ง ขอ พระราชทานอิ ส รภาพให้ ท าสเหล่ า นี้ จ ากพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงถือได้ว่ามีการเลิกทาสเป็น ครั้งแรก (น�ำร่อง) ที่วัดสะตือพระพุทธไสยาสน์แห่งนี้
เขื่อนพระราม 6 ตั้งอยู่ต�ำบลท่าหลวง อ�ำเภอท่าเรือ สร้างเมื่อรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 นับเป็นเขื่อนทดน�้ำแห่งแรกของประเทศไทย กั้นแม่น�้ำป่าสัก เอาไว้และรับน�้ำที่ระบายมาจากคลองชัยนาท-ป่าสัก เพื่อประโยชน์ ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค และใช้ในการ คมนาคมขนส่งทางน�้ำที่ส�ำคัญของประเทศด้วย ทิวทัศน์ที่เขื่อนทด น�้ำแห่งแรกของประเทศไทยนี้สวยงาม ท้ายเขื่อนจะเห็นวิวทิวทัศน์ ของท่าน�้ำวัดสะตือและวัดไก่จ้นได้อย่างสวยงามผู้คนจึงนิยมมา เที่ยวชม ตลาดท่าเรือ เป็นตลาดเก่าแก่ที่มีความเจริญรุ่งเรืองใน อดีต ตลาดแห่งนี้เคยเป็นข่าวโด่งดังถูกโจรปิดตลาดปล้น เมื่อปี พ.ศ.2508 (เสือขาว เสือใบ) ต่อมาเมื่อจับโจรได้มาท�ำการประหาร ชีวติ ด้วยการยิงเป้าทีบ่ ริเวณหลังสถานีรถไฟท่าเรือ ตลาดแห่งนีม้ ี อาหารอร่อยทัง้ คาวหวาน ได้แก่ ก๋วยเตีย๋ วหมู ขนมไทย เช่น ขนม บ้าบิ่น กล้วยบวดชี ฟักทองแกงบวด ข้าวเหนียวถั่วด�ำ เต้าส่วน ฯลฯ นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาตลาดท่าเรือได้โดยทางรถยนต์ หรือรถไฟก็ได้ ชาวอ�ำเภอท่าเรือยินดีต้อนรับด้วยอัธยาศัยไมตรีที่ดีต่อ นักท่องเที่ยวที่มาเยือนเสมอ Ayutthaya 217
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสะตือ พระพุทธไสยาสน์ Wat Satue Reclining Buddha
วัดสะตือ ตั้งอยู่เลขที่ 140 บ้านท่างาม หมู่ที่ 6 ต�ำบลท่า หลวง อ�ำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบตั้งอยู่ริมแม่น�้ำป่าสัก ปัจจุบันมี เนื้อที่ 15 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา
ประวัติวัดสะตือ
วัดสะตือ สร้างขึ้นเป็นวัดนับแต่ พ.ศ.2400 เดิมตั้งอยู่ทาง ทิศเหนือขึ้นไปไม่ไกลนัก ที่เรียกว่า “วัดสะตือ” เพราะมีต้นสะตือ ใหญ่เป็นนิมิต ต่อเมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พฺรหฺมรํสี) ได้มา ด�ำเนินการสร้างพระพุทธไสยาสน์แล้ว วัดสะตือจึงได้ย้ายมาตั้งที่ บริเวณพระนอนนี้ และเรียกนามตามชื่อต�ำบลว่า “วัดท่างาม” กาลต่อมา สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาส ทางชลมารคไปทรงนมัสการพระพุทธบาท และได้เสด็จขึ้นที่ท่า ต�ำบลนี้ 2 ครั้ง ตั้งแต่นั้นมาจึงเรียกต�ำบลนี้ว่า “ต�ำบลท่าหลวง” และเรียกนามวัดว่า “วัดท่าหลวง” แต่ต่อมากลับไปเรียกว่า “วัด สะตือ” ตามนามเดิมอีก ตามจดหมายเหตุรัชกาลที่ 5 ระบุไว้ตอนหนึ่งว่า “วันที่ 31 กรกฎาคม ร.ศ. 125 (พ.ศ.2449) ได้กินข้าวกลางวันที่วัดท่างาม 218
ทรงท�ำครัวและเสวยที่ตรงบริเวณใต้เศียรพระนอนใหญ่ และที่เรียกกันว่า ท่าหลวง นั้นเกิดขึ้นใหม่ เพราะพระ จุลจอมเกล้าฯ เสด็จมานมัสการรอยพระพุทธบาท 2 ครั้ง ขึ้นที่ท่างามทั้ง 2 ครั้ง” ตามพระราชนิพนธ์รัชกาล ที่ 5 ในจดหมายเหตุเรื่องเสด็จประพาสต้น ครั้งที่ 2 วัด ท่างามดังกล่าวนัน้ หมายถึง “วัดสะตือ” ในปัจจุบนั ภายใน บริเวณวัดนี้มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการ วัด สะตือได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังวันที่ 8 กันยายน พ.ศ.2498 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 24 เมตร
Wat Satue, 140 Ban Thangam Moo 6, Tha Luang , Tha Ruea District, Phra Nakhon Si Ayuthaya. Wat Satue is Maha nikaya temple located nearby Pasak River with the area of 15 Rai 1 Ngan and 80 Square wah.
History
Wat Satue was built in 1,857. The name Wat Satue came from Satue tree which was at the old location of the temple. After Somdet Phra Buddha Jarn (Toe Bhramarangsi) has casted the reclining Buddha, the temple has moved to the place where the reclining Buddha located. The temple then has changed the name to Wat Tha Ngam (the former name of the district). Later, the King Rama 5 has visited the Buddha's footprint for paying respect and has visited this district twice. Therefore, the district has renamed as Tha Luang and the temple has renamed according to the district as well but later has changed its name to the first name Satue again. According to the record of events of the King Rama 5 phrased that " On 31st July 1,906 - had lunch at Wat Tha Ngam, cooked and dined at the reclining Buddha head". Currently, Wat Satue has an elementary school and this temple has been granted Sima ngakham (official Buddhism boundary sign) in September 8, 1,955. Scale of the boundary sign is 24 meters long and 10 meter wide. Ayutthaya 219
รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัด
รูปที่ 1 หลวงพ่อกลอย รูปที่ 2 หลวงพ่อสุข รูปที่ 3 พระอาจารย์มา รูปที่ 4 พระอุปชั ฌาย์บตั ร จนฺทโชติ เจ้าคณะ ต�ำบลจ�ำปา พ.ศ.2448 - 2495 รูปที่ 5 พระครูพุทธไสยาภิ บาล น.ธ.เอก เจ้าคณะต�ำบลจ�ำปา พ.ศ.2497 - 2537 รูปที่ 6 พระอธิการทองค�ำ คัมภีรปัญโญ (ทองค�ำ อินทโชติ) น.ธ.เอก พ.ศ.2537 - 2542 รูปที่ 7 พระมหาจ�ำรัส คุตฺตสีโล พ.ศ.2543 - 2548 รูปที่ 8 พระครูปริยัตยาธิคุณ เจ้าคณะ อ�ำเภอท่าเรือ พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะส�ำคัญ
พระอุโบสถ สร้าง ปีพ.ศ.2498 ซ่อมแซมครั้งที่ 1 โดย พลตรีมนูญกฤต รูปขจร และใน ปีพ.ศ.2543 พระอธิการทองค�ำ คัมภีรปัญโญ ได้ท�ำการบูรณะอีกครั้ง ,วิหาร สร้างในสมัย อยุธยาตอนปลาย มีรูปทรงเป็นเรือส�ำเภา สมเด็จพระพุฒา จารย์ (โต) ได้พักอาศัยเมื่อคราวมาคุมการก่อสร้างองค์ พระพุทธไสยาสน์ ,ฌาปนสถาน เป็นวัดแห่งแรกในอ�ำเภอ ท่าเรือที่ใช้เป็นเตาน�้ำมันเพื่อรักษาสภาพแวดล้อม และใน สมัยพระครูปริยัตาธิคุณ ได้ก่อสร้างห้องน�้ำระดับ 5 ดาว
ปูชนียสถานและปูชนียวัตถุ
พระพุทธไสยาสน์ (หลวงพ่อโต) เป็นพระพุทธรูปที่มี ขนาดใหญ่ สร้างเมื่อ พ.ศ.2413 ทางกรมศิลปากรได้จด ทะเบียนขึ้นเป็นโบราณสถาน พระประธาน ปางมารวิชัย ใน พระอุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ.2497 พระปางนาคปรก สมัยทวาร วดี เนือ้ หินทราย กรมศิลปากรขึน้ ทะเบียนโบราณวัตถุไว้ รอย พระพุทธบาทจ�ำลอง มีอายุการสร้าง 100 กว่าปี เกศเก่า พระพุทธไสยาสน์ เก็บไว้ในวิหาร เจดีย์ ย่อมุมไม้สิบสอง
220
งานประจ�ำปีวัดสะตือ
ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึ ง ปั จ จุ บั น มั ก มี ผู ้ ม ากราบไหว้ บ นบาน พระพุทธไสยาสน์ (หลวงพ่อโต) เมื่อได้รับความส�ำเร็จ ก็แก้บน ด้วยขนมจีนทั้งกระจาดตามความเชื่อว่าเป็นของชอบพวกทาส ที่มาช่วยสมเด็จพระพุฒาจารย์สร้างพระนอน นอกจากนี้ใน วิหารยังมีการเสี่ยงทายยกช้าง ส่วนการตักบาตรข้าวสาร การ เสีย่ งเซียมซี และการถวายสังฆทานอยูใ่ นวิหารคูซ่ งึ่ ติดแอร์เย็น สบาย และทางวัดได้จัดให้มีตลาดนัดขึ้นทุกวันอาทิตย์ เพื่อให้ ประชาชนได้ซื้อของกินของใช้ในท้องถิ่น ส่วนสถานที่จอดรถ ทางเอกชนได้จดั บริการอ�ำนวยความสะดวกในการรับฝากรถอยู่ บริเวณหน้าวัดอย่างเพียงพอ
การเดินทางมาวัดสะตือ
เส้นทางแรก ใช้ทางถนนพหลโยธินผ่านอ�ำเภอวังน้อย เมือ่ ถึงทางเลีย่ งเมืองตรงไปแล้วไปเลีย้ วซ้ายทีท่ างแยกไปอ�ำเภอ เสาไห้ เมือ่ ถึงอ�ำเภอท่าเรือจะเห็นป้ายบอกทางไปวัดสะตือ เส้น ทางทีส่ อง ใช้ถนนสายเอเชียผ่านทางแยกเข้าอยุธยา เมือ่ ถึงทาง แยกไปจังหวัดอ่างทอง - อ�ำเภอท่าเรือ ก็ให้เลีย้ วไปอ�ำเภอท่าเรือ
Crematorium in this temple uses oil furnace for environment and the 5 stars toilets have been built in the time of the present abbot.
Sacred objects in Wat Satue
Reclining Buddha (Lung Por Toe) a big buddha
statue built in 1,870. The principal buddha statue in chapel was built in 1,954 and seated buddha with naga over his head was build in Thawarawadi period and was listed as a national ancient object already. The imitation of buddha foot print was built over
100 years ago and the old reclining Buddha head was kept in the chapel.
Customs in Wat Satue
List of the Abbots of Wat Satue;
1. Luang Por Kloy 2. Luang Por Sook 3. Phra Ajarn Ma 4. Phra Upajjabhat Chanthachote - (Champa District monk dean) 1,905-1,952 5. Phra Kru Buddhasaiyabhibal - (Champa District monk dean) 1,954 - 1,994 6. Phra Athikarn Thongkam Kamphirapanyo (Thongkam In-Thachote) 1,994 - 1,999 7. Phra Maha Chamrus Kuttaseelo 2,000 - 2,005 8. Phra Kru Pariyatyathikhun - (Tha Rue District monk dean) 2,005 - present
People come to this temple to worship the big reclining buddha (Lung Por Toe) and ask for the lucks they need. Someone get their lucks as they wished for, they come back to the temple and worship the reclining buddha with rice vermicelli due to the believe that slaves who helped Somdet Phra Buddha Jarn (Toe) created this statue were fond of this food. Furthermore, in the temple hall there are fortune telling by lifting an elephant model or casting a stick. There is a market in every Sundays.
How to get to Wat Satue
1 st route, use Phahonyothin road thru Wang Noi district. Reach the bypass, drive straight and turn left at Saohai district. Drive along and there will be a sign of Wat Satue at Tha Rue district. 2nd route, use Asia road thru Ayuthya. When reach Aung Thong-Tha Rue junction, drive along to Tha Rue district.
Buildings in Wat Satue
Chapel was built in 1,955 and has the first renovation by Major General Manoonkrit Roopkhajon and has a second renovation in 2,000 by Phra Athikarn Thongkam Kamphirapanyo. The temple Hall was built in Ayuthya period. The shape of the hall looked like barque. Somdet Phra Buddha Jarn used to reside in this hall when he was casting the reclining Buddha. Ayutthaya 221
เส้นทางพบ อ�ำเภอบางบาล
นายวรากร สิทธิมาลิก นายอ�ำเภอบางบาล
“ งดนตรีไทย อิฐแกร่ง แหล่ เลื่อมใสหลวงพ่อขัน ผลิตภัณฑ์ก้านธูป “
คือค�ำขวัญอ�ำเภอบางบาล ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูห่ า่ งจากตัวจังหวัดประมาณ 12 กิโลเมตร มีทวี่ า่ การอ�ำเภอตัง้ อยูห่ มูท่ 1ี่ ต�ำบลมหาพราหมณ์รมิ ถนนทางหลวงจังหวัดสายอยุธยา-บางบาล-เสนา บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 7.5 จากถนนแยกเข้าที่ว่าการอ�ำเภอประมาณ 70 กิโลเมตร
ประวัติความเป็นมา
อ�ำเภอบางบาล เป็นอ�ำเภอที่เก่าแก่อ�ำเภอหนึ่งของ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งเมื่อปี พ.ศ.2438 เดิมชื่ออ�ำเภอ เสนาในตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลผีมด(ต�ำบลไทรน้อยในปัจจุบนั )แต่เนือ่ งจาก สถานที่ตั้งเดิมอยู่ริมแม่น�้ำ เวลาฤดูน�้ำหลากน�้ำก็จะท่วมเป็น ประจ�ำเกือบทุกปี ประกอบกับอาคารที่ว่าการอ�ำเภอเดิมนั้นคับ แคบยากแก่การขยับขยาย และไม่สะดวกในการให้บริการประชาชน 222
ในปี พ.ศ.2453 จึงได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอไปตั้งที่ต�ำบลบางบาล และในปี พ.ศ.2514 ได้ย้ายมาตั้งที่หมู่ที่ 1 ต�ำบลมหาพราหมณ์ ตามล� ำ ดั บ ซึ่ ง นั บ เวลาจากอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น อ� ำ เภอบางบาล มีอายุถึง 120 ปี
ข้อมูลทั่วไป
อ�ำเภอบางบาลมีเนือ้ ทีเ่ ขตการปกครองทัง้ สิน้ 135.305
พระคณาจารย์ ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือศรัทธาของประชาชน หลายรูป เช่นหลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ หลวงพ่อเมี้ยน วัด โพธิ์กบเจา หลวงพ่อโก๊ะ วัดเก้าห้อง หลวงปู่ทิม วัดพระขาว หลวงพ่อเอียด วัดไผ่ล้อม ซึ่งมรณภาพไปแล้วทั้งหมดแต่เป็นที่ เคารพศรัทธามาก ผูท้ นี่ ยิ มวัตถุมงคลควรรีบเก็บไว้บชู า เพือ่ เป็น สิริมงคลกับตนเองและครอบครัว ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 84,565.625 ไร่ พืน้ ทีท่ วั่ ไปเป็นที่ ราบลุ่ม มีแม่น�้ำหลายสายไหลผ่านโดยเฉพาะแม่น�้ำเจ้าพระยา และมีคลองแยกไปหลายคลอง เช่นคลองบางบาล คลองบางหลวง ( คลองโผงเผง ) คลองมหาพราหมณ์คลองบางปลาหมอ( คลอง มโนราห์ ) ท�ำให้พื้นที่อ�ำเภอบางบาลคล้ายกับเกาะใหญ่ อ�ำเภอบางบาลแบ่งเขตการปกครองเป็น 16 ต�ำบล 111 หมู่บ้าน มีเทศบาลต�ำบล 2 แห่ง อบต. 4 แห่ง ประชากร ทั้งสิ้น 34,579 คน 11,661 ครัวเรือน ( ข้อมูลกรมการปกครอง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2557 )
ความส�ำคัญของอ�ำเภอบางบาล
บางบาลวันนี้ ...แปรเปลี่ยนไปจากเมื่อวันวาน ทั้งใน ด้านขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมและชุมชน ซึ่งผู้คนต่าง พืน้ ทีต่ า่ งถิน่ เข้ามาประกอบอาชีพท�ำมาหากินอย่างผสมกลมกลืน และเอือ้ ประโยชน์ตอ่ กัน แต่บางบาลยังมีรอ่ งรอยบางอย่างปรากฏ ให้เห็นซึ่งทรงถึงคุณค่าแก่การอนุรักษ์สืบต่อไป เช่น การท�ำบุญ ตักบาตรในวันพระ และวันส�ำคัญทางศาสนา ค่านิยมในการ ปลูกบ้านทรงไทย ตามริมแม่น�้ำล�ำคลอง การสืบทอด การปั้น อิฐด้วยมือมาแต่โบราณ นอกจากนั้ น ยั ง มี ม รดกทางวั ฒ นธรรม ที่ ต กทอดมา หลายรุ่นและหลายท่าน ปัจจุบันมีวงปี่พาทย์อยู่หลายสิบวง หากผู้ใดสนใจก็สามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้ หรือฝากตัวเป็น ลูกศิษย์ได้ ซึง่ ครูบาอาจารย์ทมี่ คี วามเชีย่ วชาญทุกท่าน ยินดีฝกึ สอน ให้เสียเพียงค่ายกครูไม่กี่บาท อาจารย์บางท่านบอกว่าการเรียน ตรีไทยไม่ยากอย่างที่คิด และแต่ละท่านก็มีเคล็ดลับในการสอน ที่แตกต่างกันไป ประการสุดท้าย บางบาลมีวัดเก่าแก่หลายแห่ง ซึ่ง แต่ละแห่งสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเกือบทั้งสิ้น วัดแต่ละแห่งมีพระพุทธรูปเก่าแก่ที่มีความส�ำคัญ และเป็นที่ เคารพนับถือศรัทธาของประชาชนทั่วไป ดังเช่นหลวงพ่อขาว วัดเสาธง หลวงพ่อศิลานาแวง วัดประสาท นอกจากนั้นยังมี
ต้นแบบการจัดการขยะครบวงจร
เนื่องจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถือเป็นจังหวัดที่มี ปัญหาขยะขั้นวิกฤต ในการบริหารจัดการขยะตกค้าง รัฐบาลได้ ด�ำเนินการให้เป็นต้นแบบอย่างเป็นรูปธรรม การด�ำเนินการ โครงการก่อสร้างสถานที่ก�ำจัดขยะมูลฝอย ถือเป็นต้นแบบใน การจัดการขยะอย่างครบวงจร มีประสิทธิภาพเป็นศูนย์กลางใน การแปรรูปขยะเป็นพลังงานได้ รัฐบาลจึงได้ด�ำเนินการก่อสร้าง สถานทีก่ ำ� จัดขยะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา การก่อสร้างบ่อฝังกลบ ขยะบนพืน้ ทีข่ องราชพัสดุ จ�ำนวน 372 ไร่ 2 งาน 29 ตารางวา ท�ำการก่อสร้างที่ต�ำบลมหาพราหมณ์อ�ำเภอบางบาล ในอนาคต จะก่อสร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า จากการน�ำขยะเข้าเผา แบบปลอดมลพิษ เพือ่ น�ำความร้อนมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าต่อไป
จุดเด่นที่น่าสนใจ
ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดสีกุกในปีหนึ่ง ๆ จะมี นักเรียน นิสติ นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาเข้ารับการฝึกอบบรม ปฏิบัติธรรมเป็นจ�ำนวนมาก ครูสำ� ราญ เกิดผล ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ( ดนตรีไทย ) ประจ�ำปี 2548 เยี่ยมบ้านเกิด...นายขนมต้ม
Ayutthaya 223
วัดสีกุก วัดสีกกุ เลขที่ ๓๕ หมูท่ ี่ ๒ ต�ำบลน�ำ้ เต้า อ�ำเภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สร้างมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๒๔๐ (สมัยกรุงศรีอยุธยา) มีเนื้อที่ ๑๗ ไร่ ๓ งาน ๔๔ ตารางวา ตั้งอยู่ชายฝั่งแม่น�้ำ ถนนสาย อยุธยา - เสนา หลัก กม.ที่๑๑ ประวัติเจ้าอาวาสวัดสีกุกในปัจจุบัน สถานะเดิมชื่อ ประยุร จุลวานิช เกิด ๒๗ มิถุนายม ๑๔๘๗ บ้านเลขที่ ๑๑ หมู่ที่ ๗ ต�ำบลพระขาว อ�ำเภอบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.๒๕๐๗ เข้ารับการอุปสมบท ฉายา ชินปฺต โต โดย พระครูอุดมสมาจาร (หลวงพ่อสังข์ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอ บางบาล) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูสงั วรสมณกิจ (หลวงพ่อทิม วัด พระขาว) เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูประสุตธรรมโชติ (หลวง พ่อส�ำเภา วัดน�้ำเต้า) เป็นพระอนุเสาวนาจารย์ พ.ศ.๒๕๑๙ รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสีกุก พ.ศ.๒๕๒๖ เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.๒๕๔๕ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางบาล พ.ศ.๒๕๕๒ รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรม (ดีเด่น) ประจ�ำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 224
ประวัติศาสตร์เกี่ยวเนื่องกับวัดสีกุก ปี พ.ศ.๒๓๑๐ พม่ายกทัพมาตั้งค่ายที่บ้านสีกุก หัวค่ายอยู่ในวัดสีกุก ผู้เฒ่าเล่าขานต่อๆ มาว่าแม่ทัพ ชื่อมังมหานรธา เสียชีวิตอยู่ในวัดสีกุก (โดยที่หลัง อุโบสถวัดสีกกุ มีเจดียเ์ ก่าและมีศาลแม่ทพั มังมหานรธา ตั้งอยู่) ปี พ.ศ.๒๔๔๙ พระบาทสมเด็จจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสต้นครั้งที่ ๒
ทางเรือ ทรงแวะพักแรมที่วัดสีกุก เสด็จขึ้นมาไหว้พระในมณฑป วัดสีกกุ พระองค์ถา่ ยภาพศาลาการเปรียญและกุฏสิ งฆ์ และทรง บันทึกความทรงจ�ำใต้ภาพด้วยลายพระหัตถ์อีกด้วย ปัจจุบันสร้าง อาคารทรงไทยเป็น อนุสรณ์สถาน ร.๕ เพื่อเชิดชูเกียรติประวัติ แด่ปวงชนชาวไทยสืบไป ปี พ.ศ.๒๕๐๐ หลวงจบกระบวนยุทธ ได้อัญเชิญพระบรม สารีริกธาตุจากประเทศอินเดียมาบรรจุที่องค์พระเจดีย์วัดสีกุก (สูง ๓๐ เมตร) พร้อมน�ำต้นพระศรีโพธิ์มาปลูกที่วัดสีกุก วัดสีกุก จากอดีตถึงปัจจุบัน วัดสีกุก มีอายุ ๓๐๐ กว่าปี ได้ตกอยู่ในสภาวธรรมหมุนเวียน เปลีย่ นแปลงไปตามยุค ตามสมัย มีเจริญและมีเสือ่ มเป็นธรรมดา ปัจจุบันวัดสีกุกจึงอยู่ในยุคพัฒนา โดยมีพระครูชินธรรมาภรณ์ เป็นเจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอบางบาล ได้ท�ำการบูรณะ ก่อสร้างอาคารสถานที่จนเป็นระเบียบเรียบร้อยเหมาะแก่การ บ�ำเพ็ญกุศลบุญบารมีของสาธุชนแล้วก็เริ่มโครงการส่งเสริม ศีลธรรม มาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๖ โดยมีโครงการบรรพชาสามเณร ภาคฤดูร้อน เริ่มวันที่ ๑ – ๒๕ เมษายนประจ�ำทุกปี (รับสมัคร ๑๕๐ คน) โครงการปฏิบัติธรรมคณะญาติสัมมาปฏิบัติ (ปฏิบัติ ธรรมส�ำหรับผู้ใหญ่) ก�ำหนดวันขึ้น ๙ – ๑๓ ค�่ำเดือน ๑๐ ประจ�ำ ทุกปี โครงการส่งเสริมศีลธรรมเพือ่ พัฒนาเยาวชน โดยมีโรงเรียน ทั้งประถม – มัธยมและมหาวิทยาลัย ทั้งในและต่างจังหวัด มาติดต่อน�ำนักเรียน – นักศึกษามาฝึกอบรมเรียนรู้คุณค่าของ ศิลธรรมทีจ่ ะน�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน กิจกรรม ๓ วัน ๒ คืน แต่ง กายชุดขาว สมาทานศีล ๘ เพื่อให้เยาวชนของชาติเป็นคนดี
มีศีลธรรม ด�ำเนินการมา ๓๐ ปีละหลายหลายรุ่น หลายพันคน (บางปีถงึ หมืน่ คน) แต่ละรุน่ ทางวัดไม่ได้ เรี ย กร้ อ งค่ า ใช้ จ ่ า ยใดๆ จากผู ้ เ ข้ า รั บ การอบรม ตามแต่ทางโรงเรียนจะช่วยสนับสนุนแต่ส่วนมากไม่ พอค่ า ใช้ จ ่ า ยต้ อ งหาผู ้ มี ศ รั ท ธาให้ ค วามอุ ป ถั ม ภ์ (แต่ จ ่ า ยปี ล ะเป็ น ล้ า นบาท) ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ต้ อ งการให้ เยาวชนของชาติมีความรู้คู่คุณธรรมแล้วจะน�ำมาซึ่ง ความสุขความเจริญสืบไป ร่วมสร้างเส้นทางบุญ โอกาสนี้ท่านใดมีศรัทธาปรารถนาจะสร้างกุศล บุญบารมีร่วมกับทางวัดสีกุก สามารถโอนเงินเข้า ธนาคารกรุงไทย สาขาเสนา ชื่อบัญชี วัดสีกุก เลขบัญชี ๑๐๔-๑-๐๑๔๘๖-๔ วัดสีกุกโทร ๐๘๑-๔๘๕-๓๓๙๗ ขออนุโมทนา จงโชคดี มีสขุ เจริญในธรรมเป็นนิตย์ เทอญฯ Ayutthaya 225
เส้นทางพบ อ�ำเภอบางซ้าย
นายวิเชียร จูห้อง นายอ�ำเภอบางซ้าย
“ บางซ้ายถิ่นทุ่งทอง
เรืองรองพันธุ์ไม้ผล ชีวิตริมสายชล มากล้นแหล่งพันธุ์ปลา
“
คือค�ำขวัญอ�ำเภอบางซ้ายซึ่งมีที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลบางซ้ายอ�ำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยูห่ า่ งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง 40 กิโลเมตร 226
วิสัยทัศน์
สินค้าเกษตรปลอดภัย แหล่งอาหารที่มีคุณภาพ เป็น ศูนย์กลางการค้าการลงทุน และอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยี สะอาด เมืองน่าอยู่ ประชาชนอยู่ดีมีสุข อย่างยั่งยืน
ความเป็นมาของอ�ำเภอบางซ้าย
อ� ำ เภอบางซ้ า ยเดิ ม เป็ น ต� ำ บลหนึ่ ง ของอ� ำ เภอเสนา และตั้งเป็นกิ่งอ�ำเภอ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2500 ได้ตั้งเป็นอ�ำเภอ บางซ้าย ตั้งอยู่บริเวณคลองเจ้าเจ็ด-บางยี่หน ต่อมา พ.ศ.2545 ได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอมาจากบริเวณหมู่ที่ 3 ต�ำบลบางซ้าย ฝั่ง ทิศเหนือในท้องที่ต�ำบลบางซ้าย ขณะนั้น ห่างจากที่ว่าการ อ�ำเภอหลังเก่า ประมาณ 2 กิโลเมตร ไปทางทิศใต้ เพื่อความ เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น และเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการ คมนาคมในสมัยนั้น ซึ่งแต่เดิมต้องใช้เรือเป็นพาหนะในการ เดินทางรูปแบบของอาคารที่ว่าการอ�ำเภอหลังเก่าเป็นเรือนไม้ ติดกับคลองเจ้าเจ็ด-บางยี่หน ส่วนชื่ออ�ำเภอนั้น ทางราชการ มีนโยบายเปลี่ยนชื่อต�ำบล ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอ�ำเภอ จึงได้ เปลีย่ นชือ่ จาก ต�ำบลบางซ้าย มาเป็น อ�ำเภอบางซ้าย ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา พ.ศ.2500 ทีว่ า่ การอ�ำเภอหลังเก่า ช�ำรุดทรุดโทรมมาก และได้สร้างใหม่ในบริเวณหมูท่ ี่ 1 ต�ำบลบางซ้าย ซึง่ ห่างจากเดิม ไปทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร และไม่ได้รื้ออาคารที่ว่าการ อ�ำเภอหลังเก่าออก ได้ให้เทศบาลต�ำบลบางซ้าย ดูแลและตั้ง เป็น ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลบางซ้าย ปัจจุบนั และเพือ่ เป็น บ้านพักของข้าราชการ พ.ศ. 2536 อ�ำเภอได้รับงบประมาณจาก กรมการปกครอง ให้ ส ร้ า งอาคารหลั ง ใหม่ ในพื้ น ที่ ห มู ่ ที่ 1
ต�ำบลบางซ้าย ซึ่งก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ค�ำว่า “บางซ้าย” มีประวัติเล่าว่าในอดีตเป็นเขตติดต่อ จังหวัดสุพรรณบุรี มีพวกโจรผู้ร้ายชุกชุม ท�ำให้ชาวบ้านเรียกว่า บางร้าย ต่อมาได้เพี้ยนจากค�ำว่า บางร้ายเป็นบางซ้าย เพราะ การตั้งบ้านเรือนอยู่ริมคลองเจ้าเจ็ด-บางยี่หน ตั้งบ้านเรือนอยู่ ในบริเวณนี้ บ้านบางซ้าย ซึ่งอ�ำเภอได้ใช้ชื่อตามชื่อหมู่บ้าน จึง ได้เปลี่ยนชื่ออ�ำเภอเป็น อ�ำเภอบางซ้าย จนถึงปัจจุบัน
ข้อมูลทั่วไป
อ�ำเภอบางซ้าย มีเนื้อที่ประมาณ 150.576 ตาราง กิโลเมตร หรือ 94,222 ไร่ มีประชากรทั้งสิ้น จ�ำนวน 19,426 คน แยกเป็นชาย 9,708 คน แยกเป็นหญิง 9,718 คนมีความ หนาแน่นประชากรเฉลี่ยประมาณ 341.63 คน/ตารางกิโลเมตร
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
1.ภาพจิตกรรมฝาผนังวัดบางซ้ายใน 2.หลวงปู่รอด วัดบางซ้ายนอก 3.วัดเทพมงคล 4.วัดใหม่ต้านทาน 5.วัดทางหลวง Ayutthaya 227
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดพรหมนิมิต วัดพรหมนิมิต ตั้งอยู่เลขที่ 31 หมู่ 10 ต�ำบลเต่าเล่า อ�ำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประวัติวัดพรหมนิมิต
วัดพรหมนิมิต ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2516 โดย คุณยายเชื่อม ส�ำรวยผล บริจาคที่ดินจ�ำนวน 3 ไร่ ในการสร้างวัด และทางวัดซื้อที่ดินเพิ่มอีก 7 ไร่ รวมเป็น 10 ไร่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเป็น ปีพ.ศ. 2526
รายนามเจ้าอาวาส รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3
พระอาจารย์ทองอยู่ พระครูพิทักษ์พรหมนิมิต พระครูวิสุทธิ์ปัญญาวุฒิ (รูปปัจจุบัน)
พระครูวิสุทธิ์ปัญญาวุฒิ 228
ถาวรวัตถุภายในวัด
1. ศาลาการเปรียญ 2. ศาลาปฏิบัติธรรม 3. อุโบสถ 4. เมรุ 5. ก�ำแพง 6. มหาเจดีย์ และ สวนป่าเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั วัดพรหมนิมติ มีโครงการซ่อมแซมอุโบสถเพือ่ ประกอบพิธฝี งั ลูกนิมติ โดยสร้างมาเกือบ 30 ปีแล้ว แต่ยงั ไม่ ได้ประกอบพิธีฝังลูกนิมิต จึงขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมเป็น เจ้าภาพท�ำบุญได้ที่วัดพรหมนิมิตทุกวัน หรือโอนเข้าบัญชีวัด พรหมนิมิต บัญชีออมทรัพย์ธนาคารธนชาต สาขาบางซ้าย เลขที่บัญชี 665-2-07293-8
Ayutthaya 229
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหน้าต่างนอก Wat Natangnok
วัดหน้าต่างนอก ตั้งอยู่ที่ต�ำบลหน้าไม้ อ�ำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประวัติวัดหน้าต่างนอก
พระครูสมบูรณ์จริยธรรม (พระอาจารย์แม้น อาจารสมฺ ปนฺโน) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ได้เล่าถึงประวัตขิ องวัดหน้าต่าง นอกพอสังเขปว่า ท่านได้ฟังมาจากค�ำบอกเล่าของหลวงพ่อ สังข์ วัดน�้ำเต้า เจ้าคณะอ�ำเภอบางบาล หลวงพ่อไวทย์ วัด บรมวงศ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลวงพ่อ เมี้ยน วัดโพธิ์กบเจา อ�ำเภอบางบาล หลวงพ่อเพิ่ม วัดป้อม แก้วเจ้าคณะอ�ำเภอบางไทร เล่าถึงประวัติของวัดหน้าต่าง นอกอย่างตรงต่อกันว่า วั ด หน้ า ต่ า งนอกนี้ ไ ด้ ส ร้ า งขึ้ น มาตั้ ง แต่ ป ลายกรุ ง ศรีอยุธยา เมื่อประมาณปีพ.ศ.2300 ซึ่งหลวงปู่เณรเป็นผู้ 230
ด�ำเนินก่อสร้างขึน้ เหตุทชี่ อื่ “วัดหน้าต่างนอก” นัน้ ก็มเี หตุอยู่ สองประเด็นด้วยกัน ประเด็นแรก กองทัพพม่าที่ยกมาตีกรุงศรีอยุธยา ได้ตั้ง ค่ายใกล้กับสะพานสีกุก ทางกองทัพกรุงศรีอยุธยาก็ได้ให้ทหาร หน่วยสอดแนมสอดส่องดูว่า ข้าศึกจะขยับเขยื้อนไปทางไหน โดยให้ดูด้วยการเปิดหน้าต่าง หน้าต่างใน หมายถึง ใกล้ชาย
แม่น�้ำน้อย ก็คือที่ตั้งวัดหน้าต่างใน หน้าต่างนอก หมายถึง ทางนอกทุ่งก็คือที่ตั้งวัดหน้าต่างนอก ประเด็ น ที่ ส อง ในสมั ย โบราณนั้ น พระสงฆ์ ท ่ า น เคร่งครัดในทางปฏิบัติพระกัมมัฏฐาน และได้มีการกล่าวเอา ไว้ว่า เดิมทีตรงวัดหน้าต่างนอกเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมของ พระสงฆ์วดั หน้าต่างใน ต่อมาหลวงปูเ่ ณรได้สร้างเป็นขึน้ อาจ จะตัง้ ชือ่ วัดโดยอรรถโดยธรรมก็ได้ เช่น วัดหน้าต่างนอก ท่าน หมายเอาอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
Wat Natangnok
Wat Natangnok is located at Namai District, Bang-
sai, Nakhon Si Ayutthaya. The current abbot is Phra Kru Somboon Jariyatham ( Phra Ajarn Man Ajarasampanyo).
History
Wat natangnok was built in the Ayuthaya period around 1,757 by Luang Poo Nen. There are 2 main reasons that the temple was named Natangnok (outside window). First reason is because the location of the temple was located far out in the rice field and the second reason is the meaning of Natangnok. Natangnok means the connection of our physical to senses through eyes, ears, nose, tongue, body and mind.
ล�ำดับเจ้าอาวาสและการบูรณะวัด
เมือ่ หลวงปูเ่ ณรได้มรณภาพไปแล้ว ทางคณะสงฆ์ คณะ อุบาสกอุบาสิกา ได้อาราธนาหลวงปู่เอี่ยม ขึ้นมาด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสแทนหลวงปู่เณรสืบมา ปฏิปทาของหลวงปู่เอี่ยมเป็นที่เลื่องลือกันมากในสมัย นั้น ท่านเป็นพระปฏิบัติในด้านพระกัมมัฏฐาน น�้ำมนต์ของ ท่านศักดิส์ ทิ ธิม์ ากผูค้ นเลือ่ มใสศรัทธาไปมาหาสูเ่ พือ่ สักการะ ไม่ขาดสาย ต่อมาหลวงปูเ่ อีย่ มท่านได้มรณภาพ ทางคณะสงฆ์จงึ ได้ อาราธนาหลวงปูอ่ นิ ทร์ ขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสแทน หลวงปูเ่ อีย่ ม ต่อมาหลวงปูอ่ นิ ทร์ได้ลาสิกขาบท ทางคณะสงฆ์ จึงได้อารธนาหลวงพ่อจง ซึ่งบวชอยู่วัดหน้าต่างใน มาด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก Ayutthaya 231
List of the abbots of Wat Natangnok
1. Luang Poo Nen 2. Luang Poo Eaim 3. Luang Poo In 4. Luang Por Jong 5. Phra Ajarn Wai 6. Phra Ajarn Kroot 7. Phra Kru Somboon Jariyatham (1,972 - present)
232
เมื่อหลวงพ่อจงได้มาด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก นั้น ท่านได้บูรณะอุโบสถหลังเก่าซึ่งเดิมทีเป็นเรือนไม้ก็ได้สร้างเป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก ตลอดทัง้ วิหารซึง่ คูก่ บั อุโบสถนัน้ สร้างพระพุทธฉาย ขึ้นที่หน้าวัดเพื่อเป็นอนุสรณ์ และได้สร้างเรือหงส์ขึ้นอีกหนึ่งล�ำ จากนั้น ได้ซอ่ มแซมเสนาสนะ เช่น ซ่อมกุฏทิ มี่ สี ภาพทรุดโทรมให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ี เป็นต้น จนกระทั่งหลวงพ่อจงอายุย่างเข้า 93 ปี กับ 10 เดือน ท่านก็มา ป่วยด้วยโรคอัมพาตอยู่เดือนหนึ่ง แล้วท่านก็มรณภาพลง เมื่อวันจันทร์ เดือน 3 พ.ศ.2508 ทางคณะกรรมการจึงได้ท�ำฌาปนกิจศพหลวงพ่อจง ในปีพ.ศ.2509 จากนั้นก็ได้อาราธนาพระอาจารย์ไวยท์ ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการเจ้าอาวาส และได้แต่งตั้ง พระอาจารย์ไวยท์ เมื่อพ.ศ.2510 แต่ท่านได้เป็นเจ้าอาวาสเพียง 5 เดือนก็ได้มรณภาพลง จากนัน้ ก็จงึ ได้อาราธนาพระอาจารย์ครุฑ ขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้า อาวาส พระอาจารย์ครุฑเป็นเจ้าอาวาสอยู่ได้เพียง 3 ปีราว พ.ศ.2514 ท่านก็ได้มรณภาพลง จากนัน้ พ.ศ.2515 ทางคณะกรรมการจึงได้อาราธนา พระอาจารย์แม้น หรือ พระครูสมบูรณ์จริยธรรม จากวัดกลางคลองสาม อ�ำเภอคลองหลวงจังหวัดปทุมธานี มารักษาการแทนเจ้าอาวาสวัด หน้าต่างนอก เมื่อเดือนสี่ พ.ศ.2515 และท่านก็ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดมา จนถึงปัจจุบันนี้ Ayutthaya 233
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
หลวงพ่อวัดน้อย (วัดสิงห์สุทธาวาส) หลวงพ่อวัดน้อย เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ประดิษฐาน อยู่ ณ อุโบสถร้าง ต�ำบลบ้านแป้ง อ�ำเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา พระลักษณะเป็นพระพุทธรูปปางอู่ทอง สร้างด้วยปูน ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าผู้ใดสร้าง แต่ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยต้นกรุงศรีอยุธยา เมือ่ ปี พ.ศ.2483 พระครูอมั พรคุณาสัย อดีตเจ้าอาวาส วัดสิงห์สุทธาวาส และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอบางไทร พร้อม ด้วยคณะกรรมการวัด ได้ทำ� การรือ้ อุโบสถวัดสิงห์สทุ ธาวาส ซึง่ ช�ำรุดทรุดโทรมมาก จนไม่อาจทีจ่ ะใช้การได้ เมือ่ ขุดอุโบสถ เก่ า ก็ ไ ด้ พ บแผ่ น ศิ ล าจารึ ก เป็ น ภาษาขอมเขี ย นความว่ า “อุ โ บสถวั ด สิ ง ห์ สุ ท ธาวาส” สร้ า งเมื่ อ วั น สถาปนากรุ ง ศรีอยุธยา ปี พ.ศ.1892 จึงพอสันนิษฐานได้วา่ อุโบสถหลวง พ่อวัดน้อยนี้ ได้ตั้งอยู่ใกล้กับวัดสิงห์สุทธาวาส และก็อยู่ใน ต�ำบลเดียวกัน คือต�ำบลบ้านแป้ง อุโบสถหลวงพ่อวัดน้อยนี้ ร้างมานานเท่าไหร่แล้วก็ไม่มี ผู้ใดทราบ จากการสอบถามผู้มีอายุ 80-90 ปี หลายท่าน ก็ ตอบเป็นเสียงเดียวกันว่า ร้างมาก่อนจ�ำความได้ ท่านเหล่า นั้นเคยถามผู้ใหญ่ที่ผู้มีอายุสูง ๆ มาแล้วเช่นเดียวกัน ก็ได้ 234
ความว่าอุโบสถหลวงพ่อวัดน้อยนี้ร้างมาก่อน จึงพอสันนิษฐานได้ ว่าอุโบสถหลวงพ่อวัดน้อยนี้ ต้องสร้างมาก่อนวัดสิงห์สุทธาวาส แน่นอน แต่ทยี่ งั อยูถ่ าวรมาจนถึงทุกวันนีไ้ ด้ ก็เพราะด้วยอานุภาพ ศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อวัดน้อยนี้เอง ภายในอุโบสถหลวงพ่อวัดน้อย นอกจากจะมีหลวงพ่อวัดน้อย เป็นองค์พระประธานใหญ่ที่สุดในอุโบสถแล้ว และยังมีพระพุทธ รูปอีก 9 องค์บนแท่นสุกชี รวมเป็น 10 องค์ มีชื่อเรียกว่าดังนี้
1. หลวงพ่อพุทธกมล (หลวงพ่อวัดน้อย พระประธาน องค์ใหญ่) 2. หลวงพ่อพิศดาลโลก (องค์หน้าพระประธาน) 3. หลวงพ่อรอด (องค์อยู่ด้านเหนือ) 4. หลวงพ่อถมยา (องค์อยู่ด้านใต้) 5. หลวงพ่อจ�ำปา (องค์หน้าพระประธานด้านเหนือ) 6. หลวงพ่อลั่นทม (องค์หน้าพระประธานด้านใต้) 7. หลวงพ่อเทียบ (องค์หลังพระประธานด้านเหนือ) 8. หลวงพ่อเสวก (องค์หลังพระประธานด้านใต้) 9. หลวงพ่อบานเย็น (องค์เล็กด้านเหนือ) 10.หลวงพ่อบัวลอย (องค์เล็กด้านใต้) ปัจจุบันเจ้าอธิการบ�ำรุง สุทฺธกโร เจ้าอาวาสวัดสิงห์ สุทธาวาส และเจ้าคณะต�ำบลบ้านแป้ง อ�ำเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เป็นผู้ควบคุมดูแลรักษาผลประโยชน์ของ หลวงพ่อวัดน้อย และจะบูรณปฏิสงั ขรณ์สร้างอุโบสถหลวงพ่อ วัดน้อยขึ้นใหม่ให้มั่นคงถาวรสวยงามในเวลาอันใกล้นี้ด้วย เนื่องจากอุโบสถมีสภาพช�ำรุดทรุดโทรมมากแล้ว จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาร่วมสร้าง เส้นทางบุญ ได้ที่ เจ้าอธิการบ�ำรุง สุทธฺ กโร เจ้าอาวาสวัดสิงห์ สุทธาวาส จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Ayutthaya 235
เส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดร้อยไร่ วัดร้อยไร่ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอ นครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัดแห่งนีต้ งั้ อยูบ่ ริเวณริมแม่นำ้� ป่าสัก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ปีพ.ศ. 2535 ปัจจุบันมี พระใบฎีกาสนุ่น โกสโร เป็นเจ้าอาวาสวัดร้อยไร่ รูปปัจจุบัน
ประวัติหลวงพ่อโตทรงเครื่องมหาจักรพรรดิ
ด้วยปฐมเหตุของการก่อสร้างเมื่อครั้ง พระอธิการทองพูล โอภาโส อดีตเจ้าอาวาสวัดร้อยไร่ พร้อมด้วยคณะสงฆ์และคณะ ศรัทธา พ่อค้า ประชาชน ผู้มีความเลื่อมใสในบวรพระพุทธศาสนา และมีความจงรักภักดี ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบรม บพิตรพระราชสมภารเจ้าองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ล อดุลยเดชมหาราช จึงพร้อมใจกันเป็นฉันทามติมหากุศล ได้เริ่ม ด�ำเนินการก่อสร้าง หลวงพ่อโตทรงเครื่องมหาจักรพรรดิ แบบ ศิลปะสมัยอู่ทอง (ตามเค้าเดิมของหลวงพ่อโตสมัยอู่ทอง ซึ่งมีอายุ ประมาณ 400 ปี) พร้อมทั้งวิหารใหญ่ และวิหารรายด้านข้างอีก 8 หลัง เพื่อประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำวันเกิดปางต่าง ๆ ด้วย
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ในวัด
วิหารบูรพาจารย์ ภายในประดิษฐาน หลวงพ่อโตปูนปัน้ ศิลปะ อู่ทอง อายุ 400 ปี พร้อมทั้งรูปหล่อหลวงปู่แช่มและหลวงพ่อ ทองหล่ออดีตเจ้าอาวาส 236
พระพุทธมหามุนีรัตนปฏิมากร (หลวงพ่อโต ทรงเครื่อง มหาจักรพรรดิ) ขนาดหน้าตักกว้าง 9.84 สูง 19 เมตร พระเศียร ทรงศิราภรณ์พระมหาพิชยั มงกุฎ เป็นยอดฉัตรทอง 9 ชัน้ ลวดลาย ทรงหล่อด้วยทองเหลืองทั้งองค์พระประกอบด้วยอัญมณีมีค่า วิหารพระพุทธมหามุนีรัตนปฏิมากร (วิหารหลวงพ่อโต) ก่อสร้างเป็นแบบทรงไทยอยุธยาประยุกต์ มีเรือนยอดเหนือพระ เศียรพระพุทธปฏิมากรออกแบบเป็นยอดทรงมงกุฎ ปัน้ ปูนประดับ กระจกสี อาคารวิหารกว้าง 19 เมตร ยาว 27.50 เมตร วิหารราย ด้านข้างวิหารพระพุทธมหามุนีรัตนปฏิมากรฯ 8 หลัง พระพุทธรูปปูนปั้นในวิหารราย เป็นพระพุทธรูปประจ�ำ วันเกิด
รายนามเจ้าอาวาสวัดร้อยไร่
1. หลวงปู่แช่ม 2. หลวงตาเขียว 3. หลวงปู่พร 4. หลวงพ่อ จอก 5. หลวงตาปลิว 6. พระครูพินิจสุตคุณ (ทองหล่อ ทีปงฺกโร) 7. พระอธิการทองพูล โอภาโส และ 8. พระใบฎีกา สนุ่น โกสโร ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึงปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดร้อยไร่ ขอเจริญพรเรียนเชิญทุกท่านผูม้ คี วามศรัทธา ร่วม บริ จ าคทุ น ทรั พ ย์ ใ นการหล่ อ หลวงพ่ อ โตทรงเครื่ อ งมหาจักรพรรดิ และการก่อสร้างถาวรวัตถุอนื่ ๆ ภายในวัด เพือ่ สืบสาน พระพุทธศาสนาให้อยู่คู่ลูกหลานของเรา ติดต่อสอบถามราย ละเอียดได้ที่ พระใบฎีกา สนุ่น โกสโร เจ้าอาวาส เบอร์โทรศัพท์ 085-376-9112
เส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต
วัดเรือแข่ง วัดเรือแข่ง เลขที่ 151 หมู่ 4 ต�ำบลบางระก�ำ อ�ำเภอ นครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ประมาณ ปี พ.ศ.2530 วัดเรือแข่ง สร้างในสมัยอยุธยาตอนกลาง โดยพระเจ้า ทรงธรรม ทรงโปรดเกล้าฯให้มีการต่อเรือ ณ วัดเรือแข่ง ปัจจุบันภายในวัดได้มีการบูรณะใหม่ทั้งหมด
พุทธศาสนิกชนท่านใดสนใจเยีย่ มชมวัด หรือ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ติดต่อได้ที่ เจ้าอาวาส โทร. 081-8525405
Ayutthaya 237
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดส�ำมะกัน วัดส�ำมะกัน ตั้งอยู่ติดกับแม่น�้ำป่าสัก เลขที่ 124 หมู่ที่ 5 ต� ำ บลแม่ ล า อ� ำ เภอนครหลวง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา พื้นที่ตั้งวัด ประมาณ 21 ไร่ ปัจจุบันมี พระครูปิยธรรมานันท์ เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลท่ า ช้ า ง เจ้ า อาวาสวั ด ส� ำ มะกั น และมี พระปลัดทวีศักดิ์ สนฺตกาโย เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดส�ำมะกัน เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอนครหลวง วัดส�ำมะกัน ติดต่อสอบถามได้ที่ พระครูปิยธรรมานันท์ โทร.081-1953083, พระปลัดทวีศกั ดิ์ สนฺตกาโย โทร.080-6679842
นอกจากนีท้ า่ นยังได้ปรับปรุงภูมทิ ศั น์โดยรอบ จนเป็นสถานทีท่ มี่ ี ความสวยงาม ร่มรืน่ เหมาะแก่การพักผ่อน ให้อาหารปลาบริเวณหน้า ประวัติวัดส�ำมะกัน วัดส�ำมะกัน สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2335 (สมัยกรุง วัดริมแม่น�้ำป่าสัก กระทั่งได้รับรางวัลใน โครงการหน้าวัดน่ามอง รัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.1) ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ ระดับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2343 ในอดีตวัดส�ำมะกันเคยเป็นสถานที่ประหารนักโทษ เสนาสนะและปูชนียวัตถุส�ำคัญ แต่ปัจจุบันได้ด�ำเนินงานก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ อุโบสถ กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ หอระฆัง เมรุ ต่าง ๆ ให้มีความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย ในสมัยของ ศาลาธรรมสังเวช ศาลาท่าน�้ำ วิหารหลวงพ่อปราสาททอง พระพุทธ พระครูปยิ ธรรมานันท์ เจ้าอาวาสวัดส�ำมะกัน รูปที่ 9 (รูปปัจจุบนั ) รูปศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสมัยกรุงศรีอยุธยา วิหารหลวงพ่อประทานพร พระสีวลี โดยได้รับความอุปถัมภ์ในการด�ำเนินการก่อสร้าง จาก คุณเฮียง พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา (ธรรมจักรองค์ใหญ่) ศาลเจ้าพ่อพระกาฬ พิมพาเรือ คุณละมัย โสภา ห.จ.ก.โชควัฒนาการช่าง 2006 บั น ดาลสุ ข พระปางนาคปรก พระพิ ฆ เนศ ศาลาพ่ อ ปู ่ ฤ าษี พร้อมด้วยอุบาสก อุบาสิกา ทุกท่าน รูปปั้น 12 ราศี พระประจ�ำวันเกิด รูปเหมือนปูนปั้นพระเกจิอาจารย์
238
รายนามเจ้าอาวาสและรักษาการ
พระอุปัชฌาย์พุ่ม พุทฺธญฺาโณ พระอธิการเปลี่ยน ปิยวณฺโณ พระอธิการอินทร์ อินฺทปญฺโญ พระครูพินิจนครเขตต์ (แรม ทองนพ) พ.ศ.2487 - 2507 พระครูวิรุฬห์เลขการ (แสร์ สุนทรสุข) พ.ศ.2507 - 2527 พระอธิการพริ้ง เขมธมฺโม พ.ศ.2527 - 2530 พระอาจารย์ส�ำเภา เขมจารี (รักษาการ) พ.ศ.2530 - 2543 พระอธิการอภินันท์ คุณากโร พ.ศ.2543 - 2544 พระครูปิยธรรมานันท์ (ปิยวุฒิ ปิยธมฺโม) พ.ศ.2545 - ปัจจุบัน เจ้าคณะต�ำบลท่าช้าง เจ้าอาวาสวัดส�ำมะกัน
ประวัติเจ้าอาวาสวัดส�ำมะกันในอดีต
พระอุปัชฌาย์พุ่ม พุทฺธญฺาโณ เจ้าอาวาสวัดส�ำมะกัน รูปที่ 1 ไม่ ป รากฏประวั ติ ข องท่ า น ทราบเพี ย งว่ า ท่ า นเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ส�ำมะกัน (เจ้าคณะหมวด) ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นพระ มหาเถรานุเถระผู้ใหญ่ที่บุคคลสมัยนั้นให้ความเคารพนับถือท่าน และ เป็นเกจิอาจารย์ทมี่ ชี อื่ เสียง ท่านเป็นผูท้ พี่ ฒ ั นาและวางรากฐานในการ ก่อสร้างวัดส�ำมะกันได้เป็นอย่างดี ให้เป็นที่ประจักษ์มาจนถึงทุกวันนี้ ท่ า นมรณภาพ อายุ 104 ปี โดยท่ า นได้ เ ป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ข อง พระครูนครวิหารคุณ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอนครหลวง วัดปรีดาราม
พระครูปิยธรรมานันท์ เจ้าคณะต�ำบลท่าช้าง เจ้าอาวาสวัดส�ำมะกัน
คุณเฮียง พิมพาเรือ คุณละมัย โสภา ห.จ.ก.โชควัฒนาการช่าง 2006 ผู้อุปถัมภ์วัดส�ำมะกัน
Ayutthaya 239
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดมารวิชัย
วัดมารวิชัย ตั้งอยู่ริมคลองขนมจีน เลขที่ 42 หมู่ 9 ต�ำบลบางนมโค อ�ำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนือ้ ที่ 21 ไร่ 65 ตารางวาทีธ่ รณี สงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 39 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูวิชัยพลากร เป็นเจ้าอาวาสวัดรูปที่ 12 ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน
ประวัติวัดมารวิชัย
วั ด มารวิ ชั ย เดิ ม เป็ น วั ด เก่ า แก่ ส ร้ า งมาแต่ ค รั้ ง กรุ ง ศรีอยุธยาเป็นราชธานี (จากหลักฐานเนินดินทีช่ าวบ้านขุดพบ ว่ามีซากก�ำแพงเก่าที่ถูกกองทัพพม่าเผาท�ำลายทับถมกลาย เป็นโคกเรียกว่า “โคกวิหาร” ซึ่งเป็นเหตุให้กล่าวขานว่า “วัด มารวิชยั ผีด”ุ ) วัดมารวิชยั ถูกปล่อยทิง้ ร้างมานานถึง 70 ปี จน เมื่อปี พ.ศ.2373 มีหลวงตามืด (เนื่องจากนัยน์ตาของท่าน บอดมืดทั้ง 2 ข้าง) มาสร้างวัดขึ้นใหม่แล้วตั้งชื่อว่า “วัด ผจญมาร” หมายถึงอดีตทีเ่ คยผ่านการถูกข้าศึกรุกรานมาแล้ว หลวงตามืดเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกมานานถึง 16 ปี ก็ มรณภาพในปี พ.ศ. 2395 หลวงพ่อชื่น วัดสาธุโภชน์ (วัด ขนมจีน) ซึ่งเป็นอาจารย์เรืองวิชาที่มีชื่อเสียงมากในสมัยนั้น 240
มอบให้หลวงพ่อสุวรรณมาเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2 หลวงพ่อ สุวรรณได้กอ่ สร้างอุโบสถ และเสนาสนะต่างๆ จนเจริญรุง่ เรือง มาก จวบจนถึงแก่การมรณภาพเมื่ออายุ 65 ปี วัดผจญมาร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ให้เป็นวัด ที่มีเขตท�ำสังฆกรรมโดยสมบูรณ์ เมื่อปีพ.ศ.2445 สมัย พระ อาจารย์หลงเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 5 แต่มีเหตุต้องลาสิกขา ต่อ มามีพระอาจารย์ทอง เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 6 มีโครงการสร้าง อุโบสถใหม่ด้วยการก่ออิฐถือปูน แต่ยังไม่ทันได้สร้างก็มีเหตุ จ�ำเป็นต้องลาสิกขา กระทั่งในปี พ.ศ.2451 พระอาจารย์เทศ เจ้าอาวาสรูปที่ 8 ได้นิมนต์ พระญาณไตรโลก วัดศาลาปูน มา เป็นประธานก่อสร้างอุโบสถ แต่ยงั ไม่ทนั เสร็จพระอาจารย์เทศ ก็มาด่วนลาสิกขา ในสมัยพระอาจารย์เผือ่ น เจ้าอาวาสรูปที่ 9 ได้นมิ นต์
เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดมารวิชัย”
หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค มาสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่ จนเสร็จในปี พ.ศ.2468 แล้วด�ำริจะสร้างอุโบสถทีค่ า้ งมานานให้ เสร็จแต่มพี ระภิกษุชรา 2 รูปคัดค้าน ท�ำให้หลวงพ่อปานเลยไป สร้างอุโบสถที่วัดสามตุ่มต่อไป ส่วนพระอาจารย์เผื่อนยังไม่ทัน สร้างอุโบสถต่อก็มาลาสิกขาไปอีก
ตั้งส�ำนักพระปริยัติธรรมและโรงเรียนประชาบาล
ในสมัยที่ หลวงพ่อคล้ายเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 10 ได้สร้าง ความเจริญรุ่งเรืองทั้งทางด้านการก่อสร้าง และการศึกษา เป็นอย่างมากโดยจัดตั้งส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรมครั้งแรกใน ปี 2475 และยังใช้ศาลาการเปรียญเป็นโรงเรียนประชาบาล ส�ำหรับบุตรหลานของชาวบ้านทั่วไป แต่น่าเสียดายที่หลวง พ่อคล้ายมาด่วนลาสิกขาไปครองเรือนเมื่อปี 2481 และขอให้ หลวงพ่อมีช่วยสร้างอุโบสถต่อโดยหลวงพ่อคล้ายให้สัญญาว่า ถ้าภายใน 20 ปีไม่มีบุตร จะกลับมาอุปสมบทใหม่ 20 ปี ต่อมา ท่านไม่มีบุตรจริงๆ จึงกลับมาบวชอีกครั้งตามที่สัญญาตราบ จนถึงแก่กาลมรณภาพอย่างสงบเมื่ออายุ 80 ปีและก่อนที่จะ มรณภาพท่านสามารถรู้วันเวลาตายได้อย่างน่าอัศจรรย์
ในสมัยที่หลวงพ่อมีหรือ พระครูเกษมคณาภิบาล เจ้า อาวาสรูปที่ 11 ท่านเพิง่ ส�ำเร็จอสุภกรรมฐานมากับ หลวงพ่อ ปาน วัดบางนมโค ท่านได้ใช้วจิ ารณญาณเห็นว่าชือ่ “วัดผจญ มาร” นั้นไม่เป็นมงคล ต้องผจญมารกันอยู่เรื่อย ตั้งแต่หลวง ตามืด ผู้สร้างวัดและหลวงพ่อสุวรรณ ก็ถึงแก่กาลมรณภาพ ในผ้าเหลืองแล้วเจ้าอาวาสรูปต่อมาอีก 8 รูป ล้วนมีอนั เป็นไป ต้องลาสิขา แม้แต่หลวงพ่อคล้าย ทีป่ ฏิบตั กิ รรมฐานเคร่งครัด ก็ยงั พ่ายแพ้แก่มารต้องลาสิกขาเช่นกัน หลวงพ่อมีจงึ เปลีย่ น ชื่อวันใหม่เป็น “วัดมารวิชัย” หมายถึง “การมีชัยชนะแก่ มารทั้งปวง” นอกจากนี้ หลวงพ่อมี ยังแก้อาถรรพ์โคกวิหารอันเกิด จากดวงวิญญาณที่มีแต่ความอาฆาตแค้น และมักจะท�ำร้าย คนที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ให้มีอันเป็นไปต่างๆ นานาจนเป็นที่ กล่าวขานว่าวัดมารวิชัยผีดุ หลวงพ่อมีท�ำพิธีขอขมาดวง วิญญาณบรรดาสัมภเวสี และสร้าง “ฌาปนสถาน” ทับเนิน ดินในปี 2510 ท�ำให้ดวงวิญญาณไปผุดไปเกิดใหม่ยังที่สุคติ ด้วยอานิสงส์ทสี่ ร้างฌาปนสถาน ส่งผลให้การทรงญาณของ หลวงพ่อมีมีความแก่กล้ายิ่งขึ้น Ayutthaya 241
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
หลวงพ่อรวย วัดตะโก...พระดีศรีอยุธยา “ศรีอยุธยาไม่สิ้นคนดี” ยังมากมีคนกล้าทุกสมัย สายวิชาพระเกจิธรรมวินัย ยังเลื่อมใสศรัทธาบารมี หลวงพ่อรวยวัดตะโกผู้เก่งกล้า สายวิชาวัดพระญาติแห่งกรุงศรี ฯ ศิษย์เอกหลวงพ่อชื่น วัดภาชี ในยุคนี้ยอดเกจิเภราจารย์ สร้างวัตถุมงคลเข้มขลัง เติมพลังพุทธคุณปาฏิหาริย์ ทั้งแคล้วคลาดโชคลาภประสบการณ์ ด้วยเชี่ยวชาญสรรพเวทวิทยา ธรรมทายทสมณพุทธบุตร บริสุทธิ์ศีลวัตรพระศาสนา สมเป็นนักปฏิบัติ นักพัฒนา เปี่ยมเมตตาการุณคุณธรรม “มงคลอายุครบ 94 ปี” บุญราศีศุภวารกาลฉน�ำ น้อมสักการมุทิตาพระคุณล�้ำ จารึกน�ำศรัทธาเกียรติอดุล “พระดีศรีอยุธยา” เป็นบุญญาผู้กราบไหว้ใจอบอุ่น มงคลนามหลวงพ่อรวย ร�่ำรวยบุญ เทิดพระคุณเชิดชูน้อมบูชา 242
ประวัติวัดตะโก
วัดตะโก สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2435 หลังจากสร้างวัดได้ 55 ปี หลวงพ่อรวย ได้มาบรรพชาเป็นสามเณรจนญัตติจตุตถกรรมวาจาเป็น พระภิกษุอยู่ที่วัดนี้ จนถึงปัจจุบัน สมัยแรกทีเ่ ริม่ สร้างวัดตะโก พระอาจารย์หนูเป็นปฐมเจ้าอาวาส มีชื่อเสียงทางเวทมนต์คาถาอาคม เจ้าอาวาสรูปต่อมา คือ พระ อาจารย์อ้วน วัดยังไม่เจริญ มีเพียงเนินดินเล็ก ๆ ที่ชาวบ้านช่วยกัน ขนดินมาถมพื้นที่ให้สูงขึ้น เพื่อป้องกันในฤดูน�้ำหลาก มุงหลังคาด้วย สังกะสีกันแดดฝนเท่านั้น พระสมุห์บุญช่วย ผู้เป็นพระอนุสาวนาจารย์ของหลวงพ่อรวย และเป็นพระอุปชั ฌาย์สมัยทีบ่ รรพชาเป็นสามเณร ได้เป็นเจ้าอาวาส วัดตะโกสืบต่อมาเป็นรูปที่ 3 ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่แทนหลังเดิม แต่ ไม่ใหญ่โตนัก เพียงพอแก่การประกอบสังฆกรรม เมือ่ หลวงพ่อพระสมุหบ์ ญ ุ ช่วยมรณภาพแล้ว ทางการคณะสงฆ์ ได้แต่งตั้งให้หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 4 (รูป ปัจจุบนั ) จากนัน้ ได้เริม่ ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ใหญ่โตกว่าเดิม มีความ วิจิตรสวยงามอย่างมาก เพราะมีพระภิกษุมาอยู่จ�ำพรรษามากขึ้นใน แต่ละปี นอกจากนัน้ หลวงพ่อรวยได้สร้างศาลาการเปรียญ ขุดบ่อน�ำ้ ในวัดเพือ่ ประโยชน์ใช้สอยในยามหน้าแล้ง ซึง่ แต่กอ่ นเป็นเพียงบ่อน�ำ้ เล็ก ๆ เท่านั้น ท�ำให้บริเวณดูสวยงามเป็นระเบียบ ทั้งยังได้ปรับปรุง เสนาสนะสงฆ์ หมู่กุฏิ บูรณปฏิสังขรณ์ให้มั่นคงถาวรเป็นระเบียบ เรียบร้อย น�ำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่วัดตะโกจวบจนปัจจุบัน
หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก หรือ พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ เจ้าอาวาสวัดตะโก ต�ำบลดอนหญ้านาง อ�ำเภอภาชี จังหวัด พระนครศรีอยุธยา คือพระดีศรีอยุธยาผูม้ วี ตั รปฏิบตั ดิ งี ามอีก รูปหนึ่ง เป็นที่ตั้งแห่งศรัทธาของพุทธศาสนิกชน และได้รับ การยกย่องกล่าวขานในระดับแถวหน้าของเมืองไทย
ชีวประวัติหลวงพ่อรวย
หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก หรือ พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ ปัจจุบนั อายุวฒ ั นมงคล 94 ปี 74 พรรษา หลวงพ่อรวย หนึง่ ในพระเกจิดังแห่งกรุงเก่าผู้มีปฏิปทาศีลวัตรสัจคุณงดงาม ด�ำรงสมณเพศอย่างสมถะ สันโดษ เรียบง่าย ทั้งเป็นพระ วิปัสสนาเถราจารย์ที่สืบทอดวิชาอาคมจาก หลวงพ่อชื่น วัด ภาชี (สายหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ) หลวงพ่อแจ่ม วัดวัง แดงเหนื อ พระบู ร พาจารย์ ที่ มี กิ ต ติ คุ ณ โด่ ง ดั ง ในอดี ต ถึ ง ปัจจุบัน Ayutthaya 243
หลวงพ่อรวย หลวงพ่อรวย มีความรู้ความสามารถหลายอย่าง ได้รับ การยกย่องให้เป็นพระเกจิอาจารย์ที่เชี่ยวชาญในพุทธาคม ครบเครื่อง วิชาอาคมขลัง ศักดิ์สิทธิ์ เขียนอักขระยันต์ได้ทุก รูปแบบ ประกอบพิธพี ทุ ธาภิเษก มังคลาภิเษก รูพ้ ธิ กี รรมทาง ศาสนาพุทธศาสนา รู้พิธีพราหมณ์ รู้วิชาแพทย์ไทยแผน โบราณ เป็นต้น แม้แต่หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดบ้านไร่ นครราชสีมา ยังกล่าวยกย่องถึงคุณธรรมล�้ำลึกของหลวงพ่อ รวย ทัง้ สองเคยจาริกธุดงค์ แสวงหาครูบาอาจารย์ศกึ ษาวิชา อาคมร่วมครูบาอาจารย์ดว้ ยกันมาก่อน เป็นพระสหธรรมิกที่ มีความคุ้ยเคยสนิทสนมกันมากที่สุด ชาติภูมิ หลวงพ่อรวย นามเดิมว่า “ส�ำรวย” ถือก�ำเนิด เมื่อวัน ศุกร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2464 ณ บ้านตะโก หมู่ที่ 2 ต�ำบลดอนหญ้านาง อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นบุตรคนที่ 6 ในจ�ำนวนพีน่ อ้ งร่วมอุทรเดียวกัน 8 คน ของ โยมพ่อมี และโยมแม่สินลา ศรฤทธิ์ (บรรพบุรุษสกุลศรฤทธิ์ เชื้อสายมาจากชาวกรุงศรีสัตนาคนหุต) ชีวิตในวัยเด็ก ได้ ช่วยเหลือพ่อแม่ประกอบอาชีพท�ำนาอันเป็นอาชีหลักในพืน้ ที่ ลุ่มภาคกลาง ทั้งช่วยเหลือเลี้ยงสัตว์วัว ควาย มาโดยตลอด 244
การศึกษาเบื้องต้น เมื่ออายุ 12 ปี ได้เข้ารับการศึกษาที่ โรงเรียนวัดตะโก เด็ก ๆ ในสมัยนั้นยังไม่มีโรงเรียนประถมศึกษา ของทางราชการ ต้องอาศัยโรงเรียนวัด มีพระสงฆ์เป็นครูสอนบน ศาลาการเปรียญของวัดจนมีความรูอ้ า่ นออกเขียนได้ เทียบความ รูป้ ระถมปีที่ 4 จึงออกจากโรงเรียน ช่วยเหลือกครอบครัวตามเดิม สู่ร่มเงากาสาวพัสตร์ เมื่ออายุ 16 ปี ได้บรรพชาเป็น สามเณรที่วัดตะโก โดยมีพระสมุห์บุญช่วย เจ้าอาวาสวัดตะโก เป็นพระอุปัชฌาย์ ครั้นบวชแล้วได้ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ด้านคันถธุระ (พระปริยัติธรรม) สอบได้นักธรรมชั้นตรี พ.ศ.2484 อายุ 20 ปี ได้ญตั ติจตุตถกรรมวาจาเป็นพระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดตะโก โดยมี พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ พระปลัด จ้อยเจ้าอาวาสวัดวิมลสุนทร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระครูสมุห์ เจ้าอาวาสวัดตะโก เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับ สมณฉายาว่า “ปาสาทิโก” แปลว่า “ ผูม้ ธี รรมเป็นทีต่ งั้ แห่งความ เลื่อมใสศรัทธา” ครัน้ อุปสมบทแล้ว อยูจ่ ำ� พรรษาวัดตะโก เพือ่ ศึกษาต่อด้าน พระปริยตั ธิ รรม จนสอบได้นกั ธรรมชัน้ โท ใน พ.ศ. 2485 และนัก ธรรมชั้นเอก ใน พ.ศ.2487 การศึกษาพุทธาคม เมือ่ สอบนักธรรมชัน้ เอกแล้ว ในพรรษา ที่ 4 พ.ศ. 2488 ท่านคิดว่าการศึกษาด้านปริยตั ธิ รรมเพียงพอแล้ว จึ ง มี ค วามสนใจจะศึ ก ษาปฏิ บั ติ ด ้ า นวิ ป ั ส สนาธุ ร ะ มองเห็ น ประโยชน์ในทางปฏิบัติ จากนั้นได้เดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์ฝึก สมถกรรมฐานวิปัสสนากรรมฐานกับครูบาอาจารย์ ดังนี้ หลวงพ่อชืน่ วัดภาชี อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (พระอุปชั ฌาย์) เชีย่ วชาญวิปสั สนากรรมฐาน ทีส่ บื ทอดพุทธาคม มาจากหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติฯ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักศรัทธา กันมากในยุคนัน้ บรรดาศิษย์ของหลวงพ่อชืน่ มีอยูห่ ลายรูป ส่วน พระสหธรรมิกทีศ่ กึ ษากรรมฐาน และพุทธาคมร่วมส�ำนักกับหลวง พ่อชื่น เป็นศิษย์ของหลวงพ่อกลั่นในสมัยนี้ อาทิ หลวงพ่อใหญ่ หลวงพ่ออั้น หลวงพ่อเภา หลวงพ่อศรี หลวงปู่ดู่ (ปัจจุบันต่างละ
สังขารไปหมดแล้ว) ซึ่งแต่ละรูปมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักคุ้นเคยใน แวดวงพระเครื่องเป็นอย่างดี หลวงพ่อชื่น ได้ถ่ายทอดกรรมฐาน เบื้องต้น รวมทั้งวิชาอาคมสายวัดพระญาติฯ ให้หลวงพ่อรวยทุก สรรพวิชาจนเป็นที่พอใจ หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ อยุธยา มีความเชี่ยวชาญทาง พุทธาคม อักขระเลขยันต์ ได้ถ่ายทอดวิชาอาคมการปลุกเสกพระ เครือ่ งราง อาศัยความขยันหมัน่ เพียร ตัง้ ใจ มุง่ มัน่ ก้าวหน้าไปอย่าง รวดเร็วตามที่ตั้งใจ ครูบาอาจารย์ของหลวงพ่อรวย นอกจากหลวงพ่อชื่น หลวง พ่อแจ่ม ยังมีอกี หลายรูป เมือ่ คราวทีท่ า่ นจาริกธุดงค์ไปพบกับหลวง พ่อคูณ ปริสทุ โธ วัดบ้านไร่ ซึง่ มีทงั้ พระธุดงค์ และฆราวาส ได้ศกึ ษา สมุนไพรแผนโบราณ และวิชาอื่น ๆ อีกหลายอย่าง จนกระทั่งเดิน ทางกลับมาอยูว่ ดั ตะโก ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั หลวง พ่อรวยได้น�ำวิชาความรู้ต่าง ๆ จากครูบาอาจารย์ทั้งสอง มาช่วย เหลือสงเคราะห์ญาติโยมผูเ้ ลือ่ มใสศรัทธา และเป็นทีพ่ งึ่ ทางใจจนถึง ทุกวันนีบ้ ญ ุ ฤทธิ์ บารมีธรรม วัตถุมงคลของหลวงพ่อรวย เป็นทีน่ ยิ ม ในวงกว้างหลาย ๆ รุ่น ปรากฏพุทธคุณความเข้มขลัง โดยเฉพาะ แคล้วคลาดปลอดภัย เมตตาค้าขาย และโชคลาภ ในความขลัง ศักดิส์ ทิ ธิ์ เกิดจากบุญฤทธิบ์ ารมีธรรม ทีม่ กี ารเล่าขานกันในหมูศ่ ษิ ย์ หลายเรื่อง ต่างยอมรับเชื่อถือศรัทธา หลวงพ่อรวย เป็นพระที่เจริญด้วยคุณวุฒิ ทรงคุณธรรม เป็น พระนักพัฒนา และนักปฏิบตั ิ ถึงพร้อมด้วยสรรพวิชาอาคม มีความ เป็นอยู่อย่างสมถะเรียบง่าย พูดน้อย ปฏิบัติมาก แบบอย่างสมณ พุทธบุตร ใครที่ไปกราบนมัสการจะได้รับการสงเคราะห์ ทั้งเจิมรถ อาบน�้ำมนต์ เมตตาหาประมาณมิได้เสมอเหมือนกันทุกคน
หลวงพ่อรวย ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตร พัดยศ สมณศักดิ์ทินนามที่ “พระครูสุนทรธรรมนิวิฐ” เมื่อ พ.ศ.2512 ต่อมาได้สร้างเหรียญเสมารุ่นแรก พ.ศ. 2513
ประวัติการสร้างวัตถุมงคล
หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก ได้ศึกษาวิชาอาคมมาตั้งแต่ พรรษาที่ 4 จาก 4 ครูบาอาจารย์หลายรูปที่มีชื่อเสียง โดย เฉพาะหลวงพ่อชืน่ วัดภาชี (สายหลวงพ่อกลัน่ วัดพระญาติฯ ) หลวงพ่อแจ่ม วัดวังแดงเหนือ ได้น�ำวิชาอาคมเหล่านั้นมา ใช้ประโยชน์สงเคราะห์ญาติโยม และจัดสร้างวัตถุมงคลขึ้น มากมายหลายสิบรุ่นด้วยกัน ซึ่งหลวงพ่อรวย เริ่มสร้างครั้ง แรก (ยุคแรก) ก่อน พ.ศ.2513 หากจะนับยุคกันแล้ว แบ่ง ออกเป็นสองยุค ดังนี้ ยุคต้นก่อน พ.ศ. 2513 ขึ้นไป อาทิ พระพิมพ์สมเด็จ 3 ชัน้ 5 ชัน้ 7 ชัน้ พระปิดตา พระสมเด็จปรกโพธิ์ พระสมเด็จ นาคปรก พระขุนแผน (ซุ้มเรือนแก้ว) พระปาลีลา ส่วนใหญ่ เป็นพระเนื้อดิน เนื้อผง ผสมว่าน ประมาณ 30 กว่าพิมพ์ พุทธคุณเข้มขลัง ปัจจุบันหายากแล้ว ยุคหลังตั้งแต่ พ.ศ.2513 ถึง ปัจจุบัน นับเป็นการเริ่ม ต้นการจัดสร้างอย่างชัดเจนวัตถุมงคลในยุคหลังนี้ หากจะนับ รุ่นนับพิมพ์แล้ว ทั้งเหรียญ พระเนื้อผง และเครื่องรางของ ขลังมากมายเป็นร้อยรุ่น ซึ่งมีทั้งที่วัดจัดสร้างขึ้นเอง เพื่อน�ำ ปัจจัยสร้างถาวรวัตถุ บูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะ ส่วนหนึ่ง จากคณะศิษย์ที่เคารพศรัทธาได้ขออนุญาตจัดสร้าง เพื่อ ประโยชน์สาธารณกุศลในโอกาสส�ำคัญ ๆ น่าเสียดายที่บาง รุ่นหมดไปจกวัดนานแล้ว จะมีอยู่บางรุ่นหลัง ๆ เท่านั้น Ayutthaya 245
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดพระแก้ว วั ด พระแก้ ว ต� ำ บลกระจิ ว อ� ำ เภอภาชี จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา
ความส�ำคัญของวัดพระแก้ว
ในปี พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยา ถูกพม่าตีแตกและเผา ท�ำลายจนเสียหายไม่สามารถบูรณะซ่อมแซมให้ดีได้ดังเดิม ใน ครั้งนั้นพระยาตากสามารถน�ำทหารกลุ่มหนึ่งตีฝ่าวงล้อมของ พม่าออกมาได้ พระยาตากรวบรวมไพร่พลและกอบกูเ้ อกราชได้ ส�ำเร็จ จากนั้นจึงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ครอง กรุงธนบุรี ราชธานีใหม่ของไทย ในปี พุทธศักราช 2311 ทรง พระนามว่า “สมเด็จพระบรมราชาที่ 4” หรือ สมเด็จพระเจ้า กรุงธนบุรี หรือ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในปี พ.ศ. 2321 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มีพระบรม ราชโองการให้เจ้าพระยากษัตริย์ศึก (พระยาจักรี) ยกทัพไปตี เมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงของประเทศลาว เจ้าพระยากษัตริย์ ศึก (พระยาจักรี) สามารถตีเมืองเวียงจันทน์ได้ส�ำเร็จ ได้ กวาดต้อนผู้คน ช้าง ม้า วัว ควาย มาไว้ที่จังหวัดนครราชสีมา และสระบุรี ในครัง้ นัน้ ได้อญ ั เชิญพระแก้วมรกตจากเวียงจันทน์ 246
มาด้วย เมื่อเดินทางผ่านบ้านภาชี ได้อัญเชิญ พระแก้วมรกต ไปประดิษฐานไว้ที่วัดมะกอกแก้ว (ปัจจุบันคือวัดพระแก้ว) ก่อนที่น�ำไปเมืองหลวง เพราะต้องรอฤกษ์ดี ระหว่างพักแรม ที่วัดมะกอกแก้วได้มีการจัดงานสมโภชฉลององค์พระแก้ว มรกต ต่อมาชาวบ้านจึงเปลี่ยนชื่อวัดจากวัดมะกอกแก้ว เป็น วัดพระแก้ว เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลและเป็นการระลึกถึงพระ แก้วมรกตว่า ครั้งหนึ่งเคยมาประดิษฐานอยู่ที่วัดแห่งนี้ ฯ
นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร
SAHA RATTANA NAKORN INDUSTRIAL ESTATE
บริหารงานโดย บริษัท สหรัตนนคร จ�ำกัด ตั้งอยู่ อ�ำเภอนครหลวง อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีที่ดินเปล่าพร้อมขาย, อาคารพาณิชย์-ทาวน์เฮ้าส์พร้อมขาย ระบบสาธารณูปโภคมาตรฐานครบครัน - ระยะทางห่างจากกรุงเทพฯประมาณ 80-90 กิโลเมตร - ได้รับสิทธิประโยชน์ BOI Zone 2 - และสิทธิพิเศษจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
www.saharattananakorn.com
สอบถามรายละเอียดโทร.035-364-012-3 ,087-717-7265 แฟกซ์. 035-364-014 E-mail address : saharat.2531@gmail.com
วัดโตนดเตี้ย
หลวงพ่อใหญ่ วิหารศักดิ์สิทธิ์ ต.อุทัย อ.อุทัย จ.พระนครศรีอยุธยา
วัจังหวัดดท่พระนครศรี าการ้อยุอธยาง