77 บุรีรัมย์

Page 1

ฉบับที่ 77 จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ.2561

จังวา เซราะกราว ดูก่อน บุรีรัมย์

EXCLUSIVE

าร ัด สม 2 ว ไทย กิเล ,60 ทั่ว ยบ น 1 วัดจสงบสรรมฐา ิตใ ก มจ ระ น้อ งถิ่นพ ท่อ

Magazine

Buriram แวะพัก เดินเที่ยวปราสาท กราบพระสุปฏิปันโน ในดินแดนแห่งความรื่นรมย์

ยุทธศาสตร์ธรรมน�ำสังคม เศรษฐกิจ

นางสายภิญย์ สิชฌนุกฤษฏ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์

Vol.9 Issue 77/2018

www.sbl.co.th

.indd 5

ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว กับใบเสมาหินโบราณ สมัยทวารวดี

วัดเขาพระอังคาร อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

28/8/2561 8:40:42


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระธาตุศรีมงคลชัย วัดตลาดชัย อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์

2

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 2

22/08/61 08:59:26


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

หลวงพ่อใหญ่

วัดโพธิ์ย ่อ ย บ้านยาง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

3.indd 3

3

22/08/61 09:05:25


สะอาด ทันสมัย และยอดเยี่ยม พักผ่อนเย็นใจ ส�ำหรับทุกการเดินทาง

SOCOOL GRAND HOTEL โซคูล แกรนด์ โฮเทล

ที่พักสุดคูล! พร้อมต้อนรับทุกการเดินทาง ครบครันด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกทั้งฟิตเนสมาตรฐาน สระว่ายน�้ำ สากลในร่ม ร้านอาหาร พร้อมตกแต่งสไตล์โมเดิร์นเพนท์ติ้ง มีมุมถ่ายรูป และ มุมพักผ่อนสบายๆ ที่พักท�ำเลดี ตั้งอยู่ ในอ�ำเภอนางรอง บุรรี มั ย์ เป็นทีพ ่ กั เปิดใหม่ทมี่ คี วามทันสมัยอีกแห่งหนึง่ ด้วยท�ำเลทีด่ ที ำ� ให้สามารถเดินทางไปท่องเทีย่ ว ในสถานที่ต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย

4

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

SOCOOL GRAND HOTEL.indd 4

22/8/2561 14:33:57


ความทันสมัยอีก แห่งหนึ่ง ด้วยท�ำเลที่ดี สามารถเดิน ทางไปท่องเที่ยวในสถานที่ ต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งง่ า ยดาย แวะพัก SOCOOL GRAND HOTEL หายเหนื่อยทุกการ เดินทาง

กั บ ทุ ก การบริ ก าร แสนประทับใจจาก SOCOOL GRAND HOTEL

SOCOOL GRAND HOTEL ตั้ ง อยู ่ ใ นนางรอง ห่างจากวัดกลางนางรอง 3.4 กม. และสวนสุขภาพเทศบาล นางรอง 3.8 กม. ส่วนวัด หนองโบสถ์ อยู ่ ห ่ า งจาก โรงแรมไป 11.7 กม.

ห้องพักสุดสวย 44 ห้อง 4 แบบหลากสไตล์ พร้อม ทุกการพักผ่อน ส�ำหรับ Superior Room, Standard Room, Deluxe Room และ Family Room ได้รับการตกแต่ง หรูหรา มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครันในห้องพัก เช่น ทีวีจอแบนพร้อมช่องเคเบิล เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่ อ งชงกาแฟ นอกจากนี้ ยั ง มี มิ นิ บ าร์ , น�้ ำ ดื่ ม บรรจุ ขวดฟรี และไดร์เป่าผม

ห้องอาหารสะอาด อิ่มอร่อยกับอาหารเช้าและอาหารทุกมื้อในเวลา พักผ่อน เพลิดเพลินกับสระว่ายน�้ำในร่ม และสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง มีบริการ WiFi ฟรีในพื้นที่สาธารณะ และที่จอดรถฟรี นอกจากนี้ ภายในบริเวณ โรงแรมยังมีฟิตเนส, บริการซักแห้ง และฝ่ายต้อนรับ 24 ชั่วโมง

โซคูล แกรนด์ โฮเทล SOCOOL GRAND HOTEL ตั้งอยู่เลขที่ 204 ถ.สรรพกิจโกศล ต.นางรอง อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ 31110 ส�ำรองที่พักได้ที่โทรศัพท์ 044-632-333, 080-488-1888

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

SOCOOL GRAND HOTEL.indd 5

5

22/8/2561 14:34:02


6

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 6

22/08/61 09:38:21


BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 7

7

22/08/61 09:38:26


รรมชุ ม ชนชาวประมงคลองวาฬ

อะไนซ์ รีสอร์ท บุรีรัมย์ ANICE RESORT BURIRAM

เติมความสุขในค�่ำคืนแห่งการพักผ่อน

บุ รี รั ม ย์ เ มื อ งแห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ อารยธรรมโบราณ และในปั จ จุ บั น ถื อ เป็ น เมื อ งส� ำ คั ญ โดดเด่ น ด้ า นกี ฬ าระดั บ ต้ น ๆ ในเอเชี ย อะไนซ์ รี ส อร์ ท ขอเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการรองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นั ก กี ฬ า และผู ้ ม าเยื อ นจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ในโอกาสนี้ ท าง อะไนซ์ รี ส อร์ ท ขอเชิ ญ ชวนทุ ก ท่ า น ท่ อ งเที่ ย วและกราบไหว้ สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ใ นจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ อะไนซ์ รี ส อร์ ท เราพร้ อ มต้ อ นรั บ ท่ า นอย่ า งประทั บ ใจ ด้ ว ยการเดิ น ทางที่ ส ะดวกสบาย ไปมาสถานที่ ส� ำ คั ญ ต่ า งๆ อย่ า งสะดวกสบาย อะไนซ์ รี ส อร์ ท บุ รี รั ม ย์ 91 หมู ่ 9 ต� ำ บลชุ ม เห็ ด อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ 31000 044611818

8

Anice buriram : อะไนซ์ บุ รี รั ม ย์

0-4461-1818

ANice Hostel

aniceresort@hotmail.com

www.aniceresort.com

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

ANICE RESORT & VILLA.indd 8

22/08/61 10:56:15


อะไนซ์ รีสอร์ทตั้งอยู่ บริเวณถนนเลี่ยงเมือง บุรีรัมย์-นางรอง หรือทางหลวงหมายเลข 288 ทางตะวันออกเฉียงเหนือของตัวเมือง ด้วยห้องพัก หลากสไตล์ พร้อมอาหารเช้าให้เลือกสรร ไม่ว่า จะเป็นห้องพักแบบวิลล่า ซึ่งเป็นโซนส่วนตัวและ ผ่อนคลาย ตกแต่งทันสมัยสไตล์ Loft ผสานกับ โมเดิร์น กับห้องที่มีพื้นที่กว้างขวาง พร้อมดื่มด�่ำ บรรยากาศยามค�่ำคืนกับดาดฟ้าส�ำหรับจัดปาร์ตี้ เล็กๆ ส่วนตัว หรื อ จะเลื อ กพั ก กั บ ห้ อ งแบบสแตนดาร์ ด ที่ เรียบง่าย แต่ให้ความสะดวกสบายในการพักผ่อน พร้ อ มสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ตลอดจนพื้ น ที่ ส�ำหรับกิจกรรมออกก�ำลังกายทั้ง ห้องฟิตเนส โต๊ ะ ปิ ง ปอง เป็ น ต้ น และยั ง ให้ บ ริ ก ารส� ำ หรั บ กรุ๊ปทัวร์ ตลอดจนรับการจัดประชุมสัมมนาที่มี ความจุตั้งแต่ 10 - 60 ท่าน รวมไปถึงการจัด มินิคอนเสิร์ตและงานอีเว้นท์ด้วย

ANICE HOSTEL

จ�ำนวน 2 ห้องพัก 24 เตียง (1 ห้องมี 12 เตียง ห้องน�้ำรวม) เหมาะส�ำหรับนักเดินทางแบบ backpack หรือมา เป็นกลุ่มใหญ่ก็จะได้พักแบบเป็นทีม

อะไนซ์ รีสอร์ท จึงเสมือนอีกปลายทางที่มาบรรจบ ของทุ ก สรรพสิ่ ง ที่ คุ ณ ก� ำ ลั ง มองหา แล้ ว คุ ณ จะค้ น พบกั บ ค� ำ ตอบว่ า การมาเยื อ นบุ รี รั ม ย์ ในวั น นี้ นั้ น ช่ า งเต็ ม ไปด้ ว ยความรื่ น รมย์ ในการใช้ ชี วิ ต เสี ย นี่ ก ระไร

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

ANICE RESORT & VILLA.indd 9

9

22/08/61 10:56:10


Editor’s Talk

ผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา

ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล

พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

ฝ่ายกฎหมาย

สมคิด หวังเชิดชูวงศ์, ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน

ฝ่ายศิลปกรรม

คณะทีมงาน กษิดิส ไทยธรรม ปุญพัฒน์ งามมาก ภูษิต วิทยา กฤษฎา เฟื่องฟู

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ จักรพันธ์ สิงห์ดี

ผู้จัดการ ณัฏฐพัฒน์ แจ่มจันทร์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการ นันท์ธนาดา พลพวก

ประสานงาน ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ฝ่ายการตลาด จันทิพย์ กันภัย

Editor's Talk

Outsource ณพัชรกั.indd ณฑ์ รั10ชต์เลิศโภคิน

ผู้จัดการ พัชรา ค�ำมี

ช่างภาพ ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

เปิดปูมเมืองเซราะกราว วัฒนธรรมหลากหลายเดินเที่ยว ปราสาท กราบพระสุปฏิปันโน ในดินแดนแห่งความรื่นรมย์ของ อีสานใต้ “บุรรี มั ย์” ชมความงดงาม ผ่ า น “บวรพระพุ ท ธศาสนา” บ้าน วัด โรงเรียน ชุมชนท้องถิน่ ทีย่ งั คงรักษาขนมธรรมเนียมประเพณี อันมีรากฐานแห่งพระธรรมไว้ได้อย่างเหนียวแน่นจนถึงการเจริญเติบโต ของจังหวัดทีป่ ระกอบไปด้วยความสามัคคี ท�ำให้เราได้รบั การต้อนรับ เป็นอย่างดีด้วยความอบอุ่นตลอดเส้นทางบันทึกในครั้งนี้ บุรีรัมย์ ดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ ปราสาทหินที่รุ่งเรืองมา ตั้งแต่ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ทวาราวดีจนถึงปัจจุบัน ยังคงมั่นคง มั่งคั่งทางวัฒนธรรม อันน�ำไปสู่ความร�่ำรวยที่ยั่งยืนในทางเศรษฐกิจ ไม่ขาดตอนตั้งแต่ยุคสมัยที่พุทธมหายานรุ่งเรืองในวัฒนธรรมขอม มาจนถึงการเปลีย่ นผ่านสูก่ ารนับถือพุทธเถรวาทในสมัยกรุงศรีอยุธยา มาจนถึงกรุงธนบุรี และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน อันเป็น รากฐานส�ำคัญให้เมืองบุรีรัมย์ยิ่งมีความรื่นรมย์ทางใจและมีความ เจริญรุง่ เรืองทางโลกผสานกันไปอย่างสมดุลจนก่อเกิดทีมฟุตบอลและ สนามแข่งระดับนานาชาติ ในนามของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณ “คุณสายภิญย์ สิชฌนุกฤษฏ์” ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ตลอดจนผู ้ บ ริ ห าร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริษัท ห้างร้าน ฯลฯ ทีส่ นับสนุนให้ทมี งานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดบุรีรัมย์ ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

(นายศุภกิจ ศิลปรังสรรค์) บรรณาธิการอ�ำนวยการ

ฝ่ายบัญชี/การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ การเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต ณภัทร ชื่นสกุล ชวัลชา นกขุนทอง

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Facebook : SBL บันทึกประเทศไทย E-mail : sbl2553@gmail.com www.sbl.co.th

28/08/61 10:49:50


.indd 11

25/8/2561 14:34:59


Contents BURIRAM ฉบั บ ที่ 77 จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ พ.ศ.2561

ใต้ ร ่ ม พระบารมี

16

18

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงาน พระพุทธศาสนา นางสายภิญย์ สิ ชฌนุ กฤษฏ์

24

บันทึกเส้นทาง พบท้องถิ่นจังหวัด นายธี ร ะชั ย แสนภูวา บันทึกเส้นทางความเป็ นมา 28 บันทึกเส้นทางท่อ งเที่ ยว 32 เนวิน ชิดชอบ “ชวนเที่ยวบุรีรัมย์” 45 วัดกลาง พระอารามหลวง 50 วัดทุ่งโพธิ์ 52 วัดท่าสว่าง 56 วัดโพธิ์ย่อย 60 อ�ำเภอเมือง 66 วัดตลาดชัย 67 วัดหนองไผ่น้อย 70 วัดหนองบัวทอง 72 วัดเทพนรสิงห์ 78 วัดพระพุทธบาทเขากระโดง 82 มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณ ราชวิทยาลัย 86 วัดหนองปรือ(วั ด ชุ มพรสั ย) 94 วัดป่ารุ่งอรุณ 96 วัดสะแกซ�ำ 98 ทต.อิสาณ 100

12

Content

วั ด พระพุ ท ธบาทเขากระโดง @เมื องบุ รีรั ม ย์

อ� ำ เภอนางรอง วั ด ขุ นก้ อ ง วั ด หนองไทร วั ด ป่ าเรไร วั ด หนองพลวง วั ด กลางนางรอง วั ด ศี ลโสภณธรรมาราม (วั ด สวายสอ) วั ด หนองเสม็ ด วั ด หนองกั นงา วั ด สุ ว รรณาราม วั ด บ้ านถนน วั ด ชุ มแสง วั ด ศรั ทธาประชาบู รณะ วั ด สามั คคี ร าษฎรบ�ำรุ ง อ� ำ เภอประโคนชั ย วั ด จ�ำ ปา วั ด บ้ านโคกกลาง วั ด แสลงโทน อบต.จรเข้ มาก อบต.ไพศาล อบต.หนองบอน อบต.บ้ านไทร วั ด หนองตะขบ

108

110 118 122 126 128 130 132 133 134 136 138 139 140

141

142 144 145 146 152 158 160 162

18

บันทึกเส้นทางพบ

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา นางสายภิญย์ สิชฌนุกฤษฏ์ หาดร� ำ นางรอง @อ� ำ เภอโนนดิ น แดง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 12

5/9/2561 13:43:39


BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 13

13

22/08/61 10:38:50


Contents BURIRAM

ฉบั บ ที่ 77 จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ พ.ศ.2561

อ�ำ เภอบ้านด่าน 163 วัดบ้านปราสาท 164 วัดโคกวัด 166 วัดบ้านตะโคง 168 วัดบ้านด่าน 170 วัดอริยวงศาราม 172 วัดบ้านดงกระทิง 174 ที่พักสงฆ์บ้านกะชายน้อย 176 อ�ำ เภอล�ำปลายมาศ วัดพัฒนาวนาราม วัดจตุราษฎร์บ�ำ รุ ง อบต.โคกกลาง วัดเทพนิมิตร

177

อ�ำ เภอห้วยราช วัดมะขาม วัดโคกเหล็ก วัดบ้านถนนกระสั ง วัดช่างหิน ทต.สามแวง

189

อ�ำ เภอละหานทราย วัดปานจัยนาราม วัดป่าละหานทราย วัดส�ำ โรง วัดหัวสะพาน วัดโคกตาพรม ทต.ละหานทราย

178 180 182 188

190 192 194 196 198

202

203 204 206 207 208 212

อ�ำ เภอเฉลิมพระเกี ยรติ 214 วัดสุขส�ำราญ 216 วัดเขาพระอังคาร 220 วัดเขารัตนธงชัย 224 14

Content

อ�ำ เภอหนองกี่ อ�ำ เภอคู เ มื อง วั ด หนองกี่ วั ด บ้ านโจด วั ด สุ พลศรั ทธาราม วั ด ธรรมประสิ ท ธิ์

226

อ�ำ เภอปะค�ำ อ�ำ เภอกระสั ง อ�ำ เภอโนนดิ น แดง วั ด โนนดิ น แดงใต้ วั ด โคกกลาง วั ด โพธิ์ ย้ อ ย วั ดชลประทานราชด�ำ ริ วั ด ใหม่ สายตะกู

235

อ�ำ เภอบ้ า นกรวด อ�ำ เภอหนองหงส์ วั ด เวฬุ ว นาราม วั ด สะเดา อ�ำ เภอพลั บ พลาชั ย อ�ำ เภอช�ำ นิ วั ด ปราสาทวนาราม อบต.สวายจี ก อบต.ทุ ่ ง วั ง

วั ด เขาพระอั งคาร @เฉลิ ม พระเกี ย รติ

227 228 230 232

236 242 244 246 248

249 250 252

253 254 258 264

อ�ำ เภอสตึ ก 268 อ�ำ เภอพุ ท ไธสง อ�ำ เภอโนนสุ ว รรณ 269 อ�ำ เภอแคนดง อ�ำ เภอบ้ า นใหม่ ไชยพจน์ อ�ำ เภอนาโพธิ์ วั ด กลั นทาราม 270

วั ด ป่ า ละหานทราย @ละหานทราย

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 14

27/8/2561 10:03:49


ธรรมะของพระพุ ทธองค์ เป็นธรรมะ ที่ทวนกระแสทางโลก เป็นธรรมะ ที่ขัดใจตัวเอง เป็นธรรมะ ที่เข้ามาแก้ ไขตัวเอง เป็นการมองเข้า มาหาตัวเอง เป็นปริญญาที่สูงสุด ทุกคนที่เกิดมาเป็นมนุษย์ค วรจะได้ รับ ปริญญาภายนอก เรีย นเท่ าไหร่ ๆ ก็ ไม่ จบ แต่ป ริญญาของพระพุทธเจ้ านั้ น เรี ยนจบ

“มันหมดความเวียนว่ายตายเกิด” ดร. พระมหาอนุ ช น สาสนกิ ตฺ ติ ป.ธ.๙ (นาคหลวง), Ph.D. Dr. Phramaha Anuchon Sasanakitti

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand

There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

AD_

.indd 15

24/8/2561 13:27:47


UN DER H IS G R A C IO U S NE S S บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

โครงการเขื่อนล�ำนางรอง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (จังหวัดบุรีรัมย์)

โครงการเขื่อนล�ำนางรองอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ ตั้งอยู่ที่บ้านโนนดินแดง ต�ำบล โนนดินแดง อ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ ความส�ำคัญของเขื่อนนี้ ไม่ ได้อยู่ที่การจัดสรร น�้ำให้เกษตรกรในพื้นที่ 68,410 ไร่เท่านั้น แต่ ยั ง แฝงความส� ำ คั ญ ทางยุ ท ธศาสตร์ ก าร ป้องกันประเทศอยู่ด้วย เนื่องจากในปี 2520 นั้ น พื้ น ที่ อ� ำ เ ภ อ โ น น ดิ น แ ด ง แ ล ะ อ� ำ เ ภ อ 16

ดื่ ม ด�่ ำ บรรยากาศ “ทะเลสาบแห่ ง อี ส านใต้ ” ณ อ่ า งเก็ บ น�้ ำ เหนื อ เขื่ อ นล� ำ นางรอง จาก พระราชด� ำ ริ ที่ ลุ ่ ม ลึ ก ไปด้ ว ยยุ ท ธศาสตร์ ด ้ า นความมั่ น คงภายนอกสู ่ ค วามมั่ น คงภายใน ของเกษตรกรและชาวบุ รี รั ม ย์

ละหานทราย กลุ่มผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ ได้แสดงอิทธิพลขัดวางการพัฒนาทุกรูปแบบ มีการขัดขวางการสร้างถนนเส้นทาง เชื่อม ระหว่างอ�ำเภอละหานทรายของจังหวัดบุรีรัมย์ กั บ อ� ำ เภอตาพระยาของจั ง หวั ด ปราจี น บุ รี (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดสระแก้ว) ที่มีระยะทาง 50 กิโลเมตร จนท�ำให้ราษฎรและเจ้าหน้าที่ ได้รับ ความสูญเสียมากมาย เพราะผู้ก่อการร้ายได้

ใช้วิธีการวางทุ่นระเบิดและกับระเบิดดักเอาไว้ มี ก ารต่ อ สู ้ ใ นพื้ น ที่ อ ย่ า งรุ น แรง ราษฎรถู ก กวาดต้ อ นไปนอกประเทศเพื่ อ อบรมลั ท ธิ คอมมิวนิสต์ นอกจากนี้ยังมีการปล้นสะดม ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ความรุนแรง ของสถานการณ์ท�ำให้ราษฎรต้องอพยพหลบ ภั ย มาอยู ่ บ ้ า นโนนดิ น แดง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ แออัด อดอยากทุกข์ยากแสนสาหัส

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 16

5/9/2561 13:44:39


วีรกรรมชาวบ้านโนนดินแดง

เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทถึงเหตุการณ์ ดังกล่าว ในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2521 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้นายมนัส ปิติวงษ์ อธิบดีกรมชลประทาน ในขณะนั้นเข้าเฝ้าฯ และพระราชทาน พระราชด�ำริ ให้พิจารณาจัดสร้างอ่างเก็บน�้ำ และฝายทดน�้ำบริเวณต้นน�้ำล�ำนางรอง

ต่ อมา วั น ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2521 ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อธิบดีกรมชลประทาน เข้าเฝ้าฯ และได้พระราชทานพระราชด�ำริเกีย่ ว กับการพัฒนาลุม่ น�ำ้ ล�ำนางรอง โดยให้พจิ ารณา สร้างอ่างเก็บน�ำ้ คลองมะนาวทีบ่ า้ นโนนดินแดง ซึ่งแล้วเสร็จใน พ.ศ.2522 จากนั้นก็สร้างเขื่อน ล� ำนางรองฯ ในพ.ศ.2522 จนแล้ว เสร็จใน พ.ศ.2525 ใน พ.ศ.2525 สร้างอ่างเก็บน�้ำล�ำปะเทีย แล้วเสร็จในพ.ศ.2527 ต่อมาได้สร้างระบบ ส่ ง น�้ ำ อาคารประกอบ ซึ่ ง ใน พ.ศ.2529 กรมชลประทานได้อนุมตั ติ งั้ เป็นโครงการส่งน�ำ้ และบ� ำ รุ ง รั ก ษาล� ำ นางรอง สั ง กั ด ส� ำ นั ก ชลประทานที่ 8 เพื่อควบคุมการจัดสรรน�ำ้ ให้ แก่เกษตรกรเพื่อใช้ในการเพาะปลูกและดูแล การบ�ำรุงรักษาอาคารชลประทานให้สามารถ ใช้งานได้ดี มีประสิทธิภาพตลอดเวลา ในปี เดียวกันนี้ก็ได้สร้างอ่างเก็บน�้ำล�ำจังหันฯจน แล้วเสร็จใน พ.ศ.2535

พระราชด�ำริในการพัฒนาลุ่มน�้ำล�ำนางรองนี้ นอกจากจะเป็นประโยชน์ตอ่ ราษฎรในพืน้ ทีซ่ งึ่ หนีร้อนมาพึ่งเย็นแล้ว ยังเป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติในด้านการป้องกันภัยคุกคามจาก กลุ่มผู้ก่อการร้ายไปพร้อมกันด้วย เพราะเมื่อ ราษฎรมีที่อยู่ที่ท�ำกิน เขาก็จะช่วยกันเป็นหู เป็นตาให้กบั ภาครัฐ ช่วยกันป้องกันภัยทีค่ กุ คาม ประเทศทั้งจากภายนอกและภายใน ปัจจุบันในพื้นที่ลุ่มน�้ำล�ำนางรอง เกษตรกร สามารถสร้างผลผลิตได้ตลอดทั้งปีในรูปแบบ เกษตรครบวงจร โดยช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือน มิถุนายนถึงตุลาคม ท�ำนาได้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย ไร่ ล ะ 50 ถั ง พอหมดฝนย่ า งเข้ า ฤดู ห นาว ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคม ก็จะปลูกมะเขือเทศซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ยไร่ละ 6,700 กิโลกรัม เข้าฤดูแล้งช่วง เมษายนถึง

พฤษภาคมก็ จ ะปลู ก ข้ า วโพดฝั ก อ่ อ นที่ ใ ห้ ผลผลิตเฉลี่ย 680 กิโลกรัมต่อไร่และแตงกวา เพื่อป้อนโรงงาน นอกจากประโยชน์การเกษตรและอุปโภค บริ โ ภคแล้ ว “อ่ า งเก็ บ น�้ ำ เหนื อ เขื่ อ นล� ำ นางรองฯ” ยั ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วของ ประชาชนทั่วไปในฐานะของ “ทะเลสาบแห่ง อีสานใต้”ด้วย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 17

17

5/9/2561 13:44:52


Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office

นางสายภิ ญ ย์ สิ ช ฌนุ ก ฤษฏ์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ 18

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

-

.indd 18

22/08/61 10:22:43


E XCL U SIVE INTERVIEW

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด

ขับเคลื่อนความสุข ของชาวบุรีรัมย์ ด้วยพลังของ ศีล 5

จากการรวมพลังเป็นหนึ่งของสังฆมณฑล ทั้งสองฝ่ายทั้งธรรมยุตและมหานิกายรวมทั้ง ส� ำ นั ก สงฆ์ ต ่ า งๆ ไปจนถึ ง ที่ พั ก สงฆ์ สถาน ปฏิ บั ติ ธ รรม กั บ ส� ำ นั ก พระพุ ท ธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์และภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนในพื้ น ที่ ก ่ อ เกิ ด การสานพลั ง หมู่บ้านรักษาศีล 5 อย่างเป็นจริงต่อเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี ห มู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5 ทั้ ง จั ง หวั ด จ� ำ นวน 2,546 หมู ่ บ ้ า น และ มีหมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบถึง 276 หมู่บ้าน จาก 23 อ� ำ เภอ อี ก ทั้ ง ได้ รั บ ยกย่ อ งจาก คณะกรรมการประเมินผลและก�ำกับติดตาม การขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ระดับประเทศส่วนกลาง ให้จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นหมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบระดับภาค ของคณะสงฆ์ภาค 11 อีกด้วย นิตยสาร SBL มีความภูมิใจที่ได้สนทนา กับนางสายภิญย์ สิชฌนุกฤษฏ์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง ได้ น� ำ โครงการหมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5 มาสู ่ ภาคปฏิ บั ติ อย่างเห็น ผล จากนโยบายหลัก ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติที่มีการ ติ ด ตามเชิ ด ชู ชุ ม ชนตั ว อย่ า งที่น�ำหลักศีล 5 มาประยุกต์ใช้จนเป็นจริงมาแล้วทั่ ว ประเทศ จากความร่ ว มมือของ บวร หรือ บ้าน วัด โรงเรี ย น ในทุ ก ภาคส่ ว นอย่ า งเต็ ม ก� ำ ลั ง ความสามารถ อันน�ำไปสู่ความร่มเย็นเป็นสุข ของคนในครอบครัว และสังคมในที่สุด

วั ด บ้ า นตะโคง

ชูพระพุทธศาสนาไร้พรมแดน เชื่อมโลกสมัยใหม่จากฐานรากทางวัฒนธรรม เพราะธรรมะ หรือแนวปฏิบัติ ทางพระพุทธศาสนามีความทันสมัย มีหลักเหตุผลพิสูจน์ได้ และสอดคล้องกับสถานการณ์โลกทุกยุคสมัย ทัง้ นี้ รัฐบาล หน่วยงาน องค์กรภาคีเครือข่าย จะต้อง รณรงค์ส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชน ตระหนักในหน้าที่ของชาวพุทธ จึงมีการจัดกิจกรรมส�ำคัญทาง พระพุทธศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬบูชาและวันเข้าพรรษา วันธรรมสวนะ มีการส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีตามโอกาส อีกทั้ง ต้องมีการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผ่านสื่อ ต่างๆ ในโลกการสื่อสารไร้พรมแดน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

-

.indd 19

19

22/08/61 10:22:55


ศีล 5 คือพลังสร้างสรรค์สังคม จากการประสบความส�ำเร็จ โดยความร่วมมือของทุกฝ่าย ทางส�ำนักพระพุทธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์ได้มีการพัฒนากลยุทธ์ และการด�ำเนินงานขับเคลื่อนความสุขของชาวบุรีรัมย์ ภายใต้โครงการหมู่บ้านรักษาศีล 5 ต่อเนื่องด้วยวิธีการในการด�ำเนินงาน ดังนี้ 1.ประชุมสร้างความเข้าใจ โดยมีการประชุมวาระประจ�ำเดือนของพระสังฆาธิการระดับจังหวัด ทุกเดือน, ประชุมสัญจรขับเคลือ่ นโครงการ และ ประชุมประจ�ำเดือนของพระสังฆาธิการระดับอ�ำเภอ 2.รณรงค์ และประชาสัมพันธ์ ด้วยสื่อต่างๆ อาทิ ป้ายประชาสัมพันธ์ และ มอบป้ายหมู่บ้าน รักษาศีล 5 และ 3.กิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติตามแนวทางศีล 5 เช่น กิจกรรมเข้าค่ายถือศีล ปฏิบัติธรรม โครงการต่ า งๆ, โครงการครอบครั ว อบอุ ่ น ด้ ว ยพระธรรม (ส� ำ หรั บ หมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5), โครงการปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ ครอบครัวอบอุ่นด้วยพระธรรม, โครงการปฏิบัติธรรม “หนึ่งใจ...ให้ธรรม”, โครงการค่ายศาสนธรรมสร้างภูมิกันยาเสพติด, โครงการปฏิบัติธรรม ในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา

วั ด บ้ า นถนนกระสั ง อ� ำ เภอห้ ว ยราช

นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมส่งเสริมวัฒนธรรม ประเพณี วิ ถี พุ ท ธ เช่ น กิ จ กรรมฟั ง ธรรมะ ในวันธรรมสวนะ, กิจกรรมถือศีลอุโบสถ ศีล 8 ในวันธรรมสวนะ, กิจกรรมท�ำบุญตักบาตร เนือ่ งในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา, กิจกรรม เวียนเทียน เจริญศีล สมาธิ ภาวนา ในวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนา, กิจกรรมติดตามประเมินผล ยกย่องเชิดชูเกียรติ, โครงการประเมินหมู่บ้าน รักษาศีล 5 ละชั่ว กลัวบาป, โครงการประเมิน วัดสะอาดปลอดอบายมุข และ จัดพิธีมอบ โล่ ร างวั ล /เกี ย รติ บั ต ร หมู ่ บ ้ า นที่ ป ระสบ ความส� ำ เร็ จ ในการขั บ เคลื่ อ นโครงการ/ กิจกรรม มาโดยตลอด เป็นต้น โดยมี ก ารด� ำ เนิ น การอย่ า งเป็ น ระบบ อาทิ มี ก ารประสานการด� ำ เนิ น งาน ผ่ า น เจ้ า คณะปกครองสงฆ์ แจ้ ง นโยบายข้ อ มู ล ข่ า วสาร เพื่ อ รั บ ทราบนโยบาย แผนงาน/ โครงการ โดยทั่ ว กั น มี พ ระสงฆ์ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด เป็ น ผูส้ นองงาน การสัง่ การ จากเจ้าคณะปกครองสงฆ์ ระดับจังหวัด ลงสู่ระดับอ�ำเภอ ระดับต�ำบล ระดับวัด และหมูบ่ า้ น มีการลงนามความร่วมมือ MOU และจัดกิจกรรมบูรณาการ ตามแนวทาง ศีล 5 น�ำเรื่องราวศีล 5 ไปบูรณาการร่วมกับ ทุกกิจกรรม

ผลงานและความภาคภูมิ ใจ 1.จังหวัดบุรรี มั ย์ ได้รบั โล่รางวัล เป็นจังหวัด ขับเคลือ่ นโครงการประสบความส�ำเร็จ มีผสู้ มัคร เข้าร่วมโครงการ จัดเป็นล�ำดับที่ 3 ของประเทศ 2.มี ห มู ่ บ ้ า นที่ รั ก ษาศี ล 5 ทั้ ง จั ง หวั ด จ�ำนวน 2,546 หมู่บ้าน 3.มี ห มู ่ บ ้ า นที่ รั ก ษาศี ล 5 มี ต ้ น แบบ 276 หมู่บ้าน จาก 23 อ�ำเภอๆ ละ 12 หมู่บ้าน 4.ได้ รั บ ยกย่ อ งจาก คณะกรรมการ ขั บ เคลื่ อ นโครงการส่ ว นกลาง คั ด เลื อ ก หมู่บ้านรักษาศีล 5 ในจังหวัดบุรีรัมย์ เป็น หมูบ่ า้ นศีล 5 ต้นแบบระดับภาค ของคณะสงฆ์ ภาค 11 ได้แก่หมู่บ้านสนวนนอก หมู่ที่ 2 ต�ำบลสนวน อ�ำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์

20

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

-

.indd 20

22/08/61 10:23:03


จากนโยบายสู่การปฏิบัติที่มีชีวิต

วิสัยทัศน์ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดบุรีรัมย์ คือ “ขับ เคลื่อนงานพระพุทธศาสนาสู่ความมั่นคง สังคมแห่งศีลธรรม น�ำชีวิตสู่ความสุข” สู่การน�ำไปใช้ในภาคปฏิบัติ ดังนี้ ขั บ เคลื่ อ นงานพระพุ ท ธศาสนาสู ่ ค วามมั่ น คง หมายถึง การด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ในการท�ำนุ บ�ำรุง ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา รวมถึง ให้การอุปถัมภ์คุ้มครองและส่งเสริมพัฒนา งานพระศาสนา ดูแล รักษา จัดการ ศาสนสมบั ติ ให้ มี ค วามมั่ น คง อย่างยั่งยืน

สั ง คมแห่ ง ศี ล ธรรม หมายถึ ง การด� ำ เนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ มีโ อกาส ศึ ก ษาและปฏิบัติธรรมอย่างทั่วถึง ครอบคลุมทุกพื้นที่ ทุกเพศ ทุกวัย จนกลายเป็นสังคมแห่งศีล ธรรม น�ำชีวิตสู่ความสุข หมายถึง การน้อมน�ำหลัก ธรรมที่ได้ศึกษาอย่างเข้าใจถ่องแท้ และลึกซึ้ง แล้วน้อมน�ำมาปฏิบัติ เป็นเครื่องมือในการ ด�ำเนินชีวิต เพื่อน�ำไปสู่เป้าหมายสูงสุด ของชีวิต คือ ความสุข

วั ด ทุ ่ ง โพธิ์ อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์

คดีความลดลง ขยายผล “ละชั่วกลัวบาป” ต่อไปไม่สิ้นสุด โดยคณะสงฆ์มแี ผนงาน ให้พระสังฆาธิการ ทุ ก ระดั บ เผยแพร่แ ละจัด กิจกรรมทุก ด้าน ให้บรู ณาการหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ละชัว่ กลัวบาป เน้นให้เกิดหิริโอตตัปปะในหัวใจของทุกคน ปฏิ บั ติ ต ามแนวทางศี ล 5 อย่ า งมี ค วามสุ ข เป็ น หลั ก ประกั น ในชี วิ ต มี ส ติ แ ละปั ญ ญา ในการไตร่ ต รองสิ่ ง ที่ เข้ า มากระทบใจ จน ประชาชนมีหิริโอตตัปปะ ความละอายและ เกรงกลัวต่อบาปมากขึน้ ประชาชนมีความรูส้ กึ ขอบคุณทีม่ ีโครงการหมูบ่ า้ นรักษาศีล 5 ละชัว่ กลั ว บาป เพราะท� ำ ให้ ชุ ม ชนเกิ ด ความรั ก ความสามัคคี เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง สมาชิก ในหมู่บ้าน ปฏิบัติตามแนวทางศีล 5 ละชั่ว กลัวบาป คดีความต่างๆ ลดลง ความสงบ สันติสุขของหมู่บ้านมีมากขึ้น กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา

จ�ำเป็นมากในสังคม

คณะสงฆ์ได้ด�ำเนินการ ประชาสัมพันธ์ ให้พุทธศาสนิกชน ฟังธรรมในโอกาสต่างๆ อยู ่ เ สมอ รวมทั้ ง วั ด ทุ ก วั ด ได้ จั ด กิ จ กรรม บูรณาการ ตามความเหมาะสมของแต่ละพืน้ ที่ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

-

.indd 21

21

22/08/61 10:23:08


9

8 1

7

4 6 เที่ยววัด ฟังธรรม สร้างพลังบวก ในจังหวัดบุรรี มั ย์มวี ดั อยูท่ งั้ หมด 1,068 วัด แบ่งเป็น มหานิกาย 971 วัด และธรรมยุต 97 วัด มี พ ระภิ ก ษุ ทั้ ง หมด 9,919 รู ป มหานิ ก าย 8,695 รูป ธรรมยุต 750 รูป สามเณร 952 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 829 รูป และธรรมยุต 55 รูป พระคุ ณ เจ้ า ทั้ ง หมดที่ อ ยู ่ ใ นจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ พร้อมที่จะเกื้อกูลทุกท่านให้พบกับความสงบ ร่มเย็น ในการนี้ หากท่านเดินทางมาท่องเทีย่ ว หรื อ ท� ำ ธุ ร กิ จ ใดๆ ในจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี วั ด ที่ อ ยากจะแนะน� ำ ให้ ม าท่ อ งเที่ ย ว ท� ำ บุ ญ ใส่บาตร ฟังธรรม และปฏิบัติธรรม อาทิ 1.วัดโพธิ์ย่อย อ�ำเภอล�ำปลายมาศ เป็น 22

วั ด สนั บ สนุ น โครงการหมู ่ บ ้ า นรั ก ษาศี ล 5 ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น เป็นวัด ที่พ�ำนักของ รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ 2.วัดหงส์ อ�ำเภอพุทธไธสง เป็นวัดเก่าแก่ มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ 3.วั ด ใหญ่ ห นองตาด� ำ อ� ำ เภอหนองกี่ เป็นวัดสะอาดปลอดอบายมุข 4.วัดสุขส�ำราญ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ เป็นวัดส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด 5.วัดใหม่เรไรทอง อ�ำเภอนางรอง เป็น วัดส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด 6.วัดป่าละหานทราย อ�ำเภอละหานทราย เป็นวัดมีสถาปัตยกรรมสวย(โบสถ์)

7.วั ด ท่ า สว่ า ง อ� ำ เภอกระสั ง เป็ น วัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นวัดที่พ�ำนักของ รอง เจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ และ เป็นวัด มีที่ตั้ง โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 8.วัดบ้านตะโคง อ�ำเภอบ้านด่าน เป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง 9.วัดตลาดชัย อ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ เป็นวัด มีทตี่ งั้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา และเป็นวัด หมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบ 10.วัดสนวนนอก อ�ำเภอห้วยราช เป็น วัดมีสถาปัตยกรรมสวย(โบสถ์) อีกทั้งเป็นวัด หมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

-

.indd 22

22/08/61 10:23:47


“โอวาทปาติโมกข์” ค�ำสอนของพระพุทธเจ้า

นอกจากการรั ก ษา ศี ล 5 อย่ า งซื่ อ สั ต ย์ ซึ่ ง จะเป็ น หลั ก ประกั น ชี วิ ต อย่ า งดี พระพุ ท ธเจ้ า ทรงกล่ า วถึ ง หลั ก การอั น เป็ น หั ว ใจส� ำ คั ญ เพื่ อ เข้ า ถึ ง จุ ด มุ ่ ง หมายของ พระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อ หรือ หลักการ 3 กล่าวกันเป็นการสรุป รวบยอดหลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาอั น เป็ น แนวทางที่ พุ ท ธบริ ษั ท พึ ง ปฏิ บั ติ ได้ แ ก่ โอวาทปาติโมกข์ 3 ประการคือ การไม่ ท� ำ บาปทั้ ง ปวง การท� ำ กุ ศ ลให้ ถึ ง พร้ อ ม การท� ำ จิ ต ใจให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ซึ่ ง อาจ อนุมานเข้ากับ ศีล สมาธิ และปัญญา ได้เป็นอย่างดี ในการน�ำมาปฏิบัติ ในชีวิตประจ�ำวัน ให้ จิ ต ใจร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข และขอให้ ทุ ก ท่ า นได้ ภ าวนาให้ จิ ต ใจเป็ น ผู ้ รู ้ ผู ้ ตื่ น ผู ้ เ บิ ก บาน สมเป็นพุทธบริษัท ตามรอยสมเด็จพระสัมมาสัมพระพุทธเจ้าชนิดก้าวต่อก้าวกันเถิด

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

-

.indd 23

23

22/08/61 10:23:32


Director of nakhonsawan Provincial Buddhism Office

ท้ อ งถิ่ น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ นายธี ร ะชั ย แสนภู ว า

24

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 24

22/08/61 10:34:25


E XCL U SIVE INTERVIEW

บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์

ภาพรวม จุดเด่น และศักยภาพเต็มพิกัด ของ อปท. เป็ น จั ง หวั ด ที่ ผ ลิ ต ข้ า วหอมมะลิ พั น ธุ ์ ดี ยางพารา เกษตรอินทรีย์ ในด้านการท่องเทีย่ ว มี แ หล่ ง โบราณสถานและอารยธรรมขอม ทีส่ วยทีส่ ดุ ในประเทศไทย โดยมีศกั ยภาพ ดังนี้ 1. ภาคเกษตรกรรมและปศุ สั ต ว์ มี พื ช เศรษฐกิ จ ที่ ส� ำ คั ญ : มี ข ้ า วหอมมะลิ มันส�ำปะหลัง อ้อย ยางพารา และปศุสัตว์ ที่ส�ำคัญ : สุกร ไก่เนื้อ โคเนื้อ โคนม กระบือ 2. มีการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ท�ำให้เกิดการรวมตัวของผูผ้ ลิตเกิดตลาดใหม่ๆ 3. มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง อารยธรรมขอม แหล่งโบราณสถาน โบราณคดี ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและ ศึกษาธรรมชาติ ทีม่ ศี กั ยภาพสูงและมีวฒ ั นธรรม ประเพณีทหี่ ลากหลาย เช่น ปราสาทเขาพนมรุง้ ซึง่ มีปรากฏการณ์มหัศจรรย์ทางสถาปัตยกรรม (ดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ตรง 15 ช่องประตู)

ปราสาทเมืองต�่ำ ภูเขาไฟที่ดับแล้วหลายลูก ที่มองเห็นปากปล่องภูเขาไฟได้อย่างชัดเจน อุทยานแห่งชาติตราพระยาและเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าดงใหญ่ ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง และ สถานที่ ผั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจที่ ม นุ ษ ย์ ส ร้ า งขึ้ น “บุรีรัมย์คาสเซิล” เป็นต้น 4. มี ส นามกี ฬ าฟุ ต บอลที่ มี ชื่ อ เสี ย งและ ได้มาตรฐาน มีสนามแข่งรถมอเตอร์สปอร์ต ระดับมาตรฐานโลก 5. มีผ้าไหมที่เป็นเอกลักษณ์และมีชื่อเสียง 6. มีการขยายเส้นทางคมนาคมเชื่อมต่อ ชายแดนช่องสายตะกู ชายแดนไทย-กัมพูชา 7. มีการลงทุนด้านต่างๆ มากขึ้น ได้แก่ ด้านอสังหาริมทรัพย์ ห้างสรรพสินค้า คอนโด และ ที่พักอาศัย จากศักยภาพดังกล่าว เห็นได้วา่ เรามีตน้ ทุน ทีม่ ศี กั ยภาพเพียงพอทีจ่ ะส่งเสริมการท่องเทีย่ ว

ของจังหวัด เพื่อเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว และยั ง สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารเข้ า สู ่ ประชาคมอาเซียน ในปีพ.ศ.2558 การเพิ่ม ศั ก ยภาพของเมื อ ง เพื่ อ เชื่ อ มโยงโอกาส จากอาเซียนในด้านการท่องเทีย่ ว จึงได้กำ� หนด เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด 4 ปี รอบใหม่ (พ.ศ.2561 - 2564) ว่า “ศูนย์กลางการท่องเทีย่ ว อารยธรรมขอมและกี ฬ ามาตรฐานโลก เศรษฐกิจมั่นคง สังคมสันติสุข 9 ดี” โดย ได้ ก� ำ หนดจุ ด ยื น ทางการพั ฒ นาที่ ท� ำ ให้ จังหวัดบุรีรัมย์เป็น “เมืองท่องเที่ยวและกีฬา มาตรฐานโลก” โดยใช้ปราสาทพนมรุ้งซึ่งเป็น แหล่งท่องเทีย่ วของจังหวัด ทีเ่ ป็นสิง่ มหัศจรรย์ ของโลก เป็นจุดขายและเป็นจุดศูนย์กลาง ในการท่ อ งเที่ ย วของจังหวัด และเชื่อมโยง การท่ อ งเที่ ย วไปยั ง แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วต่ า งๆ ภายในจังหวัด

หลักการส�ำคัญในการท�ำงาน และผลสัมฤทธิ์

ภายใต้ลักษณะงานของท้องถิ่นจังหวัด จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสนองตอบต่อแนวทาง ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ว่า “มุ่งสร้างท้องถิ่นไทยให้เข้มแข็ง โปร่งใส ก้าวสู่ ประเทศไทย 4.0 อย่างมั่นคงตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยท้องถิ่นจังหวัด มีแนวทางการด�ำเนินงาน คือ 1. ยึดหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยอาศัย หลัก นิติกร หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และ หลัก ความคุ้มค่า 2. มีหลัก 4ร (รอบรู้ รวดเร็ว ริเริ่ม รอบคอบ) โดยมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ มีการ พัฒนารูปแบบ และวิธีการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และ 3. เน้นการบริหาร งานแบบบูรณาการทุกภาคส่วนในพื้นที่ ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

22/08/61 10:34:29


ผลการด� ำ เนิ น งานที่ โ ดดเด่ น หรื อ รางวัลที่ ได้รับในปีที่ผ่านมา

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี อปท.หลายแห่ ง ที่ มี ค วามโดดเด่ น หรื อ ได้ รั บ รางวั ล เช่ น เทศบาลต� ำ บลอิ ส าณ อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ รั บ ถ้ ว ยพระราชทาน จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รางวัลชนะเลิศการคัดเลือก ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ปี 2560 ประเภทชุ ม ชนขนาดใหญ่ , อบต.เสม็ ด อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ รั บ ถ้วยพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร รางวัลชนะเลิศการคัดเลือกชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ปี 2560 ประเภทชุ ม ชน ขนาดกลาง, เทศบาลต� ำ บลหนองเต็ ง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับถ้วยรางวัล พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี รางวัลชนะเลิศโครงการ ต้นแบบด้านสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน (เพียงกินอยู่ รู ้ คิ ด เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม) ประเภท เทศบาลขนาดเล็ก ประจ�ำปี 2555 และเป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการขับเคลื่อน ด�ำเนินงานด้านการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน สร้างชื่อเสียงในระดับอาเซียนจนถึงปัจจุบัน, นางสาวบุปผา แก้วประสงค์ ต�ำแหน่งปลัด องค์การบริหารส่วนต�ำบลสนวน (นักบริหาร งานท้ อ งถิ่ น ระดั บ กลาง) อ� ำ เภอห้ ว ยราช จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ รั บ เลื อ กเป็ น ข้ า ราชการ ส่วนท้องถิ่นดีเด่นระดับจังหวัด ตามโครงการ คั ด เลื อ กข้ า ราชการท้ อ งถิ่ น ดี เ ด่ น ประจ� ำ ปี ง บประมาณ 2559 โดยส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการมาตรฐานการบริ ห ารงานบุ ค คล ส่วนท้องถิน่ (ส�ำนักงาน ก.ถ.) กระทรวงมหาดไทย

26

แผนพัฒนา อปท. ในปีนี้และอนาคต

นอกจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนาสี่ปีแล้ว ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่ า ด้ ว ยการจั ด ท�ำ แผนพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ฯ ยั ง ได้ ก�ำ หนดให้ มีแผนปฏิ บัติ การที่รวบรวมแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่ด�ำเนินการจริงทั้งหมดในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละ ปีงบประมาณเพื่อให้ทราบกิจกรรมการพัฒนาในพื้นที่ท่ีด�ำเนินการ อย่างมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นเรื่องส�ำคัญ ตามที่รัฐธรรมนูญได้ก�ำหนดไว้ชัดเจนเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนผู้มี ส่วนได้เสียในการด�ำเนินการต่างๆ ของภาครัฐได้เข้ามารับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีโอกาสมาแสดง ความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจ ในวิถีทางประชาธิปไตย รวมถึงกลุ่มคนที่รวมตัวกันเป็นองค์กร ทางสังคมของพลเมืองที่เรียกว่า ภาคประชาสังคม (Civil Society) เช่น กลุ่ม ชมรม องค์กร สาธารณะประโยชน์ต่างๆ โดยผู้บริหารท้องถิ่นได้สนับสนุนให้มีการท�ำแผนชุมชนให้เกิดขึ้น ในทุกหมู่บ้าน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 26

22/08/61 10:34:33


อปท.กับบทบาทในการแก้ปัญหาให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ได้ อ ย่ า งทั น ท่วงที การท�ำงานของ อปท. ยุคใหม่ จ�ำเป็น จะต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ประการแรก เรามี วิ ธี ก ารส่ ง เสริ ม ให้ ครอบครัวให้มคี วามมัน่ คง และมีความอบอุน่ มี สัมพันธภาพที่ดี รักษาวัฒนธรรมไทยอันดีงาม และท�ำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ประการที่สอง แสวงหาวิธีการส่งเสริม บรรยากาศภายในชุมชนให้เอื้อต่อการศึกษา และเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต เช่ น ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ เศรษฐกิ จ พอเพี ย งต้ น แบบ ศู น ย์ เ รี ย นรู ้ เกษตรทฤษฎีใหม่ 1 ไร่ 2 แสน หายจน และ ศูนย์เรียนรู้วิสาหกิจชุมชนต้นแบบ เป็นต้น ประการที่ ส าม ส่ ง เสริ ม ความมั่ น คง ในการด�ำรงชีวิตของคนในชุมชน ทั้งด้านหลัก ประกั น ชี วิ ต สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน ความมั่ น คง ด้ า นอาหาร ความมั่ น คงด้ า นสุ ข ภาพและ ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ความคุ ้ ม ครองผู ้ บ ริ โ ภค และ ความมั่นคงในสิทธิมนุษยชน โดยให้ชุมชนมี

แผน 4 แผนในการด�ำเนินชีวิต ได้แก่ แผนชีวิต แผนอาชีพ แผนการเงิน และแผนสุขภาพ ประการที่ สี่ เตรี ย มความพร้ อ มและ ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ชุมชน เช่น การดู แ ลเด็ ก เยาวชนและผู ้ สู ง อายุ ใ ห้ มี ความเหมาะสมสภาพแวดล้ อ มของชุ ม ชน น่าอยูแ่ ละปลอดภัย โดยมีระบบให้ความช่วยเหลือ อย่างครบวงจรและมีประสิทธิภาพ ฯลฯ ประการทีห่ า้ ส่งเสริมศักยภาพของชุมชน และ อปท. ในการประสานงานกับหน่วยงาน ภายนอก เช่ น ยาเสพติ ด การค้ า มนุ ษ ย์ อาชญากรรมข้ามชาติ ฯลฯ ประการที่หก หาวิธีการท�ำงานร่วมกัน ระหว่าง อปท. ชุมชน สถาบันทางศาสนา และ สถานศึกษา ในการสืบสานวัฒนธรรมจารีต ประเพณีที่ดีงามของชุมชนและฟื้นฟูค่านิยม การท� ำ งานร่ ว มกั น เช่ น ประเพณี ล งแขก เกี่ยวข้าว บวชป่าสืบชะตาแม่น�้ำ เป็นต้น ประการที่ เจ็ ด รณรงค์ ส ร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก สาธารณะให้คนในชุมชนเป็นพลเมืองดี รู้สิทธิ หน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ส่ ว นรวม มี ความซื่อสัตย์ และส�ำนึกรักบ้านเกิด เป็นต้น

อปท. กั บ บทบาทในการพั ฒ นา ท้ อ งถิ่ น ให้ มี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า ยิ่งๆ ขึ้นไป

เรามี น โยบายว่ า “ท้ อ งถิ่ น เข้ ม แข็ ง ร่ ว มแรงพั ฒ นา ประชาเป็ น สุ ข ” ซึ่ ง ค� ำ ว่ า ท้องถิ่นเข้มแข็ง หมายถึง การบริหารจัดการ ทั้งภายในและภายนอก ตามหลักธรรมาภิบาล ด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ การขั บ เคลื่ อ นตามโมเดลพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ประเทศไทย 4.0 ร่วมแรงพัฒนา หมายถึง ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน รวมทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ ประชาชน เพื่ อ พั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ทุ ก มิ ติ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ ป ระชาชน และ ค�ำว่า ประชาเป็นสุข ก็จะหมายถึง ประชาชน ได้ รั บ บริ ก ารสาธารณะที่ มี ม าตรฐานจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างเสมอภาค เท่ า เที ย ม และมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ซึ่ ง ก็ จ ะ สอดคล้องกับแนวนโยบายประชารัฐของรัฐบาล สุ ด ท้ า ยแล้ ว จะต้ อ งท� ำ ให้ ป ระชาชนมี ค วาม กินดีอยูด่ ี และประเทศมัน่ คง มัง่ คัง่ อย่างยัง่ ยืน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 27

27

22/08/61 10:34:40


บุ รี รั ม ย์ เมืองแห่งความรื่นรมย์

ตามความหมายของชื่ อ เมื อ งที่ น ่ า อยู ่ ส� ำหรั บ คนในท้ องถิ่น และเป็น เมืองที่น ่า มา เยื อ นส�ำหรั บ คนต่า งถิ่น เมืองปราสาทหิน ใหญ่ น้อย อันหมายถึงความเจริญ รุ่งเรือง มาตั้ ง แต่ อ ดี ตจนถึงปัจจุบัน จากการศึ ก ษาของ นั ก โบราณคดี นั้ น พบหลั ก ฐานการอยู ่ อ าศั ย ของมนุ ษ ย์ มาตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ สมั ย ทวาราวดี และที่ส�ำคัญที่สุดพบว่ากระจาย อยู่ทั่วไป ในจังหวัดบุรีรัมย์มากคือ หลักฐาน ทางวั ฒ นธรรมของเขมรโบราณ ซึ่ ง มี ทั้ ง ปราสาทอิ ฐ และปราสาทหิ น เป็ น จ� ำ นวน มากกว่ า 60 แห่ ง รวมทั้ ง ได้ พ บแหล่ ง โบราณคดี ที่ ส� ำ คั ญ คื อ เตาเผา และภาชนะ ดิ น เผาแบบที่ เ รี ย กว่ า เครื่ อ งถ้ ว ยเขมร ซึ่ ง ก� ำ หนดอายุ ไ ด้ ป ระมาณพุ ท ธศตวรรษ ที่ 15 ถึ ง 18 อยู ่ ทั่ ว ไปหลั ง จากสมั ย ของ วั ฒ นธรรมขอมหรือเขมรโบราณ 28

ตอนปลายของสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เมืองบุรีรัมย์ ปรากฏชื่อว่าเป็นเมืองขึ้นของ เมื อ งนครราชสี ม า และปรากฏชื่ อ ต่ อ มาใน สมั ย กรุ ง ธนบุ รี ถึ ง สมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ว่ า บุ รี รั ม ย์ มี ฐ านะเป็ น เมื อ งๆ หนึ่ ง จนถึ ง พ.ศ.2476 ได้ มี ก ารจั ด ระเบี ย บราชการ บริ ห ารส่ ว นภู มิ ภ าคใหม่ เมื อ งบุ รี รั ม ย์ จึ ง ได้ชื่อเป็นจังหวัดบุรีรัมย์มาจนถึงปัจจุบันนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 28

05/09/61 10:34:48


เมืองภูเขาไฟที่ดับแล้ว อู่อารยธรรมขอมโบราณ และดินแดนแห่งความรื่นรมย์ ของชาวอีสานใต้ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

05/09/61 10:34:50


History of Buriram นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ให้ข้อสันนิษฐานโดยสรุปว่าจังหวัดบุรีรัมย์ เคยเป็นที่ตั้งอาณาจักรอันยิ่งใหญ่รุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่12 - 16) เชื่อมต่อจนถึงสมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16 - 18) จากนั้นก็เริ่มเสื่อมอ�ำนาจลง ประชาชนกระจายออกไปตั้งชุมชนเล็กๆ ตามป่าหรือชายแดน เรียกว่า “เขมรป่าดง” สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ.2319 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ขณะที่ ด�ำรงพระยศเจ้าพระยาจักรี เสด็จฯ มาทรงจัดระเบียบการปกครองเมืองนางรอง รวบรวม ผู้คนในเมืองตลุง เมืองสุรินทร์ เมืองสังขะ และเมืองขุขันธ์ ก่อตั้งเป็นเมืองใหม่ ณ ชัยภูมิ ป่าทุ่งตนแป๊ะ เรียกว่า “เมืองแป๊ะ” คือเมืองบุรีรัมย์ปัจจุบัน ความชอบครั้งนั้น ได้รับ พระราชทานพระอิสริยศเป็น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พ.ศ.2450 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้ า ฯ ให้ ก ระทรวงมหาดไทยปรั บปรุ ง หัวเมืองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้มณฑลนครราชสีมา ประกอบด้วย 3 เมือง 17 อ�ำเภอ คือ เมืองนครราชสีมา 10 อ�ำเภอ เมืองชัยภูมิ 3 อ�ำเภอ และ เมืองบุรรี มั ย์ 4 อ�ำเภอ คือ นางรอง พุทไธสงประโคนชัย และ รัตนบุรี (ปัจจุบันอยู่ในเขตการปกครองของจังหวัดสุรินทร์) ต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชอาณาจักรสยาม พ.ศ.2476 ขึ้น จากนั้ น ยุ บ มณฑลและจั ด ระเบี ย บบริ ห าร ราชการออกเป็นจังหวัดและอ�ำเภอ เมืองบุรรี มั ย์ จึงมีฐานะเป็น “จังหวัดบุรีรัมย์” ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา จังหวัดบุรีรัมย์ หมายถึง เมือง แห่ ง ความรื่ น รมย์ เป็ น จั ง หวั ด หนึ่ ง ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือทีม่ ที รัพยากรการท่องเทีย่ ว ที่ ส�ำ คั ญน่ า เที่ ย ว โดยเฉพาะอย่า งยิ่งแหล่ง โบราณสถานศิ ล ปะแบบขอมโบราณที่ มี อ ยู ่ มากมายกระจายอยู่ในพื้นที่ทั้งจังหวัด อีกทั้ง ยังเป็นที่รู้จักในฐานะเมืองเกษตรกรรมและ หัตถกรรม เพราะเป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีและเป็นแหล่งทอผ้าไหมทีส่ วยงาม และมีชื่อเสียง 30

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 30

05/09/61 10:34:55


นอกจากนี้ ด้วยสภาพพื้นที่ตั้งมีอาณาเขต ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านจึงท�ำให้มีความ หลากหลายของเชื้อชาติ ประเพณีวัฒนธรรม จนท� ำ ให้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก โดยทั่ ว ไป ดั ง ค� ำ ขวั ญ ของจังหวัดทีว่ า่ “เมืองปราสาทหิน ถิน่ ภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม เลิศล�้ำเมืองกีฬา” ขณะเดี ย วกั น บุ รี รั ม ย์ ก็ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในด้านอุตสาหกรรมอีกสถานะหนึ่ง เพราะ เป็ น แหล่ ง ผลิ ต หิ น ก่ อ สร้ า งแหล่ ง ใหญ่ ที่ มี คุณภาพดีท่ีสุดของประเทศ โดยเฉพาะในย่าน อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ อ� ำ เภอนางรอง และ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ สามารถส่งหินจ�ำหน่าย ให้แก่จงั หวัดต่างๆ ในเขตภาคอีสานและภาคอืน่ ๆ จังหวัดบุรีรัมย์ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ

โดยทางรถยนต์ ป ระมาณ 385 กิ โ ลเมตร ทางรถไฟประมาณ 376 กิโลเมตร อาณาเขตของจังหวัดบุรีรัมย์ ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต่ อ กั บ จั ง หวั ด ขอนแก่ น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และ ราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา โครงสร้างทางเศรษฐกิจ มีการผลิต 4 สาขาหลักได้แก่ สาขาเกษตร สาขาการค้า สาขาอุตสาหกรรม และ สาขา การบริการ ด้านการเกษตร มีพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าว

อ้อย มันส�ำปะหลัง และยางพารา ด้านปศุสัตว์ มีสัตว์เศรษฐกิจที่ส�ำคัญ 5 ประเภท ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ ไก่เนื้อและไก่ไข่ ด้านอุตสาหกรรม ข้อมูลปี พ.ศ.2559 มีโรงงานอุตสาหกรรม จ� ำ นวน 559 แห่ ง เงิ น ลงทุ น 26,705.04 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นทีม่ มี ลู ค่าการลงทุน 25,775.10 ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นโรงงาน อุ ต สาหกรรมการเกษตร เช่ น โรงสี ข ้ า ว โรงงานแปรรูปมันส�ำปะหลัง โรงงานน�้ำตาล โรงงานผลิ ต ยาง แผ่ น ยางแท่ ง เป็ น ต้ น โดยการลงทุนส่วนใหญ่เป็นภาคการเกษตร รองลงมาได้แก่ อาหาร เครื่องดื่ม เสื้อผ้า และ เครื่องแต่งกาย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

05/09/61 10:34:59


เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม เลิศล�้ำเมืองกีฬา ค�ำขวัญ

32

ด้านการพาณิชยกรรม รวมถึ ง การค้ า และ บริ ก ารธุ ร กิ จ โดย การค้ า ที่ ส� ำ คั ญ ในจั ง หวั ด คื อ ธุ ร กิ จ ค้ า ส่ ง ประเภทวั ต ถุ ดิ บ ยานยนต์ / อุ ป กรณ์ ชิ้ น ส่ ว น สิ่งทอวัสดุ เป็นต้น ก่อสร้างมูลค่าประมาณ ร้อยละ 60 และธุรกิจค้าปลีก ด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดบุรีรัมย์ การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ อารยธรรมขอมโบราณ เช่ น ปราสาทเขา พนมรุ ้ ง ปราสาทเมื อ งต�่ ำ เขาพระอั ง คาร เขาปลายบั ด บุ รี รั ม ย์ เ ป็ น เมื อ งภู เขาไฟ มี ภู เขาไฟที่ ดั บ แล้ ว จ� ำ นวน 6 แห่ ง มี ป ล่ อ ง ภู เขาไฟที่ ชั ด เจน โดยเฉพาะที่ เขากระโดง ในเขตอ� ำ เภอเมื อ งฯ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ที่ ส� ำ คั ญ มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ

ได้แก่ พื้นที่ชุ่มน�้ำบุรีรัมย์ (อ่างเก็บน�้ำ สนาม บินเก่า อ่างเก็บน�้ำห้วยตลาด และอ่างเก็บน�้ำ ห้วยจระเข้มาก) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ วนอุทยานเขากระโดง มีแหล่งศิลปวัฒนธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ได้ แ ก่ ป ระเพณี ขึ้ น เขาพนมรุ ้ ง ในต้นเดือนเมษายนของทุกปี เตาเผาเครื่องเคลือบพันปี ศูนย์หัตถกรรม อ�ำเภอนาโพธิ์ และศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ นอกจากนี้ ยั ง มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในปั จ จุ บั น ได้แก่ สนามฟุตบอลช้างอารีน่า (เดิมคือสนาม ฟุตบอลไอโมบาย) สนามแข่งรถมอเตอร์สปอร์ต ระดับมาตรฐานโลก “Chang International Circuit” และจุดผ่อนปรนการค้าช่องสายตะกู ประชากรในจังหวัดบุรีรัมย์ ขอมูล ณ ปี พ.ศ.2559 ประกอบด้วย 23 อ�ำเภอ 188 ต�ำบล

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 32

05/09/61 10:35:05


2,546 หมู่บ้าน 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 3 เทศบาลเมื อ ง 59 เทศบาลต� ำ บล 146 องค์การบริหารส่วนต�ำบล 444,027 ครัวเรือน ประชากร 1,586,028 คน เป็นชาย 790,451 คน หญิง 795,577 คน โดย อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีประชากรมากที่สุด มีจ�ำนวน 219,273 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 13.83 ส่วน อ�ำเภอโนนสุวรรณ มีจำ� นวนประชากรน้อยทีส่ ดุ มีจำ� นวน 25,051 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 1.58 โดยประชาชนใน จังหวัดบุรรี มั ย์มกี ลุม่ ชาติพนั ธุซ์ งึ่ เป็นชนพืน้ เมือง ดั้งเดิม 4 กลุ่ม คือ กลุ่มไทย - โคราช กลุ่ม ไทยอีสานหรือไทย - ลาว กลุ่มไทย - เขมร และกลุม่ ไทย - กวย นอกจากภาษาเป็นตัวบ่งชี้ ทีส่ ำ� คัญ ส�ำหรับความแตกต่างของกลุม่ ชาติพนั ธุ์ เหล่านั้นแล้ว วิถีชีวิตส่วนรวมของแต่ละกลุ่ม ชาติพนั ธุก์ ย็ งั มีเอกลักษณ์ของตนเองทีส่ ามารถ บอกได้ว่าเป็นชาติพันธุ์นั้นๆ อีกด้วย ด้านการศาสนา ประชากรส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ ประมาณ 99.70% ศาสนาคริสต์และศาสนา อิสลามประมาณ 0.28 % ด้านภาษา ประชากรพืน้ ทีต่ อนบนของจังหวัดส่วนใหญ่ พูดภาษาอีสานตอนล่างและพื้นที่ติดจังหวัด สุรินทร์พูดภาษาเขมร และพื้นที่ติดจังหวัด นครราชสีมาพูดภาษาไทยโคราช

สถานการณ์การท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ในปีพ.ศ.2559 จังหวัดบุรีรัมย์มีสถิตินักท่องเที่ยว จ�ำนวน 1,535,714 คน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.16 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2558 (1,419,833 คน) และ มีรายได้จากการท่องเที่ยวในปี พ.ศ.2559 จ�ำนวน 2,331.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.53 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2558 (2,039.37 ล้านบาท) ส�ำหรับนักท่องเที่ยวในปีพ.ศ.2560 ซึ่งอยู่ระหว่าง รอผลการจัดเก็บจากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ซึ่งคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมากกว่า ปี พ.ศ.2559 ในปัจจุบันมีนักท่องเที่ยวมากขึ้นในวันที่มีการแข่งขัน ฟุตบอลและแข่งขันรถยนต์ทางเรียบ ซึ่งมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทาง เข้ามาเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์เพิ่มมากขึ้นในวันหยุดสุดสัปดาห์(เสาร์-อาทิตย์) ถ้ามีการแข่งบอลหรือ มีการแข่งรถ มีนักท่องเที่ยวประมาณ 30,000-50,000 คน

ด้านสินค้า OTOP ที่

โดดเด่น ของจังหวัดบุรีรัมย์

มีหลากหลายประเภท เช่น ผ้าไหมที่เป็น ลายเอกลั ก ษณ์ ข องจั ง หวั ด ผ้ า ซิ่ น ตี น แดง นอกจากนี้ยังมีสินค้า OTOP อีกหลากหลาย ประเภท เช่น ของใช้ที่เป็นผลิตภัณฑ์จากไม้ หรือจากผักตบชวา สมุนไพรถนอมผิวมากมาย และประเภทอาหาร เช่น ขาหมู กระยาสารท กุนเชียง กุ้งจ่อม เป็นต้น BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 33

33

05/09/61 10:35:14


ออกก� ำ ลั ง กาย และออกก� ำ ลั ง ใจ ไปพร้อมกัน กับการท่องเทีย ่ วแบบ

Two in One ในดินแดนอันแสนสุข

บันทึกเส้นทางการท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม เรียนรู้ประวัติศาสตร์ของ จังหวัดบุรีรัมย์ ผ่านปราสาทหินมากมายรอบเมือง บุญจาริกประวัติศาสตร์ ทางพระพุทธศาสนา แวะพักปฏิบัติธรรม ออกก�ำลังใจ ผ่านการเดินทางด้านใน ณ วัดป่าและสถานปฏิบัติธรรมมากมาย แล้วออกก�ำลังกายในสนามกีฬาระดับโลก ที่นี่ที่เดียว บุ รี รั ม ย์

34

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 34

05/09/61 10:35:17


พระอาทิ ต ย์ ขึ้ น

ที่ อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พ นมรุ ้ ง

อัศจรรย์ใจในสถาปัตยกรรมขอม ชมพระอาทิตย์ขึ้นและตกทะลุ 15 ช่องประตูแห่งเดียว ในประเทศไทย อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง หรือ ปราสาทหินพนมรุ้ง เป็นหนึ่งในปราสาทหิน ในกลุ่มราชมรรคา ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 (บ้านดอนหนองแหน) ต�ำบลตาเป๊ก อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรรี มั ย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถานส�ำคัญ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจากพื้นราบ (ประมาณ 350 เมตร จากระดับน�้ำทะเลปานกลาง) ค�ำว่า “พนมรุ้ง” มาจากภาษาเขมร แปลว่า “ภูเขาใหญ่” ในเขต อ� ำ เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สร้ า งขึ้ น โดยมี รู ป แบบของศิ ล ปะเขมรโบราณที่ มี ความงดงามมากที่สุดแห่งหนึ่ง ความงดงามและความยิ่งใหญ่ ของปราสาทแห่งนี้ปรากฏให้เห็น ได้ในรูปของงานสถาปัตยกรรม การจ�ำหลักลวดลาย การเลือกท�ำเลที่ตั้งบนยอดเขามีแผนผัง ตามแนวแกนที่ มี อ งค์ ป ระกอบของสิ่ ง ก่ อ สร้ า งต่ า งๆ เรี ย งตั ว กั น เป็ น แนวเส้ น ตรงพุ ่ ง เข้ า หา จุดศูนย์กลาง คือ ปราสาทประธาน ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นหนึ่งในปราสาทหินขอมของไทยที่มีชื่อเสียงมากที่สุด เป็นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แ ละ ถื อ เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ส� ำ คั ญ ของ จังหวัดบุรีรัมย์ รวมถึงเป็นภาพพื้นหลังตราสัญลักษณ์ของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ดอีกด้วย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

05/09/61 10:35:20


ชุ ม ชนโบราณ ณ

ปราสาทเมื อ งต�่ ำ

ปราสาทเมืองต�่ำ ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ห่างจากปราสาท พนมรุ้งมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 8 กิโลเมตร ปราสาทเมืองต�่ำ เป็นศาสนสถาน ที่สร้างตามคติความเชื่อทางศาสนาฮินดู สันนิษฐานว่าคงสร้างขึ้นเพื่อถวายพระศิวะ มีลักษณะ เป็ น ศาสนสถานประจ� ำ เมื อ งหรื อ ประจ� ำ ชุ ม ชน จากการศึ ก ษาทางโบราณคดี พ บว่ า มี ก าร ตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในละแวกนี้เป็นชุมชนขนาดใหญ่หลายชุมชน เช่น ชุมชนบ้านโคกเมือง โคกยายคาน โคกสลองตอง เป็นต้น โบราณวัตถุที่ขุดพบได้แก่ เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น ภาชนะดินเผาเนื้อดินเครื่องถ้วยชามเคลือบสีน�้ำตาลและเคลือบสีเขียว เป็นจ�ำนวนมาก ปราสาทหินเมืองต�่ำมีรูปแบบที่แตกต่างจากปราสาทแห่งอื่นๆ ที่จะมีปรางค์องค์ใหญ่ตรงกลาง และล้อมรอบด้วยปรางค์ขนาดเล็กกว่าทั้ง 4 มุม ลักษณะเป็นกลุ่มปราสาทอิฐ 5 องค์ ตั้งอยู่ บนศิลาแลงอันเดียวกันเรียงเป็น 2 แถวตามแนวทิศเหนือใต้ แถวหน้า 3 องค์ องค์กลางมีขนาดใหญ่ กว่าปรางค์อื่น ส่วนแถวหลังมีปรางค์อิฐจ�ำนวน 2 องค์ วางต�ำแหน่งให้อยู่ระหว่างช่องของปรางค์ 3 องค์ ในแถวแรกท�ำให้สามารถมองเห็นปรางค์ทั้ง 5 องค์ พร้อมกันโดยไม่มีองค์หนึ่งมาบดบัง เที่ยวปราสาทหิน ตามค�ำขวัญที่ว่า คือ เมืองปราสาทหินไปแล้ว ค�ำขวัญต่อไป ผ้าไหมสวย ซึ่งในที่นี้หมายถึง ผ้าทอภูอัคนี หรือ ผ้าย้อมดินภูเขาไฟ สินค้าโอทอป หนึ่งเดียวในบุรีรัมย์ ซึ่ง ตั้งอยู่ใน หมู่บ้านเจริญสุข อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ผ้าทอภูอัคนี เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่ได้น�ำวัตถุดิบจากธรรมชาติ ที่หาได้ในท้องถิ่น มาประยุ ก ต์ ใช้ โดยเป็ น กรรมวิ ธี ใ นการย้ อ มสี ผ ้ า ให้ อ อกมามี สี ส วยงามอย่ า งมี เ อกลั ก ษณ์

ด้ ว ยการน� ำ ผ้ า ฝ้ า ยหรื อ ผ้ า ไหม ไปย้ อ มกั บ ดิ น ภู เขาไฟ หนึ่ ง ในวั ต ถุ ดิ บ ส� ำ คั ญ ที่ ห าได้ ไม่ยากเพราะหมูบ่ า้ นเจริญสุขนัน้ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั “เขาพระอั ง คาร” ซึ่ ง เป็ น ภู เขาไฟเก่ า แก่ ที่ดับแล้ว 1 ใน 6 ลูกของจังหวัดบุรีรัมย์ ดิน บริเวณนี้จึงอุดม ด้วยแร่ธาตุจากลาวาภูเขาไฟ ที่ ป ะทุ อ อกมาในอดี ต ซึ่ ง นอกจากจะเป็ น ประโยชน์ในการเพาะปลูกแล้ว ชาวบ้านเจริญสุข ยังคิดค้นวิธกี ารน�ำดินเหล่านีม้ าใช้ยอ้ มผ้าอีกด้วย จากการค้ น พบทรั พ ย์ จ ากผื น ดิ น ถู ก น� ำ มา ผสมผสานภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ จนกลาย เป็นผลิตภัณฑ์สร้างชื่อ มีเอกลักษณ์ด้านสิ่งทอ ที่มีชื่อว่า ผ้าภูอัคนี ที่ผ่านการผสมผสานจาก ผ้าฝ้ายสีขาว เปลี่ยนเป็นสีดินน�้ำตาลอ่อนกับ น�้ ำ ตาลแดง แบบดิ น ภู เขาไฟ จึ ง เป็ น การ เคลือบสีไปในตัว ผ้าที่ได้จึงเงางามยิ่งขึ้นและ ไม่ตกสี หลังจากผ่านกระบวนการต่างๆ แล้ว ก็กลายมาเป็นผลิตภัณฑ์ผ้าทอ ไม่ว่าจะเป็น ผ้าพันคอ หรือ เสือ้ ผ้า เนือ้ ผ้านิม่ และมีลวดลาย ที่สวยงามมาก รับรองเลยถ้าใครได้เห็นและ สัมผัสเนือ้ ผ้า ต้องเสียเงินซือ้ กลับบ้านมาใช้เอง และเป็นของฝากหลายผืนทีเดียว 36

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 36

05/09/61 10:35:27


นมั ส การ

“พระบรมธาตุ เ จดี ย ์ ศ รี สุ ว จคุ ณ านุ ส รณ์ ” @วั ด ป่ า เขาน้ อ ย

วัดป่าเขาน้อย อยู่ในต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ ติดเขตวนอุทยานภูเขาไฟกระโดง เป็นป่าธรรมชาติร่มรื่น เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมที่พุทธศาสนิกชนที่สงบเงียบ ภายใน วัดป่าเขาน้อย มี “พระบรมธาตุเจดีย์ศรีสุวจคุณานุสรณ์” สร้างขึ้นจากแรงเคารพ ศรัทธาของศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระบรม สารีรกิ ธาตุ และเป็นเครือ่ งระลึกถึงพระคุณแห่งหลวงปูส่ วุ จั น์ สุวโจ พระสายธรรมยุต และเป็นลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ซึ่งมรณภาพเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2545 ปัจจุบัน พระอาจารย์ประเสริฐ ขนฺติโก เป็นเจ้าอาวาส วัดป่าเขาน้อย เป็นวัดเก่าที่อยู่ใกล้ตัวเมือง แต่มีสภาพเป็นป่าเขา เหมาะ แก่การเจริญวิปัสสนากรรมฐาน สะดวกแก่การเดินทาง หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ จึงปรารภที่จะให้วัดป่าเขาน้อย เป็นศูนย์รวมศรัทธาคณะศิษย์และประชาชน ในการปฏิ บั ติ คุ ณ งามความดี ตลอดจนการปฏิ บั ติ จิ ต ภาวนา ช่ ว งใกล้ กาลมรณภาพ หลวงปู ่ เ คยกล่ า วกั บ พระราชปั ญ ญาวิ ส ารั ท เจ้ า คณะ จังหวัดบุรรี มั ย์(ธรรมยุต) ว่า “วัดป่าเขาน้อยนีห้ วังจะให้เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ให้ช่วยกันรักษาเอาไว้เน้อ ถ้าผมตาย ผมไม่ได้เอาไปด้วยดอก ที่สร้างไว้ ก็เพื่อประโยชน์ส่วนรวมและเพื่อลูกหลานผู้อยู่ข้างหลังนั่นเอง”

โทรศั พ ท์

0-4460-1646, 08-9501-2907

BURI RAM I SBL บันทึกประเทศไทย 37 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย 37

.indd 37

05/09/61 10:35:32


วั ด เขาพระอั ง คาร วั ด เขาพระอั ง คาร เป็ น อี ก หนึ่ ง สถานที่ ท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากในจังหวัดบุรรี มั ย์ ตั้งอยู่บนเขาอังคาร ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิท อยู่ห่างจากปราสาทหินพนมรุ้งไปประมาณ 18 กิ โ ลเมตร มี จุ ด เด่ น คื อ ภายในบริ เวณ วัดเขาอังคาร เคยมีการค้นพบโบราณสถาน เก่ า แก่ แ ละใบเสมาหิ น ทรายสมั ย ทวารวดี หลายชิ้น (เป็นใบเสมาของสมัยทวารวดีที่พบ ได้น้อยมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือหรือ ภาคอีสานแต่สามารถพบได้ที่วัดเขาอังคาร) และภายในวัดมีรปู แบบสถาปัตยกรรมทีส่ วยงาม และมีพระพุทธรูปตั้งเรียงรายล้อมรอบโบสถ์ วั ด รวมถึ ง ภายในโบสถ์ วั ด เขา อังคาร มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องราว พู ด ถึ ง พุ ท ธชาดกเป็ น ภาษาอั ง กฤษ รวมถึง

38

ต� ำ นานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ

มี พ ระพุ ท ธรู ป ปางประทั บ นอนองค์ ใ หญ่ อยู่บนยอดเขาอังคาร ภูเขาพระอังคาร เดิมชื่อ ภูเขาลอย เหตุที่ เรียกว่าภูเขาพระอังคาร เพราะตามประวัติ ลายแทงธาตุพนม กล่าวไว้ว่า เมื่อ พ.ศ. 8 ได้ มี ท ้ า วพญาทั้ ง 5 ได้ น� ำ พระอุ รั ง คธาตุ ข อง พระพุทธเจ้าไปบรรจุที่พระธาตุพนม ตั้งอยู่ใน จังหวัดนครพนม โดยมีพระมหากัสสปะเถระ และพระอรหันต์ 500 องค์ เป็นประธาน อีก กลุ ่ ม หนึ่ ง นั้ น ได้ น� ำ พระอั ง คารธาตุ พระพุทธเจ้ามา ประดิษฐานบรรจุไว้ บนภู เ ขาลอย ตามประวัตวิ า่ ตามที่ พระพุทธเจ้า เสด็ จ เข้ า สู ่ ก าร ปรินพิ พาน แ ล ้ ว ที่ เ มื อ ง กุสนิ ารา ห ลั ง จ า ก

ถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว โทณพราหมณ์ ได้แจกพระธาตุไป 8 พระนครแล้ว อยู่มามี เมื อ งๆ หนึ่ ง ไปขอพระธาตุ ที ห ลั ง เขาพอดี พระธาตุได้แจกไปหมดแล้ว โทณพราหมณ์จึง เอาทะนานทองตวงเอาธาตุพระอังคาร (ขี้เถ้า) ให้ ม า เมื่ อ ได้ พ ระอั ง คารธาตุ จึ ง ได้ เ ดิ น ทาง กลับมาทางทิศอิสานใต้ พอถึงภูเขาลูกหนึ่ง คื อ ภู เขาลอย มี รู ป ลั ก ษณะสวยงามรู ป ร่ า ง เหมื อ นรู ป พญาครุ ฑ นอนคว�่ ำ หน้ า จึ ง มี ความคิดว่าน่าจะน�ำพระอังคารธาตุบรรจุไว้ ที่แห่งนี้เมื่อลงความเห็นเป็นอันเดียวกันแล้ว จึ ง ได้ ส ร้ า งสถานที่ บ รรจุ พ ระอั ง คารธาตุ ไว้ ที่ไหล่ข้างซ้ายของพญาครุฑ และเปลี่ยนชื่อ จากภูเขาลอย เป็นภูเขาพระอังคาร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 38

05/09/61 10:35:35


พระเจ้ า ใหญ่

พระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย ์ ที่ วั ด หงส์ พระเจ้ า ใหญ่ เป็ น พระพุ ท ธรู ป โบราณ ปางมารวิ ชั ย ณ วั ด หงส์ บ้ า นศี ร ษะแรต ต�ำบลมะเฟือง อ�ำเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ ตามต�ำนานเล่าว่า เมื่อประมาณปีพุทธศักราช 641 ของพุทธศตวรรษที่ 8 (พ.ศ.600 - 700) ได้มีพระญาคูใหญ่อริยเจ้า นามว่า หลวงปู่ลุน ธุดงควัตรมาจากถ�้ำภูเขาควาย แห่งเมืองลาว เข้ามายังบริเวณนี้ พบกับวิญญาณแม่นมของ ธิดาแห่งเมืองเขมร ที่มาตายอยู่ ณ ที่แห่งนี้ นางขอให้หลวงปู่ลุนช่วยสร้างพระธาตุเจดีย์ หลวงปู ่ ลุ น จึ ง ได้ ก ลั บ ไปน� ำ คณะมาสร้ า ง

พระธาตุ เ จดี ย ์ ส� ำ เร็ จ ต่ อ มาประมาณปี พ.ศ.648 กษัตริยแ์ ห่งเมืองลาว ประสงค์จะสร้าง พระพุทธรูป เพื่อเป็นศูนย์กลางของพระพุทธ ศาสนาระหว่ า งเมื อ งลาวและเมื อ งเขมร หลวงปู ่ ลุ น จึ ง ได้ น� ำ คณะช่ า งมาสร้ า งองค์ พระเจ้ า ใหญ่ อ ยู ่ บ ริ เ วณแห่ ง เดิ ม ที่ ส ร้ า ง พระธาตุ เจดี ย ์ เพราะหลวงปู ่ ลุ น ทราบว่ า ที่ตรงนี้พระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวาของ พระพุ ท ธองค์ เ คยมาปฏิ บั ติ ก รรมฐานและ โปรดสัตว์มาก่อน โดยสร้างส�ำเร็จเสร็จสิ้นเมื่อ วันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 ของปีพุทธศักราช 649

เมือ่ สร้างเสร็จมีพระอริยเจ้ามาร่วมพุทธาภิเษก เพื่อเป็นสิริมงคล และความศักดิ์สิทธิ์ 5 องค์ หนึ่งในห้ามีหลวงปู่ใหญ่ เทพโลกอุดร หรือ หลวงปู ่ เ พชร เป็ น ประธานใหญ่ ใ นพิ ธี จึ ง พร้อมใจกันตั้งชื่อพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นมาว่า “พระเจ้าใหญ่” ตามมงคลนามหลวงปู่ใหญ่ เทพโลกอุ ด ร ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ปาฏิหาริย์ขององค์พระเจ้าใหญ่จึงบังเกิดขึ้น อย่างยิ่งใหญ่ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

05/09/61 10:35:39


ภู เ ขาไฟโบราณ

“วนอุ ท ยานเขากระโดง” วนอุทยานเขากระโดง เดิมชาวบ้านเรียก เขากระโดงว่า “พนมกระดอง” เป็นภาษาเขมร แปลว่ า “ภู เขากระดอง (เต่ า )” เพราะมี รูปลักษณ์คล้ายกระดองเต่า ต่อมาเรียกเพี้ยน เป็น “กระโดง” ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอเมือง เป็น ปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว เฉกเช่นเดียว กับปากปล่องภูเขาไฟที่อื่นๆ ในจังหวัดบุรีรัมย์ อาทิเช่น ปากปล่องภูเขาไฟที่เขาพนมรุ้ง ปาก ปล่องภูเขาไฟที่เขาพระอังคาร โดยบริเวณ ใกล้เคียงกับวนอุทยานเขากระโดงมีสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มสู ง มาก คื อ สนามฟุตบอลช้างอารีนา ของทีมสโมสรบุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด (Buriram united, Buriram UTD) ส่วนสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วของวนอุทยานเขากระโดง มีดังนี้ ภู เขาไฟโบราณ ยั ง คงปรากฏร่ อ งรอย ปากปล่ อ งให้ เ ห็ น ได้ ชั ด เจน มี ลั ก ษณะเป็ น แอ่งลึกสามารถเดินชมศึกษาหินภูเขาไฟ ยอด สูงสุดประมาณ 265 เมตร จากระดับน�้ำทะเล เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน “พระสุ ภั ท รบพิ ต ร” พระพุทธรูปองค์ใหญ่คู่เมืองบุรีรัมย์ มีปรางค์กู่ โบราณ ภายในประดิษฐานพระพุทธบาทจ�ำลอง และสะพานแขวนซึ่งสามารถชมทัศนียภาพ บริ เ วณปากปล่ อ งภู เขาไฟได้ นอกจากนี้ วนอุ ท ยานยั ง มี พั น ธุ ์ ไ ม้ พื้ น เมื อ งน่ า ศึ ก ษา หลายชนิดตัวอย่างเช่น ผลของต้นโยนีปีศาจ พันธุ์ไม้หายากที่มักพบในบริเวณเขตภูเขาไฟ การขึน้ ไปยังเขากระโดงสามารถท�ำได้สองวิธี คือ เดินขึ้นบันได 297 ขั้น หรือ ขับรถขึ้นไป ถึงยอดเขา ระหว่างทางจะพบพระพุทธรูป ปางต่างๆ เรียงรายอยู่เป็นระยะ ปากปล่องภูเขาไฟเขากระโดง ปากปล่อง ภูเขาไฟเขากระโดง อยู่ในเขตบ้านเขากระโดง (คุ้มบ้านซับน�้ำซับ) ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีอายุประมาณ 3 - 9 แสนปี ซากปากปล่องเป็นรูปพระจันทร์ครึ่งซีก 40

ยอดเนินเขาเป็นขอบปล่องด้านทิศใต้เรียกว่า เขาใหญ่ ส่วนยอดเนินเป็นขอบปล่องด้านทิศเหนือ เรียกว่า เขาน้อย หรือเขากระโดง ส่วนบริเวณที่เป็นขอบปล่องปะทุคือ บริเวณที่เป็นหุบเขา ปัจจุบันมีสภาพเป็นสระน�้ำ เป็นซากภูเขาไฟที่ยังคงสภาพดีและมีอายุน้อยที่สุดในประเทศไทย ในปัจจุบนั บริเวณตรงปากปล่องมีลกั ษณะเป็นหลุมลึก ทางเดินเท้าก่อด้วยหินและมีระเบียงไม้ชมวิว

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 40

05/09/61 10:35:46


สงบใจ ได้ ป ั ญ ญาที่ วั ด ป่ า สตึ ก พั ฒ นา

วัดป่าสตึกพัฒนา ตั้งอยู่ หมู่ 17 ต�ำบลนิคม อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ ได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 2 ตามมติที่ประชุมมหาเถรสมาคม และเป็นวัดที่เข้าร่วมโครงการปฏิบัติธรรม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามแนวนโยบายของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปัจจุบันวัดป่าสตึกพัฒนา เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นศูนย์รวมทาง จิตใจของชาวบ้าน มีทั้งพระภิกษุ สามาเณร อุบาสก อุบาสิกา ญาติโยมมาปฏิบัติธรรม ไม่ขาดสาย เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันของวัด คือ พระครูโอภาสธรรมญาณ (หลวงพ่อสมพร) ท่านเป็นพระนักพัฒนาที่ได้รับรางวัลพัดยศทองค�ำจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

05/09/61 10:35:50


กราบสั ก การะ

พระมหาธาตุ รั ต นเจดี ย ์ วั ด เกาะแก้ ว ธุ ด งคสถาน (วั ด ระหาน)

ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านด่าน ต�ำบลระหาน อ�ำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรรี มั ย์ ภายในวัดประดิษฐานพระมหาธาตุรตั นเจดีย์ เพือ่ เป็นปูชนียสถาน ระลึกถึงองค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า ลักษณะขององค์พระมหาเจดีย์ เป็นศิลปะร่วมสมัย ภายในวัดเกาะแก้วธุดงคสถาน เป็นสถานที่ สงบร่มรื่น และมีนกยูงอาศัยอยู่จ�ำนวนมาก เหมาะส�ำหรับ พุทธศาสนิกชนที่ต้องการความสงบและได้ไปกราบไหว้ บูชาพระบรมสารีริกธาตุ ท�ำบุญและปฏิบัติธรรม ภายในบริเวณวัดแห่งนี้ พระครูเขมคุณโสภณ(หลวงปูจ่ นั ทร์แรม เขมสิริ) อดีตเจ้าอาวาส ท่านเป็นพระภิกษุ รูปแรกจากจังหวัดบุรรี มั ย์ทไี่ ด้พบหลวงปูม่ นั่ ภู ริ ทั ต โต และได้ เข้ า พิ ธี อุ ป สมบทเป็ น พระภิ ก ษุ ณ พั ท ธสี ม าวั ด บู ร พาราม อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ โดยมี พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) เป็นพระอุปัชฌาย์

42

และพระครู คุ ณ สารสั ม บั น (หลวงปู ่ โชติ คุ ณ สั ม ปั น โน) เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ ได้รับนามฉายาว่า “เขมสิริ” โดยเมื่อ ตอนไปพ�ำนักอยูก่ บั หลวงปูม่ นั่ นัน้ ได้มพี ระอาจารย์วนั อุตตฺ โม และหลวงปู่หล้า เขมปัตโต เป็นพระพี่เลี้ยง หลวงปู ่ จั น ทร์ แรมละสั ง ขารในยามดึ ก สงั ด ก่ อ นรุ ่ ง ของ วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2552 ด้วยความสงบ สิริอายุ 87 ปี 203 วัน พรรษา 65 ทิ้งมรดกธรรม คุ ณ งามความดี ไว้ ใ ห้ แ ก่ โ ลก ให้ บ รรดา ลูกศิษย์ได้ยึดถือเป็นคติตัวอย่าง ด�ำเนิน รอยตามพระอริยเจ้าผู้งามพร้อมด้วย คุณอันประเสริฐ โทรศั พ ท์ 08-1839-5239

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 42

05/09/61 10:35:54


สั น โดษ เสี ย สละ

ณ ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมธุ ด งค์ ส ถานป่ า ศิ ริ ส มบู ร ณ์

ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมธุดงค์สถานป่าศิรสิ มบูรณ์ (วัดสาขาที่ 82 ของวัดหนองป่าพง จ.อุบลราชธานี) ตัง้ อยูห่ มู่ 10 บ้านไร่สมบูรณ์ ต�ำบลโนนสุวรรณ อ� ำ เภอโนสุ ว รรณ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ปั จ จุ บั น พระใบฎีกาวิศวาธาร ปภสฺสโร เป็นประธานสงฆ์ เป็นวัดป่าสายปฏิบัติ ซึ่งท่านได้ก่อตั้งขึ้นเพื่อ เป็ น สถานที่ ส� ำ หรั บ ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ฝึ ก ฝน

อบรมพระภิกษุ - สามเณร ผูม้ งุ่ สูค่ วามพ้นทุกข์ ให้เป็นผู้มักน้อย สันโดษ เสียสละ พากเพียร เพื่อมรรคผลนิพพาน และน�ำพาไปสู่การเป็น สมณะที่ ง ดงาม ด้ ว ยการรั ก ษาวั ต รปฏิ บั ติ ตามธรรมวิ นั ย อั น จะเป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด ความเลื่อมใสแก่ผู้พบเห็น ร่วมประคองค�้ำชู พระศาสนาให้ มี อ ายุ ยื น ยาว เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง

เพือ่ หวังให้ตอ่ ไปจะได้เป็นศูนย์กลางการอบรม สั่งสอนตามหลักแห่งพระพุทธศาสนา ให้กับ นักปฏิบัติธรรมทั้งพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ที่สนใจทุกคนต่อไป โทรศั พ ท์ 08-1071-9326 08-4411-8852

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

05/09/61 10:35:59


ท่ อ งสั น เขื่ อ นดิ น ที่

“เขื่ อ นล� ำ นางรอง” เขื่อนล�ำนางรอง ตั้งอยู่ที่ต�ำบลโนนดินแดง อ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพื้นที่ โครงการพั ฒ นาเพื่ อ ความมั่ น คงตามพระ ราชด�ำริ เขื่อนล�ำนางรองเป็นเขื่อนดิน มีถนน ลาดยางบนสันเขื่อนส�ำหรับชมทัศนียภาพ ที่ สันเขื่อนมีหินลอย (หินภูเขาไฟอีกชนิดหนึ่ง) 44

เป็ น ก้ อ นและแผ่ น สี สั น แบ่ ง กั น เป็ น ชั้ น ๆ สวยงาม ซึ่งได้น�ำออกไปกองไว้กันน�้ำเซาะ สั น เขื่ อ น และใกล้ กั บ เขื่ อ นล� ำ นางรองนี้ มี เขื่ อ นคลองมะนาวซึ่ ง มี ข นาดเล็ ก กว่ า แต่ ก็ สวยงามสงบเงี ย บ ซึ่ ง เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ น ของชาวบุรีรัมย์อีกแห่งหนึ่ง

การเดินทาง : ใช้ถนนเข้าบ้านโนนดินแดง ห่างจากอนุสาวรีย์เราสู้ประมาณ 1 กม. ก่อน ถึ ง อนุ ส าวรี ย ์ จ ะพบทางแยกเข้ า ไปทางซ้ า ย เป็นลักษณะเขื่อนดิน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 44

05/09/61 10:36:01


TRAVEL G UIDE

7

บันทึกเส้นทางแนะน�ำที่ท่องเที่ยว

ที่เที่ยว

เมืองต้องห้ามพลาด

บุรีรัมย์เมืองปราสาท 2 ยุค

เนวิน ชิดชอบ

ปราสาทหินพนมรุ้ง

ณ อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ( Prasat Hin Phanom Rung )

เป็นหนึง่

ในปราสาทหินกลุม่ ราชมรรคา ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 (บ้านดอน หนองแหน) ต�ำบลตาเป๊ก อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากตัวเมืองบุรรี มั ย์ ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบไปด้วยโบราณสถาน ส�ำคัญ ซึง่ ตัง้ อยูบ่ นยอดภูเขาไฟทีด่ บั สนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตรจาก พืน้ ราบ (ประมาณ 350 เมตรจากระดับน�ำ้ ทะเลปานกลาง) ค�ำว่า พนมรุง้ นั้น มาจากภาษาเขมร ค�ำว่า วนํรุง แปลว่า ภูเขาใหญ่ ปราสาทหินพนมรุ้งสร้างขึ้นเนื่องในศาสนาฮินดูลัทธิไศวะ ซึ่งนับถือ พระศิ ว ะเป็ น เทพเจ้ า สู ง สุ ด เพื่ อ เป็ น เทวาลั ย ที่ ป ระทั บ ของพระศิ ว ะ ที่ประทับของพระองค์อยู่บนยอดเขาไกรลาส ดังนั้นการที่ปราสาทแห่งนี้ สร้างขึ้นบนยอดเขาพนมรุ้ง จึงเป็นการสะท้อนถึงการนับถือ ศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกายได้เป็นอย่างดี เขาพนมรุ้งจึงเปรียบเสมือนเขาไกรลาสที่ ประทับของพระศิวะ สถานที่ตั้ง ปราสาทพนมรุ้ง ตั้งอยู่ที่บ้านตาเป๊ก อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด บุรรี มั ย์ เวลาท�ำการ 06.00 น. – 18.00 น. โทร 0 - 4466 - 6251 การเดินทาง ใช้ทางหลวงหมายเลข 24 ประมาณ 14 กิโลเมตร ถึงสามแยกโรงเรียน บ้านตะโก เลีย้ วขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2117 ตรงไปราว 6 กิโลเมตร ถึงบ้านตาเป๊ก แล้วเลีย้ วซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 2221 อีก 6 กิโลเมตร รถประจ�ำทาง รถโดยสารจากกรุงเทพฯ – เขาพนมรุ้ง ลงที่เชิงเขาแล้วต่อ รถสองแถวขึ้นไปบนปราสาท รถสายบุรีรัมย์ – นางรอง ลงสถานีนางรอง แล้วต่อรถสองแถว BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)5

ver.2.indd 45

45

22/8/2561 15:43:56


ท่องชุมชนโบราณ...

ปราสาทเมืองต�ำ่ ( Prasat Muang Tum )

ปราสาท

เมืองต�่ำ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอ ประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ห่างจากปราสาทพนมรุ้งมาทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 8 กิโลเมตร ปราสาทเมืองต�่ำ เป็ น ศาสนสถานที่ ส ร้ า งตามคติ ค วามเชื่ อ ทางศาสนาฮิ น ดู สันนิษฐานว่าคงสร้างขึ้นเพื่อถวายพระศิวะ มีลักษณะเป็น ศาสนสถานประจ�ำเมือง หรือประจ�ำชุมชน จากการศึกษาทาง โบราณคดีพบว่า มีการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณในละแวกนี้ เป็นชุมชนขนาดใหญ่หลายชุมชน เช่นชุมชนบ้านโคก เมืองโคก ยายคาน โคกสลองตอง เป็นต้น โบราณวัตถุทขี่ ดุ พบได้แก่ เครือ่ ง มือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันเช่น ภาชนะดินเผาเนื้อดินเครื่อง ถ้วยชามเคลือบสีน�้ำตาลและเคลือบสีเขียว เป็นจ�ำนวนมาก

กราบรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง นมัสการ

“วนอุทยานภูเขาไฟกระโดง”

“พระสุภัทรบพิตร” ( Khao Kradong Forest Park )

วน

อุทยานเขากระโดง เป็นสถานที่ท่องเที่ยวและศึกษา ประวั ติ ศ าสตร์ ท างธรณี วิ ท ยาเนื่ อ งจากเป็ น ที่ ตั้ ง ของภู เ ขาไฟ นอกจากนี้ยังมีโบราณสถานกู่เขากระโดง ซึ่งเป็นที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และมี “พระสุภทั รบพิตร” พระพุทธรูป องค์ใหญ่คู่เมืองบุรีรัมย์บนยอดเขา และยังเป็นเส้นทางศึกษา ธรรมชาติป่าเต็งรัง เนื้อที่ประมาณ 6 พันไร่ รวมทั้งพันธุ์ไม้พื้น เมืองหายาก เช่น ผลต้นโยนีปีศาจ ที่มักพบบริเวณเขตภูเขาไฟ วนอุทยานเขากระโดง ชื่อเดิมคือ "พนมกระดอง" เป็นภาษา เขมร แปลว่า ภูเขากระดอง (เต่า) เป็นภูเขาที่มีรูปลักษณ์คล้าย กระดองเต่า ต่อมาเรียกเพี้ยนเป็น "กระโดง" ตั้งอยู่ในเขตอ�ำเภอ เมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นปากปล่องภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว

46

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

(

)5

ver.2.indd 46

25/8/2561 17:07:44


ย้อนรอยพระพุทธศาสนา เสมาพันปี

ที่วัด( Watเขาอั ง คาร Khao Angkhan )

วัด

เขาอังคาร ตั้งอยู่บนยอดเขาอังคาร ซึ่ง สูงจากระดับน�ำ้ ทะเลประมาณ 320 เมตร อยูห่ า่ ง จากหมู ่ บ ้ า นเจริ ญ สุ ข ประมาณ 3 กิ โ ลเมตร ในต�ำบลเจริญสุข อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด บุรีรัมย์ สันนิษฐานว่าสร้างมาในสมัยเดียวกับ ปราสาทหินพนมรุ้งหรือในยุคที่ขอมเรืองอ�ำนาจ เป็นวัดที่มีความสวยงาม ใหญ่โตแห่งหนึ่งของ จังหวัดบุรรี มั ย์ มีสงิ่ ทีน่ า่ สนใจมากมาย อาทิ โบสถ์ 3 ยอด ซึ่งภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรมฝาผนัง และเรือ่ งราวชาดกเป็นภาษาอังกฤษ ใบเสมาพันปี พระพิ ฆ เนศงาเดี ย ว พระพุ ท ธ 109 องค์ พระต�ำหนักศักดิ์สิทธิ์ เทวรูปเจ้าเมืองขอม ฯลฯ แหล่งเตาโบราณ นักโบราณคดีได้สำ� รวจพบเตาเผา และเครือ่ งปัน้ ดินเผาโบราณจ�ำนวนมาก เตาโบราณ เหล่านีม้ อี ายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 14-19 เป็น แหล่งผลิตเครื่องถ้วยขอมเพื่อเป็นสินค้าป้อนให้ กับเมืองต่างๆ โดยมีการท�ำเป็นอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ และขยายขอบเขตการผลิตไปยังพื้นที่ ใกล้เคียงอีกด้วย กรมศิลปากรได้ท�ำการขุดแต่ง เตาโบราณ 2 แห่ง คือ เตานายเจียน และเตาสวาย

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)5

ver.2.indd 47

47

22/8/2561 15:44:24


สนามฟุตบอลที่สวยงามและได้มาตรฐานระดับโลก

ช้างอารีนา

(Chang Arena) เป็น สนามกีฬาที่สร้างขึ้นเพื่อใข้เป็นสนามเหย้าของ สโมสรฟุตบอล บุรรี มั ย์ ยูไนเต็ด เป็นสนามฟุตบอล ทีไ่ ด้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย ทีไ่ ม่มลี วู่ งิ่ คัน่ สนาม ผ่านมาตรฐานระดับ เอ คลาส สเตเดียม จากเอเอฟซี และผ่านมาตรฐานระดับ เวิลด์ คลาส จากฟีฟา่ นอกจากนีย้ งั ได้บนั ทึกลง กินเนสบุค๊ ว่าเป็นสนามฟุตบอลในระดับฟีฟา่ แห่ง เดียวในโลกที่ใช้เวลาก่อสร้างน้อยที่สุดในโลกคือ 265 วัน มีทนี่ งั่ ผูช้ มจ�ำนวน 32,600 ทีน่ งั่

สนาม ช้าง อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต ( Chang International Circuit ) สนามฟุตบอล Chang Arena

สนามช้าง-อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต Chang Internationnal Circuit ช้าง อินเตอร์เนชัน่ แนล เซอร์กติ เป็นสนามแข่งรถมาตรฐานสมาพันธ์รถยนต์ นานาชาติ (FIA) ในประเทศไทย ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกของสนามช้างอารีนา สนามช้างฯ ได้รบั การรับรองจากสมาพันธ์รถยนต์นานาชาติ ว่าเป็นสนามแข่งรถ ระดับมาตรฐาน เอฟไอเอ เกรด 1 (FIA Grade 1) ซึ่งเป็นระดับสนามที่อนุญาต ให้ใช้จัดการแข่งขันรถสูตรหนึ่ง (ฟอร์มูลาวัน) ได้ และได้รับการรับรองจากสมา พันธ์จักรยานยนต์นานาชาติ (FIM) ว่าเป็นสนามแข่งรถระดับมาตรฐาน เอฟไอ เอ็ม เกรด เอ (FIA Grade A) ซึ่งเป็นระดับสนามที่ได้รับอนุญาตให้ใช้จัดการ แข่งขันโมโตจีพีได้

48

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

(

)5

ver.2.indd 48

25/8/2561 17:07:50


เล่นน�้ำทะเลอีสาน ทะเลบุรีรัมย์

“เขื( ่อLamนล�Nangำนางรอง” Rong Dam ) เขื่อนล�ำนางรอง เป็นพื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความ

มั่นคงตามพระราชด�ำริ เขื่อนล�ำนางรองเป็นเขื่อนดิน มีถนน ลาดยางบนสันเขื่อนส�ำหรับชมทัศนียภาพที่สันเขื่อนมีหินลอย (หินภูเขาไฟอีกชนิดหนึ่ง) เป็นก้อนและแผ่น สีสันแบ่งกันเป็น ชั้นๆ สวยงาม ซึ่งได้น�ำออกไปกองไว้กันน�้ำเซาะสันเขื่อน และ ใกล้กบั เขือ่ นล�ำนางรองนี้ มีเขือ่ นคลองมะนาวซึง่ มีขนาดเล็กกว่า แต่ก็สวยงามสงบเงียบ ซึ่งเป็นสถานที่พักผ่อนของชาวบุรีรัมย์ อีกแห่งหนึ่ง ทีต่ งั้ : ต�ำบล โนนดินแดง อ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรรี มั ย์ การเดินทาง ใช้ถนนเข้าบ้านโนนดินแดง ห่างจากอนุสาวรียเ์ ราสูป้ ระมาณ 1 กิโลเมตร ก่อนถึงอนุสาวรียจ์ ะพบทางแยกเข้าไปทางซ้าย เป็น ลักษณะเขื่อนดิน

สุดฟิน หนาวนี้ที่ ....

“จุดชมวิวผาแดง” ( Pha Dang View Point )

ตัง้

อยู ่ ที่ อ� ำ เภอโนนดิ น แดง เป็ น อี ก หนึ่ ง จุ ด ชมวิ ว ช่วงหน้าหนาวสุดฟิน ที่ให้นักท่องเที่ยวได้สัม ผัสอากาศ และธรรมชาติแสนสวย พร้อมทะเลหมอกที่ปกคลุม ผืน ป่ า ดงใหญ่ - เทื อ กเขาบรรทั ด เมื่ อ มองลงมาจะเห็ น ตั ว หมู่บ้านใหม่ไทยถาวร โดยนักท่องเที่ยวสามารถเดินทาง จากที่ท�ำการอุทยานแห่งชาติตาพระยา ไปทางอ�ำเภอ โนนดินแดง ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ถึงจุดตรวจ ต�ำรวจชายแดน เลี้ยวขวาเป็นทางลูกรังเข้าไปประมาณ 1 กิโลเมตร แนะน�ำว่าให้ไปเที่ยวช่วงหน้าหนาว บอกเลยว่า คุณจะต้องประทับใจสุด ๆ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

(

)5

ver.2.indd 49

49

22/8/2561 15:45:34


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกลาง พระอารามหลวง

พระเทพปริยัตยาจารย์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ และ เจ้าอาวาส

วั ด กลาง เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 96 ถนนจิระ

หมู่ที่ 10 ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัด มี เ นื้ อ ที่ 24 ไร่ 2 งาน โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 11820 น.ส.3 ก ตั้ ง วั ด เมื่ อ วั น ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2320 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 30 เมตร ยาว 60 เมตร ได้ รั บ การสถาปนาขึ้ น เป็ น พระอารามหลวง เมื่ อ วั น ที่ 8 สิ ง หาคม พ.ศ.2533 มี อ าณาเขต ทิ ศ เหนื อ ติ ด ถนนอิ ส าณ ทิ ศ ใต้ ติ ด ถนนจิ ร ะ ทิ ศ ตะวั น ออกติ ด ถนนหลั ก เมื อ ง และทิ ศ ตะวั น ตกติ ด ถนนสุ น ทรเทพ

50

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 50

22/08/61 11:06:52


ประวัติความเป็นมา วัดกลาง สร้างขึน้ เป็นวัดในพระพุทธศาสนา นับตั้งแต่สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณ พ.ศ.2300 และตั้ ง เป็ น วั ด โดยสมบู ร ณ์ เ มื่ อ พ.ศ.2329 เดิมเป็นวัดร้างโบราณ ปรากฎ หลั ก ฐานว่ า เคยเป็ น สถานที่ พั ก แรมทั พ ของ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก(พระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่1) ในคราวเสด็จผ่านขณะเดินทัพเพื่อไปตีเมือง จ�ำปาศักดิ์ จึงโปรดเกล้าให้ยกวัดร้างเป็นวัด มีพระสงฆ์ให้ชอื่ ว่า วัดแปะใหญ่ ในสมัยกรุงธนบุรี ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดกลาง ภายในวัดมีสระน�้ำโบราณที่เรียกชื่อกันว่า “สระสิ ง ห์ โ ต” เป็ น สระน�้ ำ เก่ า แก่ โ บราณ ในสมั ย ก่ อ นนั้ น ใช้ เ ป็ น ที่ ดื่ ม อาบกิ น และ เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีถือน�้ำพระ พิ พั ฒ น์ สั ต ยาของเจ้ า เมื อ งและขุ น นางใน ยุคก่อน โดยตักน�้ำในสระนี้แล้วไปท�ำพิธีใน พระอุโบสถหลังเก่า ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของพระอุโบสถ ในปัจจุบัน โดยสระนี้ในปัจจุบันยังใช้ได้ดีอยู่ เมื่อคราวที่ทางราชการได้จัดพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ พระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2530 ซึ่งทางราชการ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ก็ ไ ด้ ท� ำ พิ ธี อั ญ เชิ ญ น�้ ำ ในสระ แห่งนี้ เพือ่ ทูลถวายร่วมในพิธกี ารดังกล่าวข้างต้น ด้ ว ย นั บ เป็ น โบราณสถานแห่ ง หนึ่ ง ของ จังหวัดบุรรี มั ย์ และทางวัดก็มโี ครงการปรับปรุง บูรณะขุดลอกและตกแต่งสระน�้ำให้สวยงาม ร่มรื่น เพื่อให้ลูกหลานได้ศึกษาและค้นคว้า ในโอกาสต่างๆ ซึ่งขณะนี้ทางเทศบาลก�ำลัง ด�ำเนินการปรับปรุงให้เป็นระเบียบเรียบร้อยต่อไป วัดกลาง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่ อ พ.ศ.2399 กรมการศาสนายกขึ้ น เป็ น วั ด พั ฒ นาตั ว อย่ า งเมื่ อ พ.ศ.2509 และ ได้ รั บ พระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ยกฐานะเป็ น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2533 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศลงวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2533 วัดได้ท�ำการบูรณะพัฒนาให้เจริญรุ่งเรือง มาเป็นล�ำดับ โดยเฉพาะวัดแห่งนี้เป็นสถานที่ อยู ่ จ� ำ พรรษาของเจ้ า คณะจั ง หวั ด ซึ่ ง เป็ น ผู้บริหารงานพระพุทธศาสนาภายในจังหวัด จนกระทั่งถึง พ.ศ.2511 สมัยพระธรรมธีรมุนี (เป้า หาสจิตฺโต ป.ธ.7) อดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง

และเจ้ า คณะจั ง หวั ด รู ป ที่ 3 ในสมั ย ที่ ท ่ า น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด แห่ ง นี้ ท่ า นได้ ท�ำการบูรณะพัฒนาวัดแห่งนี้ได้เจริญก้าวหน้า ถึ ง ที่ สุ ด ในยุ ค นั้ น ทั้ ง ด้ า นการปกครอง ศาสนศึกษา การเผยแผ่ และสาธารณูปการ เพราะท่านมีต�ำแหน่งเป็นผู้น�ำการพระพุทธ ศาสนาในจังหวัดด้วย จึงมีศักยภาพในการ บูรณะพัฒนาอย่างมาก ท่านได้วางแผนในการ พัฒนาเสนาสนะถาวรต่างๆ ไว้ให้เจ้าอาวาส รูปต่อมาได้พัฒนารับช่วงต่อไปอย่างไม่ต้อง รื้อถอนใหม่ เพียงแต่ปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อ ทดแทนส่วนทีช่ ำ� รุดสึกหรอไปตามสภาพการณ์ ทางธรรมชาติ และให้รับความเจริญก้าวหน้า ที่จะมาในอนาคต ปั จ จุ บั น พระเทพปริ ยั ต ยาจารย์ เป็ น เจ้ า อาวาสและด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้ า คณะ จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ.2560 ภายในวัดกลางพระอารามหลวง แบ่งการปกครองเป็นคณะ โดยมีพระหัวหน้า คณะคือ ผู้ช่วยเจ้าอาวาส 6 รูป เป็นผู้ให้การ อบรมดู แ ละพระภิ ก ษุ มี พ ระภิ ก ษุ จ� ำ นวน 25 รูป สามเณร 168 รูป

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

22/08/61 11:07:09


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดทุ่งโพธิ์

พระราชพิศาลสุธี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดทุ่งโพธิ์ ตั้งอยู่เลขที่ 357 หมู่ 17 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์

สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย

52

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 52

22/08/61 11:25:07


ประวัติความเป็นมาของวัดทุ่งโพธิ์ เดิมที่ดินผืนนี้นี้เป็นที่นาตามกรรมสิทธิ์ใน นส.3 ของนายสวั ส ดิ์ กลางแก้ ว อดี ต คลั ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ต่ อ มาปี พ.ศ.2521 ได้ มี พระธุดงค์ 3 รูป หนึ่งในนี้คือ หลวงปู่เหลือง ฉนฺทาคโม (ปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ ในราชทินนามที่ พระราชปัญญาวิสารัท) ได้ มาปักกลดอยูบ่ ริเวณจอมปลวกใหญ่กลางทุง่ นา ชาวบ้านทุ่งโพธิ์จึงได้มาสนทนาธรรมกับท่าน ซึ่ ง ชาวบ้ า นเหล่ า นั้ น ทราบว่ า ที่ น าเป็ น ของ นายสวัสดิ์ จึงแจ้งให้นายสวัสดิ์และนางเกื้อกูล กลางแก้ว ทราบ ซึ่งทั้งสองทราบก็เกิดปีติยินดี เห็ น สมควรจะถวายที่ ดิ น เพื่ อ สร้ า งวั ด ใน พระพุทธศาสนา จึงได้น�ำลูกหลานมาสร้าง ปะร� ำ ส� ำ หรั บ สร้ า งที่ พั ก สงฆ์ ชั่ ว คราวถวาย พระธุดงค์ในคราวนั้น ต่อมาในปี พ.ศ.2523 ก็ได้กฏุ ขิ นึ้ เป็นหลังแรก และในปี พ.ศ.2525 ได้สร้างศาลาหลังเล็กขึ้น เป็นหลังแรก และต่อมาได้ถวายที่ดินเพิ่มอีก ประมาณ 20 ไร่ เพื่อสร้างฌาปนสถานเมรุ และศาลาธรรมสั ง เวช จากที่ ดิ น ที่ ย กถวาย สร้างวัด ตาม นส.3 ครั้งแรกจ�ำนวน 16 ไร่เศษ ต่อจากนั้นได้มีการปรับปรุงอาณาบริเวณ โดย มีการสร้างกุฏิ ขุดสระน�ำ ้ ถมดิน และปลูกต้นไม้ เมื่อสร้างเสนาสนะจากแรงศรัทธาญาติโยม ขึ้ น ตามสมควรแล้ ว นายสวั ส ดิ์ กลางแก้ ว จึงได้ขอนุญาตสร้างวัดไปยังกรมการศาสนา และได้รบั การอนุญาตสร้างวัดโดยกรมการศาสนา ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการ

และมหาเถรสมาคม จึงประกาศตัง้ วัดขึน้ พระพุทธศาสนาโดยถูกต้อง เมือ่ วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2531 มีนามว่า วัดทุ่งโพธิ์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2540 ปัจจุบันวัดทุ่งโพธิ์ ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างศาลาที่พักส�ำหรับพระสงฆ์อาคันตุกะ และที่พัก ส�ำหรับอุบาสกอุบาสิกาผู้มาปฏิบัติธรรม เป็นศาลาคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น โดยปัจจุบัน วัดทุ่งโพธิ์แห่งนี้ มีพื้นที่เขตสังฆาวาสทั้งหมดรวมกว่า 54 ไร่ เสนานะกุฏิสงฆ์ทั้งหมด 25 หลัง รวมที่พักของแม่ขาวด้วย วัดทุ่งโพธิ์ เป็นวัดที่ให้การอุปสมบทกุลบุตรชาวต่างประเทศ อาทิเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสโลวาเกี ย และประเทศศรี ลั ง กา เป็ น วั ด สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ต ในเขตปกครอง คณะสงฆ์ภาค 11 (ธรรมยุต) ปัจจุบันมี พระพรหมวิสุทธาจารย์ เป็นเจ้าคณะผู้ปกครอง พื้นที่ตั้งของวัดทุ่งโพธิ์มีอาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับ หมู่บ้านการเคหะเอื้ออาทรแห่งชาติ จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันตก ติดกับ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดบุรีรัมย์ ระยะทางจาก วัดทุ่งโพธิ์ (ธรรมยุต) ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ 2 กิโลเมตร

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

22/08/61 11:25:36


สถานที่ส�ำคัญภายในวัดทุ่งโพธิ์ 1.อุโบสถทรงจัตุรมุข ภายในประดิษฐาน พระประธานพระพุทธปฏิม า 3 องค์ อาทิ หลวงพ่อพระพุทธเมตตา และ ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ ซึ่ง สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร) พระองค์ที่ 19 วัดบวรนิเวศ ราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร ทรงประทาน พระเมตตามอบให้แก่วัดทุ่งโพธิ์ ซึ่งอุโบสถ จัตรุ มุขหลังนีใ้ ช้ในการท�ำสังฆกรรมของพระสงฆ์ เช่น การสดับพระปาฏิโมกข์ทุกกึ่งเดือน หรือ ในการบรรพชาอุปสมบทกุลบุตร 2.ศาลาอาวุธปัญญานุสรณ์ เดิมศาลา หอฉันหลังนี้ ได้ก่อสร้างขึ้นใหม่ตามด�ำริ ใน พระราชพิ ศ าลสุ ธี เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น เนื่ อ งจากศาลาหลั ง เดิ ม เวลาฝนตกท� ำ ให้ น�ำ้ ท่วมขังเข้าไปในศาลา ท�ำให้เกิดความเสียหาย จึงได้สร้างขึ้นใหม่ ปัจจุบันศาลาหลังนี้ ได้รับ นามศาลาว่า “ศาลาอาวุธปัญญานุสรณ์” จาก พระคุ ณ พระพรหมมุ นี ( สุ ชิ น อคฺ ค ชิ น เถร) วั ด ราชบพิ ธ สถิ ต มหาสี ม ารามราชวรวิ ห าร เลขานุ ก ารสมเด็ จ พระสั ง ฆราช กรรมการ มหาเถรสมาคม ซึง่ ศาลาหลังนีเ้ ป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธรูปส�ำคัญของวัด นามว่า “พระพุทธ 54

ศรีโพธิ์อุตตโมภาส” ซึ่ง เจ้าพระคุณสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก (อมฺ พ รมหาเถร) พระองค์ปจั จุบนั ประทานพระอนุญาตถวายนาม พระพุทธรูปว่า พระพุทธศรีโพธิ์อุตตโมภาส มี ค วามหมายว่ า “พระพุ ท ธเจ้ า ผู ้ ท รงมี พระรั ศ มี อั น อุ ด ม” หรื อ ที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชน บริเวณใกล้เคียงวัดทุ่งโพธิ์ เรียกพระพุทธรูป องค์นี้ว่า “หลวงพ่อองค์ด�ำ” ศาลาอาวุ ธ ปั ญ ญานุ ส รณ์ หลั ง นี้ นั้ น ได้ ประกอบพิ ธี เ ปิ ด และพิ ธี ย กฉั ต รถวาย พระพุ ท ธศรี โ พธิ์ อุ ต ตโมภาสเมื่ อ วั น ที่ 29 มกราคม พ.ศ.2561 โดย พระเดชพระคุณจาก พระพรหมมุ นี กรรมการมหาเถรสมาคม เลขานุ ก ารในพระองค์ ส มเด็ จ พระสั ง ฆราช เมตตาเป็นองค์ประธานในพิธีดังกล่าว และ วั ด ทุ ่ ง โพธิ์ และยั ง ได้ รั บ พระเมตตาจาก เจ้ า พระคุ ณ สมเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อมฺพรมหาเถร) โปรด ประทานพระอนุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์ ประจ�ำพระองค์ ออป. ไว้หน้าบันศาลาอาวุธ ปัญญานุสรณ์ด้วย ศาลาหลังนี้เป็นศาลาอนุสรณ์ในการเจริญ

อายุวัฒนมงคล 73 ปี ของหลวงพ่อเจ้าคุณฯ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ในปัจจุบัน ศาลาหลังนี้ มีไว้ใช้ในการประชุมเจ้าคณะพระสังฆาธิการ ของคณะสงฆ์ ธ รรมยุ ต จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ หรื อ อื่นๆ ตามโอกาสส�ำคัญ 3.ศาลา 69 ปี พระประสาธน์สารคุณ เดิ ม บริ เ วณนี้ เ ป็ น ทุ ่ ง นาของชาวบ้ า น ซึ่ ง อยู ่ น อกเขตก� ำ แพงวั ด ทุ ่ ง โพธิ์ แต่ ป ั จ จุ บั น พุทธศาสนิกชนได้ร่วมใจหาทุนทรัพย์ซื้อที่ดิน ถวายแก่วดั ทุง่ โพธิ์ เพือ่ ใช้สร้างศาสนถาวรวัตถุ ของวัดในกิจการพระพุทธศาสนาของวัดทุง่ โพธิ์ ศาลาหลังนี้ หลวงพ่อเจ้าคุณฯ เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน ตั้งนามศาลาว่า “ศาลา 69 ปีพระ ประสาธน์สารคุณ” ปัจจุบันศาลาหลังนี้ใช้ ในการ สอบธรรมสนามหลวงและการศึกษา พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์นวกะ สามเณร หรือนักเรียนนักศึกษาทั่วไป 4.หอระฆังสินธุรัตน์ เป็นหอระฆังทรงสูง ได้ก่อสร้างขึ้นเพื่อให้คล้ายกับภูเขา เพราะมี การก่ อ สร้ า งโดยใช้ หิ น วางแตะระดั บ สู ง ขึ้ น จากพื้ น ถนนในบริ เวณวั ด หอระฆั ง หลั ง นี้ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2531 ใช้ ป ระกอบการตี ให้สัญญาณเวลาท�ำวัตรเช้า - เย็น หรืออื่นๆ

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 54

22/08/61 11:25:10


ปัจจุบนั วัดทุง่ โพธิ์ (ธรรมยุต) มีพระภิกษุ และ สามเณรจ� ำ พรรษาปี ล ะประมาณ 25-30 รูป และมีพระต่างประเทศเดินทาง มาอุปสมบทและจ�ำพรรษา เช่น ประเทศ INDONESIA และประเทศ SLOVAKIA เป็นต้น ช่องทางติดต่อ วัดทุ่งโพธิ์

FACEBOOK

วัดทุ่งโพธิ์ บุรีรัมย์ Wat Thung Pho

โทรศัพท์

04-4181-200 และ 04-4181-195

ประวัติเจ้าอาวาสวัดทุ่งโพธิ์ รูปปัจจุบัน พระราชพิ ศ าลสุ ธี (อาจ อาวุ ธ ปญฺ โ ญ) ป.1-2 น.ธ.เอก อายุ 73 ปี พรรษา 52 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดทุ่งโพธิ์ เจ้าคณะ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ (ธรรมยุ ต ) รั ก ษาการแทน เจ้าอาวาสวัดระหาน พระธรรมทูตฝ่ายบริหาร และพระอุปัชฌาย์ เกิดวันอาทิตย์ที่ 28 มกราคม พ.ศ.2488 ณ บ้านเลขที่ 72 หมู่ 16 ต�ำบลบ้านด่าน อ�ำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ การศึกษา ปริญญากิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการพัฒนาสังคม ปริญญาโท ศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปริ ญ ญาเอก ศาสนศาสตร์ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาพุทธศาสน์ศกึ ษา มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

22/08/61 11:25:53


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดท่าสว่าง

พระสุนทรธรรมเมธี ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ และ เจ้าอาวาส

วัดท่าสว่าง ตั้งอยู่เลขที่ 226 หมู่ที่ 15 บ้านท่าสว่าง ถนนสุขาภิบาล 1 ต�ำบลกระสัง

อ� ำ เภอกระสั ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เดิ ม ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “วั ด กระสั ง ” เพราะตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นกระสั ง และมี เ พี ย งวั ด เดี ย ว ที่ ก ่ อ ตั้ ง ก่ อ นวั น ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2486 ซึ่งเป็นวันที่กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ . ศ . 2 4 8 4 มี ผ ล บั ง คั บ ใ ช ้ ไ ด ้ รั บ ป ร ะ ก า ศ ตั้ ง เ ป ็ น วั ด ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ต า ม ทะเบี ย นที่ ต รวจสอบได้ จ ากส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เมื่ อ พ.ศ.2369 พระสุ น ทรธรรมเมธี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส ปี พ.ศ.2525 - ปั จ จุ บั น 56

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 56

22/08/61 11:37:14


ภายหลังกรมการปกครองได้แยกหมู่บ้าน จากหมู่ที่ 1 เป็นหมู่ที่ 15 วัดท่าสว่างจึงถูก แบ่งเขตให้อยู่ในเขตของหมู่ที่ 15 ชาวบ้าน หมู่ท่ี 15 ได้ตั้งชื่อบ้านใหม่ว่า “บ้านท่าสว่าง” ตามชือ่ วัด หมูที่ 1 เดิมไม่มวี ดั ตัง้ อยูแ่ ต่ไม่ทราบ ด้วยเหตุผลกลใด หนังสือประวัติวัดทั่วราช อาณาจั ก รที่ ก รมการศาสนาจั ด พิ ม พ์ จึ ง มี “วัดท่าสว่าง” ทัง้ สองหมู่ คือหมูท่ ี่ 1 และหมูท่ ี่ 15 กรมการศาสนายังจัดส่งแถลงการณ์คณะสงฆ์ ให้วัดท่าสว่างทั้งสองหมู่ ก็แปลกดีเหมือนกัน ข้อสังเกตตรงนี้ จะเป็นเพราะมีการแยกหมูบ่ า้ น นั้นเอง โดยที่เมื่อวัดท่าสว่างถูกจัดให้อยู่ใน หมูท่ ี่ 15 ทีแ่ ยกใหม่ หมูท่ ี่ 1 ดัง้ เดิมทีว่ ดั ท่าสว่าง

ตั้งอยู่น้ันทะเบียนวัดฉบับกรมการศาสนายังมี วัดท่าสว่างอยู่ เรื่องนี้เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง (พระครูอมรธรรมนิเทศก์) เคยท�ำหนังสือแจ้ง เพือ่ ให้แก้ไขให้ถกู ต้องสมัยท่านไพบูลย์ เสียงก้อง เป็นอธิบดีแล้วแต่จนบัดนี้ยังไม่มีแก้ไข จึงต้อง บันทึกเรือ่ งราวนีไ้ ว้เพือ่ ให้สงั คมได้รบั รูเ้ รือ่ งราว ตามที่เป็นไป ส่วนจะมีการแก้ไขให้ตรงตาม ความเป็นจริงเมื่อใดนั้นจะบอกภายหลัง วัดท่าสว่าง ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ครั้งแรก ไม่สามารถตรวจสอบหลักฐานได้ว่า เมื่อ ปี พ.ศ. เท่าใด ภายหลังพระครูประสาน สังฆกิจ (ประสาน กนตธมโม) อดีตเจ้าอาวาส

รูปที่ 9 และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอรูปแรก ได้ สร้างอุโบสถหลังใหม่ นอกเขตพัทธสีมาเดิม จึงได้ขอพระราชทานผูกพัทธสีมาอุโบสถใหม่ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2516 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 ตารางเมตร ยาว 70 ตารางเมตร ตัง้ อยูใ่ นเนือ้ ทีท่ งั้ สิน้ จ�ำนวน 27 ไร่ 25 ตารางวา มี ห นั ง สื อ แสดงกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น เป็ น โฉนด เลขที่ 1859 เล่มที่ 19 หน้าที่ 59 อ�ำเภอกระสัง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น เป็ น ของ วัดท่าสว่าง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

22/08/61 11:37:18

ท�ำเนีย 1. พระ 2. พระ 3. พระ 4. พระ 5. พระ 6. พระ 7. พระ 8. พระ 9. พระค ตั้งแต่ พ 10. พ น.ธ.เอก


อาคารเสนาสนะ 1. อุโบสถ 2. ฌาปนสถาน 3. ศาลาเอนกประสงค์ 4. ซุ้มประตูด้านหน้าวัดทางทิศใต้ สร้าง 5. หอระฆัง 6. รั้ววัดด้านทิศตะวันออก 7. เทถนนคอนกรีตภายในวัดรอบอุโบสถ 8. วัดได้รับประกาศให้เป็นอุทยานการศึกษา 9. กุฏิเจ้าอาวาส 10. ศาลาเอนกประสงค์ 11. กุฏทิ รี่ บั รองอาคันตุกะ ส�ำนักงานเจ้าอาวาส 12. โรงเรียนพระปริยัติธรรม 13. อาคารที่พัก (กุฏิสงฆ์) 14. ศาลาการเปรียญ

58

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 58

22/08/61 11:37:06


ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญของวัด 1. พระพุทธรูปปางสมาธิ หน้าตัก 35 นิ้ว เป็น พระประธานเก่ามีมาตั้งแต่ก่อตั้งวัด เชื่อว่า อายุ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า 170 ปี เป็ น พระพุ ท ธรู ป ทรงผ้ า กาววาว มี ล ายดอกสวยงาม ศิ ล ปะ คล้ายสมัยสุโขทัยประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ 2. พระประธานในโบสถ์ เป็นพระพุทธชินราช จ�ำลอง หน้าตักกว้าง 59 นิ้ว สร้างจากศรัทธา คุ ณ นายสมร จรู ญ ลั ก ขณา คฤหบดี ย ่ า น ตลาดบางรัก กรุงเทพมหานคร น�ำศรัทธาโดย อดีตพระเลียน อนุตตโร วัดมหาพฤฒาราม บางรัก กรุงเทพมหานคร สร้างถวายเมื่อ พ.ศ.2519 3. ธาตุเจดีย์ ทีบ่ รรจุอฐั พิ ระครูประสานสังฆกิจ อดีตเจ้าอาวาสและอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอกระสัง รู ป แรก ลั ก ษณะรู ป เจดี ย ์ เป็ น เจดี ย ์ ท รง รัตนโกสินทร์ ตัง้ อยูบ่ นเขาหินซ้อน สูงประมาณ 4 เมตรว่า เป็นรูปภูเขา สร้างโดยการน�ำหิน จากเขากระโดงซึ่งเป็นหินภูเขาไฟที่ดับสนิท อายุ นั บ พั น ปี และหิ น จากเขาพนมสวาย จังหวัดสุรินทร์ อ�ำนวยการสร้างโดยพระครู อมรธรรมนิเทศก์ เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง ก�ำลัง ส�ำคัญในการก่อสร้างจากพระภิกษุสามเณร ภายในวัด ภายในเขาเป็นถ�้ำ ภายในถ�้ำเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิป์ างนาคปรก จากศรัทธาบริจาคของนางสาวรัชนี เรืองจินดาวลัย ผูใ้ หญ่บา้ นหมูท่ ี่ 16 ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง เขาลูกนี้สร้างเมื่อ พ.ศ.2530 ซึ่งท�ำการสร้าง เขาลู ก นี้ ต ลอดพรรษากาลจึ ง แล้ ว เสร็ จ ประธานสงฆ์ ที่ ท� ำ หน้ า ที่ บ รรจุ อั ฐิ พ ระครู ประสานสังฆกิจ คือ พระธรรมวิสุทธาจารย์ อดีตเจ้าคณะภาค 11 วัดพระนารายณ์มหาราช จังหวัดนครราชสีมา ทีส่ ดุ นีไ้ ด้นำ� ข้อคิดของ พระธรรมทัศนาธร อดี ต สั ง ฆมนตรี และอดี ต เจ้ า อาวาส วัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร ดังนี้

วัดจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านช่วย บ้านจะสวย เพราะมีวัด ดัดนิสัย บ้านกับวัด ผลัดกันช่วย ยิ่งอวยชัย ถ้าขัดกัน ก็บรรลัย ทั้งสองทางฯ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 59

59

22/08/61 11:37:35


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโพธิ์ย่อย บ้านยาง พระศรีปริยัติธาดา ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์ และ เจ้าอาวาส

วั ด โพธิ์ย่อย เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ทิศตะวันตกของหมู่บ้าน ตรงข้ามกับที่ท�ำการ

ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลบ้ า นยาง และศู น ย์ สุ ข ภาพชุ ม ชนต� ำ บลบ้ า นยาง ติ ด ถนน เข้ า หมู ่ บ ้ า นด้ า นทิ ศ ตะวั น ตก ลั ก ษณะพื้ น ที่ วั ด ยาวตามถนนตั้ ง แต่ ทิ ศ ตะวั น ตกและ ทิ ศ ตะวั น ออกมี พื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งดั ง นี้ 60

ทิ ศ เหนื อ ติ ด ทางสาธารณะ บ้ า นยางใหญ่ หมู ่ ที่ 1 ทิ ศ ใต้ ติ ด ถนนสาธารณะ ทางเข้ า หมู ่ บ ้ า นยางทั้ ง 6 หมู ่ ทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด ทางสาธารณะ ทางเข้ า หมู ่ บ ้ า นยางใหญ่ หมู ่ ที่ 1 ทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด สระน�้ ำ สาธารณะ ของหมู ่ บ ้ า นยาง หมู ่ ที่ 1

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 60

22/08/61 13:48:44


อนุสาวรีย์พ่อเพียขัน ประวัติความเป็นมา

อุโบสถ

พระประธาน ในอุโบสถ

.indd 61

พระพุทธปฐมเทศนา พุทธบารมี

หลวงพ่อใหญ่ ในศาลากลางน�้ำ

พระพุทธรูปไม้ และ เขาสัตว์

ต้นตะเคียน

วัดโพธิ์ย่อย เป็นวัดโบราณ ไม่ปรากฏหลัก ฐานว่าใครเป็นผู้สร้าง แต่ชาวบ้านคนเฒ่าคน แก่ สั น นิ ษ ฐานว่ า พ่ อ เพี ย ขั น ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น บรรพชนบ้านยาง เป็นผูส้ ร้าง แต่ปรากฏหลักฐาน การตัง้ วัดที่ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่า วัดโพธิ์ย่อยนี้ ตั้งอย่างเป็นทางการ เมื่อ พ.ศ.2301 สมัยอยุธยาตอนปลาย ยุคสมัย ราชวงศ์บ้านพลูหลวง และในปี พ.ศ.2301 นี้ เป็นช่วงระยะเวลาทีค่ าบเกีย่ วกับพระมหากษัตริย์ ถึง 3 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ได้เสด็จ สวรรคตในปี พ.ศ.2301 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอุทุมพร (ขุนหลวง หาวั ด ) ขึ้ น ครองราชย์แทน แต่ค รองราชย์ ได้เพียง 2 เดือน ก็สละราชสมบัติออกผนวช สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระที่ นั่ ง สุ ริ ย า อมรินทร์ (ทีร่ จู้ กั ในพระนามว่า พระเจ้าเอกทัศน์) ครองราชย์ พ.ศ.2301 - 2310 รวม 9 ปี และนั บ เป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ พ ระองค์ สุดท้ายของสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นทีน่ า่ อัศจรรย์ ตามหลั ก ฐานที่ ป รากฏในกองพุ ท ธสถานฯ เช่นกันว่า ในปี พ.ศ.2301 นี้ เป็นปีทวี่ ดั โพธิย์ อ่ ย ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า (อนุ ญ าต ให้สร้างโบสถ์) ด้วย และตั้งแต่ปี พ.ศ.2310 - 2313 เป็นช่วงที่กรุงศรีอยุธยาถูกพม่าตีแตก ครั้งที่ 2 จึงไม่มีพระมหากษัตริย์ปกครอง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

61

22/08/61 13:49:13


ศาลากลางน�้ำ ความหมายของชื่อวัด วัดโพธิย์ อ่ ย โดยมากคนจะรูจ้ กั ตามชือ่ บ้าน มักเรียกว่าวัดบ้านยางหรือเรียกชื่อวัด แล้ว ต่อด้วยชื่อบ้านว่า วัดโพธิ์ย่อยบ้านยาง ค�ำว่า โพธิ์ย่อย นั้นมีความหมาย 2 นัย คือ นั ย ที่ 1 หมายถึ ง วั ด ที่ มี ต ้ น โพธิ์ เกิ ด กระจัดกระจายอยู่ทั่วบริเวณวัดและบริเวณ ใกล้เคียง ผูต้ งั้ คงจะอาศัยเหตุดงั กล่าวจึงตัง้ ชือ่ วัด ที่แสดงถึงวัดมีต้นโพธิ์เกิดอยู่มาก ปัจจุบันก็ยัง มีเหลือให้เห็นอยู่ เช่นในวัด และในโรงเรียน บ้านยาง เป็นต้น นัยที่ 2 หมายถึง วัดที่มีต้นโพธิ์ มีใบ กิ่ง ก้ า น สาขาห้ อ ยย้ อ ยสลวยสวยงาม และ มีมากมายหลายต้น แต่การออกเสียงว่า ย้อย 62

ของคนในชุมชน คงจะออกไม่ชัดเจน เพราะ เป็นชุมชนที่พูดภาษาลาว เลยออกเสียงเป็น ย่อย จึงได้ชื่อว่า วัดโพธิ์ย่อย แต่ชาวบ้าน โดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ เห็นว่าเป็นนัยที่ 1 เหมาะสมและชอบกว่า ประวัติโดยสังเขป พ่ อเพี ย ขั น บรรพชนผู ้ ก ่ อตั้ ง บ้ านยาง พ่อเพียขัน หรือนายกองเพียขัน มีภูมิล�ำเนา เกิดทีเ่ วียงจันทน์ มีอายุในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในระหว่ า ง พ.ศ.2236 - 2321 ท่ า นเป็ น ลูกศิษย์ของพระครูโพนเสม็ด(พระครูขี้หอม) วั ด โพนเสม็ ก หรื อ เสม็ ด แห่ ง นครจ� ำ ปาสั ก ประเทศลาว

ข้อมูลเฉพาะของรูปหล่อ พ่อเพียขัน ออกแบบและปัน้ โดย อาจารย์บญ ุ กอง อิน ตา อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ส่วนสูง 200 เซนติเมตร ความหนา 52 เซนติเมตร น�้ำหนัก 2,552 กิโลกรัม สิ้นค่าก่อสร้างทั้งหมด 350,000 บาท ควบคุมการก่อสร้างแท่นประดิษฐานและ ฐานรอง โดย พระครูวิสุทธิประยุตต์ เจ้าคณะ อ�ำเภอห้วยแถลง ก่อสร้างโดยทีมช่างศิษย์ พ่อเพียขัน น�ำโดย ช่างพรมมา สุขวิเศษ และ ช่างบุญตา โสดรัมย์

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 62

22/08/61 13:48:57


พิพิธภัณฑ์ชุมชน พ่อเพียขัน บรรพชนผู้ก่อตั้งบ้านยาง

ศูนย์ผ้าไหม

ศาลากลางน�้ำ อนุสรณ์พุทธชยันตี 2600 ปี ข้อมูลเฉพาะของต้นตะเคียน เป็นชนิดไม้ตะเคียนทอง โค่นลงเพราะ ถูกน�้ำเซาะตลิ่ง อายุประมาณ 300 - 500 ปี ความยาว 12 เมตร หรือ 24 ศอก ชือ่ ว่า ตะเคียนพญานาค ตามลักษณะพิเศษ ตั้ ง แต่ ร ากตลอดจนล� ำ ต้ น มี ลั ก ษณะคล้ า ย พญานาคก�ำลังยกศีรษะขึ้น สภาพปัจจุบันเหลือแก่นไม้ล้วนๆ และ ถูกแมลงกัดเป็นลวดลายสวยงามคล้ายเกร็ด พญานาค เครื่องบูชาสักการะ ธูปหอมจ�ำนวน 9 - 16 ดอก

ศูนย์ผ้าไหม

เทียน 1 คู่ แป้งหอม หรือของหอมทุกชนิด กล้วยน�้ำว้า 2 - 5 หวี เครื่องประดับของสตรีที่เหมาะสม

พระประธานในอุโบสถ 2 องค์ 1. หลวงพ่อใหญ่(องค์ปฐม) 2. พระพุทธชินราชจ�ำลอง(องค์ทุติยะ) ปูชนียวัตถุในอุโบสถที่ส�ำคัญ คือองค์พระประธานสมัยลานช้างผสมอยุธยา เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยก่ออิฐ หน้าตัก กว้าง 35 นิว้ สูงจากฐานหน้าตักถึงเศียร 65 นิว้

ศาลามหาสามัคคี 252 ปี ติดต่อสอบถาม

08-9846-6867 เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ย่อย

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

22/08/61 13:49:33


หลวงพ่อใหญ่ วัดโพธิ์ย่อย บ้านยาง ต� ำ บลบ้ า นยาง อ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ

64

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 64

22/08/61 13:49:04


BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 65

65

22/08/61 11:06:00


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์

ต�ำบลในเมือง

วัดกลาง(พระอารามหลวง) วัดอินทรวนาราม วัดธรรมธีราราม วัดอิสาณ

ต�ำบลกระสัง

วัดมว่ งเหนือ วัดจ�ำปาทอง วัดโพธิไ์ ทร วัดป่าเทพประสิทธิว์ นาราม วัดทรงศิลาราม วัดเครือชุด วัดโพธิธ์ าราม วัดป่าไทรโยง

ต�ำบลบัวทอง

ต�ำบลบา้ นบัว

ต�ำบลกลันทา

วัดหนองบอน วัดสวัสดี วัดหนองปรือ วัดบา้ นพระครูนอ้ ย วัดกลันทาราม วัดทอ้ งเรือ วัดโคกกลาง วัดเกาะแกว้

วัดหนองบัวทอง วัดหนองเพชร วัดหนองสรวง วัดบา้ นรุณ วัดป่าตะเคียน

วัดบา้ นบัว วัดบา้ นหนองคา่ ย วัดดอนใหญ่ วัดหัววัว วัดป่าสามัคคีธรรม วัดธงไชยสวา่ งอรุณ วัดทุง่ สวา่ งศรี วัดปลัดชุมแสง วัดปรุมะคา่ ศูนยป์ ฏิบัติธรรมหนองคา่ ย

ต�ำบลบา้ นยาง

วัดโพธิท์ อง วัดตะโก วัดมะคา่ ใต้ วัดบา้ นโสน วัดพรสวา่ ง วัดธรรมสมบูรณ์ วัดป่าเทพนิมิตร วัดโคกเจริญ

ต�ำบลชุมเห็ด

วัดไตรภูมิวนาราม วัดโกรกขีห้ นู วัดหนองไผน่ อ้ ย วัดหนองตราดนอ้ ย วัดหนองมว่ ง วัดหนองไผใ่ หญ่ วัดพระนอ้ ย (หนองไทรงาม) วัดป่ารุ่งอรุณ

ต�ำบลพระครู

ต�ำบลถลุงเหล็ก

วัดส�ำโรง วัดโนนศิลา วัดพะไลราษฎร์บ�ำรุง วัดถลุงเหล็ก วัดบา้ นหนองผักแวน่ วัดส�ำราญราษฎร์ วัดหนองเหล็ก

วัดโพธิท์ อง วัดมว่ งใต้ วัดมะคา่ แต้ วัดปทุมหนองยาง วัดหนองขวาง วัดบา้ นสระเกษ วัดป่าบา้ นโบย วัดป่าชุมทอง

ต�ำบลเมืองฝาง

วัดบา้ นเมืองดู่ วัดบา้ นเมืองฝาง วัดโคกกลาง วัดโคกแสลงนอ้ ย วัดป่าโนนสวรรค์ วัดสวนธรรมเฉลิมพระเกียรติ วัดโคกปูน วัดโคกล�ำดวน

ต�ำบลลุมปุ๊ก

อย่ามัวหมกมุ่นกับสิ่งที่หายไป

66

วัดขาชันโลง วัดไผน่ อ้ ย วัดสวา่ งบูรพา วัดหนองทะลอก วัดทานตะวัน วัดลุมปุ๊ก วัดบา้ นเสม็ด

วัดบา้ นหนองไทรคูณ พัฒนา

ต�ำบลสวายจีก

วัดบา้ นพลวง วัดหนองปรือ วัดโพธิท์ อง วัดประชาสามัคคี วัดเจดียแ์ ดง วัดเทพนรสิงห์

ต�ำบลสองห้อง

วัดตลาดชัย วัดหนองสองห้อง วัดกระเดื่อง วัดป่าหนองสองห้อง วัดร่มโพธิไ์ ทร วัดโคกระกานอ้ ย

วัดป่าหนองไผ่ วัดป่าเสริมสุขพัฒนา วัดพุทธสมพร วัดสวายสอ วัดหนองตะเคียน วัดหนองมะเขือ วัดเจดียท์ ราย วัดหนองโคลน วัดไทรโยง วัดเกษตรบูรณะ วัดโคกสะอาด วัดโคกนอ้ ย วัดเจตมินวนาราม ทีพ่ ักสงฆป์ ่ าบา้ นหนองไผ่

ต�ำบลเสม็ด

ต�ำบลสะแกซ�ำ

วัดสะแกซ�ำ วัดศาลาลอย วัดบา้ นตลาดควาย วัดประชาสวัสดิว์ นาราม วัดโคกแสงทอง วัดบา้ นฝั งงา วัดบา้ นบุขา่ วัดป่าโคกเจริญ วัดป่าสารภี

ต�ำบลสะแกโพรง

วัดสะแกโพรง วัดประชานิรมิต วัดหนองใหญ่ วัดสิมสมนาม

วัดทุง่ สวา่ ง วัดหนองตาฮิง วัดป่าเขานอ้ ย

ต�ำบลหนองตาด

วัดศรีส�ำโรง วัดหนองตาด วัดทุง่ สาริกาใหญ่ วัดโนนสูง วัดบา้ นโนนสวรรค์ วัดบัลลังกน์ อ้ ย วัดหนองโสน วัดบา้ นโนนเค็ง วัดหนองมะเกลือ วัดบัลลังกใ์ หญ่ วัดอุทยาราม วัดโคกมาบสมอ วัดโคกเพชร วัดป่ามาบสมอ วัดสวา่ งงิว้ งาม วัดหนองโฮง วัดแสงอรุณวนาราม

ต�ำบลหลักเขต

วัดหลักเขต วัดบา้ นตาแผว้ วัดหนองไผ่ วัดปริงเปนเขตตาราม วัดเสม็ดโคกเกา่ วัดบา้ นโคกเกา่ วัดป่าหลักเขต

ต�ำบลอิสาณ

วัดทักษิณาวาส วัดศรีสวา่ ง วัดโคกใหญ่ วัดไทยเจริญ วัดป่าศิลาชัยยศปราสาททอง วัดสวา่ งอารมณ์ วัดหนองหัวลิง วัดหนองโพรง วัดโพธิธรรมคุณาราม วัดเขากระโดง วัดทุง่ โพธิ์ วัดหนองแปป

เส้นทางสู่พระพุทธบาทเขากระโดง

วัดพระพุทธบาทเขากระโดง วัดป่าเรไร วัดใหมโ่ คกเพชร วัดป่าวนานุรักษ์ วัดป่าศิลาทอง วัดป่าเทพาอารักษ์ วัดหนองหิน วัดโคกหัวช้าง วัดระเบิกขาม วัดโคกปราสาท วัดพรหมประสิทธิกาวาส

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 66

5/9/2561 13:52:53


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดตลาดชัย พระครูสุตกิจโสภณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ตลาดชั ย ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นตลาดชั ย ต� ำ บลสองห้ อ ง อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2500 โดยชาวบ้ า นตลาดชั ย เมื่ อ จั บ จองที่ เ ป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย มี ผู้ อ พยพมาจากจั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ จากอ� ำ เภอท่ า ตู ม อ� ำ เภอชุ ม พลบุ รี อ� ำ เภอจอมพระและ จากบ้ า นสนวน อ� ำ เภอห้ ว ยราช จึ ง ได้ ตั้ ง หมู ่ บ ้ า น และได้ กั น ที่ ส่ ว นหนึ่ ง เพื่ อ สร้ า งวั ด และโรงเรี ย น ส่ ว นที่ เ ป็ น โรงเรี ย น เนื้ อ ที่ ป ระมาณ 40 ไร่ ส่ ว นที่ เ ป็ น เนื้ อ ที่ วั ด จ� ำ นวนเนื้ อ ที่ 21 ไร่

วั ด ตลาดชั ย เดิ ม เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ม าก่ อ น ที่จะด�ำเนินการขอตั้งวัด ตามพระราชบัญญัติ คณะสงฆ์ ต่อมาจึงได้ดำ� เนินขออนุญาตสร้างวัด เมื่ อ วั น ที่ 22 ธั น วาคม พ.ศ.2528 ได้ รั บ ประกาศตัง้ วัด เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2533 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2534 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 67

67

22/08/61 14:02:13


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์นาค จนทูปโม 2. พระอาจารย์หลอด 3. พระอาจารย์หลวงพ่อรือ 4. พระอาจารย์น้อย คงคปญูโญ 5. หลวงพ่อเทือน กนตสีโล 6. พระครูสุตกิจโสภณ

พ.ศ.2500 - พ.ศ.2510 พ.ศ.2510 - พ.ศ.2512 พ.ศ.2512 - พ.ศ.2515 พ.ศ.2522 - พ.ศ.2524 พ.ศ.2524 - พ.ศ.2530 พ.ศ.2530 - ปัจจุบัน

ชนียวัตถุเป็นที่เคารพบูชา พระธาตุศรีมงคลชัย บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธศรีมงคลชัย พระประธานอุโบสถ หลวงพ่อสัมฤทธิ์ พระพุทธรูปโบราณสมัยลพบุรี พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ประดิษฐานที่วิหาร พระพุทธปรินิพพาน จ�ำลองแบบมาจาก สาลวโนทยานเมืองกุสินาราประเทศอินเดีย หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปประดิษฐานที่วิหาร พระสาวก 80 องค์ และ พระสาวิกา 80 องค์ 68

เสนาสนะถาวรวัตถุ มีดังนี้ กุฏิที่พักสงฆ์ ศาลาการเปรียญ และศาลาบ�ำเพ็ญกุศล อุโบสถ โรงเรียนปริยัติธรรม วิหารพุทธปรินิพพาน วิหารพุทธเจ้าห้าพระองค์ วิหารหลวงพ่อขาว

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 68

22/08/61 14:02:39


โรงเรียนพระปริยัติธรรมตลาดชัยวิทยา โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมตลาดชั ย วิ ท ยา ตั้งอยู่ เลขที่ 161 หมู่ที่ 8 ต�ำบลสองห้อง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2530 เริ่มจากการสอนระดับนักธรรม และธรรมศึกษา โดยใช้อาคารศาลาหลังเก่า เป็ น สถานที่ ท� ำ การเรี ย นการสอน โดยมี พระมหาบุ ญ เที่ ย ง กิ ตฺ ติ โ สภณ เป็ น ผู ้ ส อน ท�ำการเรียนการสอน 2 แผนก คือ 1. แผนก นักธรรม 2. แผนกบาลี ในปี พ.ศ.2544 ได้ เ ปิ ด สอนระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น ม.1-ม.3 โดยพระครูสุต กิจโสภณ พร้อมด้วยคณะสงฆ์จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ และโรงเรียนพระปริยัติธรรม อิสาณวิทยานุสรณ์ โดยใช้อาคารเรียนแบบ ชั่วคราวในการเรียนการสอน ที่ประชาชนเสีย สละแรงงานในการก่อสร้างอาคารเรียน ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 พระครูสุตกิจโสภณ พร้ อ มด้ ว ยคณะสงฆ์ 2 ที่ ต� ำ บลสองห้ อ ง ต�ำบลเมืองฝาง และชาวบ้านทั้ง 4 หมู่บ้าน บ้านตลาดชัย บ้านสว่าง บ้านกิจสมบูรณ์ และ บ้านชัยเจริญ ร่วมกันเสียสละทรัพย์ ในการ ก่อสร้างอาคารเรียนแบบถาวร 1 หลัง พร้อมทัง้ ได้พัฒนาโรงเรียนจนเปิดการเรียนการสอน ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามล�ำดับ จนถึงปัจจุบัน ค�ำขวัญของสถานศึกษา “เน้ น คุ ณ ธรรม สั ม มาปฏิ บั ติ เรี ย นรู ้ ห ลั ก วิชาการ สืบสานงานพระพุทธศาสนา” ปรัชญาของโรงเรียน “สุวิชาโน โลเก อนุตฺตโร ผู้รู้ดี เป็นเลิศในโลก” วิสัยทัศน์ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมตลาดชั ย วิ ท ยา มุ ่ ง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาให้ มี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น ทุกปี พัฒนาบุคลากรให้ท�ำงานเต็มศักยภาพ จั ด สิ่ ง แวดล้ อ มให้ ส วยงาม และเสริ ม สร้ า ง ศี ล สมาธิ ปั ญ ญา มี วิ ช าการก้ า วหน้ า รักษาคุณธรรมสร้างสรรค์สังคมให้นักเรียน ห่างไกลยาเสพติด

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 69

69

22/08/61 14:02:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 6

วัดหนองไผ่น้อย

พระครูโสภณธรรมโฆสิต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองไผ่น้อย ตั้งอยู่เลขที่ 194 หมู่ที่ 5 บ้านหนองไผ่น้อย ต�ำบลชุมเห็ด

อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ประจ� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แห่ ง ที่ 6 โดยมี พ ระครู โ สภณธรรมโฆสิ ต (เพล พานแก่ น ) เจ้ า คณะอ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส 70

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 70

22/08/61 14:09:46


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

กิจกรรมที่ด�ำเนินประจ�ำ 1. ปฏิบัติธรรมปริวาสกรรมประจ�ำปี 2. เป็นที่ตั้งศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ 3. เป็ น ที่ ตั้ ง ส� ำ นั ก งานฝ่ า ยสาธารณ สงเคราะห์จังหวัดบุรีรัมย์ 4. เป็ น โรงเรี ย นปริ ยั ติ ธ รรมแผนกธรรมบาลี (ปัจจุบันมีการศึกษาสงฆ์อยู่ 3 แผนก ได้ แ ก่ แผนกธรรม แผนกบาลี และแผนก สามัญศึกษา ส�ำหรับ แผนกธรรม และแผนกบาลี นั้นเป็นการจัดการศึกษาเฉพาะด้านหลักธรรม ค� ำ สอนในพระพุ ท ธศาสนาล้ ว นๆ ไม่ มี วิ ช า สามัญศึกษาเข้าไปปะปน) โดยที่ ภาษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก เป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธ ศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมี การท�ำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ ภาษาบาลีส�ำหรับจดจ�ำพระไตรปิฎก พระสงฆ์ สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจ ลึ ก ซึ้ ง และสามารถเที ย บเคี ย งสอบทานกั บ พระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อ รักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และ หน้าทีน่ ก้ี เ็ ป็นหน้าทีข่ องพระสงฆ์ในประเทศไทย เช่นเดียวกัน 5. เป็นที่ตั้งโครงการวัฒนธรรมไทยสายใย ชุมชน พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

22/08/61 14:10:03


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 17

วัดหนองบัวทอง

พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ (ถวัลย์ วลฺลโภ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองบัวทอง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 1 บ้านสวายสอ ต�ำบลบัวทอง อ�ำเภอเมือง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ ตั้ ง วั ด 21 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 45094 ตั้ ง อยู ่ ใ นหมู ่ บ ้ า นสวายสอ ปั จ จุ บั น พระครู ป ทุ ม ธรรมานุ รั ก ษ์ (พระถวั ล ย์ วลฺ ล โภ ช� ำ เลื อ งฤทธิ์ ) น.ธ.เอก ปริ ญ ญาตรี ( ศศบ.) เจ้ า คณะต� ำ บลบั ว ทอง เป็ น เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น ในพ.ศ. 2561 มี พ ระจ� ำ พรรษา 17 รู ป วั ด หนองบั ว ทอง เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แห่ ง ที่ 17 72

เสนาสนะภายในวัด 1. กุฏิ 3 หลัง 2. ศาลาการเปรียญ 1 หลัง 3. อุโบสถ 1 หลัง 4. ห้องปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐาน 1 หลัง 5. โรงครัว 1 หลัง 6. หอฉัน 1 หลัง 7. ห้องสุขา(ห้องน�้ำ) 53 ห้อง 8. เมรุ(ฌาปนสถาน) 9. หอระฆัง 10. ห้องส่งวิทยุกระจายเสียง FM 99.25 MHz

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 72

22/08/61 18:03:10


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ความเป็นมา วัดหนองบัวทอง เป็นวัดเก่าแก่ วัดหนึ่งในต�ำบลบัวทอง ก่อสร้างขึ้นเมื่อใด ไม่มขี อ้ มูลทางประวัตศิ าสตร์ทพี่ อเป็นหลักฐาน ได้ แต่เนื่องจากการบอกเล่าของคนรุ่นก่อนๆ สืบทอดกันมาจากบันทึกประวัติส่วนตัวของ พ่อแดง ใหญ่เลิศ เล่าให้ฟังว่า ท่านเกิดเมื่อ พ.ศ.2451 ต่ อ มาในปี พ.ศ.2473 ท่ า นได้ บรรพชาอุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดโพธิ์ทอง บ้านยาง โดยทราบว่า หมูบ่ า้ นสวายสอ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มี พ่อทองอยู่ วานิช ได้มอบที่ดินแปลงนี้ให้เป็น ทีก่ อ่ สร้างวัด ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันก่อสร้างวัด เมื่อวันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2470 ขึ้น 6 ค�่ำ เดือน 6 ปีเถาะ โดยมีพ่อทองอยู่ วานิช

เป็นประธานในการด�ำเนินการก่อสร้าง จึงตั้ง ชื่อวัดว่า วัดหนองบัวทอง เพราะมีหนองบัว เป็ น อาณาเขตติ ด ต่ อ กั บสถานที่ ก ่ อ สร้ า งวั ด จึงน�ำเอาชื่อหนองบัวขึ้นต้นตั้งเป็นชื่อวัด จาก นั้นได้ปรึกษาหารือชาวบ้านไปหาหลวงพ่อพา (พระครูวบิ ลู ธรรมาภิรม) เจ้าอาวาสวัดโพธิท์ อง บ้านยาง ขอความเมตตาจากหลวงพ่อพาช่วย จัดหาพระมาจ�ำพรรษา หลวงพ่อพาจึงมอบ หมายอนุ ญ าตให้ พระภิ ก ษุ แ ดง ญาณวี โร พรรษา 7 วิ ท ยฐานะ นั ก ธรรมชั้ น ตรี วั ด โพธิ์ทองบ้านยางต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพระลูกวัดมาจ�ำพรรษา ที่ วัดหนองบัวทอง เมื่อพระภิกษุแดง ญาณวีโร รับนิมนต์มา

จ�ำพรรษาในปีนั้น ในวันจันทร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2480 จุลศักราช 1299 ตรงกับวันขึน้ 9 ค�ำ ่ เดือน 6 ปีฉลู พระภิกษุแดง ญาณวีโร ได้เป็น ประธานสงฆ์นบั ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา แล้วน�ำ ชาวบ้านพัฒนาวัดให้เจริญรุง่ เรือ่ งขึน้ ตามล�ำดับ ต่ อ มาชาวบ้ า นพร้ อ มใจกั น ก่ อ สร้ า ง เสนาสนะเพื่ อ เป็ น ที่ พั ก อาศั ย ของพระสงฆ์ และเป็นที่บ�ำเพ็ญบุญกุศลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมี พ่อทองอยู่ วานิช เป็นประธานในการด�ำเนิน การก่อสร้างวัดหนองบัวทอง ติดต่อ พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ โทรศัพท์ 08-1878-3368

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

73

22/08/61 18:03:16


ประวัติพระครูปทุมธรรมานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดหนองบัวทองรูปปัจจุบัน พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ ฉายา วลฺลโภ นามสกุล ช�ำเลืองฤทธิ์ อายุ 62 ปี พรรษา 40 วุฒิการศึกษา นักธรรม นธ.เอก ทางโลกปริญญาตรี (ศศบ.) สังกัดวัดหนองบัวทอง หมู่ที่ 1 ถนนสายบุรีรัมย์ - สตึก ต�ำบลบัวทอง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31000 โทรศัพท์ 08-1878-3368 หน้าที่การงานที่รับผิดชอบในปัจจุบัน พ.ศ.2538 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองบัวทอง พ.ศ.2539 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นเจ้าคณะต�ำบลบัวทอง พ.ศ.2554 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นพระครูปทุมธรรมานุรักษ์ ชั้นเอก พ.ศ.2541 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นพระอุปัชฌาย์ ประจ�ำต�ำบลบัวทอง พ.ศ.2555 - ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง ประธานประจ�ำส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแห่งที่ 17 งานด้านศาสนศึกษา พ.ศ.2524 ส�ำเร็จความรู้ประโยคนักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษา จังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ.2536 ส�ำเร็จการศึกษา อบรมหลักสูตรฝึกหัดครูสอนพระปริยัติธรรม วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี ตามใบตราตั้ง เลขที่ วุฒิบัตร 3 /49 /2536 พ.ศ.2544 ส�ำเร็จความรู้ระดับปริญญาตรี ศิลปศาสตร์บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ความช�ำนาญในการวกกรรม เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างไฟ ช่างเชื่อม เป็นต้น งานด้านการอบรม ได้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร นักเผยแผ่ธรรมะทางสถานีวิทยุกระจายเสียง รุ่นที่ 5/2544 จากสถาบันกรมประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์ กรุงเทพมหานคร งานด้านการสาธารณะสงเคราะห์และศึกษาสงเคราะห์ พ.ศ.2559 จัดหาพันธุ์ไม้ มีไม้ยางนา ต้นพยุง ไม้สัก ไม้พะยอม ไม้แดง ไม้ประดู่ น�ำประชาชน ปลูกบริเวณ วัดหนองบัวทอง และวัดหนองสรวง ขนาดกว้าง 350 เมตร ยาว 400 เมตร จ�ำนวน 3,099 ต้น เป็นจ�ำนวนเงิน 20,959 บาท พ.ศ.2555 เป็นประธานจัดหาทุนสมทบห้องพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านสวายสอ สร้างห้องพยาบาลไว้บริการแก่ประชาชนในต�ำบลบัวทอง 305,959 บาท พ.ศ.2557 จัดหาพันธ์ไม้ต้นยางนา ต้นไม้แดง ต้นไม้ประดู่ ต้นพยุง ร่วมกับองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบัวทอง น�ำประชาชนปลูกรอบสระน�ำ้ หนองบัวทองขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 2,159 เมตร จ�ำนวน 2,000 ต้น เป็นจ�ำนวนเงิน 20,795 บาท พ.ศ.2552 - 2559 มอบทุนให้แก่พระภิกษุสามเณร ครั้งละไม่ต�่ำกว่า 100 รูปๆ ละ 500 บาท เป็นจ�ำนวนเงิน 900,000 บาท

74

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 74

22/08/61 18:03:28


งานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พ.ศ.2555 - 2559 เป็นพระธรรมทูตฝ่าย ปฏิ บั ติ ก ารประจ�ำอ� ำเภอเมืองบุรีรัม ย์ เป็น เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัด แห่งที่ 17 และจัดปฏิบัติธรรมประจ�ำทุกปีๆ ละสองครั้ง ระหว่างเดือนพฤศจิกายนและเดือนพฤษภาคม ทุกปี อีกทัง้ จัดปฏิบตั ธิ รรมในวันส�ำคัญของชาติ เช่นวันที่ 5 มกราคม ในวันส่งท้ายปีเก่าวิถีไทย ต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ วิ ถี พุ ท ธ จั ด สวดมนต์ ข ้ า มปี มีประชาชนเข้าร่วมประมาณ 250 คน จัดปฏิบัติธรรมในเทศกาลพรรษา โดยให้ พุทธศาสนิกชนใน 3 หมูบ่ า้ น และหมูบ่ า้ นอื่นๆ ร่ ว มปฏิ บั ติ ธ รรมและมารั ก ษาศี ล อุ โ บสถ มี อุบาสกอุบาสิกามารักษาอุโบสถศีล ประมาณ 100 คน ในวันอุโบสถปกติ เป็นสถานที่จัดโครงการเข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรมแก่สถานศึกษาในเขตบริการของ วัด และสถานศึ ก ษาทั่ ว ไป มี นั ก เรี ย นเข้ า ร่ ว ม โครงการจ�ำนวน 150 - 200 คน ได้รับประกาศว่า วัดหนองบัวทอง เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดบุรรี มั ย์ แห่งที่ 17

งานด้านการสาธารณูปการ พ.ศ.2540 เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง ศาลาพั ก ศพบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ลทรงไทยประยุ ก ต์ แบบชั้ น เดี ย วคอนกรี ต สิ้ น ค่ า ก่ อ สร้ า ง 2,519,099 บาทถ้วน พ.ศ.2543 เป็นเป็นประธานด�ำเนินการ ก่อสร้าง หอฉัน วัดหนองบัว ทรงไทยประยุกต์ สิ้นค่าก่อสร้าง 35,999 บาทถ้วน พ.ศ.2547 จัดตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียง วัดหนองบัวทอง คลืน่ FM ความถี่ 99.25 MHz เพื่ อ เผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ข่ า วสารทาง ราชการ ประชาชนและสังคม โดยยึดหลัก ประชาธิปไตย คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นเงิน 509,579 บาท พ.ศ.2547 เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง อาคารห้องส่งสถานีวทิ ยุ FM ทรงไทยประยุกต์ สิ้นค่าก่อสร้าง 1,500,959 บาทถ้วน พ.ศ.2549 เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง ห้องสุขา 40 ห้อง พ.ศ.2559 เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง ห้องสุขา 20 ห้อง

พ.ศ.2555 เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง ห้องสุขา 4 ห้อง พ.ศ.2553 เป็ น ประธานด� ำ เนิ น การวาง ท่อระบายน�้ำขนาด 40x1 ระยะ 200 เมตร สิ้นค่าด�ำเนินงาน 100,599 บาทถ้วน พ.ศ.2559 เป็ น ประธานด� ำ เนิ น การวาง ท่ อ ระบายน�้ ำ บริ เ วณวั ด และจั ด ภู มิ ทั ศ น์ ภายในวั ด หนองบั ว ทอง สิ้ น ค่ า ด� ำ เนิ น งาน 379,955 บาทถ้วน พ.ศ.2559 เป็นประธานก่อสร้างหุ่นช้าง เอราวัณ ช้าง 3 เศียร 2 เชือกไว้เป็นสัญลักษณ์ หน้าวัดหนองบัวทอง เพือ่ ความสะดวกในการจ�ำ สิ้นค่าด�ำเนินงาน 200,000 บาทถ้วน พ.ศ.2559 เป็นประธานในการด�ำเนินการ บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ และปรั บ ปรุ ง ซ่ อ มแซม กุฏิหลังเก่า ซึ่งเป็นกุฏิอดีต หลวงปู่สมพงษ์ ยโสธโร สิน้ ค่าบูรณปฏิสงั ขรณ์ 305,765 บาทถ้วน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

22/08/61 18:03:29


งานด้านการปกครอง พ.ศ.2523 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทน เจ้าอาวาสวัดบ้านสมสนุก ต�ำบลสะแกโพรง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ พ.ศ.2525 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ วัดบ้านบัวให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นรองเจ้าอาวาส วัดบ้านบัว ต�ำบลบ้านบัว อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ พ.ศ.2555 - 2559 เป็นวิทยากรให้การอบรม พระภิกษุสงฆ์สามเณรจากคณะสงฆ์ พ.ศ.2526 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้าคณะต�ำบล ต�ำบลลุมปุก๊ อ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ ตามใบตราตั้งที่ 14 /2526 พ.ศ.2527 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จังหวัดบุรรี มั ย์ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นพระธรรมทูต ฝ่ายปฏิบัติการประจ�ำอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ พ.ศ. 2536 ได้รบั การแต่งตัง้ จากผูอ้ ำ� นวยการ

76

ฝึกอบรมหลักสูตรฝึกหัด ครู สอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม รุน่ ที่ 5 ให้เป็นประธานประสานงาน ครูสอนพระปริยัติธรรมรุ่นที่ 5 พ.ศ.2538 ได้รบั การแต่งตัง้ จากแม่กองงาน พระธรรมทูตให้เป็นพระธรรมทูต ฝ่ายปฏิบตั กิ าร ประจ� ำ อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ ต ามใบตราตั้ ง ที่ 187/25382 พ.ศ.2525 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ วัดบ้านบัว ให้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นรองเจ้าอาวาส วัดบ้านบัว ต�ำบลบ้านบัว อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ พ.ศ.2523 ได้รับการแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ ให้ดำ� รงต�ำแหน่ง เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส วัดบ้านสมสนุก ต�ำบลสะแกโพรง พ.ศ.2538 - 2559 ได้รบั แต่งตัง้ จากคณะสงฆ์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพระวินยาธิการดูแลภิกษุ สามเณรประพฤติ มิ ช อบในพระธรรมวิ นั ย ตามใบตราตั้งที่ 13/2538

พ.ศ.2555 - 2559 ปฏิบัติธรรม เข้าอยู่ ปริวาสกรรม ประพฤติวุฏฐานวิธี (“ปริวาส” เป็ น ชื่ อ ของสั ง ฆกรรมประเภทหนึ่ ง ที่ ส งฆ์ จะพึ ง กระท� ำ เป็ น ที่ รู ้ จั ก แพร่ ห ลายในหมู ่ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ซึ่ ง การอยู ่ ป ริ ว าสเรี ย กได้ อีกอย่างหนึ่งว่า “การอยู่กรรม” จึงนิยมเรียก รวมกันว่า “ปริวาสกรรม” โดย “ปริวาส” หมายถึง “การอยูใ่ ช้” หรือ “การอยูร่ อบ” หรือ เรียกสามัญว่า “การอยู่กรรม”(วุฏฐานวิธี) คือ อยูใ่ ห้ครบกระบวนการ สิน้ สุดกรรมวิธที กุ ขัน้ ตอน ของการอยู่ปริวาส) และสนับสนุนผู้ที่มีศรัทธา บวชเนกขั ม มะศี ล จาริ ณี ถื อ ศี ล 8 โดย มิต้องโกนผม เพื่อรักษาศีล และรักษาไว้ซึ่ง พระธรรมวิ นั ย ให้ ด� ำ รงอยู ่ ชั่ ว กาลนาน ณ วัดหนองบัวทอง ต�ำบลบัวทอง อ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ จ� ำ ท� ำ เข้ า อยู ่ ป ริ ว าสกรรม ปฏิบัติธรรม ปีละ 2 ครั้ง ทุกปี

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 76

22/08/61 18:03:42


การศึกษาพิเศษ ผ่านการรับความรู้ตามหลักสูตรเทคโนโลยีฯ เพื่อการสอนพระปริยัติธรรม ที่มหาวิทยาลัย ราชภัฏบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ รั บ การถวายความรู ้ ต ามโครงการถวายความรู ้ แ ด่ พ ระสั ง ฆาธิ ก ารหลั ก สู ต รการบริ ห าร และการจัดการวัด ของกรมการศาสนาที่มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตรการฝึกอบรมพระวิปัสสนาจารย์ของกรมศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ ที่วัดคีรีวงศ์ จังหวัดนครสวรรค์ มีความสามารถ ในการอบรมพระภิกษุสามเณร อุบาสกอุบาสิกาและนักเรียนนิสิต นักศึกษา เป็นอย่างดี ส�ำเร็จการศึกษาอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมพระธรรมทูต รุ่นที่ 18 ตามใบตราตั้ง เลขที่ 187/ 2538 จากโรงเรียนฝึกสอนอบรมพระธรรมทูตจากวัดปากน�ำ ้ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2538 ได้รับการแต่งตั้งจากแม่กองงานพระธรรมทูต ให้เป็นพระธรรมทูตฝ่ายปฏิบัติการ ประจ�ำอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ ตามใบตราตั้งที่ 187/2538 พ.ศ.2538 ได้รับแต่งตั้งจากคณะสงฆ์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพระวินยาธิการดูแลภิกษุสามเณร ประพฤติมิชอบในพระธรรมวินัย ตามใบตราตั้งที่ 13/2538

เกียรติคุณที่เคยได้รับ พ.ศ.2555 รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น พระครู ชั้ น สามั ญ ในพระราชทิ น นามเดิ ม ที่ พระครูปทุมธรรมานุรักษ์ พ.ศ.2558 รับโล่เกียรติคุณในฐานะผู้ท�ำ คุ ณ ประโยชน์ ใ นโครงการกิ จ กรรมรณรงค์ การท�ำความดี 77 จังหวัด ต้นแบบคนดี ใต้ร่ม พระบารมี พ ่ อ ของแผ่ น ดิ น คนท� ำ ความดี ต้นแบบ สังคมแห่งปี “คนไทยตัวอย่าง” พ.ศ.2558 รั บ โล่ เ กี ย รติ คุ ณ ในฐานะ ผู้ท�ำคุณประโยชน์ในโครงการปลูกจิตส�ำนึก ผู ้ น� ำ ไทยประทานรางวั ล “ศรี เ ทพ คนดี ของแผ่นดิน” จากสมเด็จพระวันรัต ประธาน ในพิธีมอบโล่รางวัลเกียรติคุณ พ.ศ.2559 รับรางวัลโล่รางวัล จากสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ ปริณายก ประธานมอบโล่รางวัลพระลัญจกร ญสส. “สิงห์ทอง” จาก ฯพณฯ นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี ประธานในพิธีมอบโล่ รางวัลเกียรติคุณ พ.ศ.2558 รับรางวัล คนดี ศรีสังคม สาขา ศาสนากับการพัฒนา ส�ำนักงานส่งเสริมการเมือง ภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า นายศุภณัฐ เพิ่ ม พู น วิ วั ฒ น์ ประธานในพิ ธี ม อบรางวั ล เกียรติคุณ พ.ศ.2558 รับโล่รางวัล รับเลือกเป็น คนดี ของแผ่นดิน สาขา ผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนา ดีเด่น ฯพณฯ นายอ�ำพล เสนาณรงค์ องค์มนตรี ประธานในพิธีมอบโล่รางวัลเกียรติคุณ พ.ศ.2558 รับโล่รางวัล ผู้ท�ำคุณประโยชน์ ต่อสังคมและพระพุทธศาสนา สาขานักพัฒนา จากท่านหญิง มาลินีมงคล ยุคล อมาตยกุล (นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงมาลินีมงคล ยุคล)

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

22/08/61 18:04:05


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเทพนรสิงห์

พระใบฎีการมย์ (หลวงพ่อรมย์ วิริยะธัมโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เทพนรสิ ง ห์ ตั้ ง อยู ่ เลขที่ 182 หมู ่ ที่ 13 ต� ำ บลสวายจี ก อ� ำ เภอเมื อ ง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ 25 ไร่ ใกล้ อ ่ า งเก็ บ น�้ ำ ชลประทาน บ้ า นโคกตาสิ ง ห์ ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ และอุ ด มสมบู ร ณ์ ไปด้ ว ยของป่ า ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2530 โดยหลวงปู ่ พ วง ธมสาโร ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ประธานสงฆ์ และ มี พระใบฎี ก ารมย์ (หลวงพ่ อ รมย์ วิ ริ ย ะธั ม โม) ท่ า นเกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2509 อายุ 52 ปี ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ตั้ ง แต่ พ.ศ.2530 จวบจบปั จ จุ บั น 78

หลวงปู่พวง ธมสาโร เป็นเกจิอาจารย์ชื่อดัง แห่งเมืองบุรีรัมย์ ดินแดนถิ่นภูเขาไฟ ที่คณะ ศิษยานุศิษย์ให้ความเลื่อมใสศรัทธายิ่ง เป็น พระเถระที่ปฏิบัติเคร่งครัดในพระธรรมวินัย และมีความเชี่ยวชาญในการใช้สมุนไพรไทย บ�ำบัดรักษาอาการเจ็บป่วยต่างๆ ให้กับชาว บ้านในชุมชน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 78

22/08/61 18:25:46


ประวัติหลวงปู่พวง ธมสาโร โดยสังเขป หลวงปู่พวง ธมสาโร เกิดในสกุล เกริงรัมย์ เมื่ อ วั น เสาร์ ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2477 ที่บ้านโคกตาสิงห์ ต�ำบลสวายจีก อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ บิดา - มารดา ชื่อนายมั่น และ นางบุญ เกริงรัมย์ ครอบครัวประกอบอาชีพ ท�ำนา ปลูกข้าว และรับจ้าง ในวัยเยาว์สูญเสีย มารดา เรียนจบการศึกษาชั้น ป.4 ที่โรงเรียน วัดบ้านสวายจิก ครั้นเริ่มย่างเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น มีอปุ นิสยั ค่อนข้างนักเลง บิดาเกิดความเป็นห่วง บุตรชาย เกรงว่าจะเสียผู้เสียคน จึงน�ำไปฝาก กั บ เจ้ า อาวาส ที่ วั ด สนวนใน ต� ำ บลสนวน

อ�ำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อบวชเรียน เป็นสามเณร ท่านมุ่งมั่นศึกษาพระปริยัติธรรม จนสามารถเรียนจบนักธรรมชัน้ โท แต่บวชเรียน ได้เพียงแค่ 5 พรรษา บิดาก็ล้มป่วยลงไม่มีใคร ดู แ ลปฐมพยาบาล ท่ า นจึ ง จ� ำ ต้ อ งลาสิ ก ขา เพื่อช่วยท�ำนาเกี่ยวข้าว และดูแลบิดาในช่วง บั้ น ปลายชี วิ ต ต่ อ มามี ค รอบครั ว และได้ ย้ า ยถิ่ น ฐานเกิ ด ความเบื่ อ หน่ า ยในชี วิ ต จึงเข้าอุปสมบท พ.ศ.2518 เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ที่ วั ด ปทุ ม สราราม ต� ำ บลลาดตะเคี ย น จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี โดยมี เจ้ า อธิ ก ารเจริ ญ

เสนาสนะในวัด พระอุ โ บสถใหม่ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งเมื่ อ เดื อ น กรกฎาคม พ.ศ.2561 จากแรงศรัทธาของ เหล่ า บรรดาศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ที่ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธา นอกจากนี้ภายในวัดยังมีศาลาการเปรียญที่มี ความกว้าง 28 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างขึ้น ตั้ ง แต่ พ.ศ.2525 พร้ อ มการก่ อ ตั้ ง วั ด มี ลั ก ษณะเป็ น ศาลาคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ปัจจุบันมีกุฏิจ�ำนวน 20 หลัง และมีศาลา ปฏิบัติธรรม จ�ำนวน 2 หลัง

เหตุการณ์ส�ำคัญของวัดเทพนรสิงห์ ด้วยความที่นักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 350 คนใน 5 ประเทศ ซึ่งมาจากสิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน และอินเดีย มีความเลื่อมใสศรัทธาในหลวงปู่พวง เป็นอย่างมาก ได้เดินทางมา พร้อมกันเพื่อท�ำพิธีสะเดาะเคราะห์และเสริมดวง เมื่อกลับไปยังประเทศของตนก็ท�ำให้ชีวิตเจริญ รุ่งเรือง จึงได้เดินทางกลับมากราบไหว้บูชาในทุกๆ ปี ท�ำให้ชื่อเสียงของท่านขจรขจายไม่เพียง ในประเทศเท่านั้น หากยังไปไกลในหลายประเทศด้วย นอกจากนี้ยังมีนายทหาร ราชองครักษ์ ได้เลื่อมใสศรัทธาในหลวงปู่พวง เดินทางมาร่วมท�ำพิธี อยู่เป็นประจ�ำ

การจัดเสดาะเคราะเสริมบารมี

กิตติโสภโณ เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2527 หลวงปู ่ พ วง ได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง เป็นเจ้าอาวาสวัดบุญเกิด อ�ำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ.2530 เดิ น ทางกลั บ ภู มิ ล� ำ เนา ที่ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ผู ้ น� ำ หมู ่ บ ้ า นและชาวบ้ า น ได้ นิ ม นต์ ห ลวงปู ่ พ วงให้ ช ่ ว ยสร้ า งวั ด ใน พื้นที่ป่าช้า บ้านโคกตาสิงห์ เนื้อที่ 12 ไร่ สร้างกุฏิหลังเล็ก ส�ำหรับปฏิบัติธรรม สร้างกุฏิ พักสงฆ์ ศาลาการเปรียญ และสร้างอุโบสถ ฯลฯ

หลักธรรมค�ำสอนที่หลวงปู่พวงมอบให้ก็คือ “คิดดีท�ำดี หมั่นสวดมนต์ รักษาศีล แล้วชีวิตจะดี”

การจัดเสดาะเคราะเสริมบารมี

สถานที่ท่องเที่ยวอยู่ทางด้านหลังวัดห่างจากวัด ประมาณ 500 เมตร ใกล้อ่างเก็บน�้ำชลประทาน และน�้ำตก

นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างประเทศเดินทางมากราบ ขอพรหลวงปู่พวง ธมฺมสาโร และมาท�ำพิธี เสดาะเคราะเสริมดวงบารมีทุกๆ วัน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

22/08/61 18:25:50


80

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 80

22/08/61 18:25:57


Wat Thep Norasing

Phra Bideekarom (Luang Por Rom Wiriyathammo), The abbot of Wat thep norasing

Wat Thep Norasing is located at 182 village no.13, Sawai Geek sub-district, Mueang district, Buriram province. It belongs to Maha Nikai clergy. The scale of this temple’s land is 10 acres which this location is not far from irrigation reservoir of Ban Khok Ta Sing which is the significant tourist attraction and non-timber forest products are plentiful here. This temple was founded in B.E.2530 by Luang Phu Puang Thammasaro, the current leader of the monk and there was Phra Bideekarom (Luang Por Rom Wiriyathammo) whom has been an abbot of this temple since B.E.2530 until now. He was born on 20 April B.E.2509, age 52 years old Luang Phu Puang Thammasaro is the famous master of Buriram, the

volcanic land, which there are many followers have faith in him. He is an elder monk who behave by strictly follow Buddhist discipline and he is skilled in Thai medical herbs-using for curing many kinds of sickness of locals in the community.

An important event of Wat Thep Norasing

Due to the 350 foreigners from 5 countries which are Singapore, Malaysia, Indonesia, China and India were strongly belief in Luang Phu Puang, they jointly travelled to this temple to perform ceremonies to remove theirs bad luck and enhance good fortune. After that, when they returned to their countries, their lives

became prosperous. That’s why they always come back to pay their respect to Luang Phu every year which made Luang Phu’s reputation was widespread not only in Thailand but others countries also. Moreover, there are many military officers and royal bodyguards who belief in Luang Phu Puang always come to this temple to participate in the ceremony until they become high rank officers as they are now.

“Think good, do good, keep praying, observe the precepts, then you will have nice and happy life” - Luang Phu Puang BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

22/08/61 18:26:06


ISM

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

เที่ยวชมภูเขาไฟ ไปกราบนมัสการพระสุภัทรบพิตร ศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังในอุโบสถ เสริมพลังเชิดชูพระเกียรติยศบูรพกษัตริย์ มหาราชชาติ ไทย (ในพระสยามเทวเจดีย์) ได้สืบสานต�ำนานการกวนข้าวทิพย์และ ตักบาตรเทโวโรหณะ (คําขวัญวัดพระพุทธบาทเขากระโดง)

วัดพระพุทธบาทเขากระโดง

พระใบฎีกาทรนง ธนปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดพระพุทธบาทเขากระโดง วัดพระพุทธบาทเขากระโดง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 13

ต� ำ บลเสม็ ด อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2498 ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น ให้ ส ร้ า งวั ด คื อ จ่ า สิ บ เอกค� ำ ศิ ล ากุ ล (แก้ ว อรสาร) และนายพู น มณี ว รรณ ได้ บ ริ จ าค ที่ ส ร้ า งวั ด รวม 54 ไร่ ขณะนั้ น วั ด ที่ จ ะเป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐานไม่ มี จึ ง สร้ า ง เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐาน 82

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการบุญมา ปญฺญาปโชโต ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2498 - 2520 2. พระครูจัจานุรักษ์(หลวงปู่เที่ยง ปภงฺกโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2522 - 2559 3. พระใบฎีกาทรนง ธนปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2559 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 82

22/08/61 18:33:14


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

จากความร่วมแรงร่วมใจศรัทธาของชุมชน โดยรอบ รวมทั้งคณะสงฆ์จังหวัดบุรีรัมย์ โดย พระธรรมธีระมุนี(เป้า) อดีตเจ้าคณะจังหวัด บุรรี มั ย์และเจ้าอาวาสวัดกลางพระอารามหลวง บุ รี รั ม ย์ พระมหาวิ ชั ย ฐิ ต าจาโร(พระราช ปริยัติยาลังการ เจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์) และ พระมหาไพโรจน์ เภสัชชา สาธารณูประการ จังหวัดในสมัยนั้น ได้ร่วมกันไปพัฒนาบริเวณ ที่จะสร้างวัด โดยคุณพ่อสวัสดิ์ คชเสนี และ นายพูน มณีวรรณ อดีต ส.ส.จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ความอุปถัมภ์ เนือ่ งจากสมัยนัน้ จังหวัดบุรรี มั ย์ ยังไม่มสี ำ� นักปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน จึงสร้าง เป็ น ส�ำ นั ก ปฏิ บัติ วิป ัส สนากรรมฐาน โดยมี พระอธิการบุญมา ปัญญาปโชโต เป็นเจ้าอาวาส และเป็นพระวิปัสสนาจารย์ วัดพระพุทธบาทเขากระโดงได้รับประกาศ ตั้งเป็นวัดถูกต้องตามกฏหมาย เมื่อพ.ศ.2521 พระครูสัจจานุรักษ์(หลวงพ่อเที่ยง) ได้สร้าง อุโบสถต่อพระอธิการบุญมา จนแล้วเสร็จและ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2527 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 29 เมตร ยาว 29 เมตร พร้อมกับได้สร้าง และพัฒนาวัตถุต่างๆ ภายในบริเวณวัดท�ำให้ วัดได้เจริญขึ้นมาตามล�ำดับโดยได้รับความ ร่วมมือร่วมใจจากประชาชนในจังหวัดบุรีรัมย์ และต่างจังหวัดด้วยดีเสมอมา วัฒนธรรมประเพณีสืบสาน

ต�ำนานการกวนข้าวทิพย์ ปัจจุบันทางวัดพระพุทธบาทเขากระโดงได้ มอบหมายให้ชุมชน 19 ชุมชนในต�ำบลเสม็ด และองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ดด�ำเนินการ โดยให้แต่ละชุมชนเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ทกุ อย่าง ที่จะใช้กวนข้าวทิพย์ เตรียมน�ำมาประกวด การกวนข้าวทิพย์การปรุงข้าวทิพย์ ณ บริเวณ ลานวัดพระพุทธบาทเขากระโดงทุกปี เมื่อ ปรุ ง สุ ก แล้ ว ให้ แ ต่ ล ะชุ ม ชนหมู ่ บ ้ า นใส่ ต ลั บ 100 ตลับไว้แจกจ่ายแก่ประชาชนมาท�ำบุญ ตักบาตรเทโวโรหณะในรุ่งเช้าวันออกพรรษา วันแรม 1 ค�่ำเดือน 11 ทุกปี BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 83

83

22/08/61 18:33:40


ที่ พั ก สวยสไตล์ โ มเดิ ร์ น สะอาด ปลอดภั ย ราคาเป็ น กั น เอง ต้ อ งที่ โ ฮมเฮ้ า

โฮมเฮ้ า รี ส อร์ ท ที่ พั ก สบาย ในสไตล์ บ ้ า นโมเดิ ร ์ น สะอาด ปลอดภั ย พร้ อ มบริ ก ารตลอด 24 ชั่ ว โมง มี ที่ จ อดรถส่ ว นตั ว พร้ อ มเครื่ อ งอ� ำ นวยความสะดวกครบครั น ห้ อ งน�้ ำ สะอาด ปรอดโปร่ ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ โทรทั ศ น์ ตู ้ เ ย็ น พร้ อ มชา กาแฟ และน�้ ำ ดื่ ม แต่ ล ะห้ อ ง กว้ า งขวางเปิ ด รั บ อากาศธรรมชาติ บ ริ สุ ท ธิ์ ไ ด้ ทุ ก เวลา โฮมเฮ้ า รี ส อร์ ท ในท� ำ เลที่ ส ะดวกส� ำ หรั บ ทุ ก การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว หรื อ ติ ด ต่ อ ธุ ร กิ จ ในจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ พั ก ผ่ อ นระหว่ า งทางกั บ บริ ก ารแบบโรงแรมชั้ น หนึ่ ง ในห้ อ งพั ก แบบรี ส อร์ ท พั ก ใจ พั ก กาย กลางเมื อ งบุ รี รั ม ย์ ใน โฮมเฮ้ า รี ส อร์ ท

R

w e i ev

รี วิ ว จากผู้ เ ข้ า พั ก และนั ก เดิ น ทางที่ ป ระทั บ ใจ... “ที่ พั ก สะอาด สบาย บริ ก ารดี ราคาไม่ แ พง ประทั บ ใจมากๆ ค่ ะ ” “สะอาด บรรยากาศดี เจ้ า ของใจดี น ่ า รั ก มาก ในห้ อ งตกแต่ ง สวยงาม และ มี ก ลิ่ น หอมนอนหลั บ สบายสุ ด ยอดราคาไม่ แ พงด้ ว ย” “บรรยากาศดี ห้ อ งสวยสะอาด พนั ก งานบริ ก ารดี ค ่ ะ ”

ติ ด ต่ อ และส� ำ รองห้ อ งพั ก 84

Go Ahead

Scan Me

โทร. 09-5189-6854

โฮมเฮ้ารีสอร์ท ตั้งอยู่เลขที่ 306 หมู่ที่ 16 ต.สวายจิก อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 84

22/08/61 18:47:08


KEEP

CALM AND

GO TO โฮมเฮ้ า

ที่ พั ก สวยสไตล์ โ มเดิ ร์ น สะอาด ปลอดภั ย ราคาเป็ น กั น เอง ต้ อ งที่ โ ฮมเฮ้ า พร้ อ มต้ อ นรั บ ตลอด 24 ชั่ ว โมง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 85

85

22/08/61 18:47:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“ปญญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต”

ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก

จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พัฒนาสู่วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

86

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 86

22/8/2561 15:30:49


BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 87

87

22/8/2561 15:30:57


“จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่พัฒนาจิตใจและสังคม” พ.ศ. 2543 คณะสงฆ์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ภายใต้ ก ารน� ำ ของ พระราชปริยตั ยิ าลังการ เจ้าคณะจังหวัดบุรรี มั ย์ (ในขณะนัน้ ) ได้มมี ติเห็น ชอบให้ดำ� เนินการขอขยายห้องเรียน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขา วิชาพระพุทธศาสนา จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ มาด�ำเนินการจัดการเรียนการสอน ณ วัดพระพุทธบาท เขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อขยายการให้บริการทางการศึกษาแก่ พระสังฆาธิการและพระภิกษุสามเณร ในระดับอุดมศึกษาให้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น และส่งเสริมพัฒนาการศึกษาของคณะสงฆ์ในระดับท้องถิ่นให้มี ความรู้ความสามารถในด้านวิชาการทางพระพุทธศาสนา และศาสตร์ แขนงอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม/ แผนกบาลีที่มีอยู่แล้ว เพื่อที่จะได้น�ำไปพัฒนาสังคมประเทศชาติและ พระพุทธศาสนาต่อไป โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้

1. เพื่อพัฒนาด้านศักยภาพและสนองความประสงค์ของคณะสงฆ์ จังหวัดบุรีรัมย์ 2. เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณภาพของ คณะสงฆ์และสังคม 3. เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า วิจัย วิชาการทางพระพุทธศาสนา ในระดับสูงและเป็นสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาของคณะสงฆ์จังหวัด บุรีรัมย์ 4. เพื่อให้บุคลากรในองค์กรท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการด�ำเนิน กิจกรรมทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา อันเป็นการขยายโอกาสทางการ ศึกษาให้ทั่วถึงแก่ผู้ต้องการโอกาสทางการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของ สภาวิชาการ และโดยอนุมัติของสภามหาวิทยาลัย ได้ขยายระดับการ ศึกษาสู่จังหวัดบุรีรัมย์ ณ วั ด พระพุ ท ธบาทเขากระโดง ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2543 เป็นต้นมา มี ส ถานภาพเป็ น โครงการขยายห้ อ งเรี ย น มี ชื่ อ ตามข้ อ บั ง คั บ ของ มหาวิ ท ยาลั ย ว่ า โครงการขยายห้ อ งเรี ย นมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ า ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ วัดพระพุทธบาทเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยได้จัดการศึกษาเจริญก้าวหน้ามาเป็นล�ำดับ ต่อมาใน ปี พ.ศ.2553 ได้รบั อนุมตั จิ ดั ตัง้ จากสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ เมื่อคราวประชุมสภา มหาวิทยาลัย ครั้งที่ 3/2553 ในวันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ.2553 และส�ำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 127 ตอนที่ 109 ง หน้า 329 ล�ำดับที่ 218 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 88

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 88

22/8/2561 15:31:09


การพัฒนาองค์กรตาม พันธกิจ 4 ด้าน 1. ผลิตบัณฑิต 2. วิจัยและพัฒนา 3. ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม 4. ท�ำนุบำ� รุงศิลปะและวัฒนธรรม พระเทพปริยัตยาจารย์,ดร. (ป.ธ.5, M.A., Ph.D.) ประธานกรรมการประจ�ำวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่ปรึกษาผู้อำ� นวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

พระสุนทรธรรมเมธี,

ดร. (ป.ธ.4, ศน.บ.,M.A.,Ph.D.) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประจ�ำวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ที่ปรึกษา ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

พระมงคลสุตกิจ (ป.ธ.7, พธ.บ., กศ.ม.) รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

อาจารย์ ดร.พีรพงษ์ มาลา

(ป.ธ.3, พธ.ม., ศศ.ม.,Ph.D) รักษาการ ผู้อำ� นวยการส�ำนักงานวิทยาลัย

พระศรีปริยัติธาดา

(ป.ธ.9, พธ.บ., ศษ.บ., ศศ.ม.) ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์

พระครูศรีปัญญาวิกรม

ผศ.ดร. (ป.ธ.6, พธ.บ., พธ.ม., พธ.ด.) รองผู้อำ� นวยการฝ่ายวิชาการวิทยาลัยสงฆ์ บุรีรัมย์

หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี : หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธ ศาสนา และ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนพระพุทธ ศาสนาและจิ ต วิ ท ยา ,สาขาวิ ช าการสอนภาษาอั ง กฤษ, สาขาวิ ช า สังคมศึกษา และ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาโท : หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา พระพุทธศาสนา และ สาขาวิชาปรัชญา ระดับประกาศนียบัตร : หลักสูตรประกาศนียบัตร การบริหารกิจการ คณะสงฆ์ (ป.บส.) และ วิชาการเทศนา (ป.ทศ) คุณสมบัติของพระภิกษุ/สามเณรและประชาชนทั่วไป ผู้สมัครเข้าศึกษา 1.เป็นผู้สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค 2.เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 3.เป็นผู้ส�ำเร็จเปรียญธรรม 9 ประโยค 4.เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า 5.เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา หรือเทียบเท่า 6.เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ผู้ได้รับ ประกาศนียบัตรอื่นที่มหาวิทยาลัยรับรอง หลักฐานการสมัคร 1.ส�ำเนาเอกสารการจบมัธยมศึกษา หรือเทียบเท่า หรือส�ำเนา ประกาศนียบัตรเปรียญธรรม 2 ชุด 2.ส�ำเนาทะเบียนบ้าน 3.ส�ำเนาหนังสือใบสุทธิ (พระภิกษุ/สามเณร)ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัว ประชาชน (คฤหัสถ์) 1 ชุด 4.ส�ำเนาหนังสือเดินทาง (ส�ำหรับชาวต่างประเทศ) 5.รูปถ่ายขนาด 1 นิ้วครึ่ง หน้าตรง 2 รูป 6.ค่าสมัคร จ�ำนวน 200 บาท เปิดรับสมัครระหว่างเดือน มีนาคม – พฤษภาคม ของทุกปีการศึกษา ติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่ 081-170-8686

อาจารย์รังสิทธิ วิหกเหิน

(ป.ธ.5, พธ.บ., ค.ม.) รักษาการผู้อำ� นวย การส�ำนักงานวิชาการ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 89

89

22/8/2561 15:31:17


สัมโมทนียกถาโดย : พระศรีปริยตั ธิ าดา (ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์) “จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่พัฒนาจิตใจ และสังคม” วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มีพันธกิจคือการผลิตบัณฑิต วิจัย บริการวิชาการแก่ สังคม และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยเน้นด้านการบริการวิชาการ พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สมบูรณ์ตามหลักการจัดการ ศึกษา คือการพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจและสติปัญญา โดย พัฒนาให้เป็นทัง้ คนดีและคนเก่งทีจ่ ะออกไปสูส่ งั คม ซึง่ เป็นหัวใจของการให้บริการ วิชาการตามนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยแนวทางของการพัฒนาประเทศชาตินนั้ เริ่มที่การพัฒนาประชาชนของประเทศ ซึ่งเป็นหัวใจของการพัฒนาตามหลักการ ทางพระพุทธศาสนา คือการพัฒนาคนเริ่มที่จิตใจ จะพัฒนาอะไรต้องพัฒนาที่ตัว เราก่อน คนจึงเป็นหัวใจของการพัฒนาและพระพุทธศาสนาเรา มุ่งเน้นการ พัฒนาจิตใจ เพื่อไปพัฒนาสังคม นั่นจึงเป็นบทบาทภาระหน้าที่ของวิทยาลัยสงฆ์ บุรรี มั ย์ การผลิตบัณฑิต คือ การพัฒนามนุษย์ เป็นการท�ำพันธกิจของวิทยาลัย ซึ่ง โดยมากมนุษย์โลกมีคนอยู่ 3 จ�ำพวก คือ คนตาบอด คือ คนไม่มีความรู้ทั้ง ทางโลกและทางธรรมทางจิตใจ คนตาเดียว คือคนมีความรู้ทางโลกแต่ไม่มีความรู้ ทางธรรม และคนสองตา เป็นคนที่มีความรู้ทางโลกและทางธรรม

90

6

.

หน้าทีข่ องวิทยาลัยสงฆ์ คือผลิตบัณฑิตให้เป็นคนสอง ตา สอดรับกับปรัชญาตามนโยบายของมหาวิทยาลัย คือ มี ความรู้ทางพระพุทธศาสนาและความรู ้ ศ าสตร์ ส มั ย ใหม่ เพื่ อ พั ฒ นาจิ ต ใจและสั ง คม ท�ำประโยชน์ให้ตน และสังคมสมกับเป็นบัณฑิต เป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์รทู้ งั้ ทางโลก และทางธรรม จะต้องมีดวงตารอบรู้การเปลี่ยนแปลงของ สังคมและปรับตัวอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข และเรียนรู้ อยู ่ ต ลอดชี วิ ต สอดคล้ อ งกั บ ศาสตร์ แ ห่ ง การพั ฒ นา ประเทศของในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงสอนให้บูรณาการ กับพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนากายจิตใจ สังคม ปัญญา มุ่งเน้นให้คนในชาติเกิดความสามัคคีตอ่ กัน คิดพูดท�ำด้วย ความรัก (เมตตา) เกือ้ กูลกันและกัน (สาธารณโภคี) ปฏิบัติ ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน (สีลสามัญญตา) ปรับความคิดให้ มีเหตุผล (ทิฐิสามัญญตา) สมดังปรัชญาที่ก�ำหนดเอาไว้ว่า “ปญญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต” ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก และสร้างบัณฑิตให้มคี ณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 9 ประการ ให้เป็นไปตามนวลักษณ์ที่มหาวิทยาลัยก�ำหนด เพราะนี้คือ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 90

25/8/2561 17:56:33


ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพซือ้ ทีด่ นิ ขยายพืน้ ที่ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ วิ ท ยาลั ย สงฆ์ บุ รี รั ม ย์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้ด�ำเนินการ จั ด การศึ ก ษาสนองพระราชปรารภของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ผูท้ รงประสงค์ให้เป็นสถานศึกษาพระไตรปิฎก และวิชาชั้นสูงส�ำหรับพระภิกษุสามเณรและ คฤหัสถ์มาโดยตลอด เพื่ อ ด� ำ เนิ น ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ดั ง กล่ า ว วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ ร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัด บุรีรัมย์ มีความตั้งใจที่จะพัฒนาวิทยาลัยสงฆ์ บุ รี รั ม ย์ ให้ เ ป็น พุทธอุทยานการศึก ษาและ สถาบันการศึกษาทางพระไตรปิฎก วิชาชั้นสูง ประจ�ำจังหวัดบุรรี มั ย์ เพือ่ สนองพระราชปรารภ ของในหลวงรัชกาลที่ 5 ให้บรรลุตามพระราช ประสงค์ ขณะนีม้ คี วามจ�ำเป็นทีจ่ ะขยายพืน้ ที่ ให้ ก ว้ า งออกไป เพื่ อ พั ฒ นาสภาพแวดล้ อ ม

ด้านกายภายตอบสนองงานตามพันธกิจของ มหาวิทยาลัย และงานกิจการทางการศึกษา ของคณะสงฆ์ อีกทัง้ กิจกรรมต่าง ๆ ของจังหวัด บุรีรัมย์ จึงจัดท�ำโครงการระดมทุนเพื่อขยาย พื้นที่วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยทุกปีการศึกษา ขอเชิ ญ ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว มสร้ า งพุ ท ธ อุทยานการศึกษา เป็นเจ้าภาพซื้อที่ดินขยาย พื้นที่วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จ�ำนวน 20 ไร่ (พื้นที่ จ�ำนวน 8,000 ตารางวา โดยร่วมบริจาคตาม ก�ำลังศรัทธา หรือเริม่ ร่วมบริจาคทีต่ ารางวาละ 1,000 ถึง 10,000 บาทขึน้ ไป รับพระกริง่ พนม รุ้งจากวิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ และเพื่อสมทุน สร้างอาคารห้องสมุด ICT วิทยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์) เลขทีบ่ ญ ั ชี 308-0-45259-3 ชือ่ บัญชี วิทยาลัย สงฆ์บุรีรัมย์ ธนาคารกรุงไทย สาขาบุรีรัมย์

ที่ตั้งปัจจุบัน วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย เลขที่ 281 หมู่ที่ 13 ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31000 โทรศัพท์ 044-637-256 http://www.mcubr.ac.th เพจ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มจร. @mcmcubr BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 91

91

22/8/2561 15:31:32


“เราสร้างบรรยากาศแห่งการพักผ่อน เพื่ อคุณประทับใจ”

M a M A i s o n

โรงแรม มาเมซอง

เพราะการบริการลูกค้าที่เข้าพักเป็นสิ่งส�ำคัญของเรา

โรงแรมมาเมซอง (Ma Maison Hotel Buriram Thailand) เป็นโรงแรมที่น่าสนใจ แห่ งหนึ่ งในจั งหวัดบุรีรัมย์ ด้วยแนวคิด การออกแบบที่แปลกใหม่ สร้างสรรค์และ การตกแต่งที่ทันสมัยแตกต่างจากโรงแรม ทั่ ว ไป โรงแรมมาเมซองสามารถสร้ า ง บรรยากาศในการพักผ่อนของท่านให้รสู้ กึ สะดวกสบายและผ่อนคลายเสมือนได้ พักผ่อน อยู่ที่บ้าน เพราะสงบ ร่มรื่นและอยู่ติดกับ ธรรมชาติ ซึ่งมีท�ำเลอยู่ในตัวเมืองบุรีรัมย์ ท�ำให้ท่านสะดวกสบายกับทุกการเดินทาง อีกทั้งตั้งอยู่ใกล้กับห้างสรรพสินค้า และ สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ

เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า พั ก รู ้ สึ ก ได้ รั บ ความสะดวกสบายในการพั ก ผ่ อ นที่ ดี ที่ สุ ด แผนกต้ อ นรั บ คอยบริ ก ารตลอด 24 ชั่ ว โมง พร้อมอาหารเช้าบุฟเฟ่ต์ให้ลูกค้าสามารถเลือกรับประทานได้หลากหลาย บริการ ซัก-อบ-รีด และอินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูง สระว่ายน�้ำ ฟิตเนส เปิดบริการตั้งแต่ 07.00 น – 22.00 น.

388 M.9 Muang Buriram, Muang Buriram, Buriram, Thailand 31000 Line ID : Mamaison_hotel Facebook : Mamaison Hotel E-mail. : Mamaison_br@hotmail.com 92 SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI Tel. 044-620070 Mobile. 086-4305202 1

.indd 92

22/8/2561 15:07:57


Mum Mum Cafe’

ร้านน่ารัก อาหารอร่อย “ม�ำ่ ม�่ำ คาเฟ่” ร้านคาเฟ่น่ารักๆ สีชมพู ผสมผสานสไตล์ของใช้พน ื้ บ้านกับความสมัยใหม่ อย่างลงตัว เก๋ไก๋ สบายตา อาหารคาวหวาน ที่เรา ปรุงด้วยใจใส่ไอเดียบนภาชนะ ที่สร้างสรรค์ เพื่อให้มื้อนี้ ของคุณเป็น

มื้อที่พิเศษ

Rainbow Milk OPEN 09-6116-5596

rainbow waffles strawberry

Signature

09.00 - 21.00 น.

ติดต่อสอบถาม

ตั้งอยู่ที่ หน้ามายด์วิลเลจ อพาร์ทเม้นท์ 542 หมู่ 8 ตำ�บลอิสาณ อำ�เภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ จอดรถสะดวกมาก BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

93

22/08/61 19:10:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองปรือ

พระอธิการถวิล โชติปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ดหนองปรือ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 3 บ้านหนองปรือ ถนนบุรีรัมย์ ต�ำบลสวายจีก

อ� ำเภอเมื อ งบุ รีรัม ย์ จังหวัด บุรีรัม ย์ สังกัด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ดมี เนื้ อที่ 28 ไร่ 1 งาน 6 ตารางวา เป็น วัด ขนาดใหญ่ และมีชุม ชนในเขตบริ ก าร ม.3 บ้ า นหนองปรื อใหญ่ ม.4 บ้านใหม่ ม.5 บ้านมะค่าตะวันออก ม.7 บ้านหนองขาม-ป่าตะแบง ม.8 บ้านถาวร ม.9 บ้านหนองปรือน้อย ม.11 บ้านมะค่าตะวันออก ม.18 บ้านปรือพัฒนา เป็นที่รู้จักมากในเขต จ.บุ รีรั ม ย์ - สุ ริ น ทร์-นครราชสีม า ในช่ว งสมัย หลวงปู ่ ด่ อน ชยฺ ย โส ท่ า นได้ แปลชื่ อเรี ย กว่ า วั ดชุ ม พรวิ สั ย -วัด หนองปรือ และก็ ไ ด้ตั้งเป็น ชื่อ โรงเรี ย นด้ ว ยว่ า โรงเรี ย นวั ดชุ ม พรวิ สั ย 94

ทุกวันนีเ้ ปลีย่ นเป็น โรงเรียนเบญจคามวิทยา และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดหนองปรือ ก่อตั้ง ขึ้นปี พ.ศ.2542 จนถึงปัจจุบัน เพื่อช่วยเหลือ ครอบครัวที่ยากจนได้ส่งบุตรหลานมาเรียน โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย เป็นลักษณะสังคมสงเคราะห์ ด้วยงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นงานทุกด้าน ที่ ต ้ อ งช่ ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล สั ง คมด้ ว ยความ เสี ย สละมาตั้ ง แต่ ค รั้ ง สมั ย พุ ท ธกาลจนถึ ง ปัจจุบัน วัดหนองปรือ ตั้งเมื่อ พ.ศ.2432 ชื่อวัด ตั้งตามสภาพภูมิประเทศได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.2447 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 94

22/08/61 19:18:32


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

กราบ “พระพุทธชุมพรวิสัย” น�ำจิตใจสงบสุข

พระพุทธชุมพรวิสยั ได้ทำ� การหล่อขึน้ ในวัด เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ.2559 เพื่อเป็นที่ รวบรวมจิตใจ ผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันท�ำบุญ หล่อเป็นพระประธานไว้ในศาลาการเปรียญ หลังใหม่ ศาลาการเปรียญหลังใหม่สร้างเมื่อ 20 มกราคม พ.ศ.2555 ขนาด 26x42 เมตร แล้วเสร็จฉลองวันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2560 โดยกุ ฏิ ห ลั ง ใหญ่ ไ ด้ มี ก ารบู ร ณะใหม่ เ มื่ อ ปี พ.ศ.2554 จนแล้วเสร็จ เป็นที่พักพระสงฆ์ ผู้เป็นเนื้อนาบุญให้ฆราวาสญาติโยมได้อุ่นใจ ในการน�ำทางปฏิบัติเจริญสติ สมาธิ ปัญญา ไปสู่ความพ้นทุกข์ในสังสารวัฏโดยสิ้นเชิง เสนาสนะ อุโบสถ กว้าง 9.50 เมตร ยาว 17.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2447 ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2539 กุ ฏิ สงฆ์ 2 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง อาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ.2513 ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 16.90 เมตร ยาว 22.80 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2541 เป็น อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล 2 หลั ง เป็ น อาคาร ครึ่งตึกครึ่งไม้ ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระส่ง 2. พระพรหม 3. พระยิ้ม 4. พระพวง 5. พระมา 6. พระดอน 7. พระเฉลิม ปสนฺโน 8. พระกลั่น ปภากโร พ.ศ.2500 - 2509 9. พระบุญมี ปริปณ ุ โฺ ณ พ.ศ.2509 - 2537 10. พระชโลม ปญฺญาวโร พ.ศ.2537 - 2551 11. พระอธิการถวิล โชติปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2556 - ปัจจุบัน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

22/08/61 19:19:07


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่ารุ่งอรุณ

พระครูสุนทรธรรมวิจิตร(บุญธรรม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ป่ารุ่งอรุณ ตั้งอยู่เลขที่ 252 หมู่ที่ 4 ต�ำบลชุมเห็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ติ นิ ก าย แต่ เ ดิ ม เป็ น เพี ย งที่ พั ก สงฆ์ ตั้ ง อยู ่ ใ นป่ า ช้ า สาธารณะ ในเขตหมู ่ บ ้ า นตราดตรวน โดยตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2524 ในขณะนั้ น ที่ ตั้ ง เป็ น ทุ ่ ง นารอบ ห่ า งจากตั ว หมู ่ บ ้ า นประมาณ 1.5 กิ โ ลเมตร พระอาจารย์ ห รุ ่ น ปริ ช าโณ เดิ น ธุ ด งค์ มาปั ก กลดพั ก ค้ า งแรมที่ ป ่ า ช้ า แห่ ง นี้ 96

ต่อมาเมื่อชาวบ้านตราดตรวนได้ทราบข่าว ก็ ร ่ ว มกั น ท� ำ บุ ญ และท่ า นได้ น� ำ ชาวบ้ า น สวดมนต์ท�ำวัตร น�ำปฏิบัติธรรม ซึ่งชาวบ้าน มีความศรัทธาเลือ่ มใสในปฏิปทา ได้ประชุมกัน แล้วเข้าไปกราบอาราธนาให้ทา่ นอยูพ่ กั จ�ำพรรษา ในป่ า ช้ า แห่ ง นี้ เมื่ อ ท่ า นรั บ อาราธนาแล้ ว ชาวบ้ า นจึ ง ร่ ว มกั น สร้ า งเสนาสนะ เพื่ อ ใช้ ประกอบศาสนกิจ และมีกุฏิชั่วคราวขึ้น จึงได้ มีการพัฒนามาโดยต่อเนื่อง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 96

22/08/61 19:22:46


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ต่อมาประมาณ พ.ศ.2546 พระอาจารย์หรุน่ มรณภาพ ชาวบ้านจึงได้ไปกราบอาราธนา พระอธิการบุญ วฒฺตมโล จากวัดหนองแปบ มาอยู่พักจ�ำพรรษาต่อ และท่านได้ร่วมกับ ชาวบ้านพัฒนาวัด โดยได้จัดซื้อที่ดินเพิ่มเติม จากเดิมทีป่ า่ ช้าสาธารณะ 4 ไร่ จัดซือ้ เพิม่ ได้อกี 6 ไร่ 1 งาน ด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัด และได้รบั อนุญาตสร้างวัด วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2553 และได้รับประกาศตั้งวัด วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ปลายปี พ.ศ.2554 พระอธิการบุญ วฒฺตมโล มรณภาพ ชาวบ้านจึงได้ ไปกราบอาราธนา พระครูสุนทรธรรมวิจิตร (บุญธรรม อนาวิโล) โดยได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาส 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555 จนถึง ปั จ จุ บั น และได้ มี ก ารพั ฒ นาวั ด ป่ า รุ ่ ง อรุ ณ อย่างต่อเนื่อง ต่อมาได้มีการสร้างอุโบสถทรง ไทยประยุกต์เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชัน้ ขึ้น เพื่อเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธรุ่งรัศมี เป็น พระประธานประจ�ำอุโบสถวัดป่ารุง่ อรุณสืบต่อไป ปัจจุบัน พระครูสุนทรธรรมวิจิตร (นามเดิม บุญธรรม นามสกุล ปัน่ สันเทียะ ฉายา อนาวิโล) อายุ 54 ปี พรรษา 28 เจ้ า คณะอ� ำ เภอ บ้านด่าน-ห้วยราช (ธ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดป่ารุ่งอรุณ และเป็นพระอุปัชฌาย์ จนถึง ปัจจุบัน

นมัสการพระพุทธรุ่งรัศมี พระประธานวัดป่ารุ่งอรุณ เพื่อความสุขสวัสดีแก่ชีวิต พระพุทธรุ่งรัศมี เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถวัดป่ารุ่งอรุณ ต�ำบลชุมเห็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีขนาดหน้าตักกว้าง 59 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ แบบนั่งขัดสมาธิเพชร เป็นพุทธศิลปะร่วมสมัยเชียงแสนผสมผสานศิลปะแบบรัตนโกสินทร์ เป็นเนื้อโลหะทองเหลือง ปิดทองค�ำเปลวบริสทุ ธิท์ งั้ องค์ ได้ประกอบพิธเี ททองหล่อ โดย พระราชปัญญาวิสารัท (หลวงปูเ่ หลือง) วัดกระดึงทอง อ�ำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ พระพุ ท ธรุ ่ ง รั ศ มี มี ค วามหมายถึ ง วั น แห่ ง การตรั ส รู ้ เป็ น ปฐมกาลของพระปัญ ญาญาณ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นพระฉัพพรรณรังสี เปล่งให้ปรากฏขึ้น ชื่อ พระพุทธรุ่งรัศมี พระนามนี้จึงมีความหมายสอดคล้องกับชื่อของ วัดป่ารุ่งอรุณ อันมี ความหมายถึง การเกิดขึ้นของวันใหม่ที่สว่างสดใส นั่นเอง BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

22/08/61 19:22:57


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสะแกซ�ำ พระครูวิโรจน์ธรรมาภิรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สะแกซ�ำ ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านสะแกซ�ำ ถนนหนองใหญ่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลสะแกซ�ำ

อ� ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 20 ไร่ การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2525 นอกจากนี้ มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2536 โรงเรียนผู้ใหญ่เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2539 98

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 98

22/08/61 19:28:25


“สัมผัสบรรยากาศอันร่มรื่ น บริสุทธิ์สดชื่ นเขียวขจี ท่ามกลางวิถีแห่งธรรมชาติ”

& Hotel

โรงแรมโนนทอง&รีสอร์ท

Nonthong Resort

ส� ำ หรับ ทุ ก ท่ า นที่ ก� ำ ลั ง มองหาสถานที่ พั ก ผ่ อ นที่ ส ะอาดสะดวกและความปลอดภั ย บรรยากาศธรรมชาติ โรงแรมโนนทอง & รีสอร์ท โรงแรมโนนทอง & รีสอร์ท (Nonthong Resort & Hotel) ตั้ ง อยู ่ ใ จกลางอ� ำ เภอโนน ดินแดง จังหวัดบุรรี มั ย์ ขอต้อนรับทุกท่านด้วย ความอบอุ่น เราบริการทั้งในส่วนของโรงแรม ที่พร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกซึ่งจะท�ำให้ คุณนอนหลับพักผ่อนได้เต็มอิ่ม เรายั ง มี บ ริ ก ารในส่ ว นของห้ อ งพั ก แบบ รีสอร์ท ซึ่งตกแต่งด้วยไม้และหินอ่อน พร้อม สิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ เรือนจันผา เรื อ นหมากแดง เรื อ นหมากเหลื อ ง และเรื อ น ต้นโมก

โรงแรมโนนทอง & รีสอร์ท ตั้งอยู่ท่ามกลางต้ น ไม้ น านาพั น ธุ ์ ม ากกว่ า 80% ของพื้ น ที่ ซึ่ ง จะช่ วยให้คุณสบายในยามหลับ และสดชืน่ เมือ่ ยามตืน่ ท่ามกลางธรรมชาติ อีกทัง้ ยังสามารถเดินทางไปสัมผัสแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญๆ ในจังหวัดบุรรี มั ย์ได้อย่างสะดวก ง่ายดายอีกด้วย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ฟรี Wi-Fi

โรงแรมโนนทอง & รีสอร์ท (Nonthong Resort & Hotel) : ตั้งอยู่ เลขที่ 6/5 ม.6 ต.โนนดินแดง อ.โนนดินแดง จ.บุรีรัมย์ 31260 : 044-606-606 , 087-088-8636 BURI บันทึนกแดง ประเทศไทย 99 : www.nonthong-hotel.com : โรงแรมโนนทองแอนด์รีสอร์ท สเต็LOPกเฮ้ าส์I SBL โนนดิ 1

.indd 99

25/8/2561 10:51:05


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลอิสาณ “ต�ำบลน่าอยู่ เชิดชูคุณธรรม น�ำการพัฒนา ส่งเสริมการกีฬา ประชาเป็นสุข” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลอิสาณ

นายสุพจน์ สวัสดิ์พุทรา นายกเทศมนตรีต�ำบลอิสาณ

เทศบาลต�ำบลอิสาณ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ทาง ทิศตะวันตก ประมาณ 3 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 36.899 ตารางกิ โ ลเมตร มี อ าณาเขตติ ด ต่ อ ทิ ศ เหนื อ ติ ด ต� ำ บลชุ ม เห็ ด ทิศใต้ ติด ต�ำบลสวายจีก ทิศตะวันออก ติด เขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ ทิศตะวันตก ติด ต�ำบลกระสัง,ต�ำบลหนองตาด เทศบาลต�ำบลอิสาณ มีประชากรทั้งสิ้น 19,367 คน จ�ำนวนครัวเรือน 10,510 ครัวเรือน(พ.ศ.2560) มีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขตปกครอง 18 หมู่บ้าน หมู่ 1 บ้านโคกวัด หมู่ 2 บ้านโคกใหญ่ หมู่ 3 บ้านโคกหัวช้าง หมู่ 4 บ้านไทยเจริญ หมู่ 5 บ้านหนองโพรง หมู่ 6 บ้านโคกสะอาด หมู่ 7 บ้านห้วย หมู่ 8 บ้านหนองแปบ หมู่ 9 บ้านยาง หมู่ 10 บ้านหัวลิง หมู่ 11 บ้านโพธิ์ศรีสุข หมู่ 12 บ้านไผ่น้อย หมู่ 13 บ้านโคกขุนสมาน หมู่ 14 บ้านสวนครัว หมู่ 15 บ้านศิลาชัย หมู่ 16 บ้านโคกมะกอก หมู่ 17 บ้านหินลาด หมู่ 18 บ้านทรัพย์สมบูรณ์

ลักษณะภูมิประเทศ ต�ำบลอิสาณมีลักษณะพื้นที่ราบสูงโดยอยู่สูง กว่าระดับน�้ำทะเลประมาณ 150 - 180 เมตร พื้ น ที่ โ ดยทั่ ว ไปใช้ ป ระโยชน์ ท างเกษตรกรรม สมรรถนะดินต�ำบลอิสาณ เกิดจากตะกอนเก่า ล�ำน�ำ้ เป็นดินลึก มีการระบายน�ำ้ ผ่านได้เร็วถึงปาน กลาง เนือ้ ดินเป็นดินร่วนปนทรายดินร่วนหรือดิน เหนียวปนทรายเหมาะสม ส�ำหรับการท�ำนาและ ปศุสัตว์ 100

6

แหล่งน�้ำธรรมชาติ เขตต�ำบลอิสาณ มีแหล่ง น�้ำธรรมชาติที่ส�ำคัญ คือ บึง หนองและอื่นๆ 18 แห่ง 18 หมู่บ้าน ฝาย 4 แห่ง บ่อน�้ำตื้น 30 แห่ง บ่อโยก 12 แห่ง มี ล�ำห้วยชุมเห็ด ไหลผ่านทางทิศตะวันตกไป ทางทิศตะวันออก โดยไหลผ่านในหมู่ที่ 5, 9, 11 และ ล�ำห้วยจระเข้มาก ไหลผ่านทางทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออกโดยไหลผ่านในหมู่ที่ 1, 3, 7, 14, 9, 15

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 100

25/8/2561 17:22:10


สภาพทางสังคม

วิสยั ทัศน์การพัฒนา “ต�ำบลน่าอยู่ เชิดชูคณ ุ ธรรม น�ำการพัฒนา ส่งเสริม การกีฬา ประชาเป็นสุข” ต�ำบลน่าอยู่ หมายถึง 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งต�ำบลให้มีความ สะดวกและมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านคมนาคมขนส่ง ด้านความสงบ เรียบร้อย และความสงบสุขของประชาชน 2. มีการบริหารจัดการที่ดีใน ต�ำบลอิสาณ โดยประชาชนได้รับบริการที่ดี มีการปฏิบัติตามกฎหมายอย่าง เท่าเทียมกัน และเกิดการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนการพัฒนา เชิดชูคุณธรรม หมายถึง 1. ประชาชนได้รับการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ สติปัญญา มีคุณธรรมในการด�ำรงชีวิตและพึ่งพาตนเองได้ 2. เสริม สร้างทักษะด้านกีฬาและนันทนาการ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจดี สร้างความ สงบสุขอันพึงปรารถนาร่วมกัน 3. ส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี น�ำการพัฒนา หมายถึง 1. เสริมสร้างและเพิ่มทักษะอาชีพของครัวเรือน และกลุ่มอาชีพในต�ำบลเพิ่มพูนคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 2. พัฒนาความสามารถ ในการผลิตเพิ่มพูนมูลค่าสินค้า พัฒนาฝีมือ ตระหนักถึงคุณภาพเน้นความ ต้องการของผู้บริโภคเป็นหลัก 3. ส่งเสริมการกระจายรายได้ให้แก่ประชาชน ในต�ำบลอิสาณได้อยู่ดีมีสุข ส่ ง เสริ ม การกี ฬ า การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพเป็ น กระบวนการส่ ง เสริ ม ให้ ประชาชนเพิม่ ศักยภาพ ควบคุม และพัฒนาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน ให้มีจิตส�ำนึก ความรู้และทักษะที่จะดูและสุขภาพ มีพฤติกรรมที่ดี ในการดูแลตนเอง ให้มีสุขภาพแข็งแรง ประชาเป็นสุข หมายถึง 1. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ให้ประชาชนรับทราบเป็นประจ�ำทุกวัน 2. พัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติให้อุดมสมบูรณ์สิ่งแวดล้อมสวยงามมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย 3. การปฏิบตั งิ านภาครัฐมีความโปร่งใส พนักงานมีจิตส�ำนึกที่ดี ประชาชน สามารถตรวจสอบผลการด�ำเนินงานได้ทกุ ขัน้ ตอน 4. ส่งเสริมการจัดการด้าน การบริการประชาชนสู่มาตรฐานสากล (PSO)

1. โรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์ โรงเรียน บ้านโคกสะอาดวิทยาคาร โรงเรียนบ้านโคกวัด โรงเรียนคงชัยสิทธิ์วิทยา โรงเรียนประกาศธรรมคุณวิทยา 2. โรงเรียนอาชีวศึกษา ได้แก่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี 3. โรงงานอุตสาหกรรม มี 4 แห่ง ได้แก่ บริษัท ศิลาชัย (1991) จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 4, บริษัท สมบูรณ์ จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 4, บริษัท หินลาด จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 13 และ บริษัท แอดเดอร์รานท์ไทย จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 4. สถานีอนามัย มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 2 แห่ง ได้แ ก่ โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บล บ้ า นหนองโพรง และ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านโคกหัวช้าง 5. สถานีจ่ายน�้ำมันและก๊าซ มี 9 แห่ง ได้แก่ 1. หจก.วีวราออยล์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 2. หจก.บุรีรัมย์ พีทีที ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 3. หจก.บุรีรัมย์ วี พี ก่อสร้าง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 4. หจก.เพชรเลิศปิโตรเลี่ยม ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 5. หจก.บุรีรัมย์ มณนิดาออยล์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 6. บริษัท เอ บี จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 7. บริษัท วีวราออยด์ จ�ำกัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 9 8. บริษัท วีวราออยด์ จ�ำกัด สาขา 2 ตั้งอยู่ หมู่ที่ 10 9. หจก.เจนศิริศักดิ์ ปิโตรเลี่ยม ตั้งอยู่หมู่ที่ 18

พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช (รัชกาลที่ 1) ตั้งอยู่ที่ต�ำ บลอิส าณ อ� ำเภอเมือ งบุรีรัมย์ทางไปอ�ำเภอ ประโคนชัย สร้างในปี พ.ศ.2539 เพือ่ เฉลิมพระเกียรติรชั กาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์ แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงก่อตั้งเมืองบุรีรัมย์เมื่อครั้งยังทรงเป็นสมเด็จพระยา มหากษัตริยศ์ กึ พระบรมราชานุสาวรียม์ ขี นาดเท่าครึง่ ของพระองค์จริง หล่อด้วย โลหะสัมฤทธิ์ ฉลองพระองค์แบบนักรบตามขัตติยราชประเพณีโบราณ ประทับ บนช้างศึก จากจดหมายเหตุประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 7 กล่าวว่าใน พ.ศ. 2321 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้สมเด็จพระยามหากษัตริยศ์ กึ ยกทัพไปปราบ พระยานางรองซึ่งสมคบคิดกับเจ้าโอ เจ้าอินแห่งจ�ำปาศักดิ์ ขณะเดินทัพพบ เมืองร้างอยูท่ ลี่ มุ่ น�ำ้ ห้วยจระเข้มาก มีชยั ภูมดิ แี ต่ไข้ปา่ ชุกชุม ชาวเขมรป่าดงไม่กล้า เข้ามาอยู่อาศัย แต่ตั้งบ้านเรือนอยู่โดยรอบ จึงรวบรวมผู้คนตั้งเป็นเมืองแปะ และให้บุตรเจ้าเมืองพุทไธสงซึ่งติดตามมาด้วยเป็นเจ้าเมือง ได้รับบรรดาศักดิ์ เป็นพระยานครภักดี ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็นเมืองบุรีรัมย์ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 101

101

22/8/2561 18:49:37


ชวนเที่ยวเพลิน ต�ำบลอิสาณ สนามฟุตบอลช้างอารีนา ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านศิลาชัย หมู่ 15 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ชื่อเดิม: ไอ-โมบาย สเตเดียม มีชื่ออย่างไม่เป็น ทางการว่า ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม (Thunder Castle Stadium) เป็นสนามกีฬาที่สร้างขึ้นเพื่อ ใช้ เ ป็ น สนามเหย้ า ของสโมสรฟุ ต บอลบุ รี รั ม ย์ ยูไนเต็ด สนามแห่งนี้มีความจุ 24,000 ที่นั่ง (ในปี พ.ศ. 2557 ได้ต่อเติมเป็น 32,600 ที่นั่ง) CASTLE ตั้งอยู่ที่ บ้านศิลาชัย หมู่ 15 ต�ำบล อิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ (อยู่กึ่งกลาง ระหว่างสนามช้างอารีนาและสนามแข่งรถ) สนามแข่งรถช้างอินเตอร์เนชัน่ แนลเซอร์กติ (Chang InternationaI Circuit ) ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านศิลาชัย หมู่ 15 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ร่วมสืบสานงานประเพณีสงกรานต์ประจ�ำปี ทุกวันที่ 13 เมษายนของทุกปี ประชาชนร่วมท�ำบุญ ตักบาตร สรงน�้ำพระพุทธรูป รดน�้ำด�ำหัวขอพร ผูใ้ หญ่ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลเนือ่ งในวันปีใหม่ไทย ณ พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที1่ ร่ ว มประกวดขบวนแห่ ส งกรานต์ ค านิ วั ล ประจ�ำปี ณ บริเวณลานหน้าสนามช้างอารีนา กิจกรรมวิ่งมาราธอนระดับโลก ด้วยการ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชนทุกเพศทุกวัย ร่วมแรงเชียร์และเป็นก�ำลังใจให้นักวิ่งมาราธอน จากทั่วโลกที่มาร่วมแข่งขันในจังหวัดบุรีรัมย์ 102

6

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 102

22/8/2561 18:49:45


ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ปัจจุบันโรงเรียนอนุบาลและศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กในสังกัดเทศบาลตําบลอิสาณมีจ�ำนวน 2 แห่ง ศูนย์เด็กแห่งที่ 1 ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านไผ่น้อย ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ ศูนย์เด็ก แห่งที่ 2 ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 บ้า นโคกหัวช้า ง ต�ำบล อิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพของโรงเรียน อนุบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดเทศบาล ตํ า บลอิ ส าณให้ เ ป็ น โรงเรี ย นและศู น ย์ พั ฒ นา เด็กเล็กทีม่ มี าตรฐาน เพือ่ สร้างนักเรียนให้เป็นต้น กล้าที่แข็งแรงได้มาตรฐาน ในทุกระดับชั้นให้เป็น ที่ยอมรับของสังคม โรงเรียนอนุบาลและศูนย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ที่ ดี แ ละได้ ม าตรฐาน มุ ่ ง เน้ น กิจกรรมการเรียนการสอนพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บู ร ณาการให้ เ หมาะสมพร้ อ มนํ า ไปใช้ กั บ ชีวิตประจําวันได้อย่างยั่งยืน กิจกรรมการเรียน การสอนเน้นวิธีที่ หลากหลายการเรียนรู้ด้วย ตนเอง มีการเรียนการสอนกิจกรรมกลางแจ้ง การเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้จาก ธรรมชาติ สอน ตามสภาพจริงและเชือ่ มโยงเนือ้ หาเน้นผูเ้ รียนเป็น สําคัญ ผลลัพธ์ทไี่ ด้จากการยอมรับ ของผูป้ กครอง ชุมชน ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานอื่นๆที่เข้า มาศึกษาดูงาน พึงทําให้ผู้บริหารมีกําลังใจที่จะ มุ่งเน้นพัฒนาโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กให้มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้มาตรฐาน อย่าง ต่อเนื่องและ ยั่งยืนต่อไป

โรงเรียนสร้างสุขสมวัย (โรงเรียนผู้สูงอายุ) นายสุพจน์ สวัสดิพ์ ทุ รา ได้เล็งเห็นความส�ำคัญ ของผู้สูงอายุ จึงได้จัดตั้งโรงเรียนสร้างสุขสมวัย ขึ้นเพื่อให้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลต�ำบลอิสาณ สามารถดูแลสุขภาพและแก้ปญ ั หาด้านสุขภาพได้ ด้ ว ยตนเองปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมด้ า นสั ง คม อารมณ์ และจิตใจ โรงเรียนสร้างสุขสมวัยได้เปิด การเรียนการสอน เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2559 ณ สวนเฉลิมพระเกียรติพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราชรัชกาลที่ 1 โดยได้จัดให้มีการกิจกรรม การเรียนการสอนทุกวันอังคาร มีนกั เรียน จ�ำนวน 105 คน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 103

103

22/8/2561 18:49:53


“เมืองแปะ โอทอป” ศูนย์กลางจ�ำหน่ายของที่ระลึกประณีต เทศบาลอิสาณ ร่วมกับ ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดบุรีรัมย์ เปิดศูนย์ “เมืองแปะ โอทอป” เป็น ศูนย์กลางจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึกประณีต รองรับนักท่องเที่ยวทั้งไทยต่างชาติ ตามนโยบายส่งเสริม การท่องเที่ยวเชื่อมโยงการพัฒนาสู่เมืองกีฬามาตรฐานโลกทั้งกระตุ้นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มี มาตรฐานและเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย ตั้งแต่เมื่อสี่ปีก่อนจนถึงปัจจุบันประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างดี โดยเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2557 นายเสรี ศรีหะไตร ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประธานเปิด ศูนย์ “เมืองแปะ โอทอป” ที่บริเวณสี่แยกพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 1 ต�ำบลอิสาณ อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ ทีท่ างเทศบาลต�ำบลอิสาณ ร่วมกับส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดจัดขึน้ โดยใช้งบประมาณ ของเทศบาลต�ำบลอิสาณ ด�ำเนินการก่อสร้างอาคารจ�ำหน่ายสินค้าและปรับปรุงภูมทิ ศั น์โดยรอบ ส่วนทาง พัฒนาชุมชนจังหวัดเป็นผู้จัดหา หรือคัดสรรผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ขึ้นชื่อมาวางจ�ำหน่าย โดยศูนย์เมืองแปะ โอทอปดังกล่าว จะเป็นศูนย์รวมในการจ�ำหน่ายสินค้าทีร่ ะลึกประณีต เพือ่ รองรับนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทย และชาวต่างชาติทจี่ ะเดินทางเข้ามาเทีย่ วในจังหวัด สอดคล้องกับนโยบายส่งเสริมการท่องเทีย่ ว เชือ่ มโยง ด้านการกีฬาโดยการพัฒนาจังหวัดสู่เมืองกีฬามาตรฐานโลก

104

6

นอกจากนั้ น การเปิ ด ศู น ย์ โ อทอปดั ง กล่ า ว ยั ง เป็ น การกระตุ ้ น ให้ ก ลุ ่ ม ผู ้ ผ ลิ ต ได้ มุ ่ ง พั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ชุมชนหรือสินค้าโอทอปของตนเองให้ คุณภาพมาตรฐาน ตรงตามความต้องการของ ตลาดและกลุ่มผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นการเพิ่มช่อง ทางการจ�ำหน่ายสร้างรายได้ให้กับกลุ่มผู้ผลิตใน อีกทางหนึ่งด้วย โดยมีสินค้าจัดจ�ำหน่ายมากมาย อาทิเช่น - ผ้ า ไหมและผ้ า มั ด หมี่ ผ้ า ฝ้ า ยลายหาง กระรอกคู่ตีนแดง ผ้าซิ่นตีนแดง - ผ้าภูอัคนี ผ้าที่ย้อมจากดินภูเขาไฟ - เครื่องเบญจรงค์ - กุ้งจ่อมรสเด็ด -หมูเส้น สมจิตร ห้วยราช

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 104

22/8/2561 18:50:00


ชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste) ปี 2560 ชุมชนบ้านหนองโพรง เป็นชุมชนปลอดขยะ ต้นแบบของจังหวัดบุรีรัมย์มีการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยภายในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัง้ แต่การคัดแยกขยะในครัวเรือน การลดปริมาณ ขยะมูลฝอย การน�ำขยะกลับไปใช้ประโยชน์และ การมีส่วนร่วมผ่านกลุ่มต่างๆ ในชุมชน เช่น กลุ่ม ผูใ้ ห้บริการหอพักทีร่ ว่ มกันส่งเสริมให้ผเู้ ช่าคัดแยก ขยะภายในหอพัก กลุม่ ร้านค้าภายในชุมชนทีร่ ว่ มกัน ลดใช้ถงุ พลาสติก ได้รบั รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ชุมชนขนาดใหญ่ ปี 2560 รับถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร ท�ำให้มคี ณะศึกษาดูงานจากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และชุมชนได้เข้าไปศึกษาและ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับชุมชนบ้านหนองโพรง อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ กิจกรรมของศูนย์เรียนรูป้ ระกอบ ด้วย 12 ฐาน การเรียนรู้ ได้แก่ ฐานเรียนรู้ที่ 1 ขยะรี ไซเคิ ล ฐานเรี ย นรู ้ ที่ 2 ขยะอั น ตราย ฐานเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียง ฐานเรียนรู้ที่ 4 โรงเลีย้ งไส้เดือน ฐานเรียนรูท้ ี่ 5 ร้านค้าปลอดโฟม ฐานเรียนรู้ที่ 6 ครัวเรือนต้นแบบ ฐานเรียนรู้ที่ 7 ครัวลอดฟ้า ฐานเรียนรูท้ ี่ 8 หอพักรักษ์สงิ่ แวดล้อม ฐานเรี ย นรู ้ ที่ 9 สภากาแฟ ฐานเรี ย นรู ้ ที่ 10 สิ่งประดิษฐ์จากวัสดุเหลือใช้ ฐานเรียนรู้ที่ 11 รพ.สต.ปลอดขยะ และฐานเรียนรู้ที่ 12 บ้านบุญ ค�้ำจุนโลก

“ประกาศเจตจ�ำนงสุจริต” จาก นายสุพจน์ สวัสดิ์พุทรา นายกเทศมนตรี ต�ำบลอิสาณ ในฐานะนายกเทศมนตรีต�ำบลอิสาณ ขอให้ ค� ำ มั่ น ในการบริ ห าร และการปฏิ บั ติ ง านตาม ภารกิจด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดถือหลักแห่ง ความชอบธรรม ความโปร่งใส ปราศจากการทุจริต ส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินทีม่ ธี รรมาภิบาล และการป้องกันปราบปรามทุจริต และประพฤติ มิ ช อบในภาครั ฐ ก� ำ หนดให้ ป ลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย ม คุณธรรม จริยธรรม และจิตส�ำนึกในการรักษา ศักดิ์ศรี ความเป็นข้าราชการ ทั้ ง นี้ เทศบาลต� ำ บลอิ ส าณจึ ง ได้ ก� ำ หนด นโยบายและความโปร่งใส เพื่อเป็นมาตรฐาน แนวทางปฏิบตั ิ และค่านิยมส�ำหรับข้าราชการและ พนักงานให้ยึดถือ ปฏิบัติควบคู่กับกฎระเบียบ

และข้อบังคับอื่น ๆ เพื่อให้ยึดถือเป็น แนวทาง ปฏิบัติ ดังนี้ 1. ด้านความโปร่งใส ให้ความส�ำคัญกับการ เปิดเผยข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงานอย่างชัดเจน ถูกต้อง และครบถ้วน รวมถึงการให้ประชาชนผู้ มีสว่ นได้สว่ นเสียเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ของหน่วยงาน ได้โดยสะดวกและรวดเร็ว 2. ด้านการพร้อมรับผิด ในการปฏิบัติงาน/ การบริหารงาน ทุกขั้นตอนของเจ้าหน้าที่ที่ต้องมี ความถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ อย่างครบถ้วนเคร่งครัด กล้าหาญที่จะรับผิดชอบ ในผลงานการปฏิบัติงานของตน 3. ด้านความปลอดภัยจากการทุจริตในการ ปฏิ บั ติ ง าน ไม่ ใช้ ต� ำ แหน่ ง หน้ า ที่ ใ นการเอื้ อ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง และพวกพ้องของตนและผูอ้ นื่

4. ด้านวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร สร้าง วั ฒ นธรรมที่ ไ ม่ ท นต่ อ การทุ จ ริ ต จนก่ อ เกิ ด วัฒนธรรมในการร่วมต่อต้านการทุจริตได้ ให้ รางวัลผูต้ รวจสอบ พบ หรือแจ้งเบาะแสการทุจริต 5. ด้ า นคุ ณ ธรรมการท� ำ งานในหน่ ว ยงาน จัดท�ำคู่มือ หรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน ตาม ภารกิจที่ชัดเจน และเป็นไปตามระเบียบขั้นตอน และมีระบบป้องกันและตรวจสอบเพือ่ ป้องกันการ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ 6. ด้านการสือ่ สารภายในหน่วยงาน จัดท�ำข้อมูล วิธกี ารสือ่ สาร เพือ่ ถ่ายทอดเกีย่ วกับนโยบายต่างๆ ให้ข้าราชการ พนักงานรับทราบ เพื่อให้สามารถ ท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม โปร่งใส ตามแนวนโยบายข้างต้น

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 105

105

25/8/2561 17:22:21


106

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 106

05/09/61 10:38:11


BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

05/09/61 10:38:13


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอนางรอง

ต�ำบลกา้ นเหลือง

วัดกา้ นเหลือง วัดหสมิตรรังสรรค์ วัดป่าหนองหญา้ วัว วัดหนองปรือ วัดหินตัง้ พลังธรรม

ต�ำบลชุมแสง วัดมะคา่ กระสังข์

108

วัดทุง่ โพธิ์ วัดหนองกง วัดเสลา วัดชุมแสง วัดลุงปลาดุก วัดหนองปรือ

ต�ำบลถนนหัก

วัดถนนหัก วัดโพธาราม วัดใหมเ่ รไรทอง วัดสวายสอ

วัดหนองโพรง วัดหนองมว่ ง วัดโคกประดู่

ต�ำบลทรัพยพ์ ระยา

วัดพรหมนิมิต วัดโคกยาง วัดแทน่ บัลลังก์ วัดหนองตาสี วัดสระสีเ่ หลีย่ ม วัดหนองขุนอัด วัดหนองหวา ้ - ขุนอัด

วัดหนองมว่ ง วัดหินโคน - ปอแดง วัดป่าอวโลกิเตศวร วัดป่าเฉลิมพระเกียรติ

ต�ำบลนางรอง

วัดหนองงิว้ หนองไทร วัดบา้ นหนองไทร(ป่ารวมใจ) วัดสวนป่ารักน้�ำ วัดกลาง(นางรอง) วัดป่าเรไร วัดหัวสะพาน

วัดร่องมันเทศ วัดบา้ นทุง่ วัดขุนกอ้ ง วัดแพงพวย วัดหนองเสม็ด วัดสามัคคีราษฎร์บ�ำรุง วัดประชาเนรมิต วัดหนองรี

ต�ำบลบา้ นสิงห์

วัดโพธิค์ งคา วัดหนองกง

วัดตามมุมเวฬุวนาราม วัดพระพุทธบาทศิลา วัดหนองยายพิมพ์ วัดศรัทธาประชาบูรณะ วัดมหาวัน วัดป่าอัมพวันคุณาณุสรณ์ วัดหนองโจด วัดหนองเสม็ด-ปรือ วัดหนองสองห้อง วัดป่าหนองทะยิง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 108

5/9/2561 14:04:37


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

ต�ำบลหนองกง

วัดหนองบัว วัดบุตาเวสน์ วัดตาไกพ้ ลวง วัดหนองกง วัดบา้ นห้วย

ต�ำบลหนองไทร

วัดสิงห์วงศ์ วัดหนองไทร วัดนิคมเขต วัดหนองกราด วัดศิลาชัย วัดหินลาด วัดโคกสงา่

ต�ำบลหนองโบสถ์ วัดสระสีเ่ หลีย่ ม วัดนาใหม่ วัดบา้ นถนน

ต�ำบลล�ำไทรโยง

ต�ำบลสะเดา

วัดศัทธาชุมพล วัดกัลยาณมิตตาราม วัดสันติธรรมาวาส วัดปราสาทธรรมวร วัดโคกแสงทอง วัดโพธิมงคล วัดคงคาพัฒนาราม วัดตะกรุดโพรง วัดเวฬุวนาราม วัดวังกระโดน วัดโพธิท์ องลุงไผ่

วัดสุวรรณาราม วัดหนองโบสถ์ วัดหนองกันงา วัดหนองยาง วัดโคกมะคา่

ต�ำบลหนองยายพิมพ์

วัดป่าจานโคกสมบูรณ์

ต�ำบลหนองโสน

วัดศรีรัตนาราม วัดหนองโสน วัดพุทธานุภาพโคกนอ้ ย วัดโคกสูง วัดโคกตะโก วัดป่านาธรรมนิมิต วัดหนองจันดุม วัดโคกวา่ น วัดหนองมว่ ง

วัดสองพีน่ อ้ ง วัดหนองพลวง วัดจอมปราสาท วัดน้�ำไหล วัดสะเดา วัดราษฎร์ประดิษฐ์ วัดหนองกก - โคกกระสัง วัดเขาคอก วัดเลียบ วัดเขาซับมว่ ง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

109

5/9/2561 14:04:49


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดขุนก้อง

พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ขุ น ก้ อ ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 224 ถนนโชคชั ย - เดชอุ ด ม ต� ำ บลนางรอง

อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ. 2150 ตามหลั ก ฐานในท� ำ เนี ย บของกรมการศาสนา สร้ า งมาก่ อ นพระราชบั ญ ญั ติ ลั ก ษณะปกครองสงฆ์ ร.ศ.121 วั ด ขุ น ก้ อ ง เดิ ม ตั้ ง อยู ่ ใ นหมู ่ ที่ 5 ต� ำ บลนางรอง ปั จ จุ บั น อยู ่ ใ นเขตเทศบาลเมื อ งนางรอง อยู ่ ห ่ า งจากตั ว อ� ำ เภอนางรองไปทางทิ ศ ตะวั น ออก เฉี ย งเหนื อ ประมาณ 2 กิ โ ลเมตร 110

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 110

22/08/61 19:45:51


ในสมั ย ก่ อ น วั ด ขุ น ก้ อ ง ตั้ ง อยู ่ บ ริ เวณ ชานเมืองตรงคูน�้ำล้อมรอบเมืองนางรองด้าน ทิศตะวันออก มีเรื่องเล่าว่า นายทหารผู้คุม กองเสบียงครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ขณะที่ยังไม่ได้ขึ้น ครองราชย์ ได้ยกกองทัพมาเพื่อที่ไปปราบ ทหารเขมรที่ อยู่ช ายแดน และได้ม าพัก ทัพ อยู่ในบริเวณคูเมืองนางรองนี้และก่อนที่จะน�ำ ทัพทหารออกไป ได้เกิดศรัทธาขึ้นว่าหมู่บ้าน นางรองแถบนี้ไม่มีวัดที่จะบ�ำเพ็ญกุศลในทาง

พระพุทธศาสนา จึงได้ปรารภสร้างวัดนี้ขึ้น และได้ตั้งชื่อว่า “วัดขุนกอง” ต่อมาเมื่อกาล เวลาล่วงเลยมานานเข้า ชาวบ้านจึงได้เรียก ชื่ อ วั ด นี้ เ พี้ ย นมาเป็ น “วั ด ขุ น ก้ อ ง” จนถึ ง ปัจจุบัน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้ง แรกเมื่ อ พ.ศ.2260 ต่ อ มาปี พ.ศ.2536 พระครู ป ระสิ ท ธิ์ ธ รรมวั ฒ น์ เจ้ า อาวาส รูปปัจจุบันพร้อมด้วยคณะกรรมการอุบาสก อุบาสิกาชาววัดขุนก้องได้ร่วมกันสร้างอุโบสถ หลังใหม่ 2 ชั้น นอกเขตพัทธสีมาเดิม และ

ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งที่ 2 เมื่อ วันที่ 29 กันยายน พ.ศ.2541 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 ตารางเมตร ยาว 80 ตารางเมตร วัดขุนก้อง มีเนื้อที่ทั้งสิ้น จ�ำนวน 25 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ ที่ดินเป็น (น.ส.3ก.) เลขที่ 6898 เล่มที่ 69 หน้า 48 เลขที่ดิน 206 รูปถ่ายทางอากาศชื่อ อ�ำเภอนางรอง หมายเลข 5588 แผ่นที่ 88 จังหวัดบุรรี มั ย์ กรรมสิทธิท์ ดี่ นิ เป็นของวัดขุนก้อง BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 111

111

22/08/61 19:45:53


ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญของวัด พระพุทธเมตตาขุนกองมหาโชคปางชนะมาร หน้าตัก 59 นิว้ ลักษณะศิลปะคล้ายสมัยสุโขทัย ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถเก่าปัจจุบันยกขึ้น เป็นวิหาร มีอายุรวม 410 ปี ได้มีประชาชน ทั่วทุกทิศมากราบไหว้ขอพรอยู่เป็นประจ�ำ มี ความเชื่อว่าพระพุทธเมตตาขุนกองมหาโชค องค์ นี้ มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ประจ� ำ อยู ่ ที่ วิ ห าร หลั ง เก่ า นี้ ทรงคล้ า ยศิ ล ปะแบบขอมเป็ น ผู้สร้างในสมัยนั้น วัดขุนก้อง เดิมมีเนื้อที่ 11 ไร่ 82 ตารางวา ต่อมาทางวัดได้ติดต่อขอซื้อที่นาจากนายจวน ดีสระวินจิ นางยุพนิ ปาปะขัง และ นางสมพงษ์ ศักดิพัฒน์ อีกเป็นจ�ำนวน 14 ไร่ 2 งาน ใน จ�ำนวนเงิน 1,325,000 บาท (หนึง่ ล้านสามแสน สองหมืน่ ห้าพันบาทถ้วน) ได้จดั หาซือ้ ดินมาถม ในจ�ำนวน 14 ไร่ เป็นเงิน 2,724,940 บาท (สองล้านเจ็ดแสนสองหมื่นสี่พันเก้าร้อยสี่สิบ บาทถ้วน) ทางวัดขุนก้องจัดหากล้าไม้ยืนต้น มาปลูกเป็นไม้หลายชนิด เช่น ประดู่ มะค่าโมง ไม้สกั ไม้ยาง และไม้ตะเคียนทอง ปัจจุบนั ทางวัด ได้อาศัยร่มไม้เหล่านี้เป็นที่ปฏิบัติธรรม นอกจากนี้ ท างวั ด ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น และความอุปถัมภ์สว่ นหนึง่ จาก ดร.ปลอดประสพ สุรัสวดี อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ ให้เจ้าหน้าที่น�ำ ต้นไม้มาปลูกประดับรอบบริเวณอุโบสถใหม่ และภายในวัดโดยให้สวนนงนุช จังหวัดชลบุรี มาจัดสวนประดับให้อย่างงดงาม

112

ล�ำดับเจ้าอาวาสที่ครองวัดขุนก้อง ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน พ.ศ.2150 - พ.ศ.2436 ไม่ปรากฏว่ามีเจ้าอาวาสปกครองมาก่อนกี่รูปมีปรากฏหลักฐาน ที่พอค้นได้ ดังนี้ ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ.2436 เป็นต้นมา 1. พระอธิการเพชร พ.ศ.2436 - พ.ศ.2439 2. พระอธิการจุ้ย พ.ศ.2439 - พ.ศ.2445 3. พระครูบรรหารกัลยาณวัตร(บุญ ยโสธโร) พ.ศ.2445 - พ.ศ.2460 4. พระอธิการมา สีลานุโลโม พ.ศ.2460 - พ.ศ.2475 5. พระอธิการปุ๋ย ปญฺญาปโชโต พ.ศ.2475 - พ.ศ.2481 6. พระอธิการอ๊อบ สีลปุตโต พ.ศ.2481 - พ.ศ.2483 7. พระอธิการสว่าง อโสโก พ.ศ.2483 - พ.ศ.2490 8. หลวงพ่อแก้ว ธมฺมโชโต รักษาการแทนเจ้าอาวาส พ.ศ.2490 - พ.ศ.2494 9. พระครูโสภณสมรรถกิจ (สามารถ) เจ้าอาวาส พระอุปัชฌาย์และเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง พ.ศ.2494 - พ.ศ.2505 10. พระอธิการแอม ฐิติโก พ.ศ.2505 - พ.ศ.2511 11. พระครูชัยสิทธิการ (ชัยสิทธิ์ ฐิตปุญโญ) พระอุปัชฌาย์และเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง พ.ศ.2511 - พ.ศ.2523 12. พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์ เจ้าอาวาส เจ้าคณะต�ำบล เลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง พระอุปัชฌาย์ และรองเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง พ.ศ.2525 - ถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 112

22/08/61 19:46:42


ประวัติ พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์เจ้าอาวาส โดยสังเขป พระครูประสิทธิ์ธรรมวัฒน์ ฉายา จกฺกว ต�ำบลช�ำนิ อ�ำเภอช�ำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ โร อายุ 66 ปี พรรษา 45 พระอุ ปั ช ฌาย์ พระครู สุ น ทรธรรมวิ ฑู ร วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก /พุทธศาสตร เจ้ า คณะอ� ำ เภอนางรอง วั ด ชนะตาราม มหาบัณฑิต(พธ.ม.) วัดขุนก้อง ต�ำบลนางรอง ต�ำบลช�ำนิ อ�ำเภอช�ำนิ (นางรอง) จังหวัดบุรรี มั ย์ อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสมจิต ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง จิ ตฺ ต ธมฺ โ ม วั ด โพธิ์ ค งคา ต� ำ บลบ้ า นสิ ง ห์ 1. เจ้าอาวาสวัดขุนก้อง อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. รองเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการบุญเหลือ 3. พระอุปัชฌาย์ ฐานุตตฺ โม วัดละลวด ต�ำบลละลวด อ�ำเภอช�ำนิ สถานะเดิม (นางรอง) จังหวัดบุรีรัมย์ ชื่อ ประกอบ นามสกุล เกิดกาหลง เกิด วิทยฐานะ เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2494 ปีเถาะ บิดา 1.พ.ศ.2506 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปี 4 นายเกตุ เกิดกาหลง มารดา นางเนื่อง เกิด จากโรงเรียนวัดตาเหล็ง ต�ำบลหนองปล่อง กาหลง บ้านเลขที่ 40 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนอง อ�ำเภอช�ำนิ (นางรอง) จังหวัดบุรีรัมย์ ปล่อง อ�ำเภอช�ำนิ (นางรอง) จังหวัดบุรีรัมย์ 2.พ.ศ.2520 สอบได้ นั ก ธรรมชั้ น เอก บรรพชา - อุปสมบท วันที่ 22 พฤษภาคม ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด ขุ น ก้ อ ง ต� ำ บลนางรอง พ.ศ.2517 ปีขาล ณ พัทธสีมา วัดชนะตาราม อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

3.พ.ศ.2524 สอบได้ชั้นจูฬอาภิธรรมิกะ ตรี ส�ำนักเรียนวัดกลาง(นางรอง) 4.พ.ศ.2552 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ 5.พ.ศ.2557 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตร บัณฑิต(ป.ตรี) วิทยาลัยสงฆ์บรุ รี มั ย์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 6.พ.ศ.2559 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต (ป.โท) วิ ท ยาลั ย สงฆ์ บุ รี รั ม ย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยทยาลัย คติเตือนใจผู้น�ำ 4 ประการ 1. ไม่เห็นแก่ตัว 2. ไม่กลัวล�ำบาก 3. ถึงยากก็ต้องทน 4. ไม่สนการนินทา BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 113

113

22/08/61 19:46:21


ต�ำนานเมืองนางรอง ต�ำนานท้าวปาจิต - นางอรพิม มีเรื่องเล่าขานสืบต่อกันมาว่าในสมัยของ “พระเจ้าชัยวรมัน” แห่งนครธม พระองค์ทรงมี พระราชโอรสองค์หนึง่ นามว่า “เจ้าชายปาจิต” เมื่ออายุครบ 18 ชันษาโหรได้ท�ำนายไว้ว่า หญิ ง ที่ จ ะมาเป็ น พระชายาของเจ้ า ชายยั ง ไม่ถือก�ำเนิด และอยู่ห่างจากนครธมมากนัก บิดามารดาของหญิงผูน้ นั้ เป็นคนธรรมดา ท�ำไร่ อยู ่ ที่ ภู เขาแห่ ง หนึ่ ง สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ น เขา ไปรบัดหรือ “เขาพนมรุ้ง” เวลานี้จวนได้เวลา ถือก�ำเนิดจากครรภ์มารดาแล้ว ควรจะให้มี ผู้พิทักษ์รักษาความปลอดภัยกับครอบครัว ของนาง “เจ้าชายปาจิต” เชือ่ ในค�ำท�ำนายนัน้ จึงออกตามหา โหรกราบทูลเพิ่มเติมว่า บิดา มารดาของหญิงผู้นั้นมีอายุเกิน 60 ปีแล้ว ที่ อยู ่ ข องหญิ ง ผู ้ นี้ อ ยู ่ ท างทิ ศ พายั พ ของนครธม ครั้ น ถึ ง เมื อ งนางรอง ที่บ้านหินโคน จึงสืบเสาะได้ความว่า ที่ ต รงเขาพนมรุ ้ ง มี ค นลั ก ษณะดั ง ค�ำท�ำนายอาศัยอยู่จริง จึงได้เดินทาง ไปหาและแจ้งให้บิดามารดาของนางให้ ทราบโดยละเอียด หลังจากหญิงชาวไร่ คลอดบุตรเพศหญิงออกมาจนมีอายุ ครบ 16 ปี มีลักษณะรูปโฉมงดงาม ชือ่ ว่า “อรพิม” เจ้าชายปาจิตจึงหลงใหล รักใคร่ในตัวนางมาก จึงได้เตรียมที่จะ อภิเษกสมรสตามโบราณราชประเพณี กล่าวถึงอีกเมืองหนึง่ คือ “เมืองพิมาย” ผูค้ รองนครขณะนัน้ คือ “ท้าวพรหมทัต” (สั น นิ ษ ฐานว่ าเมืองพิม ายเดิม น่าจะ เรียกว่า “เมือง พีม่ า” สาเหตุ มาจากนาง อรพิม

114

เมื่อพบกับเจ้าชายปาจิตก็อุทานออกมาว่า “พี่มา” เมื่อเวลาผ่านไปจึงเพี้ยนเป็น “พิมาย” จน ทุกวันนี้) วันหนึ่งท้าวพรหมทัตออกไปเที่ยวป่า และได้ตั้งค่ายพักแรมที่ริมสระน�้ำใหญ่เรียกว่า “สระเพลิง” (อาจเป็นทะเลเมืองต�่ำ บ้านโคกเมือง อ�ำเภอประโคนชัย ในปัจจุบัน) และได้พบ หญิงสาวรูปโฉมงดงาม จึงได้ให้ทหารของตนฉุดคร่านางอรพิมจากบิดามารดาและทหารของ เจ้าชายปาจิตจนส�ำเร็จ “ท้าวพรหมทัตต์” น�ำตัวนางอรพิมไปยังเมืองพิมายโดยไม่รู้ว่านางเป็น คู่หมั้นของเจ้าชายปาจิต ระหว่างทาง นางอรพิมได้ขอร้องให้หยุดพักการเดินทาง เพื่อหาโอกาส ส่งข่าวให้เจ้าชายปาจิต แต่ท้าวพรหมทัตไม่ยอม ครั้นเดินทางมาถึงล�ำน�้ำทางทิศตะวันออก ซึ่งเป็นที่ตั้งของ “เมืองนางรอง” นางอรพิมได้ลงจากช้างและนั่งรอ รอนานๆ ก็ร้องไห้ที่ริมฝั่งน�้ำ คร�่ำครวญถึงบิดามารดาและเจ้าชายปาจิต ต่อมาจึงได้เรียกล�ำน�้ำนี้ว่า “ล�ำน�้ำนางรอ” หรือ “ล�ำน�้ำนางร้อง” และเพี้ยนมาเป็น “ล�ำน�้ำนางรอง” ในปัจจุบัน ฝ่ายเจ้าชายปาจิตก็ได้ยกทัพมา ตามเส้นทางเดิม โดยไม่หยุดพักทั้งกลางวันและกลางคืน ผ่าน “บ้านแซะ” (เมืองครบุรี) สระประทีป และมาสว่างที่ “บ้านเสิงสาง” (อ.เสิงสาง จ.นครราชสีมา ในปัจจุบัน) แล้วจึงเดินทางมาถึงล�ำน�้ำลงเรือที่ “บ้านวังบุกระถิน” (หรือล�ำปลายมาศในปัจจุบัน) เมื่อเจ้าชายปาจิตเห็นข้าราชบริพาร ของท้าวพรหมทัตเตรียมเรือขันหมากไว้สองล�ำ จึงโกรธแค้นท้าว พรหมทัตเป็นอย่างมาก จึงจมเรือขันหมากในล�ำน�้ำนี้ (ล�ำน�้ำนี้ จึ ง ได้ ชื่ อ ว่ า “ล� ำ ปลายมาศ” เพราะมี ท องขั น หมากจมอยู ่ มากมาย) และได้เปลีย่ นจากการเดินทางด้วยเรือไปใช้รถม้าแทน เมื่อถึงบ้านกงจึงได้ทิ้งรถไว้ ต่อมาที่นี่จึงได้เรียกกันว่า “บ้านกงรถ” มาจนทุกวันนี้ (บ้านกงรถ อยู่ในเขต ต.กงรถ อ.ห้ ว ยแถลง จ.นครราชสี ม า) จากนั้ น เจ้าชายปาจิตจึงได้ปลอมตัวเป็นสามัญชน เดินทาง ต่อไปยังเมืองพิมายเพื่อตามหานางอรพิมจนพบ เมื่อ พบกันครั้งแรกนางอรพิมได้อุทานด้วยความยินดีว่า “พี่ ม าแล้ ว ” ถึ ง 3 ครั้ ง หลั ง จากนั้ น เจ้ า ชายจึ ง ได้ ฆ ่ า ท้ า วพรหมทั ต และน� ำ ตั ว นางอรพิ ม กลั บ โดยเดิ น ทางผ่ า น “ทุง่ กระเต็น” ในปัจจุบนั และได้มกี ารเลีย้ งฉลองเต้นร�ำกันทีท่ งุ่ แห่งนี้ จนพากันเรียกขานว่า “ทุง่ กระเต้น” ต่อมาเพีย้ นไปเป็น “ทุง่ กระเต็น พอถึ ง รุ ่ ง สางเจ้ า ชายปาจิ ต และนางอรพิ ม จึงได้เดินทางผ่านมาทางเส้นทางเดิม และ วกมาทางทิศตะวันออกจนไปถึงทุ่งแห่งหนึ่ง จึ ง ได้ ห ยุ ด พั ก ผ่ อ น ซึ่ ง ทุ ่ ง นี้ ต่อมาเรียกว่า “ทุ่งอรพิม” ซึ่ง อยู่ใกล้กับบ้านหนองทองลิ่ม เข้ า สู ่ เ มื อ งนครธม และได้ ท�ำการพิธอี ภิเษกสมรสกับนาง อรพิม และขึ้นครองราชย์เป็น พระมหากษัตริย์กับพระมเหสี ในที่สุด

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 114

22/08/61 19:46:30


กิจกรรมภายในวัดขุนก้อง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 115

115

22/08/61 19:47:19


Wat Khun Kong

Phra Khru Prasit Thammawat, The abbot of Wat khun kong

Wat Khun Kong is located at 224 Chokchai-Det Udom road, Nangrong sub-district, Nangrong district, Buriram province. It belongs to Maha Nikai clergy and was founded in B.E. 2150, according to evidence of Department of Religious Affairs,

116

this temple was built before The Monkish Administration Act B.E. 2445. Formerly, Wat Khun Kong was located at suburban area, at the moat that surrounded east side of Nangrong city. There was a story stated that: Before Somdet Phra Naresuan and his brother Somdet

Phra Ekathotsarot became King of Ayutthaya, they had moved the army to subdue Khmer army at the border which they rested at the area around Nangrong moat. Then, before they left this area and went to the war zone, some soldiers of commissariat in this army had a thought that there was almost no temple to make merits in this area. Therefore, they built one temple and named it as “Wat Khun Kong” (pronounce Kong). After that, as the time goes by, its name slightly distorts by locals to be “Wat Khun Kong” (pronounce Kong) which has been used until today.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 116

22/08/61 19:47:19


This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) for first time in B.E. 2260. After that, in B.E. 2536, Phra Khru Prasit Thammawat, the current abbot together with laymen and laywomen committee of Wat Khun Kong jointly built new 2-storey ubosot at the outside of former monastic boundary. The second time this temple was granted Wisungkhamsima was on 29 September B.E. 2541 which its scale is 40 square meters in width and 80 square meters in length. The total scale of Wat Khun Kong land is 10 acres and 1128 square meters. Northern area (measure from east to west) is 197.53 meter in length, adjoins farmland of Police Senior Sergeant Major Mangkorn Srithothum, Lam Nangrong stream and Toyota service center Nangrong branch. Eastern area (measure from north to south) 354.20 meters in length, adjoins Chokchai- Det Udom public highway,

farmland and Lam Nangrong stream. Western area (measure from north to south) is 137.10 meters in length, adjoins Sappakitkosol Road and land of Mr, Paisarn - Mrs. Sangthong Wongwattana. Southern area (measure from east to west) is 215 meters in length, west side of this area adjoins Sappakitkosol Road and Nangrong village. Formerly, scale of Wat Khun Kong’s land was 4.4 acres and 328 square meters. After that, this temple contacted Mr. Juan Disrawinit, Mrs. Yupin Papakang and Mrs. Sompong Sakdipat to buy land from them, 5.6 acres and 800 square meters in total. After bought all the land, this temple chose many seeding of perennial plant such as Pra du (Burma padauk), Makha mong, Teakwood, Rubber tree and Iron wood. At present, this temple use tree shade of these trees as a place to practice the dharma. Important sacred objects of this temple Phra Buddha Metta Khun Kong Maha

Chok in attitude of subduing Mara, scale of this Buddha image’s Na Tak is 59 inches (Na Tak means long measure of the Buddha statue in the posture of meditation), the art style of this Buddha image is similar to Sukhothai art style. It was enshrined in old ubosot which is the Buddha image hall now and the age of this Buddha image is 410 years old. There always are people from all walks of life come to this temple to pay respect and beg for benediction. There is a belief that Phra Buddha Metta Khun Kong Maha Chok has holiness. It is still enshrined in the Buddha image hall. The art style of this Buddha image resembles Khmer art style which had an influence in building this Buddha image. 4 Principles of leader 1.Selfless. 2.Brave, do not afraid of difficulty. 3.Even when confront with difficulty, must tolerate it. 4.Taking no heed of backbiting.

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

22/08/61 19:48:36


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ปฌฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน ชลํ อคฺคีว ภาสติ บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศีล ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟสว่าง (พุทธพจน์ )

วัดหนองไทร

พระครูนิโครธบุญประสิทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหนองไทร ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองไทร ต�ำบลหนองไทร อ�ำเภอนางรอง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แต่ เ ดิ ม ชาวบ้ า นหนองไทร ได้ ข ยายหมู ่ บ ้ า นมาจากบ้ า นสะเดา และบ้ า นจอมปราสาทและหมู ่ บ ้ า นใกล้ เ คี ย ง มาตั้ ง หมู ่ บ ้ า นใหม่ บริ เ วณ หนองน�้ำใหญ่และมีต้นไทรใหญ่ แผ่กิ่งก้านสาขาปกคลุมหนองน�้ำนั้นไว้ ชาวบ้าน จึ ง พากั น ตั้ ง ฐานบ้ า นเรื อ น แล้ ว ตั้ ง ชื่ อ หมู ่ บ ้ า นใหม่ นี้ ว ่ า “บ้ า นหนองไทร” ตามภู มิ ที่ ตั้ ง ของหมู ่ บ ้ า น 118

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระอาจารย์จ้อย พ.ศ.2474 - 2476 2.พระอาจารย์กลั่น พ.ศ.2476 - 2485 3.พระอาจารย์สุรินทร์ พ.ศ.2485 - 2486 4.พระอาจารย์อ้วน พ.ศ.2485 - 2486 5.พระอาจารย์พลอย พ.ศ.2488 - 2492 6.พระอาจารย์หรึ่ม พ.ศ.2492 - 2494 7.พระอาจารย์วงศ์ พ.ศ.2494 - 2500 8.พระอาจารย์เสมอ จิตฺตกาโร พ.ศ.2500 - 2513 9.พระอธิการเกิด เตชวโร พ.ศ.2513 - 2529 10.พระครูนิโครธธรรมธาดา พ.ศ.2529 - 2543 11.พระอธิการแป้น คุตฺตสีโล พ.ศ.2544 - 2546 12.พระอธิการเชิด ฐิตปุญโญ พ.ศ.2547 - 2550 13.พระครูนิโครธบุญประสิทธิ์ พ.ศ.2550 - ปัจจุบนั

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 118

22/08/61 19:55:44


เมื่อกาลเวลาผ่านไป ชาวบ้านหนองไทร ขาดที่พึ่งทางใจ ก็มีผู้ใจบุญมอบที่นาให้เป็น สาธารณะกุศล โดยมีนายโพน กองศักดิ์และ นายกล�้ ำ จี น เกา ได้ ม อบที่ น าของตน ให้ ก่อตั้งวัดและชาวบ้านหนองไทรก็มีความยินดี และร่วมอนุโมทนาเห็นสมควร จึงได้ก่อสร้าง วัดหนองไทรขึ้นบนผืนนาของทั้ง 2 ท่านนั้น ซึ่ ง พื้ น ที่ ก ่ อ ตั้ ง วั ด อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกของ หนองน�้ ำ ที่ มี ต ้ น ไทรใหญ่ ป กคลุ ม อยู ่ ทั้ ง นี้ ชาวบ้านหนองไทรจึงได้น�ำต้นไทรใหญ่และ หนองน�้ำอันเป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้าน มา ขนานนามวัดนีว้ า่ “วัดหนองไทร” ตัง้ แต่นนั้ มา จนตราบเท่าทุกวันนี้ วัดหนองไทร ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม พ.ศ.2474 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2510 เนื้อที่กว้าง 25 เมตร ยาว 45 เมตร และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.2511 ชาวบ้านหนองไทรและหมู่บ้านใกล้เคียง มีความศรัทธาปสาทะในบวรพระพุทธศาสนา เป็นอย่างมาก จึงตั้งใจเจริญสติ สมาธิ ปัญญา ตามทีพ่ ระอาจารย์ทา่ นสอน อีกทัง้ ใส่ใจในด้าน พิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพุทธ ที่เกื้อกูล กั บ วิ ถี ชี วิ ต ของเกษตรกรที่ ท� ำ งานด้ า น กสิกรรม การถือศีล ฟังธรรม บวชเนกขัมมะ ในวันหยุดและวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา จึงน�ำความร่มเย็นมาให้แก่ชาวบ้านมาโดยตลอด

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

119

22/08/61 19:55:55


Panthito Silasumpanno Shalang Akkewa Pasati The sage who perfectly observe religious precepts will be prosperous like bright light.

Wat Nong Sai

Phra Khru Nicorot Boonprasit, the abbot of Wat Nong Sai Wat Nong Sai is located at village no.1, Ban Nong Sai, Nang Rong district, Buriram province. Formerly, villagers of Nong Sai village had expanded the village’s territory from Ban Sadao, Ban Chom Prasat and other nearby villages in order to establish new village at big swamp area and there was a big banyan tree which bushed out and covered this swamp. That’s why locals moved to this place and settled down their residences here and named this new village as “Ban Nong Sai” after an area where this village located. After that, people of Nong Sai viilage 120

was lacked of spiritual anchor which there were philanthropists whom donated their land to be public interest which those people are Mr.Pon Kongsak and Mr.Klam Jinkao. At the same time, Nong Sai villager were glad with this event and expressed their gratitude to these two men. Then, Wat Nong Sai was built on the land of these two gentlemen which an area where this temple located is on the east of swamp that was spread over by big banyan tree. As a result that the big banyan tree and swamp were the symbol of this village, locals then named this temple

after above symbol as “Wat Nong Sai” since then until today. Wat Nong Sai was permitted to build temple on 10 March 2474 B.E., it was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 14 November 2510 B.E. which scale of the land is 25 meter in width and 45 meter in length. Moreover, the monastic boundarydemarcating ceremony was performed on 18 March 2511 B.E.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 120

22/08/61 19:56:11


Villager of Nong Sai and nearby viilage have bright faith in the glorious creed of Buddhism considerably. That’s why they concentrate on the meditation to improve their mind and wisdom as per the master monk have taught them. In addition to that, they pay attention to ceremony related to Buddhism which support agriculturist’s way of life that the main duty is agriculture such as observe religious precepts, listen to sermon and become a monk on holiday or important day of Buddhism which all the aforementioned always has bring peace to locals. An entertainment of Nong Sai and nearby village are as same as general people in northeast like SangKran festival which some people will play Saba on this day (Saba is local traditional play of Mon people), tug of war, climbing bamboo pillar and so on.

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 121

121

22/08/61 19:56:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าเรไร (วัดโจด)

พระครูโสภณธรรมวิจิตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าเรไร เดิมชื่อ วัดโจด ตั้งอยู่ที่บ้านนางรอง ถนนณรงค์รักษาเขต

หมู่ที่ 18 ต�ำบลนางรอง อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 11 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา น.ส.3.ก. เลขที่ 8923 อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ จดถนนสาธารณะ ทิ ศ ใต้ จดป่ า ทิ ศ ตะวั น ออก จดถนนสาธารณะ ทิ ศ ตะวั น ตก จดป่ า 122

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระอาจารย์อินทร์ พ.ศ.2430 - 2440 2.พระอาจารย์เม่า พ.ศ.2441 - 2449 3.พระอาจารย์ปลิด พ.ศ.2450 - 2456 4.พระปลัดเปล้า พ.ศ.2457 - 2470 5.พระปลัดปลื้ม พ.ศ.2471 - 2484 6.พระอาจารย์กนธ์ พ.ศ.2485 - 2488 7.พระใบฎีกาแบน พ.ศ.2489 - 2491 8.พระอาจารย์เรศ พ.ศ.2492 - 2493 9.พระครูโสภณคณาภิบาล พ.ศ.2493 - 2518 10.พระครูโสภณธรรมวิจิตร พ.ศ.2518 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 122

22/08/61 19:58:55


วัดป่าเรไร หรือ วัดโจด อายุร่วม 300 ปี มีต�ำนานกล่าวไว้ว่า (ผู้ใหญ่บ้าน นายจันทร์ วิ เชี ย ร เป็ น ผู ้ เ ล่ า ต� ำ นาน) ในสมั ย อยุ ธ ยา พระราชมนูซึ่งเป็นทหารกองหน้าของสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช และ นายแก้ว ผู้เป็นลุง ได้น�ำพลมาพักแรมที่เนินแห่งนี้ ซึ่งมีสภาพ ภูมิประเทศเป็นป่าล�ำดวน และต้นโจด เมื่อ ยกทั พ ไปปราบเขมรจนสงบราบคาบแล้ ว ขากลั บ ก็ แวะบริ เวณนี้ อี ก นายแก้ ว ได้ บ วช และปลูกต้นโพธิ์ไว้คนละต้น พระภิกษุแก้ว จ�ำพรรษาอยู่ที่นี่จนมรณภาพ ต่อมาประชาชน ชาวเมื อ งนางรอง โดยมี ก รรมการเมื อ ง ซึ่งเป็นต้นตระกูลหลายตระกูลท�ำนุบ�ำรุงวัด สืบต่อมา ในยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ มีพระพุทธรูป องค์ใหญ่ ศักดิ์สิทธิ์ ในเขตเมืองนางรอง และ เดิมมีอุโบสถสร้างด้วยไม้ ต่อมา พ.ศ.2502 พระครู โ สภณคณาภิ บ าล เป็ น ผู ้ น� ำ สร้ า ง อุโบสถแบบสมัยอยุธยา และกุฏิสงฆ์ สร้าง ด้วยเสากลม อายุมากกว่า 100 ปี บริ เวณนี้ เ คยเรี ย กว่ า เนิ น วั ด ชั ย มงคล ต่อมาเรียกว่า “วัดป่าเรไร” ซึ่งมีการบันทึกไว้ เป็นหลักฐานต่อมาว่า วัดป่าเรไร สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2210 เป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ เ มื่ อ พ.ศ.2260 ผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ.2269 กรมการศาสนา ขึ้นทะเบียนวัดป่าเรไร เลขที่ 66 วัดป่าเรไรเปิดสอนพระปริยัติธรรมแผนก ธรรมเมื่ อ พ.ศ.2493 และศู น ย์ อ บรมเด็ ก ก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2535

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

22/08/61 19:59:20


Wat Pa Ley Lei (Wat Jod) Phrakhu Sopon Dhammawijit, the abbot of Wat Pa Ley Lri (Wat Jod) Wat Pa Ley Lai was named Wat Jod from the beginning. It is located at Ban Nang Rong, Narongraksaket road, village no.18, Nang Rong sub-district, Nang Rong district, Burirum province. It belongs to Maha Nikai clergy. Scale of this temple’s land is 4.4 acres and 960 square meters, certificate of utilization (NS.3K.), title deed number 8923. The North, South and East territories of this temple are adjacent to the public road, but West territory is adjacent to the forest. History of this temple Wat Pa Ley Lei or Wat Jod, 300 124

years old temple. There is a legend (Mr. Jan Wichian, village headman who tells this story) stated that during Ayutthaya period, Phra Ratchamanoo who was one of the vanguard of King Naresuan the Great’s army and Mr. Kaew (his uncle) had led an army to rest at this hill which its environment was Lamduan and asparagus forest. Then, on their way back to the homeland after they had won the war against Khmer, they dropped in this place again. Mr. Kaew went into the monkhood and each of them had planted one Bodhi tree. Buddhist monk Kaew

stayed at this place until he passed away. After that, people of Nang Rong city and this city committee which is the patriarch of many families in this city jointly maintain this temple onwards. In an early of Rattanakosin period, there was a big sacred Buddha statue in Nang Rong city area and formerly there was a wooden ubosot, then, in 2502 B.E., Phra Khru Sopon Kanapibarn who was the leader of construction of ubosot in Ayutthaya style and monk’s house which used round pillar as the foundation that its age was more than 100 years old.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 124

22/08/61 19:59:09


This area was called Wat Chai Mongkol hill. After that, it was changed to “Wat Pa Ley Lei” which has a record as an evidence that Wat Pa Ley Lai was founded in 2210 B.E., it was a temple without royal bound Buddhist stone in 2260 B.E. After that, in 2269 B.E., monastic boundary demarcation ceremony was performed. Department of Religious affairs had registered Wat Pa Ley Lei number 66. Important building consists of ubosot - was built in 2502 B.E., it is a reinforced concrete building in Ayutthaya period style. Sermon hall - it was built in 2517 B.E., it is a half-wood, half-concrete building. 2 Monk’s house - it was built in 2528 B.E., one of it is reinforced concrete Thaistyle house, another is wooden house. 7 Buddha image halls - it was founded in 2541 B.E., the whole 7 buildings are reinforced concrete buildings. Multi-purpose pavilion - it was founded in 2536 B.E., it is a half-wood, half-concrete Thai-style building. Merit-making pavilion - it was built in 2526 B.E., it is a reinforced concrete building. Other buildings are Tripitaka hall, pagoda, bell tower and crematory. Wat Pa Ley Lei had operated the teaching of dharma education section of Phra Pariyatti Dhamma in 2493 B.E. and established pre-school child education center in this temple in 2535 B.E. At Phrakhu Sopon Dhammawijit, the abbot of Wat Pa Ley Lri (Wat Jod)

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

22/08/61 19:59:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองพลวง

พระครูโสภณธรรมทัศน์(สง่า ปญฺญาสาโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองพลวง ตั้งอยู่ที่บ้านหนองพลวง หมู่ที่ 1 ต�ำบลสะเดา อ�ำเภอนางรอง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เริ่ ม สร้ า งวั ด วั น ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2520 โดยมี นายทองค� ำ เมฆี ได้ ท� ำ เรื่ อ งขอสร้ า งวั ด และได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด ใน พ.ศ.2520 ณ หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลสะเดา อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ตั้ ง ชื่ อ วั ด ว่ า “วั ด หนองพลวง”และได้ มี ก ารตั้ ง วั ด ในปี พ.ศ.2521 สร้ า งโบสถ์ ป ี พ.ศ.2522 ต่ อ มาได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ในปี พ.ศ.2536 ประกาศ ณ วั น ที่ 14 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2537 (จากบั ญ ชี ร ายชื่ อ วั ด ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ประจ� ำ ปี 2536) 126

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 126

22/08/61 20:02:17


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

การอบรมและงานเผยแผ่ 1.ผ่านการอบรมความรู้เพิ่มประสิทธิภาพ พระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น ณ วั ด อิ น ทร วนาราม ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ระหว่างวันที่ 23 - 24 สิงหาคม พ.ศ.2550 2.ผ่ า นการอบรมตามหลั ก สู ต รประกาศ นียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์(ป.บส.) ประจ� ำ ปี ก ารศึ ก ษา 2551 โรงเรี ย นพระ สั ง ฆาธิ ก ารคณะสงฆ์ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ วั ด พระพุ ท ธบาทเขากระโดง ต� ำ บลเสม็ ด อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2552 3.ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการพระสอน ศีลธรรมในโรงเรียน ตั้งแต่ วันที่ 10 - 12 ตุลาคม พ.ศ.2552 มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์

การฟังเทศน์มหาชาติและอานิสงส์ วั ด หนองพลวงจั ด เทศน์ ม หาชาติ เ ป็ น ประจ�ำทุกปี เทศน์มหาชาติ คือ เทศนาเวสสันดร ชาดก เป็นบุญพิธที นี่ ยิ มจัดให้มกี นั มาแต่โบราณ ส่วนมากจัดให้มใี นวัด และเป็นหน้าทีข่ องชาวบ้าน และวัดนั้นๆ จะตกลงร่วมกันจัด ปกตินิยมให้ มีหลังฤดูทอดกฐิน ผ่านไปแล้วจนตลอดฤดูเหมันต์ นิยมจัดเป็นงานสองวัน คือ วันเทศน์เวสสันดร ชาดกทั้ ง 13 กั ณ ฑ์ วั น หนึ่ ง และวั น เทศน์ จตุราริยสัจจกถา ท้ายเวสสันดรชาดกอีกวันหนึง่ โดย วันแรกเริ่มงานด้วยพิธีท�ำบุญตักบาตร พระทัง้ วัด หรือเลีย้ งพระตามจ�ำนวนทีเ่ ห็นสมควร แล้วเริ่มเทศน์เวสสันดรชาดก ตามแบบเทศน์ ต่อกันไปจนสุด 13 กัณฑ์ ถึงเวลากลางคืนบางแห่ง จัดปีพาทย์ประโคมระหว่างกัณฑ์หนึ่งๆ ตลอด

ทัง้ 13 กัณฑ์ดว้ ย แล้ววันรุง่ ขึน้ ท�ำบุญเลีย้ งพระ อีกแล้วมีเทศน์ จตุราริยสัจจกถาในระหว่างเพลจบ แล้วเลี้ยงพระเพลเป็นอันเสร็จพิธี การฟั ง เทศน์ มหาชาติ นั้ น มี อ านิ ส งส์ มากมาย ตัง้ แต่กณ ั ฑ์แรก “กัณฑ์ทศพร” ไปจนถึง กัณฑ์สุดท้าย คือ “นครกัณฑ์” โดยในกัณฑ์ สุดท้ายมีขอ้ คิดประจ�ำกัณฑ์นคี้ อื การท�ำความดี ย่อมได้รับผลดีตอบแทน การใช้ธรรมะในการ ปกครองย่อมท�ำให้เกิดความสงบร่มเย็น และ ต้องรักษาความดีนนั้ ไว้ อีกทัง้ ท�ำความดีให้ยงิ่ ขึน้ ๆ ส� ำ หรั บ ข้ อ คิ ด ในเทศน์ ม หาชาติ “พระ เวสสันดรชาดก” เรื่องนี้มีคติธรรมมากมาย

อาทิ สั่งสอนให้คนเราเพียรประกอบคุณงาม ความดี โ ดยมิ ท ้ อ ถอย หากรู ้ จั ก สละทรั พ ย์ บริจาคทานเนื่องนิจก็จะเป็นที่สรรเสริญทั่วไป และการบริจาคนั้นก็ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นทรัพย์ อย่ า งเดี ย ว หากมี แ รงกายก็ ไ ปช่ ว ยงาน จิตอาสาได้ การสละทรัพย์หรือสละแรงกาย แรงใจนั้นฝึกให้เป็นการ “จาคะ” คือการสละ ความโลภในตนออกไปจนเกิดความเบากาย สบายใจ เป็นการสละแบบไม่หวังผลตอบแทน ส่วนคนโลภคนจิตบาปหยาบร้ายก็ต้องได้ภัย เพราะตั ว เองดั่ ง ชู ช กนั้ น เอง แต่ ก ระนั้ น พระเวสสันดรโพธิสัตว์ ก็ยังไม่เคยต�ำหนิชูชก กลับให้อภัย และยังมองว่าเป็นผู้ที่มาท�ำให้ พระองค์ท่านได้สร้างบารมีอีกด้วย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 127

127

22/08/61 20:02:32


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดกลางนางรอง

พระครูพิทักษ์ชินวงศ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด กลางนางรอง เป็นวัดที่ถือก�ำเนิดขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ

สมเด็จพระเอกาทศรถในพ.ศ.2136 จากการที่ทั้งสองจอมกษัตริย์ ได้ยาตราทัพออกจาก กรุงศรีอยุธยาเพื่อไปปราบพระยาละแวก โดยเดินทัพผ่านมาทางเมืองโคราชเข้าสู่ตัวเมือง นางรอง ก่ อ นที่ จ ะเข้ า ไปยั ง กั ม พู ช า ทั้ ง สองพระองค์ ไ ด้ ท รงปลู ก ต้ น โพธิ์ ไ ว้ เ ป็ น อนุ ส รณ์ ข้ า งพลั บ พลาที่ ป ระทั บ องค์ ล ะ 1 ต้ น เมื่ อ บ้ า นเมื อ งว่ า งเว้ น ต่ อ การศึ ก บรรดาขุ น ทหาร ที่ เ คยมาพั ก ไพร่ พ ลที่ เ มื อ งนางรองได้ รั บ พระบรมราชานุ ญ าตให้ พ าไพร่ พ ลเดิ น ทาง กลับมาเยี่ยมเมืองนางรองเพื่อตอบแทนคุณงามความดีของชาวเมือง โดยการสร้างวัดให้ ณ ที่ ตั้ ง พลั บ พลาที่ ป ระทั บ ของ 2 กษั ต ริ ย ์ ชื่ อ ว่ า วั ด กลาง เพื่ อ เป็ น อนุ ส รณ์ ส ถาน ของพระองค์ ท ่าน ต้น โพธิ์ข ณะนี้ยังเหลือ อยู่ 2 ต้ น ทางทิ ศ เหนื อใกล้ กับ อุ โบสถหลั ง ใหม่ 128

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 128

22/08/61 20:05:15


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

เสนาสนะที่ส�ำคัญ 1.อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2521-2524 ใช้ เป็นสถานทีป่ ระชุมท�ำสังฆกรรม ตามพระวินัย ของพระสงฆ์ ท�ำอุโบสถสังฆกรรม - บวชนาค เป็นสถานทีร่ วมพระสงฆ์ - สามเณร - อุบาสก อุบาสิกา ลงเฝ้าพระพุทธเจ้า - พระธรรม พระสงฆ์ (ท�ำวัตรเช้า - เย็น) สรรเสริญคุณ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ตามก�ำหนด นัดหมายกันไว้ เช้าเวลา 04.30น. ถึง 05.30น. หรื อ บางเดื อ นใช้ เวลาในการท�ำวัตรมากขึ้น ก็ลงหลังจากนัน้ เวลาเย็น 17.00น.ถึง 18.30น. อุโบสถหลังนี้ สร้างเมื่อ พ.ศ.2521-2525 2.โบสถ์เก่า(วิหาร) สร้างเมื่อ พ.ศ.24742475 ก่ออิฐขนาดรอบเสาเก่าซึง่ เป็นไม้มะค่าแต้ อิ ฐ ได้ จ ากการขุ ด สระหน้ า อุ โ บสถหลั ง เก่ า พ.ศ.2521 ขนาดก้อนอิฐผนังก่อด้วยอิฐ ประสาน ด้วยปูนขาวผสมน�้ำอ้อยฉาบปูนโบราญ มีด้าน ตะวันออก 2 ประตู ตะวันตก 2 ประตู มุขด้าน ตะวันออก มุขด้านตะวันตก มีหน้าต่างด้านเหนือ หน้าต่างด้านใต้ หน้าต่างโครงหลังคา เป็นเนือ้ แข็ง ทั้งหมด มุงกระเบื้องโบราณทรงอยุธยาตอน ปลาย มีก�ำแพงล้อมรอบห่างจากตัวอาคาร 2.30 ซม. ซ่อมแซมเสร็จเมือ่ ปลายปี พ.ศ.2560 คงรู ป เดิ ม ไว้ ทั้ ง หมด หากแต่ เ ปลี่ ย นโครง หลังคาเป็นเหล็ก กระเบื้องมุงฉากผนังด้วยปูน ผสมแบบโบราณสร้างศาลไว้โดยรอบ 3 หลัง ไว้ เ ป็ น โรงเรี ย น พระสงฆ์ - สามเณร และ โรงเรียนศูนย์พุทธศาสนาวันอาทิตย์

3.ป่าย่อมๆ เนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ กับ 2 งาน มีทพี่ กั อยู่ 6 ห้อง สุขาน�ำ้ -ไฟ พร้อมและทีพ่ ำ� นัก ของพระอาจารย์ 1 หลัง 2 ห้องพัก เดีย่ ว 1 หลัง 1 ห้องพัก ที่พักชั่วคราว 6 หลัง 4.ศาลาการเปรียญ ยาว 45 ม. กว้าง 16 ม. โครงสร้าง คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น หลังคา 2 หลัง 2 ลด หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบ (กาบกล้วย) เป็นที่ประชุมบ�ำเพ็ญบุญประจ�ำ สาธารณะ 5. ศู น ย์ เ ด็ ก เล็ ก ก่ อ นเกณฑ์ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ สงเคราะห์แก่ญาติโยมทีม่ บี ตุ รหลานแต่ยากจน เพือ่ ให้เด็กๆ ได้รบั อาหารตามโภชนาการของวัย เพือ่ จะได้เจริญเติบโตเป็นก�ำลังส�ำคัญของพ่อแม่ และสังคมต่อไปในอนาคต โดยจัดสร้างทัง้ หมด 9 หลัง มีครู 5 คน เด็ก 90 คน วั ด กลางนางรอง เป็ น สถานที่ ป ลี ก วิ เวก ส� ำ หรั บ โยมที่ ม าปฏิ บั ติ ธ รรมในช่ ว งวั น โกน

วั น พระก็ รั บ อุ โ บสถศี ล แล้ ว ให้ ตั้ ง ใจปฏิ บั ติ ภาวนาเจริญสติ สมาธิให้จติ สงบจนเกิดปัญญา พิจารณากายใจจนกว่าจะเห็นกฎไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาตามความเป็นจริงก็ จะพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ ส�ำหรับเสนาสนะ กุฏิที่พักของพระ เณร ต้ อ งการความสงบเจริ ญ สมาธิ ภ าวนาโดยมี ศาลารวม และจัดการสอนปฏิบตั พิ ระกัมมัฏฐาน เป็นประจ�ำตามก�ำลัง และตามเวลาอันควร ดังใน สักกัจจสูตร กล่าวว่า “ดูกอ่ นสารีบตุ ร ภิ ก ษุ เ คารพในพระศาสดา ชื่ อ ว่ า เคารพ ในธรรมด้ ว ย ภิ ก ษุ เ คารพในพระศาสดา ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในสมาธิ ในความไม่ประมาท ชื่อว่าเคารพในปฏิสันถาร ด้วย”

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

22/08/61 20:05:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศีลโสภณธรรมาราม (วัดสวายสอ)

พระอธิการประเสริม ญาณทีโป ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ดศีลโสภณธรรมาราม หรือ วัดสวายสอ ตั้งอยู่เลขที่ 105 หมู่ 9 บ้านสวายสอ

ต� ำบลถนนหั ก อ�ำเภอนางรอง จังหวัด บุรีรัม ย์ มี เนื้อที่ ตั้ง วั ด 12 ไร่ 2 งาน 140 ตารางวา ทิ ศ เหนื อ จดที่ ดิ น นางจอย กั น เกศ ทิ ศ ตะวั น ออก จดถนน ร.พ.ช. ทิ ศ ใต้ จดที่ ดิ น นางสุ รั ตน์ คะเชนเนียม ทิศ ตะวัน ตก จดที่ดิน นางสุ รัต น์ คะเชนเนี ย ม วั ดสวายสอ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2522 เนื่องจากบ้านสวายสออยู่ห่างไกลจากวัดอื่น ไม่สะดวกในการบ�ำเพ็ญกุศลต่างๆ จึ ง ตกลงกั บ ชาวบ้ า นสร้ า งวั ด ขึ้ น โดยได้ รั บ ความเห็ น ชอบจาก พระมงคลภั ท ราจารย์ (หลวงปู ่ แ ถม) เจ้ า อาวาสวั ด ทองพุ ่ ม พวง จั ง หวั ด สระบุ รี และท่ า นก็ ไ ด้ ใ ห้ ค วามอุ ป ถั ม ภ์ เรื่ อ ยมา วั ดนี้ตั้งอยู่ที่บ ้า นสวายสอจึงได้ชื่อ ว่า วัดสวายสอ 130

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระครูอัมพวันธรรมรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2517 - 2544 2. พระอธิการเดี่ยว ปสนฺนจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2544 - 2546 3. พระครูโสภณเขมจิต ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2546 - 2555 4. พระอธิการประเสริม ญาณทีโป ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2555 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 130

22/08/61 20:08:25


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ประวัติพระอธิการประเสริม ญาณทีโป เจ้าอาวาส รูปปัจจุบัน พระอธิการประเสริม ญาณทีโป เกิดเมือ่ วันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2510 อุปสมบทเมือ่ อายุ 36 ปี วั น ที่ 21 ธั น วาคม พ.ศ.2546 ที่พัท ธสีมา วัดโพธาราม ต.ถนนหัก อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ โดยมีพระครูปรีชากิจจานุโยค เป็นพระอุปชั ฌาย์ และได้ศึกษาแผนกธรรม จนได้นักธรรมตรี โท และเอก ตามล�ำดับ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาส เมื่ อ วั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2555 จนถึ ง ปัจจุบัน พระอธิการประเสริม ญาณทีโป ท่าน เป็นพระนักพัฒนา และได้พัฒนาวัดสวายสอ เจริญรุง่ เรืองขึน้ ตามล�ำดับเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั หน้าที่และบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนักพัฒนา นอกจากพระภิกษุและสามเณร มีบทบาท และหน้าที่ในการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ศึกษาตามหลักไตรสิกขาทัง้ 3 ด้าน คือ ศีล สมาธิ และปัญญาแล้ว พระสงฆ์ยังมีบทบาทในฐานะ พระนั ก พั ฒ นาอี ก ด้ ว ย ได้ แ ก่ พระสงฆ์ ทีท่ ำ� งานสงเคราะห์ชมุ ชนด้วยการให้คำ� แนะน�ำ หรื อ ช่ ว ยเหลื อ ชาวบ้ า นด้ ว ยกิ จ กรรมต่ า งๆ เพื่อให้ความเป็นอยู่ของชาวบ้านดีขึ้น เช่น การจัดตั้งศูนย์เด็กในวัด การอบรมเยาวชน การท�ำโครงการฝึกอาชีพ ธนาคารข้าว หรือ การส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้าน ให้ค�ำแนะน�ำ ด้านสุขอนามัย รวมทั้งการส่งเสริมชาวบ้าน ในเรื่องเกษตรผสมผสาน หรือเกษตรกรรม เพื่อการพึ่งตนเอง ซึ่งการท�ำงานดังกล่าวนี้ อาจเกิดจากความคิดริเริ่มของท่านเองและ อาจมาจากการร้องขอของชาวบ้านและท่าน เห็นสมควรว่าจะเกื้อกูลชาวบ้านอย่างไรโดย ไม่ขัดกับพระธรรมวินัยก็จักยังให้สังคมบวร (บ้าน วัด และชุมชน) เกิดสันติสุข เสนาสนะ 1.ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ.2517 2.อุโบสถกลางน�ำ ้ กว้าง 5 เมตร ยาว 5 เมตร 3.กุฏิสงฆ์ 2 ชั้น สร้างเมื่อ พ.ศ.2531 4.อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2542 5.ฌาปนสถาน(เมรุ) สร้างเมื่อ พ.ศ.2550 6.ศาลาธรรมสังเวช สร้างเมื่อ พ.ศ.2552 7.ศาลการเปรียญ(ใหม่) สร้างเมือ่ พ.ศ.2557 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 131

131

22/08/61 20:08:42


SM

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองเสม็ด

วั ด หนองเสม็ ด ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 37

พระครูวาปิญาณวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดหนองเสม็ด

ต� ำ บลนางรอง อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี เนื้ อ ที่ 17 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา

เดิมเป็นที่ของนายกาย โกษากุล อดีตสรรพ สามิตอ�ำเภอนางรอง ได้มอบถวายทีด่ นิ แปลงนี้ ให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ.2524 โดยมีพระครูสุนทรธรรมวิฑูรย์ เจ้าคณะ อ�ำเภอนางรอง ในขณะนั้นเป็นประธานรับ มี พระอธิการปลาด เขมปญฺโญ อดีตเจ้าอาวาส องค์แรก พระครูวาปิญาณวิสุทธิ์ (พระซ้อน จิรธมฺโม) พร้อมชาวบ้านทัง้ 4 หมูบ่ า้ นรวมเป็น

พ.ศ.2547 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ลงในประกาศ ณ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ.2547 ตรงกับวันศุกร์แรม 3 ค�่ำ เดือน 2ปีวอก ผู้รับ สนองพระราชโองการ นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทัว่ ไป เล่มที่ 121 ตอนที่ 9 ง. เมือ่ วันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2547 กองพุทธศาสน สถานส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

132

พยานรับมอบ ได้รับอนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ.2526 มีนายเพิ่ม ชัยโชติ เป็นผู้ขออนุญาตสร้าง ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2528 ได้รับ อนุ ญ าตให้ ตั้ ง ชื่ อ เป็ น วั ด หนองเสม็ ด ตาม สถานะเดิมของหมู่บ้านที่ตั้งของวัด ตามกฎ กระทรวงศึกษาธิการในวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2541 เวลา 10.49 น. ประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์อโุ บสถ

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 132

22/08/61 20:10:29


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

จงใช้ ชี วิ ต ที่ เ หลื อ อยู ่ ใ ห้ มี ค วามสุ ข ณ ปั จ จุ บั น คื อ ความดี ที่ เ ราทั้ ง หลายยั ง มี โ อกาสได้ ก ระท� ำ อย่ า งนี้ ชี วิ ต อยู ่

พ.ศ.2556 ทางวั ด จั ด ซื้ อ ที่ ดิ น เพื่ อ ก่อสร้างวัดเป็นจ�ำนวน 7 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา ในราคา 1,400,000 บาท วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558 ทางวัดได้วางศิลาฤกษ์เพื่อก่อสร้าง โบสถ์ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 ได้รับ การประกาศให้จัดสร้างวัด และในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ.2559 ได้รับการประกาศเป็นวัด และในวั น ที่ 19 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2560 ได้ แต่งตั้งเป็นวัด และโอนที่ดินเป็นชื่อของวัด ในปี พ.ศ.2561

วัดหนองกันงา

พระอธิการปิยะวัฒน์ ฐานุตฺตโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหนองกันงา ตั้งอยู่ เลขที่ 256 หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองโบสถ์ อ�ำเภอนางรอง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ วั ด เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง มาตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2522 โดยชาวบ้ า นกลุ ่ ม หนึ่ ง ได้ ร ่ ว มกั น จั ด ตั้ ง ที่ พั ก สงฆ์ โดยมี ป ระธานที่ เ ป็ น พระสงฆ์ รู ป แรกชื่ อ ว่ า หลวงตาโลน และ รู ป ที่ ส อง ชื่อว่าหลวงตารวง โดยมีพระหมุนเวียนเปลี่ยนไปมาจ�ำพรรษาเรื่อยๆ อยู่รูปละปีสองปีก็ ไป ไม่ แ น่ น อน จนกระทั่ ง ปลายปี พ.ศ.2554 ซึ่ ง ขณะนั้ น พระอธิ ก ารปิ ย ะวั ฒ น์ ฐานุ ตฺ ต โร ยั ง เป็ น เลขาเจ้ า คณะต� ำ บลหนองโบสถ์ จึ ง ได้ ล งมาดู แ ลจนถึ ง ปั จ จุ บั น BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 133

133

22/08/61 20:12:36


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสุวรรณาราม (บ้านหนองทองลิ่ม)

พระครูสุวรรณธรรมาภิราม(วีระ มหาวีโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สุวรรณาราม (บ้านหนองทองลิ่ม) ตั้งอยู่ที่บ้านลิ่มทอง เลขที่ 131 หมู่ที่ 4

ต� ำ บลหนองโบสถ์ อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ วั ด สร้ า งขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 10 เมษายน พ.ศ.2490 ตามความคิ ด ของหลวงพ่ อ บุ ญ ฐิ ต ปญฺ โ ญ นามสกุ ล ทองค� ำ ท่ า นเป็ น เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นชุ ม แสงในสมั ย นั้ น เหตุ ที่ ท ่ า นจะสร้ า งวั ด ก็ เ พราะว่ า ชาวบ้ า นที่ อ ยู ่ หมู่บ้านหนองทองลิ่มนั้นมีความล�ำบากมากเวลาไปท�ำบุญที่วัดบ้านชุมแสง และต้องข้ามล�ำห้วย ไปด้วยเมื่อถึงเวลาเข้าพรรษาหรือหน้าฝน จนท�ำให้ ไม่สามารถใช้เส้นทางในการสัญจรได้ 134

พระอาจารย์ บุ ญ ท่ า นจึ ง ให้ ช าวบ้ า น มาสร้างวัดที่บ้านหนองลีบตรงสถานที่ปัจจุบัน แต่ ส มั ย นั้ น การสร้ า งวั ด ยั ง คงเป็ น กระท่ อ ม หรือเพิงเท่านั้นและพระอาจารย์บุญ ท่านให้ พระอาจารย์ ป าน มาปกครองวั ด และมี พระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาในพรรษาแรกนั้น 5 รูป ด้วยกันคือ พระอาจารย์ปาน, พระอาจารย์กำ�่ , พระอาจารย์ เ ทื อ ง, พระอาจารย์ ผ ่ อ น แต่ อีกรูปไม่ทราบชื่อว่าท่านชื่ออะไร

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 134

22/08/61 20:14:08


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

หลังพระอาจารย์ปานลาสิกขาก็มีพระสงฆ์ ปกครองวั ด เรื่ อ ยมา คื อ พระอาจารย์ ก�่ ำ , พระอาจารย์ อ ๊ า ด, พระอาจารย์ บ าตร, พระอาจารย์อ๊อด, พระอาจารย์เอียด และ พระอาจารย์ เ สื อ ก็ ดู แ ลรั ก ษาวั ด เรื่ อ ยมา จนท่านเหล่านั้นลาสิกขา พระอาจารย์แปลน ท่านได้เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัด ต่อมา เมื่ อ ท่ า นลาสิ ก ขาแล้ ว พระอาจารย์ เ นื่ อ ง กันตสีโล ก็มาปกครองวัดสุวรรณารามท่านได้ สร้างกุฏขิ นึ้ ทัง้ หมด 7 หลัง สร้างก�ำแพงล้อมวัด แถวแรก และท่านได้สร้างซุ้มประตูทางเข้าวัด อีกทั้งน�ำชาวบ้านมาสร้างศาลาการเปรียญขึ้น หนึ่ ง หลั ง แยกออกจากกุ ฏิ พ ระหลั ง ใหญ่ ที่ พระอาจารย์ ก�่ ำ และพระอาจารย์ แ ปลน ได้ ส ร้ า งไว้ ต่ อ มาท่ า นได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ เมื่ อ วั น ที่ 8 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2522 และได้ รั บ พระบรมราชโองการ

โปรดเกล้ า โปรดกระหม่ อ มตั้ ง สมศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครูสุวรรณวรวัตร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2523 และท่ า นยั ง ได้ ส ร้ า งอุ โ บสถขึ้ น หนึง่ หลังใช้เวลาในการก่อสร้าง 5 ปี จึงแล้วเสร็จ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ.2500 มีสถานะเป็นวัดราษฎร์ จากนั้นก็มีการพัฒนาวัดเรื่อยมาให้สะอาด ร่มรื่น มีต้นไม้มากมาย แต่ด้วยศิลปกรรมใน สมัยนั้นเป็นไม้ส่วนมาก จึงมีการเสื่อมสภาพ ตามกาลเวลา และได้รับการซ่อมแซมบูรณะ ต่อๆ กันมา ท่านได้ขุดสระน�้ำไว้ในวัดด้วย สถานที่เป็นที่น่าอภิรมย์ยิ่งขึ้น ต่อมา ท่าน พระครูสุวรรณวรวัตรลาสิกขาแล้วชาวบ้าน ก็ได้ไปนิมนต์พระอาจารย์สุนทร ถาวโร มา ปกครองวัดสุวรรณารามแทน ท่านได้นำ� ญาติโยม ชาวบ้านหนองทองลิ่มและหมู่บ้านใกล้เคียง สร้างเสนาสนะคือกุฏิสงฆ์ และท่านยังได้สร้าง

ฌาปนสถาน(หรือเมรุ) อีกไว้ส�ำหรับบ�ำเพ็ญ กุศลต่างๆ ในการประกอบพิธใี นงานศพ การสร้าง ก็เป็นศิลปกรรมสมัยใหม่ดว้ ยเช่นกัน ท่านพัฒนา วัดอยูช่ ว่ งหนึง่ ก็ลาลิกขา พระอธิการวีระ มหาวีโร ก็ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัด สุวรรณาราม(บ้านหนองทองลิ่ม) เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2549 สืบต่อมา ท่านได้สร้าง ศาลาธรรมสังเวช(ศาลาพักศพ) และท่านได้ บูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถขึ้นใหม่ สร้างหอระฆัง สร้างโรงครัว และได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมตั้งสมณศักดิ์เป็นที่ พระครูสวุ รรณธรรมาภิราม เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2557 ท่านพระครูได้ปรับปรุงทัศนียภาพ ของวัด ด้วยการถมที่ให้สูงขึ้นแล้วปลูกต้นไม้ และไม้ดอกไม้ประดับแทน ปัจจุบันการเดิน ทางมายังวัดสุวรรณารามก็สะดวกสบายมาก มีรถเข้าออก ทางสัญจรก็เป็นทางลาดยาง หาง่าย ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการแปลน เตชปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2495 - 2502 2. พระครูสุวรรณวรวัตร กนฺตสีโล ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2502 - 2534 3. พระอธิการสุนทร ถาวโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2534 - 2548 4. พระครูสุวรรณธรรมาภิราม (พระอธิการวีระ มหาวีโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2548 จนถึงปัจจุบัน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 135

135

22/08/61 20:14:18


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านถนน พระอธิการบุญรอด รตนวณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้านถนน ต�ำบลหัวถนน อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มก่อตั้งประมาณ

ปี พ.ศ.2512 จากค� ำ บอกเล่ า ของพ่ อ แม่ พี่ น้ อ ง ปู ่ ย่ า ตา ยาย โดยมี น างเป้ า นุ พั น ธ์ และชาวบ้ า นหั ว ถนนที่ มี ค วามศรั ท ธาถวายที่ ดิ น ที่ ส ร้ า งวั ด ซึ่ ง นายปลอด ฉิ ม พาลี ได้ ถวายที่ ดิ น จ� ำ นวน 21 ไร่ ที่ ตั้ ง วั ด บ้ า นถนน ห่ า งจากตั ว อ� ำ เภอนางรอง 14 กิ โ ลเมตร ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด 65 กิ โ ลเมตร ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง วั ด มี เ จ้ า อาวาสหลายท่ า นได้ ม าอยู ่ และก่ อ สร้ า ง ซ่ อ มแซมตามยุ ค ตามสมั ย เรื่ อ ยๆ มา จนถึ ง ทุ ก วั น นี้ 136

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ประเสริฐ 2. พระอาจารย์มานพ 3. พระอาจารย์ดวล 4. พระอธิการมานพ ธรรมทินฺโน 5. พระอธิการสมพงษ์ กมฺมสุโภ (พระอาจารย์เปีย) 6. พระอธิการบุญรอด รตนวณฺโณ (ปัจจุบนั )

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 136

22/08/61 20:15:57


ความเป็นมาเกี่ยวกับ

หลวงพ่อพระโตโคตะมะ หลวงพ่อพระโตโคตะมะ มีประวัตมิ าตัง้ แต่ ครั้ ง พุ ท ธกาล ในขณะที่ พ ระพุ ท ธองค์ มี พระชนมายุได้ 57 พรรษา พระองค์ได้เสด็จ มาที่สุวรรณภูมิ มาโปรดพระที่เมืองโคตรภู ซึ่ ง เมื อ งโคตรภู อ ยู ่ ใ นเขตแดนไทยบนยอด ล�ำโดมใหญ่ พระพุทธองค์ได้เสด็จมาโปรด พระเทวจักร กิตตฺ โิ ก พระเทวจักรเป็นลูกศิษย์ ของพระโมคคัลลานะ พระโมคคัลลานะโปรด พระเทวจักร จนเกิดความเลื่อมใสศรัทธาด้วย อิทธิฤทธิ์ พระเทวจักรเห็นพระโมคคัลลานะ มี อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ เ หาะได้ ก็ เ กิ ด ศรั ท ธาขอบวชใน พระศาสนา โดยที่ พ ระเทวจั ก รผู ้ มี บ ารมี ตั้ ง ปรารถนาไว้ ว ่ า อยากเป็ น พระพุ ท ธเจ้ า อธิษฐานอยากให้พระพุทธเจ้าเสด็จมาโปรด ในยุคนัน้ พระพุทธองค์ประทับอยูท่ เ่ี มืองโกสัมพี ตามต�ำนานคัมภีร์กล่าวไว้ ในคืนวันนั้น พระพุทธองค์ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกตรวจ เวไนยสัตว์ พระเทวจักรเข้าสู่ข่ายพระญาณ พระพุทธองค์จงึ ทรงเสด็จมาโปรดพระเทวจักร ในวันต่อมา เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นที่เมืองโกสัมพี แต่พระพุทธองค์เสด็จมาโปรดพระเทวจักร ที่ เ มื อ งโคตรภู ดิ น แดนสุ ว รรณภู มิ โดยมี พระมหากัสสปะ พระโมคคัลลานะ พระสิวลี พระอานนท์ เสด็จตามพระพุทธองค์มาโปรด พระเทวจักร เมื่อโปรดเสร็จแล้วพระเทวจักร ทูลขอพระนขาของพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ ทรงตั ด เล็ บ ข้ า งขวาพระราชทานให้ แ ก่ พระเทวจักร ข้างซ้ายเทวดานามว่า “ราหุ” ได้ ทู ล ขอพระพุ ท ธองค์ ก็ ไ ด้ พ ระราชทานให้ แก่เทวดาไป ต่อมาพระมหากัสสปะได้ทูลขอ อนุญาตสร้างพระพุทธรูปขึ้นมา พระพุทธองค์ ทรงอนุญาตและพระราชทานนามพระพุทธ รู ป องค์ นั้ น ว่ า “พระโตโคตะมะ” พระ มหากัสสปะ พระมหาโมคคัลลานะ พระสีวลี จึ ง ได้ ร วบรวมศรั ท ธาพุ ท ธบริ ษั ท ร่ ว มกั น บริ จ าคเป็ น เงิ น เป็ น โลหะ เป็ น ทองน� ำ มา หลอมรวมกันท�ำเป็นพระพุทธรูปขึ้นมา มีหน้า ตั ก 4 ศอก แล้ ว ก็ บ รรจุ พ ระพุ ท ธนขาที่ พระเทวจักรได้รบั พระราชทานจากพระพุทธองค์ ไว้ในพระพุทธรูปนามว่าโตโคตะมะ ดังนี้แล

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

22/08/61 20:16:54


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ ปราชญ์ผู้ ให้ความสุข ย่อมได้รับความสุข (พุทธพจน์)

วัดชุมแสง

พระอธิการล�ำพวง จิรสุโภ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดชุมแสง ตั้งอยู่ หมู่ 2 ต�ำบลทุ่งแสงทอง อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2420 วั ด มี เ นื้ อ ที่ 4 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา ที่ ธ รณี ส งฆ์ แ ห่ ง แรก เป็นสระน�้ำ มีเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางวา แห่งที่สอง มีเนื้อที่ 1 ไร่ 62 ตารางวา เป็ น ที่ ส ร้ า งศาลา SML อุ โ บสถหลั ง เก่ า เป็ น ไม้ ส ร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2430 ต่ อ มาในปี พ.ศ.2530 บู ร ณะใหม่ เ ป็ น อุ โ บสถปู น ศาลาการเปรี ย ญสร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2521 กุ ฏิ ส งฆ์ ส ร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2504 138

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระวุ่น 2.พระเฉง 3.พระช่วย 4.พระนาค 5.พระปริก 6.พระอธิการบุญ ธิติปญฺโญ (ผู้บริจาค ทีด่ นิ ก่อตัง้ วัดชุมแสง) 7.พระอธิการเอือ้ ม 8.พระสอิง้ 9.พระล� ำ พึ ง 10.พระอธิ ก ารเนื่ อ ง กนฺ ต สี โ ล 11.พระอธิ ก ารทองดี รกฺ ขิ ต ธมฺ โ ม 12.พระสาย 13.เจ้าอธิการคูณ ปริปุญฺโณ 14.พระจิ้น ติสาโร 15.พระอธิการล�ำพวง จิรสุโภ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

นิวตฺตยนฺติ โสกมฺหา

คนใจการุณ ช่วยแก้ ไขคนให้หายโศกเศร้า (พุทธพจน์)

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 138

22/08/61 20:18:21


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วั ด ศรัทธาประชาบูรณะ ตั้งอยู่ที่

บ้ า นหนองตารั ก หมู ่ ที่ 10 ต� ำ บลหนอง ยายพิ ม พ์ อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เดิ ม อยู ่ ที่ บ ้ า นก้ า นเหลื อ ง เดิมก่อนปีพ.ศ.2502 ไม่มวี ดั หรือส�ำนักสงฆ์ ที่จะใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ชาวบ้าน ที่มีความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ต้องเดินทางไปท�ำบุญและประกอบพิธีกรรม ทางศาสนา ณ วัดแพงพวย ต�ำบลนางรอง อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ซึ่ ง อยู ่ ห ่ า ง ออกไปประมาณ 4 กิ โ ลเมตร ในสมั ย นั้ น การเดินทางล�ำบากมาก เพราะต้องเดินทาง ด้ ว ยเท้ า ลั ด เลาะไปตามทุ ่ ง นา ข้ า มห้ ว ย

วัดศรัทธาประชาบูรณะ

พระอธิการล�ำดวน นีลวณฺโณ (พรมภมร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

ล� ำ น�้ ำ นางรอง ไปขึ้ น ฝั ่ ง บ้ า นตากแดดและ เดิ น ท้ า วต่ อ ไปที่ วั ด แพงพวย ต้ อ งใช้ เวลา ไม่น้อยกว่า 1 - 2 ชั่วโมง ถ้าเป็นฤดูน�้ำหลาก ต้องอาศัยเรืออีโปงข้ามล�ำห้วยเพื่อไปท�ำบุญ นับว่าได้รับความยากล�ำบากมาก ประชาชน บ้านก้านเหลือง อันมี นายรอด ทิพย์อักษร เป็นผู้ใหญ่บ้าน จึงได้ประชุมปรึกษาหารือกัน เพื่อตั้งส�ำนักสงฆ์ขึ้น ณ บ้านก้านเหลือง โดย มีคุณตาลบ และคุณยายอ่อน สงกูล ราษฎร

บ้านก้านเหลืองได้มจี ติ ศรัทธาอุทศิ ทีด่ นิ จ�ำนวน 5 ไร่ เศษ เพือ่ สร้างส�ำนักสงฆ์ขนึ้ เมือ่ พ.ศ. 2502 โดยสร้างเป็นอาคารไม้ใต้ถุนสูง หลังคามุงด้วย สังกะสี ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 18 เมตร มีพระภิกษุจำ� พรรษา ทีส่ ำ� นักสงฆ์บา้ นก้านเหลือง ปีละ 4 - 6 รูป ต่อมาเมื่อ พ.ศ.2545 นายเฉลิม นวลศิริ และนางจ้อย พรมภมร (ชอบกระโทก) ได้ อุ ทิ ศ ที่ ดิ น ให้ วั ด จนวั ด มี ที่ ดิ น รวมพื้ น ที่ ทั้งสิ้น 6 ไร่ 69 ตารางวา BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

22/08/61 20:23:32


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

สพฺพรตึ ธมฺมรติ ชินาติ ความยินดีในธรรมย่อมชนะความยินดีทั้งปวง (พุทธพจน์)

วัดสามัคคีราษฎร์บ�ำรุง

พระอธิการเฉลย สุทฺธิจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สามั ค คี ร าษฎร์ บ� ำ รุ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นคอกควาย หมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลนางรอง

อ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น วั ด มี เ นื้ อ ที่ 15 ไร่ 3 งาน 64 ตารางวา อาณาเขต ทิ ศ เหนื อ จดทุ ่ ง นา ทิ ศ ใต้ จ ดป่ า ไม้ ทิ ศ ตะวั น ออกจดป่ า ไม้ ทิ ศ ตะวั น ตกจดป่ า ไม้ มี ที่ ธ รณี ส งฆ์ จ� ำ นวน 1 แปลง เนื้ อ ที่ 10 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา 140

วัดสามัคคีราษฎร์บ�ำรุง ตั้งเป็นวัดเมื่อ พ.ศ.2480 โดยหลวงพ่อตั้น อาลยญาโณ เป็น ผู ้ ริ เริ่ ม สร้ า งวั ด น� ำ ญาติ โ ยมก่ อ สร้ า งวั ด ขึ้ น ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 24 ตุ ล าคม พ.ศ.2521 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 19 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2519 ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2488 หอสวดมนต์ กว้าง 8 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2494 กุฏิสงฆ์ 1 หลั ง เป็ น อาคารไม้ ศาลาบ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล 1 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 140

22/08/61 20:27:13


ต�ำบลโคกมะขาม อ�ำเภอประโคนชัย

ต�ำบลเขาคอก

วัดป่าสวนอัมพร วัดป่าบ�ำรุงธรรม วัดเขาคอก วัดหนองตะโก วัดหนองเอียน วัดละหอกกระสัง วัดโคกเศรษฐี วัดโคกกระนัง วัดใหมถ่ าวร วัดโคกกลอย วัดหนองมะกอก วัดสีเ่ หลีย่ ม วัดโนนสวา่ ง วัดโนนศิลา วัดไพรวัลยน์ อ้ ย วัดพุทธสวรรค์

ต�ำบลโคกตูม

วัดหนองตะขบ วัดราษฎร์นิยม วัดบา้ นโคกตูม วัดบา้ นโคกรัง วัดจบกเกร็ง วัดหนองมว่ งพัฒนา

วัดโคกเกลา วัดป่าโคกเพชร

ต�ำบลโคกมา้

วัดบา้ นโคกกลาง วัดไทรโยง (ตะลุงเกา่ ) วัดบา้ นโคกเพชร วัดบา้ นเกียรติเจริญ วัดบา้ นฉันเพล วัดป่าโคกกลาง

วัดบัวทรายทอง วัดโคกปราสาท วัดโคกอาหงวน วัดเขาปลายบัด วัดปราสาทนอ้ ยบา้ นเกา่ วัดเบงกอง วัดป่าโคกเครือ วัดปราสาทเขาปลายบลัด วัดห้วยลึก

ต�ำบลตะโกตาพิ

วัดป่าโคกกระชาย วัดป่าโคกเห็ด วัดประชาสมนึก วัดบา้ นบาตร

ต�ำบลโคกยา่ ง

วัดบา้ นเก็ม วัดโคกยา่ ง วัดสหมิตรนฤมาน

ต�ำบลจรเขม้ าก

วัดจรเขม้ าก วัดปราสาทบูรพาราม วัดล�ำดวนวนาราม

วัดจ�ำปา วัดแจ้ง วัดตาดา่ น วัดโคน วัดชัยมงคล วัดโพธิ์ วัดโคกมะขาม วัดหนองไผ่ วัดโคกตะเคียน วัดหนองมว่ ง วัดป่าศรีถาวร

ต�ำบลประทัดบุ

วัดบา้ นชุมแสง วัดบา้ นชัยพัฒนา วัดบา้ นหนองปรง

ต�ำบลบา้ นไทร

ต�ำบลปั งกู

วัดเกษตรสมบูรณพ์ ฒ ั นาราม

เราไม่มีสิทธิ์ห้าม สิ่งที่คนอื่นคิด

ต�ำบลประโคนชัย

วัดบา้ นไทร วัดหนองมว่ ง วัดป่าไพบูลย์ วัดบา้ นโคกส�ำโรง วัดบา้ นโคกกี่ วัดโคกตะแบก วัดป่าชัยวราราม

วัดบูรณสมบูรณ์ วัดเขาหินกอง วัดบา้ นโจด วัดหัวตะแบก วัดบา้ นหนองกระตา่ ย

วัดป่าหนองหิน วัดปั งกู วัดบา้ นเขวา้ วัดโคกสะอาด วัดบัวโคก วัดบา้ นหัวเสือ วัดห้วยปอ วัดศรีตะครอง

วัดพาชีวนาราม วัดป่าทองนพคุณ วัดป่าแกว้ วัดโคกใหญ่

ต�ำบลไพศาล

ใจที่สงบ จะสามารถแก้ทุกปัญหาในใจได้

วัดพินทอง วัดละลมพนู วัดบา้ นกระโดน วัดหนองเก็ม วัดหนองแสง วัดบอ่ ดิน วัดป่าละลมเวง วัดป่าหนองไผ่ วัดป่าหนองพลวง วัดไพศาลพัฒนา วัดป่าบา้ นหนองแสง วัดป่าสังเคิล วัดป่าศิวโมกข์ วัดทุง่ สงา่ วราราม

ต�ำบลละเวีย้

วัดบา้ นละเวีย้ วัดโคกปราสาท วัดพุทธศรีศรัทธาราม วัดหนองนาสามัคคี วัดกันงาธรรมฤทธิ์ วัดโคกประเดียก วัดจรอกใหญ่

วัดไทรโยง วัดสาวงาม วัดป่าสัลเลขะธรรม วัดหนองคูณ

ต�ำบลแสลงโทน

วัดแสลงโทน วัดสีเ่ หลีย่ ม วัดบา้ นสารภี วัดบา้ นทุง่ สวา่ งวนาราม วัดโคกเพชรไสยา วัดป่าธรรมาวาส

ต�ำบลหนองบอน

วัดบา้ นยาง วัดหนองน้�ำขุน่ วัดห้วยเสลา วัดโคกปราสาทใต้ วัดบา้ นหนองบอน วัดบา้ นโนนเสนห่ ์ วัดบา้ นโคกเปราะ วัดบา้ นหนองเสม็ด

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 141

141

5/9/2561 13:53:09


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดจ�ำปา

พระครูสิริคณารักษ์ (มหาผล ปิยธมฺโม) เจ้าคณะอ�ำเภอประโคนชัย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด จ� ำ ปา สร้ า งขึ้ น ประมาณปี พ.ศ.2350 ณ หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลประโคนไชย

อ� ำ เภอตะลุ ง จั ง หวัด บุรีรัม ย์ เดิม คือ มณฑลนครราชสี มา ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น อ� ำ เภอประโคนชั ย บนเนื้ อ ที่ 6 ไร่ 10 ตารางวา วั ด จ� ำ ปาถื อ ว่ า เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ ม าก มี อ ายุ ป ระมาณ 211 ปี เพราะเป็ น วั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น ก่ อ นมี พ ระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ.2482 ดั ง นั้ น จึ ง ไม่ ส ามารถ ค้ น หาหลั ก ฐานต่ า งๆ ของวั ด ได้ 142

วัดจ�ำปา เป็นวัดที่มีสถานที่ตั้งอันเป็น ศู น ย์ ร วมของชุ ม ชน เป็ น ศาสนสถานที่ เอื้อประโยชน์ ต่อชุมชนเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น จึ ง ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าครั้ ง แรก เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2368 และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ.2522 ช่วงเดือนเมษายน ประชาชน ทุ ก หมู ่ เ หล่ า ได้ ร ่ ว มแรงร่ ว มใจกั น สมโภช ประกอบพิ ธี ผู ก พั ท ธสี ม าฝั ง ลู ก นิ มิ ต โดยมี พระครูวลิ าศวัชรคุณ (เชียร ญาณมุน)ี เจ้าอาวาส วัดจ�ำปาในขณะนั้นเป็นประธานฝ่ายสงฆ์

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 142

22/08/61 20:29:16


วัดจ�ำปา เป็น “วัดราษฎร์” คือเป็นวัดที่ ข้ า ราชการ พ่ อ ค้ า ประชาชนทุ ก หมู ่ เ หล่ า ในพื้นที่มีศรัทธาร่วมแรง ร่วมใจร่วมทุนด้วย พลังแห่งความสามัคคีของชุมชนสร้างวัดขึน้ มา นายเสน่ห์ สุดประโคน สันนิษฐานว่า การตั้ง ชื่อว่า “วัดจ�ำปา” นั้น ตั้งชื่อตามต้นจ�ำปา ที่ขึ้นอยู่ในเขตวัด ซึ่งต้นจ�ำปาต้นนั้น บัดนี้ ได้นำ� มาแกะสลักเป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ประดิษฐานที่วัดและเป็นพระพุทธรูปคู่บารมี ของวัดจ�ำปาตลอดมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยกาลเวลาที่ผ่านไปเป็นร้อยปี เป็น เหตุให้สภาพวัดโดยทั่วไปทรุดโทรมไปมาก ใน ปีทพี่ ระครูวลิ าศวัชรคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ได้ท�ำการบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะที่ช�ำรุด อาทิ พระอุโบสถ โดยรื้อถอนตามค�ำปรารภ ของนายเสน่ห์ สุดประโคนและอาจารย์วฒ ุ พิ งศ์ คงเสนา โดยด� ำ เนิ น งานสร้ า งพระอุ โ บสถ หลังใหม่ข้ึน ในปี พ.ศ. 2514 เป็นต้นมา จนถึง พ.ศ.2517 และได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2524

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อโส ไม่ปรากฏหลักฐานและชีวประวัติ 2. หลวงพ่อปวด ไม่ปรากฏหลักฐานและชีวประวัติ 3. พระครูบริหารโกศล(หลวงพ่อหมอก) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอประโคนชัย 4. พระครูวิลาศวัชรคุณ(หลวงพ่อเชียร ญาณมุนี) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอประโคนชัย 5. พระครูอภิรักษ์ศาสนกิจ(หลวงพ่อปลิต กิตฺติสาโร) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอประโคนชัย 6. พระครูสิริคณารักษ์(มหาผล ปิยธมฺโม) เจ้าคณะอ�ำเภอประโคนชัย รูปปัจจุบัน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 143

143

22/08/61 20:29:36


SM

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านโคกกลาง

พระครูสุขุมธรรมากร (เคือม คมฺภีโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ดบ้านโคกกลาง ตั้งอยู่ที่บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกม้า อ�ำเภอประโคนชัย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ชาวบ้ า นในต� ำ บลโคกม้ า จ� ำ นวนหมู ่ บ ้ า น 9 หมู ่ บ ้ า นส่ ว นใหญ่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธ มี คู เ มื อ งโบราณ และสระน�้ ำ โบราณ อยู ่ ที่ บ ้ า นตะลุ ง เก่ า ซึ่ ง ก็ คื อ อ� ำ เภอประโคนชั ย ในปั จ จุ บั น บริ เ วณเนิ น กลางทุ ่ ง ประโคนชั ย เป็ น ชั ย ภู มิ เ หมาะแก่ ก ารตั้ ง เมื อ ง มี ค ลองน�้ ำ ธรรมชาติ ล ้ อ มรอบเนิ น บริ เ วณนี้ วั ด บ้ า นโคกกลาง ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2437 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ พ.ศ.2525 ปั จ จุ บั น พระอธิ ก ารเคื อ ม คมฺ ภี โ ร(เตื อ ประโคน) น.ธ.โท ป.บส. ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นโคกกลาง ต� ำ บลโคกม้ า อ� ำ เภอประโคนชั ย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รเจ้ า อาวาสวั ด ราษฎร์ ชั้ น โท ที่ พระครู สุ ขุ ม ธรรมากร (จร.ชท.) 144

ประเพณีแห่เทียนพรรษาประโคนชัย ความเป็นมาของงานแห่เทียนเข้าพรรษา ของอ�ำเภอประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์ มีความเป็นมา ช้านานกว่า 75 ปี ช่วงแรกเริ่มจะเป็นการแห่ เทียนพรรษาโดยเกวียนก่อนจะแทนที่ด้วยรถ ในปัจจุบัน มีการประกวดแข่งขันกันในการ ตกแต่ ง เที ย นเข้ า พรรษาเพื่ อ เป็ น การรั ก ษา ประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของชาวบ้าน อ�ำเภอประโคนชัยไว้ ว่ากันว่างานแห่เทียน เข้าพรรษาอ�ำเภอประโคนชัยเทียบชั้น กับงาน แห่เทียนระดับประเทศ จากการจัดอันดับของ การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย ยกให้ ง าน แห่ เ ที ย นพรรษาอ� ำ เภอประโคนชั ย ยิ่ ง ใหญ่ เป็ น อั น ดั บ 3 ของประเทศ รองจากงาน แห่เทียนเข้าพรรษาทีอ่ ำ� เภอเมือง จ.อุบลราชธานี และงานแห่เทียนเข้าพรรษาที่ อ�ำเภอเมือง จ.นครราชสีมา

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 144

22/08/61 20:31:20


มีเนินดินซึง่ มีกอ้ นหินศิลาแลงกระจัดกระจาย แต่ ป ั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ศาลเจ้ า พ่ อ แสลงโทน เรียกว่า ศาลปู่เจ้าหรือกระท่อมเนียะตา เป็น ศาลเจ้า ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้าน แสลงโทนและชาวบ้านใกล้เคียง และบริเวณ เนินดินโรงพักต�ำรวจชุมชนต�ำบลแสลงโทน เช่นเดียวกัน สันนิษฐานว่าทัง้ สองแห่งน่าจะเป็น ปราสาทแสลงโทน เป็ น อนุ ส รณ์ ส ถานทาง ศาสนา และเนิ น ดิ น ศาลเจ้ า พ่ อ แสลงโทน ได้ ป ระกาศขึ้ น ทะเบี ย นโบราณสถานแล้ ว นอกจากนี้ ยั ง พบหลั ก ฐานอื่ น ที่ ส� ำ คั ญ คื อ สระน�้ำโบราณรูปสี่เหลี่ยมในเขตวัดแสลงโทน 2 สระ พบเศษภาชนะดินเผา โครงกระดูกมนุษย์ เครื่องประดับ เทวรูปเก่าและใบเสมาเก่า ซึ่ง เข้าใจว่าบริเวณนี้เคยเป็นศาสนสถานส�ำคัญ ประจ�ำชุมชนโบราณ

วัดแสลงโทน พระครูสิทธิญาณโสภณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด แสลงโทน ตั้งอยู่เลขที่ 216 หมู่ที่ 1 ต�ำบลแสลงโทน อ�ำเภอประโคนชัย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ชุ ม ชนโบราณบ้ า นแสลงโทน ในต� ำ บลแสลงโทน สั น นิ ษ ฐานว่ า มี อ ายุ ประมาณ 1,500 ปี ห รื อ ราวพุ ท ธศตวรรษที่ 15 และน่ า จะเป็ น เมื อ งร่ ว มสมั ย กั บ ปราสาท หิ น พนมรุ ้ ง ที่ ตั้ ง ขึ้ น ในราวศตวรรษที่ 15 จนเมื่ อ ปี พ.ศ.2478 เริ่ ม มี ก ารส� ำ รวจศึ ก ษาว่ า ชุ ม ชนโบราณบ้ า นแสลงโทน มี ก ารอาศั ย มาตั้ ง แต่ ส มั ย ประวั ติ ศ าสตร์ ต อนต้ น มี ก ารขุ ด คู น�้ ำ หรื อ คู เ มื อ งละลม เป็ น คู เ มื อ งเก่า ล้ อ มรอบชุ ม ชนและก� ำ แพงดิ น เพื่ อ ใช้ ป ้ อ งกั น ภั ย ศั ต รู ผู ้ รุ ก ราน และเพื่ อ กั ก เก็ บ น�้ ำ และอาหาร ใกล้ คั น ดิ น ด้ า นที่ ตั้ ง โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ต� ำ บลแสลงโทนในปั จ จุ บั น BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 145

145

22/08/61 20:33:22


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก “จรเข้มากแหล่งดินด�ำน�้ำชุ่ม ขุมทรัพย์ทางวัฒนธรรมและธัญญาหาร ปราสาทเมืองต�่ำโบราณศักดิ์สิทธิ์ ชุมชนผลิตข้าวภูเขาไฟ งามล�้ำเสื่อกกยกลายขึ้นชื่อ เลื่องลือผ้าไหมลายผักกูด”

นายไพฑูรย์ บาลโสง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก

องค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอ�ำเภอประโคนชัย 12 กิโลเมตร และห่างจาก ทีว่ า่ การอ�ำเภอประโคนชัย17 กิโลเมตร เป็นเมืองเก่าและมีโบราณสถานทาง ประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญคือ ปราสาทเมืองต�่ำ ปราสาทเขาปลายบัด กุฏิฤาษี มีแหล่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ มีความเจริญรุง่ เรือ่ งนับพันปีมาแล้ว สันนิษฐานว่าแต่เดิม มีล�ำห้วย และวังน�้ำ ที่มีความกว้างและลึก มีความอุดมสมบูรณ์ ตามชายฝั่ง มีกอ้ นหินอยูม่ าก ซึง่ ก้อนหินเหล่านัน้ จะมีรปู ร่างลักษณะคล้ายจระเข้ ชาวบ้าน จึงเรียกชื่อบ้านนี้ว่า “บ้านจระเข้มาก” ต่อมาเป็น “บ้านจรเข้มาก” ก่อตั้ง พร้อมอ�ำเภอประโคนชัย เมื่อปี พ.ศ. 2440 ต�ำบลจรเข้มาก มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะภาษาพูด มีทั้งเขมร ไทย ลาว ส่วย โดยมีราษฎรอพยพจากบ้านประโคนชัย บ้านตานี อ�ำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดในภาคอีสาน หลายครอบครัว มาตั้งถิ่นฐาน และมีลูกหลานมาถึงปัจจุบัน มีความอุดมสมบูรณ์ ถือเป็นอู่ข้าว อู่น�้ำของอ�ำเภอประโคนชัย เพราะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ได้ผลดีมาก เนื่องจาก มีดินเหนียวสีด�ำ ซึ่งเป็นดินภูเขาไฟ มีแร่ธาตุที่ข้าวต้องการ ประกอบกับมี ล�ำคลอง ซึ่งเกิดจากภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว คือห้วยปูนหรือคลองปูน คลองลึก และมีระบบชลประทานทีบ่ รรพบุรษุ สร้างไว้แต่ครัง้ สร้างปราสาทถึง 2 แห่ง คือ บารายบ้านหนองบัวราย และบารายบ้านโคกเมือง ที่เรียกว่าทะเลเมืองต�่ำ มีค�ำขวัญประจ�ำต�ำบล ว่า “จรเข้มากเมืองแห่งธัญญาหารอุดม ชื่นชม ปราสาทเมืองต�่ำ งดงามล�้ำบาราย มากมายปรางค์กู่ เชิดชูวัฒนธรรม” ต่อมากระทรวงมหาดไทย ได้ยกฐานะจากสภาต�ำบล ตามพระราชกฤษฎีกา ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 111 ตอนที่ 53 ก. ลงวันที่ 2 ธันวาคม 2537 จัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก ตาม พระราชบัญญัตสิ ภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ. 2537 เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2539 ด้วยพื้นที่ 84.01 ตารางกิโลเมตร คลุมพื้นที่ 18 หมู่บ้าน 146

6

.

ตั้งอยู่ที่ 85 หมู่ที่ 5 ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ www.chorakhemak.go.th 0-4466-6247-8

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 146

25/8/2561 16:35:27


วิสัยทัศน์

“จรเข้ ม ากเมื อ งแห่ ง ความสุ ข ” คณะผู้บริหาร ประกอบด้วย

1.นายไพฑูรย์ บาลโสง ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก 2.นายจ�ำลอง จุดโต ด�ำรงต�ำแหน่ง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก 3.นายพิเชษฐ ต่างประโคน ด�ำรงต�ำแหน่ง รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก 4.นางชณารักษ์ สลับเพชร ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก

ฝ่ายสภา ประกอบด้วย 1.นายบุญหา เพ็งเพราะ ประธานสภาองค์การ บริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก 2.นางสาวจิ ร าภรณ์ ชิ ด อนั น ต์ ว งศ์ ปลั ด องค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มาก/เลขานุการฯ

สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วและพักผ่อนหย่อนใจทีส่ ำ� คัญ 1. ปราสาทเมืองต�ำ ่ ปราสาทเขาปลายบัด และ กลุ่มปราสาทต่างๆ 2. บารายเมืองต�ำ ่ ซุม้ ต้นไม้ ห้วยลึกบ้านโคกเมือง 3. วัดป่าเขาปลายบัด, ป่าเขาปลายบัด, วัดป่าโคกอาหงวน, วัดป่าโคกเครือ 4. หมู่บ้านท่องเที่ยวบ้านโคกเมือง 5. หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีบ้านบุ

งานประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น ยุทธศาสตร์การพัฒนาต�ำบลจรเข้มาก 1. ด้านการพัฒนาเมืองน่าอยู่และคุณภาพ ชีวิตที่ดี เน้นการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน คือ การ บริหารจัดการขยะต้นทาง ตามโครงการ “จรเข้มาก เมืองสะอาด คนในชาติมสี ขุ ” การฟืน้ ฟูอนุรกั ษ์ปา่ ชุมชน ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญา ท้องถิน่ ให้ประชาชนมีสขุ ภาพกาย สุขภาพใจและ คุณภาพชีวิตที่ดีทุกกลุ่มวัย 2. ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวและกีฬา เน้นการท่องเทีย่ วชุมชนโดยชุมชน สอดคล้อง กับศิลปะ วัฒนธรรม ภูมปิ ญ ั ญาและวิถชี วี ติ ชุมชน และส่งเสริมกีฬาสู่มาตรฐานสากล

3. ด้านการพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม เน้นการส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ อาหาร ปลอดภัยสู่ครัวโลก ส่งเสริมการแปรรูปสินค้า ทางการเกษตรให้มีมาตรฐานสากล และส่งเสริม การจ�ำหน่ายสินค้าโดยใช้เทคโนโลยีในยุค 4.0 4. ด้านการพัฒนาขัดสมรรถนะองค์กร เน้นการพัฒนาคนในองค์กรให้มขี ดี สมรรถนะ สูง เน้นเรื่องคุณธรรม จริยธธรรม โดยใช้หลักการ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล เขตการปกครอง มี 18 หมู่บ้าน พื้นที่ 84.01 ตารางกิโลเมตร ประชากร 11,096 คน มีโรงเรียน 7 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 2 แห่ง ศูนย์ พัฒนาเด็ก 2 แห่ง สถานีต�ำรวจ 1 แห่ง วัดและ ส�ำนักสงฆ์ 10 แห่ง ธนาคาร 1 แห่ง

1. งานประเพณีท่องเที่ยวปราสาทเมืองต�่ำ ตามรอยอารยธรรมขอม 2. งานเทศกาลแตงโมหวานที่ชานเมืองต�่ำ 3. งานประเพณีสงกรานต์ วันครอบครัวและ วันผู้สูงอายุ 4. งานประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา 5. งานประเพณีข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย

สุขภาพและสวัสดิการชุมชน

1. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.จรเข้มาก 2. ชมรมขยับกายสบายชีวีบ้านบุ 3. ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลจรเข้มาก 4. หน่วยกู้ชีพ 1669 5. สภาองค์กรชุมชนต�ำบลจรเข้มาก 6. กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลจรเข้มาก BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 147

147

22/8/2561 19:13:51


สินค้าชุมชนที่โดดเด่น 1. เสื่อกกยกลายและแปรรูป บ้านบุ 2. เสื่อกกยกลายและแปรรูป กลุ่มคนพิการ บ้านโคกเมือง 3. ผ้าไหมบารายลายผักกูดและผ้าพื้นเมือง บ้านโคกเมือง 4. น�้ำพริกแม่เตือนใจ บ้านจรเข้มาก 5. น�้ำพริกนายฮ้อย บ้านโคกเมือง 6. แปรรูปสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ ชุมชน บ้านโคกเมือง 7. สวนเกษตรผสมผสาน บ้านโคกอาหงวน 8. ข้าวฮางภูเขาไฟ บ้านหนองบัวราย 9. ข้าวหอมมะลิภูเขาไฟ บ้านโคกเมือง 10. ตลาดชุมชนคนโคกเมือง

เรื อ นเมื อ งต�่ ำ ที่พักพนมรุ้งเมืองต�่ำ ติดปราสาทเมืองต�่ำที่สุดเสมือนไม่มีรั้วกั้น บริการห้องพัก รับจัดเลี้ยง ให้บริการสถานที่จัดเลี้ยง รับปรึกษาการจัดงานมงคลทุกชนิด เชิญทุกท่านที่ต้องการสัมผัสวิถีไทย กับเราเพียงแค่คุณมีใจ เราออกแบบการท่องเที่ยวให้คุณทันที ทั้งชุดไทย อาหาร และการถ่ายภาพ พร้อมอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อให้คุณประทับใจ เชิญสัมผัสความเป็นไทย อารยธรรมไทย โดยเฉพาะวัฒนะธรรมอีสานใต้กับเราที่ “เรือนเมืองต�่ำ” ติดปราสาทเมืองต�่ำ ซอย รพ.สต. บ้านโคกเมือง หมู่ที่ 6 ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 06-4658-8793 Mahidarha Wat che 148

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 148

22/8/2561 19:14:08


บ้ า นพั ก สะอาด อบอุ ่ น และปลอดภั ย โฮมสเตย์บา้ นบุ กลุม่ โฮมสเตย์บา้ นบุ เหมาะแก่การพักผ่อนภายใต้บรรยากาศทีแ่ สนอบอุน่ ด้วยไมตรีจติ ของคนในชุมชนบ้านบุ ซึ่งเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี มีกิจกรรมท่องเที่ยวที่เน้นวัฒนธรรม ประเพณีแบบเขมรโบราณ อาหารพื้นบ้าน การแสดงที่หลากหลายเช่น ร�ำอันเร ร�ำตร๊ด กันตรึมฯลฯ มีแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญคือเขาพนมรุง้ ปราสาทเมืองต�ำ ่ ปราสาทบ้านบุ เป็นต้น ต้อนรับด้วยความอบอุน่ เป็นกันเอง มีบริการ Free wifi และอาหารเช้า ติดต่อได้ที่คุณผกากานต์ ทาสีทอง บ้านบุ หมูที่ 17 ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 08-9425-0451,09-1337-6263

ที่ พั ก สไตล์ รี ส อร์ ท & โฮมสเตย์ ธั ญ พรโฮมสเตย์ เหมาะแก่การพักผ่อนภายใต้บรรยากาศที่ เงียบสงบ มีพนื้ ทีส่ เี ขียว พร้อมวิวธรรมชาติทอ้ งนา และภูเขา ให้ท่านได้ผ่อนคลาย สูดรับอากาศ บริสุทธิ์ให้เต็มปอด ห้องพักมี 2 รูปแบบ ไม่ว่าจะ เป็นแบบรีสอร์ทส่วนตัว มีหอ้ งพักแบบ 2 ท่านและ ห้องพักแบบ 4 ท่าน ห้องทุกทุกห้องเป็นห้องแอร์ มีน�้ำอุ่น ทีวี ตู้เย็น และพื้นที่นั่งเล่นหน้าห้อง ที่พัก อี ก ส่ ว นเป็ น แบบโฮมสเตย์ ห ้ อ งโถงนอนรวม มีห้องน�้ำในตัว พร้อมอ�ำนวยความสะดวกแก่แขก ผู้เข้าพักทุกท่าน มีศาลาอเนกประสงค์หลังใหญ่ จะนัง่ เล่นพักผ่อนหรือจัดกิจกรรมสันทนาการกลุม่ ใหญ่ และกลุ่มย่อย มีบริการ Free wifi และอาหารเช้า ธั ญ พรโฮมสเตย์ ตั้ ง อยู ่ 113 หมู ่ ที่ 18 บ้านโคกเมือง ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ GPS : 14.4939N 102.97865E 08-7431-3741, 08-5414-1163 AODCHAIIN ธัญพรโฮมสเตย์ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 149

149

22/8/2561 19:14:16


หมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วบ้านโคกเมือง โฮมเตย์บ้านโคกเมือง ได้รับมาตรฐานโฮมสเตย์ไทย ปี 2553 – ปัจจุบัน เข้าพักชมวิถีชีวิตชาวบ้าน มีกลุ่มอาชีพ หลากหลาย เช่น กลุ่มทอเสื่อกก กลุ่มทอผ้าไหม กลุ่มทอผ้าดินภูเขาไฟ ซึ่งเป็นหมู่บ้านที่ได้รับการ คัดเลือกให้เป็น 1 ใน 80 ของหมู่บ้าน OVC ( Otop Village Champion) ในปี 2549 ประเภท หมูบ่ า้ นท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม เนือ่ งจากหมูบ่ า้ น นี้เป็นที่ตั้งของปราสาทเมืองต�่ำและมีการพัฒนา ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เป็นสินค้าของฝากระดับ ประเทศ คือ ผ้าทอ หรือที่เรียกว่า ผ้าไหมลาย ผักกูด หัตถกรรมชั้นดีที่ชาวบ้านนิยมท�ำกันมา ตั้ ง แต่ โ บราณจากรุ ่ น สู ่ รุ ่ น นอกจากนี้ ยั ง มี ผลิตภัณฑ์เสื่อกก ที่มีลวดลายสวยงามไม่แพ้ใคร เช่นเดียวกัน บ้านโคกเมืองอยูต่ ดิ กับปราสาทเมือง ต�่ำแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของบุรีรัมย์ สถานที่ตั้ง : บ้านโคกเมือง ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ส�ำหรับบ้าน โคกเมือง ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประมาณ 20 กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดบุรีรัมย์ 64 กิโลเมตร ที่ตั้งหมู่บ้านแยกจากถนนสายบุรีรัมย์-บ้านกรวด เข้าไปตามถนนลาดยางสายประโคนชัย-พนมรุ้ง ก่อนจะถึงเขาพนมรุง้ จะมีทางแยกซ้ายเข้าไปอีก 5 กิโลเมตร ก็จะถึงปราสาทเมืองต�่ำ ซึ่งเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วแห่งหนึง่ ของบ้านโคกเมือง ต�ำบลจรเข้มาก อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ติดต่อสอบถาม 1. คุณส้มเกลีย้ ง สืบวัน (ประธานกลุม่ โฮมสเตย์) 08-8193-8840 2. คุณนงนุตร์ เรืองจ�ำรัส (รองประธานกลุ่ม โฮมสเตย์) 08-2152-7280 3. นายประสิทธิ์ ลอยประโคน (ประธานหมูบ่ า้ น ท่องเที่ยวบ้านโคกเมือง) 09-6796-6127

150

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 150

22/8/2561 19:14:17


น�้ ำ พริ ก ครั ว เตื อ นใจ โดยการน�ำของ นางเตือนใจ ดีมาก ปราชญ์ชาวบ้านในหมู่บ้านจรเข้มาก หมู่ที่ 11 ต.จรเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรรี มั ย์ รวมกลุม่ ชาวบ้านสร้างอาชีพเสริมเพือ่ เพิม่ รายได้แก่ครัวเรือนสัมมาชีพ ท�ำน�ำ้ พริก แปรรู ป ส� ำ เร็ จ รู ป พร้ อ มรั บ ประทาน คู่ครัว รสชาติเด็ดทุกเมนู ทุกเมนูมีเอกลักษณ์เด่นเฉพาะตัว ที่อื่น ไม่มี เหมาะเป็นของฝาก ของดีประจ�ำต�ำบลจรเข้มาก ที่ท่านไม่ควรพลาด

สวนเกษตรผสมผสานบ้านโคกอาหงวน สวนเกษตรผสมผสานบ้านโคกอาหงวน เป็น ฐานเรียนรู้ ตัง้ อยูบ่ า้ นโคกอาหงวน หมูท่ ี่ 13 ต�ำบล จรเข้ ม าก อ� ำ เภอประโคนชั ย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ด�ำเนินการโดยคุณฐาปกร บุตรงาม เกษตรกร ต้นแบบที่ได้ริเริ่มการท�ำเกษตรผสมผสานด้วย ใจรั ก ในการเกษตรอิ น ทรี ย ์ ที่ ไ ม่ พึ่ ง สารเคมี ใช้ ธ รรมชาติ บ� ำ บั ด มี ก ารเพาะปลู ก พื ช หรื อ การเลี้ ย งสั ต ว์ ต ่ า งๆ ชนิ ด อยู ่ ใ นพื้ น ที่ เ ดี ย วกั น ภายใต้การเกื้อกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่าง

มีประสิทธิภาพ มีกิจกรรม เช่น การเลี้ยงเป็ดไข่ เลีย้ งปลา การปลูกพืชเช่น ล�ำไย ทุเรียน ขนุน ฝรัง่ ข้าวโพด ถั่วลิสง ถั่วฝักยาว มันส�ำปะหลัง เป็นต้น สามารถสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ส�ำนึก รักบ้านเกิด ก่อเกิดจิตวิญญาณ ติดต่อได้ทคี่ ณ ุ ฐาปกร บุตรงาม 098-6951125 หรือ อบต.จรเข้มาก 044-666-247-8 องค์การบริหารส่วนต�ำบลจรเข้มากตระหนัก ถึงความสามัคคีและการสร้างสรรค์ชมุ ชนให้นา่ อยู่ มาโดยตลอด จึงได้จัดโครงการมากมายร่วมกับ

เมนูน�้ำพริกครัวเตือนใจ 1.ปลาร้าบองสมุนไพร 2.ปลาร้าปลาย่าง 3.น�้ำพริกตาแดงหมูย่าง 4.น�้ำพริกตาแดงหมูย่างแมงดา 5.น�้ำพริกเห็ด 6.กุ้งจ่อมผัด ทุกเมนู รับประกันความอร่อย ความสะอาด ถูกหลักอนามัย ช่องทางการติดต่อ น�้ำพริกครัวเตือนใจ เสาร์, อาทิตย์ ทีถ่ นนคนเดินเซาะกราววอคกิง้ สตรีท 0619626456 taunjai deemark kruwtuanjai ออกบูธทั่วไปตามอ�ำเภอใกล้เคียง

*ขายปลีก - ส่ง ติดต่อ 06-1962-6456

ส่วนราชการ และภาคประชาชน อาทิ โครงการ จรเข้มากเมืองสะอาด คนในชาติมีสุข ในระหว่าง วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2561 ที่ผ่านมาเพื่ออบรม ให้ความรู้ให้แก่ประชาชนในหมู่บ้านจรเข้มาก ให้ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการ ขยะ ตลอดจนสามารถน�ำความรู้ไปปรับใช้โดย ใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์อย่างคุม้ ค่า ตามเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชน ในชุ ม ชนอย่ า งยั่ ง ยื น และโครงการต่ า งๆ อี ก มายมาย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 151

151

22/8/2561 19:14:26


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล “ถิ่นหัตถกรรมจากไม้เก่า ชนสามเผ่าสามัคคี รสดีข้าวหลาม งดงามมรดกไทย” คือค�ำขวัญขององค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล

นายมงคล บุญประกอบ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นไพศาล หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลไพศาล อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทางทิศตะวันออกจากอ�ำเภอประโคนชัย ห่างจากอ�ำเภอประโคนชัย ประมาณ 16 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัด ประมาณ 60 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 36,875 ไร่ หรือประมาณ 59.01 ตาราง กิโลเมตร เป็นพื้นที่ที่ท�ำการเกษตร 21,880 ไร่

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับต�ำบลป่าชัน อ�ำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศใต้ ติดต่อกับต�ำบลละเวี้ย อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก ติดต่อกับต�ำบลทุ่งมนและต�ำบลตานี อ�ำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับต�ำบลโคกมะขาม อ�ำเภอประโคนชัย ต�ำบลจันดุม อ�ำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์

ภูมิประเทศ สภาพพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ของต�ำบลไพศาล โดยทัว่ ไปเป็นพืน้ ทีค่ อ่ นข้างราบ เรียบและเป็นลูกคลืน่ ลอนลาด ซึง่ มีความลาดเทจากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทางทิศใต้เป็นพืน้ ทีน่ าเกือบทัง้ หมด บริเวณตรงกลาง ของต�ำบลนัน้ เป็นทีร่ าบน�ำ้ ท่วมถึง เหมาะส�ำหรับท�ำการเกษตรและเลีย้ งสัตว์

สภาพภูมิอากาศ ลักษณะภูมอิ ากาศของต�ำบลไพศาล จัดอยูใ่ นลักษณะภูมอิ ากาศแบบมรสุม เขตร้อน( Tropical monsoon climate ) ซึ่งแบ่งได้ 3 ฤดู คือ ฤดูฝนจะ เริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม โดยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้พดั ผ่านทะเลและมหาสมุทร ท�ำให้มอี ากาศชุม่ ชืน้ และฝนตกชุก ส่วนฤดูหนาวจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์ โดยได้รับ อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะพัดเอาความหนาวเย็นและ ความแห้งแล้งมา ส�ำหรับฤดูร้อนจะเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึง เมษายนจะมี อากาศร้อนและอบอ้าว

152

6

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

ver.2.indd 152

19/9/2561 16:03:10


ประวัติความเป็นมา เมือ่ ประมาณ 100 ปีมาแล้ว ทีต่ งั้ ต�ำบลไพศาล นีเ้ ป็นป่ารกทึบทีม่ เี นือ้ ทีก่ ว้างใหญ่ไพศาล ไม่มผี คู้ น อาศัยอยู่เลย บางคนบอกว่าหมู่บ้านอยู่ห่างไกล กันมาก มีหมู่บ้านดั้งเดิม 3-4 หมู่บ้าน ในเขตพื้นที่ ต�ำบลไพศาล ได้แก่ บ้านกะโดน บ้านละลมพนู บ้านหนองเก็ม บ้านสังเคิล พืน้ ทีต่ ำ� บลไพศาลเป็น พืน้ ทีท่ มี่ คี วามอุดมสมบรูณม์ าก มีแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ หลายสายที่ ห ล่ อ เลี้ ย งประชาชนสมั ย ก่ อ นได้ อุปโภค บริโภคได้อย่างไม่อดอยาก มีพื้นที่ในการ เพาะปลูกท�ำการเกษตร เลีย้ งสัตว์เป็นอย่างดี เป็น พื้นที่เหมาะสมอย่างยิ่งส�ำหรับผู้คนที่อพยพมา จะได้เข้ามาตั้งรากฐานอยู่อาศัยต่อไป ต่อมามีชาวบ้านจากต่างถิ่นได้เข้ามาอาศัยท�ำ มาหากินในเขตพืน้ ทีต่ ำ� บลไพศาล เพราะเป็นพืน้ ที่ ทีม่ คี วามอุดมสมบรูณ์ ชาวบ้านทีม่ าอพยพมาก่อน ได้ส่งข่าวชักชวนให้ญาติพี่น้องได้อพยพพากันมา ตัง้ ถิน่ ฐานทีต่ ำ� บลไพศาลจ�ำนวนมาก และชาวบ้าน ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงก็ได้เข้ามาถางป่าท�ำไร่ท�ำนา ปลูกข้าวกันเป็นจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ บางพวกก็ เข้าไปเลือกหาถิ่นอุดมสมบรูณ์ตามที่ตนชอบใจ

หลายหมู่บ้าน บางบ้านก็ยังมาอยู่ใกล้ๆ กับบ้าน ไพศาลปัจจุบัน เพราะเห็นว่าบ้านไพศาลนี้คงจะ เจริญและอยู่ติดถนนที่ใช้เชื่อมต่อกับเมืองใหญ่ เช่น นครราชสีมา สุรนิ ทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นเมืองใหญ่ที่ส�ำคัญ ต�ำบลไพศาลแยกจากต�ำบลละเวี้ย เมื่อ พ.ศ. 2523 ตั้งชื่อตาม ป่าใหญ่บ้านไพศาล มีป่าไม้ที่ กว้างใหญ่ไพศาล และคล้องกับภาษาพื้นบ้าน (ภาษาเขมร) คือปรีทม (ป่าใหญ่) คนตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ น คือ นายเต้ม ภัคดี อดีตก�ำนันต�ำบลจันดุม เพราะ พื้นที่บางส่วนขึ้นกับต�ำบลจันดุม พื้นที่ส่วนใหญ่ จะเป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ และกว้างใหญ่ บุคคลทีเ่ สนอแยกเป็นต�ำบล คือ นายบุญ กระเจาะ จันทร์ ก�ำนันคนแรก และนายปล้อง บุญปก ใน สถานะเป็น สมาชิกสภาต�ำบลหมูท่ ี่ 11 ในสมัยนัน้ ขึ้นกับต�ำบลละเวี้ย โดยแยกหมู่บ้าน จากต�ำบล ละเวี้ย โดยยึดฝั่ง ซีกขวาถนน โชคชัย เดชอุดม ของถนนใหญ่เป็นต�ำบลไพศาล ต�ำบลไพศาลแยกจากต�ำบลละเวี้ยเมื่อ พ.ศ. 2523 ตั้งชื่อตาม ป่าใหญ่บ้านไพศาล มีป่าไม้ที่

กว้างใหญ่ไพศาล และคล้องกับภาษาพื้นบ้าน (ภาษาเขมร) คือปรีทม (ป่าใหญ่) คนตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ น คือ นายเต้ม ภัคดี อดีตก�ำนันต�ำบลจันดุม เพราะ พื้นที่บางส่วนขึ้นกับต�ำบลจันดุม ซึ่งเป็นป่าที่มี ความอุดมสมบูรณ์ และกว้างใหญ่ บุคคลที่เสนอ แยกเป็นต�ำบล คือ นายบุญ กระเจาะจันทร์ ก�ำนัน คนแรก และนายปล้อง บุญปก ในสถานะเป็น สมาชิกสภาต�ำบลหมูท่ ี่ 11 ในสมัยนัน้ ขึน้ กับต�ำบล ละเวี้ย และได้แยกหมู่บ้านจากต�ำบลละเวี้ย โดย ยึดฝัง่ ซีกขวาถนน โชคชัย เดชอุดม ของถนนใหญ่ เป็นต�ำบลไพศาล รวมหมูบ่ า้ นกะโดน บ้านระแหง บ้านละลมพนู ที่ขึ้นกับต�ำบลจันดุม รวมเข้าเป็น ต�ำบลไพศาล โดยมี 11 หมู่บ้าน ในขณะนั้น คือ 1. บ้านไพศาล 2.บ้านหนองมะเขือ 3.บ้าน หนองเก็ม 4. บ้านสังเคิล 5.บ้านหนองแสง 6.บ้าน ละลมเวง 7.บ้านระแหง 8.บ้านละลมพนู 9.บ้าน กระโดน 10.บ้านหนองยาง 11.บ้านบ่อดิน ปัจจุบันมี 16 หมู่บ้าน(เพิ่มมา 5 หมู่บ้าน) คือ 12.บ้านหนองจาน 13.บ้านพินทอง 14.บ้านปอย ยาง 15.บ้านไพศาลพัฒนา 16.บ้านหนองสระ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 153

153

19/9/2561 16:03:15


เขตการปกครอง เขตบริการขององค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ขนาดเนือ้ ที่ 59.01 ตาราง กิโลเมตร หรือ 36,875 ไร่ โดยประมาณ ครอบคลุมพื้นที่ 1 ต�ำบล จ�ำนวน 16 หมู่บ้าน ประชากร 11,861 คน โรงเรียนประถมศึกษา โรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น จ�ำนวน 8 แห่ง ในพื้นที่ต�ำบลไพศาลมีหน่วย สาธารณสุขจ�ำนวน 2 แห่ง ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กจ�ำนวน 5 แห่ง วัดและส�ำนักสงฆ์ จ�ำนวน 11 แห่ง

ดวงตราประจ�ำองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ต้นไทร หมายถึง ความร่มเย็นเป็นสุข ปกป้องคุ้มครองพิทักษ์ประชาชน ชาวต�ำบลไพศาลให้มีความอยู่เย็นเป็นสุข

วิสัยทัศน์(Vision)

“ ต�ำบลไพศาลเมืองน่าอยู่ ชุมชนเข้มแข็ง คนมีคุณภาพและการบริหาร จัดการที่ดีแบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี ”

คณะผู้บริหาร

1. นายมงคล บุญประกอบ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล 2. นายเสมอ ศรีพรหม รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล 3. นายส�ำราญ ศรีวเิ ศษ รองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล 4. นายบุญมี ไชยยันโต เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลไพศาล

ฝ่ายสภา 1. นายสมบัติ ทวีพจน์ ประธานสภาองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล 2. นายโอภาส ชุมนุมดวง ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล /เลขานุการฯ

นโยบายการพัฒนา องค์การบริหารส่วนต�ำบลไพศาล ได้กำ� หนดนโยบายการพัฒนาไว้ 7 ด้าน ดังนี้ 1. นโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 2. นโยบายด้านเศรษฐกิจสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ด้านระบบการศึกษาและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น 4. นโยบายด้านบริหารจัดการภาครัฐ 5. นโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 6. นโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (ไพศาลสีเขียว) 7. ด้านการท่องเที่ยว กีฬาและนันทนาการ โดยการ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วภายในต�ำบลไพศาล ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น ชลประทาน เวียลเวงให้เป็นศูนย์รวมของการพักผ่อน การออกก�ำลังกาย ค้าขาย ท่องเทีย่ ว ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวประจ�ำต�ำบล ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชนในด้านการท่องเที่ยวและกีฬา เพื่อการพัฒนาองค์กร ความรู้และการมีส่วนร่วมด้านการท่องเที่ยว กีฬาและนันทนาการในพื้นที่ 154

6

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

ver.2.indd 154

19/9/2561 16:03:19


อีกทั้งส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ที่ เกีย่ วข้องกับการกีฬา ซึง่ ไม่ได้มองเพียงผลการแข่งขัน เท่านั้น แต่ยังมีประโยชน์เชื่อมโยงอื่นๆ อีกมาก เช่น กีฬา น�ำมาซึง่ เยาวชนทีม่ คี ณ ุ ภาพด้วย เพราะ รูจ้ กั ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์หา่ งไกลยาเสพติด

ยุทธศาสตร์การพัฒนาต�ำบลไพศาล 1. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบ สาธารณูปโภค เน้นแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ 1.1 มีเส้นทางคมนาคมครอบคลุมทุกพื้นที่ 1.2 ประชาชนมีไฟฟ้า ประปาใช้ครบทุก ครัวเรือน 1.3 ประชาชนมีแหล่งน�้ำเพื่อการอุปโภค บริโภคอย่างเพียงพอ 2. ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและอาชีพ เน้นในแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ 2.1 ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น 2.2 กลุ่มอาชีพมีความเข็มแข็งและสร้าง อัตลักษณ์ท้องถิ่นตนเอง 3. ด้ า นการพั ฒ นาสั ง คมและคุ ณ ภาพชี วิ ต เน้นในแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ 3.1 ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ได้รบั การดูแลอย่าง ทั่วถึงตลอดชีวิต

3.2 ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคพื้นฐาน ทั่วไปของประชาชนในต�ำบลลดลง 4. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เน้นในแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ 4.1 สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และตระหนั ก ในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.2 ปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตหมู่บ้านและ ต�ำบล 5. ด้านการบริหารจัดการองค์กรและการมี ส่วนร่วม เน้นในแนวทางการพัฒนาดังต่อไปนี้ 5.1 บุคลากรขององค์การบริหารส่วนต�ำบล ไพศาลมีขีดความสามารถสูงในการให้บริการ 5.2 ภาคประชาชนมีส่วนร่วมสูงในการ บริ ห ารจั ด การขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บล ไพศาล

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 155

155

19/9/2561 16:03:24


สถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจที่ ส�ำคัญ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เช่น หนองเวียลเวง มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ ประชาชนทั่วไปให้ความสนใจ และยังเป็นสถาน ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ส�ำหรับผูท้ ชี่ นื่ ชอบการตกปลา ชมวิว พระอาทิตย์อสั ดง หรือ ดูนก ก็สามารถแวะ ชมธรรมชาติได้

สินค้าชุมชนที่โดนเด่น 1. ผลิตภัณฑ์งานล้อเกวียน 2. ข้าวหลาม 3. ผักปลอดสารพิษ 4. ผ้าไหมตีนแดง 5. ตะกร้าจากเส้นพลาสติก 6. เสื่อกก 7. น�้ำพริกแม่บุญเลี้ยง/ เจ๊น้อย 8. ข นมพื้ น บ้ า น เช่ น กล้ ว ยฉาบ ดอกจอก ขนมเทียน

สุขภาพและสวัสดิการชุมชน 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบล

อบต.ไพศาล 2. ชมรมขยับกายสบายชีวีบ้านหนองเก็ม 3. ชมรมผู้สูงอายุต�ำบลไพศาล 4. โรงเรียนผู้สูงอายุต�ำบลไพศาล

งานประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น 1. งานประเพณีบุญบั้งไฟ หมู่ 2,หมู่ 3 และหมู่ 13 2. งานประเพณีสงกรานต์ วันครอบครัว และวันผู้สูงอายุ 3. งานประเพณีแห่เทียนพรรษา

บ้านพักสะอาด อบอุ่นและปลอดภัย

6

โฮมสเตย์ หมูบ่ า้ นท่องเทีย่ ว บ้านหนองแสง

156

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

ver.2.indd 156

19/9/2561 16:03:31


ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น

1. กลุ่มเรือมอันเรบ้านกะโดน 2. กลุ่มกลองยาวบ้านกะโดน 3. กลุ่มกลองยาวบ้านหนองเก็ม 4. กลุ่มหัตถกรรมไม้เก่า ล้อเกวียน 5. กลุ่มทอผ้า-ทอเสื่อบ้านไพศาล 6. กลุ่มทอผ้า-ทอเสื่อบ้านหนองจาน 7. หมอต�ำแย หมอสักน�้ำมัน หมอเป่า หมอกระดูก หมอยาฝน นวดจับเส้น 8. กลุ่มพิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ต่างๆ 9. ภาษาส่วย เขมรและภาษาลาว

กลุ่มอาชีพ 1. กลุ่มทอเสื่อไพศาล 2. กลุ่มตะกร้าพลาสติก 3. กลุ่มทอพรมเช็ดเท้า 4. กลุ่มอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมือง บ้านหนองสระ 5. กลุ่มอนุรักษ์และพัฒนาไก่พื้นเมือง บ้านไพศาลพัฒนา 6. กลุ่มกลองยาวกะโดนพัฒนา 7. กลุ่มเย็บผ้าบ้านหนองมะเขือ

8. กลุ่มศิลปะพื้นฐานเรือมอันเร (เรือมอันเร หรือ ลูด้ อันเร แปลว่า “ร�ำสาก” หรือ “เต้นสาก”) เป็นการละเล่นของชาวไทยเชือ้ สายเขมร บ้านกะโดน 9. กลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อบ้านหนองยาง 10. กลุ่มเย็บปักถักทอบ้านหนองสระ 11. กลุ่มขนมไทยพื้นบ้าน 12. กลุ่มผ้าไหมบ้านระแหง 13. กลุ่มสานแหบ้านระแหง 14. กลุ่มใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมี บ้านกะโดน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 157

157

19/9/2561 16:03:37


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบอน “ต�ำบลหนองบอนเป็นเมืองน่าอยู่ คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี” วิสัยทัศน์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบอน

นายทิวา นะราเทียม นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบอน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบอน ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยเสลา หมู่ที่ 11 ต�ำบลหนองบอน อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ อยูห่ า่ งจากอ�ำเภอประโคนชัย 8 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดบุรีรัมย์ 54 กิโลเมตร หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อ 0-4466-6186 ข้อมูลทัว่ ไป องค์การบริหารส่วนต�ำบลหนองบอน มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 41,875 ไร่ หรือประมาณ 67 ตารางกิโลเมตร มีจำ� นวนประชากร 8,003 คน มีจำ� นวน 11 หมู่บ้านดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านหนองบอน หมู่ที่ 2 บ้านห้วยเสลา หมูที่ 3 บ้านยาง หมู่ที่ 4 บ้านพูนสุข หมู่ที่ 5 บ้านหนองน�้ำขุ่น หมู่ที่ 6 บ้านหนองน�้ำใส หมู่ที่ 7 บ้านโนนเสน่ห์ หมู่ที่ 8 บ้านหนองโจรง หมู่ที่ 9 บ้านหนองน�้ำใส หมู่ที่ 10 บ้านสุขส�ำราญ หมู่ที่ 11 บ้านห้วยเสลา

ผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP มีผลิตภัณฑ์จากไม้ซึ่งได้รับรางวัลในระดับ 5 ดาว ซึ่งมีการจ�ำหน่ายทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ 158

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 158

22/8/2561 18:21:05


แหล่งการเรียนรู้ที่ส�ำคัญ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านห้วย เสลา หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลหนองบอน อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ ซึง่ เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละศึกษาดูงาน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

.indd 159

159

22/8/2561 18:21:07


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทร ตั้งอยู่ที่ 290 หมู่ที่ 4 ถนนบุรีรัมย์ - ประโคนชัย ต�ำบลบ้านไทร อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ อยู่ห่างจากอ�ำเภอประโคนชัย ประมาณ 8 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอประโคนชัย 14 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 83 ตารางกิโลเมตร

นายประเชิด สุขกูล

นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทร

ภูมิประเทศ องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านไทรมีพื้นที่ทั่วไปเหมาะแก่การ ท�ำเกษตรกรรม ไม่มแี ม่นำ้� ทีส่ ำ� คัญไหลผ่าน มีลำ� คลองสายเล็กๆ มีนำ�้ เฉพาะใน ฤดูฝน ในฤดูแล้งน�้ำจะแห้งมาก ราษฎรในพื้นที่ประสบปัญหาการขาดแคลน น�้ำเป็นอย่างมาก ดังนั้น ด้วยความมุ่งมั่นขององค์การบริหารส่วนต�ำบล บ้านไทร ภาครัฐบาล ภาคธุรกิจ และภาคประชนในพื้นที่จึงร่วมมือกันสร้าง ให้ชุมชนมีศักยภาพในการพึ่งตนเองโดยการสร้างภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็น รายได้เสริม และมีสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรม ดังนี้

ภูมิปัญญาท้องถิ่น กลุ่มท�ำเห็ดครบวงจรบ้านไพบูลย์ : ตั้งอยู่ หมู่ที่ 9 ต�ำบลบ้านไทร อ�ำเภอ ประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ มีวิสัยทัศน์คือ “ท�ำงานมุ่งมั่น พัฒนา เข้มแข็ง พึง่ พาตนเองได้” โดยชาวบ้านถิน่ นีย้ งั ยึดมัน่ ถือปฏิบตั ติ ามประเพณีโบราณฮีต สิบสอง คลองสิบสี่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาตามหลักธรรมนูญหมูบ่ า้ นสันติสขุ 9 ดี เห็ดหลินจือแดงถิ่นภูเขาไฟ ภายใต้โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมีเพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน : ในปี พ.ศ. 2560 ได้เริม่ โครงการกลุม่ ท�ำเห็ดครบวงจรมีการเพาะเห็ดหลายชนิด อาทิ เห็ดนางฟ้า ภูฏาน ,เห็ดนางรมฮังการี, เห็ดยานางิ(เห็ดโคนญี่ปุ่น), เห็ดหลินจือแดง (G2) ซึง่ มีนายศรีสมพร สุดาบุตร ก�ำนันต�ำบลบ้านไทร เป็นประธานกลุม่ สามารถ หาซือ้ ผลิตภัณฑ์ได้ที่ 086-262-1813 โดยจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นแหล่งผลิตเห็ด หลินจือแดงที่มีคุณภาพดีแห่งหนึ่งของประเทศไทย โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งเป็น ภูเขาไฟโบราณทีเ่ กิดการเย็นตัวของลาวา มีแร่ธาตุทสี่ ำ� คัญทีพ่ ชื ต้องการ ท�ำให้ เห็ ด หลิ น จื อ แดงมี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษที่ ดี ก ว่ า แหล่ ง อื่ น ซึ่ ง เห็ ด หลิ น จื อ แดง ถิ่นภูเขาไฟ มีการผลิตตามขบวนการผลิตที่ปลอดภัยและได้มาตรฐานคัดสรร ค� ำ นึ ง ถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภคทุ ก ขั้ น ตอน จึ ง เป็ น ที่ ม าของเห็ ด หลิ น จื อ แดงคุ ณ ภาพดี “เห็ดหลินจือแดงถิ่นภูเขาไฟ” 160

2

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 160

22/8/2561 18:17:29


ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนกราบนมั ส การ พระพุ ท ธประโคนชั ย มหามิ่ ง มงคล : เป็ น พระพุทธรูปศิลาทรายนาคปรก ซึ่งด�ำเนินงานจัด สร้างองค์พระในครัง้ นีเ้ ริม่ ด�ำเนินการตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2553 ภายใต้โครงการจัดสร้างสวนพุทธอุทยาน เฉลิมพระเกียรติ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลบ้านไทร อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรรี มั ย์ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 80 ไร่ สร้างเป็นพุทธบูชาเฉลิมฉลองเนื่องใน วโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญ พระชนม์มายุครบ 84 พรรษา พ.ศ.2554 ปฏิบัติธรรมที่วัดบ้านไทร : เริ่มก่อตั้งเมื่อ ประมาณปี พ.ศ. 2411 เป็นวัดเก่าแก่อีกวัดหนึ่ง

ของเมื อ งตะลุ ง ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “ประโคนชั ย ” และได้ รั บ พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า ผู ก พั ท ธสี ม า เมื่ อ ปี พ.ศ.2450 วัดบ้านไทรถือว่าเป็น วัดแห่งแรกในเขตต�ำบล บ้านไทร ที่รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ต่อมา อุโบสถซึ่งพระสุข สุทฺธสีโล เจ้าอาวาสรูปที่ 6 ได้บูรณะสร้างขึ้นเป็นอุโบสถไม้ทั้งหลังฉลุลาย ประดับอย่างประณีต เกิดการช�ำรุดทรุดโทรม อย่างมากหลังจากผ่านเวลามานาน พระครูอาทร สารกิจ (เส กมโล) เจ้าอาวาสรูปที่ 14 จึงน�ำ พระสงฆ์ แ ละพุ ท ธศาสนิ ก ชนร่ ว มใจกั น บู ร ณะ ปรับปรุงอุโบสถหลังนั้น

ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2557 พระครูนโิ ครธสุทธิคณ ุ (สุเทพ วิสุทฺโธ) เจ้าอาวาสรูปที่ 15 ร่วมกับคณะ กรรมการวัด อุบาสก-อุบาสิกาพุทธศาสนิกชนชาวบ้าน ได้ร่วมกันสร้างอุโบสถหลังใหม่เพื่อให้พระสงฆ์ ใช้ในการประกอบสังฆกรรม โดยมีคุณพลกฤษณ์คุณวลัยพันธ์ ลีนตุ พงษ์ และคุณบรรชา อ่อนกลัน่ ดี พร้อมคณะจากกรุงเทพมหานครเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ทนุ ทรัพย์ในการด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่ จนแล้วเสร็จ สิน้ งบประมาณในการก่อสร้างทัง้ สิน้ ประมาณ 13,900,000 บาท ปัจจุบันสามารถ รองรับพุทธศาสนิกชนเดินทางมาท�ำบุญ และ ปฏิบัติธรรมได้ทุกวัน เพื่อความสุขสวัสดีแก่ชีวิต

กลุม่ ทอผ้า : การทอผ้านับเป็นงานฝีมอื อย่างหนึง่ ทีท่ ำ� สืบต่อกันมาตัง้ แต่โบราณ นับว่าเป็นศิลปะอย่าง หนึ่งของชาวหมู่บ้านหนองม่วง หมู่ท่ี 12 มีความผูกพันกับการปลูกหม่อน-เลี้ยงไหม การสาวไหมและ การทอผ้าไหม มาตัง้ แต่วยั เด็ก จึงได้รว่ มกันจัดตัง้ กลุม่ ทอผ้าบ้านหนองม่วง หมูท่ ี่ 12 ขึน้ สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างคนในชุมชนและเพือ่ สืบทอดภูมปิ ญ ั ญาของบรรพบุรษุ ไม่ให้สญ ู หาย โดยมีเอกลักษณ์และ จุดเด่น ของผลิตภัณฑ์ คือ เส้นไหมที่ใช้ในการทอเป็นเส้นไหมที่ได้จากการปลูกหม่อน เลี้ยงไหมเอง ผลิตภัณฑ์ มีความประณีต ละเอียด เนื้อแน่น ยิ่งซักผ้ายิ่งนุ่ม สวมใส่สบาย กลุ่มทอผ้าบ้านหนองม่วง ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 ตั้งอยู่ เลขที่ 73 บ้านหนองม่วง หมู่ที่ 12 ต�ำบลบ้านไทร อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งมี นางทองพูน เจือจันทร์ เป็นประธานกลุม่ โทรศัพท์ 080-7384113 สามารถซือ้ หาผลิตภัณฑ์ได้ที่ 1. ทีว่ า่ การกลุ่ม 2. งาน OTOP ที่ส่วนราชการจัดจ�ำหน่าย

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 161

161

22/8/2561 18:17:42


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองตะขบ

พระอธิการสุน ปโยโค (สัตรัมย์) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หนองตะขบ เป็นวัดราษฎร์ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ต�ำบลโคกตูม อ�ำเภอประโคนชัย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย จากการที่ นายสมบู ร ณ์ สิ ท ธิ สั ง ข์ ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด ณ บ้ า นหนองตะขบ หมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลโคกตู ม อ� ำ เภอประโคนชั ย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ นั้ น บั ด นี้ ผู ้ รั บ อนุ ญ าตได้ ส ร้ า งเสนาสนะขึ้ น สมควรเป็ น ที่ พ� ำ นั ก ของ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ ไ ด้ แ ล้ ว อาศั ย ความตามข้ อ 4 แห่ ง กฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 1 (พ.ศ.2507) ออกตามความ ในพระราชบั ญ ญั ติ ค ระสงฆ์ พ.ศ.2505 และด้ ว ยความเห็ น ชอบของ มหาเถรสมาคม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารจึ ง ประกาศตั้ ง เป็ น วั ด ขึ้ น ในพระพุ ท ธศาสนา มี น ามว่ า “วั ด หนองตะขบ” ณ วั น ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2544 และรั บ วิ สุ ง คามสี ม า วั น ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2545 162

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระครู ป ริ ยั ติ กิ จ วิ บู ล พระมหาก� ำ จร กตกิจโจ (ปธ.4) 2.พระอธิการสุน ปโยโค (นักธรรมชั้นโท) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

ปุพพาจริยาติ วุจฺจเร

มารดาบิดาท่านว่า เป็นบูรพาจารย์ (ของบุตร)

โย จ ปุตฺตา นมสฺสโว

บรรดาบุตรทั้งหลาย บุตรผู้เชื่อฟังเป็นผู้ประเสริฐ

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 162

22/08/61 21:18:08


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอบ้านด่าน

ต�ำบลโนนขวาง

วัดดงกระทิง วัดสระแกว้ ศิริวนาราม วัดสวา่ งอารมณ์ วัดดงเย็น วัดโนนขวาง วัดบา้ นปอแดง วัดป่าหนองภูเวียง วัดบา้ นหนองสระ วัดหนองปลาดุก วัดป่าช้าส�ำโรง

ต�ำบลโนนขวาง

วัดดงกระทิง วัดสระแกว้ ศิริวนาราม วัดสวา่ งอารมณ์ วัดดงเย็น วัดโนนขวาง วัดบา้ นปอแดง วัดป่าหนองภูเวียง วัดบา้ นหนองสระ วัดหนองปลาดุก วัดป่าช้าส�ำโรง

วัดบา้ นโยนช้า วัดสวา่ งนาฝาย วัดบา้ นโคกขาม วัดกระดึงทอง วัดระหาน(เกาะแกว้ ธุดงค สถาน) วัดป่าพุทธวิหารหนองบึง

ต�ำบลปราสาท

วัดบา้ นปราสาท วัดบา้ นกะชาย วัดดอนไมง้ าม วัดทองธรรมชาติ วัดบา้ นขาม วัดบา้ นตลาด วัดกะโตวา วัดบา้ นกะชายนอ้ ย วัดป่าโกศล

ต�ำบลวังเหนือ

วัดบา้ นกะหาด วัดบา้ นปลัดปุ๊ก วัดโนนสวรรค์ วัดบา้ นโนนสวา่ ง วัดบา้ นสองห้อง

ต�ำบลบา้ นดา่ น

วัดบา้ นโคกวัด วัดบา้ นดา่ น วัดบา้ นตะโคง วัดหัวถนน วัดอริยวงศาราม

“จงพากันมีสติคอยระวังตัว”

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 163

163

5/9/2561 14:04:55


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านปราสาท พระครูสารธรรมประสาธน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้านปราสาท เป็นวัดเก่าแก่วัด ตั้งอยู่ในต�ำบลปราสาท อ�ำเภอบ้านด่าน

จังหวัดบุรีรัมย์ หนึ่งในวัดต�ำบลปราสาท ที่มีประวัติความเป็นมาช้านาน ปัจจุบันขึ้นอยู่กับ อ� ำ เภอบ้ า นด่ า น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ตั้ ง วั ด และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ประกอบพิ ธี ผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2482 มีเนื้อที่กว้าง 13 ไร่ ได้รับหนังสือรับรองสภาพวัด จากส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ณ วั น ที่ 9 สิ ง หาคม พ.ศ.2554 โดย นางเสมอสุ ข กลิ่ น วงค์ นั ก วิ ช าการศาสนาช� ำ นาญการพิ เ ศษ รั ก ษาราชการแทน ผู ้ อ�ำ นวยการส�ำนักงาน พระพุท ธศาสนาจังหวัดบุ รีรั ม ย์ 164

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 164

05/09/61 11:01:49


วั ด บ้ า นปราสาทตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ประมาณ พ.ศ.2430 อาศั ย แรงศรั ท ธาจากชาวบ้ า น ตั้งวัดขึ้นโดยผู้น�ำครั้งแรก อาศัยก�ำลังชาวบ้าน ถากฐานสถานทีไ่ ด้แล้ว ก็ได้ยกวัดเล็กๆ ขึน้ ก่อน พอเป็นที่อาศัยของพระเณร เมื่อครั้งนั้น ส่วน ที่ดินนั้นได้จัดไว้เป็นที่สร้างวัดขึ้นโดยเฉพาะ เพราะไม่ได้เป็นของผู้ใดใครผู้หนึ่งอุทิศหรือ ถวายเพราะสถานที่ตั้งขึ้นเห็นเหมาะสมและ มีปูชนียสถาน ที่ซึ่งเรียกกันว่าปราสาทเกรย์ วัดจึงได้มีนามว่า วัดบ้านปราสาทเกรย์ ตั้งแต่ นั้ น มาจนถึ ง เท่ า ทุ ก วั น นี้ ส่ ว นมากทุ ก วั น นี้ ชาวบ้านจะเรียกว่าวัดบ้านปราสาทโดยตัด ค�ำว่าเกรย์ออก วัดบ้านปราสาทนั้น มีรูปพรรณสัณฐาน เป็นรูปสี่เหลี่ยมโดยกว้างยาว 6 เมตร และ ท�ำเป็นบันไดเป็น 7 ชั้น และแต่ละชั้น มีความ กว้างพอสมควร ส่วนชั้นที่ 7 เป็นลานกว้าง ตรงกลางมีรูปลักษณะเป็นเตียงนอนหรือแคร่ (ภาษาเขมรเรียกว่า เกรย์ หรือที่ประทับของ พระยาสมัยใดสมัยหนึ่งที่เดินทางผ่านมา แต่ ต่างคือลักษณะได้ท�ำด้วยอิฐหินศิลาแลง) พระอาจารย์ผู้สร้างวัดครั้งแรกมีนามว่า อาจารย์เมา อยู่ประมาณ 9 พรรษา แล้ว ท่านก็ย้ายไป ล�ำดับต่อมา หลวงพ่อแก้ว ท่าน ได้ด�ำเนินงานในการก่อสร้างถาวรวัตถุและ พั ฒ นาวั ด เพื่ อ รองรั บ การปฏิ บั ติ ธ รรมของ

พระเณร และฆราวาส อาทิ กุฏิ ศาลาการเปรียญ โรงอุโบสถ ท่านเป็นผู้น�ำก็เป็นที่เคารพบูชา ของชาวบ้านและเคร่งครัดในพระธรรมวินัยมากด้วย ย่อมเป็นที่เลื่อมใสของญาติโยมภายใน ต� ำ บลปราสาทพร้ อ มทั้ ง พระภิ ก ษุ ส ามเณรก็ มี ม ากขึ้ น ฉะนั้ น จึ ง ได้ ส ร้ า งและน� ำ ความเจริ ญ ให้กับวัดและหมู่บ้านมากขึ้น นับได้ว่ามีชื่อเสียงมาจนตราบเท่าทุกวันนี้ ปูชนียวัตถุและเสนาสนะที่ส�ำคัญ กุฏิ ศาลาการเปรียญ และอุโบสถ สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2468 - พ.ศ.2472 รวม 5 ปี จึงส�ำเร็จ วัดมีการบูรณะซ่อมแซม 2 ครั้ง ครั้งแรกได้บูรณะใหม่เมื่อ พ.ศ.2515 โดยการน�ำการบูรณะจาก พระอาจารย์สมหวัง เตชวโร ต่อมาช�ำรุดอีกและได้มีการบูรณะซ่อมแซมอีกเป็นครั้งที่ 2 ต่อมา ช�ำรุดอีก ต่อมามีการบูรณะอีก โดยเปลี่ยนสภาพใหม่จากไม้เป็นคอนกรีตทั้งหมด เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2527 โดยการน�ำบูรณะใหม่จากพระอาจารย์แช่ม กตสาโร หรือ ปัจจุบันเป็น พระครูสารธรรมประสาธน์ ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ส่วนศาลาการเปรียญ เสาไม้ใหญ่นั้น ในช่วงที่พระครูสารธรรมประสาธน์ มาบวชตอนเป็นเณร เริ่มช�ำรุดแล้วใช้งานไม่ได้แล้วช�ำรุดมากปล่อยทิ้งไว้เกือบ 20 ปี ไม่ได้ใช้งาน ปัจจุบันนี้ก็ได้มี การเปลี่ ย นแปลง บู ร ณะซ่ อ มแซมใหม่ แ ละยั ง คงสภาพเดิ ม และสามารถที่ จ ะใช้ เ ป็ น สถานที่ บ�ำเพ็ญกุศลได้ปกติ น�ำโดยพระครูสารธรรมประสาธน์ อุปถัมภ์โดย นายอรุณ เหลืองชัยศรี ดร.อนุวรรษ วัฒนพงศ์ศริ ิ และพ่อค้าประชาชนชาวต�ำบลปราสาท และในตลาดอ�ำเภอเมืองบุรรี มั ย์ สิ้นงบประมาณ 1,400,000 บาท ส�ำเร็จในปี พ.ศ.2539 กุ ฏิ จ� ำ นวน 2 หลั ง สร้ า งเสร็ จ เมื่ อ พ.ศ.2500 และห้ อ งสมุ ด ประจ� ำ วั ด พร้ อ มได้ จั ด ท� ำ ห้องส่งวิทยุความถี่ 103 MHz คลื่นวิทยุบริการสาธารณะเพื่อพระพุทธศาสนา ก�ำลังส่ง 800w และห้องบริการอินเทอร์เน็ตพร้อมเป็นส�ำนักงานเจ้าคณะต�ำบลปราสาท BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 165

165

05/09/61 11:02:14


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโคกวัด (วัดบ้านโคกวัด)

พระอธิการวินัย จารุวณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โคกวัด(วัดบ้านโคกวัด) เป็นวัดราษฎร์ สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่

4 ต.บ้ า นด่ า น อ.บ้ า นด่ า น จ.บุ รี รั ม ย์ เดิ ม มี เ นื้ อ ที่ จ� ำ นวน 11 ไร่ 1 งาน 70 ตารางวา (โฉนดเลขที่ 5398) ต่ อ มา มี ผู้ บ ริ จ าคเพิ่ ม เติ ม อี ก รวมเป็ น เนื้ อ ที่ จ� ำ นวน 12 ไร่ ปรากฏ หลั ก ฐานในทะเบี ย นส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ร ะบุ ไ ว้ ว ่ า สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2464 ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาสามารถร่วมท�ำบุญกับวัด ได้ที่เจ้าอาวาส หรือบริจาคผ่านบัญชี “วัดโคกวัด” สาขาบุรีรัมย์ เลขที่บัญชี 308-0-70836-9 โทร. 09-0614-6993 166

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 166

05/09/61 11:02:49


ประวัติความเป็นมา เมื่ อ ราวปี พ.ศ.2421 มี ก ลุ ่ ม คนอพยพมาจากบ้ า นจอม ต� ำ บลสองชั้ น อ� ำ เภอกระสั ง จังหวัดบุรีรัมย์ และชาวบ้านสนวน บ้านโคกกรวด ต�ำบลห้วยราช อ�ำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ ได้พากันมาจับจองพื้นที่ท�ำมาหากิน เพราะเห็นว่าพื้นที่บริเวณนี้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะ แก่การตั้งบ้านเรือนเพาะปลูกท�ำเกษตรกรรม ด้วยอยู่ใกล้แหล่งน�้ำ “ล�ำตะโคง” ที่ไหลผ่านมีน�้ำ ตลอดทั้งปี มีปลาชุกชุมหลากหลายพันธุ์ ต่อมาเมื่อลงหลักปักฐานสร้างบ้านเรือนอยู่อาศัย อย่างมั่นคงแล้ว จึงได้ปรึกษาหารือกันในการสร้างวัดเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและท�ำบุญในเทศกาล ต่างๆ ชาวบ้านเห็นพ้องกันเลือกสถานที่ๆ เป็นเนินดินสูง(โคก) มีความเหมาะสมในการสร้างวัด ตั้งชื่อว่า “วัดโคกวัด” (ภาษาถิ่นเรียกว่า “เวือดกูกเวือด”) ตามลักษณะพื้นที่ และเรียกชื่อหมู่บ้าน ว่า “บ้านโคกวัด” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อจันทร์ 2. หลวงพ่อแก้ว 3. หลวงปู่มิ่ง สาลานุโลโม (มรณภาพ พ.ศ.2515) 4. พระสมหวัง เตชวโร 5. พระสมพงษ์ วฒฺฑโน 6. พระครูสิทธิสิกขการ (ปล้อง เตชธมฺโม) อดีตเจ้าอาวาส และ อดีตเจ้าคณะต�ำบลบ้านด่าน มรณภาพเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2560 บรรจุสรีระสังขารรอพิธีพระราชทานเพลิงศพ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส พ.ศ.2519 - 2560 และ 7. พระอธิ ก ารวิ นั ย จารุ ว ณฺ โ ณ (น.ธ.เอก,ร.บ.,พธ.บ.) เจ้ า อาวาส และ รั ก ษาการ เจ้าคณะต�ำบลบ้านด่าน ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2561 กิจกรรมประจ�ำปี สวดมนต์ ข ้ า มปี - เทศน์ ม หาชาติ - วั น เด็ ก แห่ ง ชาติ - เวี ย นเที ย นในวั น ส� ำ คั ญ ทาง พระพุทธศาสนา, ประเพณีลอยกระทง - ประเพณีสงกรานต์ - บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนฯ วัดโคกวัด เป็น สนามสอบธรรมสนามหลวง(แผนกธรรม) คณะสงฆ์อ�ำเภอบ้านด่าน(มหานิกาย) โครงการที่เตรียมด�ำเนินการก่อสร้าง อาทิ ศาลาโดมอเนกประสงค์ เพื่ อ รองรั บ การจั ด กิ จ กรรมต่ า งๆ ของวั ด พระธาตุ บ รรจุ พระบรมสารีริกธาตุ และ บรรจุอัฐิ รูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 167

167

05/09/61 11:03:07


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านตะโคง พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้านตะโคง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เริ่มสร้างวัดเมื่อประมาณ พ.ศ.2466

โดยนายน้ อ ย สุ ข ผดุ ง ซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น ผู ้ ใหญ่ บ ้ า นในสมั ย นั้ น มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม และศรั ท ธาอยากสร้ า งถาวรวั ต ถุ ไ ว้ ใ นพระพุ ท ธศาสนา เพื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ มี ส ถานที่ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล จึ ง ตั ด สิ น ใจซื้ อ ที่ ดิ น ของนายปรึ ม (ไม่ ท ราบนามสกุ ล ) เอาไว้ แ ปลงหนึ่ ง ซึ่ ง มี เ นื้ อ ที่ 9 ไร่ 1 งาน 86 ตารางวา แล้ ว ได้ ชั ก ชวนชาวบ้ า นสร้ า งวั ด ขึ้ น โดยมี หลวงพ่ อ พระอุ ป ั ช ฌาย์ ค ง (ไม่ ท ราบฉายา) จากบ้ า นพระครู ใ หญ่ ต� ำ บลพระครู อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ซึ่ ง ในขณะนั้ น ท่ า นด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้ า อาวาส อยู ่ ที่ วั ด บ้ า นใหม่ ส ามแวง เป็ น ผู ้ น� ำ ในการก่ อ สร้ า งฝ่ า ยบรรพชิ ต เมื่ อ ก่ อ สร้ า งเสร็ จ นายน้ อ ย สุ ข ผดุ ง ได้ น� ำ ชาวบ้ า นไปนิ ม นต์ พ ระจากวั ด บ้ า นใหม่ ส ามแวง อ� ำ เภอห้ ว ยราช เพื่ อ มาอยู ่ จ� ำ พรรษาที่ วั ด บ้ า นตะโคง 168

หลวงพ่ อ พระอุ ป ั ช ฌาย์ ค ง ได้ ม อบให้ พระมุ จะรีบรัมย์ มาพ�ำนักอยู่ท�ำหน้าที่เป็น เจ้ า อาวาสวั ด บ้ า นตะโคงเป็ น รู ป แรก เมื่ อ หลวงพ่อมุ ได้มาอยู่จ�ำพรรษาที่วัดบ้านตะโคง ก็ได้บูรณะวัดอย่างต่อเนื่อง และได้เริ่มสร้าง อุโบสถเพื่อใช้เป็นสถานที่ประกอบสังฆกรรม ขึ้นในปี พ.ศ.2472 โดยมีช่างพึล (ไม่ทราบ นามสกุล) เป็นช่างที่ท�ำหน้าที่ก่อสร้างเสร็จ สมบูรณ์ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2477 ในปีต่อมา หลวงพ่อมุก็ถึง แก่ ม รณภาพลง จากนั้ น ก็ มี ท ่ า นเจ้ า อาวาส ด�ำรงต�ำแหน่งต่อมา จนถึงปัจจุบันมี พระครู ศรีปริยัตยานุศาสน์ (น.ธ.เอก, ป.ธ.6, พธ.บ., รป.ม.) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดบ้านตะโคง และ เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 168

05/09/61 11:03:57


ประวัติพระเจดีย์สันติคุณานุสรณ์ พระเจดียส์ นั ติคณ ุ านุสรณ์ มีความหมายว่า พระเจดีย์อันเป็นที่ประดิษฐานพระบรมธาตุ ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระเกศาธาตุ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และรูปเหมือนอัฐิธาตุ “พระครู สั น ติ ส าธุ คุ ณ ” (สมุ ท ร อุ ป สโม) เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งร� ำ ลึ ก ถึ ง พระปั ญ ญาธิ คุ ณ พระบริ สุ ท ธิ คุ ณ และพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบรมศาสดา ที่มีต่อเวไนยสัตว์ และ พระมหาเมตตากรุ ณ าธิ คุ ณ ของในหลวง รัชกาลที่ 9 ที่มีต่อพสกนิกรชาวไทยมาอย่าง ยาวนาน และน้อมร�ำลึกถึงบุพการีคุณ ของ หลวงพ่อพระครูสันติสาธุคุณ ซึ่งเป็นสิริมงคล ที่ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ ( สนิ ท ชวนปญฺโญ) ได้เมตตาประทานชือ่ พระเจดียไ์ ว้ เมื่ อ วั น ที่ 15 เมษายน พ.ศ.2559 และได้ ประทานพระบรมธาตุ พระเกศาธาตุ เพื่ อ บรรจุไว้ในพระเจดีย์สันติคุณ โดยได้รับความ เมตตาจาก พระเดชพระคุณพระธรรมโพธิวงศ์ เจ้าอาวาสวัดไทยพุทธคยา หัวหน้าพระธรรม ทูตสายอินเดีย - เนปาล ท่านได้เมตตามอบไว้ ที่บ้านคุณโยมทองดี หรรษคุณารมณ์และมี ดร.โฆษิต เป็นผู้ด�ำเนินงานช่วยให้การอัญเชิญ

พระบรมสารีริกธาตุ มาอย่างเรียบร้อยสมบูรณ์ โดยมีท่านเจ้าคุณพระโสภณรัตนาภรณ์ เจ้าอาวาส วัดแก้วฟ้า จ.นนทบุรี เป็นตัวแทนคณะสงฆ์รับพระบรมสารีริกธาตุ มาพักที่วัดแก้วฟ้าแล้วน�ำไป ที่วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพมหานคร ได้ก�ำหนดให้ท่านเจ้าอาวาส คณะอุบาสกอุบาสิกา วัดบ้านตะโคง เข้ารับกับเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2561 อนึ่งเส้นพระเกศาของในหลวงรัชกาลที่ 9 ช่างประจ�ำพระองค์ ได้เกิดศรัทธาต่อพระโสภณ รัตนาภรณ์ จึงกราบบังคมทูลขอเส้นพระเกศาจากในหลวง พระองค์ทรงอนุญาตจึงได้น�ำมาถวาย เจ้าคุณฯ คณะศิษย์ได้อญั เชิญพระบรมธาตุ พระเกศาธาตุ และรูปเหมือนอัฐธิ าตุ “พระครูสนั ติสาธุคณ ุ ” ไว้ในพระสถูป ตามเจตจ�ำนงของเหล่าศิษยานุศิษย์ เพื่อเป็นเครื่องระลึกถึงคุณงามความดีของ พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ซึ่งเคยสร้างคุณูปการให้กับวัดและพระศาสนามาอย่างต่อเนื่อง อีก ทั้งยังเคยด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านตะโคง และเจ้าคณะต�ำบลบ้านด่าน ต�ำบลบ้านด่าน อ�ำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์ ลักษณะขององค์พระเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ที่สร้างขึ้นตามแบบ สถาปั ต ยกรรมผสมผสานอี ส านเหนื อ กั บ อี ส านใต้ โดยในส่ ว นยอดเป็ น ลั ก ษณะลวดลาย พระธาตุพนม บริเวณด้านล่างลงมาเป็นศิลปะแบบขอมโบราณทั้งหมด

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการมุ จะรีบรัมย์ 2. พระเม้า(ไม่ทราบฉายา) 3. พระบู่(ไม่ทราบฉายา) 4. พระอธิการคุม(ไม่ทราบฉายา) 5. พระอธิการแก้ว สังข์ทอง 6. พระอ่อน(ไม่ทราบฉายา) 7. พระอธิการบุญ ธาตุกาโม 8. พระอธิการชาติชาย สุธมฺโม 9. พระแดง(ไม่ทราบฉายา) 10. พระมหาไพฑูรย์ ปคุโณ ป.ธ 5 11. พระอธิการสงวน สิริสมฺปนฺโน 12. พระปั่น(ไม่ทราบฉายา) 13. พระย่อย(ไม่ทราบฉายา) 14. พระสงค์(ไม่ทราบฉายา) 15. พระอธิการเคลม(ไม่ทราบฉายา) 16. พระครูสันติสาธุคุณ(สมุทร อุปสโม) 17. พระครูศรีปริยัตยานุศาสน์(เรือง ปญฺญาปสุโต)

พ.ศ.2466 - พ.ศ.2478 พ.ศ.2479 - พ.ศ.2480(รักษาการ) พ.ศ.2480 - พ.ศ.2481(รักษาการ) พ.ศ.2482 - พ.ศ.2484 พ.ศ.2485 - พ.ศ.2490 พ.ศ.2491 - พ.ศ.2492(รักษาการ) พ.ศ.2493 - พ.ศ.2495 พ.ศ.2496 - พ.ศ.2499 พ.ศ.2499 - พ.ศ.2501(รักษาการ) พ.ศ.2501 - พ.ศ.2502(รักษาการ) พ.ศ.2502 - พ.ศ.2504 พ.ศ.2505 - พ.ศ.2506(รักษาการ) พ.ศ.2506 - พ.ศ.2507(รักษาการ) พ.ศ.2508 - 2509(รักษาการ) พ.ศ.2510 - พ.ศ.2514 พ.ศ.2515 - พ.ศ.2544 พ.ศ.2547 - ปัจจุบัน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 169

169

05/09/61 11:04:16


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 26

วัดบ้านด่าน พระครูศรีปัญญาวิกรม, ผศ.ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดบ้านด่าน ตั้งอยู่ที่เลขที่ 27 หมู่ 3 ต�ำบลบ้านด่าน อ�ำเภอบ้านด่าน จังหวัดบุรีรัมย์

ตามทะเบี ย นประวั ติ ข องกรมการศาสนาระบุ ว ่ า สร้ า งขึ้ น ในปี พ.ศ.2483 โดยมี ก ารริ เ ริ่ ม ก่ อ สร้า งวั ด ครั้ งแรกจากความศรัท ธาของนายแรม มุ ก ดารั ม ย์ (อดี ต ผู ้ ใหญ่ บ ้านขณะนั้ น ) และนายครั น วงศ์ จั น ทร์ ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น จ� ำ นวน 7 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา เพื่ อ ให้ เ ป็ น ที่ก่อสร้าง โดยครั้งแรกได้นิมนต์พระอาจารย์ทุย ซึ่งเป็นศิษย์ของหลวงพ่อมิ่ง วัดบ้านโคก ขณะนั้ น มาเป็ น เจ้ า อาวาส และเป็ น ผู ้ น� ำ พาญาติ โ ยมในการพั ฒ นา ก่ อ สร้ า งถาวรวั ต ถุ ต่ า งๆ สื บ เรื่ อ ยมาโดยล� ำ ดั บ 170

สถานะและกิจกรรมส�ำคัญของวัด วัดบ้านด่านเป็นศูนย์รวมของการจัดกิจกรรม ต่ า งๆ ทั้ ง ของคณะสงฆ์ และส่ ว นราชการ ในอ�ำเภอบ้านด่าน ในแต่ละปีจึงมีกิจกรรม ไม่ขาดสาย โดยเฉพาะในส่วนกิจกรรมที่วัด จัดขึ้นเป็นประจ�ำทุกปี เช่น สวดมนต์ส่งท้าย ปีเก่าต้อนรับปีใหม่ กิจกรรมวันส�ำคัญทาง พระพุ ท ธศาสนา กิ จ กรรมเทศน์ ม หาชาติ กิจกรรมวันสงกรานต์ กิจกรรมแห่เทียนพรรษา กิจกรรมกวนข้าวทิพย์ ปฏิบัติธรรมประจ�ำปี กิจกรรมค่ายคุณธรรมของนักเรียนและเยาวชน กิ จ กรรมตั ก บาตรเทโวโรหณะ กิ จ กรรม ธรรมสั ญ จร กิ จ กรรมเนื่ อ งด้ ว ยสถาบั น พระมหากษัตริย์ เป็นต้น

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 170

05/09/61 11:04:35


ในปีพ.ศ.2546 พระสมุห์ประกิจ กนฺตสีโล (ต่ อ มาได้ เ ลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระครู วิจกั ษ์ศลี าภิรม) เจ้าอาวาสขณะนัน้ พร้อมด้วย กรรมการวัดและชาวบ้านเล็งเห็นว่า วัดมีเนือ้ ที่ คับแคบ ไม่มีที่ก่อสร้างอุโบสถ จึงได้ซื้อที่ดิน เพิ่มเติมทางด้านทิศตะวันออก จ�ำนวน 7 ไร่ 3 งาน 10 ตารางวา (โฉนดเลขที่ 28685 เล่ม 287 หน้า 85) ท�ำให้วดั มีเนือ้ ทีใ่ นปัจจุบนั รวม 14 ไร่ 6 งาน 27 ตารางวา เนือ่ งจากเป็นวัดทีก่ อ่ สร้าง ก่อน พ.ศ.2484 กฎหมายการสร้างวัด และระเบียบในการสร้างวัด ในรูปแบบปัจจุบนั ไม่สามารถบังคับย้อนหลังได้ ประกอบกับเป็นวัดทีส่ ร้างมานาน จึงไม่มหี ลักฐาน ทางราชการใดๆ รับรองสถานภาพของวัด กระทัง่ ในปี พ.ศ.2545 พระสมุห์ประกิจ กนฺตสีโล เจ้ า อาวาสขณะนั้ น จึ ง ท� ำ เรื่ อ งเสนอเพื่ อ ให้ ทางการออกเอกสารรั บ รองสถานภาพวั ด ผ่านศึกษาธิการจังหวัดบุรีรัมย์ ต่ อ มาเมื่ อ ศึ ก ษาธิ ก ารจั ง หวั ด ได้ ท� ำ การ ตรวจสอบหลักฐานต่างๆ จากกรมการศาสนา แล้วจึงได้ออกหนังสือรับรองสถานภาพวัดว่า เป็ น วั ด ที่ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย มี ชื่ อ อยู ่ ใ น ทะเบียนวัดของกองพุทธศาสนสถาน กรมการ ศาสนา ตามรหัสบัญชีเลขที่ 3101053 พร้อม ทั้ ง ออกหนั ง สื อ รั บ รอง ตามหนั ง สื อ ที่ บร 0032/2399 ลงวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2545 และได้มีการออกใบรับรองสภาพวัดให้อีกครั้ง

โดยส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดบุรีรัมย์ ตามหนังสือที่ บร 0030/29 ลงวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2554 มีสภาพวัดตามตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 ทุกประการ ในปีพ.ศ.2550 วัดบ้านด่าน โดยการน�ำของพระครูศรีปัญญาวิกรม และคณะกรรมการวัด ได้เห็นพร้อมร่วมกัน วัดบ้านด่าน แม้จะเป็นวัดเก่าแก่ แต่กย็ งั ไม่มโี รงอุโบสถเพือ่ ท�ำสังฆกรรมต่างๆ และเป็นสถานที่รองรับการกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน จึงได้เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างโรงอุโบสถเมื่อ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2550 ลักษณะเป็นอาคารกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น สิ้นค่า ก่อสร้างไปทั้งสิ้น 8,977,578 บาท แล้วเสร็จในปีพ.ศ.2556 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 131 ตอนพิเศษ 86 ง ข้อ ลงวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2557 จากการที่วัดบ้านด่าน ได้ด�ำเนินการจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 เป็นต้นมา ท� ำ ให้ ค ณะสงฆ์ ไ ด้ ม องเห็ น ความส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งนี้ ในปี พ.ศ.2555 จึ ง ได้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก มหาเถรสมาคม ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2555 ให้เป็นส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์แห่งที่ 26 ด�ำเนินการจัดการปฏิบัติธรรมเรื่อยมาตราบเท่าถึง ปัจจุบัน อีกทั้งตั้งแต่ ปีพ.ศ.2549 เป็นต้นมา ได้บูรณปฏิสังขรณ์ ปรับภูมิทัศน์ของโดยรอบให้เป็น สัดส่วน ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ และไม้เศรษฐกิจยืนต้นหลายอย่าง เช่น พะยูง, กันเกรา, ยาง นา, ไม้แดง, ตะเคียน, สัก, ประดู่ เป็นต้น ท�ำให้วัดมีสภาพร่มรื่น และมีแผนผังวัดที่เป็นระเบียบ เรียบร้อย เป็นที่ศรัทธาแก่ผู้พบเห็น กระทั่งได้รับการรางวัลจากคณะสงฆ์จังหวัดบุรีรัมย์ และ คณะสงฆ์อ�ำเภอบ้านด่านหลายรายการ เช่น เป็นวัดต้นแบบพัฒนาตัวอย่าง จากคณะสงฆ์ อ�ำเภอบ้านด่านหลายปีติดต่อกันตั้งแต่พ.ศ.2553, 2554, 2555 และ พ.ศ.2556

กิจกรรมเนื่องด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์

กิจกรรมตักบาตรเทโวโรหณะ

กิจกรรมเนื่องด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์

กิจกรรมทอดกฐินประจ�ำปี

กิจกรรมกวนข้าวทิพย์วันออกพรรษา

กิจกรรมอบรมค่ายคุณธรรม

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์ทุย 2. พระอาจารย์นัด 3. พระอาจารย์ทอง 4. พระอาจารย์เจน 5. พระอธิการแลน 6. พระอาจารย์บุญ 7. เจ้าอธิการสลัด 8. พระอาจารย์นุ่น 9. พระอาจารย์ไสว 10. พระอาจารย์บาล 11. พระครูวิจักษ์ศีลาภิรม ด�ำรงต�ำแหน่ง (พ.ศ.2528 - พ.ศ.2549) 12. พระครูศรีปัญญาวิกรม ด�ำรงต�ำแหน่ง (พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน) BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 171

171

05/09/61 11:04:43


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดอริยวงศาราม

พระครูธรรวงศาภิราม(ธนพล ฐิตธัมโม) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด อริยวงศาราม ตั้งอยู่ที่บ้านกระดึง หมู่ 2 ต�ำบลบ้านด่าน อ�ำเภอบ้านด่าน

จั ง หวั ดบุ รีรัม ย์ สังกัด คณะสงฆ์ม หานิกาย เริ่ม ก่อตั้ ง ขึ้ น ใหม่ เมื่ อปี พ.ศ. 2535 โดยการน�ำ ของพระอาจารย์ อ ริ ย วงศ์ อริ ย วั ง โส พร้ อ มทั้ ง คณะสงฆ์ แ ละชาวบ้ า นผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว ม แรงร่ ว มใจกั น ซื้ อ ที่ ดิ น เพื่ อ สร้ า งวั ด ขึ้ น มาให้ เ กิ ด ความร่ ม เย็ น ในใจ ในครอบครั ว ในชุ ม ชน และสั ง คมไทย วั ด มี พื้ น ที่ 18 ไร่ 1 งาน ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม เป็ น ทุ ่ ง นา ได้ เ ริ่ ม ปลู ก ต้ น ไม้ แ ละก่ อ สร้ า ง เสนาสนะเรื่ อ ยมา จนกระทั่ ง เปลี่ ย นจากทุ ่ ง นารกร้ า ง มาเป็ น สถานปฏิ บั ติ ธ รรมที่ ร ่ ม รื่ น เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของพุ ท ธศาสนิ ก ชนผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาโดยทั่ ว ไป 172

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 172

05/09/61 11:05:11


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อานิสงส์ ในการร่วมสร้างวิหารทาน วิหารทาน คือการท�ำบุญถวายหรือร่วมสร้าง เสนาสนะต่างๆ ถวายไว้เป็นสมบัติพระศาสนา เช่น การสร้างพระอุโบสถ (โบสถ์) กุฏิ ศาลา วิหาร หอฉัน หอระฆัง ห้องน�้ำ เป็นต้น องค์ ส มเด็ จ พระทศพลบรมศาสดาสัมมา สัมพุทธเจ้า ทรงตรัสไว้ว่า “การถวายวิหาร ทานมีอานิสงส์มาก” โดยมีพุทธด�ำรัสตรัสเอา ไว้ว่า “แม้ถวายทานแด่องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า 100 ครัง้ ยังมีอานิสงส์ไม่เท่าถวาย สังฆทานครัง้ เดียว” และ “แม้การถวายสังฆทาน 100 ครั้ง ยังมีอานิสงส์ไม่เท่าการถวายวิหาร ทานครั้งเดียว” อานิสงส์ ในการร่วมสร้างอุโบสถ มีดังนี้ 1.ก่อให้เกิดความสงบร่มเย็นในชีวิตและ ครอบครัว เปรียบเหมือนกับการได้สร้างบ้าน สร้ า งที่ อ ยู ่ อ าศั ย 2.ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเจริ ญ ก้าวหน้าในทรัพย์สิน เพราะว่าอุโบสถเป็นที่ จัดกิจกรรมที่ท�ำนุบ�ำรุงพระศาสนา ให้เจริญ รุ่งเรืองและเป็นที่เจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิ ภ าณ 3.ก่ อ ให้ เ กิ ด สติ ป ั ญ ญา ความเฉลี ย วฉลาด เพราะอุ โ บสถเป็ น ที่ ท� ำ สังฆกรรมของพระ เช่น การท�ำวัตรสวดมนต์ การบวชนาค การสวดปาฏิโมกข์ เป็นต้น และ 4.ก่อให้เกิดความสามัคคีปรองดอง เพราะ อุโบสถนอกจากจะเป็นทีท่ ำ� สังฆกรรมของพระ แล้ว ยังเป็นที่ท�ำ กิจกรรมของชาวบ้านที่มา ร่วมท�ำบุญต่างๆ ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระเลอพงษ์ สุนทโร หัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ.2535 - 2539 2. พระวีระ โรจนธัมโม หัวหน้าที่พักสงฆ์ พ.ศ.2539 - 2541 3. พระครูธรรวงศาภิราม (ธนพล ฐิตธัมโม) พ.ศ.2542 - ปัจจุบัน

ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับวัดอริยวงศาราม ปัจจุบันทางวัดอริยวงศารามก�ำลังการก่อสร้างอุโบสถ โดยได้วางศิลาฤกษ์เมื่อ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.2559 ซึ่งปัจจุบันยังด�ำเนินการก่อสร้างอยู่

เลขบัญชี 308-0-42540-5 ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี วัดอริยวงศาราม

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 173

173

05/09/61 11:05:36


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านดงกระทิง

พระอธิการพิชัย อาภัสสโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้านดงกระทิง ตั้งอยู่หมู่ 1 บ้านดงกระทิง ต�ำบลโนนขวาง อ�ำเภอบ้านด่าน

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาจากความศรั ท ธาของชาวบ้ า นจึ ง ได้ ถ างป่ า เพื่ อ สร้ า งส� ำ นั ก สงฆ์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจ แต่ ไ ม่ มี ก ารบั น ทึ ก ว่ า สร้ า งส� ำ นั ก สงฆ์ เมื่ อ พ.ศ. ใด ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ.2470 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2470 เป็ น วั ด ราษฎร์ โ ดยสมบู ร ณ์ (วั ด ราษฎร์ หมายถึ ง วั ด ที่ ป ระชาชนทั่ ว ไปสร้ า ง หรื อ ปฏิ สั ง ขรณ์ ขึ้ น ตามศรั ท ธา และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าถู ก ต้ อ งตามกฎหมาย จากทางราชการแล้ ว ) 174

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 174

05/09/61 11:06:18


อาคารเสนาสนะประกอบด้วย พ.ศ.2505 สร้างกุฏิ พ.ศ.2507 สร้างศาลา พ.ศ.2520 สร้างหอระฆัง พ.ศ.2522 สร้างหอพระพุทธรูป พ.ศ.2526 สร้างสิม (สิมอีสาน หรือ โบสถ์อีสาน มาจากการที่ทางอีสานเรียกโบสถ์ว่า “สิม” โดยค�ำว่า สิม มาจากค�ำว่า สีมา สิมมา หรือพัทธสีมา ที่ปรากฏในค�ำจารึกบนแผ่นหิน ที่ประกาศเจตนาอุทิศของผู้สร้างปักไว้ด้านหลัง สิมมีปรากฏอยู่ทั่วไป หมายถึง เขตแดนที่ก�ำหนด ในการประชุมท�ำสังฆกรรมอันเป็นกิจของสงฆ์โดยมีแผ่นสีมาหินเป็นเครื่องหมายแสดงขอบเขต รอบบริเวณตัวสิม) พ.ศ.2526 สร้างถังเก็บน�้ำฝน พ.ศ.2530 สร้างกุฏิหลังใหม่ 2 ชั้น พ.ศ.2539 สร้างเมรุ พ.ศ.2540 สร้างศาลาธรรมสังเวช(ศาลาพักศพ) พ.ศ.2543 สร้างศาลาการเปรียญ พ.ศ.2551 สร้างห้องน�้ำ - ส้วม พ.ศ.2555 สร้างกุฏิ - ห้องน�้ำ(หลวงตาพัน)

อานิสงส์แห่งทาน พระพุทธองค์ ได้ทรงแสดงไว้ว่า “ผู้ใด ให้ ที่ พั ก อาศั ย ผู ้ นั้ น เชื่ อ ว่ า ให้ สิ่ ง ทั้ ง ปวง” (สังยุตตนิกาย สคาถวรรค) ผู้ให้ที่พักอาศัย ฯลฯ ย่อมมีบญ ุ เจริญในกาลทุกเมือ่ ทัง้ กลางวัน ทั้งกลางคืน เขาตั้งอยู่ในธรรม สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นผูไ้ ปสวรรค์(วนโรปสูตร) และวิหารทานกถา พระพุทธองค์ทรงยืนยันให้เห็นชัดเจนว่า การ ถวายวิหาร(วัด)ที่อยู่อาศัยแก่ภิกษุสงฆ์ เป็น สมุฏฐานก่อให้เกิดประโยชน์สุข ทั้งผู้รับและ ผู้ถวาย ซึ่งทรงแสดง อานิสงส์ไว้ว่า เป็นยอด ของสั ง ฆทาน เป็ น ปั จ จั ย ให้ ป ระสบความ เกษมศานต์ จนบรรลุถึงพระนิพพาน เป็นที่สุด ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อสีลา เจ้าอาวาสรูปแรก 2. หลวงพ่อสงฆ์ เจ้าอาวาส 3. หลวงพ่อลูน เจ้าอาวาส 4. หลวงพ่อสุด เจ้าอาวาส 5. หลวงปู่เมือง จิตญาโณ เจ้าอาวาส (เจ้าคณะต�ำบล) 6. พระอธิการพิชัย อาภัสสโร เจ้าอาวาส (เจ้าคณะต�ำบล) BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 175

175

05/09/61 11:06:34


SM

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ที่พักสงฆ์บ้านกะชายน้อย

พระปลัดณรงค์ อหึสโก ประธานที่พักสงฆ์บ้านกะชายน้อย

ที่ พักสงฆ์บ้านกะชายน้อย ตั้งอยู่ ณ บ้านกะชายน้อย หมู่ที่ 15 ต�ำบลปราสาท

อ� ำ เภอบ้ า นด่ า น จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี เ นื้ อ ที่ ทั้ ง สิ้ น 13 ไร่ และได้ รั บ การถวายที่ ดิ น เพิ่ ม เติ ม จากคุ ณ พ่ อ ฤกษ์ - คุ ณ แม่ พ รม สายศ จ� ำ นวน 2 ไร่ รวมทั้ ง สิ้ น เป็ น 15 ไร่ แต่ เ ดิ ม นั้ น ที่ ดิ น สาธารณประโยชน์ เป็ น ป่ า ช้ า เก่ า มาแต่ โ บราณ ไร้ ก ารเหลี ย ว ชาวบ้ า นจึ ง ประชุ ม กั น และลงความเห็ น ว่ า ควรสร้ า งวั ด จึ ง ได้ น� ำ เรื่ อ งขึ้ น ปรึ ก ษากั บ พระครู ส ถิ ต ธรรมสาร วั ด บ้ า นกะหาด เจ้ า คณะอ� ำ เภอบ้ า นด่ า นในขณะนั้ น (ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น ที่ ป รึ ก ษา เจ้ า คณะอ� ำ เภอบ้ า นด่ า น) เมื่ อ ได้ รั บ การอนุ ญ าตแล้ ว จึ ง แจ้ ง เรื่ อ งไปยั ง พระครู ส ารธรรม ประสาธน์ วั ด บ้ า นปราสาท เจ้ า คณะต� ำ บลปราสาทในขณะนั้ น (ปั จ จุ บั น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น เจ้ า คณะอ� ำ เภอบ้ า นด่ า น) 176

โดยเริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2554 เริ่มสร้างศาลาการเปรียญหนึ่งหลัง กุฏิสงฆ์ หนึ่งหลัง และห้องน�้ำหนึ่งหลัง แล้วเสร็จเมื่อ วั น ที่ 10 มี น าคม พ.ศ.2554 และนิ ม นต์ พระณรงค์ อหึสโก นักธรรมชัน้ เอก จากวัดอาม็อง ต�ำบลท่าสว่าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ ขณะนั้นอายุเพียง 25 ปี พรรษา 3 มาจ�ำวัด ณ ที่พักสงฆ์บ้านกะชายน้อย เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2554 โดยได้รับการแนะน�ำจาก พระครูวิลาศวัชรคุณ เจ้าอาวาสวัดหัวถนน จากนัน้ ได้เริม่ พัฒนาทีพ่ กั สงฆ์บา้ นกะชายน้อย ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 176

05/09/61 11:10:31


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอล�ำปลายมาศ

ต�ำบลโคกกลาง วัดพัฒนวนาราม (ส�ำโรง) วัดจตุคามมัชฌิมาราม วัดกวางงอย วัดโกรกประดู่ วัดหนองขวาง วัดหนองโดนนอ้ ย วัดหนองฟั กทอง สามัคคีธรรม วัดพระธาตุหนองพลวง วัดเกา่ พุทธรักษา วัดดอนลอย

ต�ำบลโคกลา่ ม

วัดสวา่ งบูรพา วัดปิ ดทอง วัดลุงมว่ ง วัดชัยศรี วัดใหมศ่ รีมงคล วัดโนนส�ำราญ วัดหนองตาเรือง วัดหนองกุง วัดโนนแดง วัดหนองโดนนอ้ ย วัดหนองเติน่ วัว วัดหนองผือ

ต�ำบลโคกสะอาด

วัดสวา่ งอารมย์ วัดมงคลนิมิตร วัดใหมอ่ ัมพวัน วัดป่าแกว้ หนองแสง วัดสระขีต้ นุ่ วัดบุพพาราม วัดใหมห่ นองโน วัดศิริมังคลาราม

วัดบา้ นคอ้ วัดเขื่อนคงคา วัดห้วยหวาย

ต�ำบลตลาดโพธิ์

วัดแจ้งตลาดโพธิ์ วัดเวฬุวัน วัดชัยมงคล วัดสวา่ งบุโพธิ์ วัดหนองตาบุญ วัดบา้ นหนองไฮ วัดบุตาแหบ

ต�ำบลทะเมนชัย

วัดอิสานทะเมนชัย วัดอัมพวันหนองมว่ ง วัดหนองบัว วัดหนองหญา้ ปลอ้ ง วัดดา่ นทองประชาสามัคคี วัดหนองไทร วัดบุตาริดวนาราม วัดบริหารชนบท วัดคูเมือง

ต�ำบลบา้ นยาง

วัดโพธิย์ อ่ ย วัดหนองจิก วัดหนองตาด วัดหนองกระทุม่ วัดสาลวัน วัดสระสีเ่ หลีย่ ม วัดหนองขวาง วัดหนองมว่ งลูกใหญ่ วัดศรีบอนค�ำ วัดหนองจันสรณ์

ต�ำบลบุโพธิ์ วัดตูมหวาน

ต�ำบลผไทรินทร์

วัดจินดาราม วัดโคกตาเงิน วัดหนองมะคา่ ใหม่ วัดโคกซาด วัดสีชวา วัดส�ำโรงราฏร์สามัคคี วัดโคกสวา่ ง วัดป่ารุ่งอรุณ วัดหนองกระตา่ ยชล

ต�ำบลเมืองแฝก

วัดหนองเกา้ ขา่ วัดเมืองแฝก วัดห้วยมะไฟ วัดหนองขุนปราบ วัดหนองสองห้อง วัดหนองครก วัดโพธิศ์ รีทอง วัดตูบช้าง วัดสระบัวทอง วัดป่าชัยมงคล วัดหนองตาด วัดหนองเม็ก วัดหนองขุนปราบนอ้ ย วัดป่าหนองใหญ่ วัดป่าช้าหนองครก

ต�ำบลล�ำปลายมาศ

วัดกระทิง วัดจันทราวาส วัดสุภโสภณ วัดทุง่ สวา่ งแทน่ พระ วัดสวนแตง วัดธีรธรรมาราม วัดป่าแทน่ พระ วัดเทียมโพธิช์ ัย วัดสวนใหญ่

ต�ำบลแสลงพัน

วัดศรีสวัสดิ์ วัดหนองผักโพด วัดบา้ นบุขเี้ หล็ก วัดหนองระนาม วัดหนองสรวง วัดโคกใหมว่ นาราม วัดบา้ นแสลงพัน วัดบา้ นบุกา้ นตง วัดป่าบา้ นบุขีเ้ หล็ก

ต�ำบลหนองกะทิง

เมื่อเราพบกับความทุกข์ ความสุขก็มีโอกาสที่จะมา เมื่อความสุขเกิดขึ้น ความทุกข์ก็อาจจะอยู่ถัดไปก็เป็นได้ ว.วชิรเมธี

วัดหนองกะทิง วัดหนองผะองค์ วัดหนองปลาไหล วัดโนนแดง วัดสระแร่

วัดหนองซอแซ วัดหนองเมืองต่�ำ วัดป่าช้าหนองบัว วัดป่าหนองผะองคน์ อ้ ย วัดป่าหนองปลาไหลนอ้ ย

วัดสระตะโก วัดไตรรัตน์ วัดหนองตาดกง วัดหนองจานเกีย้ ว วัดหนองตลาดควาย

ต�ำบลหนองคู

ต�ำบลหินโคน

วัดบุตาวงษ์ วัดเทพนิมิตร วัดกลางหนองมันปลา วัดสงา่ ทา่ ชลนที วัดหนองคูวนาราม วัดสวนสันตินฤพาน

ต�ำบลหนองบัวโคก วัดจตุราษฏร์บ�ำรุง วัดปทุมคงคาราม

วัดอัมพวัน วัดหัวสะพาน วัดตะขบ วัดสวา่ งนที วัดโนนตะครอง วัดเยย้ มว่ ง วัดโหนองตาจ่�ำ วัดบา้ นโคกใหม่ วัดบา้ นโนนงิว้

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 177

177

5/9/2561 14:05:16


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดพัฒนวนาราม

พระครูปริยัติวีรธรรม ฐานวีโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลโคกกลาง

วั ด พั ฒ นวนาราม เดิ ม มี ชื่ อ ว่ า วั ด บ้ า นส� ำ โรง จากค� ำ บอกเล่ า ของเหล่ า

ศาสนิ ก ชน วั ด แห่ ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น มาแล้ ว ร่ ว ม 150 ปี จนกระทั่ ง ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น หนึ่ ง ในวั ด ในพระพุ ท ธศาสนา เมื่ อ วั น ที่ 27 ตุ ล าคม พ.ศ.2553 โดยใช้ ชื่ อ ว่ า “วั ด พั ฒ น วนาราม” ตั้ ง แต่ บั ด นั้ น เป็ น ต้ น มา ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 162 หมู ่ 3 บ้ า นส� ำ โรง ต� ำ บลโคกกลาง อ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี เ นื้ อ ที่ 7 ไร่ 65 วา ปั จ จุ บั น มี พ ระจ� ำ พรรษา 8 รู ป มี กุ ฏิ พ ระ และ ศาลาการเปรี ย ญอยู ่ ใ นหลั ง เดี ย วกั น 178

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 178

05/09/61 11:11:36


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

“ คติธรรม วิริเขน ทุกฺขมจฺเจติ คนจะล่วงพ้นทุกข์ ได้เพราะความเพียร ” ภายในวัดมีปูชนียสถาน และปูชนียวัตถุ อยู่หลายอย่างอาทิ เช่น หลวงพ่อสีวลีที่ได้ แรงศรัทธาจากเหล่าบรรดาพุทธศาสนิกชน ร่วมกันสร้างขึน้ รวมไปถึงต้นมะขามขนาดใหญ่ ที่เชื่อกันว่ามีอายุยาวนานพอๆ กับวัดนั้นเอง หลวงพ่อสีวลี (พระสีวลีเถระ หรือ พระสีวลี) ตามประวั ติ ค วามเป็ น มาในพระไตรปิ ฎ ก กล่าวว่า ท่านเป็นพระภิกษุสาวกเอตทัคคะ ของพระพุทธเจ้า นับเนือ่ งในพระอสีตมิ หาสาวก 80 องค์ ส� ำ คั ญ ในสมั ย พุ ท ธกาล โดยก่ อ น อุ ป สมบทท่ า นเป็ น พระโอรสของพระนาง สุปปวาส ผูเ้ ป็นพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ แห่งกรุงโกลิยะ อยูใ่ นพระครรภ์ถงึ 7 ปี 7 เดือน 7 วั น เมื่ อ ทรงพระครรภ์ ท� ำ ให้ พ ระมารดา สมบู ร ณ์ ด ้ ว ยลาภสัก การะมาก เมื่อประสูติ ก็ ป ระสู ติ ง ่ า ย ด้ า ยพุ ท ธานุ ภ าพที่ ท รง พระราชทานพรว่า “ขอพระนางสุปปวาสาจง มี ค วามสุ ข ปราศจากโรคาพยาธิ ประสู ติ พระราชบุตรผู้ไม่มีโรคเถิด” เมื่ อ ประสู ติ แ ละพระประยู ร ญาติ ข นาน ถวายพระนามว่า สีวลีกุมาร ในวันที่นิมนต์ พระพุทธเจ้ามาเสวยภัตตาหารตลอด 7 วัน สีวลีกมุ ารก็ได้ถอื ธมกรกรองน�ำ้ ถวายพระพุทธเจ้า

และพระสงฆ์ตลอด 7 วัน เมื่อเจริญวัย ท่าน ได้ออกผนวชในส�ำนักพระสารีบุตร ได้บรรลุ อรหันตผลในเวลาปลงเกศาเสร็จ จากนั้นมา ท่ า นสมบู ร ณ์ ด ้ ว ยลาภสั ก การะไม่ ข าดด้ ว ย ปัจจัย 4 ทั้งปวง ด้วยเหตุนี้จึงได้รับการยกย่อง จากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะผูเ้ ลิศในทาง ผู้มีลาภมาก การจะได้ ล าภมากและเป็ น ลาภที่ ไ ด้ ม า โดยชอบธรรมจากสัมมาอาชีวะ ดังพระสีวลี ก็ต้องบ�ำเพ็ญศีล สมาธิ และปัญญา สัมมาอาชีวะ เป็นหนึ่งในมรรค 8 หรือ มรรคมีองค์แปด คือ เลี้ยงชีพชอบ หมายถึง การท�ำ มาหากิ น ด้ ว ยอาชี พ ที่ สุ จ ริ ต ส� ำ หรั บ ฆราวาส สัมมาอาชีวะ หมายถึง การเว้นมิจฉา อาชีวะ อันได้แก่ การเลีย้ งชีพไม่ชอบ 5 ประเภท คือ ไม่ขายอาวุธ ไม่ค้าขายมนุษย์ ไม่ค้าขาย สัตว์เป็น ส�ำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ไม่ค้าขาย น�้ำเมา และไม่ค้าขายยาพิษ ซึ่งเป็นอันตราย ต่อผู้ใช้ รวมทั้งเป็นอันตรายต่อสัตว์ ส�ำหรับบรรพชิต(นักบวช) สัมมาอาชีวะ หมายถึง การใช้ชีวิตด้วยการบริโภคปัจจัยสี่ อย่างมักน้อย เท่าที่จ�ำเป็น ถ้าเป็นนักบวชที่ อยู่ด้วยการขอ ต้องรักษาปัจจัยสี่ของทายก

อย่างดี เพื่อให้คุ้มค่าต่อผู้ให้ ไม่เบียดเบียน ทางวัดจึงได้มุ่งเน้นและสนับสนุนในด้าน การศึ ก ษา รวมถึ ง การปฏิ บั ติ ค วบคู ่ กั น ของ พระภิกษุ สามเณร รวมถึงพุทธศาสนิกชน ทุกหมู่เหล่า เพราะหากคนเราไม่มุ่งใฝ่เรียนรู้ ด้านการศึกษา ก็จะไม่ท�ำให้เกิดการพัฒนา ซึ่งถือเป็นหลักปฏิบัติที่ทางวัดได้เทศนาธรรม อยู่เป็นประจ�ำดังจะเห็นได้จาก แรงศรัทธา ที่เหล่าพุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้ร่วมบูรณะ ปฏิสังขรณ์วัด เมื่อปีพ.ศ.2554 โดยในครั้งนั้น ใช้งบประมาณไปกว่า 5 ล้านบาท ซึ่งทั้งหมด ล้วนมาจากพุทธศาสนิกชนที่เลื่อมใสศรัทธา ในวัดแทบทั้งสิ้น ด้านการศึกษา ทางวัดได้เปิดท�ำการเรียน การสอนพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรมและ บาลี แก่พระภิกษุสามเณร และประชาชน ตลอดถึ ง นั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาแผนกธรรม มี นักธรรม และธรรมศึกษา ชั้นตรี, โท, เอก และ แผนกบาลี ชั้น ประโยค 1 - 2 ถึงชั้น ป.ธ.4 เปิ ด ท�ำการเรี ย นการสอนมาตั้งแต่ป ี 2554 เป็ น ต้ น มาจนถึ ง ปั จ จุ บั น ควบคู ่ ไ ปกั บ การ บูรณปฏิสังขรณ์ และการปฏิบัติธรรม

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 179

179

05/09/61 11:11:43


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดจตุราษฎร์บ�ำรุง

พระครูนิมิตสาราภิรมย์ เจ้าอาวาสวัดจตุราษฎร์บ�ำรุง และเจ้าคณะต�ำบลหนองบัวโคก

วั ด จตุ ร าษฎร์ บ� ำ รุ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ ห มู ่ บ ้ า นสี่ เ หลี่ ย มใหญ่ ต� ำ บลหนองบั ว โคก

อ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2460 โดยความสามั ค คี แ ละ ความร่ ว มมื อ ของชาวบ้ า น ต่ อ มาจึ ง ขออนุ มั ติ ตั้ ง ชื่ อ เป็ น “วั ด จตุ ร าษฎร์ บ� ำ รุ ง ” เมื่ อ พ.ศ.2480 โดยมี หั ว เรี่ ย ว หั ว แรง คื อ นายปลื้ ม ถนอมสิ น (ผู ้ ใ หญ่ บ ้ า น) และนายชม จั น ทะ เมนชั ย นายน้ อ ย ชื่ อ รั ม ย์ นายแสง ชมรั ม ย์ นายเพ็ ง สครรั ม ย์ นายอิ่ ม ชวนรั ม ย์ นาย เกิ ด รอบรู ้ (มั ค นายก) และ ประชาชนทั้ ง 4 หมู ่ บ ้ า น คื อ บ้ า นสี่ เ หลี่ ย มใหญ่ บ้ า นสวนครั ว บ้ า นสระตะโก และบ้ า นบริ ห ารชนบท ต� ำ บลทะเมนชั ย สมั ย นั้ น มี พ ระสงฆ์ จ� ำ พรรษาตลอด มาไม่ เ คยร้ า ง พระภิ ก ษุ ส ามเณรไม่ เ คยขาด บางสมั ย เป็ น ส� ำ นั ก เรี ย นนั ก ธรรม เป็ น ส� ำ นั ก เรี ย นบาลี อดี ต เจ้ า อาวาสเคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า คณะอ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ 180

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 180

05/09/61 11:15:02


เป็ น วั ด ในเขตชนบทเป็ น ที่ บ� ำ เพ็ ญ กุ ศ ล ของชุมชน หมู่ 3, หมู่ 8, หมู่ 10 ต�ำบลหนองบัวโคก ประชาชนโดยรอบวัดประกอบอาชีพเกษตรกรรม มี ร ายได้ น ้ อ ย ประมาณ 350 ครอบครั ว ประชากร 1,300 คน โดยประมาณกระทั่งเมื่อ วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2561 วัดจตุราษฎร์บำ� รุง ได้ เข้ า รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เป็ น ทีเ่ รียบร้อยแล้ว แต่ยงั ไม่ได้ผกู พัทธสีมาฝังลูกนิมติ เพราะทางวัดยังไม่พร้อมในการจัดงาน สมัยพระครูวิบูลวรกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้าอาวาส รูปที่ 10 ได้ดำ� รงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ.2501 - 2545 เป็นเจ้าส�ำนักเรียน พระปริยัติธรรม - บาลีอยู่หลายปี และท่าน ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอล�ำปลายมาศ รูปที่ 4 เมื่อ พ.ศ.2534 - 2545 ปั จ จุ บั น พระครู นิ มิ ต สาราภิ ร มย์ เป็ น เจ้ า อาวาส รู ป ที่ 11 ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2545ปัจจุบัน เป็นส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม โดย มีพระภิกษุ - สามเณรศึกษาพระปริยัติธรรม และมีนักเรียน ลูกหลาน เยาวชน ชาวบ้าน สอบธรรมศึกษาทุกปี เป็นศูนย์ปฏิบัติธรรม ของอ�ำเภอล�ำปลายมาศ จัดงานปริวาสกรรม ปฏิ บั ติ ระหว่ า งวั น ที่ 20 - 30 ธั น วาคม ของทุกปี วัดจตุราษฎร์บ�ำรุง เป็นศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์หลง 2. พระอาจารย์เต็ง 3. พระอาจารย์จันทร์ล่า 4. พระอาจารย์หมั่น 5. พระอาจารย์เขียว 6. พระอาจารย์อ้าย 7. พระอาจารย์ปาน 8. หลวงพ่อพรมมา 9. พระครูวิบูลวรกิจ 10. พระครูนิมิตสาราภิรมย์(เจ้าคณะต�ำบลหนองบัวโคก)

พ.ศ.2460 - พ.ศ.2465 พ.ศ.2466 - พ.ศ.2467 พ.ศ.2467 - พ.ศ.2480 พ.ศ.2480 - พ.ศ.2481 พ.ศ.2481 - พ.ศ.2483 พ.ศ.2483 - พ.ศ.2485 พ.ศ.2485 - พ.ศ.2493 พ.ศ.2493 - พ.ศ.2501 พ.ศ.2501 - พ.ศ.2545 พ.ศ.2545 - ปัจจุบัน

ขอเชิญชวนนมัสการพระพุทธรูปประจ�ำวัด “พระพุทธชินศรีมหามิ่งมงคลจตุราษฎร์” การเดินทางไปนมัสการพระพุทธรูปประจ�ำวัด “พระพุทธชินศรีมหามิ่งมงคลจตุราษฎร์” โดย ทางเข้าวัดจตุราษฎร์บ�ำรุง อยู่ติดถนนหมายเลข 226 ล�ำปลายมาศ-บุรีรัมย์ (กม.100) เดินเข้าวัด ประมาณ 200 เมตร สามารถนั่งรถตู้โดยสารจากบุรีรัมย์ลงปากทาง(กลับบ้าน สี่เหลี่ยมใหญ่) ก่อนถึงอ�ำเภอล�ำปลายมาศ 8 กม BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 181

181

05/09/61 11:15:13


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง เดิมเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปสภาต�ำบลมาก่อน จัดตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ในราชกิจจานุเบกษา ประกาศทั่วไป เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539

นายเจริญ สุขวิบูลย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง

หมู่ที่ 9 บ้านหนองขวาง หมู่ที่ 10 บ้านหนองพลวง หมู่ที่ 11 บ้านเก่า หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลางน้อย หมู่ที่ 13 บ้านกวางงอยพัฒนา หมู่ที่ 14 บ้านใหม่ขี้ตุ่น หมู่ที่ 15 บ้านไทรงาม หมู่ที่ 16 บ้านร่มเย็น

ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง มีอาคารส�ำนักงานเป็นของ ตนเองส�ำหรับให้บริการประชาชนที่มาติดต่อราชการได้ด้วยความสะดวก ซึ่ง ส�ำนักงานดังกล่าวตั้งอยู่ที่ ถนนล�ำปลายมาศ-นางรอง หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกกลาง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ด้วยพื้นที่ 72.95 ตารางกิโลเมตร หรือ เท่ากับ 45,563 ไร่ มีพื้นที่ควบคุม 16 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 2 บ้านขี้ตุ่น หมู่ที่ 3 บ้านส�ำโรง หมู่ที่ 4 บ้านหนองฟักทอง หมู่ที่ 5 บ้านดอนลอย หมู่ที่ 6 บ้านโกรกประดู่ หมู่ที่ 7 บ้านกวางงอย หมู่ที่ 8 บ้านหนองโดนน้อย 182

6

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 182

22/8/2561 18:13:02


ลักษณะที่ตั้ง ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งเขตมีพื้นที่ ครอบคลุม 16 หมู่บ้าน ซึ่งอยู่ในเขตการปกครอง ของอ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ มีพื้นที่ 72.95 ตารางกิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ คือ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองคู ทิศใต้ ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล ผไทรินทร์และต�ำบลหนองโดน ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลบ้านยางและต�ำบลหนองบัวโคก ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลหนองกระทิง

ประชากรและครัวเรือน จ�ำนวนประชากรและครัวเรือนในเขตองค์การ บริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 9,232 คน เป็นชาย 4,669 คน เป็นหญิง 4,563 คน จ�ำนวนครัวเรือนทั้งหมด 2,000 หลังคาเรือน

องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง ตั้งอยู่ที่ ถนนล�ำปลายมาศ-นางรอง หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลโคกกลาง อ� ำ เภอล� ำ ปลายมาศ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เดิ ม เป็ น การปกครองส่วนท้องถิน่ รูปสภาต�ำบลมาก่อน จัด ตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย ในราชกิจจานุเบกษา ประกาศทั่วไป เล่ม 113 ตอนพิเศษ 52ง ลงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539 ด้วยพื้นที่ 72.95 ตาราง กิโลเมตร หรือเท่ากับ 45,563 ไร่ มีพื้นที่ควบคุม 16 หมู่บ้าน อยู่ในเขตการปกครองของอ�ำเภอ ล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรรี มั ย์ มีพนื้ ที่ 72.95 ตาราง กิโลเมตร เป็นต�ำบลขนาดกลาง มีจำ� นวนครัวเรือน ทั้งหมด 2,321 หลังคาเรือน มีประชากรทั้งสิ้น 9,253 คน แยกเป็นประชากรชาย 4,612 คน หญิง 4,641 คน (บันทึกข้อมูลเมื่อ เดือนกุมภาพันธ์ 2561)

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 183

183

22/8/2561 18:13:05


“ปรางค์บุหีบ” ต�ำนานแห่งล�ำน�้ำมาศ ปรางค์บหุ บี เป็นศาสนสถาน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกวางงอย ต�ำบลโคกกลาง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ ตัง้ อยูบ่ นเนิน ในป่าละเมาะตอนเหนือของหนองหีบ แต่เดิมเป็น โคกเนินใหญ่ มีแท่งฐานตั้งอยู่กลางเนิน ชาวบ้าน เรียกว่า โคกหีบ หรือบุหีบ จากการส�ำรวจเมื่อปี พ.ศ.2530 พบว่าโคกเนินดังกล่าว เดิมเป็นฐาน ปรางค์ซงึ่ เป็นศิลาแลงก่ออิฐ มีเสากรอบประตูเป็น หนทราย และแท่นฐานที่เหลือ แต่เดิมที่ฐานมี อักขระจารึกอยู่ มีลายประดับกรอบหน้าบันเหลืออยู่ ปรางค์บุหีบ เป็นเส้นทางทางวัฒนธรรม ตามรอย ปาจิต-อรพิม เป็นเรื่องเล่าในต�ำนาน ได้ ก ล่ า วไว้ โ ดยย่ อ ว่ า ในครั้ ง หนึ่ ง นานมาแล้ ว กษั ต ริ ย ์ ข อมพระองค์ ห นึ่ ง มี โ อรสชื่ อ ท้ า วปาจิ ต เมื่ออายุได้ 6 พรรษา พระราชบิดาจะจัดการ อภิเษกให้ขนึ้ ครองราชย์ตอ่ จากพระองค์ จึงพยายาม หาราชธิดาเมืองใดมาให้เลือก พระราชโอรสก็ 184

6

ไม่ตอ้ งพระประสงค์ โหรหลวงท�ำนายว่า เนือ้ คูข่ อง พระองค์ ยั ง อยู ่ ใ นครรภ์ ข องหญิ ง หม้ า ยอนาถา ให้ท้าวปาจิตเดินทางไปทิศตะวันออกแล้วจะพบ หญิงหม้ายผู้นั้น โดยมีลักษณะที่สังเกตได้คือแสง อาทิ ต ย์ จ ะทรงกลดเป็ น เงากั้ น เบื้ อ งบนศี ร ษะ ท้าวปาจิตก็ออกเดินหาหญิงหม้ายผู้นั้น จนไปพบ นางบัว ชาวบ้านสัมฤทธิ์ยังมีครรภ์อยู่มีลักษณะ ตามที่โหรได้ทายไว้ จึงอาสาฝากตัวเป็นคนใช้ ครั้นนางบัวคลอดบุตรเป็นหญิงมีลักษณะดี ให้ชื่อ ว่ า นางอรพิ ม ก็ ช ่ ว ยนางบั ว เลี้ ย งดู จ นเป็ น สาว รูปโฉมงดงามมาก ท้าวปาจิตลากลับบ้านเมืองเพือ่ จัดขันหมากมาสู่ขอตามประเพณี พอขันหมากมา ถึงบ้านนางอรพิม ก็ทราบว่าท้าวพรหมทัตมาลัก ตัวนางอรพิมไปเสียแล้ว ก็เสียพระทัยเลยโยน ขันหมากทิง้ น�ำ้ เสียหมด ล�ำน�ำ้ นัน้ ต่อมาคือ ล�ำน�ำ้ มาศ (เชื่อกันว่า ตั้งอยู่ในเขต อ�ำเภอล�ำปลายมาศใน ปัจจุบัน)

ท้าวปาจิตได้แฝงกายเข้าไปในปราสาทท้าว พรหมทัต และได้ทำ� อุบายว่าท้าวพรหมทัตเสียชีวติ ลักพานางอรพิมหลบหนีออกมาได้ ระหว่างทาง ท้าวปาจิตได้ถูกนายพรานสังหารตาย นางอรพิม จึงสังหารพรานเสีย และชุบชีวติ ท้าวปาจิต ด้วยยา วิเศษจากเทวดา และเดินทางกันต่อไปถึงแม่น�้ำ แห่งหนึง่ อาศัยเณรส่งข้ามฟากให้ เณรลวงท้าวปา จิตให้ขนึ้ ฝัง่ ก่อนแล้วพานางอรพิมหนีไป นางอรพิม ลวงให้เณรขึ้นต้นมะเดื่อแล้วเอาหนามมากันไว้ใต้ ต้น และพายเรือมาหาท้าวปาจิตก็ไม่พบ…นางจึง ปลอมเป็นชาย และได้รกั ษาธิดาเจ้าเมืองจ�ำปานคร ให้ฟื้น…เจ้าเมืองจึงยกเมืองและธิดาให้ แต่นาง ปฏิเสธและได้บวชเป็นสังฆราชของเมืองนั้น…นาง ได้สร้างศาลาและมีรปู วาดเรือ่ งราวของนางกับท้าว ปาจิตไว้ และสั่งว่าถ้าผู้ใดดูภาพเหล่านี้แล้วร้องไห้ ให้แจ้งให้นางทราบ…ในที่สุดท้าวปาจิตและนาง ก็ได้พบกันพากันกลับบ้านเมือง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 184

22/8/2561 18:13:18


ทฤษฎี ก ารพั ฒ นาการเกษตรแบบพึ่ ง พา ตนเอง และเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชด�ำริในการ จัดการทรัพยากรระดับ ไร่นาเพื่อการพัฒนาการ เกษตรแบบพึ่งตนเอง (Self Reliance) มาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2517 โดยทรงเน้นให้เกษตรกรสามารถ พึ่งตนเองและช่วยเหลือตนเองเป็นหลักส�ำคัญ และมีพระราชประสงค์เป็นประการแรก คือ การ ท�ำให้เกษตรกร สามารถพึง่ ตนเองได้ในด้านอาหาร เช่น ข้าว พืชผัก ผลไม้ ฯลฯ แนวพระราชด�ำริที่ ส�ำคัญอีกประการหนึง่ คือ การทีท่ รงพยายามเน้น มิให้เกษตรกรพึง่ พาอยูก่ บั พืชเกษตรแต่เพียงชนิด เดียว เพราะมีความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดความเสียหายสูง เนื่องจากความแปรปรวนของราคา และความไม่ แน่นอน ของธรรมชาติ ทางออกก็คือ นอกจากจะ ปลูกพืชหลายชนิดแล้ว เกษตรกรควรจะต้องมี รายได้เพิ่มขึ้นนอกเหนือไปจากภาคเกษตร เช่น การส่งเสริมอุตสาหกรรมในครัวเรือนของมูลนิธิ ส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งด�ำเนินงานสนับสนุนงาน ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช(ส�ำนักงาน กปร., 2542) คณะผู้บริหาร องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคก กลาง จึงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญทางด้านนี้เป็น อย่างมากอีกทั้งประชากรส่วนใหญ่ของต�ำบลโคก กลางมีอาชีพเกษตรกร แต่ยังขาดพื้นที่ท�ำกินใน เขตพืน้ ทีข่ องต�ำบลโคกกลาง มีการแบ่งพืน้ ทีใ่ ห้กบั ประชาชนในต�ำบล ได้ใช้ท�ำการเกษตร ได้แก่ 1.โคกหลวง อยูใ่ นเขตพืน้ ที่ หมูท่ ี่ 1 บ้านโคกกลาง หมู่ที่ 12 บ้านโคกกลางน้อย 2.หนองไหล อยู่ใน เขตพื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านขี้ตุ่น หมู่ที่ 14 บ้านใหม่ขี้ ตุ่น 3.โคกป่าช้าบ้านส�ำโรง อยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 3 บ้านส�ำโรง โดยยึดหลักเกษตรพอเพียง ตามรอย พระราชด�ำริ มีองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง คอยให้การสนับสนุนด้วยการจัดโครงการ ฝึก อบรมให้ความรู้ ศึกษาดูงานทางด้านการเกษตร อยู่เป็นประจ�ำ และยังมีหน่วยงานราชการและ ภาคเอกชนอื่นๆ ให้การสนับสนุนเพิ่มเติมอีกด้วย นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง ยัง ให้การสนับสนุนการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการ ผลิตไฟฟ้า(โซล่าเซลล์)เป็นพลังงานหลัก ซึ่งเป็น พลังงานสะอาด และเป็นการลดต้นทุนในการผลิต ส่งผลให้เกษตรกรในพื้นที่มีรายได้เพิ่มมากขึ้น BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 185

185

22/8/2561 18:13:26


ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ ด�ำเนินการภายใต้แนวคิด “ร่วมแรง ร่วมใจ ผู้สูง วัย กายใจเบิกบาน”

โรงเรียนผู้สูงอายุ องค์การบริหารส่วนต�ำบล โคกกลาง ด้วย ปัจจุบันโครงสร้างประชากรของต�ำบล โคกกลาง อ�ำเภอล�ำปลายมาศ จังหวัดบุรรี มั ย์ ของ วัยผูส้ งู อายุเริม่ มีผอู้ ายุยนื ยาวมากขึน้ และมีจำ� นวน ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยมีประชากรทั้งสิ้น 8,842 คน แยกเป็นชาย 4,469 คน แยกเป็นหญิง 4,373 คน จ�ำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 1,473 คน คิด เป็นร้อยละ 16 % ของประชากรในต�ำบลโคกกลาง ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การสนั บ สนุ น ด้ า นการพั ฒ นา คุณภาพชีวติ ผูส้ งู อายุ ทัง้ ทางด้านร่างกายและจิตใจ องค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลางเล็งเห็นความ ส� ำ คั ญ โดยต้ อ งการพั ฒ นาโรงเรี ย นผู ้ สู ง อายุ ที่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน ซึง่ ได้พฒ ั นาหลักสูตร การเรียน การสอนตามความ ต้องการผูส้ งู อายุ และเน้นกระบวนการเรียนรูอ้ ย่าง สร้างสรรค์เพื่อช่วยพัฒนา ศักยภาพผู้สูงอายุให้ สามารถขั บ เคลื่ อ นงานผู ้ สู ง อายุ โดยเริ่ ม เปิ ด โรงเรียนครัง้ แรกในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2560 และ ด�ำเนินกิจกรรมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

กองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลโคกกลาง กองทุนวันละบาท หรือ กองทุนสวัสดิการ กองบุญ เป็ น กองทุนที่เกิด จากการรวมตัว ของ ประชาชนในพื้นที่ต�ำบลโคกกลางด้วยความสมัคร ใจร่วมกันจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนต�ำบลโคก กลางขึ้น โดยก่อตั้งเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2553 มีสมาชิกเริ่มก่อตั้ง 1,410 คน จาก 16 หมู่บ้านใน ต�ำบล ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 3,276 คน เพื่อเป็น หลักประกันความมัน่ คงในชีวติ บนพืน้ ฐานของการ

พึ่งตนเอง การช่วยเหลือเกื้อและกันของคนใน ชุมชน ตัง้ แต่เกิดจนตาย เป็นการจัดสวัสดิการของ ชาวบ้าน โดยชาวบ้าน เพื่อชาวบ้าน “เป็นการให้ อย่างมีคณ ุ ค่า การรับอย่างมีศกั ดิศ์ รี” กระบวนการ เงิ น กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนได้ ม าจากการร่ ว ม สมทบของสมาชิกออมสัจจะวันละบาท โดยการลด รายจ่ายวันละบาทเพื่อออมสัจจะเงินสมทบจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ หน่วยงานภาครัฐ ภาค เอกชนด้วยความเอื้ออาทร เสียสละ เกิดความรัก ความสามัคคีในชุมชน เกิดการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็ง และยั่งยืนต่อไป

ชมรมผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนต�ำบล โคกกลาง ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2554 เพื่อให้ ผู้สูงอายุได้ดูแลเรื่องสวัสดิการให้แก่สมาชิกชมรม ด้วยกันเอง เป็นการรวมกลุ่มเพื่อร่วมท�ำกิจกรรม ของผู้สูงอายุ และการจัดตั้งชมรมได้จัดให้มีการ ออมเงิ น ของสมาชิ ก ภายในกลุ ่ ม เพื่ อ ดู แ ลเรื่ อ ง สวัสดิการของสมาชิกปัจจุบนั สมาชิกชมรมจ�ำนวน 1,527 คน

186

6

ชมรมคนพิการองค์การบริหารส่วนต�ำบล โคกกลาง จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2557 เพือ่ ให้ คนพิการในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลโคกกลาง ได้ ดู แ ลเรื่ อ งสวั ส ดิ ก ารให้ แ ก่ ส มาชิ ก ชมรมด้ ว ย กันเอง เป็นการรวมกลุ่มเพื่อร่วมท�ำกิจกรรมของ คนพิการ และมีการออมเงินของสมาชิกภายใน กลุม่ เพือ่ ดูแลเรือ่ งสวัสดิการของสมาชิก สงเคราะห์ ซึง่ กันและกันปัจจุบนั สมาชิกชมรมจ�ำนวน 606 คน

ศูนย์บริการคนพิการทั่วไปองค์การบริหาร ส่วนต�ำบลโคกกลาง

ได้ รั บ อนุ ญ าตจั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารคนพิ ก าร ทัว่ ไป เมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2558 เพือ่ ให้บริการ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ สวัสดิการ ความช่วยเหลือตามคนพิการร้องขอ และตามที่ หน่วยงานภาครัฐก�ำหนด การให้ค�ำปรึกษาหรือ ช่วยด�ำเนินการเกี่ยวกับขอใช้สิทธิประโยชน์แก่ คนพิการ การให้บริการความช่วยเหลือในการด�ำรง ชีวิตขั้นพื้นฐาน การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ การฝึกอาชีพให้แก่คนพิการ และการประสาน ความช่วยเหลือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 186

22/8/2561 18:13:23


โรงเรียนมีชัยพัฒนา เส้นทางสายใหม่ ของการศึกษาไทยในชนบท กับแนวคิด ปรัชญา ในการจัดการศึกษา โรงเรียนมีชัยพัฒนา หรือ โรงเรียนไม้ไผ่ เป็นโรงเรียนทางเลือกที่สมาคม พัฒนาประชากรและชุมชน และมูลนิธิมีชัย วีระ ไวทยะ ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2552 ตั้งอยู่ที่ อ.ล�ำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ มีอาคารเรียน โดมเอนกประสงค์ขนาดใหญ่และอาคารหอพักที่ สร้างด้วยไม้ไผ่ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 ในลักษณะของโรงเรียนประจ�ำ โดย ตระหนักถึงการสอนให้นักเรียนรู้จักการคิดนอก กรอบ แต่ไม่ทิ้งรากเหง้าวัฒนธรรมที่ดีงาม สมดุล กั บ วิ ถี ชี วิ ต และธรรมชาติ ท่ า มกลางการ เปลี่ยนแปลงของสังคม และการจัดการศึกษาที่ ก่อให้เกิดความยั่งยืน สร้างรูปแบบการบริหาร โรงเรียนที่มีความแตกต่างหลากหลายเพื่อการ จัดการศึกษาที่มีคุณภาพ นักเรียนได้เรียนรู้อย่าง มีความสุข พร้อมๆ กับการเสริมสร้างศักยภาพของ นักเรียนทั้งในด้านของการศึกษา ทักษะชีวิตและ ทักษะอาชีพ ส�ำนึกรักในถิ่นฐานเดิม เพื่อเตรียม พร้อมที่จะมีชีวิตและการงานที่ดีส�ำหรับอนาคต

สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวในชุมชน ของตนเองโดยไม่ตอ้ งทิง้ บ้านเกิดเพือ่ ไปหางานใน เมือง โรงเรียนมีชัยพัฒนา ได้ด�ำเนินการปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาแบบเดิมใน 3 ด้าน เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของโรงเรียน ได้แก่ การปรับปรุงสาระในการเรียนรู้ ปรับปรุงวิธีการ สอน และเปลี่ยนบทบาทของโรงเรียน เพื่อให้เป็น “แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของทุกคนในชุมชนและ เป็นศูนย์กลางของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชนบท” ซึง่ จะได้ประโยชน์มากกว่า การเป็น เพียงแค่สถานที่สอนหนังสือเฉพาะเด็กนักเรียน เท่านั้น ผู้ปกครองและชาวบ้านในชุมชนรอบ โรงเรี ย นสามารถเข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มเรี ย นรู ้ แ ละ ถ่ายทอดในเรื่องที่ตนเองสนใจ โดยเฉพาะการท�ำ ธุรกิจด้านการเกษตรด้วยรูปแบบและวิธกี ารใหม่ๆ ส�ำหรับนักเรียน ได้รับการคัดเลือกมาจากทั่ว ประเทศ โดยมีนักเรียนรุ่นพี่เป็นผู้สัมภาษณ์ทั้งตัว นักเรียนผู้มาสมัครและผู้ปกครองของนักเรียน นักเรียนของโรงเรียนมีชัยพัฒนาทุกคนไม่ได้เรียน ฟรี แต่นกั เรียนและผูป้ กครองจะต้องจ่ายค่าเทอม

ด้วยการท�ำความดีชว่ ยเหลือสังคมและปลูกต้นไม้ ในฐานะที่โรงเรียนมีชัยพัฒนาเป็นแหล่งเรียน รูต้ ลอดชีวติ ของทุกคนในชุมชนและเป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนาชนบท จึงได้ให้ความร่วมมือและ ช่วยเหลือหมู่บ้านและโรงเรียนชุมชนขนาดเล็ก ของรัฐ โดยได้รับการสนับสนุนจากภาคธุรกิจ เอกชนและสถาบันการศึกษาต่างๆ ภายใต้ชื่อ โครงการว่า “โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดย มี โรงเรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง School-Based Integrated Rural Development Project (School-BIRD)” โดยเป็นการบูรณาการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานเข้ากับการฝึกทักษะอาชีพ ตาม กลยุทธ์ของ “โรงเรียนมีชยั พัฒนา” เพือ่ พัฒนาให้ โรงเรี ย น เป็ น ทั้ ง สถานที่ ส อนหนั ง สื อ ส� ำ หรั บ นักเรียน ปลูกฝังความซื่อสัตย์ มีวินัย สร้างจิต สาธารณะ รู้จักแบ่งปัน ฝึกทักษะชีวิต อาชีพ และ การท�ำธุรกิจ รวมทั้งขยายโอกาสในการสร้างราย ได้ให้กับโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และคนใน ชุมชน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถพึ่ง ตนเองได้อย่างยั่งยืน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 187

187

22/8/2561 18:13:34


SM

H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเทพนิมิตร

พระครูนิมิตวรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลหนองคู และเจ้าอาวาสวัดเทพนิมิตร

วัดเทพนิมิตร ตั้งอยู่ที่บ้านหนองตราด 122 หมู่ท่ี 5 ต�ำบลหนองคู อ�ำเภอล�ำปลายมาศ

จังหวัดบุรีรัมย์ เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ.2526 โดยชาวบ้านได้ร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ ประกอบศาสนพิ ธี ท างศาสนา และได้ รั บ การอุ ป ถั ม ภ์ บ� ำ รุ ง จากพุ ท ธศาสนิ ก ชนในชุ ม ชน เป็ น อย่ า งดี จึ ง ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 4 มกราคม พ.ศ.2538 วั ด เทพนิ มิ ต ร ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 15 เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ.2546 อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 21 เมตร, กุฏิสงฆ์ 6 หลัง สร้างด้วยไม้ทั้งหลัง, หอระฆัง ขนาด 2 ชั้น กว้าง 3 เมตร ยาว 3 เมตร, ซุ้มประตู ขนาดกว้าง 4 เมตร สูง 45 เมตร 188

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์สมศักดิ์ สิริธโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2524 - 2528 2. พระอาจารย์บุญชู ฐานกโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2528 - 2529 3. พระอาจารย์มณี จนฺทวํโส ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2529 - 2534 4. พระอาจารย์ทองสุข สุธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2534 - 2536 5. พระอาจารย์สุทน อาจาริยธมฺโม ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2536 - 2538 6. พระอธิการพรม ธมฺมวโร ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2538 - 2540 7. พระครู นิ มิ ต วรธรรม(พรม หมั่ น นึ ก นธ.เอก พธ.บ. พธ.ม.) ด�ำรงต�ำแหน่ง พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสชั้นโท พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก

SBL บันทึกประเทศไทย I BURIRAM

.indd 188

05/09/61 11:16:53


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอห้วยราช

ต�ำบลโคกเหล็ก

วัดบา้ นโคกเหล็ก วัดหนองหวา้ วัดโคกขมิน้ วัดบา้ นถนนกระสัง

ต�ำบลตาเสา วัดบา้ นตาเสา วัดป่าสนวล วัดมะขาม

ต�ำบลบา้ นตะโก

วัดเกตุเหนือ วัดปั ญญาโชติวนาราม

ต�ำบลเมืองโพธิ์ วัดเมืองโพธิ์

ต�ำบลสนวน

วัดสนวนนอก วัดสนวนใน วัดช่างหิน วัดป่านกกระเรียน

ต�ำบลสามแวง

วัดปราสาทสูง วัดป่าเลไลย์ วัดอโศกนิมิตาราม วัดโคกเพชร วัดโคกกระเบา

ต�ำบลห้วยราช

วัดแจ้งสมรทศ วัดราษฎร์รังสรรค์ วัดดอนศิลาราม

ไม่อาจท�ำให้คนดี เป็นคนไม่ดีไปได้

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 189

189

5/9/2561 14:05:26


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดมะขาม พระมหาสากล กิตฺติปญฺโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด มะขาม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ต�ำบลตาเสา อ�ำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อตั้งขึ้น

เมื่ อ พ.ศ.2522 บนที่ ดิ น ประมาณ 8 ไร่ 52 ตารางวา ได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ พ.ศ. 2542 ซึ่ ง แต่ เ ดิ ม บริ เ วณนี้ เ ป็ น ทุ ่ ง นาลาดต�่ ำ ไปหาหนองน�้ ำ มี ท างเกวี ย นโบราณกั้ น หนอง น�้ ำ และที่ ส ร้ า งวั ด โดยการปรารภของพระครู วิ ม ลธรรมคุ ต เจ้ า อาวาสวั ด สวายตางวน และรองเจ้ า คณะอ� ำ เภอสตึ ก เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม น� ำ ชาวบ้ า นก่ อ สร้ า ง 190

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 190

05/09/61 11:19:33


วัดจะดี เพราะมีกฎ ก�ำหนดหมาย วัดสะอาด ร่มรื่น ชื่นชีวัน วัดจะดี เพราะมีบ้าน ประสานกิจ สังคมดี เพราะมีวัด เพื่อดัดใจ

ขัดเกลากาย วาจาใจ ไว้ให้มั่น ขัดป้องกัน มลทิน หมดสิ้นไป คอยเป็นมิตร พึ่งพา ได้อาศัย คอยเสริมให้ เข้มแข็ง มีแรงเดิน

ในปี พ.ศ.2529 พระอาจารย์สชุ าติ ฐานวโร เป็นเจ้าอาวาสรูปต่อมา ท่านให้ถมที่ดินเต็ม บริเวณวัด และอาศัยเมตตาบุญบารมีพระครู โพธิคณาจารย์ (หลวงพ่อทองพูน) เจ้าอาวาส วัดเมืองโพธิ์ ได้น�ำพระภิกษุ - สามเณรมาช่วย ขุดปรับสภาพดินช่วงหน้าแล้งต้นปี พ.ศ.2530 ไม่นานนักดินก็ราบเรียบตามสภาพที่เป็นอยู่ พอถึง พ.ศ.2544 ชาวบ้านนิมนต์พระคุณเจ้า พระมหาสากล กิตฺติปญฺโญ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสรูปที่ 6 จนถึงปัจจุบัน ท่านเรียนจบ เปรียญธรรม 9 ประโยค และชาวบ้านได้จัด งานฉลองให้ในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2544 ท่านก็รับค�ำนิมนต์ และเริ่มพัฒนาวัด ต่อมา พ.ศ.2546 ทางวั ด เริ่ ม เก็ บ เงิ น ได้ เ ป็ น ก้ อ น ครั้งแรก 250,000 บาท เริ่มก่อสร้างศาลา การเปรียญทรงปั้นหยา ยกเสาเอกเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2546 ขึ้น 9 ค�่ำเดือน 12 พร้อมงานทอดกฐินของวัด ด้วยงบประมาณ ทั้งสิ้น 1,700,000 บาทถ้วน ในวันอาทิตย์ ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2549 สภาพแวดล้อมภายในวัด ตลอดระยะเวลา 14 ปี วัดมะขามมีการ พัฒนามาโดยตลอดเพื่อให้เป็นเสนาสนะอัน สัปปายะ ส�ำหรับพระสงฆ์บ�ำเพ็ญสมณธรรม และผู้ปฏิบัติธรรมได้ปลีกวิเวกมาภาวนาเพื่อ สงบจิตใจ มีการปลูกต้นไม้เพิ่มเติมจากที่มี อยู่มากมาย อาทิ เช่น ต้นยางนา ตะเคียน ทอง สัก ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้หว้า รวมต้นไม้ที่ ปลูกไว้ประมาณ 2,300 ต้น ตอนนี้ก�ำลังเจริญ เติบโต ร่มรื่นเพื่อคืนป่าให้แผ่นดิน สัตว์ต่างๆ ได้อาศัยป่าไม้ และเป็นมรดกชั่วลูกชั่วหลาน ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระครูวิมลธรรมคุต พ.ศ.2522 (ชั่ ว คราว ) รู ป ที่ 2 พระอาจารย์ บุ ญ เลิ ศ อตฺตทนฺโต พ.ศ.2523 - พ.ศ.2529 รูปที่ 3 พระอาจานย์ สุ ช าติ ฐานวโร พ.ศ.2529 พ.ศ.2532 รูปที่ 4 พระอาจารย์ณฐั วุฒิ ชยธมฺโม พ.ศ.2532 - พ.ศ.2536 รูปที่ 5 พระอาจารย์ รื่น สมาจาโร พ.ศ.2536 - พ.ศ.2544 และ รูปที่ 6 พระมหาสากล กิตฺติปญฺโญ ป.ธ.9, น.ธ.เอก, พธ.บ., ร.ม. (แต่งตั้งเป็นทางการ คณะสงฆ์ ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตัง้ แต่วนั ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ.2544 - ปัจจุบัน และเจ้าคณะ ต�ำบลสามแวง อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 191

191

05/09/61 11:19:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโคกเหล็ก

พระครูปริยัติธรรมวิบูล,ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดโคกเหล็ก เดิมชื่อว่า วัดบูรพาราม บ้านขี้เหล็ก ต�ำบลโคกเหล็ก อ�ำเภอห้วยราช

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เหตุ ที่ วั ด มี ชื่ อ ว่ า วั ด บ้ า นโคกเหล็ ก เพราะตั้ ง ตามเนิ น ขี้ เ หล็ ก ซึ่ ง เป็ น เนิ น สู ง ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของหมู ่ บ ้ า น ทุ ก วั น นี้ เ นิ น ขี้ เ หล็ ก นั้ น ไม่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว เพราะทางส� ำ นั ก งาน เร่ ง รั ด พั ฒ นาชนบท(รพช.) ได้ ขุ ด เอาเนิ น ขี้ เ หล็ ก ทั้ ง หมด กั้ น เป็ น ท� ำ นบชลประทาน ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ของประปาหมู ่ บ ้ า นโคกเหล็ ก ทางด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องหมู ่ บ ้ า น และเมื่ อ ประชากรเพิ่ ม ขึ้ น ทางราชการจึ ง ได้ แ ยกเป็ น 2 หมู ่ บ ้ า น คื อ บ้ า นโคกอรุ ณ หมู ่ 1 บ้ า นโคกเหล็ ก หมู ่ 5 ปั จ จุ บั น ได้ ย กฐานะเป็ น เทศบาลต� ำ บลโคกเหล็ ก อ� ำ เภอห้ ว ยราช โดยที่ ดิ น ของวั ด ได้ รั บ บริ จ าค จาก นายแนม นางเมี ย น มี จ� ำ นวนเนื้ อ ที่ 19 ไร่ 3 งาน 74 ตารางวา ได้ รั บ อนุ ญ าตสร้ า งวั ด เมื่ อ ปี พ.ศ.2466 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2523 192

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 192

05/09/61 11:20:13


ปฏิปทาเจ้าอาวาส พระอธิการเปรียม อชิโต เป็นเจ้าอาวาส รูปแรกผู้ก่อตั้งวัด โดยมี นายเสา บ้านสามแวง เป็นไวยาวัจกร นายจันทร์ อัศจรรย์ เป็นผูใ้ หญ่บา้ น โคกเหล็ ก สมั ย นั้ น ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ.2467 พระอธิการเปรียม ได้ลาสิกขา ท�ำให้ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสว่างลง หลวงพ่อสม ก็ได้อุปสมบท โดยมี หลวงพ่อคง ธมฺมสโร เป็นพระอุปัชฌาย์ หลังจาก หลวงพ่อสม อุปสมบท ได้ 5 พรรษา ก็ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 2 จนถึง พ.ศ.2478 หลวงพ่อสม ได้สร้างและพัฒนาวัด มาเป็นล�ำดับ เช่น สร้างกุฏสิ งฆ์และสร้างอุโบสถ ทีท่ ำ� ด้วยไม้ทงั้ หลัง เสร็จแล้วก็ได้ขอพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า และก็ ไ ด้ ท� ำ พิ ธี ผู ก พั ท ธสี ม า เป็นล�ำดับต่อไป หลังจากงานผูกพัทธสีมาเสร็จสิน้ ไปหลวงพ่อ ก็พฒ ั นามาอย่างต่อเนือ่ ง เป็นทีศ่ รัทธาเลือ่ มใส แก่สาธุชนจนถึงสุดท้ายแห่งชีวติ ของความเป็น สมณะ หลวงพ่ออาพาธและมรณภาพลง ท�ำให้ ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านโคกเหล็กว่างลงอีก ซึ่ ง ขณะนั้ น พระครู ป ราโมทย์ ธ รรมมากร (หลวงปู่เหม่า) อุปสมบทได้ 5 พรรษา และ ก็ จ� ำ พรรษาอยู ่ ที่ บ ้ า นรุ ณ ต� ำ บลบั ว ทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ญาติโยมจึงกราบ อาราธนาให้ ห ลวงพ่ อ กลั บ มารั บ ต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาสวัดโคกเหล็กรูปที่ 3 เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2482 มี หลวงพ่ออุก ฐิติปญฺโญ

เป็นรองเจ้าอาวาส ในสมัยนั้นและร่วมสร้าง บารมี ด ้ ว ยกั น มาโดยตลอดจนมี ญ าติ โ ยม ขนานนามว่า หลวงยาย - หลวงตา หมายความว่า หลวงพ่ออุก เปรียบเหมือน หลวงยายเพราะ ช่วยงานหลวงพ่อซึง่ เป็นเจ้าอาวาสได้เป็นอย่างดี และไม่ เ คยมี อ ธิ ก รณ์ ใ ดๆ เกิ ด ขึ้ น ในการ ช่ ว ยบริ ห ารวั ด ตามที่ ห ลวงพ่ อ เจ้ า อาวาส มอบหมาย ส่วนหลวงพ่อพระครูปราโมทย์ ธรรมากร เปรียบเสมือน หลวงตา เพราะจะคอย ควบคุมดูแลเกี่ยวกับการศึกษา บริหาร พระ ภิกษุ สามเณรให้มคี วามประพฤติดงี ามตามหลัก ของพระธรรมวินยั หลังจากหลวงพ่ออุก ฐิตปิ ญฺโญ อดีตรองเจ้าอาวาสท่านมรณภาพลง พระครู ปราโมทย์ธรรมากร จึงแต่งตั้งให้ พระมหาชวี อิสฺสโร นักธรรมชั้นเอก เป็นรองเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2536 มี นายพันธ์ นับถือสุข, นายเภา วงค์จันทร์ และนายวิชัย อุไรรัมย์ เป็นไวยาวัจกร พระครูปราโมทย์ ธรรมากร ก็ได้บริหารวัดมาโดยตลอดโดยไม่มี อุปสรรคหรืออธิกรณ์ใดๆ เกิดขึ้นภายในวัด ท�ำให้วัดโคกเหล็กนั้น มีความเจริญรุ่งเรือง มาโดยตลอด เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจและพลั ง แห่งศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วทุกสารทิศ มาท�ำบุญในวัดโคกเหล็กอย่างไม่ขาดสาย สมัยนัน้ มีพระภิกษุสามเณรเป็นจ�ำนวนมาก ปีหนึ่งไม่ต�่ำกว่า 60 รูปแต่ทางวัดโคกเหล็ก

ก็ มี ศั ก ยภาพรั บ อบรมพระสงฆ์ ไ ด้ เ ต็ ม ก� ำ ลั ง แม้พระภิกษุสงฆ์จะมีจำ� นวนมากก็ตาม ชาวบ้าน โคกเหล็กโคกอรุณโคกขี้ตุ่น และใกล้เคียงก็ อุปถัมภ์บ�ำรุงพระภิกษุสงฆ์ที่จ�ำพรรษาได้เป็น อย่างดีไม่มีขาดตกบกพร่อง จนถึง พ.ศ.2550 พระครูปราโมทย์ธรรมากร ท่านได้อาพาธลง เพราะสังขารเข้าสู่วัย 94 ปีลูกศิษย์อุปัฏฐาก หลวงพ่อเป็นอย่างดีและสุดความสามารถแล้ว แต่ ก็ ไ ม่ ส ามารถยื้ อ ชี วิ ต ของหลวงพ่ อ ผู ้ เ ป็ น อาจารย์ได้ หลวงพ่อจึงมรณภาพลงเมื่อวันที่ 22 กันยายน 2551 ท�ำให้เจ้าอาวาสว่างลง เป็นครั้งที่ 3 ต่อมา คณะสงฆ์และญาติโยมจึงพิจารณา แต่งตั้งให้ พระครูปริยัติธรรมวิบูล,ดร. เป็น รักษาการเจ้าอาวาส 1 ปี จึงได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ 4 เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2552 รับใบตราตัง้ เจ้าอาวาส จากเจ้าคณะภาค 11 ที่วัดกลางพระอารามหลวง พระครูปริยัติ ธรรมวิ บู ล ,ดร. ก็ ไ ด้ พั ฒ นาวั ด โคกเหล็ ก สานงานพระศาสนาต่อจากอดีตเจ้าอาวาส และได้ด�ำเนินการสร้าง “มณฑป” เพื่อเป็นที่ พระราชทานเพลิ ง ศพและบรรจุ อั ฐิ พ ระครู ปราโมทย์ ธ รรมากรทรงจั ตุ ร มุ ข พร้ อ มวาง ศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2553 จนถึงปัจจุบัน พ.ศ.2561 ใช้งบในการก่อสร้าง ทั้งสิ้น 15 ล้านบาท

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการเปรียม อชิโต 2. หลวงพ่อสม อโสโก 3. พระครูปราโมทย์ธรรมากร (หลวงปู่เหม่า สาลานุโลโม) 4. พระครูปริยัติธรรมวิบูล,ดร. (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน)

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 193

193

05/09/61 11:20:22


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านถนนกระสัง (ธ) พระครูรัตนมงคลญาณ (แก้ว สนฺตจิตฺโต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ดบ้านถนนกระสัง (ธ) ตั้งอยู่เลขที่ 169 หมู่ที่ 4 ต�ำบลโคกเหล็ก อ�ำเภอห้วยราช

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า สั ง กั ด คณะสงฆ์ ธ รรมยุ ต มี ที่ ดิ น 44 ไร่ เดิ ม ชื่ อ ว่ า วั ด ป่ า ธรรมนิ ย ม เริ่ ม สร้ า งขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.2524 แต่ ก ่ อ นนั้ น บริ เ วณวั ด เป็ น ป่ า ช้ า ของชาวบ้ า นในหมู ่ บ ้ า นถนน บ้ า นกระสั ง และบ้ า นตาเมิ น 194

ก่อนที่จะเป็นวัดนั้นได้มีพระธุดงค์รูปหนึ่ง คือ พระอาจารย์พร(ไม่ทราบฉายา) มาปักกลด บริ เวณนี้ จากนั้ น ชาวบ้ า นทั้ ง 3 หมู ่ บ ้ า น ก็ ไ ด้ คิ ด เริ่ ม สร้ า งวั ด จึ ง ได้ อ าราธนานิ ม นต์ พระอาจารย์พรเป็นประธานสร้างวัด ต่อมา มีพระเข้ามาบวชอยู่จ�ำพรรษาด้วยหลายรูป พระอาจารย์ พ รจึ ง มอบหมายให้ พ ระแก้ ว สนฺตจิตโฺ ตดูแลวัดต่อไป ส่วนท่านพระอาจารย์พร ท่านก็เดินธุดงค์ต่อไป

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 194

05/09/61 11:21:40


พ.ศ.2528 ได้รับตราตั้งวัดและได้รับตรา ตั้งเจ้าอาวาสวัด วันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2529 ได้กราบอาราธนานิมนต์เจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสั ง วร สมั ย ท่ า นยั ง เป็ น สมเด็ จ พระราชาคณะ (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสั ง ฆราช สกลมหาสังฆปริน ายก) เป็น ประธานวางศิลาฤกษ์อโุ บสถ และได้ทำ� หนังสือ ขอพระราชทานอนุญาตอัญเชิญพระนามย่อ ญสส. ของพระองค์ มาประดิษฐานที่หน้าบัน อุโบสถวัดบ้านถนนกระสัง(ธ) วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2534 ได้รับหนังสือประทานอนุญาต วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา ต่อมาได้กราบบังคมทูล เชิ ญ เสด็ จ สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด า สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานตัดหวาย ลูกนิมิตอุโบสถวัดบ้านถนนกระสัง วันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2536 พ.ศ.2536 พระครูรัตนมงคลญาณ จัดตั้ง โรงเรียนศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้านถนนกระสังขึน้ พ.ศ.2541 คณะสงฆ์พร้อมด้วยอุบาสก อุบาสิกาและศิษยานุศษิ ย์รว่ มท�ำบุญครบ 6 รอบ 72 ปี ในการนี้ พระครูรตั นมงคลญาณ ถือเป็น โอกาสที่เป็นมงคลจึงได้กราบอาราธนานิมนต์ พระเดชพระคุณพระราชปัญญาวิสารัท เจ้าคณะ จังหวัดบุรีรัมย์(ธรรมยุต) เป็นประธานในการ วางศิ ล าฤกษ์ ศ าลาการเปรี ย ญ ต่ อ มาทาง วั ด บ้ า นถนนกระสั ง (ธ) ได้ ข อพระราชทาน อัญเชิญตราสัญลักษณ์ สก.ประดิษฐานหน้า บันศาลาการเปรียญ เนื่องในวโรกาส พระราช พิธีมงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ 12 สิงหาคม พ.ศ.2547 วันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2548 ได้รบั พระราชทานพระราชานุญาต โดยท่านผูห้ ญิงภรณี มหานนท์ รองราชเลขานุการ ในพระองค์ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถผู้สนองงาน และในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2548 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ ทรงเป็ น ประธานประกอบพิ ธี เ ปิ ด ป้ า ยตรา สั ญ ลั ก ษณ์ สก. หน้ า บั น ศาลาการเปรี ย ญ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ ครบ 72 พรรษามหาราชินี วั น ที่ 25 มี น าคม พ.ศ.2550 ได้ ก ราบ อาราธนานิ ม นต์ พ ระเดชพระคุ ณ พระราช ปัญญาวิสารัท เจ้าคณะจังหวัดบุรรี มั ย์(ธรรมยุต)

เป็นประธานวางศิลาฤกษ์กุฏิรัตนมงคลญาณ นุสรณ์ วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2552 ได้ท�ำหนังสือ ขอประทานพระบรมสารี ริ ก ธาตุ จาก สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก วัดบวรนิเวศวิหาร เพื่อ น�ำมาประดิษฐาน ณ อุโบสถวัด ต่อมาวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 ได้รับประทาน พระบรมสารี ริ ก ธาตุ จ ากพระองค์ โดยมี พระเทพสารเวที ผู้ปฏิบัติหน้าที่เลขานุการ สมเด็จพระสังฆราชเป็นผู้แทนพระองค์มอบ พระบรมสารีริกธาตุ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร วั น ที่ 25 มี น าคม พ.ศ.2553 ได้ ก ราบ อาราธนานิมนต์เจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต กรรมการมหาเถรสมาคมและผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานเททองหล่อฉัตร เพื่อยกขึ้นประดิษฐานเหนือบุษบกอุโบสถวัด บ้านถนนกระสัง(ธ) เพื่อเทิดพระเกียรติและ ถวายเป็นพระกุศลแด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทีท่ รงเจริญพระชันษาครบ 96 ปี หลังจากนัน้ ได้ขอประทานนามเจดียจ์ ากพระองค์ วันที่ 28

มิถุนายน พ.ศ.2554 ได้รับประทานนามว่า “พระรัตนเจดียม์ งคลญาณนุสรณ์” และในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2556 ได้กราบอาราธนา นิ ม นต์ เจ้ า ประคุ ณ สมเด็ จ พระวั น รั ต เป็ น ประธานในพิธยี กฉัตรขึน้ ประดิษฐานเหนือยอด บุ ษ บกอุ โ บสถวั ด บ้ า นถนนกระสั ง (ธ) และ ประกอบพิ ธี ว างศิ ล าฤกษ์ “พระรั ต นเจดี ย ์ มงคลญาณนุสรณ์” วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2559 พระบาท สมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน ผ้าไตร จ�ำนวน 1 ไตร น�้ำสรงพร้อมพุ่มดอกบัว 1 พาน เนื่องในพิธีท�ำบุญอายุวัฒนมงคลครบ 90 ปี ถวายแด่ พระครู รั ต นมงคลญาณ (แก้ว สนฺตจิตโฺ ต) เจ้าอาวาสวัดบ้านถนนกระสัง(ธ) ณ ศาลาเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชิ นี น าถ หลั ง จากนั้ น พระครู รัตนมงคลญาณ เจ้าอาวาสวัดบ้านถนนกระสัง(ธ) ท่ า นได้ จั ด สร้ า งถาวรวั ต ถุ แ ละได้ พั ฒ นาวั ด ดูแลปรับปรุง ปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุมาตลอด จนถึงทุกวันนี้ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 195

195

05/09/61 11:21:52


H I S TO R Y O F B U D D H IS M

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดช่างหิน

พระมหาเตือนภัย จนฺทโก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ช่างหิน ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านสวายจีกน้อย หมู่ที่ 1 ต�ำบลสนวน อ�ำเภอห้วยราช

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 5 ไร่ 3 งาน 32 ตารางวา และมี ที่ ธ รณี ส งฆ์ จ� ำ นวน 1 แปลง เนื้ อ ที่ 10 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา 196

การเดินทางมาวัดช่างหิน บ้านสวายจีกน้อย ห่ า งจากตั ว จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 16 กิ โ ลเมตร โดยเส้ น ทาง บุ รี รั ม ย์ - ห้ ว ยราช (อ�ำเภอไปทางทิศใต้ ประมาณ 6 กิโลเมตร) อีกทางเส้น บุรีรัมย์-สุรินทร์ ถนนสาย 226 ถึง บ้ า นสวายจี ก เข้ า แยกอ� ำ เภอห้ ว ยราช ประมาณ 2 กิโลเมตร ก็ถึงวัดช่างหิน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 196

05/09/61 11:23:27


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดช่างหิน ตั้งเมื่อ พ.ศ.2459 ลักษณะพื้นที่ ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ เป็นที่ราบสูงวัดนี้ ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “วั ด บ้ า นสวายจี ก น้ อ ย” ด�ำเนินการก่อตั้งโดยพระอาจารย์อิน สุขมโน ได้น�ำพาชาวบ้านก่อสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2459 และสร้างอุโบสถขึ้นในกาลต่อมา วันที่ 13 เมษายน พ.ศ.2477 จึงได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7 เมตร ยาว 12 เมตร อาคารเสนาสนะ : อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2475 เป็นอาคารไม้ ศาลาการเปรียญ กว้าง 14 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2505 เป็นอาคารไม้ กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง เป็นอาคารตึก ปูชนียวัตถุ : พระประธานในอุโบสถและ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง และ เจดียบ์ รู พาจารย์ ประดิ ษ ฐานรู ป เหมื อ น อดี ต เจ้ า อาวาส พระครูสุทธิสีลาภรณ์(บัว พุทธจิตโต) การบริหารและการปกครอง : มีเจ้าอาวาส เท่าที่ทราบนาม ดังนี้ 1.พระอิน สุขมโน 2.พระครู สุ ท ธิ ศี ล าภรณ์ ( บั ว พุ ท ธจิ ต โต) หรือ หลวงพ่อบัว พ.ศ.2486 - พ.ศ.2545 3.พระมหาเตื อ นภั ย จนฺ ท โก น.ธ.เอก ป.ธ.4 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสในปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระมหาเตือนภัย จนฺทโก นามสกุล กิริรัมย์ อายุ 54 พรรษา 25 ป.ธ. 4 น.ธ. เอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดช่างหิน อ�ำเภอห้วยราช จังหวัดบุรีรัมย์ งานการศึกษาของสงฆ์ : โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2516 งานการสงเคราะห์ : ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2536 วัตถุมงคลพระครูสุทธิสีลาภรณ์(บัว พุทธจิตโต) หรือ หลวงพ่อบัว ที่ชาวบ้านเรียกโดยทั่วไป ถือว่าเป็นเกจิอาจารย์รปู หนึง่ ในเขตพืน้ ทีท่ ช่ี าวบ้านเคารพนับถือ ท่านได้สร้างวัตถุมงคลไว้หลายอย่าง อาทิ เช่น ผ้ายันต์, เสื้อยันต์ และที่นิยมคือ เหรียญเนื้อทองเหลือง ปี พ.ศ.2524 เป็นเหรียญรุ่นแรก และต่อมาท่านก็สร้างรุ่น 2 ปี พ.ศ.2526 ชาวบ้านบูชาติดตัว มีประสบการณ์มากมายทางด้าน แคล้วคลาด เมตตามหานิยม ต่อมาพระมหาเตือนภัย จนฺทโก เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันก็ได้สร้างอีกหนึ่งรุ่น ในงานพระราชทาน เพลิงศพพระครูสทุ ธิสลี าภรณ์ เป็นพระกริง่ เนือ้ ทองเหลืองเนือ้ เงินและอัลปาก้า และเหรียญเนือ้ ผง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 197

197

05/09/61 11:23:43


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลสามแวง “เทศบาลต�ำบลสามแวง ได้ยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนต�ำบลเป็นเทศบาลต�ำบลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 เดิมทีต�ำบลสามแวงแยกมาจากต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ เมื่อปี พ.ศ. 2480”

“มุ่งมั่น พัฒนา ปฏิรูปเพื่อชุมชน”

นายเจษฎากร เขียนนิลศิริ นายกเทศมนตรีต�ำบลสามแวง

“สามแวง” เป็นชื่อต�ำบลที่เรียกตามลักษณะของสภาพภูมิศาสตร์ที่มี

ล�ำน�้ำไหลผ่านและมีพืชตระกูลหญ้าเกิดตามหนองน�้ำ ซึ่งในภาษาเขมร ค�ำว่า “เวง” ที่เพี้ยนเป็นแวงนั้น แปลว่า “ยาว” ส�ำหรับค�ำว่า “สาม” เพี้ยนมาจาก “อันซาม” ซึ่งเป็นพืชตระกูลหญ้า ต�ำบลสามแวง มีหมูบ่ า้ นในการปกครองทัง้ สิน้ 9 หมูบ่ า้ น ได้แก่ บ้านสามแวง บ้านใหม่ บ้านใหม่ บ้านสะแกสามัคคี บ้านใหม่ บ้านโคกเจริญ บ้านใหม่ทกั ษิณ บ้านเพชรน้อย และบ้านโคกกระเบา ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาเขมรใน การสื่อสาร เมือ่ กล่าวถึงต�ำบลสามแวง หลายคนก็จะนึกถึงพระครูสงั วรานุยตุ (หลวงปู่ ต๊ะ ธมมณียโก) เกจิอาจารย์ ผู้ประพฤติดีประพฤติชอบ แห่งวัดป่าเลไลย์ (บ้านใหม่) ซึ่งท่านเชี่ยวชาญในเรื่องของวิชาอาคม คงกระพัน ท�ำให้ลูกหลาน ชาวต�ำบลสามแวง เคารพนับถือท่านเป็นอย่างมาก ปัจจุบันมีพระครูวิมล อิสรธรรม (หลวงปูเ่ ม้า) เป็นเจ้าอาวาส ซึง่ ลูกหลานชาวต�ำบลสามแวง ให้ความ เคารพนับถือ ยกย่องให้ท่านเป็นพระนักพัฒนา

และสิ่งที่อยู่คู่ชาวต�ำบลสามแวงมาช้านาน ก็คือหนองน�้ำชลประทาน หนองโคกเหล็กที่หล่อเลี้ยงชีวิตชาวบ้าน 2 ต�ำบล คือ เทศบาลต�ำบลโคกเหล็ก และเทศบาลต�ำบลสามแวงมาช้านาน หนองน�้ำแห่งนี้ยังคงความอุดมสมบูรณ์ น�้ำที่ใสไหลเย็นท�ำให้ใครที่ผ่านไปมาในยามเย็นอดไม่ได้ที่จะจอดรถแวะพัก สู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ ซึ่ ง ทางเทศบาลต� ำ บลสามแวง น� ำ โดยนายเจษฎากร เขียนนิลศิริ นายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลสามแวง ก�ำลังพัฒนาเพือ่ เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จัดให้มีตลาดชุมชนขึ้นเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจให้ชุมชน ตามความตั้งใจในการปฏิรูปพัฒนาต�ำบลสามแวง ให้ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการศึกษา เศรษฐกิจและสังคม

198

2

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 198

25/8/2561 17:30:52


การส่งเสริมเรื่องการศึกษา พัฒนาคนตั้งแต่ เยาว์ วั ย ให้ เ ป็ น ผู ้ ใ หญ่ ที่ มี คุ ณ ภาพในอนาคต โดยทางเทศบาลได้ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก วั ด ป่ า เลไลย์ และยั ง ได้ ย กระดั บ เป็ น โรงเรี ย น อนุบาล เทศบาลต�ำบลสามแวง (วิมล อิสรธรรม) เป็นโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกของจังหวัดที่ก่อตั้ง โดยเทศบาล ปัจจุบันมีผู้ปกครองในเขตต�ำบล สามแวง และต�ำบลใกล้เคียงให้ความสนใจส่ง บุตรหลานมาเล่าเรียนที่นี่เป็นจ�ำนวนไม่น้อย การส่งเสริมอาชีพ เพือ่ ให้ชาวต�ำบลสามแวง มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซึ่งต�ำบลสามแวงมีการท�ำ นาปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก และข้าวหอมมะลิของ ทีน่ ไี่ ด้รบั การยอมรับจากหลายๆ แห่งทัว่ ประเทศว่า หอมอร่อย ทางเทศบาลจึงได้ส่งเสริมด้วยการรับ ซื้ อ ข้ า วสารจากประชาชนจั ด จ� ำ หน่ า ยให้ เ ป็ น แบรนด์ของต�ำบลในชื่อ “อังกอร์เซราะกราว” นอกจากการท�ำนาปลูกข้าวที่เป็นอาชีพหลัก แล้ว ก็ยังมีการทอผ้าไหม ที่ชาวบ้านทั้ง 9 หมู่ ล้วนฝีมอื ในด้านนี้ ผ้าไหมของสามแวงมีเอกลักษณ์ คือ เป็นหัวไหมทีเ่ ส้นไม่เล็กเหมือนไหมทีอ่ นื่ ๆ และ ลวดลายโบราณคือ ลายลูกแก้ว หรือดอกพิกุล ซึ่งล่าสุด กลุ่มเยาวชนที่สานต่อเรื่องการทอผ้า ก�ำลังจัดท�ำลวดลาย “บุรีรัมย์ยูไนเต็ด” อันเป็น สัญลักษณ์ของเมืองบุรรี มั ย์ มหานครแห่งกีฬา เพือ่ ทอส่งไปจัดจ�ำหน่ายยังสนามช้างอารีน่า บุรีรัมย์ และปัจจุบันทางเทศบาลก็ได้ส่งเสริมให้มีการ ทอผ้าฝ้ายขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ�ำหน่าย เพิ่มรายได้ให้กับชาวต�ำบลสามแวงเพิ่มขึ้น และก็ ยังมี เรือ่ งของการจักสาน ทีผ่ เู้ ฒ่าผูแ้ ก่หลายคนยัง คงสานข้าวของเครือ่ งใช้ เครือ่ งมือด�ำรงชีพซึง่ มีให้ เห็นกันทุกหมู่บ้าน นอกจากนีเ้ รายังมีปราชญ์ชาวบ้านหลากหลาย สาชาอาชีพ ตลอดจนผูท้ รงคุณวุฒหิ ลายท่าน ทัง้ ผูน้ ำ� ชุมชนในแต่ละหมู่อย่าง นายกฤษฎา บุญคล้อย ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนบ้านเกตตุ ทีเ่ ป็นหนึง่ ตัวอย่าง ของคนรุ่นใหม่ในการน�ำทฤษฎีเกษตรผสมผสาน ของพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้จนได้ผลดี อีกจุดเด่นของชาวต�ำบลสามแวงคือ เรือ่ งของ “กลองยาว” เป็นกลองยาวชาวบ้านในแบบฉบับ ของอี ส านใต้ (กั น ตรึ ม ) ที่ ท างเทศบาลเข้ า ไป ส่งเสริมสนับสนุนให้กลุ่มชาวบ้านที่มีฝีไม้ลายมือ เรื่องของการตีกลอง ฉิ่ง ฉาบ สีซอมารวมกลุ่มกัน

เพื่อรับแสดงในงานต่างๆ ทั้งงานบวช งานแต่ง งานเทศกาลประเพณี ทั้งในต�ำบลสามแวง ตลอด จนถึงจังหวัดใกล้เคียง รวมถึงการจัดตัง้ กลุม่ ต่างๆ ขึน้ เพือ่ เพิม่ รายได้ ให้กบั ครัวเรือน เช่น กลุม่ นวดแผนไทย กลุม่ ท�ำน�ำ้ ดืม่ กลุม่ ท�ำอาหารสัตว์ ตลอดจนการจัดตัง้ ตลาดประชารัฐ ในชือ่ ตลาดสามแวงเซราะแอง วอล์คกิง้ สตรีท ที่ให้

ประชาชนในเขตต�ำบลสามแวงน�ำสินค้าในชุมชน มาจัดจ�ำหน่ายในราคาประหยัด ในส่วนของกิจกรรมวันส�ำคัญ งานบุญ งาน ประเพณี ทางเทศบาลต� ำ บลสามแวงก็ ไ ด้ จั ด กิจกรรมไม่ได้ขาด โดยได้รบั ความร่วมมือจากผูน้ ำ� ท้องถิ่น ผู้น�ำท้องที่ โรงเรียน ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนเป็นอย่างดี BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 199

199

22/8/2561 17:36:50


รีสอร์ทในฝั น สวรรค์ริมทุ่ง บ้านสนวนรี สอร์ท ที่พักสวยงาม สะอาด แสนสะดวกสบาย ท่ามกลาง กลิ่ น อายชนบทอี ส านใต้ ใจกลาง หมู่บ้านวัฒนธรรมทอผ้าไหมพื้นเมือง ของบุรีรมั ย์ (ระยะทางประมาณ 15 กม. จากตัวเมืองบุรีรมั ย์) ทีท่ า่ นจะได้สมั ผัส และชื่ น ชมวิ ถี ชี วิ ต คนท้ อ งถิ่ น ที่ ยั ง คงรักษาวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของ คนอีสานใต้อย่างใกล้ชิด ห้ อ งพั ก เริ่ ม ต้ น ในราคาสบาย กระเป๋าพร้อมอาหารเช้า มีบริการจัดเลีย้ ง ห้องสัมมนา ห้อง อาหาร อาหารอร่อย บริ การเป็นกันเอง สัมผัสบรรยากาศริมทุง่ พร้อมสระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง ทันสมัยท่ามกลางธรรมชาติ

Baan Sanuan บ้านสนวน

200

2

Resort

“ขอบคุณแทนบ้านสนวนรีสอร์ทด้วย ที่พักดีๆ รบกวนช่วยกันบอกต่อนะคะ”

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

Baan Sanuan Resort.indd 200

22/8/2561 14:49:58


กิ จ กรรมในหมู ่ บ ้ า นท่ อ งเที่ ย วบ้ า นสนวน

บ้านสนวนรีสอร์ท (Baan Sanuan Resort) ตั้งอยู่เลขที่ 131 หมู่ที่ 2 ต.สนวน อ.ห้วยราช จ.บุรีรัมย์ 31000 ติดต่อส�ำรองห้องพักโทรศัพท์ 044-666776 ,044-666829 tao270925

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

Baan Sanuan Resort.indd 201

201

22/8/2561 14:50:07


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอละหานทราย

ต�ำบลโคกวา่ น

วัดปานจัยนาราม วัดโคกวา่ น วัดบูรพาราม วัดหนองตะครองนอ้ ย วัดป่าสมบูรณธ์ รรมาราม วัดโคกวา่ นใหม่ ทีพ่ ักสงฆป์ ่ าหนองหมี

ต�ำบลตาจง

วัดชุมพร วัดหนองมดแดง วัดหัวสนาม วัดหัวสะพาน วัดศิลาทอง วัดบา้ นบุ วัดบา้ นสวา่ งพัฒนา วัดบา้ นละลม

วัดป่าบา้ นบุ วัดป่าพุทธนิมิตธรรม วัดบา้ นยาง วัดโคกตาพรม วัดเทพพยัคฆ์ วัดปรือพวงส�ำราญ วัดหัวท�ำนบ วัดหนองโบสถ์ วัดพระธาตุนิมิตธรรม วัดโคกวา่ น วัดพรมจิราราม ป่าเขาลอย วัดป่าเทพพยัคฆภูมิ วัดหนองปรือพวงส�ำราญ

ต�ำบลละหานทราย วัดป่าละหานทราย วัดโพธิท์ รายทอง

วัดนอ้ ยล�ำคลอง วัดป่าโคกสะอาด วัดชลประทาน วัดสระโบราณสามัคคี วัดมุนีรัตนาราม วัดหนองละหานทราย

ต�ำบลส�ำโรงใหม่

วัดส�ำโรง วัดโคกไมแ้ ดง วัดป่าหนองปรือ

202

วัดสันติสุข วัดโคกเฟื อง วัดนอ้ ยหนองหวา้ วัดหนองกระทุม่ วัดป่าโคกเฟื อง วัดป่าสันติสุข วัดหินหลุมสันติสุข

วัดหนองตะครอง วัดหนองกราด วัดโนนเพชร วัดตากองสระกลาง วัดเทพนิมิต(โนนสวรรค)์ วัดป่าแสงธรรม

ต�ำบลหนองแวง ต�ำบลหนองตะครอง วัดโคกสะอาด วัดกัลยาณธรรม

วัดปากช่อง วัดหนองแวง วัดหงอนไก่

วัดหนองหวา้ วัดหนองตาเยา วัดราษฏร์สามัคคีธรรม วัดผไทรวมพล วัดศรีทายาท วัดราษฏร์รักแดน วัดแทน่ ทัพไทย วัดขวัญบุรีรัมย์ วัดป่าเขาลังกา วัดป่าเขาปลวก

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 202

5/9/2561 13:55:31


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดปานจัยนาราม พระครูบุญเขตวิชัย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอละหานทราย และ เจ้าอาวาส

วั ด ปานจัยนาราม ตั้งอยู่ที่ บ้านหนองหมี ต�ำบลโคกว่าน อ�ำเภอละหานทราย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี พื้ น ที่ จ� ำ นวนประมาณ 50 ไร่ สร้ า งโดยหลวงปู ่ สุ ข ธมฺ ม โชโต (พระครู ภาวนาภิ ม ณฑ์ ) เจ้ า อาวาสวั ด โพธิ์ ท รายทอง เมื่ อ ปี พ.ศ. 2494 ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2513 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง วั ด และในปี พ.ศ. 2529 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าและ เป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์

ปัจจุบัน พระครูบุญเขตวิชัย (วิชัย ขนฺติสาโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาส และ เจ้าคณะ อ�ำเภอละหานทราย ถาวรวัตถุภายในวัด มีดังนี้ อุโบสถ 2 ชั้น ศาลาพุทธชยันตี 2600 ปี กุฏิทรงไทย 3 ชั้น ติดต่อทางวัดโทร. 08-9945-9255 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 203

203

05/09/61 11:26:32


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

อุโบสถกลางน�้ำ

วัดป่าละหานทราย พระมหา ดร. เรืองฤทธิ์ สุธีโร (น.ธ.เอก ป.ธ.4 Ph.D.) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดป่าละหานทราย ตั้งอยู่เลขที่ 505 หมู่ 2 ต�ำบลละหานทราย อ�ำเภอละหานทราย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 80 ไร่ จากการถวายของนายประสิ ท ธิ์ พั ล วั ล อดี ต ก� ำ นั น ต� ำ บลละหานทราย และทางวั ด ได้ ซื้ อ ขยายเพิ่ ม เติ ม อี ก พื้ น ที่ เ ป็ น สภาพป่ า ไม้ ทั้ ง หมด มี ต ้ น ไม้ ป ่ า อาทิ ประดู ่ พยุ ง ล� ำ ดวน เป็ น ต้ น และมี สั ต ว์ ป ่ า บางชนิ ด เช่ น บ่ า ง กระรอก กระแต ไก่ ป ่ า ป่ า ยั ง มี ค วามสมบู ร ณ์ ต ามธรรมชาติ วั ด ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2523

ติดต่อทางวัดโทร. 08-1363-7029

204

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 204

05/09/61 11:31:00


จากด�ำริของพระครูวิบูลวรญาณ เจ้าคณะ อ�ำเภอละหานทราย (ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษา เจ้าคณะอ�ำเภอละหานทราย พ.ศ.2558) ที่ ต้องการให้คณะสงฆ์อ�ำเภอละหานทรายมีวัด ที่เป็นวัดป่า เพื่อเป็นสถานที่อบรม ปฏิบัติ ด้ า นจิ ต ตภาวนาของคณะสงฆ์ อ� ำ เภอและ ประชาชนทั่วไป ซึ่งอยู่ไม่ห่างไกลจากตัวเมือง มากนัก กระทั่งได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2551 และได้รับการ ประกาศตัง้ วัดในพระพุทธศาสนา เมือ่ วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2556 ปั จ จุ บั น พระมหา ดร.เรื อ งฤทธิ์ สุ ธี โร (น.ธ.เอก ป.ธ.4 Ph.D.) เป็ น เจ้ า อาวาส วัดป่าละหานทราย และด�ำรงต�ำแหน่งเป็น รองเจ้ า คณะอ� ำ เภอละหานทราย โดยใน สมัยแรกมีการนิมนต์พระสายวัดหนองป่าพง มาวางรากฐานระเบียบข้อปฏิบตั ิ ซึง่ คณะพระ วัดหนองป่าพงอยู่ได้ระยะหนึ่ง ก็ได้ลาออกไป พระครูวบิ ลู วรญาณ เจ้าคณะอ�ำเภอละหานทราย จึงได้มอบหมายให้พระครูปริยตั ยากร (พิพฒ ั น์ อินฺทวีโร ป.ธ.3) ซึ่งในระหว่างนั้นท่านได้ศึกษา ปฏิ บั ติ ก รรมฐานอยู ่ กั บ หลวงพ่ อ กั ส สปมุ นี ส� ำ นั ก วั ด ปิ ป ผลิ ว นาราม อ� ำ เภอบ้ า นค่ า ย จังหวัดระยอง ให้มาเป็นเจ้าส�ำนัก ซึง่ หลวงพ่อ กั ส สปมุ นี เป็ น สั ท ธิ ก วิ ห าริ ก ในเจ้ า พระคุ ณ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริมหาเถร) วัดพระเชตุพนวิมล มังคลารามราชวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร ต่อมา ปี พ.ศ.2544 พระมหาเรืองฤทธิ์ สุธีโร (ป.ธ.4 Ph.D.) ได้รับเป็นเจ้าส�ำนักสืบต่อจาก อดีตพระครูปริยตั ยากร (พิพฒ ั น์ อินทฺ วีโร ป.ธ.3)

วิหารพุทธร่มโพธิ์ สร้าง พ.ศ.2550 ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุจากประเทศอินเดีย โดย ได้รบั จากผูว้ า่ การรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เป็นผูม้ อบถวายให้ และประดิษฐานพระพุทธรูปหยก สร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในมงคลสมัย ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

พิพิธภัณฑ์บูรพาจารย์ สถานที่ประดิษฐานรูปหล่อส�ำริด พระครูภาวนาภิมณฑ์ (หลวงปู่สุข ธัมฺมะโชโต) และหลวงปู่กัสสปมุนี ผู้เป็นบูรพาจารย์กัมมัฏฐานของส�ำนักวัดป่าละหานทราย ได้ท�ำพิธีเปิดป้ายเมื่อปี พ.ศ.2554 โดยผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประธาน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 205

205

05/09/61 11:31:18


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดส�ำโรง พระครูบุญเขตวิชัย(วิชัย ขนฺติสาโร) เจ้าคณะอ�ำเภอละหานทราย รักษาการเจ้าอาวาส

วั ด ส� ำ โรง ตั้ ง อยู ่ ใ นต� ำ บลส� ำ โรงใหม่ อ� ำ เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2411 ปั จ จุ บั น มี อ ายุ 150 ปี มี เ จ้ า อาวาสมาแล้ ว 19 รู ป อุ โ บสถ อายุ 100 กว่ า ปี สร้ า งแล้ ว เสร็ จ สมั ย หลวงปู ่ อิ น เป็ น เจ้ า อาวาส พ.ศ.2460 ซึ่ ง หลวงปู ่ อิ น เป็ น พระอาจารย์ กั ม มั ฏ ฐานและประสิ ท ธิ วิ ท ยาคมให้ แ ก่ ห ลวงปู ่ สุ ข ธั ม มะโชโต(พระครู ภาวนาภิ ม ณฑ์ ) อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด โพธิ์ ท รายทอง ติดต่อทางวัดโทร. 08-8475-3254 206

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 206

05/09/61 11:32:10


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหัวสะพาน

พระครูประสิทธิ์ธรรมรัต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด หัวสะพาน ตั้งอยู่ที่ บ้านหัวสะพาน หมู่ที่ 8 ต�ำบลตาจง อ�ำเภอละหานทราย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ วั ด เกิ ด ขึ้ น จากศรั ท ธาสาธุ ช น เริ่ ม จากชาวบ้ า นหั ว สะพานอยากมี ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจในชุ ม ชนจึ ง ได้ นิ ม นต์ ห ลวงพ่ อ เกา มาอยู ่ จ� ำ พรรษา โดยเริ่ ม จากตั้ ง เป็ น “ที่ พั ก สงฆ์ หั ว สะพาน” ต่ อ มา ชาวบ้ า นหั ว สะพานเห็ น ว่ า ที่ พั ก สงฆ์ ข าดหั ว หน้ า ที่ พั ก สงฆ์ จึ ง ได้ ร ่ ว มใจกั น ไปนิ ม นต์ หลวงพ่ อ เล็ ก รติ โ ก มาจ� ำ พรรษา ในปี พ .ศ.2550 ท่ า นได้ คิ ด ริ เ ริ่ ม น� ำ ชุ ม ชนหั ว สะพาน ท� ำ เรื่ อ งเปลี่ ย นจากที่ พั ก สงฆ์ เ ป็ น “ส� ำ นั ก สงฆ์ หั ว สะพาน”

ติดต่อพระครูประสิทธิ์ธรรมรัต โทร. 08-7252-3698

ต่ อ มาในปี พ.ศ.2552 ท่ า นได้ คิ ด ริ เริ่ ม น� ำ ชุ ม ชนหั ว สะพาน ท� ำ เรื่ อ งเปลี่ ย นจาก ส�ำนักสงฆ์หัวสะพานเป็น “วัดหัวสะพาน” โดยได้รับค�ำแนะน�ำจากนายอุดม แซ่ตั้ง (ท่าน ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกเทศมนตรี ต� ำ บลตาจง) ขณะนั้นได้รับอนุญาตให้สร้างวัดหัวสะพาน หมู่ที่ 8 ต.ตาจง อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ขึ้น ด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จึงประกาศ เป็นวัด เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2552 เป็นต้นมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น และได้ อ ยู ่ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ทางใจ ชาวบ้านหัวสะพาน จวบจนถึงปัจจุบัน วัดมี เนื้อที่ทั้งหมด 9 ไร่ 2 งาน 88 ตารางวา โดยมี พระครู ป ระสิ ท ธิ์ ธมมฺ รั ต ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 207

207

05/09/61 11:32:38


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโคกตาพรม เนื้อที่ 46 ไร่ 3 งาน

วัดโคกตาพรม

พระครูนันทพรหมคุณ(นิจิรัมย์ ธมฺมานนฺโท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โคกตาพรม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 329 หมู ่ ที่ 2 บ้ า นโคกตาพรม ต� ำ บลตาจง

อ� ำ เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ จากการเล่ า สื บ ต่ อ กั น มาเริ่ ม ต้ น มี พระอธิ ก าร(ตอย) หั ว หน้ า คณะสงฆ์ เ ป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม สร้ า งวั ด ในปี พ.ศ.2526 โดยมี เ จ้ า ภาพถวายที่ ดิ น ชื่ อ ว่ า เป๊ า ะ พรหมลั ก ษณ์ ในเนื้ อ ที่ 46 ไร่ 3 งาน แล้ ว ได้ ร วมกลุ ่ ม กั บ ชาวบ้ า นบู ร ณะเรื่ อ ยมา จนถึ ง ปั จ จุ บั น จั ด ตั้ ง เป็ น วั ด ในปี พ.ศ.2527 ที่ ม าของวั ด โคกตาพรม ตั้ ง ตามชื่ อ หมู ่ บ ้ า นโดยค� ำ ว่ า “โคกตาพรม” มาจากการที่ มี การปลู ก ต้ น ไม้ เ ป็ น แนวเขต เป็ น ที่ ม าของพรมแดน เลยได้ ชื่ อ ที่ ม าของหมู ่ บ ้ า นโคกตาพรม ในปั จ จุ บั น 208

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 208

05/09/61 11:33:09


ในอดี ต กาล วั ด ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น ศู น ย์ ก ลาง และเป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของคนในชุ ม ชน รวมทั้ ง คนในชุ ม ชนรอบๆ วั ด ยั ง ใช้ วั ด เป็ น สถานที่พบปะสังสรรค์ และท�ำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน เช่น การประชุมหมู่บ้าน การประชุม ราชการ หรือให้วัดเป็นศูนย์การเรียนรู้ แต่ ในปัจจุบันท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง ของสังคม วัฒนธรรมตะวันตกที่ไหลบ่าเข้ามา สู่สังคมไทย ท�ำให้เด็ก เยาวชน และประชาชน หันไปยึดติดในวัตถุนิยมมากเกินไป เป็นผล ให้ ค นห่ า งไกลจากวั ด โดยไม่ รู ้ ตั ว วั ด จึ ง ได้ ลดบทบาทจากในอดี ต ทางวั ด โคกตาพรม น�ำโดยพระครูนันทพรหมคุณ เจ้าอาวาสจึงได้ เข้ า โครงการพระสอนศี ล ธรรมในโรงเรี ย น ซึ่ ง จั ด โดยมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณ ราชวิทยาลัย โดยน�ำหลักธรรมมาช่วยสอน ในโรงเรียนบ้านโคกตาพรม เป็นการน�ำร่อง น�ำศีลธรรมกลับมาไว้ในใจของเด็กๆ ก่อนที่ จะสายเกิ น ไป เพื่อให้ชุม ชนและสังคมไทย ในวั น นี้ ไ ด้ ย ้ อ นกลับ ไปหาราก คือพระพุทธ ศาสนา เพื่อน�ำทิศทางให้จิตใจได้มีหลักธรรม ในการด�ำเนินชีวิตให้ผาสุกร่มเย็น โดยหมู่บ้าน แต่ละหมู่บ้านต่างมีวัดประจ�ำหมู่บ้านของตน เป็นศูนย์กลาง ซึ่งถือว่าเป็นสมบัติรวมของ คนทั้งหมู่บ้าน

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์กวาง 2. พระอาจารย์ตอย 3. พระอาจารย์บิน 4. พระอาจารย์พิม 5. พระครูนันทพรหมคุณ(นิจิรัมย์ ธมฺมานนฺโท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสในปัจจุบัน

โล่รางวัล “สิงห์ทอง” พระครูนันทพรหมคุณ เจ้าอาวาสวัดโคกตาพรม ต�ำบลตาจง อ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ ได้ รั บ เลื อ กเป็ น บุ ค คลตั ว อย่ า ง “ผู ้ บ ริ ห ารและ นั ก พั ฒ นาองค์ ก รดี เ ด่ น แห่ ง ปี ” ประจ� ำ ปี 2558 (รางวัลธรรมาภิบาล)

ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูนันทพรหมคุณ(นิจิรัมย์ ธมฺมานนฺโท) เกิดเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2495 ณ หมู่ที่ 5 ต�ำบลเสม็ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ อุปสมบท เมื่ อ วั น ที่ 27 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2523 อายุ 27 พรรษา ณ วั ด บ้ า นไทร ต� ำ บลบ้ า นไทร อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ โดย พระครูอาทรสาสนกิต เป็นพระอุปัชฌาย์ เข้าประจ�ำเป็น พระภิกษุสงฆ์ ณ วัดกลาง อ�ำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นเวลา 1 พรรษา พ.ศ.2524 สอบได้นักธรรมชั้นตรี พ.ศ.2526 สอบได้นักธรรมชั้นโท พ.ศ.2528 สอบได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ.2528 - 2531 ได้จาริกไปประจ�ำที่วัดสูงยาง ต.บ้านแก้ง อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี พ.ศ.2531 - 2532 ได้จาริกไปประจ�ำทีว่ ดั บ้านแถว ต.หนองขนาก อ.ท่าเรือ จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2533 - 2537 กลับมาประจ�ำที่วัดบ้านไทร อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ ท�ำบุญหลวงพ่อพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2537 ประจ�ำที่วัดโคกตาพรม พ.ศ.2538 วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2538 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดโคกตาพรม วั น ที่ 5 ธั น วาคม พ.ศ.2547 ได้ รั บ พระราชทานสั ญ ญาบั ต รพั ด ยศ ในราชทิ น นาม ชื่อพระครูนันทพรหมคุณ ต�ำแหน่งพระครูเจ้าอาวาส ชั้นโท วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2558 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรพัดยศ ในราชทินนามเดิม ต�ำแหน่งพระครูเจ้าอาวาส ชั้นเอก ปัจจุบันอายุ 66 ปี พรรษา 38 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 209

209

05/09/61 11:33:15

4


วั ด จึ ง เป็ น ศู น ย์ ร วมประชาชนและควรมี บทบาทดังนีใ้ ห้ยงิ่ ขึน้ เพือ่ ตอบรับกับสถานการณ์ สังคมไทย และสังคมโลกในอนาคต เป็นสถานศึกษา ส�ำหรับชาวบ้านทีจ่ ะส่งบุตร มารับการฝึกอบรมทางศีลธรรมและเล่าเรียน วิชาการต่างๆ เพิ่มเติม เป็นสถานสงเคราะห์ บุตรหลานของชาวบ้าน ที่ยากจน ได้มาอยู่ อาศัยเลี้ยงชีวิตและศึกษา เล่าเรียน ตลอดจนผู้ใหญ่ที่ยากจนมาอาศัย เลี้ยงชีพ เป็นสถานพยาบาล รักษาคนเจ็บป่วยด้วย ธรรมโอสถและอาศัยภูมปิ ญ ั ญาแพทย์แผนไทย และแผนโบราณ เป็นทีพ่ กั คนเดินทาง ทีต่ อ้ งการความปลอดภัย ในการวิเวกกายใจ เป็นสโมสรที่ชาวบ้านพบปะสังสรรค์ และ พักผ่อนหย่อนใจ เป็นสถานที่บันเทิงธรรม ที่จัดงานเทศกาล และมหรสพต่างๆ ส�ำหรับชาวบ้านให้ได้ธรรมะ ไปด้วย เป็นที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพาท คือ พระสงฆ์เป็น ที่ ป รึ ก ษาช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาชี วิ ต ครอบครั ว และ ความทุกข์ต่างๆ ดังเช่นในอดีตกาล เป็นศูนย์กลางศิลปะและวัฒนธรรม เพราะ วัดคือจุดก�ำเนิดพุทธศิลป์อันเยี่ยมยอด เป็น ที่รวมศิลปกรรมต่างๆ ของชาติ ซึ่งเป็นเสมือน พิพิธภัณฑ์

210

ศาลาการเปรียญ เป็นคลังพัสดุ ส�ำหรับเก็บของใช้ต่างๆ ที่ชาวบ้านได้ใช้ร่วมกัน เมื่อมีงานวัดหรือยืมไปใช้ เมื่อตนมีงานบ้าน เป็นศูนย์กลางการบริหารหรือการปกครอง ที่ก�ำนันหรือผู้ใหญ่บ้านเรียกลูกบ้านมาประชุม เพื่อบอกแจ้งกิจกรรมต่างๆ เป็นที่ประกอบพิธีกรรมวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาและประเพณีท้องถิ่นที่ผูกโยงกับวิถีชีวิต ของผู้คนในทุกช่วงวัยของชีวิต

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 210

05/09/61 11:33:25


พระประธาน

วั ด จึ ง เป็ น ศู น ย์ ร วมจิ ต ใจของประชาชน โดยสมบูรณ์ ส่วนพระสงฆ์เป็นตัวแทนของวัด เป็นผูน้ ำ� ทางจิตใจของประชาชน เป็นศูนย์รวม แห่งความเคารพ เชื่อถือ และการร่วมมือกัน ให้เกิดความสามัคคีความเป็นระเบียบเรียบร้อย พระสงฆ์จึงมีบทบาทในทุกภาคส่วนของชีวิต และจิตใจ ตลอดไปจนถึงชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ

ภาพกิจกรรม

หน้าที่ของพระสงฆ์ที่ส�ำคัญ 1. บ�ำเพ็ญตนปฏิบัติขัดเกลาตนให้บริสุทธิ์ อยู่ในพระธรรมวินัย 2. มีเสียสละบ�ำเพ็ญประโยชน์ 3. เป็นผู้น�ำทางสติปัญญา BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 211

211

05/09/61 11:33:36


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

เทศบาลต�ำบลละหานทราย “ละหานทรายเมืองน่าอยู่ เส้นทางสู่แหล่งอารยธรรมขอม สิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน คืนคุณภาพชีวิตดีถ้วนหน้า การศึกษาก้าวไกล ทันใจด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ย้อนสู่สังคมเกษตรอินทรีย์ เศรษฐกิจดีแบบพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลละหานทราย

นายสุเมธ เฮงยศมาก

นายกเทศมนตรีต�ำบลละหานทราย

เทศบาลต�ำบลละหานทราย เดิมเป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ สุขาภิบาล ส�ำนักงานตัง้ อยูบ่ นทีว่ า่ การอ�ำเภอละหานทราย เรียกว่า “สุขาภิบาล ละหานทราย” จัดตั้งครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทยในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 88 ตอนที่ 109 หน้าที่ 2797 ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2514 ต่อมามีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของ สุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 จัดตัง้ เทศบาลต�ำบลโดยประกาศในราชกิจ จานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 116 ตอนที่ 9ก ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2542 เป็นผลให้สุขาภิบาลละหานทรายเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาลต�ำบล ละหานทราย ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542

ปัจจุบันส�ำนักงานตั้งอยู่เลขที่ 499 หมู่ที่ 8 ถนนละหานทราย บ้านกรวด ต�ำบลละหานทราย อ� ำ เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ โดยมี นายสุ เ มธ เฮงยศมาก ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายก เทศมนตรีต�ำบลละหานทราย ดวงตราสั ญ ลั ก ษณ์ ป ระจ� ำ เทศบาลต� ำ บล ละหานทราย เป็นตรา “เนื้อทรายยื น ใต้ ต ้ น ไม้ ใหญ่ ริ ม ฝั ่ ง น�้ ำ ที่ ล ้ อ มรอบด้ ว ยป่ า ไม้ แ ละขุ น เขา ซึ่ ง แสดงถึ ง ความอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพรรณ ธัญญาหารและสัตว์ป่าแวดล้อม ไปด้วยธรรมชาติ อันอุดมสมบูรณ์และร่มรื่น” ด้ า นกายภาพ ที่ ตั้ ง ของเทศบาลต� ำ บล ละหานทราย ตัง้ อยูต่ อนล่างสุดของจังหวัดบุรรี มั ย์ ห่างจากศาลากลางจังหวัดประมาณ 99 กิโลเมตร และห่ า งจากรุ ง เทพมหานครโดยทางรถยนต์ ประมาณ 387 กิโลเมตร 212

ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ เทศบาลต� ำ บล ละหานทราย มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 9.346 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,841 ไร่ คิดเป็น ร้ อ ยละ 0.75 ของพื้ น ที่ อ� ำ เภอละหานทราย ลักษณะภูมปิ ระเทศตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีเ่ นินลาดเอียงสูง ต�่ำสลับกันไปโดยส่วนใหญ่มีลักษณะพื้นที่สูงด้าน ทิศตะวันออกแล้วค่อยลาดเอียงไปยังพืน้ ทีต่ ำ�่ ด้าน ทิศตะวันตก มีคลองน�้ำไหลผ่าน 2 สาย คือคลอง น�้ำละหานทรายด้านทิศเหนือไหลผ่านหมู่ที่ 11 (นอกเขต) หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 3 และ ไหลไปรวมกันที่อ่างเก็บน�้ำหนองละหานทราย หมู่ที่ 4 คลองน�้ำละหานทรายด้านทิศใต้ไหลผ่าน หมู่ที่ 9 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 6 และไหล ไปรวมกันที่อ่างเก็บน�้ำหนองละหานทราย หมู่ที่ 4 แต่ปจั จุบนั แนวร่องน�ำ้ ได้ตนื้ เขินและมีการบุกรุกจึง ท�ำให้แนวคลองน�้ำละหานทรายไม่ชัดเจน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 212

25/8/2561 16:56:55


โครงการกิจกรรมเด่น การส่งเสริมและการพัฒนาเด็กและเยาวชน ให้ มีพลานามัยทีแ่ ข็งแรง เป็นหน้าทีห่ นึง่ ของเทศบาล ต� ำ บลละหานทราย โดยได้ ต ราเทศบั ญ ญั ติ ง บ ประมาณรายจ่ายประจ�ำปี เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนา เยาวชนในเขตเทศบาลให้มีทักษะด้านการกีฬา เป็นไปตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ การจัดสร้างสนามกีฬาหญ้าเทียมให้มีมาตรฐาน เพื่อพัฒนาทักษะการเล่นกีฬาของเยาวชนสู่การ เป็นนักกีฬาอาชีพต่อไป

การพัฒนาภูมิทัศน์ บริเวณสวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติสระหนองปรือให้มีความสวยงาม เพื่อเป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจและกิจกรรมนันทนาการของประชาชน บริการประชาชน จัดหาเรือจักรยานน�ำ้ บริเวณสวนสุขภาพฯ เพือ่ ให้ประชาชนเช่าเพือ่ พักผ่อนหย่อนใจ และเพื่อกิจกรรมนันทนาการในยามว่าง

จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ คือสถานที่ส�ำหรับผู้สูงอายุได้มาท�ำกิจกรรมร่วมกัน โดยเน้น 2 เรื่อง ได้แก่ ทางด้านร่างกายและจิตใจ อาทิ การละเล่นต่างๆ การตรวจวัดความดัน การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ภูมปิ ญ ั ญา ท�ำให้ผ้สู งู อายุไม่รสู้ กึ ว่าถูกทอดทิง้ ซึง่ ต้องยอมรับว่าผูส้ งู อายุเป็นคลังสมองทีด่ ี มีความช�ำนาญใน ด้านต่างๆ มากมาย ทีส่ ำ� คัญได้ทำ� ให้มสี ขุ ภาพแข็งแรง ปลอดโรคจากการร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 213

213

22/8/2561 17:26:37


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ต�ำบลเจริญสุข

วัดเขาพระอังคาร วัดขันติการาม วัดหนองสะแก วัดพูนสุข วัดเจริญสุข วัดสีเ่ หลีย่ ม วัดเขารัตนธงไชย วัดโคกเกริน่

ต�ำบลตาเป๊ก วัดอัมภาราม วัดประชานิมิต วัดบา้ นดอนไมไ้ ฟ วัดเขาลอย วัดระเบิก วัดบัวตะเคียน(ปราสาท เขาพนมรุ้ง)

214

ต�ำบลถาวร

วัดนิคมเขต วัดบา้ นนอ้ ย วัดเขาสวา่ งชัยมงคล วัดโคกส�ำราญ วัดสาลวนาราม วัดคลองตอ้ วัดเจริญนิมิต วัดศิริสุขาราม วัดไตรภูมิ วัดป่าชุมชนถาวร วัดเขาหลุบ

ต�ำบลยายแยม้ วัฒนา

วัดสุขส�ำราญ วัดคีรีเขต วัดใหมย่ ายแยม้ วัดโนนศิลา วัดโนนทอง วัดดงชุมพรพัฒนา วัดเขาดิน วัดโนนเจริญ วัดป่าพรสวรรค์

ต�ำบลอีสานเขต

วัดสุรินทรารมณ์ วัดโคกตะแบก วัดบา้ นตะโก วัดทุง่ สามัคคีธรรม วัดจอมสุทธาวาส

จิตใจของเราท�ำดีเวลาไหน มันก็ดีเวลานั้น

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 214

5/9/2561 13:55:21


กรีนเฮ้าส์

รีสอร์ท บุรีรัมย์ “ผ่อนคลายแบบสปา ราคามิตรภาพ ” กรีน เฮ้าส์ รีสอร์ท บริการห้องพักตลอด 24 ชั่วโมง มีห้องพักหลากหลายแบบให้เลือก ทั้งบ้านเรือนไทย และ บ้านสไตล์โมเดิร์น บรรยากาศเงียบสงบเป็นส่วนตัว เหมาะกับการพัก เพื่อผ่อนคลายจากการเดินทาง พักค้างคืนเมื่อต้องติดต่อการงาน ท่องเที่ยว หรือมาร่วมงาน มงคลต่างๆ ราคามิตรภาพ ที่พักติดถนนศักดิ์มโน อ.ล�ำปลายมาศ-อ.ชุมพวง ราคาถูก สบายเหมือนอยู่ท่ามกลาง ธรรมชาติ ห้องพักใหม่ สะอาด บ้านพักมีระเบียงนั่งพักผ่อนส่วนตัว มีบริการนวดเพื่อสุขภาพ ฟรีอิน เทอร์เน็ตความเร็ วสู ง (Free wifi) ทุ กห้ อ ง ที่ จ อดรถทุ กห้ อ ง กล้ อ งวงจรปิ ด รัก ษา ความปลอดภัย แผนกต้อนรับ 24 ชั่วโมง พื้นที่ส่วนกลาง บริการกาแฟฟรีทั้งในห้องพักและ ส่วนกลาง บรรยากาศเงียบสงบ ส่วนตัว ร่มรื่น เป็นกันเอง

กรีนเฮ้าส์ รีสอร์ท ตั้งอยู่ เลขที่ 224 ม.10 ถ.ล�ำปลายมาศ-ชุมพวง ต.หนองคู อ.ล�ำปลายมาศ จ.บุรีรัมย์ LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย 215 : greenhouse.resort สนใจติดต่อสอบถามห้องพัก : 044-661909 , 088-0748238

1

.indd 215

22/8/2561 18:24:02


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 31

วัดสุขส�ำราญ (สวนธรรมโคกระกา)

พระครูภาวนาวิหารธรรม วิ. (เหล็ก จนฺทสีโล) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด สุขส�ำราญ(สวนธรรมโคกระกา) ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 3 บ้านโคกหัวเสือ

ต� ำ บลยายแย้ ม วั ฒ นา อ� ำ เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ได้ รั บ ประกาศตั้ ง เป็ น วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา เมื่ อ วั น ที่ 25 กั น ยายน พ.ศ.2513 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ พ.ศ.2517 โดยมี เ จ้ า คณะผู ้ ป กครองฝ่ า ยสงฆ์ ป กครองดู แ ลตลอดมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น

216

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 216

05/09/61 11:34:39


ประวัติความเป็นมา ก่อนจะได้รับการจัดตั้งเป็นวัด มีกลุ่มชาวบ้านมาจากบ้านดู่ บ้านกระเดา บ้านครั่ง ต�ำบลดู่ อ�ำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ โดยการน�ำของนายบุญมี สุรโคตร ได้ชักชวนเพื่อนบ้านมี นายผุย นายผาย นายโม้ นายค�ำภา พลพงษ์ ได้มาตั้งบ้านและตั้งวัดประจ�ำหมู่บ้านขึ้น เพื่อเป็น ศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านในการบ�ำเพ็ญบุญ กุศล ปฏิบัติธรรม เพื่อไปสู่ความพ้นทุกข์ตาม รอยพระพุทธเจ้า ในบวรพระพุทธศาสนา โดยมีการนิมนต์พระมาจ�ำพรรษาอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันวัดสุขส�ำราญมีพระครูภาวนาวิหารธรรม วิ. (มหาเหล็ก จนฺทสีโล) ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยมีพระมหาสุเทพ วรปญฺโญ เป็ น รองเจ้ า อาวาส ในปั จ จุ บั น วั ด สุ ข ส� ำ ราญได้ รั บ เลื อ กให้ เ ป็ น ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จังหวัดบุรีรัมย์แห่งที่ 31 มีพื้นที่อาณาเขต จ�ำนวน 12 ไร่ ข้อมูลหลักสูตรการสอน และการปฏิบัติธรรม ระยะเวลาของหลักสูตรการสอน 1. หลักสูตร 7 วัน 2. หลักสูตร 15 วัน 3. ตามความต้องการของผู้จะปฏิบัติ(ต้องได้รับอนุญาตจากพระวิปัสสนาจารย์) แนวทางการสอน และปฏิบัติกัมมัฏฐานแบบบริกรรม พองหนอ - ยุบหนอ กิจกรรมการปฏิบัติธรรมเป็นประจ�ำทุกปีของวัดสุขส�ำราญ 1. การปฏิบัติธรรม ประจ�ำปี ทุกวันที่ 1 - 7 มีนาคมของทุกปี 2. การบรรพชาอุปสมบทภาคฤดูร้อน ทุกวันที่ 20 - 30 เมษายนของทุกปี 3. สวดมนต์ข้ามปี ท�ำความดีต้อนรับปีใหม่ ทุกวันที่ 31 ธันวาคมปีเก่า และ วันที่ 1 มกราคม ปีใหม่ของทุกปี 4. ปฏิบัติธรรมวันส�ำคัญในทางพระพุทธศาสนา 3 วัน คือ เนื่องในวันมาฆบูชา วันขึ้น 14 ค�่ำ แรม 1 ค�่ำ เดือน 3 (ก่อนวันมาฆบูชาหนึ่งวันและหลังวันมาฆบูชาหนึ่งวัน รวม 3 วัน) เนื่องในวันวิสาขบูชา วันขึ้น 14 ค�่ำ - แรม 1 ค�่ำ เดือน 6 (ก่อนวันวิสาขบูชาหนึ่งวัน และ หลังวันวิสาขบูชาหนึ่งวัน รวม 3 วัน) เนื่องในวันอาสาฬหบูชา วันขึ้น 14 ค�่ำ - แรม 1 ค�่ำ เดือน 8 (ก่อนวันมาฆบูชาหนึ่งวัน และ หลังวันอาสาฬหบูชาหนึ่งวัน รวม 3 วัน) มีกิจกรรมเพิ่มเติมคือ การหล่อเทียนและแห่เทียนพรรษา เป็นประจ�ำทุกปี 5. กิจกรรมปฏิบัติธรรมวันเฉลิมพระชนม์พรรษา วันพ่อและวันแม่

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 217

217

05/09/61 11:34:51


ที่ เ ที่ ย วส�ำคั ญ ใกล้กับ

วัดสุ ข ส�ำ ราญ ชื่ น มื่ น ธรรมชาติและวัฒนธรรม

1

1

สนามช้ างอารีนา

3

ต�ำบลอิสาณ อ�ำ เภอเมื อ งบุ รี รั ม ย์

2 4

5

2

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ พนมรุ้ ง ต�ำบลตาเป๊ก อ�ำเภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ

วั ด สุ ข ส�ำราญ ต� ำบลยายแย้ ม วั ฒ นา อ�ำเภอเฉลิม พระเกี ย รติ

218

3

ปราสาทเมืองต�่ำ

4

ต� ำ บลจรเข้ มาก อ�ำเภอประโคนชั ย

เขื่อนล�ำนางรอง

5

ต� ำ บลโนนดิ น แดง อ�ำ เภอโนดิ น แดง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 218

05/09/61 11:35:17


พุทธสถานที่ส�ำคัญของวัด 2 ส่วน พุ ท ธสถานภายในวั ด สุ ข ส� ำ ราญ มี พื้นที่อาณาเขต 12 ไร่ ประกอบด้วย 1. กุฏิ 2 ชั้น จ�ำนวน 1 หลัง 2. กุฏิปฏิบัติธรรมชั้นเดียว 5 ห้องพัก จ�ำนวน 1หลัง 3. พระอุโบสถ จ�ำนวน 1 หลัง 4. ศาลาการเปรียญ ชัน้ เดียว จ�ำนวน 1 หลัง 5. ศาลาโรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง 6. ศาลาธรรมสังเวช จ�ำนวน 1 หลัง 7. ฌาปนสถาน(เมรุ) จ�ำนวน 1 หลัง 8. โรงเก็บของ จ�ำนวน 1 หลัง 9. ศาลาพักปฏิบัติธรรม จ�ำนวน 1 หลัง 10. ห้องน�้ำ - ห้องสุขา จ�ำนวน 3 แห่ง

สถานที่ติดต่อสอบถามการเข้าปฏิบัติธรรมและขออนุญาตพักภายในวัด วั ด สุ ข ส� ำ ราญ หมู ่ ที่ 3 บ้ า นโคกหั ว เสื อ ต� ำ บลยายแย้ ม วั ฒ นา อ� ำ เภอเฉลิ ม พระเกี ย รติ จังหวัดบุรีรัมย์ 31170 พระครูภาวนาวิหารธรรม วิ. โทรศัพท์. 08-3109-2082 พระมหาสุเทพ วรปญฺโญ โทรศัพท์. 08-4910-8553 คุณสมพงษ์ ไชยงาม โทรศัพท์. 09-8235-6822

สวนธรรมโคกระกา มี เ นื้ อ ที่ 18 ไร่ อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตก ของวั ด สุ ข ส� ำ ราญ ระยะห่าง 370 เมตร มีพทุ ธสถานประกอบด้วย 12. ศาลาปฏิบัติธรรม 2 ชั้น 1 หลัง 13. กุฏิสอบอารมณ์ 14. กุฏิ พระสงฆ์ 11 หลัง 15. อาคารเรือนแถวชาย 2 ชั้น 11 ห้อง 16. กุฏิโยคีหญิง 21 ห้อง 17. โรงฉัน และ โรงครัว 18. ห้องอาบน�้ำ/ห้องสุขา 21 ห้อง 19. เรือนพักเจ้าหน้าที่ 1 หลัง

วัดสุขส�ำราญ ต�ำบลยายแย้มวัฒนา อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 219

219

05/09/61 11:35:37


วัดเขาพระอังคาร

พระครูพนม ธรรมาภินันท์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลเจริญสุข และ เจ้าอาวาส

ภูเขาพระอังคาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ และเขตของอ�ำเภอนางรอง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจากจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทาง บุ รี รั ม ย์ - นางรอง

220

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 220

05/09/61 11:35:34


โบราณวัตถุเก่าแก่และสิ่งก่อสร้างใหม่ 1. ใบเสมาหินแกะสลักรอบอุโบสถท�ำจากหินศิลาแลง 8 คู่ 8 ทิศ ขนาดสูง 108 ถึง 210 เซนติเมตร เป็นศิลปะขอมแบบไพรกเมง สันนิษฐานว่ามีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 เกือบทุกหลักสลักเป็นเทวรูป ยืนถือดอกบัว แต่งกายตามแบบความนิยมของคนในยุคนั้น คือ นุ่งผ้าสั้นมีชายพกด้านขวา เทวรูปส่วนใหญ่มีลักษณะไม่สมบูรณ์เพราะถูกขโมยลักลอบสกัดเอา ภาพพระพักตร์ออกไป จึงได้ใช้ปนู ปัน้ พอกซ่อมแซมไว้แต่กย็ งั เหลือใบเสมาทีค่ อ่ นข้างสมบูรณ์ให้ชม ใบเสมาสลักเป็นรูปทิพยบุคคล หรือ เทวรูปในพระพุทธศาสนานิกายมหายานประทับยืนบนแท่น สี่เหลี่ยม ด้านหลังมีพัดโบก และมีฉัตรอยู่ด้านบน 2. รอยพระพุทธบาทจ�ำลองไม่ทราบหลักฐาน การสร้าง 3. พระอังคารธาตุเป็นสิ่งควรสักการบูชาได้ประดิษฐานไว้บนอุโบสถ 4. พระพุทธรูป ปางมารวิชัยรอบอุโบสถ 109 องค์ 5. ต�ำหนักหลวงปู่วิริยะเมฆ 6. พระนอนขนาดใหญ่ 1 องค์ 7. มณฑปประดิษฐานพระพุทธรูป 8. พระมหากัจจายนะ 9. ศาลเจ้าแม่กวนอิม 10. ศาลาปฏิบตั ธิ รรม

ความเป็นมาของภูเขาพระอังคาร ภูเขาพระอังคาร เดิมชื่อ ภูเขาลอย เหตุ ที่เรียกว่าภูเขาพระอังคารเพราะตามประวัติ ลายแทงธาตุพนมกล่าวไว้ว่า เมื่อ พ.ศ.8 ได้มี พญาทัง้ 5 ได้นำ� พระอุรงั คธาตุของพระพุทธเจ้า ไปบรรจุที่พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม โดย มีพระมหากัสสปเถระและพระอรหันต์ 500 องค์ เป็นประธาน อีกพวกหนึง่ ได้นำ� พระอังคารธาตุ ของพระพุทธเจ้ามาประดิษฐ์บรรจุไว้บนภูเขาลอย ตามประวั ติ ว ่ า เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ เข้ า สู ่ พระปรินิพพานที่เมืองกุสินารา หลังจากถวาย พระเพลิ ง พระบรมศพแล้ ว โทณพราหมณ์ ได้แจกพระธาตุไป 8 พระนครแล้ว อยู่มา มี เ มื อ งๆ หนึ่ ง ไปขอพระธาตุ ห ลั ง เขา พอดี พระธาตุได้แจกไปหมดแล้ว โทณพราหมณ์ จึงเอาทะนานทองตวงธาตุพระอังคาร(ขี้เถ้า) ให้มา เมือ่ ได้พระอังคารธาตุจงึ ได้เดินทางกลับมา ทางทิศอีสานใต้ พอถึงภูเขาลูกหนึง่ คือภูเขาลอย มี รู ป ลั ก ษณะสวยงามรู ป ร่ า งนั้ น เหมื อ นรู ป พญาครุฑนอนคว�ำ่ หน้า จึงมีความคิดว่าน่าจะน�ำ พระอังคารธาตุบรรจุไว้ทแี่ ห่งนี้ เมือ่ ลงความเห็น เป็นอันเดียวกันแล้ว จึงได้สร้างสถานที่บรรจุ พระอังคารธาตุไว้ที่ไหล่ข้างซ้ายของพญาครุฑ และเปลี่ยนชื่อภูเขาลอยเป็นภูเขาพระอังคาร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ประวั ติ พ ระบั ว เข็ ม (พระมหาเถระอุ ป คุ ต ) ประเพณีตักบาตรเที่ยงคืน “พระอุปคุต” พระแห่งโชคลาภคุ้มกันภัย ทัง้ ปวง พระอุปคุตเป็นรูปเคารพทีส่ ร้างขึน้ แทน พระอรหั น ต์ ส าวกส� ำ คั ญ รู ป หนึ่ ง ซึ่ ง ได้ รั บ การยกย่องว่า มีความเป็นเลิศทางอิทธิฤทธิ์ ในสมั ย หลั ง พุ ท ธกาล เช่ น เดี ย วกั น กั บ ที่ พระโมคคัลลานะ ได้รบั การยกย่องสมัยเมือ่ ครัง้ พระพุทธองค์ยงั ทรงพระชนม์ชพี ชาวพม่า รามัญ นับถือพระอุปคุตเถระกันเป็นจ�ำนวนมาก จึงมี การสร้างรูปบูชาของท่านขึน้ มา พระอุปคุต เป็น ภาษาบาลีในขณะที่ภาษาสันสกฤตเขียนว่า “อุปคุปต์” ซึ่งตรงกับภาษาที่พี่น้องชาวไทย บางท้องถิ่น ขานนามท่านว่า “ส่างอุปคุป” โดยมีความหมายว่า “ผู้คุ้มครองมั่นคง”

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 221

221

05/09/61 11:36:21


ประวัติวัดเขาพระอังคาร วั ด เขาพระอั ง คารสร้ า งเมื่ อ สมั ย ใดไม่ มี ใครทราบ แต่สันนิษฐานว่าสร้างก่อนปราสาท เขาพนมรุ ้ ง ในสมั ย ที่ ข อมเรื อ งอ� ำ นาจและ นั บ ถื อ ศาสนาพราหมณ์ อาจเป็ น สาเหตุ ที่ ท� ำ ให้ พ ระพุ ท ธศาสนาถู ก อิ ท ธิ พ ลของ ศาสนาพราหมณ์ เข้ า ครอบครอง สถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งนีจ้ งึ ขาดการทะนุบำ� รุงรักษาจาก ผูค้ นมานับเป็นพันๆ ปี บนวัดเขาพระอังคารมี โบราณวัตถุ ศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การสักการบูชา คือพระอังคารธาตุ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ในเสมาศิลาแดง 8 คู่ 8 ทิศ แผ่นเสมาศิลาแลง แกงสลักเป็นรูปต่างๆ โดยมีรูปเสมาธรรมจักร อันเป็นสัญลักษณ์ของพระพุทธศาสนา ต่อมาเมือ่ พ.ศ.2471 หลวงพ่อก้อน ยโสธโร วั ด โพธาราม บ้ า นผั ก หวาน ต� ำ บลถนนหั ก อ�ำเภอนางรอง ได้รับสมณศักดิ์เป็นพระครู โสภณธรรมคุต ต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอนางรอง ได้น�ำพระภิกษุสามเณร และญาติโยมบ้าน ผักหวาน มาสร้างศาลาเก็บรอยพระพุทธบาท จ�ำลองเพื่อท�ำบุญเดือน 6 เป็นประจ�ำทุกปี ต่อมา พ.ศ.2494 พระครูโสภณธรรมคุตได้ มรณภาพลง โบราณสถานวั ต ถุ ก็ ข าดการ 222

ท�ำนุบ�ำรุง จะมีแต่ชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง เช่นบ้านเจริญ บ้านหนองสะแก บ้านป่ารังมา ท�ำบุญตักบาตรเพือ่ ท�ำพิธบี วงสรวงขอฝนทุกปี พ.ศ.2497 หลวงพ่ อ บุ ญ มา ธมฺ ม โชโต เจ้าอาวาสวัดเจริญสุขได้นำ� ญาติโยมบ้านเจริญสุข และญาติ โ ยมบ้ า นใกล้ เ คี ย งท� ำ ถนนขึ้ น ไป บนเขาพระอังคาร เพื่อสะดวกในการเดินทาง ขึ้นไปท�ำบุญบนเขาพระอังคารในเดือน 10 โดยใช้เกวียนเป็นพาหนะ ต่อมา พ.ศ.2500 หลวงพ่อบุญมา ธมฺมโชโต ได้ไปศึกษาปฏิบตั ธิ รรม สมถกรรมฐาน และวิ ป ั ส สนากรรมฐาน ที่ วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ เมื่อกลับมา รับนิมนต์ จากผู้ใหญ่ และข้าราชการให้ไปจัดสร้างส�ำนัก ปฏิบตั ธิ รรม ทีว่ ดั เขากระโดง จ.บุรรี มั ย์ ก่อนไป หลวงพ่อบุญมาได้ทำ� นายไว้วา่ ตัวท่านบุญบารมี ยังน้อย ไม่สามารถจะสร้างเขาพระอังคาร ให้เจริญรุ่งเรืองได้ ต่อไปจะมีผู้มีบุญบารมีมา สร้างเขาพระอังคารให้เจริญรุ่งเรืองได้ หินก็ จะขายได้ แ ละจะมี พ าหนะยวดยานขึ้ น ลง มากมายหลั ง จากนั้ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ บ น เขาพระอังคารจึงรกร้างขาดผูด้ แู ลรักษา ปีหนึง่ จะมีเฉพาะชาวบ้านใกล้เคียงขึน้ ไปท�ำบุญตักบาตร

ท�ำพิธีบ่วงสรวงขอฝนปีละครั้ง พ.ศ.2520 พระอาจารย์ปญ ั ญา วุฒโิ ส จาก ส�ำนักถ�ำ้ ผาแดง จ.อุดรธานี ได้นงั่ ปฏิบตั ธิ รรม กัมมัฏฐาน ได้นมิ ติ เห็นหลวงปูว่ ริ ยิ ะเมฆซึง่ เป็น ผู้ส�ำเร็จอรหันต์ ประทับอยู่บนเขาพระอังคาร มาอาราธนาท่านให้ไปท�ำการก่อสร้างปฏิสงั ขรณ์ ปูชนียวัตถุอนั ล�ำ้ ค่า มีพระอังคารธาตุ ใบเสมา ศิลาแดง 8 คู่ 8 ทิศ และรอยพระพุทธบาท จ�ำลองเพื่อเป็นการเผยแผ่พระพุทธศาสนา สืบทอดประเพณีของพระพุทธองค์ให้เจริญ รุ่งเรืองให้แล้วเสร็จภายใน 10 ปี ในเดือน มกราคม พ.ศ.2520 พระอาจารย์ปญ ั ญา วุฒโิ ส ได้เดินธุดงค์มายังเขาพระอังคาร ได้พบเห็น โบราณวั ต ถุ ต ามที่ ห ลวงปู ่ วิ ริ ย ะเมฆนิ มิ ต ให้ ทุกอย่างจึงได้จัดตั้งส�ำนักปฏิบัติธรรมเรื่อยมา และมีญาติญาติโยมจากหมู่บ้านใกล้เคียงและ ต่ า งจั ง หวั ด มารั ก ษาศี ล ปฏิ บั ติ ธ รรมอยู ่ เ ป็ น ประจ�ำ จนถึงปัจจุบนั พระอธิการไสว นนฺทสาโร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด เขาพระอั ง คาร ท่ า นได้ ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง วั ด และส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐานตามรอย บูรพจารย์มาโดยตลอด

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 222

05/09/61 11:37:57


Wat Khao Pra Angkhan

Phrakhru Panom Thammaphinunt, the ecclesiastical commune-chief of Charoen Suk and the abbot of Wat Khao Pra Angkhan. The history of Phu Khao Angkhan: The old name of Phu Khao(mountain) Angkhan is Phu Khao Loy. According to clue of That Phanom at 8th Buddhist calendar. The five kings had brought relics of the buddha chest to kept at Pra That Phanom, Nakhon Phanom Province. There are 500 arahants and Mahakasyapa (one of the principal disciples of Gautama Buddha) as the principle. Another one had brought the ashes of buddha and kept at Phu Khao Loy. When the Buddha had completed Nirvana at Kushinagar. After the royal cremation ceremony, the royal famous instructor distributed relics of the buddha to 8 capitals but there was the king of another one capital came to ask for the relic of buddha.

The royal famous instructor used a vessel made form gold measured the ashes of buddha and gave to the king and brought to south of Isan then. When he found the mountain that had the shape like Garuda lied down, he decided to kept the ashes of buddha here. After that he built the storage place at the left shoulder of the Garuda and changed the name of Phu Khao Loy to Phu Khao Angkhan. Phu Khao Angkhan was located at Chaloem Phra Kiat, Nang Rong District District, Buri Ram. Phu Khao Angkhan was the extinct volcano that locate further Phanom Rung mountain in the west about 10 kilometers and locate far away from Buri Ram capital about 72 kilometers.

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 223

223

05/09/61 11:38:27


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขารัตนธงชัย

พระอธิการไสว นนกาสะโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดเขารัตนธงชัย ตั้งอยู่ที่บ้านสายบัว หมู่ที่ 12 ต�ำบลเจริญสุข อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เดิ ม เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ชื่ อ เขาสระสะแก ประธานที่ พั ก สงฆ์ คื อ พระอธิ ก าร ไสว นนกาสะโร ที่ ดิ น อยู ่ ใ นเขตป่ า อนุ รั ก ษ์ อยู ่ ใ นความดู แ ลของกรมป่ า ไม้ กระทรวง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม มี เ นื้ อ ที่ 14 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ได้ ด� ำ เนิ น ก่ อ สร้ า งเป็ น ที่ พั ก สงฆ์ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2537 โดยมี ผู้ ยื่ น ขอใช้ ที่ ดิ น คื อ ร้ อ ยตรี ม านะ เข็ ม ปลู ก มี ค วามประสงค์ ข อใช้ ที่ ดิ น เขตอนุ รั ก ษ์ ป ่ า ไม้ เพื่ อ สร้ า งวั ด

224

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 224

05/09/61 11:38:00


อาณาเขตพื้นที่ ด้านทิศเหนือ จด ที่นา ด้านทิศตะวันออก จด ชลประทาน ที่ระเบิด จด วัดเขาพระอังคาร ด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันตก จด วัดเขาทรัพย์ ลักษณะภูมิประเทศ เป็นป่า ภูเขา มีสระน�ำ้ โบราณ และเดิมเคยมี การก่อสร้างที่อยู่แล้วและก็เคยมีพระมาอยู่ โดยถูกเผาเหลือร่องรอยไว้ โดยสภาพป่า และ ต้นไม้ในพืน้ ที่ เป็นไม้เก่า ต้นอ้อยช้าง ต้นตีนเป็ด

ส่วนปลูกใหม่ก็มีมะค่า และต้นสัก และประดู่ เป็นต้น ปัจจุบันได้ด�ำเนินการก่อสร้างเสนาสนะ กุฏิ กว้าง 2.50 เมตร ยาว 5.60 เมตร จ�ำนวน 6 หลัง, ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 13.50 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง, ถังน�้ำ 5 ที่, ห้องน�้ำ 3 ที่, เครื่องท�ำไฟ ท่อส่งน�้ำ, ศาลา การเปรียญชั่วคราว และ ตุ่มน�้ำ 5 ใบ พระพุทธพจน์จากพระไตรปิฎก “จงมีตนเป็นที่พึ่ง” ดู ก รภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย! ก็ เ มื่ อ ภิ ก ษุ รู ้ ว ่ า รู ป

ไม่เที่ยง แปรปรวนไป คลายไป ดับไปเห็นตาม ความเป็นจริงด้วยปัญญาอันชอบอย่างนี้ว่า รู ป ในกาลก่ อ น และรู ป ทั้ ง มวลในบั ด นี้ น้ั น ล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ดังนี้ ย่อมละโสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และ อุปายาสได้ เพราะละโสกะเป็นต้นเหล่านั้นได้ จึงไม่สะดุ้ง เมื่อไม่สะดุ้ง ย่อมอยู่เป็นสุข ภิกษุ ผู้มีปกติอยู่เป็นสุข เรากล่าวว่า ผู้ดับแล้วด้วย องค์นนั้ (อัตตทีปสูตร ว่าด้วยการพึง่ ตนพึง่ ธรรม)

Wat Khao Rattana Thong Chai Rector Swai Nonkasaro, the abbot.

Wat Khao Rattana Thong Chai was located at Ban Sai Boua, Charoen Suk, Chaloem Phra Kiat district, Buri Ram province. This place used to be a monastery (no consecrated boundaries) and was named Wat Khao Sra Sakae. The principle monk is Rector Swai Nonkasaro and the monastery compound located in forest conservation area with the care of royal forest department, ministry of natural resources and environment. This place had space about 2 hectares and was built in 1994. Second lieutenant Mana Khemplook had requested the land in forest conservation area to build the temple. The compound of a monastery was forest and mountain terrain and the old pond. There had been the construction already and some monks used to be here. The trees around the temple are old such as Wodier tree, Shaitan wood and the new trees is Makha tree, Teak tree, and Narra tree. BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 225

225

05/09/61 11:38:57


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอหนองกี่

ต�ำบลโคกสวา่ ง

วัดโคกสวา่ ง วัดโคกลอย วัดโนนพะไล วัดตะกรุมทอง วัดใหมเ่ จริญจิต วัดหนองแสง วัดโคกลา่ ม วัดไทรทองวนาราม

ต�ำบลโคกสูง

วัดโคกสูงคูขาด วัดสะเดาหวาน วัดป่าเมตตาธรรม วัดอรุณโพธิราฎร์ วัดโนนสมบูรณ์ วัดสระตะเคียน วัดหนองนกเขา

ต�ำบลดอนอะราง

วัดเกา่ ดอนอะราง วัดดงเย็น วัดป่าสามัคคีธรรม วัดทุง่ นางงาม วัดธรรมสัมฤทธิ์ วัดไทรงาม วัดดอนอะราง วัดสามเหลีย่ มพัฒนาราม

วัดเฉลิมอากาศณนคร วัดนอ้ ยหนองหมู วัดธรรมะสิงห์

ต�ำบลบุกระสัง วัดโคกกระสัง วัดสามัคคีจิตตอัมพวัน วัดป่าอุดมธรรม ความชั่วทุกอย่าง แม้ไม่มีใครเห็นก็ชั่ว

ต�ำบลทา่ โพธิช์ ัย

วัดป่าหนองสะแบง วัดไร่ไถอรรถธรรม วัดป่าโคกเพชร วัดบา้ นลุงขีห้ นู วัดหนองนกเขา วัดคูขาดนอ้ ย วัดโคกโพธิช์ ัย วัดหนองกราด วัดสามัคคีธรรมโพธิช์ ัย วัดป่าหนองกราด

ต�ำบลทุง่ กระตาดพัฒนา วัดเสือชะเงอ้

ต�ำบลทุง่ กระเต็น

วัดสามัคคีศรัทธาธรรม วัดชัยมงคล วัดสระขุด วัดใหมส่ ระขุด

226

ต�ำบลเมืองไผ่

วัดสระสะแก วัดถนนถัว่ วัดสวนป่าโมกขธรรม วัดหนองมัน วัดเทพนิมิต วัดลานธรรมพุทธมงคล วัดทุง่ สิวลี วัดป่าหนองมัน วัดสระขาม วัดป่าภาวนาราม วัดหนองมว่ ง วัดหนองเตา่ วัดโนนส�ำราญ วัดนาจาน วัดห้วยลึก วัดโคกกระชาย วัดหนองไผ่ วัดป่าสัจจะสามัคคี วัดเวฬุนคราราม วัดคลองน้�ำใส วัดโนนเมือง

วัดป่าสามัคคีธรรม วัดป่าช้าสามัคคีธรรม

ต�ำบลเยย้ ปราสาท

วัดป่าวีรธรรม (บา้ นยาง) วัดเยย้ ปราสาท วัดบา้ นขามนอ้ ย วัดใหญห่ นองตาด�ำ วัดเมืองแฝก วัดหนองตาด�ำ วัดทุง่ ด�ำรงค์ วัดนทีศรีมหาโพธิ์ วัดหนองปรือ วัดป่าเยย้ ปราสาท

ต�ำบลหนองกี่

วัดสระหลวง วัดหนองกี่ วัดโคกสะอาด วัดป่าหนองอ้อยช้าง วัดโนนสวรรค์ วัดโนนทอง วัดโนนงิว้

อย่าหยุดตัวเองไว้กับความทุกข์

อ�ำเภอคูเมือง

ต�ำบลคูเมือง

วัดป่าคูเมือง วัดจิกใหญ่ วัดโคกใหญ่ วัดคูเมืองบน วัดจิกนอ้ ย วัดคูบอน วัดอุดมราษฎร์วนาราม วัดใหมจ่ ิกนอ้ ย วัดโสกแต้ วัดหนองติว้ วัดหนองหวา้ วัดโนนสมบูรณ์ วัดบา้ นหินกอง วัดป่าหนองติว้ (สนามไก)่ วัดป่าแสวงธรรม วัดป่าศรีอุดมธรรม ต�ำบลตูมใหญ่ วัดหนองกระทุม่ วัดสวา่ งบูรพาราม วัดปะค�ำดง วัดบา้ นโนนเจริญ วัดป่าโนนเจริญ วัดหนองตาด วัดหนองดุม วัดทุง่ สวา่ ง วัดปะค�ำส�ำโรง วัดสามัคคี วัดสวายสอ

วัดศรีสวา่ งมงคล วัดตูมนอ้ ย วัดป่าประชาสันติธรรม วัดป่าศรีอุดมธรรม

ต�ำบลบา้ นแพ

วัดสุพลศรัทธาราม วัดสวา่ งอรมณ์ วัดโพธิศ์ รีธาราม วัดสวา่ งสุทธิยาราม วัดบา้ นวังปลัด วัดคูลิงวนาราม วัดใหมส่ ามัคคีธรรรม วัดบา้ นโนนกลาง วัดบา้ นหนองนางด�ำ วัดป่าสโรรักษ์ วัดทรงศิรินาวาส

วัดโพธิช์ ัยศิริราษฎร์ วัดหนองกระเทียม วัดแสงจันทร์

ต�ำบลพรส�ำราญ

วัดป่าเทพนิมิตร วัดป่าบูรพาราม วัดพรส�ำราญ วัดบา้ นผักกาดหญา้ วัดบา้ นโนนยานาง วัดบา้ นสระบัว วัดบา้ นโนนเมือง วัดสระกุญชร วัดบา้ นหนองดุมนอ้ ย วัดหนองขวาง

ต�ำบลปะเคียบ

วัดบา้ นโจด วัดธรรมประสิทธิ์ วัดหนองขุนพรม วัดหนองแวง วัดศรีลาวรรณ วัดอุดมมงคลชัย วัดอ้อดอนยาง วัดครัวตาแกว้ วัดป่าดงยอ่ วัดสระทอง วัดป่าโคกซาด วัดกระเบื้อง

ไม่มีอะไรที่มาแล้วไม่ไป

วัดป่าพรส�ำราญ วัดบัวทอง วัดบา้ นส�ำโรง วัดประดิษฐศ์ รีวนาราม วัดอุทธกวารี วัดป่าหัวถนน วัดบา้ นเสม็ด

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 226

5/9/2561 13:55:06


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหนองกี่

พระมหาอภิสิทธิ์ วิริโย ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วัดหนองกี่ ตั้งอยู่เลขที่ 58 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองกี่ อ�ำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์

เป็ น วั ด ราษฎร์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี เ นื้ อ ที่ 15 ไร่ 3 งาน 86 ตารางวา ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ พ.ศ.2496 โดยก� ำ นั น คาน เจริ ญ ดี เป็ น ผู ้ ม อบที่ ดิ น ให้ ส ร้ า งวั ด และด� ำ เนิ น การขอตั้ ง วั ด จนได้ รั บ อนุ ญ าตให้ ส ร้ า งวั ด เมื่ อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ได้ รั บ การประกาศให้ เ ป็ น วั ด ในพระพุ ท ธศาสนาที่ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายเมื่ อ 26 ตุ ล าคม พ.ศ.2520 เริ่ ม สร้ า ง โบสถ์ เ มื่ อ พ.ศ.2516 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ 10 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2521

แรกเริ่ ม การก่ อ ตั้ ง มี กุ ฏิ เ พี ย งหลั ง เดี ย ว มี 3 ห้อง และศาลาส�ำหรับท�ำบุญหลังเล็กๆ หนึ่งหลัง วัดหนองกี่เป็นวัดแห่งแรกในบ้าน หนองกี่ จึ ง เป็ น ที่ นิ ยมเรียกกันว่า “วัดเก่า ” ในสมั ย เริ่ ม ตั้ ง วั ด บ้ า นหนองกี่ ขึ้ น อยู ่ กั บ ต� ำ บลเย้ ย ปราสาท อ� ำ เภอนางรอง ต่ อ มา มี ก ารเปลี่ ย นแปลง มาเป็ น ต� ำ บลหนองกี่ อ�ำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรรี มั ย์ ได้รบั การยกย่อง ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ.2523 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 227

227

05/09/61 11:39:53


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบ้านโจด หนองฮาง

พระครูวีรสุทธรรมาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด บ้านโจด หนองฮาง ตั้งอยู่เลขที่ 119 หมู่ที่ 5 ต�ำบลปะเคียบ อ�ำเภอคูเมือง

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย โดยเริ่ ม การสร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2534 เดิ ม เรี ย กที่ พั ก สงฆ์ “วั ด ราษฏร์ บ� ำ รุ ง ” และในเวลาต่ อ มาได้ เ ปลี่ ย นเป็ น “วั ด บ้ า นโจด” ตามชื่ อ ที่ ตั้ ง ของหมู ่ บ ้ า น ได้ รั บ พระราชทานวิ ง สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 17 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2540 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 28 เมตร ยาว 57 เมตร 228

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 228

05/09/61 11:42:26


อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุ โ บสถ 1 หลั ง ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทาน เขตวิ สุ ง คามสี ม า และก่ อ สร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ และชุม ชนได้ใช้เป็น สถานที่ ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา ปฏิบตั ศิ าสนกิจ ของคณะสงฆ์ เช่น การอุปสมบท ท�ำวัตรเช้า-เย็น ของพระสงฆ์ หรื อ สวดมนต์ ปฏิ บั ติ ธ รรม ของพุทธศาสนิกชนในชุมชน และยังมี ศาลา การเปรียญ ศาลาเอนกประสงค์ กุฏิ โรงครัว ห้องน�ำ ้ เมรุ ศาลาธรรมสังเวช และ ศูนย์ศกึ ษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ซึง่ ก�ำลังด�ำเนินการ ก่อสร้างที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พระพุทธ มุนีศรีนเรศวร ส� ำ หรั บ ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนา วันอาทิตย์ ในประเทศไทย ได้เริ่มก�ำเนิดขึ้น เมื่ อ ประมาณ ปี พ.ศ.2496 - 2500 โดย พระพิมลธรรม(อาจ อาสภมหาเถร) สังฆมนตรี ว่าองค์การปกครอง(สมัยพระราชบัญญัติการ ปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ.2484) อธิ บ ดี ส งฆ์ (เจ้าอาวาส) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราช วรมหาวิหาร องค์ทุติยสภานายกมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งมีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระพุฒาจารย์ได้ เดินทางไปดูกจิ การพระพุทธศาสนาทีป่ ระเทศพม่า และศรีลงั กา เห็นพระสงฆ์ในประเทศพม่าและ ศรีลังกาจัดระเบียบการสอนศีลธรรมแก่เด็ก และเยาวชนได้ ผ ลดี ม าก และจั ด การสอน เฉพาะวันอาทิตย์ เมื่ อ ท่ า นเดิ น ทางกลั บ มาประเทศไทย จึงได้ปรารภถึงการสอนศีลธรรมของพระสงฆ์ ในประเทศพม่ า และศรี ลั ง กาแก่ พ ระเจ้ า หน้าที่บริหารและพระนิสิตของมหาวิทยาลัย จุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย และมี ด� ำ ริ ว ่ า “โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สมควรจะได้ จัดให้มขี นึ้ ในประเทศไทยบ้าง เพราะว่าเด็กและ เยาวชนมีความสนใจในพระพุทธศาสนาอยูแ่ ล้ว ซึง่ จะท�ำให้เป็นก�ำลังส�ำคัญของพระพุทธ ศาสนา ต่อไป และยังเป็นการส่งเสริมในด้านการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาอีกประการหนึง่ อีกทัง้ เป็นการ ให้โอกาสแก่เด็ก และเยาวชนได้ศึกษา และ รู้จักหลักธรรมในพระพุทธศาสนาได้ถูกต้อง ตามสมควรแก่วัยของตน” ประกอบกับในสมัยนั้น พระเจ้าหน้าที่และ

พระนิสิตของมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้น�ำบุตรหลานของข้าราชการ พ่อค้า และ ประชาชนทั่วไป ที่สนใจมาฟังบรรยาย ฝึกสมาธิในวันอาทิตย์ ซึ่งพากันวิ่งเล่นบริเวณลานอโศก วัดมหาธาตุฯ มาเล่านิทานและสอนธรรมะ นอกจากนั้น ทางโรงเรียนและมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้อาราธนาพระสงฆ์ดังกล่าวไปสอนธรรมะอบรมศีลธรรมแก่นักเรียนและนักศึกษาอีกด้วย ดังนั้น พระเจ้าหน้าที่และพระนิสิตมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงด�ำเนินการ ขอเสนออนุมตั ติ อ่ ทางสภามหาวิทยาลัย เพือ่ เปิดสอนโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ขนึ้ ได้รบั อนุมตั ิ ให้เปิดท�ำการสอนเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2501 จึงนับได้ว่าเป็นโรงเรียนพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์แห่งแรกในประเทศไทย หลังจากนั้น ก็ได้รับความสนใจ มีการจัดตั้งขยายไปยังวัดต่างๆ ทั่วประเทศ และวัดบ้านโจด หนองฮาง น�ำโดย พระครูวีรสุทธรรมาภรณ์ ท่านเจ้าอาวาส ก็เป็น อีกหนึ่งวัดที่เล็งเห็นความส�ำคัญของการสอนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ให้เกิดมีขึ้นเพื่อความสุข ความสงบในชุมชน สังคม และเพื่อสร้างปัญญาที่กรปอด้วยศีลธรรมให้เกิดมีแก่เด็กและเยาวชน ในวันนี้และอนาคตกาล

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 229

229

05/09/61 11:43:25


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสุพลศรัทธาราม

พระครูศรัทธาพลาธร ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอคูเมือง และเจ้าอาวาสวัดสุพลศรัทธาราม

วั ด สุ พ ลศรั ท ธาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 131 บ้ า นโนนสู ง หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นแพ

อ� ำเภอคู เ มื อ ง จังหวัด บุรีรัม ย์ สังกัด คณะสงฆ์ม หานิ ก าย ตั้ ง เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ เมื่ อ พ.ศ.2470 มาจนถึ ง พ.ศ.2484 ได้ รั บ ยกเป็ น ส� ำ นั ก สงฆ์ และมี ก ารแต่ ง ตั้ ง เจ้ า อาวาสปกครองวั ด เรื่ อ ยมาตามล� ำ ดั บ เป็ น ส� ำ นั ก เรี ย น มี พ ระภิ ก ษุ ส ามเณรศึ ก ษาเล่ า เรี ย น บางขณะ มี เ จ้ า อาวาส บางขณะก็ ข าดเจ้ า อาวาส วั ด สุ พ ลศรั ท ธาราม มี เ นื้ อ ที่ ต ามโฉนดที่ ดิ น เลขที่ 17576 หน้า 76 ต�ำบลบ้านแพ อ�ำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ที่ดินแปลงนี้มีเนื้อที่ประมาณ 18 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2548 เขตวิ สุง คามสี ม า กว้า ง 27 เมตร ยาว 48 เมตร 230

มาถึ ง พ.ศ.2512 ญาติ โ ยมได้ นิ ม นต์ พระบุญทัน สุปฺปญฺโญ จากวัดทรงศิรินาวาส มาอยู่ 2 พรรษา ก็ลาญาติโยมกลับวัดเดิม จาก นั้นญาติโยมไปนิมนต์หลวงพ่อเงิน ปริปุณฺโณ มาอยู่จ�ำพรรษาเมื่อ พ.ศ.2505 เมื่อท่านมา ทีว่ ดั นีแ้ ล้ว ก็ได้ชว่ ยกิจการคณะสงฆ์อำ� เภอสตึก ในขณะนัน้ มีการศึกษาเล่าเรียนพระปริยตั ธิ รรม และด้านปฏิบตั ธิ รรมโดยเฉพาะด้านวิปสั สนาธุระ ช่ ว ยเผยแผ่ พ ระธรรมค� ำสั่ ง สอนของสมเด็ จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทั้งด้านพระปริยัติธรรม และปฏิบัติธรรมวิปัสสนากัมมัฏฐานเรื่อยมา

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 230

05/09/61 11:45:32


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ประวัติพระครูบวรสมณวัตร (หลวงปู่เงิน ปริปณ ุ โฺ ณ) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอคูเมือง และ อดีตเจ้าอาวาสวัดสุพลศรัทธาราม หลวงปูเ่ งิน ฉายา ปริปณ ุ โฺ ณ อายุ 80 พรรษา 60 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดสุพลศรัทธาราม ต�ำบลบ้านแพ อ�ำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดสุพลศรัทธาราม สถานะเดิม ชื่อ เงิน นามสกุล บุญครอง บิดา - มารดา นายสามและนางอบ บุญครอง เกิดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ.2478 ปีกุน อุปสมบท เมือ่ วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2498 ณ วันทรงศิรินาวาส บ้านปะเคียบ ต.ปะเคียบ อ.คูเมือง จ.บุรีรัมย์ พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการ เพ็ง ธมฺมทินฺโน วัดทรงศิรินาวาส พระกรรม วาจาจารย์ พระอธิการเพ็ง อโสโก วัดโพธิ์ทอง พระอนุกรรมวาจาจารย์ พระอธิการหิน วิธิโต วัดศีลาวรรณ วิ ท ยฐานะ พ.ศ.2493 จบวิ ช าสามั ญ ประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดบ้านประเคียบ ต.ประเคียบ อ.สตึก จ.บุรีรัมย์ ในสมัยนั้น วิทยฐานะทางธรรม พ.ศ.2498 สอบได้นักธรรมชั้นตรี ส�ำนัก เรียนวัดยางบ่ภิรมย์ ต.นาหนองไผ่ อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ พ.ศ.2499 สอบได้นักธรรมชั้นโท ส�ำนัก เรียนวัดยางบ่ภิรมย์ ต.นาหนองไผ่ อ.ชุมพลบุรี จ.สุรินทร์ พ.ศ.2500 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนัก เรียนวัดอิสาณ ต.อิสาณ อ.เมือง จ.บุรีรัมย์ ได้ เข้ารับการอบรมสมถะวิปสั สนากรรมฐาน 2 ครัง้ พ.ศ.2511 พรรษาที่ 4 เข้าอบรมสมถะ วิปัสสนากัมมัฏฐานที่ส�ำนักวัดชัยชุมแสง 1 พรรษา ต.ชุมแสง อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ พ.ศ.2512 พรรษาที่ 5 ได้ เข้ า อบรม วิปัสสนากัมมัฏฐาน ที่ส�ำนักวัดใหญ่ชัยมงคล อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา 8 เดือน หมายเหตุ : สมถะ หมายถึง การฝึกจิตให้สงบ เป็นสมาธิ การท�ำใจให้สงบโดยเพ่งสิง่ ใดสิง่ หนึง่ เป็นอารมณ์ วิปัสสนากรรมฐาน หมายถึง การ เพียรใช้สติเข้าไปก�ำหนดสิ่งที่เกิดขึ้นทางกาย และใจเพื่อให้เกิดปัญญาหยั่งรู้อย่างแจ่มแจ้ง จนสามารถหลุดพ้นจากวัฏสงสารได้ถาวร BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 231

231

05/09/61 11:45:47


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดธรรมประสิทธิ์

พระอธิการชาญณรงค์ อินฺทสโร (กลีบนิมิต) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ธรรมประสิ ท ธิ์ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นเขว้ า หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลปะเคี ย บ อ� ำ เภอคู เ มื อ ง

จั ง หวั ดบุ รี รั ม ย์ สังกัด คณะสงฆ์ม หานิกาย ประเภทวั ดราษฎร์ ที่ ดิ น สร้ า งวั ดจากชาวบ้ า น บริจาคเมื่อปี พ.ศ.2447 จ�ำนวน 12 ไร่ 49 ตารางวา ชื่อทางราชการว่า “วัดธรรมประสิทธิ์” ส่ ว นชาวบ้ า นเรี ย กกั น ว่ า “วั ด บ้ า นเขว้ า ” 232

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 232

05/09/61 11:46:43


วั ด ธรรมประสิ ท ธิ์ เริ่ ม สร้ า งอุ โ บสถ หลั ง แรกในปี พ .ศ.2447 ประกอบพิ ธี ผู ก พัทธสีมาฝังลูกนิมิตขึ้นเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2477 และมีพระสังฆาธิการก�ำกับดูแล เป็นล�ำดับมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ.2477 โดยส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จังหวัดบุรีรัมย์ รับรองว่า วัดธรรมประสิทธิ์ มีชื่ออยู่ในทะเบียนวัดของส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ และมีสภาพเป็นวัดตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 จึงออกหนังสือรับรอง สภาพวัดให้ไว้ส�ำคัญ ให้ไว้ ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ.2554

ศิลาจารึกของพระเจ้ามเหนทรวรมัน (จิตรเสน) อักษร ปัลลวะ ภาษา สันสกฤต อายุ พุทธศตวรรษที่ 11-12

ค�ำอ่าน นปฺตา ศฺรีสารฺวฺวเภามสฺย สูนุศฺ ศฺรีวีรวรฺมฺมณะ ศกฺยตยานูนะ กฺนิษฺโฐปิ ภฺราตา ศฺรภี ววรฺมมฺ ณะ ศฺรีจิตฺนเสน นามาย ะปูรฺวฺวมาหตลกฺษณะ ส ศฺรีมเหนทฺรวรฺมฺเมติ นามาเภเชภิเษกชมฺ วิชิตฺย นิขิลานฺเทศา- นสฺมินฺเทเศ ศิลามยมฺ วฺฤษภํ สฺถาปยามาส ชยสตมฺภมิวาตฺมนะ

ค� ำ แปล พระราชาผู ้ เ ป็ น พระราชนั ด ดา แห่งพระเจ้าศรีสารวเภามะ (พระเจ้าจักรพรรดิ) เป็นพระโอรสแห่งพระเจ้าศรีวีรวรมัน มิได้ ทรงด้ อ ยไปด้ ว ยอ� ำ นาจเลย แม้ จ ะเป็ น พระอนุ ช าองค์ เ ล็ ก ของพระเจ้ า ศรี ภ ววรมั น ทรงมี พ ระนามว่ า ศรี จิ ต รเสน ในครั้ ง ก่ อ น (แต่ ) ทรงมี พ ระลั ก ษณะที่ ถู ก ขั ด เกลาแล้ ว พระองค์ทรงได้รับพระนามอันเกิดจากการ อภิเษกว่า ศรีมเหนทรวรมัน ครั้นได้รับชัยชนะ บริเวณเมืองนี้ทั้งหมดแล้ว ได้ให้สถานปนา โคอันท�ำมาจากศิลา อันเปรียบเหมือนกับเสา แห่งชัยชนะของพระองค์ ณ ที่นี้ (อ่ า น-แปล โดย ผู ้ ช ่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.กังวล คัชชิมา ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร) ณ ปัจจุบันวัดธรรมประสิทธิ์ได้มี การสร้าง อุโบสถขึ้นมา 1 หลัง แต่ยังขาดจตุปัจจัยเป็น จ�ำนวนมาก จึงขอเรียนเชิญผู้ที่มีจิตศรัทธาได้ ร่วมบริจาคทรัพย์ตามก�ำลังศรัทธา ได้ที่ เลขบัญชี 288-0151-341 ธนาคารกรุงไทย วัดธรรมประสิทธิ์ หรือ สแกนที่ QR CODE

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 233

233

05/09/61 11:46:55


ท่ า มกลางบรรยากาศ ธรรมชาติ แ ละห้ ว งน�้ ำ อั น กว้ า งใหญ่ ข อง

ห้ ว ยจรเข้ ม าก

แนบชิ ด สนิ ท ธรรมชาติ

เป็น หนึ่ ง เดี ย ว

อิ ง น�้ ำ อิ ง จั น ทร์ Ing Nam Ing Jun Resort

ห้ อ งพั กแต่ ล ะห้ องตกแต่ งอย่ า งกลมกลื น กั บ ธรรมชาติ พร้ อ มสิ่ ง อ�ำ นวยความสะดวกมากมายภายในสวน

ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติและห้วงน�้ำอันกว้างใหญ่ของห้วยจรเข้มาก ตั้งอยู่ในย่านเสม็ดที่มีชื่อเสียง ท่านสามารถเดินทางเข้าถึงได้สะดวก เรามี บริ ก ารและสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกมาตรฐานดี เ ยี่ ย ม เพื่ อ ตอบสนอง ความต้องการที่แตกต่างกันของนักเดินทางทุกประเภท เช่น Wi-Fi ฟรี ในพื้นที่สาธารณะ ที่จอดรถสะดวก ห้องพัก พร้อมพื้นที่สูบบุหรี่ภายในสวน

อิงน�้ำอิงจันทร์ รีสอร์ท เลขที่ 11 หมู่ 17 ต�ำบลบ้านบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

08-7094-2422 ติดต่อส�ำรองห้องพัก

https://www.facebook.com/อิงน�้ำอิงจันทร์-837673466264769/

อิ ง น�้ ำ อิ ง จั น ทร์

เชื้ อ เชิ ญ ให้ คุณมาพักทุกเวลา และการบริการดีเยี่ยมคือสิ่งที่คุณจะได้สัม ผัสระหว่างเข้าพักที่ อิงน�้ำ อิงจัน ทร์ รีสอร์ท 234

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

1/9 หมู่5 ต.วังก์พง อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ 77120 | 1/9 Moo.5 Wangpong, Pranburi, Prachuap Khiri Khan 77120 .indd 234

05/09/61 11:48:46


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

วัดโคกงิว้ วัดทุง่ ไผ่ วัดป่าหนองขอน วัดป่าปะค�ำ วัดป่ากองพระทราย

ต�ำบลหนองบัว

วัดดอนนางงาม วัดหนองบัว วัดป่าดอนนางงาม วัดโคกกลาง วัดหนองน้�ำขุน่ วัดหนองน้�ำใส วัดน้�ำอ้อม วัดป่าบอ่ ทอง

ต�ำบลหูท�ำนบ วัดหนองขวางนอ้ ย วัดป่าบูรพาราม

ต�ำบลหนองขมาร

วัดชัยศิริมงคล วัดป่าเลไลย์ วัดโพธิศ์ รีสวา่ งวราราม วัดบา้ นโคกสะอาด วัดนิกรสวา่ งธรรม วัดนิโรธวราราม วัดหนองโฮง วัดหนองตะคลอง วัดหนองไทร วัดสักทองหนองไทร วัดป่าบา้ นดงเค็ง วัดป่าหนองหวา้

ต�ำบลหินเหล็กไฟ

วัดอัมพวัน วัดศิลาเรือง วัดโศกนาค วัดโนนมาลัย วัดบา้ นนาหลวง วัดสุทธาราม วัดบา้ นหนองไผ่ วัดป่าหนองขายา่ ง วัดบา้ นตาหล่�ำ วัดบา้ นสาวเอ้ วัดบวรธรรมศิริ วัดบา้ นโศกดู่ วัดบัวภิรมย์

วัดบา้ นหนองหัวช้าง วัดบา้ นโนนขมิน้ นอ้ ย วัดบา้ นสามศิลา วัดบา้ นโคกกอ่ ง วัดป่าตาหล่�ำธรรมมงคล วัดป่าสามศิลา วัดป่าช้าคูบัว

อ�ำเภอปะค�ำ

ต�ำบลโคกมะมว่ ง

วัดมงคลพัฒนาราม วัดป่าโคกเขาพัฒนา วัดทรัพยท์ รายทอง วัดดงใหญพ่ ัฒนา วัดอัมพวนาราม วัดโคกมะมว่ ง วัดปลื้มพัฒนา วัดเทพพัฒนา วัดป่าเทพประทานธรรม วัดป่าเทพนานวลใต้

วัดสุกิจธรรมาวาส วัดสุขส�ำราญ วัดชัยมงคลวนาราม วัดใหมไ่ ทยเจริญ วัดหนองตอ้ วัดใหมโ่ คกไมแ้ ดง วัดเกา่ โคกไมแ้ ดง วัดป่าหนองขนุน วัดไทยเจริญ

อ�ำเภอกระสัง

ต�ำบลกระสัง

วัดทา่ สวา่ ง วัดบา้ นหนองแขม วัดชุมพลมณีรัตน์ วัดระโยงใหญ่ วัดบา้ นตาเบา้ วัดบา้ นตะเคียน วัดบา้ นหนองลิง วัดป่าอุดมธรรม วัดสวนใหม่

ต�ำบลชุมแสง

วัดโพธิย์ อ้ ย

ต�ำบลเมืองไผ่

วัดธรรมถาวร วัดแจ้งเมืองไผ่ วัดกทลิวนาราม วัดโนนเมืองไผ่

วัดบา้ นล�ำดวน วัดบา้ นหนองพลวง วัดบา้ นยาง วัดบา้ นแสลงพัน วัดบา้ นแซว วัดประดูฉ่ ิมพลี วัดบา้ นหินโคน วัดป่าพัฒนาสวา่ งธรรม

ต�ำบลศรีภูมิ

วัดศรีภูมิวนาราม วัดบา้ นตาฮ้อ วัดขามสามัคคี วัดประชาศัทธาธรรม

ต�ำบลสองชัน้

วัดโคกแกว้ วัดบา้ นสองชัน้ วัดบา้ นจอม วัดบา้ นเสม็ด วัดบา้ นตาราม วัดบา้ นติม วัดป่าสุขสมบูณร์ วัดชัยมงคล

วัดเสม็ดคลังเมือง วัดป่าห้วยสวาย วัดป่าตาไทย วัดป่าหนองแคร่ วัดป่านราใหญ่ วัดป่าดา่ นตาไท

ต�ำบลสูงเนิน

ต�ำบลล�ำดวน

วัดป่าตะครองใต้ วัดปราสาททอง วัดบัวถนน วัดบา้ นสูงเนิน วัดทุง่ สวา่ ง วัดชลประทานราชด�ำริ วัดบา้ นตะแบก วัดบา้ นจะเนียง

ต�ำบลหนองเต็ง

วัดบา้ นเสม็ด วัดพรหมรัตนาราม วัดบา้ นหวา้ วัดคุรุราษฎร์บ�ำรุง วัดประทุมคงคา วัดบา้ นโนนแดง วัดทุง่ ชะมด วัดบา้ นละลูน วัดหนองเต็งนอ้ ย วัดป่าทานตะวัน วัดบุญมาสามัคคีธรรม

ต�ำบลห้วยส�ำราญ

วัดห้วยส�ำราญ วัดกุดโคลน วัดป่าครองธรรม วัดน้�ำอ้อม วัดบา้ นประดู่

อ�ำเภอโนนดินแดง

ต�ำบลโนนดินแดง

วัดโนนดินแดงใต้ วัดโนนดินแดงเหนือ วัดซับคะนิง วัดซับสมบูรณ์ วัดซับทรายทอง วัดใหมช่ ัยมงคล วัดป่าโนนดินแดง วัดภูหินตัด

ต�ำบลล�ำนางรอง

วัดใหญล่ �ำนางรอง วัดโคกเพชร วัดบา้ นหนองเสม็ด วัดป่าเขากระเจียว วัดคลองหินศรัทธาธรรม วัดคลองหินนอก วัดล�ำนางรองเหนือ วัดฐานเจ้าป่า วัดหนองบอน วัดป่าไมส้ กหรณ์ วัดใหมศ่ รัทธาธรรม วัดป่าเขาฝอยลม วัดทรัพยป์ ่ าประดู่

ต�ำบลสม้ ป่อย

วัดสม้ ป่อย วัดหนองสะแกกวน วัดบา้ นหนองกก

วัดทา่ ประชุวารี วัดคันธารมย์ วัดบา้ นหนองขอน วัดระกาเสม็ด วัดบา้ นดอนยาว วัดคงค�ำโคกทม วัดบา้ นปลาย

ต�ำบลปะค�ำ

วัดอินทบูรพา วัดกัลยาณวัฒน์ วัดระกามังคลาราม วัดห้วยตาราง

ต�ำบลกันทรารมย์

ต�ำบลไทยเจริญ วัดไทยเจริญ วัดโคกลอย วัดป่าบูรพา วัดโคกสมบูรณ์ วัดนอ้ ยถนนหัก

วัดชัยชุมแสง วัดไผก่ า้ นเหลือง วัดไมแ้ ดง วัดบา้ นสวายสอ วัดไผล่ วกสุทธาราม

ต�ำบลบา้ นปรือ

วัดปทุมคงคา

เวลาที่เราไม่มีอะไรเป็นของเราเลย นั่นแหละเป็นเวลาที่เรามีความสุขที่สุด พุท ธทาสภิกขุ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 235

235

5/9/2561 13:54:50


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโนนดินแดงใต้

พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ(วินัย ฐานิสฺสโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอโนนดินแดง และ เจ้าอาวาส

วั ด โนนดินแดงใต้ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 1 บ้านโนนดินแดง หมู่ที่ 8 ต�ำบลโนนดินแดง

อ�ำเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีพื้นที่ 21 ไร่ โดยมี พ ่ อ สั ม ฤทธิ์ แสนเจ๊ก ได้ม อบถวายที่ดิน ให้ตั้ง วั ด และได้ รั บ ตราตั้ ง ประกาศตั้ ง ตราวั ด เมื่ อ วั น ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2550 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 20 กั น ยายน พ.ศ.2550 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 17 เมตร ยาว 27 เมตร 236

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 236

05/09/61 11:50:57


ประวัติพระครูนิเทศก์ธรรมคุณ โดยสังเขป พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ(วินัย ฐานิสฺสโร) เกิดเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ.2500 อายุ 61 ปี พรรษา 39 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.1-2 พธ.ม. บรรพชา-อุปสมบท วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2522 ณ พัทธสีมาวัดส�ำโรง ต�ำบลส�ำโรงใหม่ อ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี มั ย์ โดยมีพระครูวบิ ลู วรญาณ วัดส�ำโรง ต�ำบลส�ำโรงใหม่ อ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูพิทักษ์ ศาสนกิจ วัดโคกไม้แดง ต�ำบลส�ำโรงใหม่ อ�ำเภอละหานทราย จังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระดวน ถิ ร สทฺ โ ท วั ด ส� ำ โรง ต� ำ บลส� ำ โรงใหม่ อ� ำ เภอละหานทราย จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น พระอนุสาวนาจารย์ สมณศักดิ์ 5 ธันวาคม พ.ศ.2536 ได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์ที่ พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ 5 ธันวาคม พ.ศ.2545 ได้รับแต่งตั้งสมณศักดิ์ที่เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท 5 ธันวาคม พ.ศ.2555 ได้รบั แต่งตัง้ สมณศักดิพ์ ระครูเจ้าคณะอ�ำเภอชัน้ เอก ทีพ่ ระครูนเิ ทศก์ธรรมคุณ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 237

237

05/09/61 11:51:05


ประวัติ โรงเรียนพระปริยัติธรรม โนนดินแดงวิทยาคม โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมโนนดินแดงวิทยาคม ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.2537 ณ วัดโนนดินแดงใต้ โดย พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ (วินัย ฐานิสสโร) เจ้าอาวาสวัดโนนดินแดงใต้ เป็นผู้ก่อตั้งและ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการ เปิดสอนแผนกธรรม แผนกบาลี ส�ำหรับภิกษุ สามเณร ต่อมาทาง คณะผู ้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ได้ พิจารณาถึงปัญหาและอุปสรรคของการศึกษา ของคณะสงฆ์ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพสังคม ทีแ่ ตกต่างกับการศึกษาของฝ่ายอาณาจักร และ เพื่ อ ยกระดั บ การศึ ก ษาของคณะสงฆ์ ทาง พระครูนิเทศก์ธรรมคุณ และคณะผู้บริหาร จึงขออนุมัติจากกรมการศาสนาจัดตั้งโรงเรียน พระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกสามั ญ ศึ ก ษาขึ้ น อี ก แผนกหนึ่งใช้ชื่อว่า โรงเรียนพระปริยัติธรรม 238

โนนดินแดงวิทยาคม โดยน�ำชื่อวัดเป็นส�ำคัญ และได้ รั บ อนุ ญ าตให้ จั ด ตั้ ง เป็ น โรงเรี ย น พระปริ ยั ติ ธ รรมเมื่ อ วั น ที่ 25 พฤศจิ ก ายน พ.ศ.2537 จากกรมการศาสนาตามใบอนุญาต เลขที่ 49/2537 เปิดท�ำการเรียนการสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในคราวเดียวกัน อัตลักษณ์ของสถานศึกษา “ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีน�้ำใจ ใฝ่คุณธรรม ” การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมโนนดินแดงวิทยาคม แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารวิชาการ การบริหาร งานบุ ค คล การบริ ห ารงานงบประมาณ การบริหารงานทัว่ ไป ผูบ้ ริหารยึดหลักการบริหาร และเทคนิคการบริหาร PDCA (P = Plan, D = Do, C = Check, A = Action)

วิสัยทัศน์ มุ ่ ง มั่ น จรรโลงพระพุ ท ธศาสนา พั ฒ นา องค์ ค วามรู ้ ควบคู ่ ก ารสอนแบบพุ ท ธวิ ธี สร้างศาสนทายาทที่ดีสู่สังคม พันธกิจ ข้อที่ 1 จัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 และหลักสูตร พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ข้อที่ 2 พั ฒ นาครู และบุ ค ลากรทางการศึกษาให้มี ความพร้อมในการจัดการศึกษาอย่างมีคณ ุ ภาพ ข้อที่ 3 พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรูค้ วามสามารถ เต็มตามศักยภาพของตน ปลูกฝังให้ผู้เรียนมี คุณธรรม มีจิตสาธารณะเป็นศาสนทายาทที่ดี สามารถน� ำ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และแนวคิ ด เศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปใช้ ด� ำ เนิ น ชี วิ ต และ บริการสังคม ข้อที่ 4 พัฒนาโรงเรียนให้มีการ บริหารจัดการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 238

05/09/61 11:51:18


ข้อที่ 5 พัฒนาสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม ให้ เ พี ย งพอและเอื้ อ ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู ้ ข้อที่ 6 ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน ชุ ม ชน ผู ้ ป กครอง ศิ ษ ย์ เ ก่ า และคณะสงฆ์ ในการพัฒนาการจัดการศึกษา เอกลักษณ์ของสถานศึกษา “ โรงเรียนจัดการเรียนแบบพุทธวิธี ” ผลงานวิชาการของนักเรียน สามเณรวีรพงษ์ ดาษสมศรี รางวัลชนะ เลิศเกียรติบตั รเหรียญทอง การแข่งขันบรรยาย ธรรมภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สามเณรวิทยา สวัสดี เกียรติบัตรเหรียญ ทองแดง การแข่งขันบรรยายธรรมภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามเณรดิศร แก้วจริง, สามเณรวาทิน สวัสดี และ สามเณรอานท์ จีนชาติ รางวัลเหรียญทอง

การแข่งขันหนังสือเล่มเล็ก ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น สามเณรธนกฤต ชุญเชิด เกียรติบัตรเหรียญ ทองแดง การแข่ ง ขั น คั ด ลายมื อ ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สามเณรพั น ธกิ จ สวั ส ดิ์ พู น เกี ย รติ บั ต ร เหรียญทองแดง การแข่งขันคัดลายมือภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามเณรวรพจ กองทอง, สามเณรสมชาย แสนดี และ สามเณรอัฎฎา รุง่ สว่าง เกียรติบตั ร เหรียญทองแดง โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภท สิ่งประดิษฐ์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สามเณรพงษ์ ศั ก ดิ์ ประจ� ำ จั น , สามเณร วิทยา สวัสดี และ สามเณรอนุรกั ษ์ โครตพรหม เกียรติบตั รเหรียญทองแดง โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิง่ ประดิษฐ์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สามเณรไตรลักษณ์ สุนประโคน เกียรติบัตร

เหรียญทองแดง การแข่งขันตอบปัญหาวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สามเณรเจษฎา ทองเลื อ ม เกี ย รติ บั ต ร เหรี ย ญเงิ น การแข่ ง ขั น วิ ช าเรี ย งความ แก้กระทูธ้ รรม นักธรรมชัน้ ตรี ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น สามเณรจี ร ศั ก ดิ์ สระแก้ ว เกี ย รติ บั ต ร เหรี ย ญทอง การแข่ ง ขั น วิ ช าเรี ย งความ แก้กระทูธ้ รรม นักธรรมชัน้ โท ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย สามเณรเอกรินทร์ สุขเกตุแก้ว เกียรติบัตร เหรียญเงิน การแข่งขันตอบปัญหาวิชาสุขศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สามเณรธนกฤต โนมนตรี เกี ย รติ บั ต ร เหรี ย ญทองแดง การแข่ ง ขั น ตอบปั ญ หา วิชาศิลปะ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 239

239

05/09/61 11:51:31


Wat Non Din Daeng Tai Phra Khru Nithet Dhamma Khun (Winai Thanidsaro), Non Din Daeng district monk dean, The abbot of Wat non din daeng tai

Wat Non Din Daeng Tai is located at 1 Ban Non Din Daeng, village no.8, Non Din Daeng sub-district, Non Din Daeng district, Buriram province. It is a general temple which belongs to Maha Nikai clergy. The scale of this temple’s land is 8.4 acres, this land was respectfully offered by Mr.Samrit Sanjek and this temple was received charter of establishment of the temple on 20 April B.E.2550. After that, it was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 20 September B.E.2550 and scale of this area is 17 meters in width and 27 meters in length. The construction of ubosot have finished already. At present, Phra Khru Nithet Dhamma Khun (Winai Thanidsaro) takes a position of abbot of this temple.

240

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 240

05/09/61 11:51:35


Summary biography of abbot Phra Khru Nithet Dhamma Khun (Winai Thanidsaro) was born on 23 January B.E.2500, age 61 years old and has been a monk for 39 years. Academic standing - Dhamma scholar advanced level, graduation in level 1-2 of Buddhist theology, Master of Arts. Buddhist ordination - he became a monk on 5 July B.E.2522 at monastic boundary of Wat Samrong, Samrong Mai sub-district, Lahan Sai district, Burirram province which the preceptor was Phra Khru Wiboonworayarn of Wat Samrong and pair of monks who chant the ordination service for his ordination are Phra Khru Phithak Satsanakit of Wat Khok Mai Daeng at Samrong Mai sub-district, Lahan Sai district, Burirram province and Phra Duan Thirasatto of Wat Samrong.

History of Non Din Daeng Wittayakhom school of Tripitaka-studying Non Din Daeng Wittayakhom school of Tripitaka-studying was founded in B.E.2537 at Wat Non Din Daeng Tai by Phra Khru Nithet Dhamma Khun (Winai Thanidsaro), abbot of Wat Non Din Daeng Tai who was the founder and has been taken a position of administrator. Firstly, this school consists of Dhamma department and Pali department for monk and novice. After that, the management of this

school had considered the problems and obstructions of monk’s education which inconsistent with state of society and differ from general people’s education. Then, in order to improve monk’s education, Phra Khru Nithet Dhamma Khun and management of this school had asked for permission from Department of Religious affairs to establish general education department at this school by using the name

Non Din Daeng Wittayakhom school of Tripitaka-studying that emphasize temple’s name in its name. The request for this department establishment was permitted officially on 25 November B.E.2537 by Department of Religious affairs, according to permit number 49/2537. There are two faculties at this school which are secondary school and high school that both faculties are studying at the same time. BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 241

241

05/09/61 11:51:44


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดโคกกลาง

พระอธิการเจนยุทธ กุสลจิตฺโต ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โคกกลาง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 99 หมู ่ ที่ 1 0 บ้ า นโคกเจริ ญ ถนนปะค� ำ เสิ ง สาง

ต� ำ บลหนองบั ว อ� ำ เภอปะค� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด สงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 14 ไร่ 2 งาน 80 ตารางวา วั ด โคกกลาง สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2494 เดิ ม เป็ น ที่ พั ก สงฆ์ ใ นนาม “วั ด ศรี เ จริ ญ สุ ข ” ผู ้ก่ อตั้ ง โดย พระสมาน(โม่ง) อภิน นฺโท ได้น�ำญาติ โยมชาวบ้ า นหนองน�้ำ ขุ ่น บ้า นโคกกลาง มาสร้ า งในพื้ น ที่ ข อง นายฮั ว - นางเอก ตองด� ำ เนื่ อ งจากที่ ดิ น เป็ น พื้ น ที่ ว ่ า งเปล่ า ญาติ พี่ น ้ อ งของนายฮั ว - นางเอก ตองด� ำ จึ ง ได้ บ ริ จ าคที่ ดิ น นี้ เ พื่ อ สร้ า งวั ด 242

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 242

05/09/61 11:51:46


ล�ำดับเจ้าอาวาสและการพัฒนาวัด พ.ศ.2494 พระสมาน (โม่ ง ) อภิ น นฺ โ ท ได้ นิ ม นต์ หลวงพ่ อ ทุ ย จ� ำ พรรษารู ป แรก พ.ศ.2496 จากนัน้ หลวงพ่อทุย ได้ไปจ�ำพรรษา ที่วัดอื่น ประกอบกับ หลวงพ่อหรึ่ม สกฺโก อุปสมบทในปีนั้น พระสมาน(โม่ง) ได้นิมนต์ หลวงพ่ อ หรึ่ ม สกฺ โ ก ให้ ม าจ� ำ พรรษา ณ วั ด ศรี เ จริ ญ สุ ข (วั ด โคกกลางในปั จ จุ บั น ) ซึ่งพื้นที่วัดศรีเจริญสุขเป็นพื้นที่ของนายฮัว ตองด�ำ ซึ่งเป็นพี่ชายหลวงปู่หรึ่ม สกฺโก พ.ศ.2512 แรม 15 ค�่ำ เดือน 6 ปีระกา หลวงปู่หรึ่ม ได้น�ำชาวบ้าน พร้อมด้วยหน่วย งาน น.พ.ค.(หน่วยงานพัฒนาเคลือ่ นที)่ ได้รว่ ม

เป็นเจ้าภาพบริจาค กระเบือ้ งหลังคา น็อต ตะปู หิน ปูน ทราย และได้รว่ มกันสร้างอุโบสถ โดยมี นายสงัด ละมัยครบุรี ผู้ใหญ่บ้านร่วมกันสร้าง โดยมีช่างคือ นายหมอน ชูแฉล้ม, นายแผน ห้ากระโทก(พร้อมบุตร) และ นายก้อง ชูแฉล้ม ใช้ ร ะยะเวลาในการก่ อ สร้ า ง 1 ปี จากปี พ.ศ. 2512 - 2513 จึงส�ำเร็จเรียบร้อย ต่อมาในปี พ.ศ.2528 หลวงพ่อหรึม่ อาพาธ อย่างหนัก นายทัด จรเอ้กา ไวยาวัจกรวัด ได้ อาราธนานิมนต์ พระอธิการก้าน รักษาการแทน เจ้าอาวาส พ.ศ.2525 - 2527 ต่อมา พระอาจารย์ สุพรรณ รักษาการแทนเจ้าอาวาส พ.ศ.2527 - 2529 จากนั้น พระอธิการวินัย ฐิตเปโม เป็น

เจ้าอาวาส พ.ศ.2530 - 2537 และได้แต่งตั้ง นายด�ำ ฉุนเชื้อ เป็นไวยาวัจกรวัด พระอธิ ก ารยอด อริ ญฺ ช โย เป็ น เจ้ า อาวาส ปี พ.ศ.2542 - 2547 พระอาจารย์เสนาะ ปญฺญาวโร รักษาการแทน เจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2547 - 2549 พระอธิการยอดชาย ขนฺติสาโร เป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2550 - 2555 และได้แต่งตัง้ นายคารมณ์ แสนทวีสุข เป็นไวยาวัจกรวัด พระอธิการเจนยุทธ กุสลจิตฺโต เป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2555 - ปัจจุบนั และได้แต่งตัง้ นาย คารมณ์ แสนทวีสุข และนายส�ำอาง เที่ยงธรรม เป็น ไวยาวัจกรวัด

ขอเชิญร่วมเส้นทางบุญกับวัดโคกกลาง วัดโคกกลาง เป็นวัดเก่าแก่ในต�ำบลหนองบัว เป็นวัดทีต่ งั้ ในหมูบ่ า้ นไม่ใหญ่มาก และได้ดำ� เนินการ ก่อสร้างเสนาสนะที่จำ� เป็นใช้สอยในงานวาระต่างๆ เป็นที่ปฏิบัติธรรมฟังธรรมตามวันส�ำคัญต่างๆ ทางด้านพระพุทธศาสนา เช่น อุโบสถหลังใหม่ สร้าง พ.ศ.2557 ซุ้มประตูสร้าง พ.ศ.2556 กุฏิ และลานธรรมสร้าง พ.ศ.2559 หอระฆังสร้างถวายพระราชกุศล พ.ศ.2560 และตอนนีไ้ ด้ดำ� เนินการ สร้างพระธาตุเจดีย์เพื่อเป็นพุทธบูชาและบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและรูปเหมือน พ่อ แม่ ครู อาจารย์ แต่ยังขาดทุนทรัพย์เป็นจ�ำนวนมาก หากท่านมีจิตศรัทธาสามารถร่วมบุญได้ที่บัญชี วัดโคกกลาง ธนาคารกรุงเทพ เลขที่บัญชี 635-0-37761-7 และ บัญชีเจ้าอาวาส ธนาคารกรุงไทย เลขที่บัญชี 373-0-70555-5 ติดต่อสอบถามได้ทโี่ ทร. 08-2135-0859 พระอธิการเจนยุทธ กุสสจิตโฺ ต เจ้าอาวาสวัดโคกกลาง

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 243

243

05/09/61 11:52:12


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 34

วัดโพธิ์ย้อย (วัดบ้านปะค�ำ)

พระครูสุกิจโกศล ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอปะค�ำ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด โพธิ์ ย ้ อ ย หรื อ วั ด บ้ า นปะค� ำ ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นปะค� ำ เลขที่ 217 หมู ่ ที่ 2

ต� ำ บลปะค� ำ อ� ำ เภอปะค� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ จากตั ว จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ใ ช้ เ ส้ น ทางหลวง สาย 208 (บุ รี รั ม ย์ - นางรอง) ถึ ง อ� ำ เภอนางรอง แล้ ว เลี้ ย วซ้ า ยเข้ า ทางหลวงสาย 2118 (นางรอง-ปะค� ำ ) จนถึ ง ทางแยกไฟแดง จากนั้ น จึ ง เลี้ ย วซ้ า ย จะพบวั ด โพธิ์ ย ้ อ ยซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใกล้ สี่ แ ยกทางด้ า นขวามื อ 244

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 244

05/09/61 11:53:19


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการตีบ ยงอาหาร 2. พระอธิการถนอม 3. พระอธิการเสงี่ยม แจ่มศรี 4. พระอธิการสายันต์ ศรีแก้ว 5. พระอธิการสมบูรณ์ 6. พระอธิการสุทัศน์ 7. พระอธิการพันธ์ 8. พระครู สุ กิ จ โกศล(โหน เขมวี โ ร) ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอปะค�ำ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาส พ.ศ.2511 - ปัจจุบัน วัดโพธิย์ อ้ ย ย้อนหลังไปเมือ่ วันที่ 3 มีนาคม พ.ศ.2320 ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก และ ได้มีการบูรณะเพิ่มเติม จนได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาอีกครั้งเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ.2526 มีโบราณวัตถุส�ำคัญต่างๆ ที่พบใน บริเวณใกล้เคียงเก็บรักษาไว้ ได้แก่ทบั หลัง 5 ชิน้ ใบเสมา 3 แผ่น เสาศิลา 5 หลัก ชิ้นส่วนเสา กรอบประตู และฐานศิวลึงค์อย่างละชิ้น มี ทับหลังซึ่งตั้งอยู่ทางด้านหน้าพระประธาน ด้ า นขวา สลั ก เป็ น ภาพพระอิ น ทร์ ท รงช้ า ง เอราวัณ ประทับในซุ้มเรือนแก้ว แวดล้อม ด้ ว ยลายพั น ธุ ์ พ ฤกษา และมี ป ลายทั บ หลั ง 2 ข้าง เป็นภาพมังกรหันหน้าออกคายลาย ก้านต่อดอก ส่วนทับหลังด้านหลังพระประธาน ด้านขวา สลักเป็นภาพพระอิศวรทรงโคในซุ้มเรือนแก้ว เหนื อ หน้ า กาล ซึ่ ง ใช้ มื อ ทั้ ง สองจั บ ที่ ท ่ อ น พวงมาลัย 2 ข้าง มีลายมาแบ่งที่เสี้ยวเป็น รูปบุคคล นัง่ ในซุม้ เหนือดอกบัว มีกา้ นประกอบ และทับหลังบนกุฏิอีก 1 ชิ้น สลักเป็นภาพ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณเหนือหน้ากาล ซึ่ง ใช้มือยึดท่อนพวงมาลัย ด้านข้างพระอินทร์ เป็นภาพสิงห์ยืน จากลักษณะทางด้านศิลปกรรมของทับหลัง เหล่านี้ สามารถก�ำหนดอายุโดยประมาณได้ ว่าอยู่ในราวช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 ซึ่งตรงกับ ศิลปะขอมแบบเกลี้ยงและบาปวน นอกจากนี้ ยังมีโบราณวัตถุอื่นๆ เช่น เสาศิลาสลักเป็นรูป

โยคีภายในซุ้มและใบเสมา ปักกระจายอยู่รอบอุโบสถ เสมาที่สลักเป็นรูปธรรมจักรอย่างสวยงาม และยังมีชิ้นส่วนของฐานศิวลึงค์ด้วย บริเวณที่ตั้งวัดโพธิ์ย้อย สันนิษฐานว่าอาจเคยเป็นอาคาร ที่เรียกกันว่า “อโรคยศาล” ด้วยฐานอุโบสถไม้ตั้งอยู่บนฐานโบราณสถานเก่าก่อด้วยศิลาแลง ซึ่งอาจจะเป็นฐานปรางค์ ทางด้านหลังอุโบสถ มีร่องรอยของสระน�้ำโบราณรูปสี่เหลี่ยม และ ศิลาจารึกทีเ่ รียกว่า จารึกด่านปะค�ำ ซึง่ เป็นจารึกประจ�ำ อโรคยศาล ก็มกี ารกล่าวถึงในเอกสารของ นักส�ำรวจชาวฝรั่งเศสว่าได้ไปจากวัดนี้ แต่เรียกชื่อว่าวัดปะค�ำ วัดโพธิ์ย้อยจึงนับเป็นสถานที่ ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งในจังหวัดบุรีรัมย์ วัดโพธิ์ย้อยเป็นวัดที่มีความส�ำคัญในด้านประวัติศาสตร์ - โบราณคดีและวัฒนธรรม แล้วยัง เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 34 เมื่อพ.ศ.2555 ตามความเห็นชอบของ เถรสมาคมว่าด้วยการขอจัดตั้งส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน เยาวชน เข้าวัดท�ำบุญและปฏิบัติธรรมเนื่องในวันพระและวันส�ำคัญต่างๆ วัดโพธิ์ย้อย มีการพัฒนาจนได้รับรางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อ พ.ศ.2532 และได้รับรางวัล วัดพัฒนาดีเด่น เมื่อพ.ศ.2540 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 245

245

05/09/61 11:53:51


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดชลประทานราชด�ำริ

พระครูใบฎีกาปัญญา สุภัทโท ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ชลประทานราชด�ำริ ตั้งอยู่ ต�ำบลสูงเนิน อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการสืบสานประเพณีลงแขก ปลูกแฝกล้านกล้าปลูกป่าแสนต้นเฉลิมพระเกียรติ 90 พรรษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ.2560 นั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 18 ธัน วาคม พ.ศ.2522 ที่พระบาทสมเด็จเจ้าอยู่หัวฯ ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยีย่ มราษฎร ณ หนองกุดใหญ่ ต�ำบลหนองเต็งและ วัดอินทบูรพา (บ้านกะนัง) เพื่อทรงส�ำรวจท�ำนบของหลวง ปู่ฤทธิ์ที่ปิดกั้นล�ำชีน้อย ซึ่งเป็นสถานที่สร้าง วัดชลประทานราชด�ำริในปัจจุบัน เป็นวัดที่ พระครูอินทวรคุณ(หลวงปู่ฤทธิ์ รตนโชโต) ได้ ด�ำเนินการสร้างเมือ่ พ.ศ.2533 เพือ่ เป็นอนุสรณ์ ในการเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเยี่ยมท�ำนบ ของหลวงปู่ ซึ่งต่อมาได้สร้างเป็นชลประทาน ขนาดเล็กหรือฝายน�ำ้ ล้นหนองกระทุม่ เพือ่ กักเก็บ น�้ำไว้ใช้ในการอุปโภคบริโภคและการเกษตร 246

จากความส�ำเร็จนี้หลวงปู่จึงตั้งชื่อวัดแห่งนี้ว่า “วัดชลประทานราชด�ำริ” ซึง่ น�ำความปลาบปลืม้ และยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง และในปี พ .ศ.2550 หลวงปู่ฤทธิ์ได้เตรียมการน�ำพื้นที่ป่าไม้ที่ซื้อ จากชาวบ้าน ซึ่งอยู่ติดกับหนองกระทุ่ม เพื่อ ทูลเกล้าถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ภู มิพ ลอดุ ล ยเดช เนื่ อ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ.2550 เพื่ อ คื น ผื น ป่ า ให้ แ ผ่ น ดิ น แต่ หลวงปู่ได้มรณภาพเสียก่อนในปี พ.ศ.2548 พระครู ป ลั ด นายกวั ฒ น์ , ดร. เจ้ า อาวาส วั ด เทพนารี ลู ก ศิ ษ ย์ ข องหลวงปู ่ เป็ น ผู ้ รักษาการแทนเจ้าอาวาส ได้สืบสานปณิธาน นี้ของหลวงปู่อย่างต่อเนื่อง

ต่อมาในปี พ.ศ.2557 นายวิทยา จันทร์ฉลอง รองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ สภาเกษตรกร จังหวัดบุรีรัมย์, สภาเกษตรกรแห่งชาติ และ เครือข่ายคณะกรรมการบริหารจัดการทรัพยากร น�้ำชุมชน ได้น�ำเสนอโครงการปรับปรุงและ พั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ ขุ ด ลอกหนองกุ ด ใหญ่ ต่ อ มู ล นิ ธิ อุ ท กพั ฒ น์ ใ นพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�ำ้ และการเกษตร (สสนก.) และกองทัพบกโดยกองพันทหารช่าง หน่วยที่ 51 กรมการทหารช่างจังหวัดราชบุรี ซึ่ ง ได้ รั บ การอนุ มั ติ ใ ห้ ด� ำ เนิ น การแล้ ว เสร็ จ เรียบร้อยมาจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 246

05/09/61 14:09:04


ปฏิปทาหลวงปู่ฤทธิ์ รตนโชโต พระเกจิอาจารย์แห่งแดนอีสาน พระครูอินทวรคุณ(หลวงปู่ฤทธิ์ รตนโชโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดชลประทานราชด�ำริ ต�ำบลสูงเนิน อ� ำ เภอกระสั ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ยอดพระเกจิ อ าจารย์ แ ห่ ง แดนอี ส าน ท่ า นเป็ น พระเถระที่ มี ขันติธรรม มีความอดทนสูงมาก มีปณิธานอันแน่วแน่ และมัน่ คงในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาป่าไม้ รักษาแหล่งน�้ำ และพันธุ์สัตว์มาเป็นเวลานาน เพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ท่านได้เริ่ม โครงการปลูกป่าทดแทนที่ถูกท�ำลายไป ดูเหมือนหลวงปู่จะรู้ว่าอนาคตของป่าไม้จะหมดไป จนน�้ำ จะขาดแคลน เพราะน�้ำกับป่าต้องอยู่ด้วยกันเสมอ หลวงปู่จึงได้เริ่มโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำมา ตั้งแต่ พ.ศ.2516 ขณะที่หลวงปู่ยังด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอินทบูรพา หลวงปู่สอนลูกศิษย์ เสมอว่า “น�้ำนี้ส�ำคัญมาก ใครตักน�้ำบ่อของเรา น�ำไปล้างเท้า เราก็ได้บุญแล้ว ถ้าเขา เอาน�้ำบ่อของเราไปล้างหน้า เราก็ยิ่งจะได้ท�ำบุญ” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงรับสั่งว่า “น�้ำ คือ ชีวิต” และเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ได้เกิดขึ้น ในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2522 เมื่อพระบาทสมเด็จเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชด�ำเนินพร้อมด้วย สมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ ม ารี เพื่ อ ทรงเยี่ ย มท� ำ นบหลวงปู ่ ฤ ทธิ์ ณ วัดอินทบูรพา(บ้านกะนัง) ต�ำบลบ้านปรือ อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ แม้หลวงปู่ไม่ได้อยู่ รับเสด็จฯ แต่หลวงปู่ก็ได้ไปเข้าเฝ้าที่พระต�ำหนักห้วยเสนง จังหวัดสุรินทร์ เพื่อกราบบังคมทูล ขอพระราชทานแหล่งน�ำ้ ให้ประชาชนทัง้ หมด 8 แห่ง คือ 1.อ่างเก็บน�ำ้ วัดปทุมคงคา ต�ำบลบ้านปรือ 2.อ่างเก็บน�้ำวัดกะนัง ต�ำบลบ้านปรือ 3.อ่างเก็บน�้ำห้วยตาราง ต�ำบลบ้านปรือ 4.อ่างเก็บน�้ำ ห้วยหนองเต็ง ต�ำบลสูงเนิน 5.อ่างเก็บน�ำ้ กุดใหญ่ ต�ำบลหนองเต็ง 6.อ่างเก็บน�ำ้ ป่ายาว ต�ำบลสูงเนิน 7.อ่างเก็บน�้ำห้วยตาลิบ ต�ำบลสองชั้น 8.อ่างเก็บน�้ำบ้านกระทุ่ม ต�ำบลสูงเนิน ปัจจุบันคือฝายน�้ำ ล้นโครงการชลประทานราชด�ำริ โครงการทั้งหมดได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดพระราชทาน ทรงรับไว้เป็นโครงการตามพระราชด�ำริ ซึ่งต่อมาได้รับการพัฒนามาตามล�ำดับจนถึงปัจจุบัน

ในวันครบรอบอายุ 99 ปี ชาติกาลของหลวงปู่ ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ จึ ง ได้ จั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สื บ สาน ปณิธานทีห่ ลวงปูเ่ คยปฏิบตั มิ า คือ การปลูกป่า เฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสมหามงคลทรง เจริญพระชนพรรษา 90 พรรษา พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 84 พรรษา สมเด็จพระ นางเจ้ า ฯพระบรมราชิ นี น าถ 70 ปี ค รอง สิริราชสมบัติ 66 ปีฉลองพระราชาภิเษก และ วางศิ ล าฤกษ์ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ พ ระครู อิ น ทวรคุ ณ ท�ำบุญฉลอง 99 ปี ชาติกาลของหลวงปูฤ่ ทธิข์ นึ้ เพื่ อ ให้ ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ ไ ด้ ร� ำ ลึ ก ถึ ง คุ ณู ป การที่ หลวงปู่ได้บ�ำเพ็ญมาอย่างอเนกอนันต์ โดย เฉพาะเรื่องการพัฒนาแหล่งน�้ำ ซึ่งถือว่าเป็น ปั จ จั ย หลั ก ในการด� ำ รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ แ ละ สัตว์ทุกชนิด เมื่อร�ำลึกถึงอุปการะของหลวงปู่ แล้ ว ก็ ย่ิ ง ศรั ท ธาในภู มิ ป ั ญ ญาของหลวงปู ่ บางท่านกล่าวว่า “ถ้าไม่มีหลวงปู่ฤทธิ์ ก็ไม่มี กระสังเช่นวันนี้”

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 247

247

05/09/61 14:09:27


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 41

วัดใหม่สายตะกู

พระครูพิศาลสังฆกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ใหม่สายตะกู (ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 41) ตั้งอยู่

เลขที่ 112 หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลสายตะกู อ� ำ เภอบ้ า นกรวด จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิ ก าย โดยมี พ ระครู พิ ศ าลสั ง ฆกิ จ เป็ น เจ้ า อาวาส และด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า คณะ อ�ำเภอบ้านกรวด เป็นรูปที่สอง ต่อจากพระครูบริหารกิจโกศล(วัดโคน อ�ำเภอประโคนชัย) ต� ำ บลสายตะกู เ ดิ ม ขึ้ น อยู ่ กั บ ต� ำ บลปราสาท อ� ำ เภอบ้ า นกรวด จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ต่อ มาได้ แยกตั้ง เป็น ต�ำ บลสายตะกู ในปี พ.ศ.2522 ราษฎรส่วนใหญ่ เป็น ราษฎรที่อพยพ มาจากถิ่ น อื่ น ๆ เช่ น สุ ริ น ทร์ ศรี ส ะเกษ ร้ อ ยเอ็ ด มหาสารคาม ฯลฯ สาเหตุ ที่ มี ชื่ อ ว่ า “สายตะกู ” เพราะตั้ ง ตามชื่ อ ล� ำ ห้ ว ย “ไซตะกู ” ซึ่ ง เป็ น ล� ำ ห้ ว ยเล็ ก ๆ ไหลผ่ า นและล� ำ ห้ ว ย นี้ ไ หลผ่ า นหมู ่ บ ้ า น ชื่ อ บ้ า นสายตะกู และชื่ อ ต� ำ บลสายตะกู 248

วัดใหม่สายตะกู ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ.2529 โดยมี พ่อมา สมสร้าง มัคนายก (หมายถึงผู้จัดการ ทางกุศล หรือผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าว ประกาศให้ประชาชนมาท�ำบุญท�ำกุศลในวัด) เป็นผู้น�ำส�ำคัญ โดยมี พระส�ำเรือง. สิริคุตฺโต เป็ น ประธานสงฆ์ ต่ อ มาท่ า นได้ ล าสิ ก ขา ชาวบ้านจึงนิมนต์ พระส�ำรวย สิรมิ งฺคโล มาเป็น ประธานสงฆ์ ต ่ อ เมื่ อ วั น ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2531 ปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็น พระครูเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท ราชทินนาม ที่ พระครูพิศาลสังฆกิจ พระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำอุโบสถ สร้างด้วย หิ น หยกขาวจากพม่ า นามว่ า พระพุ ท ธ สิ ริ ม งคลศิ ล า และพระพุ ท ธรู ป ไม้ แ กะสลั ก ประธานวิหารไม้พทุ ธขยันตี ปางลีลา สูง 4.29 เมตร เพื่อความเป็นสิริมงคลในชีวิต

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 248

05/09/61 11:53:58


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอบ้านกรวด

ต�ำบลเขาดินเหนือ

วัดสระแกว้ วัดบา้ นหลักฉันเพล วัดบา้ นตรุง วัดศรีสุข วัดบา้ นหวา้ วัดสระบุญ วัดปราสาทละลมทม วัดป่าสวาย วัดป่าโคกสวา่ งสามัคคี วัดป่าเขาดินเกา่ พัฒนา

ต�ำบลจันทบเพชร

วัดสายโท 4 ใต้ วัดสายโท 3 วัดสายโท 4-5 เหนือ วัดสายโท 5-6 ใต้ วัดสายโท 6-7 เหนือ วัดสายโท 8 กลาง วัดสายโท 8 เหนือ วัดป่าหนองดุม วัดตาปาง วัดหนองดุม วัดสายโท 8 ใต้ วัดเขาดินสายโท 8

ต�ำบลโนนเจริญ

วัดสุภัทบูรพาราม วัดโนนเจริญ วัดตรีพัฒนาราม วัดใหมส่ ามัคคีธรรม วัดบา้ นหนองแวง วัดป่าโนนเจริญ

ต�ำบลบา้ นกรวด

วัดป่าบา้ นกรวด วัดโคกยาง วัดโคกเบง วัดตาอี วัดเขาดินใต้ วัดหนองตะเคียน วัดป่าโคกเบงเหนือ วัดป่าบา้ นปั นเราะ

ต�ำบลบึงเจริญ

วัดสายตรี 6 วัดบึงเจริญ วัดหนองปรือ วัดสายตรี 5 วัดบึงเกา่ วัดสายตรี 4 เหนือ

วัดสายตรี 4 ใต้ วัดตรีวณาราม วัดป่าประดู่ วัดสวนยาง

ต�ำบลปราสาท วัดไร่กงิ่ ทอง วัดตลาดนิคม วัดบา้ นกรวด วัดปราสาททอง วัดโคกระเหย วัดสายตรี 2 วัดป่าลานหินตัด วัดร่วมจิตปั ญญาวัตร วัดโอบกวณาราม วัดป่าเฉลิมพระเกียรติโท 2 ใต้

ต�ำบลสายตะกู

วัดใหมส่ ายตะกู วัดสายโท 10 ใต้ วัดสายโท 12 ใต้ วัดโคกกระชายใต้ วัดประชาสรรค์ วัดสายโท 10 เหนือ วัดจันทร์สวา่ งวนาราม วัดสายโท 11 วัดสายตะกู วัดสายโท 12 เหนือ วัดป่าโคกกระชาย

ต�ำบลหนองไมง้ าม

วัดโสภณวนาราม วัดหนองไมง้ าม 2 วัดสายตรี 9 วัดสายตรี 16 วัดตะลุมพุก วัดประชานิมิตร วัดหนองไมง้ าม 1 วัดป่าตะลุมพุก วัดป่าขุนเขาพินิจ

ต�ำบลหินลาด

วัดบา้ นหัวถนน วัดโคกใหญ่ วัดหินลาด วัดเบญจศิลาราม วัดละหานทรายเกา่ วัดป่าเทพนิมิต วัดบา้ นละหานทรายใหม่ วัดป่าถนนนอ้ ย

อ�ำเภอหนองหงส์

ต�ำบลไทยสามัคคี

วัดเวฬุวนาราม วัดหนองเสม็ด วัดหนองตาเรียม วัดบา้ นขาม วัดศรีสงา่ วนาราม วัดไทยสามัคคี วัดชุมแสง

ต�ำบลเมืองฝ้าย

วัดหนองตะคร้อ วัดโคกปราสาท วัดหนองยา่ งหมู วัดเมืองฝ้าย วัดหนองมว่ ง วัดหนองสาม วัดธรรมสถานป่าเมืองฝ้าย วัดบา้ นหนองเต็ง วัดบา้ นใหมห่ นองสาม

วัดหนองกราด วัดใหมก่ ระสังบัววงค์

ต�ำบลสระทอง

วัดประสิทธาราม วัดหนองโคลน วัดบุง่ ช้าง วัดไทยจาน วัดสระทอง วัดป่าบุง่ ช้าง

ต�ำบลเสาเดียว

วัดราษฏร์เจริญ วัดนายาว วัดหนองกก วัดห้วยกอ้ ม

วัดโนนศรีคูณ วัดหนองเตา่ วัดป่าเสาเดียว วัดป่าไทรออ

ต�ำบลหนองชัยศรี

วัดศรีเจริญคุณ วัดโคกกระเบื้อง วัดโนนสูงนอ้ ย วัดบา้ นกระเบื้อง วัดโนนแดง วัดหนองมว่ ง

ต�ำบลห้วยหิน

วัดห้วยหิน วัดสามัคคีชัย วัดบา้ นสวน วัดโพธิเ์ งิน วัดป่าไทรงาม วัดป่าไผส่ �ำราญ วัดโนนงิว้ วัดโพธิส์ ามัคคี วัดโนนส�ำราญ วัดโคกลา่ ม วัดโพธิศ์ รี วัดร่อนทอง วัดหนองโน วัดอรุณศรีฉวีวงค์

วัดป่าศรีนาง วัดสระมะคา่

ต�ำบลสระแกว้

วัดหนองหงษ์ วัดป่าสระขวัญ วัดเทพประดิษฐ์ วัดพระธาตุมงคลวนาราม วัดศรีภูมิวนาราม วัดสระขมิน้

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 249

249

5/9/2561 13:54:37


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเวฬุวนาราม พระครูสิริปัญญาธร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด เวฬุวนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 122 หมู่ที่ 3 ต�ำบลไทยสามัคคี อ�ำเภอหนองหงส์

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สร้ า งเมื่ อ วั น ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.2495 โดยได้ รั บ การบริ จ าคที่ ดิ น จาก แม่ ห นม สี ห ะวงษ์ ใ นเนื้ อ ที่ 8 ไร่ 1 งาน 90 ตารางวา เดิ ม เป็ น ป่ า ทึ บ เต็ ม ไปด้ ว ย ต้ น ไผ่ นายสนั่ น ปั ญ ญาพลวิ สิ ษ ฐ์ ครู ใ หญ่ โ รงเรี ย นบ้ า นหนองบั ว ลี ได้ ข นานนามวั ด ว่ า วั ด เวฬุ ว นาราม อารามที่ เ ต็ ม ไปด้ ว ยต้ น ไผ่ 250

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 250

05/09/61 11:55:12


ต่ อ มาพ่ อ พุ ธ สี ห ะวงษ์ ได้ บ ริ จ าคที่ ดิ น ทางด้านทิศเหนือเพิ่มอีก 9 ไร่ 3 งาน ใน พ.ศ.2547 ได้ซื้อที่ดินทางด้านทิศตะวันตก จากแม่ผล สีหะวงษ์ และ แม่เผื่อน นิลไธสง จ�ำนวนเนือ้ ที่ 8 ไร่ 2 งาน เป็นเงิน 660,000 บาท (หกแสนหกหมืน่ บาทถ้วน) รวมเนือ้ ทีบ่ ริเวณวัด ทั้งสิ้น 26 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา วัดเวฬุวนาราม เดิมเป็นส�ำนักสงฆ์ ได้รับ การอุปถัมภ์จากชุมชน 3 หมู่บ้านคือ บ้าน หนองบัวลี หมู่ที่ 2 บ้านหนองบัวลอง หมู่ที่ 3 และบ้านหนองบัวค�ำ หมู่ที่ 13 หลายปีต่อมา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ประกาศ ตั้ ง เป็ น วั ด ขึ้ น ในพระพุ ท ธศาสนามี น ามตาม ชื่อเดิมว่า “วัดเวฬุวนาราม” เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2546

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1.พระง่าม จิตฺตวโร พ.ศ.2495 - พ.ศ.2496, 2.พระสงห์ ปญฺญาธโร พ.ศ.2496 - พ.ศ.2498, 3.พระเปีย๊ ก อธิปญฺโญ พ.ศ.2498 - พ.ศ.2500, 4.พระคง ปยุตฺโต พ.ศ.2500 - พ.ศ.2510, 5.พระครูสิริปัญญาธร พ.ศ.2510 - ปัจจุบัน ปัจจุบนั พระครูสริ ปิ ญ ั ญาธร เป็นเจ้าอาวาส มีพระภิกษุสามเณรรวมทั้งสิ้น 7 รูป พระภิกษุ 5 รูป สามเณร 2 รูป

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 251

251

05/09/61 11:55:31


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดสะเดา

พระครูกิตติธรรมาภิรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลสะเดา และ เจ้าอาวาส

วั ด สะเดา ตั้ ง อยู ่ ท่ี บ ้ า นสะเดา หมู ่ 9 ต� ำ บลสะเดา อ� ำ เภอพลั บ พลาชั ย

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี พื้ น ที่ ทั้ ง หมด 14 ไร่ 80 ตารางวา โดย จั ด ซื้ อ ในส่ ว นแรกจากนายเพ็ ง สื บ สวน จ� ำ นวน 8 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา และใน เวลาต่ อ มาได้ ซื้ อ เพิ่ ม อี ก จากนางตุ ่ น สนั่ น น�้ ำ หนั ก จ� ำ นวน 5 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา ได้ รั บ การตั้ ง เป็ น วั ด ในชื่ อ “วั ด สะเดา” ในวั น ที่ 15 สิ ง หาคม พ.ศ.2533 โดยมี นายบุ ญ ถึ ง ทองกระจาย เป็ น ผู ้ ยื่ น ค� ำ ขอ

ขอเชิญพุทธศาสนิกชนร่วมท�ำบุญสร้างโบสถ สามารถติดต่อได้ที่ 06-5553-5489 พระครูกิตติธรรมาภิรม 252

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 252

05/09/61 11:55:57


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

อ�ำเภอพลับพลาชัย

ต�ำบลโคกขมิน้

วัดบา้ นแสลงคง วัดเขวา้ เขาดิน วัดตาพระ วัดหนองขอน วัดโคกขมิน้ วัดศรีสมบูรณ์ วัดบา้ นพลับ วัดบา้ นล�ำเดง วัดป่าตาแก วัดป่าหนองอุดม

ยึดน้อยทุกข์น้อย ไม่ยึดก็ไม่ทุกข์

ต�ำบลจันดุม

วัดป่าปลัดพัฒนา วัดป่าโคกมะขามนอ้ ย วัดปราสาท วัดบา้ นแพงพวย วัดโคกเจริญ วัดอนุคามาวาส วัดบา้ นปลัด วัดจันดุม วัดมะขามเจรอะ วัดโคกชุม วัดห้วยอุดม วัดศิริมงคล

ต�ำบลป่าชัน

วัดเสม็ดกันตาราม วัดศิริภูมิโคกเต็ง วัดป่าชัน วัดโคกล�ำดวน วัดมว่ งเหนือ วัดป่ามะมัง วัดโคกคฤห์ วัดป่าส�ำโรง

ต�ำบลสะเดา

ต�ำบลส�ำโรง

วัดบุญช่วย วัดพลับพลา วัดเกาะแกว้ วัดสะเดา วัดบา้ นเสม็ด วัดป่าโคกตะเคียน

วัดส�ำโรง วัดเสม็ด วัดกัดลิน้ วัดบา้ นโสน วัดประทัดบุ วัดตะโกรี วัดสวนแสงธรรมป่าโคกแต้

อ�ำเภอช�ำนิ

ต�ำบลโคกสนวน

วัดโคกสนวน วัดระนามพลวง วัดหนองตะลุมปุ๊ก วัดโคกตะแบก วัดตาเก็ม

ต�ำบลช่อผกา

วัดโคกเพชร วัดโคกกระหาด วัดหัวสะพาน วัดปราสาทเทพสถิต วัดเสม็ดนอ้ ย วัดป่าบา้ นบุ วัดหนองตาเปลง่

วัดโคกขามโนนสมบูรณ์ วัดกระโดนสามัคคี วัดกระลันทา วัดป่าสม้ ป่อย

ต�ำบลละลวด

วัดละลวด วัดหนองพะอง วัดบา้ นหนองเพิก วัดบา้ นโคกพะไล วัดบา้ นโคกส�ำโรง

ต�ำบลหนองปลอ่ ง

วัดปราสาทวนาราม วัดตาเหล็ง วัดหนองปลอ่ ง วัดส�ำโรงสามัคคีธรรม วัดป่าโคกปราสาท

ต�ำบลช�ำนิ วัดโคกยาง วัดชนะตาราม วัดป่าโพธิแ์ กว้

ต�ำบลเมืองยาง

วัดประคองราษฎร์ วัดเมืองยาง วัดป่าล�ำดวนบา้ นตาเตน วัดทุง่ มน

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 253

253

5/9/2561 13:54:04


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ส�ำนักปฏิบัติธรรม

ประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 9

วัดปราสาทวนาราม

พระครูโสภณอรรถกิจ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด ปราสาทวนาราม ตั้งอยู่บ้านปราสาทพร ต�ำบลหนองปล่อง อ�ำเภอช�ำนิ

จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรมประจ� ำ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แห่ ง ที่ 9 สั ง กั ด มหานิ ก าย สร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2502 ที่ บ ้ า นดอนหวาย และย้ า ยมาอยู ่ ต รงนี้ เ มื่ อ วั น ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2506 เมื่ อ ก่ อ นอยู ่ ใ นเขตบ้ า นดอนหวาย ต่ อ มาก็ ไ ด้ แ ยกเป็ น บ้ า นปราสาทพร มี เ นื้ อ ที่ 47 ไร่ 37 วา ได้ ข ออนุ ญ าตตั้ ง วั ด แล้ ว เนื่ อ งจากบริ เ วณนี้ เ ป็ น เนื้ อ ที่ ตั้ ง ปราสาทโบราณ จึ ง ตั้ ง ขอใช้ ชื่ อ ว่ า “วั ด ปราสาทวนาราม” ต� ำ บลหนองปล่ อ ง อ� ำ เภอช� ำ นิ (เมื่ อ ก่ อ นเป็ น อ� ำ เภอนางรอง) จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ 254

หลังจากท�ำเรื่องขออนุญาตตั้งวัดได้แล้ว สร้างโบสถ์ พ.ศ.2514 และท�ำเรือ่ งผูกพัทธสีมา พ.ศ.2515 เรื่องการขออนุญาตสร้างวัดตรงนี้ มี นายธีระ สว่างพล เป็นผู้ยกที่ดินให้สร้างวัด 8 ไร่ การจะสร้างวัดได้ต้องมีผู้ยกที่ดินให้ เมื่อ ท�ำการขออนุญาตสร้างวัดได้แล้ว ก็ท�ำการ สร้างวัดเป็นที่สาธารณะ มีจำ� นวนเนื้อที่ 47 ไร่ 37 วา วัดนีเ้ ป็นส�ำนักสถานปฏิบตั ธิ รรมแห่งที่ 9 ของจังหวัดบุรรี มั ย์ และก็พฒ ั นาวัดต่อมาเรือ่ ยๆ ศาลาหลังเก่าสร้างเมื่อ พ.ศ.2546 ส่วนศาลา หลังใหญ่สร้างเมื่อ พ.ศ.2547 ซุ้มประตูสร้าง เมื่อ พ.ศ.2540 และมีการพัฒนากุฏิ 12 หลัง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 254

05/09/61 11:58:24


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

ด้วยความที่วัดปราสาทวนาราม เป็นส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ แห่งที่ 9 จึงได้จัดกิจกรรมปฏิบัติธรรม และฟังธรรม ในวันส�ำคัญทางศาสนาตลอดปี ร่วมกับหัวหน้า หน่วยงานส่วนราชการ ผูบ้ ริหารองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และประชาชน ในพื้นที่อ�ำเภอช�ำนิ อีกทั้งจัดท�ำบุญตักบาตร มาโดยตลอด เนือ่ งในสัปดาห์สง่ เสริมพระพุทธ ศาสนา วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา และวันเข้าพรรษา อีกทัง้ รณรงค์โครงการงดเหล้า เข้าพรรษามาโดยตลอดเช่นกัน ด้วยตระหนักว่า หากประชาชนทุกคนในชุมชนมีศีลธรรม มี หลักธรรมในการด�ำเนินชีวิตและการงาน มีสติ มีปัญญา ในการแก้ไขปัญหาทุกอย่าง ย่อม น�ำมาซึง่ ความสงบเย็นเป็นประโยชน์ ทัง้ ประโยชน์ ของตนและผู้อื่นสืบไป

ประวัติท่านเจ้าอาวาส พระครูโสภณอรรถกิจ ฉายา คุตฺตธมฺโม อายุ 87 ปี 68 พรรษา วิทยฐานะ น.ธ.โท วั ด ปราสาทวนาราม ต� ำ บลหนองปล่ อ ง อ�ำเภอช�ำนิ จังหวัดบุรรี มั ย์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดปราสาทวนาราม ตัง้ แต่พ.ศ. 2515 นามเดิม ชื่อ เหมือน พระภิกษุเหมือน คุตฺตธมฺโม

อิทธิบาท 4 ฐานแห่งความส�ำเร็จ หมายถึง สิ่งซึ่งมีคุณธรรม เครื่องให้บรรลุถึงความส�ำเร็จ ตามที่ตนประสงค์ ผู้หวังความส�ำเร็จในสิ่งใด ต้ อ งท� ำ ตนให้ ส มบู ร ณ์ ด้ ว ยสิ่ ง ที่ เ รี ย กว่ า อิทธิบาท ซึ่งจ�ำแนกไว้เป็น 4 ข้อคือ 1.ฉันทะ คือความพอใจในฐานะเป็นสิง่ ทีต่ น ถือว่าดีที่สุดที่มนุษย์เราควรจะได้ข้อนี้ เป็น ก�ำลังใจอันแรก ดังเช่นว่า ถ้าตัง้ ใจจะเลิกดืม่ เหล้า ก็ต้องพยายามท�ำให้ได้ 2.วิริยะ คือความพากเพียร หมายถึง การ การกระท�ำที่ติดต่อ ไม่ขาดตอน เป็นระยะยาว จนประสบความส�ำเร็จ ค�ำนี้ มีความหมายของ ความกล้าหาญ เจืออยู่ด้วยส่วนหนึ่ง เป็นพลัง

เป็นก�ำลังใจใจความพากเพียรท�ำสิ่งที่ถูกต้อง งดงาม โดยเฉพาะเรื่องการปฏิบัติธรรมต้องมี ความกล้าหาญที่จะฝืนใจตนทวนกระแสกิเลส เป็นอย่างยิง่ เช่น ถ้าต้องการเลิกเหล้าโดยสิน้ เชิง ก็ตอ้ งอดทน พากเพียร ถอนตัวถอนใจออกมาให้ได้ 3.จิตตะ หมายถึงความไม่ทอดทิ้งสิ่งนั้น ไปจากความรูส้ กึ ของตัว ท�ำสิง่ ซึง่ เป็น วัตถุประสงค์ นัน้ ให้เด่นชัดอยูใ่ นใจเสมอ ค�ำนี้ รวมความหมาย ของค�ำว่า สมาธิ อยู่ด้วยอย่างเต็มที่ 4.วิมังสา หมายถึงความสอดส่องในเหตุ และผลแห่งความส�ำเร็จ เกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ ให้ ลึกซึง้ ยิง่ ๆ ขึน้ ไปตลอดเวลา ค�ำนี้ รวมความหมาย ของค�ำว่า ปัญญา ไว้อย่างเต็มที่

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 255

255

05/09/61 11:58:41


e l l i V n e e Baifern Gr ์ ล ล ิ ว น ี ร ก น ์ ิ ร ฟ เ บ โครงการ ใ

ต้ อ นรั บ ด้ ว ยสุ ข ภาพใสๆ กั บ

สี สั น ความสุ ข ทุ ก รู ป แบบ

เรา

ยกความสดใสของโลกทั้ ง ใบ มาไว้ที่นี่ ทั้งสวนสนุก สระว่ายน�้ำ ขนาดใหญ่ สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว อิ่ ม อก อิ่ ม ใจ อิ่มอร่อยกับทุกเมนูคาวหวาน พร้อมไอศกรีม นมเหนี ย ว...ปั ง ปิ ้ ง ! ทุ ก ฤดู ก าล พบกั บ ร้ า นกาแฟ และร้ า นนมในบรรยากาศชิ ล ๆ นั่ ง ในสวน อากาศสบายๆ กั บ เครื่ อ งดื่ ม ทั้งร้อนและเย็น

ทุ ก เทศกาล เราต้ อ นรั บ ทุ ก การท่ อ งเที่ ย ว เรียนรู้ ตั้งแต่เด็กเล็กก่อนปฐมวัย อนุบาล และ ทุ ก รู ป แบบการศึ ก ษานอกห้ อ งเรี ย น อย่ า ง ที่ ไอน์สไตน์บ อกไว้ว่า

“จิ น ตนาการมี ค่ า กว่ า ความรู้ ” ท่ อ งเที่ ย วใสๆ ในสวนกว้ า งใหญ่ พร้ อ มกั บ การละเล่น อย่างมีความสุข

โครงการ ใบเฟิร์ น กรี น วิ ล ล์ ตอบโจทย์ ค วามสุ ข ทุ ก ความต้ อ งการของทุ ก วั ย ตั้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ วั ย ใส ไปจนถึ ง วั ย ผู้ ใ หญ่ ไ ม่ จ� ำ กั ด !!

256

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

Baifern Green Ville.indd 256

05/09/61 12:00:00


Baifern Green Ville

ใบเฟิร์น กรีน วิลล์ (Baifern Green Ville) เรามีส ระว่า ยน�้ำสวนสนุกส�ำหรับ ครอบครัวและเด็กๆ ยกโขยงมาเรียนว่ายน�้ำกัน ได้ที่นี่ เรามีครูส อนว่า ยน�้ำมืออาชีพ พร้อมแนะน�ำ ปรึกษา การดูแ ลสุขภาพผ่านสายน�้ำ

t c a t n o C เราพร้อมทุกเรื่องราว

ของความสุ ข และความสะดวกสบายในวั น พั ก ผ่ อ น สระว่ า ยน�้ ำ ร้ า นเสริ ม สวย ร้ า นกาแฟ ร้ า นมิ นิ ม าร์ ท และ ศู น ย์ อ าหาร ฯลฯ โครงการ ใบเฟิ ร ์ น กรี น วิ ล ล์ ( Baifern Green Ville) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 147 ม.3 ต.พุ ท ไธสง อ.พุ ท ไธสง จ.บุ รี รั ม ย์

Go Ahead

Scan Me

สอบถามรายละเอี ย ด

โทร. 08-6251-7838​, 0-4468-9388 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

Baifern Green Ville.indd 257

257

05/09/61 12:00:18


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบองค์การบริหารส่วนต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก “มุ่งสร้างท้องถิ่นไทยให้เข้มแข็ง โปร่งใส ก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 อย่างมั่นคง ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก

นายชลิต อุตสารัมย์ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก

องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก ด�ำเนินนโยบายตามวิสัยทัศน์จังหวัด บุรีรัมย์ ที่ว่า “คนบุรีรัมย์มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีบ้านเมืองน่าอยู่ และเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวทางอารยธรรมขอม” มีวิสัยทัศน์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ดังนี้ “เป็นองค์กรทีม่ สี มรรถนะสูงในการส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้เป็นกลไก ในการพัฒนาประเทศไทยอย่างยั่งยืน” องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 ต�ำบลสวายจีก อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ปัจจุบัน นายชลิต อุตสารัมย์ ด�ำรงต�ำแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสวายจีก

ที่ตั้ง และอาณาเขต

ประวัติความเป็นมา สวายจีก เป็นหมู่บ้านๆ หนึ่ง ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ ค�ำว่าสวายจีก มีข้อสันนิฐานและต�ำนานที่น่าเชื่อถือได้ ดังนี้ 1. สวายจีก เป็นค�ำที่มาจากภาษาถิ่น (ภาษาเขมร) สวาย แปลว่า มะม่วง ส่วนค�ำว่า จีก นั้น มาจากค�ำว่า เจก ซึ่งแปลว่า กล้วย รวมเรียกว่า มะม่วง กล้วย โดยสันนิษฐานว่า ในท้องถิ่นแห่งนี้มีมะม่วงพันธุ์นี้อยู่ 2. มีต�ำนานเล่าว่า บุคคลแรกที่มาตั้งบ้านเรือนอยู่ คือ นายสวาย กับ นางเจก ได้อพยพมาจาก บ้านสังขะ อ�ำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ จากข้อมูล ดังกล่าวยังไม่สามารถสรุปได้ว่า แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร 3. แต่จากทีน่ กั โบราณคดีได้ศกึ ษาจากศิลาทราย พบว่า เป็นชุมชนทีอ่ พยพ มาจากขอม หรือเขมร โดยเป็นเส้นทางผ่านไปยังปราสาทหินเขาพนมรุ้ง ปราสาทหินพิมาย

258

6

.

องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอเมือง บุรรี มั ย์ มีพนื้ ทีป่ ระมาณ 58.23 ตารางกิโลเมตร หรือ 36,395 ไร่ โดยมีทที่ ำ� การ ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอระยะทางประมาณ 11.5 กิโลเมตร มีอาณาเขต ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนต�ำบลอื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ เทศบาลต�ำบลอิสาณ และองค์การบริหารส่วนต�ำบล ห้วยราช ทิศใต้ติดต่อกับ เทศบาลต�ำบลหลักเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เทศบาลส่วนต�ำบลสองชั้น ทิศตะวันตก ติดต่อกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบล สะแกซ�ำ และองค์การบริหารส่วนต�ำบลเสม็ด

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

final.indd 258

22/8/2561 16:50:02


สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้ น ที่ โ ดยทั่ ว ๆ ของต� ำ บลสวายจี ก มีสภาพพื้นที่ลาดเอียงขึ้นไปทางเหนือ ดินเป็นดิน เหนียวดินลูกรัง บางแห่งเป็นหินไม่เหมาะแก่การ ปลูกพืชไร่ขึ้นไปทางทิศตะวันออก ดินส่วนใหญ่ เป็นดินทรายใช้ส�ำหรับท�ำนา บางแห่งเป็นเนิน สามารถปลูกพืชไร่และท�ำสวนได้บา้ ง ทิศใต้ สภาพ พื้นที่เป็นเนินต�่ำ เป็นดินทรายใช้ท�ำนาได้อย่าง เดียวทิศตะวันตก สภาพพื้นที่เป็นที่ราบ ดินเป็น ดินเหนียว และดินลูกรัง เพาะปลูกท�ำสวนท�ำไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่ในต�ำบลสวายจีกเป็นทางผ่าน ของถนนสายส�ำคัญหลายสาย เช่น ถนนทางหลวง แผ่นดิน หมายเลข 226 ถนนลาดยาง รพช.บร 11055 และมีพื้นที่ มีล�ำห้วยไหลผ่านช่วงกลาง ต�ำบล เรียกว่า ล�ำห้วยสวาย ประชากรประมาณ ร้อยละ 34- 40 มีทนี่ าในเขตชลประทาน สามารถ ผลิ ต ข้ า วส่ ง ขายและปลู ก ไว้ เ พื่ อ บริ โ ภคอย่ า ง เพียงพอ BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

final.indd 259

259

22/8/2561 16:50:11


ลักษณะโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคมภายในต�ำบล ใช้การคมนาคมทางบก โดยทางรถยนต์เป็น หลักในการคมนาคม ติดต่อและขนส่งผลผลิตทางการเกษตร โดยใช้เส้นทาง ส�ำคัญ ดังต่อไปนี้ถนนทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 226 (บุรีรัมย์-สุรินทร์), ถนนลาดยาง รพช.บร 11055 การคมนาคมติดต่อกับอ�ำเภอใกล้เคียง มีถนน ลาดยาง รพช.บร 11055 เชื่อมการคมนาคมติดต่อกับอ�ำเภอพลับพลาชัย มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 เชื่อมการคมนาคมติดต่อกับอ�ำเภอกระสัง และถนน รพช.บร 3003 เชื่อมการคมนาคมติดต่อกับอ�ำเภอห้วยราช

ลักษณะทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติประเภทแร่ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของต�ำบลสวายจีก ส่วนใหญ่จะเป็นหินภูเขาและเป็นทีต่ งั้ ของโรงงานโม่หนิ หลายโรงงาน และมีแร่ ที่ส�ำคัญ คือ หินบะซอลต์ (เป็นหินอัคนีพุที่พบได้โดยทั่วไป มักพบมีสีเทาถึง สีด�ำ มีเนื้อละเอียดเนื่องจากเกิดจากการเย็นตัวของลาวาอย่างรวดเร็วบนพื้น ผิวโลก หรือมีเนือ้ เป็นโพรงข่าย บางครัง้ พบเนือ้ เป็นตะกรันภูเขาไฟ (สคอเรีย) เนือ้ หินบะซอลต์สดๆ จะมีสดี ำ� หรือสีเทา ปรกติหนิ บะซอลต์จะถูกน�ำไปใช้เป็น วัสดุก่อสร้างถนน เทพื้นรองหมอนและรางรถไฟ และท�ำเป็นแผ่นปูพื้นหรือ ผนัง เป็นต้น) และหินแกรนิต ทรัพยากรแหล่งน�้ำ ภายในต�ำบลสวายจีกมี ล�ำห้วยที่สำ� คัญ ดังนี้คือ ล�ำห้วยตลาด , ล�ำห้วยสะยา และล�ำห้วยตาแสง

ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ การเกษตรกรรม ลักษณะการประกอบอาชีพเกษตรกรรมในเขตองค์การ บริหารส่วนต�ำบลสวายจีก ดังนี้ การเพาะปลูก ในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีกมีการเพาะปลูก พืชที่ส�ำคัญ คือ การเพาะปลูกข้าว ซึ่งมีการเพาะปลูกมากกว่าพืชชนิดอื่นๆ พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นที่ราบจึงเหมาะแก่การปลูกข้าว นอกจากการปลูกข้าว แล้วยังมีการปลูกผักและผลไม้ด้วย การปศุสตั ว์ ในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก มีการเลีย้ งสัตว์เพือ่ การบริโภคและจ�ำหน่าย เช่น สุกร ไก่ เป็ด โค กระบือ ปลา ฯลฯ เป็นต้น

ลักษณะทางด้านสังคม องค์การบริหารส่วนต�ำบลสวายจีก มีจ�ำนวนหมู่บ้านในเขตปกครอง 19 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งสิ้น 11,698 คน ประกอบด้วย ชาย 5,890 คน หญิง 5,808 คน จ�ำนวนหลังคาเรือนทั้งสิ้น 2,915 ครัวเรือน

ด้านการสาธารณสุข และอนามัย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล บ้านสวายจีก จ�ำนวน 1 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน จ�ำนวน 19 แห่ง

260

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

final.indd 260

22/8/2561 16:50:23


ด้านการศาสนาและวัฒนธรรม ประชาชนในต�ำบลสวายจีกส่วนใหญ่ร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ มีศาสนสถานที่สำ� คัญ คือ วัดจ�ำนวน 6 แห่ง ได้แก่ วัดโพธิท์ อง, วัดบ้านหนอง ปรือ, วัดบ้านฝ้าย, วัดบ้านพลวง, วัดเจดีย์แดง และวัดเทพนรสิงห์ แต่ละวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้านประชาชนได้เป็นอย่างดี ชาวสวายจีก จึ ง มี ค วามร่ ม เย็ น เป็ น สุ ข เพราะมี ห ลั ก ธรรม ในพระพุทธศาสนาน้อมน�ำมาปฏิบตั โิ ดยมีพระสงฆ์ สุปฏิปันโนในทุกวัดพาด�ำเนิน

ด้านการศึกษา สถานศึกษาในเขตองค์การบริหารส่วนต�ำบล สวายจีก ประกอบด้วย ศูนย์เด็กเล็ก (ถ่ายโอนจาก กรมการศาสนา) จ�ำนวน 1 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์อบรม เด็กก่อนเกณฑ์วดั บ้านหนองปรือ โรงเรียนในสังกัด ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาบุรรี มั ย์ เขต 1 จ�ำนวน 7 แห่ง มัธยม 1 แห่ง และศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 1 แห่ง BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

final.indd 261

261

22/8/2561 16:50:32


ประเพณีท้องถิ่น 1.การท�ำบุญหมูบ่ า้ น จัดการท�ำบุญกันในช่วง เดือนมีนาคม - เมษายน ของทุกปี บ้านสวายจีกมี หลายหมู่บ้าน แต่ละหมู่บ้านท�ำบุญไม่พร้อมกัน แล้วแต่ผใู้ หญ่บา้ นกับลูกบ้านจะตกลงกัน ไม่กำ� หนด วันแน่นอน การท� ำ บุ ญ หมู ่ บ ้ า นมี ค วามส� ำ คั ญ มากมาย อย่างหนึ่งก็เพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์หมู่บ้าน จะท�ำเป็นประจ�ำทุกปี ชาวบ้านในหมูบ่ า้ นจะช่วย กันบริจาคเงินในการจัดงานท�ำบุญหมูบ่ า้ นร่วมกัน ถ้าหากปีใดมีเงินเหลือจ่ายหลังจากหักค่าใช้จ่าย ก็จะบริจาคให้กบั วัด หรือตัง้ เป็นกองทุนในปีตอ่ ไป และในการท�ำบุญบ้านนั้น ชาวบ้านจะนิมนต์ พระมาสวดมนต์ในตอนเย็น หลังจากเสร็จจาก พิ ธี ก รรมทางสงฆ์ แ ล้ ว ก็ มี ก ารแสดงมหรสพ การร้องร�ำฟังเพลงกันทัง้ คืนจนรุง่ สาง ตอนเช้าของ อีกวันก็จะมีการนิมนต์พระมาเพือ่ ถวายภัตตาหาร เช้า และเทศนาเกี่ยวกับหลักธรรมค�ำสอนเพื่อน�ำ

ไปใช้ในชีวติ ตามแบบอย่างชาวพุทธ ซึง่ กิจกรรมใน ส่วนนีก้ จ็ ะมีชาวบ้านละแวกใกล้เคียงน�ำอาหารมา ถวายพระร่วมกันด้วย หลังจากเสร็จพิธีทางสงฆ์ แล้วชาวบ้านจะรับประทานอาหารร่วมกัน ซึง่ ก่อให้ เกิดการหล่อหลอมรวมกันทางจิตใจ ชาวบ้านเกิด ความสามัคคีเพราะมีกิจกรรมที่ท�ำร่วมกัน 2. ประเพณีเรียกขวัญข้าว จัดท�ำพิธกี นั ในช่วง เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ ประมาณ 3 เดือน ของทุกปี โดยมีความส�ำคัญ คือ ประเพณีการเรียกขวัญข้าว จัดขึ้น เพื่อเป็น การเรียกขวัญ ข้า วหลังจากการ เก็บเกี่ยว ชาวบ้านจะน�ำข้าวเปลือกที่เก็บเกี่ยวได้ ไปรวมกันที่วัดเพื่อท�ำพิธีเรียกขวัญข้าว โดยมี พิธกี รรมซึง่ จะจัดกันทีว่ ดั ในตอนเย็นระหว่างเดือน มกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยชาวบ้านจะน�ำ ข้าวเปลือกไปรวมกันทีว่ ดั หมอขวัญจะท�ำพิธเี รียก ขวัญข้าว เมื่อเสร็จพิธีชาวบ้านจะน�ำข้าวไปเก็บไว้ ที่ยุ้งฉางเพื่อความเป็นศิริมงคล

วิถีชีวิตและภาษาของชาวสวายจีก ชาวบ้านสวายจีกส่วนใหญ่มอี าชีพท�ำนา เพราะมีพนื้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มีลำ� ห้วยอยูร่ อบหมูบ่ า้ น หลังจาก หมดฤดูการท�ำนาชาวบ้านส่วนใหญ่กจ็ ะเข้าท�ำงานทีก่ รุงเทพ ให้ลกู อยูก่ บั ปูย่ า่ ตายายทีบ่ า้ น คนเฒ่าคนแก่ อยู่ที่บ้านก็จะท�ำงานเล็กน้อย เช่น ผู้ชายก็จะท�ำงานจักรสานไว้ขาย ผู้หญิงก็จะเลี้ยงไหม ทอผ้าไว้ใช้เอง ส่วนคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้เรียนต่อส่วนใหญ่ไม่ท�ำนา จะเข้าไปท�ำงานรับจ้างในกรุงเทพฯ พอถึงเทศกาล วันส�ำคัญต่างๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ วันตรุษจีน จะกลับมาเยี่ยมบ้าน จัดกฐิน ผ้าป่า มาทอดที่ วัดทุกปี ภาษาที่ใช้ มี 2 ภาษา คือ ภาษาเขมร และภาษาไทยสวายจีก ซึ่งมีลักษณะคล้ายภาษาโคราชและ ภาษานางรอง 262

6

.

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

final.indd 262

22/8/2561 16:50:36


พัฒนาอาชีพเสริมสร้างสรรค์ชุมชน จากสภาพสั ง คมปั จ จุ บั น ที่ มี ป ั ญ หาทาง เศรษฐกิจท�ำให้ทุกคนในครอบครัวต้องช่วยกัน ท�ำงาน บางคอบครัวปลูกพืชผักสวนครัวขายเพื่อ เป็นรายได้เสริม และน�ำผลผลิตทางการเกษตรไป ขาย เช่น ข้าวสาร ข้าวกล้อง กลุ่มแม่บ้านจับกลุ่ม เรียนตัดเย็บเพือ่ หารายได้เสริม ไม่ตอ้ งเดินทางไป ท�ำงานไกล

ชวนเที่ยวสถานที่สำ� คัญ และโบราณสถาน เจดียศ์ าลหินตาช้าง หลักศิลาแลงแกะสลัก ณ วัดโพธิท์ อง ต�ำบลสวายจีก อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรรี มั ย์ มีหลักฐานที่พบทั้ง โบราณสถานและโบราณวัตถุมากมาย อาทิ พระอุโบสถพระประธานสร้างด้วยไม้ พระพุทธรูปไม้ เจดีย์ ศาลหินช้าง ศาลหลักศิลา เส้นทางเข้าสูส่ ถานทีส่ ำ� คัญ ไปตามเส้นทางหลวงหมายเลข 226 ถนนสายบุรรี มั ย์-สุรนิ ทร์ หรือ บุรรี มั ย์สวายจีก ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร จากอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ไปจังหวัดสุรินทร์ วัดโพธิท์ อง ชาวบ้านเรียก วัดบ้านสวายจีกใหญ่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1/1 ถนนบุรรี มั ย์–สวายจีก หมูท่ ี่ 2 ต�ำบล สวายจีก อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อตั้งวัดเมื่อประมาณก่อน พ.ศ.2425 (มากกว่า 150 ปี) และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.2436 (ประมาณ 127 ปี) วัดโพธิ์ทองเป็นศาสนสถานที่มีความส�ำคัญ ต่อชาวบ้านสวายจีกเป็นอย่างมาก

ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ

1. ปั่นจักรยานเที่ยวชมธรรมชาติบริเวณอ่างเก็บน�ำ้ โคกตาสิงห์ 2. ท่องเที่ยว ธารน�้ำเขากระโดง ช่วงระหว่างเดือน สิงหาคม-ตุลาคม 3. ท่องเที่ยวศึกษาธรรมชาติ ระบบนิเวศ (เก็บเห็ด) บริเวณป่าเขากระโดงและอ่างเก็บน�้ำโคกตาสิงห์ 4. ท่องเที่ยวโบราณสถาน อุโบสถเก่าแก่ของต�ำบลสวายจีก

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

final.indd 263

263

22/8/2561 16:50:44


W O R K LI F E

บันทึกเส้นทางพบเทศบาลต�ำบล

องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง ““ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ยึดวิถีของเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนพร้อมเพรียงมีส่วนร่วม หลอมรวมภูมิปัญญา เน้นการศึกษา พัฒนาสิ่งแวดล้อม” คือวิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง

นายสมพร บูรณะขจร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ วัง เดิมเป็นการปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบ สภาต�ำบลมาก่อน เรียกว่า “สภาต�ำบลทุ่งวัง” จัดตั้งครั้งแรกเมื่อพ.ศ.2529 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และต่อมามีพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลง ฐานะของสภาต� ำ บลเป็ น องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลทุ ่ ง วั ง เมื่ อ วั น ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2540 จัดตั้งเป็น องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง มีอาคารส�ำนักงานเป็นของตนเอง ส�ำหรับใช้บริการประชาชนทีม่ าติดต่อราชการได้ดว้ ยความสะดวก ซึง่ ส�ำนักงาน ดังกล่าวตัง้ อยู่ หมูท่ ี่ 13 บ้านม่วงหวาน ต�ำบลทุง่ วัง อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรรี มั ย์ ห่างจากอ�ำเภอเมืองบุรีรัมย์ 57 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอสตึก 16 กิโลเมตร มี อ าณาเขตที่ ตั้ ง ทิ ศ เหนื อ จดต� ำ บลท่ า ม่ ว ง อ� ำ เภอสตึ ก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ทิศตะวันออก จดต�ำบลกระโพธิ์ อ�ำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ทิศใต้ จดต�ำบล กระสัง อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ และ ทิศตะวันตก จดต�ำบลสะแก อ�ำเภอ สตึก จังหวัดบุรีรัมย์ มีหมู่บ้านอยู่ในความดูแล 15 หมู่บ้าน มีประชากรจ�ำนวน 8,274 คน แยก เป็นชาย 4,151 คน หญิง 4,123 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 16 มีนาคม 2561) ภาษา ทีใ่ ช้ เป็นภาษาถิน่ ประกอบด้วย ภาษาเขมร, ภาษาส่วย, ภาษาอีสาน ประชากร ส่วนใหญ่ในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท�ำนา ท�ำสวน ท�ำไร่ โดยพืช ที่ทำ� การเกษตรมากได้แก่ ข้าว , อ้อย และ ยางพารา

264

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 264

25/8/2561 17:27:12


เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 4 ด้านเพื่อการพัฒนา 1.ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวิต เป้าหมายการพัฒนา 1.1 ประชาชนมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี มีภูมิคุ้มกันทางสังคมที่เข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ 1.2 เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาเรียนรู้อย่าง ทั่วถึงและมีคุณภาพ 1.3 ประชาชนมีความมั่นคงและสังคมมีความสงบเรียบร้อย 2. ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาด้ า นเศรษฐกิ จ เป้าหมายการพัฒนา 2.1 เพื่อสนับสนุนเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชนทางเศรษฐกิจระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชนท้องถิน่ 2.2 เพือ่ ให้ตำ� บลทุง่ วังเป็นเมือง น่าอยู่ มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานครอบคลุมทั่วถึง 3. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมายการพัฒนา 3.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ 3.2 การบริหารจัดการทีม่ คี ณ ุ ภาพ ภายใต้การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี 4. ยุทธศาสตร์ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป้าหมายการพัฒนา 4.1 เพื่อพัฒนาระบบการ จัดการสิ่งแวดล้อมอันพึงปรารถนาร่วมกันไม่ให้มีปัญหาภายในชุมชน 4.2 รักษาความสมบูรณ์ของระบบ นิเวศ และ อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติให้มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน

ผลการพัฒนาในปีที่ผ่านมา 1.การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน มีการ ก่อสร้าง ปรับปรุงซ่อมแซมเส้นทางคมนาคม เส้นทาง สั ญ จรภายในหมู ่ บ ้ า น และให้ บ ริ ก ารด้ า นการ ออกแบบ และควบคุมอาคาร 2.การพัฒนาด้านสังคมและคุณภาพชีวติ จัด ตั้งโรงเรียนผูส้ งู อายุตำ� บลทุง่ วัง, จัดสวัสดิการเบีย้ ยังชีพให้กับผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ป่วยเอดส์, ดูแลและควบคุมโรคไข้เลือดออก มีการพ่นหมอกควัน หยอดทรายอะเบทก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย,สนับสนุน งบประมาณส�ำหรับโครงการหมู่บ้านสะอาดให้กับ สปสช. อบต.ทุง่ วัง , ควบคุมโรคพิษสุนขั บ้า โดยการออก ฉีดวัคซีนให้กบั สุนขั ในพืน้ ที่ , ส่งเสริมให้ประชาชน

ออกก�ำลังกาย โดยการสนับสนุนงบประมาณให้กบั สปสช.อบต.ทุ่งวังในการจัดกิจกรรมเต้นแอโรบิค และ รณรงค์และส่งเสริมให้ประชาชนคัดแยกขยะ ในครัวเรือน 3.การพั ฒ นาด้ า นการศึ ก ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม จัดการเรียนการสอนเด็กอนุบาลก่อน วัยเรียน , จัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ , จัดกิจกรรม วันผูส้ งู อายุ , จัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน วันนมัสการ หลวงพ่ อ ใหญ่ ด งแสนตอ (งานประจ� ำ ปี ) และ จัดกิจกรรมแสดงความจงรักภัคดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 4.การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ จัดอบรมความรู้

ให้กบั กลุม่ อาชีพต่าง ๆ ภายในต�ำบล, สนับสนุนงบ ประมาณให้กับกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น กลุ่มทอ เสื่อกก กลุ่มทอผ้าไหมบ้านตาลอง กลุ่มเพาะเห็ด บ้านสมหวัง 5.การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ด�ำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ด�ำเนินโครงการ ประชาอาสาปลูกป่า 800 ล้านต้นกล้า, ด�ำเนิน โครงการคลองสวยน�ำ้ ใส คนไทยมีความสุข, ด�ำเนิน โครงการรณรงค์ไถกลบตอซังข้าวและไถกลบฟาง หลังฤดูเก็บเกี่ยว, ด�ำเนินโครงการบ่อก๊าซชีวภาพ

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 265

265

22/8/2561 17:18:38


สถานที่ส�ำคัญและก�ำลังพัฒนาเป็นสถานที่ ท่องเที่ยว วัดโนนสูงทุง่ สว่าง ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีส่ งู กว่าพืน้ ที่ ชุมชนอาศัยอยู่ มีพื้นที่ประมาณ 5 ไร่ ตั้งอยู่ด้าน ทิ ศ ตะวั น ออกของจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ในอุ โ บสถมี พระประธานประดิษฐานอยู่ มีแท่นสูงประมาณ 1.50 เมตร องค์ พ ระท� ำ ด้ ว ยหิ น ทรายสี ค ล้ า ย ดิ น ลู ก รั ง อมส้ ม หน้ า ตั ก กว้ า ง 20.50 เมตร

สูง 2.10 เมตร หันพระพักตร์ไปด้านทิศตะวันออก เป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชน และ บุคคลทั่วไปในจังหวัดบุรีรัมย์ ปัจจุบันมีพระครู ธรรมประสิทธิ์ เป็นเจ้าอาวาส ปาฏิหาริย์และความศักดิ์สิทธิ์ เป็นที่เลื่องลือ เมือ่ มีผเู้ ดือนร้อนมากราบไหว้ ตัง้ จิตอธิษฐานขอให้ ช่วยก็ได้สมปรารถนา และเหรียญของท่านก็เลือ่ งลือ ในการป้องกันอุบัติเหตุ ซึ่งจากประสบการณ์ของ

ลู ก ศิ ษ ย์ ที่ ป ระสบมา จนเป็ น ที่ ศ รั ท ธาของ ชาวประชาทั้ ง ในเขตพื้ น ที่ แ ละนอกเขตพื้ น ที่ ต่ า งแสวงหาเหรี ย ญของท่ า นอยู ่ จ นทุ ก วั น นี้ พระพุทธรูปทีม่ นี ามเป็นทีก่ ล่าวขานและด้วยความ ศรัทธานี้คือ หลวงพ่อใหญ่ดงแสนตอ วัดโนนสูง ทุ่งสว่าง ต�ำบลทุ่งวัง อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์

บึงหนองทัพค่าย เป็นบึงน�ำ้ ขนาดใหญ่ มีเนือ้ ที่ ประมาณ 700 ไร่ มีเขตพื้นที่ติดต่อกับป่าชุมชน อุ ด มทรั พย์ ประชาชนได้อาศัย แหล่งน�้ำแห่งนี้ เป็ น ที่ ท�ำมาหากิ น ในการท�ำประมงน�้ำ จืด และ มีการปลู ก พื ช ผั ก ปลอดสารพิ ษ โดยรอบพื้ น ที่ ของบึงทัพค่าย

266

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 266

22/8/2561 17:18:46


สวนป่าชุมชนอุดมทรัพย์ มีพนื้ ทีโ่ ดยประมาณ 357 ไร่ ได้รับพระราชทานอนุญาตให้เข้าร่วมสนองพระราชด�ำริ ตามโครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุ ม ารี “ฐานทรั พ ยากรท้ อ งถิ่ น ” ในวั น ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ลักษณะของป่า เป็นพืน้ ทีป่ า่ ทีค่ ง ความอุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วยพันธุไ์ ม้ และสัตว์ปา่ นาๆ ชนิด ไม้ทพี่ บส่วนมากได้แก่ ต้นยาง ต้นพะยอม ต้นประดู่ ต้นหมากเค็ง เป็นต้น นอกจากนี้พื้นที่ป่ายังมีทัศนียภาพ ที่สวยงามเนื่องจากมีพื้นที่ทางด้านทิศตะวันออกของป่า ติดต่อกับล�ำน�้ำชี ที่ไหลผ่านต�ำบลทุ่งวัง ปัจจุบนั สถานทีแ่ ห่งนีก้ ำ� ลังได้รบั การพัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว เป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาธรรมชาติ มีเส้นทาง ส�ำหรับเดินป่าศึกษาธรรมชาติไว้บริการนักท่องเที่ยว

ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในเขตต�ำบลทุง่ วังได้อนุรกั ษ์ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ได้แก่ วิธีการท�ำเครื่องจักสานใช้ส�ำหรับในครัวเรือน วิธกี ารเลีย้ งไหมและการทอผ้าไหม วิธกี ารท่อเสือ่ กกจาก ต้นกก และวิธีการจับปลาตามแหล่งน�้ำธรรมชาติ

สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก

ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมย้อมสีธรรมชาติ บ้านตาลอง ผลิตภัณฑ์จากต้นกก บ้านหนองเกาะน้อย ผลิตภัณฑ์เห็ดนางฟ้า บ้านหนองเกาะน้อย ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ บ้านค้อ พืชผักปลอดสารพิษ บ้านกอก และบ้านหนองทัพค่าย

ประวัติ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง นายสมพร บูรณะขจร นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง ประวัติการศึกษา จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่วิทยาลัยครูบุรีรัมย์ ประวัติการท�ำงาน เคยรับราชการในต�ำแหน่งครูที่โรงเรียนบ้านสตึก อ�ำเภอสตึก จังหวัดบุรีรัมย์ เคยด�ำรงต�ำแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่งวัง เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2552 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลทุง่ วัง เมือ่ วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2559 จนถึงปัจจุบนั BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 267

267

22/8/2561 17:18:57


อ�ำเภอสตึก

ต�ำบลกระสัง

วัดไตรภูมิ วัดส�ำโรงพัฒนา วัดบา้ นหนองปุน วัดบา้ นกระสัง วัดบา้ นยางงาม วัดบา้ นหนองจาน วัดบา้ นหนองยาง วัดป่ากระสัง วัดป่าส�ำโรง วัดหญา้ คา

ต�ำบลชุมแสง วัดป่าโนนสมบูรณพ์ ัฒนา วัดป่าส�ำโรงธรรมสามัคคี (รก.)

วัดบา้ นชุมแสง วัดโคกสิงห์ วัดบา้ นตามา วัดนครล�ำปาง วัดโนนแดง วัดศิริมงคล วัดสะกุด วัดชุมแสง วัดธาตุจ�ำปาทอง วัดห้วยนอ้ ย

ต�ำบลดอนมนต์

วัดป่าห้วยลึก วัดดอนมนต์ วัดบา้ นจะหลวย วัดเสถียรธรรมสถาน วัดปราสาทหินโนนตูม วัดบา้ นหนองลูกช้าง วัดป่าธรรมทัสสี วัดโนนเกตุ วัดนาลาวลาดอ�ำนวย วัดโนนกลาง วัดกระทุม่ พัฒนาราม วัดโคกใหญ่ วัดละกอ

ต�ำบลทา่ มว่ ง

วัดศาลาลอย วัดสุกาวาส วัดหนองตราด วัดบา้ นขีเ้ หล็ก วัดดอนแกว้ วัดโนนพันซาด วัดป่าหนองพยอม วัดบา้ นบิง

ต�ำบลทุง่ วัง

วัดบา้ นกอก วัดโนนสูงทุง่ สวา่ ง

268

วัดบา้ นคอ้ วัดหนองทัพคา่ ย วัดสระเกตุ วัดทุง่ เจริญธรรม วัดโพธิศ์ รีตรีวนาราม ทีพ่ ักสงฆโ์ คกอะโตด

ต�ำบลนิคม

วัดสุจิตตธ์ ัมมาราม วัดอัมพวัน วัดดงยายเภา วัดศิริมงคล วัดหัวช้าง วัดโคกอิสระ วัดตลาด วัดป่าโคกขามธรรมสถาน วัดป่าประชาร่วมใจ วัดเวฬุวันดงยายเภา วัดป่าสตึกพัฒนา วัดสระกอไทร (รก.) วัดใหมศ่ รีสุขนาจะหลวย

ต�ำบลเมืองแก

วัดสวา่ งอารมณ์ วัดบา้ นยางโลน วัดหนองดุม วัดศรีสุทธาราม วัดหนองดวนโนนกลาง วัดหนองกรูด วัดป่าหนองดุม วัดหนองนกเกรียน วัดหัวช้างหนองเชือก วัดวังมัจฉา วัดป่าหนองเชือก วัดบา้ นปากช่อง วัดบา้ นกระทุม่ วัดป่าบา้ นกระทุม่ วัดป่าหนองนกเกรียน

ต�ำบลร่อนทอง

วัดป่าสนามบิน วัดหนองน้�ำขุน่ วัดหนองแมม่ ด วัดโสกคลอง วัดโคกสุพรรณ วัดบา้ นขาม วัดภูเขาทอง วัดโพธิง์ าม วัดปรือเกียน วัดโคกเมีย๊ ะ วัดเสม็ด วัดหนองปรือ วัดหนองไผ่

ต�ำบลสตึก วัดหนองเกาะแกว้ วัดป่ายางน้�ำใส

วัดหนองบัวเจ้าป่า วัดสุพัฒนาราม วัดศัรธาวนาราม วัดป่าพรชัยเทพนิมิตร วัดชัยมงคล วัดสตึกบูรพาวนาราม วัดสนามบินใหม่ วัดประชาบูรณะ วัดทุง่ สวา่ งสะนอน วัดบา้ นยางตาสาท วัดบา้ นโคกเมือง วัดบา้ นโนนคอ้ วัดโคกสูง วัดกุดซิน วัดหนองบัวโคน

ต�ำบลสนามชัย

วัดพงสวรรค์ วัดพงแขม วัดดงหนาม วัดหนองแคน วัดปลัดมุม วัดแสงจันทร์ วัดยูงทอง วัดแกว้ ประชานิมิตร วัดหัวท�ำนบ วัดป่าปลัดมุม วัดอนาลโย วัดสนามชัย

ต�ำบลสะแก วัดอิสาณ

วัดบา้ นโนนมะงา วัดปทุมทองบา้ นพลับ วัดบา้ นโนนสมบูรณ์ วัดบา้ นหนองตาเพ็ง

ต�ำบลหนองใหญ่

วัดสวายตางวน วัดหนองใหญ่ วัดหนองกับ วัดโนนศรีส�ำราญบา้ น อาเกียน วัดหนองตราด วัดป่าแสงธรรม วัดโนนยอง วัดป่าโคกกระสัง วัดป่าพิชัยประสรรค์

อ�ำเภอพุทไธสง

ต�ำบลบา้ นจาน

วัดบวร วัดโพธิ์ วัดดอนดู่ วัดบา้ นขอ่ ย วัดบา้ นเขวา้ วัดบา้ นคลองมว่ ง วัดบา้ นกุดเทา

ต�ำบลบา้ นเป้า

วัดจอมวารี วัดบวรรังษี วัดโพธิท์ อง วัดบา้ นหนองบัวรอง วัดกูข่ มิน้

ต�ำบลบา้ นยาง

วัดเทพรังสรรค์ วัดจินดามณี วัดศิริมงคล วัดเทพนิมิต วัดอัมภาวรินทร์ วัดตะเคียนทอง วัดบา้ นดอนตอ้ น วัดบา้ นเพียแกว้

ต�ำบลบา้ นแวง

วัดสระบัว วัดบรมคงคา วัดราษฏร์บ�ำรุง วัดชัยศิริ วัดธรรมประสิทธิ์ วัดโคกแดง วัดทุง่ สวา่ ง วัดแกน่ ทา้ ว

ต�ำบลพุทไธสง

วัดโพนทอง วัดพุทไธสง วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง วัดทรงศิริ วัดทา่ เยีย่ ม วัดหนองบก วัดทุง่ สวา่ ง วัดแดงนอ้ ยพุทธาราม วัดบา้ นโนนตะคร้อ วัดป่าบา้ นแดง

ต�ำบลมะเฟื อง

วัดหงษ์ วัดมณีจันทร์ วัดทุง่ สวา่ งสุขารมณ์ วัดบา้ นชาด วัดวงษว์ ารี วัดธรรมรังษี วัดบา้ นหนองน้�ำค�ำ วัดบา้ นปลาคา้ ว

ต�ำบลหายโศก

วัดบา้ นดอน วัดอัมพวัน วัดกุมภียาน วัดวรดิษฐ์ วัดโนนสมบูรณ์ วัดหนองจิก

วัดสุวรรณาราม วัดสระแก วัดสุคันธวารี

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 268

5/9/2561 13:53:30


THE IMPORTANT TEMPLES BURIRAM

วัดทองส�ำราญ วัดป่ามัน วัดบา้ นหัวฝาย วัดโยตาแบง อ�ำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์

ต�ำบลกูส่ วนแตง

วัดสมณาวาส วัดไพรงาม วัดสวา่ งอารมณ์ วัดสินทราราม วัดหนองสองห้อง วัดบา้ นทุม่ วัดเทพารมณ์ วัดบา้ นนาฝายสามัคคี วัดป่าบา้ นโคกจิกนอ้ ย วัดป่าน้�ำอ้อม

ต�ำบลแดงใหญ่

อ�ำเภอโนนสุวรรณ

วัดไผง่ าม วัดป่าบา้ นหัวสะพาน

ต�ำบลโกรกแกว้

วัดโคกรัก วัดโคกสามัคคี วัดโกรกแกว้ วัดโนนสุวรรณ วัดผาแดง วัดป่าโคกเจริญธรรม

อ�ำเภอแคนดง

ต�ำบลแคนดง

ต�ำบลดงอีจาน

วัดดงบัง วัดป่าประชามิตร วัดป่าดอนเจริญ วัดมว่ งงาม วัดหนองตะไก้ วัดบา้ นดอนสมบูรณ์

ต�ำบลทุง่ จังหัน

วัดสวา่ งโพธิท์ องวราราม วัดทุง่ จังหัน วัดซับสมบูรณ์ วัดหนองไทร วัดป่าโนนส�ำราญ วัดป่านามบุญวนาราม

ต�ำบลโนนสุวรรณ

วัดโคกกระเบื้อง วัดอุบลสามัคคี วัดป่าศิริสมบูรณ์ วัดไผท่ องสุทธาราม วัดป่าโนนสุวรรณ

วัดอนามัย วัดเทพทราวาส วัดราษฎร์สามัคคี วัดหนองการะโก วัดใหมโ่ นนสวรรค์ วัดหนองเครือ วัดคลองสวา่ งนาแซง วัดยางทะเล วัดยางนอ้ ย วัดหนองกระทุม่ วัดบา้ นเมืองนอ้ ย วัดโนนพยอม วัดหนองสรวง วัดป่าโนนสมบูรณ์ วัดป่าโนนสวรรค์

วัดหัวหนองแคน วัดโพธิท์ อง วัดป่าประชาแสนสุข วัดเกา้ นิมิต

ต�ำบลหัวฝาย

วัดวารีมุขาราม วัดโสภณฯ(ปอแดง) วัดบา้ นขีเ้ หล็ก วัดโคกสวา่ ง วัดหนองหญา้ คา วัดโนนเขวา วัดโนนหมื่น

วัดสุคันธารมณ์ วัดอิสาณ วัดวนาสันต์ วัดหนองไผน่ อ้ ย วัดใหมส่ ามัคคีธรรม วัดบา้ นโคกสะอาด

ต�ำบลทองหลาง

วัดพลสุวรรณ วัดสระประทุม วัดชายอรัญ วัดหัวหนอง วัดป่าหนองขอน วัดราษฎ์บูรณะ วัดป่าบา้ นดินแดง

ต�ำบลหนองเยือง

วัดสระจันทร์ วัดเทพประดิษฐ์ วัดพลรังษี วัดหรดี

วัดทาน้ ่ �ำอ้อม วัดเทพรังษี วัดบา้ นมว่ ง วัดป่าสม้ ป่อย

ต�ำบลหนองแวง

วัดศรีสุธรรม วัดหลักศิลา วัดคันธารมณ์ วัดศรีสุนทร วัดฬุวรรณาราม วัดก.ม.ศูนย์ วัดเกษมสุวรรณ วัดโพธิท์ อง วัดกูส่ วนแตง วัดป่าใตร้ ่มพระโพธิญาณ

อ�ำเภอนาโพธิ์

ต�ำบลดอนกอก

วัดประทุมเมศ วัดสิริมงคล วัดฤาษีสถิต วัดโพธิช์ ัย วัดทรงธรรม วัดอุทยาวาส วัดดอนกอย วัดใหมห่ นองแวง วัดป่ากุงประชาราม วัดป่าหนองบัว

ต�ำบลนาโพธิ์

วัดสมศรี วัดทา่ เรียบ วัดโคกศรี วัดบุบผาราม วัดบา้ นโศกกะฐิน วัดหนองหญา้ รังกา

ต�ำบลบา้ นคู

วัดอมราวาส

วัดสระทอง วัดสามัคคีชัย วัดพนมวัน วัดอุดร วัดนันทวัน วัดโสกดินแดง วัดบา้ นดอนกลาง วัดหนองจาน วัดสิริชัย วัดโคกพงาด วัดโนนสะอาด วัดป่าบา้ นทุง่ บอ่ วัดป่าโนนตะคร้อ

ต�ำบลบา้ นดู่

วัดนาแค วัดธาตุ วัดกลมลาวาส วัดเทพกุญชร วัดเทพอ�ำนวย วัดทรงสุวรรณ วัดมงคลนิมิต วัดบูรพาราม วัดขามป้อม วัดป่ากุงประชาราม วัดป่าบา้ นทุง่ บอ่ วัดป่าโนนตะคร้อ

ต�ำบลศรีสวา่ ง

วัดชัยศรี วัดเทพประดิษฐ์ วัดทรงศิลา วัดธรรมประดิษฐ์ วัดชัยสมพร วัดเปรมศิริ วัดชัยประสิทธิ์ วัดโพธิเขตปิ ยวนาราม วัดศรีสงา่ วัดป่าบา้ นเบ็ญ

ต�ำบลดงพลอง

วัดบา้ นขามพิมาย วัดป่าหนาม วัดประชาชาติ วัดหนองแวง

ต�ำบลสระบัว วัดสวา่ งแคนทะเล วัดบา้ นงิว้ วัดบา้ นสระบัว

BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 269

269

5/9/2561 13:53:38


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระธาตุบุรีรัมย์ พระพุทธองค์ด�ำมหาเจดีย์

วัดกลันทาราม พระอธิการสวิง อุตฺตโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

วั ด กลั น ทาราม ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 2 ต� ำ บลกลั น ทา อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์

มี ป ระวั ติ ค วามเป็ น มาในการก่ อ ตั้ ง วั ด ตั้ ง แต่ เ มื่ อ มี ป ระชาชนอพยพมาอาศั ย อยู ่ ม ากขึ้ น เมื่ อ ร้ อ ยปี ก ่ อ น ได้ มี ช าวบ้ า นผู ้ ศ รั ท ธาคื อ พ่ อ ใหญ่ ท า ค� ำ เกิ ด พ่ อ ใหญ่ ริ น กระแสโสม และ ตาอั ก ชาวกลั น ทา ได้ บ ริ จ าคที่ ดิ น รวม 15 ไร่ เพื่ อ สร้ า งวั ด กลั น ทารามให้ เ ป็ น ศู น ย์ ศ รั ท ธารวมใจของชาวบ้ า น เริ่ ม สร้ า งวั ด ขึ้ น เมื่ อ ปี พ.ศ.2496 270

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 270

05/09/61 12:02:17


พระพุ ท ธรู ป ที่ มี ใ ห้ ก ราบบู ช าที่ วั ด

พระหินหยกขาวจากพม่า

พระปางทรงเครื่องจักรพรรดิ์

พระประธานในโบสถ์

พระปางห้ามญาติ

พระสิวลี

พระปางแสดงโอวาทปาติโมกข์

เจ้ า อาวาสวั ด รู ป ก่ อ นๆ ได้ น� ำ ศรั ท ธา ชาวบ้ า นดู แ ลรั ก ษาพั ฒ นาวั ด มาโดยล� ำ ดั บ มาถึ ง พระอธิ ก ารสวิ ง อุ ตฺ ต โม เจ้ า อาวาส รูปปัจจุบนั ท่านได้เร่งพัฒนาวัด ในปี พ.ศ.2542 พระครูปริยัติโพธิวิเทศ (ดร.พระมหาคมสรณ์ คุตฺตธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดไทยเชตวันมหาวิหาร นครสาวั ต ถี สาธารณรั ฐ อิ น เดี ย ท่ า นเป็ น พระธรรมทูตสายอินเดีย - เนปาล และเป็น ลูกหลานชาวกลันทา ได้น�ำศรัทธาญาติโยม สายบุญพุทธภูมิ มาท�ำบุญทอดกฐินประจ�ำทุกปี ด�ำเนินช่วยพัฒนาวัดด้านต่างๆ จนมีถาวรวัตถุ สิ่งก่อสร้างเช่น โบสถ์ ศาลาเอนกประสงค์ เมรุ กุฏิสงฆ์ ห้องน�้ำ ห้องสุขา เป็นต้น

หมอชีวกโกมารภ้จจ์

ปัจจุบนั วัดกลันทาราม ได้สร้างวิหารพร้อม อัญเชิญพระพุทธองค์ด�ำที่สร้างด้วยหินด�ำ เมืองนาลันทา ประเทศอินเดีย มาประดิษฐาน ให้ ก ราบบู ช าสั ก การะที่ วั ด โดยไม่ ต ้ อ ง เดินทางไปถึงอินเดียแล้ว และทุกวันนี้ได้มี พุ ท ธศาสนิ ก ชนผู ้ ท ราบข่ า วได้ เ ดิ น ทางมา กราบสักการะ เป็นจ�ำนวนมาก และได้เริ่ม การก่อสร้างพระธาตุบรุ รี มั ย์ พุทธองค์ดำ� มหาเจดีย์ เพื่อให้เป็นพระธาตุเจดีย์ที่ส�ำคัญของจังหวัด เพือ่ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุและพระพุทธรูป จาก 9 ประเทศ พระธาตุบรุ รี มั ย์ฯ นี้ ได้ประกอบ พิธีวางแผ่นศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2559 โดย พล.อ.สุรยุทธ จุลานนท์ องคมนตรี

พระพุทธชัยมงคล

พระพุทธองค์ด�ำรุ่นแรก

พิธีเทเสาเอกเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2561 โดย นายด�ำรงชัย เนรมิตตกพงศ์ รองผู้ว่าฯ ประเพณี กิจกรรม ส�ำคัญประจ�ำวัด เทศกาลบูชาทาน�้ำมัน พระพุทธองค์ด�ำ ทุกๆ วันที่ 9 - 15 เมษายน ของทุกปี ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอาจารย์หยีง 2. พระอาจารย์แปลก 3. พระอาจารย์เล ฐานะจาโร 4. หลวงพ่อสี 5. หลวงพ่อปรั่น 6. พระอธิการสุนทร อคฺควณฺโณ 7. พระอธิการสวิง อุตฺตโม BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 271

271

05/09/61 12:02:33


หลวงพ่อพระพุทธองค์ด�ำ

พระอาทิตย์ทรงกลดในวันแห่อัญเชิญ

ประวัติหลวงพ่อพระพุทธองค์ด�ำ ความเป็ น มา หลวงพ่ อ พระพุ ท ธองค์ ด� ำ จากบันทึกของ ปิลาซิง นักโบราณคดีอินเดีย ท�ำให้เราได้ทราบว่า พระพุทธรูปพระพุทธเจ้า องค์ด�ำนี้ สร้างเมื่อสมัย พระเจ้าเทวาปาล คือ ระหว่าง พ.ศ.1353 - 1393 และถ้าหากท่านทราบ ประวัตคิ วามเป็นมามากกว่านี้ ท่านจะรูส้ กึ ศรัทธา และประหลาดใจเป็นแน่ เพราะเป็นพระพุทธ รูปองค์เดียวเท่านัน้ ทีเ่ หลือจากการท�ำลายของ คนศาสนาอื่นได้อย่างไม่น่าเชื่อ กล่าวคือ เมื่อ พ.ศ.1766 ชาวมุสลิมกลุ่มหนึ่งได้ใช้วิธีเผยแผ่ ศาสนาโดยใช้กำ� ลังอาวุธ ถ้าใครไม่นบั ถือศาสนา ของตนจะต้องถูกท�ำร้าย โดยเฉพาะผู้ที่นับถือ ศาสนาพุทธ ถือว่าเป็นศัตรูตัวส�ำคัญ จะต้อง ถูกท�ำลาย ไม่ว่าจะเป็นคนหรือทรัพย์สมบัติ ในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งเข้ายึดครอง 272

การอัญเชิญหลวงพ่อพระพุทธองค์ด�ำมาจากประเทศอินเดีย

ดินแดนชมพูทวีปฝ่ายเหนือได้ทั้งหมด ด้วย การใช้ก�ำลังอ�ำนาจเข้าห�้ำหั่น ฆ่าฟัน ข่มเหง และย�่ำยีด้วยวิธีการต่างๆ นานา ซึ่งมี อิคเทียร์ ซิลจิ เป็นหัวหน้า พาสมัครพรรคพวก ถืออาวุธ เข้าห�้ำหั่นชาวพุทธ ทุบท�ำลายเผาต�ำรับต�ำรา สถานที่ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา เหลือไว้แต่ ซากปรักหักพัง เป็นทีน่ า่ เสียดายยิง่ นัก จากการ บันทึกของท่านตารนาท ธรรมสวามิน นักปราชญ์ เขียนเอาไว้ว่า พอกองทัพมุสลิมยกทัพกลับ ไปแล้ว พระ นักศึกษา และพระอาจารย์ ที่ มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทา ซึ่งเหลือรอดชีวิต อยู่ประมาณ 70 รูป จากจ�ำนวนนับหมื่นรูป ก็พากันออกมาจากทีซ่ อ่ น ท�ำการส�ำรวจข้าวของ ที่ ยั ง หลงเหลื อ อยู ่ รวบรวมเท่ า ที่ จ ะหาได้ ปฏิ สั ง ขรณ์ ตั ด ทอนกั น เข้ า ก็ พ อได้ ใช้ ส อย กันต่อมา และท่านมุทิตาภัทร รัฐมนตรีของ

กษัตริย์ ในสมัยนัน้ ได้จดั ทุนทรัพย์จำ� นวนหนึง่ ส่งไปจากแคว้นมคธ เพื่อช่วยเหลือซ่อมแซม ปฏิสังขรณ์วัดวาอารามที่นาลันทาขึ้นมาใหม่ แต่ก็ท�ำได้บางส่วนเท่านั้น แต่แล้ววันหนึ่ง ได้มี ชูชก 2 คน เข้ามาวางอ�ำนาจ ท�ำตัวเป็นผู้มี อิทธิพลทางศาสนา จนกระทั่ง 12 ปีผ่านไป 2 ชูชกก็ยังวางตนเขื่องอยู่ มาถึงคราวหนึ่ง ทั้ง 2 ชู ช กได้ ป ระกอบพิ ธี ก รรมทางศาสนาขึ้ น และคงคิดว่าเพียงพอแล้วที่จะอยู่ที่นี่ต่อไป จึงได้รวบรวมเศษไม้ แล้วก่อไฟขึ้น พร้อมทั้ง ขว้างปาดุ้นฟืนที่ติดไฟไปตามสถานที่ต่างๆ โดยรอบ จนกระทั่ ง เกิ ด ไฟลุ ก ไหม้ ไ ปทั่ ว มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทา แหลกลาญเป็นผุยผง สุดที่จะท�ำการซ่อมแซมปฏิสังขรณ์ให้คืนดีได้ ดังเดิม มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทาอันเลื่องชื่อ ลือนามก็เป็นอันสิ้นสุดลง ถูกปล่อยให้รกร้าง

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 272

05/09/61 12:02:41


ว่างเปล่ามาตัง้ แต่บดั นัน้ จนกระทัง่ ชาวอังกฤษ เข้ายึดครองอินเดีย ได้มนี กั โบราณคดีชาวอังกฤษ คนหนึ่ง ชื่อท่านนายพล เซอร์อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม หรือที่ชาวไทยเรียกท่านว่า ท่าน เซอร์คนั นิง่ แฮม ได้อา่ นบันทึกของ พระถังซัมจัง๋ ซึ่งเป็นพระจีนที่เคยเดินทางไปศึกษาพระพุทธ ศาสนาที่มหาวิทยาลัยสงฆ์นาลันทาถึง 14 ปี ได้บันทึกเหตุการณ์ และสถานที่ส�ำคัญต่างๆ เอาไว้อย่างละเอียด เมื่อท่านเซอร์คันนิ่งแฮม ได้อ่านดูแล้ว จึงได้มอบหมายให้ เอ.เอ็ม.พร อดเล่ย์ และ ดร.สปูนเนอร์ ผู้ช่วย เข้าไปค้นหา ปู ช นี ย วั ต ถุ ตามบั น ทึ ก นั้ น ก็ ป รากฏว่ า ได้ พระพุทธรูปมากมายหลายองค์ ส่วนมากจะ เสียหายหักบิ่นจากการถูกท�ำลายของมุสลิม ดั ง กล่ า ว จึ ง ส่ ง เข้ า ไปรั ก ษาไว้ ที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ประเทศอังกฤษ ส่วนพระพุทธรูป หลวงพ่อ

พระพุทธรูปองค์ด�ำนั้น ไม่ทราบว่า เป็นเพราะ เหตุ ใ ดจึ ง ไม่ ถู ก ส่ ง ไปอั ง กฤษด้ ว ย และเป็ น พระพุทธรูปองค์เดียวทีย่ งั คงความสมบูรณ์ทส่ี ดุ สรุปแล้วก็คือ พระพุทธรูปองค์ด�ำ นั้นเป็น พระพุทธรูปองค์ทมี่ อี งค์สมบูรณ์เหลือรอดจาก การถูกท�ำลายของมุสลิม และไม่ถกู อังกฤษยึดไป หากมองจากภาพทั่วๆ ไปแล้วพระพุทธรูป องค์ ด� ำ นี้ มี ข นาดใหญ่ แ ละประดิ ษ ฐานตั้ ง ไว้ บนฐานที่มั่นคงยากล�ำบากต่อการเคลื่อนย้าย แต่ตามค�ำบอกเล่าทราบว่า ในกาลภายหลัง ทางรัฐบาลอินเดียพยายามที่จะย้ายท่านไป เก็บรักษาไว้ภายในพิพิธภัณฑ์เมืองนาลันทา ซึ่ ง เก็ บ รวบรวมหลั ก ฐานพระพุ ท ธรู ป ต่ า งๆ ที่ค้นพบในบริเวณนาลันทา และกรุงราชคฤห์ ทุ ก ครั้ ง ที่ มี ก ารโยกย้ า ยมั ก เกิ ด เหตุ อ าเพศ ที่ไม่คาดฝันเสมอ เช่น ฝนตกอย่างหนักเกิด

ฟ้าผ่าอย่างรุนแรงเป็นต้น เป็นเหตุให้การโยกย้าย องค์พระไม่สำ� เร็จได้ และชาวบ้านก็มาดูแลรักษา หลวงพ่อด�ำไว้ เรียกนามว่า “เตลิย่าบาบา” แปลว่า หลวงพ่อน�้ำมัน เพราะบางวันจะมี น�้ำมันไหลออกจากองค์ท่าน เวลาชาวบ้านเกิด เจ็บป่วยขึ้นก็จะน�ำน�้ำมัน มาลูบองค์พระแล้ว อธิษฐานขอให้หลวงพ่อองค์ดำ � รักษาโรคต่างๆ ก็ เ ป็ น มหั ศ จรรย์ ว ่ า โรคต่ า งๆ ได้ ถู ก รั ก ษา ด้วยพลังความศักดิ์สิทธิ์ขององค์พระ จนกระทั่งถึงปัจจุบัน ชาวพุทธผู้แสวงบุญ ชาวไทยต่างก็เดินทางไปสักการะและอธิษฐาน ของพรจากหลวงพ่อองค์ด�ำท่าน ก็สามารถ รักษาโรคต่างๆ ก็หายได้ นับว่าเป็นเรือ่ งมหัศจรรย์ ยิ่ ง นั ก หากมี โ อกาสก็ อ ย่ า ลื ม ไปสั ก การะ หลวงพ่ อ พุ ท ธด� ำ องค์ ป ฐมได้ ที่ น าลั น ทา รัฐพิหาร - ประเทศอินเดีย BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 273

273

05/09/61 12:02:59


แปลน 3 มิติ

ภาพก่อสร้างปัจจุบัน

แนวความคิดในการสร้าง “พระธาตุบุรีรัมย์พระพุทธองค์ด�ำมหาเจดีย์” 1.เป็นแผ่นดินมาตุภูมิบ้านเกิด วัดกลันทา ราม จังหวัดบุรีรัมย์ มีชื่อคล้ายเมืองนาลันทา อินเดีย บ้านเกิดพระสารีบุตร อัครสาวก ที่ ประดิษฐานพระพุทธองค์ด�ำ จนมีแนวคิดจะ มีการเปลี่ยนจากชื่อ “วัดกลันทาราม” เป็น “วัดนาลันทา” ในอนาคต เพื่อให้สอดคล้อง กับวัดที่ประดิษฐานพระพุทธองค์ด�ำ 2.เพื่ อให้ พุ ท ธศาสนิก ชนผู้ไ ม่มีโอกาสไป ไหว้ พ ระพุ ท ธองค์ ด� ำ ที่ น าลั น ทา ประเทศ อินเดียได้มากราบสักการะได้ที่วัดกลันทาราม เมืองไทยเรา 3.เพื่ อ สร้ า งสถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ขึ้ น เป็ น พุทธสถาน รวมสถานที่ส�ำคัญจากพุทธภูมิ ให้ เป็นศูนย์กลางแห่งศรัทธา ควรมาบูชาสักกา ระที่ส�ำคัญประจ�ำจังหวัดบุรีรัมย์ 4. เมื่ อ พระธาตุบุรีรัม ย์พระพุทธองค์ด� ำ

มหาเจดีย์สร้างส�ำเร็จ จะเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญอันจักน�ำความเจริญ ด้านอื่นๆ ตามมาโดยล�ำดับ 5. จักขยายผลพัฒนาด้านการศึกษาพระ สงฆ์ ให้วัดเป็นแหล่งศึกษาพระพุทธศาสนาที่ ส�ำคัญดุจนาลันทามหาวิทยาลัยสงฆ์ในอดีตที่ เคยเจริญรุ่งเรือง ผลที่จะได้รับ คือ 1. จังหวัดบุรีรัมย์จะมี สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ พุ ท ธสถานจากพุ ท ธภู มิที่ ส� ำ คั ญ ของจั ง หวั ด 2. วั ด กลั น ทาราม จะ เปลี่ยนเป็นชื่อวัดนาลันทา ตรงกับพุทธสถาน และพุ ท ธประวั ติ ที่ อิ น เดี ย ชาวพุ ท ธจั ก ได้ ศึกษาพุทธสังเวชนียสถานที่จ�ำลองจากอินเดีย ณ ที่ จังหวัดบุรีรัมย์ 3. หมู่บ้านกลันทา และ หมู่บ้านใกล้เคียงจักได้รับอานิสงส์ ทั้งทาง ด้านเศรษฐกิจ สังคม ชีวิต และพัฒนาท้องถิ่น

ด้านอื่น ๆ 4. เมื่อนักท่องเที่ยวเดินทางมา บุรีรัมย์ได้ชมปราสาทหินเขาพนมรุ้ง, แข่งรถ, ฟุตบอล ยังได้มาบูชาสักการะพระพุทธองค์ด�ำ จากอินเดีย ที่วัดกลันทารามซึ่งอยู่ไม่ไกลจาก ตัวจังหวัด บัดนี้พระพุทธองค์ด�ำ สลักหินด�ำอินเดีย จากนาลันทา บ้านเกิดพระอัครสาวก พระสา รีบุตร และพระโมคคัลลนะ ในแดนพุทธภูมิ ได้มาสู่บุรีรัมย์แล้ว ขอเชิญไปกราบบูชาสักกา ระได้ ต ามศรั ท ธา และวั ด ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การ ก่อสร้างพระธาตุบุรีรัมย์พระพุทธองค์ด�ำมหา เจดีย์ บนพื้นที่ 25 ไร่ พร้อมเตรียมด�ำเนิน การสร้างสังเวชนียสถานจ�ำลอง 4 ต�ำบล และ เจดีย์ประจ�ำวันเกิด จักเป็นบุญเขตที่ศักดิ์สิทธิ์ ส�ำคัญของบุรีรัมย์ ในเวลาอันใกล้นี้

ขอเชิญร่วมบุญใหญ่นี้ได้ที่บัญชีวัดกลันทาราม ธนาคารกรุงเทพ สาขาบุรีรัมย์ เลขบัญชี 297-4-61269-5 วัดกลันทาราม พระพุทธองค์ด�ำ จ.บุรีรัมย์ 08-9286-2181, 08-3371-7694 274

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 274

05/09/61 12:03:07


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระพุทธองค์ด�ำ อัญเชิญจากนาลันทา-อินเดีย วัดกลันทาราม อ�ำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์

“พระธาตุบุรีรัมย์พุทธองค์ด�ำมหาเจดีย์” วั ด กลั น ทาราม ต� ำ บลกลั น ทา อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า ง ขอเชิ ญ มาร่ ว มบุ ญ ใหญ่ ส ร้ า งพระธาตุ อี ก แห่ ง ให้ ป รากฏ ณ จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ แผ่ น ดิ น ไทยแผ่ น ดิ น ธรรมกั น เถิ ด อธิ ษ ฐานบุ ญ ที่ ส� ำ เร็ จ สมปราถนาโอนทรั พ ย์ ร ่ ว มบุ ญ นี้ ไ ด้ ที่ บั ญ ชี วัดกลันทาราม ธนาคารกรุงเทพ สาขาบุรีรัมย์ เลขที่ 297-4-61269-5 ขออนุ โ มทนาทุ ก ส่ ว นแห่ ง บุ ญ ทุ ก ๆ ท่ า นด้ ว ยความยิ น ดี ยิ่ ง 08-9286-2181, 08-3371-7694 BURIRAM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 275

275

05/09/61 12:02:45


HIST ORY OF BUDDHISM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดขุนก้อง

Wat Khun Kong

อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ | Nangrong district, Buriram province

พระประธานในพระอุโบสถ

276

SBL บันทึกประเทศไทย I บุรีรัมย์

.indd 276

พระอุโบสถ

22/08/61 19:51:12


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.