บั น ทึ ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
นายวิเชียร จันทรโณทัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ผมจะไปพบชาวโคราชให้ได้มากที่สุด
โคราช...เมืองน่าอยู่ มุ่งสู่นวัตกรรม ย้อนอดีต 4,000 ปี ที่บ้านโนนวัด
ดร.มุรธาธีร์ รักชาติเจริญ & นายธนพล จันทรนิมิ
ชมศิลป์ฟินๆ เขาใหญ่ อาร์ต มิวเซียม
ดร.บัญชายุทธ นาคมุจลินท์
สวนสัตว์โคราช ซาฟารีอีสาน
รองผู้ว่าฯ เดินหน้าพัฒนาจังหวัด ผอ.พศ.จ.นครราชสีมา ถ้าสังคมสงบสุข ศาสนาจะรุ่งเรือง
Vol.7 Issue 49/2017
www.smart-sbl.com
ขวัญเรือน ปาร์ค โฮเทล Kwanruean Park Hotel
ราคาห้องพักเริ่มต้นที่
บริการห้องพัก ห้องอาหาร ห้องประชุม-สัมมนา จัดเลี้ยง งานแต่งงาน
710/5 ถนนพิบูลละเอียด ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 Phone : 044-274-121-2 Mobine : 085-776-3331 Fax : 044-274-499 E-Mail : Kwanruean_park@hotmail.com Website : www.kr-park.com
ขวัญเรือน รีสอร์ท Kwanreuan Resort
บริการห้องพัก รายวัน-รายเดือน สโลแกน (ห้องพักดีเยี่ยม เปี่ยมด้วยมาตรฐาน) บริการประทับใจ ใกล้สวนน�้ำบุ่งตาหลัว
ราคาห้องพัก เริ่มต้นที่
900 บาท พร้อมอาหารเช้า
710/3 ถนนพิบูลละเอียด ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 Phone : 044-957-558-8 Mobile : 081-977-3411 Fax : 044-957-553 Ext. 221 E-Mail : kwanruen_resort@hotmail.com Website : www.kr-park.com
1,150 บาท
พร้อมอาหารเช้าแบบ บุฟเฟ่ต์ ส�ำหรับ 2 ท่าน (Wi-Fi Free)
เทอร์มินอล21 โคราช ท่าอากาศยานแห่งการช้อปปิ้ง ใจกลางเมืองโคราช
เทอร์มินอล21 โคราช เปิดตัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2559 บนถนนมิตรภาพ ท�ำเลทีด่ ที สี่ ดุ ของ โคราช ซึง่ ถือเป็นกระแสทีม่ ีการพูดถึงกันไปทั่วประเทศ จนติด อันดับ 4 บนทวิตเตอร์ในเวลาอันรวดเร็ว
ท�ำไมต้องมา Check-In ?
เพราะ เทอร์มนิ อล21 โคราช คือ อาณาจักรไลฟ์สไตล์แห่งใหม่ โดย รวมเอาบรรยากาศของ “7 มหานครระดับโลก” ตัง้ แต่คาริบเบีย้ น ปารีส ลอนดอน โตเกียว อิสตันบูล ซานฟรานซิสโก และฮอลลีวู้ด ต่างถูก ยกมารวมไว้ที่นี่ที่เดียว เมื่อได้มาเยือนจะเหมือนได้เดินเล่นบนถนน ช้อปปิ้งสายดังของโลกเลยทีเดียว รวมถึงการสร้างสิ่งโดดเด่นที่เป็นที่สุด ซึ่งกลายเป็นแหล่งดึงดูด นักท่องเทีย่ วทีต่ อ้ งมา Check-In ให้ได้ เพราะมีทนี่ เี่ ท่านัน้ พลาดได้ไง
สิ่งที่คุณจะพบที่ เทอร์มินอล21 โคราช
หอไอเฟล หนึง่ ในแลนด์มาร์คส�ำคัญอันเลือ่ งชือ่ จากกรุงปารีส มหานคร
เมืองแฟชั่น ด้วยขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาค สูงถึง 72 ฟุต เทียบเท่า ตึก 5 ชั้น
ชื่นชมความงามแห่งอีสานบนสกาย เด็ค (Sky Deck) จุดชมวิวบน หอคอยที่ความสูง 110 เมตร เทียบเท่าตึก 24 ชั้น
บันไดเลื่อนยาวที่สุด อย่าลืมมาสัมผัสประสบการณ์ “ที่สุด” ของเมือง
ไทย ด้วยการขึ้นบันไดเลื่อนในศูนย์การค้าที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ด้วยความยาว 36 เมตร
ห้องน�ำ้ เก๋ไก๋ อีกหนึ่งจุดเด่นที่ใครก็สู้ไม่ได้ นั่นคือ “ห้องน�้ำ” ที่ทันสมัย
ทีส่ ดุ ในอีสาน ด้วยธีมการออกแบบสุดเจ๋ง สะท้อนความเป็น 7 มหานคร ได้อย่างถึงอารมณ์ จนกลายเป็นอีกหนึ่งมุมแชะ ที่นักเซลฟี่ไม่พลาด ที่จะแชร์
นอกจากนี้ เทอร์มนิ อล21 ยังเป็นแหล่งช้อป กินสุดชิลล์ ทีร่ วมความ หลากหลาย ตอบรับทุกไลฟ์สไตล์ ครัง้ แรกในภาคอีสาน อาทิ Foodland ซูเปอร์มาร์เก็ตทีข่ นึ้ ชือ่ เรือ่ งถูกและดี และ Pier21 อิม่ อร่อยสุดคุม้ เริม่ ที่ 25 บาท Kelly & Klein แหล่งช้อปของสาวๆ และเสื้อผ้าของหนุ่มๆ รวมทัง้ แบรนด์สนิ ค้าชัน้ น�ำมากมาย อาทิ H&M, Mango, Bobbi Brown, M.A.C, EVE&BOY เป็นต้น เพลิดเพลินในโลกแห่งความสนุก “ฟันเปกก้า” สวนสนุกส�ำหรับ คุณหนูๆ และ SF Cinema แหล่งรวมความบันเทิงส�ำหรับคอหนัง ตอบโจทย์คอกีฬา ด้วย เทอร์มินอล ฮอลล์ รวมนักปั่นใน Bike Club และ Sport World เทอร์มินอล21 โคราช พร้อมส่งมอบความสุขแก่ชาวโคราชและ ผู้มาเยือน ด้วยสีสันกิจกรรมอัดแน่นตลอดปี โดยสามารถติดตาม ข่าวสารของเราได้ที่
Terminal21Korat Terminal21Korat www.Terminal21.co.th/Korat เปิดบริการทุกวัน เวลา 10.00-22.00 น. โทร. 044-498888
ส�ำเพ็งสามแยกปัก โคราช
ก้าวไปกับส�ำเพ็งโคราช สินค้าราคาถูกกว่าที่อื่น ศูนย์ค้าปลีก-ค้าส่ง เลขที่ 1463/1 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 080-7229977, 080-7212233
EDITOR’S TALK
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, นันท์ธนาดา พลพวก, อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, สุนทรี ไพริน ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส, ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง กราฟิคดีไซน์ ศศิธร มไหสวริยะ ผู้อํานวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน ศุภวัตร อ่อนบัณณศิลป์, ไพรัตน์ กลัดสุขใส ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ ทวัชร์ ศรีทามาศ, ธนวรรษ เชวงพจน์, กริช แซ่เลือ่ ง ฝ่าย IT และประสานงาน ธัญญรัศม์ สวาสดิ์พรรค, ศุภญา บุญช่วยชีพ, นันท์ธนาดา พลพวก, สุนทรี ไพริน ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อุสา แก้วเพชร, วรลักษณ์ ปุณขันธ์, กรรณิการ์ มั่นวงศ์
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จํากัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 www.smart-sbl.com Facebook : SBL Magazine E-mail : sbl2553@gmail.com 8
เมือ่ เอ่ยถึง “เมืองหลวงของภาคอีสาน” ผมเชือ่ ว่าหลายๆ ท่าน ต้องนึกถึง จังหวัดนครราชสีมา เพราะเป็นจังหวัดใหญ่ที่มีศักยภาพ ในการเป็นศูนย์กลางความเจริญของภาคอีสาน อีกทั้งยังเป็นประตู เชือ่ มโยงสูภ่ าคอีสาน ด้วยเส้นทางคมนาคมทัง้ ทางถนน ราง และอากาศ นอกจากนี้ โคราชยังเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่มีอายุกว่าสี่พันปี ที่รอคอยให้ผู้ที่ชื่นชอบโบราณคดี-ประวัติศาสตร์เข้าไปศึกษาเรียนรู้ อีกมากมาย รวมถึงการเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่อยู่ใกล้ กรุงเทพฯ แต่มีบรรยากาศของป่าเขาที่บริสุทธิ์ จนได้ขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลกทางธรรมชาติ ซึง่ เป็นตัวก�ำหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ไปในตัวด้วย ด้วยเหตุที่จังหวัดนครราชสีมาดึงดูดทั้งนักท่องเที่ยว ผู้คนและ นักลงทุน ให้เข้าไปท่องเทีย่ ว อยูอ่ าศัย และประกอบธุรกิจมากขึน้ ท�ำให้ นิตยสาร SBL ต้องน�ำเสนอความเคลือ่ นไหวใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในจังหวัด เกือบทุกปี เพือ่ เป็นการอัพเดทข้อมูลใหม่ๆ ให้กบั ทุกท่านได้รบั ทราบ ซึง่ แน่นอนว่า เราได้รบั การต้อนรับด้วยดีจากท่านวิเชียร จันทรโณทัย ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา และท่านรองผูว้ า่ ราชการจังหวัด นายมุรธาธีร์ รักชาติเจริญ และนายธนพล จันทรนิมิ โดยได้รับ ความเมตตาจากท่านดร.บัญชายุทธ นาคมุจลินท์ ผอ.ส�ำนักงาน พระพุทธศาสนานครราชสีมา ตลอดจนศาสนสถานต่างๆ สถานศึกษา องค์กรปกครองท้องถิ่น และบริษัท ห้างร้านต่างๆ ในนามของนิตยสาร SBL ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่กรุณา สนับสนุนทัง้ ข้อมูลทีน่ า่ สนใจ และงบประมาณในการจัดพิมพ์นติ ยสาร ด้วยดีเสมอมา และหวังเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะได้รบั การต้อนรับจากทุกท่าน ด้วยดีในโอกาสต่อๆ ไป ท้ายนีผ้ มขออาราธนาสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิใ์ นสากลโลก โปรดประทานพรให้ทกุ ท่านๆ ประสบแต่ความสุข ความเจริญ คิดหวัง สิ่งใดขอให้สมความปรารถนาเทอ
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Fackbook : Supakit Sillaparungsan
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
ส�ำนักงานใหญ่ : 1016 อาคารศรีเฟื่ องฟุ้ง ชัน้ 1 ห้องเอ ถนนพระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ +66(0) 2633-9380-5 โทรสาร +66(0) 2633-9390, +66(0) 2633-9386 โรงงาน : 146 หมู่ 3 ถนนพิมาย-ตลาดแค ต�ำบลกระเบือ้ งใหญ่ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 30110 โทรศัพท์ +66(0) 4420-1303-9 โทรสาร +66(0) 4420-1038
20 25 40 44 48 52 56 58
ใต้ร่มพระบารมี เส้นทางพบผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา “นายวิเชียร จันทรโณทัย” เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา “ดร.มุรธาธีร์ รักชาติเจริญ” เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา “นายธนพล จันทรนิมิ” เส้นทางพบ ผอ.พศ.จ.นครราชสีมา “ดร.บัญชายุทธ นาคมุจลินท์” เส้นทางพบผู้พิทักษ์ สันติราษฎร์ “พล.ต.ต.ลือชัย สุดยอด” รองผู้บัญชาการต�ำรวจภูธร ภาค 3 รร.บ้านขุยวิทยา รร.อนุบาลชุมพวงวิทยา
25 เส้นทางพบผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา 10
84 เส้นทางท่องเที่ยว 60 รร.บ้านตะบอง 61 รร.พิมายด�ำรงวิทยา 84 เส้นทางท่องเที่ยว 98 เส้นทางความเป็นมา 102 ทต.เมืองใหม่โคกกรวด (อ.เมือง) 104 วัดพายัพ พระอารามหลวง 108 วัดราชสีมา 110 วัดตาลโหรน 112 วัดป่าสาลวัน 114 วัดบึง 116 วัดบูรพ์ 118 วัดคลองส่งน�้ำ 120 วัดสะแก 122 วัดโพธิ์
23
104 วัดพายัพ พระอารามหลวง
124 วัดหมื่นไวย 126 วัดหนองบัว 128 วัดเดิม (อ.พิมาย) 134 วัดสระเพลง 136 วัดวิปัสสนารังกาใหญ่ 138 วัดป่าพิมาย (ธ.) 140 วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. 142 วัดดอนหวาย 143 วัดหัวหนอง (อ.บัวใหญ่) 144 วัดบ้านไร่ 146 วัดจันทรังษีมณีวงศ์ วัดบัวใหญ่ เส้นทางพบผู้ว่าฯ 148 150 วัดประชานิมิตร
226 วัดวชิราลงกรณวรารามวรวิหาร 152 วัดเพียไซย์ดอนกระชาย 154 วัดโสกงูเหลือม 155 วัดสะแกแสง (อ.ขามสะแกแสง) 156 วัดโนนเมือง 160 รร.มัธยมพุทธเกษตร วัดโนนเมือง 162 วัดชีวึก 164 วัดโนนผักชี 166 วัดธรรมเมืองทอง 167 วัดโพธิ์ศรีวนาราม 168 วัดด่านเกวียน (อ.โนนสูง) 172 วัดบ้านโนนหมัน 174 วัดมะรุม 176 วัดบัว 178 วัดหญ้าคา 180 วัดหนองพลอง 182 วัดดอนทะยิง (อ.โนนไทย) 184 วัดตะคร้อ 186 วัดบ้านอ้อ
156 วัดโนนเมือง
12
174 วัดมะรุม
236 วัดปทุมวราราม 188 วัดโคก 190 วัดดอนแต้ว 192 เส้นทางพบอ�ำเภอครบุรี 194 ทต.ครบุรีใต้ 196 ทต.จระเข้หิน 198 ทต.ไทรโยง-ไชยวาล 200 อบต.ครบุรี 202 อบต.มาบตะโกนเอน 204 อบต.ตะแบกบาน 206 วัดป่าบ้านหนองตาโยย (อ.จักราช) 208 วัดตาเงิน 210 วัดโคกสุภาราม 212 วัดป่าบ้านโคกพลวง
213 วัดหนองตาดใหญ่ (อ.สีดา) 214 วัดอัมพวโนทยาราม 216 วัดปะค�ำ (อ.พระทองค�ำ) 218 วัดทองหลาง 220 วัดเจริญพรต 222 วัดสมานมิต (อ.เฉลิมพระเกียรติ) 224 วัดโนนโบสถ์ / วัดหนองแดง 226 วัดวชิราลงกรณ วรารามวรวิหาร (อ.ปากช่อง) 228 วัดเทพสถิต 230 วัดศิมาลัยทรงธรรม 231 อบต.พญาเย็น 232 วัดเทพาลัย (อ.คง) 234 วัดทัพมะขาม 235 วัดบ้านปรางค์ 236 วัดปทุมวนาราม (อ.บัวลาย) 238 วัดเชตุดรวนาราม 239 ทต.ล�ำนางแก้ว (อ.ปักธงชัย) 240 วัดศาลาหนองขอน (อ.แก้งสนามนาง) 242 วัดหลวงราชบ�ำรุง (อ.วังน�้ำเขียว) 244 วัดบ้านไพล (อ.ล�ำทะเมนชัย) 246 วัดหนองหัวแรด (อ.หนองบุญนาก) 248 วัดโนนแดง (อ.โนนแดง) 250 วัดดงเค็ง (อ.ประทาย) 252 เส้นทางพบอ�ำเภอสูงเนิน 254 อบต.มะเกลือเก่า
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานชื่อโรงไฟฟ้าล�ำตะคองเป็น “โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา” หมายถึง โรงไฟฟ้าล�ำตะคองเป็นที่พัฒนาแสงไฟด้วยน�้ำ
โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา
โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา อ�ำเภอปากช่อง ห่างจากอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ๗๐ กิโลเมตร เป็นโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้
รวมก�ำลังผลิตติดตัง้ ๑,๐๐๐ เมกะวัตต์ ผลิตไฟฟ้าเสริมระบบเพือ ่ ความมัน ่ คงของระบบไฟฟ้าของประเทศ ในช่วงทีม ่ ค ี วามต้องการ ใช้ไฟฟ้า สูงในระบบได้เป็นอย่างดี
การด�ำเนินงานก่อสร้างโครงการแบ่งออกเป็น ๒ ระยะ ได้แก่ ระยะที่ ๑ ติดตัง้ เครือ ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าจ�ำนวน ๒ เครือ ่ ง เครือ ่ ง
ละ ๒๕๐ เมกะวัตต์ รวมก�ำลังผลิต ๕๐๐ เมกะวัตต์ ขนานเครือ ่ ง เข้ากับระบบผลิตกระแสไฟฟ้าใน เดือนมิถุนายน 2547
ระยะที่ ๒ อยู่ระหว่างด�ำเนินการติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า
จ�ำนวน ๒ เครื่อง เครื่องละ ๒๕๐ เมกะวัตต์ รวมก�ำลังผลิต ๕๐๐ เมกะวัตต์ สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าระบบในปี 2561
ยอดของฝากจากโคราช
อร่อยถูกปาก คุณภาพถูกใจ
ศูนย์ของฝากปึงหงี่เชียงกว่า 100 สาขาทั่วประเทศ
บริษัท ปึงหงี่เชียง ฟู้ด โปรดักส์ จ�ำกัด
3411 ถ.ศิรินคร (ถ.สืบศิริ) ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทร. (044) 353187-8, (044) 354188 มือถือ 086-461-7899 แฟกซ์. (044) 353181 เว็บไซต์ www.puengngeechiang.co.th, www.puengkorat.com
นายมงคล ตรีกิจจานนท์ ผู้จัดการ
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดนครราชสีมา (PEA นครราชสีมา) การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจังหวัดนครราชสีมา หรือ PEA นครราชสีมา สังกัดการไฟฟ้าส่วน ภูมภิ าค เขต 3 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) จั ง หวั ด นครราชสี ม า โดยมี น ายมงคล ตรีกิจจานนท์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้จัดการ รับผิดชอบในการจัดหา ให้บริการพลังงาน ไฟฟ้า และด�ำเนินธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งในพืน้ ที่ จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวสิ ยั ทัศน์ ค่านิยม ร่วม ภารกิจที่รับผิดชอบดังนี้ วิสยั ทัศน์ (VISION) : กฟภ.เป็นองค์กร ชั้นน�ำที่ทันสมัย มุ่งมั่นให้บริการพลังงาน ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ เชือ่ ถือได้ เพือ่ คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน ภารกิจ (MISSION) : จัดหา ให้บริการ พลังงานไฟฟ้าและด�ำเนินธุรกิจอื่นที่เกี่ยว เนือ่ ง เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ให้เกิดความพึงพอใจ ทั้งด้านคุณภาพและ บริการ โดยการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนือ่ ง มีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ค่านิยมร่วม (CORE VALUE) : ทันโลก บริการดี มีคุณธรรม
ทันโลก บริการดี มีคุณธรรม PEA นครราชสีมา ให้บริการ ครบจบที่เดียว
PEA นครราชสีมา เปิดให้บริการผู้ใช้ ไฟฟ้าด้านต่างๆ เช่น ขอใช้ไฟฟ้า รับช�ำระ ค่าไฟฟ้า แจ้งกระแสไฟฟ้าขัดข้อง ก่อสร้าง ขยายเขตระบบไฟฟ้า ออกแบบ ให้คำ� ปรึกษา ติดตัง้ ระบบไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า ตรวจสอบ วิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า บ�ำรุงรักษาระบบ ไฟฟ้า และมีศูนย์บริการลูกค้า ดังนี้
PEA Shop เปิดให้บริการทุกวัน ตัง้ แต่ เวลา 11.00-19.00 น. ตัง้ อยูบ่ ริเวณชัน้ ใต้ดนิ ห้างเดอะมอลล์นครราชสีมา จุดบริการลูกค้า ที่ว่าการอ�ำเภอเมือง นครราชสีมา เปิดให้บริการรับช�ำระค่าไฟฟ้า ในวันราชการ ตัง้ แต่เวลา 08.30-15.30 น. PEA Mobile Shop เป็นรถยนต์ให้ บริการรับช�ำระค่าไฟฟ้า จอดให้บริการ 2 แห่ง ดังนี้ 1. ห้ า งคลั ง วิ ล ล่ า ถนนสุ ร นารายณ์ จอดให้บริการทุกวันที่ 1-15 ของเดือน และ วันเสาร์-อาทิตย์ ตัง้ แต่เวลา 11.00-15.00 น. 2. โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จอดให้บริการทุกวันที่ 18-31 ของเดือน เว้น วันหยุดราชการ ตัง้ แต่เวลา 09.00-15.30 น.
PEA เพื่อชุมชนและ สิ่งแวดล้อม
การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจังหวัดนครราชสีมา ไม่เพียงแต่จะให้บริการผูใ้ ช้ไฟฟ้าด้านต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ยังให้ความส�ำคัญกับ การดูแลสิง่ แวดล้อมและการบริการชุมชน โดยผ่านโครงการต่างๆ อาทิ โครงการส�ำนักงานสีเขียว GREEN OFFICE ส�ำนักงาน PEA นครราชสีมา ได้ มีการปรับปรุงกระบวนการท�ำงาน ลดผล กระทบสิง่ แวดล้อม และผ่านการรับรองเป็น ส�ำนักงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ระดับ ดีเยี่ยม G ทอง ของกรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ประจ�ำปี 2559 ศูนย์การเรียนรูก้ ารไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค PEA นครราชสีมา มีศูนย์การเรียนรู้บน ชัน้ ที่ 5, 6 และ 7 ซึง่ จัดตัง้ เป็นแห่งแรกของ PEA โดยให้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีด้านไฟฟ้า รวมถึงสาธิตการใช้ พลังงานทดแทนต่างๆ รองรับผูเ้ ยีย่ มชมกว่า 15,000 คนต่อปี โครงการชุมชนปลอดภัยใช้ไฟ PEA ร่วมกับนักศึกษาจาก วท.นครราชสีมา และ ว.สารพัดช่างนครราชสีมา ลงพืน้ ทีต่ รวจสอบ แก้ไขอุปกรณ์ไฟฟ้า และติดตัง้ เครือ่ งตัดไฟ รั่ว RCD ให้กับชุมชนในพื้นที่ ปีละ 2,000 ครัวเรือน โครงการเสายิม ้ จัดระเบียบสายสือ่ สาร ทีต่ ดิ ตัง้ บนเสาไฟฟ้า ให้เกิดความเรียบร้อย ปลอดภัย บริเวณสถานที่ส�ำคัญ เช่น รอบ
อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี สนับสนุนกิจกรรมส�ำคัญของจังหวัด โดยติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าให้กบั สถานที่ จัดแข่งขันกีฬาส�ำคัญๆ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา เป็นเจ้าภาพ เช่น ซีเกมส์ โคราชเกมส์ การ แข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลก การแข่งขัน วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ใต้ร่มพระบารมี
โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ฯ อ�ำเภอปักธงชัย
มีคนเอาที่มาให้อยู่อำ� เภอปักธงชัย...บอกว่าท�ำอะไรก็ได้...จึงจะท�ำโครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ ในที่ที่เหลือ ส่วนหนึ่งจะท�ำการเพาะปลูกแบบชาวบ้านแบบไม่ได้ส่งเสริม หมายความว่าใช้นำ�้ ฝน ใช้ธรรมชาติ แต่อีกส่วนหนึ่งจะท�ำแบบทฤษฎีใหม่ที่ขุดสระ และแบ่งเป็นส่วนที่จะปลูกข้าว ปลูกไม้ยืนต้น ปลูกพืชสวน 20
พระราชด� ำ รั ส พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เมือ่ วันที่ 4 ธันวาคม 2540 ณ พระต�ำหนัก จิตรลดารโหฐาน ทรงหมายถึงที่ดินที่ตั้ง อยู่ ณ ต�ำบลธงชัยเหนือ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จ�ำนวนเนื้อที่ 29 ไร่ 2 งาน 24 ตารางวา ซึ่งนางจรรยา ปั้นดี และนางสมควร มณีสรุ ยิ า ได้ขอพระราชทาน น้อมเกล้าฯ ถวาย จึงเป็นทีม่ าของโครงการ สาธิ ต ทฤษฎี ใ หม่ อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมา
ที่มาของโครงการ
ตลอดรั ช สมั ย ซึ่ ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติ ไม่มีวันไหนที่ พระองค์จะไม่ทรงห่วงใยชีวิตความเป็น อยู่ของราษฎรอันที่เป็นรักของพระองค์ ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากนวั ต กรรมและแนว พระราชด�ำริใหม่ๆ ทีพ่ ระองค์ทรงสร้างสรรค์ ขึน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาให้กบั ราษฎร ซึง่ ปัจจุบนั ไม่เพียงแต่จะยังประโยชน์ให้กบั ชาวไทย เท่านัน้ แต่ผนู้ ำ� หลายชาติได้นอ้ มน�ำไปใช้ ในการพัฒนาประเทศด้วย “ทฤษฎี ใ หม่ ” คื อ หนึ่ ง ในแนว พระราชด�ำริทที่ รงคุณประโยชน์ตอ่ เกษตรกร รายย่อย ด้วยเป็นแนวทางหรือหลักการ ในการบริหารจัดการทีด่ นิ และน�ำ้ เพือ่ การ เกษตรในทีด่ นิ ขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรทีม่ กั ประสบ
ปัญหาทัง้ ภัยธรรมชาติและปัจจัยภายนอก ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการท�ำการเกษตร เพือ่ ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะ เรื่องของการขาดแคลนน�้ำ เมือ่ ทรงได้รบั ทีด่ นิ แปลงดังกล่าวแล้ว จึงได้พระราชทานเพื่อจัดท�ำโครงการ สาธิต “ทฤษฎีใหม่” (แบบบ้านนา) ขนาด เล็ก เพือ่ เป็นแนวทางให้ประชาชนสามารถ ประกอบอาชีพเลีย้ งตนเองและครอบครัว พึ่งพาตนเองได้แบบพออยู่พอกิน ตาม สมควรแก่ อั ต ภาพในระดั บ ที่ ป ระหยั ด ไม่อดอยาก และเลีย้ งตนเองได้ตามหลัก ปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”
หลักการทฤษฎีใหม่
ด้วยหลักการบริหารและจัดแบ่งทีด่ นิ แปลงเล็กออกเป็นสัดส่วนทีช่ ดั เจน รวมถึง มีการค�ำนวณโดยใช้หลักวิชาการเกีย่ วกับ ปริมาณน�้ำที่จะกักเก็บ ให้พอเพียงต่อ การเพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี ณ โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่อันเนื่องมา จากพระราชด�ำริ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัด นครราชสีมาแห่งนี้ จึงได้แบ่งพื้นที่ตาม แนวทางของทฤษฎีใหม่ เป็น 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบ่ง 30% ของพืน้ ทีเ่ ป็นแปลง นาข้าว ปลูกข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105
และหลังเก็บเกี่ยวข้าว จะได้ด�ำเนินการ ปลูกพืชหลังนาอายุสนั้ เพือ่ หมุนเวียนและ บ�ำรุงดิน เช่น ถัว่ เขียว ถัว่ ลิสง และข้าวโพด หวานฝักสด NAKHONRATCHASIMA 21
นางจรรยา ปั้นดี เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทน้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน จ�ำนวน 21 ไร่ 3 งาน 39 ตารางวา เพื่อท�ำเป็น โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ 22
ต่อยอดสู่แหล่ง เรียนรู้-ฝึกอบรม
ส่วนที่ 2 แบ่ง 30% ของพืน้ ทีป่ ลูกไม้ผล
โดยแบ่งออกเป็น 2 แปลง แปลงแรกปลูก ไม้ผลหลัก ได้แก่ มะม่วง มะขาม กระท้อน และส้มโอ แปลงทีส่ องปลูกไม้ผลรอง ได้แก่ ฝรั่ง น้อยหน่า และกล้วยน�้ำว้า รวมถึงมี การปรับโครงสร้างดินด้วยหญ้าแฝก เพือ่ เป็นตัวอย่างแก่เกษตรกร
ส่วนที่ 3 แบ่ง 30% ของพืน้ ทีข่ ดุ สระน�ำ้ เลีย้ งปลากินพืชชนิดต่างๆ เพือ่ จ�ำหน่าย และบริโภค โดยใช้วัสดุเหลือใช้จากการ เกษตร เช่น ฟางข้าว เศษหญ้า ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพน�้ำและเป็น อาหารปลา ริมขอบบ่อปลูกพืชผัก พืช สมุนไพร ไม้ผล ไม้ยนื ต้น เพือ่ การบริโภค และจ�ำหน่าย
ส่วนที่ 4 พืน้ ทีอ่ กี 10% เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย
รวมถึงเลีย้ งสัตว์ เช่น ไก่ เป็ดเทศ หมูหลุม วัว เลี้ยงกบและปลาดุกในบ่อดิน รวมถึง ปลูกพืชสมุนไพร และพืชผักสวนครัว
พร้อมกันนีโ้ ครงการสาธิตทฤษฎีใหม่ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอปักธงชัย ได้ด�ำเนินการในส่วนของการวิจัยและ พัฒนา รวมถึงการท�ำนาแบบดัง้ เดิมตาม วิถชี าวบ้าน และขยายผลพัฒนาเป็นแหล่ง ฝึกอบรมให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ สามารถเข้ามาศึกษาวิธกี ารท�ำเกษตรทฤษฎี ใหม่ เพือ่ น�ำไปปรับใช้ในพืน้ ทีข่ องตน ให้ สามารถท�ำการเกษตรได้อย่างถูกวิธี ซึ่ง เกษตรทฤษฎีใหม่ จะช่วยให้สามารถท�ำการ เพาะปลูกในฤดูแล้งที่มีน�้ำน้อยได้ และ ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลมีน�้ำตลอดทั้งปี ทฤษฎี ใ หม่ ก็ จ ะท� ำ ให้ เ กษตรกรมี ชี วิ ต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ส�ำหรับผูท้ สี่ นใจศึกษา เรียนรู้ และฝึก อบรมเกีย่ วกับ “ทฤษฎีใหม่” สามารถติดต่อ ได้ที่ โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่อนั เนือ่ ง มาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ มีทที่ ำ� การตัง้ อยู่ ทีบ่ า้ นฉัตรมงคล หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลธงชัยเหนือ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โทร. 0-4432-5048 ขอขอบคุณข้อมูลและภาพจาก โครงการสาธิตทฤษฎีใหม่อนั เนือ่ ง มาจากพระราชด�ำริ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา NAKHONRATCHASIMA 23
วิสัยทัศน์ของส�ำนักงานทางหลวงชนบทที่ 5 (นครราชสีมา)
“พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาโครงข่ายทางอย่างบูรณาการและยั่งยืน” พันธกิจ
พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาระบบปฏิบัติ พัฒนาโครงข่ายทางและสะพาน อย่างบูรณาการและยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมความเข้มแข็ง ด้านวิชาการแก่ อปท. มุ่งสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ น�ำสู่ยุทธศาสตร์
โครงข่ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของส�ำนักงานทางหลวงชนบทที่ 5 (นครราชสีมา) หน่วยงาน ส�ำนักงานทางหลวงชนบทที่ 5 (นครราชสีมา)
จ�ำนวน สายทาง 234
ระยะทาง (กม.)
ชนิดผิวจราจร (กม.)
ลูกรัง
ลาดยาง
คอนกรีต
4,272.23 304.211 3,894.99 73.029
โครงการพัฒนาเส้นทาง (ทางลัดทางเลี่ยง)
โครงการพัฒนาเส้นทางแก้ไขปัญหาจราจรติดขัด สาย นม 4008 แยก ทล 2148 (กม.ที่ 3+800) - บ้านปะค�ำ อ�ำเภอด่านขุนทด, พระทองค�ำ จังหวัดนครราชสีมา เป็นทางเลี่ยงเพื่อแก้ปัญหาจราจร สืบเนือ่ งจากการจราจรทีแ่ ออัดช่วงเทศกาล เส้นทาง การเดินทางสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) สายทล 2 ถนนมิตรภาพการจราจรจะติดขัดเป็นอย่าง มาก กรมทางหลวงจึงได้มีการแนะน�ำเส้นทางเลี่ยง ถนนมิตรภาพไปใช้เส้นทางอื่นแทนในการเดินทาง เข้าสู่ภาคอีสาน ซึ่งได้แก่เส้นทางผ่านสระบุรี ลพบุรี (อ�ำเภอชัยบาดาล) นครราชสีมา อ�ำเภอด่านขุนทด, อ�ำเภอพระทองค�ำ, อ�ำเภอแก้งสนามนาง สิน้ สุดทีจ่ งั หวัด ขอนแก่น อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น ส�ำนักงานทางหลวง ชนบทที่ 5 (นครราชสีมา) ได้พจิ ารณาเห็นว่ามีเส้นทาง สาย นม 4008 ของกรมทางหลวงชนบท เชือ่ มระหว่าง อ�ำเภอด่านขุนทด และอ�ำเภอพระทองค�ำ จังหวัด นครราชสีมา มีศักยภาพในการใช้เป็นเส้นทางเลี่ยง เติมเต็มโครงข่ายทางของกรมทางหลวงให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ แนวทางการพัฒนาจะแบ่งเป็น 2 ส่วน 1) ปรับปรุงขยายไหล่ทางในส่วนทีต่ อ้ งเวนคืน 2) จ้างที่ปรึกษา ส�ำรวจออกแบบในส่วนที่ต้องมีการตัดแนวสายทางเพิ่มเติม, สะพานข้ามแยก, งานเวนคืน
สารผู้ว่าราชการ
จังหวัดนครราชสีมา เดิมที จังหวัดนครราชสีมามีวิสัยทัศน์ว่า “เมืองหลวงแห่ง ภาคอีสาน” ทว่าภายหลังการจัดท�ำแผนพัฒนาจังหวัดฉบับใหม่ (พ.ศ.2561-2564) ซึง่ ทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาชน ได้ร่วมก�ำหนดวิสัยทัศน์จังหวัดนครราชสีมา เพื่อให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนาจังหวัด ว่า “โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตรอุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย” ในอนาคตจังหวัดนครราชสีมา จะมีการเปลีย่ นแปลงใหม่ๆ เกิดขึน้ มากมายจากนโยบายเชิงเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นโครงการ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายบางปะอิน - สระบุรี - นครราชสีมา โครงการทางหลวงหมายเลข 290 วงแหวนรอบนอกเมือง นครราชสีมา โครงการก่อสร้างทางหลวงหมายเลข 304 ช่วง กบินทร์บรุ ี - อ�ำเภอปักธงชัย โครงการก่อสร้างอุโมงค์แยกขอนแก่น โครงการรถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ - นครราชสีมา โครงการ รถไฟทางคู่ โครงการสร้างสถานีขนส่งสินค้า และโครงการก่อสร้าง ถนนผังเมืองถนนสาย ฉ รวม 8 โครงการ งบประมาณ 331,731 ล้านบาท นอกจากนัน้ จังหวัดนครราชสีมายังมีภาคเอกชน ทีข่ ยาย การลงทุนด้านห้างสรรพสินค้าและโรงแรมขนาดใหญ่ เช่นโครงการ ของเครือข่ายเดอะมอลล์ กรุป๊ , Terminal 21 และเครือเซ็นทรัล กรุ๊ป เป็นต้น ดังนัน้ จังหวัดนครราชสีมาจึงมีภารกิจทีต่ อ้ งเตรียมความพร้อม ในทุกภาคส่วนสามารถตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลัง จะเกิดขึน้ ทัง้ การสร้างความพร้อมพืน้ ฐาน แหล่งน�ำ้ การท�ำความ เข้าใจกับประชาชน การแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เช่น การจราจร ขยะ มลภาวะ และอืน่ ๆ และการพัฒนาตามทิศทางของแผนพัฒนา ฉบับใหม่ ทีม่ งุ่ พัฒนาเมืองโคราชไปสูค่ วามเป็น Smart City เมือง ทีท่ นั สมัย สวยงาม เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม มีการบริหารจัดการ ทีด่ ี มีความมัน่ คง ปลอดภัยทัง้ ในชีวติ และทรัพย์สนิ และน่าอยู่ ส�ำหรับทุกคน ในนามของผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา ขอขอบคุณทีมงาน นิตยสาร SBL ทีไ่ ด้จดั ท�ำนิตยสารเพือ่ ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชน ได้รบั ทราบว่า นครราชสีมาเป็นเมืองทีม่ คี วามน่าสนใจ มีความ เคลือ่ นไหวใหม่ๆ และมีการพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา ท้ายนีข้ อขอบคุณ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองท้องถิน่ สถาบัน การศึกษา ตลอดจนองค์กรทางศาสนา ทีไ่ ด้ให้การสนับสนุนและ เอือ้ เฟือ้ ข้อมูลอย่างรอบด้านและครบทุกมิติ จนส�ำเร็จเป็นนิตยสาร ของจังหวัดนครราชสีมาที่สวยงามฉบับนี้
.............................................................. (นายวิเชียร จันทรโณทัย) ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
NAKHONRATCHASIM 25
เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด
26
นายวิเชียร จันทรโณทัย
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
NAKHONRATCHASIM 27
มีผู้ว่าราชการจังหวัดเพียง ไม่กี่ท่านเท่านั้น ที่มีโอกาสมา ด�ำรงต�ำแหน่งในจังหวัดอัน เป็นบ้านเกิดเมืองนอนของตน “นายวิเชียร จันทรโณทัย” นับเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ที่โชคดีท่านหนึ่ง ซึ่งเคยปฏิบัติ หน้าที่รองผู้ว่าฯ และผู้ว่าฯ ในหลายจังหวัด ก่อนที่จะได้ กลับมาแก้ไขปัญหาและพัฒนา แผ่นดินถิ่นเกิดอันเป็นที่รัก พร้อมด้วยปณิธานที่ว่า “ผมจะพยายามออกไปพบปะ เยี่ยมเยียนชาวโคราช พี่น้อง ท้องถิ่น อ�ำเภอ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ให้ได้มากที่สุด” นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติอย่างสูง จากนายวิเชียร จันทรโณทัย ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดนครราชสีมา ให้สมั ภาษณ์ถงึ ความ รูส้ กึ ทีไ่ ด้มารับราชการในจังหวัดนครราชสีมา แผนพัฒนาจังหวัดในระยะ 4 ปี นับจากนี้ ตลอดจนผลการด�ำเนินงานโครงการส�ำคัญๆ ฯลฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ภูมิใจได้เป็นผู้ว่าฯที่บ้านเกิด
เมือ่ ทราบว่าได้กลับมาเป็นผูว้ า่ ราชการ จังหวัดนครราชสีมา ก็มีความภูมิใจและ ดีใจครับ เพราะโคราชเป็นจังหวัดบ้านเกิด เมื่อมาท�ำงานที่จังหวัดนครราชสีมา ก็รู้สึกเสมอว่าเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ มี ความเคลือ่ นไหวทางความคิดของบุคคล หลากหลาย ท�ำอย่างไรจึงจะเข้าใจการ ท�ำงานของเรา เพราะแต่ละกลุม่ ก็มจี ดุ ยืน ของตัวเอง จึงจะท�ำงานให้ถูกใจบ้าง ไม่ 28
ถูกใจบ้าง แต่ตระหนักเสมอว่า จะต้อง ท�ำงานให้หนัก ออกพืน้ ทีเ่ พือ่ พบกับปัญหา ให้มากทีส่ ดุ เมือ่ มาท�ำงานจริงในจังหวัด พบว่า ผู้น�ำธุรกิจเอกชน ซึ่งผู้หลักผู้ใหญ่ ผู ้ อ าวุ โ สในแวดวงธุ ร กิ จ ของจั ง หวั ด นครราชสีมา ได้ให้ความร่วมมือในการ ขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวง ทบวง
งานนี้เป็นนโยบายรัฐบาล และงานความเดือดร้อน ของประชาชนจะรับมา ด�ำเนินการและติดตาม ด้วยตนเอง
กรม ตลอดจนงานทีจ่ งั หวัดได้รเิ ริม่ ขึน้ และ งานการกุศลต่างๆ ด้วยดีตลอดมา และด้ ว ยความที่ ผ มเป็ น คนโคราช ผมให้ความส�ำคัญกับการออกไปแก้ไข ปัญหาและพบปะ เยีย่ มเยียน พีน่ อ้ งท้องถิน่ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนในพื้นที่ให้ มากที่สุด และงานที่เป็นนโยบายรัฐบาล งานความเดือดร้อนของประชาชนจะรับ มาด�ำเนินการและติดตามด้วยตนเอง
ต่อยอดความคุ้นเคย สู่ความส�ำเร็จ
จั ง หวั ด นครราชสี ม าอยู ่ ใ นจั ง หวั ด “ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1” หรื อ กลุ ่ ม จั ง หวั ด “นครชั ย บุ ริ น ทร์ ” โดยเฉพาะการเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด นครราชสีมา ซึง่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นหัวหน้ากลุม่ จังหวัด และมีสำ� นักบริหารยุทธศาสตร์กลุม่
จังหวัด (The Office of Strategy Management: OSM) เป็นหน่วยประสานงานทีท่ ำ� ให้การ ท�ำงานในฐานะผูว้ า่ ราชการจังหวัด/หัวหน้า กลุม่ สะดวกขึน้ โคราชเป็นศูนย์กลางของ กลุม่ จังหวัดในหลายๆ ด้าน ทัง้ การศึกษา การอุตสาหกรรม การแปรรูปด้านอาหาร ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นศูนย์รวมและกระจายสินค้าสู่ภาค อีสาน ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์จังหวัด
โคราชเป็นจังหวัดขนาด ใหญ่ที่มีศักยภาพในทุกๆ ด้าน ทั้งด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม... รวมทั้งมีภูมิศาสตร์ที่ตั้ง อยู่ในจุดประตูสู่อีสาน
ทีม่ ง่ ุ สูก่ ารเป็น “เมืองหลวงแห่งภาคอีสาน”
โคราชกับศักยภาพ ที่หลากหลาย
จังหวัดนครราชสีมา หรือที่เรียกกัน ติดปากว่า “โคราช” เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ ทีม่ ศี กั ยภาพในทุกๆ ด้าน ทัง้ ด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย มีสภาพภูมิประเทศที่เอื้อต่อการพัฒนา เมือง รวมทัง้ มีภมู ศิ าสตร์ทตี่ งั้ อยูใ่ นจุดประตู สู่อีสาน อยู่ไม่ไกลจากเมืองหลวง และมี เส้นทางที่สามารถเชื่อมต่อกับจังหวัด ใกล้เคียง ทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก รวมทัง้ ประเทศเพือ่ น บ้าน ไม่ว่าจะเป็น ลาว หรือกัมพูชา รวม ทั้งความหลากหลายของผู้คนทุกอาชีพ ที่เอื้ออ�ำนวยต่อการร่วมกันพัฒนาเป็น อย่างยิ่ง
NAKHONRATCHASIM 29
เป้าหมายสู่ “Smart City”
ในการพัฒนาจังหวัดนครราชสีมานัน้ เรามีแผนพัฒนาจังหวัดที่ชัดเจน คือ แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564) และยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เป็นกรอบในการ พัฒนา และมีแผนการด�ำเนินงานใน 3 ระยะ ประกอบด้วย ระยะสั้น เป็นการแก้ไขปัญหาที่เกิด ขึน้ เฉพาะหน้า ทีช่ ดั เจนก็คอื เรือ่ งภัยแล้ง ซึ่งเป็นปัญหาใหม่ของชาวโคราช มีผล กระทบทั้งคนและพืชผลทางการเกษตร รวมทั้งเรื่องของปัญหาที่ทำ� กิน ระยะกลาง ได้ด�ำเนินการตามแผน พัฒนาจังหวัด ระยะ 4 ปี โดยมีเป้าหมาย เพือ่ ให้ประชาชนมีรายได้เพิม่ ขึน้ มีคณ ุ ภาพ ชี วิ ต ที่ ดี มี ค วามปลอดภั ย ในชี วิ ต และ ทรัพย์สนิ รวมทัง้ การป้องกันรักษาทรัพยากร ที่มีอยู่ให้คงทนยั่งยืน
พัฒนาให้เป็นเมืองที่ สะอาดและปลอดภัย เป็น เมืองการเกษตรครบ วงจร (Northeastern Food Valley) และเป็น เมืองท่องเที่ยว เป็นเมือง ที่ใช้พลังงานสะอาด ระยะยาว มีแผนในการพัฒนาให้
เป็นเมืองทีส่ ะอาด และปลอดภัย เป็นเมือง การเกษตรครบวงจร (Northeastern Food Valley) และเป็นเมืองท่องเทีย่ ว เป็นเมือง ที่ใช้พลังงานสะอาด และเป็นศูนย์กลาง ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นศูนย์กลางการศึกษา ศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง มุง่ การคมนาคม และศูนย์กลางการค้าอุตสาหกรรมสีเขียว 30
จะเห็นได้วา่ การด�ำเนินการต้องควบคู่ ไปในลักษณะสองทาง คือ ทั้งการแก้ไข ปัญหาและการพัฒนา ซึ่งในการพัฒนา นัน้ จะพัฒนาไปในแนวทางทีช่ ดั เจน ทัง้ ใน ระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อ ให้จังหวัดนครราชสีมามีทิศทางชัดเจน ในการพัฒนาไปสู่ความเป็น Smart City เป็นเมืองทีท่ นั สมัย และน่าอยูส่ ำ� หรับทุก คน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนา คุณภาพชีวติ การท�ำให้พนี่ อ้ งชาวจังหวัด นครราชสีมามีรายได้เพิม่ ขึน้ คุณภาพชีวติ ต้องดี มีความสุขมากขึ้น มีความเป็นอยู่ ในพืน้ ทีท่ มี่ คี ณ ุ ภาพ มีชวี ติ ทีด่ ี มีสงิ่ แวดล้อม ที่ดี มีอากาศที่ดี เป็นเมืองที่สวยงาม เป็นเมืองที่ไม่กระทบและเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม มีการบริหารจัดการทีด่ ี และ ประชาชนชาวโคราชต้องรูส้ กึ ได้ถงึ ความ มั่นคง ความปลอดภัย ทั้งในชีวิตและ ทรัพย์สิน NAKHONRATCHASIM 31
เมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรมฯ
ในการพัฒนาจังหวัดนครราชสีมานัน้ มีแผนพัฒนาจังหวัดระยะ 4 ปี (พ.ศ.25612564) โดยเราได้นำ� ความคิดเห็นของทุก ภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน ประชาชน ร่วม ก�ำหนดเป็นวิสยั ทัศน์จงั หวัดนครราชสีมา ตามแผนพัฒนาจังหวัด ว่า “โคราชเมือง น่ า อยู ่ มุ ่ ง สู ่ น วั ต กรรม และเกษตร อุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย” โดยมี พันธกิจ คือ เพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถ การแข่งขันด้านเศรษฐกิจของจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้ ดีขึ้น รักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ เสริมสร้างความมัน ่ คง ปกป้องสถาบัน หลักของชาติ บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ - กลยุทธ์ การพัฒนา
จังหวัดนครราชสีมามียทุ ธศาสตร์การ พัฒนา และกลยุทธ์ในการพัฒนาจังหวัด ในแต่ละด้าน คือ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ มีกลยุทธ์ แนวทางโดยน�ำแนวคิดทางการเกษตร อุตสาหกรรมมาเพิม่ ศักยภาพในการผลิต แปรรูป และการตลาด พัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐาน และระบบโลจิสติกส์ เพือ่ รองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านสังคม มีกลยุทธ์ แนวทางโดยการจัดการบริการสาธารณะ อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ยกระดับการ เรียนการสอนให้ดีขึ้น เพิ่มรายได้ให้มาก ขึ้น การจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ มี ก ลยุ ท ธ์ แ นวทางโดยอนุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู ทรัพยากรให้คงอยู่ และเพิม่ ขึน้ จัดการขยะ สิง่ แวดล้อมให้ดขี นึ้ บริหารจัดการน�ำ้ ให้ทวั่ ถึงพอเพียง รวมทั้งลดการใช้พลังงาน 32
NAKHONRATCHASIM 33
ด้านความมัน่ คง มีกลยุทธ์แนวทาง คือ การสร้างความรู้ ความเข้าใจถึงความ ส�ำคัญของสถาบันหลักของชาติ การสร้าง ความปรองดองสมานฉันท์ และการส่งเสริม การมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ด้ า นบริ ห ารจั ด การภาครั ฐ มี กลยุทธ์แนวทาง คือ การเพิม่ ประสิทธิภาพ การปฏิบตั ริ าชการ และการพัฒนาองค์กร ให้มสี มรรถนะสูงในการพัฒนาเมือง เพือ่ ให้ทันสมัยสู่ความเป็น Smart City นั้น จ�ำเป็นต้องแสวงหาการมีสว่ นร่วมกับทุก ภาคส่วน โดยเฉพาะความคิดเห็นของภาค เอกชน ซึง่ มีสว่ นช่วยในการพัฒนาจังหวัด เป็นอย่างมาก และให้ทุกคนเห็นพ้องว่า เราจะเดินไปในทิศทางเดียวกัน โดยตั้ง เป้าหมายในอนาคตในอีก 20 ปีขา้ งหน้า เมื่อเห็นพ้องต้องกันแล้ว เราก็ช่วยกัน สนับสนุน ผลักดัน ประกอบกับศักยภาพอีกประการ คือ นโยบายของรัฐบาลทีเ่ ล็งเห็นความส�ำคัญ เชิงการพัฒนาพืน้ ที่ โดยมีเมกะโปรเจกต์ พาดผ่านหลายโปรเจกต์ ทั้งรถไฟทางคู่ รถไฟความเร็วสูง มอเตอร์เวย์ ฯลฯ และ รวมทั้ ง ภาคเอกชนมาลงทุนในจัง หวัด นครราชสีมา ทัง้ Terminal 21 ทัง้ Central
34
Plaza ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้มีความเจริญ เข้ามาสูจ่ งั หวัดนครราชสีมา และสามารถ พัฒนาสู่ความเป็นเมือง Smart City ได้
4 โครงการเด่น ปี 2559
1. โครงการสร้างเสริมความจงรัก ภักดีตอ่ สถาบัน บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้กับประชาชน โครงการดังกล่าวเป็นหนึง่ ในนโยบาย ส�ำคัญของรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทย
ที่ประสงค์จะน�ำบริการของภาครัฐและ เอกชน ออกไปให้บริการแก่ประชาชนใน พืน้ ทีต่ ำ� บล หมูบ่ า้ น และชุมชนทีห่ า่ งไกล เพื่อให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ ได้รบั ทราบถึงปัญหาความต้องการ ทีแ่ ท้จริงของประชาชน และสามารถแก้ไข ปัญหาความเดือดร้อนได้ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะปัญหายาเสพติด และการจัด ระเบียบสังคม อีกทั้งเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้า
นโยบายของรัฐบาลที่ เล็งเห็นความส�ำคัญเชิง การพัฒนาพื้นที่ โดยมี เมกะโปรเจกต์พาดผ่าน หลายโปรเจกต์ ทั้งรถไฟ รางคู่ รถไฟความเร็วสูง มอเตอร์เวย์
นครราชสีมา ลงนามท�ำความตกลงทาง วิชาการกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ทางวิชาการในด้านการใช้ขอ้ มูลเชิงพืน้ ที่ และเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศร่วมกัน เพือ่ เป็นการพัฒนาองค์ความรูท้ างภูมศิ าสตร์ และผังเมือง แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และประชาชนทั่วไป ได้เข้าใจและเข้าถึง อย่างสะดวก
โดยให้ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี อ�ำนวยการถ่ายทอดเทคโนโลยีทาง ด้านภูมิสารสนเทศ และการใช้เครื่องมือ ทางภูมศิ าสตร์รว่ มกับจังหวัดนครราชสีมา ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ส่วนมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา ซึง่ มีหลักสูตรภูมสิ ารสนเทศจะสนับสนุน การใช้เครื่องมือทางด้านภูมิสารสนเทศ ต่อจังหวัดนครราชสีมา ในโครงการจัดท�ำ และปรับปรุงฐานข้อมูลระบบสารสนเทศ
ถึงบริการของรัฐ ได้โดยสะดวก รวดเร็ว ลดภาระค่าใช้จ่ายในการติดต่อราชการ ลดค่ า ครองชี พ ให้ กั บ ประชาชน ดู แ ล สวัสดิการแก่ผยู้ ากไร้ และยังเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐกับประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนเพือ่ เผยแพร่ความรู้ สร้างความ เข้าใจ ปรับเปลีย่ นค่านิยมและความคิดของ ประชาชนในพื้นที่ ให้เอื้อต่อการพัฒนา สังคม ชุมชน ท้องถิน่ และได้นอ้ มน�ำเอา แนวพระราชด�ำริ หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มาปรับใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งโครงการดังกล่าวนี้ จ�ำเป็นต้อง ได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทั้ง ข้าราชการส่วนภูมภิ าค ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพี่น้อง ประชาชน ซึ่งจะต้องเป็นตัวจักรส�ำคัญที่ มีสว่ นต่อความส�ำเร็จ ในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาพืน้ ทีอ่ ำ� เภอ ต�ำบล หมูบ่ า้ น ให้ ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
2. การท�ำบันทึกความร่วมมือทาง วิชาการ กับมหาวิทยาลัยระดับชัน้ น�ำ ในเขตจังหวัดนครราชสีมา เพื่อให้ องค์ความรูอ้ นั เกีย่ วเนือ่ งกับผังเมือง ขยายผลออกไปในวงกว้าง
ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ใน ฐานะผู ้ ก� ำ กั บ ดู แ ลการปฏิ บั ติ ร าชการ ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด NAKHONRATCHASIM 35
ภูมศิ าสตร์พนื้ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา เพือ่ การวางและจัดท�ำผังเมืองนครราชสีมา และจะจัดส่งนักศึกษาปริญญาตรี สาขา ภูมิสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ แบบสหกิจศึกษา โดยเฉพาะความรู้ทาง ด้านการวิเคราะห์เชิงพืน้ ทีแ่ ละผังเมือง ที่ ส�ำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน นครราชสีมา จะสนับสนุนการแลก เปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ อันจะ เป็นประโยชน์ตอ่ การผังเมือง การออกแบบ ชุมชน และสถาปัตยกรรมของจังหวัด นครราชสีมา โดยให้สาขาการจัดการ ผังเมือง คณะศิลปกรรมและการออกแบบ อุตสาหกรรม ร่วมด�ำเนินโครงการบูรณา การการเรียนการสอน และการฝึกปฏิบตั ิ ของนักศึกษาสาขาการจัดการผังเมือง ใน การวางผังเมืองรวมและผังเมืองชุมชน ทุกระดับในเขตจังหวัดนครราชสีมา 36
ซึ่งในปี 2560 นี้ จังหวัดนครราชสีมา และทัง้ 3 มหาวิทยาลัย จะได้จดั กิจกรรม โครงการอบรมเสริมสร้า งศักยภาพ เครือข่ายเยาวชนสร้างสรรค์พัฒนา ท้องถิ่น (Nakhon Ratchasima Active & Creative Youth Network) เพื่อให้ เยาวชนคนรุ่นใหม่เรียนรู้การประยุกต์ใช้ ข้อมูลเชิงพืน้ ที่ และระบบภูมสิ ารสนเทศ ในการวางผั ง พั ฒ นาพื้ น ที่ ถิ่ น เกิ ด ของ ตนเองอย่างสร้างสรรค์ และสมดุลในมิติ ด้านต่างๆ ทัง้ เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม
เน้นการมีส่วนร่วมเพื่อให้ ประชาชนได้ร่วมกันคิด ประชาชนร่วมกันท�ำ และ ประชาชนได้รับประโยชน์ จากโครงการฯ สูงสุด
วัฒนธรรม อย่างมั่นคงและยั่งยืน
3. โครงการยกระดั บ ศั ก ยภาพ หมู่บ้าน เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานรากตามแนวประชารัฐ ประจ�ำปี งบประมาณ พ.ศ.2560 (โครงการ หมู่บ้านละ 2.5 แสนบาท)
โครงการดั ง กล่ า วเป็ น ไปตามมติ คณะรัฐมนตรี ซึง่ มอบหมายให้กระทรวง มหาดไทยเป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ด� ำ เนิ น โครงการผ่านคณะกรรมการหมูบ่ า้ น เพือ่ พัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ภูมภิ าค มีเป้าหมายด�ำเนินการในหมูบ่ า้ น โดยสนับสนุนงบประมาณให้หมู่บ้านละ 2.5 แสนบาท กรอบระยะเวลาด�ำเนินการ ภายใน 90 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ถึง 31 มกราคม พ.ศ.2560 ซึง่ จะสามารถช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจในระดับ หมู่บ้านได้ดียิ่งขึ้น รวมทั้งเป็นการสร้าง ระบบประชาธิ ป ไตยให้ กั บ ประชาชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมเพื่อให้ประชาชน
NAKHONRATCHASIM 37
ได้ร่วมกันคิด ประชาชนร่วมกันท�ำ และ ประชาชนได้รับประโยชน์จากโครงการฯ สูงสุด ส�ำหรับโครงการทีส่ ามารถด�ำเนินการ ได้ แบ่งเป็น 3 ด้าน คือด้านเศรษฐกิจ เช่น ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมอาชีพ และคุณภาพชีวติ เพือ่ ให้ประชาชนมีงานท�ำ ด้านสังคม และ ด้านสาธารณะประโยชน์อย่างอืน่ โดยให้ อ�ำเภอปรึกษาหารือระหว่างหน่วยงาน ภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง และประชาชนในพืน้ ที่
เพื่ อ หาแนวทางบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ใน หมูบ่ า้ น ทุกโครงการหรือกิจกรรมจะต้อง ด�ำเนินการในพื้นที่หมู่บ้านที่ได้รับการ จัดสรรงบประมาณจะต้องมีความพร้อม และได้รบั การอนุญาตให้ใช้พนื้ ทีก่ อ่ นเพือ่ การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนเท่านั้น และ จะต้องด�ำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน เพือ่ ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และ ช่วยกระตุน้ ระบบเศรษฐกิจในระดับพืน้ ที่ ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม
4. การเตรียมความพร้อมป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ที่อาจจะเกิด ขึ้นในปี 2560 38
จากรายงานของสถานีอตุ นุ ยิ มวิทยา จังหวัดนครราชสีมา คาดการณ์วา่ ปริมาณ ฝนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครราชสีมา จะมีปริมาณ ไม่มาก และมีปริมาณน�้ ำไหลลงเขื่อน จ�ำนวนน้อย อีกทัง้ ในปีทผี่ า่ นมาในพืน้ ที่ จังหวัดนครราชสีมา มีพนื้ ทีป่ ระสบปัญหา ภัยแล้ง รวมทั้งสิ้น 11 อ�ำเภอ 33 ต�ำบล 89 หมูบ่ า้ น จังหวัดฯ ได้มกี ารแจกจ่ายน�ำ้ เพื่อช่วยเหลือ รวมทั้งยังได้สั่งการให้ทุก อ�ำเภอด�ำเนินการสูบน�ำ้ และส�ำรองน�ำ้ ไว้ ในแหล่งกักเก็บเต็มความจุทกุ พืน้ ทีต่ ำ� บล และหมูบ่ า้ น เพือ่ กักเก็บไว้ใช้ในหน้าแล้ง
มั่นใจว่าในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมา จะไม่มีการ ขาดแคลนน�้ำอุปโภคบริโภค แน่นอน
พร้อมด�ำเนินการสร้างฝายตามแนวพ่อ หลวงสูภ้ ยั แล้ง ซึง่ เป็นการจัดท�ำฝายแบบ ประชารัฐ ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ทั้ง 32 อ�ำเภอของจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งแม้ว่าขณะนี้ปริมาณน�้ำในเขื่อน ขนาดใหญ่ของจังหวัดนครราชสีมา ทั้ง 5 แห่ง มีปริมาณน�้ำไม่ถงึ ร้อยละ 50 ของ ความจุ แต่จากการหารือกับหน่วยงาน ด้านน�ำ้ ไม่ว่าจะเป็นชลประทานจังหวัด ประปาเทศบาลนครนครราชสีมา ประปา ส่วนภูมภิ าค ทัง้ 10 สาขา มัน่ ใจว่าในพืน้ ที่ จังหวัดนครราชสีมา จะไม่มกี ารขาดแคลน น�ำ้ อุปโภค-บริโภค แน่นอน แต่นำ�้ ทีใ่ ช้ทำ� การเกษตรนัน้ จะต้องมีการบริหารจัดการ อย่างเป็นระบบ เพือ่ ไม่ให้มใี ครต้องได้รบั ผลกระทบจากการขาดแคลนน�้ำ
จากใจผู้ว่าฯ เพื่อเมืองโคราชน่าอยู่
ตั้งแต่ผมมารับราชการในต�ำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ผมรู้สึก
ประทับใจและขอขอบคุณทีท่ กุ ๆ ภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคราชการ ภาคเอกชน องค์กรปกครองท้องถิน่ ก�ำนัน ผูใ้ หญ่บา้ น และพี่น้องประชาชน ได้ประสานความ ร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกันผลักดันโครงการ ต่างๆ ทีช่ ว่ ยแก้ปญ ั หาและพัฒนาจังหวัด จนประสบผลส�ำเร็จด้วยดีเสมอมา และผมหวั ง ว่ า เราทุ ก คนจะยั ง คง ความเป็ น น�้ ำ หนึ่ ง ใจเดี ย วกั น ตลอดไป เพือ่ ขับเคลือ่ นให้จงั หวัดนครราชสีมา ไม่ เพียงแต่จะเป็น “เมืองหลวงแห่งอีสาน” เท่านัน้ แต่ยงั เป็นเมืองทีน่ า่ อยูส่ ำ� หรับทุกๆ คน เป็นเมืองที่สะอาด มีความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพย์สนิ ซึง่ จะเป็นแรงดึงดูด ให้ทั้งนักลงทุนและนักท่องเที่ยวเข้ามา โคราชมากขึน้ พีน่ อ้ งชาวโคราชก็จะมีชวี ติ ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และมีความสุขมาก ขึน้ ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานไว้เป็น แนวทางในการด�ำเนินชีวิตแก่ชาวไทย ทุกคน NAKHONRATCHASIM 39
เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
ดร.มุรธาธีร์ รักชาติเจริญ รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา
“จงท�ำงานเพื่อประชาชน” คื อ คติ พ จน์ ป ระจ� ำ ใจของ ดร.มุ ร ธาธี ร ์ รั ก ชาติ เจริ ญ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา ซึง่ ก�ำกับดูแลด้านการพัฒนา จังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจ และการบริหารงานบุคคลในสังกัด ทีท่ ำ� การปกครองจังหวัดนครราชสีมา ซึง่ ท่านยึดมัน่ ในคติพจน์ ดังกล่าวมาตลอดระยะเวลาทีร่ บั ราชการ อีกทัง้ ยังได้นอ้ มน�ำแนว ทางทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาเป็นหลักในการท�ำงานด้วย นิตยสาร SBL รูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างสูงทีท่ า่ นกรุณาสละเวลา อันมีคา่ ยิง่ ให้สมั ภาษณ์ในหลายประเด็น ทัง้ การด�ำเนินงานตาม นโยบายของรัฐบาล แนวทางการแก้ไขปัญหาภัยแล้งและความ ยากจน ตลอดจนผลการด�ำเนินงานที่ท่านภาคภูมิใจ
เน้นภารกิจพัฒนาจังหวัด-เศรษฐกิจ
ผมได้รบั มอบหมายให้กำ� กับดูแล และรับผิดชอบกลุม่ ภารกิจ ด้านการพัฒนาจังหวัด การพัฒนาเศรษฐกิจ และการบริหารงาน บุคคลของข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง สังกัดทีท่ ำ� การ ปกครองจังหวัดนครราชสีมา เช่น การแก้ไขปัญหาการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบ ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุม่ จังหวัด การ บริหารงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี งานคณะกรรมการร่วม ภาครัฐและเอกชนเพือ่ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ (กรอ.จังหวัด) งาน ผังเมือง งานเกีย่ วกับพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมการเกษตร การพาณิชย์ การพัฒนา และบริหารจัดการแหล่งน�ำ้ การสาธารณสุข การท่องเทีย่ วและ กีฬา และการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีภารกิจทีท่ า่ นผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา มอบหมายให้กำ� กับดูแลเป็นพิเศษ ได้แก่ งานรับเสด็จฯ การแก้ ปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย และการพัฒนาจังหวัด
แก้ไขปัญหาภัยแล้ง อุทกภัย ความ ยากจน การกระจายรายได้ และด�ำเนินการ ให้บรรลุเป้าหมาย Thailand 4.0 40
การด�ำเนินงานตามนโยบาย คสช./รัฐบาล
ในปีทผี่ า่ นมา จังหวัดนครราชสีมาได้ให้ความส�ำคัญกับการ ด�ำเนินการ เพื่อสนองนโยบายการบริหารประเทศของรัฐบาล ดังนี้ การแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัย การแก้ไขปัญหาความยากจน และการกระจายรายได้ การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่จังหวัด การด�ำเนินการของจังหวัดให้บรรลุเป้าหมาย Thailand 4.0
ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหา
สภาพปัญหาของชาวโคราช และแนวทางแก้ไข มี 2 ประเด็น หลักๆ คือ 1. ปัญหาภัยแล้ง มีแนวทางการแก้ไขปัญหา ดังนี้ จังหวัดนครราชสีมา มีแนวทางพัฒนาแหล่งน�ำ ้ ขนาดใหญ่ ต่างๆ การรณรงค์ให้ราษฎรประหยัดการใช้น�้ำ การเพิ่มจ�ำนวนแหล่งน�้ำ ทั้งบนดินและใต้ดินให้มากขึ้น การเพิ่มระบบประปาให้ทั่วถึงในทุกพื้นที่ การเฝ้าระวังและการแก้ไขปัญหาภัยแล้งในทุกพืน ้ ทีอ่ ย่าง ต่อเนื่อง 2. ปัญหาความยากจน มีแนวทางการแก้ไขปัญหาความยากจน และการกระจายรายได้ ดังนี้ การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพของเกษตรกร การแสวงหาโครงการและงบประมาณเข้าพื้นที่
NAKHONRATCHASIMA 41
ให้นำ�้ หนักความส�ำคัญในการจัดสรรงบประมาณเพือ่ การนี้ เน้นการกระจายรายได้ไปสูเ่ กษตรกร ผูย ้ ากจน และผูด้ อ้ ย โอกาสอย่างทั่วถึง เป็นธรรม พัฒนาแหล่งน�้ำ ส่งเสริมการรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์/SME
ผลงานที่ภาคภูมิใจ
การก�ำกับดูแลโครงการและงบประมาณของจังหวัด/กลุม่ จังหวัด การจัดท�ำค�ำของบประมาณ/โครงการในระดับภาค การผลักดันโครงการและงบประมาณ เพื่อด�ำเนินการ แหล่งบรรพชีวิน (Geo Park) ของจังหวัดนครราชสีมา การแก้ไขปัญหาภัยแล้งและอุทกภัยของจังหวัด
42
ดร.มุรธาธีร์ รักชาติเจริญ
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ประวัติการศึกษา
พัฒนาจังหวัดนครราชสีมาให้เจริญ รุดหน้าไปทุกๆ ด้าน ไปสู่การเป็นมหานคร แห่งภาคอีสาน จากใจท่านรองผู้ว่าฯ
ขอให้พี่น้องประชาชน ร่วมมือร่วมแรงร่วมใจ ในลักษณะ บูรณาการทุกภาคส่วน ทัง้ ภาคราชการ ภาคเอกชน นักวิชาการ ภาคประชาสังคม ให้เป็นอันหนึง่ อันเดียวกันในลักษณะประชารัฐ เพือ่ พัฒนาจังหวัดนครราชสีมาให้เจริญรุดหน้าไปทุกๆ ด้าน ไป สู่การเป็นมหานครแห่งภาคอีสานและประตูสู่ความเจริญใน ทุกๆ ด้านต่อไป
1. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต รัฐศาสตร์ (การปกครอง) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ปี 2521 2. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2524 3. ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2525 4. Ph.D. (Public Administration), Kensington University, LA., USA. ปี 2531 5. DP.A. (รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ นครปฐม ปี 2557 6. โรงเรียนนายอ�ำเภอ รุ่นที่ 42 วิทยาลัยการปกครอง กรมการปกครอง ปี 2539 7. โรงเรียนนักปกครองระดับสูง รุ่นที่ 45 สถาบัน ด�ำรงราชานุภาพ กระทรวงมหาดไทย ปี 2547 8. หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาค รัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 16 ปี 2559
ประวัติการท�ำงาน
1. นายอ�ำเภอพนา จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2544 2. นายอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ปี 2546 3. นายอ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ปี 2547 4. นายอ�ำเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสีมา ปี 2550 5. นายอ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ปี 2551 6. นายอ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ปี 2554 7. นายอ�ำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี ปี 2555 8. ปลัดจังหวัดนครปฐม ปี 2556 9. รองผู้วา่ ราชการจังหวัดชุมพร ปี 2557 10. รองผู้วา่ ราชการจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558 11. รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ปี 2559 NAKHONRATCHASIMA 43
เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
นายธนพล จันทรนิมิ
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา คงจะดีไม่น้อย หากผู้บริหารราชการจังหวัดมีความคุ้นเคยกับพื้นที่ในภูมิภาคนั้นๆ มาก่อน เพราะนอกจากจะท�ำให้มีความเข้าใจในวิถีชีวิต สังคม และวัฒนธรรมของประชาชนแถบนั้นอย่างดีแล้ว ยังช่วยให้มองเห็นประเด็นปัญหา ตลอดจนมีแนวทางการแก้ไขและพัฒนาได้อย่างรวดเร็วและตรงจุด ดังพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ที่ว่า “เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา” นายธนพล จันทรนิมิ ผ่านการปฏิบัติงานในจังหวัดแถบ ภาคอีสานมาหลายจังหวัดในหลายต�ำแหน่ง เริม่ ตัง้ แต่การเป็น ปลัดอ�ำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจ�ำกิ่งอ�ำเภอ 2 แห่ง ในจังหวัด หนองคาย นายอ�ำเภอ 3 แห่ง ในจังหวัดเลย นายอ�ำเภอ 2 แห่ง ในจังหวัดเพชรบูรณ์ และปลัดจังหวัดชัยภูมิ ก่อนจะก้าวขึน้ ด�ำรง ต�ำแหน่ง รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา ในปัจจุบนั ซึง่ ในวันนีท้ า่ นได้ให้เกียรตินติ ยสาร SBL สัมภาษณ์พดู คุยในหลาก หลายประเด็น ดังนี้
GPP โคราช 1 ในอีสาน 11 ในไทย
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดทีใ่ หญ่เป็นอันดับ 2 รองจาก กรุงเทพมหานคร มีประชากรประมาณ 2 ล้านคน และพื้นที่
44
ประมาณ 12.8 ล้านไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 32 อ�ำเภอ 289 ต�ำบล 3,753 หมูบ่ า้ น มีผลิตภัณฑ์มวลรวมเป็นอันดับ 1 ของ ภาคอีสาน และอันดับที่ 11 ของประเทศ (245,248 ล้านบาท) รายได้เฉลี่ยของประชากร 97,963 คน/ปี
จากวิสัยทัศน์สู่ประเด็นยุทธศาสตร์
ภายใต้การบริหารงานของนายวิเชียร จันทรโณทัย ผูว้ า่ ราชการ จั ง หวั ด นครราชสี ม า ได้ ก� ำ หนดวิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการพั ฒ นาสู ่ “โคราชเมืองน่าอยู่ มุง่ สูน่ วัตกรรม และเกษตรอุตสาหกรรม สังคมปลอดภัย” โดยก�ำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ดังนี้
NAKHONRATCHASIMA 45
ประสานภารกิจ โดยการมีส่วนร่วมในทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้ง ภาคราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
1. การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ 2. ยกระดับสังคมให้เป็นเมืองน่าอยูต่ ามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 3. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มี ความสมบูรณ์อย่างยั่งยืน 4. การเสริมสร้างความมั่นคงในทุกมิติ เพื่อปกป้องสถาบัน หลักของชาติ ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ของประเทศ 5. การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
4 กรอบแนวคิดการท�ำงาน
ในการปฏิบัติหน้าที่ของรองผู้ว่าราชการจังหวัด ซึ่งเป็น ผูบ้ งั คับบัญชารองลงมาจากผูว้ า่ ราชการจังหวัด จึงมีหน้าทีใ่ นการ สนับสนุนและช่วยเหลือการปฏิบัตงิ านของผู้ว่าราชการจังหวัด เพือ่ ให้บรรลุตามนโยบายของรัฐบาล และยุทธศาสตร์การพัฒนา อีกทัง้ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในพืน้ ที่ ดังนัน้ ในการปฏิบตั ิ จึงมีกรอบแนวความคิดในการด�ำเนินการ คือ 1. การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Area Function and Participation) โดยใช้แนวความคิดการบูรณาการ การปฏิบตั โิ ดยค�ำนึงถึงปัญหา และศักยภาพของพื้นที่ รวมทั้งประสานภารกิจ (Function) โดย การมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาคราชการ ภาค เอกชน และภาคประชาชนเอง (Participation) 46
2. การสร้างทีมงาน (Team Work) และเครือข่าย (Net Work) เพือ่ ให้เกิดการขับเคลือ่ นและเชือ่ มโยงและครอบคลุมทุกภารกิจ 3. การเป็นผู้ประสานงานและผู้สนับสนุน (Coordinator and Facilitation) 4. การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)
เดินหน้าพัฒนาศักยภาพจังหวัด
เนื่องจากจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ และ การเจริญเติบโตของจังหวัดมีทงั้ ภาคอุตสาหกรรม (30%) ภาค เกษตรกรรม (17%) และภาคอืน่ ๆ ภายใต้การเจริญเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง ปัญหาที่ทางจังหวัดจะต้องเร่งด�ำเนินการแก้ไข เพื่อ สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดไปตามยุทธศาสตร์การ พัฒนา เช่น การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน การสาธารณูปโภค ระบบ โลจิสติกส์ และปัจจัยสิง่ แวดล้อมอืน่ ได้แก่ การจัดการทรัพยากร น�ำ้ ป่าไม้ การใช้ทดี่ นิ ทีเ่ หมาะสม ตลอดจนปัญหาความเดือดร้อน และปัญหาที่ขณะนี้จังหวัดได้เร่งด�ำเนินการแก้ไข เพื่อให้การ ขับเคลือ่ นการพัฒนาจังหวัด เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพบรรลุ ตามเป้าหมาย 1. ปัญหาการจัดการขยะ ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นในแต่ละวัน และปริมาณขยะที่สะสมมานาน
จังหวัดจะต้องเร่งพัฒนาศักยภาพ ของจังหวัด ทั้งด้านการท่องเที่ยว เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และภาคการเกษตร
นายธนพล จันทรนิมิ
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา 2. ปัญหาการใช้ทดี่ นิ ทีไ่ ม่เหมาะสม และการบุกรุกทรัพยากร ป่าไม้ 3. ปัญหาการบริหารจัดการน�ำ้ เพือ่ แก้ไขปัญหาภัยแล้งและ อุทกภัย 4. ปัญหาการจัดการจราจรในเขตเมือง และระบบการขนส่ง เป็นต้น นอกจากนั้นจังหวัดจะต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของจังหวัด ทัง้ ด้านการท่องเทีย่ ว เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และภาคการเกษตร เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องต่อไป
วัน/เดือน/ปี 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2501 ประวัติการศึกษา
1. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
ประวัติรับราชการ
1. พ.ศ.2544 ปลัดอ�ำเภอผู้เป็น หัวหน้าประจ�ำกิ่งอ�ำเภอเฝ้าไร่ จังหวัดหนองคาย 2. พ.ศ.2546 ปลัดอ�ำเภอผู้เป็น หัวหน้าประจ�ำกิ่งอ�ำเภอเอราวัณ จังหวัดหนองคาย 3. พ.ศ.2547 นายอ�ำเภอภูหลวง จังหวัดเลย 4. พ.ศ.2550 นายอ�ำเภอภูเรือ จังหวัดเลย 5. พ.ศ.2554 นายอ�ำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 6. พ.ศ.2555 นายอ�ำเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ 7. พ.ศ.2556 นายอ�ำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ 8. พ.ศ.2557 ปลัดจังหวัดชัยภูมิ 9. พ.ศ.2559 รองผู้ว่าราชการ จังหวัดนครราชสีมา NAKHONRATCHASIMA 47
เส้นทางพบสำ�นักงานพระพุทธศาสนา
ดร.บัญชายุทธ นาคมุจลินท์
ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา “สนองงานคณะสงฆ์ บริการประชาชน พัฒนาและ อนุรักษ์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศทางพระพุทธศาสนา” คือวิสยั ทัศน์ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา ซึง่ ปัจจุบนั มี ดร.บัญชายุทธ นาคมุจลินท์ ด�ำรงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ พศ.จ.นครราชสีมา นิตยสาร SBL ได้รบั เกียรติจากท่าน ให้สมั ภาษณ์ถงึ บทบาท ของพระพุทธศาสนาและพระสงฆ์ในสังคมไทย นโยบาย วิสยั ทัศน์ และภารกิจ ตลอดจนผลการด�ำเนินงานทีภ่ าคภูมใิ จ ดังรายละเอียด ต่อไปนี้
ถ้าสังคมสงบสุข ศาสนาจะรุ่งเรือง
หากกล่าวถึงความเจริญรุง่ เรืองของพระพุทธศาสนาในอดีต แล้วจะตัง้ ข้อสังเกตว่าชีวติ ความเป็นอยูส่ งบสุขกว่า เมือ่ เทียบกับ สังคมปัจจุบัน ผมมีความเห็นกลางๆ ครับ จะว่ายุคสมัยนี้ไม่ดี 48
ก็คงไม่ได้ ผมขอแยกตัวแปรของความเจริญรุง่ เรือง และตัวแปร ของความสงบสุขครับ เมือ่ กล่าวถึงในอดีต ประชากรยังมีไม่มาก สือ่ เทคโนโลยีกบั ความทันสมัย ความเจริญมากด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาการ ต่างๆ ยังไม่มี ประชาชนส่วนใหญ่เดินทางด้วยเท้า ช้าง ม้า เกวียน เป็นพาหนะ แต่พอความเจริญเริ่มมีมา มีเทคโนโลยี มีรถยนต์ มีจกั รยานยนต์ ผูม้ เี งินซือ้ ได้จบั จ่ายก็พอมีความสุขตามสภาวะ เมือ่ ความเจริญกับสังคมยุคใหม่มาด้วยกันคนก็มจี ำ� นวนมากขึน้ ปัญหาการกระทบกระทั่งทางสังคมก็มีมากเป็นไปตามหลัก คณิตศาสตร์ ถามว่าสมัยก่อน มีการลักเล็กขโมยน้อย มีการท�ำ ร้ายร่างกายหรือไม่ ก็ตอ้ งบอกว่ามี แต่มนี อ้ ยตามหลักคณิตศาสตร์ เช่นกัน อยากจะบอกว่าพระสงฆ์มหี น้าทีใ่ นการสอนธรรมะ ปฏิบตั ิ ภาวนา ศึกษาเล่าเรียน สมัยก่อนพระเณรน้อยก็เรียนน้อย สมัยนี้ พระเณรมีมากตามการเพิ่มขึ้นของประชากรก็เรียนมาก แต่สิ่ง
สนองงานคณะสงฆ์ หมายถึง การอ�ำนวยความสะดวก หรือ คอยช่วยอ�ำนวยการสนองงาน ซึง่ ภารกิจของคณะสงฆ์แยกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ภารกิจทีค่ ณะสงฆ์/พระสงฆ์สามารถลงมือท�ำเองได้ตาม พระธรรมวินัย แต่ก็ต้องให้การอ�ำนวยความสะดวก 2. ภารกิจที่คณะสงฆ์/พระสงฆ์ไม่สามารถท�ำเองได้ เพราะ ติดเงื่อนไขทางพระธรรมวินัยและกฎหมายบ้านเมือง จึงมีกฎ นโยบายหลักของ พศ.จ.นครราชสีมา กระทรวงให้ต้องมีเจ้าหน้าที่คอยช่วยอ�ำนวยการสนองงาน สนองงานคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามภารกิจอย่างเต็มประสิทธิภาพ บริการประชาชน หมายถึง เป็นหลักทัว่ ๆ ไป ของงานราชการ ซึง่ เป้าหมายอยูท่ ปี่ ระชาชน วัด ราชการ หรือบวร (บ้าน วัด โรงเรียน) ทีป่ ระชาชนจะต้องเข้ามาติดต่องานกับทางราชการ และเพือ่ ให้ ทั้ง 3 เสาหลักนี้จะทิ้งกันไม่ได้ บ้านมีประชาชน วัดมีเสนาสนะ เกิดความเรียบร้อย รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ส�ำนักงาน มีพระสงฆ์ โดยมีเจ้าหน้าที่ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาคอย พระพุทธศาสนาจังหวัด จึงต้องสร้างความพึงพอใจให้เกิดขึ้น สนองงานอ�ำนวยความสะดวก ให้เป็นไปตามวิสยั ทัศน์ทกี่ ำ� หนด ด้วยการให้บริการประชาชนที่มาติดต่องานมีความสะดวกและ ไว้ รวดเร็ว พัฒนาและอนุรกั ษ์การท่องเทีย่ ว ภารกิจพิชิตวิสัยทัศน์ เชิงนิเวศทางพระพุทธศาสนา หมายถึง จากวิ สั ย ทั ศ น์ ข องส� ำ นั ก งาน การให้ความร่วมมือกับทางวัด ให้มกี าร พระสงฆ์ ก ท ็ ำ � หน้ า ที ข ่ องพระสงฆ์ พระพุทธศาสนาจังหวัดนครราชสีมา จัดการบริเวณวัดให้เกิดความสัปปายะ ให้ เ ข้ ม แข็ ง เพื อ ่ น� ำ หลั ก ธรรมไป ที่ว่า “สนองงานคณะสงฆ์ บริการ ร่มรื่น เหมาะสมกับการปฏิบัติและ ประชาชน พัฒนาและอนุรักษ์การ อบรมสั่งสอนประชาชน ส่วน พักผ่อนด้านความสงบ (กรรมฐาน) ทัง้ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศทางพระพุ ท ธ ประชาชนก็ต้องเข้าวัด ปฏิบัติธรรม ความเพลิดเพลิน (ใจสบายเพราะไร้ อกุศล) ศาสนา” ประกอบด้วยภารกิจส�ำคัญ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ดังนี้ ส�ำคัญคือ เมื่อต้องการให้พระพุทธศาสนาเจริญ ก็ต้องช่วยกัน ศึกษาพระพุทธศาสนา อุปถัมภ์และคุม้ ครอง สืบต่ออายุพระพุทธ ศาสนาไปด้วยกัน พระสงฆ์กท็ ำ� หน้าทีข่ องตนให้เข้มแข็ง เพือ่ น�ำ หลักธรรมไปอบรมสัง่ สอนประชาชน ส่วนประชาชนก็ตอ้ งเข้าวัด ปฏิบตั ธิ รรมในวันว่าง ยึดมัน่ ในหลักศีล 5 อย่างเคร่งครัด สังคม ก็จะสงบสุข ศาสนาก็จะรุ่งเรืองไปพร้อมๆ กัน
NAKHONRATCHASIMA 49
ส�ำนักงานดีเด่น 2 ปีซ้อน
จากความสามัคคีของหมู่คณะ ความร่วมมือของทีมงาน เจ้าหน้าที่ และความรูค้ วามสามารถของทุกคน ท�ำให้เห็นว่าเรา สามารถคว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดส�ำนักงานดีเด่นระดับ ประเทศ ได้ถงึ 2 ปีซอ้ น คือ ปี 2558 และ ปี 2559 ตามตัวชีว้ ดั ที่ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ก�ำหนดบนพื้นฐานของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดนครราชสีมา 4.0 หรือ Smart Office
50
ฝากพี่น้องคนไทย และนักท่องเที่ยว จากต่างชาติ ให้ช่วยกันอนุรักษ์และ ร่วมรักษาสมบัติของบรรพบุรุษ ฝากวัดโบราณไว้ให้ช่วยรักษา
ปัจจุบนั มีวดั ทีเ่ ป็นโบราณสถานหลายแห่ง ซึง่ ได้รบั ผลกระทบ จากความรูเ้ ท่าไม่ถงึ การณ์ของนักท่องเทีย่ ว เรือ่ งนีถ้ อื เป็นเรือ่ ง ส�ำคัญ ทีจ่ ะต้องเกิดจากความร่วมมือในเบือ้ งต้น หมายถึง ชาวบ้าน ชุมชน วัด ต้องให้ความร่วมมือในการติดป้ายแสดงความส�ำคัญ ของโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุโดยการร่วมมือกัน เก็บรักษา ปกป้องไม่ให้สมบัตขิ องชาติเกิดความเสียหาย เพือ่ ทีจ่ ะอนุรกั ษ์ ไว้ให้ชนรุน่ หลังได้ศกึ ษาต่อไป จากนัน้ ก็แนะน�ำให้แจ้งหน่วยงาน ของทางราชการทีเ่ กีย่ วข้อง เข้าไปพิจารณาด�ำเนินการตามความ เหมาะสม ซึ่งก็ต้องฝากพี่น้องคนไทย และนักท่องเที่ยวจาก ต่างชาติ ให้ช่วยกันอนุรักษ์และร่วมรักษาสมบัติของบรรพบุรุษ ที่ได้ก่อสร้างขึ้น แม้วา่ จะทรุดโทรมบ้าง ก็เป็นไปตามกาลเวลา เพื่อให้เป็นประโยชน์ในการศึกษาของคนรุ่นใหม่ต่อไป NAKHONRATCHASIMA 51
เส้นทางพบผู้พิทักษ์สันติราษฎร์
พล.ต.ต.ลือชัย สุดยอด รองผู้บัญชาการต�ำรวจภูธรภาค 3
ในยุคทีม่ ขี า่ วคราวเกีย่ วกับข้าราชการ ต�ำรวจบางคนมีความประพฤติไม่เหมาะสม จนท�ำให้ใครหลายๆ คนมักตั้งค�ำถาม ว่า “ต�ำรวจมีไว้เพื่ออะไร” นิ ต ยสาร SBL มี โ อกาสรู ้ จั ก กั บ นายต�ำรวจชัน้ ผูใ้ หญ่ทา่ นหนึง่ ซึง่ มีประวัติ ส่วนตัวและมีแนวคิดเกี่ยวกับการเป็น ผูพ้ ทิ กั ษ์สนั ติราษฎร์ทนี่ า่ สนใจ อีกทัง้ ในขณะ ทีท่ า่ นปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นหน่วยอรินทราช 26 ท่านก็มีความเชี่ยวชาญในการเจรจาต่อ รองกับผู้ก่อเหตุที่วิกลจริตหรือคลุ้มคลั่ง จับเด็กหรือผูห้ ญิงเป็นตัวประกัน หรือเจรจา กับผู้ก่อเหตุจะฆ่าตัวตายให้ล้มเลิกได้ สามารถช่วยชีวติ ผูท้ ตี่ กอยูใ่ นอันตรายให้ ปลอดภัยได้มากกว่า 20 คดี ท่านผูน้ นั้ จะ เป็นใครไปไม่ได้นอกจาก พล.ต.ต.ลือชัย สุดยอด รองผู้บัญชาการต�ำรวจภูธร ภาค 3 (จังหวัดนครราชสีมา) ด้านการศึกษา-อบรม ท่านส�ำเร็จการ ศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ (นรต. รุ่นที่ 33 ปี พ.ศ.2519) และเคยไปศึกษา อบรมยังต่างประเทศหลายครัง้ อาทิ การ ฝึกอบรม S.W.A.T ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ.2528 การฝึกอบรมการต่อต้านการ ก่อการร้าย จากหน่วยตระเวนชายแดน ณ ประเทศเยอรมนี พ.ศ.2528 และการฝึก อบรม COMMANDO ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ.2534 ด้านการปฏิบัติงาน ท่านรับราชการ ครัง้ แรกทีส่ ถานีตำ� รวจนครบาลพระโขนง ต่อมาได้เป็นผูบ้ งั คับหมวดกองก�ำกับการ ป้องกันและปราบปรามจลาจล (กก.ปจ.) จนกระทั่งได้ขึ้นเป็น ผกก.ปจ. จึงย้ายไป เป็น รอง ผบก.สปพ. (สายตรวจปฏิบตั กิ าร พิเศษ (191)), หัวหน้าส�ำนักงาน ผูบ้ ญ ั ชาการ ต�ำรวจนครบาล, หัวหน้าส�ำนักงาน ผูบ้ ญ ั ชาการ ต�ำรวจภูธรภาค 4 (จังหวัดขอนแก่น), 52
รอง ผบก.น.4 กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล, ผูบ้ งั คับการอารักขา และควบคุมฝูงชน กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล และล่าสุดใน ปี พ.ศ.2558 ท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นรองผู้บัญชาการต�ำรวจ ภูธรภาค 3 ซึ่งดูแลพื้นที่ 8 จังหวัดในภาคอีสานตอนล่าง ได้แก่ นครราชสีมา ชัยภูมิ อุบลราชธานี บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร และอ�ำนาจเจริญ
เส้นทางชีวิตท่านรอง ผบช.ภ.3
ผมเกิดทีจ่ งั หวัดเพชรบุรี มีพนี่ อ้ ง 4 คน ผมเป็นคนที่ 3 ชีวติ วัยเด็กก็ตอ่ สูช้ วี ติ มาพอสมควร เพราะบิดาเสียชีวติ ตอนผม อายุ 13 ปี แม่กเ็ ป็นแม่บา้ นท�ำไร่ทำ� นาอยูแ่ ถวอ�ำเภอเขาย้อย พอขาดเสาหลักไป ยุ่งละสิ จะเอาเงินที่ไหนกิน ใช้ เอาเงิน ทีไ่ หนไปโรงเรียน ก็ได้ขา้ วสารทีบ่ า้ นตาประทังชีวติ อยูห่ ลายปี จากนั้นก็ไปอยู่กับน้าสาว-น้าชายที่กรุงเทพฯ บ้าง บังเอิญเป็น โชคดีของครอบครัว ทีพ่ ชี่ ายผมคนโตมาสอบเข้าโรงเรียนนายร้อย ต�ำรวจ ได้เป็น นรต.รุ่นที่ 32 ส่วนผมสอบได้รุ่นที่ 33 สมัยนัน้ ผมยังไม่คดิ อยากจะเป็นต�ำรวจ เพราะอยากจะเรียน เกษตรมากกว่า แต่ 4 ปีในโรงเรียนนายร้อยต�ำรวจ ครูบาอาจารย์ และรุ่นพี่ๆ ก็สั่งสอนจนเกิดความซึมลึกในความเป็นต�ำรวจว่า เรามีหน้าทีอ่ ะไร ตอนอยู่ สน.พระโขนง ท�ำหน้าทีเ่ ป็นพนักงาน สอบสวน แล้วเปลี่ยนมาอยู่ด้านปราบปรามและสืบสวน ท�ำให้ ได้พบปะกับประชาชนทีม่ าแจ้งความมากมาย ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง ฆ่ากันตาย ท�ำร้ายร่างกาย คดีทางเพศ คดีเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ลัก วิ่ง ชิง ปล้น คดียาเสพติด เป็นต้น ซึ่งเป็นความเดือนร้อนของ ประชาชนทัง้ สิน้ ส่วนใหญ่ผมก็ไปติดตามจับมาหมด ท�ำให้เกิด แรงจูงใจในความเป็นต�ำรวจมากขึ้น ตอนมาอยูห่ น่วยอรินทราช 26 ผมได้ทำ� หน้าทีเ่ จรจาต่อรอง กับคนคลุม้ คลัง่ ทีจ่ บั เด็กหรือผูห้ ญิงเป็นตัวประกัน แต่กส็ ามารถ เจรจาได้สำ� เร็จทุกเรื่อง ได้ช่วยคนที่จะฆ่าตัวตายให้รอดชีวิตได้ ทั้งสิ้น เป็นการท�ำงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในชีวิตของ ประชาชนโดยตรง เราท�ำหน้าที่ด้วยแรงบันดาลใจ ด้วยจิตวิญญาณของ ความเป็นต�ำรวจ ประชาชนก็ชื่นชมพวกเรา ตรงนี้ต่างหาก
คือความสุข จนกระทัง่ ทุกวันนีแ้ ม้จะอยูใ่ นช่วงบัน้ ปลายชีวติ แต่แรงจูงใจและแรงบันดาลใจไม่เคยลดน้อยลง แล้วผมไม่เคย คิดว่าจะได้มาเป็นรองผูบ้ ญ ั ชาการต�ำรวจภูธรภาค 3 แต่คงเป็น เพราะเราปฏิบัติตัวให้อยู่ในระเบียบวินัย เป็นแบบอย่างที่ดีให้ กับเพือ่ นร่วมงาน มีความรับผิดชอบในหน้าที่ ไม่วา่ ต่อหน้าและ ลับหลัง และส่วนตัวผมเป็นคนรักความยุติธรรม ตรงไปตรงมา เป็นตัวของตัวเอง และเห็นแก่ประโยชน์สว่ นรวมเป็นเรือ่ งส�ำคัญ
“มั่นคง ปลอดภัย อบอุ่นใจ ก้าวไกลสู่สากล”
ผมมีความมัน่ ใจว่า ต�ำรวจภูธรภาค 3 ทุกนาย ได้ทำ� วิสยั ทัศน์ ของต�ำรวจภูธรภาค 3 ทีว่ า่ “มัน่ คง ปลอดภัย อบอุน่ ใจ ก้าวไกล สูส่ ากล” ครบสมบูรณ์แบบ เพราะเท่าทีผ่ มได้สมั ผัสกับต�ำรวจทัง้ 8 จังหวัด ตั้งแต่ผู้บังคับบัญชาลงไปถึงระดับล่าง ทุกคนท�ำงาน มากและจริงจัง ทั้งกลางวันและกลางคืน ดึกจนถึงเช้า ทุกวันนี้ คดีสว่ นใหญ่ลดลง และคดีทเี่ กิดขึน้ เราก็ตดิ ตามจับกุมคนร้ายได้ 90% ขึ้นไป โดยเฉพาะคดีทำ� ร้ายร่างกาย ข่มขืนกระท�ำช�ำเรา ลวนลามทางเพศ ฯลฯ เชือ่ ได้เลยว่า ประชาชนส่วนใหญ่มคี วาม ‘มั่นคง ปลอดภัย’ ในชีวิตทรัพย์สินในระดับที่น่าพอใจ อาจมี มิจฉาชีพที่หลงเหลืออยู่ เราก็พยายามติดตามจับกุม ในเรื่องการสร้างความ ‘อบอุ่นใจ’ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้ ประชาชนยอมรับนั้น ผบ.ตร.ได้ก�ำหนดแนวทางการยกระดับ การบริการประชาชนให้ดกี ว่าเดิม โดยชาวบ้านทีม่ าแจ้งความจะ ต้องได้รบั การต้อนรับด้วยความอบอุน่ ใจ ยิม้ แย้ม แจ่มใส รวดเร็ว
NAKHONRATCHASIMA 53
1. ปกป้องเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. ความมั่นคงของประเทศ 3. การป้องกันปราบปรามอาชญากรรม 4. การปราบปรามยาเสพติดในทุกมิติ 5. การปรับปรุง พัฒนา สถานีต�ำรวจให้ดียิ่งขึ้น ในยุคเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 6. สร้างความสามัคคี และบ�ำรุงขวัญข้าราชการต�ำรวจ ทันใจ ท่าทีเป็นมิตรต่อประชาชน กิริยา วาจา สุภาพ อ่อนโยน ในการให้บริการประชาชน ให้เกียรติประชาชน ในส่วนของ ‘การก้าวไกลสู่สากล’ เราได้เปิดศูนย์อาเซียน ต�ำรวจภูธรภาค 3 ด้วยความเรียบร้อย สมบูรณ์แบบ มีประโยชน์ ในศูนย์ฯ เรามีข้อมูลนักท่องเที่ยวในพื้นที่ ชาวต่างชาติที่มาท�ำ ธุรกิจในพืน้ ที่ รวมถึงชาวต่างชาติทมี่ ภี รรยา หรือสามีเป็นคนไทย ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการป้องกันอาชญากรรม สิ่งต่างๆ ที่เราต้องเฝ้าระวัง การดูแลไม่ให้เกิดเหตุร้ายต่อชาวต่างชาติ ถือได้วา่ ต�ำรวจภูธรภาค 3 ปฏิบตั ไิ ด้ดี ผมได้มโี อกาสพบปะชาว ต่างชาติ ได้พดู คุย สอบถาม ได้รบั ค�ำตอบไปในทางทีด่ ี ถือเป็น ความภาคภูมิใจของเราครับ
แนวปฏิบัติ 6 ข้อของต�ำรวจทั้งประเทศ
เรื่องของการปราบปรามอาชญากรรมต่างๆ เรื่องของ สถานบริการทีผ่ ดิ กฎหมาย บ่อนการพนัน ยาเสพติด เป็นนโยบาย ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติอยู่แล้ว “ท่านนายกรัฐมนตรี ท่านรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ)” ก็มกี าร สั่งการลงมาเป็นระยะๆ ซึ่งพวกเราเองก็มีการปฏิบัติตาม และ ถือปฏิบตั ติ ามค�ำสัง่ ผูบ้ งคับบัญชาอยูต่ ลอด ส่วนการท�ำงานเพือ่ สนองนโยบายของรัฐบาล ประการส�ำคัญก็คอื เรือ่ งของการปกป้อง เทิดทูน จงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ เพราะเป็นหลักของ ประเทศ ทุกคนก็ได้ตอบสนองตรงนีต้ งั้ แต่ในอดีตจนถึงปัจจุบนั โดยท่าน ผบ.ตร. ได้นำ� นโยบายมาเป็นแนวทางให้กบั ต�ำรวจทัง้ ประเทศปฏิบัติอยู่ 6 ข้อ ได้แก่
54
ประชาชนคือรั้วป้องกันอาชญากรรม
แม้วา่ ส่วนใหญ่ผมจะอยูใ่ นนครบาล แต่เมือ่ ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้บัญชาการต�ำรวจภูธรภาค 3 ก็พบว่ามี ความแตกต่างกัน ในต่างจังหวัดมีความร่วมมือร่วมใจกันใกล้ชดิ กว่า มีการพบปะกันระหว่างหัวหน้าของหน่วยงาน ทัง้ ผูว้ า่ ฯ ศาล ทหาร ต�ำรวจ พบปะหารือข้อราชการ วิธปี ฏิบตั ริ าชการร่วมกัน ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรัฐบาล มีปัญหางานที่เกี่ยวข้อง กับหน่วยงานใด ก็ฝากไปแก้ การปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธิ์เพื่อ ประชาชนในพื้นที่ ที่ส�ำคัญความร่วมมือร่วมใจจากประชาชน ก็มมี าก เมือ่ หัวหน้าส่วนราชการต่างๆ รวมถึงประชาชนมีความ ร่วมมือร่วมใจ พร้อมใจกัน ผลการปฏิบตั ติ ามนโยบายต่างๆ ย่อม มีผลในทางที่ดี ประสบผลตามนโยบาย ส่งผลต่อประชาชนใน พื้นที่โดยแท้ เรื่องนี้ชาวโคราชสัมผัสได้ด้วยตัวเองอยู่แล้วครับ ซึง่ แนวทางการปฏิบตั งิ านของแต่ละต�ำรวจภูธรจังหวัด และ สถานีตำ� รวจภูธร จะมีคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการ บริหารงานต�ำรวจ ซึง่ เรียกย่อๆ ว่า “กต.ตร.” ซึง่ จะประกอบด้วย ข้าราชการต�ำรวจ ผู้แทนหน่วยงานรัฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านต่างๆ และมีผแู้ ทนของประชาชนในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ เข้ามาเป็นคณะกรรมการฯ ด้วย ในส่วนของการป้องกันอาชญากรรม ผมเห็นด้วยว่า “ไม่มี รัว้ ก�ำแพงใด จะป้องกันอาชญากรรมได้ดเี ท่ารัว้ ก�ำแพงแห่ง ความร่วมมือของชุมชน และเครือ่ งมือป้องกันอาชญากรรม ทีด่ ที สี่ ดุ คือ คนในชุมชน” ต�ำรวจและประชาชนต้องสร้างและ รักษาความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ต�ำรวจก็คือประชาชน ที่เป็น สมาชิกในสังคมโดยท�ำหน้าทีร่ กั ษาความสงบสุขของสังคมรัฐ
ผลงานที่ภาคภูมิใจของต�ำรวจภูธรภาค 3
การที่ต�ำรวจภูธรภาค 3 ได้ปฏิบัติงานถวายความปลอดภัย แด่พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ที่เสด็จฯ มาปฏิบัติภารกิจ ในพืน้ ที่ อย่างเต็มความสามารถและสมพระเกียรติ รวมถึงต�ำหนัก ทิพย์พมิ าน อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ซึง่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประทับอยู่ นับเป็น ความภาคภูมิใจสูงสุดของ กองบัญชาการต�ำรวจภูธร ภาค 3 และการที่พวกเราได้ร่วมงานพระบรมศพ ร.9 ที่พระที่นั่งดุสติ มหาปราสาท และการทีข่ า้ ราชการต�ำรวจของ 8 จังหวัดใน สังกัดต�ำรวจภูธรภาค 3 ทุกคน ได้รว่ มงานพระบรมศพ โดยร่วม กับจังหวัดในการจัดพิธกี ารต่างๆ ก็นบั เป็นความภาคภูมใิ จสูงสุด ในส่ ว นของตั ว ผมเอง รู ้ สึ ก ภู มิ ใจที่ ไ ด้ มี ส ่ ว นในการ อ�ำนวยการ สัง่ การ ให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจติดตามจับกุม ผูต้ อ้ งหา ในคดีคา้ งเก่าทีส่ �ำคัญๆ มาด�ำเนินคดีตามกฎหมาย บางคดี ผู้ต้องหาหลบหนีไปถึง 19 ปี คดีใกล้ขาดอายุความ ผมได้ สัง่ การให้ตดิ ตามจับกุมตัวมาด�ำเนินคดีตามกฎหมาย เพราะ ผมถือว่าการติดตามจับกุมผูก้ ระท�ำผิดนัน้ เป็นการคืนความ ยุติธรรมให้แก่ผู้เสียหายครับ
อีกประการหนึง่ ทีผ่ มภาคภูมใิ จมากคือ การทีผ่ ใู้ ต้บงั คับบัญชา ปฏิบตั งิ านในหน้าทีใ่ นทุกสายงาน อย่างเต็มความสามารถ ด้วย ความเสียสละ แม้จะมีอุปสรรคปัญหา หรือข้อขัดข้องต่างๆ ข้าราชการต�ำรวจในสังกัดต�ำรวจภูธรภาค 3 มีระเบียบวินยั มีความรับผิดชอบ ขยันขันแข็ง ผมเป็นคนนอนดึกอยู่แล้ว ตีสอง ตีสาม ลงไปตรวจ ก็เห็นต�ำรวจยังท�ำงานกันหามรุ่ง หามค�่ำ หรือเวลาที่เราจับคดีสำ� คัญเข้ามา เช่นยาเสพติด เราก็ ตามจับทีภ่ เู ก็ต นครสวรรค์ เชียงใหม่ เพราะถ้าเราไม่ท�ำงานจะ ตามจับได้อย่างไร ซึ่งตัววัดผลที่ดีคือ ผลการจับกุมของต�ำรวจ ภูธรภาค 3 อยูใ่ นระดับที่ 1-3 ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติมา โดยตลอด และการได้ไปตรวจเยีย่ มผูใ้ ต้บงั คับบัญชาทีอ่ ยูไ่ กลจาก ตัวเมือง ซึง่ มีชวี ติ ค่อนข้างยากล�ำบาก ผมก็มโี อกาสได้สนับสนุน อุปกรณ์ สิง่ ของช่วยเหลือให้ขา้ ราชการต�ำรวจ ผมถือเป็นความ ภาคภูมิใจที่ได้กระท�ำ
จากใจ รอง ผบช.ภ.3
ตามที่ได้กล่าวไว้ว่า “ไม่มีรั้วก�ำแพงใด ป้องกัน อาชญากรรมได้ดีเท่ารั้วก�ำแพงแห่งความร่วมมือ ของชุมชน และเครือ่ งมือป้องกันอาชญากรรมทีด่ ที สี่ ดุ คือ คนในชุมชน” ผมอยากจะให้คนในพื้นที่เข้ามามี ส่วนร่วมสนับสนุนการปฏิบตั งิ าน เช่น ช่วยดูแลสัง่ สอน บุตรหลานให้มีความประพฤติทเี่ หมาะสม ช่วยแจ้งเหตุ แจ้งเบาะแสไม่ว่าจะเป็นเรื่องยาเสพติด หรือปัญหา อาชญากรรม และขอให้ทกุ ท่านเคารพกฎหมายในทุกๆ เรื่อง สังคมจะดีขึ้น ที่สำ� คัญอีกประการหนึ่งคือ เมื่อ พบต�ำรวจทีป่ ระพฤติ ปฏิบตั ไิ ม่ดี กระท�ำผิดกฎหมาย โปรดอย่านิง่ เฉย ให้แจ้งผูบ้ งั คับบัญชาในทางลับ เรา จะด�ำเนินการเอาคนที่ประพฤติ ปฏิบัติไม่ดีออกไป ทุกองค์กร ทุกหน่วยงาน ต้องการให้มคี นดีในหน่วย งาน ครับ และผมอยากจะฝากไปถึงเพือ่ นต�ำรวจทุกคนว่า เมือ่ เราสมัครใจมาเป็นต�ำรวจแล้ว ในการปฏิบตั งิ าน ให้พวก เราระลึกถึงพระราชด�ำรัสของในหลวงรัชกาลที่ 9 และ รัชกาลที่ 10 ที่ให้กับพวกเราเป็นประการส�ำคัญ ขอให้ ท�ำหน้าทีข่ องเราให้เต็มก�ำลัง เต็มความสามารถ โดยไม่ ต้องไปคิดว่าเราจะได้อะไรจากการปฏิบัติหน้าที่ ความ ภาคภูมิใจเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ค�ำชื่นชมจากประชาชน ท�ำให้เราหายเหนื่อย คนที่มองต�ำรวจเป็นภาพลบย่อม มีอยูบ่ า้ งในสังคม อุดมคติตำ� รวจทีพ่ วกเราท่องกันอยูท่ กุ วันนั่นแหละเป็นสิ่งส�ำคัญ ขอให้พวกเราท�ำตามนั้น พล.ต.ต.ลือชัย สุดยอด รองผู้บัญชาการต�ำรวจ ภูธรภาค 3 คืออีกหนึง่ ผูพ ้ ทิ กั ษ์สนั ติราษฎร์ ทีไ่ ด้สร้าง ความอุน่ ใจให้ชาวโคราช และประชาชนในพืน้ ทีภ่ าค อีสานตอนล่างอีก 7 จังหวัด เกิดความเชื่อมั่นว่า... ต�ำรวจยังเป็นที่พึ่งให้กับประชาชนได้เสมอ NAKHONRATCHASIMA 55
โรงเรียนบ้านขุยวิทยา “องค์กรที่จัดการศึกษา ให้ผู้เรียนมีคุณธรรม น�ำความรู้ภายใต้วัฒนธรรมอันดีงาม แหล่งการ เรียนรู้ เทคโนโลยี ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา บริหารจัดการสู่คุณภาพมาตรฐานการศึกษา” คือวิสัยทัศน์ (VISION) ของโรงเรียนบ้านขุยวิทยา หมู่ที่ 5 บ้านโนนชุมพวง ถนนชุมพวง-ทางพาด ต�ำบลขุย อ�ำเภอล�ำทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 7 โทรศัพท์ 09-7151-8981 ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ bkw222@hotmail.com
นายบุณยสิทธิ์ แสงทอง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านขุยวิทยา
ประวัติโรงเรียนบ้านขุยวิทยา
โรงเรียนบ้านขุยวิทยา เดิมชือ่ โรงเรียนประชาบาลต�ำบลขุย ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2472 โดยอาศัยศาลาวัดเป็นสถานที่เรียน ต่อมา วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546 ทางโรงเรียนได้ดำ� เนินการขอเปลีย่ น ชื่อโรงเรียนจากส�ำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา เป็น “โรงเรียนบ้านขุยวิทยา” ปัจจุบันมี นายบุณยสิทธิ์ แสงทอง เป็น ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน
ข้อมูลทั่วไป
โรงเรียนบ้านขุยวิทยา เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีนกั เรียนจ�ำนวน 216 คน บุคลากรครู จ�ำนวน 16 คน
โรงเรียนบ้านขุยวิทยา หมู่ที่ 5 บ้านโนนชุมพวง ถนนชุมพวง-ทางพาด ต�ำบลขุย อ�ำเภอล�ำทะเมนชัย จังหวัดนครราชสีมา
กิจกรรมเด่นของโรงเรียนบ้านขุยวิทยา
โรงเรียนบ้านขุยวิทยา พัฒนาสถานศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ ด้านคุณธรรม จริยธรรม โดยใช้รปู แบบการบริหารจัดการแบบ KHUI Model ซึ่งประกอบด้วย K : Knowledge Creation หมายถึง การสร้าง องค์ความรู้ โดยให้ความส�ำคัญในการเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรที่สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม เปิดโอกาสให้ ผูเ้ รียนเป็นผูแ้ สดงความรูแ้ ละสร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง แสวงหา ความรูเ้ พิม่ เชือ่ มโยงกับความรูเ้ ดิมผนวกกับความรูใ้ หม่ จน สร้างสรรค์เกิดเป็นองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ใหม่ พร้อม ทัง้ ฝึกให้ผเู้ รียนมีทกั ษะทางสังคมทีด่ ไี ด้รว่ มแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน H : Habitual Moral หมายถึง การสร้างนิสัย คุณธรรม คุณธรรม คือ ความดีงามในจิตใจทีท่ ำ� ให้บคุ คลประพฤติดี ผูม้ คี ณ ุ ธรรมเป็นผูม้ คี วามเคยชินในการประพฤติดดี ว้ ยความ รู้สึกในทางดีงาม U : Using Practices หมายถึง การใช้วธ ิ ฝี กึ ปฏิบตั ิ ค�ำว่า “ฝึก” หรือปฏิบตั ิ (Practice) คือการปฏิบตั จิ ริงใน สิ่งที่เรียนมา เพื่อลงมือกระท�ำจริงและเป็นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การฝึกให้นักเรียนได้ ปฏิบตั จิ ากองค์ความรูท้ ไี่ ด้รบั ควบคูก่ บั คุณธรรม จนเกิดเป็น นิสัย I : Intelligence Excellence หมายถึง การเป็นเลิศ ทางปัญญา การเป็นเลิศด้านคุณธรรม จริยธรรม เกิดจากการด�ำเนินการ ตัง้ แต่ K H U และ I โดยโรงเรียนได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติ หลายด้าน
ผลงานที่ภูมิ ใจ
1. โล่เชิดชูเกียรติ พร้อมเงินสนับสนุน จ�ำนวน 100,000 บาท โครงการประกวดโรงเรียนดีเด่นด้านคุณธรรม จริยธรรมของ ธนาคารออมสิน ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปี 2558 2. รับโล่เชิดชูเกียรติ เสมา ป.ป.ส. ปีการศึกษา 2557 โครงการ สถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข จากกระทรวง ศึกษาธิการ 3. โล่รางวัล พร้อมเงินสนับสนุนโครงการ จ�ำนวน 10,000 บาท โรงเรียนวิถีพุทธชั้นน�ำ รุ่นที่ 4 ปี 2556 จากมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 4. เกียรติบตั รสถานศึกษาพอเพียงศูนย์การเรียนรูต้ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 5. รับโล่โรงเรียนดีศรีต�ำบล ปี 2556 6. ได้รับตราพระราชทาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ปีการศึกษา 2556-2558 จากมูลนิธสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี 7. เกียรติบตั ร โครงการหนึง่ โรงเรียนหนึง่ นวัตกรรม เรือ่ ง การพัฒนา สถานศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ โดยใช้รปู แบบการบริหาร แบบ KHUI Model จากคุรุสภา ประจ�ำปี 2557
สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 โทรศัพท์ 09-7151-8981 อีเมล bkw222@hotmail.com
โรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา “โรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา มุง่ พัฒนาการเรียนรู้ คูค ่ ณ ุ ธรรม
น�ำวิชาการ สืบสานวัฒนธรรมไทย ก้าวไกลเทคโนโลยี มีสน ุ ทรียภาพ มุง่ สูม ่ าตรฐานสากล น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
คือวิสัยทัศน์ของโรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา (Anubanchumphuangwittaya School) สังกัด สพป.นครราชสีมา เขต 7 ปัจจุบันมี นายศิวัช กมล ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียน อนุบาลชุมพวงวิทยา โรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2502 ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 บ้านชุมพวง ต�ำบลชุมพวง อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา โทรศัพท์ 0-4447-7383 โทรสาร 0-4447-7383 โดยเปิดสอนตัง้ แต่ระดับชัน้ อนุบาล-มัธยมศึกษาตอนต้น มีหอ้ งเรียน รวมจ�ำนวน 23 ห้องเรียน นักเรียนรวมจ�ำนวน 619 คน บุคลากรครูรวมจ�ำนวน 29 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2559)
นายศิวช ั กมล ผูอ ้ ำ� นวยการโรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา
อัตลักษณ์ : เน้นคุณธรรม น�ำวิชาการ สืบสานวัฒนธรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เอกลักษณ์ : ก้าวไกลเทคโนโลยี ปรัชญาประจ�ำโรงเรียน : ปญฺญา โลกสมฺมิ ปชฺโชโต ความหมาย ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก ค�ำขวัญประจ�ำโรงเรียน : สามัคคี มีวิชา กีฬาเด่น เน้นวินัย อักษรชื่อย่อโรงเรียน : อ.ช.ว. สีประจ�ำโรงเรียน : เขียว-เหลือง
21 กิจกรรมยกระดับการเรียนรู้ โรงเรียนอนุบาลชุมพวงวิทยา มีแนวการพัฒนาเพือ่ ยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดังนี้ 1. กิจกรรมเสริมนอกหลักสูตร 2. ท่องค�ำศัพท์ก่อนดื่มนม ท่องสูตรคูณ ท่องอาขยาน 3. ภาษาไทยวันละค�ำ ภาษาอังกฤษวันละค�ำ เขียนตามค�ำบอก คิดเลขเร็ว 4. กิจกรรมวันส�ำคัญ วันภาษาไทย 5. การจัดนิทรรศการทางวิชาการ Open House 6. ค่ายวิชาการ ค่ายปฏิบัติธรรม 7. การศึกษาแหล่งเรียนรู้ 8. กิจกรรมรักการอ่าน ส่งเสริมการอ่าน วางทุกงานอ่านทุกคน อ่านออกเขียนได้ 100% 9. ห้องสมุดโคจร ห้องสมุดมีชีวิต การให้บริการอินเทอร์เน็ต 11. สอบซ่อมเสริม พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน กวดวิชาติวเข้ม เพื่อการเรียนรู้ สอบก่อนการสอน (Pre-Test) สอบหลังการสอน (Post-Test) 10. แข่งทักษะทางวิชาการ 12. กิจกรรมสร้างสื่อด้วยมือเรา (นักเรียน) 13. นักเรียนพบพานความรู้อยู่เสมอ 14. กิจกรรมสนทนาภาษาอังกฤษ 15. การด�ำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 16. กิจกรรมโฮมรูม บริการแนะแนว การศึกษาเด็กรายกรณี การจัดหาทุนให้นักเรียน 17. กิจกรรมสรุปบทเรียน ผังความคิด 18. คลินิกภาษาไทย คลินิกภาษาอังกฤษ คลินิกคณิต / วิทย์ 19. สัญญาใจ ข้อตกลงชั้นเรียน 20. ค�ำใหม่ในบทเรียน ค�ำพื้นฐาน บันทึกความดี บันทึกการอ่าน 21. เสียงตามสาย นั่งสมาธิ เรียนรู้จากครูพระ กิจกรรม สภานักเรียน
ผลงานที่ประสบความส�ำเร็จ 1. แชมป์การแข่งขันหุ่นยนต์บังคับและหุ่นยนต์วา่ ยน�้ำ ที่ประเทศจีน ปี 2011 2. ชนะเลิศระดับประเทศศาสตร์คณิตในชีวิตประจ�ำวัน ระดับมัธยมต้น 3. ชนะเลิศคอมพิวเตอร์เพนท์ ระดับ ป.1-ป.3 ระดับประเทศ
โรงเรียนบ้านตะบอง “เจริญราษฎร์อุทิศ”
“วิชาการดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม น�ำประชาธิปไตย ชุมชนร่วมสร้างสรรค์ สืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น” คื อ ค� ำ ขวั ญ ของโรงเรี ย นบ้ า นตะบอง “เจริญราษฎร์อทุ ศิ ” ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 3 ต�ำบลโบสถ์ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 30110 โทรศัพท์ 0-4448-2634 โดยเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ ซึง่ เปิดท�ำการสอน 3 ระดับ คือ ระดับก่อนประถม ศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ปัจจุบนั มีนกั เรียนจ�ำนวน 422 คน และ มีขา้ ราชการครู-บุคลากรทางการศึกษา 27 คน
ประวัติโรงเรียนบ้านตะบอง
โรงเรียนบ้านตะบอง “เจริญราษฎร์อทุ ศิ ” จัดตัง้ และเปิดท�ำการสอนระดับชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 1-4 เมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ.2477 นับ รวมถึงปีการศึกษา 2559 เป็นเวลา 82 ปี เดิม เป็นสาขาของโรงเรียนบ้านพุทราซึ่งเปิดสอน ทีว่ ดั บ้านตะบอง ปี พ.ศ.2481 ย้ายจากวัดบ้าน ตะบองมาอยู่ศาลาวัดโบสถ์ ซึ่งเป็นวัดร้างมี พื้นที่ 9 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา และเป็นที่ตั้ง ของโรงเรียนจวบจนปัจจุบัน
วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านตะบอง “เจริญราษฎร์อทุ ศิ ” จัดการศึกษาอย่างมีสว่ นร่วม มุง่ พัฒนาครู และ ผูเ้ รียนให้มคี ณ ุ ธรรม จริยธรรม รักความเป็นไทย
ใฝ่เรียนรู้ มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี ดี เก่ง มีความสุข ปฏิบตั ติ ามวิถปี ระชาธิปไตย และตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่เกีย่ วข้องกับ สิง่ เสพติด อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม สืบสานวัฒนธรรม ไทย ส่งเสริมภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ จัดสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และสมรรถนะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ : รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์, ซื่อสัตย์ สุจริต, มีวินัย, ใฝ่เรียนรู้, อยู่ อย่างพอเพียง, มุ่งมั่นในการท�ำงาน, รักความ เป็นไทย ภูมิใจในท้องถิ่น, มีจิตสาธารณะ เอกลักษณ์ : โรงเรียนส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ : คุณธรรมน�ำชีวติ สูเ่ ศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญา/สุภาษิต : สุวชิ าโน ภวํ โหตุ ความหมาย ผู้มีความรู้ในทางดีเป็นผู้เจริญ
ห้องสมุด ประจ�ำปีการศึกษา 2559 3. ผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-Net สูงกว่าระดับประเทศ 4. นักเรียนเป็นตัวแทนส�ำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 ใน การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 66 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ จังหวัด หนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จ�ำนวน 2 รายการ คือ เหรียญทอง การแข่งขันขับร้องเพลงไทย ลูกทุ่งหญิง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เหรียญเงิน การแข่งขันกวีเยาวชนคน รุน่ ใหม่ กลอนสี่ (4 บท) ระดับชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 4-6 5. รางวัลผู้บริหารสถานศึกษาดีเด่น และครู ผลงานและความภาคภูมิใจในปี ผูส้ อนดีเด่น เนือ่ งในงานวันครูประจ�ำปี 2560 6. รางวัลแม่พมิ พ์สร้างชาติ สร้างสรรค์ความดี ที่ผ่านมา 1. ได้รบั ตราพระราชทาน “บ้านนักวิทยาศาสตร์ เพื่อศักดิ์ศรีครูไทย น้อย ประเทศไทย” ประจ�ำปี 2559 ซึ่งเป็น 7. รางวัลครูไทยในฝัน โครงการในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ โครงการเด่นในโรงเรียน สยามบรมราชกุมารี โครงการคุ ณ ธรรมน� ำ ชี วิ ต สู ่ เ ศรษฐกิ จ 2. ได้รบั รางวัลเหรียญทองรองชนะเลิศอันดับ 1 ห้องสมุดส่งเสริมการอ่าน ประเภท โรงเรียน พอเพียง, โครงการโรงเรียนวิถพี ทุ ธ, โครงการ ขยายโอกาส จากการประกวด Best Practice ห้องสมุดส่งเสริมการอ่าน และโครงการบ้าน กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนา นักวิทยาศาสตร์น้อย
โรงเรียนพิมายด�ำรงวิทยาคม
โรงเรี ย นพิ ม ายด� ำ รงวิ ท ยาคม เป็ น โรงเรี ย นมั ธ ยมประจ� ำ ต� ำ บลขนาดกลาง สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดท�ำการ สอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ และจัดหลักสูตรเพิ่ม เติมตามโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล World-Class Standard School และหลักสูตร ท้องถิ่น ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพุทรา หมูท่ ี่ 14 ต�ำบลรังกาใหญ่ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2519 โดยได้รับการ บริจาคทีด่ นิ จาก นายพรม กาพย์พมิ าย และ นายหวล ควบพิมาย รวมทัง้ สิน้ 40 ไร่ 1 งาน 10 และยังได้รบั การอนุเคราะห์จากประชาชน ชาวต�ำบลรังกาใหญ่และต�ำบลใกล้เคียงบริจาค เงิน วัสดุ และร่วมแรงร่วมใจกันก่อสร้างอาคาร เรียนชัว่ คราวให้โรงเรียนจ�ำนวน 2 หลัง เพือ่ ใช้เป็นสถานทีท่ ำ� การเรียนการสอน ปัจจุบนั มี นายธนวัฒน์ สุขเกษม ผูอ้ ำ� นวยการช�ำนาญ การพิเศษ ด�ำรงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 จนถึงปัจจุบัน มีนักเรียน จ�ำนวน 482 คน มีครูและบุคลากรทางการ ศึกษา 40 คน (ข้อมูล 10 มิถุนายน 2559) ปรัชญาโรงเรียน : ปญฺญา นรานํ รตฺนํ คือ ปัญญาเป็นเครื่องประดับของนรชน คติธรรมประจ�ำโรงเรียน : ทนฺโต เสฏโฐ มนุสฺเสสุ คือ ในหมู่มนุษย์ผู้ฝึกตนแล้วเป็น ผู้ประเสริฐ
ค�ำขวัญของโรงเรียน : ประพฤติดี มีวชิ า กีฬาเด่น อัตลักษณ์โรงเรียน : ยิม้ ไหว้ ทักทาย แต่งกาย ถูกระเบียบ เอกลักษณ์ : โรงเรียนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม วิสัยทัศน์ : มุ่งมั่นพัฒนาการศึกษาให้ นักเรียนมีคณ ุ ธรรม น�ำความรู้ ภายในปี 2562
เกียรติยศ ผลงาน โครงการดีเด่น
1. รางวัลพุทธคุณปู การ รัชตเกียรติคณ ุ จาก คณะกรรมธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร ปี พ.ศ.2554 2. ผ่ า นการประเมิ น ให้ เ ป็ น สถานศึ ก ษา พอเพียง ปี พ.ศ.2555 3. ผ่านการประเมินเพื่อพัฒนาและรับรอง ต้นแบบโรงเรียนดีศรีตำ� บล ปี พ.ศ.2556 และ ผ่านการประเมิน สมศ. รอบ 3 ปี พ.ศ.2556 4. ผ่ า นการประเมิ น รางวั ล คุ ณ ภาพระดั บ องค์กร (School Quality Awards : ACQA) ประจ�ำปี พ.ศ.2557-2558 5. รับรางวัลยุวชนประกันภัยดีเด่น ประเภท ละครสัน้ /หนังสัน้ รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับ ประเทศ โครงการยุวชนประกันภัย ประจ�ำปี 2558 จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 6. รั บ รางวั ล สารคดี ดี เ ยี่ ย ม ผลงานเรื่ อ ง ชายขุดดิน โครงการจัดนิทรรศการและสื่อ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
นายธนวัฒน์ สุขเกษม ผู้อ�ำนวยการ
รัชกาลที่ 9 เมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 จัดโดยส�ำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 7. รับป้ายพระราชทานสนองพระราชด�ำริฯ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน 29 กรกฎาคม พ.ศ.2559 8. รับรางวัลยุวชนประกันภัยดีเด่น ประเภท เพลง รองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ โครงการยุวชนประกันภัย ประจ�ำปี 2559 จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและ ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) 9. ร่วมสาธิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นกั เรียน ที่มีคุณภาพ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 66 10. อบรมคุณธรรมนักเรียนตามโครงการ น�ำธรรม แสงธรรม 11. อบรมธรรมศึกษา โครงการสอบธรรมศึกษา 12. โครงการค่ายวิชาการพี่ติวน้อง
โครงการพิเศษในโรงเรียน
1. โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World Class Standard School) 2. โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ 3. โครงการโรงเรียนสีขาว 4. โครงการโรงเรียนประชารัฐ 5. โครงการโรงเรียนสุจริต โทร. 044-482794 แฟกซ์ 044-482786 http://www.pmd.ac.th Facebook : พิมายด�ำรงวิทยาคม
โรงแรมวารี รีสอร์ท
วารี-รีสอร์ท เป็นโรงแรมสไตล์รีสอร์ท ห้องพัก กว้างขวาง เครื่องอ�ำนวยความสะดวกพร้อม มีที่จอดรถทุกห้อง ฟรี กาแฟ พร้อม WiFi การบริการประทับใจ ตามใจผู้พัก สะดวก สบาย เสมือนพักบ้านเราเอง
อารีรัตน์ ทองปาน (ผู้บริหาร)
บรรยากาศอบอุ่น เป็นกันเอง ยินดีต้อนรับ ทุกท่าน พบกันได้ที่ วารี-รีสอร์ท อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ส�ำรองห้องพักได้ที่ 044-938751, 061-0634195, 089-4283249 WAREE.RESORT บ้านวารีรีสอร์ท&วารีแดนซ์ 153 หมู่ 3 ต�ำบลกระเบื้องใหญ่ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 30110
ซีทรู รีสอร์ท
SEE THROUGH RESORT สัมผัสบรรยากาศที่เป็นส่วนตัว บ้านพักหลากหลายสไตส์ ห้องพักสะอาด ปลอดภัย สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ทีวี ตู้เย็น เฟอร์นิเจอร์ แอร์ Free WiFi คิดถึงปากช่อง คิดถึง ซีทรู รีสอร์ท ใกล้ชิดธรรมชาติ ใกล้แหล่งธรรมะ
15/12-15 ต.ปากช่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
โทร. 08-1554-4929, 08-1620-4478
ครัวโชคชัย...อาหารอร่อย ที่พักสบาย
ใครที่ผ่านมาผ่านไปอ�ำเภอโชคชัย จังหวัด นครราชสี ม า คงต้ อ งรู ้ จั ก หรื อ ได้ ยิ น ชื่ อ ของ “ครัวโชคชัย” ผูใ้ ห้บริการทัง้ ร้านอาหารและทีพ่ กั คุณภาพคุม้ ค่าเกินราคา ซึง่ นิตยสาร SBL ภูมใิ จ แนะน�ำให้รู้กับ คุณแม่สมบูรณ์ กอกกระโทก ผู้บริหารหญิงเก่งและแกร่ง ในวัย 55 ปี คุ ณ แม่ ส มบู ร ณ์ เล่ า ถึ ง ความเป็ น มาของ “ครัวโชคชัย” ว่า “เราเปิดให้บริการประมาณวันที่ 9 กรกฎาคม
พ.ศ.2554 เพือ่ ให้บริการร้านอาหารกับลูกค้าที่ สัญจรไปมาบนถนนเส้น 24 เพราะครัวโชคชัย อยู่ติดถนนเส้นโชคชัย-ปักธงชัย อยู่ระหว่าง โรงงานคาร์กลิ และบริษทั ซีพี กับสถานีตำ� รวจ “เมือ่ ก่อนเราเป็นแค่รา้ นอาหารเล็กๆ เมือ่ เวลาผ่านไป 2-3 ปี ลูกค้าให้การตอบรับดี และ มาใช้บริการเยอะขึน้ ประกอบกับมีลกู ค้าบาง ส่วนทีม่ าจัดเลีย้ งสังสรรค์ทรี่ า้ น แล้วเดินทาง กลับที่พักล�ำบาก เราจึงเกิดไอเดียอยากเปิด
เป็นทีพ่ กั เป็นโรงแรมเล็กๆ เพือ่ ตอบสนองลูกค้า กลุม่ นี้ และขยายฐานลูกค้าทีเ่ ป็นนักท่องเทีย่ ว หรือคนท�ำงานทีต่ อ้ งผ่านไปทางถนน 24 ด้วย” เมือ่ สอบถามถึงความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ ของ “ครัวโชคชัย” คุณแม่สมบูรณ์ เล่าอย่างเป็น กันเองว่า “จุดเด่นของร้านอาหารคือ ความเป็นคันทรี เงียบสงบ มีบริการอาหารทีห่ ลากหลาย พร้อม ห้องจัดเลีย้ ง ประชุมและสัมมนา ในส่วนของ
โรงแรม จุดเด่นของเราคือ ความเงียบสงบ หรูหรา บรรยากาศดี เฟอร์นเิ จอร์ครบในราคา เบาๆ มีบริการฟรี WiFi รวมถึงอาหารเช้าด้วย ค่ะ นอกจากนีเ้ รายังมีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวก อื่นๆ ทั้งสระว่ายน�ำ้ ฟิตเนส ห้องอบซาวน่า ห้องคาราโอเกะ บริการทีจ่ อดรถสะดวกสบาย กว้างขวาง เรียกได้วา่ เป็น One Stop Service ให้แก่ลูกค้าเลยค่ะ” ก่อนจากกัน คุณแม่สมบูรณ์ กอกกระโทก ผูป้ ลุกปัน้ “ครัวโชคชัย” จนมีชอื่ เสียงเป็นทีย่ อม รับทัง้ ในอ�ำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา และ จังหวัดใกล้เคียง ได้กล่าวเชิญชวนท่านผู้อื่นว่า
“ถ้าลูกค้าเข้าพักกับเราแล้ว คุณจะคุ้มค่า ทัง้ เงินและเวลา เพราะเราได้รวมเอาสิง่ อ�ำนวย ความสะดวก และการบริการต่างๆ มาไว้ให้ บริการคุณทีน่ ี่ ไม่วา่ จะเป็นห้องพักทีแ่ สนหรูหรา เกินราคา สะดวกสบายในกิจกรรมการพักผ่อน ทั้งสระว่ายน�ำ้ ห้องคาราโอเกะ ฟิตเนส เรียก ได้วา่ ลูกค้าสามารถพักผ่อนทีน่ ไี่ ด้อย่างคุม้ ค่า และคุม้ ราคาจริงๆ อีกทัง้ การเดินทางยังสะดวก เพราะครัวโชคชัยอยูต่ ดิ ถนนเส้น 24 จึงหาง่าย สะดวก และปลอดภัยต่อการเข้าพักค่ะ” ส�ำหรับลูกค้าท่านใดที่สนใจไปใช้บริการ “ครัวโชคชัย” ทั้งในส่วนของร้านอาหารและ
โรงแรม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 08-3101-2343, 08-7255-7779 หรือ Facebook : ครัวโชคชัย
ครัวโชคชัย เลขที่ 159 หมู่ 6 ถนนโชคชัย-ปักธงชัย ต�ำบลพลับพลา อ�ำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 30190 โทร. 08-3101-2343, 08-7255-7779 Facebook : ครัวโชคชัย
โรงแรมสามสิริ รีสอร์ท SAMSIRI RESORT STYLE CONTEMPORARY “ดูดี หรูหรา ทันสมัย เหมาะกับผู้มีรสนิยม”
ไม่ต้องไปไกลถึงเขาใหญ่ ในตัวเมืองโคราชยังมีที่นี่ เรา ยกบรรยากาศเขาใหญ่มาไว้ที่ สามสิริ รีสอร์ท กม.10 ในห้องโอ่โถง ระบบไอทีที่ทันสมัย ด้วยห้องพักหลากสีสัน สดใสสวยงาม ให้ท่านได้สัมผัส ด้วยบริการที่ครบถ้วน สมบูรณ์แบบ รายละเอียดห้องพัก เตียงเดี่ยว 6 ฟุต เครื่องท�ำน�ำ ้ อุ่น ทีวี 32 นิ้ว ฝักบัว แอร์ Free Wifi Internet ตู้เย็น Free Coffee เก้าอี้หวาย บ้านเลขที่ 234 หมู่ 7 ถนนบายพาส (จอหอ-ปักธงชัย) ต�ำบลหมื่นไวย อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 Tel. 088-5643311 Facebook : Samsiri Resort สามสิริ รีสอร์ท
ห้องพักหลากสไตส์ พักผ่อนแบบ สบาย สบาย ที่ เสิงสางรีสอร์ท เดินทางเหนื่อย แวะพักกับ เราได้ตลอด 24 ชม. พบกับ ห้องพักสะอาด บรรยากาศ ร่มรื่น บริการแบบเป็น กันเอง สำ�รองห้องพัก โทร. 044-457191 044-457666
โรงแรมเสิงสาง รีสอร์ท 59/1 หมู่ 11 ต�ำบลเสิงสาง อ�ำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา เสิงสางรีสอร์ต
โรงแรมพิ ม ายอิ น น์ PHIMAI INN HOTEL
คิดถึงพิมาย คิดถึงเรา พิมายอินน์
โรงแรมที่พักสะอาด ห้องจัดเลี้ยง ห้องอาหาร ห้องคาราโอเกะ และสระว่ายน�ำ้ และบริการ WiFi Internet 33/1 หมู่ 14 ถนนบายพาส ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 30110 Tel : 0-4447-1175, 0-4428-7228 Fax : 0-4428-7423 Mobile : 08-1266-9058 E-Mail : phimaiinn_hotel@hotmail.com
บ้านพักบุญโตเขาใหญ่
ให้บริการบ้านพักรายเดือนและรายวัน มากกว่าการเดินทาง เพราะที่นี่คือ บ้านพักบุญโต เขาใหญ่ บ้านพักที่เหมือนบ้านคุณเอง สะอาด อบอุ่น เป็นกันเอง 139 หมู่ 11 ถนนธนะรัชต์ ต�ำบลหนองน�้ำแดง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130 โทร. 099-0214274, 081-2678427 คุณรุ่งนภา, 088-4835447 คุณปู
บอสวิน โฮม รี สอร์ท
รี สอร์ทบรรยากาศท้องทุ่ง สงบ ร่มรื่ น อากาศสดชื่นไร้มลพิษ ที่พักสะอาด พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ครบครัน อาหารเช้า ห้องออกก�ำลังกาย อบสมุนไพร ของฝากจากทางรี สอร์ทที่ท่าน สามารถเลือกซื้อและชมสินค้าพื้นเมือง โคราชที่ขึ้นชื่อ อาทิ หมี่ โคราช ผ้าไหม ปักธงชัย ผัก และผลไม้สดๆ จากสวน 48 หมู่ 18 ต�ำบลตะคุ อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา 30150 โทร. 044-441348, 081-9239884 E-Mail : pj1.bosswinxp@gmail.com ID Line : bosswin111
ห้องดีลักซ์ทั้งเตียงคู่ และ เตียงเดี่ยวได้จัดไว้แบบลงตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ห้องประชุมสัมมนาพร้อม อุปกรณ์ ห้องใหญ่ส�ำหรับ ประชุมสัมมนา และห้องเล็ก ส�ำหรับท่านที่ชอบความเป็น ส่วนตัวกับกลุ่มหรือคณะ รักเมืองไทย เที่ยวเมืองไทย เงินไทยไม่รั่วไหล 888 หมู่ 4 ถ.ราชสีมา-ปักธงชัย ต.หนองจะบก อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทร. 0-4435-7999, 088-720-4497 แฟกซ์. 0-4435-8559
โรงแรม
คิงส์โคราช
สะดวก สะอาด ปลอดภัย ราคาประหยัด สิง่ อ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพัก แอร์คอนดิชน ั่ เครือ ่ งท�ำน�ำ้ อุ่น ทีวี WiFi ทีจ ่ อดรถกว้างขวาง ร่มรืน ่ ด้วยแมกไม้ ติดถนนใหญ่ ใกล้เดอะมอลล์ เทอมินล ั 21 และโลตัส โรงแรมคิงส์โคราช 1756 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 044-244046, 092-5901694 wichai wanich
บ้านคุณยายเซอร์วิส อพาร์ทเม้นท์ GRANNY HOUSE
ภายในห้องพักมีเครื่องอ�ำนวย ความสะดวกทุกอย่าง เครื่องปรับอากาศ น�้ำอุ่น เคเบิลทีวี เหมือนโรงแรมทั่วไป
ราคาห้องพักมี 3 ราคา เตียงขนาด 5 ฟุต ราคา 380 บาทต่อคืน เตียงขนาด 6 ฟุต ราคา 450 บาทต่อคืน เตียงคู่หรือสองเตียง ราคา 500 บาทต่อคืน
เลขที่ 2386/6 ซอยมิตรภาพ 16 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 085-8572506, 088-3174705 ที่พักในโคราช ที่พักนครราชสีมา ที่พักโคราชราคาถูก บ้านคุณยาย
โรงแรมมิกส์ โฮเต็ล
ห้องพักเรียบหรู สะอาด บริการประทับใจ 1501 ซอยศูนย์แพทย์ชุมชน ถนนท้าวสุระ 25 ต�ำบลหัวทะเล อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 044-244-700, 044-254-111 Mobile : 081-670-1234
ตรงเป๊ะรีสอร์ท 180 หมู่ที่ 13 บ้านใหม่ไทยเจริญ ต�ำบลด่านขุนทด อ�ำเภอด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 30210
โทร. 0899643113 และ 0892022782
พาราไดร์ รีสอร์ท (บัวใหญ่)
ยินดีต้อนรับสู่
“พาราไดร์ รีสอร์ท (บัวใหญ่)”
Welcome to Paradise Resort (Buayai) ที่นี้เราบริการท่านด้วยมิตรภาพ และความอบอุ่น เป็นกันเอง ห้องพักระดับสแตนดาร์ด ด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน เคเบิลทีวี เครื่องปรับอากาศ น�้ำอุ่น WiFi และ CCTV ห้องประชุม/สัมมนา/จัดเลี้ยง ขนาด 150 ที่นั่ง
ที่อยู่ 218-42 ถ.เทศบาล 7 ต.บัวใหญ่ อ.บัวใหญ่ จ.นคราชสีมา 30120 ติดต่อส�ำรองห้องพัก โทร. 099-1697554
เส้นทาง AEC
ยกระดับอาหารแห่งอนาคตสู้ตลาดโลก
นับเป็นโอกาสดีส�ำหรับ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรม อาหาร ที่ไม่เพียงแต่จะผลิต อาหารเพื่อการบริโภคให้อิ่ม ท้องเท่านั้น แต่ยังเพิ่มคุณค่า ทางโภชนาการให้กับผู้บริโภค ที่ค�ำนึงถึงสุขภาพมากยิ่งขึ้น นายยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ขณะนีส้ ถาบันอาหารอยูร่ ะหว่าง การด�ำเนินงาน “โครงการเชือ่ มโยงการค้า การลงทุนผู้ประกอบการอาหารเพื่อ อุตสาหกรรมอาหารอนาคต (ฟิวเจอร์ ฟูด้ )” เพื่ อ ยกระดั บ การผลิ ต อาหารในภาค อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการอาหารของ ไทยให้มคี ณ ุ ภาพ ปลอดภัย และมีคณ ุ ค่า โภชนาการที่เหมาะสม และเพื่อส่งเสริม การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ผลผลิ ต การ 80
เกษตรของไทย รวมทัง้ เพือ่ ผลิตสินค้าทีต่ อบ สนองความเชือ่ มัน่ กับผลผลิตการเกษตร ของไทย ในทิศทางทีส่ อดคล้องกับกระแส การบริโภคของตลาดโลก ทัง้ นี้ สถาบันอาหารก�ำลังเปิดรับสมัคร ผูป้ ระกอบการอาหารและเครือ่ งดืม่ เสริม สุขภาพ หรือฟังก์ชันนัล ฟู้ดส์, อาหาร ทางการแพทย์ หรือเมดิคลั ฟูด้ ส์ หรืออาหาร ส�ำหรับผูส้ งู วัย, อาหารอินทรีย์หรือออร์แกนิก ฟู้ดส์ และอาหารที่ผลิตขึ้นมาใหม่ทาง นวัตกรรม หรือโนเวล ฟูด้ ส์ โดยมีเป้าหมาย โครงการฯ ในระยะแรกนีจ้ ำ� นวน 57 โรงงาน ส�ำหรับผู้ประกอบการที่ผ่านการคัด เลือกจะได้รับการยกระดับธุรกิจอย่างใด อย่างหนึง่ อาทิ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อนาคต ออกแบบและพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ การก�ำหนดเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อ การผลิตอาหาร จัดท�ำระบบความปลอดภัย ในโรงงานอาหาร หรือจัดท�ำระบบมาตรฐาน อินทรีย์ รวมทัง้ กิจกรรมอืน่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็น เพือ่
การก�ำหนดแผนการผลิตอาหารฟิวเจอร์ ฟู้ดส์ เช่น การวางผังการผลิต การตรวจ ประเมินระบบความปลอดภัยในโรงงาน อาหารเบือ้ งต้น การตลาดและแผนธุรกิจ การให้คำ� แนะน�ำด้านเทคโนโลยี ก�ำหนด กระบวนการผลิตหรือยืดอายุผลิตภัณฑ์ และการบริหารจัดการโลจิสติกส์ เป็นต้น นอกจากนี้ สถาบันอาหารยังจะได้รบั การสนับสนุนงบประมาณเบือ้ งต้น เพือ่ ขยาย การลงทุนให้กับผู้ประกอบการธุรกิจอีก ด้วย ผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่ สถาบัน อาหาร เลขที่ 2008 ซอยอรุณอมรินทร์ 36 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขต บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 หรือสามารถ ติดต่อผ่านทางเว็บไซต์ www.nfi.or.th
สบ๋ายดี๋ รีสอร์ท
สบ๋ายดี๋รีสอร์ท ยินดีต้อนรับ
ด้วยห้องพักสะอาด บรรยากาศร่มรื่น ฟรี! WIFI
สบ๋ายดี๋รีสอร์ท 193/1 หมู่ 1 ต�ำบลโนนยอ อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา โทร. 044-487-241, 099-641-8908
w
ผู้จัดการ คุณสุพัตรา เทพเทพา โทร. 088-579-0364 บริหารงานโดย บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-717 แฟกซ์ 0-2971-7747 http://www.smart-sbl.com
เส้นทางท่องเที่ยว
84
เที่ยวได้ทั้งปี ไม่มีเบื่อ
จังหวัดนครราชสีมา ไม่ได้มีแค่ปราสาทหิน เขาใหญ่ หรือวังน�ำ้ เขียวให้ เที่ยว แต่ยังมีสถานที่ท่องเที่ยว อีกมากมายที่ตอบสนอง รสนิยมการท่องเที่ยวให้กับ คนทุกเพศทุกวัยได้ นิตยสาร SBL ฉบับนี้ จะพาท่านไป 10 ที่เที่ยว ซึ่งจะได้ทั้งความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ประทับใจ และ ได้ความรู้ด้วย ไปเที่ยว โคราชพร้อมกันเลยนะคะ
NAKHONRATCHASIMA 85
1. ชมภาพเขียนสีสี่พันปีที่ วัดเขาจันทน์งาม
วัดเขาจันทน์งาม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นเลิศสวัสดิ์ ต�ำบลลาดบัวขาว
อ�ำเภอสีควิ้ ไม่ได้เป็นแค่วดั ป่าทีม่ บี รรยากาศสงบเงียบ ร่มรืน่ เหมาะ กับการปฏิบตั ธิ รรมเท่านัน้ แต่ทนี่ ยี่ งั มีมรดกล�ำ้ ค่าทีห่ า้ มพลาดชม นัน่ ก็คอื ภาพเขียนสีโบราณ โดยฝีมอื ของมนุษย์ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ ที่มีอายุกว่า 4,000 ปี ภาพเขียนสีโบราณนีจ้ ะอยูห่ ลังวัดเขาจันทน์งาม ซึง่ เราจะต้อง เดินผ่านป่าเขาที่ร่มครึ้ม ระหว่างทางสามารถแวะกราบขอพร พระประธานภายในอุโบสถและพระบรมสารีรกิ ธาตุได้ จากนัน้ ก็เดินไปอีกไม่ไกลจะถึงทางเข้าไปชมภาพเขียนสี ที่ซ่อนอยู่ใน เพิงผาคล้ายถ�ำ้ ขนาดย่อม ภาพเหล่านีจ้ ะปรากฏอยูบ่ นผาหินสูง ราว 5 เมตร ลักษณะภาพเขียนด้วยสีแดง มีทงั้ ภาพลงสีทบึ และภาพร่าง ที่แสดงอิริยาบถต่างๆ ของคนทั้งหญิง ชาย และเด็ก เช่น ภาพ คนยิงธนู ใกล้กันมีภาพสุนัขที่เหมือนก�ำลังน�ำทางไปล่าสัตว์ ภาพเด็กแบกตะกร้าไว้ทหี่ ลังก�ำลังนัง่ เล่นกับผูห้ ญิง ภาพคนถือ ไม้เท้าลักษณะคล้ายหัวหน้าเผ่า ภาพคล้ายกลุม่ คนก�ำลังเต้นร�ำ หรือบวงสรวงเทพเจ้า ฯลฯ ภาพเขียนสีเหล่านีน้ บั เป็นมรดกของมนุษยชาติ ทีส่ กั ครัง้ หนึง่ ในชีวติ น่าจะพาลูกหลานไปชม เพือ่ ให้เกิดแรงบันดาลใจ ในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวิวัฒนาการของมนุษย์
86
2. ร�ำลึกอดีตสี่พันปี ณ แหล่งโบราณคดี บ้านโนนวัด
แหล่งโบราณคดีบา้ นโนนวัด ซึง่ ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 11 บ้านโนนวัด
เป็นอีกหนึง่ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์โบราณคดี ทีม่ ี อายุไล่เลี่ยกับแหล่งมรดกโลกบ้านเชียง ซึ่งได้รับการยอมรับว่า เป็นแหล่งโบราณคดีทมี่ คี วามต่อเนือ่ งทางวัฒนธรรมทีย่ าวนาน ทีส่ ดุ ในไทย และมีความสมบูรณ์ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้กันเลยทีเดียว
จากการขุดค้นส�ำรวจของทีมนักวิจยั โบราณคดีจากกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา ตัง้ แต่ปี 2542 พบหลักฐานการตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชน เกษตรกรรม มีการเพาะปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ จับสัตว์ป่า สัตว์นำ�้ เป็นอาหาร และพบสุสานโบราณทีแ่ สดงถึงประเพณีการฝังศพ ของมนุษย์ยคุ หินใหม่ ทีม่ อี ายุราว 4,000-4,500 ปี ภาชนะดินเผา ขวานส�ำริด ขวานหินขัด สิว่ ส�ำริด ลูกปัดทองค�ำ ลูกกระสุนดินเผา และเครือ่ งประดับท�ำจากหอยทะเล ฯลฯ ซึง่ แสดงว่าเป็นแหล่ง โบราณคดีทมี่ คี วามต่อเนือ่ งตัง้ แต่ยคุ หินใหม่ ยุคส�ำริด ยุคเหล็ก จนกระทั่งเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์ และมีชุมชนเรื่อยมา ปัจจุบนั แหล่งโบราณคดีบา้ นโนนวัด ได้รบั การประกาศ ขึน้ ทะเบียน “มรดกจังหวัดนครราชสีมา” และในอนาคตอาจ ได้รบั การเสนอชือ่ ให้ขนึ้ ทะเบียนเป็นมรดกโลกด้วย ส�ำหรับ นักท่องเที่ยวที่มีความสนใจด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี สามารถไปชมได้ที่ ศูนย์การเรียนรูท้ อ้ งถิน่ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ แหล่งอารยธรรมบ้านโนนวัด
NAKHONRATCHASIMA 87
3. เพลินพินิจ...พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา
พิพธิ ภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ตัง้ อยู่ ณ อาคาร 10 ส�ำนัก
ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นแหล่ง เรียนรูค้ วามเป็นมาของจังหวัดทีจ่ ดั แสดงได้อย่างสวยงาม ทันสมัย และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็นอย่างดี โดยแบ่งเป็น 8 ห้อง ดังนี้ 1. ห้องเบิกโรง น�ำเสนอในภาพรวมของการจัดแสดงในห้อง พิพิธภัณฑ์ เกียรติประวัติส�ำนักศิลปะฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา 2. ห้องต้นก�ำเนิดอารยธรรม ไฮไลท์ทกี่ ารค้นพบ มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ อายุสมัยไม่ต�่ำกว่า 4,500 ปี 3. ห้องสมัยทวารวดี บอกเล่าถึงชุมชนโบราณ ณ เมืองเสมา ราว
88
พุทธศตวรรษที่ 12 ทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย 4. ห้อง สมัยลพบุรี น�ำเสนอเนือ้ หาในช่วงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากวัฒนธรรม ขอม 5. ห้องสมัยอยุธยา การก่อตั้ง “เมืองนครราชสีมา” ซึ่งมี ฐานะเป็นเมืองชัน้ โท และมีบทบาทในการป้องกันขแมร์ (เขมร) ลาว ญวน รุกรานภาคอีสาน 6. ห้องสมัยรัตนโกสินทร์ กล่าวถึง ความส�ำคัญของเมืองนครราชสีมา และไฮไลท์ทวี่ รี กรรมทุง่ สัมฤทธิ์ ของท้าวสุรนารี 7. ห้องมหานครแห่งอีสาน น�ำเสนอเนือ้ หาใน สมัยรัชกาลที่ 5 ทีม่ กี ารปฏิรปู การปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล 8. ห้องของดีเมืองโคราช ร�ำลึกของดีในอดีต เช่น มวยโคราช ผ้าหางกระรอก รถสามล้อถีบ ร�ำโทนโคราช และเพลงโคราช ฯลฯ ปัจจุบนั พิพธิ ภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ได้รบั การคัดเลือก จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ทางวัฒนธรรมของชุมชน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนือ่ งในโอกาส ฉลองพระชนมพรรษา 5 รอบ ผูท้ สี่ นใจศึกษาความเป็นมาของเมืองนครราชสีมาตัง้ แต่อดีต จนถึงปัจจุบัน สามารถเข้าชมฟรีได้ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.0015.00 น. สอบถามเพิม่ เติมได้ที่ 0-4400-9009 ต่อ 1013 หรือ 1020
อาคารเจดีย์บรรจุอัฐิท้าวสุรนารี
พระพุทธมงคลนิมติ
เจดียบ์ รรจุอฐั ทิ า่ นท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม)
4. วัดศาลาลอย...อนุสรณ์ท้าวสุรนารี
วัดศาลาลอย เป็นวัดเก่าแก่ที่ได้รับรางวัลดีเด่นแนว
บุกเบิกอาคารทางศาสนา จากสมาคมสถาปนิกสยาม ใน พระบรมราชูปถัมภ์ ปี พ.ศ.2516 และรางวัลจากมูลนิธิ เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป จุดเด่นของวัดคือ งานพุทธศิลป์ประยุกต์ทปี่ รากฏในอุโบสถ หลังใหม่ของวัด ซึง่ มีการน�ำกระเบือ้ งดินเผาด่านเกวียนมาประดับ ตกแต่งเป็นภาพพุทธประวัติ บานประตูเป็นโลหะลายนูนเล่าเรือ่ ง มหาเวสสันดรชาดก (13 กัณฑ์) ภายในประดิษฐาน “พระพุทธ ประพัฒน์สนุ ทรธรรมพิศาล ศาลาลอยพิมาลวรสันติสขุ มุนนิ ทร์” พระประธานปางห้ามสมุทรองค์สีขาว วัดศาลาลอยนีม้ ปี ระวัตคิ วามเป็นมาว่า เมือ่ ครัง้ คุณหญิงโม เสร็จศึกสงครามจากทุง่ สัมฤทธิ์ และได้แวะพักทัพ ณ บริเวณท่าตะโก ท่านได้ให้ทหารท�ำแพเป็นรูปโดยท่านตัง้ จิตอธิษฐานว่า หากแพ รูปศาลานี้ลอยไปติดอยู่ ณ ที่แห่งใด จะสร้างวัดไว้เป็นอนุสรณ์ แล้วแพก็ได้ลอยไปติดตรงทีเ่ ป็นวัดร้างริมล�ำตะคอง ท่านจึงสร้าง อุโบสถขึน้ จึงเป็นจุดเริม่ ต้นของวัดทีม่ นี ามว่า “ศาลาลอย” ตาม การเสี่ยงทาย
ภายหลังการสร้างอุโบสถแล้ว ท่านได้นมัสการ “พระพุทธ มงคลนิมติ ” พระประธาน และพระบรมสารีรกิ ธาตุของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า มาประดิษฐาน ณ อุโบสถหลังเก่า ภายหลังเมือ่ ท่าน ถึงแก่อนิจกรรม สวามีของท่านได้บรรจุอฐั ไิ ว้ทสี่ ถูปภายในวัดด้วย วัดศาลาลอยจึงเป็นที่เคารพสักการะของชาวโคราชมาจนทุก วันนี้ NAKHONRATCHASIMA 89
90
อุโบสถและก�ำแพงแก้ว วัดศาลาลอย
NAKHONRATCHASIMA 91
5. เล่นน�้ำกินลมชมหาดจอมทอง
หาดจอมทอง หรือ “ทะเลโคราช” ตัง้ อยูท่ า้ ยเขือ่ นล�ำมูลบน
ต�ำบลจระเข้หนิ อ�ำเภอครบุรี ทะเลสาบแห่งนีไ้ ม่เพียงแต่จะ เป็นแหล่งหากุง้ หอย ปลา ของชาวบ้านเท่านัน้ แต่ได้กลาย เป็นสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของชาวโคราชด้วย บริเวณหาดจอมทอง มีบรรยากาศไม่แตกต่างจากชายทะเล แท้ๆ เลย ไม่วา่ จะเป็นร่มและเก้าอีผ้ า้ ใบสีสนั สดใสทีก่ างเรียงราย ริมชายหาด บานาน่าโบ๊ท ห่วงยาง แพยาง และร้านอาหารสารพัด เมนูสดใหม่จากเขือ่ นให้บริการ ข้อดีของหาดจอมทองคือ สามารถ ลงเล่นน�้ำได้อย่างวางใจ เพราะพื้นหาดทรายที่เกิดจากการถม ทรายหยาบหนากว่า 10 เมตร มีความเรียบสม�ำ่ เสมอกันเป็นแนว ยาว เราจึงได้เห็นภาพของเด็กๆ ลงเล่นน�ำ้ ด�ำผุดด�ำว่ายกันอย่าง สนุกสนาน โดยเฉพาะในช่วงหน้าร้อนถึงกับรถราติดกันเลยทีเดียว
6. ชมทานตะวันบานที่ ไร่มณีศร
ใครที่เคยประทับใจกับทุ่งดอกบัวตองบานตามไหล่เขา ทีแ่ ม่ฮอ่ งสอน เมือ่ ได้มาชมทุง่ ทานตะวันเหลืองอร่ามทีบ่ าน ลดหลัน่ กันตามเนินเขากว่า 500 ไร่ ทีไ่ ร่มณีศร ท่ามกลางอากาศ เย็นสบายของหน้าหนาว ก็คงรู้สึกประทับใจไม่แพ้กัน ดอกทานตะวันของไร่มณีศรจะพร้อมใจกันผลิดอกต้อนรับ นักท่องเที่ยวในช่วงปลายปีถึงต้นปี ซึ่งปีนี้คาดว่าจะมีให้ชมถึง เดือนกุมภาพันธ์กนั เลย และด้วยความกว้างขวางของพืน้ ทีจ่ งึ มี มุมสวยๆ ให้เลือกถ่ายภาพได้อย่างจุใจ บางจุดทางไร่ได้จัดตั้ง ห้างร้านให้ขนึ้ ไปถ่ายภาพได้ดว้ ย ใครทีม่ โี อกาสมาเทีย่ วเขาใหญ่ ก็อย่าลืมแวะไปแชะชมภาพสวยๆ มาอวดกัน หรือจะแวะไปทาน อาหาร เครือ่ งดืม่ เย็นๆ หรือซือ้ ของฝากของทีร่ ะลึกก็มจี ำ� หน่าย ด้านในด้วย ค่าเข้าชมส�ำหรับผู้ใหญ่ 40 บาท ส่วนเด็ก 20 บาท ไร่มณีศร ตัง้ อยูท่ หี่ มูบ่ า้ นคลองเสือ หมูท่ ี่ 15 ต�ำบลหมูส่ ี อ�ำเภอ ปากช่อง การเดินทาง ใช้เส้นทางปากช่อง-เขาใหญ่ ถนนธนะรัชต์ ถึงกิโลเมตรที่ 13 เลีย้ วซ้ายเข้าไปอีกประมาณ 5 กิโลเมตร สอบถาม ก่อนเดินทางได้ที่ 08-9284-5908
92
7. เสพงานศิลป์ฟนิ ๆ ที่ เขาใหญ่ อาร์ต มิวเซียม
เขาใหญ่ อาร์ต มิวเซียม ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 20 ไร่ ใน
อ�ำเภอปากช่อง ซึง่ คุณพงษ์ชยั จินดาสุข เจ้าของพิพธิ ภัณฑ์ผอู้ ารี ได้เปิดให้เข้าชมฟรี เพือ่ ให้ทกุ ๆ คนสามารถเข้าถึงและเสพงาน ศิลปะได้ พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ มีส่วนจัดแสดงภาพและสื่อผสมถึง 3 ห้อง แสดงงานศิลปะทีห่ าชมได้ยากของศิลปินแห่งชาติหลาย ท่าน อาทิ อ.ถวัลย์ ดัชนี, อ.ชลูด นิ่มเสมอ, อ.ประเทือง เอมเจริญ, อ.ช่วง มูลพินจิ , อ.ประหยัด พงษ์ดำ� , อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์, อ.ปรีชา เถาทอง, ฯลฯ ตลอดจนผลงานของ
ศิลปินหน้าใหม่ดว้ ย ส่วนผลงานประติมากรรมจะจัดแสดงในสวน ทีอ่ ยูด่ า้ นหน้าอาคาร ส่วนท่านใดอยากจะดืม่ ด�ำ่ กับสุนทรียะแห่ง งานศิลป์ให้เต็มอิ่ม สามารถเข้าพักค้างคืนได้ที่ Art Space ซึ่ง อบอวลด้วยบรรยากาศแห่งความรืน่ รมย์ และยังมีรา้ น Art Shop จ�ำหน่ายของที่ระลึกเก๋ๆ ไม่ซำ�้ ใครด้วย เขาใหญ่ อาร์ต มิวเซียม ตั้งอยู่ที่บ้านท่าช่าง ซอย 6 หมู่ 16 ต�ำบลหมูสี อ�ำเภอปากช่อง เปิดบริการทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 10.00-18.00 น. วันศุกร์-อาทิตย์ เวลา 09.00-20.00 น. ส่วนร้านอาหารเปิดบริการวันศุกร์-อาทิตย์ สอบถามได้ที่ โทร. 0-4475-6060-6 หรือ 08-1886-8666, 08-1440-0202
NAKHONRATCHASIMA 93
8. สวนสัตว์นครราชสีมา...ซาฟารีอสี านม่วนซืน่
ใครทีเ่ คยมีภาพสวนสัตว์แบบเดิมๆ ทีเ่ คยไปในวัยเด็ก คงต้อง พลิกมุมมองใหม่คะ่ เพราะทีส่ วนสัตว์นครราชสีมา อ�ำเภอปักธงชัย ได้ปรับปรุงใหม่เพื่อให้เด็กๆ ได้สนุกสนาน ตื่นตาตื่นใจ และได้ รับความรู้จากการมาเที่ยวชนิดที่ไม่อยากจะออกจากสวนสัตว์ กันเลย ภายในสวนสัตว์ทมี่ พี นื้ ทีก่ ว้างขวางกว่า 545 ไร่นี้ จัดแบ่งออก เป็นหลายโซน มีทงั้ โซนสวนสัตว์ประเภทต่างๆ โซนอุทยานสัตว์ โลกล้านปี โซนเวทีการแสดงของสัตว์แสนรู้ โซนสวนน�ำ้ ทะเลโคราช พร้อมเครือ่ งเล่นทันสมัย โซนทีพ่ กั ท่ามกลางธรรมชาติ และส่วน ที่เป็นศูนย์อนุบาลและเพาะพันธุ์สัตว์
94
ไฮไลท์ในโซนสวนสัตว์ ทีม่ สี ตั ว์ปา่ นานาชนิดราว 1,800 ตัวนี้ มีการปรับพืน้ ทีส่ ำ� หรับการอยูอ่ าศัยให้เสมือนทุง่ หญ้าสะวันนา ส่วนพระเอกของโซนนีเ้ ห็นจะเป็น “The Big Five” 5 สัตว์ผยู้ งิ่ ใหญ่ แห่งทุง่ หญ้าแอฟริกา ได้แก่ สิงโต เสือดาว-เสือด�ำ ช้างแอฟริกา แรดขาว ควายป่าแอฟริกา และยังมีสัตว์ชนิดอื่นๆ เช่น ยีราฟ ม้าลาย แอนติโลป กระทิง เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีอาคารสัตว์ เลือ้ ยคลาน โซนสัตว์นำ�้ และสัตว์ทะเลทรายทีห่ าชมได้ยากอีกด้วย แต่ทเี่ ด็กๆ จะชืน่ ชอบเป็นพิเศษก็คอื โซนอุทยานสัตว์โลก ล้านปี ซึง่ มีการออกแบบบรรยากาศแสงสีให้ดคู ล้ายกับผจญภัย อยูใ่ นดินแดนจูราสสิคพาร์ค ตืน่ ตาตืน่ ใจกับหุน่ จ�ำลองไดโนเสาร์ สายพันธุต์ า่ งๆ ขนาดใกล้เคียงของจริงกว่า 20 ชนิด มีทงั้ ประเภท กินพืชและประเภทกินเนื้อที่ดุร้าย โซนสวนน�ำ้ “Korat Zoo Lagoon” เป็นสวนน�ำ้ ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคอีสาน กินพืน้ ทีถ่ งึ 12 ไร่ ภายในมีทงั้ สระน�้ำวนใสสะอาด สไลด์เดอร์ยกั ษ์ โลมาปลาหมึก สไลด์เดอร์คงิ คองยักษ์ เครือ่ งเล่น Aloha ปลาโลมาพ่นน�ำ้ ช้างพ่นน�ำ้ ฯลฯ และยังมีมมุ ให้แชะภาพ สวยๆ เช่น มุมบ้านแกะ มุมปฏิทิน มุมกรอบรูป มุมนางฟ้า มุมรีไซเคิล และมุมอื่นๆ ให้ถ่ายกันจนเมื่อยเลยล่ะ สวนสัตว์นครราชสีมา ถือได้ว่าเป็นสวนสัตว์ที่มีความ ทันสมัย และการจัดการที่ได้มาตรฐานที่สุดแห่งหนึ่งของ เอเชีย เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 09.00-17.00 น. ค่าบัตร ผ่านประตู ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 20 บาท
อายุ 2,500-3,000 ปี ชมหัตถกรรมพื้นบ้าน ชมกลุ่มผลิตสินค้า ท้องถิ่น ชมกลุ่มผลิตเครื่องดนตรีไทย ชมกลุ่มสตรีท�ำขนมและ อาหาร ชมวิถชี วี ติ ของชาวบ้าน เช่น การด�ำนา เกีย่ วข้าว เป็นต้น หากสนใจท่องเทีย่ วนอกชุมชน ก็มแี หล่งท่องเทีย่ วทีอ่ ยูใ่ กล้เคียง เช่น อุทยานประวัตศิ าสตร์พมิ าย วีรกรรมทุง่ สัมฤทธิ์ ปราสาทหิน วัดพนมวัน อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จากการที่โฮมสเตย์บ้านปราสาท ได้รับความสนใจจาก นักท่องเทีย่ ว ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศเป็นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้ได้รบั รางวัลชนะเลิศจากต่างประเทศ 2 รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศ Pata Gold Awards ปี 2537 ในประเภท Pata Heritage & Culture จาก Pacific Asia Travel Association (Pata) และรางวัลชนะเลิศ The Aseanta Awards For Excellence In Tourism ปี 2539 ในประเภท The Asean Cultural Preservation Effort ส�ำหรับผูท้ สี่ นใจจองบ้านพักติดต่อได้ที่ ผูใ้ หญ่เทียม ละอองกลาง โทร. 0-4436-7075, 08-9581-7870 อาจารย์จรัญ จอมกลาง (โรงเรียนบ้านธารปราสาท) โทร. 08-1725-0791 หรือชมรมการ ท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ (ทีพ่ กั ทางวัฒนธรรม) ทีต่ งั้ 282 หมู่ 7 ต�ำบล ธารปราสาท อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 30420 โทร 08-9581-7870 โทรสาร 0-4496-6445
9. พักผ่อนสุขใจ ณ โฮมสเตย์บ้านปราสาท
โฮมสเตย์บา้ นปราสาท เป็นโฮมสเตย์มาตรฐานไทยต้นแบบ
ทีเ่ ริม่ ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2536 หลังการขุดค้นพบแหล่งโบราณคดี บ้านปราสาท ซึ่งชุมชนเองก็มีศักยภาพในการให้บริการที่พัก อย่างอบอุน่ เป็นเอง จึงได้รวมตัวกันจัดตัง้ เป็นโฮมสเตย์ขนึ้ เพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ วอย่างเป็นทางการ จนได้รบั การรับรองมาตรฐาน โฮมสเตย์ไทย ปี 2558-2560 จากกรมการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวที่เข้าพักโฮมสเตย์บ้านปราสาท จะได้รับการ ต้อนรับอย่างอบอุ่นด้วยพิธีบายศรีสู่ขวัญ จากนั้นจะได้ไปชม พิพธิ ภัณฑ์ทจี่ ดั แสดงประวัตแิ ละความเป็นมาของแหล่งโบราณคดี NAKHONRATCHASIMA 95
96
10. สีสันแห่งความสุขที่ ตลาดน�้ำเขาใหญ่
ขึน้ ชือ่ ว่าตลาดน�ำ้ ล้วนดึงดูดให้สาวๆ ไม่วา่ จะวัยไหนเป็น ต้องหูผงึ่ เมือ่ มาเทีย่ วโคราชทัง้ ที เราจะพลาดเทีย่ วตลาดน�ำ้ เขาใหญ่ได้อย่างไรกัน ตลาดน�ำ้ เขาใหญ่ ไม่ได้มแี ค่โซนตลาดน�ำ้ ทีม่ รี า้ นรวงในบรรยากาศ แบบย้อนยุคให้ชม และมีรา้ นอาหารให้เลือกอิม่ อร่อยมากมาย แต่ยังมีสวนไม้ดอกหลายชนิดหลากสีสัน พร้อมมุมถ่ายภาพ น่ารักๆ มากมาย อาทิ กังหันลม โรงนา ซุม้ ดอกไม้รปู หัวใจ ฯลฯ และมีสวนสัตว์ขนาดเล็ก เช่น แกะ กระต่าย อูฐ ฯลฯ ให้เด็กๆ ได้ฝึกให้อาหารกับมือด้วย ตลาดน�ำ้ เขาใหญ่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองนกกระเต็น อ�ำเภอปากช่อง เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทีม่ สี สี นั แห่งความสนุกทีห่ ลากหลายเหมาะ กับทุกคนในครอบครัว การันตีความสุขโดยผู้บริหารมืออาชีพ ที่ทำ� ตลาดน�ำ้ จนขึ้นชื่อหลายแห่ง เช่น ตลาดน�้ำอโยธยา ตลาด อโยเดีย ปางช้างอโยธยา และตลาดน�ำ้ สามพันนาม (หัวหิน)
ขอขอบคุณ
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดนครราชสีมา ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา กรมการท่องเทีย ่ ว และการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย
NAKHONRATCHASIMA 97
เส้นทางความเป็นมา
แอ่งโคราช....อู่อารยธรรมอีสานกว่าสี่พันปี จังหวัดนครราชสีมา ตั้งอยู่ในที่ราบสูงตอนใต้ของภาคอีสาน หรือที่เรียกว่า แอ่งโคราช จากการส�ำรวจ ของทีมนักวิจัยพบว่า บริเวณที่ตั้งของจังหวัดนครราชสีมามีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เมื่อกว่า 4,000 ปี มาแล้ว และถือเป็นแหล่งโบราณคดีที่มีความต่อเนื่องทางวัฒนธรรมที่ยาวนานที่สุดในประเทศไทย
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหินใหม่ จากการส�ำรวจแหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัดใน พืน้ ทีอ่ ำ� เภอโนนสูง ของทีมนักวิจยั โบราณคดีจากกรมศิลปากร มหาวิทยาลัยโอทาโก ประเทศนิวซีแลนด์ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา พบหลักฐานการตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนเกษตรกรรม มีการเลีย้ งและใช้ประโยชน์จากสัตว์ชนิดต่างๆ ในบริเวณนี้ พบ พืน้ ทีส่ สุ านโบราณทีแ่ สดงถึงประเพณีการฝังศพแบบโบราณมา ตั้งแต่ยุคหินใหม่ มากว่า 4,000 ปี โดยมีความต่อเนื่องตั้งแต่ ยุคหินใหม่ ยุคส�ำริด ถึงยุคเหล็ก จนกระทัง่ ถึงสมัยประวัตศิ าสตร์ ตอนต้น ถือเป็นแหล่งโบราณคดีทมี่ คี วามต่อเนือ่ งทางวัฒนธรรม ที่ยาวนานที่สุดในประเทศไทย ยุคโลหะตอนปลาย ประมาณ 1,500-3,500 ปีมาแล้ว จาก 98
การส�ำรวจทางโบราณคดี ในบริเวณลุ่มแม่น�้ำมูลตอนบน พบ หลักฐานการตัง้ ชุมชนในเขตอ�ำเภอเมือง อ�ำเภอชุมพวง อ�ำเภอ โนนสูง อ�ำเภอพิมาย อ�ำเภอโนนไทย อ�ำเภอสีควิ้ แหล่งทีพ่ บมัก เป็นเนินดิน น�ำ้ ท่วมไม่ถงึ อยูไ่ ม่หา่ งจากล�ำน�ำ้ ไม่มาก ปรากฏเศษ ภาชนะดินเผาอยู่เป็นชั้นๆ และบนผิวดินมักมีเศษภาชนะดิน หกกระจายอยูท่ วั่ ไป ชุมชนบางกลุม่ มีการใช้ขวานหินขัดแบบไม่ มีบา่ ภาชนะดินเผาแบบลายเชือกทาบเนือ้ ดินหยาบ บางชุมชน สามารถผลิตภาชนะดินเผาคุณภาพดี และมีรูปแบบเฉพาะตัว ได้แก่ ภาชนะดินเผาแบบพิมายด�ำ ตกแต่งด้วยลายเส้นขัดมัน ครึ่งด้านในเป็นสีแดง และรู้จักท�ำงานศิลปะ เช่น การวาดภาพ เขียนสีบนเพิงหินขนาดใหญ่ที่เขาจันทน์งาม จากการพบโครงกระดูกเป็นจ�ำนวนมากในแหล่งโบราณคดี
ขอม เศียรพระโพธิสตั ว์สำ� ริดทีบ่ า้ นโตนด รูปศิลาจ�ำหลักพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 เศียรพระพรหม และประติมากรรมรูปนางอรพิมพ์ ที่ปราสาทหินพิมาย นอกจากนีย้ งั มีโบราณสถานสมัยขอมเรืองอ�ำนาจหลายแห่ง อาทิ ปราสาทหินพิมาย ปราสาทพนมวัน ปราสาทนางร�ำ ปราสาท สระเพรง ปรางค์กู่ ปรางค์กสู่ ดี า เมืองโคราฆปุระ และเมืองพลับพลา เป็นต้น โดยสร้างขึน้ เพือ่ เป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู และศาสนา พุทธฝ่ายมหายาน สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ พบว่ามีเครือ่ งประดับทีเ่ ป็นลูกปัดแก้ว ลูกปัดหิน ตุ้มหูส�ำริด ก�ำไลหินอ่อน แหวนส�ำริด ก�ำไลส�ำริด ได้ พบแวดินเผาที่ใช้ในการปั่นด้าย นอกจากนั้นยังรู้จักการหล่อ โลหะมาเป็นเครื่องใช้ โดยใช้เบ้าดินและแม่พิมพ์
สมัยทวารวดี
สมัยพุทธศตวรรษที่ 11-16 ได้รบั อิทธิพลอารยธรรมอินเดีย สังคมในสมัยนีเ้ ป็นแบบสังคมเมืองทีม่ พี ทุ ธศาสนาฝ่ายเถรวาท เป็นหลัก มีเมืองส�ำคัญเจริญขึน้ ในบริเวณล�ำตะคอง และล�ำปลายมาศ ชุมชนโบราณมีอยู่เป็นจ�ำนวนมากในเขตอ�ำเภอโนนสูง และ อ�ำเภอสูงเนิน เช่น เมืองเสมา และเมืองโคราฆปุระ หรือเมือง โคราช บ้านโนนกระเบือ้ ง ต�ำบลค่า อ�ำเภอสูงเนิน เมืองโบราณ โนนเมืองเก่าหนองละอางบ้านติว้ บ้านแจงน้อย บ้านเสมาใหญ่ ต�ำบลเสมาใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ เป็นต้น
สมัยอยุธยา
รัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ยังไม่ปรากฏชื่อเมือง นครราชสีมาอยูใ่ นท�ำเนียบ 16 หัวเมือง ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ เมืองนครราชสีมาเป็นเมืองหนึง่ ในท�ำเนียบ เมืองพระยามหานคร 8 เมือง ทีต่ อ้ งถือน�ำ้ พิพฒ ั น์สตั ยา และใน กฎหมายศักดินาทหาร หัวเมืองระบุวา่ มีตำ� แหน่งเจ้าเมืองพระยา มหานครชั้นโท มีฐานะเป็นเมืองเอกมีเมืองขึ้นรวม 14 เมือง รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ พระยายมราช (สังข์) ขึน้ ไปครองเมืองนครราชสีมา และโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองจากที่ตั้งเดิม คือ ที่ตำ� บลโคราช อ�ำเภอสูงเนิน มา
สมัยลพบุรี
สมัยพุทธศตวรรษที่ 14-18 วัฒนธรรมขอมได้แพร่เข้าสูอ่ สี าน ทางอ�ำเภอปักธงชัย และช่องตะโก เข้าสูช่ มุ ชนบริเวณล�ำพระเพลิง ล�ำจักราช และล�ำปลายมาศ โดยมีชาวขอมเข้ามาตัง้ หลักแหล่ง อยูด่ ว้ ย จากหลักฐานทางโบราณคดีทคี่ น้ พบ อาทิ ศิลาจารึกภาษา NAKHONRATCHASIMAI 99
สร้างเมืองใหม่ ณ ทีต่ งั้ ปัจจุบนั โดยเอาชือ่ เมืองเดิมทัง้ สองเมือง คือ เมืองโคราฆปุระกับเมืองเสมามา รวมกันเป็นชื่อเมืองใหม่ ว่า เมืองนครราชสีมา มีเมืองขึ้นรวม 14 เมือง คือ นครจันทึก เมืองชัยภูมิ เมืองพิมาย เมืองบุรรี มั ย์ เมืองนางรอง เมืองบ�ำเหน็จณรงค์ เมืองจัตรุ สั เมืองเกษตรสมบูรณ์ เมืองภูเขียว เมืองชนบท เมือง พุทไธสง เมืองประโคนชัย เมืองรัตนบุรี และเมืองปักธงชัย ในปี พ.ศ.2308 พม่ายกก�ำลังเข้ามาล้อมกรุงศรีอยุธยา กองทัพ เมืองนครราชสีมา ถูกเกณฑ์ให้ไปรักษากรุง โดยได้ตงั้ ค่ายอยูใ่ กล้ วัดเจดียเ์ จ็ดแถว จากนัน้ พระยารัตนาธิเบศร์ ได้คมุ กองทัพเมือง นครราชสีมา ยกก�ำลังมาตัง้ รักษาเมืองธนบุรี เมือ่ พม่ายกก�ำลัง เข้าตีพระยารัตนาธิเบศร์ไม่ได้คิดสู้รบ แต่กลับหนีข้าศึกกลับไป กรุงศรีอยุธยา กองทัพเมืองนครราชสีมาเลิกทัพกลับไป ในปี พ.ศ.2309 กรมหมื่นเทพพิพิธ พระราชโอรสสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ รวบรวมก�ำลังคนจากหัวเมืองชายทะเล ตะวันออก ยกก�ำลังไปช่วยกรุงศรีอยุธยาที่ถูกพม่าล้อมอยู่ แต่ ถูกพม่ายกก�ำลังมาดักโจมตีทนี่ ครนายก จึงได้นำ� ก�ำลังทีเ่ หลือไป ทีน่ ครราชสีมา และยึดเมืองไว้ได้ แต่ตอ่ มาหลวงแพ่งน้อง พระยา นครราชสีมา น�ำก�ำลังจากเมืองพิมาย มาจับตัวกรมหมืน่ เทพพิพธิ ไว้ได้ แล้วน�ำไปขังไว้ทเี่ มืองพิมาย เมือ่ กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า พระพิมายเห็นว่า กรมหมื่นเทพพิพิธเป็นเชื้อพระวงศ์จึงยกขึ้น เป็นหัวหน้าชุมนุมเจ้าพิมาย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ด�ำเนินการปราบปรามบรรดาชุมนุมต่างๆ ชุมนุมเจ้าพิมายจึงถูก ปราบปรามจนราบคาบเช่นชุมนุมอื่นๆ
สมัยรัตนโกสินทร์
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้เมืองนครราชสีมาเป็นหัวเมืองเอก เจ้าเมือง มีบรรดาศักดิเ์ ป็นเจ้าพระยา ให้ปกครองเมืองเขมรป่าดง และหัวเมือง ตอนในภาคอีสาน เมื่อปี พ.ศ.2334 เกิดกบฏอ้ายเชียงแก้ว พระบาทสมเด็จ 100
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยา นครราชสีมา (ทองอินทร์) ยกก�ำลังไปปราบ ในทีส่ ดุ อ้ายเชียงแก้ว ถูกจับได้ และถูกฆ่าตาย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เกิดกบฏ อ้ายสาเกียดโง้ง พระภิกษุแขวงเมืองสารบุรี ต่อมาถูกจับได้ และ ได้รับโทษจ�ำคุกตลอดชีวิต สาเหตุของกบฏครั้งนี้ เนื่องมาจาก พระพรหมภักดียกกระบัตรเมืองนครราชสีมาเป็นตัวการสร้าง สถานการณ์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั เจ้าอนุวงศ์ ผูค้ รองเมืองเวียงจันทน์มแี ผนการท�ำสงครามกับกรุงเทพฯ และ ได้ยึดครองภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อใช้เป็นฐานเข้าโจมตี กรุงเทพฯ โดยเจ้าอนุวงศ์กบั เจ้าสุทธิสาร คุมทัพหลวงยกมายึด เมืองนครราชสีมา แต่ออกข่าวลวงมาว่าจะยกทัพไปช่วยกรุงเทพฯ จากการรุกรานของอังกฤษ กองทัพเวียงจันทน์ยดึ เมืองนครราชสีมา ได้ เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2369 และได้กวาดต้อนครอบครัว ชาวเมืองไปยังเมืองเวียงจันทน์ โดยมี คุณหญิงโม ภรรยาปลัด เมืองนครราชสีมารวมอยู่ด้วย พระยาปลัดพร้อมทัง้ พระยายกกระบัตร พระณรงค์สงคราม กรมการเมือง ได้คิดอุบายจัดหญิงสาวรูปงามส่งให้นายทัพ นายกองลาว และขอให้พกั ค้างคืนทีท่ งุ่ สัมฤทธิ์ จากนัน้ ให้หญิง ชาวเมืองล่อทหารลาวออกไปจากวงเกวียน ให้ดมื่ สุราจนเมามาย ไม่ได้สติทหารไทยพร้อมด้วยคุณหญิงโมกับชาวเมืองชายหญิง ทีถ่ กู กวาดต้อนไป ก็ได้เข้าโจมตีทหารลาว ทหารลาวถูกฆ่าตาย เป็นจ�ำนวนมาก ทีเ่ หลือได้หลบหนีไป ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์ทราบข่าว จึงได้ถอยทัพกลับไป เมือ่ วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2369 เมือ่ ปราบ กบฏเจ้าอนุวงศ์เรียบร้อยแล้ว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยูห่ วั ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาคุณหญิงโมเป็น ท้าวสุรนารี รั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว มี พระราชด�ำริทจี่ ะให้มเี มืองทีอ่ ยูห่ า่ งไกลจากทะเล ไว้เป็นเมืองหลวง ส�ำรองเช่นในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ครัง้ แรกทรง เลือกเมืองนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ.2399 แต่พระบาทสมเด็จ พระปิน่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั กับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์
ได้ไปส�ำรวจแล้วพบว่า เมืองนครราชสีมากันดารน�ำ้ มาก ไม่สะดวก ที่จะปรับปรุงเป็นเมืองส�ำรอง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงเลือกเมืองลพบุรีแทน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้มี การปฏิรปู การปกครองหัวเมืองระหว่างปี พ.ศ.2433-2435 โดย รวมอ�ำนาจเข้าสูส่ ว่ นกลาง เนือ่ งจากเมือ่ ปี พ.ศ.2430 ทางกรุงเทพฯ ต้องการความช่วยเหลือจากนครราชสีมาในการปราบฮ่อ แต่ เจ้าเมืองนครราชสีมาเฉยเมย จึงถูกถอดออกจากต�ำแหน่ง และ แต่งตัง้ พระพิเรนทรเทพ เป็นข้าหลวงเมืองนครราชสีมา เรียก ว่าข้าหลวงประจ�ำหัวเมืองลาวกลาง โดยมีกองว่าราชการอยู่ที่ เมืองนครราชสีมา ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2434 ได้มพี ระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมืน่ สรรพสิทธิประสงค์ มาด�ำรงต�ำแหน่ง ข้าหลวงใหญ่เมืองนครราชสีมา ในปี พ.ศ.2435 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงมหาดไทยปกครองดูแลหัวเมือง โดยให้ รวมหัวเมืองต่างๆ เข้าเป็นมณฑล มีขา้ หลวงใหญ่เป็นผูป้ กครอง มณฑล ส�ำหรับเมืองนครราชสีมารวมกับชัยภูมแิ ละบุรรี มั ย์เป็น “มณฑลนครราชสีมา” เป็นการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล
ต่อมาในปี พ.ศ.2437 ได้เรียกข้าหลวงใหญ่วา่ ข้าหลวงเทศาภิบาล ส�ำเร็จราชการมณฑล และได้โปรดเกล้าฯ ให้พระยาประสิทธิศัลยการ มาด�ำรงต�ำแหน่ง รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั หลังเปลีย่ น แปลงการปกครอง เมือ่ ปี พ.ศ.2475 ได้มกี ารยกเลิกระบบมณฑล เทศาภิบาล เมือ่ ปี พ.ศ.2476 ได้จดั หัวเมืองออกเป็นภาค มณฑล นครราชสีมาได้เปลีย่ นเป็นภาคทีส่ าม มีจงั หวัดในความปกครอง 6 จังหวัดคือ นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรรี มั ย์ สุรนิ ทร์ ศรีสะเกษ และ อุบลราชธานี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช พระองค์ได้เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ เพือ่ ทรงเยีย่ มพสกนิกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครัง้ แรก และได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาเยีย่ มพสกนิกรชาวเมือง นครราชสีมาอีกหลายครัง้ เช่น เสด็จทอดพระเนตรการเรียนการ สอนหลักสูตรมัธยมแบบประสมทีโ่ รงเรียนสุรนารีวทิ ยา เสด็จฯ เพือ่ ทรงประกอบพิธเี ปิดอาคารเรียนโรงเรียนบุญวัฒนา เป็นต้น ยังความปลาบปลื้มแก่ชาวนครราชสีมาอย่างหาที่สุดมิได้
ขอขอบคุณที่มา
หอมรดกไทย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2526 กลุม ่ งานข้อมูลสารสนเทศและการสือ่ สาร ส�ำนักงาน จังหวัดนครราชสีมา
NAKHONRATCHASIMAI 101
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล ตะวันตกเฉียงใต้ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ประมาณ 14 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นางสาวรุง่ เรือง กาญจนวัฒนา ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี และ นายสัมพันธ์ุ แสนยะบุตร ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดเทศบาลต�ำบลเมืองใหม่โคกกรวด เทศบาลต�ำบลเมืองใหม่โคกกรวด ได้รบั การยกฐานะจาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกรวด เมือ่ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2554 พร้อมกับการเปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็น “เทศบาลต�ำบลเมืองใหม่ โคกกรวด” ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2554
เทศบาลต�ำบลเมืองใหม่โคกกรวด
สถานที่สำ� คัญในเขต ทต.เมืองใหม่โคกกรวด 1. ต�ำหนักสมเด็จนางพญางิ้วด�ำ วัดใหม่บ้านดอน
เทศบาลต�ำบลเมืองใหม่โคกกรวด ซึง่ มีสำ� นักงานเทศบาล ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 303 หมู่ 6 ถนนมิตรภาพ-หนองปลิง ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยตัง้ อยูท่ างทิศ
ต� ำ หนั ก สมเด็ จ นางพญางิ้ ว ด� ำ เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานองค์ พระประธาน พระสมเด็จนางพญางิว้ ด�ำ แก่นไม้นางพญางิว้ ด�ำ อันศักดิส์ ทิ ธิ์ ประจ�ำวัดใหม่บา้ นดอน สร้างเมือ่ 6 เมษายน พ.ศ. 2517 ความเป็นมาของไม้นางพญางิ้วด�ำนี้มีอยู่มากมาย เพราะ เหตุว่าเป็นต้นไม้ที่ศักดิ์สิทธิ์เกิดขึ้นมาเป็นสีด�ำโดยธรรมชาติ และมีเทพยดารักษา หรือทีค่ นโบราณนิยมเรียกว่า “พญาไม้” ที่ ได้รบั มงคลนามค�ำว่า “พญา” ค�ำว่า “งิว้ ด�ำ” เป็นชือ่ ของไม้ชนิด หนึ่งที่มีลักษณะคล้ายๆ กับต้นงิ้วป่า จัดว่าเป็นพันธุ์ไม้ที่หาได้ ยากมากที่สุดในแดนป่าเขาล�ำเนาไพร
ต�ำหนักสมเด็จนางพญางิ้วด�ำ
สมเด็จนางพญางิ้วด�ำ
102
วัดพระธาตุโป่งดินสอ
หลวงพ่อศรีมหาลาภ
พระบรมสารีริกธาตุที่ได้อันเชิญมาจากวัดไทยในพุทธคยา ประเทศอินเดีย และจากวัดพระธาตุพนม จังหวัดนครพนม เพือ่ เป็นศูนย์รวมยึดเหนีย่ วจิตใจพุทธศาสนิกชนจากจังหวัดนครราชสีมา และใกล้เคียงได้สักการะบูชา
3. ตลาดกลางไม้ดอกไม้ประดับ ต�ำบลโคกกรวด 2. วัดโป่งดินสอ ต�ำบลโคกกรวด
วัดพระธาตุโป่งดินสอ ต�ำบลโคกกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา ตัง้ เป็นส�ำนักสงฆ์บา้ นโป่งดินสอ เมือ่ ปี พ.ศ.2544 โดยพระครูอาคม วุฒคิ ณ ุ เจ้าอาวาสวัดใหม่บา้ นดอนในสมัยนัน้ ต่อมา ปี พ.ศ.2554 พระมหาพรชัย วิชโย เจ้าอาวาสวัดโป่งดินสอ กับประชาชนในพื้นที่ได้ร่วมกันพัฒนาวัดมาเป็นล�ำดับ เมื่อปี พ.ศ.2557 เจ้าอาวาสวัดได้มีด�ำริว่า จังหวัดนครราชสีมาเป็น จังหวัดใหญ่ ประชาชนส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา น่าจะมีที่ ยึดเหนี่ยวจิตใจด้านพุทธศาสนา และเป็นการเทอดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ในขณะนัน้ จึงคิดรูปแบบ สถานที่ที่จะบรรจุพระบรมสารีริกธาตุส�ำหรับให้ประชาชนใน จังหวัดและพืน้ ทีใ่ กล้เคียงได้สกั การะบูชา จึงได้จำ� ลองแบบจาก เจดีย์วัดพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน ศิลปะล้านนาไทย ที่เป็น พระธาตุประจ�ำปีเกิดของปีเถาะ และตรงกับปีนักษัตรของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ด้วย มาด�ำเนินการ ก่อสร้าง โดยวางศิลาฤกษ์เมือ่ 27 มีนาคม พ.ศ.2557 จนปัจจุบนั การก่อสร้างได้แล้วเสร็จ คณะกรรมการจึงได้จัดงานเพื่อบรรจุ
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญตลาดกลางไม้ดอกไม้ประดับ ต�ำบล โคกกรวดเป็นตลาดกลางไม้ดอกไม้ประดับทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในจังหวัด นครราชสีมา ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ.2538 เป็นตลาดศูนย์กลางรวม ไม้ดอกไม้ประดับนานาพันธุ์ ทัง้ ขายปลีกและขายส่ง รวมทัง้ ไม้ ดอกไม้ประดับทีใ่ ช้ตกแต่งอาคารบ้านเรือน มีให้เลือกหลายร้อย ร้าน ราคาย่อมเยา และในทุกปีได้มกี ารจัดงานไม้ดอกไม้ประดับ ตลาดกลาง ไม้ดอกไม้ประดับ
NAKHONRATCHASIMA 103
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
104
วัดพายัพ พระอารามหลวง วัดพายัพ พระอารามหลวง เลขที่ 308 ถนนชุมพล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระมหาพงษ์เชฎฐ์ ธีรวํโส เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส
ปรัชญา
สะอาด สงบ ร่มเย็น เห็นธรรม
พันธกิจ
ศึกษา ปฏิบัติ พัฒนา เผยแผ่
ประวัติวัดพายัพ
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช โปรดฯ ให้สร้างวัดพายัพขึน้ พร้อมการสร้างเมือง
นครราชสีมา ประมาณ พ.ศ.2220 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งที่ 1 เมื่อ พ.ศ.2240 พั ท ธสี ม ากว้ า ง 21 เมตร ยาว 29 เมตร ครัง้ ที่ 2 ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา วันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ.2539 พัทธสีมากว้าง 42 เมตร ยาว 66 เมตร เป็นวัดโบราณตั้งอยู่ภายในเขตก�ำแพง เมือง ด้านทิศพายัพ ของเสาหลักเมือง
ศาสนสถาน-ศาสนวัตถุสำ� คัญ
พระอุโบสถ เป็นสถาปัตยกรรมประยุกต์ ศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย สร้างเพื่อ เป็นอนุสรณ์แด่ สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ผูท้ รงสถาปนาเมืองนครราชสีมา วางศิลาฤกษ์วนั ที่ 4 กันยายน พ.ศ.2530 สร้างด้วยหินอ่อน เพื่อความสวยงาม คงทนถาวร และผสมผสานวัสดุสมัยใหม่ มีรปู ทรงแก่นโคลงคล้ายเรือส�ำเภา หลังคา
พระประธานในอุโบสถ
NAKHONRATCHASIMA 105
ถ�้ำหินงอกหินย้อย สีมา
มีการลดชัน้ เป็นจังหวะลดหลัน่ กันไป 3 ตับ ใช้ธรรมจักรตกแต่งบริเวณซุ้มหน้าต่าง รอบพระอุโบสถ พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูป ปางปฐมเทศนา ห้อยพระบาท สูง 369 ซม. เนื่องจากวัดพายัพเป็นวัดสอนนักธรรม บาลี จึงได้จำ� ลองแบบมาจากพระพุทธรูป ในถ�้ำอชันตาประเทศอินเดีย สีมา เป็นสีมาหินปูน รูปทรงตาม ธรรมชาติ ก�ำแพงแก้ว ก่ออิฐถือปูน เสากลม ทรง ไทยแบบเสาตะลุงล่ามช้าง ยอดเสาลูกแก้ว เม็ดทรงมัณฑ์ กุฏวิ ายุภกั ษ์ เป็นอาคารทรงไทย 2 ชัน้ ชัน้ บนเป็นพิพธิ ภัณฑ์ ชัน้ ล่างเป็นถ�ำ้ หินงอก หินย้อย มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ เป็น นกวายุภักษ์ ซึ่งเป็นนกประจ�ำทิศพายัพ 106
ถ�ำ้ หินงอกหินย้อย สร้างเมือ่ พ.ศ.2533 โดย พระราชวิมลโมลี (ด�ำรง ทิฎฐธมฺโม) อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา และ เจ้าอาวาสวัดพายัพ ออกแบบเขียนแปลน ควบคุมการก่อสร้าง โดยคัดสรรหินอ่อน จากบ้านเขาวง จังหวัดสระบุรี มาจ�ำลอง ธรรมชาติเหมือนจริง มีความสวยงามวิจติ ร การตกแต่ ง เน้ น ความถู ก ต้ อ งของการ เกิดหิน ชนิดหิน การก่อตัว และโครงสร้าง ตามหลักธรณีวทิ ยา ภายในถ�ำ้ ประดิษฐาน พระพุทธรูปโบราณศักดิข์ องเมืองนครราชสีมา อายุกว่า 300 ปี เช่น พระพุทธรูปอุลลุกมณี มีลักษณะเป็นพระพุทธรูปอินเดีย สมัย คุปตะ พระพุทธรูปสมัยทวาราวดี ลพบุรี อยุธยา อีกหลายองค์ วงล้อธรรมจักร เป็นวัสดุหนิ ทรายขาว แกะสลักแบบศิลปะเขมร ตัง้ บนแท่นกวาง หมอบเส้นผ่านศูนย์กลาง 147.5 ซม. สูง 230.5 ซม. เป็นใบเสมาหินแกะสลักเขต สีมาอุโบสถเก่าเป็นศิลปะแบบลังกา เนือ่ ง จากกษั ต ริ ย ์ ร าชวงศ์ พ ระร่ ว งได้ ศึ ก ษา พระพุทธศาสนาจากประเทศศรีลงั กา น�ำ ใบเสมาไปปักเขตพุทธาวาส
พระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ ส มเด็ จ พระนารายณ์มหาราช ก่อด้วยอิฐถือปูน เพือ่ ประกาศพระเกียรติคณ ุ ของพระองค์ ให้ ช าวนครราชสี ม าได้ ต ระหนั ก ถึ ง พระมหากรุณาธิคุณ อนุสาวรีย์พระศรีวราภรณ์ (พิศวง พุทธฺ สโร) อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา และเจ้าอาวาสวัดพายัพ ผูร้ เิ ริม่ การพัฒนา
พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
หอระฆัง
อนุสาวรีย์พระศรีวราภรณ์
หอประชุมสังฆ์จังหวัดนครราชสีมา วัดพายัพ เป็นรูปเหมือนจริงขนาดเท่าตัว จริง หอพระธรรมจักร เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็กทรงไทยประยุกต์ รูประฆังยอด โดม ติดวงล้อธรรมจักร เพือ่ เป็นสัญลักษณ์ ว่า วัดพายัพเน้นการสอนพระธรรม หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2521 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กทรงบุษบก
กว้าง 5 เมตร สูง 5 เมตร
ความส�ำคัญของวัดพายัพ
เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก ธรรม-แผนกบาลี เปิดท�ำการเรียนการ สอนเมื่อ พ.ศ.2511 เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด นครราชสีมา แห่งที่ 81 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น พ.ศ.2522 เป็นส�ำนักเรียนตัวอย่างดีเด่น พ.ศ.2526
การปกครอง
วัดพายัพ มีเจ้าอาวาสปกคองวัดเท่า ที่สืบค้นได้ คือ 1. พระครูปลัดหร่าย อินฺทโชโต พ.ศ.2469-2507 2. พระศรีวราภรณ์ (พิศวง พุทธฺ สโร ป.ธ.9) พ.ศ.2507-2520 3. พระราชวิมลโมลี (ด�ำรง ทิฎฐธมฺโม ป.ธ.9) พ.ศ.2520-2559 4. พระมหาพงษ์เชฎฐ์ ธีรวํโส (ป.ธ.9) ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส พ.ศ.2559 ปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 107
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วั ด ราชสี ม า ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 3170 ชุมชนราชสีมา (บ้านราชสีมา) ถนนมิตรภาพ ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระมหาวิเชียร อคฺคธมฺโม เป็น เจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดราชสีมา
วัดราชสีมา ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2480 เดิมชือ่ “วัดมะค่าโบสถ์” ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2533 พระราชวิมลโมลี รองเจ้าคณะจังหวัด นครราชสี ม า ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด เป็ น “วัดราชสีมา” เนือ่ งจากเป็นวัดหน้าเมือง โคราช (อยูต่ รงข้ามโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย) และเป็นเส้นทางสูภ่ าคอีสาน โดยท่านได้ ท�ำการก่อสร้างและพัฒนาเสนาสนะมา โดยตลอด วัดราชสีมา มีทดี่ นิ ตัง้ วัดจ�ำนวน 3 ไร่ 1 งาน 25 ตารางวา มีผู้ถวายที่ดินตั้งวัด 108
วัดราชสีมา ได้แก่ นางศรีนวล สว่างโคกกรวด ถวาย 2 ไร่ 62 ตารางวา นายจรูญ กิขุทด ถวาย 2 งาน 41 ตารางวา
นายเชย นัดใหม่ ถวาย 2 งาน นายจ�ำนงค์ ชินกุลกิจนิวัฒน์ ถวาย 22 ตารางวา โดยมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือจดทาง สาธารณะ ทิศใต้จดถนนมิตรภาพ-ที่ดิน ราษฎร ทิศตะวันออกจดทีด่ นิ ราษฎร และ ทิศตะวันตกจดที่ดินราษฎร
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอินทร์ พ.ศ.2517-2521 2. พระเสงี่ยม พ.ศ.2521-2522 3. พระเเป๊ะ พ.ศ.2522-2523 4. พระนพ พ.ศ.2523-2531 5. พระเเป้น พ.ศ.2531-2533 6. พระศุภชัย อคฺคธมฺโม พ.ศ.2533-2539 7. พระมหาศิริวัฒน์ วฑฺฒนเมธี พ.ศ.2539-2542 8. พระมหาวิเชียร อคฺคธมฺโม พ.ศ.2542-ปัจจุบัน
NAKHONRATCHASIMA 109
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วั ด ตาลโหรน ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 77 บ้านตาลโหรน หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลปรุใหญ่ อ�ำเภอ เมือง จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 10 ไร่ 1 งาน 46 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระสมุหส์ มมาตร เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดตาลโหรน
วัดตาลโหรน สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2452 ไม่ ป รากฏนามผู ้ ส ร้ า ง เดิ ม ที ห มู ่ บ ้ า น ตาลโหรนมีตน้ ตาลปลูกในหมูบ่ า้ น (แต่ใน ปัจจุบันไม่มี) วัดสร้างขึ้นในหมู่บ้านนั้น จึงได้ชอื่ ว่า “วัดตาลโหรน” ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2518 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 24.20 เมตร ยาว 24 เมตร การบริหารและปกครอง มี เจ้าอาวาสปกครองรวม 19 รูป จนถึงปัจจุบนั
อาคารเสนาสนะ
ภายในวั ด ตาลโหรนประกอบด้ ว ย
110
วัดตาลโหรน อาคารเสนาสนะ ดังนี้ อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2535 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2517 ทางวัดได้สร้างกุฏหิ ลังใหม่ขนึ้ ทดแทนหลังเก่า เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนีก้ ม็ ี วิหาร 1 หลัง หอระฆัง และ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ 1 หลัง
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระประธาน 1 องค์ เป็นพระพุทธรูป ปางสุโขทัย
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระแดง พ.ศ.2469-2471 2. พระน้อย 3. พระใหญ่ พ.ศ.2474-2476 4. พระสุข พ.ศ.2481-2482 5. พระเกลี้ยง พ.ศ.2482-2490 6. พระสัมฤทธิ์ พ.ศ.2490-2499 7. พระกล้วย ปคุนชมฺโม พ.ศ.2500-2504 8. พระครูพทิ กั ษ์สมณคุณ พ.ศ.2504-2528 9. พระกอง พ.ศ.2528-2529 10. พระวิชัย สิริจนฺโท พ.ศ.2529-2530 11. พระสวิง เขมจาโร พ.ศ.2530-2531 12. พระใหญ่ปริปญ ุ โฺ ณ พ.ศ.2531-2532 13. พระกังวาฬ โฆสธมฺโม พ.ศ.2532-2533 14. พระจ�ำรัส กนฺตวีโร พ.ศ.2533-2534 15. พระบุญช่วย สีลโชโต พ.ศ.2534-2535
พระสมุห์สมมาตร เจ้าอาวาส วิหารจตุรมุข
ศาลาการเปรียญ
16. พระมหาเมธี ฐิตาโภ พ.ศ.2537 17. พระสมุหส์ มมาตร พ.ศ.2548-ปัจจุบนั
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระสมุหส์ มมาตร ฉายา ติกขฺ ญาโณ อายุ 51 พรรษา 26 นักธรรมเอก
ชาติกำ� เนิด เป็นบุตรของคุณพ่อสดคุณแม่ทองมา ศรีนอก เกิดเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2509 ทีบ่ า้ นดอนเมือง ต�ำบล เทพาลัย อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา อุปสมบท เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2534 ณ พัทธสีมา วัดดอนเมือง โดยมีพระครูประโชติธรรมพิทักษ์ เป็น พระอุปัชฌาย์ การศึกษา พ.ศ.2547 ส�ำเร็จปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เขตนครราชสีมา พ.ศ.2541 สอบได้นักธรรมเอก NAKHONRATCHASIMA 111
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าสาลวัน ตั้งอยู่หมู่ที่ 13 ต�ำบล ในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 43 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา ิ าโณ) ปัจจุบนั มี พระวินยั โมลี (ค�ำปอน สุทธฺ ญ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดป่าสาลวัน
เมือ่ พ.ศ.2475 หลวงชาญนิคม พร้อม ด้วยบุตร ภรรยา ได้สร้างวัดขึ้นบนที่ดิน สวนของหลวงชาญนิคม ซึ่งอยู่ห่างจาก หมู่บา้ นประมาณ 30-40 เส้น ห่างสถานี รถไฟโคราช 30 เส้นเศษ เจ้าพระคุณสมเด็จ พระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโฺ ส) ในครัง้ เป็น พระพรหมมุนี (ติสสฺ เถระ) เจ้าคณะมณฑล นครราชสีมา ให้นามว่า “วัดป่าสาลวัน” เพราะบริเวณสร้างวัดนีโ้ ดยมากเป็นป่าไม้ เต็งรัง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2499 เขต วิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร 112
วัดป่าสาลวัน มู ล เหตุ ที่ ส ร้ า งวั ด นี้ เ ป็ น ความด� ำ ริ ของเจ้าพระคุณสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) แสวงหาที่ดินที่จะสร้างเป็น วัดอรัญญวาสี ส�ำหรับพระฝ่ายวิปัสสนา ธุระอยู่อาศัยเพื่อบ�ำเพ็ญวิปัสสนาธุระมิ ให้เสื่อม ท่านพยายามหาที่มาหลายปี แล้วไม่มีที่ใดเหมาะ ครั้นมา พ.ศ.นี้ ท่าน ได้ไปอาราธนาท่านพระอาจารย์สิงห์ พระมหาปิน่ และพระอืน่ ๆ อีก รวม 6-7
รูป ล้วนเป็นพระวิปัสสนาทั้งสิ้นมาจาก ขอนแก่น ท่านพระอาจารย์สิงห์มาถึงโคราช แล้ว เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ได้นำ� ไปปักกลด โปรดสัตว์ที่ป่าช้าที่ 1 ซึ่งอยู่ทิศตะวันตก ของทีด่ นิ แต่คนละฟากทางหลวง ท่านเจ้าคุณ สมเด็จฯ ไปร่วมอยู่ในป่าช้านั้นด้วย จึง มี ค นเลื่ อ มใสศรั ท ธาไปท� ำ บุ ญ กั น มาก หลวงชาญนิคม และบุตรภรรยา ได้ชว่ ย ปัดกวาดสถานทีส่ ำ� หรับพระอยูอ่ าศัยด้วย และหมั่นไปเสมอแทบทุกวันด้วยความ ศรัทธาเลือ่ มใส เพราะท่านมีอปุ นิสยั ชอบ ไปในทางวิปสั สนาธุระอยูด่ ว้ ย ต่อมาท่าน จึงปรึกษาบุตรและภรรยา ซึง่ ต่างก็มคี วาม ร่วมใจกันในอันทีจ่ ะถวายทีด่ นิ สร้างวัด จึง น�ำความกราบเรียนท่านเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ว่า...ข้าพเจ้าพร้อมด้วยบุตรภรรยา มีใจเลือ่ มใสศรัทธาทีจ่ ะถวายทีด่ นิ ของ ข้าพเจ้า แล้วจะก่อสร้างให้เป็นส�ำนักสงฆ์ ตามความประสงค์ของท่าน
จ�ำพรรษาในวัดแห่งนี้ในระยะแรก ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2475-2479 รวมเวลา 5 ปี ส่วน การสร้างโบสถ์น�้ำ (สิมน�้ำ) พลตรีหลวง โจมจตุรงค์ ปลัดสุขาฯ มีศรัทธาพร้อมด้วย นายเกลีย้ ง สมุหบ์ ญ ั ชี และนายมณี รับท�ำ ใช้รากคอนกรีตต่อเสาไม้เต็งรัง พื้นฝา เครือ่ งบนใช้ไม้จริง หลังคามุงสังกะสี กว้าง 8 ศอก ยาว 16 ศอก ราคา 600 บาท
บูรพาจารย์เจดียว์ ดั ป่าสาลวัน
ครัน้ แล้วหลวงชาญนิคม ก็นำ� เจ้าพระคุณ สมเด็จฯ และพระอาจารย์สงิ ห์พร้อมด้วย สงฆ์ตรวจดูทดี่ นิ พบว่าทีผ่ นื นีถ้ กู ต้องเหมาะ แก่การสร้างวัดอรัญญวาสี เพราะไม่ไกล ไม่ใกล้หมูบ่ า้ นถูกต้องตามพระธรรมวินยั ก็เป็นอันตกลง พ.ศ.2475 เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ขณะ ด�ำรงสมณศักดิ์เป็นพระธรรมปาติโมกข์ ได้เห็นเจ้าพระคุณพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สิรจิ นฺโท) ป่วยหนัก บังเกิดมีความ สลดสังเวชใจ เห็นภัยในวัฏสงสารใคร่ แสวงหาทีพ่ งึ่ จึงได้อนุมตั ใิ ห้ตงั้ ส�ำนักสงฆ์ วัดป่าสาลวันขึน้ หลวงชาญนิคม กับพวก จึงรับบัญชาสร้างวัดป่าสาลวันขึน้ เป็นวัด แรก พอให้เป็นตัวอย่าง เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ก็ได้ออกมาบ�ำเพ็ญภาวนาเป็นครัง้ คราว ในเวลาว่างจากการคณะสงฆ์ ท่านเจ้าคุณพระญาณวิศิษฏ์ ได้อยู่
วัดป่าสาลวัน เป็นสถานปฏิบตั ธิ รรม ทีส่ ำ� คัญของพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน โดยทัว่ ไป ถือเป็นฐานปฏิบตั ธิ รรมทีส่ ำ� คัญ มาอย่างยาวนานกว่า 74 ปี ด้วยเป็นแหล่ง รวมของพระปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน แห่งกองทัพธรรม
ดังที่กล่าวมานี้ ล้วนแล้วแต่เป็นที่นับถือ ศรัทธาของสาธุชนอย่างไม่เสื่อมคลาย แม้จะมรณภาพละสังขารไปแล้วก็ตาม ด้วยศรัทธาทีเ่ ปีย่ มในความเป็นอริยสงฆ์ แห่งพระพุทธศาสนา จึงเป็นแนวคิดการ ก่อสร้างบูรพาจารย์เจดีย์ หลวงพ่อพุธ ฐานิโย ในเวลาต่อมา เพือ่ เป็นอนุสรณ์แห่ง การระลึกถึงในวัตรปฏิบตั ิ และเป็นสถานที่ กราบไหว้บชู าบูรพาจารย์แต่ละรูป พร้อม ทัง้ ยังเป็นแนวทางการประพฤติปฏิบตั อิ นั เป็นแบบอย่างของสงฆ์และฆราวาสสืบไป ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ณ บูรพาจารย์เจดียแ์ ห่งนี้ ยังเป็นทีป่ ระดิษฐานองค์พระบรมสารีรกิ ธาตุ อัฐธิ าตุแห่งบูรพาจารย์และของหลวงพ่อพุธ เพื่อให้พุทธศาสนิกชน และประชาชนไว้ เป็นทีเ่ คารพกราบไหว้ เป็นเครือ่ งเตือนสติ ในแนวทางพระธรรมค�ำสอน อันจะส่งผล ให้เกิดความสงบร่มเย็น ต่อสังคม
ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดป่าสาลวัน
พระคุณเจ้าแต่ละรูปที่ได้ร่วมสร้าง และถือปฏิบตั ยิ งั วัดป่าสาลวันแห่งนี้ ล้วน เป็นพระที่สร้างคุณูปการให้กับวงการ ศาสนาอย่างใหญ่หลวง อาทิ หลวงปูเ่ สาร์ กันตะสีโล หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต หลวงปูส่ งิ ห์ ขันตยาคโม พระอาจารย์พร สุมโน และ หลวงพ่อพุธ ฐานิโย พระคุณเจ้าทุกรูป
1. พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) 2. พระอาจารย์อ่อน ญาณสิริ พ.ศ.2474-504 3. พระสุธรรมคณาจารย์ (แดง ธมฺมรกฺขโิ ต) พ.ศ.2505-2512 4. พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) พ.ศ.2512-2542 5. พระมงคลวัฒนคุณ (เพิม่ กิตติวฌฺทโน) พ.ศ.2457-2557 6. พระวินัยโมลี (ค�ำปอน สุทฺธิญาโณ) พ.ศ.2557-ปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 113
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบึง วัดบึง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิด สามัญ เลขที่ 82 ถนนจอมพล ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มีเนือ้ ที่ 16 ไร่ 68 ตารางวา
ประวัติวัดบึง
วัดบึง (พระอารามหลวง) เป็นวัดเก่า แก่ของจังหวัดนครราชสีมา ตัง้ อยูภ่ ายใน เขตก�ำแพงเมืองเก่า โดยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึน้ เมือ่ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ.2220 พร้อมกับ การสร้างเมืองนครราชสีมา โดยเหตุทวี่ ดั นีต้ งั้ อยูก่ ลางบึง จึงเรียกกันว่า “วัดบึง” ซึง่ ถือเป็นวัดที่มีความส�ำคัญคู่บ้านคู่เมือง โคราช ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ ท ร ม ห า ภูมพ ิ ลอดุลยเดช ทรงครองสิรริ าชสมบัติ ครบ 50 ปี วัดบึงได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าฯ ยกให้เป็นพระอารามหลวง ชัน้ ตรีชนิดสามัญ ตัง้ แต่วนั ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2539 114
ศิลปวัตถุ-โบราณวัตถุสำ� คัญ
ภายในวัดบึงประกอบด้วยศิลปวัตถุ และโบราณวั ต ถุ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า ด้ า น ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี และศิลปกรรม เป็นจ�ำนวนมาก เช่น พระอุโบสถทรงส�ำเภา ตูพ้ ระธรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับการ อนุรกั ษ์ปรับปรุง และปฏิสงั ขรณ์ให้คงสภาพ เดิมตลอดมา พระอุ โ บสถ ได้ รั บ พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2230 เป็นพระอุโบสถทรงเรือส�ำเภาที่มี ความสวยสดงดงาม และวิจิตรพิสดาร ที่ยังคงเหลืออยู่เพียงหลังเดียวเท่านั้น ในจังหวัดนครราชสีมาและภาคตะวันออก เฉียงเหนือ นับเป็นสถาปัตยกรรมและ ศิ ล ปกรรมโบราณชิ้ น สุ ด ท้ า ยของชาว จังหวัดนครราชสีมา ที่มีค่ามหาศาลควร ค่าแก่การอนุรักษ์ให้ชั่วกาลนาน พระอุโบสถก่อสร้างด้วยการก่ออิฐ ถือปูน ขนาดกว้าง 12.15 เมตร ยาว 22
เมตร หลังคาลาด 4 ชั้น เครื่องบนเป็น ไม้มงุ ด้วยกระเบือ้ งดินเผา ฐานมีลวดลาย บัวโค้งเป็นฐานส�ำเภา เรียกตามภาษาช่าง ว่า “โค้งปากตะเภา” สองข้างผนังชัน้ นอก มีคันทวยข้างละ 6 ตัว รูปนาคแกะสลัก ด้วยไม้ประดับด้วยกระจกสี ประตูทางเข้า ด้านหน้ามี 3 ประตู ด้านหลังมี 2 ประตู อกเสาประตู แ กะสลั ก ลวดลายไทย มี หน้าต่างด้านละ 5 ช่อง รวม 10 ช่อง เครื่องบนของพระอุโบสถ ด้านทิศ ตะวันออก หน้าบันเป็นไม้แกะสลักรูป พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณอยู่ตรงกลาง รอบข้างเป็นลายก้านขด ทิศตะวันตกหน้า บันเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑวาหนะ อยูท่ า่ มกลางก้านลายขด มีชอ่ ฟ้าใบระกา และหางหงส์ประดับด้วยกระจกสี ภายในพระอุโบสถ เพดานตีดว้ ยไม้แผ่น ทาสี มีเสากลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร เป็นเสากลมบัวหัวเสาเป็นรูป บัวจงกล จ�ำนวน 6 คู่ ปูพื้นด้วยหินอ่อน ภายนอกพระอุโบสถ มีเสมาหินทราย
โรงเรียนพระปริยัติธรรม ศาลาการเปรียญ ปทุมญาณมุนี
หอสมุด ทั้ง 8 ทิศ และเป็นเสมาคู่ประดิษฐานอยู่ บนฐาน ซึง่ ตอนล่างเป็นฐานสิงห์ ตอนบน เป็นบัวเกสร พระประธาน เป็นพระพุทธรูปปาง มารวิชัย (หลวงพ่อโตอู่ทอง) ขนาดหน้า ตักกว้าง 6 ศอก ประทับนั่งขัดสมาธิราบ พระหัตถ์แสดงปางมารวิชัย พระพักตร์ ค่อนข้างเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม ลงรักปิดทองเป็น พระพุทธรูปที่มีลักษณะศิลปกรรมสมัย อยุธยาตอนปลาย ถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ตอนต้น
เสนาสนะภายในวัด
กุฏบิ รุ พาจาริยานุสรณ์ กุฏมิ งคลธรรม กุฏิพรหมจรรยา ส�ำนักงานรองเจ้าคณะ จังหวัดนครราชสีมา ส�ำนักงานศูนย์ครูปริยตั นิ เิ ทศจังหวัดนครราชสีมา ส�ำนักงาน จัดผลประโยชน์วัดบึง ส�ำนักงานมูลนิธิ ขุนศรีนรารักษ์ (สม) ทิพย์ศรีนรา ห้องพัก รับรองพระเถระ จ�ำนวน 3 ห้อง กุฏหิ อไตร กุฏทิ ปี งั กร กุฏธิ รรมวิจารณ์ เรือนไทยโคราช ซึง่ จัดเป็นพิพธิ ภัณฑ์รวบรวมเครือ่ งมือการ เกษตร หัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ
การปกครอง
ปัจจุบนั ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 4 คณะ ตามชื่ อ กุ ฏิ ส งฆ์ ทั้ ง 4 คื อ
กุฏมิ งคลธรรม กุฏพิ รหมจรรยา กุฏทิ ปี งั กร และกุฏิธรรมวิจารณ์
การศึกษา
วัดบึงเป็น “ศาสนศึกษา” เก่าแก่ ได้ เปิดการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2451 จนถึงปัจจุบัน ดังนี้ แผนกบาลี เปิดสอนตั้งแต่ประโยค 1-2 ถึง ป.ธ.9 โดยรับสมัครนักเรียนตัง้ แต่ เดือนมีนาคม เป็นต้นไป แผนกธรรม ได้เปิดสอนนักธรรมชัน้ ตรี โท เอก แผนกสามัญศึกษา เปิดสอนตั้งแต่ ชั้น ม.1-ม.6 เปิดท�ำการสอนหลักสูตรมูลกัจจายน์ เมื่อปี พ.ศ.2451-2469 ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา วันอาทิตย์วัดบึง ได้เปิดท�ำการสอนแก่ นักเรียนและเยาวชนทัว่ ไปทุกวันอาทิตย์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2534 จนถึงปัจจุบนั มีนกั เรียน มาสมัครเป็นนักเรียนของศูนย์ในชัน้ เรียน ต่างๆ ประมาณ 400 คน มีทนุ การศึกษา ให้ไม่ต�่ำกว่าปีละ 50 ทุนเป็นประจ�ำปี ส�ำนักศาสนศึกษาวัดบึง เป็นส�ำนัก ศาสนศึกษาพระปริยตั ธิ รรมทีเ่ ก่าแก่ของ คณะสงฆ์ จังหวัดนครราชสีมา และยังเป็น ส�ำนักศาสนศึกษาตัวอย่างของกรมศาสนา
ฉะนั้นจึงมีนักปราชญ์ราชบัณฑิตทั้งฝ่าย บรรพชิตและคฤหัสถ์ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากส�ำนักนี้ แล้วไปประกอบกิจตามหน้าที่ ของตนๆ ได้สร้างความเจริญรุง่ เรืองให้แก่ ชาติบ้านเมือง และพระพุทธศาสนาเป็น อเนกประการ อนึง่ พระเถระศิษย์เก่าส�ำนักศาสนศึกษา วัดบึง ได้ดำ� รงต�ำแหน่ง “เจ้าคณะจังหวัด นครราชสีมา” ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เรียงตามล�ำดับหน้าทีท่ ดี่ ำ� รงต�ำแหน่งรวม 6 รูป คือ พระอรรถจารีสม ี าจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดบูรพ์, อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา พระครูธรรมวิจารณ์มน ุ ี อดีตเจ้าอาวาส วัดพระนารายณ์, อดีตเจ้าคณะจังหวัด นครราชสีมา พระมงคลสีหราชมุนี อดีตเจ้าอาวาส วัดบึง, อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา พระศรีวราภรณ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดพายัพ, อดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา พระปทุ ม ญาณมุ นี อดี ต เจ้ า อาวาส วัดบึง, อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัด นครราชสีมา พระธรรมวรนายก เจ้ า อาวาสวั ด พระนารายณ์ฯ, ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัด นครราชสีมา
ล�ำดับเจ้าอาวาส
พระวินัยธรรมนิล พ.ศ.2320-2350 พระวินัยธรรมมี พ.ศ.2350-2400 พระวินัยธรรมฉิม พ.ศ.2400-2445 พระอธิการปุ๊ก พ.ศ.2445-2465 พระวินัยธรรมหว่าง พ.ศ.2465-2482 พระมงคลสีหราชมุนี พ.ศ.2482-2509 พระปทุมญาณมุนี พ.ศ.2510-2534 พระเทพสีมาภรณ์ พ.ศ.2534-2554 พระราชสีมาภรณ์ พ.ศ.2554-ปัจจุบัน
NAKHONRATCHASIMA 115
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบูรพ์ ตั้งอยู่เลขที่ 730 หมู่ที่ 4 ริมถนนมหาดไทย ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอ เมือง จังหวัดนครราชสีมา หมายเลข ที่ดิน 27 คิดเป็นเนื้อที่ 18 ไร่ 3 งาน 90 ตารางวา ปัจจุบันวัดได้แบ่งสถานที่ ให้โรงเรียนบูรพาวิทยาการ (เทศบาล 1) ใช้ 4 ไร่ 2 งาน 71 ตารางวา ปัจจุบันมี ดร.พระครูวรปัญญาคม เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดบูรพ์
วัดบูรพ์ เป็นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง โคราช ส�ำหรับประวัตคิ วามเป็นมาจะเป็น อย่างไรนัน้ ไม่ปรากฏหลักฐานเป็นลายลักษณ์ อักษร เมือ่ ได้รบั การจัดงานพระราชทาน เพลิงศพพระครูอรรถโกวิท (พรหม ภทฺทโิ ย) อดีตเจ้าอาวาสวัดบูรพ์ ซึง่ ได้จดั พิมพ์หนังสือ ทีร่ ะลึกขึน้ จึงมีการรวบรวมจากหลักฐาน ต่างๆ ของทางราชการ และจากค�ำบอกเล่า ของผู้เฒ่าผู้แก่ ซึ่งยังมีชีวิตอยู่ จึงท�ำให้ 116
วัดบูรพ์ วัดบูรพ์มีประวัติความเป็นมาดังต่อไปนี้ ตามหนังสือประวัติการสร้างเมือง นครราชสีมา ได้กล่าวถึงการสร้างวัดได้วา่ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ทรงสร้างเมืองนครราชสีมาให้ เป็นเมืองเอก เพราะตั้งอยู่หน้าด่านรับ ศึกหนักเสมอมา ทรงสร้างให้คา่ ย คู ประตู หอรบ และก�ำแพงอย่างมั่นคงแข็งแรง ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสีเ่ หลีย่ ม ขุดคูรอบ ทั้ง 4 ทิศ มีประตูเมือง 4 ด้าน คือ ประตู ชุมแพ อยูด่ า้ นทิศตะวันตก, ประตูพลแสน (ประตูนำ�้ ปัจจุบนั ) อยูท่ ศิ เหนือ, ประตูพลล้าน (ประตูยมราช) อยูท่ ศิ ตะวันออก และประตู ไชยณรงค์ (ประตูผีปัจจุบัน) อยู่ทิศใต้ ส�ำหรับภายในตัววัด อุโบสถนี้ได้ถูก สร้างขึน้ มาใหม่ จากเดิมทีไ่ ด้ชำ� รุดทรุดโทรม
คงเหลือแต่ใบเสมาคู่ ที่ยังเป็นของเก่า ดัง้ เดิมให้ได้เห็น สังเกตได้วา่ หลายวัดใน ตัวเมืองนครราชสีมานี้ จะมีใบเสมาคู่ เนือ่ ง จากมีข้อสันนิษฐานถึงนัยยะที่ซ่อนอยู่ก็ คือ มีการผูกพัทธสีมาทีต่ า่ งวาระ ต่างนิกาย ในทีเ่ ดียวกัน ฝ่ายทีม่ าทีหลัง เมือ่ ต้องการ ใช้พนื้ ทีใ่ นเขตสังฆกรรมแห่งนัน้ ไม่มคี วาม เชือ่ มัน่ ในความบริสทุ ธิใ์ นเขตสีมาอันก่อน จึงได้ท�ำการสวดผูกพัทธสีมาขึ้นมาใหม่ อีกครั้ง หรืออีกความหมายหนึ่งก็คือ วัด ในสมัยโบราณนั้น มีด้วยกัน 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายอรัญวาสีและฝ่ายคามวาสี เมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงสร้างพระ อุโบสถหลังใหม่ขนึ้ (วัดหลวง) เพือ่ ไม่ให้ถกู ตั้งข้อสังเกตว่าเป็นการเลือกปฏิบัติ ก็จะ อาราธนาพระสงฆ์ทงั้ 2 ฝ่าย ให้มาร่วมผูก พัทธสีมาพร้อมๆ กัน วัดหลวงจึงมักเห็น มีสีมา 2 ใบแต่นั้นมา
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัดบูรพ์
วัดบูรพ์ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2554 ภายใน วัดมีสิ่งที่น่าสนใจและหาชมได้ยาก อาทิ กุฏิน้อยหรือเรือนไทยโคราช เป็น สถาปัตยกรรมทีม่ คี วามสมบูรณ์ ในเรือน ครัวยังมีเตาเชิงกราน ซึ่งหาดูที่ไหนไม่ได้ อีกแล้ว จิตรกรรมบนแผ่นสังกะสี ติดทีศ่ าลา การเปรียญ โดยช่างเขียนได้เขียนลงบน แผ่นสังกะสีหลายแผ่น แล้วน�ำมาปะติดต่อ กันจนเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ
พระมาลัย พระอดีตพุทธเจ้า สวรรค์ นรก พญากาเผือก และภาพวิถชี วี ติ ของชาวบ้าน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรมแผนกบาลี เปิดสอนเมือ่ พ.ศ.2531 แผนก สามัญ สมุดไทยวัดบูรพ์ เป็นโบราณวัตถุหรือ ศิลปวัตถุ ทีไ่ ด้รบั ขึน้ ทะเบียนโบราณวัตถุ หรือศิลปวัตถุ เพราะมีคุณค่าทางศิลปะ ฝีมอื ช่างยุครัตนโกสินทร์ พ.ศ.2339 มีสภาพ สมบูรณ์ จ�ำนวน 14 เล่ม และมี 3 เล่ม ทีม่ ี ภาพเขียนประกอบเรือ่ งราวทศชาติชาดก ลักษณะภาพมีความสวยงาม วิจิตร ได้ สัดส่วน สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นฝีมอื ของ ช่างหลวง อุโบสถ อุโบสถรูปทรงสีเ่ หลีย่ มสร้าง ด้วยอิฐถือปูนขนาด 6 ห้อง มีการปฏิสงั ขรณ์ มาแล้วหลายครัง้ ท�ำให้สว่ นฐานลักษณะ แอ่นกลางหายไป คันทวยหรือไม้ค�้ำยัน
เปลีย่ นจากไม้เป็นปูนหล่อขนาดเล็กและ สั้น ของเดิมที่เป็นไม้มีลักษณะเป็นนาค แกะสลักลาย ด้านหลังมี เจดียพ์ ระสัมพุทธเจดียศ์ รีบรุ พสถิต สีทอง ก�ำแพงแก้ว และ ฐานไพทีสงู 1.50 เมตร จึงท�ำให้อโุ บสถดู เด่นเป็นสง่า
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอรรถจารีสีธรรมาจารย์ พ.ศ.2472-2482 2. พระณรงค์ ญาณสโร พ.ศ.2488-2495 3. พระครูรัตนภิธาน พ.ศ.2495-2496 4. พระมหาแสง สุกวโร พ.ศ.2495-2499 5. พระครูอรรถโกวิท พ.ศ.2499-2530 6. พระมหาอ�ำนวย กนโก พ.ศ.2531-2541 7. ดร.พระครูวรปัญญาคม พ.ศ.2542-ปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 117
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดคลองส่งน�้ำ วัดคลองส่งน�้ำ ตั้งอยู่หมู่ 5 ต�ำบล ปรุใหญ่ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด นครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระอธิการณัฐวุฒิ สิริปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดคลองส่งน�้ำ
วัดคลองส่งน�ำ้ ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2510 โดยมีนายช่างประชา วงศ์เกษ เป็นผูบ้ ริจาค ทีด่ นิ ให้กบั วัด และมีนายวิโรจน์ กาญจนธวัช เป็นผูข้ ออนุญาตให้สร้างวัด โดยตัง้ ชือ่ วัด ตามลักษณะภูมิประเทศ
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุทธชินราช (จ�ำลอง) พระประธาน ประดิษฐานในอุโบสถ 118
การบริหารและการปกครอง
1. หลวงพ่อสิน ไม่ทราบฉายา (รักษาการ) พ.ศ.2501-2502 2. หลวงพ่อพันธ์ ภทฺทโท (รักษาการ) พ.ศ.2502-2505 3. พระครูพิทักษ์ สุภทฺโท พ.ศ.2505-2540 4. พระโชคชัย อตฺถโกวิโท พ.ศ.2540-2541 5. พระมหา ดร.สมพร ชุติปญฺโญ พ.ศ.2541-2552 6. พระครูวรรณ ธรรมคุณ (รักษาการ) พ.ศ.2552-2554 7. พระอธิการณัฐวุฒิ สิริปญฺโญ พ.ศ.2554-ปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดคลองส่งน�้ำ ขอเชิญสาธุชนร่วม สร้างเส้นทางบุญ ด้วยการปฏิบัติธรรม หรือร่วมบริจาคทรัพย์เพือ่ ท�ำนุบำ� รุงและ พัฒนาวัด โดยสามารถติดต่อสอบถามได้ที่ พระอธิการณัฐวุฒิ สิรปิ ญฺโญ เจ้าอาวาส วัดคลองส่งน�้ำ โทร. 08-1657-4933 NAKHONRATCHASIMA 119
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสะแก วัดสะแก เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ ตัง้ อยูร่ มิ ถนนราชด�ำเนินและ ถนนสุรนารี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระโสภณปริยตั วิ ธิ าน (สนัน่ รตนโชโต) เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา เป็น เจ้าอาวาสวัดสะแก
ประวัติวัดสะแก
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงด�ำริให้สร้างเมืองขึ้นใหม่ ทางด้าน ทิ ศ ตะวั น ออกห่ า งจากเมื อ งเสมาและ เมืองโคราช ประมาณ 31 กิโลเมตร เมือง ใหม่นี้ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบสูง เป็นชัยภูมิที่ เหมาะสมในทางยุทธศาสตร์มาก ทรงด�ำริ ให้รวมเมืองทัง้ สองเข้าเป็นเมืองเดียวกัน เพื่อเป็นอนุสรณ์ตามเค้ามูลเมืองเดิม และทรงโปรดฯ ตัง้ ชือ่ เมืองใหม่วา่ “เมือง นครราชสีมา” ส่วนวัดสะแกนั้น ตั้งอยู่นอกก�ำแพง เมืองนครราชสีมา สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ.2230 โดยสร้างไว้เป็นสถานที่ เผาศพ เพราะในเขตตัวเมืองนครราชสีมา 120
ไม่เคยมีการเผาศพมาก่อน ตายแล้วจึง ต้องน�ำออกมาเผานอกเมือง โดยน�ำออก มาทางด้านประตูไชยณรงค์ทางทิศใต้ หรือเรียกว่า “ประตูผี” มาจนถึงปัจจุบัน ที่วัดสะแกนั้นมีเจดีย์เก่าแก่อยู่องค์ หนึ่ง ในปี พ.ศ.2519 เจดีย์ได้พังลงมา เพราะช�ำรุดทรุดโทรม กรุพระได้แตกออก มา ปรากฏว่าเป็นพระเก่าสมัยอยุธยา หรืออาจเก่าแก่ไปถึงสมัยลพบุรี โดยมีทงั้ พระนาคปรก พระอูท่ อง พระมงคลวัดตะไกร พระขุนแผน พระดังกล่าวเป็นพระเนือ้ ชิน จึงได้สนั นิษฐานว่า วัดนีค้ งจะสร้างมาก่อน สร้างเมืองนครราชสีมา หรือไม่ก็คงจะ ไล่เลี่ยกับการสร้างเมืองนครราชสีมา วัดสะแก ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา (ครั้งหลัง) เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2524 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ได้รับการสถาปนาเป็นพระอาราม หลวงเมื่อ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2529
นามเจ้าอาวาสปกครอง
วั ด สะแก มี พ ระภิ ก ษุ ส ามเณรอยู ่ จ�ำพรรษาตลอดมา แต่ไม่ปรากฏหลักฐาน
เกี่ยวกับนามของเจ้าอาวาสวัด ทราบแต่ เพียงว่าภายหลังจากพระอาจารย์คง อดีตเจ้าอาวาสมรณภาพลง พระอาจาย์ไม้ องฺคปญฺโญ ท่านได้ปกครองวัดสืบมา จนถึง ปี พ.ศ.2501 พระสิรธิ รรมโสภณ (จันทร์ สิริจนฺโท) ซึ่งได้จ�ำพรรษาอยู่ที่วัดสะแก ตัง้ แต่ พ.ศ.2497 ก็ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เมือ่ ปี พ.ศ.2503-2537 ต่อมา พระครูปริยัติธรรมโชติ (จรัส จนฺทโชโต) ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดสะแก ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2542-2543 ปัจจุบนั มี พระโสภณปริยตั วิ ธิ าน (สนัน่ รตนโชโต) เป็นเจ้าอาวาสวัดสะแก ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2544
การบูรณะพัฒนาวัด
พระสิรธิ รรมโสภณ (จันทร์ สิรจิ นฺโท) อดีตเจ้าอาวาสวัดสะแก เล็งเห็นว่าเสนาสนะ และถาวรวัตถุภายในวัดได้ชำ� รุดทรุดโทรม จึงได้รเิ ริม่ ก่อสร้างขึน้ ใหม่หลายอย่าง ได้แก่ 1. กุฏิสงฆ์ 2 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ 1 หลัง 3. พระอุโบสถ ลักษณะจัตุรมุข มียอด ปราสาท
4. หอระฆัง ลักษณะทรงไทยประยุกต์ 5. วิหารคดรอบพระอุโบสถ ทิศตะวันตก เหนือ 6. ฌาปนสถาน “เมรุ” 7. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 5 หลัง ต่อมา พระโสภณปริยตั วิ ธิ าน (รตนโชโต) เจ้าอาวาสองค์ปจั จุบนั ได้สานปณิธานของ เจ้าอาวาสรูปก่อนๆ จึงได้กอ่ สร้างเสนาสนะ และบูรณะถาวรวัตถุเพิ่มอีก ดังนี้ 1. บูรณะพระอุโบสถ ด้วยวาดภาพจิตรกรรม ฝาผนังใหม่ โดยช่างกรมศิลปากร 2. บูรณะศาลาการเปรียญ โดยปรับปรุง ชั้นที่สองเป็นห้องประชุมติดตั้งเครื่อง ปรับอากาศอย่างดี 3. สร้างศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 2 หลัง 4. สร้ า งอาคารเรี ย นโรงเรี ย นอนุ บ าล วัดสะแก 1 หลัง 5. สร้างอาคารเรียน โรงเรียนปริยตั ธิ รรม แผนกบาลีประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 2 วัดสะแก
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด
ภายในพระอุโบสถ มีพระประธานองค์ ใหญ่ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราช ได้ประทาน พระนามว่า “พระพุทธรัตนโกสินทร์ชนิ ราช” เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ซึง่ ขณะนัน้ ทรงด�ำรง พระอิสริยยศทีส่ มเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองค์ ทรงตัดหวายลูกนิมิตอุโบสถวัดสะแก
วัดสะแกกับการศึกษา พระปริยัติธรรม
ในปี พ.ศ.2505 จนถึงปัจจุบนั นี้ วัดสะแก ได้ขออนุญาตตั้งเป็นส�ำนักศาสนศึกษา พระปริยัติธรรมแผนกธรรมและบาลี มี พระภิกษุสามเณรเข้ารับการศึกษาอยูต่ ลอด มา มีพระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้ารับการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม
พระโสภณปริยัติวิธาน เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครราชสีมา เข้าสอบธรรมชัน้ ตรี, ชัน้ โท, ชัน้ เอก ทุกปี และมีส่งพระภิกษุสามเณรเข้าสอบชั้น ประโยค 1-2 ประโยค ป.ธ.3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ทุกปี มีพระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้าสอบ สอบ ได้ทุกปี
วัดสะแกกับบุคคลทั่วไป
วัดสะแก เป็นสถานทีบ่ ำ� เพ็ญกุศลของ พุทธศาสนิกชนทั่วไป จัดกิจกรรมส�ำคัญ ของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ส่วน ราชการ และคณะสงฆ์ จัดงานอบรม งาน เผยแผ่ศลี ธรรม จริยธรรม เพือ่ ช่วยเหลือ สังคม วัดสะแก จัดตัง้ โรงเรียนอนุบาลวัดสะแก โรงเรียนการกุศลของวัด เพื่ออนุเคราะห์ เด็กนักเรียนผู้ยากไร้ สอบถามรายละเอียดได้ที่ วัดสะแก เลขที่ 22 ถนนสุรนารี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร. 08-1068 -8899, 08-5208-2371
วัดสะแกกับบุคคลส�ำคัญ ของชาติ-ศาสนา
เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.2527 NAKHONRATCHASIMA 121
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโพธิ์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 268 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูปริยัติอมรธรรม (พ.ม.แช่ม อมรธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดโพธิ์
วัดโพธิส์ ร้างมานานกว่า 300 ปี แต่ ไม่ทราบนามผู้สร้าง และเป็นที่ดินของ ใครนั้นไม่สามารถทราบได้ ตามหนังสือ รับรองทางราชการที่ วธ 0227/657 ให้ไว้ ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2546 ระบุว่า วัดโพธิ์ ตัง้ อยูท่ ถี่ นนสุรนารี ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นวัดเก่าแก่ สร้างก่อนพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484 โดยตั้งวัด เมือ่ พ.ศ.2243 มีชอื่ อยูใ่ นทะเบียนวัด กรม การศาสนา เป็นวัดโดยสมบูรณ์ มีสภาพ เป็ น วั ด ตามพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ 122
วัดโพธิ์ วัดโพธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 มาตรา 31 (1) ซึ่ง เป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน พื้นที่ของวัดมีจ�ำนวน 11 ไร่ 2 งาน 66 ตารางวา มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศ เหนือติดต่อพืน้ ทีร่ าษฎร ทิศใต้ตดิ ต่อกับ ถนนสุรนารี ทิศตะวันออกติดต่อกับซอย เข้าโรงเรียนรัตนโนภาส ทิศตะวันตกติดต่อ กับถนนจันทร์
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ.2482 ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคอนกรีต สร้างเมือ่ พ.ศ.2524 ศาลาเอนกประสงค์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2538 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หอระฆัง กุฏิสงฆ์ และโรงเรียนพระปริยัติธรรม
แผนกธรรม และแผนกบาลี เปิดสอนเมือ่ พ.ศ.2538
เจ้าอาวาสปกครองวัด
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วัดโพธิ์มี เจ้าอาวาสปกครองวัด ดังนี้ รูปที่ 1 หลวงพ่อทอง รูปที่ 2 หลวงพ่อม่วง รูปที่ 3 หลวงพ่อภู่ รูปที่ 4 หลวงพ่อปาน รูปที่ 5 อาจารย์อินทร์ รูปที่ 6 อาจารย์โม้ (พระฎีกาโม้) รูปที่ 7 พระครูวิเศษศาสนการ (พระมหาเฉย สาสนปโชโต) รูปที่ 8 พระครูโพธิเขมากร (หลวงพ่อเย็น อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอและทีป่ รึกษา) รูปที่ 9 พระครูปริยตั อิ มรธรรม(พ.ม.แช่ม อมรธมฺโม เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั )
ศาลาธรรมสภา
มณฑปวิเศษศาสนการ
หอระฆัง
กุฏิสงฆ์
NAKHONRATCHASIMA 123
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
อุโบสถกลางน�ำ้ (อุโบสถหลังเก่า) วัดหมืน่ ไวย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 94 บ้านหมืน่ ไวย หมู่ 2 ต.หมื่นไวย อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2524 มีเนือ้ ที่ 7 ไร่ ปัจจุบนั มี พระครูอคั รธรรมรังษี เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดหมื่นไวย
วัดหมื่นไวย เป็นวัดโบราณ สร้างใน สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณปี พ.ศ.2253 โดยบริเวณที่ตั้งวัดในสมัยนั้น เป็นทีพ่ กั ตัง้ ด่านของขุนหมืน่ ไวย จึงตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดหมืน่ ไวย” เมือ่ สร้างวัดเสร็จแล้ว ก็สร้างเสนาสนะส�ำหรับพระสงฆ์ได้อาศัย ท�ำกิจวัตรและบ�ำเพ็ญสมณธรรม เมื่อที่ อยู่อาศัยทรุดโทรม ชาวบ้านก็ได้ช่วยกัน บูรณปฏิสงั ขรณ์ ท�ำนุบำ� รุงให้พระสงฆ์ได้ มีที่พักอาศัยตลอดมา ส�ำหรับประวัติอุโบสถหลังเก่า ท่าน 124
วัดหมื่นไวย ผูเ้ ฒ่าแกได้เล่าให้ฟงั ว่า ขรัวพ่อเจ้าวัดบึง (หลวงพ่อเพชร) ซึง่ เป็นตระกูลศรีหมืน่ ไวย ในขณะที่ท่านอุปสมบทอยู่ ท่านได้สร้าง อุโบสถทีว่ ดั บึง 1 หลัง พอท�ำโบสถ์ทวี่ ดั บึง เสร็จแล้ว ท่านจึงได้มาสร้างโบสถ์ที่วัด หมืน่ ไวย ซึง่ เป็นบ้านเกิดของท่าน ลักษณะ ของโบสถ์วัดหมื่นไวยเป็นโบสถ์ที่มีสี่เสา เก้าประตู แปดหน้าต่าง มีน�้ำล้อมรอบ
โบสถ์ สร้างเสร็จแล้วก็ได้ให้พระสงฆ์ได้ ท�ำสังฆกรรม และต่อมาโบสถ์ได้ช�ำรุด ทรุดโทรมลงไปตามกาลเวลา ต่อมามีพระสิริธรรมาทร เจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา ซึ่งเป็นพระ ต้นตระกูลศรีหมืน่ ไวย ได้เป็นผูด้ ำ� เนินการ ก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ เพราะพิจารณา เห็นว่า อุโบสถหลังเก่าได้ชำ� รุดทรุดโทรม มากแล้ว ไม่สามารถทีจ่ ะท�ำการซ่อมแซม ให้คงสภาพเดิมได้ จึงปรึกษากับนายทอง ศรีหมื่นไวย เพื่อที่จะสร้างอุโบสถหลัง ใหม่ขึ้น แต่ให้คงสภาพเดิมไว้ คือ มีสี่เสา เก้าประตู แปดหน้าต่าง ท่านได้ไปดูโบสถ์ ทีส่ ร้างในจังหวัดต่างๆ ทางภาคอีสาน เพือ่ จะน�ำมาประยุกต์สร้างอุโบสถหลังใหม่ให้ เป็นที่เจริญตา วันหนึง่ ท่านได้ไปดูโบสถ์ทวี่ ดั สิรสิ ารวัน บ้านโนนทัน อ�ำเภอหนองบัวล�ำภู จังหวัด อุดรธานี ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นไหล่เขาภูพาน หลังคา
โบสถ์เป็นรูปปราสาท จึงน�ำมาปรับปรุง อุโบสถหลังใหม่ของวัดหมื่นไวย โดยท�ำ หลังคาโบสถ์เป็นรูปปราสาทตามแบบ ของโบสถ์วดั สิรสิ ารวัน ส่วนตัวโบสถ์สร้าง เป็นแบบโบสถ์หลังเก่า คือ สีเ่ สา เก้าประตู แปดหน้าต่าง ดังทีเ่ ห็นในปัจจุบนั นี้ อุโบสถ์ หลังใหม่ได้วางศิลาฤกษ์ เมื่อวันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2518
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด
อุโบสถกลางน�้ำ (อุโบสถหลังเก่า) ก่อด้วยอิฐถือปูนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปัก ใบเสมาหิน ภายในอุโบสถเป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธรูปปางปาลิเยก์ (ปางเลไลย์) ตัง้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ขนาด 3 ห้อง เจาะช่องหน้าต่างขนาดใหญ่ขา้ งละ 2 ช่อง ด้านหน้าและหลังก่อเป็นมุขลดชั้นยื่น ออกมาทั้ง 2 ด้าน มุขด้านหน้า ด้านทิศ ตะวันออกก่อผนังทึบเจาะช่องประตูทาง
ภายในห้ อ งโถงกลางที่ ผ นั ง กั้ น มุ ข ตะวันตก ก่อเป็นแท่นชุกชีประดิษฐาน พระพุทธรูปปางปาลิเลยก์ (ปางเลไลย์) ปูนปั้นลงรักปิดทอง ฐานอุโบสถก่อเป็น แนวโค้ง หย่อนท้องช้าง หรือหย่อนท้อง ส�ำเภา ซุ้มหน้าต่างและซุ้มประตูเป็น ซุ้มรูปสามเหลี่ยม ลักษณะคล้ายคลึงกับ สถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาตอนปลาย และได้รบั การบูรณะสืบเนือ่ งมาในชัน้ หลัง ปัจจุบนั ส�ำนักศิลปากรที่ 12 นครราชสีมา ได้มกี ารขุดแต่งบูรณะและปรับปรุงภูมทิ ศั น์ โบราณสถานอุโบสถวัดหมื่นไวย
นามเจ้าอาวาสปกครองวัด เข้า 2 ช่อง และช่องหน้าต่างทีผ่ นังด้านข้าง ละ 1 ช่อง ผนังกัน้ ระหว่างมุขหน้ากับห้อง โถงกลางเจาะช่องประตูทางเข้า 2 ช่อง และช่องหน้าต่างขนาดใหญ่ที่ผนังด้าน ข้างอีกข้างละ 1 ช่อง ที่ผนังกั้นโถงกลาง เจาะเป็นช่องประตูเข้าสู่ห้องโถงกลาง 2 ช่อง ตรงกลางท�ำซุม้ ปราสาทประดิษฐาน เจดีย์ขนาดเล็ก (พระธาตุจุฬามณี) ไว้ ภายใน หน้าบันมุขทัง้ 2 ด้าน สลักเป็นลาย เครือเถาประดับกระจก ตอนล่างสุดเป็น แนวลายกระจังคั่นระหว่างหน้าบันและ ขอบผนัง
ส�ำหรับพระคุณเจ้าซึ่งด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดหมืน่ ไวย ตัง้ แต่เริม่ สร้าง วัด ที่พอจะจ�ำได้ จนถึงปัจจุบัน ดังนี้คือ พระอธิการทน, พระอธิการจู,่ พระอธิการค�ำ ป้อมสนาม, พระอธิการด�ำ, พระอธิการอยู,่ พระอธิการหรัง่ , พระอธิการอยู,่ พระอธิการ เสมอ ฐิตสิโล และพระครูอัครธรรมรังษี (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน)
หมายเหตุ
ข้อมูลวัดหมื่นไวยพอสังเขปจาก ยายทอง โมหมื่นไวย ข้อมูลสิง ่ ทีน่ า่ สนใจในวัด จากสารสนเทศ ท้องถิ่นนครราชสีมา
NAKHONRATCHASIMA 125
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองบัว วัดหนองบัว ตั้งอยู่เลขที่ 89 หมู่ 8 ต�ำบลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหา นิ ก าย ปั จ จุ บั น มี พระอธิ ก ารสมนึ ก ขนฺติธโร เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดหนองบัว
วัดหนองบัว ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2296 โดย ชาวบ้านหนองบัว และผู้มีจิตศรัทธาได้ ร่วมกันก่อสร้างวัดขึน้ ได้รบั พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม พ.ศ.2515 มีที่ดินจ�ำนวน 2 แปลง ได้แก่ แปลงที่ 1 โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 3436 มีเนือ้ ที่ 24 ไร่ 72 ตารางวา แปลงที่ 2 โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 34937 มีเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน ในบริเวณวัดหนองบัว มีการก่อสร้าง โรงเรียนบ้านหนองบัวขึ้น จัดการศึกษา ภายในวัดเป็นเวลาอันสมควร ทางกระทรวง ศึกษาธิการจึงได้อนุญาตให้สร้างโรงเรียน ในที่สาธารณะในเวลาต่อมา
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด
วั ด หนองบั ว มี พ ระพุ ท ธรู ป สมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย เป็ น พระพุ ท ธรู ป ศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด 1 องค์ มีนามว่า “หลวงพ่อปทุมทองฤทธิเดช” ซึ่งเป็น ทีเ่ คารพสักการะของชาวหนองบัวตลอด จนชาวบ้านในชุมชนใกล้เคียง อุโบสถหลังใหม่สร้างด้วยปัจจัยของ พุทธศาสนิชน จ�ำนวน 18 ล้านกว่าบาท และจะมีการจัดงานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมติ ในช่วงปลายปี 2561
126
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอธิการยวน 2. พระอธิการนิล 3. พระอธิการช้าง 4. พระอธิการน้อย 5. พระอธิการวัง 6. พระอธิการช�ำ 7. พระอธิการแปะ 8. พระอธิการพวง 9. พระอธิการบุญ 10. พระครูปทุมสรารักษ์ 11. พระอธิการบ�ำรุง ฐิตปุญฺโญ 12. พระอธิการสมนึก ขนฺติธโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน วิทยะฐานะ นักธรรมชัน้ เอก ปริญญา ตรี พุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กิจกรรมส�ำคัญของ วัดหนองบัว
จัดการเรียนการสอนนักธรรมโดยมี พระอธิการสมนึก ขนฺติธโร เป็นผู้ริเริ่ม จัดการเรียนการสอนนักธรรมทีว่ ดั หนองบัว ตั้งแต่นักธรรมชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก
มีอาจารย์ที่ท�ำการสอนอยู่ 3 รูป ได้แก่ พระณรงค์ ฤ ทธิ์ มหาปรกฺ ก โม เป็ น อาจารย์สอนวิชาธรรมวิภาค และพระวินยั พระญาชินทร์ ปญฺญวุฑโฒ เป็นอาจารย์ สอนวิ ช าพุ ท ธประวั ติ พระกฤษณะ มหาวายาโม เป็นอาจารย์สอนวิชาเรียง ความแก้กระทู้ธรรม จัดโครงการบรรพชาสามเณรฤดูรอ ้ น เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีฯ ตัง้ แต่ วันที่ 1-10 เมษายนของทุกปี และ ได้รับผ้าไตรพระราชทาน 4 ปี จัดกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปีวิธีพุทธ เป็นประจ�ำทุกปี โดยมีพระภิกษุ สามเณร และอุบาสก อุบาสิกา ร่วมสวดมนต์ขา้ มปี จ�ำนวนหลายรูป/คน จัดงานบุญประเพณี เนือ ่ งในวันส�ำคัญ ทางศาสนา และวันส�ำคัญของชาติ
พระอธิการสมนึก ขนฺตธิ โร เจ้าอาวาสวัด
NAKHONRATCHASIMA 127
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเดิม วัดเดิม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 36 ถ.สระศรีโบราณ บ้านสระพลุง่ หมูท่ ี่ 1 ต.ในเมือง อ.พิมาย จ.นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 3 วา ปั จ จุ บั น มี พระครู โ สภณศี ล วิ สุ ท ธิ์ (พระวีรชิต ชิตมาโร) เจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดเดิม
วัดเดิม เป็นวัดเก่าแก่ทเี่ กิดขึน้ พร้อมๆ กับการตัง้ รกรากถิน่ ฐานของชุมชนพิมาย ที่ตั้งขึ้นเมื่อราว 1800 ปีล่วงมาแล้ว โดย สืบความได้ว่าชนชาติไทยส่วนใหญ่นั้น นับถือศาสนาพุทธอยูก่ อ่ นแล้ว เมือ่ เคลือ่ น ย้ายหรือขยายตัวเข้าไปอยู่ ณ บริเวณใด ก็นำ� เอาศาสนาพุทธอันเป็นทีเ่ คารพนับถือ ของตนไปพร้อมด้วย ที่ดินอันเป็นที่ตั้งบริเวณวัดเดิมนั้น เข้าใจว่าชาวไทยพุทธในขณะนัน้ คงจะได้ ก่อสร้างเป็นวัดขึ้น โดยสันนิษฐานว่าน่า จะก่อตั้งวัดขึ้น เมื่อราว พ.ศ.2000 เพื่อ เป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ เมือ่ ชาวบ้านพากันอพยพเข้ามาอยูใ่ หม่ๆ วัดจะมีชอื่ อย่างไรไม่ปรากฏ แต่ประชาชน เห็นว่าเป็นวัดเก่าแก่มมี านาน จึงเรียกกัน ว่า “วัดเดิม” สืบมา (ภาษาโคราช ค�ำว่า เดิม หมายถึง เก่า เช่นค�ำว่าของชิน้ เก่า จะ พูดว่า ของอั๋นเดิ๋ม) วัดเดิม ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อ พ.ศ.2478 และได้รับการท�ำนุบำ� รุง จากทางราชการมาโดยตลอด จะเห็นจาก
128
ในสมัยหลวงภักดีขนั ธสีมา นายอ�ำเภอ พิมาย (ประมาณ พ.ศ.2450-2463) ได้ชกั ชวน คณะกรมการอ�ำเภอ ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ราษฎร ท�ำการบูรณะ ซ่อมแซมวัดเดิม และ วัดใหม่ ให้เป็นทีถ่ าวรและเป็นทีพ่ กั อาศัย ของพระสงฆ์สามเณร และเป็นประโยชน์ แก่สาธารณชน เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศล แด่พระเจ้าอยู่หัวในสมัยนั้น วัดเดิม มีเจ้าอาวาส ภิกษุ สามเณร เข้ า อยู ่ อ าศั ย จ� ำ พรรษาไม่ ข าด อดี ต เจ้าอาวาสของวัดเดิมทุกท่าน ล้วนเป็น พระทีม่ คี วามสามารถ ยึดมัน่ ในหลักการ ของพระพุทธศาสนาอย่างเหนียวแน่น ตามปกติเจ้าอาวาสจะด�ำรงต�ำแหน่งผูน้ ำ� ฝ่ายสงฆ์ หรือไม่กด็ ำ� รงต�ำแหน่งเจ้าคณะ อ�ำเภอมาโดยตลอด แม้จะพ�ำนักอยูว่ ดั อืน่ ในอ�ำเภอนี้ ถ้าได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะ อ�ำเภอก็จะต้องย้ายมาจ�ำพรรษาทีว่ ดั เดิม แห่งนี้ โดยถือปฏิบัติเป็นประเพณีเสมอ มา ในความรู้สึกของพุทธศาสนิกชนชาว พิมายจึงถือว่า “วัดเดิมเปรียบเสมือน เป็นวัดหลวง”
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
วัดเดิม มีพระพุทธรูปส�ำคัญ 3 องค์ ซึง่ ประชาชนในอ�ำเภอพิมาย ให้การเคารพ บูชาเป็นอย่างยิ่ง คือ พระพุทธวิมายะ
พระด�ำ และ พระแดง (พระคูเ่ มืองพิมาย) ด้วยความทีเ่ ป็นทีส่ กั การบูชาของประชาชน ในอ�ำเภอพิมาย และอ�ำเภอใกล้เคียง ทุก คนจึงมักเรียกกันเป็นทีค่ นุ้ เคยว่า หลวงพ่อ พุทธวิมายะ หลวงพ่อด�ำ หลวงพ่อแดง ประวัติของพระพุทธวิมายะนั้น เดิม พบเพียงพระเศียรพระพุทธรูปศิลาขนาด ใหญ่ ซึง่ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 17-19 วางอยู่ใต้ต้นโพธิ์ในปราสาทหินพิมาย ทางวัดจึงได้อญ ั เชิญมาประกอบเป็นองค์ พระทีส่ มบูรณ์ ด้วยก้อนหินจากปราสาท หินพิมาย พร้อมกับโบกปูนลงรักปิดทอง ทั้งองค์ แล้วอัญเชิญมาประดิษฐานเป็น พระประธานอยู่ในอุโบสถหลังเก่าของ วัดเดิม (ปัจจุบันรื้อถอนและสร้างวิหาร
ครอบในเขตอุโบสถหลังเดิม) หลังจากนั้นเมื่อกรมศิลปากรจะท�ำ การบูรณะปราสาทหินพิมาย จึงได้อญ ั เชิญ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในบริเวณ ตะวั น ออก และตะวั น ตกของปรางค์ ประธาน ซึง่ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ขนาด ใหญ่ สันนิษฐานว่าคงสร้างในสมัยของ เจ้าก๊กพิมาย มาประดิษฐานไว้ด้านหน้า ของอุโบสถ ด้วยลักษณะทีค่ นโบราณได้ใช้ ยางรักและชาด ทาลงบนองค์พระทัง้ สอง จึงท�ำให้องค์หนึ่งมีสีแดง องค์หนึ่งมีสีด�ำ ชาวบ้ า นจึ ง เรี ย กตามลั ก ษณะที่ พ บว่ า หลวงพ่อด�ำ หลวงพ่อแดง (ปัจจุบันท�ำ การย้ายเข้าไปไว้ในวิหารแล้ว) ปัจจุบนั พระพุทธวิมายะ หลวงพ่อ NAKHONRATCHASIMA 129
พระครูโสภณศีลวิสุทธิ์ เจ้าอาวาส แดง หลวงพ่อด�ำ ได้รับการบูรณะ ด้วย การลงรักปิดทองใหม่ทั้งองค์เป็นที่เรียบ ร้อยแล้ว และเปิดวิหารให้พทุ ธศาสนิกชน ที่เดินทางมาเที่ยวปราสาทหินพิมาย ได้ กราบขอพรได้เป็นประจ�ำทุกวัน
ท�ำเนียบการปกครอง
วัดเดิม ได้รบั การปฏิสงั ขรณ์พร้อมกับ การพัฒนาขึน้ ตามฐานะและอัตภาพความ เป็นอยูข่ องประชาชน และความสามารถ ของเจ้าอาวาสแต่ละองค์สืบต่อกันมา ดังนี้ 1. พระครูศลี วิสทุ ธิพรต (ทุย รตนปญฺญา) พ.ศ.2470-2488 2. พระมหาเชย พ.ศ.2489-2494 3. พระครูศลี วิสทุ ธิพรต (แก้ว สีลานุโลโม) พ.ศ.2495-2498 4. เจ้าอธิการอิ่ม พ.ศ.2499-2501 5. พระครูศีลวิสุทธิพรต (เกิด กลฺยาโณ) พ.ศ.2502-2513 6. พระโพธิวรญาณ (เขียว สนฺตจิตฺโต) พ.ศ.2515-2559 7. พระครู โ สภณศี ล วิ สุ ท ธิ์ (พระวี ร ชิ ต ชิตมาโร) พ.ศ.2559-ปัจจุบนั และด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย โดยมีผู้ช่วยเจ้าอาวาส ปฏิบัติงานใน ด้านต่างๆ ดังนี้ 130
พระครูปริยตั กิ จิ จากร ดร. ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส และผู้อ�ำนวยการโรงเรียนวิสุทธิพรต พิทยาคม พระครูสร ิ ปิ ริยตั ยานุกจิ ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาส
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
วัดเดิม มีกจิ กรรมในวันส�ำคัญต่างๆ ประมาณ 1,000 คน ซึง่ ในวันธรรมสวนะ และวันอุโบสถจะมีประชาชนมาประกอบ ศาสนกิจ เฉลีย่ ครัง้ ละประมาณ 300-400 คน ทางวั ด ได้ จั ด กิ จ กรรมพิ เ ศษในวั น ธรรมสวนะ และวันส�ำคัญทางศาสนา คือ วันธรรมสวนะ วัดเดิมจัดให้มก ี าร
บ�ำเพ็ญบุญตักบาตรเป็นประจ�ำตลอดปี ในช่วงออกพรรษา จะมีประชาชนมาท�ำ บุญตักบาตร วันละไม่ตำ�่ กว่า 100 คน ใน ช่วงเวลาที่พระสงฆ์ก�ำลังฉันภัตตาหาร เช้า จัดให้มีการแสดงธรรมเทศนา โดย พระภิกษุ สามเณร ภายในวัดหมุนเวียน เป็นองค์ธรรมกถึก เทศกาลเข้าพรรษา วัดเดิมจัดให้ มีการบ�ำเพ็ญกุศลท�ำบุญตักบาตร รักษา อุโบสถ และฟังธรรม เป็นประจ�ำตลอดมา มีอบุ าสก อุบาสิกา เข้ารักษาอุโบสถ จัดให้ มีการแสดงธรรมทุกวันในเวลา 17.00 น. เป็นประจ�ำ ซึ่งทางวัดได้ถือปฏิบัติเป็น
ธรรมเนี ย มสื บ ต่ อ มาตั้ ง แต่ ค รั้ ง อดี ต เจ้าอาวาสรูปก่อนๆ ทีไ่ ด้ถอื ปฏิบตั มิ าหลาย ชั่วอายุคน วันส�ำคัญทางศาสนา วัดเดิมจัดให้ มีการท�ำบุญตักบาตร และรักษาอุโบสถ ฟังพระธรรมเทศนา เวียนเทียนในช่วงเช้า เป็นประจ�ำทุกปี ส�ำหรับในช่วงค�่ำหลัง ท�ำวัตรสวดมนต์ จะมีพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา จากวัดในเขตเทศบาล ต�ำบลพิมายมาร่วมเวียนเทียน ซึ่งทาง วัดเดิมได้ถอื ปฏิบตั ติ ามธรรมเนียมทีเ่ คย ปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตเจ้าอาวาสรูปก่อนๆ ในแต่ละครัง้ จะมีพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา และประชาชนมาร่วมเวียนเทียน ไม่ต�่ำกว่า 500 รูป/ครั้ง
ด้านการจัดการศึกษา
วัดเดิม เป็นวัดทีจ่ ดั การศึกษาทัง้ แผนก ธรรม และสามัญศึกษา โดยมีโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ซึ่งมีความ ปรารถนาที่ขยายโอกาสทางการศึกษา
ให้กับผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา ผู้มี รายได้น้อยไม่มีค่าใช้จ่ายในการส่งบุตร หลานเข้าเรียนในระบบโรงเรียนประจ�ำ เพื่อให้ลูกหลานได้มีโอกาสเรียนในภาค บังคับ 12 ปี ได้มาบวชเป็นสามเณร หรือ อุปสมบทเป็นพระภิกษุ และเข้าเรียนต่อ ในโรงเรียนวิสทุ ธิพรตพิทยาคมนี้ เพือ่ เป็น การท�ำนุบ�ำรุงการศึกษาของพระภิกษุ สามเณรในพระพุทธศาสนา และเป็นการ รักษาการจัดการศึกษาของวัด อันเป็นแหล่ง สร้างและถ่ายทอดวัฒนธรรม ประเพณี ศีลธรรม คุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม ให้ตราบนานเท่านาน
ผลงานดีเด่น
วัดเดิม ได้รบั ประกาศให้เป็น “วัดพัฒนา ตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2531” ได้รบั ประกาศนียบัตรพัฒนา จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ นอกจากนี้วัดเดิมยังเป็นศูนย์กลางการ บริหารงานของคณะสงฆ์อ�ำเภอพิมาย และเคยเป็นที่ประกอบพิธีทางศาสนา ของทางราชการ คือ วันเฉลิมพระชนม พรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี ทางอ�ำเภอ พิ ม ายจะใช้ ส ถานที่ วั ด เดิ ม เป็ น ลาน ประกอบพิธถี วายพระพรชัยมาโดยตลอด
เหตุการณ์ส�ำคัญของวัดเดิม
พ.ศ.2536 ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานทรงประกอบพิธี วางศิลาฤกษ์ พ.ศ.2540 ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ เป็นองค์ประธานทรงเปิดอาคาร เรียนเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนวิสทุ ธิพรต พิทยาคม วัดเดิม โดยทุกครั้งได้เสด็จฯเข้าไปยังวิหาร และถวายสั ก การะ พระพุ ท ธวิ ม ายะ หลวงพ่อแดง และหลวงพ่อด�ำ
NAKHONRATCHASIMA 131
WAT DERM Wat Derm is located at 36 Srasriboran Road, Ban Sraplung, Village No.1, Nai Muang Sub-district, Phimai District, Nakhon Ratchasima Province. It belongs to Maha Nikai clergy and the scale of its land is 3.6 acres 800 square meters and 6 meters. At present, Phra Kroo Sophon Seenwisood (Phra Veerachit Chitmaro) who is the Phimai Distrcit monk dean, is an abbot of this temple.
History of Wat Derm
Wat Derm was presumed that it was founded around 2000 B.E. to be center and spiritual anchor of people. At that time, when people emigrated to lived near temple area, this temple’s name was unknown. However, locals named this temple “Wat Derm” because they found this temple was founded for a long time. (In Korat dialect, Derm means old) Wat Derm was granted “Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to built temple or other religious buildings) in 2478 B.E. and it was always preserved by government. According to evidence when Luang Pakdee Khanthasima is Phimai District sheriff (around 2450 B.E. - 2463 B.E.), he invited district department, sub-district headman, village headman, villagers to restored and repaired Wat Derm and Wat Mai to be living quarters of Buddhist monk and public benefit to offered this merit to the His Majesty the Late King Bhumibol.
Important Holy Object
Wat Derm has three significant
132
Buddha images which are Phra Buddha Wimaya, Phra Dam, and Phra Dang (An invaluable Buddha image of Phimai city). These Buddha images worshipped by locals in Phimai District and nearby district, they usually call by the name Luang Por Buddha Wimaya, Luang Por Dam, Luang Por Dang. These Buddha images has been restored by covered with lacquer and gold leaf all over Buddha image already, and now this temple open Buddha image hall for Buddhist who come to Phimai Rock Castle that they can pay respect to these holy objects every day.
Administrative Backgrounds
Wat Derm has been renovated together with developed according to people’s economic status and livelihood including with capability of each abbot
which an order of an abbots are as following: 1. Phra Kroo Seenwisoodthiprod (Tui Rattanapanya) 2470 B.E. - 2488 B.E. 2. Phra Maha Chey 2489 B.E. - 2494 B.E. 3. Phra Kroo Seenwisoodthiprod (Kaew Seelanulomo) 2495 B.E. - 2498 B.E. 4. Chao Athikan Im 2499 B.E. - 2501 B.E. 5. Phra Kroo Seenwisoodthiprod (Kerd Kanlayano) 2502 B.E. - 2513 B.E. 6. Phra Phothiworayan (Kheaw Santajitto) 2515 B.E. - 2559 B.E. 7. Phra Kroo Sophon Seenwisood (Phra Veerachit Chitmaro) 2559 B.E. till now, he also take a position of Phimai District monk dean which he has two assistants who support him in various aspects as follows: Phra Kroo Pariyatkitjakorn who is Dr., abbot assistant, and Wisoodthiprodpittayakom school
Director. Phra Kroo Siripariyatyanukit - an abbot assistant.
Important activity of Wat Derm
Wat Derm has thousands of people gathering here when this temple held up an activity on any significant Buddhist day, such as In Buddhist holy day and Uposatha day, approximately 300-400 people will come to this temple to perform religious activities which this temple has been held up special activities in Buddhist holy day and other significant Buddhist day as following: Buddhist Holy Day - on this day, people can make merit and give alms to a monk at this temple all year round. Moreover, there are more than 100 people per day that come to this temple
during the end of Buddhist lent period. In the morning, when monks have breakfast, there will be preaching by monks and novices of this temple who act as a preacher. The beginning of Buddhist Lent - Wat Derm always held up an activity on this period which are making merit, giving alms to a monk, and observing Buddhist eight precepts. Furthermore, monk always give a sermon at 17:00 which this activity is a custom of Wat Derm since the former abbot who had held this activity up, and it was inherited from generation to generation up to now. Significant Buddhist Day - In the morning, people can make merit, give alms to a monk, observe Buddhist eight precepts, listen to a sermon, and walk with lights candles in hand around temple. After that, on the evening, there will be monks, novices, laymen, laywomen from other temple in Phimai Sub-district come to this temple to walk with lights candles in hand around temple together with others. This activity is a custom that inherit from generation to generation as well.
Education Arrangement
Wat Derm is a temple that provide both Dharma education and general education by establishing religious education schools - general education program, to support anyone whom Educationally disadvantaged or low income families that cannot afford tuition fee for their children. They can sent their children to become a novice at this temple or even a monk, then attend to Wisoodthiprodpittayakom school. The above action is for the
purpose of preserving an education of Buddhist monk and novice together with maintaining an education arrangement of this temple which is the place where culture, tradition, morals, virtue, and ethical behavior was created and propagated continuously.
Outstanding Works
Wat Derm has been announced to be “Outstanding temple on development aspect which has excellent works of 2531 B.E.” and got the testimonial from Department of religious affairs, Ministry of education. Moreover, this temple also the center of Phimai District clergy administration and used to be the place which performed an officially religious ceremony which is His Majesty the Late King Bhumibol’s Birthday, 5 December annually, government officer of Phimai District always perform the candlelight ceremony at this temple.
An Important events of Wat Derm
In 2536 B.E. - Somdech Phra Debaratanarajasuda Sayamboromrajakumari came to Wat Derm to presided at the laying foundation stone ceremony. In 2540 B.E. - Somdech Phra Debaratanarajasuda Sayamboromrajakumari came to Wat Derm to presided at an opening of school building which made for glorified Royal family in Wisoodthiprodpittayakom school, Wat Derm. Both time she came, she went into Buddha image hall to worshipped Phra Buddha Wimaya, Luang Por Dam, and Luang Por Dang.
NAKHONRATCHASIMA 133
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสระเพลง
134
ว่า “มวลสารดี พิธเี ยีย่ ม พุทธาภิเษก 9 วัน 9 วาระ” เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 15-25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2556
วัตถุมงคลของวัดสระเพลง
วัดสระเพลง ตัง้ อยูบ่ นถนนพิบลู ย์รตั น์ หมูท่ ี่ 16 บ้านใหม่ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอ พิมาย จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระมหาประเสริฐศักดิ์ ปญฺญาปสุโต เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
วัดสระเพลง ก่อตั้งมาแต่สมัยใดนั้น ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด แต่สันนิษฐาน ว่ามีมาก่อน พ.ศ.2430 หรือประมาณ 130 กว่าปีทผี่ า่ นมา นับเป็นวัดทีม่ คี วามเก่าแก่ เป็นอันดับ 2 รองจากวัดเดิม วัดสระเพลง ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2481 เนือ่ งจากทีต่ งั้ วัดอยูต่ ดิ กับขอบสระเพลง ซึ่งเป็นสระน�ำ้ โบราณขนาดใหญ่ มีเนื้อที่ ประมาณ 80 ไร่ ซึง่ อยูค่ บู่ า้ นคูเ่ มืองพิมาย มาตัง้ แต่อดีตกาล จึงตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดสระเพลง” ต่อมาในปี พ.ศ.2444 ได้มชี าวนาใจบุญซึง่ มีที่นาอยู่ใกล้เคียงบริเวณวัดในสมัยนั้น ได้บริจาคทีด่ นิ ประมาณ 6 ไร่ วัดสระเพลง จึงได้ยา้ ยเข้ามาสร้างใหม่ในพืน้ ทีป่ จั จุบนั นี้ ภายในบริเวณวัดมีกฏุ ไิ ม้ 1 หลัง ศาลา การเปรียญ 1 หลัง และโบสถ์ไม้อกี 1 หลัง
รายนามเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาสรูปที่ 1 พระครู พุ ท ธั ช ธั ม รง
หรือ พระครูปลัดจีน พ.ศ.2450-2485 เจ้าอาวาสรูปที่ 2 หลวงพ่อหม้อ สังวโร พ.ศ.2485-2520 เจ้าอาวาสรูปที่ 3 พระอาจารย์ชติ หรือ พระใบฎีกาชิต ติกขวโร พ.ศ.2520-2537 เจ้าอาวาสรูปที่ 4 พระอาจารย์สมเดช รกฺขิตธมฺโม พ.ศ.2537-2543 เจ้าอาวาสรูปที่ 5 พระอธิการแถว พ.ศ. 2543-2547 เจ้าอาวาสรูปที่ 6 พระมหาประเสริฐศักดิ์ พ.ศ.2547-ปัจจุบัน
สนใจบูชาไว้เป็นสิริมงคล สอบถาม รายละเอียดได้ที่ พระมหาประเสริฐศักดิ์ ปญฺญาปสุโต เจ้าอาวาสวัดสระเพลง โทร. 08-9865-1795 หรือ ฝ่ายประชาสัมพันธ์งานของวัด โทร. 0-4447-1390 E-mail : srapleng111@hotmail.co.th Facebook : วัดสระเพลง จังหวัดนครราชสีมา www.watsraplengphimai.net
การพัฒนาวัดในยุค พระมหาประเสริฐศักดิ์
พระมหาประเสริฐศักดิ์ ปญฺญาปสุโต เจ้าอาวาสวัดสระเพลงรูปปัจจุบนั ได้พฒ ั นา ความเจริญก้าวหน้าด้านต่างๆ อาทิ แกะสลั ก เที ย นที่ ส ร้ า งชื่ อ ทั่ ว ประเทศ อาทิ เทียนนายก ซึง่ เป็นขบวนเทียนทีส่ วย ทีส่ ดุ ในภาคอีสาน และได้รบั รางวัลชนะเลิศ ในปี 2556 สร้ า ง “พระพุ ท ธชิ น สี ห ์ ศ ากยบรม ศาสดา” หน้าตัก 10.29 เมตร สูง 14.49 เมตร นับว่าสูงใหญ่ที่สุดในอ�ำเภอพิมาย และในจั ง หวั ด นครราชสี ม า เพื่ อ เฉลิมพระเกียรติถวายเป็นพระราชกุศล แด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช และเพือ่ เป็นการ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม วิถไี ทย วิถพี ทุ ธด้วย โดยท่านได้นมัสการ พระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐาน ท� ำ พิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษกพระพุ ท ธชิ น สี ห ์ ฯ (รุ่นเศรษฐีมีทรัพย์ รุ่นแรก) ครั้งที่ยิ่งใหญ่ ทีส่ ดุ ของวัดสระเพลง มีพระเถระผูท้ รงวิชา คุณนัง่ ปรกอธิษฐานจิต และพระเกจิดงั ทัว่ สารทิศร่วมปลุกเสกวัตถุมงคล จนเรียกได้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
1. ชื่ อ บั ญ ชี วั ด สระเพลง เลขที่ บั ญ ชี 981-1-78589-9 ธนาคารกรุงไทย สาขา พิมาย บัญชีออมทรัพย์ 2. ชื่อบัญชี วัดสระเพลง (สร้างพระพุทธ ปฏิมากร) เลขทีบ่ ญ ั ชี 266-2-44125-5 ธนาคารกสิกรไทย สาขาพิมาย บัญชี ออมทรัพย์ 3. ชื่อบัญชี วัดสระเพลง (สร้างพระพุทธ ชินสีห์ศากยบรมศาสดา) เลขที่บัญชี 356-402013-3 ธนาคารกรุงเทพ สาขา พิมาย บัญชีออมทรัพย์ NAKHONRATCHASIMA 135
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดวิปัสสนารังกาใหญ่ วัดวิปสั สนารังกาใหญ่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 171 หมู่ที่ 4 บ้านรังกาใหญ่ ถ.พิมาย-ชุมพวง ต.รังกาใหญ่ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ปั จ จุ บั น มี พระครูสุตธรรมวิสิฐ (พระมหามนัสชัย เมตฺตจิตโฺ ต) เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย และเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดวิปัสสนารังกาใหญ่
วัดวิปสั สนารังกาใหญ่ เดิมเป็นทีต่ งั้ ของศูนย์วปิ สั สนากัมมัฎฐานประจ�ำอ�ำเภอ พิมาย ซึง่ คณะสงฆ์ได้ใช้ทำ� กิจกรรมเกีย่ วกับ การปฏิบตั ธิ รรมของคณะสงฆ์มาโดยตลอด วัดวิปัสสนารังกาใหญ่มีพัฒนาการตาม ล�ำดับดังนี้
จากค�ำบอกเล่าของผู้สูงอายุบอกว่า ตั้งแต่เกิดมาก็เห็นว่าที่นี้เป็นป่าช้าใช้เผา ศพ จึงเรียกกันว่า “ป่าช้าบ้านรังกา” ต่อมา หลวงปูเ่ ทีย่ ง ปญฺญาวุโธ นามสกุล มินพิมาย มีภูมิล�ำเนาอยู่ในบ้านรังกาใหญ่ เกิด เบือ่ หน่ายในชีวติ ฆราวาสและต้องการหา ความสงบในชีวิตบั้นปลาย จึงอุปสมบท เป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยมี พระครูศลี วิสทุ ธิพรต (เกิด กลฺยาโณ) วัด เดิม อ�ำเภอพิมาย เจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย
ยุคเริ่มก่อสร้าง
พืน้ ทีต่ งั้ วัดเดิมเป็นป่าช้าประจ�ำบ้าน รังกาใหญ่ บนเนื้อที่สาธารณประโยชน์ 80 ไร่ 3 งาน ประชาชนในบ้านรังกาใหญ่ บ้านรังกาน้อย บ้านหนองโสมง บ้าน หนองโสมงพัฒนา บ้านหนองน�ำ้ กินบาง ส่วน ได้ใช้บริเวณนีเ้ พือ่ ท�ำการเก็บศพและ ฌาปนกิจศพของหมู่บ้านมาเป็นเวลาช้า นาน 136
หลวงปู่เที่ยง ปญฺญาวุโธ บูรพาจารย์ผู้ก่อตั้งวัดวิปัสสนารังกาใหญ่
ในขณะนั้น เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่ออุปสมบทแล้วท่านได้สังกัดวัด รังกาใหญ่ (การเวก) แต่ดว้ ยอุปนิสยั ชอบ ความสงบจึงออกจาริกธุดงค์ไปยังทีต่ า่ งๆ โดยไม่พำ� นักอยูท่ ใี่ ดนาน จนวาระสุดท้าย ในปี พ.ศ.2515 ได้ธดุ งค์ไปปฏิบตั ธิ รรมที่ บริ เวณถ�้ ำ บนภู เขาในอ� ำ เภอปากช่ อ ง ลูกหลานเห็นว่าท่านมีอายุเกือบจะ 80 ปี แล้ว ด้วยความเป็นห่วงจึงได้พากันอาราธนา ท่านมาพ�ำนักในวัดรังกาใหญ่ แต่ดว้ ยความ ที่ท่านเป็นพระรักสันโดษ จึงขออนุญาต เจ้าอาวาสในขณะนัน้ มาพ�ำนักในบริเวณ ป่าช้าบ้านรังกาใหญ่ และได้มีญาติธรรม ติดตามมาปฏิบตั ธิ รรมในยุคแรกๆ ได้แก่ ปู่อยู่ สิงห์แก้ว ปู่พันธ์ วัชรพาณิชย์ และ อีกหลายท่าน โดยยกกระท่อมให้ทา่ นพ�ำนัก และต่อมาได้สร้างศาลาการเปรียญ 1 หลัง เป็นเสาไม้หลังคาสังกะสี ส�ำหรับเป็นทีพ่ กั ของญาติธรรมทีเ่ ข้ามาปฏิบตั ธิ รรม และมี พระภิกษุ สามเณร เข้ามาพ�ำนักปฏิบตั ธิ รรม กับท่านเรื่อยๆ ปีละ 4-5 รูป หลวงปู่อยู่ อย่างสมถะ ไม่หวังในลาภยศ สรรเสริญ ได้สอนธรรม สอนการปฏิบัติธรรมแก่ ญาติธรรมมาโดยตลอด จนสิน้ อายุถงึ แก่
มรณภาพ ต่ อ มามีพ ระภิกษุท�ำหน้าที่ หัวหน้าส�ำนักฯมาโดยตลอด ตามล�ำดับคือ 1. หลวงปู่เที่ยง ปญฺญาวุโธ 2. หลวงปู่ปาน ตปสีโล 3. พระอาจารย์เจน 4. พระสมุห์ชลิต กนฺตสีโล ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเดิม 5. พระครูสตุ ธรรมวิสฐิ (มนัสชัย เมตฺตจิตโฺ ต, น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ. (การสอนสังคมศึกษา), พธ.บ. (พุทธศาสตร์), ค.ม. (การบริหาร การศึกษา), ศษ.ด. (การบริหารการศึกษา) รองเจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย และเจ้าอาวาส วัดวิปัสสนารังกาใหญ่รูปปัจจุบัน
ยุคกลาง
ในสมัยพระอาจารย์เจน ซึง่ เป็นลูกศิษย์ ของหลวงปู่ มีความสันทัดในด้านการปฏิบตั ิ ได้จัดกิจกรรมการปฏิบัติธรรมอยู่เป็น ประจ�ำ มีญาติธรรมจ�ำนวนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ และได้พาญาติโยมปลูกต้นไม้เพิ่มเติม เช่น ต้นกระถินณรงค์ ต้นหางนกยูง ซึ่ง เป็นไม้หาง่ายในขณะนัน้ เพือ่ อาศัยร่มเงา ซึ่งในปัจจุบันไม้เหล่านี้ได้แก่และตายลง ไปเกือบหมดแล้ว ต่อมาพระอาจารย์เจน ได้ลาสิกขาไป
ยุคปัจจุบัน
เมื่อพระอาจารย์เจนได้ลาสิกขาไป ท�ำให้สำ� นักว่างจากหัวหน้าเป็นเวลา 2-3 ปี ชาวบ้านได้แผ้วถางป่าด้านหลัง เพื่อใช้ พื้ น ที่ ท� ำ เกษตรกรรมบุ ก รุ ก ป่ า เข้ า มา เยอะ เนื่องจากเป็นที่สาธารณประโยชน์ คณะสงฆ์โดย พระครูวิสุทธิพรตธ�ำรง (เขียว สนฺตจิตโฺ ต ปัจจุบนั ด�ำรงสมณศักดิท์ ี่ พระโพธิวรญาณ ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอ พิมาย) ซึง่ ป็นเจ้าคณะอ�ำเภอพิมายในขณะ นัน้ ได้ปรึกษาคณะสงฆ์และขอบิณฑบาต จากชาวบ้าน โดยได้รบั ความร่วมมือเป็น อย่างดี และได้พนื้ ทีค่ นื ทัง้ หมด ท่านได้นำ� คณะสงฆ์สร้างก�ำแพงล้อมรอบและปลูก
ประวัติและผลงาน ของ พระครูสุตธรรมวิสิฐ (มนัสชัย เมตฺตจิตฺโต)
ไม้ยนื ต้นเพิม่ เติม โดยได้รบั การดูแลบ�ำรุง รดน�ำ้ ใส่ปยุ๋ จากนายชอบ ศิรดิ ล ได้ทำ� การ ช่ ว ยดู แ ลป่ า มาจนต้ น ไม้ ยื น ต้ น ได้ เ อง แล้วจึงตัง้ เป็น “ศูนย์วปิ สั สนากัมมัฏฐาน อ�ำเภอพิมาย” และในปี 2531 คณะสงฆ์ มอบหมายให้พระสมุหช์ ลิต กนฺตสีโล มา ท�ำหน้าทีห่ วั หน้าศูนย์วปิ สั สนารังกาใหญ่ ในปี พ.ศ.2544 พระสมุหช์ ลิต กนฺตสีโล ได้ลาสิกขา พระโพธิวรญาณ เจ้าคณะอ�ำเภอ พิมาย จึงส่ง พระมหามนัสชัย เมตฺตจิตโฺ ต เลขานุ ก ารเจ้ า คณะอ� ำ เภอพิ ม าย มา ท�ำหน้าทีห่ วั หน้าศูนย์วปิ สั สนากัมมัฏฐาน อ�ำเภอพิมาย และได้รับมอบหมายให้ ด�ำเนินการจัดตั้งสถานที่แห่งนี้ให้เป็นวัด ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายเพื่ อ ความมั่ น คง พระมหามนัสชัย เมตฺตจิตฺโต จึงได้ด�ำริ กับคณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับความเห็น ร่วมกันว่าในพื้นที่ด้านหลังติดกับพื้นที่ สาธารณะนี้ เหมาะสมทีจ่ ะท�ำการซือ้ เพิม่ ขึ้นเพื่อขอสร้างวัด จึงได้ด�ำเนินการขอ ซื้อที่ของนายประเทือง สุราแป๊ะตั้ง ซึ่ง เป็นอุบาสกประจ�ำศูนย์วิปัสสนาแห่งนี้ จ�ำนวน 6 ไร่ ในราคา 300,000 บาท และ นายประเทือง ยังได้ถวายทีด่ นิ ส่วนทีเ่ หลือ อีก 3 งาน 96 ตารางวา รวมเป็นทีด่ นิ 6 ไร่ 3 งาน 96 ตารางวา และได้ด�ำเนินการ ขอสร้างวัดในปี 2549 ได้รับอนุญาตให้ สร้างวัดในปี 2550 และด�ำเนินการขอตัง้ วัดในพระพุทธศาสนา ได้รับอนุญาตตั้ง วัดในพระพุทธศาสนา พ.ศ.2552 ชื่อว่า “วัดวิปัสสนารังกาใหญ่”
พระมหามนัสชัย เมตฺตจิตโฺ ต ได้รบั แต่งตัง้ เป็น เจ้าอาวาสรูปแรก ในปี 2552 ปัจจุบันได้รับแต่งตั้งและพระราชทาน สมณศักดิ์ โดยล�ำดับดังนี้ พ.ศ.2547 เป็นผูช ้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดเดิม พ.ศ.2548 เป็นเจ้าคณะต�ำบลโบสถ์ เขต 2 พ.ศ.2550 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้าคณะต�ำบลชัน้ เอก ในราชทินนามที่ พระครูสุตธรรมวิสิฐ (จต.ชอ.) พ.ศ.2552 เป็นเจ้าอาวาสวัดวิปส ั สนา รังกาใหญ่ พ.ศ.2553 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย รูปที่ 1 พ.ศ.2556 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิเ์ ป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ เอก นับตัง้ แต่ได้รบั มอบหมายจากเจ้าคณะ อ�ำเภอพิมาย พระมหามนัสชัย เมตฺตจิตโฺ ต ได้พฒ ั นาวัด ด้านอาคารสถานที่ ด้านการ ศาสนศึกษา ด้านการเผยแผ่ ด้านศึกษา สงเคราะห์ ด้านสาธารณูปการ ด้านสาธารณสงเคราะห์ ส่วนสภาพป่าได้ดแู ลบ�ำรุงรักษา ปลูกเพิม่ เติมอีก 6 ไร่ จนมีความสมบูรณ์ ของป่าชุมชนประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ และ สนองนโยบายในการเผยแผ่ ส่งเสริมการ ปฏิบัติธรรมของคณะสงฆ์มาโดยตลอด ทั้ ง ปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยตนเองและฝึ ก ฝน พระสงฆ์สามเณรภายในวัด ให้มีความ เชีย่ วชาญในด้านการฝึกอบรมสมาธิภาวนา คุณธรรมจริยธรรม ทัง้ ในและนอกสถานที่ ได้จัดกิจกรรมอบรมระดมธรรม ส่งเสริม การปฏิบตั ธิ รรมส�ำหรับพระสงฆ์ ประชาชน และเยาวชนในรูปแบบต่างๆ มาโดยตลอด ต่อมาได้ขอจัดตัง้ เป็น “ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 75” มาจนถึงปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 137
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าพิมาย (ธ.) วัดป่าพิมาย (ธ.) ตัง้ อยูห่ มู่ 4 บ้านรังกา ต�ำบลรังกาใหญ่ อ�ำเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา เป็นวัดแรกในอ�ำเภอพิมาย ทีส่ งั กัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ผูเ้ ป็นเจ้าอาวาส รูปปัจจุบันคือ พระครูวาทีธรรมสุนทร
ประวัติวัดป่าพิมาย (ธ.)
วั ด ป่ า พิ ม าย (ธ.) ก่ อ ตั้ ง วั ด โดย พระอาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสสโก เจ้าอาวาสวัดป่านาค�ำน้อย ต�ำบลบ้านก้อง อ�ำเภอนายูง จังหวัดอุดรธานี เริ่มเมื่อ ปี 2545 ได้รบั อนุญาตตัง้ วัดป่าพิมาย (ธ.) เมื่อ 20 เมษายน พ.ศ.2550 และได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ 31 มีนาคม พ.ศ.2552 ประกาศราชกิจจานุเบกษา เมือ่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2552 ปัจจุบนั มี เนือ้ ทีป่ ระมาณ 120 ไร่เศษ หน้าวัดติดกับ ถนนชนบทสายบ้านส่วย-บ้านรังกา หลัง วัดติดกับล�ำน�ำ้ เค็มซึง่ เป็นล�ำน�ำ้ แยกออก มาจากล�ำแม่นำ�้ มูล อยูท่ างทิศตะวันออก 138
เฉียงใต้ของปราสาทหินพิมาย
การจัดแบ่งพื้นที่ในวัด
วัดป่าพิมาย (ธ.) ได้จดั แบ่งพืน้ ทีภ่ ายใน วัดออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนใน เป็นเขตสังฆาวาสส�ำหรับ พระภิกษุสงฆ์ แต่ละกุฏจิ ะมีทางเดินจงกรม ทุกแห่ง จะมีการปลูกต้นไม้ให้บังตา มี ลักษณะเป็นผืนป่าใหม่ทปี่ รับปรุงจากสภาพ เดิมทีเ่ ป็นสวนและทุง่ นาลุม่ ต�ำ่ ซึง่ การปลูก ต้นไม้จะเลือกสรรเฉพาะที่เหมาะสมกับ ภูมปิ ระเทศ เน้นการปลูกไม้ปา่ ให้ใช้ปยุ๋ คอก
ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี ส่วนทีส่ อง เป็นเขตส่วนรวมจะมีศาลา เอนกประสงค์ ชือ่ “ศาลาอารักขกัมมัฏฐาน” เป็นสถานทีท่ ำ� สังฆกรรมและเป็นอุโบสถ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ประธานปาง นาคปรกโลหะ ซึง่ ได้รบั ประทานนามจาก สมเด็จพระญาณสังวร พระสังฆราชองค์ที่ 19 พระนามว่า “พระพุทธนิรมิตสัมฤทธิผ์ ล” บนเศียรบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ 8 องค์ (มรรคแปด) ได้รับประทานจากสมเด็จ พระสังฆราชองค์ที่ 19 พื้นที่โดยรอบท�ำ เป็นสวนสมุนไพร และพืชผักสวนครัว เพือ่ เป็นอาหารและยาตามแนวพระราชด�ำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากนี้จะมี โรงครัว ห้องเก็บสิ่งของ ส่วนทีส่ าม เป็นเขตทีพ่ กั ของฆราวาส ผูม้ าปฏิบตั ธิ รรม มีกฏุ จิ ำ� นวน 19 หลัง ทุกๆ หลังจะมีทางเดินจงกรม และปลูกต้นไม้ ชนิดต่างๆ ให้เป็นป่าร่มรื่น
ปฏิปทาของวัดป่าพิมาย (ธ.)
แบบแผนการปฏิบัติธรรมของวัดป่า พิมาย (ธ.) ยึดถือแนวพระกรรมฐานสาย หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ซึ่งถ่ายทอดจาก หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน และพระอาจารย์อนิ ทร์ถวาย สันตุสสโก โดยการยึดถือปฏิบัติตามธุดงควัตรและ พระธรรมวินยั อาทิ การบิณฑบาต ถ้าไม่ ออกบิณฑบาตก็แสดงว่าอดอาหาร เพื่อ ประโยชน์ ใ นการท�ำความเพียรปฏิบัติ จิตภาวนา การฉันในบาตรด้วยมือและ ฉันมือ้ เดียว ในอาสนะเดียว อยูป่ า่ เป็นวัตร จึงต้องปลูกต้นไม้หลายชนิดให้เป็นสภาพ ป่า การห้ามพระ-เณรจับต้องเงินทอง ห้ามเรีย่ ไร ผูเ้ ข้าวัดต้องถือศีล 5 หรือศีล 8 ตามอัธยาศัย การพูดคุยต้องระวังส�ำรวม ไม่เอิกเกริก เฮฮา มีการสวดมนต์ภาวนา เป็นประจ�ำทุกคืน งานพิธโี ดยปกติคอื งาน ถวายผ้ากฐิน ปีละครัง้ เดียวเป็นกฐินสามัคคี ห้ามเปิดเพลงและห้ามน�ำสิ่งของมาขาย ในเขตวัด เพราะภายในเขตวัดเป็นเขต ธรรมทานและเขตอภัยทาน ตามกุฏทิ พี่ กั ไม่มไี ฟฟ้า ใช้เฉพาะเทียนและไฟฉาย จะ ยกเว้นกุฏิรับรองพระเถระและบริเวณ ส่วนกลาง บริเวณศาลา ห้องน�ำ้ -ห้องส้วม
โรงน�ำ้ ร้อน และกุฏทิ พี่ กั ของโยมทีป่ ว่ ยเข้า มาปฏิบัติธรรมเพื่ออ�ำนวยความสะดวก ทัง้ นีภ้ ายในวัดจะมีสระน�ำ้ ขนาดใหญ่ เพือ่ ใช้จดั ท�ำระบบน�ำ้ สะอาดใช้เองภายในวัด และมีระบบถังน�้ำดิบเพื่อใช้รดต้นไม้
กิจกรรมสงเคราะห์โลก
การสวดมนต์ภาวนา คณะสงฆ์ของ วัดป่าพิมาย (ธ.) จะน�ำศรัทธาญาติโยม สวดมนต์ภาวนา ตั้งแต่เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป เพิ่มพิเศษในวันส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนา และวันส�ำคัญที่ทาง
ราชการประกาศไว้ การฝึกอบรมคุณธรรมเด็กนักเรียน และเยาวชนของชาติ ในนาม “กลุม่ นโม โพธิ”์ มาสวดมนต์ภาวนาในวันสุดสัปดาห์ เป็นประจ�ำ การบ�ำเพ็ญจิตอาสา โดยศิษยานุศษิ ย์ ผู้ชายทั้งเด็กและผู้ใหญ่ บ�ำเพ็ญบุญช่วย รับบาตรพระภิกษุขณะบิณฑบาตในตอน เช้า ศรัทธาญาติโยมช่วยกันปลูกและดูแล ต้นไม้ในอาณาเขตวัด การออกเยีย่ มเยียนผูป้ ว่ ยและญาติ โดยคณะสงฆ์และศรัทธาญาติโยม จะออก เยี่ ย มเยี ย นให้ ก� ำ ลั ง ใจผู ้ ป ่ ว ยและญาติ ตลอดจนเจ้าหน้าทีใ่ นโรงพยาบาลพิมาย เป็นประจ�ำทุกวันพระ เป็นการพิจารณา ธรรมอย่างหนึ่ง “จั ด พิ ม พ์ เ นื่ อ งในโอกาสหลวงพ่ อ อินทร์ถวาย สันตุสสโกเจริญอายุวฒ ั นมงคล ครบ 72 ปี”
NAKHONRATCHASIMA 139
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. ตั้งอยู่เลขที่ 179 หมู่ที่ 19 ต�ำบลโบสถ์ อ�ำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูคณ ุ สารสัมปัน (จรูญ คุณากโร) เจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย (ธ) เป็นเจ้าอาวาส วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน)
โครงการโดดเด่นของวัด
1. ด้านการปฏิบตั ธิ รรม เน้นการปฏิบตั ิ ตามสายวัดป่า (หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต) 2. ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดดีเด่น ปีพุทธศักราช 2554 3. เป็ น ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด ป่ า คุ ณ สั ม ปั น นาราม ส� ำ นั ก เรี ย นจั ง หวั ด นครราชสีมา 4. จัดกองทุนด้านการศึกษาส�ำหรับ 140
พระภิกษุ สามเณร ในด้านการศึกษาทาง ด้านสามัญและบาลี 5. โครงการค่ายน�ำธรรมแสงธรรม เป็นโครงการเพื่อน�ำหลักธรรมเข้าสู่เด็ก และเยาวชน ลักษณะเป็นการจัดอบรม เข้าค่ายเป็นหลัก จัดอบรมเพือ่ ให้เด็กและ เยาวชน เข้าถึงพระพุทธศาสนา 6. ร่วมจัดกิจกรรมค่ายแสงธรรมกับ ชุมชนและบุคคลทัว่ ไป ทีม่ จี ติ ใจศรัทธาใน พระพุทธศาสนา
7. โครงการบวชเณรภาคฤดู ร ้ อ น ประจ�ำทุกปี 8. โครงการก่อสร้างวัดไทย แสงธรรม นาลันทา ประเทศอินเดีย 9. โครงการน�ำธรรมแสงธรรมยังให้ การอุปถัมภ์อนุเคราะห์หน่วยงาน องค์กร ต่างๆ อาทิ มอบทุนการศึกษา มอบทุน แก่สถาบันการศึกษา เป็นต้น
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พระครูคุณสารสัมปัน เจ้าอาวาส วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมงานบุญใหญ่ เททองหล่อพระไชยเมืองพิมาย ขนาด หน้าตักกว้าง 159 ซ.ม. สูง 219 ซ.ม. เพือ่ ประดิษฐานไว้ในอุโบสถดินแห่งแรกของ อ�ำเภอพิมาย ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.
พระครูคุณสารสัมปัน เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอพิมาย (ธ) 2560 เวลา 15.15 น. ณ วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. สาธุชนท่านใดประสงค์ จะตัง้ โรงทาน ติดต่อได้ที่ 09-7335-1871 ทุกๆ ปี ในวันที่ 17 สิงหาคม เป็นวัน กตัญญู ทางวัดจะมีกจิ กรรม เป็นวันระลึกถึง บุคคลทีห่ าได้ยาก พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, บิดามารดาผู้ให้ก�ำเนิด, ครูบาอาจารย์, พระมหากษัตริย์ ชื่ อ บั ญ ชี ค่ า ยคุ ณ ธรรมน� ำ ธรรม แสงธรรม โดย พระครูคณ ุ สารสัมปัน และ นางรมณีย์ และนางสุดใจ ธนาคารทหารไทย เลขบัญชี 319-2-36581-9 ชือ ่ บัญชี น�ำธรรมแสงธรรมสูด่ นิ แดน พระพุทธภูมิ (นาลันทา) ธนาคารทหารไทย เลขบัญชี 319-2-36468-9 ชือ ่ บัญชี เจดียศ์ รีพมิ าย โดย พระครู คุณสารสัมปัน ธนาคารทหารไทย เลขบัญชี 319-2-32256-2 ติดตามกิจกรรมเส้นทางบุญ กับ วัดป่าคุณสัมปันนาราม (ป่าหนองหิน) ธ. ได้ที่ Facebook : วัดป่าคุณสัมปันนาราม และ Facebook : ค่ายน�ำธรรมแสงธรรม วัดป่าหนองหิน
NAKHONRATCHASIMA 141
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนหวาย วัดดอนหวาย ตั้งอยู่เลขที่ 40 หมู่ 3 ต�ำบลหนองระเวียง อ�ำเภอพิมาย จังหวัด นครราชสีมา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนือ้ ที่ 9 ไร่ 2 งาน 15 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูสธุ รรมคุต เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลหนองระเวียง เขต 2
ประวัติวัดดอนหวาย
วัดดอนหวาย ได้รบั อนุญาตให้กอ่ สร้าง วัด เมือ่ ปี พ.ศ.2480 ในอดีตพืน้ ทีด่ นิ สร้าง วัดนัน้ เป็นพืน้ ทีล่ ม่ ุ ๆ ดอนๆ ดินร่วนปนทราย และเป็นที่รกร้างมีสัตว์ป่าและป่าไม้ขึ้น หนาแน่น เช่น ไม้เต็ง ไม่รงั ไม้กราด และ ไม้ไผ่ อาชีพหลักของชาวบ้านในสมัยนัน้ ก็คอื ท�ำนา ท�ำไร่ แต่การท�ำนาในสมัยนัน้ จะได้ผลผลิตไม่เต็มที่ เหตุเพราะว่าหลัง จากปักด�ำลงไปแล้วก็มักจะถูกปูกัดกิน ต้นข้าว ท�ำให้ชาวบ้านเกิดความท้อแท้ สิน้ หวัง ดัง้ นัน้ ชาวบ้านดอนหวายทีอ่ าศัย อยูบ่ ริเวณนัน้ 6 ครอบครัว จึงได้มศี รัทธา สร้างวัดไว้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ โดยตั้ง ชื่อวัดว่า “วัดบ้านดอนหวาย” เนื่องจาก บริเวณป่าชุมชนมีต้นหวายขี้ไก่เกิดขึ้น มาก ต่อมาตัดค�ำว่า “บ้าน” ออก และเรียก “วัดดอนหวาย” มาจนถึงปัจจุบัน ลักษณะการก่อสร้างกุฏใิ นครัง้ แรกจะ เป็นไม้ทงั้ หลัง ส่วนหลังคาจะใช้หญ้าแฝก มาท�ำเป็นหลังคามุงเพื่อกันฝนกันแดด โดยมี หลวงพ่อดี หลวงพ่อบุญที่มาพัก อาศัยอยูช่ วั่ คราว เมือ่ ครอบครัวเพิม่ มาก ขึ้นชาวบ้านจึงได้คิดสร้างกุฏิหลังใหม่ให้ ใหญ่ขนึ้ กว่าหลังเก่า เนือ่ งจากหลังเก่าได้ ช�ำรุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ประกอบ 142
กับมีพระภิกษุจ�ำพรรษามากขึ้น โดยมี หลวงพ่อสิงห์ เป็นประธาน ต่อมาได้ยา้ ย ออกจากวัดไป พระอาจารย์โพธิ์ จึงได้ มาเป็นประธานสงฆ์ อยูต่ อ่ มาไม่นานนัก ท่านก็ได้ลาสิกขาไปมีครอบครัว และมี พระอาจารย์ทอง สุรปญฺโญ เป็นอาจารย์ และเป็นผู้ดูแลวัด และได้เป็นประธาน ในการหาปัจจัยเพื่อก่อสร้างและบูรณะ ซ่ อ มแซมกุ ฏิ จากนั้ น ได้ ล าสิ ก ขาไปมี ครอบครัว ต่ อ จากนั้ น ก็ มี พ ระอธิ ก ารเมื อ ง สิรฐิ นิ โน ซึง่ เป็นคนในหมูบ่ า้ นดอนหวาย เข้ามาบวชจนได้เป็นเจ้าอาวาสอย่างถูก ต้อง ได้น�ำพาชาวบ้านก่อสร้างกุฏิ ศาลา การเปรียญ รั้วก�ำแพง ห้องน�้ำ ห้องส้วม มากมาย สร้างคุณประโยชน์ตอ่ พระศาสนา มากมาย จึงได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ ทีพ ่ ระครูสริ นิ าครธรรม และเป็นเจ้าคณะ ต�ำบลหนองระเวียง จนกระทั่งท่านได้ มรณภาพลงด้วยสภาวะหัวใจล้มเหลว ต่อมาปี พ.ศ.2531 พระนวม ทองค�ำ ฉายา ธมฺมคุตโฺ ต ท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูด้ แู ลวัด และรักษาการแทนเจ้าอาวาส จนได้รบั การ แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาสอย่างสมบูรณ์ ท่าน ได้เป็นประธานน�ำพาชาวบ้านก่อสร้างศาลา การเปรียญหลังใหม่ กุฏเิ จ้าอาวาส กุฏสิ งฆ์
และอีกมากมาย ต่อมาได้รบั พระราชทาน สัญญาบัตรที่ พระครูสธุ รรมคุต และเป็น เจ้าคณะต�ำบลหนองระเวียง เขต 2 จน ปัจจุบัน
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อสิงห์ 2. พระอาจารย์โพธิ์ พ.ศ.2491-2501 3. พระอาจารย์ทอง สุรปญฺโญ พ.ศ.2501-2508 4. พระครูสิรินาครธรรม (เมือง สิริฐินโน) พ.ศ.2508-2534 5. พระครูสุธรรมคุต (นวม ทองค�ำ) ธมฺมคุตฺโต พ.ศ.2534-ปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พระครูสุธรรมคุต เจ้าคณะต�ำบล หนองระเวียง เขต 2 และเจ้าอาวาสวัด ดอนหวาย ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ ด้วยงบประมาณ 7-10 ล้านบาท และก�ำลัง จะมีพิธีเททองหล่อพระประธานหน้าตัก 80 นิว้ เพือ่ ประดิษฐานไว้ในอุโบสถ สาธุชน ท่านใดมีศรัทธาจะเป็นเจ้าภาพ สร้างองค์ พระเพือ่ ประดิษฐานไว้ในอุโบสถเป็นองค์ แรก หรือร่วมเป็นเจ้าภาพสร้างอุโบสถ ติดต่อได้ที่ โทร. 08-9210-2366
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหัวหนอง วัดหัวหนอง เลขที่ 286 ถ.เทศบาล 7 ต.บัวใหญ่ อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดมีเนือ้ ที่ 10 ไร่ 3 งาน 68 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครู สุวรรณธรรมานุวัตร เป็นเจ้าอาวาสวัด หัวหนอง
ประวัติวัดหัวหนอง
เดิ ม ที ก ่ อ นมี ก ารสร้ า งวั ด หั ว หนอง มีชาวบ้านบัวใหญ่อพยพครอบครัวมา ตัง้ หมูบ่ า้ นเล็กๆ ประมาณ 10 กว่าครอบครัว เป็นหมูบ่ า้ นหัวหนองแวง ในสมัยนัน้ การ เดินทางไปท�ำบุญทีว่ ดั อืน่ ค่อนข้างทุรกันดาร และอยูห่ า่ งไกล ต่อมาเมือ่ มีครอบครัวเพิม่ มากขึ้น ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันสร้างวัด ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2390 โดยมีพระอาจารย์ยงั คุ้มบัว เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง โดยได้ตั้งชื่อวัดตามนามของหมู่บ้านว่า
“วัดหัวหนอง” และได้ขออนุญาตจัดตั้ง เป็ น วั ด ที่ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย เมื่ อ ปี พ.ศ.2474
รายนามเจ้าอาวาสวัดหัวหนอง
รูปที่ 1 พระอาจารย์ยัง คุ้มบัว พ.ศ. 2390 - 2400 รูปที่ 2 พระอาจารย์ซุย พ.ศ.2400 - 2431 รูปที่ 3 พระอาจารย์เจียง การถาง พ.ศ.2431 - 2451 รูปที่ 4 พระอาจารย์มัย เข็มตรง พ.ศ.2451 - 2462 รูปที่ 5 พระอาจารย์สงค์ สุวรรณเก พ.ศ.2470 - 2488 รูปที่ 6 พระอาจารย์หิน การถาง พ.ศ.2488 - 2495 รูปที่ 7 พระหลวงพ่อหา พุทธฺจิตโต พ.ศ.2495 - 2498 รูปที่ 8 พระอาจารย์ศรี ค�ำดุลย์ พ.ศ.2489 - 2520 รูปที่ 9 หลวงพ่ออุ้ม การถาง พ.ศ.2520 2528 รูปที่ 10 พระอาจารย์ทองจันทร์มหาวีโร พ.ศ.2528 - 2548 และได้รับแต่งตั้ง สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร
พระครูสุวรรณธรรมานุวัตร เจ้าอาวาสวัด รูปที่ 11 พระครูสุวรรณธรรมานุวัตร เป็นเจ้าอาวาสวัดหัวหนอง ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดหัวหนอง ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง อุโบสถวัดหัวหนอง จึงขอเรียนเชิญสาธุชน ผู้มีจิตศรัทธาร่วมสมทบทุนก่อสร้างได้ที่ พระครูสวุ รรณธรรมานุวตั ร เจ้าอาวาสวัด หัวหนอง โทร. 08-7250-9896 NAKHONRATCHASIMA 143
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านไร่ วัดบ้านไร่ หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลโนนทองหลาง อ� ำ เภอบั ว ใหญ่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า ปั จ จุ บั น มี พระครู สิ ริ ปุ ญ ญาภิ รั ก ษ์ (หลวงปูศ่ รี อติชาโต) เจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านไร่
ประวัติวัดบ้านไร่
ในอดีต (ก่อนปี พ.ศ.2453) มีชาวบ้าน กลุ่มหนึ่งมาท�ำไร่อ้อย ไร่ปอ อยู่บริเวณ หนองผือ ต่อมาจึงได้ตงั้ หลักปักฐานเป็น หมู่บ้านมีอยู่ประมาณ 50 ครอบครัว โดยมี พ่อใหญ่ทา พ่อใหญ่ลี พ่อใหญ่บาง พ่อใหญ่ทยุ พ่อใหญ่เกิด พ่อใหญ่มา และ พ่อใหญ่อินทร์ น�ำชาวบ้านช่วยกันสร้าง ที่พักสงฆ์ขึ้นทางทิศใต้ของหมู่บ้าน เพื่อ ประกอบพิธที างศาสนาและบ�ำเพ็ญกุศล ในวันส�ำคัญ และได้อาราธนาหลวงพ่อโสม จากวัดเสมาใหญ่ มาเป็นผูร้ กั ษาการแทน เจ้าอาวาส ต่อมาได้มีการย้ายที่ตั้งวัด เนื่องจาก 144
ที่ตั้งเดิมเป็นที่ลุ่มอยู่ติดกับล�ำห้วยยาง พอถึงฤดูฝนมักจะมีน�้ำท่วมขังอยู่เป็น ประจ�ำ จึงต้องย้ายวัดมาสร้างบนทีต่ งั้ ของ “วัดบ้านไร่” ในปัจจุบนั และได้จดทะเบียน ตัง้ วัด เมือ่ พ.ศ.2453 และได้รบั วิสงุ คามสีมา เมื่อ พ.ศ.2502 เนื้อที่ 17 ไร่ 3 งาน 01 ตารางวา
พระครูสิริปุญญาภิรักษ์ (หลวงปู่ศรี อติชาโต) เจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่และเจ้าอาวาสวัด
รายนามเจ้าอาวาสวัดบ้านไร่
วัดบ้านไร่ มีรกั ษาการเจ้าอาวาส และ เจ้าอาวาส ดังต่อไปนี้ หลวงปูโ่ สม เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาส พระอาจารย์แดง เป็นรักษาการแทน เจ้าอาวาส หลวงปูป ่ ลัดดี พุทธโชติ เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี 2457-2474 อายุ 75 ปี พระครู พั ฒ นกิ จ จาทร (หลวงปู ่ ก�่ ำ ภทรจิตโต) เป็นเจ้าอาวาส-เจ้าคณะต�ำบล โนนทองหลาง เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี 2477-2531 อายุ 82 ปี พระครูถาวรศีลาธิคุณ (หลวงปู่น้อย นาควโร) เป็นเจ้าอาวาส-เจ้าคณะต�ำบล โนนทองหลาง เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ปี 2532-2543 อายุ 84 ปี พระครูสง ั วรสุวรรณโชติ (วิลยั สญญโต) เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาส-เจ้าคณะ ต�ำบลโนนทองหลาง เป็นรักษาการ ตัง้ แต่ ปี 2543-2547 พระครูสิริปุญญาภิรักษ์ (หลวงปู่ศรี อติชาโต) เป็นเจ้าอาวาส-เจ้าคณะอ�ำเภอ บัวใหญ่ ตั้งแต่ปี 2547 จนถึงปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 145
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดจันทรังษีมุณีวงศ์ วัดจันทรังษีมณ ุ วี งศ์ หรือ วัดเสมาใหญ่ ตั้งอยู่ที่เลขที่ 10 บ้านเสมาใหญ่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลเสมาใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัด นครราชสีมา เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ก่อสร้างวัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2325 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2478 วัดมีเนื้อที่ 14 ไร่ 68 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูโอภาสจันทรังษี เป็นเจ้าอาวาส วัด
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส และรักษาการ
เจ้าอาวาสก่อนหลวงปูเ่ สีย่ งไม่สามารถ รู้ได้ พระครูจน ั ทรสรคุณ (หลวงปูเ่ สีย่ ง) จ.อ.คง เจ้าอาวาส ถึง พ.ศ.2498 หลวงพ่อตา รักษาการ หลวงพ่อแดง รักษาการ
146
หลวงพ่อด�ำดี เจ้าอาวาส หลวงพ่อบุญ เจ้าอาวาส หลวงพ่อจ่อย รักษาการ พระมหาพงษ์วิทย์ วิทโยปกรณ์ จ.ท.ดอนตะหนิน เจ้าอาวาส หลวงพ่อศิลา ฐิตฺตธมฺโม รักษาการ หลวงปู่โชติ ฐิตฺตธมฺโม รักษาการ พระมหาธีรวัฒน์ เจ้าอาวาส
หลวงพ่อสิงห์ รักษาการ พระอาจารย์ไพรัช ผาสุโก รักษาการ พระอาจารย์สภ ุ าพ ภทฺธญาโณ รักษาการ พระครู โ อภาสจั น ทรั ง ษี เจ้ า อาวาส พ.ศ.2539 - ปัจจุบัน
ประวัติเจ้าอาวาสรูปแรก
พระครูจนั ทรสรคุณ (หลวงพ่อเสีย่ ง) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดจันทรรังษีมณ ุ วี งษ์ เกิด ปี พ.ศ.2410 ที่บ้านเสมาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เป็นบุตรของนายบุญตา นางจันทร์ บรรพชา อายุ 15 ปี ณ วัดเสมาเหนือ (วัดน้อย) อุปสมบท อายุ 20 ปี พ.ศ.2430 ณ วัดเสมาใหญ่ มรณภาพ วันพุธ 14 กันยายน พ.ศ. 2498 รวมสิริอายุ 88 ปี 68 พรรษา
ประวัติเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูโอภาสจันทรังษี ธมฺมทินโน วิทยฐานะ นักธรรมเอก การศึกษา นธ เอก, ศศบ อุปสมบท เมื่ออายุ 24 ปี ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2535 เวลา 10.07 น. ณ วัดจันทรังษีมุณีวงศ์ โดยมี พระครูปทุมสรารักษ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสิริปุญญาภิรักษ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระครูเกษมวโรดม เป็นพระอนุสาวนาจารย์
เสนาสนะและสิง่ ปลูกสร้างในวัด
อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิที่พัก พระสงฆ์ เมรุ หอระฆัง พระพุทธรูปจ�ำนวน 20 องค์ มีวิหารประดิษฐานรูปเหมือน หลวงปู่เสี่ยง อดีตเจ้าอาวาสวัดรูปแรก
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
ทุกวันพระ วันอาทิตย์ วันส�ำคัญทาง ด้านศาสนา และวันส�ำคัญของชาติ คณะสงฆ์ ภายในวัดจันทรรังษีมณ ุ วี งษ์ จะร่วมกับผูน้ ำ� ชุมชน ประชาชน และเยาวชนในหมูบ่ า้ น จัดกิจกรรมท�ำบุญตักบาตร เข้าวัดปฏิบตั ิ ธรรม เป็นการท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนา และสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม มาโดยตลอด NAKHONRATCHASIMA 147
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบัวใหญ่ ต�ำบลบัวใหญ่ อ�ำเภอ บัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมี พระครูปริยตั ปิ ยิ ธรรม เป็นเจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลบัวใหญ่เขต 1
ประวัติความเป็นมา
ในช่วงปี พ.ศ.2339 ชาวบ้านในชุมชน ใกล้เคียงโดยรอบบริเวณที่ตั้งวัดบัวใหญ่ ได้แก่ ชุมชนบ้านจาน ชุมชนตลาดเก่าชุมชนบ้านบัวใหญ่ ชุมชนสระครก ชุมชน บ้านหวย ชุมชนบ้านดอนขุนสนิท ชุมชน บ้านดอนฆ่าเสือ ได้รว่ มแรงร่วมใจตามแรง ศรัทธาก่อตัง้ ส�ำนักสงฆ์บวั ใหญ่ขนึ้ ในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2359 ทางส�ำนักสงฆ์ บัวใหญ่ได้รับอนุญาตจากคณะสงฆ์ให้ ท�ำการก่อตั้งและประกาศตั้งวัดบัวใหญ่ ขึน้ อย่างถูกต้อง ณ บริเวณทีต่ งั้ ส�ำนักสงฆ์ และในทีต่ งั้ วัดบัวใหญ่ในปัจจุบนั นี้ โดยมี พื้นที่ของวัดประมาณ 39 ไร่ 8 ตารางวา วัดบัวใหญ่ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา 148
วัดบัวใหญ่ ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2408 ต่อมาใน วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2498 วัดบัวใหญ่ ได้รบั เอกสารทีด่ นิ ทีต่ งั้ ของวัดบัวใหญ่ จาก กระทรวงวัฒนธรรม เป็น ส.ค.1 เลขที่ 252 เนื้อที่ 39 ไร่ 80 ตารางวา ในระยะเวลาในการก่อตั้งส�ำนักสงฆ์ บัวใหญ่ และระยะประกาศก่อตัง้ วัดบัวใหญ่ เป็นต้นมา วัดบัวใหญ่ได้ด�ำเนินกิจกรรม ต่างๆ และคณะสงฆ์วดั บัวใหญ่ได้ปฏิบตั ิ ศาสนกิจของสงฆ์ และพัฒนาศาสนสถาน ของวัดบัวใหญ่มาด้วยดีเป็นล�ำดับ ทัง้ นีท้ าง วัดได้รบั แรงศรัทธาจากชุมชนทีใ่ กล้เคียง ด้วยดีเสมอมา
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
พ.ศ.2339-2484 มี พ ระภิ ก ษุ ด� ำ รง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส 3 ท่าน (ไม่ปรากฏหลักฐาน
ว่าแต่ละท่านปฏิบัติหน้าที่ช่วงใด) ได้แก่ 1. พระอุปัชฌาย์แก้ว 2. พระอุปัชฌาย์หนู (หลวงพ่อแง่ม) 3. พระครูบวรสมณการ (พรหมา) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ พ.ศ.2484-2510 ผู ้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาส ได้แก่ 4. พระปทุมญาณมุนี (พระมหาเขียว) ป.ธ.5 นักธรรมชั้นเอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ และเป็นทีป่ รึกษา เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2510-2536 ผู ้ ที่ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาส ได้แก่ 5. พระครูปทุมรัตนานุรกั ษ์ (สมุหค์ ำ� มี ธมฺมธโร) นักธรรมชั้นเอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลบัวใหญ่ เขต 1 พ.ศ.2536-ปัจจุบัน 6. พระครูปริยัติปิยธรรม (สิงห์ทอง ปิยธมฺโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลบัวใหญ่เขต 1
พระครูปริยัติปิยธรรม เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลบัวใหญ่เขต 1
อาคารและสิ่งปลูกสร้างในวัด
อุโบสถหลังแรก ทีไ่ ด้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2468 ปัจจุบนั ได้ยกเลิกการใช้เพราะ ช�ำรุดมาก และได้ท�ำการก่อสร้างวิหาร เฉลิมพระเกียรติ ร.9 ครอบอุโบสถ หลังนี้ ไว้ โดยคงไว้แต่ฐานอุโบสถ อุโบสถหลังใหม่ ที่รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2525 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯเป็นองค์ ประธานยกช่อฟ้าและตัดลูกนิมิต เมื่อ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2528 กว้าง 8 เมตร ยาว 23.20 เมตร วิหารเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ได้กอ่ สร้าง ในวาระโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงครอง สิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี ก่อสร้างแล้วเสร็จ เมือ่ ปี พ.ศ.2541 สิน้ เงินค่าก่อสร้าง 3,345,339 บาท กว้าง 15.30 เมตร ยาว 17.70 เมตร ศาลาการเปรียญโครงสร้างไม้ทงั้ หมด พื้นไม้ยกระดับ หลังคาสังกะสี กว้าง 23 เมตร ยาว 41.5 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.
วิหารเฉลิมพระเกียรติ ร.9
2505 สิ้นเงินค่าก่อสร้าง 350,000 บาท สภาพปัจจุบันทรุดโทรมมาก ศาลาเอนกประสงค์ (ศาลาหอฉัน) โครงสร้าง ค.ส.ล. พืน้ หินขัดยกระดับกว้าง 14.2 เมตร ยาว 25.30 เมตร สร้างเสร็จ เมือ่ ปี พ.ศ.2535 สิน้ เงินค่าก่อสร้าง 805,000 บาท เมรุเผาศพ ขนาด 1 เตาเผา เป็นเมรุ ประเภท ก. สร้างแล้วเสร็จเมือ่ ปี พ.ศ.2531 สิ้นเงินค่าก่อสร้าง 750,000 บาท ศาลาสันติสขุ โครงสร้าง ค.ส.ล. ขนาด กว้าง 11.2 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างแล้ว เสร็จเมือ่ ปี พ.ศ.2534 สิน้ เงินค่าก่อสร้าง 615,000 บาท โรงครัว สภาพเป็นอาคารเรือนไม้ ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 16 เมตร สภาพ ของอาคารปัจจุบัน ช�ำรุด หอระฆังเป็น อาคารไม้ทงั้ หลัง ปัจจุบนั ช�ำรุดมาก และ ได้ยกเลิกการใช้แล้ว ห้องน�้ำ ห้องส้วม มีจำ� นวน 3 หลัง รวม 10 ที่ โดยทัว่ ไปแล้ว ยังไม่เพียงพอต่อการใช้ กุฏพ ิ ระภิกษุสงฆ์ ขนาด 1 ห้องนอน โครงสร้างไม้ พืน้ สูง จ�ำนวน 15 หลัง สภาพ
เก่าและช�ำรุด และขนาด 2 ห้องนอน โครง สร้างไม้ 1 หลัง รวมทั้งสิ้น มีกุฏิ 16 หลัง กุฏิแม่ชี โครงสร้างไม้ ขนาด 3 ห้อง นอน สภาพปัจจุบันช�ำรุด ซุม้ ประตูวดั โครงสร้าง ค.ส.ล. จ�ำนวน 2 ชุด พืน้ ทีบ่ ริเวณทีท่ างวัดจะด�ำเนินการ ก่อสร้างกุฏหิ ลังใหม่ และสภาพคลองเก็บ น�ำ้ กว้าง 10 เมตร ทีท่ างวัดได้ขดุ ลอกแล้ว จ�ำนวนหนึ่งเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2542 ระยะยาว 150 เมตร กุฏิเจ้าอาวาส
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนือ่ งจากอาคารเสนาสนะ และสิง่ ปลูก สร้างต่างๆ ภายในวัดบัวใหญ่ซงึ่ ก่อสร้าง มานาน ได้ช�ำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลา วัดบัวใหญ่จงึ ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ด้วยการบริจาคปัจจัย เพื่ อ การบู ร ณะและปลู ก สร้ า งอาคาร เสนาสนะต่างๆ ให้มสี ภาพใช้งานได้ โดย สามารถติดต่อได้ที่ พระครูปริยตั ปิ ยิ ธรรม เจ้าอาวาสวัดบัวใหญ่ โทร. 0-444-1747 NAKHONRATCHASIMA 149
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดประชานิมิตร วัดประชานิมิตร ตั้งอยู่เลขที่ 248 ถนนนิเวศรัตน์ ต�ำบลบัวใหญ่ อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์ ฝ่าย มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูวจิ ยั ปริยตั กิ จิ เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดประชานิมิตร
วัดประชานิมิตร เดิมชื่อว่า วัดป่า ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2480 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2508 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 25 ไร่ 1 งาน 78 ตารางวา ทีธ่ รณีสงฆ์ มี 2 แปลง เนื้อที่ทั้งสิ้น 52 ไร่ 4 งาน 54 ตารางวา
อาคารและเสนาสนะส�ำคัญ
พระอุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2508 และผูกพัทธสีมา พ.ศ.2512 ศาลาการเปรียญ หรือ ศาลาปัญญาณุสรณ์ 150
สร้างเมือ่ พ.ศ.2531 เป็นอาคารทรงไทย 2 ชัน้ กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 20 หลัง เป็นอาคาร ไม้ 7 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 5 หลัง และตึก 8 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 4 หลัง สร้างด้วยคอนกรีต อาคารเรียน เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น กว้าง 10.30 เมตร ยาว 40.43 เมตร ฯลฯ
ปูชนียวัตถุสำ� คัญ
พระประธานในพระอุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ.2508 พระประธานทีศ่ าลาการเปรียญ ชัน้ ล่าง สร้างเมือ่ พ.ศ.2497 พระประธาน ที่ ศ าลาการเปรี ย ญชั้ น บน สร้ า งเมื่ อ
พ.ศ.2525 พระประธานทีศ่ าลาการเปรียญ ชัน้ ล่าง สร้างเมือ่ พ.ศ.2534 พระประธาน ที่กุฏิ สร้างเมื่อ พ.ศ.2525 และพระบูชา ประจ�ำกุฏิ สร้างเมือ่ พ.ศ.2491 โดย นายสง่านางเปลี่ยน สัตย์สงน์
ผลงานด้านการศึกษา
พ.ศ.2490 เปิดสอนโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม และแผนกบาลี พ.ศ.2537 เปิดสอนโรงเรียน พระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสามั ญ และรั บ ใบอนุญาต ปี พ.ศ.2539 มีพระภิกษุจ�ำพรรษา ประมาณปีละ 20-25 รูป, มีสามเณร ประมาณปีละ 35-45 รูป รวมประมาณ 60-70 รูปต่อปี
รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัด รูปที่ 1 พระครูปัญญาภินันท์ (พระมหาเคน ปัญญาทีโป) พ.ศ.2489 พ.ศ.2530
พระครูวิจัยปริยัติกิจ เจ้าอาวาสวัด
ประวัติพระครูวิจัยปริยัติกิจ
รูปที่ 2 พระครูวิจัยปริยัติกิจ (พระมหาสมจิตต์ สุนทฺ โร) พ.ศ.2530 - ปัจจุบนั
พระครูวิจัยปริยัติกิจ ฉายา สุนฺทโร อายุ 80 วิทยฐานะ นธ.เอก ปธ.3 ต�ำแหน่ง ปัจจุบนั รองเจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ รูปที่ 1 และเจ้าอาวาสวัดประชานิมิตร ชาติก�ำเนิด เดิมชื่อสมจิต เปสุยะ เกิดเมือ่ วันศุกร์ 1 เมษายน ปีจอ พ.ศ.2477 ณ บ้านเลขที่ 45 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลบ้านหวาย อ�ำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม บุตรของนายลีและนางค�ำ เปสุยะ บรรพชา วันพุธ 6 มีนาคม พ.ศ.2494 วั ด โสมนั ส ประดิ ษ ฐ์ ต� ำ บลหนองแสง อ�ำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พระอุปัชฌาย์ พระครูวาปีคณานุรกั ษ์ วัดโสมนัสประดิษฐ์ อุปสมบท วันพุธ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2497 วัดโสมนัสประดิษฐ์ วิทยฐานะ พ.ศ.2490 ส� ำ เร็ จ ชั้ น ประถมปี ที่ 4 โรงเรียนมะแซวกุดโง้ง อ�ำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2498 สอบไล่ได้ นักธรรมชั้นเอก ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาวั ด หนองไข่ ผ� ำ อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2507 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ส�ำนักศาสนศึกษาวัดประชานิมติ ร พ.ศ.2541 การศึกษาพิเศษ เข้ารับการ อบรมผูบ้ ริหาร ทีส่ ถาบันผูบ้ ริหาร วัดไร่ขงิ จังหวัดนครปฐม งานปกครอง
พ.ศ.2513 เป็ น รองเจ้ า อาวาสวั ด ประชานิมิตร พ.ศ.2516 เป็นเจ้าคณะต�ำบลบัวใหญ่ เขต 2 อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2527 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2530 เป็นผูร ้ กั ษาการเจ้าอาวาสวัด ประชานิมติ ร เป็นเจ้าอาวาสวัดประชานิมติ ร และเป็นผูร้ กั ษาการเจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ พ.ศ.2531 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ รูปที่ 1 อ�ำเภอบัวใหญ่ งานศึกษา พ.ศ.2511 เป็ น ครู ส อนปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม และบาลี ประจ�ำศาสนศึกษา วัดประชานิมิตร พ.ศ.2530 เป็นหัวหน้าส�ำนักศาสนศึกษา วัดประชานิมิตร พ.ศ.2530 เป็ น กรรมการสอบธรรม สนามหลวง ประจ�ำอ�ำเภอบัวใหญ่ ตลอดมา พ.ศ.2538 จังหวัดแต่งตัง ้ ให้เป็นกรรมการ สอบธรรมสนามหลวงหน่วยสอบวัดตะคร้อ อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ.2539 เป็ น กรรมการสอบธรรม สนามหลวงหน่วยสอบวัดใหม่หนองบัวลี อ�ำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนิกชนผู้มีจิตศรัทธาในการ สืบทอดพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรือง สืบไป ด้วยการร่วมสร้างเส้นทางบุญได้ที่ วัดประชานิมิตร โทร. 0-4446-1645 NAKHONRATCHASIMA 151
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเพียไซย์ดอนกระชาย วัดเพียไซย์ดอนกระชาย ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 71 หมู่ 5 ต�ำบลขุนทอง อ�ำเภอบัวใหญ่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบันมี พระมหาบุญยัง ฐิติญาโณ ป.ธ.9 เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติ วัดเพียไซย์ดอนกระชาย
วัดเพียไซย์ดอนกระชาย ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2471 โดยชาวบ้านเพียไซย์ร่วมกัน ก่อตัง้ ขึน้ และใช้ชอื่ วัดตามชือ่ บ้านเพียไซย์ ซึง่ แต่เดิมมีชอื่ ว่า บ้านโพธิไ์ ทร โดยชาวบ้าน ส่วนมากได้ย้ายถิ่นฐานมาจากอ�ำเภอ โนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2402 ต่อมาในปี 2440 นายเพีย พิมลนอก มีอาชีพเป็นช่างจักสานไซ (ไซดักปลา) และ 152
สานไซจ�ำหน่ายให้กบั ชาวบ้านจนมีชอื่ เสียง จึงเป็นทีม่ าของชือ่ “บ้านเพียไซย์” ตราบ จนทุกวันนี้
วัดเพียไซย์ดอนกระชาย เคยเป็น ศูนย์รวมทางการศึกษาและท�ำกิจกรรม ทางศาสนาของหมูบ่ า้ นใกล้เคียงโดยรอบ ทัง้ หมด มีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษาเป็นจ�ำนวน มาก และเป็นสถานศึกษาของเยาวชนใน สมัยก่อน ใช้ชื่อว่า โรงเรียนวัดเพียไซย์
ความส�ำคัญและโครงการเด่น
ปัจจุบนั นอกจากวัดเพียไซย์ดอนกระชาย จะเป็นสถานทีท่ ำ� บุญ และประกอบพิธกี รรม ทางศาสนาแล้ว ยังเป็นเครือข่ายภาคีศนู ย์ ประสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติ (อสค.) ของส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัด นครราชสีมา สาขาบัวใหญ่ โดยได้รว่ มมือ กันจัดกิจกรรมการเข้าค่ายอบรมศีลธรรม และกิจกรรมอืน่ ๆ ให้แก่ผถู้ กู คุมประพฤติ
ในเขต 8 อ�ำเภอโดยรอบ ทีอ่ ยูใ่ นความดูแล ของส�ำนักงานคุมประพฤติ และได้รว่ มกัน สร้างถาวรวัตถุภายใต้ชื่อ “พลังพล” โดย ที่วัดเพียไซย์ นี้ได้สร้างศาลาพลังพล 7 และศาลาพลังพล 9 อีกทัง้ ยังเป็นสถานที่ พักพิงของผูถ้ กู คุมประพฤติในรูปแบบ บ้านกึง่ วิถี ใช้ชอื่ ว่า “บ้านสุขใจ” ส�ำหรับ ผู้ถูกคุมหรือบุคคลทั่วไปได้พึ่งพิงอาศัย อีกด้วย โครงการบวชสามเณร ศูนย์อบรม วัดเพียไซย์ดอนกระชาย โดยรับสมัคร เด็กและเยาวชนทั้งชายและหญิง อายุ 9-13 ปี เข้าอบรมพร้อมกันระหว่างวันที่ 23 มีนาคม-24 เมษายน พ.ศ.2558
พระมหาบุญยัง ฐิติญาโณ ป.ธ.9 เจ้าอาวาสวัด โครงการปลูกป่า พัฒนาแหล่งน�ำ้ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2556 ทีว่ ดั เพียไซย์ดอนกระชาย จ�ำนวน 200 ต้น โดยได้รับความร่วมมือ จากประชาชนบ้านเพียไซย์และนักศึกษา กศน.ต�ำบลขุนทอง เป็นอย่างดียิ่ง
NAKHONRATCHASIMA 153
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระพุทธชินราชชัยศรี วั ด โสกงู เ หลื อ ม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 96 บ้านโสกงูเหลือม หมู่ที่ 4 ต�ำบลขุนทอง อ� ำ เภอบั ว ใหญ่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า มีเนื้อที่วัด 12 ไร่ 53 ตารางวา ปัจจุบันมี พระมหาวินัย สิริจันโท เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติการสร้างวัด
เมือ่ ปี พ.ศ. 2476 พ่อใหญ่เสา เมืองศรี ได้พาลูกหลานอพยพมาจากบ้านกุดหอยกาบ อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น เข้ามาตัง้ บ้าน อยูท่ นี่ ี่ และได้ตงั้ ชือ่ บ้านว่า บ้านโสกงูเหลือม เพราะมีงูเหลือมในแหล่งน�้ำเป็นจ�ำนวน มาก และได้หาที่ว่างเปล่าสร้างวัดขึ้นใน ปี พ.ศ.2476 ตามทะเบียนส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดนคราชสีมา วัดโสกงูเหลือม เป็น วัดถูกต้องตามกฎหมายสงฆ์ ออกเมื่อปี พ.ศ.2484 และมีเจ้าอาวาสตามล�ำดับดังนี้ พระอาจารย์ตวย จารุวัณโณ พ.ศ.2476 - 2483 พระอาจารย์สาทองดี จิตฺตวํโส พ.ศ.2500 - 2510 พระอาจารย์สิงโต โชติปัญโญ พ.ศ.2511 - 2520 พระอาจารย์ทัน อัคคธัมโม พ.ศ.2521 - 2536 154
หลวงปู่น้อย จิรธัมโม
วัดโสกงูเหลือม พระอาจารย์อวน สุจิณฺโณ พ.ศ.2537 - 2540 พระอาจารย์ชูชาติ โชติปัญโญ พ.ศ.2541 - 2543 หลวงปู่น้อย จิรธัมโม พ.ศ.2544 - 2549 พระอธิการสนิท จิตฺตปัญโญ พ.ศ.2550 - 2555 พระมหาวินัย สิริจันโท พ.ศ.2558 - ปัจจุบัน เมือ่ ปี พ.ศ.2556 ชาวบ้านโสกงูเหลือม ได้ ไ ปนิ ม นต์ พ ระมหาวิ นั ย สิ ริ จั น โท เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองหว้าเอน เจ้าคณะ
ต� ำ บลขุ น ทอง มาเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด โสกงูเหลือม ในปี พ.ศ.2557 ท่านได้ทำ� การ ก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้นหนึ่งหลัง ทดแทนศาลาการเปรียญหลังเดิมทีท่ รุดโทรม ไปตามกาลเวลา
สิ่งศักดิ์ภายในวัด
พระพุทธชินราชชัยศรี เป็นพระพุทธรูป ประจ�ำอุโบสถศาลา ซึ่งสาธุชนทั้งหลาย ได้กราบไหว้ขอพรเป็นประจ�ำ ด้านหลัง พระประธานมีพระประธานจ�ำลองอีก 1,800 องค์ คาดว่าเป็นวัดที่มีพระประธานมาก ที่สุดในประเทศไทยเลยทีเดียว หลวงปูน่ อ้ ย จิรธัมโม อายุ 92 ปี ท่าน เก่งในด้านอาคมของขลังโบราณ มีเมตตา มหานิยมเป็นที่เคารพแก่คนทั้งหลาย
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
ส�ำนักวิปัสสนาวัดสะแกแสง
ส� ำ นั ก วิ ป ั ส สนาวั ด สะแกแสง ต�ำบลพะงาด อ�ำเภอขามสะแกแสง จังหวัด นครราชสีมา ก่อตัง้ โดยพระเดชพระคุณ พระครูศรีภาวนาวิสุทธิ์ (วิ.) (ประกอบ ปภงฺกโร) เจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง เมือ่ ปี พ.ศ.2534 โดยมีภารกิจทัง้ ด้านคันถธุระ และวิปัสสนาธุระ ดังนี้ 1. เรียนอภิธรรม ส�ำหรับพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ทีศ่ กึ ษาเล่าเรียน 2. ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน สายสติ
ปัฏฐาน 4 (ตามสายส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมของ อ.แนบ มหานีรานนท์)
ตารางเวลาการปฏิบัติ
เวลา 04.00 น. ตื่นนอน เวลา 04.30 น. ร่วมกันท�ำวัตรสวดมนต์ เวลา 05.30 น. ฟั ง บรรยายและปฏิ บั ติ วิปัสสนาสายสติปัฏฐาน เวลา 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า เวลา 08.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย เวลา 09.00 น. สอบอารมณ์ โดย พระครู ศรีภาวนวิสทุ ธิ์ (พระมหาประกอบ ปภงฺกโร) เวลา 11.30 น. รับประทานอาหารเทีย่ ง เวลา 13.00 น. ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ตามมหาสติปัฏฐาน 4 (ในห้องพัก) เวลา 16.00 น. ท�ำภารกิจส่วนตัว เวลา 17.00 น. ท�ำวัตรเย็น เวลา 19.00 น. ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ตามมหาสติปัฏฐาน 4 (ในห้องพัก)
ตารางการเรียนอภิธรรม
เวลา 18.00 น. เรียนอภิธรรมชัน้ จูฬมิกะ ธรรมตรี-เอก เวลา 19.00 น. เรียนอภิธรรมชัน้ มัชฌิมะ ตรี-เอก ส�ำหรับพระภิกษุ-สามเณร อุบาสกอุบาสิกาทีป่ ระสงค์จะมาปฏิบตั ธิ รรม ทาง ส�ำนักฯ จะมีกฏุ แิ ยกหลังละ 1 รูป/คน จะไม่ ให้อยูร่ ว่ มห้องกัน ภัตตาหารเช้าและเพล มีแม่ครัวจัดน�ำถวายถึงกุฏิ ติดต่อสอบถาม ได้ที่ โทร. 0-4438-5238, 0-4438-5156 NAKHONRATCHASIMA 155
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านโนนเมือง วัดบ้านโนนเมือง ตั้งอยู่เลขที่ 90 หมู่ที่ 1 ต.โนนเมือง อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูศลี วราภรณ์ (พระอาจารย์เฉลิม ฐิตสิ โี ล) เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดบ้านโนนเมือง
ปี พ.ศ.2470 ชาวบ้านโนนเมืองได้
รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่บ้าน แล้วจึงได้ รวมพลังสร้างที่พักสงฆ์ชั่วคราวขึ้นเพื่อ บ�ำเพ็ญกุศล ในเนือ้ ทีซ่ งึ่ ประชาชนได้จบั จอง ไว้สร้างวัด จ�ำนวน 10 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา โดยมีพระภิกษุใหญ่เป็นพระอาจารย์ ในปีแรกมีพระภิกษุจ�ำพรรษา 5 รูป เมื่อ ออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์ใหญ่ได้ลา ไปจ�ำพรรษาที่อื่น ปี พ.ศ.2471 ชาวบ้ า นได้ นิ ม นต์ พระภิกษุเย้ มาเป็นพระอาจารย์ อยู่ได้ 156
2 ปี ท่านได้ลาสิกขาบท ปี พ.ศ.2473 ชาวบ้านได้นมิ นต์พระภิกษุเป๊ะ สีลานุโลโม มาเป็นพระอาจารย์ เมือ่ ออกพรรษาแล้ว ท่านจึงลาไปศึกษาธรรมวินยั ทีว่ ดั สะแกแสง อ.โนนสูง ปี พ.ศ.2474 ชาวบ้านได้นมิ นต์ พระภิกษุเปลีย้ มาเป็นพระอาจารย์ อยู่ ได้ 1 ปี ก็ลาสิกขาบท ปี พ.ศ.2475 ชาวบ้าน ได้นมิ นต์พระอาจารย์ถกึ มาเป็นเจ้าอาวาส ท่านได้น�ำญาติโยมสร้างกุฏิขึ้น 1 หลัง ในปี พ.ศ.2478 ได้สร้างศาลาการเปรียญ ขึน้ อีก 1 หลัง ตรงกลางลานวัด ท่านเป็น เจ้าอาวาสถึงปี พ.ศ.2497 เมือ่ ออกพรรษา แล้ ว จึ ง ได้ ล าไปจ� ำ พรรษาอยู ่ ที่ วั ด ใหม่ อ.โนนสูง จ.นครราชสีมา ปี พ.ศ.2480 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ พระอาจารย์เป๊ะ สีลานุโลโม จากวัด สะแกแสงกลับคืนมาเป็นเจ้าอาวาส ท่าน
เห็นว่าศาลาการเปรียญตั้งอยู่กลางลาน วัด ไม่สะดวกเวลาในการจัดงานประจ�ำปี จึงได้ชว่ ยกันย้ายไปทางทิศเหนือ ปี พ.ศ. 2483 ตั้งโรงเรียนประชาบาล มีชั้น ป.1ป.2 ในวัดบ้านโนนเมือง โดยใช้ศาลาวัด โดยมีนายปลอด ศรีประทีป เป็นครูใหญ่ นายตรี รัตนะภัคดี เป็นครูนอ้ ย มีครู 2 คน ปี พ.ศ.2491 ทางการได้ประกาศให้ บ้านและวัดมีเลขทีบ่ า้ นประจ�ำ และให้วดั มีทะเบียนบ้านด้วย ฉะนัน้ วัดบ้านโนนเมือง จึงได้มเี ลขที่ 90 หมูท่ ี่ 1 และเลขทะเบียน วัดจากกรมศาสนาเป็นเลขที่ 125 เป็นต้นมา และได้ประกาศตัง้ เป็นส�ำนักศาสนาศึกษา วัดบ้านโนนเมือง ปี พ.ศ.2493 พ ร ะ อ ธิ ก า ร เ ป ๊ ะ สีลานุโลโม มรณภาพด้วยโรคชรา ในปี พ.ศ.2493-2494 ชาวบ้านได้อาราธนา พระภิ ก ษุ เ สรี ซึ่ ง เป็ น พระลู ก สงฆ์ ขึ้ น เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส และเป็น เจ้าอาวาสจนถึงปี พ.ศ.2494 ท่านจึงได้
ลาสิกขาบท ปี พ.ศ.2495 ชาวบ้านจึงไป นิมนต์พระอาจารย์สว่าง จากวัดบ้านขาม ต.ขามสะแกแสง มาเป็นเจ้าอาวาส อยูไ่ ด้ 1 พรรษาจึงได้ลากลับไปอยู่วัดบ้านขาม ตามเดิม และไม่ได้กลับมาอีก ปี พ.ศ.2496 ชาวบ้ า นได้ นิ ม นต์ พระอาจารย์เพชร จนฺทโก จากวัดบ้านด่าน จาก อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา มาเป็น เจ้าอาวาส ชาวบ้านได้ชว่ ยกันสละทรัพย์ สร้างโบสถ์ขนึ้ หลังแรกในปีนนั้ พระอธิการ เพชรเป็นผูด้ ำ� เนินการสร้างโบสถ์โครงไม้ เสาไม้ กระเบื้องดินเผามุงหลังคา และ “หลวงพ่อเพชร” พระประธานในโบสถ์ (ปัจจุบนั เป็นวิหารจัตรุ มุข เรียกว่า วิหาร หลวงพ่อเพชร เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ มาก ที่ชื่อว่า “หลวางพ่อเพชร” เพราะ พระอธิการเพชรเป็นผู้ก่อสร้างขึ้นด้วย ฝีมือของท่านเอง) วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2497 วัด โนนเมืองได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา และได้จัดงานผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตใน ปีนั้น ครั้นปี พ.ศ.2500 พระอธิการเพชร จนฺทโก ได้ลากลับภูมลิ ำ� เนาเดิมไปอยูว่ ดั บ้านด่าน อ.โนนไทย และออกเดินธุดงค์ วัตรตามอัธยาศัย (ทราบข่าวจากญาติๆ ว่ามรณภาพปี พ.ศ.2526) ปีเดียวกันนั้น ชาวบ้านจึงได้อาราธนาพระภิกษุสทุ นต์ วรธมฺโม เป็นพระลูกสงฆ์ขนึ้ เป็นเจ้าอาวาส ท่านด�ำรงต�ำแหน่งจนถึง พ.ศ.2503 จึงขอ
ลาสิกขาบท
ปี พ.ศ.2503 ชาวบ้านได้อาราธนา
พระบุญนาค จิตตฺ สุโภ เป็นพระลูกสงฆ์ ขึ้นเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ในปี เดียวกันนี้ ได้ย้ายโรงเรียนประชาบาล ออกไปจากวัด ไปตัง้ ทีป่ า่ โดยชาวบ้านได้ ช่วยกันถางป่าสร้างอาคารก่อน แล้วรัฐบาล ช่วยงบประมาณตามมาทีหลัง ปี พ.ศ.2507 พระบุญนาค ขอลา ไปฝึกปฏิบตั ศิ กึ ษาธรรมวินยั กับพระมหา บุญชูที่วัดใหม่ อ.โชคชัย ปี พ.ศ.2508 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์พระภิกษุบัวแสง ซึง่ เดินทางมาอยูท่ วี่ ดั บ้านงิว้ ให้มารักษา การแทนเจ้าอาวาส เป็นเวลา 1 ปี ท่าน จึงลากลับภูมิล�ำเนาเดิม ชาวบ้านจึงได้ อาราธนาพระภิกษุบุญนาค จิตฺตสุโภ พระสีวลีมหาลาภ
จากวัดบ้านใหม่ กลับมาเป็นเจ้าอาวาส จนถึงปี พ.ศ.2512 ท่านจึงขอลาสิกขาบท ปี พ.ศ.2512 ชาวบ้านจึงอาราธนา พระภิกษุเม่า ปัญญาทีโป เป็นพระลูกสงฆ์ ในวั ด เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาส ในปี พ.ศ.2513 เมื่อออกพรรษาแล้ว ท่านได้ลาไปศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่ วัดกองพระทราย อ.เมือง จ.นครราชสีมา ปี พ.ศ.2514 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์พระภิกษุ แสวง สัทธาสัมปันโน จากวัดบ้านขาม กิง่ อ�ำเภอขามสะแกแสง มาเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ.2516 ท่านจึงขอลาสิกขาบท ปี พ.ศ. 2517 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์พระภิกษุสดี า จาก อ.บัวใหญ่ มาเป็นเจ้าอาวาส ท่าน เป็นเจ้าอาวาสได้สองปี ก็ถูกโจรปล้น ในปี พ.ศ.2518 จึงได้ออกไปจากวัดและ ลาออกจากเจ้าอาวาสในปีนั้นเอง ปี พ.ศ.2519 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ พระภิกษุอมร ยสินธโร จากวัดบ้านขาม อ.ขามสะแกแสง มาเป็นผูน้ ำ� เพราะท่าน เพิ่งบวชได้พรรษาแรกเท่านั้น พออยู่ได้ 2 พรรษา ท่านก็ขอลาไปเข้ากรรมฐาน ปฏิบตั อิ ยูท่ สี่ ำ� นักอ้อมน้อย อ.กระทุม่ แบน จ.สมุทรสาคร ปี พ.ศ.2520 ชาวบ้านได้ ไปหาพระครูวศิ าลยติกจิ เจ้าคณะอ�ำเภอ ขามสะแกแสง ให้ชว่ ยนิมนต์พระมาเป็น เจ้าอาวาสวัดตามแต่จะเห็นสมควรและ เหมาะสม เจ้าคณะอ�ำเภอจึงได้อาราธนา พระภิกษุเฉลิม ฐิติสีโล จากวัดช่องอู่ NAKHONRATCHASIMA 157
วิหารหลวงพ่อเพชร ต.จอหอ อ.เมือง (บ้านเกิดของท่านอยูท่ ี่ บ้านโนนพุทรา ต.ด่านจาก อ.โนนไทย) มา เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านโนนเมือง ชาวบ้าน โนนเมืองจึงได้จัดหารถไปรับ เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2520
คุณูปการของ พระครูศีลวราภรณ์
พระครูศีลวราภรณ์ (พระอาจารย์ เฉลิม ฐิติสีโล) เป็นพระนักพัฒนา พระ นักสังคมสงเคราะห์ และพระนักการศึกษา ที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล โดยท่านได้สร้าง คุณูปการมากมาย อาทิ
หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
1. การพัฒนาวัดบ้านโนนเมือง
พระครูศีลวราภรณ์ เจ้าอาวาสวัด
158
ในเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2520 พระอาจารย์เฉลิม ฐิตสิ โี ล ได้นำ� ชาวบ้าน กลุ่มหนุ่มสาวขุดสระน�้ำ เพื่อเอาดินมา ถมบิง่ นาในบริเวณทีเ่ ป็นนาทีต่ ำ�่ ๆ เพราะ พื้นที่ในวัดยังเป็นที่นาอยู่บางส่วน และ มีป่าหญ้าคา เพื่อจะย้ายศาลาเก่า วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2521 ได้รอื้ ศาลาหลัง เก่าและสร้างศาลาการเปรียญใหม่ กว้าง 24 เมตร ยาว 45 เมตร เป็นอาคารโครงไม้ 2 ชั้น มุงกระเบื้อง ปี พ.ศ.2521 ชาวบ้านได้ช่วยกัน สละทรัพย์ซอื้ ทีด่ นิ ถวายวัดบ้านโนนเมือง มีเนือ้ ที่ 1 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา รวมทีด่ นิ ทัง้ สิน้ 11 ไร่ 3 งาน 62 ตารางวา ท�ำให้ที่ วัดติดกับถนนหน้าวัด ปี พ.ศ.2522 สร้าง โบสถ์หลังใหม่ โดยได้รื้อกุฏิหลังใหญ่ลง โดยมีหลวงพ่อคูณเป็นผูม้ าวางศิลาฤกษ์ อุโบสถให้ แต่ทางวัดต้องอาศัยเงินผ้าป่า กฐินสร้างเรือ่ ยๆ มา จึงต้องใช้เวลาถึง 8 ปี จึงแล้วเสร็จ ใช้งบประมาณแบบประหยัด เพียงหนึง่ ล้านบาทเศษเท่านัน้ ในปีเดียว กันนัน้ ได้สร้างกุฏิ 2 ชัน้ ชัน้ ล่างเป็นศาลา หอฉัน ชั้นบนเป็นห้องเรียนนักธรรม ปี พ.ศ.2531 ซือ้ ทีด่ นิ จ�ำนวน 31 ไร่ (ปัจจุบนั เป็นทีต่ งั้ โรงเรียนมัธยมพุทธเกษตร วัดโนนเมือง) ในปี พ.ศ.2532 ซือ้ ทีด่ นิ ติด
กับสระน�้ำในวัด 7 ไร่ เพื่อขุดสระน�้ำให้ กว้างออกไป แล้วน�ำดินไปถมยังทีท่ ซี่ อื้ ใหม่ ปี พ.ศ.2547 นางสาวแป๋ว ดังใหม่ และเพื่อนๆ ที่มีจิตศรัทธา สร้างมณฑป หรือวิหารหลวงพ่อเพชร ปี พ.ศ.2553 สร้างศูนย์วัฒนธรรม และโรงทาน โดย คณะกฐินท่านฤาษีมาลัยโกษฐ์ (ฤาษี 108) ปี พ.ศ.2550 สร้างเจดีย ์ ประดิ ษฐาน พระบรมสารี ริ ก ธาตุ โดยคุ ณ วี ร ศั ก ดิ์ คุณเกตน์นิภา ตันจรารักษ์ สร้างเจดีย์ตั้ง พระบรมสารีริกธาตุภายใน ปี พ.ศ.2553 สร้างกุฏิอาคัน ตุกะ โดยมีพ่ออิ้ม พรมตะพาน เป็นเจ้าภาพ เริ่มต้นและมีคณะลูกหลานร่วมกันสร้าง จนเสร็จเรียบร้อยทันที พ่ออิ้ม ยังได้ทำ� บุญถวายกุฏสิ มประสงค์ทกุ ประการ และ สร้างศาลาเล็กฝั่งสระน�้ำ 1 หลัง โดย คุณแป๋ว ดังใหม่ และเพือ่ นๆ ร่วมกันสร้าง ปี พ.ศ.2554 (24 ธันวาคม) สร้างพระพุทธ รูปปางประทานพร จากหินก้อนเดียว ขนาดหน้าตักกว้าง 69 นิว้ โดยมีนายอ�ำนวย (เฮียกุ่ย) นางดวงพร เนติรังสีวัชรา เป็น เจ้าภาพ ปี พ.ศ.2555 เปลี่ยนหลังคาศาลา 2 ชัน้ จากกระเบือ้ งให้เป็นสังกะสีสนั ไทย ปี พ.ศ.2557 สร้างองค์พระอรหันต์ 8 ทิศ 8 องค์ และปี พ.ศ.2558 ปรับปรุงพัฒนา
นักเรียนชาวเขา กับกิจกรรมการแสดง
งานปั้นกระถางต้นไม้ฝีมือนักเรียน
นักเรียนรับประทานอาหาร ปูกระเบือ้ งโรงครัววัด ปูพนื้ กระเบือ้ งรอบ วิหารหลวงพ่อเพชร โดยคุณโสภณ-คุณรดา โสภณชนกุล
2. การพัฒนาโรงเรียนมัธยม พุทธเกษตรวัดโนนเมือง
โรงเรี ย นมั ธ ยมพุ ท ธเกษตรวั ด โนนเมือง เป็นโรงเรียนการกุศลของวัดใน พระพุทธศาสนา ซึง่ เกิดขึน้ จากแนวคิดของ พระอาจารย์ไชยยศ ชยยโส (ผู้ก่อตั้ง โรงเรียนพุทธเกษตร ที่อ�ำเภอขุมยวม จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน) เปิดท�ำการเรียนการ สอนเมือ่ ปี พ.ศ.2535 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อช่วยเหลือให้เด็กยากจน เด็กก�ำพร้า เด็กทีบ่ ดิ ามารดาหย่าร้างกัน เด็กหลงผิด ติดยาเสพติด และเด็กที่บิดามารดาต้อง คดีอาญา (ติดคุก) ได้มโี อกาสทางการศึกษา อบรมอย่างถูกวิธี ทั้งการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอัน ดีงาม มีคณ ุ ธรรมน�ำความรู้ มีอนาคตทีพ่ งึ่ ตนเองอย่างยั่งยืนต่อไป ปี พ.ศ.2543 สร้างอาคารเรียนแบบ 3 ชั้น ใต้ถุนโล่ง ขนาด 16 ห้องเรียน ปี พ.ศ.2550 สร้างห้องสุขา 36 ห้อง ปี พ.ศ.2552 ส ร ้ า ง ห อ ป ร ะ ชุ ม อเนกประสงค์ ปี พ.ศ.2554 คุณวิโรจน์-คุณกัญญา
นวลแข สร้างอาคารหอพักหญิง
3. การสงเคราะห์ชุมชนด้วย การปลูกไผ่กิมซุ่งจีน
โรงเรี ย นมั ธ ยมพุ ท ธเกษตรวั ด โนนเมือง โดยพระครูศลี วราภรณ์ ได้จดั โครงการปลูกไผ่หวานกิมซุง่ (ไผ่หวาน) เมื่อปี 2555 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วย ให้ เ ด็ ก นั ก เรี ย นมี กิ จ กรรมที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด รายได้ในโรงเรียนฯ เพื่อช่วยแก้ปัญหา โลกร้อนช่วยให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ เพือ่ ช่วยให้เป็นตัวอย่างทีด่ แี บบเศรษฐกิจ พอเพียง เพือ่ ช่วยให้คนมีคณ ุ ธรรมพัฒนา ฐานะแบบยั่ ง ยื น และเพื่ อ สนองตอบ โครงการพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ รัชกาลที่ 9 ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ทัง้ 3 ระดับ คือ ระดับ พึ่งตนเอง, ระดับขาย, ระดับส่งออก ไผ่เป็นไม้โตเร็ว ที่ให้ทั้งความร่มรื่น แก่ผนื ป่า และใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ขายหน่อ, ท�ำไม้จมิ้ ฟัน, ท�ำไม้ตะเกียบ, ท�ำไม้ก้านธูป, เผาถ่าน, ท�ำเฟอร์นิเจอร์, ท�ำเครือ่ งจักสาน เป็นต้น ดังนัน้ การปลูก ไผ่จะช่วยให้โรงเรียนฯมีรายได้แบบถาวร ท�ำให้มงี บประมาณใช้เป็นกองทุนอนุเคราะห์ การศึกษา ให้กับเด็กนักเรียนที่มีจ�ำนวน เพิ่มมากขึ้นได้อย่างยั่งยืนตลอดไป โดย
สวนไผ่โรงเรียน โรงเรียนฯ ตั้งเป้าปลูกไผ่ให้ได้ ประมาณ 500 ไร่ ในระยะ 3 ปี โดยส่วนของโรงเรียน ต้องการให้มีประมาณ 200 ไร่ นอกจากนีท้ างโรงเรียนฯ ยังได้แนะน�ำ ให้ชาวบ้านร่วมโครงการด้วย 300 ไร่ โดยระยะปลูก 4x4 อายุ 9 เดือน จะได้ หน่อกินและขายได้ ปีที่ 3 จะมีรายได้ไร่ ละ 30,000 บาท/เดือน ปีที่ 4 จะมีรายได้ มากขึน้ ไป เพราะไผ่หวานกิมซุง่ ออกหน่อ ตลอดปี สามารถขายหน่อได้กิโลกรัมละ 20-25 บาท ราคาใบ กิง่ ต้น ตันละ 1,000 บาท การปลูกไผ่กิมซุ่งจึงช่วยให้ได้ป่า กลับคืนมาอย่างน่าอัศจรรย์ และมีรายได้ ถาวรตลอดไป “ปลูกไผ่ 1 ไร่ เท่ากับตัง้ ธนาคารไว้ ให้ลกู 1 คน ไผ่มคี ณ ุ สมบัตชิ ว่ ยให้โลก ร่มเย็นร่มรืน่ ช่วยแก้ความยากจนได้ใน ภาย 3 ปี ไผ่กมิ ซุง่ อายุยนื เหมือนไผ่บา้ น เรา แต่ลำ� มีเนือ้ หนากว่า เก็บความชืน้ ไว้ให้โลกเย็น ใครมีสวนไผ่จะร่มเย็นมี ความสุขมาก และได้ขายไผ่ทุกวัน” เกษตรกรท่านใดสนใจศึกษาดูงาน ติ ด ต่ อ ได้ ที่ โรงเรี ย นมั ธ ยมพุ ท ธเกษตร วัดโนนเมือง โทร. 08-1878-2651 โทรสาร. 0-4497-1044
NAKHONRATCHASIMA 159
คุณวุฒิการศึกษา 5. เพือ่ ให้เด็กมีความรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม น�ำไปใช้ พึ่งตนเองในอนาคต
กิจกรรมฝึกคุณธรรม คุณภาพขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนมัธยมพุทธเกษตรวัดโนนเมือง โรงเรียนมัธยมพุทธเกษตรวัดโนนเมือง เป็นโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธ ศาสนา ขึ้นต่อส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) โดยมี พระครูศลี วราภรณ์ (เฉลิม ฐิตสิ โี ล) เจ้าอาวาส วัดโนนเมือง เป็นผู้รับใบอนุญาต ตั้งอยู่ หมู ่ 1 ต.โนนเมื อ ง อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา 30290 โทร. 0-4424-9129, 08-1878-2651 โทรสาร 0-4497-1044 ปรัชญาโรงเรียน : ริเริ่มสร้างสรรค์ แข่งขันท�ำดี สามัคคีกา้ วหน้า พัฒนาตนเอง คุณธรรมน�ำความรู้ ค�ำขวัญโรงเรียน : อ่อนน้อม ถ่อมตน อดทน ปรนนิบัติ ซื่อสัตย์ กตัญญู รู้รัก สามัคคี มีวินัย น�ำ้ ใจงาม
หลักการและเหตุผล
ด้วยทางวัดโนนเมือง ได้ทำ� งานพัฒนา สังคมควบคูก่ บั การเผยแผ่พระพุทธศาสนา มาอย่างต่อเนื่อง เมื่อปี พ.ศ.2520 ได้มี โครงการส่งเสริมพัฒนาหลายด้าน เช่น โครงการส่งเสริมการศึกษา โครงการพัฒนา ศูนย์เด็กเล็ก โครงการลด ละ เลิก อบายมุข
160
ในวัด และได้มโี อกาสเดินธุดงค์เห็นเด็กมี ปัญหาทางครอบครัวเกี่ยวกับการศึกษา จึงคิดจะช่วยเหลือให้เด็กได้เรียนหนังสือ ดังนัน้ ใน ปี พ.ศ.2535 ทางวัดโนนเมือง จึง ได้ขออนุญาตจัดตัง้ โรงเรียนการกุศลของ วัดในพระพุทธศาสนาขึ้น โดยตั้งชื่อว่า “โรงเรียนมัธยมพุทธเกษตรวัดโนนเมือง”
วัตถุประสงค์
1. เพื่อช่วยเหลือเด็กที่ด้อยโอกาสทาง การศึกษาและมีปัญหาทางครอบครัว 2. เพื่อให้เด็กได้มีพื้นฐานทางการศึกษา ที่ดีและถูกต้อง 3. เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในตัวเด็ก มีความ กล้าทีจ่ ะท�ำความดีกบั ตนเอง และสังคม 4. เพื่อมิให้เด็กมีปมด้อยในสังคม และมี
1. กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม ปฏิบตั ธิ รรม 2. กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ 3. กิจกรรม ทัศนศึกษานอกสถานที่ 4. กิจกรรมอบรม สวดมนต์ สรภัญญะ ศาสนพิธี 5. กิจกรรม สวดมนต์ท�ำวัตรเช้า-เย็น 6. กิจกรรม ออกก�ำลังกาย 7. เรียนธรรมศึกษา ศาสนา พาเพลิน 8. แบ่งกลุม่ ตามกิจกรรม ได้แก่ ปลูกผัก-เห็ด, สมุนไพร, ปุย๋ ชีวภาพ, เรือน เพาะช�ำ, ปัน้ อิฐบล็อกซีเมนต์, ท�ำอาหาร, ท�ำความสะอาดห้องนอน/ห้องสุขา, ท�ำความ สะอาดโรงอาหาร/อาคารเรียน, ธนาคาร ขยะ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
โรงเรียนมัธยมพุทธเกษตรวัดโนนเมือง ภายใต้การดูแลของมูลนิธโิ รงเรียนพุทธ เกษตรวัดโนนเมือง ซึง่ จัดการศึกษาแบบ ให้เปล่า ไม่เก็บค่าธรรมเนียม และอื่นๆ ทุกอย่างฟรี ทางโรงเรียนฯ จึงขอเรียนเชิญ ชวนผูม้ จี ติ ศรัทธาอุปการะเด็ก หรือประสงค์ จะท�ำบุญด้วยการอุปถัมภ์โรงเรียน โดย สามารถบริจาคได้ที่ ธนาคารกรุงเทพ สาขาโนนไทย ชื่ อ บั ญ ชี พุ ท ธเกษตร เลขที่ บั ญ ชี 483-0-11540-0 ธนาคารกรุงเทพ สาขาโนนไทย ชื่อบัญชี มูลนิธิโรงเรียนพุทธเกษตร วัดโนนเมือง เลขทีบ่ ญ ั ชี 483-0-65527-2 ธนาคารกสิกรไทย สาขาจอหอ นครราชสีมา ชือ่ บัญชี โครงการอาหาร กลางวั น และอุ ป กรณ์ ก ารศึ ก ษาเด็ ก เลขที่บัญชี 522-2-02397-3 ธนาคารกรุงไทย สาขาตลาดเซฟวัน ชือ่ บัญชี มูลนิโรงเรียนมัธยมพุทธเกษตร วัดโนนเมือง เลขทีบ่ ญ ั ชี 982-09497-1 ห รื อ สั่ ง จ ่ า ย ธ น า ณั ติ ไ ป ร ษณี ย ์ พระครูศลี วราภรณ์ 90 หมู่ 1 ต.โนนเมือง อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา 30290
Wat Non Mueang Buddha Kaset High School is a charity school of Buddhism temple which belongs to Office of the Private Education Commission (OPEC), and the licensee of school establishment license is Phra Kroo Seenwaraphon (Chaloem Thitisilo), an abbot of Wat Non Mueang. This school’s address is Village No.1, Non Mueang Sub-district, Kham Sakaesang District, Nakhon Ratchasima, postcode 30290, tel. 04-424-9129 or 081-878-2651 and fax no. is 04-497-1044. School’s Philosophy: Initiative, compete with others on doing good, unite to advanced, self-development, the top priority is virtue, then knowledge. School’s Slogan: Humble, Tolerate, Serving, be honest, be grateful, Unite, Discipline and generous.
Principle and Logic
Wat Non Mueang working on developing society and propagating Buddhism continuously. In 2520 B.E., there were projects which focus on supporting and development in various aspects, such as education supporting project, child developing center project, reduce, vacate and quit all vices in temple. Moreover, during his pilgrimage, he saw children whom had family problem about education, so he wanted to help children to got a proper education. Then, in 2535 B.E., Wat Non Mueang had asked for permission to established a charity school of Buddhism temple which it was named “Wat Non Mueang Buddha Kaset High School”.
Objective
1. To support children who has no chance on education and encounter
perform a religious rite 5. Praying in the morning and evening 6. Exercise 7. Dharma studying, a joyful religious 8. Divided into groups depend on activities as follows: plant a vegetable, mushroom and herb, make an organic fertilizer, build greenhouse, mold a cementitious brick, cooking, cleaning bedroom, toilets, canteen and school building, bank of garbage.
Participate in making merit
WAT NON MUEANAG BUDDHA KASET HIGH SCHOOL with their families problem. 2. To provide children a good and proper fundamental education. 3. To create self-confidence for children, then they will be brave enough to do good deed for themselves and society. 4. To prevent children from an inferior complex in the society and support them to get an educational qualification. 5. To teach children to make them a knowledgeable and moral person, so they can depend on themselves in the future.
The basic quality Moral Practicing Activities
1. Moral principle camp for Dharma practice 2. Scout camp 3. Field trip activity 4. Training camp of praying a prayer which is poem rhythm style and
Wat Non Mueang Buddha Kaset High School is under the care of Wat Non Mueang Buddha Kaset Foundation which provide a free-ofcharge education, student do not have to pay any fee. Then, we would like to invite anyone who want to patronize or make merit by support our school, you can donate to the following accounts: Bangkok Bank, Non Thai branch, account name “Buddha Kaset”, account number 483-0-11540-0 Bangkok Bank, Non Thai branch, account name “Wat Non Mueang Buddha Kaset Foundation’, account number 483-0-65527-2 Kasikorn Bank, Jor Hor branch, Nakhon Ratchasima, account name “lunch and studying material for children project”, account number 522-2-02397-3 Krungthai Bank, Saveone market branch, account name “Wat Non Mueang Buddha Kaset Foundation, account number 982-09497-1 Apart from that, you can order to pay by postal money order to Phra Kroo Seenwaraphon, 90 Village No.1 Non Mueang Sub-district, Kham Sakaesang District, Nakhon Ratchasima, postcode 30290. NAKHONRATCHASIMA 161
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดชีวึก ตั้งอยู่ที่บ้านชีวึก หมู่ที่ 1 ต�ำบลชีวึก อ�ำเภอขามสะแกแสง จังหวัด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2484 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 30 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2495 ปัจจุบนั มี พระครูอดุ มสุทธิคณ ุ เป็นเจ้าคณะต�ำบลชีวกึ และเจ้าอาวาสวัด
ประวัติการสร้างวิหาร
เนือ่ งจากหลวงปูท่ อง มันตเสวี อดีต เจ้าอาวาสวัดชีวึก ซึ่งเป็นพระเกจิชื่อดัง แห่งเมืองโคราชได้มรณภาพ เมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2540 ชาวบ้านไร่ประสงค์ ให้ท�ำการฌาปนกิจหลวงปู่ทอง ต่อมา ตกลงกันว่าจะรับพระราชทานเพลิงเพื่อ เป็นเกียรติแก่หลวงปู่ จึงได้ร่วมกันสร้าง มณฑป (วิหาร) ขึ้นในปี พ.ศ.2544 แล้ว เสร็จเมือ่ ปี พ.ศ.2545 แล้วจึงได้จดั พิธรี บั พระราชทานเพลิง ณ มณฑป หลังดังกล่าว 162
วัดชีวึก
เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2545 ต่อมาได้จัดสร้างรูปเหมือนหลวงปู่ ทองขนาดเท่าองค์จริง ประดิษฐานไว้ใน มณฑป จนถึงปัจจุบนั โดยทางวัดชีวกึ ได้ จัดงานท�ำบุญเพื่อร�ำลึกถึงคุณงามความ ดีของหลวงปู่ทอง ในวันที่ 20 ธันวาคม ของทุกปี
ประวัติพระครูอุดมสุทธิคุณ
พระครูอดุ มสุทธิคณ ุ เจ้าคณะต�ำบล ชีวึก และเจ้าอาวาสวัดชีวึก ชื่อเดิม นายสมพิศ แปลนค้างพลู อุปสมบท เมือ่ วันที่ 7 พฤษภาคม 2513 ณ วัดสะแกแสง โดยมี พระครูพนิ จิ ยติกรรม (เจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูงในสมัยนั้น) เป็น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู พิ นิ จ สุ ต าคม (อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง) เป็น กรรมวาจาจารย์ และพระครูพนิ จิ กิตวิ รรณ (อดีตรองเจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง) เป็นอนุสาสนาจารย์ โดยได้รับฉายาว่า ปุริสุตฺตโม ต�ำแหน่ง ได้รบ ั ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสชีวกึ เมือ่ วันที่ 19 เมษายน 2541 ได้รบ ั ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลชีวกึ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม 2550 ได้รบ ั พัดยศ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม 2553
พระครูอุดมสุทธิคุณ เจ้าคณะต�ำบลชีวึกและเจ้าอาวาสวัด
อีก 10 ห้อง ทางวัดชีวึกจึงขอเรียนเชิญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนร่ ว มสร้ า งเส้ น ทางบุ ญ สมทบทุนสร้างกุฏิวัดชีวึก โดยสามารถ บริจาคปัจจัยได้ที่ ชือ่ บัญชีวดั ชีวกึ ธนาคาร กรุงไทย บัญชีออมทรัพย์ หรือติดต่อ ได้ที่ พระครูอุดมสุทธิคุณ (เจ้าอาวาส) โทร. 08-1977-7851
อานิสงส์จากการสร้างกุฏิ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนื่องจากวัดชีวึกเป็นวัดเก่าแก่ และ มีหอฉันที่สร้างจากไม้ทั้งหลังอายุกว่า 70 ปี ถูกเพลิงไหม้เสียหายทั้งหลัง เมื่อ ปลายปี 2559 ที่ผ่านมา โดยชั้น 2 มีกุฏิ ส�ำหรับให้พระจ�ำวัดอยู่ 10 ห้อง และชัน้ 1
ส่งผลให้ไม่ว่าจะเกิดภพชาติใด ย่อม จะมีบ้านเรือนเป็นของตนเอง ไม่ต้องไป เช่าบ้านอยู่หรือเร่ร่อนพเนจร มีความ ร่มเย็นเป็นสุข และยังส่งอานิสงส์ใหญ่ให้ แก่ญาติที่เสียชีวิตไปแล้ว หรือแม้ตนเอง เมือ่ จากโลกนีไ้ ปก็จะมีวมิ านทิพย์ เสวยสุข ในภูมินั้นๆ NAKHONRATCHASIMA 163
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโนนผักชี วัดโนนผักชี เลขที่ 111 หมูท่ ี่ 4 ต.ชีวกึ อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูอสิ สรธรรมวิจติ ร เป็นเจ้าอาวาส
ความเป็นมาของบ้านโนนผักชี
บ้านโนนผักชี ก่อตั้งขึ้นเป็นหมู่บ้าน ตัง้ แต่ประมาณปี 2472 ปูพ ่ รมมีตำ� แหน่ง เป็นนายหมืน่ ชาวบ้านเรียกว่า “พ่อหมืน่ ด่านพรม” เป็นต้นตระกูล “พรมสายออ” อพยพครอบครัวมาจากบ้านโคกสวาย เขตอ�ำเภอโนนไทย มาตั้งบ้านเรือนขึ้น เป็นหลังแรก เมื่อมีผู้อื่นติดตามมาเพิ่ม ขึ้ น จนมากพอที่ จ ะตั้ ง เป็ น หมู ่ บ ้ า นได้ ขุนสะแกเกรียงเดช (ผึ่ง เอื้อเฟื้อกลาง) ต�ำแหน่งเป็นก�ำนันต�ำบลขามสะแกแสง อ�ำเภอกลาง (อ�ำเภอโนนสูงในปัจจุบัน) เป็นผู้ปกครองในขณะนั้น จึงตั้งให้เป็น หมู่บ้านขึ้นมีชื่อว่า “บ้านหนองผักชี” (เนื่ อ งจากมี ผั ก ชี ล ้ อ มงอกงามขึ้ น เต็ ม หนองน�้ำธรรมชาติ) เป็นหมู่ที่ 11 ของ 164
ต�ำบลขามสะแกแสง แต่ต่อมาภายหลัง นายอ�ำเภอท่านหนึง่ พิจารณาว่าผักชีควร ปลูกบนโนนจะถูกต้องกว่า จึงเปลีย่ นชือ่ หมูบ่ า้ นให้เสียใหม่วา่ “บ้านโนนผักชี” มา จนถึงปัจจุบัน
ประวัติวัดโนนผักชี
วิถีชีวิตของคนไทยที่นับถือพระพุทธ ศาสนา ไม่ว่าจะตั้งบ้านเรือนอยู่ท้องถิ่น แดนใด ใกล้ไกลแค่ไหนก็ตาม ต้องค�ำนึง ถึงวัด และพระสงฆ์ รวมทัง้ หาโอกาสทีจ่ ะ ได้ทำ� บุญ และประกอบพิธกี รรมทางศาสนา
เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ และด�ำรง ความเป็ น พุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ ดี ในการ สืบทอดพระศาสนาตลอดมาจนถึงปัจจุบนั วัดโนนผักชี มีหลักฐานปรากฏว่า ประกาศตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2472 โดยมี เจ้าคณะผู้ปกครองฝ่ายสงฆ์ได้ปกครอง ดูแลมาตลอด ใครเป็นผู้น�ำก่อสร้างไม่ ปรากฏหลักฐาน ตัง้ อยูใ่ นโฉนดทีด่ นิ เลขที่ 4058-20279 และ 20280 รวมเนือ้ ที่ 9 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา มีพระใบ ไม่ทราบ ฉายา ย้ายมาจากวัดโคกสวาย มาอยูเ่ ป็น ประธานสงฆ์เป็นรูปแรก และหลวงพ่อคง ไม่ทราบฉายา ย้ายมาจากวัดชีวกึ มาพัก อาศัยอยูจ่ ำ� พรรษา ช่วยดูแลพัฒนาวัดมา เป็นเวลานานหลายปี จนมรณภาพลงเมือ่ ปี พ.ศ.2512
ศาสนวัตถุ-ปูชนียวัตถุสำ� คัญ
พระพุทธโสธรทองสัมฤทธิ์ พระประธาน องค์เก่าดัง้ เดิมของวัด ซึง่ คณะสงฆ์ ชาวบ้าน
พระครูอิสสรธรรมวิจิตร เจ้าอาวาสวัด และคณะผ้ า ป่ า สามั ค คี จ ากกรุ ง เทพฯ มีศรัทธาร่วมกันสมทบทุนเททองหล่อขึน้ มาเมือ่ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2518 แล้ว อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่หอสวดมนต์ ในกุฏกิ งึ่ ศาลาเอนกประสงค์ของวัดขณะนี้ อุโบสถ ซึ่งเป็นการสร้างบุญกุศลอัน ยิ่งใหญ่เพราะเป็นการสืบทอดพระพุทธ ศาสนาเป็นศูนย์กลาง และเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ ว จิตใจของชาวพุทธ รวมทั้งเป็นสถานที่ ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา เพือ่ เผยแผ่ พระพุทธศาสนาให้มคี วามมัน่ คงถาวรยิง่ ยืนนานตลอดไป คณะสงฆ์และชาวบ้าน ผูม้ จี ติ ศรัทธาของวัดโนนผักชี จึงมีมติเป็น เอกฉันท์ร่วมกันจัดท�ำโครงการก่อสร้าง อุโบสถของวัดขึ้นมา 1 หลัง ภายในงบ ประมาณ 10,000,000 บาท พระพุ ท ธโสธรตรี เ ทพพรหม ประธานพร พระประธานในอุ โ บสถ ประกอบพิธเี ททองหล่อขึน้ ทีว่ ดั โนนผักชี ด�ำเนินการสร้างขึ้นโดย คณะพระมหา ประดิษฐ์ ถิรธมฺโม พระโหราจารย์ใหญ่ วัดสุทัศนเทพวราราม คณะ 1 กรุงเทพฯ พร้อมด้วยคณะศิษย์ และชาวประชามหาชน ผู้มีจิตศรัทธาสามัคคีกันเททองหล่อขึ้น เป็นพระเนือ้ ทองสัมฤทธิ์ ปิดทองค�ำเปลว แท้ทงั้ องค์ โดยท�ำหนังสือขออนุญาตจาก พระพรหมสุธี รักษาการเจ้าอาวาสวัด โสธรวราราม จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งท่าน อนุญาต และมาเป็นประธานเททอง ร่วม กับพระวิสทุ ธาธิบดี (ต�ำแหน่งในขณะนัน้ )
หรือสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ เจ้าอาวาส วัดสุทศั นเทพวราราม กรรมกรามหาเถรสมาคม เป็น 2 รูปด้วยกัน ส�ำเร็จลงเมื่อ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2551
เหตุการณ์ส�ำคัญของวัด
วางศิลาฤกษ์อโุ บสถ เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2549 ประกอบพิธย ี กช่อฟ้าช่อเอกของอุโบสถ วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2552 ประกอบพิ ธี ป ั ก เขตพระราชทานเขต วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2555
จัดงานฉลองอาคารอุโบสถ ผูกพัทธสีมา ปิดทอง ตัดหวายลูกนิมติ ในปี พ.ศ.2556 พร้อมกับการสมโภช ปีทคี่ รบ 7 รอบ 84 ปี ของการก่อตั้งวัดโนนผักชีแห่งนี้ให้เป็น ความทรงจ�ำตลอดไป
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูอสิ สรธรรมวิจติ ร ฉายา มหิสสฺ โร อายุ 60 พรรษา 34 เป็นเจ้าอาวาสวัด โนนผักชี ตั้งแต่ พ.ศ2530 จนถึงปัจจุบัน สถานะเดิม โกศล ธรรมวงศ์ เกิดเมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 แรม 7 ค�ำ่ เดือน 3 ปีวอก ณ บ้านโนนผักชี ต.ชีวึก อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา บุตรของนายจับ-นางนาวัง ธรรมวงศ์ (สกุลเดิม วีระกุล) การศึกษาทางโลก ม.6 การศึกษาทางธรรม จบนักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม บรรพชา-อุปสมบท เมื่อ 4 มีนาคม พ.ศ.2526 เวลา 17.15 น. ณ วัดชีวกึ โดย มี พระครูสุวรรณสิทธิคุณ วัดชีวึก เป็น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู อุ ด มสุ ท ธิ คุ ณ วัดชีวึกเป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระยืนยง ฐานุตฺตโร วัดโนนผักชี เป็น พระอนุสาวนาจารย์ สมณศักดิ์ พ.ศ.2550 เป็นพระครูใบฎีกาโกศล มหิสฺสโร พ.ศ.2551 เป็นพระครูอส ิ สรธรรมวิจติ ร NAKHONRATCHASIMA 165
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดธรรมเมืองทอง
พระครูศรีภาวนาวิสุทธิ์ วิ. เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง วั ด ธรรมเมื อ งทอง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า น เมืองทอง ต.เมืองเกษตร อ.ขามสะแกแสง จ.นครราชสีมา มีพนื้ ที่ 72 ไร่ 7 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูศรีภาวนาวิสุทธิ์ วิ. เจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง เป็นเจ้าอาวาส นางเอี่ ย ม-นายสุ พั ฒ น์ (เชย) หวังประสพกลาง ได้ถวายที่ดิน 25 ไร่ แด่ พระเทพสีมาภรณ์ (นวล เสมสันเทียะ) อดีตรองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา และ พระครูศรีภาวนาวิสทุ ธิ์ วิ. เจ้าคณะอ�ำเภอ ขามสะแกแสง ซึ่ ง มี ค วามประสงค์ ใ ห้ สร้างเป็นศูนย์ปฏิบัติธรรมประจ�ำอ�ำเภอ ขามสะแกแสง นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เป็นต้นมา ได้สร้างศาลาฟังธรรม โรงครัว ห้องสุขา กุฏิกรรมฐาน พ.ศ.2550 แม่ภู แย้มหมืน่ ไวย ถวายทีด่ นิ 47 ไร่ 7 ตารางวา ในปี พ.ศ.2552 ได้รับประกาศตั้งชื่อวัด และได้มกี ารพัฒนาวัดเรือ่ ยมา จนมีอาคาร ต่างๆ ตามล�ำดับ
และแม่ชี ดร.รัชดา อมาตยกุล พร้อมคณะ สร้ า งอุ โ บสถรู ป แบบพระเจดี ย ์ ชื่ อ ว่ า “เจติยอุโบสถ” (พระเจดียแ์ ก้วสารพัดนึก) ยอดบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุและลูกแก้ว สารพัดนึก 2. พระบรมสารีริกธาตุ จ�ำนวน 9 องค์ ซึง่ ได้รบั ประทานจากสมเด็จพระสังฆราช เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2553 แล้ว อัญเชิญประดิษฐานบรรจุไว้ ณ พระเจดีย์ แก้วสารพัดนึก 3. หลวงพ่อสารพัดนึก (พระพุทธศากยมุนี ศรีภาวนาวิสทุ ธิธ์ รรมโลกนาถศาสดามหารัตน ประทานพร) เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ปางปฐมเทศนา สร้างจากหินทรายทอง แกะสลักขนาดใหญ่ หนัก 13.50 ตัน โดย จ�ำลองจากพิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติประเทศ อินเดีย เป็นพระพุทธรูปสวยงามที่สุด 4. ต้นพระศรีมหาโพธิ์ โดยน�ำเมล็ดจาก ต้นพระศรีมหาโพธิป์ ระเทศอินเดียมาเพาะ มอบถวายโดย พระเทพญาณมงคล วิ. ปลูก เมื่อปี 2557
สิ่งศักดิ์สิทธ์ภายในวัด
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
ประวัติวัดธรรมเมืองทอง
1. พระเจดีย์แก้วสารพัดนึก สร้างในปี พ.ศ.2555 โดย ฯพณฯ เตช บุนนาค อดีต รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศ 166
1. งานสมโภชพระบรมสารีรกิ ธาตุ, ห่มผ้า พระเจดียแ์ ก้วสารพัดนึก และงานนมัสการ สักการะปิดทอง “หลวงพ่อสารพัดนึก”
2. งานเทศน์มหาชาติ และทอดกฐินสามัคคี ตรงกับเสาร์-อาทิตย์ ก่อนวันลอยกระทง ของทุกปี 3. งานปริวาสกรรม ปฏิบตั ธิ รรม และงาน อายุวฒ ั นมงคลพระครูศรีภาวนาวิสทุ ธิ์ วิ. วันที่ 1-10 มีนาคม ของทุกปี 4. ปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐานทุกวัน ตลอดทัง้ ปี 5. นมัสการพระบรมสารีรกิ ธาตุ พระเจดีย์ แก้วสารพัดนึก/ปิดทองหลวงพ่อสารพัดนึก/ สังเวชนียสถานจ�ำลองทัง้ 4 ได้ทกุ วันตลอด ทั้งปี 6. จัดอบรมเข้าค่ายธรรมะ ติดต่อสอบถามโทร. 089-286-4920, 091-467-7566
ประวัติ พระครูศรีภาวนาวิสุทธิ์ วิ.
พระครูศรีภาวนาวิสทุ ธิ์ วิ. (พระมหาประกอบ ปภงฺกโร) น.ธ.เอก, ป.ธ.6, อภิธรรม บัณฑิต, พธ.ม.กิตฯ (พระอภิธรรม), พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) ต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอขามสะแกแสง, เจ้าอาวาสวัดธรรมเมืองทอง รูปที่ 1 (รูป ปัจจุบนั ), ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักวิปสั สนาวัด สะแกแสง, พระวิปสั สนาจารย์สอนวิปสั สนา กรรมฐาน
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโพธิ์ศรีวนาราม วัดโพธิศ์ รีวนาราม ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหลุบกุงหนองกุงพัฒนา หมูท่ ี่ 10, 13 ต�ำบลโนนจาน อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด 8 ไร่ 1 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูโพธิวรรัตน์ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
วัดโพธิศ์ รีวนาราม ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2475 เดิมชื่อวัดบ้านหลุบกุง โดยมีผู้ก่อตั้งวัด ดังนี้ พ่อบุญ-แม่สนุ ปาประแพ เป็นผูถ้ วาย ทีด่ นิ พ่อธรรมศรี บุตรวิชา พ่อแหล่ กึกก้อง พ่อโส บุตรมาตร และพ่อสมบูรณ์ ฟักโคลพัง
เกิดเมือ่ วันเสาร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2510 บุตรของนายค�ำสี-นางเคน จ้ายหนองบัว อยูบ่ า้ นเลขที่ 13 หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลเมืองพะโล อ�ำเภอบัวลาย จังหวัดนครราชสีมา อุปสมบท เมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ณ วัดบ้านฝาผนัง ต�ำบลเมืองพะไล อ�ำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา โดยมี พระอุปชั ฌาย์ คือ พระครูวรธรรมนิวฏิ ฐ์ พระกรรมวาจาจารย์ คือ พระอธิการสมาน พระอนุสาวนาจารย์ คือ เจ้าอธิการสนัน่ อกฺกโชโต วิทยฐานะ ปี พ.ศ.2521 ส�ำเร็จการศึกษา
เสนาสนะ-ปูชนียวัตถุ
ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2530 วิหาร สร้างเมือ่ พ.ศ.2532 กุฏสิ งฆ์ 1 หลัง และศาลาบ�ำเพ็ญบุญ 1 หลัง ปูชนียวัตถุ ได้แก่ พระพุทธรูป 3 องค์ ขนาดหน้าตักกว้าง 40 นิว้ สูง 1 เมตร และ พระสถูปเจดีย์ 1 องค์ สูง 105 เมตร
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูโพธิวรรัตน์ (สุรัตน์ เตขวโร) วุฒิทางศาสนา นักธรรมเอก สถานะเดิม ชือ่ นายสุรตั น์ จ้ายหนองบัว
พระครูโพธิวรรัตน์ เจ้าอาวาสวัด
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบัวลาย ปี พ.ศ.2538 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนัก เรียนคณะจังหวัด จังหวัดนครราชสีมา ความสามารถพิเศษ งานก่อสร้าง (นวกรรม) และงานศาสนพิธี งานการปกครองทีส่ ำ� คัญ ปี พ.ศ.2542 เป็นเจ้าอาวาส ณ วัดโพธิ์ศรีวนาราม งานเผยแผ่ ปี พ.ศ.2538 เป็นครูสอนพระปริยต ั ธิ รรม ปี พ.ศ.2551 ได้สำ � เร็จการศึกษาอบรม หลักสูตรพระวิปัสสนาจารย์ ในโครงการ ฝึกอบรมพระวิปสั สนาจารย์ รุน่ ที่ 2 เผยแผ่ ธรรมะ ส่งเสริมส�ำนักวิปสั สนากรรมฐาน ให้เป็นที่ปฏิบัติธรรมแก่ผู้ที่สนใจทั่วไป งานสาธารณูปการ ก่อสร้าง ปฏิสงั ขรณ์ ถาวรวัตถุ และพัฒนาวัด ตัง้ แต่ปี พ.ศ.25422552 เป็นเงินรวมทัง้ สิน้ 3,628,093 บาท งานศึกษาสงเคราะห์ ปี พ.ศ.2546 บริจาคทุนสร้างห้องสมุด โรงเรียน จ�ำนวน 7,000 บาท ปี พ.ศ.2548 บริจาคทุนซือ ้ ผ้าสแลนเพือ่ ใช้ในการศึกษาในโรงเรียน จ�ำนวน 1,500 บาท ปี พ.ศ.2548 บริจาคทุนสร้างโรงอาหาร โรงเรียนเพือ่ การศึกษา จ�ำนวน 1,000 บาท ปี พ.ศ.2549 บริจาคทุนมอบถ้วยรางวัล กีฬาภายในโรงเรียน จ�ำนวน 1,000 บาท NAKHONRATCHASIMA 167
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดด่านเกวียน
วัดด่านเกวียน วั ด ด่ า นเกวี ย น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 209 บ้านด่านเกวียน หมู่ที่ 3 สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีต่ งั้ วัดมีเนือ้ ที่ 2 ไร่ 3 งาน 55 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูวจิ ติ รธรรมประยุต (พระไพศาล สารทโร) เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดด่านเกวียน
วัดด่านเกวียน ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2515 ใน สมัยก่อนพื้นที่บริเวณวัดส่วนใหญ่เป็น สวนและท้องนา ชาวบ้านได้รว่ มกันสร้าง ที่ พั ก สงฆ์ ข นาดเล็ ก โดยมี พ ระไพศาล สารทโร เป็นผู้ดูแล มีพระธุดงค์เดินทาง มาพักบ้างเล็กน้อยก็จากไปเพราะขาด แคลนในเรือ่ งเสนาสนะ จึงได้จดั สร้างกุฏิ สงฆ์ขึ้นมาในปีนั้นเอง หลังจากนั้นมาสิ่ง ปลูกสร้างต่างๆ ก็ได้รบั การพัฒนาขึน้ เป็น
168
ล�ำดับจนถึงปัจจุบนั นี้ โดยวัดด่านเกวียน มีชาวบ้านมาท�ำบุญที่วัด 4 หมู่บ้าน คือ บ้านด่านเกวียน บ้านหนองงูเหลือมน้อย บ้านโตนดเก่า และบ้านโตนด พระไพศาลได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าอาวาสเมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2527 ต่อมาในปี พ.ศ.2534 จึงได้รบั การแต่งตัง้
พระครูวิจิตรธรรมประยุต เจ้าอาวาส เป็นพระครูวิจิตรธรรมประยุต
อาคารเสนาสนะ
ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2520 ซุ้มประตู สร้างเมื่อ พ.ศ.2523 อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2530 กุฏิสงฆ์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2536 เมรุ สร้างเมื่อ พ.ศ.2542 ศาลาธรรมสังเวช สร้างเมือ ่ พ.ศ.2545 พระพุทธรูปองค์ใหญ่ด้านหน้าวัด สร้างเมื่อ พ.ศ.2548 ศาลาปฏิบต ั ธิ รรม สร้างเมือ่ พ.ศ.2551 กุฏท ิ รงไทยหลังใหม่ สร้างเมือ่ พ.ศ.2551
จังหวัดนคราชสีมา รูปลักษณะอาคาร จัดแบ่งเจดีย์ออกเป็น เจดีย์องค์เล็ก 4 องค์ และเจดียอ์ งค์ใหญ่ 1 องค์ ก�ำหนด แบ่งตามความสูงของอาคารออกเป็น ระดับล่าง เป็นห้องเอนกประสงค์ ระดับชัน ้ สอง เป็นกระเบือ้ งโดยรอบ มี เจดีย์เล็กอยู่ 4 มุมอาคาร ระดับชั้นสาม เป็นเจดีย์องค์ใหญ่ ลักษณะของรูปทรงเจดีย์ ช่วงล่างเป็นรูปสี่เหลี่ยม ช่วงบนส่วนฐานรองรับองค์เจดีย์ เป็น รูปทรงแปดเหลี่ยม ถึงยอดเจดีย์เป็น
การสร้างเจดีย์
วั ด ด่ า นเกวี ย น ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การ ก่อสร้างเจดีย์ เพือ่ เป็นอนุสรณ์ถวายเป็น พุทธบูชา อาจาริยบูชา และเพือ่ เป็นศูนย์ รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนไว้เคารพ บูชากราบไหว้ ที่ตั้งโครงการ ตัง้ อยูใ่ นบริเวณพืน้ ทีร่ วม วัดด่านเกวียน ต� ำ บลโตนด อ� ำ เภอโนนสู ง จั ง หวั ด นครราชสีมา แนวความคิด รู ป แบบเจดี ย์ ได้รับแรงบันดาลใจ จากพุทธญาณมุนีรัตนจารุธัมมานุสรณ์ วัดถ�ำ้ ซับมืด ต�ำบลจันทึก อ�ำเภอปากช่อง NAKHONRATCHASIMA 169
องค์ ยังมีบรุ ษุ ผูห้ นึง่ มีจติ ศรัทธาได้นอ้ มน�ำ มาซึ่งปูนก้อนหนึ่งใส่ลงในระหว่างอิฐที่ ก่อนัน้ อันมาณพนีท้ ำ� บุญเพียงแค่นนั้ ครัน้ ท�ำลายเบญจขันธ์สนิ้ ชีพ ด้วยอ�ำนาจแห่ง กุศลนั้น ท่านได้เสวยสมบัติอยู่ในมนุษย์ และเทพยดาตลอดกาลนานสิ้น 94 กัป
ทรงระฆังคว�่ำ
อานิสงส์การสร้างเจดีย์
ครั้งเมื่ออดีตกาลผ่านมาแล้ว 94 กัป ทรงพระนามว่า พระสิทธัตถะ ทรงประกาศ พระศาสนาจนตลอดพระชนมายุจึงได้ เสด็จดับขันธ์เข้าสู่พระปรินิพพาน ชาว เมืองทั้งหลายก็พากันก่อพระเจดีย์เพื่อ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธ
170
มิได้ไปบังเกิดในอบายภูมิทั้ง 4 ครั้นมาถึงศาสนาแห่งพระพุทธเจ้า ของเรานี้ ก็ได้บังเกิดในตระกูลที่เลื่อมใส ในพระศาสนา ครั้นอายุเจริญวัยขึ้นมาก็ ได้ออกบวชในพระพุทธศาสนา ขวนขวาย เจริญวิปสั สนาก็ได้สำ� เร็จเป็นพระอรหันต์ ตัดกิเลสเป็นสมุทเฉทประหารช�ำระสันดาน ให้บริสทุ ธิห์ ลุดพ้นจากทุกข์ทงั้ ปวง ท่านจึง ได้เปล่งอุทานว่า “บุคคลใดมีจติ เลือ่ มใส ได้กระท�ำการสักการบูชาสิ่งอันควร บูชา มีองค์สมเด็จพระอรหันต์สัมมา สัมพุทธเจ้าเป็นต้น พร้อมทัง้ ปฏิบตั ธิ รรม ตามค�ำสัง่ สอนขององค์สมเด็จพระทศพล ย่ อ มมี อ านิ ส งส์ จ ะนั บ ประมาณมิ ไ ด้ ส่งผลให้พ้นจากทุกข์ทั้งปวง”
เส้นทาง AEC
ผู้ประกอบการไทยเฮ! รับของขวัญปีใหม่จาก กสอ. เริม่ ศักราชใหม่ปี 2560 กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม มอบของขวัญแก่ผปู้ ระกอบการไทย มูลค่า กว่า 830 ล้านบาท ด้วย 35 โครงการ เพือ่ ส่งเสริมผู้ประกอบการ 4 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ 1. กลุม่ Startup มีบริการไฮไลท์ อาทิ โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ (NEC) โครงการสร้างธุรกิจใหม่ (NBC) กิจกรรม Plan To Biz กิจกรรมเถ้าแก่นอ้ ย เทคโนโลยี
2. กลุม่ S-Curve และ Super Cluster
มีบริการไฮไลท์ อาทิ การพาผูป้ ระกอบการ ไปแสดงสิ น ค้ า ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ
กิจกรรมการพัฒนาหุน่ ยนต์และเครือ่ งจักร การสนับสนุน งบประมาณด้านชิ้นส่วน อากาศยาน การแพทย์ ยานยนต์ ดิจิทัล อิเล็กทรอนิกส์ และปิโตรเคมี 3. กลุม่ SMEs มีบริการไฮไลท์ อาทิ โครงการเอสเอ็มอีสปริงอัพ กิจกรรมพัฒนา ผู ้ ป ระกอบการแฟชั่ น และไลฟ์ ส ไตล์ โครงการ Fashion Next 2017
4. กลุ่ม OTOP และอุตสาหกรรม สร้างสรรค์เชิงวัฒนธรรม มีบริการ
ไฮไลท์ อาทิ การให้บริการด้านเงินทุนหมุน เวียน เพือ่ การส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรม ในครอบคัวและหัตถกรรมไทย ในวงเงิน สูงสุด 2 ล้านบาทต่อราย การจัดตัง้ หมูบ่ า้ น
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ให้กระจายครบ ทุกจังหวัดใน 5 ปี บริการ OTOP Networking เป็นต้น ทั้งนี้ บริการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับโอกาสอันดี เพื่อน�ำไปใช้ในการปรับปรุงการด�ำเนิน ธุรกิจ และน�ำพาประเทศสูฐ่ านะผูน้ ำ� ทาง เศรษฐกิจในอนาคต โดยนอกจากโครงการ ดังกล่าวนี้ ในปี 2560 ผู้ประกอบการยัง สามารถใช้บริการจากศูนย์บริการธุรกิจ อุตสาหกรรม (BSC) ทีม่ อี ยูจ่ ำ� นวน 14 ศูนย์ ทัว่ ประเทศ เพือ่ ให้คำ� ปรึกษาและแก้ไขปัญหา SMEs ในทุกๆ ด้านโดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยใดๆ ทั้งสิ้น NAKHONRATCHASIMA 171
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโนนหมัน วัดโนนหมัน เลขที่ 12 ต�ำบลโนนสูง อ� ำ เภอโนนสู ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า ทะเบียนวัด 455 สังกัดมหานิกาย เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 154 เนือ้ ที่ 34 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูวจิ ติ รคุณวัตร เจ้าคณะ อ�ำเภอโนนสูง เป็นเจ้าอาวาสวัดโนนหมัน
ประวัติวัดโนนหมัน
วัดโนนหมัน เดิมตั้งอยู่ติดกับบ้าน โนนหมัน และใกล้กับบ้านโนนสูง ซึ่ง หมู่บา้ นทั้งสองนี้ตั้งมาประมาณ 200 ปี มีประชาชนอาศัยอยูป่ ระมาณ 15 ครอบครัว มีนายปาน สนิทกลาง และนายอินทร์ กมลกลาง เป็นหัวหน้าน�ำท�ำการสร้าง วัดประจ�ำหมู่บ้านขึ้น ในราว พ.ศ.2435 (ภายหลังทัง้ สองได้รบั ยกย่องจากเจ้าเมือง ให้นายอินทร์ กมลกลาง เป็นขุนด่านอินทร์ ท�ำหน้าที่เป็นก�ำนัน ส่วนนายปานเป็น ผูใ้ หญ่บา้ น) และได้รบั ยกฐานะเป็นวัดเมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2486 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2539 ส่วนชื่อวัดโนนหมัน สืบเนื่องจากใน หมูบ่ า้ นมีตน้ ไม้ใหญ่ยนื ต้นชือ่ ว่า “ต้นหมัน” จึงได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า “บ้านโนนหมัน” และ
172
ศาลาปฏิบัติธรรม ตั้งชื่อวัดว่า “วัดโนนหมัน” จนกระทั่งถึง ปัจจุบันนี้
ล�ำดับเจ้าอาวาส
พระอธิการงก พ.ศ.2470 - 2479 พระอธิการโป๊ะ พ.ศ.2480 - 2483 พระครูพรหมญาณประสุต พ.ศ.2485 - 2508 พระครูวิจิตรคุณวัตร (หลวงพ่อลับ) พ.ศ.2512 - ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุทธรูปเก่าแก่ทสี่ ดุ เป็นพระพุทธ ลักษณะโอบปูนลงรักปิดทอง เกิดขึ้นมี มาตั้งแด่รุ่นปู่ย่าตายาย เป็นพระพุทธที่ ชาวบ้านโนนหมันให้ความเคารพกราบ ไหว้บูชาขอพรตลอด ศาลาการเปรียญ
อาคารเสนาสนะ
ศาลาอเนกประสงค์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2513 ลักษณะเป็นอาคารไม้ ศาลาการเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2519 ลักษณะเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก อุโบสถวัดโนนหมัน สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 ลักษณะทรงไทยชัน้ เดียว คอนกรีต เสริมเหล็ก ความกว้าง 7.80 เมตร ยาว 21 เมตร บานประตูหน้าต่างฝังด้วยมุก ก�ำแพงแก้วรอบอุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2534 ขนาดกว้าง 32 เมตร ยาว 50 เมตร ศาลาปฏิบตั ธิ รรม สร้างเมือ่ ปี 2547 ลักษณะเป็นทรงไทยชัน้ เดียว ขนาดกว้าง 16 เมตร ยาว 42 เมตร ใช้ในกิจกรรม ปฏิบัติธรรม และเป็นห้องประชุมประจ�ำ เดือนคณะสงฆ์อ�ำเภอโนนสูง และสอบ นักธรรมชั้นตรี ซุม้ ประตูทางเข้าวัดโนนหมัน สร้าง เมื่อ พ.ศ.2558
กุฏิสงฆ์
กิจกรรมส�ำคัญของวัด
จัดกิจกรรมอบรม-ปฏิบัติธรรมให้กับ ประชาชนทั่วไป หน่วยงานราชการ และ ภาคเอกชน เป็นสถานทีส ่ อบนักธรรมชัน้ ตรี ประจ�ำ อ�ำเภอโนนสูง จัดประชุมประจ�ำเดือนในหมูค ่ ณะสงฆ์ อ�ำเภอโนนสูง ในเทศกาลเข้ า พรรษาของทุ ก ปี วั ด
โนนหมันจะการจัดท�ำรถขนวนเทียนแห่ พรรษาทุกปีและเป็นเอกลักษณ์ของวัด เพือ่ เป็นรักษาวัฒนธรรมไทยและประเพณี อันดีงามเอาไว้
ประวัติพระครูวิจิตรคุณวัตร
พระครูวจิ ติ รคุณวัตร (ลับ ปญฺญาทีโป) เจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง (จอ.ชอ.) เจ้าอาวาส วัดโนนหมัน อายุ 76 ปี พรรษา 54 สถานะเดิม นายลับ ชนากลาง เกิด วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2484 ณ หมู่ 9 บ้านคอนน้อย ต�ำบลด่านคล้า อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา บุตรของนายรอดนางอึ่ง ชนากลาง อุปสมบท วันที่ 23 เมษายน พ.ศ.2505 ณ พัทธสีมาวัดคอนน้อย ต�ำบลด่านคล้า อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา โดยมี เจ้าอธิการโม่ อินทฺ สโร เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รับฉายาว่า ปญฺญาทีโป ต�ำแหน่งการปกครอง 5 ธันวาคม พ.ศ.2512 เป็นเจ้าอาวาส วัดโนนหมัน 31 สิงหาคม พ.ศ.2517 เป็นครูสอน พระปริยตั ธิ รรมส�ำนักศาสนาวัดบัว ต�ำบล โนนสูง อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 18 ตุลาคม พ.ศ.2520 เป็นเจ้าคณะต�ำบล ด่านคล้า อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา 21 มกราคม พ.ศ.2523 เป็นพระอุปช ั ฌาย์ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2533 เป็นรองเจ้าคณะ อ�ำเภอโนนสูง ปัจจุบัน เจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง NAKHONRATCHASIMA 173
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดมะรุม วัดมะรุม เลขที่ 148 หมู่ที่ 7 ต�ำบล พลสงคราม อ� ำ เภอโนนสู ง จั ง หวั ด นครราชสีมา เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำ จังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 148 มีเนื้อที่ 45 ไร่ 2 งาน 13 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูประโชติ ไชยยกุล เป็นเจ้าอาวาส วัดมะรุม
ประวัติวัดมะรุม
วัดมะรุม สร้างขึน้ เป็นวัดเมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ.2169 ในสมัยพระเจ้าทรงธรรม มีการสร้างอุโบสถขึน้ ในปี พ.ศ.2224 และ ท�ำการผูกพัทธสีมา เมือ่ พ.ศ.2230 สมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช แต่ปจั จุบนั นี้ อุโบสถหลังเก่าได้บูรณะเป็นวิหารเมื่อ พ.ศ.2538 เพราะได้ก่อสร้างอุโบสถหลัง ใหม่ขนึ้ พ.ศ.2532 สิน้ การก่อสร้าง จ�ำนวน 4 ล้านบาทเศษ และท�ำการผูกพัทธสีมา วันที่ 29 ม.ค.-6 ก.พ. 2538 รวม 9 วัด 9 คืน โดยมีพระครูธรี ธรรมพิทกั ษ์ (อ้าย 174
ธมมฺธโี ร) เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบล พลสงคราม เมื่อผูกพัทธสีมาแล้ว หลวงพ่ออ้าย ก็ได้ก่อสร้างสถานีอนามัยมอบให้ชุมชน หนึง่ หลัง สิน้ งบประมาณนับล้านบาท ต่อ จากนั้นก็ได้ก่อสร้างเจดีย์มัชวิรัตขึ้นอีก 1 หลัง สิ้นงบประมาณ 3,784,625 บาท บนเจดีย์สถานแห่งนี้ ได้บรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุจากประเทศอินเดีย คุณปูม่ าก ศรีรตั น์ น�ำมาถวาย นับแต่นนั้ ก็ได้จดั งาน ปฏิบตั ธิ รรมไหว้พระธาตุ ในวันเพ็ญเดือน 3 มาฆบูชาทุกปี
ปาฏิหาริย์ พระบรมสารีริกธาตุ
มีเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับพระบรมสารีรกิ ธาตุ ว่า ในปี พ.ศ.2550-2551 เกิดปรากฏการณ์ พระบรมสารีรกิ ธาตุเกิดฉับพลันรังสี เปล่ง รัศมีโชติช่วงชัชวาลบนยอดเจดีย์สถาน สว่างไสวไปทั่วบริเวณ โดยในปี 2550 มี
ผู้พบเห็นคือ คุณแม่ดี ขอแถมกลาง และ อบต.จรัส แก้วกลาง ส่วนในปี พ.ศ.2551 ผูท้ ไี่ ด้พบเห็นลักษณะเดียวกันคือ คุณพ่อ โอน ขอมีกลาง และอีกส่วนหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติธรรมได้ พบเห็นเป็นอัศจรรย์ใจก็คอื ในวันปฏิบตั ิ ธรรมประจ�ำปี พ.ศ.2551 พระบรมสารีรกิ ธาตุ ได้เสด็จมาเกือบเต็มผอบ ไวยาวัจกรเสถียร จึงปรึกษานักปฏิบัติธรรมว่า เราน่าจะไป บูชาผอบใบใหม่มาใส่พระบรมสารีรกิ ธาตุ จากนั้นจึงได้ไปบูชาผอบใบใหม่มา เพื่อ ท� ำ การบรรจุ พ ระธาตุ ขณะที่ พ ระครู ประโชติชยั คุณ เจ้าอาวาสวัดมะรุม ก�ำลัง เตรียมการบรรจุพระธาตุ ซึ่งได้แก่ห่อ กระดาษที่หุ้มผอบออก ทันใดนั้นก็เกิด เสียงกึกก้องกัมปนาท นักปฏิบตั ทิ กี่ ำ� ลังสวด บทพระพุทธเจ้าชนะมารก็พากันตกอก ตกใจหยุดสวดมนต์ไปชั่วขณะ เป็นเวลา เดียวกับที่พระครูได้แก้ห่อภาชนะออก พอดี ปรากฏว่าในผอบนัน้ มีพระธาตุเสด็จ
เข้าไปอยูแ่ ล้ว 5 พระองค์ เกิดความสะเทิน้ สะท้านหวั่นไหวให้แก่ไวยาวัจกรเสถียร เป็นอย่างยิง่ เพราะสิง่ ทีป่ รากฏอยูต่ รงหน้า คือ ผอบนี้เป็นของใหม่ได้บูชามากับมือ ยังถือไว้ให้เขาห่อข้างในผอบก็ไม่มีอะไร แต่ไฉนพระบรมสารีริกธาตุเสด็จเข้าเอง เช่นนี้ ผูท้ ปี่ ฏิบตั ธิ รรม ต่างพากันเกิดอัศจรรย์ ใจเป็นการใหญ่ และได้สวดบทสรรเสริญ พระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ จนการ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเสร็จสิ้นในปี นั้น และการปฏิบัติธรรมประจ�ำปี 2552 วันเพ็ญเดือน 3 พระบรมสารีริกธาตุก็ได้ เกิดปรากฏการณ์ในหมู่นักปฏิบัติธรรม เวลา 15.30 น. เสียงสัญญาณฆ้องได้ดัง กึกก้อง (เสียงทิพย์) ณ สถานปฏิบตั ธิ รรม เป็นเวลาเดียวกับนักปฏิบตั ธิ รรมก�ำลังนัง่ สมาธิอยู่ในช่วงสุดท้ายของการปฏิบัติ ธรรมในวันสุดท้าย เพื่อเป็นการอัญเชิญ เสด็จพระบรมสารีรกิ ธาตุ ขึน้ ไปประดิษฐาน บนเจดียส์ ถานชัน้ ที่ 6 โดยได้กำ� หนดเวลา ให้เข้าสูท่ ปี่ ระชุม 16.00 น. แต่เสียงอาณัติ สัญญาณก็ดงั ขึน้ ก่อนเวลา คณะผูป้ ฏิบตั ิ ธรรมต่างพากันรีบมา ณ ทีป่ ระชุม แต่เมือ่ สอบถามกันและกันแล้ว ก็หาผู้ตีฆ้องไม่ ได้ แม้คนงานที่ท�ำงานอยู่ใกล้ๆ กับฆ้อง ก็บอกว่าไม่มีใครตีฆ้องด้วยประการใดๆ ยังความอัศจรรย์ใจแก่ผปู้ ฏิบตั ธิ รรมยิง่ นัก
พระพุ ท ธรู ป ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และมี ค วาม ศักดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างยิง่ โดยมีเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับ หลวงปูด่ ำ� ตาเพชร ว่า ครัง้ หนึง่ มีตน้ โพธิ์ ขนาดใหญ่อยูใ่ กล้กบั โบสถ์ ถูกลมพัดโค่น ล้มลง แต่ไม่ถกู โบสถ์ สร้างความอัศจรรย์ ใจแก่ผู้พบเห็น ส่วนคนที่ไปในโบสถ์แล้ว ไม่เคารพไหว้ทา่ น คนๆ นั้นถึงกับล้มลง ชักดิน้ ชักงอ โดยไม่รสู้ าเหตุกม็ ี ยิง่ ในยาม ค�ำ่ คืนไม่มใี ครกล้าเดินผ่านหน้าโบสถ์เลย เพราะมีเสานางตะเคียนตกน�ำ้ มันอยูห่ นึง่ คู่ เป็นเสาใหญ่ไม้เก่าหาดูยาก
ตามค�ำบอกเล่าของปู่ ย่า ตา ยาย หลาย ต่อหลายคน โดยจะขอเอ่ยนามเฉพาะ บุคคลทีม่ อี ายุมากทีส่ ดุ ช่วงนัน้ คือ ปูเ่ ทีย่ ง จงเพ็งกลาง อดีตผูใ้ หญ่บา้ นมะรุม 2 สมัย
ซึง่ ช่วงนัน้ ท่านมีอายุ 95 ปี สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2549 ขณะอายุได้ 97 ปี เล่า ว่า เมื่อประมาณอายุ ได้ 16-17 ปี ได้มชี าวเผ่า กุลากลุ่มหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ ทางภาคอีสานตอนบน ได้ลงมาขาย เครื่องเงิน และมาขอพักอาศัยที่ศาลา วัดมะรุมอยูห่ ลายวัน เพือ่ ขายสินค้าด้วย การหาบ หลังจากค้าขายอยูพ่ อประมาณ แล้วก็ออกเดินทางต่อไปโดยมิได้สั่งลา วันนัน้ หลวงพ่ออัน พร้อมด้วยพระลูกวัด ออกบิณฑบาตตามปกติ เมื่อมาถึงวัดก็ ท�ำภัตกิจพิจารณาภัตตาหาร แต่ไม่รดู้ ว้ ย เหตุผลกลใด วันนั้นหลวงพ่ออัน และ พระภิกษุสามเณร ไม่สามารถเปิดฝาบาตร ได้เลย ประจวบกับพวกกุลาก็ได้กลับมา หาหลวงพ่ออีกครั้ง และท�ำการขอขมา หลวงพ่อก็ให้อภัยทุกประการ จากนั้น ทั้งสองฝ่ายก็ได้แลกเปลี่ยนคาถาอาคม ซึ่งกันและกัน และหนึ่งในนั้นที่ชาวกุลา ยินยอมพร้อมใจก็ได้ถวายพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ ที่น�ำติดตัวไปด้วยทุกครั้ง นาม ว่าหลวงพ่อกริ่ง ราวปี พ.ศ.2467 ที่ได้ นามว่าหลวงพ่อกริ่ง เพราะเวลาเขย่าจะ มีเสียงดังกริง่ ๆ แต่ปจั จุบนั คนมักจะเรียก ท่านว่าหลวงพ่อหริ่ง อีกส่วนหนึง่ ทีอ่ ยากจะกล่าวไว้ ณ ทีน่ ี้ ก็คอื บ้านโนนวัด เมือ่ ปี พ.ศ.2547-2552 ได้ขุดค้นพบโครงกระดูกของบรรพบุรุษ อายุประมาณ 4,000 ปี เป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ เครือ่ งใช้ตา่ งๆ อีกมากมาย ในช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ ของทุกปีจะมี การขุดค้นหลุมฝังศพโดยชาวต่างชาติ ท่านสามารถเยี่ยมชมได้ แต่หลังจากนั้น ของทีไ่ ด้จะน�ำไปเก็บไว้ทพี่ พิ ธิ ภัณฑ์พมิ าย เนื่องจากที่บ้านโนนวัดยังไม่มีที่เก็บ
วัดมะรุม หลวงพ่อหริ่ง สิ่งศักดิ์สิทธิ ์ มาสาบาน และขอพร แน่นอนจริง เมื่อกล่าวค�ำ ปฏิญาณ สาบานตน จะอยู่ดี ทวีสุข ทุกคืนวัน
คนทุกทิศ ทั่วเมืองไทย เลื่อมใสยิ่ง ทั้งชายหญิง ต่างศรัทธา บูชากัน หากทุกคน จิตเที่ยงแท้ ไม่แปรผัน ครอบครัวท่าน พลันร่มเย็น เป็นสุขจริง
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
วัดมะรุม เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่วดั หนึง่ ซึง่ มี พระพุทธรูปทีส่ ำ� คัญๆ อยูห่ ลายองค์ อาทิ หลวงพ่อศิลาแลง เป็นพระพุทธรูปหินศิลา หลวงปู่ด�ำตาเพชร เป็นพระประธานคู่ กับหลวงพ่อศิลา ประจ�ำอุโบสถวัดมะรุม แต่ดงั้ เดิม มีพระเนตรเป็นเพชร หลวงพ่อ หริง่ สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิอ์ งค์ทนี่ ำ� มาประกอบพิธี สาบานตน หลวงตาโยยเกศคด เป็นองค์ ทดแทนหลวงพ่อหริ่ง โดยมีผู้กล่าวว่า... ถ้าอยากเห็นผลจริงโดยไว ต้องหลวง พ่อหริ่ง ถ้าเป็นเพียงสอนสั่งให้รู้ดีชั่ว ต้องหลวงพ่อโยย พระพุ ท ธรู ป ที่ ก ล่ า วมานี้ ล ้ ว นเป็ น
ประวัติหลวงพ่อหริ่ง
NAKHONRATCHASIMA 175
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบัว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 11 บ้านบัว ต�ำบล โนนสูง อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา สังกัดมหานิกาย มีเนือ้ ทีต่ งั้ วัด 14 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา พื้นที่ธรณีสงฆ์หลังวัดติด แม่น�้ำล�ำเชียงไกร เนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 47 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูสังฆรักษ์ยัง เฉโก เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดบัว
วัดบัว เป็นวัดเก่าแก่ ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2492 เนือ่ งจากบริเวณทีต่ งั้ หมูบ่ า้ นมีสระ บัวขนาดใหญ่อยู่ใกลๆ จึงตั้งชื่อหมู่บ้าน ว่า “บ้านบัว” ภายหลังเมื่อมีการสร้างวัด ขึน้ จึงตัง้ ชือ่ ว่า “วัดบัว” เพือ่ ให้สอดคล้อง กับหมูบ่ า้ น ภายหลังได้รบั ยกฐานะให้เป็น วัด และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2517 ขนาด กว้าง 22 เมตร ยาว 36 เมตร จ�ำนวน พระสงฆ์ในวัด พระ 22 รูป สามเณร 3 รูป ชี 1 รูป ศิษย์วัด 1 คน 176
วัดบัว การปกครอง (เท่าที่ทราบนาม)
พระมหาผ่อง (พ.ศ.2478-2479) ฐานะปกครองดูแล พระย้อย (พ.ศ.2480-2480) ฐานะปกครองดูแล พระทับ (พ.ศ.2482-24803) ฐานะปกครองดูแล พระทองอยู่ ญาณวุฑฺโฒ (พ.ศ.2484-2488) ฐานะปกครองดูแล พระอธิการก้อน (พ.ศ.2489-2500) ฐานะเจ้าอาวาส พระครูปทุมสารคุณ (พ.ศ.2500-2560) ฐานะเจ้าอาวาส พระครูสังฆรักษ์ยัง เฉโก (พ.ศ.2560-ปัจจุบัน) ฐานะเจ้าอาวาส พระครูนน ั ทประโชติ รองเจ้าคณะอ�ำเภอ โนนสูง ฐานะผู้ช่วยเจ้าอาวาส
พระครูปทุมขันติธรรม รักษาการแทน เจ้า คณะต�ำบลโนนสูง ฐานะผู ้ ช่ ว ย เจ้าอาวาส
ประวัติอดีตเจ้าอาวาส
พระครูปทุมสารคุณ (หลวงปู่อินทร์ นนฺทโก) อายุ 88 พรรษา 68 มรณภาพ วันศุกร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ.2560 เวลา 06.00 น. ต�ำแหน่ง พ.ศ.2500 เป็นเจ้าอาวาสวัดบัว พ.ศ.2500 เป็นเจ้าคณะต�ำบลโนนสูง พ.ศ.2505 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นตรี พ.ศ.2521 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2524 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท พ.ศ.2533 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง พ.ศ.2543 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร รองเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก
พระครูสังฆรักษ์ยัง เฉโก เจ้าอาวาสวัด
พ.ศ.2551 เป็นทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอ โนนสูง การศึกษาและการเผยแผ่ ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2488 ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกบาลี เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2534 ศูนย์ศก ึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2535 ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด นครราชสีมา แห่งที่ 25 เมื่อ พ.ศ.2550 การสาธารณูปการ เสนาสนะ
สร้างอุโบสถ พ.ศ.2509 สร้างศาลา การเปรียญ 2 ชั้น พร้อมครัวและห้องน�ำ้ พ.ศ.2508 สร้างกุฏสิ งฆ์ 2 ชัน้ พ.ศ.2525 สร้างกุฏิปฏิบัติธรรม 2 ชั้น พ.ศ.2530 สร้างเมรุ พ.ศ.2532 สร้างหอฉัน ห้องน�ำ้ หอระฆัง พ.ศ.2535 สร้างศาลาอเนกประสงค์ พ.ศ.2537
เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
พระครูสงั ฆรักษ์ยงั เฉโก บวชเรียนที่ วัดบัว พ.ศ.2510 เข้ามาจ�ำพรรษาอยูว่ ดั บัว พ.ศ.2511 พระอุปัชฌาย์คือ หลวงปู่คง พระครูคอนพิทักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าอาวาสวัดบัว เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2521 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบัว เมื่อ วันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2560 รับการแต่งตัง้ จากเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา
NAKHONRATCHASIMA 177
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหญ้าคา วัดหญ้าคา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 182 บ้านหญ้าคา หมู่ 5 ต�ำบลพลสงคราม อ�ำเภอโนนสูง จ.นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูสตุ วีรากร เป็นเจ้าอาวาส วัดหญ้าคา รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง และพระอุปัชฌาย์
ประวัติวัดหญ้าคา
วัดหญ้าคา สร้างเมือ่ พ.ศ.2442 โดย มีผบู้ ริจาคทีด่ นิ คือ ขุนสวัสดิ์ บริจาค 10 ไร่ ขุนหาร บริจาค 10 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2534 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 19 เมตร ยาว 30 เมตร ได้จัดงาน ผูกสีมาขึน้ เมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537
การบริหารและการปกครองวัด
พระอุปัชฌาย์แย้ม (พ.ศ.2442-2460) พระอาจารย์ใหญ่ (พ.ศ.2460-2465) พระอาจารย์ขาว (พ.ศ.2465-2470) พระอาจารย์ใย (พ.ศ.2470-2475) พระอธิการเงิน สีลานุโลโม (พ.ศ.2475-2516) พระอธิการแหล่ ปณฺญาวุฑฺโฒ (พ.ศ.2516-2534) พระอธิการบุญชู โชติโก (พ.ศ.2534-2538) หลวงพ่อทอง ฐิตธมโม (พ.ศ.2538-2542) พระครูสต ุ วีรากร พ.ศ.2542-ปัจจุบนั เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง
อาคารเสนาสนะ/สิง่ ก่อสร้าง
มีโบสถ์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2529 ศาลา การเปรียญ สร้างเมือ่ พ.ศ.2543 กุฏสิ งฆ์ ทรงไทยประยุกต์ สร้างเมือ่ พ.ศ.2552 กุฏิ สงฆ์เล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ.2537 เมรุ สร้าง เมื่อ พ.ศ.2544 ศาลาฌาปนกิจสถาน
178
สร้างเมื่อ พ.ศ.2547 ห้องสมุด หอกลอง หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ.2559
ประวัติพระครูสุตวีรากร
พระครูสุตวีรากร (พระมหาสุรสีห์ ฉายา ปณฺญาธโร) ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหญ้าคา รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง พระอุปัชฌาย์ รุ่นที่ 44 สถานะเดิม ชือ่ สุรสีห์ เคียงสันเทียะ บุตรคนโตของนายอินทร์-นางสมจิตร เคียงสันเทียะ เกิดเมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน พ.ศ.2511 ตรงกับวันพฤหัสบดี แรม 3 ค�ำ่ เดือน 7 ปีวอก เกิดทีโ่ รงพยาบาลมหาราช จังหวัดนครราชสีมา (เป็นบุตรคนโต) มี น้องชายหญิง จ�ำนวน 5 คน คือ 1. พระครู สุ ต วี ร ากร (พระมหาสุ ร สี ห ์ ปญฺญาธโร) รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง เจ้าอาวาสวัดหญ้าคา 2. นายประจักษ์ เคียงสันเทียะ 3. นายไชยวัฒน์ เคียงสันเทียะ 4. นางสาวจันทมณี เคียงสันเทียะ 5. นางสาวละออ เคียงสันเทียะ อุปสมบท เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2532 ณ พัทธสีมาวัดหญ้าคา หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลพลสงคราม อ�ำเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา โดยมีพระครูอดุลชัยโสภณ
(หลวงพ่อประจวบ จิตตฺ กาโร) อดีตเจ้าคณะ ต� ำ บลพลสงคราม-เจ้ า อาวาสวั ด พล สงคราม เป็นพระอุปัชฌาย์ มีพระบุญชู โชติโก เป็นพระกรรมวาจาจารย์ มีพระไพรี ธมฺมธีโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วุฒิการศึกษา พ.ศ.2524 จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านหญ้าคา วทอ.จังหวัด
พระครูสตุ วีรากร เจ้าอาวาสวัดหญ้าคา รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสูง และพระอุปัชฌาย์
นครราชสีมา พ.ศ.2535 จบนักธรรมชัน ้ เอกจากส�ำนัก เรียนวัดตาลล้อม คณะจังหวัดชลบุรี พ.ศ.2541 จบเปรียญธรรม 4 ประโยค จากส�ำนักเรียนวัดหญ้าคา คณะจังหวัด นครราชสีมา พ.ศ.2541 จบอภิ ธ รรมบั ณ ฑิ ต จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร ต�ำแหน่งทางการปกครอง พ.ศ.2542 เป็นเจ้าอาวาสวัดหญ้าคา อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา (รูปที่ 9) พ.ศ.2545 เป็นเจ้าคณะต�ำบลพลสงคราม อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา (รูปที่ 7) พ.ศ.2549 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท มีราชทินนามว่า พระครูสุตวีรากร พ.ศ.2552 เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ ใ นเขต ต�ำบลพลสงคราม อ�ำเภอโนนสูง จังหวัด นครราชสีมา (รูปที่ 5) พ.ศ.2555 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก ในราชทินนานาม เดิมว่า “พระครูสุตวีรากร” พ.ศ.2559 เป็ น รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอ โนนสูง อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา (รูปที่ 2) NAKHONRATCHASIMA 179
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองพลอง วัดหนองพลอง หมู่ 4 ต�ำบลขามเฒ่า อ�ำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูมนูญธรรมโสภิต (สัมฤทธิ์ อนุตตฺ โร) เจ้าคณะต�ำบลขามเฒ่า เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดหนองพลอง
หลวงพ่อพรหมสร (รอด) ได้นำ� ญาติ โยมสร้างวัดขึน้ พ.ศ.ใดไม่ทราบชัด โดยมี คุณพ่อดี-คุณแม่ก้อน ภัคดีกลาง และ คุณแม่ลาย เกยจอพอ ถวายทีด่ นิ และมี คุณพ่อพรม-คุณแม่อนุ๋ -คุณพ่ออินทร์คุณแม่แก้ว คุณพ่อพูน มุ่งกรอกกลาง เป็นก�ำลังส�ำคัญในการก่อสร้าง โดยกรม การศาสนากระทรวงศึกษาธิการ (สมัย นั้น) อนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2453 ชื่อ “วัดหนองพลอง” เหตุที่ชื่อวัดบ้านหนองพลองนั้นตั้ง ตามชื่อหมู่บ้าน ตามค�ำบอกกล่าวของ คนโบราณที่ย้ายจากบ้านขามเฒ่ามาตั้ง
180
บ้านเรือนอยู่ใกล้หนองน�้ำที่มีต้นพลอง ใหญ่สง่างาม เมื่อสร้างวัดเสร็จ ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ. ใดไม่ทราบ ชัด แต่หลวงปูพ่ รหมสร (รอด) ได้นำ� ญาติ โยมฝังลูกนิมติ ผูกพัทธสีมา เมือ่ พ.ศ.2481 ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2527 ยาว 80 เมตร กว้าง 40 เมตร และจัดงาน ฝังลูกนิมติ ผูกพัทธสีมา วันที่ 1-5 มีนาคม
พระประธานคู่วัดหนองพลอง สร้างโดยหลวงพ่อพรหมสร (รอด)
พ.ศ.2528
ท�ำเนียบผู้ปกครองวัด
พระอาจารย์กล่อม ญาณมุณี พ.ศ.2453-2500 พระอาจารย์อุ่น ฐิตธมฺโม พ.ศ.2501-2504 พระอาจารย์พิน รวิวณฺโณ พ.ศ.2505-2505 พระอาจารย์มงคล ติกฺชญาโณ พ.ศ.2506-2506 พระอาจารย์สมบูรณ์ สิริจนฺโท พ.ศ.2507-2508 พระอาจารย์พรม นนฺทิโย พ.ศ.2509-2520 พระอธิการอินทร์ ทิฏฺฐิญาโณ พ.ศ.2521-2529 พระครูมนูญธรรมโสภิต พ.ศ.2530-ปัจจุบัน
วิหารกตัญญูกตเวทิตาธรรม “เพื่อบูชาพระคุณบูรพาจารย์” เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ทรงครองราชย์ครบ 60 ปี ในวันศุกร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ.2549 และทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ในวันพุธที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2550
พระครูสุวรรณจิญจาภิบาล (ทอง องฺคสวณฺโณ)
รูปหล่อ พระธุดงค์พระสีวลี
หลวงพ่อพรหมสร (รอด) (หลวงพ่อรอด พฺรหมฺสโร)
รูปหล่อรัชการที่ 5
อาคารเรียน พระปริยัติธรรม เพื่อบูชาพระคุณ หลวงพ่อพรหมสร (รอด) พฺรหมฺสโร, พระครูอดุลชัยโสภณ (ประจวบ จิตฺตสาโร)
พระประธาน ปางประทานพร
พระครูอดุลชัยโสภณ (ประจวบ จิตตฺกาโร)
ห้องสมุด, หอกลอง, หอระฆัง เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระบรมราชินนี าถ ทรงมีพระชนม์ครบ 6 รอบ 72 พรรษา 12 สิงหาคม พ.ศ.2547
ศาลาการเปรียญ ของวัดหนองพลอง
รูปหล่อท้าวสุรนารี (ย่าโม)
พระครูมนูญธรรมโสภิต เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลขามเฒ่า NAKHONRATCHASIMA 181
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนทะยิง ตั้งอยู่เลขที่ 83 หมู่ 8 ต�ำบลโนนไทย อ�ำเภอโนนไทย จังหวัด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูอรรถธรรมประคุณ (ถนัด) พธ.บ พธ.ม เป็นเจ้าอาวาส และ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลโนนไทย เขต 2
ประวัติวัดดอนทะยิง
ในอดีต ณ บ้านดอนทะยิง มีประชากร 70 หลังคาเรือน ชาวบ้านทุกครอบครัว นับถือ พระพุทธศาสนา แต่ในหมูบ่ า้ นไม่ มีวดั ชาวบ้านจึงได้นมิ นต์พระสงฆ์จากวัด โนนไทย มาท�ำบุญทีศ่ าลากลางบ้านตลอด มา ต่อมาเมือ่ พ.ศ.2532 ได้นมิ นต์พระสงฆ์ จากวัดมะเกลือมาจ�ำพรรษา จึงมีการตั้ง กองกฐิน ผ้าป่า และจัดงานเทศน์มหาชาติ เมื่ อ ได้ ป ั จ จั ย มาจึ ง ได้ จั ด ซื้ อ ที่ ดิ น ของ นายช่วง อินทรประสิทธิ์ และลูก รวม 13 ไร่ 1 งาน เป็นจ�ำนวนเงิน 390,000 บาท โฉนด ที่ดินเลขที่ 47372 เล่มที่ 474 หน้า 72 182
วัดดอนทะยิง อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา โดย ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2541 และได้รบั ตราตัง้ วัด เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2543 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ.2546
เจ้าอาวาสปกครองวัด
พระครูอรรถธรรมประคุณ (ถนัด)
พธ.บ พธ.ม ได้รับตราตั้งเป็นเจ้าอาวาส เมือ่ วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2543 และได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น พระครู เจ้าคณะต�ำบล ชัน้ โท เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2559
คติธรรมเจ้าอาวาส
“จงตั้งจิตที่จะก่อสร้างพลัง เดินตาม ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า การไม่ทำ� บาปทัง้ ปวง การท�ำกุศลให้ถงึ พร้อม การท�ำจิตให้ ใสสะอาดบริสุทธิ์ อย่าขาดการสวดมนต์ ไหว้พระ รักษาศีล ท�ำสมาธิตงั้ จิตไว้ในกุศล ทั้งหลายทั้งปวง บุญกุศลนั้นแหละจะน�ำ ความสุขมาให้” “ความสุขความสงบ ความร่มเย็น ไม่ได้อยู่ข้างนอก แสวงหาเท่าไรก็ไม่พบ ความสงบสุขทีแ่ ท้จริง ลองมาค้นหาในจิตใจ เราเอง ก็จะพบเจอความสุขจริงๆ ทีช่ อื่ ว่า ความสุขยิ่งกว่าความสงบนั้นไม่มี”
พระครูอรรถธรรมประคุณ เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลโนนไทย เขต 2 NAKHONRATCHASIMA 183
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดตะคร้อ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 5 ต�ำบลด่านจาก อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูพิพิธธรรมวิภัช (ยอด โกสโล) รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย รูปที่ 1 เป็น เจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดตะคร้อ
เดิมทีสถานที่ตั้งวัดตะคร้อยังเป็นป่า บางส่วนเป็นสถานประกอบอาชีพของ นายเจ็ก และมีหนองกก เป็นหนองน�ำ้ ใส เย็นและมีต้นกกขึ้นจ�ำนวนมาก ต่อมามี พระธุดงค์มาจากที่ใดไม่ทราบ ท่านเดิน ผ่านมาพบหนองน�ำ้ และเห็นเป็นสถานที่ สงบสงัดดี และมีหมูบ่ ้านอยูท่ างทิศใต้ไม่ ใกล้ไม่ไกลประมาณ 9 กิโลเมตร พอทีจ่ ะ ไปบิณฑบาตได้โดยสะดวก ท่านจึงปักกลด ปฏิบัติธรรมอยู่ในที่นี้ ต่อมานายเจ็กเกิด ความเลือ่ มใส จึงถวายทีด่ นิ ของตนประมาณ 6 ไร่ ให้เป็นสถานที่สร้างวัด 184
วัดตะคร้อ วัดตะคร้อ ได้รบั การประกาศเป็นวัด เมือ่ พ.ศ.2480 โดยมีอโุ บสถหลังแรกสร้าง ด้วยไม้ใช้ประกอบสังฆกรรมมาจนถึง พ.ศ.2515 อุโบสถช�ำรุดทรุดโทรมมาก ชาวบ้ า นจึ ง ปรึ ก ษาหารื อ มี ค วามเห็ น พร้อมกันว่าควรรื้อและสร้างใหม่ โดยมี พระครูจิตรการโสภณ (สน) วัดสามัคคี อ�ำเภอเมือง ร่วมกับชาวบ้านด�ำเนินการ สร้าง ท�ำการวางศิลาฤกษ์ เมือ่ ปี พ.ศ.2515
โดยพระพรหมคุณาภร (พุม่ กิตติเถร) แต่ ด้วยไม่มีทุนจึงใช้เวลาสร้างนานถึง 20 ปี จึงส�ำเร็จ และขอพระราชทานวิสงุ คามสีมา อีกครั้ง เมื่อปี พ.ศ.2525 ผูกสีมาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2535
รายนามเจ้าอาวาส
อาจารย์ออ่ ง, อาจารย์แก้ว, อาจารย์อนิ ทร์, อาจารย์โปย, อาจารย์จวน, อาจารย์หน่วง จิรตฺถโิ ก (พ.ศ.2484-2493), อาจารย์โป่ง, อาจารย์ชู จนฺทสาโร (พ.ศ.2507-2510) และ พระครูพพ ิ ธิ ธรรมวิภชั (พ.ศ.2520 จนถึง ปัจจุบัน)
ประวัติหลวงพ่อยอด
พระครูพพ ิ ธิ ธรรมวิภชั (ยอด โกสโล) พระครูสญ ั ญาบัตร เทียบพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ เอก (ทจอ.ชอ.) เจ้าอาวาส วัดตะคร้อ สถานะเดิม เกิดเมือ่ วันที่ 9 เมษายน
พ.ศ.2550 ได้รับการแต่งตั้งเป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย หลวงพ่อยอดเป็นพระที่สมถะ ไม่วา่ ใครทีม่ เี รือ่ งทุกข์รอ้ นใจมาหาท่าน ถ้าท่าน ช่วยได้ทา่ นจะช่วยตามก�ำลัง แต่คนประเภท เดียวที่ท่านจะไม่เสวนาด้วยคือคนเมา ท่านเคยพูดไว้วา่ “คนเมาน่ะมันไม่มสี ติ ท�ำอะไรไม่คอ่ ยคิด พูดก็ไม่คดิ พูดไปก็ เท่านัน้ ” นอกจากนีห้ ลวงพ่อยอดไม่เคย อนุญาตให้ศิษยานุศิษย์ หรือคนในบ้าน ตะคร้อจัดงานวันคล้ายวันเกิดของท่าน แม้สกั ปี โดยท่านให้เหตุผลว่า “วันเกิดกู รูต้ งั้ แต่เกิดแล้ว กูยงั ไม่รวู้ นั ตายเท่านัน้ แหละ ค่อยจัดทีเดียว” นับตัง้ แต่หลวงพ่อยอดได้มาปกครอง ทีว่ ดั ตะคร้อ ท่านได้สร้างถาวรวัตถุ และ พัฒนาวัด พัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง จวบจนปัจจุบนั ศิษยานุศษิ ย์ทงั้ ใกล้ไกล จึงให้ความเคารพศรัทธาท่านอย่างมาก
เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “โกสโล” หมายถึง ผู้ฉลาด
ต�ำแหน่ง/สมณศักดิ์
พ.ศ.2520 ได้รับการแต่งตั้งขึ้นเป็น เจ้าอาวาสวัดตะคร้อ ในพรรษาที่ 5 พ.ศ.2524 ได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะต�ำบลด่านจาก อ.โนนไทย พ.ศ.2535 ได้รับพระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ที่ พระครูพิพิธธรรมวิภัช พ.ศ.2538 ได้รับการแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌาย์
พ.ศ.2493 ปีขาล ณ บ้านเลขที่ 59 หมู่ 5 ต�ำบลด่านจาก อ�ำเภอโนนไทย จังหวัด นครราชสีมา เป็นบุตรของนายโปย-นางปิ เกิดสันเทียะ มีพนี่ อ้ ง 11 คน ซึง่ ท่านเป็น บุตรคนที่ 3 อุปสมบท เมือ่ อายุยา่ ง 23 ปี ท่านได้ อุปสมบท เมือ่ วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2516 ณ พัทธสีมาวัดตะคร้อ โดยมี พระครู บุญเขตบริหาร (หลวงปูเ่ ลือ่ น) วัดสายออ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์สว่าง วัดสายออ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระพิศ
NAKHONRATCHASIMA 185
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านอ้อ ตั้งอยู่เลขที่ 106 หมู่ 6 ต� ำ บลก� ำ ปั ง อ� ำ เภอโนนไทย จั ง หวั ด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด นครราชสี ม า แห่ ง ที่ 140 ปั จ จุ บั น มี พระครูสารธรรมพินิจ (เงิน เตชธมฺโม) รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดบ้านอ้อ
วัดบ้านอ้อ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2444 โดยการน�ำของหลวงพ่อปุก๊ เจ้าอาวาสวัด ประโดก อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีชาวบ้านประมาณ 50 หลังคาเรือน ร่วมสร้างด้วย คือ บ้านอ้อ หมูท่ ี่ 6 บ้านไพร หมูท่ ี่ 12 ส่วนชือ่ “วัดบ้านอ้อ” นัน้ ตัง้ ชือ่ ตามหมู่บ้านซึ่งต้นอ้ออยู่ในบึงน�้ำของ หมู่บา้ นเป็นจ�ำนวนมาก ตัววัดตั้งอยู่บน โฉนดที่ดินเลขที่ 3973 เล่ม 40 หน้า 73 อ�ำเภอโดนไทย จังหวัดนครราชสีมา เนือ้ ที่ 186
วัดบ้านอ้อ 7 ไร่-งาน 70 ตารางวา โดยไม่ปรากฏนาม เจ้าของที่ดินที่ถวายเพื่อสร้างวัด วั ด บ้ า นอ้ อ ได้ รั บ พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ.2452 มีจารึกไว้ ที่ใบเสมาหินทรายหน้าอุโบสถว่าหลวง พ่อปุ๊กน�ำฝังสีมา เมื่อ ร.ศ.127 ต่อมาคุณตาเปีย คุณยายแจ่ม ดาว โคกสูง พร้อมบริวารชน ได้ร่วมกับเจ้า
อาวาสน�ำชาวบ้าน ก่อสร้างอุโบสถหลัง ปัจจุบนั สร้างกุฏสิ งฆ์เป็นไม้สองชัน้ ศาลา การเปรียญ และสร้างหอระฆังประจ�ำวัด
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
พระอาจารย์เปีย สุธมฺโม นามสกุล ดาวโคกสูง พ.ศ.2476-2483 พระอาจารย์โปร่ง จนฺทโน นามสกุล คงจันทร์ พ.ศ.2489-2499 พระอธิการสี ธมฺมรกฺขิโต นามสกุล เกรงส�ำโรง พ.ศ.2523-2529 พระครูสารธรรมพินิจ (เงิน เตชธมฺโม) นามสกุล คงจันทร์ พ.ศ.2531 ถึงปัจจุบนั
ประวัตพ ิ ระครูสารธรรมพินจิ
พระครูสารธรรมพินจิ (เงิน เตชธมฺโม) อายุ 57 พรรษา 37 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, พธ.บ.วัดบ้านอ้อ ต� ำ บลก� ำ ปั ง อ� ำ เภอโนนไทย จั ง หวั ด
พระครูสารธรรมพินิจ เจ้าอาวาสวัด และรองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย พระอุปชั ฌาย์คอื เจ้าอธิการนาค อตฺถกาโม วัดบ้านจาน ต�ำบลก�ำปัง อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา (พระครูนเิ ทศศาสนธรรม) พระกรรมวาจาจารย์คอื พระอธิการ เฉลียว ปสนฺนจิตโต วัดบ้านนา อ�ำเภอ โนนไทย จ.นครราชสีมา พระอนุสาวนาจารย์ คือ พระบุญทัม เตชธมฺโม วัดบ้านจอก ต� ำ บลก� ำ ปั ง อ� ำ เภอโนนไทย จั ง หวั ด นครราชสีมา การศึกษา น.ธ เอก พุทธศาสตรบัณฑิต (พธบ) นครราชสี ม า ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย/เจ้าอาวาส วัดบ้านอ้อ สถานะเดิม ชือ่ เงิน นามสกุล คงจันทร์ เกิดวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2503 ปีกลุ บิดา ชือ่ นายบุญ มารดาชือ่ นางจรุณ คงจันทร์ บ้านเลขที่ 132 หมู่ 14 ต�ำบลก�ำปัง อ�ำเภอ โนนไทย จังหวัดนครราชสีมา บรรพชา/อุปสมบท วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2522 ปีมะแม วัดบ้านอ้อ ต�ำบลก�ำปัง อ� ำ เภอโนนไทย จั ง หวั ด นครราชสี ม า NAKHONRATCHASIMA 187
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโคก
วัดโคก ตัง้ อยูเ่ ลขที1่ 0 บ้านโคกสวาย ถนนสุรนารายณ์ หมู่ที่ 4 ต�ำบลสายออ อ� ำ เภอโนนไทย จั ง หวั ด นครราชสี ม า สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ตั้ ง วั ด มี เนื้อที่ 22 ไร่ 30 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูพพ ิ ฒ ั นธรรมกิจ (ช่อ กนฺตธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลสายออ
พระมงคลสีหราชมุนี ได้สร้างหอไตร พระอุ โ บสถคอนกรี ต และโรงเรี ย น ปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2475
ประวัติวัดโคก
อาคารเสนาสนะ
วัดโคก ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 10 กันยายน พ.ศ.2377 โดยมีหลวงช�ำนาญจันทร์ และ ชาวบ้านได้บริจาคทีด่ นิ ประมาณ 8 ไร่ เพือ่ จัดสร้างวัด และได้นมิ นต์พระอาจารย์ทอง วัดโคกพรม พร้อมด้วยพระภิกษุทตี่ ดิ ตาม จ�ำนวนหนึง่ มาจ�ำพรรษาทีว่ ดั โคก ต่อมา ในสมัยพระอาจารย์บุญ ได้สร้างศาลา การเปรียญ กุฏิสงฆ์ และอุโบสถ โดยได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2441 ครั้นปี พ.ศ.2453 เจ้ า อธิ ก ารพุ ่ ม ธมฺ ม โชโต และ 188
อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 12 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2470 โดยสร้างครอบอุโบสถหลังเดิม ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ กว้าง 21 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2512 เมรุ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 12 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2523 กุฏสิ งฆ์ 7 หลัง เป็นอาคารไม้ 4 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลัง อาคารคอนกรีต 1 หลัง
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระประธานสมัยสุโขทัยยุคต้น เป็น พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 88 เซนติเมตร สูง 111 เซนติเมตร ปัจจุบันกรมศิลปากรได้น�ำขึ้นทะเบียน เป็ น โบราณวั ต ถุ แ ล้ ว โดยประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 106 ตอนที่ 16 วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2532
ท�ำนียบเจ้าอาวาส
พระอาจารย์ทอง พ.ศ.2377-2402 พระอาจารย์แก้ว พ.ศ.2402-2408 พระอาจารย์สังข์ พ.ศ.2408-2417 พระอาจารย์รอด พ.ศ.2417-2525 พระอาจารย์รุ่ง พ.ศ.2425-2534 พระอาจารย์บุญ พ.ศ.2424-2447 พระอาจารย์กลิ่น พ.ศ.2448-2452 พระอาจารย์โชติ พ.ศ.2452-2457 พระอาจารพุ่ม ธมฺมโชโต พ.ศ.2457-2489
พระครูพพิ ฒ ั นธรรมกิจ เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะต�ำบลสายออ
พระอาจารย์แดง สุภทฺโท พ.ศ.2489- พ.ศ.2497 พระครูสังฆรักษ์แป้น รานิสฺสโร พ.ศ.2497-2511 พระครูเทียน การุณิโก พ.ศ.2512-2527 พระครูโสภณปัญญาภรณ์ พ.ศ.2528-2532 พระมหานวล เขมสจฺจวาที ป.ธ.7 (พระราชสีมาภรณ์) พ.ศ.2532-2537 พระใบฎีกาช่อ กนฺตธมฺโม พ.ศ.2537-ปัจจุบัน ต่อมาได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัด ราษฎร์ชนั้ โท ในราชทินนามว่า “พระครู พิพัฒนธรรมกิจ”
หมายเหตุ
การด�ำรงต�ำแหน่งของเจ้าอาวาสของ วัดโคกนี้ นอกจากด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส แล้ว บางรูปยังด�ำรงต�ำแหน่งอืน่ ๆ อีก คือ พระมหานวล เขมสจฺจวาที ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา พระครู โสภณปัญญาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะ อ�ำเภอโนนไทย พระอาจาร์บญ ุ พระอาจารย์ พุม่ ธมฺมโชโต พระอาจารย์แดง สุภทฺโท และพระครูพพิ ฒ ั นธรรมกิจ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลสายออ NAKHONRATCHASIMA 189
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดอนแต้ว
หลวงพ่อทันใจ สมปรารถนา วัดดอนแต้ว ตั้งอยู่ที่บ้านดอนแต้ว หมู่11 ต.โนนไทย อ.โนนไทย จ.นครราชสีมา ปัจจุบันมี พระอธิการสมศักดิ์ ปภาโส เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติ
วัดดอนแต้วสมณคุณ เกิดขึน้ ด้วยการ ริเริม่ ของชาวบ้านดอนแต้ว โดยมีพระมณี ฐิตวีโร (แสงรอด) กับ ครูนพ ิ ฒ ั น์ แสงรอด เป็นผูร้ เิ ริม่ ให้การสนับสนุน และได้เข้าขอ ค�ำแนะน�ำกับท่านพระครูวสิ ทุ ธิสมณคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย เรื่องการจัดตั้ง เป็นทีพ่ กั สงฆ์ ต่อมาวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2547 คณะกรรมการหมูบ่ า้ นได้นดั ประชุม ประชาคมโดยมี นายบุญละ หันสันเทียะ นายก อบต.โนนไทย 190
นายสายันต์ จอกเกาะ ผู้ใหญ่บ้านดอนแต้ว นายปลอด พิสันเทียะ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางวันทนา เถียรชะน�ำ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายรุ่งสุริยา โตสันเทียะ อบต. นางวรรณทนา สมัครณรงค์ อบต. เป็นกรรมการด�ำเนินการจัดประชุม
สถานที่ก่อสร้างอุโบสถ
ประชาคม และมีมติเห็นชอบให้การจัดตัง้ ที่พักสงฆ์ดอนแต้ว โดยขออนุญาตใช้ ฉายาเจ้าคณะอ�ำเภอต่อท้ายชือ่ ทีพ่ กั สงฆ์ “ทีพ ่ กั สงฆ์ดอนแต้วสมณคุณ” จากนัน้ ได้ดำ� เนินการต่อเนือ่ ง โดยติดต่อหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้องในการจัดตัง้ เป็นวัด รวมระยะ เวลาด�ำเนินการ 2 ปี วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 ได้ประชุม ประชาคม ขอซื้อที่ดินจากนายจ�ำเริญนางปัน้ หวายสันเทียะ และนายจวน-นางนิด หวายสันทียะ จ�ำนวน 9 ไร่ และนายสงบ จักรแก้ว ถวายทีด่ นิ จ�ำนวน 1 ไร่ รวมเป็น 10 ไร่ และได้ดำ� เนินการรังวัดทีด่ นิ ปักเขต วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2550 ได้จดั หา วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ก ่ อ สร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ ห ลั ง แรก โดยชาวบ้านดอนแต้ว ร่วมบริจาคเงินทุน รวมเป็นเงิน 20,590 บาท และถือเอา
ศาลาการเปรียญ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2550 เป็นวันจัดตัง้ ที่พักสงฆ์ดอนแต้วสมณคุณ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ.2550 ชาวบ้าน ดอนแต้วได้ไปนิมนต์ พระสมศักดิ์ ปภาโส มาท�ำหน้าทีห่ วั หน้าทีพ่ กั สงฆ์ เป็นรูปแรก มีพระภิกษุสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาในพรรษา แรก 8 รูป และมีพระภิกษุสงฆ์อยูจ่ ำ� พรรษา ทุกปี วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 ได้รบั อนุญาตสร้างวัด ตามข้อ 3 แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2507) ออกตามความใน พระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ.2505 ส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ด้วยความ เห็ น ชอบของ มหาเถรสมาคม อนุญาตให้นายนิพฒ ั น์ แสงรอด สร้างวัด ขึน้ ทีบ่ า้ นดอนแต้ว หมู่ 11 ต�ำบลโนนไทย อ�ำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา
ประวัติเจ้าอาวาส
พ.ศ.2550 พระสมศักดิ์ ปภาโส ได้ รับนิมนต์จากชาวบ้านมาเป็นหัวหน้า ที่พักสงฆ์ดอนแต้วสมณคุณ ต่อมาในปี พ.ศ.2552 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดดอนแต้วสมณคุณ และด�ำรงต�ำแหน่ง จนถึงปัจจุบัน NAKHONRATCHASIMA 191
เส้นทางพบนายอำ�เภอ
นายสุรพันธ์ ศิลปสุวรรณ นายอ�ำเภอครบุรี
ศูนย์กลางการผลิตสินค้า เกษตร อุตสาหกรรม และ แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ อ� ำ เภอครบุ รี ซึ่ ง มี ที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลแชะ อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดย อยู่ห่างจากจังหวัดนครราชสีมาไปทาง ทิศใต้ประมาณ 58 กิโลเมตร ปัจจุบันมี นายสุรพันธ์ ศิลปสุวรรณ เป็นนายอ�ำเภอ ครบุรี
ความเป็นมาของอ�ำเภอครบุรี
อ�ำเภอครบุรี ได้รบั การยกฐานะจาก กิง่ อ�ำเภอแชะ เมือ่ ปี พ.ศ.2484 โดยแยก ออกจากอ�ำเภอกระโทก หรืออ�ำเภอโชคชัย ในปัจจุบัน ค�ำว่า “ครบุร”ี มาจากค�ำว่า “สาครบุร”ี ซึ่งแปลว่า เมืองต้นน�้ำหรือเมืองสายน�้ำ เพราะมีแควน�ำ้ หลายสายไหลมารวมกัน ต่อมาค�ำว่า “สาครบุรี” กร่อนหายไป จึง เหลือเพียงค�ำว่า “ครบุรี” ในปัจจุบัน
ข้อมูลพื้นฐานของ อ�ำเภอครบุรี
อ�ำเภอครบุรี มีพื้นที่ทั้งหมด 1,748 ตร.กม. หรือ 1,150,000 ไร่ เป็นพืน้ ทีน่ อก เขตป่าไม้ 330.32 ตร.กม. หรือ 206,387.50 ไร่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้ทสี่ �ำคัญ ได้แก่ อุทยานแห่ง ชาติทับลาน ป่าสงวนแห่งชาติป่าครบุรี และป่าสงวนแห่งชาติป่าดงอีจานใหญ่ ลักษณะภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็น ที่ราบเชิงเขาหรือที่ดิน มีภูเขาสูงสลับ 192
ซับซ้อนอยูท่ างใต้ของพืน้ ที่ คือ เทือกเขา สันก�ำแพง ซึง่ เป็นแหล่งก�ำเนิดของต้นน�ำ้ หลายสาย ได้แก่ แม่นำ�้ มูล แม่นำ�้ ล�ำแชะ ล�ำห้วยเพรียก ล�ำห้วยสะแก โดยแม่น�้ำ เหล่านี้จะไหลลาดไปทางทิศเหนือ แล้ว รวมตัวกันเป็นแม่นำ�้ มูล จึงท�ำให้เกิดเป็น ที่ราบลุ่มแม่น�้ำเหมาะแก่การท�ำนา ส่วน พืน้ ทีท่ างทิศตะวันออกเป็นทีร่ าบลูกคลืน่ จึงเหมาะแก่การท�ำไร่มันส�ำปะหลังและ ปลูกผลไม้ยืนต้น การปกครอง อ�ำเภอครบุรี แบ่งเขต การปกครองเป็น 12 ต�ำบล 153 หมูบ่ า้ น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จ�ำนวน 15 แห่ง ได้แก่ เทศบาล จ�ำนวน 5 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล จ�ำนวน 10 แห่ง ประชากรและสภาพเศรษฐกิ จ อ�ำเภอครบุรี มีประชากรทั้งสิ้น 96,014 คน เป็นชาย 47,312 คน เป็นหญิง 48,702 คน มีครัวเรือนจ�ำนวน 34,822 ครัวเรือน (ณ วันที่ 7 มกราคม 2560) รายได้ประชากร 80,314 บาท/คน/ปี ประชากรประกอบ อาชีพเกษตรกรรม จ�ำนวน 13,437 ครัวเรือน พืชเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ มันส�ำปะหลัง ข้าว และอ้อย มีโรงงานอุตสาหกรรมทีส่ ำ� คัญ
ได้แก่ โรงงานน�ำ้ ตาลครบุรี จ�ำกัด, โรงงาน แป้งมันส�ำปะหลัง, บริษทั เยนเนรัล สตาร์ช จ�ำกัด และบริษทั ทีพเี ค เอทานอล จ�ำกัด
โบราณสถานและ แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
ถ�้ำวัวแดง ตั้งอยู่ที่บ้านเฉลียง หมู่ที่ 4 ต�ำบลเฉลียง ปรางค์ครบุรี ตัง ้ อยูท่ บี่ า้ นครบุรี หมูท่ ี่ 16 ต�ำบลครบุรีใต้ เขือ ่ นมูลบนและหาดจอมทอง ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านมูลบน หมู่ที่ 7 ต�ำบลจระเข้หิน เขื่อนล�ำแชะและน�้ำตกวังเต่า ตั้งอยู่ที่ บ้านมาบกราด หมูท่ ี่ 17 ต�ำบลโคกกระชาย แหล่งดูนก ตัง ้ อยูท่ บี่ า้ นซับสะเดา หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลบ้านใหม่ สะพานไม้รอ ้ ยปี ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโคกกระชาย หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกกระชาย
ศักยภาพและทิศทาง การพัฒนา
อ�ำเภอครบุรี ใช้ศกั ยภาพซึง่ ประกอบ ด้ ว ยการมี พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ ป ระมาณ 1,150,000 ไร่ ประชากรประมาณ 96,014 คน มีพนื้ ทีใ่ นการเกษตรประมาณ 3 แสน กว่าไร่ มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ โรงงานน�ำ้ ตาลครบุรี จ�ำกัด, โรงงาน แป้งมันส�ำปะหลัง, บริษทั เยนเนรัล สตาร์ช จ�ำกัด และบริษทั ทีพเี ค เอทานอล จ�ำกัด ส�ำหรับด้านการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ที่ ส� ำ คั ญ คื อ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ทั บ ลาน ซึ่งได้รับการคัดเลือกให้เป็นมรดกโลก ตลอดจนมีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ
โบราณคดี แ ละประวั ติ ศ าสตร์ ที่ ส� ำ คั ญ คือ ถ�ำ้ วัวแดง ปรางค์ครบุรี หาดจอมทอง เขือ่ นล�ำแชะ น�ำ้ ตกวังเต่า น�ำมาผนวกกับ ขีดความสามารถของภาคีการพัฒนาทุก ภาคส่วน การบูรณาการท�ำงานในรูปแบบ ของ “อ�ำเภอครบุร”ี โดยยึดหลักการท�ำงาน ของภาครัฐแบบ 5 ร่วม (คือ ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมคิด ติดตามประเมินผล) และ 3 ประสาน (คือ ประสานสัมพันธ์ ประสานใจ และประสาน ปฏิบตั กิ าร) เพือ่ สนับสนุนและเสริมสร้าง บรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน อ� ำ เภอครบุ รี มี ต� ำ แหน่ ง ทาง เศรษฐกิจ (Market Position) คือ “การ เป็นศูนย์กลางของการผลิตสินค้าเกษตร ได้แก่ มันส�ำปะหลัง ข้าว อ้อย และการ ท่องเที่ยว” ซึ่งเป็นต�ำแหน่งที่มีกิจกรรม สามารถพัฒนาเป็น Cluster ได้ ภายใต้ ขบวนการขับเคลื่อนทั้งต้นน�้ำ-ปลายน�้ำ (Value Chain) ตามประเด็นยุทธศาสตร์แต่ ละด้าน โดยมียุทธศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง เชือ่ มโยง และสนับสนุนซึง่ กันและกันอย่าง เป็นระบบ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ทขี่ บั เคลื่อน 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. การเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบ วงจร เพื่อพัฒนาไปสู่ครัวโลก 2. การลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม และพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน 3. พฒ ั นาโคราชเมืองน่าอยูท่ เี่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม 4. การบริหารราชการแบบบูรณาการ ตามหลักธรรมภิบาล NAKHONRATCHASIMA 193
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล ชัยวรมันที่ 7 ต�ำบลครบุรใี ต้ ได้แยกออกมาจากต�ำบลครบุรี เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 เดิมมีหมูบ่ า้ นจ�ำนวน 8 หมูบ่ า้ น ปัจจุบนั มีหมูบ่ า้ นจ�ำนวน 16 หมูบ่ า้ น ได้รบั การยกฐานะการปกครองเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล เมื่อปี พ.ศ.2540 และในปี พ.ศ.2552 ก็ได้ยกฐานะ เป็นเทศบาลต�ำบล โดยต�ำบลครบุรใี ต้มพี นื้ ทีท่ งั้ หมด 92 ตาราง กิโลเมตร จ�ำนวนประชากรทัง้ สิน้ ประมาณ 7,500 คน โดยประชาชน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ค�ำขวัญต�ำบลครบุรีใต้
หลวงปูน่ ลิ ถิน่ เมืองเก่า เขาคอกช้าง วัดซับยาง ปรางค์ครบุรี
แหล่งท่องเที่ยวที่น่าสนใจ
1. ปรางค์ครบุรี/ปราสาทครบุรี ตั้งอยู่ที่บ้านปรางค์บุรี หมูท่ ี่ 16 ถูกสร้างขึน้ ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เมือ่ กว่า 700 ปี ทีแ่ ล้ว ปราสาทครบุรเี ป็นอโรคยาศาลา สร้างขึน้ เพือ่ เป็นสถาน รักษาและบ�ำบัดผูป้ ว่ ยทีเ่ ดินทางไปจาริกแสวงบุญ ณ เมืองส�ำคัญ ต่างๆ งานบวงสรวงปรางค์ครบุรี
นายสมชาติ เดชดอน นายกเทศมนตรีตำ� บลครบุรีใต้
เทศบาลต�ำบลครบุรีใต้ “ส่งเสริมการศึกษา สังคมดีมีพัฒนา อนามัยดีถ้วนหน้า ชาวประชาไม่ยากจน” คือวิสัยทัศน์เทศบาลต�ำบลครบุรีใต้ ซึ่งมีส�ำนักงานตั้งอยู่ เลขที่ 74 หมูท่ ี่ 12 ต�ำบลครบุรใี ต้ อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยตัง้ อยูท่ างทิศใต้หา่ งจากตัวเมืองนครราชสีมา ประมาณ 56 กิโลเมตร และห่างจากตัวอ�ำเภอครบุรี ประมาณ 12 กิโลเมตร
ประวัติความเป็นมา ทต.ครบุรีใต้
เทศบาลต�ำบลครบุรีใต้ เป็นดินแดนแห่งอารยธรรมและ ชุมชนที่เก่าแก่ โดยปรากฏความเจริญและความอุดมสมบูรณ์ เมือ่ ครัง้ อดีตกว่า 700 ปีกอ่ น โดยมีหลักฐานยืนยันจากปราสาท ครบุรที ตี่ งั้ อยู่ ณ บ้านปรางค์บรุ ี ต�ำบลครบุรใี ต้ ซึง่ เป็นสถาปัตยกรรม ที่ถูกสร้างขึ้นในยุคอาณาจักรขอม รุ่งเรือง ในสมัยของพระเจ้า 194
2. วัดครบุรี (หลวงปู่นิล) ตั้งอยู่ที่บา้ นครบุรี หมู่ที่ 6 เป็น ที่พ�ำนัก ปฏิบัติธรรม บ�ำเพ็ญเพียรของพระภิกษุชื่อดัง พระครู นครธรรมโฆษิต หรือ หลวงปูน่ ลิ อิสสฺ ริโก ซึง่ ศานุศษิ ย์เชือ่ กัน ว่าท่านส�ำเร็จกสิณและพระธาตุกรรมฐาน มีอภิญญา และพลัง จิตเข้มแข็ง วัตถุมงคลของท่านเป็นที่เลื่องลือว่าโดดเด่นทาง เมตตามหานิยม และคุม้ ครองป้องกัน นอกจากนีท้ า่ นยังมีความ เชีย่ วชาญเรือ่ งวิชาแพทย์แผนโบราณ และยาสมุนไพร อีกทัง้ ยัง เป็นพระนักพัฒนาด้วย 3. คลองบัวหลวง บ้านบึงพัฒนา ตัง้ อยู่ ณ ล�ำคลองข่อยที่ แยกแขนงออกมาจากล�ำน�ำ้ มูล ไหลผ่านบ้านบึงพัฒนา หมูท่ ี่ 12 จุดเด่นคือ ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถนุ ายน จะมีบวั หลวงออกดอก สวยงามทอดยาวเต็มล�ำคลองกว่า 400 เมตร โดยมีนกั ท่องเทีย่ ว ทัง้ ในต�ำบลและบริเวณใกล้เคียงนิยมมาเทีย่ วชม พร้อมเก็บภาพ บรรยากาศทีส่ วยงามตัง้ แต่สะพานข้ามคลองยาวไปจนถึงท่าน�ำ้ หลังวัดครบุรี (หลวงปู่นิล)
โครงการบ้านท้องถิ่นประชารัฐร่วมใจ เทิดไท้องค์ราชัน ราชินี 4. เขาคอกช้าง ตั้งอยู่ที่บ้านคอกช้างหมู่ที่ 11 จุดเด่นของ เขาคอกช้างคือ จะมีภเู ขาล้อมรอบ มีทางเข้าออกเพียงด้านเดียว ดูเหมือนคอกขังสัตว์ นอกจากนั้นบนเขายังมีวัดคอกช้าง ซึ่งมี เจดีย์พุทธคยาที่สวยงามโดดเด่นท่ามกลางสภาพธรรมชาติ นอกจากนีช้ าวบ้านยังปลูกพืชผักผลไม้ชนิดต่างๆ มากมาย ทีน่ ี่ จึงเป็นทัง้ แหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศและเชิงเกษตร และเป็นแหล่ง ปฏิบัติธรรมบ�ำเพ็ญเพียรอีกด้วย 5. วัดซับยาง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นมาบพิมานพัฒนา หมูท่ ี่ 9 เป็นวัด ที่สงบ ร่มเย็น เหมาะกับการปฏิบัติธรรมท่ามกลางธรรมชาติที่ สวยงามภายในอุทยานแห่งชาติทบั ลาน โดยเป็นทีพ่ ำ� นัก บ�ำเพ็ญ เพียรของ พระครูสวรรณธรรมโกศล (อาจารย์หลาง) พระนัก พัฒนาและอนุรกั ษ์ธรรมชาติ จุดเด่นของวัด คือเป็นแหล่งชมนก ชมไม้หลากหลายชนิด พร้อมสัตว์นอ้ ยใหญ่อนื่ ๆ ทีอ่ าศัยอยูต่ าม ธรรมชาติของพื้นที่ป่าเขตนี้
ผลงานโดดเด่นของ ทต.ครบุรีใต้
1. รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน โดยร่วมกับที่ ว่าการอ�ำเภอครบุรีจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเยาวชน “คนดีศรีครบุรี” 2. ให้มีและบ�ำรุงทางบกและทางน�้ำ โดยก่อสร้างและ ซ่อมแซมถนนภายในต�ำบล ขุดลอกคลอง และสร้างฝายชะลอ น�้ำภายในต�ำบล 3. รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดินและทีส่ าธารณะ รวมทัง้ การก�ำจัดขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกลู อาทิ การท�ำความ สะอาดทางเดินเท้าและทาสีก�ำแพงในที่สาธารณะ
โครงการปรับสภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัยส�ำหรับคนพิการ
4. ป้องกันและระงับโรคติดต่อ โดยจัดอบรมให้ความรูเ้ กีย่ วกับ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และโครงการป้องกัน โรคไข้เลือดออก 5. ให้มเี ครือ่ งใช้ในการดับเพลิง พร้อมทบทวนและฝึกขัน้ ตอน การใช้งานรถดับเพลิง และอุปกรณ์ดับเพลิงอย่างสม�่ำเสมอ 6. ให้ราษฎรได้มกี ารฝึกอบรม โดยจัดการอบรมด้านต่างๆ ให้กับประชาชนในทุกกลุ่ม ทุกวัย 7. ส่งเสริมพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ งู อายุและผูพ ้ กิ าร โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้กับสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ 8. บ�ำรุงจารีต ประเพณี ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ และวัฒนธรรม ั ญา อันดีของท้องถิน่ โดยจัดกิจกรรมบ�ำรุงจารีต ประเพณี ภูมปิ ญ ท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 9. หน้าที่อื่นๆ
โครงการชาวโคราชสร้างฝาย ต้านภัยแล้ง
โครงการรักน�ำ้ รักษ์ป่า รักประเทศ NAKHONRATCHASIMA 195
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ส่งเสริมคุณภาพชีวิต โครงสร้างพื้นฐานได้มาตรฐาน
ข้อมูลทั่วไป
นายชัยนิคม ปัดชา นายกเทศมนตรีต�ำบลจระเข้หิน
เทศบาลต�ำบลจระเข้หิน “องค์กรน่าอยู่ มุ่งสู่การพัฒนา แก้ปัญหาอย่างบูรณาการ” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลจระเข้หิน ซึ่งมีส�ำนักงาน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 339 หมู่ 6 ต.จระเข้หนิ อ.ครบุรี จ.นครราชสีมา โดย อยูห่ า่ งจากตัวอ�ำเภอครบุรี 7 กิโลเมตร และห่างจากตัวจังหวัด นครราชสีมา 62 กิโลเมตร ปัจจุบนั มีนายชัยนิคม ปัดชา ด�ำรง ต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีตำ� บลจระเข้หนิ , นายสิรกิจ วาปีธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดเทศบาลต�ำบลจระเข้หนิ และนายไชยรัตน์ พันธนามานุรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสภาเทศบาลต�ำบล จระเข้หิน
พันธกิจ
เทศบาลต�ำบลจระเข้หิน เป็นองค์กรแห่งธรรมาภิบาล ประชาชนมีส่วนร่วมแก้ปัญหาความเดือดร้อนประชาชนมุ่ง 196
เทศบาลต�ำบลจระเข้หิน มีพื้นที่ 7 ตารางกิโลเมตร แบ่ง การปกครองออกเป็น 7 ชุมชน (6 หมู่บ้าน) พื้นที่ส่วนใหญ่เป็น ทีต่ งั้ ของชุมชน และบางส่วนเหมาะในการเป็นพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่นิยมท�ำไร่มันส�ำปะหลัง ไร่อ้อย ไร่ขา้ วโพด ท�ำนาข้าว และท�ำสวน จุดเด่นของพืน้ ที่ เทศบาลต�ำบลจระเข้หนิ มีคลองจระเข้หนิ ไหลผ่านทางทิศตะวันตก ซึง่ เป็นคลองส่งน�ำ้ มาจากเขือ่ นมูลบน ทางทิศตะวันออกจะมีคลองส่งน�้ำมาจากเขื่อนล�ำแซะ จึงได้ใช้ ประโยชน์จากคลองจระเข้หนิ ในการใช้นำ�้ อุปโภคบริโภค ท�ำการ เกษตร การประมง และการประปาซึ่งเป็นประปาส่วนภูมิภาค อ�ำเภอครบุรี สภาพทางสังคม มีโรงเรียนในเขตเทศบาล 3 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 1 แห่ง เปิดสอนระดับมัธยมตอนต้น ถึงมัธยมตอนปลาย โรงเรียนระดับประถมศึกษาจ�ำนวน 2 แห่ง และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลจระเข้หิน 2 ศูนย์ มีวัด 4 วัด และส�ำนักสงฆ์ 1 แห่ง และมีทพี่ กั สายตรวจต�ำบลจระเข้หนิ เพือ่ ดูแลความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ให้แก่ประชาชน 1 แห่ง มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนต�ำบลจระเข้หิน 1 แห่ง ด้านระบบบริการพืน้ ฐาน การคมนาคมขนส่งใช้ทางหลวง ชนบทหมายเลข 3115 การจราจรส่วนใหญ่ภายในเขตชุมชน ถนนอยูใ่ นความรับผิดชอบและดูแลของเทศบาล ด้านการไฟฟ้า อยูใ่ นการควบคุมของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคอ�ำเภอครบุรี สามารถ บริการไฟฟ้าครอบคลุมทัว่ ทุกชุมชน และการประปาอยูใ่ นดูแล รับผิดชอบจากการประปาส่วนภูมิภาคอ�ำเภอครบุรี ระบบการ สือ่ สารและโทรคมนาคมมีการให้บริการจากกรมไปรษณียโ์ ทรเลข อ�ำเภอครบุรี และเทศบาลได้จดั ตัง้ ให้บริการอินเตอร์เน็ตภายใน ชุมชน เพือ่ ให้ประชาชนได้ตดิ ต่อสือ่ สารอย่างสะดวกและรวดเร็ว
นโยบายการบริหารงานของนายกฯ ทต.จระเข้หนิ นายชัยนิคม ปัดชา นายกเทศมนตรีต�ำบลจระเข้หิน ได้
รับการเลือกตั้งและด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี มาตั้งแต่ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2556 จนถึงปัจจุบนั มีนโยบายในการบริหาร ราชการท้องถิ่นเทศบาลต�ำบลจระเข้หิน ดังนี้ นโยบายด้านการเมืองและการบริหารจัดการแบบมี ส่วนร่วม นโยบายนี้จะพิจารณาเงื่อนไข/ปัจจัย 3 มิติ ทั้งที่เป็น มิตเิ กีย่ วข้องภายในองค์กร ภายนอกองค์กร และภาคีเครือข่าย เพื่อที่จะวางระบบการบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สงสุดต่อ ประชาชน นโยบายด้านการพัฒนาสังคมและเสริมสร้างพลังชุมชน มุง่ มัน่ ให้ทกุ ภาคส่วนสามารถเพิม่ ทางเลือกการใช้ชวี ติ ในชุมชน ท้องถิ่น และสังคม มีส่วนร่วมในเชิงธุรกิจ สังคม และการเมือง ได้อย่างมีคุณค่า นโยบายการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ส่งเสริมพัฒนากระบวนการทางการศึกษา การปฏิบตั ิ กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี มุ ชน และภูมปิ ญ ั ญา
ท้องถิ่น ส่งเสริมสนับสนุนแข่งขันกีฬาทั้งภายในและภายนอก ชุมชน นโยบายการพัฒนาสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพ ชีวติ บริการสาธารณสุขขัน้ พืน้ ฐาน โดยร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และองค์กรชุมชนในการดูแลสุขภาพชุมชนอย่างต่อเนื่อง นโยบายการจัดการภัยพิบต ั แิ ละการจัดระเบียบชุมชน สร้างเครือข่ายด้านการบริการช่วยเหลือฉุกเฉิน (EMS) หนึง่ ต�ำบล หนึ่งทีมกู้ภัย นโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจชุมชนบนพื้นฐาน เศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด “แหล่งเรียนรูด้ า้ น เกษตรกรรมอย่างยัง่ ยืน” กระตุน้ ให้เกิดการพัฒนากระบวนการ สร้างระบบเศรษฐกิจชุมชน จัดตัง้ ระบบการเรียนรูใ้ นอาชีพต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นเกษตรกรรมหรืออุตสาหกรรมในชุมชนทีส่ อดคล้อง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐาน พัฒนาปรับปรุง ระบบการบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพืน้ ฐาน การจัดท�ำผังเมืองเทศบาลต�ำบลจระเข้หนิ ให้สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาบ้านเมืองที่นา่ อยู่ ชุมชนน่าอยู่ นโยบายการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และพลังงาน การสร้างจิตส�ำนึกสาธารณะทางด้านบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและพลังงาน ของประชาชนและ ชุมชน การสร้างเครือข่ายการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม และพลังงานโดยชุมชนเพือ่ ชุมชน การจัดการขยะแบบมีสว่ นร่วม ตัง้ แต่ตน้ ทาง กลางทาง และปลายทาง อันน�ำไปสูก่ ารจัดการขยะ ฐานศูนย์ NAKHONRATCHASIMA 197
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
นายสุทธิพงษ์ พึ่งครบุรี นายกเทศมนตรีต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล
เทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล “ชุมชนน่าอยู่ อู่ข้าวอินทรีย์ ประเพณีรุ่งเรือง เฟื่องฟูรายได้ ไร้ปัญหามลพิษ” คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยอยู่ห่างจากอ�ำเภอครบุรีประมาณ 18 กิโลเมตร และอยูห่ า่ งจากจังหวัดนครราชสีมา ระยะทางประมาณ 70 กิโลเมตร
ประวัติ ทต.ไทรโยง-ไชยวาล
เทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล ได้รบั การจัดตัง้ เป็นสุขาภิบาล เมือ่ วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2535 ต่อมาเมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2542 ได้มีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาล เป็นเทศบาล มีผลท�ำให้สขุ าภิบาลไทรโยง-ไชยวาล ได้ยกฐานะ ขึ้นเป็นเทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล 198
เทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 5.78 ตาราง กิโลเมตร หรือประมาณ 3,612.5 ไร่ มีพนื้ ทีร่ บั ผิดชอบ 4 หมูบ่ า้ น ในเขต 2 ต�ำบล ได้แก่ หมูท่ ี่ 1 บ้านไทรโยง ต�ำบลครบุรี (ประกอบ ด้วย ชุมชนไทรโยง 1, ชุมชุนไทรโยง 2 และชุมชนหนองสะเดา) หมูท่ ี่ 2 บ้านไชยวาล ต�ำบลครบุรี (ประกอบด้วย ชุมชนไชยวาล และชุมชนคลองไทรผาสุข) หมูท่ ี่ 3 บ้านดอนแสนสุข ต�ำบลครบุรใี ต้ (ประกอบด้วยชุมชนดอนแสนสุข และชุมชนแสนสุข) หมู่ที่ 8 บ้านดอนใหม่ ต.ครบุรีใต้ ประชากร ทต.ไทรโยง-ไชยวาล มีครัวเรือนทัง้ สิน้ 1,050 ครัว เรือน ประชากรรวมจ�ำนวน 3,651 คน แบ่งเป็นเพศชาย 1,820 คน เพศหญิง 1,831 คน สภาพเศรษฐกิจ ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกข้าวนาปี, นาปรัง ปลูกอ้อย มันส�ำปะหลัง และ ท�ำสวน เศรษฐกิจทัว่ ไปอยูใ่ นเกณฑ์ปานกลาง รายได้ประชากร เฉลีย่ ไม่ตำ�่ กว่า 30,000 บาท/คน/ปี (ข้อมูลความจ�ำเป็นพืน้ ฐาน 2559)
การท่องเที่ยว ในเขตเทศบาลไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วให้เกิดขึน้ ในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณี ต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะส�ำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ ประเพณีวฒ ั นธรรมท้องถิน่ ได้แก่ วันลอยกระทง จัดกิจกรรม จัดประกวดนางนพมาศและประกวดกระทง วันสงกรานต์ จัดกิจกรรมท�ำบุญกลางบ้าน สงฆ์น�้ำพระ และพิธีรดน�้ำด�ำหัว ผูส้ งู อายุ ประเพณีวนั เข้าพรรษา จัดกิจกรรมแห่เทียนพรรษาของ ชุมชนและส่วนราชการ
คณะผู้บริหาร
1. นายสุทธิพงษ์ พึง่ ครบุรี นายกเทศมนตรีตำ� บลไทรโยง-ไชยวาล 2. นายสมศักดิ์ เพราะสระน้อย รองนายกเทศมนตรี 3. นายปิยะดนัย พับครบุรี รองนายกเทศมนตรี 4. นายเปลื้อง ลักษณาครบุรี ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี 5. นายเลี้ยว ทนจังหรีด เลขานุการนายกเทศมนตรี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
1. ยุทธศาสตร์การบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพคุณภาพ 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสาธารณสุข 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการศึกษา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม 5. ยุทธศาสตร์ด้านเกษตรกรรม 6. ยุทธศาสตร์ด้านกีฬาและนันทนาการ 7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 8. ยุทธศาสตร์โครงสร้างพื้นฐาน 9. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมศาสนา และวัฒนธรรม 10. ยุทธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ
ผลงานเด่นเพื่อชาว ทต.ไทรโยง-ไชยวาล
เทศบาลต�ำบลไทรโยง-ไชยวาล ได้ด�ำเนินการป้องกัน อุบตั เิ หตุและอาชญากรรม โดยการติดตัง้ กล้องวงจรปิดในจุดที่ เป็นที่สาธารณะ ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก ก่อสร้างหอนาฬิกาบอกเวลาและลูกศรบอกทาง รวมทั้งได้ตั้ง จุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลทีม่ วี นั หยุดหลายวัน เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ประชาชน ส่วนปัญหายาเสพติด ในชุมชน เทศบาลฯ สามารถท�ำได้เฉพาะตามอ�ำนาจหน้าทีเ่ ท่านัน้ เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติด ส่วนด้านการสังคมสังเคราะห์ เทศบาลฯ ได้ดำ� เนินการจ่าย เบีย้ ยังชีพให้กบั ผูส้ งู อายุ ผูพ้ กิ าร และผูป้ ว่ ยเอดส์, รับลงทะเบียน และประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, ประสานการท�ำบัตรผูพ้ กิ าร, ตัง้ โครงการการจ้างนักเรียน/นักศึกษา ท�ำงานช่วงปิดภาคเรียน, ตัง้ โครงการช่วยเหลือผูย้ ากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง และตั้งโครงการปรับปรุง ซ่อมแซมบ้านคนจน NAKHONRATCHASIMA 199
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และมี ฐานะค่อนข้างยากจน ปัญหาทีเ่ ป็นความเดือดร้อนของประชาชน มาเป็นระยะเวลานาน นอกจากปัญหาเรื่องการคมนาคมแล้ว ยังมีปัญหาส�ำคัญคือ คุณภาพน�ำ้ และการขาดแคลนน�้ำส�ำหรับ การผลิตน�้ำประปาเพื่ออุปโภค บริโภค
นโยบายการพัฒนาของผู้บริหาร นายสมบูรณ์ ส่วยครบุรี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลครบุรี
องค์การบริหารส่วนต�ำบลครบุรี “พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน วางรากฐานเศรษฐกิจ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลครบุรี ตั้งอยู่ เลขที่ 179 หมู่ 4 บ้านโกรกส�ำโรง ต�ำบลครบุรี อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมี นายสมบูรณ์ ส่วยครบุรี เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลครบุรี มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งสิ้น 43.5 ตารางกิโลเมตร พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง แหล่งน�้ำผิว ดินมีน้อย และขาดแคลนเป็นประจ�ำ การปกครอง/ประชากร อบต.ครบุรี แบ่งการปกครองเป็น 11 หมูบ่ า้ น จ�ำนวน 1,660 ครัวเรือน มีประชากรรวม 5,759 คน 200
1. โครงการน�้ำประปาสะอาดเพื่อการอุปโภค-บริโภค โดยการ ปรับปรุงแก้ไขระบบประปาให้สะอาดและเพียงพอ 2. โครงการปรับปรุงซ่อมแซมระบบไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ ในหมู่บ้าน 3. โครงการปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคม เพือ่ การสัญจร ของประชาชนและการขนส่งพืชผลทางการเกษตร 4. โครงการส่งเสริมด้านการเกษตร ได้แก่ การพัฒนาแหล่งน�้ำ เพื่อการเกษตร การปรับปรุงบ�ำรุงดิน การจัดหาพันธุ์พืชที่มี คุณภาพดี 5. โครงการส่งเสริมด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี ท้องถิ่น ส่งเสริมการกีฬาและนันทนาการให้แก่เยาวชนและ ประชาชน 6. โครงการส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
และเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน และเห็นผลเป็น ทีเ่ ด่นชัด ตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ.2559 เป็นต้นมา โดยท�ำการ ปรับปรุงแหล่งน�ำ้ ปรับปรุงซ่อมแซมระบบประปา ฯลฯ ทีอ่ ยูใ่ น ความรับผิดชอบ 10 หมู่บ้าน เพื่อให้ได้นำ�้ ประปาที่มีคุณภาพ เหมาะสม สะอาด และเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคของราษฎร ทั้งยังได้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการน� ำน�้ำแจกจ่าย ให้กับประชาชนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่โดดเดี่ยวห่างไกล เพื่อไม่ให้ ขาดแคลนน�ำ้ อีกด้วย นอกจากนี้ อบต.ครบุรี ยังได้ดำ� เนินโครงการตามอ�ำนาจหน้าที่ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ การส่งเสริม การกีฬา การส่งเสริมพัฒนาอาชีพ ซึ่งประสบความส�ำเร็จเป็น ที่น่าพอใจ ตามศักยภาพและสถานะการคลัง ของ อบต.ครบุรี อีกด้วย
OTOP ขึ้นชื่อของต�ำบลครบุรี
กระยาสารท มีทั้งแบบดั้งเดิม และสูตรปรับปรุง โดยกลุ่ม ผูผ้ ลิตกระยาสารทบ้านใหญ่ หมู่ 8 ต�ำบลครบุรี เป็นสินค้าหนึง่ ต�ำบลหนึง่ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้มาตรฐาน มีความสะอาด รสชาติอร่อย จัดส่งจ�ำหน่ายทัว่ ประเทศ ทัง้ ภายใต้ชอื่ (Brand) ของตนเอง และ ภายใต้ชื่อที่รับสั่งท�ำ 7. โครงการส่งเสริมด้านสวัสดิการสังคมและพัฒนาอาชีพ 8. โครงการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กลุ่มอาสาสมัคร ต่างๆ เช่น กลุ่มสตรีแม่บ้าน อสม. อกม. อปพร. และ อช.
ผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลครบุรี ภายใต้การบริหารของ นายกฯสมบูรณ์ ส่วยครบุรี ซึ่งเข้ามาบริหารภายใต้ภาวะที่ กดดันและมีปัญหามากมาย ได้พยายามแก้ไขและปรับปรุง ระบบและคุณภาพน�ำ้ ประปา จากทีเ่ ป็นโคลน ขุน่ ข้น ให้ใสสะอาด NAKHONRATCHASIMA 201
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล ทางทิศตะวันออกห่างจากอ�ำเภอครบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร และอยูท่ างทิศใต้หา่ งจากจังหวัดนครราชสีมา ประมาณ 73 กิโลเมตร องค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบตะโกเอน กระทรวงมหาดไทย ประกาศจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2539 โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 40 และมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัตสิ ภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 ซึง่ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลขนาดกลาง โดยได้ ยกฐานะเมื่อเดือนเมษายน 2551
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบตะโกเอน มีพนื้ ทีท่ งั้ สิน้ 72 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 45,000 ไร่ สภาพภูมิประเทศมี ลักษณะเป็นทีร่ าบสูงสลับกับทีร่ าบลุม่ เป็นช่วงๆ โดยมีลกั ษณะ ของดินส่วนใหญ่พนื้ ทีเ่ ป็นดินร่วน และในบางพืน้ ทีเ่ ป็นดินเหนียว และดินลูกรัง ซึง่ เป็นภูมปิ ระเทศทีเ่ หมาะสมกับการเพาะปลูกพืชไร่ และพืชไร่เศรษฐกิจของต�ำบล ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด มันส�ำปะหลัง อ้อย ผักปลอดสารพิษ และยางพารา การปกครอง/ประชากร ต�ำบลมาบตะโกเอน มีหมูบ่ า้ นจ�ำนวน 10 หมูบ่ า้ น และแบ่งเขตการเลือกตัง้ เป็นเขตหมูบ่ า้ น จ�ำนวน 10 เขต มีประชากรทัง้ สิน้ 4,913 คน แบ่งเป็นชายทัง้ สิน้ 2,449 คน หญิง 2,464 คน จ�ำนวนครัวเรือน 1,568 ครัวเรือน
นายแดง แก้วมณี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบตะโกเอน
องค์การบริหารส่วนต�ำบล มาบตะโกเอน “ชุมชนที่ดี มีศักยภาพ การบริหารโปร่งใส พึ่งพาตนเองและพัฒนาอย่างยั่งยืน” องค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบตะโกเอน ได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์ เพือ่ เป็นสภาพการณ์ในอุดมคติ ซึง่ เป็นจุดมุง่ หมายและปรารถนา คาดหวังที่จะให้เกิดขึ้นหรือบรรลุผลในอนาคตข้างหน้า ต�ำบล มาบตะโกเอนเป็นต�ำบลขนาดกลาง ประชาชนส่วนใหญ่ทำ� การ เกษตร เป็นชุมชนทีเ่ รียบง่าย มีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี และสงบสุข และ คาดการณ์ว่าในอนาคตต้องเป็นชุมชนที่ดีมีศักยภาพ ตามที่ได้ ก�ำหนดวิสัยทัศน์ดังกล่าวข้างต้น
ประวัติความเป็นมา
องค์การบริหารส่วนต�ำบลมาบตะโกเอน ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลมาบตะโกเอน อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยตัง้ อยู่ 202
คลองสะแก (บริเวณอ่างเก็บน�ำ้ บุมะค่า) ต�ำบลมาบตะโกเอน
9 กิจกรรม/โครงการเด่น
1. ร่วมสืบสานประเพณีลอยกระทง 2. ร่วมงานสืบสานประเพณีกวนข้าวทิพย์ และตักบาตรเทโวโรหณะ ในวันออกพรรษา 3. กีฬาประชาชนมาบตะโกเอน-สระว่านพระยา 4. โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพและฟื้นฟูผู้สูงอายุ 5. โครงการฝึกอบรมเด็ก เยาวชน นักเรียน เพือ่ เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักการด�ำรงชีวิต 6. โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 7. โครงการฝึกอบรมให้ความรูเ้ รือ่ งการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด 8. อบรมโครงการการป้องกันการท้องก่อนวัยอันควร และโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 9. การแข่งขันกีฬาฟุตซอลสัมพันธ์ตา้ นยาเสพติด
NAKHONRATCHASIMA 203
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
นายมาก เสยกระโทก นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะแบกบาน
องค์การบริหารส่วนต�ำบล ตะแบกบาน “แหล่งโคนม อุดมสมุนไพร ถูกใจผ้าทอ เพียงพอแหล่งน�ำ้ ก้าวน�ำประชาคม” คือวิสยั ทัศน์องค์การบริหารส่วนต�ำบลตะแบกบาน อ�ำเภอ ครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี นายมาก เสยกระโทก เป็น นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะแบกบาน และมีนายรณฤทธิ์ จิตรครบุรี เป็นปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลตะแบกบาน
ประวัติต�ำบลตะแบกบาน
ต�ำบลตะแบกบาน อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา ได้รบั การประกาศจัดตัง้ ให้เป็นต�ำบล เมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2534 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งจัดตัง้ และก�ำหนดเขตและ ต�ำบลในเขตท้องทีอ่ ำ� เภอประทาย อ�ำเภอคง และอ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา โดยต�ำบลตะแบกบาน แบ่งเขตการปกครอง เป็น 9 หมู่บ้าน 204
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลตะแบกบาน มีพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 58.80 ตาราง กิโลเมตร หรือ 43,200 ไร่ สภาพภูมปิ ระเทศตัง้ อยูท่ รี่ ะดับความ สูงเหนือน�้ำทะเล 215-312 เมตร พื้นที่ทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตป่า ดงอีจานและป่าครบุรี ซึง่ ชาวบ้านต�ำบลตะแบกบานและต�ำบล ใกล้เคียงใช้สำ� หรับหาของป่าเช่นผักหวานป่า, ฟืน, เห็ด นอกจากนี้ ยังมีทรี่ าบลูกฟูก 92% ใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชไร่, ไม้ผล และ เป็นที่ราบลุ่มเพียง 8% ของพื้นที่ใช้ประโยชน์ในการท�ำนา สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำไร่ เลี้ยงสัตว์ และค้าขาย รายได้ส่วนใหญ่จึงขึ้นอยู่กับผลผลิตทาง การเกษตรเป็นหลัก เมือ่ หมดฤดูเก็บเกีย่ วประชาชนในหมูบ่ า้ น จะไปท�ำงานรับจ้างในตัวเมือง บางหมู่บ้านจะประกอบอาชีพ เสริม เช่น ทอผ้ามัดหมี่ การทอเสื่อกก การทอผ้ากี่กระตุก
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
อ่างเก็บน�้ำบ้านหนองจาน หมู่ที่ 3 เป็นสถานที่ส�ำหรับนั่ง พักผ่อนหย่อนใจ ชมทิวทัศน์ สูดอากาศบริสุทธิ์ โดยจะมีชาว บ้านต�ำบลตะแบกบานมาใช้พื้นที่นี้เป็นจ�ำนวนมาก
สินค้า OTOP ของฝากขึ้นชื่อ
ผ้ามัดหมี่ กล้วยฉาบหลากรส
จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาต�ำบล)
พื้นที่ในเขตต�ำบลตะแบกบานส่วนใหญ่ เป็นพื้นที่ที่เหมาะ แก่การปลูกพืชไร่ เช่น มันส�ำปะหลัง ข้าว และอ้อย นอกจากนี้ ยังสามารถปลูกไม้ผลหรือไม้ยนื ต้น และในเขตต�ำบลยังมีแหล่ง น�้ำที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และแหล่งน�้ำที่มนุษย์สร้างขึ้นไว้ ใช้อย่างเพียงพอ
งานประเพณีท้องถิ่น
วันปีใหม่ จัดขึ้นในช่วงเดือนมกราคม ของทุกปี วันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ จัดขึ้นในช่วงเดือนเมษายน ของทุกปี วันเข้าพรรษา จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ของทุกปี วันลอยกระทง จัดขึ้นในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปี
NAKHONRATCHASIMA 205
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
ที่พักสงฆ์ป่าบ้านหนองตาโยย (ศาลาอุดมบุญ) ที่ พั ก สงฆ์ ป ่ า บ้ า นหนองตาโยย (ศาลาอุดมบุญ) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองตาโยย ต�ำบลทองหลาง อ�ำเภอจักราช จังหวัด นครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระปลัดณัฎฐ์นนั ธ์ อนวัชโช เป็นประธานที่พักสงฆ์ป่าบ้าน หนองตาโยย (ศาลาอุดมบุญ)
ประวัติ
ทีพ่ กั สงฆ์ปา่ บ้านหนองตาโยย (ศาลา อุดมบุญ) ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนินการ ก่อสร้างเมือ่ ปี 2554 โดยชาวบ้านในละแวก นีไ้ ด้ไปอาราธนานิมนต์พระภิกษุณฎั ฐ์นนั ธ์ อนวัชโช ซึ่งเป็นพระปฏิบัติในสายธรรม พระกรรมฐาน ของพระเดชพระคุ ณ พระวิสุทธิญาณเณร (หลวงปู่สมชาย ฐิตวิรโิ ย) วัดเขาสุกมิ ต�ำบลเขาบายศรี อ�ำเภอ ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ด้วยความที่ท่าน เป็นที่เลื่อมใสของชาวบ้านในละแวกนี้ ท่านจึงรับการอาราธนามาอยู่จ�ำพรรษา ที่นี่ และพัฒนาเสนาสนะต่างๆ จากนั้น 206
จึงได้เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างถาวรวัตถุ ประกอบไปด้วย ศาลาปฏิบัติธรรม และ กุฏสิ งฆ์ และได้ถวายเป็นสาขาวัดเขาสุกมิ อย่างเป็นทางการ เมื่อปี 2558 ภายหลัง ทางคณะศรัทธาญาติโยมจากทั่วสารทิศ ได้พร้อมใจกันซือ้ ทีด่ นิ ถวาย ทีพ่ กั สงฆ์ปา่ บ้านหนองตาโยย (ศาลาอุดมบุญ) อีกจ�ำนวน 7 ไร่ รวมพื้นที่ทั้งหมด 8 ไร่ ซึ่งจะได้ ด�ำเนินการขอจัดตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์ นอกจากนีส้ ถานทีด่ งั กล่าวพระครูบามี ด�ำริทจี่ ะก่อสร้างพระเจดีย์ เพือ่ ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ อรหันตธาตุ และ
พระธาตุครูบาอาจารย์ และเป็นสถานที่ ส�ำหรับปฏิบตั ธิ รรม ประกอบกิจสังฆกรรมสงฆ์ และสถานที่นี้ยังได้รับความเมตตาจาก พ่อแม่ครูบาอาจารย์สายพระกรรมฐาน แวะเวียนมาพักอยู่เรื่อยๆ อาทิ 1. พระครูสนุ ทรวิหารธรรม (หลวงปูแ่ ยง) วัดภูทอก จังหวัดบึงกาฬ 2. พระญาณวิลาศ (บุญ สิริปุญโญ) วัดเขาสุกิม จังหวัดจันทบุรี 3. พระอาจารย์เชาว์รัตน์ กัมมสุทโธ วัดป่าวังหิน จังหวัดสกลนคร 4. หลวงปู่บุญส่ง ฐิตสาโร วัดสันติวนาราม จังหวัดจันทบุรี 5. หลวงปู่แสน ปสันโน วัดหนองจิก จังหวัดศรีสะเกษ
เกียรติประวัติ
1. พระเทพรัตนดิลก เจ้าคณะจังหวัด นครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดศาลาลอย (ธ) และพระญาณวิลาศ เจ้าคณะอ�ำเภอ
ท่าใหม่ (ธ) เจ้าอาวาสวัดเขาสุกมิ จังหวัด จันทบุรี เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ศาลา ปฏิบัติธรรม และเป็นปฐมแห่งการสร้าง วัดปี 2554 2. นายวีระ วงศ์แสงนาค รองอธิบดีกรม ชลประทาน และประธานคณะท�ำงาน บริหารจัดการน�ำ้ (ในสมัยนัน้ ) เป็นเจ้าภาพ ทอดผ้าป่าสามัคคี ปี 2555
พระปลัดณัฎฐ์นันธ์ อนวัชโช ประธานที่พักสงฆ์ป่าบ้านหนองตาโยย (ศาลาอุดมบุญ)
3. สมเด็ จ พระญาณสั ง วร สมเด็ จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑ ั ฒโน) ทรงมีพระกรุณาโปรดฯ ประทานผ้ากฐินและตราสัญลักษณ์รอ้ ยปี ประดิษฐาน ณ ศาลาปฏิบตั ธิ รรมทีพ่ กั สงฆ์ ป่าบ้านหนองตาโยย ปี 2556 4. พระภิกษุณฎั ฐ์นนั ธ์ อนวัชโช ประธาน ทีพ่ กั สงฆ์ฯ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระปลัด ในฐานานุ ก รมของพระญาณวิ ล าศ เจ้าอาวาสวัดเขาสุกิม ปี 2558 5. พระธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค 8 (ธ) เจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา จังหวัด นครราชสีมา เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ใน พิธเี ททองหล่อพระประธานปางนาคปรก (พระพุ ท ธวิ สุ ท ธิ ญ าณรั ง ษี ไพรี พิ น าศ ประสาธน์สันติสุขสวัสดิ์) ปี 2560
NAKHONRATCHASIMA 207
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดตาเงิน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 56 หมู่ 1 ต�ำบล ศรีละกอ อ�ำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูเกษมศีลาภรณ์ (บัญญัติ แน่นกระโทก) เป็นเจ้าอาวาสวัดตาเงิน
อาณาเขตและเนื้อที่ตั้งวัด
วัดตาเงิน ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 13 ไร่เศษ เนือ้ ทีเ่ ป็นลักษณะสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า มีอาณา เขตดังนี้ ทิศตะวันออกติดกับถนนหลวง ทิศใต้ติดกับทางสาธารณะเข้าหมู่บ้าน ทิศตะวันตกติดกับทุง่ นาของชาวบ้าน และ ทิศเหนือติดทางเข้าสาธารณะหมู่บ้าน และมีธรณีสงฆ์อยู่ทางทิศเหนือของวัด 1 แปลง จ�ำนวน 5 ไร่
ประวัติวัดตาเงิน
ตามค�ำบอกเล่าของผูส้ งู อายุ บ้านตาเงิน เป็นหมูบ่ า้ นเก่าแก่ทมี่ มี านานราว 130 ปี โดยมีพ่อนิล ซึ่งต่อมาลูกหลานเรียกกัน 208
วัดตาเงิน ว่าพ่อเงิน หรือตาเงิน และพ่อเขียว พร้อม ด้วยแม่ลาว น�ำลูกหลานประมาณ 10 ครอบครัว มาสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย ต่อมาจ�ำนวน ครัวเรือนเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ หลังจากนัน้ ประมาณ 10 ปี พ่อนิลหรือตาเงิน ได้ตงั้ ชือ่ หมูบ่ า้ น ขึน้ ว่า “บ้านตาเงิน” และพาลูกหลานสร้าง ที่พักสงฆ์ขึ้น เพื่อเป็นจุดศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้าน โดยตัง้ ชือ่ “วัดตาเงิน” เพือ่
ให้สอดคล้องกับชื่อหมู่บ้าน ต่อมา พ.ศ.2484 จึงได้รบั การอนุญาต ให้สร้างวัด และใช้ชอื่ “วัดตาเงิน” เช่นเดิม เพือ่ ให้สอดคล้องกับชือ่ หมูบ่ า้ นซึง่ มีตาเงิน เป็นผูน้ ำ� ตามนโยบายของมหาเถรสมาคม รวมระยะตั้งแต่เริ่มก่อสร้างวัดมา จึงมี อายุยาวนานถึง 126 ปี (ปัจจุบัน 2560) โดยได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ในปี พ.ศ.2516
รายนามเจ้าอาวาส
วัดตาเงิน มีผนู้ ำ� สงฆ์ซงึ่ ได้ดำ� เนินการ พัฒนาและก่อสร้างวัดอาคารเสนาสนะ มาโดยล�ำดับ โดยมีเจ้าอาวาสที่ปรากฏ ชื่อตามค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ แต่ไม่ สามารถจดจ�ำกาลเวลาที่ด�ำรงต�ำแหน่ง ได้ครบถ้วน ดังนี้ 1. พระอาจารย์แป้น 2. พระอาจารย์สด
3. พระอาจารย์สุข 4. พระอาจารย์ใหญ่ 5. พระอาจารย์ลิ้นทอง 6. พระอธิการเขียด 7. พระอธิการเพล ขนฺติพโล
8. พระอธิการลั่น อตฺคทนฺโต 9. พระครูเกษมศีลาภรณ์ (บัญญัติ แน่นกระโทก) พ.ศ.2523-ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุสำ� คัญ
หลวงพ่อเดิม อายุราว 70 ปี เป็น พระพุทธรูปองค์แรกที่ประดิษฐานอยู่ใน อุโบสถหลังเก่า ภายหลังการสร้างอุโบสถ หลังใหม่ขึ้น จึงได้อัญเชิญหลวงพ่อเดิม มาประดิษฐานไว้ดา้ นนอกเพือ่ ให้สาธุชน สักการบูชาได้สะดวกยิ่งขึ้น
ปฏิทินประจ�ำปีวัดตาเงิน
1. วันที่ 31 ธันวาคม-1 มกราคม สวดมนต์ ข้ามปี 2. วันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 3 งานวันมาฆบูชา 3. วันที่ 3-13 เมษายน โครงการบรรพชา
พระครูเกษมศีลาภรณ์ เจ้าอาวาสวัด อุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อน 4. วันที่ 13-15 เมษายน ประเพณีสงกรานต์ งานทอดผ้าป่าประจ�ำปี 5. วันที่ 9 กรกฎาคม วันอายุวัฒนมงคล พระครูเกษมศีลาภรณ์ 6. วันแรม 5-14 ค�ำ่ เดือน 11 งานเข้าอยู่ ปริวาสกรรม 7. ทุกวันพระ 8-14-15 ตลอดทัง้ ปี ตักบาตร ท�ำบุญ เจริญจิตภาวนา
คติธรรมประจ�ำวัด
เข้าวัดหวังเป็นสุข อย่าหอบทุกข์กลับ คืนไป ท�ำบุญหวังสุขใจ อย่าครวญคร�ำ่ หวัง ร�่ำรวย หมายเหตุ : เขมสีโลภิกขุ รวบรวม ประวัติ เมื่อปี 2559
NAKHONRATCHASIMA 209
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโคกสุภาราม
210
วัดโคกสุภาราม ต�ำบลสีสุก อ�ำเภอจักราช จังหวัดนครราชสีมา
ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2449 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี พระครูสุภาจารนิวิฐ เป็นเจ้าอาวาส และ ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอจักราช จังหวัด นครราชสีมา การศึกษา นักธรรมชั้นเอก ปริญญาโท พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.) M.A
พระครูสุภาจารนิวิฐ เจ้าอาวาส และด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอจักราช NAKHONRATCHASIMA 211
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าบ้านโคกพลวง
ศาลาเฉลิมพระเกียรติ อเนกประสงค์บรรเทาทุกข์
ต�ำหนักพ่อปู่ขาว
วัดป่าบ้านโคกพลวง ตั้งอยู่ที่บ้าน โคกพลวง หมู่ที่ 9 ต.หินโคน อ.จักราช จ.นครราชสีมา ปัจจุบันมี พระประยูร ฐิติธมฺโม เป็นหัวหน้าคณะสงฆ์วัดป่า บ้านโคกพลวง ซึ่งได้รับมอบหมายจาก เจ้าคณะอ�ำเภอจักราช (ธรรมยุต)
รังวัดทีด่ นิ ครัง้ นี้ นายสุข เตยกระโทก ได้ ยกทีด่ นิ ให้เป็นธรณีสงฆ์ อีก 15 ไร่เศษ รวม เป็นที่ดินของวัดทั้งสิ้น 46 ไร่ 2 งาน นับ จากนัน้ มาได้มกี ารจัดสร้างเสนาสนะเพิม่ เติมขึ้นอีก ประกอบด้วย กุฏิแม่ชี 1 หลัง จ�ำนวน 5 ห้อง ห้องสุขา 2 หลัง จ�ำนวน 15 ห้อง โรงครัว 1 หลัง และมีการสร้าง ศาลาการเปรียญหลังใหม่ขึ้นแทนหลัง เก่าที่มีสภาพทรุดโทรมและคับแคบ
ประวัติวัดป่าบ้านโคกพลวง
เดิมทีสถานที่ตั้งวัดเป็นเนินสูง ดินมี สภาพเป็นลูกรัง ชาวบ้านจึงไม่สามารถ ประกอบอาชีพได้ ด้วยเหตุนี้ ในปี พ.ศ. 2483 คุณพ่อดี เตยกระโทก คุณพ่อแฉะ คุณแม่เป้า สุขศรีพะเนาว์ จึงได้มอบทีด่ นิ ถวายเป็นธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 30 ไร่เศษ และ คุณพ่ออยู่ คุณแม่คำ� ทางกลาง เป็นผูร้ เิ ริม่ ชักชวนชาวบ้านทั้งบ้านโคกหลวงและ บ้านโคกกรวด ให้รว่ มแรงร่วมใจกันสร้าง วัดขึ้นมา เมื่อวันพฤหัสบดี แรม 7 ค�่ำ เดือน 12 พ.ศ.2483 โดยมีคุณพ่อเอี่ยม พันพิมาย เป็นไวยาวัจกรณ์ และนายศรีจนั ทร์ เพชรนอก เป็นผู้ร่วม เมื่อได้สร้างวัดขึ้นมาแล้วก็มีพระอยู่ จ�ำพรรษาทุกปี โดยท่านพระครูเจ้าคณะ อ�ำเภอจักราช (ธรรมยุต) ได้จดั ให้มพี ระภิกษุ มาจ�ำพรรษาทุกปี ชาวบ้านและกรรมการ 212
พระครูสุภัทรธรรมาทร เจ้าอาวาสวัด วัดจึงได้จดั สร้างเสนาสนะต่างๆ ขึน้ โดย มีศาลาการเปรียญ 2 หลัง กุฏิพระภิกษุ 5 หลัง สุขา 1 หลัง และวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2540 ท่านพระครูเจ้าคณะอ�ำเภอ จักราช (ธรรมยุต) ได้มอบหมายให้พระประยูร จิตธมฺโม พาหมู่คณะสงฆ์ จ�ำนวน 5 รูป อุบาสก อุบาสิกา ทีบ่ วชเป็นแม่ช-ี พราหมณ์ จ�ำนวน 15 รูป มาอยูป่ ระจ�ำทีว่ ดั ป่าบ้าน โคกพลวง ปี พ.ศ.2542 ชาวบ้านโคกกรวด และ โคกพลวง ผูใ้ หญ่บา้ นและคณะกรรมการ วัด ได้ท�ำการรังวัดที่ดินใหม่ และในการ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั วัดป่าบ้านโคกพลวง ก�ำลังจะ จัดสร้างฐานพระพุทธชัยมงคล (หลวงพ่อ ทันใจ) จึงขอเรียนเชิญพุทธศาสนิกชนร่วม สมทบทุนสร้าง หรือร่วมทอดผ้าป่าสามัคคี พร้อมฟังเทศน์มหาชาติ และถวายข้าว เปลือกประจ�ำปี 2560 ได้ในวันเสาร์-อาทิตย์ที่ 18-19 มีนาคม พ.ศ.2560
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระครูวรกิจประสาธน์ พระสมุห์บุญหนา เจ้าอาวาสวัด และ กตปุญฺโญ เลขา รองเจ้าคณะอ�ำเภอสีดา รองเจ้าคณะอ�ำเภอสีดา วัดหนองตาดใหญ่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 181 หมู่ 2 ต�ำบลหนองตาดใหญ่ อ�ำเภอสีดา จั ง หวั ด นครราชสี ม า สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูวรกิจปรสาธน์ พลดงนอก เป็นเจ้าอาวาส
วัดหนองตาดใหญ่
ประวัติวัดหนองตาดใหญ่
วัดหนองตาดใหญ่ ก่อตั้งมาก่อนปี พ.ศ.2446 หลักฐานทางราชการระบุวา่ มี วัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2481 เดิมมีที่ดินอยู่ 8 ไร่ 81 ตารางวา เมือ่ ปี พ.ศ.2534 ชาวบ้าน หนองตาดใหญ่ได้ร่วมกันบริจาคเงินซื้อ ทีด่ นิ เพิม่ อีก 1 ไร่ จากนายเนียม-นางค่อม พลดงนอก รวมมีที่ดินเป็นศาสนสมบัติ ของวัด จ�ำนวน 9 ไร่ 81 ตารางวา
เสนาสนะส�ำคัญ
อุโบสถหลังเก่า สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2481 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2483 โครงสร้างก่อ อิฐฉาบปูน โครงหลังคาท�ำด้วยไม้เนือ้ แข็ง มุ ง ด้ ว ยกระเบื้ อ ง ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2484 ต่อมาพระครูวรกิจประสาธน์ (วรรณา ปสนฺโน) เจ้าอาวาส ได้กอ่ สร้างอุโบสถหลัง
ใหม่ขนึ้ แทนหลังเก่า ซึง่ มีสภาพทรุดโทรม ไปตามกาลเวลา ไม่เป็นทีป่ ลอดภัยในการ ประกอบศาสนกิจของพระสงฆ์รวมถึง พุทธศาสนิกชน สร้างเมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 แล้วเสร็จเมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2554 หมดเงินค่าก่อสร้างทั้งหมด จ�ำนวน 8,000,000 บาทเศษ ซึ่งเป็นเงิน บริ จ าคของชาวบ้ า นหนองตาดใหญ่ หมู่ 1 และ 2, บ้านหนองจะบก หมู่ 3, บ้านโสกนกเต็น หมู่ 7 และพุทธศาสนิกชน ผูศ้ รัทธาทัว่ ไป ทัง้ กรุงเทพมหานครรวมถึง ต่างจังหวัด
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระครูสงิ ห์ ศรีชมุ 2. พระอาจารย์แหล่ 3. พระอาจารย์หลอด 4. พระอาจารย์เกิน๊ พลดงนอก 5. พระอาจารย์ครูเครื่อง 6. พระอาจารย์สี (ไม่สามารถระบุปีได้) 7. พระอาจารย์บุญมา (อ่าง) ศรีชานิล พ.ศ.2481-2484
8. พระอาจารย์ธง แสงวงศ์ พ.ศ.2484-2486 9. พระอาจารย์ฝั้น ศรีชานิล พ.ศ.2486-2500 10. พระอาจารย์สอน พลดงนอก พ.ศ.2501-2503 11. พระอาจารย์ทองฮวย ศรีชัย พ.ศ.2505-2507 12. พระอาจารย์สอน รามศรีดา พ.ศ.2507-2508 13. พระอาจารย์บุญลือ พลดงนอก พ.ศ.2508 - 2510 14. พระครูวรกิจปรสาธน์ พลดงนอก พ.ศ.2510-ปัจจุบัน
หมายเหตุ
รวบรวมข้อมูลโดย ด.ต.เฉลิม เลียบไธสง, นายป้อง แร่กาลิน (ไวยาวัจกร) เรียบเรียงโดย : ร.ต.ต.ประภาส พลกลาง
NAKHONRATCHASIMA 213
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าอัมพวโนทยาราม
วัดป่าอัมพวโนทยาราม ตั้งอยู่บ้าน ตลาดนาบุญ ถนนมิตรภาพ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบล โพนทอง อ�ำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา มีเนือ้ ที่ 17 ไร่ 2 งาน 25 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระมหาธนภัทร อุตฺตมปญฺโญ เป็น เจ้าอาวาสวัด
ปักฐานทีแ่ ยกสีดา จนเกิดเป็นตลาดสีดา จนเมือ่ ปี พ.ศ.2551 ชาวบ้านได้กราบ นิมนต์พระมหาธนภัทร อุตฺตมปญฺโญ มารั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาส และได้ ด�ำเนินการปรับปรุง บูรณปฏิสงั ขรณ์วดั มา ตามล�ำดับ จนท�ำให้เกิดความเจริญรุง่ เรือง
ประวัตวิ ดั ป่าอัมพวโนทยาราม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด วัดป่าอัมพวโนทยาราม ก่อสร้างเมือ่ ใดไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจน นอกจาก การบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ทเี่ ล่าต่อๆ กัน มาว่า เมื่อ ปี พ.ศ.2508 ในขณะนั้น ณ สถานที่แห่งนี้ได้มีต้นมะม่วงใหญ่อยู่ต้น หนึ่ง ทางคณะศรัทธาได้ไปนิมนต์อดีต เจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ และพระสงฆ์มา ฉันภัตตาหารเพล และได้กราบอดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอบัวใหญ่ ได้เมตตาตัง้ ชือ่ วัดให้เป็น “วัดป่าอัมพวโนทยาราม” ซึง่ มีใจความ แปลว่า อารามเป็นทีเ่ กิดขึน้ จากป่ามะม่วง ได้สร้างมาเพราะเกิดความศรัทธาจาก หลายท่าน ทีม่ าจากบ้านต่างๆ มาตัง้ หลัก 214
พระพุทธมหามงคลชัย (หลวงพ่อใหญ่) พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ พระพุทธรูป “หลวงพ่อยิ้ม” พระพลัง 3 แผ่นดิน (สมัยเชียงแสน, สมัยอู่ทอง, สมัยสุโขทัย)
พระบรมครูธรรมเทพโลกอุดร (หลวงปู่ใหญ่)
ปณิธานของวัด
สร้างวัตถุ เพือ่ เป็นสถานทีฝ่ กึ หัด และ ปฏิบัติธรรม สร้างคน เพื่อพัฒนาให้เป็นคนที่ดี สร้างธรรม เพือ ่ ให้เกิดปัญญาคุม้ กันชีวติ
กิจกรรมของวัดด้านต่างๆ
จัดตัง้ “ศูนย์สง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม น�ำจิต พัฒนาชีวิตอย่างเพียงพอและ ยัง่ ยืน” หน่วยเผยแพร่ศลี ธรรม ในความ อุปถัมภ์ของกรมการศาสนา กระทรวง วัฒนธรรม เมือ่ วันที่ 9 มิถนุ ายน พ.ศ.2556 ต่อมาในปี พ.ศ.2557 ได้รบั ความอุปถัมภ์ ในการจัดสร้างสถานทีอ่ าคารปฏิบตั ธิ รรม จาก ดร.สุนันทา ลีเลิศพันธ์ ประธาน บริษทั ดอกบัวคู่ จ�ำกัด และผูม้ จี ติ ศรัทธา ทั้งหลาย จัดอบรมปฏิบต ั ธิ รรมเป็นประจ�ำทุกๆ ปี
พระบรมครูธรรมเทพโลกอุดร (หลวงปู่ใหญ่) และจัดอบรมปฏิบัติธรรมทุกวันส�ำคัญฯ จัดอบรมค่ายเยาวชนในโครงการต่างๆ อาทิ เช่น ค่ายพุทธบุตร, ค่ายคุณธรรม จริยธรรม จัดอบรมค่ายคุณธรรมกับบุคลากรใน หน่วยงานต่างๆ อาทิ บุคลากรสาธารณสุข บุคลากรทางการศึกษา
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดป่าอัมพวโนทยาราม ได้ดำ� เนินการ บู ร ณะและพั ฒ นาวั ด ให้ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง อย่างต่อเนือ่ ง และยังได้จดั กิจกรรมอบรม ปฏิบัติธรรมเป็นประจ�ำปีละหลายครั้ง จึงขอเรียนเชิญท่านสาธุชนผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมเป็นเจ้าภาพท�ำบุญซือ้ ทีด่ นิ ถวายวัดเพือ่ สร้างเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม โดยติดต่อ ได้ที่ พระมหาธนภัทร อุตฺตมปญฺโญ โทร. 08-5198-2911 หรือร่วมบุญโดย บริจาคที่ ธนาคารกรุงไทย สาขาบัวใหญ่ ชือ่ บัญชี พระมหาธนภัทร อุตตฺ มปญฺโญ เลขทีบ่ ญ ั ชี 302-0-26017-5 ขออนุโมทนา กับศรัทธาสาธุชนทุกท่านทีไ่ ด้รว่ มบุญใน ครัง้ นี้ ขอให้มคี วามเจริญทัง้ ทางโลกและ ทางธรรมต่อไป NAKHONRATCHASIMA 215
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดปะค�ำ ตั้งอยู่เลขที่ 68 บ้านปะค�ำ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลสระพระ อ�ำเภอพระทองค�ำ จั ง หวั ด นครราชสี ม า สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบนั มี พระครูจารุสนั ติธรรม เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดปะค�ำ
วัดปะค�ำ ตั้งเมื่อ พ.ศ.2354 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2445 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 4.4 เมตร ยาว 11.5 เมตร ความเป็นมาของค�ำว่า “ปะค�ำ” มาจาก ค�ำว่า “ป๊ะค�ำ่ ” เนือ่ งจากในอดีตการเดินทาง จากจังหวัดชัยภูมมิ ายังจังหวัดนครราชสีมา จะมาพบกันในเวลาค�ำ่ พอดี ค�ำว่า “ป๊ะค�ำ่ ” เป็นภาษาไทยโคราช แปลว่า เจอกันตอน พลบค�่ำพอดี หรืออีกต�ำนานหนึ่งเล่าว่า มีชา้ งจากบ้านพังเทียมหลุดมา และควาญ ช้ า งมาเจอช้ า งพั ง เที ย มบริ เวณนี้ เ ป็ น 216
วัดปะค�ำ เวลาค�ำ่ พอดี จึงตัง้ ชือ่ บริเวณทีพ่ บช้างว่า “บ้านป๊ะค�ำ่ ” และเพีย้ นมาเป็น “บ้านปะค�ำ” จนทุกวันนี้ เมือ่ มีการก่อตัง้ วัดขึน้ จึงใช้ชอื่ หมู่บ้านมาเป็นชื่อของวัดด้วย
ที่ดินและอาณาเขตวัด
วัดปะค�ำ มีที่ดินตั้งวัดจ�ำนวน 26 ไร่
56 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 7044 มี อาณาเขตวัด ดังนี้ ทิศเหนือจรดบึงสาธารณะ ทิศใต้จรดถนนเข้าหมูบ่ า้ น ทิศตะวันออก จรดถนนเข้าหมูบ่ า้ น ทิศตะวันตกจรดทีด่ นิ เอกชน
อาคารเสนาสนะ
อุโบสถ กว้าง 4.5 เมตร ยาว 11.5 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2435 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึ่งไม้ ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 32.5 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2503 เป็น อาคารไม้ กุฏส ิ งฆ์ 1 หลัง กว้าง 10 เมตร ยาว 33 เมตร เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ.2527 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 27 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2535 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
หลวงพ่อเกิด พรมโชติ
หลวงปู่รินทร์ พรมเสนา
พระครูวรสราภิบาล (หลวงพ่อสมุห์เขียว ยโสธโร)
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
พระครูวชิรธรรมภาณ หลวงพ่อเพ็ชร์ ฉนฺทโก (มีช�ำนาญ)
พระครูจารุสันติธรรม เสน่ห์ สนฺตมโน (พรมเสนา)
การบริ ห ารและการปกครองของ วัดปะค�ำ มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม ดังนี้ 1. หลวงพ่อเป๊ะ อินฺทโชโต 2. หลวงพ่อเกิด พรมโชติ พ.ศ.2435-2460 3. พระอธิการรินทร์ พรมเสนา พ.ศ.2460-2508 4. พระครูวรสราภิบาล (หลวงพ่อสมุหเ์ ขียว ยโสธโร) พระอุปชั ฌาย์ เจ้าคณะต�ำบล สระพระ 5. พระครูวชิรธรรมภาณ (หลวงพ่อเพ็ชร์ ฉนฺทโก (มีช�ำนาญ)) พ.ศ.2508-2555 6. พระครูจารุสนั ติธรรม (เสน่ห์ สนฺตมโน (พรมเสนา)) พ.ศ.2555-ปัจจุบัน
มณฑปบูรพาจารย์
NAKHONRATCHASIMA 217
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดทองหลาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 252 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลพังเทียม อ�ำเภอพระทองค�ำ จังหวัด นครราชสีมา เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำ จังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 76 ปัจจุบนั มี พระครูอุดมเหมคุณ ฐานุตฺตโร เป็น เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอพระทองค�ำ
ประวัติวัดทองหลาง
วัดทองหลาง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2360 เดิมทีชาวบ้านเรียก ชือ่ ว่า “วัดทองหลาย” เหตุทเี่ รียกเช่นนัน้ เพราะเรียกตามชือ่ หมูบ่ า้ น ต่อมาหมูบ่ า้ น ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นหมู่บ้านทองหลาง ชือ่ ของวัดจึงถูกเปลีย่ นเรียกว่า “วัดทองหลาง” ตามชื่อหมู่บ้านดังกล่าว วั ด ทองหลางได้ รั บ พระราชทาน วิสงุ คามสีมาครัง้ แรก เมือ่ ปี พ.ศ.2421 และ ได้มกี ารบูรณะพัฒนาวัดมาเรือ่ ยๆ หลาย ครั้ง จนถึง พ.ศ.2514 ได้ท�ำการก่อสร้าง 218
วัดทองหลาง อุโบสถหลังใหม่ขนึ้ และได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ.2525 ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 17 ไร่ 3 งาน 67 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 31279
อาคารเสนาสนะ
1. อุโบสถ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2524 กว้าง 7 เมตร ยาว 18 เมตร 2. ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารคครึง่ ไม้ ครึ่งปูน สร้างเมื่อปี พ.ศ.2524 กว้าง 19 เมตร ยาว 26 เมตร 3. กุฏสิ งฆ์ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2538 กว้าง 14 เมตร ยาว 42 เมตร 4. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล เป็นอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก สร้างเมื่อปี พ.ศ.2545 กว้าง 14 เมตร ยาว 30 เมตร ปั จ จุ บั น ก� ำ ลั ง ก่ อ สร้ า งส� ำ นั ก งาน เจ้าคณะอ�ำเภอพระทองค�ำ, ก�ำลังก่อสร้าง ศาลาโรงครัว
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
วัดทองหลาง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบ นาม คือ 1. พระอาจารย์กรอด กนฺตสีโล ร.ศ. 128 (พ.ศ.2448) 2. พระอาจารย์เกิด กตปญฺโญ 3. พระอาจารย์อ่อน อมรธมฺโม 4. พระอาจารย์นุ่ม นิมฺมโท 5. พระอาจารย์ดำ� อธิวโร 6. พระอาจารย์ไหล ธมฺมเตโช 7. พระอาจารย์สด นีลวณฺโณ 8. พระครูอุดมเหมคุณ ฐานุตฺตโร ตั้งแต่ พ.ศ.2531 จนถึงปัจจุบัน
กุฏสิ งฆ์
พระครูอุดมเหมคุณ ฐานุตฺตโร เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอพระทองค�ำ
ประวัติเจ้าอาวาส / เจ้าคณะอ�ำเภอพระทองค�ำ ศาลาการเปรียญ
ประวัติส่วนตัว พระครูอุดมเหมคุณ ฐานุตตโร (ริม ไชยบาศรี) เกิดเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2497 อุปสมบท 28 เมษายน พ.ศ.2520 วัดทองหลาง ต.พังเทียม อ.พระทองค�ำ จ.นครราชสีมา พระอุปชั ฌาย์ พระครูอนุทยั คณานุยตุ ต์ (อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอโนนไทย) วัดโนนไทย พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าอธิการหน่วย ภานิโค (อดีตเจ้าคณะต�ำบลพังเทียม) วัดโพนไพล พระอนุสาวนาจารย์ พระสมุห์วิชิต ชินว์โส (พระครูอนุวตั รชินวงษ์) วัดโนนไทย ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอ โนนไทย
ต�ำแหน่งหน้าที่การงาน ในปัจจุบัน
พระธรรมฑูตสายอ�ำนวยการประจ�ำ หน่วยปฏิบัติการอ�ำเภอพระทองค�ำ เจ้าคณะอ�ำเภอพระทองค�ำ เจ้าอาวาสวัดทองหลาง ผูอ ้ ำ� นวยการศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์วัดทองหลาง ประธานกรรมการการศึกษาขัน ้ พืน้ ฐาน โรงเรียนบ้านทองหลาง
NAKHONRATCHASIMA 219
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเจริญพรต วั ด เจริ ญ พรต ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 103 ถนนสุรนารายณ์ หมู่ที่ 4 บ้านเจริญผล ต�ำบลสระพระ อ�ำเภอพระทองค�ำ จังหวัด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี พระครุสทุ ธิบญ ุ ญากร เป็นเจ้าอาวาส จุดเด่นของวัดเจริญพรต คือ โบสถ์ไม้งาม หลวงพ่อด�ำศักดิ์สิทธิ์ เป็นอุโบสถที่สร้าง จากไม้เนื้อแข็งทั้งหลัง
ประวัติวัดเจริญพรต
วั ด เจริ ญ พรต ได้ก่อ สร้างขึ้นเมื่อ ปี 2440 และได้ขึ้นทะเบียนก่อสร้างเมื่อ ปีมะเมีย เดือน 4 ขึ้น 10 ค�่ำตรงกับ วันพฤหัสบดีที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2473 เดิมชือ่ “วัดเพ่อเว่อ” เพราะบริเวณวัดเป็น ป่าอุดมไปด้วยสัตว์ปา่ และจะมีชา้ งป่าลง มาอาบน�ำ้ ทีห่ นองน�ำ้ อยูเ่ สมอ จึงเรียกว่า “บ้านเพ่อเว่อ” ต่อมา พ.ศ.2490 ได้เปลีย่ น ชื่อเป็น “วัดเจริญพรต” ที่ดินสร้างวัดได้รับบริจาคจากของ สองครอบครัวของ เตีย่ หลงเซ็ง-แม่ผอ่ ง แซ่โค้ว และ พ่อเทียน-แม่ทอง ชนะภัย
220
วัดโนนแดง
โบสถ์ไม้งามหลวงพ่อด�ำ
พระครูสุทธิบุญญากร เจ้าอาวาสวัด เดิมมีเนื้อที่ทั้งหมด 21 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ยกให้โรงเรียนบ้านเจริญผล ก่อตั้งอาคารเรียนประมาณ 2 ไร่ เหลือ เนือ้ ทีท่ ขี่ นึ้ โฉนดจริงประมาณ 19 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา ในการก่อสร้างวัดนัน้ มีพอ่ ยา ซึง่ เป็นผูใ้ หญ่บา้ นในสมัยนัน้ ชักชวนชาว บ้านช่วยกันสร้าง โดยมี พ่อมา พรมเสนา สมุห์มั่น เตี่ยหลงเซ็ง, พ่อปิ่น-แม่มี, พ่อนาค-แม่บุญ และ พ่ออินทร์-แม่ผึ่ง ชอบสว่าง เป็นผูร้ บั ภาระในการก่อสร้าง วัด และอุปถัมภ์การก่อสร้างวัดทุกอย่าง หลังจากที่ก่อสร้างวัดแล้ว ได้มีพระเถระ มาจ�ำพรรษาตลอดมิได้ขาด ดังนี้ 1. พระอาจารย์โต๊ะ 2. พระอาจารย์สอน 3. พระอาจารย์ตู้ 4. พระอาจารย์โนรี 5. พระอาจารย์นาค 6. พระอาจารย์บุญเหลือ 7. พระอาจารเจาะ 8. พระอาจารย์เงิน 9. พระอาจารย์พรม 10. พระอาจารย์ประดิษฐ์ 11. พระอาจารย์เกิด หรือ หลวงพ่อเกิด พรหมโชติ 12. พระครูวมิ ลวรพรต (จันทร์ ปาสาทิโก) 13. พระครูสลี าจารวัตร (ถนอม ฉนฺทธมฺโม) 14. พระครุสุทธิบุญญากร (ปัจจุบัน)
โบสถ์ไม้งามหลวงพ่อด�ำ ศักดิ์สิทธิ์
วัดเจริญพรต เป็นวัดที่ตั้งติดอยู่กับ ถนนสุรนารายณ์ จึงสะดวกต่อการคมนาคม ไปท�ำบุญ ในสมัยก่อนประชาชนหลาย หมูบ่ า้ นจึงเดินทางมาท�ำบุญทีว่ ดั เจริญพรต พระเดชพระคุณหลวงพ่อเกิด พรหมโชติ เจ้าอาวาสวัดเจริญพรตในอดีต ท่านจึงด�ำริ ทีจ่ ะก่อสร้างโบสถ์ เพือ่ ทีจ่ ะได้เป็นสถานที่ ให้พระสงฆ์ได้ทำ� สังฆกรรม เพราะวัดใน บริเวณเดียวกันยังไม่มโี บสถ์ หรือมีแต่ใน ระยะทางในการเดินทางห่างไกลกันเป็น หลายสิบกิโลเมตรท่านจึงด�ำริที่ก่อสร้าง โบสถ์ด้วยไม้ทั้งหลัง เมื่อปี พ.ศ.2494 อุโบสถหลังนีม้ จี ดุ เด่นทีเ่ ป็นอาคาร ไม้ใต้ถุนสูง มีความกว้าง 5 เมตร ยาว 14 เมตร ก่อสร้างด้วยไม้สามชนิดเท่านัน้ ได้แก่ เสาทัง้ หมดเป็นไม้มะค่า รอดและ ไม้กระดานพื้นเป็นไม้ประดู่ ไม้ฝาเป็น ไม้เต็งรัง โดยไม้สว่ นใหญ่ทนี่ ำ� มาก่อสร้าง
นั้นได้รับศรัทธาของพี่น้องชาวบ้านใน เขตละแวกบ้านใกล้เคียงน�ำมาถวายบ้าง และไปตัดไม้จากป่าบริเวณใกล้เคียงบ้าง จนเสร็จภายในปี พ.ศ.2498 และได้ผูก พัทธสีมาฝังลูกนิมติ เมือ่ ปี พ.ศ.2499 ได้ ใช้ทำ� สังฆกรรมและท�ำการอุปสมบทกรรม ตลอดเวลา หลังจากที่ หลวงพ่อเกิด พรมโชติ ได้ ถึงแก่มรณภาพลง พระครูวมิ ลวรพรต ได้ ด�ำริทจี่ ะก่อตัง้ อุโบสถหลังใหม่ สร้างด้วย คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึง่ มีขนาดทีใ่ หญ่กว่า เดิม และได้ผกู พัทธสีมาฝังลูกนิมติ อุโบสถ หลังใหม่ จึงเป็นสาเหตุที่อุโบสถไม้นั้น ต้องยุตกิ ารใช้งานและถูกทิง้ ร้าง จนเมือ่ ปี 2543 นายพิภพ ด�ำทองสุข ปลัดอ�ำเภอ ผูเ้ ป็นหัวหน้าจะจ�ำกิง่ อ�ำเภอพระทองค�ำ ได้นำ� คณะข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ได้ชว่ ยกันบูรณะอุโบสถไม้หลังนี้ ให้เป็น สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วของอ�ำเภอพระทองค�ำ
NAKHONRATCHASIMA 221
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดสมานมิตร ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 32 หมูท่ ี่ 11 บ้านเสม็ด ต�ำบลหนองงูเหลือม อ�ำเภอ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมี พระครูโอภาสศีลคุณ (ไสว) รองเจ้าคณะอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ เป็น เจ้าอาวาส
ประวัติวัดสมานมิตร
วัดสมานมิตร เดิมเรียกว่า “วัดเสม็ด” เพราะมีต้นเสม็ดขึ้นอยู่ทางทิศตะวันตก ของวัด (ปัจจุบนั ไม่พบเห็นแล้ว) ส่วนสาเหตุ ที่เปลี่ยนชื่อวัดเนื่องจาก วัดแห่งนี้เป็น ศูนย์รวมแรงศรัทธาของชาวบ้านเสม็ด และบ้านโพธิน์ อ้ ย ทีม่ กั จะมาท�ำบุญร่วม กันอันแสดงถึงความสมานฉันท์ของชาว บ้านทั้งสองหมู่บ้าน จึงเป็นที่มาของชื่อ “วัดสมานมิตร” วัดสมานมิตร จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2425 ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2439 ที่ดิน 222
วัดสมานมิตร ที่ตั้งวัด 23 ไร่ 2 งาน 30 ตารางวา โดย มีผู้ใหญ่บ้านทั้งสองหมู่บ้านดูแลจนถึง ปัจจุบนั ดังนี้ นายใหญ่ นอนโพธิ,์ นายอิม่ ทรวงโพธิ,์ นายหรี่ ทรวงโพธิ,์ นายสี เกียรติโพธิ,์ นายเม งามโพธิ์, นายฤทธิ์ เกียรติโพธิ์, นายสร้อย เกียรติโพธิ,์ นายเฉลียว นอนโพธิ,์ นายประกอบ ขุนศักดิ์ณรงค์, นายนิยม พับโพธิ์, นายบุญมี ดีโพธิ์ (ปัจจุบัน) และ นายเยี่ยม ปล้องงูเหลือม (ปัจจุบัน)
เจ้าอาวาสปกครอง
หลวงพ่อเตย พ.ศ.2425-พ.ศ.2446 หลวงพ่อปาน พ.ศ.2446-พ.ศ.2464 หลวงพ่อเขียว พ.ศ.2464-พ.ศ.2484 พระอธิการอ๊อต โอภาโส พ.ศ.2484-พ.ศ.2517 พระครูโอภาสศีลคุณ (ไสว) พ.ศ.2517-ปัจจุบนั (พ่อด้วง เจียมโพธิ์ ให้ข้อมูล)
ประวัติพระครูโอภาสศีลคุณ
พระครูโอภาสศีลคุณ (ไสว) ฉายา ฐานิสฺสโร อายุ 66 ปี พรรษา 43 สถานะเดิม ชือ่ ไสว นามสกุล ดีโพธ์ เกิดวันพุธที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2494 ภูมลิ ำ� เนาเดิม บ้านเลขที่ 7 หมูที่ 12 ต�ำบล หนองงูเหลือม อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา บิดา นายคง ดีโพธิ์ มารดา นางมา ดีโพธิ์ มีพี่น้องร่วมกัน ทั้งหมด 6 คน
พระปลัดจรูญ โกสโล รองเจ้าอาวาสวัด
วุฒกิ ารศึกษา ทางโลก-จบมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ทางธรรม-จบนักธรรมชั้นเอก ต�ำแหน่ง ได้รบ ั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดสมานมิตร เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2522 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น รองเจ้ า คณะต� ำ บล หนองงูเหลือม วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2548 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บล หนองงูเหลือม วันที่ 5 มิถนุ ายน พ.ศ.2553 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ� ำเภอ เฉลิมพระเกียรติ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
สมณศักดิ์ ได้รบ ั พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็น พระครู สัญญาบัตร ชั้นโท เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2544 ได้รบ ั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็น เจ้าคณะต�ำบล ชัน้ โท วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556
พระปลัดจรูญ โกสโล
เกิดวันจันทร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2521 ตรงกับแรม 14 ค�่ำ เดือน 2 ปีมะเมีย จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ที่โรงเรียนท่าช้างราษฏร์บ�ำรุงภูมิล�ำเนา ต�ำบลหนองงูเหลือม อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา อุปสมบท วันพฤหัสบดีที่ 6 เมษายน พ.ศ.2543 ณ วั ด สมานมิ ต รต� ำ บล
หนองงูเหลือม อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จั ง หวั ด นครราชสี ม า พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครูธรรมโชตาภิวัฒน์ (แจ่ม ขนฺติวโร) พระกรรมวาจารย์ พระอธิการเปีย อินทวณฺโณ พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการไสว ฐานิสสฺ โร ฉายาทางธรรม พระจรูญ โกสโล พ.ศ.2543 จบนักธรรมชัน้ ตรี, พ.ศ.2544 จบนักธรรม ชัน้ โท, พ.ศ.2545 จบนักธรรมชัน้ เอก ด�ำรง ต�ำแหน่ง “พระปลัด” ในฐานานุกรมของ พระครูธรรมโชตาภิวัฒน์ (แจ่ม ขนฺติวโร) เจ้าคณะอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครราชสีมา เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2552 และปัจจุบันด� ำรงต�ำ แหน่ งรอง เจ้าอาวาสวัดสมานมิตร ต�ำบลหนองงูเหลือม อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดสมานมิตร ขอเชิญพุทธศาสนิกชน ร่วมสร้างเส้นทางบุญ อาทิ ท�ำบุญถวาย โรงศพให้ แ ก่ ศ พไร้ ญ าติ ใส่ บ าตรพระ ประจ�ำวัน รดน�้ำมนต์เพื่อปัดเป่าสิ่งไม่ดี หรือรดเพือ่ สะเดาะเคราะห์ แก้ปชี ง เสริม สิรมิ งคล เสริมบารมีให้กบั ตนเอง โดยสามารถ ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 089-284-2607
NAKHONRATCHASIMA 223
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโนนโบสถ์
พระมหาอุดมศักดิ์ โสภณปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโนนโบสถ์ รักษาการเจ้าคณะต�ำบลหนองงูเหลือม วัดโนนโบสถ์ ตัง้ อยูห่ มูบ่ า้ นโนนกราด หมู่ 1 ต.หนองงูเหลือม อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา สังกัดมหานิกาย เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดนครราชสีมา แห่งที่ 8 ปัจจุบันมี พระมหาอุดมศักดิ์ โสภณปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสวัดโนนโบสถ์ และรักษาการเจ้าคณะต�ำบลหนองงูเหลือม
ประวัติวัดโนนโบสถ์
วัดโนนโบสถ์ ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2372 จากค�ำบอกเล่าของผู้สูงอายุได้ความว่า เมือ่ เกือบ 200 ปีผา่ นมา บริเวณศาลาบน โนนโบสถ์ปัจจุบัน เป็นสิ่งก่อสร้างคล้าย กับที่พักอาศัย สร้างด้วยดินผสมแกลบ เผาเป็นอิฐสีแดง ก่อสร้างเป็นรูปทรงกลม มีคนู ำ�้ ล้อมรอบ ชาวบ้านจึงเรียกบริเวณนี้ 224
ว่า “คูเวียน” หลังจากปี พ.ศ.2527 ได้มพี ระสงฆ์จาริก มาปักกลดเจริญกรรมฐานเป็นระยะ ท�ำให้ ชาวบ้านเลื่อมใสศรัทธา จึงช่วยกันปลูก สร้างโรงเรือนแบบง่ายๆ เพือ่ เป็นสถานที่ ฟังธรรม และถวายภัตตาหารแด่พระสงฆ์ ทีผ่ ลัดเปลีย่ นหมุนเวียนจาริกมาอยูเ่ นืองๆ สร้างความศรัทธาอย่างแรงกล้าแก่คุณ ยายสร้ อ ย จึ ง ยกที่ ดิ น บริ เวณคู เวี ย น ประมาณ 6 ไร่เศษให้เป็นที่พักสงฆ์ ผ่านไปเกือบ 2 ปี พระอมร อุตฺตโม พระลูกหลานชาวบ้านโนนกราด ได้บวช และไปศึกษาปฏิบัติธรรมเป็นศิษย์ของ พระโพธิญาณเถระ (หลวงปูช่ า สุภทฺโท) แห่งวัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี เดินทางกลับมาเยี่ยมบ้านและปักกลด เจริญกรรมฐานอยู่บริเวณป่าละเมาะติด กับคูเวียน ซึ่งเป็นที่ดินของคุณตาของ ท่าน และท่านพิจารณาเห็นว่าเป็นสถานที่ เงียบสงัด เหมาะสมกับการบ�ำเพ็ญภาวนา เจริญกรรมฐาน จึงขอบิณฑบาตทีด่ นิ จาก คุณตาเหลี่ยมและคุณตาแว กระจงกลาง ประมาณ 4 ไร่เศษ ซึ่งคุณตาทั้งสองก็ไม่ ขัดข้อง และท่านได้รับการสนับสนุนจาก ครูบาอาจารย์และเพื่อนสหธรรมิกวัด หนองป่าพงและสาขา รวมทั้งอุบาสก อุบาสิกา จึงได้เริ่มก่อสร้างเสนาสนะขึ้น
ในปี พ.ศ.2529 คู เวี ย นเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ม าระยะหนึ่ ง จึ ง เปลี่ ย นสภาพมาเป็ น วั ด โดยใช้ ชื่ อ “วัดโนนโบสถ์” โดยมีพระอมรเป็นประธาน สงฆ์ และท่านได้ชกั ชวนอุบาสกอุบาสิกา ในท้องถิ่นให้หันมาสนใจการประพฤติ ปฏิ บั ติ ธ รรม โดยการนิ ม นต์ พ ระเถระ ชั้นผู้ใหญ่ เช่น หลวงพ่อพุธ ฐานิโย วัดป่าสาละวัน หลวงปูเ่ หรียญ วรลาโภ วัดหิรัญบรรพต และครูบาอาจารย์จาก สาขาวัดหนองป่าพงมาแสดงธรรมเนืองๆ นอกจากนี้ ยั ง ได้ น� ำ พระสงฆ์ อุ บ าสก อุบาสิกา ไปกราบนมัสการหลวงปูช่ า ทีว่ ดั หนองป่าพง เยีย่ มเยือนแลกเปลีย่ นทีส่ าขา วัดหนองป่าพงเป็นประจ�ำ ท�ำให้ญาติโยม เข้าใจการปฏิบัติธรรม จึงเลื่อมใสศรัทธา ในพระพุทธศาสนามากขึ้น ต่อมา เมื่อพระอมรลาสิกขาไป ได้มี พระอธิการนกแก้ว อคฺคธมฺโม เป็น เจ้าอาวาสรูปถัดมา และสร้างอุโบสถขึ้น ในปี พ.ศ.2545 ได้ รั บ พระราชทาน
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2545 จนถึง พ.ศ.2547 ได้ทำ� การผูกพัทธสีมา ปิดทองฝังลูกนิมติ ซึง่ จัดงานแบบเรียบง่าย มีกจิ กรรมฟังธรรม ปิดทอง ถวายสังฆทาน ปฏิบตั ธิ รรม และบวชพระ เป็นต้น โดยไม่ มีการละเล่นหรือมหรสพใดๆ เลย ซึง่ การ จัดงานก็ผ่านไปได้ด้วยดี
นามเจ้าอาวาส/ผู้รักษาการ
1. พระอมร อุตตฺ โม เป็นประธานสงฆ์และ เป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ.2529 และ ได้ลาสิกขา เมื่อปี พ.ศ.2535 2. พระอธิการนกแก้ว อคฺคธมฺโม เป็น ผู้รักษาการแทนและเป็นเจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ.2535 และได้ลาสิกขา เมื่อ ปี พ.ศ.2553 3. พระครูโกวิทกิตติสาร เจ้าคณะอ�ำเภอ เฉลิ ม พระเกี ย รติ วั ด โนนหมั น เฉลิมพระเกียรติ เป็นผู้รักษาการแทน เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ.2553 4. พระมหาอุดมศักดิ์ โสภณปญฺโญ ป.ธ.7,
วัดหนองแดง
พธ.บ. ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2555 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง รักษาการเจ้าคณะต�ำบล หนองงูเหลือม
กิจกรรมประจ�ำปี
โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแก่ นักเรียนนักศึกษา โครงการปฏิบัติธรรมกรรมฐานในวัน ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา คราว ละ 7 วัน โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอ ้ น ฯลฯ
วัดหนองแดง ตัง้ อยูบ่ า้ นหนองแดง หมู่ 15 ต.หนองงูเหลือม อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.นครราชสีมา สังกัดมหานิกาย มีเนื้อที่ประมาณ 13 ไร่เศษ รักษาการโดย พระมหาอุดมศักดิ์ โสภณปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโนนโบสถ์ และรักษาการเจ้าคณะ ต�ำบลหนองงูเหลือม
ประวัติวัดหนองแดง
วัดหนองแดง ได้รบั การประกาศตัง้ วัด เมือ่ พ.ศ.2480 ได้รบั รองเป็นวัด พ.ศ. 2535 ศาสนวัตถุ ประกอบด้วย กุฏิ ศาลาการเปรียญ ศาลาฌาปนสถานและเมรุ และอุโบสถ ซึ่งก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปลายปี พ.ศ.2559 โดยมีเจ้าภาพท่านเดียว ขณะนี้กำ� ลังด�ำเนินการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เพื่อผูกพัทธสีมาปิดทองฝัง ลูกนิมิตในโอกาสต่อไป
การปกครอง
ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั วัดหนองแดงยังไม่ปรากฏเจ้าอาวาสชัดเจน จึงยังคง อยู่ภายใต้รักษาการโดยเจ้าคณะผู้ปกครองในต�ำบล ซึ่งในปัจจุบันคือ พระมหา อุดมศักดิ์ โสภณปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโนนโบสถ์ รักษาการเจ้าคณะต�ำบล หนองงูเหลือม โดยมอบหมายให้พระสงฆ์ผจู้ าริกเข้ามาพักอาศัย ช่วยกันดูแลรักษา และฉลองศรัทธาญาติโยมตามก�ำลังอันสมควรของตน NAKHONRATCHASIMA 225
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดวชิราลงกรณวรารามวรวิหาร วัดวชิราลงกรณวรารามวรวิหาร พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนน ราชสุทธาจารย์ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลหนองน�ำ้ แดง อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมาสังกัด คณะสงฆ์ธรรมยุต ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 131 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา มี พระวินัยโมลี รองเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา (ธรรมยุต) เจ้าอาวาสวัดป่าสาลวัน อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็นผูร้ กั ษาการแทน เจ้าอาวาสวัด
ประวัติความเป็นมา
วัดวชิราลงกรณวรารามวรวิหาร ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2506 โดยนางทิพย์ นิยมเหตุ มีกศุ ลเจตนาจะ สร้างวัดเพื่อให้เป็นสถานศึกษาทั้งทาง โลกและทางธรรม และเพื่อน้อมเกล้าฯ ถ ว า ย แ ด ่ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เจ ้ า อ ยู ่ หั ว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
226
ซึ่งขณะนั้นมีพระชันษาเยาว์วัยมาก โดย พระเดชพระคุณเจ้าคุณพระธรรมปาโมกข์ (ทิม อุฑาฒิโม) ได้นำ� ความกราบบังคมทูล ขอพระราชทานนามวัดจาก พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช พระองค์ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พ ร ะ ร า ช ท า น น า ม วั ด ว ่ า “วัดวชิราลงกรณวราราม” เป็นวัดราษฎร์ ธรรมดาสามัญ จัดสร้างขึ้นโดยศรัทธา ประชาชน ต่อมาเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เสด็จฯวางศิลาฤกษ์ พร้อม ด้วยสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 อันเป็นการเริม่ ต้นของการก่อสร้าง วัดได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2508 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2515
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ ญ า ต ใ ห ้ ย ก วั ด วชิราลงกรณวราราม ขึน้ เป็นพระอาราม หลวง ชนิดวรวิหาร เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ ในพระราชพิธสี ถาปนาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร วันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.2515
พระราชกรณียกิจใน รัชกาลที่ 10
วันเสาร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ.2510 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร เสด็ จ ฯ แทน พระองค์ ทรงท�ำพิธีเปิดซุ้มประตูเข้าวัด วชิราลงกรณวราราม ทางถนนมิตรภาพ วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 เสด็จฯ แทนพระองค์ ณ โรงหล่อกรมศิลปากร ทรงประกอบพระราชพิ ธี เ ททองหล่ อ
พระพุทธปฏิมากร องค์พระประธานประจ�ำ พระอุโบสถ ได้รับพระราชทานนามโดย ย่อว่า “พระพุทธมหาวชิราลงกรณ” ซึง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานแบบพระพุทธลักษณะ และขนาด เป็นทีต่ งั้ แห่งวัตถุประสงค์ เพือ่ ความสงบสันติความเป็นสิริมงคลและ ความเจริญรุ่งเรือง วันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2524 เวลา 15.49-16.19 น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 เสด็จฯ แทนพระองค์ เพื่อ ทรงประกอบพระราชพิ ธี ตั ด ลู ก นิ มิ ต ผู ก พั ท ธสี ม าพระอุ โ บสถ ซึ่ ง เป็ น วั น ที่ พระบรมราชชนกและพระบรมราชชนนี แห่ ง ใต้ ฝ ่ า ละอองพระบาทได้ ท รง ราชาภิเษกสมรส วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ.2520 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 เสด็จฯ ทรงประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์พระมณฑป วันอังคารที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2531 สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 เสด็จฯ ทรงประกอบพิธสี วมฉัตรพระมณฑป ทรง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และทรงเปิด ป้ายโรงเรียนพระปริยัติธรรม (ม.ว.ก.) ณ วัดวชิราลงกรณวราราม
อาคารเสนาสนะ
พระอุโบสถ สร้างเมือ่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2506 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2540 กุฏสิ งฆ์ 22 หลัง กุฏเิ จ้าอาวาส สร้างเมือ่ พ.ศ.2540 ศาลาอเนกประสงค์ (ศาลาแก้ว) สร้างเมื่อ พ.ศ.2514 ศาลา บ�ำเพ็ญกุศล 2 หลัง ฌาปนสถาน สร้าง เมื่อ พ.ศ.2511 หอระฆัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2511 โรงครัว สร้างเมือ่ พ.ศ.2546 โรงเรียน พระปริยตั ธิ รรม 1 หลัง เป็นอาคาร 2 ชัน้ มีหอ้ งเรียน 7 ห้อง ชัน้ ล่างจัดเป็นห้องสมุด ห้องประชุม และห้องพักครู และส�ำนักงาน สงฆ์ สร้างเมื่อ พ.ศ.2548
ปูชนียวัตถุ
1. พระอุโบสถ ประดิษฐานองค์พระพุทธ ปฏิมากร ขนาดหน้าตัก 1.50 เมตร ปาง
โรงเรียนพระปริยัติธรรม
มารวิชัย 2. พระมณฑป บุด้วยหินอ่อนทั้งภาย นอกและภายใน ภายในพระมณฑป กว้าง 1,560 ซ.ม. ยาว 560 ซ.ม. ครอบรอย พระพุทธบาท กว้าง 109 ซ.ม. ยาว 239 ซ.ม. ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ณ หอระฆังพระมณฑป 3. พระประทานพร ด้านทิศตะวันออก ตอนล่างของพระมณฑป เป็นพระทีส่ ลัก ด้วยหิน ซึ่งฐานพระติดเป็นเนื้อเดียวกับ ภูเขาวัดวชิราลงกรณวราราม 4. พระพุทธรูปปางนาคปรกองค์ใหญ่ ประดิษฐานบนยอดเขาวัดวชิราลงกรณวราราม ด้านทิศตะวันออกของพระมณฑป
อนาคต” เมือ่ พระเดชพระคุณพระเทพสุทธาจารย์ ได้ฟังกระแสพระราชด�ำรัสเช่นนั้นแล้ว ต่อมาจึงมีหนังสือขอตัว พระมหาเพิ่ม กิตตฺ วิ ฑฺฒโน ต่อสมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร และ พระสงฆ์ อี ก หลายรู ป เพื่ อ มาช่ ว ยกั น วางแผนด�ำเนินการตามแนวพระราชด�ำรัส นั้น และในปีต่อมาได้มีการประกอบพิธี เปิดศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ขึน้ เพือ่ อบรมหลักแห่งศีลธรรมแก่เยาวชน เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2511 ตรง กับวันวิสาขบูชา เป็นต้นมา จนกระทัง่ ถึง ปัจจุบัน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ล�ำดับเจ้าอาวาส และ รักษาการเจ้าอาวาส
ปี พ.ศ.2510 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จฯ เพื่อทรงถวายผ้าพระกฐินเป็น การส่วนพระองค์ ณ วัดวชิราลงกรณวราราม และทรงมี พ ระราชด� ำ รั ส ปรารภกั บ พระเดชพระคุณพระเทพสุทธาจารย์ ว่า “เมื่ อ วั ด เจริ ญ ก็ ค วรให้ โรงเรี ย น เจริญด้วย ขออาราธนาพระคุณเจ้า ช่วยหาพระที่มีความรู้ความสามารถ มาช่วยอบรมศีลธรรมขัน้ พืน้ ฐาน ของ พระพุทธศาสนาและประเพณีอนั ดีงาม ของไทย แก่ประชาชนและเยาวชนของ ชาติ เพือ่ เสริมพลังสามัคคีธรรมในการ พัฒนาประเทศชาติ ทัง้ ในปัจจุบนั และ
1. พระเทพสุทธาจารย์ (โชติ คุณสมฺปนฺโน น.ธ.เอก, ป.ธ. 5) พ.ศ.2506-2517 2. พระครูกติ ติวฒ ั นคุณ (เพิม่ กิตตฺ วิ ฑฺฒโน น.ธ.เอก, ป.ธ. 4) พ.ศ.2517-2529 3. พระครูเขมคุณโสภณ (จันทร์ เขมสิริ) พ.ศ.2529-2534 4. พระราชวรญาณ (วิจิตร จิตฺตทนฺโต น.ธ.เอก, ป.ธ. 5) รก. พ.ศ.2534-2536 5. พระครูสทุ ธศีลสังวร (ประสิทธิ์ ฐานิสสฺ โร น.ธ.เอก, ป.ธ.1-2) พ.ศ.2536-2538 6. พระครูโสภณวชิรคุณ (สวาสดิ์ กมโล น.ธ.เอก, ป.ธ.3) พ.ศ.2538-2558 7. พระวินัยโมลี (ค�ำปอนด์ สุทฺธิญาโณ น.ธ.เอก, M.A.) รก. พ.ศ.2558-ปัจจุบนั NAKHONRATCHASIMA 227
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเทพสถิต วัดเทพสถิต ต.ปากช่อง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระครูสถิตปุญญาทร (ฉัตร เตชปุญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดเทพสถิต
วัดเทพสถิต สร้างเมือ่ วันที่ 7 กันยายน พ.ศ.2513 ถึง วันที่ 6 กันยายน พ.ศ.2518 มีพื้นที่ตั้งวัดจ�ำนวน 11 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา อาณาเขต ทิศใต้ จรดไร่ขา้ วโพด ทิศตะวันตก จรดหมู่บ้านริมดอย ทิศ ตะวันออก จรดทางสาธารณะ ทิศเหนือ จรดภูเขาไร่ข้าวโพด
การบริหารการปกครอง
รูปที่ 1 พระครูวรวุฒปิ รีชา (นาค อรินทฺ โม) 228
รูปที่ 2 พระครู ส ถิ ต ปุ ญ ญาทร (ฉั ต ร เตชปุญโฺ ญ) น.ธ.เอก, พธ.บ. ตัง้ แต่ พ.ศ.2538-ปัจจุบัน
ประวัตพ ิ ระครูสถิตปุญญาทร
พระครูสถิตปุญญาทร (ฉัตร เตชปุญโฺ ญ) น.ธ.เอก, พธ.บ. (มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเทพสถิต ต�ำแหน่ง 1. เจ้าคณะต�ำบลหนองน�้ำแดง เขต 2 2. เจ้าอาวาสวัดเทพสถิต เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2538-ปัจจุบัน 3. พระอุปัชฌาย์ งานเผยแผ่ 1. ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระธรรมทู ต ประจ�ำอ�ำเภอปากช่อง 2. ได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ อ บรมศี ล ธรรมและ วัฒนธรรมประเพณีขึ้นที่วัด
พระครูสถิตปุญญาทร เจ้าอาวาสวัด
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั พระครูสถิตปุญญาทร ก�ำลัง ด�ำเนินการก่อสร้างศาลาการเปรียญขึน้ ที่ วัดเทพสถิต เพื่อเป็นสาธารณประโยชน์ และเป็นสถานที่ศึกษาพระปริยัติธรรม จึงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนร่วมสร้าง เส้นทางบุญ ด้วยการบริจาคทุนทรัพย์ ได้ที่ ชื่อบัญชี พระครูสถิตปุญญาทร ธนาคารกรุงไทย สาขาปากช่อง เลขทีบ่ ญ ั ชี 303-1-386361
อานิสงส์แห่งการสร้าง ศาลาปฏิบัติธรรม
อานิสงส์จากการท�ำบุญด้วยการสร้าง ศาลาปฏิบัติธรรม ในชาติภพนี้จะส่งผล ให้ผู้นั้นมีจิตใจสงบเยือกเย็น พบปิติสุข สิรมิ งคล พ้นทุกข์โศกโรคภัย ลูกหลานดีมี ความกตัญญู มีเพื่อนดี มีบริวารซื่อสัตย์ ประกอบกิจสิง่ ใดมีแต่ความเจริญก้าวหน้า และมัน่ คง แม้เกิดในชาติภพหน้าก็จะเป็น ผู้มีอริยทรัพย์ ไม่ทุกข์ยากล�ำบาก มีสุคติ มีภพภูมิที่ดียิ่งๆ ขึ้นไป NAKHONRATCHASIMA 229
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดศิมาลัยทรงธรรม
วัดศิมาลัยทรงธรรม ตั้งอยู่ที่ต�ำบล หมูสี อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา อยู่ทางขึ้นเขาใหญ่ ซึ่งในสมัยก่อนเรียก ดงพญาเย็น ดงพญาไฟ เพราะเต็มไปด้วย สรรพสัตว์ป่านานาชนิด และมวลเหล่า พฤกษา เป็นทีโ่ คจรของพรานไพร กองทัพ พระธุดงค์ผแู้ สวงหาโมกขธรรม ความวิเวก ในธรรมชาติ และถ�ำ้ คูหาในพงไพร ดึงดูด ชักชวนพระคณาจารย์สมัยก่อนให้มา ศึกษาค้นคว้าถึงความลี้ลับที่กล่าวขาน นอกเหนือจากการกล่าวขานล�่ำลือ มีประวัตทิ บี่ นั ทึกไว้วา่ พระภิกษุสงฆ์ทผี่ า่ น มาสัญจรตลอดจนพักค้างแรมจ�ำน�ำพรรษา มีผา่ นมาตลอดไม่ขาดสาย ในปี 2484 ได้ ตั้งเป็นที่พักสงฆ์ และส�ำนักสงฆ์เรื่อยมา ในปี 2525 หลวงพ่อสมัย ปธีโป มาพัก อาศัย ได้สร้างศาลา กุฎี หอระฆัง บูรณะ พระบรมธาตุบนยอดเขา ฯลฯ ปี 2543 พระอาจารย์ฉตั รชัย อนาลโย ได้รอนแรม แสวงหาโมกขธรรมในถ�ำ้ คูหาในภาคอีสาน ใต้ เหนือ จรดจนถึงสิบสองปันนา หรือที่ เรียกกันว่าเชียงรุง่ เชียงตุง ซึง่ เคยเป็นดินแดน 230
ประเทศไทยในสมัยก่อน เมือ่ รอนแรมมา ห้าหกปี เพื่อแสวงหาครูบาอาจารย์ จาก เขาสามยอดสูถ่ ำ�้ ศิมาลัย เมือ่ เป็นทีถ่ กู จริต นิสยั พระอาจารย์ฉตั รชัย ได้ปวารณาอยู่ จ�ำน�ำพรรษา และญาติโยมทางกรุงเทพ ซึง่ เป็นลูกหลานหลวงพ่อสมัยได้อาราธนา นิมนต์ไว้ ด้านงานพุทธศิลป์ของวัดศิมาลัยทรงธรรม มีแรงบันดาลใจจากหลวงพระบาง เป็นศิลปะ จากเศษขวดแก้วทีน่ ำ� มาบอกเล่าการด�ำรง ชีวติ วัฒนธรรมทีเ่ ชือ่ มโยงกับพุทธศาสนา จากชาวบ้านถ�ำ้ ในอินเดียทีม่ กี ารแกะสลัก หิน บอกเล่าถึงภัยทีค่ กุ คามและแรงศรัทธา ในพุทธ จากศรีลงั กาซึง่ มีงานพุทธศิลป์ทอี่ ยู่ บนซอกเขา ตามแผ่นผนังถ�ำ้ บ่งบอกถึงคน สมัยก่อนทีม่ เี จตนาศรัทธามุง่ หวังสืบทอด ฟืน้ ฟูศาสนาฝากต่ออารยะชนรุน่ หลัง จาก จีนและกัมพูชา ฯลฯ จากการทีไ่ ด้ไปเห็น ศึกษาเรียนรู้ถึงวิถีพุทธที่สืบทอดกันมา ท�ำให้วัดศิมาลัยทรงธรรมใช้โครงสร้าง แบบถ�้ำเป็นส่วนใหญ่ รังสรรค์ด้วยพระ เครือ่ งดินเผาทีศ่ รัทธา ท�ำด้วยมือหลายๆ
หมืน่ พิมพ์ แบ่งบรรจุในจตุรทิศทัง้ ในและ ต่างประเทศ ท�ำเป็นพระม้วน ตระกุด ประค�ำ สมเด็จม้วน ตามพระเถราจารย์ทที่ รงปฏิบตั ิ ทิง้ ไว้ และด้วยส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ต่อพระมหาสมภารเจ้าแผ่นดิน ได้นำ� เหรียญ เก่าใหม่ตงั้ แต่เริม่ ใช้ในประเทศไทย สร้าง เป็นพุทธประวัติ ภพภูมิ เทวดาโพธิสัตว์ ปั จ เจก พระอริ ย ะสาวก ตลอดจน พระมหาเถระคณาจารย์ ส่วนผูป้ ระดับติด เหรียญจะเป็นผูบ้ ริจาคเหรียญแล้วติดเอง บ้าง ผูม้ าเยือนเทีย่ วชมในทุกชนชัน้ อาชีพ ได้แสดงออกถึงส�ำนึกศรัทธาต่อสถาบัน อันมีชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ตลอด ระยะเวลา 16 ปีนี้ และต่อไปจนกว่าจะแล้ว เสร็จจึงขอเชิญจิตศรัทธาร่วมบริจาคเหรียญ โครงการ 9 ล้านดวงใจ 9 ล้านเหรียญ ที่ วัดศิมาลัยทรงธรรม อีกในหนึ่งครูบาอาจารย์ ผู้เมตตา ชี้แนะให้โอกาส โดยท่านแนะให้น�ำพระ ดินเผาไว้หน้าพระประทาน เพือ่ แจกจ่าย ต่อผูค้ นทีม่ จี ติ ศรัทธา ท่านเคยแนะน�ำให้ ท�ำองค์เล็กบ้างใหญ่บา้ ง ท่านปลุกเสกให้ ก�ำลังใจทุกครั้ง พระบางส่วนท�ำประค�ำ แจกจ่ายมอบถวาย บรรจุในสถูปเจดีย์ ท่าน เป็นเบื้องหลังของความส�ำเร็จทั้งมวล ท่านเคยมาทีแ่ ห่งนี้ เมือ่ ท่านอยูจ่ ะจัดงาน หรือท�ำอะไรบอกท่านทุกครัง้ ท่านมีนาม ว่า พระเทพวิทยาคมเถระ หลวงปู่คูณ ปริสุทโธ ที่เคารพศรัทธาหาที่สุดมิได้
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
ต�ำบลพญาเย็น ต�ำบลพญาเย็น ประกอบด้วย 14 หมูบ่ า้ น ได้แก่ 1.บ้านน�ำ้ พุ 2.บ้านหัวป้าง 3.บ้านหนองยาง 4.บ้านโนนกระโดน 5.บ้านโสกน้อย (วั ง เพิ่ ม ) 6.บ้ า นซั บ ใต้ 7.บ้ า นหั ว โกรก 8.บ้ า นถนนโค้ ง 9.บ้านโสกลึก 10.บ้านพรมปากสิต 11.บ้านผ่านศึก 12.บ้านอ่างหิน 13.บ้านพญาเย็น และ 14.บ้านหนองไม้แดง
เป้าหมายการพัฒนา นายจ�ำลอง แก้วมี นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลพญาเย็น
องค์การบริหารส่วนต�ำบล พญาเย็น “พญาเย็นเมืองน่าอยู่ โดยมีเศรษฐกิจดี การศึกษาเด่น การคมนาคมสะดวก สิ่งแวดล้อมสดใส ประชาชนมีพลานามัยสมบูรณ์ และมีส่วนร่วมในการพัฒนา”
คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบล พญาเย็น ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ 7 บ้านหัวโกรก ต�ำบลพญาเย็น อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา
1. จัดเก็บภาษีรายได้ภายในต�ำบล ครบ 100% 2. สร้างระบบสาธารณูปโภค ถนน ประปา ไฟฟ้า ครบทุกหมูบ่ า้ น 3. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ตลอดปี ใน ครอบครัว 4. ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาทั้งเด็กเล็ก และเด็กปฐมวัยให้มี การเรียนรู้อย่างมีความสุข 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้ตำ� บลพญาเย็นมีโรงเรียนมัธยม อย่างน้อย 1 โรง 6. ส่งเสริมเยาวชนได้ออกก�ำลังกายและเล่นกีฬา เพื่อห่างไกล จากยาเสพติด 7. ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นที่ดีงาม ให้อยู่คู่สังคม 8. สร้างค่านิยมให้ประชาชนรู้จักการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการผักสวนครัวรั้วกินได้
ประวัติ อบต.พญาเย็น
ต�ำบลพญาเย็น เคยเป็นต�ำบลหนึง่ ใน อ�ำเภอปากช่อง โดย ขึน้ ตรงต่อต�ำบลกลางดงตลอดมา เมือ่ ปี พ.ศ.2528 ได้แบ่งการ ปกครองจากต�ำบลกลางดง โดยมีนายเหมือน น้อยศิลา เป็นก�ำนัน คนแรก และเกษียณอายุราชการในปี 2536 และนายจ�ำลอง แก้วมี จึงได้รับเลือกเป็นก�ำนัน ต�ำบลพญาเย็น จนถึงปัจจุบัน และได้ยกระดับเป็น อบต.พญาเย็น ในปี พ.ศ.2539 ปัจจุบัน นายจ�ำลอง แก้วมี ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วน NAKHONRATCHASIMA 231
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเทพาลัย วัดเทพาลัย หมู่ที่ 9 ต�ำบลเทพาลัย อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระครูวสิ ทุ ธิภาวนาญาณ (หลวงพ่อจิตร จิตฺตปญโญ) เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดเทพาลัย
วัดเทพาลัย เป็นแหล่งปฏิบัติธรรม และแหล่งเรียนรูพ้ ฒ ั นาชุมชนภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่น ที่มีความสะอาด สวยงามเป็น
หลวงพ่อจิต จิตฺตปญฺโญ 232
ระเบียบ และสงบร่มรืน่ ด้วยพรรณไม้นานา ชนิด ปัจจุบนั มี พระครูวสิ ทุ ธิภาวนาญาณ (หลวงพ่อจิตร จิตตฺ ปญฺโญ) เป็นเจ้าอาวาส
ความส�ำคัญของ วัดป่าเทพาลัย
วัดเทพาลัยเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม มาตัง้ แต่เริม่ สร้างวัด และตัง้ เป็นส�ำนัก ปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของข้าราชการ ตามมติรฐั มนตรี ของส�ำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ เมือ่ ปี 2547 ปัจจุบนั เป็นส�ำนัก ปฏิบัติธรรมกรรมฐาน ประจ�ำจังหวัด นครราชสีมา วั ด เทพาลั ย ได้ เข้ า ร่ ว มโครงการ สมุนไพรในวัด ของส�ำนักพระพุทธศาสนา แห่งชาติ 2547 โดยได้รบั การคัดเลือกเป็น วัดโครงการสวนสมุนไพรดีเด่นระดับ ชาติ ในปี พ.ศ. 2551 และเป็นศูนย์การ เรียนรูส้ มุนไพรและภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน
พระครูวสิ ทุ ธิภาวนาญาณ เจ้าอาวาสวัด
ประวัติ พระครูวิสุทธิภาวนาญาณ
พระครูวสิ ทุ ธิภาวนาญาณ (หลวงพ่อ จิตร จิตฺตปญฺโญ) ชาติกำ� เนิด เกิดเมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน พ.ศ.2485 ณ บ้านเลขที่ 23 หมูท่ ี่ 4 บ้าน ตะคร้อ ต�ำบลเมืองคง อ�ำเภอคง จังหวัด นครราชสีมา มารดาชือ่ นางจ๋อย หินนอก บิดาชื่อ นายเต่า หินนอก อุปสมบท ณ วัดตะคร้อ เมื่อปี พ.ศ. 2511 โดยพระครูคงคนครพิทักษ์ เป็น พระอุปัชฌาย์ ท่านเป็นแบบอย่างในการใช้ชีวิต ให้มปี ระโยชน์ทกุ เวลานาที ไม่มจี ติ เศร้า หมอง เจริญสมาธิ วิปสั สนาเป็นกิจนิสยั มีจติ ใจเยือกเย็น สงบ และมีเมตตาอย่าง สูงต่อทุกคนทีไ่ ด้เข้าหา เป็นทีเ่ ลือ่ มใส ศรัทธาต่อพุทธศาสนิกชนอย่างกว้างขวาง
ต�ำแหน่งส�ำคัญ
พ.ศ.2539 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดเทพาลัย พ.ศ.2542 ต�ำแหน่งเจ้าคณะปกครอง สงฆ์ เจ้าคณะต�ำบลเมืองคง (ธ) พ.ศ.2552 ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะ อ�ำเภอบัวใหญ่ (ธ)
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนิกชนท่านใดที่สนใจ จะไปเยี่ยมชมวัดเทพาลัย ปฏิบัติ ธรรม ศึกษาดูงาน หรือประสงค์ ท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนาให้ยงั่ ยืน สืบไป สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 081-878-9867 NAKHONRATCHASIMA 233
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดทัพมะขาม วัดทัพมะขาม อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา
หลวงตาด�ำ วัดทัพมะขาม 234
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดบ้านปรางค์ พระอาจารย์สมพงษ์ เจ้าอาวาสวัด วัดบ้านปรางค์ ต�ำบลบ้านปรางค์ อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา
ประวัติวัดบ้านปรางค์
วัดบ้านปรางค์ เป็นวัดเก่าแก่มมี าพร้อม หมู่บ้าน พอจะสืบได้ว่ามีอายุประมาณ 90-100 ปี กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ ตัง้ เป็นวัด เมือ่ วันที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ.2478 โดยมีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน มีเสนาสนะและถาวรวัตถุ ได้แก่ กุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญ อุโบสถ มณฑป หอระฆัง ศาลาธรรมสังเวช กองอ�ำนวยการ
นามเจ้าอาวาสปกครองวัด
1. พระอาจารย์หมัน่ 2. พระอาจารย์อยู่ 3. พระอาจารย์ยวง 4. พระอาจารย์อา้ ต 5. พระอาจารย์พรม 6. พระอาจารย์ยวน 7. พระอาจารย์โปร่ง 8. พระอาจารย์ทอง 9. พระอาจารย์ทวี 10. พระอาจารย์ชาญ 11. พระอาจารย์เฉย 12. พระครูอรรถสิทธิโกศล 13. พระอาจารย์สมพงษ์
โบราณสถานปรางค์ บ้านปรางค์
ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นปรางค์นคร หมูท่ ี่ 14 ต�ำบล บ้านปรางค์ อ�ำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา เป็นศาสนสถานในคติศาสนาฮินดู อายุ ราวพุทธศตวรรษที่ 17 ตรงกับศิลปะขอม สมัยบาปวนตอนปลาย-นครวัดตอนต้น
ก่อสร้างด้วยหินทรายและศิลาแลง แผนผัง ประกอบด้วยปราสาท 3 หลัง ตั้งอยู่บน ฐานเดียวกัน เรียงตามแนวทิศเหนือทิศใต้ มีคนู ำ�้ รูปตัวยูลอ้ มรอบ เว้นทางเดิน เข้าสูโ่ บราณสถานทางด้านทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 สมัยอยุธยาล้านช้าง มีการก่อสร้างอาคารอิฐเพิม่ เติม 1 หลังทางด้านทิศตะวันออกชิดติดกับ ส่วนฐานของกลุม่ ปราสาท เป็นวิหารหรือ หอพระ แผนผังอาคารรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ผนังและพืน้ ก่อด้วยอิฐ เสาและโครงสร้าง เป็นไม้ มุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา กรมศิลปากร ประกาศขึ้นทะเบียน โบราณสถานปรางค์บา้ นปรางค์ เมือ่ วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2479 และประกาศก�ำหนด ขอบเขตโบราณสถาน เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2526 พื้นที่โบราณสถาน 6 ไร่ 80 ตารางวา Located at Ban Prang Nakhon village, Moo 14, Ban Prang sub District, Kong district, Nakhon Ratchasima province. It was built in the Khmer culture in the 11th century AD Its BaphuonAngor Wat style.
The sanctuary was built sandstones and laterites. Assuming those were three sanctuaries on one base. It’s got rectangle plan along north and south sides. Also nave pond in “U” shape it surrounds the sanctuary but terminated the entrance to the sanctuary in the middle of East and West side. The second building in the 14th15th century AD the construction of new, more up another one black. The rectangular built called “Vihar” or “Hor phra” means room for religious Buddha were kept. The sanctuary was built by bricks and is believed to have been covered with the wooden roof tiles. It was officially proclaimed as an Ancient Monument by the King in the Royal Gazette Vol. 53 Issue No 34. (September 27th, 1954 AD) and was officially proclaimed as a Scope Monument by the King in the Royal Gazette Vol. 100 Issue No 36. (March 15th, 1983 AD) NAKHONRATCHASIMA 235
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
พระครูปทุมสรารักษ์
วัดปทุมวนาราม วัดปทุมวนาราม (วัดป่าหนองบัวลาย) ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 118 หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลบัวลาย อ�ำเภอบัวลาย จังหวัดนครราชสีมา มี เนื้อที่รวม 30 ไร่ เป็นวัดที่สวยงามร่มรื่น ไปด้วยป่าไผ่เป็นทีร่ นื่ รมย์แห่งใจ ปัจจุบนั มี พระครูปทุมสีลาภรณ์ เป็นเจ้าอาวาส วัด และเจ้าคณะอ�ำเภอบัวลาย
ประวัติวัดปทุมวนาราม
วัดปทุมวนาราม สร้างขึน้ เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2498 ปีมะแม เดิมเรียกว่า “วัดสุสาน” เพราะตัง้ อยูใ่ นป่าช้าของหมูบ่ า้ น แต่คนส่วนมากเรียกว่า “วัดป่าหนองบัวลาย” ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็น “วัดปทุมวนาราม” เพือ่ ให้ไพเราะและเหมาะสมกับเป็นสถานที่ อยูข่ องพระสงฆ์ และเพือ่ เป็นเกียรติประวัติ แด่หลวงพ่อพระครูปทุมสรารักษ์ ซึง่ เป็น ผู้ริเริ่มในการสร้างวัดนี้
236
ความส�ำคัญของวัด
วัดปทุมวนาราม เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญ ในการศึกษา และเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ตามด�ำริของพระครูปทุมสรารักษ์ ตั้งแต่ เริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน ด้านการศึกษา แผนกนักธรรมเปิด สอนตั้งแต่นักธรรมชั้นตรี ถึงนักธรรมชั้น เอก แผนกบาลีไวยากรณ์ ถึง ป.ธ.4 (บาง ปีมถี งึ ป.ธ. 5-6) มีพระภิกษุสามเณรสอบ ได้ พ ระมหาเปรี ย ญในส� ำ นั ก เรี ย นวั ด ปทุมวนารามหลายรูป และมีศษิ ย์เก่าของ วัดไปศึกษาต่อทีก่ รุงเทพฯจนสอบได้เปรียญ ธรรม 9 ประโยค และเรียนจบปริญญาจาก มหาวิทยาลัยหลายรูป โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระครูปทุมสรารักษ์ ได้มเี มตตาอนุเคราะห์ ให้การอุปถัมภ์ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษา ให้ศษิ ย์ทอี่ ยูใ่ นส�ำนัก และออกจากส�ำนัก ไปแล้ว ด้วยดีตลอดมา ด้านการปฏิบัติธรรม มีการท�ำวัตร เช้า-เย็น แปล เจริญพระพุทธมนต์-ท�ำสมาธิ
ภาวนา ให้เหมาะสมแก่กาลเวลา เป็นประจ�ำ ทุกวัน
ประวัติพระครูปทุมสรารักษ์
พระครูปทุมสรารักษ์ เดิมชือ่ บุญถม สินโพธิ์ เกิดเมือ่ วันอาทิตย์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2458 ปีเถาะ ณ บ้านบ่อตระครอง ต�ำบลโนนข่า อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น บรรพชาอุปสมบท เมือ่ เรียนหนังสือ ไทยจบหลักสูตรของโรงเรียน ท่านได้ออก มาช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพ เมื่อ อายุได้ 20 ปี ได้บรรพชาอุปสมบทที่ วัดประทุมวัน อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2478 ปีกุน โดยมี พระอธิการแก้ว เป็นพระอุปชั ฌาย์ ได้รบั ฉายาว่า ธมฺมธีโร เมือ่ อุปสมบทแล้ว ได้ไปศึกษาพระปริยตั ธิ รรม ทีส่ ำ� นักเรียน วัดศรีนวล จังหวัดขอนแก่น จนจบนักธรรม เอก เมื่อปี พ.ศ.2481
พ.ศ.2488-2491 เป็นครูสอน พระปริยัติธรรมที่วัดธรรมวงศาวาส (หนองบัวนาค) พ.ศ.2491-2492 เป็นครูสอน พระปริยตั ธิ รรมทีว่ ดั ลัฐวิ นั (บ้านคอนฉิม) พ.ศ.2493-2497 เป็นครูสอน พระปริยัติธรรมที่วัดสระปทุม (บ้านหนองลาย) พ.ศ.2498 เป็นครูสอนพระปริยต ั ธิ รรม ที่วัดปทุมวนาราม และเป็นผู้สร้างวัด ปทุมวนาราม (วัดป่าหนองบัวลาย) ศาสนูปถัมภ์ ช่วยสร้างศาลาการเปรียญ วัดบ้านโนนดู่ สร้างกุฏสิ งฆ์วดั บ้านขามป้อม สร้างศาลาการเปรียญวัดบ้านบ่อตะครอง และเป็ น ประธานสร้ า งวั ด โนนท่ า พระ ต�ำบลเพ็กใหญ่ อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น
สมศักดิแ์ ละต�ำแหน่งทางคณะสงฆ์ พ.ศ.2484 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้เป็นครูสอน พระปริยัติธรรม พ.ศ.2488 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดธรรมวงศาวาส (หนองบัวนาค) พ.ศ.2491 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดลัฐิวัน (บ้านคอนฉิม) พ.ศ.2493 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสระปทุม (บ้านหนองบัวลาย) พ.ศ.2494 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลบัวลาย พ.ศ.2496 ได้รบ ั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พ.ศ.2498 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปทุมวนาราม (วัดป่าหนองบัวลาย) พ.ศ.2499 ได้รบ ั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตรเป็น พระครูปทุมสรารักษ์ พ.ศ.2510 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ พ.ศ.2525 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิเ์ ป็นพระครูชนั้ เอก ในราชทินนาม พ.ศ.2530 ได้รบ ั แต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอบัวใหญ่ ศาสนกิจ พ.ศ.2484-2488 เป็นครูสอน พระปริยตั ธิ รรมทีว่ ดั ครองธรรมมิการาม (บ่อตะครอง)
ประวัติพระครูปทุมสีลาภรณ์
พระครูปทุมสีลาภรณ์ (วิชยั ฐิตสีโล) อายุ 68 ปี พรรษา 46 ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส วัดปทุมวนาราม และเจ้าคณะอ�ำเภอบัวลาย สถานะเดิม ชื่อ วิชัย พรมสะแกแสง เกิดวันที่ 20 มกราคม พ.ศ.2491 บิดาชือ่ นายหลัง่ มารดาชือ่ นางปาน บ้านเลขที่ 28 หมู่ที่ 3 ต�ำบลโนนข่า อ�ำเภอพล จังหวัด ขอนแก่น บรรพชา วันที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ.2512 ณ วัดปทุมวนาราม พระอุปัชฌาย์ คือ พระครูปทุมสรารักษ์ พระกรรมวาจารย์ คือ พระครูสถิตธรรมสมโพธิ์ พระอนุสาวนาจารย์ คือ พระเสาร์ เตชวโร วิทยฐานะ พ.ศ.2540 จบชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านบ่อตะครอง ต�ำบลโนนข่า อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น พ.ศ.2514 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ในส�ำนัก
พระครูปทุมสีลาภรณ์ เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอบัวลาย เรียนคณะจังหวัดนครราชสีมา ด้านสังคมสงเคราะห์ เป็นผูน้ ำ� ในการ อบรมสั่งสอนให้ประชาชนใช้หลักธรรม เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวติ อยูใ่ นสังคม อย่างมีความสุข ส่งเสริมให้จดั กิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้สอดคล้องกับโลกปัจจุบนั ไม่วา่ จะ เป็นวันส�ำคัญทางศาสนา หรือวันส�ำคัญ ของชาติ จัดอบรมผูส้ งู อายุ และแสดงธรรม ในทุกๆ วันส�ำคัญ ด้านการศึกษา จัดกองทุนเพือ่ สนับสนุน สงเคราะห์และช่วยเหลือในเรื่องของทุน ต่างๆ ทีใ่ ช้ในการศึกษาของภิกษุสามเณร ในวัดปทุมวนาราม และมอบทุนการศึกษา ให้แก่นักเรียนหรือโรงเรียนต่างๆ ในเขต การปกครอง หรือนอกเขตการปกครอง เช่น แจกอุปกรณ์การเรียน จัดเสื้อผ้าให้ กับกลุม่ ชาวเขาทุกปี และให้ทนุ ค่าอาหาร กลางวันตามโรงเรียนต่างๆ ด้านสาธารณสุข ทางวัดจะต้องดูแล ภิกษุสามเณรที่อาพาธต่างๆ และจัดให้ อนามัยเข้ามาตรวจร่างกายภิกษุสามเณร เป็นประจ�ำทุกปี และเป็นตัวตัง้ ให้ใช้สถานที่ ในการอบรม สัมมนา ให้ความรูด้ า้ นสุขภาพ ของประชาชน เช่น บริจาคโลหิต ด้านการเกษตร ทางวัดได้จดั พืน้ ทีข่ อง วัดส่วนหนึง่ ให้ทำ� การเกษตร ปลูกข้าว เลีย้ ง ปลา ให้กบั ประชาชนทีส่ นใจ หรือผูท้ ไี่ ม่มี พื้นที่ท�ำมาหากิน NAKHONRATCHASIMA 237
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเชตุดรวนาราม วัดเชตุดรวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 100 บ้านแดงน้อย หมู่ที่ 2 ต�ำบลเมืองพะไล อ� ำ เภอบั ว ใหญ่ จั ง หวั ด นครราชสี ม า สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมี เนือ้ ที่ 35 ไร่ 3 งาน 12 ตารางวา ปัจจุบนั มี พระครูสถิตรัตนสุนทร เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดเชตุดรวนาราม
วัดเชตุดรวนาราม ตัง้ เมือ่ พ.ศ.2471 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2553 เขตพัทธสีมา กว้าง 36 เมตร ยาว 47 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาโรงธรรม เมรุ ศาลาเอนกประสงค์ กุฏิ หอระฆัง ศาลา บ�ำเพ็ญกุศล
ความส�ำคัญของวัด
เป็นวัดทีเ่ ป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน ในการประกอบพิธที ำ� บุญ เนือ่ งในเทศกาล วันส�ำคัญทางศาสนา และประเพณีตา่ งๆ และมีการจัดงานปาริวาสกรรมและปฏิบตั ธิ รรม เป็นประจ�ำทุกปี โดยในปี 2560 นี้ จัดขึน้ เป็นปีที่ 8 แล้ว เป็นที่ตั้งกองทุนหมู่บ้าน เป็นสถานทีจ ่ ดั งานต่างๆ ขององค์การ
238
บริหารส่วนต�ำบลเมืองพะโล
พระครูสถิตรัตนสุนทร เจ้าอาวาสวัด
นามเจ้าอาวาสปกครองวัด
1. พระอธิการค�ำตัน สีลเตโช พ.ศ.2525-2536 2. พระอธิการบุญตา คุณธมฺโม พ.ศ.2536-2540 3. พระอธิการแก้ว ธนิสฺสโร พ.ศ.2540-ปัจจุบัน พระอธิการแก้ว วัดเชตุดรวนาราม จังหวัดนครราชสีมา ได้รบั พระราชทานเลือ่ น สมณศักดิ์เป็น พระครูสถิตรัตนสุนทร เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2557 เป็นปีที่ 69 แห่งรัชกาลที่ 9 โดยมีพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นผูร้ บั สนอง พระราชโองการ
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ประวัติ ทต.ล�ำนางแก้ว
นายสมหวัง เจตนา นายกเทศมนตรีต�ำบลล�ำนางแก้ว
เทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว “ล�ำนางแก้วน่าอยู่ ผู้คนมีคุณธรรม น�ำชุมชนเข้มแข็ง แหล่งเกษตรอินทรีย์ มีการบริหารแบบธรรมาภิบาล การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ หลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาอาชีพ สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน ฟื้นฟูวัฒนธรรมท้องถิ่น” คือวิสยั ทัศน์ของเทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว ซึง่ มีสำ� นักงาน ตั้งอยู่เลขที่ 292 หมู่ที่ 3 ต�ำบลล�ำนางแก้ว อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของ อ�ำเภอปักธงชัย มีระยะทางห่างจากอ�ำเภอปักธงชัยประมาณ 35 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนครราชสีมาประมาณ 80 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นายสมหวัง เจตนา ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ต�ำบลล�ำนางแก้ว และมี นายยงยุทธ วังภูงา ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดเทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว
เทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว แต่เดิมคือสภาต�ำบลล�ำนางแก้ว ซึง่ ได้รบั การจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลล�ำนางแก้ว โดย กระทรวงมหาดไทย ประกาศจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ล�ำนางแก้ว เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2539 ต่อมาในปี พ.ศ.2550 คณะผูบ้ ริหารพร้อมด้วยสภาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลล�ำนางแก้ว มีแนวความคิดที่จะยกฐานะเป็น เทศบาลต�ำบลล�ำนางแก้ว เพือ่ เพิม่ โอกาสการพัฒนาต�ำบล ให้ ทันเหตุการณ์และรวดเร็วมากขึน้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในพืน้ ทีต่ ำ� บลล�ำนางแก้ว จึงเริม่ ด�ำเนินการตาม ระเบียบและขัน้ ตอนการยกฐานะเป็นเทศบาลต�ำบล ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2550
รัชกาลที่ 10 เสด็จฯ ต.ล�ำนางแก้ว
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ.2540 เวลา 16.00 น. สมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จฯ ทรงเป็นองค์ประธานปลูกต้นไม้ตน้ ที่ 100 ล้านของการปิโตรเลียม แห่งประเทศไทย (ปตท.) ในโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ณ พืน้ ทีแ่ ปลงปลูกป่า FPT. 49 ต�ำบลล�ำนางแก้ว อ�ำเภอปักธงชัย จังหวัดนครราชสีมา โดยต้นไม้ทที่ รงปลูกคือต้นประดูป่ า่ ซึง่ เป็น กล้ า ไม้ ม งคลชนิ ด เดี ย วกั บ ที่ ปตท.ได้ รั บ พระราชทานจาก สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ใน พ.ศ.2537 เหตุการณ์ส�ำคัญดังกล่าว นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ ยังความซาบซึง้ ใจและปลาบปลืม้ ใจมาสู่ ชาวต�ำบลล�ำนางแก้วจวบจนทุกวันนี้
NAKHONRATCHASIMA 239
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดศาลาหนองขอน
วัดศาลาหนองขอน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 250 หมู่ 5 ต�ำบลบึงพะไล อ�ำเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา มีทดี่ นิ ตัง้ วัดจ�ำนวน 7 ไร่ 2 งาน 75 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูญาณิสสรคุณ (สมร ญาณิสฺสโร) เจ้าคณะอ�ำเภอแก้งสนามนาง เป็นเจ้าอาวาส
เขตที่วัด และที่ส�ำคัญคือ ได้น�ำชาวบ้าน สร้างอุโบสถขึน้ เพือ่ เป็นทีใ่ ช้ทำ� สังฆกรรม ของพระภิกษุสงฆ์ และได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2535 และได้ท�ำสังฆกรรมผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ.2537
ประวัติวัดโดยสังเขป
ความส�ำคัญของ วัดศาลาหนองขอน
วัดศาลาหนองขอน แต่เดิมนัน้ ตัง้ อยู่ ทีด่ อนวัดเก่า โดยมีพระอาจารย์วรี ะ จาก จังหวัดมหาสารคาม ได้พาชาวบ้านก่อสร้าง เสนาสนะต่างๆ ขึน้ พอเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและ บ�ำเพ็ญสมณกิจของพระภิกษุสามเณร ได้ ต่อได้ย้ายมาตั้งอยู่ในที่ที่ตั้งวัดศาลา หนองขอนในปัจจุบนั และได้ประกาศตัง้ วัดเมื่อ พ.ศ.2480 โดยพระภิกษุที่มาอยู่ จ�ำพรรษาตามล�ำดับหลายรูป จนถึงปี พ.ศ.2518 พระครูญาณิสสรคุณ (สมร ญาณิสฺสโร) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ได้เข้า มาพัฒนาวัดและก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ขึน้ เป็นจ�ำนวนมาก และได้ซอื้ ทีด่ นิ ขยาย 240
ปัจจุบนั วัดศาลาหนองขอนเป็นส�ำนัก ปฏิบตั ธิ รรมแห่งที่ 2 ของจังหวัดนครราชสีมา และเป็นวัดอุทยานการศึกษาของส�ำนัก พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี 2556
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสและ รักษาการฯ
1. พระอาจารย์วีระ 2. พระอาจารย์โมก 3. หลวงปู่สอน 4. พระอาจารย์ทองอินทร์ 5. พระอาจารย์ขุน วัดทุ่งใหญ่
6. พระอาจารย์ค�ำเบา ชุติปณฺโญ 7. พระอาจารย์สมพร เสนานิคม 8. พระอาจารย์ทองแดง ทานทอด 9. พระครูญาณิสสรคุณ (สมร ญาณิสสฺ โร) พ.ศ.2521-ปัจจุบัน
ประวัติเจ้าอาวาส วัดศาลาหนองขอน
พระครูญาณิสสรคุณ ฉายา ญาณิสสฺ โร อายุ 71 พรรษา วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ม 6 สถานะเดิม ชือ่ สมร นามสกุล ซากัน เกิดวันที่ 6 กันยายน พ.ศ.2486 บิดาชื่อ นายค�ำมี มารดาชือ่ นางอ่อน เกิดทีบ่ า้ น เลขที่ 89 หมู่ที่ 8 ต�ำบลนามน อ�ำเภอ เมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ บรรพชา/อุปสมบท วันที่ 20 มิถนุ ายน ณ วัดอรัญญิการาม ต�ำบลนามน อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ พระอุปชั ฌาย์ พระครูอดุ มธรรมานุวฒ ั น์ วัดสว่างวารี ต�ำบลนามน อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด กาฬสิ น ธุ ์ พระกรรมวาจารย์
พระอธิการเชื่อม วุฑฺฒิธมฺโม วัดค�ำบง ต�ำบลค�ำบง อ�ำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัด กาฬสินธุ์ พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการ ดาว จกฺกวโร วัดสงเปลือย ต�ำบลสงเปลือย อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ วิทยฐานะ พ.ศ.2496 ส�ำเร็จการศึกษาประถมศึกษา ปีที่ 4 จากโรงเรียนหนองโพนสูง จังหวัด กาฬสินธุ์ พ.ศ.2513 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักวัดดงเค็ง ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด มหาสารคาม พ.ศ.2544 ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษา ตอนปลาย จากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน อ�ำเภอแก้งสนามนาง การปกครอง พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัด ศาลาหนองขอน พ.ศ.2523-2540 เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บล บึงพะไล พ.ศ.2526-ปัจจุบัน เป็นพระอุปช ั ฌาย์ พ.ศ.2540-2547 เป็ น รองเจ้ า คณะ อ�ำเภอแก้งสนามนาง พ.ศ.2547-ปัจจุบัน เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ แก้งสนามนาง งานการศึกษา พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เป็นครูสอนปริยต ั ิ แผนกธรรม และเป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษา ศาลาหนองขอน พ.ศ.2547-ปัจจุบัน เ ป ็ น ป ร ะ ธ า น
อ�ำนวยการสอบธรรมสนามหลวง ประจ�ำ สนามสอบวัดศาลาหนองขอน อ�ำเภอ แก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา งานเผยแผ่ พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เป็นองค์แสดงธรรม ทุกๆ วันธรรมสวนะ ประจ�ำวัดศาลาหนองขอน พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เป็นประธานหน่วย อบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลบึงพะไล พ.ศ.2527-2539 เป็นพระธรรมทูตฝ่าย ปฏิบัติการ ประจ�ำอ�ำเภอเก้งสนามนาง
พระครูญาณิสสรคุณ เจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะอ�ำเภอแก้งสนามนาง เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบล ชัน้ ตรี (จต.ชต) ในราชทินนามว่า “พระครู ญาณิสสรคุณ” พ.ศ.2537 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ ต�ำบลโท (จต.ชท.) ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2546 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร รองเจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ เอก (รจอ.ชอ.) ใน ราชทินนามเดิม พ.ศ.2551 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ น สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะ อ�ำเภอชัน้ เอก (จอ.ชอ.) ในราชทินนามเดิม พ.ศ.2557 เป็นพระครูเจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม
พ.ศ.2540-2546 เป็ น รองหั ว หน้ า พระธรรมทูตฝ่ายบริหาร ประจ�ำอ�ำเภอ เก้งสนามนาง พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เ ป ็ น หั ว ห น ้ า พระธรรมทูตฝ่ายบริหาร ประจ�ำอ�ำเภอ เก้งสนามนาง พ.ศ.2523-ปัจจุบัน เป็นพระวิปส ั สนา จารย์ รุน่ ที่ 3 จังหวัดนครราชสีมา ประจ�ำ อ�ำเภอเก้งสนามนาง สมณศักดิ์ พ.ศ.2529 ได้รบ ั พระราชทานสมณศักดิ์
NAKHONRATCHASIMA 241
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหลวงราชบ�ำรุง
วัดหลวงราชบ�ำรุง ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 220 หมู่ 1 บ้านศาลเจ้าพ่อ ต�ำบลวังน�้ำเขียว อ�ำเภอวังน�้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมี พระครูประกาศสุวรรณคุณ เป็นเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลระเริง เขต 1
ประวัติวัดหลวงราชบ�ำรุง
วัดหลวงราชบ�ำรุง เป็นวัดเก่าแก่ ดั้งเดิม สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.2481 มี เนื้อที่ทั้งหมด ประมาณ 23 ไร่ เมื่อ พ.ศ. 2530 กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ประกาศตั้งวัดหลวงราชบ�ำรุง เป็นวัดถูก ต้องตามกฎหมาย ปัจจุบันมีพระภิกษุ 19 รูป สามเณร 3 รูป
นามเจ้าอาวาส-พระสงฆ์ ผู้ดูแลวัด
1. พระชุบ อคฺคธมฺโม 2. พระตริ ปญฺญาปุตโฺ ต (ด�ำรงกิตย์) ท่าน 242
ได้ท�ำการก่อสร้างศาลาการเปรียญ โบสถ์หลังเก่าและกุฏิเจ้าอาวาส 3. พระเย็น อุตโร 4. พระหวิง ปญฺญาวุโธ 5. พระอธิการบรรพต ชาคโร พ.ศ.2530 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส (มรณภาพ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2551) พ.ศ.2533 ได้ รั บ พระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูบรรพต ชาคโร พ.ศ.2537 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น พระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2538 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น
เจ้าคณะต�ำบลวังน�้ำเขียว เขต 2 พ.ศ.2539 ได้ รั บ พระราชทาน สมณศักดิ์เป็นพระครูสุนทรชาครธรรม พ.ศ.2542 ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าคณะอ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว 6. เจ้าอธิการณรงค์ สิริวณฺโณ ได้รับแต่ง ตั้งเป็นเจ้าอาวาส พ.ศ.2551
ประวัติ พระครูประกาศสุวรรณคุณ
พระครูประกาศสุวรรณคุณ (ณรงค์ สิรวิ ณฺโณ) อายุ 64 ปี พรรษา 28 วิทยฐานะ น.ธ. เอก ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดหลวงราชบ�ำรุง และเจ้าคณะต�ำบลระเริง เขต 1 การปกครอง พ.ศ.2543 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดหลวงราชบ�ำรุง พ.ศ.2545 เป็นรองเจ้าอาวาส วัดหลวงราชบ�ำรุง
พระครูประกาศสุวรรณคุณ เจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลระเริง เขต 1
พ.ศ.2548 เป็นเจ้าคณะต�ำบลระเริง เขต 1 พ.ศ.2551 เป็นเจ้าอาวาส วัดหลวงราชบ�ำรุง งานการศึกษา พ.ศ.2546 เป็นครูสอนพระปริยต ั ธิ รรม ส�ำนักศาสนศึกษา วัดหลวงราชบ�ำรุง พ.ศ.2548 เป็ น กรรมการสอบธรรม สนามหลวงแผนกธรรม อ�ำเภอวังน�ำ้ เขียว พ.ศ.2548 เป็ น ครู พ ระสอนศี ล ธรรม ประจ�ำโรงเรียนวังน�ำ้ เขียวพิทยาคม พ.ศ.2550 เป็ น คณะกรรมการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านศาลเจ้าพ่อ พ.ศ.2550 เป็ น คณะกรรมการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐานโรงเรียนวังน�ำ้ เขียวพิทยาคม พ.ศ.2551 เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษา วัดหลวงราชบ�ำรุง ต�ำบลวังน�้ำเขียว พ.ศ.2552 เป็นผูอ ้ ำ� นวยการศูนย์ศกึ ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วดั หลวงราชบ�ำรุง ใบอนุญาตเลขที่ 114/2550
งานการก่อสร้าง พ.ศ.2551 เป็นผู้ด�ำเนินการ ก่อสร้าง อุโบสถ ลักษณะทรงไทยประยุกต์ สิน้ เงิน ค่าก่อสร้างทัง้ สิน้ จ�ำนวน 10,850,999 บาท พ.ศ.2556 เป็ น ผู ้ ด�ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง ก�ำแพงแก้วและซุม้ ประตู 4 ซุม้ สิน้ เงินค่า ก่อสร้างทั้งสิ้น จ�ำนวน 955,000 บาท งานบูรณและปฏิสังขรณ์ พ.ศ.2557 เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การบู ร ณปฏิสังขรณ์ หอสวดมนต์ และหอฉัน พ.ศ.2559 เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การบู ร ณปฏิสงั ขรณ์ฌาปนสถาน โดยย้ายออกมา จากทีเ่ ดิม 15 เมตร เนือ่ งจากติดถนนมาก เกินไป บูรณใหม่ด้วยการเทพื้นท�ำเป็น ทรายล้าง ทาสีใหม่ทั้งหมด เทคอนกรีต เสริมเหล็ก กว้าง 30 เมตร ยาว 30 เมตร รอบเมรุ รวมเป็นเงินทัง้ สิน้ 1,135,290 บาท
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั พระครูประกาศสุวรรณคุณ เจ้าอาวาสวัดหลวงราชบ�ำรุง ก�ำลังก่อสร้าง ก�ำแพงวัด สูง 1 เมตร 70 เซนติเมตร ยาว 200 เมตร รอบวัดหลวงราชบ�ำรุง จึงขอ เรี ย นเชิ ญ ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว มสมทบทุ น สร้าง โดยสามารถสอบถามได้ทโี่ ทรศัพท์ 087-2497550 NAKHONRATCHASIMA 243
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดไพล วั ด ไพล ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ 4 บ้ า นไพล ต�ำบลไพล อ�ำเภอล�ำทะเมนชัย จังหวัด นครราชสีมา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระอธิการบุญยิ่ง อาภากโร เป็นเจ้าอาวาสวัด
ประวัติวัดไพล
วัดไพล เดิมตัง้ อยูท่ ศิ อิสานของหมูบ่ า้ น เดิมชือ่ วัดอิสาน โดยการน�ำของนายล่าม ลือนาม สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2460 ต่อมา เมือ่ ปี พ.ศ.2467 นายล่าม ลือนาม ซึง่ เป็น หัวหน้าหมู่บ้านในขณะนั้น มองเห็นว่า สถานทีว่ ดั นัน้ ไม่เหมาะสม เพราะมีเนือ้ ที่ แค่ 8 ไร่ ไม่เหมาะแก่การพัฒนาให้เจริญ รุ่งเรืองในอนาคต จึงได้ย้ายวัดมาตั้งใน สถานทีแ่ ห่งใหม่ ซึง่ อยูท่ างทิศพายัพของ หมู่บ้าน โดยมีผู้ศรัทธาบริจาคที่ดินเพื่อ ตั้งวัดแห่งใหม่ คือ นายอู และ นายแดง เล็งดี แล้วเปลีย่ นชือ่ วัดใหม่ ชือ่ ว่า “วัดไพล” ตามชือ่ ของหมูบ่ า้ นไพล ซึง่ คือสถานทีต่ งั้ ในปัจจุบัน โดยมีเนื้อที่วัดทั้งหมด 10 ไร่
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
วัดไพล มีเจ้าอาวาสปกครองวัดตัง้ แต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ 1. พระอาจารย์แก พ.ศ.2460-2467 2. พระอาจารย์หมอง พ.ศ.2467-2472 3. พระอาจารย์ส่ง พ.ศ.2472-2476 4. พระอาจารย์ทองดี พ.ศ.2476-2489 5. พระอาจารย์แก้ว สีลานุโลโม พ.ศ.2489-2500
244
วัดโนนแดง
พระอธิการบุญยิ่ง อาภากโร เจ้าอาวาส 6. พระอาจารย์เรือง พ.ศ.2500-2511 7. พระอาจารย์สำ� เรียง ปสันนจิตโต พ.ศ.2512-2520 8. พระอาจารย์หนูเจน จิตตาโร พ.ศ.2520-2523 9. พระอธิการใหญ่ ธัมมรโต พ.ศ.2523 10. พระอธิการบุญยิ่ง อาภากโร พ.ศ.2556 ถึงปัจจุบัน
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พระอธิการบุญยิง่ อาภากโร เจ้าอาวาส วัดไพล ก�ำหนดให้มีงานผูกพัทธสีมา ท�ำบุญปิดทองฝังลูกนิมติ วัดไพล ระหว่าง วันที่ 7-15 เมษายน พ.ศ.2561 จึงขอเรียน เชิญพุทธศาสนิกชนผูม้ จี ติ ศรัทธาร่วมงาน บุญดังกล่าว เพื่อเป็นสิริมงคล สมบูรณ์ ด้วยทรัพย์สนิ เงินทอง มีผวิ พรรณผ่องใส ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสิ่งอัปมงคล ทัง้ หลาย โทร. 0981962434, 0991700904
NAKHONRATCHASIMA 245
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดหนองหัวแรด วัดหนองหัวแรด เลขที่ 245 หมู่ที่ 1 ต�ำบลแหลมทอง อ�ำเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา เป็นวัดราษฎร์สงั กัด มหานิกาย ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ ภาค 11 สร้างเมื่อปี พ.ศ.2425 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ ปี พ.ศ.2522 ปัจจุบันมี พระครูวิมลสารวิสุทธิ์ เป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองบุญมาก และ เจ้าอาวาสวัด
ความส�ำคัญของ วัดหนองหัวแรด
เป็นศูนย์กลางและการเรียนรูข้ องชุมชน มาตั้งแต่โบราณ เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ.2541 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างทีม ่ ผี ลงานดีเด่น ปี พ.ศ.2558 เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด นครราชสีมา แห่งที่ 14 เป็นหน่วยอบรมประชาชน (อปต.) ดีเด่น
246
ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม เป็ น ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา วั น อาทิตย์ (ต้นแบบ) วัดเป็นลานธรรม ลานใจ ลานกีฬา สาม ลานประสานใจ เป็นลานธรรม ลานบุญ ลานวิถีไทย เทิดไท้องค์ราชัน เป็นศูนย์สง ่ เสริมสุขภาพ ศูนย์ คว.ร. รักษา ป่า และได้รับรางวัลมงคลสรรเสริญ เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชน การศึกษา
นอกโรงเรียน (กศน.) เป็นศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก อบรมเด็กก่อน เกณฑ์ ภายในวัด เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ มี ผ ลการ ด�ำเนินงานและมีการพัฒนาตามเกณฑ์ มาตรฐาน ตามระเบียบเถรสมาคม เป็นวัดสะอาด ระดับดีเยีย ่ ม จากโครงการ โคราชเมืองสะอาด เป็ น วั ด ที่ รั ก ษาป่ า ให้ เ ป็ น ธรรมชาติ สมบูรณ์ ประมาณ 80 ไร่ เป็นทีต ่ งั้ ชมรมผูร้ กั ษาศีลอุโบสถ อ�ำเภอ หนองบุญมาก มีสมาชิกเข้าร่วมชมรมทัง้ อ�ำเภอประมาณ 800 กว่าชีวิต ได้รบ ั รางวัล “วัดส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ดีเด่น” ของมูลนิธิภูมิปัญญาสากล เป็นวัดสงเคราะห์ประชาชน ด้วยการ ท�ำน�ำ้ ประปาให้กบั ประชาชน ใน 2 ต�ำบล 6 หมูบ่ า้ น ประชากรประมาณ 1,000 กว่า ครัวเรือน เพือ่ ช่วยแบ่งเบาภาระของภาครัฐ เป็ น ศู น ย์ ส าธิ ต โครงการทฤษฎี ใ หม่
พระครูวิมลสารวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัด และรองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองบุญมาก
เพือ่ เศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชด�ำริ ในเนื้อที่ 20 ไร่ โดยแบ่งท�ำนาปลูกข้าว 10 ไร่ ขุดเป็นบ่อน�ำ้ -คลองน�ำ้ เพือ่ กักเก็บน�ำ้ 6 ไร่ ปลูกพืชผักสวนครัว-ผลไม้ บนเนือ้ ที่ 2 ไร่ ตามทฤษฎีใหม่ ซึ่งได้ผลผลิตน�ำส่ง ตลาดทุกวัน ทัง้ พืชผัก-ผลไม้ตา่ งๆ มีตลาด รองรับทั้งปี โดยการใช้น�้ำหมัก-ปุ๋ยหมัก ชีวภาพ ไม่ใช้สารเคมี เพื่อให้ประชาชน ศึกษาดูเป็นตัวอย่าง เป็นศูนย์สาธิตการท�ำน�้ำหมักชีวภาพ เพื่อสุขภาพของมนุษย์โลก ปัจจุบันมีผู้ที่ สนใจเข้ามาศึกษาและน�ำไปใช้ทงั้ ในประเทศ และต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์-จีน-เกาหลี
กิจกรรมของ วัดหนองหัวแรด
วัดหนองหัวแรดมีกจิ กรรมตลอดทัง้ ปี เพราะเป็นศูนย์กลางของอ�ำเภอ ซึ่งมี หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนเข้ามาร่วม ท�ำกิจกรรม โดยมีกิจกรรมหลักๆ ดังนี้ ด้านการศึกษา
และสถานที่อื่นๆ ทั้งในเขตหรือนอกเขต จังหวัดนครราชสีมา 3. จัดปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ พัฒนาจิต ในวันหยุด สุดสัปดาห์และทุกต้นเดือน เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิต ด้านอื่นๆ กิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา วันส�ำคัญของชาติ วันส�ำคัญทาง วัฒนธรรมประเพณี และวันอื่นๆ ที่มี หน่วยงานของภาครัฐ-เอกชน เข้ามาจัด พิธีภายในวัด 1. มีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม (แผนกธรรม) 2. มีการเรียนการสอนพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ (ในวัด) 3. มีการเรียนการสอน การศึกษานอก โรงเรียน (กศน.ในวัด) 4. มีการเรียนการสอน อบรมเด็กภายในวัก 5. มีการเรียนการสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านการปฏิบัติ 1. จัดปฏิบตั ธิ รรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา วันส�ำคัญของชาติ และวันส�ำคัญ ทางวัฒนธรรม ประเพณี หรือในกรณีพเิ ศษ 2. จัดปฏิบตั ฝิ กึ อบรมวิปสั สนากรรมฐาน 4 แห่ง ในเขตอ�ำเภอหนองบุญมาก แห่งละ 10 วัน ในรูปแบบของการเข้าอยูป่ ริวาสกรรม
ประวัติเจ้าอาวาส วัดหนองหัวแรด
พระครูวมิ ลสารวิสทุ ธิ์ (พระมหาแก่น อนงฺคโณ) อายุ 72 ปี พรรษา 51 วิทยฐานะ ปธ.3 นธ.เอก ปริญญาตรี พธม. กิตติมศักดิ์ สาขาพระพุทธศาสนา ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสและรองเจ้าคณะ อ�ำเภอหนองบุญมาก เป็นพระอุปัชฌาย์ เป็ น พระวิ ป ั ส สนาประจ� ำ จั ง หวั ด นครราชสีมา เป็นอาจารย์สอนวิปส ั สนาใน มจร. นครราชสีมา เป็นพระนักพัฒนาในด้านวัตถุถาวร และในด้านจิตใจ NAKHONRATCHASIMA 247
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดโนนแดง วัดโนนแดง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 192 หมูท่ ี่ 15 ตลาดโนนแดง ต�ำบลโนนแดง อ�ำเภอ โนนแดง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบันมี พระครูสิริกัลยาณคุณ เจ้าคณะต�ำบล โนนแดง และเป็นเจ้าอาวาส
ประวัติความเป็นมา
วัดโนนแดง ก่อตัง้ ประมาณปี พ.ศ.2480 เดิมตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหัวโคก ชือ่ วัดบ้านหัวโคก มีศาลาตั้งอยู่ติดกับถนนเจนจบทิศ เป็น ถนนยุทธศาสตร์สู่อีสาน เป็นที่เรียนของ นักเรียน ชื่อว่าโรงเรียนวัดบ้านหัวโคก เมื่อปี พ.ศ.2485 ชาวบ้านได้ร่วมกัน ย้ายวัดมาตั้งที่หมู่บ้านโนนแดง ซึ่งเป็น ศูนย์กลางของชุมชนหลายหมู่บ้าน เพื่อ ความสะดวกในการเดินทางมาท�ำบุญ บริเวณ วัดมีตน้ ไม้แดงจ�ำนวนมาก ประกอบกับดิน มีสแี ดง บ้างก็เรียกว่า “โนนดินแดง” และ “โนนไม้แดง” ซึง่ เป็นทีม่ าของชือ่ วัดโนนแดง จนถึงปัจจุบันนี้ จากนัน้ ชาวบ้านได้นมิ นต์พระอาจารย์ภ่ ู ถิรวิริโย (พระครูมนูญธรรมเวที) จากวัด โคกหนองแวง มาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และได้ ข ยายที่ วั ด ออกไปติ ด กั บ ถนน เจนจบทิศ แม่ตุ๋ย พันสาง ได้ถวายที่ดิน ให้เพื่อก่อสร้างกุฏิสงฆ์ ศาลาวัดใช้เป็นที่ เรียนของนักเรียนได้ก่อสร้างศาลาการ เปรียญ โดยใช้เสาไม้ทงั้ ต้นซึง่ ดูได้ยากใน ปัจจุบนั และก่อสร้างอุโบสถตามล�ำดับ ปี พ.ศ.2519 หลวงพ่อภู่ ถิรวิรโิ ย มรณภาพลง ขณะที่งานก่อสร้างอุโบสถก�ำลังจะเสร็จ สมบูรณ์ รอการผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต พระมหากิตติพล กัลยาณจารี ปธ.5 ลูกศิษย์หลวงพ่อภู่ ซึ่งจ�ำพรรษาอยู่ที่วัด เจ็ดยอด จ.เชียงราย ได้กลับมาด�ำเนินการ ก่อสร้างอุโบสถต่อจนเสร็จสมบูรณ์ และ ได้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส เป็นรูปที่ 2 จนถึงปัจจุบัน 248
วัดโนนแดง
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูสริ กิ ลั ยาณคุณ อายุ 58 พรรษา 38 วิทยฐานะ นักธรรมเอก ปธ.5 ชือ่ เดิม กิตติพล แก้วระหัน เกิดเมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2500 บิดาชื่อนายเลื่อน แก้วระหัน มารดาชื่อนางเป้า แก้วระหัน ถิ่นก�ำเนิด เดิม ต�ำบลโนนแดง อ�ำเภอโนนแดง จังหวัด นครราชสีมา ปี พ.ศ.2515 จบการศึกษาชัน้ ประถม ศึกษาปีที่ 7 จากโรงเรียนชุมชนโนนแดง ได้ บ รรพชาเป็ น สามเณรเพื่ อ ศึ ก ษา พระธรรมวินยั ทีว่ ดั โนนแดง ต่อมาหลวง พ่อภูไ่ ด้สง่ ไปศึกษาต่อทีส่ ำ� นักเรียนเจ้าคณะ จังหวัดอ่างทอง จนสอบได้นักธรรมเอก ปี พ.ศ.2525 สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค จากส�ำนักเรียนเจ้าคณะจังหวัด เชียงราย และสอบได้วชิ าชุดครูพเิ ศษมัธยม (พ.ม.) ความสามารถพิเศษเชิงช่างเขียนแบบ และออกแบบ และการแกะลายกนก สิง่ ก่อสร้างในวัดส่วนใหญ่จะออกแบบและ ควบคุมการก่อสร้างเอง ปี พ.ศ.2529 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด โนนแดง เจ้าคณะต�ำบลโนนแดง ปี พ.ศ. 2533 เป็นพระอุปชั ฌาย์ ปี พ.ศ.2550 ได้ รั บ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู ชั้นเอก พระครูสิริกัลยาณคุณ
สิ่งก่อสร้าง-เสนาสนะ
พระครูสริ กิ ลั ยาณคุณ ได้พฒ ั นาและ
บูรณปฏิสงั ขรณ์วดั โนนแดงมาโดยตลอด อาทิ ซ่อมแซมโบสถ์ โดยใช้งบประมาณ 3-4 ล้านบาท ก่อสร้างอาคารห้องสมุด 1.5 ล้านบาท ซ่อมแซมศาลาการเปรียญ ใช้งบประมาณ 3-4 ล้านบาท ซึง่ ปัจจัยใน การก่อสร้างมาจากแรงศรัทธาของญาติ โยม และประชาชนจากทัว่ สารทิศทีม่ ตี อ่ หลวงพ่อพระครูสิริกัลยาณคุณอย่างแท้ จริง ดังนัน้ หลวงพ่อพระครูสริ กิ ลั ยาณคุณ จึงใช้กศุ โลบายทีว่ า่ ...เป็นผูใ้ ห้กอ่ น ท่าน มักจะให้การสงเคราะห์โรงเรียน โรงพยาบาล โรงพัก ให้ทุนการศึกษานักเรียน ให้การ สงเคราะห์ผทู้ ตี่ กทุกข์ได้ยากต่างๆ โดยวิชา จากต�ำราหมอดู มาสงเคราะห์ชว่ ยเหลือ ชาวบ้าน ซึ่งไม่ได้ให้เชื่ออย่างงมงาย แต่ ช่วยให้คลายทุกข์ เดือดร้อน ผ่อนหนักให้ เป็นเบา อีกวิชาส�ำคัญคือ การฝังตะกรุดทองค�ำ ทีท่ อ้ งแขน ซึง่ ให้คณ ุ ในทางอยูย่ งคงกระพัน และเมตตามหานิยม ซึ่งช่วยสงเคราะห์
พระครูสิริกัลยาณคุณ เจ้าคณะต�ำบลโนนแดงและเจ้าอาวาสวัด ญาติโยมชาวบ้านมาคูข่ นานกับหลวงพ่อคูณ มานานแล้ว จนเป็นทีก่ ล่าวขานบอกต่อๆ กันไป จนมีศษิ ย์ทวั่ ประเทศและต่างประเทศ โดยท่านจะเน้นช่วยเหลือผูท้ มี่ ที กุ ข์ มีภยั และจะท�ำให้เพียงสองวัน คือ วันจันทร์ ซึง่ จะเป็นวันเมตตามหานิยม และวันเสาร์จะ เป็นการแคล้วคลาดจากภัยต่างๆ ทัง้ นี้ ปัจจัย ที่ ไ ด้ จ ากการช่ ว ยสงเคราะห์ ญ าติ โ ยม หลวงพ่อจะน�ำมาปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้าง ในวัดดังที่กล่าวไปข้างต้น ซึ่งหากไม่มีสิ่ง ดึงดูดญาติโยมประชาชนเข้าวัดเช่นว่านี้ แล้ว ไฉนเลยจึงจะได้ปจั จัยมาบูรณะสร้าง วัดได้ถึงเพียงนี้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบนั ทางวัดโนนแดงก�ำลังด�ำเนินการ สร้างศาลาปฏิบัติธรรม และก�ำแพงวัด จึงขอเชิญผูม้ จี ติ ศรัทธาร่วมสมทบทุนสร้าง ได้ที่ หลวงพ่อพระครูสิริกัลยาณคุณ เจ้าอาวาสวัดโนนแดง โทร. 08-1658-0166 NAKHONRATCHASIMA 249
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดดงเค็ง ต.ประทาย อ.ประทาย จ.นครราชสีมา ปัจจุบนั มี พระมหาวชิรา ปญฺญาธโร เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดดงเค็ง
เมือ่ ราวปี พ.ศ.2459 มีชาวบ้านแห่มะโม อ.โกสุมพิสัย จ.มหาสารคาม อพยพมา ตั้งรกรากอยู่ใกล้บึงกระโตน ผู้น�ำจึงตั้ง ชื่อหมู่บ้านกระโตน อยู่ต่อมาเกิดโรคห่า (โรคอหิวาต์) ประชาชนล้มตายเป็นจ�ำนวน มาก จึงย้ายหมูบ่ า้ นไปอยูท่ หี่ มูบ่ า้ นดงเค็ง ซึง่ ห่างจากเดิมประมาณ 30 เส้น ปัจจุบนั คือตลาดดงเค็ง เมือ่ ปี พ.ศ.2470 หลวงพ่อ ขันตี หรือ ยาคูขนั ตี ได้เดินทางมาเยีย่ ม ญาติที่บ้านดงเค็ง ชาวบ้านจึงนิมนต์ให้ ท่านอยู่เป็นประธานเพื่อสร้างวัดประจ�ำ หมูบ่ า้ น ท่านก็ยนิ ดีรบั นิมนต์ ตกลงสร้าง วัดนีข้ นึ้ เมือ่ พ.ศ.2470 และช่วยพัฒนาวัด มาตามล�ำดับ ท่านปกครองวัดนีม้ าถึง 17 ปี จึงมรณภาพ ในปี 2481 ปัจจุบันนี้เจดีย์ บรรจุอฐั ขิ องท่านก็ยงั ปรากฏอยูท่ รี่ ม่ โพธิ์ 250
วัดดงเค็ง ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดดงเค็ง
1. หลวงพ่อขันตี พ.ศ.2470-2481 2. หลวงพ่อสวด พ.ศ.2482-2485 3. หลวงพ่อลุก พ.ศ.2486 4. หลวงพ่อเบ็ง พ.ศ.2488 ลาสิกขา 5. พระอาจารย์อุดม พ.ศ.2489-2488 6. พระอาจารย์จันทร์ พ.ศ.2495 7. หลวงพ่อพุทธา พ.ศ.2496 8. พระมหาสังวร พ.ศ.2507 9. พระครูศรีปริยัติคุณ (หลวงปู่เจ้าพระคุณพระปริยัติมุนี) พ.ศ.2508-2554 10. พระมหาวชิรา ปญฺญาธโร พ.ศ.2554-ปัจจุบัน
ประวัติการสร้างวัตถุมงคล วัดดงเค็ง
เมื่อปี พ.ศ.2515 วัดดงเค็ง ได้นิมนต์
หลวงพ่อผาง จิตตฺ คุตโฺ ต วัดอุดมคงคาคีรเี ขตต์ อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแก่น มาเป็น ผูอ้ ปุ ถัมภ์การสร้างอุโบสถ ท่านจึงอนุญาต ให้สร้างเหรียญรูปไข่เป็นรูปเหมือนของ ท่านเต็มองค์ จ�ำนวน 21,200 เหรียญ โดย ท�ำเครื่องหมายไว้คล้ายพระอาทิตย์ครึ่ง เสีย้ วไว้ และมีอกั ษร พ.ย. และบางเหรียญ ได้ท�ำอักษร ค ไว้ มีทั้งเหรียญทองแดง เหรียญสัมฤทธิ์ และเหรียญเงิน ตลอดจน พระเครือ่ งอย่างอืน่ อีกมากมาย เช่น พระงา แหวนงา หัวแหวนสะเก็ดดาว สีผงึ้ (นวด) มหานิยม ตะกรุดสารพัดนึก อีกทั้ง พ.ท.รัศมี บุญจง หัวหน้า ศูนย์ฟน้ื ฟูพฒ ั นาทางจิตสกลนคร ได้มอบ พระเครือ่ งถวายวัดดงเค็ง เป็นพระเครือ่ ง โลหะบรรจุ เ หล็ ก ไหลใส่ ที่ ห น้ า อก มี พระนาคปรก พระนางพญา พร้อมกันนี้ หลวงปู่พระครู (วาร) วัดโคกกระต่าย อ.วิหารแดง จ.สระบุรี ได้มอบพระเครือ่ ง ดินเผาพระทุ่งเศรษฐี สมเด็จนางพญา มอบถวายวัดดงเค็ง และได้นมิ นต์ หลวงพ่อ
พระมหาวชิรา ปญฺญาธโร เจ้าอาวาส ผาง จิตตฺ คุตโฺ ต มาปลุกเสกเมือ่ วันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2515 โดยท่านปลุกเสก รูปเดียวนานถึง 3 วัน 3 คืน พร้อมทั้งได้ จัดงานพุทธาภิเษกขึน้ ในวันที่ 1-2 มีนาคม พ.ศ.2514 โดยมีหลวงพ่อผางเป็นประธาน ในพิธีนั่งปรก มีหลวงพ่อโต วัดบ้าน กล้วยพิมาย และ หลวงพ่อทอง (พระครู สมณกิจโกศล) เจ้าคณะอ�ำเภอนาเชือก มหาสารคาม ตลอดจนได้ นิ ม นต์ พระเถรานุเถระ และผู้ทรงคุณวุฒิทาง ไสยศาสตร์จำ� นวนมาก มากระท�ำพิธสี วด พุทธมนต์ สวดพุทธาภิเษกจนเสร็จพิธี จากนั้นประชาชนได้ขอบูชาเหรียญและ พระเครือ่ งไว้บชู าเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล
โรงเรียนเจ้าคุณปริยตั มิ นุ วี ทิ ยา
“คุณธรรมน�ำวิชาการ สืบสานศิลป วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น” คื อ ค� ำ ขวั ญ ของโรงเรี ย นเจ้ า คุ ณ ปริยตั มิ นุ วี ทิ ยา (โรงเรียนการกุศลของวัด ในพระพุทธศาสนา) เลขที่ 100 หมู่ที่ 13 ต.ประทาย อ.ประทาย จ.นครราชสีมา ใบอนุญาตเลขที่ นม. 1/2550 ให้จัดตั้ง โรงเรียน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 โดย พระปริยตั มิ นุ ี (จันดี มูลเสนา) เจ้าอาวาสวัดดงเค็ง ที่ปรึกษาเจ้าคณะ ประทาย อ.ประทาย จ.นครราชสีมา โรงเรียน ได้ความอุปถัมภ์ จากมูลนิธพิ ระปริยตั มิ นุ ี เจ้าอาวาสวัดดงเค็ง และงบประมาณจาก กระทรวงศึกษาธิการโดยผ่านส�ำนักงาน
คณะกรรมการบริหารการศึกษาเอกชน จัดการเรียนการสอนโดยใช้หลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ ปรัชญาของโรงเรียน นตฺถิปญฺญฺา สมาอาภา แสงสว่าง เสมอด้วยปัญญาไม่มี อุดมการณ์ของโรงเรียน วิชาการดี มีความรับผิดชอบในหน้าที่ มีคุณธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจพอเพียง คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ข อง โรงเรียน มีความ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย,์ มีความซื่อสัตย์สุจริต, มีวินัย, ใฝ่เรียนรู้,
อยู่อย่างพอเพียง, มุ่งมั่นในการท�ำงาน, รักความเป็นไทย, มีจิตสาธารณะ และมี ความกตัญญูกตเวที สีประจ�ำโรงเรียน สีเขียว-สีเหลือง หมายถึง ความสมบูรณ์รงุ่ เรืองในพระพุทธ ศาสนา ต้นไม้ประจ�ำ โรงเรียน ต้นเค็ง (ต้นนางด�ำ) หมายถึง สถานที่ตั้งโรงเรียนเป็นป่าต้นเค็ง โทร. 083-9667999, 083-3702765
ผู้บริหารโรงเรียน เจ้าคุณปริยัติมุนีวิทยา
พระมหาวชิรา ปัญญาธโร ผูร้ บั ใบอนุญาต/ ผู้จัดการ/ผู้อำ� นวยการโรงเรียน นายธนพนธ์ เล็กสิงห์โต ผู้ช่วยผู้จัดการโรงเรียน นายบุญล้อม แคนติ รองผอ.ฝ่ายวิชาการ นายณัฐวัตร วิจต ิ ร รองผอ.ฝ่ายบริหาร งานทั่วไป นายบัณฑิตย์วท ิ ยา ไปแดน รองผอ.ฝ่าย บุคลล นายไพวรรณ บุดดี รองผอ.ฝ่ายงบประมาณ
NAKHONRATCHASIMA 251
เส้นทางพบนายอำ�เภอ
“สูงเนินเมืองน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก” นายณัชวันก์ อัลภาชน์ เตชะเสน นายอ�ำเภอสูงเนิน
นายณัชวันนายอ� ก์ อัำเภอสู ลภาชน์ เตชะเสน งเนิน ...ถ้ามีนายอ�ำเภอแล้ว ท�ำอะไรเพื่อช่วยเหลือแก้ไขปัญหารับปรึกษาอะไรไม่ได้เลย ไม่รู้จะมีนายอ�ำเภอไว้หาอะไร ???... “ถิน่ เดิมโคราช พระพุทธไสยาสน์ศลิ า ธรรมจักรล�้ำค่า ปราสาทหินโบราณ ส้มโอหวานรสดี ประเพณีกินเข่าค�่ ำ แดนธรรมวะภูแก้ว” คือค�ำขวัญของอ�ำเภอสูงเนิน จังหวัด นครราชสีมา ซึ่งมีที่ว่าการอ�ำเภอตั้งอยู่ ถนนมิตรสัมพันธ์ เขตเทศบาลต�ำบลสูงเนิน บริเวณพิกัด RS 039487 อยู่ห่างจากตัว จังหวัดไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง 36 กิโลเมตร
ประวัติความเป็นมาของ อ�ำเภอสูงเนิน
อ�ำเภอสูงเนิน เป็นเมืองโบราณตัง้ แต่ สมัยทวารวดี มีการก่อสร้างปราสาทโบราณ ได้แก่ ปราสาทโนนกู่ ปราสาทเมืองแขก ปราสาทหินเมืองเก่า และมีพทุ ธไสยาสน์ ศิลา เสมาธรรมจักร อายุประมาณกว่า 2,000 ปี 252
สร้างมาตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ และเป็นที่ ปรากฏร่องรอยโบราณสถาน โบราณวัตถุ อันเป็นมรดกล�้ำค่าทางศิลปวัฒนธรรม ที่สะท้อนถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต โดยเป็นทีต่ งั้ ของเมือง 2 เมือง คือ เมืองเสมา และเมืองโคราฆะปุระ หรือเมืองโคราช อ�ำเภอสูงเนิน ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2442 (ร.ศ.118)
เป็นพื้นที่ราบและลาดเอียง ภูเขาและ พื้นที่ป่าไม้ มีล�ำน�้ำส�ำคัญ คือ ล�ำตะคอง ล�ำห้วยไผ่ ล�ำห้วยยาง มีปา่ สงวนแห่งชาติ 4 แห่ง เนือ้ ทีท่ งั้ หมด 231,250 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 48.15 ของพื้นที่ทั้งหมด มีพื้นที่ การเกษตรทั้งสิ้น 319,068 ไร่ มีโรงงาน อุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตให้ด�ำเนิน กิจกรรมประกอบการทั้งสิ้น 123 แห่ง
ข้อมูลทั่วไป
วิสัยทัศน์อำ� เภอสูงเนิน
อ�ำเภอสูงเนินมีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 768.50 ตร.กม. 480,312.50 ไร่ แบ่งเขตการปกครอง เป็น 11 ต�ำบล 127 หมู่บา้ น มีเทศบาล 2 แห่ง มีองค์การบริหารส่วนต�ำบล 11 แห่ง มีประชากรทัง้ สิน้ จ�ำนวน 82,745 คน แยก เป็นหญิง 42,365 คน ชาย 40,380 คน ครัวเรือนจ�ำนวน 32,587 ครัวเรือน (ข้อมูล ณ วันที่ 7 สิงหาคม 2558) ลักษณะทัว่ ไป
“มุง่ สูเ่ กษตรอินทรีย์ การท่องเทีย่ ว เชิงวัฒนธรรม อุตสาหกรรมก้าวหน้า”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา อ�ำเภอสูงเนิน
อ�ำเภอสูงเนินได้แบ่งพืน้ ทีก่ ารพัฒนา เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้ 1. พืน้ ทีร่ าบลุม่ ตามล�ำตะคอง ส่งเสริม
อาชีพการท�ำนา ท�ำสวนผลไม้ ผลิตภัณฑ์ ชุมชนในครัวเรือนเพือ่ ส่งเสริมอาชีพและ รายได้ 2. พืน้ ทีร่ าบลุม่ เชิงเขา ส่งเสริมอาชีพ การท�ำการเกษตรเชิงนิเวศน์ การท�ำไร่ ผสมผสานกั บ การท� ำ สวนผลไม้ ต าม ฤดูกาล และตามสภาพพืน้ ที่ การอนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. พื้ น ที่ เ ขตเศรษฐกิ จ เมื อ ง อุ ต สาหกรรมใหม่ เป็ น ที่ ตั้ ง ของเขต อุตสาหกรรมนวนคร ซึง่ มีโรงงานขนาดเล็ก ใหญ่จำ� นวนมาก จึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาทาง ด้านการรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม รักษา ระบบนิเวศน์ ไม่มีมลพิษที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพของประชาชน
สถานที่ท่องเที่ยวใน อ�ำเภอสูงเนิน
1. แหล่งท่องเทีย่ วทางประวัตศิ าสตร์ โบราณสถานโบราณวัตถุ คือ เมืองเสมา ปราสาทหินเมืองแขก พระพุทธไสยาสน์ ศิลา (พระนอน) เสมาธรรมจักรหิน 2. แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาตินำ�้ ตก วะภูแก้ว น�้ำตกวังเณร เขาสามสิบส่าง
จากใจนายอ�ำเภอสูงเนิน
อ�ำเภอสูงเนินเป็นอ�ำเภอซึง่ มีรปู แบบ พิเศษที่แตกต่างจากอ�ำเภออื่นๆ ของ จังหวัดนครราชสีมา แม้เราจะเป็นอ�ำเภอ ขนาดกลางก็จริง แต่เราเป็นทีต่ งั้ ของนิคม อุตสาหกรรมและโรงงานอุตสาหกรรม ใหญ่ๆ ระดับประเทศมากมาย มีโรงงาน ซีเกท ซึ่งเป็นโรงงานระดับโลก ท�ำให้มี
ประชากรแฝงหมุ น เวี ย นอยู ่ ไ ม่ ต�่ ำ กว่ า 50,000 คน ซึง่ ผมขอยกประโยชน์ ยกคุณงาม ความดีให้กบั คนรุน่ เก่าๆ ผูใ้ หญ่ในบ้านเมือง ข้าราชการผูใ้ หญ่ ข้าราชการระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอ ที่เป็นตัวตั้งตัวตี เป็นผู้น�ำ แนวคิดทีจ่ ะท�ำให้อำ� เภอสูงเนินทีอ่ ยูช่ ายขอบ ของอ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เป็น ที่ตั้งเขตอุตสาหกรรม น�ำพาส�ำนักงาน อุตสาหกรรมภาค บีโอไอ มาสนับสนุนการ ประกอบอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ เพราะฉะนัน้ เราจึงมีความหลากหลายในด้านการใช้ ชีวติ ในด้านพลเมือง ในด้านการใช้ประโยชน์ ของที่ดินของอ�ำเภอเป็นอย่างยิ่ง ดังนัน้ การใช้อำ� นาจหน้าทีข่ องนายอ�ำเภอ และฝ่ายปกครอง คือ เราจะต้องท�ำอย่างไร ท�ำให้แรงงานทีม่ าอยูใ่ นพืน้ ทีส่ ามารถอยู่ ร่วมกันกับคนในพื้นที่อย่างมีความสุข ทีส่ ำ� คัญคือเรายังเป็นทีต่ งั้ อารยธรรมทาง พระพุทธศาสนา โดยมีโบราณสถานส�ำคัญ คือพระนอนหินทราย อายุมากกว่า 1300 ปี เพราะฉะนัน้ เราจะท�ำอย่างไรให้ประชากร แฝง ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างโรงงาน กลุ่ม เจ้าหน้าที่ที่เป็นวิศวกรเงินเดือนสูงๆ ที่ ร�่ำเรียนจบจากต่างประเทศ สามารถอยู่ ร่วมกับคนที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมได้อย่างมี ความสุขที่สุด ผมตัง้ ใจว่าในทุกๆ อ�ำเภอทีต่ วั กระผม ไปอยู่ ผมต้องท�ำให้ “ทีว่ า่ การอ�ำเภอ” เป็น สถานที่ที่ผู้มาติดต่อราชการมีความสุข ทีจ่ ะเดินเข้ามา ผมจึงได้ทำ� สวนหย่อมเล็กๆ มีเก้าอีท้ นี่ งั่ ไว้หน้าทีว่ า่ การอ�ำเภอทุกแห่ง ทีผ่ มอยูม่ าแล้ว 3 แห่ง ผมได้เตรียมน�ำ้ ดืม่ ชา กาแฟ ให้บริการฟรี และที่ส�ำคัญคือ งานในหน้าทีท่ จี่ ะบริการในทุกๆ เรือ่ ง จะ
ต้องท�ำให้แล้วเสร็จ ลดขั้นตอน ลดเวลา ลดค่าใช้จา่ ย งานอะไรทีอ่ ยูใ่ นข้อกฎหมาย ต้องท�ำให้ได้ ส่วนงานอะไรที่ไม่สามารถ ท�ำตามข้อกฎหมายได้ ก็ตอ้ งช่วยหาทาง ออกให้ชาวบ้าน มิฉะนั้นแล้ว ชาวบ้านก็ ไม่รู้ว่าจะมีนายอ�ำเภอไว้เพื่ออะไร ถ้า นายอ�ำเภอช่วยอะไรเขาไม่ได้เลย นอกจากนีแ้ ล้ว ตัวนายอ�ำเภอจะต้อง เป็นบุคคลทีช่ าวบ้านในอ�ำเภอนัน้ ๆ ไว้ใจ เชือ่ ใจ มากทีส่ ดุ ทีจ่ ะสามารถบอกเล่าทุกข์ สุข บอกเล่าปัญหา พร้อมแก้ไขให้แล้วเสร็จ ทุกๆ เรือ่ ง เพราะฉะนัน้ ผมจึงขอใช้ความ ไว้เนือ้ เชือ่ ใจทีช่ าวบ้านมอบให้กบั ต�ำแหน่ง นายอ�ำเภอ ให้กับฝ่ายปกครอง ท�ำงาน รับใช้พี่น้องประชาชนให้มีความสุขมาก ที่สุด ขอบพระคุณครับ NAKHONRATCHASIMA 253
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
บริเวณดังกล่าวมีชอื่ เรียกว่า “ดอนมะเกลือ” เพราะมีตน้ มะเกลือ ต้นไม้ชนิดหนึ่งแก่นด�ำใช้ผลย้อมผ้าให้เป็นสีดำ� สนิท หรือใช้ท�ำ ยาถ่ายได้ จึงตัง้ ชือ่ บ้านว่า “บ้านมะเกลือเก่า” ขึน้ กับเมืองนครจันทึก ซึง่ เป็นเมืองหนึง่ ทีข่ นึ้ ต่อเมืองนครราชสีมาในอดีต ต่อมาชาวบ้าน มะเกลือหลายครอบครัวได้อพยพไปตัง้ บ้านใหม่ อยูห่ า่ งไปทาง ทิศตะวันตก เรียกว่า “บ้านมะเกลือใหม่” ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้จดั การปกครองแผนใหม่ ให้เป็นต�ำบลมะเกลือเก่าและต�ำบล มะเกลือใหม่
ข้อมูลทั่วไป
นายเอกชัย พรหมพันธ์ใจ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลมะเกลือเก่า
องค์การบริหารส่วนต�ำบล มะเกลือเก่า “มุ่งมั่น แก้ไข เข้าใจ เข้าถึง ค�ำนึงคุณภาพชีวิตของประชาชน” เป็นนโยบายการบริหารงานของผูบ้ ริหารองค์กรแห่งนี้ ซึง่ มี การด�ำเนินการต่อเนื่องยาวนานมาโดยตลอด ท�ำให้องค์การ บริหารส่วนต�ำบลมะเกลือเก่า อ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ได้รบั เกียรติคณ ุ ชือ่ เสียงมากมายในด้านการพัฒนาคนในท้องถิน่
รู้จักต�ำบลมะเกลือเก่า
ต�ำบลมะเกลือเก่า เป็นชุมชนเก่าแก่มานาน โดยมีการตั้ง บ้านเรือนถิน่ ฐานของชาวนครเวียงจันทร์ คุม้ บึงอินทร์ผยอง แห่ง อาณาจักรลาว ซึ่งอพยพข้ามแม่น�้ำโขงมาตั้งภูมิล�ำเนาจนถึง ลุม่ น�ำ้ ล�ำตะคองอันเป็นส่วนหนึง่ ของดงพญาเย็น ราวรัชกาลแห่ง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แห่งกรุงศรีอยุธยา 254
ต�ำบลมะเกลือเก่า มีขนาดพื้นที่ 180.70 ตารางกิโลเมตร เป็นต�ำบลทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของอ�ำเภอสูงเนิน มีประชากร 12,807 คน 4,105 ครัวเรือน แบ่งการปกครองออกเป็น 20 หมูบ่ า้ น เขตพืน้ ที่ กว้างใหญ่มลี กั ษณะรูปทรงคล้ายภูเขาน�ำ้ แข็งทีล่ อยตัวในมหาสมุทร มีดา้ นทิศเหนือเป็นยอดแหลมและขยายใหญ่ขนึ้ เป็นฐานกว้าง ในทิศใต้ พืน้ ทีม่ คี วามหลากหลายเกือ้ กูลกันตัง้ แต่ทรี่ าบลุม่ ทาง เหนือ ที่เป็นอู่ข้าวอู่นำ�้ อุดมสมบรูณ์ มีลำ� น�้ำล�ำตะคองอันเป็น สายน�้ำส�ำคัญที่หล่อเลี้ยงชาวโคราชไหลผ่าน ตอนกลางเป็น
ทีร่ าบสูงทุง่ เลีย้ งสัตว์ มีการท�ำไร่เกษตรกรรมหนาแน่น และตอน ใต้เป็นเขตที่สูงมีภูเขา เทือกเขา และป่าไม้อันเป็นเขตป่าสงวน กว่า 7,000 ไร่
แหล่งท่องเที่ยวใหม่และสถานที่นา่ สนใจ แก่งน�้ำวังเณรล�ำตะคอง
วังเณรเป็นแหล่งท่องเทีย่ วแห่งหนึง่ ทีช่ าวโคราชรูจ้ กั เรียกว่า “น�ำ้ ตกวังเณร” ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลมะเกลือเก่า อ�ำเภอสูงเนิน มีประวัติ ว่าเป็นจุดที่ล�ำน�้ำล�ำตะคองมีแก่งหินน�้ำตื้นเคยมีเณรมาตัดไม้ และกระโดดข้ามน�ำ้ ในบริเวณนี้ แล้วจมน�ำ้ เสียชีวติ จึงได้เรียกว่า “วังเณร” ปัจจุบนั เป็นจุดชมวิวทีม่ บี รรยากาศร่มรืน่ เย็นสบาย เหมาะ แก่การพักผ่อนหย่อนใจ จึงมีนกั ท่องเทีย่ วโดยเฉพาะวัยรุน่ หนุม่ สาวมาท่องเที่ยวกันมาก โดยในช่วงวันหยุดเสาร์อาทิตย์ มี ประมาณ 2,000 คน/วัน ทั้งสองฝั่งล�ำตะคองมีร้านอาหารเปิด บริการให้กบั นักท่องเทีย่ ว สิง่ ทีน่ กั ท่องเทีย่ วนิยมคือ การมานัง่ รับประทานอาหาร มาเล่นน�ำ้ มาดูบรรยากาศของหนุม่ ๆ สาวๆ ที่มาเที่ยวและมาเล่นน�้ำที่นี่
ประติมากรรมก้อนหินเขาซาด
เป็นแหล่งหินธรรมชาติยุคจูลาสสิคอยู่ในป่ าบริ เวณวั ด เขาซาด บ้านวังรางน้อย ต�ำบลมะเกลือเก่า ธรรมชาติได้สร้างสรรค์ ก้อนหินขนาดมหึมารูปทรงอิสระหลายรูปทรง ขนาดใหญ่เล็ก กระจัดกระจายอยูใ่ นระนาบเดียวกันเป็นจ�ำนวนมาก มีซอกมีหลืบ ทีค่ นสามารถเดินลัดเลาะซอกแซกเข้าไปได้ บางก้อนเป็นโพลง ที่คนเข้าไปอยู่อาศัยได้เลย บางแห่งทะลุแบบถ�้ำลอด บางก้อน วางทับซ้อนกันหมิ่นเหม่เหมือนพระธาตุอินทร์แขวนของพม่า หินก้อนใหญ่ก้อนหนึ่งมีรอยพระพุทธบาทด้วย สถานที่แห่งนี้ กลายเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ทีม่ ผี มู้ าจ�ำศีลภาวนาทุกปี จนทาง วัดเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามล�ำดับ
NAKHONRATCHASIMA 255
เขาสามสิบส่าง...แหล่งท่องเที่ยวมหัศจรรย์ ธรรมชาติแห่งใหม่ในโคราช
อยูท่ บี่ า้ นค�ำไฮ ต�ำบลมะเกลือเก่า เป็นภูเขาสูงถึง 430 เมตร มีลานหินทีพ่ บรูบนหินมากมายแต่ละรูจะมีนำ�้ ขัง รูหนิ เหล่านีม้ ี ทั้งขนาดใหญ่และเล็กดูแปลกเหมือนที่ “สามพันโบก” อ�ำเภอ โพธิไ์ ทร จังหวัดอุบลราชธานี แหล่งท่องเทีย่ วชือ่ ดังริมแม่นำ�้ โขง แต่ทนี่ อี่ ยูบ่ นภูเขา นับเป็นประติมากรรมธรรมชาติของลานหิน ที่น่าสนใจ จุดแวะชมยอดฮิตอีกแห่งคือ “ผาสามสิบส่าง” เป็น หินทีย่ นื่ ออกไปเพือ่ ชมวิว ทีใ่ ครๆ ไปก็ตอ้ งถ่ายรูปไว้เป็นทีร่ ะลึก เพราะมีทัศนียภาพที่สวยงามมาก
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามแนว พระราชด�ำริต�ำบลมะเกลือเก่า
ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นค�ำไฮ เกิดขึน้ จากแนวความคิดและนโยบายทีจ่ ะ แก้ไขปัญหาการบุกรุกทีส่ าธารณะของราษฎรเพือ่ ท�ำกิน โดยน�ำ แนวทางตามพระราชด�ำริของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาด�ำเนินการ ในที่ดินสาธารณะ เนื้อที่ 880 ไร่ เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์รวบรวม พืชเศรษฐกิจ เป็นแนวทางให้เกษตรกร โดยเฉพาะในพืน้ ทีไ่ ด้รบั จัดสรรท�ำการเกษตร และจัดเป็นแปลงเกษตรให้คนแวะมาเยีย่ ม ชม และให้ชาวบ้านเข้ามาศึกษาดูงาน เป็นแหล่งเรียนรูโ้ ครงการ เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำริ
จากใจนายก อบต.มะเกลือเก่า
นายเอกชัย พรหมพันธ์ใจ นายกองค์การบริหารต�ำบลมะเกลือเก่า เปิดเผยว่า องค์การบริหารส่วนต�ำบลมะเกลือเก่ามีนโยบายทีจ่ ะพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วใน พืน้ ทีอ่ กี มาก ทีย่ งั ไม่ได้ประชาสัมพันธ์ให้รจู้ กั กันมากนัก จึงขอเชิญชวนให้มาท่องเทีย่ ว ในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลมะเกลือเก่า ซึง่ นอกจากจะเพลิดเพลินไปกับสถานทีแ่ ปลกใหม่และ มหัศจรรย์แล้ว ในพืน้ ทีย่ งั มีแหล่งบริการอาหารรสชาติอร่อยอีกมากมายด้วย เพราะ เรามีการส่งเสริมกลุม่ อาชีพต่างๆ ตามวิสยั ทัศน์การพัฒนาท้องถิน่ ขององค์การบริหาร ส่วนต�ำบลมะเกลือเก่า ที่ว่า “มะเกลือเก่าน่าอยู่ บริหารงานมีประสิทธิภาพ แก้ไขปัญหาแบบบูรณาการ ก้าวทันเทคโนโลยี คุณภาพชีวิตดีขึ้นอย่างยั่งยืน”
256
พระพุทธมงคลนิมติ วัดศาลาลอย