Angthong

Page 1


แว่ น รั ก ษ์ ต า EyE CONSERVATION

ดูแล ปกป้องสายตา คืองานของเรา  บริษัท แว่นรักษ์ตา จ�ำกัด

ผู้เชี่ยวชาญด้านบริการตรวจวัดสายตา ประกอบเลนส์ และจ�ำหน่ายกรอบแว่นสายตา  แว่นกันแดด คอนแทคเลนส์ พร้อมหน่วยรถเคลื่อนที่ ให้บริการตามสถานที่ต่างๆ ที่มีประสบการณ์ และได้รับความไว้วางใจมาอย่างยาวนาน

ห่วงใยใส่ใจดวงตาคุณ

คนส่วนมากเข้าใจอันตรายจากรังสียูวีที่จะมา ท� ำ ลายผิ ว แต่ ยั ง ไม่ รู ้ ถึ ง อั น ตรายจากรั ง สี ยู วี เ อและ ยู วี บี ที่ ส ามารถท� ำ ร้ า ยดวงตาของคุ ณ ได้  จากข้ อ มู ล พบว่ า ในทุ ก ๆ ปี ประชากรจ� ำ นวน 3.2 ล้ า นคน ตาบอด โดยมี ส าเหตุ ม าจากสภาพดวงตาที่ สั ม ผั ส กั บ รังสียูวีเป็นเวลานาน


โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว บ้านฟ้าเคียงดาว เป็นหมู่บ้านขนาดกลาง บนเนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน จ�ำนวน 102 ยูนิต มีให้เลือกทั้งแบบบ้านเดี่ยว ชั้นเดียว และบ้านเดี่ยว 2 ชั้น บนท�ำเลที่อยู่ห่างจากตัวเมืองอ่างทองเพียง 5 กิโลเมตร (ถนนอ่างทอง -โพธิ์ทอง-วิเศษชัยชาญ ใกล้บริเวณสามแยก-ป่างิ้ว ต�ำบลป่างิ้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง) บ้ า นฟ้ า เคี ย งดาว บ้ า นคุ ณ ภาพดี ใ นราคาที่ คุ ณ จั บ จองเป็ น เจ้ า ของได้ ในสังคมคุณภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี สงบเงียบ และปลอดภัย มีทางเข้าออก ทางเดียว จึงง่ายในการดูแลรักษาความปลอดภัย ที่ส�ำคัญน�้ำไม่ท่วม และบ้าน ทุกหลังยกสูงจากพื้นดิน 40-100 เซนติเมตร

สนใจโครงการ กรุณาติดต่อ

ส�ำนักงานใหญ่ Mobile : 085-3334333 ฝ่ายขายจังหวัดอ่างทอง Mobile : 085-3334333, 081-9914500 ฝ่ายขายเสนา Mobile : 080-6263636 คุณลักษมี เหมนิธิ กรรมการผู้จัดการ E-mail : lakkansuta@gmail.com บริษัท ลักษ์กันสุตา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด Website : www.lakkansuta.com


ร่วมสร้างเส้นทางบุญ พระพุทธโลกวิฑูศรีศากายมุนีนารถ

...ณ วัดตาลเจ็ดช่อ วัดตาลเจ็ดช่อ ต�ำบลตลาดกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง

ขอเชิญพุทธศาสนิกชน

• สักการะขอพร สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) หุ่นขี้ผึ้งองค์ใหญ่ที่สุดในโลก • ปิดทองพระพุทธชัยมิ่งมงคลอุดมโชค เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต • ท�ำบุญเลี้ยงอาหารเด็กก�ำพร้าและเด็กยากจนด้อยโอกาสที่อาศัยอยู่ภายในวัด ติดต่อร่วมสร้างเส้นทางบุญได้ที่ พระครูพิบูลพัฒนพิมล เจ้าอาวาสวัดตาลเจ็ดช่อ โทร. 0817 633 061 , 0871 229 473 , 0868 926 792



เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดขุนอินทประมูล วัดขุนอินทประมูล เป็นพระอารามราษฎร์ ชั้นสามัญ ตั้งอยู่หมู่ 3 ตำ�บลบางพลับ อำ�เภอ โพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ประกาศขึ้นทะเบียนวัดในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ตอนที่ 75 เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2470 เนื้อที่ตั้งวัด ประมาณ 120 ไร่ ปัจจุบัน พระครูวเิ ศษชัยวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดชัยมงคล ดำ�รงตำ�แหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดขุนอินทประมูล 4


ประวัติการสร้างพระพุทธไสยาสน์

ประวัติวัดขุนอินทประมูล

เดิ ม วั ด ขุ น อิ น ทประมู ล เป็ น เพี ย งส� ำ นั ก สงฆ์ ที่ ใ ช้ เ ป็ น ที่ วิปัสสนา โดยสร้างเป็นเพิงพักเครื่องไม้ไผ่หลังคามุงแฝกฝีมือ ชาวบ้าน บริเวณทีต่ งั้ เดิมเป็นโคกสูงน�ำ้ ท่วมไม่ถงึ สมัยโบราณเป็น แหล่งที่ชาวบ้านน�ำวัวควายมาปลูกเพิงอาศัยดูแลในฤดูน�้ำท่วม เดือน 11-12 ของทุกปี เมื่อน�้ำลดก็น�ำวัวควายกลับที่พ�ำนักยัง ถิ่นที่อยู่เดิม เป็นดังนี้มาตลอด สมัยโบราณทวาราวดี บริเวณ บ้านบางพลับ ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเล ซึ่งเป็นแนวผ่านมาจากนครปฐม สุพรรณบุรี สิงห์บรุ ไี ปจนถึงเมืองลพบุรหี รือเมืองละโว้เดิม ต่อมา กลายเป็น แม่น�้ำน้อยซึ่งมีคลองบางพลับเป็นคลองเชื่อมระหว่าง แม่น�้ำเจ้าพระยากับแม่น�้ำน้อย เชื่อกันว่าในสมัยสุโขทัยนั้น บ้านบางพลับเป็นชุมชนใหญ่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำน้อยเชื่อมกับ คลองบางพลับ และวัดขุนอินทประมูลตั้งอยู่ริมฝั่งคลองนี้

ต�ำนานสิงหนวัติกล่าวถึงประวัติที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง พระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูลนี้ไว้ว่า สมัยกรุงสุโขทัย ยังรุ่งเรือง ในยุคที่พระยาเลอไทสืบราชสมบัติต่อมาจากพระเจ้า รามค�ำแหงผู้เป็นบิดา ครั้งนั้นพระยาเลอไทเสด็จจากกรุงสุโขทัย เดิ น ทางโดยชลมารค มานมั ส การพระฤาษี สุ ก กะทั น ตะ ณ เขาสมอคอน ในเขตกรุงละโว้ การเสด็จมาครั้งนั้นมาทางแม่น�้ำ ยมเข้าสู่แม่น�้ำปิง แล้วเข้ามาสู่แม่น�้ำเจ้าพระยาตรงแยกแม่น�้ำ มหาศร (ปัจจุบนั เพี้ยนเป็นมหาสอน) เข้ามาเขาสมอคอนอันเป็น ที่พ�ำนักของฤาษี ผู้เป็นอาจารย์ (ฤาษีตนนี้เป็นพระอาจารย์ของ พระเจ้ารามค�ำแหง ผู้เป็นบิดาด้วย) เมื่อนมัสการฤาษีสุก กะทัน ตะแล้ว พักแรมอยู่ ณ เขาสมอคอน 5 เพลา ได้เสด็จข้าม แม่น�้ำเจ้าพระยาล่องมาตามแม่น�้ำน้อย โดยผ่านมาตามคลอง บางพลับเพื่อเสด็จประพาสท้องทุ่ง เนื่องด้วยเวลาที่เสด็จมา นั้นเป็นเวลาน�้ำเหนือบ่า และได้แวะประทับโดยสร้างพลับพลา ณ โคกบางพลับแห่งนี้ ขณะประทับแรมอยู่ ณ โคกบางพลับเวลาสาม เกิดศุภนิมิต ทอดพระเนตรเห็นลูกไฟดวงใหญ่ลอยขึ้นเหนือยอดไม้ หายไปใน อากาศทางทิศตะวันออก จึงเกิดปิตโิ สมนัสและด�ำริสร้าง พระพุทธ ไสยาสน์ขนึ้ เพือ่ เป็นพุทธบูชา ด้วยคติทวี่ า่ พระองค์ประทับแรมอยู่ ณ ที่แห่งนี้ โดยมอบหมายให้นายบ้านเกณฑ์แรงงานทั่วแคว้น แดนลุ่มแม่น�้ำน้อยทั้งหมดได้คนพันเศษขุดหลุม กว้าง 200 วา น�ำท่อนซุงนับร้อยท่อนลงวางขัดตารางเป็นฐาน แล้วขุดบ่อในทุง่ ด้านหลังขนดิน ขึน้ ถมสูง 3 วา (ปัจจุบนั เป็นสระกว้างอยูท่ างด้าน หลังของวัด) ผูค้ นอีกส่วนหนึง่ ระดมท�ำอิฐดินเผา (มีโคกทีเ่ รียกว่า โคกเผาอิฐ และต�ำบลบ้านท่าอิฐ อยู่ในเขตอ�ำเภอโพธิ์ทองใน ปัจจุบัน) เพื่อสร้างพระพุทธไสยาสน์ขึ้น ณ โคกบางพลับแห่งนี้ สิ้นเวลานาน 5 เดือนเป็นแล้วเสร็จ เมื่อเดือน 5 ปี พ.ศ. 1870 ได้ส�ำเร็จองค์พระพุทธไสยาสน์ยาว 20 วา สูง 5 วา เมื่ อ สร้ า งพระพุ ท ธไสยาสน์ เ สร็ จ แล้ ว ขนานนามว่ า “พระพุทธไสยาสน์เลอไทนฤมิตร” มอบให้นายบ้านผู้ดูแลแต่ง ตั้งทาสไว้ 5 คน แล้วเสด็จนิวัติสู่กรุงสุโขทัย เนื่องจากพระพุทธ ไสยาสน์เลอไทนฤมิตร ถูกทอดทิ้งตากแดดตากฝนท่ามกลางป่า รกอยู่นาน การดูแลรักษาก็ไม่ได้กระท�ำต่อเนื่อง จนในที่สุดก็ถูก ทิ้งร้างมานานจนกรุงสุโขทัยเสื่อมอ�ำนาจ ANG THONG 5


การบูรณปฏิสังขรณ์พระพุทธไสยาสน์

เมื่ อ กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยามี อ� ำ นาจขึ้ น มาแทนที่ ในระยะเวลา ดังกล่าวนี้มีพระภิกษุทรงวิทย (ชื่อตามค�ำเรียกของชาวบ้าน หลังจากทีม่ กี ารสร้างพระพุทธไสยาสน์แล้ว) ได้เดินทางมาทีโ่ คก วัดเพือ่ กระท�ำวิปสั สนากรรมฐาน โดยมีกำ� ลังศรัทธาของชาวบ้าน สร้างเพิงพักให้เป็นที่จ�ำวัด ต่อเนื่องกันมาเนิ่นนาน จนถึงกลาง สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยพระเจ้าบรมโกศ ในครั้งนั้นมี นายอากรต�ำแหน่งที่ขุนอินทประมูล นายบ้านบางพลับ แขวง เมืองวิเศษไชยชาญ (ในอดีตการปกครองครอบคลุมถึงสิงห์บุรี และชัยนาท) ในประวัติเล่าสืบต่อมานั้นกล่าวว่าขุนอินทประมูล นัน้ เป็นคนจีน มีชอื่ เดิมว่า “เส็ง” มีภรรยาเป็นคนไทยชือ่ “นาก” ไม่มีบุตรสืบตระกูล ท่านทั้งสองเป็นผู้ที่มีจิตใจใฝ่ในการพระ ศาสนาเป็นอย่างยิ่ง จึงปรารภว่าจะพยายามซ่อมสร้างพระพุทธ ไสยาสน์ และสร้างวัด ณ โคกวัดนีใ้ ห้สำ� เร็จด้วยอุตสาหะแห่งตน ให้จงได้ โดยเริ่มแรกได้น�ำทรัพย์สินส่วนตัวที่เก็บออมไว้ประมาณ 100 ชั่ง ออกมาสร้างวิหาร และเจดีย์ขึ้น ณ โคกใหญ่ด้าน ตะวันออกส�ำเร็จลง เรียบร้อย ต่อมาเห็นว่าพระพุทธไสยาสน์ ทรุดโทรมลงทุกวัน องค์พระแทบทั้งหมดทลายลงกองกับพื้นดิน จึงด�ำริถากถางป่าและซ่อมองค์พระพุทธไสยาสน์ขนึ้ ใหม่ รวมทัง้ จัดสร้างหลังคาคลุมองค์พระพุทธไสยาสน์ขึ้น โดยจัดท�ำเป็นเสา อิฐก่อเครือ่ งบนเป็นเครือ่ งไม้หลังคามุงด้วยหญ้าแฝก เป็นเครือ่ ง 6

กันแดดฝน และได้ขยายองค์พระออกไป เป็นความยาว 25 วา สูง 5 วา 2 ศอก

พระราชทานนามวัดขุนอินทประมูล

การซ่ อ มสร้ า งพระพุ ท ธไสยาสน์ ค รั้ ง นั้ น นั บ เป็ น มู ล ค่ า เงิ น หลายร้อยชั่ง ขุนอินทประมูลน�ำทรัพย์ส่วนตัวออกมาสร้างจนหมด จึงมีเจตนายักยอกพระราชทรัพย์หลายร้อยชั่งน�ำมาสร้างต่อจน ส� ำ เร็ จ แล้ ว พยายามปกปิ ด ไว้ ไ ม่ ย อมให้ ข ่า วแพร่งพรายไปถึง พระนครศรีอยุธยา แต่ข่าวก็เล่าลือไปถึงพระยาวิเศษไชยชาญ เจ้าแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ จึงส่งคนมาสอบถามได้ความจริง จึงน�ำ เรื่ อ งขึ้นกราบทูล พระเจ้า อยู่ หัวบรมโกศ โปรดเกล้ าฯให้ พระยากลาโหมขึ้ น มาไต่ ส วน ขุ น อิ น ทประมู ล ให้ ก ารภาคเสธ จึ ง สั่ ง ให้ ร าชมั ณ ฑ์ ล งทั ณ ฑ์ เ ฆี่ ย น 3 ยก เพื่ อ รั บ เป็ น สั ต ย์ แต่ขุนอินทประมูลไม่ยอมรับสารภาพผิด อ้างว่าเป็นทรัพย์ส่วน ตนจัดสร้างทั้งหมด ด้วยเกรงว่าเมื่อรับสารภาพแล้วส่วนกุศล ทั้ ง หมดที่ ส ร้ า งไว้ จ ะตกแก่ พ ระเจ้ า แผ่ น ดิ น ท้ า ยที่ สุ ด ทนการ ลงทัณฑ์ของราชมัณฑ์ไม่ไหว เมื่อใกล้สิ้นใจได้ขอพระราชทาน โปรดเกล้ า ฯให้ ง ดโทษ แล้ ว สารภาพว่ า ได้ ยั ก ยอกพระราช ทรัพย์ไปจริง แต่มุ่งสร้างให้เป็นการเสริมพระบารมี ภายหลัง ขุนอินทประมูลทนรับการลงทัณฑ์ไม่ไหว ถึงแก่ชีวิตเมื่อวันอังคาร เดือน 5 พ.ศ. 2296 ประมาณอายุได้ 80 ปีเศษพระยากลาโหม กลับไปทูลความให้ทรงทราบ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทราบความ


ตามกราบทูล เสด็จฯมาทอดพระเนตรด้วยพระองค์เอง ทรง เห็ น ว่ า ขุ น อิ น ทประมู ล มี ค วามศรั ท ธาต่ อ พระพุ ท ธศาสนาเป็ น ที่ยิ่ง เพื่อให้เกิดสมมโนรส ทรงโปรดฯให้ฝังร่างของขุนอินทประมูล ไว้ในเขตพระวิหารด้านหลังองค์พระพุทธไสยาสน์ หลังจากท�ำพิธยี ก เกศทองค�ำหนัก 100 ชัง่ พระราชทานประดับเหนือเศียรพระพุทธ ไสยาสน์ พระราชทานนามวัดว่า “วัดขุนอินทประมูล” และถวายนาม พระพุทธไสยาสน์วา ่ “พระพุทธไสยาสน์ขุนอินทประมูล”

วัดขุนอินทประมูลหลังเสียกรุงฯครั้งที่ 2

ตามบันทึกค�ำให้การของชาวกรุงเก่ากล่าวว่า พม่าบุกเข้าปล้น เอาพระเกศทองค�ำ เผาพระวิหารและองค์พระพุทธ ไสยาสน์เสีย หายทั้งหมด เมื่อเสียกรุงแก่พม่าครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 ความใน ประวัติศาสตร์กล่าวสืบเนื่องต่อกันมาเช่นนี้ จริงเท็จเป็นประการ ใดขอยกเว้น วัดขุนอินทประมูลถูกทอดทิ้งให้ร้า งจมอยู่ในป่าโคกวัดนาน ถึง 400 ปีจนล่วงมาสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีประวัติส�ำคัญเกี่ยวกับสมเด็จพระ พุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆัง ว่าครั้งหนึ่งเมื่อประมาณ ปีพ.ศ. 2410 เมื่อสมเด็จฯเดินทางขึ้นมาตรวจสอบพื้่นที่ที่จะสร้าง พระพุทธรูปนั่งพระมหาพุทธพิมพ์ ณ วัดเกศไชโย อ�ำเภอไชโย

จังหวัดอ่างทอง ครั้งนั้นเป็นฤดูน�้ำหลากสมเด็จฯให้ชาวบ้านผู้ ติดตามแจวเรือลัดทุ่งมานมัสการพระพุทธไสยาสน์ วัดขุนอินท ประมูล และพ�ำนักพักค้างคืนอยู่ ณ บริเวณโคกวัดเป็นเวลา 1 คืน หลังจากสมเด็จฯกลับไปวัดระฆังได้เข้าเฝ้าถวายพระพร เรื่องพระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูล ให้รัชกาลที่ 4 ทรงทราบ อันเป็นเหตุให้เมื่อสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองราชย์ ได้เสด็จมานมัสการ พระพุทธไสยาสน์วัดขุนอินทประมูล เมื่อพ.ศ. 2421 และเมื่อ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2451 (ร.ศ.127)

การบูรณปฏิสังขรณ์วัดขุนอินทประมูล

วัดขุนอินทประมูล เริ่มมีการพัฒนาชัดเจนเมื่อปีพ.ศ. 2501 ซึ่งมีพระอธิการสร้าง ธีรปัญโญ มาครองวัดเป็นเจ้าอาวาสแต่ง ตัง้ องค์แรก ท่านได้ซอ้ื ทีด่ นิ ขยายอาณาเขตวัดออกไปทัง้ ทิศตะวัน ออกและทิศตะวันตก เริม่ สร้างอาคารเสนาสนะต่าง ๆ อาทิ กุฏิ สงฆ์ กุฏิเจ้าอาวาส ศาลาการเปรียญ ฯลฯ กรมศิลปากรได้ขึ้น ทะเบียนโบราณสถานวัดขุนอินทประมูลไว้เมือ่ ปี พ.ศ. 2500 และ เริ่มการซ่อมแซมครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2509 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ได้เสด็จพระราชด�ำเนินนมัสการ พระพุทธไสยาสน์วดั ขุนอินทประมูล 2 ครัง้ ในปี พ.ศ.2516 และ ANG THONG 7


พ.ศ. 2518 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมารเสด็จ พระราชด�ำเนินมานมัสการ พระพุทธไสยาสน์วดั ขุนอินทประมูลนี้ ในปีพ.ศ. 2519 ปัจจุบันพระครูวิเศษชัยวัฒน์ เจ้าอาวาสวัด ชัยมงคล ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาส

งานประจ�ำปีของวัดขุนอินทประมูล

วัดขุนอินทประมูล ก�ำหนดจัดงานนมัสการพระพุทธไสยาสน์ ขึ้น พร้อม ๆ กับการจัดงานเกษตรแฟร์ของวัด ซึ่งจัดร่วมกับ จังหวัดอ่างทอง ในช่วงเทศกาลตรุษจีน โดยใช้ชอื่ ว่า “งานเกษตร และของดีเมืองอ่างทอง” ส�ำหรับงานเกษตรและของดีเมืองอ่างทองนัน้ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรกร ชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ ปลูกผัก เลี้ยงปลา ฯลฯ ได้มาเจอกับผู้ซื้อโดยตรงสักครั้งหนึ่ง และเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ของจังหวัดอ่างทองให้เป็นเมืองเกษตร แหล่งผลิต อาหารปลอดภัย น�ำวิชาการด้านการเกษตรและเทคโนโลยี ใหม่ ไ ปรั บ ใช้ ใ นการเพิ่ ม ผลผลิ ต สร้ า งรายได้ ข องประชาชน สร้างโอกาสให้เกษตรกรและผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ของดี จังหวัดอ่างทอง ผลิตภัณฑ์ OTOP ได้จัดแสดง จ�ำหน่าย และ เข้าสู่ตลาดค้าขายโดยตรง เป็นการประชาสัมพันธ์ดา้ นการท่อง เที่ยวของจังหวัดอ่างทอง ทั้งนี้วัดยังให้หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดนิทรรศการการลดต้นทุนการผลิตภาคเกษตร การแสดง ดนตรีพื้นบ้าน การน�ำผลิตผลการเกษตรมาจ�ำหน่าย การแสดง 8


ละครชาตรี เรื่อง พระอภัยมณี การประกวดกลองยาว จ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนโอท็อป วิสาหกิจชุมชนตลาดย้อนยุค สาธิตและฝึก อาชีพ รวมทั้งการจ�ำหน่ายเครื่องจักรกลการเกษตร ฯลฯ ส่วนกิจกรรมทางพุทธศาสนานั้น นอกจากห่มผ้าพระนอนวัด ขุนอินทประมูลแล้ว ลานโล่งด้านหน้าพระนอนวัดขุนอินทประมูล ยังจัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ดา้ นพันธุ์พืช และพันธุ์ผักสายพันธุ์ตา่ ง ๆ โดยการท�ำอุโมงค์ผัก แปลงสาธิต ฯลฯ พระครูวิเศษชัยวัฒน์ รักษาการเจ้าอาวาสวัดขุนอินทประมูล กล่าวถึงการจัดงานพร้อมกันสองงานว่า “การจัดงานวัดให้เป็นวิกเหมือนในอดีตนัน้ ไม่ได้เกิดประโยชน์ โดยตรงกับส่วนรวมที่แท้จริง จริงอยู่ว่าวัดอาจจะได้เงินเข้าวัด แต่เกษตรกรที่อยู่ใกล้พื้นที่ตั้งวัดไม่ได้อะไร เมื่อเปลี่ยนรูปแบบการ จัดงาน ก็จะได้กันทุกภาคส่วน วัดยังได้เหมือนเดิม ส่วนที่ได้เพิ่ม เติมมาคือ เกษตรกรได้ขายผลผลิต คนมาวัดได้ซื้อสินค้ามีคุณภาพ และราคาถูกจากเกษตรกรโดยตรง” จึงขอเชิญชวนนักท่องเที่ยวและพุทธศาสนิกชนมาร่วมงาน นมัสการพระพุทธไสยาสน์ และงานเกษตรและของดีเมืองอ่างทอง ซึ่งจัดขึ้นประจ�ำทุกปีในเทศกาลตรุษจีน งานนี้นอกจากท่านจะ ได้ร่วมท�ำบุญใหญ่กับทางวัดแล้ว ยังจะได้ซ้ือหาผลผลิตคุณภาพ สดใหม่-ปลอดสารพิษจากเกษตรกรผู้ผลิตโดยตรง และยังได้เลือก ซื้อหาสินค้าโอท็อปขึ้นชื่อของจังหวัดอ่างทองอีกด้วย

การเดินทาง

1. สายอ่างทอง-อ�ำเภอโพธิ์ทอง (เส้นทาง 3064) แยกขวา ที่กม. 9 เข้าไปอีกประมาณ 2 กม. 2. จากจังหวัดสิงห์บุรีไปทางอ�ำเภอไชโย ประมาณกม.ที่ 8 จะมีทางแยกซ้ายมือเข้าถึงวัดเป็นระยะทาง 4 กม. 3. จากเส้นทางตัดใหม่สายอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ-โพธิ์ทอง (ถนนเลียบคลองชลประทาน) เมื่อถึงอ�ำเภอโพธิ์ทองมีทางแยก เข้าวัดอีก 2 กม. ANG THONG 9


คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ดวงตา พิมลศิริ, ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค ช่างภาพ กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์, ชัยวิชญ์ แสงใส, ฐกร วรจุฑาวงศ์ กราฟิคดีไซน์ อิสระพงศ์ เกลอดู ผู้อํานวยการฝ่ายขายโฆษณา กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน กิตติชัย ศรีสมุทร, รุ่งโรจน์ เสาร์ปา ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ คชฤทธิ ชุ่มอูป ฝ่าย IT และประสานงาน ดวงตา พิมลศิริ, ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อรพรรณ มะณี, อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธุ์ บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จํากัด 9/4-8 ถ.รามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com E-mail : sbl2553@gmail.com

EDITOR’S TALK หลายท่านอาจทราบดีว่าจังหวัดอ่างทองเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น�้ำ แต่หลายท่าน อาจยังไม่ทราบว่าอ่างทองสามารถส่งข้าวคุณภาพไปขายยังต่างประเทศได้มาก เป็นอันดับหนึ่งของประเทศ และที่น่าสนใจยิ่งไปกว่านั้นก็คือ จังหวัดอ่างทอง มี พั ฒ นาการทางประวั ติ ศ าสตร์ อ ย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ โดยเฉพาะในสมั ย กรุ ง ศรี อยุธยานั้น อ่างทองหรือแขวงเมืองวิเศษชัยชาญในอดีตนั้น เป็นทั้งสมรภูมิรบ เส้นทางเดินทัพ และที่ตั้งค่ายทหาร ดังที่เรา ๆ ท่าน ๆ ต่างคุ้นเคยกับเรื่องราว ความกล้าหาญของชาวบ้านบางระจัน และวีรกรรมของขุนรองปลัดชูกบั กองอาทมาต ด้วยเหตุนเี้ องจังหวัดอ่างทองจึงมีศกั ยภาพด้านการท่องเทีย่ ว ทัง้ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ทางประวัตศิ าสตร์ ตลอดจนกิจกรรมท่องเทีย่ วอันเกีย่ วเนือ่ งกับประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชาวอ่างทอง ที่ล้วนแล้วแต่มีความน่าสนใจ นิตยสาร SBL ได้รวบรวมเรือ่ งราวหลากหลายของจังหวัดอ่างทองมาให้ทา่ น ได้อ่านอย่างจุใจ อาทิ ขอพรหลวงพ่อสดองค์ที่ใหญ่ที่สุด เพื่อให้มีความสุขสดชื่น และที่ส�ำคัญคือมีเงินสดใช้ไม่ขาดมือ ณ วัดจันทรังษี สักการะหุ่นขี้ผึ้งองค์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ใหญ่ที่สุดในโลก ณ วัดตาลเจ็ดช่อ แตะพระบาทพระพุทธไสยาสน์กลางแจ้งองค์ทยี่ าวทีส่ ดุ ในโลก เพือ่ ขอพรให้ชวี ติ ยืนยาว ณ วัดขุนอินทประมูล และเรื่องราวที่น่าสนใจของ อ.สรรค์ คงเวทย์ ผู้สืบสายสักยันต์มาตั้งแต่สมัยล้นเกล้าฯรัชกาลที่ 5 ซึ่งปัจจุบันท่านยังได้สร้าง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแก และให้ความอุปการะเด็กก�ำพร้าด้วยการสร้างงาน สร้างอาชีพ พร้อมข้อมูลที่เที่ยว ที่ช็อปปิ้งจากอ�ำเภอ และอปท.ต่าง ๆ ในจังหวัด อ่างทอง ฯลฯ ในโอกาสนี้ กระผมขอกล่าวขอบพระคุณ “ท่านวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี” ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง “ท่านสมฤกษ์ บัวใหญ่” และ “ท่านขจรชัย วัฒนาประยูร” รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดอ่างทอง “ท่านธีรพัฒน์ คัชมาตย์” ท้องถิน่ จังหวัดอ่างทอง และ “ท่านปรีชา เดชพันธุ”์ หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดอ่างทอง ซึง่ ทุกท่าน ต่างกรุณาให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวในจังหวัด และอ�ำนวยความสะดวก ในการจัดท�ำเนือ้ หาอย่างดียงิ่ ตลอดจนขอขอบคุณ อปท. ศาสนสถาน และบริษทั / ห้างร้านต่าง ๆ ที่กรุณาสนับสนุนการจัดพิมพ์ในครั้งนี้ ท้ายนีก้ ระผมขออาราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสากลโลก โปรดประทานพรให้ทกุ ๆ ท่าน ประสบแต่ความสุข ความเจริญ คิดหวังสิ่งใดขอให้สมความปรารถนา และ หากมีสิ่งใดขาดตกบกพร่อง ทีมงานนิตยสาร SBL พร้อมรับฟังค�ำชี้แนะและจะ น�ำไปปรับปรุงให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไปครับ ติดต่อคุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอำ�นวยการ


เส้นทางพบ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

นายชวลิต ฟื้นสุวรรณ ผู้จัดการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดอ่างทอง

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดอ่างทอง “มุ่งมั่นสูความเป็นองค์กรทันสมัย ยึดหลักธรรมาภิบาล มีขีดสมรรถนะสูง สร้างความสุขให้แก่พนักงานและลูกค้าอย่างยั่งยืน”

การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคจั ง หวั ด อ่ า งทอง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 59 ต�ำบลโพสะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000 โทรศัพท์ 035 612 701 โทรสาร 035 620 124 โดยมีการไฟฟ้าในสังกัด 6 แห่ง คือ 1.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ โทรศัพท์ 035 631 466 โทรสาร 035 632 016 2.การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอโพธิ์ทอง โทรศัพท์ 035 691 507 โทรสาร 035 640 260 3.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอ�ำเภอ ป่าโมก โทรศัพท์ 035 661 333 โทรสาร 035 662 464 4.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาย่อยอ�ำเภอแสวงหา โทรศัพท์ 035 695 147 โทรสาร 035 695 184 5.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขา ย่อยอ�ำเภอสามโก้ โทรศัพท์ 035 697 059 โทรสาร 035 697 537 6.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาย่อยอ�ำเภอไชโย โทรศัพท์ 035 699 251 โทรสาร 035 699 251 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัด อ่างทอง ด�ำเนินงานตาม วิสัยทัศน์ (Vission) เป็นองค์กรชั้นน�ำที่ ทันสมัย มุง่ มัน่ ให้บริการพลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ เชือ่ ถือ ได้ เพือ่ คุณภาพชีวติ เศรษฐกิจและสังคมทีย่ งั่ ยืน ภารกิจ (Mission) จัดหา ให้บริการพลังงานไฟฟ้าและด�ำเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่อง เพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ให้ เ กิ ด ความพึ ง พอใจ ทั้งด้านคุณภาพและบริการ โดยการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ค่านิยมร่วม (Core Value) บริการดี มีคณ ุ ธรรม การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจังหวัดอ่างทอง โดยนายชวลิต ฟื้นสุวรรณ ผู้จัดการ จึงได้สนองนโยบาย ด้วยการ จัดกิจกรรม CSR ในแต่ปีด�ำเนินการหลายกิจกรรม เช่น

1. กิ จ กรรมเนื่ อ งในวั น เด็ ก แห่ ง ชาติ ปี 2559 ในการนี้ นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ให้เกียรติมา มอบรางวัลแก่เด็กที่มาร่วมกิจกรรม ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัด อ่างทอง ต�ำบลป่างิ้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2559 2. โครงการ “PEA ห่ ว งใย ใส่ ใ จทุ ก ชี วิ ต ” โดยมี นายสมลักษณ์ กิ่งมาลา ผู้อ�ำนวยการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 1 ภาคกลาง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นประธานพิธีเปิดโครงการ อบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้าอย่าง ประหยัดและถูกวิธแี ก่นกั เรียน ณ โรงเรียนวัดโพธิเ์ กรียบ ต�ำบลสามง่าม อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2558 3. โครงการ “PEA ห่ ว งใย ใส่ ใ จทุ ก ชี วิ ต ” โดยมี นายขจรชัย วัฒนาประยูร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เป็น ประธานพิธเี ปิดโครงการอบรมให้ความรูด้ า้ นความปลอดภัยในการใช้ ไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและถูกวิธแี ก่ประชาชน ณ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลสายทอง ต�ำบลสายทอง อ�ำเภอป่าโมก จังหวัด อ่างทอง เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2558 4. โครงการ “ชุมชนปลอดภัย ใช้ไฟ PEA” ในการนีไ้ ด้อบรม ด้านการตรวจสอบระบบไฟฟ้าให้ผู้ใช้ไฟ จ�ำนวน 3,000 ครัวเรือน โดยให้ความรู้แก่นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง วิทยาลัยการ อาชีพอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ และวิทยาลัยการอาชีพอ�ำเภอโพธิ์ทอง มีนายปัญญา นพศรี รองผู้จัดการ (เทคนิค) การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดอ่างทอง ประธานพิธเี ปิดโครงการ ณ ห้องประชุมการไฟฟ้า ANG THONG 11


Contents

ANGTHONG 20 เส้นทางพบผู้ว่าฯ

93 วัดราชปักษี

เส้นทางท่องเที่ยว

62

เส้นทางพบ นายกเหล่ากาชาดฯ

74

เส้นทางความเป็นมา Contents/Angthong 2 วัดตาลเจ็ดช่อ 4 วัดขุนอินทประมูล 16 ใต้ร่มพระบารมี 20 เส้นทางพบผู้ว่าฯ “นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี” 30 เส้นทางพบนายกเหล่ากาชาดฯ “นางทักษณิภร ปุตระเศรณี” 36 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯ “นายสมฤกษ์ บัวใหญ่” 42 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯ “นายขจรชัย วัฒนาประยูร” 48 เส้นทางพบสำ�นักงานจังหวัดฯ “นายปรีชา เดชพันธุ์”

30

52

เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดฯ “นายธีรพัฒน์ คัชมาตย์” 56 สนง.เกษตรจังหวัดฯ 58 สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัดฯ 60 สนง.ประกันสังคมจังหวัดฯ 62 เส้นทางท่องเที่ยว 74 เส้นทางความเป็นมา 84 เส้นทางพบ อ.เมืองอ่างทอง 86 ทต.โพสะ 89 เทศบาลเมือง 90 ทต.ศาลาแดง 93 วัดราชปักษี 94 อบต.ป่างิ้ว

36 เส้นทางพบรองผู้ว่าฯ


52

วีระพงศ์ เจริญฟาร์ม

167

วัดป่าโมกวรวิหาร

106

154 98 101 104 106 108 110 114 116 118 121 124 126 128 130 132

วัดจันทรังษี สำ�นักยันต์ อ.สรรค์ คงเวทย์

อบต.บ้านอิฐ อบต.คลองวัว อบต.หัวไผ่ วัดจันทรังษี วัดตาลเจ็ดช่อ วีระพงศ์ เจริญฟาร์ม เส้นทางพบ อ.วิเศษชัยชาญ ทต.ไผ่ดำ�พัฒนา อบต.หัวตะพาน อบต.คลองขนาก อบต.ตลาดใหม่ อบต.หลักแก้ว อบต.ยี่ล้น อบต.ศาลเจ้าโรงทอง วัดอบทม

134 วัดท่าช้าง 138 เส้นทางพบ อ.โพธิ์ทอง 140 ทต.โคกพุทรา 143 อบต.อินทประมูล 146 อบต.บางพลับ 150 วัดโพธิ์ทองนอก 152 วัดคำ�หยาด 154 สำ�นักยันต์ อ.สรรค์ คงเวทย์ 162 เส้นทางพบ อ.ป่าโมก 164 อบต.โผงเผง 167 วัดป่าโมกวรวิหาร 168 วัดกุญชรชาติการาม 170 อบต.โรงช้าง 172 อบต.สายทอง 174 เส้นทางพบ อ.แสวงหา

168

วัดกุญชรชาติการาม


บริษัท สยาม โซล่า เพาเวอร์ จ�ำกัด ก่อตั้งในปี 2553 เป็นการร่วมทุนระหว่าง กลุ่มบริษัท SSG และ TTCL (PLC.) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ประกอบกิ จ การโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ด้ ว ยแนวคิ ด “พลังงานบริสุทธิ์เพื่อสิ่งแวดล้อม” และจากแนวคิดนี้ก็ได้พัฒนามาเป็นวิสัยทัศน์ ของบริษัท

“พลังงานบริสุทธิ์เพื่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน ด้วยพลังงานหมุนเวียนเพื่ออนาคตของลูกหลาน” โดยมีพันธกิจ 1.

ผลิตกระแสไฟฟ้าให้ได้คุณภาพ และมีประสิทธิภาพสูงสุด สร้างความสัมพันธ์ในชุมชน เกิดศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น

2.

เราคือผู้ประกอบการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพ สามารถสร้างโรงไฟฟ้าแห่งใหม่ได้รวดเร็ว ด้วยประสิทธิภาพในการผลิตสูงและต้นทุนต�่ำ


โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ โ ครงการ แรกของบริษัทฯ ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง บนเนื้อที่ 132 ไร่ มีก�ำลังการผลิต 8 เมกกะวัตต์ AC โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2555 แล้วเสร็จวันที่ 9 ธันวาคม 2555 และด� ำ เนิ น การผลิ ต ไฟฟ้ า ส่ ง เข้ า ระบบของ การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าควั น ที่ 29 มี น าคม 2556

หลังจากด�ำเนินกิจการมาได้ระยะหนึ่ง บริษัท ก็จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ขึ้นภายในโครงการ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความรู ้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ เทคโนโลยี พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ซึ่ ง เป็ น พลั ง งานสะอาด ไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มให้ กั บ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และ ประชาชนทั่วไป ปัจจุบัน บริษัทฯ มีนโยบายในการส่งเสริม กิ จ กรรมต่ า งๆ ของชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ทั้งการจัดกิจกรรมวันเด็ก, กิจกรรมแข่ง เรื อ ยาว, การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอล (โพธิ์ ท อง คัพ), สนับสนุนเครื่องเล่นเด็กให้แก่โรงเรียน โคกพุทรา ฯลฯ เป็นการสร้างความสัมพันธ์ อันดีระหว่างองค์กรและชาวบ้านในพื้นที่


ใต้ร่มพระบารมี

โครงการพัฒนาพื้นที่แก้มลิงหนองเจ็ดเส้น อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริฯ จังหวัดอ่างทอง

โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ แ ก้ ม ลิ ง หนองเจ็ ด เส้ น ฯ ตั้ ง อยู่ ฝั่ ง ตะวั น ตกถนนพหลโยธิ น ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ตำ � บลสายทอง อำ�เภอปาโมก จังหวัดอ่างทอง มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 320 ไร่ ประกอบด้วยสระน้ำ�จำ�นวน 2 สระ พื้นที่ 99 และ 163 ไร่ ตามลำ�ดับ สามารถรองรับน้ำ�ได้ 1,567,200 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งนอกจากจะช่วยกักเก็บน้ำ�ในช่วงฤดูฝนแล้ว ในช่วงฤดูแล้ง โครงการแห่งนี้ยังทำ�หน้าที่ส่งน้ำ�ให้แก่เกษตรกรรอบบริเวณโครงการฯ เพื่อใช้ในการเกษตรได้ และปัจจุบันยังเป็นที่ตั้งของ “อุทยานสวรรค์115 ปี หนองเจ็ดเส้นเฉลิมพระเกียรติฯ” สถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดอ่างทองด้วย 16


รายละเอียดโครงการ

ที่มาของโครงการ

สืบเนื่องจากพื้นที่บริเวณหนองเจ็ดเส้น เป็นพื้นที่ราชพัสดุ ไม่ได้ใช้ประโยชน์และรกร้างว่างเปล่า ประสบปัญหาน�้ำท่วม ซ�้ำซาก จังหวัดอ่างทองจึงได้น้อมน�ำพระราชด�ำริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เรือ่ งโครงการแก้มลิงมาใช้ โดยสามารถ เก็บน�ำ้ ไว้ในฤดูนำ�้ หลาก เพือ่ บรรเทาความเดือดร้อนจากน�ำ้ ท่วม ได้ และในช่วงฤดูแล้งก็สามารถน�ำน�้ำให้เกษตรกรในพื้นที่ข้าง เคียงใช้ประโยชน์ในการอุปโภค บริโภค และการเกษตรได้ พืน้ ที่ รอบหนองเจ็ดเส้นสามารถพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรูต้ ามแนวพระ ราชด�ำริ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว และเป็นการอนุรักษ์แหล่ง เพาะพันธุป์ ลา และแหล่งนำ�้ ธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สงู สุดกับ ชุมชน

ระยะที่ 1 ด้านการพัฒนาแหล่งน�ำ้ และการบริหารจัดการน�ำ้ - ปี 2537 ขุ ด ลอกบริ เ วณพื้ น ที่ ข นาด 99 ไร่ โดยกรมชลประทาน ใช้งบประมาณ 15 ล้านบาท - ปี 2549 ขุดลอกพื้นที่ 73 ไร่ โดยใช้งบประมาณ การบริหารจัดการของผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง (CEO) งบประมาณ 9 ล้านบาท - ปี 2550 ขุดลอกและปรับปรุงท่อรับน�้ำ ระบายน�้ำ โดยใช้งบประมาณของมูลนิธิชัยพัฒนา พื้นที่ขนาด 90 ไร่ งบประมาณ 14.6 ล้านบาท ระยะที่ 2 ด้านการพัฒนาพื้นที่บริเวณโดยรอบแก้มลิง หนองเจ็ดเส้นให้เป็นแหล่งเรียนรู้การเกษตรตามแนวพระ ราชด�ำริ ด�ำเนินการโดยใช้งบประมาณมูลนิธิชัยพัฒนา และ งบพัฒนาจังหวัดอ่างทอง ปี 2554 ได้จดั ท�ำโครงการอุทยานสวรรค์ 115 ปี อ่างทอง หนองเจ็ดเส้น เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 โดยจัดกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์ และจัดแสดงพื้นเขตร้อน ชื้น จัดแสดงลานดอกไม้แฟนตาซี จัดแสดงสวนบัวและพันธุ์ ไม้น�้ำ อุโมงค์ผัก จัดกิจกรรมอนุรักษ์สัตว์น�้ำ และกิจกรรม เพื่อการเกษตร ฯลฯ นอกจากนี้ ยังได้จัดสรรงบประมาณเพื่อ สนับสนุนการด�ำเนินงานปรับปรุงพัฒนา เพือ่ ให้เป็นแหล่งท่อง เที่ยวของจังหวัดอ่างทอง เพื่อด�ำรงความยั่งยืนต่อไป โดยได้ ก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ และปรับปรุงบริเวณรอบอาคาร โรงสี ปี 2556 มีการจัดโครงการ/กิจกรรม ดังนี้ 1. ดาดคอนกรีตบริเวณคลองยายนวลและคลองไส้ไก่ บริเวณโดยรอบโครงการ ระยะทางประมาณ 1,800 เมตร และจากการปรับปรุงคลองส่งน�้ำบริเวณโดยรอบแก้มลิงหนอง เจ็ดเส้นนั้น ส่งผลให้การบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่โดยรอบแก้ม ลิง พื้นที่กว่า 2,000 ไร่ มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งเกษตรกร จ�ำนวนกว่า 200 ครัวเรือน ที่มีแปลงนาอยู่ใกล้คลองสามารถ ปล่อยน�้ำเข้าแปลงนาของตนเองได้ โดยไม่ต้องตั้งเครื่องยนต์ สูบน�้ำ ถือเป็นการลดต้นทุนการท�ำนาข้าวได้จ�ำนวนมาก โดย เฉลี่ยแล้วสามารถลดต้นทุนจากค่าสูบน�้ำได้ไร่ละประมาณ ANG THONG 17


300-500 บาท และยังช่วยป้องกันปัญหาการเกิดน�้ำท่วมขังในแปลงนา ของเกษตรกรได้ เนื่องจากการระบายน�้ำในล�ำคลองสามารถระบายได้ รวดเร็วขึ้น 2. พัฒนาและปรับปรุงพื้นที่แก้มลิงหนองเจ็ดเส้นในพื้นที่ ท�ำให้ เกษตรกรสมาชิกโครงการ จ�ำนวน 9 ครัวเรือน มีความรูค้ วามเข้าใจด้าน การเพาะช�ำกล้าไม้ดอกไม้ประดับ และพืชผักต่าง ๆ สามารถน�ำความ รู้ที่ได้จากการเข้ารับการอบรมมาใช้ในการเพาะช�ำกล้าไม้ฯ สร้างรายได้ เสริม จัดซือ้ วัสดุอปุ กรณ์ในการปฏิบตั งิ าน คือ เครือ่ งคอมพิวเตอร์พร้อม อุปกรณ์ต่อพ่วง 1 ชุด หมึกพิมพ์ กระดาษ ฯลฯ และชุดนิทรรศการ ประชาสัมพันธ์ 5 ชุด เพื่อประชาสัมพันธ์และต้อนรับนักท่องเที่ยวที่มา เยี่ยมชมโครงการฯ ได้รับความรู้ และข้อมูลความเป็นมาของโครงการ ผ่านชุดนิทรรศการที่จัดแสดง และแจกเอกสารเผยแพร่ที่จัดท�ำขึ้น โดย สถิติผู้ที่มาเที่ยวชมโครงการฯ ประมาณ 20,000 คน/ปี 18


3. โครงการส่งเสริมพืน้ ทีส่ เี ขียว โดยมีกจิ กรรมปลูกต้นไม้ 6,000 ต้น เพื่อสร้างร่มเงาและความชุ่มชื้นให้พื้นที่โครงการ มากขึน้ ดินมีโครงสร้างทีด่ ขี นึ้ สร้างภูมทิ ศั น์ทสี่ วยงามให้พนื้ ที่ เป็นแหล่งพักผ่อนแห่งใหม่ของจังหวัดอ่างทอง และใกล้เคียง 4. กิจกรรมสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด จ�ำนวน 29 ไร่ สาธิต การใช้ปุ๋ยหมักและน�้ำหมักชีวภาพ จ�ำนวน 29 ไร่ และสาธิต การปรับปรุงพื้นที่ดินเปรี้ยวดินกรด จ�ำนวน 29 ไร่ เพื่อช่วย ปรับปรุงโครงสร้างของดิน ช่วยให้ดินอุดมสมบูรณ์ เพิ่มธาตุ อาหารให้กับดิน และปรับค่า pH ของดินให้เหมาะสมกับการ ปลูกพืช มีเกษตรกรได้รับประโยชน์ จ�ำนวน 20 คน/9 ครัว เรือน และประชนชนพื้นที่รอบ ๆ โครงการฯ 400 คน/100 ครัวเรือน 5. กิ จ กรรมอบรมเกษตรกร และจั ด ท�ำแปลงสาธิ ต ลดต้นทุนการผลิตข้าว ซึ่งการลดต้นทุนการผลิตข้าวตาม กระบวนการโรงเรียนชาวนา ทีไ่ ด้น�ำมาเผยแพร่ให้แก่เกษตรกร ที่ท�ำการเกษตรโดยรอบโครงการ จ�ำนวน 100 ราย พื้นที่ 2,000 ไร่ ในครั้งนี้จะท�ำให้ต้นทุนการท�ำนาลดลงจากเดิมที่ ทุนที่เกษตรกรใช้ท�ำนา 1 ไร่ ประมาณ 5,500 บาท หากใช้ ตามกระบวนการโรงเรียนชาวนาจะมีต้นทุนเฉลี่ย ประมาณ 3,000 บาทเท่านั้น คิดเป็นต้นทุนที่ลดลง 2,500 บาท/ไร่ มูลค่าต้นทุนการท�ำนาที่ลดลงรวมทั้งหมด 5 แสนบาท/การ ท�ำนา 1 ฤดูกาลผลิต (พื้นที่ 2,000 ไร่) และการท�ำนาแบบ โยนกล้านั้นจะใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวต่อไร่เพียง 5-10 กิโลกรัม แต่ การท�ำนาหว่านแบบปกติของเกษตรกรจะใช้อตั ราเมล็ดพันธุส์ งู ถึง 30 กิโลกรัม/ไร่ ซึ่งจะสามารถลดการใช้เมล็ดพันธุ์ได้ 20 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็นต้นทุนที่ลดลงประมาณ 400-600 บาท/ ไร่ และลดปัญหาการระบาดของวัชพืช รวมทั้งข้าววัชพืชใน แปลงนาได้เป็นอย่างดี โดยที่เก็บเกี่ยวแล้วให้ผลผลิตต่อไร่ไม่ แตกต่างกัน โดยเกษตรกรบริเวณรอบโครงการบางรายได้เริ่ม น�ำวิธีการท�ำนาแบบโยนกล้าไปปรับใช้ในแปลงนาของตนเอง แล้ว ซึ่งหากเกษตรกรรายอื่น ๆ ที่มีพื้นที่นาโดยรอบแก้มลิง (พื้นที่รวม 2,000 ไร่) น�ำวิธีการท�ำนาแบบโยนกล้ามาใช้ จะ

สามารถลดต้นทุนได้อย่างมาก คิดเป็นมูลค่าต้นทุนการท�ำนา เฉลี่ยที่ลดลงรวมทั้งสิ้น 1,400,000 บาท/การท�ำนา 1 ฤดูกาล งบประมาณ ปี 2554 : งบพัฒนาจังหวัดอ่างทอง จ�ำนวน 2,700,000 บาท และงบพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 จ�ำนวน 123,000 บาท ปี 2556 : งบกรมทรัพยากรน�้ำ จ�ำนวน 8,000,000 บาท, งบพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ จ�ำนวน 229,300 บาท และ 1,224,400 บาท, งบกรมพัฒนาที่ดิน จ�ำนวน 66,800 บาท และงบศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรีอยุธยา กรมการข้าว จ�ำนวน 150,000 บาท แหล่งงบประมาณปัจจุบัน ได้แก่ งบกรมทรัพยากรน�้ำ, งบพัฒนาจังหวัดแบบบูรณาการ, งบกรมพัฒนาที่ดิน และงบ ศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรีอยุธยา กรมการข้าว

หน่วยงานรับผิดชอบ

กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยส�ำนั ก งานเกษตรจั ง หวั ด อ่ า งทอง, กรมพั ฒ นาที่ ดิ น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรมทรัพยากรน�้ำ, ส�ำนักงาน ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม, ศู น ย์ วิ จั ย ข้ า ว พระนครศรีอยุธยา กรมการข้าว, อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง และอ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ขอขอบคุณข้อมูลจาก “โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดอ่างทอง”

ANG THONG 19


วีระพงศ์เจริญฟาร์ม... เซียนนกกระทาครบวงจร อ่างทอง เป็นหนึ่งในจังหวัดที่เลี้ยงนกกระทาใหญ่ ที่สุดในประเทศ ปัจจุบันปริมาณการบริโภคเนื้อและไข่นก กระทาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุนี้เอง “คุณระวีพงศ์ วีระพงศ์” หรือ “คุณเต้ย” เล็งเห็นช่องทางตลาดที่เติบโต ขึ้นเป็นลำ�ดับ จึงหันมาทำ�ฟาร์มเลี้ยงนกกระทาแบบครบ วงจรมานานกว่าสิบปี จนอาจเรียกได้ว่าเป็น “เซียนนก กระทาแห่งเมืองอ่างทอง” พัฒนาการฟาร์มนกกระทา

ในอดีตเกษตรกรผู้เลี้ยงนกกระทาส่วนมากจะเลี้ยงแบบ ระบบเปิด แต่ปัจจุบันสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง มาก โดยเฉพาะสภาพภูมิอากาศ ท�ำให้ผู้เลี้ยงต้องปรับเปลี่ยน ระบบการเลี้ยง ดังที่คุณเต้ยให้ข้อสังเกตว่า “เลี้ยงแบบสมัยก่อนนกกระทาจะไม่ค่อยมีปัญหา แต่สมัยนี้เลี้ยง แบบเดิมไม่ได้ พออากาศร้อนหรืออากาศเย็น นกกระทาก็มปี ญ ั หา สรุปคือถ้าสภาพอากาศมีความแปรปรวนเกิดขึน้ จะส่งผลกระทบ ต่อนกกระทาทันที” คุณศักดิ์ชาย คชวรรณ หรือคุณอ้วน ผู้จัดการฟาร์มกล่าว เสริมว่า

“เมือ่ เทียบกันระหว่างการเลีย้ งในโรงเรือนเปิดกับโรงเรือนปิด พบว่าการเลี้ยงในโรงเรือนอีแว็ปจะได้รับผลกระทบจากสภาพ อากาศเช่นกัน แต่จะมีน้อยกว่าการเลี้ยงในโรงเรือนแบบเปิด โดยวัดได้จากค่าเวชภัณฑ์ยาที่ใช้ในแต่ละเดือน”

เคล็ดไม่ลับการบริหารจัดการฟาร์ม

คุณอ้วน ผู้จัดการฟาร์ม กล่าวเสริมถึงการบริหารจัดการ ฟาร์มโดยทั่วไปว่า จะคล้ายกับการเลี้ยงไก่ไข่และไก่เนื้อ แต่การ เลี้ยงนกกกระทาเนื้อจะไม่ใช้วัสดุรองพื้นเท่านั้น และมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. การจัดการโรงเรือนนกกระทาไข่ พนักงานเริ่มท�ำงาน ประมาณ 03.30 – 04.00 น. เริ่มจากให้อาหารนกเก็บไข่ แล้ว เก็บมูลออกจากโรงเรือน งานทั้งหมดในช่วงเช้าจะเสร็จสิ้นก่อน 7.30 น. จากนั้นพนักงานจะแยกย้ายไปพักผ่อน และจะเริ่ม ท�ำงานอีกครัง้ ในช่วงเวลา 13.00 น. โดยให้อาหารและท�ำความ สะอาดในส่วนต่าง ๆ ไม่เกิน 15.30 น. เป็นอันเสร็จงานต่อวัน 20


ANG THONG 21


2. การจัดการนกกระทาเนื้อ ในการฟักจะใช้เวลาประมาณ 16 - 18 วัน จากนั้นเลี้ยงต่ออีก 15 วัน แล้วถึงจะน�ำมาเลี้ยงใน โรงเรือนอีแว็ปอีก 20 - 23 วัน นกจะอายุครบ 35 - 38 วัน จึง จับส่งโรงช�ำแหละ แต่ปจั จุบนั จะจับเร็วขึน้ เนือ่ งจากตลาดมีความ ต้องการสูง ส�ำหรับการย้ายนกมาเลีย้ งในโรงเรือน ต้องให้วติ ามิน และยาแก้ท้องเสีย เพราะก่อนหน้านั้นนกกระทากินอาหารแรก เกิด ซึ่งมีลักษณะเม็ดเล็ก พอน�ำมาเลี้ยงในโรงเรือนส�ำหรับขุน จะต้องกินอาหารเม็ดใหญ่ และการเคลื่อนย้ายก็มีผลท�ำให้นก กระทาเครียดได้ ส่วนยาแก้หวัดจะดูจากสภาพอากาศเป็นหลัก ถ้าอากาศไม่ดีก็จะผสมยาแก้หวัดให้ ส่วนอาหารนกกระทาเนื้อ จะใช้ของ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด(มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ เบอร์คิวเอ็ม 52 ทั้งหมด อนาคตอันใกล้ทางฟาร์มอาจ ต้องมีการผสมอาหารใช้เองในพ่อแม่พันธุ์ เพราะปัจจุบันมีการ วัตถุดิบบางตัวเข้าไปด้วย 3. การจัดการโรงเรือนนกไข่เชื้อ คล้ายกับการจัดการโรง เรือนนกกระทาไข่ แต่ต้องมีความปราณีตมากกว่า คือต้องเก็บ ไข่แบบเบามือ เพื่อไม่ให้ไข่ร้าวหรือแตก และในหนึ่งลังจะบรรจุ ไข่ 600 ฟอง โดยมีการรองกระดาษทุก ๆ 200 ฟอง ดังนั้น พนักงานต้องมีความละเอียดหรือความประณีตค่อนข้างสูง อัตรา การเสียหายจึงจะน้อย

ผู้น�ำเครือข่ายฟาร์มนกไข่-นกเนื้อ

แม้ว่าคุณเต้ยจะเป็นเจ้าของวีระพงศ์เจริญฟาร์ม ซึ่งเลี้ยง นกกระทาในระบบปิดแบบครบวงจรที่ทันสมัยแล้ว แต่เขายังเล็ง เห็นส�ำคัญของผู้เลี้ยงรายย่อย ด้วยการส่งเสริมให้เกษตรกรเกิด ความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงด้วยระบบปิด ทั้งนี้เพื่อให้ผลผลิต มีคุณภาพเป็นที่ต้องการและเหมาะสมกับสภาวะของตลาด “กว่าจะมาถึงจุดนี้ได้ ผมก็ล้มลุกคลุกคลาน ลองผิดลองถูกอยู่ ประมาณ 10 ปี เจอลูกค้าหลากหลายรูปแบบ บางช่วงเจอสภาวะ ไข่อดื ส่วนมากจะเป็นช่วงโรงเรียนปิดเทอม หรือช่วงทีม่ นี กไข่ลน้ ตลาด เราจะควบคุมได้โดยการตัดวงจร เนื่องจากมีโรงช�ำแหละ รองรับในส่วนนี้” 22

ปัจจุบนั วีระพงศ์เจริญฟาร์มมีสมาชิกเครือข่ายประมาณ 50 ราย ทั้งผู้เลี้ยงนกไข่และนกเนื้อ “โดยทางฟาร์มจะส่งไข่เชื้อ” ให้กับ เครือข่ายเดือนละเกือบ 2 ล้านฟอง พร้อมอาหาร การฟักไข่ และ เลีย้ งจนกระทัง่ มีอายุครบ 30 วัน จากนัน้ จะน�ำนกกระทาสาวเพศเมีย ขึ้นกรงเลี้ยง หรือน�ำส่งต่อไปยังฟาร์มเครือข่ายที่ท�ำหน้าที่เลี้ยงนก กระทาต่อไป ส่วนนกกระทาเพศผูจ้ ะเลีย้ งให้มอี ายุครบ 35-38 วัน ก็จะน�ำเข้าโรงช�ำแหละ ซึ่งมีอัตราการผลิต 5-8 ตัน/วัน ปัจจุบัน การผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภค คุณเต้ย หรือ คุณระวีพงศ์ ได้กล่าวทิง้ ท้ายถึงปัจจัยแห่งความ ส�ำเร็จของวีระพงศ์เจริญฟาร์ม ว่า

“ผมมีตลาดช�ำแหละค่อนข้างเยอะ จึงมีศกั ยภาพตรงนีค้ อ่ นข้างสูง แต่พอท�ำนกกระทาไข่ ตลาดก็คอ่ ย ๆ ขยับตัวดีขนึ้ เรือ่ ย ๆ ปัจจัย ในการท�ำธุรกิจฟาร์มนกกระทาอยู่ที่การตลาดครับ” ส�ำหรับผู้ที่สนใจการเลี้ยงนกกระทา หรือต้องการซื้อผลผลิต จากฟาร์มนกกระทาครบวงจร ติดต่อได้ที่ “วีระพงศ์เจริญฟาร์ม” ทีอ่ ยู่ 23/6 ม.6 ต.บ้านแห อ.เมือง จ.อ่างทอง 14000 หรือติดต่อ สอบถามได้ที่ คุณศรี โทร. 08 9239 5812 คุณเต้ย 08 1853 6162


สารผู้ว่าราชการ

จังหวัดอ่างทอง

จั ง หวั ด อ่ า งทอง แม้ จ ะเป็ น จั ง หวั ด เล็ ก ที่ มี เ พี ย ง 7 อำ�เภอ และมีจำ�นวนประชากรราวสองแสนแปด หมื่นกว่าคนเท่านั้น แต่ผมถือว่าเป็นความโชคดีที่ได้รับ โปรดเกล้ า ฯให้ ม าปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด อ่ า งทอง เพราะสามารถดู แ ลชาวอ่ า งทองได้ อ ย่ า ง ทั่วถึงและทันท่วงที และประการสำ�คัญคือ ชาวอ่างทอง มีอัธยาศัยไมตรีดี มีความสงบเยือกเย็น สมัครสมาน สามัคคี ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันแบบพี่น้อง นอกจากนี้ จั ง หวั ด อ่ า งทองยั ง มี ป ระวั ติ ค วาม เป็นมายาวนาน มีวัดและพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่ พึ่งและศูนย์รวมจิตใจของผู้คนมาจวบจนปัจจุบัน และ เมื่อไม่นานมานี้ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จัดให้ อ่างทองเป็น 1 ใน 24 เมือง “เขาเล่าว่า” เป็นเมือง พระประทานพร เพราะเรามี พ ระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ซึ่ ง มี ค วามเป็ น ที่ สุ ด ในโลกหลายองค์ โดยแต่ ล ะอง ค์จะประทานพรพิเศษแตกต่างกันไป อาทิ พระพุทธ ไสยาสน์กลางแจ้งองค์ที่ยาวที่สุด วัดขุนอินทประมูล หลวงพ่อสดองค์ใหญ่ที่สุด วัดจันทรังษี พระพุทธนว มินทรศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ หล่อจากปูนองค์ใหญ่ ที่สุด วัดม่วง สมเด็จพระศรีเมืองทอง พระพุทธรูป ทองเหลืององค์ที่ใหญ่ที่สุด วัดต้นสน พระพุทธไสยาสน์ ที่มีพระพักตร์งดงามที่สุด วัดป่าโมกวรวิหาร เป็นต้น ดั ง นั้ น ในปี นี้ ผ มจึ ง เน้ น การประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ นักท่องเที่ยวรู้จักและมาเที่ยวอ่างทองให้มากขึ้น เพื่อให้ จังหวัดมีรายได้จากภาคการท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ควบคู่ กับการทำ�ให้จังหวัดอ่างทองเป็นเมืองที่น่าอยู่ ปลอดภัย จากสิ่งเสพติด และเป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัยจาก สารเคมี ด้ ว ย แต่ ทั้ ง นี้ ต้ อ งอาศั ย ความเป็ น ประชารั ฐ อ่างทอง คือทั้งภาคเอกชน ภาคประชาชน ผู้นำ�ชุมชน และส่วนราชการต้องร่วมมือร่วมใจกัน ผลักดันให้จงั หวัด อ่างทองของเรา เดินไปถึงจุดมุ่งหมายเดียวกันให้จงได้ สุ ด ท้ า ยนี้ ในนามจั ง หวั ด อ่ า งทอง ขอขอบคุ ณ นิตยสาร SBL ที่เห็นความสำ�คัญของจังหวัดอ่างทอง และให้เกียรติเผยแพร่ประชาสัมพันธ์จังหวัดในครั้งนี้ รวมทั้งขอขอบคุณบริษัท หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุนจัดพิมพ์นิตยสารฉบับนี้จนสำ�เร็จลุล่วง ด้วยดี จึงขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในจังหวัดอ่างทอง โปรดประทานพรให้ทุก ๆ ท่าน จงประสบแต่ความสุข ความเจริญตลอดไป

.................................... (นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี) ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง

ANG THONG 23


เส้ น ทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัด

นายวีผูร้ว์ร่าราชการจั วุทธ์งหวัปุดอ่ตางทอง ระเศรณี “นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี” ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เป็นอีก หนึง่ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดคุณภาพคับแก้ว ทีม่ รี างวัลการันตีผลงานมากมาย อาทิ นายอ�ำเภอที่มีผลงานดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2552 ข้าราชการ พลเรือนดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2547 นายอ�ำเภอที่มีผลงานดีเด่น จังหวัดราชบุรี ปี 2546 และรางวัลคนดีศรีสังคม สาขาพัฒนาท้องถิ่น ปี 2544 นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติอย่างสูงจากท่านวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี ให้สัมภาษณ์ถึงประวัติชีวิตและการท�ำงานในอดีตของท่าน ผลงานที่ท่าน ภาคภูมิใจในอดีต วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดอ่างทอง การจัดสรรงบพัฒนาจังหวัดปี 59 หลักการท�ำงาน ตลอดจนสิ่งที่ท่าน ฝากถึงส่วนราชการ ต่าง ๆ เพื่อพี่น้องชาวอ่างทอง เส้นทางชีวิตและการท�ำงาน

ผมเกิดปี 2501 ตอนนี้เหลือเวลาท�ำงานอีก 3 ปี ก็จะเกษียณอายุ ผมเป็นคนกรุงเทพฯ เขตหนองแขม ตอนเด็ก เรียนประถมที่เซนต์คาเบรียล แล้วมาต่อมัธยมที่สวนกุหลาบ หลังจากสอบเอ็นทรานซ์ไม่ได้จงึ ไปเรียนรามค�ำแหงอยู่ 1 ปี ก่อนทีจ่ ะมาเข้าเรียนทีร่ ฐั ศาสตร์ จุฬาฯ จนจบปริญญาตรี ใช้เวลาเรียน 3 ปีครึ่ง พอจบแล้วก็ได้ไปสอบเข้าเรียนปริญญาโท ที่นิด้า เลยได้เรียนต่อเนื่องและใช้เวลาเรียนประมาณ 2 ปี 2 เดือน ผมจบปริญญาโทด้านบริหารงานบุคคล แต่ได้ไปท�ำงานบริหารรถยนต์กับบริษัท รามา ทรานสปอร์ต หรือ เอวิส รถเช่า 2 ปี พอปลัดอ�ำเภอเปิดสอบผมก็มาสอบบรรจุเป็น ปลัดอ�ำเภอ ตามความประสงค์ของคุณพ่อ รับราชการครั้งแรกเป็นปลัดอ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย เมือ่ ปี 2528 และคงเป็นบุพเพสันนิวาส ท�ำให้ได้พบกับภรรยา (คุณทักษณิภร ปุตระเศรณี) ซึง่ ท�ำงานทีส่ �ำนักงานสรรพากรจังหวัดหนองคาย และได้สมรสกันเมือ่ ปี 2532 มีบุตรชายด้วยกัน 2 คน คนโตจบวิศวะจุฬาฯ ได้ 2 ปีแล้ว ส่วนคนเล็กก�ำลังเรียน ปี 1 วิศวะจุฬาฯ

24


ผมรู้สึกว่าเป็น พระมหากรุณาธิคุณที่ได้รับ โปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมทั้งเป็นความกรุณาของ ท่านผู้บังคับบัญชา

ANG THONG 25


หลั ง จากที่ เ ป็ น ปลั ด อ�ำเภอได้ 2 ปี (ปี 2528-2529) ก็ได้ยา้ ยเข้ามาท�ำงานตรงกับ ที่ได้เรียนมา คืองานด้านบริหารบุคคล อยู่ที่ กองการเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง ท�ำอยูร่ ว่ ม 10 ปี ก็โชคดีสอบเข้าโรงเรียนนายอ�ำเภอ และ หลังจากจบจากโรงเรียนนายอ�ำเภอ ปี 2538 ผู้บังคับบัญชาได้ให้โอกาสท�ำงานบริหารงาน บุคคลอีกครัง้ หนึง่ คือเป็นหัวหน้าฝ่ายองค์การ บริหารส่วนจังหวัด ส�ำนักบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น กรมการปกครอง ดูแลบริหารงาน บุคคลให้กับข้าราชการ ขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัด ประมาณ 2 ปี ปี 2541 ได้ ย ้ า ยออกไปส่ ว นภู มิ ภ าค อีกครั้ง ในต�ำแหน่งปลัดอ�ำเภอ ผู้เป็นหัวหน้า ประจ�ำกิ่ ง อ�ำเภอบ้ า นด่ า น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ปีครึ่ง จึงได้ขึ้นเป็นนายอ�ำเภอโนนดินแดง บุรรี มั ย์ ซึง่ ติดชายแดนเขมร เป็นเวลา 2 ปี (ปี 2542-2544) ได้ ย ้ า ยมาใกล้ บ ้ า น เป็ น นายอ�ำเภอด�ำเนิ น สะดวก ราชบุ รี นานมาก 6 ปี พอปี 2550 ย้ายเข้าส่วนกลาง 26

แต่ก่อนเป็นรองผู้ว่าฯ อาจจะอยู่ข้างหลังได้ แต่ว่าเป็นผู้ว่าฯต้อง อยู่ข้างหน้า ต้องมา รับปัญหาและแก้ปัญหา เป็ น ผู ้ อ�ำนวยการ ส่ ว นบั ต รประจ�ำตั ว ประชาชน 1 ปี แล้วย้ายกลับไปเป็นนาย อ�ำเภอโพธาราม 2 ปี (ปี 2551-ปี 2554) พอต้นปี 2554 ได้เลื่อนขึ้นเป็นปลัดจังหวัด นนทบุรี ปีน�้ำท่วมใหญ่ หลังน�้ำท่วมได้ย้าย ไปเป็ น ปลั ด จั ง หวั ด อุ ทั ย ธานี ก่ อ นมาเป็ น รองผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี 2 ปี

(ปี 2555-2557) แล้วมาเป็นรองผู้ว่าราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอีก 1 ปี จึงได้รับ ต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดครั้งแรกที่จังหวัด อ่างทอง ปี 2558

ตลาดน�้ำ-บ่อขยะ คือผลงานที่ภาค ภูมิใจ

ตอนเป็ น นายอ�ำเภอที่ ด�ำเนิ น สะดวก มีสิ่งที่ท�ำไว้หลายอย่าง ที่ประทับใจคือไปท�ำ ตลาดน�้ำคลองลัดพลีให้เกิดขึ้นมาใหม่เหมือน ตลาดน�้ำด�ำเนินสะดวกดั้งเดิม การท�ำตลาด นำ�้ ใหม่เกิดยากมากจึงต้องจัดงานขึน้ มาอีกงาน จากเดิ ม ที่ มี ง านองุ ่ น หวานเป็ น ประจ�ำ ทุกปีอยู่แล้ว เพื่อเปิดตัวตลาดน�้ำจึงได้ริเริ่ม จั ด งานด�ำเนิ น ร�ำลึ ก ปี ห นึ่ ง ร้ อ ยเอ็ ด เสด็ จ ประพาสต้น ขึ้นเป็นงานย้อนยุคสมัยรัชกาล ที่ 5 ถือว่าเป็นงานที่เราเริ่มไว้ให้แล้วก็ยังท�ำ ต่อเนื่องจนบัดนี้ หลั ง จากอยู ่ ด�ำเนิ น สะดวกได้ 6 ปี ย้ า ยมาเป็ น ผู ้ อ�ำนวยการส่ ว นบั ต รประจ�ำ


คนอ่างทองน่ารัก อ่างทองเป็นเมือง เกษตร คนสังคม เกษตรจะมีความ เยือกเย็น สงบ คือมีความสันติ ตัวประชาชน กรมการปกครอง ตอนนั้นเริ่มคิกออฟ บัตรสมาร์ทการ์ดครั้งแรก ถือว่าได้มาท�ำงานส�ำคัญให้กับ กรมการปกครอง ท�ำได้อยู่ที่นี่ปีเดียวก็ได้ออกไปเป็นนาย อ�ำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี อีกครั้งหนึ่ง ช่วงปี 2554 ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดจังหวัดนนทบุรี เป็นปีที่ท�ำงานหนักมากเลย เพราะเกิดมหาอุทกภัยไม่ได้ กลับบ้าน 2 เดือน หลังนำ�้ ท่วม ได้ยา้ ยไปเป็นปลัดจังหวัด อุทัยธานี แล้วขึ้นเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดที่ปราจีนบุรี 2 ปี ปีแรกเจองานหนักกับน�้ำท่วม ปราจีนบุรีท่วมเยอะ มาก นานกว่า 3 เดือน ที่ปราจีนบุรีมีงานส�ำคัญที่ได้รับ มอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ที่จัดการได้ ส�ำเร็จระดับหนึง่ คือ โครงการพระราชด�ำริหว้ ยโสมง มีคน ไม่ยอมออกจากพื้นที่ต้องพยายามไปเคลียร์เรื่องของค่า ตอบแทนที่ไม่ลงตัว ผมก็ไปด�ำเนินการเจรจาต่อรองจน สามารถตกลงกันได้ พอปี 2558 ได้ย้ายมาเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ได้รบั มอบงานส�ำคัญจากผูว้ า่ ราชการ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านอภิชาติ (โตดิลกเวชช์) เรือ่ งท�ำบ่อขยะทีอ่ ยุธยา ทีม่ ภี เู ขาขยะกองใหญ่ในพืน้ ที่ 32 ไร่ ที่ต้องน�ำลงบ่อขยะใหม่ ที่ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอ บางบาล และได้รับความร่วมมือจากทุกส่วนราชการ สามารถด�ำเนินการได้แล้วเสร็จตามกรอบเวลาที่ก�ำหนด โดยไม่มีผู้ต่อต้านเลยถือว่าเป็นผลส�ำเร็จที่ช่วยกันท�ำให้ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยใช้หลักการสร้างความ เชื่อมั่น ศรัทธา ไว้ใจกัน คือ เราต้องท�ำให้ได้ตามที่เรา พูด เช่นเราบอกว่าจะเอาขยะออกให้หมดภายใน 2 เดือน ก็ต้องท�ำให้ได้ตามก�ำหนด โดยน�ำไปฝังกลบที่ถูกหลัก อนามั ยเป็น Sanitary Landfill ที่บ่อขยะใหม่ที่ได้ มาตรฐาน และว่าขยะของเราไม่เกิดผลกระทบสิง่ แวดล้อม ไม่สร้างความเดือดร้อนให้เขาแน่ ไม่มีการเกิดไฟไหม้ ไม่ เ กิ ด กลิ่ น ซึ่ งตรงนี้ ถือ ว่ า เราท�ำได้ส�ำเร็จ ที่ส�ำคัญ กระทรวงมหาดไทยบอกว่าทุกท้องถิน่ ต้องมาดูงาน เพราะ ฉะนั้น 8,000-9,000 ท้องถิ่นต้องมาดู ตรงนี้ก็จะได้ ประโยชน์กับคนที่ต�ำบลมหาพราหมณ์ อ�ำเภอบางบาล ผมถือว่างานท�ำบ่อขยะนี้เป็นผลงานที่ภาคภูมิใจที่เราท�ำ ส�ำเร็จร่วมกับท่านผู้ว่าฯและทีมงานนะครับ ANG THONG 27


28


โชคดีที่ได้เป็นผู้ว่าฯอ่างทอง

เป็นพระมหากรุณาธิคุณที่ได้รับโปรด เกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และได้ รั บ ความกรุ ณ าจากผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชา ตั้ ง แต่ ร ะดั บ ท่ า นปลั ด กระทรวงมหาดไทย สมั ย นั้ น คื อ ท่ า นวิ บู ล ย์ สงวนพงษ์ รองปลัดกระทรวง จนถึงผู้ว่าราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา เมื่อมาเป็นผู้ว่าฯอ่างทอง ลักษณะงาน ของผู ้ ว ่ า ฯกั บ รองผู ้ ว ่ า ฯจะต้ อ งคนละแบบ แน่นอน เพราะว่าความรับผิดชอบทุกอย่าง ต่างกัน แต่ก่อนเป็นรองผู้ว่าฯอาจจะอยู่ข้าง หลังได้ แต่พอเป็นผู้ว่าฯต้องอยู่ข้างหน้า ต้องมารับปัญหาและแก้ปัญหา อ่างทอง พื้นที่เล็กกว่าอยุธยา และประชากรน้อยกว่า แต่ว่าปริมาณงานต่อชิ้นมีพอ ๆ กัน ผมถือว่าเป็นความโชคดีที่อ่างทองเป็น เมืองเล็ก แล้วก็เป็นเมืองที่เดินทางไปแต่ละ อ�ำเภอใช้เวลา 15-20 นาที ก็ถงึ แล้ว เพราะ ฉะนัน้ การท�ำงานจะมีความง่ายขึน้ กรณีถา้ มี ปัญหาหรือเกิดเหตุอะไร เราสามารถวิง่ ไปได้ ทันท่วงที แก้ปญ ั หาได้เร็ว เมือ่ เทียบกับถ้าไป อยู่จังหวัดที่อ�ำเภอหนึ่งไกลร้อยกิโลฯ กว่าจะ

วิ่งถึงก็ล�ำบาก เพราะฉะนั้นเราจึงดูแลพี่น้อง ประชาชนได้รวดเร็ว ทันท่วงที แล้วประการ ส�ำคัญคนอ่างทองน่ารัก อ่างทองเป็นเมือง เกษตร คนสังคมเกษตรจะมีความเยือกเย็น สงบ คือมีความสันติ อยูแ่ บบสังคมเอือ้ อาทร ซึ่งกันและกัน

อ่างทองเมืองน่าอยู่ & 1 ใน 24 เมือง “เขาเล่าว่า”

จังหวัดอ่างทองมีวสิ ยั ทัศน์วา่ “อ่างทอง เมืองน่าอยู่ แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย” เมื อ งจะน่ า อยู ่ ก็ ต ้ อ งเป็ น เมื อ งสะอาด สวยงาม สงบสุข อ่างทองไม่คอ่ ยมีปญ ั หาเรือ่ งขยะ เพราะ ได้รับความร่วมมือจากเทศบาล และ อบต. ไปทิ้ ง ขยะที่ บ ่ อ ขยะรวมของเทศบาลเมื อ ง อ่ า งทอง ส่ ว นความสวยงาม เทศบาล และ อบต. หลายแห่งได้ด�ำเนินการกันบ้าง แล้ว สิ่งที่ก�ำลังจะท�ำคือ หาเอกลักษณ์ของ เมือง วางไว้ตามถนนต่างๆ ให้แสดงออก ว่าเป็นเมืองอ่างทองที่มีความสวยงามเป็น ระเบียบเรียบร้อย อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง ที่ ส�ำคั ญ ในด้ า นความ

วิสัยทัศน์ “อ่างทอง เมืองน่าอยู่ แหล่งผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย แหล่งผลิตอาหาร ปลอดภัย” ANG THONG 29


สวยงาม และสิ่งแวดล้อม คือ การก�ำจัด ผักตบชวา อ่างทองมีแหล่งน�้ำ 278 แห่ง ในจ�ำนวนนี้ 146 แห่ง มีผักตบชวาอยู่เรา แบ่งกันเก็บผักตบชวา เป็น 3 ส่วน คือ ให้ โ ยธาฯ กั บ เจ้ า ท่ า เก็ บ ผั ก ตบในแม่ น�้ ำ เจ้าพระยา และแม่น�้ำน้อย ส่วนชลประทาน จะดูแลตรงคลองใหญ่ ๆ และคลองเล็กคลอง น้อยที่อยู่ในชุมชน หมู่บ้านให้เทศบาล และ อบต. ด�ำเนินการโดยขอให้ อบจ. สนับสนุน เครื่ อ งจั ก รลงไปช่ ว ย โดยเทศบาล และ อบต. ออกค่าน�้ำมัน ที่ส�ำคัญต้องเก็บให้ยั่งยืน ต่ อ เนื่ อ ง โดยท้ อ งถิ่ น จะตั้ ง งบจ้ า งเรื อ เล็ ก ลงเก็บอาทิตย์ละ 2 ครั้ง เพื่อให้หมด แล้ว ต้องท�ำต่อเนื่อง 3 เดือน เพื่อให้หมดจริง ๆ หลังจากนั้นให้ชาวบ้านที่อยู่ตามริมคลองช่วย กันดูแล อันนี้คือโครงการที่จะท�ำให้คลอง สวย น�้ำใส นอกจากความสะอาด สวยงาม ที่ท�ำให้ จังหวัดอ่างทองน่าอยูแ่ ล้ว จะต้องมีความสงบ สันติด้วย ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ายินดี ที่อ่างทอง เป็ น สั ง คมเกษตรท�ำให้ เ ป็ น เมื อ งที่ มี ค วาม สงบ ไม่ค่อยมีอาชญากรรม และไม่มีความ ขัดแย้งรุนแรง แต่อาจมีบ้างคือเรื่องยาเสพ ติด ซึง่ เป็นวาระจังหวัดทีไ่ ด้ประชาคมกันแล้ว จัดท�ำเป็นยุทธศาสตร์จังหวัดอ่างทอง โดยมี เป้าหมายให้อา่ งทองไม่เป็นทีพ่ กั ทางผ่านของ

30

เรามีความฝันว่าเรา อยากให้อ่างทองไม่เป็น ที่พักทางผ่านของ ยาเสพติด เพราะฉะนั้น เราจึงต้องเปิดยุทธการ “อ่างทองปิดบ้านต้าน ยาเสพติด” ยาเสพติด ดังนัน้ เราจึงเปิดยุทธการ “อ่างทอง ปิดบ้านต้านยาเสพติด” เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ค�ำว่าปิดบ้านต้านยาเสพติด หมายถึง เราส�ำรวจประตูบ้านมี 7 ประตู เช่น ประตู สามโก้ทมี่ าจากอ�ำเภอศรีประจันต์ สุพรรณบุรี หรือประตูแสวงหาและประตูไชโยที่มาจาก สิงห์บรุ ี หรือประตูทมี่ าทางด้านถนนสายเอเชีย เราก็จะปิดประตูบ้านของเรา โดยผนึกก�ำลัง

ประชารัฐทั้งทหาร ต�ำรวจ ฝ่ายปกครอง ประชาชน ท้องถิ่น ร่วมกันตั้งจุดตรวจสกัด ยาเสพติด โดยประสานงานข่าวกับ ปปส. ว่าจะมีรถขนยาเสพติดลงมาจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อใดเราก็จะปิด ประตูบ้านของเรา และเมื่อเราไม่ต้องการ ให้ เ ป็ น แหล่ ง พั ก ยาเสพติ ด เราต้ อ งคลี น บ้านของเราโดยเข้าปิดล้อม ค้น กวาดล้าง ในทุกสถานที่ตามข้อมูลที่เรามีอยู่ ทีนี้พอกวาดบ้านแล้ว เราก็จะเคลียริ่ง หมายถึงว่าเราจะถูบ้านด้วย ปกติกวาดบ้าน แล้วยังมีฝนุ่ เราจะถูดว้ ยเลย การถูของเราคือ เราไปสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยก�ำนัน ผู้ใหญ่ บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และสนับสนุน ด้วยโครงการ NPD หรือ No Place for Drug โดยจะจัดชุดปฏิบัติการไปอยู่ร่วมกับ ชาวบ้านและชุมชน เพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนให้มนั่ ใจว่าไม่มแี ล้วนะ ไม่ตอ้ งกลัว แล้วสร้างกฎกติกาชุมชน เพื่อเป็นเกราะ ป้องกันชุมชน เป็น No Place for Drug นอกจากนี้ยังเน้นการคืนคนดีสู่สังคม จะเอา ผู้เสพมาบ�ำบัด ไม่ให้หวนกลับไปติดใหม่ โดย ทุกคนต้องมีงานท�ำ เมื่อกลับไปจะได้ไม่ว่าง และมีรายได้ให้ครอบครัว แต่หากไปติดซ�้ำ อีก จะใช้มาตรการเข้มข้นที่เรือนจ�ำ คือเมื่อ กลับเข้าไปเรือนจ�ำอีกจะได้สิทธิ์เป็นคนพิเศษ


แม้ว่าอ่างทองจะเป็น เมืองธรรมดามาก แต่ว่าเป็นเมืองพิเศษ เพราะว่ามีความเป็น ที่สุดหลายเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องของ สิ่งศักดิ์สิทธิ์

ของผูว้ า่ โดยผบ.เรือนจ�ำจะดูแลเป็นพิเศษให้มี อิสระน้อยกว่าคนอื่น เรื่องการท่องเที่ยว จุดอ่อนของจังหวัด อ่างทอง คือเป็นเมืองเล็กๆ เมืองธรรมดา ที่ ไ ม่ ค ่ อ ย มี ค นรู ้ จั ก เราจึ ง ต้ อ งเน้ น การ ประชาสัมพันธ์ จัดงานเทศกาลต่างๆ เพื่อให้ เป็นทีร่ จู้ กั โดยเฉพาะอย่างยิง่ เราเน้นความเป็น ที่สุด ในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งปีนี้เป็นโอกาส ดีที่ ททท. ช่วยประชาสัมพันธ์ให้อ่างทอง เป็น 1 ใน 24 เมือง เขาเล่าว่า อ่างทองเป็น เมืองพระประทานพร ซึ่งเขาเล่าว่า มาขอพร กับหลวงพ่อสดองค์ที่ใหญ่ที่สุด ที่วัดจันทรังษี อ�ำเภอเมือง จะท�ำให้มสี ขุ ภาพร่างกายแข็งแรง สดชื่น อี ก องค์ ห นึ่ ง คื อ หลวงพ่ อ พระนอน วั ด ขุ น อิ น ทประมู ล อ�ำเภอโพธิ์ ท อง เป็ น พระพุ ท ธไสยาสน์ ก ลางแจ้ ง องค์ ที่ ย าวที่ สุ ด ในโลก ยาว 50 เมตร สร้างมาตั้งแต่สมัย

สุโขทัย เดิมชือ่ ว่า “หลวงพ่อเลอไทนิรมิต” ตอน หลังเปลี่ยนชื่อเป็น “หลวงพ่อขุนอินทประมูล” ตามชื่ อ ของคนที่ ม าบู ร ณะ ในช่ ว งเทศกาล ตรุ ษ จี น จั ง หวั ด ร่ ว มกั บ วั ด ขุ น อิ น ทประมู ล จัดงานเสริมการท่องเที่ยวด้วย คือ งานเกษตร และของดีอ่างทอง จะมีการแสดงแสงสีเสียง หน้าองค์พระ และมีเทศกาลไหว้พระนอนด้วย องค์ น้ี เ ขาเล่ า ว่ า หากปิ ด ทองที่ พ ระบาทแล้ ว ให้แตะพระบาทเพื่อขอพรให้อายุยืนยาว อีกองค์หนึง่ คือหลวงพ่อใหญ่ หรือ “พระพุทธ มหานวมิ น ทร์ ศ ากยมุ นี ศ รี วิ เ ศษชั ย ชาญ” วัดม่วง องค์นเี้ ป็นพระพุทธรูปปูนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก สูง 95 เมตร เขาเล่าว่า ให้ไปขอพรที่ พระหัตถ์ ของท่านเพื่อให้ ต�ำแหน่งหน้าที่การงานใหญ่โต หรื อ ถ้ า ท�ำธุ ร กิ จ ก็ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง นอกจากนี้ เรายั งมี สิ่ งศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่เ ป็ นที่ สุ ด อี ก หลายแห่ ง เช่ น พระศรี เ มื อ งทอง พระพุ ท ธรู ป ทอง เหลื อ งใหญ่ ที่ สุ ด 19 เมตร อยู ่ ใ นวิ ห าร

วัดต้นสน อ�ำเภอเมืองอ่างทอง และพระ นอนที่ พ ระพั ก ตร์ ง ามที่ สุ ด ที่ วั ด ป่ า โมก วรวิหาร อ�ำเภอป่าโมก ในช่ ว งสงกรานต์ ปี 2559 นี้ เราจะจัดงานบุญใหญ่อ่างทองเมืองวิเศษ เพื่อส่งเสริมเรื่อง การท่องเที่ยวให้คนรู้จัก อ่างทองเพิม่ ขึน้ โดยท�ำแลนด์มาร์คทุง่ ดาว เรืองประมาณ 80 ไร่ เป็นจุดถ่ายรูปแล้ว จัดกิจกรรมเก็บดาวเรืองถวายหลวงพ่อ ใหญ่ด้วย กับงานใหม่อีกงานที่วางแผน จัดเดือนสิงหาคม เป็นงานย้อนยุคร�ำลึก ถึงพรมหากรุณาธิคุณ ของเสด็จพ่อ ร.5 เมื่อ 110 ปีก่อน ที่พระองค์ท่านเสด็จ ประพาสต้ น อ่ า งทอง เมื่ อ วั น ที่ 5-7 สิงหาคม 2449

น�ำจุดเด่นมาเพิม่ GPP อ่างทอง

ถ้ามาดูดา้ นเศรษฐกิจอ่างทอง มี GPP ปี 57 ประมาณ 24,000 ล้านบาท เป็นภาค เกษตร 6,500 เท่า ๆ กับภาคอุตสาหกรรม แต่ ภ าคท่ อ งเที่ ย วของอ่ า งทองมี เ พี ย ง 6 ร้อยกว่าล้านเอง เพราะนักท่องเที่ยว น้อยมาก เพราะฉะนั้ น จะเอาจุ ด เด่ น ที่ เ ป็ น ที่สุดของอ่างทองมาสร้างรายได้จากการ ท่องเที่ยวอ่างทองให้มากขึ้น โดยจัดงาน เทศกาลต่างๆ ประชาสัมพันธ์ สถานที่ เด่นที่สุดของเรา โดยมีเป้าหมายให้คน มาเที่ยวอยุธยา แล้วต้องเลยมาอ่างทอง คนจะไปภาคเหนื อ ต้ อ งแวะอ่ า งทอง เพราะเราเป็ น เมื อ งพระประทานพร นอกจากนี้ยังเป็นเมืองเกษตรที่เราจะต้อง สร้าง BRAND หรือเอกลักษณ์ให้คนรู้จัก ANG THONG 31


ผมวางหลักการทำ�งาน ไว้คือ ทำ�งานรวดเร็ว ทำ�งานรอบคอบ และทำ�งานริเริ่ม

ก็ ม าชมที่ โ ครงการหนองเจ็ ด เส้ น ที่ เ ป็ น แหล่งน�้ำขนาดใหญ่มากเก็บน�้ำได้หลายล้าน ลูกบาศก์เมตร เดิมเมื่อก่อนน�้ำท่วมปี 54 สวยงามมาก พอน�้ำท่วมแล้วทุกอย่างเสีย หายหมดจะต้องบูรณะตรงนี้ขึ้นมาใหม่ให้ สวยงามดังเดิม เพื่อเป็นสวนสาธารณะของ คนอ่างทอง และรองรับนักท่องเที่ยวด้วย

เช่นโครงการพระราชด�ำริ ที่มีในอ่างทอง คือฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ที่สีบวั ทอง และหนอง ละหารจีนศูนย์ศิลปาชีพสีบัวทอง ศูนย์ เรียนรู้เศษฐกิจต้นแบบเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยากและโครงการพระราชทานศูนย์ ตุ๊กตาชาววังอยู่ที่บางเสด็จ อ�ำเภอป่าโมก นอกจากนี้ ยั ง มี ห มู ่ บ ้ า นท�ำกลองที่ ต�ำบลเอกราช อ�ำเภอป่าโมก รวมทัง้ หากจะ มาดูเรื่องของแก้มลิงของมูลนิธิชัยพัฒนา 32

จัดสรรงบปี 59 เน้นถนน น�ำ้ ประปา เสริมการท่องเที่ยว

ในส่วนของงบพัฒนาจังหวัดของอ่างทอง เราได้ไม่มาก ปี 2559 ประมาณ 157 ล้านบาท งบลงทุ น ส่ ว นใหญ่ เน้ น ไปปรั บ ปรุ ง ถนน ซึ่งช�ำรุดเสียหายจากน�้ำท่วม ปี 54 โดย เลือกท�ำใน เส้นหลักได้ 22 เส้น แล้วมีเรื่อง ของประปาหมู่บ้านขนาดใหญ่อีก 3 แห่ง ในเขตเทศบาลเมืองมีการปรับปรุงท่อระบาย น�้ำเพื่อรองรับฤดูฝน จะช่วยระบายน�้ำได้ เร็วขึ้น ส่วนที่อ�ำเภอไชโยสร้างเขื่อนป้องกัน น�้ำเซาะตลิ่ง และป้องกันน�้ำท่วมอีกจุดหนึ่ง

นอกจากนัน้ จะเน้นส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ที่เรามีอีเวนท์ต่าง ๆ เกือบทุกเดือนเช่น งานเกษตรและของดี อ ่ า งทอง ที่ วั ด ขุ น อินทประมูล ซึ่งปีนี้จัด 6-14 กุมภาพันธ์ ต่ อ ด้ ว ยงานของดี เ มื อ ง อ่ า งทองและ กาชาด วั น ที่ 26 กุ ม ภาพั น ธ์ – 6 มี น าคม ที่ ห น้ า ศาลากลางจั ง หวั ด แล้ ว เรายังมีงานวีรชนที่อ�ำเภอแสวงหา วีรชน ที่ อ�ำเภอวิ เ ศษชั ย ชาญ งานพั น ท้ า ย นรสิงห์ ที่ต�ำบลนรสิงห์ อ�ำเภอป่าโมก และ งานพระนเรศวรที่อ�ำเภอป่าโมกอีกงานหนึ่ง นอกจากนี้จังหวัดจะริเริ่มโครงการใหม่เพิ่ม ขึ้นอีก 2 งาน คือ งานบุญใหญ่อ่างทอง เมืองวิเศษ โดยเน้นกิจกรรมดอกดาวเรือง ถวายหลวงพ่อใหญ่ที่วัดม่วง ในช่วงเทศกาล สงกรานต์ 6-15 เมษายน และจัดงานใหญ่ ร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ของเสด็จพ่อ ร.5 คืองานร�ำลึก 110 ปี เสด็จประพาสเมืองต้น อ่างทอง ในเดือนสิงหาคม จัดงานมากมาย จนเรียกได้ว่าเที่ยวอ่างทองทั้งปีไม่มีเบื่อ


การที่จะคิด Agenda หรือวาระต่าง ๆ ขึ้นมา ต้องเป็นวาระที่เราคิด ด้วยกัน... เพราะว่า ผู้ว่าราชการมาเดี๋ยวก็ เกษียณ... แต่ว่าคนที่ อยู่ที่นี่เขาอยู่กัน จนชั่วชีวิตเขา

จากใจผู้ว่าฯ เพื่อชาวอ่างทอง

เมื่อมารับต�ำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัด อ่างทอง ผมมีความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจจะท�ำ 2 เรือ่ ง คือ เรื่ อ งแรก ต้ อ งตอบแทนคุ ณ แผ่ น ดิ น ปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองพระราชปณิธาน ของพระเจ้าอยูห่ วั ทีจ่ ะท�ำให้ประชาชนมีความ สุข อ่างทองยังมีคนเจ็บ คนจน อยูม่ าก ดังนัน้ ต้องท�ำให้คนอ่างทองทีเ่ จ็บป่วย ยากไร้ หายเจ็บ หายจน จึงได้ท�ำโครงการ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข ผู้เจ็บป่วย พิการ ยากไร้ จังหวัดอ่างทอง เพื่อแก้ไขปัญหาความเจ็บ ความจน 3 ด้าน คือ สร้างซ่อมบ้าน เสริมอาชีพรายได้ และ เพิ่มความสุขให้คนพิการ เจ็บป่วย ติดเตียง

มีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น โดยมีเป้าหมายคนจน ที่ต้องการซ่อมสร้างบ้านกว่า 400 ครอบครัว ส่ ง เสริ ม อาชี พ รายได้ 600 กว่ า ครอบครั ว และดูแลผู้เจ็บป่วย อีกกว่า 500 ครอบครัว ซึง่ นอกจากใช้งบประมาณรัฐแล้วต้องอาศัยภาค เอกชนมาร่วมเป็นเจ้าภาพด้วย เรื่องที่สอง พัฒนาแก้ไขปัญหาอ่างทอง โดยใช้การบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ ภาย ใต้ ข ้ อ มู ล และเป็ น ไปตามความต้ อ งการ ของคนอ่ า งทอง คื อ ต้ อ งก�ำหนดเป็ น วาระ จังหวัด และท�ำเป็นยุทธศาสตร์ในการแก้ไข พั ฒ นาในแต่ ล ะเรื่ อ งโดยต้ อ งเป็ น ไปตามที่ คนอ่ า งทองส่ ว นรวมต้ อ งการ คื อ ต้ อ งให้

คนอ่างทอง 280,000 คนเป็นผู้ตัดสินใจ ว่ า ต้ อ งการอย่ า งไร ผมและข้ า ราชการ อีก 3,000 คน จะเป็นผู้สนับสนุน ผลักดัน ให้เกิดความส�ำเร็จ เพราะคนอ่างทองต้อง อยู่ที่นี่ และรู้ปัญหาดีกว่าข้าราชการที่มาอยู่ กันไม่นาน และมาจากที่ต่างๆจะไม่รู้ปัญหา แท้จริง และที่ส�ำคัญต้องร่วมกันคิดและ ท�ำให้เป็นยุทธศาสตร์เพือ่ ให้เกิดผลสัมฤทธิท์ ี่ เป็นธรรมาภิบาลวัดผลได้คุ้มค่า และเป็นรูป ธรรม สามารถพัฒนาอ่างทองได้อย่างแท้จริง เพือ่ ไปสูเ่ ป้าประสงค์เดียวกัน คือความเจริญ รุ่งเรือง อย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และชาว อ่างทอง เกิดความผาสุขอย่างแท้จริง ANG THONG 33


เส้นทางพบ

นายกเหล่ากาชาดจังหวัด

นางทักนายกเหล่ ษณิากาชาดจั ภรงหวัปุดตอ่างทอง ระเศรณี การทำ�งานในตำ�แหน่งนี้ถือเป็นความโชคดี เป็นบุญ แล้วเราได้เสริมบุญไปเรื่อย ๆ เพราะคิดว่าโอกาสที่ได้เป็นนายกเหล่ากาชาดไม่ใช่จะเป็นได้ง่าย ๆ คือค�ำพูดของ “นางทักษณิภร ปุตระเศรณี” นายกเหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง ซึ่งตลอดชีวิตที่ผ่านมาของท่าน แม้จะ ไม่ได้อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตากับท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง “นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี” หากแต่มีชีวิตครอบครัวที่อบอุ่น น่ารักและทุกครั้งที่มีโอกาสได้ลงพื้นที่ ท่านก็จะปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ พร้อมความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ ในการท�ำงานเสมอ นิตยสาร SBL ได้รับความกรุณาจากท่านนายกเหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง ให้สัมภาษณ์พูดคุยอย่างเป็นกันเอง ถึงภารกิจ ของเหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง หลักการท�ำงาน ตลอดจนความภาคภูมิใจในการปฏิบัติหน้าที่ ที่สำ� คัญยิ่งนี้ 34


งานท่านผู้ว่าฯ จะเป็นการ บำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข งานกาชาดเราจะเป็น การบรรเทาทุกข์ บำ�รุงสุข บำ�บัดโรค กำ�จัดภัย

เส้นทางชีวิตและการท�ำงาน

ดิฉันเป็นคนอิสานค่ะเกิดที่จังหวัดขอนแก่น คุณพ่อรับราชการ เป็นคลังจังหวัด ก็ย้ายตามคุณพ่อไปเรื่อย ๆ เรียนชั้นอนุบาลและ ระดับประถมที่จังหวัดมหาสารคาม ระดับมัธยมต้นเรียนที่จังหวัด ชัยภูมเิ พราะคุณพ่อย้ายไปเกษียณราชการทีน่ นั่ ซึง่ เป็นบ้านเกิดของ คุณแม่ ก็สอบเข้าโรงเรียนสตรีประจ�ำจังหวัดได้ล�ำดับที่ 1 ระดับ มัธยมปลายเข้าไปอยู่กรุงเทพฯ กับคุณปู่คุณย่า ไปสอบเข้าโรงเรียน สันติราษฎร์วิทยาลัย ได้ล�ำดับที่ 2 สมัยเรียนชอบท�ำกิจกรรมค่ะ ตอน ป.7 ก็ได้รับเลือกให้เป็นประธานโรงเรียน ม.ศ.5 ก็เป็นรอง ประธานโรงเรียน แต่พอเข้าระดับอุดมศึกษาสอบเอ็นทรานซ์ไม่ติด เพราะมีเหตุผดิ พลาดทางเทคนิค เลยไปเรียนเศรษฐศาสตร์การคลัง ที่มหาวิทยาลัยรามค�ำแหงจบ 3 ปีครึ่ง เป็นรุ่นที่ 10 ค่ะ ประมาณปี 2527 ก็ไปท�ำงานที่ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัด หนองคายในต�ำแหน่งนักวิชาการสรรพากร ท�ำให้ได้พบกับท่านผูว้ า่ ฯ ทีน่ นั่ เป็นครัง้ แรก ท่านเป็นเพือ่ นพีช่ ายค่ะ เรียนรัฐศาสตร์จฬุ าฯ ด้วย กัน อยูห่ นองคายได้ปกี ว่า ก.พ. เรียกตัวให้ไปบรรจุตำ� แหน่งเศรษฐกร ที่ส�ำนักงานพลังงานแห่งชาติ ก็โอนข้ามกระทรวงไปอยู่กรุงเทพฯ ปี พ.ศ. 2532 แต่งงานกับท่านผู้ว่าฯ ค่ะ หากมองย้อนกลับไป เมือ่ 27 ปีทแี่ ล้ว ความรูส้ กึ ในวันนัน้ ยังงงๆ สงสัยไม่แน่ใจในตัวท่าน ผู้ว่าฯ เท่าไหร่ เพราะมีคนเตือนว่าท่านเป็นเพลย์บอย ระวังน�ำ้ ตา จะเช็ดหัวเข่า แต่ทุกวันนี้คิดว่าตัวเองถูกรางวัลที่ 1 ค่ะ ตัดสินใจไม่ ผิดเพราะท่านเป็นคนที่รักครอบครัวมาก เป็น Family man ดูแล เราเป็นอย่างดีเยี่ยม ดิฉันสุขภาพไม่ค่อยดีค่ะ เป็นคนป่วยให้ท่าน ต้องคอยประคบประหงมอยู่ตลอดเวลา ช่วงปีแรกที่แต่งงานกัน ท่านผู้ว่าฯ อยู่กองการเจ้าหน้าที่ กรมการปกครอง งานเยอะมาก บางครั้งต้องนอนที่กรมหลาย คืน ดิฉันอยู่ที่บ้านท่าน ดูแลคุณแม่ของท่านที่เป็นอัมพฤกษ์นอน ในห้องที่คุณปู่ท่านเสียชีวิต กลัวมากค่ะ เคยเครียดจนขอหย่า หลายครั้ง โชคดีที่ท่านหนักแน่น มั่นคง เวลาโกรธดิฉันจะเงียบไม่ พูดด้วย ท่านจะจับตัวดิฉันมานั่งตรงหน้าแล้วถามว่าโกรธพี่เรื่อง อะไรบอกหน่อยจะได้ขอโทษถูก คือยอมเป็นคนผิดตลอดเวลาค่ะ

เรามีลูกชาย 2 คน ตนโตชื่อวีร์ คนเล็กชื่อวุฒิ ดิฉันเป็นคนตั้ง ชื่อลูกเองค่ะ เอาชื่อหน้ากับพยางค์หลังของท่านผู้ว่าฯ มาเป็น ชื่อลูกค่ะ เรียนวิศวะจุฬาฯ ทั้งคู่ คนโตจบแล้ว คนเล็กพึ่งเข้า ปี 1 ค่ะ ดิฉันเคยเรียนปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี แต่ไม่จบเลิกเรียนเสียก่อน เพราะเกิดเหตุการณ์ที่เราเกือบเอา ชีวิตไม่รอด ในคืนวันที่ 8 กันยายน 2556 ที่เครื่องบิน TG-679 กวางโจว-สุวรรณภูมไิ ถลหลุดรันเวย์ ดิฉนั กับท่านผูว้ า่ ฯ อยูบ่ นเครือ่ ง ด้วยเพราะไปดูงานกับทางมหาวิทยาลัย นาทีชวี ติ เราจะรูไ้ ด้วา่ ใครรัก เรามากแค่ไหน ในขณะที่เครื่องบินกระแทกพื้นไฟลุกท่วมปีกเครื่อง สั่นสะเทือนไปทั้งล�ำ ผู้คนกรีดร้องกึกก้อง ท่านผู้ว่าฯ จับดิฉันกดไว้ ทีต่ กั และกอดทับไว้อย่างรวดเร็ว เรานัง่ อยูต่ รงปีกพอดีถา้ เกิดระเบิด ขึ้นท่านต้องโดนก่อนค่ะ นับว่าเราทั้งสองยังโชคดีที่รอดชีวิตมาได้ เพราะฉะนั้นเวลาที่ยังเหลืออยู่จึงมีค่าและมีความหมายอย่างมาก

ชีวิตคู่ที่ต้องแยกกันอยู่

หลังจากแต่งงานได้ 1 ปี ดิฉันต้องโอนกลับไปอยู่ส�ำนักงาน สรรพากรจังหวัดชัยภูมิ เพราะคุณพ่อเสียชีวิตคุณแม่อยู่คนเดียว เลยต้องแยกกันอยู่ 2 ปี จึงได้ย้ายกลับเข้าไปอยู่กรุงเทพฯด้วยกัน ปี 2538 ดิฉนั ลาออกจากราชการมาดูแลลูก เลยเป็นชาวเกาะให้ทา่ น เลี้ยงดูตั้งแต่นั้นมา ปี 2541 ท่านผู้ว่าฯ ย้ายไปอยู่บุรีรัมย์ ลูกชาย คนเล็กพึง่ คลอดได้ไม่ถงึ ปี ดิฉนั อยูก่ บั ลูกทีก่ รุงเทพฯ ไม่ได้ยา้ ยติดตาม ไปด้วย จากนั้นท่านก็โยกย้ายไปหลายแห่งตามเส้นทางของชีวิตนัก ปกครองนานนับ 10 ปี แต่สายใยยังเหนียวแน่น เพราะท่านจะ โทรศัพท์มาหาทุกคืนไม่เคยขาด คืนไหนลูกโยเยไม่ยอมนอนหกทุ่ม เทีย่ งคืนก็จะโทร. ไปให้ทา่ นอยูเ่ ป็นเพือ่ นฟังเสียงลูกร้องไห้ไปด้วยกัน ก็คงไม่ต่างจากชีวิตครอบครัวของนักปกครองทั้งหลาย จนเมื่อปี 2557 เดือนพฤษภาคม คุณแม่ท่านผู้ว่าฯ เสียชีวิต หลังจากนั้นในเดือนมิถุนายนดิฉันก็ปิดบ้านกรุงเทพฯ พาคุณแม่ตัว เองทีเ่ ป็นอัลไซเมอร์ไปอยูท่ บี่ า้ นพักกับท่านผูว้ า่ ฯ ทีป่ ราจีนบุรดี ว้ ยกัน ไม่ต้องแยกกันอยู่อีกต่อไป ลูก ๆ โตเป็นหนุ่มแล้วก็อยู่คอนโดกัน สองคนพี่น้องค่ะ ANG THONG 35


4 ภารกิจหลักของนายกเหล่ากาชาด

โดยเราจะเอาร้านแว่นตาออกไปวัดสายตาให้ด้วยเลย ต�ำแหน่งนายกเหล่ากาชาดจังหวัด ต้องเรียกว่ามีบุญมากที่ 2. การบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยเหล่ากาชาดจังหวัดมีโครงการ ได้มีโอกาสเป็น ต้องขอบคุณท่านผู้ว่าฯ เพราะถ้าไม่ได้เป็นภรรยา ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ยกตัวอย่างเช่น เกิดไฟไหม้บ้านเรือน ผู้ว่าราชการจังหวัดก็ไม่มีโอกาสได้เป็น ราษฎร เราจะรีบออกไปช่วยเหลือเบื้องต้น นายกเหล่ากาชาดและก่อนที่จะเป็นนายก น�ำถุงยังชีพและปัจจัยไปให้เพื่อเป็นขวัญ เหล่ากาชาดนั้น ต้องได้รับการโปรดเกล้า ก�ำลังใจให้เขา จากสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรม 3. การบริการโลหิต ปัจจุบันมีการ บางบ้านนี่มองไม่ออกเลยว่า ราชิ นี น าถก่ อ น และต้ อ งเข้ า ไปถวาย ขาดแคลนโลหิตเป็นอย่างมาก เหล่ากาชาด ตั ว กั บ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ จังหวัดได้พยายามประชาสัมพันธ์ไปตาม เป็นบ้านเพราะมีแต่เสา สยามบรมราชกุมารี เพื่อมาดูแลทุกข์สุข หน่วยงานต่าง ๆ และออกรับบริจาคโลหิต แล้ ว ไปเก็ บ กระดาษอะไร ของราษฎรแทนพระองค์ท่าน และปฏิบัติ ร่วมกับโรงพยาบาลอ่างทองทุกครั้ง ท่าน มาแปะข้างฝา หลังคาเป็นรู งานตามภารกิจหลักของสภากาชาดไทยซึง่ ผู้ว่าฯ เองก็ช่วยเน้นย�้ำกับท่านนายอ�ำเภอ มีอยู่ 4 ประการ คือ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้านให้ประชาสัมพันธ์และ 1. การบริการทางการแพทย์และสุข ชักจูงคนในพื้นที่ให้ออกมาบริจาคโลหิตกัน อนามัย จังหวัดอ่างทองโชคดีมากที่มีศูนย์ ก็ได้ยอดผู้บริจาคโลหิตเพิ่มขึ้นพอสมควร สภากาชาดไทยเวชพาหน์เฉลิมพระเกียรติ 4. การสังคมสงเคราะห์และการส่ง จะมีคุณหมอจากสภากาชาดไทยมาให้การรักษาทุกเดือน ทั้ง เสริมคุณภาพชีวิต เหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทองมีการวางแผนงานที่ หมอกระดูก หมอฟัน หมอฝังเข็ม คนไข้จะเยอะมาก กรรมการ จะออกไปเยีย่ มราษฎรทุกสัปดาห์ น�ำถุงยังชีพไปให้หมุนเวียนไปตาม กาชาดจะออกไปช่วยดูแลคนป่วย ถือเป็นการบริการทางด้านการ อ�ำเภอต่าง ๆ สัปดาห์ละ 12 ครัวเรือน ท�ำให้ได้เห็นถึงความเดือด แพทย์ นอกจากนั้นในปีนี้เรายังโชคดีมีรถคลินิกจักษุศัลยกรรม ร้อนของชาวบ้าน บางคนมีฐานะยากจนมาก บางบ้านนี่มองไม่ออก เคลื่ อ นที่ ข องสภากาชาดไทยมาดู แ ลรั ก ษาผ่ า ตาพระภิ ก ษุ ทั้ ง เลยว่าเป็นบ้านเพราะมีแต่เสาแล้วไปเก็บกระดาษมาแปะเป็นฝาบ้าน ต้อเนื้อ ต้อกระจก มีพระเข้ารับการผ่าตัดเกือบร้อยรูป ในส่วน หรือหลังคาสังกะสีผุ ๆ เป็นรูพรุน เราก็มีโครงการส่งเสริมคุณภาพ ของเด็กนักเรียนเราได้โครงการสุขภาพดีใต้รม่ พระบารมีจากมูลนิธิ ชีวติ ให้เขามีความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ โดยท�ำโครงการสร้างบ้านสานฝันให้ สงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทย พาหมอฟันจากสภากาชาดไทย กับผู้ยากจน ปีละ 7 หลัง ซ่อมบ้านปีละ 21 หลัง ท่านผู้ว่าฯ เองก็ ออกมาท�ำการรักษาเด็กนักเรียนประมาณ 500 คน โดยไม่มีค่าใช้ ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนีม้ าก ท่านได้ไปบอกบุญกับเพือ่ น ๆ จนได้เงิน จ่าย และในโครงการจังหวัดเคลื่อนที่ของท่านผู้ว่าฯ เหล่ากาชาด มาซ่อมบ้านสร้างบ้านอีกหลายหลัง เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ก็ไปของบประมาณ จังหวัดก็มโี ครงการท�ำแว่นตาให้กบั ผูส้ งู อายุทอี่ ายุเกิน 60 ปีขนึ้ ไป จากธนาคารออมสินมาได้ล้านกว่าก็จะได้สร้างบ้านได้อีก 7 หลัง

36


ซ่อมอีก 7 หลัง ก็เพื่อให้ชาวบ้านได้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซึง่ ภารกิจทัง้ 4 ประการต้องใช้ทนุ ทรัพย์เป็นจ�ำนวนมาก เหล่า กาชาดจังหวัดไม่มีงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ เราต้องหา เงินกันเองเพื่อมาใช้ในการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ที่ยากจนด้อย โอกาส ทุกปีเราต้องจัดงานกาชาดออกร้านกาชาดพาโชคโดยขอ บริจาคสิ่งของจากผู้ใจบุญมาเป็นของรางวัลในการจับมัจฉากาชาด นอกจากนั้นเรายังมีรายได้จากการรับสมัครสมาชิก จากเงินบริจาค และเงินอุดหนุนจากท้องที่ท้องถิ่น เน้นสร้างงานสร้างอาชีพให้ผู้ยากไร้ ที่ ผ ่ า นมาเราสร้ า งบ้ า นให้ ผู ้ ที่ ย ากจนได้ มี ที่ อ ยู ่ อ าศั ย แต่ ถ้าเขายังไม่มีอาชีพอย่างนี้เราถือว่ายังปิดจ็อบไม่ได้ หมายถึง งานยังไม่เสร็จ เราต้องช่วยให้เขาสามารถด�ำรงชีวติ อยูไ่ ด้ดว้ ยตัวเอง ไม่ใช่ว่าเอาถุงยังชีพไปให้แล้วก็จบ เดี๋ยวเขาก็ต้องรอขอความช่วย

การช่วยเหลือคนยากจน เราต้องช่วยให้เขาสามารถ ดำ�รงชีวิตตัวเองให้ได้ ไม่ใช่ว่าเราเอาถุงยังชีพ ไปให้แล้วจบ เหลืออีกเพราะเขาไม่มรี ายได้อะไร ก็ปรึกษากับท่านผูว้ า่ ฯ ว่าเรา น่าจะสร้างอาชีพให้เขาท�ำอยู่กับบ้านได้ อย่างเช่น ท�ำบ่อให้เขา เลีย้ งปลาดุก เอาลูกปลาและอาหารปลาไปให้ เอาเมล็ดพันธุพ์ ชื ไป ให้ อย่างนี้เป็นต้น เหล่ากาชาดเรามีหน้าทีบ่ รรเทาทุกข์ บ�ำรุงสุข เบื้องต้น ถ้าเกินก�ำลังก็ต้องให้ท่านผู้ว่าฯ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขให้ กับชาวบ้านต่อไปค่ะ

ANG THONG 37


ผลงานที่ภาคภูมิใจ

งานชิน้ แรกทีค่ ดิ ท�ำและส�ำเร็จอย่างสวยงาม คือ การท�ำพาน พุ่มดอกดาวเรืองในงาน Bike for Dad โดยสั่งท�ำพุ่มโฟมขนาด ใหญ่จำ� นวน 30 พุ่ม ติดค�ำว่า ภปร. แล้วให้คนบริจาคเงินเพื่อ น�ำดอกดาวเรืองไปเสียบบนพุม่ โฟมเพือ่ น�ำขึน้ ถวายพระเจ้าอยูห่ วั หลังปั่นจักรยานเสร็จ โดยเงินรายได้จะน�ำไปซ่อมบ้านให้คน ยากจน ปรากฏว่าได้เงินถึง 280,000 บาท ได้ซ่อมบ้านถึง 14 หลังด้วยกัน งานชิ้นที่ 2 คือ การเปลี่ยนรูปแบบร้านกาชาดพาโชค ใหม่หมดโดยสิ้นเชิง เริ่มตั้งแต่การล้วงตลับในกล่อง ก็เปลี่ยน มาเป็นตักไข่ปลาสวรรค์ในบ่อมัจฉาและแกะไข่ปลาลุ้นค�ำว่า แจ็คพอตเพื่อไปจับรางวัลใหญ่บนเวที แล้วแจกของรางวัลใหญ่ อย่างมากมายให้หมดวันต่อวัน ปรากฏว่าได้รับความสนใจจาก ประชาชนอย่างมากผู้คนแน่นร้าน ไข่ปลาหมดบ่ออย่างรวดเร็ว ได้เงินมาไว้ช่วยเหลือชาวบ้านมากกว่าปีที่ผ่านมา ก็ต้องขอ ขอบคุณผู้มีอุปการะคุณทุกท่านที่สนับสนุนสิ่งของอย่างมากมาย ในวันรวมน�้ำใจให้กาชาด ท�ำให้เราสามารถจัดงานได้อย่างเต็มที่ และที่ จ ะลื ม ไม่ ไ ด้ เ ลยคื อ คณะท� ำ งานในร้ า นกาชาดไม่ ว ่ า จะ เป็นกรรมการ สมาชิกเหล่ากาชาดหรือทีมงานจากส่วนต่าง ๆ ทุกคนทุม่ เทแรงกายกันอย่างไม่รเู้ หน็ดเหนือ่ ย ต้องขอขอบคุณทุก ท่านไว้ ณ โอกาสนี้ด้วยค่ะ

งาน Bike for Dad ทำ�พานพุ่มโฟม ภปร. ขนาดใหญ่จำ�นวน 30 พุ่ม ประดับด้วยดอกดาวเรือง

จัดสรรเวลาให้ครอบครัวและงานอย่างลงตัว

เวลานี่จริง ๆ แล้วมีน้อยมากเลย อยากจะขยายออกเป็น 30 ชัว่ โมงต่อวัน ต้องบอกเลยว่าท�ำงานแบบห่วงหน้าพะวงหลัง เพราะ มีคุณแม่อายุ 84 ปีอยู่ด้วย และท่านเป็นอัลไซเมอร์ โชคดีที่ท่าน นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง ส่งแม่บ้านมาประจ�ำที่ จวน ท�ำให้คณ ุ แม่มคี นคอยดูแลตลอด ส่วนท่านนายกเทศบาลเมือง อ่างทองก็ส่งคนมาดูแลบริเวณจวนให้ ท�ำให้สามารถออกไปปฏิบัติ ภารกิจได้เต็มที่ เพียงแต่ว่าก่อนออกไปไหนจะต้องไปไหว้ลาคุณแม่ ทุกเช้า รายงานตัวทุกเย็น ส่วนลูก 2 คน ก็ต้องแบ่งเวลาไปหา พา ไปทานข้าวอย่างน้อยอาทิตย์ละครัง้ พาคุณยายไปพบหลานให้ได้ชนื่ ใจค่ะโชคดีทลี่ กู เป็นเด็กดีทงั้ คู่ ให้เขาดูแลกันเอง เราก็ได้แต่โทร.คุย 38


ให้คำ� ปรึกษาบ้าง ส่วนตัวท่าน ผูว้ า่ ฯ ดิฉนั จะเป็นคนดูแลเสือ้ ผ้าหน้า ผมให้ทา่ นเองทัง้ หมดค่ะ อย่างเสือ้ ผ้าท่านเป็นคนใส่แต่เราเป็นคนดู ถ้าดูแล้วไม่ดีก็ไม่ให้ใส่ค่ะ กางเกงแสล็คก็รีดให้ท่านเองใครรีดก็ไม่ ถูกใจ ท่านง่าย ๆ ยังไงก็ได้ แต่ดิฉันไม่ใช่ค่ะ ก็เลยต้องเหนื่อย หน่อย ทุกเช้าก่อนท่านผู้ว่าฯ จะไปท�ำงาน ดิฉันจะไหว้ลาทุกครั้ง พร้อมทั้งกอดหอมด้วย เย็นกลับมาก็ท�ำแบบเดียวกัน หมายถึงใน ช่วงเวลาที่อยู่ด้วยกันนะ ปฏิบัติเช่นนี้มาตั้งแต่วันแรกที่แต่งงานค่ะ วันไหนงอนไม่อยากมองหน้าก็ไหว้แบบส่ง ๆ ไป ถือว่าท่านเป็น พ่อคนที่ 2 ค่ะ เราอยู่ด้วยกันมา 27 ปี ไม่เคยทะเลาะกันเลยค่ะ ดิฉนั ชวนทะเลาะบ่อยแต่ทา่ นไม่เล่นด้วยสักครัง้ ท่านใจเย็นมากใจดี ด้วย ลูกน้องคนไหนโดนดุแสดงว่าแย่มาก ๆ เลย

คุณสมบัติของนายกเหล่ากาชาด

แน่ น อนคื อ ข้ อ แรกต้ อ งเป็ น ภรรยาผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด หรือเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเอง ส่วนคุณสมบัติอื่นนี่ระบุไม่ได้ เลยนะค่ะ แต่คิดว่ากว่าจะได้เป็นนายกเหล่ากาชาดแต่ละท่าน ต้องผ่านประสบการณ์มาอย่างมากมาย ต้องเป็นคนดีมีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีความซื่อสัตย์และประพฤติตัวให้เหมาะสมเป็น แบบอย่างที่ดีได้ หลักการท�ำงานของดิฉัน คือ ท�ำวันนี้ให้ดีที่สุดค่ะ เพราะเมื่อ วานกับวันพรุ่งนี้เราไม่สามารถจะท�ำอะไรได้ หลักการครองตนของ ดิฉัน คือ การน้อมน�ำทางแห่งการท�ำความดี 10 ประการทางพุทธ ศาสนามาใช้ อันได้แก่ ทาน ศีล ภาวนา การอ่อนน้อมถ่อมตน การท�ำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม การอุทิศส่วนบุญกุศล การอนุโมทนาบุญ การฟังธรรมเพื่อน�ำสิ่งที่ดีมาใช้ การแสดงธรรม เพื่อเผยแพร่สิ่งที่มีประโยชน์และการท�ำความเห็นให้ตรงคือเชื่อว่า บาปบุญมีจริง ดิฉนั ว่าการท�ำงานตรงนีถ้ อื เป็นความโชคดีเป็นบุญ แล้วเราก็ได้ เสริมบุญไปเรือ่ ย ๆ เพราะคิดว่าโอกาสทีจ่ ะได้เป็นนายกเหล่ากาชาด ไม่ใช่จะเป็นได้ง่าย ๆ ตรงนี้มีเวลาแค่ 3 ปี ก็คิดว่าจะพยายามท�ำ หน้าที่นี้ให้ดีที่สุดค่ะ

ดิฉันว่าการทำ�งานตรงนี้ ถือเป็นโชคดี เป็นบุญแล้ว เราได้เสริมบุญไปเรื่อย ๆ เพราะคิดว่าโอกาสที่ได้เป็น นายกเหล่ากาชาด ไม่ใช่จะเป็นได้ง่าย ๆ จากใจนายกเหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง

ความประทับใจในกาชาดอ่างทอง

เหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทอง มีคณะกรรมการทีเ่ ข้มแข็ง มีความ สมัครสมานสามัคคี เป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน ช่วยกันท�ำงานอย่างไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ย ทุกคนเป็นคนทีม่ คี ณ ุ ภาพมากค่ะ ใจเกินร้อย ขอให้บอก เต็มที่เลยจริง ๆ เราท�ำงานด้วยกันอย่างมีความสุข เหมือนเป็น ครอบครัวเดียวกันค่ะ ทุกคนไว้ใจให้เกียรติดิฉันมาก นับว่าโชคดี มาก ๆ ที่ท่านผู้ว่าฯ ได้มาด�ำรงต�ำแหน่งที่จังหวัดนี้ค่ะ

อ่างทองเป็นจังหวัดเล็ก ๆ ล�ำดับที่ 71 ของประเทศ ประชากร ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรมีฐานะยากจนแต่คนอ่างทองเป็นคนมีน�้ำใจ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน อยู่กันอย่างสงบสุขพอเพียง คนอ่างทองมีฝีมือ ในการท�ำอาหารคาวหวาน มีความสามารถในการท�ำงานศิลปะ ดิฉนั ดีใจทีได้มโี อกาสมาอยูจ่ งั หวัดอ่างทองค่ะ และจะตัง้ ใจท�ำหน้าทีน่ ายก เหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทองให้ดีที่สุด จะขอเป็นสะพานบุญให้ผู้ที่มี เมตตาได้ร่วมสร้างบุญสร้างกุศลไปด้วยกัน ฉะนั้นหากท่านใดมีจิต ศรัทธาจะบริจาคทรัพย์สนิ เงินทองเพือ่ ช่วยเหลือคนยากจนด้อยโอกาส ก็ขอเชิญได้ที่เหล่ากาชาดจังหวัดอ่างทองนะคะ ขอบคุณค่ะ ANG THONG 39


เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ทำ�วันนี้ให้ดีที่สุด สิ่งที่ผ่านไป ล้วนผ่านพ้นไปแล้ว

40


“นายสมฤกษ์ บัวใหญ่” .......................................................................................................................................

รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ....................................................................................................

“นายสมฤกษ์ บัวใหญ่” ได้ย้ายมารับราชการที่จังหวัดอ่างทองในต�ำแหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 โดยได้รับมอบหมาย จากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดอ่างทอง ให้กำ� กับดูแลงานด้านเศรษฐกิจ และด้านการ บริหาร รวมทั้งรับผิดชอบนโยบายส�ำคัญของรัฐบาล และจังหวัด เช่น โครงการ เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ โครงการตามมาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ของ ประชาชน เป็นต้น นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติอย่างสูงจาก ท่านรองผู้ว่าฯสมฤกษ์ บัวใหญ่ พูดคุยถึงประวัตกิ ารศึกษา และประวัตกิ ารท�ำงานของท่าน ก่อนจะมาด�ำรงต�ำแหน่ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองในปัจจุบัน คติพจน์ประจ�ำใจที่ท่านยึดมั่นมาตลอด ชีวิตการท�ำงาน ตลอดจนผลการด�ำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล พร้อมเผย กลยุทธ์ในการท�ำงานให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้

ANG THONG 41


42


จากนักเศรษฐศาสตร์สู่นักปกครอง

ในระดับประถมศึกษา ผมเรียนจบที่โรงเรียนวัดโบสถ์สามเสน กรุงเทพฯ (พ.ศ. 2507-2514) และศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพฯ (พ.ศ. 2514-2519) ส�ำหรับในระดับปริญญาตรี ส�ำเร็จการศึกษาจากคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2519-2523) ส่วนระดับปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง (พ.ศ.2539-2541)

มุ่งสร้างกระบวนการมี ส่วนร่วมจากภาคีการ พัฒนาที่เกี่ยวข้องใน พื้นที่ ในรูปแบบประชารัฐ

ชีวิตราชการ & คติประจ�ำใจ

ผมรับราชการครั้งแรก เป็นนักพัฒนาชุมชน สังกัดกรมการ พัฒนาชุมชน ระหว่างปี พ.ศ. 2524-2530 จากนั้นโอนย้ายไป รับราชการที่ส�ำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ในต�ำแหน่งเจ้า หน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน และเจริญก้าวหน้าตามสายงาน ในต�ำแหน่งหัวหน้าฝ่าย/หัวหน้ากลุ่มงานต่าง ๆ ของส�ำนักงาน จังหวัด รวมทัง้ หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดในหลายจังหวัด(หนองคาย อุทยั ธานี สมุทรปราการ) และรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดปราจีนบุรี 2 ปี ก่อนจะมาด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองในปัจจุบัน แต่ไม่ว่าจะปฏิบัติหน้าที่ในต�ำแหน่งใด ผมจะมีคติพจน์ประจ�ำ ใจที่ยึดถือปฏิบัติมาอย่างมั่นคง คือ “ท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด สิ่งที่ผ่านไป ล้วนผ่านพ้นไปแล้ว”

การด�ำเนินการตามนโยบายของรัฐบาล

เนือ่ งจากในปีนไี้ ด้เกิดภาวะภัยแล้งอย่างรุนแรงในประเทศไทย รวมทั้ ง เกิ ด ปั ญ หาวิ ก ฤติ ท างเศรษฐกิ จ ไปทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคทั่ ว โลก ก่อให้เกิดปัญหาความเดือดร้อนแก่พนี่ อ้ งเกษตรกรอย่างมาก รัฐบาล จึงพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจในระดับฐานราก โดยสนับสนุนงบ ประมาณให้แก่หมู่บ้าน/ต�ำบล ตามโครงการส่งเสริมความเป็นอยู่ ของประชาชน เช่น มาตรการส่งเสริมความเป็นอยู่ระดับต�ำบล (ต�ำบลละ 5 ล้าน) เป็นต้น โดยจังหวัดมีการด�ำเนินโครงการ จ�ำนวน 1,659 โครงการ งบประมาณ 362 ล้านบาทเศษ นอกจากนีย้ งั มีการ ด�ำเนินการตามนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ เพือ่ มุง่ พัฒนาการเกษตร การแปรรูปสินค้า และการท่องเทีย่ วชุมชน ANG THONG 43


4 กลยุทธ์ในการท�ำงาน

1. การบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในพื้นที่ มุ่งสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ ในรูปแบบประชารัฐ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ประชาชน โดยใช้หลักประชาธิปไตย ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมแก้ไข ปัญหา จะต้องสร้างทีมงานและเครือข่ายการท�ำงานให้เป็น ปึกแผ่น โดยเฉพาะการบริหารราชการในภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ ต้องอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยยึด ศักยภาพและปัญหาของพืน้ ทีเ่ ป็นหลัก (Area Based) แล้วก�ำหนด แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เมือ่ เห็นพ้องต้องกันแล้วก�ำหนดเป็น วาระจังหวัด 2. ใช้กลไกระบบแผนเป็นเครื่องที่สำ� คัญให้สัมฤทธิ์ผล ต้องวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) เพือ่ รับรูส้ ภาพ แวดล้อมจังหวัดทุกด้าน รู้ปัญหาทุกทิศ แล้วก�ำหนดยุทธศาสตร์ ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาโดยต้องควบคุมดูแลและติดตามผล การปฏิบัติงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ อ�ำเภอ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล กระทรวง กรม และแผนงานโครงการของจังหวัด 3. ท�ำงานเชิงรุกด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งสภาพ แวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงต้องท�ำงานเชิงรุก ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ โดยสร้างทีมงานแห่งการ เรียนรู้ วิเคราะห์สถานการณ์ของจังหวัดอ่างต่อเนื่อง โดยอาศัย ข้อมูลทีท่ นั สมัย เชือ่ ถือได้ และรับฟังความคิดเห็นอย่างรอบด้าน 44

จากใจท่านรองผู้ว่าฯ

จังหวัดอ่างทอง ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ว่า “อ่างทองเมืองน่าอยู่ แหล่งผลิตอาหารปลอดภัย” ซึ่งการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ก�ำหนด ทุกภาคส่วน จะต้องเข้ามามีสว่ นร่วมในกระบวนการขับเคลือ่ นวาระ จังหวัด ในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ (สินค้าเกษตรปลอดภัย, การท่องเที่ยว OTOP) ด้านสังคม (สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตและ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน) ด้านความมั่นคง (ยาเสพติด) และการบริหารงานจัดการ (น�้ำ) เมื่อทุกภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในจังหวัด ได้ร่วมกันก�ำหนด วาระจังหวัดเรียบร้อยแล้วในโอกาสต่อไป ต้องขับเคลื่อนวาระ จังหวัดให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม สิ่งที่ส�ำคัญก็คือเมื่อช่วยกัน คิดแล้ว จะต้องช่วยกันท�ำอย่างจริงจังและต่อเนื่อง โดยน้อมน�ำ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการพัฒนาต่อไป


นายสมฤกษ์ บัวใหญ่ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง และผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) ข้อมูลและประวัติการรับราชการ

การศึกษา : - เศรษฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ประวัติการรับราชการ : - ปี 2524-2530 นักพัฒนาชุมชน 3-4 จังหวัดสิงห์บุรี, จังหวัดปราจีนบุรี, กรมพัฒนาชุมชน - ปี 2530-2533 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 4-5 จังหวัดก�ำแพงเพชร - ปี 2533-2546 หัวหน้าฝ่ายแผนและโครงการ, หัวหน้าฝ่ายข้อมูลและติดตามประเมินผล , หัวหน้าฝ่ายนโยบายและแผน ส�ำนักงานจังหวัดแม่ฮ่องสอน, จังหวัดก�ำแพงเพชร, จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดตราด - ปี 2546-2552 หัวหน้ากลุม่ งานยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์นโยบายและแผน 8ว) ส�ำนักงานจังหวัดระยอง และจังหวัดสมุทรปราการ - ปี 2552-2556 หัวหน้าส�ำนักงานจังหวัดหนองคาย, จังหวัดอุทัยธานี, และจังหวัดสมุทรปราการ - ปี 2556-2558 รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี - 1 ตุลาคม 2558 - ปัจจุบัน รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง

ทำ�วันนี้ให้ดีที่สุด สิ่งที่ผ่านไป ล้วนผ่านพ้นไปแล้ว

ANG THONG 45


เส้ น ทางพบ รองผู้ว่าราชการจังหวัด

“นายขจรชัย วัฒนาประยูร” ..................................................................................................................................................................

รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ....................................................................................................

“ซื่อสัตย์ สุจริต มุ่งมั่นท�ำงานให้ได้ทั้งงานและน�้ำใจ”

คือคติพจน์ประจ�ำใจของท่านขจรชัย วัฒนาประยูร รองผู้ว่าราชการจังหวัด อ่างทอง ซึ่งรับผิดชอบดูแลงานด้านความมั่นคงและด้านสังคม วันนี้ ท่านขจรชัย ได้ให้เกียรติสมั ภาษณ์ถงึ ประวัตกิ ารปฏิบตั ริ าชการทีผ่ า่ นมา หลักการท�ำงาน บุคคล ผู้เป็นแรงบันดาลใจในการท�ำงาน ตลอดจนถึงภารกิจและผลการด�ำเนินงานที่ ภาคภูมิใจในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง

เส้นทางชีวิตและการท�ำงาน

ผมเกิดที่ชลบุรี จึงเรียนมัธยมตอนต้นที่โรงเรียนกล่อมปฐมวัย จังหวัดชลบุรี ส่วนมัธยมตอนปลายเรียนที่โรงเรียนอ�ำนวยศิลป์พระนคร จบปริญญาตรีด้าน รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สิงห์ดำ� รุน่ ที่ 29) และปริญญาโทด้านพัฒนา บริหารศาสตร์ (เกียรตินิยมดี) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ส่วนการท�ำงานเริ่มจาก ปี พ.ศ. 2525 เป็นปลัดอ�ำเภอมหาชนะชัย กุดชุม ค้ อ วั ง เมื อ งยโสธร จั ง หวั ด ยโสธร และอ� ำ เภอเมื อ งสรวง จั ง หวั ด ร้ อ ยเอ็ ด แล้วไปเป็นเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ส�ำนักงานจังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งแต่ ปี 2536 จนกระทัง่ พ.ศ. 2537-2544 จึงได้ยา้ ยไปปฏิบตั งิ านส่วนกลาง ทีก่ รมการปกครอง จนปี พ.ศ. 2544 ได้เป็นนายอ�ำเภอทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ปีพ.ศ. 2547 ย้ายไปเป็นนายอ�ำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บรุ ี ปี พ.ศ.2550 ถึงได้ยา้ ยเป็นนาย อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พอปี พ.ศ. 2556 ได้ไปเป็นปลัดจังหวัด อุทยั ธานี และมาเป็นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดอ่างทอง ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2557 – ปัจจุบัน

46


ท่านผู้ว่าฯ วีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี มีทักษะในการบูรณาการทุกภาคส่วน ให้มาร่วมทำ�งานแก้ไขปัญหาสำ�คัญ ๆ ของจังหวัดให้สำ�เร็จลุล่วง ได้เป็นอย่างดี

ANG THONG 47


สร้างหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง โดยใช้นโยบาย “ประชารัฐ” ขับเคลื่อนตามแนวความคิด “ประชารัฐร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด”

48


ยึดหลักการท�ำงาน 3 ประการ

ตลอดชีวิตการท�ำงาน ผมยึดหลัก 3 ประการ ได้แก่ (1) ท�ำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ และยึด หลักผลประโยชน์ของชาติเป็นหลัก (2) บูรณาการทุกภาคส่วนทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วน ท้องถิ่น และภาคประชาชน ในการร่วมคิด ร่วมท�ำงานและร่วม แก้ไขปัญหา (3) เน้นให้ได้ทั้งผลงานและน�้ำใจเพื่อนร่วมงาน

บุคคลดลใจ

ท่านแรกคือ ท่านวิบูลย์ สงวนพงศ์ อดีตปลัดกระทรวง มหาดไทย ที่เป็นผู้บังคับบัญชาที่มีทักษะในการบริหารเป็นอย่างดี เยี่ยม เป็นนักบริหารที่มีความครบเครื่อง สามารถประสานงานกับ ทุกภาคส่วนได้อย่างเหมาะสม ท่านจะสอนผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ในเรือ่ ง การท�ำงานที่จะให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ต้องยึดหลัก 1. สุขภาพ ต้องดูแลสุขภาพให้มคี วามสมบูรณ์ แข็งแรง จนสามารถ ทุ่มเทการท�ำงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต ต้องท�ำงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ยึดผล ประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง 3. เน้นผลงาน และน�้ำใจของผู้ร่วมงาน จะต้องให้เกิดผลงานที่ดี อย่างเป็นรูปธรรม และได้ความรู้สึกที่ดีจากเพื่อนร่วมงานตลอดไป 4.ดูแลผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ท่านที่ 2. คือ ท่านผู้ว่าฯวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี ท่านเป็นผู้วา่ ราชการจังหวัดที่ผ่านประสบการณ์ในการบริหารด้านการปกครอง เป็นอย่างมาก คือท่านเป็นนายอ�ำเภอมาเป็นสิบปี ผ่านปลัดจังหวัด มาหลายจังหวัด และผ่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดมา 2 จังหวัด เป็นเวลา 3 ปี ท่านจึงเป็นผู้ว่าฯที่มองภาพรวมของปัญหาต่าง ๆ และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของจังหวัดได้ตรงจุด ได้ทุกปัญหา นอกจากนั้น ท่านยังมีทักษะในการบูรณาการทุกภาคส่วน ทั้งภาค รัฐและเอกชน ให้มาร่วมท�ำงานแก้ไขปัญหาส�ำคัญ ๆ ของจังหวัด ให้ส�ำเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี

เน้นภารกิจด้านความมั่นคงและสังคม

ภารกิจหลัก ๆ ที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบดูแล คือ 1. ก�ำกับดูแลงานด้านการปกครอง, การป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย, งานด้านแรงงานทั้งสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จัดหางานและประกันสังคม, งานด้านการพลังงาน, งานด้าน ยุตธิ รรม ทัง้ เรือนจ�ำ งานบังคับคดี และคุมประพฤติ, งานการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์, งานสาธารณสุข ทั้งด้านการ ป้องกันโรค (สาธารณสุขจังหวัด) และงานรักษาโรค (โรงพยาบาล อ่างทอง), งานด้านวัฒนธรรมและงานพระพุทธศาสนา, งานศูนย์ อ�ำนวยการและป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัด และงาน อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด 2. งานประสานการด�ำเนินงานกับหน่วยงานราชการบริหาร ส่วนกลาง ตัง้ ณ จังหวัด ได้แก่ ต�ำรวจภูธรจังหวัด กองอ�ำนวยการ รักษาความมัน่ คงภายในจังหวัด งานการสัสดี งานการศึกษา (สนง. เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา) การศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาพิเศษ สถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต อ่างทอง การอาชีวศึกษา ทัง้ วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง วิทยาลัยนาฏ

รัฐบาลและ คสช.ได้กำ�หนด ให้การดำ�เนินการแก้ไขปัญหาขยะ มูลฝอย เป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุก จังหวัดจะต้องดำ�เนินการแก้ไข ศิลปอ่างทอง วิทยาลัยการอาชีพวิเศษชัยชาญ วิทยาลัยการ อาชีพโพธิ์ทอง และโรงเรียนกีฬาจังหวัดอ่างทอง

อ่างทองปิดบ้าน ต้านยาเสพติด

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดของ จังหวัดอ่างทองยังมีมากแต่ไม่รนุ แรงมากนัก โดยจากหมูบ่ ้าน/ ชุมชน ในจังหวัดอ่างทอง จ�ำนวน 545 แห่ง มีปัญหาการ แพร่ระบาดของยาเสพติดขั้นเบาบาง ร้อยละ 72.1 มีปัญหา การแพร่ระบาดในระดับปานกลาง ร้อยละ 24.8 และมีการ แพร่ระบาดขั้นรุนแรง ร้อยละ 6.4 แต่มีการลักลอบน�ำยา เสพติดเข้าพัก หรือผ่านเข้ามาในพื้นที่ เพื่อน�ำไปจ�ำหน่ายใน จังหวัดใกล้เคียง และปริมณฑล การด�ำเนินการแก้ไขปัญหา จะต้องก�ำหนดมาตรการที่เป็นการสกัดกั้นมิให้มีการลักลอบ น�ำยาเสพติดเข้ามาในพื้นที่และปัดกวาดในหมู่บา้ น/ชุมชน ให้ ปัญหายาเสพติดหมดไป ซึ่งต้องส่งผลต่อการลดสถานการณ์ การแพร่ระบาดของยาเสพติดในพืน้ ที่ จึงได้กำ� หนดแผนปฏิบตั ิ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง ในระยะเร่งด่วน ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการ “อ่างทองปิดบ้าน ต้านยาเสพติด” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดการขยายตัวของ ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ที่ส่งผลกระทบต่อสังคมและชุมชน สร้างความรู้สึกปลอดภัยให้กับประชาชน และมีเป้าหมายเพื่อ ให้จงั หวัดอ่างทอง ไม่เป็นแหล่งพัก ไม่เป็นทางผ่านของยาเสพ ติด โดยใช้ใช้กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ คือ Sealing Cleaning และ Clearing 1.) Sealing การสกัดกัน้ การลักลอบล�ำเลียงยาเสพติดเข้า มาพัก หรือผ่านเข้ามาในพื้นที่ 2.) Cleaning การปัดกวาดในหมูบ่ า้ นและชุมชนให้ปลอด จากยาเสพติด 3.) Clearing การสร้างหมู่บ้าน/ชุมชนให้เข้มแข็ง ด้วย กระบวนการประชาคม

ANG THONG 49


ส�ำหรับภารกิจที่ส�ำคัญตามแผนปฏิบัติการคือ การสกัดกั้น ไม่ให้มกี ารลักลอบน�ำยาเสพติดเข้ามาพัก หรือผ่านเข้ามาในพืน้ ที่ การปัดกวาดหมู่บา้ น/ชุมชน ให้ปลอดจากปัญหายาเสพติด และ สร้างหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็ง โดยใช้นโยบาย “ประชารัฐ” ของ รัฐบาลเป็นกลไกในการขับเคลื่อนตามแนวความคิด “ประชารัฐ ร่วมใจ ต้านภัยยาเสพติด” เนื่องจากที่ผ่านมามีพี่น้องชาวจังหวัดอ่างทองเรียกร้องให้ ทางจังหวัด ช่วยแก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดสิ้นไปจากจังหวัด อ่างทอง ถึงแม้ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดใน จังหวัดอ่างทองอยู่ในระดับเบาบางถึงปานกลาง คือไม่มีผู้ค้าราย ใหญ่ในพื้นที่ มีแต่ผู้ค้ารายย่อย แต่การปรากฏว่ามีผู้เสพอยู่ใน พื้นที่ทุกต�ำบล และทุกอ�ำเภอ ในระยะหลังยาเสพติดเริ่มแพร่ ระบาดเข้าไปสูเ่ ด็กและเยาวชน ทัง้ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน พี่น้องประชาชนได้เริ่มเห็นภัยของยาเสพติดได้คืบคลานเข้ามา ในครอบครัวของตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งครอบครัวที่มีบุตร หลานเข้าไปยุง่ เกีย่ วกับยาเสพติด จึงมีการเรียกร้องให้ทางจังหวัด ด�ำเนินการขจัดปัญหายาเสพติดให้หมดสิน้ ไปจากจังหวัดอ่างทอง ให้จงได้

รัฐบาลและ คสช.ได้กำ�หนด ให้การดำ�เนินการแก้ไขปัญหาขยะ มูลฝอย เป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุก จังหวัดจะต้องดำ�เนินการแก้ไข ประกอบกับรัฐบาลและ คสช.ได้ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนิน การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และได้ก�ำหนดเป็นวาระ แห่งชาติที่ทุกภาคส่วน ทั้งภาคราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ภาครัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ตลอดจนภาค ประชาชน ได้เข้ามาร่วมกันขับเคลื่อน การแก้ไขปัญหายาเสพ ติด ในรูปแบบประชารัฐร่วมใจ แก้ไขปัญหายาเสพติดให้หมดสิน้ ไปจากจังหวัดอ่างทอง เพือ่ ให้ลกู หลานชาวอ่างทอง ได้อยูอ่ ย่างมี ความสุข และเติบโตขึน้ เป็นพลเมืองดี ในวันทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญ ของชาติในอนาคต

“ขยะ” จากวาระแห่งชาติ สู่การปฏิบัติจริง

รัฐบาลและ คสช.ได้ก�ำหนดให้การด�ำเนินการแก้ไขปัญหา ขยะมูลฝอย เป็นวาระแห่งชาติ ที่ทุกจังหวัดจะต้องด�ำเนินการ แก้ไขให้เป็นรูปธรรมตามบริบทของแต่ละจังหวัด ให้เสร็จสิ้น ภายใน 1 ปี คือ 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558 จังหวัดอ่างทอง โดยท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดอ่างทอง ได้มอบ หมายให้ข้าพเจ้า นายขจรชัย วัฒนาประยูร รองผู้ว่าราชการ จังหวัดอ่างทอง เป็นประธานคณะท�ำงานจัดการขยะมูลฝอย จังหวัดอ่างทอง เพื่อด�ำเนินการตามแนวทางการจัดการขยะ มูลฝอย ภายใต้ Road Map ที่ก�ำหนดไว้ 50

คณะท�ำงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดอ่างทอง ได้ ประชุมเป็นประจ�ำทุก ๆ เดือนๆละ 2 ครั้ง โดยก�ำหนดแนวทาง ในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยตามบริบทของจังหวัดอ่างทอง ดังนี้ สถานการณ์ปัญหาขยะมูลฝอยในจังหวัดอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง มีองค์การปกครองท้องถิน่ มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 64 แห่ง ด�ำเนินการรวบรวมขยะมูลฝอย ปริมาณ 302 ตัน ส่งไปยัง บ่อขยะมูลฝอยในจังหวัด ซึ่งมีจ�ำนวนทั้งสิ้น 12 แห่ง ได้แก่ สถาน ทีก่ ำ� จัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองอ่างทอง อ�ำเภอเมืองอ่างทอง, ทต.ศาลาแดง อ�ำเภอเมืองอ่างทอง, ทต.ป่าโมก อ�ำเภอเมืองป่าโมก, อบต.สายทอง อ�ำเภอป่าโมก, อบต.โรงช้าง อ�ำเภอป่าโมก, อบต. โผงเผง อ�ำเภอป่าโมก, ทต.โพธิ์ทอง อ�ำเภอโพธิ์ทอง, ทต.ร�ำมะสัก อ�ำเภอโพธิ์ทอง, ทต.แสวงหา อ�ำเภอแสวงหา, ทต.ท่าช้าง อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ, ทต.เกษไชโย อ�ำเภอไชโย และทต.สามโก้ อ�ำเภอ สามโก้ ซึ่งจากการตรวจสอบสถานที่ก�ำจัดขยะมูลฝอยทั้ง 12 แห่ง มี เพียงแห่งเดียวทีเ่ ป็นสถานทีก่ ำ� จัดขยะทีถ่ กู ต้องตามหลักวิชาการ คือ สถานที่ก�ำจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองอ่างทอง


ภาคภูมิใจที่ได้มีส่วนในการเร่งรัด การให้ความช่วยเหลือ และแก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนได้ถึง 1,558 เรื่อง

แนวทางการด�ำเนินการแก้ไขขยะมูลฝอยของจังหวัดอ่างทอง 1. การด�ำเนินการก�ำจัดขยะตกค้าง ประชุมชีแ้ จงท�ำความเข้าใจกับผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีเ่ ป็นเจ้าของสถานทีก่ ำ� จัดขยะมูลฝอยทีไ่ ม่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ ให้มีความเข้าใจ และด�ำเนินการปิดบ่อขยะดังกล่าวภายในวันที่ 1 ตุลาคม 2558 ตาม Road Map ของการบริหารจัดการขยะของ รัฐบาลและ คสช. ซึ่งผู้บริหารท้องถิ่นทั้ง 11 แห่งเกิดความเข้าใจ และยินดีปิดบ่อขยะดังกล่าวในวันที่ 1ตุลาคม 2558 ตามที่ก�ำหนด ไว้ในแผน 2. การด�ำเนินการก�ำจัดขยะใหม่ทเี่ กิดขึน้ หลังวันที่ 1 ตุลาคม 2558 ได้ประชุมชีแ้ จงกับผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทัง้ 64 แห่ง ให้ร่วมมือกันในการก�ำจัดขยะที่ถูกหลักวิชาการ โดยการน�ำ ขยะจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาก�ำจัดในสถานที่ก�ำจัดขยะ ที่ถูกหลักวิชาการของเทศบาลเมืองอ่างทอง ณ ต�ำบล เทวราช อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง โดยได้ตกลงท�ำ MOU ในการร่วมมือ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด โดยองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ได้นำ� ขยะมูลฝอยในเขตของตนมาส่งทีส่ ถานทีก่ ำ� จัดขยะของ เทศบาลเมืองอ่างทองทุกวัน โดยตกลงกันเสียค่าก�ำจัดขยะดังกล่าว ให้แก่เทศบาลเมืองอ่างทอง ในราคาตันละ 400 บาท 3. การสร้างจิตส�ำนึก สร้างความตระหนักให้ประชาชน เข้ามา มีสว่ นร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย โดยเฉพาะอย่างยิง่ การด�ำเนิน การคัดแยกขยะจากต้นทาง โดยได้ด�ำเนินกิจกรรม ดังนี้

3.1 การติดป้ายเพื่อการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ 3.2 การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ ขยะมูลฝอย 3.3 การให้ ค วามรู ้ กั บ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ครู นักเรียน และประชาชน จากการด�ำเนินการกิจกรรมดังกล่าวอย่างต่อเนือ่ งและจริงจัง ท�ำให้สถานการณ์ขยะของจังหวัดอ่างทอง จากเดิมทีม่ ปี ริมาณวัน ละ 300 ตัน ปัจจุบันมีปริมาณขยะมูลฝอยลดเหลือ 105 ตันต่อ วัน เท่านั้นเอง 4. การก�ำจัดขยะมูลฝอยและข้อเสียอันตราย คณะท� ำ งานจั ด การขยะมู ล ฝอยของจั ง หวั ด อ่ า งทอง ได้มีการสร้างความเข้าใจและสร้างจิตส�ำนึกแก่ผู้บริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และโรงเรือน ในการจัดการขยะ มูลฝอย และของเสียอันตรายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ด�ำเนินการจัดเก็บ คัดแยก ขยะมูลฝอยที่เป็นของเสียอันตราย ออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป แล้วด�ำเนินการขนส่งขยะมูลฝอย ของเสี ย อั น ตราย เพื่ อ ไปก� ำ จั ด ให้ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิ ช าการ ได้มีการร่วมมือกันลงนามในบันทึกข้อตกลง (MOU) ระหว่าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ขนส่งทั้ง 64 แห่ง กับเทศบาล เมืองอ่างทอง โดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้อนุมตั งิ บประมาณให้เทศบาลเมืองอ่างทองได้กอ่ สร้างอาคารที่ รวบรวมขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย จ�ำนวน 1,400,000 บาท เพื่ อ เป็ น สถานที่ ร วบรวมขยะมู ล ฝอยของเสี ย อั น ตราย ก่อนน�ำไปท�ำลายให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในการนี้ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ ทีข่ นขยะอันตรายมายังเทศบาลเมืองอ่างทอง ต้องเสียค่าก�ำจัดขยะอันตรายในอัตรากิโลกรัมละ 14 บาท ในอนาคต จังหวัดอ่างทอง ก็จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรายได้อย่างสิน้ เชิง พีน่ อ้ งประชาชนชาว จังหวัดอ่างทอง ก็จะอยู่อย่างมีความสุข เพราะมีระบบบริหาร จัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืน

แก้ไขเรื่องร้องทุกข์ คือผลงานที่ภาคภูมิใจ

ได้รับมอบหมายจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ให้ รั บ ผิ ด ชอบศู น ย์ ด� ำ รงค์ ธ รรมจั ง หวั ด อ่ า งทอง ในการด� ำ เนิ น การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ของพี่น้องชาวจังหวัด อ่างทองให้เสร็จสิ้นจนเป็นที่พอใจของทุกฝ่าย และยุติเรื่อง เกือบทั้งหมด ตั้งแต่รับผิดชอบศูนย์ด�ำรงธรรมจังหวัด จนถึง วันที่ 25 มีนาคม 2559 มีเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์ 1,671 เรื่อง เร่งรัดด�ำเนินการแก้ไขเรื่องร้องเรียนจนยุติเรื่อง 1,650 เรื่องคิด เป็น 98.74% อยู่ระหว่างด�ำเนินการ 21 เรื่อง คิดเป็น 1.26% ท�ำให้เกิดความภาคภูมใิ จทีไ่ ด้มสี ว่ นในการเร่งรัดการให้ความช่วย เหลือ และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของพีน่ อ้ งประชาชนได้ถงึ 1,650 เรื่อง ANG THONG 51


เส้นทางพบ

หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัด

“นายปรี ช า เดชพั น ธุ ” ์ หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง “นายปรีชา เดชพันธุ์” หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง เป็นผู้ที่มีความคุ้นเคยกับพื้นที่ จังหวัดในภาคกลางตอนบนเป็นอย่างดีเพราะไม่เพียงแต่ทา่ นจะเป็นคนกรุงเก่าโดยกำ�เนิดแล้วยัง เคยปฏิบัติราชการในภาคกลางหลายจังหวัด อาทิ พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท และอ่างทอง โดยดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง เมื่อปี 2558 วิสัยทัศน์ในการ ปฏิบัติราชการคือ “สร้างความเชื่อใจ เชื่อถือ เชื่อมั่น และพัฒนาจังหวัดอย่างยั่งยืน” นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจากท่านปรีชา เดชพันธุ์ หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดอ่างทอง ให้สมั ภาษณ์เกีย่ วกับบทบาทและหน้าทีข่ องหัวหน้าสำ�นักงานจังหวัด ภารกิจทีท่ า่ นผูว้ า่ ฯเน้นเป็น พิเศษในปีนี้ ศิลปะการบริหารจัดการในฐานะหัวหน้าสำ�นักงานจังหวัด และผลการดำ�เนินงานที่ ท่านภาคภูมิใจ

44


ANG THONG 53


เส้นทางชีวิต

ผมเกิ ด ที่ จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา จบปริ ญ ญาตรี นิ ติ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย รามคำ � แหง และส่ ง เสริ ม การเกษตรและสหกรณ์บณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จบปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เริม่ รับราชการตัง้ แต่ปี 2527 การดำ � รงตำ � แหน่ ง ที่ สำ � คั ญ คื อ ปลั ด อำ � เภอ บุ ค ลากร เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ทั้งส่วนกลางและส่วน ภูมภิ าค ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา น่าน สระแก้ว ชัยนาท สระบุรี ลพบุรี และอ่างทอง โดยล่าสุดดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าสำ�นักงาน จังหวัดอ่างทองเมื่อปี 2558 สำ�หรับบุคคลที่เป็นตัวอย่างในการปฏิบัติงานที่ข้าพเจ้าเคย เป็นผูใ้ ต้บงั คับบัญชาและร่วมในการทำ�งานคือ ท่านวิชยั ศรีขวัญ ท่านพระนาย สุวรรณรัฐ ท่านวิบูลย์ สงวนพงศ์ ซึ่งทั้ง 3 ท่าน เป็นอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และท่านศุทธนะ ธีวีระปัญญา อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ที่เป็นตัวอย่างเนื่องจากท่านมี วิธกี ารทำ�งานทีเ่ ป็นระบบมีขนั้ มีตอนชัดเจน และทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือ มีความโปร่งใสซื่อสัตย์สุจริต ไม่มีประวัติการทำ�งานที่ด่างพร้อย ในเรื่องการประพฤติมิชอบในวงราชการ 46

บทบาทและหน้าที่ของหัวหน้าสำ�นักงานจังหวัด

การบริหารงานราชการส่วนภูมภิ าค ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเปรียบ เสมือนพ่อเมือง เป็นผู้บริหารจัดการงานต่าง ๆ เพื่อ “บำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข” ประชาชนในพื้นที่ หัวหน้าสำ�นักงานจังหวัดเปรียบ ว่าเป็นแม่บ้านของจังหวัด ดูแลงานรัฐพิธี งานเลขานุการของ ผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการจังหวัด งานนโยบายของ รั ฐ บาล งานยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาจั ง หวั ด แผนงาน/โครงการ งานบริหารงานบุคคลของจังหวัด งานระบบข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร รวมทั้งงานอื่นที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของ หน่วยงานใด รวมทั้งภารกิจที่ท่านผู้ว่าฯ เน้นเป็นพิเศษ งานที่รัฐบาลและผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความสำ�คัญเป็นพิเศษ ในช่วงนี้คือการช่วยเหลือประชาชนให้ผ่านวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจ และภั ย แล้ ง การดำ � เนิ น งานมาตรการกระตุ้ น เศรษฐกิ จ เช่ น โครงการช่วยเหลือเกษตรกรและคนยากจนซึ่งเป็นการส่งเสริมการ รวมกลุม่ ในการประกอบอาชีพ โครงการส่งเสริมความเป็นอยูร่ ะดับ ตำ�บลหรือตำ�บลละ 5 ล้านบาท และสนับสนุนการดำ�เนินงานการ บรรเทาปัญหาภัยแล้ง เช่น โครงการส่งเสริมอาชีพให้ประชาชน มีรายได้บรรเทาผลกระทบจากภัยแล้ง นอกจากนีย้ งั ได้รบั มอบหมาย ในเรื่องการให้การสนับสนุนหน่วยงานในการเทิดทูนสถาบันหลัก ของชาติ และการสร้างความปรองดองสมานฉันท์


ศิลปะการบริหารจัดการ

ในการเป็ นหั ว หน้ า สำ � นั ก งานจั งหวั ดได้ยึดหลักวิสัยทัศ น์ ในการทำ�งานคือ “สร้างความเชื่อใจ เชื่อถือ เชื่อมั่น และพัฒนา จังหวัดอย่างยั่งยืน” ประการแรกคือสร้างความเชื่อใจ หมายถึง การทำ�งานอย่างเป็นระบบ ยึดหลักระเบียบกฎหมาย และความ โปร่งใสซื่อสัตย์สุจริตให้ผู้บังคับบัญชาเชื่อใจ ประการที่สองคือ สร้างความชื่อถือ หมายถึงการประพฤติตนที่ดีเป็นตัวอย่างของ ส่วนราชการอื่นและผู้ใต้บังคับบัญชา ประการที่สามคือสร้าง ความเชือ่ มัน่ ให้ประชาชนได้รบั บริการอย่างเป็นธรรมและพึงพอใจ และประการสุดท้ายคือเป็นหน่วยงานขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัด อย่างยั่งยืน โดยมีภาพสุดท้ายของการทำ�งานคือ ได้ทั้งงานและ ใจคนทำ�งานโดยทุกคนมีส่วนร่วม

คุณสมบัติที่ดีของหัวหน้าสำ�นักงานจังหวัด

ดังที่ได้กล่าวแล้วงานส�ำนักงานงานจังหวัดเปรียบเป็นแม่บ้าน ของจั ง หวั ด หรื อ เป็ น ฝ่ า ยบุ ๋ น ดั ง นั้ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ส�ำคั ญ คื อ เป็ น ผู ้ ป ระสานงานที่ ดี ส ามารถเชื่ อ มโยงการปฏิ บั ติ ร ะหว่ า ง ผู ้ บ ริ ห ารและผู ้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ต่ อ มาที่ ส�ำคั ญ อี ก ประการหนึ่ ง คื อ ความโปร่งใส ความซือ่ สัตย์ ตรวจสอบได้ และสุดท้ายคือ “ตัง้ ใจ ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้ดีที่สุด”

ผลการดำ�เนินงานที่ภาคภูมิใจ

คือการได้รับรางวัล “ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำ�ปี พุทธศักราช 2556” ได้รับเข็มชูเกียรติครุฑทองคำ�และการมี ส่วนร่วมในการแก้ไขวิกฤติของชาติ เช่น งานกระตุ้นเศรษฐกิจ งานช่วยเหลือประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากภัยแล้ง เพือ่ ให้บรรลุ ภารกิจของกระทรวงมหาดไทย “บำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุข” ANG THONG 55


เส้นทางพบ

ท้องถิ่นจังหวัด

56


“นายธีรพัฒน์ คัชมาตย์” ท้องถิ่นจังหวัดอ่างทอง

จังหวัดอ่างทองแม้จะเป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็ก และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เพียง 65 แห่ง แต่กลับเป็นข้อดีที่ท�ำ ให้อปท.ในจังหวัดมีการสื่อสารระหว่างองค์กรได้อย่างทั่วถึง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ จึงทำ�ให้เกิดความรักใคร่สามัคคีกัน ร่วมมือร่วมใจในการทำ�งาน และตอบสนองความ ต้องการของประชาชนในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ “นายธีรพัฒน์ คัชมาตย์” ท้องถิน่ จังหวัดอ่างทอง กรุณาสละเวลาให้นติ ยสาร SBL สัมภาษณ์ เกีย่ วกับภาพรวมของอปท.ในจังหวัดอ่างทอง พันธกิจ และแผนงานสำ�คัญในการส่งเสริมให้อปท.เจริญ ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน ฯลฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ศักยภาพและจุดเด่นของ อปท.อ่างทอง

การปกครองจังหวัดอ่างทอง ได้แบ่งเขตการปกครองออก เป็น 7 อ�ำเภอ มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 65 แห่ง ประกอบ ด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาล 21 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล (อบต.) 43 แห่ง รวมพื้นที่ทั้งหมด จ�ำนวน 968.372 ตารางกิโลเมตร จะเห็นได้ว่าจากข้อมูลดังกล่าว จังหวัดอ่างทองเป็นจังหวัดที่มีขนาดเล็ก มีจ�ำนวนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ไม่มากนัก ถือได้วา่ เป็นจุดเด่นทีส่ ำ� คัญ ท�ำให้การสือ่ สาร ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ได้อย่างทั่วถึง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ จึงท�ำให้เกิดความรักใคร่สามัคคีกันระหว่างองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ความร่วมมือร่วมใจในการท�ำงานมี ค่อนข้างสูง ท�ำให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชน ในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถด�ำเนินงาน ได้ตามนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวง มหาดไทย และ รัฐบาล ได้อย่างต่อเนือ่ ง จะเห็นได้จากการทีอ่ งค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่งในจังหวัดอ่างทอง ได้รับรางวัล การบริหารจัดการที่ดี จากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ ส�ำนักงานคณะกรรมการกระจายอ�ำนาจ มาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2556 จนถึงปัจจุบัน ประกอบกับการที่เป็นพื้นที่ชุ่ม น�ำ ้ จึงท�ำให้เกิดการพัฒนาด้านการเกษตร โดยองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเข้าไปช่วยเหลือประชาชนทั่วถึงทุกชุมชนหมู่บ้าน

วิสัยทัศน์ & พันธกิจ สถจ.อ่างทอง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ให้จงั หวัด โดยผูว้ า่ ราชการจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นการประเมิน ผลการปฏิบตั ริ าชการของท้องถิน่ จังหวัด ตามทีผ่ วู้ า่ ราชการก�ำหนด

และที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นก�ำหนด ซึ่งใช้วิสัยทัศน์ และพันธกิจ เช่นเดียวกับ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น คือ “เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ ปฏิบตั งิ านตามอ�ำนาจหน้าทีภ่ ายใต้หลักธรรมาภิบาล เพือ่ ประโยชน์สุขของประชาชน” ประกอบไปด้วย พันธกิจ ดังนี้ 1. พัฒนากรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความทันสมัย มีขีดสมรรถนะสูง และ พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ 2. น�ำนวัตกรรมมาใช้และพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ในการบริหารและการจัดการของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. สร้างการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการของกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา (Consult) ประสานและสนับสนุน (Facilitate) การบริหารจัดการและ การให้บริการสาธารณะของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้สามารถปฏิบัติงานตามอ�ำนาจ หน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้หลักธรรมาภิบาล 5. พัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระ มหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จากพันธกิจดังกล่าวส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดอ่างทอง จึงได้กำ� หนดแนวทางให้กบั องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในเขตจังหวัดอ่างทองตามวิสัยทัศน์ และน้อมน�ำปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ เพื่อส่งผลให้เกิดความเจริญก้าวหน้า และประชาชนได้รบั ประโยชน์อย่างทัว่ ถึง รวมถึงท�ำให้สอดคล้อง กับนโยบายของรัฐบาลอีกด้วย

ANG THONG 57


แผนการส่งเสริมความเข้มแข็งแก่อปท.

องค์กรปกครองท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง มีจุดเด่นใน เรือ่ งความสามัคคี มีความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกัน ซึง่ จะเป็นแรง ผลักดันส�ำคัญในการด�ำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีประสิทธิภาพ และเพื่อให้องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นมีความ เข้มแข็ง ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดอ่างทอง ในฐานะเป็นหน่วยงานหลักสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นให้มีความเข้มแข็ง จึงได้ก�ำหนดแผนงานและโครงการ ใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ดังนี้ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ ครูผู้ดูแลเด็ก โครงการเมืองสะอาด คนในชาติมีสุข โครงการ อบรมสัมมนาการบริหารจัดการทีด่ ี ส�ำหรับผูบ้ ริหาร ปลัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และยังมีอีกหลายโครงการที่จ�ำต้องระดม สมองร่วมกันคิดร่วมกันท�ำ เพื่อก่อให้เกิดความเข้มแข็งและเกิด การบูรณาการทุกภาคส่วน จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัดอ่างทองมีจุดเด่นที่ส�ำคัญคือการบริหารจัดการที่ ดี โดยได้รับรางวัลจากส�ำนักงานคณะกรรมการกระจายอ�ำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาอย่างต่อเนื่องตลอด นับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 ดังนั้นเพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอ่างทอง ส�ำนักงานส่ง เสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดอ่างทอง จึงก�ำหนดแผนงานเพือ่ พัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยจัดโครงการ “พี่น้อง อปท.อ่างทอง ร่วมใจพิชิตรางวัลบริหารจัดการที่ดี” เพื่อ เป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ รับรางวัลบริหารการจัดการที่ดี สู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ มีความสนใจเข้าร่วมคัดเลือกเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มี บริหารจัดการที่ดี ต่อไป 58

อปท.ในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง มีจุดเด่นในเรื่องความสามัคคี มีความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน... มีจุดเด่นที่สำ�คัญ คือการบริหารจัดการที่ดี


การด�ำเนินงานตามนโยบายของภาครัฐ

1. โครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการด�ำเนินงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ITA) 2. การจั ด การขยะมู ล ฝอยและสิ่ ง แวดล้ อ ม โครงการส่ ง เสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางร่วมกับ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 8 แห่ง (1) ทต.วิเศษไชยชาญ (2) ทต. สามโก้ (3) อบต. สีบัวทอง (4) อบต. ย่านซื่อ (5) อบต. บ้านแห (6) อบต. ชัยฤทธิ์ (7) อบต. ชัยฤทธิ์ (8) อบต. ไผ่จ�ำศีล 3. การจัดท�ำแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิน่ (การเกษตร และแหล่งน�้ำ) 4. การบูรณาการแผนงานโครงการก�ำจัดผักตบชวาและวัชพืช ในแหล่งน�้ำสาธารณะ 5. การส� ำ รวจความต้ อ งการผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี ส ่ ว นผสมของ ยางพารา ส�ำหรับจัดท�ำโครงการเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรยางพารา 6. การด�ำเนินงานโครงการ “มหาดไทยห่วงใย ใส่ใจผู้สูงอายุ” 7. โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ดูแลเด็ก 8. โครงการเมืองสะอาด คนในชาติมีสุข 9. โครงการอบรมสัมมนาผู้บริหาร ปลัดองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในการจัดการขยะ

ผลการด�ำเนินงานที่สร้างความภูมิใจ

ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดอ่างทอง มีความ ภูมิใจที่เป็นองค์กรหลักในการสนับสนุนส่งเสริมให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง มีความเข้มแข็ง ในทุกมิติ ไม่ ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ให้ประชาชนมีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีสังคมที่ปลอดภัย และโปร่งใสด้านการเมือง

ฝากถึง อปท.อ่างทอง เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น

ต้องขอขอบคุณองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งที่ให้ความ ร่วมมือกับ ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดอ่างทอง เป็นอย่างดีมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็นนโยบายของ รัฐบาล กระทรวง มหาดไทย และจังหวัดอ่างทอง เพือ่ ให้เป็นเมืองทีน่ า่ อยูส่ มค�ำร�ำ่ ลือ ค�ำนึงถึงประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ด้วยความรวดเร็ว และร่วมมือ ร่วมพลังในการขับเคลื่อนนโยบาย ของท่านกฤษฎา บุญราช ปลัดกระทรวงมหาดไทย ท่านจรินทร์

โครงการ “พี่น้อง อปท. อ่างทอง ร่วมใจพิชิตรางวัล บริหารจัดการที่ดี” เป็นการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับ รางวัลบริหารการจัดการที่ดี

จักกะพาก อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ และท่านวีรร์ วุทธ์ ปุตระเศรณี ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง ที่ต้องเร่งปฏิบัติหน้าที่ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลได้อย่างทันท่วงที เพื่อส่งผลให้ ประชาชนในประเทศได้รับการดูแลในทุก ๆ ด้าน ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดอ่างทอง ได้ตระหนักเป็นอย่างดีว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วย งานที่มีความส�ำคัญ และเป็นหลักในการแก้ปัญหาความร้อนเดือด ของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ ที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน และ รับทราบถึงความต้องการของประชาชนมากที่สุด เป็นกลไกส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนโยบายของของรัฐ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ โดยมีจดุ มุง่ หมายให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์ อย่างเท่าเทียมกัน และ มีความเหนือ่ ยยากในการปฏิบตั หิ น้าทีท่ างราชการ จึงขอเป็นก�ำลังใจ พร้อมทัง้ เต็มใจในการช่วยเหลือสนับสนุนการด�ำเนินงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทุกหน่วยในจังหวัดอ่างทอง ให้เกิดผลส�ำเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ มีการ บูรณาการในการท�ำงาน และท้ายที่สุดก็คือเพื่อให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อความสุขของพี่น้อง ประชาชน ต่อไป ANG THONG 59


เส้นทางพบ

สำ�นักงานเกษตรจังหวัด

สำ�นักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ก�ำหนดแนวทางการ พัฒนาของกระทรวง (Road map) ซึ่งมีโครงการที่ส�ำคัญ คือ การปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร ด้านสินค้าพืช ปศุสัตว์ และประมง ประกอบกั บ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ พลเอก ฉัตรชัย สาริกลั ยะ ได้มอบนโยบายให้เน้น ความส�ำคัญในเรือ่ งลดต้นทุนการผลิต โดยการรวมแปลงการผลิต ของเกษตรกรเป็นแปลงใหญ่ ซึ่งจะก่อให้เกิดการลดต้นทุนการ ผลิต และเพิม่ โอกาสการแข่งขันให้กบั สินค้าเกษตร ทัง้ นีก้ ารปรับ โครงสร้างสินค้าจะต้องท�ำการผลิตในพื้นที่ที่มีความเหมาะสม โดยมีหลักการ คือ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ผลผลิตมีคณ ุ ภาพ ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาด มีการผลิตร่วม กันเป็นกลุ่ม และมีการเชื่อมโยงกับตลาด เพื่อบริหารจัดการให้ เกิดสมดุลระหว่างอุปทานและอุปสงค์ของสินค้า แก้ปัญหาเรื่อง สินค้าล้นตลาด และราคาสินค้าเกษตรตกต�ำ่ โดยให้แต่ละจังหวัด คัดเลือกสินค้าและพื้นที่ในการด�ำเนินงานแปลงใหญ่ 60

อ.สามโก้ ต้นแบบแปลงใหญ่มะม่วง

จังหวัดอ่างทอง ได้คัดเลือกสินค้าที่จะด�ำเนินการแปลงใหญ่ จ�ำนวน 2 ชนิดสินค้า คือ ข้าว และ มะม่วง เนื่องจากเป็นสินค้า หลักและเป็นพืชเศรษฐกิจ ของจังหวัด ประกอบกับเกษตรกรยังมี ต้นทุนในการผลิตที่สูง ส�ำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง ร่วมกับ หน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพืน้ ที่ ร่วมกันพิจารณา แล้ว ควรมีการปรับโครงสร้างการผลิต โดยเน้นให้มีการผลิตแบบ ลดต้นทุน และเพิ่มคุณภาพของผลผลิต โดยได้คัดเลือกแปลงใหญ่ มะม่วง ต�ำบลมงคลธรรมนิมิต อ�ำเภอสามโก้ เป็นแปลงต้นแบบใน การด�ำเนินงานส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ของจังหวัด อ่างทอง เนือ่ งจากเป็นสินค้าทีเ่ ป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดอ่างทอง และมีการผลิตเพื่อการส่งออก แปลงใหญ่มะม่วง พืน้ ทีด่ ำ� เนินงาน อยูท่ ต่ี ำ� บลมงคลธรรมนิมติ อ�ำเภอสามโก้ จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการปลูกมะม่วง เพื่อการค้าจ�ำนวนมาก โดยสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 56 ราย พื้นที่ 565 ไร่ ซึ่งพันธุ์ที่มีการปลูก ได้แก่ พันธุ์นำ�้ ดอกไม้


สีทอง พันธุ์น�้ำดอกไม้เบอร์ 4 พันธุ์เขียวเสวย พันธุ์โชคอนันต์ และพันธุม์ นั เดือนเก้า โดยพันธุท์ มี่ กี ารส่งออก ได้แก่ พันธุน์ ำ�้ ดอกไม้ สีทอง พันธุ์น�้ำดอกไม้เบอร์ 4 และพันธุ์เขียวเสวย

ปัญหาของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการ

จากการวิเคราะห์ปัญหาของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงแล้ว พบว่า ปัญหาหลักในการผลิตมะม่วง มีดังนี้ 1.ต้นทุนการผลิตสูง 2.ใช้สารเคมี/ปุ๋ยเคมี จ�ำนวนมาก และไม่ถูกต้อง

แนวทางในการส่งเสริมและแก้ปัญหา

เกษตรกรที่เข้าร่วมการส่งเสริมการผลิตในรูปแบบแปลงใหญ่ จะได้รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากเกษตรกรต้นแบบ และนักวิชาการ จากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ร่วมบูรณาการแก้ไขปัญหา และส่งเสริม ให้การผลิตมีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น โดยแนวทางในการแก้ไข มีดังนี้ 1. ลดต้นทุนการผลิต โดยเกษตรกรทั่วไปมีต้นทุนการผลิตอยู่ที่ 21,000 บาท/ไร่ ซึ่งจะท�ำการลดลงเหลือ 18,000 บาท/ไร่ (ต้นทุน ของเกษตรกรต้นแบบ) โดยมีแนวทางการลดต้นทุนตามกระบวนการ ของโรงเรียนมะม่วง โดยส�ำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง และลดการ ใช้สารเคมี ซึง่ จะส่งผลให้ตน้ ทุนในการผลิตลดลง และยังปลอดภัยต่อ ผู้ผลิตและผู้บริโภคอีกด้วย 2. ส่งเสริมให้เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่มะม่วง ได้การรับรอง มาตรฐานการผลิตทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) 3. เพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยมีเป้าหมายให้ผลผลิตมีคุณภาพ ระดับ A (ขนาดน�้ำหนักผลละ 351 กรัม) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ซึ่งเมื่อ ผลผลิตมีคณ ุ ภาพได้มาตรฐานจะท�ำให้มรี าคาสูงขึน้ และเพิม่ โอกาสใน การแข่งขัน 4. ถ่ายทอดเทคโนโลยีในการผลิต เช่น การห่อผลมะม่วง การตัดแต่งกิ่ง และการผลิตมะม่วงนอกฤดู เป็นต้น

จุดเด่นของแปลงใหญ่มะม่วง

1. การวางแผนการผลิตร่วมกันของสมาชิก ให้ผลผลิตออก ไม่พร้อมกัน เพื่อป้องกันผลผลิตล้นตลาด และมีผลผลิตตลอด ทั้งปี 2. การรวมกลุ่มกันผสมปุ๋ยใช้เองภายในกลุ่ม ซึ่งจะช่วย ท� ำ ให้ ล ดต้ น ทุ น ลงได้ รวมทั้ ง การใส่ ปุ ๋ ย ตามค่ า วิ เ คราะห์ ดิ น จะท�ำให้ดินได้รับสารอาหารอย่างถูกต้อง เหมาะสม

ตลาดตลาดรองรับทั้งใน-ต่างประเทศ

1. ตลาดในประเทศ จะมีพอ่ ค้ามารับซือ้ ถึงทีส่ วน ซึง่ จะเป็น มะม่วงที่ดูแลโดยไม่ต้องห่อผลมะม่วง และไม่คัดเกรด ในกรณีที่ คัดเกรด จะได้ราคาสูงกว่า โดยราคาประมาณ 30 บาท/กิโลกรัม ตลาดทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ตลาดในพืน้ ทีจ่ งั หวัดอ่างทอง ตลาดสีม่ มุ เมือง และตลาดไท 2. ตลาดต่างประเทศ มีตลาดที่ส�ำคัญ ได้แก่ ประเทศจีน เวียดนาม ราคาประมาณ 65 บาท/กิโลกรัม โดยแบ่งมะม่วงเป็น เกรด ได้แก่ เกรด A ขนาดผลละ 351 กรัม ขึ้นไป เกรด B ขนาดผลละ 251 – 350 กรัม เกรด C ขนาดผลละ 150 – 250 กรัม

แผนกิจกรรมโรงเรียนเกษตรกร (มะม่วง)

จั ด อบรมเกษตรกร 15 ครั้ ง ๆ ละจ� ำ นวน 30 คน โดยอาจารย์สวุ ฒ ั น์ ทรัพยะประภา ณ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนมะม่วง ส่งออก ต.มงคลธรรมนิมิต อ.สามโก้ จ.อ่างทอง ANG THONG 61


OTOัดPอ่างทอง ว ห ง ั จ น ่ เด

จังหวัดอ่างทอง ได้สง่ เสริมโครงการหนึง่ ต�ำบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ (OTOP) ให้เป็นของฝาก ของทีร่ ะลึก ล้วนผลิตด้วยภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ พิถพี ถิ นั และเอาใจ ใส่ทุกขั้นตอน ผลิตภัณฑ์ทุกชิ้น จึงท�ำไว้เป็นของขวัญ ของฝากของที่ระลึกแด่ คนทั่วไป ประกอบด้วย

ตุ๊กตาชาววัง หมู่ที่ ๒ ต�ำบลบางเสด็จ อ�ำเภอป่าโมก ๐๘-๙๐๕๘-๗๑๖๓

จักสานไม้ไผ่ หมู่ที่ ๘ ต�ำบลบางเจ้าฉ่า อ�ำเภอโพธิ์ทอง ๐๘-๙๐๔๕-๓๖๗๘

กลอง หมู่ที่ ๖ ต�ำบลเอกราช อ�ำเภอป่าโมก ๐๘-๙๙๐๐-๘๙๑๑ จักสานผักตบชวา หมู่ที่ ๑ ต�ำบลคลองวัว อ�ำเภอเมืองอ่างทอง ๐๘-๙๙๐๐-๓๔๗๔

ดอกไม้ประดิษฐ์ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลโพธิ์รังนก อ�ำเภอโพธิ์ทอง ๐๘-๑๘๕๒-๙๒๑๘ 62

สมุนไพร หมู่ที่ ๕ ต�ำบลร�ำมะสัก อ�ำเภอโพธิ์ทอง ๐๘-๘๕๐๔-๖๓๓๙


ยุทธศาสตร์ การพัฒนา OTOP จังหวัดอ่ างทอง

ยุทธศาสตร์ OTOP จังหวัดอ่หารจั างทอง การดาเนิกนารพั การเชิฒ งยุทนา ธศาสตร์ ในการเชื่อมโยงการบริ ดการโครงการหนึง่ ตาบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ การด�ำเนินการเชิงยุทธศาสตร์ในการเชื่อมโยงการบริหารจัดการโครงการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้ มีให้ ศักมยภาพ ด้านการสนั บสนุบนสนุ ให้นชุมให้ชน วิสาหกิ จชุมจชนใช้ ทรัพทยากร และภู มิปมัญิปญาท้ องถิอ่นงถิผนวกกั บองค์ ีศกั ยภาพ ด้ านการสนั ชุมชน วิสาหกิ ชุมชนใช้ รัพยากร และภู ั ญญาท้ ่น ผนวกกั บ ความรูส้ มัยใหม่ เพือ่ ยกระดับมาตรฐานคุณภาพสินค้า และบริการ การเข้าถึงแหล่งทุน และการตลาดเชิงรุก ความรู้สมัยใหม่ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพสินค้ า และบริ การ การเข้ าถึงแหล่งทุน และการตลเชิง ทัองค์ ้งในประเทศและต่ างประเทศ รุกทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ

การส่ งเสริมและการดาเนินงาน OTOP INPUT

PROCESS

OUTPUT

OUTCOME

นโยบาย

จังหวัดอ่างทอง

ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ เข้ มแข็ง

ชุมชนเข้ มแข็ง

ยุทธศาสตร์

หน่วยงานภาคี OTOP

ธุรกิจ OTOP เติบโต

กระจายรายได้ ภายในประเทศ

งบประมาณ

เครื อข่าย OTOP

รายได้ OTOP เพิ่มขึ ้น

เศรษฐกิจฐาน รากเข้ มแข็ง

กลไกการ ขับเคลือ่ น

ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP

สร้ าง ผู้ประกอบการรุ่น ใหม่

ภูมิปัญญา ท้ องถิ่น สูส่ ากล

สร้ างสรรค์ นวัตกรรม

การอนุรักษ์ สบื สานภูมิปัญญา

ANG THONG 63


เส้นทางพบ

สำ�นักงานประกันสังคม

บุญสงค์ ทัพชัยยุทธ์ ประกันสังคมจังหวัดอ่างทอง

นายวีร์รวุทธ์ ปุตระเศรณี ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองมอบโล่รางวัล สถานประกอบการดีเด่นให้แก่เจ้าของสถานประกอบการในพื้นที่ จังหวัดอ่างทอง

ประกันสุขกับประกันสังคม ภารกิจของส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดอ่างทอง ดังนี้

1. ด�ำเนินการเกี่ยวกับการให้บริการด้านการจัดเก็บเงิน สมทบของนายจ้าง ลูกจ้าง ทุกกรณี การรับเรื่องและการ พิจารณาวินิจฉัยจ่ายสิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้ประกันตนในเรื่อง ดังต่อไปนี้ 1) การเจ็บป่วย ทั้งที่เกิดจากการท�ำงานและไม่เกิดจาก การท�ำงาน 2) การคลอดบุตร 3) การทุพพลภาพ ทั้งที่เกิดจากการท�ำงานและไม่เกิด จากการท�ำงาน 4) การเสียชีวิต 5) การสงเคราะห์บุตร 6) การว่างงาน 7) การชราภาพ 2. ปฏิบตั งิ านร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของหน่วย งานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับมอบหมาย 3. จ�ำนวนนายจ้างและผู้ประกันตน ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2559 มีจำ� นวนทั้งสิ้น ดังนี ้ สถานประกอบการ จ�ำนวน 954 แห่ง ผู้ประกันตน จ�ำนวน 37,475 คน - ผู้ประกันตนมาตรา 33 จ�ำนวน 13,136 คน - ผู้ประกันตนมาตรา 39 จ�ำนวน 4,646 คน - ผู้ประกันตนมาตรา 40 จ�ำนวน 19,693 คน ติดต่อสอบถาม 035-625146 , 035-626337 64

คณะเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดอ่างทอง ร่วมรดน�ำ้ ด�ำหัว ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เนื่องในวันสงกรานต์

คณะเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานประกัน สังคมจังหวัดอ่างทอง ร่วมกิจกรรม วันแรงงานแห่งชาติจังหวัดอ่างทอง

ส�ำานักงานประกันสังคมจังหวัดอ่างทอง ผู้ว่าราชจังหวัดอ่างทองมอบค่า ทดแทนกรณีสูญเสียอวัยวะให้ ให้บริการ นายจ้าง ลูกจ้าง ผูป้ ระกันตน และผูป้ ระกันตน

คณะเจ้าหน้าที่ส�ำนักงานประกันสังคม จังหวัดอ่างทอง เยี่ยมผู้ประกันตน ณ โรงพยาบาลอ่างทอง

ประกันสังคมจังหวัดอ่างทอง และเจ้าหน้าที่เยี่ยมผู้ประกันตน ผู้ทุพพลภาพ


ต้นร้ามะขามช่ า งทอง ... นทองในตำ�นานเมืองอ่างทอง เมื่อร้อยกว่าปีที่แล้ว ณ ใต้ต้นมะขามใหญ่ริมฝั่ง แม่น�้ำน้อย ต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง เป็นจุดก�ำเนิดของ “ต้นมะขาม ช่างทอง” ร้านทองชื่อดังในต�ำนานของอ่างทอง ซึ่ง ปัจจุบันมีถึง 5 สาขา ทั้งในกรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง “ช่างทอง โคนมะขาม” นาม “ฉื่น กิ๊ด หยี่”

นับจากปี พ.ศ. 2453 ที่ นายฉื่น กิ๊ด หยี่ ได้ริเริ่มร้านทอง เล็กๆ สร้างงานฝีมอื จากทอง นาก เงิน ด้วยเครือ่ งมือน้อยชิน้ เรียบ ง่าย ทว่ารุ่มรวยด้วยพลังสร้างสรรค์ จนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ในชื่อ “ช่างทอง โคนมะขาม” กาลเวลาผ่านไป...ต้นมะขามริมฝั่งแม่น�้ำน้อยหยั่งรากลึกและแผ่ กิ่งก้านสาขามากเท่าใด ชื่อเสียงการท�ำทองจากช่างทอง โคนมะขาม ก็ยิ่งขจรกระจายและได้รับการกล่าวขานถึงมากเท่านั้น โดยนางยินดี ซึ่งเป็นลูกสาวคนที่หกของนายฉื่น กิ๊ด หยี่ และนางเป้า ปี๊ เป็นผู้รับ สืบทอดอาชีพช่างทองด้วยใจรัก มุ่งมั่น และแน่วแน่ ด้วยก�ำลังใจ และพลังสร้างสรรค์ของนายใช้คนคูก่ ายผูม้ องการณ์ไกล ท�ำให้ “ร้าน ต้นมะขามช่างทอง” ของนางยินดีและนายใช้ ได้พิสูจน์คุณค่าดั้งเดิม ให้เป็นที่ประจักษ์ ด้วยการรังสรรค์งานฝีมือที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว รักษาคุณค่าความงามตามธรรมชาติของเนือ้ ทองแท้ ด้วยความซือ่ สัตย์ และเที่ยงธรรมต่อลูกค้า กระทั่งปี พ.ศ. 2500 นายใช้จากไปก่อนวัยอันควร ท�ำให้ฟอง จันทร์ ผู้เป็นหลานสาวคนโตของตาฉื่น กิ๊ด หยี่-ยายเป้า ปี๊ และเป็น ลูกสาวคนแรกของพ่อใช้-แม่ยินดี ซึ่งถือก�ำเนิดและเติบใหญ่ใต้ร่ม มะขาม ท่ามกลางบรรยากาศการรังสรรค์งานศิลปะด้วยฝีมืออันมี เอกลักษณ์ ตั้งแต่การหลอม ตี ดึง ร้อย เชื่อมข้อ ออกแบบลาย สลัก ขัดเงา เธอได้เฝ้าสังเกต ซึมซับ ฝึกฝนการท�ำทองด้วยความมุง่ มัน่ ดัง นั้น ในปี พ.ศ. 2503 เธอจึงเข้ารับสืบทอดอาชีพช่างทองต่อจากพ่อ ได้อย่างสมบูรณ์ และได้ขยายกิจการออกไปทั้งในถิ่นเดิมและจังหวัด อื่น เอกลักษณ์แห่งทองเนื้อแท้ต้อง “ต้นมะขามช่างทอง” ร้อยปีผา่ นไป ต้นมะขามช่างทอง ซึง่ เกิดจากเมล็ดมะขามต้นเดิม เดินทางมาหยั่งรากลงที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอดีตราชธานี และ กรุงเทพมหานคร ภายใต้ร่มเงาของ ต้นมะขามต้นใหม่ โดยช่างทองรุ่นที่สี่ ซึง่ ได้สบื สานอัจฉริยภาพแห่งการท�ำทอง ด้วยใจรักและความทุ่มเท จึงสามารถ ถ่ายทอดจิตวิญญาณแห่งทองเนือ้ แท้ ที่ มีเอกลักษณ์ ประณีตงดงามหาใดเทียม จนเป็นที่ชื่นชอบ หลงใหล และติดตรึง ใจลูกค้าคนแล้วคนเล่า

พบกับทองค�ำคุณภาพจาก “ต้นมะขามช่างทอง” ได้ที่ สาขา อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง สาขา อยุธยาพาร์ค จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สาขา อาคารออลซีซั่น ถนนวิทยุ สาขา โรงแรมเซนทารา เซนทรัลลาดพร้าว สาขา เดอะ คริสตอลพาร์ค ถนนเลียบทางด่วน เอกมัย-รามอินทรา

สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทร. 08 1684 8000, Line ID : @tamajewelry, Facebook : tamajewelry, Instagram : @tamajewelry, website : www.tamajewelry.com หรือ www.goldconcept.co.uk, Email : info@goldconcept.co.uk

ANG THONG 65


เส้นทางท่องเที่ยว

อ่างทอง...

ท่องเที่ยวสบายหลากหลายรสชาติ

ด้วยเหตุที่จังหวัดอ่างทอง หรือเมืองวิเศษไชยชาญในอดีต เป็นเมืองที่มีบทบาทสำ�คัญในหน้า ประวัติศาสตร์ชาติไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปัจจุบันเราจึงพบเห็นวัดวาอารามเก่าแก่หลายแห่งพระพุทธ รูปโบราณ ตลอดจนโบราณสถาน และวิถีชีวิตของผู้คนเมืองอ่างทอง ที่ยังคงฉายภาพในอดีตให้เราได้ พบเห็นอยู่เนือง ๆ เพื่อให้เราได้รำ�ลึกถึงเหตุการณ์ในอดีต อันจะนำ�มาสู่ความรู้ความเข้าใจในยุคปัจจุบัน และเป็นพื้นฐานสำ�หรับการต่อยอดในอนาคต

62


ANG THONG 63


หมู่บ้านจักสานไม้ไผ่บางเจ้าฉ่า

เที่ยววิถีไทยพักสบายในโฮมสเตย์

จังหวัดอ่างทอง เป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีการจัดการท่องเที่ยว แบบโฮมสเตย์ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วทีส่ นใจและอยากจะเรียนรูว้ ถิ ี ชีวิตชนบท ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของท้องถิ่น ฯลฯ ปัจจุบัน จังหวัดอ่างทองมีหมู่บ้านโฮมสเตย์ที่ได้รับความนิยมในหลาย อ�ำเภอ แต่ละที่จะมีจุดเด่นแตกต่างกันไป ลองเลือกดูนะคะ หมู่บ้านจักสานไม้ไผ่บางเจ้าฉ่า ตั้งอยู่หมู่ 8 บ้านยางทอง ต�ำบลบางเจ้าฉ่า อ�ำเภอโพธิท์ อง เป็นแหล่งผลิตงานฝีมอื จักสานที่ มีชอื่ เสียงของอ่างทอง และเป็นชุมชนทีม่ มี าแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งชาวบ้านได้เคยร่วมกับชาวแขวงเมืองวิเศษชัยชาญ และ ชาวบางระจัน สู้รบกับพม่า ณ บ้านบางระจัน โดยมีนายฉ่าเป็น ผู้น�ำและเป็นผู้ก่อตั้งหมู่บ้าน ภายในหมู่บ้านมีพิพิธภัณฑ์เครื่องใช้ไม้ไผ่ แสดงอุปกรณ์ เครือ่ งใช้พนื้ บ้านต่าง ๆ ทีผ่ ลิตจากไม้ไผ่ และมีเก็บรวบรวมเอาไว้ นอกจากนีท้ บี่ างเจ้าฉ่ายังมีโฮมสเตย์ทผี่ า่ นการประเมินมาตรฐาน โฮมสเตย์สากล ปี 2547 สามารถรองรับนักท่องเทีย่ วได้ประมาณ 100 คน พร้อมบริการรถอีแต๋นชมวิถีชีวิตริมแม่น�้ำน้อย บริการ เช่าจักรยาน และเช่าเรือแจวหาปลาของชาวบ้าน รวมทั้งมี อาสาสมัครท้องถิ่นน�ำชมแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียง เช่น ต้นยาง อายุ 200 ปี ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย ชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร สวนมะม่วง สวนมะยงชิด และ สวนกระท้อน ฯลฯ และชมแหล่งท่องเที่ยวในอ�ำเภอใกล้เคียง สนใจติดต่อสอบถามได้ที่ศูนย์บางเจ้าฉ่า โทร. 035 644 091, 035 644 319 หรือก�ำนันสุรินทร์ นิลเลิศ โทร. 0815 874 226 64

การเดินทาง ไปตามเส้นทางสายอ่างทอง-โพธิท์ อง ประมาณ 9 กิโลเมตร ถึงคลองชลประทานยางมณี จากนั้นเลี้ยวขวา เลียบคลองไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร จึงเลี้ยวขวาไปตามทาง เข้าวัดยางทอง แหล่งหัตถกรรมอยู่ก่อนถึงวัดยางทอง


โฮมสเตย์เรือทองชมรมเพื่อนเกษตร หมู่ที่ 6 ต�ำบลไผ่จ�ำศีล อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ มีโฮมสเตย์ จ�ำนวน 7 หลัง ( มีโฮมสเตย์ ทรงไทย 2 หลัง) ได้ผ่านการประเมินมาตรฐานโฮมสเตย์สากล ปี 2547 และปี 2549 สามารถรองรับนักท่องเทีย่ วได้ประมาณ 100 คน มีกิจกรรมที่น่าสนใจได้แก่ ขี่จักรยานชมทุ่งนาชมการปลูกชะอมเงินแสน, ใส่บาตรพระ ตอนเช้าหน้าบ้านพักและริมแม่นำ�้ , การพายเรือล่องแพ ชมวิถีชีวิต ในล�ำน�้ำ เก็บดอกโสน, ท�ำบุญ 9 วัด เช่น วัดเกษไชโย วัดต้นสน วัดม่วง ฯลฯ, รับประทานอาหารพื้นเมือง เช่น แกงส้มดอกโสน น�้ำพริกปลาทู ดอกโสน ดอกขจร, ฟังดนตรีไทย และฝึกหัดเล่น ดนตรีไทย ,การท�ำขนมพื้นบ้าน เช่น ขนมตาล ขนมดอกล�ำเจียก เป็นต้น, ชมพิพิธภัณฑ์ การจักสานไม้ไผ่ ศิลปหัตถกรรมในท้องถิ่น, ชมวัดเขียนจิตรกรรมฝาผนัง สมัยอยุธยา, ชมอนุสาวรีย์ ปู่ดอกปู่แก้ว วีรชนคนกล้า ศึกบางระจัน, ศึกษา แนวทางเกษตรยั่งยืน โครงการเที่ยวแล้วรวย เช่น ท�ำนาหญ้า ท�ำนาไผ่ เลี้ยงโคขุน ท�ำนาปลา ท�ำป่าในรั้วบ้าน แปรรูปสมุนไพร การเลี้ยงกบในบ่อดิน และชมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ กิจกรรมท่องเทีย่ วในแหล่งท่องเทีย่ วใกล้เคียง เช่น การล่องแพ ชมวิถีชิวิตริมแม่น�้ำน้อย ชมการลงข่าย ยกยอ ตกเบ็ด เหวี่ยงหา ชมวิถชี วี ติ ทีผ่ กู พันกับสายน�ำ้ อย่างแยกกันไม่ออก การอาบน�ำ้ การเล่น น�้ำของเด็ก ๆ นอกจากนี้มีโฮมสเตย์เรือทองของชมรมเพื่อนเกษตร ยังเป็นศูนย์การเรียนรูด้ า้ นอาชีพทางการเกษตร เลีย้ งสัตว์ และปลูก ฝังแนวคิดการท�ำกินโดยไม่เป็นหนี้ ความเป็นอยูพ่ อเพียง ปัจจุบนั มี ผูส้ นใจมาศึกษาดูงานจากทัว่ ประเทศเป็นจ�ำนวนมาก ติดต่อสอบถาม ได้ทคี่ ณ ุ ธนกฤต วงษ์ทองดี ชมรมเพือ่ นเกษตร โทร. 0895 006 015, 0819 216 073, 0819 216 073, 035 627 333 การเดินทาง จากกรุงเทพ ใช้เส้นทางหลัก ทางไปนครสวรรค์ ถึงสี่แยก สระบุรี – นครสวรรค์ ให้เลี้ยวซ้ายไปทาง อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง ก่อนจะถึง อ. ให้เลี้ยวขวาทางไป อ.วิเศษไชยชาญ ผ่าน อ�ำเภอวิเศษไชยชาญไปทาง จ.สุพรรณบุรี ประมาณ 7 กม. เลี้ยว ขวาไปทางวัดขุนทอง ตรงไปเรื่อย ๆ ตามทางบังคับ เบี่ยงซ้ายนิด หน่อยก็ถึงโฮมสเตย์ชมรมเพื่อนเกษตร

ANG THONG 65


หมู่บ้านท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โฮมสเตย์ หมู่ที่ 2 ต�ำบลบาง เสด็จ อ�ำเภอป่าโมก ที่นี่เคยเป็นเส้นทางการเดินทัพของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชในสมัยกรุงศรีอยุธยา จึงมีพระบรมราชานุ สาวรียข์ องสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศ รถประดิษฐานอยู่ เมือ่ มาถึงโฮมเตย์ตำ� บลบางเสด็จ สิง่ แรกทีค่ ณ ุ จะได้สมั ผัสคือ เรือนไทย เรือนโบราณแท้ ๆ นับสิบ ทีย่ งั คงรักษาเอกลักษณ์และ มีสภาพเหมือนเช่นในอดีต พร้อมให้การต้อนรับทุกท่านที่เข้าพัก ค้างแรม และเรียนรู้วิถีชีวิตคนบางเสด็จต�ำบลบางเสด็จ ซึ่งจัด เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีช่ มุ ชนรวมกลุม่ กันขึน้ โดยมีองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบางเสด็จเป็นแกนน�ำร่วมกับโรงเรียนวัดสระแก้ว และ ศูนย์วัฒนธรรมอ�ำเภอป่าโมก เริ่มเปิดรับนักท่องเที่ยวตั้งแต่ปี พ.ศ.2541 เป็นต้นมา กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วภายในชุ ม ชน อาทิ เที่ ย วชม วัดท่าสุทธาวาส นมัสการพระบรมสารีริกธาตุพระพุทธเจ้า, เทีย่ วชมวัดป่าโมกวรวิหาร นมัสการพระพุทธไสยาสน์ พระปฏิมา ที่มีพระพักตร์งามที่สุดในประเทศ, ตักบาตรพระสงฆ์ยามเช้า ศึกษาวิถชี วี ติ ของคนในหมูบ่ า้ น, ชมการเพาะเลีย้ งปลาในกระชัง, ชมวิถีชีวิตการประกอบอาชีพในหมู่บ้าน เช่น การสาธิตและฝึก ปั้นตุ๊กตาชาววัง การทอผ้า ท�ำกลอง ก้านธูป อิฐมอญ เป็นต้น สนใจติดต่อได้ที่อาจารย์มยุรี ศรีนาค โทร. 0819 465 457 โรงเรียนสระแก้ว โทร. 035 661 950 หรือคุณมนัส สุขประเสริฐ, คุณบังอร มีเงิน โทร. 0865 004 520, 0860 018 605 70

การเดินทาง ทางหลวงสายเอเชีย-แยกเข้าป่าโมก เลี้ยวเข้า แยกทุ่งมะขาม - หย่อง ตรงมาทางวัดสระแก้ว เลี้ยวเข้ามาตรง ไปตามทางจะเห็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางเสด็จ ตรงไปก็ถงึ ที่ ท�ำการโฮมสเตย์แล้วค่ะ

เที่ยวชมโบราณสถาน-นมัสการพระศักดิ์สิทธิ์

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยได้จัดแคมเปญส่งเสริมการท่อง เที่ยวในจังหวัดอ่างทอง คือ “เขาเล่าว่า... ที่อ่างทอง มี “พระ ประทานพร” ซึ่งวัดและพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่จะแนะน�ำต่อไปนี้ มีวัด 3 แห่งที่มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ 3 องค์ รอให้คุณไปสักการะ ขอพร จะรอช้าอยู่ท�ำไมคะ รีบไปกันเลยค่ะ วัดจันทรังษี ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นนา หมู่ 9 ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง เป็นวัด เก่าแก่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2446 ภายในวัดมีหลวงพ่อโยกพระพุทธ รูปศักดิส์ ทิ ธิป์ ระดิษฐานอยูฝ่ ง่ั ตะวันออกของถนนน ส่วนฝัง่ ตะวันตก มีพระมหาวิหารจัตรุ มุขประดิษฐานพระมงคลเทพมุนี หรือ หลวงพ่อ สด องค์ใหญ่ที่สุดในโลก ขนาดหน้าตักกว้าง 6 เมตร 9 นิ้ว สูง 9.9 เมตร ชาวอ่างทองมีความศรัทธาว่าหากใครได้มากราบไหว้ขอ พรและสัมผัสที่ฐานขององค์หลวงพ่อสดแล้ว ท่านจะประทานพร ให้ผู้นั้นมีสุขภาพแข็งแรง หน้าตาสดชื่นแจ่มใส ดูดีมีราศีผ่องแผ้ว และยังเชือ่ ว่าหากใครได้มากราบไหว้หลวงพ่อสดทีว่ ดั จันทรังษี ก็จะ มีเงินสดใช้ไม่ขาดมือสมดังชื่อหลวงพ่อสดนั่นเอง


วัดม่วง

วัดไชโยวรวิหาร ตั้งอยู่ที่หมู่ 3 ต�ำบลไชโย อ�ำเภอไชโย เป็นวัดพระอาราม หลวงชั้นโท เดิมเป็นวัดราษฎร์โบราณแต่สร้างเมื่อใดไม่มีหลัก ฐานปรากฏแน่ชัด แต่วัดเริ่มมีความส�ำคัญขึ้นมาในสมัยรัชกาล ที่ 4 เมื่อสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี ได้สร้างพระพุทธรูปปางสมาธิองค์ใหญ่สีขาวไม่ปิดทอง ประดิษฐานไว้กลางแจ้ง ครั้นถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จฯ มาท รงนมัสการองค์พร จึงโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดไชโย ในปี พ.ศ.2430 แต่แรงสัน่ สะเทือนระหว่างการลงรากพระวิหารท�ำให้ องค์หลวงพ่อโตพังลงมา จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างหลวงพ่อโตขึน้ มา ใหม่ ตามแบบหลวงพ่อโตวัดกัลยาณมิตร แล้วพระราชทานนาม ว่า “พระมหาพุทธพิมพ์” ขนาดหน้าตักกว้าง 8 วา 6 นิ้ว สูง 11 วา 1 ศอก 7 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปที่มีขนาดใหญ่คับวิหาร ให้ ความรู้สึกขรึม ขลัง และศักดิ์สิทธิ์แก่ผู้ที่เข้ามานมัสการ และยัง มีจติ รกรรมฝาผนังเก่าแก่เขียนเป็นเรือ่ งพุทธประวัติ ฝีมอื ประณีต มาก

ANG THONG 71


วัดขุนอินทประมูล ตั้งอยู่ที่ต�ำบลอินทประมูล อ�ำเภอโพธิ์ทอง อยู่ห่างจากตัว เมืองอ่างทองประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธ ไสยาสน์ที่ใหญ่และยาวเป็นอันดับสองรองจากพระนอนจักรสีห์ มีความยาว 50 เมตร องค์พระนอนมีพุทธลักษณะที่งดงาม พระพักตร์ยิ้มละไม สงบเยือกเย็นน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก เดิม ประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร แต่ถูกไฟไหม้ปรักหักพังไปเหลือแต่ องค์พระตากแดดตากฝนนานนับร้อยปี จึงนับว่าเป็นพระพุทธ ไสยาสน์กลางแจ้งองค์ใหญ่และยาวที่สุดในโลก ทุกปีวัดขุนอิน ประมูลจะจัดงานนมัสการองค์พระนอน พร้อมกับงานเกษตรและ ของดีอา่ งทอง ในช่วงเทศกาลตรุษจีน ซึง่ จะจัดให้มกี ารแสดงแสง สีเสียงหน้าองค์พระนอนด้วย ชาวอ่างทองมีความศรัทธาว่าหาก ได้ปิดทองที่พระบาทแล้วให้แตะที่ฝ่าพระบาทเพื่อขอพรให้อายุ ยืนยาว วัดม่วง ตั้งอยู่ที่บ้านหัวตะพาน หมู่ที่ 6 ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ เดิมเป็นวัดร้าง สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุง ศรีอยุธยาตอนปลาย ปี พ.ศ. 2230 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2525 ท่าน พระครูวบิ ลู อาจารคุณ (หลวงพ่อเกษม อาจารสุโภ) ได้มาปักกลด และบูรณะเป็นวัดขึ้นมาใหม่ จนวัดมีความเจริญขึ้นเป็นล�ำดับ ในปีพ.ศ. 2534 ท่านพระครูวิบูลอาจารคุณ และประชาชนผู้ มีจิตศรัทธาทั่วประเทศ ได้รวมพลังจิตอธิษฐานและสมทบทุน สร้างพระพุทธรูปที่ใหญ่ที่สุดในโลก เพื่อน้อมถวาย แด่พระบาท 72

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และราชวงศ์จักรี มีพระนามว่า “พระพุทธมหานวมินทร์ศากยมุนศี รีวเิ ศษชัยชาญ” หน้าตักองค์พระ ขนาด 63.05 เมตร ความสูงจากฐานองค์พระถึงยอดเกศายาว 95 เมตร และชาวอ่างทองเชื่อว่า หากจะขอพรต้องไปสัมผัสที่ปลายที่ พระหัตถ์ของท่านเพือ่ ให้ธรุ กิจการค้าใหญ่โตก้าวหน้า การงานเจริญ รุ่งเรือง เหมือนดังองค์พระ นอกจากนี้ภายในวัดยังมีสถานที่สำ� คัญ หลายแห่ง เช่น พระอุโบสถซึ่งล้อมรอบไปด้วยกลีบบัวสีชมพูขนาด ใหญ่ที่สุดในโลก วิหารแก้วชั้นบนประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ เนื้อเงินแท้องค์แรก และองค์เดียวที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย


ANG THONG 73


วัดสี่ร้อย

ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลสี่ร้อย อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ชื่อต�ำบล สี่ร้อยและชื่อวัดเป็นชื่อที่สันนิษฐานว่าตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ ขุนรองปลัดชู และชาวบ้านวิเศษชัยชาญ 400 คน ที่เสียชีวิตใน สงครามระหว่างไทยกับพม่าที่เมืองกุย ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้า เอกทัศน์ แห่งกรุงศรีอยุธยา วัดแห่งนี้มีพระพุทธรูปปางเลไลยก์ ประทับนั่งอยู่กลางแจ้ง สูง 21 เมตร หน้าตักกว้าง 6 เมตรเศษ สร้างเมื่อ พ.ศ.2452 เรียกนามว่า “หลวงพ่อโต” สร้างขึ้นเพื่อ ระลึกถึงวีรชน 400 คน ที่ร่วมรบในศึกบางระจัน เนื่องจากชาว บ้านเคยเห็นเลือดสีแดงไหลออกมาทางพระนาสิกและพระเนตร ทัง้ สองข้างขององค์หลวงพ่อโต จึงพากันเล่าขานถึงปรากฏการณ์ ดังกล่าว และพากันเรียกหลวงพ่อโตอีกนามหนึง่ ว่า “พระพุทธรูป ร้องไห้” ภายในวัดยังมีอนุสาวรีย์ขุนรองปลัดชู ซึ่งเป็นครูฝึกเพลง อาวุธผู้ทรงวิทยาคมแก่กล้า ช�ำนาญดาบสองมือ และมีศิษย์ มากมาย โดยท่านได้รวบรวมศิษย์และชาวเมืองวิเศษชัยชาญ จ�ำนวน 400 คน เข้าเป็นกองอาทมาตอาสาศึกออกติดตามไป กับกองทัพพระยารัตนาธิเบศร์ ซึง่ เมือ่ เดินทางข้ามพ้นเขาบรรทัด ก็ได้ทราบว่าเมืองมะริดและตะนาวศรีเสียแก่ข้าศึกแล้ว ได้ให้ กองอาทมาตตั้งกองสกัดขัดตาทัพที่ต�ำบลหว้าขาวริมทะเลเมือง กุย ฝ่ายทัพหน้าพม่ายกขึ้นมาตี กองปลัดชูก็แตกพ่ายเสียชีวิต ทั้งหมด ชาวอ่างทองจึงได้ร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์ขุนรองปลัด ชูขนึ้ ภายในบริเวณวัดสีร่ อ้ ยเพือ่ เชิดชูวรี ชนวีรชนนักรบแขวงเมือง วิเศษชัยชาญ

72


วัดสี่ร้อย

ANG THONG 73


วัดป่าโมกวรวิหาร

ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 4 ถนนป่าโมกราษฎร์บำ� รุง ต�ำบลป่าโมก อ�ำเภอ ป่าโมก เป็นวัดโบราณขนาดใหญ่ ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ เจ้าพระยา เป็น ทีป่ ระดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ ขนาดความยาว 22.58 เมตร ก่อ อิฐถือปูนลงรักปิดทองเหลืองอร่าม เป็นพระพุทธไสยาสน์ทมี่ พี ระ พักตร์งดงามที่สุดในโลก สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยสุโขทัย โดย มีประวัติความเป็นมาเล่าขานกันว่า พระพุทธรูปองค์นี้ลอยน�้ำ มาจมอยู่หน้าวัด ต่อมาชาวบ้านจึงท�ำพิธีบวงสรวงแล้วอัญเชิญ ขึ้นมาประดิษฐานไว้ที่ริมฝั่งแม่น�้ำ ภายในวัดยังมีสิ่งที่น่าสนใจ มากมาย อาทิ วิหารเขียน มณฑปพระพุทธบาท 4 รอย พระ เจดีย์ พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช – สมเด็จ พระเอกาทศรถ และวังมัจฉา เป็นต้น

วัดท่าสุทธาวาส

ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบางเสด็จ อ�ำเภอป่าโมก โดยอยู่ริมฝั่งแม่นำ�้ เจ้าพระยาด้านทิศตะวันออก เป็นวัดเก่าแก่แต่โบราณในสมัย อยุธยาตอนต้น สร้างในสมัยพระเจ้าปราสาททอง แห่งกรุง ศรีอยุธยา เดิมชื่อว่าวัดท่าสุวรรณภูมิ สันนิษฐานว่า สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ได้เคยน�ำทัพข้ามแม่นำ�้ เจ้าพระยาบริเวณนี้ เพือ่ ไปยังจังหวัดสุพรรณบุรี ภายในวัดประกอบด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม และจิตรกรรม พระพุทธรูปประธาน ในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปหินทรายพอกปูนทับและลงรักปิด ทอง ฝีมอื ช่างสมัยอยุธยา และได้รบั การปฏิสงั ขรณ์ตอ่ มาจนถึง สมัยรัตนโกสินทร์ ภาพจิตกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ ประกอบ ด้วยภาพฝีพระหัตถ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรม ราชกุมารี ภาพ “พระมหาชนก” ภาพพระราชวังบางปะอิน ภาพสถานที่ส�ำคัญในจังหวัดอ่างทอง และภาพสะท้อนวิถีชีวิต ชาวต�ำบลบางเสด็จ 76


พระต�ำหนักค�ำหยาด

วัดอ่างทองวรวิหาร

ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลบางแก้ว (ข้างศาลากลางจังหวัดอ่างทอง) อ�ำเภอ เมืองอ่างทอง เดิมเป็นวัดราษฎร์เล็ก ๆ 2 วัด คือวัดโพธิ์ทองและ วัดโพธิ์เงิน สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาใน พ.ศ.2443 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสทางชลมารคได้ทอดพระเนตรเห็นวัดทั้งสองนี้ จึงมี พระราชด�ำริให้รวมเป็นวัดเดียวกัน พระราชทานว่า “วัดอ่างทอง” ปัจจุบนั เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรีชนิดวรวิหาร พุทธสถานทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ พระอุโบสถซึง่ สร้างขึน้ ใหม่ระหว่าง พ.ศ.2499 - 2500 แทน อุโบสถหลังเดิมทีส่ ร้างตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2445 เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน พระเจดีย์ทรงระฆังแปดเหลี่ยม ประดับกระจกสี หมู่กุฏิทรงไทย ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย เป็นพระประธานคู่วัด มาตัง้ แต่เดิม และค่อนข้างช�ำรุดทรุดโทรมใกล้จะหักพังลงมา จึงได้ มีการหล่อพระประธานขึ้นใหม่ด้วยโลหะ ลงรักปิดทอง แต่กลับไม่ คาดคิด พระพุทธรูปที่เอนเอียงใกล้จะพังกลับมีลักษณะที่ตั้งตรงกับ ฉัตรเหนือพระเศียรพอดี ก่อเกิดความประหลาดใจให้กับผู้พบเห็น ประชาชนจึงพากันเลื่อมใสและบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีความแข็งแรง ขึ้น ส่วนพระประธานองค์ใหม่ได้น�ำมาประดิษฐานไว้หน้าองค์เดิม

ตั้งอยู่ที่ต�ำบลค�ำหยาด อ�ำเภอโพธิ์ทอง แม้ปัจจุบันจะเหลือ เพียงซากก�ำแพงสี่ด้าน แต่ยังมีเค้าความงามสง่าที่แสดงให้เห็น ถึงฝีมือการสร้างของช่างสมัยแผ่นดินพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ซึ่ง มีความประณีตงดงามยิง่ ลักษณะเดียวกับพระราชวังของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบุรี ในคราวทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ เจ้าอยูห่ วั เสด็จ ทอดพระเนตรพระต�ำหนักค�ำหยาด ในปี พ.ศ.2451 ได้เสด็จฯ มายังโบราณสถานแห่งนี้ และทรงมีพระราชวินิจฉัยดังปรากฏ ในพระราชหัตถเลขาอรรถาธิบาย เรื่องเสด็จล�ำน�้ำมะขามเฒ่า ไว้ว่า เดิมทีทรงมีพระราชด�ำริว่า กรมขุนพรพินิต (ขุนหลวงหา วัด หรือ เจ้าฟ้าอุทุมพร) ทรงผนวชที่วัดโพธิ์ทองแล้ว สร้างพระ ต�ำหนักแห่งนี้ขึ้นเพื่อจ�ำพรรษา เนื่องจากมีชัยภูมิที่เหมาะสม ครั้นได้ทอดพระเนตรเห็นตัวพระต�ำหนักสร้างด้วยความประณีต สวยงามแล้ว พระราชด�ำริเดิมก็เปลีย่ นไป ด้วยทรงเห็นว่า ไม่นา่ ทีข่ นุ หลวงหาวัดจะทรงมีความคิดใหญ่โต สร้างทีป่ ระทับชัว่ คราว หรือที่มั่นในการต่อสู้ให้ดูสวยงามเช่นนี้ ดั งนั้ น จึ งทรงสั นนิ ษ ฐานว่ า พระต�ำหนักนี้คงจะสร้าง ขึ้ นตั้ งแต่ รั ชสมั ย สมเด็ จพระเจ้ า บรมโกศ เพื่อเป็นที่ประทับ แรม เช่นเดียวกับที่พระเจ้าปราสาททองทรงสร้างที่ประทับไว้ ที่บางปะอิน เนื่องจากมีพระราชนิยมเสด็จประพาสเมืองแถบนี้ และขณะเดียวกันที่กรมขุนพรพินิต (ขุนหลวงหาวัด หรือ เจ้า ฟ้าอุทุมพร) ผนวชอยู่ที่วัดราชประดิษฐ์ก็ได้ทรงน�ำข้าราชบริพาร กับพระภิกษุที่จงรักภักดีต่อพระองค์ เสด็จลงเรือพระที่นั่ง ออก จากพระนครศรีอยุธยามาจ�ำพรรษาที่วัดโพธิ์ทองค�ำหยาด และ ประทั บ อยู ่ ที่ พ ระต� ำ หนั ก ค� ำ หยาดนี้ เ พื่ อ ไปสมทบกั บ ชาวบ้ า น บางระจัน ปัจจุบันนี้กรมศิลปากรได้บูรณะ และขึ้นทะเบียนพระ ต�ำหนักค�ำหยาดเป็นโบราณสถานไว้แล้ว ขอขอบคุณ กรมการท่องเที่ยว ,การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และกลุ่มงานข้อมูล สารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานจังหวัดอ่างทอง ANG THONG 77


เส้นทางความเป็นมา

78


อ่เมือางวีงทอง... รชนคนกล้า จั ง หวั ด อ่ า งทอง มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มายาวนาน ย้อนไปได้ถึงยุคก่อนประวัติศาสตร์ และมีพัฒนาการ ทางประวัติศาสตร์เรื่อยมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสมัย กรุงศรีอยุธยานั้น อ่างทองหรือชื่อเดิมคือเมืองวิเศษ ไชยชาญนั้น เป็นทั้งสมรภูมิรบ เป็นเส้นทางเดินทัพทั้ง กองทัพไทยและพม่า เป็นที่ตั้งค่ายของพม่า ฯลฯ จึงก่อ ให้เกิดวีรกรรมของชาวบ้านบางระจันที่พวกเราคุ้นเคย กันดี นอกจากนี้ชื่อของจังหวัดอ่างทองยังปรากฏอยู่ ในวรรณกรรมหลายเรื่อง อาทิ ลิลิตพายัพ นิราศมะ เหลเถไถ ของรัชกาลที่ 6 นิราศเชียงใหม่ ของพระยา ราชสัมภารากร (เลื่อน สุรนันท์) นิราศตามเสด็จ ของ พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) ฯลฯ

ANG THONG 79


สมัยก่อนประวัติศาสตร์

บริเวณทีต่ งั้ ของจังหวัดอ่างทองในปัจจุบนั เคยเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย ของของมนุษย์ในยุคโลหะ (อายุประมาณ 2,300-1,800 ปี) โดย มีการค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย ซึ่งเป็นหลักฐานที่น่าสนใจหลายชิ้น อาทิ ซากฟอสซิลหอยขม กรามช้างที่เกือบจะกลายเป็นฟอสซิล ฟันมนุษย์ ขวานหินขัดสี เทาอมเขียว ลูกปัดหินสี ฯลฯ

สมัยทวารวดี

นายชอง บวสเซอลิเย่ (Dr.Jean Boisselier) นักโบราณคดี ชาวฝรั่งเศส พร้อมด้วยนักโบราณคดีจากกรมศิลปากร ส�ำรวจ พบร่องรอยคูเมืองที่มีร่องน�้ำโอบล้อมรอบเมือง ตามรูปแบบคู น�้ำคันดินชวากทะเล คูเมืองที่ส�ำรวจพบ คือ บ้านคูเมือง ต�ำบล หัวไผ่ อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดง ว่าอ่างทองเป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี โดยก่อนที่จะมีการ ส�ำรวจทางโบราณคดีจากทางราชการนั้น ชาวบ้านในอ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ อ�ำเภอสามโก้และอ�ำเภอโพธิ์ทอง ได้พบเครื่อง ประดับหินสี ซึ่งชาวบ้านเรียก “ลูกปัด” โผล่จากผิวดินในฤดูท�ำ นา เมือ่ มีการขุดค้นทางโบราณคดีได้พบหลุมศพและโครงกระดูก มนุษย์ ที่บางโครงมีเครื่องประดับ เช่น ก�ำไลหยก ก�ำไลส�ำริด สร้อยลูกปัดนานาชนิด และรอบ ๆ โครงกระดูกจะมีข้าวของ เครื่องใช้ อาทิ เครื่องปั้นดินเผา กี๋ดินเผา แวดินเผา หม้อขนาด ย่อม ๆ ปั้นไม่ประณีตนัก ส่วนเครื่องใช้ ดินเผาที่ประณีตจะ มีลวดลาย เช่น ลวดลายกดประทับลายฟั่นเชือกทาบ เป็นต้น

สมัยกรุงศรีอยุธยา

อ่างทอง เดิมคือ เมืองวิเศษไชยชาญ มีฐานะเป็นเมืองขึ้น เมืองตรี เจ้าเมืองมีบรรดาศักดิ์เป็นออกพระวิเศษไชยชาญ และ เป็นเมืองที่มีบทบาทส�ำคัญทั้งการเป็นเมืองหน้าด่าน สมรภูมิรบ เป็นเส้นทางเดินทัพทั้งของฝ่ายไทยและกองทัพพม่า ดังปรากฏ ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาหลายตอนโดยเฉพาะในช่วงก่อนกรุง ศรีอยุธยาแตก ในปี พ.ศ. 2310 พม่าได้ใช้เมืองวิเศษชัยชาญ เป็นที่ตั้งค่ายเพื่อตีกรุงศรีอยุธยา และท�ำให้เกิดการสู้รบครั้ง ส�ำคัญและเกิดวีรชนผู้กล้าหาญ เช่น นายแท่น นายโชติ นาย อิน นายเมือง ทั้งสี่ท่านเป็นชาวบ้านสีบัวทอง (ต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา ในปัจจุบัน) และมีนายดอก ชาวบ้านกรับ และ นายทองแก้ว ชาวบ้านโพธิ์ทะเล ทั้งสองท่านเป็นชาวเมือง วิเศษชัยชาญ ได้ร่วมกับชาวไทยอีก 400 คนเศษ สู้รบกับพม่า อยู่ที่ค่ายบางระจันซึ่งสมัยนั้นอยู่ในแขวงเมืองวิเศษชัยชาญ วีรกรรมอันกล้าหาญชาญชัยของนักรบไทยค่ายบางระจัน สมัยนั้น เป็นที่ภาคภูมิใจและประทับอยู่ในความทรงจ�ำของคน ไทยทุกคนตลอดมา ประชาชนชาวเมืองอ่างทอง จึงพร้อมใจกัน สร้างอนุสาวรีย์ เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่นายดอก และนายทองแก้ว ไว้ที่บริเวณวัดวิเศษชัยชาญ อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ โดยทีส่ มเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยาม มกุฎราชกุมาร เสด็จฯมาทรงกระท�ำพิธีเปิดอนุสาวรีย์ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2520 ดังนั้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี ชาวเมือง อ่างทอง จึงได้กระท�ำพิธีวางมาลาสักการะอนุสาวรีย์นายดอก นายทองแก้ว เพื่อเป็นการระลึกถึงคุณความดี ในวีรกรรมความ กล้าหาญของท่านเป็นประจ�ำทุกปี 80

อีกครัง้ ของวีรกรรมของนับรบแขวงเมืองวิเศษชัยชาญ คือ ขุน รองปลัดชูกับกองอาทมาต คือเมื่อปี พ.ศ. 2302 ตรงกับรัชกาล ของสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศ) ขึ้นครอง ราชสมบัติกรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา ในครั้งนั้น พระเจ้าอลอง พญาครองราชสมบัติกรุงอังวะรัตนสิงห์ ปกครองพม่ารามัญทั้ง ปวง พระองค์ให้เกณฑ์ไพร่พล 8,000 ให้มังฆ้องนรธาเป็นนายทัพ ยกมาตีเมืองทวาย มะริดและตะนาวศรี พระเจ้าเอกทัศทรงเกณฑ์ พล 5,000 แบ่งเป็นสองทัพ โดยให้พระราชรองเมืองว่าที่ออกญา ยมราชคุมทัพใหญ่พล 3,000 และให้ออกญารัตนาธิเบศร์คมุ ทัพหนุน พล 2,000 ในครัง้ นัน้ มีครูฝกึ เพลงอาวุธอยูใ่ นเมืองวิเศษไชยชาญอยู่ ผูห้ นึง่ ชือ่ ครูดาบชู ซึง่ ได้รบั แต่งตัง้ จากสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั บรม โกศให้เป็นปลัดเมืองกรมการเมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้าน จึงเรียน ว่าขุนรองปลัดชู น�ำกองอาทมาต 400 มาอาสาศึก และได้ติดตาม ไปกับกองทัพออกญารัตนาธิเบศร์ เมื่อเดินทางข้ามพ้นเขาบรรทัด ก็ได้ทราบว่า เมืองมะริดและตะนาวศรีเสียแก่ข้าศึกแล้ว จึงตั้งทัพ รออยู่เฉย ๆ โดยทัพพระราชรองเมืองตั้งอยู่ที่แก่งตุ่มตอนปลาย แม่น�้ำตะนาวศรี ส่วนออกญารัตนาธิเบศร์ตั้งทัพอยู่ที่เมืองกุยบุรี แต่ให้กองอาทมาตมาขัดตาทัพรอที่อ่าวหว้าขาว


จากนั้นสามวันทัพพม่าเข้าตีทพั ไทยทีแ่ ก่งตุ่มแตกพ่าย และยก มาเพื่อเข้าตีทัพหนุนกองอาทมาตของ ขุนรองปลัดชู ได้รับค�ำสั่งให้ ตัง้ รับพม่าทีต่ ำ� บลหว้าขาวริมทะเล ครัน้ พอเพลาเช้า ทัพพม่า 8,000 ก็ปะทะกับกองอาทมาต 400 นาย ทัพทัง้ สองปะทะกันดุเดือดจนถึง เที่ยง มิแพ้ชนะ แต่ทัพไทยพลน้อยกว่าก็เริ่มอ่อนแรง ขุนรองปลัด ชูรบจนสิน้ ก�ำลังถูกทหารพม่ารุมจับตัวไป จากนัน้ พม่าให้ชา้ งศึกเข้า เหยียบย�่ำทัพไทยล้มตายเป็นอันมาก กองอาทมาต 400 คนตาย แทบจะสิน้ ทัง้ ทัพ เพือ่ ระลึกถึงวีรกรรมของกองอาสาวิเศษไชยชาญ ในครั้งนั้น จึงได้มีการสร้างวัดขึ้นเป็นที่ระลึกแก่นักรบกล้าทั้ง 400 คนโดยเรียกกันว่า “วัดสี่ร้อย”

สมัยกรุงธนบุรี

หลังจากเสียกรุงแก่ข้าศึกพม่าในครั้งที่สองนั้น ผู้คนหนีภัย สงครามไปอยู่ในที่ต่าง ๆ แต่ชาวเมืองวิเศษไชยชาญสามารถ รวบรวมก�ำลังกันได้โดยเร็ว ซึง่ เจ้าเมืองวิเศษไชยชาญนัน้ คือพระยา อินทรวิชติ ได้ไปช่วยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบชุมนุมเจ้า พระฝาง เมืองสวางคบุรี และน�ำช้างส�ำคัญมาน้อมเกล้าฯ ถวาย ต่อ มาได้รบั พระราชทานบ�ำเหน็จรางวัลคราวหนึง่ พระยาอินทรวิชติ ผูน้ ี้

ภายหลังพบหลักฐานว่ามาเป็นเจ้าเมืองอ่างทอง เนื่องจากอาสา สูศ้ กึ ส�ำคัญมาตัง้ แต่สมัยอยุธยา อ่างทองจึงกลับเป็นบ้านเมืองขึน้ อีกครั้ง ซึ่งในช่วงปลายสมัยกรุงธนบุรีได้ย้ายที่ตั้งเมืองอ่างทอง สาเหตุทยี่ า้ ยเข้าใจว่าเมืองวิเศษชัยชาญเดิมนัน้ ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ น้อย เมือ่ ถึงฤดูแล้งเรือเดินไม่ได้ จึงย้ายมาตัง้ มาทีบ่ ริเวณฝัง่ ซ้าย ของแม่น�้ำเจ้าพระยา แล้วเรียกชื่อใหม่ว่า “อ่างทอง” ซึ่งมีการ สันนิษฐานเกี่ยวกับชื่อเมืองอ่างทอง เป็น 3 นัย นัยแรกเชื่อว่า ค�ำว่า “อ่างทอง” น่าจะมาจากลักษณะทาง กายภาพของพืน้ ทีน่ ี้ คือเป็นทีร่ าบลุม่ เป็นแอ่งคล้ายอ่าง ซึง่ เต็มไป ด้วยทุ่งนาที่ออกรวงเหลืองอร่ามเหมือนทอง จึงเป็นที่มาของชื่อ จังหวัดอ่างทอง และดวงตราของจังหวัด เป็นรูปรวงข้าวสีทอง อยู่ในอ่างน�ำ้ ซึ่งมีความหมายถึงความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ ธัญญาหารและเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำ นัยที่สอง เชื่อว่าอ่างทอง น่าจะมาจากชื่อของหมู่บ้านเดิมที่ เรียกว่า “บางค�ำทอง” ตามค�ำสันนิษฐานของพระยาโบราณราช ธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) สมุหเทศาภิบาล มณฑลอยุธยา เมื่อ ครั้งที่กราบทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในคราว เสด็จประพาสล�ำแม่นำ�้ น้อยและล�ำแม่นำ�้ ใหญ่ใน พ.ศ. 2459 ว่า ชือ่ ของเมืองอ่างทองก็จะมาจากชือ่ บางค�ำทอง ซึง่ แต่งตัง้ ครัง้ กรุง เก่า ว่าด้วยตามเสด็จพระราชด�ำเนินเมืองนครสวรรค์ ของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราชจากกรุงเก่า “ลุถึงบางน�้ำชื่อ ค�ำทอง น�้ำ ป่วนเป็นฟองคว่างคว้าง” และบางกระแสก็ว่าอาจเพี้ยนมาจาก ชื่อของแม่น�้ำล�ำคลองในย่านนั้น ที่เคยมีชื่อว่า “ปากน�้ำประค�ำ ทอง” ซึ่งเป็นทางแยกแม่น�้ำหลังศาลากลางจังหวัด และส่วนใน เข้าไปเรียกว่า “แม่น�้ำสายทอง” ซึ่งปัจจุบันตื้นเขินใช้ไม่ได้แล้ว นัยที่สาม เชื่อว่าชื่ออ่างทองน่าจะมาจากชื่อ บ้านอ่างทอง ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรง กล่าวไว้ในหนังสือชุมนุมพระนิพนธ์เรื่องสร้างเมืองไว้ตอนหนึ่ง ว่า “เมืองอ่างทองดูเหมือนจะตัง้ เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระนเรศวร เดิม ชื่อเมืองว่า วิเศษชัยชาญ ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำน้อยที่ไหลลงมาจาก นครสวรรค์ อยู่มาแม่น�้ำน้อยตื้นเขิน ฤดูแล้งใช้เรือไม่สะดวก ย้ายเมืองออกมาตั้งริมแม่น�้ำพระยาที่บ้านอ่างทอง จึงเปลี่ยนชื่อ เป็นเมืองอ่างทอง”

สมัยรัตนโกสินทร์

เมืองอ่างทองยังคงมีฐานะและความส�ำคัญเป็นหัวเมืองชั้น เมืองขึ้นเมืองตรี เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา สมัยธนบุรี เช่นเมื่อมี ศึกสงครามก็ถกู เกณฑ์ไปช่วย ราชการทัพ ในยามปกติทำ� มาหากิน ประกอบอาชีพ ท�ำนาท�ำไร่ ค้าขาย รวมทัง้ ส่งอากร วัตถุ สิง่ ของ แก่ทางราชการในโอกาสต่าง ๆ จนเมื่อมีการปฏิรูปการปกครอง ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมืองอ่างทองได้รับการรวมเข้าไว้ในมณฑล กรุงเก่า จนยกเลิกการปกครองระบบมณฑลเทศาภิบาล เปลี่ยน ฐานะเมืองเป็นจังหวัดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว และเป็น จังหวัดในภาคกลางตามพระราชบัญญัติ จัดการปกครองอย่างใหม่ภายหลังการเปลีย่ นแปลง การปกครอง มาสู่ระบอบประชาธิปไตย พ.ศ. 2475 มีอำ� เภออยู่ในพื้นที่การ ปกครองรวม 7 อ�ำเภอในปัจจุบัน ขอขอบคุณที่มา : จังหวัดอ่างทอง และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ANG THONG 81


ติดแก๊ส...ติดที่

จ.เจริญชัย เอนเนอร์จี

จ.เจริ ญ ชั ย เอนเนอร์ จี (อ่ า งทอง) ศู น ย์ บ ริ ก ารมาตรฐาน ครบวงจรเพื่อตอบสนองรถยนต์ที่ใช้พลังงาน LPG NGV รวม ถึ ง รถยนต์ ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานน�้ ำ มั น ด้ ว ยที ม ช่ า งที่ เ ชี่ ย วชาญและมี ประสบการณ์ พร้อมบริการที่หลากหลาย อาทิ • บริการติดตั้งแก๊สรถยนต์ LPG NGV ด้วยระบบแก๊สมาตรฐาน จากอิตาลี ที่เปี่ยมทั้งประสิทธิภาพ และมาตรฐานความปลอดภัย • เป็นศูนย์บ�ำรุงรักษา และตรวจสภาพรถใช้แก๊ส • ศู น ย์ ม าตรฐานรั บ แก้ ง านรถยนต์ ใ ช้ แ ก๊ ส และปรั บ จู น ระบบ แก๊สทุกชนิด • บริการเช็ควาล์ว เบรค คลัช ช่วงล่าง • บริ ก ารเปลี่ ย นถ่ า ยน�้ ำ มั น เครื่ อ ง ENERGY1 เหมาะส� ำ หรั บ รถยนต์ทั้งระบบแก๊ส-ระบบน�้ำมัน ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ • จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ บ�ำรุงรักษารถยนต์ ทั้งระบบแก๊ส-ระบบน�้ำมัน • จำหน่ายอุปกรณ์ และอะไหล่แก๊ส ENERGY REFORM • บริการล้างแอร์รถยนต์ ด้วยเครื่องอัตโนมัติ เปิดให้บริการ วันจันทร์ - วันเสาร์ (หยุดทุกวันอาทิตย์) เวลา 8.30 – 17.30 น.

จ.เจริญชัย เอนเนอร์จี (อ่างทอง)

ริมถนนสายเอเชีย ฝั่งตรงข้ามอ่างทองฮอนด้าคาร์ส์

โทรศัพท์ : 035 610 997-8


บริษัท อ่างทองฮอนด้าคาร์ส์ จ�ำกัด บริษัทในเครือ จ.เจริญชัย

เปิดบริการทุกวัน

ฝ่ายขาย และ ศูนย์บริการ วันจันทร์ – วันอาทิตย์ 08.30 – 17.30 น.

ฝ่ายซ่อมสี และตัวถัง วันจันทร์ – วันเสาร์ 08.30 – 17.30 น.

โทร.

035-672672

Facebook : Angthonghodacars LINE : @angthonghondacars

ติดถนนสายเอเชีย ต�ำบลตลาดกรวด


บ้านฟ้าเคียงดาว... เราให้คุณมากกว่าค�ำว่า “บ้าน” ด้วยใจรักและประสบการณ์ดา้ นอสังหาริมทรัพย์ทสี่ งั่ สมมานาน กว่า 12 ปี คุณลักษมี เหมนิธิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ลักษ์กนั สุตา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด จึงทุ่มเทสร้างสรรค์บ้านคุณภาพด้วยปณิธาน ที่ว่า “เรามุ่งมั่น ตั้งใจที่จะสร้างสรรค์โครงการบ้านจัดสรร ที่ทรง คุณค่าต่อทุกคน”

ฟ้าเคียงดาว...บ้านคุณภาพดีในราคาที่คุณพอใจ

คุณลักษมี เหมนิธิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ลักษ์กนั สุตา พร็อพ เพอร์ตี้ จ�ำกัด ให้สัมภาษณ์ถึงที่มาของ ‘โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว’ ว่า “ดิฉันเป็นคนรักบ้าน จะให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับเรื่องบ้านมาก เพราะบ้านเป็นปัจจัย 4 เป็นที่อยู่อาศัยให้เราได้พักพิง ให้ความ อบอุน่ ท�ำให้เรารูส้ กึ มัน่ คงและปลอดภัย ยิง่ เป็นบ้านทีเ่ ราซือ้ มาด้วย น�ำ้ พักน�ำ้ แรงของตัวเองด้วยแล้ว เราจะรูส้ กึ ภูมใิ จเป็นอย่างมาก เมือ่ ดิฉนั ท�ำงานได้สกั ระยะหนึง่ และเก็บเงินก้อนแรกได้ ดิฉนั ซือ้ บ้านเพือ่ เป็นของขวัญให้กบั ตัวเอง นับเป็นของขวัญชิน้ แรกทีด่ ฉิ นั รูส้ กึ ตืน่ เต้น ดีใจ และภูมิใจเป็นอย่างมาก” จากความมุมานะ ตัง้ ใจ และขยันขันแข็งในการท�ำงาน ท�ำให้คณ ุ ลักษมีสามารถเปลีย่ นมาแล้ว 5-6 หลัง ด้วยแนวคิดทีว่ า่ การซือ้ บ้าน เป็นการออมเงินและเป็นการลงทุนที่ดี เมื่อเธอสั่งสมประสบการณ์ ด้านการขายบ้านมือสอง และการพัฒนาที่ดินขายได้สักระยะ จึงเริ่มคิดที่จะสร้างบ้านขายเอง ในนามของ บริษัท ลักษ์กันสุตา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ซึ่งจดทะเบียนเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 84

คุณลักษมี เหมนิธิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลักษ์กันสุตา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด

“ดิฉันมีใจรักงานด้านอสังหาริมทรัพย์อยู่แล้ว และจากการที่ตัวเอง เป็นคนรักบ้าน ท�ำให้ดิฉันเข้าใจความรู้สึกของลูกค้าได้เป็นอย่างดีว่า ‘บ้าน’ มีความส�ำคัญต่อลูกค้าขนาดไหน ดิฉนั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�ำหมูบ่ า้ น จัดสรรเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในต่างจังหวัด ทีอ่ ยากมีบา้ น ที่ดี มีคุณภาพดีเทียบเท่ากับบ้านในกรุงเทพฯ แต่ราคาไม่แพงมากนัก เพื่อให้เหมาะสมกับรายได้ของลูกค้าในต่างจังหวัด” “ดิฉนั จึงพยายามจัดหาท�ำเลทีต่ งั้ โครงการทีด่ ี ภายใต้แนวคิด ‘บ้านหรู อยู่สบาย วัสดุเกรดเอ ท�ำเลดี ในราคาที่คุณเป็นเจ้าของได้’ ประกอบ กับเราเน้นสร้างบ้านที่ดี มีคุณภาพ มีบริการหลังการขาย รับผิดชอบต่อ


ผลงาน ไม่ทอดทิ้งลูกค้า จึงท�ำให้โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว เป็นบ้าน จัดสรรที่ได้รับการยอมรับและโดดเด่นขึ้นมาในเวลาไม่นานนัก ทั้งใน จังหวัดอ่างทองและพระนครศรีอยุธยา”

การันตีคุณภาพด้วยหลากหลายโครงการ

ด้วยวิสัยทัศน์ในการเลือกท�ำเลที่ตั้ง ประกอบกับความใส่ใจกับทุก รายละเอียดของโครงการ ท�ำให้ บริษัท ลักษ์กันสุตา พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ว จนเกิดโครงการที่ใหญ่ขึ้น มีพื้นที่ มากขึ้น และมีโครงการใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง อาทิ โครงการบ้านฟ้า เคียงดาว 1- 7 ในจังหวัดอ่างทอง จนถึง โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว 1-2 เสนา ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเคล็ดลับส�ำคัญที่ท�ำให้เธอ ประสบความส�ำเร็จอย่างดงามนี้ก็คือ “ดิฉันพยายามเรียนรู้ให้มากขึ้น จากที่เคยจ้างผู้รับเหมาข้างนอก ซึ่งคุมยากมาก ดิฉันจึงเปลี่ยนแผนโดยใช้กลยุทธ์สร้างทีมก่อสร้างเอง พยายามเลือกหาทีมงานที่ดี เลือกใช้วัสดุที่ดี ซึ่งเริ่มจากโครงการที่ 3 ที่เราเริ่มท�ำการก่อสร้างเอง จนถึงปัจจุบัน 12 ปีแล้ว ช่วงแรกเรามี การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ทีมงานอยู่เรื่อย ๆ จนได้ทีมงานที่ดีตามที่ ดิฉนั ต้องการ ปัจจุบนั เรามีทมี สร้างบ้านจ�ำนวน 260-300 คน ฝ่ายขาย และการตลาดจ�ำนวน 10 คน” “ล�ำพังดิฉนั คนเดียวคงไม่สามารถท�ำงานให้สำ� เร็จได้ แต่ดฉิ นั โชคดี ที่มีทีมงานที่ดีมีคุณภาพ รักงาน รักลูกค้า ตั้งใจท�ำงาน ดิฉันบอกกับทีม งานเสมอว่า… ‘ดิฉนั ไม่ได้เป็นคนจ่ายเงินเดือนให้กบั เขา ลูกค้าต่างหาก

ทีเ่ ป็นคนจ่ายเงินเดือนให้เรา’ ทีมงานทุกคนจะคิดเหมือนกันคือ ต้องการ ส่งมอบบ้านทีด่ มี คี ณ ุ ภาพให้แก่ลกู ค้า นัน่ คือความภูมใิ จ ความสุขใจของ พวกเรา ลูกค้าที่เคยซื้อบ้านของเรา เมื่อเกิดความพึงพอใจ ลูกค้าเหล่า นั้นก็จะบอกต่อ ๆ กันไปให้คนใกล้ตัว ให้คนที่เขารัก มาซื้อบ้านของเรา อีก ท�ำให้บ้านของเราขายดีต่อเนื่องกันตลอดหลายปีที่ผ่านมาค่ะ” คุณลักษมี เหมนิธิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลักษ์กันสุตา พร็อพ เพอร์ตี้ จ�ำกัด กล่าวทิ้งท้ายว่า “ด้วยความมุ่งมั่น และตั้งใจที่จะสร้างสรรค์โครงการที่พักอาศัยที่ ทรงคุณค่าต่อทุกคน เราหวังว่า ‘บ้านฟ้าเคียงดาว’ จะเป็นทางเลือก ส�ำหรับทุกคนที่ต้องการมีบ้านเป็นของตัวเองค่ะ”

โครงการบ้านฟ้าเคียงดาว

บ้านฟ้าเคียงดาว เป็นหมู่บ้านขนาดกลาง บนเนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน จ�ำนวน 102 ยูนิต มีให้เลือกทั้งแบบบ้านเดี่ยว ชั้นเดียว และ บ้านเดีย่ ว 2 ชัน้ บนท�ำเลทีอ่ ยูห่ า่ งจากตัวเมืองอ่างทองเพียง 5 กิโลเมตร (ถนนอ่างทอง-โพธิท์ อง-วิเศษชัยชาญ ใกล้บริเวณสามแยก-ป่างิว้ ต�ำบล ป่างิ้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง) บ้านฟ้าเคียงดาว บ้านคุณภาพดีในราคาทีค่ ณ ุ จับจองเป็นเจ้าของได้ ในสังคมคุณภาพและสิง่ แวดล้อมทีด่ ี สงบเงียบ และปลอดภัย มีทางเข้า ออกทางเดียว จึงง่ายในการดูแลรักษาความปลอดภัย ทีส่ ำ� คัญน�ำ้ ไม่ทว่ ม และบ้านทุกหลังยกสูงจากพื้นดิน 40-100 เซนติเมตร

สนใจโครงการ กรุณาติดต่อ

ส�ำนักงานใหญ่ Mobile : 085-3334333 ฝ่ายขายจังหวัดอ่างทอง Mobile : 085-3334333, 081-9914500 ฝ่ายขายเสนา Mobile : 080-6263636 E-mail : lakkansuta@gmail.com Website: www.lakkansuta.com ANG THONG 85


โรงแรม ซี.แอล.การ์เด้นอินน์ มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ราคาเริ่มต้นที่ 380 บาท

ห้องพัก ห้องจัดเลี้ยง ห้องสัมมนา มาตรฐาน สมบูรณ์แบบ มาพักผ่อนฟังเพลงกับเรา ที่ดารัตน์คาเฟ่ พร้อมโต๊ะสนุ๊ก โรงแรม ซี.แอล.การ์เด้นอินน์ ที่อยู่ 42 หมู่11 ถนนโพธิ์พระยา-ท่าเรือ ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 14000 โทรศัพท์ : 035-612-665 ,035-612-666


กู๊ดลักซ์

ดีพาร์ทเม้นท์สโตร์ อ่างทอง

ศูนย์รวมสรรพสินค้า Brand Name และของขวัญทุกเทศกาล

สินค้าทุกแผถนกึง

ลดสูงสุด

80%

โทร. 035-611014 , 035-611775 Fax. 035-611224

รูปเครื่องส�ำอาง


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นายศันายอำ กดิ�์ดเภอเมืา อบรรดาศั ก ดิ ์ งอ่างทอง “พระศรีเมืองทองคุ้มบ้าน หลวงพ่อสดโอฬาร ถิ่นฐานเกษตรกรรม ธรรมะครองใจ” คือค�ำขวัญอ�ำเภอเมืองอ่างทอง ซึง่ มีทวี่ า่ การอ�ำเภอตัง้ อยูท่ างทิศใต้ของศาลากลางจังหวัดอ่างทอง ระยะห่างประมาณ 300 เมตร ระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ ตามเส้นทางหมายเลข 32 (สายเอเชีย) ประมาณ 104 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายศักดิ์ดา บรรดาศักดิ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายอ�ำเภอเมืองอ่างทอง

ข้อมูลทั่วไป

อ�ำเภอเมืองอ่างทอง มีเนื้อที่ประมาณ 104.16 ตร.กม. หรือประมาณ 65,100 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่นำ�้ เจ้าพระยาไหลผ่าน 6 ต�ำบล และเขตเทศบาลเมืองอ่างทอง พร้อมล�ำคลองสาขา มีระบบชลประทานเป็นแหล่งน�ำ้ ส�ำหรับท�ำการเกษตรของพื้นที่อยู่ในความรับผิดชอบของโครงการส่งน�้ำและบ�ำรุงรักษามหาราช (ฝั่งซ้ายแม่น�้ำเจ้าพระยา) และโครงการส่งน�้ำและบ�ำรุงรักษายางมณี (ฝั่งขวา) 88


วัดต้นสน อยู่ในเขตเทศบาลเมืองอ่างทอง ห่างจากศาลา กลางจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธรูปสมเด็จพระศรีเมืองทอง ศาลหลั ก เมื อ ง อยู ่ ต รงข้ า มศาลากลางจั ง หวั ด อ่ า งทอง เป็นอาคารจัตุรมุข (4 หน้า) ภายในศาลมีภาพจิตรกรรม ฝาผนังภาพพุ่มข้าวบิณฑ์ก้านแย่ง ที่มีความสวยงามมาก สวนปลา อยู่บริเวณใกล้สี่แยกไฟแดงหน้าเรือนจ�ำจังหวัด อ่ า งทอง มี ป ลาอะเมซอนขนาดใหญ่ จ� ำ นวนมาก และปลา พื้นเมืองอื่น ๆ เช่น ปลาแรด ปลาสวาย ปลาเทโพ ฯลฯ ไว้ให้ นักท่องเที่ยวชม วัดปลดสัตว์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นแห หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลบ้านแห ภายใน บริเวณมีหอสูงก่อด้วยอิฐแปลกกว่าทีอ่ นื่ ๆ ตรงยอดเป็นเจดียท์ รง ลังกา สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล วัดจันทรังษี อยูท่ บี่ า้ นนา หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลหัวไผ่ มีพระพุทธ รูปทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ ประชาชนนิยมเรียกพระนามว่า “หลวงพ่อโยก” และพระวิหารหลวงพ่อสด ซึง่ มีองค์หลวงพ่อสดเป็นพระพุทธรูป โลหะองค์ใหญ่ที่สุดในโลก

แบ่งเขตการปกครองตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครอง ท้องที่ พ.ศ. 2457 เป็น 12 ต�ำบล 81 หมูบ่ า้ น ด้านองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเขตพื้นที่ มีจ�ำนวน 11 แห่ง คือ เทศบาลเมือง อ่างทอง 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง (ยกฐานะจาก อบต.เป็น เทศบาล เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2550) และองค์การบริหารส่วน ต�ำบล 8 แห่ง จ�ำนวนประชากรในเขตอ�ำเภอเมือง มีทั้งสิ้น 56,536 คน จ�ำนวนครัวเรือน 22,398 ครัวเรือน (อยู่ในเขตเทศบาลเมือง อ่างทอง ประมาณ 13,339 คน 6,263 ครัวเรือน) ราษฎรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ในพื้นที่ประมาณ 51,933 ไร่ โดยมีข้าวเป็นผลผลิตหลัก อาชีพรองคือ การค้าขาย การประกอบ การภาคอุตสาหกรรม และบริการ ข้าราชการและพนักงานองค์กร ของรัฐ

ความส�ำคัญของพื้นที่อ�ำเภอเมือง

เป็นศูนย์กลางการค้าส่งผลผลิตทางการเกษตรและการประมง ในจังหวัดใกล้เคียง และกรมเจ้าท่า มีโครงการก่อสร้างท่าเรือ ขนถ่ายสินค้า ในพื้นที่ต�ำบลจ�ำปาหล่อ ต�ำบลตลาดกรวด และ กรมทางหลวง ก�ำลังศึกษาโครงการก่อสร้างถนนเลี่ยงเมืองด้าน

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดอ่างทองวรวิหาร ตั้งอยู่ข้างศาลากลางจังหวัดอ่างทอง มีสิ่งที่น่าสนใจในวัด ได้แก่ พระอุโบสถ พระเจดีย์ หมู่กุฏิทรงไทย ซึ่งเป็นศิลปะการก่อสร้างตามแบบสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

ผลิตภัณฑ์หนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์จกั สานจากผักตบชวา โดยกลุม่ จักสานผักตบชวา บ้านบางตาแผ่น เลขที่ 19/2 หมู่ 1 ต�ำบลคลองวัว ประธานกลุม่ คือ นางปราณี จันทวร โทรศัพท์ 0899 003 474 ดอกไม้ประดิษฐ์จากต้นโสน โดยกลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์จาก ต้นโสน เลขที่ 44/1 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านอิฐ ประธานกลุ่มคือ นางสาวพูลทรัพย์ ฉัตรเจริญ โทรศัพท์ 0831 580 385 ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ซรามิ ค โดยกลุ ่ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ซรามิ ค ชุ ม ชน วัดชัยมงคล เลขที่ 91/1 ต�ำบลตลาดหลวง ประธานกลุ่มคือ นายณรงค์ ปันธรรม โทรศัพท์ 081-6456724 ผลิตภัณฑ์กระเป๋าหนัง โดยกลุ่มสตรีกระเป๋าหนังต�ำบล บ้านแห เลขที่ 3/2 หมู่ 1 ต�ำบลบ้านแห ประธานกลุ่มคือ นางบุญมาก วิริยะพันธ์ โทรศัพท์ 0822 343 553 ผลิตภัณฑ์ของใช้ในครัวเรือน โดยกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ ของใช้ในครัวเรือน เลขที่ 77/2 หมู่ 2 ต�ำบลคลองวัว ประธาน กลุม่ คือ นายอ�ำนวย ปิน่ ประดับ โทรศัพท์ 0849 703 988 ANG THONG 89


โรงแรม บัวหลวง อ่างทอง โรงแรมสไตล์ รี ส อร์ ท

โรงแรม บัวหลวง อ่างทอง เป็น โรงแรมสไตล์รีสอร์ท มีห้อง พักทัง้ หมด 72 ห้อง มีหลายระดับ หลายราคาให้ทา่ นเลือกพัก อาทิ เช่น ห้องพักเดี่ยว ห้องพักคู่ บังกะโลหลังเดี่ยว บังกะโลหลังคู่ และแฟมมิลี่รูม เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนระหว่างเดินทางไกล พักระยะยาวเพือ่ ติดต่อธุรกิจ หรือพักผ่อนระหว่างเดินทางท่องเทีย่ ว โรงแรม บังหลวง อ่างทอง ออกแบบให้บังกะโลแต่ละหลัง ห้ อ งพั ก แต่ ล ะห้ อ ง มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว สู ง เพื่ อ การพั ก ผ่ อ น ที่ เ งี ย บสงบไม่ พ ลุ ก พล่ า น อี ก ทั้ ง โรงแรมยั ง อยู ่ ใ กล้ Big C อ่างทอง และไม่ไกลจากแหล่งท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็น วัดม่วง วัดไชโยวรวิหาร วัดขุนอินประมูล ตุ๊กตาชาววังบางเสด็จ หมู่บ้าน ท�ำกลอง และที่ท่องเที่ยวอีกมากมายของจังหวัดอ่างทอง

ส�ำรองที่พักได้ที่ โรงแรม บัวหลวง อ่างทอง

1/15 ถ.อยุธยา-อ่างทอง ต.โพสะ อ.เมือง จ.อ่างทอง โทรศัพท์: 035-611116 , 035-611800 มือถือ: 081-4958884 แฟกซ์: 035-620500 www.bualuanghotel.co.th/


เส้นทางพบ

เทศบาลเมืองอ่างทอง

เทศบาลเมืองอ่างทอง การบริหารกิจการขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นไม่มีรูปแบบเบ็ดเสร็จตายตัว ต่างกับการบริหารภาครัฐทั่วไปอย่างสิ้นเชิง

นายชัย สุวพันธุ์ นายกเทศมนตรีเมืองอ่างทอง

นายชัย สุวพันธุ์ นายกเทศมนตรีเมืองอ่างทอง กล่าวเสมอว่า “การบริ ห ารกิ จ การขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ไม่ มี รู ป แบบ เบ็ดเสร็จตายตัว ต่างกับการบริหารภาครัฐทัว่ ไปอย่างสิน้ เชิง” เพราะ การบริหารส่วนท้องถิน่ ต้องบริหารโดยการใช้ชมุ ชมเป็นฐาน “เน้นชุมชน เป็นส�ำคัญ” ด้วยการท�ำงานของ นายชัย สุวพันธุ์ ที่ เน้นประชาชน เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา เน้นประโยชน์ของประชาชนเป็นส�ำคัญ เพือ่ ให้ประชาชน มีความเป็นอยูด่ ี กินดี โดยการยึดถือหลักการท�ำงาน ทีว่ า่ “งานคือชีวติ กล้าคิด กล้าท�ำ กล้าเสียสละ” มาโดยตลอดชีวติ การ ท�ำงาน ท�ำให้ นายชัย สุวพันธุ์ ครองใจประชาชนชาวอ่างทอง และ ได้รับการเลือกให้ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี มายาวนานที่สุดใน ประเทศไทย รวมระยะเวลาการด�ำรงต�ำแหน่ง 41 ปี 9 สมัย ซึ่งการ บริหารงานเพื่อประชาชนได้ดำ� เนินการอย่างต่อเนื่อง ภายใต้ความร่วม มือของ คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาเทศบาลเมืองอ่างทอง พนักงาน เทศบาล ชุมชน และกลุ่มพลังมวลชน ภารกิจและผลงาน ทีผ่ า่ นมามีการด�ำเนินงานทีส่ ำ� เร็จตามเป้าหมาย ทีว่ างไว้ เพราะได้รบั ความร่วมมือทีด่ จี ากทุกๆฝ่าย อย่างเช่น การก่อตัง้ ศูนย์ปรองดองสมานฉันท์, ขุมทรัพย์ความรู้จังหวัดอ่างทอง (AKAP) เป็นห้องสมุดเพื่อประชาชน, การบริหารจัดการขยะมูลฝอย, การจัดตั้ง ศูนย์การเรียนรู้ผู้สูงอายุ, การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จนได้รับ รางวัลดีเด่นและยอดเยี่ยม, การจัดตั้งโรงพยาบาลอ่างทอง 2 และ โรงพยาบาลอ่างทอง 3 เพือ่ การบริการประชาชน รวมถึงการสร้างเขือ่ น การสร้างระบบระบายน�้ำ ตลอดจนถนนหนทาง ในปี 2559 นี้ จะมีแผนการปรับปรุง และเพิ่มเติม เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกและบริการประชาชน โดย การจัดตั้งศูนย์แปรรูปสุกรที่ ได้มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคสุกรที่มีคุณภาพ โดยร่วมมือ กับ บริษัทซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จ�ำกัด, การสร้างโรงงานผลิตกระแส ไฟฟ้าจากขยะ, การติดตัง้ กล้อง CCTV เพือ่ ความปลอดภัย ในชีวติ และ ทรัพย์สินของประชาชน, การประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย, การจัดตั้ง โรงเรียนประถมสาธิต เทศบาลเมืองอ่างทอง จากการบริหารงานด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจ ภายใต้การมีส่วนร่วม จากคณะผูบ้ ริหาร สมาชิกสภาเทศบาลเมืองอ่างทอง พนักงานเทศบาล ชุมชน ประชาชน ทุกภาคส่วน เพื่อร่วมกันสร้างเมืองอ่างทอง ให้เป็น เมืองที่มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามเจตนารมย์ของรัฐบาลต่อไป นายชัย สุวพันธุ์

ANG THONG 91


เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล

วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลโพสะ

ยกระดับคุณภาพชีวติ เศรษฐกิจมัน่ คง ด�ำรงไว้ซงึ่ ประชาธิปไตย ร่วมใจพัฒนาอย่างยั่งยืน

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

นางบุญเรือน ก้อนทองดี นายกเทศมนตรีต�ำบลโพสะ

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม และคุณภาพชีวิต 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาผังเมือง ทรัพยากรธรรมชาติ และ ด้านสิ่งแวดล้อม 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านบริหารจัดการและการเมือง 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด

ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลโพสะมีเนื้อที่ประมาณ 4,792 ไร่ มี 8 หมู่บ้าน จ�ำนวน ครัวเรือน 1,520 ครัวเรือน มีประชากรประมาณ 3,498 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำงานในโรงงาน อุตสาหกรรมในพืน้ ทีแ่ ละนอกเขตพืน้ ที่ มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาด ใหญ่ 4 โรงงาน มีวัดพุทธ 3 แห่ง โรงเรียน 2 แห่ง ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก 2 แห่ง ศูนย์ปัจฉิมวัยชุมชนต�ำบล 1 แห่ง โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 1 แห่ง และโรงเรียนเกษตรกรท�ำนา 1 แห่ง

เทศบาลตำ�บลโพสะ “โพสะพระคุ้มภัย ภูมิใจเรือถ้วยพระราชทาน ย่านเกษตร เขตโรงงาน สืบสานวัฒนธรรมไทย เทิดไท้องค์ราชัน” คือค�ำขวัญต�ำบลโพสะ ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของเทศบาล ต�ำบลโพสะ ซึ่งมีส�ำนักงานเทศบาลตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลโพสะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบนั มี นางบุญเรือน ก้อนทองดี ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีต�ำบลโพสะ 92

สิ่งศักดิ์สิทธิ์และงานส�ำคัญของต�ำบล

1. พระรอดโมลีโลก วัดราชปักษี 2. พระพุทธไสยาสน์ วัดราชปักษี 3. หลวงพ่อขาว หลวงปู่สาย วัดท้องคุ้ง 4. หลวงพ่อพระสิวลี หลวงปู่น้อย วัดโพธิ์สระโสภณ นอกเหนือจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจชาวต�ำบล โพสะแล้ว ยังมีประเพณีและวัฒนธรรมที่ทุกคนต่างสมัครสมาน สามัคคีร่วมใจกันเพื่อสืบสานมาอย่างต่อเนื่องทุกปี อาทิ งานแห่ เทียนจ�ำน�ำพรรษา งานแห่ผา้ พระนอน งานสงกรานต์ งานวันเฉลิม พระชนมพรรษา 5 ธันวามหาราช พิธอี ปุ สมบทสามเณรภาคฤดูรอ้ น 2 เมษายน ฯลฯ


กิจกรรมโดดเด่นของเทศบาลต�ำบลโพสะ

1. ผลิตภัณฑ์จากกลุ่มแม่บ้านต�ำบลโพสะเพื่อใช้ในครัวเรือน เช่น น�้ำยาล้างจาน น�้ำยาซักผ้า น�้ำยาปรับผ้านุ่ม ฯลฯ 2. ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น สบู่ขมิ้น สบู่มะขาม ผลิตภัณฑ์ จากแก่นตะวัน เครื่องดื่มน�้ำสมุนไพร น�ำ้ ยาล้างจานสมุนไพร 3. การใช้ภมู ปิ ญ ั ญาในการป้องกัน และบ�ำบัดโรคให้กบั ผูส้ งู วัย โดยการท�ำอุปกรณ์เพื่อสุขภาพจากเศษไม้และกะลามะพร้าว 4. น�ำหลักศาสนาสู่การบ�ำบัดและป้องกันโรคแบบองค์รวม จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การท�ำเกษตรปลอดสารพิษจากการหมักให้เกิดจุลินทรีย์ ปรับปรุงบ�ำรุงดินจากวัสดุท้องถิ่น เช่น การท�ำปุ๋ยหมักจากผักตบ ชวาและเศษกิ่งไม้ จุลินทรีย์ ฮอร์โมนไข่ และจุลินทรีย์ก�ำจัดแมลง 6. การน�ำวัสดุเหลือใช้ เช่น ยางรถยนต์ทำ� กระถางรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการปลูกพืชสวนครัว และสมุนไพร ช่วยการก�ำจัดลูกน�ำ้ ยุง ลาย และเสริมสร้างสุขภาพจิตให้ผสู้ งู วัย การน�ำผักตบชวาและเศษ กิ่งไม้นำ� มาผลิตเป็นปุ๋ยหมัก 7. วันพระเข้าวัดปฏิบัติธรรม บวชสามเณรภาคฤดูร้อน เป็น ประเพณี 8. ร้านค้าศูนย์บาท เพือ่ ส่งเสริมอาชีพ และสุขนิสยั ของบุคคล ทุกวัย โดยการคัดแยกขยะแล้วน�ำกลับมาสร้างรายได้ให้ครอบครัว 9. งานประเพณีแห่เทียนจ�ำน�ำพรรษา งานแห่ผ้าห่มพระ งาน สงกรานต์ การอุปสมบทสามเณรภาคฤดูร้อน ในวันคล้ายวันพระ ราชสมภพสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 10. งานเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั 5 ธันวา มหาราช ซึ่งถือเป็นงานประจ�ำปีที่ชาวต�ำบลโพสะและต�ำบลใกล้ เคียงจะมาร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก ในงานยังมีมหรสพและการ จุดพลุเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นต�ำบลโพสะ ANG THONG 93


ความภาคภูมิใจในการพัฒนาบุคลากร

- ผูบ้ ริหารทุกคน และหัวหน้างาน ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาโท - บุคลากรส่วนใหญ่ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และบางคนก�ำลังศึกษาต่อระดับปริญญาโท - พนั ก งานจ้ า ง ส่ ว นใหญ่ มี ส� ำ เร็ จ ศึ ก ษาระดั บ อาชี ว ศึ ก ษา มัธยมศึกษา และมีทักษะวิชาชีพสูง

รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ

1. รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดีเด่น ด้านการส่งเสริม จริยธรรม จากผู้ตรวจการแผ่นดิน 2. รางวัลธรรมาภิบาล ผ่านเกณฑ์ องค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี พ.ศ.2556 3. รางวัลธรรมาภิบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการ บริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี พ.ศ.2558 4. รางวัลคลองสวยน�ำ้ ใส 94


เส้ นทางพบ เทศบาลตำ�บล

นายสาโรจน์ ลาภหงษ์ทอง นายกเทศมนตรีต�ำบลศาลาแดง

ประวัติการจัดตั้ง

เทศบาลตำ�บลศาลาแดง “พัฒนาเทศบาลต�ำบลศาลาแดงให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลศาลาแดง ซึ่งมีส�ำนักงาน เทศบาลตั้งอยู่เลขที่ 99/9 หมู่ 4 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง อ่างทอง จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ห่างจากอ�ำเภอเมืองอ่างทอง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสาโรจน์ ลาภหงษ์ทอง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายก เทศมนตรีตำ� บลศาลาแดง

เทศบาลต�ำบลศาลาแดง เดิมเป็นสภาต�ำบลเป็นราชการบริหาร ส่วนท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั การจัดตัง้ ขึน้ เป็นองค์การบริหารต�ำบลศาลาแดง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 2 มีนาคม 2538 โดยมี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็นผูบ้ ริหารสูงสุด ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 ได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลต�ำบลศาลาแดง ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2550 โดยมีภารกิจ อ�ำนาจหน้าที่ภายใต้ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับและมติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง

ข้อมูลทั่วไป

เทศบาลต�ำบลศาลาแดง มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 9.74 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 6,087 ไร่ สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มไม่มี ป่ า ไม้ แ ละภู เ ขา มี ค ลองชลประทานไหลผ่ า นพื้ น ที่ ทุ ก หมู ่ บ ้ า น จึงเหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม การปกครอง/ ประชากร มี ชุ ม ชนในเขตเทศบาลต� ำ บล ศาลาแดง จ�ำนวน 7 ชุมชน มีประชากรวมจ�ำนวนทัง้ สิน้ 6,328 คน มีจำ� นวนครัวเรือน 2,687 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2559) ประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลต�ำบลศาลาแดงมีอาชีพ ค้าขาย ปศุสัตว์ การเกษตร ไร่นาสวนผสม รับจ้างในโรงงาน อุตสาหกรรมภายในจังหวัด และเขตจังหวัดใกล้เคียง และรับ ราชการบางส่วน ครอบครัวมีอาชีพและมีรายได้ดี ANG THONG 95


สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดสังกระต่าย ตั้งอยู่ที่ ต.ศาลาแดง อ.เมือง จ.อ่างทอง สถานที่ท่องเที่ยว Unseen แห่งใหม่ในอ่างทอง เนื่องจากมีโบสถ์เก่าแก่ที่มีต้นโพธิ์ ขนาดใหญ่ขึ้นปกคลุมรอบโบสถ์ 4 ต้น รวมถึงปกคลุมภายในโบสถ์ ด้วย ภายในโบสถ์มีทั้งหมด 3 ห้อง ห้องแรกมีพระพุทธรูปส�ำคัญ คือ หลวงพ่อแก่น เมื่อเข้ามาในห้องใหญ่มีพระประธานองค์ใหญ่ 1 องค์ คือ หลวงพ่อวันดี และอีก 2 องค์ มีขนาดย่อมลงมา คือ หลวงพ่อศรี และหลวงพ่อสุข ส่วนห้องสุดท้ายเป็นห้องว่างเปล่า ตัวโบสถ์ไม่มีหลังคาแต่ร่มรื่น เนื่องจากอาศัยร่มเงาของต้นโพธิ์ที่ ปกคลุมจนเปรียบเสมือนหลังคาไปแล้ว ส่วนผนังโบสถ์กอ็ ยูใ่ นสภาพ ทีเ่ ก่าแก่ ทรุดโทรม แตกหัก แต่คงสภาพอยูไ่ ด้โดยไม่พงั ทลายลงมา เพราะได้รากต้นโพธิ์ ทั้ง 4 ต้น ที่ขึ้นอยู่ 4 มุม รากได้ชอนไชยึด ผนังโบสถ์ไว้ทั้งหลังอย่างแน่นหนา 96


วัดท้ายย่าน ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง ภายในวัดมี “วิหาร” ซึง่ ถูกปิดมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2537 หรือกว่า 20 ปีมาแล้ว เนื่องจากหลวงพ่อบุญเจ้าอาวาสสร้างเสร็จก็สั่งปิดมา ตลอด กระทั่งหลวงพ่อสิ้นไปในปีเดียวกัน ต่อมาพระครูมงคล สุทธิกิจ หรือหลวงพ่อทาน มาเป็นเจ้าอาวาสรูปใหม่ท�ำหน้าที่ แทนก็ไม่เปิดวิหารเช่นกัน จนมรณภาพอีกรูป โดยไม่มีใครทราบ ชัดเจนว่าภายในวิหารมีอะไรบ้าง ล่าสุดเมือ่ พระปลัดปิยะพันธ์ บูระกะโร มาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาส จึงจัดประชุมคณะกรรมการวัดเพือ่ ท�ำการเปิดวิหาร เมือ่ เปิดออกจึงพบว่ามี “พระพุทธไสยาสน์ปนุ ญญาภา” องค์ขนาดใหญ่ ยักษ์หอ่ หุม้ ด้วยผ้าไหมทองประดิษฐานอยู่ มีความยาว 18 วา 9 นิว้ ความสูง 9 เมตร ประชาชนส่วนใหญ่ในจังหวัดอ่างทอง ไม่เคย รูม้ าก่อนว่าวัดท้ายย่านมีพระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่นอกจากชาว บ้านในหมู่ บ้านเท่านั้น จากนั้นจึงตรวจสอบประวัติพบว่าเริ่ม สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2531 แต่หลังจากสร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2537 แต่ปิดตายโดยไม่เปิดให้สักการบูชา และเมื่อตรวจสอบภายใน วิหารก็ยังพบรูปหล่อหลวงพ่อรอด อายุกว่า 100 ปี เป็นรูปหล่อ โบราณลงรักด�ำทัง้ องค์เนือ้ ปูนเก่า และรูปหล่อหลวงพ่อลาภคูก่ นั เป็นเนือ้ ปูนแต่มรี อยแตกอยูบ่ า้ ง ซึง่ ชาวอ่างทองเคารพนับถือเป็น อย่างมาก เพราะเป็นเกจิดังอันดับต้น ๆ ของจังหวัด ทางด้าน ไวยาวัจกรวัดท้ายย่าน ยังระบุดว้ ยว่า หลวงพ่อบุญ เจ้าอาวาสใน อดีต สร้างพระพุทธไสยาสน์เสร็จในปี 2537 แต่ไม่เปิดให้สกั การ บูชาและไม่มีใครทราบว่าวัดท้ายย่านมีพระพุทธไสยาสน์ใหญ่ เป็นอันดับ 2 ของจังหวัดอ่างทอง ขนาดประชาชนบางต�ำบล ยังไม่รู้ว่ามีพระนอนอยู่ในวิหารแห่งนี้ ทางจังหวัดอ่างทองก็ไม่รู้

วัดจันทร์นิรมิตร สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ. 2440 ชาวบ้านเรียกว่า “วัด จันทร์” ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 7 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง ในสมัยที่พระครูสมุห์สละ อคฺควณฺโณ เป็นเจ้า อาวาส หลวงอรรถปรีชานูปการ ได้มจี ติ ศรัทธาบริจาคถวายทีด่ นิ แก่วัดเนื้อที่ประมาณ 8 ไร่ ภายในวัดมีปูชนียวัตถุคือ “หลวงพ่อ เทพโล” พระพุทธรูปปูนปั้นประดิษฐานอยู่ที่หน้าวัด สร้างเมื่อ พ.ศ. 2441 นอกจากนี้ยังมีรูปหล่อพระครูสมุห์สละ อคฺควณฺโณ หลวงปู่ยัง เกตุพร และพระพิฆเนศให้สักการบูชาด้วย

วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลศาลาแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง ANG THONG 97


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายบุญรอต ยอดมีกลิ่น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่างิ้ว

องค์การบริหารส่วนตำ�บลป่างิ้ว “พัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบล ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลป่างิ้ว อ�ำเภอ เมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่างิ้ว ทางทิศเหนือห่างจากศาลากลางจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 6.5 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายบุญรอต ยอดมีกลิน่ เป็น นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลป่างิว้ และ นางศิรนิ าท ศุภบุญ เป็น ปลัดองค์การ บริหารส่วนต�ำบลป่างิ้ว

ประวัติ อบต.ป่างิ้ว

องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่างิ้ว ได้รับการยกฐานะจาก สภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เมือ่ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2539 เป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลขนาดกลาง

รายได้ของ อบต.ป่างิ้ว ในระยะเวลา 3 ปี

98

เงินรายได้ ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 เงินรายได้ 18,401,176.62 18,262,010.67 20,332,370.70 (24,314,273.62) (24,444,987.67) (26,253,127.70)


ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่างิว้ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 19.01 ตาราง กิโลเมตร สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ลักษณะดินเป็นดินเหนียวปน ทรายที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การท�ำนา ท�ำไร่ ท�ำสวน มีหนองน�้ำธรรมชาติขนาดเล็กและขนาดใหญ่ คือ หนองลาด ตะเพียน หนองหญ้าปล้อง หนองผักตบ หนองรางจิก หนองรางหมัน อีกทั้งมีคลองชลประทานผ่านตลอดทั้งพื้นที่ เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนต�ำบลป่างิ้ว ดูแลพื้นที่ 2 ต�ำบล รวม 13 หมู่บ้าน ประกอบด้วย ต�ำบลป่างิ้ว จ�ำนวน 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านป่างิ้ว, หมู่ที่ 2 บ้านคลองห้วยโพธิ์ หมู่ ที่ 3 บ้านบ่อน�้ำ หมู่ที่ 4 บ้านตาลแถว, หมู่ที่ 5 บ้านโรงนา หมู่ ที่ 6 บ้านแปดแก้ว และหมู่ที่ 7 บ้านป่างิ้ว และต�ำบลมหาดไทย จ�ำนวน 6 หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองไข่เน่า หมู่ที่ 2 บ้าน บางหัก หมู่ที่ 3 บ้านท่ามอญ หมู่ที่ 4 บ้านหัวตะพาน หมู่ที่ 5 บ้านคุ้มมักเม่า และหมู่ที่ 6 บ้านโรงนา ประชากร มีจ�ำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น 6,916 คน เป็นชาย 3,314 คน เป็นหญิง 3,602 คน จ�ำนวนครัวเรือน 2,736 ครัว เรือน (ข้อมูลจากส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอเมืองอ่างทอง ณ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) สภาพทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนมากประกอบอาชีพหลัก ทางเกษตรกรรม คือ ท�ำนา ท�ำสวน และเลี้ยงสัตว์ อาชีพรอง คือ

ค้าขาย รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรมภายในจังหวัด และเขต จังหวัดใกล้เคียง เป็นต้น

ยุทธศาสตร์ นโบายการพัฒนา

1. โครงสร้างพื้นฐาน ระบบคมนาคม สาธารณูปโภค ให้ได้ มาตรฐานมีประสิทธิภาพเพียงพอกับปํญหาความต้องการของ ประชาชน 2. พัฒนาคุณภาพชีวิต การพัฒนาสังคมให้มีความแข็งแรง เด็ก เยาวชน สตรี ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูด้ อ้ ยโอกาส ส่งเสริมอาชีพ ให้แก่ประชาชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 3. การศึกษา กีฬา และนันทนาการ 4. การสาธารณสุข 5. การจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบ เรียบร้อย การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 6. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 7. ส่งเสริมด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. พัฒนาด้านการเมืองการบริหาร การบริการประชาชน ให้มีประสิทธิภาพ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มพูน ประสิทธิภาพแก่สมาชิก สภาอบต.ฯผู้บริหาร และพนักงาน เจ้าหน้าที่ ANG THONG 99


ศาสนสถาน (วัด)

แหล่งเรียนรูผ้ ลิตภัณฑ์ ต�ำบลป่างิว้ และต�ำบลมหาดไทย วัดไทรย์ (เกษมจริยคุณ) หมู่ที่ 1 ต�ำบลป่างิ้ว

ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 2 ต�ำบลป่างิ้ว

วัดคลองห้วยโพธิ์ หมู่ที่ 3 ต�ำบลป่างิ้ว

วัดดอนกระดี หมู่ที่ 4 ต�ำบลป่างิ้ว

วัดแม่นาง หมู่ที่ 5 ต�ำบลป่างิ้ว

วัดมหาดไทย หมู่ที่ 1 ต�ำบลมหาดไทย วัดลิ้นทอง หมู่ที่ 3 ต�ำบลมหาดไทย

ดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าใยบัว หมู่ที่ 1 ต�ำบลมหาดไทย 100

ผลิตภัณฑ์จากกะลา หมู่ที่ 2 ต�ำบลป่างิ้ว


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระครูสถิตวรธรรม เจ้าอาวาส วัดราชปักษี

วัดราชปักษี (นก)

วัดราชปักษี (นก) ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาด้านทิศตะวันออก ต�ำบลโพสะ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง โดยอยูห่ า่ งจากอ�ำเภอเมืองไปทางทิศใต้ประมาณ 3-4 กิโลเมตร ตามทางหลวง หมายเลข 309 (สายอ่างทอง-อยุธยา) ปัจจุบันมี พระครูสถิตวรธรรม เป็นเจ้าอาวาส ภายในวัดมี “พระพุทธไสยาสน์” ลักษณะคล้ายพระพุทธ ไสยาสน์วดั ป่าโมกแต่มขี นาดย่อมกว่าเล็กน้อย สันนิษฐานว่าเป็น พระพุทธรูปเก่าสมัยอยุธยา เดิมองค์พระช�ำรุดทรุดโทรมอย่างมาก ปัจจุบนั ได้รบั การบูรณะขึน้ มาใหม่ และยังมี “พระรอดวชิรโมลี” พระพุทธรูปที่สร้างสมัยพระเจ้าทรงธรรม ราว พ.ศ. 2163 เดิม พระพุทธรูปองค์นี้ประดิษฐานอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ต่อมาเมื่อ ใกล้จะพังลงน�ำ้ พระมหาวิเชียร ขันนาค (พระครูวเิ ชียรธรรมโกวิท)

และ หลวงพ่อโปรย เมธสโร ม่วงงาม (พระครูสรวุฒาจารย์) พร้อมด้วย พุทธบริษทั ได้ชว่ ยกันเลือ่ นเข้ามาประดิษฐานไว้ ณ ทีป่ จั จุบนั เมือ่ ปี พ.ศ. 2499 ต่อมาชักชวนกันสร้างพระวิหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงท�ำการฉลอง เมื่อปี พ.ศ. 2502 เพราะเหตุที่ผ่านอุปสรรคจาก กิเลสมารตลอดรอดมาได้อย่างราบรืน่ จึงพร้อมใจกันถวายพระนาม นิมิตว่า “พระรอดวชิรโมลี” เพื่อเป็นที่สักการะชาแก่เหล่าเทวดา และมนุษย์ทั้งหลายตลอดกาล 5,000 พรรษา ANG THONG 101


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

ประวัติต�ำบลบ้านอิฐและต�ำบลบ้านรี นายสมชาย สุเมฆะกุล นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านอิฐ

องค์การบริหารส่วนตำ�บลบ้านอิฐ “ ชุมชนเข้มแข็ง ท้องถิ่นก้าวหน้า ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียง เพิ่มพูนคุณภาพชีวิต ปลูกจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม ” คือวิสยั ทัศน์ (Vision) การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านอิฐ ซึง่ มีทที่ ำ� การตัง้ อยูเ่ ลขที่ 101 หมูท่ ี่ 5 ริมถนนสายเอเชีย ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง อยู่ห่างจาก ที่ว่าการอ�ำเภอเมืองอ่างทอง ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสมชาย สุเมฆะกุล ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลบ้านอิฐ

ประวัติองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอิฐ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านอิฐ ได้รับการจัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลตามประกาศลงวันที่ 2 มีนาคม 2538 พื้นที่ประมาณ 14.84 ตารางกิโลเมตร รับผิดชอบเขตต�ำบล บ้านอิฐ 11 หมูบ่ า้ น และต�ำบลบ้านรี 4 หมูบ่ า้ น รวม 15 หมูบ่ า้ น มีจ�ำนวนประชากรทั้งสิ้น 8,209 คน 102

ต�ำบลบ้านรีเป็นต�ำบลทีอ่ ยูใ่ กล้บริเวณจังหวัดสิงห์บรุ ี ซึง่ ในสมัย กรุงศรีอยุธยามักจะมีขา้ ศึกมาประชิดเมืองสิงห์บรุ เี สมอ เมือ่ ราษฎร ที่อยู่ใกล้ทราบข่าวก็เตรียมอพยพหนี แต่ก็ยังมีท่าทีรี ๆ รอ ๆ คอย ฟังข่าวสารจนสงครามสงบลง ชาวบ้านก็ไม่ได้อพยพหนีไปไหน ชาว บ้านจึงขนานนาม ต�ำบลนี้ว่า “ต�ำบลบ้านรี” ตามอาการรี ๆ รอ ๆ นั้น ตราบเท่าทุกวันนี้ ส่วนต�ำบลบ้านอิฐ เดิมขึ้นกับต�ำบลบางแก้ว บริเวณแถบนี้ จะเป็นที่ราบลุ่มมีคลองบางแก้ว และคลองปากน�้ำประค�ำทองไหล ผ่าน มีราษฎรตั้งถิ่นฐานตามแนวล�ำคลอง เพราะสะดวกในเรื่อง การคมนาคมขนส่งผลิตผล ตามประวัติราษฎรตั้งบ้านเรือนตาม แนวคลองบางแก้ว เรียกว่า “บ้านอิฐ” และราษฎรที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ บริเวณปากน�้ำประค�ำทอง เรียกว่า “บ้านน�้ำผึ้ง โตงเตง” ซึ่งบาง คนเรียกว่า “บ้านโตงเตง” หรือ “บ้านน�ำ้ ผึ้ง” บริเวณล�ำคลองทั้ง สองสายนีร้ าษฎรจะสร้างวัดขึน้ จ�ำนวนมาก และท�ำอิฐเพือ่ ใช้ในการ สร้างโบสถ์ โดยทีร่ าษฎรในแถบนีแ้ ต่เดิมนิยมท�ำอิฐกันเป็นอาชีพ จึง เรียกว่า “บ้านอิฐ” มาจนถึงทุกวันนี้

ผลการด�ำเนินงานส�ำคัญของ อบต.บ้านอิฐ

โครงการก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งริมคลองบางแก้ว หมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ความยาว 104 เมตร ระยะเวลาก่อสร้าง 630 วัน วงเงินงบประมาณ 15,558,000.-บาท (สิบห้าล้านห้าแสนห้าหมื่นแปดพันบาทถ้วน) สาเหตุ เนือ่ งจากปัญหาอุทกภัยทีช่ าวต�ำบลบ้านอิฐ ต�ำบลบ้านรี และ จังหวัดอ่างทองประสบปัญหาเกือบทุกปี และจากเหตุการณ์อทุ กภัย ครัง้ ใหญ่ เมือ่ พ.ศ. 2554 ปริมาณน�ำ้ แม่นำ�้ เจ้าพระยาทีร่ ะบายออก ท้ายเขื่อนมีปริมาณมาก ท�ำให้ระดับน�ำ้ ที่ไหลผ่านคลองบางแก้วมี ระดับสูงเพิ่มขึ้น และไหลเอ่อล้นเข้าท่วมทั้งในบ้านเรือนประชาชน พื้นที่การเกษตร


โครงการก่อสร้างระบบประปาหมู่บ้านแบบบาดาลขนาด ใหญ่ หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านอิฐปริมาณงาน ก่อสร้างระบบประปา หมู่บ้านแบบบาดาลขนาดใหญ่ พร้อมถมดินบดอัดและปรับพื้นที่ 1. บ่อบาดาล และเครื่องสูบน�้ำดิบ 2. ระบบกรองน�้ำบาดาล ขนาด 10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง 3. ถังน�้ำใส ขนาด 100 ลูกบาศก์เมตร 4. โรงสูบน�้ำดี พร้อมเครื่องสูบน�้ำดี 5. หอถังสูง ขนาด 30 ลูกบาศก์เมตร 6. ระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยสารละลายคลอรีน 7. ท่อเมนจ่ายน�ำ้ ประปา งบประมาณที่ขอรับการสนับสนุน 3,222,000.- บาท ระยะ เวลาด�ำเนินการ 90 วัน วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในเรือ่ งระบบ น�ำ้ ประปา เพือ่ การอุปโภคและบริโภคของประชาชน ให้เพียงพอกับ ความต้องการของประชาชน 2. เพือ่ ปรับปรุงซ่อมแซมระบบประปาหมูบ่ า้ น หลังจากประสบ ปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ ให้มีมาตรฐานการผลิตน�้ำประปาที่สะอาด สามารถใช้อุปโภคและบริโภคได้ 3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีมาตรฐานดีขึ้น ป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคทีเ่ กิดจากระบบน�ำ้ เป็นสือ่ 4. เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ รั บ การบริ ก ารน�้ ำ ประปาที่ ส ะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพและได้มาตรฐาน 5. เพื่อพัฒนาคุณภาพน�้ำประปาสู่น�้ำประปาดื่มได้

โครงการก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งริมคลองบางแก้ว หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านรี เชื่อมต่อหมู่ที่ 1 ต�ำบลตลาดกรวด อ�ำเภอ เมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ความยาว 305 เมตร ระยะ เวลาก่อสร้าง 1,050 วัน วงเงินงบประมาณ 30,950,000.-บาท (สามสิบล้านเก้าแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) สาเหตุเนื่องจากปัญหา อุทกภัยที่ชาวต�ำบลบ้านอิฐ ต�ำบลบ้านรี และจังหวัดอ่างทอง ประสบปัญหาเกือบทุกปี และจากเหตุการณ์อทุ กภัยครัง้ ใหญ่ เมือ่ พ.ศ. 2554 ปริมาณน�้ำแม่นำ�้ เจ้าพระยา ที่ระบายออกท้ายเขื่อน มีปริมาณมาก ท�ำให้ระดับน�้ำที่ไหลผ่านคลองบางแก้วมีระดับสูง เพิ่มขึ้น และไหลเอ่อล้นเข้าท่วมทั้งในบ้านเรือนประชาชน พื้นที่ การเกษตร สร้างความเสียหายในทางเศรษฐกิจและมีผลกระทบ กับสังคม ตลอดจนความเป็นอยูข่ องประเทศ จากปัจจัยดังกล่าว จึงมีความจ�ำเป็นต้องมีการและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ANG THONG 103


สถานที่ส�ำคัญ/แหล่งท่องเที่ยว

วัดอรัญญิกาวาส ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดช้าง(ช้างให้) ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดสุธาดล ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดบ้านอิฐ ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดไพรวัลย์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดมธุรสติยาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ้านอิฐ วัดกระทุ่มราย ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านรี วัดรุ้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านรี โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชด�ำริห่วงใยประชาชนผู้ประสบ อุทกภัย ปี 2549 ซึ่งท�ำให้พื้นที่การเกษตร ที่อยู่อาศัย และ สิง่ ก่อสร้างสาธารณประโยชน์ตา่ ง ๆ ได้รบั ความเสียหาย พระองค์ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณให้จังหวัดอ่างทองจัดท�ำโครงการสร้าง ศาลาเอนกประสงค์ เพื่อรองรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบจาก อุทกภัยและไร้ที่อยู่อาศัย ได้พักอาศัยขณะน�้ำท่วม พร้อมจัดหา ทีด่ นิ ซึง่ เป็นทีส่ งู น�ำ้ ท่วมไม่ถงึ เพือ่ ใช้สำ� หรับท�ำเป็นฟาร์มตัวอย่าง ซึ่งจังหวัดได้จัดหาพื้นที่ตามพระราชด�ำริ ได้ที่บริเวณหนอง ระหารจีน หมู่ที่ 1 ต�ำบลบ้านอิฐ เนื้อที่ประมาณ 36 ไร่ เป็น พื้นที่ดิน 23 ไร่พื้นที่นำ�้ 13 ไร่ เริ่มด�ำเนินโครงการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 104


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

ครอบครัวด้วยการเกษตร ชาวบ้านจึงได้เลีย้ งวัวควายเพือ่ ใช้ทำ� ไร่ไถนา เมื่อมีการตั้งหลักแหล่งท�ำกินอยู่เป็นเวลานาน จึงเกิดเป็นชุมชน และ ด้วยเหตุที่ชาวบ้านน�ำวัวควายออกท�ำไร่ไถนาอยู่เป็นประจ�ำ จึงท�ำให้ ทางเดินเกิดทรุดตัวเป็นร่องรางน�้ำ เมื่อเวลาฝนตกน�้ำก็จะท่วมขัง ดูเหมือนล�ำคลอง เมือ่ ทางราชการตรากฎหมายปกครองท้องถิน่ ชาวบ้าน จึงได้น�ำลักษณะของท�ำเลที่ตั้งของพื้นที่ซึ่งมีร่องทางเดินของวัวควาย ปรากฏอยู่ทั่วไป มาตั้งเป็นชื่อต�ำบลว่า “คลองวัว” มาจนถึงปัจจุบัน โดยได้รับการตั้งชื่อจากหน่วยงานทางราชการ ประมาณปี พ.ศ.2445

ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลคลองวัว มีพื้นที่ 5,456 ไร่ หรือประมาณ 8.73 ตาราง กิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น 5 หมูบ่ า้ น ได้แก่ 1. บ้านบางตาแผ่น 2. บ้ า นบางต้ น ทอง 3. บ้ า นท่ า มอญ 4. บ้ า นสวนมะม่ ว ง 5. บ้านคลองวัว มีประชากรทั้งสิ้น 2,226 คน แยกเป็นชาย 1,099 คน หญิง 1,127 คน จ�ำนวนครัวเรือน 719 หลัง (ข้อมูลจากส�ำนักบริหารการ ทะเบียน กรมการปกครอง อ�ำเภอเมืองอ่างทอง ณ วันที่ 1 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2558) ประชากรมีอาชีพหลักคือ ท�ำนา

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

นายณรงค์ อยู่ส�ำราญ องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองวัว

องค์การบริหารส่วนตำ�บลคลองวัว “ สิ่งแวดล้อมดี สินค้าหัตถกรรมล�้ำเลิศ เกิดมามีคุณภาพ ปราบปรามยาเสพติด พัฒนาชีวิต ด้วยการศึกษา สาธารณูปโภคพร้อมเพียง ” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล คลองวัว ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 79/4 หมู่ 2 ต�ำบลคลองวัว อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวัน ตกของแม่น�้ำเจ้าพระยา ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองอ่างทอง ระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายณรงค์ อยูส่ ำ� ราญ เป็นนายก อบต.คลองวัว และมีนายอัมรินทร์ อิ่มเอม เป็น ปลัดอบต.คลองวัว

ประวัติความเป็นมา

จากค�ำบอกเล่าพอจะสันนิษฐานได้ว่า ต�ำบลคลองวัวแต่ เดิมนั้นมีพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การท�ำนา ต่อ มามีการอพยพเข้ามาของชาวบ้าน และได้ประกอบอาชีพเลี้ยง

1. ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 1.1 เพิ่มคุณภาพและยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP 1.2 ผสานองค์ความรู้ในการพัฒนาสินค้า OTOP และส่ง เสริมการท่องเที่ยวรวมทั้งเผยแพร่ ให้ได้รับความนิยมทั้งภายในและ ต่างประเทศ 2. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาสินค้าทางการเกษตร แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 2.1 สนับสนุนการหาแหล่งเงินทุนหมุนเวียนให้กับเกษตรกร 2.2 ส่งเสริมสนับสนุนการปลูกข้าวพันธุ์ดี 2.3 ส่งเสริมการผลิตสินค้าทางการเกษตรปลอดภัยจากสารพิษ 2.4 ส่งเสริม สนับสนุน การแปรรูปสินค้าทางการเกษตร พืช ผลทางการเกษตร 3. ด้านระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการและโครงสร้างพื้น ฐาน แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 3.1 พัฒนาคุณภาพถนนต�ำบลคลองวัว ให้ได้มาตรฐานเพียง พอ 3.2 ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะให้ได้มาตรฐานเพียงพอต่อความ ต้องการ 3.3 พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการให้มี คุณภาพเพียงพอกับความต้องการ 4. การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ คุณภาพชีวิต สังคม และความ เข้มแข็งของชุมชน แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 4.1 สนับสนุนและส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตขั้นต�่ำ ไม่ตกเกณฑ์ จปฐ. 4.2 ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและ ครอบครัว ANG THONG 105


4.3 สร้างจิตส�ำนึกแก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ทั่วไป ร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจัง 4.4 ส่งเสริมดูแลความเป็นอยูท่ างเศรษฐกิจและสังคม โดย จัดสวัสดิการให้ผู้ด้อยโอกาส 4.5 สนับสนุนให้เยาวชนและประชาชนประกอบกิจการที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม 4.6 ส่งเสริมกิจกรรมด้านนันทนาการ 4.7 เพิ่มช่องทางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารให้แก่ประชาชน 5. ส่งเสริม สนับสนุนการสาธารณสุข แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 5.1 ส่งเสริมการให้บริการด้านสุขภาพอนามัย เพือ่ ประชาชน มีสุขภาพที่ดี 5.2 รณรงค์ให้หมูบ่ า้ น/ต�ำบลมีความสะอาด และปลอดจากโรค 6. ด้านการบริหารเศรษฐกิจและส่งเสริมอาชีพ แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 6.1 ด�ำเนินนโยบายการเงิน/การคลัง เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน เศรษฐกิจ 6.2 พัฒนาและส่งเสริมอาชีพให้แก่ประชาชน 7. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 7.1 สร้างจิตส�ำนึกและตระหนักถึงความส�ำคัญของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 7.2 เฝ้าระวังการป้องกันทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 106

8. ด้านการส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ท้องถิ่น และส่งเสริมการท่องเที่ยว แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 8.1 ส่งเสริมให้มีการจัดงานวันส�ำคัญ และงานประเพณี ท้องถิ่น อนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงาม 8.2 ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม 9. ยุทธศาสตร์การบริหารการจัดการที่ดี แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 9.1 ปรับระบบบริหารการจัดการของ อบต.คลองวัว ให้ มีประสิทธิภาพและโปร่งใส


9.2 ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และแก้ไขปัญหาความ เดือดร้อนของประชาชน 10. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพการเมืองการ บริหาร และการพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น 10.1 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมกิจกรรม อบต. 10.2 ปรับปรุงการพัฒนาบุคลากร เพิ่มพูนความรู้ ความ สามารถ 10.3 ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือ เครื่องใช้ในสถานที่ ปฏิบัติงาน 10.4 ปรับปรุงและพัฒนารายได้ อบต. 10.5 พัฒนาบุคลากรเพื่องานด้านการป้องกันบรรเทา สาธารณภัย

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

แหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้�ำ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำของ ต�ำบลคลองวัว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก อบต.คลองวัว มีความ สวยงามร่มรืน่ อย่างมาก บริเวณโดยรอบจะมีรา้ นค้าไว้คอยบริการ นักท่องเที่ยวด้วย

สินค้า OTOP ต�ำบลคลองวัว

หัตถกรรมจักสานจากผักตบชวา สานเป็นเครื่องใช้ต่าง ๆ มี ทัง้ กระเป๋า กระถางต้นไม้ ตะกร้ารินไวน์ เป็นต้นโดยเป็นงานฝีมอื ที่มีความละเอียด ประณีต สวยงาม ผ่านการอบและทาเคลือบเงา รักษาผลิตภัณฑ์ และป้องกันไม่ให้เกิดเชื้อรา ท�ำให้ใช้ประโยชน์ ได้ น าน ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องกลุ ่ ม สตรี นี้ จึ ง ได้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพ มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ANG THONG 107


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

เศรษฐกิจพอเพียงทีถ่ กู ต้อง พร้อมทัง้ น�ำไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจ�ำ วัน 5. ส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพและรายได้ที่เพียงพอต่อการ ด�ำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 6. จัดให้มแี ละปรับปรุงซ่อมแซมโครงสร้างพืน้ ฐานทัง้ ด้านไฟฟ้า ประปา เส้นทางคมนาคม โครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตรที่ได้ มาตรฐานและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน 7. ส่งเสริม ท�ำนุบำ� รุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 8. บ�ำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดยการมี ส่วนร่วมของประชาชน 9. ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการพัฒนา ท้องถิ่น 10. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพตามหลักธร รมมาภิบาล

นายส�ำราญ จันทร์ขจร นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บล

องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวไผ่ “ชุมชนน่าอยู่ ควบคู่พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สืบสานประเพณี วัฒนธรรม น้อมนำ�เศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่ชุมชนเข้มแข็ง” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนา ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวไผ่ ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันมี นายส�ำราญ จันทร์ขจร เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวไผ่ (ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน ต่อเนื่องรวม 4 สมัย) และ จ.ส.อ.พยุง เพลีย เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวไผ่

นโยบายส�ำคัญของผู้บริหาร

1. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนโดยเฉพาะ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส 2. ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ 3. ส่งเสริมการสาธารณสุข และสุขอนามัยของประชาชน 4. ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนเข้ า ใจถึ ง หลั ก การและแนวคิ ด 108

สถานที่ส�ำคัญในต�ำบลหัวไผ่

วัดจันทรังษี ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง ตั้งอยู่ห่างจาก สายเอเชียประมาณ 1 กิโลเมตร มีพื้นที่สองฝั่งถนน ฝั่งหนึ่งมี พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิน์ ามว่า “หลวงพ่อโยก” และอีกฝัง่ หนึง่ เป็นทีต่ งั้ ของมหาวิหาร สถาปัตยกรรมที่ประณีตบรรจง ภายในประดิษฐาน พระพุทธรูปองค์เหมือน พระมงคลเทพมุณี หรือหลวงพ่อสด จัดสร้าง โดยพระธรรมรัตนากร พระสายปฏิบัตินักพัฒนาผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (ท่านเติบโตและบวชเณรมาจาก วัดจันทรังษี บ้านนา ต�ำบลหัวไผ่ แล้วมาศึกษาวิชาพุทธศาสนาที่ วัดปากน�ำ ้ ภาษีเจริญ) โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ.2539 เพื่อให้ ผูท้ เี่ คารพเลือ่ มใสศรัทธาในหลวงพ่อสดและพุทธศาสนิกชนทัว่ ไปได้ กราบสักการบูชาและระลึกถึงคุณงามความดีของท่าน นอกจากนี้ พระธรรมรัตนากรยังได้จดั สร้าง “องค์พระโพธิสตั ว์ อวโลกิเตศวร เจ้าแม่กวนอิมปางพันมือ” ซึ่งแกะสลักจากซุงต้นไม้ หอมมีอายุมากกว่า 500 ปี โดยช่างชาวจีน ประทับอยู่ที่มหาวิหาร เมตตาธรรมแปดเหลี่ยม หรือเก๋งจีน บริเวณวัดจันทรังษี ซึ่งเป็น ศาสนสถานส�ำคัญในต�ำบลหัวไผ่ที่มีความงดงามและบรรยากาศ ร่มรื่น


หนองเจ็ดเส้น โครงการแก้มลิง “หนองเจ็ดเส้น” เป็นโครงการตามพระราช ด�ำริฯ เพื่อบริหารจัดการน�ำ้ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด พื้นที่ประกอบ ด้วยสระน�้ำ คันดิน และพื้นที่พัฒนาการเกษตร เป็นแหล่งเพาะ พันธุ์สัตว์น�้ำและเป็นที่อยู่อาศัยของนกนานาชนิด ในปี 2554 จังหวัดอ่างทองได้จัดท�ำโครงการอุทยานสวรรค์ 115 ปี อ่างทอง หนองเจ็ดเส้น เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554 โดยพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดยรอบให้เป็นแหล่งเรียนรูต้ ามแนว พระราชด�ำริ ร่วมทัง้ ส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญของจังหวัด ภายในโครงการมีการจัดสวนแสดงพันธุ์ไม้เขตร้อนชื้น ลาน ดอกไม้แฟนตาซี จัดสวนไม้ดัด สวนไม้ดอกหลากสี สวนบัว นานาชาติและพันธุ์ไม้น�้ำ ศิลปะบนผืนผ้า รวมทั้งอุโมงค์ผักนานา ชนิด มีการเปิดตัวอุทยานสวรรค์ฯ ไปเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2554 ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าวได้มีโอกาสเข้าไปสัมผัสบรรยากาศ ความสวยงาม สดชืน่ ด้วยพืชพรรณไม้นานาชนิด สร้างความประทับ ใจให้กับทุก ๆ คน เป็นอย่างมาก ปัจจุบันเป็นสถานที่ที่จังหวัด อ่างทองให้ความส�ำคัญในการพัฒนาพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

สวนสุขภาพต�ำบลหัวไผ่ เกิดขึ้นจากแนวคิดการเสริมสร้างความเข็มแข็งด้านสุขภาพแก่ ประชาชนของนายส�ำราญ จันทร์ขจร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล หัวไผ่ เพื่อให้ประชาชนทุกเพศทุกวัย ได้มีสถานที่ส�ำหรับการออกก�ำลัง กายและพักผ่อนหย่อนใจ อีกทั้งยังเป็นการปลูกฝังให้เยาวชนลูกหลาน รักการออกก�ำลังกายหรือเล่นกีฬา ไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยท่าน นายกฯ ส�ำราญพิจารณาเห็นว่าบริเวณวัดกะเชาว์ (ร้าง) หมูท่ ่ี 6 ซึง่ เดิม เป็นสถานที่รกร้างว่างเปล่า เนื้อที่ประมาณ 4 ไร่ เหมาะแก่การสร้าง เป็นสวนสาธารณะ จึงด�ำเนินการจัดสร้างเป็น “สวนสุขภาพประจ�ำ ต�ำบลหัวไผ่” เพื่อให้ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนต�ำบล หัวไผ่ กลุ่มบริษัท อดิตยา เบอร์ล่า บริษัทไทยเรยอน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทไทยคาร์บอนแบล็ค จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการปรับพื้นที่ ปลูกหญ้า จัดสร้างทางวิ่งออกก�ำลังกาย ติดตั้งอุปกรณ์สนามเด็กเล่น เครื่องออกก�ำลังกาย จัดบริเวณส�ำหรับนั่งพักผ่อน และจัดสร้างรูป หล่อ(เหมือน) พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง ที่ชาวต�ำบลหัวไผ่เคารพศรัทธา จ�ำนวน 5 รูป ได้แก่ หลวงพ่อโทนวัดเซิงหวาย หลวงพ่อกิ่มวัดกลาง หลวงพ่อช่วยวัดเกตุ หลวงพ่อเสือวัดดาวดึงส์ และหลวงพ่อแต้มวัดจัน ทรังษี ประดิษฐานให้ผู้เลื่อมใสได้กราบไหว้สักการะ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยว ให้เกิดก�ำลังใจ และในปี พ.ศ.2558 นายประสิทธิ์ ตุลาทอง อายุ 77 ปี ราษฎร บ้านเลขที่ 6/1 หมู่ที่ 7 ต�ำบลหัวไผ่ ซึ่งมีความสามารถในการปั้น พระพุทธรูปด้วยมือ ได้ปั้นพระพุทธรูปขนาดความกว้าง 4 เมตร ความ สูงประมาณ 6 เมตร ประดิษฐานไว้บริเวณสวนสุขภาพต�ำบลหัวไผ่ โดย ได้รับการบริจาคทุนทรัพย์ในการจัดซื้อวัสดุ และอุปกรณ์การก่อสร้าง ตามก�ำลังศรัทธาของประชาชนในต�ำบลหัวไผ่ ปัจจุบนั ชาวต�ำบลหัวไผ่ทกุ เพศทุกวัย ได้ใช้สถานทีแ่ ห่งนีส้ ำ� หรับการ ออกก�ำลังกาย และนัง่ พักผ่อนหย่อนใจในช่วงเวลาเช้าและช่วงเวลาเย็น เป็นจ�ำนวนมาก สามารถเป็นทางเลือกในการเสริมสร้างสุขภาพกาย-ใจ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง ANG THONG 109


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดจันทรังษี วัดจันทรังษี ตั้งอยู่ที่บ้านนา หมู่ 9 ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง การเดินทาง จากถนนสายเอเชียหลักกิโลเมตรที่ 49 เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงชนนบท (5042) ระยะทาง 3 กิโลเมตร หรือ ตรงไปที่แยกเลี้ยวซ้ายเข้าตัวอ�ำเภอเมืองอ่างทองไปประมาณ 1 กิโลเมตร เมื่อเห็นป้ายวัดให้เลี้ยวซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร 110


ประวัติวัด

วัดจันทรังษี สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2446 วัดนี้ตั้งอยู่บนพื้นที่ สองฝั ่ ง ถนน มี ก ารจั ด สวนประดั บ ประดาด้ ว ยต้ น ไม้ น ้ อ ยใหญ่ อย่ า งสวยงาม ฝั ่ ง ทิ ศ ตะวั น ออกมี ห ลวงพ่ อ โยกพระพุ ท ธรู ป ศักดิ์สิทธิ์ ฝั่งตะวันตกของถนนเป็นที่ต้ังของพระมหาวิหารจัตุรมุข พระมงคลเทพมุนี หรือ หลวงพ่อสด องค์ใหญ่ที่สุดในโลก

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

หลวงพ่อสด วัดปากน�ำ้ (หลวงพ่อสด จันทสโร) หล่อด้วยโลหะ องค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก มีขนาดหน้าตักกว้าง 6 เมตร 9 นิว้ สูง 9 เมตร 9 นิ้ว หนัก 45 ตัน องค์พระปิดทองค�ำเหลืองอร่ามทั้งองค์มีความ งดงามมาก ประดิษฐานในวิหารจัตุรมุข ที่มียอดบุษบกกลาง 5 ชั้น สูง 48 เมตร กว้าง 24 เมตร ยาว 33 เมตร มีสถาปัตยกรรม อันวิจิตรงดงามที่บ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ในจังหวัดอ่างทอง หลวงพ่ อ สดองค์ จ� ำ ลองนี้ เริ่ ม สร้ า งเมื่ อ ปี 2539 โดย พระธรรมรัตนากร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดปากน�ำ้ ภาษีเจริญ เป็นผู้จุด ประกายการก่อสร้าง ชาวอ่างทองมีความศรัทธาว่าหากใครได้มาก ราบไหว้และสัมผัสที่ฐานของหลวงพ่อสด ท่านจะประทานพรให้มี สุขภาพแข็งแรง สดใส หน้าตางดงาม และเน้นย�้ำว่าใครที่กราบไว้ หลวงพ่อสด จะมีเงินสดใช้ตามชื่อหลวงพ่อสด หลวงพ่อโยก พระพุทธรูปปูนปัน้ ศิลปะแบบอยุธยา ประดิษฐาน ในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิข์ องชาวหัวไผ่ โดยชาวบ้านเล่า ว่าพระพุทธรูปองค์นี้สามารถโยกไปมาได้ ประชาชนในแถบนั้นจึง นิยมเรียกกันว่า หลวงพ่อโยก

พระโพธิ์สัตว์อวโลกิเตศวร เจ้าแม่กวนอิม ปางพันมือ สี่หน้า ที่มีความสวยงามและหาดูได้ยาก ขนาดสูง 5 เมตร 8 นิ้ ว แกะสลั ก จากไม้ ห อมขนาดใหญ่ จ ากประเทศจี น โดยพระธรรมรัตนากร ได้อญ ั เชิญเข้ามาประดิษฐาน ณ วัดจันทรังษี ในวันที่15 มีนาคม 2552 ช้างมงคล เป็นประติมากรรมปูนปั้นรูปช้างขนาดใหญ่ที่ สวยงาม ตั้งอยู่บริเวณหน้าวิหาร มีประวัติที่เล่าสืบต่อมาว่า สามเณรสงัด สะอาดเอี่ยม ได้ติดตามปรนนิบัติหลวงตาทัย ซึ่งพ�ำนักอยู่ในป่าช้าวัดจันทรังษี หลวงตาได้บอกกับสามเณรว่า วัดจันทรังษี มีช้างใหญ่อยู่เชือกหนึ่งเป็นช้างที่สวยงามมากชื่อว่า “ช้างมงคล” และต่อไปวัดจันทรังษีนี้จะเจริญรุ่งเรือง ในปัจจุบัน วัดจันทรังษีมีความเจริญสมกับค�ำพูดของหลวงตาทัย วัดจันทรังษีมีความสงบร่มรื่นด้วยไม้ใหญ่ จึงมักจะมีผู้คน มานั่งอ่านหนังสือ และสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด ซึ่งทาง วัดจันทรังษีจัดให้มีโรงทานเลี้ยงอาหารฟรีทุกวันเสาร์-อาทิตย์ และมีที่จอดรถกว้างขวาง ซึ่งหากมาเป็นทัวร์กรุ๊ปใหญ่แนะน�ำ ให้ติดต่อทางวัดล่วงหน้าก่อน

ANG THONG 111


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดตาลเจ็ดช่อ วัดตาลเจ็ดช่อ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 1 ต�ำบลตลาดกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันมี พระครูพิบูลพัฒนพิมล เป็นเจ้าอาวาส 112


พระครูพิบูลพัฒนพิมล เป็นเจ้าอาวาส วัดตาลเจ็ดช่อ

ประวัติวัดตาลเจ็ดช่อ

วัดตาลเจ็ดช่อ เป็นวัดโบราณที่มีมาแต่ครั้งสมัยอยุธยาโดย สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา เดิมเชื่อว่าในอดีต บริเวณที่ตั้งของวัดและบริเวณรอบ ๆ เป็นเส้นทางการเดินทัพของ พระนเรศวรมหาราช ซึ่งทางด้านหลังวัดเป็นปากคลองบางแก้ว และลี้ พ ลกองก� ำ ลั ง ทั พ ช้ า งศึ ก ก็ ไ ด้ ย กพลขึ้ น มายั ง บริ เ วณนี้ ด ้ ว ย จึงกลายเป็นทีม่ าของการเรียกชือ่ สถานทีด่ งั กล่าวว่า “ท่าช้าง” ด้วย เช่นกัน เหตุที่ได้ชื่อว่าวัดตาลเจ็ดช่อ เล่าสืบต่อกันมาว่า ต้นตาลที่ อยู่ในอาณาบริเวณวัดนี้มีจั่นตาลหรืองวงตาลออกดอกชูช่อเจ็ดช่อ มีช่อใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นที่ประหลาดใจแก่ชาวบ้าน จึงเรียกชื่อ ตามความอัศจรรย์นี้ว่า “วัดตาลเจ็ดช่อ”

ความส�ำคัญของวัดตาลเจ็ดช่อ

วัดตาลเจ็ดช่อ เป็นดินแดนพุทธสถานอันศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีไ่ ด้รบั การ พัฒนาจากเจ้าอาวาส หลายรูปสืบต่อกันมา จนถึงปี พ.ศ. 2449 ท่านพระครูสริ วิ ฒ ั นากร (หลวงพ่อมิม้ ) ได้ทำ� การพัฒนาวัดตาลเจ็ด ช่อให้เป็นอุทยานแห่งธรรมให้กับพุทธศาสนิกชน นอกจากนี้ท่าน ยังได้ให้อุปการะเลี้ยงดูเด็กก�ำพร้าที่ถูกทอดทิ้งและเด็กยากจน โดย ให้วัดเป็นที่อยู่อาศัยเป็นที่หลับนอนและให้การศึกษาเปรียบเสมือน ร่มโพธิ์ร่มไทรของเด็กด้อยโอกาสจวบจนทุกวันนี้

ปาฏิหาริย์สมเด็จโต ณ วัดตาลเจ็ดช่อ

เมื่อหลวงพ่อมิ้ม ได้มรณภาพ เมื่อปี วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ท่านพระครูพิบูลพัฒนพิมล ได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสวัดตาลเจ็ดช่อ ในระยะแรกศิษยานุศิษย์ต่างเป็นห่วง เพราะขาดเสาหลักอันเป็นศูนย์รวมจิตใจ ตลอดทั้งเสนาเสนาะ ต่าง ๆ สภาพอุโบสถและสิ่งก่อสร้างก็ทรุดโทรมลงตามกาลเวลา หลังเกิดเหตุการณ์นำ�้ ท่วมครัง้ ใหญ่ ความกังวลเหล่านีเ้ ป็นค�ำถาม ทีอ่ ยูใ่ นใจของท่านพระครูพบิ ลู พัฒนพิมล นับตัง้ แต่วนั ทีท่ า่ นได้รบั ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ว่าจะสืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อมิ้มได้ อย่างไร ต่อมาคืนหนึ่ง ด้วยความที่ท่านพระครูเคารพบูชา และ ศรัทธาเชื่อมั่นในบุญบารมีของสมเด็จโต พรหมรังสี ตั้งแต่ยัง อยู่ในเพศฆราวาส และเมื่อครองสมณเพศ จึงเกิดนิมิตว่าท่าน สมเด็จโตได้ปรากฏกายทิพย์ เกิดเสียงก้องในมโนนิมิต ว่าจงท�ำ อะไรทีใ่ หญ่โต เหมือนชือ่ ท่านเพือ่ สร้างพัฒนาวัดให้ใหญ่โตก็ทำ� ได้ ฉันจะช่วยให้สำ� เร็จ เมื่อสิ่งที่จะสร้างใหญ่โตตามความหมายของ นามฉัน ผู้ที่เคารพศรัทธาฉันก็จะช่วยสร้างที่แห่งนี้ให้ใหญ่เท่าที่ ท่านสร้างขึ้น ท่านพระครูพิบูลพัฒนพิมล จึงน�ำมโนนิมิตนั้นมา เล่าปรึกษาเหล่าคณะกรรมการวัด และเป็นทีม่ าของการสร้างหุน่ ขี้ผึ้งองค์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ใหญ่ที่สุดในโลก ANG THONG 113


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นายวินายอำชัย�เภอวิตัเศษชั ้งคำย�ชาญ เจริญ “เป็นแหล่งท่องเที่ยววิถีไทย แหล่งผลิตข้าวคุณภาพมาตรฐานการส่งออก และการดำ�รงชีพตามเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ของอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ซึ่งมีที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่ริมถนนสายโพธิ์พระยา - ท่าเรือ หมู่ที่ 7 ต�ำบล ศาลเจ้าโรงทอง อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ห่างจากจังหวัดอ่างทองประมาณ 13 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายวิชัย ตั้งค�ำเจริญ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ

ประวัติความเป็นมา

อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ตั้งเป็นอ�ำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2439 อยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น�้ำน้อย หมู่ที่ 3 ต�ำบลไผ่จำ� ศีล เป็นอ�ำเภอเก่าแก่ซงึ่ ปรากฏชือ่ อยูใ่ นประวัตศิ าสตร์ ตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เมือ่ ครัง้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระท�ำ ยุทธหัตถีมีชัยต่อพม่า และได้พิจารณาเห็นว่าเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ชัยภูมิที่ดี กล่าวคือ มีแม่น�้ำน้อยไหลผ่านคอยสกัดทัพ พม่าที่เข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์และสุพรรณบุรี จึงได้ทรงสถาปนาท้องที่ต�ำบลไผ่จ�ำศีลขึ้นเป็นเมือง พระราชทานนาม ว่า “แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” 114


ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แม่น�้ำน้อยน้อยตื้นเขินเป็นตอน ๆ การเดินเรือไม่สะดวก ทางราชการจึงได้ย้ายแขวงเมืองวิเศษไชย ชาญไปตั้งที่ตำ� บลบางแก้ว ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา (ซึ่งเป็นที่ตั้งศาลา กลางจังหวัดอ่างทองในปัจจุบัน) พร้อมเปลี่ยนชื่อเรียกว่า “เมือง อ่างทอง” ส่วนแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ ถูกลดฐานะเป็นอ�ำเภอ เรียกว่า “อ�ำเภอไผ่จำ� ศีล” ขึน้ อยูใ่ นความปกครองของเมืองอ่างทอง จวบจนกระทัง่ สมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้เปลี่ยนเป็น “อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ” และเมื่อปี พ.ศ. 2522 ได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอมายังที่ตั้งปัจจุบัน

ข้อมูลทั่วไป

อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ มีเนื้อที่ประมาณ 222.702 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 140,439 ไร่ แบ่งเขตการปกครองออก เป็น 15 ต�ำบล 126 หมู่บ้าน และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ�ำนวน 16 แห่ง เป็นเทศบาลต�ำบล 7 แห่ง และองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล 9 แห่ง มีประชากร 66,750 คน เป็นชาย 32,044 คน หญิง 34,706 คน จ�ำนวน 22,332 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มกราคม 2559) ประชากรร้อยละ 70 ประกอบอาชีพเกษตร โดยมีพนื้ ทีท่ ำ� การเกษตร ประมาณ 97,000 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 700 กิโลกรัม/ไร่ นอกจากนี้ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ และค้าขาย

กิจกรรมที่ส�ำคัญของอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ

1. โครงการอ�ำเภอเคลื่อนที่เยี่ยมบ้านยามเย็น อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ได้จัดโครงการอ�ำเภอเคลื่อนที่เยี่ยมบ้านยาม เย็น เพื่อน�ำส่วนราชการอ�ำเภอ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิน่ ลงพืน้ ทีพ่ บปะเยีย่ มบ้านประชาชนหลังเวลาราชการ น�ำนโยบาย ของภาครัฐ ข้อมูลข่าวสาร ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความ เข้าใจที่ถูกต้องต่อปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งสร้างความสมานฉันท์ให้ เกิดขึ้นภายในพื้นที่ 2. การจัดงาน“ร�ำลึกวีรชนแขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ่อค้า ประชาชน จังหวัดอ่างทอง ร่วมกันจัดงาน “ร�ำลึกวีรชนแขวงเมืองวิเศษไชย ชาญ” เป็นประจ�ำทุกปี ระหว่างวันที่ 25-28 มีนาคม เพื่ออนุรักษ์ มรดกทางศิลปวัฒนธรรมแขวงเมืองวิเศษไชยชาญให้คงสืบต่อไป และเพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนชาวอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมและร่วมแสดงออกถึงความกตัญญุตาแด่ วีรชน ผู้ได้กระท�ำคุณงามความดี เสียสละและมีความกล้าหาญ

การด�ำเนินงานตามนโยบายภาครัฐและกระทรวง มหาดไทย

การปกป้องเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ วั น ที่ 5 ธั น วาคม 2558 จั ด กิ จ กรรมเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 88 พรรษา 5 ธันวาคม 2558 ประกอบด้วย พิธีถวายพระพรชัยมงคล พิธีถวายเครื่องราชสักการะ (พุ่มทอง – พุ่มเงิน) และพิธีจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคล และกิจกรรมส�ำคัญอื่น ๆ เช่น การตรวจติดตามโครงการตาม มาตรการส่งเสริมความเป็นอยูร่ ะดับต�ำบล (ต�ำบลละ 5 ล้าน อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง)

สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์

วัดวิเศษชัยชาญ และอนุสาวรีย์นายดอก – นายทองแก้ว ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลไผ่จำ� ศีล สร้างเมือ่ ปี 2472 เป็นอนุสรณ์สถาน เพื่อร�ำลึกถึงวีรกรรมความกล้าหาญของวีรบุรุษแขวงเมืองวิเศษ ไชยชาญ เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2309 ก่อนกรุงศรีอยุธยา จะเสียแก่พม่า วัดม่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลหัวตะพาน มีอุโบสถที่สร้าง ขึ้นใหม่ที่ล้อมรอบด้วยกลีบบัวใหญ่ที่สุดในโลก ภายในมีรูปปั้น เกจิอาจารย์ชื่อดัง และปูชนียวัตถุส�ำคัญ อาทิ “พระพุทธมหา นวมินทร์ศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ” หน้าตักกว้าง 63.05 เมตร สูงจากฐาน 95 เมตร วิหารแก้ว ภายในมีรปู ปัน้ แดนนรก – สวรรค์ เทพเจ้าไทย เทพเจ้าจีน และรูปปั้นเจ้าแม่กวนอิมที่ใหญ่ที่สุด ในโลก วัดสี่ร้อย ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลสี่ร้อย เป็นวัดเก่าแก่ไม่พบ หลักฐานว่าสร้างสมัยใด จากค�ำบอกเล่าของเฒ่าผู้แก่ว่า วัดนี้ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลและเป็นอนุสรณ์ให้ชาวบ้าน 400 คน ที่อาสาเป็นกองอาทมาต ซึ่งเสียชีวิตจากการต่อสู้กับข้าศึกที่ อ่าวหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปูนปั้นปางป่าเลไลยก์ กลางแจ้ง สูงราว 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2452 ANG THONG 115


เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล

นายไพโรจน์ พวงศิริ นายกเทศมนตรีตำ� บลไผ่ด�ำพัฒนา

เทศบาลตำ�บลไผ่ด�ำ พัฒนา วิสยั ทัศน์นายไพโรจน์ พวงศิริ นายกเทศมนตรีตำ� บลไผ่ดำ� พัฒนา

“น�้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานท�ำ” เทศบาลต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา ต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก ของอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ และห่างจากอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ประมาณ 12 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายไพโรจน์ พวงศิริ เป็น นายกเทศมนตรีต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา

ประวัติต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา

ต�ำบลไผ่ดำ� พัฒนา แต่เดิมนัน้ มีกอไผ่ลอ้ มรอบอยูก่ ลางทุง่ นา ไม่ว่าจะมองไปทิศทางใด ก็จะเห็นไผ่สีด�ำ หรือ สีเขียวเข้ม ประชาชนส่วนใหญ่ในต�ำบลประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น อาชีพหลัก ประชาชนยังยึดถือการใช้ชีวิตตามแบบสังคมชนบท ใช้ชีวิตแบบพอเพียง พึ่งพาอาศัยกัน และยึดหลักค�ำสอนของ พระพุทธศาสนาในการด�ำเนินชีวิต ท�ำให้ชาวต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา มีแต่ความสงบสุข 116

ของดี-เอกลักษณ์เด่นของไผ่ด�ำพัฒนา

พระพุทธนรสีห์ เป็นสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำต�ำบลไผ่ดำ� พัฒนา ประดิษฐาน ณ วัดอุทศิ สร้างขึ้นในสมัยของพระอธิการทวี จิตเสวี (นามสกุลเดิม กลับทวี) ภายในองค์พระบรรจุคัมภีร์ใบลาน และพระกรุเก่าจ�ำนวนมาก ชาวบ้านต�ำบลไผ่ดำ� พัฒนามีความเชือ่ ว่าหากมีเรือ่ งไม่สบายใจ แล้ว ได้มาบนกับพลวงพ่อ หากส�ำเร็จก็จะมาแก้บนด้วยละครชาตรีหรือ ละครสด ซึง่ ในแต่ละปีจะมีประชาชนมาแก้กบั หลวงพ่อจ�ำนวนมาก วัดวันอุทิศ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 บ้านไผ่ด�ำ ต�ำบลบ้านไผ่ด�ำพัฒนา อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง มีเนือ้ ทีว่ ดั รวม 16 ไร่ 3 งาน 25 ตารางวา ปัจจุบันมีพระครูวิมลปัญโญภาส เป็นเจ้าอาวาส วัดวันอุทิศสร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2460 โดยมีนายวัน กมลกล�่ำ บริจาคที่ดินให้สร้างวัด จึงได้ขนานนาม วัดตามชื่อผู้ให้ที่ดิน แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดใต้” ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2469 เปิด สอนพระปริยัติธรรมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 เป็นต้นมา ปัจจุบัน บริเวณวัดยังเป็นที่ตั้งของโรงเรียนมัธยมศึกษา สถานีอนามัย และ ที่ท�ำการเทศบาลต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา บ้านเรือนไทยไผ่ด�ำพัฒนา นับเป็นเอกลักษณ์ของต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่และ ผู้รู้บางท่านเล่าว่า การปลูกบ้านเรือนไทย เป็นทั้งคติความเชื่อ การ สืบทอดกันมา การอนุรกั ษ์ และการกตัญญูตอ่ ผูม้ พี ระคุณ ในปัจจุบนั


ต�ำบลไผ่ดำ� พัฒนา มี 8 หมูบ่ า้ น จ�ำนวน 916 ครัวเรือน มีบา้ น เรือนไทยประมาณ 398 หลัง คาดว่าน่าจะมีมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย บ้านเรือนไทยไผ่ดำ� ฯ จะมีเอกลักษณ์เฉพาะทีส่ งั เกตได้คอื ปัน้ ลมจะ ดูอ่อนช้อยเรียกว่าปั้นลมหลังอ่อนยอดแหลม ปลูกแบบไม่มีแปลน ไม่มสี ถาปนิก ปลูกตามทีเ่ จ้าของบ้านบอก เราเรียกว่าตามทีส่ ถาปนึก ออกแบบ ซึ่งการปลูกบ้านเรือนไทยในปัจจุบันจะใช้ไม้สักเป็นหลัก ตัวพืน้ บ้านจะใช้ไม้เนือ้ แข็งเป็นส่วนประกอบ ส่วนการตกแต่งจะเป็น ไปตามความต้องการของเจ้าของบ้าน ปัจจุบนั การปลูกบ้านเรือนไทย ดูจะลดน้อยลง เนือ่ งจากราคาปลูกบ้านเรือนไทยแพงมาก ถ้ามีเงิน น้อยกว่า 3 ล้านบาท บ้านเรือนไทยที่ปลูกไม่สมบูรณ์ สาเหตุที่ท�ำให้ต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนามีบ้านเรือนไทยจ�ำนวนมาก เนื่องจากสถานที่ตั้งของต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนาอยู่ริมคลองไผ่ด�ำ ซึ่งแต่ เดิมมีกว้างประมาณ 16 เมตร ไหลผ่านบ้านไผ่ด�ำ บ้างบางตาทอง บ้านบางตาแผ่น บ้านศาลาแดง สูแ่ ม่นำ�้ เจ้าพระยาช่วงวัดสนามชัย ระยะทางประมาณ 25 กิโลเมตร ในช่วงน�ำ้ หลากคือเดือนกันยายน – ธันวาคม ของทุกปี น�ำ้ จะท่วมล้นล�ำคลองทุกปี ชาวชุมชนบ้านไผ่ ด�ำจึงจ�ำเป็นต้องปลูกบ้านเรือนไทยใต้ถนุ สูง เพือ่ ไม่ให้พนื้ บ้านท่วมน�ำ้ ซึ่งการด�ำรงชีวิตช่วงนี้จะใช้เรือเป็นพาหนะ จนมาช่วงหลังมีระบบ ชลประทานเกิดขึ้น หน้าน�้ำหลากน�้ำก็จะไม่ท่วมแต่จะมีเพียงบางปี เท่านั้น จึงท�ำให้การปลูกบ้านเปลี่ยนแปลงรูปแบบไป เป็นการปลูก บ้านสมัยใหม่มาแทนที่

เทศบาลต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนาชวนเที่ยว

จากของดีทเี่ ป็นเอกลักษณ์ประจ�ำต�ำบลไผ่ดำ� พัฒนาตามทีก่ ล่าว มาข้างต้น เทศบาลต�ำบลไผ่ด�ำพัฒนา จึงมีแนวคิดเปิดประตูสู่ บ้านเรือนไทยไผ่ด�ำพัฒนา โอท็อป เชิญชวนทุกท่านมาเที่ยวชม บ้านเรือนไทยไผ่ด�ำพัฒนา ซึ่งมีทั้งใหม่และเก่าอายุนับ 100 ปีก็มี ให้ทา่ นได้สมั ผัสกับสายตา มาสักการะพระพุทธนรสีห์ ณ วัดวันอุทศิ นอกจากนี้ยังมีอาหารไทยโบราณ ขนมไทยโบราณให้เลือกชิมเลือก ซื้อได้มากมาย

ส�ำหรับท่านที่สนใจมาเป็นคณะสามารถเข้าพักได้ที่บ้าน เรือนไทยโฮมสเตย์ ติดต่อสอบถามได้ที่ ทต.ไผ่ด�ำพัฒนา โทร. 0 3586 4309-10 หรือ คุณส�ำรวย ฉิมฉวี ประธานกลุม่ โฮมสเตย์ โทร. 08 1385 4947 และคุณวรลักษณ์ โพธิท์ อง ประธานสมาพันธ์ กลุ่มโฮมสเตย์ โทร.08 6706 9731 มาอยู่วิมานบ้านเรือนไทย ทานอาหารไทย ทานขนมไทย อยู่แบบสังคมไทยได้ความสุข ANG THONG 117


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

มี ท หารพม่ า เสี ย ชี วิ ต จ� ำ นวนมากและกะโหลกศี ร ษะของทหารอยู ่ กระจัดกระจาย จึงเรียกชือ่ ต�ำบลว่า “หัวตะหาญ” ต่อมาเพีย้ นค�ำเป็น “หัวตะพาน” จนถึงปัจจุบัน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน เป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลขนาดเล็ก ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ.2542 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 11 สิงหาคม 2542 เรื่องจัดตั้งองค์การ บริหารส่วนต�ำบล มีสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบล ที่มาจาก การเลือกตั้ง 14 คน

ข้อมูลทั่วไป

นายแสน จันทร์ทัสโต นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวตะพาน

องค์การบริหารส่วนตำ�บลหัวตะพาน “วัดม่วงลือนาม ต�ำนานเจดีย์เก่า เล่าขานความสามัคคี ถิ่นดินดีเกษตรวิถีไทย” คือค�ำขวัญของต�ำบลหัวตะพาน ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน มีที่ทำ� การตั้งอยู่เลขที่ 55 หมู่ที่ 2 บ้านหัวตะพาน ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอวิเศษชัยชาญไปทาง ทิศตะวันออกประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัด อ่างทองประมาณ 10 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายแสน จันทร์ทสั โต ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลหัวตะพานเดิมเป็นเส้นทางเดินทัพของทหารพม่าก่อน เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 และเป็นบริเวณที่มีการสู้รบระหว่าง ทหารพม่ากับชาวบ้านแขวงเมืองวิเศษชัยชาญโดยการน�ำของ นายดอกและนายทองแก้ ว วี ร ชนแขวงเมื อ งวิ เ ศษชั ย ชาญ 118

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน มีพื้นที่ในความรับผิดชอบ ประมาณ 3,262.5 ไร่ หรือ 5.22 ตารางกิโลเมตร (ไม่รวมพืน้ ทีว่ ดั ม่วง) และเมื่อรวมพื้นที่วัดม่วงแล้วองค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน จะมีพื้นที่ในความรับผิดชอบประมาณ 3,425 ไร่ หรือ 5.84 ตาราง กิโลเมตร ต�ำบลหัวตะพาน มีจำ� นวน 7 หมู่บ้าน มีประชากรตามทะเบียน ราษฎร์ ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2557 จ�ำนวน 911 ครัวเรือน ประชากรรวมจ�ำนวน 2,986 คน จ�ำแนกเป็นชาย 1,451 คน หญิง 1,535 คน ความหนาแน่นเฉลี่ย 572 คน/ตารางกิโลเมตร การประกอบอาชีพ เนื่องจากต�ำบลหัวตะพานเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ภาคกลางมีผลผลิตทางการเกษตรมาก มีอัตราการเจริญเติบโตทาง ภาคเกษตรกรรมมากกว่านอกภาคเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ คือ ข้าว นอกจากนี้ยังมีการประกอบอาชีพปศุสัตว์ เช่น โค สุกร เป็ด และไก่ ชาวต�ำบลหัวตะพานมีการรวมกลุ่มอาชีพ ได้แก่ กลุ่มจักสาน กระเป๋าจากเชือกมัดฟาง หมู่ที่ 5, กลุ่มอาชีพท�ำรองเท้าสตรี หมู่ที่ 6, กลุ่มอาชีพท�ำกระเป๋าจากพลาสติก หมู่ที่ 1 กลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด หมู่ที่ 3 5 และ7 กลุ่มท�ำขนม (ทองหยอด ฝอยทอง) หมู่ที่ 7 กลุ่มท�ำขนม (ขนมล�ำเจียก ขนมเค้ก) หมู่ที่ 7 และ กลุ่มเกษตรผสมผสาน หมู่ที่ 7

วิสัยทัศน์ (Vision)

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหัวตะพาน มุ่งให้มีการพัฒนาที่ยั่งยืน และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จงั หวัด เน้นการพัฒนาต�ำบลหัวตะพาน ให้เป็น “ต�ำบลน่าอยู่ อู่ข้าวอู่น�้ำ วิถีชีวิตพอเพียง บริหารตามหลัก ธรรมาภิบาล”


พันธกิจ (Mission)

1. พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภคให้ได้ มาตรฐานและครอบคลุมพื้นที่ เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชน ในอนาคต 2. สร้างสังคมแหล่งเรียนรูค้ คู่ ณ ุ ธรรมและจริยธรรมโดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง 3. ส่งเสริมการอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรม ประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 4. เสริมสร้างสุขภาวะของประชาชน ด้านสาธารณสุขและการ กีฬาที่มีคุณภาพ 5. ผูส้ งู อายุ คนพิการ และผูด้ อ้ ยโอกาสได้รบั การดูแลจากสังคม 6. พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร และอาหารปลอดภัยจากสาร พิษ และเกษตรอินทรีย์ 7. เพิ่มขีดความสามารถในด้านวิสาหกิจชุมชน OTOP และ SMEs และส่งเสริมให้ประชาชนมีฐานเศรษฐกิจทีม่ นั่ คงและยัง่ ยืน 8. ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติแบบมีสว่ นร่วม จากทุกภาคส่วน 9. สร้างสังคมประชาธิปไตยทีเ่ ข้มแข็ง ประชาชนมีความมัน่ คง ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 10. หมู่บ้าน/ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถต่อสู้เพื่อเอาชนะ ยาเสพติด 11. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้มีประสิทธิภาพ

นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น

1. การพัฒนาด้านการเมืองการบริหาร มีนโยบายมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพระบบการ บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ถูกต้อง เป็นธรรม ในด้านการให้บริการประชาชน การพัฒนาบุคลากร อุปกรณ์ สถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อสามารถรองรับการถ่ายโอนภารกิจจาก หน่วยงานอื่น ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยว กับภารกิจขององค์การบริหารส่วนต�ำบล และมุง่ เน้นบทบาทของ ประชาชนในการมีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เนื่องจากประชาชน เป็นศูนย์กลางการพัฒนา สร้างเสริมให้เกิดธรรมาภิบาลในการ บริหารจัดการกิจการต่าง ๆ 2. การพัฒนาด้านสังคม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง เกิดการมีส่วนร่วมในชุมชนทุกระดับ เสริมสร้างสวัสดิการ และ กิจกรรมการสังคมสงเคราะห์อย่างทัว่ ถึง ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ANG THONG 119


3. การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและ นันทนาการ มีนโยบายมุง่ เน้นทีจ่ ะจัดการศึกษาทัง้ ในและนอกระบบ เพือ่ ให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง รณรงค์ให้ประชาชนมี ความรักและภูมิใจในจารีต ประเพณี วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถิ่น ส่งเสริมและพัฒนาทักษะความสามารถด้านกีฬาแก่ เยาวชนในชุมชน 4. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ มีนโยบายมุ่งเน้นที่จะส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจพื้นฐาน ครัวเรือนและชุมชน เพื่อสร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และยกระดั บ รายได้ ใ ห้ แ ก่ ป ระชาชน โดยยึ ด หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพียง ปรับปรุงและพัฒนาสินค้าในภาคเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม เพื่อศักยภาพแก่เกษตรกร และการผลิตให้ได้ มาตรฐาน และส่งเสริมการด�ำเนินการของกลุ่มโอท็อป 5. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน มี น โยบายมุ ่ ง เน้ น ที่ จ ะพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ระบบ สาธารณูปโภค และบริการสาธารณะทุกด้านให้ได้มาตรฐาน และทั่วถึง สนองต่อการพัฒนาศักยภาพและสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ อันจะน�ำไปสู่การอ�ำนวยความสะดวกในการด�ำรงชีวิต ของประชาชน ที่ใช้เส้นทางคมนาคมในการขนส่งพืชผลทางการ เกษตร และการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน 120

6. การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีนโยบายมุ่งเน้นที่จะเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ชุ ม ชน ในการปรั บ ปรุ ง บ� ำ รุ ง รั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อม เป็นการบริหารจัดการอย่างเหมาะสมกับสภาพพืน้ ทีใ่ ห้เป็น ไปอย่างยั่งยืน และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อต�ำบล โดยมีการด�ำเนิน การที่ครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ให้เกิด ความสมดุลของธรรมชาติ 7. การพัฒนาด้านสาธารณสุข มีนโยบายมุ่งเน้นที่จะเสริมสร้างสุขภาพของคนในต�ำบลให้มี ความแข็งแรงปลอดภัยจากภาวะเสีย่ งต่อการเกิดโรคต่าง ๆ โดยส่ง เสริมการด�ำเนินงานของ อสม. และประสานให้เกิดความร่วมมือกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลหัวตะพาน

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดม่วง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 มีวิหารแก้วซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรูป รูปปั้นแทนองค์มหาเทพ รูปปั้นเกจิอาจารย์ที่ส�ำคัญ จุดเด่นทีส่ ำ� คัญคือ พระพุทธมหานวมินทร์ศากยมุนศี รีวเิ ศษชัยชาญ (หลวงพ่อใหญ่) ซึง่ เป็นทีส่ กั การะบูชาของชาวต�ำบลหัวตะพาน และ ประชาชนจากท้องถิ่นอื่น ๆ


เส้ นทางพบ องค์การบริหารส่วนตำ�บล ซึ่งบริหารงานให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์ (Vision) ที่ว่า “ส่งเสริมการ ศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ประชาชน มีส่วนร่วม”

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก ได้รบั การยกฐานะจากสภา ต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52 ง วันที่ 25 ธันวาคม 2539 มีเนื้อที่ จ�ำนวน 41,200 ไร่ หรือ 25.75 ตารางกิโลเมตร เขตการปกครอง แบ่งเป็นหมู่บ้านทั้งสิ้น 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านเจ๊ก หมู่ที่ 2 บ้านบางกะลา หมู่ที่ 3 บ้านดาบ หมู่ที่ 4 บ้านบางกะสา หมู่ที่ 6 บ้านโพธิ์ศรี หมู่ที่ 7 บ้านคลองนมโค หมู่ที่ 9 บ้านดอนหอยโข่ง

นายชูชาติ อินทร์ใย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก

องค์การบริหารส่วนตำ�บลคลองขนาก “บ้านดาบชื่อเก่า เล่าขานงานปี ประเพณีผีโรง ทุ่งโล่งเกษตรกรรม รสชาติลำ�้ ขนมไทย ศูนย์รวมใจสามวัด”

ประชากร รวมทั้งสิ้น 2909 คน เป็นชาย 1417 คน เป็นหญิง 1492 คน จ�ำนวนครัวเรือน 887 คน (ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2559 จากส�ำนักทะเบียนอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ) สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ยดึ อาชีพท�ำการเกษตร มีทงั้ พืชสวน พืชไร่หลายชนิด และเลี้ยงสัตว์ จุดเด่นของต�ำบลคลองขนาก ชาวต� ำ บลคลองขนากอาศั ย อยู ่ ร วมกั น เป็ น ชุ ม ชนใหญ่ การ คมนาคมขนส่งทางรถยนต์มีความสะดวก มีคลองส่งน�้ำและจัดสรร น�้ำเข้ายังคูคลองภายในต�ำบลคลองขนากและพื้นที่ใกล้เคียง ท�ำให้มี แหล่งน�ำ้ ส�ำหรับท�ำการเกษตร มีถนนลาดยางเชือ่ มระหว่างต�ำบลและ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเชื่อมระหว่างหมู่บา้ น สามารถขนถ่ายพืชผล ทางการเกษตรได้สะดวก มีแหล่งระบายสินค้าภายในหมู่บา้ น

คือค�ำขวัญองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก ซึ่งมี ที่ท�ำการตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองขนาก อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอวิเศษชัยชาญไป ทางทิศเหนือ ประมาณ 30 กิโลเมตร ปัจจุบันองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลคลองขนาก ประกอบด้วยคณะผู้บริหาร ดังนี้ นายชูชาติ อินทร์ใย นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก นายสมชัย ค�ำพันธุ ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก นายยอดยิ่ง ผ่องเคหา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก นายฐเดช ภัคกุลชัยเดช เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก ANG THONG 121


นโยบายของผู้บริหาร

องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองขนาก มีนโยบายในการ บริหารงานโดยมุ่งเน้นการส่งเสริมคุณภาพชีวิต ประชาชนใน ชุมชนและส่งเสริมพัฒนาด้านคุณภาพ สิง่ แวดล้อมภายในชุมชน โดยมีนโยบายการบริหารดังนี้ 1. นโยบายการส่งเสริมคุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุและคนพิการ เป็นการเตรียมความพร้อมในการเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุและผูพ้ กิ าร อย่างมีคณ ุ ภาพ มีการส่งเสริมการสนับสนุนส่งเสริมด้านต่างๆ ใน เชิงรุก เช่น การส่งเสริมสุขภาพและสวัสดิการทางสังคม มีการ บริการสาธารณสุขเคลือ่ นที่ จัดให้มกี ารสวัสดิการทางด้านสุขภาพ อนามัย ช่วยเหลือผูต้ กอยูใ่ นภาวะยากล�ำบาก มีการสนับสนุนเบีย้ ยังชีพผูส้ งู อายุ คนพิการและผูป้ ว่ ยเอดส์ ให้เกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เป็นธรรมและประสิทธิภาพ 122


2. นโยบายด้านการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้มในชุมชน ส่งเสริมการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของ ท้องถิ่น คือ มีการพัฒนาแหล่งน�้ำที่ตื้นเขิน ด้วยการขุดลอกคู คลองและก�ำจัดวัชพืชในคูคลอง เพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน�้ำไว้ใช้ใน ฤดูแล้ง และมีการส�ำรวจแหล่งน�้ำธรรมชาติที่มีอยู่ แล้วพัฒนา และปรับปรุงให้ประชาชนสามารถทีจ่ ะได้ใช้ประโยชน์รว่ มกัน เพือ่ การอุปโภคบริโภค และเพือ่ การเกษตรของประชาชนในระยะยาว ANG THONG 123


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

อปท.แห่งแรกที่ติดตั้งเครื่องหมายครุฑพ่าห์

องค์การบริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ได้รับอนุญาตจากส�ำนัก นายกรัฐมนตรีให้ใช้เครื่องหมายครุฑพ่าห์ติดตั้งบริเวณหน้าอาคาร ส�ำนักงานหลังใหม่ นับเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งแรก ของประเทศทีร่ เิ ริม่ ด�ำเนินการ เพือ่ เป็นมิง่ ขวัญและเป็นสิรมิ งคลให้ กับข้าราชการตลอดจนประชาชนผู้มารับบริการ และเพื่อให้เป็นไป ตามพระราชบัญญัติเครื่องหมายครุฑพ่าห์ พ.ศ.2535 และระเบียบ ส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการท�ำหรือใช้เครื่องหมายครุฑพ่าห์ใน ราชการ พ.ศ.2544 ก�ำหนดให้หน่วยงานของรัฐท�ำตามแบบของ ส�ำนักพระราชวัง

นายธวัช ทองโอภาส นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลตลาดใหม่

องค์การบริหารส่วนตำ�บลตลาดใหม่ “หลวงพ่อซำ�นำ�ทางสว่างใจ ตลาดใหม่เรืองรุ่ง มุ่งจักสาน เกษตรชีวภาพทำ�มานาน สร้างหลักฐาน ภูมิใจใฝ่คุณธรรม” คือค�ำขวัญต�ำบลตลาดใหม่ ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอวิเศษชัยชาญไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 7 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายธวัช ทองโอภาส เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ ซึง่ บริหารงานให้บรรลุ วิสัยทัศน์ที่ว่า “เกษตรกรรมปลอดสารพิษ ชีวิตและทรัพย์สินปลอดภัย สุขภาพอนามัยดี ชุมชนเข้มแข็ง เน้นการศึกษา บริหารงาน ตามหลักธรรมาภิบาล อนุรักษ์สืบสานงานศิลปวัฒนธรรมคู่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น” 124

ประวัติอบต.ตลาดใหม่

ต�ำบลตลาดใหม่ แต่เดิมนัน้ รวมอยูก่ บั ต�ำบลห้วยคันแหลน เมือ่ ปี พ.ศ.2525 แยกตัวออกจากต�ำบลห้วยคันแหลนตัง้ เป็นต�ำบลตลาด ใหม่โดยแบ่งออกเป็น 5 หมู่บ้าน มีวัด 1 แห่ง ชื่อวัดตลาดใหม่ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่สมัยอยุธยา ประมาณ พ.ศ.2210 และได้ กลายเป็นสภาพวัดร้าง มีโคกเป็นอุโบสถปรากฏอยู่ ชาวบ้านเรียกว่า วัดโบสถ์บ้านกระเดื่อง เพราะตั้งอยู่ที่บ้านกระเดื่อง ต่อมาในสมัย รัชกาลที่ 5 ประชาชนได้มาสร้างตลาดใหม่ใกล้บริเวณวัดนี้ จึง เรียกหมู่บ้านนี้เป็นบ้านตลาดใหม่ และได้ช่วยกันบูรณปฏิสังขรณ์ วัดขึ้นชื่อวัดตลาดใหม่ ส่วนองค์การบริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ ได้รบั การยกฐานะขึน้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2542 เป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดเล็ก และปรับขนาดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554 มีเนื้อที่ทั้งหมดโดยประมาณ 10 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,250 ไร่


ปราชญ์ชาวบ้านที่มีชื่อเสียงของต�ำบลตลาดใหม่

นายประยงค์ รอตเสียงล�้ำ ปัจจุบัน อายุ 77 ปี เริ่มงานจักสาน หวายมาตั้งแต่ พ.ศ.2528 โดยอาศัยใจรักในศิลปะ พัฒนาการจักสาน ให้มีความละเอียดมากขึ้น ผลงานสร้างชื่อเสียง คือไม้คานส�ำหรับ ใช้ในพระราชพิธีพืชมงคล ปี พ.ศ.2536 และได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดหัตถศิล ป์อ ่า งทอง ปี พ.ศ. 2537 และเรื่อยมาจน ถึง ปี พ.ศ. 2554 ครูชลอ คมคาย ปัจจุบันอายุ 80 ปี เป็นผู้เริ่มก่อตั้งวงอังกะลุง ผู้สูงอายุ ตั้งแต่มกราคม ปี 2551 โดยใช้งบสนับสนุนจาก อบต.ตลาด ใหม่ในการตั้งวง ครูชลอเป็นศิลปินที่ได้รับรางวัลศิลปินดีเด่น ปี 2554 ด้านวัฒนธรรม จากกระทรวงวัฒนธรรม ท่านเรียนวิชาดนตรีจากวง ปี่พาทย์ของครอบครัว ท�ำให้มีความรู้และเชี่ยวชาญในการเล่นดนตรี หลายชนิด และสามารถเขียนโน้ตเพลงได้ด้วยตัวเอง

สินค้า OTOP ต�ำบลตลาดใหม่

นกประดิษฐ์ นวดแผนไทย ดอกไม้ประดิษฐ์จากดินญีป่ นุ่ ขนมไทย ขนมเบเกอรี่ จักสานตะกร้าหวาย

โครงการเพื่อชาวต�ำบลตลาดใหม่ ประจ�ำปีงบประมาณ 2559

โครงการชาว อบต.ตลาดใหม่ ร่วมสร้างสังคมแห่งการเอื้ออาทร โครงการวันเด็กแห่งชาติ โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพทางสายตา โครงการรับส่งผูป้ ว่ ยด้วยรถตูข้ องอบต. (รับบริจาค จาก โรงพยาบาล รามาธิบดี) โครงการอบรมกู้ชีพ โครงการบริจาคกระเบือ้ งเพือ่ ผูย้ ากไร้ (รับบริจาค จาก โรงเรียนสตรี วัดระฆัง กทม.) โครงการเตียงผู้ป่วยเพื่อผู้ยากไร้ (รับบริจาค จาก โรงพยาบาล รามาธิบดี และโรงพยาบาลศิริราช) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ โครงการติ ด ตั้ ง เครื่ อ งกรองน�้ ำ 3 จุ ด ประจ� ำ หมู ่ บ ้ า นต� ำ บล ตลาดใหม่ ก�ำลังด�ำเนินการเพิ่มเติมให้ครบทุกหมู่ โครงการส่งน�ำ้ อุปโภคบริโภคในช่วงฤดูแล้ง ฯลฯ

การส่งเสริมจิตส�ำนึกเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

ค�ำขวัญของ อบต.ตลาดใหม่

มีจิตสาธารณะ เต็มใจบริการ พัฒนางานเพื่อ ประโยชน์สุข ประชาชน

โครงการสร้างจิตส�ำนึกต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ นายธวัช ทองโอภาส รับเชิญเป็นวิทยากรโครงการสร้างจิตส�ำนึกต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ ให้กับหน่วยต�ำรวจสันติบาลจังหวัดอ่างทอง ตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2555 - จนถึงปัจจุบัน โครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน นายธวัช ทองโอภาส รับเชิญ เป็นวิทยากรในโครงการคนไทยหัวใจเดียวกัน ให้กับกองอ�ำนวยการ รักษาความมั่งคงภายในภาค 1 จังหวัดอ่างทอง กว่า 50 เวที ประจ�ำ ปีงบประมาณ 2558 โครงการลู ก เสื อ ชาวบ้ า น นายธวั ช ทองโอภาส ในฐานะ ประธานชมรมลู ก เสื อ ชาวบ้ า นจั ง หวั ด อ่ า งทอง น� ำ คณะลู ก เสื อ ชาวบ้านจังหวัดอ่างทองลงนามถวายพระพร ณ ศาลา 100 ปี โรงพยาบาลศิรริ าช / ด�ำเนินกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ในโอกาสต่าง ๆ **สนใจข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อได้ที่ องค์การบริหารส่วนต�ำบลตลาดใหม่ โทรศัพท์ 0 3561 0756, แฟกซ์ 0-3561-0757, นายก อบต. 081-515-1297 http://www.facebook.com/taladmai, http://www.taladmai.go.th ANG THONG 125


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายสาทิตย์ แจ่มฟ้า นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลหลักแก้ว

องค์การบริหารส่วนตำ�บลหลักแก้ว “เมืองน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ชุมชนเข้มแข็ง ปลอดภัยจากยาเสพติด ครอบครัวอบอุ่น ประชาชนมี การศึกษา มีคุณธรรมและจริยธรรม สาธารณูปโภค ได้มาตรฐาน สภาพแวดล้อมที่ด ี ประชาชนมีวิถี ชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น บำ�รุงศาสนา เลื่อมใสการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ระบบราชการมีการบริหารจัดการที่ด ี วัฒนธรรมทางการเมืองดี ประชาชนมีส่วนร่วม” คือวิสัยทัศน์ในการพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลหลักแก้ว ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 99 หมู่ที่ 6 ถนนหลัก แก้ว –คลองพูล อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยอยูห่ า่ ง จากอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ประมาณ 13 กิโลเมตร และห่างจาก จังหวัดอ่างทองประมาณ 22 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสาทิตย์ แจ่มฟ้า เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหลักแก้ว 126

ประวัติความเป็นมา

เมื่อประมาณ 100 ปีมาแล้ว บ้านหลักแก้วเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ โดยตั้งชื่อตาม “วัดหลักแก้ว” ต่อมาตั้งเป็นต�ำบลหลักแก้ว ส่วน องค์การบริหารส่วนต�ำบลหลักแก้ว ได้รบั การยกฐานะจากสภาต�ำบล เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง เมือ่ วันที ่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามพระราชบัญญัตสิ ภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 25 ธันวาคม 2539 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหลักแก้ว พืน้ ทีป่ ระมาณ 25.08 ตร.กม. หรือประมาณ 15,675 ไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 8 หมู่บ้าน 8 ชุมชน มีประชากรรวมทั้งสิ้น 5,312 คน แยกเป็นชาย 2,578 คน หญิง 2,734 คน มีครัวเรือนจ�ำนวน 1,644 หลัง ข้อมูลอ้างอิง จาก ที่ท�ำการปกครองอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ (ณ 29 มีนาคม 2559) ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำนา ท�ำสวนผัก ท�ำไร่ รองลง มาคือ เลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงเป็ด ปลา ฯลฯ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย และรับราชการ


วัดและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญ

1. วัดคลองพูล ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 2. วัดลานช้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 3. วัดใหม่ทางข้าม ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 4. วัดคลองส�ำโรง ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 5. วัดหลักแก้ว ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 หลวงพ่อขาว ประดิษฐานอยูท่ ี่ วิหารใกล้กบั องค์การบริหารส่วน ต�ำบลหลักแก้ว หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลหลักแก้ว อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด อ่างทอง ชาวบ้านต่างเล่าขานถึงความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อขาว มานาน สืบเนือ่ งจากช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะมีประชาชนเป็น จ�ำนวนมากมาบนขอพร ไม่ให้ถกู ทหารก็จะมาแก้บน เครือ่ งเซ่นทีน่ ำ� มาแก้บนหลวงพ่อขาว เช่น หัวหมู ไก่ต้ม ไข่ต้ม พวงมาลัย ผลไม้ ทองค�ำเปลว แต่ที่นิยมบนและแก้บนกันมากคือ การแก้งิ้ว แก้งิ้ว คือ การที่คนแก้บนเปลือยกายร�ำวง รอบองค์หลวงพ่อขาว พร้อม กับมีคนให้จังหวะดนตรี เช่น ตีปี๊บและกลอง

ANG THONG 127


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

ทรัพย์สนิ ทีต่ ดิ ตัวมาฝังดิน เพือ่ ไม่ให้เป็นภาระในการอพยพ เป็นสาเหตุ ทีท่ ำ� ให้เรียกบริเวณนีว้ า ่ “บ้านทองล้น” ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “ยีล่ น้ ” และเรียกกันมาจนถึงทุกวันนี้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลยีล่ น้ ได้รบั การยกฐานะจากสภาต�ำบล เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดเล็ก เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและได้ปรับขนาดเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง เมื่อวันที ่ 25 ตุลาคม 2550 ตามประกาศองค์การบริหารส่วนต�ำบลยี่ล้น มีพื้นที่ทั้งสิ้น 20.99 ตารางกิโลเมตร หรือ 13,118 ไร่

โครงการที่โดดเด่นของ อบต.ยี่ล้น

นายบรรเจิด สุขวิบูลย์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลยี่ล้น

องค์การบริหารส่วนตำ�บลยี่ล้น “ถิ่นฐานนายขนมต้ม ชื่นชมเกษตรผสมผสาน ตำ�นานข้าวตังทรงเครื่อง ลือเลื่องเกษตรกรทำ�นา พัฒนาผักปลอดสารพิษ” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลยีล่ น้ ซึง่ มีสำ� นักงาน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 111/1 หมู่ 2 ต�ำบลยีล่ น้ อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด อ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ไปทางทิศ ตะวันตกประมาณ 1.5 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายบรรเจิด สุขวิบลู ย์ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลยี่ล้น

ประวัติความเป็นมา

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา กองทัพพม่าได้ยกทัพมาตีเมืองสุพรรณ ทหารและชาวเมืองสุพรรณไม่สามารถทีจ่ ะต่อต้านทหารพม่าไว้ได้ ชาวบ้านจึงพากันอพยพมายังเมืองวิเศษไชยชาญ พร้อมทั้ง น�ำทรัพย์สินติดตัวมาตั้งที่พักอยู่ใกล้กับวัดใหญ่ เมื่อทหารพม่า ได้เคลื่อนทัพเข้ามาใกล้เมืองวิเศษไชยชาญ ชาวบ้านจึงได้น�ำ 128

1. โครงการการศึกษาเพื่อต่อต้านการใช้ยาเสพติดในเด็ก นักเรียน วัตถุประสงค์เพือ่ ควบคุมการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในสถานศึกษา เพื่อปลูกจิต ส�ำนึกและสร้างภูมิคุ้มกันแก่เด็กนักเรียนและเยาวชน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของยาเสพติด เพื่อสร้างแกน น�ำนักเรียนต่อต้านยาเสพติดภายในสถานศึกษา และเพื่อเป็นการ ร่วมพลังจากทุกภาคส่วนของสังคม ให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการแก้ไข ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 2. โครงการชมรมผู้สูงอายุ วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุมี ความรูค้ วามเข้าใจ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัย ของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและ จิตใจ เป็นการสร้างขวัญ และก�ำลังใจให้ผสู้ งู อายุมที ศั นคติทดี่ ตี อ่ การ ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพือ่ ด�ำรงอยูใ่ นสังคมอย่างมีคณ ุ ค่า เพิม่ โอกาส พบปะสิง่ แวดล้อมใหม่ ๆ อันน�ำไปสูก่ ารพัฒนาสุขภาพจิตทีด่ ี ได้พบปะ สังสรรค์กนั มีความรักความสามัคคีชว่ ยเหลือซึง่ กันและกัน 3. โครงการรณรงค์ลดการเผาตอซัง วัตถุประสงค์เพื่อให้ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว เห็นความส�ำคัญของตอซังข้าวและมีจิตส�ำนึก ในการร่วมรักษาสิ่งแวดล้อมโดยไม่เผาตอซังข้าว เพื่อให้เกษตรกร ผูป้ ลูกข้าว เข้าใจและรูข้ นั้ ตอนการปฏิบตั กิ ารไถกลบตอซังข้าวอย่าง ถูกวิธี และน�ำความรู้ไปปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรม และขยายผลไป สู่เกษตรกรข้างเคียง 4. โครงการพิ ธี จุ ด เที ย นชั ย ถวายพระพร เนื่ อ งในมหา มงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา 5 ธั น วาคม วัตถุประสงค์เ พื่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหา มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม เพื่อให้ประชาชนร่วมกับ อบต.ยี่ล้น น้อมร�ำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และแสดงความจงรัก ภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเพื่อส่งเสริมความ สามัคคีในหมู่ประชาชน 5. โครงการสอนพิเศษภาคฤดูร้อนให้แก่เด็กนักเรียนในช่วง ปิดเทอม วัตถุประสงค์เพือ่ ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้ฝกึ ทักษะ ทางด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ให้ทดั เทียมกับนักเรียนในอาเซียน และเพือ่ ปลูกฝังเจตคติทดี่ ตี อ่ การ เรียนภาษาอังกฤษ 6. โครงการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนระดับ ปฐมวัยได้เรียนรูน้ วัตกรรมจากแหล่งเรียนรูน้ อกสถานที่ เพือ่ ให้เกิด การเรียนรู้อย่างมีความสุข จากประสบการณ์และสถานที่จริง และ เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลในด้านการเรียนรู้แก่เด็ก


2. การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยและปลาช่อน ปี พ.ศ. 2539 นายสุเทพ เปาอินทร์ ได้เปลีย่ นจากการเลีย้ ง ปลาสวายโดยใช้มลู สุกร มาเลีย้ งปลาดุกบิก๊ อุยโดยใช้เศษชิน้ ส่วน ไก่ เ ลี้ ย ง ต่ อ มาน� ำ ปลาช่ อ นที่ ซื้ อ พั น ธุ ์ ลู ก ปลามาจากอ� ำ เภอ สองพี่น้อง และปลาที่ผสมพันธุ์ขึ้นจากก�ำแพงเพชรมาเลี้ยง จนแพร่หลายมีบ่อเลี้ยงปลาประมาณ 250-300 บ่อ อยู่ใน บริเวณหมู่ที่ 5-8 ซึ่งปัจจุบันต�ำบลยี่ล้นเป็นแหล่งผลิตการเลี้ยง ปลาล�ำดับต้น ๆ ของประเทศไทย

กลุ่มอาชีพส�ำคัญของอบต.ยี่ล้น

1. กลุ่มท�ำข้าวตัง นางจ�ำนงค์ ไทยพยัฆ ริเริ่มผลิตข้าวตังแผ่นดิบ หลายขนาด หลากหลายรูปแบบ อาทิเช่นวงกลม สี่เหลี่ยม จนตั้งเป็นกลุ่มของ พัฒนาชุมชน เมือ่ พ.ศ. 2524 มีผเู้ ข้าร่วมจ�ำนวน 10 คน ข้าวตังแผ่นดิบ จะผลิตด้วยปลายข้าวหอมมะลิและแป้งมัน โดยปลายข้าว 50 กิโลกรัม จะผลิตข้าวตังได้ประมาณ 41-45 กิโลกรัม ปัจจุบันมี การน�ำข้าวพันธุ์อื่นมาผลิต เช่น ข้าวไรซ์เบอร์รี่

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดน้อย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลยีล่ น้ อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด อ่างทอง วัดน้อย สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่สมัยอยุธยา ต่อมาได้ กลายสภาพเป็นวัดร้าง ถึงปี พ.ศ.2436 ได้มพี ระอุปชั ฌาย์เถือ่ น เจ้าอาวาสวัดหลวงสุนทราราม มาจัดการสร้างกุฏสิ งฆ์ขนึ้ 2 หลัง พร้อมด้วยขุนเจริญราชกิจ (แจ่ม จันทราภิรมย์) นายจบ เทศโรงทอง และชาวบ้ า นได้ ร ่ ว มใจกั น บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามล� ำ ดั บ ปัจจุบนั มีพระอธิการพิษณุ ฐิตคิ โุ ณ เป็นเจ้าอาวาสวัด ANG THONG 129


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

ยุทธศาสตร์การพัฒนา นายชูพงษ์ พึ่งเนตร นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลศาลเจ้าโรงทอง

องค์การบริหารส่วนตำ�บล ศาลเจ้าโรงทอง “ศาลเจ้าโรงทองศักดิ์สิทธิ์ ถิ่นสถิตพระพุทธรูป หลวงพ่อผาด หลวงพ่อดำ� จิตรกรรมวัดเขียน พากเพียรเกษตรกรรม ทำ�ตุ๊กตาผ้า โบสถ์พม่าหันหน้าตะวันตก” คือค�ำขวัญของต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง ซึ่งอยู่ในความดูแล ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง เลขที่ 109 หมู่ที่ 12 ต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันมีนายชูพงษ์ พึ่งเนตร ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง ซึ่งบริหารงานให้บรรลุวิสัย ทัศน์ที่ว่า “พัฒนาต�ำบลทุกภารกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม” 130

1. การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2. การพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียง 3. การพัฒนาด้านการศึกษา 4. การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 5. การพัฒนาด้านเกษตรกรรม 6. การพัฒนาด้านสังคมเข้มแข็งและยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล 7. การพัฒนาด้านการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากรองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และการบริหารงานบุคคล 8. การพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน 9. การพัฒนาด้านการพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง ได้รบั การจัดตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2539 มีเนื้อที่ประมาณ 9.25 ตารางกิโลเมตร มีจำ� นวน 10 หมูบ่ า้ น ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตร ปศุสตั ว์ และค้าขาย สถานทีส่ �ำคัญทางศาสนา : 1. วัดหลวง 2. วัดเขียน 3. วัดสิงห์ 4. วัดอ้อย 5. วัดก�ำแพง 6. วัดตูม 7. วัดไร่ 8. วัดคูมะนาวหวาน สภาพทางสังคม : โรงเรียนอาชีวศึกษา 1 แห่ง, โรงเรียน ประถม 3 แห่ง, โรงเรียนอนุบาล 1 แห่งและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ก่อนวัยเรียน ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลศาลเจ้าโรงทอง 3 แห่ง ส่วนราชการในพืน้ ที่ : อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ, สถานีตำ� รวจภูธร อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ, โรงพยาบาลวิเศษชัยชาญ, การไฟฟ้าฝ่ายผลิต สถานทีพ่ กั : โรงแรมโอเครีสอร์ท, โรงแรมวิเศษอินน์, โรงแรม ปานปรีย์


ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น

1. การส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี และการท่องเทีย่ วและกีฬา - โครงการปั่น ปัน บุญ ไหว้พระ 9 วัด เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชนในชุมชนหันมาออกก�ำลังกาย และท�ำบุญ ในปี พ.ศ.2558 2. การส่งเสริมคุณภาพชีวิต - โครงการวันเด็กแห่งชาติ ประจ�ำปี 2559 - จัดกิจกรรมให้กับเด็กนักเรียนและประชาชนในเขตชุมชน ประจ�ำปี 2558 3. การส่งเสริมประเพณีและวัฒนธรรม - โครงการอนุรกั ษ์วฒ ั นธรรมประเพณีแห่เทียน ประจ�ำปี 2558 จัดงานประเพณีแห่เทียนพรรษา 9 วัด 4. การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี และส่งเสริมการท่องเที่ยว - โครงการ ร�ำลึกวีรชน แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ ประจ�ำปี 2559 เป็นงานที่ร�ำลึกถึงวีรชนนายดอก นายทองแก้ว ที่เสียสละ ชีวิตเพื่อปกป้องผืนแผ่นดินไทย ในงานยังมีสินค้า อาหารพื้นบ้าน ที่ให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิตออกมาจัดจ�ำหน่าย ANG THONG 131


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

ท่านพระครูพัฒนกิจจาภรณ์ เป็นเจ้าอาวาส วัดอบทม

วัดอบทม

วัดอบทม ตั้งอยู่เลขที่ 21 บ้านอบทม หมู่ที่ 5 ต�ำบลยี่ล้น อ�ำเภอวิเศษไชยชาญ จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 19 ไร่ 3 งาน 95 ตารางวา ปัจจุบันมี ท่านพระครูพัฒนกิจจาภรณ์ เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลยี่ล้น ประวัติวัด

วั ด อบทม สร้ า งขึ้ น เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2325 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า วั น ที่ 28ธั น วาคม พ.ศ. 2472 เขตวิสุงคามสีมามากว้าง 24 เมตร ยาว 40 เมตร ทางวัดได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ ก่อสร้างอาคารเสนาสนะ ตลอดจนปูชนียวัตถุเพิ่มขึ้น อีกหลายแห่ง อาทิเช่น กุฏิหลังใหม่ สระน�้ำหลวงพ่อพระอุปคุต หลวงพ่อทันใจ ฯลฯ โดยมี ท่านพระครูพัฒนกิจจาภรณ์ พร้อมคณะสงฆ์ กรรมการวัด และชาวบ้านอบทม ศิษยานุศิษย์ ร่วมมือร่วมใจกันพัฒนาให้วัดดูสวยงามและเจริญยิ่งขึ้นไป ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวใจ แก่พุทธศาสนิกชน และสืบทอดศาสนาให้ด�ำรงอายุยืนยาวต่อไป 132


ปูชนียวัตถุในวัดอบทม

พระวิหารเก่าแก่ สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2474 ภายหลังได้ มีการบูรณะซ่อมแซมดังที่เห็นในภาพปัจจุบัน ภายในพระวิหารมี พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัยอยุธยาตอนต้น เป็นพระพุทธ รูปหินทรายที่มีการพอกปูนทับ พระพักตร์รูปไข่ ขมวดพระเกศา เล็กละเอียด ไม่มไี รพระศก หน้าตักกว้างประมาณ 1.72 เมตร และ มีพระหินทรายพอกปูนปิดทับอีก 8 องค์ พระอุโบสถวัดอบทม มีพระประธานปางชนะมาร และพระ เอตทัคคะทัง้ ซ้ายและขวา ภายในมีภาพวาดจิตกรรมฝาผนังเกีย่ วกับ พุทธประวัติ ตั้งแต่พระพุทธเจ้าทรงประสูติ ทรงบ�ำเพ็ญทุกรกริยา จนถึงทรงเสด็จดับขันธปรินิพพาน มณฑปองค์หลวงพ่อพระมหาทองใบ ฐิตจิตฺโต ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2542 เป็นสถานที่ประดิษฐานรูปหล่อและโลงแก้วบรรจุสรีระ สังขารของหลวงพ่อทองใบ อดีตเจ้าอาวาสวัดอบทม ผู้มีสังขารไม่ เน่าเปื่อย เพื่อให้พุทธศาสนิกชนมากราบไหว้ขอพร สระน�้ำพระอุปคุต สร้างเมื่อ พ.ศ. 2556 เป็นศาลาทรง แปดเหลี่ยม ตั้งอยู่กลางสระน�้ำซึ่งได้เลี้ยงปลาหลากหลายชนิด ภายในหลังคามีภาพจิตรกรรมพระอุปคุตปางต่าง ๆ ทั้ง 8 กิริยา เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ และทีใ่ ห้อาหารปลาเพือ่ เป็นการสร้างบุญได้ อีกแบบหนึ่งเช่นกัน หลวงพ่อทันใจ ชาวพุทธมีความเชื่อความศรัทธาว่าหากได้ขอ พรกับองค์หลวงพ่อทันใจนัน้ มักจะประสบความส�ำเร็จรวดเร็วทันใจ สมกับนามของท่าน สถานที่ตั้งขององค์หลวงพ่อทันใจ อยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของวัดติดกับสนามเอนกประสงค์ กุฏสิ งฆ์ สร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2543 เป็นอาคารเรือนไทยไม้ถอื ปูน 2 ฝั่ง ตัวอาคารยาวตั้งแต่หอสวดมนต์จนถึงหอฉัน แต่ละฝั่งจะมี กุฏิ 5 หลัง รวมเป็น 10 หลัง ยกใต้ถุนสูง ข้างล่างจะมีส�ำนักงาน เจ้าคณะต�ำบลยี่ล้น และสามารถใช้เป็นที่ประชุม หรือที่นั่งพักของ พระภิกษุระหว่างรอท�ำกิจนิมนต์ และยังมีหอ้ งส�ำหรับพระธุดงค์ทมี่ า ขอพักจ�ำวัดค้างคืนไว้รองรับอีก หอสวดมนต์ ก่อสร้างเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 เป็น สถานที่ประกอบกิจของคณะพระภิกษุสงฆ์และสามเณรวัดอบทม ภายในมีพระพุทธรูปปางจักรพรรดิ หอฉัน ก่อสร้างเมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2554 มีพระพุทธรูป หล่อด้วยเรซิน ปางประธานพร มีลักษณะที่สวยสดงดงามและยังมี พระพุทธรูปทองเหลืองอีกหลายองค์

อิทธิปาฏิหาริย์พระมหาทองใบ ฐิตจิตฺโต

พระมหาทองใบ ฐิ ต จิ ตฺ โ ต หรื อ หลวงพ่ อ ทองใบ เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดอบทม ที่ได้รับการแต่งตั้งในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2492 ท่านเป็นพระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งลุ่มแม่น�้ำน้อย มีลูกศิษย์ลูกหามากมายและเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วไปทางด้าน พุทธคุณ แคล้วคลาด ป้องกัน คงกะพันชาตรี ท่านเป็นพระที่ สมถะ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างให้พระภิกษุและสามเณร มีเรื่อง เล่าอยูเ่ รือ่ งหนึง่ ว่า ราวปี 2525 ท่านไปเป็นพระอุปชั ฌาย์ในงาน อุปสมบทงานหนึ่ง และมีเหตุการณ์ที่ทุกคนไม่คาดคิดคือ มีโยม คนหนึ่งได้ขว้างรองเท้าแตะข้างหนึ่งลอยมากลางวงอุปสมบท หลวงพ่อท่านได้ให้สติเตือนญาติโยมให้อยู่ในความสงบ อย่าไป โกรธไปเกลียดเขาเลย ให้ยึดมั่นในหลักปฏิบัติ กรรมดี กรรมชั่ว ญาติโยมก็เชื่อฟังไม่แสดงปฏิกิริยาใด ๆ ทั้งสิ้น เช้าวันรุ่งขึ้น โยมคนนั้ น ได้ เ กิ ด อาการเซื่ อ งซึ ม ผิ ด ปกติ แล้ ว ล้ ม ป่ ว ยอย่ า ง กะทันหัน โดยญาติ ๆ ได้สง่ ตัวไปรักษาอาการทีก่ รุงเทพ แต่หมอก ลับไม่ทราบสาเหตุรักษาไม่ได้ ส่วนทางด้านน้องชายเชื่อในบารมี ของหลวงพ่อ จะให้พชี่ ายไปขอขมากับองค์หลวงพ่อท่าน แต่พชี่ าย กลับไม่เชื่อ ไม่นานอาการพี่ชายก็ทรุดหนักลงและเสียชีวิตลงใน ที่สุด หลวงพ่อท่านเป็นพระแท้ ยากแก่การปฏิบัติได้ในยุคสมัยนี้ บุญและบาปมีจริง ๆ ใครท�ำดีกย็ อ่ มได้ผลบุญอันดี ใครท�ำชัว่ ย่อม ได้รบั กรรมทีต่ นได้ทำ� เอาไว้ ไม่ชาติภพภูมนิ กี้ ภ็ พภูมหิ น้า “กัมมุนา วัตตติโลโก” สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ญาติ โ ยมที่ ป ระสงค์ จ ะถวายภั ต ตาหารแด่ พ ระภิ ก ษุ แ ละ สามเณร ถวายจตุปัจจัยเป็นค่าโรงทานหรือเพื่อเป็นทุนส�ำหรับ จัดงานส�ำคัญ ๆ ร่วมพิธีถือศีลบวชชีพราหมณ์ในวันส�ำคัญ และ ร่วมท�ำบุญรักษาศีล ปฏิบัติธรรมในช่วงวันเข้าพรรษา เพื่อบ�ำรุง พระศาสนาให้อยูย่ งิ่ ยืนนานสืบต่อไป ติดต่อได้ที่ พระครูพฒ ั นกิจ จาภรณ์ โทร 0871 208 715 ANG THONG 133


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระอธิการสมชาย อนาลโย เป็นเจ้าอาวาส วัดท่าช้าง

วัดท่าช้าง

วัดท่าช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 10 หมู่ที่ 5 ต�ำบลสี่ร้อย อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 8 ไร่ 2 งาน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ พระอธิการสมชาย อนาลโย

134


ศาลาการเปรียญ กว้าง 17 เมตร ยาว 33 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2535 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทยประยุค 2 ชัน้ หอสวดมนต์ กว้าง 7.50 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 6 หลัง เป็นอาคารตึกครึ่งไม้ วิหาร กว้าง 7.50 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนั้นมี ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง เรือนรับรอง 1 หลัง

การบริหารและการปกครอง

ประวัติวัด

วัดท่าช้าง ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2400 มีพระประธานในอุโบสถและ พระปูนปั้นหลวงพ่อขาว สร้างในสมัยอยุธยา ซึ่งชาวบ้านใน ละแวกนี้ให้ความศรัทธานับถือเป็นอย่างมาก ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2499 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

ปูชนียวัตถุ

พระประธานประจ�ำอุโบสถปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก 47 นิว้ สูง 1.40 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 พระประธานประจ�ำศาลา การเปรียญ ปางมารวิชยั พระพุทธรูปปูนปัน้ สมัยอยุธยาตอนปลาย ปางมารวิชัย 1 องค์ ฯลฯ

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2500 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

วัดท่าช้าง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระครูวิจิตรสุตตคุณ 2. พระสมุห์ทวี ขฺมธมฺโม 3. พระมหาสมพงษ์ ชีวสิทฺธ ิ พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2547 4. พระอธิการฉัตรชัย อกสฺสโร พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2550 5. พระสมชาย อนาลโย พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน

ร่วมบุญสร้างวิหารหลวงพ่อโปร่ง วัดท่าช้าง

สืบเนื่องจากพระอธิการสมชาย อนาลโย เจ้าอาวาสวัด ท่าช้างรูปปัจจุบนั ปรารถนาทีจ่ ะแสดงกตเวทิตาสักการะต่อหลวง พ่อโปร่ง ปัญญาธโร เกจิอาจารย์ผู้โด่งดังแห่งเมืองอ่างทอง อดีต เจ้าอาวาส ซึ่งละสังขารไปตั้งแต่ พ.ศ. 2533 แต่ไม่เน่าเปื่อย ทางวัดได้บรรจุสังขารท่านไว้ในโลงแก้วตั้งอยู่ในกุฏิเก่า ท่านเจ้า อาวาสจึงต้องการสร้างวิหารเพื่อเป็นที่ประดิษฐานสังขารหลวง พ่ออย่างสมเกียรติ เพื่อให้สาธุชนทั่วไปได้กราบสักการะสังขาร ของหลวงปู่ได้โดยสะดวก พุทธศาสนิกชนท่านใดประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญกับ วัดท่าช้าง ติดต่อสอบถามได้ที่ พระอธิการสมชาย อนาลโย โทร. 0810 018 034 ANG THONG 135


เส้นทางความงาม

136


โรงแรมอ่ า งทอง... สะอาด สะดวกสบาย ปลอดภัย ในราคาย่อมเยา

Free WiFi

โรงแรมอ่ า งทอง ให้ บ ริ ก ารห้ อ งพั ก ระดั บ มาตรฐาน พร้อมอาหารเช้าฟรี (กาแฟ+ขนมปัง) ภายในห้องพักมีเคเบิลทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น และ อินเตอร์เน็ต Wi-Fi พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก อาทิ รูมเซอร์วิส 24 ช.ม., ระบบรักษาความปลอดภัย, ตู้นิรภัย, บริการซักรีด, ห้องอาหาร, ที่จอดรถ

สนใจสำ�รองห้องพักติดต่อ

โรงแรมอ่างทอง 62 ถ.อ่างทอง-โพธิ์ทอง ต.ตลาดหลวง อ.เมืองอ่างทอง จ.อ่างทอง 14000 โทรศัพท์ 0356 117 66-7 แฟกซ์ 035 611 768


บ้านกลองเฉลิมชัย จำ�หน่าย กลองและเครื่องดนตรีไทยทุกชนิด รับสั่งทำ�กลอง และซ่อมกลอง ยินดีต้อนรับ ราคาเป็นกันเอง

ติดต่อ คุณ อินทิรา เผ่าพยัฆ (น้องเล็ก) มือถือ 081-9278251, 089-2139992 โทร. 035-661309 ที่อยู่ 35 ม.6 ต.เอกราช อ.ป่าโมก จ.อ่างทอง Email: bankrongchalermchai@gmail.com Facebook : บ้านกลองเฉลิมชัย Line : bankrong_clc


แพริมน้ำ� รีสอร์ท บริการห้องพัก สไตล์ธรรมชาติ

แพริมน้ำ� รีสอร์ท

บริหารงานโดย คุณ อินทิรา เผ่าพยัฆ เลขที่ 55/ก หมู่ 1 ป่าโมก จ.อ่างทอง 14130 ติดต่อ 081-9278251 , 081-9477491


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นายปรินายอำ ญ�ญา เขมะชิ ต เภอป่าโมก “โบราณสถานล้ำ�ค่า ตุ๊กตาชาววัง กลองดัง อิฐแกร่ง แหล่งทำ�ก้านธูป” คือค�ำขวัญอ�ำเภอป่าโมก ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดอ่างทอง ระยะทางห่างจากจังหวัดอ่างทองประมาณ 13 กิโลเมตร นายอ�ำเภอท่านปัจจุบันคือ นายปริญญา เขมะชิต

ประวัติความเป็นมา

อ�ำเภอป่าโมก เดิมเรียกว่า “บ้านป่าโมกน้อย” เป็นสถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2128 อัน เป็นรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ได้เสด็จยกกองทัพจากกรุงศรีอยุธยา ไปตั้งพลับพลาที่ประทับอยู่ที่ ต�ำบลป่าโมก ทรงกระท�ำพิธีนมัสการพระพุทธไสยาสน์ตามประเพณี แล้วจึงยกทัพไปสู้รบกับพม่าที่ดอนเจดีย์ แขวงเมือง สุพรรณบุรี และในครัง้ นัน้ พระองค์ได้ทรงกระท�ำยุทธหัตถีมชี ยั ชนะต่อพระมหาอุปราชาของพม่า จนได้พระเกียรติเลือ่ งลือ มาจนทุกวันนี้ 140


อนึง่ ในแผ่นดินพระเจ้าอยูห่ วั ท้ายสระ พระองค์ได้เสด็จมาเป็น ประธานในการชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมก ซึ่งในขณะนั้นน�้ำ เซาะตลิ่งพัง ถ้าทิ้งไว้พระวิหารและพระองค์จะเป็นอันตราย จึงได้ โปรดเกล้า ฯ ให้ไปประดิษฐานในที่อันสมควร ครั้งนั้นพงศาวดาร กล่าวว่า พระองค์ได้ทรงเสด็จมาเป็นประธาน และเสด็จมาอยูเ่ สมอ เป็นเวลา 5 ปีเศษ จึงส�ำเร็จดังปรากฏหลักฐานอยู่จนทุกวันนี้ อ�ำเภอป่าโมก ได้ยกฐานะเป็นอ�ำเภอ เมื่อ พ.ศ. 2445 โดยแยกท้องที่ออกมาจากอ�ำเภอเมืองอ่างทอง มีขุนนรกรรมภิบาล (เทศ บูรณ - สมบูรณ์) เป็นนายอ�ำเภอคนแรก

ข้อมูลทั่วไป

อ�ำเภอป่าโมก มีเนื้อที่ประมาณ 81.90 ตารางกิโลเมตร หรือ 51,180 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 6 ต�ำบล 47 หมู่บา้ น การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น มีเทศบาลต�ำบล 1 แห่ง คือ เทศบาลต�ำบลป่าโมก และองค์การบริหารส่วนต�ำบล 6 แห่ง ได้แก่ อบต.สายทอง อบต.โรงช้าง อบต.บางเสด็จ อบต.สิงห์ อบต. เอกราช และอบต.โผงเผง จากข้อมูลประชากรจากส�ำนักทะเบียน อ�ำเภอป่าโมก ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 ถึงปัจจุบัน มีจ�ำนวน 9,454 ครัวเรือน ประชากรรวมทั้งสิ้น 28,769 คน ชาย 13,799 คน หญิง 14,970 คน

จุดเด่นของอ�ำป่าโมก

อ�ำเภอป่าโมก มีแม่นำ�้ เจ้าพระยาไหลผ่านตอนกลางของอ�ำเภอ และผ่านเข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงเป็นเส้นทางคมนาคม ขนส่งสินค้าทางน�้ำที่ส�ำคัญ และยังเป็นที่ตั้งของโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ 3 โครงการ ได้แก่ โครงการศูนย์ตุ๊กตาชาววัง บ้านบางเสด็จ ต�ำบลบางเสด็จ, โครงการโรงสีเทพประทาน 2 ต�ำบล บางเสด็จ และโครงการพัฒนาพื้นที่แก้มลิง หนองเจ็ดเส้น ต�ำบล สายทอง

สินค้าหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)

มีกลุ่มผู้ผลิตและผู้ประกอบการที่ผลิตสินค้า OTOP ซึ่งได้ขึ้น ทะเบียนและผ่านการคัดสรร จ�ำนวน 20 กลุ่ม 36 ผลิตภัณฑ์ อาทิ ตุ๊กตาชาววัง ธูปหอม ลูกประคบสมุนไพร ข้าวกล้องไรซ์เบอร์รี่ ศาลพระภูมิไม้สัก บ้านทรงไทย(จ�ำลอง)ไม้สัก ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมบา ติก พวงมาลัยกระดาษทิชชู กลองยาว กลองตะโพนไทยตูโ้ ชว์ ฯลฯ

การท่องเที่ยวและสถานที่ส�ำคัญ

วั ด ท่ า สุ ท ธาวาส สร้ า งในสมั ย พระเจ้ า ปราสาททอง กรุงศรีอยุธยา เดิมชือ่ ว่าวัดท่าสุวรรณภูมิ ภายในวัดประกอบด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปัตยกรรม และจิตรกรรม พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถ วัดป่าโมกวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท แต่เดิมเป็น บริเวณวัดสองวัดติดต่อ คือ วัดชีประขาวกับวัดตลาด เป็นวัด เก่าแก่ สันนิษฐานกันว่าสร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ภายในวัดประกอบด้วยโบราณสถาน โบราณวัตถุทสี่ ำ� คัญ ได้แก่ พระพุทธไสยาสน์ พระวิหาร ศาลาฉนวน มณฑป พระอุโบสถ วัดถนน สร้างราว พ.ศ. 2323 สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ภายในวัด มีพระพุทธรูปไม้ ปางร�ำพึง ซึ่งราษฎรในพื้นที่ให้ความเคารพ นับถือมาก ส�ำเภาลอย มีลกั ษณะคล้าย “ธรรมนาวา” ทีห่ น้าวิหารเขียน วัดป่าโมก ตัวส�ำเภา ก่ออิฐถือปูนขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 10 เมตร มีเจดีย์ซึ่งก่อด้วยอิฐถือปูนตั้งอยู่ตรงกลางส�ำเภา ศูนย์ตุ๊กตาชาววังและศูนย์ท่องเที่ยว เป็นแหล่งสาธิตการ ท�ำตุ๊กตาชาววัง (ท�ำด้วยดินเผาขนาดเล็กเท่าปลายนิ้วก้อย ทาสี ผ้านุ่งและผ้าห่ม) ร้านค้าขายของที่ระลึก รวมทั้งให้เป็นศูนย์การ

ท่องเที่ยวของอ�ำเภอป่าโมก

หมู่บา้ นท�ำกลอง ตั้งอยู่ที่บ้านปากน�้ำ หมู่ที่ 6 -7 ต�ำบล เอกราช เป็นหมู่บ้านที่มีการท�ำกลองเป็นอาชีพ ตั้งแต่ครั้งปู่ยา ตายาย มีกลองหลากหลายชนิดที่ใช้กับเครื่องดนตรีไทย เช่น กลองทัด กลองยาว ร�ำมะนา กลองร�ำวง กลองเพล มีทั้งขนาด ใหญ่และขนาดเล็ก ANG THONG 141


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

สภาพพื้นที่โดยทั่วไป เป็นพื้นที่ราบลุ่มบริเวณแม่น�้ำเจ้าพระยา ลักษณะคล้ายอ่างกระทะอยูส่ งู กว่าระดับน�ำ้ ทะเล ประมาณ 5.0 เมตร ไม่มภี เู ขา ป่าไม้ และแร่ธาตุ ดินเป็นดินเหนียวปนทรายพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ เหมาะแก่การท�ำนาปลูกข้าว ท�ำไร่ และท�ำสวน มีแม่น�้ำเจ้าพระยา ไหลผ่านตามแนว เหนือ - ใต้ เป็นระยะทาง 4 กิโลเมตร มีคลอง โผงเผงอยูท่ างทิศใต้ของต�ำบลไหลผ่านไปเชือ่ มยังอ�ำเภอเสนา จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เขตการปกครอง ต�ำบลโผงเผงแบ่งเขตการปกครอง จ�ำนวน 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท ี่ 1 บ้านเลน หมู่ที่ 2 บ้านเลน หมู่ท ี่ 3 บ้านสวนส้ม หมู่ท ี่ 4 บ้านสวนส้ม หมู่ท ี่ 5 บ้านหมู่ตาล หมู่ท ี่ 6 บ้านน�ำ้ วน หมู่ท ี่ 7 บ้านโผงเผง หมู่ท ี่ 8 บ้านโผงเผง หมู่ท ี่ 9 บ้านโรงม้า หมู่ที่ 10 บ้านโรงม้า

นางกุลฟาร์ลี เทพรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโผงเผง

องค์การบริหารส่วนตำ�บลโผงเผง “พัฒนาคุณภาพชีวิต รายได้พอเพียง ส่งเสริมอาชีพ การศึกษา ป้องกันน�้ำท่วม สาธารณูปโภค ทั่วถึง พัฒนาแหล่งน�้ำเพื่อการเกษตรทฤษฎีใหม่ และเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชด�ำริ” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล โผงเผง ซึ่งมีที่ทำ� การตั้งอยู่หมู่ที่ 9 ต�ำบลโผงเผง อ�ำเภอป่าโมก จั ง หวั ด อ่ า งทอง โดยตั้ง อยู่ทางทิศใต้ห ่างจากอ�ำ เภอป่ า โมก ประมาณ 6 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 19 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นางกุลฟาร์ลี เทพรักษ์ เป็น นายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลโผงเผง

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโผงเผง ได้รับการยกฐานะจาก สภาต�ำบลโผงเผง เมือ่ วันที่ 23 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 มี พืน้ ทีร่ บั ผิดชอบทัง้ หมด 10.91 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,819 ไร่ 142

ประชากร องค์การบริหารส่วนต�ำบลโผงเผง มีประชากรทั้งสิ้น 3,296 คน เป็นชาย 1,607 คน เป็นหญิง 1,689 คน จ�ำนวนครัว เรือน 1,166 ครัวเรือน โดยมีความหนาแน่นเฉลี่ย 302 คน/ ตาราง กิโลเมตร (ข้อมูล ณ วันที่ 9 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2558) สภาพทางเศรษฐกิจ เนือ่ งจากพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบลุม่ เป็นดิน เหนียวปนทราย เหมาะแก่การเพาะปลูก ราษฎรส่วนมากจึงประกอบ อาชีพเกษตรกร ได้แก่ ท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ และมีอาชีพท�ำอิฐ เลีย้ ง สัตว์เป็นอาชีพเสริม ซึ่งท�ำให้ราษฎรมีรายได้พอมีพอกิน สภาพทางสังคม การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 2 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง และที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บ้าน / ห้องสมุดประชาชน 10 แห่ง สถาบันและองค์กรทางศาสนา วัด 2 แห่ง การสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�ำต�ำบล 2 แห่ง อัตราการมีและใช้ส้วมราดน�้ำ ร้อยละ 100 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ที่พักสายตรวจประจ�ำต�ำบล 2 แห่ง

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

ในเขตพืน้ ทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�ำบลโผงเผง มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ส�ำคัญ ดังนี้ คือ 1. วัดถนนสุทธาราม ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ เจ้าพระยาในหมูท่ ี่ 1 บ้าน เลน เป็นวัดที่เก่าแก่มากสร้างในสมัยกรุงธนบุรี ราว พ.ศ. 2323 ภายในวัดมีปราสาทเรือนแก้วที่สวยงาม และพระพุทธรูปปางร�ำพึง ซึ่งแกะสลักจากไม้จันทน์ลงรักปิดทอง โดยมีความเชื่อกันถึงความ ศักดิ์สิทธิว่าหากท่านใดได้ไปเคารพกราบไหว้สักการบูชา และได้ตั้ง จิตอธิษฐานตัง้ ไข่ไก่แล้วไม่ลม้ ท่านจะประสบแต่ความสุข ความเจริญ ตามที่ท่านตั้งอธิษฐานตามที่ขอ


2. วัดพิจารณ์โสภณ ตัง้ อยูใ่ นหมูท่ ี่ 8 บ้านโผงเผง เป็นพระ ประธานปางขัดสมาธิประเดิษฐานในพระอุโบสถ เป็นพระคูบ่ า้ น คู่เมืองของชาวโผงเผงที่มามาแต่ดั้งเดิมพร้อมกับพระเจดีย์มอญ ทุกวันที่ 13 เมษายนของทุกปี จะมีประเพณีนมัสการหลวงพ่อ ขาว และงานนมัสการองค์พระเจดีย์มอญ จากประวัติศาสตร์ เล่าว่าชาวมอญเป็นคนสร้างในสมัยอยุธยาเป็นเมืองหลวง โดย เดิมทีชาวมอญอาศัยอยูใ่ นเขตนี้ สถาปัตยกรรม จึงเป็นศิลปกรรม ร่วมระหว่างอยุธยาตอนต้นและศิลปะของมอญ รูปทรงเจดียค์ ว�ำ่ ศิลปะสมัยสุโขทัยตอนปลาย ANG THONG 143


2. ธูป เป็นอาชีพเสริมอีกอาชีพหนึง่ ทีก่ ลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรที่ ว่างเว้นจากงานประจ�ำท�ำกัน โดยส่วนมากก็จะเป็นการธูปส�ำหรับท�ำ ธูปหอมไหว้พระ นับเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพเสริมรายได้อกี ด้าน หนึง่ ให้กบั เกษตรกร ถึงไม่มากแต่กเ็ ป็นการลดการอพยพย้ายแรงงาน จากชนบทเข้าเมืองกรุง ก่อให้เกิดการรักถิน่ ฐานบ้านเกิดของตนเอง ปัจจุบันอาชีพนี้พบเห็นได้ทุกที่ในเขตต�ำบลโผงเผงเกือบทุกหมู่บ้าน 3. อิฐมอญ เนือ่ งจากในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลโผงเผงส่วนใหญ่มอี าชีพ ท�ำอิฐมอญ อิฐแบบรู อิฐโชว์ ซึ่งมีการท�ำเป็นอุตสาหกรรมในครัว เรือนเลยก็วา่ ได้ มีทงั้ การท�ำจากเครือ่ งจักร และการท�ำจากมือ ทัง้ ใช้ ในงานก่อสร้างและการก่อโชว์เป็นงานสถาปัตยกรรมเลยก็มี ตลาด ที่นำ� ส่งส่วนมากก็จะเป็นกรุงเทพมหานคร และในจังหวัดใกล้เคียง ตามทีล่ กู ค้าสัง่ การท�ำอิฐมอญของชาวโผงเผง มีมาตัง้ แต่บรรพบุรษุ จึงควรอนุรักษ์ไว้ให้เยาวชนรุ่นหลักได้ศึกษาประวัติความเป็นมา

สินค้า OTOP ขึ้นชื่อ

1. น�้ำปลา นับเป็นสินค้า OTOP ระดับ 3 ดาว จากการ ประกวดผลิตภัณฑ์ OTOP ของอ�ำเภอป่าโมก ในปี พ.ศ. 2548 ของส�ำนักงานพัฒนาชุมชน อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็น กลุ่มที่เกิดจากการร่วมตัวของกลุ่มแม่บ้านโรงม้าพัฒนา หมู่ที่ 10 ต�ำบลโผงเผง เพื่อต้องการแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตรจาก ปลา ในกลุ่มยังมีสินค้าอีก เช่น ปลาส้มฟัก น�้ำปลาแท้ ซึ่งน�ำ ปลาที่ได้มาหมักเพื่อให้ได้น�้ำปลาแท้ ส่วนปลาส้มฟักก็จะคัดปลา ที่มีขนาดตัวโตพอเหมาะน�ำมาท�ำ ซึ่งก่อให้เกิดการถนอมอาหาร ไว้กินในฤดูที่ขาดแคลนได้ 144

4. ดอกไม้จันทน์ แต่เดิมส่วนมากหากมีงานศพชาวต�ำบล โผงเผงก็จะหาซื้อดอกไม้จันทน์จากที่อื่น หรือตามร้านที่ขายเครื่อง สังฆภัณฑ์ ซึง่ ท�ำให้สญ ู เสียเศรษฐกิจของชุมชนโดยใช่เหตุ จึงได้เกิด แนวความคิดในการจัดตั้งกลุ่มท�ำดอกไม้จันขึ้น เพื่อเป็นการสร้าง เสริมอาชีพให้กับกลุ่มแม่บ้าน และเกษตรกรที่ว่างเว้นจากแรงงาน ภาคเกษตร นับเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพเสริมรายได้อกี ด้านหนึง่ ให้กับเกษตรกร สนใจสัง่ ซือ้ สินค้า OTOP ต�ำบลโผงเผง ติดต่อได้ที่ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลโผงเผง โทรศัพท์ 0 3562 3187 และศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.phongpheng.go.th


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดป่าโมกวรวิหาร วัดป่าโมกวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ถนนป่าโมก ราษฎร์บำ� รุง ต�ำบลป่าโมก อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง เป็นวัดมหานิกายอยูใ่ นเขตปกครอง ของคณะสงฆ์ต�ำบลป่าโมก อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทองภาค 2 ประวัตวิ ดั ป่าโมกวรวิหารและการชะลอพระพุทธไสยาสน์

วัดป่าโมกวรวิหาร หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “วัดตลาด” หรือ “วัดท้ายตลาด” เป็นวัดโบราณ พงศาวดารเหนือกล่าวไว้ว่า สร้างในสุโขทัยเป็นราชธานี มีพระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่และมี พระพักตร์งดงามซึ่งสร้างมาก่อนสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมือ่ ครัง้ ทีส่ มเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จมาประชุมพลก่อนจะ เสด็จไปรบกับพระมหาอุปราชา ได้เสด็จมาทรงสักการะพระพุทธ ไสยาสน์ก่อน เมื่อปี พ.ศ. 2135 เดิมองค์พระพุทธไสยาสน์และพระวิหาร ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ น้อย ห่างจากที่ตั้งปัจจุบัน 4 เส้น 4 วา เนื่องจากที่ตั้งนั้นเป็นคุ้งน�ำ้ น�ำ้ จึงเซาะตลิง่ พังลงไปจนใกล้ถงึ องค์พระ พ.ศ. 2269 เจ้าอธิการ วัดป่าโมก เข้ามาหาพระยาราชสงคราม แจ้งความว่าพระพุทธ

ไสยาสน์วัดป่าโมกนั้นน�้ำกัดเซาะตลิ่งพังเข้ามาถึงพระวิหารแล้ว เมื่อปี พ.ศ. 2271 สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้ พระราชสงครามเป็นนายกองด�ำเนินการชะลอพระพุทธไสยาสน์ ให้ลึกเข้ามาจากฝั่ง 4 เส้น 4 วา แล้วสร้าง พระวิหารส�ำหรับ พระพุทธไสยาสน์ที่วัดตลาด เนื่องจากพระวิหารเดิมฝาผนังและ หลังคาช�ำรุดทรุดโทรม ภายในวัดป่าโมกวรวิหารยังมีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจมากมาย อาทิ วิหาร เขียน มณฑปพระพุทธบาท 4 รอย พระเจดีย์ อนุสาวรีย์สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช – สมเด็จพระเอกาทศรถ วังมัจฉา เป็นต้น วัดป่าโมกวรวิหารก�ำหนดจัดให้มีงานนมัสการพระพุทธไสยาสน์ ปีละ 2 ครั้ง คือวันขึ้น 14 ค�ำ่ ถึง แรม 1 ค�่ำ เดือน 4 และ วันขึ้น 12 ค�ำ่ ถึงแรม 1 ค�ำ่ เดือน 11 ANG THONG 145


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระอาจารย์วิชัย ตนฺติปาโล เป็นเจ้าอาวาส วัดกุญชรชาติการาม

วัดกุญชรชาติการาม (วัดช้าง) วัดกุญชรชาติการาม ตั้งอยู่ที่บ้านตะพุ่น หมู่ที่ 4 ต�ำบลนรสิงห์ อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระอาจารย์วิชัย ตนฺติปาโล รักษาการเจ้าอาวาส วัดกุญชรชาติการาม 146


ที่ตั้งและอาณาเขต

วัดกุญชรชาติการราม มีเนื้อที่ 22 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา โฉนดเลขที่ 6260 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม อยู่ริมคลองบ้านตะพุ่ม แวดล้อมไปด้วยป่าและที่นาชาวบ้าน ทิศเหนือยาว 3 เส้น 13 วา ติดต่อกับคลองบ้านตะพุ่ง ทิศใต้ยาว 4 เส้น 4 วา ติดต่อกับ ที่ดินเลขที่ 26-296 ที่นาของชาวบ้าน ทิศตะวันออกยาว 5 เส้น 12 วา ติดต่อกับที่ดินเลขที่ 27 และป่าไม้ ทิศตะวันตกยาว 6 เส้น 2 วา ติดต่อกับป่าไม้และที่นาของชาวบ้าน

ประวัติความเป็นมา

วัดกุญชรชาติการาม สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ประมาณ พ.ศ. 2240 จากค�ำบอกเล่าสืบต่อกันมาว่า เป็นสถานที่ส�ำคัญ เพราะเคยเป็นที่พักแรมคราวที่กษัตริย์ยกทัพมาเพื่อต่อต้านข้าศึก คือเป็นที่พักกองช้าง กองม้า ส่วนที่ตั้งพลับพลาของกษัตริย์อยู่ห่าง จากสถานที่นี้ไปประมาณ 1 กิโลเมตร บริเวณที่ตั้งพลับพลาคือวัด ปราสาทนั่นเอง ส่วนวัดกุญชรชาติการาม เดิมชื่อ “วัดช้าง” เพราะเคยเป็น ทีพ่ กั กองช้าง กองม้า เพราะมีหลักฐานคือชาวบ้านขุดพบกระดูกช้าง และกะโหลกหัวช้าง เดิมเคยเป็นวัดที่เจริญรุ่งเรืองมาก่อน เพราะ ตามหลักฐานเคยได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาแล้ว มีอโุ บสถเป็น ที่ท�ำสังฆกรรมประมาณ พ.ศ. 2245 แต่ได้ทรุดโทรมลงหมดในช่วง ที่เป็นวัดร้าง

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 25 เมตร สร้าง พ.ศ. 2536 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2541 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร ศาลาการเปรียญ 1 หลัง เป็นอาคาร 2 ชั้น กว้าง 12 เมตร ยาว 22 เมตร กุฏิ สงฆ์ 15 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง วิหาร 1 หลัง

ปูชนียวัตถุสำ� คัญ

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดพระเพลากว้าง 7 ศอก ซึ่งได้นำ� เอาเศียรพระโบราณมาต่อเติมองค์พระให้สมบูรณ์ขึ้น

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

วัดกุญชรชาติการาม ก�ำหนดจัดงานหล่อองค์ “พระพุทธ ยันตีศรีอา่ งทอง” พระประธานคอนกรีตเสริมเหล็ก ขนาดหน้าตัก กว้าง 10 เมตร สูง 15 เมตร ระหว่างวันที่ 28-29 พฤษภาคม 2559 วันที่ 1-2 มิถุนายน 2559 และวันที่ 5 มิถุนายน 2559 รวม 5 วัน จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมสร้างบุญใหญ่ได้ กุศลแรง หรือร่วมบริจาคอิฐ หิน ปูน ทราย ได้ตามก�ำลังศรัทธา ติดต่อสอบถามได้ที่ พระอาจารย์วิชัย ตนฺติปาโล รักษาการ เจ้าอาวาส วัดกุญชรชาติการาม โทร. 0877 733 055 หรือ พระครูวศิ ฐิ สังฆกิจ ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ โทร. 089-8991991 ANG THONG 147


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายยงยุทธ์ ฤทธิ์กระจ่าง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโรงช้าง

องค์การบริหารส่วนตำ�บลโรงช้าง

สาหร่าย อ�ำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ชาวบ้านจึงเรียก บริเวณที่พักช้างแห่งนี้ว่า “บ้านโรงช้าง” ต่อมาภายหลังจึงตั้งชื่อ ต�ำบลว่า “ต�ำบลโรงช้าง” จนถึงปัจจุบัน

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโรงช้าง ต�ำบลโรงช้าง อ�ำเภอป่าโมก จั ง หวั ด อ่ า งทอง โดยตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอป่ า โมก ฝัง่ ตะวันออกของแม่นำ�้ เจ้าพระยา ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอป่าโมก 1.5 กิโลเมตร ปัจจุบันมีนายยงยุทธ์ ฤทธิ์กระจ่าง เป็นนายก องค์การบริหารส่วนต�ำบลโรงช้าง

ประวัติต�ำบลโรงช้าง

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี สมเด็จพระนเรศวร มหาราชได้ท�ำศึกสงครามกับพม่า และได้ยกทัพผ่านบริเวณ อ�ำเภอป่าโมก ทรงเห็นพื้นที่ของต�ำบลโรงช้าง (ปัจจุบัน) ซึ่งอยู่ ติดกับต�ำบลบ้านม้า อ�ำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทีใ่ ช้เป็นทีพ่ กั ทัพม้าในยามศึกสงคราม เป็นท�ำเลทีด่ เี หมาะทีจ่ ะใช้ เป็นที่พักกองทัพช้าง ก่อนที่จะยกทัพข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา เพื่อ ไปท�ำสงครามยุทธหัตถีกับพม่าที่บริเวณทุ่งสาหร่าย ต�ำบลหนอง 148

วัดศรีมหาโพธิ วัดศรีมหาโพธิเป็นวัดเก่าแก่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่ถูกทิ้งร้าง ไปจนถึง พ.ศ.2366 ได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ และสร้างขึ้นเป็นวัด นับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2366 เดิมมีนามว่า “วัดกุฎี” ได้ เปลี่ยนเป็นวัดศรีมหาโพธิ สมัยพระอุปัชฌาย์คล้ายเป็นเจ้าอาวาส ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2371 โบราณสถานที่น่าสนใจ คือ เจดีย์สี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง มี ปูนปัน้ ประดับองค์ระฆังเจดียท์ รงเครือ่ งมีบวั คอเสือ้ สังวาลทับทรวง พระวิหารขนาด 2 ห้องอยู่ภายใน ก�ำแพงแก้วด้านหน้ามี 2 องค์ ภายในบริเวณวัดได้จดั เป็นสวนสาธารณะ ร่มรืน่ ไปด้วยต้นไม้ น้อย ใหญ่ และป่าดงยางทีย่ งั คงสภาพสมบูรณ์ เหมาะเป็นสถานทีพ่ กั ผ่อน หย่อนใจ การเดินทาง วัดศรีมหาโพธิ ตัง้ อยูต่ ำ� บลโรงช้าง อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ใช้เส้นทางสายอ่างทอง – ป่าโมก – อยุธยา เข้าไป ประมาณ 500 เมตร


บึงส�ำเภาลอย ส�ำเภาลอย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2450 โดยท่านอาจารย์ฮวด (หลวงพ่อส�ำเภา) ท่านได้ธุดงค์มาจากจังหวัดนครสวรรค์ เห็นท�ำเลดี และสวยงามเพราะเป็นแหล่งน�้ำอับ เป็นที่รวมของคลองส่งน�้ำ 4 สาย (คลองบ้านสาย คลองสาน คลองตาฉ�ำ่ เชือ่ มกับคลองโพธิ์ ส่งน�ำ้ ออกไปยัง ทุง่ นา) หลวงพ่อฮวดจึงคิดว่า น่าจะมีอะไรสักอย่างทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของ สถานทีแ่ ห่งนี้ ท่านจึงได้ขอติดต่อบิณฑบาตทีด่ นิ จากนายโหมด นางโกย นิ่มนวลเกตุ ก่อสร้างส�ำเภาขึ้นริมแม่น�้ำอับแห่งนี้ โดยขอความร่วมมือ ร่วมใจของชาวต�ำบลโรงช้างช่วยกันสร้างส�ำเภา และให้ชื่อส�ำเภานี้ว่า “ส�ำเภามคฺคสจฺจ เป็นล�ำที่ 2” (ล�ำที่ 1 อยู่ที่วัดป่าโมก) เมื่อถึงฤดูน�้ำ ขึ้นก็จะเห็นส�ำเภาลอยเด่นเป็นสง่าอยู่กลางน�้ำขาว ชาวบ้านจึงเรียกว่า “ส�ำเภาลอย” ปัจจุบันบึงส�ำเภาลอยเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ในหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอป่าโมก และจังหวัดใกล้เคียง โดยเฉพาะเมื่อ ถึงเทศกาลกลางเดือน 12 จะมีการจัดการเล่นประเพณีพื้นบ้าน เช่น การเล่นเพลงเรือ การแข่งขันเรือพาย ลอยกระทง ซึ่งจะมีประชาชน และนักท่องเที่ยวจากต่างจังหวัดมาเที่ยวกันมากมาย ท�ำให้ประชาชน ในพื้นที่มีรายได้จากการค้าขาย ANG THONG 149


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายสมศักดิ์ นิ่มพงษ์ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสายทอง

องค์การบริหารส่วนตำ�บลสายทอง “ร่วมคิด ร่วมทำ� นำ�ความเจริญ สู่สายทอง” คือวิสัยทัศน์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลสายทอง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ต�ำบลสายทอง อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันมี นายสมศักดิ์ นิ่มพงษ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลสายทอง

ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลสายทอง มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 10.40 ตารางกิโลเมตร หรือ 6,500 ไร่ มี 8 หมู่บ้าน 1,029 หลังคาเรือน จ�ำนวนประชากรใน พืน้ ทีร่ วมทัง้ สิน้ 3,185 คน ส่วนใหญ่มอี าชีพรับจ้างทัว่ ไป รองลงมา คือท�ำนา ท�ำสวน และค้าขาย สภาพภูมปิ ระเทศเป็นพืน้ ทีร่ าบลุม่ มีคลองชลประทานไหลผ่านตลอดด้านหน้าหมู่บ้าน เหมาะที่จะ เป็นแหล่งผลิตพืชผลทางการเกษตรเป็นอย่างยิ่ง 150

โครงการพัฒนาพื้นที่แก้มลิงหนองเจ็ดเส้นฯ

โครงการพัฒนาพื้นที่แก้มลิงหนองเจ็ดเส้น อันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ จังหวัดอ่างทอง ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกถนนพหลโยธิน ครอบคลุมพื้นที่ต�ำบลสายทอง อ�ำเภอปาโมก จังหวัดอ่างทอง มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 320 ไร่ ประกอบด้วยสระน�้ำจ�ำนวน 2 สระ พืน้ ที่ 99 และ 163 ไร่ ตามล�ำดับ สามารถรองรับน�ำ้ ได้ 1,567,200 ลูกบาศก์เมตร และนอกจากจะช่วยกักเก็บน�้ำในช่วงฤดูฝนแล้ว ในช่วงฤดูแล้งโครงการแห่งนี้ยังท�ำหน้าที่ส่งน�้ำให้แก่เกษตรกรรอบ บริเวณโครงการฯ ให้สามารถสูบน�้ำจากสระน�้ำของโครงการฯ ไปใช้ในการเกษตรได้ โดยเมื่อวันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน 2555 สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังโครงการ พั ฒ นาพื้ น ที่ แ ก้ ม ลิ ง หนองเจ็ ด เส้ น ฯ เพื่ อ ทรงประกอบพิ ธี เ ปิ ด “อุทยานสวรรค์ 115 ปี อ่างทองหนองเจ็ดเส้นเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554”


“หลวงพ่อผอม” ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ในรัชกาลที่ 5 ได้รับ มอบ “พระผอม” (องค์จำ� ลอง)หรือทีช่ าวอ่างทองเรียกว่า “หลวง พ่อผอม” พระพุทธรูปปางบ�ำเพ็ญเพียรแสวงหาโมกขธรรม และ บ�ำเพ็ญกระท�ำทุกกรกิรยิ า หล่อด้วยปูนปลาสเตอร์ปดิ ทองค�ำเปลว ซึ่งเจ้าพนักงานตรวจโบราณคดีของรัฐบาลอินเดียส่งมาให้เป็น ของทีร่ ะลึก (พระผอมองค์จริงเป็นศิลาประดิษฐานไว้ในพิพธิ ภัณฑ์ สถานที่ เ มื อ งละฮอ ช่ า งโยนกสร้ า งไว้ เ มื่ อ ราว พ.ศ. 900) ท่านจึงน�ำพระผอมจ�ำลองไปประดิษฐานไว้ในพระบรมมหาราช วังรัชกาลที่ 5 เพื่อให้คนกราบไหว้บูชา 3 วัน จากนั้ น ช่ า งคนไทยขออนุ ญ าตหล่ อ พระผอมจ� ำ ลองด้ ว ย ทองสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 1 ศอก 1 คืบ เพือ่ น�ำไปกราบไหว้บชู า กลุ่มบุคคลต�ำบลสายทอง จังหวัดอ่างทอง จึงเดินทางไปอัญเชิญ พระผอมจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาประดิษฐานไว้ที่ต�ำบล สายทอง ขุนพลภักดี โพธิส์ วุ รรณ ได้สร้างศาลาไม้เพือ่ ประดิษฐาน หลวงพ่ อ ผอมเพื่ อ ให้ ป ระชาชนชาวอ่ า งทองได้ ม าสั ก การะ ในปี พ.ศ. 2516 หลวงพ่ อ ผอมถู ก ขโมยไปจากศาลา ประชาชนหลายต�ำบลจึงช่วยกันออกติดตามค้นหา และพบหลวง พ่อผอมถูกซุกซ่อนไว้ริมถนนสายป่าโมก-อยุธยา เขตจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จึงอัญเชิญหลวงพ่อผอมประดิษฐานไว้บน ศาลาหลังเดิม ประชาชนจึงได้รว่ มกันสร้างศาลาไม้หลังใหม่และ อัญเชิญหลวงพ่อผอมประดิษฐานบนศาลาหลังใหม่ ปี พ.ศ. 2535 เริม่ ก่อสร้างศาลาหลังใหม่และสร้างมณฑป เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 และ ในปี พ.ศ. 2552 ประชาชนได้รว่ มกันบริจาคเงินเพือ่ ซือ้ ทีด่ นิ ถวาย เป็นทรัพย์สนิ ของหลวงพ่อผอม จ�ำนวนเนือ้ ที่ 3 งาน 55 ตารางวา ปัจจุบนั ต�ำบลสายทอง จัดงานประเพณีสรงน�ำ้ หลวงพ่อผอม ในวันเสาร์-อาทิตย์ หลังวันสงกานต์ของทุกปี

ANG THONG 151


พลอย รี ส อร์ ท จากจินตนาการสู่ห้องพักหลากสไตล์ ลืมรูปแบบเดิม ๆ

ของรีสอร์ทซึ่งในห้องพักมีแค่เตียง โต๊ะ ตู้ ทีวี ฯลฯ ไปได้เลย


พลอย รีสอร์ท โดย คุณพลอยไพลิน เป็นครูอนุบาล และผู ้ จั ด การรี ส อร์ ท ได้ จั บ เอาจิ น ตนาการและ ความชื่ น ชอบศิ ล ปะ มาออกแบบตกแต่ ง ห้ อ งพั ก 19 ห้อง 19 สไตล์ 19 บรรยากาศ ไม่ซ�้ำกัน เพื่อ เอาใจลูกค้าที่ชื่นชอบความแปลกใหม่ ไม่ซ�้ำใคร อาทิ ห้ อ งส� ำ หรั บ โคบาลสุ ด เท่ ห้ อ งส� ำ หรั บ คนรั ก ทะเล ห้ อ งส� ำ หรั บ คนรั ก ดนตรี ห้ อ งส� ำ หรั บ ผู ้ รั ก ธรรมชาติ ห้องส�ำหรับคอหมัด ๆ มวย ๆ ห้องส�ำหรับคนรักรถ ฯลฯ พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวก อาทิ แอร์ เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ตู้เย็น ทีวี เพื่อรับรองลูกค้าทุกท่าน คุณพลอยไพลิน กล่าวถึงจุดเด่นของพลอย รีสอร์ท ว่า “ห้องพักมีหลายรูปแบบ หลายสไตล์ แต่ละห้อง ไม่ เ หมื อ นกั น แต่ ห ้ อ งที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด คื อ ห้องบัวขาว ทีม่ เี วทีมวยจ�ำลอง และนวมใส่มอื พร้อมระฆัง ไว้รับความมันแบบไม่ยั้ง ไม่เว้นแม้กระทั่งห้องน�้ำตก ทีม่ บี รรยากาศชืน่ ใจ คลายความเหน็ดเหนือ่ ยเมือ่ ยล้าค่ะ” ไม่เพียงลูกค้าจะได้สัมผัสความแปลกใหม่ในห้องพัก โดยรอบรี ส อร์ ท ยั ง สวยงาม ร่ ม รื่ น ด้ ว ยไม้ น ้ อ ยใหญ่ นานาพันธุ ์ น�ำ้ ตก พร้อมสระเลีย้ งปลาให้ความรูส้ กึ สดชืน่ เย็นใจ และที่ส�ำคัญคือ ราคาห้องพักเพียง 450 บาท เท่านั้น พร้อมบริการชุดกาแฟ + ขนมปัง ก่อนจากกัน คุณพลอยไพลิน เชิญชวนนักท่องเทีย่ ว ให้มาเยือนจังหวัดอ่างทองว่า “อ่างทองมีศิลปะ หัตถกรรมฝีมือชาวบ้าน เช่น การท�ำตะกร้าของขวัญ การท�ำกลองยาว มีวัดมากมาย เช่ น วั ด ไชโยวรวิ ห าร ซึ่ ง เป็ น วั ด ขึ้ น ชื่ อ ของจั ง หวั ด อ่างทอง มีอาหารและขนมทีอ่ ร่อยในอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ถ้านักท่องเทีย่ วได้มาเทีย่ วพักผ่อนทีจ่ งั หวัดอ่างทอง ก็มา พักผ่อนที่ พลอย รีสอร์ท ได้นะคะ เพราะพลอย รีสอร์ท ยินดีตอ้ นรับแขกทุกท่าน ท่านจะได้มาพบกับรูปแบบห้อง พักที่ไม่เหมือนใคร หลากหลายสไตล์ที่น่าประทับใจค่ะ” วันหยัดสุดสัปดาห์นี้ แพ็กกระเป๋าไปเที่ยวอ่างทอง แล้วพักค้างคืนให้หายเหนือ่ ยล้าที่ พลอย รีสอร์ท กันนะคะ

สำ�รองห้องพักติดต่อ

พลอย รีสอร์ท เลขที่ 156 หมู่ 2 ต.บางพลับ อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง 14120 โทร. 0898 076 222


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นายลินายอำขิต�เภอโพธิ ทองนาท ์ทอง “หลวงพ่อขุนอินท์อันศักดิ์สิทธิ์ ทั่วทิศเครื่องจักสาน โบราณสถานตึกคำ�หยาด ปลาดื่นดาษหน้าวัดข่อย เจดีย์สูงลอยวัดจุฬามณี” คือค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอโพธิ์ทอง ซึ่งมีที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�ำบลอ่างแก้ว อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากจังหวัดอ่างทอง 12 กิโลเมตร นายอ�ำเภอโพธิ์ทองท่านปัจจุบันคือ นายลิขิต ทองนาท ซึ่งบริหารงานให้ บรรลุ

วิสัยทัศน์ที่ว่า

“อ�ำเภอโพธิ์ทอง เมืองเกษตร ศิลปหัตถกรรม และสังคมที่มีคุณภาพ”

ประวัติอ�ำเภอโพธิ์ทอง

อ�ำเภอโพธิ์ทองได้รับการจัดตั้งเป็นอ�ำเภอ เมื่อปีพ.ศ. 2439 เดิมมีชื่อว่า “อ�ำเภอห้วยลิง” ตามชื่อต�ำบลซึ่งเป็นที่ตั้ง ของที่ว่าการอ�ำเภอ ต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่หมู่ 9 ต�ำบลคลองสาหร่าย ฝั่งซ้ายของแม่น�้ำน้อย พร้อมกับเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น “อ�ำเภอโพธิ์ทอง” แต่ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอ�ำเภอกลับมาตั้งยังที่เดิม คือที่ต�ำบลห้วยลิง หรืออ่างแก้วในปัจจุบัน เนื่องจาก ได้รับการสนับสนุนจากพระเทพสังวรญาณ เจ้าอาวาสวัดศีลขันธาราม ซึ่งได้ซื้อที่ดินจ�ำนวนกว่า 15 ไร่ มอบให้แก่ทาง ราชการส�ำหรับใช้เป็นที่ตั้งที่ว่าการอ�ำเภอ 154


ข้อมูลทั่วไป

อ�ำเภอโพธิท์ อง มีพนื้ ที่ 219 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครอง ออกเป็น 15 ต�ำบล 110 หมูบ่ า้ น การปกครองส่วนท้องถิน่ ประกอบด้วย เทศบาลต�ำบล 5 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 9 แห่ง มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 54,186 คน ชาย 25,890 คน หญิง 28,296 คน จ�ำนวน 17,335 หลังคาเรือน ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพเกษตรกรรม มีผลผลิตที่ส�ำคัญคือ ข้าว กระท้อน และมะม่วง รายได้ประชากร ต่อหัวต่อปี 60,000 บาท

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

วั ด ขุ น อิ น ทประมู ล ต� ำ บลอิ น ทประมู ล เป็ น วั ด โบราณที่ ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่ใหญ่และยาวเป็นอันดับสองของ ประเทศไทย รองจากพระนอนจักรสีห์ มีความยาว 50 เมตร เดิม ประดิษฐานอยูใ่ นพระวิหาร แต่ถกู ไฟไหม้ปรักหักพังไปเหลือแต่องค์ พระอยูก่ ลางแจ้ง จึงนับว่าเป็นพระพุทธไสยาสน์กลางแจ้งองค์ทยี่ าว ทีส่ ดุ ในโลก องค์พระนอนมีพทุ ธลักษณะทีง่ ดงาม พระพักตร์ยมิ้ ละไม สงบเยือกเย็นน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก วัดโพธิ์ทอง อยู่ที่บ้านโพธิ์ทอง ต�ำบลค�ำหยาด ในพระราช พงศาวดารกล่าวว่าเป็นวัดทีก่ รมขุนพรพินติ (เจ้าฟ้าอุทมุ พร หรือขุน หลวงหาวัด) เสด็จมาผนวช และรัชกาลที่ 6 เคยเสด็จมาประทับ ร้อน เมื่อคราวเสด็จประพาสล�ำน�้ำน้อย ล�ำน�ำ้ ใหญ่ มณฑลกรุงเก่า เมื่อ พ.ศ. 2459 พระต�ำหนักค�ำหยาด อยูถ่ ดั จากวัดโพธิท์ องไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กม. ตัวอาคารก่อด้วยอิฐถือปูนขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สภาพปัจจุบันมีเพียงผนัง 4 ด้าน แต่ยังคงเห็นเค้า ความสวยงามทางด้านศิลปกรรม เช่น ลอดลายประดับซุ้มจรน�ำ หน้าต่าง รัชกาลที่ 5 ทรงสันนิษฐานว่า พระต�ำหนักนี้คงจะสร้าง ขึ้นตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เพื่อเป็นที่ประทับแรม เนื่องจากมีพระราชนิยมเสด็จประพาสเมืองแถบนี้อยู่เนือง ๆ เช่น เดียวกับที่พระเจ้าปราสาททองทรงสร้างที่ประทับไว้ที่บางปะอิน ปัจจุบนั กรมศิลปากรได้บรู ณะ และขึน้ ทะเบียนพระต�ำหนักค�ำหยาด เป็นโบราณสถานไว้แล้ว วัดจันทาราม ตั้งอยู่ที่บ้านช้าง หมู่ที่ 5 ต�ำบลโคกพุทรา วัดแห่งนี้มีต้นไม้ขึ้นหนาแน่น จึงเป็นที่อยู่อาศัยและแพร่พันธุ์ ค้างคาวแม่ไก่ และนกนานาชนิดมาหลายชัว่ อายุคนแล้ว ค้างคาว แม่ไก่นี้จะออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนเวลากลางวันจะเกาะ ห้อยหัวอยู่ตามกิ่งไม้เป็นสีด�ำพรืดมองเห็นแต่ไกล ซึ่งผู้สนใจ สามารถจะไปชมได้ในทุกฤดูกาล วัดข่อย อยู่บริเวณแม่น�้ำน้อยหน้าวัดข่อย หมู่ที่ 1 ต�ำบล โพธิ์รังนก จุดเด่นคือมีปลานานาพันธุ์ เช่น ปลาสวาย ปลา ตะเพียน ปลาเทโพ ปลาแรดปลาบึก ฯลฯ อาศัยอยู่รวมกันไม่ ต�่ำกว่า 50,000 ตัว ทางวัดได้จัดจ�ำหน่ายอาหารปลาให้นักท่อง เที่ยวได้เพลิดเพลินกับการให้อาหารปลา นอกจากนี้ภายในวัด ยังจัดแสดงของเก่าที่หาดูได้ยาก อาทิ ตะเกียงโบราณจากกรุง วอชิงตัน นาฬิกาโบราณ จากปารีส ตู้พระไตรปิฎกท�ำด้วยไม้สัก จากจีน เรือแทบทุกชนิด ได้แก่ เรือบด เรือแจว เรือส�ำปั้น และ เรือประทุน เปลกล่อมลูกในสมัยโบราณ เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ในการ ท�ำนา เครื่องมือการจับสัตว์นำ�้ เป็นต้น ANG THONG 155


เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล

ประชาชน ได้มีการซื้อที่ดินเพิ่มเติมเพื่อสร้างโรงเรียนประชาบาลวัด โคกพุทรา ปัจจุบันคือ โรงเรียนโพธิ์ทองพิทยาคม ปัจจุบันมีพระครู ปริยตั ยาภินนั ท์ เป็นเจ้าอาวาส ซึง่ ได้รบั ตราตัง้ เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ โพธิท์ อง โดยท่านได้ทำ� นุบำ� รุงเสนาสนะสงฆ์ กุฏสิ งฆ์ และหอสวดมนต์ เป็นทรงไทยประณีตสวยงาม ทั้งผนังและรูปแบบก่อสร้าง เป็นการ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยมาจนถึงปัจจุบันนี้ จุดเด่นที่มีชื่อเสียง เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อเพชรองค์ใหญ่ ซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั และสักการบูชาของชาวต�ำบลโคกพุทราและคนทัว่ ไป โดย ผูส้ นใจสามารถเข้าเยีย่ มชมและกราบไหว้ขอพรหลวงพ่อเพชรได้ตงั้ แต่ แปดโมงเช้าจนถึงหกโมงเย็นหรือตามเวลาที่เหมาะสม

พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

นายกิตติวัฒน์ เลิศฤทธิ์ชัยกิจ นายกเทศมนตรีต�ำบลโคกพุทรา

เทศบาลตำ�บลโคกพุทรา เทศบาลต�ำบลโคกพุทราชวนเที่ยว เทศบาลต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง มีแหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจส�ำหรับทุกคนในครอบครัว รวมถึงมีสินค้า OTOP ระดับ 5 ดาว ของอ่างทอง ซึ่งเป็นที่นิยมซื้อหาไปเป็นของฝาก ดังต่อไปนี้

วัดโคกพุทรา

สถานทีต่ งั้ เลขที่ 1 บ้านโคกพุทรา หมูท่ ่ี 1 ต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ประวัติความเป็นมา วัดโคกพุทราก่อสร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2375 เดิมเป็นวัดร้างขึ้นปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ประชาชนที่ ได้อพยพตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ได้ร่วมกันบูรณะขึ้นมาใหม่ โดยได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2513 และ ได้ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2520 ขณะนั้นมี พระครูอดุลย์สุตกิจ เป็นเจ้าอาวาส ต่อมาเลื่อนสมณะศักดิ์เป็น เจ้าคณะอ�ำเภอ ท่านเป็นที่เคารพสักการะ เลื่อมใสศรัทธาของ 156

สถานที่ตั้ง เลขที่ 1 บ้านโคกพุทรา หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ประวัติความเป็นมา พระครูปริยัตยาภินันท์ เจ้าอาวาสวัดโคก พุทรา ท่านมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล อีกทั้งยังเห็นความส�ำคัญของ เยาวชนและคนในชุมชนว่า การเรียนรู้มิได้จ�ำกัดเฉพาะในห้องเรียน สี่เหลี่ยมเท่านั้น แต่ยังมีแหล่งเรียนรู้อีกมากมายที่สามารถท�ำให้ เยาวชนได้ศึกษาเรียนรู้ จึงท�ำให้เกิดแนวคิดในการสร้างพิพิธภัณฑ์ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ขึน้ มา โดยท่านเจ้าอาวาสได้เสียสละทีข่ องวัดโดยการ สนับสนุนงบประมาณของเทศบาลต�ำบลโคกพุทรา (ซึ่งขณะนั้นเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกพุทรา) เพื่อก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ ขึ้นมา โดยการมีส่วนร่วมของบ้าน วัด โรงเรียน (บวร) และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในการส่งเสริมกิจกรรมสืบสานประเพณี โดย ให้คนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแสดงออกซึ่งความสามารถ และ ถ่ายทอดความรู้ความสามารถด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นผู้น�ำในการ เชือ่ มโยงและปรับเปลีย่ นแนวความคิด และความเข้าใจของคนรุน่ เก่า กับคนรุ่นใหม่ จุดเด่นที่มีชื่อเสียง เป็นศูนย์รวมการท�ำงานร่วมกันของคนใน ชุมชน วัด โรงเรียน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยน�ำเสนอ เรื่องราววิถีชีวิตของชาวต�ำบลโคกพุทรา บ้านทรงไทย ตลอดจน โบราณวัตถุที่ใช้ในการด�ำรงชีพของคนในอดีตจนถึงปัจจุบัน มาจัด แสดงเป็นหมวดหมู่ เช่น เครือ่ งมือประกอบอาชีพเครือ่ งดนตรีพนื้ บ้าน เครื่องจักสาน เครื่องปั้นดินเผา เครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เป็นต้น เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวให้ผู้คนได้เข้าศึกษาและ เยี่ยมชมต่อไป ผู้ดูแลและรับผิดชอบ นางสุนทรี แตรสังข์ การเข้าเยี่ยมชม ผู้สนใจสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ตั้งแต่ 08.30 น. ถึง 16.30 น. ตาม เวลาที่เหมาะสม

แหล่งชมค้างคาวแม่ไก่

สถานทีต่ งั้ บริเวณวัดจันทราราม หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอ โพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ประวัติความเป็นมา เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของค้างคาวแม่ไก่เป็น จ�ำนวนมาก และอาศัยมาเป็นระยะเวลาหลายปีมาแล้ว ซึง่ จะหาชมที่ อืน่ ได้ยาก เมือ่ ท่านแวะเวียนเข้ามาชมค้างคาวแม่ไก่ หลังจากนัน้ ท่าน


สามารถเข้าไปกราบไหว้สกั การบูชาขอพรหลวงพ่อเพชรอีกองค์หนึง่ ซึ่งประดิษฐาน ณ วัดจันทราราม การเข้าเยี่ยมชม สามารถเข้าเยี่ยมชมค้างคาวแม่ไก่ พร้อม สั ก การบู ช าขอพรหลวงพ่ อ เพชรได้ ตั้ ง แต่ เ วลาเช้ า จนถึ ง ก่ อ น พระอาทิตย์ตกดิน หรือตามเวลาที่เหมาะสม

ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน

“กว่าจะมาเป็นปลาส้ม” นายกิตติวัฒน์ เลิศฤทธิ์ชัยกิจ เริ่มประกอบอาชีพค้าขาย ปลาสดที่ตลาดสุวพันธ์อ่างทอง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึง 2550 พบว่ า ราคาปลามี ค วามผั น ผวนค่ อ นข้ า งมาก บางช่ ว งเวลาดี บางช่วงไม่ดี ถ้าผลผลิตเข้ามามากราคาจะตก และมีปัญหาสินค้า เหลือมากท�ำให้ขาดทุน และปลาเสียหาย จึงมีความคิดจะแก้ปญ ั หา ดังกล่าว โดยได้รบั การถ่ายทอดความรูจ้ ากกองพัฒนาอุตสาหกรรม สัตว์น�้ำ กรมประมงในปี 2550 ท�ำให้มีความรู้ด้านการแปรรูปปลา ให้เก็บไว้ได้นานแต่ก่อนการแปรรูปนั้นก็จะมีเทคนิคหนึ่งที่ยังคง รสชาติและความสดของปลาเอาไว้ จึงท�ำให้ลูกค้าติดใจในรสชาติ มาจนถึงทุกวันนี้ สนใจติดต่อสอบถามได้ที่ 14 หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกพุทรา อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง โทร. 06 1946 3597

ANG THONG 157


2

1

3

5

1. มอบรถเข็นให้คนพิการ เพื่อการเสริมสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดี 2-3. โครงการวันเด็ก แห่งชาติ 4. มีการบริการจัดเก็บและ ขนย้ายขยะไปยังแหล่ง ก�ำจัดเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม และภูมิทัศน์ในชุมชนให้ น่าอยู่ 6 5. การส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ สานสัมพันธ์สายใยรัก ในครอบครัว 6. การพัฒนาระบบประปา เพื่อให้มีประสิทธิภาพที่ดี

158

4

7

7. การบริการรถรับส่งผูป้ ว่ ย ด้อยโอกาส ผู้ป่วยติดเตียง และคนพิการ


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

มานานแล้ว เนื่อง จากเป็นถิ่นที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะกับการ ท�ำเกษตรกรรม จึงมีผู้คนเข้ามาอาศัยตั้งถิ่นฐานเป็นบ้านเมืองตั้งแต่ สมัยทวาราวดี

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

นายโกศล ทิมบ่อแร่ นายกองค์การบริหารส่วนอินทประมูล

องค์การบริหารส่วนตำ�บลอินทประมูล “เป็นอู่ข้าว ชุมชนน่าอยู่ การศึกษาล�ำ้ หน้า ปราศจากมลพิษ คุณภาพชีวิตดี ประชาชนมีส่วนร่วม ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยว” คือวิสัยทัศน์ (Vison) ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล อินทประมูล ต�ำบลอินทประมูล อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกห่างจากอ�ำเภอโพธิ์ทอง ประมาณ 2 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 10 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายโกศล ทิมบ่อแร่ เป็น นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลอินทประมูล

ประวัติโดยสังเขป

ต�ำบลอินทประมูล ตั้งอยู่ในเขตวัดขุนอินทประมูล อ�ำเภอ โพธิท์ อง จังหวัดอ่างทอง ไปถนนสายอ่างทอง-โพธิท์ อง ระยะทาง 7 กม. สันนิษฐานว่าวัดแห่งนีน้ า่ จะสร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงสุโขทัย ตามพุทธลักษณะ แต่ถา้ ศึกษาความเป็นมาย้อนกลับไปในสมัยที่ ชื่ออ่างทองยังไม่ปรากฏ แต่มีหลักฐานแน่ชัดว่าดินแดนแถบนี้มี

พระพุทธไสยาสน์ขุนอินทประมูล พระนอนกลางแจ้งที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1870 สมัยกรุงสุโขทัยเป็น ราชธานีตรงกับสมัยของพระยาเลอไท ครั้งนั้นพระยาเลอไทเสด็จ จากกรุงสุโขทัยโดยทางชลมารค มานมัสการพระฤาษีสุกกะทันตะ ณ เขาสมอคอน ในเขตกรุงละโว้ ทรงประทับพักแรมอยู่ ณ เขาสมอคอน 5 เพลา จึงได้เสด็จข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยาล่องมาตามแม่น�้ำน้อย และ ได้แวะประทับ ณ โคกบางพลับ ขณะพักแรมอยู่ที่นั้น ในเวลาสาม เกิดศุภนิมิตทอดพระเนตรเห็นลูกไฟดวงใหญ่ลอยขึ้นเหนือยอดไม้ หายไปในอากาศทางทิศตะวันตก เกิดปิติโสมนัส ทรงด�ำริสร้าง พระพุทธไสยาสน์ขึ้นเป็นพุทธบูชา ด้วยคติที่ว่าพระองค์ประทับแรม อยู่ ณ ทีแ่ ห่งนี้ โดยมอบหมายให้นายบ้านเกณฑ์แรงงานทัว่ แคว้นแดน ลุ่มแม่น�้ำน้อย มาช่วยกันสร้างเป็นเวลานาน 5 เดือน แล้วเสร็จเมื่อ เดือน 5 ปี พ.ศ.1870 เมือ่ สร้างเสร็จแล้วทรงขนานนามว่า พระพุทธ ไสยาสน์เลอไทนฤมิต เนื่องจากพระพุทธไสยาสน์เลอไทนฤมิต ถูกทอดทิ้งตากแดด ตากฝนท่ามกลางป่ารกอยูน่ าน จนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาในสมัยพระเจ้า บรมโกศ ในประวัติเล่าว่ามีนายอากรต�ำแหน่งที่ ขุนอินทประมูล เป็น คนจีนมีชอื่ เดิมว่า เส็ง มีภรรยาเป็นคนไทยชือ่ นาก ไม่มบี ตุ รสืบตระกูล เป็นนายอากรมีหน้าทีเ่ ก็บส่วยจากอาณาประชาราษฎร์สง่ เข้าพระคลังหลวง เป็นผูท้ มี่ จี ติ ใจใฝ่ในการพระศาสนาเป็นอย่างยิง่ ปรารภว่าจะพยายาม ซ่อมสร้างพระพุทธไสยาสน์ และสร้างวัด ณ โคกวัดนี้ให้ส�ำเร็จด้วย อุตสาหะแห่งตน จึงซ่อมสร้างพระพุทธไสยาสน์ขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา และบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามขึ้นใหม่ และเรียกขนานนามตาม บรรดาศักดิ์ท่านขุนว่า “วัดขุนอินทประมูล” ตั้งแต่นั้นมา

ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลอินทประมูล มีพื้นที่รวม 10 ตารางกิโลเมตร มีหมู่บา้ น ทั้งหมด 7 หมู่บ้าน มีหมู่บ้านในเขต อบต. เต็มทั้งหมู่บา้ น 2 หมู่บา้ น ได้แก่หมู่ที่ 1, 2 หมู่บา้ นในเขต อบต. บางส่วน 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ ที่ 3, 5, 6, 7 จ�ำนวนหมู่บา้ นที่อยู่ในเขตเทศบาล 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมูท่ ี่ 4 มีจำ� นวน 691 ครัวเรือน มีประชากรทัง้ หมด 2,279 คน แบ่ง เป็นเพศชาย 1,071 คน เพศหญิง 1,208 คน ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม คือท�ำนาและท�ำสวน อาชีพรอง คือ รับจ้าง ค้าขาย

การประเมินผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมา

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน องค์การบริหารส่วนต�ำบลอินทประมูล ได้มกี ารพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในเรือ่ งเส้นทางการก่อสร้างทางการคมนาคม การซ่อมแซมถนนสายต่าง ๆ ในหมู่บา้ น ท�ำให้ประชาชนได้รับความ สะดวกสบายในการคมนาคม การขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะและการ ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ ตลอดจนขุดลอกคลองระบายน�้ำเพื่อให้ น�้ำไหลได้สะดวก คูคลองไม่ตื้นเขิน และการสนับสนุนระบบประปา หมู่บ้านเพื่อให้ประชาชนมีน�้ำใช้ที่สะอาด ANG THONG 159


2. ด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาด้านการจัดการศึกษาให้ได้อย่างทัว่ ถึง เท่าเทียม และมีประสิทธิภาพ ส่งเสริม สนับสนุนสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด อาชญากรรม ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ส่งเสริม สนับสนุน สงเคราะห์ ให้กับผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รณรงค์ส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์ของสถาบันครอบครัวให้มี ความเข้มแข็ง รณรงค์ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกัน แก้ไขปัญหา โรคต่าง ๆ ด�ำเนินการจ่ายเงินสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสประจ�ำ ต�ำบล ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการอุดหนุนสถานีอนามัยต�ำบลเพื่อ จัดท�ำโครงการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย โดยใช้การแพทย์แผนไทย จัดท�ำ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ประชาชนรู้วิธี ป้องกัน และก�ำจัดยุงลาย จัดท�ำโครงการป้องกันและควบคุมโรค พิษสุนขั บ้า ซึง่ ท�ำให้ประชาชนมีสขุ ภาพร่างกายแข็งแรง มีสขุ ภาพ จิตทีด่ ี และผูส้ งู อายุและผูพ้ กิ ารได้รบั การเอาใจใส่ดแู ล จัดการศึกษา เด็กปฐมวัย (อนุบาล 3 ขวบ) สนับสนุนวัสดุการศึกษา ปรับปรุง ห้องเรียนและจัดหาครุภัณฑ์ของเด็กเล่นแก่เด็กอนุบาล 3 ขวบ จัดการแข่งขันกีฬาต�ำบลต้านยาเสพติดประจ�ำปี สนับสนุนการจัด ประเพณีสงกรานต์ จัดท�ำโครงการประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา สนับสนุนงานรัฐพิธีอ�ำเภอโพธิ์ทอง 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ พัฒนาด้านการพัฒนาส่งเสริมอาชีพฝึกทักษะ และส่งเสริมการ บริหารจัดการตลาด พัฒนาด้านการส่งเสริมสนับสนุนสินค้า OTOP หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ทั้ ง การพั ฒ นารู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ คุณภาพ และเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย ด้านการส่งเสริมและการ พัฒนาการเกษตรอินทรีย์ชีวภาพ ส่งเสริมปศุสัตว์และประมงให้ ปลอดภัยจากสารพิษ การพัฒนาด้านจัดตัง้ ศูนย์เทคโนโลยีการเรียน รูก้ ารเกษตร และการพัฒนาด้านการส่งเสริม ผลักดัน การท่องเทีย่ ว ของต�ำบล 4. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม รณรงค์ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ทัว่ ไป ให้มจี ติ ส�ำนึกในการอนุรกั ษ์ และการบริหารจัดการทรัพยากร 160

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งก่อสร้างพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์ สวนสาธารณะ ให้เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของประชาชน ปราบวัชพืช สองข้างทางริมคลอง ปลูกต้นไม้ ก�ำจัดวัชพืช บ�ำรุงและรักษา ความสะอาดบริเวณริมคลอง ถนนสายต่าง ๆ เพื่อปลูกจิตส�ำนึก ให้ ป ระชาชนหวงแหน และรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อมของชุมชน 5. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการที่ดี รณรงค์ ส่งเสริม สนับสนุนเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การมี ส่วนร่วมของประชาชน และเผยแพร่ประชาธิปไตยอย่างเคร่งครัด ส่งเสริมการมีสว่ นร่วม การบูรณาการร่วมกันกับภาครัฐ ภาคเอกชน องค์ ก รอิ ส ระ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น และประชาชน เพื่อพัฒนาองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาบุคลากรให้มี ศักยภาพพร้อมต่อการปฏิบตั งิ าน รวมทัง้ พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม อุปกรณ์ วัสดุครุภัณฑ์และสถานที่ ให้พร้อมต่อการปฏิบัติราชการ ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล และส่งเสริมสนับสนุนการป้องกัน บรรเทาสาธารณภัย และเหตุจากภัยพิบัติต่าง อบรมให้ความรู้แก่สมาชิก และพนักงานส่วนต�ำบล อย่าง ต่อเนือ่ ง ตามหลักสูตรที่กรมส่งเสริมฯก�ำหนด ซึ่งท�ำให้สมาชิกและ พนักงานมีความรูเ้ พิม่ มากขึน้ สามารถน�ำมาพัฒนาองค์กรให้ดยี งิ่ ขึน้ มี ก ารจั ด ประชาคมหมู ่ บ ้ า น/ต� ำ บลเพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ


ประชาชน เพือ่ น�ำมาพัฒนาชุมชน มีการบริการอินเตอร์เน็ตต�ำบล จัดหาหนังสือพิมพ์ประจ�ำที่อ่านหนังสือพิมพ์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ให้กับประชาชนให้มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และองค์การบริหารส่วน ต�ำบลอินทประมูลได้ดำ� เนินการจัดท�ำโครงการฝึกอบรม (อปพร.) จ�ำนวน 50 คน เพื่อเสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชน 6. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นทรั พ ยากรบุ ค คล และ ประสิทธิภาพการบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ สนับสนุนเกี่ยวกับศูนย์รวมข้อมูลข่าวจัดซื้อจัดจ้างจัด ให้มี การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน ให้มีทัศนคติ ที่เห็นคุณค่าของการท�ำงานบริกาiประชาชน อุดหนุน ศูนย์จัด ซื้อจัดจ้างเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพ และการบริหารงานศูนย์ รวมข้อมูลข่าวจัดซือ้ จัดจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ระดับ อ�ำเภอ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามโครงการท้องถิ่นไทยใสสะอาด

รายได้ขององค์การบริหาส่วนต�ำบลอินทประมูล รายได้ปีปัจจุบัน รวมทั้งสิ้น 26,626,456.38 บาท รายได้จากการที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลจัดเก็บเอง 161,110.35 บาท รายได้จากทรัพย์สิน 94,692.32 บาท รายได้เบ็ดเตล็ด 96,271.12 บาท รายได้จากสาธารณูปโภค 480,290.00 บาท รายได้จากการที่รัฐบาลจัดเก็บและจัดสรรให้ 12,580,975.59 บาท เงินอุดหนุนจากรัฐบา 6,330,444.00 บาท เงินอุดหนุนโดยระบุวัตถุประสงค์ 7,282,673.00 บาท เงินรางวัลส�ำหรับ อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดี 2,500,000.00 บาท ANG THONG 161


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายสมเกียรติ อินทรด�ำ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางพลับ

องค์การบริหารส่วนตำ�บลบางพลับ “สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนอย่างทั่วถึง พัฒนาการ ศึกษาและสาธารณสุข ดูแลผู้สูงอายุ คนพิการให้มี คุณภาพชีวิตที่ดี ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหาร งานอย่างโปร่งใส” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล บางพลับ อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ ว่าการอ�ำเภอโพธิ์ทอง 1.5 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสมเกียรติ อินทรด�ำ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบางพลับ

พันธกิจ

1. พั ฒ นาระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐาน สาธารณู ป การ สาธารณูปโภคให้ได้มาตรฐาน และครอบคลุมพื้นที่ เพื่อรองรับ การขยายตัวของเมืองในอนาคต 2. พัฒนา ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ สอดคล้องกับชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 162

3. พัฒนาการจัดการศึกษา การกีฬา และสังคมเชิงบูรณาการ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ชุมชนเข้มแข็ง สามารถพึง่ ตนเองได้อย่าง ยั่งยืน 4. พัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์ศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา และภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. พัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล เพือ่ การบริหาร ตามแบบบูรณาการ

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลนี้สันนิษฐานว่ามาจากค�ำว่า “บาง” ค�ำหนึ่ง และ “พลับ” อีกค�ำหนึ่ง ค�ำว่า “บาง” นั้น คงเนื่องมาจากว่าหมู่บ้านนี้อยู่ริมคลอง ซึ่งเป็นคลองเชื่อมแม่นำ�้ น้อย กับแม่นำ�้ เจ้าพระยา ส่วนค�ำว่า “พลับ” นั้นมาจากค�ำว่า “มะพลับ” เพราะที่หมู่นี้มีต้นมะพลับมากด้วย โดย เฉพาะอย่างยิ่งที่วัดกลาง มีต้นมะพลับขนาดใหญ่มาก ต่อมาจึงเลือน ลงเหลือค�ำว่า “พลับ” แต่เป็นทีน่ า่ สังเกตอย่างหนึง่ ก็คอื ว่าท้องทีต่ ำ� บล บางพลับมีวัดร้างอยู่ถึง 12 วัด ทั้ง ๆ ที่อยู่กลางทุ่งนา และริมคลอง บางพลับ จึงน่าจะเป็นสถานที่สำ� คัญในสมัยโบราณเป็นแน่


ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางพลับ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 11.16 ตาราง กิโลเมตร พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบลุม่ มีแม่นำ้� สายส�ำคัญไหลผ่าน คือ แม่นำ�้ น้อย มีคลองชลประทาน หนองน�ำ้ ธรรมชาติ มีปริมาณน�ำ้ เพียง พอต่อการท�ำการเกษตรตลอด องค์การบริหารส่วนต�ำบลบางพลับ มีจำ� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมดอยูใ่ น เขต อบต. จ�ำนวน 8 หมู่บ้าน ประกอบด้วย ต�ำบลบางพลับ ได้แก่ หมูท่ ี่ 1บ้านคลองน�ำ้ อาบ หมูท่ ี่ 3 บ้านบางพลับ หมูท่ ี่ 4 บ้านบางพลับ หมู่ที่ 5 บ้านท่าอิฐ และหมู่ที่ 6 บ้านท่าอิฐ ต�ำบลโพธิ์รังนก หมู่ที่ 1 บ้านบางกระแว่น หมู่ที่ 2 บ้านโพธิ์รังนก และหมู่ที่ 3 บ้านหนอง มีประชากรรวมทั้งสิ้นจ�ำนวน 4,579 คน จ�ำนวนครัวเรือน จ�ำนวน 1,431 ครัวเรือน แยกเป็นประชากรต�ำบลบางพลับทั้งสิ้น 2,783 คน จ�ำนวน 910 ครัวเรือน และประชากรต�ำบลโพธิ์รังนกทั้ง สิ้น 1,713 คน จ�ำนวน 521 ครัวเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพทางการเกษตรและหัตถกรรมเป็นหลัก และบางส่วนประกอบ อาชีพรับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม ในลักษณะไปเช้ากลับเย็น หรือ เข้าเป็นรอบกะ ANG THONG 163


จุดเด่นของพื้นที่

ในพืน้ ทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�ำบลบางพลับ มีแม่นำ�้ น้อยไหลผ่าน 1 สาย ทางด้านทิศเหนือของต�ำบล เป็นแหล่งน�ำ้ เพือ่ ใช้ในการเกษตร และเพื่ออุปโภคบริโภคที่ส�ำคัญของราษฎรในพื้นที่ โดยเฉพาะต�ำบล โพธิ์รังนกเป็นแหล่งปลูกชะอมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ

สภาพทางสังคม

การศึกษา โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา1 แห่ง ศูนย์การเรียนรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี 1 แห่ง ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บ้าน/หอสมุดประชาชน 3 แห่ง สถาบันและองค์กรทางศาสนา วัด/ส�ำนักสงฆ์ 3 แห่ง สาธารณสุข โรงพยาบาลของรัฐ 1 แห่ง สถานีอนามัยประจ�ำต�ำบล/หมู่บ้าน 2 แห่ง

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

พระธาตุเจดียศ์ รีโพธิท์ อง วัดท่าอิฐ อ�ำเภอโพธิท์ อง จังหวัดอ่างทอง วังปลาวัดข่อย อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง 164


เส้นทางสู่ AEC

คลินิกการเดินทาง และท่องเที่ยวรับ AEC กระทรวงสาธารณสุข เตรียมเปิด “คลินกิ การเดินทางและ ท่องเที่ยว” ใน 13 เขตสุขภาพภายในปี 2559 คาดรองรับนัก ท่องเทีย่ วประมาณปีละ 32 ล้านคน สร้างรายได้ประมาณ 1.62 ล้านล้านบาท โดยให้บริการคำาปรึกษาและดูแลสุขภาพก่อนและ หลังเดินทาง ฉีดวัคซีนป้องกันโรค ให้คำาแนะนำา ตรวจสุขภาพ และออกใบรับรองแพทย์ก่อนเดินทาง รวมถึงการรักษาโรคที่ เกิดจากการเดินทางท่องเที่ยว นายแพทย์ โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า กระทรวงสาธารณสุข ได้จดั ตัง้ “คลินกิ การเดินทางและ ท่องเที่ยว” ที่ สถาบันบำาราศ นราดูร เป็นแห่งแรกของกระทรวง สาธารณสุข และแห่งที่ 2 ของประเทศไทย เมื่อปี 2558 เพื่อ ให้บริการแก่ชาวไทยและต่างชาติ ที่เดินทางไปท่องเที่ยว ศึกษา ดูงาน ทำางาน ในประเทศต่าง ๆ คาดการณ์ว่าในปี 2560 จะมี นักเดินทางท่องเที่ยวสูงถึง 12 ล้านล้านคน สำาหรับประเทศไทยในปี 2558 มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเข้ามา 29.86 ล้านคน มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นในระดับดีมาก คาดว่า ปี 2559 รายได้ทางการท่องเที่ยวจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1.62 ล้าน ล้านบาท จากนักท่องเที่ยวต่างชาติประมาณ 32 ล้านคน โดย “คลินิกการเดินทางและท่องเที่ยว” จะให้บริการคำาปรึกษา และดูแลสุขภาพก่อนและหลังเดินทาง การฉีดวัคซีนป้องกัน โรค ให้คำาแนะนำาการป้องกันโรค ตรวจสุขภาพและออกใบรับ รองแพทย์ก่อนเดินทาง รวมถึงการรักษาโรคที่เกิดจากการ เดินทางท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์ฝึกอบรมแพทย์ประจำา บ้านสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงการเดินทางและท่องเที่ยว โดยจะเปิดการฝึกอบรมตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน 2559 รวมทัง้ มีแผน จะจัดตั้งคลินิกการเดินทางและท่องเที่ยว ให้ครบใน 13 เขต

เส้นทาง AEC

สุขภาพ ภายในปี 2559 เพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวอย่างทั่วถึง ทั้งนี้ การเตรียมตัวก่อนการเดินทางทั้งท่องเที่ยวและทำางาน เป็นเรื่องสำาคัญมาก มุมมองการเดินทางการท่องเที่ยวในมิติ ทางการแพทย์และการสาธารณสุข จะหมายถึงการเดินทางหรือ ท่องเที่ยวอย่างมีสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจ สังคม และปัญญา เนื่องจากการเดินทางมีความเสี่ยงจาก 3 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยด้านสุขภาพของผู้เดินทาง ได้แก่ วัย โรคประจำาตัว 2. ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเดินทางได้แก่ กิจกรรม ที่พัก และ 3. ปัจจัยด้านพื้นที่ ได้แก่ พื้นที่สูง พื้นที่ที่มีโรคระบาดหรือโรค ประจำาถิ่น ซึ่งการเตรียมพร้อมจะลดความเสี่ยงใน 3 ปัจจัย ดังกล่าว โดยเฉพาะในเรื่องของสุขภาพ

ANG THONG 165


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระอธิการสำ�อาง อภินนฺโท เป็นเจ้าอาวาส วัดโพธิ์ทองนอก

วัดโพธิ์ทองนอก วัดโพธิ์ทองนอก ตั้งอยู่บ้านโพธิ์ทอง หมู่ที่ 9 ต�ำบลค�ำหยาด อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดมีเนื้อที่ 15 ไร่ 5 ตารางวา ปัจจุบันมี พระอธิการส�ำอาง อภินนฺโท เป็นเจ้าอาวาส 166


ประวัติวัด

วัดโพธิ์ทองนอก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นราวสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนปลาย เดิมชื่อ “วัดโพธิ์ทอง” (ส�ำหรับวัดโพธิ์ทองในปัจจุบัน เดิมชือ่ ว่า วัดโบสถ์) เป็นวัดทีเ่ คยได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาแล้ว จดทะเบียนเป็นวัดตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2390 ในสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ต่อมาเมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จฯมาประทับร้อน เมือ่ คราวทีพ่ ระองค์เสด็จประพาสล�ำน�ำ้ น้อยและล�ำน�ำ้ ใหญ่ มณฑล กรุงเก่า ต่อมาวัดโพธิ์ทองนอกได้กลายเป็นวัดร้าง คงเหลือแต่ พระพุทธรูปปางสมาธิประดิษฐานอยูใ่ นวิหารทีท่ รุดโทรม และมีซาก ปรักหักพัง มีตน้ โพธิข์ นาดใหญ่ปกคลุมอยู่ ชาวบ้านเรียกพระพุทธรูป องค์นั้นว่า “หลวงพ่อขาว” ในปี พ.ศ. 2505 วัดนี้ได้รับการบูรณะ ขึน้ ใหม่อกี ครัง้ หนึง่ มีสถานะเป็นส�ำนักสงฆ์ และได้รบั การยกระดับ ขึ้นเป็นวัดโดยกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2527 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2532

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

“หลวงพ่อขาว” พระพุทธรูปศิลาแลง ทีส่ ร้างแยกเป็นส่วนต่าง ๆ แล้วน�ำมาประกอบเป็นองค์พระ ประดิษฐานเป็นพระประธานใน อุโบสถ เป็นพระที่ชาวบ้านเคารพศรัทธา และจะมาบนบานศาล กล่าวหรืออธิษฐานจิตขอให้หลวงพ่อขาวช่วยเหลือ ช่วยขจัดปัดเป่า ปัญหาความเดือดร้อนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมาขอน�ำ้ มนต์ ไปรักษาโรคภัยไข้เจ็บ ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อขาวที่ชาวบ้าน กล่าวขวัญถึงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ได้แก่เรื่องที่ชาวบ้านน�ำ เปลือกไม้จากต้นพิกุลพร้อมน�้ำสะอาดไปวางไว้หน้าหลวงพ่อขาว แล้วอธิษฐานขอให้เป็นโอสถทิพย์รักษาโรคภัยไข้เจ็บ เมื่อน�ำไป ต้มกินท�ำให้ผู้ป่วยหายจากโรคท้องร่วง และโรคอื่น ๆ ได้ หรือ ในโพรงต้นพิกุลมีเศษไม้ที่ย่อยสลายแล้วมีลักษณะคล้ายขี้กระต่าย ส่วนใหญ่ชาวบ้านจะน�ำไปกวาดคอให้เด็กเล็กเพื่อรักษาโรคซาง

เสนาสนะภายในวัด

ปั จ จุ บั น ยั ง ปรากฏฐานรากอุ โ บสถหลั ง เก่ า ที่ เ คยกระท� ำ สังฆกรรมมาแล้วในอดีต, ศาลาการเปรียญ (สร้างด้วยไม้) ยกพืน้ สูง ประมาณ 1 เมตร หอสวดมนต์ (สร้างด้วยไม้) กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้เรือนแถว (ปัจจุบันทรุดโทรมจนไม่เหลือสภาพ และมีการรื้อถอนออกหมดแล้ว)

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ปัจจุบนั พระอธิการส�ำอาง อภินนฺโท เจ้าอาวาสวัดโพธิท์ องนอก ก�ำลังสร้างก�ำแพงวัดจากโอ่งขนาดใหญ่ วัตถุปะสงค์เพื่อลด ค่าใช้จ่ายในการสร้างรั้วแบบเดิม ๆ อีกทั้งหากเกิดภาวะแล้ง อย่างหนัก ชาวบ้านที่ไม่มีน�้ำดื่ม-น�้ำใช้ก็สามารถน�ำน�้ำไปใช้ได้ ท่านเจ้าอาวาสคาดการณ์ว่าก�ำแพงวัดโดยรอบจะใช้โอ่งทั้งหมด ประมาณ 1,000 ใบ ขณะนี้ก่อสร้างไปแล้วประมาณร้อยละ 40 ใช้งบประมาณกว่า 1 ล้านบาท เมือ่ สร้างแล้วเสร็จทางจังหวัดจะ น�ำน�ำ้ ประปามาใส่ไว้ เพือ่ ให้ประชาชนทีข่ าดแคลนน�ำ้ สามารถน�ำ น�ำ้ ไปใช้ประโยชน์ได้ จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาร่วมสร้าง เส้นทางบุญ ด้วยการร่วมบริจาคทรัพย์เพื่อสร้างก�ำแพงโอ่งได้ โดยทางวัดจะสลักชื่อไว้ที่โอ่งให้ด้วย จึงอยากให้เขียเชิญชวน ผู้มีจิตรศัทธราร่วมก่อสร้างก�ำแพงโอ่ง ติดต่อท่านเจ้าอาวาส 087-1000429 ANG THONG 167


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

วัดคำ�หยาด วัดค�ำหยาด ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลค�ำหยาด อ�ำเภอโพธิท์ อง จังหวัดอ่างทอง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั คือ พระครูโฆสิตโชติธรรม (หลวงพ่อบุญลือ ฐานะโชโต)

168


ประวัติวัดค�ำหยาด

วัดค�ำหยาด มีประวัตคิ วามเป็นมาเกีย่ วเนือ่ งกับประวัตศิ าสตร์ สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย คือหลังจากที่สมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เสด็จสวรรคต กรมขุนพรพินติ เสด็จขึน้ ครองราชย์สมบัติ ทรงพระนามว่า “พระเจ้าอุทุมพร” เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 32 แต่พระองค์ทรง ราชการมิได้สะดวกพระทัย เพราะเจ้าฟ้าเอกทัศน์ผู้เป็นพระเชษฐา ประสงค์จะทรงครองราชย์สมบัตเิ สียเอง พระเจ้าอุทมุ พรจึงทูลถวาย ราชสมบัติแก่พระเชษฐา แล้วเสด็จออกไปทรงพระผนวชที่วัดเดิม (วัดอโยธยา) แล้วมาประทับอยู่ ณ วัดประดู่โรงธรรม แต่เมื่อพระเจ้าเอกทัศน์เสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว ไม่ทรงเป็นที่ เลื่อมใสของประชาชนและเสนาบดีทั้งปวง เมื่อพม่ายกทัพมาตีกรุง ศรีอยุธยา ประชาชนและเสนาบดีทงั้ หลายจึงร้องขอให้พระเจ้าเอก ทัศน์ทรงสละราชสมบัติ แล้วเชิญพระเจ้าอุทมุ พรให้ทรงลาผนวชมา บัญชาการศึกแทน ครั้งพม่ายกกองทัพกลับไปแล้ว กรุงศรีอยุธยาก็ วุ่นวายอีกเพราะพระเจ้าเอกทัศน์ทรงประสงค์จะครองราชย์สมบัติ ต่อไป พระเจ้าอุทุมพร จึงเสด็จออกจากพระราชวังไปประทับ ณ ต�ำหนักค�ำหยาด ซึ่งพระราชบิดาของพระองค์ทรงสร้างไว้ และ ทรวงผนวชที่วัดโพธิ์ทองที่อยู่ใกล้ ๆ กันนั้น แล้วเสด็จมาประทับ อยู่ที่วัดประดู่โรงธรรมตามเดิม คนทั่วไปจึงมักเรียกพระองค์ว่า “ขุนหลวงหาวัด” เพราะทรงออกผนวชบ่อย ในปี พ.ศ.2307 พม่ายกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาอีก พระเจ้าเอก ทัศน์รับสั่งให้นิมนต์พระราชาคณะเข้ามาอยู่เสียในก�ำแพงพระนคร เพื่อความปลอดภัย พระภิกษุเจ้าฟ้าอุทุมพรก็เสด็จมาด้วย ขุนนาง ข้าราชการจึงทูลขอให้ลาผนวชมาช่วยป้องกันพระนคร แต่เจ้าฟ้า อุทมุ พรเข็ดเสียแล้ว แม้ราษฎรจะเขียนหนังสือใส่บาตรจนเต็มตอน ออกบิณฑบาตก็ไม่ยอม จนปี พ.ศ.2310 กรุงศรีอยุธยาก็แตกเสีย เมืองแก่พม่า พระเจ้าเอกทัศน์หนีไปได้ แต่กต็ อ้ งสิน้ พระชนม์เพราะ อดพระกระยาหารขณะไปหลบซ่อนพม่า ส่วนพระเจ้าอุทมุ พรถูกจับ ส่งไปกรุงอังวะ พม่าให้ทรงลาผนวชแล้วจัดต�ำหนักให้ประทับทีเ่ มือง จักกาย และเสด็จสวรรคตที่เมืองนั้น

ประวัติหลวงพ่อบุญลือ ฐานะโชโต

หลวงพ่อบุญลือ ฐานะโชโต เจ้าอาวาสวัดค�ำหยาด เป็นชาว อ่างทองโดยก�ำเนิด วัยเยาว์ทา่ นเป็นเด็กวัดรางฉนวน อ.แสวงหา จ.อ่างทอง เป็นเด็กซุกซน ฉลาด ไหวพริบปฏิภาณดี อยูใ่ นความดูแล ของหลวงปู่ค�ำโป๋ (พระธุดงค์จากเวียงจันทร์ เคยศึกษาในส�ำนักวัด ประดู่ทรงธรรม อยุธยา ส�ำนักเดียวกับหลวงพ่อกลั่น วัดพระญาติ) หลังจากบวชเณรท่านไปอยู่กับหลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ เป็นศิษย์รับ ใช้ใกล้ชิด ภายหลังสึกจากเณร เป็นทหารเกณฑ์อยู่ที่ลพบุรี 2 ปี ช่วงเป็นทหารอยู่นั้น ท่านระลึกเสมอว่าอยากกลับมาบวช จนพ้น เกณฑ์ทหาร ท่านจึงกลับมาบวช และติดตามหลวงปูค่ ำ� โป๋ ธุดงค์ไป ถึงเมืองลาว และอีกหลายที่ จนมาจ�ำพรรษาอยู่ที่ถ�้ำมงคลนิมิตร ที่ จ.ลพบุรี อยู่หลายปี ปัจจุบันท่านด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดค�ำหยาด มีจริยาวัตร งดงามน่าเลื่อมใส เป็นพระหมอยาสมุนไพร และเป็นพระมีวิชา อาคมท่านหนึง่ เจ้าของตระกรุดหล่นในโบสถ์อนั ลือชือ่ (ท่านสืบทอด ตระกรุดตามต�ำราวัดประดู่ทรงธรรม) เจ้าของเบี้ยแก้ที่คลานไต่ได้ ฯลฯ เครื่องรางของขลังของหลวงพ่อมักจะมีชาวฮ่องกง มาเลเซีย อินเดีย สิงคโปร์มาบูชากันเสมอ

หลวงพ่อบุญลือ เล่าถึงการรักษาโรคของวัดค�ำหยาดว่า... “ต้องรู้ว่าเป็นโรคอะไร ได้ไปท�ำการตรวจที่โรงพยาบาลมาแล้ว หรือยัง หมอว่าอย่างไร แล้วจึงจัดยาโบราณให้เขาไป ค�ำว่ายา โบราณนั้นมีมาตั้งแต่ครั้งหมอชีวกโกมารภัจจ์ครั้งพุทธกาลโน่น แต่อย่างว่าเดี๋ยวนี้มันลบเลือนกันซะหมด ลืมค่าของโบราณจาร ย์อย่างที่พวกเราทั้งหลายก็มองเห็นกันอยู่ ยกตัวอย่างว่า ไฟลาม ทุ่ง ขยุ้มตีนหมา งูสวัด หมอเขาก็บอกว่าเชื้อไวรัส มันเรียนมา คนละอย่าง เขาเรียนไปในทางวิทยาศาสตร์กเ็ ลยเข้ากันไม่ตดิ ยก ตัวอย่างขึน้ ต้นไม้เหยียบกิง่ หักร่วงลงมาจากต้นไม้หวั แตก แขนหัก ซี่โครงหัก ไปหาหลวงปู่ หลวงตา หลวงลุงหรือปู่ยา่ อะไรต่าง ๆ ใช้นำ�้ มันมนต์เอามาประสานแผล เอามาประสานกระดูก เรียกว่า ต่อกระดูก แต่เดีย๋ วนีไ้ ม่ใช่อย่างนัน้ แล้ว ตัดเอาเหล็กใส่เลยเดินไม่ ได้กันอีก เพราะฉะนั้นไอ้เรื่องวิทยาศาสตร์กับไสยศาสตร์มันเลย เข้ากันไม่ติด แต่วา่ ฐานมันเข้าติดเพราะว่าเรียนมา 2 อย่าง”

ปูชนียวัตุ-โบราณสถานส�ำคัญ

ภายในวัดค�ำหยาดมีปชู นียวัตถุและโบราณสถานส�ำคัญ ดังนี้ พระต�ำหนักค�ำหยาด สภาพปัจจุบันมีเพียงผนัง 4 ด้าน แต่ยังคง เห็นเค้าความสวยงามทางด้านศิลปกรรม เช่น ลวดลายประตูซมุ้ จรน�ำ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงสันนิษฐาน ว่า พระต�ำหนักนีค้ งจะสร้างขึน้ ตัง้ แต่รชั สมัยสมเด็จพระบรมโกศ เพื่อเป็นที่ประทับแรม เนื่องจากมีพระราชนิยมเสด็จประพาส เมืองแถบนี้อยู่เนือง ๆ เช่นเดียวกับที่พระเจ้าปราสาททองทรง สร้างทีป่ ระทับไว้ทบี่ างปะอิน ปัจจุบนั นีก้ รมศิลปากรได้บรู ณะและ ขึ้นทะเบียนพระต�ำหนักค�ำหยาดเป็นโบราณสถานไว้แล้ว นอกจากนี้ยังมีโบสถ์เก่า พระพุทธไสยาสน์ พระบรมรูป เจ้าตาก หลวงพ่อมงคล พระพุทธชินราชซึ่งประดิษฐานในโบสถ์ หลังใหม่ ANG THONG 169


170


สำ�นักยันต์อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ที่พึ่งเย็นใจของคนทุกข์...ทุกคน การบูชาวัตถุมงคล เครื่องรางของขลัง หรือการสักยันต์ มีอยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน ด้วยความ ศรัทธาในฤทธานุภาพว่าจะช่วยป้องกันให้แคล้วคลาดจากภัยอันตราย ทำ�ให้อยูย่ งคงกระพัน เกิดเมตตามหานิยม หรือเมตตามหาเสน่ห์ ฯลฯ สำ�นักยันต์อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ เป็นสำ�นักที่มีชื่อเสียงแห่งจังหวัดอ่างทอง เพราะเจ้าสำ�นักคือ อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ นั้น ท่านสืบสายตระกูลสักยันต์มาจากรุ่นคุณปู่ทวด ผู้แก่กล้าใน ไสยเวทย์และอาคมต่าง ๆ ในสมัยรัชกาลที่ 5 นิตยสาร SBL ได้รับความเมตตาจากท่านอาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ให้สัมภาษณ์แบบเจาะลึกถึงประวัติ ความเป็นมาของท่าน อาจารย์ที่ท่านได้ฝากตัวเป็นลูกศิษย์ ประวัติการสร้างพระฤาษีตาไฟ ตลอดจนภารกิจการ อุปการะเลี้ยงดูเด็กกำ�พร้า และความมุ่งมั่นในการสร้างบ้านแก ตำ�บลหนองแม่ไก่ อำ�เภอโพธิ์ จังหวัดอ่างทอง ให้เป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก อ.สรรค์ คงเวทย์ ผูส้ บื สายสักยันต์มาแต่สมัย ร.5

อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ เป็นชาวบ้านแก ต�ำบลหนองแม่ไก่ อ�ำเภอโพธิท์ อง จังหวัดอ่างทอง ท่านเริม่ สนใจเรียนวิชาอาคมมา ตั้งแต่เยาว์วัย เนื่องด้วยบรรพบุรุษของท่าน คือ หมอปัด มังกร แก้ว ปู่ทวดของท่านเป็นอาจารย์สักยันต์มาตั้งแต่สมัยล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 และยังเป็นทหารม้ารักษาพระองค์ในล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 อีกด้วย ปู่ทวดของท่านนั้นมีต�ำราสมุดข่อยโบราณ เกี่ยวกับเวทย์มนต์ คาถา อักขระ และเลขยันต์ต่าง ๆ มากมาย ซึง่ ปัจจุบนั อาจารย์เป็นผูเ้ ก็บรักษาต�ำราต่าง ๆ อันเป็นมรดกทีห่ า ค่าเปรียบมิได้นี้ไว้เป็นอย่างดี อาจารย์สรรค์ เล่าถึงวัยเด็กของท่านว่า “ตอนเด็กได้เห็นคน ของขึน้ และเห็นสิง่ ลีล้ บั มากมาย จึงเกิดความสนใจในศาสตร์ลลี้ บั และสิง่ ทีเ่ หนือธรรมชาติ ท�ำให้เกิดความสงสัยมาตลอดเวลา และ นับเป็นความโชคดีทปี่ ทู่ วี มังกรแก้ว ซึง่ เป็นลูกของปูท่ วด ปูท่ วีจะ มีวิชาอาคม วันดีคืนดีแกก็จะปล่อยของ แกจะเรียกลูกหลานเข้า มาหาแล้วเสกฝุ่นทาตัวเรา และให้ลูกหลานไปหยิบมีดในครัวมา ลองฟัน ปรากฏว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีบาดแผลท�ำให้เลือดออก เลย ด้วยความที่เราเป็นเด็กได้เห็นสิ่งที่มันเร้นลับ เราก็อยากรู้ อยากลอง อยากเรียนรู้” ความกระหายใคร่ศกึ ษาในไสยเวทย์ตา่ ง ๆ ทีท่ า่ นได้รไู้ ด้เห็น มาจนชินตาในวัยเด็ก เกือบจะต้องพลาดโอกาสไป ด้วยสาเหตุ “ฝัง่ ย่าของอาจารย์กลัวว่าอาจารย์จะเก กลัวอาจารย์เป็นเสือเป็น

สาง เหมือนรุ่นลุง รุ่นป้า รุ่นอา เพราะว่าคนมีวิชาอาคมส่วน มากจะฮึกเหิม ลองของทุกวิธีที่จะท�ำได้ ฝั่งย่าก็กลัวว่าอาจารย์ จะเกเหมือนพี่ ป้า น้า อา เลยคิดจะเอาต�ำราของปู่ทวดตั้งแต่ สมัยรัชกาลที่ 5 ที่ตกทอดมาไปถวายวัด ย่าเอาต�ำราใส่ชะลอม ใส่ตะกร้าแล้วแขวนไว้ กะว่าพรุ่งนี้เช้าจะเอาไปถวายวัด พอตก กลางคืนต�ำรานีด่ นิ้ กระจายเกลือ่ นบ้านเลย ฝัง่ ย่าก็เดินเข้าไปหยิบ ใส่อย่างเก่า พอหยิบปุ๊บต�ำราก็ดิ้นอีกทีหนึ่ง แล้วย่าก็หงายท้อง ล้มลงแล้วพูด จากเสียงของผู้หญิงกลับพูดเป็นเสียงผู้ชายว่า.... กูมขี องดี พวกมึงไม่เรียน จะเอากูไปอยูว่ ดั ต้องมีคนเรียนต่อให้กู ฝั่งย่าคนที่ห้ามอาจารย์ก็เลยอนุญาตให้อาจารย์เรียนต่อ สืบสาน ต่อมา เลยเริ่มศึกษามา ปู่ทวีก็เริ่มสอนคาถาวันละตัว สองตัว หัดเขียนภาษาขอม หัดสักยันต์มาตั้งแต่เด็ก ๆ” วิธกี ารร�ำ่ เรียนคาถาอาคมของท่านนัน้ อาศัยตอนได้บบี นวด ให้แก่ปู่ทวี มังกรแก้ว ซึ่งท่านจะเมตตาต่อวิชาให้ทีละบทสองบท ในที่สุดปู่ทวีเห็นในความมุมานะ อุตสาหะของท่านจึงได้มอบ สรรพวิชาและต�ำราโบราณให้จนหมดทุกอย่าง และเมือ่ อ. สรรค์ คงเวทย์ ในวัยเด็ก ได้ยินชื่อเสียงของหลวงปู่หน่าย วัดบ้านแจ้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านจึงขอให้ปทู่ วีพาไปฝากตัวเป็นศิษย์ และร�่ำเรียนวิชาสายวัดบ้านแจ้งจนหมดสิ้นทุกอย่าง เมื่ออายุครบบวช อ. สรรค์ ได้อุปสมบทที่วัดโพธิ์เก้าต้น อ�ำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี และได้ศึกษาต�ำราว่านยาของ หลวงปู่ธรรมโชติ แห่งค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ซึ่งเป็น ANG THONG 171


พระในต�ำนานของไทยที่ชาวบ้านบางระจันเคารพยกย่อง และ เป็นก�ำลังใจในการต่อสูก้ บั ศัตรูกอ่ นทีจ่ ะเสียกรุงศรีอยุธยาในครัง้ ที่ 2 ซึ่งกาลต่อมาวิชาต่าง ๆ ของท่านพระอาจารย์ธรรมโชตินี้ ได้ตกทอดมายังวัดโพธิเ์ ก้าต้น อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ยังได้เล่า ให้ลกู ศิษย์ฟงั อยูเ่ สมอ ๆ ว่า...หลวงปูธ่ รรมโชตินนั้ ท่านเป็นพระที่ คงไว้ซึ่งความศักดิ์สิทธิ์จริง แม้ในปัจจุบันนี้ก็ตาม ดวงวิญญาณ ของท่านก็ยังคงดูแลลูกหลานชาวค่ายบางระจันอยู่ นอกจากนี้ท่านยังได้ต่อวิชาการท�ำตะกรุดโทนแคล้วคลาด คงกระพัน จากหลวงปู่ทองหยิบ ปัชโชโต วัดบ้านกลาง จังหวัด อ่างทอง ปรมาจารย์ผู้มีอาคมขลังระดับแถวหน้าของจังหวัด อ่างทอง โดยหลวงปู่ได้เมตตาถ่ายทอดวิชาอาคมให้จนหมด สิ้น และได้ต่อวิชากับ พ.ต.ท. ทองเจือ สุขทวี หรือ ปู่ทองเจือ มือปราบสมัย พลต�ำรวจตรี ขุนพันธ์รกั ษ์ราชเดช ตอนนีอ้ ายุ 92 ปี ซึง่ ปูท่ องเจือท่านเป็นศิษย์สาย หลวงปูส่ ขุ วัดปากคลองมะขาม เฒ่า จังหวัดชัยนาท และ อาจารย์สมพิศ สุขทวี (น้องชายของ ปูท่ องเจือ) ซึง่ เป็นศิษย์สายหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ท่านได้ถ่ายทอดวิชาพยัคโฆ พยัคฆา และ หนุมานชาตรี ปู่ทองเจือยังได้แนะน�ำให้รู้จักกับ ปู่เสือมเหศวร เภรีวงศ์ ซึ่งปู่ทองเจือ และปู่เสือมเหศวร ได้เคยประมือกัน จนปู่เสือมเหศวรได้วางมือจากการเป็นเสือปล้น และท�ำให้ได้ คบหาและแลกเปลี่ยนวิชากับปู่ทองเจือมาตลอด เมื่อปู่ทองเจือ เล็งเห็นแล้วว่า อาจารย์สรรค์นั้นมีความมุ่งมั่นตั้งใจจริง จึงให้ ไปต่อวิชากับปู่เสือมเหศวร ซึ่งได้ให้วิชาพญาเต่าเรือนใหญ่ 108 172

และหนุมานเหยียบหลังเสือ อันเป็นสายฤทธิ์เดชทรงมหาอ�ำนาจ สูงสุด หลังจากนั้น ท่านได้ไปต่อวิชากับพระอาจารย์ประสิทธิ์ และ พระอาจารย์บญ ุ พระชาวเขมรทีไ่ ด้ประสิทธิป์ ระสาทวิชาเมตตามหา นิยม เมตตามหาเสน่ห์ วิชาสร้างปู่ฤๅษี และวิชาเสือสมิง เมือ่ อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ได้ศกึ ษาวิชาจนแก่กล้าแล้ว จึงได้กลับ มาเปิดส�ำนักสักยันต์ทบี่ า้ นเกิด ณ ต�ำบลหนองแม่ไก่ อ�ำเภอโพธิท์ อง จังหวัดอ่างทอง ในขณะเดียวกันท่านยังได้ศึกษาเพิ่มเติมในวิชา มหาอุด คงกระพัน แคล้วคลาด กับหลวงปู่ทองหยิบ ปัชโชโต วัดบ้านกลาง จังหวัดอ่างทอง อยู่เรื่อย ๆ

ความขลังที่บอกกันปากต่อปาก

อาจารย์สรรค์เปิดส�ำนักสักยันต์ขึ้นเมื่อเกือบยี่สิบปีท่ีผ่านมา และด้วยความขลังในวิชาอาคมต่าง ๆ และความศักดิ์สิทธิ์ของ วัตถุมงคลของอาจารย์สรรค์ คงเวทย์ นี้เอง ท�ำให้ปัจจุบันนี้ท่านมี ลูกศิษย์มากมายจากหลากหลายจังหวัด เช่น ลพบุรี สิงห์บรุ ี อยุธยา กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชุมพร ฯลฯ แม้แต่ชาวต่างชาติเองก็เดิน ทางมาพึง่ บารมีทา่ นด้วย โดยสังเกตได้จากงานไหว้ครูในแต่ละปีนนั้ จะมีลูกศิษย์มากันคับคั่งทุกปี ทุกวันนี้อาจารย์ได้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆไม่ว่าเรื่องสักยันต์ ลงน�้ำมัน หรือลงทอง อาบน�้ำมนต์ พ่นน�ำ้ หมาก รักษาโรค รักษา ไข้ด้วยวิชาแผนโบราณ ฯลฯ ให้แก่สานุศิษย์ที่เดินทางไปยังส�ำนัก มากมายทุกวัน โดยเฉพาะวันเสาร์และอาทิตย์ จะมากันมาก เป็นพิเศษ แม้แต่ชาวต่างชาติยังศรัทธาในตัวท่าน


อาจารย์สรรค์กรุณาเล่าถึงวัตถุมงคลทีท่ า่ นสร้างขึน้ และได้รบั ความนิยมในหมู่ลูกศิษย์ “ที่สร้างมาก็มีหลาย ๆ รุ่น พอออกมาก็มีลูกศิษย์จับจองหมด ออกรุน่ ไหนมาก็ไม่เพียงพอกับลูกศิษย์ โดยเฉพาะรุน่ ครอบจักรวาล ส่วนที่สร้างชื่อเสียงให้อาจารย์รุ่นแรก ๆ ก็เป็นเศียรพระฤๅษีตา ไฟ ปางปาฏิหาริย์เปิดจักรวาลรุ่นแรก ที่อาจารย์สร้างขึ้นมา แล้ว ก็ตะกรุดโทน ที่มีประสบการณ์โดนจี้โดนปล้นโดนยิง แต่ไม่เป็นไร มีการออกข่าวทางหนังสือพิมพ์ ก็รสู้ กึ ดีใจทีล่ กู ศิษย์นำ� ไปใช้แล้วเกิด ประโยชน์ โดยเฉพาะคนที่ยึดมั่นถือมั่นในศีลธรรม ยึดมั่นในการ ท�ำคุณงามความดี การดูแลพ่อแม่ ไม่ลบหลู่ครูบาอาจารย์” เมื่อได้สอบถามท่านถึงสมญานามที่ลูกศิษย์ลูกหายกย่องท่าน ว่าเป็น “จอมขมังเวทย์แห่งเมืองอ่างทอง” นั้น ท่านได้ตอบว่า “ค�ำว่าจอมขมังเวทย์ของอาจารย์คือ เลื่องลือวิชาแคล้วคลาด และเมตตามหานิยม มากกว่าเรื่องภูตผีปีศาจต่าง ๆ ที่เรามอง ไม่เห็น อาจารย์ก็เปรียบเสมือนลูกศิษย์ทุกคนนั่นแหละ เป็นมนุษย์ เป็นคนธรรมดาเหมือนคนทั่วไป แต่ว่าอาจารย์ก็พอมีวิชาติดตัว อยู่บ้าง สิ่งของวัตถุมงคลอันใดที่อาจารย์มอบให้ลูกศิษย์ไปใช้แล้ว ขอให้ยึดถือคุณงามความดี ไม่ลบหลู่ครูบาอาจารย์ ไม่ลบหลู่พ่อแม่ ไม่ลบหลู่บุพการี สิ่งศักดิ์สิทธิ์นั้นจะคุ้มครองเรา”

พ่อพระในใจเด็กก�ำพร้าผู้ยากไร้

นอกเหนือจากท่านอาจารย์สรรค์ได้เปิดส�ำนักสักยันต์เพื่อ ช่วยเหลือผู้คนให้พ้นทุกข์แล้ว ท่านยังสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพือ่ ให้ความอุปการะเด็กก�ำพร้าในจังหวัดอ่างทอง รวมทัง้ ได้ชว่ ย เหลือโครงการอาหารกลางวันแก่เด็ก ๆ “ตอนนีอ้ าจารย์กเ็ ป็นประธานสร้างศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก ดูแล เด็กอยู่ 30 กว่าคน ของอาจารย์เองและอีกส่วนก็เป็นเด็กทีพ่ อ่ แม่ เลิกแยกทางกัน เด็กมีปญ ั หา ก็เอามาอยูก่ บั อาจารย์อกี 10 กว่าคน แล้วก็ดูแลโครงการอาหารกลางวันเด็กนักเรียนด้วย ปัจจัยส่วน ใหญ่ลกู ศิษย์กช็ ว่ ยอาจารย์บา้ ง อาจารย์กส็ กั ยันต์สว่ นหนึง่ อย่าง วัตถุมงคลที่ปล่อยได้ อาจารย์ก็แจกแจงเป็นโครงการอาหาร กลางวัน ศูนย์รับเลี้ยงเด็ก แล้วก็เด็กผู้ด้อยโอกาส” การอุปการะเด็กก�ำพร้านั้น ไม่เพียงแต่ท่านจะช่วยต่อชีวิต ณ ปัจจุบนั เท่านัน้ แต่ทา่ นยังได้สร้างอนาคตทีด่ ใี ห้กบั เด็ก ๆ เหล่า นัน้ โดยอาศัย “ ม้า” สัตว์ซง่ึ คุณปูท่ วดของท่านเคยมีความผูกพัน ในฐานะที่เป็นทหารม้ารักษาพระองค์ ในล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 “ตอนนี้อาจารย์มีโครงการขี่ม้าบ�ำบัด รักษาโรครักษาไข้ อยากให้ชุมชนเข้มแข็งให้เด็กมีหน้าที่การงานที่ดี และสอนเกี่ยว กับการปั้น การลงสีงานฝีมือศิลปะทุกอย่าง โดยมีการน�ำม้าออก ANG THONG 173


ยันต์ 9 ยอด ท�ำการแสดงแสง สี เสียง แสดงยุทธหัตถี ถ่ายท�ำภาพยนตร์ ช่วยงานบุญบวช งานแต่ง งานวัด งานผ้าป่า ม้าของอาจารย์ ก็จะไปร่วมทุกงาน ตกเย็นอาจารย์ก็จะพาลูกศิษย์ไปขี่ม้าชมทุ่ง ตามวิถไี ทยวิถชี าวบ้าน เด็กก็จะได้มคี วามรู้ ความสามารถ และ มีปจั จัยเลีย้ งตัวเขาเองและในด้านการศึกษาด้วย รายได้บางส่วน ก็ถวายวัด เอาม้าไปออกงานวัดโดยให้บริการขี่รอบละ 20 บาท บางทีกม็ ญ ี าติโยมทีม่ นี ำ้� ใจให้กบั เด็ก ๆ บริจาคให้แล้วแต่ศรัทธา เราจะตั้งบาตรไว้ รายได้จะเข้าวัดทุกบาททุกสตางค์” พระฤๅษีตาไฟ หนึ่งเดียวในสยาม ปัจจุบันในบริเวณที่ตั้งส�ำนักยันต์ อาจารย์สรรค์ยังได้สร้าง เป็นอุทยานปู่ฤาษีตาไฟ ปางปาฏิหาริย์เปิดจักรวาล องค์ใหญ่สูง 15 เมตร จากการนิมิตว่า “อาจารย์ได้นมิ ติ ว่าปูฤ่ ๅษีตาไฟอยูท่ วี่ ดั ร้าง ตรงข้ามกับส�ำนัก อาจารย์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ปู่ฤๅษีอยากให้อาจารย์ไปอัญเชิญ แกขึ้นมาแล้วก็สร้างให้องค์ใหญ่เท่ากับแทงค์น�้ำสูง 15 เมตร ในฝันนี้อาจารย์ได้คุยกับแกว่า...ถ้าปั้นสูง 15 เมตร จะต้องใช้ ปัจจัยที่สูงมาก ใช้เงินหลักหลาย ๆ ล้าน แกบอกว่าให้อาจารย์ รับปากแล้วแกจะช่วยอาจารย์ แล้วปู่ฤๅษีองค์นี้ก็ขี่จระเข้มารับ อาจารย์ แล้วบอกว่า...กูจะพามึงข้ามน�้ำข้ามทะเล พอมองไปก็ มีสายน�้ำ มีท้องฟ้า พอไปถึงฝั่งปุ๊บปู่ฤๅษีองค์นี้บอกว่า...ถึงแล้ว นะลูก กูพามึงข้ามน�ำ ้ ข้ามทะเลมาแล้วนะ ต้องท�ำตามทีร่ บั ปาก กับพ่อไว้ให้ได้ แล้วท่านก็โยนอาจารย์ลงฝั่งทะเลอีกฝั่งหนึ่ง พอลงฝัง่ ทะเลปุบ๊ ซักประเดีย๋ ว ก็มโี ทรศัพท์โทรเข้ามาว่าอยากเชิญ อาจารย์ไปสิงคโปร์ เขาจะมอบปัจจัยให้อาจารย์ 300,000 บาท อาจารย์จะไปไหม อาจารย์ก็ถามว่า....คุณพูดจริงหรือพูดเล่น เขาบอกพูดจริง คือมันประจวบเหมาะว่าปู่ฤๅษีองค์นี้จะพา อาจารย์ข้ามน�้ำข้ามทะเล พอตื่นขึ้นมาปุ๊บมีไกด์สิงคโปร์โทรมา หาอาจารย์ ถวายปัจจัยอาจารย์ 300,000 บาท เขาบอกว่าเทีย่ ง วันเขาจะโอนเงินเข้าบัญชีเขาก็โอนเข้ามาจริง ๆ เป็นนิมิตฝันที่ ดีมาก เป็นการจัดตั้งฤๅษีครั้งแรกของอาจารย์ มีเงินเข้ามาเพื่อ ซือ้ ทีแ่ ล้วลงเข็มก่อสร้างหมดไป 1,500,000 บาท ช่วงปีเดียวกัน นั้นอาจารย์เดินทางต่างประเทศตลอด ได้ปัจจัยมาสร้างอุทยาน พ่อฤๅษี แล้วฤๅษีองค์นี้อาจารย์ก็ปั้นเองแล้วก็มีพระพรรคพวก 174

กันช่วยกันปั้น ปั้นตามที่ฝันเห็นขึ้นมาเป็นองค์ที่ใหญ่องค์แรกใน ประเทศไทยยังไม่มีใครสร้างองค์เท่านี้ ชื่อเต็มว่า พระฤๅษีตาไฟ ปางปาฏิหาริย์เปิดจักรวาล หนึ่งเดียวในสยามองค์แรก” จากจุดเริ่มต้นในการสร้างพระฤๅษีตาไฟ อาจารย์สรรค์ยังมี ความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้อทุ ยานแห่งนีไ้ ด้มสี ว่ นในการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนบ้านแก ต�ำบลหนองแม่ไก่ อันเป็นบ้านกิดด้วย “ตอนนี้มีการท�ำตลาดนัดพบวิถีชาวบ้าน วิถีไทย บ้านนี้มีผัก ปลอดสารพิษอะไรก็เอามาขายกัน บ้านนี้ท�ำขนมอะไรก็เอามาขาย กัน บ้านนีม้ กี ว๋ ยเตีย๋ วผัดก็เอามาขายกัน เป็นการส่งเสริมชุมชนของ เรา อาจจะตัง้ ชือ่ เป็น ‘ตลาดนัดพบปูฤ่ ๅษีตาไฟ’ และตรงนีเ้ วลานัก ท่องเทีย่ วมาจากต่างจังหวัด หรือต่างประเทศ อาจารย์จะมีรถม้าพา ขีช่ มทิวทัศน์หมูบ่ า้ นของเรา มีทงุ่ นา ปัจจัยทีไ่ ด้จะให้เด็กทีม่ าอยูก่ บั อาจารย์เขาจะมีรายได้ และเป็นทุนการศึกษาของเขา” “และอีกส่วนหนึ่งคือ ม้าที่มีอยู่ประมาณ 20 กว่าตัว อาจารย์ จัดตั้ง ‘ศูนย์อนุรักษ์ม้าจังหวัดอ่างทอง’ ท�ำเป็นฟาร์มม้าที่ใหญ่ที่สุด ในจังหวัดอ่างทอง เพราะอ่างทองไม่มีม้า มีที่อาจารย์ที่เดียวที่มาก ทีส่ ดุ ถ้าม้าเป็นโรคเป็นไข้กร็ กั ษาแบบภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้านรักษาด้วย สมุนไพร และอาจารย์ตงั้ ใจจะท�ำเป็นสถานทีค่ ล้าย ๆ กับโฮมสเตย์ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นเชิงอนุรักษ์และเป็นธรรมชาติ โดย มีตลาดนัด รอบ ๆ โฮมสเตย์จะปลูกข้าว และเกี่ยวข้าวมาขาย ทั้งหมดที่อาจารย์สร้างขึ้นมาเพื่ออยากให้คนรู้จักหมู่บ้านแก ต�ำบล หนองแม่ไก่ อ�ำเภอโพธิท์ อง มากขึน้ อยากให้คนรูจ้ กั บ้านเราเยอะ ๆ อยากสร้างอะไรให้กับสังคม ให้กับหมู่บ้าน” งานไหว้ครูประจ�ำปีที่ใหญ่ที่สุดในอ่างทอง ทุก ๆ ปี ส�ำนักยันต์อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ จะจัดพิธีไหว้ ครูประจ�ำปีที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดอ่างทอง โดยรายละเอียดของ งานนั้น อาจารย์สรรค์ได้เล่าคร่าว ๆ ว่า จะมีขบวนแห่ม้าไม่ตำ�่ กว่า 100 ตัว ม้าจะเต้นถวายครูบาอาจารย์ เต้นถวายพระฤๅษี เต้นถวายวีรชนของจังหวัดอ่างทอง สิงห์บรุ ี สิง่ ทีเ่ ด่นในงานประจ�ำ ปีคอื จะมีพธิ ไี หว้ครู ครอบครู ครอบเศียรครู เพือ่ ให้เจริญในหน้าที่ การงาน เสริมดวงบารมี จะมีเกจิคณาจารย์ที่มีชื่อเสียงทั่วประเทศ และต่างประเทศมารวมกันที่ส�ำนัก ในช่วงมีนาคมและเมษายน (เดือน 5 ไทยตามต�ำราไทยโบราณ) ของทุกปี และมีการอัญเชิญ เทพทันใจจากประเทศพม่า โดยหลวงพ่อทีป่ ลุกเสกให้อาจารย์ และ


ปากต่อปากจากลูกศิษย์ถึงลูกศิษย์

เป็นพระที่สร้างเทพทันใจ ตอนนี้อายุ 104 ปี ท่านเป็นคนอัญเชิญ มาให้อาจารย์ ลูกศิษย์ต่างประเทศก็จะมากันมาก มีทั้งจากฮ่องกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ไต้หวัน มาเก๊า ญี่ปุ่น พม่า ฯลฯ

ฝากถึงผู้อ่าน

ก่อนจบการสัมภาษณ์ อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ได้ฝากถึงผู้ที่ ต้องการพึง่ ฤทธานุภาพของวัตถุมงคล ของขลัง หรือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ว่า “ท่านใดทีเ่ ข้ามา อันดับแรกเลยไปกราบไหว้ปฤู่ ๅษีตาไฟ แล้วก็ มาพูดคุยสนทนากับอาจารย์ในเรือ่ งของจุดประสงค์ทจี่ ะมาเช่าวัตถุ มงคล อาจารย์จะบอกเสมอว่าการเช่าวัตถุมงคลไปนัน้ มีสงิ่ ทีจ่ ะต้อง ยึดเหนี่ยว อันดับแรกคือ อย่าลืมพ่อแม่ อย่าด่า อย่าเถียง อย่าด่า คนอื่น อย่าเอาพ่อแม่มาล้อเล่นกัน เน้นรักษาศีล 5 เป็นหลัก พูดง่าย ๆ ว่าสิ่งที่เราได้ไปมันถึงจะประสบความส�ำเร็จ”

ส�ำนักสักยันต์อาจารย์สรรค์ คงเวทย์

สถานที่ตั้งต�ำหนักสักยันต์อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ 23/1 ม.4 ต.หนองแม่ไก่ อ.โพธิ์ทอง จ.อางทอง 14120 (ติดกับ องการบริหารส่วนต�ำบล หนองแม่ไก่) โทร. 035-870295, 086-0150245 www.arjansan.ob.tc, www.arjansan.com Facebook: cookieclassic@live.com Wechat: WEIXIN :S06015

คุณหยิก หยอกหยอย เจ้าของคณะตลกชื่อดัง ซึ่งเป็นหนึ่ง ในลูกศิษย์ที่ใกล้ชิดกับอาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ได้เล่าถึงสาเหตุที่ ท�ำให้วัตถุมงคลของอาจารย์ได้รับความนิยมว่า “อย่างผมได้ไปบูชา แล้วประสบเหตุกบั ตัวเอง ก็เลยปากต่อปาก ว่าของอาจารย์สุดยอด และจอมขมังเวทย์จริง ๆ มันลักษณะ เป็นปากต่อปากของลูกศิษย์นั่นเอง เลยท�ำให้เลื่องลือกันไปว่า อาจารย์สรรค์ คงเวทย์ เก่งเรื่องไสยเวทย์ สักยันต์ต่าง ๆ และ วัตถุมงคลสุดยอดจริง ๆ” “แล้วไม่กี่วันมานี้ ผมได้มาให้อาจารย์ลงอักขระ คุณเปี๊ยก หยอกหยอย ลูกน้องในคณะตลกหยิก หยอกหยอย ก็มาด้วย อาจารย์ก็ได้สนทนากับลูกน้องว่า...เอ็งชะตาขาดนะ ถ้าเป็นไป ได้ไปท�ำบุญตักบาตร ซื้อกับข้าวกับปลาให้พ่อแม่ทานก็ได้กุศล แต่เขาก็ไม่มีโอกาสได้ท�ำแล้ว ตอนนี้ลูกน้องผมได้เสียชีวิตแล้ว ด้วยอาการหัวใจล้มเหลว มันเป็นอะไรที่ไวมาก อาจารย์พูดไป ไม่เกิน 2 วัน แต่ใครจะคิดว่าตัวเองจะตายวันนั้น หรือหมดสิ้น บุญวันนั้น และผมก็คุยกับลูกน้องที่ตายว่า...ถ้าผมไม่สักยันต์วัน นั้นผมก็คงตาย ลูกน้องอีกคนบอกว่า...ดีแล้วพี่ไม่ตาย แต่ถ้าพี่ ตายก็ไม่เป็นไร เดี๋ยวผมเป็นเจ้าภาพให้ นี่ก็เป็นปาฏิหาริย์ของ หลวงปู่ฤๅษี และอาจารย์สรรค์ คงเวทย์ ที่ลงยันต์ให้ผม ผม ศรัทธาท่านมาก” “อยากเรียนเชิญท่านที่มีความไม่สบายใจ มาที่นี่แล้วจะมีความ รู้สึกสบายใจ แต่ถ้ามาแล้วยังรู้สึกว่าไม่สบายใจ ก็เดินเที่ยว เล่นก่อนได้ อย่าเพิ่งมาเช่าวัตถุมงคล อย่าเพิ่งมาหาอาจารย์ว่า อาจารย์ลงอักขระให้หน่อย มาเที่ยวก่อน มาเห็นก่อน มาเห็น การปฏิบตั ติ วั ของอาจารย์กอ่ น มาเห็นสถานทีก่ อ่ น มากราบไหว้ ปูฤ่ ๅษีเพือ่ ให้เกิดทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ แล้วผมอยากบอกอีกอย่างหนึง่ ว่า อาจารย์จะสอนเสมอว่า...อย่าไปยึดติด สิ่งที่ดีที่สุดคือ คุณ งามความดี ท�ำความดีไว้ อย่าลืมพ่อแม่ อย่าลืมครูบาอาจารย์ และอย่าลืมตัวเองว่าเกิดมาอย่างไร อย่าทะนงตัว” ANG THONG 175


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

ว่าที่ร้อยโท นายอำ อรรถชล ทรั พ ย์ ท วี �เภอสามโก้ “เส้นทางประวัติศาสตร์ ตลาดรวมผลไม้ ทำ�นาได้ตลอดปี สืบสานประเพณีเพลงพื้นบ้าน” คือค�ำขวัญของอ�ำเภอสามโก้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงศักยภาพ สภาพพื้นที่ และวิถีชีวิตของ ชาวอ�ำเภอสามโก้ได้อย่าง ชัดเจน อ�ำเภอสามโก้เป็นอ�ำเภอเล็ก ๆ อยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดอ่างทอง ห่างจากจังหวัดประมาณ 25 กิโลเมตร

ประวัติความเป็นมาของอ�ำเภอสามโก้

อ�ำเภอสามโก้ ในอดีตเป็นต�ำบลหนึ่งซึ่งขึ้นอยู่กับอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง โดยยกฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอเมื่อ วันที่ 10 ตุลาคม 2505 และยกฐานะเป็นอ�ำเภอเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2508 ชื่อ “สามโก้” เดิมเป็นชื่อหมู่บ้าน ตั้งอยู่บนล�ำบึงใหญ่มีน�้ำขังตลอดปี บ้านสามโก้ หรือบึงสามโก้นี้ มีความส�ำคัญทาง ประวัตศิ าสตร์เป็นอย่างมาก เพราะการเดินทัพท�ำสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับหงสาวดี ถ้าพม่ายกทัพมาทางด่านเจดีย์ สามองค์จะต้องเดินทัพผ่านสามโก้ทกุ ครัง้ ในพงศาวดารไทยรบกับพม่า ในพระราชนิพนธ์สมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ฉบับรวมเล่ม (พิมพ์ครั้งที่ 5) แสดงให้เห็นว่า ชื่อ “สามโก้” มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 2091 176


ข้อมูลทั่วไป

อ� ำ เภอสามโก้ แบ่ ง เขตการปกครองออกเป็ น 5 ต� ำ บล 37 หมู่บ้าน และการปกครองท้องถิ่นจ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลต�ำบลสามโก้ (ครอบคลุมพืน้ ที่ 3 ต�ำบล ได้แก่ ต�ำบลสามโก้ ต�ำบลมงคลธรรมนิมิตต�ำบลราษฎรพัฒนา รวม 24 หมู่บ้าน) องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิม์ ว่ งพันธ์ (ครอบคลุมพืน้ ที่ 7 หมูบ่ า้ น) องค์การบริหารส่วนต�ำบลอบทม (ครอบคลุมพื้นที่ 6 หมู่บ้าน) มีประชากรรวมทั้งสิ้น 19,380 คน ด้านเศรษฐกิจ อาชีพหลักคือการเกษตร ได้แก่ ท�ำนา ปลูกไม้ ดอกไม้ประดับ ท�ำไร่ ท�ำสวน มีทั้งไม้ผลและพืชผัก มีผู้ประกอบ อาชีพการเกษตร จ�ำนวนทัง้ สิน้ 3,144 ครัวเรือน พืน้ ทีก่ ารเกษตร 42,628 ไร่ พืชเศรษฐกิจ คือ ข้าว มะม่วง เมล่อน ฝรั่ง และพุทรา สัตว์เศรษฐกิจ คือ ไก่ เป็ด วัว สุกร

ผลิตภัณฑ์ OTOP ส�ำคัญ

อ�ำเภอสามโก้มีกลุ่มผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ได้รับการคัดสรรสุดยอด หนึ่งต�ำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ในปี พ.ศ. 2555 ระดับ 4 ดาว จ�ำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่มทอผ้ามัดหมี่ บ้านหน้าวัดโบสถ์หมู่ที่ 2 ต�ำบลสามโก้ และกลุม่ แม่บา้ นดอนกุม่ (กระยาสารท) หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลโพธิม์ ว่ งพันธ์ ระดับ 3 ดาว จ�ำนวน 2 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ กลุ่มสตรีอาสาพัฒนา (กะหรี่ปั๊บ) หมู่ที่ 2 ต�ำบลอบทม และกลุ่มเครื่องประดับลูกปัด หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลโพธิม์ ว่ งพันธ์ และระดับ 2 ดาว จ�ำนวน 1 ผลิตภัณฑ์ โดยในปีงบประมาณ 2558 กรมการพัฒนาชุมชนเปิดรับสมัคร กลุ่มผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) มีผู้ประกอบการมาลงทะเบียนจ�ำนวน 22 กลุ่ม จ�ำนวน 36 ผลิตภัณฑ์

2. กลุ่มส่งออกมะม่วงมงคลธรรมนิมิต ปัจจุบันได้จัดตั้ง เป็นกลุม่ วิสาหกิจชุมชนมะม่วงส่งออก มงคลธรรมนิมติ มีสมาชิก ทั้งในจังหวัดอ่างทองและสมาชิกเครือข่ายต่างจังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี สระบุรี ราชบุรีและสุพรรณบุรี มีพื้นที่ ปลูกมะม่วงของกลุ่ม 3,000 ไร่ มีสมาชิกทั้งหมด 103 ราย ส่วนสมาชิกจังหวัดอ่างทองมีอยู่ 64 รายพื้นที่ 1,800 ไร่ ระยะแรกผลิตมะม่วงส่งออกไม่เป็น ทางกลุ่มก็จะจัดสมาชิกไป แนะน�ำขัน้ ตอนวิธกี ารต่าง ๆ ตามกระบวนการผลิตมะม่วง GAP เพือ่ ผลิตมะม่วงส่งออก จนสามารถท�ำได้ พร้อมทัง้ หาตลาดติดต่อ กับบริษัทส่งออกให้ไปรับซื้อผลผลิตให้ 3. ศูนย์เรียนรู้การผลิตมะม่วงส่งออก เลขที่ 5 หมู่ที่ 1 ต�ำบลมงคลธรรมนิมติ อ�ำเภอสามโก้ โดย นายสุนทร สมาธิมงคล ปราชญ์ชาวบ้าน จุดเด่นของศูนย์ฯ คือการผลิตมะม่วงน�ำ้ ดอกไม้ ส่งออกต่างประเทศได้ตลอดปี ทัง้ ในตลาดญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ จีน โดยใช้เทคนิคการฝากท้องมะม่วงและการเปลีย่ นยอดมะม่วง การ ผลิตและใช้ฮอร์โมนไข่เพื่อปรับปรุงคุณภาพมะม่วง การผลิตน�้ำ หมักชีวภาพ ปุ๋ยหมักปุ๋ยคอก และการใช้ข่าสกัดก�ำจัดโรคแอน แทรกโนส 4. ผลิตภัณฑ์หนังใหญ่ งานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านที่ลำ�้ ค่า ซึ่งปัจจุบันมีการจัดตั้งขึ้นเป็นพิพิธภัณฑ์หนังใหญ่ของคุณครูวีระ มีเหมือน เลขที่ 119 หมู่ที่ 4 ต�ำบลมงคลธรรมนิมิต เพื่ออนุรักษ์ ศิลปหัตถกรรมและการแสดงหนังใหญ่แกะสลักด้วยลวดลายมี ความงดงาม และยังเป็นที่ศึกษาดูงานของนิสิตนักศึกษาจาก สถาบันการศึกษาต่าง ๆ อีกมากมาย 5. การแสดงเพลงพื้นบ้านร�ำโทน โดยคณะบ้านหน้า วัดโบสถ์ อ�ำเภอสามโก้ ซึ่งเป็นคณะที่มีพัฒนาการมายาวนาน และมีบทเพลงมาก การเล่นร�ำโทนของชาวสามโก้ ในอดีต เป็นการร้องร�ำเล่นเพลงต่าง ๆ มีเครื่องดนตรีให้จังหวะ ได้แก่ โทน ฉิ่ง และกรับ ในระยะต่อมาผู้คนนิยม “ร�ำวง” กันมาก เพราะจังหวะมีความเร้าใจมากกว่าและใช้เครื่องดนตรีสากลมา เล่นประกอบ ท�ำให้การเล่นร�ำโทนซบเซาลง จนกระทั่ง ปี พ.ศ. 2521 จึงมีการเผยแพร่การเล่นร�ำโทนโดยคณะบ้านหน้าวัดโบสถ์ สูเ่ ยาวชนในโรงเรียนต่าง ๆ ละแวกใกล้เคียง เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมพืน้ บ้านทีส่ ะท้อนถึงเรือ่ งราวแห่งความบันเทิงในระดับ ท้องถิ่น ที่มีความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับวิถีชีวิตชาวบ้าน และสภาพ สังคมในสมัยนั้นอย่างชัดเจน นับเป็นบทเพลงของชีวิตแห่งท้อง ทุ่งที่ทรงคุณค่า และควรแก่การอนุรักษ์สืบสานต่อไป

แหล่งเรียนรู้/วิสาหกิจชุมชนที่นา่ สนใจ

1. กลุม่ เกษตรรุน่ ใหม่ (Young Smart Farmer) เกษตรกรรุน่ ใหม่ หมายถึงผูท้ มี่ คี วามสนใจหรือประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร และเป็น Smart Farmer ที่มีรายได้ไม่ต�่ำกว่า 180,000 บาท/ครัว เรือน/ปี เป็นบุคคลที่มีคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในงานด้านการเกษตร แบบใหม่ ๆ ปัจจุบันอ�ำเภอสามโก้มีเกษตรกรรุ่นใหม่ จ�ำนวน 3 รุ่น โดยมีนายศุภชัย เณรมณี เป็นประธานเกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ของจังหวัดอ่างทอง ได้น�ำแนวคิดด้านเกษตร ทฤษฎีใหม่มาใช้ในการจัดการพื้นที่การเกษตร และวางรูปแบบการ บริหารจัดการผลผลิต และการตลาดที่เป็นระบบ เป็นศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบที่น่าสนใจ ANG THONG 177


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นางฐิตนายอำ ิลัก�ษณ์ แสงงาม เภอแสวงหา “แสวงหาถิ่นวีรชน งามเลิศล้นหัตถกรรม สวยล้ำ�ผ้าทอมือ เลื่องลือฟาร์มตัวอย่าง ยุคแรกสร้างบ้านคูเมือง รุ่งเรืองพระศรีศาสนา ปวงประชาล้วนเป็นคนดี” คื อ ค� ำ ขวั ญ อ� ำ เภอแสวงหา ซึ่ ง มี ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 5 ต� ำ บลแสวงหา จั ง หวั ด อ่ า งทอง โดยตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ ตะวันตกเฉียงเหนือ ห่างจากจังหวัดอ่างทองประมาณ 24 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นางฐิติลักษณ์ แสงงาม เป็น นายอ�ำเภอแสวงหา

วิสัยทัศน์

“แสวงหาเมืองน่าอยู่ เฟื่องฟูเกษตรกรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

ประวัติอ�ำเภอแสวงหา

อ�ำเภอแสวงหา มีหลักฐานแสดงว่าเป็นเมืองเก่าสมัยทวารวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15) จากการค้นพบของนักโบราณคดี พบร่องรอยของคูเมืองลักษณะเป็นคูน�้ำใหญ่ โอบล้อมรอบเมือง (บ้านคูเมือง ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอแสวงหา) หลักฐานที่พบ เช่น เศษภาชนะดินเผา กระดิ่งส�ำริด กระดูกสัตว์ ลูกหินกลม เศษภาชนะเผาเนื้อหยาบ ลายเชือกทาบ ลายกดทับ แบบผิวเรียบ ชิ้น ส่วนหินบดยา พระพิมพ์ดินเผา เป็นต้น 178


“แสวงหา” หมายถึง การเที่ยวหา การค้นหา เสาะหา สันนิษฐานว่าเดิมพื้นที่ของอ�ำเภอแสวงหาเป็นหมู่บ้านที่เต็มไปด้วย ป่าไผ่และพันธ์ไม้นานาชนิด มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่ชุกชุม พรานป่าล่า สัตว์ต้องเที่ยวเสาะหาสัตว์ในป่าบริเวณนั้นซึ่งมีเส้นทางทุรกันดาน มาก จึงได้ชื่อว่า “บ้านแสวงหา” และมีหมู่บ้านเรียกว่า “บ้าน พราน” ซึ่งเป็นชื่อต�ำบลหนึ่งในปัจจุบัน ท้องที่ต�ำบลแสวงหาเป็นที่ราบลุ่ม จึงมีคนมาจับจองอพยพ ถิ่นฐานมาท�ำมาหากินเป็นจ�ำนวนมากขึ้น ในราวปี พ.ศ. 2488 ต�ำบลสีบัวทอง ยังรกร้างด้วยป่าไผ่ เป็นที่หลบซ่อนของเหล่า อั น ธพาล เพราะมี แ นวเขตติ ด ต่ อ กั บ อ� ำ เภอสามชุ ก อ� ำ เภอ ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี และอ�ำเภอค่ายบางระจัน จังหวัด สิงห์บุรี ทางราชการจึงได้แต่งตั้งหน่วยปราบขึ้น ณ ต�ำบลแสวงหา เมื่อปี พ.ศ. 2491 ได้ยกฐานะเป็นกิ่งอ�ำเภอแสวงหา และยกฐานะ เป็นอ�ำเภอแสวงหา เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 ปัจจุบัน แบ่งเขตการปกครองเป็น 7 ต�ำบล จ�ำนวน 61 หมูบ่ า้ น การปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง และองค์การ บริหารส่วนต�ำบล 6 แห่ง

ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์

ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครัง้ สุดท้าย มีนายโชติ นายแท่น นายอิน และนายเมือง คนบ้านสีบวั ทอง ร่วมกับนายดอก นายทอง แก้ว คนบ้านกลับ ได้คุมสมัครพรรคพวกร่วมกับชาวแขวงเมือง วิเศษชัยชาญ รุกรบกับพม่าถึง 8 ครั้ง การรบครั้งที่ 4 บริเวณต้น สะตือ 4 ต้น บ้านห้วยไผ่ (ปัจจุบันคือ ต�ำบลห้วยไผ่ปรากฏหลัก ฐานมาจนทุกวันนี)้ เป็นสัญลักษณ์ทเี่ ซ่นสรวงดวงวิญญาณเลือดของ ชาวบ้านบางระจัน และแม่ทัพพม่าที่ตายในที่รบ

สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ

แหล่งท่องเทียวเชิงประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม หลวงพ่อไกรทอง วัดบ้านพราน พระพุทธรูปหินทราย อายุ กว่า 900 ปี วัดบ้านพราน เป็นวัดเก่าแก่สร้างระหว่างปี 1826 – 1870 ช่วงปลายกรุงสุโขทัย ต่อมาถูกทิ้งร้างกว่า 100 ปี วัดบ้านพราน มีวิหารที่ประดิษฐาน “หลวงพ่อไกรทอง” พระพุทธรูปนั่งปางสมาธิ เนื้อหินทราย อายุกว่า 900 ปี เล่าว่าสร้างโดยพ่อขุนศรีอินทราทิต ย์ ผูส้ ร้างเมืองสุโขทัย โดยวัดบ้านพรานได้จดั งานประจ�ำปีขนึ้ ในวัน ที่ 23-24 ตุลาคม ทุกปี เมืองโบราณบ้านคูเมือง ต�ำบลห้วยไผ่ บ้านคูเมืองมีการขุดคูดินล้อมรอบสี่ด้าน กว้างยาวด้านละ ประมาณ 400 เมตร ชั้นเดียวและมีคูนำ�้ ล้อมรอบ โดยชักน�ำ้ เข้า มาจากคลองซึง่ ขุดแยกมาจากแม่นำ�้ น้อย (ปัจจุบนั เรียกคลองเจ๊กฮะ) ปากคลองอยูใ่ นเขตอ�ำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บรุ ี ภายในมีกำ� แพง ดิน มีเนินดิน 3 เนิน ตามลักษณะเป็นเมืองโบราณขนาดเล็ก พบ ร่องรอยคูเมืองมีลักษณะเป็นคูน�้ำใหญ่โอบล้อมรอบเมือง มีผู้พบวัด ร้าง พระพุทธรูป เศษกระเบื้อง เครื่องถ้วยชาม เครื่องใช้สอย เชื่อ ว่าเป็นทีอ่ าศัยของผูค้ นมาช้านานเมืองโบราณ บ้านคูเมืองตัง้ อยูบ่ น เนินดินสี่เหลี่ยมมุมมนกว้างยาวด้านละ ประมาณ 300-400 เมตร

แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริ บ้านยางกลาง หมู่ที่ 3 ต�ำบลสีบัวทอง สืบเนื่องจากเมื่อปี พ.ศ. 2549 เกิดน�้ำท่วมภาคลาง โดย เฉพาะจังหวัดอ่างทอง ได้รับผลกระทบหนักที่สุด ครอบคลุม เกือบทั้งจังหวัด ไร่นา ประชาชนได้รับความเดือดร้อน สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงห่วงใยพสกนิกร ทรงมีพระราชด�ำริให้จัดหาที่ดินที่เป็นที่สูง น�้ำไม่ท่วมใช้ส�ำหรับ ท�ำฟาร์มตัวอย่างเป็นแหล่งจ้างงานของราษฎรที่ประสบอุทกภัย เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงปฏิบัติด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมใน ครัวเรือน เป็นธนาคารอาหารชุมชน (Food Bank) และเป็น ฟาร์มตัวอย่างของภาคกลาง จังหวัดอ่างทองได้ดำ� เนินการตามพ ระราชด�ำริ โดยจัดหาพื้นที่ราชพัสดุ บริเวณหมู่ที่ 3 ต�ำบลสีบัว ทองอ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นพื้นที่มีขนาดใหญ่ และมีระบบส่งน�ำ้ ชลประทานทีส่ มบูรณ์จำ� นวน 720 ไร่ 28ตาราง วา โดยเริ่มด�ำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 เป็นต้นมา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯเยี่ยม โครงการฯ ครั้งแรก เมื่อวันที่22 กุมภาพันธ์ 2550 , ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2551 ในปัจจุบันทางโครงการฯ มีการจ้าง แรงงานของราษฎรที่ประสบอุทกภัยให้เข้ามาท�ำงานในโครงการ ฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริฯ เพื่อให้ราษฎรมีรายได้สามารถ เลีย้ งตนเองและครอบครัว รวมทัง้ สิน้ 200 คน แยกเป็นแรงงาน จากต�ำบลสีบวั ทอง อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง และแรงงาน จากจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดสิงห์บรุ ี งาน “สดุดีวีรชนคนแสวงหา” การจัดงาน “สดุดีวีรชนคนแสวงหา” เพื่อประชาสัมพันธ์ แหล่งท่องเที่ยว ร่องรอยทางประวัติศาตร์และเรื่องราววีรกรรม ของนายโชติ นายแท่น นายอิน นายเมือง ชาวบ้านสีบัวทอง ผู้เข้าร่วมต่อสู้กับพม่าในศึกค่ายบางระจันในช่วงเดือนมีนาคม ของทุกปี กิจกรรมที่โดดเด่นคือ พิธีบวงสรวง และวางพวงมาลา อนุสรณ์สถานวีรชนคนแสวงหา ณ อนุสรณ์สถานวีรชน หมู่ที่ 4 ต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง , การประกวด ขบวนแห่ของดีอำ� เภอแสวงหาจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในพื้นที่ และการจัดการแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน

สินค้าของฝากขึ้นชื่อ อ.แสวงหา

1. วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตไผ่หวาน หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้าน พราน อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง จ�ำหน่ายหน่อไม้สดแปรรูป (ทุกชนิด) น�้ำพริกสูตรโบราณ (รสเด็ด) ผักดองปลอดสารพิษ หัวไชโป๊วหวาน และกิ่งพันธุ์ไผ่หวาน 2. ตะกร้าลายพิกุลสี่เหลี่ยม กลุ่มจักสานหวายไม้ไผ่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลศรีพรานอ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง 3. อินทร์โตฟาร์ม หมู่ที่ 1 ต�ำบลศรีพราน อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง จ�ำหน่ายแตงแคนตาลูปญี่ปุ่น 4. ต้นไม้ประดิษฐ์ กฤษดาพร ทองสมบัติ 134/1 หมู่ที่ 7 ต�ำบลแสวงหา อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง 5. ผ้าทอมัดหมีบ่ า้ นดอนบ่อ หมูท่ ี่ 8 ต�ำบลวังน�ำ้ เย็น อ�ำเภอ แสวงหา จังหวัดอ่างทอง ANG THONG 179


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

อุโบสถอัฐมุข (8มุข) พระอธิการแม้น ฉายา อตฺตสนฺโน (อดีตเจ้าอาวาส)

ศาลาการเปรียญ

วัดแก้วกระจ่าง

วัดแก้วกระจ่าง ตั้งอยู่ที่ 41 หมู่ที่ 6 ต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 24 ไร่ 3 งาน 14 ตารางวา ตามโฉนดเลขที่ 9487 ปัจจุบันมี พระครูวิบูลวรวัตร เป็นเจ้าอาวาส 180


พระศิวลี

พระพุทธรัตนมงคลแสนล้าน ปางประธานพร

ประวัติความเป็นมา

วัดแก้วกระจ่าง เดิมชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดยางอู่” เพราะ บริเวณสถานที่ตั้งวัดในขณะนั้นเป็นที่ดอนและมีต้นยางขึ้นอยู่เป็น จ�ำนวนมาก ทางด้านทิศตะวันตกจะมีล�ำธารทางน�้ำธรรมชาติไหล จากทางทิศเหนือลงทิศใต้ ต่อมานายจ่าง แมลงทับ ผูเ้ ป็นก�ำนันดูแล ในเขตต�ำบลสีบวั ทอง และนายแก้ว พลอยแสง ผูด้ แู ลช่วยเหลือทาง วัดร่วมกับบุคคลผู้มีศรัทธาอีกหลายท่าน ให้เป็นที่พักสงฆ์จนเป็นที่ ประกอบพิธีทางศาสนาส�ำหรับชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงบริเวณนั้น จึงเป็นที่มาของชื่อ “วัดแก้วกระจ่าง” มาจนถึงปัจจุบัน วัดแก้วกระจ่าง สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณปีพ.ศ. 2479 โดยมีนาย จุ่นและนางหอม แมลงทับ บริจาคที่ดินให้เป็นที่สร้างวัด ต่อมาใน ปีพ.ศ.2480 ทางราชการได้จัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาขึ้นที่วัดนี้ โดยอาศัยศาลาการเปรียญเป็นที่ทำ� การเรียนการสอน จนถึงปีพ.ศ. 2484 ได้จัดสร้างอาคารเรียนเป็นเอกเทศแล้ว แต่ยังตั้งอยู่ในที่วัด

ประวัติว่า “แม่แก้วประกายทอง”

ในพืน้ ทีต่ ำ� บลสีบวั ทอง มีบงึ ธรรมชาติทเี่ รียกกันว่า “บึงสีบวั ทอง” อยู่ทางทิศเหนือของวัดแก้วกระจ่าง ในเขตของหมู่ที่ 1 2 และ 5 ห่างจากวัดแก้วกระจ่างประมาณ 4-5 กิโลเมตร ต่อมาทางราชการ ได้มีโครงการท�ำเป็นที่กักเก็บน�้ำ โดยทางสถานีพัฒนาที่ดินได้มีการ ส�ำรวจและมีการสร้างงานพัฒนาแหล่งน�ำ้ ขนาดเล็ก เมื่อปี 25512552 ขณะทีร่ ถได้ขดุ ลอกอยูน่ นั้ ได้พบต้นไม้จมอยูใ่ ต้ดนิ ลึกประมาณ 4 เมตร (2 วาเศษ) จึงได้ขุดขึ้นมา พบว่าเป็นต้นตะเคียนทองซึ่ง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.50 เมตร (โคนต้นไม้) มีความยาว หรือสูงประมาณ 25 เมตร (10 วาเศษ) ต่อมาองค์การบริหารส่วน ต�ำบลสีบัวทองได้ถวายต้นตะเคียนทองให้กับวัดแก้วกระจ่าง และ วัดที่อยู่บริเวณใกล้เคียงอื่น ๆ อีก

พระพุทธรัตนมณีรัศมีโชติ ปางสมาธิ

วัดแก้วกระจ่าง โดยพระครูวิบูลวรวัตร เจ้าอาวาสวัด เห็น คุณค่าของไม้ตะเคียนนี้เพราะหาได้ไม่ง่ายนัก และหากทิ้งไว้ ในรูปแบบเดิม ๆ เราก็จะมองไม่เห็นคุณค่าและประโยชน์ สักเท่าใดนัก และความเชือ่ ตามคติชนของคนไทยทีม่ มี าทุกยุคทุก สมัยว่า ไม้ตะเคียนนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ มีเทพเทวดาที่เราเรียก ว่ารุกขเทวดาอาศัยอยู่ (ตามหลักในพระพุทธศาสนาก็ได้กล่าวไว้ ในพระไตรปิฎกอย่างชัดเจน) เจ้าอาวาสวัดแก้วกระจ่างจึงได้ว่า จ้างทีมงานวิสาหกิจชุมชนวังหลวง ซึง่ น�ำโดยนายรัฐการต์ จันทนุ หรือก�ำนันอรรถ (บ้านเลขที่ 99 หมู่ 2 ต.วังหลวง อ.หนองม่วงไข่ จ. แพร่) ด�ำเนินการแกะสลักต้นตะเคียนทอง ทีม่ คี วามสูง 5 เมตร รวมฐาน ให้เป็นรูปแม่ตะเคียนชื่อว่า “แม่แก้วประกายทอง” ดังทีป่ รากฏอยูน่ ี้ โดยตกลงท�ำสัญญาว่าจ้างในราคา 300,000 บาท มีก�ำหนดระยะเวลา 2 เดือน ตั้งแต่ 18 มกราคม พ.ศ. 2556 ส่งมอบงานวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556 ในปีเดียวกันทางวัดได้จัดงานบวงสรวงขึ้น เมื่อวันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยมีท่านอดีตผู้ว่าราชการจังหวัด อ่างทอง (นายวิศว ศะศิสมิต) และท่านนายอ�ำเภอแสวงหา (นายปริญญา เขมะชิต) ได้ให้เกียรติมาเป็นประธานเปิดป้ายชือ่ ที่ อยูแ่ ม่ตะเคียน และป้ายชือ่ แม่แก้วประกายทอง โดยการประสาน งานจากวัฒนธรรมอ�ำเภอ (นางประสบศรี เผือกประพันธุ์นัก วิชาการวัฒนธรรมช�ำนาญการ) วัตถุประสงค์เพื่อให้บุคคลทั่วไป ได้ตระหนักในศิลปกรรมทีท่ ำ� ด้วยมือ และเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล เป็นบุญเป็นกุศล จากความเชื่อและศรัทธาเชื่อมโยงสู่พระพุทธ ศาสนาในเบื้องต้น และจะเป็นสิ่งที่มีคุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ ของจังหวัดอ่างทองสืบต่อไป สนใจเยี่ยมชมวัด และขอพร “แม่แก้วประกายทอง” ติดต่อ สอบถามที่วัดแก้วกระจ่าง โทร. 0813 859 584 ANG THONG 181


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นาวาเอก คเน รักข�ำ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลศรีพราน

องค์การบริหารส่วนตำ�บลศรีพราน เกษตรน�ำหน้า ประชาเป็นสุข ยึดมั่นปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

ข้อมูลทั่วไป

1. ต�ำบลศรีพรานมีพื้นที่ประมาณ 12.113 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเป็น 6 หมู่บ้าน มีประชากร 2,537 คน หญิง 1,358 คน ชาย 1,179 คน ผู้สูงอายุ 456 คน ผู้พิการ 77 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 2 ตุลาคม 2558) 2. ศาสนสถานมี 2 แห่ง คือ วัดบ้านพรานและวัดบ้านแก 2.1 วัดบ้านพรานมีหลวงพ่อไกรทอง เป็น พระพุทธรูป หินทรายสมัยสุโขทัย อายุ 900 ปี ประดิษฐานอยูใ่ นวิหารรูปคล้าย เรือส�ำเภาจีน ปัจจุบันพระครูโกศลศาสนธรรม เป็นเจ้าอาวาส 2.2 วัดบ้านแก มีหลวงพ่อปางประทานทรัพย์เป็นทีส่ กั การ บูชาของพุทธศาสนิกชนมาอย่างยาวนาน ปัจจุบัน พระครูสุตตา นุยุต เป็นเจ้าอาวาส 182

3. โรงเรียน 2 แห่ง คือ โรงเรียนวัดบ้านพราน และโรงเรียน วัดบ้านแก 4. สถานพยาบาลโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับต�ำบล 1 แห่ง 5. แหล่งท่องเที่ยว บึงสาธารณะ 1 แห่ง 6. อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนาเป็นหลัก ท�ำสวนผลไม้เป็นบางส่วน อาชีพเสริมได้แก่ เลีย้ งสัตว์ และจักสาน


หลวงพ่อไกรทอง วัดบ้านพราน

หลวงพ่อปางประทานทรัพย์ วัดบ้านแก

ส่งเสริมพระพุทธศาสนา - อุปสมบทหมู่ - บวชเนกขัมมะ - งานประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีเผาข้าวหลามและอื่นๆ พระครูโกศลศาสนธรรมเจ้าอาวาส

วิหารหลวงพ่อไกรทอง

เผาข้าวหลาม

พระอุโบสถหลวงพ่อปาง

ประเพณีสงกรานต์

พระครูสุตตานุยุต เจ้าอาวาส

กิจกรรมบวชชี ANG THONG 183


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

ท�ำนา ท�ำสวน และปลูกพืชผักสวนครัว อบต.วังน�้ำเย็น แบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 9 หมูบ่ า้ น มีจำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ ประมาณ 6,600 คน ชายประมาณ 3,250 คน หญิง 3,350 คน

เป้าประสงค์การพัฒนา

นางณีรนุช ขวัญเกตุ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังน�้ำเย็น

องค์การบริหารส่วนตำ�บลวังน้ำ�เย็น “ต�ำบลวังน�้ำเย็น เป็นองค์กรที่พัฒนาการเกษตร อย่างก้าวหน้า มีคุณภาพชีวิตที่สมบูรณ์ และเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนาแบบองค์รวม” วิสยั ทัศน์ (Vision) ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลวังน�ำ้ เย็น อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ แสวงหาไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 12 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด อ่างทองประมาณ 30 กิโลเมตร ปัจจุบัน นางณีรนุช ขวัญเกตุ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลวังน�้ำเย็น

ข้อมูลทั่วไป

องค์การบริหารส่วนต�ำบลวังน�้ำเย็น ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2550 มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดโดยประมาณ 29.00 ตร.กม. หรือ คิดเป็น 16,987 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบ มีคลอง ชลประทานไหลผ่าน จึงเหมาะส�ำหรับการท�ำเกษตรกรรม เช่น 184

- เพิม่ ประสิทธิภาพผลผลิตภาคการเกษตรในชุมชนให้มคี วามเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้ - โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และสาธารณูปการได้มาตรฐาน - การพัฒนาคุณภาพชีวติ แก่เด็ก สตรี ผูส้ งู อายุ ผูด้ อ้ ยโอกาสในชุมชน ได้รับการสงเคราะห์ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น - ส่งเสริมการศึกษาเด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชนในพืน้ ทีม่ สี ว่ น ร่วมในการสืบสานประเพณี และวัฒนธรรมไทย และท้องถิ่น - พัฒนาระบบการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ บุคลากรขององค์กร ได้รับการพัฒนาศักยภาพ และประชาชนในพื้นที่ได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการด�ำเนินโครงการขององค์การบริหารส่วนต�ำบล

ผลการด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ

ผลการด�ำเนินงานด้านสังคม - สงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยพิเศษ - การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - การฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพของ อปพร. ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ - ส่งเสริมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ภายในพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล - ส่งเสริมการเกษตรในต�ำบล ผลการด�ำเนินงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน - พัฒนา และบ�ำรุงรักษาแหล่งน�้ำสาธารณะ - บ�ำรุงรักษาระบบประปาหมู่บา้ น ตลอดจนก่อสร้างระบบประปาให้ ทั่วถึง ผลการด�ำเนินงานด้านสาธารณสุข - รณรงค์และป้องกันโรคติดต่อ - ส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินโครงการของโรงพยาบาลส่ง เสริมสุขภาพต�ำบลวังน�้ำเย็น ผลการด�ำเนินงานด้านการเมือง การบริหาร - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท�ำแผนชุมชนและ แผนพัฒนาสามปี - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรม และผลการปฏิบัติงาน


- จัดหาวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จ�ำเป็นในการปฏิบัติงาน ผลการด�ำเนินงานด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ส่งเสริมการปลูกต้นไม้ตามแนวพระราชด�ำริ - ส่งเสริมการลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ ด้วยการให้ความรู้ใน การคัดแยกประเภทขยะ ผลการด�ำเนินงานด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนาธรรม - สนับสนุนการจัดกิจกรรมทางศาสนา งานประเพณีไทย และ ประเพณีท้องถิ่นในพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�ำบล - สนับสนุนงบประมาณตามโครงการอาหารเสริม (นม) และอาหาร กลางวันส�ำหรับนักเรียน

โครงการที่โดดเด่นของอบต.วังน�้ำเย็น

ประเพณีการแข่งขันเรือโปงในวันลอยกระทง อบต.วังน�้ำเย็น จัดประเพณีการแข่งขันเรือโปงในวันลอยกระทงเป็นประจ�ำทุกปี เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์เรือโปงที่ท�ำจากต้นตาล ซึ่งในอดีตชาวบ้าน ได้ใช้ในการสัญจรและหาปลาตามล�ำน�้ำมาอย่างยาวนาน โดยการ แข่งขันดังกล่าวได้รบั พระราชทานถ้วยรางวัลจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ มาเป็นระยะเวลา 20 กว่าปี

โครงการรดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ อบต.วังน�้ำเย็นจัดโครงการ รดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ เพื่อเป็นแสดงออกถึงความรักและเคารพต่อผู้ สูงอายุในต�ำบล และเป็นการสืบทอด อนุรักษ์ บ�ำรุงรักษาประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงามของสังคมไว้ โดยจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม ให้ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีสว่ นร่วมในการดูแลผูส้ งู อายุให้มี สุขภาพกายและจิตใจทีส่ มบูรณ์ สามารถเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วใจลูกหลาน ในต�ำบลวังน�้ำเย็นต่อไป

กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีไทย ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2546 โดยการน�ำของนายช้าม วรรณทอง ซึง่ เป็นปราชญ์ชาวบ้าน ครูผู้สอนและถ่ายทอดความรู้ด้านดนตรีไทย เพื่อสืบทอดศิลป วั ฒ นธรรมของชุ ม ชน โดยมี เ ด็ ก นั ก เรี ย นที่ ไ ด้ รั บ ความรู ้ จ าก กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีไทยแล้วน�ำไปประกอบอ�ำชีพหลายคน อบต. วังน�้ำเย็นจึงสนับสนุนงบประมาณเป็นประจ�ำทุกปี ความรู้จาก กลุ่มอนุรักษ์ดนตรีไทยแล้วน�ำไปประกอบอาชีพหลายคน อบต. วังน�้ำเย็นจึงสนับสนุนงบประมาณเป็นประจ�ำทุกปี กลุ่มทอผ้ามัดหมี่บ้านดอนบ่อ เป็นเป็นวิสาหกิจชุมชนที่เกิด จากการรวมตัวกันของชาวบ้านดอนบ่อ หมู่ที่ 8 ต�ำบลวังน�้ำเย็น และได้ขึ้นทะเบียนเป็นสินค้าโอท็อป ระดับ 4 ดาว เพราะเป็น ผ้าทอทีไ่ ด้ขนึ้ ชือ่ ว่ามีลวดลายทีส่ วยงามและประณีตมาก จึงเป็น ที่นิยมของผู้ที่ชื่นชอบน�ำไปตัดชุดไทยเป็นจ�ำนวนมาก และยังมี เครื่องจักสานที่เป็นสินค้าโอท็อปด้วย ANG THONG 185


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายกิตติ์ บุญประสพ นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลสีบัวทอง

หลวงพ่อแดง

องค์การบริหารส่วนตำ�บลสีบัวทอง “ศิษย์หลวงพ่อแดง แหล่งบัวบาน หลานปู่ปิ่น ถิ่นวีรชน คนท�ำเกษตร เขตชายแดน” องค์การบริหารส่วนต�ำบลสีบัวทอง เลขที่ 65/1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่หา่ งจาก อ�ำเภอแสวงหาระยะทางประมาณ 7 กิโลเมตร และห่างจาก จังหวัดอ่างทอง 32 กิโลเมตร ปัจจุบนั การปกครองมี 11 หมูบ่ า้ น ประชากร 6,900 คน ชาวบ้านส่วนใหญ่ท�ำอาชีพเกษตรกรรม

ความเป็นมาของต�ำบลสีบัวทอง

ต�ำบลสีบัวทอง มีชื่อมาจากสถานที่ตั้งของต�ำบล เนื่องจาก ต�ำบลแห่งนี้มีหนองน�้ำขนาดใหญ่อยู่ภายในต�ำบล และภายใน หนองน�ำ้ นัน้ ก็มดี อกบัวนานาพันธุอ์ ยูม่ ากมาย ซึง่ ชาวบ้านภายใน ท้องทีเ่ ห็นเป็นสิง่ มีคา่ เปรียบเสมือนทองค�ำ จึงพากันเรียกบึงแห่ง นี้ว่า “บึงสีบัวทอง” และได้ใช้ชื่อนี้เรียกเป็นชื่อของต�ำบลสีบัว ทองในที่สุด ต�ำบลสีบัวทองเป็นเมืองเก่า ที่พบหลักฐานการตั้ง 186

วีรชนชาวบ้านสีบัวทอง นายแท่น นายโชติ นายอิน นายเมือง

ศาลปู่ปิ่น

ถิน่ ฐานร่วมสมัยทวาราวดี (ราวพุทธศตวรรษที่ 13-15) เนือ่ งจากพบ หลักฐาน คืออุโบสถวัดสีบวั ทองและหลวงพ่อศิลาแดง พระพุทธรูป ที่เก่าแก่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลายราว พ.ศ. 2200 ต่อมา ถู ก ทิ้ ง ร้ า งไปอาจจะเป็ น เพราะศึ ก บางระจั น ที่ ผู ้ ค นอพยพไปยั ง ค่ายบางระจันกันหมดเพื่อรวมก�ำลังต่อสู่กับพม่า


โครงการ/กิจกรรมของ อบต.สีบัวทอง

ร่วมงานสดุดีวีรชนคนแสวงหา ณ บริเวณหน้าอ�ำเภอแสวงหา โดยขบวนของอบต.สีบัวทอง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ประเภทขบวนทั่วไป และได้รับรางวัลอันดับที่ 1 ประเภทขบวน ความคิดสร้างสรรค์ โครงการอบรมคุณธรรม จริยธรรม ณ วัดเรไร ต. สีบัวทอง อ. แสวงหา จ. อ่างทอง โดยมีพระวิทยากรมาบรรยายอบรมให้ความรู้ เรื่องคุณธรรม โครงการบริการจัดการขยะแบบมีสว่ นร่วมของหมูบ่ า้ นในชุมชน ต้นแบบ โดยมีประชาชนเข้าร่วมอบรมและเปลี่ยนความคิดมุมมอง ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนให้น่าอยู่ต่อไป โครงการรดน�้ำขอพรผู้สูงอายุ ประจ�ำปี 2559 ขององค์การ บริหารส่วนต�ำบลสีบัวทอง โครงการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างประหยัด จัดกิจกรรมปั่น จักรยานทุกวันศุกร์สิ้นเดือน ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ในโครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชด�ำริ หมู่ 3 บ้านยางกลาง ต�ำบลสีบัวทอง

ANG THONG 187


มิตลนิใสห์กมันแ่!ดด

ของเ

เ อ็ ก ซ ์ เ พ อ ริ โ อ

เลนส์กันแดดเอ็กซ์เพอริโอ คือนวัตกรรมใหม่ของแว่นกันแดด ที่มีโพลาไรส์เป็นฟิลเตอร์กรองแสง ซึ่งถูกสอดแทรกภายในเลนส์แว่นตา จึงมีประสิทธิภาพในการป้องกันอันตราย จากรังสียูวีเอและยูวีบีได้มากถึง 100%  สามารถแก้ปัญหาจุดด�ำที่มาจากแสงอาทิตย์ได้  ปัจจุบันมีจ�ำหน่ายมากกว่า 50 ประเทศทั่วโลก

การสวมใส่เลนส์กันแดดเอ็กซ์เพอริโอ มีประสิทธิภาพมากกว่าเลนส์ท่ัวไปอย่างไร • ความสบายของดวงตา แก้ปัญหาความคมชัดที่ไม่เท่ากัน และให้สีที่เสมือนจริง  • มีสีให้เลือกหลากหลาย คือ สีน�้ำตาล เทา เทาอมเขียว  • มีหลากหลายแบบเพื่อให้เหมาะสมกับทุกปัญหาสายตา จึงสวมใส่ได้ทุกค่าสายตา  • ครอบคลุมถึงดีไซน์และวัสดุที่มีมากที่สุดในตลาด มีทั้งเลนส์ชั้นเดียว  แบบ bifocal และเลนส์โปรเกรสซีฟวารีลักซ์

ไม่ว่าคุณจะมีปัญหาสายตาแบบไหน คุณจะประทับใจในเลนส์กันแดดเอ็กซ์เพอริโอ  ในทุก ๆ สถานการณ์ภายใต้แสงอาทิตย์

ครีซอล ซัน กันรังสียูวี 360°

ครี ซ อล ซั น  คื อ วั ส ดุ เ คลื อ บพื้ น ผิ ว เลนส์ ที่ ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ใช้ กั บ แว่ น กั น แดด เอ็กซ์เพอริโอ เพราะสามารถกันรังสียูวีได้ 360° ป้องกันรังสียูวีที่สะท้อนโดยใช้เลนส์อีก ฝั่งหนึ่ง และลดช่วยลดปัญหาการขีดข่วน ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส�ำ คัญของแว่นกันแดด ที่จะช่วย ป้องกันสายตาของคุณ และเป็นการลงทุนระยะยาวที่คุ้มค่า

ประโยชน์ของผู้สวมใส่แว่นกันแดด เอ็กซ์เพอริโอ ครีซอล ซัน • ใช้เทคโนโลยี Physiotint ท�ำให้มองเห็นสีเสมือนจริง เพื่อความสุขในการมองเห็น และความสบายของผู้สวมใส่ • ลดความเมื่อยล้าของสายตาระหว่างวัน • เหมาะส�ำหรับการปกป้องสายตาในระยะยาว • เหมาะสมกับกิจกรรมกลางแจ้ง จึงให้ความสนุกสนานแก่ผู้ใส่อย่างไม่มีขีดจ�ำกัด


r e m m Su สุด Hot  โปรโมชั่น Essilor กับ

สุดฟิน จาก

ซื้อเลนส์ Crizal Eyezan 3 in 1 Car Charger. รับฟรี ซื้อเลนส์

Crizal Transitions XTRActive รับฟรี

เริ่มวันที่ 1 ม  แก้วไฮเทคชง อัตโนมัติ

่ -ว 30น เมษาย !น  2559 เท่านั้น ด ีนาคม

ด ั ก ำ � จ น ว น ำ � จ ี ม า ้ ค สิน

บริษัท แว่นรักษ์ตา จ�ำกัด

ส�ำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 258/46 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทร. 055 334 028, 0862 155 885 ส�ำนักงานสาขา 1 ตั้งอยู่เลขที่ 243 ม.1 ต.จรเข้ร้อง อ.ไชโย จ.อ่างทอง โทร. 055 334 028, 0862 155 885


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นางบุญเชิด สิงห์ห่วง นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยไผ่

องค์การบริหารส่วนตำ�บลห้วยไผ่ “ชุมชนเข้มแข็งน่าอยู่ สาธารณูปโภค สาธารณูปการครบครัน ใส่ใจสุขภาพอนามัย ร่วมใจรักษาทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษามีคุณภาพ มุ่งมั่นบริการประชาชน” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยไผ่ หมู่ที่ 2 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง โดยตั้ง อยู่ห่างจากอ�ำเภอไปทางทิศเหนือประมาณ 6 กิโลเมตร และอยู่ ห่างจากจังหวัดประมาณ 32 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นางบุญเชิด สิงห์หว่ ง เป็น นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลห้วยไผ่ และนายนิยม คมข�ำ เป็นปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลห้วยไผ่

ประวัติความเป็นมา

ต�ำบลห้วยไผ่ เป็นหนึ่งใน 7 ต�ำบล ของอ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง จากหลักฐานที่ปรากฏอยู่บริเวณบ้านคูเวียง 190

ต�ำบลห้วยไผ่ สันนิษฐานว่าบ้านคูเวียงเป็นเมืองโบราณ ทีม่ มี าแต่สมัย ทวารวดี หรือประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-13 แต่ถูกทอดทิ้งให้ร้าง สลับกับการกลับมาตั้งถิ่นฐานใหม่ กระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี มีหลักฐานส�ำคัญ ได้แก่ วัดไทร วัดหลวงวัง ซึ่งมีการขุด พบวัตถุโบราณในบริเวณวัดดังกล่าว อันแสดงถึงการตั้งถิ่นฐานของ ชาวชุมชนแห่งนี ้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พื้นที่ต�ำบลห้วยไผ่เป็นสนามรบ ป้องกันการรุกรานของทัพพม่า ถึง 7 ครั้ง ปัจจุบันปรากฏหลักฐาน ธรรมชาติ คือ ต้นสะตือใหญ่ (บริเวณทิศใต้ของหมู่ที่ 3 หมู่บ้านห้วย ไผ่เหนือ) พม่าเข้าตีคา่ ยบางระจันครัง้ ที่ 4 ชาวบ้านห้วยไผ่รวมกับชาว บ้านบางระจัน ได้ยกก�ำลังออกตัง้ รับต่อสูท้ พั พม่าจนได้รบั ชัยชนะ และ ฆ่าสุรินทร์จอฉ่องแม่ทัพพม่าตาย ณ ต้นสะตือใหญ่ หลังจากสิ้นสมัย กรุงศรีอยุธยา ชาวบ้านห้วยไผ่ต้องอพยพภัยสงครามไปที่อื่น ต่อมา ภายหลังได้มรี าษฎรเข้ามาบุกเบิกทีด่ นิ ท�ำกิน และตัง้ เป็นชุมชนขึน้ ใหม่


ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลห้วยไผ่ ตัง้ อยูบ่ นสองฝัง่ ล�ำน�ำ้ ธรรมชาติสายหนึง่ แต่เดิม ล�ำน�ำ้ สายนีม้ ตี น้ ไผ่ปา่ ขึน้ อยูท่ วั่ ไปเป็นจ�ำนวนมากตลอดสาย ด้วยเหตุ นีล้ ำ� น�ำ้ ธรรมชาติและชุมชนสองฝัง่ ล�ำน�ำ ้ จึงได้ชอื่ ว่า “ล�ำน�ำ้ ห้วยไผ่” และทางราชการได้ยกฐานะชุมชนห้วยไผ่เป็นต�ำบลห้วยไผ่ เมื่อปี พ.ศ. 2490 และด้วยเหตุผลที่สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลาบลุ่ม มีลำ� น�ำ ้ (คลองใหญ่) ไหลผ่าน จึงเหมาะส�ำหรับท�ำการเกษตร ดังนัน้ ราษฎรส่วนใหญ่จงึ มีอาชีพท�ำนา และทางราชการได้กำ� หนดให้ตำ� บล ห้วยไผ่ เป็นเขตจัดรูปที่ดินทั้งต�ำบล

ANG THONG 191


ปัจจุบันต�ำบลห้วยไผ่ มีทั้งหมด 5 หมู่บ้าน เนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 12.10 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,563 ไร่ โดย มีพื้นที่ท�ำการเกษตรประมาณ 6,763 ไร่ พื้นที่อยู่อาศัยประมาณ 500 ไร่ และพื้นที่สาธารณประโยชน์ประมาณ 300 ไร่ และมี เขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลบางระจัน อ�ำเภอค่ายบางระจัน ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลจ�ำลอง อ�ำเภอแสวงหา ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลโพประจักษ์ อ�ำเภอท่าช้าง ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลแสวงหา อ�ำเภอแสวงหา

สินค้า OTOP ส�ำคัญ

1. กล้วยตาก โดยกลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรหลวงวังพัฒนา เลขที่ 42 หมู่ 4 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง 2. เกสรดอกไม้ประดิษฐ์ โดยบ้านแสวงสุข หมูท่ ่ี 1 ต.ห้วยไผ่ อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 3. เฟอร์นิเจอร์จากก้านตาล โดยเสถียรผลิตภัณฑ์จาก ก้านตาลเลขที่ 55/1 วัดยาง หมู่ 5 ต.ห้วยไผ่ อ.แสวงหา จ.อ่างทอง 4. ผลิตภัณฑ์เศษผ้า โดยเด่นผลิตภัณฑ์เศษผ้า เลขที่ 88/1 วัดยาง หมู่ 5 ต.ห้วยไผ่ อ.แสวงหา จ.อ่างทอง

192

จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่างทอง จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่างทอง


เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต

พระครูวิสุทธิชัยคุณ เจ้าอาวาสวัดมหานาม

วัดมหานาม

วัดมหานาม ตั้งอยู่ที่บ้านมหานาม หมู่ที่ 4 ต�ำบลไชยภูมิ อ�ำเภอไชโย จังหวัด อ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 30 ไร่ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือ พระครูวิสุทธิชัยคุณ ประวัติวัดมหานาม

วัดมหานาม สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2319 เดิมเรียกว่า “วัดอินทราราม” ต่อมา พระมหาระนาม มาจ�ำพรรษาทีว่ ดั นี้ และ ได้ดำ� เนินการก่อสร้างกุฏสิ งฆ์ และศาลาบ�ำเพ็ญบุญขึน้ พร้อมทัง้ ยังชักชวนพระภิกษุจากอารามอื่นให้มาอยู่จ�ำพรรษา ชาวบ้านจึง ได้มาท�ำบุญ จ�ำศีลในวันเข้าพรรษา และอุปสมบทที่วัดได้อย่าง สะดวกสบาย ชาวบ้านจึงได้ขนานนาม “วัดอินทรารามนามมหา” ต่ อ มาเรี ย กให้ ก ระชั บ ว่ า วั ด มหานาม ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาประมาณ พ.ศ. 2353 มีโรงเรียนของทางราชการ ตั้งอยู่ที่วัดนี้ด้วย

เสนาสนะและปูชนียวัตถุสำ� คัญ

อุโบสถ บูรณปฏิสังขรณ์ เมื่อพ.ศ. 2505 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2485 ฯลฯ ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ คือ หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปเก่าแก่สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา

ประวัติหลวงพ่อขาว

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพ ไปปราบกองทัพพม่า และทรงตัง้ ทัพพักแรม ณ ต�ำบลชะไว และได้ มีการรบกับทัพพม่าที่ทุ่งบางขัน ต�ำบลสระเกษ ปัจจุบันนี้เรียนว่า ต�ำบลชัยภูมิ และมีชยั ชนะแก่ขา้ ศึก ชาวบ้านแถว ๆ นัน้ ได้รว่ มกัน จัดสร้างพระพุทธรูปปูนปัน้ ขึน้ จ�ำนวน 1 องค์ เพือ่ เป็นอนุสรณ์บริเวณ พลับพลาที่ประทับเพื่อไว้สักการะบูชา ต่อมาชาวบ้านจึงเรียก พระพุทธรูปนี้ว่า “หลวงพ่อขาว” ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จฯไปทรงรับ ช้างเผือก และทรงประทับแรมอยู่บริเวณนั้น เมื่อได้เสด็จฯไป นมัสการสักการะองค์หลวงพ่อขาว ทรงตรัสชมว่า “หลวงพ่อขาว องค์นี้ ขาวดีมาก” ชาวบ้านจึงเรียก “หลวงพ่อขาว” เรื่อยมาตราบ เท่าทุกวันนี้ หลวงพ่อขาวมีความศักดิส์ ทิ ธิม์ าก เป็นทีเ่ คารพเลือ่ มใส และมีผมู้ าบนบานขอพรและมาแก้บนทุกวัน ท�ำให้หลวงพ่อมีชอื่ เสียง โด่งดังไปหลายจังหวัด ปัจจุบนั วัดมหานามได้จดั งานนมัสการปิดทอง หลวงพ่อขาว 2 วัน 2 คืน ในช่วงวันที่ 10-20 มีนาคม ของทุกปี ANG THONG 193


เส้นทางพบ นายอำ�เภอ

นายสมยศ วิ ช ากร นายอำ�เภอไชโย “หมูทุบลือเลื่อง พระเครื่องเกษไชโย ผักตบโชว์จักสาน มะกรูดหวานเชื่อมใจ” คือค�ำขวัญของอ�ำเภอไชโย ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือของจังหวัดอ่างทอง ริมถนนสายเอเชีย ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 32 บริเวณหลักกิโลเมตรที่ 110 ห่างจากจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 12 กิโลเมตร

ประวัติความเป็นมา

นามของอ�ำเภอไชโย เกิดจากเหตุการณ์หนึ่งในประวัติศาสตร์สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กับสมเด็จพระเอกา ทศรถ (พระอนุชา) ได้กรีฑาทัพไล่รุกตีทัพพระเจ้าเชียงใหม่ และกองทัพพม่า แตกพ่ายไปในปี พ.ศ.2128 เมื่อกองทัพ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้รับชัยชนะ พวกไพร่พลในกองทัพต่างก็เปล่งเสียง “ไชโย” เป็นการแสดงออกถึงความยินดี และสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสระเกศา ณ ที่นี้ (วัดสระเกษ ต�ำบลไชยภูมิ แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ) จึงได้ชื่อว่า บ้านไชโย ข้อสันนิษฐานของพระยาโบราณราชธานินท์ (พรเตชะคุปต์) ที่สอดคล้องกับ พระราชพงศาวดารทีว่ ่า บ้านไชโย คงจะตั้งเพื่อเป็นที่ระลึกในชัยชนะของพระองค์ในการรบกับพระเจ้าเชียงใหม่ และชื่อของต�ำบลต่าง ๆ ของอ�ำเภอไชโยจะ มีความหมายทางชัยชนะ และเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ 194


ข้อมูลทั่วไปอ�ำเภอไชโย

อ�ำเภอไชโย มีพื้นที่ 72.326 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 45,178 ไร่ แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 9 ต�ำบล 51 หมู่บ้าน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 แห่ง ได้แก่ ทต.เกษไชโย ทต.ไชโย อบต.ชัยฤทธิ์ อบต.เทวราช และอบต.ราชสถิตย์ มีจำ� นวนประชากร ทั้งสิ้น 22,947 คน จ�ำนวน 6,760 หลังคาเรือน (ข้อมูลส�ำนัก ทะเบียนอ�ำเภอไชโย ถึงวันที่ 30 มกราคม 2556)

จุดเด่นของอ�ำเภอไชโย

อ�ำเภอไชโย ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มมีแม่น�้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน จึง เป็นแหล่งอู่ข้าว อู่น�้ำ มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่ง เกษตรกรรมทีม่ คี ณ ุ ภาพ โดยมีพน้ื ทีท่ างการเกษตร ประมาณ 80% หรือ 37,418 ไร่ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท�ำนาข้าวเป็นส่วนใหญ่ มีการท�ำสวนผลไม้ ปลูกพืชผัก พืชไร่ และ เลีย้ งสัตว์ บางส่วนประกอบอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ ท�ำเครื่องปั้นดินเผา เช่น กระถางต้นไม้ เป็นต้น และท�ำเครื่อง จักสานจากหวายและผักตบชวา เป็นต้น

สินค้า OTOP อ�ำเภอไชโย

OTOP ประจ�ำอ�ำเภอไชโย ทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ หมูทบุ เนือ้ ทุบ ผล ไม้เชื่อม ปลาส้ม สมุนไพรเชื่อม ปลาร้าสับสมุนไพร ผ้าฝ้าย ทอมือ โคมไฟแจกันผักตบชวา ตะกร้าหวายเส้นตรง โคมไฟ ดินเผา ดอกไม้ประดิษฐ์จากผ้าใยบัว การท�ำหัวโขน ขนมเปี๊ยะ เล็ก ฯลฯ

สถานที่ท่องเที่ยวของอ�ำเภอไชโย

วัดไชโยวรวิหาร ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลไชโย เป็นวัดที่สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี เจ้าอาวาสวัดระฆังโฆษิตาราม มาสร้าง พุทธรูปใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึง่ ทุกปีทางวัดได้จดั งานประเพณี ไหว้หลวงพ่อโต ปีละ 2 ครั้ง ในเดือน 5 และเดือน 11 วัดเฉลิมกาญจนาภิเษก (วัดโพธิ์หอม) ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบล ราชสถิตย์ เป็นวัดโบราณอายุประมาณ 500 ปี สิ่งที่น่าสนใจ ของวัดโพธิ์หอม คือ รูปพรหมสี่หน้าปูนปั้นขนาดใหญ่ 2 เศียร ตั้งอยู่บนพานที่ฐานพระอุโบสถเดิม สวยงามมากเป็นศิลปะแบบ ขอม วัดชัยสิทธาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 ต�ำบลชัยฤทธิ์ มีโบสถ์แบบ มหาอุตม์ เป็นประติมากรรมสมัยก่อนกรุงศรีอยุธยา มีลกั ษณะ เป็นประตูเดียวไม่มหี น้าต่าง มีประวัตวิ า่ วัดนีร้ อดพ้นจากการเผา ท�ำลายของกองทัพพม่า มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ คือ หลวงพ่อด�ำ อันเป็นที่สักการบูชาของประชาชนในพื้นที ่ วัดมหานาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลไชยภูมิ เป็นวัดที่มีพระ สังกัจจายน์ ซึ่งเหนือเศียรองค์พระสร้างฉัตรชั้นเดียวมีลักษณะ สวยงาม บนฉัตรสร้างเป็นเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และ ธาตุพระสาวก วังมัจฉา หน้าวัดเยื้องคงคาราม หมู่ท่ี 1 ต�ำบลเทวราช จะมีฝูงปลานับพันนับหมื่นตัวมาอาศัยอยู่ในแม่น�้ำเจ้าพระยา บริเวณหน้าวัด ANG THONG 195


เส้เทศบาลตำ นทางพบ �บล

น.ส.ธัณยธาราห์ สรวลเสน่ห์ นายกเทศมนตรีต�ำบลเกษไชโย

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย “ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงร่วมใจพัฒนา เพื่อประชาชนมีสุขยั่งยืน”

ค่านิยมองค์กร

คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลเกษไชโย ซึ่งมี ส�ำนักงานตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลไชโย อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง โดยอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอไชโย ประมาณ 13 กิโลเมตร ห่างจากศาลากลางจังหวัดอ่างทองประมาณ 20 กิโลเมตร ปัจจุบันมี น.ส.ธัณยธาราห์ สรวลเสน่ห์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายก เทศมนตรีต�ำบลเกษไชโย ซึ่งได้บริหารงานภายใต้วัฒนธรรม องค์กร ที่ว่า “มุ่งเน้นการบริการประชาชนที่เป็นเลิศ สร้างคุณภาพของ การปฏิบัติงาน”

เทศบาลต�ำบลเกษไชโย ได้กำ� หนดค่านิยมองค์กร ไว้ดงั นี้ กล้า ยืนหยัดท�ำในสิ่งที่ถูกต้อง, ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบ, มีความ รับผิดชอบต่อการปฏิบตั งิ านในหน้าทีต่ อ่ ประชาชน ต่อผลการปฏิบตั ิ งาน ต่อองค์การและต่อการพัฒนาปรับปรุง, โปร่งใส ตรวจสอบได้, สร้างกลไกและวิธีการท�ำงานขององค์การให้ชัดเจน สามารถตรวจ สอบความถูกต้อง, เปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายใต้กรอบของกฎหมาย, ไม่เลือกปฏิบัติ, บริการประชาชนด้วยความเสมอภาค เน้นความ สะดวก รวดเร็ว, มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน, ท�ำงานให้แล้วเสร็จตาม วัตถุประสงค์ เกิดผลดีตอ่ หน่วยงานและส่วนรวม และใช้ทรัพยากร ของทางราชการให้คุ้มค่า

ข้อมูลทั่วไป

6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ทต.เกษไชโย

เทศบาลต�ำบลเกษไชโย ได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะจาก สุขาภิบาลเป็นเทศบาล เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 โดย เป็นเทศบาลขนาดเล็ก มีพื้นที่ทั้งหมด 6.55 ตารางกิโลเมตร 196

ประมาณ 4,062 ไร่ 2 งาน มีหมู่บ้านจ�ำนวน 7 หมู่บ้าน แยกเป็น ชุมชน จ�ำนวน 8 ชุมชน สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเลียบริมฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยาด้านทิศตะวันตก ดินเป็นดินเหนียวปนทราย เหมาะแก่ การเกษตร โดยมีพื้นที่ท�ำการเกษตรกรรมร้อยละ 61.07

1. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน แนวทาง การพั ฒ นา ได้ แ ก่ จั ด ให้ มี แ ละพั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภค สาธารณูปการ ให้ได้มาตรฐานและเพียงพอ


2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว แนวทางการพัฒนา ได้แก่ ส่งเสริมและสนับสนุนการพาณิชย์และการ บริการ, ส่งเสริม สนับสนุนการประกอบอาชีพและพัฒนาศักยภาพ กลุ่มอาชีพ, ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเที่ยว และส่งเสริม และสนับสนุนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสวัสดิการสังคมและความมัน่ คงของ มนุษย์ แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การรักษาความสงบเรียบร้อยของ ท้องถิ่น, การสร้างสังคมให้มีความเข้มแข็ง, การบริหารการจัดการ ด้านสังคมสงเคราะห์และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส และ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา และนันทนาการ แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การบริหารการจัด องค์กรการศึกษาและองค์ความรู้, ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนา สื่อการเรียนการสอน, ส่งเสริมและพัฒนาด้านการศาสนา อนุรักษ์ ประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นและส่งเสริมและพัฒนาการกีฬา และนันทนาการ 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเมือง-การบริหาร แนวทาง การพัฒนา ได้แก่ เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรและบริหารจัดการ องค์กร, ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูน้ ำ� ท้องถิน่ และส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชน 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม แนวทางการพัฒนา ได้แก่ การบริหารการจัดองค์กรและพัฒนา ระบบบริการสาธารณสุข, การป้องกัน ควบคุม และบ�ำบัดโรค, การส่งเสริมให้มีการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการปัญหาและสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ

1. วัดไชโยวรวิหาร หรือวัดเกษไชโย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 ต�ำบลไชโย เป็นวัดหลวงที่เก่าแก่ อีกทั้งยังมีการสร้างพระสมเด็จพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี องค์จ�ำลองประดิษฐ์สถานไว้ โดยรัชกาลที่ 5 ได้

พระราชทานนามว่า “พระสมเด็จพุทธพิมพ์” ซึ่งเป็นที่เลื่อมใส ศรัทธาแก่ประชาชนทั่วไป ท�ำให้มีประชาชนนิยมมานมัสการอยู่ สม�่ำเสมอ 2. วัดสกุณาราม (วัดนก) ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 5 ต�ำบล ไชโย เป็นวัดเก่าแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ทางด้านทิศตะวันตก ของพระอุโบสถเป็นทีป่ ระดิษฐานพระเจดียท์ รงกลม ทีม่ ฐี านสูงที่ ก้านฉัตรไม่มเี สาหาร สร้างในราวพุทธศตวรรษที ่ 23 ตอนปลาย สันนิษฐานว่าได้รบั การซ่อมแซมในตอนกลางพุทธศตวรรษที ่ 25 สิง่ ทีน่ า่ สนใจอืน่ ๆ ได้แก่ วิหารหลวงพ่อมอญมงคล, หลวงปูแ่ ก้ว, หลวงปู่เฟื่อง, พิพิธภัณฑ์สถาน จัดแสดงพระบูชาเก่าแก่และ ของใช้โบราณ 3. วัดละมุดสุทธิยาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 36 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลไชโย เป็นวัดทีม่ มี าตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ได้รบั การจัดตัง้ เป็นสถานที่ ท่องเทีย่ วประจ�ำจังหวัดอ่างทอง เดิมมีนามว่า “วัดชะมด” ต่อมาได้ เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดละมุดสุทธิยาราม” แต่ชาวบ้านนิยมเรียกสัน้ ๆ ว่า “วัดละมุด” สิ่งที่น่าสนใจอื่น ๆ ได้แก่ วิหารหลวงพ่อยิ้ม สวนสมุนไพร และมีการนวดแผนไทยด้วย

สินค้า OTOP ทต.เกษไชโย

1. การแปรรูปสมุนไพรไทยพื้นบ้าน ซึ่งมีคุณประโยชน์ใน การรักษา หรือป้องกันโรคต่าง ๆ ได้ เช่น มะกรูด ต�ำลึง บอ ระเพ็ด เขียวไข่กา กระชาย ฯลฯ โดยน�ำไปเชื่อมหรือแช่อิ่มเพื่อ เพิ่มรสชาติให้รับประทานง่าย สามารถเก็บและอยู่ได้นาน ผลิต โดยกลุ่มแม่บ้านดงพิกุล หมู่ที่ 2 ต�ำบลไชโย ซึ่งทางเทศบาลฯ ได้ส่งเสริมอาชีพด้วยการจัดตั้งอาคารร้านค้าชุมชนในบริเวณวัด ไชโยวรวิหาร เพื่อเป็นจุดจ�ำหน่ายสินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ให้แก่นักท่องเที่ยว 2. ผลิตภัณฑ์จกั สาน เช่น ตะกร้า ถาด กระเป๋า แจกัน เป็นต้น ซึง่ ท�ำจากหวายและเส้นพลาสติก สามารถท�ำให้เกิดรายได้ และ เป็นของฝากของที่ระลึกให้แก่ผู้สนใจและนักท่องเที่ยว ANG THONG 197


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล +

ข้อมูลทั่วไป

อบต.ราชสถิตย์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 9.56 ตร.กม. หรือ 5,975 ไร่ มีหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 7 หมูบ่ า้ น มีประชากรในต�ำบลมีทงั้ สิน้ 2,312 คน จ�ำนวน 809 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558) ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรับจ้างท�ำงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมภายในจังหวัดและเขตจังหวัดใกล้เคียง อาชีพรองลงมาคือค้าขาย ท�ำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ รับราชการ รัฐวิสาหกิจ ท�ำให้ครอบครัวส่วนใหญ่มอี าชีพ และมีรายได้พอเลี้ยง ตัวเองและครอบครัว

แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ

วัดเฉลิมกาญจนาภิเษก (วัดโพธิ์หอม) ตั้งอยู่ที่บา้ นหนองขุม หมู่ที่ 6 ต�ำบลราชสถิตย์ สร้างในสมัยตอนต้นของกรุงศรีอยุธยา อายุประมาณ 500 ปี มีการขุดพบเศียรพระพรหมสี่หน้า ซึ่งเป็นที่ เลื่อมใสศรัทธาแก่ประชาชนทั่วไป นายจิรทีปต์ ทวีสุข นายกองค์การบริหารส่วนตำ�บลราชสถิตย์

องค์การบริหารส่วนตำ�บลราชสถิตย์ “ถิ่นฐานบ้านโรงม้า แผ่นดินพระราชาสถิต ศิษย์หลวงปู่สาย หาดทรายเจ้าพระยา” องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลราชสถิ ต ย์ ตั้ ง อยู ่ ที่ 39 หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลราชสถิ ต ย์ อ� ำ เภอไชโย จั ง หวั ด อ่ า งทอง ห่างจากที่วา่ การอ�ำเภอไชโย ประมาณ 16 กิโลเมตร ห่างจาก ศาลากลางจังหวัดอ่างทอง ประมาณ 12 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายจิรทีปต์ ทวีสขุ เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลราชสถิตย์ และมี นายปรีชา ปรีชาชวลิต เป็น ปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลราชสถิตย์

วิสัยทัศน์ต�ำบล (Vision)

“ต�ำบลน่าอยู่ ควบคูก่ ารท่องเทีย่ ว ฟืน้ ฟูวฒ ั นธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมท�ำงานแบบมีส่วนร่วม ภายใต้การบริหารจัดการที่ดี” 198

จุดชมวิวบรรยากาศริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลราชสถิตย์ เป็นสถานที่พักผ่อนริมแม่น�้ำเจ้าพระยาให้นักท่องเที่ยวสามารถ ลงเล่นน�้ำเจ้าพระยา และได้มีการเตรียมสถานที่แห่งนี้เป็นจุดชม ดอกไม้สวยงามในช่วงเทศกาลสงกรานต์ (ระหว่างวันที่ 13-15 เมษายน เป็นประจ�ำของทุกปี)

วัดดอนกระต่ายทอง หมู่ที่ 1 ต�ำบลราชสถิตย์ เป็นสถานที่ จัดงานประเพณีวันลอยกระทง (ตรงกับวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปี) ซึ่งคณะกรรมการวัดดอนกระต่ายทอง ได้ประดิษฐ์กะลา ขนาดเล็กและปล่อยไปพร้อม ๆ กัน กลางแม่น�้ำเจ้าพระยาเพื่อให้ เรียงรายเป็นสาย เรียกว่า “กระทงสาย”


องค์การบริหารส่วนต�ำบลราชสถิตย์ น�ำโดย นายจิรทีปต์ ทวีสขุ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลราชสถิตย์ จัดกิจกรรมเวทีประชาคม เพื่อชุมชนเข้มแข็ง เรื่อง การบริหารจัดการน�้ำเพื่อการเกษตร เมื่อ วันที่ 20 สิงหาคม 2556 และเพือ่ ผลักดันโครงการดังกล่าว จึงได้จดั ท�ำ เวทีประชาคมเพือ่ ชุมชนเข้มแข็ง ตอน การบริหารจัดการน�ำ้ “ภัยแล้ง” เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2557 บริเวณริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลราชสถิตย์ อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง ซึง่ โครงการดังกล่าว ทั้ง 2 ครั้ง ได้มีการบันทึกเทปรายการโดยสถานีโทรทัศน์แห่ง ประเทศไทย ช่อง 11 ซึง่ เรียนรูใ้ นการจัดการแหล่งน�ำ้ เพือ่ ประโยชน์ อย่างมีส่วนร่วมของคนในชุมชน

สารจากนายก อบต.ราชสถิตย์ กิจกรรมโรงเรียนผูส้ งู อายุตำ� บลราชสถิตย์ องค์การบริหารส่วน ต�ำบลราชสถิตย์ น�ำโดยนายจิรทีปต์ ทวีสุข นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลราชสถิตย์ มีแนวคิดจัดการศึกษาอีกรูปที่ต้องการให้ ผูส้ งู อายุมคี วามเข้าใจในเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวติ เป็น ผูส้ งู อายุทมี่ คี ณ ุ ภาพ ตามวิสยั ทัศน์โรงเรียนผูส้ งู อายุตำ� บลราชสถิตย์ “รู้จริง ปฏิบัติได้ ถ่ายทอดเป็น”

นายจิรทีปต์ ทวีสุข “นายกเบิ้ม” นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลราชสถิตย์ ลงพื้นที่เยี่ยม นางกิม เกิดพร้อม อายุ 109 ปี บ้านเลขที่ 8 หมู่ที่ 1 ต�ำบลราชสถิตย์ อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง เป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และอายุมากที่สุดใน จังหวัดอ่างทอง ขณะนี้

กระผมและคณะผู้บริหาร อบต.ราชสถิตย์ ทุกคน มีความ ภาคภู มิ ใ จอย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความไว้ ว างใจจากประชาชนชาว ต�ำบลราชสถิตย์ทุกคนที่ให้เข้ามาบริหารจัดการ อบต.ราชสถิตย์ เราทุกคนมีความหวังอย่างแรงกล้ามาโดยตลอดในการพัฒนา ต�ำบลราชสถิตย์แห่งนี้ ให้เป็นท้องถิ่นที่มีความเจริญทัดเทียมกับ ท้องถิ่นอื่น ๆ ประชาชนทุกคนจะได้รับการบริการที่ทั่วถึงพร้อม ในความต้องการทุก ๆ ด้านอย่างมีประสิทธิภาพ เห็นได้ว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา อบต.ราชสถิตย์ ได้ด�ำเนินการเพื่อการ พัฒนาท้องถิน่ แล้วหลายต่อหลายโครงการ ทัง้ นี้ ล้วนแล้วแต่เพือ่ สนองตอบความต้องการด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และ ด้านอื่น ๆ ของพี่น้องประชาชนโดยแท้จริงโดยพี่น้องประชาชน มีส่วนร่วม ทุกปีการจัดท�ำงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี อบต.ราชสถิตย์ ได้ผลักดันโครงการเพือ่ การพัฒนาท้องถิน่ ด้านต่าง ๆ ก็จะด�ำเนินการ ต่อไปอย่างไม่หยุดยั้งด้วยนโยบายที่มีประสิทธิภาพประกอบกับ ความสามัคคี ร่วมมือร่วมใจของคณะผู้บริหาร สมาชิกสภา อบต.ราชสถิตย์ พนักงานส่วนต�ำบล ลูกจ้าง อบต.ราชสถิตย์ รวมถึงพี่น้องประชาชนต�ำบลราชสถิตย์ทุกคน และผมเชื่อแน่ว่า ในอีกไม่นานต�ำบลราชสถิตย์จะกลายเป็นต�ำบลที่มีความพร้อม ในทุก ๆ ด้าน มุง่ สูก่ ารเป็นท้องถิน่ ทีน่ า่ อยู่ และสร้างความภาคภูมใิ จ ให้ พี่ น ้ อ งประชาชนได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น พร้ อ มทั้ ง มี ค วามเป็ น อยู ่ ที่ดีขึ้น ลูกหลานอยู่กับครอบครัวอย่างมีความสุขตลอดไป ANG THONG 199


เส้นทางพบ

องค์การบริหารส่วนตำ�บล

นายรุ่งโรจน์ พลอยค�ำ องค์การบริหารส่วนต�ำบลชัยฤทธิ์

องค์การบริหารส่วนตำ�บลชัยฤทธิ์ “จัดทำ�บริการสาธารณะ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการมีส่วนร่วม ของประชาชน”

คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลชัยฤทธิ์ซึ่งมี ที่ท�ำการตั้งอยู่เลขที่ 50 หมู่ที่ 5 ต�ำบลชัยฤทธิ์ อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง โดยตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอไชโยมาทาง ทิศใต้ ประมาณ 1.5 กิโลเมตร ตามถนนทางหลวงหมายเลข 32 (บางปะอิน – นครสวรรค์) ปัจจุบนั มีนายรุง่ โรจน์ พลอยค�ำ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลชัยฤทธิ์ และว่าที่ ร้อยตรีภาคภูมิ อนุศาสตร์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลชัยฤทธิ์

ประวัติต�ำบลชัยฤทธิ์

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา พืน้ ทีข่ องต�ำบลชัยฤทธิค์ อื ต�ำบลสระเกศ ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งค่ายและเป็นสมรภูมิรบ ซึ่งพระเจ้าเชียงใหม่ (มังนราช่อ) ได้ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในปีพ.ศ. 2119 การยกพล มาครั้งนั้นมีทั้งไพร่พลชาวหงสาวดีและชาวเชียงใหม่ ประมาณ 200

140,000 คน มีชา้ งเครือ่ งประมาณ 300 เชือก ม้าประมาณ 3,000 ตัว เดินทัพมาทางบกแล้วตัง้ มัน่ ในต�ำบลสระเกศปากชะไว และยังมีทพั เรือ อีก โดยตัง้ ค่ายอยูน่ านถึง 4-5 เดือน เพือ่ ไม่ให้ชาวพระนครออกมาท�ำ นาสะสมเสบียงอาหารได้ หมายว่าเมื่อถอยก�ำลังแล้วจึงจะเข้าท�ำศึก แต่ในที่สุดทัพของพระเจ้าเชียงใหม่ ก็ต้องพ่ายแก่ทัพของกรุง ศรีอยุธยา ด้วยพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ สมเด็จพระเอกาทศรถ ที่ทรงวางกลศึกอย่างรอบคอบรัดกุมสามารถ ปลิดชีวติ ไพร่พลของพระเจ้าเชียงใหม่ได้จำ� นวนมาก บางส่วนก็ถอยหนี กลับไป เมื่อพระเจ้าเชียงใหม่ทราบว่ากองทัพไทยยกทัพติดตามขึ้นไป ก็รบี ถอนทัพหนีกลับไป กองทัพไทยก็ยดึ ค่ายพระเจ้าเชียงใหม่ได้ และ จับพระยาเชียงแสนพร้อมรี้พลมาเป็นเชลยรวม 10,000 คนเศษ กับ ช้าง 120 เชือก ม้า 100 เศษ เรือรบและเรือเสบียงรวม 400 ล�ำ เครื่องศัตราวุธยุทธภัณฑ์และเสบียงอาหารเป็นจ�ำนวนมาก มีคำ� บอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในพืน้ ทีว่ า่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จฯมาบ�ำเพ็ญภาวนา ณ อุโบสถวัดชัยสิทธาราม ซึง่ เดิมนัน้ ชือ่ ว่าวัดโกรกกราก ต่อมาจึงเปลีย่ นเป็นวัดชัยสิทธาราม ด้วยเหตุทส่ี มเด็จ พระนเรศวรมหาราชได้ชัยชนะเหนือพระเจ้าเชียงใหม่ในครั้งนั้นเอง โดยชาวเมืองต่างสันนิษฐานว่าการทีท่ พั พระเจ้าเชียงใหม่ซงึ่ มีกำ� ลังพล มากกว่าถึง 140,000 คน และช้างม้าอีกจ�ำนวนมาก ไม่คิดจะสู้รบ แต่กลับขึ้นช้างเร็วเลิกทัพหนีไป อาจเป็นเพราะด้วยฤทธานุภาพของ หลวงพ่อด�ำ ซึ่งประดิษฐานภายในพระอุโบสถ จนเกิดเป็นต�ำนานพื้น บ้านเล่าขานสืบต่อกันมาว่า “ศึกพระเจ้าเชียงใหม่จึงได้มาจากความ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละฤทธานุภาพของหลวงพ่อด�ำในพระอุโบสถ และกฤดาภินิ หารของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช” อันเป็นปฐมบทของนามอันเป็น มหามงคลทัง้ ต�ำบลชัยฤทธิ์ อันมีความหมายว่าชัยชนะทีไ่ ด้มาด้วยฤทธิ์ และวัดชัยสิทธารามคือชัยชนะที่ได้มาด้วยความศักดิ์สิทธิคือหลวงพ่อ ด�ำนั้นเอง

ข้อมูลทั่วไป

ต�ำบลชัยฤทธิม์ เี นือ้ ทีโ่ ดยประมาณ 9 ตารางกิโลเมตร หรือ 5.625 ไร่ เป็นที่ราบลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา อยู่ในเขตชลประทานโครงการส่งน�้ำ และบ�ำรุงรักษามหาราช เกษตรกรส่วนใหญ่ท�ำนาและปลูกผัก มีการ เลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ดไข่ ไก่ และโค การคมนาคมขนส่งและการเดิน ทางมีถนนทางหลวงหมายเลข 32 (บางปะอิน –นครสวรรค์) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 110 กิโลเมตร มีความ สะดวกในการขนส่งสินค้าและพืชผักผลไม้ตลอดจนผลผลิตทางการ เกษตรอื่น ๆ เข้าสู่ตลาดสะดวก ประชากรและการปกครอง แบ่งการปกครองเป็น 6 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากรทั้งหมด 2,862 คน แยกเป็นชาย 1,372 คน หญิง 1,490 คน (ตามข้อมูลทะเบียนราษฎร ณ เดือนพฤษภาคม 2558)


ศักยภาพของต�ำบลชัยฤทธิ์

จากสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วน ต�ำบลชัยฤทธิ์ พบว่าต�ำบลชัยฤทธิ์ มีศักยภาพในการพัฒนาให้เป็น แหล่งแสดงสินค้าของชุมชน และพัฒนาสู่ตลาดศูนย์กลางระดับ จังหวัด เนือ่ งจากมีพนื้ ทีต่ ดิ ถนนทางหลวงหมายเลข 32 (บางปะอินนครสวรรค์) ที่มีผู้ใช้เส้นทางสัญจรเป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีกลุม่ อาชีพทีห่ ลาก หลาย อาทิ กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มกล้วยอบม้วน กลุ่ม ผลิตภัณฑ์นำ�้ พริก กลุม่ ดอกไม้ประดิษฐ์ เป็นต้น เหมาะแก่การสร้าง ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้าง รายได้ให้แก่ประชาชน พัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ

แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ

วัดชัยสิทธาราม (วัดโกรกกราก) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 50 บ้านโกรกกราก หมู่ที่ 5 ต�ำบลชัยฤทธิ์ อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง เป็นวัดโบราณ ที่มีมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1952 เดิมชื่อว่า “วัดโกรกกราก” ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ประมาณปี พ.ศ. 2335 ต่อมาได้เปลีย่ น เป็น “วัดชัยสิทธาราม” ในปี พ.ศ. 2494 วัตถุสถานต่าง ๆ ในอดีต ส่วนใหญ่เสือ่ มโทรมสูญสิน้ ไปตามกาลเวลา มีเพียงพระอุโบสถและ พระพุทธรูปประธานเท่านัน้ ทีไ่ ด้รบั การบูรณปฏิสงั ขรณ์ให้คงสภาพ อยู่จนถึงปัจจุบัน

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

“หลวงพ่อด�ำ” หรือชื่อเป็นทางการว่า “พระพุทธมหา มงคล” พระพุทธรูปประธานในพระอุโบสถทีม่ มี าแต่ครัง้ สร้างวัด เป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิราบบนฐานกลีบบัว ขนาดหน้าตัก กว้าง 153 เซนติเมตร ลงรัก ปิดทอง ซึ่งได้รับการบูรณะครั้ง หลังสุดเมื่อปี พ.ศ. 2532 หากแต่องค์เดิมซึ่งอยู่ภายในนั้นเป็น พระพระพุทธรูปหินทรายประกอบกันจ�ำนวน 9 ชิน้ เมือ่ ผ่านกาล เวลาอย่างยาวนานพระพุทธรูปหินทรายก็กลับด�ำ จึงเป็นทีม่ าของ นาม “หลวงพ่อด�ำ” ในปัจจุบัน ANG THONG 201


พระอุโบสถตัง้ อยูบ่ นเนินดินขนาดใหญ่ สูงประมาณ 2 เมตร จากระดับพืน้ ดินปกติโดยรอบ เป็นพระอุโบสถเก่าแก่สมัยอยุธยา ตอนปลาย หากแต่ทางวัดได้ทำ� การบูรณะเปลีย่ นแปลงแก้ไขอย่าง มาก แต่ยังคงเห็นฐานของพระอุโบสถที่อ่อนโค้งแบบท้องส�ำเภา ได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้สถาปัตยกรรมของพระอุโบสถยังมี ลักษณะเด่นที่เรียกกันโดยทั่วไปว่าเป็นโบสถ์มหาอุด คือมีประตู ทางเข้าเพียงทางเดียวไม่มีหน้าต่าง โดยมีความเชื่อว่าพิธีกรรมที่ ได้กระท�ำในโบสถ์มหาอุดจะมีความศักดิส์ ทิ ธิเ์ ป็นพิเศษ โดยเฉพาะ ด้านคงกระพันชาตรี

ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น

ปลารมควัน ปลารมควั น ของต� ำ บลชั ย ฤทธิ์ ใ ช้ ป ลาที่ ส ดใหม่ ล้ า งน�้ ำ ท�ำความสะอาดเอาขี้ปลาและไส้ปลาออก จนหมดก่อนที่จะน�ำ ปลาไปเข้าเตาย่าง ซึ่งอาศัยภูมิปัญญาดั้งเดิมของชาวบ้านโดย การน�ำขี้เลื่อยโรยบนไฟ รมควันไปเรื่อย ๆ จนได้ปลาย่างสี เหลืองหอมน่ารับประทาน แล้วจึงน�ำไปผึง่ แดดให้แห้งสนิทพร้อม จ�ำหน่ายให้กับลูกค้าต่อไป 202

ขนมไทย ถือเป็นภูมิปัญญาของคนต�ำบลชัยฤทธิ์มาช้านาน ซึ่งการท�ำ ขนมไทยของต�ำบลชัยฤทธิเ์ กิดจากการรวมตัวจัดตัง้ กลุม่ อาชีพจาก ผู้สนใจในการท�ำขนมไทย เพื่อเป็นอาชีพเสริมจากการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเป็นการใช้เวลาว่างหลังจากฤดูเก็บเกี่ยวหรือ ช่วงทีป่ ระสบภัยธรรมชาติ เพือ่ เป็นการหารายได้เพิม่ ในการเลีย้ ง ดูครอบครัวซึ่งจะท�ำกันมากในช่วงงานเทศกาล งานประเพณี หรือการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ทางศาสนา

ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ

องค์การบริหารส่วนต�ำบลชัยฤทธิ์ โทรศัพท์ ๐๓๕ –๘๖๖๔๖๗-๘ Website www.chairid.go.th


GOLF CLINIC

(โปรปั๊ก) วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

(โปรเป้) อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

โปรประจำ� นิตยสาร Sbl Magazine PGA Thailand TOURING Professional โปรประจำ�โรงเรียนกอล์ฟในร่ม Shane Wilding Golf สาขาทองหล่อ 11 SNAG trained instructor SWING Catalyst Certified Instructor All Square Swing Trained Instructor vanaskrit.s@gmail.com Tel. 083-018-9138

โปรประจำ�นิตยสาร sbl magazine โปรประจำ� Phothalai Golf Academy ที่สนามไดร์ฟกอล์ฟโพธาลัย เลเชอร์ ปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) Thai PGA Professional Tour Player Trackman Trained Instructor Swing Catalyst Certified Instructor Golf Swing Analysis Expert Facebook: pae akkarapong golfpro Page: Golf Swing by Pro Pae Tel. 085-327-2350


Chip and Run การชิพด้วยเหล็กกลางเป็นทาง

เลือกที่ดีในช้อตที่มีพื้นที่กลิ้งของลูก กอล์ฟมาก เพราะช่วยลดความผิด พลาดได้มาก และ กะระยะได้ง่าย เหมาะ กับการเล่นในพื้นที่หญ้าสั้น และค่อน ข้างแข็งซึ่งยากต่อการใช้เวจน์

ขอขอบคุณสถานที่: โพธาลัย กอล์ฟปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) 202


Set up การคล้ายการชิพทัว่ ไปแต่จะมีการยืนทีส่ งู กว่า ตามความยาวของไม้ ปลายไม้จิกลงพื้น ใช้องศาปกติของไม้เสมอ ไม่ต้อง D-loft ยืนใกล้กับลูกกอล์ฟกว่าการชีพปกติ เพื่อ ให้เพลนของการตีคอ่ นข้างตรง ไม่โค้งรอบตัว

ANG THONG 203


การตี ออกแรงเหมือนการพัต ขึ้นลงจังหวะเท่าๆกัน ไม่มีการถ่ายน้ำ�หนัก ไม่ใช้ข้อมือในการตี แนวขึ้นลงไม่ค่อนข้างตรง เหมือนการพัต ไม่ต้องพยายามงัดลูกกอล์ฟให้โด่ง

Feel และการก�ำหนดระยะ ให้น�้ำหนักการเล่นเท่าๆ กับการ พัตต์ สามารถเล่ นให้ ต กบนแฟร์ เ วย์ หรือ ฟริ้นจ์ ได้เลยไม่ต้องเผื่อระยะ จากการตกนอกกรีนมาก (ผลพลอย ได้จากสปินที่น้อยมาก) พยายามให้ศรีษะอยูบ่ นลูกกอล์ฟ ตอนการสวิง 206


A PROPER SIPNE ANGLE แกนลำ�ตัวที่ถูกต้อง

การทำ�องศาของแกนลำ�ตัวให้ถกู ต้องนัน้ แกนควรจะเอียงเล็กน้อย ไม่ใช่ ตัง้ ตรง เนือ่ งจากการยืนในท่าตีกอล์ฟมีแนวของไหล่ทเี่ อียงเล็กน้อยซึง่ ส่งผลมาจากการจับกริพที่มือขวาอยู่ต่ำ�กว่า และมือซ้ายอยู่สูงกว่า จึงควรทำ�แกนลำ�ตัวให้ตั้งฉากกับแนวไหล่ คำ�แนะนำ�: เวลาทำ�แกนลำ�ตัวให้เอียง พยายามรักษาการทรงตัวให้ น้�ำ หนักลงเท้าทัง้ 2 ข้างเท่าๆกัน เนือ่ งจากนักกอล์ฟส่วนใหญ่ทที่ �ำ ท่านี้ มีโอกาสสูงมากที่จะลืมที่จะรักษาสมดุลของน้ำ�หนัก และทำ�ให้ตีได้ไม่ แม่นยำ�

ขอขอบคุณสถานที่: โพธาลัย กอล์ฟปาร์ค (สนามไดร์ฟกอล์ฟอันดับ1ในเอเชีย) ANG THONG 207


คำ�แนะนำ�: เวลาทำ � แกนลำ � ตั วให้ เ อี ย ง พยายามรักษาการทรงตัวให้น้ำ� หนักลงเท้าทั้ง 2 ข้างเท่าๆกัน เนื่ อ งจากนั ก กอล์ ฟ ส่ ว นใหญ่ ที่ ทำ�ท่านี้ มีโอกาสสูงมากที่จะลืม ทีจ่ ะรักษาสมดุลของน้�ำ หนัก และ ทำ�ให้ตีได้ไม่แม่นยำ�

208


การเอียงของแกนล�ำตัวส่ง ผลดีให้สวิงได้มากมาย ท�ำให้ มี ก ารหมุ น ตั ว ได้ อ ย่ า ง ถูกต้องตามหลักสรีรวิทยา มีพลัง เป็นธรรมชาติ และไม่บาดเจ็บ ท�ำให้ แ นวสวิ ง ตรงหรื อ เป็ น แบบใน-นอก เล็กน้อย ซึ่งเป็นที่ ต้องการของนักกอล์ฟส่วนใหญ่ ท�ำให้ ถ ่ า ยน�้ ำ หนั ก แบบ Ground Up ได้งา่ ย

ANG THONG 209


วัดจันทรังษี

อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.