Yasothon

Page 1

NX;B=Y/X@>N@YJYH /X.RNX;IeQ?J

YASOTHON

AX@>](BJWc>Og>I

f<CJBHEJWAYJH¥"["e+J.(YJEX9@YE^l@>¥kAJ[cN:R@T.T]k."TX@c@^kT.HY/Y(EJWJY1;pYJ[

@YIN[A`LIF"JX<@YGJ:FN.OF ニ"@YIN¥JWNX9@F"N.OFNBT.gN ŠQT.JT.C`CNBYVH^T;¥Ÿ C`C)XAc+L^kT@@eIAYI/X.RNX;

cQ@BRFcH^T.IOホホホ.;.YHcR@^T(YLcNLY

นาย ุ ธรรม เC`CNBYJY1(YJ/X ิ สุ.RNXีเ;ก(XAd@N+[ม;"

Šz」オア"ゥアァオ"カア"dェ」ーゥァŸ"

@YIQ_JQ[>?[o"Q[.RFRL.""

NBY>¥kJCTI<J¥" )JJ+Fg1I">X@?[HY""

>BT.c>¥kINdLW(¥SY/X.RNX;" d@W@pY"ŠBJWcE:¥ヘ >¥kc>¥kINdBL(<Y" RY1HIY(Ÿ

>CT.=[k@/X.RNX;" c@C@"Š>BT.c>¥kIN" c(P<JT[@>J¥IF" N[=¥T¥QY@Ÿ TB>ホIeQ?J

e1NFN[QXI>XO@Fヘ CL.Y@(YJEX9@Y

Smart Business Line Magazine Vol.6 Issue 44/2016

QX((YJW ŠQ[k.OX(;[oQ[>?[oNX;;X. >XkNIeQ?JŸ

สถ์คริสต์ ้าน ่ง ย้

eAQ=FgHCfR4B>¥kQ_;f@g>I

ÇÔÁÒ¹¾ÞÒᶹ ·‹Í§á´¹à·¾à¨ŒÒáË‹§½¹

Vol.6 Issue 44/2016

³ www.smart-sbl.com

eBJBHM(ニeBJcB>"g)BH4RY" f@"“(TLFF"+L[@[(Ÿ


Untitled-1 1

28/9/2559 8:29:37


Untitled-1 2

28/9/2559 8:29:39


Untitled-1 1

16/9/2559 13:10:23


Untitled-1 2

16/9/2559 13:10:26




EDITOR’S TALK

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, จันทร์ทิพย์ พลพวก, อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, ฐกร วรจุฑาวงศ์ ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส, ปณต ปิติจารุวิศาล, กร พงศ์ไพบูลย์เวชย์ กราฟิคดีไซน์ ศศิธร มไหสวริยะ ผู้อํานวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน กิตติเมศร์ ชมชื่น, ทวัชร์ ศรีธามาศ, มินทร์มันตรา จิรฐาคุณานนท์ ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ อัครพล ไชยยาว, กิตติทัศน์ จินประเสริฐ ฝ่าย IT และประสานงาน ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, ฐกร วรจุฑาวงศ์, จันทร์ทิพย์ พลพวก ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, อรพรรณ มะณี

AJ[PX>"QHYJF>"A[2[c@Q"gL@F"/pY(X; マ ヘ¢"=@@JYHT[@>JY"d)N.T@_QYNJ¥IF c)<AY.c)@"(J_.c>EV"\ e>Jホ" ヘ ¡ ヘ£\£\"dF(2Fホ" ヘ £\ヘ££ £" ケケケホオッ」エカヘオ、ョホ・アッ"g」・ァ、アアュ"["tcm"n」ゥ」シォーァ fヘッ」ォョ"["オ、ョ ¡¡¦aゥッ」ォョホ・アッ 8

สวัสดีครับ อีกไม่กเี่ ดือนก็จะสิน้ ปี 2559 แล้ว ในขณะทีน่ ติ ยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ก็ได้รับความสนใจและได้รับการสนับสนุน จากหลายๆ จังหวัดอย่างต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 6 แล้ว โดยเฉพาะฉบับจังหวัด ยโสธรนี้ ท่านบุญธรรม เลิศสุขเี กษม ผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ได้ ให้การต้อนรับทีมงานอย่างอบอุ่นใจ จากบทสัมภาษณ์ของท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ไม่เพียงแต่ จะท�าให้เราเห็นภาพรวมทีโ่ ดดเด่นของจังหวัดยโสธรเท่านัน้ แต่ยงั ท�าให้ รู้สึกว่าชาวยโสธรโชคดีที่มีท่านผู้ว่าฯฝีมือดีมาบริหารราชการ และ สานต่อวิสยั ทัศน์ของจังหวัดทีว่ า่ “ยโสธรเมืองแห่งวิถอี สี าน เกษตร อินทรีย์ก้าวไกลสู่สากล” ซึ่งแม้จะก�าหนดไว้นานกว่า 10 ปีแล้ว แต่ ยังทันสมัยและยิง่ ฉายให้เห็นถึงศักยภาพของจังหวัดยโสธร ทีน่ บั วันจะ โดดเด่นขึ้นไม่เฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น นอกจากนีท้ า่ นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดอีกสองท่านคือ ท่านวิบลู ย์ รัตนาภรณ์วงศ์ และท่านวีระวัฒน์ วงศ์ว่องไว รวมถึงว่าที่ร้อยตรี ขรรค์ไชย ทันธิมา ท่านท้องถิน่ จังหวัดยโสธร ต่างมุง่ มัน่ ขับเคลือ่ นนโยบาย การพัฒนาจังหวัดอย่างรอบด้าน เพื่อคืนความสุขให้กับพี่น้องชาว ยโสธรโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจเพียงพอ ในขณะที่ท่านสุรสิทธิ์ สิงห์หลง ท่องเทีย่ วและกีฬาจังหวัดยโสธร ได้ขานรับงานด้านส่งเสริม การท่องเทีย่ ว ด้วยการแนะน�าวัฒนธรรม-ประเพณีและทีเ่ ทีย่ ว ซึง่ กล่าว ได้วา่ มีเพียงแห่งเดียวในเมืองไทยทีย่ โสธรเท่านัน้ โดยมีผบู้ ริหารองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และศาสนาสถานทัง้ พุทธและคริสต์ ต่างเปิดบ้าน รอต้อนรับผู้มาเยือนอย่างพร้อมเพรียงกัน ในนามของนิตยสาร SBL ผมขอถือโอกาสนีก้ ล่าวขอบพระคุณ ทุกภาคส่วนที่กล่าวถึงข้างต้นตลอดจนบริษัทและห้างร้านต่างๆ ที่ ให้การสนับสนุนการด�าเนินงานด้วยดี จนนิตยสารฉบับจังหวัดยโสธร เสร็จสมบูรณ์อยู่ในมือของทุกๆ ท่านขณะนี้ และแน่นอนครับ...คนที่ ไม่มคี วามผิดพลาดเลยก็คอื คนทีไ่ ม่ได้ทา� อะไรเลย ดังนัน้ หากท่านพบ สิ่งใดขาดตกบกพร่อง ทางทีมงานต้องกราบขออภัยและขอน้อมรับ ค�าติ-ชมจากท่าน เพือ่ น�ามาปรับปรุงให้นติ ยสารสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ เพือ่ ร่วม เป็นส่วนหนึ่งในการบันทึกสิ่งดี ๆ ในประเทศไทยด้วยกันครับ

<[;<BT"+_:O_G([/"O[LBJX.QJJ+F e>JOXE>F 081-442-4445, 084-874-3861 fヘッ」ォョ"[ supakit.s@live.com

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอํานวยการ


Untitled-1 1

19/9/2559 10:12:23


YASOTHON 20" 25" " 40" " 44 " 48" " 52" " 55" " 58 60" " 64"" " 66"" 70"" 92""

f<CJBHEJWAYJH¥ cQC@>Y.EAC`CNBYV Š@YIA_4?JJH"cL[OQ_)¥c(PHŸ cQC@>Y.EAJT.C`CNBYV Š@YIN[A`LIF"JX<@YGJ:FN.OFŸ cQC@>Y.EAJT.C`CNBYV Š@YIN¥JNX9@F"N.OFNBT.gNŸ cQC@>Y.EA>CT.=[k@/X.RNX; ŠNBY>¥kJCTI<J¥")JJ+Fg1I">X@?[HYŸ cQC@>Y.EA>BT.c>¥kINdLW(¥SY Š@YIQ_JQ[>?[o"Q[.RFRL.Ÿ cQC@>Y.EART(YJ+CY/X.RNX; Š@YI)NX4EX9@F"c1^lTN:[1IFŸ Š£"Q[k.HRXO/JJIFIeQ?JŸ cQC@>Y.EAQGYT_<QYR(JJH/X.RNX; Š@YIcQ=¥IJE.OF"G`+pYŸ QXHGYP:FE[cOP Š@YIBJWI`Jヘ@Y.cE1JJN."EN.d(CNŸ H`L@[?[JNHQYHX++¥IeQ?J cQC@>Y.>BT.c>¥kIN cQC@>Y.+NYHcBJ@HY

25"cQC@>Y.EAC`CNBYV

58"£"Q[k.HRXO/JJIFIeQ?J

70"cQC@>Y.>BT.c>¥kIN 10

92"cQC@>Y.+NYHcBJ@HY


YASOTHON

120"NX;R@T.dQ.

98"" 102"" 107"" 110"" 113"" 116"" 120 " 124"" 126"" 128"" 131 " 134"" 138"" 141 " 144"" 146 " 148"" 150"" 152"" 154"" 156"" 158 " 162"" 165 " 168 " 170 " 172"" 12

><ホc;[;"ネTホcH^T.ノ TA<ホ+CTcR@^T TA<ホR@T.cBJ; NX;Q[.RF>BY NX;OJ¥?.>T. NX;ACY@c)^kT.+pY NX;R@T.dQ. NX;OJ¥?Y<_ ><ホ(_;1_HEX9@Y"ネTホ(_;1_Hノ TA<ホ(_;1_H TA<ホ@YeQB TA<ホRCNId(C. TA<ホ+pY@plYQJCY. TA<ホ(pYdH; TA<ホe@@cB<TI TA<ホR@T.RH¥ TA<ホeE@.YH TA<ホR@T.dR@ NX;(_;1_H NX;R@T.d+@ NX;e@@fR4B NX;B=YE_>?[+_: ><ホcL[.@(>Y"ネTホcL[.@(>Yノ ><ホA_B.+CY ><ホRCT.d2. TA<ホe+(QpYJY4 NX;HX++YEX9@YJYH

232 NX;OJ¥7Y@f@"

116"NX;ACY@c)^kT.+pY

176"" 178"" 180"" 182"" 184"" 186"" 190"" 194"" 197"" 200 " 202"" 204"" 206"" 208"" 212 " 215 " 218"" 220"" 222 " 224 " 226"" 228 " 232"" 236"" 238"" 242"" 244"" 246"" 249""

>CT.=[k@TpYcGT(_;1_H NX;B=Y/X@>N@YJYH NX;OJ¥A_4cJ^T. cQC@>Y.EATpYcGT+pYc)^kT@d(CN ><ホ+pYc)^kT@d(CN TA<ホd+@@CTI TA<ホQ.cB<TI TA<ホL_HE_( TA<ホ(`B/Y@ TA<ホcRLBYgU TA<ホ>_B.H@ TA<ホIBT NX;IY.<LY; ><ホF>YRIY;"ネTホHRY1@W1XIノ TA<ホRXNcH^T. TA<ホ+`cH^T. TA<ホEJWcQYJF ><ホ+pYc<I"ネTホg>Ic/J[4ノ TA<ホg>Ic/J[4 TA<ホQCHCBT TA<ホ@plY+pY NX;TX+Jc>N;YH¥+YdTL"カ NX;OJ¥7Y@f@"ネTホB=Y<[lNノ NX;B=YQ_J[IYLXI TA<ホOJ¥7Y@ ><ホ+CTNX."ネTホ+CTNX.ノ NX;A`JEYJYHf<C"ネTホ>JYIH`Lノ NX;E[>X(PFN@YJYH (TLFF+L[@[(

158"NX;B=YE_>?[+_:


Untitled-1 1

21/9/2559 9:32:17


Untitled-1 1

19/9/2559 10:18:04


Untitled-1 1

6/9/2559 14:16:31


Untitled-1 1

19/9/2559 10:48:31


Untitled-1 1

20/9/2559 17:46:18


Untitled-1 1

11/9/2559 9:42:53


Untitled-2 1


19/9/2559 10:58:41


f<CJBHEJWAYJH¥

e+J.(YJEX9@YE^l@>¥kAJ[cN:R@T.T]k."" TX@c@^kT.HY/Y(EJWJY1;pYJ["/X.RNX;IeQ?J โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณหนองอึ่งฯ ต�าบลค้อเหนือ อ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร เป็นอีกหนึ่งในหลายพันโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชทานแนวพระราชด�าริทุกครั้ง ที่ได้เสด็จฯไปทรงเยี่ยมราษฎรของพระองค์ในถิ่นทุรกันดาร >¥kHY)T.e+J.(YJ

เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 25 สมเดใจพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ และสมเดใจพระบรมโอรสาธิราช สยาม มกุฎราชกุมาร เสด็จฯไปทรงเยี่ยมราษฎร บ้านค�าน�้าสร้าง ต�าบลค้อเหนือ อ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร ทรงรับทราบถึง ปຑญหาความทุกข์ยากเดือดร้อนทีช่ าวบ้านได้ถวายรายงาน จึง ได้พระราชทานพระราชด�าริให้หน่วยราชการ ให้การช่วยเหลือ ดูแลราษฎรให้อยู่ดีกินดี และสมเดใจพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ได้พระราชทานพระราชด�าริให้พัฒนา และปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ด้ ว ยการขุ ด ลอกหนองอึ่ ง ที่ เ ป็ น พื้ น ที่ 20

สาธารณประโยชน์ พร้อมการพัฒนาปรับปรุงดินและพืน้ ทีแ่ ห้ง แล้ง ด้วยการปลูกปຆาและหญ้าแฝก รวมถึงการ ຅ຕน ูสภาพปຆา โดยรอบหนองอึ่ง ในพื้นที่กว่า ,006 ไร่ โดยราษฎรได้เข้ามา มีส่วนร่วมและร่วมใจกันพัฒนาพื้นที่โดยรอบหนองอึ่ง พืน้ ทีห่ นองอึง่ มีแม่นา�้ สองสายมาบรรจบหรือสบกัน คือ แม่นา�้ ชีและล�าน�า้ ยัง พืน้ ทีด่ งั กล่าวเป็นทีล่ มุ่ ต�า่ และเป็นเส้นทาง น�า้ ไหลผ่าน ท�าให้ประสบกับปຑญหาน�า้ ท่วมในช่วงฤดูฝน ราษฎร จ�านวน หมู่บ้าน ประสบกับปຑญหาน�้าท่วมมาอย่างยาวนาน เส้นทางสัญจรถูกตัดขาดติดต่อไม่ได้ พืน้ ทีก่ ารเกษตรเพาะปลูก ข้าวนาปีมีความเสียหาย ปຑญหาน�้าท่วมเกิดขึ้นซ�้าซากทุกๆ ปี


ขณะเดียวกันเมือ่ ถึงช่วงฤดูแล้งน�า้ แห้งไม่มนี า�้ เพียงพอเพือ่ การ อุปโภค บริโภค ท�าการเกษตรไม่ได้ผล เมื่อปຑญหาน�้าทวีความรุนแรงและส่งผลต่อการด�ารงชีพ ต่อเนือ่ ง ประกอบกับจ�านวนประชากรในพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ชาวบ้าน จึงบุกรุกถากถางปຆาเพือ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย และเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีท่ า� ไร่เลื่อนลอย น�าไม้มาท�า ຅น และใช้สอย ท�าให้สภาพปຆาเสื่อม โทรมลงอย่างรวดเร็ว ท�าให้ชาวบ้านโดยรวมมีชวี ติ ยากล�าบาก ยิ่งขึ้นไปอีก แม้แต่จะอาศัยเก็บหาของปຆาเพื่อบริโภคและ จ�าหน่ายก็ไม่เพียงพอ ราษฎรส่วนหนึ่งต้องพากันอพยพออก ไปรับจ้างย้ายถิ่นฐานไปอยู่หัวเมืองใหญ่ เพื่อหารายได้เลี้ยง ตัวเองและครอบครัว ต่อมาได้จดั ตัง้ เป็น ๡ปຆาชุมชนดงมัน๢ ในปี 25 6 เพือ่ สนอง พระราชด�าริ ๡ นຕ຅ สู ภาพปຆาเพือ่ ให้คนอยูก่ บั ปຆาได้อย่างเกือ้ กูล๢ โดยได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากหน่วยราชการต่างๆ อาทิ จังหวัดยโสธร กรมปຆาไม้ และส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ส�านักงาน กปร. เป็นต้น

NX<=_BJWQ.+Fe+J.(YJ

เพื่อปรับปรุงคุณภาพของดิน 2. เพื่อแก้ปຑญหาสภาพของหน้าดินที่ถูกน�้าพัดพาไป 3. เพือ่ แก้ปญ ຑ หาสภาพด้านการเกษตรให้แก่ราษฎรบริเวณท้ายอ่าง

R@BNI.Y@C`C;pYc@[@.Y@"マR@BNI.Y@" >¥kc(¥kIN)CT.

กรมปຆาไม้ กรมส่งเสริมสหกรณ์ โครงการชลประทานยโสธร ส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชด�าริ จังหวัดยโสธร

LX(P:We+J.(YJ

การพัฒนาพื้นที่หนองอึ่งให้เป็นแหล่งเก็บน�้า เพื่อน�าน�้า มาใช้ในการเกษตร ซึ่งเดิมประชาชนในพื้นที่โดยรอบประสบ ปຑญหาน�้าท่วมซ�้าซาก และการร่วมปลูกปຆาและอนุรักษ์พื้นที่ ปຆาดงมัน ให้เป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติ นอกจากนีโ้ ครงการฯ ยังมีการศึกษาการเพาะเห็ดธรรมชาติ การเพาะพันธุไ์ ม้ เพือ่ เพาะ ปลูกในปຆาชุมชน ซึ่งประชาชนในพื้นที่ได้รับประโยชน์จากปຆา เช่น ได้รวมกลุม่ ท�าผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารจากปຆาในชุมชน จน มีชอื่ เสียงเป็นทีร่ จู้ กั โดยทัว่ ไป ในชือ่ ผลิตภัณฑ์ ๡วนาทิพย์ โอท็อป ชุมชนคนรักษ์ปຆา๢ มีผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ เช่น เห็ดโคนในน�้า เกลือ, เห็ดเผาในน�า้ เกลือ, ไข่มดแดงในน�า้ เกลือ, เห็ดละโงกใน น�า้ เกลือ, เห็ดตับเต่าในน�า้ เกลือ และแม่เปງงคัว่ เกลือ ซึง่ ผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวสามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่มได้เป็นอย่างดี และ ผลิตภัณฑ์ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนที่ร่วมเยี่ยมชมเป็น อย่างมาก นอกจากนีย้ งั มีการจัดตัง้ ปຆาชุมชน และกองทุนปຆาชุมชน เพือ่ ส่งเสริมการบริหารจัดการปຆาชุมชนในรูปแบบ าร์มเศรษฐกิจ พอเพียง การส่งเสริมและพัฒนาอาชีพด้านปຆาไม้เพื่อปลูกปຆา ในใจคน และการพัฒนาศูนย์เรียนรู้และท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ YASOTHON 21


(YJQB.cQJ[HdLWEX9@YTY1¥E;CY@B=YgHC" cE^kTBL`(B=Yf@f/+@" 

กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการแปรรูปอาหารจากปຆาชุมชน วนาทิพย์ โอท็อปชุมชนคนรักษ์ปาຆ โดยมีกลุม่ เกษตรกรเพาะ เห็ดค้อเหนือ หมู่บ้านเป็นกลุ่มเปງาหมาย  ส่งเสริมและพัฒนาระบบวนเกษตร ปຆาไม้-ปศุสต ั ว์-เกษตร เปງาหมาย 00 ไร่ตอ่ ครัวเรือนโดยมีเครือข่ายพัฒนา าร์มเชิง นิเวศน์ดงมัน หมู่บ้านเป็นกลุ่มเปງาหมาย

CL(YJ;pYc@[@.Y@dLW([/(JJHe+J.(YJ

([/(JJH/X;<X.l B=Y1_H1@マT.+F(Jマ(T.>_@B=Y1_H1@"

จัดตัง้ ปຆาชุมชนดงมันสาธารณประโยชน์ ,006 ไร่ เป็นปຆา ชุมชนโดยแบ่งพืน้ ทีป่ าຆ เขต รับผิดชอบเป็น แปลง หมูบ่ า้ น จัดตัง้ องค์กรปຆาชุมชน คณะ ได้แก่ คณะกรรมการบริหารองค์กร กลาง 1 คณะ คณะกรรมการระดับหมู่บ้าน คณะ และกลุ่ม อาชีพด้านปຆาไม้ จ�านวน 2 กลุ่มจัดตั้งกองทุนปຆาชุมชนดงมัน ประกอบด้วย กองทุนส่วนกลาง 1 กองทุน กองทุนระดับหมูบ่ า้ น กองทุน โดยมีรายได้มาจากการจ�าหน่ายไม้โตเร็วทีป่ ลูกโดย ชุมชน ผลก�าไรร้อยละ 10 จากกิจกรรมการแปรรูปอาหารจาก ปຆา เงินค่าปรับ ไหม รวมถึงการสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน

([/(JJHQB.cQJ[H(YJAJ[RYJ/X;(YJB=Y1_H1@f@ J`BdAAFYJFHcOJP7([/ETcE¥I." 

เพื่อการอนุรักษ์ พื้นที่ปຆาที่มีอยู่เดิม อนุรักษ์ คุ้มครอง ให้ ຅ຕนคืนตัวตามธรรมชาติตามแนวพระราชด�าริ ปลูกปຆาโดยไม่ ต้องปลูก  เพือ ่ การใช้สอย พืน้ ทีไ่ ร่รา้ ง นຕ຅ แู ละพัฒนาในรูปแบบปຆา สามอย่างประโยชน์สี่อย่าง ปຆาไม้โตเร็ว  เพือ ่ การเกษตรเชิงประณีต พืน้ ทีไ่ ร่รา้ ง การปลูกพืชอายุสนั้ ธนาคาร พันธุ์ไม้เชิงเศรษฐกิจ หญ้าอาหารสัตว์ 22

([/(JJHEX9@YO`@IFcJ¥I@J`CdLW>BT.c>¥kINc1[.@[cNO@F 

ศูนย์ข้อมูลและบริการ บริเวณส�านักงานชั่วคราวโครงการฯ กรมปຆาไม้  แหล่งเรียนรู้ การแปรรูปผลิตผลิตภัณฑ์อาหารจากปຆา ปຆา สามอย่างในระบบวนเกษตร กรมปຆาไม้ การเลี้ยงโคขุน กรม ปศุสตั ว์ การปลูกพืชปลอดสารพิษ ไผ่เลีย้ งแยกหน่ออืน่ ๆ กรม ส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร การเลีย้ งปลาในกระชัง กรมประมง ธนาคารปุຉยชีวภาพและสารชีวภาพ กรมพัฒนา ที่ดิน

+NYHQpYcJj/)T.e+J.(YJ

ปຆาชุมชนดงมันเป็นพืน้ ทีส่ าธารณประโยชน์ จ�านวน ,006 ไร่ ซึง่ เป็นปຆาบกผืนเดียวทีน่ า�้ ท่วมไม่ถงึ มีสภาพเป็นปຆาดิบแล้ง ผสมเต็งรัง เป็นแหล่งพึง่ พิงทีส่ า� คัญยิง่ ของ หมูบ่ า้ นเปງาหมาย โครงการ ในการเป็นแหล่งเก็บหาของปຆาไม้ใช้สอย ไม้ น຅ รวม ถึงการปลูกพืชไร่ และท�าเลเลีย้ งสัตว์ ทรัพยากรปຆาไม้อยูใ่ นสภาพ เสื่อมโทรม คงเหลือสภาพปຆาที่อุดมสมบูรณ์ประมาณ 00 ไร่ ปຆาเสือ่ มโทรม 1,200 ไร่ และพืน้ ทีไ่ ร่รา้ งประมาณ 00 ไร่ กรม ปຆาไม้โดยโครงการพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณหนองอึง่ ฯ ได้นอ้ มน�าแนว พระราชด�าริ ๡หลักภูมสิ งั คม๢ โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ราษฎร ผูน้ า� หมูบ่ า้ น หมูบ่ า้ น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดการ ทรัพยากรปຆาไม้ ดงมันสาธารณประโยชน์ ,006 ไร่ ในหลักการ ของปຆาชุมชน โดยการส่งเสริมการบริหารการจัดการปຆาในรูปแบบ


าร์มเศรษฐกิจพอเพียง เพื่ออนุรักษ์ ຅ຕน ู พัฒนา และใช้ ประโยชน์ปຆาอย่างมีสมดุล และยั่งยืน ทั้งนี้สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ส�านักงาน กปร. ได้ ลงพืน้ ทีต่ ดิ ตามความคืบหน้าของการด�าเนินโครงการ และเยีย่ ม ราษฎรบริเวณพื้นที่หนองอึ่ง ซึ่งได้รับประโยชน์จากโครงการ นายบัวผัน เศษสุวรรณ์ ประธานสหกรณ์การเกษตร ในโครงการ พัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณหนองอึง่ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ จ�ากัด ให้ข้อมูลเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 255 เล่าความรู้สึกของตน ให้ ຑงอย่างปลาบปลื้มว่า อานิสงส์จากโครงการหนองอึง่ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ น�าไปสู่การสร้างปຆาชุมชนด้วยความสามัคคีของชาวบ้านเพื่อ สนองพระมหากรุณาธิคุณ ท�าให้ชาวบ้านโดยรอบจ�านวน หมูบ่ า้ น มีรายได้จากการเก็บหา ของปຆาขาย มีรายได้ไม่ตา�่ กว่า ล้านบาทในแต่ละปี ซึ่งรายได้หลักที่เกิดขึ้นจากปຆาชุมชนดง มัน ณ เวลานีม้ มี ากมาย ทีส่ า� คัญได้แก่ เห็ดโคน เห็ดเผาะ เห็ด ระโงก เห็ดตะไค เห็ดก่อ จินูน จิ้งโก่ง ไข่มดแดง มันปຆา แต่ที่ โดดเด่น คือ เห็ดโคน ซึ่งดอกมีขนาดใหญ่และยาว ที่ชาวบ้าน เรียกกันทัว่ ไปว่า ๞เห็ดโคนหยวก๟ ในแต่ละปีสามารถเก็บได้จาก ปຆาดงมันได้ประมาณ 5-6 ตัน นอกจากเห็ดโคนแล้ว ปຑจจุบัน เห็ดต่างๆ ที่อยู่ในปຆาชุมชนดงมัน นับวันจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น ซึง่ เป็นผลมาจากการร่วมมือของประชาชนและหน่วยงานภาค รัฐในการ นຕ຅ สู ภาพปຆา รวมถึงการปງองกันรักษาปຆาโดยองค์กร ปຆาชุมชน และความชุ่มชื้นจากแหล่งน�้าท�าให้ราษฎรมีอาชีพ มีงานท�า มีรายได้จากปຆาดงมันอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี ด้วย พระมหากรุณาธิคณ ุ จากทัง้ สองพระองค์ได้พระราชทานความ ช่วยเหลือ จึงท�าให้ราษฎรมีรายได้ที่ยั่งยืน ปຑจจุบนั สหกรณ์การเกษตรในโครงการพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณ หนองอึ่งอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จ�ากัด ได้แปรรูปอาหาร จากปຆาชุมชนดงมัน ภายใต้ชื่อ “วนาทิพย์ โอทใอปชุมชนคน รักษ์ปา่ ” ซึง่ ได้รบั การคัดสรรเป็นโอท็อประดับ 5 ดาวของจังหวัด ยโสธรในปี 2552 ถึงปຑจจุบนั โดยได้รบั การสนับสนุนการด�าเนิน

งานในเบือ้ งต้นจากส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสาน งานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ ส�านักงาน กปร. และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างๆ รวมถึงคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทีใ่ ห้การสนับสนุนและส่งเสริมการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต ท�าให้ราษฎรสามารถประกอบ อาชีพได้มั่นคงยิ่งขึ้น แหละนีเ่ ปຓนเพียงเสียๅ วหนึง่ ของความสําเรใจ฿นโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ที่ได้ช่วยชุบชีวิตของราษฎร ผู้ยากไร้฿ห้อยู่ดีกินดี สมดังพระราชปณิธาน ขอขอบคุณข้อมูลจาก ส�านักงานคณะกรรมการพิเศษเพือ่ ประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ

YASOTHON 23


เราช่วยคุณได้ทุกเรื่อง เพื่อก้าวสู่ความสุขและสง่างาม

- เมื่อต้องพูด ในที่ชุมนุมชน คนมากๆ หวั่นไหว...แก้ไขได้ - ทำงานอย่างไรก็มีความสุขยิ่งขึ้น ในทุกๆแง่มุม - เติม..พลัง ทั้ง 5 เพื่อสนุกกับงาน สำราญกับชีวิต - และอีก 24 หลักสูตรเพิ่มมูลค่า พัฒนากำลังใจ

โดย ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ วิทยากรมากประสบการณ์ กว่า 35 ปÕ เรา..

ยินดีให้บริการ สอบถามรายละเอียดได้ที่......

โทร. 0-2522-7171 หรือสายตรงทีมงานคุณภาพ :

081-803 2916

UP LEVEL ของคุณวันนี้


QYJC`CNBYJY1(YJ /X.RNX;IeQ?J

จังหวัดยโสธรเป็นเมืองเล็กๆ แต่ในขณะเดียวกันเรา ก็มคี วามโดดเด่นในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะบ้านเมืองของ เรามีความสงบเงียบเรียบร้อย ไม่วนุ่ วาย มีความงดงามของ อาคารแบบชิโนโปรตุกีส ที่มีเพียงไม่กี่แห่งในภาคอีสาน มี งานประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวใน ประเทศไทยเท่านัน้ และประการส�าคัญคือ ยโสธรเป็นเมือง เกษตรอินทรีย์ต้นแบบของไทย เป็นความต่อเนื่องของจังหวัดยโสธรที่มีวิสัยทัศน์ใน การก�าหนดทิศทางการพัฒนาจังหวัดยโสธร โดยเน้นไปที่ การท�าเกษตรอินทรียม์ ายาวนานกว่าสิบปี เรามีพนี่ อ้ งเกษตรกร ทีร่ วมกลุม่ ท�าเกษตรอินทรียม์ ายาวนานกว่ายีส่ บิ ปีแล้ว และ มีพนื้ ทีท่ า� เกษตรอินทรียป์ ระมาณสีห่ มืน่ ไร่ เมือ่ มารับต�าแหน่ง ผูว้ า่ ฯ จึงได้สานต่อวิสยั ทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ยโสธรดังกล่าว โดยวางเปງาหมายว่าภายในสามปีข้างหน้า ยโสธรจะมี พื้ น ที่ ท� า เกษตรอิ น ทรี ย ์ เ พิ่ ม ขึ้ น ไม่ น ้ อ ยกว่ า หนึง่ แสนไร่และจะผลักดันให้ยโสธรเป็นศูนย์กลางของเศรษฐกิจ เกษตรอินทรีย์ด้วย ในขณะเดียวกันเราพยายามเปิดจังหวัดยโสธรของเรา ให้เป็นที่รู้จักของคนภายนอกมากยิ่งขึ้น ผ่านแคมเปญ “7 สิ่งหนึ่งเดียวในไทยอยู่ในยโสธร” โดยมีเปງาหมายที่ จะดึงให้นกั ท่องเทีย่ วใช้เวลาอยูท่ ยี่ โสธรให้ยาวนานขึน้ เพือ่ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดอีกทางหนึ่งด้วย จึงขอ ถือโอกาสนีเ้ ชิญชวนทุกท่าน มาเยือนยโสธรว่า หากท่านมี โอกาสมายโสธรแล้ว ท่านจะประทับใจกับวิถชี วี ติ ทีเ่ รียบง่าย สงบงามรับประทานอาหารได้อย่างวางใจด้วยผลผลิต เกษตรอินทรีย์ และดืม่ ด�า่ ในศิลปวัฒนธรรมประเพณีทเี่ ป็น เอกลักษณ์ของยโสธร ทั้งประเพณีบุญบั้งไ และประเพณี แห่มาลัยข้าวตอก ได้อมิ่ บุญกับการกราบสักการะพระพุทธรูป และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเมืองยโสธร ผมขอขอบคุณนิยตสาร ทีช่ ว่ ยประชาสัมพันธ์จงั หวัด เล็กๆ ของเรา และขอบคุณหน่วยงานราชการ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ให้การสนับสนุนข้อมูลแก่ ผูจ้ ดั ท�านิตยสาร และขออาราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสากลโลก โปรดประทานพรให้ทกุ ๆ ท่านประสบแต่ความสุขความเจริญ ก้าวหน้า ในชีวติ อาชีพการงาน และมีสขุ ภาพดีถว้ นหน้าครับ

.............................................................. (นายบุญธรรม เลิศสุขีเกษม) ผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร

YASOTHON 25


cQC@>Y.EAC`CNBYJY1(YJ/X.RNX;

@YIA_4?JJH"cL[OQ_)¥c(PH C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J

หากเอ่ยถึงผูว้ า่ ราชการจังหวัดซึง่ เป็นทีร่ จู้ กั ของปลัดอ�าเภอแทบทุกคนมานานกว่า 20 ปี ใน ฐานะของอาจารย์ผเู้ ขียนหนังสือ “คูม่ อื เตรียมสอบ ปลัดอําเภอ” คัมภีรข์ องผูใ้ ฝຆฝนຑ จะเดินบนเส้นทาง นักปกครอง ซึ่งกลั่นกรองจากประสบการณ์ของ ท่านเอง เมื่อครั้งสอบบรรจุเข้ารับราชการของ กรมการปกครองในต�าแหน่งปลัดอ�าเภอและต�าแหน่ง ผู้ช่วยนายทะเบียนอ�าเภอ ได้ที่ 1 เมื่อปี 25 1 เมื่อครั้งที่ด�ารงต�าแหน่งรองอธิบดีกรมการ ปกครอง ท่านยังเป็นผูป้ รับปรุงรูปแบบการสรรหา บุคลากรเข้ารับราชการในต�าแหน่งปลัดอ�าเภอ ด้วยระบบ และได้พฒ ั นาโครงสร้างหลักสูตร การอบรมนายอ�าเภอให้ทนั สมัยยิง่ ขึน้ เพือ่ ให้สอดรับ กับภาพลักษณ์ใหม่ของนายอ�าเภอที่เป็น นอกจากนีท้ า่ นยังเป็นผูพ้ ฒ ั นาระบบการ บริหารงานต่างๆ โดยน�าเทคโนโลยีและโซเชียลมีเดีย มาใช้ในการสือ่ สารภาพลักษณ์องค์กร และเพือ่ ให้ งานบริการประชาชนมีประสิทธิภาพมากขึน้ เมือ่ เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัด ท่านได้นา� หลักการตลาด มาประยุกต์ใช้ในภาครัฐ จนสามารถเจียระไนเพชร ทีซ่ อ่ นอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ไี่ ม่มใี ครคาดคิด ให้ฉายประกาย โดดเด่นเป็นที่รู้จักกันไปทั่วประเทศ ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ที่ เ อ่ ย ถึ ง ท่ า นนี้ คื อ “นายบุญธรรม เลิศสุขเี กษม” ผูว้ า่ ราชการจังหวัด ยโสธร ซึ่งได้ให้เกียรตินิตยสาร SBL สัมภาษณ์ ท่านในหลากหลายประเด็น ตัง้ แต่แรงบันดาลใจใน การรับราชการ ผลงานโดดเด่นเมือ่ ครัง้ ท่านด�ารง ต�าแหน่งรองอธิบดีกรมการปกครอง และการ ขับเคลื่อนจังหวัดยโสธรสู่วิสัยทัศน์ ๡ยโสธรเมือง แห่งวิถีอีสาน เกษตรอินทรีย์ก้าวไกล สู่สากล๢ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 26

RNX.cBJ@FH@cF<T.EX9@YQX.+H

ผมเป็นคนกรุงเทพมหานคร บ้านอยูฝ่ งດຑ ธนบุรี เรียนปริญญาตรีที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ตอนเรียนเคยไปฝຄกงานเป็นปลัด อ�าเภอทีอ่ า� เภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ อ่ งสอน ได้ ออกค่ายพัฒนาชนบท การไปฝຄกงานและการออก ค่ายท�าให้เห็นปຑญหาของสังคมมากมาย เลยมีความ รูส้ กึ ว่าอยากจะเข้ามารับราชการเพือ่ พัฒนาสังคม ส่วนรวม เพราะมีความหวังว่าเราจะเป็นเ ຅อง ตัวหนึง่ ทีส่ ามารถจะเปลีย่ นแปลงอะไรบางอย่างได้ ผมเริม่ รับราชการทีก่ ระทรวงมหาดไทยเมือ่ ปี พ.ศ.25 1 เพิง่ เรียนจบปริญญาโทใหม่ๆ ยังไม่ ได้รับปริญญา ตอนนั้นกรมการปกครองเขารับ สมัครสอบข้าราชการ โดยแยกเป็น 2 ต�าแหน่ง คือ ต�าแหน่งปลัดอ�าเภอ กับต�าแหน่งผูช้ ว่ ยนายทะเบียน อ�าเภอ ทีม่ กี ารแยกผูช้ ว่ ย นายทะเบียนอ�าเภอเพราะ สมัยก่อนเขาไม่ให้ผหู้ ญิงเป็นปลัดอ�าเภอ ทางกรมฯ ก็เลยแยก เพือ่ ให้ผหู้ ญิงมีโอกาสได้สอบเป็นผูช้ ว่ ย นายทะเบียนอ�าเภอท�าหน้าทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งทะเบียน ปีนั้นคนสอบประมาณ หมื่นคนเศษ ผมก็สอบ ได้ที่ 1 ทั้ง 2 ต�าแหน่ง ตอนเขาให้เลือกบรรจุ ผม เลือกอยู่หลายที่ จ�าได้มีล�าปาง แม่ ่องสอน ทาง อีสานก็มมี หาสารคามอยูจ่ งั หวัดหนึง่ เหตุทเี่ ลือก มหาสารคามเพราะว่าท่านผู้ว่าราชการจังหวัด มหาสารคามตอนนั้น คือท่านไสว พราหมณี ท�า โครงการ ๡สารคามพัฒนา๢ เป็นโครงการพัฒนา คุณภาพชีวติ คนทีม่ ชี อื่ เสียงมาก ผมคิดว่าน่าจะมา อยู่เพื่อเรียนรู้การท�างานพัฒนา กรมฯ ได้บรรจุให้มาอยูท่ อี่ า� เภอนาดูน จังหวัด มหาสารคาม อยู่ที่อ�าเภอหนึ่งปี แล้วไปช่วยงาน ทีจ่ งั หวัดหนึง่ ปีกไ็ ด้ยา้ ยเข้าอยูใ่ นกรมการปกครอง


YASOTHON 27


ŠTIY(/Wc)CYHYJXAJY1(YJ cE^kTEX9@YQX.+HQBN@JNH" cEJYWH¥+NYHRNX.NBYcJY/W cBJ@cF<T.<XNR@]k.>¥kQYHYJ=/W cBL¥kI@dBL.TWgJAY.TIBY.g;CŸ

เพราะคุณชยาวุธ จันทร ผู้ว่าราชการ จังหวัดอุดรธานี ซึง่ เป็นเพือ่ นรุน่ เดียวกัน ชวนให้ไปท�างานในกรมฯ เป็นงานทาง ด้านบุคคล ผมได้เปลีย่ นไปอีกหลายงาน ในส่วนกลางจนปี 25 2 ก็มาสอบซี ผมเป็นรุ่นแรกที่ต้องสอบซี ของกรม การปกครอง ผมสอบได้ที่ 2 ได้มาอยู่ที่ อ�าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด ปีต่อมา จึงได้กลับมาอยู่ที่กรมฯ อีกครั้ง แล้ว ปีถดั มาก็ได้เข้าโรงเรียนนายอ�าเภอจนปี พ.ศ.25 จึงมีคา� สัง่ แต่งตัง้ เป็นนายอ�าเภอ ไทยเจริญ จังหวัดยโสธร ซึ่งเป็นอ�าเภอ ที่เล็กที่สุดของจังหวัดยโสธร

c(jAc(¥kINBJWQA(YJ:F" f@R@CY>¥k@YITpYcGT

ได้เป็นนายอ�าเภอครั้งแรกในชีวิต เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.25 ได้ท�า โครงการแก้ไขปຑญหาความยากจนใน พืน้ ที่ โดยได้รบั เลือกจากกรมการปกครอง ให้เป็นอ�าเภอน�าร่อง เรื่องที่ภาคภูมิใจ

28

อีกอย่างคือ เมือ่ ประมาณปี 6- ทาง ททท. เขามีโครงการ ทาง ททท. เลือกโบสถ์ไม้คาทอลิกทีใ่ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศและน่ า จะใหญ่ ที่ สุ ด ในอาเซียน ตัง้ อยูท่ อี่ า� เภอไทยเจริญ และ เป็นหนึง่ เดียวของจังหวัดยโสธร ให้เป็น สถานที่ท่องเที่ยวประเภท ความพิเศษของโบสถ์คอื เป็น โบสถ์ที่สร้างด้วยไม้ทั้งหลังตั้งแต่ตอม่อ ไปจนถึงหลังคา ก่อนมาเป็นนายอ�าเภอ ผมได้ค้นข้อมูลเกี่ยวกับอ�าเภอ จึงมี ความคิดว่าจะท�าอย่างไรถึงจะเอาจุด ที่เรามีออกมาเป็นจุดขายให้คนได้รู้จัก ทั้งอ�าเภอ ทั้งจังหวัด และได้ร่วมมือกับ ทางโบสถ์พฒ ั นาสถานทีต่ รงโบสถ์คริสต์ อย่างต่อเนื่องมาถึงปຑจจุบัน จนเป็น สถานทีท่ มี่ ชี อื่ เสียง และมีคนรูจ้ กั มากขึน้ มีการจัดกิจกรรมสมรสหมูแ่ บบคาทอลิก ในวันวาเลนไทน์เมื่อปี พ.ศ.25

/_;cBL¥kI@Q`BJT.T?[A;¥(JH (YJB(+JT.

ผมอยู่ที่อ�าเภอไทยเจริญ ปีเต็ม พอถึงปี 2550 ได้มีค�าสั่งย้ายไปเป็น ผูอ้ า� นวยการส่วน อยูใ่ นส�านักบริหารการ ปกครองท้องทีท่ เี่ คยท�างานมาก่อน พอ ต�าแหน่งเลขานุการกรมฯ ว่าง ได้รบั ความ ไว้วางใจจากท่านอธิบดี นายวิชยั ศรีขวัญ ให้ไปเป็นเลขานุการกรมฯ ต่อมา ได้โอน ไปรับราชการทีส่ า� นักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย ไปเป็นผูอ้ า� นวยการกองการ เจ้าหน้าที่ ถัดมาปี พ.ศ.2552 ก็ได้เป็น ผูอ้ า� นวยการส�านักนโยบายและแผนอยู่ นาน ปีเศษ จึงได้รับโอกาสให้ออกมา เป็นรองผูว้ า่ ราชการจังหวัดพิษณุโลกเมือ่ มกราคม 2556 ผมเป็นรองผูว้ า่ ฯ 2 ปี ในช่วงทีก่ า� ลัง อบรมทีว่ ทิ ยาลัยปງองกันราชอาณาจักรอยู่ ท่านปลัดกระทรวง นายวิบลู ย์ สงวนพงศ์ ซึ่ ง เป็ น ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาอยากได้ ค นไป ช่วยงานเนือ่ งจากเคยท�างานทีก่ ระทรวง


มาก่อนก็เลยได้ไปช่วยงานที่กระทรวง อยู่หลายเดือนก่อนจะได้รับแต่งตั้งให้ ไปเป็นรองอธิบดีกรมการปกครองเมื่อ ตุลาคม 255

CL.Y@QHXIcBJ@" JT.T?[A;¥V

ช่วงเป็นรองอธิบดีกรมการปกครอง ได้ดูเรื่องการบริหารและการพัฒนา ระบบงาน สิ่งที่ได้พยายามท�าในเรื่อง การบริหารคือ ได้ปรับปรุงรูปแบบการ สรรหาบุคลากรเข้ารับราชการ ในต�าแหน่ง ปลัดอ�าเภอ ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ ราเคยคิดอยาก จะปรับปรุงเปลีย่ นแปลง โดยใช้แนวคิด ในการคัดเลือกทีภ่ าคเอกชนและภาครัฐ หลายหน่วยงานใช้ เขาเรียกว่าระบบ เป็น การทดสอบประเมินความเหมาะสมของ บุคคล คือเราต้องการคนที่สามารถคิด วิเคราะห์และแก้ไขปຑญหาได้มากกว่า คนที่ท่องจ�า เพราะผมมองว่าการที่เรา จะท�างานถ้าเป็นเรือ่ งระเบียบกฎหมาย เราสามารถเปิดค้นคว้าดูได้ แต่เราเปิด ค้นคว้าดูแล้วเราจะคิดวิเคราะห์ได้หรือ ไม่อย่างไรเป็นสิ่งที่เราต้องการส�าหรับ การท�างานในต�าแหน่งหน้าที่ของ ฝຆาย ปกครองมากกว่า ซึง่ ทางส�านักงาน กพ. ได้มาดูแล้วชื่นชมระบบนี้ เมื่อเขาผ่านกระบวนการคัดแล้ว ผมพยายามสร้างกิจกรรมใหม่ๆ เพือ่ เป็น การสร้างแรงกระตุ้นแรงบันดาลใจกับ เด็กๆ เราได้สร้างกิจกรรมการปฐมนิเทศ ต่างๆ พยายามทีจ่ ะฝຄกในสิง่ ทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือการเป็นข้าราชการที่ดี ต้องการจะ สร้างความรูส้ กึ ในการ เข้ามารับราชการโดยการคัดเลือกแล้ว ส่งให้ไปเทรนกับนายอ�าเภอที่เราดูแล้ว ว่าสามารถเป็นโค้ชให้ได้ เขาจะได้เห็น ต้นแบบที่ดี ส่ ว นเรื่ อ งการพั ฒ นาระบบงาน ต่างๆ เช่น ระบบงบประมาณ พยายาม วางระบบโดยน�าเอาเทคโนโลยีมาใช้ใน การบริหารงบประมาณและการจัดสรร งบประมาณให้มีประสิทธิภาพ และได้

วางระบบในการใช้โซเชียลมีเดีย เพื่อ ใช้เป็นช่องทางให้พี่น้องประชาชนที่ไป ติดต่องานที่อ�าเภอสามารถ เรือ่ งความสะดวก ความไม่สะดวก ความ ประทับใจ ความไม่ประทับใจกลับมาที่ กรมฯ ได้ โดยใช้ชอื่ ว่า ท�าเป็น ให้คนทีไ่ ปทีอ่ า� เภอยิง ถ้าไม่พอใจก็แจ้งมาได้ ก็มี ประชาชนสะท้อนกลับมาเช่น ไปถึง . 0 น. แล้วยังไม่มีเจ้าหน้าที่บริการ เจ้าหน้าที่ รับเรือ่ งแล้วก็ มาให้ผมๆ ก็จะ โทรไปสอบถามนายอ�าเภอว่า มีเรือ่ งอะไร ไม่ถูกต้องไหม เพราะมีคน เข้ามา นี่ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ท�า

ŠJWAA"bdn" ネbオオァオオッァーカ"dァーカァエ" nァカェアヲノ"cBJ@(YJ >;QTABJWcH[@+NYH cRHYWQH)T.A_++L" +^TcJY<CT.(YJ+@>¥k QYHYJ=+[;N[c+JYWRFdLW d(Cg)BH4RYg;CHY((NBY >¥k+@/W>BT./pYQ`<JŸ อี ก เรื่ อ งที่ ไ ด้ ท� า คื อ การสื่ อ สาร ภาพลักษณ์ขององค์กร แต่ไม่ได้ใช้วิธี การประชาสัมพันธ์ทางทีวี แต่จะใช้สื่อ ยุคใหม่คอื โซเชียลมีเดีย ท�าเป็นหนังสัน้ ออกมา 2 เรือ่ ง ใช้ทมี งานเด็กๆ ในฝຆาย ประชาสัมพันธ์ถ่ายท�ากันเอง แสดงกัน เอง ผมให้โครงเรือ่ งแล้วไปเขียนบทและ ก�ากับกันเองไม่ได้มีทุนสร้าง แต่ใช้จาก สิ่งที่เรามีอยู่ เป็นการฝຄกและพัฒนา ทีมงานไปด้วย เรือ่ งแรกคือ ๡ปลัดอ�าเภอ 2 ชัว่ โมง๢ ถ้าใครสนใจอยากรูว้ า่ งานในหน้าทีข่ อง ฝຆายปกครองเขาท�าอะไรตั้ง 2 ชั่วโมง ไปดูได้ ซึ่งก็เป็นเสี้ยวหนึ่งของต�าแหน่ง นายอ�าเภอ เป็นเสีย้ วหนึง่ ของต�าแหน่ง ผูว้ า่ ฯ ถ้าเห็นงานของปลัดอ�าเภอว่าเยอะ

แล้ว งานของนายอ�าเภอ ต้องคูณ 2 งาน ของผู้ว่าฯ ก็คูณ เข้าไป โครงเรื่องมา จากบทบาทภารกิจของปลัดอ�าเภอที่ อยู่ ในภูมภิ าคทัง้ ภาคจับมาร้อยเรียงเป็น กึ่งสารคดีกึ่งหนังสั้นความยาว 0 นาที วัตถุประสงค์ส่วนหนึ่งเพื่อใช้ในการสื่อ ไปให้ถึงคนที่ไม่เคยรู้จักงานของปลัด อ�าเภอ สื่อไปให้ถึงคนที่มีหน้าที่ในการ พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องความก้าวหน้า หรือสิทธิประโยชน์ของปลัดอ�าเภอให้ ได้รจู้ กั ว่าปลัดอ�าเภอเขาท�างานอะไรกัน บ้าง เพราะบางทีค�าพูดอย่างเดียวมัน ไม่สามารถจะท�าความเข้าใจได้ชัดเจน เรือ่ งที่ 2 ๡ คือค�าตอบ๢ เป็นการสอดแทรกอุดมคติในการท�างาน ของปลัดอ�าเภอเพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ ส�าหรับคนทีจ่ ะเข้ามารับราชการเป็นปลัด อ�าเภอ และส�าหรับคนทีเ่ ป็นข้าราชการ แล้ว ให้เห็นว่าอุดมคติ เปງาหมาย ปรัชญา การท�างานของเราอยู่ที่การ บ�าบัดทุกข์ บ�ารุงสุขให้กับราษฎร พี่น้องประชาชน คนแสดงก็เป็นข้าราชการในกรมการ ปกครองทั้งหมด สถานที่ถ่ายท�าใช้ที่ พิษณุโลกเพราะเคยเป็นรองผูว้ า่ ฯ ไปถ่าย ที่คุ้นเคย ปรับโลเคชั่นให้ได้ แล้วอีกสิง่ หนึง่ ทีท่ า� คือ หนังสือชือ่ ๡ ๢ ซึง่ ทางกรมฯ เขามีหนังสือ อยูแ่ ล้ว ชือ่ อ�าเภอยิม้ ซึง่ ท�ามาก่อน หน้านี้หลายปีแล้ว แต่ผมปรับลุคใหม่ ปรับเนื้อหาใหม่ ผมบอกทีมงานว่า เรา ไม่ได้ตอ้ งการให้คนในกรมฯ อ่าน แต่กลุม่ เปງาหมายของหนังสือคือ ต้องการสือ่ ให้ คนข้างนอกอ่าน คือจัดท�าแล้วไปวางตาม สถานทีต่ า่ งๆ เช่น โรงพยาบาล ร้านกาแ โรงแรม คือท�าแล้วให้จังหวัดเขาเอาไป เผยแพร่วางในจุดทีค่ นอืน่ ๆ เขาจะมานัง่ อ่านได้ เนื้อหาจะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ งานของกรมการปกครอง เกีย่ วกับคนที่ เกีย่ วข้องกับงานปกครอง และมีคอลัมน์ เบาๆ เช่นเรื่องร้านอาหารการกินของ จังหวัดทีเ่ ราไปท�า โรงแรม สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว อีกงานทีท่ า� ต่อเนือ่ งคือได้ชว่ ยท่าน อธิบดีกรมการปกครองสมัยนัน้ ปຑจจุบนั เป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย ท�าในเรือ่ ง YASOTHON 29


ŠQpYRJXA+@>¥k/Wc)CYHY JXAJY1(YJcBJ@BLX; TpYcGT"dLWQpYRJXA+@ >¥kcBJ@)CYJY1(YJdLCNfRC cRj@NBYT_;H+<["cB>YRHYI" BJX14Y(YJ>pY.Y@)T. cJYTI`B>¥k(YJApYAX;>_()F" ApYJ_.Q_)fRC(XAJYP5JŸ

30


กระบวนการสรรหา ข้าราชการเข้ารับ การอบรมหลักสูตรนายอ�าเภอได้พฒ ั นา หลักสูตรการอบรมให้ทนั สมัยยิง่ ขึน้ โดย น�าโครงสร้างหลักสูตรเดิมมาวิเคราะห์ ว่านายอ�าเภอในยุคปຑจจุบันควรจะเป็น อย่างไร ซึ่งเราวางภาพของนายอ�าเภอ คือ นักบริหารจัดการพืน้ ที่ นอกจากนี้แล้วก็มีการประกวด นวัตกรรม ประกวดไอเดียของข้าราชการ เพื่อพยายามกระตุ้นให้ข้าราชการกล้า ที่จะคิด กล้าที่จะท�าในสิ่งที่ไม่มีคนกล้า เสนอ สิง่ เหล่านีค้ อื เรือ่ งของการพัฒนา คน นี่ก็คืองานโดยคร่าวๆ ตอนที่เป็น รองอธิบดีฯ

z」オア"ゥアァオ"カア"・ェ」ーゥァ

ผมไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะได้กลับ มาอยู่ที่ยโสธร เพราะจากสถิติส่วนตัว ผมไม่เคยอยู่ซ�้าจังหวัด เลยคิดว่าคง ไม่ได้กลับมายโสธรแล้ว เพราะว่าอยู่ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด แล้วก็พิษณุโลก เมื่อทราบว่าได้กลับมาเป็นผู้ว่าฯ ทีย่ โสธร ก็รสู้ กึ ว่าเป็นความท้าทายเพราะ ว่าจังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดเล็กๆ มีข้อ จ�ากัดหลายๆ อย่างเป็นจังหวัดทีไ่ ม่คอ่ ย โดดเด่นหรือผูค้ นไม่คอ่ ยรูจ้ กั มากนัก แต่ ก็เป็นจังหวัดทีอ่ ยูแ่ บบสงบ เงียบ ไม่คอ่ ย มีปญ ຑ หาวุน่ วายเหมือนกับทีอ่ นื่ ๆ สมัยที่ เป็นรองอธิบดีฯ ผมจะมีสมุดเล่มหนึง่ ไว้ จดเวลาทีค่ ดิ อะไรได้ จดข้อมูลส�าคัญ หรือ เรามีไอเดีย มีโปรเจ็คอะไรในใจเราก็จด ไว้กอ่ น ก็ทา� ไปได้กว่า 0 บางกิจกรรม ยังท�าไม่สา� เร็จ ก่อนจะเป็นผูว้ า่ ฯ ก็ได้คดิ อะไรล่วงหน้าไว้หลายอย่าง คิดไว้แล้วก็ เขียนในสมุดว่าถ้าเราเป็นผูว้ า่ ฯ เราจะท�า อะไรบ้าง เปງาหมายในใจทีผ่ มคิดก่อนจะเป็น ผูว้ า่ ฯ ยโสธร คือ ๡ ๢ ถึงเวลาทีจ่ ะต้องผลักดันให้เกิดความเปลีย่ น แปลงในจังหวัด เพราะถ้าดูจากข้อมูลใน เชิงเศรษฐกิจ เราอยู่อันดับท้ายๆ ของ ประเทศอันดับที่ 5 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในจังหวัดประมาณสองหมืน่ แปดพันกว่าล้านบาทเท่านั้นเองเพราะ

ว่าพื้นที่ของเราเป็นจังหวัดขนาดเล็กมี อาชีพหลักคือเกษตรกรรม เพราะฉะนัน้ โอกาสทีจ่ ะสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม สูงๆ ค่อนข้างยาก ผมพยายามคิดว่ามาถึงยโสธรแล้ว จะท�าอย่างไรให้ยโสธรเกิดความเปลีย่ น แปลง และเกิดการพัฒนาดีที่สุด

QY@<BTN[QXI>XO@Fヘ I_>?OYQ<JFc;[H

ในอดีตจะมีค�าพูดว่า...พอผู้ว่าฯ เปลีย่ น นโยบายก็เปลีย่ น แต่ผมในฐานะ ที่เคยเป็นผู้อ�านวยการส�านักนโยบาย และแผนกระทรวงมหาดไทย พบว่านีค่ อื ปຑญหาความไม่ตอ่ เนือ่ งของนโยบาย เมือ่ ผมมาเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดผมให้คง ทุกอย่างเหมือนเดิม วิสยั ทัศน์เราก็เหมือน เดิม ของจังหวัดก็เหมือนเดิมแต่ สิง่ ทีผ่ มจะปรับเปลีย่ นก็คอื กระบวนการ กับวิธีการเพื่อให้บรรลุเปງาหมายแต่ทุก อย่างอยูใ่ นกรอบวิสยั ทัศน์ และยุทธศาสตร์ เดิมทั้งหมด จังหวัดยโสธรโชคดีอยู่อย่างคือ ตลอดสิบปีกว่าที่ผ่านมาตั้งแต่จังหวัด เริ่มท�าวิสัยทัศน์ เราเน้นประเด็นเรื่อง เกษตรอินทรียอ์ ยูใ่ นวิสยั ทัศน์ของจังหวัด มาโดยตลอด จนมาถึงปຑจจุบนั วิสยั ทัศน์ ทีเ่ ขียนไว้คอื “ยโสธรเมืองแห่งวิถอี สี าน เกษตรอินทรีย์ก้าวไกลสู่สากล” ผมก็ ยึด 2 ตัวนี้ผมพยายามจะตีโจทย์ว่า เรา จะบรรลุคา� ว่า ๡วิถอี สี าน๢ ได้อย่างไร จะ บรรลุเรื่อง ๡เกษตรอินทรีย์ สู่สากล๢ ได้ อย่างไร

ŠcB>YRHYIf@f/>¥kCH+[; (BT@/WcBJ@C`CNBYV"IeQ?J" +^T"Šz」オア"ゥアァオ"カア" ・ェ」ーゥァŸ"=].cNLY>¥k/W <CT.CLX(;X@fRCc([;+NYH cBL¥kI@dBL.f@/X.RNX;Ÿ

พอมาดู การพัฒนาของ จังหวัด จังหวัดยโสธรก�าหนดไว้ หนึ่งเป็นเมืองเกษตรอินทรีย์ ซึ่งอยู่ใน วิสยั ทัศน์ สองเราจะเป็นเมืองแห่งวิถอี สี าน คือรักษาวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม สามเป็นเมืองแห่งการท่องเทีย่ ว ซึง่ นีค่ อื โจทย์วา่ ท�าอย่างไรถึงจะเป็นเมืองท่องเทีย่ ว สถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ไม่มีเรา ก็พยายามค้นหาดึงจุดแข็งอืน่ ๆ ออกมา การที่ผมเป็นคนชอบอ่าน ชอบ ค้นคว้าหาข้อมูล ชอบเขียนหนังสือมี หนังสืออยูเ่ ล่มหนึง่ ทีผ่ มได้อา่ นมานาน แล้วคือเรือ่ ง ๡การตลาดในภาครัฐ๢ คือเอา เรือ่ งการตลาดมาใช้ในกิจการบริหารงาน ภาครัฐ หนังสือเล่มนีเ้ ป็นหนังสือแปลเป็น การน�าหลักการตลาดมาใช้ในการบริหาร งานภาครัฐ เช่น เรามีนโยบายอะไรเรา ต้องมองในมิติการตลาดและนโยบาย ให้มนั ชัดเจน ผมเลยพยายามหาจุดแข็ง และจุดแตกต่างที่เรียกว่า ต้องสร้างความแตกต่าง ให้เกิดขึน้ เพราะ หลักการตลาดถ้าสินค้าหนึ่งมีทุกอย่าง เหมือนกันมันจะแข่งกันทีร่ าคาและคุณภาพ คนจะเลือกสิ่งที่ดีกว่า เพราะฉะนั้นเรา ต้องสร้างจุดขายคือความแตกต่าง

cH^T.c(BYヘA_4AXl.gF"" /_;d)j.;CY@>BT.c>¥kIN

จังหวัดยโสธรไม่ได้เป็นจังหวัดใหม่ อย่างที่ทุกคนเข้าใจ แต่เป็นจังหวัดที่มี เรือ่ งราวมากมาย เราเป็นเมืองมาตัง้ แต่ สมัยต้นรัตนโกสินทร์ ประมาณ 2 0 กว่าปี แล้ว เป็นเมืองทีเ่ กิดพร้อมกับอุบลราชธานี เป็นพีน่ อ้ งกันเพราะเรือ่ งราวประวัตศิ าสตร์ ระหว่างยโสธรกับอุบลราชธานีมาในเส้น ทางเดียวกัน คือมาจากเมืองหนองบัวล�าภู ตามประวัตศิ าสตร์คอื พระวอและพระตา ได้อพยพไพร่พลจากเวียงจันทน์มาตั้ง ภูมลิ า� เนาทีห่ นองบัวล�าภู ต่อมาพระเจ้า สิรบิ ญ ุ สารแห่งเมืองเวียงจันทน์กย็ กทัพ มาตีเมืองของพระวอพระตา จนในทีส่ ดุ ก็อพยพต่อมา อยู่ที่บ้านสิงห์ท่า ต่อมา รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านสิงห์ ท่าขึน้ เป็นเมืองเมือ่ ปี พ.ศ.2 5 ตอนนี้ YASOTHON 31


ŠN[QXI>XO@F+^T"ŠIeQ?JcH^T.dRB. N[=¥T¥QY@"c(P<JT[@>J¥IF(CYNg(LQ`BQY(LŸ" CHEIYIYH/W<¥e/>IFNBY"cJY/WAJJL_ +pYNBY"ŠN[=¥T¥QY@Ÿ"g;CTIBY.gJ"AJJL_cJ^kT." Šc(P<JT[@>J¥IFQ`BQY(LŸ"g;CTIBY.gJŸ ก็ 202 ปีแล้ว และพระราชทานนามว่า ๡เมืองยศสุนทร๢ แปลว่าเมืองที่ทรงไว้ ซึ่งเกียรติยศ มีพระสุนทรราชวงศาเป็น เจ้าเมืองคนแรก แต่กลายมาเป็นยโสธร ในภายหลัง เพราะฉะนั้นยโสธรจะมีร่องรอย ประวัตศิ าสตร์ทบี่ า้ นสิงห์ทา่ ทีเ่ ป็นเมือง เก่า ถ้าใครอ่านหนังสือประวัติศาสตร์ สมัยรัชกาลที่ เกี่ยวกับสงครามกับ ประเทศลาว จะพบว่า มีชอื่ เมืองยโสธร ถูกบันทึกอยูใ่ นประวัตศิ าสตร์ เพราะเวลา ที่เจ้าพระยาบดินทร์เดชายกทัพมาจะ มาตั้งทัพอยู่ที่ยโสธร ในความเป็นเมืองเก่าของยโสธร จึงมีร่องรอยทางประวัติศาสตร์ที่เป็น จุดขายได้ เช่น เมืองเก่าบ้านสิงห์ท่าใน ยุครุ่งเรืองมีอาคารชิโนโปรตุกีส เพราะ ว่าเป็นช่างจากเวียดนามทีเ่ ข้ามารับจ้าง สร้าง ซึ่งมีไม่กี่แห่งในภาคอีสานที่ยังคง อาคารนัน้ ได้อยู่ ตรงนีเ้ ป็นจุดศูนย์กลาง การค้าขาย ชิโนโปรตุกีส ก็คือจีนผสม 32

โปรตุเกส เรามองหาจุดขายว่าจะท�า อย่างไรถึงจะสร้างความแตกต่างได้ ยโสธรมีประเพณีวัฒนธรรมที่ขึ้น ชื่ อ ลื อ เรื่ อ ง นั่ น คื อ ประเพณี ง านบุ ญ บั้งไ แล้วผู้บริหารจังหวัดท่านก่อนๆ ได้มีโครงการที่จะเอาเรื่องประเพณีบุญ บั้งไ มาต่อยอดเป็นจุดขายเรื่องการ ท่องเที่ยวของจังหวัดยโสธร โดยได้เอา เรื่องต�านานบุญบั้งไ มาสร้าง ๡วิมาน พญาแถน๢ ในบริเวณวิมานพญาแถน จะมีการสร้างอาคารรูปทรงพญานาค และรูปทรงพญาคันคาก คางคก เป็น แลนด์มาร์ค เป็นจุดขายของจังหวัด ซึ่ง สร้างมาก่อนผมมา และสร้างเสร็จเฉพาะ ตัวอาคาร แต่สภาพภูมทิ ศั น์ดา้ นนอกยัง ไม่เรียบร้อย จึงได้รว่ มมือกับทางเทศบาล และขอความสนับสนุนจากภาคเอกชน มาช่วยกันปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ภาย นอกให้สวยงาม ในอาคารทัง้ สองหลังนี้ ตามแผนที่ มีการวางไว้จะท�าเป็นพิพิธภัณฑ์มีเรื่อง

ราวเกี่ยวกับงานบุญบั้งไ ของยโสธร เรื่องของคางคกทั่วโลก เรื่องเกี่ยวกับงู เกีย่ วกับพญานาค แต่วา่ โครงการนีต้ อ้ ง ใช้เวลาอีกสักระยะหนึ่งแต่ถ้าเสร็จน่า จะเป็นทีด่ งึ ดูดนักท่องเทีย่ ว ตอนนีถ้ งึ ยัง ไม่เสร็จก็มคี นมาเทีย่ ว มาแวะมาถ่ายรูป เยอะ แล้วผลพลอยได้คอื ท�าให้ธาตุกอ่ ง ข้าวน้อย ทีต่ า� บลตาดทอง มีคนมาเทีย่ ว มากขึ้นด้วย คนมาตรงนี้เสร็จแล้วไป ตรงนั้นต่อ

cH^T.<C@dAAc(P<JT[@>J¥IF

จุดเด่นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้วของ ยโสธรคือ ความเป็นเมืองที่ท�าเกษตร อินทรีย์มายาวนาน จะถือว่าเป็นความ โชคดีของผมอย่างหนึ่งก็ว่าได้ เพราะ หลายสิ่งหลายอย่างมาลงตัวพร้อมกัน พอดี เช่น เรือ่ งเกษตรอินทรีย์ ทางกระทรวง เกษตรและสหกรณ์มนี โยบายทีจ่ ะเลือก เมืองที่เป็นต้นแบบของการท�าเกษตร อินทรียใ์ นประเทศไทย ก็ได้เลือกจังหวัด


ยโสธรให้เป็นจังหวัดต้นแบบในการท�า เรือ่ งเกษตรอินทรีย์ ท่านรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงเกษตรฯ ก็ได้มาเป็นสักขีพยาน ในการลงนามเมื่อต้น มกราคม 2559 ที่ผ่านมา นี่ เ ป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ให้ เราพยายาม ผลักดันร่างยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน เกษตรอินทรีย์ของจังหวัดยโสธรตามที่ เราวางไว้ ตามทีเ่ ราได้ทา� บันทึกข้อตกลง ความร่วมมือกับกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เพราะจังหวัดยโสธรมีกลุ่มท�า เกษตรอินทรียม์ ายาวนานเป็นเวลายีส่ บิ กว่าปีแล้ว และเรามีพนื้ ทีป่ ระมาณสีห่ มืน่ ไร่ทที่ า� เกษตรอินทรีย์ ในเรือ่ งของผลผลิต ที่เป็นข้าวส่วนใหญ่ เราจะส่งขายต่าง ประเทศเพราะเขามีตลาด ปຑจจุบนั ข้าวของ เราไม่พอขาย เรามีออเดอร์ลว่ งหน้าข้าม ปี เพราะการจะเป็นเกษตรอินทรีย์ต้อง ใช้เวลาอย่างน้อย ปี ถึงจะได้รับการ รับรองมาตรฐานสากล ตอนนีเ้ ราพยายาม วางเปງาว่าในอีกสามปีขา้ งหน้า คือปี 62 เราจะเพิม่ พืน้ ทีก่ ารเกษตรอินทรียใ์ ห้ได้

Š(JW>JN.c(P<JdLW QR(J:FH¥@eIAYI>¥k/W cL^T(cH^T.>¥kcBJ@<C@dAA )T.(YJ>pYc(P<JT[@>J¥IF f@BJWc>Og>I"(jg;CcL^T( /X.RNX;IeQ?JfRCcBJ@ /X.RNX;<C@dAAf@(YJ>pY cJ^kT.c(P<JT[@>J¥IFŸ อย่างน้อยหนึ่งแสนไร่ เราได้วางยุทธศาสตร์เรื่องการขับ เคลื่อนเกษตรอินทรีย์โดยเริ่มจากการ สร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงกระเพื่อม ให้คนยโสธรและคนข้างนอกได้เห็นคุณค่า และให้ความส�าคัญกับเรือ่ งเกษตรอินทรีย์ ซึ่งเป็นนโยบายส�าคัญของจังหวัด วิสัย ทัศน์ของจังหวัดอยูแ่ ล้ว โดยเชิญชวนให้ ทุกคนเข้ามาร่วมในการปรับเปลี่ยนท�า

เกษตรอินทรีย์ ซึ่งการปรับเปลี่ยนท�า เกษตรอินทรีย์น้ันอย่างแรกคือต้องมี ความมุง่ มัน่ เราก็พยายามท�า แต่ปนี คี้ าด ว่าจะมีพนี่ อ้ งเกษตรกรทีจ่ ะปรับเปลีย่ น เพื่อท�าเกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่าสอง หมื่นไร่ ช่วงระยะเวลาการปรับเปลี่ยน เป็นช่วงส�าคัญถ้าผ่านไปได้ถึงปีที่ จะ เป็นเกษตรอินทรีย์ที่สามารถขอตรวจ ใบรับรองมาตรฐานสากลได้ เราได้คัด หมูบ่ า้ นทีจ่ ะเป็นต้นแบบในการท�าเกษตร อินทรีย์เพื่อเพิ่มศักยภาพของหมู่บ้าน โดยดูจากหมูบ่ า้ นมีการท�าการเกษตรอยู่ แล้วจ�านวนหนึง่ และ ศักยภาพของผูน้ า� ได้ออกมา 10 หมูบ่ า้ นจากทีเ่ รามี 5 หมูบ่ า้ น เพือ่ ใช้พนื้ ทีห่ มูบ่ า้ นเป็นตัวขยาย เราโชคดีทมี่ เี กษตรกรยุคใหม่ทเี่ ป็น ลูกเป็นหลานของยโสธรได้กลับมาท�านา อย่ า งวั น นี้ ผ มไปที่ อ� า เภอกุ ด ชุ ม เขามี เกษตรกรที่มีความรู้จบ ปริญญาตรี กลับมาท�านา บางคนไปท�างาน เป็นผู้จัดการ บางคนจบวิศวะ ก็มีเกือบ

0 กว่าคนเฉพาะทีอ่ า� เภอกุดชุม เป็นการ ต่อยอดเกษตรกรรุ่นใหม่ท�าให้เขาใช้ ความรูท้ มี่ มี าผสมผสานประยุกต์ในการ ท�าเกษตร เพราะฉะนัน้ มันก็เป็นโอกาส ของจั ง หวั ด ยโสธรที่ เรามาท� า อย่ า งนี้ แล้วยิง่ เรามาเน้นในเรือ่ งความเป็นเกษตร อินทรีย์ถือว่าได้รับกระแสตอบรับจาก พีน่ อ้ งยโสธร อีกทัง้ เราได้สร้างกระแสกับ ผูบ้ ริโภคว่าควรจะเลือกกินในสิง่ ทีด่ แี ละ มีประโยชน์ตอ่ สุขภาพราคาอาจจะแพง ขึน้ นิด ผมได้คา� นวณให้ดแู ล้วคนไทยคน หนึง่ กินข้าวสารปีละประมาณ 120-150 กิโลกรัม แต่ถ้ากินข้าวอินทรีย์ปีหนึ่งจะ จ่ายเพิม่ ไม่ถงึ ,000 บาท เพราะฉะนัน้ ไม่ได้แพงอย่างทีท่ กุ คนคิดว่าข้าวเกษตร อินทรีย์แพง นอกจากข้าวหอมมะลิอนิ ทรียแ์ ล้ว เรามีแตงโมหวานด้วย ในค�าขวัญของ จังหวัดยโสธร เราก็มีแตงโมอยู่ด้วยคือ “เมืองบั้งไฟโก้ แตงโมหวาน หมอน ขวานผ้าขิด แหล่งผลิตข้าวหอมมะลิ” YASOTHON 33


แต่เมื่อก่อนใครๆ ก็ไม่กล้ากินแตงโม เพราะใช้สารเคมีแต่ ณ ปຑจจุบันเราได้ ส่ ง เสริ ม เรื่ อ งการผลิ ต แตงโมอิ น ทรี ย ์ ไม่ใช้สารเคมี ท�าให้ราคาผลผลิตสูงกว่า แตงโมที่ใช้สารเคมี แตงโมอินทรีย์ของ เราติด บอกถึงแหล่งทีผ่ ลิต แล้ว ต้องจองกันล่วงหน้าเพราะไม่พอต่อการ จ�าหน่าย แหล่งผลิตใหญ่ตอนนี้อยู่ที่ อ�าเภอค�าเขื่อนแก้วแต่เราได้ขยายไปสู่ พื้นที่อื่นเช่นที่กุดชุมที่มหาชนะชัย แม้ แต่ในค่ายทหารทีม่ พี นื้ ทีว่ า่ ง ผูก้ าร ร.16 ก็นา� ทหารปลูกแตงโมอินทรียเ์ ช่นเดียวกัน โดยมี เ กษตรกรที่ ท� า ไปให้ ค� า แนะน� า เพราะแตงโมเป็นพืชที่ใช้น�้าน้อย นอกจากนี้เรายังมีพืชผักผลไม้อีก หลายชนิดที่เราท�าโดยใช้ระบบอินทรีย์ ไม่ใช้สารเคมี เรามีผลไม้เช่น ที่กุดชุมมี สวนแก้วมังกรปลูกไว้ ,000 กว่าต้นที่ ไม่ได้ใช้สารเคมี แล้วเราก�าลังท�าในเรือ่ ง ปศุสตั ว์ เลีย้ งไก่ไข่ในระบบเกษตรอินทรีย์ โดยใช้กลุ่มที่เป็นเกษตรอินทรีย์อยู่แล้ว แล้วจะขยายไปสู่ที่อื่นๆที่เป็นเกษตร อินทรียข์ องจังหวัดยโสธร แล้วเรามีตลาด สีเขียวเรียกว่า ทุกวัน อังคารกับศุกร์ จะมีแหล่งใหญ่ขายพืชผัก สิ่งต่างๆ เหล่านี้คือมิติของเรื่องเกษตร อินทรีย์ ซึ่งเป็นจังหวะพอดีที่กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ได้ให้ความร่วมมือ ช่วยกันขับเคลื่อน แล้วเราพยายามท�ากิจกรรมเสริม สร้างความรูเ้ รือ่ งเกษตรอินทรียใ์ ห้กบั เด็ก และเยาวชนด้วย โดยผมมีเครือข่าย ส่งเสริมการอ่านที่รู้จักกับอาจารย์ชีวัน วิสาสะ ซึง่ เป็นนักเขียนหนังสือเด็ก เลย ขอให้อาจารย์ช่วยเขียนเรื่องเกี่ยวกับ เกษตรอินทรีย์ตอนนี้อยู่ระหว่างการ ด�าเนินการ เพราะเราตัง้ ใจจะปลูกฝຑงเด็ก ให้รคู้ ณ ุ ค่าของเกษตรอินทรีย์ รูถ้ งึ พิษภัย ของการใช้สารเคมี ให้เด็กนักเรียนของ เราได้เอาไปอ่านให้พอ่ แม่ งຑ หรือพ่อแม่ อ่านให้ลกู งຑ จะได้เห็นคุณค่าของเกษตร อินทรีย์ จังหวัดเราวางยุทธศาสตร์ไว้วา่ เรา จะพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางของเกษตร 34

อินทรีย์ ให้ยโสธรเป็น ในการบริการ ตรวจหาสารปนเป຅ຕอนของสารเคมี เพื่อ ให้ได้มาตรฐานในเรื่องเกษตรอินทรีย์ และอีกเรือ่ งหนึง่ ทีก่ า� ลังพยายามผลักดัน

IeQ?JcH^T.dRB.N[=¥T¥QY@

ส่วนมิติที่ว่าด้วยการเป็นเมืองวิถี อีสาน ผมพยายามปรับโจทย์วา่ วิถอี สี าน ของยโสธรต่างกับจังหวัดอื่นๆ อย่างไร ผมถามตั ว เองแล้ ว ก็ ถ ามกั บ คนอื่ น ๆ เพือ่ แชร์กนั ว่าต่างกันอย่างไร แล้วจะท�า อย่างไรให้เป็นรูปธรรม ผมลองถอดรหัส ออกมาว่าวิถอี สี านมีอะไรบ้าง หนึง่ บ้าน เรือน ซึ่งก็หายากแล้ว เพราะบ้านเมือง ปຑจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงไปสูร่ ปู ลักษณ์ ของบ้านเรือนในปຑจจุบนั สอง ภาษาพูด ยังไปได้ ไม่เปลีย่ นแปลง สาม การแต่งกาย

Šf@cJ^kT.)T.CLCL[< >¥kcBJ@)CYNQBN@fR4BcJY /WQB.)YI<BY.BJWc>O cEJYWc)YH¥<LY;"BH//_AX@ )CYN)T.cJYgHBET)YI" cJYH¥TTc;TJFLBN.R@CY =].B:"¢\"dLCNŸ ผมเลยเริม่ ประเด็นเรือ่ งการแต่งกาย ให้ย้อนกลับสู่วิถีอีสานอีกครั้ง ด้วยการ รณรงค์และเชิญชวนข้าราชการ พนักงาน วิสาหกิจ พนักงานส่วนท้องถิน่ ภาคเอกชน รวมไปถึงนักเรียนด้วย จะท�าอย่างไรให้ เรามี ค วามภาคภู มิ ใจในการแต่ ง กาย ด้วยชุดพืน้ บ้าน แรกๆ อาจจะเก้อเขิน แต่ ปຑจจุบันถือว่าเป็นเรื่องปกติ ผู้หญิงจะ นุ่งผ้าซิ่นมาท�างานซึ่งผลพลอยได้คือ เรื่องเศรษฐกิจชุมชนถ้าผลิตแล้วมีผู้ซื้อ ผูใ้ ช้สงิ่ ทีร่ กั ษาเอาไว้กจ็ ะสืบต่อไป แต่ถา้ มีผู้ผลิตผ้าแล้วไม่มีคนใช้ ก็ขายไม่ได้ สิง่ ทีเ่ ขาพยายามรักษาจะค่อยๆ หายไป แต่ตอนนี้ผู้ผลิตผ้าพื้นเมืองและ ผูท้ ตี่ ดั เสือ้ ผ้ามีรายได้เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ

ผ้ามีมูลค่ามากขึ้นมีการสั่งจองเพิ่มขึ้น ผมมีความพยายามให้มีการประยุกต์ เอาผ้าไปท�าอย่างอืน่ เช่น กระเปຉาสะพาย แต่เราต้องใช้ตลาดน�าการผลิต ผมพูด ทุกครั้งการผลิตเราต้องดูความต้องการ ของลูกค้าปຑจจุบันแล้วมาปรับวิธีการ ของเราให้เข้ากัน เราก็เอาตรงนี้มาเป็น จุดขาย สีค่ อื อาหารการกินของยโสธร ผม ยกเอาลาบยโสออกมาเป็นจุดขายมีการ จัดประกวดลาบยโสธร ทุกวันเสาร์ที่ ของเดือน เราจัดประกวดมาแล้ว 5 ครัง้ และในเดือนกันยายนจะเป็นรอบสุดท้าย เอาแชมปຊทงั้ หมดมาแข่งกันเรียกกลายๆ ว่าเป็นแชมปຊประเทศไทยประจ�าปี แล้ว ตอนนีก้ า� ลังคิดว่าจะรวบรวมร้านลาบยโส ทั่วทั้งประเทศ โดยเปิดโอกาสให้ทุกคน ได้แชร์ ได้ถา่ ยรูป กิจกรรมเหล่านีจ้ ะเป็น จุดเริม่ ต้นให้คนได้อนุรกั ษ์รกั ษาวัฒนธรรม ในเรื่องอาหาร การกินที่เรามีชื่อเสียง ซึง่ นอกจากลาบยโส เรายังมีปลาส้ม ที่มีช่ือเสียง พยายามหาวิธีท�าอย่างไร ให้รับประทานได้ง่ายพัฒนาไปเรื่อยจน เข้าไมโครเว ได้ แต่สง่ิ ทีเ่ ป็นปຑญหาของ ปลาส้มจากการที่ผมวิเคราะห์คือ ปลา ที่เอามาท�าปลาส้มเป็นปลาจากที่ไหน ปຑจจุบนั ส่วนใหญ่ซอ้ื ปลามาจากภาคกลาง ผมเลยตั้งเป็นโจทย์ให้ทางส�านักงาน ประมงจังหวัดว่า เราเสียเงินเพือ่ ไปซือ้ ปลา มาท�าปลาส้มปีละเกือบ 100 ตัน ประมาณ 0-50 ล้านบาท ถ้าเรามาส่งเสริมให้ พีน่ อ้ งยโสธรเลีย้ งปลาเพือ่ ส่งกลุม่ ปลาส้ม จะเป็นตัวหนึง่ ทีท่ า� ให้เศรษฐกิจฐานราก ของเราเข้ ม แข็ ง ขึ้ น และเป็ น การผลิ ต ตั้งแต่ต้นน�้า กลางน�้า ปลายน�้า ส่วนเรื่องสุดท้ายคือ วัฒนธรรม ประเพณี ซึง่ นอกจากประเพณีบญ ุ บัง้ ไ ทีค่ นรูจ้ กั อยูแ่ ล้วเรายังมีอกี ประเพณีหนึง่ ที่มีที่เดียวในประเทศไทยคือประเพณี แห่มาลัยข้าวตอก ทีอ่ า� เภอมหาชนะชัย ซึ่งเราก�าลังพยายามจะยกระดับจาก ประเพณีในระดับอ�าเภอ มาเป็นระดับ จังหวัดเพือ่ ไปสูร่ ะดับชาติ เราได้รบั เกียรติ เอาไปแสดงทีง่ าน ๡ไทยเทีย่ วไทย๢ ทีส่ วน


ลุมพินคี นก็ให้ความสนใจ คาดว่าปีหน้า น่าจะมีคนมาเที่ยวยโสธรมากขึ้น แล้ว ผมก็ให้ทางส�านักงานวัฒนธรรมจังหวัด ไป ຅ຕน ูวัฒนธรรม และประเพณีต่างๆ ของทางอีสานให้เป็นทีร่ บั รูข้ องเด็กและ เยาวชนมากขึน้ เพือ่ สืบทอดต่อไป เหล่านี้ คือสิ่งที่เราท�า

c@C@>pY(YJ<LY;QB.cQJ[H (YJ>BT.c>¥kIN

จากสถานที่ท่องเที่ยวที่เรามีอยู่ แล้วเราเพียงแต่หาวิธีการตลาด เรา ต้องเลือกสินค้าให้ถกู สินค้าต้องมีความ แตกต่าง ยกตัวอย่างเช่นเรามีพญาคันคาก เป็นแลนด์มาร์คแต่เราจะใช้ประโยชน์ อย่างไร ผมได้วางยุทธสาสตร์การพัฒนา การท่องเที่ยวไว้อยู่ 5 ขั้นตอน R@]k. คือการสร้างการรับรู้ทํา อย่างไร฿ห้คนรู้จักยโสธร฿ห้มากขึๅน ก็พยายามใช้สอื่ ต่างๆ อย่างตอนปีใหม่ ท� า เป็ น เพลงพรปี ใ หม่ โดยให้

ข้าราชการ และทุกสาขาอาชีพมาช่วยกัน ร้อง แล้วน�าเสนอภาพสถานทีต่ า่ งๆ ใน จังหวัดยโสธร เพื่อสื่อไปให้คนได้รู้จัก ยโสธรมากขึ้น เราพยายามจะสร้างการรับรู้ออก ไปทางสือ่ ต่างๆ และสือ่ ต่างๆ ทีส่ นใจมา ท�าข่าวสารเราก็มขี อ้ มูลข่าวสารในพืน้ ที่ ว่าตรงไหนทีถ่ า่ ยรูปแล้วสวย พยายามจะ ให้สอื่ ถ่ายออกไป โดยได้เชิญคุณกฤษณะ คุณอຎอย-กฤษนะ ละไล ผู้จัดรายการ ๡ทัวร์ยกล้อ๢ มาท�ารายการก็ยงิ่ ท�าให้คน ได้รู้จักรับรู้ถึงเรื่องราวประวัติศาสตร์ ของยโสธรมากขึ้ น แล้ ว เราก� า ลั ง จะ ท�าเพลงเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับหนุ่มสาว มาพบรักกันทีน่ แี่ ล้วให้หนุม่ สาวน�าเทีย่ ว ในทีต่ า่ งๆ ในยโสธรแล้วมีนกั ร้อง ทีเ่ ป็น คนยโสธรมาร้องทั้งฝຆายหญิงฝຆายชาย ชื่อเพลง มนต์ ักวิมานพญาแถน ซึ่ง ตอนนี้ก็เผยแพร่ เพลงให้ได้ชมกัน แล้วทางช่องทาง ค้นหาค�าว่า วิมานพญาแถน ก็จะเจอ ักซีรี่ย์

มนต์ กั วิมานพญาแถน ก็ฝากให้ชว่ ยกัน ຑงและแชร์ให้เยอะๆ ในช่ ว งฤดู ฝ นก็ ไ ด้ ห ารื อ กั บ ทาง ส�านักงาน ททท. อุบลราชธานีและบริษทั ไทยสมายล์ จะให้การสนับสนุน โดยเชิญ นักถ่ายภาพสัก 10 คนมาเที่ยวสะพาย กล้องท่องเมืองยโส มาถ่ายรูปเพื่อน�า ไปเผยแพร่ นี่คือกิจกรรมสร้างการรับรู้ QT. คือ ทําอย่างไรจะ฿ห้คนมา เทีย่ วยโสธรมากขึนๅ เราได้จดั กิจกรรม ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว โดยใช้ประโยชน์ จากสถานที่ๆ เรามีอยู่ เช่น ที่วิมาน พญาแถน มีกจิ กรรมทุกวันเสาร์โดยเสาร์ ที่ 1 กับเสาร์ที่ จะเป็นตลาดประชารัฐ เป็นที่ให้พี่น้องประชาชนและเกษตรกร มาขายของโดยเฉพาะช่วงวันหยุดยาวๆ จะมีนักท่องเที่ยวมาค่อนข้างเยอะ วัน เสาร์ที่ 2 เราจะจัดกิจกรรมถนนเด็กเดิน ให้เด็กนักเรียนน�าผลิตภัณฑ์ น�าผลงาน มาจ�าหน่าย วันเสาร์ท่ี งาน มีการประกวดลาบยโสและกลุ่มสตรีจะ YASOTHON 35


น�าผลงานน�าผลิตภัณฑ์มาจ�าหน่าย นอกจากนีก้ ม็ กี ารจัดกิจกรรมเพือ่ ดึงให้คนมาที่ยโสธร เช่น วิ่งมาราธอน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ คือวิ่งมินิ าล์ มาราธอนพญาคั น คาก และการจั ด เจ็ทสกีชิงแชมปຊประเทศไทย เมื่อเดือน กรกฎาคมที่ผ่านมา QYH คือ มาแล้วทําอย่างไรจะ฿ห้ นักท่องเที่ยว฿ช้เวลาอยู่ที่ยโสธรยาว นานขึๅน ไม่ใช่มาแล้วก็ไป เราพยายาม คิดจุดขายทีว่ า่ “7 สิง่ หนึง่ เดียวในไทย อยูใ่ นยโสธร” อย่างแรกคือ พระพุทธ บุษยรัตน์วดั มหาธาตุ เปຓนพระพุทธรูป ประจําเมืองทีเ่ ลใกทีส่ ดุ ฿นประเทศไทย หน้าตักกว้าง 1.9 นิว้ ต้องไปยืนดูใกล้ๆ อย่างที่ เรามีพระพุทธรูปทีส่ ร้างด้วย หยกขาวที่ ฿ หญ่ ที่ สุ ด ฿ประเทศไทย อยู ่ ที่ วั ด พระพุ ท ธบาทยโสธรหรื อ วั ด พระพุทธบาทมหาชนะชัย อย่างที่ เรา มีพระเจดีย์ที่บรรจุพระอัฐิธาตุของ พระอัครสาวกซึ่งมีที่เดียวเท่านัๅนคือ ฿นประเทศไทย พระธาตุของพระอานนท์

HYdLCN>pYTIBY.gJ /WfRC@X(>BT.c>¥kINf1C cNLYTI`B>¥kIeQ?IYN@Y@ )]l@"gHBf1BHYdLCN(jgB" cJYEIYIYH+[;/_;)YI >¥kNBY"ý£"Q[k.R@]k.c;¥IN f@g>ITI`Bf@IeQ?JþŸ ซึง่ เป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งสติปญ ຑ ญา ใครอยากให้ลกู เรียนหนังสือเก่งๆ สุขภาพ ดี ให้มากราบไหว้พระธาตุอานนท์ที่วัด มหาธาตุ อย่างที่ เรามีโบสถ์ไม้คาทอลิก ที฿่ หญ่ทสี่ ดุ ฿นประเทศไทยทีส่ ร้างด้วย ไม้ทงั้ หลัง เป็นความโดดเด่นของชุมชน สองวัฒนธรรมสองความเชือ่ แต่อยูร่ ว่ ม กันอย่างสันติสขุ คนพุทธก็ไปโบสถ์คริสต์ ได้ คนคริสต์ก็ร่วมท�าบุญได้ อย่างที่ เรามีศาลหลักเมืองทีม่ ี เสา คือตอน 36

ตัง้ ศาลหลักเมืองเมือ่ สมัยอพยพมาจาก หนองบั ว ล� า ภู ก็ มี เรื่ อ งราวที่ บั น ทึ ก ใน พงศาวดารยโสธรว่า ตรงบริเวณทีต่ ง้ั พบ สิ่งมหัศจรรย์จนต้องตั้งเสาหลักเมือง เสา เสาหลักเมืองจะอยู่กลางแล้วอีก 2 เสาคือเสาพะละงุม กับเสาพะละง�า ซึ่ง พีน่ อ้ งประชาชนชาวยโสธรเคารพนับถือ แต่รูปลักษณ์ศาลหลักเมืองช่วงหลังมี คหบดีจีนมาบูรณะเป็นสถาปຑตยกรรม แบบจีน อย่างที่ เรามีประเพณีแห่ มาลัยข้าวตอกหนึ่งเดียว฿นประเทศ ไทย ดูที่ไหนก็ไม่มี ตอนนี้ได้รับการพูด ถึ ง อย่ า งกว้ า งขวางมี ก ารแห่ ก ่ อ นวั น มา บูชา 1 วัน โดยชาวบ้านจะน�าข้าว เหนียวใหม่มาคั่วเป็นข้าวตอกแล้วร้อย เรียงเป็นพวงสูง - เมตร เราพยายาม จะร้อยเรื่องราว เชิญชวนนักท่องเที่ยว มาถวายพวงมาลัยข้าวตอกเป็นพุทธ บูชา อย่างที่ เรามีอาคารรูปทรงคางคก แห่งเดียว฿นประเทศไทย หากท่านมา ยโสธรก็จะได้พบกับ สิง่ ทีเ่ ป็นหนึง่ เดียว

ในประเทศไทย นี่คือความพยายามที่ จะดึงเวลาให้นักท่องเที่ยวอยู่นานที่สุด Q¥k คือเราต้องการ฿ห้คนจับจ่าย ฿ช้สอย฿นจังหวัดยโสธร฿ห้มากขึนๅ เรา เล็งไปที่ผลิตภัณฑ์โอท็อปต่างๆ อย่าง ที่ ผ มบอกแล้ ว ว่ า เรื่ อ งการผลิ ต ผมให้ นโยบายว่าเราต้องสร้างความแตกต่าง ต้องเอาการตลาดเข้ามา ดูอย่างกระเปຉา แบรนด์เนมทัง้ หลาย เราจะดึงมาประยุกต์ มาปรับกับของเราได้อย่างไร เช่น กระเปຉา ใช้ผา้ ขาวม้าหรือใช้ผา้ พืน้ เมือง ก็ได้ความ รู้สึกไปอีกแบบหนึ่ง ผมพาคณะหลาย คณะมาอย่างคณะของกระทรวงการ ต่างประเทศมาก็เป็นทีช่ นื่ ชอบ ผ้าทีเ่ รา จะเน้นคือผ้าฝງายย้อมด้วยสีธรรมชาติ แล้วอนาคตเราจะเป็นผ้าฝງายออแกนิค ตั้งแต่กระบวนการปลูกจนถึงกระบวน การท�าลายผ้า โดยเฉพาะผ้าคลุมไหล่ ตอนนี้มีออเดอร์จากต่างประเทศด้วย สุดท้ายคือ ทําอย่างไรจะ฿ห้คน ประทับ฿จยโสธร เพราะยโสธรเป็นเมือง


เล็กๆ เป็นเมืองสงบ คุณกฤษณะใช้ค�า พูดว่า...เป็นเมืองสงบงามคือบ้านเมือง เราไม่ใหญ่ แต่จะเงียบสงบ แล้วก็มคี วาม เรียบร้อย สิง่ ทีผ่ มพูดไปทัง้ หมด ผมแค่มาเติม เต็มโดยน�าประสบการณ์มาปรุงแต่งเป็น วิธีการที่จะบรรลุถึงเปງาหมายได้อย่าง รวดเร็วหรือมีประสิทธิภาพมากขึ้นจะ ไม่พยายามเปลีย่ นวิสยั ทัศน์ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดเพราะถ้าเราเปลี่ยน ผู้ป ิบัติงานคนท�างานทุกต�าแหน่งจะ รู ้ สึ ก ว่ า มั น ไม่ มี ค วามแน่ น อนเปลี่ ย น ผูบ้ ริหารก็เปลีย่ นนโยบายที มันไม่ใช่วา่ เรามาแล้วเราท�าตามรอยคนอื่นไม่ได้ แต่สิ่งที่ผมพูดกับน้องๆที่จะเป็นนาย อ�าเภออยูเ่ สมอเวลาทีไ่ ปอบรมคือ...เรา จะท�าอะไร ต้องท�าให้เสร็จตั้งแต่ตอนที่ เราอยูเ่ พราะเราไม่สามารถทีจ่ ะรับประกัน ได้ว่าสิ่งที่เราท�าไว้หรือพยายามสร้าง พยายามเสริมไว้วนั ข้างหน้าคนมาทีหลัง เขาจะท�าไปในแนวทางเราไหม ถ้าเราท�า

แล้วมันคาราคาซังเราก็ไม่รู้ว่าที่สุดแล้ว มันจะเสร็จไหมถ้าเราคิดเรื่องที่ดีแล้ว ต้องพยายามท�าให้มันเสร็จให้บรรลุผล เร็วที่สุด ภาษาทางยุทธศาสตร์เขาเรียก ว่า คือท�าให้มนั เสร็จเร็ว แล้ว บรรลุผลอย่างชัดเจนเราจะได้ในเรื่อง ของความเชื่อมั่น

IeQ?J(XA(YJc)CYQ`B"AEC

ยโสธรในส่วนทีเ่ กีย่ วพันกับ ใน เรือ่ งของการเคลือ่ นย้ายแรงงานเพือ่ มา ในภาคอุตสาหกรรมไม่คอ่ ยมีผลกระทบ นัก แต่ในเรื่องของผลิตภัณฑ์ทางการ เกษตรซึง่ อาจจะเป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ หมือน หรือใกล้เคียงกับประเทศเพื่อนบ้านก็มี ส่วนที่จะมีผลกระทบแต่ไม่มาก เพราะ เรามีตลาดที่เป็นเฉพาะของตัวเอง แต่สิ่งที่พอจะเป็นปຑญหาคือเรื่อง ของความมั่นคงเพราะว่าจังหวัดยโสธร นั้นอยู่ห่างจากพื้นที่ชายแดนสองด้าน ไม่มากทางมุกดาหารวิ่งรถจากสะพาน

มิตรภาพมาถึงเลิงนกทาใช้เวลาแค่ 0- 0 นาทีเท่านัน้ และทีอ่ า� นาจเจริญก็เช่นเดียว กัน เพราะฉะนัน้ สิง่ ทีเ่ ราให้ความส�าคัญ เป็นอันดับแรก คือเรือ่ งความมัน่ คง เพราะ จะเป็นเส้นทางที่ใช้ในการล�าเลียงยา เสพติดผ่านจังหวัดเราไป เรือ่ งที่ 2 คือการขนส่งสารเคมีวตั ถุ อันตราย ซึ่งจะต้องผ่านในเส้นทางของ เราไปมุกดาหารตรงนีเ้ ป็นประเด็นทีเ่ รา เป็นห่วงว่าเจ้าหน้าทีข่ องเราอาจมีความ คุน้ ชินในเรือ่ งนีน้ อ้ ย เราก�าลังวางแผนใน การฝຄกซ้อมในกรณีเกิดสาธารณภัยเกีย่ ว กับสารเคมีอนั ตรายในพืน้ ที่ เพราะว่าตรง เลิงนกทาเป็นจุดที่มีความเสี่ยงในการ พลิกคว�่าของรถ ส่วนอืน่ ๆ ทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบจาก โดยตรงก็ไม่มากเท่าไหร่ดว้ ยลักษณะ สภาพของพื้นที่ แต่เราก็มีการเตรียม ความพร้อมในเรือ่ งของบุคลากรของเรา ไว้ในระดับหนึ่งทั้งในด้านการศึกษา ทั้ง ในส่วนราชการก็เตรียมไว้ แต่คงจะไม่ YASOTHON 37


นี้เพราะว่าอยู่ใกล้เขตเศรษฐกิจพิเศษ มุกดาหารเราตัง้ กรรมการท�างานร่วมกัน จังหวัด รวมทั้งภาคเอกชนด้วย จะมี การประชุมคณะกรรมการเพื่อที่จะวาง ยุทธศาสตร์รว่ มกันว่าจะท�าอย่างไรเพือ่ ให้เปิดเป็นสนามบินพาริชย์ที่ให้บริการ ได้ทั้งมุกดาหาร ยโสธรกับอ�านาจเจริญ ได้ในอนาคต ถ้าวันข้างหน้าสิ่งที่เราพยายาม ผลักดันเรือ่ งสนามบินเลิงนกทาประสบ เท่ากับจังหวัดที่มีพื้นที่ติดชายแดน

/Y(f/C`CNBYV"cH^T.IO

ส�าหรับนักท่องเทีย่ วผมอยากบอก ว่า ถ้าอยากสัมผัสชีวติ เรียบง่ายสงบเงียบ อยากสัมผัสเรื่องเกษตรอินทรีย์ อยาก สัมผัสศิลปวัฒนธรรมของอีสาน ยโสธร เป็นตัวเลือกทีท่ า่ นมาแล้ว ผมเชือ่ ว่าทุก คนจะได้รับความรู้สึกประทับใจกลับไป ในเรื่องของเศรษฐกิจ ซึ่งเราก�าลัง ใช้ จุ ด เด่ น ของเราที่ เ ป็ น เมื อ งเกษตร อินทรีย์เป็นจุดขาย เราอยากเชิญชวน ผูป้ ระกอบการทีท่ า� กิจการเกีย่ วกับเรือ่ ง เกษตรอินทรีย์ เช่น เรื่องการแปรรูปผล ผลิตต่างๆ สามารถมาลงทุนหรือติดต่อ กับเกษตรกรในจังหวัดของเราให้ผลิต วัตถุดบิ ตามทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องการได้ เช่น โรงงานทีท่ า� เครือ่ งปรุงอาหาร หรือ ท�าเครื่องแกง ก็ให้เกษตรกรปลูกพริก โหระพา ใบมะกรูด ข่า อะไรประมาณนี้ แล้วส่งเป็นวัตถุดบิ ให้ทา่ นได้ ผมอยากจะ บอกท่านผูป้ ระกอบการว่า เรามีพนื้ ทีๆ ่ 38

เป็นเกษตรอินทรีย์ ซึ่งได้รับการรับรอง มาตรฐานสากลอยูแ่ ล้ว หากท่านมีความ ต้องการพืชผักจากสวนใหญ่ๆ สามารถ ติดต่อกับทางจังหวัดหรือเกษตรกรได้ เกษตรกรทีม่ คี วามพร้อมทีจ่ ะท�ามีเยอะ ถ้าท่านต้องการผลิตผลที่เป็นเกษตร อินทรีย์สามารถให้จังหวัดยโสธรเป็น แหล่งในการผลิตวัตถุดิบได้ หากท่านที่จะมาลงทุนในเรื่องที่ เกีย่ วกับชายแดน ซึง่ ราคาทีด่ นิ ในจังหวัด มุกดาหารอาจจะสูงแล้ว แต่ถ้าขยับมา นิดหนึ่งแถวเลิงนกทาที่ดินจะถูกกว่า แล้วอยู่ไม่ไกลจากชายแดนก็ฝากเป็น ข้อมูลส�าหรับนักธุรกิจ ยโสธรมีสนามบินที่เลิงนกทาแม้ จะเป็นสนามบินเก่าแต่มสี ภาพสมบูรณ์ เป็นสนามบินในความดูแลของทหาร บก ซึ่งหากมีการขยายรันเวย์จะใช้งบ ประมาณไม่สงู มาก ถ้าส�าเร็จจะเป็นจุดที่ เหมาะกับการให้บริการใน จังหวัดคือ อ�านาจเจริญ มุกดาหาร และยโสธร ซึ่ง เราอยู่กึ่งกลางเราพยายามผลักดันตรง

Š=CYcJY+[;cJ^kT.>¥k;¥dLCN <CT.EIYIYH>pYfRC HX@cQJj/fRCAJJL_CL cJjN>¥kQ_;"GYPY>Y. I_>?OYQ<JFc)YcJ¥I(NBY" rキォ・ュ"xォー"+^T>pYfRCHX@ cQJj/cJjN"dLCNAJJL_CL TIBY.1X;c/@cJY/Wg;Cf@ cJ^kT.)T.+NYHc1^kTHXk@Ÿ ความส�าเร็จก็จะเป็นปຑจจัยหนึ่ง แล้ว ยโสธรเราอยู่ตามแผนขยายเส้ น ทาง คมนาคมทางรถไ จะมีรถไ วิง่ ผ่านจาก บ้านไผ่ ขอนแก่น มามหาสารคาม มา ร้อยเอ็ดแล้วมายโสธรทีเ่ ลิงนกทาซึง่ อยู่ ไม่ไกลจากสนามบินเราก�าลังจะวางระบบ เชือ่ มโยงก่อนทีจ่ ะไปมุกดาหาร นีค่ อื สิง่ ทีอ่ ยากจะบอกกับท่านผูอ้ า่ นทุกคนครับ


@YIA_4?JJH cL[OQ_)¥c(PH

C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J

@YIA_4?JJH" cL[OQ_)¥c(PH

C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J

)CTH`LQBN@A_++L

อายุ 5 ปี ภูมิลําเนา กรุงเทพมหานคร คู่สมรส นางวนิดา เลิศสุขีเกษม บุตรชาย 1 คน

(YJO](PY 

ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(YJTAJH>¥kQpY+X4   

หลักสูตรนายอ�าเภอ รุ่นที่ 6 พ.ศ.25 หลักสูตรนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 51 พ.ศ.2550 หลักสูตรวิทยาลัยปງองกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 56 พ.ศ.2556 - 255

BJWQA(YJ:F(YJ>pY.Y@>¥kQpY+X4 พศ พศ พศ พศ พศ พศ พศ ตุลาคม

นายอ�าเภอไทยเจริญ เจ้าพนักงานปกครอง จังหวัดยโสธร ผู้อ�านวยการส่วนประสานโครงการพัฒนาท้องที่ ส�านักบริหารการปกครองท้องที่ เลขานุการกรม กรมการปกครอง ผู้อ�านวยการกองการเจ้าหน้าที่ อ�านวยการต้น ส�านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้อ�านวยการส�านักนโยบายและแผน อ�านวยการสูง ส�านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก รองอธิบดีกรมการปกครอง ปຑจจุบัน ผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร YASOTHON 39


cQC@>Y.EAJT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;

@YIN[A`LIF"JX<@YGJ:FN.OF JT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J J[cJ[kH"JN;cJjN"JTA+TA +^T+<[E/@FBJW/pYf/)T."Š@YIN[A`LIF"JX<@YGJ:FN.OFŸ"JT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J"" 2]k.(pY(XA;`dL.Y@;CY@(YJAJ[RYJdLWEX9@YJWAA.Y@"dLW.Y@;CY@cOJP7([/dLWe+J.QJCY.E^l@7Y@" 2]k."@[<IQYJ"tcm"g;CJXAc(¥IJ<[/Y(>BY@fRCQXHGYP:Ff@RLY(RLYIBJWc;j@";X.@¥l cQC@>Y.Q`BJT.C`CNBYVIeQ?J

ผมจบปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และนิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และศึกษาเพิม่ เติมได้ประกาศนียบัตรบัณฑิต ทางกฎหมายมหาชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญา โท พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต รัฐประศาสนศาตร์ ป ຑ จ จุ บั น ก� า ลั ง ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร ป รั ช ญ า ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ด้านการท�างาน เริม่ จากการเป็นปลัดอ�าเภอในจังหวัดทาง ภาคเหนือและภาคกลาง ต่อมาจึงย้ายเข้าส่วนกลางมาเป็น หัวหน้างานแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง และหัวหน้าฝຆายบริหารทัว่ ไป ส�านักบริหารปกครองท้องที่ กรมการ ปกครอง ก่อนจะไปเป็นนายอ�าเภอครัง้ แรก ทีอ่ า� เภอปางศิลาทอง จังหวัดก�าแพงเพชร จากนั้นได้มาเป็นหัวหน้าส�านักอธิการ วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ก่อนมาเป็นนายอ�าเภอ รัตนบุรี จังหวัดสุรนิ ทร์ และนายอ�าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ตามล�าดับ จากนัน้ ได้ดา� รงต�าแหน่งอธิการวิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ส่วนต�าแหน่งปຑจจุบนั คือ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด ยโสธร ตั้งแต่ปี 255

I];"Š¦"JŸ"cBJ@RLX((YJ>pY.Y@

ผมมีหลักการท�างานตามคติพจน์ประจ�าใจ คือ “ริเริ่ม รวดเรใว รอบคอบ” ริเริ่ม น�าเสนอสิ่งใหม่ ต่อยอดสิ่งเก่า ด้วยวิธีการใหม่ๆ แนวทางใหม่ๆ อย่างต่อเนือ่ ง มุง่ สร้างผลลัพธ์เพิม่ ขึน้ ในขอบเขต งานทีร่ บั ผิดชอบ โดยคิดเสมอว่า ๡จะท�าให้ดกี ว่าเดิมได้อย่างไร๢ รวดเรใว ท�างานอย่างมีระเบียบแบบแผน มีการวางแผน การท�างาน จัดล�าดับความส�าคัญของงาน 40

รอบคอบ ให้ความส�าคัญกับรายละเอียดของงานในทุก แง่มุม ยึดระเบียบกฎหมายเป็นหลัก

A_++L;Lf/f@(YJB6[AX<[JY1(YJ

พระบาทสมเดใจพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเป็นต้นแบบในการ ท�างานและทรงเป็นแรงบันดาลใจในการป ิบัติราชการของ ผมเสมอมา จะเห็นได้จากการทรงงานของพระบาทสมเดใจ พระเจ้าอยูห่ วั ท่านทรงยึดการด�าเนินงานในลักษณะทางสาย กลางที่สอดคล้องกับภูมิสังคม และสามารถป ิบัติได้จริง ทรง มีความละเอียด รอบคอบ และทรงคิดค้นแนวทางพัฒนา เพือ่ มุ่งสู่ประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนเสมอ

GYJW.Y@>¥kg;CJXAHTARHYI

ภาระงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด ยโสธร ให้ก�ากับดูแลครอบคลุม 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารและพัฒนาระบบงาน ประกอบด้วย  งานรัฐพิธี, งานพิธี, งานรับเสด็จ  งานบริหารทรัพยากรบุคคล, งบประมาณ, การเงิน การ คลัง และการพัสดุ  งานพัฒนาระบบสารสนเทศ, ระบบสือ ่ สาร, การประชาสัมพันธ์  งานศูนย์ด�ารงธรรม, ปງองกันปราบปรามการทุจริต, คุ้มครองผู้บริโภค  งานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตนกรรม ด้านเศรษฐกิจและโครงสร้างพืๅนฐาน ประกอบด้วย  งานส่งเสริมและพัฒนาผลผลิตภาคการเกษตรและภาค อุตสาหกรรม  งานส่งเสริมการท่องเที่ยว


zbtpuipo"41


งานเกีย่ วกับการคมนาคม, ผังเมือง, การควบคุมอาคาร  งานเกีย ่ วกับจัดหางาน, พัฒนาฝีมอื แรงงาน, การประกัน สังคม  งานส่งเสริมผลิตภัณฑ์ชุมชน, กิจการตลาดชุมชน

GYJ([/>¥k<CT.(pY(XA;`dLcBJ@E[cOP

ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร ให้ก�ากับดูแลเป็นพิเศษ ในงานที่ได้รับมอบหมายทั้ง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารและพัฒนาระบบงาน ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ฿ห้กํากับดูแลเปຓนพิเศษ คือ 1.1 งานบริหารงบประมาณ, การเงิน การคลัง และการ พัสดุ ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ได้มอบหมายให้ดแู ลในการ เบิกจ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ของจังหวัด โดยมีการประชุมรายงานความก้าวหน้าในการใช้ จ่ายงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ และสรุปปຑญหา อุปสรรค ในการท�างานเป็นประจ�าทุกเดือน เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั ประโยชน์ สูงสุดจากงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ 1.2 งานศูนย์ด�ารงธรรม ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ได้มอบหมายให้ขบั เคลือ่ น ศูนย์ดา� รงธรรม ซึง่ ขณะนีจ้ งั หวัดยโสธรเป็นจังหวัดต้นแบบ ตาม แผนงานศึกษาเชิงป บิ ตั กิ าร เรือ่ ง “ตัวแบบการบริหารจัดการ ของจังหวัดทีม่ งุ่ หวังผลสัม ทธิก์ ารบริการประชาชนทีเ่ ปຓน เลิศโดยยึดพืนๅ ทีเ่ ปຓนหลัก ( )” กรณีศกึ ษา ศูนย์ดา� รงธรรมจังหวัดยโสธร ด�าเนินการโดยคณะกรรมาธิการ ขับเคลื่อนการป ิรูปประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน

42

ด้านเศรษฐกิจและโครงสร้างพืนๅ ฐาน ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ฿ห้กํากับดูแลเปຓนพิเศษ คือ 2.1 งานส่งเสริมและพัฒนาผลผลิตภาคการเกษตรและ ภาคอุตสาหกรรม สืบเนื่องจากจังหวัดยโสธรมีวิสัยทัศน์คือ “ยโสธรเมือง แห่งวิถอี สี าน เกษตรอินทรียก์ า้ วไกลสูส่ ากล” ท่านผูว้ า่ ราชการ จังหวัดยโสธร จึงได้มอบหมายให้ขบั เคลือ่ นเกษตรอินทรีย์ โดย การส่งเสริม สนับสนุนให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนมาท�าเกษตร อินทรีย์ โดยมีการจัดตัง้ โรงเรียนเกษตรอินทรียข์ นึ้ เพือ่ เป็นแหล่ง แลกเปลีย่ น เรียนรูใ้ ห้แก่เกษตรกร และเป็นแหล่งปลูกฝຑงค่านิยม ในการท�าการเกษตรปลอดสารพิษให้แก่เยาวชน รวมทั้งการ ส่งเสริมการตลาด โดยมุ่งเน้นให้ผู้ประกอบการภายในจังหวัด หันมาใช้ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ในการประกอบธุรกิจ เช่น ส่งเสริม ให้ผู้ประกอบกิจการโรงแรม ผู้ประกอบการร้านอาหาร ใช้ข้าว และพืชผักอินทรีย์ในการประกอบอาหารบริการให้แก่ลูกค้า เป็นต้น งานส่งเสริมการท่องเที่ยว จังหวัดยโสธรได้จดั สร้าง “วิมานพญาแถน” ขึน้ บริเวณ ล�าทวน เพื่อใช้เป็นสถานที่ที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณีของ จังหวัด เป็นแหล่งท่องเทีย่ วและแหล่งเรียนรูท้ สี่ า� คัญของจังหวัด ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร จึงได้มอบหมายให้ขับเคลื่อน วิมานพญาแถน ให้เป็น แห่งใหม่ของจังหวัดยโสธร เป็น ที่ส�าคัญของภาคอีสานในอนาคต ซึ่งภายใน วิมานพญาแถนนัน้ ประกอบไปด้วยสิง่ ก่อสร้างทีส่ ะท้อนถึงต�านาน บุญบัง้ ไ ของยโสธร คือ อาคารวิมานพญาแถน อาคารพญานาค อาคารพญาคันคาก และประติมากรรมขบวนแห่บงั้ ไ ส�าหรับ


อาคารพญาคันคากที่เป็นจุดสนใจของนักท่องเที่ยวนั้น มีการ จัดนิทรรศการประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของเมืองยโสธร ต�านาน พญาแถนและพญาคันคากต�านานและเรือ่ งราวของบัง้ ไ และ อัตลักษณ์เมืองยโสธร เป็นแหล่งเรียนรูป้ ระเพณีวฒ ั นธรรม และ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ทางวัฒนธรรมคนอีสานในอดีต กาลจนปຑจจุบนั ซึง่ ขณะนีม้ นี กั ท่องเทีย่ วเดินทางมาเยีย่ มชมเป็น จ�านวนมาก

(YJ;pYc@[@.Y@<YH@eIAYI+Q1ホヘJX7AYL

การด�าเนินงานตามนโยบายของ คสช.และรัฐบาล ที่ได้ รับมอบหมายจากผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร คือ การขับเคลือ่ น ศูนย์ด�ารงธรรม ให้สามารถช่วยเหลือ ตอบสนอง ความเดือด ร้อนของประชาชนให้ประสบผลส�าเร็จที่สุด โดยศูนย์ดา� รงธรรมจังหวัดยโสธร มีประชาชนมาร้องเรียน ร้องทุกข์ นับตัง้ แต่ตงั้ ศูนย์ดา� รงธรรม 22 ก.ค. 255 จนถึงปຑจจุบนั จ�านวน 2,566 เรื่อง ยุติเรื่องได้ 2, 5 เรื่อง คิดเป็น 91. 9 ส่วนใหญ่จะเป็นเรือ่ งขอความช่วยเหลือทัว่ ไป เช่น มีปญ ຑ หาใน การด�ารงชีวติ รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย เป็นต้น ซึง่ จ�านวน เรือ่ งทีข่ อความช่วยเหลือมี 55 เรือ่ ง ยุตเิ รือ่ งได้ 0 เรือ่ ง คิด เป็น 9 .25 จะเห็นได้วา่ ประชาชนยังมีความเดือดร้อนอยูเ่ ป็นจ�านวน มาก จึงต้องมีการขับเคลือ่ นศูนย์ดา� รงธรรมอย่างต่อเนือ่ ง เข้ม ข้นขึ้น เพื่อลดจ�านวนเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ลง โดยยึดหลัก

“รวดเรใว เหในผล ทัน฿จ ฿ช้บริการศูนย์ดํารงธรรม” เพราะ ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ต้องการให้ประชาชนอยูด่ กี นิ ดี ยกระดับความเป็นอยูข่ องประชาชน ศูนย์ดา� รงธรรมจึงต้องท�างาน ในเชิงรุกมากขึ้น เพื่อขจัดปຑญหาที่สาเหตุ

CL(YJ;pYc@[@.Y@>¥kGY+G`H[f/

ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร มุง่ มัน่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นจังหวัด ยโสธรให้บรรลุผลส�าเร็จตามวิสัยทัศน์ “ยโสธรเมืองแห่งวิถี อีสาน เกษตรอินทรียก์ า้ วไกลสูส่ ากล” โดยการส่งเสริม สนับสนุน ให้เกษตรกรท�าเกษตรอินทรีย์ทั่วทั้งจังหวัด และส่งเสริมให้ ผูบ้ ริโภค บริโภคผลิตภัณฑ์ทผี่ ลิตด้วยกรรมวิธอี นิ ทรีย์ และท่าน ผูว้ า่ ฯ ยังขับเคลือ่ นให้ประชาชนชาวจังหวัดยโสธร อยูด่ กี นิ ดี มีสขุ ยกระดับรายได้ จึงมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ในการ ขับเคลือ่ น เพือ่ ความอยูด่ ี กินดี มีสขุ ภาพทีด่ ี ของประชาชนชาว จังหวัดยโสธร

/Y(f/>BY@JT.C`CNBYVN[A`LIF

สิง่ ทีต่ อ้ งการฝากไปยังภาคส่วนต่างๆ รวมถึงชาวจังหวัด ยโสธร คือ ต้องให้ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน หรือทีเ่ รียก ว่าประชารัฐ ร่วมมือกันขับเคลื่อนจังหวัดยโสธร โดยเฉพาะ การขับเคลือ่ นเกษตรอินทรีย์ การเพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้า ผลิตภัณฑ์ ของจังหวัดยโสธร และการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้จังหวัด ยโสธรเป็น ทีส่ า� คัญของภาคอีสาน เพือ่ ประชาชน ชาวจังหวัดยโสธรจะได้อยู่ดี กินดี มีสุขภาพดี มีความสุข zbtpuipo" ¦


cQC@>Y.EAJT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;

@YIN¥JWNX9@F"N.OFNBT.gN JT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J )CYJY1(YJEJCTH>pY.Y@cE^kTBJW1Y1@ +^T+<[E/@FBJW/pYf/)T.>BY@JT.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J"Š@YIN¥JWNX9@F"N.OFNBT.gNŸ"" 2]k.g;CJXAHTARHYIfRC(pY(XA;`dL.Y@;CY@(YJB(+JT.dLW+NYHHXk@+."dLW.Y@;CY@QX.+H" dLW+_:GYE1¥N[<"e;I>BY@I];RLX("Š"¡"JホŸ"+^T"JBNH+[;"JBNH>pY"JBNHJXAC[;1TA"" JBNHd(Cg)BH4RY"dLWJBNH<[;<YHBJWcH[@CL"cBJ@RLX(f@(YJ>pY.Y@cQHTHY"" eT(YQ@¥l>BY@g;C(J_:YQLWcNLYfRC"@[<IQYJ"tcm"QXHGYP:Ff@RLY(RLYIBJWc;j@";X.@¥l cQC@>Y.Q`BJT.C`CNBYVIeQ?J

ผมจบปริญญาตรีดา้ นนิตศิ าสตร์ ทีม่ หาวิทยาลัยรามค�าแหง และปริญญาโทด้านพัฒนาสังคม ทีน่ ดิ า้ หรือสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ด้านการป ิบัติราชการ ผมเคยเป็นนายอ�าเภอที่จังหวัด ยโสธรอยู่ 2 อ�าเภอ คือ อ�าเภอทรายมูล และอ�าเภอเลิงนกทา แล้วย้ายไปเป็นนายอ�าเภอหนองกุงศรี กับทีอ่ า� เภอกุฉนิ ารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ก่อนจะรับต�าแหน่งปลัดจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วน ต�าแหน่งปຑจจุบันก็เป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดยโสธร

A_++L;Lf/f@(YJB6[AX<[JY1(YJ

ท่านสุธี มากบุญ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงมหาดไทย ซึ่งจากการป ิบัติงานตามแนวทางของท่าน มีความละเอียด รอบคอบ และในการป บิ ตั งิ านเพือ่ พัฒนา ทีม่ งุ่ เน้นประโยชน์ ของประชาชนเป็นหลัก

GYJW.Y@>¥kg;CJXAHTARHYI

ภาระทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ให้ก�ากับดูแลการป ิบัติราชการกลุ่มภารกิจ 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครองและความมั่นคง ประกอบด้วย  งานการปกครองท้ อ งที่ เว้ น แต่ ง านการเสริ ม สร้ า ง ประสิทธิภาพของคณะกรรมการหมู่บ้าน  การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  งานส่งเสริมการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

44

งานเกี่ยวกับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความ มั่นคงภายใน งานการข่าว กิจการอาสารักษาดินแดน งานมวลชน  งานการแก้ไขปຑญหาความขัดแย้งของประชาชน และ การชุมชนในที่สาธารณะ  งานเกีย ่ วกับการปງองกันและปราบปรามอาชญากรรม และการค้ามนุษย์ การปราบปรามผูม้ อี ทิ ธิพล และกลุม่ ผู้กระท�าผิดละเมิดกฎหมาย  งานการปງองกันและแก้ไขปຑญหายาเสพติด และการจัด ระเบียบสังคม  งานเกีย ่ วกับทีด่ นิ และแก้ไขปຑญหาการบุกรุกทีด่ นิ ของรัฐ  งานปງองกัน ปราบปรามการบุกรุกท�าลายปຆาไม้และ ทรัพยากรธรรมชาติ และการพิจารณาอนุญาตทีเ่ กีย่ ว กับปຆาไม้และทรัพยากรธรรมชาติ  งานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม  งานเกีย ่ วกับการพิจารณาอนุญาตทางปกครอง โรงแรม สถานบริการ ค้าของเก่า การพนัน อาวุธป຅น การเรีย่ ไร  งานการปງองกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้านสังคมและคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย  งานส่งเสริมการปลูกฝຑงค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมใน การด�าเนินชีวิตของประชาชน  งานเกีย ่ วกับการพัฒนาคุณภาพชีวติ และความเป็นอยู่ ของประชาชน  งานเกีย ่ วกับโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�าริ และ งานตามแนวพระราชด�าริ


zbtpuipo"45


งานส่งเสริมการขับเคลือ่ นการพัฒนาตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง  งานส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน งานกองทุนหมูบ ่ า้ น และชุมชนเมือง และงานเกี่ยวกับสวัสดิการชุมชน  งานการควบคุมมลพิษและส่งเสริมคุณภาพสิง ่ แวดล้อม และการ ຅ຕน ู อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ  งานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม  งานการสาธารณสุข และงานส่งเสริมสุขภาพ การกีฬา และนันทนาการ  งานกิจการสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และ ผู้ด้อยโอกาส และงานเกี่ยวกับกิจการสภากาชาดไทย  งานการควบคุมกิจการเทปและวัสดุโทรทัศน์

GYJ([/>¥k<CT.(pY(XA;`dLcBJ@E[cOP

ภารกิจทีท่ า่ นผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ให้กา� กับดูแลเป็น พิเศษ ได้แก่ งานด้านยาเสพติด ซึ่งถือเป็นวาระแห่งชาติที่ทุก ภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน ตลอดทั้งทุก คนในชาติตอ้ งร่วมกันในการแก้ไขปຑญหา เพือ่ ให้บงั เกิดผลเป็น รูปธรรม ครอบคลุมในทุกมิตทิ กุ ด้าน ทัง้ ด้านการปງองกันยาเสพติด การปราบปรามยาเสพติด การบ�าบัดรักษายาเสพติด ตลอดทัง้ การบริหารจัดการแบบบูรณาการ

CL(YJ;pYc@[@.Y@>¥kGY+G`H[f/

จังหวัดยโสธรมีวสิ ยั ทัศน์ ว่า “ยโสธรเมืองแห่งวิ อี สี าน เก ตรอินทรียกຏ า้ วไกลสูส่ ากล” ซึง่ ถือเป็นวิสยั ทัศน์ ในมิตขิ อง การพัฒนาทีย่ งั ยืน่ ในอนาคตของจังหวัด ส�าหรับการด�าเนินการ ที่ภาคภูมิใจประการหนึ่งก็คือ งานด้านยาเสพติด ซึ่งนอกจาก จังหวัดยโสธรจะมีวสิ ยั ทัศน์ดงั กล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีวสิ ยั ทัศน์ ในด้านยาเสพติดตามแผนยุทธศาสตร์การปງองกันและแก้ไข ปຑญหายาเสพติด ระยะ 5 ปี พ.ศ.255 -พ.ศ.2562 ของจังหวัด ยโสธร ว่า “เ นຓ เมืองบูร าการการ อງ งกันและแก้ไข ຑ หา ยาเส ติด รบวง ร” นัน่ ก็หมายถึงว่า จังหวัดยโสธร โดยท่าน ผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธรก็ให้ความส�าคัญต่อปຑญหายาเสพติด ในพื้นที่ไม่น้อยกว่าปຑญหาด้านอื่นๆ ควบคู่กันไป ซึ่งเมื่อการ ด�าเนินการแก้ไขปຑญหายาเสพติดในพืน้ ทีเ่ ป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรืออยู่ในสถานการณ์ที่เบาบางหรือควบคุมได้ ก็จะเป็นอีก ปຑจจัยหนึ่งในการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชนใน พืน้ ที่ อันจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของหมูบ่ า้ นชุมชน ก่อ ให้เกิดความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ให้เกิดขึ้นกับสังคม ซึ่งส่งผลให้บรรยากาศเอื้อต่อการพัฒนา ทุกๆ ด้านของจังหวัด

(YJ;pYc@[@.Y@<YH@eIAYI+Q1ホヘJX7AYL"

การขับเคลื่อนการปງองกันและแก้ไขปຑญหายาเสพติด

46

จังหวัดยโสธร ซึ่งผลการด�าเนินการมีดังนี้ ด้านการปງองกันยาเสพติด จังหวัดยโสธรเราด�าเนินการ ในหลายๆ เรื่อง เช่น การสร้างภูมิคุ้มกันในทุกกลุ่มเปງาหมาย เริ่มตั้งแต่ระดับ ปฐมวัย เป็นต้นมา โดยพิจารณาพัฒนาศูนย์เด็กเล็กและครู ผูด้ แู ลเด็ก ให้มคี วามรู้ มีมาตรฐาน เพราะการพัฒนามนุษย์ให้ เหมาะสมกับวัย กับพัฒนาการทีค่ วรจะเป็น เป็นปຑจจัยส่วนหนึง่ ในการปງองกันปຑญหายาเสพติดในอนาคต 2. การสร้างภูมิคุ้มกันและปງองกันยาเสพติดในเยาวชนนอก สถานศึกษา โดยศูนย์เยาวชนระดับพื้นที่ที่มีอยู่ในทุกอ�าเภอ 3. การสร้างเครือข่ายการเฝງาระวัง ปງองกัน และแก้ไขยาเสพติด ครอบคลุมทุกหมูบ่ า้ นชุมชน ในรูปแบบตาสับปะรด คณะกรรมการ หมูบ่ า้ น คณะกรรมการชุมชนเข้มแข็ง ตามแผนประชารัฐร่วมใจ สร้างหมู่บ้านชุมชนปลอดภัยยาเสพติด 4. การบูรณาการส่วนราชการออกจัดระเบียบสังคม สถานที่ เสีย่ งต่อเนือ่ งสม�า่ เสมอ เช่น สถานบริการ สถานประกอบการที่ คล้ายสถานบริการ ร้านเกม ร้านคาราโอเกะ ฯลฯ เพือ่ ปງองกัน ปຑญหายาเสพติดในพื้นที่ ฯลฯ


ด้านการปราบปรามยาเสพติด ในปี 2559-ปຑจจุบนั จังหวัด ยโสธร สามารถด�าเนินคดีกับผู้กระท�าผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จ�านวน 2, คดี ผูต้ อ้ งหา 2, 22 ราย สามารถยึดอายัดทรัพย์สนิ จ�านวน คดี มูลค่า 5,0 ,6 2 บาท จับกุมคดีสา� คัญ 5 ข้อหา ส�าคัญ ได้รอ้ ยละ 156.10 ของเปງาหมาย ข้อมูล ณ สิงหาคม 2559 ด้านการบําบัดรักษายาเสพติด และได้ดา� เนินการติดตาม และให้ความช่วยเหลือภายหลังจากการเข้ารับการบ�าบัดรักษา จังหวัดยโสธรได้ตั้งเปງาหมายการน�าผู้เสพยาเสพติดเข้ารับ การบ�าบัดรักษาทัง้ ระบบ ทัง้ ระบบสมัครใจบ�าบัด ระบบบังคับ บ�าบัด ระบบต้องโทษ รวม 2,150 ราย ซึง่ ขณะนีด้ า� เนินการได้ รวม 2,2 9 ราย ส�าหรับการติดตามช่วยเหลือผูผ้ า่ นการบ�าบัดฯ เปງาหมายจังหวัดอยูท่ ี่ 1, 0 ราย สามารถติดตาม ดูแลได้ 1,50 ราย ซึ่งถือว่าบรรลุตามเปງาหมายที่ก�าหนด ด้านการบริหารจัดการ นอกจากงบประมาณทีส่ า� นักงาน ป.ป.ส. ได้จดั สรรให้จงั หวัดยโสธรในการปງองกันและแก้ไขปຑญหา ยาเสพติดในพืน้ ทีแ่ ล้ว ในส่วนของจังหวัดเอง ท่านผูว้ า่ ราชการ จังหวัดยโสธรก็ได้จดั สรรงบประมาณในส่วนของงบจังหวัดเพิม่ เติม ในการขับเคลือ่ นฯ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.255 ได้จดั สรร จ�านวน 6,296, 00 บาท การขับเคลื่อนแผนประชารัฐร่วมใจสร้างหมู่บ้านชุมชน มัน่ คงปลอดภัยยาเสพติด จังหวัดยโสธรมีเปງาหมายด�าเนินการ ในปี 2559 จ�านวน 60 หมูบ่ า้ น โดยแบ่งเป็น 10 หมูบ่ า้ นน�าร่อง

ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นหมูบ่ า้ นในเขตพืน้ ทีอ่ า� เภอเมืองยโสธร โดยใช้ งบประมาณของส�านักงาน ป.ป.ส. ในการด�าเนินการ ส�าหรับ 50 หมูบ่ า้ นทีเ่ หลือ ท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ได้กรุณาจัดสรร งบประมาณในส่วนของงบจังหวัด ในการขับเคลือ่ นโครงการฯ จ�านวน 1,012,000 บาท ทั้งนี้ ผลจากการด�าเนินการดังกล่าวส่วนหนึ่งที่แต่ละ อ�าเภอลงไปขับเคลื่อน ในกระบวนการ 9 ขั้นตอนสู่ชุมชนเข้ม แข็งนัน้ คือ บัญชีรายชือ่ ของผูค้ า้ ผูเ้ สพ หรือผูท้ ม่ี สี ว่ นเกีย่ วข้อง กับยาเสพติด ทีไ่ ด้จากการประชาคมในหมูบ่ า้ น ชุมชน ซึง่ อ�าเภอ หรือส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องน�าไปประกอบการท�าแผน ป บิ ตั กิ ารปງองกัน และแก้ไขปຑญหายาเสพติดในพืน้ ทีต่ อ่ ไป และ ต้องขยายผลการด�าเนินการแผนประชารัฐร่วมใจสร้างหมูบ่ า้ น ชุมชนมั่นคง ปลอดภัยยาเสพติดให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ชุมชนในพื้นที่ต่อไป เพราะปຑญหายาเสพติดรอไม่ได้

Q[k.>¥k1YNIeQ?JcJ¥I(JCT.fRC;pYc@[@(YJ

การด�าเนินงานของศูนย์อ�านวยการปງองกันและปราบ ปรามยาเสพติดจังหวัดยโสธร ศอ.ปส.จ.ยส ได้ดา� เนินการตาม โครงการทัง้ ทางด้านการปງองกัน ด้านการปราบปราม และการ บ�าบัดรักษา ได้มีราษฎรเรียกร้องกับทางจังหวัดดังนี้  ควรจะให้มก ี ารสอดส่องดูแล เด็กและเยาวชน ทัง้ ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา  มีการตรวจสอบร้านเกม ที่เป็นแหล่งมั่วสุมของวัยรุ่น  มีการตรวจสอบสถานบริการ

/Y(f/>BY@JT.C`CNBYVN¥JWNX9@F

ปຑญหายาเสพติดเป็นปຑญหาที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบ ตลอดเวลา ดังนัน้ จึงต้องมีการติดตามสถานการณ์ ปຑญหา และ ผลการด�าเนินงานโครงการและกิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ ทราบว่ามีความส�าเร็จในการด�าเนินงานหรือไม่อย่างไร เพือ่ ใช้ เป็นข้อมูลในการพัฒนารูปแบบ และวิธกี ารท�างานให้เหมาะสม และสอดคล้องกับสถานการณ์ ในการแก้ไขปຑญหามิใช่หน้าที่ ของใครคนใดคนหนึง่ หรือองค์กรใด แต่หากเป็นหน้าทีท่ ที่ กุ คน ที่จะช่วยกันร่วมคิด ร่วมท�า ในการแก้ไขปຑญหายาเสพติด โดย มีเปງาหมายร่วมกันคือ “ข ัดยาเส ติดให้หมดไ ” zbtpuipo"47


cQC@>Y.EA>CT.=[k@/X.RNX;

NBY>¥kJCTI<J¥")JJ+Fg1I">X@?[HY >CT.=[k@/X.RNX;IeQ?J

ŠNBY>¥kJCTI<J¥")JJ+Fg1I">X@?[HYŸ";pYJ.<pYdR@B.>CT.=[k@/X.RNX;IeQ?J"<Xl.d<B" NX@>¥k"¦\"H¥@Y+H" ¡¡£"/@=].BH//_AX@";CNI+NYHJ`CQ](GY+G`H[f/NBY"Š<pYdR@B.@¥l=^TcBJ@" <pYdR@B.>¥kH¥c(¥IJ<["H¥OX(;[oOJ¥"dLWcBJ@<pYdR@B.>¥kQYHYJ=1BNIcRL^TE¥k@CT.BJW1Y1@/X.RNX;IeQ?J" g;CcBJ@TIBY.;¥"c@^kT./Y(QYHYJ=QB.cQJ[H"Q@XAQ@_@fRCT.+F(JB(+JT.QBN@>CT.=[k@>Xl."⁄⁄"dRB."" f@E^l@>¥k/X.RNX;IeQ?J>pY.Y@dLWB6[AX<[R@CY>¥kGYIf<CA>AY>R@CY>¥k)T.d<BLWT.+F(JB(+JT." QBN@>CT.=[k@"cE^kT1BNIcRL^TE¥k@CT.BJW1Y1@f@(YJApYAX;>_()F"ApYJ_.Q_)"g;CTIBY.d>C/J[.Ÿ วันนีท้ า่ นท้องถิน่ จังหวัดยโสธรได้ให้เกียรติสมั ภาษณ์เกีย่ ว กับภาพรวมของอปท.ในจังหวัดยโสธร ทิศทางการพัฒนา การ เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่อปท. ตลอดจนผลงานทีภ่ าคภูมใิ จ ของ สถ.จ.ยโสธร ดังรายละเอียดต่อไปนี้

GYEJNH)T.TB>ホ/X.RNX;IeQ?J

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในจังหวัดยโสธร ประกอบด้วย

48

1. องค์การบริหารส่วนจังหวัดยโสธร 1 เทศบาลเมืองยโสธร 2 เทศบาลต�าบล และ 6 องค์การบริหารส่วนต�าบล โดยทุกองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นนิตบิ คุ คล และมีศกั ยภาพของตนเอง ที่แตกต่างกันไปตามบริบทพื้นที่ และด้วยเหตุที่จังหวัดยโสธร มีวสิ ยั ทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัดทีต่ อ่ เนือ่ งกันมาตลอดว่า “ยโสธรเมืองแห่งวิ อี สี าน เก ตรอินทรียຏ ก้าวไกลสู่สากล”


ซึง่ ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาจังหวัดจะเน้นที่ เรือ่ งหลัก คือ 1. ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว 2. เมืองแห่งเกษตรอินทรีย์ และ 3. เมืองแห่งวิถอี สี าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทุกแห่งจึงต้อง แอบอิงกับยุทธศาสตร์จงั หวัด และเข้ามามีสว่ นร่วมและบทบาท ส�าคัญในการด�าเนินการต่างๆ ให้สอดรับกับส่วนราชการ ทั้ง ภาครัฐ เอกชน องค์กรประชาชน ในการขับเคลือ่ นการท�างาน ร่วมกันภายใต้วสิ ยั ทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดยโสธร

N[QXI>XO@F"EX@?([/"dLW@eIAYI)T."Q=ホ" /ホIeQ?J

วิสัยทัศน์ของส�านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดยโสธร คือ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมสนับสนุนให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ป บิ ตั งิ านตามอ�านาจหน้าที่ ภายใต้ หลักธรรมาภิบาล เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

EX@?([/" 

พัฒนาส่งเสริมส�านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในเขตพืน้ ทีใ่ ห้มคี วามทันสมัย มีขดี สมรรถนะสูง และ พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ

<pYdR@B.@¥l=^TcBJ@<pYdR@B.>¥kH¥ c(¥IJ<["H¥OX(;[oOJ¥"dLWcBJ@<pYdR@B. >¥kQYHYJ=1BNIcRL^TE¥k@CT.BJW1Y1@ /X.RNX;IeQ?Jg;CcBJ@TIBY.;¥ 

สร้างการมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการของส�านักงานส่งเสริม การปกครองท้องถิน่ จังหวัดยโสธรและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดยโสธร  ให้คา � ปรึกษาแนะน�า ประสานงานและสนับสนุนการบริหาร จัดการและให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้สามารถป บิ ตั งิ านตามอ�านาจหน้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลภายใต้หลักธรรมาภิบาล

@eIAYI)T.QpY@X(.Y@QB.cQJ[H(YJ B(+JT.>CT.=[k@/X.RNX;IeQ?J 

พัฒนาบุคลากรของส�านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดยโสธร ให้เป็นองค์กรทีม่ สี มรรถนะสูง 

ส่งเสริมและจัดท�าแผนพัฒนาท้องถิน่ ให้สอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์จังหวัดยโสธร และตอบสนองความต้องการของ

ประชาชน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่าย  ส่งเสริมระบบการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นจังหวัดยโสธร ให้มีศักยภาพในการบริการสาธารณะ ภายใต้หลักธรรมาภิบาล  พัฒนามาตรฐานการป บ ิ ตั งิ าน และระบบการติดตามประเมิน ผล โดยใช้ระบบ , , ฯลฯ ให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

dC@(YJQB.cQJ[H+NYHc)CHd)j.d(B"TB>ホ

สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดยโสธร ได้สนับสนุน ส่งเสริมนโยบายของอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิน่ นายจรินทร์ จักกะพาก ด้วยการเข้าไปมีสว่ นร่วม และ ให้บุคลากรของส�านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด ยโสธร เข้าไปร่วมประชาคมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน ด้านการจัดท�าแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิน่ ด้านการ เกษตรและแหล่งน�า้ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือส�าคัญในการสร้างความ รัก ความสามัคคี และเป็นการลดความขัดแย้งในบ้านเมือง ประชาชน กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความใกล้ชิดกันมากขึ้น โดย ประชาชนได้สะท้อนปຑญหาและความต้องการให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ไปด�าเนินการ ด้วยการใช้แบบส�ารวจข้อมูลเพือ่ จัด ท�าแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิน่ ด้านการเกษตรและ zbtpuipo"49


แหล่งน�า้ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ เห็นความส�าคัญน�าสิง่ ทีป่ ระชาชนสะท้อน ปຑญหาไปด�าเนินการ เพื่อแก้ไขปຑญหาและตอบสนองความ ต้องการของประชาชนได้อย่างสอดคล้องกับสิ่งที่ประชาชน ต้องการอย่างแท้จริง ผลจากการส�ารวจท�าให้รู้ว่า เกษตรกรในหมู่บ้าน ชุมชน ต่างๆ ปลูกพืชชนิดใด ผลผลิตต่อหน่วยเป็นอย่างไร มีต้นทุน การผลิตและราคาขายต่อหน่วยเท่าไหร่ เมื่อน�ามาพิจารณา เปรียบเทียบเกษตรกรสามารถด�ารงชีวติ ประจ�าวันต่อไปได้หรือ ไม่ น�า้ เพือ่ การเกษตรมีเพียงพอในการเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร หรือไม่ เกษตรกรได้รบั ประโยชน์จากแหล่งน�า้ อย่างทัว่ ถึงหรือ ไม่ น�า้ อุปโภคบริโภค น�า้ กินน�า้ ใช้ สภาพชีวติ ความเป็นอยูข่ อง ประชาชนเป็นอย่างไร มีแหล่งน�้ากินน�้าใช้เพียงพอและทั่วถึง หรือไม่

c<J¥IHEJCTH"TB>ホ(BT@cBJ@"AEC

เนือ่ งจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีอา� นาจหน้าทีเ่ กีย่ วกับ การจัดการศึกษา ทัง้ จัดการศึกษาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เอง และสนับสนุนงบประมาณ ในภารกิจด้านการศึกษาให้หน่วย งานอื่ น ในเรื่ อ งนี้ สํ า นั ก งาน ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัดยโสธรถือเป็นเรือ่ งส�าคัญ ในการเตรี ย มความพร้ อ มให้ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เข้าสู่ อย่างสง่างาม และ ภาคภูมใิ จ จึงได้มกี ารสนับสนุน

ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ประชาสัมพันธ์ สร้างความ ตืน่ ตัวให้แก่ประชาชน ให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจเพือ่ เตรียมพร้อม รับผลกระทบจากปຑญหาต่างๆ ทีจ่ ะมาพร้อมกับการเข้าสู่ อย่างเต็มรูปแบบ ไม่วา่ ปຑญหาสังคมและสาธารณสุข การพัฒนา ทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศเพือ่ นบ้านข้าง เคียง และมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุน บุคลากรและบุคลากรทางการศึกษา ครู ผู้ดูแลเด็กตามศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับ ให้ลกึ ซึง้ เพือ่ จะได้สร้างภูมคิ มุ้ กันใน การป ิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

CL(YJ;pYc@[@.Y@<YH@eIAYIJX7AYL

สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ จังหวัดยโสธร ให้ความส�าคัญกับนโยบายของรัฐบาล ที่ต้องน�ามาป ิบัติใน ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ ประโยชน์ของประชาชน อย่างเต็มทีส่ มกับวิสยั ทัศน์ของส�านักงานส่งเสริมการปกครอง ท้องถิน่ จังหวัดยโสธร เช่น เรือ่ งนโยบายเร่งด่วนในการแก้ไขปຑญหา ขยะของจังหวัดยโสธร การแก้ไขปຑญหาภัยธรรมชาติ ปຑญหา ยาเสพติด ฯลฯ ปຑญหาเหล่านี้ เป็นปຑญหาทางด้านสังคมและ สิ่งแวดล้อม เมือ่ มีนโยบายจากรัฐบาล ให้เร่งแก้ไขปຑญหา หน่วยงาน ในพืน้ ทีท่ ใี่ กล้ชดิ กับปຑญหามาก ที่สุด ก็คือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่ต้องมีบทบาท และ หน้ า ที่ ใ นการแก้ ไขปຑ ญ หาใน

(YJ(pYR@;HY<J7Y@(YJ ;pYc@[@.Y@O`@IFEX9@Yc;j(cLj( /X.RNX;IeQ?J"2]k.=^TcBJ@HY<J7Y@ (LY.)T./X.RNX;dRB.c;¥IN f@BJWc>Og>I(jNBYg;C

50


เบื้องต้น ซึ่งสํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด ยโสธรก็เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทส�าคัญ ซึ่งจะเข้าไปช่วย ส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ยโสธร ได้ตระหนักถึงปຑญหาเหล่านี้ และมีส่วนร่วมช่วยเหลือ แก้ไขปຑญหาให้ส�าเร็จลุล่วงไป หรือแม้แต่การเร่งรัดเบิกจ่ายงบ ประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งงบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และของส�านักงานส่งเสริม การปกครองท้องถิ่นจังหวัดยโสธรเอง ก็จะก�าชับให้บุคลกรที่ เกี่ยวข้องถือป ิบัติด้วยความรวดเร็วจริงจังและต่อเนื่อง

CL.Y@>¥kGY+G`H[f/)T."Q=ホ/ホIeQ?J

การกําหนดมาตรฐานการดําเนินงานศูนย์พฒ ั นาเดใก เลใกจังหวัดยโสธร (มาตรฐานกลางจังหวัดยโสธร) ซึ่งเป็น เครื่องมือในการพัฒนาและยกระดับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ จังหวัดยโสธรให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน เพื่อท�าหน้าที่ในการ พัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการสมวัย เป็นพื้นฐานของการ เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ ด้วยการก�าหนดมาตรฐาน 6 มาตรฐาน คือ 1.ด้านการบริหารจัดการศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 2.มาตรฐาน ด้านบุคลากร 3.มาตรฐานด้านอาคารสถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4.มาตรฐานด้าน วิชาการ และกิจกรรมตามหลักสูตร 5.มาตรฐานด้านการมีสว่ น ร่วม และสนับสนุนจากทุกภาคส่วน และ 6.มาตรฐานด้านส่ง เสริมเครือข่ายการพัฒนาเด็กปฐมวัย ครูผดู้ แู ลเด็ก ซึง่ เป็นบุคลากร

ทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ แต่งตัง้ เพือ่ ป บิ ตั หิ น้าทีห่ ลักใน การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการการ เรียนรูใ้ ห้เด็กเล็ก ทีม่ คี วามพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์จติ ใจ สังคม และสติปญ ຑ ญา ซึง่ ถือเป็นมาตรฐานกลางของจังหวัดแห่งเดียว ในประเทศไทยก็ว่าได้

DY(=]."TB>ホcE^kT(YJEX9@Y>CT.=[k@

สิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องค�านึงถึงตลอด เวลา ในการป ิบัติงานตามอ�านาจหน้าที่ก็คือ การท�าโดยยึด หลักธรรมาภิบาล ซึง่ จะท�าให้การบริหารงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อประชาชนอย่างแท้จริง รวม ทัง้ เป็นการช่วยให้ภาพลักษณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภาพลักษณ์ของประเทศดีขึ้นด้วย ประการต่อมาซึง่ เป็นสิง่ ทีส่ า� คัญก็คอื การพัฒนาให้ทอ้ งถิน่ มีความเจริญแบบก้าวกระโดด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จะ ต้องสามารถค้นหาศักยภาพของตนเอง และสามารถน�ามาก�าหนด เป็นจุดยืนในการพัฒนาได้ พร้อมทัง้ ด�ารงจุดยืนนี้ ไว้อย่างมัน่ คง ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้การพัฒนาท้องถิน่ มีกรอบการท�างาน ทีช่ ดั เจน และเกิดประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง วิสยั ทัศน์ ของจังหวัดยโสธรทีว่ า่ “เมืองแห่งวิ อี สี าน เก ตรอินทรียกຏ า้ ว ไกลสู่สากล” โดยมีการก�าหนดจุดยืนในการพัฒนาไว้ ด้าน นัน้ เป็นแบบอย่างทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดยโสธร จะสามารถน�าไปปรับให้เข้ากับศักยภาพ อ�านาจหน้าที่ และ บริบทในพื้นที่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ zbtpuipo"51


เสนทางพบทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด

“นายสุรสิทธิ์ สิงหหลง” ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดยโสธร """QpY@X(.Y@(YJ>BT.c>¥kINdLW(¥SY/X.RNX;IeQ?J" """ネz」オアカェアー"qエアクォー・ォ」ョ"pィY・ァ"アィ"uアキエォオッ"」ーヲ"tイアエカオノ" H¥A>AY>R@CY>¥k";X.@¥l \ホ" BJWQY@.Y@dLWB6[AX<[R@CY>¥kf@7Y@W<XNd>@)T.(JW>JN.f@QBN@G`H[GY+" JNH>X.l ;pYc@@[ (YJBJWQY@"QB.cQJ[H"dLWQ@XAQ@_@(YJEX9@YT_<QYR(JJH(YJ >BT.c>¥kIN"(¥SY"dLW@X@>@Y(YJ"f@c)<E^l@>¥k/X.RNX;IeQ?J ホ"/X;>pYdC@I_>?OYQ<JF;CY@(YJ>BT.c>¥kIN"(¥SYdLW@X@>@Y(YJ")T./X.RNX; RJ^T(L_BH/X.RNX;"JNH>Xl.<[;<YH"BJWHNLCL"dLWJYI.Y@Q=Y@(YJ:F;CY@ (YJ>BT.c>¥kIN"(¥SY"dLW@X@>@Y(YJ ¦ホ";pYc@[@(YJc(¥kIN(XA(YJB>T.(X@dLWd(Cg)BH4RY;CY@(YJ>BT.c>¥kIN"(¥SY"dLW @X@>@Y(YJf@c)<E^l@>¥k/X.RNX;IeQ?J" e;IBJWQY@RJ^TJBNHH^T(XAR@BNI.Y@ T^k@>¥kc(¥kIN)CT.>Xl.GY+JX7dLWGY+cT(1@ ホ" fRC+pYBJ](PYd@W@pY" dLWQ@XAQ@_@;CY@N[1Y(YJd(BT.+F(JB(+JT.QBN@ >CT.=[k@"T.+F(Jc+J^T)BYI1_H1@"BJW1Y1@"dLWR@BNI.Y@T^k@>¥k;pYc@[@.Y@;CY@ (YJ>BT.c>¥kIN" (¥SY" dLW@X@>@Y(YJ(YJcE^kTEX9@YT.+F+NYHJ`CdLW(YJ>BT. c>¥kINdLW"(¥SY"dLW@X@>@Y(YJf@c)<E^l@>¥k/X.RNX; ¡ホ";pYc@@[ (YJc(¥Ik N(XA(YJ1BNIcRL^T@X(>BT.c>I¥k NdLW@X((¥SYf@c)<E^@l >¥/k .X RNX; IeQ?J"e;IBJWQY@RJ^TJBNHH^T(XAR@BNI.Y@T^k@>¥kc(¥kIN)CT. ¢ホ" ;pYc@[@(YJc(¥kIN(XA(YJQB.cQJ[HdLWEX9@Y?_J([/@pYc>¥kINdLWHX++_c>O(FJNH >Xl.(YJ=BYI>pYGYEI@<JFdLWN[;¥>XO@F £ホ";pYc@@[ (YJc(¥Ik N(XA.Y@cL)Y@_(YJ)T.+:W(JJH(YJEX9@Y(YJ>BT.c>I¥k N ⁄ホ"B6[AX<[.Y@<YH(5RHYIf@+NYHJXAC[;1TA)T.(JW>JN.2]k.(pYR@;fRCcBJ@ TpY@Y/R@CY>¥k)T.C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;RJ^T<YH>¥kg;CJXAHTARHYI ホ" B6[ AX <[ . Y@JB N H(X A RJ^ T Q@X A Q@_ @(YJB6[ AX <[ . Y@)T.R@B N I.Y@T^k @ >¥kc(¥kIN)CT."RJ^T>¥kg;CJXARHYI

฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 1

([/(JJH;CY@(YJ>BT.c>¥kIN QpY@X(.Y@(YJ>BT.c>Ik¥ NdLW(¥SY/X.RNX;IeQ?J")Td@W@pYfRCJ/`C (X NX9@?JJH dLWBJWcE:¥QYp +X4)T./X.RNX;IeQ?J"2].k AY.BJWcE:¥@@Xl "cB@J cT(LX(P:F >¥kH¥cE¥I.R@]k.c;¥INf@/X.RNX;IeQ?Jc>BY@Xl@" \ホ"BJWcE:¥A_4AXl.gF"TpYcGTcH^T.IeQ?J"/X;)]l@f@QXB;YRF" ")T.c;^T@ EKPGY+H")T.>_(B:" :"QN@QY?YJ:WE4Yd=@"f@NX@dJ(/WH¥)AN@ dRBA.Xl gF2].k =`(<(d<B.BJW;XABJW;YTIBY.QNI.YH;CNILN;LYIg>IQ¥>T." dLWH¥)AN@F>T@JpYBJW(TA/X.RNWcEL.Q@_(Q@Y@cJYC f/<YHdAA0AXA)T. 1YNT¥QY@" NX@J_B.)]l@/WcBJ@(YJ/_;AXl.gF" =CYAXl.gF)T.f+J/_;dLCNI[.gHB )]l@" +@>pY/W=`(/XAeI@L.f@e+L@cBJ@>¥kQ@_(Q@Y@+J^l@d+J." 2]k.BJWcE:¥ (YJ/_;AXl.gF@T(/Y(/WcBJ@(YJdQ;.TT(=].+NYHQYHX++¥)T.RH`B+:W dLCN" IX.H¥+NYHc1^kTNBYcH^kT/X;.Y@@¥ldLCNc>EI;YdLWQ[k.OX(;[oQ[>?[o>lX.RLYI" /W;LAX@;YLfRCH¥D@<(<CT.<YHK;`(YL" >pYfRCE^1EX@?_F?X44YRYJT_;H QHA`J:F" ホ"BJWcE:¥dRBHYLXI)CYN<T("TpYcGTHRY1@W1XI"1YNTpYcGTHRY1@W1XI g;C/;X BJWcE:¥(YJdRBHYLXI)CYN<T()]@l f@NX@HY-A`1Y")T.>_(B:"cET^k F<@L F` NX9@?JJH)T.1_H1@">¥kH¥(YJ@pYcTY)CYN<T(HYJCTIcBJ@HYLXI>¥kf1Cd)N@ cBJ@c+J^kT.A`1Y" cE^kT@pYgB=NYIcBJ@E_>?A`1Y" e;I/WH¥c>OAYL" TA<ホdLW 1_H1@<BY." i" f@TpYcGTHRY1@W1XIJBNH/X;>pYHYLXI)CYN<T()@Y;fR4B" cE^kTcBJ@<XNd>@1_H1@c)CYJBNH(YJBJW(N;" 1_H1@>¥kc)CYJBNHf@(YJdRBHYLXI HY(>¥kQ_;+^T""RH`B"" ""RH`B" "dLWRH`B"⁄""<pYALF>YRIY;""f@<pYALT^k@(j H¥>pYACY.d<BgHBHY(@X( ¦ホ" BJWcE:¥dRB;YN" f@c>O(YLNX@+J[Q<FHYQ" TpYcGTg>Ic/J[4" eAQ=F TX+Jc>N;Y" H[+YdTL" JBNH(XA1_H1@1YN2B.dIC" g;CJBNH(X@/X;c>O(YL NX@+J[Q<FHYQ)]l@""cE^kTJBNHc0L[H0LT.NX@+J[Q<FHYQ"dLWdQ;.+NYHJX( <BTT.+FOYQ;YRJ^TEJWcI2`c/CY

7/9/2559 23:08:36


J=)AN@dRB;YN)@Y;fR4B>B¥k JW;XA;CNIgFRLY(Q¥Q@X TIBY.QNI.YH<JW(YJ<Y" /pY@N@" ";N."EJCTH<(d<B.<YHcJ^kT.JYN<BY."i")T.EJWcI2`"c+L^kT@<XNgB <YH=@@GYIf@1_H1@ACY@2B.dIC"@T(/Y(@¥+l @f@1_H1@IX.g;CJNB H(X@BJW;XA;YN )@Y;cLj(T¥((NBY" フ " ;N." <YHd@N=@@GYIf@1_H1@dLW<YHACY@cJ^T@" cE^kT0LT.(YJAX.c([;HY)T.EJWcI2`c/CY"2]k.f@B:>¥kCBY@HYH¥"@YIA_4?JJH"cL[O Q_)¥c(PH"C`CNBYJY1(YJ/X.RNX;IeQ?J"cBJ@BJW?Y@f@.Y@" ホ" BJWcE:¥/_;gF<`H(Y" :" NX;A`JEY" <pYAL>_C.d<C" e;I1YNACY@>_B.d<C" <ホ>_B . d<C " TホcH^ T .IeQ?J" g;C JB N H(X @ F<L @ F` G` H[ BH 4 4YdLWBJWcE:¥ ( YJ/_ ;" Š"gF<`H(Y"Ÿ"cE^kT=NYIcBJ@E_>?A`1Yf@+^@NX@TT(EJJPY"2]k.1YNACY@/W/_;gF <`H(Y/Y(>¥kACY@dLCNc;[@R[lNgBJNH(X@>¥kNX;" dLCN1YNACY@/WJBNH(X@(LBYN+pYA`1Y EJWJX<@<JXI" dLWQN;H@<FgRNCEJW" A@OYLYEJCTH(X@" 2]k.gF<`H(Yc([;/Y( (YJ@pYCL<`H(Y">¥Hk L¥ (X P:WE[cOP+^T"cBL^T(AY.eBJB.dQ."cHT^k )`;cTYC[NQ¥c)¥IN TT(dLW+NCY@cTYc@^lTdLWcHLj;)CY.f@TT(fRCRH;"f1CH¥;d(WcBJ@LYI<BY."i"<YH +NYH<CT.(YJ"cHT^k /_;c>I¥ @dLCNdQ.QNBY./WLT;TT(HYcB@J LN;LYIQNI.YH @T(/Y(NX9@?JJHdLWBJWcE:¥>¥k@BYQ@f/dLCN" /X.RNX;IeQ?JIX.H¥dRLB.>BT. c>¥kIN>¥k@BYQ@f/"TY>[" "N[HY@E4Yd=@フ"NX;HRY?Y<_" TpYcGTcH^T.IeQ?Jフ"NX; EJWE_>?AY>IeQ?J" TpYcGTHRY1@W1XIフ" eAJY:Q=Y@;.cH^T.c<I" " TpYcGT +pYc)^Tk @d(CNフ"NX;EJW?Y<_(/`B Y@"TpYcGT+pYc)^Tk @d(CNフ"eAQ=F+J[Q<FAYC @2B.dIC"eAQ=F gHCfR4B>¥kQ_;f@g>I" TpYcGTg>Ic/J[4フ" ?Y<_(BT.)CYN@CTI" TpYcGTcH^T.IeQ?J" ネTBY@)CTH`Lg;C/Y(+TLXH@F"ŠcQC@>Y.>BT.c>¥kINŸノ

฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 2

NX;LCY@)N;" TpYcGT>JYIH`L" NX;>¥k@pY)N;/pY@N@HY(HY(BTQJCY.cBJ@ OYQ@Q=Y@>X.l <XNT_eAQ="OYLY(YJcBJ¥I4"RTJW-X."cHJ_"RJ^T2_HC BJW<`JNlX " LCN@dLCNd<B>pY/Y()N;>Xl.RH;" cBJ@(YJ@pYG`H[BH44YdLW+NYH1pY@Y4 HYf1Cg;CTIBY..;.YH NX;G`Q`." TpYcGTcL[.@(>Y" cBJ@NX;QY)Y)T.NX;B=YNX.@CpY>[EIF" /_;c;B@ )T.NX;G`Q`.+^T"EJWfR4B" RJ^T"J`BBHL@EJWE_>?J`Bc@^lTQ¥)YN@NLT.+F fR4B"2]k.<Xl.<JWR.BY@TI`BGYIf@NX;"7Y@)T.EJWE_>?J`Bg;CcBJ@GYE)T. E_>?BJWNX<)[ T.T.+FQHc;/j EJWQXHHYQXHE_>?c/YC "@T(/Y((YJ1H+NYH .YH)T.<XNNX;dLCN"IX.H¥/_;1HN[NCYQA@("RJ^T"CYBY(@("2]k./WHT. cRj@>XO@¥IGYE>¥kQNI.YHHY( ([/(JJH;CY@(¥SYdLW@X@>@Y(YJ e+J.(YJd)B.)X@(¥SYJWRNBY.eJ.cJ¥I@QBN@G`H[GY+" /X.RNX;IeQ?J" BJW/pYB:" ¡¡ "JWRNBY.NX@>¥k" "(J(5Y+H"û"\\"Q[.RY+H" ¡¡ " :"Q@YH(¥SYc)<E^l@>¥k/X.RNX;IeQ?J e+J.(YJd)B.)X@F_<ATLcIYN1@BJW1Y1@"+JX.l >¥"k \ ""BJW/pYB:" ¡¡ " :" Q@YH(¥SY" eJ.cJ¥I@IeQ?JE[>IYQJJ+F" eJ.cJ¥I@OJ¥?JJHN[>IY"" eJ.cJ¥I@IeQ?JE[>IY+H""dLWN[>IYLXIc>+@[+IeQ?J e+J.(YJd)B.)X@(¥SY@X(cJ¥I@" @X(O](PYdRB.1Y<[" BJW/pYB:" ¡¡ ;pYc@[@(YJf@c;^T@(X@IYI@"EホOホ" ¡¡ e>Jマe>JQYJホ" ¡ヘ£\\¡\

7/9/2559 23:08:39



เสนทางพบหอการคาจังหวัดยโสธร

“นายขวัญพัฒน เชื้อวณิชย” ประธานหอการคาจังหวัดยโสธร หอการค้าจังหวัดยโสธรไม่เพียงแต่จะมีบทบาทสําคัญ ฿นการทํ า หน้ า ที่ ฿ ห้ คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า อํ า นวยความสะดวก ฿นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ แก่ ส มาชิ ก รวมทัๅ ง เปຓ น ผู้ ป ระสานงาน ระหว่างผู้ประกอบการกับทางราชการเท่านัๅน แต่ยังมีบทบาท สําคัญ฿นการพัฒนาระบบเศรษฐกิจของจังหวัดยโสธรและ งานสาธารณสงเคราะห์อื่นโ ด้วย น า ย ข วั ญ พั ฒ น์ เชืๅ อ ว ณิ ช ย์ ป ร ะ ธ า น ห อ ก า ร ค้ า จั ง หวั ด ยโสธร ซึ่ ง มี ว าระการบริ ห ารงานในปี 255 -2559 ได้กล่าวถึงความเป็นมาและบทบาทของหอการค้าจังหวัดยโสธร นับจากอดีตจนถึงปຑจจุบัน ว่า ๡หอการค้าจังหวัดยโสธร เป็นองค์กรภาคเอกชนทีม่ กี ฎหมาย รับรอง ซึง่ เกิดจากการรวมตัวกันของพ่อค้านักธุรกิจภายในจังหวัด ยโสธร ที่มองเห็นการณ์ไกลและตระหนักถึงบทบาทส�าคัญของ หอการค้า ว่าจะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดยโสธร ในอนาคตได้๢ หอการค้าจังหวัดยโสธร ได้จดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 2 มกราคม 252 ภายใต้พระราชบัญญัติหอการค้า พ.ศ.2509 โดยมี นายโกศล สิทธาพานิช ดํารงตําแหน่งประธานหอการค้า จั ง หวั ด ยโสธรคนแรก และนายจั ก รชั ย องค์ โ ษิ ต เปຓนเลขาธิการหอการค้าจังหวัดยโสธรคนแรก

฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 1

27/9/2559 16: 3:01


หลังจากมีคณะกรรมการบริหารหอการค้าจังหวัดยโสธรชุดแรกแล้ว หอการค้าจังหวัดยโสธรก็ได้รับการแต่งตั้งเป็น ๞คณะกรรมการร่วม ภาครัฐและเอกชน เพื่อแก้ไขปຑญหาเศรษฐกิจจังหวัดยโสธร๟ กรอ.ยส. ที่มีบทบาทส�าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดยโสธร มาตลอดจนเป็ น ที่ ย อมรั บ ของส่ ว นราชการ ภาคเอกชน ตลอดจน ประชาชนโดยทั่วไป และกิจกรรมของหอการค้าจังหวัดยโสธรได้พัฒนา อย่างต่อเนื่องจนถึงปຑจจุบัน๢ วิ สั ย ทั ศ น์ ( ) ที่ ห อการค้ า จั ง หวั ด ยโสธรได้ ก� า หนดไว้ คื อ เป็นสถาบันของภาคธุรกิจที่เข้มแข็งและเป็นที่ยอมรับในการพัฒนา เศรษฐกิ จ สนั บ สนุ น การค้ า -การลงทุ น เพื่ อ เศรษฐกิ จ ที่ เ ติ บ โตมั่ น คง อย่ า งยั่ ง ยื น และส่ ง เสริ ม สร้ า งเครื อ ข่ า ยและพั ฒ นาการมี ส่ ว นร่ ว ม ของสมาชิก โดยมี พั น ธกิ จ ( ) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยส่ ง เสริ ม การค้ า พั ฒ นาเศรษฐกิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น , ส่ ง เสริ ม ขี ด ความสามารถทางการ แข่งขันของธุรกิจ, สนับสนุนการศึกษา ผสานกับภูมิปຑญญาท้องถิ่น, เสริ ม สร้ า งยุ ท ธศาสตร์ สร้ า งรายได้ แ ละเพิ่ ม ผลผลิ ต ให้ กั บ สมาชิ ก , ส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ ภายใต้ ห ลั ก ธรรมาภิ บ าลและส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมที่ ส ร้ า ง คุณประโยชน์ให้กับสังคมและชุมชน นายขวัญพัฒน์กล่าวถึงวัตถุประสงค์และบทบาทหน้าทีข่ องหอการค้า จังหวัดยโสธร ว่า ๡หอการค้าฯเป็นองค์กรศูนย์รวมของภาคธุรกิจเอกชน มีวตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมวิสาหกิจต่างๆ ในทางการค้าอุตสาหกรรม การเกษตร การเงิ น การลงทุ น และการท่ อ งเที่ ย ว นอกจากนั้ น หอการค้ า ยั ง ท� า หน้ า ที่ ใ ห้ ค� า ปรึ ก ษาแนะน� า และอ� า นวยความสะดวกใน การด� า เนิ น ธุ ร กิ จ แก่ ส มาชิ ก รวมทั้ ง เป็ น ผู้ ป ระสานงานระหว่ า ง ผู้ประกอบการกับทางราชการให้เป็นไปโดยราบรื่น

฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 2

๡นอกจากนี้เรายังท�าหน้าที่เป็นผู้แทนของภาคเอกชนใน ทุ ก สาขาอาชี พ ในการเสนอแนะปຑ ญ หาที่ เ ป็ น อุ ป สรรคต่ อ การด�าเนินธุรกิจเพื่อหาทางแก้ไขหรือให้ข้อคิดเห็นกับภาครัฐ และองค์กรเอกชนต่างๆ ทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ รวมถึงให้ค�าปรึกษาและมีส่วนร่วมก�าหนดทิศทางการพัฒนา ภาคธุรกิจ และเศรษฐกิจส่วนรวมของจังหวัด และมีบทบาท ส�าคัญอย่างยิ่งในปຑจจุบัน คือ การมีส่วนร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมลงมือป ิบัติกับทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชน เพื่อช่วยกันขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดในทุกด้าน ให้เป็นไปในทิศทางทีต่ อบสนองต่อความเจริญมัน่ คงของจังหวัด โดยส่วนรวม๢

27/9/2559 16: 3:01


ในรอบปีที่ผ่านมาหอการค้าจังหวัดยโสธรได้ด�าเนินกิจกรรมที่ส่งผล ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดมากมายดังทีท่ า่ นประธาน หอการค้าฯ ได้ให้ข้อมูลว่า ๡กิ จ กรรมที่ เราท� า จะสอดคล้ อ งกั บ นโยบายการพั ฒ นาของ จังหวัดยโสธรทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการผลักดันสนามบินเลิงนกทา ซึง่ เป็นสนามบินเก่าในเขตการบินของทหาร แต่มศี กั ยภาพทีจ่ ะพัฒนา ให้เป็นสนามบินพาณิชย์ของ จังหวัด คือ ยโสธร มุกดาหาร และ อ�านาจเจริญ ซึ่งได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการร่วมทั้งภาครัฐและ เอกชน เพื่อด�าเนินการให้สามารถเปิดใช้บริการสนามบินได้ เพราะ จะส่งผลดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในอนาคตอย่างมาก๢ ๡นอกจากนี้ เรายั ง ได้ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การท� า การเกษตร อินทรีย์เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์การพัฒนาจังหวัดยโสธรซึ่ง โครงการดังกล่าวมีชื่อว่า ๞โครงการ 1 ไร่ 1 แสน๟ ที่หอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยได้ริเริ่มขึ้น เพื่อเพิ่มรายได้ให้ เกษตรกร ลดต้นทุนการผลิต และทีส่ า� คัญคือได้ประยุกต์หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้๢ ๡ส่วนกิจกรรมทีส่ ง่ ผลอย่างเห็นได้ชดั และรวดเร็วก็คอื การกระตุน้ การท่องเที่ยวในจังหวัดยโสธรซึ่งเราได้จัดท�าปງายประชาสัมพันธ์ สถานที่ท่องเที่ยวในตัวเมืองยโสธร และจัดท�าแผนที่ สิ่งมหัศจรรย์ ของจังหวัดยโสธรที่เป็นที่สุด และมีที่เดียวในประเทศไทยเพื่อดึงดูด ให้นักท่องเที่ยวใช้เวลาอยู่ในจังหวัดนานขึ้น ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายได้ ให้กับธุรกิจที่อยู่ในภาคการท่องเที่ยวด้วย๢ นอกเหนือจากบทบาทในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจโดยรวมของ จังหวัดยโสธรแล้ว อีกหนึง่ บทบาททีส่ า� คัญไม่แพ้กนั ซึง่ หลายๆ คนอาจ นึกไม่ถึง ก็คือ

฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 3

๡เราได้ชว่ ยเหลือและส่งเสริมการกุศลและสาธารณสงเคราะห์ เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนในจั ง หวั ด ยโสธร ให้ดีขึ้นและลดความเหลื่อมล้�าทางสังคม เช่น การสนับสนุน เรื่องการศึกษาให้กับเด็กและเยาวชนที่ด้อยโอกาสและอื่นๆ๢ นายขวัญพัฒน์ เชื้อวณิชย์ ได้กล่าวทิ้งท้ายอย่างภาคภูมิใจ ในฐานะของประธานหอการค้าจังหวัดยโสธรว่า “จากศั ก ยภาพ บทบาท และความสํ า คั ญ ตามที่ ไ ด้ กล่ า วไว้ ห อการค้ า จั ง หวั ด ยโสธรจึ ง ได้ รั บ การยกย่ อ ง ฿ห้เกียรติและ฿ห้ความคาดหวังว่าเราจะเปຓนองค์กรหลักของ ภาคเอกชนที่จะร่วมกันนําพาเอาความเจริญรุ่งเรืองทาง เศรษฐกิจและความสงบสุข฿นสังคมมาสู่จังหวัดยโสธรได้” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ “หอการค้าจังหวัดยโสธร” โทรศัพท์ โทรสาร มือถือ

27/9/2559 16: 3:02


Š£"Q[.k HRXO/JJIFIeQ?JŸ 1"f@GYJ([/RT(YJ+CYIeQ?J" เปຓนทีท่ ราบกันดีวา่ ภารกิจสําคัญของหอการค้าจังหวัดคือ การส่ ง เสริ ม ผู้ ป ระกอบการต่ า งโ ทัๅ ง การค้ า การลงทุ น อุ ต สาหกรรม การเกษตร การเงิ น และการท่ อ งเที่ ย ว เพื่อพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด฿ห้เข้มแขใง เมื่อไม่นานมานี้ หอการค้าจังหวัดยโสธร ได้ด�าเนินกิจกรรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดยโสธรให้คึกคัก ด้วยการโชว์ สิ่งมหัศจรรย์ในจังหวัดยโสธรที่เป็นหนึ่งเดียวในไทย ให้เป็น ที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น คุณขวัญพัฒน์ เชืๅอวณิชย์ ประธานหอการค้าจังหวัดยโสธร เปิดเผยถึงที่มาของกิจกรรม ดังกล่าว ว่า เนื่องจากในจังหวัดยโสธรของเรามีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สถานที่ และ ประเพณีท่ีเป็น UNSEEN อยู่จ�านวนมาก เราจึงรวบรวมเอา ทรัพยากรเหล่านี้มาเพื่อน�าเสนอให้ สาธารณชนรู้จักกันมาก ขึ้น ภายใต้ชื่อ สิ่งมหัศจรรย์ยโสธร หนึ่งเดียว ฿นไทย เพื่อดึงดูดให้นักท่องเที่ยวให้เดินทางมาชม และพักใน จังหวัดยโสธรนานขึ้น ๡จากแนวคิดดังกล่าว หอการค้าจังหวัดยโสธร จึงร่วมกับ YEC Yasothon ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในยโสธร และ 5000 ซึ่งเป็น รีแมกกาซีนในจังหวัดยโสธร ได้ ร่วมกันประชาสัมพันธ์โครงการดังกล่าว ด้วยการจัดท�าปງาย ขนาดใหญ่เพื่อแนะน�าสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดยโสธร และ มีการจัดพิมพ์แผนที่ท่องเที่ยว สิ่งมหัศจรรย์ ซึ่งมีทั้งสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วและประเพณี ที่ มี เ พี ย งหนึ่ ง เดี ย วในประเทศไทย ในจั ง หวั ด ยโสธร เพื่ อ แจกจ่ า ยให้ แ ก่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว โดยเรามี เปງ า หมายเพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ ใช้ เวลาอยู่ ที่ ย โสธรนานขึ้ น ซึง่ จะช่วยเพิม่ การจับจ่ายใช้สอยมากขึน้ ส่งผลให้ชาวยโสธรมีราย ได้เพิ่มมากขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย๢ ๞ สิ่งมหัศจรรย์ยโสธร หนึ่งเดียว฿นไทย๟ ที่ คุ ณ ขวั ญ พั ฒ น์ แนะนํ า ว่ า นั ก ท่ อ งเที่ ย วไม่ ค วรพลาดชม ประกอบด้วย

สิ่งมหัศจรรย์สิ่งแรกคือ เสาหลักเมือง หลัก ที่เดียวใน ประเทศไทย ตามปกติเสาหลักเมืองทั่วไปจะมีเพียงหนึ่งเสา แต่ที่ยโสธรมี เสา คือมีเสาหลักเมืองต้นใหญ่อยู่ตรงกลาง ส่วนอีก 2 ต้นซ้ายขวา เป็น เสาพระละงุม และเสาพระละง�า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยปกปຑกรักษาหลักเมือง ซึ่งตั้งอยู่ในศาลเจ้า หลักเมืองที่เป็นอาคารแบบจีน มีหลังคาหน้าจั่ว มีช่อ ງาใบระกา แบบไทย และมียอดเป็นพระธาตุแบบลาว

สิง่ ทีส่ องคือ พระพุทธรูปหยกขาว ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย อยูท่ วี่ ดั พระพุทธบาท อ�าเภอมหาชนะชัย เป็นพระพุทธรูปทีส่ ร้าง ขึ้นจากหยกขาวก้อนเดียว ที่มีขนาดหน้าตักกว้างถึง 2. 1 เมตร

สิ่งที่สามคือ ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก หนึ่งเดียวในโลก ที่ ช าวบ้ า นอ� า เภอมหาชนะชั ย จั ด ขึ้ น อย่ า งสวยงามอลั ง การ เพื่อถวายเป็นพุทธบูชาในวันมา บูชาของทุกปี แต่ถ้าใครพลาด ชมในช่วงวันมา บูชาแล้ว ก็ไปดูได้ตลอดทั้งปีที่พิพิธภัณฑ์มาลัย ข้าวตอก วัดหอก่อง ส่วนมาลัยข้า วตอกที่ ประกวดชนะเลิ ศ ในแต่ ล ะปี จะถู ก น� า ไปจั ด แสดงไว้ ที่ วั ด พระพุ ท ธบาท อ�าเภอมหาชนะชัย

7 unseen.indd 1

27/9/2559 15:08:01


สิ่งที่หกคือ พระอัฐิธาตุพระอานนท์ ที่เดียวในประเทศไทย เป็ น พระธาตุ เ ก่ า แก่ คู่ บ้ า นคู่ เ มื อ งยโสธร มี ลั ก ษณะเป็ น ทรง สี่เหลี่ยมส่วนยอดคล้ายพระธาตุพนม เป็นที่เก็บพระอัฐิธาตุ ของพระอานนท์ ซึ่งมีเพียง 2 แห่งในโลก คือ ที่วัดมหาธาตุ อ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร และที่ประเทศอินเดีย คนส่วนใหญ่ นิยมมากราบไหว้เพื่อขอพร ให้มีสติปຑญญาและความจ�าดีแบบ พระอานนท์ และขอให้หายจากอาการเจ็บปຆวยต่างๆ

สิ่งมหัศจรรย์สิ่งที่สี่คือ โบสถ์ไม้ที่฿หญ่ที่สุด฿นประเทศไทย หรือโบสถ์คริสต์บา้ นซ่งแย้ เป็นโบสถ์คริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิก ที่สร้างจากไม้ทั้งหลัง มีขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว 5 เมตร ส� า หรั บ สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ล� า ดั บ ต่ อ ไปนี้ ยั ง เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทีพ่ ทุ ธศาสนิกชนไม่ควรพลาดในการไปสักการบูชา เพือ่ ความเป็น สิริมงคลสักครั้งหนึ่งในชีวิต สิ่ ง มหั ศ จรรย์ ส่ิ ง สุ ด ท้ า ย ที่ คุ ณ ขวั ญ พั ฒ น์ เชื้ อ วณิ ช ย์ ประธานหอการค้าจังหวัดยโสธร จะแนะน�าให้รู้จักนี้ นอกจาก จะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ส�าคัญแล้ว ยังเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ ของจังหวัดยโสธร ซึ่งการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้บรรจุอยู่ ่ในโครงการ ๞เขาเล่าว่า... ๟ นั่นก็คือ อาคารพญาคันคาก เป็นอาคารรูปทรงคางคก ที่ใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของวิมานพญาแถน ซึ่งตั้งอยู่ท่ี ริมล�าน้�าทวน อ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร ภายในตัวอาคาร เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ เรื่ อ งของคางคกในประเทศไทย ความเป็ น มาของประเพณีบุญบั้งไ และวิทยาศาสตร์ท่ีเกี่ยวกับบั้งไ ด้ ว ยบริ เ วณใกล้ กั น ยั ง มี อ าคารรู ป ทรงพญานาคที่ ส วยงาม ตระการตา และมีประติมากรรมบั้งไ ขนาดใหญ่ให้ถ่ายภาพ เป็นที่ระลึกแห่งการมาเยือนยโสธรด้วย

สิ่งที่ห้าคือ พระพุทธรูปประจําเมือง ที่มีขนาดเล็กที่สุดใน ประเทศไทย มีชอื่ ว่าพระพุทธบุษยรัตน์ หรือพระแก้วหยดน้า� ค้าง เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะสมัยเชียงแสน ทีท่ า� จากผลึกแก้ว ใสบริสุทธิ์ มีขนาดหน้าตักกว้างเพียง 1.9 นิ้ว สูง .5 นิ้ว ซึ่งได้รับ พระราชทานจากรัชกาลที่ ปຑจจุบนั ประดิษฐานอยูท่ วี่ ดั มหาธาตุ อ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร

7 unseen.indd 2

๞ สิ่งมหัศจรรย์ยโสธร หนึ่งเดียว฿นไทย๟ ซึ่ ง หอการค้ า จั ง หวั ด ยโสธรได้ ร วบรวมมาบอกกล่ า วนีๅ ไม่เพียงแต่จะสื่อ฿ห้เหในว่า ยโสธรเปຓนเมืองแห่งวิถีอีสาน เท่านัๅน แต่ยังเปຓนเมืองที่ทุกภาคส่วน฿นจังหวัด ทัๅงภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ต่างมีความสมัครสมานสามัคคีกนั เพื่อขับเคลื่อนพัฒนาจังหวัดยโสธร฿ห้ก้าวไกลสู่สากลด้วย 27/9/2559 15:08:03


เสนทางพบสภาอุตสาหกรรมจังหวัด

“นายเสถียรพงศ ภูคำ”

ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร “มุ่งสู่การเปຓนสถาบันหลัก ร่วมพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ”

คือวิสัยทัศน์ของสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร องค์กรภาคเอกชน ทีไ่ ม่แสวงหาก�าไร ซึง่ มีสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นแกนเชือ่ มโยง กลไกความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ สมาชิกผู้ประกอบการ ด้วยกันเอง รวมไปถึงผู้บริโภค และผู้ประกอบการอื่นๆ นายเสถียรพงศ์ ภูคา� ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร ได้ให้เกียรติ นิตยสาร สัมภาษณ์พูดคุยเกี่ยวกับความเป็นมา และวัตถุประสงค์ ในการก่อตั้งสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร ว่า ๡สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 2 มกราคม 25 มีคุณสมชาย เหล่าสายเชื้อ เป็นประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร คนแรก และเป็นผู้ก่อตั้งพร้อมด้วยคณะกรรมการร่วมก่อตั้งจ�านวน 26 คน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น กิ จ การของสมาชิ ก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื่อ ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีในหมู่สมาชิก และผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ภาคเอกชนในจังหวัดยโสธร๢ ส�าหรับพันธกิจหลักซึ่งถือเป็นแนวทางในการด�าเนินงานของ สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร นั้น คุณเสถียรพงศ์ ได้กล่าวโดยย่อว่า ๡เราท�าหน้าที่เป็นศูนย์กลางการบริการข้อมูลข่าวสารให้แก่สมาชิก ผู้ประกอบการ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม และธุรกิจทุกประเภทในจังหวัด และมีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาแนวคิด ตลอดจน การถ่ า ยทอดประสบการณ์ ความรู้ ความเข้ า ใจในการบริ ห าร การจัดการทางธุรกิจแก่สมาชิก เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 1

27/9/2559 16: 8:2


รวมถึ ง การท� า หน้ า ที่ เ ป็ น กระบอกเสี ย งของผู้ ป ระกอบการ ในการเจรจาต่ อ รองเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถู ก ต้ อ ง เป็ น ธรรม และ ความเสมอภาคในการท�าธุรกิจ๢ ๡นอกจากนี้เรายังเป็นแกนน�าเพื่อเชื่อมโยงและสร้างเครือข่าย ทางธุรกิจทุกระดับชัน้ เพือ่ เพิม่ มูลค่าทางธุรกิจ และสร้างโอกาสใหม่ ให้แก่นักธุรกิจท้องถิ่นจากการด�าเนินงานที่ผ่านมา เราก็ได้รับ การยอมรั บ ในฐานะตั ว แทนของผู้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรม ซึง่ ท�าหน้าทีป่ ระสานงานระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐ ทัง้ ในระดับ จังหวัดและระดับประเทศได้เป็นอย่างดี๢ จากศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กร ท�าให้ สภาอุตสาหกรรม จังหวัดยโสธร ได้รับการแต่งตั้งเป็น ๞คณะกรรมการร่วมภาครัฐ และเอกชน เพื่อแก้ไขปຑญหาเศรษฐกิจจังหวัดยโสธร๟ กรอ.ยส. ทีม่ บี ทบาทส�าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในจังหวัดยโสธร มาโดยตลอด ซึ่งในปีที่ผ่านมา สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร ได้ด�าเนินกิจกรรมที่ส�าคัญคือ ๡เราได้มสี ว่ นร่วมกับจังหวัดยโสธร และองค์กรภาคเอกชนอืน่ ๆ อีกหลายองค์กร ในการผลักดันให้สนามบินเลิงนกทา ที่ตั้งอยู่ใน อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ซึ่งเป็นสนามบินเก่าของทหารแต่ มีศกั ยภาพทีจ่ ะพัฒนาให้เป็นสนามบินพาณิชย์ได้ โดยใช้งบประมาณ ในการปรับปรุงจ�านวนไม่มากเท่ากับการสร้างสนามบินใหม่ ซึง่ หาก โครงการนี้ประสบผลส�าเร็จ ก็จะส่งผลให้จังหวัดยโสธรมีสนามบิน พาณิชย์ที่เป็นศูนย์กลางของ จังหวัด คือมุกดาหาร อ�านาจเจริญ และยโสธร ซึ่งสามารถใช้งานร่วมกันได้ เนื่องจากมีระยะทาง ไม่ไกลจากที่ตั้งสนามบินมากนัก และส่งผลให้สภาพเศรษฐกิจ โดยรวมของจังหวัดเจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเพื่อรองรับการเป็น ๢

฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀฀.indd 2

แหละนี่คือบทบาทของ “สภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร” ซึ่งเปຓนอีกหนึ่งฟຑนเฟ຅องสําคัญ ที่ไม่เพียงแต่จะช่วยขับเคลื่อน จั ง หวั ด ยโสธร฿ห้ พั ฒ นาก้ า วไกลสู่ อ าเซี ย นเท่ า นัๅ น แต่ ยั ง มี ส่วนช่วยพัฒนาภาคอุตสาหกรรม฿นประเทศไทย ฿ห้แขใงแกร่ง และยืนหยัดอยู่฿นเวทีโลกได้ด้วยเช่นกัน ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สํานักงานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร เลขที่ ถนนประปา ตําบล฿นเมือง อําเภอเมือง จังหวัดยโสธร โทร

27/9/2559 16: 8:25


Untitled-2 1

31/8/2559 14:12:40


Untitled-2 2

31/8/2559 14:12:41


ประยูร - เพชรรวง พวงแก้ว

“นักธุรกิจ ัวใจเพชร แ งเพชรวิ วกรรม” นจั ง หวั ด

นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติจากท่านทั้งสอง ให้สัมภาษณ์ถึงที่มา

ยโสธร คงไม่มี ครไม่รู้จัก “คุณประยูร - คุณเพชรรวง

ของการทําธุรกิจ หลักการบริหารงาน และแนวคิดที่สําคัญในการ

พวงแก้ ว ” หนึ ่ ง นคู ่ น ั ก ธุ ร กิ จ ตั ว อย่ า ง องจั ง หวั ด

ทําธุรกิจที่ส่งผ่านมายังรุ่นลูก ตลอดจนการอุทิศตนเพื่อช่วยเหลือ

ยโสธร ที ่ ไ ด้ ร ั บ การยอมรั บ ทั งด้ า นหน้ า ที ่ ก ารงาน

สังคมดังนี้

หากเอ่ ย ึ ง นั ก ธุ ร กิ จ ที ่ ม ี บ ทบาทสาคั

น านะที ่ เ ป น ู ้ ก ่ อ ตั งโรงงานคอนกรี ต สมเสร จ เพชรวิ วกรรม

ึ่งเปนที่เชื่อ ือและได้รับความไว้วาง จ

SBL : เหตุใดท่านจึงสนใจลงทุนทําธุรกิจที่ยโสธร

นคุณภาพและการบริการมายาวนานกว่า 20 ป นด้าน

คุณประยูร : ก่อนหน้าที่จะมาลงหลักปักฐานอยู่ที่ยโสธรนั้น ผมได้มี

ชีวิตครอบครัว ท่านทังสองมีครอบครัวที่อบอุ่น และ

โอกาสเดินทางไปทําธุรกิจในหลายพื้นที่ แต่ที่ตั้งใจมาลงหลักปักฐาน

เปนแบบอย่างที่ดี ห้กับเมืองยโสธร ด้านการช่วยเหลือ

อยู่ทย ี่ โสธรเป็นการถาวร เพราะว่าคุณเพชรรวงเป็นชาวยโสธร อีกทั้ง

สังคม ท่านเสียสละและทุ่มเททังกาลังทรัพย์ แรงกาย

ยังมองเห็นโอกาสและศักยภาพในการการลงทุนที่ยโสธร ซึ่งเป็น

และแรง จ เพื่อตอบแทนกลับคืนสู่สังคม

เมืองที่กำลังเติบโต จึงตัดสินใจก่อตั้งโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2537


SBL : นอกเหนือจากธุรกิจที่เกี่ยวกับการก่อสร้างแล้ว ปัจจุบันมีธุรกิจอื่นใดอีกบ้าง คุณเพชรรวง : นอกจากธุรกิจหลักของครอบครัว คือโรงงาน คอนกรีตผสมเสร็จ เพชรวิศวกรรมแล้ว ครอบครัวยังได้มี ธุรกิจเสริมอีกหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นร้านขายผ้าไหมและ ของที่ระลึก ประยูรไหมไทย และร้านกาแฟ ซึ่งปัจจุบันมีร้าน กาแฟ อยู่ทั้งหมด 4 สาขา ที่ยโสธร 1 สาขา (ร้านกาแฟมิส อารีย)์ และที่อุบลราชธานี (ร้านกาแฟเพลโต) อีก 3 สาขา SBL : ท่านมีหลักการบริหารธุรกิจที่สําคัญคืออะไร คุณประยูร : ในการทําธุรกิจมาโดยตลอดนั้น ผมและคุณ เพชรรวง ต่างยึดมั่นในความซื่อสัตย์ และความซื่อตรงต่อคู่คา ้ และลูกค้า ซึ่งทําให้เราได้รับความเชื่อถือและการยอมรับ จากสังคมมาจนทุกวันนี้ SBL : นอกเหนือจากหลักการบริหารงานแล้ว แนวคิด สําคัญในการใช้ชีวิตที่ได้มอบให้ลูกๆ ยึดถือปฏิบัติ คุณประยูร : สิ่งที่เราสองคนสอนลูก ๆ ทุกคนอยู่เสมอคือ “ให้มีความละอายในการทําสิ่งที่ไม่ดี” ถ้าเราโกงกินใน วันนี้ แล้ววันข้างหน้า จะเหลืออะไรไปถึงลูกหลานเรา แล้ว พวกเขาเหล่านั้นจะอยู่กันอย่างไร SBL : ทราบมาว่าท่านทั้งสองได้ทํางานช่วยเหลือสังคม และได้มีสว ่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่ทางจังหวัดจัดขึ้นเสมอ ขอเรียนถามถึงแรงจูงใจ ที่ทำให้ท่านอุทิศตนเพื่อช่วยเหลือ งานสาธารณประโยชน์เหล่านี้ คุณประยูร : เพราะเราระลึกอยู่เสมอว่า จังหวัดยโสธรได้ให้ โอกาสในการทําธุรกิจของเราให้เจริญเติบโตมาได้จนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น เราจึงอยากจะทำอะไรที่เป็นการตอบแทน เป็นการช่วย เหลือจังหวัดทุกครั้งที่มีโอกาส เพื่อช่วยผลักดันให้จังหวัดมี

บทบาทในภาคธุรกิจและสังคม คุณประยูร พวงแก้ว - ประธานกรรมการบริหาร หจก.เพชรวิศวกรรม - ประธานมูลนิธิรวมสามัคคียโสธร (2559 - 2560) - ประธานบริษัท เพชร เพาเวอร์แลนด์ จำกัด (หมู่บ้านพีแลนด์) - อดีตรองนายกเทศมนตรี เทศบาลเมืองยโสธร

การพัฒนา เพราะถ้าไม่มีการพัฒนาเติบโต เราก็อยู่ไม่ได้เช่น

คุณเพชรรวง พวงแก้ว

เดียวกัน

- รองประธานกรรมการบริหาร หจก.เพชรวิศวกรรม - คณะกรรมการเหล่ากาชาดจังหวัดยโสธร - คณะกรรมการมูลนิธิ พอ.สว. จังหวัดยโสธร - ที่ปรึกษาสภาอุตสาหกรรมจังหวัดยโสธร - อดีตประธานหอการค้าจังหวัดยโสธร - อดีตนายกสมาคมสตรีนักธุรกิจและวิชาชีพแห่ง ประเทศไทย จังหวัดยโสธร - ประธานคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลยโสธร


มูลนิธิรวมสามัคคย สธร เพ กิจกรรมสาธารณสงเคราะ และการ ก า

คุณเพชรรวง : การที่เราเข้าไปทํา เราทําด้วยใจ ไม่ได้

SBL : วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งมูลนิธิฯ นี้คืออะไร

มองถึงเรื่องชื่อเสียงหรือหน้าตา ทุกวันนี้เราได้ช่วยเหลือ

คุณประยูร : มูลนิธิฯ ของเรามีวต ั ถุประสงค์ในการช่วยเหลือ

คนที่ด้อยโอกาสในสังคม ให้เขามีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

ผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคม เพราะเรามีความคิดว่า ถ้าสังคม

เพื่อให้เขาไปมีโอกาสที่ดีในภายภาคหน้า เพราะเราเชื่อมั่น

อยู ่ ไ ด้ เราก็ อ ยู ่ ไ ด้ โดยเรามุ ่ ง เน้ น ไปที ่ ก ารส่ ง เสริ ม และ

ว่าในอนาคตเขาก็จะกลับมาช่วยกันพัฒนาสังคม พัฒนา

สนับสนุนการศึกษาและสถานศึกษา ซึ่งปัจจุบันมีโรงเรียน

จังหวัดยโสธรของเราให้เจริญก้าวหน้าด้วยค่ะ

ยโสธรวิ ท ยาคาร เป็ น โรงเรี ย นในอุ ป ถั ม ภ์ ข องมู ล นิ ธ ิ ฯ นอกจากเรื่องการศึกษาแล้ว มูลนิธิฯ ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อ

SBL : ปัจจุบัน คุณประยูร ดำรงตำแหน่งประธานมูลนิธิ

ช่วยเหลือผู้ประสบอัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย และสาธารณภัย

รวมสามัคคียโสธรด้วย อยากให้ท่านได้กล่าวถึงมูลนิธินี้

อื่น ๆ การช่วยเหลือจัดการศพโดยทัว ่ ไปรวมถึงศพที่ไร้ญาติ

ว่ามีความเป็นมาอย่างไร

ตลอดจนเพื ่ อ การบำเพ็ ญ ทานการกุ ศ ลโดยทั ่ ว ไปตามมติ

คุณประยูร : ยโสธรแม้จะเป็นจังหวัดเล็กๆ แต่ทว่าเป็น

ของคณะกรรมการ ปีซึ่งเราจะร่วมมือกับองค์กรการกุศล

จังหวัดที่มีความเข้มแข็งทั้งในส่วนของภาครัฐ ภาคเอกชน

และองค์กรสาธารณประโยชน์ เพื่อช่วยเหลืองานการกุศล

และภาคประชาชน โดยเฉพาะในส่วนของภาคประชาชนนั้น

และงานสาธารณประโยชน์ ต ่ า ง ๆ โดยที ่ ม ู ล นิ ธ ิ ฯ จะไม่

ได้มีการรวมตัวกันของชาวไทยเชื้อสายจีนในเมืองยโสธร

เกี่ยวข้องกับการเมืองแต่อย่างใด

จัดตั้ง “มูลนิธิรวมสามัคคียโสธร” ขึ้น เพื่อช่วยเหลือผู้ ด้อยโอกาสในสังคม เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518

SBL : ในส่วนของกิจกรรมที่มูลนิธิฯ ได้ดำเนินการมา

โดยมีคุณบรรจง นิจพาณิชย์ เป็นประธานมูลนิธิฯ คนแรก

อย่างต่อเนื่อง มีอะไรบ้าง

และคณะกรรมการของมูลนิธิฯ จะมาจากการเลือกตั้งจาก

คุณประยูร : มูลนิธิรวมสามัคคียโสธร มีกิจกรรมหลักซึ่ง

ชาวไทยเชื้อสายจีนในตัวเมืองยโสธร โดยมีวาระการดำรง

จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี 2 กิจกรรม คือ

ตำแหน่ง คราวละ 2 ปี


ก่อตั้งเป็นโรงเรียนขึ้น เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เดิมใช้ชื่อว่า “โรงเรียนฮั่วเคียวกงฮัก” มีนายเซี่ยงสูน แซ่ล้ม ิ เป็นเจ้าของ นายกิมเฮง แซ่เซีย เป็นผู้จัดการ และมีนาย อุดร สุรเวช เป็นครูใหญ่ เปิดสอนครั้งแรกตั้งแต่ ป.1-ป.4 และได้รับอนุญาตจัดตั้งโรงเรียนจากกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อปี พ.ศ. 2496 และเปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาล 1- ป.6 ต่อมาในปี พ.ศ.2505 นายง่วนไชย เชื้อวัฒนากุล ซึ่งเป็น ผู ้ จ ั ด การโรงเรี ย นในขณะนั ้ น ได้ ข ออนุ ญ าตเปลี ่ ย นชื ่ อ โรงเรียนจาก “ฮั่วเคียวกงฮัก” เป็น “โรงเรียนยโสธร วิทยาคาร” และในปีพ.ศ.2525 ได้โอนกิจการโรงเรียน ยโสธรวิ ท ยาคาร ให้ อ ยู ่ ใ นความอุ ป ถั ม ภ์ ข องมู ล นิ ธ ิ ร วม สามัคคียโสธร ปัจจุบันมีนายฉลองชัย เชื้อวัฒนากุล เป็น

รงเรยนย สธรวิทยาคาร ใน ุป ัมภ

งมูลนิธิรวมสามัคคย สธร

ผู้จัดการโรงเรียน SBL : ปัจจุบันโรงเรียนได้รับความสนใจจากนักเรียน และผู้ปกครองมากน้อยเพียงใด คุณประยูร : ผมต้องขอเรียนให้ทราบว่าโรงเรียนยโสธร

1. งานทิ้งกระจาด เราจะจัดในช่วงหลังเทศกาลสารทจีน

วิทยาคาร เป็นโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์ ที่เปิดโอกาส

ซึ่งเป็นประเพณีที่มูลนิธิฯ ถือปฏิบัติต่อเนื่องมาเป็นเวลา

ให้ น ั ก เรี ย นยากจนและด้ อ ยโอกาสได้ เ ข้ า ศึ ก ษาตาม

นาน ตามความเชื่อของพุทธบริษัทจีนฝ่ายมหายาน ถือ

หลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งดำรงอยู่ได้ด้วยความ

เป็นประเพณีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่เพื่อนมนุษย์

เสียสละของพ่อค้าชาวตลาดอำเภอเมืองยโสธร มูลนิธิรวม

ที่ล่วงลับไปแล้ว พร้อมกับทำทานให้แก่ผู้ยากไร้

สามัคคียโสธร และเงินอุดหนุนจากกระทรวงศึกษาธิการ

2. งานสมโภชศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ซึ่งเป็นประเพณีที่

และเมื่อปี พ.ศ. 2558 ทางมูลนิธิฯ ได้ร่วมกับโรงเรียน

ชาวยโสธรได้ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา เป็นการอัญเชิญ

ยโสธรวิทยาคาร ก่อสร้างอาคารเรียนใหม่ 2 ชั้น จำนวน 6

เจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในเขตเทศบาลเมือง มาบวงสรวง

ห้องเรียน เพื่อรองรับนักเรียนที่คาดว่าจะเพิ่มมากขึ้น และ

สั ก การบู ช าที ่ ศ าลหลั ก เมื อ ง ในงานก็ จ ะมี ก ารแสดง

เป็นสร้างโอกาสให้กับนักเรียนที่ยากจนได้มีโอกาสเข้าถึง

อุปรากรจีนชื่อดัง และยังมีการแสดงอื่น ๆ ซึ่งเราจะจัด

การศึกษาได้มากขึ้น ปัจจุบันมีการสอนวิชาภาษาจีนเป็น

ขึ้นในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนของทุกปี

วิชาเลือก ซึ่งเป็นจุดดึงดูดให้ผู้ปกครองส่งบุตรหลานมา

นอกจากกิ จ กรรมหลั ก ที ่ ว ่ า ไปแล้ ว มู ล นิ ธ ิ ฯ ยั ง ให้ ก าร

เรียนกันมากขึ้น ทุกวันนี้เรามีนักเรียนทั้งสิ้น 690 คน มีครู

สนับสนุนกิจกรรมของโรงเรียนยโสธรวิทยาคาร มีการมอบ

และบุคลากร จำนวน 42 คน และนักเรียนที่จบการศึกษา

ผ้าห่มให้กาชาดและคนยากไร้ งานดูแลความเรียบร้อยของ

ไปก็ ม ี โ อกาสได้ ศ ึ ก ษาต่ อ ในชั ้ น ที ่ ส ู ง ขึ ้ น และประสบความ

ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง โรงงิ้ว และชุมชนวัดสิงห์ท่าที่เป็น

สำเร็จในหน้าที่การงานอย่างดีครับ

ย่านเมืองเก่าของยโสธรด้วย SBL : ท่านได้กล่าวถึง โรงเรียนยโสธรวิทยาคาร ซึ่งอยู่ ในความอุ ป ถั ม ภ์ ข องมู ล นิ ธ ิ ฯ อยากให้ ท ่ า นกล่ า วถึ ง วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งโรงเรียนแห่งนี้ คุณประยูร : โรงเรียนยโสธรวิทยาคาร เกิดจากความ ร่วมมือของคณะพ่อค้าชาวจีนในตลาดอำเภอเมืองยโสธร

ทั้งหมดน้ีคือแนวคิดดี ๆ จาก คุณประยูร และคุณเพชรรวง พวงแก้ ว คู ่ น ั ก ธุ ร กิ จ ตั ว อย่ า งของเมื อ งยโสธร ซึ ่ ง นักธุรกิจรุ่นใหม่ น่าจะได้ยึดถือเป็นแบบอย่าง ทั้งในแง่ของ การดำเนินธุรกิจ และการช่วยเหลือตอบแทนสังคม


201 หมู่ 9 นนแจ้งสนิท ต.เ ื่องคำ อ.เมือง จ.ยโสธร

ปจจุบัน คอนกรีตนับได้ว่าเปนวัสดุสารพัดประโยชน์ และ ช้กันอย่าง แพร่หลาย นอุตสาหกรรมก่อสร้าง ทังนีเพราะส่วน สม องคอนกรีต ได้แก่ ปูน ีเมนต์ หิน ทราย นำ และนำยา สมคอนกรีต จะ ูก สมด้วย กระบวนการที่มีคุณภาพจากโรงงานโดยเครื่อง สมคอนกรีต และเท ลง นร โม่ปูน

ึ่งจะยังคงสภาพเหลวอยู่ประมาณ 45 นาที ก่อนที่

คอนกรีตจะเริ่มเ ตตัว

แล้ว การเลือก ช้คอนกรีตที่มีคุณภาพ กเปนส่วนสำคั ที่ทำ ห้งาน โครงสร้างคอนกรีต มีอายุการ ช้งานยาวนานตามที่ออกแบบ และมีค่า บำรุงรักษา ่อมแ มที่ลดลง

สะดวกกว่า

สมเสรจ “เพชรวิ วกรรม” จะ

บ จทย

ทำงานได้ง่ายกว่า มั่นใจได้ว่าจะได้สินค้า ตามสเปคที่สั่ง

บริการอย่างมืออาชีพ

้เปน ยาง

นาย : คอนกรี ต สมเสรจ, แ ่ น พื นสำเรจรู ป , ปู น ง TPI, และบริการร เครน

ทร ัพท : 045-712931, 089-4282661

ทำให้วางแ นการ

ที่มีคุณ าพ และตรง

้วยคุณภาพ มา ร าน และประสบการณกวา 20 ป ท ใ ้คุณ งานค นกร

ค นกร เพชรวิ วกรรม

จัดส่งตรงตามนัด

นอกจากกระบวนการการทำงานสำหรับคอนกรีตที่ได้มาตร าน

มันใจ ้วา ค นกร

ท ม ้ ง

แ ก : 045-722 613


Untitled-2 1

5/9/2559 16:31:04


cQC@>Y.>BT.c>Â¥kIN

70


IeQ?JcBJ@/X.RNX;>¥kH¥BJWNX<[(YJ(BT<Xl.HYIYN@Y@(NBY" "B:"T¥(>Xl.IX.cBJ@" ;[@d;@>¥kTI`BTYOXI)T.H@_PIFf@I_+(BT@BJWNX<[OYQ<JF;CNI" ;X.@Xl@/].H¥" Q=Y@>¥Rk LYIdRB.>¥Bk /H /_A@X (LYIcBJ@dRLB.>BT.c>¥Ik N>¥Hk c¥ Q@BR.F ;.YHc0EYW<XN" J¥A/X;(JWcB@YdLCNTT(c;[@>Y.gBc>¥kINcH^T.IO(X@;¥(NBY+BW YASOTHON 71


ICT@cNLYRYT;¥<"1HeAJY:Q=Y@EX@B:

ส�าหรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบการเยีย่ มชมและศึกษาประวัตศิ าสตร์ ยโสธรเป็นอีกหนึ่งจังหวัดในภาคอีสาน ที่มีแหล่งโบราณสมัย ก่อนประวัตศิ าสตร์หลายแห่ง ไปดูกนั ว่ามีทไี่ หนน่าสนใจไปศึกษา กันค่ะ

dRLB.eAJY:Q=Y@บ้านสงเปือย (ดงเมืองเตย)

ตั้งอยู่ทางทิศใต้ห่างจากหมู่บ้านสงเป຅อยประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจากตัวอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ประมาณ กิโลเมตร บริเวณดงเมืองเตยมีซากปรักหักพังของวัด สระน�้า ก�าแพงเมือง และมีเศษภาชนะดินเผาสมัยทวาราวดีกระจายอยู่ เป็นจ�านวนมาก ซึ่งพอจะสันนิษฐานได้ว่าเดิมเป็นที่ตั้งของ ชุมชนโบราณสมัยเจนละ-ทวารวดี ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 นอกจากนี้ยังมีปูชนียวัตถุโบราณและแหล่งเรียนรู้ท่ีควรแวะ ชมคือ พระพุทธรูป฿หญ่ พระพุทธรูปสร้างด้วยอิฐและปูน มี อายุไม่นอ้ ยกว่า 200 ปี เป็นพระประธานในอุโบสถวัดสงเป຅อย เจดีย์บรรจุดินจากสังเวชนียสถาน เดิมเป็นเจดีย์เก่ามี อายุมากกว่า 200 ปี ทีไ่ ด้รบั การต่อเติมขึน้ ใหม่ให้สมบูรณ์โดย £


เงินทุนของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ในปี พ.ศ.2 9 แล้ว น�าดินจากสังเวชนียสถาน ต�าบล คือ ที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดง ปฐมเทศนา และปรินพิ พาน ทีพ่ ระปลัดเขียน อัมมาพันธ์ น�ามา จากประเทศอินเดียประดิษฐานไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้เคารพ บูชาเพื่อความเป็นสิริมงคล รอยพระพุ ท ธบาทจํ า ลอง สร้ า งโดยจอมพลแปลก พิบลู สงคราม และท่านผูห้ ญิง และพิพธิ ภัณ ข์ องโบราณ จัด เก็บและแสดงโบราณวัตถุซงึ่ เก็บและขุดได้จากดงเมืองเตย อาทิ เตียงศิลาทีบ่ รรทมของเจ้าเมือง และศิลาจารึกอักษรขอมโบราณ การเดินทางใช้เส้นทางยโสธร-ค�าเขือ่ นแก้ว-อุบลราชธานี ทางหลวงหมายเลข 2 จะมีทางแยกขวาเข้าไปอีกราว 10 กิโลเมตร

dRLB.eAJY:Q=Y@ดงศิลาแลง

ชาวบ้านเรียกบริเวณนี้ว่า “ดงศิลาเลข” ตั้งอยู่ใกล้บ้าน ศรีฐาน ต�าบลกระจาย อ�าเภอปຆาติว้ มีลกั ษณะเป็นเนินดินกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 00 เมตร พบใบเสมาหินทราย และ ใบเสมาศิลาแลงไม่มลี วดลายสลักอยูป่ ระมาณ 10 ใบ สันนิษฐาน ว่าอยู่ในช่วงสมัยทวารวดี มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 1 -15 YASOTHON 73


องค์เรือนธาตุค่อนข้างสูงไม่มีลวดลาย ส่วนยอดธาตุเป็นทรง บัวเหลี่ยมซ้อนทับกันสองชั้น มีกลีบบัวประดับส่วนโคนของ พุ่มบัวเหลี่ยม ยอดบนสุดประดับด้วยฉัตร

dRLB.eAJY:Q=Y@บ้านตาดทอง

dRLB.eAJY:Q=Y@บ้านกู่จาน

อยู่ในเขตต�าบลกู่จาน อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว มีหลักฐาน ทางโบราณคดีกระจายอยู่ แห่ง คือ บริเวณดงปู่ตา อยู่ทาง ด้านทิศเหนือของบ้านกูจ่ าน พบใบเสมาจ�านวน 10 ใบ ท�าจาก หินทรายแดง รูปทรงด้านบนคล้ายกลีบดอกบัว บริเวณกึง่ กลาง ใบสลักลวดลายเป็นสันนูน และลายยอดสถูปเทินเหนือหม้อน�า้ ปูรณ ะที่มีความหมายแทนองค์สถูป ใบเสมาเหล่านี้ปຑกอยู่ ในลักษณะเดิมทั้งหมด และยังพบใบเสมารูปแปดเหลี่ยมอีก 1 ใบ ท�าด้วยศิลาแลง บริเวณดอนกู่ พบปราสาทก่อด้วยศิลาแลงและอิฐ ที่ เรียกว่า ๡อโรคยาศาล๢ สร้างราวพุทธศตวรรษที่ 1 -1 สมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ บริเวณตัวปราสาทมีแท่นฐานทรงสีเ่ หลีย่ ม ผืนผ้า สันนิษฐานว่าเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปางนาคปรก อยูต่ รงกลาง พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวร และนางปรัชญาปารมิตา ขนาบอยู่สองข้าง วัดกูจ่ าน วัดโบราณอายุกว่า 200 ปี โดยชาวลาวทีอ่ พยพ มาตัง้ ถิน่ ฐานทีบ่ า้ นกูจ่ าน ภายในวัดมีพระธาตุเก่ารูปทรงสีเ่ หลีย่ ม จัตรุ สั เป็นสถาปຑตยกรรมแบบล้านช้าง คือมีสว่ นยอดธาตุเป็น ทรงบัวเหลี่ยม ฐานพระธาตุต�่าลักษณะเป็นฐานบัว ประกอบ ด้วยบัวคว�า่ บัวหงายเตีย้ ๆ ส่วนท้องไม้มลี กู แก้วอกไก่คนั่ กลาง 74

อยู่ที่บ้านตาดทอง ต�าบลตาดทอง อ�าเภอเมืองยโสธร แหล่งโบราณสถานบ้านตาดทอง มีอายุประมาณ 2,500 ปี มาแล้ว เป็นชุมชนเกษตรกรรมสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ทีม่ กี าร อยู่อาศัยต่อเนื่องมาโดยตลอดจนถึงสมัยทวารวดี และขอม ในอดีตเคยพบหลักฐานเป็นเนินดินขนาดใหญ่สูงประมาณ เมตร มีคูน�้าคันดินล้อมรอบ 1 ชั้น เป็นรูปวงรี กว้างประมาณ 500 เมตร ยาวประมาณ 650 เมตร แต่น่าเสียดายที่ปຑจจุบัน แทบจะไม่เหลือร่องรอยอารยธรรมโบราณให้เห็น เนื่องจาก มีการตัดถนนผ่าน มีหมู่บ้านขึ้นหนาแน่นตามความเจริญที่ มาพร้อมกับถนน เนินดินกลายเป็นที่ปลูกผักและท�านา คูน�้า คันดินโบราณถูกท�าลายลง โดยคูเมืองด้านทิศตะวันตกถูกขุด ลอกเป็นคลองระบายน�า้ และมีการพบใบเสมาเป็นจ�านวนมาก ซึง่ ท�าขึน้ ในยุคหลังทีม่ ชี มุ ชนไท-ลาวเข้าอยูอ่ าศัย นอกจากนีย้ งั มีศาสนสถานส�าคัญคือ พระธาตุกอ่ งข้าวน้อย และพระธาตุ บ้านสะเดา

@HXQ(YJ"¡"OYQ@Q=Y@QpY+X4

มาเยือนจังหวัดยโสธรทัง้ ที เราควรจะไปสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ คูบ่ า้ นคูเ่ มือง เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลของชีวติ จะได้รสู้ กึ อบอุน่ ใจ ตลอดการเดินทางท่องเทีย่ วด้วย จะไปทีว่ ดั ไหนก่อน เชิญเลือก ได้ตามใจชอบเลยค่ะ


@HXQ(YJJTIEJWE_>?AY>"" วัดพระพุทธบาทยโสธร

ตั้งอยู่ที่บ้านหนองยาง ต�าบลหัวเมือง ห่างจากที่ว่าการ อ�าเภอประมาณ 6 กิโลเมตร เป็นทีป่ ระดิษฐาน “รอยพระพุทธบาท๢ ลักษณะเป็นเนินทรายขาวสูง นับเป็นโบราณวัตถุอันล�้าค่า ของจังหวัด บริเวณเดียวกันนี้ยังมีโบราณวัตถุคือ พระพุทธรูป ปางนาคปรก ศิลาแลง 1 องค์ ขนาดหน้าตักกว้าง 1 ศอก และ หลักศิลาจารึกท�าด้วยศิลาแลง 1 หลัก สูง 1 เมตร กว้าง 50 เซ็นติเมตร มีอักษรโบราณบันทึกไว้ว่า โบราณวัตถุทั้ง อย่าง นี้ พระมหาอุตตปຑญญาและสิทธิวิหาริก ได้น�ามาจากกรุงศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ.1 นอกจากนีภ้ ายในวัดยังมีเจดียว์ ดั พระพุทธบาทยโสธร สูง 5 เมตร มี ชัน้ ชัน้ ที่ 1 จัดข้าวของเครือ่ งใช้ของคนอีสาน

ในอดีต และเป็นห้องสมุดส�าหรับค้นคว้าพระธรรมวินยั พระไตรปิฎก ชัน้ ที่ 2 แสดงหุน่ ขีผ้ งึ้ รูปเหมือนบูรพาจารย์ จ�านวน องค์ ส่วน ชัน้ ที่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุและพระธาตุในบุษบก แกะสลักสีทอง และในอุโบสถวัดพระพุทธบาทยโสธร ยังเป็น ทีป่ ระดิษฐาน “พระพุทธรูปหยกขาว” ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ใน ประเทศไทยด้วย ในระหว่างเดือนมีนาคม-เมษายน ของทุกปี จะมีประชาชน จากอ�าเภอและต�าบลใกล้เคียงเดินทางมานมัสการรอยพระพุทธบาท เป็นจ�านวนมาก การเดินทาง ใช้เส้นทางยโสธร-ค�าเขื่อนแก้วมหาชนะชัย-พนมไพร ทางหลวงหมายเลข 2 , 20 และ 222 YASOTHON £¡


1HRTg<JeAJY:"วัดสระไตรนุรักษ์

ตั้งอยู่ที่วัดสระไตรนุรักษ์ บ้านนาเวียง หมู่ที่ 1 ต�าบล นาเวียง อ�าเภอทรายมูล เป็นหอไตรเก่าแก่อยูก่ ลางสระน�า้ สร้าง เมือ่ ร้อยกว่าปีทผี่ า่ นมาโดยช่างลาวสมัยทีอ่ พยพมาตัง้ หมูบ่ า้ น เป็นสถาปຑตยกรรมแบบพม่าหรือไทยใหญ่ สร้างด้วยไม้ ขนาด กว้าง . 0 เมตร ยาว 10.50 เมตร หลังคามุมสังกะสี มีชายคา ยืน่ ทัง้ ทิศ หลังคามี ชัน้ ลดหลัน่ กันขึน้ ไป มีประตูดา้ นหน้า 1 ช่อง บานประตูแกะสลักลวดลายสวยงาม ตรงกลางเป็นห้อง ทึบใช้เป็นทีเ่ ก็บพระไตรปิฎกทีผ่ กู เป็นเรือ่ งราวบันทึกลงใบลาน แยกเป็นหมวดหมู่ ทั้งภาษาไทยอีสาน ขอม บาลี ตัวหนังสือ เป็นอักษรธรรม อักษรไทยน้อย และอักษรขอม มีคมั ภีรใ์ บลาน อยู่ทั้งหมด 19 มัด 1,55 ผูก

QX((YJWEJW+`BACY@+`BcH^T."วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ เป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธบุษยรัตน์” หรือ “พระแก้วหยดนํๅาค้าง” พระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะ สมั ย เชี ย งแสน เป็ น พระพุ ท ธรู ป คู ่ บ ้ า นคู ่ เ มื อ งของยโสธร ซึ่ งพระบาทสมเดใจพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้พระสุนทรราชวงศา เจ้าเมืองยโสธรคนแรก ภายในวัดยังมีปูชนียสถานส�าคัญ ได้แก่ พระธาตุยโสธร หรือ พระธาตุอานนท์ ตัง้ อยูห่ น้าอุโบสถ เป็นพระธาตุโบราณทีส่ า� คัญองค์หนึง่ ในภาคอีสาน ลักษณะเป็น ทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้านละ 1 เมตร เอวฐานคอดเป็นรูป บัวคว�า่ บัวหงาย เหนือขึน้ ไปเป็นเรือนธาตุ มีซมุ้ ทิศ ประดิษฐาน พระพุทธรูปประทับยืน ส่วนยอดธาตุมียอดปลีเล็กทั้ง ด้าน ยอดกลางทรงสีเ่ หลีย่ มสอบ มี 2 ชัน้ รูปแบบการก่อสร้างคล้าย กับพระธาตุกอ่ งข้าวน้อย ส่วนยอดคล้ายพระธาตุพนม ภายใน พระธาตุบรรจุอฐั ธิ าตุของพระอานนท์ ตามประวัตขิ องวัดมหาธาตุ ฉบับหนึง่ ระบุวา่ สร้างราว พ.ศ.2 21 โดยท้าวหน้า ท้าวค�าสิงห์ ท้าวค�าผา ซึ่งเดิมเป็นเสนาบดีเก่าของกรุงศรีสัตนาคนหุต เวียงจันทน์ ต่อมาได้อพยพผู้คนภายใต้การน�าของพระวอ พระตา มาตั้งถิ่นฐาน ณ ที่นี้ ราว พ.ศ. 2 1 -2 19 ทางวัดจะ จัดให้มงี านสมโภชพระธาตุอานนท์ขนึ้ เป็นประจ�าทุกปีในเดือน มีนาคม หอไตร เป็นที่เก็บคัมภีร์ใบลานของวัด ตั้งอยู่ตรงกลาง สระทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระธาตุ ลักษณะเหมือน หอไตรภาคอีสานทัว่ ไป มีทางเดินโดยรอบใต้ชายคา บริเวณนี้ เป็นทีเ่ ก็บรักษาตูพ้ ระธรรม หีบพระธรรม เสลีย่ ง ชัน้ วางคัมภีร์ ซึ่งน�ามาจากเวียงจันทน์ ซุ้มประตูและบานประตูไม้สลักลวด ลายเครือเถาลงรักปิดทองอย่างสวยงาม การตกแต่งฝาผนัง มีลวดลาย ซึ่งเป็นลักษณะผสมแบบภาคกลาง สันนิษฐานว่า หอไตรสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ -5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 76


EJW?Y<_(BT.)CYN@CTI"อนุสรณ์เตือนใจลูก

พระธาตุกอ่ งข้าวน้อย สร้างในพุทธศตวรรษที่ 2 -25 ตรง กับสมัยอยุธยาตอนปลาย ตัง้ อยูใ่ นเขตวัดพระธาตุกอ่ งข้าวน้อย ลักษณะพระธาตุเป็นเจดีย์เหลี่ยมย่อมุมไม้สาม ฐานสี่เหลี่ยม จัตุรัส กว้างด้านละ 2 เมตร ก่อสูงขึ้นไปประมาณ 1 เมตร ช่วง กลางขององค์พระธาตุมลี วดลายท�าเป็นซุม้ ประตูทงั้ สีด่ า้ น ถัด จากช่วงนี้ไปเป็นส่วนยอดของเจดีย์สอบเข้าหากัน มีประวัติเกี่ยวกับการสร้างพระธาตุก่องข้าวน้อยว่า มี หนุม่ ชาวนาคนหนึง่ เหน็ดเหนือ่ ยจากการไถนาตัง้ แต่เช้าจนเพล จนรู้สึกหิวข้าว แต่มารดาวัยชราเดินมาส่งข้าวให้ช้ากว่าทุกวัน ท�าให้เขาโมโหหิว เมื่อเปิดดูกระติๆบข้าวที่เตรียมมาก็ดูเหมือน จะกินไม่อมิ่ เขาก็ยงิ่ โกรธจนลืมตัวถึงกับท�าร้ายมารดาจนถึงแก่ ความตาย เมื่อกินข้าวอิ่มแล้ว แต่ปราก ว่าข้าวก็ยังเหลือ เขา จึงได้สติและเสียใจอย่างมาก จึงได้สร้างพระธาตุกอ่ งข้าวน้อย ขึ้น เพื่อเป็นการขออโหสิกรรมและเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับ มารดาด้วย เรือ่ งราวของก่องข้าวน้อย า่ แม่ มักจะถูกหยิบยก มาเล่าเพื่อสั่งสอนเตือนใจลูกเสมอ บริเวณด้านหลังพระธาตุมีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ซึ่งชาว บ้านเคารพนับถือมาก และในเดือนห้าจะจะต้องมาสรงน�า้ พระ และปิดทอง เพราะเชือ่ กันว่าจะท�าให้ฝน าງ ตกต้องตามฤดูกาล พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์

การเดินทาง พระธาตุก่องข้าวน้อย ต�าบลตาดทอง ห่าง จากตัวจังหวัดประมาณ 9 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงหมายเลข 2 ยโสธร-อุบลราชธานี กิโลเมตรที่ 19 เลี้ยวซ้ายไปอีก 1 กิโลเมตร YASOTHON 77


78


โบสถ์คริสต์บ้านซ่งแย้" eAQ=FgHC>¥kfR4B>¥kQ_;f@g>I

โบสถ์คริสต์บ้านซ่งแย้ ตั้งอยู่ที่วัดอัครเทวดามีคาแอล บ้านซ่งแย้ ต�าบลค�าเตย อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร มีประวัติ เล่าสืบกันมาว่าในปี ค.ศ.190 มีชาวบ้าน 5 ครอบครัว ถูก กล่าวหาว่าเป็นผีปอบ ชาวบ้านในหมู่บ้านจึงรุมท�าร้ายและ ขับไล่ พวกเขาจึงส่งตัวแทน คน ไปหาบาทหลวงเดซาแวล และบาทหลวงอัมโบรซีโอ ซึ่งเป็นเจ้าวัดประจ�าที่บ้านเซซ่ง ต.เชียงเพ็ง อ.ปຆาติว้ จ.ยโสธร เพือ่ ขอให้ทา่ นไปช่วยขับไล่ผปี ศิ าจ ที่สิงสู่อยู่กับตนและครอบครัว บาทหลวงทัง้ สองได้มาเยีย่ มให้กา� ลังใจ จนพวกเขารูส้ กึ ดี ขึ้นจึงยอมเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก บาทหลวงเห็นว่าบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านนั้นดีมาก จึงขอให้ชาว บ้านสร้างทีพ่ กั ขึน้ หลังหนึง่ เพือ่ เป็นทีพ่ กั อาศัยชัว่ คราว ใช้สอน ศาสนาและประกอบพิธที างศาสนาด้วย ซึง่ ถือว่าบ้านพักนีเ้ ป็น โรงสวด หรือวัดหลังแรกของกลุ่มคริสตชนซ่งแย้ ซึ่งเปิดอย่าง เป็นทางการในปี ค.ศ.1909 ใช้ชอื่ ว่า ๡วัดอัครเทวดามีคาแอล๢ โดยมีบาทหลวงเดซาแวล เป็นอธิการโบสถ์คนแรก จากนัน้ คน ในบ้านหนองซ่งแย้ซงึ่ ล้วนแต่เป็นชาวไทยอีสาน ก็ได้มาเข้ารีต ถือศาสนาคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิก เกือบทัง้ หมด และได้มกี าร พัฒนาโบสถ์อย่างต่อเนื่อง ส่วนโบสถ์หลังปຑจจุบันนี้เป็นหลังที่ ลงมือสร้างในปี ค.ศ.19 ตัวโบสถ์มีลักษณะแบบศิลปะไทย กว้าง 16 เมตร ยาว 5 เมตร ใช้แผ่นไม้เป็นแปງนมุงหลังคา 0,000 แผ่น ใช้เสา ทั้งใหญ่และเล็กจ�านวน 22 ต้น พื้นแผ่นกระดานเป็นไม้แดง และไม้ตะเคียนขนาดใหญ่ ม้านั่งไม้จุคนได้กว่าพันคน ระ ัง โบสถ์มีเส้นผ่าศูนย์กลางเกือบ 2 ุต อยู่ในหอระ ังสูงที่สร้าง แบบหอระ ังตามวัดไทยทั่วไป ในการสร้างวัดหลังนี้ ชาวบ้านทุกคนมีความสามัคคีกัน และให้ความร่วมมือกันดีมาก ในระหว่างทีข่ นไม้กม็ บี รรยากาศ สนุกสนาน มีการร้องร�า ตีกลอง โห่รอ้ งเอิกเกริกจนก้องปຆา เป็น การให้ก�าลังใจซึ่งกันและกันจนงานส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และ ทีส่ ดุ ในวันที่ 25 เมษายน ค.ศ.195 พระคุณเจ้าบาเยต์ ได้มา เป็นประธานพิธเี สกวัดหลังนี้ ซึง่ เป็นวัดไม้หลังทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของ สัง มณฑลอุบลราชธานี และใหญ่ที่สุดในประเทศไทยด้วย การเดินทาง จากยโสธรใช้ทางหลวงหมายเลข 2169 เลย อ�าเภอกุดชุมไปประมาณ - กิโลเมตร เลีย้ วซ้ายเข้าไปอีกราว 600 เมตร ถึงบริเวณโรงเรียนซ่งแย้พิทยาและโบสถ์ซึ่งอยู่ บริเวณเดียวกัน

cJ¥I@J`CN[=¥1¥1_H1@"+@cH^T.IO

บ้านสิงห์ท่า"+NYH.;.YHcR@^T(YLcNLY

บ้านสิงห์ท่า ต�าบลสิงห์ท่า อ�าเภอเมืองยโสธร เป็นย่าน เมืองเก่าทีเ่ คยเจริญรุง่ เรืองมาแต่อดีต กระทัง่ ในรัชสมัยรัชกาล ที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ เป็น ๡เมืองยศสุนทร๢ ในสมัยต่อมาบ้าน สิงห์ท่ากลายเป็นย่านการค้าที่ส�าคัญ คหบดีจีนจึงนิยมจ้าง ช่างก่อสร้างจากเวียดนามมาสร้างตึกรามบ้านช่องทีม่ รี ปู แบบ สถาปຑตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างจีนกับโปรตุเกส กลายเป็น อาคารแบบชิโน-โปรตุกิส ที่มีรูปทรงและลวดลายงดงามอ่อน ช้อยเป็นเอกลักษณ์เช่นเดียวกับอาคารต่างๆ ในจังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นรูปแบบอาคารที่นิยมกันมากในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามามี อิทธิพลในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ปຑจจุบนั อาคารเก่าแบบชิโน-โปรตุกสิ ได้รบั การอนุรกั ษ์ไว้ ให้เป็นเสน่หด์ งึ ดูด ซึง่ นักท่องเทีย่ วสามารถเดินชมและแชะภาพ ประทับใจได้รมิ สองข้างถนนศรีสนุ ทร นครปทุม อุทยั รามฤทธิ์ และวิทยธ�ารง ซึ่งทาง ททท.แนะน�าว่าชุมชนบ้านสิงห์ท่าเป็น แหล่งท�าปลาส้มและลอดช่องทีข่ นึ้ ชือ่ ของยโสธรทีต่ อ้ งลิม้ ลอง ให้ได้ YASOTHON 79


80


สวนสาธารณะพญาแถน"d;@c>Ec/CYdRB.D@

ตัง้ อยูใ่ นเขตเทศบาลเมือง ริมถนนแจ้งสนิท ติดกับอ่างเก็บ น�า้ ล�าทวน ภายในสวนพญาแถนมีลา� น�า้ เล็กๆ คดเคีย้ วล้อมรอบ บริเวณ โดยรอบประกอบด้วยสวนไม้ดอกไม้ประดับ สังคีตศาลา เวทีการแสดงกลางแจ้ง สนามเด็กเล่น และสวนสุขภาพ ปຑจจุบันเทศบาลเมืองยโสธรได้ก�าหนดให้สวนพญาแถน เป็นสถานทีจ่ ดั งานประเพณีบงั้ ไ ประจ�าปี เพือ่ ถวายพญาแถน -เทพเจ้าแห่งฝน เพราะเชื่อว่าจะท�าให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล นอกจากนี้ยังใช้เป็นสถานที่จัดงานแข่งเรือสั้น เรือหาปลา ประจ�าปี และงานสงกรานต์ด้วย YASOTHON 81


วัดล้านขวด

“วัดลาดเก่า หรือวัดล้านขวด” ตั้งอยู่อ�าเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร จุดเด่นของวัดแห่งนีค้ อื การน�าเอาขวดมาก่อสร้าง เป็นศาสนสถาน ทัง้ ตัวอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอระ งั เมรุ หรือซุ้มประตูรั้ว ล้วนแล้วแต่ท�าจากขวดทั้งหมด เป็นการน�า ภูมิปຑญญาและความช�านาญมาใช้ได้อย่างงดงามและลงตัว ทีเดียวซึง่ เป็นแหล่งโบราณสถานและเป็นทีส่ กั การะของประชาชน ชาวยโสธร เป็นศูนย์ค้นคว้าข้อมูลประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ภูมิปຑญญา และการท่องเที่ยว เป็นการน�าขวดมาก่อสร้างเป็น ศาสนสถาน เป็นการใช้ภูมิปຑญญาและความช�านาญ ภายในบริเวณวัดจะค่อนข้างร่มรื่นด้วยต้นไม้นานาชนิด มีพระอุโบสถหลังใหญ่ที่ท�าด้วยขวดแก้วสีเขียวตั้งตระหง่าน เหนือพืน้ น�า้ ดูสวยงาม แปลกตามากๆ เป็นอีกสถานทีท่ สี่ า� คัญ ของจังหวัดยโสธรที่ไม่ควรพลาดเป็นอย่างยิ่ง ⁄


แหล่งโบราณคดีบ้านขุมเงิน

เป็นแหล่งโบราณคดีทมี่ อี ายุยาวนาน ซึง่ แสดงออกถึงอายุ ของชุมชนอยู่ที่บ้านขุมเงิน ต�าบลเขื่องค�า อ�าเภอเมืองยโสธร ไม่มคี นู า�้ คันดินล้อมรอบ มีรอ่ งน�า้ ธรรมชาติไหลผ่านขึน้ ไปทาง ด้านทิศเหนือ เนินดินทางด้านทิศใต้ มีเศษภาชนะดินเผาทับถม เป็นชัน้ หนา พบหินดุซงึ่ เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการปຑนຕ ภาชนะ พบ เศษภาชนะดินเผาก่อนประวัตศิ าสตร์ คือภาชนะดินเผาเคลือบ น�้าดินสีแดง ที่ขอบปากมีการกดบากเป็นรอยคล้าย ຑนปลา นอกจากนัน้ ยังพบใบเสมา แสดงถึงการนับถือพุทธศาสนา เช่น เดียวกับชุมชนโบราณบ้านตาดทอง ชุมชนโบราณแห่งนีม้ กี าร อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมาถึงสมัย ทวาราวดี มีอายุอยู่ประมาณ 2,500-1,000 ปีมาแล้ว

ภูทางเกวียน

ภูทางเกวียน ตัง้ อยูบ่ ริเวณทางเข้าอ่างกกกุง เป็นส่วนหนึง่ ของแนวภูหนิ ปูน ภูแห่งนีย้ งั อุดมสมบูรณ์ไปด้วยปຆาดิบแล้ง และ ทุ่งหญ้าตามลานหิน จากยอดภูจะมองเห็นภูผาขาว ภูอีด่าง ภูจ้อก้อ นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของวัดภูทางเกวียน จาก เชิงเขามีทางขึ้นวัดได้ 2 ทาง เส้นทางแรกเป็นทางเดินไปตาม บันไดคอนกรีต ส่วนเส้นทางทีส่ องเป็นถนนคอนกรีต ซึง่ สามารถ ขับรถยนต์ถงึ บริเวณวัดได้อย่างสะดวกสบาย สาเหตุทเี่ รียกกัน ว่า ภูทางเกวียน นี้ เนื่องจากบนภูเขามีร่องหินสองร่องขนาน กัน คล้ายรอยล้อเกวียน โดยมีเรื่องเล่าสืบต่อกันมาว่า มีผู้น�า เกวียนบรรทุกของมีค่ามาซุกซ่อนไว้ ณ บริเวณแห่งนี้ ในอดีต จึงมีผู้พยายามขุดค้นหาของมีค่าและวัตถุโบราณกัน เพราะ ความสวยงามของภูแห่งนี้จึงเป็นส่วนหนึ่งของค�าขวัญอ�าเภอ กุดชุม ทีว่ า่ ๡งามนิมติ ภูทางเกวียน๢ และหากมาเยือนช่วงปลาย ฝนต้นหนาว ท่านจะได้พบกับวั จักรธรรมชาติ ของภูทางเกวียน ภาคอีสาน คือ ทุ่งดอกหญ้าบนลานหินด้วย ที่มา . . YASOTHON 83


ภูหินปูน

ภูหนิ ปูน หมูท่ ี่ 16 บ้านนามน ต�าบลกุดชุม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ซึง่ เป็นภูเขาทอดยาวมาจากอ�าเภอเลิงนกทา มี จุดเด่นคือประติมากรรมหินทรายธรรมชาติรปู ทรงต่างๆ นับได้ ว่าเป็นแหล่งศึกษาระบบนิเวศวิทยาในท้องถิ่น และเป็นที่ตั้ง ของส�านักสง ์พุทธสถานภูหินปูน ถ�้าเต่าเป็นส่วนหนึ่งของวัด ทีม่ คี วามสวยงามและมีความอัศจรรย์ เหมาะส�าหรับเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว ภู หิ น ปู น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของแนวภู เขาที่ ท อดยาวเป็ น ช่วงๆ จากอ�าเภอเลิงนกทา ภูมปิ ระเทศบางแห่งมีความละม้าย คล้ายภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร บริเวณที่โดดเด่นที่สุด คือ ป ิมากรรมหินทรายขนาดใหญ่ฝีมือธรรมชาติ คล้ายเต่ายักษ์ โบราณชูคอ จนอาจถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของภูหินปูน บ้าง คล้ายยอดมงกุฎ และรูปสัตว์ประหลาดต่างๆ ตามแต่มุมมอง องศาทีม่ องดูและจินตนาการของผูพ้ บเห็น ในหน้าฝน พืชตระกูล หญ้าที่มีดอกสีสรรสวยงามนานาชนิดเจริญงอกงามตามลาน หิน ที่มีน�้าไหลผ่าน ซึ่งพบได้ที่ภูผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี ภูผายล จังหวัดสกลนคร ภูสระดอกบัว จังหวัดมุกดาหาร ให้ ความประทับจิตเช่นไร ที่นี่ก็ให้ความประทับใจเช่นนั้น กิจกรรมที่น่าสนใจ เป็นเส้นทางของจักรยานเสือภูเขา การเดินปຆาศึกษาระบบนิเวศวิทยา เรียนรู้

84

ความสัมพันธ์ของสรรพสิง่ ทัง้ สังคมพืชและสังคมสัตว์นอ้ ยใหญ่ ที่ก�าเนิดมาและอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนบนภูหินปูนแห่งนี้ จาก จุดนี้ข้างหน้าเป็นเส้นทางที่ทอดเลื้อยไปตามความสูงของภู ประมาณ 200 เมตร ไปสิ้นสุดที่หน้าผาใหญ่ ซึ่งบริเวณแห่งนี้ เป็นที่ตั้งของส�านักสง ์นามพุทธสถานภูหินปูน ขอขอบคุณข้อมูลจาก  การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยโสธร  การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�านักงานอุบลราชธานี อุบลราชธานี, ยโสธร, อ�านาจเจริญ


Untitled-1 1

27/9/2559 14:00:53


Untitled-1 1

31/8/2559 19:43:33


Untitled-1 2

31/8/2559 19:43:34


Untitled-1 1

6/9/2559 16:57:48


Untitled-1 1

2/9/2559 12:31:37


Untitled-1 1

16/9/2559 12:52:00


Untitled-1 1

2/9/2559 13:55:47


cQC@>Y.+NYHcBJ@HY

ย สุนทร

cH^T.>J.c(¥IJ<[ >_(I_+QHXI จังหวัดยโสธร เดิมชือ่ ๡เมืองยศสุนทร๢ ซึง่ พระบาทสมเดใจ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สถาปนาบ้านสิงห์ท่าเป็นเมือง เมื่อปี พ.ศ.2 5 ทว่าดินแดน อันเป็นทีต่ งั้ ของจังหวัดยโสธรนัน้ มีรอ่ ยรอยการตัง้ ถิน่ ฐานมา ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และเป็นเมืองที่มีบทบาทในหน้า ประวัติศาสตร์ชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น สมดังชื่อ เมือง “ยศสุนทร” หมายถึงเมืองทีท่ รงไว้ซงึ่ เกียรติยศ น�ามาซึง่ ความภาคภูมิใจแก่อนุชนชาวเมืองยศสืบไป

QHXI(BT@BJWNX<[OYQ<JFヘ>NYJN;¥ヘLEA_J¥

ในเขตจังหวัดยโสธร มีหลักฐานที่บ่งบอกว่ามีชุมชนอยู่ อาศัยมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่ง อาทิ แหล่ง โบราณคดีบ้านตาดทอง อ�าเภอเมืองยโสธร มีอายุประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว เป็นชุมชนเกษตรกรรม พบหลักฐานการฝຑงศพ แบบนอนหงาย เครือ่ งใช้ทพี่ บได้แก่เศษภาชนะดินเผาแบบมีลาย เขียนสีที่ขอบปาก ซึ่งพบทั่วไปในบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ ชุมชน แห่งนี้มีการอยู่อาศัยต่อเนื่องมาโดยตลอดจนถึงสมัยทวารวดี และสมัยลพบุรี ขอมโบราณ แหล่งโบราณคดีบา้ นขุมเงิน อ�าเภอเมืองยโสธร พบหินดุ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการปຑຕนภาชนะ พบเศษภาชนะดินเผา ก่อนประวัติศาสตร์ คือภาชนะดินเผาเคลือบน�้าดินสีแดง ที่ 92

ขอบปากมีการกดบากเป็นรอยคล้าย ຑนปลา นอกจากนั้นยัง พบใบเสมาซึ่งแสดงถึงการนับถือพุทธศาสนา เช่นเดียวกับ ชุมชนโบราณบ้านตาดทอง ชุมชนโบราณแห่งนีม้ กี ารอยูอ่ าศัย มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ต่อเนื่องมาถึงสมัยทวารวดี มีอายุอยู่ประมาณ 2,500-1,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีบ้านสงเป຅อย (ดงเมืองเตย) อ�าเภอ ค�าเขื่อนแก้ว เป็นชุมชนโบราณที่สืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ เป็นชุมชนเกษตรกรรมใช้ขวานหินขัด รู้จักการ ท�าเครือ่ งปຑนຕ ดินเผาและถลุงโลหะ เพราะพบเศษภาชนะดินเผา แบบทุง่ กุลาร้องไห้ และตะกรันเหล็ก มีประเพณีการฝຑงศพแบบ ฝຑงครั้งที่สอง ซึ่งเป็นที่แพร่หลายในบริเวณ แม่น�้ามูล-ชี มีอายุ ประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว ในสมัยต่อมาชุมชนดงเมืองเตยได้รับอิทธิพลความเชื่อ ทางศาสนาจากภายนอก ทั้งศาสนาทั้งพุทธและพราหมณ์ินดู ดังที่พบโบราณวัตถุ ได้แก่ ใบเสมา พระพุทธรูป กุฑุสลัก รูปสตรี เทวรูป ทีท่ า� ด้วยหินทราย ตลอดจนวงกบกรอบประตู ท�าด้วยหินทรายสีแดง มีศาสนสถานเป็นอาคารสี่เหลี่ยมก่อ ด้วยอิฐ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ส่วนยอดสันนิษฐานว่า เป็นมณฑปซ้อนขึน้ ไป เป็นอาคารสถาปຑตยกรรมยุคต้นๆ ทีไ่ ด้ รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดียแบบคุปตะ และหลังคุปตะ มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-12 ส�าหรับโบราณวัตถุ


ทีส่ า� คัญซึง่ ได้จากการขุดแต่งโบราณสถานในปี 25 คือ สิงห์ สลักจากหินทราย สีขาว เป็นศิลปะเขมรสมัยแปรรูป อายุราว พุทธศตวรรษที่ 15 ปຑจจุบันจัดเก็บที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี โบราณสถานบ้านกูจ่ าน อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว พบกูท่ า� ด้วย ศิลาแลงและหินทราย อยู่ในสภาพช�ารุดพังทลาย มีร่องรอย ฐานวางรูปเคารพตามความเชือ่ ในศาสนา นิ ดู มีรอ่ งรอยชุมชน โบราณสมัยทวาราวดี มีเสาศิลาแลงรูปแปดเหลีย่ ม อยูภ่ ายใน บริเวณชุมชนหลายแห่ง บริเวณดอนกู่ มีศาสนสถานที่ได้รับ อิทธิพลจากวัฒนธรรมขอม ลักษณะเป็นปราสาทก่อด้วยศิลา แลงและอิฐ สร้างขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 1 -1 สมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ แผนผังอาคารประกอบด้วยปราสาท ประธานบรรณาลัย และสระน�้า ลักษณะแผนผังอาคารคล้าย องค์ประกอบศาสนสถานทีเ่ รียกว่า อโรคยาศาล หรือโรงพยาบาล ทีพ่ ระเจ้าชัยวรมันที่ ให้สร้างขึน้ ณ สถานทีต่ า่ งๆ จ�านวน 102 แห่ง ใช้สา� หรับเป็นสถานพยาบาลประชาชนทีเ่ จ็บปຆวย มีพบอยู่ ทั่วไปในเขมร และไทย แหล่งโบราณคดีบา้ นนําๅ อ้อม อ�าเภอค้อวัง มีลกั ษณะเป็น เนินดินรูปร่างค่อนข้างกลม มีคูน�้าล้อมรอบ โบราณวัตถุที่พบ มีเศษภาชนะดินเผาเป็นจ�านวนมาก เป็นชนิดเนื้อหยาบผสม ด้วยเม็ดกรวด พืช มีทงั้ แบบขึน้ รูปด้วยมือ และแปງนหมุน สีสม้

สีนวล เป็นภาชนะแบบก่อนประวัตศิ าสตร์ แสดงว่าชุมชนแห่ง นีไ้ ด้เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยต่อเนือ่ งกันมาตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ จนถึงสมัยทวารวดี มีอายุประมาณ 2,500-1,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีบ้านบึงแก อ�าเภอมหาชนะชัย ชุมชน แห่งนีม้ กี ารอยูอ่ าศัยมาตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ต่อเนือ่ ง มาถึงสมัยทวารวดี มีอายุประมาณ 2,000-1,000 ปีมาแล้ว โดยพบโบราณวัตถุหลายชนิด ได้แก่ ใบเสมา พระพุทธรูปหิน ทราย แท่นหิน เศษภาชนะดิน เผาด้วยความร้อนต�า่ มีทงั้ ชนิด เนือ้ หยาบ ไปถึงเนือ้ ละเอียดตกแต่งผิวด้วยแบบลายเชือกทาบ

แบบปຑนຕ แปะ แบบลายขูดขีด แบบลายเขียนสีแดง และแบบลาย เขียนสีขาว นอกจากนัน้ ได้พบหลักศิลาจารึก 1 หลัก เป็นอักษร ขอมภาษาสันสกฤต พบที่เนินดินกลางทุง่ นา ทีเ่ รียกว่าโนนสัง แหล่งโบราณคดีบา้ นโนนเมืองน้อย อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว สันนิษฐานว่า มีอายุรว่ มสมัยกับชุมชนโบราณบ้านบึงแก สมัย ประวัตศิ าสตร์ตอนต้น หรือสมัยทวารวดี ประมาณ 1,500-1,000 ปีมาแล้ว นอกจากนีย้ งั มีแหล่งโบราณคดีอกี หลายแห่งทีอ่ ยูใ่ นสมัย ทวารวดี-สมัยขอมโบราณ อาทิ ดงศิลาแลง อ�าเภอปຆาติว้ เป็น ชุมชนในสมัยทวารวดี มีอายุอยูป่ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 1 -15 ชาวบ้านเรียกบริเวณนีว้ า่ ดงศิลาเลข พบใบเสมาหินทราย และ ใบเสมาศิลาแลง แหล่งโบราณคดีบา้ นหมายมาย อ�าเภอค้อวัง เป็นชุมชนที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทวาราวดี และลพบุรี มี อายุประมาณ 1,500-1,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีบ้าน โพนเมือง อ�าเภอค้อวัง บริเวณเนินดินพบโบราณวัตถุเป็นเศษ ภาชนะดินเผาเคลือบสีนา้� ตาลแบบเครือ่ งถ้วยลพบุรี เช่นเดียว กับแหล่งโบราณคดีโดยรอบ จึงสันนิษฐานว่าเป็นแหล่งโบราณคดี ในช่วงสมัยทวาราวดี-สมัยลพบุรี มีอายุอยู่ประมาณ 1,5001,000 ปีมาแล้ว แหล่งโบราณคดีบ้านหัวเมือง อ�าเภอมหาชนะชัย พบ มีเศษภาชนะดินเผา พระพุทธรูป ใบเสมา และฐานรูปเคารพ ชุมชนแห่งนีเ้ ป็นชุมชนสมัยประวัตศิ าสตร์ ทีน่ บั ถือพุทธศาสนา YASOTHON 93


และอยูใ่ นวัฒนธรรมทวาราวดีตงั้ แต่เริม่ ตัง้ ถิน่ ฐาน อยูใ่ นประมาณ พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นต้นมา ต่อมาได้รบั วัฒนธรรมลพบุรี ใน ประมาณพุทธศตวรรษที่ 16-1 แหล่งโบราณคดีบ้านแข้ อ�าเภอค้อวัง ได้พบหลักฐาน ทางโบราณคดีอยู่ 2 แห่งด้วยกันคือ วัดปຆาดงบ้านหอย เป็นซาก โบราณสถานก่อด้วยอิฐ ลักษณะเป็นฐานอาคารทรงสี่เหลี่ยม ผืนผ้า สันนิษฐานว่าชุมชนโบราณแห่งนี้มีอายุอยู่ในสมัยขอม มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 1 -1 และที่บริเวณบ้าน แข้โพนเมือง พบเศษภาชนะดินเผาเคลือบสีนา�้ ตาลสมัยลพบุรี แหล่งโบราณคดีบา้ นคูสองชันๅ อ�าเภอมหาชนะชัย เป็น ชุมชนโบราณที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทวาราวดีและขอมรุ่น หลัง มีอายุอยูป่ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 15-1 พบโบราณวัตถุ เป็นจ�านวนมาก ได้แก่ เทวรูปสตรี ท�าจากหินทราย มีจารึกตัว อักษรขอมโบราณภาษาสันสกฤต ประติมากรรมหินทราย ฝา ภาชนะเคลือบสีน�้าตาล ถ้วยขนาดเล็กเคลือบสีน�้าตาลเข้ม หินลับ และเศษภาชนะดินเผาซึ่งมีทั้งเนื้อดินสีส้ม สีนวล และ เนื้อแกร่ง

QHXI?@A_J¥

ราวปี พ.ศ.2 1 พระเจ้าตา เจ้าพระวอ เสนาบดีเก่านคร เวียงจันทน์ อพยพครอบครัวและบริวารหนีมาเพื่อตั้งรกราก ใหม่ เนื่องจากไม่พอใจเจ้านครคนใหม่ โดยใช้ชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองหนองบัวลุมภู ขณะเดียวกัน พระเจ้าศิริบุญสาร ซึ่งเป็น เจ้านครเวียงจันทน์อยู่เกิดหวาดระแวงจึงยกกองทัพจากนคร เวียงจันทน์มาปราบปราม พระเจ้าตาถูกข้าศึกยิงด้วยอาวุธป຅น และ ຑนด้วยดาบจนถึงแก่พิราลัยในที่รบ เจ้าพระวอ เจ้าค�าผง และเจ้าฝຆายหน้าผู้เป็นน้องทั้ง 2 ของเจ้าพระวอ อีกทั้งเจ้าก�่า เจ้าทิดพรมได้ยกทัพฝຆาหนีออกจากเมืองหนองบัวลุมภูไปพึง่ พา เจ้านครจ�าปาศักดิ์ ขบวนทัพของเจ้าพระวอได้เดินทางตาม ลุ่มน�้าชีมาพักกับเจ้าค�าสูผู้ปกครองบ้านสิงห์ท่า ปຑจจุบัน คือ จังหวัดยโสธร ภายหลังต่อมาเจ้าพระวอด�าริว่าหากอยู่กับเจ้าค�าสูแล้ว ถ้าเวียงจันทน์ยกทัพมาก็จะเป็นการล�าบาก และจะเกิดศึก สงครามกันต่อไป เมือ่ ประชุมตกลงกันแล้วจึงได้พาไพร่พลอพยพ ลงไปตามล�าน�้ามูล และสร้างเมืองใหม่ที่ดอนวังกองเขตนคร จ�าปาศักดิ์ ตามรับสั่งของพระเจ้าองค์หลวงเจ้านครจ�าปาศักดิ์ โดยเจ้าพระวอให้ขุดคูสร้างค่ายขึ้นเรียกว่าค่ายบ้านดู่บ้านแก ต่อมาในปี พ.ศ.2 21 เมื่อพระเจ้าศิริบุญสารทราบเรื่อง จึงได้ยกทัพมาปราบอีกจนเจ้าพระวอถึงแก่ความตาย เจ้าค�าผง น้องเจ้าพระวอ และบริวารจึงได้อพยพต่อไปยังเกาะกลาง ล�าน�า้ มูลเรียกว่าดอนมดแดง แต่เนือ่ งจากเป็นทีต่ า�่ ไม่เหมาะสม ที่จะสร้างเมืองจึงอพยพขึ้นมาตามล�าน�้ามูล ถึงห้วยแจระแม แล้วมาสร้างเมืองใหม่ที่ดงอู่ผึ้ง เมื่อปีกุน พ.ศ.2 22 แล้วมี 94

หนังสือกราบบังคมทูลขอขึน้ อยูใ่ นขอบขัณฑสีมาของ สมเดใจ พระเจ้าตากสินมหาราช แห่งกรุงธนบุรี จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามเมืองที่ตั้งว่าเมืองอุบล เพื่อเป็นการร�าลึก ถึงเมืองเดิมของตน เจ้าค�าผง คือเมืองหนองบัวลุมภู จากนัน้ เจ้าค�าผงได้รบั โปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองคนแรกของเมืองอุบล และได้รบั พระราชทินนามว่าพระปทุมสุรราช หลังจากนัน้ ต่อมา เจ้าฝຆายหน้าน้องพระปทุมสุรราชเจ้าเมืองอุบล พร้อมกับนาง อูสา ไพร่พลญาติวงศาอีกส่วนหนึ่งได้ขอแยกตัวไปอยู่ บ้าน สิงห์ท่าซึ่งเจ้าค�าสูปกครองอยู่ พระปทุมสุรราชไม่ขัดข้องจึง ได้แยกย้ายกันไปท�ามาหากินที่บ้านสิงห์ท่า ได้ปรับปรุงและ สร้างบ้านสิงห์ท่าจนเจริญรุ่งเรือง

QHXIJX<@e(Q[@>JF

ในปี พ.ศ.2 ทางเมืองนครจ�าปาศักดิ์เกิดขบถอ้าย เชียงแก้วเขาโอง ตั้งตัวเป็นใหญ่ ยึดเมืองนครจ�าปาศักดิ์ได้ พระปทุมสุรราชเจ้าเมืองอุบลฯ จึงได้มีใบบอกไปยังฝຆายหน้า ผูน้ อ้ ง ให้รว่ มกันยกก�าลังไปปราบอ้ายเชียงแก้วเขาโอง ทัง้ สอง พี่น้องได้ยกก�าลังไปตีเมืองนครจ�าปาศักดิ์กลับคืนมาได้ ก่อน ที่กองทัพเมืองนครราชสีมาจะยกมาถึง และให้เจ้าฝຆายหน้า ติ ด ตามจั บ อ้ า ยเชี ย งแก้ ว เขาโองได้ แล้ ว ประหารชี วิ ต เสี ย พระบาทสมเดใจพระพุทธยอดฟງาจุ าโลกมหาราช จึงได้ โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้าฝຆายหน้าขึน้ เป็นเจ้า มีพระราชทินนาม ว่า เจ้าพระยาพิชัยราชขัตติยวงศา โปรดเกล้าฯให้ย้ายจาก บ้านสิงห์ท่า ไปเป็นเจ้านครจ�าปาศักดิ์ ทางบ้านสิงห์ท่าได้ให้ ท้าวค�าม่วงผู้เป็นน้องชายปกครองแทน พ.ศ.2 5 เจ้าพระยาพิชัยราชขัตติยวงศาถึงแก่พิราลัย พระบาทสมเดใจพระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดให้เจ้าหนู หลานเจ้านครจ�าปาศักดิ์ ครองนครจ�าปาศักดิ์สืบไป ฝຆายเจ้า ราชวงศ์สงิ ห์ บุตรเจ้าพระยาพิชยั ราชขัตติยวงศา กลับมาอยูบ่ า้ น เดิมคือบ้านสิงห์ท่า และได้น�าเอาอัฐิของเจ้าพระยาพิชัยราช ขัตติยวงศา กลับมาด้วย โดยน�าก่อเจดีย์บรรจุไว้ที่วัดมหาธาตุ ใกล้กับพระธาตุพระอานนท์ซึ่งยังปราก อยู่จนปຑจจุบัน พ.ศ.2 5 พระบาทสมเดใจพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านสิงห์ท่าขึ้นเป็นเมือง และพระราชทานนามว่า ๡เมืองยศสุนทร๢ ให้เจ้าราชวงศ์สิงห์ เป็นเจ้าครองเมืองมีราชทินนามว่า ๡พระสุนทรราชวงศา๢ เป็น เจ้าเมืองคนแรกของเมืองยโสธร ในรัชสมัยพระบาทสมเดใจพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ เกิดศึกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ เมืองยโสธรก็ได้รับเกณฑ์เข้า ร่วมศึกครั้งนี้ด้วย เมื่อได้ชัยชนะได้รับพระราชทานเชลยเมือง เวียงจันทน์ 500 ครอบครัว และพระราชทานป຅นใหญ่ไว้สา� หรับ เมืองหนึง่ กระบอกชือ่ ว่า ป຅นนางปງอง ยังปราก อยูท่ ศี่ าลหลัก เมืองยโสธรมาจนถึงปຑจจุบัน


ในรัชสมัยพระบาทสมเดใจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ ปี พ.ศ.2 1 ได้เกิดศึก อ่ ยกก�าลังมาตีเมืองหนองคาย เมือง ยโสธรถูกเกณฑ์ให้ยกก�าลังไปสมทบ กองทัพจากกรุงเทพฯ เป็น จ�านวน 500 คน ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2 26 พวก อ่ ได้ยกก�าลังมา ตัง้ อยูท่ ที่ งุ่ เชียงค�า เมืองยโสธรได้รบั เกณฑ์ให้เอาก�าลังช้างม้าโค ต่างๆ ไปเป็นพาหนะบรรทุกเสบียงไปเลี้ยงกองทัพ พ.ศ.2 สมัยรัชกาลที่ 5 ได้มกี ารจัดรูปการปกครองใหม่ หัวเมืองอีสานชั้นเอก โท ตรีและจัตวา ถูกรวมเข้าด้วยกัน เรียกว่า กอง ส�าหรับเมืองยโสธรถูกรวมเข้าอยูใ่ นหัวเมืองฝຆาย ตะวันออกเฉียงเหนือ มีข้าหลวงตั้งกองว่าราชการอยู่ที่เมือง อุบล ประกอบด้วยหัวเมือง 12 หัวเมือง คือ อุบลราชธานี กาฬสินธุ์ สุวรรณภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ภูแล่นช้าง กมลาไสย เขมราฐ

นองสองคอนดอนดง ยโสธร และศรีสะเกษ ซึ่งขึ้นตรงต่อ กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.2 6 เกิดกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ฝรั่งเศสได้ยกก�าลังจากเมืองญวนมาตีเมืองสมโบกของไทย เมืองยโสธรได้ถกู เกณฑ์ให้ไปช่วยรักษาเขตแดน โดยน�าก�าลังไป สมทบกองทัพจากกรุงเทพฯ สามกองทัพ กองทัพละ 1,000 คน พ.ศ.2 ได้ยบุ เลิกมณฑลอีสาน เมืองยโสธรได้รวมเข้า กับเมืองอุบล โดยแยกออกเป็น 2 อ�าเภอ คือ อ�าเภออุทยั ยโสธร ภายหลังเป็นอ�าเภอ ค�าเขื่อนแก้ว และอ�าเภอประจิมยโสธร ภายหลังเป็นอ�าเภอยโสธร ในปี พ.ศ.2 56 ได้เปลีย่ นชือ่ อ�าเภออุทยั ยโสธร เป็นอ�าเภอ ค�าเขื่อนแก้ว เปลี่ยนชื่ออ�าเภอปจิมยโสธร เป็นอ�าเภอยโสธร เมืองยโสธร จึงลดฐานะจากเมืองมาเป็นอ�าเภอ ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา พ.ศ.2 9 กระทรวงมหาดไทยได้รเิ ริม่ ขอตัง้ อ�าเภอยโสธร ขึ้นเป็นจังหวัด จนกระทั่งถึงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2515 จึงได้มี ประกาศ คณะป วิ ตั ิ ฉบับที่ 0 ตัง้ อ�าเภอยโสธรขึน้ เป็นจังหวัด ยโสธร โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2515 โดยแยก อ�าเภอยโสธร อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว อ�าเภอมหาชนะชัย อ�าเภอ ปຆาติว้ อ�าเภอเลิงนกทา และอ�าเภอกุดชุม ของจังหวัดอุบลราชธานี รวมกันเป็นจังหวัดยโสธร จังหวัดที่ 1 ของประเทศไทย ขอขอบคุณที่มา  บรรยายสรุปข้อราชการจังหวัดยโสธร ยโสธร ส�านักงาน จังหวัดยโสธร, 2529  ข้อมูลแหล่งท่องเทีย ่ วจังหวัดยโสธร ส�านักงานจังหวัดยโสธร YASOTHON 95




cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL 20 กิโลเมตร

EX@?([/

1. การพัฒนาชุมชนน่าอยู่ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 2. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการที่ดีของเทศบาล ต�าบลเดิด 3. ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาศักยภาพของประชาชน ในพื้นที่ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ 4. พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการให้เพียงพอ ต่อความต้องการของประชาชน 5. การเพิ่มศักยภาพของชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ตลอดจน อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ประเพณี ภูมปิ ญ ຑ ญาท้องถิน่ และการพัฒนา ที่ยั่งยืน

/_;H_B.RHYIcE^kT(YJEX9@Y

@YIN[/[<J">T.d(CN @YI(c>OH@<J¥<pYALc;[;

c>OAYL<pYALc;[; c>OAYL<pYALc;[;"cBJ@1_H1@@BYTI`B" H¥(YJAJ[RYJ/X;(YJ>¥k;¥"H¥cOJP7([/ ETcE¥I."QX.+HH¥+NYHQ_)"dLWcBJ@ dRLB.>pY(YJc(P<JT[@>J¥IF คือวิสยั ทัศน์เทศบาลตําบลเดิด อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอ�าเภอเมือง ไป ตามทางหลวงหมายเลข 2 ประมาณ 16 กิโลเมตร และมีเส้น ทางคมนาคมติดต่อกับอ�าเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด ระยะทาง 98

1. เพื่อการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ และมีประสิทธิภาพในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 2. เพือ่ เพิม่ การบริหารจัดการของเทศบาลต�าบลเดิด ให้เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถตรวจสอบได้ ประชาชนมีส่วน ร่วมในการพัฒนา และมีความโปร่งใสในการบริหารจัดการเป็น ไปตามหลักการบริหารจัดการที่ดี 3. เพื่อให้ประชาชนในพืน้ ทีเ่ ทศบาลต�าบลเดิดด�ารงชีวิตอย่าง พอเพียง ท�าการเกษตรแบบอินทรีย์ และสามารถพึง่ พาตนเอง ได้ 4. ชุมชนมีความเข้มแข็ง อนุรกั ษ์วฒ ั นธรรม ประเพณี ภูมปิ ญ ຑ ญา ท้องถิ่น และมีการพัฒนาที่ยั่งยืน

)CTH`L>XkNgB

ตําบลเดิด มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 5. 0 ตารางกิโลเมตร พืน้ ที่ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสลับที่ดอน ดินร่วนปนทราย มีแหล่งน�้าที่


ส�าคัญ ได้แก่ หนองน้อย กุดรี หนองกุม่ ล�าน�า้ แกวและล�าน�า้ ยัง มีปาຆ ไม้ในบางหมูบ่ า้ น พืน้ ทีเ่ หมาะส�าหรับการท�าเกษตร ประชากร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�านา นอกจากนัน้ ยังมีทา� ไร่-ท�าสวน เป็นบางส่วน ไร่ยางพารา การปกครอง ในเขตเทศบาลต�าบลเดิดมีหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 1 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านเดิด หมู่ที่ 1, บ้านเดิด หมู่ที่ 2, บ้าน น�้าโผ่ หมู่ที่ , บ้านบาก หมู่ที่ , บ้านเชือก หมู่ที่ 5, บ้านแสน พันธ์ หมู่ที่ 6, บ้านค�าแดง หมู่ที่ , บ้านนาค�า หมู่ที่ , บ้าน ใหม่ชมุ พร หมูท่ ี่ 9, บ้านค�าแดง หมูท่ ี่ 10, บ้านใหม่ชมุ พร หมูท่ ี่ 11, บ้านเชือก หมู่ที่ 12, บ้านค�าแดง หมู่ที่ 1 , บ้านนาค�า หมู่ ที่ 1 , บ้านน�้าโผ่ หมู่ที่ 15, บ้านเดิด หมู่ที่ 16 และบ้านค�าแดง หมู่ที่ 1 ประชากร มีประชากรทั้งสิ้น 11,6 1 คน แยกเป็น ชาย 6,650 คน หญิง ,9 1 คน มีจา� นวน ,269 หลังคาเรือน ข้อมูล วันที่ 2 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2559 สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม โดยมีอาชีพหลัก คือท�านา อาชีพรอง คือ ท�าสวน ยางพารา, ท�าไร่แตงโม, แตงไทย, ข้าวโพด ฯลฯ พร้อมทัง้ มีการ

เลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงโค, สุกรกระบือ เป็นต้น คิดเป็นประมาณ ร้อยละ 0 ของประชากรทัง้ หมด ส่วนอีกประมาณร้อยละ 20 ประกอบอาชีพอืน่ ได้แก่ รับราชการ ค้าขาย รับจ้าง และมีบาง ส่วนทีอ่ พยพไปหางานท�าทีก่ รุงเทพ และมีโรงงานอุตสาหกรรม ที่ได้รับอนุญาตด�าเนินการ และประกอบการในเขต เทศบาล ต�าบลเดิด จ�านวน 2 แห่ง สภาพทางสังคม การศึกษา มีศูนย์พัฒนาเด็กเทศบาลต�าบลเดิด 1 แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง โรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง ศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนา พุทธ ประมาณ 99. 0 ศาสนาอื่นๆ 0.20 มีวัด แห่ง ส�านักสง ์ 9 แห่ง สาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�าบลค�าแดง 1 แห่ง ศูนย์สุขภาพชุมชนต�าบลเดิดค่ายบดินทรเดชา 1 แห่ง ความปลอดภัย฿นชีวติ และทรัพย์สนิ มีศนู ย์ อปพร.ต�าบล เดิด 1 แห่ง ทีมกู้ชีพกู้ภัยต�าบลเดิด 10 คน YASOTHON 99


OX(IGYE)T.1_H1@dLWE^l@>¥k

เทศบาลต�าบลเดิด มีการรวมกลุม่ ประชาชน โดยแบ่งเป็น กลุ่มอาชีพ 10 กลุ่ม และกลุ่มอาชีพ 10 กลุ่ม

OX(IGYE)T.c>OAYL<pYALc;[;

เทศบาลต�าบลเดิด มีส่วนราชการในสังกัดดังนี้ สํานักปลัด มีพนักงานที่ป ิบัติหน้าที่ในสังกัด ต�าแหน่ง กองคลัง มีพนักงานที่ป ิบัติหน้าที่ในสังกัด 11 ต�าแหน่ง กองช่าง มีพนักงานที่ป ิบัติหน้าที่ในสังกัด 6 ต�าแหน่ง กองสวัสดิการสังคม มีพนักงานที่ป ิบัติหน้าที่ในสังกัด ต�าแหน่ง งานการศึกษา มีพนักงานทีป่ บิ ตั หิ น้าทีใ่ นสังกัด 19 ต�าแหน่ง งานสาธารณสุข มีพนักงานทีป่ บิ ตั หิ น้าทีใ่ นสังกัด 2 ต�าแหน่ง

JYIg;C)T.c>OAYL<pYALc;[;

ประจําป຃งบประมาณ พ ศ จํานวน บาท  รายได้ที่จัดเก็บเอง จ�านวน 1, ,2 .92 บาท  รายได้ทส ี่ ว่ นราชการต่างๆจัดเก็บให้ จ�านวน 19, 9 ,1 .2 บาท  รายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล แยกเป็น  เงินอุดหนุนทั่วไป จ�านวน 1 ,212,916.00 บาท  เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จ�านวน 1 , 95, 5. บาท ประจําป຃งบประมาณ พ ศ จํานวน บาท  รายได้ที่จัดเก็บเอง จ�านวน 1,516,11 .25 บาท  รายได้ทส ี่ ว่ นราชการต่างๆจัดเก็บให้ จ�านวน 21,6 ,969. 0 บาท  รายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล แยกเป็น  เงินอุดหนุนทั่วไป จ�านวน 1 , , 0.00 บาท  เงินอุดหนุนทัว ่ ไปยุทธศาสตร์พฒ ั นาประเทศ จ�านวน 1,1 5,92 .00 บาท  เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ จ�านวน 20,011, 59.90 บาท 100

dRLB.>BT.c>¥kINQpY+X4

สถานที่ท่องเที่ยวที่สา� คัญในต�าบลเดิด ได้แก่ ฝายน�า้ ล้น ล�าน�้ายัง บ้านใหม่ชุมพร, หนองน้อย บ้านเดิด, โบราณสถาน วัดใต้สิริมงคล บ้านเดิด, สถานที่แข่งเรือ บ้านแสนพันธ์ และ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจหนองอารางบ้านค�าแดง และหนอง พลับบ้านน�้าโผ่


Untitled-2 1

7/9/2559 11:25:15


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XNk gB

องค์การบริหารส่วนตําบลค้อเหนือ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด .9 ตร.กม. หรือประมาณ 2 , 05 ไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 15 หมูบ่ า้ น มีประชากรทัง้ สิน้ ,6 2 คน แยกเป็นชาย , คน หญิง , คน มีจา� นวน 2,0 5 ครัวเรือน ข้อมูล ณ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ.2559 ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็น ส่วนใหญ่ โดยมีอาชีพหลัก คือท�านา อาชีพรอง คือ อุตสาหกรรม ในครัวเรือน ทอเสือ่ กก, ทอผ้าไหม ผ้าฝງาย

/_;c;B@)T."TA<ホ+CTcR@^T

สภาพพืๅนที่ พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็นที่ราบลุ่มแม่น้�า โดยมีแม่นา�้ ชี และล�าน�า้ ยังไหลผ่าน คุณภาพดินส่วนใหญ่เป็น ดินร่วนปนทราย และดินตะกอนแม่นา�้ เหมาะแก่การเพาะปลูก และเลีย้ งสัตว์ วัฒนธรรม-ประเพณี มีการอนุรกั ษ์ประเพณีวฒ ั นธรรม ทีส่ า� คัญ คือ งานบุญบัง้ ไ ประเพณีแข่งขันเรือยาว และงาน ประเพณีสรงน�า้ พระเจ้าใหญ่และพระธาตุเก่า สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีส่ า� คัญ 2 แห่ง คือ วัดพระธาตุเก่า และโครงการพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณหนองอึง่ อัน เนือ่ งมาจากพระราชด�าริ

@YI;pYJ.OX(;[o"c>ENY>¥" @YI(T.+F(YJAJ[RYJ<pYAL+CTcR@^T

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

+CTcR@^T

1_H1@@BYTI`B"F<L@F`c(P<JT[@>J¥IF" Q_)GYE;¥=CN@R@CY"LplY+BYBJWcE:¥"" QB.cQJ[H(YJO](PY"JBNHEX9@Y e+J.(YJTX@c@^kT.HY/Y(EJWJY1;pYJ[ คือวิสยั ทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลค้อเหนือ หมู่ ที่ 2 ต�าบลค้อเหนือ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร โดยมี ระยะทางห่างจากตัวอ�าเภอเมืองยโสธร ประมาณ 12 กิโลเมตร 102


YASOTHON 103


I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y)T.TA<ホ+CTcR@^T

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยและเกษตร อินทรีย์ครบวงจร 1.1 การส่งเสริมการผลิตและการแปรรูปผลผลิตสินค้า เกษตรให้ได้มาตรฐานปลอดภัย 1.2 ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการผลิตและการตลาด การเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ 1. การพัฒนาการส่งเสริมอาชีพนอกภาคการเกษตร และการมีงานท�าให้มั่นคง เพื่อขจัดความยากจน 1. การพัฒนาส่งเสริมการผลิตการเกษตร ผลิตภัณฑ์ ชุมชน และการท่องเทีย่ วตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ยุทธศาสตร์สง่ เสริมภูมปิ ญ ຑ ญาท้องถิน่ วัฒนธรรมประเพณี และการค้า การท่องเที่ยว 2.1 การส่งเสริมภูมิปຑญญาท้องถิ่น ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 2.2 การส่งเสริมด้านการค้า และการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพชีวติ และการเสริมสร้าง ของครอบครัวและชุมชน .1 การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานการคมนาคม และระบบ แหล่งน�้าเพื่อการเกษตร .2 การพัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ การอุปโภค - บริโภคในครัว เรือน . การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ และการเสริมสร้างสุขภาพประชาชน 104


5.1 การส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ โดยการบริหารจัดการ ที่ดี 5.2 การพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพบุคลากรท้องถิน่ 5. การส่งเสริมการรักษาความสงบเรียบร้อย และเสริม สร้างความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประชาชน

@eIAYI(YJEX9@Y)T.C`AC J[RYJ

. การพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมและการดูแลผูด้ อ้ ย โอกาส .5 การเสริมสร้างการศึกษา .6 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อพึ่งพา ตนเอง ยุทธศาสตร์การอนุรกั ษ์และฟ຅นຕ ฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม .1 การส่งเสริมการอนุรกั ษ์ นຕ຅ ู และพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติ ปຆาไม้ ดินและน�้า .2 การส่งเสริมการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การบริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี และเสริมสร้าง ความมั่นคงความสงบเรียบร้อย

ด้านการพัฒนาแหล่งนําๅ จัดให้มีน�้าเพื่อการอุปโภค บริโภคให้เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบล ด้านโครงสร้างพืนๅ ฐาน ก่อสร้าง บ�ารุงรักษา ปรับปรุง ถนน ท่อระบายน�า้ ไ าງ ให้ประชาชนได้รบั ความสะดวกสบายในการสัญจรไปมา และมี แสงสว่างทีเ่ พียงพอ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งเสริม สนับสนุน การประกอบอาชีพของประชาชนในเขต พืน้ ทีอ่ งค์การบริหารส่วนต�าบล ให้มรี ายได้เพิม่ ขึน้ และพัฒนา ศักยภาพในการแข่งขันสูต่ ลาดภายนอกได้ การพัฒนาด้านสังคม สนับสนุนเด็ก เยาวชน สตรี คนชรา และผูด้ อ้ ยโอกาสใน สังคม ให้อยูใ่ นสังคมได้อย่างมี ความสุข ให้ความเอือ้ อาทรและ สนับสนุนให้ผดู้ อ้ ยโอกาสสามารถพึง่ พาตนเองได้ ด้านการเมืองการปกครอง ส่งเสริมสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดย ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการด�าเนินงานต่างๆ YASOTHON 105


ขององค์การบริหารส่วนต�าบล และเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารของ ทางราชการ ให้ประชาชนในเขตองค์การบริหารต�าบลรับทราบ เพือ่ เป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการพัฒนาด้านต่างๆ ด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาให้ผทู้ อี่ ยูใ่ นวัยศึกษาได้ศกึ ษา เล่าเรียน และอนุรกั ษ์ นຕ຅ ู ประเพณีวฒ ั นธรรมท้องถิน่ ให้เป็น เอกลักษณ์คงอยูก่ บั ท้องถิน่ สืบไป การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ปรับปรุง อนุรกั ษ์ทรัพยากรของท้องถิน่ โดยการปลูกจิต ส�านึกประชาชนในการอนุรกั ษ์ให้เห็นคุณค่าของทรัพยากรทีม่ ี ในท้องถิน่ ด้านสาธารณสุข เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารเกีย่ วกับสุขภาพอนามัย และการ ปງองกันรักษาโรคต่างๆ ให้แก่ประชาชน เพือ่ มุง่ หวังให้ประชาชน ในพืน้ ทีม่ สี ขุ ภาพทีส่ มบูรณ 106


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลหนองเปຓด มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 0 ตารางกิโลเมตร มีสภาพพืน้ ทีร่ าบลุม่ มีลา� น�า้ หลายแห่ง คุณภาพ ดินส่วนใหญ่เป็นดินเปรี้ยว และดินร่วนปนทราย การปกครอง มีจา� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 9 หมูบ่ า้ น 1,22 ครัวเรือน ประกอบด้วย หมู่ 1 บ้านโต่งโต้น, หมู่ 2 บ้านโนนสวาท, หมู่ บ้านโนนค้อ, หมู่ บ้านหนองเป็ด, หมู่ 5 บ้านยางเดีย่ ว, หมู่ 6 บ้านหนองเป็ด, หมู่ บ้านหนองถ่ม, หมู่ บ้านหนองถ่ม และหมู่ 9 บ้านยางเดี่ยว ประชากร มีประชากร ทั้งสิ้น , 91 คน แยกเป็นชาย 2,210 คน หญิง 2,1 1 คน จ�านวนครัวเรือน 1,22 ครัวเรือน ข้อมูล ณ วันที่ มิถุนายน พ.ศ.2559 สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมีอาชีพหลัก คือท�านาข้าว ท�าไร่ และ รับจ้างทั่วไป

@YITHJ"IY.c;¥kIN @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALR@T.cBJ;

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

R@T.cBJ;

1_H1@@BYTI`B"F<L@F`c(P<JT[@>J¥IF" Q_)GYE;¥=CN@R@CY"LplY+BY.Y@BJWcE:¥" dRLB.>BT.c>¥kINQ_@>J¥IF(_;(WcRL[A คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตําบล หนองเปຓด อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร โดยมีระยะทาง ห่างจากตัวอ�าเภอเมืองยโสธรประมาณ 0 กิโลเมตร ปຑจจุบัน มี นายอมร ยางเดี่ยว เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบล หนองเปຓด YASOTHON 107


สภาพทางสังคม การศึกษา  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จ�านวน แห่ง  โรงเรียนประถมศึกษา จ�านวน แห่ง  โรงเรียนมัธยมศึกษา ขยายโอกาส จ�านวน 1 แห่ง ศาสนา และวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ประมาณ 99.00 ศาสนาอื่นๆ 1.00 มีวัด ส�านักสง ์ จ�านวน 10 แห่ง สาธารณสุข  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจ�าต�าบล จ�านวน 1 แห่ง ความปลอดภัย฿นชีวิต และทรัพย์สิน  สถานีต�ารวจ จ�านวน 1 แห่ง  หมู่บ้าน อพป. จ�านวน 2 แห่ง  สมาชิก อปพร. จ�านวน 15 นาย 108


TA<ホR@T.cBJ;1N@c>¥kIN

ต�าบลหนองเป็ดมีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�าคัญ คือ สวน สาธารณะพุทธมงคลสุมนสารคุณสถานภูมทิ ศั น์กดุ กะเหลิบ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 บ้านโนนสวาท เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ ที่สวยงามอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดยโสธร เดิมเป็นแหล่งน�้าที่ ประชาชนได้ใช้ประโยชน์ในการท�าเกษตรกรรม และจับสัตว์นา�้ เพื่อเลี้ยงชีพ แต่ปຑจจุบันจังหวัดยโสธรได้พัฒนาให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว และพักผ่อนหย่อนใจ โดยการปรับภูมิทัศน์ให้เป็น สวนสาธารณะที่สวยงาม เป็นที่จัดงานสงกรานต์ของจังหวัด ทุกปี มีประชาชนได้มาเทีย่ วชมและพักผ่อนอยูเ่ สมอในวันหยุด การเดินทางมาเทีย่ ว กุดกะเหลิบทีส่ ะดวก คือเริม่ จากถนน ยโสธร - อ�านาจเจริญ กิโลเมตรที่ 1 บ้านค�าเกิด สังเกตจะมี แตงโมขายตามข้างทาง เลีย้ วซ้ายเข้าสูบ่ า้ นหนองหงอก ไปบ้าน หนองบก - บ้านโนนสวาท ก็จะถึงกุดกะเหลิบ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร YASOTHON 109


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;Q[.RF>BY

NX;Q[.RF>BY"<pYALf@cH^T."TpYcGTcH^T."/X.RNX;IeQ?J"" BH//_AX@H¥"EJW+J`T@_JX(PFNJ;[<=F"c/CY+:WTpYcGTcH^T.IeQ?J"cBJ@c/CYTYNYQNX;Q[.RF>BY BJWNX<[+NYHcBJ@HY

วัดสิงห์ท่า เป็นวัดที่เหล่ากอในวงศ์ของพระวอ พระตา คือ ท้าวค�าสิงห์ ท้าวค�าสุ ท้าวค�าผุ ท้าวทิตพรหม ท้าวทิตก�่า เมืองแสน เมืองจันทร์ ท้าวเพี้ย กรมการ พร้อมทั้งประชาชน พลเมืองทั้งหลาย มีศรัทธาพร้อมกัน สร้างวัดสิงห์ท่า เมื่อราว จุลศักราช 11 มีเนื้อที่ กว้าง 1 เส้น 1 วา ยาว 12 เส้น จากค�าบอกเล่าของชนชัน้ ผูเ้ ฒ่าสืบต่อกันมาว่า ในระหว่าง ทีจ่ ารบุรษุ ผูห้ าชัยภูมสิ ร้างเมือง ทีบ่ ริเวณดงไม้ ได้พบพระพุทธ รูป ปางมารวิชยั ก่อด้วยอิฐโบกปูน มีขนาดหน้าตักประมาณ 6 ศอก ส่วนสูงสุดยอดเปลวรัศมีประมาณ 10 ศอกเศษ ตัง้ อยูบ่ น 110


ระ รูอนุรัก วຏ รดิต ຏ เ ้า ะอ้าเ อเมืองยโสธร เ นຓ เ ้าอาวาสวัดสิงหຏท่า แท่นสูงจากพื้นประมาณ 9 ศอก และอุโมงค์ที่ซ่อนเร้น ของสิงห์อยูไ่ ม่หา่ งกัน เชือ่ ว่า มีผคู้ นบ่าวไพร่ของพระวอ พระตาบางคน เคยพบเห็นสิงห์ ซึง่ ไม่มลี กั ษณะดุรา้ ยเลย แล้วจึงช่วยกันถางปຆาและเสีย่ งทายในการสร้างเมืองปรากฎ ว่า จับฉลากได้ อุตตระ แปลว่า ดีมาก ถึง ครัง้ จึงตกลง สร้างบ้านเมืองบริเวณนัน้ ซึง่ ตัง้ อยูต่ ดิ ริมฝຑงດ แม่นา้� ชี และ มีทา่ น�า้ จึงได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า บ้านสิงห์ทา่ ตามนิมติ ทีไ่ ด้ เห็น สิงห์ ในครัง้ แรกและทีต่ งั้ ซึง่ ใกล้ทา่ น�า้ ต่อมาได้สร้าง วัดขึน้ แล้วให้นามวัดว่า วัดสิงห์ทา่ มีเจ้าอาวาสปกครอง ดูแลวัดมาโดยไม่ได้ขาด แต่ละรูปล้วนเป็นผูม้ จี ริยาวัตรที่ งดงามบางรูปเป็นผู้ท่ีมีคาถาอาคมขลังมาก เช่นพระครู สิริสมณวัฒน์ พระอุปຑช าย์โ ม ได้บูรณะพระพุทธรูป ใหญ่ หรือที่เรียกขานว่า พระพุทธรูปองค์หลวง ซึ่งเป็น พระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามสมส่วนมาก เชื่อกัน ว่ามีความศักดิส์ ทิ ธิม์ าก มีผไู้ ด้ประสบกับพุทธานุภาพด้วย ตัวเองหลายครั้ง ต่อมาเมือ่ พ.ศ.250 พระครูวนิ ยั กรดกศล เจ้าอาวาส ในสมัยนั้นได้รื้อถอนอุโบสถแล้วสร้างขึ้นใหม่ ได้บูรณะ พระพุทธรูปท�าการ ลงลักปิดทองใหม่ ให้ดสู ง่างาม จนถึง ปຑจจุบนั และได้ตงั้ ชือ่ ว่า ๡หลวงพ่อสิงหฤทธิป์ ราบปวงมาร๡ ในปຑจจุบนั พ.ศ.255 บ้านสิงห์ทา่ และวัดสิงห์ทา่ มี อายุครบ 2 0 ปี ถือเป็นมงคลสมัย พระครูอนุรกั ษ์วรดิตถ์ zbtpuipo"111


เจ้าอาวาสจึงได้ ท�าพิธหี ล่อองค์จา� ลอง หลวงพ่อสิงห์ฤทธิป์ ราบ ปวงมาร เพือ่ ให้สาธุชนได้นา� ไปสักการบูชา หลวงพ่อฯ เป็นนิมติ แห่งความเจริญของบ้านเมืองมาโดยล�าดับ และจะเจริญสืบ ต่อไป

LpY;XAQHGYJC`C+JT.NX;Q[.RF>BY

เดิมสมัยเป็นบ้านสิงห์ท่า ไม่ปราก นามสมภารผู้ครอง วัด ภายหลังเมือ่ ยกศักดิข์ นึ้ เป็น ๡เมืองสิงห์ทา่ ๢ แล้วก็ไม่ปราก นามสมภารรูปที่ 1 ส่วนสมภารผูค้ รองวัดสืบต่อมาจนถึงปຑจจุบนั มีดังนี้คือ สมภารรูปที่ 2 พระครูหลักคํากุ ท่านผู้นี้มีความรู้เรียน มูลกัจจายน์จบได้เรียนสัททาสังคหะและพระคัมภีรท์ งั้ 5 จบ มี ชื่อเสียงลือชาปราก มาก สมัยนั้นวัดเจริญรุ่งเรืองมาก สมภารรูปที่ พระครูพฒ ุ ราชวงศ์พฒ ุ แต่ชาวบ้านนิยม เรียกว่า ๡พระญาครูเสือ๢ ท่านเป็นครูมวยให้แก่ลกู ศิษย์จา� นวน มาก ต่อมาได้เข้าบวชและเป็นสมภาร จนอายุได้ 0 ปีเศษ จึง มรณภาพ สมภารรูปที่ พระครูปนດຑ ได้ชกั ชวนอุบาสก อุบาสิกา ชาว เมือง ป สิ งั ขรณ์โบสถ์จนส�าเร็จ ครองวัดนีไ้ ด้นานจนถึงมรณภาพ สมภารรูปที่ 5 พระโ ม โชตสิริ เป็นพระอุปຑช าย์ เจ้า คณะต�าบลในเมือง เป็นพระเถระที่ชาวเมืองนับถือเป็นอย่าง มาก โดยเฉพาะแล้วท่านมีความรู้ความสามารถรักษาคนปຆวย ด้วยยาสมุนไพร และเป็นผู้คงแก่คาถาอาคมเป็นที่เลื่องลือ ท่านถึงแก่มรณภาพเมือ่ วันที่ 26 ตุลาคม 2 96 ด้วยอายุ 5 ปี สมภารรูปที่ 6 พระครูวนิ ยั กรโกศล พระมหาค�า ญาณธโร ป.ธ.6 เป็นสมภารระหว่างปี พ.ศ.2 95-25 2 ท่านได้รื้อโบสถ์ หลังเก่าที่ช�ารุดมาก แล้วสร้างขึ้นใหม่เมื่อ พ.ศ.2509 โดย ป ิสังขรณ์พระพุทธรูปใหญ่ พระเจ้าองค์หลวง ลงรักปิดทอง และขนานนามว่า ๡หลวงพ่อสิงห์ฤทธิป์ ราบปวงมาร๢ ท่านเป็น 112

ทีเ่ คารพนับถือของประชาชนเป็นอย่างมากรูปหนึง่ ท่านถึงแก่ มรณภาพเมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม 25 2 ด้วยอายุ ปี 50 พรรษา สมภารรูปที่ คือ พระครูอนุรกั ษ์วรดิตถ์ ป.ธ. น.ธ.เอก เจ้าคณะอ�าเภอเมืองยโสธร เป็นเจ้าอาวาสวัดสิงห์ท่า ตั้งแต่ ปลาย ปี พ.ศ.25 2 จนถึงปຑจจุบัน ท่านได้ด�าเนินการพัฒนา วัดสิงห์ทา่ หลายอย่าง เช่น สร้างศาลาการเปรียญ สร้างกุฎสี ง ์ สร้างเมรุ ปรับปรุงซ่อมแซมอุโบสถ และอืน่ ๆ อีกหลายรายการ


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;OJ¥?.>T. <Xl.TI`BcL)>¥k" "RH`B>¥k" "ACY@R@T.+`"<pYALR@T.+`"TpYcGTcH^T.IeQ?J"/X.RNX;IeQ?J"" QX.(X;+:WQ.-FHRY@[(YI"c@^lT>¥k"\ "gJB"¦⁄"<YJY.NY"BH//_AX@H¥EJW+J`?NX1?JJH([/"" cBJ@c/CYTYNYQ"dLWcBJ@c/CY+:W<pYAL<Y;>T."c)<"\ BJWNX<[NX;OJ¥?.>T.

วัดศรีธงทอง เดิมชือ่ วัดสิงห์ทอง ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออก ของพืน้ ทีว่ ดั ในปຑจจุบนั ชาวบ้านเรียกว่า ๡วัดเก่า๢ สร้างขึน้ เป็น วัดเมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ.2 0 โดยการน�าของพระอธิการสิงห์ พระภิกษุ สามเณรและญาติโยม ช่วยกันสร้างพัทธสีมาหลัง เล็กๆ มุงด้วยแฝก เสาโบสถ์ใช้เสาไม้แก่น ก่ออิฐรอบ เหลือ ไว้แต่ประตู หน้าต่าง และสร้างกุ ิเพิ่มอีก สร้างรั้ววัด และขุด บ่อน�้าใช้ ปลูกต้นไม้ เช่น มะม่วง มะขามหวาน ต่อมาได้มีการ บูรณป ิสังขรณ์ข้ึนใหม่ให้มีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามสมควร และได้เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ๡วัดศรีธงทอง๢ ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา ประมาณ พ.ศ.2 0

OYQ@Q=Y@dLWB`1@¥INX<=_>¥kQpY+X4

ศาสนสถานและปูชนียวัตถุที่ส�าคัญภายในวัด ได้แก่ อุโบสถ ประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย ผนังอุโบสถยัง มีภาพวาดสีนา้� มันเกีย่ วกับพุทธประวัติ และลายไทยทีส่ วยงาม พระประธานประจ�าศาลาการเปรียญ พระประธานประจ�าวิหาร ปูชนียวัตถุอื่นๆ อาทิ หลวงพ่อศรีธงทอง พระประจ�าวันเกิด ปางต่างๆ ศาลเจ้าปูวຆ ดั เก่า ซึง่ เป็นทีเ่ คารพของชาวบ้านหนองคู

JYI@YHc/CYTYNYQ

รูปที่ 1 พระอธิการสิงห์ รูปที่ 2 พระครูโคตร รูปที่ พระวุฒศิ าล รูปที่ พระบุญมี รูปที่ 5 พระมหาทองแดง รูปที่ 6 YASOTHON 113


ระ รูธวั ธรรมกิ เ ้าอาวาส และเ ຓนเ ้า ะต้าบลตาดทอง เขต พระทอง ขันเงิน รูปที่ พระอาจารย์เสงี่ยม อินโธ รูปที่ พระอาจารย์คา� มารมย์ รูปที่ 9 พระปุยງ ขันเงิน รูปที่ 10 พระอุย ขันเงิน รูปที่ 11 หลวงพ่อผุย ชุตนิ ธโร พระครูธวัชสิรคิ ณ ุ และ รูปที่ พระครูธวัชธรรมกิจ (มังกร พลไชย) พ ศ จน ถึงปຑจจุบัน

BJWNX<[EJW+J`?NX1?JJH([/

EJW+J`?NX1?JJH([/ เกิดเมื่อวันที่ 1

ตุลาคม 2502 ณ บ้านเลขที่ 1 6 หมู่ที่ 2 ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

T_BQHA>"เมือ่ วันที่ 26 เมษายน 252

ณ พัทธสีมา วัดศรีธงทอง ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร มี เจ้าอธิการ วัณณ์ ภคฺคุโน เป็นพระอุปຑช าย์ ได้รับฉายาว่า ๡จกฺกวโร๢

c(¥IJ<[BJWNX<[dLWQH:OX(;[o 

พ.ศ. 2525 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นครูพระปริยตั ธิ รรมแผนก ประจ�า ส�านักศาสนศึกษาวัดโพนขวาว ต�าบลจิกดู่ อ�าเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�านาจเจริญ  พ.ศ.2529 ได้รบ ั แต่งตัง้ เป็นกรรมการสนามหลวงแผนกธรรม 114

วัดประชาระบือธรรม  พ.ศ.25 9 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีธงทอง  พ.ศ.25 5 ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ พั ด ยศ พระครู สัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ที่ พระครูธวัชธรรมกิจ  พ.ศ.2552 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้เป็น เจ้าคณะต�าบลตาดทอง เขต 1  พ.ศ.255 ได้รับแต่งตั้งให้เป็น พระอุปຑช าย์

CL.Y@

งานส่งเสริมการศึกษา  จัดหาทุนการศึกษาให้กบ ั นักเรียนทีเ่ รียนดี ในการศึกษาพระ ปริยัติธรรม แผนกธรรมในวัดศรีธงทอง ต�าบลหนองคู อ�าเภอ เมืองยโสธร จังหวัดยโสธร  จัดสถานที่ส�าหรับทดสอบความรู้ชั้นนวกภูมิ เพื่อให้ทายก ทายิกา ได้รว่ มท�าบุญและเพือ่ เป็นการเอือ้ อ�านวยความสะดวก ให้พระภิกษุ สามเณร เจ้าคณะพระสัง าธิการ ผูด้ า� เนินการสอบ และผู้เข้าสอบ เพื่อความสามัคคีของคณะสง ์ งานศึกษาสงเคราะห์  บริจาคเงินเป็นทุนการศึกษาแก่เยาวชนทีเ่ รียนดี ในโรงเรียน เสาร์ อาทิตย์จ�านวน 5 ทุนๆ ละ 500 บาท  บริจาคเงินเป็นทุนอาหารกลางวันแก่นก ั เรียนโรงเรียนชุมชน


บ้านหนองคู อินทร์ประชาคาร ต�าบล หนองคู เป็นเงิน 10,2 9  ร่ ว มกั บ ศิ ษ ย์ เ ก่ า โรงเรี ย นชุ ม ชนบ้ า น หนองคู อินทร์ประชาคาร จัดผ้าปຆาการ ศึกษาสูบ้ า้ นเกิดโรงเรียนเก่า รวมเป็นเงิน 200,000 บาท งานการศึกษาและเผยแผ่  จัดโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดู ร้อน ณ วัดศรีธงทอง ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร ตั้งแต่ พ.ศ. 25 0 - 25 0  เป็นพระธรรมกถึก อบรมศีลธรรมแก่ทายก ทายิกา เยาวชน บ้านหนองคู และประชาชนในเขตต�าบลหนองคู อ�าเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ. 25 0  เป็นประธานฝຆายบรรพชิต จัดงานอยู่ปริวาสกรรมที่ปຆาช้า วัดศรีธงทอง  เป็นประธานฝຆายบรรพชิต ร่วมกับทายก ทายิกาชาวต�าบล หนองคู จัดงานป บิ ตั ธิ รรมเฉลิมพระเกียรติ วันที่ 12 สิงหาคม และวันที่ 5 ธันวาคม เป็นประจ�าทุกปี การประกอบพิธีกรรม฿นวันสําคัญต่างโ  ท�าพิธีกรรมในวันมา บูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ทุกๆ ปี เช่น แสดงพระธรรมเทศนา ท�าบุญตักบาตร เวียนเทียน ลงอุโบสถ งานสาธารณูปการ  สร้างซุ้มประตูทั้งสองด้านของวัดศรีธงทอง  บูรณะโรงอุโบสถ  บูรณะศาลาการเปรียญ  ก่อสร้างกุ ิสง ์ จ�านวน หลังทรงไทยประยุกต์ ยกพื้นสูง  สร้างแท่นสรงน�้าพระในวันสงกรานต์ ที่วัดศรีธงทอง งานสาธารณสงเคราะห์  บริจาคเงินซื้อหนังสือ อุปกรณ์การเรียน มอบให้โรงเรียน ชุมชนบ้านหนองคู อินทร์ประชาคาร

บริจาคเงินซือ้ อุปกรณ์เดินท่อประปาภายในหมูบ่ า้ นหนองคู  ก่อสร้างศาลาบ�าเพ็ญกุศลที่ าปนสถาน ปຆาช้าบ้านหนองคู  บริจาคเงินสมทบทุนสร้างอุโบสถวัดเหล่าโปຆ ต� าบลทุ่งมน อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร  บริจาคเงินสมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ วัดดอนย่านาง ต�าบลทรายมูล อ�าเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร  บริจาคเงินสมทบสร้างอาคารศูนย์สงเคราะห์คนชรา ทีบ ่ า้ น หนองคู ต�าบลหนองคู อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

.Y@E[cOP 

พ.ศ. 25 2 ได้เข้ารับการอบรมเสริมความรู้พระสัง าธิการ ระดับเจ้าอาวาส รุน่ ที่ 1 จังหวัดยโสธร ตามมติมหาเถรสมาคม ที่ 1 25 9 ณ ศูนย์การคณะสง ์ ภาค 10 บ้านสร้างมิ่ง ต�าบลหนองเมือง อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี  พ.ศ.25 ได้รับการอบรมหลักสูตรการฝຄกอบรมพระนัก เทศน์ ประจ�าจังหวัด ณ วัดมหาธาตุ พระอารามหลวง อ�าเภอ เมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

สาธุชนท่านใดสนใจมาสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ หรือประสงค์ จะร่วมสร้างเส้นทางบุญ และร่วมป บิ ตั ธิ รรมได้ทกุ วันทีว่ ดั ศรี ธงทอง สามารถติดต่อได้ที่ พระอาจารย์ศิริศักดิ์ สมาจาโร โทรศัพท์ 0 02 9 YASOTHON 115


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;ACY@c)^kT.+pY

<Xl.TI`B"cL)>¥k"¦¢⁄"RH`B>¥k"¡"ACY@c)^kT.+pY"<pYALc)^kT.+pY"TpYcGTcH^T.IeQ?J"/X.RNX;IeQ?J" BH//_AX@H¥"EJW+J`GYN@Y@_Q[7"N[ホ"ネT@X@<F"CYQ_e(ノ"cBJ@c/CYTYNYQ"" dLWcBJ@JT.c/CY+:WTpYcGTcH^T.IeQ?J"EJW+J`E[OYL([//Y@_(YJ"C`C1BNIc/CYTYNYQ"" dLWEJW+J`([<<[EX9@N[QYL"c/CY+:W<pYALc)^kT.+pY 116


ระ รู าวนานุสิ วิ อนันตຏ ผาสุโก เ ้าอาวาส และเ ຓนรองเ ้า ะอ้าเ อเมืองยโสธร

BJWNX<[NX;ACY@c)^kT.+pY

วัดบ้านเขือ่ งคํา เดิมได้ชอื่ ว่า ๡วัด บ้านเขือ่ งเก่า๢ หรือ ๡วัดปຆาเหล่าคา๢ เป็น วัดประจ�าหมูบ่ า้ นมาแต่โบราณกาล ต่อ มาชาวบ้านได้ย้ายเคหสถานขึ้นไปอยู่ บนที่ดอนในบริเวณเดียวกัน แล้วสร้าง วัดขึน้ ใหม่ ปล่อยให้วดั บ้านเขือ่ งค�าเป็น วัดร้างมาเป็นเวลานาน ถึงปี พ.ศ.252 ได้มพ ี ระ อง สีลสมฺปนฺโน พร้อมด้วย ชาวบ้านทีม่ จี ติ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา จ�านวนหนึ่ง ได้ท�าการบูรณะวัดแห่งนี้ ขึ้นใหม่ ในปี พ.ศ.25 2 พระอนันต์ ผาสุโก ซึง่ จ�าพรรษาอยู่ ณ วัดปากน�า้ ภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ได้น�าพระสง ์และ ชาวบ้านร่วมกันพัฒนาและบูรณะศาสน สถาน โดยเริ่มจากการก่อสร้างกุฎีสง ์ ก่ อ สร้ า งวิ ห ารลานธรรม ต่ อ มาในปี พ.ศ.25 จึงได้ก่อสร้างอุโบสถโดยยึด สถาปຑตยกรรมแบบอาคารโบราณของ ภาคอีสาน ขนาดกว้าง 9 เมตร ยาว 9 เมตร ใช้เวลาการก่อสร้าง 9 เดือน จึง

แล้ ว เสร็ จ ภายในปี พ.ศ.25 5 ค่าใช้จ่าย ในการก่อสร้างครัง้ นี้ เป็นเงินจ�านวนสาม ล้ า นบาท โดยได้ มาจากศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชน พ ร ะ อ นั น ต ์ ผาสุโก ได้ยกวัดร้าง เป็นวัดมีพระภิกษุอยู่ จ� า พรรษาได้ ตั้ ง ชื่ อ วัดใหม่ตามหมู่บ้าน ว่า ๡วัดบ้านเขือ่ งค�า๢ ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ตุลาคม พ.ศ. 25 5 มีพระภิกษุสง ด์ า� รงต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาส ตัง้ แต่กอ่ ตัง้ วัดจนถึงปຑจจุบนั รวม รูป 1. พระ อง สีลสมฺปนฺโน 2. พระธีรยุทธ ปิยธมฺโม . พระครูภาวนานุสิฐ วิ. ปຑจจุบัน ทีมแม่ครัวและชาวบ้านเขื่องค�า 1. นายสมาน วิริญาติ ไวยาวัจกร

2. คุณแม่ภรณ์ สุรยี ์ ธ�ารงรัตน์ โยมอุปถัมภ์

cR<_(YJ:FQpY+X4)T.NX;

พระอนันต์ ผาสุโก ได้ทลู เชิญเสด็จ พระด�าเนิน โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ เสด็จพระด�าเนินเพื่อทรง ตัดหวายลูกนิมิต ณ วัดบ้านเขื่องค�า ใน วันที่ 1 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.25 6 YASOTHON 117


ต่อมาในปี พ.ศ.25 โดย นาง สมรัก ศรีคง วัฒนธรรม จังหวัดยโสธร ได้เสนอวัดบ้านเขือ่ งค�า ขอขึน้ ทะเบียน เป็น ศูนย์ป บิ ตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดยโสธร กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ใน วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.25 ต่อมาได้สร้างศาลาการเปรียญ 2 ชั้นขึ้น เพื่อเป็นสถานที่เจริญจิตภาวนา ได้รบั ความอุปถัมภ์ จากอาจารย์ พวงเพ็ญ วรรธนะโกวินท์ เจ้าส�านักโพธิสถาน มงคลธัญญ์ เป็นผูน้ า� ศรัทธาสาธุชนร่วม ด้วยช่วยกันสร้างศาลาการเปรียญ 2 ชัน้ จนเป็นผลส�าเร็จ สิน้ งบประมาณ ในการ ก่อสร้าง 6,2 6, 5.25 บาท หกล้าน สองแสนแปดหมื่นหกพันสามร้อยเจ็ด สิบห้าบาทยี่สิบห้าสตางค์ 118


(YJEX9@YACY@c)^kT.+pY

โดยมีเ ้า า สร้างอง ຏ ระมหาธาตุเ ดียຏ ได้แก่ ุ ่อ วน ุ แม่ ิริ ร ุ บุ เลิ ุ วสุ ุ วนิดา ุ สุ าดา วนรุ่งวั นา ในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.25 9 เจ้าพระคุณสมเดใจพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้ า อาวาสวั ด ปากน�้ า ภาษี เ จริ ญ กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ, แม่กองบาลีสนามหลวง, กรรมการมหาเถร สมาคม เป็นประธาน เนือ่ งในงานฉลอง ศาลาการเปรียญ 2 ชั้น วัดบ้านเขื่องค�า ต�าบลเขือ่ งค�า อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร ต่ อ มาทางวั ด ได้ ข ยายซื้ อ ที่ อี ก จ�านวนประมาณ 0 ไร่ และวางศิลาฤกษ์

บ้านเขือ่ งคํา ต�าบลเขือ่ งค�า อ�าเภอ เมือง จังหวัดยโสธร เป็นหมูบ่ า้ นทีไ่ ด้รบั การพัฒนา โดยประกวดได้รางวัลต่างๆ อาทิเช่น รางวัลหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง รางวัลหมู่บ้านยโสธรโมเดล หมู่บ้าน กองทุนแม่ของแผ่นดิน ฯลฯ โดยผู้ท่ีมี บทบาทในการพัฒนาหมู่บ้านเขื่องค�า ประกอบด้วย  นายคําผอง วงศ์แก้ว ก�านันต�าบลเขื่องค�า  นายทองม้วน ทาระพันธ์ สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ยโสธรเขต  นายสมศรี อยู่คง ผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 5  นายประยวน เกตุทอง ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 5  นางประภาพร ประทุมทิพย์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 5  นายสุทิน ตรีแสน ผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 10  นายเอกลักษณ์ ทองเสนา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 10  นายประพันธ์ สุดไชย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านเขื่องค�า หมู่ที่ 10

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2550 เพื่อ ท�าการก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ เพือ่ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

วัดบ้านเขือ่ งคํา ขอเรียนเชิญสาธุชน ผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ณ วัด บ้านเขือ่ งค�า อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร โทร. 0 56 YASOTHON 119


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;R@T.dQ. NX;R@T.dQ."RJ^T"NX;B=YACYR@T.dQ." QX.(X;+:WQ.-F?JJHI_<"<Xl.TI`BcL)>¥k"¢£" RH`B>¥k"¢"ACY@R@T.dQ."<pYALQ[.RF" TpYcGTcH^T."/X.RNX;IeQ?J" BH//_AX@H¥EJWHRY?Y@¥"4Y:N[Q_>e? ネEJWHRYc)CHノ"cBJ@c/CYTYNYQ

วัดหนองแสง 120


BJWNX<[NX;

ระมหาธานี า วิสุทโธ ระมหาเข้ม เ า้ อาวาส

วัดหนองแสง ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2 62 เป็นวัดป ิบัติพระปຆากรรมฐาน สายองค์หลวงปู่เสาร์ กันตสีดล และ องค์หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต โดยมีศิษย์ องค์ส�าคัญที่ได้มาพักป ิบัติธรรมและ เผยแผ่ธรรมะ อาทิ หลวงปูอຆ อ่ น ญาณสิริ หลวงปูขຆ าว อนาลโย หลวงปูฝຆ นຕຑ อาจาโร หลวงปูຆดี ฉันโน หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปຑนโน หลวงปูบຆ ญ ุ ช่วย ธัมมวโร หลวงปูຆผั่น ปาเรสโก หลวงปูຆสิงห์ทอง ธัมมวโร และหลวงปูຆมหาอุทัย ปภัสสโร เป็นต้น เดิ ม วั ด มี เ นื้ อ ที่ ไร่ ในสมั ย พระอธิการบุญมี ปริปุณโณ ได้ขยาย เพิม่ เป็น 1 ไร่ แล้วสมัยพระอธิการสอ พันธุโล หรือท่านพระครูภาวนากิจโกศล ได้ขยายเพิ่มเป็นปຑจจุบันมีเนื้อที่ดิน 6 ไร่ 2 งาน 5. ตารางวา สมัยท่านพระครู ปຑญญาวรกิจจาภรณ์ ผดุง ปຑญญา วโร ได้ขอเป็นโฉนดที่ดินวัดมี 1 ใบยัง ขาดอีก 1 ใบ พอสมัยท่านพระมหาะนี ญาณวิสุทโธ ได้ขอให้เป็นโฉนดที่ดินที่ เหลืออีก 1 ใบ ขึ้นมาได้ส�าเร็จแล้วรวม ใบโฉนดทั้ง 15 ใบนี้ ให้เป็นใบเดียวกัน เพื่อง่ายในการเก็บรักษา วัดหนองแสง ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.251 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 0 เมตร ยาว 0 เมตร

cQ@YQ@WQpY+X4

อุโบสถ กว้าง เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2519 ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.25 6 และได้บรู ณะขยายเพิม่ อีก เป็นขนาดกว้าง 16.55 เมตร ยาว เมตร เมื่อปี พ.ศ.2556 

EJWE_>?N[RYJc/;¥IF ประดิษฐาน

พระพุทธสิรสิ ตั ตราช หรือ หลวงพ่อเจ็ด กษัตริย์องค์จริง ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ ญ ุ บารมีขององค์หลวงปูสຆ อ พันธุโล และจัดเก็บอัฐบริขารขององค์ หลวงปูຆด้วย สร้างเมื่อปี พ.ศ.25 2

H:8BEJW+J`GYN@Y([/e(OL"

หลวงปูຆสอ พันธุโล พ.ศ.2550

EJWQ=`Bc/;¥IFEJWRLN.B`=QT EX@?_ e L สร้ า งครอบเมรุ พิ เ ศษ 

พระราชทานเพลิ ง สรี ร ะสั ง ขารองค์ หลวงปูสຆ อ พันธุโล สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2555 กุ ิสัง ประชานุกูล สร้างเมื่อปี พ.ศ.2 99 ได้บรู ณะ เมือ่ ปี พ.ศ.255 เมรุ และศาลาเมรุกุ สิ ง อ์ กี 19 หลัง ศาลา โรงไ ศาลาโรงทาน 5 หลัง หอไตร โรง น�้าดื่มสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2555 ศาลาโรง ครัว สร้างเมื่อปี พ.ศ.25 5

Q[k.OX(;[oQ[>?[oGYIf@NX;

EJWE_>?Q[J[QX<JY1"RJ^T"EJW RLN.EBTc/;j (PX<J[IF องค์จริง ขนาด 

สูง 15 นิ้ว อายุ 902 ปี เนื้อสัมฤทธิ์  EJWRLN.EBTc/j;(PX<J[IF องค์ จ�าลอง หน้าตัก 99 นิว้ เนือ้ โลหะ สร้าง เมื่อปี พ.ศ.25 รุ่นแรก

JYI@YHc/CYTYNYQ

การบริหารการปกครองวัดหนอง แสง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม ดังนี้  พระจันทรา ขันเงิน ปี พ.ศ.2 62 - 2 2  พระทองสุข ปี พ.ศ.2 2 - 2 0  พระวา ปี พ.ศ.2 0 - 2 2  พระสิงห์ ปี พ.ศ.2 2 - 2  พระนุ ปี พ.ศ.2 5 - 2 6  พระล้วน ปี พ.ศ.2 6 - 2 9  พระอธิการบุญมี ปริปุณโณ ปี พ.ศ. 2 90 - 2501  พระอธิการสอ พันธุโล ปี พ.ศ.251 2552  พระครู ป ຑ ญ ญาวรกิ จ จาภรณ์ ผดุ ง ปຑญญาวโร ปี พ.ศ.2552 - 255  พระมหาธานี ญาณวิสุทโธ ปี พ.ศ. 2555 - ปຑจจุบัน

BJWNX<[EJW+J` GYN@Y([/e(OL

องค์หลวงปู่สอ พันธุโล เกิดเมื่อ วันพฤหัสบดี เดือน ปีระกา ตรงกับ YASOTHON 121


วันที่ กรกฎาคม พ.ศ.2 6 ทีบ่ า้ นทุง่ มน อ.ค�าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร เมื่ออายุได้ ยี่สิบปีเศษ องค์หลวงปูຆได้แต่งงานกับ นางบับ มีบุตรธิดาด้วยกัน คน หลัง จากแต่งงานมีครอบครัวแล้ว ชีวิตก็หา ความสุขแทบไม่ได้เลย สุดท้ายก็คิดได้ ตามหลักสัจธรรมว่า การมีครอบครัว ท�าให้หมดอิสรภาพแทบทุกอย่าง จิตใจ หมกมุ่นในกิจการงาน จนไม่มีเวลาเป็น ของตัวเอง องค์ ห ลวงปู ຆ จึ ง ได้ บ อกความ ประสงค์ตอ่ ภรรยา ว่ามีความปรารถนา จะออกบวช แต่ภรรยาไม่เห็นด้วย องค์ หลวงปูกຆ ไ็ ม่ละความพยายาม จนในทีส่ ดุ ภรรยาต้ อ งยิ น ยอมให้ อ อกบวชในปี พ.ศ.2 96 ขณะองค์หลวงปูຆมีอายุได้ 2 ปี ท่านได้เข้าสู่ร่มกาสาวพัตร์ เป็น ครั้งแรกที่พัทธสีมาวัดสว่างโศรก วัด 122

ศรีธรรมาราม ได้รับฉายาว่า ๡พันธุโล๢ องค์หลวงปูຆอยู่ในเพศบรรพชิตได้ 2 พรรษา จึงได้ลาสิกขา ต่อมาองค์หลวงปูຆได้อุปสมบทอีก ครั้ง เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2501 ขณะมีอายุได้ ปี ณ พัทธสีมาวัด สว่างโศรก สถานที่และฉายาเดิม หลัง จากอุปสมบทแล้วองค์หลวงปูຆได้ฝຄกฝน อบรมตนเองด้วยการท�าข้อวัตรป ิบัติ และฝຄ ก สมาธิ ภ าวนาอย่ า งสม�่ า เสมอ เพราะองค์หลวงปูไຆ ด้ตงั้ ใจอย่างแรงกล้า ว่า ในการบวชครั้งนี้จะต้องให้รัฐธรรม เห็นธรรมให้ได้ เมื่อมีอุปสรรคปຑญหา ใดๆ ในการภาวนา องค์หลวงปูจຆ ะเข้าไป กราบเรี ย นขอค� า แนะน� า จากครู บ า อาจารย์ผู้ที่เคารพนับถืออยู่เสมอ อาทิ องค์หลวงปูຆเทสก์ เทสรังสี, องค์หลวงปูຆ อ่อน ญาณสิร,ิ องค์หลวงปูชຆ อบ ฐานสโม,

องค์หลวงปูຆขาว อนาลโย, องค์หลวงปูຆ เหรียญ วรลาโภ, องค์หลวงปูຆมหาบัว ญาณสั ม ปຑ น โน และองค์ ห ลวงปู ຆ บั ว สิรปิ ณ ุ โณ นอกจากนีย้ งั มีครูบาอาจารย์ ที่ท่านได้เคยร่วมธุดงค์ด้วยกัน อาทิ องค์หลวงปูຆบุญมี ปริปุณโณ เป็นต้น องค์หลวงปูสຆ อ พันธุโล ได้ละสังขาร อย่างสงบ ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันอาทิตย์ท่ี พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 15.50 นาฬิกา สิริอายุ ปี เดือน 2 วัน 52 พรรษา ได้มพี ธิ พี ระราชทานเพลิงถวาย แก่สรีระสังขาร องค์หลวงปูเຆ มือ่ วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน 2552

<pY@Y@RLN.EBTc/j;(PX<J[IF

มีต�านานเกี่ยวกับองค์หลวงพ่อ เจ็ดกษัตริยว์ า่ มีกษัตริย์ พระองค์เป็น มิตรสหายกัน และเป็นศิษย์ร่วมส�านัก ครูอาจารย์เดียวกัน เมื่อทั้ง พระองค์ ทรงศึกษาวิชาความรู้จากอาจารย์จน แตกฉานแล้ว ต่างน�าวิชาความรู้นั้นมา ปกครองพระนครของตน ประชาชนใน พระนครต่างสงบสุขมีความมัง่ คัง่ ไพบูลย์ ด้วยความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาอย่ า งแรงกล้ า กษั ต ริ ย ์ ทั้ ง พระองค์ มีความด�าริเห็นพ้องต้องกัน ว่าจะสร้างพระพุทธป ิมาขึ้น เพื่อเป็น เครื่องระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าบรมศาสดาผู้ประเสริฐ และ ให้มนุษย์ตลอดจนทวยเทพอารักษ์ทั้ง


หลายได้กราบไหว้บูชา เป็นมิ่งมงคลใน บวรพระพุทธศาสนาสืบไป กษัตริย์ทั้ง พระองค์ ได้ก�าหนด พุทธลักษณะองค์พระป ิมานั้น เป็น แบบปางสมาธินาคปรก มีพทุ ธลักษณะ ทีส่ า� คัญยิง่ คือ มีพญานาค ตัว เศียร แต่มีหาง 6 หาง ซึ่งมีความหมายว่า พญานาค ตัวนั้น แทนกษัตริย์ทั้ง พระองค์ ทีป่ รารถนาพุทธภูมแิ ละมีเพียง กษัตริยพ์ ระองค์ที่ เท่านัน้ ทีป่ รารถนา สาวกภูมิ เมื่อได้รูปแบบองค์พระพุทธ ป มิ าแล้ว กษัตริยท์ งั้ พระองค์ ได้สละ ทรัพย์สว่ นพระองค์ คือ ทองค�าแท้บริสทุ ธิ์ พระองค์ละ กิโลกรัมเพื่อสร้างองค์ พระครั้งนี้ โลหะส่วนผสมที่เหลือไม่มี ข้อมูล วันหล่อพระได้กา� หนดเป็น วันเสาร์ ที่ ขึ้น ค�่า เดือน ปี นับตามปี นักษัตรคือปีมะเมีย โดยกษัตริย์ทั้ง พระองค์ เป็นประธาน จ�านวนการสร้าง

ไม่ทราบแน่นอน แต่ตามค�าบอกเล่า ขององค์หลวงปู่สอ พันธุโล ท่านบอก ว่าในประเทศไทยนี้ มีอยู่ 2 องค์ 1 องค์ อยู่ภายในองค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัด นครปฐม อีก 1 องค์ อยู่กับหลวงปูຆสอ พันธุโล ซึง่ เป็นพระคูบ่ ญ ุ บารมีขององค์ ท่าน พระนามของพระพุทธป ิมานี้ มี พระนามอันเป็นอุดมมงคลอย่างยิ่งว่า ๡หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย์๢

มาในปี พ.ศ.2506 ขณะนั้นองค์หลวง ปูຆพ�านักอยู่ที่เสนาสนะปຆาช้าคนจีน วัด อรัญญิกาวาสในปຑจจุบัน วันหนึ่งขณะ ที่องค์หลวงปูຆเดินดูบริเวณปຆาที่พัก ได้ บังเกิดเสียงดังขึ้นภายในองค์หลวงปูຆ ว่า ๡สัญลักษณ์ของท่านอาจารย์นั้น จะ ตกมาจากอากาศ ในพรรษาที่ ขึ้น 9 ค�า่ เดือน บางทีคนเขาเก็บไว้จะน�ามา ถวายภายหลัง๢

RLN.EBTc/j;(PX<J[IFEJW+`B AYJH¥RLN.B`=QT"EX@?_eL

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

ในปี พ.ศ.2502 ซึ่งเป็นพรรษาที่ 2 ขององค์หลวงปูຆสอ พันธุโล ขณะนั้น องค์หลวงปูพຆ า� นักอยูท่ เี่ สนาสนะปຆาเขต อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี ในตอนเย็นวัน หนึ่ง ขณะที่องค์หลวงปูຆก�าลังนั่งสมาธิ ภาวนา ได้เกิดนิมิตเห็นงูใหญ่ตัวสีทอง เลื้ อ ยเข้ า มาดั น ตั ว องค์ ห ลวงปู ຆ ขึ้ น ใน ลักษณะขดล�าตัวให้องค์หลวงปูຆนั่ง ต่อ

วั ด หนองแสง ขอเชิ ญ ชวน พุทธศาสนิกชนร่วมสร้างบุญบารมี โดย สมทบทุนสร้างอาคารเรียนบวร ให้กับ โรงเรียนบ้านหนองแสง ติดต่อสอบถาม ทีพ ่ ระมหาธานี ญาณวิสทุ โธ พระมหา เข้ม เจ้าอาวาสวัดหนองแสง โทร. 0 62 616

YASOTHON 123


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัด รีธาตุ

NX;OJ¥?Y<_ <Xl.TI`BACY@Q[.RF"RH`B>¥k"\"<pYALQ[.RF"TpYcGTcH^T." IeQ?J" QX.(X;+:WQ.-FD=YIHRY@[(YI" >¥k;[@>¥k" <Xl.NX;H¥c@^lT>¥k" ¡" gJB" " <YJY.NY" BH//_AX@H¥" EJW+J`0@X >([/e(OL"cBJ@c/CYTYNYQ"dLWJT.c/CY+:W" TpYcGTcH^T.IeQ?J

BJWNX<[NX;OJ¥?Y<_

วัดศรีธาตุ ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ.2 60 เดิมเป็นวัดร้าง ชาวบ้าน เรียกบริเวณนี้ว่า ๡ดงผีสิงห์๢ ต่อมาคณะของเจ้าค�าสู เจ้าค�าโส เจ้าค�าขุย ท้าวปุมງ ฯลฯ พร้อมด้วยพระมหาเซียงสา ย้ายมาจาก นครเขือ่ นขันธ์กาบแก้วบัวบาน ปຑจจุบนั คือจังหวัดหนองบัวล�าภู ได้มาบูรณะวัดนี้ข้ึน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2500

Q[k.OX(;[oQ[>?[oGYIf@NX;

พระเจ้า฿หญ่ เป็นพระพุทธรูปปางเสวยวิมุติสุข มาร สะดุ้ง ชาวบ้านถือว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ เมื่อชาวบ้านมีทุกข์ จะ น�าดอกไม้ธูป เทียน ทองเพื่อไปสักการะ อธิษฐานขอให้ขจัด ปຑดเปຆาทุกข์ภยั และได้ผลดังปรารถนา ในเดือน 5 จะมีงานสรง น�้าเป็นประจ�าทุกปี 124

พระธาตุองค์อาจกะบาลหลวง เป็นธาตุเก่าแก่ ทีช่ าวบ้าน นับถือบูชามาตลอด มีเรื่องเล่าว่า มีคนไม่เชื่ออยากทดลอง โดยน�าเอาก้อนอิฐของพระธาตุไปโดยมิได้บอกกล่าว ปราก ว่าเขาปวดท้องอย่างรุนแรง ครัน้ น�ากลับมาและขอขมา จึงหาย ปวดท้องเป็นปลิดทิ้ง ในปี พ.ศ.25 2 ได้ท�าพิธีบวงสรวงเพื่อขอบูรณะ โดย การน�าของพระครู นั ทกิจโกศล เจ้าอาวาสรูปปຑจจุบนั ท�าการ บวงสรวงอยู่ คืนโดยมีทายก ทายิก บวชชีพราหมณ์ คืนละ 1,000 คนเศษ จึงได้สร้างค่อมไว้โดยมิได้รื้อถอน คืนแรกของ การบวงสรวง มีเกจิอาจารย์รูปหนึ่งร่วมในพิธีท่านคงมาด้วย ความอยากทดลอง ปราก ว่าก้อนอิฐหล่นลงมาตรงหน้าท่าน ทั้งที่ก่อนหน้านี้ชาวบ้านได้ดูแลความเรียบร้อยและท�าความ สะอาดอยู่ทั้งวัน


JYI@YHc/CYTYNYQ"ネc>BY>¥k>JYA@YHノ

พระมหาเซียงสา, พระโอຍะ, พระโคตรหลักค�า, พระกันยา, พระสิงห์, พระผง, พระโต อิสสฺ โร, พระครูสวุ รรณสิงหเขต ทอง เรวโต พ.ศ. 2 - 251 , พระครูสวุ รรณสิกขการ สังวร ขตฺตโิ ย พ.ศ. 2519 - 252 และพระครู ันทกิจโกศล (จิม นฺทวโร) พศ - ปຑจจุบัน

BJWNX<[EJW+J`0X@>([/e(OL

สถานะเดิม ชือ่ จิม นามสกุล ไชยมาตย์ เกิดวันอังคาร แรม 15 ค�่า เดือน 6 ปีขาล ตรงกับวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2 9 ณ บ้านเลขที่ 10 หมู่ 1 ต�าบลสิงห์ อ�าเภอยโสธร จังหวัด อุบลราชธานี บิดาชื่อ นายทอง มารชื่อ นางนาง ไชยมาตย์ อุปสมบท เมื่อวันจันทร์ แรม 1 ค�่า เดือน ปีชวด ตรง กับวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2515 ณ พัทธสีมาวัดศรีธาตุ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.251 สอบ ได้นักธรรมชั้นเอกในสนามหลวงในนามวัดศรีธาตุ ต�าบลสิงห์ ส�านักเรียนคณะ จังหวัดยโสธร

.Y@(YJB(+JT.

.Y@(YJcCIdCB

    

พ.ศ.2519 - 2525 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส วัดศรีธาตุ พ.ศ.2525 - ปຑจจุบนั ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดศรีธาตุ พ.ศ.25 5 - 25 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบล สิงห์ เขต 1 อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.25 6 - ปຑจจุบนั ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชຑ าย์เขตการ ปกครองคณะสง ต์ า� บลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.25 6 - 25 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการเจ้าคณะ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.252 - 25 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบล สิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ.25 - ปຑจจุบัน ได้รับแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งรองเจ้า คณะอ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

พ.ศ.25 6 - ปຑจจุบนั เป็นธรรมฑูตฝຆายป บิ ตั กิ าร อ�าเภอเมือง ยโสธร จังหวัดยโสธร พ.ศ. 25 - ปຑจจุบัน เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชน ประจ�าต�าบลสิงห์ วัดศรีธาตุ ต�าบลสิงห์ อ�าเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร

QH:OX(;[o 

พ.ศ.2522 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นฐานานุกรมใน พระครูสาธรกิจโกศล ที่ ๡พระสมุห์๢ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2522 พ.ศ.25 1 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญา บัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นตรี ในราชทินนามที่ ๡พระครู ฉันทกิจโกศล๢ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.25 1 พ.ศ.25 1 ได้รับพระราชทานเลื่อนชั้นพระสัง าธิการเป็น พระครูเจ้าคณะต�าบลชัน้ โทร เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.25 1 YASOTHON 125


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL

@YIOJ¥c1¥IJ"N[(JXIEX9@F @YI(c>OH@<J¥<pYAL(_;1_HEX9@Y

c>OAYL<pYAL (_;1_HEX9@Y cH^T.@BYTI`B"+`B(YJO](PY"" 1_H1@JBNHEX9@Y"BJW1YcBJ@Q_)" cOJP7([/ETcE¥I. คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาของเทศบาลตํ า บลกุ ด ชุ ม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ปຑจจุบนั มี นายศรีเชียร วิกรัยพัฒน์ ด�ารงต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีตาํ บลกุดชุมพัฒนา และมีรอง นายกเทศมนตรี 2 ท่านคือ นายมงคล ชื่นตา และนายโกศล เจริญแสงสุวรรณ

EX@?([/"ネnォオオォアーノ

พัฒนาระบบการศึกษาและสาธารณสุข ส่งเสริม ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี 2. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมสร้างจิตส�านึกชุมชนในการมี ส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 126

3. สร้างระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม ให้มีประสิทธิภาพ รองรับการขยายตัวของชุมชน 4. สร้างศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็ง พึง่ พาตนเองได้ มีความ มั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5. สร้างระบบบริหารจัดการทีด่ ี มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยประชาชนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ตรวจสอบ เพือ่ ให้เกิด ความโปร่งใสในการบริหารกิจการของท้องถิ่น

CL.Y@>¥kGY+G`H[f/

Še+J.(YJ1_H1@BLT;)IW"c>OAYL<pYAL(_;1_H EX9@YŸ

โครงการดังกล่าวมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ปลูกจิตส�านึกและส่ง เสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกวิธี เพือ่ ลดปริมาณขยะมูลฝอยปลายทาง เพือ่ ลดราย จ่าย สร้างรายได้ให้กับประชาชน เพื่อให้ชุมชนมีความสะอาด สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย

d@N>Y.(YJ;pYc@[@.Y@>¥kIXk.I^@

1. ประสานงานงานกับผูน้ า� ชุมชน และผูใ้ หญ่บา้ นในพืน้ ทีเ่ ปງา หมาย เพื่อสร้างความเข้าใจก่อนด�าเนินโครงการ


2. ประชาคมปลูกจิตส�านึกในการคัดแยกขยะ และอบรมแกนน�า สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะตามหลัก , , ในชุมชนบ้านเหล่าใหญ่ ชุมชนบ้านสองคร และชุมชนกุดชุมพัฒนา หมู่ 1 3. ทัศนศึกษาดูงาน 4. แต่งตัง้ คณะกรรมการด�าเนินงานในชุมชน โดยเทศบาลเป็น พี่เลี้ยงให้การสนับสนุนทางวิชาการ และวัสดุอุปกรณ์ 5. ด�าเนินการจัดการขยะตามประเภทขยะมูลฝอย โดยแยกวิธี การจัดการดังนี้ 5.1 การจัดการขยะอินทรีย์ ได้แก่ กิจกรรมท�าน�้าหมัก ชีวภาพในครัวเรือน, เลีย้ งไส้เดือนดินกินขยะ, ปุยຉ หมัก, ใช้เลีย้ ง สัตว์ 5.2 การจัดการขยะรีไซเคิล ได้แก่ ผ้าปຆาขยะรีไซเคิล, จัด ตัง้ ธนาคารขยะรีไซเคิลในชุมชน จ�านวน 2 แห่ง คือ ธนาคารขยะ รีไซเคิลชุมชนบ้านเหล่าใหญ่ และ ธนาคารทองค�าชุมชนบ้าน สองคร, จัดตลาดนัดขยะรีไซเคิลชุมชนกุดชุมพัฒนา หมู่ 1 , จัด สวัสดิการจากธนาคารขยะสูช่ มุ ชน และธนาคารขยะในโรงเรียน จ�านวน แห่ง คือ โรงเรียนอนุบาลกุดชุมพัฒนา ศรีวสิ ารรังสรรค์ โรงเรียนเทศบาล 1 กุดชุมคุรรุ าษฎร์บา� รุง โรงเรียนอนุบาลการ กุศลวัดประชาชุมพลและโรงเรียนบ้านสองคร 5. การจัดการขยะอันตราย ได้แก่ ก�าหนดจุดรวบรวมขยะ อันตรายในชุมชนๆ ละ 1 จุด โดยทุกครัวเรือนต้องน�าขยะอันตราย มารวบรวมไว้ในจุดที่ก�าหนดไว้เท่านั้น 5. การจัดการขยะทั่วไป โดยชุมชนบ้านเหล่าใหญ่และ ชุมชนหมู่ 9 ประชาชนจะจัดการขยะทั่วไปเองด้วยวิธีการฝຑง, ชุมชนกุดชุมพัฒนา หมู่ , หมู่ 1 หมู่ 1 และหมู่ มีกจิ กรรม ถนนปลอดถังขยะ และกิจกรรมคืนถังขยะให้เทศบาลด้วยการ จัดโซนนิ่งถังขยะ 6. พัฒนาเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ และเป็นแหล่งศึกษาดูงาน

JY.NXLヘ+NYHGY+G`H[f/>¥kg;CJXA

1. ชุมชนบ้านเหล่าใหญ่ ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ชุมชนปลอด ขยะ เฉลิมพระเกียรติ ปี 255 -2559 จากกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ชุมชนเหล่าใหญ่ได้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ชุมชนต้น แบบด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม ระดับเขต ประจ�าปี 255 มอบโดย กระทรวงสาธารณสุข

3. ชุมชนบ้านสองคร ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ชุมชนปลอดขยะ เฉลิมพระเกียรติ ปี 255 -2559 จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 4. ชุมชนกุดชุมพัฒนา หมู่ 1 ผ่านการประเมินรอบที่ 1 ชุมชน ปลอดขยะ เฉลิมพระเกียรติ 9 พรรษา 9 ชุมชน ประจ�าปี 2559 จากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

BH//XIdRB.+NYHQpYcJj/

1. ผูบ้ ริหารมีแนวนโยบายด้านการจัดการขยะมูลฝอยทีช่ ดั เจน 2. ผูน้ า� ชุมชน แกนน�า มีความเข้มแข็งและให้ความร่วมมือเป็น อย่างดี และมีการประชุมวางแผน แก้ไขปຑญหาที่เกิดขึ้นอย่าง สม�่าเสมอ 3. เทศบาลต�าบลกุดชุมพัฒนามีการด�าเนินงานที่หลากหลาย ตามบริบทชุมชน สนับสนุนทางวิชาการ วัสดุอปุ กรณ์ทตี่ รงกับ ความต้องการของชุมชน และด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง 4. ประชาชนมีความรู้ มีจติ ส�านึก ตระหนักถึงความส�าคัญด้าน การจัดการขยะ มีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม และให้ความร่วม มือเป็นอย่างดี zbtpuipo"127


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XkNgB

@YI/X(JE.OF"d(CNe1<[ @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL(_;1_H

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

(_;1_H

BJW1Y1@H¥+_:GYE1¥N[<>¥k;¥"" >pYc(P<JT[@>J¥IF>_(RH`BACY@"" AJ[RYJ.Y@e;II];RLX(?JJHYG[AYL คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตําบล กุดชุม ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นเอราวัณ หมูท่ ี่ 12 ต�าบลกุดชุม อ�าเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร โดยมีเส้นทางติดต่อกับอ�าเภอกุดชุมไป ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ลักษณะเป็นทางลาดยางมะตอย ระยะทาง กิโลเมตร 128

ตําบลกุดชุม มีพนื้ ที่ .0 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,6 . 5 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ 0 ที่ดอน 65 แหล่ง ล�าน�้า 5 มีล�าห้วยไหลผ่าน ได้แก่ ล�าห้วยสีดา ล�าห้วยแคน ล�าห้วยโพงโพด ล�าห้วยหนองเม็ก ล�าห้วยกลาง และล�าห้วยโพง ส่วนภูเขาจะพบทางทิศตะวันตก ซึง่ เป็นรอยต่อระหว่างต�าบล หนองแหนกับ ต�าบลค�าน�้าสร้าง เขตการปกครอง มีหมู่บ้านที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ขององค์การบริหารส่วนต�าบลกุดชุม ทั้งหมด 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองบอน หมู่ที่ 2 บ้านหนองเรือ หมู่ที่ บ้านเหล่าต�าแย หมู่ที่ บ้านกุดชุมใน หมู่ที่ 5 บ้านสองคร หมู่ที่ 6 บ้านหนองมาลา หมู่ที่ บ้านหนองแก หมู่ที่ 10 บ้าน หนองเมืองกลาง หมูท่ ี่ 11 บ้านเหล่าฝງาย หมูท่ ี่ 12 บ้านเอราวัณ หมูท่ ี่ 1 บ้านค�ากลาง หมูท่ ี่ 15 บ้านทองสัมฤทธิ์ หมูท่ ี่ 16 บ้าน นามน หมูท่ ี่ 1 บ้านหนองบอน หมูท่ ี่ 19 บ้านเหล่าต�าแย หมูท่ ี่ 20 บ้านหนองบัว และหมู่ที่ 21 บ้านหนองเมืองกลาง ประชากรและครัวเรือน องค์การบริหารส่วนต�าบลกุดชุม มีประชากรทั้งสิ้น ,52 คน แยกเป็นชาย , 06 คน แยก เป็นหญิง ,21 คน จ�านวนครัวเรือน 2, ครัวเรือน ที่มา ทีว่ า่ การอ�าเภอกุดชุม ผ่ายทะเบียนและบัตร งานทะเบียนราษฎร ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2559 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีการท�านาประมาณ 25, . ไร่ ปลูกพืชไร่ จ�าพวกอ้อย มันส�าปะหลัง ประมาณ 5,62 . ไร่ และท�าสวน ยางพารา ยูคาลิปตัส มะขามหวาน ล�าไย และไม้ยนื ต้น ประมาณ ,2 1. ไร่

+:WC`CAJ[RYJ"TA<ホ(_;1_H

นายจักรพงศ์ แก้วโชติ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลกุดชุม นายประกอบ อรรคบุตร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล กุดชุม นายเฟ຅อດ ง งามแก้ว รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลกุดชุม นาง ลาด เว วุ นารักษ์ เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลกุดชุม

I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y

ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคม และคุณภาพชีวิต 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการที่ดี


JY.NXLdRB.+NYHGY+G`H[f/

รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประจําป຃ องค์การบริหารส่วนต�าบลกุดชุม ได้รับรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่นด้านการปງองการการทุจริต ประจ�า ปี 2556 จากส�านักงานคณะกรรมการปງองกันและปราบปราม การทุจริตแห่งชาติ รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ต้นแบบด้านการปງองกัน การทุจริต องค์การบริหารส่วนตําบลกุดชุมได้รับรางวัลองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบด้านการปງองกันการทุจริต

YASOTHON 129


dRLB.>BT.c>¥kINQpY+X4

ภูหมากพริก หมูท่ ี่ 15 บ้านทองสัมฤทธิ์ ต�าบลกุดชุม ลักษณะ เป็นภูเขาที่มีความอุดมสมบูรณ์และเป็นที่อาศัยของสัตว์ปຆา หายากในท้องถิน่ โดยเฉพาะ ๡ปูแปງง๢ ทีม่ กี ระดองสีมว่ ง ล�าตัว และขาสีส้ม อาศัยอยู่ตามซอกหินริมห้วย นอกจากนั้นยังมี ๡อ่างปลากังๆ จัน่ กอบง๢ ซึง่ เป็นแหล่งน�า้ ซับตามธรรมชาติ และ ทีส่ า� คัญภูหมากพริกยังเป็นสนามแข่งจักรยานเสือภูเขา ซึง่ ทุก ปีจะมีการแข่งขันภายใต้ ๡กุดชุมสู่ภูหมากพริกต้านยาเสพติด๢

ภูถํๅาสิม หมู่ที่ 15 บ้านทองสัมฤทธิ์ ต�าบลกุดชุม เป็นถ�้า ทีม่ ลี กั ษณะเป็นเนินเขาเตีย้ ๆ มีโขดหินขนาดใหญ่มาก บนยอด ภูเขาเป็นทีต่ งั้ ข๢องวัดภูถา�้ สิม เป็นสถานทีเ่ หมาะกับการป บิ ตั ิ ธรรม เพราะมีความร่มรื่นและสงบมาก ขอขอบคุณ ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวจาก -

ภูหินปูน หมู่ที่ 16 บ้านนามน ต�าบลกุดชุม จุดเด่นคือมี หินทรายขนาดใหญ่รปู ทรงตามแต่จนิ ตนาการ บางคนว่าคล้าย เต่ายักษ์ชคู อ ยอดมงกุฎ และรูปสัตว์ประหลาดต่างๆ ในฤดูฝน จะมีดอกไม้ปຆาสีสันสวยงามนานาชนิดบานตามลานหินที่มี น�้าไหลผ่าน 130


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL คาดหวังทีต่ อ้ งการให้เกิดขึน้ ในอนาคตข้างหน้า ซึง่ จะสามารถ สะท้อนถึงสภาพการณ์ของท้องถิ่นในอนาคตอย่างรอบด้าน ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้านต่างๆ

)CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลนาโส่ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ห่างจาก อ�าเภอกุดชุม 10 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดยโสธร กิโลเมตร มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 21, 0 ไร่ .2 ตารางกิโลเมตร สภาพพืๅนที่ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสภาพดินเป็น ดินร่วนปนทราย มีลา� ห้วยโพง แสนลึก และล�าห้วยบงไหลผ่าน มีปຆาสมุนไพร เขตการปกครอง ประชากร มีจา� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 11 หมูบ่ า้ น มีจา� นวนประชากรทัง้ สิน้ ,19 คน แยกเป็นชายจ�านวน 2,099 คน หญิง 2,09 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือเกษตรกรรม เช่น ท�านา ท�าไร่ เป็นต้น อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้างทั่วไป เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น

/_;c;B@)T.<pYAL@BYeQB

@YIE.PFHJ[@>JF"d(CNfQ @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL@YeQB

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

@YeQB

QJCY.N[=¥1_H1@fRC@BYTI`B"" Q`BQ_)GYNW>¥kQHA`J:F"cBJ@O`@IF(LY. (YJCL[<TYRYJBLT;GXIQ`BQY(L"" A@e+J.QJCY.E^l@7Y@>¥k>X@QHXI"" GYIf@B:E_>?OX(JY1" ¡¢

ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนต�าบลนาโส่ มีทรัพยากร ธรรมชาติปຆาไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งเป็นแหล่งผลิตอาหารและ ยาตามธรรมชาติ เช่น เห็ด สมุนไพร เป็นต้น นอกจากนี้ ในเขตพืน้ ทีข่ ององค์การบริหารส่วนต�าบลนาโส่ ยังมีการรวมกลุ่มของประชาชน เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ในการประกอบอาชีพ และเสริมสร้างรายได้อย่างยั่งยืนให้กับ สมาชิกกลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มทอผ้าฝງายย้อมสีธรรมชาติ บ้านโคกสวาท หมู่ที่ 10 2. กลุ่มทอเสื่อกก ลายขิด บ้านาซึม หมู่ที่ 6 3. ศูนย์สมุนไพร วัดท่าลาด หมู่ที่ 4. กลุ่มเลี้ยงหมูทุกหมู่บ้าน 5. กลุ่มเกษตรกรท�านา นาโส่ หมู่ที่ 2 6. กลุ่มทอเสื่อกก บ้านดงเย็น หมู่ที่ 9

คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลนาโส่ อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร ซึง่ อบต.นาโส่ได้กา� หนดวิสยั ทัศน์ เพือ่ แสดงสถานการณ์ในอุดมคติ ซึง่ จุดมุง่ หมายความ YASOTHON 131


+:WC`CAJ[RYJ"TA<ホ@YeQB

นายพงษ์มรินทร์ แก้ว฿ส นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นาโส่ นายธวัช ทองน้อย รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลนาโส่ นายบัวเรียน ศรีวสุทธิ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นาโส่ นางสาวปวีสดุ า อ่างแก้ว เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วน ต�าบลนาโส่ นายเสฎฐวุฒิ สารทอง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลนาโส่

I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y<pYAL@YeQB

ยุทธศาสตร์ที่ ยกระดับคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้ม แข็งของชุมชน ครอบครัว ภายใต้ธรรมนูญต�าบลในทุกมิติ ศาสนา และวัฒนธรรมที่ดีงาม ยุทธศาสตร์ที่ ส่งเสริมและพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชน เพิม่ พืน้ ทีป่ าຆ ชุมชน ปຆาครอบครัว อนุรกั ษ์ นຕ຅ ทู รัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ พัฒนาแหล่งน�า้ ส่งเสริมการผลิต การจ�าหน่าย อาหารปลอดภัยทั้งภาคการเกษตร และปศุสัตว์ สู่มาตรฐาน ระบบเกษตรอินทรีย์ครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ พัฒนาถนนเศรษฐกิจ สายหลักให้ได้มาตรฐาน สะดวก สะอาด เป็นระเบียบ ปลอดภัย ครบถ้วน ทัง้ ระบบไ าງ การสื่อสาร ตลอดจนน�้าเพื่อการอุปโภค บริโภค

N[QXI>XO@F<pYAL@YeQB

CL(YJ;pYc@[@.Y@>¥Qk Yp +X4dLW+NYHGY+G`Hf[ /

 

เป็นแหล่งผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดยโสธร ได้รับรางวัล ๡สุดยอดส้วมดีเด่นระดับเขต๢

132

  

สร้างวิถีชุมชนให้น่าอยู่ สู่สุขภาวะที่สมบูรณ์ เป็นศูนย์กลางการผลิตอาหารปลอดภัยสู่สากล บนโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัย ภายในปี พุทธศักราช ๎๑๒๎


I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y  

ยุทธศาสตร์ที่ ํ ยกระดับคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ครอบครัว ภายใต้ธรรมนูญต�าบลในทุกมิติ ศาสนา และวัฒนธรรมประเพณี ที่ดีงาม

ยุทธศาสตร์ที่ ๎  ส่งเสริมและพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชน  เพิ่มพื้นที่ปຆาชุมชน ปຆาครอบครัว  อนุรักษ์ ຅ຕน ูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๏ พัฒนาแหล่งน�้า ส่งเสริมการผลิตการจ�าหน่ายอาหาร ปลอดภัยทัง้ ภาคการเกษตรและปศุสตั ว์สมู่ าตรฐานระบบเกษตร อินทรีย์ครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ ๐ พัฒนาถนนเศรษฐกิจ ๐ สายหลักให้ได้มาตรฐาน สะดวก สะอาด เป็นระเบียบ ปลอดภัย ครบถ้วน ทั้งระบบ ไ ງา การ สื่อสาร ตลอดจนน�้าเพื่ออุปโภคบริโภค ช่องทางการติดต่อส่งสาร อบต.นาโส่ โทร. 0 5- 56-9 . 59. . YASOTHON 133


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL 6 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากอ�าเภอเมือง จังหวัดยโสธร ประมาณ 29 กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายจักรก ษ ศรีวะรมย์ ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยแก้ง

)CTH`L>XkNgB

@YI/X(J(KP"OJ¥NWJHIF @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALRCNId(C.

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

RCNId(C.

d<.eHRNY@"NX<=_eAJY:LplY+BY" ;T@B`=<YOX(;[oQ[>?[o"dRLB.CL[<" )CYNcHBYRTH".YHEJCTHQ^kT((>T คื อ ค� า ขวั ญ ตํ า บลห้ ว ยแก้ ง ซึ่ ง อยู ่ ใ นความดู แ ลของ องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยแก้ง มีที่ท�าการตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านหนองศาลา ถนนวารีราชเดช ยโสธร - อ�าเภอเลิงนกทา ต�าบลห้วยแก้ง อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจาก อ�าเภอกุดชุม ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2169 ประมาณ 134

องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยแก้ง มีพน้ื ที่ 99.00 ตาราง กิโลเมตร หรือ 2 ,56 ไร่สภาพพืน้ ทีโ่ ดยทัว่ ไปเป็นทีร่ าบลุม่ เป็น ทุ่งนา สภาพดินเป็นดินร่วนปนทรายเหมาะสมแก่การท�าการ เกษตร เขตการปกครอง มีจา� นวนหมูบ่ า้ นในเขตองค์การบริหาร ส่วนต�าบลห้วยแก้ง จ�านวน 1 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ บ้านห้วยแก้ง หมู่ที่ บ้านโคกสว่าง หมู่ที่ บ้านหนองศาลา หมู่ที่ 9 บ้านโนนใหญ่ หมู่ที่ บ้านหนองบัวบาน หมู่ที่ 10 บ้านชัยชนะ หมู่ที่ บ้านค�าก้าว หมู่ที่ 11 บ้านสุขส�าราญ หมู่ที่ บ้านโสกน�้าขาว หมู่ที่ 12 บ้านหนองบัวบาน หมู่ที่ บ้านหัวนา หมู่ที่ 1 บ้านห้วยแก้ง หมู่ที่ บ้านบะนางเจิม หมู่ที่ 1 บ้านค�าก้าว ประชากร จ�านวนประชากรทั้งสิ้น 6,01 คน แยกเป็น ชาย ,062 คน หญิง 2,952 คน สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพหลักคือ ท�านา อาชีพรองคือ ท�าสวน รับจ้าง และประกอบอาชีพอุตสาหกรรม ในครัวเรือน


OTOP"<pYALRCNId(C. 

ผลิตภัณ ์จักสานจาก กก อาทิ เสื่อส�าหรับปูนั่งและนอน โดยกลุ่มสตรีทอเสื่อกกบ้านค�าก้าว หมู่ที่  แตงโมหวาน จะมีขายตามฤดูกาล และมีจ�าหน่ายข้างทาง ถนนวารีราชเดช ซึ่งมีกลุ่มเกษตรกรจากบ้านห้วยแก้ง บ้าน ค�าก้าว และบ้านโสกน�้าขาว รวมกลุ่มกัน  ข้าวเม่าหอม บ้านบะนางเจิม หมู่ที่ YASOTHON 135


JY.NXLdRB.+NYHGY+G`H[f/

องค์การบริหารส่วนตําบลห้วยแก้ง ได้รบั โล่รางวัล การแพทย์ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดีเด่น จากสถาบันการแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ เพือ่ เป็นพืน้ ทีเ่ รียนรู้ และศึกษาดูงานการแพทย์ฉกุ เฉิน ในการประชุมการแพทย์ ฉุกเฉินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ระดับชาติ ครัง้ ที่ 2 ปี พ.ศ.255 “พลังท้องถิน่ ไทย สูเ่ ส้นทางการป ริ ปู การแพทย์ ุกเ ินอย่างยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 2 -26 สิงหาคม 255 ณ โรงแรมลีการ์เด้น พลาซ่า อ�าเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

136


([/(JJHマe+J.(YJQpY+X4"B:" ¡¡ 

 

 

   

เปิดศูนย์การเรียนรูต้ ามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตร ทฤษฎีใหม่ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ปี 2559 วันผูส้ งู อายุแห่งชาติ ประจ�าปี 2559 ณ วัดบ้านหนองศาลา วันเข้าพรรษา ปี 2559 โครงการส่งเสริมการจัดท�าแผนชุมชนและแผนพัฒนา สามปี ประจ�าปี 2559 โครงการปกปງองเชิดชูสถาบัน และเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ประจ�าปี 2559 โครงการศึกษาดูงาน ประจ�าปีงบประมาณ 2559 โครงการจัดการแข่งขันกีฬาต่อต้านยาเสพติด ประจ�าปีงบ ประมาณ 2559 โครงการฝຄกอบรมพัฒนาศักยภาพอาสากู้ชีพ ทบทวน หลักสูตรผู้ป ิบัติการฉุกเฉินเบื้องต้น YASOTHON 137


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลคํานํๅาสร้างมีพื้นที่ 5. 6 ตารางกิโลเมตร หรือ 2 ,662.50 ไร่ การปกครอง ประชากร ต�าบลค�าน�้าสร้างมีจ�านวน 11 หมูบ่ า้ น ประชากรทัง้ หมด ,929 คน ชาย 2, 9 หญิง 2, 1 คน สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เช่น ท�านา ท�าไร่ อาชีพรอง ได้แก่ ท�าสวนยางพารา ไร่มนั ส�าปะหลัง ไร่ออ้ ย อาชีพเสริมคือ เลีย้ งสัตว์ เช่น โค กระบือ สุกร เป็ด ไก่

+:WC`CAJ[RYJ"TA<ホ+pY@plYQJCY.

1. นายอิทธิพล วงษ์ศรีแก้ว นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ค�าน�้าสร้าง 2. นายปารมี วงษ์ปຑดตา รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ค�าน�้าสร้าง 3. นายสุริยา เชตฐราช รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ค�าน�้าสร้าง 4. นางพันทะ สีแจ่ม เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ค�าน�้าสร้าง 5. นายนพดล ชุมคง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลค�าน�า้ สร้าง

@YIT[>?[EL"N.PFOJ¥d(CN" @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL+pY@plYQJCY.

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

+pY@plYQJCY.

+pY@plYQJCY.@BYTI`B"+`Be+)_@"" R@_@c(P<JT[@>J¥IF"" H¥;¥dRLB.>BT.c>¥kIN คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตําบล คํานําๅ สร้าง ซึง่ มีสา� นักงานตัง้ อยูห่ มู่ ต�าบลค�าน�า้ สร้าง อ�าเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 9 กิโลเมตร 138


e+J.(YJQpY+X4"B:" ¡¡

เนือ่ งในโอกาสมหามงคลทีพ่ ระบาทสมเดใจพระเจ้าอยูห่ วั เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ 0 ปี วันที่ 9 มิถุนายน 2559 และสมเดใจพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนม พรรษา รอบ พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม 2559 รัฐบาล หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร มูลนิธิและประชาชนทุกหมู่ เหล่า ต่างรูส้ กึ ปิตยิ นิ ดีและซาบซึง้ ในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่าง หาที่สุดมิได้ ที่ทั้งสองพระองค์ท่านทรงมีต่อพสกนิกรชาวไทย ทั้งด้านการเกษตร การชลประทาน การบ�าบัดทุกข์บ�ารุงสุข แก่อาณาประชาราษฎร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องการอนุรักษ์ ทรัพยากรน�า้ และปຆา และเพือ่ ให้คนในชาติได้แสดงความจงรัก ภักดีโดยพร้อมเพียงกัน อีกทัง้ เป็นการเผยแพร่พระเกียรติคณ ุ ของทั้งสองพระองค์ให้แผ่ไพศาลไปยังนานาอารยประเทศ ดังนัน้ เพือ่ เป็นการแสดงถึงความจงรักภักดี และส�านึกถึง พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเดใจพระเจ้าอยูห่ วั และ สมเดใจพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ องค์การบริหาร ส่วนตําบลคํานํๅาสร้าง จึงจัดท�า “โครงการปลูกป่าเ ลิม พระเกียรติ เถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ ป຃ พระบาท สมเดใจพระเจ้าอยู่หัว ประจําป຃งบประมาณ พ ศ ” ซึ่ง สํานักปลัด องค์การบริหารส่วนตําบลคํานํๅาสร้าง เป็นผู้รับ ผิดชอบโครงการ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

1. เพื่อส่งเสริมและสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผู้น�าชุมชน เยาวชน และประชาชนในพื้นที่ของต�าบล ค�าน�้าสร้างได้ร่วมกันปลูกต้นไม้ 2. เพี่อให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผู้น�าชุมชน เยาวชน และ ประชาชน ได้เห็นความส�าคัญของปຆาไม้ และรักษาธรรมชาติ ให้อุดมสมบูรณ์ . เพื่ อ เป็ น การแสดงถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี แ ละส� า นึ ก ถึ ง พระ มหากรุณาธิคุณของทั้งสองพระองค์ ที่ทรงให้ความส�าคัญกับ ปຆาไม้มาโดยตลอด . เพื่อด�าเนินการให้สอดคล้องกับแผนงานพัฒนาต�าบล YASOTHON 139


กลุม่ นักธุรกิจเสือ่ ขิดดงส�าราญ (โอทอป) ประธานกลุม่ นางเกสร บานชล มีสมาชิก 15 คน ก่อตั้ง 2556 ได้รับคัดสรรดาว 3 ดาว ได้ไปจ�าหน่าย โอทอปเมืองทองธานี ปี 2559

นางเกสร บานชล (ครู) ได้รับรางวัล Obec Awards ระดับชาติ เป็นครูช่างศิลปหัตถกรรมของศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ

140

องค์การบริหารส่วนตําบลคํานําๅ สร้าง จึงได้ดา� เนินการ เชิญชวนเยาวชน, นิสิต, นักเรียน, นักศึกษา, ผู้น�าชุมชน และ ประชาชนในเขตต�าบลค�าน�า้ สร้าง เพือ่ เข้าร่วมปลูกปຆา ในวันที่ 5 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2559 ณ แหล่งท่องเที่ยววัดภูถ�้าพระ ต�าบลค�าน�้าสร้าง อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยมีผู้เข้าร่วม โครงการฯ ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ผูน้ า� ชุมชน เยาวชน และประชาชนในพื้นที่ประมาณ 05 คน ทัง้ นี้ โครงการดังกล่าวได้รบั การสนับสนุนจากศูนย์เพาะชํา กล้าไม้ยโสธร นักเรียน-ครูอาจารย์ ทัๅง โรงเรียน฿นเขต ตําบลคํานําๅ สร้าง สํานักงานหน่วยปງองกันรักษาป่า ที่ ยส (โพนงาม - ดงปอ) กรมทหารราบที่ ค่ายบดินทรเดชา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตําบลคํานํๅาสร้าง โ รงการ ลูก ຆาเ ลิม ระเกียรติ เ ลิง วัลยรา สมบัติ รบ 7 ຃ ระบาทสมเดใ ระเ ้าอยู่หัว ระ ้า ຃ งบ ระมา ก่อให้เกิด วามสมั รสมานสามั ี ให้กับหน่วยงาน า รั เอก น ผู้น้า ุม น เยาว น และ ระ า นทั่วไ ใน ื้นที่ ได้แสดงออก ึ่ง วาม งรัก ักดี และส้านึก ึง ระมหากรุ าธิ ุ ของทั้งสอง ระอง ຏ ที่ ทรงให้ วามส้า ั กับ าຆ ไม้มาโดยตลอด เ นຓ การอนุรกั ຏ ทรั ยากร าຆ ไม้อย่างยัง่ ยืน าຆ ไม้มี า้ นวนเ มิ่ ขึน้ และ ว่ ย รัก าทรั ยากรธรรม าติให้อุดมสมบูร ຏ


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL BJWNX<[dLW+NYHcBJ@HY

เดิมพืน้ ทีต่ า� บลก�าแมด ขึน้ ตรงต่ออ�าเภอลุมพุก ปຑจจุบนั คืออ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดอุบลราชธานี ในปี พ.ศ.2 6 และขึ้นตรงต่อต�าบลไผ่ อ�าเภอยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี ปຑจจุบันต�าบลไผ่คืออ�าเภอทรายมูล และในปี พ.ศ.2 9 ได้ ยกฐานะบ้านก�าแมดเป็นต�าบลก�าแมด อ�าเภอยโสธร จังหวัด อุบลราชธานี มี จ�านวน 11 หมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตําบลกําแมด ได้รับการยกฐานะ จากสภาต�าบลก�าแมด เมื่อวันที่ 2 เดือน มีนาคม พ.ศ.25 0 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้ง องค์การบริหาร ส่วนต�าบล วันที่ 19 มกราคม พ.ศ.25 9

)CTH`L>XkNgB

@YIJE¥EX9@F">pYcL;¥ @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL(pYdH;

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

(pYdH;

(pYdH;"<pYAL@BYTI`B"" +NYHJ`C>X@QHXI"EX9@Y>CT.=[k@fRC" (CYNg(L"JX(PYgNC2]k.BJWcE:¥

ตําบลกําแมด มีหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบจ�านวน 1 หมูบ่ า้ น ประกอบด้วย หมูท่ ่ี 1 บ้านก�าแมด, หมูท่ ่ี 2 บ้านหัวงัว, หมูท่ ี่ บ้านโนนยาง, หมูท่ ่ี บ้านกุดหิน, หมูท่ ่ี 5 บ้านหนองเหีย่ , หมู่ที่ 6 บ้านหนองตาไก้, หมู่ที่ บ้านก�าแมด, หมู่ที่ บ้าน ค�าเอ็นอ้า, หมู่ที่ 9 บ้านหัวงัว, หมู่ที่ 10 บ้านโคกสวาท, หมู่ที่ 11 บ้านโนนยาง, หมูท่ ี่ 12 บ้านแสนศรี, หมูท่ ่ี 1 บ้านห้วยค้อ, หมูท่ ี่ 1 บ้านหัวงัว, หมูท่ ี่ 15 บ้านกุดหิน, หมูท่ ี่ 16 บ้านก�าแมด, หมู่ที่ 1 บ้านโนนยาง และหมู่ที่ 1 บ้านหนองเหี่ย

@eIAYI(YJEX9@Y)T.C`CAJ[RYJ>CT.=[k@ \ホ"@eIAYI;CY@e+J.QJCY.E^l@7Y@ 

ขยายเขตระบบจ�าหน่ายไ าງ ตามสภาพพืน้ ทีใ่ ห้ครอบคลุม และทั่วถึง  สร้างและบ�ารุงรักษาถนนทุกสาย ทุกเส้นทางสายหลักและ ถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน โดยจะปรับปรุงให้เป็นถนนที่ได้ มาตรฐาน ถนนเชือ่ มระหว่างหมูบ่ า้ นหรือมีลกั ษณะทีเ่ ป็นเครือ ข่ายหลักในการเชือ่ มโยง ให้เป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ถนน ลาดยาง ถนนลูกรัง บด อัดแน่น สามารถอ�านวยความสะดวก ในการสัญจรไปมา การขนส่งสินค้าทางการเกษตรให้มีความ สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

คือวิสัยทัศน์ ขององค์การบริหารส่วนตําบล กําแมด เลขที่ 5 หมู่ที่ ต�าบลก�าแมด อ�าเภอกุดชุม จังหวัด ยโสธร ห่างจากที่ว่าการอ�าเภอกุดชุม ประมาณ กิโลเมตร

YASOTHON 141


สร้างและบ�ารุงรักษาแหล่งน�้าและระบบชลประทาน โดย พัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ ใช้ในการอุปโภคบริโภค และเพือ่ ใช้ในด้าน การเกษตร  การสร้างและปรับปรุงระบบประปาหมูบ ่ า้ น ขยายระบบประปา สนับสนุนการด�าเนินงานของคณะกรรมการบริหารงานระบบ ประปาหมู่บ้าน  ติดตั้งโคมไ สาธารณะริมถนนในเขตพื้นที่ต�าบลก�าแมดให้ ครอบคลุมและทั่วถึง  ขุดเจาะบ่อบาดาลในพืน ้ ทีท่ ไี่ ม่มแี หล่งน�า้ เพือ่ การเกษตร ให้ ครอบคลุมพื้นที่เกษตรในเขตต�าบลก�าแมด  ก่อสร้างโรงงานผลิตน�้าดื่ม เพื่อแก้ไขปຑญหาการขาดแคลน น�้าแก่ชุมชน 

ホ"@eIAYI;CY@cOJP7([/

ส่งเสริมระบบเศรษฐกิจชุมชน และการสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนแบบพอเพียง และชุมชนแบบพึ่งตนเอง  ส่งเสริมอาชีพเพิม ่ รายได้ให้กบั ประชาชน โดยยึดหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�าริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว  ส่งเสริมให้ประชาชนได้น�าภูมิปຑญญาของท้องถิ่นมาใช้ให้ เกิดประโยชน์ เพื่อเพิ่มรายได้แก่ประชาชน  จัดตั้งกองทุนกู้ยืมเพื่อการประกอบอาชีพ เพื่อการแก้ไข ปຑญหาเบือ้ งต้นเกีย่ วกับเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ

¦ホ"@eIAYIQX.+H 

ส่งเสริมสร้างชุมชนน่าอยู่และสร้างความเข้มแข็ง ความ สามัคคีของชุมชน  สนั บ สนุ น กิ จ กรรมสร้ า งระบบความปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สินของประชาชนในต�าบล  ให้การสงเคราะห์ผส ู้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร ผูป้ วຆ ยเอดส์ ผูด้ อ้ ยโอกาส ทางสังคมและเด็กนักเรียนที่ขาดแคลน  ส่งเสริมและเพิ่มคุณค่าให้กับผู้สูงอายุ โดยจัดหากิจกรรม และอาชีพเสริม

142

ปรับปรุงที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยและยากไร้ ขาดผู้ดูแล

ホ"@eIAYI;CY@QY?YJ:Q_)dLWQ[k.dN;LCTH

ส่งเสริมระบบสาธารณสุขมูลฐานให้มีความแข็งแรง  สนับสนุนกิจกรรมอาสาสมัครสาธารณสุขต�าบล  ส่งเสริมให้ประชาชนในต�าบลก�าแมดมีสข ุ ภาพร่างกายแข็งแรง ส่งเสริมการเล่นกีฬาและออกก�าลังกาย  ส่งเสริมและปรับปรุงระบบสิง ่ แวดล้อม ตลอดจนการบ�าบัด และ นຕ຅ ทู รัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ให้มคี วามสมบูรณ์  ปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ส�าคัญ และบ�ารุงรักษาสถานที่พัก ผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ  รณรงค์สร้างจิตส�านึกและการมีส่วนร่วมของประชาชนใน ต�าบล ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ให้เกิดการ ใช้ประโยชน์อย่างคุม้ ค่า โดยส่งเสริมให้มกี ารคัดแยกขยะมูลฝอย ในครัวเรือน สนับสนุนกิจกรรมอนุรักษ์ปຆาชุมชน

¡ホ"@eIAYI;CY@(YJO](PY"OYQ@Y"NX9@?JJH dLW(¥SY 

ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ทัง้ ในและนอกระบบ อย่างต่อเนื่อง  พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้น่าอยู่ และมีประสิทธิภาพ  ส่งเสริมกิจกรรมการกีฬาให้หลากหลายและทั่วถึง  ส่งเสริมจารีตประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ยั่งยืน  สนับสนุนให้มส ี นามกีฬา และมีการจัดการแข่งขันกีฬาระดับ หมู่บ้านและระดับต�าบล  ส่งเสริมสนับสนุนการศาสนา ศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี

¢ホ"@eIAYI;CY@(YJ>BT.c>¥kIN 

นຕ຅ เู อกลักษณ์ของชุมชน เช่น ภาษาท้องถิน่ ประเพณีและ วิถีชีวิตดั้งเดิม


พัฒนาอ่างเก็บน�้าธรรมานุรักษ์ และฝายใต้บ้านโนนยางให้ เป็นสถานที่พักผ่อน

£ホ"@eIAYI;CY@(YJcH^T.(YJAJ[RYJ 

ส่งเสริมสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข โดยมุง่ เน้นให้ประชาชนมีสว่ น ร่วมในทุกๆ ด้าน ได้แก่ การสนับสนุนประชาคมองค์กรประชาชน โดยการ ๡ร่วมคิด ร่วมท�า ร่วมป ิบัติและร่วมรับผลประโยชน์ เพื่อประชาชนต�าบลก�าแมด๢  ให้ความร่วมมือช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ และ หน่วยงานอืน่ ๆ ทุกแห่ง กรณีมเี หตุจา� เป็นเร่งด่วน อันจะก่อให้ เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อราษฎร ในเขตอบต.ก�าแมด  เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของการประชาสั ม พั น ธ์ แ บบบู ร ณาการ เพื่อเป็นการสร้างภาพพจน์สถาบันอบต.ก�าแมดให้ประชาชน ยอมรับและให้ความเชื่อถือ  ปรับเปลีย ่ นกระบวนการ หรือวิธกี ารท�างาน โดยน�าการบริหาร งานแนวใหม่มาใช้ มีการจัดการระบบการบริหารและการลดขัน้ ตอนในการท�างาน เพือ่ ตอบสนองความต้องการของประชาชน ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  สร้างระบบการบริหารงานบุคคลและค่าตอบแทนแนวใหม่ โดยยึดหลักการจ่าย ค่าตอบแทนผลงาน โดยด�าเนินการประเมิน ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการป ิบัติงาน  เน้นการบริหารราชการแบบเปิด โดยเปิดโอกาสให้ประชาชน มีสว่ นร่วมในการบริหารท้องถิน่ มากขึน้ เปิดโอกาสให้ประชาชน เสนอแนะแสดงความคิดเห็น ร่วมป ิบัติงาน และตรวจสอบ ติดตามประเมินผลการป ิบัติงาน

สร้างแรงจูงใจและเพิ่มขวัญและก�าลังใจให้ข้าราชการ และ ผูป้ บิ ตั งิ านขององค์การบริหารส่วนต�าบลก�าแมด ทีป่ บิ ตั งิ าน ด้วยความทุ่มเท เสียสละ ผลการป ิบัติงานดีเด่นและเป็นที่ ยอมรับ  สนับสนุนศักยภาพของพนักงาน สมาชิกสภาฯและผูบ ้ ริหาร ให้ได้รับการฝຄกอบรมได้เพิ่มพูนทักษะ และมีประสบการณ์ใน การท�างานมากยิ่งขึ้น  บริหารงานคลังอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการรักษา วินัยทางการคลัง  พัฒนารายได้ของอบต.เพือ ่ พัฒนาท้องถิน่ ให้เจริญก้าวหน้า โดยการปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีของอบต.ให้สะดวก รวด เร็วและเป็นธรรม  ซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง อาคารทีท ่ า� การอบต.ก�าแมด รวม ทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ในเขตอบต.ก�าแมด  ปรับปรุงห้องประชุมอบต.ก�าแมดให้มม ี าตรฐาน พร้อมทีจ่ ะ จัดมาตรฐานในระดับต่างๆ  จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ที่จ�าเป็นต่อการป ิบัติงานของ พนักงานและเจ้าหน้าทีใ่ ห้พร้อมป บิ ตั หิ น้าทีบ่ ริการประชาชน ต�าบลก�าแมด

Q[@+CY"OTOP"f@<pYAL(pYdH;

ผ้าฝງายทอมือย้อมสีธรรมชาติ อาทิ ผ้าสไบ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าปูโตຍะ ผ้าขาวม้า ปลอกหมอนอิง โดยกลุม่ แม่บา้ นโนนยาง ผ้าย้อมสีธรรมชาติ ติดต่ออบต กําแมด โทรศัพท์ - โทรสาร เวใบไซต์ YASOTHON 143


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลโนนเป຅อย

+NYHcBJ@HY)T."TA<ホe@@cB<TI

สภาตําบลโนนเป຅อย ได้รบั การจัดตัง้ เป็นองค์การบริหาร ส่วนตําบลโนนเป຅อย โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม 25 9 ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 25 ธันวาคม 25 9

)CTH`L>XkNgB

@YIBJWQY>"(T.OJ¥HY" @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALe@@cB<TI

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

e@@cB<TI

e@@cB<TIO[N[gL"@plYgRL"gFQNBY." cQC@>Y.;¥"H¥.Y@>pY"@pYG`H[BH44Y" JX(PYQ[k.dN;LCTH"EJCTH;CNI +_:?JJH"@pY1_H1@fRCc)CHd)j. คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลโนนเป຅อย ซึง่ มีสา� นักงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ 126 หมูท่ ี่ 1 บ้านโนนเป຅อย ต�าบล โนนเป຅อย อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยอยูห่ า่ งจากอ�าเภอ กุดชุมประมาณ กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายประสาท กองศรีมา 144

ตําบลโนนเป຅อย มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 9, ไร่ หรือ ประมาณ 9.01 ตารางกิโลเมตร พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบสูง และ ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย หมูบ่ า้ นส่วนใหญ่ตงั้ อยู่ในเขตปຆาสงวน เขตการปกครอง ต�าบลโนนเป຅อย มีจา� นวน 1 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านโนนเป຅อย, หมูท่ ี่ 2 บ้านผักกะย่า, หมูท่ ี่ บ้าน กุดปลาดุก, หมู่ที่ บ้านดอนหวาย, หมู่ที่ 5 บ้านเหล่าใหญ่, หมู่ที่ 6 บ้านนาสะแบง, หมู่ที่ บ้านหนองมุที, หมู่ที่ บ้าน สุขสว่าง, หมู่ที่ 9 บ้านสุขเกษม, หมู่ที่ 10 บ้านค�าม่วงไข่, หมู่ ที่ 11 บ้านดอนจันทร์แดง, หมูท่ ี่ 12 บ้านชลประทาน, หมูท่ ี่ 1 บ้านแสนส�าราญ และหมู่ที่ 1 บ้านโนนเป຅อย ประชากร มีประชากรรวมทัง้ สิน้ 6, 9 คน มีจา� นวนครัว เรือน 1,9 ครัวเรือน ทีม่ า ส�านักบริหารการทะเบียนอ�าเภอ กุดชุม ณ เดือน พฤษภาคม 255 สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ 95 ประกอบอาชีพท�านาเป็นอาชีพหลัก และมีอาชีพเสริมเกีย่ วกับ เกษตรกรรม ได้แก่ การท�าไร่มนั ส�าปะหลัง ยางพารา ยูคาลิปตัส การเลี้ยงสัตว์และการปลูกพืชผักสวนครัว สภาพทางสังคม การศึกษา  โรงเรียนประถมศึกษา ในเขตพื้นที่ต�าบลโนนเป຅อย สังกัด ส�านักงานเขตพื้นที่ยโสธร เขต 2 มีจ�านวน แห่ง 1 สาขา 1. โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเป຅อย ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 1 บ้านโนนเป຅อย 2. โรงเรียนบ้านผักกะย่า ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 11 บ้านดอนจันทร์แดง 3. โรงเรียนบ้านหวายกุดสว่าง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ บ้านดอนหวาย 4. โรงเรียนบ้านสุขเกษม ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 9 บ้านสุขเกษม 5. โรงเรียนบ้านสุขเกษม สาขาค�าม่วงไข่ ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ่ี 10 บ้าน ค�าม่วงไข่  ศูนย์พัฒนาเดใกเลใก มีจ�านวน แห่ง 1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนเป຅อย ตั้งอยู่ท่ีหมู่ท่ี 1 บ้าน โนนเป຅อย 2. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านผักกะย่า ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ่ี 2 บ้านผักกะย่า 3. ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านสุขเกษม ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ 9 บ้านสุขเกษม  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจําหมู่บ้าน แห่ง คือ ม.1, 5, 6,


, , 9, 10, 12 สถาบันและองค์กรทางศาสนา  วัด แห่ง คือ วัดบ้านโนนเป຅อย, วัดบ้านผักกะย่า, วัดบ้าน กุดปลาดุก, วัดบ้านดอนหวาย, วัดบ้านนาสะแบง, วัดบ้าน ชลประทาน, วัดจันทร์ลับ  สํานักสง ์ แห่ง คือ ส�านักสง บ ์ า้ นผักกะย่า วัดปຆา , ส�านัก สง ์บ้านเหล่าปຆาไผ่, ส�านักสง ์บ้านสุขสว่าง, ส�านักสง ์บ้าน สุขเกษม, ส�านักสง บ์ า้ นค�าม่วงไข่, ส�านักสง บ์ า้ นดอนจันทร์ แดง, ส�านักสง ์บ้านแสนส�าราญ  ที่พักสง ์ 1 แห่ง คือ ที่พักสง ์ถ�้าบังโอ ด้านสาธารณสุข  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบล 2 แห่ง ประกอบด้วย 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลโนนเป຅อย 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลสุขเกษม การรวมกลุ่มของประชาชน  กลุ่มอาชีพ 1 กลุ่ม  กลุ่มออมทรัพย์ 1 กลุ่ม  กลุ่มเกษตรกร 2 กลุ่ม

EX@?([/"⁄";CY@)T.TA<ホe@@cB<TI

การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ จัดฝຄกอบรมอาชีพ ให้แก่ ประชาชน จัดหาอาชีพเสริมให้แก่ผมู้ รี ายได้นอ้ ย ปรับปรุงและ พัฒนาสถานที่ท่องเที่ยว การดําเนินงานด้านสังคม ได้แก่ จัดการแข่งขันกีฬาต้านยา เสพติด สนับสนุนการแก้ไขปຑญหายาเสพติด ซื้ออุปกรณ์กีฬา ส�าหรับเยาวชน สนับสนุนการแก้ไขปຑญหาทางสังคม สนับสนุน สวัสดิการให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส การพัฒนาด้านโครงสร้างพืๅนฐาน ได้แก่ ก่อสร้างถนน ลาดยาง คสล. ลูกรัง สร้างคลองระบายน�า้ และลงท่อระบายน�า้ ขยายผิวจราจรถนนทุกสาย ก่อสร้างสะพาน ปรับปรุงซ่อมแซม ถนนทุกสาย สร้างระบบประปาชนบท ขยายเขตไ ງา เพื่อ ส่องสว่าง, เพื่อการเกษตร, เพื่อสาธารณะ การพัฒนาด้านแหล่งนําๅ ได้แก่ ก่อสร้างฝายน�า้ ล้น ขุดลอก แหล่งน�า้ เพือ่ การเกษตร ปรับปรุงแหล่งน�า้ สาธารณะ ซ่อมแซม ฝายน�้าล้น การพัฒนาสาธารณสุข ได้แก่ รณรงค์ควบคุมและปງองกัน โรคไข้เลือดออก จัดซือ้ ทรายอะเบทและน�า้ ยาเคมีพน่ หมอกควัน ด�าเนินการโครงการปງองกันโรคพิษสุนัขบ้า การพัฒนาด้านการเมือง การบริหาร ได้แก่ ปรับปรุงทีท่ า� การ องค์การบริหารส่วนต�าบล จัดท�าโครงการ อบต.พบประชาชน ศึกษาดูงานนอกสถานที่ ฝຄกอบรมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั บุคลากร ส่งเสริมพัฒนาให้บคุ ลากรมีความรู้ ความสามารถใน ทุกๆ ด้าน การพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้แก่ สนับสนุนอาหารกลางวันและอาหารเสริม นม ส�าหรับเด็ก สนับสนุนกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนในเขต ต�าบล ส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปຑญญาท้องถิ่น ส่งเสริมประเพณี ท้องถิ่น การพัฒนาด้านอื่นโ ได้แก่ อุดหนุนที่ท�าการปกครอง อ�าเภอกุดชุม อุดหนุนโรงเรียนในเขตพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบ อุดหนุน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ YASOTHON 145


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL หรือประมาณ ํ๒,๏๔๎ ไร่ รับผิดชอบพื้นที่การปกครอง ภายในต�าบลหนองหมี ํ๎ หมู่บ้าน อาชีพหลักของชาวต�าบล หนองหมีคอื การท�านา และมีอาชีพเสริมคือ การเลีย้ งสัตว์ การ ท�าไร่ และปลูกพืชผักสวนครัว

I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y

@YI/<_J.+F"1^k@<Y @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALR@T.RH¥

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

R@T.RH¥

องค์การบริหารส่วนตําบลหนองหมี มีที่ท�าการตั้งอยู่ ทีเ่ ลขที่ ํ๑๕ หมูท่ ี่ ๏ บ้านหนองแคน ต�าบลหนองหมี อ�าเภอ กุดชุม จังหวัดยโสธร ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกห่างจากอ�าเภอ กุดชุมประมาณ ํ์ กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ ๐๓ กิโลเมตร ปຑจจุบันมีนายจตุรงค์ ชื่นตา ด�ารง ต�าแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตําบล นายมีเดช มุงคุณมณี ด�ารงตําแหน่งประธานสภาองค์การบริหารส่วนตําบล และ นางทัศนีย์ สารทอง ด�ารงต�าแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบลหนองหมี

)CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลหนองหมี เป็นองค์การบริหาร ส่วนต�าบลขนาดกลาง มีพื้นที่ประมาณ ๑๎ ตารางกิโลเมตร 146

องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองมีมภี ารกิจส�าคัญในการ จัดบริการสาธารณะให้ตอบสนองปຑญหาและความต้องการ ของประชาชนในพืน้ ที่ จึงได้กา� หนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและ แนวทางพัฒนา แผนพัฒนาสามปี พ.ศ.๎๑๒์-พ.ศ.๎๑๒๎ ดังนี้ ํ ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ๎ ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวติ และเสริมสร้าง เศรษฐกิจฐานราก ๏ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอยู่เย็นเป็นสุข ๐ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว ๑ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศิลปะ วัฒนธรรมจารีตประเพณี และภูมิปຑญญาท้องถิ่น ๓ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาตามนโยบายที่ส�าคัญของรัฐบาล

@eIAYI)T.C`CAJ[RYJ

องค์การบริหารส่ รส่วนต�าบลหนองหมี ภายใต้การบริหารงานของคณะผูบ้ ริหาร ชุดปຑจจุบนั ได้กา� หนดนโยบายการบริหาร ไว้โดยจะน�าหลักธรรมาภิบาลมาเป็น แนวทางในการบริหารงานและป ิบัติ

@Y.>XO@¥IF"QYJ>T.


หน้าที่ บริหารงานด้วยความเสมอภาคเป็นธรรม ซือ่ สัตย์สจุ ริต โปร่งใส มีส่วนร่วม มีความรับผิดชอบ และคุ้มค่า

CL(YJ;pYc@[@.Y@>¥kQpY+X4

เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ครบ ๓์ ปี วันที่ ๕ มิถนุ ายน ๎๑๑๕ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๓ รอบ ๔๐ พรรษา วันที่ ํ๎ สิงหาคม ๎๑๑๕ เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาสอันเป็น มหามงคล และสนองแนวพระราชด�าริในการอนุรกั ษ์ทรัพยากร น�า้ และปຆา รวมทัง้ เป็นการสร้างจิตส�านึกของประชาชนในการ รักษาสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จึงได้จัด กิจกรรมปลูกต้นไม้เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในทีส่ าธารณะของหมูบ่ า้ น บริเวณสถานที่ป ิบัติงาน ฝຄกอบรมเชิงป ิบัติการลดขยะมูลฝอยในชุมชนด้วย หลัก ๏ ให้แก่ประชาชนในพืน้ ที เพือ่ กระตุน้ และสร้างจิตส�านึก การมีส่วนร่วมของประชาชนในการลดการขนขยะเข้าบ้าน ไม่วา่ จะเป็นถุงพลาสติก ถุงกระดาษ กระดาษห่อของ โ ม การใช้ซา�้ การน�าสิง่ ของทีใ่ ช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ ใช้ ถุงพลาสติกทีไ่ ม่เป຅อຕ นเก็บไว้ใส่ของหรือใช้เป็นถุงใสขยะ การคัด แยกขยะรีไซเคิล แต่ละประเภท เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก น�าไปขายหรือบริจาคเข้าธนาคารขยะ โครงการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ในชุมชน หมู่บ้านน่าอยู่ องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองหมี อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยก�าหนดให้บา้ นหนองแคน หมูท่ ี่ เป็นหมูบ่ า้ นน�าร่อง โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ มีการจัดกิจกรรมจ�านวน กิจกรรม จัดท�ารั้วบ้านรอบหมู่บ้าน ปลูกพืชผัก สวนครัวและจัดท�า ปງายคติพจน์ ติดตามรัว้ ของหมูบ่ า้ น จัดท�าศาลาคุม้ แต่ละคุม้

จ�านวน ๐ คุ้ม พร้อมมีการประกวดคุ้ม จัดท�าปງายหมู่บ้าน ใหม่ ท�าความสะอาดของถนน ทางน�้า ทางเดิน และที่ สาธารณะ ก�าจัดมูลฝอยและสิง่ ป กิ ลู กิจกรรมจัดสถานที่ ดับเพลิงประจ�าหมู่บ้าน ซึง่ ได้รบั ความมือจากชุมชน และส่วนราชการต่างๆ ส่งผล ให้บ้านหนองแคนได้รับรางวัลจากการประกวดตามโครงการ คัดเลือกหมูบ่ า้ นดีเด่น บ้านสวยเมืองสุข กรมการปกครอง รางวัล ชนะเลิศระดับอ�าเภอ รางวัลชนะเลิศระดับจังหวัด รางวัลรอง ชนะเลิศระดับเขต 1 โดยเน้นการมีสว่ นร่วมของชุมชนร่วมแรง ร่วมใจกัน พร้อมมีการขยายผลการด�าเนินการอย่างต่อเนือ่ ง ไป ยังบ้านจวงเจริญ บ้านบะยาว บ้านศรีชุมพล โครงการชาวต�าบลหนองหมีสุดยอด ปลอดเหล้าใน งานศพ ประจ�าปี 2559 กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การ บริหารส่วนต�าบลหนองหมี

โดยก�าหนดหลักเกณฑ์การด�าเนินโครงการงานศพปลอด เหล้า แต่งตัง้ คณะกรรมการประชุมชีแ้ จงวัตถุประสงค์โครงการ ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน และอาสาสมัคร สาธารณสุข และประชุมประชาคมหมูบ่ า้ นทุกหมูบ่ า้ น เพือ่ หา มติรว่ มกันในการด�าเนินงานเรือ่ งงานศพปลอดเหล้าในหมูบ่ า้ น ประชาสัมพันธ์และรับสมัครขึ้นทะเบียนครอบครัวที่เข้าร่วม โครงการ จัดท�าปງายประชาสัมพันธ์งานศพปลอดเหล้า ติดทาง เข้าหมูบ่ า้ น และบริเวณงาน หน้างาน เพือ่ ให้ประชาชนเกิดความ เข้าใจและตระหนัก รณรงค์และด�าเนินกิจกรรมด้านปลอดเหล้า ปลอดเครือ่ งดืม่ แอลกอ อล์ ในงานศพเป็นงานน�าร่อง ติดตาม ประเมินผล สรุปผลงานอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ พัฒนารูปแบบกิจกรรม และขยายผลการด�าเนินงาน ลดค่าใช้จ่ายในการจัดงานที่ไม่ จ�าเป็นลงได้ ลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุทางการจราจร ลดเหตุ ทะเลาะวิวาท เป็นการกระต้นให้ชุมชนได้ตระหนักถึงโทษการ ดืม่ เหล้าหรือของมึนเมาอย่างอืน่ อีกทัง้ ยังจะเป็นจุดเริม่ ต้นของ การ ลด ละ เลิก อย่างถาวร และสามารถ เป็นตัวอย่างแก่บคุ คล ในครอบครัวและบุคคลอื่น ต�าบลอื่นได้ ติดต่อ อบต หนองหมี โทรศัพท์ โทรสาร YASOTHON 147


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL EX@?([/(YJEX9@Y"

พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ด้ า นการคมนาคม และการ สาธารณูปโภค 2. พัฒนาสังคม การแก้ไขปຑญหาความยากจน และยกระดับ คุณภาพชีวิต 3. ส่งเสริมการรวมกลุ่มการผลิตเกษตรปลอดสารพิ ษและ เกษตรอินทรีย์ 4. สืบสานอนุรกั ษ์ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมปิ ญ ຑ ญาท้องถิน่ 5. เสริมสร้างคุณธรรม รู้รักสามัคคี

+NYHRHYI)T.<JYQX4LX(P:F

วงกลมด้านนอก หมายถึง องค์การบริหารส่วนต�าบลโพนงาม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร วงกลมด้านใน หมายถึง ต้นไม้ ภูเขา กอง าง นกบิน บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่การเกษตร

BJWNX<[+NYHcBJ@HY

@YIBJWI.+F";N.d(CN @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALeE@.YH

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

eE@.YH

ท้าวลือค�าหาญราษฎรบ้านเวียงจันทร์ และญาติพี่น้อง อพยพหาที่ตั้งถิ่นฐาน จนมาถึงบริเวณที่ราบสูงแห่งนี้ เห็นว่า เป็นท�าเลทีด่ เี หมาะแก่การอยูอ่ าศัยและท�าการเกษตร จึงได้ตงั้ หลักฐานเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยเรียกชือ่ บ้านโพนงาม ตามภูมลิ กั ษณ์ท่ี ตั้งหมู่บ้าน ต่อมามีราษฎรเมืองอุบลและราษฎรเมืองร้อยเอ็ด ต่างพากันมาตัง้ ถิน่ ฐานบ้านเรือนร่วมอาศัยอยูด่ ว้ ย จนกระทัง่ ปี พ.ศ.2520 ทางราชการได้จดั เขตการปกครอง จัดตัง้ เป็นต�าบล เรียกว่า ๡ต�าบลโพนงาม๢ มาจนถึงปຑจจุบนั แบ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 1 หมูบ่ า้ น และได้รบั การยกฐานะจากสภาต�าบล เป็น องค์การบริหารส่วนตําบลโพนงาม ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 25 0

)CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลโพนงาม มีพื้นที่ทั้งหมด

<pYAL@BYTI`B"c(P<JT[@>J¥IF (CYNR@CY"BJW1Y1@H¥QBN@JBNH คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลโพนงาม ต�าบลโพนงาม อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร โดยตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากอ�าเภอกุดชุมประมาณ 20 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 0 กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายประยงค์ ดวงแก้ว ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลโพนงาม และมี นางอมรรัตน์ ศรีวเิ ศษ ด�ารงต�าแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลโพนงาม 148

นางอมรรัตนຏ รีวิเ ลัดอง ຏการบริหารส่วนต้าบล


60,625 ไร่ คิดเป็น 9 ตารางกิโลเมตร มีสภาพโดยทั่วไปเป็น ทีร่ าบสูง มีปาຆ ไม้อยูท่ วั่ ไป ประเภทปຆาเป็นปຆาเบญจพรรณ สภาพ ดินเป็นดินร่วนปนทราย อาศัยน�้าฝนในการเพาะปลูก เขตการปกครอง ประชากร ต�าบลโพนงามแบ่งการปกครอง เป็น 1 หมู่บ้าน มีประชากร ทั้งสิ้น 9,251 คน แยกเป็นชาย ,6 6 คน หญิง ,605 คน มีจ�านวน 2, 9 ครัวเรือนความ หนาแน่น 95.5 คน ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่รอ้ ยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม โดยมีอาชีพหลัก คือ ท�านา 5 มีพื้นที่ท�านา จ�านวน 2, 0 ไร่ อาชีพรองคือ ท�าไร่ 9.5 มีพนื้ ทีท่ า� ไร่ จ�านวน , 0 ไร่ และอาชีพอื่นๆ 5.5

OX(IGYE)T.1_H1@dLWE^l@>¥k

ตําบลโพนงามเป็นต�าบลทีใ่ หญ่แห่งหนึง่ ของอ�าเภอกุดชุม หากได้รบั การสนับสนุนให้เป็นศูนย์กลางการซือ้ -ขาย และการ ด�าเนินการทางเศรษฐกิจน่าจะเจริญได้ นอกจากนี้ยังมีศาสน โบราณสถาน วัดธาตุทอง บ้านเกีย้ งเก่า หมูท่ ่ี ต�าบลโพนงาม ซึง่ กรมศิลปากรได้ประกาศในราชกิจจาเล่มที่ 110 ตอนที่ 220 วันที่ 2 ธันวาคม 25 6 YASOTHON 149


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

R@T.dR@

องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองแหน อ�าเภอกุดชุม ยโสธร เป็นต�าบลที่ประชาชนมีจิตส�านึกในการพิทักษ์ ຅ຕน ู และ อนุรกั ษ์ทรัพยากรปຆาชุมชนไว้อย่างน่ายกย่องและชืน่ ชม ภายใต้ ชือ่ ๡กลุม่ ราษฎรอาสาสมัครพิทกั ษ์ปาຆ ต�าบลหนองแหน๢ โดยการ สนับสนุนของ นายเทอดศักดิ์ สมภักดี นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลหนองแหน ซึ่งเป็นที่ปรึกษากลุ่มฯ ด้วย

ผลจากการพิทกั ษ์ปกปງองผืนปຆาอย่างจริงจังนี้ ท�าให้กลุม่ ราษฎรอาสาสมัครพิทกั ษ์ปาຆ ต�าบลหนองแหน ได้รบั รางวัลด้าน สิง่ แวดล้อมถึงสองรางวัล นัน่ คือ รางวัล ๡ลูกโลกสีเขียว๢ ครัง้ ที่ 6 ปี 25 ประเภทชุมชน และรางวัล ๡สิปปนนท์เกตุทตั 5 ปี แห่ง ความยั่งยืน ปี 255 150


อ่างเกใบน้​้ากกกุง

นอกจากนีอ้ งค์การบริหารส่วนต�าบลหนองแหน ยังมีการ ส่งเสริมกิจกรรมของชุมชนในด้านต่างๆ เช่น ส่งเสริมอาชีพ  กลุ่มโคขุนต�าบลหนองแหน  กลุ่มสตรีทอผ้าหนองแหน  กลุ่มสมุนไพรนวดแผนโบราณ กลุ่มโ ขุนต้าบลหนองแหน ผาอีด่าง

ระธาตุเขี้ยวแก้ว

กลุ่มสตรีทอผ้าหนองแหน อบรมอา ี

อบรมอา ี

กลุ่มสมุนไ รนวดแผนโบรา

  

ส่งเสริมพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ด้านธรรมชาติ ด้านศาสนาวัฒนธรรม ด้านส่งเสริมให้ความรู้ YASOTHON 151


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัดกุด ุม

NX;(_;1_H cL)>¥k" "RH`B" "ACY@(_;1_H"<pYAL(_;1_H" TpYcGT(_;1_H"/X.RNX;IeQ?J"" H¥c@^lT>¥k"\ "gJB"£ "<YJY.NY BJWNX<[NX;(_;1_H

วัดกุดชุม ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2 66 ตลอดระยะเวลาที่ตั้งวัดนี้มา ยังไม่มีเจ้าอาวาส มีก็เพียงแต่ หลวงตามาบวชได้พรรษาสองพรรษา ก็ลาสิกขาออกไปเวียนอยู่ อย่างนีม้ า จนมาถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2 9 กรมศิลปากร ได้เข้ามาส�ารวจและได้มาสร้างสิม โบสถ์ไม้หลังทีเ่ ห็นในปຑจจุบนั

(YJB(+JT.dLW(YJEX9@YNX;

ในปี พ.ศ.2510 พระครูวนิ จิ ธรรมสาธร มาเป็นเจ้าอาวาส องค์แรกของวัดกุดชุม ซึ่งท่านได้ดูแลรักษาและพัฒนาวัดนี้มา 152

เรือ่ ยๆ จนถึงปี พ.ศ.25 1 ท่านก็ได้กอ่ สร้างวิหารหลังปຑจจุบนั นีข้ นึ้ 1 หลัง แต่ยงั สร้างยังไม่ทนั แล้วเสร็จ ท่านก็ละสังขารเสียก่อน ต่อมาในปี พ.ศ.25 หลวงพ่อสุพัฒน์ หรือพระครู สุวมิ ลพัฒนกิจ สุมโน ก็ได้เข้ามาเป็นเจ้าอาวาส และมีพระลูกวัด รูป ท่านเข้ามาพัฒนาวัดนีไ้ ด้ไม่นาน ก็ได้เลือ่ นชัน้ ขึน้ รับต�าแหน่ง เป็นเจ้าคณะต�าบล อยูต่ อ่ มาเพียงไม่กปี่ ี ท่านก็ได้เลือ่ นสมณศักดิ์ ขึ้นมาเป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอ พระครูสวุ มิ ลพัฒนกิจท่านเป็นพระนักพัฒนา เมือ่ ท่าน ไปอยูท่ ใี่ ดก็จะสร้างทีน่ น่ั ให้เจริญ โดยเฉพาะทีว่ ดั กุดชุมนัน้ ท่าน ได้มาสร้างและพัฒนาให้เจริญรุง่ เรืองได้อย่างรวดเร็ว ด้วยศรัทธา บารมีของท่าน ญาติโยมจึงให้ความศรัทธาเลื่อมใสท่านอย่าง ล้นหลาม เพียงท่านเอ่ยว่าจะสร้างอะไร เป็นต้องได้อย่างทันตา เห็นเลยทีเดียว และสิ่งที่ท่านพูดและลงมือท�าเป็นต้องส�าเร็จ ทุกเรือ่ งไป อันด้วยศรัทธาบารมีทญ ี่ าติโยมมีตอ่ ท่านมาตลอด ท�าให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่ท่านคิดและท�า จึงเป็นผลส�าเร็จตาม ปรารถนา ไม่เพียงเท่านั้น ท่านยังเป็นพระอุปຑช าย์ที่มีบารมี สูงส่ง เป็นที่ศรัทธาของสานุศิษย์และสาธุชนทั้งหลาย ทว่าหลังจากท่านเข้ามาพัฒนาและสร้างวัดกุดชุมให้ เจริญขึ้นท่านก็เริ่มปຆวยเป็นโรค มะเร็งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2550


ระ รูสุวิมล ั นกิ

ระบ้ารุง เต วโร

ตลอดระยะเวลาที่ท่านปຆวยมา 9 ปี ได้มีลูกศิษย์ก้นกุ ิที่เป็น พระอุปຑ ฐากและอยูเ่ คียงข้างท่านมาตลอด เรียกได้วา่ เป็นศิษย์ หัวแก้วหัวแหวนเลยก็วา่ ได้ พระอุปຑ ฐากรูปนัน้ คือ พระบํารุง เตชวโร จบนักธรรมเอก พรรษา การศึกษาทางโลกส�าเร็จ ปริญญาตรี รปบ. ซึง่ เป็นผูอ้ ปุ ຑ ฐากดูแลหลวงพ่อพระครูสวุ มิ ล พัฒนกิจจวบจนวาระสุดท้าย ซึ่งในระหว่างที่พระครูสุวิมลพัฒนกิจปຆวย ท่านได้สร้าง โบสถ์หลังปຑจจุบนั นีข้ นึ้ แล้วเสร็จภายใน 5 ปี โดยโบสถ์หลังนีเ้ ป็น โบสถ์ระเบียง จึงเป็นโบสถ์ที่ใหญ่มากและเป็นโบสถ์หลังแรก ของจังหวัดยโสธรที่เป็นโบสถ์ระเบียง ใช้งบในการสร้างเกือบ 20 ล้านบาท และทางวัดกุดชุมได้ก�าหนดจัดงานฉลองสมโภช โบสถ์ ในวันที่ 9-11 ธันวาคม 2559 แต่ยังไม่ทันได้จัดฉลอง สมโภชโบสถ์ หลวงพ่อก็มาละสังขารไปเสียก่อน ในวันที่ 21 เมษายน 2559 ทีผ่ า่ นมา ยังความเศร้าโศกให้กบั สานุศษิ ย์และ สาธุชนทั้งหลาย ซึ่งต่างเสียใจที่ต้องมาสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ เพื่ อ เป็ น การร� า ลึ ก ถึ ง คุ ณ งามความดี ท่ี พ ระครู สุ วิ ม ล พัฒนกิจได้สร้างสมไว้เพือ่ จรรโลงพระพุทธศาสนา และเพือ่ แสดง กตัญຐูกตเวทิตาต่อองค์หลวงพ่อเป็นครัง้ สุดท้าย วัดกุดชุมจึง ขอเรียนเชิญศิษยานุศษิ ย์ทงั้ หลาย มาร่วมงานฉลองสมโภชโบสถ์ ในวันที่ 9-11 ธันวาคม 2559 และร่วมงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงพ่อพระครูสวุ มิ ลพัฒนกิจ ในวันที่ 21-2 กุมภาพันธ์ 2560 โดยถ้วนหน้ากัน YASOTHON 153


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัดหนองแ น

NX;R@T.d+@ NX;R@T.d+@" QX.(X;+:WQ.-FHRY@[(YI" <Xl.TI`B RH`BACY@R@T.d+@"RH`B>¥k"¦"<ホR@T.RH¥"Tホ(_;1_H" /ホIeQ?J"TI`<B ;[ =@@QYI(_;1_H"ACY@d;."RBY./Y( <XNTpYcGT(_;1_HgB>Y.>[O<WNX@<(" ⁄" ([eLcH<J" >¥k;[@<Xl.NX;/pY@N@"¢"gJBcOP"BH//_AX@H¥"EJW+J`eQ< =?JJHeQG[<"ネBJWcQJ[7"NJ?HaeHノ"cBJ@c/CYTYNYQ

BJWNX<[NX;R@T.d+@

วัดหนองแคน ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2 1 วัดหนองแคนมี พระสง ด์ แู ลพัฒนาต่อกันมาหลายรุน่ ไม่เคยขาด มีความเจริญ รุ่งเรืองที่สุด ตั้งแต่ราว พ.ศ.2500 ภายใต้การพัฒนาของ หลวงปูส่ ี สมาจาโร ซึง่ มีพระภิกษุสามเณรจ�าพรรษามากทีส่ ดุ มีการเรียนการสอนทั้งทางโลกทางธรรมจนเป็นที่กล่าวขวัญ ของผู้คน กอปรกับองค์หลวงปูຆท่านมีความเมตตาสูง มีความ สามารถทั้งทางโลกและทางธรรม เชี่ยวชาญทางเวทย์มนต์ สามารถขจัดทุกข์ให้กับญาติโยมลูกหลานได้ 154

ด้านการพัฒนาวัตถุ หลวงปูสຆ ี ท่านได้สร้างเสนาสนะมาก มาย เช่ย กุ สิ ง ์ หอระ งั ศาลาการเปรียญ แต่เนือ่ งจากวัสดุ ส่วนมากเป็นไม้ จึงช�ารุดไปจนหมดสิ้น ในปี พ.ศ.2550 ด้านการพัฒนาคน หลวงปูสຆ ี ท่านให้ทง้ั ข้อธรรมและการ ศึกษาจนหลายคนประสบความส�าเร็จในชีวติ มีงานท�าลีย้ งตน เลี้ยงครอบครัวได้อย่างสมบูรณ์ หลวงปูสຆ ี ท่านถึงแก่มรณภาพลงเมือ่ พ.ศ.251 แต่จนถึง ปຑจจุบัน ศานุศิษย์และลูกหลานก็ยังคงบูชาคุณของท่านไม่ได้ เสื่อมคลาย ประหนึ่งปูชนียบุคคลของชุมชน วัดหนองแคนเป็นวัดที่ก�าลังพัฒนา ปຑจจุบันมีพระครู โสตถธรรมโสภิต ประเสริฐ วรธมฺโม ในจิตร์ เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ พ.ศ.25 9


ระ รูโสต ธรรมโส ติ ระเสริ วรธมฺโม ใน ติ รຏ เ า้ อาวาส

cQ@YQ@WQpY+X4

บริเวณวัดโดยรวมมีความร่มรืน่ ต้นไม้พดู ได้ มีเสนาสนะ ประกอบด้วย วิหารเหรียญบาท, อุโบสถ, เมรุ, กุ สิ ง ์ 6 หลัง, มณฑปอดีตเจ้าอาวาสหลวงปูຆสี สมาจาโร, หอฉัน, โรงครัว, ศาลาเอนกประสงค์, ห้องสุขา 15 ห้อง

BJWNX<[(YJ(BTQJCY.T_eAQ=

ในสมัยทีพ่ ระครูโสตถธรรมโสภิต ประเสริฐ วรธมฺโม ในจิตร์ เพิ่งบวชได้เพียงหนึ่งพรรษา ก็ได้ปรารภกับเจ้าอาวาสในขณะ นัน้ คือหลวงปูบ่ วั เลิง จนฺทสาดร เรือ่ งการสร้างอุโบสถ หลวงปูຆ ก็เห็นดีดว้ ย เริม่ ต้นด้วยทุนทรัพย์เพียง 60,000 บาท หกหมืน่ บาท และหาทุนเพิ่มเรื่อยมา โดยเน้นการลงมือท�าเอง การ สร้างครั้งนั้นใช้เงินทั้งสิ้น 1,6000,000 เศษ หนึ่งล้านหกแสน นับเป็นอุโบสถที่ใช้ทุนสร้างถูกมาก ปຑจจุบันใช้เป็นอุโบสถ ศูนย์กลางของต�าบลในการให้อุปสมบท ภายในอุโบสถมีภาพวาดจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งได้รับการ ตกแต่งเอง แม้จะไม่มศี ลิ ปินด้านนีเ้ ลย แต่ดว้ ยความพากเพียร และขาดทุนทรัพย์ในการจ้างช่างวาดเขียน จึงตัดสินใจพาลูก ศิษย์ วาดเองจนส�าเร็จดังที่ปราก

BJWNX<[(YJ(BTQJCY.N[RYJcRJ¥I4AY>

วิหารเหรียญบาท ริเริ่มก่อสร้างโดยพระครูโสตถิธรรม โสภิต สาเหตุทไี่ ด้ชอื่ ว่า ๡วิหารเหรียญบาท๢ เนือ่ งจากใช้ทนุ เริม่ ต้นเป็นเหรียญบาท โดยการแจกกระปุกออมสินให้ผู้มีศรัทธา หยอดให้ แล้วน�ามาทอดถวาย และยังต้องใช้ทนุ ส่วนนีเ้ รือ่ ยมา จนถึงปຑจจุบันการก่อสร้างด�าเนินไปด้วยทุนเหรียญบาทผ่าน ไปราว 0 เปอร์เซ็นต์

ลักษณะเด่น เป็นวิหารทีค่ ดิ แบบขึน้ เอง ลงมือก่อสร้างเอง โดยพระครูโสตถิธรรมโสภิต เจ้าอาวาส เป็นอาคารคอนกรีตชัน้ ครึ่ง มีระเบียงชั้นลอยทั้งรอบนอกรอบใน และระเบียงชั้นล่าง ไว้ประกอบพิธเี วียนเทียนในยามฝนตก ตัวอาคารกว้าง 21 เมตร ยาว เมตร สูงถึงยอดฉัตร 1 เมตร พืน้ ทีใ่ ช้สอยรวม 1,15 ตารางเมตร งบประมาณคาดการ 20 ล้านบาท ปຑจจุบันใช้งบ ประมาณไปแล้ว 11 ล้านเศษ ภายในวิหารประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย หน้า ตัก เมตร สูง 9 เมตร ประทับบนแท่นสูง เมตร เป็นพระ ประธานปูนปຑนຕ ช่างปຑนຕ ก็คอื พระครูโสตถิธรรมโสภิต เจ้าอาวาส นับเป็นพระประธานประจ�าวิหารที่องค์ใหญ่มาก พระนามว่า ๡หลวงพ่อชนะมาร๢

B:[?Y@EJW+J`eQ<=?JJHeQG[<

“ข้าพเจ้าขอมอบกายถวายชีวิตนีๅแก่ พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า พระสง ์เจ้า” จากชีวติ ทีไ่ ม่มอี ะไร 26 พรรษาทีอ่ ยูใ่ ต้รม่ ผ้ากาสาวพัสตร์ ยังพอให้มสี งิ่ ภาคภูมใิ จ ทีไ่ ด้ถวายหยาดเหงือ่ ถวายสติปญ ຑ ญา ถวายชีวิตไว้ในพระพุทธศาสนา และยังจะบากบั่นต่อไปไม่ หยุดจนกว่าชีวิตจะหาไม่ ขอท่านทั้งหลายจงมีส่วนแห่งบุญที่ ข้าพเจ้าได้กระท�าแล้วทั่วกันเทอญ

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

ขอเรียนเชิญสาธุชนที่มีจิตศรัทธา ร่วมสร้างเส้นทางบุญ โดยบริจาคสมทบทุนก่อสร้าง ๡วิหารเหรียญบาท๢ ได้ท่ี พระครู โสตถิธรรมโสภิต เจ้าอาวาสวัดหนองแคน โทรศัพท์ 0 959 2 51 หรือ watnongcan@gmail.com zbtpuipo"155


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัดบ้านโนนให ่

NX;e@@fR4B

156

BJWNX<[+NYHcBJ@HYNX;dLWACY@e@@fR4B

ปຑจจุบนั บ้านโนนใหญ่ หมูท่ ี่ ๕ ต�าบลห้วยแก้ง อ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร พื้นที่ตั้งหมู่บ้านเป็นปຆาไม้ใหญ่ร่มรื่นและเป็น พื้นที่สูงจอมปลวกใหญ่อยู่กลางหมู่บ้านและทิศตะวันตกของ วัด ภาษาท้องถิ่น เรียกกันว่าโพนใหญ่ ต่อมาก็เลยเพี้ยนเป็น โนนใหญ่ ปຑจจุบนั พืน้ ทีจ่ อมปลวกราบหมดแล้วทัง้ ๎ แห่งพืน้ ที่ ของวัด ขุดเอาดินโพนมาท�าอิฐสร้างอุโบสถสมัยนัน้ เป็นหมูบ่ า้ น ขยับขยายมาจากบ้านสีสุก ต�าบลดู่ลาด อ�าเภอยโสธร จังหวัด อุบลราชธานีปี พ.ศ.๎๐๑๕ โดยนายสมบัติ งามแก้ว, นายชาย วงละคร, นายท้าว สามารถต่อมาหมู่บ้านได้พร้อมใจกันสร้าง วัดขึน้ เป็นทีเ่ หมาะสมเป็นปຆาไม้ใหญ่รม่ รืน่ เป็นทีด่ นิ ของนาย บุดดา ชายทวีป บริจาคจ�านวน ๐ ไร่ โดยการน�าของพระค�าพา ศรีละโคตร ไม่ทราบฉายา ได้พาชาวบ้าน สร้างกุ ิ ํ หลัง ศาลา การเปรียญ ํ หลัง เป็นไม้ทงั้ หมด พ.ศ.๎๐๒๔ นายสิงห์ งามแก้ว ได้รบั แต่งตัง้ เป็นผูใ้ หญ่บา้ นคนแรก หลายปี ต่อมา พระหมีหรือ ชาวบ้านเรียก ยาคูหมี ได้มาจ�าพรรษาทีว่ ดั โนนใหญ่ ยาคูหมี มีอยู่ ๎ รูป รูปที่ ํ มาจากบ้านโนน งั จังหวัดอุบลราชธานี อยูม่ าหลาย


เม า บรร าสามเ ร า ดูร้อนทุก ຃

ระ รูวินิตธรรมวง ຏ เ ้าอาวาส

ปีได้จดั ตัง้ ส�านักเรียนขึน้ ในสมัยนัน้ เรียนตัวขอม ตัวธรรม เรียน สน มูลกระจาย จนมีชื่อเสียงพระ-เณร มาเรียน จากหมู่บ้าน ต่างๆ ไม่เคยขาด

JYI1^kTc/CYTYNYQ/Y(T;¥</@=].BH//_AX@

ํ. พระอธิการประเทียง จนฺทโชโต มรณภาพ ๎. พระอธิการสีทา อคฺคธมฺโม มรณภาพ ๏. พระครูวินิตธรรมวงศ์ รูปปຑจจุบัน

YASOTHON 157


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

ระธาตุเ ดียຏ ุทธิ ุ

NX;B=YE_>?[+_: <Xl.TI`BcL)>¥k"£"ACY@R@T.dR@"<pYALR@T.dR@"TpYcGT(_;1_H"/X.RNX;IeQ?J"BH//_AX@H¥" EJW+J`TJX4NX9@+_:"RJ^T"RLN.EBTQHA`J:F"E_>?[N8_9e@"cBJ@c/CYTYNYQT.+FB7HJ`BdJ(

158


ระ รูอรั วั น ุ หรือ หลวง ่อสมบูร ຏ ุทธิว ุ โน เ ้าอาวาสอง ຏ มรู แรก

BJWNX<[NX;B=YE_>?[+_:

วัดแห่งนี้มีเนื้อที่ 2 ไร่ เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.25 6 โดย พระอาจารย์สมบูรณ์ พุทฺธิว ฺฒโน เป็นผู้น�าพาชาวบ้านก่อ ตัง้ วัดนี้ จากการบริจาคทีด่ นิ และร่วมซือ้ ถวายจากชาวบ้านและ ผูม้ จี ติ ศรัทธา และได้บกุ เบิกพัฒนาจากทีด่ นิ โล่งเตียน จนกลาย เป็นอารามในปຆาที่สงบร่มรื่นดังในปຑจจุบัน

cQ@YQ@WQpY+X4

1. EJWE_>?J`BT.+FfR4B

พระพุทธวโรดมบรมพุทธิคุณ สมเดใจพระญาณสังวรสมเดใจพระสัง ราชสกลมหาสัง ปรินายก ทรงประทานนามถวาย และบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ ทีท่ รงประทานบรรจุในพระเกษ โดยพระเทพสังวรญาณ หลวง ตาพวง สุชนิ ทริโย บรรจุ และพระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัด ยโสธร เป็นประธานเจริญพระพุทธมนต์สมโภช พระพุทธวโรดม บรมพุทธิคุณเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ หน้าตัก 5 เมตร สูง 9 เมตร ซึ่งทางวัดจัดให้มีงานประเพณีไหว้พระใหญ่ประจ�าปี ใน วันขึ้น 6- - ค�่า เดือน ตลอดมา

2."EJW?Y<_c/;¥IEF >_ ?[+: _ หลวงพ่อพระครูอรัญวัฒนคุณ

ได้อธิษฐานจิตก่อสร้างในปี พ.ศ.2556 โดยพระวินยั สุนทรเมธี

หลวงพ่อบรรลัง วัดพระพุทธบาทยโสธร เป็นประธานวางศิลา ฤกษ์ ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันต์ธาตุ และ อัฐธิ าตุของพระสง ผ์ ทู้ รงอภิญญาในปຑจจุบนั มากมาย เพือ่ ให้ พุทธศาสนิกชนได้กราบสักการบูชาเพื่อเป็นสิริมงคล

3."EJW?Y<_c)¥Il Nd(CN/pYLT. จากวัดในเมืองแคนดี้ ประเทศ

ศรีลังกา โดยมีคุณธัญวดี พันธ์ศรีมังกร และคณะท่านผู้มีจิต ศรัทธา ร่วมอัญเชิญมาประดิษฐาน ณ ภายในเจดีย์พุทธิคุณ โดยมีพระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดยโสธร เป็นประธาน สง ฝ์ าຆ ยไทย และท่านเจ้าคณะจังหวัดแคนดี้ เป็นประธานสง ์ ฝຆายศรีลังกา เป็นผู้แทนท่านเวนทูรุเวอุปาลีวังสะเถระ สมเด็จ พระสัง ราชศรีลังกา เป็นผู้น�ามาถวายให้ไว้ ในวันที่ 29 - 1 มีนาคม 2559

+NYHQpY+X4)T.NX;

วัดป่าพุทธิคณ ุ เป็นวัดส�าคัญประจ�าหมูบ่ ้านหนองแหน หมู่ที่ ดังที่ปราก ในค�าขวัญประจ�าหมู่บ้านว่า ๡สวยเด่นพระธาตุเจดีย์ ประเพ ีพระ฿หญ่เดือนสาม งดงาม ูเขา฽นวปຆา มากค่าด้วยน�้า฿จ เรียนรู้฿นกลุ่มโคขุน ชุมชนคนหมู่ ๢ YASOTHON 159


([/(JJH)T.NX;

วัดป่าพุทธิคุณ เป็นศูนย์รวมจิตใจ ความศรัทธา ความ รักสามัคคีของชาวบ้านต�าบลหนองแหน นับจากอดีตจวบจน ปຑจจุบัน โดยทางวัดได้จัดกิจกรรมภายใต้แนวคิด ๡5 ลาน วิถี๢ ดังนี้ 5 ลาน ได้แก่ ลานวัด ลานธรรม ลานกีฬา ลานบุญ ลาน ปຑญญา วิถี ได้แก่ วิถีไทย วิถีพุทธ วิถีธรรม

([/(JJH.Y@A_4BJW/pYNX;

1. บุญประจ�าปีประเพณีไหว้พระใหญ่ บูชาพระธาตุเจดีย์ วันขึ้น 6- - ค�่า เดือน ของทุกปี 2. บุญสรงน�า้ พระสงกรานต์ อาบน�า้ พระพุทธมนต์ครอบ จักรวาล วันที่ 15 เมษายน ของทุกปี 3. พิธีสวดมนต์สืบชะตา สะเดาะเคราะห์ เพื่อเป็นสิริ

160

มงคล กลางเดือนธันวาคม ของทุกปี

.Y@E[?¥QpY+X4)T.NX;

“งานพิธปี ลูกต้นพระศรีมหาโพธิ”์ ซึง่ เป็นหน่อที่ 9 จาก กิ่งจากต้นพระศรีมหาโพธิ์จริงที่ พระพุทธเจ้าทรงประทับนั่ง ตรัสรู้ที่พุทธคยา โดยสมเด็จพระสัง ราชของศรีลังกา นิกาย สยามวงศ์ ทรงน�าหน่อดังกล่าวนี้มาจากเมืองอนุราธปุรี เพื่อ ประทานให้กับทางวัดปຆาพุทธิคุณได้ปลูกไว้เป็นเจติยสถาน ประจ�าวัด

BJWNX<[c/CYTYNYQ

พระครูอรัญวัฒนคุณ นามเดิม สมบูรณ์ ดวงวิชยั เกิดที่ บ้านใหม่ อ.วังเหนือ จ.ล�าปาง ปຑจจุบันอายุ 51 ปี พรรษา 0 ตําแหน่งทางคณะสง ์ เจ้าอาวาสวัดปຆาพุทธิคณ ุ รอง คณะอ�าเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร


cQC@>Y."AEC

>T>ホQY@DH@Q`B นย์ก างการ ินอาเ ียน >T>ホ"cJB.EX9@Y>BYTY(YOIY@Q_NJJ:G`Hc[ FQ" "fRC >X@f1CB": ¡¢ "2].k /W>pYfRC>YB TY(YOIY@Q_NJJ:G`HQ[ YHYJ= JT.JXAC`Ce;IQYJg;C=]." "LCY@+@<BTB:" cE^kTCLX(;X@fRC g>IcBJ@O`@IF(LY.(YJA[@)T.G`HG[ Y+TYc2¥I@TIBY.c<jH<XN

นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เปิดเผย หลั ง การหารื อ กั บ นายนิ ติ นั ย ศิ ริ ส มรรถการ กรรมการ ผูอ้ า� นวยการใหญ่ บมจ.ท่าอากาศยานไทย ว่าประเทศไทย ได้เปรียบด้านท�าเลทีต่ งั้ ซึง่ อยูศ่ นู ย์กลางของอาเซียน จะส่งผล ให้ไทยเป็นทัง้ ศูนย์กลางการค้า การลงทุน และการท่องเทีย่ วได้ แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ จ�าเป็นต้องเร่งพัฒนาท่านอากาศยานทัง้ 6 แห่ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึง่ เป็นสนามบิน หลัก เพือ่ ผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางการบินในภูมภิ าคอาเซียน อย่างแท้จริง นอกเหนือจากนี้ ยังต้องเร่งพัฒนาและยกระดับท่าน อากาศยานดอนเมืองให้เป็นศูนย์กลางการบินภายในประเทศ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานแม่ ງาหลวงเชียงราย ท่ า อากาศยานหาดใหญ่ และท่ า อากาศยานแม่ ງ า หลวง เชียงรายภูเก็ต เพือ่ จะท�าให้ภาคการท่องเทีย่ วขยายตัวได้เพิม่ ขึน้ รวมถึงการผลักดันให้ทา่ อากาศยานนานาชาติอตู่ ะเภาเป็น สนามบินพาณิชย์ระดับสากล เพื่อหนุนปริมาณการค้าการ ลงทุนที่เพิ่มขึ้น และช่วยยกระดับความสามารถในการแข่งขัน ในอาเซียนได้ ทางด้าน นายนิตนิ ยั ศิรสิ มรรถการ เปิดเผยว่า ทอท.มี แผนการลงทุนพัฒนาท่าอากาศยานทัง้ 6 แห่งในช่วง 10 ปี ภายใต้

งบประมาณการลงทุนกว่า 1.9 แสนล้านบาท ซึง่ แผนการพัฒนา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ ส 2 ในส่วนทีเ่ หลือนัน้ จะเร่งทยอย เปิดประมูลสัญญางานจ้างส่วนที่เหลือ ส่วน อาทิ ก่อสร้าง ส่วนขยายอาคารผู้โดยสารทิศตะวันออก อาคารส�านักงาน สายการบินและที่จอดรถด้านทิศตะวันออก การจัดซื้อพร้อม ติดตัง้ ระบบขนส่งผูโ้ ดยสารอัตโนมัติ งานก่อสร้างอาคาร เทียบเครือ่ งบินรองหลังที่ 1 ชัน้ 2 ชัน้ 1 และชัน้ ลานจอด อากาศยานประชิดอาคารเทียบเครือ่ งบินรองหลังที่ 1 และส่วน ต่อเชือ่ มอุโมงค์ดา้ นทิศใต้ การก่อสร้างอาคารเทียบท่าเครือ่ งบิน รองหลังที่ 1 ชัน้ 2- งานจัดซือ้ พร้อมติดตัง้ ระบบสายพานล�าเลียง กระเปຉา และระบบตรวจจับวัตถุระเบิด ขาออก รวมทั้งงานก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค เป็นต้น ส่วนความคืบหน้าโครงการก่อสร้างทางวิง่ เส้นที่ รันเวย์ ที่ และถนนเชือ่ มระหว่างรันเวย์ และโครงการก่อสร้างอาคาร ผู้โดยสารหลังที่ 2 2 นั้น ได้ยื่นขอ และ แล้วตามล�าดับ ซึ่งระหว่างการรอผลดังกล่าวก็ได้ด�าเนินการ ออกแบบควบคูก่ นั ไป ซึง่ คาดว่าจะใช้เวลาด�าเนินการ 10 เดือน ก็จะแล้วเสร็จ ทั้งในเรื่องการออกแบบและได้รับอนุมัติ และ ทั้งนี้ ทอท าดว่า ะสามาร เ ຂดรันเวยຏท่ี ได้ใน ຃ และอา ารผูโ้ ดยสารหลังที่ ก้าหนดเ ดຂ ให้บริการ ຃ งึ่ ะ ว่ ยให้สามาร รองรับผูโ้ ดยสารได้อกี ล้าน นต่อ ຃ ะท้าให้ทา่ อากา ยานสุวรร มู สิ ามาร รองรับ ผู้โดยสาร ล้าน นต่อ ຃ YASOTHON 161


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL BJWNX<[+NYHcBJ@HY

ประมาณต้นปี พ.ศ.2 0 คนเฒ่าคนแก่ได้เล่าความเป็น มาของการตัง้ บ้านเลิงนกทาว่า บริเวณล�าน�า้ เซบาย ในปຑจจุบนั มีนกทาอาศัยอยู่จ�านวนมาก ชาวบ้านจึงได้ตั้งชื่อบ้านเป็น ๡บ้านเลิงนกทา๢ เมือ่ ปี พ.ศ.2 0 ต่อมาได้ประกาศจัดตัง้ เป็น สุขาภิบาลเลิงนกทา เมือ่ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2 99 และได้ยก ฐานะเป็นเทศบาลตําบลเลิงนกทา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 25 2

)CTH`L>XkNgB

@YIT[>?[1XIIW"/]./[JeJ/@F @YI(c>OH@<J¥<pYALcL[.@(>Y

c>OAYL<pYALcL[.@(>Y cL[.@(>Y@BYTI`B"c1[;1`+_:?JJH" @pY(YJO](PY(CYNg(L คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตําบลเลิงนกทา ซึง่ มีส�านักงานเทศบาลตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านสวาท ต�าบลเลิงนกทา อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่าง จากศาลากลางจังหวัดยโสธร ประมาณ 6 กิโลเมตร ปຑจจุบัน มี นายอิทธิชยั ยะ จึงจิรโรจน์ ด�ารงต�าแหน่งนายกเทศมนตรี ตําบลเลิงนกทา 162

เทศบาลตําบลเลิงนกทา มีพื้นที่ทั้งหมด 2. 9 ตาราง กิโลเมตร มีจ�านวน หมู่บ้าน 5 ชุมชน ประกอบด้วย 1. ชุมชนร่วมมิตรสัมพันธ์ 2. ชุมชนสี่เสือพัฒนา 3. ชุมชนเกษมสุข 4. ชุมชนเลิงนกทา 5. ชุมชนเปงจาน ประชากร จ�านวนครัวเรือน 61 ครัวเรือน ประชากร จ�านวน 2,10 คน เพศชาย 1,010 คน เพศหญิง 1,09 คน ประชากร ประกอบ อาชีพ เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป ค้าขาย รับราชการ ด้านการศึกษา มีสถานศึกษาในสังกัด 2 แห่ง คือ โรงเรียนเทศบาลเลิงนกทา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2 6 เป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ทจ่ี ดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานใน ระบบ 2 ระดับ คือ ระดับชัน้ อนุบาล อนุบาล 1-2 และ ระดับ ชั้นประถมศึกษา ป.1-ป.6 มีจ�านวนเด็กนักเรียน 61 คน ข้อมูล ณ วันที่ 20 มิถุนายน 2559 เป็นโรงเรียนน�าร่องที่ได้ รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจาก สมศ. มาจนถึงปຑจจุบนั ศู น ย์ พั ฒ นาเดใ ก เลใ ก วั ด พรหมวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ภ ายในวั ด พรหมวิหาร รับเด็กนักเรียนช่วงอายุ 2- ปี มีเด็กนักเรียน จ�านวน 6 คน รับถ่าย โอนภารกิจจากกรม การศาสนา เมื่อปี 25

@YIBJWQYJ" EBN.BY@ BLX;c>OAYL<pYAL cL[.@(>Y


EX@?([/

พันธกิจที่ ปรับปรุงและพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ฿ห้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการ ขยายตัวของเมืองในอนาคต และเศรษฐกิจท้องถิ่น พันธกิจที่ การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาศั ก ยภาพของคน ครอบครัว และชุมชน฿ห้เขใมแขใงสามารถพึ่งตนเองได้ตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ การสร้างระบบบริหารจัดการทีด่ ี โดยให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหาร และการปกครอง พันธกิจที่ ปรับปรุง และพัฒนาระบบการศึกษา และ สาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอัน ดีงาม และภูมิปຑญญา พันธกิจที่ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ การบริหาร และการบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการที่ดี พันธกิจที่ การเพิม่ ประสิทธิภาพ฿นการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่ดี

พันธกิจที่ การสร้างความเข้มแขใงด้านการเงินการคลัง โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงินการคลัง ให้สอด รับกับอ�านาจหน้าทีแ่ ละภารกิจทีม่ อี ยูเ่ ดิม และทีไ่ ด้รบั โอนจาก การกระจายอ�านาจจากรัฐบาล พันธกิจที่ การเพิม่ ศักยภาพของผังเมือง ให้เป็นเครือ่ งมือ ชี้น�า และสนับสนุนการพัฒนาเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ โดย ไม่กอ่ ให้เกิดความขัดแย้ง หรือเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาด้าน อื่นๆ YASOTHON 163


Q=Y@>¥kQpY+X4

วัดพรหมวิหาร เป็นวัดทีม่ พี ระพุทธรูปองค์ใหญ่ทสี่ า� คัญ คือ สมเดใจสมณโ ดมพรหมวิหารญานรังษี พระพุทธนิมติ ร เป็นพระคู่บ้านคู่เมืองที่ประชาชนเลิงนกทาได้สักการบูชามา โดยตลอด โดยมีทา่ นพระครูพรหมวิหารโ ษิต เป็นเจ้าอาวาส วัดพรหมวิหาร

O[LBNX9@?JJHdLWBJWcE:¥

ประชาชนในเขตเทศบาลต�าบลเลิงนกทา ยังคงรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีวันส�าคัญต่างๆ เช่น ประเพณีวันขึ้น ปีใหม่ ประเพณีบญ ุ ผะเหวด ประเพณีวนั สงกรานต์ และประเพณี บุญบั้งไ เพื่อสืบทอดแก่เยาวชนรุ่นหลัง

CL(YJ;pYc@[@.Y@

โครงการฝຄกอบรมเชิงป บิ ตั กิ ารส่งเสริมอาชีพการทอเสือ่ กก ลายขิด 2. โครงการก่อสร้างศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต�าบลเลิงนกทา 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 4. โครงการจัดท�าแผนพัฒนาท้องถิ่น

164


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL

c>OAYL<pYALA_B.+CY N[QXI>XO@F"+^T

A_B.+CYcBJ@cH^T.@BYTI`B"dRLB.>BT.c>¥kIN EX9@Y"c(P<JT[@>J¥IF(CYNR@CY"" 1YNBJW1YTI`B;¥H¥Q_)Ÿ BJWNX<[e;IIBT

พ.ศ.2 จัดตั้งเป็นต�าบลบุ่งค้า พ.ศ.2529 ยกฐานะเป็นนิตบิ คุ คลจัดตัง้ เป็นองค์การบริหาร ส่วนต�าบลบุ่งค้า 16 กรกฎาคม พ.ศ.2551 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ยกฐานะเป็นเทศบาลต�าบลบุ่งค้า ที่ตัๅงและขนาด มี 19 หมู่บ้าน โดยยึดถือเขตต�าบล ทั้งหมดเป็นเขตเทศบาล มีเนื้อที่ทั้งหมด 202 ตารางกิโลเมตร หรือ 126,250 ไร่ มีเขตติดต่อ จังหวัด ได้แก่ ยโสธร มุกดาหาร อ�านาจเจริญ ภูมปิ ระเทศ ทีร่ าบ ทุ่งนา ปຆาไม้ ภูเขา อ่างเก็บน�า้ อยู่ใน

เขตอุทยานแห่งชาติภูสระดอกบัวบางส่วน ประชากร ทัง้ สิน้ 1 , คน แยก ชาย 6, 0 คน หญิง 6,69 คน มีจ�านวน , 6 ครัวเรือน ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ณ 0 พฤษภาคม 2559 เศรษฐกิจ ด้านการเกษตร ได้แก่ ท�านาปลูกข้าว มัน ส�าปะหลัง อ้อย ยางพารา ตามล�าดับ วัฒนธรรม ในพื้นที่มีชาติพันธุ์ ชาด-ติ-พัน ผู้ไททาง เซโปน มีกิจกรรมจัดมาต่อเนื่องหลายปีได้แก่ งานประเพณี บุญข้าวจี่ ลงข่วงควงสาวภูไท ช่วงเดือนกุมภาพันธ์

C`CAJ[RYJc>OAYLマRXNR@CYR@BNI.Y@

นายสมัย ธรรมปຑต ต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีต�าบลบุ่งค้า นายสุพี แก้วปຑช าย์ ต�าแหน่ง ปลัดเทศบาลต�าบลบุ่งค้า ทีอ่ ยู่ สถานทีต่ ดิ ต่อ ส�านักงานเทศบาลต�าบลบุง่ ค้า อ�าเภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร 5120 โทรศัพท์ 0 55 , . . .

YASOTHON 165


ส่วนราชการหลักในหน่วยงาน แยกเป็น ส�านักปลัดเทศบาล ต่อ 19 2. กองคลัง ต่อ 15 3. กองช่าง ต่อ 1 4. กองการศึกษา ต่อ 12 5. กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ต่อ 20 6. กองส่งเสริมการเกษตร 7. หน่วยตรวจสอบภายใน ต่อ 20 หน่วยกูช้ พ ี เทศบาลตําบลบุง่ ค้า โทร สายด่วน

CL[<GX:8FQ[@+CY"OTOP 

หรือ

กลุ่มแม่บ้านโคกเจริญ ประธานกลุ่ม นางเนาวสุรางค์ พงษ์ศรีทวีลาภ แม่งาม 0 -9610 9 สินค้าข้าว ปลอดสาร ระดับ ดาวโดยผ่านการรับรอง มาตรฐานคุณภาพจาก อย.ได้แก่ ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวกล้อง กล้องงอก เหนียวด�า มะลิแดง หอมมะลิ ข้าวยายคิด อดหลาน สินค้าถั่วลิสง ได้แก่ ขนมถั่วตัด ถั่วขั้ว ถั่วเค็ม  กลุ่มจักสานไม้ไผ่บ้านป่าขีๅยาง ประธานกลุ่ม นางร�าพรรณ ธรรมปຑต แม่พรรณ 0 60 สินค้าหมวกไม้ไผ่ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ  กลุม ่ แม่บา้ นทอผ้าไหมบ้านหนองบก (สมาชิกศูนย์ศลิ ปาชีพ บ้านน้อมเกล้า) ประธานกลุ่ม นางม่วง บุสหงษ์ แม่ม่วง 0 5- 1 1699 ลายเป็นเอกลักษณ์ ชื่อ มะจับหว่านและมะจับตาหน่าง สินค้า ได้แก่ ผ้ามัดหมีไ่ หม ฝງาย พืน้ เรียบ สะโหล่ง แพรวาขิด ผ้าขาวม้า ผ้าไหมหางกระรอก 166


Q=Y@>¥kQpY+X4dLW dRLB.>BT.c>¥kIN 

        

ภูสูง พุทธ อุทยานภูสูง ภูจันทร์ ภูถ�้าพระ ภูหวาย ภูกะซะ ภูแกลบ ภูล�ากลาง อ่างเก็บน�้าห้วยสะแบก โครงการบ้านเล็กในปຆาใหญ่อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ บ้านน้อมเกล้า สิม อุโบสถ วัดธรรมรังสีนิคมเขต YASOTHON 167


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL BJWNX<[+NYHcBJ@HY

ห้องแซง เป็นชุมชนเก่าแก่มานานกว่า 160 ปี มีบรรพบุรษุ อพยพย้ายถิน่ มาจากเมืองเซโปนและเมืองพิล แขวงสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2 92 โดยการตั้งถิ่นฐานมักจะตั้งอยู่ในถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ใกล้ แหล่งน�้า เดิมบ้านห้องแซง มีชอื่ ว่า ๡ อ่ งแซง๢ ซึง่ เรียกตามชือ่ แหล่ง น�า้ ทีเ่ ลือกตัง้ ถิน่ ฐาน ซึง่ เป็นพืน้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มีตน้ ล�าแซง หญ้า แซง ขึ้นอยู่หนาแน่น ๡ อ่ ง๢ ภาษาอิสาน หมายถึง หนองน�า้ หรือคลองน�า้ หรือ ร่องน�้า ๡แซง๢ หมายถึง ต้นแซง ล�าแซง หญ้าแซง มีลกั ษณะล�าต้น ยาวเรียว ใบคล้ายหญ้าคา ปຑจจุบนั ค�าว่า ๡ อ่ ง๢ ได้ถกู เรียกชือ่ เพีย้ นไปตามภาษาเพีย้ น และได้เรียกใหม่ว่า ๡ห้อง๢ ซึ่งมีความหมายผิดไปจากเดิม

dRLB.>BT.c>¥kINQpY+X4

RH`BACY@NX9@?JJHG`g>RCT.d2."ネiアッァ"tカ」サノ

@YIc(<OJ¥"dQ.N.OF @YI(c>OH@<J¥<pYALRCT.d2.

c>OAYL<pYALRCT.d2. <pYALRCT.d2.@BYTI`B"c1[;1` +_:?JJH"c(P<J(JJHT[@>J¥IF" F`cF<KT."J_B.cJ^T.NX9@?JJHG`g>"" (CYNg(L(YJO](PY"1YNBJW1YH¥Q_)"" >_(1¥N[<<CT.;`dL คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตําบลห้องแซง อ�าเภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธร ปຑจจุบนั มี นายเกตศรี แสงวงศ์ ด�ารง ต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีตําบลห้องแซง 168

สืบเนื่องจาก สภาวัฒนธรรมตําบลห้องแซงเล็งเห็นถึง ความส�าคัญของท้องถิน่ ทีม่ คี วามโดดเด่นทางด้านวัฒนธรรม ภูไท และมีแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ คี วามสวยงามตามธรรมชาติหลาย แห่ง กอปรกับเป็นต�าบลทีม่ กี ารบูรณาการวัฒนธรรมภูไทแบบ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นอย่างลงตัว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดชุมชนให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ทีส่ อดคล้องกับวัฒนธรรมของท้องถิน่ เชิงอนุรกั ษ์ เพือ่ เผยแพร่ วัฒนธรรมภูไท และอนุรักษ์ ຅ຕน ูศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น อย่างเป็นรูปธรรมในเชิงระบบ เป็นการสร้างรายได้ให้กบั ชุมชน และครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ กิจกรรมการเรียนรู้วิถีชาวภูไท ประกอบด้วย การท�าพิธี บายศรีสู่ขวัญ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ รู้จักขนบธรรมเนียมและ วัฒนธรรมภูไท แนะน�าประวัตคิ วามเป็นมาของหมูบ่ า้ นวัฒนธรรม ภูไท ชมการแสดงละเล่นพื้นบ้าน รับประทานอาหารพื้นบ้าน ตามแบบของชาวภูไท ศึกษาและชมความสวยงามของแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติของท้องถิ่น


TBY.c(jA@plYRCNIL[.e/@

ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ บ้านหนองบึง ต�าบลห้องแซง เป็นโครงการ ชลประทานขนาดกลาง ประเภทอ่างเก็บน�้า พื้นที่ประมาณ 11,000 ไร่ มีตน้ ก�าเนิดจากสันเนินขนาดเล็ก ซึง่ เป็นต้นน�า้ ของ ล�าห้วยหลายสาย เช่น ห้วยยาง ห้วยสักหลีก และห้วยลิงโจน ล�าห้วยทัง้ จะไหลมาบรรจบกัน มีระบบน�า้ ไปช่วยเหลือพืน้ ที่ เพาะปลูกบริเวณท้ายอ่างเก็บน�้าในพื้นที่ ต�าบล ของอ�าเภอ เลิงนกทา ได้แก่ ต�าบลห้องแซง ต�าบลกุดเชียงหมี ต�าบลสามัคคี ในฤดูฝนอ่างเก็บน�้าห้วยลิงโจนยังเป็นแหล่งเพาะและขยาย พันธุป์ ลาทีใ่ หญ่แห่งหนึง่ ของอ�าเภอเลิงนกทา รวมทัง้ เป็นแหล่ง ท่องเที่ยว และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวบ้านและนัก ท่องเที่ยว

G`=plYEJW

ตัง้ อยูบ่ า้ นปຆาชาด หมูท่ ี่ 9 อยูห่ า่ งจากบ้านปຆาชาดไปทาง ทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร ถ�า้ พระมีลกั ษณะ เป็นเทิบหิน ชะง่อนหินยืน่ ออกมา ภายในถ�า้ นัน้ มีพระพุทธรูป ปางต่างๆ เก่าแก่มากมาย เป็นจุดชมวิวที่ส�าคัญแห่งหนึ่งของ ต�าบล สามารถมองเห็นสภาพทัว่ ไปของบ้านปຆาชาดและต�าบล ห้องแซงได้อย่างชัดเจน ในช่วงฤดูฝนมีดอกกระเจียวบานสะพรัง่ สวยงาม ปี พ.ศ.2500 ได้มกี ารอนุรกั ษ์และท�าประกาศหมูบ่ า้ นเป็น ๡วัดภูถ�้าพระ๢ และก�าหนดจัดงานสรงพระถ�้าหลังประเพณีวัน สงกรานต์ คือระหว่างวันที่ 1 -1 เมษายนของทุกปี zbtpuipo"169


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

@YIH[<J"A_4cEj. @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALe+(QpYJY4

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

e+(QpYJY4

e+(QpYJY4"=[k@N[=¥T¥QY@" (YJc(P<JBLT;GXI"(CYNg(LQ`BQY(L องค์การบริหารส่วนต�าบลโคกส�าราญ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ต�าบลโคกส�าราญ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ ห่างจากที่ว่าการ อ�าเภอเลิงนกทา 6 กิโลเมตร และห่างจาก จังหวัดยโสธร 9 กิโลเมตร มีทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 212 ถนนชยางกูร ตัดผ่านต�าบล

BJWNX<[<pYALe+(QpYJY4

ต�าบลโคกส�าราญ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร จัดตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2525 โดยแยกหมูบ่ า้ นจากต�าบลบุง่ ค้า ด้วยเหตุผลทาง การปกครอง 170

องค์การบริหารส่วนต�าบลโคกส�าราญ ได้รบั การยกฐานะ จากสภาต�าบลโคกส�าราญ เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 25 0 ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม 25 9 ต�าบลโคกส�าราญมีเนือ้ ที่ 5 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการ ปกครองเป็น 15 หมูบ่ า้ น มีครัวเรือน 2, 90 ครัวเรือน ประชากร รวม 10,5 5 คน

+:WC`CAJ[RYJ

นายมิตร บุญเพใง นายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นายกลม บุญเนตร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นายสังข์ทอง ไวยะพันธ์ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นายสมัย ฿จสว่าง เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล นายถนัด แสงศรี ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบล


Q=Y@>¥kQpY+X4

e+J.(YJB:.ABJWHY:"2559

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และจิตใจผู้สูงอายุ

สนามบินเลิงนกทา ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกส�าราญ ต�าบลโคกส�าราญ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร เป็นสนามบินเก่าทีส่ ร้างขึน้ ในปี พ.ศ.2506 โดย รัฐบาลอังกฤษ ได้เสนอที่จะสร้างสนามบินในภาคตะวันออก เฉียงเหนือของประเทศไทย เพือ่ ช่วยเหลือปรับปรุงสิง่ อ�านวย ความสะดวกในการส่งก�าลังบ�ารุงในพื้นที่ที่มีความส�าคัญทาง ยุทธศาสตร์แห่งนี้ สร้างโดย ทหารอังกฤษ ออสเตรเลีย และ นิวซีแลนด์ ศูนย์วัฒนธรรมพืๅนบ้านเผ่าญ้อ ตัง้ อยูบ่ า้ นกุดคอก่าน ต�าบลโคกส�าราญ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร เป็นศูนย์รวมศิลปวัฒนธรรม และประวัติของ เผ่าญ้อ

โครงการส่งเสริมยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการ

โครงการฝຄกอบรมอาชีพราษฎร ๡การปลูกไผ่และขยายพันธุไ์ ผ่๢

Q[@+CY"OTOP"<pYALe+(QpYJY4   

กลุ่มทอผ้า บ้านดอนมะซ่อม หมู่ กลุ่มถักโครเชต์ บ้านโคกส�าราญ หมู่ 1 กลุ่มหมอนสม็อก บ้านกุดคอก่าน หมู่

YASOTHON 171


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;HX++YEX9@YJYH NX;HX++YEX9@YJYH"<X.l TI`>B A¥k YC @g>Ic/J[4"<pYALQYHX++¥"TpYcGTcL[.@(>Y"/X.RNX;IeQ?J"" BH//_A@X H¥"EJW+J`OJ¥?JJH+JYJX(PF"c/CY+:WTpYcGTcL[.@(>Y"cBJ@c/CYTYNYQNX;HX++YEX9@YJYH

172


BJWNX<[dLW+NYHcBJ@HY

ปี พ.ศ.251 ได้มีพ่อ฿หญ่จารย์ มาและแม่฿หญ่วนั อรอินทร์ ได้บริจาค ทีด่ นิ ให้เป็นทีพ่ กั สง ์ โดยมีพระคุณเจ้า คือหลวงปู่เหล่วมาพักอยู่เป็นรูปแรก ปี พ.ศ.25 1 ผูใ้ หญ่บา้ น นายอ่อน พรทิพย์ และชาวบ้านได้สร้างกุฎี 1 หลัง และศาลาการเปรียญ ขนาด กว้าง 9 เมตร ยาว 21 เมตร ขึน้ 1 หลัง ไว้เป็นทีพ่ า� นัก และท�ากิจของพระภิกษุสง ์ผู้เดินทาง ผ่านไปมา และไว้ส�าหรับเป็นที่ท�าบุญ ของชาวบ้าน ปี พ.ศ.25 5 พระอาจารย์สว่าง สุธโี ร ได้มาพ�านักอยู่ และเป็นแกนน�าพา ชาวบ้านพัฒนาปรับปรุงวัด และได้ตั้ง ชื่อว่า ๡ที่พักสง ์มัคคาราม๢ ปี พ.ศ.255 พระครูศรีธรรมครา รักษ์ เจ้าคณะอําเภอเลิงนกทา ได้เข้า มาพ�านักอยู่ที่ส�านักสง ์แห่งนี้ พร้อม กับเป็นผูน้ า� ชาวบ้านพัฒนาปรับปรุงสิง่ ปลูกสร้างต่างๆ ภายในวัดขึน้ อย่างมาก ได้แก่ ปรับปรุงศาลาการเปรียญหลังเก่า สร้างกุฎที พี่ กั สง ข์ นึ้ ใหม่จา� นวน หลัง ได้สร้างโรงครัว ศาลาบ�าเพ็ญกุศล เมรุ และห้องน�า้ จ�านวน หลัง รวม 25 ห้อง และได้ขออนุญาตสร้างวัด ตั้งวัดตาม ล�าดับ และมีพระสง ์ ประจ�าอยูท่ นี่ ี่ 12 รูป ปี พ.ศ.255 ได้เริม่ ท�าการก่อสร้าง อุโบสถ ขนาดกว้าง เมตร ยาว 2 เมตร ขึ้น 1 หลัง ตอนนี้อยู่ในระหว่างการก่อ สร้างยังไม่แล้วเสร็จ และมีพระอยูป่ ระจ�า ที่วัดจ�านวน 1 รูป ปี พ.ศ.255 ได้รบั ใบอนุญาตสร้าง วัด ตั้งวัดตามล�าดับนั้น ในพรรษานี้มี พระประจ�าพรรษา 1 รูป และยังได้ท�า การปลูกสร้างเสนาสนะอย่างต่อเนื่อง จนถึงปຑจจุบันนี้

([/(JJHQpY+X4>¥kCBY@HY

พิธีเจริญพระพุทธมนต์ ถวาย พระพรชัยมงคลและถวายพระราชกุศล แด่ พ ระบาทสมเดใ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว เนื่องในโอกาสมหามงคลเถลิงถวัลย์

ระ รู รีธรรม รารัก ຏ เ ้า ะอ้าเ อเลิงนกทา

ราชสมบัติครบ 0 ปี 9 มิถุนายน 2559 และสมเดใจพระนางเจ้า พระบรม ราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนพรรษา รอบ 12 สิงหาคม 2559 และพิธีทําบุญมหาสัง ทาน ณ วัดมัคคาพัฒนาราม บ้านไทยเจริญ ต�าบล

สามัคคี อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร โดยมีพระครูศรีธรรมคณารักษ์ เจ้า คณะอําเภอเลิงนกทา เป็นประธาน ฝຆายสง ์ และนายสุวัฒน์ เขใมเพชร นายอําเภอเลิงนกทา เป็นประธานฝຆาย ราวาส

(pYR@;(YJ"NX@>¥k"\ "Q[.RY+H"EホOホ ¡¡ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

น น น น น -

เวลา

ต้อนรับคณะสง ์และญาติโยม ผู้มาร่วมงาน ไหว้พระสมาทานศีล - ถวายมหาสัง ทาน ถวายภัตตาหารเพล - รับพรจากคณะสง ์ ผู้มาร่วมงานร่วมรับประทานอาหาร การขับร้องสรภัญญะ สืบสานประเพณีอีสาน - ตรวจการคณะสง ์อ�าเภอเลิงนกทา - ตรวจประเมินส�านักงานเจ้าคณะอ�าเภเลิงนกทา โดย เจ้าคณะจังหวัดยโสธรและคณะ พิธีเจริญพระพุทธมนต์ ถวายพระพรชัยมงคล YASOTHON 173


JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

ขอเชิญร่วมเปຓนเจ้าภาพทําบุญ ทอดกฐินสามัคคี และพิธอี ญ ั เชิญ ตั ร - ยกช่อฟງาอุโบสถ ณ วัดมัคคาพัฒนาราม อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ฿น วันเสาร์ที่ พ ศจิกายน พุทธศักราช

174

สืบเนื่องด้วยวัดมัคคาพัฒนาราม อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ได้จัด สร้างอุโบสถมีความก้าวหน้ามาโดยล�าดับ จนใกล้จะแล้วเสร็จสมบูรณ์ ในการนี้ คณะกรรมการวัดมัคคาพัฒนาราม จึงได้ ก�าหนดจัดพิธที อดกฐินสามัคคี พร้อมทัง้ พิธอี ญ ั เชิญฉัตรขึน้ ประดับเหนือหลังคา อุโบสถ และพิธียกช่อ ງาอุโบสถในวัน เดียวกันนัน้ เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชาและ เป็นสิริมงคลแก่วัดมัคคาพัฒนาราม คณะกรรมการวัดมัคคาพัฒนาราม จึงขอเชิญชวนสาธุชนผู้มีจิตศรัทธาทุก ท่าน ได้รว่ มบุญทอดกฐินสามัคคี พร้อม ร่วมอัญเชิญฉัตรและยกช่อ าງ ขึน้ ประดับ

เหนือหลังคาอุโบสถ ในวันเสาร์ท่ี 5 พฤศจิกายน 2559 ตามก�าหนดการโดย ถ้วนหน้ากัน เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สัง บูชา เพือ่ ยังกุศลให้ถงึ พร้อม และเป็นการจรรโลงพระพุทธศาสนาให้ ถาวรสืบไป ขอพลานุภาพแห่งคุณพระศรีรตั นตรัย และบุญกุศลทีท่ า่ นได้บริจาคทรัพย์รว่ ม ท�าบุญทอดกฐินสามัคคีในครั้งนี้ จงดล บันดาลให้ท่านและครอบครัว ประสพ ความสุขความเจริญด้วยจตุรพิธพรชัย คือ อายุ วรรณ สุขะ พละ และป ิภาณ ธนสารสมบัติ ตลอดกาลนานเทอญ.


(pYR@;(YJ"NX@cQYJF>¥k"¡"EKO/[(YI@"EホOホ ¡¡ เวลา เวลา เวลา

น น น

เวลา เวลา

น น

ตั้งองค์กฐินพร้อมรับศรัทธาจากญาติโยม ประธานในพิธีเดินทางถึงบริเวณพิธี - ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย - พิธีกรสมาทานศีล พระสง ์เจริญพระพุทธมนต์ - ประธานประกอบพิธียกพระประธานขึ้นสู่อุโบสถ - ประธานประกอบพิธีอัญเชิญฉัตร - ยกช่อ ງาอุโบสถ - ประธานประกอบพิธีทอดกฐินสามัคคี - ประธานและคณะถวายจตุปຑจจัยไทยธรรมแด่พระสง ์ - พระสง ์อนุโมทนา ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสง ์ รับประทานอาหารร่วมกัน

ประธานฝ่ายสง ์ พระราชรัตนกวี เจ้าคณะจังหวัดยโสธร รองประธานฝ่ายสง ์ พระครู ศรีธรรมคณารักษ์ เจ้าอาวาสวัดมัคคาพัฒนาราม เจ้าคณะอ�าเภอเลิงนกทา ประธานฝ่าย ราวาส พลเอกธีรชัย นาควานิช ผู้บัญชาการทหารบก ประธานดําเนินงาน พันเอกณัฐ ศรีอนิ ทร์ ผูบ้ งั คับการทหารราบที่ 12 และ พันเอกอภิชา คุณสิงห์ ผบ.พัน ร มทบ. 11

ติดต่อร่วมเปຓนเจ้าภาพทอดกฐิน สามัคคีได้ที่ ร้อยตรีภสั ณีท่ี นุม่ ประเสริฐ โทร. 09 9 9 616 ส�านักงาน 0 22 21ต่ อ 20 ฝกง.ฯ ที่ อ ยู ่ กองพั น ทหารราบมณฑลทหารบกที่ ถนน อ�านวยสงคราม แขวงถนนไชยศรี เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10 00 หรือที่ บัญชีธนาคารกรุงไทย สาขา เลิงนกทา ชือ่ บัญชี วัดมัคคาพัฒนาราม เลขบัญชี - YASOTHON 175


นายมนต์ชัย พันธุ์สวัสดิ์ ท้องถิ่นอ�าเภอกุดชุม ในฐานะเป็นอนุกรรมการการออกเสียงประจ�าอ�าเภอกุดชุม ได้ร่วมเดินรณรงค์ออกเสียงประชามติ 7 สิงหาคม 2559


cQC@>Y."bfd

พาณิชย์ชวน งทุนf@LYNヘcH¥I@HY cRj@c.¥IAi"TIBY."QBBホLYNdLWcH¥I@HYTIBY.@¥"l d<B>JYA gRH+WNBY"BJWc>OcE^Tk @ACY@>X.l QT.@¥Hl O¥ (X IGYEdLWeT(YQ>¥k @BYL.>_@HY("e;Ic0EYW"QBBホLYN"@X@l "cBJ@+`+B YC QpY+X4TX@;XA >¥"k ¦")T.g>If@(L_HB BJWc>O"dmnw"ネ(XHE`1Y"LYN"cH¥I@HY" dLWcN¥I;@YHノ นางอภิรดี ตันตราภรณ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยถึงโอกาสและลูท่ างการค้า-การลงทุนใน สปป.ลาว และ เมียนมา ว่ามีศักยภาพและโอกาสที่น่าลงทุนมาก โดยเฉพาะ การขยายตัวเศรษฐกิจของสปป.ลาว ในช่วงปี 255 -255 มี อัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ . ต่อปี และในปี 2559 คาด ว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ . ต่อปี ท�าให้ประชาชนลาวมี รายได้สูงขึ้น ในขณะที่การผลิตสินค้าใน สปป.ลาว ยังไม่เพียง พอต่อความต้องการทีข่ ยายตัวอย่างมาก ซึง่ ในปี 255 มูลค่า ส่งออกระหว่างไทยไป สปป.ลาว เพิม่ สูงถึง 1. แสนล้านบาท อัตราการขยายตัวเฉลีย่ สูงถึงร้อยละ 25 ต่อปีทเี ดียว และมีแนว โน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นโอกาสของไทยในการขยาย ตลาดสินค้าในสปป.ลาว สินค้าไทยทีไ่ ด้รบั ความนิยมของชาวลาว มีสองกลุม่ หลักๆ คือ สินค้าบริโภคในชีวิตประจ�าวัน เช่น กะปิ น�้าปลา น�้าตาล น�้ามันพืช ผงชูรส ซอสปรุงรส สินค้าอุปโภคในชีวิตประจ�าวัน อาทิ สบู่ ยาสี ຑน แชมพู ผงซัก อก น�้ายาปรับผ้านุ่ม รวมถึง ครีมบ�ารุงผิวขาว หน้าใส และครีมกันแดด ฯลฯ ส่วนเมียนมานัน้ เป็นตลาดการค้าทีส่ า� คัญของไทย ทีส่ า� คัญ คือเมียนมาเป็นประตูเชือ่ มโยงไปยังตลาดอินเดีย บังคลาเทศ และจีน ซึง่ มีกา� ลังซือ้ มหาศาล ดังนัน้ เมียนมาจึงเป็นประเทศที่ มีศกั ยภาพสูง ในการเป็นฐานการผลิตเพือ่ ส่งออกไปยังประเทศ ดังกล่าว

นอกเหนือจากนี้ เมียนมายังได้มกี ารตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพือ่ รองรับการลงทุนถึง แห่งโดยเฉพาะเขตเศรษฐกิจ พิเศษทวาย ซึ่งอยู่ห่างจากนครย่างกุ้ง 600 กิโลเมตร และ ห่างจากชายแดนไทยทีจ่ ดุ ผ่านแดนถาวรบ้านน�า้ พุรอ้ น จังหวัด กาญจนบุรี 1 2 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพฯ 50 กิโลเมตร มี ขนาดพืน้ ทีโ่ ครงการประมาณ 1 ,500 ไร่ ถือว่าเป็นเขตเศรษฐกิจ พิเศษที่ใหญ่ที่สุดของเมียนมา มีวงเงินลงทุนทั้งสิ้น 00,000 ล้านบาท คาดว่าโครงการระยะแรกของเขตเศรษฐกิจพิเศษ จะแล้วเสร็จในปี 2561 ดังนั้นหากเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของเมียนมาทั้งที่ทวาย จ้าวผิ่ว และติลาวา แล้วเสร็จสมบูรณ์ จะส่งผลให้เมียนมากลายเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้า และ บริการเพื่อปງอนให้แก่ประเทศต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทางด้าน นางมาลี โชคลําๅ เลิศ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้า ระหว่างประเทศ เปิดเผยว่า เมียนมาเป็นตลาดทีม่ ศี กั ยภาพสูง ส�าหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ของไทย เนื่อง จากมีการเติบโตทางเศรษฐกิจต่อเนือ่ ง แต่ยงั ไม่มอี ตุ สาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ทท่ี นั สมัย ในขณะทีธ่ รุ กิจสิง่ พิมพ์และ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการพิมพ์ขยายตัวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อ เนื่อง จากการเปิดประเทศ ดังนั้นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีโอกาสและมีแนวโน้มเติบโต ในเมียนมา ได้แก่ อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ลงบน บรรจุภัณฑ์ และการพิมพ์สกรีนบนวัสดุต่างๆ เช่น สิ่งทอ แก้ว พลาสติก โลหะ ฯลฯ จึงนับเป็นโอกาสทองทีผ่ ปู้ ระกอบการไทย จะเข้าไปลงทุนในเมียนมา เลือกไม่ กู เลยใ ไ่ หม ะ ว่า ะไ ลงทุนหรือขยายตลาด ที่ ระเท ไหนดี เ ราะทัง้ สอง ระเท เ อื่ นบ้านของเรานี้ มีอัธยา ัยไมตรีน่ารักด้วยกันทั้ง ู่ YASOTHON 177


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[< cL)>¥k"\\"RH`B"\\"ACY@RCT.d2."<pYAL" RCT.d2."TpYcGTcL[.@(>Y"/X.RNX;IeQ?J"" QX.(X;+:WHRY@[(YI"BH//_AX@H¥"" EJW+J`Q_<YLX.(YJ"ネEJWQHRHYI"(LaIYe:" TYI_"¡¡"EJJPY"¦ "N[>I7Y@W"Bホ?ホ フ" @ホ?ホcT(ノ";pYJ.<pYdR@B."c/CYTYNYQ NX;B=Y/X@>N@YJYH"dLWJT.c/CY+:WTpYcGT cL[.@(>Y

NX;B=Y/X@>N@YJYH BJWNX<[NX;B=Y/X@>N@YJYH

วัดป่าจันทวนาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2 โดยมี นายด้วง พูลสวัสดิ์ ได้บริจาคทีด่ นิ ให้สร้างวัด ชาวบ้านเรียกกันว่า ๡วัดปຆา๢ ปຑจจุบันมีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 5 ตารางวา เป็นวัดที่มีสถานที่ ร่มรืน่ สัปปายะ มีพระภิกษุสามเณรจ�าพรรษาอยูต่ ลอดมา ในปี พ.ศ.25 2 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา แต่เป็นวัดทีข่ าดการ พัฒนา ในปี พ.ศ.25 6 ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์ท่านพระมหา สมหมาย กลฺยาโณ วัดบูรพารามใต้ อ�าเภอทรายมูล จังหวัด ยโสธร มาเป็นเจ้าอาวาส วัดนีจ้ งึ ได้มกี ารพัฒนาขึน้ มาอีกระดับ หนึ่ง วัดปຆาจันทวนารามได้สถาวรวัตถุไปพร้อมกับการศึกษา ด้านถาวรวัตถุได้สร้างทีพ่ กั อาศัยของพระภิกษุสามเณร ห้องน�า้ -ห้องสุขา-โรงครัว และปรับปรุงสถานที่ให้เป็นสัดส่วนที่สวย งามดูดขี นึ้ ส่วนด้านการศึกษาได้จดั ตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม-ธรรมศึกษาและแผนกบาลี

TY+YJcQ@YQ@W

อุโบสถสร้างเมื่อ พ.ศ.25 0 กว้าง เมตร ยาว 25 เมตร

178

สูง 25 เมตร จ�านวนหลัง, ศาลาการเปรียญสร้างเมือ่ พ.ศ.250 กว้าง 1 เมตร ยาว 26 เมตร จ�านวน 1 หลัง, กุ ิพระภิกษุสามเณร เป็นอาคารครึ่งปูนครึ่งไม้ จ�านวน 5 หลัง, และศาลา อเนกประสงค์สร้างเมื่อ พ.ศ. 25 กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร, ห้องน�้า-ห้องสุขา จ�านวน 5 ห้อง

BJWNX<[T_eAQ=

อุโบสถวัดปຆาจันทวนาราม เริ่มก่อสร้างโดยคณะทายกทายิกาชาวบ้านห้องแซงได้พร้อมใจกันจัดงานวางศิลาฤกษ์


อุโบสถ เมือ่ พ.ศ.25 9 โดยพลอากาศเอกจรูญ วุฒกิ าจน์ ประธาน ในพิธี เริม่ ก่อสร้าง เมือ่ พ.ศ.25 0 ได้มคี ณ ุ แม่ลา� เจียก รัตนสาร พร้อมบุตรธิดา บริจาคเงินสด จ�านวนหนึ่งล้านบาทถ้วน ทั้งนี้ ต้องใช้งบประมาณก่อสร้างเจ็ดล้านบาท ขณะนีส้ นิ้ งบประมาณ จ�านวนสามล้านบาทถ้วน จึงขาดทุนทรัพย์ในการก่อสร้างอยู่ อีกจ�านวนมาก

+NYHQpY+X4)T.NX;B=Y/X@>N@YJYH 

 

เป็นศูนย์โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สอน นักธรรม บาลี และธรรมศึกษา เป็นศูนย์ป ิบัติธรรม และ อบรมคุณธรรมจริยธรรม เป็นแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมของชุมชน

ระ รูสุตาลังการ เ า้ อาวาสวัด ຆา ันทวนาราม และรองเ ้า ะอ้าเ อเลิงนกทา   

เป็นที่ฝຄกอาชีพ สืบสานประเพณีวัฒนธรรม เป็นศูนย์ทอผ้าหมัดหมี่ประจ�าต�าบล เป็นศูนย์ดิจิตอลประจ�าต�าบล และศูนย์ไอซีทีชุมชน วัดปຆา จันทวนาราม

.Y@A_4ヘ([/(JJHBJW/pYB:      

งานบุญผะเหวต พระเวส ຑงเทศน์มหาชาติ งานสงกรานต์วันผู้สูงอายุ งานบุญข้าวประดับดิน งานวันเข้าพรรษา งานตักบาตรเทโว วันออกพรรษา งานสวดมนต์ข้ามปี

CCYHX;RH¥kG`g>

ภาคอีสานหรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพนื้ ที่ 1 จังหวัด ประกอบด้วยกลุม่ ชนชาติพนั ธุต์ า่ งๆ มากกว่า 20 ชาติพนั ธุ์ ส่วน มากเป็นกลุม่ ชนชาวไทยเชือ้ สายไท-ลาว หรือชนเผ่าไท-ลาว ที่ คนไทยภาคอืน่ มักเรียกว่า ลาว เป็นกลุม่ ชาติพนั ธุใ์ หญ่สดุ ของ ภาคอีสาน เป็นกลุม่ ชนทีม่ กี ารผลิตผ้าพืน้ เมืองของอีสานแพร่ หลายที่สุดแต่ยังแยกเป็นกลุ่มย่อยตามวัฒนธรรมได้อีกหลาย กลุ่ม เช่น ลาวกาว ลาวพวน ลาวโซ่ง ลาวคั่ง กลุ่มชนเหล่านี้มี วัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน แต่วฒ ั นธรรมการทอผ้าและการใช้ผา้ อาจแตกต่างกันบ้าง Facebook: watpajan hongsang zbtpuipo"179


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;OJ¥A_4cJ^T."" cL)>¥k"

"RH`B>¥k" "ACY@cL[.@(>Y"<pYALQNY>"TpYcGTcL[.@(>Y"/X.RNX;IeQ?J"" BH//_AX@H¥"EJW+J`E[1XI?JJHYGJ:F"cBJ@c/CYTYNYQNX;OJ¥A_4cJ^T.

BJWNX<[NX;OJ¥A_4cJ^T.

เดิมวัดศรีบญ ุ เรืองขึน้ อยูก่ บั กิง่ อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัด อุบลราชธานี ในสมัยนัน้ มีเนือ้ ทีบ่ ริเวณวัดประมาณ ไร่ จากการ สอบถาม พระครูบญ ุ สารสุนทร รองเจ้าอาวาสวัดศรีบญ ุ เรือง และชาวบ้านผูอ้ าวุโสทีม่ าวัด ประมาณ 10 คน ได้ความว่า เดิมวัด ศรีบญ ุ เรือง ร้าง มีสภาพเป็นปຆารกร้าง มีพระภิกษุจา� พรรษาอยู่ ในวัดแห่งนี้ จ�านวน 1 รูป คือ พระอาจารย์หงส์ และมีสามเณร จ�าพรรษา 2 รูป รูปที่ 1 นามว่า สามเณรตันๅ และรูปที่ 2 นามว่า สามเณรไชย อยูป่ ระจ�าวัดตลอดมาจนกระทัง่ พระอาจารย์หงส์ ได้มรณภาพลง และต่อมาไม่นานนักสามเณรตัน้ ก็ได้ปຆวยและ มรณภาพในเวลาต่อมา มา ท�าให้สามเณรไชยเกิดอาการหวาด กลัวเจ้าอาวาสและสามเณรที่มรณภาพ อีกทั้งวัดศรีบุญเรือง 180

ร้าง ในสมัยนัน้ มักเกิดภัยน�า้ ท่วม เพราะพืน้ ทีเ่ ป็นทีล่ มุ่ ต�า่ ติด กับริมแม่น�้า ที่ชาวบ้านเรียกว่า ล�าเซบาย ต่อมาเมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ.2 50 วัดศรีบญ ุ เรือง ร้าง ได้ เกิดภัยน�า้ ท่วมอยูบ่ อ่ ยๆ ท�าให้เป็นการล�าบากในการประกอบ ศาสนกิจและกิจของสง ์ ดังนัน้ พระอาจารย์ไชย สามเณรไชย


ระ รู ิ ัยธรรมา ร ຏ เ ้าอาวาส

เมื่ออายุ 6 ปี พรรษา 2 รูปที่ พระครูพชิ ยั ธรรมาภรณ์ พ.ศ.2552-ปຑจจุบนั อายุ ปี พรรษา 16

([/(JJHQpY+X4

ซึง่ ได้บวชเป็นพระแล้ว ได้ดา� ริกบั ชาวบ้านให้ยา้ ยวัดศรีบญ ุ เรือง ไปอยูท่ างทิศใต้ ซึง่ ปຑจจุบนั อยูใ่ นพืน้ ทีห่ มู่ 2 คุม้ ปลาสร้อย ต�าบล สวาท ตอนนั้นเรียกว่าวัดศรีบุญเรืองใต้ หลังจากย้ายมาอยูว่ ดั ศรีบญ ุ เรืองใต้ได้ระยะหนึง่ ก็เกิดมี น�า้ ท่วมหนักขึน้ มาอีก พระครูบญ ุ สารสุนทร อดีตรองเจ้าอาวาส วัดศรีบญ ุ เรือง ซึง่ ตอนนัน้ ยังไม่ได้อปุ สมบท ได้มดี า� ริทจี่ ะย้าย วัดซึง่ ก็ได้ปรึกษาหารือกับชาวบ้านเพือ่ ท�าการย้ายวัด จึงได้ขอ ทีด่ นิ ชาวบ้าน คือพ่อ฿หญ่หอม ไชยสัจ พ่อ฿หญ่ดี นามปຑญญา และแม่฿หญ่เชียง ไชยสัจ พร้อมทัง้ ได้ขอซือ้ ทีด่ นิ จากชาวบ้าน ในละแวกใกล้เคียงอีกจ�านวนหนึ่ง เพื่อสร้างเป็นวัดและได้ตั้ง อยู่สืบต่อมาจนถึงปຑจจุบัน วัดศรีบุญเรืองได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2500 มีพื้นที่ทั้งหมด ไร่ 1 งาน 9 ตารางวา

JYI@YHc/CYTYNYQB(+JT.NX;

เจ้าอาวาสทีไ่ ด้ดา� รงต�าแหน่งทางการปกครองตัง้ แต่อดีต จนถึงปຑจจุบัน ได้แก่ รูปที่ พระครูมงคลโชติวฒ ั น์ พ.ศ.2520-พ.ศ.2552 มรณภาพ

วัดศรีบญ ุ เรือง มีกจิ กรรมส�าคัญทีท่ างวัดได้จดั เป็นประจ�า ทุกปีคอื งานป บิ ตั ธิ รรมวิปสຑ สนากรรมฐาน ซึง่ จัดติดต่อกัน มา 25 ปีแล้ว โดยเริม่ งานระหว่างวันที่ 1- กุมภาพันธ์ ของทุก ปี ดังนั้นจึงขอเชิญชวนสาธุชนและนักป ิบัติธรรมทุกท่าน ได้ มาร่วมกันป ิบัติธรรมในระยะเวลาดังกล่าวในเบื้องต้น

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

ขณะนีท้ างวัดศรีบญ ุ เรือง ได้ทา� การสร้างศาลาป บิ ตั ธิ รรม สามชั้น เพื่อรองรับศรัทธาสาธุชนที่ได้มาร่วมป ิบัติธรรม ซึ่ง มีจ�านวนมากเพิ่มขึ้นทุกปี จนสถานที่รองรับไม่เพียงพอ และ ส่วนหนึ่งเพื่อใช้ในการอบรมเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และ หน่วยงานต่างๆ พร้อมด้วยประชาชนทัว่ ไป พร้อมกันนีท้ างคณะ สง อ์ า� เภอเลิงนกทา จะได้ใช้ประโยชน์ในการคณะสง ต์ อ่ ไป อีกด้วย ซึง่ ขณะนีย้ งั อยูใ่ นขัน้ ตอนด�าเนินการก่อสร้าง ความคืบ หน้าประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ ของโครงการก่อสร้าง ซึ่งตั้งเปງา ในการก่อสร้างให้เสร็จภายในปี พ.ศ.2560 จึงขอเชิญท่านสาธุชนทัง้ หลาย ร่วมสมทบทุนสร้างศาลา ป ิบัติธรรมตามแต่ก�าลังศรัทธา ได้ที่ พระครูพิชัยธรรมาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดศรีบุญเรือง อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร zbtpuipo"181


cQC@>Y.EATpYcGT

@YIQHOX(;[o"A_4>pY@_( @YITpYcGT+pYc)^kT@d(CN

cH^T.eAJY:"?YJQT.QYI"g(BIBY.JQc;j;"cHLj;)CYNRTH คือ คําขวัญอําเภอคําเขือ่ นแก้ว ซึง่ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออก ของจังหวัดยโสธร ห่างจากจังหวัดยโสธรประมาณ 2 กิโลเมตร มีพนื้ ทีร่ วมทัง้ สิน้ 6 . 0 ตารางกิโลเมตร แบ่งการปกครองเป็น 1 ต�าบล 115 หมูบ่ า้ น อปท. 1 แห่ง จ�านวนประชากรทัง้ หมด 6 ,05 คน ข้อมูล ณ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2559 ปຑ จ จุ บั น มี นายสมศั ก ดิ์ บุ ญ ทํ า นุ ก ด� า รงต� า แหน่ ง นายอําเภอคําเขื่อนแก้ว ซึ่งส�าเร็จการศึกษาปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต รัฐศาสตร์ จากรั้วพ่อขุน และส�าเร็จการ ศึกษาปริญญาโทพัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต จากสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ นอกจากนีท้ า่ นยังผ่านการ ฝຄกอบรมหลักสูตรนายอ�าเภอ รุน่ ที่ 5 และหลักสูตรนักปกครอง ระดับสูง นปส. รุ่นที่ 61 182

N[QXI>XO@FTpYcGT+pYc)^kT@d(CN

“ ้าเขื่อนแก้ว เมืองน่าอยู่ ยึดหลัก รั อเ ียง เก ตรอินทรียຏ รบวง ร”

EX@?([/

าเ ร กิ

สนับสนุนและผลักดันให้อ�าเภอมีความโดดเด่น มีประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม มีความเอื้ออาทรต่อกัน 2. ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการผลักดันการด�าเนิน ชีวติ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ ลดรายจ่าย เพิม่ รายได้ และการมีงานท�าเพิ่มขึ้น 3. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการทรัพยากร ด้านการเกษตร ให้เป็นการเกษตรปลอดภัย และมีมลู ค่าเพิม่ สูงขึ้น


BJWc;j@I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y

ประเดในยุทธศาสตร์ที่ ส่งเสริมปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์ครบวงจร ประเดในยุทธศาสตร์ที่ ส่ ง เสริ ม ภู มิ ป ຑ ญ ญาท้ อ งถิ่ น วัฒนธรรมประเพณี การค้าและการท่องเที่ยว ประเดในยุทธศาสตร์ที่ ยกระดับคุณภาพชีวติ เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน ประเดในยุทธศาสตร์ที่ อนุรกั ษ์ นຕ຅ ู พัฒนา ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

OTOPヘJCY@)T.DY(

ร้านหอมมะลิ จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ ตราบัง้ ไ อาทิ ข้าว างงอก กษัตริย์ ผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขภาพ ระดับ 5 ดาว และ สินค้า มากมาย โทร. 0 5 9 1 960, 0 6 6 6 1 ขนมถัว่ ตัด และผลิตภัณฑ์จากถัว่ ลิสง ระดับ ดาว โดยกลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรบ้านนาเวียง หมูท่ ี่ 6, 11 ต.กูจ่ าน โทร. 0 5 9 0209, 0 02 6 0 , 0 069 25

3. ไก่ย่างบ้านแคน กะหรีป่ บຖຑ ระดับ ดาว โดยกลุม่ แม่บา้ นเกษตรกรบ้านเหล่าไ 2 หมู่ที่ 2 ต.เหล่าไ โทร.0 02 6 0 , 0 069 25

dRLB.>BT.c>¥kINQpY+X4

1. พระธาตุกจู่ าน บ้านกูจ่ าน ต.กูจ่ าน อ.ค�าเขือ่ นแก้ว จ.ยโสธร 2. แหล่งโบราณสถานดงเมืองเตย ต.สงเป຅อย อ.ค�าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 3. พระธาตุโพนทัน บ้านโพนทัน ต.โพนทัน อ.ค�าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร พิพิธภัณฑ์หนังประโมทัย บ้านโพนทัน ต�าบลโพนทัน 5. แลนด์มาร์ค การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ศูนย์วิจัยและพัฒนา อาหารสัตว์ยโสธร 6. กลุ่มแตงโมอินทรีย์ ต�าบลลุมพุก 7. สวนสตรอเบอร์รี่ บ้านแคนน้อย ต�าบลแคนน้อย มีสตรอเบอร์รี่ แตงโมรูปหัวใจ มะม่วงงามเมืองย่า

YASOTHON 183


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL

@YIQ_J[IX@<F"c/J[41XI @YI(c>OH@<J¥<pYAL+pYc)^kT@d(CN

c>OAYL<pYAL+pYc)^kT@d(CN เทศบาลตําบลคําเขือ่ นแก้ว มีสา� นักงานเทศบาลตัง้ อยู่ ทีถ่ นนแจ้งสนิท ต�าบลลุมพุก อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากจังหวัดยโสธรไปทิศตะวันออกประมาณ 2 กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายสุรยิ นั ต์ เจริญชัย เป็น นายกเทศมนตรี ตําบลคําเขื่อนแก้ว

)CTH`L>XkNgB

เทศบาลตําบลคําเขือ่ นแก้ว มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 1.25 ตร.กม. หรือประมาณ 1.25 ไร่ สภาพภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบลุม่ สภาพ ดินเป็นดินร่วนปนทราย ไม่อุ้มน�้า

184

การปกครอง เทศบาลต�าบลค�าเขื่อนแก้ว แบ่งพื้นที่การ บริหารออกเป็น 5 ชุมชน คือ  ชุมชนคุ้มวัดโนนหนองบัว  ชุมชนคุ้มวัดประชาอุทิศ  ชุมชนคุ้มวัดบูรพาราม  ชุมชนคุ้มวัดค�าเขื่อนแก้ว  ชุมชนคุ้มตลาดสด ประชากร  จ�านวนครัวเรือน 1, 6 ครัวเรือน  ประชากรทั้งหมด ,165คน แบ่งเป็นชาย 2,055 คน หญิง 2,110คน  หมู่ 1 เฉพาะในเขตเทศบาลฯ จ�านวน 1,6 คน ชาย 0 คน, หญิง 1 คน  หมู่ 2 เฉพาะในเขตเทศบาลฯ จ�านวน 2,511 คน ชาย 1,2 9 คน, หญิง 1,2 2 คน ความหนาแน่นของประชากรต่อพืน้ ที่ , 2 คน ตร.กม. ข้อมูล ณ เดือน มกราคม 2559 ด้านโครงสร้างพืๅนฐาน การคมนาคม มีรถยนต์วิ่งให้บริการรับส่งผู้โดยสารทุก ชั่วโมง มีเส้นทางที่สามารถ ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้  ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 2 ถนนแจ้งสนิท ทางทิศตะวันตก เชือ่ มระหว่างเทศบาลฯ กับจังหวัดยโสธร ทางทิศตะวันออกเชือ่ ม กับอ�าเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี  ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 20 เชื่อมระหว่างเทศบาลฯ กับอ�าเภอมหาชนะชัย  ทางหลวงชนบทเส้นทาง รพช. เชื่อมระหว่างเทศบาลฯ กับ ต�าบลศรีฐาน อ�าเภอปຆาติ้ว


CL.Y@QpY+X4

เทศบาลตําบลคําเขือ่ นแก้ว ได้รบั งบประมาณจากกรม โยธาธิการและผังเมือตามโครงการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ ๡เมือง ค�าเขื่อนแก้ว๢ โครงการก่อสร้างและปรับปรุงถนนภายในเขตเทศบาลต�าบล ค�าเขื่อนแก้ว 2. โครงการก่อสร้างระบบระบายน�้าภายในเขตเทศบาลต�าบล ค�าเขื่อนแก้ว 3. โครงการพัฒนาระบบไ ງาแสงสว่างภายในเขตเทศบาล ต�าบลค�าเขื่อนแก้ว 4. โครงการปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ภายในเขตเทศบาลต�าบล ค�าเขื่อนแก้ว 5. โครงการก่อสร้างหอนาฬิกา 6. โครงการก่อสร้างอาคารตลาดสด 2 ชั้น 7. โครงการจัดสร้างอาคารเทิดพระเกียรติ 8. โครงการศูนย์ส่งเสริมอาชีพ ส่งเสริมสุขภาพและส่งเสริม ประเพณี วัฒนธรรม ชุมชนเทศบาลต�าบลค�าเขือ่ นแก้ว ฯลฯ YASOTHON 185


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL องค์การบริหารส่วนตําบลแคนน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 15 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลแคนน้อย อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร โดย ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกห่างจากอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว ประมาณ 10 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ กิโลเมตร

)CTH`L>XkNgB

@YIQ_(L"([/c(¥IJ<[o @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALd+@@CTI

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

d+@@CTI

N[QXI>XO@F

H_B.HXk@EX9@Ye+J.QJCY.E^l@7Y@ QB.cQJ[H(YJO](PYd(CBH4RYQX.+H Q[k.dN;LCTH"dLWT@_JX(PFNX9@?JJH BJWcE:¥"GYIf<CRLX((YJAJ[RYJ dAAH¥QBN@JBNH 186

ตําบลแคนน้อย มีพน้ื ทีท่ ง้ั หมด 26 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 16,250 ไร่ สภาพพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบทุง่ นาสลับ ปຆาโปร่ง สภาพดินร่วนปนทราย มีพนื้ ทีท่ า� การเกษตร ประมาณ 1 ,1 1 ไร่ การปกครอง ประชากร ต�าบลแคนน้อย มีหมูบ่ า้ นทัง้ หมด หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านแคนน้อย, หมูท่ ่ี 2 บ้านแคนน้อย, หมูท่ ี่ บ้านหนองเลิง, หมูท่ ี่ บ้านดอนเดือยไก่, หมูท่ ี่ 5 บ้าน ดอนมะยาง, หมู่ที่ 6 บ้านโนนเมืองน้อย และหมู่ที่ บ้าน ดอนมะ วน มีประชากรรวมทัง้ สิน้ ,51 คน แยกเป็นชาย 1, คน หญิง 1, คน จ�านวนครัวเรือน 90 ครัวเรือน หน่วยงานสําคัญ ในเขตอบต.แคนน้อย มีโรงเรียนประถม ศึกษา 1 แห่ง โรงเรียนขยายโอกาส 1 แห่ง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล 1 แห่ง และวัด 6 แห่ง คําขวัญตําบลแคนน้อย “เลิ ล้า้ ผลิต ั ຏ นื้ บ้าน ต้านานล้าเ ลิน มุ นเ ริ เข้มแขใง แหล่งผลิตข้าวอินทรียຏ”

+:WC`CAJ[RYJ"TA<ホd+@@CTI

นายสุกล กิจเกียรติ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลแคนน้อย นายจุมพล มุธสุ ทิ ธ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบลแคนน้อย นายคําไพมณี ผิวผ่อง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล แคนน้อย นางพิสมัย จงกลาง เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล แคนน้อย นายมานพ ศรีหิน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลแคนน้อย


เร่งรัดข ัดขยะ

e+J.(YJQpY+X4"TA<ホd+@@CTI \ホ"e+J.(YJ"uア"cァ"oキッ、ァエ"\

เป็นโครงการรณรงค์ปอງ งกันและแก้ไขปຑญหายาเสพติด โดย มีทลู กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี เป็นองค์ประธาน ซึง่ มีหลักการทีส่ า� คัญคือ เยาวชนเพือ่ เยาวชน โดยเน้นการพัฒนาศักยภาพแกนน�าเยาวชนให้ร่วมคิด ร่วม วางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อสมาชิกชมรมและเยาวชน ซึ่ง โครงการนีจ้ ะประสบความส�าเร็จต้องได้รบั ความร่วมมือจากทัง้ ภาครัฐ สถานศึกษา ชุมชน และสถานประกอบการ องค์การบริหารส่วนตําบลแคนน้อย โดย สํานักงานปลัด อบต แคนน้อย ได้ด�าเนินโครงการรณรงค์ปງองกันและแก้ไข ปຑญหายาเสพติด T B มาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่ง พัฒนาเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงในการใช้สารเสพติด มากทีส่ ดุ ให้มภี มู คิ มุ้ กันทางจิต ส่งเสริมการแสดงออกในทางที่ เหมาะสม เป็นทีย่ อมรับ และเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง โดย มีการพัฒนา ๡ศูนย์เพือ่ นใจวัยรุน่ ๢ (T B ) ภายใต้แนวทางของการให้บริการปรับทุกข์ สร้างสุข แก้ปญ ຑ หา และพัฒนา จัดให้เป็นศูนย์กลางในการให้คา� ปรึกษา แก่เยาวชนกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพจิตและยาเสพติด โดยอาสา สมัครประจ�าศูนย์เพือ่ นใจวัยรุน่ รวมทัง้ จัดให้มบี ริการฝຄกทักษะ แก้ไขปຑญหาและพัฒนา โดยให้วัยรุ่นได้มีประสบการณ์ใน การจัดการกับปຑญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปຑญหาที่เกิดจากการ เรียน ความรัก เพศ เพื่อน ครอบครัว หรือปຑญหาที่ท�าให้ขาด ความภูมใิ จในตนเอง จนเป็นเหตุให้นา� ไปสูป่ ญ ຑ หายาเสพติด และ การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการด�าเนินงานให้มคี วามเข้มแข็ง ส�าหรับการด�าเนินงานภายใต้โครงการนีฯ้ ยังเป็นการส่ง เสริม สนับสนุนกลุม่ เยาวชนต�าบลแคนน้อย ในการจัดกิจกรรม การประกวดและรับการตรวจประเมินความสามารถด้านผล งาน และการน�าเสนอผลงานกิจกรรมของเยาวชนชมรม T B ชุมชนแคนน้อย ตลอดรอบปี เพือ่ รักษาผลงานระดับ

รวม ลังสร้างสุข ประเทศ ต้นแบบ ระดับทอง รักษามาตรฐานระดับทอง ครัง้ ที่ 1 ปี 2559 ณ พืน้ ทีต่ า� บลแคนน้อย และ ร่วมการประกวดกิจกรรม โครงการ T B ระดับภาค และระดับประเทศ ปี 2559 ณ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี

ホ"e+J.(YJ/X;(YJ)IW

องค์การบริหารส่วนตําบลแคนน้อย ได้ส่งผลงาน โครงการการจัดการขยะมูลฝอยระดับต�าบล เข้าประกวดเพื่อ ขอรับงบประมาณจากทางสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจังหวัดยโสธร จนได้รับการคัดเลือกให้เป็น พืน้ ทีด่ า� เนินการ “ตามโครงการชุมชนต้นแบบด้านการจัดการ คุณภาพสิง่ แวดล้อม ภาย฿ต้โครงการสร้างความร่วมมือด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม฿นระดับพืๅนที่ เพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ จังหวัดยโสธร” ประจ�าปีงบประมาณ 2559 เป็นหนึง่ ในสามต�าบล ในเขตพืน้ ที่ จังหวัดยโสธร โดยต้องด�าเนินกิจกรรมการจัดการขยะอย่าง ครบวงจร เช่น การจัดตัง้ ธนาคารขยะ การน�าขยะอินทรียม์ าเลีย้ ง สัตว์ ไส้เดือน เพื่อน�ามูลไส้เดือนมาใช้ในการเกษตร การท�า ปุຉยน�้าหมัก เป็นต้น

¦ホ"TA<ホ<C@dAAELX..Y@IXk.I^@

จากจุดเริ่มต้นด้วยภูมิปຑญญาและความสนใจส่วนตัวใน ด้านกังหันลม ของนายมนูญ ภูผา อดีตนักการภารโรงโรงเรียน บ้านแคนน้อยหนองเลิง เกษตรกรผูด้ า� รงชีวติ ด้วยความพอเพียง และยึดมัน่ ในแนวทางการท�านาปลอดสารเคมีตลอดมา เขาได้ จัดท�ากังหันลมเพื่อใช้ชักน�้าจากบ่อขึ้นมาหล่อเลี้ยงข้าวในนา ยามฝนทิง้ ช่วง ซึง่ ช่วยแก้ไขปຑญหาภัยแล้งได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่สิ้นเปลืองพลังงาน จึงท�าให้มีผู้สนใจมาดูงานมากขึ้น มูลนิธสิ าย฿ยแผ่นดิน มูลนิธนิ โยบายสุขภาวะ รวมทัง้ พลังงานจังหวัดยโสธร และองค์การบริหารส่วนตําบลแคน YASOTHON 187


วายเทียน รร า

ลังงานธรรม าติ น้อย จึงได้เข้ามาสนับสนุน ต่อมาในปี 2556 จึงได้สง่ กังหันลม เข้าประกวดระดับประเทศ เน้นผลส�าเร็จ ได้รบั รางวัลที่ 1 ระดับ ประเทศ

ホ"e+J.(YJRLBTc>¥I@EJJPY

องค์การบริหารส่วนตําบลแคนน้อย ตระหนักและเล็ง เห็นถึงความส�าคัญของการอนุรกั ษ์ และสืบสานประเพณีทดี่ งี าม ของท้องถิน่ จึงได้ทา� โครงการหล่อเทียนพรรษาเ ลิมพระเกียรติ ประจําป຃งบประมาณ พ ศ ในวันที่ 1 - 21 กรกฎาคม 2559 โดยมีการร่วมสืบสานวัฒนธรรมท้องถิน่ ทีค่ วรค่าแก่การอนุรกั ษ์ และสืบสานของหมูบ่ า้ นต่างๆ เพือ่ ให้ประชาชน เด็กและเยาวชน รวมถึงหน่วยงานทุกภาคส่วนในสังคม ได้มีส่วนร่วมในการ อนุรกั ษ์และสืบสานประเพณีทดี่ งี าม รวมทัง้ เป็นการเสริมสร้าง ความรัก ความสามัคคี ความร่วมมือ ความสนุกสนานและผูกมิตร ไมตรีทดี่ ตี อ่ กัน ตลอดจนเป็นการอนุรกั ษ์และสืบทอดประเพณี ที่ดีงามให้คงอยู่ต่อไป

¡ホ"e+J.(YJN[>IYLXIC`CQ`.TYI_<pYALd+@@CTI" ネl」ーーアォ"mアーゥカァエッ"d」エァ"dアョョァゥァノ 

  

เปງาหมาย สุขกาย สุขใจ สังคมปลอดภัย ปຑญญาแจ่มใส คําขวัญ อโรคยา ปรมา ลาภา ความไม่มโี รคเป็นลาภอันเประ เสริฐ วิสยั ทัศน์ เน้นสถาบันมุง่ ส่งเสริมห้องผ้สงู อายุมรี า่ งกายแข็ง แรง จิตใจเบิกบาน ภายใต้สงั คมทีด่ ที เี่ กิดจากการใช้ปญ ຑ ญาพัฒนา สาระหลักสูตร มุ่งด้านสุขภาพ กาย ใจ ภาษาสังคมยุค

188

ຑດนเ ื่อสุข า

เปลีย่ นแปลง วรรณคดีกบั ชีวติ เทคโนโลยี วัฒนธรรม ประเพณี ธรรมะ ฯลฯ เวลาเรียน สองอาทิตย์ ต่อครั้งๆละครึ่งวัน

dRLB.cJ¥I@J`CNX9@?JJH<pYALd+@@CTI

องค์การบริหารส่วนตําบลแคนน้อย ได้ก�าหนดให้การ ส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมเป็นนโยบายที่ส�าคัญด้านหนึ่ง ใน การสร้ า งความสุ ข ให้ กั บ ชุ ม ชน ดั ง ค� า ขวั ญ ของต� า บลที่ ว ่ า “วั นธรรมสร้าง วามสุขทางใ สร้างรายได้ให้กบั มุ น” ซึ่งต�าบลแคนน้อยมีกิจกรรมทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น ควรค่า แก่การเรียนรู้และอนุรักษ์สืบสานให้คงอยู่ ดังนี้ ข้าวเกรียบหอมหวาน (ข้าวโป่ง) ข้าวเกรียบหรือข้าวโปຆงเป็นผลิตภัณฑ์ขนมพื้นบ้านที่ สืบทอดกันมายาวนาน ซึ่งในอดีตเป็นขนมประจ�าฤดูกาล แต่ ปຑจจุบันมีการผลิตเป็นสินค้าโอท็อป มีจ�าหน่ายตลอดปี ตํานานลําเพลิน ล�าเพลินเป็นการแสดงเรื่องราวของนิทานพื้นบ้านหรือ วรรณคดีไทย โดยอาศัยลีลากลอนอีสาน ทีม่ จี งั หวะสนุกสนาน เร้าใจคน งຑ ทีต่ า� บลแคนน้อยยังมีลา� เพลินสืบสานมาค่อนข้าง สมบูรณ์ ขอเชิญผูท้ สี่ นใจศึกษาเรือ่ งการล�าเพลิน และเยีย่ มชม ได้ตลอดเวลา ชุมชนเจริญเข้มแขใง วัฒนธรรมที่เป็นจุดแข็งต่อการพัฒนาต�าบลแคนน้อย ก็ คือ ประชาชนมีความรักสมัครสมานสามัคคี เมือ่ มีกจิ กรรมใด ๆ จะร่วมมือกันอย่างเข้มแข็ง มีการแก้ปຑญหาโดยกระบวนการมี


เยาว น นเก่ง

ผลิต ั

นัก ึก าวิทยาลัยผู้สูงอายุ ส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน และตัดสินใจด้วยเสียงข้าง มาก ท�าให้การพัฒนามีความยั่งยืนและต่อเนื่องสืบมา แหล่งผลิตข้าวอินทรีย์ ต�าบลแคนน้อยได้ชอื่ ว่าเป็นแหล่งปลูกข้าวปลอดสารเคมี มีกลุม่ ชาวนาทีป่ ลูกข้าวปลอดสารเคมีอย่างจริงจัง และด�าเนิน การครบวงจรตั้งแต่การปลูกจนถึงการส่งขาย ประเพณีเลีๅยงปู่ตา ปูຆตาหรือเจ้าปูຆ เป็นความเชื่อของคนอีสานที่เชื่อว่าดวง วิญญาณของบรรพบุรุษ หรือเทพาอารักษ์ที่อาศัยอยู่ตามปຆา ทีอ่ ยูใ่ นเขตชุมชน มีหน้าทีด่ แู ลรักษา คุม้ ครองความอยูเ่ ย็นเป็น สุขของชุมชน รวมถึงอ�านวยอวยชัยให้ ງาฝนตกต้องตาม ฤดูกาล ให้ชาวบ้านได้ทา� ไร่ทา� นาอย่างเต็มที่ ผลผลิตทีไ่ ด้ให้มาก มายอุดมสมบูรณ์ การเลีย้ งปูตຆ าจะมีปลี ะสองครัง้ คือหลังเก็บเกีย่ วข้าวเสร็จ

เ รื่อง ักสาน ุ

ຏกลุ่มอา ี

ออก รร า ราสาทผึ้ง เพือ่ เป็นการขอบคุณเจ้าปูຆ และก่อนลงท�านาเพือ่ เป็นการอ้อน วอนขอ าງ ฝน และความเจริญงอกงามทัง้ ปวง ซึง่ ทุกครอบครัว จะน�าอาหารหวานคาวไปร่วมกันถวาย โดยมีตวั แทนทีเ่ รียกว่า พ่อใหญ่จ�้า เป็นคนน�าด�าเนินการ ออกพรรษาแห่ปราสาทผึๅง ปราสาทผึ้ง เป็นปราสาทที่สร้างจากไม้ไผ่ ตกแต่งด้วย กาบกล้วยทีผ่ า่ นการแกะสลักลวดลายอย่างงดงามละเอียดอ่อน และประดับประดาด้วยดอกไม้สเี หลืองอร่ามตา ทีป่ ระดิษฐ์จาก ขี้ผึ้งหลอมละลายแล้ว จึงเรียกว่าปราสาทผึ้ง ซึ่งปราสาทผึ้งนี้ จะประดิษฐ์หรือท�าขึ้นตามความเชื่อของคนอีสาน แล้วน�าไป ถวายพระสง ใ์ นวันออกพรรษา เพือ่ อุทศิ ส่วนกุศลแก่ผลู้ ว่ งลับ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ องค์การบริหารส่วนตําบล แคนน้อย อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร ไปรษณีย์ 51 0 โทร. 0 5 6 2 2

ข้าวเกรียบหอมหวาน YASOTHON 189


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

NBY>¥k"Jホ<ホIONJJ?@F" cE¥IJ>pY"BLX;"TA<ホ

\ホ"@YI/JXQ"EJJPY JT.@YI("TA<ホ ホ"@YI1_HEL";N.<Y " JT.@YI("TA<ホ" ¦ホ"@YIN[1XI"@X(d+@ " cL)Y@_(YJ"@YI("TA<ホ

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

Q.cB<TI

องค์การบริหารส่วนตําบลสงเป຅อย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�าบล สงเป຅อย อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร โดยตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันตกห่างจากอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว 6 กิโลเมตร ปຑจจุบันมี นายทวี สืบสอน เป็น นายกองค์การบริหารส่วนตําบลสงเป຅อย และ ว่าทีร่ อ้ ยตรี ยศวรรธน์ เพียรทํา เป็นปลัดองค์การบริหาร ส่วนตําบลสงเป຅อย

)CTH`L>XkNgB

ตําบลสงเป຅อยมีเนื้อที่ประมาณ 9. ตารางกิโลเมตร หรือ 1,0 5 ไร่ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง และทุ่งนา สภาพดินร่วนปนทราย มีรอ่ งน�า้ ธรรมชาติ ร่องบ่อ และมีแม่นา�้ ชี ไหลผ่าน 190

สมา ิก ส า อบต สงเ ຅อย เขตการปกครอง ประชากร แบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน อยู่ในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลสงเป຅อย ดังนี้ หมู่ ที่

ชื่อบ้าน

1 บ้านสงเป຅อย 2 บ้านกุดตากล้า บ้านบุ่งหวาย บ้านดอนขะยอม 5 บ้านโคกสะอาด 6 บ้านสงเป຅อย บ้านโนนยาง บ้านเมืองเตย 9 บ้านบุ่งหวาย รวม

จํานวนประชากร จํานวน ชาย หญิง รวม 255 251 290 2 262 255 11 1 1 1 1 6 515 1 1 296 29 256 2 9 2,1 0 2,1 1

ครัว เรือน

506 1 5 16 51 1 25 69 296 9 991 252 2 1 5 9 16 505 11 , 21 1,16

ชื่อผู้นําหมู่บ้าน นายไพศาล เพชรอุบล นายสุดใจ นิยม นายบุญมี พลโยธา นายสมจิตร สีระวัตร นายชูชาติ พร้อมจิตร นายสุวัตร หาญชนะ นายบุญมา ต้นจันทร์ นายอนันต์ บุญก�่า นายค�าพันธ์ พรรษา


ซากเมืองโบราณดงเมืองเตย อยูท่ างทิศใต้ของหมูบ่ า้ น สงเป຅อย ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจาก อ�าเภอประมาณ กิโลเมตร เป็นสถานที่น่าสนใจอีกแห่งหนึ่ง ของอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ภายในบริเวณดงเมืองเตยมีซากวัด สระน�้าก�าแพงเมือง ซึ่งปຑจจุบันได้ช�ารุดลงไปมากแล้ว แต่ยังมี เค้าโครงเดิม พอจะสันนิษฐานได้ว่าเดิมเป็นที่ตั้งของชุมชน โบราณสมัยเจนละทวารวดี ตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ 12 จากข้อความ ที่พบในจารึกของกษัตริย์เจนละ แสดงว่าโบราณสถานแห่งนี้ สร้างขึ้นเป็นศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ท่ีนับถือพระศิวะ ในช่วงเวลานัน้ บริเวณดงเมืองเตย รวมทัง้ ชุมชนใกล้เคียงก็คง จะเคยเป็นเมืองทีม่ ชี อื่ ว่า ๡ศังขะปุระ๢ ซึง่ คงจะมีความสัมพันธ์ ในฐานะเมืองในปกครองของอาณาจักรเจนละ ซึง่ ก็คอื อาณาจักร ขอม ในสมัยต่อมาทีแ่ ผ่อา� นาจเข้ามาในเขตลุม่ แม่นา�้ มูล-ชี ใน ช่วงเวลาดังกล่าว โบราณสถานดงเมืองเตย มีโบราณวัตถุ และสิง่ ประกอบ อาคารที่สร้างเกี่ยวเนื่องกับศาสนา เช่นเสมาพระพุทธรูป กุฑสุ ลักรูปสตรี ทีท่ า� ด้วยหินทราย ตลอดจน วงกบกรอบประตู ท�าด้วยหินทรายสีแดง ขนาดกว้างประมาณ 0 เซนติเมตร สูง ประมาณ 200 เซนติเมตร หนาประมาณ 60 เซนติเมตร มีจารึก 1 ด้าน มี บรรทัด อักษรปຑลลวะภาษาสันสกฤตประมาณพุทธ ศตวรรษที่ 12-1 ส�าหรับโบราณวัตถุที่ส�าคัญซึ่งได้จากการขุดแต่งโบราณ สถานในปี 25 คือ สิงห์สลักจากหินทราย สีขาว ศิลปะเขมร สมัยปาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 15 โดยพบบริเวณทางเดิน ด้านทิศตะวันออก สูงประมาณ 115 เซนติเมตร สภาพสมบูรณ์ อยู่ท่ายืนด้วยขาหน้า ส่วนขาหลังเขาเขย่งเท้า ส่วนหัวสลักผม มีกรอบหน้าคล้ายกระบัง สลักอวัยวะบนหน้าครบทุกส่วน ขน คอสลักเป็นแผง ส่วนหางพาดผ่านกลางหลัง ปลายหางตั้งขึ้น แนบส่วนหัวด้านหลัง ปຑจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ลักษณะโบราณสถานดงเมืองเตย สิง่ ก่อสร้างหลัก คือ ฐานเจดียก์ อ่ อิฐ ปูนทรงสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า สูงประมาณ 1. เมตร มีฐานเขียง 2 ชั้น และชุดบัวคว�่าบัวหงาย มีการแกะตกแต่ง

บริเวณท้องไม้ลายตารางและลายบัวหงายด้านหน้ามีทางเดิน เชือ่ มต่อกับฐานโบราณสถานก่ออิฐ ทรงสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ามีความ กว้างและความยาวใกล้เคียงกันเกือบจะเป็นสี่เหลี่ยมจตุรัส และมีทางเดินปูอฐิ ยาวประมาณ 2 เมตร กว้างประมาณ เมตร

ปี พ.ศ.2559 องค์การบริหารส่วนต�าบลสงเป຅อย ได้รบั งบ ประมาณจากส�านักงานโยธาธิการและผังเมือง จังหวัดยโสธร ก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์อนุสรณ์ และปรับปรุงภูมิทัศน์ดง เมืองเตยโบราณสถาน ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว ของท้องถิน่ และ จังหวัดยโสธร YASOTHON 191


วัดสงเป຅อย เป็นวัดเก่าแก่ มีอายุไม่ตา�่ กว่า 200 ปี มีอดีต เจ้าอาวาสทีป่ ระชาชนเลือ่ มใสศรัทธา และด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะ แขวง เจ้าคณะอ�าเภอ ซึ่งสมัยก่อนอ�าเภอปຆาติ้วและอ�าเภอ ค�าเขือ่ นแก้ว ยังเป็นอ�าเภอเดียวกันอยู่ คือพระครูชนิ วาสสาทร พา และพระครูสุทธิรัตนโสภณ สุทธิ

Q[k.QpY+X4dLWB`1@¥IQ=Y@>¥k@BYQ@f/

พระพุทธรูป฿หญ่ เป็นพระประธานในอุโบสถวัดสงเป຅อย มีขนาดหน้าตักกว้าง เมตร สูง เมตร เป็นพระพุทธรูปปຑຕน ด้วยอิฐปูน มีอายุไม่นอ้ ยกว่า 200 ปี เป็นทีส่ กั การะของประชาชน ในท้องถิ่นถือเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์หนึ่ง เจดียบ์ รรจุดนิ จากสังเวชนียสถาน เดิมเป็นเจดียเ์ ก่าแก่ อายุประมาณ 200 ปีขึ้นไป ในปี พ.ศ.2 9 ได้ต่อเติมขึ้นใหม่ โดยเงินทุนของจอมพลแปลก พิบลู สงคราม ซึง่ พระปลัดเขียน อัมมาพันธ์ น�าดินจากสังเวชนียสถาน ต�าบล คือ ที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน จากประเทศอินเดีย มาบรรจุไว้ รอยพระพุทธบาทจําลอง จัดสร้างโดยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม และท่านผู้หญิง ในวันสงกรานต์ของทุกปีมี ประชาชนในท้องถิ่นมาสรงน�้าเป็นจ�านวนมาก

ระเ ้าให ่ ระ ระธานในอุโบส วัดสงเ ຅อย

รอย ระ ุทธบาท ้าลอง 192


วั ด ศิ ริ ร าษฎร์ พั ฒ นา เป็ น วั ด ราษฎร์ ตั้ ง อยู ่ ติ ด เขต าปนสถานบ้านสงเป຅อย หมู่ 6 ต.สงเป຅อย เดิมเป็นทีพ่ กั สง ์ หลวงพ่อศิริ ญาณวีโร ได้มาจ�าพรรษา เมือ่ พ.ศ.2520 ทีพ่ กั สง ์ แห่งนีช้ อื่ ว่า ส�านักสง ศ์ ริ ธิ รรมภาวนา และได้รบั อนุมตั สิ ร้างวัด เมือ่ วันที่ 1 มีนาคม 25 ต่อมาได้ยกขึน้ เป็นวัดโดยสมบูรณ์ ชือ่ ว่า วัดศิรริ าษฎร์พฒ ั นา หลวงพ่อศิริ ญาณวีโร ได้เลือ่ นสมณศักดิ์ เป็นพระครูวรญาณประยุตเจ้าคณะต�าบล และพระอุปຑ ชา ต�าบลโพนทัน อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ท่านเป็น พระนักพัฒนาราษฎรเลื่อมใสศรัทธาและได้บริจาคที่ดินให้ หลวงพ่อ ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของส่วนราชการหลายแห่ง เช่น ทีท่ า� การองค์การบริหารส่วนต�าบลสงเป຅อย โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต�าบลสงเป຅อย ทีต่ งั้ ประปาหมูบ่ า้ น ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก บ้านสงเป຅อย สวนสุขภาพ และตลาดชุมชนและขอบริจาคทีด่ นิ จากราษฎรทีค่ รอบครองท�ากินอยูก่ อ่ นแล้ว ยกให้เป็นทีส่ าธารณะ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของโบราณสถานเมืองเตย จ�านวน 15 ไร่ ได้ ประสานงานกับส่วนราชการต่างๆ น�าความเจริญ เข้าสู่ต�าบล สงเป຅อย เช่น ก่อสร้างสะพานข้ามแม่นา�้ ชี เชือ่ มกับอ�าเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด สร้างถนนเชื่อมระหว่างต�าบลหลายสายสร้าง สถานีสบู น�า้ จัดระบบชลประทานประสานงาน เพือ่ น�าไ าງ เข้า สู่หมู่บ้าน

หลวง อ่ ิริ า วีโร รี ระ รูวร า ระยุต

าลาการเ รีย และโบส ຏวัด ิริรา รຏ ั นา ก้าลัง ลูกสร้าง

ม ที่ ระดิ รຏ ู เหมือน ของหลวง ่อ ิริ า วีโร YASOTHON 193


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL ลุมพุก และ นายสมพร การะเกษ ด�ารงต�าแหน่งปลัดองค์การ บริหารส่วนตําบลลุมพุก

)CTH`L>XkNgB

@YINQX@<F"1XIG`H["" @YI(T.+F(YJAJ[RYJ<pYALL_HE_(

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

L_HE_(

QB.cQJ[H(¥SY"EX9@YTY1¥E"" c(P<JT[@>J¥IF(CYNg(L" fQBf/Q[k.dN;LCTH"@CTH@pY<YHJTIEBT" QY@<BTQ`BTYc2¥I@ คือวิสัยทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลลุม พุก อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร โดยตัง้ อยูท่ างทิศตะวัน ออกห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 2 กิโลเมตร ปຑจจุบันมี นายวสันต์ ชัยภูมิ ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารตําบล 194

ต�าบลลุมพุกมีเนื้อที่ทั้งหมด 9 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 5 , 50 ไร่ สภาพพืน้ ทีข่ ององค์การบริหารส่วนต�าบล เป็นทีร่ าบสูง และมีทงุ่ นาสลับปຆาโปร่ง ดินเป็นดินร่วนปนทราย ไม่อุ้มน�้า มีล�าห้วยเขมรไหลผ่าน เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก ประกอบ ด้วยหมู่บ้าน 15 หมู่บ้าน  จ�านวนหมูบ ่ า้ นในเขต อบต. บางส่วน 2 หมู่ ได้แก่ หมูท่ ่ี 1-2  จ�านวนหมูบ ่ า้ นในเขต อบต. เต็มทัง้ 1 หมู่ ได้แก่ หมูท่ ี่ -15 ประชากร องค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุกตามทะเบียน ราษฎร์ มีประชากรทัง้ หมด , 1 คน แยกเป็นชาย ,1 คน หญิง ,225 คน จ�านวน 2, ครัวเรือน ข้อมูล ณ เดือน กุมภาพันธ์ 255 สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพหลักคือ ท�านา รองลงมาคือ ท�าไร่ มันส�าปะหลัง, ปอ, แตงโม รับจ้าง และ ค้าขาย สภาพทางสังคม มีศนู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 2 แห่ง, โรงเรียน ประถมศึกษา 5 แห่ง และทีอ่ า่ นหนังสือพิมพ์ประจ�าหมูบ่ า้ น 15 แห่ง และมีวัด 11 แห่ง

d<.eHT[@>J¥IF")T.;¥<pYALL_HE_(

องค์การบริหารส่วนตําบลลุมพุก ให้ความส�าคัญกับการ ท�าเกษตรอินทรีย์ ไม่ว่าจะเป็นข้าว พืชผักสวนครัว และผลไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแตงโม ซึ่งในพื้นที่ต�าบลลุมพุกได้ริเริ่มการ ปลูกแตงโมปลอดสารพิษอย่างจริงจัง ท�าให้ผลผลิตแตงโมของ ต�าบลลุมพุกมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั้งประเทศ และผลิตไม่เพียง พอต่อความต้องการของผู้บริโภคที่ใส่ใจต่อสุขภาพ


ปຑจจุบนั เกษตรกรผูป้ ลูกแตงโมในอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว มีการ รวมตัวกันเป็น “กลุม่ แตงโมหวานปลอดสารพิคาํ เขือ่ นแก้ว” โดยมีแปลงแตงโมของสมาชิกกลุ่มแตงโมหวานปลอดสารพิษ ค�าเขื่อนแก้ว อยู่ในพื้นที่ของต�าบลลุมพุกด้วย ซึ่งแปลงแตงโม ดังกล่าว เป็นสถานที่ศึกษาดูงานของเกษตรกรที่สนใจจากทั่ว ประเทศ และได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนหลายแขนง ทั้ง รายการทีวี หนังสือพิมพ์ มาถ่ายท�ารายการและสกูปຍ ข่าว ฯลฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และคณะ ต้อนรับคณะสภาเกษตรจังหวัดพัทลุง เยีย่ มชมศึกษา ดูงานกลุม่ แตงโมหวานปลอดสารพิษค�าเขือ่ นแก้ว เมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม 2559

นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และคณะ เป็นตัวแทนของสมาชิกกลุม่ แตงโมหวานปลอดสาร พิษค�าเขือ่ นแก้ว ในพืน้ ทีข่ องต�าบลลุมพุก มอบแตงโมอินทรีย์ ให้กบั นายสมศักดิ์ บุญท�านุก นายอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว เมือ่ วันที่ 6 มิถุนายน 2559

นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และกลุม่ แตงโมหวานปลอดสารพิษค�าเขือ่ นแก้ว พร้อมทีมนัก ข่าวภูมภิ าคเนชัน่ ลงพืน้ ทีร่ ว่ มถ่ายท�าสกูปຍ รายการ ๡ข่าวเกษตร อินทรีย์ยโสธร แปลงแตงโมในค่ายบดินทรเดชา๢ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2559 นายสมพร การะเก ปลัดองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก มอบแตงโมอินทรีย์ นายจรินทร์ จักกะพาก อธิบดีกรมการ ปกครองส่วนท้องถิน่ ที่ โรงแรมเจพีในโอกาสมามอบนโยบาย จังหวัดยโสธร เมื่อวันที่ มิถุนายน 2559 YASOTHON 195


นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และคณะ ร่วมถ่ายท�ารายการ าร์มชาแนล ณ ธนาคารผลิตปุยຉ บ้านดอนเขือง และแปลงแตงโมของสมาชิกกลุ่มแตงโมหวาน ปลอดสารพิษค�าเขื่อนแก้ว ในพื้นที่ของต�าบลลุมพุก อ�าเภอ ค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2559 นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และคณะ ลงพืน้ ทีพ่ ร้อมนักข่าวช่อง เพือ่ ถ่ายท�าสกูปຍ รายการ ๡ข่าว มิติ ช่วงลงแปลงเกษตรกร๢ ณ แปลงแตงโมของสมาชิก กลุ่มแตงโมหวานปลอดสารพิษค�าเขื่อนแก้ว ในพื้นที่ของ ต�าบลลุมพุก อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2559 นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก ร่วมถ่ายท�าสกูปຍ รายการ ๡รถปลดทุกข์๢ ช่องไทยรัฐทีวี เมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2559

196

นายวสันต์ ชัย ูมิ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลลุมพุก และคณะ ร่วมต้อนรับองค์การบริหารส่วนต�าบลละทาย อ�าเภอ กันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ โดยการน�าของ นายศักดา พลศักดิ์ นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลละทาย เข้าศึกษาดูงานการ ปลูกแตงโม ในเขตพืน้ ทีต่ า� บลลุมพุก อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัด ยโสธร ในวันที่ 26 เมษายน 2559


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL +pY)NX4<pYAL(`B/Y@

พระธาตุกู่จาน ตํานานดอนกู่ ดูลิงหางยาว อู่ข้าวอุดม ชมบ่อนํๅาศักดิ์สิทธิ์ แหล่งผลิตถั่วลิสง มั่นคงวัฒนธรรม

)CTH`L>XkNgB

@YIT@_QJ:F"@YcN¥I. @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL(`B/Y@

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

(`B/Y@

c(P<JT[@>J¥IF"Q_)GYE;¥=CN@R@CY"" (YJO](PYH¥+_:GYE"T@_JX(PF" Q[k.dN;LCTH"+H@Y+HQW;N("Q^AQY@ BJWcE:¥dLWNX9@?JJH>CT.=[k@

ตําบลกู่จาน มีพื้นที่ประมาณ 5 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ . 50 ไร่ พื้นที่ท�าการเกษตร ประมาณ 16, 62 ไร่ มีแหล่งน�า้ อุดมสมบูรณ์ มีปาຆ โปร่งสลับขนาบด้วยล�าน�า้ ธรรมชาติ คือล�าห้วยเขมร และล�าห้วยโพง ล�าเซบาย และหนองน�า้ ธรรมชาติ สลับทีร่ าบลุม่ เหมาะทีจ่ ะตัง้ บ้านเรือน ทีอ่ ยูอ่ าศัย และท�าการ เกษตร การท�าประมงน�า้ จืด มีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ า� คัญ คือ ปຆาไม้ดงมะพริก ปຆานาทาม ปຆาเหล่าน�า้ ท้วม ทีส่ าธารณะดอนปูตຆ า หมู่ 1, 2 บ้านกู่จาน มีลิงอาศัยอยู่ประมาณ 00 ตัว สภาพปຆา ค่อนข้างสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารในชุมชน เช่นเห็ดปຆาชนิด ต่างๆ เห็ดโคน เห็ดปลวก และของปຆาอื่นๆ อีกหลายชนิด ประชากร ต�าบลกู่จานมีหมู่บ้านทั้งหมด 12 หมู่บ้าน มี ประชากรทัง้ สิน้ 5,616 คน แยกเป็นชาย 2, 2 คน หญิง จ�านวน 2, คน จ�านวนหลังคาเรือน 1, 2 หลังคาเรือน สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนต�าบลกู่จานประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยร้อยละ 99.05 ประกอบ มีอาชีพหลัก คือ ท�านาข้าว อาชีพรอง คือ เลีย้ งสัตว์ ท�าไร่บาง ส่วน และไปประกอบอาชีพต่างถิน่ หลังฤดูเก็บเกีย่ วผลผลิตเสร็จ สภาพทางสังคม การศึกษา มีโรงเรียนมัธยมศึกษา 1 แห่ง โรงเรียนประถม ศึกษา แห่ง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก แห่ง สนับสนุนด้าน อาหาร กลางวัน อาหารเสริม นม ศาสนา และวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นบั ถือศาสนา พุทธ มีวดั 9 แห่ง ส�านักสง ์ 1 แห่ง สาธารณสุข มีโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�าบล 2 แห่ง มวลชนจัดตัๅง ลูกเสือชาวบ้าน ไทยอาสาปງองกันชาติ สมาชิกประชาคมระดับต�าบล หมูบ่ า้ น อาสาสมัครพลังแผ่นดิน กลุ่มเยาวชนระดับต�าบล ศูนย์พัฒนาครอบครัวระดับต�าบล หมู่บ้าน อปพร. รสทป. เป็นต้น

คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลกูจ่ าน ต�าบลกู่จาน อ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร โดยตั้งอยู่ทาง ทิศเหนือห่างจากอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ประมาณ 12 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 5 กิโลเมตร YASOTHON 197


(YJ)XAc+L^kT@@eIAYINYJW<pYAL

องค์การบริหารส่วนตําบลกู่จานได้มีนโยบายจัดท�า วาระต�าบลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความ เป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีวาระต�าบลที่ส�าคัญดังนี้ งานศพปลอดเหล้า ได้ดา� เนินการให้เป็นพืน้ ทีต่ า� บลงานศพ ปลอดเหล้า ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 สามารถประหยัดงบประมาณ รายจ่ายในการจัดงานได้เป็นอย่างมาก จึงได้รับความร่วมมือ จากประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างดี ประเพณีงานบวชปลอดเหล้า เป็นการคืนคุณค่าประเพณี อันดีงาม โดยไม่แยกออกจากวิถีชีวิตท�าให้สังคมมีแต่ความ สงบสุข ไม่มเี รือ่ งทะเลาะวิวาทกันในงาน มีความรักสามัคคีเกิด ในชุมชนอย่างยั่งยืน อีกทั้งได้น�าไปสู่การเกิดกระแสสังคมใน ต�าบล ประชาชนต่างตระหนักและให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ตําบลปลอดลูกนํๅายุงลาย ร่วมมือกับโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพในต�าบลในพืน้ ที่ จัดท�านโยบายต�าบลปลอดลูกน�า้ ยุงลาย ออกประชาคมตามหมู่บ้าน เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ ประชาชนในการก�าจัดลูกน�า้ ยุงลายซึง่ เป็นพาหะน�าโรคไข้เลือด ออก โครงการทําความสะอาดชาติไทย เทิดไท้องค์ราชัน องค์การบริหารส่วนต�าบลกู่จานมีนโยบายจัดให้ปี พ.ศ.255 เป็นปีแห่งการรณรงค์ท�าความสะอาด การรณรงค์การคัดแยก ขยะ จัดกิจกรรมท�าความสะอาดทุกหมู่บ้าน มีงบประมาณ สนับสนุนคณะกรรมการหมูบ่ า้ นในการจัดกิจกรรม จัดท�าปງาย ประชาสัมพันธ์การคัดแยกขยะตามจุดต่างๆ โครงการอาสาสมัครพิทกั ษ์ปา่ ชุมชน (รสทป ) จัดกิจกรรม

198

ดูแลรักษาปຆาชุมชน จัดการประชาคมตามหมูบ่ า้ นออกระเบียบ ปຆาชุมชน เพื่อร่วมกันดูแลรักษาปຆา เก็บค่าธรรมเนียมการจัด เก็บของปຆาจากคนต่างพืน้ ที่ ออกกฎ ห้ามตัดไม้ทา� ลายปຆา การ ประกาศก�าหนดเวลาปิดปຆา และการตัง้ จุดตรวจบริเวณทางเข้า หมู่บ้านเพื่อตรวจสอบการเก็บ ของปຆา

=XkNL[Q.dBJJ`B"Q[@+CY"OTOP"1^kT;X.

สินค้าโอท็อปที่มีชื่อเสียงของต�าบลกู่จานคือ ผลิตภัณฑ์ แปรรูปจากถัว่ ลิสง ได้แก่ ถัว่ ตัด ถัว่ ลิสงคัว่ ทราย ถัว่ อบสมุนไพร และถัว่ กรอบแก้ว โดยวิสาหกิจชุมชนกลุม่ แม่บา้ นเกษตรกร บ้านนาเวียง ตั้งอยู่ที่หมู่ 6 และหมู่ 11 บ้านนาเวียง ต.กู่จาน อ.ค�าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร 5110 ความเปຓนมา เนือ่ งจากในอดีตถัว่ ลิสงทีช่ าวบ้านปลูกขายไม่ได้ราคา ต่อ มาเมือ่ ปี 25 0 เจ้าหน้าทีจ่ ากส�านักงานเกษตรอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว ได้เข้าไปแนะน�าให้ความรูใ้ นด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากถัว่ ลิสง ในปี 25 2 โดยได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากส�านักงาน เกษตรอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว กรมส่งเสริมการเกษตร โครงการ แปรรูปผลผลิตเกษตร ปี 25 2 จ�านวน 50,000 บาท ซึง่ เป็นงบ ประมาณที่จะต้องส่งคืนกองทุนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรระดับ จังหวัด จึงด�าเนินการอย่างจริงจังและส่งออกจ�าหน่ายมาจนถึง ปຑจจุบัน การสนับสนุนของหน่วยงาน ได้รับการสนับสนุนจากโครงการแก้ปຑญหาความยากจน จากนายอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว ปี 25 9 องค์การบริหารส่วนต�าบล


กูจ่ าน พัฒนาถนนทีจ่ ะลงไปแปลงถัว่ ลิสง กรมชลประทาน พัฒนา แหล่งน�้าเพื่อให้มีน�้าเพียงพอในการปลูกถั่ว ส�านักงานเกษตร อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว โครงการหนึง่ ต�าบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ ปี 25 ส�านักงานเกษตรจังหวัดยโสธร, สวพ ร่วมในการให้ความรู้ เกษตรกรในการกระบวนการผลิต และสมาชิกได้ใบรับรอง ทัง้ หมดแล้ว ส�านักงานอุตสาหกรรมภาค 5 และหน่วยงานอืน่ ๆ ปຑจจุบนั ผลิตภัณฑ์จากถัว่ ลิสงชนิดต่างๆ มีจา� หน่ายทีก่ ลุม่ โดยตรงโดยมีลกู ค้าเข้ามาซือ้ ทีก่ ลุม่ และจ�าหน่ายทีร่ า้ นค้าหมูบ่ า้ น ต่างๆ ทัง้ ในอ�าเภอและต่างอ�าเภอ กรุงเทพฯ ถนนคนเดินของ จังหวัดยโสธร ตามงานทีส่ ว่ นราชการต่างๆ จัด เช่น อ�าเภอยิม้ , ยามพีย่ ามน้อง, คลินกิ เกษตรเคลือ่ นที่ และงานสินค้าธง าງ ของ พาณิชย์ เป็นต้น

TA<ホ(`B/Y@1N@c>¥kIN

พระธาตุกจู่ าน ณ วัดกูจ่ าน พระธาตุกจู่ านมีลกั ษณะคล้าย คลึงกับองค์พระธาตุพนม ต่างกันเพียงขนาดทีเ่ ล็กกว่าเท่านัน้ ทางวัดจัดให้มงี านนมัสการพระธาตุกจู่ านในวันขึน้ 15 ค�า่ เดือน ของทุกๆ ปี ซึง่ จะมีนกั ท่องเทีย่ วมาเทีย่ วชม และกราบนมัสการ องค์พระธาตุกู่จานเป็นจ�านวนมาก กู่บ้านงิๅว เป็นโบราณสถานสมัยขอม ซึ่งกรมศิลปากรได้ ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานที่ส�าคัญของชาติไว้ เมื่อปี พ.ศ. 2 91 สันนิษฐานว่ากู่บ้านงิ้วสร้างขึ้นเพื่อเป็นอโรคยาศาลาไว้ รักษาโรคให้กับประชาชนในสมัยนั้น ตามหลักฐานที่ปราก แท่นบูชาสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า แบ่งเป็นสามช่องมีรอู ยูต่ รงกลาง เพือ่ ประดิษฐานพระไภษัชยคุรุประภาและพระสาวกสององค์ คือ พระสุรยิ ประภาทรงกระบือ และพระจันทรประภาทรงครุฑ สร้าง

ขึน้ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ในพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึง่ ต่อมา ศาสนสถานแห่งนี้ได้ถูกทิ้งร้างไว้กลางปຆาดงจึงท�าให้ตัว อาคารปรักหักพังไปตามกาล ต่อมามีการบ�ารุง รักษาอนุรักษ์ ศาสนสถานแห่งนี้ไว้ และประชาชนในท้องถิ่นนี้มีความเชื่อว่า ศาสนสถานกู่บ้านงิ้ว เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่สถิตของ เทพเจ้าเหล่าเทวาทั้งหลาย ถ้าหากท�าการเลี้ยงดี พลีถูก จะ สามารถบันดาลให้ฝน ງาจะตกต้องตามฤดูกาล ได้ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมอย่างอุดมสมบูรณ์ ด้วยความเชือ่ และศรัทธา นีจ้ งึ ให้เกิดงานประเพณีสรงน�า้ กูบ่ า้ นงิว้ ประจ�าปีขน้ึ ในวันเพ็ญ เดือนหกของทุกปี โดยประกอบพิธีกรรม แห่ง คือ กู่บ้านงิ้ว หนองสระพัง และพระธาตุกู่จาน สรงน�้ากู่เสร็จแล้วน�าน�้าที่ หนองสระพังไปสรงองค์พระธาตุกู่จาน หนองสระพัง เป็นหนองน�า้ ขนาดใหญ่ อยูท่ างทิศตะวันออก เฉียงเหนือขององค์พระธาตุกจู่ าน เคยมีการขุดพบโบราณวัตถุ ประเภทเครือ่ งปຑนຕ ดินเผาชนิดต่างๆ เป็นจ�านวนมาก ถือว่าเป็น หลักฐานทีส่ า� คัญแสดงให้เห็นว่าดินแดนแถบนีเ้ คยเจริญรุง่ เรือง มาก่อน และได้รบั การคัดเลือกให้เป็นบ่อน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ 2 พรรษา นวมินทร์มหาราชา ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 25 2 ประกอบ พิธีเสกท�าน�้าพระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์ โดยท่านเจ้าคณะจังหวัด และผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร เป็นประธานในพิธี ทัง้ ฝຆายสง ์ และฝຆาย ราวาส ฿บเสมาจารึก เป็นใบเสมาศิลาทรายแดงครึง่ ใบ ทีม่ อี กั ขร ขอมจารึก อยู่ แถว ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ขององค์ พระธาตุ และใบเสมาที่มีรูปลักษณะต่างๆ กัน ตั้งอยู่ตามจุด ต่างๆ ในดอนปูตຆ าและมีลงิ หางยาวอีกประมาณ 200 ตัว ทีอ่ าศัย และเฝງาอยู่ มีพื้นที่ประมาณ 25 ไร่เศษ กู่ (ดอนกู่) ติดกับหมู่บ้านงิ้วด้านทิศเหนือ ลักษณะเป็น กองซ้อนกันคล้ายฐานวิหารหรือเจดียเ์ ก่า ห่างจากองค์พระธาตุ ไปทางทิศเหนือ ประมาณ 1 เส้น YASOTHON 199


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL การปกครอง องค์การบริหารส่วนต�าบลเหล่าไ มีหมูบ่ า้ น ทัง้ หมด 6 หมูบ่ า้ น ประกอบด้วย หมูท่ ี่ 1 บ้านหนองแวง, หมูท่ ี่ 2 บ้านเหล่าไ , หมูท่ ี่ บ้านชาตะยานนท์, หมูท่ ี่ บ้านเหล่าหุง่ , หมู่ที่ 5 บ้านกุดเปຆง และหมู่ที่ 6 บ้านกุดเปຆง ประชากร มีจ�านวนประชากรทั้งสิ้น จ�านวน 2, 50 คน แยกเป็นชายจ�านวน 1, คน และหญิงจ�านวน 1, คน จ�านวนครัวเรือน 9 ครัวเรือน ข้อมูลของต�าบลเหล่าไ เดือน พฤษภาคม พ.ศ.255 สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนในต�าบลเหล่าไ ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยประชากรร้อยละ 99.05 ประกอบอาชีพท�านา อาชีพรอง ได้แก่ ท�าไร่ ท�าสวน และเลีย้ ง สัตว์ เป็นบางส่วน และมีการอพยพแรงงานไปประกอบอาชีพ ต่างถิ่นหลังฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ สภาพทางสังคม  ด้านการศึกษา มีศน ู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 2 แห่ง โรงเรียนประถม ศึกษา แห่ง และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนประจ�าต�าบล 1 แห่ง  ด้านศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัด 5 แห่ง และส�านักสง ์ 1 แห่ง  ด้านความปลอดภัย฿นชีวิต และทรัพย์สิน มีที่ท�าการ ต�ารวจชุมชุน 1 แห่ง ศูนย์ปอງ งกันภัยฝຆายพลเรือนต�าบลเหล่าไ 1 แห่ง และจุดตรวจในหมู่บ้าน 6 แห่ง

@YIQ[>?[1XI"RYN.PF @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALcRLBYgU

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

cRLBYgU

องค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าไ ต�าบลเหล่าไ อ�าเภอ ค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือห่างจากอ�าเภอ ค�าเขือ่ นแก้ว ประมาณ กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 1 กิโลเมตร ปຑจจุบันมีนายสิทธิชัย หาวงษ์ ด�ารง ต�าแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าไ และ นางสาวภัคจิรา หงษา ด�ารงต�าแหน่ง ปลัดองค์การบริหาร ส่วนตําบลเหล่าไ

)CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลเหล่าไ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 0 มีนาคม พ.ศ.25 มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 2.5 ตารางกิโลเมตร หรือ 20, 12 ไร่ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบทุ่งนาสลับปຆาโปรง สภาพดินร่วนปนทราย ไม่อุ้มน�้า 200

OX(IGYE)T.1_H1@f@E^l@>¥k

ตําบลเหล่าไ มีการรวมกลุม่ ของชุมชน จ�านวน 20 กลุม่ ประกอบด้วย กลุม่ อาชีพเสริม กลุ่ม กลุม่ ออมทรัพย์ 5 กลุ่ม กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน 6 กลุ่ม และกลุ่มเครือข่ายชุมชน 2 กลุ่ม

/_;c;B@)T.<pYALcRLBYgU

ตําบลเหล่าไ มีแหล่งน�า้ ตามธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบูรณ์ มี ปຆาโปร่งสลับทุ่งนา ขนาบด้วยล�าน�้าธรรมชาติ คือล�าห้วยเขมร ล�าโพง ล�าเซบาย และหนองน�า้ ธรรมชาติสลับทีร่ าบลุม่ เหมาะสม ทีจ่ ะตัง้ บ้านเรือนทีอ่ ยูอ่ าศัย และท�าการเกษตร และมีทรัพยากร ธรรมชาติ ที่ส�าคัญคือ ปຆาดงมะพริก ปຆาดงสวะ หมู่ที่ บ้าน


TA<ホcRLBYgU1N@c>¥kIN

ตําบลเหล่าไ มีสถานทีท่ สี่ ามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่อง เที่ยวที่ส�าคัญ ได้แก่ องค์พระสังกัจจายน์ ตัง้ อยูท่ หี่ มูท่ ี่ บ้านชาตะยานนท์ ปຆาดงสวะ เป็นปຆาไม้ทยี่ งั อุดมสมบูรณ์ สามารถทีจ่ ะพัฒนาเป็น แหล่งท่องเทีย่ วธรรมชาติได้ และเรียนรูท้ างวัฒนธรรม ประเพณี โบราณสถาน และการด�าเนินชีวิตของชุมชน หนองเลิงเปลือย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5, 6 บ้านกุดเปຆง ติด เขตต�าบลศรีฐาน เป็นแหล่งน�้าตามธรรมชาติขนาดใหญ่ มีน�้า ตลอดปี สามารถที่จะพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยว และเป็น สถานที่พักผ่อนชมนกน�้าธรรมชาติได้

([/(JJHc;B@"

1. โครงการเย็นฉ�า่ ทัว่ หล้า มหาสงกรานต์ อบต.เหล่าไ สืบสาน วัฒนธรรมไทย 2. โครงการคุณธรรมพัฒนาจิตเพื่อชีวิตร่มเย็น 3. โครงการปลูกปຆาเฉลิมพระเกียรติ 4. โครงการสืบสานภูมิปຑญญาพัฒนาอาชีพ

+:WC`CAJ[RYJTA<ホcRLBYgU

ชาตะยานนท์ ทีส่ าธารณะดอนปูตຆ า หมูท่ ี่ , 5, 6 บ้านเหล่าหุง่ , บ้านกุดเปຆง และโนนกว้าง บ้านกุดเปຆง มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารทางธรรมชาติของชุมชน เช่น เห็ดปຆา เห็ดโคน เห็ดปลวก และผักผลไม้ตามธรรมชาติ และมีปຆาอื่นอีกหลาย แห่ง

นายสิทธิชัย หาวงษ์ นายก อบต. เหล่าไ  รับผิดชอบการบริหารงานในหน้าที่ทั้งหมด นายปิยะราษฎร์ มีธรรม รองนายก อบต. เหล่าไ คนที่ 1  ดูแลการพัฒนางานโครงสร้างพื้นฐาน และตามที่นายก อบต. มอบหมาย นายทองมี กุดเป่ง รองนายก อบต. เหล่าไ คนที่ 2  ดูแลงานด้านสังคม การศึกษา และตามทีน ่ ายก อบต. มอบ หมาย นางจิรพร เสียง฿ส เลขานุการคณะผู้บริหาร  ป ิบัติตามค�าสั่งของคณะผู้บริหาร YASOTHON 201


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL งานเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “ตําบลทุง่ มนเปຓนชุมชนน่าอยู่ ปกครองโดยธรรมาภิบาล ประสานการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ”

)CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลทุง่ มน มีเนือ้ ทีร่ วมทัง้ สิน้ 61 ตารางกิโลเมตร หรือ 6, 5 ไร่ ประกอบด้วย 9 หมูบ่ า้ น ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านโซง,หมูท่ ี่ 2 บ้านเหล่าโปຆ, หมูท่ ี่ บ้านทุง่ มน, หมู่ ที่ บ้านโพนสิม, หมูท่ ่ี 5 บ้านมะพริก, หมูท่ ่ี 6 บ้านดู,่ หมูท่ ่ี บ้านทุ่งมน, หมู่ที่ บ้านโซง และหมู่ที่ 9 บ้านมะพริก มีครัว เรือนทั้งหมด 1, 0 หลังคาเรือน และมีจ�านวนประชากร ทัง้ หมด 6,0 1 คน ซึง่ แยกเป็นชาย ,059 คน หญิง 2,9 2 คน

I_>?OYQ<JFdLWd@N>Y.(YJEX9@Y

@YIT_;H"E[/YJ:F @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL>_B.H@

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

>_B.H@

RCNI=BH+LCT.f/"gJBHX@QpYBWRLX." ELX.+@;¥"H¥D:H^T1BY."" TBY.NX.<Wc)C@CTI"RLY(RTI" ?JJH1Y<["@X(BJY14F>_B.H@ คือค�าขวัญขององค์การบริหารส่วนตําบลทุง่ มน อ�าเภอ ค�าเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่างจาก อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้วประมาณ 15 กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายอุดม พิจารณ์ เป็นนายกองค์การบริหารส่วนตําบลทุง่ มน ซึง่ บริหาร 202

ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืๅนฐาน 1.1. แนวทางการพัฒนาการคมนาคมและขนส่ง 1.2. แนวทางการพัฒนาการสาธารณูปโภค 1. . แนวทางการพัฒนาด้านแหล่งน�า้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวิต และเสริม สร้างเศรษฐกิจฐานราก 2.1. แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมอาชีพ 2.2. แนวทางการพัฒนางานสวัสดิการสังคมและสังคม สงเคราะห์ 2. . แนวทางการพัฒนาการศึกษาและส่งเสริมการศึกษา 2. . แนวทางการพัฒนาการสาธารณสุข 2.5. แนวทางการพัฒนาการปງองกันและแก้ไขปຑญหายา เสพติด 2.6. แนวทางการพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ 2. . แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอยู่เยในเปຓนสุข .1. แนวทางการพัฒนาความสามัคคี และความสมานฉันท์ ของประชาชนในท้องถิ่น รส่งเสริมการ ก .2. แนวทางการพัฒนาการส่ ชนใน มีส่วนร่วมของประชาชนใน การพัฒนาท้องถิ่น . . แนวทางการพัฒนาการ ปງ อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย นาย กั ดี รง กຏ ลุ กั ดี ลัดอง กຏ ารบริหารส่วนต้าบลทุง่ มน


. . แนวทางการพัฒนาการรักษาความสงบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว .1. แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมการลงทุน .2. แนวทางการพัฒนาการอุตสาหกรรม . . แนวทางการพัฒนาการพาณิชยกรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการและการอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 5.1. แนวทางการพัฒนาการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การคุ้มครองดูแลและบ�ารุงรักษาปຆา 5.2. แนวทางการพัฒนาการจัดการสิง่ แวดล้อมและมลพิษ ต่างๆ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปຑญญาท้องถิ่น 6.1. แนวทางการพัฒนาอนุรกั ษ์ และส่งเสริมวัฒนธรรม จารีต ประเพณีและภูมิปຑญญาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น .1. แนวทางการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดย การบริหารจัดการที่ดี .2. แนวทางการพั ฒ นาศั ก ยภาพและประสิ ท ธิ ภ าพ บุคลากรท้องถิ่น . . แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมให้บริการหน่วยงาน ภาครัฐประชาคมและองค์กรประชาชน ยุ ท ธศาสตร์ ก ารส่ ง เสริ ม พั ฒ นาประชาธิ ป ไตยและ กระบวนการประชาสังคม .1. แนวทางการพัฒนาส่งเสริมกระบวนการเรียนรูแ้ ละ การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองประบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข .2. แนวทางการพัฒนาส่งเสริมและพัฒนากระบวนการ ประชาสังคม

([/(JJHマe+J.(YJe;;c;B@

โครงการ “เวทีประชุมประชาคมเพือ่ ทบทวนจัดทําแผน พัฒนาสามป຃แผนชุมชนและแผนยุทธศาสตร์๢ เพื่อชี้แนะ แนวทางในการท�างาน และประสานงานร่วมกันระหว่างงาน ราชการและประชาชน และมีสว่ นร่วมในการจัดท�าแผนพัฒนา สามปี พ.ศ.2560-2562 และแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ.2560-256 โครงการอบรมส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรม฿นวันผู้สูงอายุ ประจําป຃ เพื่อเป็นการส่ง เสริมให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการ ดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การ ຅ຕน ู สมรรถภาพร่างกายและจิตใจ โครงการสืบสานประเพณีลอยกระทง ตําบลทุง่ มน เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานของรัฐ เอกชนและประชาชน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนเกิดความซาบซึ้งและเห็นคุณค่า และความส�าคัญของวัฒนธรรมไทย โครงการปลู ก ต้ น ไม้ เ ลิ ม พระเกี ย รติ ต ามแนว พระราชเสาวนีย์ และโครงการปลูกหญ้าแฝกเ ลิมพระเกียรติ ประจําป຃ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2559

YASOTHON 203


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL ปຑจจุบนั มี นายอุดร สมจิตร เป็นนายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลย่อ และมีปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลย่อ คือ นางสิริกร ภาคแก้ว

<JYQX4LX(P:FdLW+NYHRHYI

องค์การบริหารส่วนตําบลย่อ มีตราสัญลักษณ์ซึ่งมี ความหมาย ดังนี้ พระอาทิตย์ หมายถึง ความเจริญรุง่ เรืองและมีความอุดม สมบูรณ์ ต้นไม้ หมายถึง ต้นไม้ยางที่เป็นต้นไม้คู่บ้านคู่เมืองของ องค์การบริหารส่วนต�าบลย่อ พืนๅ ทีน่ า หมายถึง ในเขตองค์การบริหารส่วนต�าบลย่อส่วน ใหญ่ ประชาชนประกอบอาชีพท�านา และในพื้นที่นาก็มีปลา อยู่อย่างอุดมสมบูรณ์ คําขวัญ ๡ผักกาดหวาน สานตะกร้า นวดกายาแผนไทย หมอนใหญ่ ຑกทอง ข้าวกล้องงอกมะลิ ใช้ดีเสื่อกก๢

)CTH`L>XkNgB

@YIT_;J"QH/[<J @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALIBT

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

IBT

(YJ+H@Y+HQW;N("cOJP7([/;¥" H¥+NYHJ`C>X@cR<_(YJ:F"QJCY.RH`BACY@ <pYAL@BYTI`B">_(RH`BdQ.QNBY.cE¥I.ET"" Q[k.dN;LCTHgHBcBJ@E[P คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�าบลย่อ ซึง่ ตัง้ อยูร่ ะหว่างเขตติดต่อของจังหวัดยโสธรกับอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว โดยอยูห่ า่ งจากอ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว ประมาณ 9 กิโลเมตร และ ห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 1 กิโลเมตร 204

องค์การบริหารส่วนตําบลย่อ เป็นองค์การบริหารส่วน ต�าบลที่มีขนาดเล็ก ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.25 9 มีเนื้อที่ทั้งหมด ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2 , 50 ไร่ สภาพพื้นที่เป็น ทีร่ าบลุม่ สภาพดินเป็นดินปนทราย เหมาะกับการท�าเกษตรกรรม การปกครอง ประชากร ต�าบลย่อมีจ�านวนหมู่บ้าน 11 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น ,250 คน โดยเป็นประชากรชายทัง้ สิน้ , 55 คน และเป็นประชากร หญิงทั้งสิ้น , 95 คน สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ หรือประมาณ ร้อยละ 0 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และอีกบางส่วน หรือ ประมาณร้อยละ 0 ประกอบอาชีพค้าขาย รับจ้าง ท�าธุรกิจ ส่วนตัว

eT>jTB)]l@1^kT)T.<pYALIBT

กระติบข้าวจักสานจากเชือกไนล่อน โดย กลุม่ หัตถกรรม สตรี เลขที่ ม. บ้านค�ากลาง ต�าบลย่อ อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร ติดต่อ นางวิมล สมจิตร โทร 0 6 ยางพาราแผ่น โดย กลุม่ ผลิตยางพาราบ้านดอนดู่ หมู่ 9 ต�าบลย่อ อ�าเภอค�าเขือ่ นแก้ว จังหวัดยโสธร ติดต่อ นายอ่อนสา กลิ่นหอม โทร 0 5 9 121


YASOTHON 205


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;IY.<LY; <Xl.TI`BACY@cL)>¥k" ¡ "ACY@IBT"RH`B"\"<pYALIBT"TpYcGT+pYc)^kT@d(CN"/X.RNX;IeQ?J"H¥E^l@>¥k"\\"gJB"\".Y@" BH//_AX@H¥"EJW+J`cH?¥?JJHAX:8[<"cBJ@c/CYTYNYQ"dLWJT.c/CY+:WTpYcGT+pYc)^kT@d(CN"ネD=YI(YJO](PYノ

BJWNX<[(YJ(BT<Xl.

วัดยางตลาด ก่อตัง้ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.2 10 มีหลักฐานปราก เป็นสิมโบราณ ที่ธรณีสง ์ ใกล้กับศูนย์เด็กเล็กในปຑจจุบัน ใน ปี 2 10 ได้ย้ายมาสร้างอุโบสถขึ้นที่ตั้งวัดปຑจจุบัน มีพระพุทธ องค์ใหญ่องค์ในอุโบสถ เป็นหลักฐาน ในปี พ.ศ.2519 ได้สร้าง อุโบสถหลังใหม่แทนหลังเดิมซึง่ ช�ารุดทรุดโทรม และใช้มาจนถึง ปຑจจุบัน ตามทีค่ นเฒ่าคนแก่เล่าขานกันมาว่า ในอดีตมีชนเผ่าญ้อ และเผ่ากุลาได้อพยพถิน่ ฐานมาสร้างหมูบ่ า้ นทีบ่ ริเวณนี้ จึงได้ ชือ่ ว่า ๡บ้านเผ่าญ้อ๢ แต่ปจຑ จุบนั เรียกสัน้ ๆว่า ๡บ้านย่อ๢ ซึง่ การ ตัง้ บ้านในอดีตนัน้ จะต้องตัง้ ศาลปูตຆ า จึงมีชอื่ ว่า ๡ปูตຆ าบ้านย่อ๢ ศาลปูตຆ าบ้านย่อปຑจจุบนั อยูท่ างทิศตะวันตกของหมูบ่ า้ นติดกับ อบต.ย่อ ต่อมาเมือ่ มีผนู้ า� เอาหลักธรรมค�าสัง่ สอนทางพระพุทธ ศาสนามาเผยแผ่ ชาวบ้านมีจติ ศรัทธาจึงได้สร้างวัดขึน้ ในอดีต 206

ชือ่ ว่า ๡วัดญ้อ๢ และชือ่ ๡วัดบ้านย่อใต้๢ ตามล�าดับ แต่เนือ่ งด้วย ที่นาตรงกันข้ามกับวัดมีต้นยางเป็นจ�านวนมาก และเป็นที่ท�า การค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้าของชาวบ้าน ในปี พ.ศ.2519 จึง ได้เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ให้สอดคล้องกับสถานทีว่ า่ ๡วัดยางตลาด๢


ระ รูเมธีธรรมบั

ิต เ ้าอาวาส

พระครูเมธีธรรมบัณ ติ เจ้าอาวาสรูปปຑจจุบนั ท่าน ด�ารงต�าแหน่งรองเจ้าคณะอ�าเภอค�าเขื่อนแก้ว ฝຆายการศึกษา มหานิกาย ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปຑช าย์ เมื่อปี พ.ศ.2556 และได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบเจ้า คณะอ�าเภอชัน้ เอก ในฐานานุศกั ดิท์ ่ี ๡พระครูเมธีธรรมบัณฑิต๢ ในปี พ.ศ.255

B`1@¥INX<=_QpY+X4

JYI@YHc/CYTYNYQ

พระภิกษุทดี่ า� รงต�าแหน่งเจ้าอาวาส เท่าทีท่ ราบนามตัง้ แต่ ปี พ.ศ.2 65 เป็นต้นมา มีจ�านวน 11 รูป คือ 1. พระอุปชຑ าย์ ลอด มีหลักฐานเป็นเจดียบ์ รรจุอฐั ขิ อง ท่านให้เห็นจนทุกวันนี้ 2. หลวงปูຆเม้ม 3. พระอธิการบุญ 4. พระอธิการจวง 5. พระอธิการ จันทรังษี 6. พระอธิการบัว 7. พระครูสุจิตธรรมรัต หลวงปูຆดาว สุจิตฺโต 8. พระอธิการจันทร์ จารุวัณฺโณ 9. พระอธิการเหรียญ สีลธโร 10. พระมหาวิมล อัพฺภาทโร

พระประธาน฿นวัด เป็นพระพุทธรูปปางสะดุง้ มาร ก่ออิฐถือ ปูน ขนาดตักกว้าง 2 เมตร สูง 2.5 เมตร หันหน้าไปทางทิศตะวัน ตก ประดิษฐานอยูท่ โ่ี ล่งแจ้ง ทางด้านหลังของศาลาการเปรียญ พระประธาน฿นพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปางสะดุง้ มาร หล่อด้วยทองเหลือง มีขนาดกว้าง ุต สูง ุต รูปเหมือนหลวงปู่ดาว มีขนาดเท่าองค์จริง หล่อด้วยทอง เหลือง เป็นที่ทราบกันว่าหลวงปูຆดาว เป็นเกจิอาจารย์รูปหนึ่ง ท่านเป็นศิษย์ของหลวงปูเຆ ดิม ท่านมีคณ ุ ด้านมหาอุด ได้รบั ขนาน นามว่า ๡หลวงปูเຆ สือดาว๢ มีคนนับถือกราบไหว้บชู ามาก มาจน ถึงปຑจจุบัน เจดียอ์ ฐั พระอุปชຑ าย์ลอด พระอุปชຑ าย์รปู แรกของวัด

([/(JJHEX9@Y/[<f/dLWAJ[(YJQX.+H     

เป็นโรงเรียนศาสนศึกษาวัดยางตลาด เป็นสถานที่สอบนักธรรม และธรรมศึกษา เป็นสถานที่เข้าค่ายป ิบัติธรรมนักเรียน และชุมชนทั่วไป เป็นที่อบรมพระภิกษุ สามเณร เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและงานส�าคัญ ต่างๆ ของหน่วยงานราชการและชุมชม zbtpuipo"207


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL ได้จดั ตัง้ ขึน้ โดยพระราชบัญญัตเิ ปลีย่ นแปลงฐานะของสุขาภิบาล เป็นเทศบาลเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.25 2 ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอน 9 ก ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.25 2

)CTH`L>XkNgB

@YI>J.N_9["T_<HW @YI(c>OH@<J¥<pYALF>YRIY;

c>OAYL<pYALF>YRIY; c)CYf/"c)CY=].E]k.EYg;C"" fQBf/BJWcE:¥>CT.=[k@ คือวิสัยทัศน์การพัฒนาของเทศบาลตําบลฟງาหยาด อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยอยูห่ า่ งจากตัวจังหวัด 1 กิโลเมตร ปຑจจุบันมี นายทรงวุฒิ อุตมะ ด�ารงต�าแหน่งนายก เทศมนตรีตําบลฟງาหยาด

BJWNX<[c>OAYL<pYALF>YRIY;

เทศบาลตําบลฟງาหยาดเดิมเป็นสุขาภิบาล ງาหยาด

208

เทศบาลตําบลฟງาหยาดเป็นหน่วยการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น ในรูปแบบเทศบาลเพียงแห่งเดียวในท้องที่เขต อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ตั้งอยู่บนฝຑດงทิศใต้และทิศ ตะวันออกของแม่น�้าชี มีพื้นที่ 2. ตารางกิโลเมตร เขตการปกครองและบริหาร มีหมู่บ้านในเขตชุมชน เทศบาลจ�านวน 5 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ชุมชนคุ้มโ งเหนือวัด ງาหยาด หมู่ที่ ชุมชนพระเรืองไชย หมู่ที่ ชุมชนฝຑດงแดงพัฒนา หมู่ที่ ชุมชนคุ้มวัดหอก่อง หมู่ที่ ชุมชนคุ้มบ้านก่อ ประชากร เทศบาลตําบลฟງาหยาดมีจ�านวนประชากร ทั้งหมด ,992 คน เป็นชาย 2, 6 คน เป็นหญิง 2,52 คน จ�านวนครัวเรือนทั้งหมด 1,696 ครัวเรือน การศึกษา ในเขตเทศบาลตําบลฟງาหยาดมีสถานศึกษา ทั้งหมด แห่ง คือ โรงเรียนมหาชนะชัย โรงเรียนอนุบาล าງ หยาดราษฎร์นยิ ม โรงเรียนแก้วปຑญญาอุปถัมภ์ ศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กเทศบาล วัด ງาหยาด เศรษฐกิจ ประชากรในเขตเทศบาลส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพ ค้าขาย เกษตรกรรม และประมง ผลิตผลคือ ข้าวหอม มะลิ และปลาเนื้ออ่อน วัฒนธรรม เทศบาลตําบลฟງาหยาดมีประเพณีท้อง ถิ่นที่ถือป ิบัติสืบทอดกันมา คือ ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีบุญบั้งไ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีแข่งเรือ ประเพณีลอยกระทง


EX@?([/

เพือ่ พัฒนาระบบสาธารณูปโภค และ สาธารณู ป การให้ ค รบครั น และได้ มาตรฐาน เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการของ เทศบาลต� า บล ງ า หยาดตามหลั ก ธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาและส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปຑญญาท้องถิ่น และ ส่งเสริมการศึกษาให้มคี ณ ุ ภาพทัง้ ทาง ด้านจิตใจ และสติปຑญญา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การ ประกอบอาชีพของประชาชน เพื่อพัฒนาศักยภาพ สวัสดิการ และ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน ด้วยวิถีประชาธิปไตย เพื่ อ พั ฒ นาสุ ข ภาพอนามั ย ด้ า น สาธารณสุข และห่างไกลยาเสพติด เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการ รั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ย ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน

YASOTHON 209


BJWNX<[A_4HYLXI)CYN<T(

dRLB.>BT.c>¥kINヘBJWcE:¥>CT.=[k@

เทศบาลตําบลฟງาหยาด ก�าหนดการจัดงานประเพณี แห่มาลัยข้าวตอก ซึ่งจัดขึ้นทุกปี ก่อนวันมา บูชา 1 วัน โดย ประชาชนจากชุมชนต่างๆ ได้จัดขบวนแห่มาลัยข้าวตอกซึ่ง แต่งอย่างประณีตงดงามตระการตา เพื่อไปทอดถวาย ณ วัด หอก่อง วัด ງาหยาด และวัดอื่นๆ ในพื้นที่อ�าเภอมหาชนะชัย 210

เนือ้ ความในพระไตรปิฎกส่วนทีว่ า่ ด้วยพระสุตตันตปิฎก บทปรินพิ พานสูตร กล่าวคือ ดอกมณฑารพ ซึง่ เป็นดอกไม้บน สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีความสวยงามและมีกลิ่นหอมเป็นพิเศษ เมื่อถึงกาลเวลาที่ดอกมณฑารพจะบาน และร่วงหล่นก็ด้วย เหตุการณ์ส�าคัญๆ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประสูติ ตรัสรู้ ปรินพิ พาน จาตุรงคสันนิบาต และทรงแสดงพระธัมมจัก กัปปวัตตนสูตร ดอกมณฑารพจึงได้ร่วงหล่นมายังโลกมนุษย์ ครัง้ เมือ่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินพิ พานที่ เมืองกุสนิ ารา ดอกมณฑารพนีก้ ไ็ ด้รว่ งหล่นลงมาทัง้ ก้านและกิง่ เปรียบเสมือนความเสียอกเสียใจ พิไรร�าพันต่อการเสด็จดับขันธ์ ปรินพิ พานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมถึงเหล่าพระภิกษุผไู้ ด้ ชือ่ ว่า อรหันตขีนาสพทัง้ หลายด้วย ข่าวการดับขันธ์ปรินพิ พาน ได้แพร่ขยายออกไปในหมู่เหล่าข้าราชบริพาร และประชาชน ทัง้ หลาย จึงได้พากันมาถวายสักการะพระบรมศพ ของสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยความซาบซึ้งในพระปຑญญาธิคุณ พระกรุณาธิคณ ุ และพระบริสทุ ธิคณ ุ อีกทัง้ ยังได้พากันเก็บเอา ดอกมณฑารพทีร่ ว่ งหล่นลงมาเพือ่ น�าไปสักการบูชา และร�าลึก ถึงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมือ่ กาลเวลาเปลีย่ นไป ดอกมณฑารพทีเ่ ก็บมาสักการบูชา เริม่ เหีย่ วแห้งและหมดไป เพือ่ เป็นการร�าลึกถึงพระปຑญญาธิคณ ุ และพระปຑญญาธิคณ ุ พระกรุณาธิคณ ุ และพระบริสทุ ธิคณ ุ ของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมทัง้ เหตุการณ์ในวันส�าคัญต่างๆ จึงได้พากันน�าเอาข้าวตอก ข้าวเหนียวทัง้ เปลือกคัว่ ให้แตกบาน เป็นสีขาว มาสักการบูชา เพราะถือว่าข้าวเป็นสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่า และ


เป็นของสูงที่มนุษย์จะขาดไม่ได้ การจัดข้าวตอกดอกไม้ถวาย เป็นพุทธบูชา มีจดุ เริม่ ต้นเมือ่ ไหร่นนั้ ยังไม่เป็นทีแ่ น่ชดั แต่เชือ่ ว่าแรกๆ จะใส่พานไว้โปรยเวลาพระสง เ์ ทศนา ต่อมาจึงมีการ น�ามาประดิษฐ์ตกแต่งเป็นพวงระย้าสวยงามยิ่งนัก

(YJdRBHYLXI)CYN<T(

พวงมาลัยข้าตอกทีท่ า� เสร็จแล้ว จะน�าไปแห่ในวันเวลาที่ นัดหมายกัน คือ แห่ไปถวายวัดหอก่องและวัด าງ หยาด ในช่วง จัดงานบุญประจ�าปี บุญกุม้ ข้าวใหญ่ บุญคูณลาน และบุญพวง มาลัย ซึ่งจัดท�าพร้อมกันในช่วงเดือนยี่ เดือนสอง และแห่ไป ถวายวัดหอก่องในวันขึ้นสิบสี่ค�่าเดือนสาม ก่อนวันมา บูชา หนึ่งวัน ชาวบ้านที่เป็นเจ้าของพวงมาลัยจะน�าพวงมาลัยของ ตนเองมารวมกันยังที่นัดหมาย มีขบวนกลองยาวช่วยเพิ่ม รสชาติความสนุกสนานมีชวี ติ ชีวาในการแห่ เจ้าของพวงมาลัย จะใช้ไม้ไผ่ล�ายาวเพื่อยกหรือชูมาลัยให้สูงจากพื้นดินจะได้ไม้ ห้อย ระ ติดพืน้ ดิน เพราะสิง่ ของทีจ่ ะเป็นพุทธบูชาถือว่าเป็น ของสูงค่ายิ่งนัก ในขบวนแห่นอกจากพวงมาลัยข้าวตอกแตก และพวงมาลัยเส้นฝງายแล้ว ยังมีพานพุ่มที่จัดเป็นพุ่มเงินพุ่ม ทอง และพุ่มดอกไม้ที่จัดประดับตกแต่งด้วยเงิน สิ่งของและ ปຑจจัยไทยทานทีป่ ระสงค์จะท�าบุญตามก�าลังศรัทธาของแต่ละ คน YASOTHON 211


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL N[QXI>XO@F(YJEX9@YTA<ホRXNcH^T."

๡โครงสร้างพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจดี เกษตรอินทรียก์ า้ วหน้า พัฒนาการศึกษา เพิม่ อาชีพประชาชน ส่งเสริมคุณภาพชีวติ และ สิ่งแวดล้อม๢

EX@?([/

พัฒนาและบ�ารุงรักษาทางน�า้ ทางบก การสาธารณูปโภค 2. พัฒนาและส่งเสริมการประกอบอาชีพ 3. พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน 4. พัฒนาและส่งเสริมการศึกษา 5. พัฒนาและส่งเสริมการสาธารณสุข 6. ปງองกันและปราบปรามยาเสพติด 7. ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการ 8. พัฒนาแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 9. พัฒนาสังคมอยู่เย็นเป็นสุข 10. พัฒนาส่งเสริมกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน 0 11. พัฒนาการบริหารจัดการ และการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 12. พัฒนาการศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมปิ ญ ຑ ญา ท้องถิ่น 13. พัฒนาและส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์

@YI@[(J"O[J[OX(;[oQ(_L @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALRXNcH^T.

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

RXNcH^T.

ACY@cH^T.@BYTI`B"c1[;1`+_:?JJH" .YHLplYCCYgRH"RBY.g(LIYcQE<[; คือคําขวัญของตําบลหัวเมือง ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนต�าบลหัวเมือง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ หมู่ 1 บ้าน คูสองชั้น อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากที่ ว่าการอ�าเภอมหาชนะชัย ไปทางไปทางทิศตะวันตก ประมาณ กิโลเมตร ปຑจจุบันมีนายนิกร ศิริศักดิ์สกุล ด�ารงต�าแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลหัวเมือง และมีนายสัม ทธิ์ แสงงาม เป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลหัวเมือง 212

)CTH`L>XkNgB

อบต หัวเมือง มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 9 ตารางกิโลเมตร สภาพ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีร่ าบมีนา�้ ชีไหลผ่าน แบ่งแขตการปกครอง เป็น 1 หมูบ่ า้ น มีประชากรประมาณ ,599 คน ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยท�านาเป็นหลัก มีโรงเรียน ในพืน้ ที่ จ�านวน 6 โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล จ�านวน 2 แห่ง สถานีสบู น�า้ ด้วยไ าງ จ�านวน 2 แห่ง ศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กในสังกัดจ�านวน แห่ง

(YJEX9@Y<YH@eIAYIC`CAJ[RYJ ;CY@>¥k"\";CY@(YJAJ[RYJ/X;(YJ

ยึดหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทีเ่ รียกว่า ๡หลัก


การบริหารจัดการบ้านเมืองทีด่ ๢ี อันเป็น มาตรฐานในการจัดการทรัพยากรของธรรมชาติโดยมิตใิ หม่ ๆ ในโลกยุคใหม่อันจะน�ามาซึ่งความสุข การมีคุณธรรม และ จริยธรรม การเสรีภาพ การแก้ไขปຑญหาความยากจน การมี สิง่ แวดล้อมในการด�ารงชีวติ ทีด่ ี มีคณ ุ ภาพ และเศรษฐกิจมีความ รุง่ เรืองอย่างยัง่ ยืน มีหลักการส�าคัญ 6 หลัก คือ หลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความ รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า

;CY@>¥k" ";CY@+_:GYE1¥N[<"cOJP7([/"dLWQX.+H

ในการบริหารงานมีการปรับปรุงแก้ไขปຑญหาหลายๆ ด้าน เพื่อให้พี่น้องประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีการพัฒนา รายได้ของอบต. การจัดเก็บภาษีอากรทั่วถึงครบถ้วน ถูกต้อง และเป็นธรรม ปรับปรุงระบบสารสนเทศให้ทนั สมัยเป็นปຑจจุบนั ในทุกๆ เรื่องสร้างความมั่นใจในความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สนิ ของประชาชน ลดปຑญหายาเสพติด อุบตั เิ หตุ ปງองกัน และระมัดระวังการเกิดอัคคีภยั และภัยธรรมชาติอน่ื ๆ ส่งเสริม การมีสว่ นร่วมของประชาชน สร้างเครือข่ายการพัฒนาท้องถิน่ ด้านการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุข

;CY@"¦";CY@>JXEIY(J?JJH1Y<[dLWQ[k.dN;LCTH

ในการบริหารงานมีการปลูกจิตส�านึกให้ประชาชนในเขต อบต.หัวเมือง ให้เห็นความส�าคัญของทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ประชาชนอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมทัง้ ทรัพยากรปຆาไม้ ดิน แหล่งน�า้ และอืน่ ๆ มีการจัดอบรมและพัฒนาปຆาชุมชน ฯลฯ รณรงค์ให้ ประชาชนลดและเลิกการใช้สารเคมีทเี่ ป็นอันตรายต่อสุขภาพ

;CY@>¥k" ";CY@e+J.QJCY.E^l@7Y@

โครงสร้างพืน้ ฐานเป็นปຑจจัยส�าคัญ และจ�าเป็นอย่างยิง่ ที่ ต้องปรับปรุง และพัฒนาให้ทนั ต่อความเจริญและการด�ารงชีพ ของชุมชน จึงได้ด�าเนินการปรับปรุง และก่อสร้างเส้นทาง คมนาคมให้สะดวกและปลอดภัย ขยายเขตไ ງา และพัฒนา ระบบประปา โดยประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยว ข้อง ตลอดจนจัดให้มกี ารบริการสาธารณะ ด้านสาธารณูปโภค และด้านอื่นๆ อย่างทั่วถึง

([/(JJHQpY+X4)T.TA<ホRXNcH^T.

อบต หัวเมือง ได้รบั รางวัลวัฒนคุณาธร เพือ่ แสดงว่าเป็น ผูท้ า� คุณประโยชน์ ด้านส่งเสริมงานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ประเภทองค์กร จากกระทรวงวัฒนธรรม ซึง่ แสดงถึงศักยภาพ ของอบต.หัวเมือง ทีเ่ ป็นองค์กรทีเ่ ห็นความส�าคัญของงานด้าน ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม สมเดใจพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี พระราชทานรางวัลชนะเลิศ ประเภท มาลัยข้อ ในงานประเพณี แห่มาลัยข้าวตอก ประจ�าปี 2559 ระหว่างวันที่ 19-21 กุมภาพันธ์ 2559 ณ บริเวณหน้าทีว่ า่ การอ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร zbtpuipo"213


ซึง่ เป็นประเพณีทมี่ แี ห่งเดียวในโลกของชาวอ�าเภอมหาชนะชัย จัดโดยทต. ງาหยาด ร่วมกับอ�าเภอมหาชนะชัย และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ�าเภอมหาชนะชัยจังหวัดยโสธร กิจกรรมวันสงกรานต์และประเพณีรดนํๅาดําหัวขอพร ผู้สูงอายุ ซึ่งจัดขึ้นทุกปีเพื่อให้เกิดความรักความสามัคคี ให้ ประชาชนรุ่นหลังได้เห็นความส�าคัญของผู้สูงอายุ ให้ความรัก ความศรัทธา ซึง่ เป็นการส่งเสริมให้ประเพณีทดี่ อี ยูค่ สู่ งั คมไทย ต่อไป โครงการก่อสร้างฝายชะลอนํๅาแบบชั่วคราว ณ บริเวณ ลํานําๅ นําๅ ชี วัดปຆาท่าข้าม บ้านหนองยาง หมูท่ ี่ 10 ต�าบลหัวเมือง ซึง่ เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างอบต.หัวเมือง กรมทหาร ราบที่ 16 ค่ายบดินทรเดชา อบต.กุดกุง อบต. ງาหยาด ทต. ງาหยาด อบต.พระเสาร์ อบต.ผือ ี อบต.ค�าไ อบต.บากเรือ อบต.โนนทราย ผู้น�าท้องที่ในเขต�าบลหัวเมือง และประชาชน ผูม้ จี ติ อาสา ร่วมด�าเนินการก่อสร้างฝายชะลอน�า้ แบบชัว่ คราว เพื่อเป็นการลดปຑญหาภัยแล้ง โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยว฿นเขตตําบล หัวเมือง “รักนํๅา รักป่า รักษาแผ่นดิน” เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดใจพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสเสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัตคิ รบ 0 ปี วันที่ 9 มิถนุ ายน 2559 และสมเดใจ พระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถ ทรงเจริญพระชนมพรรษา รอบ พรรษา วันที่ 12 สิงหาคม 2559 กิจกรรมช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ ฿นเขตตําบล หัวเมือง เพือ่ เป็นการช่วยเหลือให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และเป็น 214

ขวัญและก�าลังใจผู้ที่ก�าลังเดือดร้อน การดําเนินงานศูนย์พฒ ั นาเดใกเลใก฿นสังกัดองค์การบริหาร ส่วนตําบลหัวเมือง จ�านวน แห่ง ได้แก่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก วัดบ้านหัวเมือง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านหนองยาง ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองตุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอบต.หัวเมือง ซึง่ มีผลงานดีเด่น คือได้รบั โล่เกียรติคณ ุ จากกรมอนามัย รางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภท สังกัดองค์การบริหารส่วนต�าบล ในการประกวดศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ ระดับจังหวัด ประจ�าปี 255 ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กคุณภาพดีเด่นระดับจังหวัด ประจ�าปี พุทธศักราช 255 ในโอกาสได้รบั การคัดเลือกเป็นศูนย์พฒ ั นา เด็กเล็กคุณภาพดีเด่นระดับจังหวัด การเตรียมตัวเข้าสูป่ ระชาคมอาเซีย่ น องค์การบริหารส่วน ต�าบลหัวเมือง ได้มกี ารเตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซีย่ น ตามแนวทางกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและได้ปรับใช้ ให้เข้ากับพื้นที่ ต�าบลหัวเมือง โดยกิจกรรมหลักคือ การตั้งงบ ประมาณ ด�าเนินการจ้างครูสอนภาษาต่างประเทศเพือ่ ให้เป็น ครูผู้สอนในโรงเรียน ในพื้นที่ต�าบลหัวเมือง ทั้ง 6 แห่ง

Q[@+CY"OTOP")]l@1^kT

ผ้าไหมทอมือ ถือเป็นสินค้า ที่สร้างรายได้ให้แก่ ประชาชนกลุม่ ผูผ้ ลิต บ้านหัวเมือง หมู่ 1, , 9 ต.หัวเมือง เป็น อย่างมาก โดยมีการส่งไปจ�าหน่ายทัว่ ทุกภาคของประเทศ และ เป็นสินค้า ระดับ 5 ดาว

TA<ホRXNcH^T.1N@c>¥kIN

วัดพระพุทธบาทยโสธร ตั้งอยู่บ้านหนองยาง หมู่ที่ ต�าบลหัวเมือง อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร สิ่งที่ส�าคัญ ในวัดประกอบด้วย รอยพระพุทธบาท พระนาคปรก พระพุทธ รูปหยกขาว มหาเจดีย์ขนาดใหญ่ เนินทรายขาว และปຆาไม้ที่ ปกคลุมร่มรื่นมีแม่น�้าชีไหลผ่านและมีพันธุ์ปลาน�้าจืดจ�านวน มาก ระยะทางห่างจากตัวอ�าเภอมหาชนะชัยเข้าไปถึงวัด ก.ม. ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเข้าถึงวัดด้วยความสะดวกสบาย จัด เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญของจังหวัดยโสธร


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตําบลคูเมือง อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยตั้งอยู่ห่างจากอ�าเภอ มหาชนะชัย ระยะทาง กิโลเมตร

)CTH`L>XkNgB"

ตําบลคูเมืองมีเนื้อที่ 59 ตารางกิโลเมตร ลักษณะ ภูมิประเทศพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีพ้ืนที่บางส่วนอยู่ใน เขตพืน้ ทีท่ งุ่ กุลาร้องไห้ สภาพดินเป็นดินร่วนถึงดินร่วนปนทราย เหมาะกับการท�าเกษตรกรรม เขตการปกครอง ต�าบลคูเมืองแบ่งเขตการปกครองเป็น 12 หมูบ่ า้ น ประกอบด้วย หมูท่ ี่ 1 บ้านคูเมือง, หมูท่ ี่ 2 บ้านคุม้ , หมูท่ ี่ บ้านพลไว, หมูท่ ี่ บ้านส�าโรง, หมูท่ ่ี 5 บ้านขาม, หมูท่ ี่ 6 บ้านคุ้ม, หมู่ที่ บ้านส�าโรง, หมู่ที่ บ้านพลไว, หมู่ที่ 9 บ้านคุ้ม, หมู่ที่ 10 บ้านส�าโรง, หมู่ที่ 11 บ้านคูเมืองและ หมู่ที่ 12 บ้านขาม ประชากร มีจา� นวนประชากรทัง้ สิน้ 6,6 คน แยกเป็น ชาย , คน หญิง , 0 คน มีจ�านวนครัวเรือน 1,696 หลังคาเรือน

@YIJY1OX(;[o"QYJWNX@ @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL+`cH^T.

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

+`cH^T.

QX.+H+_:?JJH"@pY+NYHJTAJ`C" TI`BcIj@cBJ@Q_)JBNH(X@"AJ[RYJ/X;(YJ <YHRLX(?JJHHYG[AYL"J`Cc>BY>X@eL(" +JTA+JXNTAT_B@"1_H1@c)CHd)j."(YJ +H@Y+HQW;N("cOJP7([/ETcE¥I. cL¥lI.1_H1@"EX9@Y+@fRCH¥+_:GYE" >JXEIY(J?JJH1Y<[IXk.I^@ YASOTHON 215


@eIAYIC`CAJ[RYJ

1. ด�าเนินการก่อสร้าง และปรับปรุงด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน และสาธารณูปโภค 2. ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการพัฒนาสังคม 3. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาปรับปรุงด้านเศรษฐกิจชุมชน 4. ด�าเนินการพัฒนาปรับปรุงด้านการเมืองการบริหาร 5. ด�าเนินการก่อสร้าง ปรับปรุง บ�ารุงรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

/_;c;B@)T.E^l@>¥k"ネ>¥kcT^lT<BT(YJEX9@Y<pYALノ 

ต�าบลคูเมืองอยู่ในเขตพื้นที่ทุ่งกุลามีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบ เหมาะแก่การท�าการเกษตร เช่น ปลูกข้าวหอมมะลิ และท�านาปຑง หากมีการส่งเสริมก็จะสร้างรายได้ให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้ดี ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีแหล่งน�้าธรรมชาติเป็นจ�านวนมาก หาก ได้รับการปรับปรุงพัฒนาก็จะสามารถน�ามาใช้ประโยชน์ใน ด้านการเกษตรได้เป็นอย่างดี  การประกอบอาชีพ อาชีพหลักของชาวต�าบลคูเมืองคือ การ ท�านา เลี้ยงสัตว์ ท�าไร่ มีการส่งเสริมอาชีพแก่กลุ่มต่างๆ

216


I_>?OYQ<JFdLWd@N>Y.(YJEX9@Y

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาส่งเสริมคุณภาพชีวติ และเสริมสร้าง เศรษฐกิจฐานราก 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมอยู่เย็นเป็นสุข 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการวางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรมและการท่องเที่ยว 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการศิลปวัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปຑญญาท้องถิ่น 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 8. ยุทธศาสตร์การส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยและกระบวน การประชาสังคม YASOTHON 217


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL คือคําขวัญตําบลพระเสาร์ ซึง่ อยูใ่ นความดูแลขององค์การ บริหารส่วนตําบลพระเสาร์ อ�าเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร โดยตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากอ�าเภอมหาชนะชัย 1 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร 5 กิโลเมตร ปຑจจุบนั มี นายอรุณรัชช์ พรมนอก ปลัดองค์การบริหาร ส่วนต�าบล ป บิ ตั หิ น้าทีน่ ายกองค์การบริหารส่วนต�าบลพระเสาร์ และนางจินห์จฑุ า สีตะโกเพชร เป็นประธานสภาองค์การบริหาร ส่วนต�าบลพระเสาร์

N[QXI>XO@F"ネwォオォアーノ

๡สาธารณูปโภคก้าวไกล ใส่ใจการคมนาคม อุดมด้วยแหล่งน�า้ งามล�้าประเพณี สู่วิถีความพอเพียง๢

)CTH`L>XkNgB

@YITJ_:JX11F"EJH@T("" BLX;T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL"B6[AX<[R@CY>¥k @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALEJWcQYJF"

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

EJWcQYJF

EJW?Y<_A_4<Y.YHc;B@"" Q.AcIj@R@T.AXNd;."" ?JJH1Y<[dRLB.D`.L[."" .YHI[k.CCYgRHg>I"" DH(fD=QX/?JJH"(CYNLplYcOJP7([/"" )CYN)YNRTHHWL["BJWcE:¥dRBAXl.gF 218

องค์การบริหารส่วนตําบลพระเสาร์ มีเนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 5 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 21, 5 ไร่ พื้นที่ ประมาณร้อยละ 0 เป็นทีร่ าบสลับทีด่ อน มีทรี่ าบลุม่ ร่องน�า้ เซาะ เหมาะแก่การท�าการเกษตร ต�าบลพระเสาร์มีพื้นที่ปຆาสงวน แห่งชาติ 1 แห่ง มีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ส่วนมากเป็น ปຆาไม้ยางนา และไม้อื่นๆ เขตการปกครอง แบ่งการปกครองเป็น 10 หมูบ่ า้ น ดังนี้ หมูท่ ี่ 1 บ้านพระเสาร์ หมูท่ ่ี 2 บ้านปลาปຄงດ หมูท่ ี่ บ้านโนนยาง หมู่ที่ บ้านขาทราย หมู่ที่ 5 บ้านโนนงิ้ว หมู่ที่ 6 บ้านหัวดง หมู่ที่ บ้านแดง หมู่ที่ บ้านพระเสาร์ หมู่ที่ 9 บ้านหัวดง หมู่ที่ 10 บ้านโนนยาง ประชากร ในเขต อบต.พระเสาร์ มีจา� นวนทัง้ สิน้ ,26 คน แยกเป็น ชาย 2,1 6 คน หญิง 2,11 คน มีความหนาแน่น 12 คน ตารางกิโลเมตร จ�านวนครัวเรือน 1,05 ครัวเรือน ข้อมูล ปี 2559 การคมนาคม มีเส้นทางหรือถนนติดต่อถึงอ�าเภอ จ�านวน 2 เส้นทาง ระยะห่างจากอ�าเภอประมาณ 1 กิโลเมตร ลักษณะ เป็นลาดยาง ถนนระหว่างหมู่บ้านเป็นลาดยางและเป็นถนน คอนกรีตเสริมเหล็ก ส่วนถนนภายในหมูบ่ า้ นส่วนมากเป็นถนน คอนกรีตเสริมเหล็กและถนนหินคลุก


dRLB.>BT.c>¥kIN>¥kQpY+X4

วัดพระธาตุบญ ุ ตา ตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 1 บ้านพระเสาร์ เป็นทีบ่ รรจุ พระบรมสารีริกธาตุ และมีสถานที่ให้อาหารปลา 2. วัดปຆาหนองบัวแดง สาขาวัดหนองปຆาพงที่ 1 0 ตั้งอยู่ เลขที่ 125 หมู่ที่ บ้านพระเสาร์ มีอุโบสถสองชั้น ประกอบ กับธรรมชาติร่มรื่น และเป็นสถานที่ป ิบัติธรรมของต�าบล 3. ศูนย์อนุรักษ์สัตว์ปຆา ดงลิงบ้านปลาปຄດง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 บ้านปลาปຄດง มีลิงแสม อาศัยประมาณ 200 ตัว

NX9@?JJHBJWcE:¥>CT.=[k@>¥kQpY+X4

ประเพณีของท้องถิ่น เช่น ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก ประเพณีบุญบั้งไ ประเพณีแห่เทียนพรรษา และมีประเพณี ที่ด�าเนินการทุกเดือนตาม ีตสิบสอง ครองสิบสี่

JY.NXL;¥c;B@"B:" ¡¡

1. รางวัลชุดป บิ ตั กิ ารฉุกเฉินดีเด่น ระดับเบือ้ งต้น ประจ�า ปี 2559 รางวัลรถบริการการแพทย์ฉกุ เฉินดีเด่น ระดับเบือ้ งต้น , ประจ�าปี 2559 3. รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการด�าเนินงานการ แพทย์ฉุกเฉินดีเด่นและเป็นพื้นที่ศึกษางาน ปี 2559 4. บุคลากรในสังกัดได้รับเข็มเชิดชูเกียรติ ประเภทสรรเสริญ ชั้น 5 ประจ�าปี 2559 5. บุคลากรเข้าร่วมเป็นตัวแทน เขตสุขภาพที่ 10 เข้าร่วม การแข่งขัน ระดับชาติ ครั้งที่ 5 ปี 255 และครั้ง ที่ 6 ปี 2559 6. ได้ รั บ คั ด เลื อ กเป็ น องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ที่ มี ก าร ด�าเนินงานการแพทย์ฉุนเฉินดีเด่นและเป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน ปี 2559 7. บุคลากรได้รับคัดเลือกเป็น อปพร.ดีเด่น ประจ�าปี 2559

(L_BHTY1¥Ef@<pYAL

1. กลุ่มเลี้ยงจิ้งหรีด 2. กลุ่มทอผ้าบ้านโนนยาง . กลุ่มสตรีทอผ้าบ้านพระเสาร์ . กลุ่มเลี้ยงโคขุนบ้านพระเสาร์ 5. กลุ่มอนุรักษ์ควายไทย 6. กลุ่มผลิตดอกไม้จันทร์ YASOTHON 219


cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL +NYHRHYI)T.<JYQX4LX(P:F

ต้นเตย สีเขียว คือ ต้นเตยซึง่ เป็นพืชขนาดเล็ก ใบรูปขอบ ขนานเรียวยาว ผิวเรียบมัน ปลายใบแหลม สีเขียวเข้ม กลาง ใบเป็นร่องตามยาว ขอบมีหนามแหลมคมถีๆ ่ ตลอดใบ มีราก อากาศงอกออกมาจากล�าต้น ดอกช่อออกที่ปลายยอด ใบ ประดับสีขาวเรียวยาว เป็นกาบหุ้ม ดอกสีขาวอัดตัวกันแน่น ล�าต้นกลมเป็นข้อถี่ๆ ผลมีลักษณะเป็นทรงกลม ผลดิบเป็น สีเขียวพอสุกแล้วจะเป็นสีแดง ต้นเตยชอบขึน้ ตามทีช่ มุ่ น�า้ หรือ มีน�้าขัง ขยายพันธุ์ด้วยการแยกหน่อ สายนําๅ สีขาว คือ จิตใจทีใ่ สสะอาด สุขมุ เยือกเย็นเหมือน สายน�้าและรักคุณธรรม ตาหมากรุก สีเหลืองทอง คือ ทุง่ นาทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ และเต็มไปด้วยรวงข้าวสีทอง ท้องฟງา สี าງ คือ การมองทีก่ ว้างไกล ไม่มคี วามกังวล ไม่ ชอบความรุนแรง รักอิสระ ชอบงานศิลปิน สรุปความหมายคือ ชาวต�าบลค�าเตยมีความเป็นหนึง่ เดียว กัน ซึ่งเปรียบเสมือนเราเกิดมาจากเหล่ากอเดียวกันเหมือน ต้นเตย มีพนื้ ทีท่ ม่ี คี วามชุม่ ชืน้ อุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยรวงข้าว สีทอง ผูค้ นในท้องถิน่ มีจติ ใจงดงาม ใสสะอาด มีความคิดกว้าง ไกล ไม่ชอบความรุนแรง รักอิสระ และมีความเป็นศิลปิน

@YIdQ."HYL[@>Y @YI(c>OH@<J¥<pYAL+pYc<I

+pYc<IcBJ@cH^T.@BYTI`B"" (YJ+H@Y+HQW;N("cOJP7([/;¥" 1_H1@c)CHd)j. คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลต�าบลค�าเตย ซึง่ มีสา� นักงานตัง้ อยู่เลขที่ 150 หมู่ที่ 5 ซอย 1 ถนนวารีราชเดช ต�าบลค�าเตย อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร ปຑจจุบนั มี นายแสง มาลินทา ด�ารงต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีตําบลคําเตย 220

EX@?([/

จากวิสยั ทัศน์การพัฒนาจังหวัดยโสธร พ.ศ.255 - 2560 สามารถก�าหนดพันธกิจ ซึง่ เป็นสิง่ ทีท่ กุ ภาคส่วนจะต้องร่วมกัน ด�าเนินการแก้ไขปຑญหา สนองความต้องการ และพัฒนาจังหวัด ยโสธร ให้บรรลุวิสัยทัศน์ได้ พันธกิจ ดังนี้ สนับสนุนและผลักดันให้จังหวัดมีความโดดเด่นและชัดเจน ในฐานะจังหวัดทีด่ า� รงความเป็นชุมชนอีสาน โดยเน้นการรณรงค์ ให้ความส�าคัญกับวัฒนธรรม ค่านิยม และประเพณีอีสาน ซึ่ง มีการผสมผสานกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่อย่าง กลมกลืน 2. ผลักดันให้ภาคประชาชน สังคม มีการด�าเนินชีวิตตามแนว ทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อท�าให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทาง เศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน และเพือ่ สร้างภูมคิ มุ้ กันให้สามารถรองรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ


3. ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการบริหารทรัพยากรการเกษตร เป็นเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์ ไม่กระทบสิง่ แวดล้อม และให้มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น

BJWNX<[c>OAYL<pYAL+pYc<I

เทศบาลตําบลคําเตย เดิมเป็นองค์การบริหารส่วนต�าบล ค�าเตย จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 19 มกราคม 25 9 ปຑจจุบนั ต�าบลค�าเตย มีการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมอย่างรวดเร็ว ส่งผล ให้ความต้องการด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเพิ่ม มากขึน้ ดังนัน้ เพือ่ รับรองความเจริญของท้องถิน่ และประโยชน์ ในการปรับปรุงการบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในท้องถิน่ องค์การบริหารส่วนต�าบลค�าเตย จึงได้รบั การยกฐานะเป็นเทศบาล ต�าบลค�าเตย

)CTH`L>XkNgB

ตําบลคําเตย มีเนื้อที่ประมาณ 1 ตารางกิโลเมตร ภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่ประมาณ 0 เป็นทีร่ าบ เหมาะต่อการ ท�านา และเนื้อที่อีกประมาณ 0 เป็นที่ดอนเหมาะแก่การ ท�าไร่ มีลา� น�า้ โพงไหลผ่าน และเป็นแหล่งน�า้ หลักในการท�าการ เกษตรและอุปโภคบริโภค เขตการปกครอง ประชากร มีจ�านวนหมู่บ้านในเขต เทศบาลต�าบล เต็มทั้งหมู่บ้าน 1 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น คน , 9 แยกเป็นชาย , 9 คน หญิง , 00 คน จ�านวนครัว เรือนทัง้ สิน้ 2,669 ครัวเรือน ข้อมูล ณ วันที่ 15 ก.ย. พ.ศ.2559

สภาพทางเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่มอี าชีพเกีย่ วกับ ด้านการเกษตร เช่น ท�านา ท�าไร่ ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์

BJWcE:¥NX9@?JJHQpY+X4 

  

ประเพณีการสมรสหมู่แบบคาทอลิก ในวันวาเลนไทน์ คริตสต์มาส แห่ดาว ประเพณีบุญบั้งไ งานป ิบัติธรรมวิปຑสสนากรรมฐาน - บวชชีพราหมณ์ ประเพณีท้องถิ่น

Q=Y@>¥k>BT.c>¥kINQpY+X4 

โบสถ์คาทอลิกอัครเทวดามีคาแอล ซ่งแย้ โบสถ์ไม้ใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศไทย สระน�้าค�าขอนดู่ YASOTHON 221


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

g>Ic/J[4

=[k@G`(TI"JTIEJWE_>?AY>"" LY@R[@?JJH1Y<[G`UX."c@C@@pYBJX14Y cOJP7([/ETcE¥I. คือค�าขวัญตําบลไทยเจริญ ซึ่งอยู่ในความดูแลของ องค์การบริหารส่วนตําบลไทยเจริญ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 2 9 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลไทยเจริญ อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่าง จากที่ว่าการอ�าเภอไทยเจริญ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัดยโสธรประมาณ 5 กิโลเมตร ปຑจจุบันมี นายเสรี คําทอง ปลัดองค์การบริหารส่วน ตําบลไทยเจริญ ป ิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วน ตําบลไทยเจริญ เพือ่ ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ ทีว่ า่ “ไทยเ ริ เมือง น่าอยู่ ู่วั นธรรม น้าสาธาร ู โ ุม นเข้มแขใง”

BJWNX<[+NYHcBJ@HY

เดิมต�าบลไทยเจริญ มีชื่อว่า ๡บ้านน้อยคอยเจริญ๢ เมื่อ ปี พ.ศ.25 2 ได้แยกออกจากต�าบลค�าเตย และเปลีย่ นชือ่ ใหม่ 222

ว่า ๡ต�าบลไทยเจริญ๢ แบ่งการปกครองออกเป็น 6 หมูบ่ า้ น และ ได้รบั การยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�าบล เมือ่ ปี พ.ศ.25 0

)CTH`L>XkNgB

ตําบลไทยเจริญ มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 6.60 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 29,125 ไร่ ภูมปิ ระเทศส่วนใหญ่ประมาณ 5 เป็นทีร่ าบเหมาะส�าหรับการท�านา และเนือ้ ทีอ่ กี 25 เป็น ทีด่ อนเหมาะกับการท�าไร่ มีแหล่งน�า้ ทีส่ า� คัญ คือ ห้วยกระโตก ต�าบลไทยเจริญแบ่งการปกครองเป็น 6 หมูบ่ า้ น มีประชากรทัง้ สิ้น , 52 คน แยกเป็นชาย 2,2 1 คน เป็นหญิง 2,1 9 คน

@YIcQJ¥"+pY>T. BLX;T.+F(YJ AJ[RYJQBN@<pYAL g>Ic/J[4"" B6[AX<[R@CY>¥k" @YI(T.+F(YJ AJ[RYJQBN@<pYAL g>Ic/J[4


Q=Y@>¥k>BT.c>¥kINQpY+X4 NX;g>Ic/J[4

เดิมชาวบ้านเรียกว่า ๡วัดภูกอย๢ ปຑจจุบนั มีพระครูศรีธรรมมานุกลู เจ้าคณะอ�าเภอไทยเจริญ เป็นเจ้าอาวาส ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2 91 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 25 9 เสนาสนะส�าคัญภายในวัดไทยเจริญได้แก่ วิหารที่มี สถาปຑตยกรรมทีง่ ดงามตามแบบอินเดีย อุโบสถหลังใหญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัดยโสธร กุ ิหนีเสือในสมัยก่อน ตลอดจนกุ ิเก็บร่าง สังขารของอดีตเจ้าอาวาส คือ พระครูวินัยกรโกศล นอกจากนีบ้ ริเวณวัดยังมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางทางธรรมชาติ มากมาย เช่น ลานหินซ้อน วังมัจฉา ถ�า้ งูเหลือม รอยนายพราน นอน เป็นต้น

G`UX.

ตั้ ง อยู ่ บ นทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 2169 บ้ า น สามแยกภูกอย ทางไปอ�าเภอเลิงนกทา ห่างจากถนนใหญ่ประมาณ 00 เมตร มีลักษณะเป็นภูเขาขนาดเล็ก เป็นลานหินซ้อนที่มี ความสวยงาม

([/(JJHe;;c;B@

.Y@@HXQ(YJJTIEJWE_>?AY>G`(TI

สืบเนื่องจากปี พ.ศ.250 ได้พบรอยพระพุทธบาทโดย บังเอิญโดยหลวงตากรและหลวงตาอิน ซึ่งจ�าพรรษาในวัด ไทยเจริญ ท�าให้ชาวบ้านไทยเจริญและประชาชนในละแวกใกล้ เคียงได้เกิดความศรัทธาให้ความเคารพสักการะมาโดยตลอด จึงได้ถือเอาวันขึ้น ค�่า- ค�่า เดือน ของทุกปี เป็นวันเฉลิม ฉลองนมัสการรอยพระพุทธบาทภูกอย โดยภายในงานมีการ จัดกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมการออกร้านจ�าหน่ายสินค้า จับฉลากการกุศลภูกอย การแข่งขันประกวดร้องเพลง และอืน่ ๆ อีกมากมาย

(T.>_@QNXQ;[(YJ1_H1@<pYALg>Ic/J[4

ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2550 โดยมีการจัด สวัสดิการชุมชนทีเ่ หมาะสมกับบริบทพืน้ ที่ และตรงตามความ ต้องการของพี่น้องในเขตต�าบลไทยเจริญ เพื่อให้ได้รับการจัด สวัสดิการเป็นไปอย่างทั่วถึง ตั้งแต่เกิดจนเสียชีวิต ในรูปแบบ การท�างานแบบบูรณาการ และมีการจัดประชุมสามัญประจ�า ปีทกุ ปีมไิ ด้ขาด เพือ่ แจ้งให้สมาชิกได้รบั ทราบถึงผลการด�าเนิน งาน ตลอดจนร่วมเสนอแนะ แสดงความคิดเห็นถึงการปรับ เปลี่ยนรูปแบบการจัดสวัสดิการ เพื่อให้เหมาะสมและยั่งยืน ส�าหรับคนในต�าบลไทยเจริญ YASOTHON 223


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XkNgB

@YI+JJ1[<"C_;CBT." @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYALQCHCBT

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

QCHCBT

QCHCBTcH^T.@BYTI`B"(YJO](PY;¥" Q_)GYE;¥"c1[;1`BJWcE:¥NX9@?JJH" )IYI@pYc(P<JT[@>J¥IFQ`B1_H1@ คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�าบลส้มผ่อ ซึ่งมี ที่ท�าการตั้งอยู่หมู่ที่ ต�าบลส้มผ่อ อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัด ยโสธร โดยอยู่ห่างจากที่ท�าการอ�าเภอไทยเจริญไปทางทิศ ตะวันตก ประมาณ 16 กิโลเมตร ตามถนนสายวารีราชเดช เลิงนกทา - ยโสธร 224

องค์การบริหารส่วนตําบลส้มผ่อ เป็นต�าบลหนึ่งใน จ�านวน 5 ต�าบล ของอ�าเภอไทยเจริญ สภาพภูมิประเทศโดย ทัว่ ไปเป็นทีร่ าบ พืน้ ทีท่ มี่ คี วามชืน้ เหมาะส�าหรับการท�าเกษตรกรรม เช่น ท�านา ท�าไร่ และท�าสวน มีลา� น�า้ โพงไหลผ่านและเป็นแหล่ง น�้าหลักในการท�าเกษตร อุปโภค และบริโภค เขตการปกครอง ต�าบลส้มผ่อแบ่งการปกครองเป็น หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ บ้านส้มผ่อ ผู้ใหญ่บ้าน นายพิเศษ พรมจันทร์ หมู่ที่ บ้านนาเงิน ผู้ใหญ่บ้าน นายทองหมั่น ทับแสง หมู่ที่ บ้านโนนแดง ผู้ใหญ่บ้าน นายทรงศักดิ์ ทับแสง หมู่ที่ บ้านศรีชุมพร ก�านัน นายมิตรชัย อนุกูลประชา หมู่ที่ บ้านนางาม ผู้ใหญ่บ้าน นายสยาม บุตรอ�าคา หมูท่ ี่ บ้านเหล่าหันทราย ผูใ้ หญ่บา้ น นางอมรรัตน์ บุตรคุณ หมู่ที่ บ้านใหม่ชมพู ผู้ใหญ่บ้าน นายประกร ดีล้วน หมู่ที่ บ้านทุ่งเศรษฐี ผู้ใหญ่บ้าน นายถาวร ทับแสง การศึกษา  มีโรงเรียนในพื้นที่ จ�านวน โรง ได้แก่ โรงเรียนบ้านส้มผ่อ เป็นโรงเรียนขยายโอกาส ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านนาเงิน, โรงเรียน โนนแดงประชานุเคราะห์ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ บ้านโนนแดง, โรงเรียน บ้านนางาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บ้านนางาม และโรงเรียนบ้านเหล่า หันทราย ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 บ้านเหล่าหันทราย  มีศน ู ย์พฒ ั นาเด็กเล็ก แห่ง ได้แก่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้าน ส้มผ่อ, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนแดง, ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านเหล่าหันทราย และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนางาน การสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล ส้มผ่อ จ�านวน 1 แห่ง

NX9@?JJHヘBJWcE:¥

วัฒนธรรม-ประเพณีท่ีชาวบ้านส้มผ่อถือป ิบัติต้ังแต่ อดีตมาจนถึงปຑจจุบนั คือ การเล่นเอาชะตาบ้านเมือง ซึง่ จะท�า กันในช่วงของบุญเดือนหก ประเพณีบญ ุ บัง้ ไ ในปຑจจุบนั เพือ่ เป็นการขอ ງาขอฝนส�าหรับการท�าไร่ท�านาของชาวบ้าน และ

BLX;/BYQ[AcT(?@YOX(;[o"+pYQ_)


การเอาชะตาก็ถอื เป็นการเสีย่ งทายความอุดมสมบูรณ์ของน�า้ พืชพรรณธัญญาหารของบ้านส้มผ่อในปีนั้นๆ ด้วย ส�าหรับการเอาชะตา จะมีนายพราน เสือ และสุนัข โดย ใช้คนในพื้นที่แสดงเป็นตัวละครดังกล่าว ส่วนอุปกรณ์จะมี ตาข่าย และหัวควายด่อน ควายเผือก ทีโ่ ดน าງ ผ่าตาย ซึง่ การ เอาชะตา จะมีการแล่นหน่าง ดักตาข่าย คล้องเสือ โดยมี นายพรานและสุนขั ไล่ตอ้ นเสือออกมาให้ตดิ หน่างหรือตาข่าย เพราะสมัยก่อนถือได้ว่าเสือตัวนี้เป็นตัวที่ท�าให้ฝน ງาไม่ตก ต้องตามฤดูกาล และเสือตัวนี้จะออกมากินสัตว์เลี้ยง เช่น วัว ควาย ท�าให้ชาวบ้านเดือดร้อน จึงเป็นที่มาของการเอาชะตา ของชาวส้มผ่อสืบต่อมาจนถึงปຑจจุบัน

+:WC`CAJ[RYJTA<ホQCHCBT 

 

นายครรชิต ผุดผ่อง นายกองค์การบริหารส่วนต�าบลส้มผ่อ นายทรงวิชช์ มูลสาร รองนายกองค์การบริหารส่วนต�าบล ส้มผ่อ นายบุญชิต สมาจักร รองนายก นายเสา บุตรอําคา เลขานุการ

I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y

ปรับปรุงและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน สาธารณูปโภค ให้ได้ มาตรฐานและเพียงพอ ทั้งในอนาคตและปຑจจุบัน ส่งเสริมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคน

สังคม และคุณภาพชีวติ จัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษา ความสงบเรียบร้อย วางแผนการส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเทีย่ ว ส่งเสริมการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จารีต ประเพณี และภูมิปຑญญาท้องถิ่น บ�ารุงรักษา บริหารจัดการ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้เกิดสมดุล

([/(JJHマe+J.(YJQpY+X4B:" ¡¡ 

กิจกรรมท�าบุญตักบาตรเนื่องในวันปีใหม่ 2559, กิจกรรม ผู้สูงอายุ 2559, กิจกรรมบุญบั้งไ ส้มผ่อ 2559  โครงการรักน�า ้ รักปຆา รักแผ่นดิน เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล และร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดใจพระเจ้าอยู่หัว  โครงการ อบต.ส้มผ่อ พบประชาชน

นายอุทัย วันอ่อน ประธานสภา นายชัยนุวัฒน์ ทับแสง รองประธานสภา นายสุบรร ทับแสง เลขาสภา

YASOTHON 225


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL )CTH`L>XkNgB

องค์การบริหารส่วนตําบลนําๅ คํา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 5 . 2 ตารางกิโลเมตร ลักษณะภูมิประเทศมีสภาพเป็นที่ราบลุ่มมี แม่น�้าล�าเซบายไหลผ่าน ลักษณะสภาพดินส่วนใหญ่เป็นดิน ทรายและดินร่วนปนทราย ตําบลนํๅาคํา แบ่งการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน มี ประชากรรวม 6, 12 คน โดยแยกเป็นชาย , 22 คน และหญิง , 90 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และ เลี้ยงสัตว์ รองลงมาคือค้าขาย รับราชการฯ ประชากรนับถือ ศาสนาพุทธ 9 หมู่บ้าน ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก หมู่บ้าน

EX@?([/

1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแบบบรูณาการ 2. พัฒนาคุณภาพชีวิต 3. พัฒนาต�าบลน่าอยู่อย่างยั่งยืน 4. ຅ຕน ูภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อม 5. ຅ຕน ูเศรษฐกิจชุมชม 6. ส่งเสริมการศึกษา สุขภาพอนามัย 7. อนุรักษ์ประเพณีและวัฒนธรรมให้คงอยู่ตลอดไป 8. ต่อต้านยาเสพติดทุกรูปแบบ

@YIJX(>N¥"CL)YN @YI(T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL@plY+pY

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

@plY+pY

@plY+pY<pYAL@BYTI`B"c1[;1`+_:?JJH" @pYc(P<JT[@>J¥IF คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนตําบลนํๅาคํา ซึ่งมี ส�านักงานตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 12 บ้านน�า้ ค�า ต�าบลน�า้ ค�า อ�าเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากอ�าเภอไทยเจริญ ระยะทาง ประมาณ 10 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดยโสธร ประมาณ 6 กิโลเมตร

226

@eIAYIC`CAJ[RYJ

ต้องการให้คมนาคมสะดวก และประชาชนมีรายได้ที่ มั่นคง โดยไม่ต้องเดินทางไปท�างานในท้องที่อื่น ประชาชนมี ร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ผู้สูงอายุและเด็กด้อยโอกาสได้รับ การดูแลอย่างทั่วถึง


YASOTHON 227


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

eAQ=FTX+Jc>N;YH¥+YdTL"2B.dIC eAQ=FTX+Jc>N;Y"H¥+YdTL"2B.dIC"<Xl.TI`B>¥kACY@2B.dIC"RH`B" "<pYAL+pYc<I"TpYcGTg>Ic/J[4"" /X.RNX;IeQ?J"cBJ@eAQ=Ff@OYQ@Y+J[Q<F@[(YIeJHX@+Y>TL[(>¥kQJCY./Y(gHCRLX.>¥kfR4B>¥kQ_;" )T.QX.-H:8LT_ALJY1?Y@¥"dLWfR4B>¥kQ_;f@BJWc>Og>I;CNI BJWNX<[eAQ=FTX+Jc>N;YH¥+YdTL"2B.dIC

โบสถ์อคั รเทวดา มีคาแอล ซ่งแย้ ได้เปิดโบสถ์ครัง้ แรก ในปี ค ศ โดยในปี ค ศ ได้มชี าวบ้านซ่งแย้ คน ได้ ไปพบบาทหลวงเดซาแวล และ บาทหลวงอัมโบรซีโอ ซึง่ เป็น อธิการโบสถ์ประจ�าที่บ้านเซซ่ง ต.เชียงเพ็ง อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร เพราะได้ยินกิตติศัพท์เรื่องศาสนาของบาทหลวง ว่าเป็น ศาสนาเทีย่ งแท้ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ จึงอยากเชิญบาทหลวงไปเยีย่ มบ้าน ใหม่ และสอนศาสนาให้ด้วย ขณะนั้นบ้านหนองซ่งแย้ มีเพียง 5 ครอบครัว ซึ่งอพยพ มาจากหมูบ่ า้ นอืน่ เพราะถูกขับไล่เนือ่ งจากถูกกล่าวหาว่าเป็น ผีปอบสิง หลังจากบาทหลวงทั้งสองได้มาเยี่ยมและเห็นว่า บริเวณทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นนัน้ ดีมาก บาทหลวงจึงขอให้ชาวบ้านสร้าง ทีพ่ กั ขึน้ หลังหนึง่ เพือ่ เป็นทีพ่ กั อาศัยชัว่ คราว เพือ่ ใช้สอนศาสนา และประกอบพิธที างศาสนาด้วย ซึง่ ถือว่าบ้านพักนีเ้ ป็นโรงสวด 228

หรือโบสถ์หลังแรกของกลุ่มคริสตชนซ่งแย้ ฿นป຃ ค ศ ได้มคี ริสตชนจากบ้านเซซ่ง บ้านหนองคู และจากหมู่บ้านอื่นๆ ได้อพยพมาอาศัยที่บ้านซ่งแย้เพิ่มขึ้น และขอเข้าศาสนาด้วยรวมเป็น 15 ครอบครัว ฿นป຃ ค ศ เกิดสงครามระหว่างเยอรมนีกบั ฝรัง่ เศส บรรดาบาทหลวงฝรัง่ เศสจึงถูกเกณฑ์ไปเป็นทหารกว่า 10 องค์ เหลือเพียงบาทหลวงกางแตงทีต่ อ้ งดูแลงานอภิบาลโบสถ์ใน เขตนัน้ เป็นระยะเวลา ปี บาทหลวงจึงได้แต่งตัง้ ให้ครูคา� สอน ชื่อ เซียงทัน ช่วยดูแลบ้านซ่งแย้แทนท่าน ฿นป຃ ค ศ กลุม่ คริสตชนได้ขยายมากขึน้ เกือบ 00 คน จึงจ�าเป็นต้องสร้างทีพ่ กั หรือโรงสวดหลังใหม่ ซึง่ เป็นนับเป็น โรงสวดหลังทีส่ อง แต่ใช้อยูป่ ระมาณ - ปี จึงย้ายทีใ่ หม่เพราะ คับแคบเกินไป และมีพื้นที่อื่นที่เหมาะสมกว่า จึงได้สร้างโรง สวดบริเวณหนองค่าย ขนาด 6 ห้อง มุงด้วยไม้ ซึง่ เป็นโรงสวด


หลังที่สาม สร้างสมัยบาทหลวงกางแตง ต่อมาได้มชี าวบ้านหนองบอนได้ลอบวางเพลิง ไ ได้ไหม้ โบสถ์เสียหาย ห้อง เมือ่ เหตุการณ์สงบชาวบ้านจึงได้ชว่ ยกัน ซ่อมแซมและขยายโบสถ์ให้ใหญ่กว่าหลังเดิม เพื่อให้เพียงพอ กับคริสตชนที่มีมากขึ้นเรื่อยๆ และได้แยกโบสถ์กับบ้านพัก บาทหลวงด้วย ฿นป຃ ค ศ ได้มคี ริสตชนจากบ้านดงมะไ อ.ทรายมูล จ.ยโสธร ได้อพยพมาอาศัยอยูท่ บี่ า้ นซ่งแย้ ตามค�าแนะน�าของ บาทหลวงเดซาแวล เพื่อสะดวกในงานอภิบาล ส�าหรับการสร้างโบสถ์หลังที่สี่ซึ่งเป็นหลังปຑจจุบันนั้น บาทหลวงอาลาซาร์ด อธิการโบสถ์เซซ่งและโบสถ์ซง่ แย้ ได้พา ชาวบ้านหาไม้ส�าหรับสร้างโบสถ์ใหม่ เพราะสภาพโบสถ์หลัง เก่าเริม่ ช�ารุดมากและคับแคบเกินไป แต่เมือ่ ชาวบ้านได้เตรียม ไม้ได้เพียงพอแล้ว กลับยังไม่ได้สร้างโบสถ์ เพราะเกิดกรณีเบียด เบียนศาสนาเสียก่อน เจ้าหน้าทีไ่ ด้มาขนเอาไม้จา� นวน 60 เกวียน ไปสร้างที่ท�าการอ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร และโรงเรียน รัฐบาลอีกหลายหลังแทน ต่อมาปี ค ศ บาทหลวงมนตรี มณีรัตน์ อธิการ โบสถ์ ได้ให้ชาวบ้านเตรียมไม้อีกครั้งหนึ่ง ประมาณ ปี เพื่อ สร้างโบสถ์ใหม่ โบสถ์หลังที่สี่นี้มีขนาดใหญ่มาก ขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว 5 เมตร ใช้เสาทัง้ ใหญ่และเล็กจ�านวน 22 ต้น ใช้ไม้มุงหลังคาจ�านวน 0,000 แผ่น ใช้งบประมาณในการก่อ สร้าง ,000 บาท ส�าหรับซื้อน็อตและตะปู ในการสร้างโบสถ์ หลังนี้ ชาวบ้านทุกคนมีความสามัคคีกัน และให้ความร่วมมือ กันดีมาก ในระหว่างที่ขนไม้ก็มีบรรยากาศสนุกสนาน มีการ

zbtpuipo"229


ร้องร�า ตีกลอง โห่รอ้ งจนก้องปຆา เป็นการให้กา� ลังใจซึง่ กันและ กันจนงานส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี และทีส่ ดุ ในวันที่ เมษายน ค ศ มุขนายกบาเยต์ ได้มาเป็นประธานพิธีเสกโบสถ์หลังนี้ ซึ่งเป็นโบสถ์ไม้หลังที่ ใหญ่ที่สุดของสัง มณทลอุบลราชธานี และเป็นโบสถ์ไม้หลัง ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยด้วย ในระหว่ า งปี ค ศ บาทหลวงบุ ญ เลิ ศ พรหมเสนา ได้มีแนวความคิดที่จะท�าการบูรณะโบสถ์ จึงได้ ปรึกษากับผู้ใหญ่ทางสัง มณฑลอุบลราชธานี และชาวบ้าน ซ่งแย้ ซึง่ ต่างมีความเห็นพ้องต้องกันว่าให้บรู ณะซ่อมแซมเพือ่ เป็นการอนุรักษ์โบสถ์ไม้ให้เป็นมรดกตกทอดสู่ลูกหลานรุ่น ต่อๆ ไปให้ตราบนานเท่านาน ซึง่ ได้บรู ณะซ่อมแซมและได้ฉลอง

ครบรอบ 100 ปี ของการก่อตัง้ ชุมชนศิษย์พระคริสต์฿นวันที่ พ ษภาคม ค ศ โดยพระสัง ราชฟิลปิ บรรจง ไชยรา มุขนายกสัง มณ ลอุบลราชธานี เป็นประธานในพิธี ปຑจจุบนั มีสัตบุรุษประมาณ ,000 คน

(YJB(+JT.NX;TX+Jc>N;YH¥+YdTL"2B.dIC  

230

บาทหลวงดอมินิก ธวัชชัย จันทรกาญจน์ อธิการโบสถ์ อัครเทวดามีคาแอล ซ่งแย้ บาทหลวงโทมัส สุพจน์ สายเสมา ผู้ช่วยอธิการโบสถ์ ภคินเี ดลฟ຃นา นันทพันธ์ งามวงศ์ อธิการ งานโภชนาการ ภคินลี เู ซีย สมาพร พันธ์วไิ ล ผูอ้ า� นวยการโรงเรียนซ่งแย้ทพิ ยา ภคินีแบร์นาแดຍต วัชราภรณ์ นักพรรษา หัวหน้าแผนก อนุบาล งานอภิบาล-แพร่ธรรม


cQC@>Y."AEC

ง้ น�าท่วมท�าพิ )CYNcH^T.<Y(YLjT(L; /Y(QGYNWTY(YO>¥kJCT@dLC.c@^kT./Y(BJY(6(YJ:F cTL@[4e4"QB.CLfRCCLCL[<>Y.(YJc(P<Jg;CJAX CL(JW>A TIBY.R@X("BJWc>Og>IcT.(jc([;BJY(6(YJ:F(LCNI@plYNCY dE.>¥Qk ;_ f@JTA"¦ "B:"(LCNIRN¥TNAi"d<W>¥Jk Y+Y"¢ "AY>" >Xl.i">¥k(BT@R@CY@¥l(LCNI@plYNCYgHBH¥JY+Y+BY.N;c>BYf;@X(

ที่ประเทศ ิลิปปินส์ก็เช่นเดียวกัน กระทรวงการเกษตร ิลิปปินส์เปิดเผยว่า ภัยแล้งได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ข้าวเปลือกกว่า 2 5,000 เมตริกตัน แต่ยงั น้อยกว่าทีค่ าดการณ์ ไว้ที่ 9 0,000 เมตริกตัน ที่ผ่านมารัฐบาล ิลิปปินส์ได้มีความ พยายามช่วยเหลือเกษตรกรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากปราก การณ์ เอลนิญโญ และยังมีแผนการทีจ่ ะเตรียมรับมือกับปราก การณ์ ลานิญญ่า ซึ่งคาดว่าจะเกิดขึ้นในครึ่งหลังของปีนี้ ด้วยการ สนับสนุนให้เกษตรกรปลูกข้าวพันธุ์ ซึ่งได้ รับการพัฒนาจากสถาบันวิจัยข้าว ิลิปปินส์ และสถาบันวิจัย ข้าวระหว่างประเทศ โดยข้าวพันธุ์นี้จะมีความทนต่อสภาพ อากาศที่แปรปรวน ทั้งนี้ ส�านักสถิติ ิลิปปินส์ ได้เปิดเผยสถิติการผลิตข้าว เหลือของประเทศ ในช่วงไตรมาสแรกของปีนี้ โดยลดลงร้อยละ 9.9 อยู่ที่ ,9 0,000 เมตริกตัน จาก , 0,000 เมตริกตัน เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ซึ่งโดยปกติ ลิ ปิ ปินส์ผลิตข้าวได้ไม่เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ อยู่แล้ว จึงท�าให้ปีนี้ ิลิปปินส์มีแนวโน้มที่จะน�าเข้าข้าวเพิ่ม ผ่านการท�าสัญญาแบบ 2 ซึง่ จะท�าให้ได้ขา้ วปริมาณมากใน ราคาถูก ข่าวร้ายของฟຂลิ นຂ สຏ อา ะเ นຓ ข่าวดีของ ระเท ไทย ที่ ะมีโอกาสส่งออกข้าวได้มากขึน้ นี่ อ้ งเก ตรกรผู้ ลูก ข้าวกใ ะได้มี วามหวังว่าผลผลิตข้าว ะได้รา าดีขึ้นตาม ไ ด้วย

เก ตรกร ้ป กอ้อย" g>Ic<J¥IHcU สํานักงานส่งเสริมการค้า฿นต่างประเทศ กรมส่งเสริม การค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ รายงานจากกรุงจาการ์ตา ว่า อินโดนีเซียต้องการน�าเข้าน�า้ ตาลดิบเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากพืน้ ที่ เพาะปลูกอ้อยของอินโดนีเซียลดลงจากปีก่อน โดยเกษตรกร หันไปเพาะปลูกอย่างอื่นแทนการปลูกอ้อย เนือ่ งจากเกษตรกรได้ผลผลิต 50-60 ตันต่อเ กตาร์ และ ผลผลิตน�า้ ตาลจากอ้อยอยูใ่ นระดับร้อยละ .5 ซึง่ ต�า่ กว่าผลผลิต โรงงานน�า้ ตาลไทย โดยเฉลีย่ ทีร่ อ้ ยละ 12-1 อีกทัง้ โรงงานน�า้ ตาล ทีม่ อี ยูส่ ว่ นใหญ่ เป็นมรดกจากอาณานิคมดัตช์ มีโรงงานน�า้ ตาล ใน ร้อยละ 9 ในสุมาตราเหนือ ร้อยละ 5 เมือ่ พิจารณาร่วมกับต้นทุนของปຑจจัยอืน่ ๆ เช่น โครงสร้าง พืน้ ฐาน และอัตราดอกเบีย้ ธนาคาร ร้อยละ 9 จะเห็นได้ชดั ว่า การผลิตอ้อยในอินโดนีเซีย ไม่มคี วามได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ อุตสาหกรรมการผลิตน�้าตาล จึงต้องพึ่งพิงเงินอุดหนุนจาก รัฐบาล อีกทัง้ ผลผลิตอ้อยในอินโดนีเซียลดลง ส่งผลให้อนิ โดนีเซีย ยังต้องพึง่ พาการน�าเข้าน�า้ ตาลดิบ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของอุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ และอาหารในประเทศ ทัง้ นี้ น�า้ ตาล เป็นสินค้าควบคุม การน�าเข้ามีระเบียบการน�าเข้าที่รัดกุม งานนีเ้ ก ตรกรผู้ ลูกอ้อย าวไทยอา ได้เ เ ราะไทย ส่งออกน้​้าตาลทรายดิบและน้​้าตาลทรายขาวไ ระเท อินโดนีเ ยี มากทีส่ ดุ แม้วา่ ใน ຃ ะ กู ผลกระทบ าก มาตรการ วบ ุมการน้าเข้าน้​้าตาลของอินโดนีเ ียกใตาม ขอขอบคุณที่มา ส�านักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ กรมส่งเสริมการ ค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ YASOTHON 231


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

NX;OJ¥7Y@f@ <Xl.TI`B>¥kACY@OJ¥7Y@"<pYALOJ¥7Y@"TpYcGTB=Y<[lN"/X.RNX;IeQ?J" BH//_AX@H¥"RLN.B`=QJN."Q[J[B_4e4"cBJ@c/CYTYNYQ

232


หลวง ูຆสรวง สิริ ุ โ เ ้าอาวาส

BJWNX<[NX;OJ¥7Y@f@

เมื่ อ คราวเกิ ด ศึ ก จลาจลที่ น คร เวียงจันทน์ ชาวศรีฐานได้อพยพหนีภยั มากับขบวนของพระวอและพระตา ซึ่ง มีพระสง ค์ อื ท่านพระครูองั วะและท่าน พระครูฟาງ มืดเดินทางมาด้วย ขบวนของ ท่านพระครูทงั้ สองนีต้ งั้ ทัพอยูท่ ชี่ ายปຆา จึงเรียกว่า ๡หนองทัพ๢ มาจนทุกวันนี้ เมื่อได้ท�าเลที่ตั้งบ้านเหมาะสม แล้ว ชาวบ้านศรีฐานจึงสร้างวัดขึ้นเพื่อ เป็นศูนย์รวมน�้าใจ และได้ตั้งชื่อวัดว่า ๡วัดศรีสะเกษ๢ ตามถิ่นฐานเดิม โดยให้ พระครูอังวะเป็นเจ้าอาวาสปกครอง วัดศรีสะเกษนี้เป็นวัดซึ่งท่านพระครู ฟງามืดเคยอยู่อาศัย และท่านมีประวัติ เล่าขานกันมาเป็นที่อัศจรรย์มากมาย ด้านทิศเหนือของวัดมีดอนปูตຆ า มี สภาพเป็นปຆารกครึม้ มีไม้แดงล�าต้นใหญ่ โตเป็นทีอ่ ยูข่ องฝูงลิงมากมาย ซึง่ ทุกครัง้ ทีเ่ กิดเหตุการณ์เลวร้ายขึน้ ชาวบ้านเชือ่ ว่าเป็นเพราะปูตຆ านัน้ พิโรธ จึงจะต้องหา เครื่องเซ่นไหว้มาสรวงบูชา ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2 69 พระอาจารย์สงิ ห์ ขันตยาคโม และพระอาจารย์มหาปินດ ปຑญญาพโล ซึ่งเป็นพระกรรมฐานได้จาริกบุญอยู่ บริเวณดอนปูตຆ า และได้รบั อบรมสัง่ สอน ชาวบ้านให้ยึดเอาพระรัตนตรัยเป็นที่ พึ่งแทน ชาวบ้านได้มีจิตศรัทธามากยิ่ง ขึน้ จึงตัง้ วัดขึน้ อีกเป็น ๡วัดปຆาดอนปูตຆ า๢ ต่อมาวัดศรีสะเกษไม่มพี ระภิกษุสามเณร

จ�าพรรษา ชาวบ้านจึงเห็นว่าสมควรจะ รวมสองวัดนี้ให้เป็นวัดเดียว อยู ่ ต ่ อ มาบ้ า นศรี ฐ านมี เ พิ่ ม ประชากรมากขึ้น มีการขยับขยายบ้าน เรือนออกไป ขุนก�าจัดกระจายพาล ก�านัน ต�าบลกระจาย และชาวบ้านจึงสร้างวัด ขึน้ ใกล้หนองหว้าใต้ ตัง้ ชือ่ วัดใหม่วา่ วัด ๡จันทรรังสี๢ ต่อมาชาวบ้านเรียกกันใหม่ ว่าวัดศรีฐานนอกจนติดปาก และเรียก วัดศรีสะเกษทีร่ วมกับวัดปຆาดอนปูตຆ าว่า ๡วัดศรีฐานใน๢ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2 5 จนถึง ทุกวันนี้

LpY;XAc/CYTYNYQ 

หลวงปูຆบุญช่วย ธัมมวโร พ.ศ.2 92 - 2 99  พระเทพสังวรญาณ พวง สุขินทริโย พ.ศ.2 99 - 2510  พระราชสุทธจารย์ สมดี อชิโต พ.ศ. 2511 - 25 6  หลวงปูຆสรวง สิริปุญโญ พ.ศ.25 จนถึงปຑจจุบัน

BJWNX<[RLN.B`=QJN."" Q[J[B_4e4

หลวงปูส่ รวง สิรปิ ญ ุ โญ ถือก�าเนิด ทีบ่ า้ นศรีฐาน ต�าบลศรีฐาน อ�าเภอปຆาติว้ จังหวัดยโสธร ซึง่ เดิมคือ ต�าบลกระจาย อ�าเภอลุมพุก จังหวัดอุบลราชธานี เมือ่ วันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2 มีนาม

เดิมว่า ด.ช.สรวง ลุลว่ ง เป็นบุตรคนที่ 5 ของนายเนียม และนางบัพพา ลุล่วง ต้นตระกูลเดิมเป็นชาวนา นับถือ ศาสนาพุทธมาแต่ดงั้ เดิม โยมบิดา มารดา มีศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่าง ยิ่ง เมื่ออายุ 2 ปี ท่านได้อุปสมบทใน พระพุทธศาสนาที่วัดศรีฐานใน โดยมี พระครูพศิ าลศีลคุณ เป็นพระอุปชຑ าย์ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2 96 เมื่อ อุปสมบทแล้ว ได้ออกเดินทางไปศึกษา แสงหาครูบาอาจารย์ ได้อบรมศึกษาจาก ครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิ หลวงปูฝຆ นຕຑ อาจาโร, หลวงปูชຆ อบ ฐานสโม, หลวงปูຆ มหาบุญมี สิรธิ โร, หลวงปูขຆ าว อนาลโย, พระอาจารย์จวน กุลเช โฐ, พระอาจารย์ สิงห์ทอง ธัมมวโร เมื่อปี พ.ศ.25 เดินทางกลับ ดินแดนมาตุภูมิโดยการนิมนต์ ชักชวน ของพระเทพสังวรญาณ พวง สุขนิ ทริโย เพือ่ เมตตาสงเคราะห์ ญาติโยม ลูกหลาน อีกทัง้ วัดศรีฐานใน ชาวบ้านศรีฐาน ขาด ที่พึ่งทางจิตใจ หลวงปูมຆ วี ตั ร ป บิ ตั อิ นั งดงาม และ ได้เมตตาสร้างคุณูปการให้กับชาวบ้าน ศรีฐานและสาธารณะประโยชน์ให้กับ ชุมชนใกล้เคียงเป็นอย่างมาก

RLN.B`=QJN.(XABJWBY RH`BACY@OJ¥7Y@

เดิมระบบประปาหมู่บ้านศรีฐาน zbtpuipo"233


ใช้น�้าจากบ้านนิคม แต่ไม่เพียงพอต่อ ความต้องการของชาวบ้าน หลวงปูຆจึง เริ่มสร้างถังน�้า เพื่อท�าระบบประปาเข้า สู่หมู่บ้าน ตั้งแต่ พ.ศ.25 จากนั้นได้ สร้างแท้งค์น�้าที่วัด ท�าการสูบน�้าจาก น�้าบาดาลกักเก็บไว้ในถังน�้า แล้วส่งเข้า หมูบ่ า้ นซึง่ มีประมาณ 1,200 หลังคาเรือน ได้ใช้ ตั้งแต่ปี พ.ศ.25 6 จนถึงปຑจจุบัน จากนั้นเมื่อออกพรรษา ปี พ.ศ. 2555 หลวงปูไຆ ด้ปรารภกับคณะครู อบต. นายก อบต. ผู้ใหญ่บ้าน ก�านัน ตลอด ถึงผู้น�าในท้องถิ่น เพื่อที่จะด�าเนินการ ขอใช้ทสี่ าธารณประโยชน์หนองกลาง 16 ไร่ ที่มีการขุดสระอยู่แล้วพัฒนาระบบ ประปาเข้าสูห่ มูบ่ า้ น เพือ่ ปງองกันปຑญหา การขาดแคลนน�้าของชาวบ้านศรีฐาน หลวงปูเຆ มตตาให้ขดุ สระน�า้ เมือ่ ต้นเดือน ธันวาคม พ.ศ.2555 จนถึงเดือมิถนุ ายน พ.ศ.2556 จึงแล้วเสร็จ แต่ก็ยังมีการ ต่อเติมเรือ่ งของก�าแพงกัน้ ล้อมรอบเนือ้ ที่ ราชพัสดุหนองกลาง หลังจากขุดสระน�า้ แล้วหลวงปูไຆ ด้นา� ดินทัง้ หมดไปถมบริเวณ ที่ต่างๆ ภายในบริเวณวัด และท�าเป็น ภูเขาขนาดย่อมเพื่อสร้างถังน�้าขนาด ใหญ่ไว้ชนั้ บนเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 เมตร เพื่อเก็บกักน�้า จากนั้นได้ใช้ระบบแผง โซล่าเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์ใช้ดดู น�า้ จากสระหนองกลาง แท้งค์ แล้วส่งน�า้ เข้า ถังน�้าใหญ่ภายในวัด ถัง จากนั้นก็ส่ง เข้าไปในหมูบ่ า้ นศรีฐานเพือ่ ให้ชาวบ้าน 234

ได้อุปโภคบริโภคต่อไป

BJWNX<[RLN.B`=F>YH^;"<YH +pYAT(cLYB EJWc>EQX.NJ4Y:" ネRLN.<YEN."Q_)[@>J[eIノ

พระเทพสังวรญาณ (หลวงตา พวง สุขนิ ทริโย) ได้เล่าประวัตเิ กีย่ วกับ หลวงปูว่ า่ ท่านมีความรูใ้ นด้านไสยศาสตร์ และจิตศาสตร์ รูว้ าระจิตของคนอืน่ และ สามารถรู้ภาษาสัตว์ต่างๆ เช่น รู้ภาษา ของนก เป็นต้น ตัวอย่างคือในวันพระ ท่านมักจะเอาขันตักน�้า แล้วท่านจะไป นั่งสาธยายมนต์อยู่ทางทิศเหนือของ โบสถ์ ไม่นานนักก็มนี กชนิดต่างๆ บินมา กินน�า้ ทีข่ นั ของท่านถืออยู่ เมือ่ อิม่ แล้วก็ จะบินจากไป โดยท่านสามารถชี้ให้นก บินไปตามทิศทางต่างๆ ได้ และเมื่ อ ถึ ง วั น ตรุ ษ สงกรานต์ ทายกทายิกาชาวบ้านทั้งหนุ่มและสาว พร้อมทัง้ คนแก่เฒ่า จะพากันเอาน�า้ อบ น�า้ หอมไปสรงพระพุทธรูปตามวัดต่างๆ เมื่อเสร็จแล้วจะน�าน�้าอีกส่วนหนึ่งไป สรงท่านพระครู ງามืด และพระเถระ อืน่ ๆ ท่านพระครู าງ มืดจะแสดงอภินหิ าร ท�าให้ท้อง ງาเฉพาะในบริเวณวัด มืด ลงราวกับกลางคืน ทั้งๆ ที่เป็นกลางวัน ชาวบ้านจึงได้เริ่มเรียกชื่อของท่านว่า ๡พระครู ງามืด๢ มาจนทุกวันนี้ แต่ชื่อ เดิมของท่านนั้นไม่ทราบชื่ออย่างไร บางคราวท่านไปกิจนิมนต์นอกวัด

หรือไปที่วัดอื่น ซึ่งเป็นระยะทางไกล ท่านจะเดินออกจากหมูบ่ า้ น พอพ้นเขต หมู่บ้านที่เป็นที่ลับตาคนแล้ว ท่านจะ เอาผ้าอาบน�้ามาเสกคาถา แล้วลูบ ครั้ง ผ้าผืนนั้นก็จะกลายเป็นเสือโคร่ง ตัวใหญ่ขนาดแปดศอก ท่านก็จะขึ้นขี่ พอไปใกล้หมู่บ้านที่ท่านมีกิจนิมนต์มา ท่านก็จะลงจากหลังเสือ แล้วจะเอามือ ลูบหลังเสือ ครั้ง เสือตัวนั้นก็จะกลับ มาเป็นผ้าอาบน�้าเหมือนเดิม พระครู ງ า มื ด เป็ น พระเถระที่ มี ความส� า คั ญ และเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ศรีฐานใน ทีพ่ เิ ศษกว่าเจ้าอาวาสรูปอืน่ ๆ หลังจากท่านมรณภาพในเพศสมณะ ศิษยานุศษิ ย์กไ็ ด้ชว่ ยกันจัดการ าปนกิจ อย่างสมเกียรติ ด้วยการสร้างเจดียบ์ รรจุ อัฐิธาตุพระครู ງามืด เพื่อให้อนุชนรุ่น หลังได้สกั การบูชา เพือ่ เป็นการระลึกถึง คุณงามความดีของท่าน และเพื่อเป็น ธรรมบูชา สัง บูชา

c/;¥IFAJJ/_TX7[?Y<_EJW+J` F>YH^;


เจดีย์ที่บรรจุอัฐิของท่านพระครู าງ มืดนัน้ ได้สร้างอภินหิ ารมากมาย เช่น เมื่อเทศกาลการท�าบุญเทศน์มหาชาติ หรืองานบุญบัง้ ไ ชาวบ้านได้จดั ขบวน แห่ด้วยช้าง ด้วยม้า ถ้ามีการแห่เวียน รอบไปด้านหลังอุโบสถข้างเจดียพ์ ระครู ງามืดแล้ว ช้างม้าเหล่านั้นจะไม่ยอม เดินต่อไปแม้จะเ ี่ยนตีเท่าไหร่ ช้างม้า ก็จะไม่ยอมเดินต่อไป ก็จะมีแต่เดินไป ทางอื่น จะไม่ยอมเดินผ่านเจดีย์ เคยมี ชาวบ้านได้เอาป຅นไปทดลองยิงข้ามเจดีย์ เมือ่ ยิงแล้วกระสุนไปไม่ยอมออก กลาย เป็นกระสุนด้าน แต่ถา้ หันปลายกระบอก ป຅นไปทางอื่นป຅นก็จะยิงออกตามปกติ แล้วหันปากกระบอกป຅นมาทางเจดียย์ งิ แล้วป຅นก็จะไม่ลั่นเหมือนเดิม เจดีย์นี้จึงเป็นที่เคารพนับถือของ ชาวบ้านศรีฐานและชาวบ้านแถบนั้น เป็นทีส่ กั การบูชาในการประกอบพิธกี รรม ทางศาสนา เช่น การสักการะตามวันส�าคัญ ของศาสนา การขอขมาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละ เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวบ้ า นมั ก จะมา อธิษฐานขอในสิ่งที่ตนต้องการ เจดีย์ องค์นี้ถือว่ามีความส�าคัญต่อชาวบ้าน ศรีฐานและชาวบ้านใกล้เคียง นับเป็น โบราณสถานที่ส�าคัญอีกแห่งหนึ่ง เจดีย์หลวงปูຆพระครู ງามืดนี้ วัด ฐานกว้าง เมตร สูงจากพื้นจนถึงฉัตร สูง .50 เมตร สร้างด้วยอิฐถือปูน สร้าง มาตัง้ แต่พทุ ธศตวรรษที่ 21 โดยค�านวณ จากจารึกทีพ่ บทีฐ่ านพระพุทธรูปเงินองค์ หนึ่งที่ขุดได้จากฐานเจดีย์ เมื่อค�านวณ จากค�าจารึกตั้งแต่ปี พ.ศ. ที่สร้างมาจน ถึงปีทขี่ ดุ ได้มอี ายุ 0 ปี นอกจากนัน้ ไม่ ชัดเจนเนื่องจากข้อมูลลบเลือนมาก ครูบาอาจารย์ที่ถือกําเนิดจาก ชาวศรีฐาน นับตัง้ แต่คณะพระกรรมฐาน ซึง่ น�าโดยท่านพระอาจารย์สงิ ห์ ขัยตยาคโม ได้ให้การอบรมธรรมะแก่ชาวบ้านในกาล นั้นเป็นต้นมาจากนั้นได้มีลูกหลานชาว บ้านศรีฐานออกบวชป บิ ตั ภิ าวนาสืบๆ กันมาจ�านวนมากจนถึงปຑจจุบัน ครูบา อาจารย์ชาวบ้านศรีฐานผูเ้ ป็นทีร่ จู้ กั กัน อย่างกว้างขวาง เป็นต้นว่า

ท่านพระอาจารย์สงิ ห์ สีหนาโท พระอาจารย์รปู แรกของพระอาจารย์สงิ ห์ทอง ธัมมวโร มรณภาพ  หลวงปู่บุญช่วย ธัมมวโร วัดศรีฐานใน อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร มรณภาพ  พระอาจารย์สอ สุมังคโล มรณภาพแล้วที่วัดปຆาบ้านหนองผือแล้ว  พระอาจารย์สิงห์ทอง ธัมมวโร วัดปຆาแก้วชุมพล อ.สว่างดินแดน จ.สกลนคร มรณภาพ  หลวงปู่เพียร วิริโย วัดปຆาหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มรณภาพ  พระเทพสังวรญาณ (พวง สุขินทริโย) วัดศรีธรรมาราม อ.เมือง จ.ยโสธร  หลวงปูบ ่ ุญเพใง เขมาภิรโต วัดถ�้ากลองเพล ต.โนนทัน อ.เมือง จ.หนองบัวล�าภู  พระครูปทุมมงคลญาณ (หลวงปู่บุญมา สุชีโว) วัดปຆาสามัคคีสิริมงคล วัดปຆา สุขเกษม อ.เมือง จ.หนองบัวล�าภู  หลวงปู่ทองดี วรธัมโม วัดปຆานิคมวนาราม อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร มรณภาพ  หลวงปู่สรวง สิริปุญโญ วัดศรีฐานใน อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร  พระครูมงคลญาณ (น้อยปຑญญาวุโธ) วัดปຆานานาชาติ เมืองอัลดี้ รัฐเอร์จิเนีย สหรัฐอเมริกา  หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม วัดปຆาแก้วชุมพล อ.สว่างดินแดน จ.สกลนคร  พระครูพเิ ช ฐ์สารคุณ (ประเสริฐ ปวั ฒโน) วัดศรีพฒ ั นาราม อ.ปຆาติว้ จ.ยโสธร มรณภาพ  หลวงปู่จวน โชติธัมโม วัดปຆานิคมวนาราม อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร มรณภาพ  พระครูวน ิ ยั ปຑญญาคุณ (บัวทอง อัตตทันโต) วัดอรัญญวิเวก อ.บ้านดุง จ.อุดรธานี  พระอาจารย์หนูทับ ธัมมปทีโป วัดปຆาแก้วชุมพล อ.สว่างดินแดน จ.สกลนคร  พระอาจารย์จต ิ จําลอง ธัมมปาโล วัดปຆาบ้านบ่อร้าง อ.สว่างดินแดน จ.สกลนคร  หลงปู่ทองสี กตปุญโญ วัดปຆาสุทธิมงคล อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร มรณภาพ  หลวงปูสอน ปຑญญาวโร วัดปຆาภูคันจ้อง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี มรณภาพ  พระอาจารย์อุดร วั ฒโน วัดปຆากุสลธโร อ.ภูเรือ จ.เลย  หลวงปู่เบใง กัลยาโณ วัดปຆาแก้วชุมพล อ.สว่างดินแดน จ.สกลนคร

zbtpuipo"235


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัด ຆาสุริยาลัย

NX;B=YQ_J[IYLXI NX;B=YQ_J[IYLXI"<Xl.TI`BcL)>¥k"¡ "ACY@eE?Y"RH`B>¥k"¡"2TIc>OAYL"¡マ\"<pYALeE?[og>J" TpYcGTB=Y<[lN"/X.RNX;IeQ?J"BH//_AX@H¥"EJW+J`([<<[+_:?Y;Y"cBJ@c/CYTYNYQNX; BJWNX<[NX;B=YQ_J[IYLXI

วัดป่าสุรยิ าลัย สร้างเมือ่ พ.ศ.2 5 มีเนือ้ ที่ 19 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา น�าโดยพระครูโพธาภินนั ท์ ซึง่ ชาวบ้านในละแวก นั้นเคารพนับถือมาก หากบ้านไหนไม่มีวัดท่านจะไปน�าชาว บ้านสร้างวัดขึ้นนับเป็นจ�านวนสิบวัด ต่ อ มาทางอ� า เภอเมื อ งยโสธรได้ แ ยกจากจั ง หวั ด อุบลราชธานี มาตัง้ เป็นจังหวัด และยกบ้านปຆาติว้ ขึน้ เป็นอ�าเภอ ทางหน่วยเหนือจึงได้ตั้งพระครูโพธาภินันท์ ขึ้นเป็นเจ้าคณะ อ�าเภอ เมื่อปี พ.ศ. 2516 ท่านมรณภาพ ต่อมาทางวัดก็ได้มี เจ้าคณะอ�าเภอ รูปที่ 2 - รูปที่ มาจ�าพรรษา วัดปຆาสุริยาลัย จึงถือว่าเป็นวัดส�าคัญในอ�าเภอปຆาติ้ว

2


ระ รูกิตติ ุ ธาดา เ ้าอาวาส

cQ@YQ@WdLWB`1@¥INX<=_QpY+X4  

พระพุทธไสยาสน์ ความยาว 20 เมตร สร้างครอบองค์เดิม ไว้ อุโบสถหลังเก่า สร้างด้วยไม้ ยาว 0 เมตร กว้าง 20 เมตร อุโบสถหลัง฿หม่ ยาว 2 เมตร กว้าง 9 เมตร

LpY;XAc/CYTYNYQ

1. พระครูโพธาภินันท์ พ.ศ.2 5 - 2516 2. พระครูอรัญเขตคณารักษ์ พ.ศ.2516 - 2525 . พระประยูร เม ิโย พ.ศ.2525 - สึก 25 0 . พระครูกิตติคุณธาดา พ.ศ.25 0 - จนถึงปຑจจุบัน zbtpuipo"3


cQC@>Y.EAT.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL และ 21 กิโลเมตรตามล�าดับ มีเนื้อที่ 2 .16 ตารางกิโลเมตร แบ่งปกครองเป็นหมูบ่ า้ นจ�านวน 9 หมูบ่ า้ น มีประชากรจ�านวน 6,25 คน ช. ,112, ญ. ,1 1 คน มี 1, หลังคาเรือน หน่วยงานหรือสถานทีส่ าํ คัญ ได้แก่ รพ.สต. 1 แห่ง โรงเรียน มัธยมศึกษา 1 แห่ง โรงเรียนประถมศึกษา แห่ง วัดและส�านัก สง ์ แห่ง ตลาดชุมชน 1 แห่ง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก แห่ง เจดีย์ หลวงปูຆ ງามืด โบสถ์วัดศรีฐานใน บ่อโจ้โก้ เลิงเป຅อย ดอนลิง เป็นต้น

N[=¥1¥N[<1YN<pYALOJ¥7Y@

@YIgQN"/X@>JFcRL^T. @YI(T.+F(YJAJ[RYJ<pYALOJ¥7Y@

T.+F(YJAJ[RYJQBN@<pYAL

OJ¥7Y@

dRLB.CL[<RHT@)[;"@pYcOJP7([/" ETcE¥I."Q_)GYE/[<;¥"H¥QBN@JBNH JNHdRLB.>BT.c>¥kIN?JJH1Y<["" ACY@cH^T.QWTY;@BYTI`B"c1[;1`+_:?JJH )CTH`L>XkNgB

ตําบลศรีฐาน แยกจากต�าบลกระจาย เมื่อวันที่ 6 พ.ค. 252 เป็น 1 ใน 5 ต�าบลใน อ.ปຆาติ้ว จ.ยโสธร ตั้งอยู่ระหว่าง อ�าเภอปຆาติว้ และจังหวัดยโสธร ห่างจากอ�าเภอและจังหวัด 12 238

ชาวต�าบลศรีฐานเป็นชาวพุทธ อาชีพเกษตรกรรม เป็น ชุมชนผลิตหมอนขิดสร้างชื่อเสียงเป็นสินค้าโอท็อป สินค้ามี คุณภาพ มีจดุ เด่นเป็นเอกลักษณ์ สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ สร้างระบบเศรษฐกิจทีเ่ ข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภมู ปิ ญ ຑ ญาและ ความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�าหน่ายทั้งปลีก และส่งทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีความโดดเด่นในการ สร้างความมัน่ คงด้านเศรษฐกิจ ประชาชนเป็นเจ้าของธุรกิจและ เกิดการจ้างงานในพืน้ ที่ นอกจากนีย้ งั มีอาชีพเลีย้ งสัตว์ ประมง ปลูกมันส�าปะหลัง ยางพารา ค้าขายและรับจ้าง มีการรวมกลุม่ ทางสังคมด้านอาชีพและสวัสดิการชุมชน มีความเกื้อกูลกัน ฉันท์เครือญาติ มีวิถีชีวิตสอดรับตามบริบทสังคมวัฒนธรรม ท้องถิ่น

OJ¥7Y@1_H1@dRB.(YJE]k.<@cT.

ต�าบลศรีฐานมีแกนน�าและกลุ่มประชาชน ที่ร่วมกัน สร้างสรรค์งานน�าพาชุมชนให้เกิดการพึง่ พาตนเอง แก้ไขปຑญหา ตนเองเป็นเบือ้ งต้น ลดการพึง่ พาหรือความช่วยเหลือจากภาย นอก โดยการค้นหาคนเก่ง คนดี คนส�าคัญ แล้วส่งเสริมพัฒนา ศักยภาพให้สามารถด�าเนินงาน แก้ไขปຑญหา ช่วยเหลือกันภายใน ต�าบล มีการเชื่อมโยงประสานหน่วยงานในกระบวนการผลิต และงานวิชาการ เพือ่ หนุนเสริมกิจกรรมของชุมชน เช่น การผลิต ข้าวปลอดสารพิษ การจัดจ�าหน่าย การจัดการด้านการเงิน การ ตลาด การพัฒนาการผลิตสินค้า การบรรจุภณ ั ฑ์และอืน่ ๆ และ ได้ร่วมกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

+@f@1_H1@cJ¥I@J`C(YJcQ¥IQLW

ชาวศรีฐานมีความพร้อมเพรียง ความเสียสละตามศักยภาพ และก�าลังศรัทธา คือแรงกาย แรงทรัพย์เพื่อเป็นสาธารณประโยชน์ นอกจากมีศนู ย์รวมพลังศรัทธาคือหลวงปูสຆ รวง เป็น ทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ และน�าพาชุมชนให้มคี วามเสียสละในการท�า กิจกรรมต่างๆ จนเห็นผลลัพธ์ความส�าเร็จเป็นทีป่ ระจักษ์ เกิด ความปิติ และรูส้ กึ เป็นเจ้าของ เป็นชุมชนเข้มแข็งสามารถจัดการ ตนเองได้ อันจะเป็นรากฐานส�าคัญในการปลูกจิตส�านึก ๡เพือ่


ส่วนรวม๢ ให้ลกู หลานได้รบั รู้ เรียนรู้ ได้ซมึ ซับบทบาทความรับ ผิดชอบและเสียสละเพื่อชุมชนต่อไป

cB>YRHYI(YJEX9@Y

บุคคลและกลุม่ องค์กรในต�าบลศรีฐาน คือต้นทุนทางสังคม ที่มีคุณค่า หากผสานรวมกันเป็นภาคีระดับต�าบล จะเกิดพลัง มหาศาลในการขับเคลือ่ นงาน จะเป็นแนวร่วมในการท�างานที่ ยุง่ ยากซับซ้อน เกินก�าลังทีค่ นๆ เดียวจะท�าได้ การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตองค์รวมต�าบลศรีฐาน จึงต้องมีกลไกเชื่อมประสานที่ดี พัฒนาศักยภาพของภาคีให้ดา� เนินงานแบบบูรณาการในหมูบ่ า้ น ของตนได้

d@N+[;dLWRLX((YJ;pYc@[@.Y@

1. ใช้ทุนเดิมอย่างมีคุณค่า สร้างเครือข่าย ต่อยอดงาน

2. สร้างการมีส่วนร่วมของ องค์กรหลัก . เสริมศักยภาพ และสร้างกระบวนการเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอก . หนุนเสริมชุมชนเข้มแข็ง และจัดการตนเองของหมู่บ้าน ต�าบล

+_:LX(P:W)T."TA<ホOJ¥7Y@

1. เป็นผู้มีข้อมูลหรือระบบข้อมูลที่ดี ซึ่งจะน�าไปสู่การร่วมกัน วินิจฉัย แก้ไขปຑญหาที่เหมาะสม 2. เป็นนักประสานองค์กรในและนอกพืน้ ที่ ท�าให้มเี ครือข่าย ได้ โอกาส ความรู้และแรงบันดาลใจในการพัฒนา . เป็นผู้จัดกระบวนการ มองเห็นศักยภาพชุมชน โดยใช้ แนวคิดอ�านวยความสะดวก เป็นทีป่ รึกษาแนะน�า แนวคิดผูร้ ว่ มท�างานทีด่ ี และแนวคิด ค้นหาผู้น�า . ท�างานร่วมกันทัง้ ท้องที่ ท้องถิน่ องค์กรและหน่วยงานในพืน้ ที่ โดยร่วมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล วินิจฉัยชุมชน บูรณาการแผน ร่วมด�าเนินงาน และประเมินผล ท�าให้ได้ทมี งานหรือคณะท�างาน ได้มิตรร่วมงาน

YASOTHON 239


A>AY>f@(YJ;pYc@[@.Y@

มุง่ เน้นพัฒนาเพือ่ แก้ปญ ຑ หา และตอบสนองความต้องการ ยก ระดับความเป็นอยู่ของประชาชน 1. ส่งเสริมการดูแลด้านสุขภาพในชุมชน 2. ส่งเสริมด้านการพัฒนาอาชีพ ทัง้ อาชีพหลักและ อาชีพเสริม . แก้ไขปຑญหาภัยพิบัติ . พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในต�าบล 5. ส่งเสริมกิจกรรมของกลุม่ เยาวชน เพือ่ แก้ไขปຑญหายาเสพติด 6. ดูแลความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน . อนุรักษ์ และส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรม

JWAA.Y@f@<pYALOJ¥7Y@

องค์การบริหารส่วนตําบลศรีฐาน มีระบบการท�างาน ระบบ 29 แหล่งเรียนรู้ ประกอบด้วย 1. ระบบการจัดการของต�าบล 2. ระบบการดูแลสุขภาพในชุมชน 240

. ระบบการลงทุนด้านสุขภาพ . ระบบสวัสดิการ 5. ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน 6. ระบบการเรียนรู้เพื่อเด็กและเยาวชน . ระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แหล่งเรียนรู้เด่นในชุมชน ได้แก่ สถาบันการเงินชุมชน กองทุน รพ.2 บาท ศูนย์โอท็อปหมอนขิด กลุ่มเกษตรอินทรีย์ ปุยຉ ชีวภาพ ศูนย์เมล็ดพันธุข์ า้ วชุมชน ศูนย์เรียนรูเ้ กษตรทฤษฎี ใหม่ เป็นต้น

)CT+[;dLWA>cJ¥I@/Y((YJ>pY.Y@

หากเชือ่ ว่า... ๡เรามีศกั ย าพ ชุมชนมีศกั ย าพ฽ละเชือ่ ม ร้อยศักย าพ฿นการท�างานทุกอย่าง งานย่อมส�าเรใจลุลว่ งได้ ฽ละ หากงานไม่สา� เรใจหรือล้มเหลว ฽ต่ความสัมพันธ์ของคน฿นชุมชน ไม่ลม้ เหลว ย่อมรวมพลังกัน฿หม่เพือ่ เรียนรูป้ ญ ຑ หา อุปสรรค ฽ละ ฽ก้ไขสู่ความส�าเรใจครั้ง฿หม่ได้เสมอ ๢



cQC@>Y.EAc>OAYL<pYAL )CTH`L>XkNgB

@YIE[8`JIF"OJ¥QT@ @YI(c>OH@<J¥<pYAL+CTNX.

c>OAYL<pYAL+CTNX. EX9@Ye+J.QJCY.E^@l 7Y@"EJCTH(YJ" c(P<JT[@>J¥IF"BJW1Y1@H¥QBN@JBNH" cBJ@O`@IFJNHG`H[BH44Y1YNACY@ คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาเทศบาลตํ า บลค้ อ วั ง ซึ่ ง มี ส�านักงานตัง้ อยูห่ มู่ ต�าบลค้อวัง อ�าเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร โดยอยู่ห่างจากจังหวัดยโสธร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 0 กิโลเมตร ปຑจจุบันมี นายพิ ูรย์ ศรีสอน ด�ารง ต�าแหน่ง นายกเทศมนตรีตําบลค้อวัง 242

เทศบาลตําบลค้อวัง มีพื้นที่ทั้งประมาณ .5 ตาราง กิโลเมตร มีแหล่งน�า้ ตามธรรมชาติทส่ี า� คัญ ได้แก่ ล�าน�า้ ชี ห่าง จากเขตเทศบาลต�าบลค้อวัง ประมาณ กิโลเมตร ล�าห้วย พระบางอยู่ทางทิศใต้ และล�าห้วยมดแดง อยู่ทางทิศเหนือ มี น�้าขังอยู่ตลอดปี มีพื้นที่ปຆาไม้ที่ส�าคัญคือ ๡ปຆาสงวนแห่งชาติ ปຆา ງาห่วน๢ เขตการปกครอง ประชากร มีหมู่บ้านในเขตเทศบาล ต�าบลค้อวัง หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านค้อวัง, หมู่ที่ 2 บ้าน ดงมะหรี่, หมู่ที่ 5 บ้านผิผ่วน, หมู่ที่ 6 บ้านเปาะ, หมู่ที่ บ้าน สันติสุข, หมู่ที่ 9 บ้านเปาะ, หมู่ที่ 10 บ้านดงมะหรี่ และหมู่ที่ 11 บ้านล�าดวน มีจ�านวนประชากรรวมทั้งสิ้น ,510 คน แยก เป็นชาย 2,210 คน หญิง 2,2 9 คน มีครัวเรือน 1, 50 หลังคา เรือน สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ การท�านาเพียงปีละครัง้ หลังฤดูกาลผลิตจะ มีการปลูกพืชผักสวนครัวและพืชไร่ และรับจ้างเพียงเล็กน้อย สภาพสังคม  การศึกษา โรงเรียนระดับประถมศึกษา แห่ง โรงเรียนระดับ มัธยมศึกษา 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล 5 แห่ง  ระบบการศึกษานอกโรงเรียน มีกลุม ่ วิชาชีพระยะสัน้ 1 กลุม่ และกลุ่มพัฒนาอาชีพด้วยเทคโนโลยี กลุ่ม  การศาสนาและศิลปวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ประมาณ 99.99 มีวดั 6 แห่ง มีประเพณีทสี่ า� คัญ ได้แก่ ประเพณีบญ ุ บัง้ ไ , ประเพณีวนั สงกรานต์, ประเพณีวนั ลอยกระทง และวันขึ้นปีใหม่  การสาธารณสุข มีโรงพยาบาลขนาด 0 เตียง 1 แห่ง และ มีส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอ 1 แห่ง  การสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม มีศูนย์สงเคราะห์ ราษฎรประจ�าหมู่บ้านทุกหมู่บ้านในเขตเทศบาลต�าบลค้อวัง และสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล

EX@?([/(YJEX9@Y

พันธกิจที่ ปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ได้


มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของ ประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองในอนาคตและ เศรษฐกิจของท้องถิ่น พันธกิจที่ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน ครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึง่ ตนเองได้ ตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง พันธกิจที่ การสร้างระบบบริหารจัดการทีด่ ี โดยให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปรงใสในการบริหารและการปกครอง พันธกิจที่ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการศึกษา ตลอดจน อนุรกั ษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของภูมปิ ญ ຑ ญาของ ท้องถิ่น พันธกิจที่ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ การบริหาร และการบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการที่ดี พันธกิจที่ การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พันธกิจที่ การสร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการคลัง โดย การปรับปรุงกระบวนการบริหารการเงินการคลังให้สอดรับกับ อ�านาจหน้าที่และภารกิจที่มีอยู่เดิม และที่ได้รับโอนจากการ กระจายอ�านาจจากรัฐบาล

I_>?OYQ<JF(YJEX9@Y

ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ยุทธศาสตร์ด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการที่ดี

CL(YJEX9@Yc>OAYLf@1BN.>¥kCBY@HY

ผลการพัฒนาเทศบาลทีผ่ า่ นมา เน้นด้านการพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน เช่น การก่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ทัง้ ถนนเชือ่ มระหว่าง หมูบ่ า้ น ถนนภายในหมูบ่ า้ น และเส้นทางขนส่งผลิตผลทางการ

เกษตร นอกจากนี้ เทศบาลยังได้จดั ท�างบประมาณเพือ่ การพัฒนา ด้านต่างๆ ได้แก่ การพัฒนาแหล่งน�า้ เพือ่ การเกษตร การพัฒนา อาชีพและการส่งเสริมเศรษฐกิจแบบพอเพียง แต่เนือ่ งจากงบ ประมาณที่มีจ�ากัด จึงด�าเนินการได้ไม่เต็มที่ โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ นโยบายด้านการส่งเสริมอาชีพรายได้แก่ประชาชน และการ ส่งเสริมเศรษฐกิจแบบพอเพียง ให้ชมุ ชนสามารถพึง่ ตนเองได้ จ�าเป็นจะต้องได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการด�าเนิน การและจัดหารายได้เพิ่มมากขึ้น

><ホ+CTNX.1N@c>¥kIN

เทศบาลตําบลค้อวัง ขอเชิญนักท่องเที่ยวมาสัมผัสเรียนรู้วิถีชีวิต วัฒนธรรม และงานประเพณีของชาวค้อวัง ใน งาน ๡ประเพณีบญ ุ บัง้ ไ ๢ ซึง่ ทางอ�าเภอค้อวังร่วมกับเทศบาล ต�าบลค้อวังจัดขึ้นเป็นประจ�าทุกปี YASOTHON 243


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัดบูร ารามใต้ อุโบสถ฿หญ่ที่สุด

NX;A`JEYJYHf<C NX;A`JEYJYHf<C

ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 1 หมู่ บ้านทรายมูล ต�าบลทรายมูล อ�าเภอ ทรายมูล จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสง ม์ หานิกาย เป็นอาราม ขนาดใหญ่มีเนื้อที่ 0 ไร่ เป็นส�านักเรียนทั้งแผนกนักธรรม บาลี และสามัญศึกษา มีพระภิกษุสามเณรจ�าพรรษาปีละไม่ตา�่ กว่า 100 รูป ปຑจจุบนั มีพระเดชพระคุณ พระราชสุตาลงกรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดยโสธร เป็นเจ้าอาวาสและเจ้าส�านักเรียน

BJWNX<[+NYHcBJ@HY

วัดบูรพารามใต้ เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัด฿ต้” เป็นวัดเก่า แก่ของบ้านทรายมูล สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2 50 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมาใน พ.ศ.2 1 มีประวัติความเป็นมาที่เล่าสืบต่อ กันมาว่า เมื่อสองร้อยกว่าปีก่อน มีพระเถระผู้เคร่งในธรรมวินัย รูปหนึง่ จาริกธุดงค์ไปในหลายประเทศ อาทิ พม่า อินเดีย ลาว เป็นต้น กระทัง่ ปีพ.ศ.2 50 ท่านได้กลับมายังบ้านทรายมูลถิน่ ก�าเนิดของท่านและชักชวนชาวบ้านสร้างวัดแห่งนีข้ นึ้ แรกเริม่ ได้สร้างกุฎีทรงไทยประยุกต์แบบพม่าหนึ่งหลังและขุดบ่อน�้า 244

ดืม่ น�า้ ใช้ ปลูกต้นไม้พฒ ั นาวัด เรื่อยมา เวลาผ่านไปกระทั่ง พระอาจารย์น้อย สุวโจ มา จ�าพรรษาท่านได้ชักชวนชาว บ้ า นสร้ า งอุ โ บสถ โดยขอ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2 1 ขนาด 20 0 เมตร เริ่มก่อสร้างปี พ.ศ.2 91 และผูกพัทธสีมาปี พ.ศ.250 สมัย เจ้าอธิการจันดีเป็นเจ้าอาวาส รวม 1 ปีผ่าน สูย่ คุ ทอง ในปี พ.ศ.252 คณะสง แ์ ละชาวบ้านได้นมิ นต์ พระมหาเดือน สิรธิ มฺโม จากวัดบูรพาภิราม จังหวัดร้อยเอ็ด มา เป็นเจ้าอาวาสและได้เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่วา่ “วัดบูรพาราม฿ต้” จากนั้นการพัฒนาวัดก็เป็นไปอย่างรอบด้าน ทั้งการก่อสร้าง การศึกษาของพระสง ์ การเผยแผ่หลักธรรม เป็นต้น ท�าให้ วัดแห่งนี้กลายเป็นที่รู้จักของผู้คนมากขึ้น ด้วยผลงานที่โดด เด่นวัดบูรพารามใต้จึงได้รับประกาศเกียรติคุณมากมาย และ ท่านก็ได้รับพระราชทานตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์จากพระบาท สมเดใจพระเจ้าอยู่หัว ตามล�าดับจนเป็นพระราชาคณะใน ราชทินนามที่ “พระราชสุตาลงกรณ์”


OYQ@Q=Y@dLWB`1@¥INX<=_QpY+X4

อุโบสถศิลปะโบราณอิสาน อุโบสถเก่าหลังนี้สร้างเมื่อ พ.ศ.2 91 ศิลปะแบบโบราณอิสาน เป็นอุโบสถขนาดเล็กทีส่ ร้าง ด้วยอิฐดินเผา ฉาบทาด้วยดินผสมยางไม้ ลักษณะหลังคาสาม ชั้นท�าด้วยไม้เนื้อแข็ง มุงด้วยสังกะสี เดิมมีเสมาหินโบราณฝຑง อยูร่ อบอุโบสถด้วย ภายในประดิษฐาน พระพุทธบูรพามิง่ มงคล เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพยึดเหนี่ยว จิตใจของชาวบ้านมาช้านาน และเป็นพระประธานประจ�าอุโบสถ หลังเก่ามาแต่โบราณ อุโบสถ฿หญ่ทสี่ ดุ ฿นจังหวัดยโสธร มีขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว เมตร ศิลปะทรงไทยประยุกต์ มีมขุ ยืน่ หน้าและหลัง เสา ทัง้ หมด 52 ต้น หน้าต่าง 0 บาน ประดับด้วยลายปูนปຑนຕ สวยงาม ภายในประดิษฐาน พระพุทธชินราชจําลอง เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชยั นัง่ สมาธิราบ จ�าลองแบบจากพระพุทธชินราช วัด พระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก มีขนาดหน้า ตัก 9 นิ้ว ประดิษฐานเป็นพระประธานประจ�าอุโบสถ เปຓน พระพุทธรูปที่สวยที่สุด องค์หนึ่ง หลวงปูพ ่ ระอุปชຑ าย์นอ้ ย สุวโจ รูปเหมือน ประดิษฐาน ภายในมณฑป ตั้งอยู่ด้านทิศเหนือของอุโบสถหลังเก่า เป็น

ระรา สุตาลงกร ຏ เ า้ อาวาสวัดบูร ารามใต้ รองเ ้า ะ ังหวัดยโสธร บูรพาจารย์ผนู้ า� ทางจิตวิญญาณ และเป็นผูท้ พี่ าชาวบ้านสร้าง อุโบสถหลังเก่า เป็นพระเถระผูเ้ คร่งในธรรมวินยั และเป็นทีพ่ งึ่ ของพระสง ์ญาติโยมสามารถกราบขอพรได้ทุกวัน

c(¥IJ<[+_:)T.NX;A`JEYJYHf<C

วัดบูรพาราม฿ต้ ได้รบั การยกย่องและประกาศเกียรติคณ ุ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้  พ.ศ.25 2 ได้รบ ั การยกฐานะเป็น “โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม ประจําจังหวัดยโสธร” จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ.25 ได้รบั การยกฐานะเป็น “อุทยานการศึกษา” จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ.25 6 ได้รบ ั การยกฐานะเป็น “วัดพัฒนาตัวอย่าง” จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ.25 0 ได้รับการยกฐานะเป็น “วัดพัฒนาตัวอย่างที่มี ผลงานดีเด่น” จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ.25 2 ได้รบ ั การยกฐานะเป็น “โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกบาลีประจําจังหวัดยโสธร แห่งที่ ” จากแม่กองบาลี สนามหลวง

JBNHQJCY.cQC@>Y.A_4

สาธุชนสามารถติดต่อร่วมเป็นเจ้าภาพภัตตาหาร และทุนการ ศึกษาถวายพระภิกษุสามเณร หรือร่วมท�าบุญบูรณป สิ งั ขรณ์ วัดโดยตรงที่ วัดบูรพาราม฿ต้ โทร. 0 5 2 0, 0 9 5 162 หรือผ่านธนาคารกรุงไทย สาขายโสธร เลขบัญชี 15-1-2001 -1 ชื่อบัญชี วัดบูรพารามใต้ ทรายมูล และสามารถศึกษาข้อมูล วัดผ่านเ ซบุคຍ ได้ที่ วัดบูรพารามใต้ จ.ยโสธร . . YASOTHON 245


cQC@>Y.?JJHR@_@@pY1¥N[<

วัด ิทัก ຏวนาราม

NX;E[>X(PFN@YJYH วั ด พิ ทั ก ษ์ ว นาราม ตั้ ง อยู ่ บ ้ า น สามแยก ถนนชยางกูร หมู่ที่ ํ ต�าบล สามแยก อ�าเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร สังกัดคณะสง ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๎ งาน ๐์ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ ๒ เส้น ๎๐์ วา จดทุง่ นา ทิศใต้ประมาณ ๒ เส้น ๎๐์ วา จดทางสาธารณประโยชน์ทิศ ตะวันออกประมาณ ๐ เส้น ํ๒์ วา ถนนชยางกูร ทิศตะวันตกประมาณ ๒ เส้น ๎๐์ วา จดทุง่ นาอาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง ๎์ เมตร ยาว ๐์ เมตร สร้าง พ.ศ.๎๑๎๓ ศาลา การเปรียญ กว้าง ํ๑ เมตร ยาว ๎๑ เมตร สร้าง พ.ศ.๎๑๎์ กุ สิ ง ์ จ�านวน 246


ระ รู ิทัก ຏธรรมา ิบาล

๒ หลัง และศาลาบ�าเพ็ญกุศล จ�านวน ํ หลัง วัดพิทกั ษ์วนาราม ตัง้ เมือ่ วันที่ ๎๒ มิถนุ ายน พ.ศ.๎๑ํ๏ โดยมีพระครูพทิ กั ษ์กติ ติราสัย เป็นผูน้ า� ชาวบ้านสร้างวัด ซึง่ ได้ รับบริจาคที่ดินจากนางวัน บุญประสิทธิ์ ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ ๎๓ สิงหาคม พ.ศ.๎๑๎๓ เขตวิสงุ คาราม กว้าง ๎์ เมตร ยาว ๐์ เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนามคือ  เจ้าอาวาสรูปแรก พระครูพท ิ กั ษ์กติ ติราสัย พ.ศ.๎๑๎๏ - ๎๑๎๓ เป็นผู้น�าในการสร้างวัดแห่งนี้  พระครูพิทักษ์ธรรมาภิบาล พ.ศ.๎๑๐๔ - ปຑจจุบัน

O`@IFEX9@Yc;j(cLj(NX;E[>X(PFN@YJYH

เริ่มก่อตั้ง ๎๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๎๑๐๎ โดยการดูแลของ กรมการศาสนามีครู ๐ คน มีนักเรียนทั้งหมด ๓์ คน โดยมี ห้องเรียน ๏ ห้อง  ห้อง ํ ครูปราณี ผดาเวช ดูแลเด็กอายุ ๐ ปี  ห้อง ๎ ครูยุทาภรณ์ ผนัด ดูแลเด็กอายุ ๏ ขวบ  ห้อง ๏ ครูหนึ่งฤทัย จันทะวัง ดูแลเด็กอายุ ๎ ขวบ มีแม่ บ้าน ํ คน

YASOTHON 247



วนัสก ณ์ ิ ปรังสรรค์ ปรปก ทร 9   

eBJBJW/pY@[<IQYJ"オ、ョ"n」ゥ」シォーァ qhb"uェ」ォョ」ーヲ"uアキエォーゥ"qエアィァオオォアー」ョ eBJBJW/pYeJ.cJ¥I@(TLFFf@JBH"tェ」ーァ " xォョヲォーゥ"hアョィ"QY)Y>T.RLBT"\\  tobh"uエ」ォーァヲ"jーオカエキ・カアエ  tケォーゥ"d」カ」ョサオカ"dァエカォYァヲ"jーオカエキ・カアエ  bョョ"tウキ」エァ"tケォーゥ"uエ」ォーァヲ"jーオカエキ・カアエ E-mail:"w」ー」オュエォカホオaゥッ」ォョホ・アッ

อัคราพง ์ ิ ปรังสรรค์ ปรเป ทร  

" eBJBJW/pY@[<IQYJ"オ、ョ"n」ゥ」シォーァ " eBJBJW/pY"qェアカェ」ョ」ォ"hアョィ"b・」ヲァッサ" " >¥kQ@YHg;JFF(TLFFeE?YLXI"cLc1TJF"BYJF+"" " ネQ@YHg;JFF(TLFFTX@;XA"\"f@cTc1¥Iノ " uェ」ォ"qゥ」"qエアィァオオォアー」ョ"uアキエ"qョ」サァエ " uエ」・ュッ」ー"uエ」ォーァヲ"jーオカエキ・カアエ " tケォーゥ"d」カ」ョサオカ"dァエカォYァヲ"jーオカエキ・カアエ " hアョィ"tケォーゥ"bー」ョサオォオ"fコイァエカ Facebook:"q」ァ"bュュ」エ」イアーゥ"hアョィイエア Page:"hアョィ"tケォーゥ"、サ"qエア"q」ァ

eE?YLXI"(TLFFBYJF+"ネQ@YHg;JFF(TLFFTX@;XA"\"f@cTc1¥Iノ

YASOTHON 249


dAAD;("การชิพมอเดียว

dAAD;((YJ1[EH^Tc;¥IN /W1BNI(YJAX.+XAJBY.(YI TI`Bf@/X.RNW(YJ1[E>¥k;¥)]l@ dLWIX.1BNIfRCc)CYf/(Lg( (YJ>pY.Y@)T.JBY.(YI ):W1[Eg;C;¥)]l@"L;(YJf1C )CTH^T):W1[E"dAAD;(@¥l +NJf1C(XA(YJ1[E" \ ヘ\¡"RLY"c>BY@Xl@ 250


dAAD;((YJ1[EH^Tc;¥IN /W1BNI(YJAX.+XAJBY.(YI TI`Bf@/X.RNW(YJ1[E>¥k;¥)]l@ dLWIX.1BNIfRCc)CYf/(Lg( (YJ>pY.Y@)T.JBY.(YI ):W1[Eg;C;¥)]l@"L;(YJf1C )CTH^T):W1[E"dAAD;(@¥l +NJf1C(XA(YJ1[E" \ ヘ\¡"RLY"c>BY@Xl@

1 วิธีการ ้อม 

@pYL`((TLFFHYcJ¥I.(X@"¡"L`(

/XA(J[B;CNIH^T)NYdLW/XAgHCQXl@" " (NBYB(<[cLj(@CTI 

):WQN[.EIYIYH+NA+_H(YJ" " f1C)CTH^TfRC@CTIdLW+NA+_H" " /X.RNWJBY.(YIfRCCBT@+LYI" " >¥kQ_; 

2

(YJ2CTH@¥lgHB+NJ2CTHf@R4CY" " >¥kIYNcEJYW/W>pYfRCcJYcJB./X.RNW" " CBY@L`((TLFFHY(c([@gB@Xk@cT. YASOTHON 251


3

4

5

6

252


tubsu"" epxotxjoh"" キオォーゥ"ケェ」カ"" 」ーヲ"ケェサ`

ใช้อะไร งไม้ ะเ ้าใจเหตุ " องมัน

YASOTHON 253


=CYf+JIX.gHB>JYANBYf1CTWgJcJ[kHL.gHC" (j<CT.)T<TA(BT@cLINBYcBJ@(YJf1C" ŠQWeE(Ÿ"f@(YJcJ[kHL.gHC@Xk@cT. cE^Tk +NYHc)CYf/>¥Hk Y()]@l "CH<CT. )TAT((BT@cLINBYQWeE(gHBf1BcBJ@<XN QJCY.QB9;"gHBf1BNBYRH_@QWeE(cJjNHY(i dLCN/W<¥g;Cg(L"=CY(YJRH_@QWeE(@Xl@gHB c1^kTHeI.(XA/X.RNW)T.H^T ;X.@Xl@cR<_CL)T.(YJf1CQWeE(cBJ@ <XNcJ[kHL.gHC"(jcE^kTcBJ@(YJQJCY./X.RNW fRCJBY.(YIQYHYJ=cRN¥kI.gHCg;CcJjNTIBY. cBJ@?JJH1Y<["cBJ¥IAc>¥IA(XA(YJ<BTI

1 254

(JWQTA>JYIRJ^T(YJeI@L`(ATLfRC dJ.>¥kQ_;"/WH¥(YJ>pY.Y@)T.QWeE(>Xl. @Xl@"d<BgHBf1BNYB QWeE(/W<CT.TT(dJ.cBJ@ RLX("c@^kT./Y(=CYLT.>pY<YH/J[.i dLCN"QBN@>¥kTT(dJ./J[.i)T.RLYIi +@"TY//WTI`>B d¥k )@dLWH^T;CNI2pYl "d<B LpY;XA)T.(YJTT(dJ.>¥k;¥@Xl@"d)@dLW H^T/WgHBg;CcJ[kH(BT@QWeE(TIBY.d@B@T@ +JXA LT.QX.c(<_/Y(N¥;¥eT(X@g;C+JXA QTA=YH"dQ;.+NYH+[;cRj@"(X@g;C @W+JXA

2


3

4

5

6 YASOTHON 255


Untitled-1 1

16/9/2559 11:25:44


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.