Magazine
นายวิทยา จันทร์ฉลอง ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร ขอตามรอยพระบาทยาตรา กราบพระอริยสงฆ์ หลวงปู่มั่น หลวงปู่หลุย หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่ฝั้น ตามหาผ้าผิวดีที่ ถนนคนเดินผ้าคราม
Vol.7 Issue 51/2017
www.sbl.co.th
คัลเลอร์วิลล์รีสอร์ท “สีสันแห่งการพักผ่อน”
เริ่มต้นจากคัลเลอร์วิลล์รีสอร์ทที่เราอยากให้ทุกท่านที่เข้ามาพักรู้สึกเหมือนมาเที่ยว พักหมู่บ้านสไตล์ตะวันตก คอนเฟิร์มจากลูกค้าต่างชาติที่มาพัก บอกว่าเหมือนบ้านที่ ตะวันตกมาก ห้องพักมีทั้งสไตล์โรงนาตะวันตก และหมู่บ้านเล็กๆ ในตะวันตก ข้างนอก สีสันสดใสแต่ข้างในอบอุ่น ผนังเพ้นท์ระดับอาจารย์ที่ได้รับรางวัลมากมาย แต่ละห้อง เพ้นท์ภาพไม่เหมือนกัน
คัลเลอร์วิลล์รีสอร์ท รีสอร์ทสไตล์ อเมริกันคันทรี รีสอร์ทตัง้ อยูห่ ลังมหาวิทยาลัยราชภัฎ จังหวัดสกลนคร มีจำ� นวน 20 ห้อง หากคุณ มาเที่ยว มาพักผ่อน มาท�ำบุญ มาธุระ ที่ จังหวัดสกลนคร อย่าลืมนึกถึงเรานะคะ
โทร. 087-6420702, 042-972558
4
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ห้องพัก ทั้งหมดจ�ำนวน 20 ห้อง หลังเดี่ยว Sweet Barn 3 ห้อง เตียงเดี่ยว 650 บาท หลังติดกัน Happy Ville 9 ห้อง เตียงเดี่ยว 550 บาท หลังติดกัน Hamlet 4 ห้อง เตียงคู่ 650 บาท หลังติดกัน Hamlet 4 ห้อง เตียงเดี่ยว 550 บาท
คัลเลอร์วิลล์รีสอร์ท 646 ถนนนาเวง-นาค�ำ ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000
เรื่ อ งราวต่ อ เนื่ อ งมาถึ ง ร้ า น คัลเลอร์วลิ ล์คาเฟ่ ของเรา อยาก ให้ ทุ ก ท่ า นได้ รั บ รู ้ อ ารมณ์ บ ้ า นใน ชนบทแถบตะวันตก อยากให้ทกุ ท่าน ได้ทานขนม เครือ่ งดืม่ โฮมเมด ทีเ่ ราใส่ใจ ท�ำเหมือนท�ำทานเองที่บ้าน ทุกท่านเปรียบ เสมือนญาติทมี่ าเยีย่ มเราทีบ่ า้ นหลังเล็กๆ หลังนี้
ร้านอยู่ในซอยโฮมพลัสเฟอร์นิเจอร์ หลังมหาวิทยาลัยราชภัฎ ตรงประตู 6 ในคัลเลอร์วิลล์รีสอร์ท เปิด 9.00-19.00 น.
SAKONNAKHON 1
มหาวิทลัยราชภัฏสกลนคร SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ผลิตบัณฑิตที่เปี่ยมด้วยคุณภาพและคุณธรรมควบคู่ไปกับการพัฒนา ท้องถิ่น โดยได้ด�าเนินการตามพันธกิจหลักด้วยความมุ่งมั่นและเข้มแข็งจนเป็นที่ยอมรับจากท้องถิ่นและสังคม ปัจจุบันเปิด สอนในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก โดยมีหลักสูตรที่ครอบคลุมกว่า 68 หลักสูตร ซึ่งในแต่ละหลักสูตรได้มีการ พัฒนาให้มีความทันสมัย ภายใต้การดูแลของ คณะครุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีการเกษตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ และบัณฑิตวิทยาลัย (ดูรายละเอียด สาขาที่เปิดสอน www.snru.ac.th) ปัจจุบันมีนักศึกษาจากจังหวัดสกลนคร จังหวัดใกล้เคียง และประเทศในกลุ่มอาเซียน ได้แก่ ประเทศลาว เวียดนาม กัมพูชา และจีน เข้าศึกษาต่อเป็นจ�านวนมาก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ปรีชา ธรรมวินทร อธิการบดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
นอกจากนี้ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สกลนคร ยั ง เปิ ด โอกาสทางการศึ ก ษาส� า หรั บ ผู ้ ที่ ข าดโอกาสทางการศึ ก ษา ได้ ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ได้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาผู ้ พิ ก าร ทุกประเภท ตามกระบวนการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ เฉพาะส�าหรับผู้พิการ ภายใต้การก�ากับดูแลของศูนย์ DSS (ศูนย์บริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ : Disability Support services) มีบุคลากรและอุปกรณ์ที่มีความพร้อมส�าหรับ การดูแลสนับสนุนนักศึกษาพิการทุกกลุ่มอย่างเต็มเวลา และ นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์แต่มีความตั้งใจที่จะศึกษาต่อ โดยมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ผู ้ ส นั บ สนุ น ทุ น การศึ ก ษา ภายใต้ ชื่ อ “โครงการบ้านทานตะวัน” ซึ่งปัจจุบันด�าเนินการมาจนถึง รุ่นที่ 17 แล้วนั้น โดยการให้โอกาสทางการศึกษาของนักศึกษา ทั้ ง สองกลุ ่ ม ดั ง กล่ า ว นั บ ว่ า เป็ น การด� า เนิ น งานอย่ า งเป็ น รูปธรรมของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ที่สามารถส่งเสริม และผลักดันให้ผู้ที่ขาดโอกาสได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่าง แท้จริง ในระดั บ การศึก ษาขั้นพื้นฐาน ได้เ ปิดสอนระดั บชั้ น อนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาในชื่อ โรงเรียนวิถีธรรมแห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร โดยบ่มเพาะเยาวชนให้เป็น ไปในแนวทาง 3 ธรรม คือ ธรรมะ ธรรมชาติ และธรรมดา ซึ่ ง นั บ เป็ น โรงเรี ย นวิ ถี ธ รรมล� า ดั บ ต้ น ๆ ของประเทศไทย ในการเป็ น องค์ ก รเครื อ ข่ า ยของการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ การ พัฒนาเด็กให้เป็นคนดี เรียนและเล่นอย่างมีความสุข ด�ารง ชีวิตอย่างพอเพียง มีความสามารถตามศักยภาพและเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่เป็นความหวังในอนาคต
มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สกลนคร ยั ง มี ก ารให้ บ ริ ก าร วิชาการในหลายรูปแบบอย่างมีศักยภาพ เพื่อถ่ายทอดความรู้ ให้กบั ท้องถิน่ กลุม่ จังหวัด และกลุม่ ประเทศอาเซียน โดยสร้าง ความร่วมมือทางวิชาการในอนุภมู ภิ าคลุม่ น�า้ โขง และบูรณาการ เข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย การท�านุบ�ารุงศิลปะและ วั ฒ นธรรม และภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น โดยมี ส ถาบั น วิ จั ย และ พัฒนา และสถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นหน่วยงาน ที่ก�ากับดูแลเพื่อให้เป็นเครือข่ายการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่น และระดับอาเซียน ผ่านศูนย์ต่างๆ ได้แก่ ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้ า นพลั ง งานทางเลื อ ก ศู น ย์ ค ราม ศู น ย์ ล าวศึ ก ษา ศูนย์เวียดนามศึกษา ศูนย์จีนศึกษา ศูนย์หนองหารศึกษา และ ศูนย์ไทยศึกษา ณ จังหวัดกวางตรี ประเทศเวียดนาม เพื่ อ ให้ ผู ้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู ้ พ ร้ อ มฝึ ก ปฏิ บั ติ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มหาวิทยาลัยได้จัดสิ่งอ�านวย ความสะดวกสนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน ประกอบด้ ว ย ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องท�าวิจัย ห้องสมุด ห้องบริการ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ อาคารหอประชุ ม อาคารหอพั ก ส�าหรับบุคลากรและนักศึกษา ศูนย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภูพานเพลซที่ให้บริการห้องพักและจัดเลี้ยง มีสระว่ายน�้าและ สนามกีฬาที่ได้มาตรฐานส�าหรับการแข่งขันกีฬาทุกระดับ เป็นเวลา 5 ทศวรรษที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เติบโตเคียงคู่มากับท้องถิ่น และยังคงมุ่งมั่นทุ่มเทสร้างจุดเด่น ทางวิชาการ เพื่อเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการให้โอกาสทางการ ศึกษา สร้างบัณฑิตที่เป็นคนดี มีจิตสาธารณะ และมีทักษะ วิชาชีพ สอดคล้องต่อการพัฒนาประเทศตลอดจนทิศทาง การเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต มหำวิทยำลัยรำชภัฏสกลนคร
เลขที่ 680 ถนนนิตโย ต�ำบลธำตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 โทร. 0 4297 0021, 0 4297 0094 www.snru.ac.th
รีสอร์ทคุณปุ๋ย พูลแอนด์วิลล่า
4
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
อยูใ่ กล้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน วิทยาเขตสกลนคร บริการ อาหาร ห้องพัก ห้องคาราโอเกะ สระว่ายน�ำ้ ห้องประชุม ห้องจัดเลี้ยง รับจัดโต๊ะจีน ทั้งในและนอกสถานที่ ให้บริการห้องพักรายวันสไตล์บ้านเดี่ยว พร้อมสระว่ายน�ำ ้ ขนาดใหญ่ สิทธิพิเศษ ส�ำหรับผู้เข้าพัก ฟรีค่าลงสระห้องละ 2 ท่าน บริการสระว่ายน�้ำส�ำหรับบุคคลภายนอก รับประกันคุณภาพด้านรสชาติอาหารที่เปิดมานานกว่า 10 ปี เหมาะส�ำหรับเป็นทีต ่ อ้ นรับแขกบ้านแขกเมืองของอ�ำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร
จองห้องพัก
042-771-516, 098-642-4878 รีสอร์ทคุณปุ๋ย พูลแอนด์วิลล่า Khun Pui Pool & Villa 168/1 หมู่ 3 บ้านนาเหมือง ต�ำบลพังโคน อ�ำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร 47160 https://www.facebook.com/ Khunpuipoolandvilla/ สวนอาหาร
081-717-6005, 085-332-4445
SAKONNAKHON 5
บีบี การ์เด้นท์ (BB Garden) 568 กม.9 บ้านนาค�ำ ถนนสกล-กาฬสินธุ์ ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โทร. 089-279-1539 bb garden0509 บีบี การ์เด้นท์ สกลนคร “หอมละมุ น ” กาแฟสดฮิ ล ล์ ค อฟฟ์ (Hillkoff) และน�้ำผลไม้จากเชียงใหม่ ขนมปังยัดไส้และไข่กระทะจากสกลนคร 6
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
รายวัน-รายเดือน
ห้องพักหรู สะอาด สะดวก ปลอดภัย แอร์ ทีวี ตู้เย็น น�้ำอุ่น ที่จอดรถกว้างขวาง
SAKONNAKHON 7
EDITOR’S TALK
Magazine
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.สุมิท แช่มประสิทธิ์, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร บรรณาธิการอํานวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหารสายงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล บรรณาธิการการบริหารสายงานการตลาด อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ กองบรรณาธิการ ศุภญา บุญช่วยชีพ, นันท์ธนาดา พลพวก, อุสา แก้วเพชร, สุนทรี ไพริน, รุจิรา แปงแก้ว ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส, ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง กราฟิคดีไซน์ ศศิธร มไหสวริยะ ผู้อํานวยการฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กชกร รัฐวร ผู้จัดการประสานงานโครงการภาคเอกชน ถาวร นันทะชัย, กษิดิส ไทยธรรม ผู้จัดการประสานงานโครงการภาครัฐ ธนวรรษ เชวงพจน์, อัครพล ไชยยาว, กิตติเมศร์ ชมชื่น, กิตติทัศน์ จินประเสริฐ ฝ่าย IT และประสานงาน ศุภญา บุญช่วยชีพ, นันท์ธนาดา พลพวก, สุนทรี ไพริน, รุจิรา แปงแก้ว ฝ่ายการเงิน-การบัญชี อุสา แก้วเพชร, กรรณิการ์ มั่นวงศ์
พูดถึง “จังหวัดสกลนคร” ผมเชื่อว่าหลายๆ ท่านคงนึกถึงหลวงปู่มั่น ภูรทิ ตั โต หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสก์รงั สี หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร พระอาจารย์วนั อุตตโม พระอริยสงฆ์สายพระกรรมฐานซึง่ เป็นทีเ่ คารพบูชา ของชาวไทยและเพื่อนบ้าน มาจนถึงทุกวันนี้ ไม่เพียงเท่านั้น สกลนครยังสถานที่ท่องเที่ยวหลากหลาย ทั้งที่เที่ยวทาง ธรรมชาติ ประวัตศิ าสตร์ และมีวฒ ั นธรรมทีโ่ ดดเด่นและหลากหลาย จากการ ทีม่ ชี าวพืน้ เมืองดัง้ เดิมมากถึง 6 กลุม่ ประกอบด้วย เผ่าไทลาว, เผ่าไทกะเลิง, เผ่าไทย้อ, เผ่าไทโส้, เผ่าภูไท และเผ่าไทโย้ย ยังไม่นับรวมถึงชาวไทยเชื้อสาย จีนและชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม ซึ่งต่างอยู่อาศัยกันอย่างสงบสุข สมดัง ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดสกลนครที่ว่า “พระธาตุเชิงชุมคู่บ้าน พระต�ำหนักภูพานคู่เมือง งามลือเลื่องหนองหาร และตระการปราสาทผึ้ง สวยสุดซึ้งสาวภูไท ถิ่นมั่นในพุทธธรรม” ด้วยศักยภาพที่โดดเด่นนี้เอง นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย จึง ภูมิใจน�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดสกลนครในหลากหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น “ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม” ซึ่งเป็นศูนย์ส่งเสริมอาชีพ และ คุณภาพชีวติ ราษฎร บทสัมภาษณ์พเิ ศษ “นายวิทยา จันทร์ฉลอง” ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดสกลนคร เกีย่ วกับภาพรวมด้านเศรษฐกิจ ตลอดจนผลการด�ำเนินงาน ที่โดดเด่น “นายปัญญา มีธรรม” แถลงนโยบายของส�ำนักงานส่งเสริมการ ปกครองส่วนท้องถิน่ จังหวัดสกลนคร “นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ” ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสกลนคร แนะน�ำวัดส�ำคัญในจังหวัด สกลนคร และอื่นๆ ที่ล้วนชวนติดตาม ท้ายนี้ ผมขอถือโอกาสกล่าวขอบคุณท่านวิทยา จันทร์ฉลอง ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดสกลนคร ซึง่ กรุณาให้ทมี งานได้บนั ทึกเรือ่ งราวอันทรงคุณค่าของจังหวัด สกลนครไว้ เพื่อเผยแพร่ให้สาธารณชนได้รับทราบความก้าวหน้าของจังหวัด และขอขอบพระคุณหน่วยงานต่างๆ ตลอดจนบริษัท และห้างร้านที่ให้การ สนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์อย่างดียิ่ง ในนามของนิตยสาร SBL ขอน้อมรับค�ำติชมด้วยความยินดี และหากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขอได้โปรด สะท้อนให้ทมี งานรับทราบ เพือ่ ด�ำเนินการแก้ไขให้ “บันทึกประเทศไทย” ฉบับ นี้ เป็นบันทึกฉบับที่สมบูรณ์แบบที่สุดครับ
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จํากัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ 0-2522-7171 แฟกซ์ 0-2971-7747 www.smart-sbl.com Facebook : SBL Magazine E-mail : sbl2553@gmail.com
ติดต่อ คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ โทรศัพท์ 081-442-4445, 084-874-3861 E-mail : supakit.s@live.com Fackbook : Supakit Sillaparungsan
8
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ
โรงแรมแอทสกล @SAKON HOTEL
สวย ทันสมัย อย่างมีสไตล์ ใจกลางเมือง สกลนคร
โรงแรมแอทสกล @SAKON HOTEL 287/18 ถนนคูเมือง ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร 47000 มือถือ +88(08) 0422 5929 โทร. +66(0) 4271 3234 แฟกซ์ +66(0) 4271 4234 atsakonhotel@gmail.com atsakonhotel www.atsakonhotel.com
SAKONNAKHON 9
Magazine
20 ใต้ร่มพระบารมี 25 เส้นทางพบผู้ว่าราชการ จังหวัดสกลนคร “นายวิทยา จันทร์ฉลอง” 42 เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการ จังหวัดสกลนคร “ดร.สุริยะ วิริยะสวัสดิ์” 44 เส้นทางพบ ผอ.พศ.จ.สกลนคร “นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ” 48 เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด สกลนคร “นายปัญญา มีธรรม” 58 เส้นทางท่องเที่ยว 92 เส้นทางความเป็นมา 96 เทศบาลนครสกลนคร (อ.เมือง) 98 อบต.เต่างอย 102 อบต.ห้วยยาง 105 เส้นทาง AEC 106 วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร
25 เส้นทางพบ ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร 10 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
106 วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร
84 เส้นทางท่องเที่ยว
23 เส้นทางพบผู้ว่าฯ
98 อบต.เต่างอย
110 วัดถ�ำ้ ผาแด่น 110 วัดถ�้ำผาแด่น 114 วัดแจ้งแสงอรุณ 116 วัดสะพานค�ำ 118 เส้นทางพบอ�ำเภอพรรณานิคม 120 ทต.พรรณานิคม 122 ทต.นาใน 124 ทต.นาหัวบ่อ 126 อบต.โพธิไพศาล (อ.กุสุมาลย์) 132 อบต.นาโพธิ์ 135 เส้นทาง AEC 136 ทต.โพนแพง (อ.อากาศอ�ำนวย)
152 วัดป่าคูณค�ำวิปัสสนา 135 เส้นทาง AEC
138 ทต.ท่าก้อน 140 วัดทุ่ง 143 วัดศรีมงคล (อ.สว่างแดนดิน) 144 วัดป่าสันติวัน 146 วัดเจริญสุข 148 ทต.หนองสนม (อ.วานรนิวาส) 150 วัดท่าเดื่อ 152 วัดป่าคูณค�ำวิปสั สนา (อ.กุดบาก) 156 วัดพระพุทธบาทน�้ำทิพย์ (อ.ภูพาน) 158 อบต.บ้านแป้น (อ.โพนนาแก้ว)
Magazine
SAKONNAKHON
นายวิทยา จันทร์ฉลอง ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร ขอตามรอยพระบาทยาตรา กราบพระอริยสงฆ์ หลวงปู่มั่น หลวงปู่หลุย หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่ฝั้น ตามหาผ้าผิวดีที่ ถนนคนเดินผ้าคราม
Vol.7 Issue 51/2017
126 อบต.โพธิไพศาล
138 ทต.ท่าก้อน
www.sbl.co.th
ห้วยหินชะแนนใหญ่ SAKONNAKHON 11
ชวนธนปัญญา รีสอร์ท
12 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
รีสอร์ทหรู สไตล์ในฝัน บริการท่านด้วยบ้านพักหรู ตกแต่งแบบ ไทยผสมผสานกับความทันสมัย ภายใน ห้องเพียบพร้อมด้วยสิง่ อ�ำนวยความสะดวก มากมาย อาทิ เครือ่ งปรับอากาศ เครือ่ งท�ำ น�ำ้ อุน่ ทีวจี อแบน ตูเ้ ย็น พร้อมฟรี WiFi ทุก ห้อง ห้องพักมีทงั้ แบบ วีไอพี สวีท ดีลกั ซ์วลิ ล่า และสแตนดาร์ดวิลล่า สะดวก สะอาด และ ปลอดภัยด้วยยามรักษาการณ์ ตลอด 24 ชั่วโมง
Welcome to Chuanthanapanya Resort A Cluster of Thai Style villas comprising of a VIP Suite. Deluxe and Standard villas. All rooms are equipped with modern facilities for your convenience. Free hi-speed internet and cable TV. Are also provided in every room. Located in Sawangdandin. Sakolnakorn. Great place for your business stay and holiday relaxing
ชวนธนปัญญา รีสอร์ท Chuanthanapanya Resort 384 หมู่ 6 ถนนสว่าง-ส่องดาว ต�ำบลสว่างแดนดิน อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 47110 ห่างจากค�ำชะโนด 44 กิโลเมตร โทร. 042-722199, 042-722200 0813804411 chuan_resort@hotmail.com www.chuan-resort.com
SAKONNAKHON 13
เฮือนโย้ยรีสอร์ท
บริการห้องพัก เป็นหลังบ้านเดี่ยว มี 9 หลัง เตียงเดี่ยว 4 ห้อง, เตียงคู่ 5 ห้อง เป็นห้องแถวบ้านปูน มี 4 ห้อง เตียงเดี่ยว 1 ห้อง, เตียงคู่ 3 ห้อง บ้านหลังใหญ่เป็นโฮมสเตย์ มี 2 ห้องนอน 2 ห้องน�้ำ ห้องโถงโล่งเหมาะส�ำหรับ ครอบครัว
14 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เฮือนผ้าคราม สินค้าโอท็อป ผ้าฝ้ายมัดย้อมคราม ผ้าฝ้ายทอคราม ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ เสื้อผ้า กระเป๋า ฯลฯ
เฮือนกาแฟ บ้านกาแฟสด หอมกรุ่นเมล็ดกาแฟ แท้ๆ พร้อมเค้กไอศครีม เย็นๆ
สวนอาหารไทโย้ย บริการอาหารเมนูปลาแม่น�้ำโขง รับจัดงานเลี้ยง รับจัดโต๊ะจีนในพิธีตา่ งๆ
เฮือนโย้ยรีสอร์ท 215 หมู่ 17 ต�ำบลอากาศ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร 47170 โทร. 081-7392537 (คุณกร) ตลอด 24 ชั่งโมง โทร. 042-799069 เวลา 08.00-21.00 น. เฮือนโย้ยรีสอร์ท www.heaunyoyresort.com taiyoy55 SAKONNAKHON 15
น ค โ ง ั พ ง ด แ ว า บ บ้าน า ต ร า ก ะ ร ต ง ย ี เส ี ส ง ส แ บ แบ
็มรูป เต ง ิ เท น ั บ ม า ว ค ง ่ ห แ น า ถ ะทับใจ ส ร ป ร อัคร า ก ิ ร บ ม ย ่ ี เย ง ด ส แ ร า อาหารดี ดนตรีไพเราะ ก
99 หมู่ 9 ต�ำบลไฮหย่อง ังโคน ถนนพังโคนวานร อำ� เภอพ จังหวัดสกลนคร 47160 โทร. 0956622726,
0934916566
โรงแรมชมดาว แอนด์ รีสอร์ท ถ้ า คุ ณ กำ�ลั ง มองหาที่ พั ก หรื อ โรงแรมในอำ�เภอสว่ า งแดนดิ น จั ง หวั ด สกลนคร เราขอแนะนำ�โรงแรมชมดาว แอนด์ รีสอร์ท อบอุ่นเหมือนบ้าน บริการประทับใจ พักผ่อนสบายแบบใกล้ชดิ ธรรมชาติ บรรยากาศสงบเน้นความเป็นส่วนตัว เหมาะส�ำหรับ ครอบครัวและหมูค่ ณะ เรามีหอ้ งพักทัง้ หมด 47 ห้อง ห้องพักสะอาด สิง่ อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน มีลานจอดรถกว้างขวาง และรักษาความปลอดภัย 24 ชั่วโมง
18 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เรามีบริการห้องพัก รายวันและรายเดือน ราคาสุดคุ้ม เริ่มต้นที่ 350 บาท/วัน และยังมีพื้นที่ ให้เช่าจัดประชุมสัมมนา, จัดงานเลี้ยงสังสรรค์, งานเลี้ยงรุ่น, งานคอนเสิร์ต และอื่นๆ อีกมากมาย
แหล่งวัฒนธรรมและแหล่งธรรมะที่ใกล้เคียง โรงแรมชมดาว แอนด์ รีสอร์ท 1. ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม ระยะทาง 27 กิโลเมตร 2. วัดป่าบ้านแสนด�ำ (หลวงปู่เนย) ระยะทาง 22 กิโลเมตร 3. วัดภูหินกอง (หลวงปู่น้อย ฐานิสโร) ระยะทาง 21 กิโลเมตร 4. วัดป่าบ้านหนองหว้า (หลวงปู่เคน เขมาสโย) ระยะทาง 5.6 กิโลเมตร 5. วัดใหม่บ้านตาล (หลวงปู่ค�ำบ่อ ฐิตปัญโญ) ระยะทาง 20 กิโลเมตร 6. วัดป่าประสิทธิ์สามัคคี (พระอาจารย์สุพัฒน์ สุขกาโม) ระยะทาง 11 กิโลเมตร 7. ค�ำชะโนด วังนาคินทร์ ระยะทาง 32 กิโลเมตร 8. วัดป่าภูมิพิทักษ์ (หลวงปู่หนูเพชร ปัญญาวุโธ) ระยะทาง 5.6 กิโลเมตร 9. วัดป่าสีห์พนมประชาคม (หลวงปู่บุญมา คัมภีรธัมโม) ระยะทาง 18 กิโลเมตร 10. วัดป่าแก้วชุมพล (หลวงปู่อุ่นหล้า ฐิตธัมโม) ระยะทาง 23 กิโลเมตร 11. แหลงมรดกโลกบ้านเชียง ระยะทาง 34.4 กิโลเมตร 12. วัดถ�้ำอภัยธรรมด�ำรง (พระอาจารย์วัน อุตโม (พระอุดมสังวรวสุทธิเถร)) ระยะทาง 27 กิโลเมตร 13. วัดถ�้ำเป็ด (หลวงปู่ก้าน จิตตธัมโม) ระยะทาง 33 กิโลเมตร 14. ปราสาทขอมบ้านพัฒนา ระยะทาง 12 กิโลเมตร 15. วัดป่าโสตถิผล (หลวงปู่บุญหนา ธัมมทินโน) ระยะทาง 43 กิโลเมตร 16. วัดถ�้ำเจ้าขา (หลวงปู่แก้ว สุจิณโณ) ระยะทาง 54 กิโลเมตร 17. วัดป่าอุดมสมพร (พระอาจารย์ฟั่น อาจาโร) ระยะทาง 43 กิโลเมตร 18. วัดป่าสุทธาวาส (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต) ระยะทาง 86 กิโลเมตร 19. วัดภูริทัตตถิราวาส บ้านหนองผือ (หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต) ระยะทาง 62 กิโลเมตร อบอุน ่ เหมือนบ้าน บริการประทับใจ ต้องโรงแรมชมดาว แอนด์ รีสอร์ท
โรงแรมชมดาว แอนด์ รีสอร์ท 166 หมู่ที่ 23 ต�ำบลสว่างแดนดิน อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร 47110 โทร. 042-722544 มือถือ 085-759-3638 แฟกซ์ 042-722544 www.agoda.com, www.booking.com โรงแรมชมดาวแอนด์รีสอร์ท SAKONNAKHON 19
ใต้ร่มพระบารมี
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม จังหวัดสกลนคร ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขามเป็นศูนย์ส่งเสริม อาชีพ และคุณภาพชีวิตราษฎร มุ่งเน้นความเป็นผู้น�ำในการผลิต เซรามิกลายภาพเขียน เพื่อการค้า คือวิสยั ทัศน์ของศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม โครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชด� ำ ริ ใ นสมเด็ จ พระนางเจ้ า ฯ พระบรมราชินนี าถ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ า้ นกุดนาขาม หมู่ 9 ต�ำบลเจริญศิลป์ อ�ำเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร ศูนย์ฯ แห่งนีไ้ ม่เพียงแต่ จะช่วยสร้างอาชีพที่ยั่งยืนให้กับราษฎร เพื่อให้มีสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และมีครอบครัวที่อบอุ่นขึ้นเท่านั้น แต่ ปัจจุบันได้กลายเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ 20 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ด้านการท�ำเซรามิกและอาชีพอื่นๆ รวม ถึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่ง หนึ่งของจังหวัดสกลนครด้วย
จากป่ารักน�้ำ - ศูนย์ส่งเสริม ศิลปาชีพฯ
สืบเนื่องจากราษฎรบ้านกุดนาขาม ต�ำบลเจริญศิลป์ อ�ำเภอเจริญศิลป์ จังหวัด สกลนคร แม้จะเป็นหมู่บ้านที่มีราษฎร ยากจนเนื่องจากสภาพความแห้งแล้ง
แต่มีความสามัคคีกลมเกลียวกันดี และ มีความจงรักภักดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แม้ในอดีตพื้นที่ บริเวณนีม้ กี ารแทรกซึมของผูก้ อ่ การร้าย คอมมิวนิสต์ ทว่าราษฎรบ้านกุดนาขาม กลับไม่ยอมให้ความร่วมมือกับผู้ก่อการ ร้าย และขอรับการอบรมหลักสูตรไทย อาสาป้องกันตนเองร่วมกับบ้านหนองฮาง จนผูก้ อ่ การร้ายไม่กล้าเข้ามาปลุกปัน่ และ คุกคามอีก ทั้งสองหมู่บ้านจึงได้รับการ ยกย่องให้เป็นตัวอย่างแก่หมู่บ้านอื่นๆ เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2525 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนินเยีย่ มบ้านกุดนาขาม จึงทรงชักชวนให้ราษฎรปลูกต้นไม้เพือ่ ให้ มีปา่ เพิม่ ขึน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาความแห้งแล้ง
ของชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้านต่าง พร้ อ มใจกั น ถวายที่ ดิ น สาธารณะของ หมูบ่ า้ น จ�ำนวน 43 ไร่ 3 งาน 32 ตารางวา ส�ำหรับจัดตัง้ โครงการป่ารักน�ำ้ โดยราษฎร บ้านกุดนาขามได้ช่วยกันปลูกต้นไม้โต เร็วและไม้มีค่าชนิดต่างๆ เช่น ไม้ประดู่ ไม้พะยูง ไม้ยูคาลิปตัส เป็นต้น จนแล้ว เสร็จภายใน 1 เดือน ต่อมาเมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2526 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินเยี่ยมโครงการ ป่ารักน�ำ้ บ้านกุดนาขาม อีกครัง้ หนึง่ ทรง ปลูกต้นไม้และทรงชักชวนให้ราษฎรปลูก เพิ่มเติม และทรงมีพระเมตตาให้ราษฎร ยากจนซึ่ ง ขาดแคลนที่ ท� ำ กิ น จ� ำ นวน 21 ครอบครัว ช่วยดูแลรักษาป่าโดยได้ พระราชทานเงินเดือนๆ ละ 1,500 บาท เป็นระยะเวลา 2 ปี ในระหว่างนั้นได้จัด ครูมาช่วยฝึกสอนอาชีพต่างๆ ตามที่ ราษฎรถนัด ทรงมีพระราชด�ำริที่จะให้ บ้านกุดนาขามเป็นหมูบ่ า้ นตัวอย่าง ให้ทกุ คนในหมู่บ้านได้มีอาชีพเสริมภายหลัง เสร็จสิน้ ฤดูกาลท�ำนา จึงทรงมีพระเมตตา ให้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม ศิ ล ปาชี พ ขึ้ น ที่ บ้านกุดนาขาม โดยมีพระราชเสาวนียใ์ ห้ พันเอก เรวัต บุญทับ (ยศในขณะนั้น) เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2526 ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน เพื่อรับ พระราโชบายเกี่ยวกับการจัดตั้งโรงงาน เครื่องปั้นดินเผา ขึ้นที่บ้านกุดนาขาม
เมือ่ ราษฎรทราบว่า สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ทรงมีพระเมตตาจะ จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพ ต่างก็พร้อม ใจกั น น้ อ มเกล้ า น้ อ มกระหม่ อ มถวาย ทีด่ นิ จ�ำนวน 50 ไร่ ส�ำหรับเป็นทีต่ งั้ โรงงาน โดยไม่ขอรับค่าตอบแทนใดๆ โรงงาน เครื่องปั้นดินเผาจึงได้เริ่มลงมือก่อสร้าง ตัง้ แต่วนั ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2526 เป็นต้นมา โดยมีหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบคือ กรมทหาร ราบที่ 3 ค่ายกฤษณ์สีวะรา
ยกระดับคุณภาพชีวิตสิ่งแวดล้อม
ศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม มีวตั ถุประสงค์ในการจัดตัง้ และด�ำเนินการ ดังนี้ 1. ส่ ง เสริ ม ให้ ร าษฎรมี อ าชี พ เสริ ม ภายหลังเสร็จสิ้นฤดูกาลท�ำนา ไม่ละทิ้ง ถิน่ ฐานตนเอง เข้าไปรับจ้างตามเมืองใหญ่ๆ หรือในกรุงเทพฯ 2. เพื่ อ ยกระดั บ รายได้ ข องราษฎร และให้ราษฎรมีความรู้ ความสามารถใน อาชีพทีต่ นถนัด เพือ่ น�ำไปประกอบอาชีพ แล้วสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 3. เพือ่ อนุรกั ษ์สภาพแวดล้อม และให้ ราษฎรมีส่วนร่วมช่วยกันรักษาสภาพป่า ให้คงอยู่ตลอดไป 4. สืบทอดประเพณี วัฒนธรรมท้องถิน่ ลงบนผลิตภัณฑ์ เพือ่ ถ่ายทอดให้กบั อนุชน SAKONNAKHON 21
รุ่นหลัง และให้ประชาชนทั่วไปได้เข้ามา ศึกษาหาความรู้ 5. เพื่อให้เป็นหมู่บ้านพัฒนาดีเด่น และเป็นตัวอย่างในการพัฒนาหมู่บ้าน อื่นๆ 6. เพือ่ เป็นการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ในระดับท้องถิ่น
หลายแผนกหลากอาชีพ เพื่อราษฎร
ศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพบ้านกุดนาขาม ไม่เพียงแต่จะมีโรงงานเครือ่ งปัน้ ดินเผาที่ มีคุณภาพมาตรฐานใกล้เคียงกับโรงงาน อุตสาหกรรมเท่านั้น แต่ยังมีแผนกอื่นๆ อีก 17 แผนก อาทิ แผนกดอกไม้ประดิษฐ์ แผนกเฟอร์นเิ จอร์ แผนกแกะสลักไม้ แผนก ปักผ้า แผนกตัดเย็บเสือ้ ผ้า แผนกทอผ้าไหม แผนกตีเหล็ก-หล่อโลหะ แผนกจักสาน แผนกตัดเย็บเครือ่ งหนัง แผนกอาหารขนม แผนกเกษตร แผนกอัดอิฐบล็อก แผนก เครือ่ งประดับปีกแมลงทับ แผนกอัดกรอบ พระ แผนกเลี้ยงไหม แผนกวาดภาพบน ผืนผ้าใบ และเพือ่ ให้ศนู ย์แห่งนีส้ ามารถด�ำเนินการ ในรูปแบบธุรกิจได้เบ็ดเสร็จในทีแ่ ห่งเดียว จึงมีฝ่ายธุรการ และฝ่ายบรรจุภัณฑ์และ
22 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ด้วย โดยปัจจุบันมี สมาชิกศูนย์ฯ รวม 282 คน ครู-อาจารย์ ประจ�ำแผนก 7 คน และเจ้าหน้าที่ทหาร ชุดปฏิบัติการ 10 นาย
คือรอยยิ้ม ความสุข ความภูมิใจ
สมาชิกภายในศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม ทุกคน ต่างมีความภาคภูมใิ จ ที่ได้เสียสละผลประโยชน์ส่วนตัว และ ได้ ท� ำ งานสนองแนวพระราชด� ำ ริ ข อง สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และมีความซาบซึง้ ในพรมหากรุณาธิคณ ุ ที่ทรงมีต่อราษฎรในหมู่บ้านกุดนาขาม และหมู่บ้านใกล้เคียงเป็นอย่างมาก
เพราะตัง้ แต่มศี นู ย์สง่ เสริมศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม ได้พัฒนาความเป็นอยู่ ในด้านต่างๆ ของราษฎรอย่างเห็นได้ชดั ไม่ว่าจะเป็นด้านสภาพชีวิตความเป็น อยู่ของราษฎร ซึ่งก่อนการจัดตั้งศูนย์ฯ ราษฎรมีรายได้เฉลีย่ ครอบครัวละ 5,000 บาทต่อปี ปัจจุบันราษฎรมีรายได้เฉลี่ย ครอบครัวละประมาณ 87,899 บาท โดย ทีร่ าษฎรไม่ตอ้ งเดินทางไปท�ำงานต่างถิน่ ครอบครัวมีความอบอุ่น ด้านสุขภาพ อนามัยของราษฎรอยูใ่ นเกณฑ์ดดี า้ นการ ศึกษา ราษฎรในชุมชนได้รบั การศึกษาให้ อ่านออกเขียนได้ทุกคน ปั จ จุ บั น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ส ร้ า งชื่ อ เสี ย ง ให้กับศูนย์ฯ คือผลงานแจกันเขียนภาพ เหมือนบุคคลและวิถีชีวิตไทย ชุดถ้วย กาแฟ ตุ๊กตารูปสัตว์ต่างๆ และล่าสุดคือ ถ้วยรองน�้ำยาง ซึ่งก�ำลังเป็นที่ต้องการ ของชาวสวนยางในแถบภาคอีสานอย่าง มากด้วย ส�ำหรับผู้ที่สนใจไปเยี่ยมชมหรือซื้อ หาผลิตภัณฑ์ของศูนย์สง่ เสริมศิลปาชีพ บ้านกุดนาขาม สามารถใช้เส้นทางสาย สกลนคร-อุดรธานี ทางหลวงหมายเลข 22 ระยะทาง 84 กิโลเมตร ถึง อ.สว่างแดนดิน แยกขวาเข้าเส้นทางหมายเลข 2091 และ แยกซ้ายเข้าเส้นทางหมายเลข 2280 เป็น เส้นทางสู่ อ.เจริญศิลป์ ไปอีกประมาณ 23 กิโลเมตร ศูนย์ฯ เปิดให้เข้าชมตัง้ แต่เวลา 08.00-16.30 น. ทุกวันอังคาร-วันเสาร์ SAKONNAKHON 23
SBL Free Magazine ยืนหยัดบนเส้นทางการบันทึกทุกเรื่องราวทุกมิติท่วั ไทย มานานกว่า 8 ปี
SBL เป็นที่ยอมรับ จากผู ้บริหาร
ทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป ซึ่ งให้ความไว้วางใจในการประชาสัมพันธ์ หน่วยงานหรือองค์กรอย่างต่อเนื่อง
ทัง้ เนื้อหาและการออกแบบรู ปเล่มที่สวยงาม ทันสมัย พิมพ์ส่สี ีสวยงามทัง้ ฉบับ
ล�้ำสมัยไม่ตกเทรนด์
ด้วยทุกช่ องทางการน�ำเสนอผ่านโลกโซเชี ยลมีเดีย ตอกย�้ำภาพลักษณ์องค์กรของท่านให้ทันสมัย
เข้าถึงง่ายเพียงแค่คลิก
สินค้าและบริการของท่านก็เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้ง่ายๆ ทุกที่ทุกเวลา SBL Magazine บันทึกประเทศไทย WWW www.smart-sbl.com www.ookbee.com/Shop/Magazine/SBLMAGAZINE
สารผู้ว่าราชการ จังหวัดสกลนคร
เมือ่ ได้รบั ทราบว่าจะได้มาปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นต�ำแหน่งผูว้ า่ ราชการ จังหวัดสกลนคร ผมรู้สึกดีใจอย่างยิ่งที่จะได้มาอยู่กับพี่น้อง ชาวสกลนคร เหตุผลประการแรกคือ จังหวัดสกลนครมีพระอริยสงฆ์ สายพระกรรมฐานหลายรูป ซึ่งล้วนแต่เป็นที่เคารพศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนชาวไทยทัว่ ประเทศ ไม่วา่ จะเป็นหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรังสี หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร และอาจารย์วนั อุตตโม จึงท�ำให้จงั หวัดสกลนครมีวดั ป่า และพิพธิ ภัณฑ์พระอริยสงฆ์หลายแห่ง ทีบ่ ดั นีไ้ ด้รบั ความสนใจ จากพุทธศาสนิกชนจ�ำนวนมากพากันมาสักการะและเยี่ยมชม และเหตุผลประการส�ำคัญทีผ่ มรูส้ กึ ภาคภูมใิ จก็คอื สกลนคร เป็นจังหวัดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชด�ำเนิน เพือ่ ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ หรือเสด็จฯ เป็นการส่วนพระองค์ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2498 - 2539 จ�ำนวน 109 ครัง้ และมีโครงการพระราชด�ำริ จ�ำนวน 297 โครงการ เป็นโครงการพัฒนาแหล่งน�ำ้ มากทีส่ ดุ จ�ำนวน 227 โครงการ ทุกรอยพระบาทยาตราในทุกหนแห่งที่พระองค์ เสด็จฯ ไปถึง ได้แปรเปลีย่ นความทุกข์ยากหม่นหมองของพีน่ อ้ ง ชาวสกลนคร ให้มคี วามร่มเย็นเป็นสุขอย่างยัง่ ยืนจนถึงทุกวันนี้ ผมจึงตัง้ ปณิธานไว้วา่ จะขอตามรอยพระบาทของพระองค์ มุง่ มัน่ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเข้าใจ และเข้าถึงแนวทางการพัฒนา ตามแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียง เพือ่ การพัฒนาจังหวัด สกลนครให้เจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน ผมขอถือโอกาสนีก้ ล่าวขอบคุณหัวหน้าส่วนราชการ นายอ�ำเภอ ข้าราชการ ผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ผูน้ ำ� ภาคเอกชน รวมถึงพีน่ อ้ งประชาชนทุกคน ทีใ่ ห้ความร่วมมือร่วมใจและเป็น ก�ำลังหลักส�ำคัญในการขับเคลื่อนงานต่างๆ โดยผมยินดีรับฟัง ความคิดเห็น รวมถึงข้อเสนอแนะต่างๆ และพร้อมจะน�ำไป ปรับใช้กับการท�ำงานเพื่อพัฒนาจังหวัดสกลนครของเราต่อไป ท้ายนี้ ผมขอขอบคุณทีมงานนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ที่ ไ ด้ ม าร่ ว มบั น ทึกเรื่อ งราวของจัง หวัดสกลนครไว้ ให้เป็น เกียรติประวัตแิ ก่พนี่ อ้ งชาวจังหวัดสกลนคร และขอขอบคุณบริษทั และหน่วยงานต่างๆ ทีม่ สี ว่ นร่วมสนับสนุนการด�ำเนินการครัง้ นี้ ให้ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณทุกท่านจากใจจริงครับ
(นายวิทยา จันทร์ฉลอง) ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร
SAKONNAKHON 25
เส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัด
ให้แผ่นดินไทยกลายเป็น
“แผ่นดินทอง”
ให้ความทุกข์ยากล�ำบาก แปรเปลี่ยนเป็นความสุขสบาย แบบพอเพียง
26 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
SAKONNAKHON 27
“นอกจากจะสอนคนให้เก่งแล้ว จ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องอบรมให้ดพ ี ร้อมกันไปด้วย ประเทศเราจึงจะได้คนทีม่ คี ณ ุ ภาพพร้อม คือ ทัง้ เก่งและดี มาเป็นก�ำลังของบ้านเมือง”
พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
นายวิทยา จันทร์ฉลอง ผูว้ า่ ราชการ จั ง หวั ด สกลนคร ได้ น ้ อ มน� ำ กระแส พระราชด�ำรัสข้างต้น มาใช้ในการด�ำเนินชีวติ และการปฏิบัติราชการ โดยท่านได้ให้ ค�ำมั่นสัญญาว่า “...ข้าพระพุทธเจ้า จะเป็นคนดี มีคุณธรรม ร่วมกันน�ำพา ประเทศชาติ ไปสูอ่ นาคตทีย่ งั่ ยืน สงบสุข สันติสขุ จะรูร้ กั สามัคคี เพือ่ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และประชาชนตลอดไป...” นิตยสาร SBL ได้รับเกียรติอย่างสูง จากท่านวิทยา จันทร์ฉลอง ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดสกลนคร กรุณาให้สัมภาษณ์ ในหลากหลายประเด็น อาทิ ศักยภาพ อั น โ ด ด เ ด ่ น ข อ ง จั ง ห วั ด ส ก ล น ค ร ความพร้อมของจังหวัดสกลนครในการก้าวสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” โครงการโรงเรียน ICU สกลนคร Model การเป็นพื้นที่ต้นแบบ การท่องเที่ยว Bio Tourism ตลอดจน โครงการต่ า งๆ ที่ ท ่ า นสร้ า งสรรค์ ขึ้ น เพื่อด�ำเนินรอยตามพระราชด�ำริ ฯลฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
5 ศักยภาพที่โดดเด่น ของสกลนคร
เนื่องจากจังหวัดสกลนครตั้งอยู่บน ที่ราบสูง ล้อมรอบด้วยภูเขาและป่าไม้ ท�ำให้เรามีทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรน�ำ้ ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ เรามีโครงการ ชลประทานทัง้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และ ขนาดเล็กหลายแห่ง ซึ่งส่งผลให้มีพื้นที่ ท� ำ การเกษตรทั้ ง หมดเกิ น กว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของพื้ น ที่ เ ลยที เ ดี ย ว ด้ า นท� ำ เลที่ ตั้ ง จังหวัดสกลนครอยูห่ า่ งจากสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งที่ 2 จังหวัดมุกดาหาร แค่ 120 กิโลเมตร และสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาวแห่ ง ที่ 3 จั ง หวั ด นครพนม 90 กิโลเมตร เหมาะกับการค้ากับประเทศ 28 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เพื่อนบ้านเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังมี ปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลให้จังหวัดสกลนคร มีศักยภาพที่โดดเด่นในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านการเกษตร จังหวัดสกลนคร มีครัวเรือนเกษตรกร 187,658 ครัวเรือน มีพนื้ ทีท่ ำ� การเกษตรทัง้ หมด 3,148,103 ไร่ แบ่งเป็น นาข้าว 2,253,125 ไร่ ไม้ยนื ต้น 497,869 ไร่ ไม้ผล 17,290 ไร่ พืชไร่ 191,442 ไร่ พืชสวน 286,400 ไร่ พืชผัก 14,126 ไร่ ไม้ดอกไม้ประดับ 107 ไร่ ปศุสตั ว์ 132,288 ไร่ และเพาะเลีย้ งประมง 41,756 ไร่ โดยมีผลผลิตทางการเกษตร ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ ข้ า วเหนี ย ว ข้ า วเจ้ า มันส�ำปะหลัง อ้อยโรงงาน ยางพารา เม่า และคราม(ตามล�ำดับ)และยังมีโคขุนโพนยางค�ำ
ซึง่ สหกรณ์โพนยางค�ำสามารถผลิตโคขุน ได้ปลี ะ 6,000 - 8,000 ตัว (ตลาดต้องการ 15,000 - 16,000 ตัว/ปี) ซึง่ เมือ่ หักค่าใช้จา่ ย แล้ว เกษตกรผู้เลี้ยงโคขุนจะมีรายได้ 15,000 บาทต่อตัว
2. ด้านการค้าการลงทุน จังหวัดสกลนคร
มี ศั ก ยภาพในการผลิ ต สิ น ค้ า เพื่ อ การ ส่งออกหลายชนิด ได้แก่ เสือ้ ผ้าส�ำเร็จรูป เครือ่ งประดับ เครือ่ งประดับยนต์ ผลิตภัณฑ์ จากมอลต์สกัด ข้าวสาร ข้าวฮาง ยางพารา ผ้าย้อมคราม เนื้อโคขุน เครื่องเซรามิก เครื่องหนังที่ผลิตเป็นถุงมือกอล์ฟและ กระเป๋า
ผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดสกลนคร มีมูลค่าการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ปี 2559 จ�ำนวน 1,711,379,156 บาท ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ จ� ำ หน่ า ยได้ ม าก ได้ แ ก่ เนือ้ โคขุนโพนยางค�ำ 564,401,650 บาท นม UHT/พาสเจอร์ไรส์ 468,739,108 บาท ผ้าย้อมคราม 250,260,840 บาท ข้าวฮาง 46,835,040 บาท และน�ำ้ เม่า 46,570,030 บาท
มูลค่าการจ�ำหน่าย OTOP ปี 2559 จ�ำนวน 1,711,379,156 บาท ผลิตภัณฑ์ที่จำ� หน่าย ได้มากที่สุดคือ เนื้อโคขุนโพนยางค�ำ อุตสาหกรรม จังหวัดสกลนคร มีโรงงาน รวม 1,618 โรงงาน เงินลงทุน 7,669.847 ล้ า นบาท สาขาที่ มี ก ารลงทุ น มาก 3 อันดับแรก ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร เป็นการช�ำแหละ เนือ้ โคขุน นมพาสเจอไรซ์ และน�ำ้ แข็งก้อน เป็นหลัก การผลิตน�ำ้ มะเขือเทศเข้มข้น
อุ ต สาหกรรมการเกษตร เป็ น โรงสีขา้ ว กะเทาะเปลือกถัว่ ลิสง ปรับปรุง คัดแยกเมล็ดพันธุ์พืช อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ เป็ น การผลิ ต กระแสไฟฟ้า แหล่งบรรจุก๊าซหุงต้ม การคมนาคม สามารถเดินทางโดย เครื่องบิน จากสนามบินดอนเมืองวันละ 4 เที่ยว (ไป-กลับ) และโดยรถยนต์ที่ เชื่อมโยงจากจังหวัดอุดรธานี ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร และนครพนม
3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ป่าไม้ มีพนื้ ทีป่ า่ ไม้ 1,193,750.50 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.89 ของพื้นที่จังหวัด และมีอุทยานแห่งชาติ 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติภูพาน อุทยานแห่งชาติ ภูผายล และอุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก แหล่ ง น�้ ำ มี โ ครงการชลประทาน ขนาดใหญ่ 3 แห่ง ได้แก่ เขื่อนน�้ำอูน (กักเก็บน�ำ้ ) เขือ่ นน�ำ้ พุง (กักเก็บน�ำ้ และผลิต กระแสไฟฟ้า) และหนองหาร ซึง่ เก็บกักน�ำ้ รวมกันได้ 952 ล้าน ลบ.ม. ครอบคลุม พืน้ ทีช่ ลประทาน 188,000 ไร่ นอกจากนี้ ยั ง มี โ ครงการชลประทานขนาดกลาง ถึง 41 แห่ง เก็บกักน�ำ้ ได้ 127 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน 177,390 ไร่ โครงการ ชลประทานขนาดเล็ก 201 แห่ง เก็บกักน�ำ้ ได้ 93 ล้าน ลบ. พืน้ ทีช่ ลประทาน 59,810 ไร่ และโครงการสูบน�้ำด้วยไฟฟ้า 50 แห่ง พื้นที่ชลประทาน 53,662 ไร่
4. ด้ า นการศึ ก ษา จังหวัดสกลนคร เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย 3 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร SAKONNAKHON 29
5. ด้านการท่องเทีย่ ว จังหวัดสกลนคร
มีผมู้ าเยีย่ มเยือน ในปี พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 1,136,645 คน เป็นคนไทย 1,131,803 คน ชาวต่างประเทศ 4,842 คน โดยมีรายได้ จากการท่องเทีย่ ว 1,781 ล้านบาท ซึง่ ทาง จังหวัดสกลนครได้มกี ารส่งเสริมการท่องเทีย่ ว 3 ธรรม ได้แก่
จังหวัดสกลนครส่งเสริม การท่องเที่ยว 3 ธรรม ได้แก่ ธรรมะ ธรรมชาติ และวัฒนธรรม
ธรรมะ จังหวัดสกลนครมีพระอริยสงฆ์ ซึง่ เป็นทีเ่ คารพนับถือของพุทธศาสนิกชน ทั่ ว ประเทศ และมี วั ด ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร มีพระธาตุเชิงชุม และหลวงพ่อพระองค์แสน วัดป่าสุทธาวาส มีพพิ ธิ ภัณฑ์หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต, หลวงปูห่ ลุย จั น ทสาโร, วั ด ถ�้ ำ ขาม มี เ ทสกเจดี ย ์ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี, วัดป่าอุดมสมพร มีพพิ ธิ ภัณฑ์หลวงปูฝ่ น้ั อาจาโร, วัดถ�ำ้ พวง มีสงั เวชนียสถาน 4 ต�ำบล และพิพธิ ภัณฑ์ พระอาจารย์วัน อุตตโม ธรรมชาติ มีอุทยานแห่งชาติภูพาน อุทยานแห่งชาติภผู ายล อุทยานแห่งชาติ ภู ผ าเหล็ ก ภาพรอยสลั ก ผาสามพั น ปี ทีภ่ ผู ายล น�ำ้ ตกค�ำหอม หนองหาร โค้งปิง้ งู เขื่อนน�้ำพุง เขื่อนน�้ำอูน นอกจากนั้น ยั ง มี พ ระต� ำ หนั ก ภู พ านราชนิ เ วศน์ ซึง่ เป็นทีป่ ระทับของพระมหากษัตริยแ์ ละ พระบรมวงศานุวงศ์ โดยพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ได้เสด็จพระราชด�ำเนินจังหวัดสกลนคร ตัง้ แต่ พ.ศ. 2498 - 2539 จ�ำนวน 109 ครัง้ วัดพระธาตุเชิงชุม
ทะเลสาบหนองหาร
อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
30 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
และมีโครงการพระราชด�ำริ จ�ำนวน 297 โครงการ เป็นโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ มากที่สุด จ�ำนวน 227 โครงการ วัฒนธรรม จังหวัดสกลนครมีชนเผ่า พืน้ เมือง 6 เผ่า ได้แก่ ภูไท ญ้อ ไทกะเลิง ไทโส้ ไทโย้ย ไทลาวอีสาน และ 2 เชือ้ ชาติ ได้แก่ คนไทยเชือ้ สายจีน คนไทยเชือ้ สาย เวียดนาม ซึ่งแต่ละชนเผ่าแต่ละเชื้อชาติ มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น และอยู่กันด้วย ความรัก ความสามัคคี มีประเพณีต่างๆ อาทิ งานแห่ปราสาทผึ้ง งานนมัสการ พระธาตุเชิงชุมและหลวงพ่อองค์แสน งานเทศกาลแห่ดาว จากศักยภาพดังกล่าวข้างต้นนี้ จังหวัด สกลนครจึงก�ำหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร์ (Positioning) ไว้ คือ 1. การเกษตรและอุตสาหกรรการเกษตร 2. การค้า การลงทุน 3. การพัฒนาการท่องเที่ยว
รายได้หลักเมืองสกลนคร
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสกลนคร (GPP) ปี 2558 ณ ราคาประจ�ำปี เท่ากับ 46,837 ล้านบาท โดยมูลค่าผลิตภัณฑ์
มวลรวมจังหวัดต่อหัว (GPP Per Capita) เท่ากับ 57,559 บาท เป็นล�ำดับที่ 66 ของประเทศ โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดสกลนคร ปี 2558 ขึน้ อยูก่ บั ภาคการผลิตทีส่ ำ� คัญ คือ สาขาเกษตรกรรม มีสดั ส่วนร้อยละ 24.5 สาขาการศึกษา มีสัดส่วนร้อยละ 21.9 สาขาค้าส่ง ค้าปลีก มีสัดส่วนร้อยละ 12 สาขาตั ว กลางทางการเงิ น มี สั ด ส่ ว น ร้อยละ 8.7 และสาขาอืน่ ๆ อีก 12 สาขา มี สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 32.9 ตามล� ำ ดั บ (ที่มา : ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)
ยุทธศาสตร์การพัฒนา 4 ปี (พ.ศ.2561-2564)
จังหวัดสกลนคร ได้ก�ำหนดวิสัยทัศน์ “เป็นแหล่งเกษตรปลอดภัย ก้าวไกล การค้า พัฒนาการท่องเทีย่ ว” เพือ่ เป็น เข็มทิศน�ำทางการพัฒนา โดยน�ำศักยภาพ และความโดดเด่นที่มีอยู่แล้วมาต่อยอด ก�ำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ไว้ 5 ประเด็น ดังนี้
วิสยั ทัศน์จงั หวัดสกลนคร เป็นแหล่งเกษตรปลอดภัย ก้าวไกลการค้า พัฒนาการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนา การเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนา การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์เพือ่ ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ที่ดี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนา ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม แบบบูรณาการอย่างสมดุลและยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การบริหาร กิจการบ้านเมืองทีด่ ตี ามหลักธรรมาภิบาล และความมั่นคง
SAKONNAKHON 31
มุ่งสู่ 7 เป้าหมายการพัฒนา
พลอากาศเอก ประจิ น จั่ น ตอง รองนายกรัฐมนตรี ได้ตดิ ตามการปฏิบตั ิ ราชการในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 11 เมือ่ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ทีผ่ า่ นมา โดยผมได้เข้าร่วมประชุมหารือ และพูดคุย ในประเด็นส�ำคัญ ทีจ่ ะช่วยพัฒนาจังหวัด ของเราครับ 1. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพิ่มเติม เพื่อใช้ในการพัฒนาแหล่งน�้ำ ทีจ่ ะท�ำให้การบริหารจัดการน�ำ้ มีประสิทธิภาพ มากขึ้ น และยั ง ได้ จั ด ท� ำ ข้ อ เสนออี ก 2 โครงการ ได้แก่ โครงการปรับปรุงภูมทิ ศั น์ ทางหลวงหมายเลข 213 โครงการก่อสร้าง ระบบสาธารณูปโภคลงใต้ดินและปรับ ภูมิทัศน์ในพื้นที่เมืองสกลนคร 2. การแก้ปญ ั หาพืน้ ทีบ่ ริเวณหนองหาร โดยท�ำวิจัยทั้งในเรื่องของการแก้ปัญหา น�ำ้ เสีย และการใช้ประโยชน์พนื้ ทีบ่ ริเวณ แหล่งน�ำ้ เพือ่ ให้เกิดการบริหารจัดการน�ำ้ อย่างเป็นระบบ และเพื่อให้ประชาชน โดยรอบบริเวณหนองหาร และชาวสกลนคร ได้ใช้ประโยชน์จากแหล่งน�้ำสูงสุด 3. จั ด ท� ำ โครงการเพื่ อ ลดต้ น ทุ น เพิม่ โอกาสทางการแข่งขันให้กบั สินค้าเกษตร และการด�ำเนินการตามนโยบายรัฐบาล เรือ่ งเกษตรแปลงใหญ่ รวมถึงโครงการอืน่ ๆ ทีจ่ ะเสริมความเข้มแข็งให้กบั ภาคการเกษตร ของเราครับ 4. การขยายอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ให้ครอบคลุมพื้นที่ทุกหมู่บ้านในจังหวัด สกลนครภายในปี 2560 และขยายการ จัดตัง้ ศูนย์ดจิ ติ ลั ชุมชน ให้ครอบคลุมพืน้ ที่ ทุกอ�ำเภอ เพือ่ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ พีน่ อ้ ง ประชาชนในการเข้าถึงข้อมูล 5. การเสริ ม สร้ า งความแข็ ง แรง ทางด้านพลังงาน โดยกระตุน้ ให้ประชาชน ช่วยกันประหยัดพลังงาน และการท�ำวิจยั เพื่อผลิตพลังงานทางเลือก เพื่อรองรับ การใช้ ง านที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ให้ เ พี ย งพอกั บ ความต้องการของประชาชน
32 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
6. การขยายเส้นทางการคมนาคม เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่ง เป็นการ ขยายการค้าการลงทุนไปสูป่ ระเทศอาเซียน 7. การจั ด การศึ ก ษาแบบทวิ ภ าคี โดยออกแบบให้เหมาะสมและตรงกับ ความต้องการของผูเ้ รียน และการสร้างงาน ในพืน้ ทีเ่ พือ่ รองรับนักเรียนกลุม่ นี้ นอกจากนี้ ยังเพิ่มระบบการศึกษานอกห้องเรียน ตามนโยบายการลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ และเพิ่มแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน เช่น พิพธิ ภัณฑ์ ประวัตศิ าสตร์ ท้องถิน่ วัฒนธรรม เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับเยาวชน และ ผู้สนใจ รวมทั้งเป็นการสร้างจิตส�ำนึก ให้เกิดความรักและหวงแหนในภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิ่นครับ
ของนวัตกรรมจากการศึกษา วิจัยและ พัฒนาทรัพยากร ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ด้วยการต่อยอดภูมิปัญญาในท้องถิ่น ที่มีความโดดเด่นของจังหวัดสกลนคร ขับเคลือ่ นการท�ำงานผ่านกลไกประชารัฐ ซึง่ มีภาครัฐเป็นฝ่ายสนับสนุน ภาคเอกชน เป็นผู้ขับเคลื่อนภาคประชาสังคมเป็น เครือข่ายสร้างความเข้มแข็ง มีกลุม่ ชุมชน และประชาชนเป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ โดย น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมาเป็นกรอบแนวคิด
ในการท�ำงาน ส่งผลให้เกิดการพัฒนา ที่มั่นคงและยั่งยืนครับ ผมได้ให้ความส�ำคัญและมีสว่ นในการ ผลักดัน และขับเคลือ่ นนวัตกรรมผ่านกลไก ประชารัฐอย่างต่อเนือ่ ง ส�ำหรับนวัตกรรม ของจังหวัดสกลนครที่มีความโดดเด่น และได้รบั การขับเคลือ่ นผ่านยุทธศาสตร์ 5 ด้านของจังหวัดสกลนคร ได้แก่ ข้าวฮาง โคขุน สามด�ำมหัศจรรย์ (ไก่ดำ� หมูดำ� โคด�ำ) ปลาเข็งยักษ์ หรือปลาหมอยักษ์ น�ำ้ เม่า ผ้าย้อมคราม เมืองสมุนไพร เป็นต้น
สกลนคร 4.0
เพื่อก้าวสู่การเป็นองค์กรนวัตกรรม “สกลนคร 4.0” จังหวัดสกลนครได้ออกแบบ ปรับปรุงผลผลิตและบริการ การปรับปรุง ประสิทธิผลของระบบปฏิบตั กิ ารกระบวนการ ท�ำงานทีส่ ำ� คัญ ท�ำให้เกิดการค้นพบผลผลิต บริการและวิธกี าร รวมไปถึงการสร้างรูปแบบ ใหม่ในการท�ำงานเพื่อส่งมอบผลผลิต และบริ ก ารที่ ดี ใ ห้แก่ผู้รับบริการ และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการวางรากฐาน SAKONNAKHON 33
บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี สกลนคร
จังหวัดสกลนครได้ด�ำเนินการจัดตั้ง บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสกลนคร (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จ�ำกัด ในวันที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 และมีกลุม่ เป้าหมาย ทีส่ มัครเข้าร่วมกิจกรรมของบริษทั ทีจ่ ะให้ การปรึกษา ให้องค์ความรู้ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยมีกลุ่มองค์กรที่เข้าร่วม โครงการดังนี้ ด้านการเกษตร การพัฒนาแตงโม ความหวาน 12 บิค ฟัก แตงไทย มะละกอ บ้ า นนาหวาย หมู ่ 3 ต� ำ บลท่ า ก้ อ น อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร ด้านการแปรรูป (SME/OTOP) กิจกรรม 1) แปรรูปผ้าย้อมคราม บ้านพันนา หมู่ 1 ต�ำบลพันนา อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
34 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
2) ส่งเสริมการปลูกข้าวอินทรียป์ ลอดภัย ข้าวหอมดอกฮัง บ้านโคกสะอาด หมู่ 4 ต�ำบลอุม่ จาน อ�ำเภอกุสมุ าลย์ จังหวัดสกลนคร ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน การสร้างเครือข่ายการท่องเทีย่ วโดยชุมชน บริเวณรอบหนองหาร บ้านท่าวัดเหนือ หมู่ 3 ต�ำบลเหล่าปอแดง อ�ำเภอเมืองสกลนคร, บ้านจอมแจ้ง หมู่ 7, บ้านน�ำ้ พุ หมู่ 4, บ้ า นแป้ น หมู ่ 5 ต� ำ บลบ้ า นแป้ น อ�ำเภอโพนนาแก้ว และชุมชนบ้านท่าแร่ ด้านการสือ ่ สารสร้างความเข้าใจ กับทุกภาคส่วน ของบริษัท ประชารัฐ รักสามัคคีสกลนคร (วิสาหกิจเพือ่ สังคม) จ�ำกัด ผ่าน Social Media 1) การจัดท�ำเว็บไซต์ บริษทั ประชารัฐ รักสามัคคีสกลนคร (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จ�ำกัด https://www.sepsakonnakhon. snru.ac.th
2) การจัดท�ำ Facebook หนองหาร บ้านเฮาละเบ๋อ สกลนคร บ้านท่าวัด เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว ซึ่งจากผลการด�ำเนินงานผ่านกลุ่ม ที่มีการพัฒนา และเข้าร่วมกิจกรรมกับ บ ริ ษั ท ป ร ะ ช า รั ฐ มี ร า ย ไ ด ้ เ พิ่ ม ขึ้ น จากยอดจ�ำหน่ายของเดือนกุมภาพันธ์ 2560 จ�ำนวน 7,061,500 ล้านบาท
จิตอาสาประชาร่วมใจ ก�ำจัดผักตบชวาทั่วไทย
ต า ม ที่ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ได้รบั มอบหมายจากรัฐบาลให้ดำ� เนินการ แก้ไขปัญหาผักตบชวาที่มีอยู่ในแม่น�้ำ คูคลอง และแหล่งน�้ำสาธารณะต่างๆ ซึ่งได้สร้างปัญหาเกิดผลกระทบต่อวิถี การด�ำรงชีวิตของประชาชนเป็นวงกว้าง และเพือ่ เป็นการสร้างจิตส�ำนึกในการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีคณะกรรมการ
อ�ำนวยการบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหา ผักตบชวา โดยมีทา่ นรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สวุ รรณ) เป็นประธาน ผมในฐานะผูว้ า่ ราชการจังหวัดสกลนคร ได้สนองนโยบายรัฐบาล โดยให้สำ� นักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดสกลนคร เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการด� ำ เนิ น งาน ก�ำจัดผักตบชวาในพื้นที่จังหวัดสกลนคร โดยมี พื้ น ที่ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ หนองหาร ซึ่งมีพื้นที่ 123 ตารางกิโลเมตร และ แหล่งน�้ำธรรมชาติในพื้นที่อ�ำเภอต่างๆ จ�ำนวนมาก โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มีแผนการด� ำเนินการก� ำจัดผักตบชวา ในจังหวัดสกลนคร จ�ำนวน 236,170 ตัน ในการด�ำเนินการจังหวัดสกลนครได้มี คณะกรรมการด�ำเนินการแก้ไขปัญหา ผั ก ต บ ช ว า ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด ส ก ล น ค ร โดยมอบหมายให้แต่ละอ�ำเภอด�ำเนินการ ร่ ว มกั บ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในแต่ละพื้นที่และภาคเอกชน รวมพลัง ก�ำจัดผักตบชวาในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ผมได้แต่งตัง้ คณะกรรมการด�ำเนินการ โครงการประชารัฐร่วมใจแก้ไขและก�ำจัด ผักตบชวา บริเวณรอบหนองหาร เพือ่ ถวาย เป็นพระราชกุศล “โครงการจิตอาสา ประชาร่วมใจ ก�ำจัดผักตบชวาทัว่ ไทย ในวันสิ่งแวดล้อมไทย” และเนื่องใน วันคล้ายวันพระราชสมภพพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 และ มี ก ารด� ำ เนิ น การแบบบู ร ณาการจาก ทุกภาคส่วน และการสนับสนุนจากภาคเอกชน ในจังหวัดสกลนครตามแนวทางประชารัฐ หนองหารเป็ น แหล่ ง น�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ ต่อการด�ำรงชีวิตของคนสกลนคร ทั้งใช้ อุปโภค บริโภค ทั้งยังเป็นแหล่งอาหาร ประเภทโปรตีน และเป็นแหล่งสร้างอาชีพ ที่ส�ำคัญให้กับชาวบ้านสกลนคร อีกทั้ง หนองหารยังเป็นเหมือนปอดทีช่ ว่ ยบ�ำบัด น�ำ้ เสีย ช่วยฟอกน�ำ้ เสีย เพือ่ น�ำน�ำ้ ในหนองหาร กลับมาใช้อปุ โภค บริโภคอีกครัง้ แต่ปจั จุบนั น�้ำในหนองหารเริ่มเน่าเสียจากปัญหา หลายๆ ด้าน ทัง้ อัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้ที่ได้รับผลกระทบนี้ ไม่ใช่เฉพาะคนสกลนครเท่านั้น แต่จะ ส่งผลกระทบไปยังจังหวัดใกล้เคียง เช่น อ�ำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม เพราะ น�้ ำ ในหนองหารจะไหลลงสู ่ ล� ำ น�้ ำ ก�่ ำ อี ก ทั้ ง หนองหารยั ง มี ป ระตู เ ปิ ด ปิ ด น�้ ำ ส่วนหนึ่งสูบน�้ำไปใช้กับการเกษตรและ ใช้กับโครงการพระราชด�ำริด้วย ถ้าเราปล่อยให้นำ�้ หนองหารเน่าเสีย และไม่รีบแก้ไข หนองหารก็จะเป็น บ่ อ ขยะที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในประเทศไทย เพราะหนองหารเป็ น แหล่ ง น�้ ำ จื ด ทีใ่ หญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจาก
บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ และใหญ่ เป็นอันดับ 1 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็ น แหล่ ง น�้ ำ โบราณที่ มี ม าเป็ น พันๆ ปีแล้ว อีกทัง้ หนองหารไม่เคยขุดลอก และพัฒนาใหญ่ หากปล่อยให้ตื้นเขิน อาจจะท�ำให้โครงการพระราชด�ำริที่มีถึง 297 โครงการ และเป็นโครงการทีเ่ กีย่ วกับน�ำ้ ประมาณ 80% ได้รับผลกระทบ ผลการด� ำ เนิ น งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตั้งแต่เริ่มด�ำเนินการถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 จังหวัดสกลนครได้ก�ำจัด ผั ก ตบชวารวมทั้ ง สิ้ น 243,749 ตั น โดยมี ทุ ก ภาคส่ ว นบู ร ณาการร่ ว มกั น
SAKONNAKHON 35
ตามแนวทางประชารัฐ โดยผักตบชวา ทีก่ ำ� จัดได้จะน�ำไปมอบให้กบั วัดภูดนิ แดง (วัดหลวงปูภ่ พู าน) เพือ่ ทีว่ ดั จะได้ดำ� เนินการ ท� ำ ปุ ๋ ย หมั ก ใช้ ใ นการท� ำ การเกษตร ภายในวัด และมอบให้กบั โรงงานปุย๋ อินทรีย์ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร เพือ่ น�ำไปท�ำปุย๋ เพือ่ แจกจ่ายให้กบั ประชาชน ต่อไป และยังมีบางส่วนได้มอบให้กับ ประชาชนในพื้นที่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์ ในแปลงเกษตรของตนเอง โดยได้นำ� มาพัก บนฝัง่ ให้แห้ง เพือ่ รอการขนย้ายในฤดูแล้ง ไปยังแปลงเกษตรของชาวบ้าน จากการด�ำเนินโครงการดังกล่าวนีเ้ อง มีจุดเด่นที่เราได้ค้นพบคือ ถึงแม้จะมี ปริมาณผักตบชวาจ�ำนวนมาก แต่ได้รบั ความสนใจและได้ รั บการสนับ สนุน จากภาคเอกชนเป็นอย่างดี เช่น น�ำ้ ดืม่ คิงส์ไอซ์แมน น�ำ้ ดืม่ ปาริชาต โรงภาพยนตร์ เมเจอร์ซนิ เี พล็กซ์ สกลนคร ห้างโรบินสัน สกลนคร บริษัท บิ๊กซี ซูปเปอร์เซ็นเตอร์ จ� ำ กั ด (มหาชน) สาขาสกลนคร บริษัท สยามแมคโคร จ�ำกัด (มหาชน) สาขาสกลนคร บริษทั เทสโก้โลตัส จ�ำกัด (มหาชน) สาขาสกลนคร บริษทั โกลบอลเฮ้าส์ สาขาสกลนคร เป็ น ต้ น จึ ง ท� ำ ให้ ก าร ด�ำเนินการก�ำจัดผักตบชวานี้ส�ำเร็จไปได้ ด้วยพลังประชารัฐ และภายหลังจากการ 36 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ก�ำจัดผักตบชวาแล้วเสร็จ ท�ำให้หนองหาร มี ค วามสะอาดสวยงามเป็ น ที่ ชื่ น ชม ของประชาชนในพื้นที่ และพร้อมจะให้ ความร่วมมือในครั้งต่อไป
ข้าว-เม่า-คราม ต้นแบบ “Bio Tourism”
การท่องเที่ยวบนความหลากหลาย ทางชีวภาพในวันนี้ จังหวัดสกลนครร่วมกับ ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. หรือ BEDO,
สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในจั ง หวั ด สกลนคร และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้จัดกิจกรรม พัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่อมโยง ของดีในจังหวัดสกลนคร บนเส้นทาง ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมปิ ญ ั ญา ท้ อ งถิ่ น “ข้ า ว-เม่ า -คราม” ของ (GI) ด้ ว ย Bio Tourism จั ง หวั ด สกลนคร ตามแนวคิดเมือง 3 ธรรม คือ เมืองแห่งธรรมะ เมืองแห่งธรรมชาติ และเมืองแห่งวัฒนธรรม ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ ในด้านความหลากหลายทางชีวภาพและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการปรับตัว และ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากความหลากหลาย ทางชีวภาพ โดยเส้นทางการท่องเทีย่ วดังกล่าว ประกอบไปด้วยศาสนสถานส�ำคัญ อาทิ พระธาตุเชิงชุมวรวิหาร วัดป่าสุทธาวาส ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาภูพานอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริ พิพธิ ภัณฑ์บา้ นป้าทุม้ -ป้าไท้ กลุม่ วิสาหกิจทอผ้าคราม กลุม่ ผลิตภัณฑ์ เกีย่ วกับหมากเม่า กลุม่ ผลิตข้าวฮางหอมสกลทวาปี ในด้านกลุม่ วิสาหกิจชุมชนนัน้ กลุม่ ทอผ้าย้อมครามนับว่ามีความโดดเด่น และบทบาทส� ำ คั ญ ในการสร้ า งงาน สร้างรายได้ในชุมชน ซึง่ นักท่องเทีย่ วจะได้ เยีย่ มชมและเรียนรูเ้ กีย่ วกับกระบวนการ ผลิตตั้งแต่การปลูกคราม การมัดย้อม การสร้างลวดลาย และการทอ
SAKONNAKHON 37
กิ จ กรรมนี้ นั บ เป็ น นิ มิ ต หมายอั น ดี ในการสร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการและภาคี เ ครื อ ข่ า ยจาก มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โจ้ แ ละสถาบั น ศึ ก ษา ในจังหวัดสกลนคร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และประชาชน ชาวจังหวัดสกลนคร ที่ได้ทุ่มสรรพก�ำลัง ในการขั บ เคลื่ อ นให้ จั ง หวั ด สกลนคร เป็นพื้นที่ต้นแบบของการใช้ประโยชน์ จากความหลากหลายทางชีวภาพและ ภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เพือ่ น�ำไปสูค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน ต่อไป ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณ จ า ก มู ล นิ ธิ ส� ำ นั ก ง า น ท รั พ ย ์ สิ น ส่วนพระมหากษัตริย์ และมีส�ำนักงาน พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การ มหาชน) เป็นหน่วยงานพีเ่ ลีย้ ง เข้ามาดูแล และติดตาม จังหวัดสกลนคร ได้เห็นความส�ำคัญ ของการด�ำเนินงานดังกล่าว และเห็นว่า จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนในจังหวัด ต้องร่วมมือกันผลักดันเพื่อให้เกิดความ ยัง่ ยืน พร้อมทัง้ ได้มอบหมายให้สำ� นักงาน พาณิชย์จงั หวัดร่วมกับ BEDO เพือ่ หลอม แผนพัฒนาชุมชนต้นแบบให้กลายเป็น แผนพั ฒ นาระดั บ จั ง หวั ด เพื่ อ ขยายสู ่ 38 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ชุมชนอืน่ ๆ และมัน่ ใจว่าจังหวัดสกลนคร จะมีความพร้อมในการรองรับนักท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะนั ก ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมะ นั ก ท่ อ งเที่ ย วผู ้ สู ง อายุ และผู ้ ส นใจ ในผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีคุณภาพ และการ ท่องเที่ยวจะเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการ เชื่ อ มโยงและสร้ า งรายได้ ใ ห้ ชุ ม ชน อย่างยั่งยืน
โรงเรียน ICU สกลนคร Model
โรงเรียน ICU เป็นนโยบายของรัฐมนตรี ว่าการกระทรวศึกษาธิการ ที่ต้องการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนทั้งที่เกิด จากปัจจัยภายใน เช่น นักเรียนอ่านไม่ออก เขียนไม่คล่อง, ครูไม่พอ, ครูสอนไม่ตรง สาขาวิชา, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต�่ำ, เด็กลาออกกลางภาคเรียน รวมถึงปัญหา อื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอก อาทิ เช่น ปัญหายาเสพติด, ครอบครัวแตกแยก, สภาพแวดล้อมในโรงเรียนไม่เอื้อต่อการ จัดการเรียนการสอน, ชุมชนขาดความ ศรัทธาต่อโรงเรียน, ขาดแหล่งเรียนรู้ เป็นต้น ซึง่ ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ เหล่านีล้ ว้ นแต่ มีผลให้เยาวชนส่วนหนึ่งได้รับการศึกษา อย่างไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ดังนั้น นโยบายโรงเรียน ICU จะช่วยแก้ปัญหา ดังกล่าว เพื่อสร้างโรงเรียนให้มีความ
พร้อมในการจัดการและช่วยเสริมสร้าง กระบวนการเรียนรู้ที่ดีให้กับเยาวชน ผมรวมถึงหัวหน้าส่วนราชการทาง การศึกษา ผู้แทนจากสาธารณสุขจังหวัด สกลนคร ชมรมส่งเสริมคนดีเมืองสกลนคร และภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รว่ มหารือกัน เรือ่ งการด�ำเนินงานโรงเรียน ICU สกลนคร Model โดยใช้แนวทางประชารัฐ ซึ่งเป็น ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ปราชญ์ ชาวบ้าน ส่วนท้องถิ่น และประชาชน ซึ่งมีกระบวนการดังนี้
กระบวนการที่ 1 รู้ปัญหา >> สมัคร
โรงเรียนต้องวิเคราะห์และประเมิน ตนเองว่ามีปญ ั หาด้านใดบ้าง เช่น ครูไม่พอ, นั ก เรี ย นอ่ า นไม่ อ อก เขี ย นไม่ ค ล่ อ ง, ปัญหายาเสพติด เป็นต้น หลังจากนั้น จึ ง เสนอขอเข้ า รั บ การแก้ ป ั ญ หา สมัครเป็นโรงเรียน ICU ซึง่ จากผลการวิเคราะห์
โรงเรียน ICU สกลนคร Model ที่เน้นการระดม การแก้ปัญหาโดยใช้ แนวทางประชารัฐ
พบว่า จังหวัดสกลนคร มีจำ� นวนโรงเรียน ที่ต้องการรับความช่วยเหลือและพัฒนา เป็นพิเศษอย่างเร่งด่วนจ�ำนวน 96 โรงเรียน
กระบวนการที่ 2 วิเคราะห์ >> แนวทางแก้ไข (Shopping List = Online/ Offlflf line)
การวิเคราะห์วินิจฉัยโดยประชารัฐ โดยผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา และครู ในโรงเรียน ICU รวมถึงทุกภาคส่วนจาก ผูบ้ ริหารเขตการศึกษา หน่วยงานภาครัฐ กลุ่ม YEC จังหวัดสกลนคร ภาคเอกชน และประชาชนในพื้ น ที่ หลั ง จากนั้ น สรุปเป็นความต้องการในการแก้ปัญหา พร้อมแนวทางการแก้ไข (Shopping List) ซึ่งหากเป็นปัญหาที่สามารถแก้ไขได้เอง ให้ เ ร่ ง ด� ำ เนิ น การ แต่ ห ากจ� ำ เป็ น ต้องขอรับความช่วยเหลือ ให้ภาครัฐหรือ ภาคเอกชนเข้ามาด�ำเนินการ โดยแบ่งเป็น 2 รูปแบบ 1. รูปแบบ Offline Shopping List เป็น การขอรับการช่วยเหลือจากภายในจังหวัด เช่น จากหน่วยงานทีม่ งี บประมาณทีเ่ กีย่ วข้อง หรือจาก YEC จังหวัดสกลนคร เป็นต้น 2. รูปแบบ Online Shopping List เป็น การขอรับการช่วยเหลือจากภายนอกจังหวัด เช่ น การขอรั บ งบประมาณสนั บ สนุ น
เพิ่มเติมจากรัฐบาล บริษัทขนาดใหญ่ ในประเทศทีม่ นี โยบายเกีย่ วกับ CSR เป็นต้น
กระบวนการที่ 3 ด�ำเนินการแก้ไข
เป็นการด�ำเนินแก้ไขปัญหาตามแผนงาน Shopping List ที่ ภ าคราชการหรื อ ภาคเอกชนเข้ามาให้ความช่วยเหลือ
กระบวนการที่ 4 ประเมินสุขภาพ
ก า ร ป ร ะ เ มิ น สุ ข ภ า พ โร ง เรี ย น หากโรงเรี ย นใดได้ รั บ การพั ฒ นา จนพ้นจากโรงเรียน ICU แล้ว สามารถ ออกจากเตียง ICU ได้ แต่หากประเมินแล้ว พบว่ายังมีปญ ั หาอืน่ ๆ ทีจ่ ำ� เป็นต้องแก้ไขอีก
ให้น�ำสู่กระบวนการแก้ปัญหาต่อไป ผมมีความเชื่อครับว่า โรงเรียนและ ระบบการศึกษา เป็นจุดเริ่ มต้น ของการสร้างทรัพยากรบุคคลหรือเยาวชน ทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ในอนาคต หากโรงเรียนมีความพร้อม ระบบการศึกษามีความเหมาะสม เยาวชน ได้รบั การพัฒนาทัง้ ด้านคุณธรรม สติปญ ั ญา ร่างกาย และสังคมแล้ว ประเทศของเรา จะสามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและ มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนแน่นอนครับ
“เกี่ยวข้าวตามรอยพ่อ” โครงการที่ภาคภูมิใจ
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมี ก ระแส พระราชด�ำรัส เมือ่ ปี พ.ศ.2536 ใจความว่า “..ข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปี ประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ข้าวจะ ไม่พอ ถ้าลดการปลูกข้าวไปเรื่อยๆ ข้ า วจะไม่ พ อ เราจะต้ อ งซื้ อ ข้ า ว จากต่างประเทศเรื่องอะไร ประชาชน คนไทยไม่ยอม คนไทยนี้ต้องมีข้าว แม้ ข ้ า วที่ ป ลู ก ในเมื อ งไทยจะสู ้ ข ้ า ว ทีป่ ลูกในต่างประเทศไม่ได้ เราก็ตอ้ งปลูก..” จังหวัดสกลนครจึงได้จดั ท�ำ “โครงการ เกีย่ วข้าวตามรอยพ่อ” และ “โครงการ ธนาคารโคกระบื อ เพื่ อ เกษตรกร SAKONNAKHON 39
ตามพระราชด�ำริ” เพื่อด�ำเนินรอยตาม พระราชด�ำริของพระองค์ทา่ น ทีต่ อ้ งการ ให้แผ่นดินไทยกลายเป็น “แผ่นดินทอง” ให้ความทุกข์ยากล�ำบากแปรเปลี่ยน เป็ น ความสุ ข สบายแบบพอเพี ย ง ซึ่ ง ความร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข ที่ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ปวงชนชาวไทยในวันนี้ ล้วนมาจาก พระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองค์ทา่ น ทีท่ รงอุทศิ พระองค์ชว่ ยเหลือชาวนาและ พัฒนาข้าวไทยในทุกๆ ด้านครับ
จากใจผู้ว่าฯ ร�ำลึก รอยพระบาทยาตรา
จั ง ห วั ด ส ก ล น ค ร เ ป ็ น พื้ น ที่ ซึ่ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯ เพื่อทรง ปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจรวมทัง้ สิน้ 109 ครัง้ ไม่วา่ จะเสด็จฯ เพือ่ ทรงติดตามความก้าวหน้า ของโครงการต่างๆ รวมถึงการเสด็จฯ ส่วนพระองค์ โดยไม่มีหมายก�ำหนดการ ไปตามหมู ่ บ ้ า นต่ า งๆ เพื่ อ รั บ ทราบ ความต้องการของประชาชน วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 หรือเมื่อ 61 ปีที่แล้ว พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ได้เสด็จฯ เยือนจังหวัดสกลนครเป็นครัง้ แรก ภายหลังจากทีเ่ สด็จขึน้ เถลิงถวัลยราชสมบัติ ในวันนั้นพระองค์ท่านได้พระราชทาน พระราชด�ำรัสแก่พสกนิกรชาวสกลนคร ความว่า “..เราได้ผา่ นอ�ำเภอมาแล้ว 2 อ�ำเภอ คื อ อ� ำ เภอสว่ า งแดนดิ น และอ� ำ เภอ พรรณานิคม เราได้เห็นถึงความยาก
ภาพแห่งรอยพระบาท ที่ยาตรายังจารึกให้ชาว จังหวัดสกลนคร ได้สำ� นึก ในพระมหากรุณาธิคุณ อย่างหาที่สุดมิได้ 40 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ล� ำ บากในการอาชี พ หลายประการ เราขอให้ประชาชนทุกคนจงอย่าท้อถอย ขอให้ ป ระกอบการอาชี พ ต่ อ ไป ด้วยก�ำลังกาย ก�ำลังใจ ฟันฝ่าอุปสรรค ต่างๆ เพือ่ ความเจริญของจังหวัด และ เพื่อประชาชนคือตัวท่านเอง ในที่สุดนี้ ขออวยพรให้ประชาชน ทุกคน ณ ทีน่ ี้ และทีอ่ ยูไ่ กล มีความสุข ความเจริญ ประกอบอาชีพได้ผลดีตลอดไป ขอให้จงั หวัดสกลนครจงมีความเจริญ..” ซึง่ เหตุการณ์ในวันนัน้ เป็นจุดเริม่ ต้น ของโครงการในพระราชด� ำ ริ ต ่ า งๆ มากมายในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสกลนคร ก่อเกิด ประโยชน์ให้กบั ประชาชนมาจนถึงทุกวันนี้ พ ระ เ มต ตา ของพระองค์ท่า นยัง ความปลาบปลื้มเป็นล้นพ้นแก่พสกนิกร
เป็นยิง่ นัก ภาพแห่งรอยพระบาททีย่ าตรา ยังจารึกให้ชาวจังหวัดสกลนคร ได้ส�ำนึก ในพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ ตราบเท่าทุกวันนี้ครับ ผมเองรู้สึกภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้มีโอกาสสร้างความดีงาม ทั้งกาย วาจา ใจ ถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช และผมเชื่ อ ครั บ ว่ า ชาวสกลนคร ย่อมภาคภูมใิ จ จงรักภักดี และเทิดทูน พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ ตลอดไปชั่วกาลนาน
นายวิทยา จันทร์ฉลอง ผู้ว่าราชการจังหวัดสกลนคร
เกิดวันที่ : 11 มกราคม พ.ศ.2502 ภูมิลำ� เนา : กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ : อ�ำเภอเมืองสกลนคร ที่อยู่ปัจจุบัน : อ�ำเภอเมืองสกลนคร เครื่องราชอิสริยาภรณ์ : ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) ประวัติการศึกษา
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 57 (2557) นักปกครองระดับสูง (นปส.) รุ่นที่ 49 (2549) ของกระทรวงมหาดไทย รัฐศาสตรมหาบัณทิต (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง
ประวัติการท�ำงาน 24 ม.ค. 2527 25 มิ.ย. 2535 1 ธ.ค. 2536 1 ต.ค. 2538 22 ต.ค. 2539 8 ธ.ค. 2543 25 ต.ค. 2543 16 พ.ย. 2547 26 ธ.ค. 2549 28 ธ.ค. 2550 24 ต.ค. 2551 15 พ.ค. 2552 14 ม.ค. 2554 7 พ.ย. 2554 14 ต.ค. 2556 28 ต.ค. 2556 1 ต.ค. 2559
นักพัฒนาชุมชน 3-5 จังหวัดเชียงใหม่ และส�ำนักงานพัฒนาชุมชนเขต 2 จังหวัดชลบุรี พัฒนาการอ�ำเภอ (จบง.พช.6) อ�ำเภอบ้านค่าย จังหวัดระยอง บุคลากร 6 ฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ กรมการพัฒนาชุมชน พัฒนาการอ�ำเภอ (จบง.พช.7) อ�ำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 7 ฝ่ายอ�ำนวยการศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตที่ 7 (เพชรบุรี) หัวหน้าฝ่ายการเงิน กองคลัง หัวหน้าฝ่ายสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง กองการเจ้าหน้าที่ กรมการพัฒนาชุมชน พัฒนาการจังหวัด (จบง.พช.8) จังหวัดกระบี่ พัฒนาการจังหวัด (จบง.พช.8) จังหวัดเชียงใหม่ ผู้อ�ำนวยการกอง (บุคลากร 8) กองการเจ้าหน้าที่ กรมการพัฒนาชุมชน ผู้อ�ำนวยการศูนย์ (นว.พช.9 บส.) ศูนย์ช่วยเหลือทางวิชาการพัฒนาชุมชนเขตที่ 4 (อุดรธานี) ผู้ตรวจราชการกรม (อ�ำนวยการสูง) ส�ำนักตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก (อ�ำนวยการสูง) ส�ำนักส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิสาหกิจชุมชน ผู้ตรวจราชการกรม (อ�ำนวยการสูง) ส�ำนักตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน หัวหน้าผู้ตรวจราชการกรม ส�ำนักตรวจราชการ กรมการพัฒนาชุมชน รองผู้ว่าราชการจังหวัด (นักปกครอง ระดับต้น) จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้ว่าราชการจังหวัด (นักปกครอง ระดับสูง) จังหวัดสกลนคร
SAKONNAKHON 41
เส้นทางพบรองผู้ว่าราชการจังหวัด
42 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ดร.สุริยะ วิริยะสวัสดิ์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดสกลนคร
SAKONNAKHON 43
เส้นทางพบสำ�นักงานพระพุทธศาสนา
นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ
ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร ได้รบั การขนานนาม ว่าเป็น “แอ่งธรรมะแห่งภาคอีสาน” เนื่องจากมีทั้งวัดวาอารามที่เก่าแก่มาก มาย ซึ่งแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของ พระพุทธศาสนาที่มีมาช้านาน อีกทั้ง สกลนครยังเป็นถิ่นก�ำเนิดและที่พ�ำนัก ของพระอริยสงฆ์องค์สำ� คัญ นายไกรยุทธ หอมไกรลาศ ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสกลนคร ภูมใิ จ น� ำ เสนอวั ด ส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด สกลนคร ดังนี้
วัดป่าสุทธาวาส
วัดป่าสุทธาวาส เป็นวัดป่าปฏิบตั สิ าย
44 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต พระอาจารย์ใหญ่สาย วิปสั สนาธุระ โดยมีพระราชวิสทุ ธินายก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และยังมีตำ� แหน่ง หน้าที่ด้านการปกครอง ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะจังหวัดสกลนคร ฝ่ายธรรมยุต วัดนีม้ คี วามส�ำคัญมากเพราะมีความ เกีย่ วพันกับหลวงปูเ่ สาร์ กันตสีโล ซึง่ เป็น พระอาจารย์ของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เพราะท่านหลวงปู่เสาร์ได้รับภาระเป็น ผู้บูรณะและก่อสร้างวัดแห่งนี้ เนื่องจาก ท่านมีความช�ำนาญเกีย่ วกับงานก่อสร้าง และท่านยังเป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2 ต่อจาก พระอาจารย์หล้า (รูปที่ 1) ตัง้ แต่อดีตถึง ปัจจุบนั วัดป่าสุทธาวาสมีเจ้าอาวาสรวม
ทั้งสิ้น 11 รูป นอกจากนี้วัดป่าสุทธาวาสยังเป็น วัดทีท่ า่ นหลวงปูม่ นั่ จะมาพักอยูค่ ราว ละ 15 วัน เป็นช่วงๆ และใช้เป็นสถานที่ ฌาปนกิจสรีระของหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต โดยได้ น� ำ องค์ ห ลวงปู ่ มั่ น มาพั ก ที่ วัดป่าสุทธาวาส เมือ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2492 โดยพาหนะรถยนต์ มาถึงวัด เวลา 16.00 น.เศษ ครัง้ ถึงเวลา 22.00 น. ของวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2492 ท่าน ก็ถงึ แก่มรณภาพด้วยอาการสงบ ในท่าม กลางศิษยานุศษิ ย์ทงั้ หลาย สิรชิ นมายุ 80 ปี เท่าจ�ำนวนที่ท่านได้ก�ำหนดไว้แต่เดิม การทีศ่ ษิ ยานุศษิ ย์ทงั้ หลาย และผูเ้ คารพ
นั บ ถื อ ได้ น� ำ ท่ า นหลวงปู ่ มั่ น กลั บ มาที่ วัดป่าสุทธาวาสนี้ เพือ่ ให้เป็นไปตามธรรม ของท่าน ที่เคยปรารภกับศิษย์ผู้ใหญ่รูป หนึง่ ว่า ถ้าตายลง ณ บ้านหนองผือนี้ สัตว์ ก็จะต้องตายตามมิใช่น้อย ถ้าตายที่วัด ป่าสุทธาวาสก็คอ่ ยยังชัว่ เพราะมีตลาด สด นอกจากท่านจะมีความเมตตาสัตว์ ที่จะต้องถูกฆ่าแล้ว คงมุ่งหมายฝากศพ แก่ชาวบ้านเมืองสกลนครด้วย ซึ่งตาม ประวัติวัดป่าสุทธาวาส ชาวบ้านเรียก “วัดป่าบ้านดงบาก สนามบิน” ตัง้ วัดถูกต้อง ตามกฎหมาย เมื่อ พ.ศ.2482 สถานที่ เป็นเนินดินทรายในดงไม้กระบาก เดิม ท่านขุนอุพธน์ระบิล (นายเพชร พูละวัน) นางอุพธั น์ ระบิล (จันทร์ไตร) จ่าศาลจังหวัด ได้ ยกที่ ดิน ให้ส ร้า งวัดพร้อ มด้วยคณะ บริจาค รวมมีเนือ้ ที่ 27 ไร่ 1 งาน 30 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 2973 และมีที่ธรณีสงฆ์ อีก 1 แปลง เนื้อที่ 4 ไร่ 66 ตารางวา (ปัจจุบันเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม) หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ได้สั่งศิษย์ว่าให้ น�ำองค์ท่านมาท�ำการฌาปนกิจที่แห่งนี้
(วันที่ 29-31 มกราคม พ.ศ.2493) และให้ สร้างอุโบสถครองตรงบริเวณเผาสรีระ (อุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ.2500 เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทย เสาระเบียง ล้อมรอบประดับลายปูนหล่อ ผนังภายใน มีรูปพิมพ์พุทธประวัติเข้ากรอบไม้สักติด ผนังปูน) มีอาคารพิพิธภัณธ์อัฐบริขาร พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นอาคาร คอนกรีตชัน้ เดียวยกสูง ลักษณะทรงไทย ประยุกต์ สร้าง พ.ศ.2518 โดย ดร.เชาว์ ศีลวัน พร้อมคณะ และในปี พ.ศ.2535 สร้าง เจดียอ์ ฐั บริขาร หลวงปูห่ ลุย จันทสาโร (ซึง่ องค์ทา่ นก็เป็นลูกศิษย์ของหลวงปูม่ นั่ ) ลักษณะเจดีย์คอนกรีตเสริมเหล็ก ทรง กลมแปดเหลีย่ ม ยอดเหลีย่ ม ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 15 เมตร ตั้งบนเนินดินถม สูงด้านนอกประดับกระเบือ้ งโมเสส ด้าน ในประดับหินอ่อนจัดเป็นห้องแสดงอัฐ บริขารของหลวงปู่หลุย จันทสาโร ทั้งนี้หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ได้ชื่อว่า “พระบูรพาจารย์” เนือ่ งจากบรรดาสานุศษิ ย์ ทีอ่ ยูร่ ว่ มส�ำนัก และได้รบั คติธรรมค�ำสอน
ขององค์ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ต่างยกย่องเชิดชูองค์ท่านเหนือเกล้าว่า เป็น “พระบูรพาจารย์” ผูข้ จัดความมืดมน เป็นดุจผูย้ งั ประทีปให้สว่างไสวในทีม่ ดื ได้ ยึดหลักปฏิปทาและหลักธรรมทีอ่ งค์ทา่ น พระบูรพาจารย์วา่ สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ ศีลพึงรู้ได้ด้วยการอยู่ร่วมกัน สํโวหาเรน โสเจยฺยํ เวทิตพฺพํ ความสะอาดพึงรู้ได้ ด้วยการงาน สากจฺฉาย ปญฺญา เวทิตพฺพา ปัญญาพึงรู้ได้ด้วยการสนทนา ดั ง นั้ น ปั ญ ญาธรรมขององค์ ท่ า นหลวงปู ่ มั่ น ภู ริ ทั ต โต ถื อ เป็ น อมตานุสสรณียธรรม มูลมรดกชิน้ เอก ที่หาผู้แสดงไว้ยากในปัจจุบัน ฉะนั้น กุลบุตรกุลธิดา ผู้มาสุดท้ายภายหลัง พึงน้อมรับสารธรรมนี้ มาประพฤติปฏิบตั ิ ให้สมกับได้อัตภาพฐานะความเป็น มนุษย์ ท่านหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต เป็น พระบูรพาจารย์ผู้ให้เมตตาธรรมโดย แท้ สมกับนามมคธฉายาขององค์ทา่ น ว่า “ภูริทตฺต : ผู้ให้ปัญญาประดุจดั่ง แผ่นดิน”
SAKONNAKHON 45
วัดป่ากลางโนนภู่
วัดป่ากลางโนนภู่ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกุดก้อม หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลไร่ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัด สกลนคร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ที่ดิน ทีต่ งั้ วัดมีเนือ้ ที่ 28 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ.2481 เดิมเป็นวัดร้าง หรือ วัดเก่า วั ด นี้ มี ค วามส� ำ คั ญ กั บ คณะสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุต เพราะก่อนจะเดินทางไป วัดป่าหนองผือ ก็จะแวะพักค้างแรมทีแ่ ห่ง นี้ อีกทั้งเมื่อช่วงปี พ.ศ.2492 ซึ่งเป็นปีที่ ท่านหลวงปู่มั่นมีอายุย่างขึ้น 80 ปี ท่าน เริ่มอาพาธเป็นไข้ ศิษย์ผู้อยู่ใกล้ชิดก็ได้
46 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เอาธุระรักษาพยาบาลไปตามก�ำลังความ สามารถ อาการอาพาธก็สงบไปบ้างเป็น ครั้งคราว แต่แล้วก็กำ� เริบมากขึ้น ข่าวนี้ ได้กระจายไปโดยรวดเร็ว พอออกพรรษา ศิษยานุศิษย์ผู้อยู่ไกลต่างก็ทยอยกันเข้า มาปรนนิบัติพยาบาล ได้เชิญหมอแผน ปัจจุบนั มาตรวจและรักษา โดยได้นำ� องค์ หลวงปูม่ นั่ มาแวะชัว่ คราว ณ ทีแ่ ห่งนี้ เพือ่ สะดวกแก่ผู้รักษาและศิษยานุศิษย์ที่จะ มาเยี่ยมพยาบาล อาการอาพาธมีแต่ ทรงกับทรุดลงโดยล�ำดับ จึงได้ส่งองค์ หลวงปูม่ นั่ ไปยังวัดป่าสุทธาวาส เมือ่ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ.2492
ศาลาหลวงปู่มั่น
วัดป่าหนองผือ (วัดภูริทัตตถิรวาส)
วัดป่าหนองผือ (วัดภูรทิ ตั ตถิราวาส) ตั้งอยู่บ้านหนองผือ หมู่ที่ 2 ต�ำบลนาใน อ� ำ เภอพรรณานิ ค ม จั ง หวั ด สกลนคร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 65 ไร่ 2 งาน 71 ตารางวา ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ. 2478 ชาวบ้านเรียกว่า “วัดป่าหนองผือ” วัดป่าหนองผือ เป็นวัดส�ำคัญในสาย วัดวิปสั สนากรรมฐาน สร้างขึน้ โดยการน�ำ ของหลวงปู่หลุย จันทสาโร เพื่อรองรับ การมาพ�ำนักของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต โดยชาวบ้านมีความศรัทธาต่อพระรัตนตรัย อย่างเข้มแข็ง อีกทั้งเป็นป่ามีต้นไม้ใหญ่ ขึ้นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้วัดนี้เกิด ความร่มรื่นและร่มเย็นเป็นอย่างมาก โดยหลวงปู่มั่นได้มาพ�ำนักอยู่เสนาสนะ ป่าหนองผือ ตัง้ แต่ พ.ศ.2487 จนถึง พ.ศ.
2492 (ปัจฉิมสมัยในวัยชรา นับแต่ พ.ศ. 2484 เป็นต้นมา หลวงปูม่ นั่ มาอยูจ่ งั หวัด สกลนคร เปลีย่ นอิรยิ าบถไปตามสถานที่ วิเวกผาสุกวิหารหลายแห่ง คือ ณ เสนาสนะ ป่าบ้านนามน ต�ำบลตองโขบ อ�ำเภอ โคกศรีสุพรรณ จังหวัดสกลนคร) ดั ง นั้ น สถานที่ แ ห่ ง นี้ จึ ง มี ค วาม ส�ำคัญมาก เพราะในวัยชรานี้ ท่านได้
เอาธุระอบรมสัง่ สอนศิษยานุศษิ ย์ทาง สมถวิปสั สนาเป็นอันมาก ได้มกี ารเทศนา อบรมจิตใจศิษยานุศษิ ย์เป็นประจ�ำวัน ศิษย์ผใู้ กล้ชดิ ได้บนั ทึกธรรมเทศนาของ ท่านไว้ และได้รวบรวมพิมพ์ขนึ้ เผยแผ่ แล้วให้ชอื่ ว่า “มุตโตทัย” ซึง่ มีทงั้ สิน้ 17 หัวข้อ อันเป็นการประยุกต์ให้ผบู้ ำ� เพ็ญ เพียรได้ฝึกปฏิบัติเข้าสู่อริยบุคคลได้
กุฏิหลวงปู่มั่น
กุฏิหลวงตามหาบัว SAKONNAKHON 47
เส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัด
นายปัญญา มีธรรม ท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร
วิสัยทัศน์หรือนโยบาย ของท้องถิ่นสกลนคร เป็นองค์กรที่มีสมรรถนะสูง ในการส่งเสริมองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกใน การพัฒนาประเทศยั่งยืน
48 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
SAKONNAKHON 49
นโยบาย
1. ส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดท�ำ ประสานและ
บูรณาการแผนพัฒนาท้องถิน่ และวางระบบในการติดตาม และประเมิน ผลการด�ำเนินงานตามแผนพัฒนาท้องถิน่ 2. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการด�ำเนินงาน ด้านการเงิน การคลัง การงบประมาณ การพัสดุการ จัดเก็บรายได้ และการประกอบกิจการพาณิชย์ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รวมทัง้ วางระบบตรวจสอบ ระบบการเงิน การบัญชี และการพัสดุขององค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการ สาธารณะและการศึกษาในอ�ำนาจหน้าที่ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 4. ส่งเสริมภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมในการ บริหารงานและตรวจสอบการด�ำเนินงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 5. พัฒนาบุคลากรขององค์การปกครองส่วนท้องถิน่ และของกรม 6. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนดให้เป็น อ�ำนาจหน้าที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือคณะ รัฐมนตรีมอบหมาย 50 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
จ�ำนวน อปท. ทั้งหมด
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลต�ำบล 65 แห่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล 74 แห่ง รวม 141 แห่ง
SAKONNAKHON 51
เส้เส้นทางธรรม หนุนนนำทางธรรมหนุ าชีวิต นนำ�ชีวิต
วัดเจดียช์ ยั มงคล พระมหาเจดียช์ ยั มงคล ตัง้ อยูใ่ นวัดเจดียช์ ยั มงคล ๘๓ หมู่ ๖ ต�าบล ผาน�้าย้อย อ�าเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งอยู่บนยอดภูเขาเขียว ในแนวเทือกเขาภูพาน มีหน้าผาสูงชันซึ่งมีน�้า ซับซึมออกมาตลอดปี เรียกขานกันโดยทั่วไปว่า “ผาน�้าย้อย” ได้รับการออกแบบโดยกรมศิลปากร เป็นศิลปกรรมร่วมสมัยผสม ผสานกันระหว่างพระปฐมเจดีย์ของภาคกลางและพระธาตุพนมของ ภาคอีสาน มีลักษณะเป็นเจดีย์รูประฆัง ๘ เหลี่ยม องค์เจดีย์เป็นสีขาว ตกแต่งลวดลายด้วยสีทอง มีความกว้าง ๑๐๑ เมตร ความยาว ๑๐๑ เมตร ความสูง ๑๐๙ เมตร รายล้อมด้วยเจดีย์องค์เล็กทั้ง ๘ ทิศ ซึ่งมีวิหารคต ล้อมรอบอีกชัน้ หนึง่ ภายในองค์เจดียแ์ บ่งเป็น ๖ ชัน้ ได้แก่ ชัน้ ที่ ๑ เป็น ห้องโถง ใช้เป็นห้องประชุม ประกอบศาสนพิธี ตรงกลางมีรูปเหมือน หลวงปูศ่ รี มหาวีโร ชัน้ ที่ ๒ เป็นห้องโถง ใช้เป็นห้องประชุมขนาดใหญ่ ผนังติดตั้งรูปพระพุทธประวัติ เวสสันดรชาดก ชั้นที่ ๓ เป็นอุโบสถ ประดิษฐานรูปเหมือนพระสุปฏิปนั โนสายอีสาน ๑๐๑ องค์ ชัน้ ที่ ๔ จัดเป็น พิพิธภัณฑ์แสดงประวัติพระเทพวิสุทธิมงคล (ศรี มหาวีโร) ด้านนอก เป็นที่ชมทัศนียภาพรอบทิศ ชั้นที่ ๕ ผนังโดยรอบบรรจุพระสาวกธาตุ พระอรหันตธาตุ มีบันไดเวียน ๑๑๙ ขั้น เพื่อขึ้นสู่ชั้นที่ ๖ ชั้นที่ ๖ เป็น ชั้นบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 306 52
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ประวัตแิ ละความเป็นมาของวัดและ พระมหาเจดีย์ชัยมงคล
เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๒๘ ซึ่งเป็น วันรวมกฐินสามัคคีของวัดประชาคมวนาราม (วัดป่ากุง) พระเทพวิสทุ ธิมงคล (ศรี มหาวีโร) ได้ปรารภกับที่ประชุมคณะศิษยานุศิษย์ว่า “ได้รับพระบรมสารีริกธาตุมาเป็นกรณี พิเศษ และได้พจิ ารณาเห็นว่าครูบาอาจารย์สาย อีสานผู้มีความรู้ระดับนักปราชญ์ และปฏิบัติ ชอบระดับสัมมาปฏิบัติ ที่ได้ท�าประโยชน์ให้ แก่ประเทศชาติและพระพุทธศาสนาเกิดขึน้ ที่ ภาคอีสานมีเป็นจ�านวนมาก สมควรจะสร้าง ถาวรวัตถุ ส�าหรับบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิธาตุ รูปเหมือนของครูบาอาจารย์เหล่านั้น เพื่อเป็นศูนย์กลางแหล่งความรู้แก่ผู้มาศึกษา ที่มาจากทิศต่างๆ ให้ได้รับความสะดวกที่จะ
ศึกษาหาความรู้และให้เป็นสถานที่สักการะบูชา บ�าเพ็ญกุศลของพุทธศาสนิกชนทั่วไป” ต่อมาในงานตรวจธรรมสนามหลวงและ การประชุมพระสังฆาธิการภาค ๘-๙-๑๐-๑๑ (ธรรมยุต) ณ วัดถ�า้ ผาน�า้ ทิพย์ จ.ร้อยเอ็ด โดยมี สมเด็จพระมหามุนีวงค์ (สนั่น จันทปชฺโชโต) เป็นองค์ประธาน หลวงปู่ศรี มหาวีโร ได้น�า เรื่องดังกล่าวเข้าปรึกษาหารือในที่ประชุม ที่ ประชุมได้มีมติให้หลวงปู่ศรี มหาวีโร เป็นผู้น�า ในการก่อสร้าง และได้ลงความเห็นร่วมกันว่า ควรจะก่อสร้างพระเจดีย์ที่ผาน�้าย้อย บนภูเขา เขียว อ�าเภอหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด โดยเมือ่ มีการก่อสร้างพระเจดีย์ขึ้น คณะสงฆ์ทั้งหมด ในภาคอีสานทัง้ ๔ ภาค จะได้ใช้ประโยชน์จาก สถานทีแ่ ห่งนีร้ ว่ มกัน และให้ใช้ชอื่ ว่า “พระมหา เจดีย์ชัยมงคล” พระเจดีย์นี้จึงถือว่าเกิดขึ้นด้วยมติของ หมูค่ ณะสงฆ์ทงั้ หมดในภาคอีสาน โดยมีหลวงปูศ่ รี ROIET 307 ROIET 53
มหาวีโร เป็นผูน้ า� ในการก่อสร้าง ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ (สนั่น จันทปชฺโชโต) จึงน�าความขึน้ กราบทูล สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายก จึงได้มพี ระบัญชา ในวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๐ ให้แต่งตัง้ คณะกรรมการก่อสร้างพระมหาเจดีย์ ชัยมงคล โดยสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช ทรงรับเป็นประธานฝ่ายบรรพชิต และพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก และรักษาการผูบ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุดในขณะนัน้ เป็นประธานฝ่ายฆราวาสในการก่อสร้าง และ ได้ ม อบให้ ก รมศิ ล ปากรเป็ น ผู ้ ด� า เนิ น การ ออกแบบ และเพือ่ เป็นการหาทุนในการก่อสร้าง เบื้องต้น คณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตภาคอีสานทั้ง ๑๙ จังหวัด จึงจัดให้มกี ารทอดผ้าป่าหาทุน โดย จัดเป็นกองผ้าป่า ๘๔,๐๐๐ กองๆละ ๑,๐๐๐ บาท ได้ปจั จัยรวมทัง้ สิน้ ๘๔ ล้านบาท เป็นทุนในการ เริ่มต้นก่อสร้าง และได้จัดพิธีทอดผ้าป่าเป็น ประเพณีตลอดมาทุกๆปี ในวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๑ ได้ทา� พิธวี าง ศิ ล าฤกษ์ แ ละลงเสาเอกพระมหาเจดี ย ์ ชั ย มงคล การก่อสร้างได้เริ่มต้นแต่นั้นเป็นต้นมา เมื่อด�าเนินการก่อสร้างโครงสร้างของอาคาร ภายนอกองค์พระมหาเจดียแ์ ล้วเสร็จ ในวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๓๙ ก็ได้ทา� พิธยี กยอดฉัตรทองค�า ซึง่ มีนา�้ หนักทองค�ารวมทัง้ สิน้ ๖๐ กิโลกรัม ขึน้ ประดิษฐานไว้บนยอดของพระมหาเจดีย์ ต่อมา ในวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๐ เมื่อท�าการตกแต่ง ภายในของพระมหาเจดียช์ นั้ ที่ ๖ แล้วเสร็จ ก็ได้ ท�าพิธอี ญ ั เชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ ขึน้ ประดิษฐาน ไว้ ณ ชัน้ ที่ ๖ ซึง่ พระบรมสารีรกิ ธาตุทปี่ ระดิษฐาน อยู่ ณ ชั้น ๖ นั้น มีถึง ๓ ส่วนด้วยกัน ส่วนที่ ๑ เป็นส่วนที่ พระเทพวิสทุ ธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร) ได้รับมาเป็นกรณีพิเศษ ส่วนที่ ๒ สมเด็จพระสังฆราชของประเทศ ศรีลังกาได้มอบให้ โดยพระเทพวิสุทธิมงคล (หลวงปู่ศรี มหาวีโร) ได้เดินทางไปอัญเชิญมา จากประเทศศรีลังกาด้วยตัวของท่านเอง ส่วนที่ ๓ สมเด็จพระสังฆราชของประเทศ ศรีลงั กาได้อญ ั เชิญมาประดิษฐานให้ดว้ ยพระองค์ เอง เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ พร้อมด้วยสมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ (พระนามในขณะนัน้ ) ได้ ทรงเสด็จมา ณ พระมหาเจดียช์ ยั มงคล ในงาน พิธพี ระราชทานธง “พิทกั ษ์ปา่ เพือ่ รักษาชีวติ ” ประจ�าปี ๒๕๔๓ เมือ่ วันที่ ๑๗ มิถนุ ายน ๒๕๔๘ พื้นที่พระมหาเจดีย์ชัยมงคลและบริเวณโดย รอบรวม ๑๐๑ ไร่ ได้รบั ประกาศตัง้ เป็นวัดขึน้ ใน พระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดเจดียช์ ัยมงคล” โดยเมือ่ วันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้แต่งตัง้ 308 54
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระครูปลัดทองอินทร์ (ทองอินทร์ กตปุญโฺ ญ) เป็นเจ้าอาวาส (ย้ายไปรับต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดประชาคมวนารามเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕) เมือ่ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๙ จึงได้รบั พระราช ทานวิสุงคามสีมาตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เล่มที่ ๑๒๓ ตอนที่ ๔๔ วันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ ก�าหนดเขต กว้าง ๑๑๐ เมตร ยาว ๑๑๐ เมตร เมือ่ วันที่ ๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ทา� พิธี ผูกพัทธสีมาตัดหวายลูกนิมิต โดยคณะสงฆ์ ได้สวดก�าหนดให้พนื้ ทีต่ งั้ แต่เจดียอ์ งค์เล็ก ๘ องค์ รอบพระมหาเจดีย์ฯ เป็นเขตอุโบสถของวัด เจดีย์ชัยมงคล
ข้อปฏิบตั เิ มือ่ เข้าสูภ่ ายในพระมหาเจดียฯ์
๑. กรุณาถอดหมวก ถอดรองเท้าทีช่ นั้ วางรองเท้า ๒. กรุณาอย่าส่งเสียงดัง ๓. กรุณาอย่าจับลวดลายต่างๆ ๔. กรุณาอย่าน�าอาหารและเครือ่ งดืม่ เข้าไป รับประทานในองค์พระมหาเจดีย์ ๕. กรุณาทิ้งขยะในที่ๆเตรียมไว้ให้ ๗. กรุณาแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย ๙. กรุณาอย่าน�าสัตว์เลี้ยงเข้ามาภายใน พระมหาเจดีย์ ๖. ห้ามจุดธูปเทียนภายในองค์พระมหาเจดีย์ ๘. ห้ามสูบบุหรี่ในองค์พระมหาเจดีย์
ROIET 309 ROIET 55
สิ่งก่อสร้างอื่นในวัดเจดีย์ชัยมงคล
๑. ก�าแพงห้องน�้า น�าสร้างโดยหลวงพ่อ ทองอินทร์ กตปุญฺโญ เริ่มสร้าง พ.ศ. ๒๕๔๐ แล้วเสร็จปี พ.ศ. ๒๕๔๖ เป็นก�าแพงสูง ๕ เมตร กว้าง ๔ เมตร ยาว ๒,๕๐๐ เมตร บนหลังก�าแพง เดินชมทิวทัศน์โดยรอบวัดได้ ด้านล่างเป็น ห้องพักส�าหรับผูม้ าปฏิบตั ธิ รรม สลับกับห้องน�า้ เป็นช่วงๆโดยรอบ ๒. เจดียบ์ รมพุทโธจ�าลอง (บูโรบูโด) สร้าง จากหินภูเขาไฟจากประเทศอินโดนีเซีย ๓. ต�าหนักรับรองสมเด็จพระสังฆราช ๔. กุฏิรับรองหลวงปู่ศรี มหาวีโร ๕. โรงทานขนาดใหญ่ ๓ หลัง ๖. อ่างเก็บน�า้ ห้วยพุเตย น�าสร้างโดยหลวงปู่ ศรี มหาวีโร เพือ่ กักเก็บน�า้ ใว้ใช้ในการก่อสร้าง และใช้สอยในวัดเจดีย์ชัยมงคล
การเดินทางไปพระมหาเจดียช์ ยั มงคล
1. รถส่วนตัว จากตั ว เมื อ งร้ อ ยเอ็ ด ตามทางหลวง หมายเลข 2044 และ 2136 ตามล�าดับ เส้นทาง ร้อยเอ็ด-โพนทอง-หนองพอก-เลิงนกทา ออก จากหนองพอก 11 กม. ถึงบ้านท่าสะอาด ใช้ทาง แยกซ้ายขึน้ เขาผาน�า้ ย้อยอีก 5 กม. ก็จะถึงวัด เจดียช์ ยั มงคล รวมระยะทางจากร้อยเอ็ด 88 กม. ใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง 2. รถประจ�าทาง สถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ สาย ที่ 24 เส้นทาง กรุงเทพฯ-ดอนตาล จะถึงทาง แยกขึน้ เขาผาน�า้ ย้อย จากนัน้ เหมารถในท้องถิน่ เพื่อเดินทางต่อไปยังวัดเจดีย์ชัยมงคล 310 56
SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
แก้วสิริแกรนด์
เปิดบริการห้องพัก รายวัน-รายเดือน
ให้ความสุขแก่ผู้ใช้บริการ แก้วสิริแกรนด์ เรายินดีรับฟัง-บริการ ทุกกรณีที่บกพร่อง จงช่วยกันตรวจสอบดูแล และโทรบอก เมื่อมีสิ่งผิดปกติ อยู่กันเหมือนญาติ-มิตร ขอให้ทุกท่านจงอยู่เย็นเป็นสุข ประสบ ความก้าวหน้า จากทีท่ ำ� งานและสถานศึกษา อนาคตรอ รอความส�ำเร็จ ขอให้ทุกท่าน จงโชคดี
แก้วสิริแกรนด์ ถนนบายพาส สี่แยกไฟแดง ตรงข้าม โฮมพลัส ใกล้ ม.ราชภัฎสกลนคร โทร. 042-716 617, 085-086-1212, 085-086-2121
ห้ า งทองแก้ ว สิ ร ิ จ�ำหน่ายทองจากเยาวราช รับซื้อทองเก่าราคาสูง จ�ำนอง ฝากทอง ร้อยละ 1 บาท
ตรงโรงแรมแก้วสิริแกรนด์ สี่แยกไฟแดงโฮมพลัส ใกล้ ม.ราชภัฎสกลนคร โทร. 085-086-3131, 086-111-3111 SAKONNAKHON 57
เส้นทางท่องเที่ยว
จังหวัดสกลนคร มีแผนการส่งเสริมการท่องเที่ยว 3 ธรรม ประกอบด้วย ธรรมะ ด้วยเหตุ ที่สกลนครมีพระอริยะสงฆ์ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ วัฒนธรรม จังหวัดสกลนครมีกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งต่างมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ และธรรมชาติ เพราะมีอุทยานแห่งชาติถึง 3 แห่ง และมีทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในภาคอีสาน
58 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ทะเลสาบหนองหาร
SAKONNAKHON 59
เส้นทางท่องเที่ยวฉบับนี้ จะพาคุณไปร�ำลึกถึงข้อธรรม ค�ำสอนของพระอริยะสงฆ์ เพื่อเติมพลังใจให้พร้อมรับมือ กับทุกสถานการณ์ ไปดืม่ ด�ำ่ ความสดชืน่ รืน่ เย็นจากธรรมชาติ บริสทุ ธิ์ เพือ่ เติมพลังชีวติ ให้กระปรีก้ ระเปร่า และไปเรียนรูว้ ถิ ี ชีวิตและวัฒนธรรมชาวสกล เพื่อเติมพลังแห่งความสุขให้ ล้นปรี่ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปเที่ยวสกลนครด้วยกันค่ะ
หนองหาร...ทะเลสาบใหญ่สุดในอีสาน
เมือ่ เอ่ยถึง “หนองหาร” คนส่วนใหญ่จะนึกถึงจังหวัดสกลนคร เนือ่ งด้วยมีแลนด์มาร์คคือหนองหาร ซึง่ เป็นทะเลสาบขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ในอีสาน และเป็นรองแค่บงึ บอระเพ็ด ด้วยขนาดพืน้ ทีร่ วม ทั้งสิ้น 123 ตารางกิโลเมตร หนองหารในอดีตเคยเป็นที่สร้างบ้านแปงเมือง ดังปรากฏ หลักฐานทางด้านโบราณคดีและบันทึกทางประวัตศิ าสตร์ ในชือ่ ว่า “เมืองหนองหารหลวง” นอกจากนีย้ งั มีตำ� นานทีเ่ ล่าถึงการ เกิดของหนองหารว่าเกิดจากเมืองต่างๆ ถล่มลงในหนองน�ำ้ และ ในนิทานกะฮอกด่อนเล่าว่าเกิดจากการกระท�ำของพญานาค บริเวณรอบๆ หนองหารในปัจจุบัน ถูกจัดเป็นสวยสุขภาพ ขนาดใหญ่ ชื่อ “สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์” หรือที่รู้จักกัน ทั่วไปในชื่อ “สระพังทอง” มีไม้ดอกไม้ประดับนานาชนิด สวนหย่อมสวยงาม บรรยากาศร่มรืน่ เย็นสบาย เหมาะแก่การ ออกก�ำลังกายและพักผ่อนหย่อนใจ
60 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
SAKONNAKHON 61
ประตูเมืองสกลนคร...สัญลักษณ์ นครแห่งธรรม
เชื่อว่าหลายๆ ท่าน เมื่อได้ไปเยือนจังหวัดใด มักจะชอบ แชะภาพกับแลนด์มาร์คของจังหวัดนั้นๆ ด้วยเสมอ ที่จังหวัด สกลนครนีก้ ม็ แี ลนด์มาร์คทีโ่ ดดเด่น ตัง้ ตระหง่านต้อนรับทุกผูค้ น ที่มาเยือนสกลนคร นั่นก็คือ ประตูเมืองสกลนคร ประตูเมืองสกลนคร ตัง้ อยูบ่ ริเวณลานรวมใจไทสกลทีอ่ ยูต่ ดิ กับไฟแดงหน้าห้างดอกบัวสกลนครนีเ่ อง ประตูทนี่ ไี่ ม่ธรรมดานะคะ เราสามารถกราบสักการะขอพรได้เลย เพราะด้านบนประดิษฐาน ปราสาทสีทองสวยงามอลังการสามหลัง องค์กลางใหญ่สุด ประดิษฐานพระพุทธรูปจ�ำลองหลวงพ่อองค์แสน พระพุทธรูป
62 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำเมืองสกลนคร องค์เล็กอีกสององค์ประดิษฐาน รูปเหมือนพระอาจารย์มนั่ ภูรทิ ตั โต และพระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร พระอรหันต์สายวัดป่าทีม่ ชี อื่ เสียง สมกับทีไ่ ด้ชอื่ ว่าเป็นนครแห่ง ธรรมโดยแท้ ส่วนฐานล่างเป็นประติมากรรมดินเผาทีจ่ ดั ท�ำเป็น เรื่องเล่าต�ำนานหนองหาร ใกล้กบั ประตูเมืองยังมีอนุสาวรียพ์ ระยาประจันตประเทศธานี (โง่นค�ำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) เจ้าเมืองสกลนครองค์สดุ ท้าย และเป็นผูว้ า่ ราชการเมืองสกลนครคนแรก ผูม้ คี ณ ุ ปู การต่อจังหวัด สกลนคร และเป็นต้นตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร แห่งจังหวัด สกลนครด้วย
ศาลหลักเมือง
ศาลเจ้าพ่อมเหสักข์ SAKONNAKHON 63
109 รอยพระบาทยาตรา ณ พระต�ำหนักภูพานฯ
พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร เป็นพระต�ำหนัก ที่ สร้ า งขึ้ น ในบริ เวณเทือ กเขาภูพ าน โดยพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดชเป็นผูท้ รงเลือกพืน้ ทีส่ ร้าง พระต�ำหนักด้วยพระองค์เอง ทรงใช้แผนที่ทางอากาศและการ เสด็จส�ำรวจเส้นทางบริเวณ ป่าเขา น�้ำตก และเป็นที่ทราบกัน ดีว่าพระต�ำหนักแต่ละแห่ง ล้วนแล้วแต่มีความสวยงามของ สวนไม้ดอกไม้ประดับ ที่ได้รับการดูแลเป็นอย่างดี แม้ในยามที่ พระองค์มิได้เสด็จฯ มาประทับก็ตาม และพระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์นี้ ก็ เช่ น กั น ทุ ก คราวที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 และสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ตลอดจน พระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จแปรพระราชฐาน เพื่ อ ทรงเยี่ ย มพสกนิ ก รและโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จะเสด็จฯ มาประทับ ทุกครั้ง โดยเฉพาะที่จังหวัดสกลนคร พระองค์ เ คยเสด็ จ ฯ เพื่ อ ทรงปฏิ บั ติ พระราชกรณียกิจต่างๆ และเสด็จฯ เป็น การส่วนพระองค์มากถึง 109 ครัง้ เลยทีเดียว ยังความปลาบปลืม้ แก่ชาวสกลนครอย่าง หาที่สุดมิได้ 64 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ที่นี่นอกจากเราจะได้ชื่นชมหมู่พระต�ำหนักที่ประทับ ซึ่ง ตกแต่งอย่างเรียบหรูดูคลาสสิกส่วนใหญ่เป็นสถาปัตยกรรม สมัยใหม่ แต่สำ� หรับ “พระต�ำหนักปีกไม้” ทีใ่ ช้เป็นเรือนรับรองนัน้ สร้างขึน้ ในรูปแบบล็อกเคบินเข้ากับบรรยากาศของผืนป่า เลยจาก หมู่พระต�ำหนักไปเล็กน้อย มีการสร้างกระท่อมเล็กๆ ไว้หลาย หลัง เป็นตัวอย่างของบ้านชนบทแบบดั้งเดิม โดยมีการจัดวาง เครือ่ งมือเกษตรและเครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�ำวันไว้ให้ชมด้วย และ ใครที่ชอบศึกษาเรื่องพันธุ์ไม้เป็นห้ามพลาด เพราะที่นี่นับเป็น แหล่งรวมพันธุ์ไม้ดอกจากป่าภูพาน อาทิ ดุสิตา มณีเทวา และ ทิพย์เกสร ซึ่งจะมีให้ชมเฉพาะช่วงหน้า หนาว ส่วนฤดูกาลอืน่ ๆ ก็จะมีไม้ดอกสีสนั สวยงามให้ได้ชนื่ ชม ซึง่ ในระหว่างทีไ่ ม่มี พระองค์ใดประทับอยู่ ทางส�ำนักเลขาธิการ พระราชวังจะอนุญาตให้ประชาชนทัว่ ไป เข้าชมได้ทุกวัน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ โทร. 0-4271-4499 พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ ตัง้ อยู่ บริเวณกลางเทือกเขาภูพาน ในท้องทีอ่ ำ� เภอ ภูพาน จังหวัดสกลนคร อยูห่ า่ งจากตัวเมือง สกลนครประมาณ 16 กิโลเมตร การเดินทาง จากตัวเมืองสกลนคร ไปตามเส้นทาง หลวงหมายเลข 213 (สกลนคร-กาฬสินธุ)์ จะพบพระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ตงั้ อยู่ ริมถนนบริเวณกิโลเมตรที่ 14
SAKONNAKHON 65
พิพิธภัณฑ์อัฐบริขารพระอาจารย์วัน อุตฺตโม
วัดถ�ำ้ อภัยด�ำรงธรรม หรือวัดถ�้ำพวง
66 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
สังเวชนียสถาน พุทธคยา
SAKONNAKHON 67
พิพิธภัณฑ์ภูพาน...ต�ำนานเมืองสกลนคร
พิพิธภัณฑ์ภูพาน เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ของ จังหวัดสกลนคร ทีย่ อ่ เรือ่ งราวทัง้ หมดของจังหวัดสกลนครมาไว้ ให้ศึกษาในที่เดียว ภายในพิพธิ ภัณฑ์ฯ จัดแสดงนิทรรศการและประติมากรรม เหมือนจริงในหัวข้อต่างๆ อาทิ ประวัตคิ วามเป็นมาของจังหวัด สกลนคร ประวัติความเป็นมาของบรรพบุรุษ ชาติพันธุ์ต่างๆ รวมทั้งศิลปวัฒนธรรม แหล่งประวัติศาสตร์ ต�ำนานการต่อสู้ ตลอดจนพระอริยสงฆ์ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสกลนคร นอกจากนี้องค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครซึ่งดูแล รับผิดชอบพิพธิ ภัณฑ์แห่งนี้ ยังได้จดั สร้างห้องเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ขึน้ เพือ่ จัดแสดงข้อมูลพระราชประวัติของพระองค์ นับตั้งแต่เสด็จ พระราชสมภพ ขณะทรงพระเยาว์ จนกระทัง่ เสด็จขึน้ ครองราชย์ ตลอดถึงพระราชกรณียกิจต่างๆ โดยเฉพาะการเสด็จพระราชด�ำเนิน มายังจังหวัดสกลนครทัง้ 109 ครัง้ นับตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ ปฐมยาตรา เมือ่ วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2498 จนกระทัง่ ครัง้ ที่ 109 เมือ่ ปี พ.ศ.2539 เพื่อบันทึกเป็นประวัติศาสตร์ให้เยาวชนรุ่นหลัง ได้ศึกษาเรียนรู้ และเพื่อน้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ พระองค์ทรงตรากตร�ำเพื่อบ�ำบัดทุกข์บ�ำรุงสุขให้กับพสกนิกร 68 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ชาวสกลนคร และจังหวัดอื่นๆ ในภาคอีสานอย่างมากมาย นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ พิพิธภัณฑ์ภูพาน ตั้งอยู่บริเวณริมหนองหารด้านหลัง โรงเรียนอนุบาลสกลนคร เขตเทศบาลนคร เปิดให้ประชาชนทัว่ ไป ตลอดจนนักเรียน นิสิต นักศึกษา เข้าเยี่ยมชมได้ทุกวันอังคาร ถึงวันอาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 09.00-16.30 น. โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่อย่างใด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 08-4513-2428 SAKONNAKHON 69
พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร
ตัง้ อยูท่ วี่ ดั ป่าอุดมสมพร ต�ำบลพรรณานิคม อ�ำเภอพรรณานิคม ลักษณะพิพธิ ภัณฑ์เป็นรูปเจดียฐ์ านกลมกลีบบัวสามชัน้ ภายใน มีรูปปั้นพระอาจารย์ฝั้นขนาดเท่าองค์จริงนั่งห้อยเท้า และถือ ไม้เท้าไว้ในมือ ภายในมีตจู้ ดั แสดงอัฐธิ าตุ และเครือ่ งอัฐบริขาร ของท่าน รวมทัง้ ประวัตคิ วามเป็นมาตัง้ แต่ทา่ นเกิดจนมรณภาพ ความเป็นมาในการสร้างเจดีย์พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร นั้น สืบเนื่องจากภายหลังพิธีสรงน�้ำศพแล้ว พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราช กระแสรับสัง่ ว่า...ในฐานะทีเ่ ราเป็นลูกศิษย์ของพระอาจารย์ ขอให้ทุกคนได้สามัคคีกัน อย่าให้เกิดความแตกแยก และ ขอให้ยดึ มัน่ ในค�ำสอนของท่านไว้ให้มนั่ คง ขอให้เก็บอัฐขิ อง ท่านพระอาจารย์ไว้แห่งเดียวกัน เครื่องอัฐบริขารของท่าน อาจารย์ ถ้าสามารถเก็บรวมรักษาไว้เป็นที่เดียวกันก็จะดี และหลังจากพระราชทานเพลิงศพพระอาจารย์ฝน้ั ในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2521 คณะศิษย์จงึ ประชุมหารือเรือ่ งการจัดสร้าง พิพธิ ภัณฑ์ เพือ่ เป็นเครือ่ งระลึกถึงพระอาจารย์ฝน้ั พระผูป้ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบัติชอบตามรอยพระอาจารย์ที่ท่านได้ฝากตัวเป็นลูกศิษย์ นั่นก็คือ พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 22 (สกลนคร-อุดรธานี) เดินทางไปอ�ำเภอพรรณานิคม ซึง่ อยูห่ า่ งจากตัวเมืองสกลนคร ประมาณ 37 กิโลเมตร จากนั้นเลี้ยวขวาผ่านที่ท�ำการอ�ำเภอ พรรณานิคมไปประมาณ 2 กิโลเมตร จะพบทางเข้าวัดป่าอุดมสมพร วัดป่าอุดมสมพร โทร. 0-4251-3490-1 70 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ...ใหญ่ที่สุด ในประเทศ
อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ อุทยานบัวทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของประเทศ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2553 เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมบัวพันธุ์ต่างๆ เพือ่ รองรับการประชุมวิชาการบัวนานาชาติ และเพือ่ เป็นสถานที่ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับบัวสายพันธุ์ต่างๆ ของนิสิต นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป รวมทัง้ ยังเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว และพักผ่อนหย่อนใจทีส่ วยงามอีกแห่งหนึง่ ของจังหวัดสกลนคร ด้วย เมือ่ มาถึงแล้ว คุณจะได้พบกับบึงบัวขนาดใหญ่ทตี่ งั้ อยูบ่ ริเวณ ด้านหน้าทางเข้า โดยมีสะพานไม้สแี ดงทอดยาวผ่านบึงบัวเชือ่ มต่อ กันรอบสระ เพื่อเป็นทางเดินชมความงามของดอกบัวได้อย่าง ใกล้ชิด กลางบึงบัวยังมีศาลาชมวิวให้นั่งพักเหนื่อยท่ามกลาง ดอกบัวงามสีสันสดใส และอากาศที่เย็นสบาย อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ ตัง้ อยูต่ รงข้ามกับบึงหนองหาร อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
SAKONNAKHON 71
72 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระธาตุศรีมงคล อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ SAKONNAKHON 73
74 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติ SAKONNAKHON 75
ภูผายล...อุทยานฯ ในพระราชด�ำริ
อุทยานแห่งชาติภผู ายล เดิมเรียกว่า “อุทยานแห่งชาติหว้ ยหวด” มีเนื้อที่ประมาณ 517,850 ไร่ หรือ 828.56 ตารางกิโลเมตร สภาพทัว่ ไปเป็นทีร่ าบสูงสลับกับเทือกเขาหินทราย เป็นป่าต้นน�ำ้ ล�ำธาร มีธรรมชาติและทิวทัศน์ทสี่ วยงาม เช่น น�ำ้ ตก ถ�ำ้ หน้าผา เนินหิน อ่างเก็บน�้ำ และสัตว์ป่านานาชนิด จัดเป็น 1 ใน 5 ของโครงการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ วันที่ 5 ธันวาคม 2530 ในโอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จฯ ทอดพระเนตรโครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยหวด ต�ำบลเต่างอย กิ่งอ�ำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2527 ได้พระราชทานพระราชด�ำริตอนหนึง่ ว่า “ควรอนุรกั ษ์ สภาพธรรมชาติและป่าไม้บริเวณใกล้กบั หัวงานเขือ่ นเก็บกักน�ำ้ ของโครงการอ่างเก็บน�ำ้ ห้วยหวด ตลอดจนบริเวณข้างเคียง ของอ่างเก็บน�ำ้ พร้อมกับควรปรับปรุงเสริมแต่งบริเวณให้มี ความสวยงามและเหมาะสมเพือ่ พัฒนาให้เป็นอุทยานแห่งชาติ หรือส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี โดยให้ กรมชลประทานและส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องร่วมกัน ด�ำเนินการโดยเร่งด่วนต่อไปด้วย” กรมชลประทานจึงขอความร่วมมือกรมป่าไม้ ให้รบี ด�ำเนินการ โครงการอนุรักษ์สภาพธรรมชาติและป่าไม้ในบริเวณดังกล่าว แล้วจัดเป็นอุทยานแห่งชาติหรือแหล่งท่องเที่ยวเพื่อสนอง พระราชด�ำริต่อไป จุดเด่นของอุทยานแห่งชาติภผู ายล คือ ภูผายล ซึง่ มีภาพ สลักบนผาหินเป็นรูปคน กวาง วัว ควาย ลายเรขาคณิต ฝ่ามือ เป็นต้น มีอายุไม่ตำ�่ กว่า 3,000 ปี และเป็นถิ่นที่อยู่ของกลุ่มชน ก่อนประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ยังมีภาพโบราณให้ชมอีกหลาย แห่ง เช่น ถ�้ำพระด่านแร้ง ลักษณะเป็นเพิงผาหินทราย มีภาพ แกะสลักโบราณรูปทรงเรขาคณิต ภาพมือ ภาพสัตว์ตา่ งๆ และที่ ถ�้ำม่วง มีภาพสลักโบราณอายุ 2,000-3,000 ปี 76 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
แต่ ถ ้ า ชื่ น ชอบกิ จ กรรมเดิ น ป่ า ศึ ก ษาธรรมชาติ ก็มีหลายแห่ง อาทิ อ่างเก็บน�้ำห้วยหวด มีลานหิน ที่วางตัวตามธรรมชาติอย่างสวยงาม เหมาะส�ำหรับ มาเที่ยวพักผ่อน ชมภาพพระอาทิตย์ตกน�้ำยามเย็น ถ�้ำหีบภูผานาง ถ�้ำเสาวภา ตั้งอยู่ในท้องที่กิ่งอ�ำเภอ เต่างอย หน้าผาเนินหิน ซึง่ จะมีทงุ่ ดอกไม้ปา่ สลับกัน ออกดอกในช่วงฤดูฝนและหนาว ภูกอ่ เป็นยอดเขาสูง ทีส่ ดุ ของจังหวัดสกลนคร มีลกั ษณะเป็นหน้าผาทีท่ อด ยาวคล้ายก�ำแพง เป็นจุดชมทะเลหมอกในช่วงเดือน ธันวาคม-มกราคม ส่วนใครที่ชอบเล่นน�้ำให้ชุ่มฉ�ำ่ ที่อุทยานแห่งชาติ ภูผายลก็มีน�้ำตกหลายแห่ง เช่น น�้ำตกค�ำน�้ำสร้าง น�ำ้ ตกทีส่ งู ทีส่ ดุ ของอุทยานแห่งชาติภผู ายล สูงประมาณ 25 เมตร น�ำ้ ตกแก่งโพธิ์ เป็นน�ำ้ ตกทีส่ วยงามอีกแห่ง หนึ่ง กว้างประมาณ 14 เมตร สูง 10 เมตร บริเวณ สายน�้ ำ ใต้ น�้ ำ ตกเป็ น แก่ ง กว้ า งสามารถกางเต็ น ท์ พักแรมที่ลานขนาดใหญ่ใกล้น�้ำตก ปิดท้ายด้วยการ ชมประติมากรรมจากธรรมชาติ ผาพญาเต่างอย เป็น หินทรายรูปร่างคล้ายเต่า ขนาดกว้างประมาณ 5 เมตร ก�ำลังกระโจนลงสู่ลำ� น�้ำพุง ท่านทีส่ นใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิม่ เติม ได้ที่ อุทยานแห่งชาติภผู ายล ต�ำบลจันทร์เพ็ญ อ�ำเภอ เต่างอย จังหวัดสกลนคร 47260 โทร. 0-4298-1057
หน้าผาเนินหิน
SAKONNAKHON 77
อุทยานแห่งชาติภูผาเหล็ก
78 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
SAKONNAKHON 79
80 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เขื่อนน�ำ้ อูน
SAKONNAKHON 81
ห้วยหินชะแนนใหญ่
82 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
SAKONNAKHON 83
ถ�้ำเสรีไทย...อนุสรณ์แห่งสกลนคร
ถ�้ำเสรีไทย ตั้งอยู่ห่างจากที่ทำ� การอุทยานแห่งชาติภูพาน ไปทางทิศเหนือ 4.5 กิโลเมตร ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ถ�้ำ แห่งนี้เป็นแหล่งสะสมอาวุธยุทธภัณฑ์ของขบวนการเสรีไทย เพือ่ ไปต่อสูก้ บั กองทัพญีป่ นุ่ ซึง่ ขบวนการเสรีไทยสายสกลนคร นั้น มีนายเตียง ศิริขันธ์ เป็นหัวหน้า ถ้าชืน่ ชอบการเดินเทีย่ วชมธรรมชาติของผืนป่า คุณจะชอบ ทีน่ เี่ พราะมีเส้นทางเดินผ่านป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ถ�ำ้ เสรีไทย แล้วยังต่อไปยังจุดชมพระอาทิตย์ตกและพระอาทิตย์ขึ้นใน บรรยากาศสดแสนโรแมนติก เส้นทางไม่ไกลมาประมาณ 5 กิโลเมตร และทีน่ ยี่ งั สามารถเทีย่ วได้ตลอดทัง้ ปี โดยเฉพาะในหน้าฝนยิง่ สวย เพราะมีเส้นทางผ่านทุ่งดอกกระเจียวที่จะออกดอกบาน สะพรั่งในช่วงเดือนสิงหาคม ถ�ำ้ เสรีไทย เป็นสวนหนึง่ ของเส้นทางท่องเทีย่ วในเขตอุทยาน แห่งชาติภพู าน ซึง่ สามารถมาเทีย่ วชมน�ำ้ ตกสวยๆ ได้หลายแห่ง โดยทางอุทยานฯ มีสถานทีก่ างเต็นท์และบ้านพักรับรอง สนใจ ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 0-4270-3044, 08-1263-5029
ถ�้ำเสรีไทย 84 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ลานอนุสาวรีย์ เตียง ศิริขันธ์ SAKONNAKHON 85
ท้องฟ้าจ�ำลอง
86 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ท้องฟ้าจ�ำลอง...ปลุกแรงใจใฝ่รู้ด้านอวกาศ
ท้องฟ้าจ�ำลองจังหวัดสกลนคร จัดสร้างโดยองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดสกลนคร ตัง้ อยูท่ บี่ ริเวณริมหนองหาร ติดกับพิพธิ ภัณฑ์ ภูพาน ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร (หลังโรงเรียน อนุบาลสกลนคร) เปิดให้บริการวันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08.3016.30 น. บริเวณด้านหน้าก่อนเข้าตัวอาคารศูนย์วทิ ยาศาสตร์ทอ้ งฟ้า จ�ำลอง มีอุปกรณ์การละเล่นต่างๆ ที่สอดแทรกหลักการทาง วิทยาศาสตร์ให้เด็กๆ ได้เรียนรู้ผ่านการเล่นอย่างสนุกสนาน เพลิดเพลิน เมื่อเข้าไปด้านในอาคารบรรยากาศเย็นสบายแสง สลัวๆ ชวนให้จินตนาการถึงยามค�ำ่ คืนได้ ภายในท้องฟ้าจ�ำลองนีจ้ ดั แสดงองค์ความรูด้ า้ นดาราศาสตร์ ระบบสุรยิ ะจักรวาล และวิทยาการด้านอวกาศ โดยจัดแบ่งเป็น โซนทั้งหมด 7 โซน ได้แก่ 1. ดาราศาสตร์ไทย 2. ระบบสุริยะ และอวกาศ 3. ดวงดาวบนท้องฟ้า 4. ดวงจันทร์ ดาวหางและ ดาวตก 5. รู้จักกับกล้องดาว 6.การเดินทางผ่านชั้นบรรยากาศ 7.มหัศจรรย์ดาราศาสตร์ไทย และที่พลาดชมไม่ได้คือห้องท้องฟ้าจ�ำลอง ที่มีการฉาย ภาพยนตร์ ส ามมิ ติ ใ ห้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ ระบบสุ ริ ย ะจั ก รวาล ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ บนท้องฟ้าในแต่ละช่วงเวลา และอืน่ ๆ ทีห่ มุนเวียนสับเปลีย่ นมาฉายให้ความรู้ และสร้างแรง บันดาลใจแก่เด็กและเยาวชนให้มีความสนใจด้านดาราศาสตร์ ไม่แน่นะคะ...ลูกหลานของเราทีไ่ ด้มาชมท้องฟ้าจ�ำลองแล้วอาจ จะกลายเป็นนักบินอวกาศคนต่อไปในอนาคตก็ได้ SAKONNAKHON 87
ชมเทศกาลแห่ดาว ชุมชนคาธอลิกบ้านท่าแร่
หมูบ่ า้ นท่าแร่ เป็นหมูบ่ า้ นทีม่ ปี ระชากรนับถือศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาธอลิกมากที่สุดในประเทศไทย และเป็นชุมชนที่ มีอายุกว่า 100 ปี ซึง่ ยังคงรักษาพิธกี รรมทางศาสนาคริสต์ไว้ได้ อย่างเหนียวแน่นจนถึงทุกวันนี้ ในอดีตราวปี พ.ศ.2427 คริสต์ชนชาวเวียดนามได้อพยพมา มาตัง้ ถิน่ ฐานใหม่ทบี่ า้ นท่าแร่ ซึง่ อุดมสมบูรณ์ดว้ ยป่าไม้ และมี หินลูกรัง หรือ “หินแฮ่” (หินแร่) โดยมีบาทหลวงเกโก มิชชัน่ นารี ชาวฝรั่งเศส แห่งอัครสังฆมณฑลท่าแร่ หนองแสง หรือส�ำนัก มิสซังท่าแร่ฯ เป็นผู้ดูแลความเป็นอยู่ หมูบ่ า้ นท่าแร่มคี วามโดดเด่นเรือ่ งการจัดวางผังหมูบ่ า้ น ซึง่ จัดแบ่งเป็นรูปตารางหมากรุก คล้ายกับผังเมืองในประเทศแถบ ยุโรป นอกจากนีย้ งั มีอาคารสไตล์โคโลเนียลแบบฝรัง่ เศส-เวียดนาม ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ให้พบเห็นตลอดบนถนนสายหลักของหมูบ่ า้ น และที่โดดเด่นเป็นพิเศษจนอยากจะชวนไปชมก็คือ ในคืน วันที่ 25 ธันวาคม ของทุกปี ชุมชนบ้านท่าแร่จะจัดเทศกาลแห่ 88 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ดาวคริสต์มาส โดยเชื่อว่า “ดาว” เป็นสัญลักษณ์ของการเสด็จ ลงมาประสูตบิ นโลกมนุษย์ของพระเยซู โดยจะจัด “ขบวนแห่ดาว คริสต์มาส” ทีอ่ ำ� เภอเมือง โดยจะมีขบวนรถดาวเข้าร่วมประมาณ 200 คัน รถแต่ละคันจะถูกตกแต่งด้วยดาวขนาดใหญ่ ซึง่ ประดับ ประดาแสงไฟระยิบระบับหลากสีสนั เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราวการ ประสูตขิ องพระเยซู นอกจากนีต้ ามบ้านต่างๆ ก็จะห้อยโคมไฟ รูปดาวส่องแสงวิบวับไว้ที่หน้าบ้านด้วย และทุกคนจะจัดงาน เฉลิมฉลอง มีการร้องเพลงประสานเสียง การประกวดร้องเพลง คริสต์มาส มีการจ�ำหน่ายสินค้าและมีมหรสพทั้งคืน หมูบ่ า้ นท่าแร่ ตัง้ อยูร่ มิ หนองหาร บนทางหลวงหมายเลข 22 (สกลนคร-นครนม) ต�ำบลท่าแร่ อ�ำเภอเมือง ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 21 กิโลเมตร
อาสนวิหารอัครเทวดามีคาแอล มิสซังท่าแร่ SAKONNAKHON 89
ถนนคนเดินผ้าคราม
90 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ช็อปปิ้งผ้างามที่ ถนนคนเดินผ้าคราม
หนึง่ ในนวัตกรรมของจังหวัดสกลนครทีม่ คี วามโดดเด่น และ ได้รบั การขับเคลือ่ นผ่านยุทธศาสตร์ 5 ด้านของจังหวัดสกลนคร ก็คือ “ผ้าย้อมคราม” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ที่มีมูลค่าการ จ�ำหน่ายในปี 2559 มากถึง 250,260,840 บาท ซึ่งรายได้ส่วน หนึ่งนั้นมาจากการจัดงาน “ถนนคนเดินผ้าคราม” งานถนนคนเดินผ้าคราม จัดขึ้นที่บริเวณถนนเรื่องสวัสดิ์ หน้าวัดพระธาตุเชิงชุม เริม่ ตัง้ แต่ชว่ งบ่ายสามโมงถึงราวสองทุม่ สองข้างถนนจะเต็มไปด้วยร้านรวงต่างๆ ที่น�ำเอาผลิตภัณฑ์ จากผ้าย้อมครามมาจ�ำหน่าย อาทิ เสือ้ กางเกง กระโปรง ผ้าซิน่ ผ้ามัดหมี่ ผ้าพันคอ ผ้าเช็ดหน้า รองเท้า กระเป๋า เป้ สมุดบันทึก พวงกุญแจ ตุก๊ ตา ฯลฯ ทีอ่ อกแบบมาให้เหมาะกับรสนิยม ที่หลากหลาย จนเรียกทรัพย์ให้ละลายหายไปใน พริบตา ใครทีม่ โี อกาสไปเทีย่ วสกลนคร อย่าพลาด ไปถนนคนเดินผ้าครามนะคะ งานจัดขึ้นทุก วันเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถซือ้ หาผลิตภัณฑ์เก๋ๆ จากผ้าย้อมครามได้อย่างมันมือ ท่ามกลาง บรรยากาศเมืองเก่าของสกลนคร และความ เพลิดเพลินจากการแสดงดนตรีและศิลปวัฒนธรรม พื้นเมือง
ผู้ว่าฯ ชวนชิม...ข้าวเกรียบปากหม้อปารีส
หนึง่ ในร้านอาหารทีผ่ วู้ า่ ราชการจังหวัดสกลนคร นายวิทยา จันทร์ฉลอง ได้เขียนแนะน�ำลงในเฟซบุคส่วนตัวของท่านก็คอื ร้านข้าวเกรียบปากหม้อปารีส ร้านนีไ้ ม่เพียงแต่จะเป็นร้านเก่าแก่คเู่ มืองสกล ทีเ่ ปิดขายอยู่ หน้าโรงหนังปารีสมานานหลายสิบปี จนเรียกกันติดปากว่า “ข้าวเกรียบปากหม้อปารีส” แต่เจ้าของร้านใจดียังรังสรรค์เมนู
ข้าวเกรียบปากหม้อให้มีความหลากหลาย ทั้งส่วนของตัวแป้ง ซึง่ มีทงั้ แบบแป้งนิม่ และแป้งกรอบสีนำ�้ ตาลทองน่ากัด หรือ จะเป็นแบบใส่ไข่เพิ่มความหนานุ่มหอมไข่ มีทั้ง รูปแบบไข่ม้วนและไข่พับให้เลือก ส่วนตัวไส้ก็มี ให้เลือกหลายแบบ หรือจะลองแบบธรรมดาที่ เป็นปากหม้อญวน ทานคู่กับน�้ำจิ้มสูตรเด็ด ที่แม้แต่รายการอาหาร “ครัวคุณต๋อย” ยังไม่ พลาดน�ำเสนอออกอากาศ แม้จะเป็นร้านดัง แต่สนนราคาก็ไม่แพง อย่างทีค่ ดิ นะคะ ราคาเริม่ ต้นที่ 30 บาท จ่ายง่าย สบายกระเป๋า ร้านตั้งอยู่ที่ถนนเปรมปรีดา ซอย 7 อ�ำเภอเมืองสกลนคร ไปไม่ถูกโทรสอบถามเส้นทางได้ที่ 0-4273-6132 นะคะ ขอขอบคุณข้อมูลจาก “แหล่งท่องเทีย่ วทางพุทธธรรม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช และจังหวัดสกลนคร SAKONNAKHON 91
เส้นทางความเป็นมา
จังหวัดสกลนคร...เมืองโบราณ
จังหวัดสกลนคร มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี สมัยอยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ “หอมรดกไทย” ซึ่งส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม จัดท�ำขึ้น เนื่องในอภิลักขิตสมัย ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ 6 รอบ ใน 5 ธันวาคม 2542 ได้กล่าวถึงประวัติความเป็นมาของจังหวัดสกลนครไว้ดังนี้
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ในจังหวัดสกลนครมีแหล่งโบราณคดีขนาดใหญ่ที่มีความ ส�ำคัญและสัมพันธ์กบั วัฒนธรรมบ้านเชียง คือ ในเขตอ�ำเภอ สว่างแดนดิน และบริเวณพืน้ ทีร่ ะหว่างล�ำห้วยยามกับ ล�ำห้วยปลาหาง ระหว่างเขตอ�ำเภอสว่างแดนดิน ติดต่อกับเขตอ�ำเภอพังโคน โดยมี ก ารขุ ด พบเครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาในเขต อ�ำเภอสว่างแดนดิน และบริเวณใกล้เคียง มีอายุ ประมาณ 5,600 ปี มาแล้ว และยังพบหลักฐาน ทางโบราณคดีอนื่ ๆ อาทิ โครงกระดูก เครือ่ งประดับ ส�ำริด ลูกปัดแก้ว เครือ่ งมือเหล็ก ภาชนะลายเชือกทาบ 92 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
และเครือ่ งปัน้ ดินเผาลายเขียนสีเป็นจ�ำนวนมาก ฯลฯ ในอ�ำเภอ พังโคน อ�ำเภอวาริชภูมิ อ�ำเภอส่องดาว อ�ำเภอพรรณานิคม และ อ�ำเภอเมืองสกลนครด้วย นอกจากนีย้ งั มีหลักฐานทีแ่ สดงถึงการตัง้ ถิน่ ฐาน ของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ คือศิลปะถ�้ำ และผาหินในจังหวัดสกลนคร ทีส่ ำ� คัญมีอยู่ 3 แห่ง ด้วยกันคือ ถ�้ำผาลาย ภูผายล อ�ำเภอเมืองฯ ถ�้ำม่วง อ�ำเภอเต่างอย ถ�้ำภูผักหวาน อ�ำเภอ ส่องดาว ซึ่งเป็นผลงานการแกะสลักภาพต่างๆ บนผาหิน สันนิษฐานว่าจะมีอายุประมาณ 3,500 ปี มาแล้ว
ยุคประวัติศาสตร์ สมัยทวารวดี
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของเมืองสกลนครขาดความ ต่อเนื่องจากสมัยก่อนประวัติศาสตร์นานเท่าใดไม่ปรากฏ มา ปรากฏอีกครัง้ ในสมัยทวารวดีเป็นต้นมา ตามหลักฐานของเสมา หินที่พบในเขตจังหวัดสกลนคร เช่น เสมาหินที่บ้านหนองยาง ต�ำบลพังขว้าง อ�ำเภอเมืองฯ เสมาหินทีบ่ า้ นเตาไห ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอสว่างแดนดิน เสมาหินที่บ้านท่าวัด ต�ำบลเหล่าปอแดง อ�ำเภอเมืองฯ ซึ่งเป็นโบราณวัตถุที่มีมาก่อนสมัยลพบุรี ต่อมา จนถึงสมัยลพบุรี สมัยอยุธยา จนถึงปัจจุบัน รูปลักษณะของใบเสมาหินแบ่งออกได้เป็น 3 แบบคือ แบบ แท่งหิน แบบแผ่นหิน และแบบแท่งหินธรรมดา ใบเสมาทีพ่ บใน เขตจังหวัดสกลนครจะเป็นแบบแท่งหิน มีรปู พระสถูปเจดียป์ ระดับ อยูต่ รงกลางแผ่นเสมา การปักใบเสมาจะปักประจ�ำทิศรอบเนิน ดิน หรือศาสนสถานเพื่อแสดงเขต สถานที่พบใบเสมาที่พบใน เขตจังหวัดสกลนคร ได้แก่ วัดบ้านม้า ต�ำบลพันนา อ�ำเภอสว่างแดนดิน ยังไว้ในดิน บริเวณพระอุโบสถเก่า ท�ำด้วยหินทรายแดง หนา 25 เซนติเมตร กว้าง 63 เซนติเมตร ยาว 1.50 เมตร ด้านหนึ่งแกะเป็นรูปคน แบกเด็กอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว วัดกลางศรีเชียงใหม่ บ้านท่าวัด ต�ำบลเหล่าปอแดง อ�ำเภอเมืองฯ ใบเสมาปักไว้ทงั้ 8 ทิศ มีจำ� นวน 16 ใบ แกนกลางแกะเป็นรูปหม้อน�ำ้ ทรงสูง วัดเชิงดอยเทพรัตน์ บ้านม่วง ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอเมืองฯ เป็นหินทรายแดง ลักษณะ เป็นแผ่นหินธรรมชาติ ไม่มกี ารถากโคนและสลักใดๆ ปักอยูต่ าม เนินดิน สิมเก่าบ้านโพนงาม และบ้านโพนบก ต�ำบลบ้านแป้น อ�ำเภอโพนนาแก้ว ใบเสมาท�ำด้วยหินทรายแดง มีการสลักเป็น ร่องและฐานบัว บ้านหนองยาง ต�ำบลพังขว้าง อ�ำเภอเมืองฯ ใบเสมาฝังอยู่ในที่ดินของชาวบ้าน เป็นใบเสมาที่ไม่มีการแกะ สลักใดๆ
สมัยอยุธยา
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ได้ตกลงแบ่ง อาณาเขตระหว่างอาณาจักรล้านช้างกับอยุธยา ตามแนวภูเขา ดงพระยาพ่อ (ดงพระยาไฟ) และภูสามเส้า (ภูเขาเพชรบูรณ์) ต่อมาในปี พ.ศ.2250 อาณาจักรล้านช้างเกิดความแตกแยกออก เป็นสามส่วน คือ หลวงพระบาง เวียงจันทน์ และจ�ำปาศักดิ์ ท�ำให้ เกิดการแยกตัวของเจ้านาย และขุนนางพร้อมด้วยสมัครพรรค พวก ไปตัง้ หลักแหล่งอยูใ่ หม่นอกอาณาเขตทัง้ สามดังกล่าวแล้ว คือไปอยู่ทางดินแดนฝั่งขวาของแม่น�้ำโขง ตั้งแต่จังหวัดเลย หนองบัวล�ำพู หนองคาย อุดรธานี สกลนคร ไปจนถึงนครพนม ดังนัน้ การตัง้ หลักแหล่งของชุมชนลาว จึงได้อาศัยแหล่งชุมชน เดิมทีอ่ ยูม่ าก่อนแล้วตัง้ แต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 18-19 และได้มี การสร้างศาสนสถาน หรือดัดแปลงศาสนสถานทีม่ อี ยูก่ อ่ นแล้ว ให้มีศิลปะแบบล้านช้างผสมอยู่ด้วย เช่น พระธาตุเชิงชุม มีบัว ย่อเป็นเหลี่ยมขององค์พระธาตุ ซึ่งเป็นศิลปะแบบล้านช้าง การใช้อกั ษรไทยน้อย (ลาว) มีแพร่หลายอยูท่ วั่ ไป เช่นการจารึก พระธรรมในใบลาน หนังสือนิทานพื้นบ้าน ต�ำรายาที่จารึกใน ใบลาน เป็นต้น SAKONNAKHON 93
สมัยรัตนโกสินทร์
เมืองหนองหาร (ชื่อเดิมของจังหวัด สกลนคร) ได้กลายเป็นเมืองร้างไปแต่ เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐาน ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าฯ ให้ อุปฮาดเมืองกาฬสินธุพ์ ร้อมครอบครัว ไพร่พล มาตั้งรักษาพระธาตุเชิงชุม ณ ต�ำบล พระธาตุเชิงชุม และหมู่บ้าน อืน่ ๆ อีกหลายต�ำบล เมือ่ มีผคู้ นมาอยูม่ าก ขึน้ พอจะตัง้ เมืองได้ จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ยก บ้านธาตุเชิงชุมขึน้ เป็น “เมืองสกลนครทวาปี” เมือ่ ปี พ.ศ.2329 ตัง้ ให้อปุ ฮาดเมืองกาฬสินธุ์ เป็นพระธานี เจ้าเมืองสกลนครทวาปีคนแรก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ.2369 เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ กองทัพไทยยกก�ำลัง ขึ้นไปปราบ โดยมีพระยาราชสุภาวดีผู้เป็นแม่ทัพ ได้มาตรวจ ราชการที่เมืองสกลนครทวาปีพบว่า เจ้าเมืองไม่เอาใจใส่ต่อ ราชการจึงให้ประหารชีวิตเสีย เมื่อปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์เสร็จ สิ้นลงแล้ว ก็ได้กวาดต้อนผู้คนจากเมืองต่างๆ รวมทั้งเมือง สกลนครทวาปีไปอยู่ที่เมืองกบินทร์บุรี เมืองประจันตคาม คง เหลือบางส่วนไว้รักษาพระธาตุเชิงชุม ในปี พ.ศ. 2378 อุปฮาด ราชวงศ์ และท้าวชินผู้เป็นน้องได้ พาสมัครพรรคพวกมาพึง่ พระบรมโพธิสมภาร พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้โปรดเกล้าฯ ให้มาตัง้ ภูมลิ ำ� เนาทีเ่ มือง สกลนครทวาปีได้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2380 เจ้าราชวงศ์ (ด�ำ) ได้ รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองสกลนครทวาปี
94 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ในปี พ.ศ.2381 โปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ นนาม เมืองสกลนครทวาปี เป็น “เมืองสกลนคร” และแต่งตั้งให้ราชวงศ์ (ด�ำ) เป็นพระยา ประเทศธานี ในปี พ.ศ.2387 โปรดเกล้าฯ ให้ทา้ วโฮงกลาง พระเสนาณรงค์ เป็น เจ้าเมืองพรรณานิคม ยกบ้านพังพร้าว เป็ น เมื อ งพรรณานิ ค ม ตั้ ง เมื อ ง กุสมุ าลย์มณฑลให้ขนึ้ กับเมืองสกลนคร ให้เพีย้ เมืองสูงเป็น หลวงอารักษ์อาญา เจ้าเมืองกุสมุ าลย์มณฑล ในปี พ.ศ.2393 โปรดเกล้าฯ ให้ทา้ วโถงเจ้าเมืองมหาชัย เป็น อุปฮาด ให้ทา้ วเหม็น น้องชายอุปฮาด (โถง) เป็น ราชบุตร เมืองสกลนคร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มี การจัดตั้งเมืองต่างๆ ขึ้นหลายเมืองในจังหวัดสกลนคร ได้แก่ เมืออากาศอ�ำนวย เมืองวานรนิวาส เมืองโพธิไพศาล ต่อมาได้ เกิดเพลิงไหม้ในเมืองสกลนคร เมื่อปี พ.ศ.2396 ได้รับความ เสียหายมาก ยังคงเหลืออยูแ่ ต่องค์พระธาตุเชิงชุม วัดธาตุศาสดาราม เจ้าเมืองพาผูค้ นออกไปตัง้ บ้านเรือนอยูท่ ดี่ งบาก ห่างจากเมือง เดิมออกไป 50 เส้น อีก 5 ปีตอ่ มาจึงได้อพยพกลับมาอยูท่ เี่ ดิม เมื่อปี พ.ศ.2401 ในปี พ.ศ.2406 โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโพหวาเป็นเมือง ภูวดลสอาง แล้วให้ราชบุตร (เหม็น) เป็นทีพ่ ระภูวดลบริรกั ษ์ เป็น เจ้าเมือง โปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโพนสว่างหาดยาวริมน�ำ้ ปลาหาง เป็นเมืองสว่างแดนดิน โดยให้ท้าวเทพกัลยา หัวหน้าไทยโย้ย เป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์เป็นที่พระประสิทธิ์ศักดิ์ประสิทธิ์ ขึน้ กับเมืองสกลนคร ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2410 ได้โปรดเกล้าฯ ให้
ตัง้ ปิด บุตรอุปฮาดตีเจา (ด�ำสาย) เป็นราชวงศ์ และให้ทา้ วลาด บุตรอุปฮาด (โถง) เป็นราชบุตรเมืองสกลนคร แทนต�ำแหน่งเดิม ที่ว่างอยู่ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้ายู่หัว ได้ เกิดการจลาจลจีนฮ่อ เมื่อปี พ.ศ.2418 จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ พระยามหาอ�ำมาตย์ (ชืน่ ) เป็นแม่ทพั คุมกองทัพจากกรุงเทพฯ กับก�ำลังจากหัวเมืองลาวไปรวมพลที่เมืองหนองคาย เมือง สกลนครได้ส่งก�ำลังไปช่วย จ�ำนวน 1,000 คน โดยมีราชวงศ์ (ปิด) กับพระศรีสกุลวงศ์ (โง่นค�ำ) เป็นหัวหน้า ร่วมกันปราบปราม จีนฮ่อจนสงบราบคาบ ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2419 เมืองสกลนครเกิด โรคระบาดร้ายแรง อุปฮาด (โถง) กับราชบุตร (ลาด) ถึงแก่กรรม ทางราชการจึงแต่งตัง้ ให้ราชวงศ์ (ปิด) เป็นผูร้ กั ษาราชการเมือง ในปีตอ่ มาจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เป็นทีพ่ ระยาประจันตประเทศธานี เจ้าเมืองสกลนคร เมือ่ มีการปฏิรปู การปกครองมาเป็นแบบเทศาภิบาล (มณฑล) ทัว่ ประเทศเจ้าเมืองมาจากส่วนกลาง ยกเลิกการปกครองแบบ เก่าที่ใช้ระบบอาญาสี่ เมื่อปี พ.ศ.2435 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ พระยาสุรยิ เดช (กาจ) ไปเป็นข้าหลวงเมืองสกลนครเป็นคนแรก ในปี พ.ศ.2439 ได้โปรดเกล้าฯ ให้เมืองวาริชภูมิ ซึ่งเดิมขึ้น อยู่กับเมืองหนองหาร มาขึ้นกับเมืองสกลนคร ในปี พ.ศ.2440 ให้เมืองวานรนิวาส เป็นอ�ำเภอวานรนิวาส และยกเมืองวาริชภูมิ เป็นอ�ำเภอวาริชภูมิ ในปี พ.ศ.2444 เกิดกบฏผีบญ ุ ในท้องทีเ่ มืองสกลนคร จึงได้ มีใบบอกขอก�ำลังทหารจากมณฑลอุดร มาช่วยปราบปรามกบฏ
ผีบุญจนสงบราบคาบ ในปี พ.ศ.2445 ได้โปรดเกล้าฯ ให้แต่งตัง้ และเปลีย่ นแปลง ระเบียบการปกครอง โดยผสมผสานระเบียบการปกครองเดิม เข้ามาสู่ ระเบียบการปกครองใหม่ดังนี้ เมืองสกลนคร รวมทั้งบรรดาเขตแขวงต่างๆ ให้เรียกว่า บริเวณสกลนคร ข้าหลวงประจ�ำเมือง ให้เรียกว่าข้าหลวงประจ�ำบริเวณ เมืองต่างๆ ให้เรียกว่าอ�ำเภอ ให้เจ้าเมืองเป็นนายอ�ำเภอ ให้อปุ ฮาดเป็นปลัดอ�ำเภอ ให้ราชวงศ์เป็นสมุหอ�ำเภอ ให้ราชบุตร เป็นเสมียนอ�ำเภอ ส�ำหรับพระยาประจันตประเทศธานี เจ้าเมือง เดิม ให้เป็นที่ปรึกษาราชการของข้าหลวงบริเวณ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ เปลีย่ นค�ำว่าเมืองมาเป็นจังหวัด เมือ่ ปี พ.ศ.2459 และในปี พ.ศ. 2462 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสนามบินขึ้นในเขตอ�ำเภอเมือง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ เปลีย่ นชือ่ ต�ำแหน่งข้าหลวง มาเป็นต�ำแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัด เมื่อปี พ.ศ.2474 และข้าหลวงคนที่ 7 ของจังหวัดสกลนคร คือ พระตราษบุรศี รีสมุทรเขต จึงได้เป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดสกลนคร คนแรก ขอขอบคุณข้อมูลจาก หอมรดกไทย ส�ำนักงานปลัด กระทรวงกลาโหม SAKONNAKHON 95
เส้นทางพบเทศบาลนคร
เทศบาลนครสกลนคร เทศบาลนครสกลนครชุมชนน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม ก้าวน�ำสิ่งแวดล้อม งามพร้อมวัฒนธรรม คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาล นครสกลนคร ซึง่ มีสำ� นักงานเทศบาลตัง้ อยู่ เลขที่ 1695 ถนนสุขเกษม ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
ประวัติความเป็นมา
เทศบาลนครสกลนคร จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2479 ตาม พระราชกฤษฎี ก าจั ด ตั้ ง เทศบาลเมื อ ง สกลนคร จังหวัดสกลนคร พ.ศ.2479 มี พืน้ ที่ 13 ตารางกิโลเมตร โดยยกเอาพืน้ ที่ ต�ำบลธาตุเชิงชุมทัง้ ต�ำบลเป็นเขตเทศบาล นายกเทศมนตรีคนแรก คือ ขุนถิรมัยสิทธิการ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2480 ส�ำนักงานเทศบาลเดิมเรียกว่า “ศาลา เทศบาลเมืองสกลนคร” ตั้งอยู่ที่สถานี 96 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
รถปรับอากาศเดิม (ลานโพธิ)์ ซึง่ เป็นทีด่ นิ ของวัดแจ้งแสงอรุณ ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2500 จึงย้ายมาตัง้ ส�ำนักงานอยูใ่ นสถานทีป่ จั จุบนั เมือ่ ปี พ.ศ.2533 ได้มพี ระราชกฤษฎีกาเปลีย่ น แปลงขยายเขตเทศบาลเมืองสกลนคร พ.ศ.2533 จากพืน้ ทีเ่ ดิม 13 ตารางกิโลเมตร เป็น 54.54 ตารางกิโลเมตร และยกฐานะ เป็นเทศบาลนครสกลนคร ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2555 เรื่องการเปลี่ยนแปลงฐานะ เทศบาลเมืองสกลนคร เป็นเทศบาลนคร สกลนคร ตัง้ แต่วนั ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2555 เป็นเทศบาลนคร อันดับที่ 27 ของประเทศ และอันดับที่ 5 ของภาคตะวันออกเฉียง เหนือ
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลนครสกลนคร แบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 43 ชุมชน มีประชากร จ�ำนวน 53,568 คน แยกเป็นประชากร เพศชาย จ�ำนวน 26,566 คน ประชากร เพศหญิง จ�ำนวน 27,002 คน จ�ำนวนครัว เรือน 26,510 หลังคาเรือน
โครงการ/กิจกรรมเด่น
ศูนย์กำ� จัดขยะเทศบาลนครสกลนคร... จากบ่อฝังกลบธรรมดาสูร่ ะบบคัดแยก ที่ไม่ธรรมดา
ระบบก� ำ จั ด ขยะของเทศบาลนคร สกลนคร ปัจจุบนั เป็นระบบก�ำจัดขยะแบบ ฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล บนเนือ้ ที่ 163 ไร่ อยูใ่ นพืน้ ทีบ่ า้ นค�ำผักแพว หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลโนนหอม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ห่างจากตัวเมืองสกลนคร ประมาณ 14 กิโลเมตร เริม่ ใช้งานเมือ่ ปี พ.ศ.2542 รองรับ ขยะจากพื้นที่เขตเทศบาลนครสกลนคร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใกล้เคียง อีก 10 แห่ง มีขยะเข้าสูร่ ะบบก�ำจัดประมาณ 70 ตัน/วัน โดยประสบปัญหาบ่อฝังกลบ ขยะเต็มตัง้ แต่ปี 2556 เทศบาลนครสกลนคร จึงได้แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าด้วยการ เสริมคันบ่อด้วยขยะเก่าแทนการใช้ดิน ส่วนการแก้ไขในระยะยาว ได้รับการ จัดสรรงบประมาณในการก่อสร้างในปี งบประมาณ พ.ศ.2559 ผูกพัน 3 ปี ถึงปี งบประมาณ พ.ศ.2561 วงเงินค่าก่อสร้าง ตามสัญญาจ้าง 132,400,000 บาท ประกอบ ด้วย ระบบร่อนและคัดแยกขยะ และระบบ ล้างถุงพลาสติกแบบสายพานคู่ โรงหมัก ปุย๋ บ่อหมักสิง่ ปฏิกลู อาคารเก็บรวบรวม ขยะอันตราย บ่อฝังกลบขยะ และระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียจากขยะ รองรับขยะได้อกี ไม่ น้อยกว่า 30 ปี เพราะขยะทีเ่ ข้าสูร่ ะบบจะ ผ่านกระบวนการคัดแยก จนมีขยะเหลือ สุดท้ายที่จะต้องฝังกลบไม่ถึง 20%
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมาตรฐานสากลของ คนสกลนคร ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของเทศบาลนคร สกลนคร เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียตาม
แนวพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ที่พระราชทานไว้เมื่อครั้งเสด็จพระราช ด�ำเนินทอดพระเนตรน�้ำเสียของเมือง สกลนคร เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เทศบาลนครสกลนครเห็นความ ส�ำคัญของการบ�ำบัดน�ำ้ เสียให้ได้คณ ุ ภาพ ตามมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับ เพื่อไม่ให้ มีผลกระทบต่อหนองหาร จึงได้ร่วมงาน กับองค์การจัดการน�ำ้ เสีย (อจน.) ในการ ปรับปรุงการบริหารจัดการระบบบ�ำบัด น�ำ้ เสียเข้าสูม่ าตรฐานสากล ISO 9001 ซึง่ มาตรฐานสากลดังกล่าวเป็นมาตรฐานที่ เน้นประสิทธิภาพของการจัดการ และการ ยกระดับความพึงพอใจของลูกค้า รวมทัง้ การพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง จากความตั้งใจและทุ่มเทของคณะ ท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้อง พร้อมทัง้ ความเอาใจใส่ ของคณะผูบ้ ริหาร ท�ำให้ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ของเทศบาลนครสกลนครประสบความ
ส�ำเร็จ ผ่านการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 เมือ่ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2549 นับเป็น ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแห่งแรกของประเทศ ไทยที่ผ่านการรับรองมาตรฐานนี้ และ สามารถรักษามาตรฐานไว้ได้อย่างต่อเนือ่ ง จนถึงปัจจุบัน
โรงเรียนผู้สูง อายุเทศบาล นครสกลนคร
เทศบาลนคร สกลนคร ร่วมกับ ศูนย์อเนกประสงค์ ส�ำหรับผูส้ งู อายุในชุมชน เทศบาลนคร สกลนคร (องค์กรสวัสดิการชุมชน) ได้ ก�ำหนดจัดท�ำโครงการส่งเสริมและพัฒนา การเรียนรูข้ องผูส้ งู อายุ ในรูปแบบโรงเรียน ผู้สูงอายุ โดยก�ำหนดกิจกรรมการเรียน การสอน 3 หัวข้อวิชา คือ การเรียนรูก้ ารใช้ คอมพิวเตอร์ ทุกวันจันทร์, การเรียนรูภ้ าษา ต่างประเทศ ทุกวันพุธ, การเรียนรูก้ ารพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทุกวันพฤหัสบดี จ�ำนวน 9 สัปดาห์/รุ่น โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ผสู้ งู อายุได้พบปะพูดคุย ท�ำให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุและ กลุ่มวัยอื่น อันจะส่งผลให้มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ชีวติ อนุรกั ษ์และพัฒนาภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ให้คงอยูแ่ ละสืบทอดคนรุน่ หลัง เกิดความ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน และน�ำไปสู่การ ช่วยเหลือสังคมในรูปแบบอืน่ โดยมีผสู้ ำ� เร็จ การศึกษาจากโรงเรียนผูส้ งู อายุแล้วจ�ำนวน 4 รุ่น SAKONNAKHON 97
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล เขตการปกครอง มีจำ� นวนหมูบ่ า้ นทัง้ หมด 7 หมูบ่ า้ น จ�ำนวน ประชากร 5,795 คน แยกเป็นชาย 2,934 คน หญิง 2,861 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 90,54 คน/ตารางกิโลเมตร อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม สินค้า OTOP ได้แก่ ไม้กวาดดอกหญ้า ข้าวโพดฝักอ่อน มะเขือเทศ ประเพณี-วัฒนธรรม ได้แก่ ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณี สงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง
นายบุญเตรียม งอยผาลา นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลเต่างอย
องค์การบริหารส่วนต�ำบล เต่างอย “มุ่งแก้ไขปัญหา พัฒนาการศึกษา สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมเพื่อเต่างอย น่าอยู่” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเต่างอย เลขที่ 189 หมู่ 7 ต�ำบลเต่างอย อ�ำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเต่างอย ประมาณ 1 กม. และห่างจากตัวจังหวัดสกลนคร 23 กม.
ข้อมูลทั่วไป
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเต่างอย มีพนื้ ที่ 40,000 ไร่ หรือ 64 ตารางกิโลเมตร สภาพพืน้ ที่ มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเป็นทีร่ าบและมีพนื้ ทีต่ ดิ กับภูเขาบางส่วน สภาพดินเป็นดินร่วนปนทรายเหมาะแก่การ เพาะปลูก มีล�ำน�ำ้ พุงซึ่งเป็นล�ำน�้ำขนาดใหญ่ไหลผ่าน 98 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเต่างอย เป็นองค์การบริหารส่วน ต�ำบลขนาดกลาง เป็นทีต่ งั้ ของทีว่ า่ การอ�ำเภอเต่างอย และส่วน ราชการในเขตอ�ำเภอเต่างอย จึงถือได้วา่ เป็นต�ำบลทีม่ ศี กั ยภาพ ทัง้ ในด้านภูมศิ าสตร์ และปูชนียบุคคล มีองค์กรทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตาม กฎหมาย ทีส่ ามารถรวบรวมและด�ำเนินกิจกรรมสาธารณะต่างๆ ที่เป็นการหลอมรวมจิตใจและความร่วมมือของทุกภาคส่วน อาทิ สภาวัฒนธรรมต�ำบลเต่างอย และสภาเด็กและเยาวชนต�ำบล เต่างอย
สถานที่สำ� คัญของต�ำบลเต่างอย
โรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูปที่ 3 เต่างอย
ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี 2523 เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินเยีย่ มเยือนราษฎร ในบริเวณนัน้ และมีพระราชด�ำริให้ปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ ของประชาชนให้ดขี นึ้ จึงเป็นทีม่ าของโรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูป แห่งที่ 3 (เต่างอย) แห่งบ้านนางอย อ�ำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นแหล่งผลิตน�้ำมะเขือเทศเข้มข้นหลัก เพื่อส่งโรงงานผลิต ปลากระป๋องและอุตสาหกรรมเกีย่ วเนือ่ ง สร้างอาชีพและรายได้ ให้แก่คนในท้องถิ่นได้อย่างมากมาย
SAKONNAKHON 99
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
พญาเต่างอย
พญาเต่างอยเป็นรูปปัน้ เต่าขนาดใหญ่ กว้าง 4.59 เมตร ยาว 7.39 เมตร สูง 5.09 เมตร มีการจัดพิธบี วงสรวงเมือ่ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2555 (ฤกษ์ 09.15 น. วันที่ 5 เดือน 5 พ.ศ.2555) ถูกสร้าง ขึน้ เพือ่ เป็นสัญลักษณ์ และเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของชาวอ�ำเภอ เต่างอย โดยการน�ำของนายโสภณพงศ์ เหตานุรกั ษ์ นายอ�ำเภอ เต่างอยในขณะนั้น ซึ่งใต้ท้องพญาเต่างอยบรรจุมวลสาร และ วัตถุมงคลต่างๆ มากมาย
100 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระพุทธรัตนกัสสปะชยมงคลประทานพร
พระพุทธรัตนกัสสปะชยมงคลประทานพร ประดิษฐานอยู่ ณ บริเวณสวนสาธารณะและสวนสุขภาพต�ำบลเต่างอย เป็น พระพุทธรูปปางประทานพร ขนาดหน้าตักกว้าง 2.26 เมตร สูง 3.89 เมตร สร้างขึ้นเพื่อเสริมบุญบารมีปู่ตากุดนาแซง และให้ ประชาชนชาวอ�ำเภอเต่างอย และผู้คนทั่วไปได้สักการะกราบ ไหว้ ด�ำเนินการหล่อในวันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2560 และ ท�ำพิธพี ทุ ธาภิเษก ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2560 (ขึน้ 5 ค�ำ่ เดือน 5)
ศาลปู่ตากุดนาแซง
ศาลปูต่ ากุดนาแซง เป็นศาลปูต่ าทีม่ รี ปู เหมือน “ปูเ่ พีย” ตัง้ อยู่ ในศาล ซึง่ เชือ่ ว่าเป็นบรรพบุรษุ ของชาวบ้านเต่างอย ท�ำหน้าที่ คล้ายกับเทพารักษ์ของหมู่บ้าน ปกป้องคุ้มครองคนในหมู่บ้าน ให้มีความปกติสุข
ล่องแพและปั่นจักรยานน�้ำ
กิจกรรมล่องแพและปัน่ จักรยานน�ำ้ เป็นโครงการส่งเสริมการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลเต่างอย ซึ่งมีแพให้เช่าเพื่อล่องชมทัศนียภาพ จ�ำนวน 15 ล�ำ อัตราค่า บริการชั่วโมงแรก 150 บาท ชั่วโมงต่อไปชั่วโมงละ 100 บาท และจักรยานน�ำ้ ให้เช่าในอัตรา 20 บาท/30 นาที
SAKONNAKHON 101
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล จัดตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2539 และได้มกี ารปรับขนาดเป็นองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลเป็นขนาดใหญ่ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2555 มีเนื้อที่ 6-0-80 ไร่ มีประชากรทั้งสิ้น 14,552 คน แยกเป็น ชาย 7,278 คน หญิง 7,274 คน มีหลังคาเรือนทั้งหมด 5,082 ครัวเรือน 1. ประกาศเกียรติคณ ุ ให้ นายร�ำลึก อิงเอนุ ปลัดองค์ก ารบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง ผู้น�ำท้องถิ่นดีเด่น ประจ�ำปี 2559 2. ประกาศเกียรติคุณให้ นายร�ำลึก อิงเอนุ ปลัดองค์การ บริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง เป็นผู้มีผลงานดีเด่นพัฒนา หมูบ่ า้ นและเศรษฐกิจพอเพียง (โครงการ “สร้างฝายเพือ่ พ่อ ก่อสุขสามัคคีจังหวัดสกลนคร”) เป็นคนดีศรีอ�ำเภอเมือง สกลนคร ประจ�ำเดือนเมษายน 2558
โครงการต่างๆ ของต�ำบลห้วยยาง
โครงการ “สัปดาห์ลา้ งบ้าน ย้อมเมือง” เพือ่ เทิดพระเกียรติ
นายร�ำลึก อิงเอนุ ปลัดอบต. ปฏิบัติหน้าที่นายก อบต.ห้วยยาง
สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร อบต.ห้วยยาง โดยส�ำนักงานปลัด จัดกิจกรรมเก็บขยะตาม ไหล่ทางถนน ตามโครงการ “สัปดาห์ล้างบ้าน ย้อมเมือง” เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
องค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง
โครงการส่ ง เสริ ม การ
“ห้วยยางน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น้อมน�ำหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง”
คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนต�ำบลห้วยยาง เลขที่ 537 หมูท่ ี่ 4 บ้านนาค�ำ ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร อยู่ห่างจากอ�ำเภอเมืองสกลนครไปทางทิศ ตะวันตก ประมาณ 9 กิโลเมตร บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 213 สายสกลนคร-กาฬสินธุ์ 102 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เรี ย นรู ้ แ ละผลิ ต ปุ ๋ ย ใช้ เ อง ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง อบต.ห้วยยาง โดยงาน ส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักงาน ปลัด ได้ดำ� เนินการจัดฝึกอบรม ผลิตปุย๋ ชีวภาพ ตามโครงการ ส่งเสริมการเรียนรู้และผลิต ปุ๋ย ใช้เองตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียง ณ อาคารอเนกประสงค์ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ห้วยยาง
โครงการท�ำฝายชะลอน�ำ้ เพื่อการเกษตร อบต.ห้วยยาง โดยงาน ส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักงาน ปลัด ท�ำฝายชะลอน�้ำเพื่อ การเกษตร ตามโครงการท�ำ ฝายชะลอน�ำ้ เพือ่ การเกษตร “ถวายแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว”
พิธีส่งมอบบ้านผู้ด้อยโอกาส ผู้ยากไร้ ต�ำบลห้วยยาง อบต.ห้วยยาง โดยงานสวัสดิการสังคม ส�ำนักงานปลัด ได้จดั พิธสี ง่ มอบบ้านผูด้ อ้ ยโอกาส ผูย้ ากไร้ ให้แก่ราษฎรบ้านนาขาม หมูท่ ี่ 3, บ้านพะเนาว์ หมูท่ ี่ 7 และบ้านท่าวัดทุง่ พัฒนา หมูท่ ี่ 15 ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ตามโครงการ บ้านเทิดไท้ ถวายเป็นพระราชกุศล “ท�ำความดี เพื่อพ่อหลวง”
โครงการปลูกหญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ อบต.ห้วยยาง โดยงานส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักงานปลัด ลงพื้นที่ปลูกหญ้าแฝก ตามโครงการปลูกหญ้าแฝกอันเนื่องมา จากพระราชด�ำริ
โครงการปลูกป่าแบบยัง่ ยืนเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าอยูห่ วั อบต.ห้วยยาง โดยงานส่งเสริมการเกษตร ส�ำนักงานปลัด จัดกิจกรรมปลูกป่าแบบยั่งยืนเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าอยู่หัว
โครงการลงแขกเกี่ ย วข้ า วช่ ว ยชาวนาโดยประชารั ฐ
โครงการป้องกันและดับไฟป่า (จัดแนวกันไฟรอบพระต�ำหนัก ภูพานราชนิเวศน์) ณ พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ อบต.ห้วยยาง ร่วมกับส่วนควบคุมและปฏิบัติการไฟป่า ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 10 สถานีควบคุมไฟป่าสกลนคร สถานีควบคุมไฟป่าภูพาน สถานีควบคุมไฟป่านครพนม สถานี ควบคุมไฟป่าพืน้ ทีโ่ ครงการบ้านเล็กในป่าใหญ่จงั หวัดนครพนม อุทยานแห่งชาติภูพาน และหน่วยป้องกันรักษาป่าที่ สน.4 (ลาดกะเฌอ) จัดโครงการป้องกันและดับไฟป่า (จัดแนวกันไฟรอบ พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ ประจ�ำปี 2559) ณ พระต�ำหนัก ภูพานราชนิเวศน์
“ท�ำความดี เพื่อพ่อ” อบต.ห้วยยาง โดยส�ำนักงานปลัด จัดกิจกรรมลงแขกเกีย่ วข้าว ช่วยชาวนาโดยประชารัฐ ปี 2559 “ท�ำความดี เพือ่ พ่อ” บริเวณ ทุง่ นาบ้านพะเนาว์ หมูท่ ี่ 7 ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
โครงการฝึกอบรม มัคคุเทศก์นอ้ ยรักษา สิ่งแวดล้อม อบต.ห้วยยาง โดยงานส่งเสริมการ เกษตร ส�ำนักงานปลัด จัดฝึกอบรมมัคคุเทศก์ น้อยรักษาสิง่ แวดล้อม ประจ�ำปี 2559
SAKONNAKHON 103
แหล่งท่องเที่ยวต�ำบลห้วยยาง
พระต�ำหนักภูพานราชนิเวศน์ ตัง้ อยูก่ ลางเทือกเขา ภูพานบนเส้นทางหลวงสายสกลนคร-กาฬสินธุ์ เป็ น สถานที่ ป ระทั บ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระราชวงศ์ ในคราวเสด็จแปรพระราชฐานเยีย่ มพสกนิกร ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โค้ ง ปิ ้ ง งู เป็ น ถนนบน เทือกเขาภูพาน นอกจากจะ ใช้เป็นเส้นทางการคมนาคม จากสกลนครไปยั ง จั ง หวั ด อืน่ ๆ แล้ว ยังเป็นสถานทีช่ ม ทัศนียภาพสองข้างทาง และใช้เป็นเส้นทางปัน่ จักรยาน จุดเด่น ทีท่ ำ� ให้เรียกว่าโค้งปิง้ งูคอื ถนนมีโค้งคดเคีย้ วไปมา เมือ่ มองจาก มุมสูงจะเหมือนการเอางูมาปิ้ง
น�ำ้ ตกค�ำหอม อยู่ในเขต พื้ น ที่ ข องอุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภูพาน ต.ห้วยยาง เป็นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ชื่ อ เสี ย งแห่ ง หนึ่งในจังหวัดสกลนคร
ผานางเมิน อยู่ที่อุทยาน แห่งชาติภูพาน ณ ที่แห่งนี้ มีตำ� นานเล่าขานว่า เกีย่ วกับ ความรักของชายหนุม่ ล�ำ่ สัน บ้านค�ำเพิม่ กับหญิงสาวรูปงาม บ้านลาดกะเฌอ ซึง่ เป็นคนงาน อุทยานแห่งชาติยคุ บุกเบิก ต่อมาหญิงสาวตัดใจจากไปรักหนุม่ คนใหม่ซงึ่ มีรปู งาม ชายหนุม่ ผูบ้ ชู าความรักจึงกระโดดหน้าผาจบ ชีวติ กลายเป็นต�ำนานรักสามเส้าและทีม่ าของชือ่ “ผานางเมิน”
ลานอนุสาวรีย์ เตียง ศิริขันธ์ นายเตียง ศิริขันธ์ เป็นบุตร ของขุนนิเทศพาณิชย์ กับนางอ้อน ศิรขิ นั ธ์ เป็นศิษย์เก่าโรงเรียน สกลราชวิทยานุกลู และจบการศึกษาสูงสุดระดับประกาศนียบัตร ครูมธั ยม (ป.ม.) จากคณะอักษรศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นอดีต ส.ส.สกลนคร ในปี พ.ศ.2480 ที่มีอุดมการณ์เพื่อคน ยากจนหลายคน ต่อมาก่อตั้งพรรคสหชีพเพื่อหวังขจัดความ เหลื่อมล�้ำในสังคม กระจายอ�ำนาจและรายได้ไปสู่ประชาชน ระดับล่าง ถ�ำ ้ เสรีไทย เป็นแหล่งสะสมอาวุธยุทธภัณฑ์ไปต่อสูก้ บั กองทัพ ญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ของขบวนการเสรีไทย ซึ่งมี นายเตียง ศิริขันธ์ เป็นหัวหน้าขบวนการสายสกลนคร
ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาภูพานอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ
ตั้งอยู่ที่บ้านนานกเค้า ต�ำบลห้วยยาง อยู่ห่างจากอ�ำเภอเมือง ไปทางทิศตะวันตกประมาณ 10 กิโลเมตร มีพื้นที่ดำ� เนินการ ทั้งหมด 13,300 ไร่
อุทยานแห่งชาติภูพาน มีเนื้อที่ประมาณ 415,439 ไร่ หรือ 664.70 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยป่าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์และมีธรรมชาติ ทีส่ วยงาม เช่น หน้าผา น�ำ้ ตก ถ�ำ้ มีทวิ ทัศน์ตาม ธรรมชาติ
104 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระพุทธไสยาสน์ (พระพุทธรูปนอน/ยืน) ประดิษฐาน ณ วั ด เชิ ง ดอย-เทพรั ต น์ บ้านม่วง หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลห้วยยาง เป็นพระพุทธรูปสมัยทวารวดี มีอายุราว 1,000 ปี ที่แกะ สลักจากก้อนหินที่เป็นส่วน หนึ่ ง ของหน้ า ผาที่ เชิ ง เขา ภูพาน โดยได้รบั อิทธิพลจาก ขอมโบราณ นอกจากนี้ยังมี พระพุทธรูปยืน ซึง่ พระพุทธ รู ป ทั้ ง สององค์ นี้ นั บ เป็ น โบราณวัตถุสมัยศตวรรษที่ 15-18 ทีม่ สี ำ� คัญของจังหวัด สกลนคร
เส้นทาง AEC
เศรษฐกิจดิจิทัลกับการขับเคลื่อน ประเทศสู่ระบบเศรษฐกิจใหม่
ต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการ ท่องเทีย่ ว ดังนัน้ เพือ่ สร้างความสามารถ ในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการ ช่วย ลดต้นทุนการด�ำเนินงาน และสามารถ ท�ำการตลาดออนไลน์ผ่านสื่อออนไลน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงเกิดโครงการ Tourism Thailand Open Platform ขึ้นเพื่อสนับสนุนการด�ำเนินกิจการของ ผู้ประกอบการชาวไทย
สนับสนุน SMES ไทย ก้าวไกลสู่ระดับโลก
ผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก หรือ เอสเอ็มอี นับเป็นรากฐานส�ำคัญของ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ ซึง่ มีสดั ส่วน มากกว่า 95% ของผูป้ ระกอบการทัว่ ประเทศ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลให้ประสบ ความส�ำเร็จได้จงึ ต้องสนับสนุนให้เอสเอ็มอี น�ำเทคโนโลยีไปใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ ให้ธุรกิจ
ส่งเสริมการสร้างธุรกิจ เทคโนโลยี Tech Startup เศรษฐกิจดิจทิ ลั หรือ Digital Economy เป็นยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญของรัฐบาล ที่ ต้องการขับเคลือ่ นประเทศไทยไปสูร่ ะบบ เศรษฐกิจใหม่ ที่ใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีมา ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิต เพิ่ม ผลงาน โดยใช้เวลาและทรัพยากรน้อยลง แต่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า และบริการมากขึ้น กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและ สังคม (ดีอ)ี มีบทบาทหน้าทีส่ ำ� คัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล ซึ่งส�ำนักงาน ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ (องค์การมหาชน) หรือ SIPA หนึง่ ในหน่วย งานหลักของกระทรวงฯ ได้รบั มอบหมาย ให้ด�ำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ เพื่อ การเติ บ โตอย่ า งมี คุ ณ ภาพและยั่ ง ยื น ประกอบด้วย
ยกระดับพื้นที่พิเศษสู่ Smart City
โครงการส่งเสริมพืน้ ทีพ ่ เิ ศษส�ำหรับ เศรษฐกิจดิจิทัลหรือ Smart City เป็น หนึง่ ในนโยบายของภาครัฐ ทีเ่ กิดขึน้ จาก ความร่วมมือของหลายหน่วยงาน และ จังหวัดเจ้าของพื้นที่ ก่อให้เกิดการจ้าง งาน และการแลกเปลีย่ นเทคโนโลยี เพือ่ บูรณาการให้เกิดเมืองทีม่ คี วามพร้อมด้าน เทคโนโลยี นวัตกรรม และเป็นเมืองที่มี ความปลอดภัยสูง เพือ่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ ว และดึงดูดเม็ดเงินลงทุนจากต่างประเทศ
ผลักดัน Open Platform เสริมการท่องเที่ยว
ปัจจุบันการแข่งขันของธุรกิจบนโลก ออนไลน์จากต่างชาติได้สร้างผลกระทบ
การส่งเสริมผู้ประกอบการใหม่ทาง ด้านดิจทิ ลั (Tech Startup) เป็นกลไกส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เพื่ อ ยกระดั บ ขี ด ความสามารถในการ แข่งขันในโลกดิจทิ ลั ผ่านโครงการพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ เช่น การบ่มเพาะ อบรม การพัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์บนพืน้ ฐาน ของนวัตกรรมธุรกิจ ตลอดจนการสร้าง โอกาสทางการตลาด การผลักดันการเข้า ถึงแหล่งเงินทุน และการสร้างสภาพแวดล้อม ที่เอื้อต่อผู้ประกอบการใหม่ SIPA พร้ อ มสนั บ สนุ น โครงการ ยุทธศาสตร์ทงั้ 4 โครงการตามแนวทาง ของรัฐ ด้วยการยกระดับ สนับสนุน ส่งเสริม และผลักดัน ให้ผปู้ ระกอบการ ก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลได้อย่างแท้จริง ขอขอบคุณข้อมูลจาก : ส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล SAKONNAKHON 105
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดพระธาตุเชิงชุม
106 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ตั้งอยู่ริมหนองหาร ถนนเจริญเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร มีพื้นที่ 18 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา มีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับหนองหารหลวง และบ้านเรือนชาวคุ้ม ทิศตะวันตกติดกับถนนเรืองสวัสดิ์ ทิศใต้ติดกับถนนเจริญเมือง
ประวัติความเป็นมา
ตามอุรงั คนิทาน กล่าวว่า วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร เป็น สถานทีท่ พี่ ระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาโปรดชาวเมืองหนองหารหลวง และกล่าวว่าบริเวณนี้เป็นที่ประดิษฐาน รอยพระบาทของพระพุทธเจ้า 4 พระองค์ คือ พระกุกสันโธ พระโกนาคมโน พระกัสสะโป และพระโคตมะ ซึ่งก่อนจะเสด็จดับขันธ์ปรินพิ พาน ต้องเสด็จไปประทับรอยพระบาท ไว้ที่นั่นทุกพระองค์ และมีความเชื่อว่า พระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอาริยเมตตรัย องค์ ที่ 5 ในภั ท รกั ป ป์ นี้ ก็ จ ะประทั บ รอยพระบาทไว้เช่นกัน ด ้ ว ย เ ห ตุ นี้ จึ ง ถื อ กั น ว ่ า วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารเป็นวัดแรกที่ พระยาสุวรรณภิงคาร พระนางนารายณ์เจงเวง และเจ้าค�ำแดง อนุชาพระยาสุวรรณภิงคาร มาสร้างวัดขึ้นเมื่อย้ายราชธานีมาจาก บริเวณบ้านซ่งน�้ำพุ และท่านางอาย ฝั่ง ตรงข้ามหนองหาร เมือ่ ครัง้ หนองหารล่ม เพราะการกระท�ำของพญานาค
อย่ า งไรก็ ต าม จากหลั ก ฐานเสมาหิ น ที่ พ บอยู ่ ร อบๆ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร และหลักฐานแท่นบูชารูปเคารพ ตลอดจนศิลาจารึกตัวอักษรขอม ในพุทธศตวรรษที่ 15-16 ซึง่ อยู่ ติดผนังทางเข้าภายในอุโมงค์พระธาตุเชิงชุม (ชัน้ ใน) ซึง่ ก่อเป็นพระธาตุ หรือสถูปขนาด เล็ก หลักฐานเหล่านี้บ่งบอกว่า บริเวณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารได้มีชุมชนเกิด ขึ้นต่อเนื่องกันมา โดยเฉพาะศิลาจารึกที่ กรอบประตูทางเข้าปรางค์ขอมหรือสถูป ซึง่ มีความกว้าง 49 ซ.ม. ยาว 52 ซ.ม. เขียน เป็นตัวอักษรขอมโบราณ เนือ้ ความกล่าวถึง บุคคลจ�ำนวนหนึ่ง ได้พากันไปชี้แจงแก่ โขลญพล หัวหน้าหมูบ่ า้ นพะนุรพิเนา ตาม ค�ำแนะน�ำของก�ำ แสดงว่าที่ดินที่ราษฎร หมู่บ้านพะนุรพิเนามอบให้โขลญพลนี้ มี 2 ส่วน ส่วนหนึง่ เป็นทีด่ นิ ในหลักเขต ให้ ขึน้ กับหัวหน้าหมูบ่ า้ นพะนุรพิเนา นอกจาก เรือ่ งการมอบทีด่ นิ แล้ว ข้อความตอนท้าย ของจารึกได้กล่าวถึงการกัลปนาของโขลญพล ที่ได้อุทิศตน สิ่งของ ที่นา แด่เทวสถานและสงกรานต์
SAKONNAKHON 107
วิหาร
กล่าวโดยสรุป ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 15-16 บริเวณวัด พระธาตุเชิงชุมคงถูกปกครองโดยคนกลุ่มขอมที่พากันสร้างวัด โดยอุทิศทีด่ ิน บริวาร ข้าทาส ให้ดูแลวัดหรือศาสนสถานแห่งนี้ ซึง่ อาจเป็นศาสนสถานตามคติพราหมณ์ หรือพุทธมหายานก็ได้
สิ่งก่อสร้างส�ำคัญภายในวัด
พระธาตุเชิงชุม ตั้งหันหน้าไปทางหนองหารที่อยู่ทางทิศ
พระธาตุเชิงชุม 108 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ตะวันออก เป็นเจดียก์ อ่ อิฐถือปูน รูปทรงสีเ่ หลีย่ ม สูง 24 เมตรเศษ ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนบนเป็นทรงบัวเหลี่ยม ไม่มีลวดลาย ประดับ ทีฐ่ านเจดีย์ มีซมุ้ ประตูทงั้ สีด่ า้ น ยอดฉัตรทองค�ำเหนือ องค์พระธาตุเชิงชุมท�ำด้วยทองค�ำบริสุทธิ์มีน�้ำหนัก 247 บาท ซุ้มยอดประตูมีลักษณะเป็นยอดปราสาท ข้างในทึบสร้างด้วย ศิลาแลง และหินทรายแดง มีซุ้มประตูหลอกแบบขอม ด้านทิศ เหนือ ใต้ และตะวันตก ซุม้ ประตูทางเข้าจริงด้านทิศตะวันออก องค์พระธาตุในปัจจุบนั เป็นศิลปะล้านช้าง เนือ่ งจากช่วงทีอ่ ทิ ธิพล ของอาณาจักรล้านช้างแผ่เข้ามาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 และได้มกี ารบูรณะองค์พระธาตุ ขึ้นมาใหม่
หลวงพ่อพระองค์แสน
พระเทพสิทธิโสภณ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร เจ้าคณะจังหวัดสกลนคร บ่อน�ำ้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เป็นบ่อน�ำ้ ทีม่ มี าพร้อมองค์พระธาตุเชิงชุม
วิหาร ภายในประดิษฐาน หลวงพ่อพระองค์แสน พระพุทธรูป
ปางมารวิชยั ศิลปะเชียงแสน เป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองของ ชาวสกลนคร อุโบสถหลังเดิม หรือ สิมเก่า สร้างเมือ่ พ.ศ.2370 มีลกั ษณะ เป็นสิมแบบโถง โครงสร้างเป็นไม้ก่ออิฐถือปูน หลังคาเป็น กระเบือ้ งไม้แบบเดิม หันหน้าไปทางทิศใต้ ภายในมีภาพจิตรกรรม เป็นลวดลายเถาไม้เลือ้ ยเป็นแนวรอบอาคาร หน้าบันมีจติ รกรรม ฝาผนังเป็นรูปเทพบุตรและเทพธิดา ดาวประจ�ำยาม มังกรและ เถาไม้เลื้อย ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปหลายองค์ ทั้งที่ สร้างด้วยไม้และเป็นปูนปั้น
เดิมมีนำ�้ พุผดุ ขึน้ มา เนือ่ งจากเป็นปลายทางของล�ำน�ำ้ ใต้ดนิ ซึง่ ไหลมาจากเทือกเขาภูพาน ผ่านศูนย์ราชการด้านทิศเหนือ ผ่าน ใจกลางเมืองข้างวัดเหนือ แล้วไหลมาผุดทีน่ ี่ เรียกว่า “ภูนำ�้ ซอด” หรือ “ภูนำ�้ ลอด” แล้วไหลผ่านไปที่สระพังทอง ในสวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ซงึ่ อยูต่ ดิ กับวัด กาลต่อมาเมือ่ น�ำ้ น้อยลงเรือ่ ยๆ จึงได้มีการท�ำผนังกั้นไม่ให้ดินพังลงไป กล่าวกันว่าในอดีตจะมี การน�ำน�ำ้ จากบ่อน�ำ้ ทีน่ ไี่ ปประกอบพิธเี มือ่ มีพธิ กี รรมอันส�ำคัญ ต่างๆ อีกด้วย หอกลอง หรือ หอระฆัง เป็นหอสูงทัง้ หมดสามชัน้ สร้างขึน้ ในปี พ.ศ.2503 โดยชาวเวียดนามทีไ่ ด้มาพ�ำนักอาศัย ณ จังหวัด สกลนคร ร่วมใจกันสร้างขึ้นถวายองค์พระธาตุเชิงชุม เพื่อเป็น พุทธบูชา และเพื่อใช้บอกเวลายามต่างๆ ปัจจุบัน วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร เป็ น วั ด พระอารามหลวงประจ� ำ จั ง หวั ด สกลนคร เป็นบ่อเกิดวัฒนธรรมประเพณีตา่ งๆ เช่น การถวายเทียนพรรษา แห่ปราสาทผึง้ เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมการท�ำวัตร สวดมนต์เย็นทุกวันพระทีล่ านพระธาตุเชิงชุม ตัง้ แต่เวลา 17.00 น. เป็นต้นไป งานนมัสการ พระธาตุเชิงชุมจัดเป็นประจ�ำทุกปี โดยนับ ทางจันทรคติ เริ่ม 9 ค�ำ่ ถึง 15 ค�ำ่ เดือนยี่ ทุกปี มีการรวมสาวภูไทร�ำถวายพระธาตุ มากกว่า 3,000 คน ในวันเปิดงาน SAKONNAKHON 109
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดถ�้ำผาแด่น
110 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ผาแด่น
ซุ้มประตู
วัดถ�้ำผาแด่น เลขที่ 87 หมู่ที่ 9 บ้านดงน้อย ต�ำบลดงมะไฟ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั มี พระอาจารย์ ปกรณ์ กนฺตวีโร เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดถ�้ำผาแด่น
วัดถ�ำ้ ผาแด่น เป็นวัดเก่าแก่อกี วัดหนึง่ ในจังหวัดสกลนคร เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2483 ท่านเจ้าคุณสรญาณ รองเจ้าคณะ จังหวัดสกลนคร ในขณะนั้น ได้ไปจด ทะเบี ย นเป็ น วั ด ถู ก ต้ อ งกั บ ส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ระบุวา่ ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนื้อที่ 3,000 ไร่ ก่อตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2483 โดยมีพระมหาเส็ง น�ำชาวบ้านสร้าง วัดขึ้น ส่วนประวัตวิ ดั ถ�ำ้ ผาแด่นซึง่ ได้รบั การ ยืนยันเรียบเรียงจากคุณโยมพ่อทองใบ และคุณโยมแสง อ่อนจงไกร ซึง่ เป็นลูก ได้เล่าว่า เมือ่ เดือน 6 ปีมะโรง พ.ศ.2483
ได้มคี ณะพระอาจารย์สายปฏิบตั กิ มั มัฏฐาน คณะหนึ่งซึ่งประกอบด้วย หลวงปู่มั่น ภูรทิ ตั โต, หลวงพ่อมหาทองสุก สุจติ โฺ ต, หลวงพ่อพรหม จิรปุณโฺ ญ, หลวงพ่อวัน อุตฺตโม, หลวงพ่อเส็ง ปุสฺโส และโยม พ่อขาวอีก 2 คน ได้เดินจาริกธุดงค์มาจาก วัดป่าสุทธาวาส บ้านดงบาก ในเมืองสกลนคร เพือ่ ทีจ่ ะถือธุดงค์ นัง่ สมาธิวปิ สั สนากัมมัฏฐาน บ�ำเพ็ญสมณะธรรมบนถ�้ำผาแด่น เมือ่ ผูน้ ำ� หมูบ่ า้ นคือคุณโยมพ่อทองใบ ทราบ จึงให้ชาวบ้านช่วยจัดแจงหาเครือ่ งใช้ ทีจ่ ำ� เป็น แล้วเดินน�ำคณะพระอาจารย์ทงั้ 5 ไปสู่ถ�้ำผาแด่น ปัจจุบันวัดถ�้ำผาแด่น เป็นสถานที่ ส�ำคัญทางประวัตศิ าสตร์ของพระพุทธ ศาสนาที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของเมือง สกลนคร เพราะเป็นสถานทีซ่ งึ่ พระอริยะ เจ้าผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ที่ชาวเมือง สกลนคร ตลอดจนชาวไทยให้ความ เคารพศรั ท ธาได้ ม าอยู ่ ป ฏิ บั ติ ธ รรม บ�ำเพ็ญเพียรภาวนา วิปสั สนา โดยเลือก เอาวั ด ถ�้ ำ ผาแด่ น เป็ น ชั ย ภู มิ ใ นการ ประหารกิเลส นับเป็นแดนประหารกิเลส ของเหล่าพระอริยะเจ้า ที่เป็นตัวแทน สืบอายุกาลพระพุทธศาสนาอย่างแท้ จริง
เจดีย์
SAKONNAKHON 111
พระคู่
รอยพระพุทธบาท
หินแกะสลัก 112 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เจดีย์
ประวัติพระอาจารย์ปกรณ์ กนฺตวีโร
รอยพระพุทธบาทและหินแกะสลัก
พระอาจารย์ ป กรณ์ กนฺ ต วี โร เจ้าอาวาสวัดถ�้ำผาแด่น บ้านดงน้อย ต.ดงมะไฟ อ.เมือง จ.สกลนคร สถานะเดิม เกิด 29 กันยายน พ.ศ. 2513 ณ จ.มหาสารคาม บิดา นายภูมี สารภักดิ์ มารดา นางบุญมี สารภักดิ์ จ�ำนวนพีน่ อ้ ง 11 คน เป็นคนที่ 10 เมือ่ ครั้งใช้ชีวิตเป็นฆราวาส เคยท�ำงาน ธนาคารมา 10 ปี ธรรมะก่อนออกบวช ก่อนทีจ่ ะได้ออกบวช มีเรือ่ งราวอยู่ ว่า ในปีหนึ่งนั้น ต้นปีพี่ชายก็ประสบ-
อุบตั เิ หตุถกู รถชนตาย อย่างกะทันหัน ครัน้ ปลายปีนอ้ งชายก็ประสบอุบตั เิ หตุ ถูกรถชนตายเหมือนกัน จึงท�ำให้เกิด ความสลดสังเวชอย่างมาก พร้อมกัน นัน้ ก็ได้เห็นธรรม เห็นความไม่เทีย่ งแท้ แน่นอนของชีวิต จึงเกิดปัญญาขึ้นมา ว่าอย่าประมาทกับชีวิตเลย ในโลกนี้ ไม่มีอะไรดีกว่าการออกบวช เพื่อไม่ ต้องมาเกิดให้เป็นทุกข์อกี ตัง้ แต่นนั้ มา จิตใจก็เกิดความสนใจทีจ่ ะศึกษาศาสนา พุทธอย่างจริงจัง เข้าสู่ร่มกาสาวพัสตร์ พระปกรณ์ กนฺตวีโร อุปสมบท เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ.2545 เมื่ออายุ 32 ปี ณ วัดเขาพรหมสวรรค์ ต.หน้าพระลาน อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี โดยมี พระครูปญ ั ญาวรรักษ์ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูใบฎีกาทองค�ำ สุ ว ณฺ โ ณ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ และพระสมชาย อานนฺ โ ท เป็ น พระอนุสาวนาจารย์ โดยได้รบั ฉายาว่า “กนฺตวีโร” แปลว่า “ผูแ้ กล้วกล้า” พรรษาที่ 1 ได้เริ่มออกเดินธุดงค์ ไปตามจังหวัด ต่างๆ แทบทุกภาค หลังจากนัน้ ได้เก็บ ตัวเข้ากรรมฐานอย่างไม่หลับไม่นอน มาโดยตลอด 3 ปี ด้วยการเดินจงกลม นัง่ สมาธิ ตลอดระยะเวลา 3 ปี ไม่หลับ ไม่นอน
สวนป่าผาแด่น
SAKONNAKHON 113
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง) วัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง) เลขที่ 1301 หมู่ที่ 12 ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั มี พระครูศรีปริยตั ยาลังการ เป็น เจ้าอาวาส
ประวัติวัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง)
เรียบเรียงโดย พระเทพสิทธิโสภณ (สุรสีห์ กิตฺติโสภโณ) วัดแจ้งแสงอรุณ เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของ ตัวเมืองในสมัยโบราณริมถนนสุขเกษม โดยทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจด ทางสาธารณะ ทิศใต้จดถนนรอบเมือง ทิศตะวันตกติดถนนสุขเกษม เริ่มก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ.2422 โดย 114 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระอุ ป ฮาด (โง่ น ค� ำ ) หรื อ พระยา จันตประเทศธานีศรีสกลานุรกั ษ์ อรรค เดโชชัยอภัยพิรยิ ากรมพาหุ ต้นตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร เป็นประธานใน การก่อสร้าง สมัยด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าเมือง สกลนครคนที่ 3 โฉนดเลขที่ 10933 เดิม มีเนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 52 วา ภายหลังบ้าน เมืองเจริญขึ้น จึงได้แบ่งที่ส่วนทางทิศ ตะวันตกให้ท�ำถนน จึงเหลือพื้นที่ที่เป็น
วัด 6 ไร่เศษ ปัจจุบนั วัดแจ้งแสงอรุณ เป็นส�ำนัก ศาสนศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา แผนกธรรม และแผนก บาลี อีกทั้งยังได้รับแต่งตั้งจากแม่กอง ธรรมฯ แม่กองบาลีฯ ให้เป็นสนามสอบ ธรรม-บาลี สนามหลวง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่เริ่มสร้างวัด จนถึงปัจจุบัน ได้แก่ พระครูสี พ.ศ.2422 ส่วนเจ้าอาวาสที่ไม่สามารถระบุปีที่ ด�ำรงต�ำแหน่ง ได้แก่ พระครูนวล พระครู อ้วน (บ้านคูสนาม) พระครูอว้ น (บ้านผักขะย่า) ยาคูแดง ยาคูหลง (บ้านเชียงเครือ) ยาคูแสง และพระอธิการดอน ชุตนิ ธฺ โร (อาจารย์ดอน
โรงเรียนพระยาประจันตประเทศธานี (โง่นค�ำ) ชมภูราช) พระอธิการกาสินธิ์ ติณฺณปงฺโก พ.ศ.2492-2504 พระมหาสนธิ์ สุปญฺโญ พ.ศ.2504-2508 พระสุรสีห์ กิตต ฺ โิ สภโณ พ.ศ.2508-2515 รักษาการเจ้าอาวาสและด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส พระครูสิริรัตโนภาส พ.ศ.2555-2557 รักษาการเจ้าอาวาส พระครู ศ รี ป ริ ยั ต ยาลั ง การ (สุ ว รรณ อาจารสุโภ/กองเกิด) พ.ศ.2557-ปัจจุบนั วัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง) มีผู้ช่วยเจ้าอาวาส 2 รูป 1. พระครูศรีสกลกิจจาภรณ์ (พระมหา มีชัย ชินปุตฺโต น.ธ.เอก ปธ. 6 ป.รม.) 2. พระมหาอุทยั เตชธมฺโม (ปธ. 7 ป.รม.) ปัจจุบันมีพระภิกษุ 15 รูป สามเณร 55 รูป
ประวัติ พระครูศรีปริยัตยาลังการ
พระครูศรีปริยตั ยาลังการ เจ้าอาวาส วัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง) สถานะเดิม สุวรรณ นามสุกล กองเกิด เกิด 19 เมษายน พ.ศ.2497 ปีมะเมีย บิดา นายพันธ์ มารดา นางโสภี ภูมิล�ำนาเดิม บ้านส�ำโรง ต.ส�ำโรง อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น อุปสมบท วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2524 ณ พัทธสีมาวัดแจ้งแสงอรุณ โดยมี พระครูวจิ ติ รสกลการ (พระศรีสกลกิจ) เป็น พระอุปชั ฌาย์ พระมหาสมศักดิ์ ถิรธมฺโม (พระวิมลวิหารการ) เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูอรุณกิตติโสภณ (พระเทพสิทธิโสภณ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การปกครอง พ.ศ.2530 เป็นรองเจ้าอาวาส วัดแจ้งแสงอรุณ พ.ศ.2537 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ
พระครูศรีปริยัตยาลังการ เจ้าอาวาส กุสุมาลย์ พ.ศ.2545 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส พระอารามหลวง และเจ้าคณะอ�ำเภอ กุสุมาลย์ พ.ศ.2558 เป็นเจ้าอาวาส วัดแจ้งแสงอรุณ (พระอารามหลวง) การศึกษา พ.ศ.2512 สอบได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ.2517 จบการศึกษาผูใ้ หญ่ระดับ 4 พ.ศ.2539 สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค สมณศักดิ์ พ.ศ.2536 เป็นพระครูสัญญาบัตร รองเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ (รจร.) พ.ศ.2537 เป็นพระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก พ.ศ.2546 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรผูช้ ว่ ย เจ้าอาวาสพระอารามหลวง (ผจล.ชท.) พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นเอก SAKONNAKHON 115
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
หลวงพ่อพระประธาน วัดสะพานค�ำ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 167 ถนนเจริญเมือง ต�ำบลธาตุเชิงชุม อ�ำเภอ เมือง จังหวัดสกลนคร 47000 ขึน้ ทะเบียน เป็นวัดในพระพุทธศาสนา พ.ศ.2400 ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2468 ปัจจุบนั มี พระมหาคาวี ญาณสาโร เป็น เจ้าอาวาส
ประวัติวัดสะพานค�ำ
วัดสะพานค�ำเป็นวัดในสังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย เป็นวัดเก่าแก่คู่กับเมือง สกลนครมาเป็นระยะเวลายาวนาน ปัจจุบนั มีอายุครบ 165 ปี เดิมวัดสะพานค�ำมีชอื่ ว่า “วัดสะพานหิน” ตัง้ อยูต่ ำ� บลสะพานหิน อ�ำเภอธาตุเชิงชุม จังหวัดสกลนคร ตาม ประวัติว่า วัดสะพานค�ำสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2393 โดยเจ้าเมืองสกลนครคนที่ 2 คือ พระยาประจันตประเทศธานี (ปิด) ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2485 ได้เปลีย่ นจากชือ่ มาเป็น “วัดสะพานค�ำ” และตัง้ อยู่ ณ ต�ำบล ธาตุเชิงชุม ที่ตั้งวัดปัจจุบัน
สิ่งศักดิ์สิทธิ์สำ� คัญ
หลวงพ่อพระประธาน เป็นพระพุทธรูป
116 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
วัดสะพานค�ำ ปูนปัน้ ปางมารวิชยั ศิลปะช่างพืน้ บ้าน มี หน้าตักกว้าง101เซนติเมตรสูง154เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญคู่วัดมา ยาวนาน หลวงพ่อสะพานหินสัมฤทธิโชค เป็น พระพุทธรูปศิลปะล้านช้างปางมารวิชัย หล่อด้วยทองส�ำริดแก่นาก ขนาดหน้าตัก กว้าง 18 นิว้ สูงจากฐานถึงพระเกศ 45 นิว้ พระองค์มีลักษณะพิเศษคือมีล�ำพระศอ ยาว และมีหว่ งพระศอ 3 ห่วง พระกรรณ ยาว (หู) และเจาะรูทั้ง 2 ข้าง ปัจจุบัน ประดิษฐานที่กุฏิรับรองเจ้าอาวาส
หลวงพ่อสกทวาปีศรีสตั ตนาค เป็น พระพุทธรูปปูนปั้นปางนาคปรก 7 เศียร ศิลปะลพบุรี มีหน้าตัก 1.85 เมตร สูง 3.79 เมตร สร้าง พ.ศ.2554 ศรัทธาสร้างโดย นายสุชาติ-กาญจนา พลอยประเสริฐ
ปูชนียสถานส�ำคัญของวัด
สิม วัดสะพานค� ำ มีอุโ บสถเก่ าแก่ ซึ่งชาวอีสานนิยมเรียกว่า “สิม” ก่อด้วย ศิลาแลง หลังคามุงด้วยแป้นเกล็ด มีลกั ษณะ เป็นสิมทึบยาว 3 ห้อง มีมุขด้านหน้า มี ประตูทางเข้าด้านเดียวคือทิศตะวันออก กลางหลังคาประดับด้วยช่อฟ้า ผนังอาคาร ตกแต่งด้วยลายวงโค้ง สิ่งที่สวยงามโดด เด่นคือ ประตูทำ� ด้วยไม้แกะสลักลวดลาย “ประแจจีน” ฌาปนสถาน เป็นฌาปนสถานทีท่ นั สมัย แห่งแรกของจังหวัดสกลนคร สร้างเมื่อ พ.ศ.2512 โดยมีพระครูโอภาสสกลธรรม (สว่าง จนฺทโชโต) เป็นผู้อ�ำนวยการสร้าง โดยการอุปถัมภ์ของกองทัพภาคที่ 2 เพือ่ ใช้ เ ป็ น สถานที่ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลศพบรรดา นายทหารทีเ่ สียชีวติ ในระหว่างการต่อสู้ กับผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในขณะนั้น
พระมหาคาวี ญาณสาโร เจ้าอาวาส
ประวัติเจ้าอาวาส
สถานเดิม ชือ่ -สกุล คาวี สร้อยสาค�ำ ฉายา ญาณสาโร เกิดเมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2507 บรรพชา เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2521 ณ วัดยอดล�ำธาร บ้านนาแก้ว อ�ำเภอ โพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร โดยมี พระครู พิศาลสิขยุต (เกษ) เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ.2528 ณ วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร แขวงบ้านบาตร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณมหาเถระ) คณะผูป้ ฏิบตั หิ น้าที่ สมเด็จพระสังฆราช เป็นพระอุปัชฌาย์ พระเมธีสทุ ธิพงษ์ (ระวัง วชิรญาโณ ป.ธ.9) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระสุนทรวิหารการ (จ�ำปี) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ รางวัลและเกียรติคุณ พ.ศ.2547 ได้รบั รางวัล ผูบ้ ริหารและ นักพัฒนาสังคมดีเด่น ประจ�ำปี 2547 พ.ศ.2547 ได้รบั ยกย่องถวายเกียรติ จารึกชื่อบนแผ่นเงิน เป็น ส�ำเร็จญาณ สารเถรเจ้า สุขมุ คัมภีรปัญญาศาสนูปถัมภ์ หิรญ ั สัมปันนวิโรจน์ เถราภิเษกมหามงคล พ.ศ.2550 รางวัล พระนักปราชญ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสกลนคร พ.ศ.2551 ร า ง วั ล เ ส า เ ส ม า พระราชทานผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์ ต ่ อ พระพุ ท ธศาสนา สาขาการเผยแผ่
พระพุ ท ธศาสนาในประเทศ จาก ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ.2553 รางวัล ผูท้ ำ� คุณประโยชน์ ต่อสังคมดีเด่น พ.ศ.2554 ได้รบั รางวัล นักบริหารและ นักพัฒนาสังคมดีเด่น ประจ�ำปี 2554 พ.ศ.2555 ได้รบั รางวัล ผูจ้ ดั รายการ วิ ท ยุ ดี เ ด่ น ด้ า นส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรม ประจ�ำปี 2555
พ.ศ.2556 ได้รับรางวัล นักพัฒนา สังคมดีเด่น ประจ�ำปี 2556 พ.ศ.2557 ได้รบั รางวัล การอนุรกั ษ์ สืบทอดมรดกศิลปวัฒนธรรมไทย งานด้านเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 พ.ศ.2548 ได้รบั มอบหมายเจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองสกลนคร ให้เป็นองค์แสดง ธรรมเทศนาเฉลิมพระเกียรติ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในวันมหามงคลวโรกาสฉลองสิรริ าชสมบัติ ครบ 60 ปี เรื่อง “ทศพิธราชธรรมกถา” พ.ศ.2549 ได้รบั การถวาย พระเกศา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (สมเด็ จ ย่ า ) จากคุ ณ หญิ ง สุ ช าดา อรรถวิ จิ ต รจรรยารั ก ษ์ ผู ้ ถ วายงาน พระเกศา และก�ำลังจะด�ำเนินการจัดสร้าง พุทธอุทยานหนองหารหลวง และมหาเจดีย์ ประดิษฐานพระเกศา เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ ริมฝั่งหนองหาร อ�ำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร SAKONNAKHON 117
เส้นทางพบอำ�เภอ
นายวีระวัฒน์ วงษ์ศรีรักษา นายอ�ำเภอพรรณานิคม
พระธาตุภูเพ็กล�้ำค่า ถิ่นผ้าย้อมคราม วัดถ�้ำขามร่มรื่น ภาคพื้นกสิกรรม วัฒนธรรมเผ่าภูไท ธรรมะสดใสหลวงปู่ฝั้น คือค�ำขวัญประจ�ำอ�ำเภอพรรณานิคม ซึง่ มีทวี่ า่ การอ�ำเภอตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต.พรรณา โดยตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกห่างจากจังหวัด สกลนคร 39 กิโลเมตร
ประวัติอ�ำเภอพรรณานิคม
เมือ่ ปี พ.ศ.2385 ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 3 เจ้าลี (โฮงกลาง), เจ้าอินทร์ และเจ้านวล สามพีน่ อ้ งลูกชายของเจ้าเมืองวังอ่างค�ำ ได้อพยพข้ามโขงมาทางบ้านหนองเชียงสือ 118 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
แขวงเมืองสกลนคร ครัน้ มาถึงบ้านเปือย ที่ต�ำบลวังยางในปัจจุบัน ได้หยุดพ�ำนัก อยูช่ วั่ คราวก็ตอ้ งอพยพต่อ เพราะสถานที่ นัน้ เป็นทีล่ มุ่ มากกว่าทีด่ อน ชาวบ้านวังยาง ได้เรียกสถานทีน่ นั้ ว่า “ท่าพรรณา” เพราะ อยูใ่ กล้ลำ� ห้วยอูน ทางข้ามไปบ้านหนองหวาย เมือ่ อพยพมาถึงบ้านพังพร้าว เห็นว่า เป็นสถานทีอ่ นั เหมาะสม จึงตัง้ หลักแหล่ง พ�ำนัก ส่วนอีกกลุม่ หนึง่ ได้ไปตัง้ หลักแหล่ง อยู่ที่บ้านม่วงไข่
เมื่อปี พ.ศ.2387 พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะ “บ้านพังพร้าว” ขึน้ เป็นเมืองพรรณานิคม ต่อมาในปี พ.ศ. 2445 ทางราชการได้เปลี่ยนระบอบการ ปกครองใหม่ เมืองพรรณานิคมจึงได้เปลีย่ น เป็น “อ�ำเภอพรรณานิคม” จังหวัดสกลนคร โดยพระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) คนที่ 4 ได้รับแต่งตั้งเป็นนายอ�ำเภอคนแรก ของอ�ำเภอพรรณานิคม
ข้อมูลทั่วไป
อ�ำเภอพรรณานิคม มีพื้นที่ทั้งหมด 673.798 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 421,124 ไร่ อ�ำเภอพรรณานิคม ตัง้ อยูส่ งู จากระดับน�้ำทะเล 160-180 เมตร ทาง ทิศใต้คาบเกี่ยวกับเทือกเขาภูพาน พื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบและส่วนหนึ่งอยู่ ในเขตชลประทานน�ำ้ อูน มีทรัพยากรป่าไม้ ที่ส�ำคัญ ได้แก่ อุทยานแห่งชาติภูพาน ป่าสงวนแห่งชาติกดุ ไห-นาใน และป่าสงวน แห่งชาติโนนอุดม
การปกครอง-ประชากร อ� ำ เภอ พรรณานิคมแบ่งเขตการปกครองเป็น 10 ต�ำบล 135 หมู่บา้ น มีเทศบาลต�ำบล 8 แห่ง และองค์การบริหารส่วนต�ำบล 3 แห่ง มีประชากรทั้งสิ้น 77,670 คน 24,937 ครัวเรือน สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ มีอาชีพหลักคือ การท�ำนา รองลงมาได้แก่ ท�ำไร่ ท�ำสวน (ยางพารา) เลีย้ งสัตว์ ปลูกพืช ประมง รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม (โรงงงานเย็บรองเท้า-ท�ำเครือ่ งหนัง และ โรงงานเย็บนวมชกมวย) ฯลฯ ประชากร มีรายได้เฉลี่ย 50,474.14 บาท/คน/ปี
ผลผลิตทีส่ ำ� คัญและมีชอื่ เสียง ได้แก่ ข้าว กข.6, แคลตาลูป, แตงโม, ข้าวหอม มะลิ 105, ถั่วลิสง และพริก ศิลปวัฒนธรรม อ�ำเภอพรรณานิคม มีงานประเพณีทอ้ งถิน่ ทีส่ ำ� คัญ คือ งานบัง้ ไฟ, บุญผะเหวด, บุญประทายข้าวเปลือก, งานสงกรานต์และแข่งเรือ
สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ตั้งอยู่บริเวณวัดป่าอุดมสมพร หมู่ที่ 4 ต.พรรณา ห่างจากอ�ำเภอ 2 กม. วั ด ค� ำ ประมง ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นค� ำ ประมง หมู่ที่ 4 ต.สว่าง ห่างจากอ�ำเภอ 25 กม. วัดถ�้ำขาม ตั้งอยู่ภูถ�้ำขาม บ้านค�ำข่า หมู่ที่ 4 ต.ไร่ ห่างจากอ�ำเภอ 21 กม. พระธาตุภเู พ็ก ตัง ้ อยูบ่ า้ นภูเพ็ก หมูท่ ี่ 12 ต.นาหัวบ่อ ห่างจากอ�ำเภอ 29 กม. วัดป่าภูรท ิ ตั ตถิราวาส ตัง้ อยูบ่ า้ นหนองผือ หมู่ที่ 2 ต.นาใน ห่างจากอ�ำเภอ 27 กม.
วัดถ�้ำขาม
พิพิธภัณฑ์พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระธาตุภูเพ็ก
SAKONNAKHON 119
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
นายธานีวัฒน์ โมราราษฎร์ นายกเทศมนตรีต�ำบลพรรณานิคม
เทศบาลต�ำบลพรรณานิคม “มุ่งสู่เมืองน่าอยู่ ควบคู่คุณธรรม น�ำการศึกษา พัฒนาเป็นเลิศ” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาท้องถิน่ ของเทศบาลต�ำบลพรรณานิคม ตั้งอยู่ที่ถนนนิตโย ต�ำบลพรรณา อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัด สกลนคร อยู่ห่างจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 38 กิโลเมตร ตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 22 (ถนนสาย สกลนคร-อุดรธานี)
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลพรรณานิคม มีพื้นที่ 1.54 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 962.50 ไร่ มีอาณาเขตครอบคลุมพืน้ ที่ 3 หมูบ่ า้ น ในต�ำบลพรรณานิคม อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร คือ บ้านพรรณา หมู่ 2 บ้านโคกสุวรรณ หมู่ 6 และบ้านน้อยโนนจ�ำนงค์ หมู่ 10 120 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยทั่วไปในเขตเทศบาลมีการ ประกอบเกษตรกรรมน้อยมาก เนือ่ งจากพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นทีอ่ ยู่ อาศัย อาคาร ร้านค้า การเกษตรกรรมมีพื้นที่เพียงร้อยละ 5 ของพืน้ ทีใ่ นเขต พืน้ ทีน่ ยิ มปลูกมากทีส่ ดุ คือ ข้าว รองลงมาผลไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ ส�ำหรับพืชผักสวนครัวจะนิยมปลูกตามครัวเรือน ประชากร ในเขตเทศบาลต�ำบลพรรณานิคม มีจ�ำนวนทั้ง สิ้น 2,579 คน เป็นชาย 1,230 คน เป็นหญิงจ�ำนวน 1,349 คน จ�ำนวนครัวเรือน 1,335 ครัวเรือน ความหนาแน่นประชากร 1,717 ตารางกิโลเมตร ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม พาณิชยกรรม รับจ้าง และรับราชการตามล�ำดับ ประชาชนส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่บ ริเวณสองฟากถนน โดยเฉพาะถนนนิตโย ถนนศรีสวัสดิ์วิไล ถนนศุภกิจวาทศิลป์ ถนนศิรชิ ยั ถนนภูไทอุทศิ ฯลฯ เนือ่ งจากคลองส่งน�ำ้ ชลประทาน ล�ำน�้ำอูนไหลผ่าน มีเขตครอบคลุมพื้นที่ 3 หมู่บ้านในต�ำบล พรรณา อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร คือ บ้านพรรณา หมู่ 2 บ้านโคกสุวรรณ หมู่ 6 และบ้านน้อยโนนจ�ำนงค์ หมู่ 10 วัฒนธรรม มีประเพณีที่ส�ำคัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา คือ ประเพณีบวงสรวงเจ้าปูห่ อถลา ตัง้ อยูช่ มุ ชนหลักเมือง ซึง่ จัดขึน้ ในวันแรม 9 ค�่ำ เดือน 4 หรือประมาณปลายเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคมของทุกปี และประเพณีบวงสรวงเจ้าปูม่ เหศักดิ์ ตัง้ อยูช่ มุ ชนน�ำ้ อูนรุง่ เรือง จัดงานประเพณีประมาณเดือนพฤษภาคม ของทุกปี
จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
1. ประชาชนได้รบั การบริการสาธารณะอย่างทัว่ ถึงและพอเพียง 2. ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. มีจำ� นวนนักท่องเที่ยวภายในท้องถิ่นเพิ่มมากขึ้น 4. สิ่งแวดล้อมไม่เป็นพิษ 5. ประชาชนมีอาชีพและรายได้พอเพียง 6. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
การเมืองการปกครอง การบริหารเทศบาลต�ำบลพรรณานิคม ประกอบด้วย 1. ฝ่ายนิตบิ ญ ั ญัติ มีสมาชิกสภาเทศบาล จ�ำนวน 12 คน โดย มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีหน้าที่ในการออกกฎเทศบัญญัติ ในเรื่องต่างๆ ตามระเบียบที่กฎหมายก�ำหนดซึ่งเห็นว่าเป็น ประโยชน์ต่อส่วนรวม 2. ฝ่ายบริหาร ประกอบด้วย ต�ำแหน่งนายกเทศมนตรีตำ� บล พรรณานิคม จ�ำนวน 1 คน รองนายกเทศมนตรีตำ� บลพรรณานิคม จ�ำนวน 2 คน เลขานุการนายกเทศมนตรีต�ำบลพรรณานิคม จ�ำนวน 1 คน และที่ปรึกษานายกเทศมนตรีตำ� บลพรรณานิคม จ�ำนวน 1 คน
พิพธิ ภัณฑ์พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร ตัง้ อยูท่ วี่ ดั ป่าอุดมสมพร ต.พรรณานิคม อ.พรรณนานิคม ภายในมีรปู ปัน้ พระอาจารย์ฝน้ั ขนาดเท่าองค์จริงนัง่ ห้อยเท้า และถือไม้เท้าไว้ในมือ มีตจู้ ดั แสดง อัฐธิ าตุ และเครือ่ งอัฐบริขารของท่าน รวมทัง้ ประวัตคิ วามเป็น มาตั้งแต่ท่านเกิดจนมรณภาพ
สินค้า OTOP ขึ้นชื่อ
ผ้าย้อมคราม ผลิตภัณฑ์จากการสั่งสมภูมิปัญญามานาน และได้รบั ฉายาว่า “ผ้าผิวสวย” เนือ่ งจากการสวมใส่เสือ้ ผ้าและ เครือ่ งนุง่ ห่มทีผ่ า่ นการย้อมคราม จะมีคณ ุ สมบัตใิ นการป้องกัน แสงยูวีท�ำลายผิว
พันธกิจ
1. จัดให้มีและบ�ำรุงระบบสาธารณูปโภคทั้งทางบกและทางน�้ำ 2. จัดให้มีและบ�ำรุงไฟฟ้าและประปา 3. ส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดีภายในองค์การ 4. ส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในท้องถิ่นและในเขตจังหวัด 5. ก�ำจัดขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลและน�้ำเสีย 6. ส่งเสริมการประกอบอาชีพ 7. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน SAKONNAKHON 121
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล สร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มอาชีพและพัฒนาผลิตภัณฑ์ สินค้า OTOP น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้ชุมชน ถือปฏิบตั ใิ นการด�ำรงชีพ พร้อมกับขยายผลหมูบ่ า้ น 3 ธรรม เพือ ่ พัฒนาด้านการศึกษาทุกระดับและด้านการศาสนา การ กีฬา และวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อพัฒนาด้านการท่องเที่ยว เพื่อส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ป่าไม้และอนุรักษ์พันธุ์สัตว์บก สัตว์น�้ำ
ประวัติเทศบาลต�ำบลนาใน นายพงษ์ศักดิ์ โพธิ์ศรี นายกเทศมนตรีตำ� บลนาใน
“เมืองเกษตรกรรม น�ำด้านอาชีพเสริม ส่งเสริมชุมชนให้น่าอยู่ ประชาชนเชิดชูคุณธรรม”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการเกษตรและด้านอาชีพเสริม ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาทางการศึกษา ศาสนา กีฬา และวัฒนธรรมท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยว
เป้าประสงค์
ส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่และเกษตรอินทรีย์
122 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ปี พ.ศ.2396 มีราษฎรอพยพจากเมืองวังอ่างค�ำ ประเทศลาว มาตัง้ บ้านเรือนทีต่ ำ� บลนาใน ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นทีร่ าบสูงเทือกเขาภูพาน ต�ำบลนาในมีเนือ้ ที่ 103.46 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครอง เป็น 11 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านอูนดง บ้านหนองผือ บ้านห้วยบุ่น บ้านนาเลา บ้านนาใน บ้านผักค�ำภู บ้านนาทัน บ้านหนองผือน้อย บ้านผักค�ำภูใหม่ บ้านหนองไชยวาลย์ และบ้านผักค�ำภู เทศบาลต�ำบลนาใน จัดตัง้ จากสภาต�ำบลนาในเป็นองค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาใน ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2539 และยกฐานะจากองค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาในเป็นเทศบาลต�ำบลนาใน ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ.2552 ส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ที่ 10 ถนนหนองเบ็น-ผักค�ำภู ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร โทร. 042-704753-4 โทรสาร. 042-704754
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประชาชนในต�ำบลนาในมีทงั้ ชาวภูไท และไทยโซ่ (โส้) ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ จึงมีประเพณีอันเนื่องมาจากวันส�ำคัญทาง พุทธศาสนา อาทิ ประเพณีงานทอดกฐิน ประเพณีลอยกระทง ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณีบุญ กองข้าว ประเพณีวนั สงกรานต์ ประเพณีเลีย้ งผีหมอเหยา ผีปตู่ า และประเพณีวันวิสาขบูชา
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประชาชนในเขตเทศบาลต�ำบลนาในได้อนุรักษ์ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ได้แก่ การทอผ้าฝ้าย ย้อมคราม การจักสาน การปลูก หม่อนและเลี้ยงไหม การเข็นฝ้าย การปลูกพืชสมุนไพร วิธีการ ทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ ฯลฯ
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก 1. ผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมคราม
กลุ่มผ้าย้อมครามบ้านอูนดง-บ้านหนองไชยวาลย์ สินค้า พื้นเมืองที่มีชื่อเสียงและได้รับรางวัล OTOP ระดับ 5 ดาว คือ การทอผ้าย้อมครามของกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านอูนดงหนองไชยวาลย์ โทร. 080-7653937
2. กลุ่มทอผ้าฝ้าย ย้อมสีเปลือกไม้ “บ้านผักค�ำภู”
เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2560 ได้รบั การสนับสนุน งบประมาณจากส�ำนักงานแรงงานจังหวัดสกลนคร ตามโครงการ แก้ไขความเดือดร้อนด้านอาชีพ ประจ�ำปี 2560 ความโดดเด่น “ย้อมสีด้วยเปลือกไม้ ทอด้วยฝ้ายเข็นมือ” โทร. 089-1759317, 093-4862695
สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ
วัดป่าภูริทัตตถิราวาส (วัดป่าบ้านหนองผือ) เป็นวัดที่ สงบเงียบ ร่มรืน่ เหมาะส�ำหรับการปฎิบตั ธิ รรมเป็นอย่างยิง่ เมือ่ พ.ศ.2487 หลวงปูมนั่ ภูรทิ ตั ตเถระ ได้ยา้ ยมาอยูท่ เี่ สนาสนะป่า บ้านหนองผือ ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ต่อมาได้มกี อ่ สร้างเจดียพ์ พิ ธิ ภัณฑ์หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตั โต โดย พระธรรมมงคลญาณ (หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินฺธโร) และประกอบ พิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ ยกฉัตรพระบรมสารีรกิ ธาตุ เมือ่ วันที่ 7 เมษายน พ.ศ.2560 โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 SAKONNAKHON 123
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
นายประวิน การุญ นายกเทศมนตรีต�ำบลนาหัวบ่อ
เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อ ค�ำขวัญ
พระธาตุภูเพ็กสูงค่า ต�ำนานไดโนเสาร์ ดินด�ำน�ำ้ ดี
สุริยะปฏิทินถิ่นผ้าย้อมคราม ก้าวล�ำ้ บรรพกาล วิถีกสิกรรม
เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อ มีสำ� นักงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ 8 หมู่ 15 ต�ำบลนาหัวบ่อ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั มี นายประวิน การุญ เป็นนายกเทศมนตรีตำ� บลนาหัวบ่อ โดย เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2556 ถึงปัจจุบัน ซึ่งบริหารงานภายใต้วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า
“บ้านเมืองน่าอยู่ เคียงคู่วัฒนธรรม น้อมน�ำเศรษฐกิจ พอเพียง เตรียมความพร้อมสู่อาเซียน” 124 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 80 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 50,000 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของ ต�ำบลนาหัวบ่อ มีสภาพพื้นที่ทางตอนใต้มีลักษณะเป็นภูเขา และป่าไม้ซึ่งเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติ ส่วนทางตอนกลางและ ตอนเหนือของต�ำบลมีลักษณะเป็นที่ราบเรียบจนถึงค่อนข้าง แบบลูกคลื่นลอนลาด นอกจากนั้นยังมีแหล่งน�้ำธรรมชาติ และหนองน�้ำกระจายอยู่ทั่วไปภายในต�ำบล รวมทั้งยังมีคลอง ส่งน�ำ้ ของชลประทานน�ำ้ อูนผ่านหมูบ่ า้ นต่างๆ เกือบทุกหมูบ่ า้ น การปกครอง เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อแบ่งการปกครอง เป็น 19 หมูบ่ า้ น มีประชากรทัง้ หมดจ�ำนวน 9,988 คนเป็นชาย 5,075 คน หญิง 4,913 คน จ�ำนวนครัวเรือน 3,410 ครัวเรือน สภาพเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท�ำนา ท�ำไร่ และมีอาชีพเสริมคือการปลูกต้นคราม ทอผ้า ฝ้ายย้อมคราม การเลี้ยงปลาหมอและปลานิล โดยมีการรวม กลุ่มอาชีพที่ส�ำคัญ ได้แก่ กลุ่มทอผ้าย้อมคราม กลุ่มเลี้ยงปลา กลุ่มปลูกกล้วยหอมทอง และกลุ่มจักสาน ขนบธรรมเนียม-ประเพณีสำ� คัญ เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อ ได้อนุรักษ์และสืบสานประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ ซึ่งเป็น ประเพณีทสี่ ำ� คัญทีส่ บื ทอดมาอย่างยาวนาน ตามความเชือ่ ของ พุทธศาสนิกชนว่า เป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ ชัน้ ดาวดึงส์ หลังจากทีเ่ ทศนาอภิธรรมปิฎกโปรดพระมารดา ซึง่ ถือตามประวัตินี้ก็เท่ากับท�ำบุญตักบาตร รับเสด็จพระพุทธเจ้า ในคราวเสด็จลงมาจากเทวโลกนัน่ เอง โดยต�ำบลนาหัวบ่อจะจัด ประเพณีตกั บาตรเทโวโรหณะ ในช่วงออกพรรษาของทุกปี ทีว่ ดั พระธาตุภูเพ็ก ต.นาหัวบ่อ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ประเพณีตักบาตร เทโวโรหณะ ขนบธรรมเนียม ประเพณีส�ำคัญ
โบราณสถาน/สถานที่ท่องเที่ยว
พระธาตุภเู พ็ก หรือ ปราสาทภูเพ็ก จัดเป็นโบราณสถานขนาด ใหญ่บนภูเขา ประดิษฐานบนเทือกเขาภูพาน ณ วัดพระธาตุภเู พ็ก ต�ำบลนาหัวบ่อ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร
กลุ่มอาชีพ/ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมคราม
พระธาตุภูเพ็ก เป็นปราสาทขอมขนาดใหญ่ ก่อสร้างด้วย หินทราย เรือนธาตุตั้งอยู่บนฐานยกสูง ตอนหน้าของปราสาท มีฐานหินเป็นก้อนเรียงซ้อนๆ กัน ยื่นออกมาคล้ายกากบาท เรียกว่า โคปุระ สูงกว่าฐานของเรือนฐานเล็กน้อย ตัวเรือนธาตุ ทัง้ 4 ด้านย่อมุมๆ ละ 5 เหลีย่ ม รวมเป็น 20 เหลีย่ ม ความกว้าง ของปราสาทโดยรอบกว้างด้านละ 11 เมตร มีชานเป็นพืน้ ทีก่ ว้าง พอสมควร ความสูงจากพืน้ ดินถึงฐานชัน้ ที่ 1 สูง 1.58 เมตร จาก ฐานชั้นที่ 1 ถึงฐานชั้นที่ 2 สูง 0.70 เมตร ตัวเรือนปราสาททั้ง 3 ด้าน คือ ทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศ ตะวันตกบริเวณโดยรอบพบ สระน�้ำโบราณและแหล่ง สกั ด หิ น ในการสร้ า ง ปราสาท หน้ า อาคาร ปราสาทหั น ไปทางทิ ศ ตะวันออก และมีบันได หินก่อปูนขึ้นบนยอดเขา ประมาณ 491 ขั้น ตาม ต�ำนานสันนิษฐานว่าสร้างขึน้ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ประมาณ ปี พ.ศ.1742 พระธาตุภเู พ็ก ห่างจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 22 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 22 กม. ที่ 139 แยกซ้าย (เมือ่ หันหน้า ไปทางอุดรธานี) ไปตามทางหลวงชนบทหมายเลข สน 2016 เป็นทางรถยนต์ลาดยางจากถนนเข้าไปถึงบ้านภูเพ็ก ระยะทาง 8 กิโลเมตร และเป็นระยะทางลาดยางขึน้ ภูเพ็ก อีก 4 กิโลเมตร ซึง่ ช่วงนีเ้ ป็นเส้นทางขึน้ ภูเขาสูงคดเคีย้ วแต่ผวิ จราจรเรียบร้อยดี ใช้การได้ดีมาก
OTOP ขึ้นชื่อของนาหัวบ่อ
กลุม่ ทอผ้าย้อมคราม บ้านนาหัวบ่อ หมู่ 1, หมู่ 5, หมู่ 13, หมู่ 19 ต�ำบลนาหัวบ่อ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เป็นชุมชนที่มีชื่อเสียงที่สุดในการผลิตผ้าย้อมคราม ที่ท�ำจาก ผ้าฝ้ายธรรมชาติ มีกลิน่ หอม เนือ้ สัมผัสนุม่ และมีคณ ุ สมบัตใิ น การป้องกันรังสียูวี ระบายอากาศได้ดีแต่ยังให้ความอบอุ่นแก่ ร่างกายได้อย่างพอเหมาะ ไม่รอ้ นและหนาวเกินไป จึงเป็นทีน่ ยิ ม ของชาวท้องถิ่นและชาวต่างชาติ คุณลักษณะเด่นของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ การใช้สที มี่ าจากธรรมชาติ ไม่มีสิ่งที่เป็นสารพิษ ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่เป็นพิษต่อ ผูใ้ ช้และผูบ้ ริโภค ไม่ทำ� ลายสิง่ แวดล้อม จึงได้รบั ความนิยมจาก คนไทยและชาวต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลี ตลอด จนประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว เวียดนาม
ช่องทางการติดต่อ
เทศบาลต�ำบลนาหัวบ่อ ส�ำนักงานเลขที่ 8 หมู่ 15 ต�ำบลนาหัวบ่อ อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร 47220 โทร./โทรสาร 0-4274-6375 หรือ เว็บไซต์ www.nahuabo.go.th SAKONNAKHON 125
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล “พระไพศาลฯ พ่อเมืองศักดิ์สิทธิ์ วิถีชีวิตเผ่าโบราณ สืบสานด้านภาษา รักษาวัฒนธรรม มีค่าล�้ำอ่างหินชะแนน งามเหลือแสนผ้าทอมือ ยึดถือผีปู่ตา ร่วมพัฒนาสู่อาเซียน” คือค�ำขวัญของต�ำบลโพธิไพศาล ซึ่ง อยู่ในความดูแลของ องค์การบริหาร ส่วนต�ำบลโพธิไพศาล อ�ำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร โดยตั้งอยู่ทิศเหนือของ อ�ำเภอกุสุมาลย์ ปัจจุบนั มีนางสาวกัญญาภัค ศิลปะรายะ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลโพธิไพศาล และมีนายกิตติ อ่อนสี และ นางเกษร นุชชาติ ด�ำรงต�ำแหน่ง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบล โพธิไพศาล โดยมีนายธาตรี อินทรพุฒ เป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล โพธิไพศาล
นายธาตรี อินทรพุฒ ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบล โพธิไพศาล
วิสัยทัศน์การพัฒนา นางสาวกัญญาภัค ศิลปะรายะ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิไพศาล
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิไพศาล 126 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วน ต�ำบลโพธิไพศาล ได้บริหารงานให้บรรลุ วิสัยทัศน์การพัฒนาที่ว่า “ ค ม น า ค ม ส ะ ด ว ก ป ล อ ด ภั ย ห่างไกลอบายมุข สุขภาพดี มีการศึกษา น้ อ มน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ลือเลื่องวัฒนธรรม ก้าวน�ำสู่อาเซียน”
ประวัติความเป็นมาของต�ำบลโพธิไพศาล
ชาวไทโส้อ�ำเภอกุสุมาลย์ มีต้นก�ำเนิดอพยพมาจากเมือง มหาชัย แขวงค�ำม่วน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ในราวปี พ.ศ. 2381 ราชวงศ์คำ� ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระยาประเทศธานีเจ้าเมืองสกลนคร ได้นำ� ก�ำลังไพร่พลไปเกลีย้ กล่อม เอาครอบครัวหัวเมืองลาวที่ค้างอยู่ที่ฟากฝั่งแม่น�้ำโขงด้านทิศ ตะวันออกให้ขา้ มมา เพือ่ ไม่ให้เป็นแหล่งสนับสนุนของกองทัพ ญวณ ใน พ.ศ.2385 ท้าวโรงกลางบุตรเจ้าเมืองวัง ท้าวเพีย้ เมืองสูง ท้าวเพี้ยบุตรโคตรหัวหน้าข่ากะโส้กับครอบครัวบ่าวไพร่ ได้ เข้ามาสู่พระบรมโพธิสมภารเป็นจ�ำนวนมาก และตั้งบ้านเรือน ท�ำมาหากินอยูแ่ ถบฝัง่ แม่นำ�้ โขง และรอบเมืองสกลนคร ในรัชสมัย สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ.2387 พระยาประเทศธานี น�ำหัวหน้าครอบครัวกลุม่ ต่างๆ ลงไปเฝ้าสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีก่ รุงเทพมหานคร และโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านประขาวพันนาและบ้านกุสุมาลย์ โดยให้ทา้ วโรงกลางเป็นพระเสนาณรงค์เจ้าเมืองพันนา ท้าวเพีย้ เมืองสูงเป็นหลวงอรัญอาสาเจ้าเมืองกุสุมาลย์ พระราชทาน เครื่องยศตามต�ำแหน่งให้ขึ้นตรงต่อเมืองสกลนคร ใน พ.ศ.2419 ในรัชสมัยสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ตงั้ “เมืองโพธิไพศาล” (ปัจจุบนั เป็นต�ำบลโพธิไพศาล) เพราะเกิดการขัดแย้งชิงต�ำแหน่งหน้าที่ ราชการ โดยให้ท้าวขัตติยะเป็นพระยาไพศาลเสนานุรักษ์ เป็นเจ้าเมือง โดยมีหลักฐานว่า ครั้นปีเถาะ นพศก จุลศักราช 1234 (พ.ศ.2415) พวก ข่ากะโส้ในเมืองกุสมุ าลย์มลฑล เกิดความขัดแย้งชิงต�ำแหน่ง ทางราชการโดยมีท้าวขัตติยะหัวหน้าข่ากะโส้เป็นหัวหน้า ได้ร้องขอเมืองโพธิไพศาลเป็นเมืองขึ้นของเมืองสกลนคร โดยขอแยกตัวเมืองกุสุมาลย์มลฑล จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ท้าวขัตติยะเป็นพระยาไพศาลเสนานุรักษ์ (บางต�ำราเรียก พระยาไพศาลสิมานุรักษ์) เป็นเจ้าเมืองโพธิไพศาลนิคม (ต้นสกุล “รันพิศาล”) และขึน้ กับเมืองสกลนครอีกเมืองหนึง่ รับผูกส่วยผลเร่วอยู่กับเมืองสกลนคร
เมืองโพธิไพศาลนิคม ในอดีตเป็นเมืองขนาดใหญ่ เมื่อมี จ�ำนวนประชากรเพิม่ มากขึน้ จึงมีการเคลือ่ นย้ายครอบครัวจาก โพธิไพศาลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ เช่น โนนค�ำ โพนแพง ห้วยกอก กุดฮู หนองเค็ม และกุดสะกอย โดยเฉพาะกุดสะกอยนัน้ ชาวบ้าน ทั้งหมดล้วนไปจากโพธิไพศาลทั้งสิ้น ภายหลังเมือ่ มีการปรับปรุงรูปแบบของการปกครองหัวเมือง ในรัชกาลที่ 6 ใน พ.ศ.2457 หัวเมืองส�ำคัญ เช่น เมืองกุสมุ าลย์ มลฑล เมืองโพธิไพศาลนิคม จึงถูกลดฐานะลงเป็นเพียงต�ำบล เท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ 2505 เมืองกุสมุ าลย์ เป็นกิง่ อ�ำเภอกุสมุ าลย์ และเป็นอ�ำเภอกุสุมาลย์ ในปี พ.ศ.2510 ส่วนเมืองโพธิไพศาล นัน้ ก็ยงั เป็นต�ำบลโพธิไพศาล ขึน้ กับอ�ำเภอกุสมุ าลย์จนถึงปัจจุบนั
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลโพธิไพศาล มีเนื้อที่ทั้งหมด 86 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมปิ ระเทศมีลกั ษณะเป็นพืน้ ทีร่ าบ คิดเป็นร้อยละ 90 ของ พืน้ ทีต่ ำ� บลทัง้ หมด มีแหล่งน�ำ้ เพือ่ การเกษตรกรรม คือ อ่างเก็บน�ำ้ ห้วยหินชะแนนใหญ่ (โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ) ซึง่ ได้ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตร จ�ำนวน 8,000 ไร่ การปกครอง ต�ำบลโพธิไพศาล แบ่งการปกครองเป็น 16 หมูบ่ า้ น จ�ำนวน 2,694 ครัวเรือน รวมจ�ำนวนประชากรทัง้ สิน้ 10,083 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพท�ำนา และมีอาชีพเสริมคือ ปลูกพริก และทอผ้า
SAKONNAKHON 127
รู้จักชาวไทโส้
ชาวไทโส้มีภาษาพูดเป็นของตนเอง แต่ไม่มีภาษาเขียน มี ความเชื่อทางไสยศาสตร์ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก และมีอุปนิสัยชอบแยกอาศัยตามกลุ่มของตนเอง
ประเพณีและพิธีกรรม
ชาวโส้มคี วามเชือ่ ในเรือ่ งของสิง่ ทีเ่ หนือธรรมชาติ เพือ่ เป็น ที่พึ่งทางจิตใจ กล่าวคือ ชาวโส้มักจะเชื่อเรื่องผี ซึ่งบ้านชาวโส้ ส่วนใหญ่มกั จะมีหอ้ งหนึง่ ทีเ่ ป็นทีอ่ ยูข่ องผีบรรพบุรษุ ทีเ่ รียกว่า “เน่าะ” จึงมีพิธีกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผี ดังนี้ 1. พิธีเหยา เพื่อบูชาหรือบวงสรวงผีที่ตนนับถือ เช่น ผีมูล ผีนำ�้ โดยการเหยานัน้ จะมีหมอเหยาเป็นเสมือนผูส้ อื่ สารกับผีที่ ตนนับถือ เช่น เหยาเพือ่ รักษาอาการเจ็บป่วยทีไ่ ม่ทราบสาเหตุ เหยาแซงซะนาม (เหยาเลี้ยงผี)
2. พิธีบวงสรวงผีปู่ตา 3. พิธีซางกะมูจ เป็นพิธีกรรมส่งวิญญาณผู้ตายในงานศพ 4. พิธีตัดกรรม ท�ำให้ผู้ตายเมื่อน�ำศพไปที่ป่าช้า 5. พิธจี ยาซะลา เป็นพิธบี วงสรวงผีเจ้าป่าเจ้าเขา หลังจากที่ ล่าสัตว์ได้แล้ว จะแล่เนือ้ สัตว์นนั้ วางลงบนใบไม้ แล้วเชิญให้ผเี จ้าป่า มากิน 6. พิธแี ซงซะนาม เป็นประเพณีการเลีย้ งผีประจ�ำปีของหมอ เหยาแต่ละกลุ่ม 7. พิธกี รรมการเสีย่ งทาย อะแต็ฮอะเซียวอ์ ใช้เสีย่ งทายอาการ เจ็บป่วยว่าเกิดจากสาเหตุใดและหาทางแก้ไขตามประเพณี ความเชื่อ 8. ประเพณีอะบรางดง (กินข้าวใหม่) ช่วงประมาณเดือน 11 ของทุกปี ชาวโส้ที่ถือผี หรือที่เรียกว่า จ�้ำผี จะมีพิธีอะบรางดง เพื่อเอาข้าวใหม่ที่ได้จากการท�ำนา มาเลี้ยงให้ผีประจ�ำตระกูล ได้กนิ ก่อน โดยมีความเชือ่ ว่า ถ้าไม่ทำ� จะเกิดเหตุการณ์ไม่ดตี อ่ วงศ์ตระกูลของตน 9. ประเพณีปีใหม่โส้ ตรงกับวันขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 3 ของทุกปี ซึ่งในวันนั้นจะท�ำพิธีเรียกขวัญข้าว ผูกเขาวัวควาย ผูกข้อมือ ลูกหลานทุกคนในครอบครัว
อาชีพ
ชาวโส้ส่วนใหญ่มีอาชีพหลักคือ การท�ำนาปลูกข้าวเหนียว และข้าวจ้าว ทัง้ นาปีและนาปรังตลอดทัง้ ท�ำสวนพริก ซึง่ ปัจจุบนั ชาวโส้ในท้องที่ต�ำบลโพธิไพศาล ต�ำบลกุสุมาลย์ ต�ำบลนาโพธิ์ จะปลูกพริกหลังจากฤดูเก็บเกี่ยวข้าว จนเป็นแหล่งผลิตพริกที่ ส�ำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดสกลนคร ในปัจจุบันชาวโส้มีอาชีพ หลากหลาย ทัง้ รับราชการ รับจ้าง และไปท�ำงานต่างถิน่ เป็นต้น 128 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
การละเล่น
การละเล่นของชาวโส้มักจะประยุกต์จากพิธีกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความเชือ่ และวิถชี วี ติ ทีม่ คี วามสนุกสนาน ความ สามัคคีในชุมชน การละเล่นที่เป็นเอกลักษณ์ของชาวโส้มีดังนี้ 1. การร�ำโส้ทงั้ บัง้ เป็นการละเล่นทีป่ ระกอบไปด้วย นักดนตรี กลอง แคน พิณ นางร�ำที่ใช้ไม้ไผ่กระทุ้งให้เข้าจังหวะกับดนตรี โดยประยุกต์จากพิธกี รรมการเหยา การซางกะมูจ และพิธจี ยาซะลา เข้าด้วยกัน 2. การเล่นลายกลอง เป็นการละเล่นที่มีการผสมผสาน ลีลาของการร�ำมวยและตีกลองให้เข้าตามจังหวะ มักจะเล่นใน งานบุญประเพณีต่างๆ ต�ำนานของมือลายกลองของชาวโส้ บ้านโพธิไพศาลมีหลายท่าน ได้แก่ นายหา รันพิศาล นายเขียว จูมไม้เมือง นายลา ระนิอนิ ทร์ นายประเวท ชิตบุตร นายทองสวัสดิ์ นินจันทร์บุตร เป็นต้น
SAKONNAKHON 129
การแต่งกาย
ชาวโส้ในสมัยโบราณ ชายมักจะสักลายตามล�ำตัวตามขา เพือ่ บ่งบอกถึงความเป็นชายชาตรี นุง่ โสร่ง นุง่ ผ้าขาวม้า หรือกางเกง “โซงญุม” สวมเสื้อผ้าสีด�ำหรือสีกรมท่า คาดเอวด้วยผ้าขาวม้า หรือเปร่แก็บ ในงานรื่นเริงจะนุ่งกางเกงสีด�ำ แล้วนุ่งทับด้วยจะ ลาย (ผ้าทอยกเก็บลาย) คล้ายเปร่เก็บแต่มผี นื ใหญ่กว่า และสวม หมวกใบตาล ส่วนผู้หญิงมักจะใส่เสื้อสีด�ำย้อมคราม แขนกระบอกเลย ข้อศอกลงมาเล็กน้อย ผ่าอก ขลิบแดง ปล่อยให้เลยชายเสือ้ ลง ไป 2-3 นิว้ กระดุมเงินกลมหรือเงินเหรียญเท่าทีห่ าได้ ชายเสือ้ ด้านข้างแหวกชายสองข้าง ใช้ด้ายแดงตกแต่งขอบชายเสื้อ คอเสื้อ และปลายแขน ชายเสื้อจะมีดา้ ยแดงปล่อยให้เลยห้อย ลงมาตรงเอวทั้งสองด้าน 2-3 ปอย ผ้านุ่งใช้ผ้ามัดหมี่ ฝ้าย สีนำ�้ เงิน-ขาว ต่อเชิง และหัวผ้าซิน่ ท�ำด้วยผ้าแถบสีสนั สวยงาม ทรงผมผู้หญิงจะเกล้ามวยสูง เรียกว่า “มะย่วล” ในงานพิธี มัก นุ่งผ้าไหม ใส่ก�ำไลข้อมือ ข้อเท้า สร้อยเงิน ตุ้มหู ตามฐานะ ห่มสไบทับเสื้อ แต่ในปัจจุบันมีการแต่งกายตามสมัยนิยมเป็น ส่วนมาก
ชุดพื้นเมือง ไทโซ
130 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
งานฝีมือ
การทอผ้า ชาวโส้มกี ารทอผ้าทีเ่ ป็นลวดลายและเอกลักษณ์ ของตนเอง เช่น ผ้ามัดหมี่ ผ้าห่มธรรมดา ผ้าห่มที่มีลวดลาย (แญอเอือ) ผ้าแพร (แปร่แก็บ) ผ้าถุง ลายผ้าถุง (จะกัด) ผ้าถุง ซับใน (จะกัด จ่วาน) มักทอเป็นสีขาวล้วน การจักสาน ชาวโส้จะใช้ไม้ไผ่ซาง ไม้ไผ่ไล่ ไม้ไผ่บา้ น (ไผ่สสี กุ ) สานตะกร้า กระบุงหรือสิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน รวมทั้งใช้ ใบเตยป่าสานเสื่อ
ล่องแพอ่างเก็บน�้ำห้วยหินชะแนน
อาหาร
ชาวโส้ส่วนใหญ่นิยมบริโภคอาหารที่หามาได้ตามท้องถิ่น ตามฤดูกาล ทัง้ พืชและสัตว์ ปลา เนือ้ กบ เขียด หน่อไม้ ผักต่างๆ ชาวโส้จะท�ำอาหารง่ายๆ เช่น ต้ม ลาบ แกง นึ่ง หมก ย่าง เผา การแกงหน่อไม้ของชาวโส้จะต่างจากแกงหน่อไม้ของชาวลาว ชาวภูไท ทีแ่ กงหน่อไม้ใส่ผกั แต่ชาวโส้มกั จะใส่ปลา กบหรือเขียด ด้วย การถนอมอาหาร ในสมัยโบราณเมือ่ ชาวโส้ลา่ สัตว์ได้มากๆ จะนิยมถนอมอาหารทีเ่ ป็นเนือ้ โดยการหมักเกลือผสมกับปลาย ข้าวหรือข้าวสารเหนียว รวมทัง้ ใส่หน่อไม้สบั เป็นท่อนเล็กทุบๆ ให้แตก แล้วเก็บไว้ในไหปิดไว้ให้สนิท เมื่อต้องการรับประทาน ก็จะเปิดออกมาปรุงท�ำอาหารตามต้องการ ซึ่งชาวโส้เรียกว่า “ตะโละ” อาหารพื้นเมือง
ปัจจุบัน มีการจัดเก็บรวบรวมหลักฐานเกี่ยวกับประวัติการ ตัง้ ถิน่ ฐาน วิถชี วี ติ ขนบธรรมเนียม และประเพณีของชาวไทยโส้ ซึง่ เป็นบรรพบุรษุ ของชาวโพธิไพศาล ที่ “ศูนย์วฒ ั นธรรมไทโส้” ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณที่วา่ การอ�ำเภอกุสุมาลย์
สถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ล่องแพอ่างเก็บน�้ำห้วยหินชะแนน
ช่องทางการติดต่อ
องค์การบริหารส่วนต�ำบลโพธิไพศาล อ�ำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร โทร. 0-4270-4604 เว็บไซต์ : www.potipisan.go.th SAKONNAKHON 131
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตมีชาวไทโซ่ (โส้) ที่อพยพข้ามแม่น�้ำโขงมาจากเมือง มหาชัย แขวงค�ำม่วน ประเทศลาว และชาวภูไท อพยพมาจาก เมืองเวเรณูนคร หรืออ�ำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม เมื่อมา เห็นท�ำเลที่เหมาะสม มีความสงบร่มเย็น มีต้นโพธิ์และต้นไทร ขึน้ จึงพากันตัง้ บ้านเรือนและประกอบอาชีพท�ำไร่ทำ� นา และตัง้ ชื่อบ้านว่า “บ้านนาโพธิ์” มีก�ำนันคนแรกชื่อตาหมื่น ศรีอักษร องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งได้ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ.2539
ข้อมูลทั่วไป
ทีต่ งั้ และขนาด มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 90.87 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 56,794 ไร่ พื้นที่ขององค์การบริหารส่วนต�ำบล นาโพธิ์ส่วนมาก เป็นพื้นที่ส�ำหรับการเลี้ยงสัตว์ และเพาะปลูก ท�ำการเกษตร ทีอ่ ยูอ่ าศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามล�ำดับ และมีพื้นที่เพียงเล็กน้อยที่เป็นพื้นที่สาธารณะ การปกครอง ต�ำบลนาโพธิ์ แบ่งการปกครองเป็น 12 หมูบ่ า้ น และอยูใ่ นเขตการปกครองของ องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ เต็มจ�ำนวน 12 หมูบ่ า้ น จ�ำนวน 2,304 ครัวเรือน จ�ำนวนประชากร 8,079 คน ประชากรร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
นายบุญค�ำ เถาว์อ้วน นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์
องค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ “เต็มใจบริการ บริการตามหลักธรรมาภิบาล ประสานการแก้ไขปัญหา พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน ทุกคนมีคุณธรรม น้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
คือวิสยั ทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ ตัง้ อยู่ เลขที่ 142 หมู่ 3 ต�ำบลนาโพธิ์ อ�ำเภอกุสมุ าลย์ จังหวัดสกลนคร โดยอยู่ห่างจากอ�ำเภอกุสุมาลย์ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 2 กิโลเมตร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาต�ำบลนาโพธิ์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
132 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ซึง่ ปัญหาเกีย่ วกับคุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติคอื ปัญหาเรือ่ ง ดิน เนือ่ งจากว่าพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นดินลูกรัง ไม่สามารถกักเก็บน�ำ้ เพือ่ อุปโภคบริโภคนอกฤดูฝน ท�ำให้การเกษตรไม่ได้ผลเท่าทีค่ วร และปัญหาเรือ่ งน�ำ้ เนือ่ งจากน�ำ้ ทีใ่ ช้ในการอุปโภค-บริโภค และ ท�ำการเกษตร เป็นน�ำ้ ทีไ่ ด้จากน�ำ้ ฝน น�ำ้ ใต้ดนิ และแหล่งน�ำ้ ตาม ธรรมชาติ ซึง่ มีแหล่งน�ำ้ ใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ และยังขาด งบประมาณในการก่อสร้างสถานที่กักเก็บน�้ำ สภาพสังคม การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม การศึกษา มีโรงเรียนประถมศึกษา 4 แห่ง และโรงเรียนขยาย โอกาส 1 แห่ง ห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัยเตาะแตะ 4 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์ฯบ้านม่วง มีจำ� นวนเด็ก 30 คน ศูนย์ฯบ้านโคกม่วง มีจ�ำนวนเด็ก 30 คน ศูนย์ฯบ้านนาโพธิ์ มีจำ� นวนเด็ก 40 คน และศูนย์ฯบ้านโคกสว่าง มีจำ� นวนเด็ก 32 คน และที่อา่ นหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บา้ น 1 แห่ง สถาบันและองค์กรทางศาสนา มีวด ั หรือส�ำนักสงฆ์ 10 แห่ง และมีโบสถ์คริสต์ 3 แห่ง วั ฒ นธรรม มี “ศู น ย์ วั ฒ นธรรมไทโส้ ต� ำ บลนาโพธิ์ ” ตั้งอยู่ที่บา้ นโคกม่วง หมู่ที่ 2 เนื่องจากชาวต�ำบลนาโพธิ์นับถือ ศาสนาพุทธ และศาสนาคริสต์ จึงมีประเพณีทหี่ ลากหลาย เช่น วันคริสต์มาสของชาวคริสต์ ส่วนชาวพุทธก็จะมีประเพณีและ เทศกาลต่างๆ เช่น สงกรานต์ เข้าพรรษา-ออกพรรษา ฯลฯ
รองลงมาคือรับจ้าง และค้าขาย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลนาโพธิ์ ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ วิธีการท�ำ เครือ่ งจักสานใช้สำ� หรับในครัวเรือน การใช้สมุนไพรรักษาโรค และ มีกลุ่มตัดเย็บและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าบ้านขาไก่ และกลุ่ม ทอผ้าบ้านขาไก่ ภาษาถิ่น ชาวบ้านต�ำบลนาโพธิ์ใช้กันทุกวันนี้ เช่น ภาษา ไทโส้ (โซ่) ภาษาย้อ ภาษาภูไท ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ได้แก่ ดิน น�ำ้ ต้นไม้ อากาศทีไ่ ม่มมี ลพิษ และป่าไม้ ซึง่ ในเขตองค์การ บริหารส่วนต�ำบลนาโพธิ์ มีปา่ ไม้ของชุมชนและป่าทีป่ ลูกขึน้ เอง
ดงลากวยโทร่ว (บ้านตัวตนไทโส้แห่งศีล)
SAKONNAKHON 133
พระธาตุเมืองเก่า (อยู่ระหว่างก่อสร้าง ครอบองค์เก่าไว้)
กลุ่มอาชีพส�ำคัญ
ภายในต�ำบลนาโพธิ์ มีการรวมกลุ่มอาชีพ 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. กลุ่มทอผ้าบ้านขาไก่ โดยสมาชิกของกลุ่มส่วนมากจะ ประกอบอาชีพหลักคือท�ำนา เวลาทีว่ า่ งจากท�ำนาจะทอผ้า เช่น ผ้าห่ม 2. กลุ่มตัดเย็บและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้า บ้านขาไก่
การท่องเที่ยว และงานประจ�ำปี
ประเพณีแห่ดาวคริสต์มาส จัดขึ้นประมาณเดือนธันวาคม ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ จัดขึ้นในเดือนมกราคม ประเพณีท�ำบุญกองข้าว จัดขึ้นประมาณเดือนมกราคม ประเพณีเลี้ยงผีมูล จัดขึ้นประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ประเพณีวันสงกรานต์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ประเพณีลอยกระทง จัดขึน ้ ประมาณเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน ประเพณีวน ั เข้าพรรษา-ออกพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม และตุลาคม-พฤศจิกายน
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก ร่องรอยโบราณวัตถุเมืองเก่า 134 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลนาโพธิไ์ ด้ผลิต ของใช้พนื้ เมืองขึน้ ใช้ในครัวเรือน และส่วนทีเ่ หลือก็จำ� หน่ายบ้าง ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ทตี่ ดั เย็บและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผ้าบ้านขาไก่ และกลุม่ ทอผ้าบ้านขาไก่ เครือ่ งจักสานทีท่ ำ� จากไม้ไผ่ของบ้านบอน
เส้นทาง AEC
SMART CITY ต้นแบบ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า ได้กำ� หนด ให้ จั ง หวั ด ภู เ ก็ ต เป็ น เมื อ งดิ จิ ทั ล หรื อ Smart City แห่งแรกของประเทศ และเป็น เมืองต้นแบบ ซึง่ เป็นหนึง่ โครงการทีร่ ฐั บาล มีนโยบายขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและสังคม ดิจทิ ลั (Digital Economy) เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถในการแข่งขันให้กับประเทศ
ท�ำไมต้องเป็นที่ภูเก็ต
ในด้านความเหมาะสมของพื้นที่นั้น ภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีทรัพยากร ธรรมชาติ ด ้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ ง ดงาม โดดเด่น ติดอันดับเมืองท่องเที่ยวชั้นน�ำ อันดับที่ 15 ของโลก ขณะที่ภูเก็ตยังเป็น เมืองที่มีความพร้อมด้านโครงสร้างพื้น ฐาน ICT ที่แข็งแกร่ง เช่น โครงข่ายด้าน การสือ่ สารทีท่ วั่ ถึง รวดเร็ว มีความเสถียร สูง และภูเก็ตยังเป็นหนึง่ ในเมืองยุทธศาสตร์ ทีภ่ าครัฐก�ำหนดให้เป็นเมืองอุตสาหกรรม แห่งอนาคตส�ำหรับธุรกิจเทคโนโลยีชนั้ สูง ซึ่ ง จะช่ ว ยสร้ า งความแข็ ง แกร่ ง ด้ า น อุตสาหกรรมให้เกิดขึ้นได้ทั้งระบบ
แนวทางด�ำเนินการ
Smart City ที่ภูเก็ต เป็นโครงการน�ำ ร่องที่แบ่งแนวทางด�ำเนินการออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1. โครงการ Certified Digital Workers/ Investors เพือ่ รับรองและให้สทิ ธิประโยชน์ Digital Workers และ Digital Investors 2. โครงการจัดตั้ง Innovation Park เพื่อสนับสนุน Super Cluster Digital 3. โครงการศึกษาและพัฒนา Ecosystem and Incentive Study and Roadshow เพือ่ รวบรวมมาตรการส่งเสริมและพัฒนา พืน้ ทีพ่ เิ ศษส�ำหรับเศรษฐกิจดิจทิ ลั (Smart City) 4. โครงการพัฒนาระบบ Smart WiFi
วัตถุประสงค์-เป้าหมาย
เพื่ อ สร้ า งระบบนิ เ วศและสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรม การบริการดิจทิ ลั ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา อุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัลอย่าง เป็นรูปธรรม เป็นศูนย์กลางบริการดิจทิ ลั ในภูมิภาคอาเซียน และเป็นศูนย์กลาง การเชือ่ มโยงสูร่ ะดับสากล ดึงดูดให้ Digital Workers, Digital Investors และบริษัท ซอฟต์แวร์จากทั่วโลกเข้ามาท�ำงานและ ลงทุนทีภ่ เู ก็ต สร้างโอกาสการเรียนรู้ และ ถ่ายทอดองค์ความรู้จากผู้เชี่ยวชาญทั่ว โลก และสร้างผู้ประกอบการ Startups และขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัลอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายเพือ่ พัฒนา ภูเก็ตให้เป็นเมือง Smart City ทั้งในแง่ ของ Smart Economy และ Smart Living Community รวมถึ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลาง อุตสาหกรรมดิจทิ ลั ของภูมภิ าค สามารถ ดึงดูดนักลงทุนและนักท่องเทีย่ วได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
SAKONNAKHON 135
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
คณะผู้บริหารและหัวหน้าส่วนราชการ
1. นายสุระพงษ์ เขื่อนขันธ์ นายกเทศมนตรี 2. นายสมยศ ผาอินทร์ รองนายกเทศมนตรี 3. นายพิทักษ์ หัตถสาร รองนายกเทศมนตรี 4. นายรถ ผิวไหมค�ำ ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี 5. นายจันทร์เนตร ส�ำเภาทอง เลขานุการนายกเทศมนตรี 6. นายสามชัย ชาไมล์ ปลัดเทศบาล 7. นางศรีสวรรค์ ค�ำสอน รองปลัดเทศบาล 8. นางสาวสกุลดา จันลาวงศ์ ผู้อำ� นวยการกองคลัง 9. นายธวัชชัย ค�ำทุม ผู้อำ� นวยการกองช่าง
นายสุระพงษ์ เขื่อนขันธ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลโพนแพง
เทศบาลต�ำบลโพนแพง “บ้านเมืองน่าอยู่ ควบคู่คุณธรรม ก้าวน�ำการศึกษาประชาอยู่ดีกินดี” คือวิสยั ทัศน์การพัฒนาของเทศบาลต�ำบลโพนแพง ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านเซือม หมู่ 7 ต�ำบลโพนแพง อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัด สกลนคร ปัจจุบันมี นายสุระพงษ์ เขื่อนขันธ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรี ตัง้ แต่ พ.ศ.2555 ถึงปัจจุบนั และมี นายสามชัย ชาไมล์ ด�ำรงต�ำแหน่งปลัดเทศบาลต�ำบลโพนแพง 1. นายสามชัย ชาไมล์ ปลัดเทศบาล 2. นางศรีสวรรค์ ค�ำสอน รองปลัดเทศบาล 136 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
มีส่วนราชการ ดังนี้
1. ส�ำนักปลัด 2. กองคลัง 3. กองช่าง 4. กองการศึกษา เทศบาลต�ำบลโพนแพงมีรายได้รวมเงินอุดหนุนในปี 2559 จ�ำนวน 48,401,180 บาท
พันธกิจ
1. พัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน สาธารณูปการ สาธารณูปโภค ให้ได้มาตรฐานและครอบคลุมทุกพืน้ ที่ เพือ่ รองรับการขยายตัว ของเมืองในอนาคต 2. พัฒนาการจัดการศึกษา การกีฬา สาธารณสุข และสังคมเชิง บูรณาการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ชุมชนเข้มแข็งสามารถ พึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน 3. พัฒนาอาชีพหลักและส่งเสริมอาชีพรองให้เกิดรายได้เพิม่ ขึน้ 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ เพือ่ บรรลุจดุ มุง่ หมายของการพัฒนาเพือ่ การบริหารต�ำบลแบบบูรณาการ 5. ส่งเสริมการอนุรกั ษ์ศลิ ปะ ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การรักษา ความสงบเรียบร้อยภายในชุมชน 7. ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และส่งเสริมให้ประชาชนมีฐานเศรษฐกิจ ที่มั่นคงอย่างยั่งยืน ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
8. พัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลโพนแพงเป็นต�ำบลหนึง่ ของ อ.อากาศอ�ำนวย เปลี่ยนแปลงฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็นเทศบาล ต�ำบลโพนแพง เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555 มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 69 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบสูง มีพื้นที่ ป่าไม้สมบูรณ์ขนาด 194 ไร่ และเป็นล�ำห้วย 16 สาย สระน�ำ้ สาธารณะ และล�ำน�้ำยาม เหมาะส�ำหรับท�ำการเกษตร เขตการปกครอง เทศบาลต�ำบลโพนแพงแบ่งการปกครอง เป็น 12 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านแพงน้อย หมู่ที่ 1, บ้านแพงใหญ่ หมู่ที่ 2, บ้านเซือม หมู่ที่ 3, 7, 11, บ้านกลาง หมู่ที่ 4, 8, 12, บ้านนาโน หมูท่ ี่ 5, บ้านคึม หมูท่ ี่ 6, 10 และบ้านโพนแพง หมูท่ ี่ 9 มีประชากร จ�ำนวน 9,524 คน มีครัวเรือน จ�ำนวน 3,038 ครัว เรือน ด้านการศึกษา ระดับก่อนประถมศึกษา 6 แห่ง คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านเซือม ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านกลาง-นาโน ศูนย์พฒ ั นาเด็ก เล็กบ้านแพงใหญ่ ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กบ้านคึม โรงเรียนอนุบาล เอกชนปิ่นเกศ และโรงเรียนอนุบาลเทศบาลต�ำบลโพนแพง ระดับประถมศึกษา 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านแพงใหญ่ โรงเรียนบ้านคึม โรงเรียนบ้านแพงน้อย เทศบาลต�ำบลโพนแพง http://www.ponpang.com
ระดับมัธยมศึกษาขยายโอกาส 2 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านเซือม โรงเรียนชุมชนบ้านกลาง-นาโน ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม เทศบาลต� ำ บลโพนแพง มี ก ารถ่ า ยทอดวั ฒ นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมปิ ญ ั ญา ท้องถิน่ โดยมีการจัด กิจกรรมทางศาสนาอย่างต่อเนื่อง มีประเพณีฮีต 12 ครอง 14 ตามประเพณีทั่วไปของชาวพุทธ ช่วงเดือนเมษายนของทุกปี จะเป็นงานประเพณีบญ ุ มหาชาติและงานสงกรานต์ มีการจัดงาน วันผู้สูงอายุ วันรวมใจเยาวชน เทศน์มหาชาติ และแห่พระแก้ว ประเพณีบญ ุ ข้าวสาก ไหลห้านบูชาไฟ ประมาณเดือนกันยายน (วันเพ็ญเดือนสิบ) ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ เช่น การละเล่นพื้นบ้าน การแข่งขันเรือ และประเพณีเลี้ยงปู่ตาเดือนหกขึ้นหกค�่ำของ ทุกปี
วัดส�ำคัญในเขต ทต.โพนแพง
วัดป่าปทีปปุญญาราม (หลวงปูผ่ า่ น ปัญญาปทีโป) บ้านเซือม ต�ำบลโพนแพง อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร
เจดีย์หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป พิพิธภัณฑ์หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป
โครงการ/กิจกรรมส�ำคัญ
1. โครงการวันเด็กแห่งชาติ
3. โครงการวันผู้สูงอายุ
4. โครงการรณรงค์ปอ้ งกันและระงับอัคคีภยั 5. โครงการธนาคารขยะเพือ่ พัฒนารายได้ ในสถานศึกษา
2. โครงการส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ
SAKONNAKHON 137
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ข้อมูลทั่วไป
เทศบาลต�ำบลท่าก้อน มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 63 ตารางกิโลเมตร สภาพพืน้ ทีเ่ ป็นทีร่ าบ มีลำ� น�ำ้ ทีส่ ำ� คัญไหลผ่าน คือ ล�ำน�ำ้ สงคราม ต�ำบลท่าก้อนแบ่งออกเป็น 8 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 5,104 คน ประชากรส่วนใหญ่มอี าชีพหลักคือ การท�ำนา อาชีพ เสริมคือ การเลีย้ งสัตว์ ปลูกพืช จับปลาตามแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ หัตถกรรม ฯลฯ
นางลัดดา พละไกร นายกเทศมนตรีตำ� บลท่าก้อน
เทศบาลต�ำบลท่าก้อน “มุ่งสร้างรายได้ให้ชุมชน คนสุขภาพดี มีการศึกษา พัฒนาแหล่งเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาและวัฒนธรรมประเพณี เกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิษ” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลท่าก้อน ซึ่งมีส�ำนักงาน ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 บ้านท่าก้อน ต�ำบลท่าก้อน อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร โดยอยู่ทางทิศเหนือ ห่างจากตัวอ�ำเภออากาศอ�ำนวย ประมาณ 25 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 90 กิโลเมตร ปัจจุบนั มี นางลัดดา พละไกร ด�ำรง ต�ำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำ� บลท่าก้อน และนายวิทยา พรมกาวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง ปลัดเทศบาลต�ำบลท่าก้อน 138 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
รางวัลที่ภาคภูมิใจ
กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น และส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ประกาศเกียรติคุณแก่ เทศบาล ต�ำบลท่าก้อน ในฐานะปฏิบัติ หน้าที่ ศูนย์เรียนรู้ด้านการจัด การสุขภาวะชุมชนระดับดีเยีย่ ม ระหว่างปีพทุ ธศักราช 2558-2561
โอท็อปประจ�ำต�ำบล...ที่ส�ำคัญ
เป็นผ้าขาวม้า ผ้าฝ้ายมัดหมี่ ผ้าย้อมคราม โดยกลุ่มสตรี ทอผ้าย้อมครามบ้านโพนก่อ บ้านเลขที่ 17 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลท่าก้อน อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร โทร. 062-141-3128
กิจกรรม/โครงการ เด่น โครงการเสริมสร้างชุมชน
น่าอยูส่ กู่ ารขยายเครือข่าย ต�ำบลสุขภาวะ 2558-2561 การแข่ ง ขั น กี ฬ าต้ า นภั ย ยาเสพติด (ท่าก้อนคัพ) ครั้งที่ 19 ณ สนามกีฬา โรงเรียนบ้านท่าควาย วันที่ 20-22 มีนาคม พ.ศ.2560 โครงการจัดตัง ้ ศูนย์ยตุ ธิ รรม ชุมชนต�ำบลท่าก้อน ประจ�ำปี 2559 เพือ่ รับเรือ่ งราวร้องทุกข์ ร้องเรียน แก้ปญ ั หาความเดือดร้อนของประชาชนต�ำบลท่าก้อน โครงการพัฒนาคุณภาพชีวต ิ ผูส้ งู อายุ และประเพณีสงกรานต์ ประจ�ำปี 2559 โครงการโรงเรียนพ่อแม่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่าก้อน ประจ�ำปี 2559 โครงการอบรมเด็ ก และเยาวชน ป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติดในโรงเรียน และสถานศึกษา ประจ�ำปี 2559
ช่องทางการติดต่อ
เทศบาลต�ำบลท่าก้อน โทร. 0-4216-8786 E-Mail : targon.akat@gmail.com
SAKONNAKHON 139
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดทุ่ง
วัดทุ่ง ตั้งอยู่ที่บ้านอากาศ หมู่ที่ 2 ต�ำบลอากาศ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัด สกลนคร ปัจจุบันมี พระรัตนากรวิสุทธิ์ เป็นเจ้าอาวาสวัดทุ่ง และรองเจ้าคณะ จังหวัดสกลนคร
ประวัติวัดทุ่ง
วัดทุ่ง เป็นวัดเก่าแก่ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ใดไม่มีใครทราบ แต่มีต�ำนานกล่าวไว้ว่า เมือ่ ครัง้ บ้านอากาศเจริญมากขึน้ จึงได้มี การก่อตั้งวัดขึ้นโดยพระอาจารย์พิมพ์ พร้อมด้วยพระภิกษุ-สามเณร พาญาติโยม มาสร้างวัด โดยให้ชอื่ ว่า “วัดทัดสีมาวาส” แต่วัดนี้ตั้งอยู่ใกล้ทุ่ง ชาวบ้านจึงเรียกว่า “วัดทุ่ง” มาจนถึงทุกวันนี้ วัดทุ่ง มีเนื้อที่ตั้งวัด 8 ไร่ 2 งาน 125 ตารางวา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.2444 และมีเจ้าอาวาสปกครอง 140 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ตามล�ำดับ พอสรุปได้ดังนี้ 1. พระอาจารย์พิมพ์ เป็นผู้ก่อตั้ง 2. ญาครูหลักค�ำ (เจ้าครูนนท์) ประมาณก่อน พ.ศ.2439 3. เจ้าอธิการสะ เขมุตฺตโร ระหว่าง พ.ศ.2490 4. พระอธิการมา ขนฺติโก ระหว่าง พ.ศ.2515 5. พระอธิการใส สํวโร ระหว่าง พ.ศ.2530 6. พระรัตนากรวิสุทธิ์ ระหว่าง พ.ศ.2535-ปัจจุบัน พระเดชพระคุ ณ ท่ า นเจ้ า คุ ณ พระรัตนากรวิสุทธิ์ ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส ท่านได้เริ่มบูรณปฏิสังขรณ์ อาคารเสนาสนะต่างๆ ทีเ่ ก่าและทรุดโทรม ให้เป็นวัดที่ทันสมัย โดยแรกสุดที่เข้ามา จ�ำพรรษาได้บูรณปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ
ทีร่ วั่ ให้ใช้งานได้ ต่อมาก็ได้บรู ณะซ่อมแซม กุฏเิ จ้าอาวาสให้เป็นส�ำนักงานรวมทัง้ เป็น ที่จ�ำพรรษาด้วย ต่อมาท่านได้เล็งเห็น ความส�ำคัญของเด็กและเยาวชน ทีก่ ำ� ลัง อยูใ่ นวัยทีจ่ ะต้องได้รบั การศึกษา เมือ่ จบ ระดับขัน้ พืน้ ฐานมาแล้วแต่ฐานะทางบ้าน ยากจน ท่านจึงขอความอนุเคราะห์จาก
พระธาตุเมืองอากาศ
กองศาสนศึกษา กรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ ขอเปิดโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญ เพือ่ ให้เด็กในท้องถิน่ และใน ต่างจังหวัด ได้ศกึ ษาเล่าเรียน เป็นทางเลือก ในการศึกษาพระธรรมวินยั รวมทัง้ เป็นการ แก้ปัญหาสังคมให้แก่ประเทศชาติ นอกจากนีแ้ ล้ว วัดทุง่ เคยได้รบั พระราชทาน พระผ้ากฐิน เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เสด็จ ถวายผ้าพระกฐิน
ประวัติพระธาตุเมืองอากาศ
พระธาตุเมืองอากาศ เป็นปูชนียสถาน ทีส่ ำ� คัญของวัดทุง่ และเป็นทีเ่ คารพสักการะ ของชาวอ� ำ เภออากาศอ� ำ นวย ซึ่ ง ใน อดีตกาลชาวบ้านอากาศย้ายถิ่นมาจาก “ฮ้อมท้าวฮูเซ” (ปัจจุบนั เป็นแขวงค�ำม่วน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) ตั้งแต่ปี พ.ศ.2396 นับตั้งแต่การตั้งเมือง อากาศ ยังไม่มพี ระธาตุประจ�ำเมือง เคยมี หลวงปูส่ ที ตั ต์ สุวณฺณมาโจ สร้างพระธาตุ เมืองอากาศ แต่กไ็ ม่สำ� เร็จ และท่านได้ยา้ ย ไปสร้าง “พระธาตุท่าอุเทน” ปัจจุบันนี้ ฐานพระธาตุทสี่ ร้างไม่สำ� เร็จก็ยงั คงปรากฏ ให้เห็นอยู่ ต่อมา ท่านเจ้าคุณพระรัตนากรวิสทุ ธิ์ เจ้าอาวาสวัดทุง่ รูปปัจจุบนั ได้เดินทาง ไปศึกษาดูงานพระพุทธศาสนาทีป่ ระเทศ พม่า และได้เห็นว่าทุกๆ วัดจะมีพระธาตุ เจดีย์ ท่านจึงได้ตั้งจิตอธิษฐานต่อองค์
พระธาตุเจดียช์ เวดากอง ว่า “ขอให้สร้าง พระธาตุประจ�ำเมืองอากาศให้ส�ำเร็จ เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของไทอากาศ เป็นปูชนียสถานทีก่ ราบไหว้สกั การบูชา ของคนทัว่ ไป และยังได้เป็นการสืบอายุ พระพุทธศาสนา” และมีความตั้งใจว่า จะสร้างพระธาตุให้มีรูปลักษณะเหมือน พระธาตุเจดีย์ชเวดากอง แต่ เ กิ ด เหตุ อั ศ จรรย์ ขึ้ น ในเวลา ใกล้สว่างของวันวิสาขบูชา ในปี พ.ศ.2548 ท่านเจ้าคุณพระรัตนากรวิสุทธิ์ ได้นิมิต เห็น พระธาตุองค์สขี าวมีลกั ษณะคล้าย กับพระธาตุเชิงชุม ในเมืองสกลนคร ประดิษฐานอยูด่ า้ นหลังอุโบสถของวัด มีประชาชนท�ำการสักการะกันเนืองแน่น ในตอนเช้าวันนั้น ท่านจึงได้เล่านิมิตนั้น ให้ประชาชนทีม่ าท�ำบุญฟัง ประชาชนทัง้ หลายก็พากันสาธุการว่า เป็นศุภมงคลยิง่ ควรด�ำเนินการสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้น ในปี พ.ศ.2549 ท่ า นเจ้ า คุ ณ พระรัตนากรวิสทุ ธิ์ เจ้าอาวาสวัดทุง่ ประธาน
การก่อสร้างพระธาตุเมืองอากาศ พร้อม ด้วยชาวอ�ำเภออากาศอ�ำนวยและคณะ ศิษยานุศิษย์ ตลอดถึงพุทธศาสนิกชน ทัว่ ไป ทีไ่ ด้ทราบข่าวการจะสร้างพระธาตุ เมืองอากาศ ได้มาร่วมกัน ณ วัดทุ่ง โดย พ ร ะ เ ด ช พ ร ะ คุ ณ ท ่ า น เ จ ้ า คุ ณ พระเทพสิทธิโสภณ เจ้าคณะจังหวัด สกลนคร เป็นประธานประกอบพิธีวาง ศิลาฤกษ์ พระครูพพ ิ ฒ ั น์สริ คิ ณ ุ (หลวงปู่ ค�ำไหล ปริสุทฺโธ) ได้ร่วมอธิษฐานจิตใน พิธี ลักษณะของพระธาตุเมืองอากาศจึง คล้ายพระธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัด สกลนคร ฐานพระธาตุทกี่ อ่ สร้างสีเ่ หลีย่ ม จัตุรัส 9x9 เมตร ความสูง 37 เมตร เมื่อ สร้างพระธาตุเสร็จ ทางคณะสงฆ์และฝ่าย บ้านเมืองจึงได้อญ ั เชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุ มาบรรจุที่พระธาตุเมืองอากาศนี้ เมื่อ วั น ที่ 22 มี น าคม พ.ศ.2554 โดยมี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก กรรมการ มหาเถรสมาคม เป็นประธานประกอบพิธี วัดทุ่งได้จัดงานฉลองและนมัสการ พระธาตุเมืองอากาศเป็นประจ�ำทุกปี โดย จัดขึน้ ในวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 1 (บุญเดือน อ้ายไหว้พระธาตุเมืองอากาศ) การสักการะ พระธาตุจะใช้ธปู เทียน ดอกไม้ ผ้าไตรจีวร และทุกวันพระ ขึน้ 8 ค�ำ่ และ 15 ค�ำ่ จะมี การท�ำวัตรสวดมนต์ และเวียนเทียนรอบ องค์พระธาตุ
SAKONNAKHON 141
หลวงพ่อพระองค์แสน (จ�ำลอง)
หลวงพ่อพระองค์แสน (จ�ำลอง)
เมื่อปี พ.ศ.2557 วัดพระธาตุเชิงชุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร และหน่วย งานราชการที่เกี่ยวข้อง ได้แจ้งไปยังกรม ศิลปากรให้ด�ำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ เนื่องจากพบว่าพระองค์แสน หรือที่ชาว สกลนครทัว่ ไป เรียกว่าหลวงพ่อองค์แสน พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ปางมารวิชยั ศิลปะ เชียงแสน สร้างขึน้ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 23-24 ก่อด้วยอิฐถือปูนลงรักปิดทอง มี ขนาดหน้าตักกว้าง 2 เมตร ความสูงรวม พระแท่นที่ประทับ ประมาณ 4.55 เมตร ซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวสกลนคร และจังหวัดใกล้เคียง ได้ช�ำรุดเสียหาย เกิดรอยแตกร้าวเป็นทางยาวจากต้นคอ ด้านขวาองค์พระ แยกเป็นทางยาวแนว นอนไปถึงไหล่ซ้ายใต้คาง หน้าอกและ ไหล่ขวา โดยคณะท�ำงานอนุรกั ษ์หลวงพ่อ พระองค์แสน ได้ดำ� เนินการบูรณะพระองค์ แสน โดยการเสริมความมั่นคงองค์พระ และท�ำพื้นผิวปิดทองพระองค์แสนใหม่ และได้ทำ� การบูรณะเสร็จเป็นทีเ่ รียบร้อย ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ.2558 เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2559 ทางคณะสงฆ์ และหน่วยงานภาครัฐและ เอกชนทางจัดงานพิธเี บิกเนตร พิธสี มโภชน์ และเททองหล่อหลวงพ่อพระองค์แสน จ�ำลอง พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทิ นั ด ดามาตุ ทรงปฏิ บั ติ พระกรณียกิจทีว่ ดั พระธาตุเชิงชุม จังหวัด สกลนคร ทรงเบิกพระเนตรพระองค์แสน พระประธานประจ�ำพระวิหาร และทรงเท 142 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
หลวงพ่อพระสังกัจจาย มูลเมืองอากาศ ทองหล่อพระองค์แสน จ�ำลอง เพือ่ อัญเชิญ ประดิษฐาน ณ วัดทุง่ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร หลวงพ่อพระสังกัจจาย มูลเมืองอากาศ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2396 ฉลองในโอกาส บ้านม่วงริมยามได้ยกเป็นเมืองอากาศ โดยหลวงพลานุกูล เจ้าเมืองอากาศ
ประวัติพระรัตนากรวิสุทธิ์
พระรัตนากรวิสทุ ธิ์ เจ้าอาวาสวัดทุง่ และรองเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร สถานะเดิม ชื่อ มณีรัตน์ นามสกุล เพริศแก้ว เกิดเมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2509 ตรงกับวันเสาร์ ขึ้น 12 ค�ำ่ เดือน 1 ปีมะเมีย เกิดที่บ้านเลขที่ 20 หมู่ที่ 2 ต�ำบลอากาศ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัด สกลนคร เป็นบุตรของคุณพ่อประทวน
พระรัตนากรวิสุทธิ์ เจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร
และคุณแม่สี เพริศแก้ว บรรพชา-อุปสมบท เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2530 พระอุปัชฌาย์ พระครูวฒ ุ ธิ รรมานุยตุ วัดกลางพระแก้ว ต�ำบลอากาศ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัด สกลนคร พระกรรมวาจาจารย์ พระสไกร ปญฺญาวโร พระอนุสาวนาจารย์ พระดิว้ คม เขมธมฺโม ต�ำแหน่งปัจจุบัน 1. เจ้าอาวาสวัดทุ่ง 2. รองเจ้าคณะจังหวัดสกลนคร 3. พระอุปัชฌาย์ 4. ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาวัดทุ่ง 5. ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ ในวัดวัดทุ่ง 6. พระนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา รุน่ ที่ 22 7. พระวิปัสสนาจารย์ รุ่นที่ 9 8. พระธรรมฑูต (ได้รบั รางวัลพระธรรมทูต บรรยายธรรมยอดเยี่ยมจาก สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ วัดปากน�้ำภาษีเจริญ) 9. พระนักเทศน์แม่แบบของมหาเถรสมาคม สมณศักดิ์ พ.ศ.2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดทุ่ง พ.ศ.2536 เป็นเจ้าคณะต�ำบลอากาศ เขต 1 พ.ศ.2540 ได้รบ ั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในพระราชทินนามที่ “พระครูพิมลธรรมนิเทศก์” พ.ศ.2547 เป็นรองเจ้าคณะ อ�ำเภออากาศอ�ำนวย พ.ศ.2551 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครูรองเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก ในพระราชทินนามเดิม พ.ศ.2556 เป็นเจ้าคณะ อ�ำเภอพรรณานิคม พ.ศ.2557 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัด สกลนคร พ.ศ.2559 ได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญที่ “พระรัตนากรวิสุทธิ์”
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
หลวงพ่อสิทธิโชคประทานพร
วัดศรีมงคล วั ด ศ รี ม ง ค ล ตั้ ง อ ยู ่ ห มู ่ ที่ 2 บ้านหนามแท่งใหญ่ ต� ำบลบ้านถ่อน อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
ประวัติวัดศรีมงคล
พระมหาธีรพร สุธีโร เจ้าอาวาส
วัดศรีมงคล เดิมมีชอื่ ว่า “วัดศรีบญ ุ เรือง” สร้างเมื่อ พ.ศ.2400 เดิมที่มีเนื้อที่ 1 ไร่ กว่าๆ มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดศรีมงคล เมื่อใดนั้น ไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัด เช่น เดียวกับนามเจ้าอาวาส ปกครองวัด ตัง้ แต่
พ.ศ.2400 จนถึงปัจจุบนั ก็ไม่สามารถระบุ ได้ ในปี พ.ศ.2548 พระมหาธีรพร สุธโี ร (บรรพชา พ.ศ.2520 อุปสมบท พ.ศ.2530) ได้ยา้ ยจากวัดใหญ่สว่างอารมณ์ มาจ�ำพรรษา ทีว่ ดั ศรีมงคล ซึง่ ในขณะนัน้ เสนาสนะและ ศาสนวัตถุทสี่ ำ� คัญๆ ภายในวัด มีแค่ศาลา การเปรียญ กุฏิ 1 หลัง และห้องน�้ำเก่าๆ ประมาณ 8 ห้อง
การพัฒนาวัดศรีมงคล
ตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมาจนถึง ปัจจุบนั พระมหาธีรพร ได้รเิ ริม่ พัฒนาวัด ตั้งแต่ท�ำป้ายวัด ท�ำก�ำแพงรอบวัด และ สร้างโรงครัว และมีการพัฒนามาเรื่อยๆ อาทิ สร้างหอระฆัง ซุม้ ประตู เทคอนกรีต ศาลาสวดมนต์ สร้างกุฏิ 3 หลัง และซื้อ ทีด่ นิ เพิม่ เพือ่ ขยายวัด ปัจจุบนั มีเนือ้ ทีโ่ ดย ประมาณ 6 ไร่
ปูชนียวัตถุสำ� คัญ
หลวงพ่ อ สิ ท ธิ โ ชคประทานพร พระพุทธรูปองค์ใหญ่ ประดิษฐานเป็น พระประธานในวัด สร้างในปี พ.ศ.2551 โดย พระมหาธีรพร สุธีโร SAKONNAKHON 143
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดป่าสันติวัน (ธ)
วั ด ป่ า สั น ติ วั น (ธ) ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า น หนองพะเนาว์ หมู่ 14 ต�ำบลป่าสันติวัน อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั มี พระอธิการกองแพง วิโรจโน เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดป่าสันติวัน (ธ)
วัดป่าสันติวนั (ธ) ก่อสร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2475 เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชนชาว บ้านที่ห่างไกลความเจริญ โดยชาวบ้าน ร่วมกันสร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธา เพื่อเป็น ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจและใช้ประกอบพิธีทาง ศาสนา บรรยากาศภายในวัดป่าสันติวัน มี ความเป็นธรรมชาติแบบสวนป่า จึงมีความ สงบสงัด ร่มเย็น เหมาะแก่การปลีกวิเวก และปฏิบตั ธิ รรม โดยทางวัดได้จดั กิจกรรม การถือศีลอุโบสถในช่วงเข้าพรรษาของ ทุกปี
144 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พระอธิการกองแพง วิโรจโน เจ้าอาวาส
อาคารเสนาสนะ
1. วิหารเจดีย์ 1 หลัง 2. กุฏิ 9 หลัง 3. ศาลาการเหรียญ 1 หลัง
ประวัติพระอธิการกองแพง วิโรจโน
พระอธิการกองแพง วิโรจโน เจ้าอาวาส วัดป่าสันติวัน อุปสมบท เมื่อปี พ.ศ.2517 โดยมี เจ้าคุณพิศาล ศาสนกิจ (วัดสุทธิมงคล) เป็นพระอุปัชฌาย์ และหลวงพ่อแปลง (วัดป่าอุดมสมพร) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ การปกครอง ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้าอาวาสวัดป่าสันติวนั เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2554
การพัฒนาวัด เมือ่ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสปกครอง วัดป่าสันติวัน ท่านได้เริ่มพัฒนาวัดมา โดยตลอด เช่น จัดสร้างซุ้มประตูทางเข้า วัด สร้างวิหารเจดีย์เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ฯลฯ ด้วยแรงกายแรงใจของ ท่านกับลูกศิษย์ชว่ ยกันสร้าง โดยมีญาติโยม ศรัทธา ร่วมบริจาคท�ำบุญกันเป็นจ�ำนวน มาก
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
เนื่ อ งด้ ว ยศาลาการเปรี ย ญของ วัดป่าสันติวนั ซึง่ ก่อสร้างมาตัง้ แต่ปี 2526 เกิดการช�ำรุดเนื่องจากถูกปลวกกัดแทะ ท�ำให้รอยต่อระหว่างพื้นบริเวณชั้น 1 และชัน้ 2 รวมทัง้ ฝ้าเพดานเกิดการช�ำรุด เสียหาย จึงขอเชิญชวนท่านผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมสมทบทุนบูรณะศาลาการเปรียญ โดย ติดต่อได้ที่ พระอธิการกองแพง วิโรจโน เจ้าอาวาสวัด SAKONNAKHON 145
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดเจริญสุข วั ด เจ ริ ญ สุ ข ตั้ ง อ ยู ่ เ ล ข ที่ 1 บ้านหนองหมากแซว หมูท่ ี่ 3 ต.ค�ำสะอาด อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบันมี พระอธิการสมศรี ฐิตญาโณ เป็นเจ้าอาวาส
ประวัติวัดเจริญสุข
วัดเจริญสุข สร้างเมือ่ พ.ศ.2514 ตาม ประวัตแิ จ้งว่า ในปี พ.ศ.2476 พ่อใหญ่นาย และครอบครัว ย้ายจาก จ.อุบลราชธานี มาตั้งบ้านและสร้างวัดขึ้น มีการพัฒนา วัดเรือ่ ยมาจนกระทัง่ ปี พ.ศ.2514 จึงได้จดั ตัง้ วัดขึน้ อย่างเป็นทางการ โดยมีนายอุย่ ฝูงใหญ่ เป็นผูบ้ ริจาคทีด่ นิ และมีพระเจริญ และนายสุขเป็นผูน้ ำ� ในการก่อสร้าง จึงได้ 146 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ตั้งชื่อวัดว่า “วัดเจริญสุข” ทีด่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่17ไร่1งาน35ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 45 อาณาเขต ทิศเหนือ ประมาณ 3 เส้น 13 วา จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้ประมาณ 1 เส้น 13 วา จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันออก ประมาณ 4 เส้น 15 วา จดทางสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตกประมาณ 4 เส้น 15 วา จดทางสาธารณประโยชน์ อาคารเสนาสนะของวัด ประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ สร้างเมือ่ พ.ศ.2510 กุฏสิ งฆ์ 3 หลัง และศาลาบ�ำเพ็ญ กุศล 1 หลัง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
การบริหารและการปกครองของวัด เจริญสุข มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ 1 พระเจริญ ปภสฺสโร รูปที่ 2 พระสม โชติปญฺโญ รูปที่ 3 พระเลื่อน สิริจนฺโท รูปที่ 4 พระอุดม อริยวํโส รูปที่ 5 พระวิเชียร อนุตตฺโร รูปที่ 6 พระใหม่ กุสโล รูปที่ 7 พระอธิการสมศรี ฐิตญาโณ ตั้งแต่ พ.ศ.2521 เป็นต้นมา
ด้านการศึกษา
วัดเจริญสุข มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อปี พ.ศ.2508
พระอธิการสมศรี ฐิตญาโณ เจ้าอาวาส
SAKONNAKHON 147
เส้นทางพบเทศบาลตำ�บล
ค�ำขวัญประจ�ำต�ำบล
ประเพณีบุญเดือนสาม ล�ำน�้ำยามชุ่มชีวี มากมีไข่มดแดง แหล่งเห็ดธรรมชาติ สวยสะอาดฝายน�ำ้ ล้น ผู้คนรวยน�ำ้ ใจ ถิ่นมั่นในวัฒนธรรม
ประวัติความเป็นมา
นายพิทูรย์ อนุศาสน์ นายกเทศมนตรีตำ� บลหนองสนม
เทศบาลต�ำบลหนองสนม “พัฒนาหนองสนมถิ่นน่าอยู่ ควบคู่คุณธรรม ก้าวน�ำรองรับ AEC มั่งมีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง” คื อ วิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นา ของเทศบาลต�ำบลหนองสนม ซึง่ มีสำ� นักงานตัง้ อยูเ่ ลขที่ 122 หมู่ 17 ต�ำบลหนองสนม อ�ำเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก เฉี ย งใต้ ห ่ า งจากอ� ำ เภอ วานรนิวาส 12 กิโลเมตร และ ห่างจากจังหวัดสกลนคร 58 กิโลเมตร
นางสาวพยอม ชิณวงษ์ ปลัดเทศบาลต�ำบลหนองสนม
148 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
ต�ำบลหนองสนม แยกออกจากต�ำบลขัวก่าย อ�ำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เมือ่ ปี พ.ศ.2511 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง แต่งตัง้ และเปลีย่ นแปลงเขตต�ำบลในท้องทีอ่ ำ� เภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 85 ตอนที่ 10 หน้า 458 ประกาศ ณ วันที่ 10 มกราคม 2511 สภาต�ำบลหนองสนม ได้รบั การจัดตัง้ เป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสนม อ�ำเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ตามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 113 ตอนที่ 9 หน้าที่ 169 ประกาศ ณ วันที่ 19 มกราคม 2539 ต่อมาองค์ก ารบริหารส่วนต�ำบลหนองสนม ได้ รั บการ ยกฐานะขึน้ เป็นเทศบาลต�ำบลหนองสนม ตามประกาศกระทรวง มหาดไทย เรือ่ ง จัดตัง้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองสนม อ�ำเภอ วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เป็นเทศบาลต�ำบลหนองสนม เมือ่ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ.2555
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลหนองสนม มีพนื้ ทีท่ งั้ หมด 106 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 66,250 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศ ต�ำบลหนองสนมมีลักษณะเป็นที่สูง ทางทิศใต้ และลาดต�ำ่ ลงทางทิศเหนือของต�ำบล ท�ำให้พนื้ ทีท่ าง ทิศตะวันออกเป็นที่ลุ่มสลับดอน เป็นลักษณะลูกคลื่นลอนลึก ทางด้านทิศตะวันตกส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่ม มีลูกคลื่นลอนตื้นสลับ บางส่วน มีแหล่งน�้ำธรรมชาติที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จำ� นวน 3 สาย คือ ล�ำน�ำ้ ยาม ห้วยเชียงลม และห้วยทิง แหล่งน�ำ้ ขนาดเล็ก 4 แห่ง คือ หนองกัด หนองไชยสิทธิ์ หนองอีจอ่ ย และหนองอีเลิง การปกครอง/ประชากร เทศบาลต�ำบลหนองสนมมีทงั้ หมด 21 หมู่บ้าน จ�ำนวนประชากรทั้งหมด 13,567 คน (ตามข้อมูล ทะเบียนราษฎร์) แยกเป็นเพศชาย จ�ำนวน 6,815 คน เพศหญิง
จ�ำนวน 6,752 คน สภาพเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 90 ประกอบอาชีพท�ำนา ส่วนที่เหลือเป็นอาชีพค้าขาย รับจ้าง เลีย้ งสัตว์ ท�ำสวน (เช่น ข้าวโพด แตง มันส�ำปะหลัง) รับราชการ และอีกบางส่วนจะอพยพไปใช้แรงงานในเมืองใหญ่ พืชเศรษฐกิจ ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจของต�ำบลแห่งนี้ โดย พันธุข์ า้ วทีน่ ยิ มปลูกกันมากทีส่ ดุ ในช่วงการท�ำนาปี คือ ข้าวพันธุ์ เหนียว เช่น กข6 กข12 เนื่องจากเป็นข้าวที่รับประทานกันใน ท้องถิน่ รองลงมาได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ส่วนพันธุข์ า้ วอืน่ ๆ มีการ ปลูกเหมือนกันแต่ไม่มาก สภาพสังคม ต�ำบลหนองสนมโดยทัว่ ไปจะเป็นสังคมเกษตร มีวถิ ชี วี ติ แบบชาวบ้าน คือมีความเรียบง่ายใช้ชวี ติ อย่างพอเพียง ท�ำให้ชาวบ้านต�ำบลหนองสนมแห่งนี้มีการพึ่งพาอาศัยกันอยู่ ตลอดเวลา
พันธกิจการพัฒนา
1. จัดให้มแี ละบ�ำรุงโครงสร้างพืน้ ฐานทางบก ทางน�ำ้ และไฟฟ้า 2. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาการศึกษาของ ประชาชน 3. ส่งเสริมและสร้างการจัดระเบียบชุมชนสังคมและความสงบ เรียบร้อย 4. ส่งเสริมและเสริมสร้างการค้า การลงทุน พาณิชยกรรม เกษตรกรรม รองรับ AEC 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเทีย่ ว ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. ส่งเสริมและเสริมสร้างการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ช่องทางการติดต่อ
ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลหนองสนม โทร. 0-4298-1817 หรือเว็บไซต์ : www.nongsanom.org SAKONNAKHON 149
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดท่าเดื่อ
วัดท่าเดือ่ ตัง้ อยูบ่ า้ นท่าเดือ่ หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลเดื่อศรีคันไชย อ�ำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี พระครูอทุ มุ พรพิลาส เป็นเจ้าอาวาส รู ป ปั จ จุ บั น และเป็ น เจ้ า คณะต� ำ บล เดื่อศรีคันไชย
ประวัติวัดท่าเดื่อ
วัดท่าเดื่อ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2351 มูลเหตุที่ได้ชื่อว่า “วัดท่าเดื่อ” เพราะว่า สมัยก่อตัง้ หมูบ่ า้ นและวัดนัน้ มีตน้ มะเดือ่ ใหญ่ต้นหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกด้าน หน้าวัด ริมทางลงไปท่าน�ำ้ ล�ำห้วยปลาหาง จึงเอานามต้นเดื่อและท่าห้วยปลาหาง รวมกันตัง้ ชือ่ วัดว่า “วัดท่าเดือ่ ” (ต้นเดือ่ นี้ ตายเมื่อประมาณปี พ.ศ.2468)
เสนาสนะและปูชนียวัตถุ ส�ำคัญ
ปั จ จุ บั น วั ด ท่ า เดื่ อ มี อ ายุ ม ากกว่ า 200 ปี เสนาสนะและถาวรวัตถุทพี่ อจะได้ 150 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
พบเห็นในยุคหลังๆ เช่น อุโบสถหลังเก่า ซึง่ ไม่ทราบว่าสร้างมาตัง้ แต่ปี พ.ศ.เท่าไหร่ ส�ำหรับศาลาการเปรียญหลังใหญ่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ.2468 นอกจากนัน้ ยังมีพระองค์ตอื้ สร้างด้วยอิฐถือปูนและได้พพุ งั ลงในสมัย พระอธิการฝ้าย (ปัจจุบนั ได้สร้างพระประธาน ใหญ่แทนไว้ที่เดิมแล้ว) สมัยพระครูนรสีหศ์ าสน์ธำ� รงค์ (สิงห์ จิตตฺ สาโท) เป็นเจ้าอาวาส ซึง่ ท่านเริม่ มา อยูท่ วี่ ดั ท่าเดือ่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2489 เป็นต้นมา ท่านได้เป็นประธานน�ำทายกทายิกาชาว ต�ำบลเดื่อศรีคันไชยร่วมกันท�ำการบูรณ ปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะ และถาวรวัตถุภายใน
วัดท่าเดื่อให้เจริญก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ ดังนี้ ปี พ.ศ.2495 ได้รอื้ อุโบสถหลังเก่า แล้ว สร้างอุโบสถหลังใหม่ โดยสร้างเป็นลักษณะ ทรงไทย หลังคา 2 ชัน้ มุงกระเบือ้ งดินเผา มีช่อฟ้า ใบระกา ขนาดกว้าง 6.10 เมตร ยาว 12.30 เมตร พร้อมทัง้ สร้างพระประธาน ด้วยอิฐถือปูน
ค�ำขวัญประจ�ำหมู่บ้านท่าเดื่อ พระธาตุเจดีย์ศรีคันไชยคู่บ้าน.. นมัสการหลวงพ่อใหญ่องค์ตื้อ.. เลื่องลือศาลปู่ตาศักสิทธิ์.. เชื่อมมิตรสัมพันธ์บุญผะเหวด ห้าเขตหมู่บ้านสามัคคี...
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูอุทุมพรพิลาส เกิดเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2516 อุปสมบท เมือ่ วันที่ 17 เมษายน พ.ศ.2544
หลวงพ่อทันใจ
พระธาตุเจดีย์ศรีคันไชย
ศาลปู่ตา
หลวงพ่อองค์ตื้อ
วิหารคต รอบพระธาตุเจดีย์
พระครูอุทุมพรพิลาส เจ้าอาวาส
การพัฒนาวัด พ.ศ.2548 สร้างอุโบสถหลังใหม่ แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.2551 พ.ศ.2555 สร้างพระธาตุเจดียศ ์ รีคนั ไชย แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 เริ่มสร้างวิหารคต ปัจจุบัน เสร็จแล้วบางส่วน และก�ำลังก่อสร้างให้ แล้วเสร็จสมบูรณ์ พ.ศ.2555 สร้างพระธาตุเจดียศ ์ รีคนั ไชย ขนาดกว้าง 9 เมตร สูง 39 เมตร เพือ่ บรรจุ พระบรมสารีกธาตุ ให้เป็นทีส่ กั การะบูชา
สืบต่อไป เเล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.2558
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดท่าเดื่อ ขอเชิญชวนสาธุชนร่วม สมทบทุนสร้างวิหารคตให้แล้วเสร็จ โดย บริจาคทรัพย์ตามแต่จติ ศรัทธาได้ที่ บัญชี วัดท่าเดือ่ ธนาคารกรุงไทย สาขาพังโคน เลขทีบ่ ญ ั ชี 419-086-933-3 หรือติดต่อ สอบถามได้ที่ พระครูอุทุมพรพิลาส เจ้าอาวาสและเจ้าคณะต�ำบลเดือ่ ศรีคนั ไชย วัดท่าเดื่อ โทร. 08-6233-3825 SAKONNAKHON 151
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
152 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
วัดป่าคูณค�ำวิปัสสนา ตั้งอยู่ที่บ้านกลาง หมู่ที่ 10 ต�ำบลกุดไท อ�ำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร เป็นวัดที่มี ปูชนียวัตถุส�ำคัญคือ พระบรมสารีริกธาตุ (พระอุรังคธาตุเบื้องซ้าย) ประดิษฐานในพระธาตุคูณค�ำธรรมเจดีย์
ประวัติความเป็นมา
วัดป่าคูณค�ำวิปสั สนา เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์ โดยมีหลวงพ่อเบีย้ ว ฐานวโร เป็นผู้ก่อตั้งเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2528 แต่ท่าน มรณภาพไปก่อน ครัน้ พ.ศ.2533 พระอธิการสุพตั ร พุทธรักขิโต ได้เดินทางกลับมายังบ้านเกิดของท่านหลังจากธุดงค์และได้มา พักทีส่ ำ� นักสงฆ์แห่งนี้ ซึง่ ขณะนัน้ เป็นทีร่ กร้าง พระอธิการสุพตั ร พุทธรักขิโต ได้พิจารณาร่วมกับชาวบ้านบ้านกลาง เห็นสมควร ทีจ่ ะพัฒนาส�ำนักสงฆ์แห่งนีเ้ พือ่ เป็นวัดสืบต่อไป จึงได้รว่ มแรงใจ ร่วมกันพัฒนา จนต่อมาได้มมี ติความเห็นชอบของคณะกรรมการ มหาเถรสมาคมและกรมการศาสนาในสมัยนัน้ (ปัจจุบนั คือส�ำนัก พุทธศาสนาแห่งชาติ) ได้อนุญาตให้สำ� นักสงฆ์ปา่ คูณค�ำวิปสั สนา ยกล�ำดับฐานะขึ้นเป็นวัด ในวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2548
ประวัติพระอุรังคธาตุเบื้องซ้าย
พระบรมสารีรกิ ธาตุ (พระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้าย) ประดิษฐาน ในพระธาตุ-คูณค�ำธรรมเจดีย์ โดยมีประวัตเิ กีย่ วกับพระบรมสารีรกิ ธาตุ (พระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้าย) และการอัญเชิญมาประดิษฐาน ไว้ที่พระธาตุฯ ดังนี้ ภายหลังที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสะปะเถระเจ้า ได้เป็นผูเ้ ก็บรักษาพระบรมสารีรกิ ธาตุ ของพระพุทธเจ้าในส่วนต่างๆ ไว้ เพื่อมอบให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งมีพระนามว่า “พระเจ้าอโศกมหาราช” ในอนาคตกาล
ครัน้ มาถึงปี พ.ศ.218 ได้มพี ระมหากษัตริยป์ กครองประเทศ อินเดีย พระนามว่า “พระเจ้าอโศกมหาราช” ซึ่งพระองค์ทรงมี ความเลือ่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา อันเนือ่ งมาจากทรงได้ ฟังธรรมเทศนาจากสามเณร “นิคโรธ” ซึง่ ได้สำ� เร็จเป็นสามเณร อรหันต์ โดยสามเณรนิคโรธเป็นศิษย์ของพระอรหันต์ชื่อว่า “พระโมทะคลิตสิ สะเถระเจ้า” ในขณะเดียวกันท่านก็เป็นผูเ้ ก็บรักษา พระอุรังคธาตุเบื้องซ้ายสืบต่อมาจากพระมหากัสสปะเถระเจ้า ไว้ดว้ ยในกาลนัน้ พระโมทะคลิตสิ สะเถระเจ้า ได้มอบพระอุรงั คธาตุ เบือ้ งซ้ายให้แก่ “พระมหินทรา” ซึง่ เป็นพระราชโอรสของพระเจ้า อโศกมหาราช เพือ่ อัญเชิญพระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้าย พร้อมด้วย ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ไปประดิษฐาน ณ เมือง “อนุราธปุระ” (อดีต เมืองหลวงของประเทศศรีลังกา)
SAKONNAKHON 153
พระครูภาวนาสกลธรรม (สุพัตร ไพค�ำนาม) เจ้าอาวาส หลังจากทีพ่ ระครูภาวนาสกลธรรม (พระอธิการสุพตั ร พุทธฺ รกฺโต) หลวงปู่ขาว ได้รับมอบพระอุรังคธาตุเบื้องซ้าย และเดินทาง กลับมาถึงประเทศไทยแล้ว ได้มพี ธิ เี ฉลิมฉลองสมโภช พระบรมสารีริกธาตุ พระอุรังคธาตุ เบื้องซ้าย ณ วัดป่าคูณค�ำวิปัสสนา ตัง้ แต่วนั ที่ 9-18 พฤษภาคม พ.ศ.2554 และปี พ.ศ.2557 ปัจจุบนั พระครู ภ าวนาสกลธรรม (พระอธิ ก ารสุ พั ต ร พุ ทฺ ธ รกฺ ขิ โ ต) (หลวงปู่ขาว) ได้จัดพิธีเฉลิมฉลองสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ พระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้าย ในระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน ประกอบ กับการก่อสร้างพระธาตุคณ ู ค�ำธรรมเจดีย์ (องค์บรู ณะ) แล้วเสร็จ กาลล่วงมาถึง ปี พ.ศ.2447 พระอรหันต์ชื่อ “พระญานิสรมหาเถระ” ซึง่ จ�ำพรรษาอยูแ่ ต่ในถ�ำ้ และไม่รบั ต�ำแหน่งใดๆ ทาง สงฆ์ ท่านเป็นพระอุปชั ฌาย์ของสมเด็จพระสังฆราช ดร.ธรรมเสน มหาเถโร ครัง้ นัน้ พระญานิสรมหาเถระ ได้เดินทางไปยังประเทศ ศรีลงั กา เพือ่ รับมอบพระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้ายจากสมเด็จพระสังฆราชอุปมหาเสนมหาเถระเจ้า และรัฐบาลประเทศศรีลงั กา ในปี พ.ศ. 2493 พระญานิสรมหาเถระเจ้า ได้มอบพระอุรงั คธาตุเบือ้ งซ้าย ให้แก่ลูกศิษย์ของท่าน คือสมเด็จพระสังฆราช ดร.ธรรมเสน มหาเถโร เพื่อเก็บรักษาสืบไป จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ.2554 ใน ระหว่างวันที่ 4-8 พฤษภาคม พระครูภาวนาสกลธรรม (พระอธิการ สุพตั ร พุทธฺ รกฺขโิ ต) หลวงปูข่ าว เจ้าอาวาสวัดป่าคูณค�ำวิปสั สนา ได้เดินทางไปยังประเทศบังคลาเทศ เพือ่ รับมอบพระอุรงั คธาตุ เบื้องซ้าย ในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2554 จาก ดร.ธรรมเสน มหาเถโร สมเด็จพระสังฆราชประเทศบังคลาเทศ 154 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
หอบรรพบุรุษผู้ก่อตั้งบ้านเมือง
มณฑปประดิษฐานรอยพระพุทธบาท และน้อมถวายแด่เจ้าคณะใหญ่หวั หน้าภาคตะวันออก พระเดช พระคุณพระพรหมเวที เจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยาราม ในการนี้ พระครู ภ าวนาสกลธรรม (พระอธิ ก ารสุ พั ต ร พุ ทฺ ธ รกฺ ขิ โ ต) (หลวงปูข่ าว) ได้รบั ความเมตตาจากสมเด็จพระสังฆราช ดร.ธรรมเสน มหาเถโร สมเด็จพระสังฆราชประเทศบังคลาเทศ เสด็จมาเป็น เกียรติร่วมงานฉลองสมโภชในครั้งนี้ด้วย ซึ่งถือเป็นเกียรติอัน สูงสุดและเป็นประวัติศาสตร์ของทั้งสองประเทศระหว่างไทย กับบังคลาเทศ ในการสร้างความสัมพันธ์อันดีต่อกันในด้าน พระพุทธศาสนา เพือ่ การสืบสานประเพณีอนั ดีงาม และสืบทอด พระพุทธศาสนาให้ธ�ำรงอยู่คู่อนุชนสืบไปตลอดกาลนาน
ล�ำดับการเก็บรักษาพระอุรังคธาตุเบื้องซ้าย
การเก็บรักษาพระบรมสารีริกธาตุ พระอุรังคธาตุเบื้องซ้าย จากผูเ้ ก็บรักษาคนแรกจนมาประดิษฐาน ณ วัดป่าคูณค�ำวิปสั สนา มีระยะเวลาการเก็บรักษาตามล�ำดับ ดังนี้ 1. จากพระมหากัสสะปะเถระเจ้า - พระโมทะคลิติสสะ พระมหินทรา (พระราชโอรส พระเจ้าอโศกมหาราช ระยะเวลา เก็บรักษา 218 ปี 2. จากพระมหินทรา (พ.ศ.218) - พระญานิสรมหาเถระ (พ.ศ. 2447) ระยะเวลาเก็บรักษา 2229 ปี 3. จากพระญานิสรมหาเถระ (พ.ศ.2447) - ดร.ธรรมเสน มหาเถโร (พ.ศ.2493) ระยะเวลาเก็บรักษา 46 ปี 4. จาก ดร.ธรรมเสน มหาเถโร (พ.ศ.2493) - พระครูภาวนาสกลธรรม (พระอธิการสุพตั ร พุทธฺ รกฺขโิ ต) หลวงปูข่ าว (พ.ศ.2554) ระยะเวลาเก็บรักษา 61 ปี รวมระยะเวลาจากพระมหากัสสปะเถระเจ้า - พระอธิการสุพตั ร พุทฺธรกฺขิโต (หลวงปู่ขาว) ระยะเวลาเก็บรักษา 2339 ปี
จากปี พ.ศ.8 ทีม่ กี ารแบ่งพระบรมสารีรกิ ธาตุ เพือ่ เก็บรักษา ในทีต่ า่ งๆ มาถึงปี พ.ศ.2557 รวมระยะเวลาเก็บรักษา 2549 ปี
ที่มาและพุทธลักษณะ
รอยพระพุทธบาทนี้ ได้มาเมื่อครั้งที่พระเดชพระคุณพร ครูภาวนาสกลธรรม (พระอธิการ สุพตั ร พุทธฺ รักขิโต (หลวงปูข่ าว) ท่านได้เดินธุดงค์ขนึ้ ไปบนภูพาน ท่านปรากฎเห็นก้อนหินขนาด ใหญ่กอ้ นหนึง่ บนก้อนหินนัน้ มีรอยเท้าวางกดเป็นรอยธรรมชาติ ซึง่ เป็นรอยพระพุทธบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทับ รอยไว้ เมื่อครั้งทรงเสด็จผ่านมาโปรดเวไนย์สัตว์บนเทือกเขา ภูพาน เพือ่ เป็นการบูชาคุณของพระพุทธองค์ และเพือ่ ความจรรโลง พระพุทธศาสนารวมทั้งเป็นศิริมงคล แก่ชาวพุทธที่ได้กราบไว้ พระเดชพระคุณหลวงปู่จึงได้อัญเชิญรอยพระพุทธบาทลงมา ประดิษฐานไว้ ที่วัดป่าคูณค�ำวิปัสสนา จนถึงปัจจุบัน
SAKONNAKHON 155
เส้นทางธรรมหนุนนำ�ชีวิต
วัดพระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ วัดพระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ น อุดมทรัพย์ ต�ำบลสร้างค้อ อ�ำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั มี พระอาจารย์ บุญมี เขมธัมโม เป็นเจ้าอาวาส
รอยพระพุทธบาทหนึ่งเดียว ในโลก
บริเวณป่าบนเทือกเขาภูพานใกล้กับ วัดพระพุทธบาทน�้ำทิพย์ มีพุทธสถาน ศักดิส์ ทิ ธิค์ อื พระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ ลักษณะ เป็นรอยพระบาทธรรมชาติปรากฏบน หินทรายเขียว เป็นรอยทีม่ คี วามสมบูรณ์ แบบมาก สามารถมองเห็นวงพระธรรมจักร และรอยนิ้วครบชัดเจน และยังคงความ เป็นรอยเดิมเอาไว้ไม่มกี ารตกแต่ง ขนาด รอยพระบาทมีตั้งแต่ขนาดเล็กประมาณ 156 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
1 ฟุต ไปจนถึงขนาดใหญ่ 7-8 ฟุต มีจำ� นวน 7 รอย ซ้อนทับกัน รอยพระบาทมีทศิ ทาง มุ่งไปยังทิศตะวันออก และมีธารน�้ำไหล รินผ่านอยูต่ ลอดเวลาไม่ขาดสาย จึงเรียก ว่า “พระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์” นับเป็นรอย พระพุทธบาทแห่งเดียวในโลกก็ว่าได้ ซึ่ ง บริ เวณที่ พ บเป็ น ลานหิ น แคบๆ จุคนได้ไม่มากนัก มีศาลเพียงตาสร้างไว้ กลมกลืนกับธรรมชาติ และหากมองไปตาม ทางน�ำ้ ไหลลงมาประมาณ 3 เมตร จะเห็น รอยพระบาทเกือกแก้ว 2 รอย และรอย พระแท่น 2 ที่ ซึง่ มีความเชือ่ ว่าพระพุทธเจ้า เคยเสด็จมาประทับนั่ง พระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ อยูฝ่ ง่ั ตรงข้าม กับวัดพระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ บนถนนสาย สกลนคร-กาฬสินธุ์ เขตอ�ำเภอภูพาน อยู่
ไม่ไกลจากถนนหลัก มีรถโดยสารวิง่ ผ่าน เป็นระยะ หรือหากมีรถมาเองก็สามารถ จอดรถได้ทวี่ ดั พระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ แล้ว เดินเข้าไปตามทางเดินเท้าเล็กๆ ผ่านเข้า ไปตามแนวป่าไม้ประมาณ 100 เมตร ก็จะ พบรอยพระพุทธบาทท่ามกลางธรรมชาติ ของป่าเขาทีบ่ ริสทุ ธิ์ เพราะเป็นพืน้ ทีข่ อง กรมป่าไม้
พระอาจารย์บุญมี เขมธัมโม เจ้าอาวาส
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดพระพุทธบาทน�ำ้ ทิพย์ มี พระอาจารย์ บุญมี เขมธัมโม ศิษย์ของหลวงพ่อฤาษี ลิงด�ำ เป็นเจ้าอาวาส ซึ่งท่านได้สะสม พระสารีธาตุของพระอรหันต์ พระธาตุ พระสิวลีจากแหล่งต่างๆ โดยเฉพาะจาก ประเทศลาวเป็นจ�ำนวนมาก และขณะนี้ ทางวัดจะจัดให้มีพิธีหล่อพระพุทธรูป 5 องค์ ซึง่ จะเริม่ ท�ำพิธใี นเวลา 9.00 น. วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2560 ณ วัดพระพุทธบาท น�้ำทิพย์ อ�ำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร จึ ง ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนมาร่ ว มงาน บุญหล่อองค์พระในวันและเวลาดังกล่าว หรือหากท่านใดไม่สะดวกในการเดินทาง มาร่วมงาน สามารถร่วมสร้างเส้นทางบุญ ได้ โดยการโอนปัจจัยตามก�ำลังศรัทธาผ่าน บัญชีธนาคารกรุงไทย เลขที่ 412-010-992-5 ชื่อบัญชี พระบุญมี เขมธัมโม โทรศัพท์ 08-6636-2059 SAKONNAKHON 157
เส้นทางพบองค์การบริหารส่วนตำ�บล
บ้านโพนบก หมูท่ ี่ 7 บ้านจอมแจ้ง หมูท่ ี่ 8 บ้านบึงประชาราษฎร์ หมู่ที่ 9 บ้านโพนงามโคกใหม่ และหมู่ที่ 10 บ้านแป้นใหม่ มี ครัวเรือนจ�ำนวน 2,338 หลังคา มีประชากรรวม 7,037 คน (ข้อมูล ณ เดือนกันยายน 2559) อาชีพของราษฎรส่วนใหญ่คอื เกษตรกรรม เช่น ปลูกข้าว และ ปลูกมะเขือเทศและพืชผักอืน่ ๆ หลังฤดูกาลเก็บเกีย่ ว ท�ำประมง ขนาดเล็กจากหนองหาร และมีการเลีย้ งปลาในบ่อและเลีย้ งสัตว์ เป็นอาชีพเสริม
พันธกิจ
นายตรีทศ เพ็งสว่าง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านแป้น
องค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านแป้น “ชุมชนน่าอยู่ ผู้คนมีความรู้ คู่คุณธรรม น้อมน�ำหลักเศรษฐกิจพอเพียง”
คือวิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านแป้น
ข้อมูลทั่วไป
อบต.บ้านแป้น ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นโพนบก หมูท่ ี่ 6 อ�ำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอโพนนาแก้วประมาณ 12 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสกลนคร ประมาณ 45 กิโลเมตร และได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ.2539 มีเนื้อที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร หรือ 28,125 ไร่ แบ่งเขตการปกครองเป็น 10 หมูบ่ า้ น ดังต่อไปนี้ หมู่ที่ 1 บ้านท่าศาลา หมู่ที่ 2 บ้านโพนงามโคก หมู่ที่ 3 บ้านโพนงามท่า หมู่ที่ 4 บ้านน�้ำพุ หมู่ที่ 5 บ้านแป้น หมู่ที่ 6 158 SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย
1. พัฒนาคนในเขตอบต.บ้านแป้นให้มีคุณภาพ คุณธรรม มี การศึกษา มีความรู้เท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี พึ่งพาตนเองได้ เป็น ชุมชนเข้มแข็ง มีความมั่นคงในการด�ำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี 2. ปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานให้มคี วามเจริญก้าวทัน และ ได้มาตรฐานสามารถใช้งานได้ดีอยู่เสมอ 3. ส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร ในเขตอบต.ให้มคี วาม เป็นอยู่ที่ดี พึ่งพาตนเองได้ 4. ใช้หลัก เกณฑ์ก ารบริหารกิจการบ้า นเมืองที่ดี ตามหลั ก ธรรมาภิบาลในการบริหารงานภายในองค์กรให้เป็นเอกภาพ และ บริการให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประชาชนมีความพึงพอใจ
นายกฯ ชวนเที่ยว
1. สวนสาธารณะบ้านแป้น และแปลงปลูกผักลอยน�ำ้ เชิงท่องเทีย่ ว บ้านแป้น หมู่ที่ 5 2. แปลงปลูกผักลอยน�้ำเชิงท่องเที่ยว บ้านน�้ำพุ หมู่ที่ 4 3. โบสถ์คริสต์ บ้านจอมแจ้ง หมู่ที่ 7
สวนโมกรีสอร์ท
ห้องพักสะอาด บรรยากาศร่มรื่น สัมผัสอากาศที่บริสุทธิ์ ท่ามกลางแมกไม้ พันธุ์กล้วยไม้นานาชนิด
สวนโมกรีสอร์ท 69 หมู่ 13 ต�ำบลแร่ อ�ำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร โทร. 087-235-1155 สวนโมกรีสอร์ท Vimol44
SAKONNAKHON 1
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุ งเทพฯ 10220 0-2522-7171 0-2971-7747 088-5790364 (คุณแอน)