SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 108 - จังหวักตาก

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดตาก ประจ�ำปี 2563

EXCLUSIVE

TAK

“ปาฏิหาริย์แห่งความเพี ยร พระเจ้าแห่งความส�ำเร็จ”

วัดสุนทรีกาวาส

ท่องเที่ยวบนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ ในบวรพระพุ ทธศาสนา

“พระมหากษัตริย์กู้ชาติ 4 พระองค์” เลาะตะเข็บชายแดนในดินแดน แห่งพระอาทิตย์ไม่ตกดิน

Vol.10 Issue 108/2020

www.issuu.com

.indd 3

30/6/2563 15:38:00


History of buddhism....

วัดมณีไพรสณฑ์ พระครูประกาศบุญญากร เจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์ / เจ้าคณะตำ�บลแม่สอด เขต 1

2

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

2-3.indd 2

30/6/2563 14:27:52


ประวัติเจดีย์สัมพุทเธ แบบทรงพม่า

“เจดีย์วิหารสัมพุทเธ” ตั้งอยู่ที่วัดมณีไพรสณฑ์ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สร้างเมื่อ พ.ศ 2529 ขนาดกว้าง 35 เมตร ยาว 15 เมตร สูง 12 เมตร ซึ่งได้ดัดแปลงจากประเทศพม่าลักษณะแบบทรงเจดีย์ ศิลปกรรมแบบพม่า ลักษณะแปลกคือบริเวณรอบเจดีย์ ใหญ่จะประกอบไปด้วยเจดีย์องค์เล็กๆ ล้อมรอบถึง 233 องค์และมีพระพุทธรูปบรรจุถงึ 512,028 องค์ ด้าน ในของสัมพุทเธ มีพระประธานองค์ใหญ่ของแต่ละด้าน ประดิษฐานอยู่ มีพระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ทิศหนือ และ พระพุทธรูปศิลปะพม่า ประดิษฐานอยู่ทิศตะวัน ออกพร้ อ มพระพุ ท ธรู ป อื่ น ๆ อี ก มากมาย เป็ น ต้ น ภายนอกเจดียว์ หิ ารสัมพุทเธเป็นภาพวาดศิลปะสมัยใหม่ จิตรกรรมศิลปะบนฝาผนังเพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้ ให้ เ ป็ น ที่ ประจั ก ษ์ ถื อ เป็ น การสืบ ทอดเอกลักษณ์อัน ถูกต้องและดีงามต่อไป ภาพซ้าย (ขับเวชยันตร ) ชื่อภาพ พระเนมิราช โพธิสัตว์ไปชมสวรรค์ พระมาตุลีเทพบุตรทรงขับเวช ยันตรถผ่าน ทิพย์วิมานต่างๆ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อน�ำพระเนมิ ราชโพธิสัตว์ไปชมสวรรค์แสดงให้เห็นถึงทิพย์วิมานซึ่ง เกิดจากอ�ำนาจกุศลกรรมของเหล่าเทวดาทั้งหลายซึ่ง ทวยเทพต่างบูชาพระโพธิสัตว์ด้วยดอกไม้ทิพย์และขับ กล่อมมโหรีด้วยความปิติยินดี ภาพขวา (พระอินทร์ทรงช้าง ) ชื่อภาพ พระอินทร์ เดินทางไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ขบวนเสด็จของพระอินทร์ ที่เดินทางไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ สุธรรมสภาบนชั้น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เหล่าทวยเทพขอตามเสด็จไปด้วย ความปิติยินดี เพราะจะไปสดับฟังพระธรรมเทศนาจาก องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ส่วนบริเวณด้านทิศเหนือของโดยรอบเจดีย์วิหาร สั ม พุ ท เธประดิ ษ ฐานด้ ว ยรู ป จ� ำ ลองพระพุ ท ธรู ป ปางไสยาสน์(พระนอน) พระพุทธรูปประจ�ำวัน หินอ่อน พม่าทั้ง 7 ปาง และรูปปั้นเจ้าพ่อพะวอ (แบบไฟเบอร์ กลาส)มีลั กษณะสวยงามถึงแม้จะปั้นแบบไม่ได้เก็บ รายละเอียดเหมือนจริงมากนัก แต่ก็แสดงให้เห็นถึง ความศรัทธาของชาวบ้านที่มีต่อพระพุทธศาสนาได้เป็น อย่างดีและสืบทอดพระพุทธศาสนาให้มั่นคงสืบต่อไป อ่านต่อหน้า 100 TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

2-3.indd 3

3

1/7/2563 13:15:20


“พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง”

สักการบูชา พระคู่เมืองของชาวอำ�เภอแม่สอด เพลินธรรมกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย-ล้านนาท่ามกลางธรรมชาติอันบริสุทธิ์

วัดไทยสามัคคี (พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง) Thai Unity Temple (Phra Chao Tanjai Rattan Mungmuang) วัดไทยสามัคคี (พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง) แม่กื้ดหลวง ตั้งอยู่ที่ บ้านแม่กื้ดหลวง หมู่ที่ 9 ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นวัดเก่าแก่อยู่ในหมู่บ้านไทยสามัคคี ซึ่งเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวน�ำร่อง ไกลจากตัวอ�ำเภอแม่สอดมาทางอ�ำเภอแม่ระมาดเพียง 9 กิโลเมตร เป็น วัดที่มีความงดงามในด้านประติมากรรมและสถาปัตยกรรมตามแบบ ล้านนา ตลอดจนถึงวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี ธรรมชาติ ป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ วิถีชีวิตชาวบ้านชนบทและความความมีไมตรีจิต ที่ ดี ข องชาวบ้ า นที่ นี่ ท� ำ ให้ ทุ ก วั น นี้ วั ด ไทยสามั ค คี เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก ของ พุทธศาสนิกชนทั่วไป ตลอดจนถึงนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท�ำบุญ และท่องเที่ยวที่วัดไทยสามัคคีกันตลอดทั้งปี โดยมีกิจกรรมเชิงวิถีพุทธ กิ จ ที่ น ่ า สนใจต่ า งแตกกั น ไปในแต่ ล ะเดื อ นท� ำ ให้ เ กิ ด ความน่ า สนใจ แปลกใหม่ และได้อรรถรสแห่งธรรมทุกวันเมื่อได้มาเยือน Thai Unity Temple (Phra Chao Tanjai Rattan Mung Muang) is located at Ban Mae Kued Luang, Village No. 9, Mae Kasa Subdistrict, Mae Sot District, Tak Province. It is an ancient temple located in the Thai Samakkhi village. Which is a tourist village which is a pilot far from Mae Sot district, just 9 kilometers from Mae Ramat District. It is a beautiful temple with sculptures and architecture from the Lana period. From culture to traditions with abundant forest and nature to the ways of life of the villagers and the goodwill of the people here makes today Thai Unity Temple a well known destination for regular buddhists visitors . As well as tourists who come to make merit and travel to Wat Thai Unity throughout the year. The activities of the buddhist are interesting each month, resulting in interesting and exotic experiences of the Dharma every day when visiting. 4

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4-7.indd 4

30/6/2563 15:55:08


TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

4-7.indd 5

5

30/6/2563 15:55:16


6

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4-7.indd 6

30/6/2563 15:55:19


History of buddhism....

วัดไทยสามัคคี (พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง) Thai Unity Temple (Phra Chao Tanjai Rattan Mungmuang) พระครูเมธากิจโกศล (ธรรมจักร กนฺตวีโร) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดไทยสามัคคี PHRA KRU METHAKIT KOSON (THAMMACHAKKANATWIRO) IS THE ABBOT.

“พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง” พระคู่เมืองของชาวอ�ำเภอแม่สอด พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ซึ่งที่เรียกพระเจ้าทันใจนั้น เพราะพิธีการสร้างไม่เหมือนพระพุทธรูปทั่วไป กล่าวคือ การท�ำพิธีปั้น องค์พระ มีก�ำหนดการที่ สลับซับซ้อนมากมายตามพิธีการแบบล้านนา ไทยที่พระอริยสงฆ์ได้ผูกไว้ เช่น ก�ำหนดเวลาในการปั้นต้องแล้วเสร็จ ภายในวั น เดี ย วก่ อ นพระอาทิ ต ย์ ต กดิ น ตลอดพิ ธี ป ั ้ น ต้ อ งท� ำ พิ ธี เจริ ญ พระพุทธมนต์ตลอดจนเสร็จ เสร็จแล้วต้องท�ำพิธีเบิกเนตรตลอดทั้งคืน ตามพิธีล้านนา วัสดุอุปกรณ์ในการจัดสร้างต้องสะอาดบริสุทธิ์ พร้อม มวลสารต่างๆ อันเป็นมงคล ที่แปลกคือพระเจ้าทันใจมีหัวใจ และอวัยวะ ภายในที่ท�ำด้วยเงินแท้อยู่ข้างใน พร้อมทั้งกระดูกที่ท�ำจากไม้มงคลของ ล้านนา และมีอุปเท่ห์มากมายในการสร้าง เมื่อมีโอกาสนักท่องเที่ยวและ ประชาชนทั่วไปมักจะมากราบขอพรให้มีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตตาม ครรลองอันเป็นสัมมาทิฐิกันเสมอ เชื่อว่าจะส�ำเร็จโดย “ทันใจ” ส�ำหรับ “พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง” แห่งวัดไทยสามัคคีนั้น ปัจจุบัน ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถของวัดไทยสามัคคี เป็นพระคู่เมืองของชาวอ�ำเภอ แม่สอด และเป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป ซึ่งเดินทาง มากราบเพือ่ เป็นพุทธานุสติระลึกถึงคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กล่าวคือ พระปัญญาคุณ พระบริสุทธิ์คุณ และพระมหากรุณาธิคุณ โดย เครื่องสักการบูชานั้น พุทธศาสนิกชนทั่วไปนิยมน�ำ ดอกไม้ ธูปเทียน ผลไม้ท่ีมีความเชื่อว่าเป็นผลไม้มงคลตามฤดูกาล น�้ำดื่ม ตลอดจนถึงความ เชื่อในการถวายไข่ต้ม เป็นต้น เพื่อน�ำมาอธิษฐานขอพรทุกวันๆ แต่จะไม่ นิยมน�ำ อาหารที่มีกลิ่น รส คาวหรือเนื้อสัตว์ต่างๆน�ำถวาย “ยกเว้นไข่” ที่ได้กล่าวถึงในข้างต้น” คำ�ไหว้พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง (ตั้ง นะโม 3 จบ) อะหัง พุทธทันใจ สิระสานะมามิ ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง ภะวะตุเต โสถิภาคะยัง สุขังพะลัง ตะกุตะกะ อาจาริโย เอวังวันตา อะหังวันทามิ สัพพะทา

กิจกรรมท่องเที่ยวหลัก กราบนมั ส การพระเจ้ า ทั น ใจรั ต นมุ ง เมื อ ง, กราบสั ก การะรอย พระพุทธบาทจ�ำลอง, กราบนมัสการพระพุทธรูปปางประสูต,ิ กราบนมัสการ พระโพธิสตั ว์กวนอิมไม้แกะสลัก, กราบนมัสการพระพิฆเนศไม้แกะสลักองค์ ใหญ่, เที่ยวชมพิพิธภัณฑ์โฮงหลวง, เที่ยวชมสวนหินหอยล้านปีสี่มหาราช, รับประทานขนมจีนและขนมหวานเครื่องที่โฮงตาน ฟรีทุกวัน, พักผ่อนร่างกายธรรมชาติแมกไม้นานาพรรณ, กิจกรรมนวดแผนไทย ตอกเส้น แบบโบราณ, กิจกรรมให้อาหารปลา ณ เขตอภัยทาน (วังปลา), ชมการแสดงวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น, เที่ยวชมป่าชุมชน ห้วยขนุน ป่าอันดับหนึ่งของประเทศ และ ซื้อของฝากผลิตภัณฑ์พื้นบ้านจากหมู่บ้าน ไทยสามัคคี Pay homage to "Phra Chao Tanjai Rattan Mung Muang", the monk of the people of Mae Sot district, pay homage to the imitation of the Buddha's footprint, pay homage to the Buddha statue of the Nativity, pay homage to the Bodhisattva Guan Yin wood carvings, pay homage to the large carved wooden Ganesh Buddha , Visit the Hong Luang Museum, visit the Four Million Year Shellfish Park, Four Great Buddha, eat Khanom Jeen and desserts at Hong Than, free every day, relax out in natural forest with various plants, traditional Thai massage, activities includes feeding fishes at the Abhaibon District (Wang Pla), watching the local cultural performances, visit the Huai Khanun forest, the number one forest in the country, and buy souvenirs of พระครูเมธากิจโกศล (ธรรมจักร กนฺตวีโร) local products from the Thai ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไทยสามัคคี Samakkhi village. อ่านต่อหน้า 90 TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

4-7.indd 7

7

30/6/2563 15:55:21


ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

Magazine

AD_

.indd 146

www.sbl.co.th

9/12/2562 14:33:51



Suansin Lanna Hotel โรงแรม สวนสิน ล้านนา ห้องพักสะอาด บรรยากาศดี ที่จอดรถเยอะ

ยินดีต้อนรับสู่โรงแรม สวนสินล้านนา ที่พักจังหวัดตาก ที่สะดวก หาง่าย ด้วยท�ำเลติดถนนใหญ่ ใกล้ร้านสะดวกซื้อ โรงแรมตกแต่งในสไตล์ ไทยล้านนา บริการท่านด้วยห้องพักสะอาดได้มาตรฐาน สิ่งอ�ำนวยความ สะดวกสบายครบครันทัง้ LCD TV. จอใหญ่ ดูสบายตา, เครือ่ งปรับอากาศ, ตู้เย็น, เครื่องท�ำน�้ำอุ่น, Free Wifi , ที่จอดรถกว้างขวาง และติดตั้งกล้อง CCTV ทั่วโรงแรม ท่านจึงพักผ่อนได้อย่างสบายใจ

โรงแรม สวนสินล้านนา 10

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

1

.indd 10

: เลขที่ 8 หมู่ 8 ต.น�ำ้ รึม อ.เมือง จ.ตาก

โทรศัพท์ 087-5559666, 055-891333 : suansinlanna : Suansin Lanna Hotel-Tak

30/6/2563 15:19:36


SUANSIN GARDEN RESORT HOTEL

โรงแรม สวนสิน การ์เด้นรีสอร์ท

โรงแรม สวนสินการ์เด้นรีสอร์ท ที่พักที่จะโอบกอดคุณด้วยสวนธรรมชาติ อันร่มรื่น เงียบสงบ ห้องพักสะอาด ครบครันสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ทั้ง LCD TV จอใหญ่ เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Free WiFi ที่จอดรถกว้างขวาง ติดตั้งกล้อง CCTV กว่า 20 จุดเพื่อความปลอดภัย โรงแรมอยู่ข้างห้างเทสโก้ โลตัส ตาก หาง่าย ราคาย่อมเยา

โรงแรม สวนสิน การ์เด้นรีสอร์ท : 8/7 ถ.พหลโยธิน ต.ระแหง อ.เมือง จ.ตาก โทรศัพท์ 088-2752526, 055-893444 : suansingardenresort : Suansin Garden Resort hotel - tak

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย Facebook SBL

2

1

.indd 11

11

30/6/2563 15:19:38


โรงแรมสีขาว สะอาดตา ผสานกลิ่นอายวินเทจ ในบรรยากาศสงบ โล่ง โปร่ง สบาย หรูหราทั้งภายนอกและภายใน ห้องนอนกว้างขวาง พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน สระว่ายน�้ำตั้งอยู่ ใจกลาง รายล้อมไปด้วยนางฟ้า เป็นวิวที่สามารถมองเห็นได้จากทุกห้อง หนึ่งในที่พักแนะน�ำของตัวเมืองตาก White House Hotel, the elegant white hotel in the middle of Tak town. We offer you an escape into the serenity and breathtaking views of the swimming pool from every one of its 78 rooms and suites which come with luxury mattress and a decor. Come with buffet breakfast (included) such as coffee, hot chocolate, breads, salad, fruits, traditional Thai and international dishes, also wireless internet access covering all areas. 12 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

2

.indd 12

30/6/2563 15:25:39


“ Special place For Special People”

ผูเ้ ข้าพักจะได้รบั ความสะดวกสบายอย่างเต็มที่ ด้วยการบริการทีเ่ ป็นกันเอง ทีด่ พี ร้อม ที่สุดส�ำหรับทุกท่าน อาหารเช้าแบบบุฟเฟต์ที่หลากหลาย และมีบริการ Wi-Fi ฟรี ครอบคลุมทัว่ ทุกพืน้ ที่ ทัง้ สระว่ายน�ำ ้ และน�ำ้ ตกจ�ำลอง เหมาะอย่างยิง่ ส�ำหรับการคลาย ความเหนือ่ ยล้า ท�ำให้การมาเยือนเมืองตากของท่านมีแต่ความรืน่ รมย์ Amenities, White House Hotel has a variety of on-site recreation areas such as a waterfall along with the garden and an outdoor swimming pool which have a separate children’s pool perfectly to avoiding from hurlyburly to relaxing mode.

โรงแรมไวท์เฮ้าส์ ( White House Hotel ) : เลขที ่ 333/3 หมู่ 7 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลไม้งาม อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 Address : No. 333/3 Moo 7, Phahonyothin Road, Mai Ngam Subdistrict, Mueang District, Tak Province 63000

โทรศัพท์ 055 513 444, 064 350 5551

2

.indd 13

NAN I SBL บันทึกประเทศไทย Facebook SBL13

30/6/2563 15:25:51


code

“สะอาด ปลอดภัย ใส่ใจบริการ ครบครัน ”

14

.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

.indd 14

30/6/2563 15:13:06


“ Special place For Special People”

โรงแรมเมฆวิ ไล บริการห้องพัก มายาวนานกว่า 30 ปี โรงแรม ตั้งอยู่ ใกล้กับหนองน�้ำมณีบรรพตในเขต อ.เมือง จ.ตาก อี ก ทั้ ง ยั ง ใกล้ กั บ สถานที่ ต ่ า งๆ เดิ น ทางสะดวก รองรับการจอดรถมากมาย โรงแรมของเรา เน้นห้องพัก สะอาด ปลอดภัย ราคามิตรภาพ นอกจากนี้เรายังมี ร้านอาหารไทย ร้านอาหารสเต็ก และร้านกาแฟ ไว้คอยบริการท่าน

FRESH AND HEALTHY FOOD AVAILABLE - ข้าวผัดน�้ำพริกลงเรือ (เมนูห้ามพลาด เอกลักษณ์ของร้าน) - สเต็กและไส้กรอกสูตรจากเชฟเยอรมัน - บิงชู ชาไทย ขนมหวานสไตล์เกาหลี อัดแน่นด้วยรสชาติแบบไทยๆ

มาเที่ยวตากครั้งใด แวะพักได้ที่ โรงแรมเมฆวิ ไล

ท่านจะไม่ผิดหวัง

MEKWILAI HOTEL โรงแรมเมฆวิ ไล : เลขที่ 311/1 ถนนมหาดไทยบ�ำรุง ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมือง จังหวัดตาก 63000 : โรงแรมเมฆวิ ไล@mekwilai : 055-511-732 โทรศัพท์ 055-540-354,

055-541-770

NAN I SBL บันทึกประเทศไทย

15 Facebook SBL

.

2

.indd 15

30/6/2563 15:13:24


code

“ความต่าง อย่างมีสไตล์” Stylish and Difference

Meena Garden Resort มีนา การ์เด้น รีสอร์ท

มีนา การ์เด้น รีสอร์ท ตั้งอยู่ในอ�ำเภอเมืองตาก ลูกค้าที่มาพักกับเรา ท่านจะได้เยือนสถานที่ส� ำคัญในพื้นที่อย่าง เช่น ศาลหลักเมืองสี่มหาราช และ วัดโบสถ์มณีศรีบุญเรือง อีกทั้งชมธรรมชาติอันสวยงาม ณ อุทยานแห่งชาติลานสาง

Meena Garden Resort is located in Wang Chao District. Guests who stays with us will amaze upon visiting many landmarks in the area such as th e Four Maharaj City Pillar Shrine and Wat Bot Mani Si Bunrueang Temple. Also experience the beautiful nature at Lan Sang National Park.

16

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

2

.indd 16

30/6/2563 15:23:11


“ Special place For Special People”

มีนา การ์เด้น รีสอร์ท บริการห้องพักที่ สะดวก สะอาดและปลอดภัย เราให้บริการทุกท่านดุจญาติมิตร พร้อมบริการ WiFi Free ทุกห้อง และ ส่วนกลาง ห้องพักมีหลายแบบให้เลือกตามสไตล์ บริเวณรีสอร์ท มีสวนร่มรื่นและมุมน่ารักๆ ไว้คอยบริการส�ำหรับผู้ที่รักการถ่ายภาพ มาตากครั้งใด แวะพัก มีนา การ์เด้น รีสอร์ท ท่านจะไม่ผิดหวังแน่นอน Meena Garden Resort offers comfortable, clean ,and safe accommodations. We provide free WiFi in all our rooms and guest area. There are many different style rooms to choose from. The resort area equipped with a beautiful shady garden and many cute pictures taking corners waiting for those who love to savor the memories. If your destination is Tak please come and enjoy Meena Garden Resort will us. You will definitely be satisfy.

มีนา การ์เด้น รีสอร์ท ( Meena Garden Resort ) : เลขที่ 32/4 ถนนตาก-วังเจ้าสายเก่า หมู่ 9 ต�ำบลวังหิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 63000 I SBL63000 บันทึกประเทศไทย 17 Address No. 32/4 Tak-Wang Chao Sai Kao Road, Village No. 9, Wang Hin Subdistrict, Wang Chao District, TakNAN Province โทรศัพท์ 055-508708, 081-234 4560

Facebook SBL

2

.indd 17

โรงแรมบลูเฮ้าส์ บูติค (Bluehouse Boutique Hotel)

30/6/2563 15:23:21


Baan Mae Sot Boutique Resort welcomes everyone.

“บ้านแม่สอด บูติกรีสอร์ท ยินดีต้อนรับทุกท่าน”

Baan Maesot Boutique Resort

ที่พักของเราตั้งอยู่ ในอ�ำเภอแม่สอด อยู่ ในท�ำเลที่เดินทางสะดวก ใกล้สถานที่ ท่องเที่ยวยอดนิยม เช่น ตลาดริมเมย วัดไทยวัฒนาราม วัดโพธิคุณ(ห้วยเตย) ศาลสมเด็จพระนเรศวร เป็นต้น หากท่านก�ำลังมองหาที่พัก สะอาด สะดวก สบาย ให้บริการอย่างเป็นกันเอง SBL บันทึบูกตประเทศไทย บ้18านแม่ สอด ิก รีสอร์ท Iพร้น่าอนมให้บริการทุกท่านคะ

2

.indd 18

Our accommodations is located in Mae Sot district. In a convenient location near many popular tourist attractions such as Rim Moei Market, Thai Watthanaram Temple. Wat Pho Khun (Huai Toei), King Naresuan Shrine etc. If you are looking for a convenient arrangement that is comfortable, and friendly services Baan Mae Sot Boutique Resort is always welcome.

30/6/2563 15:29:08


“ Special place For Special People”

บ้านแม่สอด บูติกรีสอร์ท (Baan Maesot Boutique Resort) : ที่อยู่: 536 หมู่ 1 ต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110 Address: 536 Moo 1, Mae Pa Subdistrict, Mae Sot District, Tak Province 63110 : baanmaesot : baanmaesot

โทรศัพท์ +669-4949-4121, +66-55-50-8939NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 19 Facebook SBL

2

.indd 19

30/6/2563 15:29:17


Facebook SBL

Werot Resort And Apartment เวโรจน์ รีสอร์ท และ อพาร์ทเม้นท์ บ้านหลังที่สอง ของท่าน

20

2

เวโรจน์ รีสอร์ท

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 20

30/6/2563 15:14:51


หากท่ า นก� ำ ลั ง มองหาที่ พั ก ในตาก ซึ่ ง เดิ น ทางไป ได้ง่ายในท�ำเลดีเลิศ เวโรจน์ รีสอร์ท คือค�ำตอบ จากที่พัก ท่านสามารถเดินทางได้อย่างสะดวกง่ายดายไปยังทุกที่ ในเมื อ งที่ มี ชี วิ ต ชี ว านี้ เนื่ อ งจากที่ พั ก ตั้ ง อยู ่ ใ นท� ำ เลที่ เดิ น ทางสะดวก ผู ้ เ ข้ า พั ก จึ ง ไปยั ง สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ยอดนิยมต่างๆ ของเมืองได้โดยง่าย

เวโรจน์ รีสอร์ท มีบริการที่สมบูรณ์แบบและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่ จ� ำ เป็ น อย่ า งครบครั น เพื่ อ คอยเติ ม ความสดชื่ น ให้ แ ก่ ผู้ เ ข้ า พั ก สิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่โดดเด่นของที่พัก ได้แก่ ฟรี Wi-Fi ทุกห้อง, แม่บ้านท�ำความสะอาดรายวัน, Wi-Fi ในพื้นที่สาธารณะ, ที่จอดรถ, ห้องนั่งเล่น/ดูทีวีส่วนกลาง หากท่ า นก� ำ ลั ง มองหาที่ พั ก ที่ ส ะดวก สบาย และปลอดภั ย ในจังหวัดตาก เวโรจน์ รีสอร์ท จะเปรียบได้ดั่งบ้านหลังที่สองของท่าน

เวโรจน์ รีสอร์ท และ อพาร์ทเม้นท์ Werot Resort And Apartment : ตั้งอยู่เลขที่ 31/101 ถนนสายเอเชีย อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 63110

2

.indd 21

055-030171 065-0303233 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

21

30/6/2563 15:15:00


EDITOR’S

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

“SBL บันทึกประเทศไทย” ฉบับพิเศษ “วัดทั่วไทย” ฉบับวัดในจังหวัดตาก เล่มนี้คือ ของขวัญที่ผมขอมอบให้กับทุกท่าน จากหัวใจ เมื่อเราได้เรียนรู้ประวัติ ความเป็นมาของแต่ละวัดที่เป็น พลังใจให้กับผู้คนมาตลอด 2600 ปี ที่ผ่านมานับตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ธรรม พระองค์ทรงเมตตาเปิดของ คว�ำ่ ให้หงาย คือหนทางในการออก จากทุกข์ในสังสารวัฏ

ขอเชิญชวนท่านผู้อ่านสัมผัส พระพุทธศาสนาในมิติต่างๆ ผ่าน เรื่องเล่าอันงดงามและความเป็นมา ของวัดต่างๆ ในจังหวัดตากที่มี มากกว่า 269 วัด ซึ่งมีพระสงฆ์ กว่า 1,856 รูป เราจะได้เรียนรู้ว่า พระพุทธศาสนาคือจุดแข็งของ ประเทศไทยเป็นอย่างไร และแนะน�ำ คอลัมน์ “ใต้ร่มพระบารมี” เปิดประวัติโครงการเขื่อนทดน�้ำ โกกโก่อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ

ผมขอกราบขอบพระคุณและกราบ นมัสการพระคุณเจ้าทุกรูปที่เมตตา สื่อสาระธรรมจากพระพุทธเจ้า มาแบ่งปันและช่วยกันรังสรรค์ จังหวัดตากให้เป็นเมืองแห่ง พระมหากษัตริย์กู้ชาติจากวิถีธรรม จนท�ำให้เรามีพระพุทธศาสนาเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจมาจนถึง ทุกวันนี้

Editor's talk.indd 22

9/7/2563 11:49:29


Magazine คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

คณะทีมงาน ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน มนสิกุล โอวาทเภสัชช์

ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า

ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171

www.sbl.co.th

Editor's talk.indd 23

9/7/2563 11:49:30


84

108

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 2 4 26

วัดมณี ไพรสณฑ์

“เจดีย์วิหารสัมพุทเธ”

วัดไทยสามัคคี

สักการบูชา “พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง”

TAK PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดตาก

41 Editor's talk.indd 24

34

BHUMIBOL DAM AMAZING NATURE AND BEAUTIFUL FORESTS ท่องเที่ยวจังหวัดตาก

9/7/2563 11:49:40


วัดมณีบรรพตวรวิหาร

42 68

วัดพระพุทธบาทดอยโล้น

วัดชัยชนะสงคราม (ท่าแค)

46 76 50 80 82 54 88 58 90 62 94

วัดมงคลคีรีเขตร์

100

วัดมณี ไพรสณฑ์

กราบขอพรพระแสนทอง พระพุทธรูปประจ�ำพระอุโบสถ ท�ำบุญไหว้พระ สักการะหลวงพ่อโตศักดิ์สิทธิ์

วัดกลางสวนดอกไม้

วัดในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช อยุธยาตอนปลาย

วัดมะเขือแจ้

สักการะหลวงพ่อสิน พุทฺธสโร

วัดวังม่วง

สักการบูชาหลวงพ่อศิลาแลง สามพี่น้อง พระคู่บ้านเมืองตาก

วัดดอนมูลชัย

วัดพัฒนาตัวอย่าง สืบสานประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม สืบทอดศาสนา ปฏิบัติบูชา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

BHUMIBOL DAM

39

หอบตัวหอบใจ ขึ้นลงบันได 1,460 ขั้น สู่วัดพระพุทธบาทดอยโล้น (วัดครูบาสร้อย ขนฺติสาโร)

วัดแม่ต้านเหนือ

สักการะพระพุทธรูปไม้ขนุนแกะสลัก

วัดธรรมจาริกแม่สลิดหลวง

พระพุทธเจดีย์ ไมตรีจิตมิตรภาพ

วัดสุนทริกาวาส

พระมหาวัชรินทร์ วขิรญาโณ เจ้าอาวาสวัดสุนทริกาวาส

วัดไทยสามัคคี

(พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง)

วัดโพธิคุณ (วัดห้วยเตย) พระตรีโลกเชษฐ์ พระประธาน อุโบสถชั้น 3

พระครูประกาศบุญญากร เจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์

TAK วัดแม่ตาว

กราบขอพรพระพุทธเมตตา

วัดดอนแก้ว

สักการะพระประธานในวิหาร อายุประมาณ 90 ปี

วัดอรัญญเขต

สักการะพระประธานปาง มารวิชัย

วัดดอนไชย

พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี ดร. เจ้าอาวาสวัดดอนไชย

108 110

วัดราษฎร์เจริญธรรม

112 114

วัดพบพระเหนือ

118

วัดนาโบสถ์

120

วัดมาตานุสรณ์

กราบหลวงพ่อพระครูสิริรัตนาภรณ์ พระครูอภิวัฒน์คณาภิบาล เจ้าอาวาสวัดราษฎร์เจริญธรรม กราบหลวงพ่อโต องค์ใหญ่ที่สุด ใน 5 อ�ำเภอฝั่งตะวันตก จังหวัดตาก กราบไหว้สะรีระสังขาร หลวงพ่อพระครูโสภณธรรมนิเทศก์

Editor's talk.indd 25

102 106

9/7/2563 11:49:43


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

TAK PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายวิ โ รจน์ ไผ่ ย ้ อ ย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก “ต่อยอดการท่องเที่ยวและการแสวงบุญ ยกระดับเป็นผู้ปฏิบัติบูชา เข้าหาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา จนสามารถน�ำไปใช้ในการด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวันได้ เพื่อลดปัญหาการขัดแย้งในสังคม มีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น แก้ปัญหาชีวิตด้วยแนวทางพระพุทธศาสนาได้มากขึ้น”

26

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

อนุสรณ์สถานท้ าวสุรนารี . .indd 26 (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง

30/6/2563 12:46:40


EXC LU S IV E

Facebook SBL

SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ ท่องเที่ยวทางธรรม วัดในจังหวัดตาก ได้รับเกียรติจากท่านวิโรจน์ ไผ่ย้อย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดตาก สนทนาเปิดมุมมองจากนโยบายหลักของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สู่การท�ำงานในภาคปฏิบัติของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตากที่มุ่งเน้นความมั่นคงของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ผ่านวิถีพุทธ และการท่องเที่ยวทางธรรมที่ เปิดพื้นที่ทางใจให้เข้มแข็งเบิกบาน สามารถผ่านพ้นอุปสรรคทุกด้านของชีวิตไปได้ด้วยดี และส่งเสริมสนับสนุนการเดินทางท่องเที่ยวแนวใหม่ เปิดพื้นที่ว่างให้หัวใจได้สัมผัสธรรมะจากธรรมชาติทุกอณูในจังหวัดตาก TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 27

27

30/6/2563 12:46:42


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

นโยบายหลักและอ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก มีอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบาย ในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงาน ในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด รวมทั้งรายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภูมิปัญญาของชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของจังหวัด 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านพระพุทธ ศาสนศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ภายในจังหวัดให้มีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา 6. รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครองคณะ สงฆ์ ตลอดจนการด�ำเนินการตามนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติศาสนพิธี และกิจกรรมในวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิบัติงานตามกฎหมายในความรับผิดชอบของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซึ่งก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับมอบหมาย 9. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้ รับมอบหมาย 28

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.

.indd 28

30/6/2563 12:46:46


โครงการส�ำคัญที่ผ่านมา 1.โครงการบรรพชาอุ ป สมบทเฉลิ ม พระเกี ย รติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก คณะสงฆ์โดยมหาเถรสมาคม และส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ พิจารณาเห็นว่า เนื่องในพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก จึงก�ำหนดจัดโครงการทั้งในส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค และวัดไทยในต่างประเทศ เนื่องในพระราช พิธีบรมราชาภิเษก เพื่อร่วมแสดงความจงรักภักดีถวาย เป็ น ราชสั ก การะแด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทร รามาธิ บ ดี ศ รี สิ น ทรมหาวชิ ร าลงกรณ พระวชิ ร เกล้ า เจ้าอยู่หัว ที่ได้สร้างคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติอย่าง อเนกอนันต์ นับเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่สร้างโอกาสให้ ประชาชนชาวไทย ได้เกิดความตระหนัก หวงแหนและ พร้อมปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ ให้มีความมั่นคง เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชนคนไทยทุกคน 2.โครงการอบรมปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติแด่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม ราชชนนีพันปีหลวง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี เพื่อให้ข้าราชการและพุทธศาสนิกชน และ นักเรียน ได้ทราบถึงหลักค�ำสอนในทางพระพุทธศาสนา และน�ำ ไปเป็ น แนวทางในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลดี ต ่ อ ผู้ปฏิบัติธรรม และน�ำความสงบสุขมาสู่สังคม จ�ำนวนวัดในจังหวัดตากที่สามารถไปท่องเที่ยว และปฏิบัติธรรม วัดในจังหวัดตากมีทั้งหมด 275 วัด โดยเป็นวัดใน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายจ�ำนวน 260 วัด และวัดใน สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตจ�ำนวน 15 วัด ซึ่งนักเดินทาง ท่องเที่ยวและประชาชนในจังหวัดสามารถเดินทางมา สัมผัสความสงบเย็นใจ ทัศนาชื่นชมสถาปัตยกรรมเกี่ยว กับพระพุทธศาสนาภายในวัด เรียนรู้พุทธประวัติและ พระอริ ย สาวกของพระพุ ท ธเจ้ า ตามวั ด ต่ า งๆ ศึ ก ษา ปฏิปทาของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในการศึกษา ปฏิ บั ติ ธ รรมเพื่ อ น� ำ ชาติ ใ ห้ มั่ น คงปลอดภั ย มาจนถึ ง ทุกวันนี้ ขณะเดียวกันก็ได้รับความปีติใจจากค�ำสอนของ องค์สมเด็จพระบรมศาสดา พระเถระและพระสงฆ์ที่ไป กราบไหว้ท�ำบุญขอพรในแต่ละวัด การท่องเที่ยวด้านใน อย่างนี้จะเป็นการท่องเที่ยวที่จะเป็นต้นทุนให้นักท่อง เที่ยวได้รับอรรถรสยิ่งขึ้น TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 29

29

30/6/2563 12:46:47


ข้อมูลเกี่ยวกับจ�ำนวนวัดทั้งหมดในจังหวัดตากมีดังนี้ จ�ำนวนวัดในจังหวัดตาก ที่ อ�ำเภอ จ�ำนวนวัด มหานิกาย ธรรมยุต 1 เมืองตาก 65 61 4 2 บ้านตาก 42 40 2 3 สามเงา 28 26 2 4 วังเจ้า 17 17 0 5 แม่สอด 74 70 4 6 แม่ระมาด 20 19 1 7 ท่าสองยาง 7 6 1 8 พบพระ 16 15 1 9 อุ้มผาง 6 6 0 รวม 275 260 15 30

6

ประเภทวัดที่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ที่ ประเภทวัด มหานิกาย ธรรมยุต (จ�ำนวนวัด) (จ�ำนวนวัด) 1 พัทธสีมา 132 6 2 ส�ำนักสงฆ์ 128 9 รวม 260 15 ประเภทวัดพระอารามหลวงและวัดราษฎร์ ที่ ประเภทวัด มหานิกาย ธรรมยุต (จ�ำนวนวัด) (จ�ำนวนวัด) 1 พระอารามหลวง 1 0 2 ราษฎร์ 259 15 รวม 260 15

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.

.indd 30

30/6/2563 12:46:54


วัดที่มีความส�ำคัญและโดดเด่นในแง่ของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศทาง พระพุทธศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี 1. วัดชัยชนะสงคราม ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 2. วัดมณีบรรพตวรวิหาร ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 3. วัดวังม่วง ต�ำบลไม้งาม อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก 4. วัดพระบรมธาตุ ต�ำบลเกาะตะเภา อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก 5. วัดท่าปุย ต�ำบลสามเงา อ�ำเภอสามเงา จังหวัดตาก 6. วัดไทยสามัคคี ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 7. วัดไทยวัฒนาราม ต�ำบลท่าสายลวด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 8. วัดโพธิคุณ ต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก 9. วัดมงคลคีรีเขต ต�ำบลท่าสองยาง อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก สิ่งที่ท่านต้องการฝากไปยังพุทธศาสนิกชน นักท่องเที่ยว ตลอดจน ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้ช่วยกันอนุรักษ์ วัดที่เป็น โบราณสถานและจรรโลงพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองสืบไป ขอท�ำความเข้าใจก่อนว่าบุคคลที่เข้าไปในวัดทางพระพุทธศาสนา แยกได้เป็นกลุ่มผู้แสวงบุญ กับกลุ่มนักท่องเที่ยว กลุ่มแสวงบุญเข้าวัด เพื่อท�ำบุญ ปฏิบัติธรรม กราบไหว้รูปเคารพสิ่งศักดิ์สิทธิ์ กลุ่มนี้จะเป็น ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา มีความศรัทธาท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาและ วัดวาอารามอยู่แล้ว แต่อยากฝากให้บุคคลที่มีความศรัทธาในพระพุทธ ศาสนาและแสวงบุ ญ ดั ง กล่ า วได้ ต ่ อ ยอดการแสวงบุ ญ ยกระดั บ เป็ น ผู้ปฏิบัติบูชา เข้าหาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนายิ่งขึ้น จนสามารถน�ำ ไปใช้ในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันได้ ทั้งนี้เพื่อลดปัญหาการขัดแย้งใน สังคม มีสติในการใช้ชีวิตมากขึ้น แก้ปัญหาชีวิตด้วยแนวทางพระพุทธ ศาสนาได้มากขึ้น ส�ำหรับกลุ่มบุคคลที่เข้าวัดเพื่อการท่องเที่ยว ก็ขอให้ท�ำความเข้าใจ กับข้อห้าม ข้อปฏิบัติในการท่องเที่ยวภายในวัด ศึกษาประเพณีวัฒนธรรม ท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความเรียบร้อย ดีงาม เป็นการอนุรักษ์ วัด โบราณ สถาน โบราณวัตถุและจารีตประเพณีท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว ขอฝากให้ความรู้กับบุคลากรที่จะ บริการนักท่องเที่ยวได้เห็นคุณค่าของโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลป วัฒนธรรมของท้องถิน่ ให้เข้าใจอย่างลึกซึง้ จนสามารถแนะน�ำนักท่องเทีย่ ว ให้รู้เข้าใจและปฏิบัติตาม ข้อห้าม ข้อปฏิบัติได้อย่างถูกต้องดีงาม

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.

.indd 31

31

30/6/2563 12:46:56


ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ จังหวัดตาก

พระเทพสิทธาคม เจ้าคณะจังหวัดตาก

พระครูโสภณชยาภรณ์

พระประสิทธิศีลคุณ

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองตาก

รองเจ้าคณะจังหวัดตาก

พระครูสิริสุตวัฒน์

พระครูวิศาลกิจจานุวัตร

พระครูศรีสุทธิคณารักษ์

พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล

พระครูอภิวัฒน์คณาภิบาล

พระครูสุเขตมงคลการ

พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี

พระครูอนุกูลวรการ

เจ้าคณะอ�ำเภอวังเจ้า

เจ้าคณะอ�ำเภอสามเงา

เจ้าคณะอ�ำเภอพบพระ

32

พระสุเมธีธรรมภาณ

เจ้าคณะอ�ำเภอท่าสองยาง

SBL บันทึกประเทศไทย เจ้ I าอุคณะจั ดรธานีงหวัดสุโขทัย – ตาก (ธ)

.indd 32

เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านตาก

เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด

เจ้าคณะอ�ำเภอแม่ระมาด

พระครูสุจิตธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด (ธ)

เจ้าคณะอ�ำเภออุ้มผาง

พระครูสีตลาภิรัต

รักษาการเจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองตาก-บ้านตาก (ธ)

3/7/2563 16:28:53


คนมีปัญญา ถึงเผชิญอยู่กับความทุกข์ ก็ไม่ยอมสิ้นหวัง ที่จะได้ประสบความสุข พุทธพจน์

UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 33

33

3/7/2563 16:28:58


เขื่อนโค้งสูงอันดับที่ 27 ของโลก เขื่อนภูมิพล เขือ่ นคอนกรีตโค้งเพียงแห่ง เดียวและเป็นเขื่อนที่ใหญ่ที่สุด ของประเทศไทย สร้างขึ้นเพื่อ กั้นล�ำน�้ำปิงในอ�ำเภอสามเงา มี ความยาวของสันเขือ่ น 486 เมตร สูง 154 เมตร ซึง่ มีขนาดใหญ่จนได้ ชื่ อ ว่ า เป็ น เขื่ อ นโค้ ง ที่ สู ง เป็ น อันดับที่ 27 ของโลก แล้วด้วย ความสู ง ขนาดนี้ นี่ ล ะท� ำ ให้ บริเวณสันเขื่อนที่นี่สามารถใช้ 34

.indd 34

เป็ น จุ ด ชมทิ ว ทั ศ น์ ที่ น ่ า ตื่ น ตา ตืน่ ใจอีกแห่งหนึง่ ของจังหวัดตาก ซึ่งจะเห็นวิวป่าเขาเขียวขจีสลับ ซับซ้อนอย่างงดงาม นอกจาก นัน้ นักท่องเทีย่ วยังสามารถมาใช้ เวลาล่องแพชมวิว เดินป่าศึกษา ธรรมชาติ ซึ่ ง ในเส้ น ทางยั ง มี น�ำ้ ตก ถ�้ำ พืชพรรณต่างๆ รวม ถึงแหล่งโบราณสถานอีกหลาย แห่งใช้ได้เรียนรู้อีกมากมาย

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:18:23


BHUMIBOL DAM AMAZING NATURE

AND BEAUTIFUL FORESTS

ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม เปิดพิกดั การท่องเทีย่ วภาคเหนือตอนล่างเยือ้ งไปทางทิศตะวันตก ของประเทศ ท่องพรมแดนมิตรภาพอันงดงามเหนือกาลเวลาบนรอยต่อ ประเทศพม่าบริเวณอ�ำเภอแม่สอด ย้อนประวัตศิ าสตร์ อดีตเมืองหน้า ด่านส�ำคัญตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ สัมผัสเมืองแห่ง สายหมอก แหล่งต้นน�ำ้ ล�ำธารทีส่ ำ� คัญ และทีต่ งั้ ของเขือ่ นภูมพิ ล เดินทาง ไปกับลมหายใจแห่งสติท่องเที่ยวด้านในเรียนรู้ตนเองกว่า 200 วัด ในจังหวัดตาก จังหวัดที่ขึ้นชื่อว่าเป็นจังหวัดที่มีผืนป่าสมบูรณ์ขนาด ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

9/7/2563 10:18:23


เลอกวาเดาะ

“ภูเขาศักดิส ์ ิทธิ”์ ณ อุทยานแม่เมย สถานที่ประดิษฐานเจดีย์สีทอง “บรมพุ ทโธ” อีกหนึ่งความท้าทายของการเดินป่าในเขตอ�ำเภอ ท่าสองยาง “เลอกวาเดาะ” ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีข่ องอุทยาน แม่เมย ส�ำหรับค�ำว่า “เลอกวาเดาะ” เป็นภาษาปกา เกอะญอแปลว่า “เขาดูวิว” ซึ่งก็ตรงตามชื่อเลยที เดียว การเดินขึ้นมาถึงบริเวณจุดกางเต็นท์ก็ใช้เวลา ประมาณ 2-3 ชัว่ โมง ส่วนไฮไลท์นนั้ จะมีทางเดินแคบๆ ขึ้นต่อไปยังจุดด้านบน ซึ่งทางเดินตรงนี้มีสองฝั่งเป็น เหว และมีแค่ทางเล็กๆ กับเชือกที่กั้นไว้ ด้านบนสุด เป็นที่ประดิษฐานของเจดีย์สีทอง บรมพุทโธ ซึ่งชาว บ้านช่วยกันสร้างไว้เพราะเชื่อว่านี่คือภูเขาที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์ควรค่าแก่การเคารพนับถือ และยังได้สัมผัส วิวสุดอลังการของทะเลหมอกรอบตัวแบบ 360 องศา

ภาพจากแฟนเพจ Ali Asghar

ภูเขาสีทอง ของชาวปกาเกอะญอ ที่สุดแห่งทะเลหมอก ดอยทูเล หรือ ม่อนทูเล

ภูเขาที่ได้ชื่อว่าสูงที่สุดในพื้นที่ต�ำบลท่าสองยาง ชาวปกาเกอะญอเรี ย กภู เขาลู ก นี้ ว ่ า ทู เ ลโคะ ซึ่ ง หมายความว่าภูเขาสีทอง เพราะในช่วงหน้าแล้งของ แต่ละปี ภูเขาสูงตระหง่านแห่งนี้จะกลายเป็นสีทอง ด้วยสีของทุง่ หญ้าทีป่ กคลุมอยูด่ า้ นบน และด้วยความ สูงมาก ท�ำให้ทศั นียภาพเวลาทีข่ นึ้ ไปอยูบ่ นยอดเขานัน้ เหนือค�ำบรรยาย เพราะท่านจะสัมผัสทะเลภูเขาสลับ ซับซ้อนทอดตัวกันเป็นแนวอยู่ตรงหน้า ที่สุดแห่งวิว ทะเลหมอก ส�ำหรับการเดินทางไปพิชิตม่อนทูเลส่วน ใหญ่ใช้เวลา 2 วัน 1 คืน ซึ่งท่านจะได้สัมผัสกับการ ผจญภัยที่เต็มอิ่มไปเลยทีเดียว 36

.indd 36

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:18:24


เล่นน�้ำตกสายฝนชมสายรุ้ง ในวันที่ฝนไม่ตก น�้ำตกทีลอจ่อ น�ำ้ ตกสวยทีอ่ ยูใ่ นเส้นทางล่องแก่งไปยังน�ำ้ ตกทีลอซู ส�ำหรับน�้ำตกทีลอจ่อ เป็นสายน�้ำซึ่งทิ้งตัวลงมาจาก ความสูงประมาณ 80 เมตร ท�ำให้เกิดละอองน�ำ้ เล็กเป็น ฝอยกระจายอยูด่ า้ นล่าง สมกับทีบ่ างคนตัง้ ชือ่ ให้ทนี่ วี่ า่ น�้ำตกสายฝน เพราะละอองน�้ำเล็กๆ จะท�ำให้เกิดเป็น สายรุ้งพาดผ่านอยู่บริเวณด้านล่างให้นักท่องเที่ยว สามารถเข้าไปดูได้อย่างใกล้ชิด ถ้ามีแสงแดดส่องมา พอดีในเวลานั้น เรียกได้ว่าเป็นโอกาสชมสายรุ้งในวันที่ ฝนไม่ตกแต่เกิดจากการท�ำมุมของละอองน�้ำจากน�้ำตก ที่มีลักษณะเป็นสายฝนกับแสงแดดนั่นเอง

“โรงละครใต้พิภพ”

ถ�้ำสวยงามอันดับต้นๆ ของเมืองไทย ถ�้ำแม่อุสุ

ด้วยความงดงามวิจิตรตระการตาของภูมิทัศน์และ สภาพหินงอกหินย้อยภายในถ�ำ้ ที่ สวยงามจนถึงกับได้รบั การขนานนามว่าเป็น โรงละครใต้พิภพ โดยมีหินต่างๆ ที่มีความมหัศจรรย์ภายในถ�้ำแต่ละห้อง บางห้องมีแสง ที่ลอดส่องดวงใหญ่ในถ�้ำราวสปอร์ตไลท์ ส�ำหรับการ เดินทางมาเที่ยวที่นี่ ขอให้ติดต่อเจ้าหน้าที่น�ำทางด้วย ท่านจะได้คำ� บรรยายเพิม่ รสชาติ ผูส้ นใจสอบถามข้อมูล เพิม่ เติมได้ทอี่ ทุ ยานแห่งชาติแม่เมย โทร. 0-5557-7409

www.touronthai.com

นมัสการพระพุ ทธรูปปางสมาธิ และมหาเจดีย์ธารารักษ์ น�้ำตกธารารักษ์

น�้ำตกธารารักษ์ ตั้งอยู่ในเขตบ้านเจดีย์โคะ อ�ำเภอ แม่สอด บางคนรู้จักในชื่อ น�้ำตกเจดีย์โคะ หรือ น�ำ้ ตก ผาชัน มีลกั ษณะเป็นน�ำ้ ตกขนาดไม่ใหญ่ทไี่ หลตรงดิง่ มา จากหน้าผาหินปูนที่มีความชัน 90 องศา ด้านบนเป็นที่ ตั้งของพระพุทธรูปปางสมาธิและมหาเจดีย์ธารารักษ์ ด้านล่างเป็นอ่างเก็บน�ำ้ ขนาดเล็กส�ำหรับเพาะพันธุป์ ลา ที่มีทางเดินทอดยาวผ่านกลาง และยังสามารถใช้ลัด เลาะดูบริเวณรอบๆ ได้อีกด้วย เป็นอีกหนึ่งน�้ำตกที่เดิน ทางง่ายและรถเข้าถึง

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

9/7/2563 10:18:26


หลังคาของเมืองตาก ดอยสอยมาลัย ภาพจากเพจ คนหลงทาง

ดอยสอยมาลัย ตั้งอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น จังหวัดตาก และ จังหวัดเชียงใหม่ ยอดดอยอยู่สูงกว่าระดับน�้ำทะเลประมาณ 1,664 เมตร และเป็นยอดเขาสูงที่สุดของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่ตื่น ซึ่งก่อนขึ้นไปพิชิต ดอยสอยมาลัย ได้นั้น ต้องขออนุญาตก่อนทุกครั้ง เหตุเพราะถือว่าเป็นเขตที่มีความเปราะบางทางพันธุกรรมสูง ดังนั้น การขอเข้าใช้พื้นที่จึงต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง สภาพป่าทั่วไปในบริเวณ นี้เป็นป่าสนเมืองหนาว เป็นถิ่นที่อยู่ของตัว “สลาเมนเดอร์” หรือ “จิ้งจกน�้ำ” อีกด้วย

38

.indd 38

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 14:08:15


เกาะวาเลนไทน์

จุดพั กแรมยอดนิยมของ นักท่องเที่ยวที่มาล่องแพในเขื่อนภูมิพล เกาะน้อยๆ ในเขื่อนขนาดใหญ่อย่างเขื่อนภูมิพล เดิมมีชื่อว่า “ดอยลาน” เพราะมีต้นลานขึ้นอยู่เป็น จ�ำนวนมาก แต่ภายหลังโดนน�้ำท่วมจากการท�ำเขื่อน จึงเหลือเป็นพืน้ ทีเ่ กาะเล็กๆ ตัง้ อยูก่ ลางน�ำ้ ทีม่ าของชือ่ เกาะเกิดจากการมาท�ำกิจกรรมในวันวาเลนไทน์ของ หน่วยงานราชการแห่งหนึง่ ชาวบ้านจึงเรียกกันติดปาก มาจนถึงทุกวันนี้

ดอยพุ่ ยโค

ชมต้นเดียวดาย บนดอยโรแมนติก ภาพจากเพจ นายตัวน้อย

ดอยพุย่ โค ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นอุมดาเหนือ ต�ำบลแม่คะตวน อ� ำ เภอสบเมย อยู ่ ห ่ า งจากตั ว อ� ำ เภอประมาณ 10 กิโลเมตร ได้ชอื่ ว่าเป็นดอยโรแมนติก เพราะมีลานกว้าง ด้านบนที่เปิดให้เห็นมุมมองจากจุดสูงสุดของดอยได้ แบบ 360 องศา สามารถขับรถโฟวิลขึ้นไปได้เกือบถึง ยอดดอย แล้วเดินเท้าต่ออีกไม่ถึง 1 กิโลเมตรเท่านั้น จุดเด่นคือสะพานไม้ทสี่ ร้างเอาไว้ให้เดินดูววิ รอบๆ ด้าน มีต้นเดียวดาย ที่เป็นต้นไม้ใหญ่เพียงต้นเดียว และ บริเวณยอดดอยเป็นพืน้ หญ้าเรียบโล่งสามารถกางเต็นท์ นอนชมดาวยามค�่ำคืนได้อย่างดี

น�้ำตกที่ใหญ่

เป็นอันดับ 6 ของเอเชีย น�ำ้ ตกทีลอซู ภาพจากเพจ ดีแต่เที่ยว

ที่ นี่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เป็ น น�้ ำ ตกที่ มี ค วามยิ่ ง ใหญ่ ท่ี สุ ด ใน ประเทศไทยและว่ากันว่าใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของเอเชีย โดยมีความกว้างของตัวน�ำ้ ตกประมาณ 500 เมตร และ มีความสูงอยู่ที่ 300 เมตร สมัยก่อนนั้นการเดินทางมา ที่นี่ค่อนข้างล�ำบากเนื่องจากต้องบุกป่าฝ่าดงกันพอ สมควรเพราะต้องล่องแพไม้ไผ่เป็นเวลานานรวมถึงต้อง พักนอนกันในป่าก่อนหนึ่งคืน แต่ปัจจุบันนี้ถือว่าค่อน ข้างสบายเพราะมีการตัดเส้นทางถนนเข้าไปถึงบริเวณ ใกล้น�้ำตก ในช่วงฤดูฝนจะเป็นช่วงที่นำ�้ ตกจะสวยงาม ยิ่งใหญ่ที่สุดเพราะมีน�้ำมาก TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

9/7/2563 10:18:26


40

.indd 40

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:18:36


อลังการน�้ำตก 97 ชั้น

ใกล้ใจกลางเมือง น�้ำตกพาเจริญ น�้ำตกที่อยู่ใกล้ตัวเมืองมากที่สุดแห่งหนึ่ง จึงมีผู้คน แวะเวียนไปพักผ่อนบริเวณน�้ำตกแห่งนี้กันไม่ขาดสาย ไฮไลท์ของน�ำ้ ตกนีอ้ ยูท่ กี่ ารเป็นน�ำ้ ตกซึง่ มีชนั้ หินลดหลัน่ กันไปมาสวยงามถึง 97 ชัน้ น�ำ้ ตกนีจ้ งึ ไม่ใช่นำ�้ ตกทีส่ งู ชัน อันตรายและสามารถลงเล่นน�ำ้ ได้ในหลายจุด ตัวน�ำ้ ตก ตัง้ อยูไ่ ม่ไกลจากทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาตินำ�้ ตกพาเจริญ จึงเดินทางง่ายและมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกสบายพอ สมควร เส้นทางเดินชมน�้ำตกสบายๆ อยู่ช่วงตอนล่าง ถึงตอนกลาง และช่วงสูงขึน้ ไปก็ตอ้ งใช้ทกั ษะการปีนป่าย กันนิดหน่อยส�ำหรับผู้รักการผจญภัย

ชื่นชมทิวทัศน์ความงาม สะพานสมโภช กรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี

สะพานแขวนข้ามแม่นำ�้ ปิง ทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ร่วมฉลอง สมโภชน์กรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี มีความยาวโดย รวม 700 เมตร บริเวณใกล้เคียงมีการจัดท�ำเป็นสวน สุขภาพและสวนสาธารณะ ทีผ่ คู้ นในท้องถิน่ นิยมใช้เพือ่ พักผ่อนหย่อนใจ ถ้ามาเดินเล่นบนสะพานนี้ในตอน กลางวันจะเห็นตัวสะพานสีสนั สดใสและทิวทัศน์งดงาม โดยรอบ แต่ถา้ มาในช่วงค�ำ่ จะเห็นความสวยทีต่ า่ งไปอีก แบบ เพราะมีการประดับไฟสวยงามมาก

น�้ำตกรูปหัวใจในกลางป่า น�้ำตกปิตุ๊โกร

น�ำ้ ตกแห่งนีเ้ มือ่ มองจากระยะไกลจะมีรปู ร่างคล้าย รูปหัวใจอยู่ในกลางป่า ซึ่งทางไปยังน�ำ้ ตกแห่งนี้ ต้องใช้ ความเพียรเป็นอย่างมาก เพราะต้องเดินบุกป่าฝ่าดงกัน ประมาณ 8 กิโลเมตร ใช้เวลาประมาณ 4-5 ชั่วโมง เนื่องจากน�้ำตกนี้อยู่บนดอยเทือกเขาสามหมื่น ในเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง และอยู่ในความสูงประมาณ 500 เมตรเลยทีเดียว

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

9/7/2563 10:18:39


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมณีบรรพตวรวิหาร พระครูเมธีวรคุณ (ฉลวย กาญฺจโน ป.ธ.3) เจ้าอาวาสวัดมณีบรรพตวรวิหาร วัดมณีบรรพตวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 289 บ้านชาแก้ว ถนนพหลโยธิน ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 13 ไร่ 1 งาน 38.50 ตารางวา

42

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 42

30/6/2563 14:43:28


อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่อกับหนองน�ำ้ มณีบรรพต ทิศใต้ ติดต่อกับทางสาธารณะ และโรงพยาบาลตาก ทิศตะวันออก ติดต่อกับถนนพหลโยธิน ทิศตะวันตก ติดต่อกับหนองน�ำ้ มณีบรรพต

อาคารเสนาสนะต่างๆ

พระแสนทอง

พระพุทธรูปประจ�ำพระอุโบสถ

1. พระอุโบสถ ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร สร้าง พ.ศ. 2513 เป็นอุโบสถหลังใหม่ 2. พระวิหาร จ�ำนวน 2 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2522 3. หอสวดมนต์ ขนาดกว้าง 8.30 เมตร ยาว 13 เมตร 4. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 13 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 ชั้น 2 หลัง นอกจากนี้ยังมีหอระฆัง หอไตร ศาลาเอนกประสงค์ และ ฌาปนสถาน ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในพระอุโบสถและพระพุทธรูป ทองค�ำ นาค เงิน ปางต่างๆ จ�ำนวน 15 องค์ - พระประธานในพระวิหาร คือ หลวงพ่อแสนทอง ปางปฐมเทศนา พระพุทธบาทจ�ำลอง - พระสถูปเจดีย์หรือพระธาตุเจดีย์ เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2405 ฐานกว้าง 4 วา สูง 8 วา ลักษณะคอระฆัง ทรงกลมแบบหงสาวดี

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 43

43

30/6/2563 14:43:41


วั ด มณี บ รรพตวรวิ ห าร สร้ า งขึ้ น เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ ป ระมาณปี พ.ศ. 2390 เดิ ม เรี ย กว่า “วัดเขาแก้ว” คงจะเรียกกันตามลักษณะภูมิประเทศที่ตั้งวัดที่เป็นภูเขาและมีแก้วสีขาวหรือ หินเขี้ยวหนุมานอยู่มาก การสร้างวัดในระยะแรกนั้นได้มีหลวงพ่อเณร หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “ขรัวเณร หรือขรัวตาเณร” มาอยู่พ�ำนักเป็นรูปแรก การบูรณะพัฒนาวัดในปี พ.ศ. 2435 ท่านเผือกเศรษฐีเจ้าของตลาดในจังหวัดสุโขทัย ได้มาท�ำการก่อสร้างพระอุโบสถและได้ท�ำการ ก่อสร้างเสนาสนะอื่นอีก วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2436 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 24 เมตร ยาว 24 เมตร ได้รับการสถาปนาให้เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหารนับตั้งแต่วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการลง วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2505

44

พระครูเมธีวรคุณ (ฉลวย กาญฺจโน ป.ธ.3) เจ้าอาวาสวัดมณีบรรพตวรวิหาร

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 44

30/6/2563 14:43:48


วัดมณีบรรพตวรวิหาร มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมเปิดสอนทั้งแผนกธรรมและบาลี นับตั้งแต่ พ.ศ.2467 มีโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปิด พ.ศ.2525 มีโรงเรียนประถมศึกษาของทางราชการตั้งอยู่ด้วย มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา 20 รูป สามเณร 5 รูป ผู้ช่วยเจ้าอาวาส มี 1 รูป คือ พระครูศรีคีรีรัตน์ เจ้าอาวาส มี 14 รูป คือ รูปที่ 1 หลวงพ่อเณร, รูปที่ 2 พระอาจารย์อินทร์, รูปที่ 3 พระอาจารย์อ�่ำ, รูปที่ 4 พระอาจารย์อิน, รูปที่ 5 พระอาจารย์แจ้ง, รูปที่ 6 พระอาจารย์พรหม, รูปที่ 7 พระอาจารย์สอน, รูปที่ 8 พระอารย์ทนั ,รูปที่ 9 พระอาจารย์คำ� , รูปที่ 10 พระอาจารย์ภ,ู่ รูปที่ 11 พระปลัดจิ๋ว, รูปที่ 12 พระวิสุทธิสมณาจารย์ ( ตุ่น พุทฺธสโร), รูปที่ 13 พระวิสุทฺธิสมณาจารย์(เบี้ยว พุทฺธสโร) รูปที่ 14 พระวิบูลสิทธิคุณ (บุญมี เมธิโก) และ รูปที่ 15 พระครูเมธีวรคุณ(ฉลวย กาญฺจโน ป.ธ.3) ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ปีพ.ศ.2535 จนถึงปัจจุบัน

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 45

45

30/6/2563 14:43:57


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดชัยชนะสงคราม (ท่าแค) พระครูโสภณชยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดชัยชนะสงคราม (ท่าแค) / เจ้าคณะอำ�เภอเมืองตาก ท�ำบุญไหว้พระ สักการะหลวงพ่อโตศักดิ์สิทธิ์ วัดชัยชนะสงคราม (ท่าแค) ตั้งอยู่ที่บ้านท่าแค ถนนไทยชนะ ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก

วัดชัยชนะสงคราม สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2258 เดิมชื่อ วัดท่าชัย หรือวัดดอนท่าชัย แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า วัดท่าแค ตาม ชื่อหมู่บ้าน วัดนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ที่กองทัพได้รับชัยชนะใน การสู้รบกับข้าศึก ด้านหลังวัดมีคันคูซึ่งสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ มีรับสั่งให้ทหารขุดดิน ท�ำคันคูป้องกันข้าศึก พื้นที่ที่ได้ขุดลงไปกลาย เป็นหนองน�ำ้ เรียกว่า หนองคา ยังมีปรากฏอยู่ พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบลุม่ มีก�ำแพงล้อมรอบบริเวณวัด หน้าวัดอยู่ทางด้านทิศตะวันตก มีประตู ใหญ่สองประตู เสนาสนะประกอบด้วยอุโบสถกว้าง 8.50 เมตรยาว 19 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2520 ศาลาการเปรียญ กว้าง 22.50 เมตรยาว 24.50 เมตร สร้างต่อเติมเมื่อปี พ.ศ.2515 หอสวดมนต์เป็นอาคารสองชั้น สร้าง เมื่อปี พ.ศ.2525 พระประธานในอุโบสถเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีสององค์ คือ หลวงพ่อโต เรียกหลวงพ่อสองพี่น้อง 46

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 46

30/6/2563 13:04:06


หลวงพ่อโต แห่งวัดชัยชนะสงคราม ได้รับการบอกเล่าตามหลัก ฐานประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดย นายสมศักดิ์ สะมะโน หัวหน้ากลุ่ม อ�ำนวยการและประสานงาน ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดตาก ในฐานะปราชญ์ พื้ น บ้ า นของเมื อ งตาก ว่ า องค์ ห ลวงพ่ อ โต ที่ ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถ ณ วัดชัยชนะสงครามแห่งนี้ สร้างขึ้น ราวปีพุทธศักราช 2299 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นหลวงยกกระบัตร เจ้าเมืองตาก พระองค์ทรงสร้าง ต�ำหนัก สวนม่วง ปัจจุบันต�ำหนักสวนม่วงนี้อยู่ที่ต�ำบลป่ามะม่วง ฝั่งตะวันตกของแม่น�้ำปิงตรงข้ามกันซึ่งในสมัยนั้นพระองค์ได้ทรง ท�ำนุบ�ำรุงสร้างวัดวาอารามหลายแห่งและที่วัดดอนท่าชัย หรือวัด ชนะชัยสงคราม พระองค์ทรงโปรดให้สร้างพระอุโบสถและพระ ประธานในอุโบสถขึ้น ชาวบ้านขนานนามว่า หลวงพ่อโต จากนั้น ไม่เคยมีผู้ใด บูรณปฏิสังขรณ์เพราะยุ่งกับสงคราม ไทย-พม่า จึงเป็น เหตุให้วัดถูกทิ้ง รกร้างว่างเปล่าเป็นเวลานาน จนอุโบสถเหลือเพียง แต่ผนังตึก 4 ด้าน ส่วนองค์หลวงพ่อโตถูกน�้ำฝนชะท�ำให้สึกกร่อน

ต่อมาเมื่อราวปี พ.ศ. 2449 พระอธิการยิ้ม เจ้าอาวาสวัดไผ่ล้อม พระครูเจ้าคณะแขวง กิง่ อ�ำเภอเชียงเงิน พร้อมด้วยพระศักดาเรืองฤทธิ์ เจ้าเมืองตาก พร้อมศรัทธาพุทธศาสนิกชนชาวบ้านร่วมกันบูรณะ พระอุ โ บสถและซ่ อ มแซมองค์ ห ลวงพ่ อ โต ตกแต่ ง ให้ รู ป ทรงของ หลวงพ่อโต ดีดังเดิม ดังที่เห็นในปัจจุบันและได้ก่อสร้างเสริมอาสนะ หลวงพ่อโต กว้างขวางออกไปอีก เมื่ อ ซ่ อ มเสร็ จ ในปี เ ดี ย วกั น นี้ ได้ มี พ ่ อ เลี้ ย งเป็ น ชาวเชี ย งใหม่ ได้ล่องเรือบรรจุพระพุทธรูปมาจอดที่ท่าน�้ำหน้าวัดชัยชนะสงคราม แล้วขึ้นมานมัสการหลวงพ่อโตในโบสถ์ เห็นมีพระประธานองค์เดียว จึงมีจิตศรัทธาพระพุทธรูป สมัยเชียงแสน สิงห์สาม ที่บรรทุกมาใน เรือหรือพระสองพี่น้อง เนื้อทองสัมฤทธิ์ถวายไว้ในโบสถ์ข้างๆ องค์ หลวงพ่อโตซ้ายและขวา จวบจนปัจจุบัน TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 47

47

30/6/2563 13:04:19


พระครูโสภณชยาภรณ์ ฉายา ยโสธโร อายุ 54 พรรษา 33 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปริญญาตรี พธ.บ. รป.ม วัดชัยชนะสงคราม ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก สถานะเดิม 2 ชื่อ มนู นามสกุล จิตรสว่าง เกิดวัน 4 ฯ 12 ค�่ำ ปีมะเส็ง วันที่ 26 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2508 บิดาชื่อนายเจตน์ จิตรสว่าง มารดาชื่อ นางสนั่น จิตรสว่าง บ้านเลขที่ 7 หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองบัวใต้ อ�ำเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก อุปสมบท 14 วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2531 ตรงกับวัน 5 ฯ 5 ค�่ำ ปีมะโรง ณ พัทธสีมาวัดชัยชนะสงคราม ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก พระอุปัชฌาย์ ชื่อพระครูวิสุทธิธรรมประยุต วัดเชียงทอง ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก วิทยฐานะ พ.ศ. 2532 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษานั ก ธรรมชั้ น ตรี ส� ำ นั ก เรี ย นคณะ จังหวัดตาก พ.ศ. 2533 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษานั ก ธรรมชั้ น โท ส� ำ นั ก เรี ย นคณะ จังหวัดตาก พ.ศ. 2534 ส�ำเร็จการศึกษานักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนคณะ จังหวัดตาก พ.ศ. 2542 ส�ำเร็จการศึกษาระดับ 5 (ม.6) จากศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน จังหวัดล�ำพูน พ.ศ. 2553 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญาญาตรี พุทธศาสนบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พธ.บ.) พ.ศ. 2556 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญาญาโท รัฐศาสตรมหา บัณฑิต มหาวิทยาลัยมรามค�ำแหง ( รป.ม. ) 48

4

งานปกครอง พ.ศ. 2535 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดชัยชนะสงคราม ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก พ.ศ. 2536 เป็นเจ้าอาวาสวัดชัยชนะสงคราม ต�ำบลเชียงเงิน อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก พ.ศ. 2536 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ. 2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมือง ตาก - กิ่งวังเจ้า พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลหัวเดียด -ป่ามะม่วง พ.ศ. 2546 ได้รับแต่งตั้งเป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองตาก - กิ่งวังเจ้า พ.ศ. 2549 ได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองตาก พ.ศ. 2552 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองตาก สมณศักดิ์ พ.ศ. 2543 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท ในราชทินนาม ที่ พระครูโสภณชยาภรณ์ (จร.ชท.) พ.ศ. 2552 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญา บัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท ในราชทินนามเดิม (จอ.ชท.) (ปรับพัด ตามต�ำแหน่ง) พ.ศ. 2556 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญา บัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก ในราชทินนามเดิม (จอ.ชอ.)

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 48

30/6/2563 13:04:22


งานเทศน์มหาชาติ

งานประจ�ำปี ไหว้องค์หลวงพ่อโตศักดิ์สิทธิ์

ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดชัยชนะสงคราม

1. พระอาจารย์เฉื่อย 2. พระครูพัฒ 3. พระครูธรรมรสเมธี 4. พระอาจารย์โพธิ์ 5. พระอาจารย์จันทร์ 6. พระอธิการเย็น 7. พระอธิการค�ำหล้า 8. พระอธิการเลื่อน

9. พระอาจารย์กล้วย 10. พระอาจารย์ประสิทธิ์ 11. พระอาจารย์ย้วน 12. พระครูธรรมานุวัตร 13. พระอธิการสุธรรม สุธมฺโม พ.ศ. 2524 – 2531 14. พระอธิการวาส ปญฺญาธโร พ.ศ. 2532 – 2534 15. พระครูโสภณชยาภรณ พ.ศ. 2535 ถึงปัจจุบัน TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 49

49

30/6/2563 13:04:33


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดกลางสวนดอกไม้ พระอาจารย์ ประสิทธิ์ ธมฺมธโร เจ้าอาวาสวัดกลางสวนดอกไม้ วัดในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช อยุธยาตอนปลาย

วัดกลางสวนดอกไม้ ตั้งอยู่เลขที่ 77 หมู่ 1-2 ต�ำบลแม่ท้อ อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก มีพื้นที่ด้านทิศตะวันตก ติดกับเขตโบราณสถาน วัดดอยข่อยเขาแก้ว เริ่มเกิดเป็นวัดขึ้นมาเมื่อสมัยอยุธยาตอนปลาย ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก่อนปี พ.ศ.2310 พระองค์ ถูกแต่งตั้งมาเป็นเจ้าเมืองตาก ได้ท�ำการเสี่ยงทายพระบารมีของพระองค์แล้ว ได้สร้างเจดีย์เสี่ยงทายไว้เป็นอนุสรณ์ พร้อมปลูกต้นโพธิ์ไว้เป็น ที่ระลึก หลังจากนั้นจึงเกิดเป็นวัดมีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษาตลอดมา

50

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 50

30/6/2563 14:53:34


จนกระทั่งมีการส�ำรวจวัดทั่วราชอาณาจักรปี พ.ศ.2459 ทาง ราชการได้ส�ำรวจขึ้นทะเบียนไว้ 2 วัด ด้วยกัน คือ วัดช่อยเขาแก้ว มีเนื้อที่ 80 ไร่เศษ ขึ้นทะเบียนวัดร้าง ส่วนวัดที่มีพระสงฆ์จ�ำพรรษา อยู่ชื่อวักลางสวนดอกไม้ มีเนื้อที่ 7 ไร่เศษ ต่อมาปี พ.ศ.2540 กว่า พุทธศาสนิกชนได้พร้อมใจกันซื้อที่ดินด้านทิศใต้ของวัดเพิ่มเติมได้อีก จนถึงปัจจุบันวัดกลางสวนดอกไม้ มีเนื้อที่ตั้งวัด 24 ไร่เศษ

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 51

51

30/6/2563 14:53:49


พระอาจารย์ ประสิทธิ์ ธมฺมธโร เจ้าอาวาสวัดกลางสวนดอกไม้

ล�ำดับเจ้าอาวาส

วัดกลางสวนดอกไม้นับตั้งแต่ พ.ศ.2459 ที่ส�ำรวจขึ้นทะเบียนวัด จนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ.2563 รูปที่ 1 พระสุนันต๊ะ รูปที่ 2 พระอาจารย์ ลา รูปที่ 3 พระอาจารย์ บุญถึง รูปที่ 4 พระอาจารย์ พรหม รูปที่ 5 พระอาจารย์ติ๊บ รูปที่ 6 พระอาจารย์พุฒ รูปที่ 7 พระอาจารย์ สมบูรณ์ รูปที่ 8 พระอาจารย์ ประชุม วิเสฏโฐ รักษาการอยู่ปี พ.ศ.2526 รูปที่ 9 พระอาจารย์ไพรัช รักษาการอยู่ปี พ.ศ.2529 รูปที่ 10 พระอาจารย์ ประสิทธิ์ ธมฺมธโร รักษาการอยู่ปี พ.ศ. 2533 และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ.2536 จวบจนถึง ปัจจุบัน

52

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 52

30/6/2563 14:53:57


เจดีย์เสี่ยงทายพระบารมี

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงสร้างสมัยด�ำรงพระยศเป็นเจ้าเมืองตากประมาณก่อนปี พ.ศ.2310 เป็นอนุสรณ์การเสี่ยงทาย พระบารมี ดังมีค�ำสัตยาธิษฐานกล่าวไว้ในพงศาวดารว่า "หากพระองค์บุญบารมีจะได้ถึงซึ่งบรมสุขแล้วไซร้ ขอให้ขว้างไม้เคาะระฆังถูกจ�ำเพาะ ท่อนกลางของถ้วยแก้วแตกออกเป็นสองส่วนโดยขอให้ลูกแก้วอยู่ในสภาพสมบูรณ์" การเสี่ยงทายครั้งนั้นเป็นที่มหัศจรรย์จนเป็นแซ่ซ้อง สรรเสริญของพุทธศาสนิกเป็นอันมาก พระองค์จึงน�ำลูกแก้วพร้อมพระสารีริกธาตุมา สร้างพระเจดีย์บรรจุไว้เป็นอนุสรณ์แห่งการเสี่ยงทาย ในครั้งนั้น

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 53

53

30/6/2563 14:54:07


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมะเขือแจ้ พระอธิการมโน อริยวํโส เจ้าอาวาสวัดมะเขือแจ้ / รองเจ้าคณะตำ�บลระแหง วัดมะเขือแจ้ ตั้งอยู่เลขที่ 451 บ้านเสาสูง ถนนมหาดไทยบ�ำรุง ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดิน ตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ 3 งาน 21 ตารางวา

54

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 54

30/6/2563 13:54:19


อาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ ยาว 158 เมตร ติดต่อกับถนนซอยมหาดไทยบ�ำรุง ทิศใต้ ยาว 158 เมตร ติดต่อกับถนนท่าเรือ ทิศตะวันออก ยาว 99 เมตร ติดต่อกับถนนเทศบาลไปเกาะลอย ทิศตะวันตก ยาว 77 เมตร ติดต่อกับถนนมหาดไทยบ�ำรุง โดย มีโฉนดที่ดินเลขที่ 1865 เป็นหลักฐาน พื้นที่ตั้งจัดเป็นที่ราบมีหมู่บ้านประชาชนล้อมรอบ 3 ทิศ คือ ทิ ศ เหนื อ ทิ ศ ใต้ และทิ ศ ตะวั น ตก ทางวั ด ได้ ส ร้ า งก� ำ แพงไว้ โ ดย รอบหน้าวัดในอดีต อยู่ทางทิศตะวันตก มีประตูเข้าออก 2 ประตู แต่ปัจจุบันหน้าวัดอยู่ทางทิศตะวันออก มีประตูเข้าออก 1 ประตู

อาคารเสนาสนะ

- อุโบสถ กว้าง 20 เมตร ยาว 26 เมตร บูรณะ พ.ศ. 2470 ในสมัยหลวงพ่อพระครูวสิ ทุ ธิสมณาจารย์ (สิน พุทธฺ สโร) ครัง้ หนึง่ และ บูรณะ พ.ศ. 2537 อีกครั้งหนึ่ในสมัยของพระอธิการจันทร์ ฐานทินฺโน - ศาลาการเปรียญ กว้าง 13 เมตร ยาว 29 เมตร สร้าง พ.ศ. 2536 หอสวดมนต์กว้าง 10 เมตร ยาว 10 เมตร สร้างพ.ศ. 2517 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 3 มุข - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - วิหาร 1 หลัง - ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง - หอระฆัง 1 หลัง ส� ำ หรั บ ปู ช นี ย วั ต ถุ มี พระประธานในอุ โ บสถเนื้ อ ทองเหลื อ ง ปางมารวิชัย ซึ่งเป็นพระพุทธรูป ที่เก่าแก่ของวัดซึ่ง ในสมัยนั้นทาง วัดมะเขือแจ้ ได้สร้างอุโบสถขึ้นมา ยังไม่มีพระประธานในอุโบสถ จึงได้รับความเมตตาจากท่านหัวเมือง หรือ พ่อเมืองตาก ถวายให้ ประดิษฐานเป็นพระประธานในอุโบสถ และพระพุทธรูปอื่นอีกมี ปางมารวิชัย 11 องค์ ปางห้ามญาติ 2 องค์, ปางสมาธิ 2 องค์ วัดมะเขือแจ้ สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2400 เดิ ม เรี ย กว่ า “วั ด ใหม่ ” คงจะหมายถึ ง วั ด ที่ ส ร้ า งใหม่ ใ นสมั ย นั้ น ประชาชนร่วมใจกันจัดสร้างวัดนี้ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2433 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 26 เมตร TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 55

55

30/6/2563 13:54:31


พระอธิการมโน อริยวํโส เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน

ล�ำดับเจ้าอาวาส มี 9 รูป

1. เจ้าอธิการข�ำ พ.ศ. ---- ถึง - 2434 2. พระครูวิสุทธิสมณาจารย์ สิน พุทฺธสโร พ.ศ. 2434 - 2479 3. พระอธิการไสย เกสโร พ.ศ. 2479 - 2509 4. พระอธิการบุญ ฐานทตฺโต พ.ศ. 2511 - 2528 5. พระอธิการจันทร์ ฐานทินฺโน พ.ศ. 2528 - 2543 6. พระอธิการสว่าง อนาลโย พ.ศ. 2543 - 2546 7. พระอธิการตติยะ ขนฺติสาโร พ.ศ. 2547 - 2550 8. พระอธิการทองหล่อ อธิปญฺโญ พ.ศ. 2550 - 2558 9. พระอธิการมโน อริยวํโส พ.ศ. 2558 ถึงปัจจุบนั

56

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 56

30/6/2563 13:54:39


ประวัติพระครูวิสุทธิสมณาจารย์ (หลวงพ่อสิน พุทฺธสโร)

พระครูวิสุทธิสมณาจารย์ (หลวงพ่อสิน พุทฺธสโร) อดีตเจ้าคณะ จังหวัดตากและอดีต เจ้าอาวาสวัดมะเขือแจ้ ต�ำบลระแหง อ�ำเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก เดิมชื่อ สิน นามสกุล บัวจันทร์ เกิดที่ อ�ำเภอ เมืองตาก จังหวัดตาก เมื่อ วันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2409 ปีขาล เป็นบุตรของ นายป้อม และนางเบี้ยว บัวจันทร์ เมื่อตอนเด็ก บิดา และมารดาได้พาไปฝากให้เล่าเรียนกับพระอาจารย์ข�ำ ซึ่งเป็นสมภาร วัดมะเขือแจ้ จนกระทั่งอายุได้ 15 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณรจนถึง อายุ 19 ปี ก็ได้ลาสิกขาไปท�ำราชการที่ศาลากลางจังหวัด พออายุ ครบ 20 ปีบริบรู ณ์ จึงได้อปุ สมบทในปี พ.ศ.2429 ณ วัดศรัทธาราษฎร์ (ไม่ปรากฏจังหวัด ) โดยมีท่านพระอาจารย์มาก เป็นอุปัชฌาย์ พระอาจารย์พรม เป็น กรรมวาจา และพระอาจารย์ ข�ำ สมภาร วัดมะเขือแจ้ เป็นอนุสาวนาจารย์ ได้รบั ฉายยาว่า “พุทธฺ สโร” ภายหลัง บวชแล้ ว ก็ ไ ด้ ม าจ� ำ พรรษาอยู ่ กั บ พระอาจารย์ ข� ำ ที่ วั ด มะเขื อ เเจ้ ซึ่งเป็นบูรพาจารย์ท่านแรก และได้ศึกษา มูลกัจจายน์พระธรรมบท กับพระอาจารย์ข�ำ เป็นพื้นฐานเบื้องต้น แล้วได้ย้ายไปศึกษาเพิ่มเติม กับพระอาจารย์เถื่อน วัดโพธาราม จังหวัดนครสวรรค์ จนกระทั่งมี ความรู ้ ค วามสามารถพอจะแปลหนั ง สื อ ได้ แต่ มิ ไ ด้ เข้ า สอบแต่ ประการใด ต่ อ มาภายหลั ง ก็ ไ ด้ ก ลั บ มาดู แ ลท่ า นพระอาจารย์ ข� ำ สมภารวัดมะเขือแจ้ จนกระทั่งท่านพระอาจารย์ข�ำ มรณภาพลง ท่านภิกษุสิน พุทฺธสโร ก็ได้เป็นสมภารวัดมะเขือแจ้ ต่อมาตั้งแต่ปี

พ.ศ. 2434 ก็ได้ท�ำหน้าที่สมภารเรื่อยมาจนกระทั่ง ปีพ.ศ. 2444 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระอุปัชฌาย์ ปี พ.ศ. 2457 ได้รับพระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เป็ น พระครู บ ริ ห ารสมณพรต ปี พ .ศ. 2460 ได้ รั บ พระราชทานสมณศักดิ์ ขึ้นเป็นพระครูวิสุทธิสมณาจารย์ ชินศาสน บรรหารสังฆวาหะ ต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดตาก ในระหว่างด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดตากได้บ�ำเพ็ญประโยชน์เพื่อกิจพระศาสนา ไว้มากมายกระทั่ง ปี พ.ศ. 2478 ได้รับพระบรมราชานุญาติ ยกฐานะ เป็นเจ้าคณะจังหวัดกิตติมศักดิ์ และอีก 1 ปีต่อมา ถึงการอวสานสมัย ท่านได้มรณภาพด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2479 สิริอายุ 70 ปี 50 พรรษา

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 57

57

30/6/2563 13:54:44


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดวังม่วง พระครูสุนทรมันตาคม เจ้าอาวาสวัดวังม่วง โครงการปลูกป่าอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ วัดวังม่วง วัดวังม่วง ตั้งอยู่เลขที่ 116 บ้านวังม่วง หมู่ที่ 5 ต�ำบลไม้งาม อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์ภาค 5 มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 4 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมน�้ำฝั่งแม่น�้ำปิง และมีถนนผ่านการคมนาคมสะดวก

วัดวังม่วง สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ ประมาณ พ.ศ. 2395 มีนามตามชื่อบ้าน ประชาชนร่วมใจกันจัดสร้างวัดนี้เพื่อ เป็นที่บ�ำเพ็ญกุศลประจ�ำหมู่บ้านของ ตน ก่อนหน้านี้วัดมีสภาพทรุดโทรมขาด การทะนุบ�ำรุง ต่อมาในปีพ.ศ. 2517 เป็ น ต้ น มาสมั ย ที่ พ ระอธิ ก ารไพฑู ร ย์ มนฺตาคโม มารักษาการเจ้าอาวาส ได้ ท�ำการบูรณะพัฒนาเป็นอันมาก และ จะเป็นวัดเจริญรุ่งเรืองต่อไป ส�ำหรับ พระภิกษุอยู่จ�ำพรรษาประจ�ำมี 2 รูป สามเณร 3 รูป 58

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 58

2/7/2563 11:17:01


ขอเชิญนมัสการ สักการบูชาหลวงพ่อศิลาแลงสามพี่น้อง พระคู่บ้านเมืองตาก อันศักดิ์สิทธิ์ และพระธาตุเจดีย์ศรีสุนทร ณ วิหารหลวงพ่อศิลาแลง เขตพุทธธรรม บริเวณสวนวิเวกธรรม วัดวังม่วง

วิหารหลวงพ่อศิลาแลงสามพี่น้อง

สร้างเมื่อปี พ.ศ.2551 แบบทรงล้านนาประยุกต์สร้างด้วยศิลาแลง (ศิลาด�ำ – แดง – ขาว 3 องค์ ) อายุร่วมหนึ่งพันปีเดิมประดิษฐาน อยู่ที่ อ�ำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่ ณ โบราณสถานรกร้าง และได้อัญเชิญมาเมื่อ พ.ศ.2535 จนถึงปัจจุบัน

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 59

59

2/7/2563 11:17:14

10 11 12 13 14 15


สิ่งที่ส�ำคัญภายในวัดม่วง สวนอุเทสิกเจดีย์

ก่อนปี พ.ศ. 2516 ทางวัดวังม่วงยังไม่มอี โุ บสถประกอบสังฆกรรมสงฆ์ ได้อาศัยเขตวิสุงคามสีมาท�ำสังฆกรรม โดยสร้างฐานอุโบสถขึ้นแต่ ไม่มีโรงอุโบสถสามารถท�ำสังฆกรรมได้ เช่น อุปสมบทนาค และ สั ง ฆกรรมอื่ น ๆ ลั ก ษณะของเขตวิ สุ ง คามสี ม านี้ ได้ ต กแต่ ง เป็ น เกาะกลางน�้ำ ชาวบ้านเรียก อุโบสถน�้ำ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2536 โบสถ์น�้ำได้ถูกสร้างใหม่เป็นอุโบสถหลังปัจจุบันและได้จ�ำลองไว้เป็น สวนอุ เ ทสิ ก เจดี ย ์ เหมื อ นเดิ ม ทุ ก ประการ แต่ ย ่ อ ขนาดลงมาให้ เหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่ รวมทัง้ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระปางประทานพร และนาคปรกไว้สักการบูชาของชาวพุทธ

พระธาตุเจดีย์ศรีสุนทร และหลวงพ่อขาว

สร้ า งขึ้ น โดยเจ้ า อาวาส(พระครู สุ น ทรมั น ตาคม) โดยด� ำ ริ ว ่ า พระธาตุเจดีย์ศรีสุนทรและพระพุทธธานาธิบดี ศรีสุนทร เป็นทั้งศูนย์ รวมจิ ต ใจและที่ เ คารพสั ก การะของชาวพุ ท ธโดยมี นั ย ยะของการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งหลายในพื้นที่เขาพุทธธรรมบริเวณโดย รอบประมาณ 700 ไร่ พร้อมกับเป็นสถานที่ประดิษฐานพระเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีกธาตุที่ได้รับประทานจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.2537 – 2538

ศาลาธรรมวิโมกข์ 60

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 60

2/7/2563 11:17:21


อุโบสถ

สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 ใช้เวลาการก่อสร้างรวม 1 ปี โดย คุณสุรี ทังเกษมวัฒนา, คุณราญเสริญ-คุณจิตราพร แตงสุวรรณ เป็น เจ้าภาพ สถาปัตยกรรมร่วมสมัย ไทย-จีน-ยุโรป ออกแบบโดย พระครู สุนทรมันตาคม

สวนวิเวกธรรม

สถานที่ให้อาหารปลาธรรมชาติ บริเวณหน้าวัด

เป็ น สถานที่ ป ฏิ บั ติ ธ รรมวั ด วั ง ม่ ว ง โดยมี พุ ท ธศาสนิ ก ชนที่ เลื่อมใสเรียกสวนวิเวกว่า “สวนโมกข์ แห่งที่ 2” เดิมทีเป็นกุฏิพ�ำนัก ของเจ้ า อาวาส (พระครู สุ น ทรมั น ตาคม) ในช่ ว งปี พ.ศ. 2517 ท่านพระครูได้เข้ามาพ�ำนักใหม่ ได้ท�ำเป็นเพิงพ�ำนักลักษณะคล้าย กระท่อมและสภาพเป็นป่ารกชัฏก่อนจะถูกพัฒนาและปรับเปลี่ยน ให้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมดังเช่นปัจจุบัน ลักษณะเป็นป่าธรรมชาติ ส�ำหรับปฏิบัติธรรมและแสดงพระธรรมเทศนาเป็นสัญลักษณ์ของ ความสงบโดยธรรมชาติ

พระพุทธรูปปางนาคปรก ภายในสวนอุเทสิกเจดีย์

หอระฆัง

กิจกรรมต่าง ๆ ของวัด

ลานจอดรถและจุดชมวิวหน้าวัด

เจ้าภาพจัดพิมพ์

พ.ต.ต วรวิทย์ - ด.ต.หญิง สุมาลี ภิญญาคง พร้อมครอบครัว และ ด.ต.ธรรมนูญ ใจรัญ, นางบุปผา ใจรัญ ขอให้ทกุ ท่านประสบแต่ความสุข ความเจริญ ทัง้ ทางโลกและทางธรรม TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 61

61

8/7/2563 13:29:33


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดดอนมูลชัย วัดพัฒนาตัวอย่าง สืบสานประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม สืบทอดศาสนา ปฏิบัติบูชา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระครูประโชติรัตนากร, ดร. เจ้าอาวาสวัดดอนมูลชัย / เจ้าคณะตำ�บลหัวเดียด ชื่อเดิม วัดส้มป่าข่อย เพราะสถานที่ตั้งวัดเป็นดงป่าไม้ข่อยและเป็นสันดอนที่ลุ่มน�้ำท่วมขัง ต่อมาครูบาเปิ้น พร้อมด้วยคณะศรัทธาชาวบ้าน หัวเดียดได้ช่วยกันน�ำดินทรายมาถมให้สูงขึ้นจึงตั้งชื่อใหม่ว่า “ วัดดอนมูลชัย” สร้างเป็นวัดตั้งแต่ปี พ.ศ.2434 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ.2490

62

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 62

30/6/2563 16:14:25


ความส�ำคัญวัดดอนมูลชัย

1. วัดพัฒนาตัวอย่าง วัดดอนมูลชัยได้มกี ารพัฒนามาอย่างต่อเนือ่ งจนได้รบั การพิจารณา จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง 2. สืบสานประเพณี ในแต่ละปี ทางวัดได้มีการจัดงานบุญประเพณีมาอย่างต่อเนื่อง ทุกๆ ปี งานบุญประเพณีทสี่ ำ� คัญ เช่น งานบุญเข้าพรรษา งานหล่อเทียน ฃงานบุญสลาก เป็นต้น 3. ศิลปะ วัฒนธรรม ปัจจุบัน วัดดอนมูลชัย เป็นแหล่งเรียนรูปวัฒนธรรมของท้องถิ่น โดยมีการจัดแสดงให้เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมศิลปะ ของเก่า วัตถุโบราณ เป็นต้น 4. สืบทอดศาสนา วัดดอนมูลชัย เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลได้มกี ารจัด อบรมเข้าค่าย คุณธรรม จริยธรรม และฝึกปฏิบัติธรรม

ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดดอนมูลชัย

1. พระครูบาเปิ้น ผู้ก่อตั้งวัดร่วมกับชาวบ้านหัวเดียด พ.ศ. 2439 – 2469 2. พระครูนาจอม พ.ศ.2469 – 2475 3. พระอธิการบุญน�ำ ธมฺมธโร พ.ศ.2475 – 2496 4. พระครูสันทัศสุตการ (ครูบาเลื่อน อาจาโร) พ.ศ.2496 – 2522 และเป็นเจ้าคณะต�ำบลในเมือง เขต 2 5. พระอธิการสะอาด กิตติญาโณ พ.ศ.2522 – 2524 6. พระอธิการค�ำมูล เขมจิตโต พ.ศ.2524 – 2532 และเป็นรองเจ้าคณะต�ำบลในเมือง เขต 2 7. พระอุเทน วรธมฺโม รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ.2532 – 2533 8. พระครูประโชติ รัตนากร,ดร. ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ.2533 ถึงปัจจุบัน

พระครูประโชติรัตนากร,ดร.

เจ้าอาวาสวัดดอนมูลชัย เจ้าคณะต�ำบลหัวเดียด

พระครูประโชติรัตนากร,ดร. พุทธศาตรดุษฏีบัณฑิต

พระครูประธชติรัตนากร, ดร. ( ไพโรจน์ รตนโชโต) สกุลเดิม น้อยศิริสุข อุปสมบท เมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2528 ณ พัทธสีมา วัดดอนมูลชัย ต�ำบลหัวเดียด อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก มีพระครู รัตนสีมารักษ์ (เทียบ ติกขญาโณ ) เป็นพระอุปัชฌาย์ ต�ำแหน่งหน้าที่ 1. เจ้าอาวาสวัดดอนมูลชัย พ.ศ.2533 2. เจ้าคณะต�ำบลหัวเดียด พ.ศ.2539 3. พระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2542 4. ประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลหัวเดียด( อปต.) 5. พระธรรมทูต ฝ่ายปฏิบัติการ TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 63

63

30/6/2563 16:14:44


อธิษฐานขอพรพระเจ้าทันใจ สมปรารถนา วัดพระบรมธาตุ วัดเก่าแก่คเู่ มืองตาก ประดุจพระธาตุประจ�ำเมือง ตัง้ อยูบ่ นเนินเขาห่างจากหมูบ่ า้ นประมาณ 1 กิโลเมตร ในเขตหมู่ 1 ต�ำบลเกาะตะเภา อ�ำเภอบ้านตาก เชื่อ กันว่าในองค์พระเจดีย์ซึ่งสร้างโดยมีต้นแบบจากเจ ดีย์ชเวดากองของเมียนมาร์ เป็นที่ประดิษฐานพระ อัฏฐิธาตุภะนะลาตะ พร้อมพระเกศาอีก 4 องค์ ของ พระพุทธเจ้า นอกจากนั้น ด้านในวัดยังมีวิหารซึ่ง เป็นที่ประดิษฐานขององค์พระเจ้าทันใจ พระพุทธ รูปเก่าแก่อายุกว่า 200 ปี ที่ใช้เวลาสร้างจนเสร็จ เพียง 1 วัน 1 คืนเท่านั้น จึงเชื่อกันว่าหากใครมา อธิษฐานขอพรกับท่าน จะส�ำเร็จทันใจสมชือ่ เลยทีเดียว แต่การขอพรให้ศักดิ์สิทธิ์นั้นจะต้องรักษาศีล 5 ให้ บริสุทธิ์ เวลาคิดท�ำสิ่งใด ก็ทำ� ด้วยจิตอันเป็นกุศล มี สมาธิ และปัญญาในการท�ำสิ่งนั้นด้วยอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา ซึ่งเป็นบาทฐาน แห่งความส�ำเร็จก็จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จทุกประการ

มหัศจรรย์จากธรรมชาติ

สู่แรงศรัทธาแห่งพระพุ ทธศาสนา พระธาตุหินกิ่ว วัดพระธาตุหนิ กิว่ ทีด่ อยดินจี่ มีพระธาตุประดิษฐานอยูใ่ นสถูปเจดีย์ ชาวบ้านเรียกว่า “พญาล่อง” ตั้งอยู่บนภูเขา ลักษณะเป็นเจดีย์ทรง มอญขนาดเล็ก สร้างไว้บนก้อนหินด้วยแรงศรัทธาในพระพุทธศาสนา เป็นความมหัศจรรย์จากธรรมชาติ ลักษณะเป็นก้อนหินขนาดใหญ่ตั้ง อยู่บนชะง่อนผากิ่วคอดเหมือนจะขาดออกจากกัน ชาวบ้านเรียกหิน มหัศจรรย์นี้ว่า “เจดีย์หินพระอินทร์แขวน” มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 7 อย่าง ได้แก่ หนึ่ง พระพักตร์งามภายในถ�้ำฆ้องถ�้ำกลอง เป็น พระพุทธรูปที่ ใบหน้างามทีส่ ดุ ในโลก สร้างแบบศิลปะพม่า ประดิษฐานอยูใ่ นถ�ำ้ ฆ้อง ถ�้ำสอง พระธาตุหินกิ่ว (พระ ธาตุหินพระอินทร์แขวน)ประดิษฐานอยู่ บนหินกิว่ ทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกับพระธาตุอนิ ทร์แขวนที่ ประเทศพม่า สาม เจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เป็น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตั้งอยู่เกือบชั้นบน สุดของยอด ภายในเป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของมีค่า เงินรูปี เหรียญตรา และพระพุทธรูปทองค�ำ 5 องค์ สี่ รอยเท้าพระอรหันต์ หรือรอยเท้าคนมีบุญ ห้า พระพุทธรูปปางลีลา หก เมืองลับแล และ เจ็ด เรือโบราณ 200 ปี 64

.indd 64

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:24:27


โบสถ์สไตล์ยุโรป

ประดิษฐานพระพุ ทธรูปสมัยอยุธยา วัดสีตลาราม เดิมชื่อ “วัดน�้ำหัก” เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งในจังหวัดตาก ตั้งอยู่ที่ บ้านจีน ต�ำบลระแหง อ�ำเภอเมือง ตัง้ อยูใ่ จกลางย่านชุมชน มีถนนรอบวัด ด้านหน้าติดกับถนนตากสิน เหตุที่ชาวบ้านเรียกวัดนี้ว่า วัดน�้ำหัก เพราะในสมัยก่อนบริเวณด้านตะวัดตกของวัดเป็นแม่นำ�้ ปิง กระแสน�ำ้ ไหลหักวนเนือ่ งจากเมือ่ ถึงหน้าน�ำ้ หลาก น�ำ้ จากห้วยแม่ทอ้ ซึง่ ไหลแรง มากได้ไหลตัดกระแสน�้ำของน�้ำปิงให้เบนหักมายังท่าน�้ำหน้าวัดนี้ ชาวบ้านจึงนิยมเรียกว่า “วัดน�ำ้ หัก” ต่อมาได้มกี ารถมดินสองฝัง่ แม่นำ�้ ร่องน�้ำเปลี่ยนไปจึงไม่มีคุ้งน�้ำที่มีกระแสน�้ำไหลวนให้เห็นอีก

พระมหาศากยมุณีศรีสรรเพชร

วัดพระพุ ทธบาทดอยโล้น วัดป่าที่ตั้งอยู่ในวงล้อมของธรรมชาติอันเงียบสงบ แวดล้อมร่มรื่น ไปด้วยป่าเขาที่มีแต่สีเขียวของต้นไม้แน่นขนัด ตัววัดตั้งอยู่บนเนินเขา มีจุดเด่นสะดุดตาที่ต้องเห็นมาแต่ไกลได้แก่ องค์พระมหาศากยมุณีศรี สรรเพชร พระพุทธรูปสีขาวสะอาดขนาดใหญ่ หน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 38 เมตร บนเขาด้านในวัดยังมีรอยพระพุทธบาทที่มีการสร้าง มณฑปครอบเอาไว้ ใกล้กันยังมีบ่อน�้ำที่ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นบ่อน�้ำ ศักดิ์สิทธิ์ ว่ากันว่าถ้ามีผู้หญิงเผลอไปตักน�ำ้ เมื่อไหร่ น�้ำในบ่อจะแห้ง เหือดทันตา แต่ถา้ ผูช้ ายเป็นฝ่ายตักก็จะมีนำ�้ ปรากฏขึน้ มาอย่างไม่มวี นั หมด จริงหรือไม่ต้องมาพิสูจน์กันเอง

ประดิษฐาน องค์พระพุ ทธมหามุนี

วัดไทยวัฒนาราม วัดเก่าแก่อกี วัดหนึง่ สไตล์ชาวไทยใหญ่ สถาปัตยกรรมแนวเมียนมาร์ สร้างขึ้น ตั้งแต่ พ.ศ.2400 ในวัดมีวิหารพระพุทธ มหามุ นี ซึ่ ง เป็ น อาคารสี ท องโดดเด่ น สะดุดตา ด้านในเป็นที่ประดิษฐานองค์ พระพุทธมหามุณี ที่สร้างจ�ำลองมาจาก องค์ต้นแบบในเมืองมัณฑะเลย์ ซึ่งเป็น องค์ พ ระศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวตากให้ ค วาม เคารพนั บ ถื อ เป็ น อย่ า งมาก นอกจาก นั้นยังมีพิพิธภัณฑ์พระพุทธศาสนาให้ได้ เดินศึกษาพุทธประวัติและชมความงาม ของพระพุทธรูปเก่าแก่แบบเมียนมาร์กัน ภายในวัดนี้อีกด้วย

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 65

65

9/7/2563 10:24:32


สักการบูชาพระเจ้าแผ่นดินกู้ชาติแห่งสยาม

ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตั้งอยู่บนถนนจรดวิถีถ่อง ศาลนีแ้ ต่เดิมอยูท่ วี่ ดั ดอยเขาแก้วฝัง่ ตรงข้ามกับตัวเมืองจังหวัดตาก ต่อมาใน พ.ศ. 2490 ชาวเมืองเห็นว่าศาลนั้นไม่สมพระเกียรติ จึงช่วยกันสร้างศาลขึน้ ใหม่ พร้อมกับให้กรมศิลปากรหล่อพระบรม รูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชขนาดใหญ่กว่าพระองค์จริงเล็ก น้อย ในพระอิรยิ าบถทีก่ ำ� ลังประทับอยูบ่ นราชอาสน์ มีพระแสงดาบ พาดอยูท่ พี่ ระเพลา ทีฐ่ านพระบรมรูปมีคำ� จารึกว่า “พระเจ้าตากสิน กรุงธนบุรี ทรงพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 2277 สวรรคต พ.ศ. 2325 รวม 48 พรรษา” ศาลนี้เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไป

66

.indd 66

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:24:34


สักการบูชาพระพุ ทธรูปหินอ่อน ศักดิ์สิทธิ์จากพม่า ที่มีขนาดใหญ่องค์ท่ส ี ามในประเทศไทย วัดดอนแก้ว

“พระพุทธรูปหินอ่อน” วัดดอนแก้ว อ�ำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก เป็นพระพุทธรูปหินอ่อน ปางมารวิชัย แกะสลักด้วยหินอ่อน ขนาด หน้าตักกว้าง 1.30 เมตร สูงจากพระแท่นฐานถึงรัศมี 1.60 เมตร ศิลปะ แบบพม่า พระพุทธรูปหินอ่อน วัดดอนแก้ว กล่าวได้ว่าเป็นพระ ประธานองค์เดียวในประเทศไทยที่ท�ำด้วยหินอ่อนที่มีขนาดใหญ่องค์ ทีส่ าม ซึง่ ได้อญ ั เชิญมาจากประเทศพม่าเมือ่ เดือนเมษายน พุทธศักราช 2546 นับเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนชาวจังหวัดตาก และ ชาวจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง รวมถึ ง ชาวพม่ า ให้ ค วามเลื่ อ มใสศรั ท ธา ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถวัดดอนแก้ว

เจดีย์ชนช้างเฉลิมพระเกียรติ พระเจ้ารามค�ำแหงมหาราช เจดีย์ยุทธหัตถี

เจดีย์ยุทธหัตถี หรือ เจดีย์เฉลิมพระเกียรติพระเจ้ารามค�ำแหง มหาราช ชาวบ้านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เจดีย์ชนช้าง ตั้งอยู่บนดอยช้าง ต�ำบลเกาะตะเภา อ�ำเภอบ้านตาก ดอยช้างเป็นเนินดินเล็ก ๆ อยู่ทาง เหนือของดอยพระธาตุไปเล็กน้อย เจดีย์นี้เป็นโบราณสถาน สร้างใน สมัยสุโขทัยมีอายุราว 700 ปีเศษ องค์เจดีย์ยุทธหัตถีอยู่เยื้องกับวัด พระบรมธาตุประมาณ 200 เมตร ลักษณะของเจดียย์ ทุ ธหัตถีเป็นศิลปะแบบสุโขทัย ก่ออิฐถือปูนฐาน กว้าง 12 เมตร เรือนธาตุรูปสี่เหลี่ยมย่อมุมขึ้นไป สูง 16 เมตร เหนือ เรือนธาตุท�ำเป็นล�ำสี่เหลี่ยมย่อมุมตลอดถึงยอดเป็นทรงพุ่มข้าวบิณฑ์

บนยอดประดับฉัตร มีรอ่ งรอยการซ่อมแซมตลอดมา แต่ไม่เสียรูปทรง เดิม ฐานพุ่มมีลายปั้นเป็นรูปหน้าสิงห์สวยงาม หน้าสิงห์ด้านทิศเหนือ ยังสมบูรณ์ ในแต่ละปีจะมีการขุดแต่ง และท�ำความสะอาดรอบเจดีย์ ในช่วงใกล้วันเทศกาล เป็นงานเดียวกับงานไหว้พระธาตุบ้านตาก TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 67

67

9/7/2563 10:24:36


History of buddhism....

วัดพระพุทธบาทดอยโล้น หอบตัวหอบใจ ขึ้นลงบันได 1,460 ขั้น สู่วัดพระพุทธบาทดอยโล้น

68

SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา

.indd 68

30/6/2563 13:26:44


SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 69

69

30/6/2563 13:26:52


สมเด็จมหาสากยะมุณีศรีสรรเพชร

พระพุทธรูปขนาดใหญ่ที่มีพุทธลักษณะงดงาม หน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 38 เมตร

Facebook SBL

70

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

(6

).indd 70

30/6/2563 13:36:41


History of buddhism....

วัดพระพุทธบาทดอยโล้น หอบตัวหอบใจ ขึ้นลงบันได 1,460 ขั้น สู่วัดพระพุทธบาทดอยโล้น วัดพระพุทธบาทดอยโล้น ตั้งอยู่เลขที่ 129 หมู่ 3 ต�ำบลท้องฟ้า อ�ำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก เป็นวัดป่าสายปฏิบัติ อยู่บนเนินเขาท่ามกลาง ป่าไม้ร่มรื่น ภายในบริเวณวัดมีสิ่งที่น่าสนใจ คือ สมเด็จมหาสากยะมุณีศรีสรรเพชร เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ที่มีพุทธลักษณะงดงามหน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 38 เมตร รอยพระพุทธบาท ตั้งอยู่บนยอดเขาสูงมีมณฑป สร้างครอบไว้ในบริเวณเดียวกันยังมีบ่อน�้ำธรรมชาติที่ชาวบ้านถือว่า เป็นบ่อน�้ำทิพย์ เมื่อถึงเดือนเมษายนของทุกปี ช่วงหลังประเพณีสงกรานต์ชาวบ้านจะจัดประเพณีขึ้นเขาไหว้รอยพระพุทธบาท

หลวงพ่อด�ำ ความเป็นมาในการ สร้างองค์หลวงพ่อด�ำนั้น ท่านเจ้าอาวาส ได้ มี โ อกาสไปที่ อิ น เดี ย ได้ เ ห็ น เขาไป กราบพระพุ ท ธองค์ ด� ำ เป็ น พระที่ ศักดิ์สิทธิ์ที่อินเดีย ท่านก็เลยอยากได้มา ประดิ ษ ฐานที่ ไ ทย จึ ง จ้ า งช่ า งแขกให้ แกะสลักด้วยหินแกรนิตด�ำทั้งก้อนจาก อินเดีย แกะแล้วท่านก็ได้อัญเชิญมาที่ไว้ ที่ วั ด พระพุ ท ธบาทดอยโล้ น พอสร้ า ง พระพุทธรูปเสร็จ ก็มกี ารสร้างเจดียข์ นึ้ อีก และท่านเจ้าอาวาสก็พัฒนาวัดเรื่อยมา จนถึงปัจจุบันนี้ TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 71

71

30/6/2563 13:36:54


วัดพระพุทธบาทดอยโล้น ท�ำไมถึงเรียก วัดพระพุทธบาทดอยโล้น ก็เพราะว่าตรงที่พระบาทไม่มีต้นไม้ขึ้นเลย เป็นภูเขาสูงขึ้นไป ไม่มีต้นไม้ ทางเดินขึ้นก็ยากล�ำบาก และไม่มีใครขึ้นอยู่บนดอย จึงท�ำให้รกร้างไป ระยะหนึ่ง ชาวบ้านแถวนั้นเขาจึงเรียกว่า พระพุทธบาทดอยโล้น มณฑปที่ เห็นในปัจจุบนั นีส้ ร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2481 สร้างมณฑปใหม่ ครอบอันเก่าไว้ สมัยก่อนเคยได้ยินเขาเล่าให้ฟังว่า พอออกพรรษา เขาก็จะมาปฏิบัติธรรม กันที่นี่ เพราะเป็นที่สงบวิเวกดี สงบ ไม่มีใครมารบกวน ไปดูในแผนที่ เขาจะมีบอกไว้ว่า วัดพระพุทธบาทดอยโล้น เป็นที่รกร้างและเก่าแก่ท่าน เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันเคยขึ้นมาดูบนนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ.2529 และได้บูรณะ ขึ้ น มาใหม่ อี ก ครั้ ง เมื่ อ ปี เริ่มจากสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ สร้างศาลา ที่พักสงฆ์ พระพุทธรูปองค์ใหญ่สร้างตั้งแต่ปี 2529 ใช้เวลาในการสร้าง ประมาณ 2 ปี จึงแล้วเสร็จ

พระอาจารย์ลมาย ลาภสัมปันโน

เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทดอยโล้น 72

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

(6

).indd 72

30/6/2563 13:37:01


ประวัติพระพุทธบาทดอยโล้น....โดยย่อ พระพุทธบาทดอยโล้นประดิษฐานบนเขาที่มีลักษณะคล้ายช้างหมอบ ซึง่ ปรากฏรอยประทับของพระพุทธบาทเบือ้ งขวาและรอยพระหัตถ์เบือ้ งขวา ของพระพุทธเจ้า โดยรอยพระพุทธบาทมีขนาดความยาว 3.4 เมตร กว้าง 1.4 เมตร รอยพระหัตถ์มีขนาดความยาว 2.6 เมตร กว้าง 1.1 เมตร ประทับลงบนยอดผาหินศิลา สถานทีแ่ ห่งนีเ้ ดิมเรียกว่า ดอยโล้นเชียงรุง้ เพราะในสมัยก่อนในช่วงวัน พระตอนกลางคืน มีผู้พบเห็นปรากฏการณ์แสงสีรุ้ง ทอขึ้นไปบนท้องฟ้า หรือบางครั้งก็เห็นเป็นดวงไฟลอยขึ้นจากยอดเขาพระพุทธบาท ตามต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก พงศาวดารทางเหนือกล่าวไว้วา่ " เมือ่ องค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ประกาศพระศาสนาไปตามสถานที่ต่างๆ จนกระทั่งมาถึงเมืองตากศิลา พระองค์ได้เสด็จไปยังดอยแห่งหนึ่ง ลักษณะ คล้ายช้างหมอบ ยักษ์อารักษ์เห็นเข้าไม่รู้จัก จึงใช้เวทย์มนต์หมายจะ ท�ำร้ายและขับไล่พระองค์ พระองค์ได้แสดงพุทธานุภาพสกัดกั้นและ ท�ำลายเสียจนยักษ์อารักษ์ ยอมแพ้ละความดุร้าย แล้วเข้ามากระท�ำวันทา ขอขมา พระองค์ทรงเทศนาสั่งสอน จนยักษ์อารักษ์ถึงซึ่งไตรสรณคมณ์ จากนั้นพระพุทธองค์ได้เหยียบประทับรอยพระบาทเบื้องขวาและประทับ รอยฝ่าพระหัตถ์เบื้องขวา บนยอดหินศิลาตรงส่วนศรีษะช้าง เพื่อให้มนุษย์ และเหล่าเทวดาได้ร่วมสักการบูชา ยักษ์เฝ้าอารักษ์ ปัจจุบันสถานที่แห่ง นี้คือ...พระพุทธบาทดอยโล้น อ.บ้านตาก จ.ตาก "

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

(6

).indd 73

73

30/6/2563 13:37:08


ตลาดริมเมย สินค้าจากชุมชนตลาดที่ตั้งอยู่ตรงข้ามกับอ�ำเภอเมียวดีของสหภาพพม่า ซึ่งมีของพื้น เมืองมากมายทั้งของไทยและพม่า เช่น หน่อไม้แห้ง ปลาแห้ง ปลาหัวยุ่ง เห็ดหอม ถั่วเครื่อง หนัง ผ้าซาติน ฯลฯ นอกจากนี้ที่นี่ยังเป็นตลาดการค้าอัญมณี เช่น หยก ทับทิม และพลอย สีจากพม่า และไม่ไกลจากด่านตรวจฝัง่ พม่านัก จะพบกับตลาดสดของพม่า ทีส่ ามารถนัง่ รถ รับจ้าง เดินทางไปชมตลาดสดแห่งนัน้ ได้ขอ้ แนะน�ำ-นักท่องเทีย่ วชาวไทยท�ำหนังสือผ่านแดน ชั่วคราว โดยน�ำบัตรประชาชน หรือบัตรประจ�ำตัวอื่นๆ ที่ทางราชการออกให้ พร้อมส�ำเนา 1 ชุด และรูปถ่ายติดบัตร 2 รูป พร้อมค่าผ่านแดนคนละ 20 บาท ไปที่ส�ำนักงานออกบัตร ของอ�ำเภอแม่สอดเมือ่ ข้ามผ่านแดนไปแล้วจะต้องเสียค่าผ่านแดนทีฝ่ ง่ั พม่าอีกคนละ 10 บาท เวลาผ่านแดน ด่านเปิดทุกวันตั้งแต่เวลา 06.30-21.00 น. ห้ามน�ำกล้องถ่ายรูปเข้าไปด้วย นักท่องเที่ยวสามารถข้ามไปเมียวดีได้ โดยนั่งเรือข้ามฟากที่มีบริการตั้งแต่ 07.30-17.30 น. เมื่อถึงฝั่งพม่าจะต้องเสียค่าเหยียบแผ่นดินคนละ 15 บาทควรซื้อสินค้าทางฝั่งไทย เพราะ สินค้าทัง้ คุณภาพและราคาแทบจะไม่แตกต่างกันเลย ส�ำหรับการซือ้ ของในฝัง่ พม่า ควรเดิน ดูรอบๆ และพิจารณาให้ละเอียด เพราะสินค้าบางอย่างมีการท�ำลอกเลียนแบบ

74

.indd 74

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:34:36


TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

9/7/2563 10:34:38


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมงคลคีรีเขตร์ (วัดครูบาสร้อย ขนฺติสาโร) พระครูสุเขตมงคลการ (ฉลวย ยนฺตสีโล) เจ้าอาวาสวัดมงคลคีรีเขตร์ / เจ้าคณะอำ�เภอท่าสองยาง “ ภูมิทัศน์งามตา การศึกษาก้าวไกล วินัยเด่น เป็นที่พึ่งมวล ประชา ใฝ่หาคุณธรรม น�ำพัฒนาประชาธิปไตย ทันสมัย ไอ ซี ที ”

วัดมงคลคีรีเขตร์ ตั้งอยู่เลขที่ 21 หมู่ 11 บ้านท่าสองยาง ต�ำบลท่าสองยาง อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ก่อนปี พ.ศ. 2491 ขึ้นตรงต่ออ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮองสอน โอนขึ้น จังหวัดตากปี พ.ศ. 2491 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินที่ ตั้งทั้งหมด 75 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา มีเขตติดต่อ วัดมงคลคีรีเขตร์ สร้างขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2462 โดยความร่วมมือร่วมใจของศรัทธาชาวบ้านท่าสองยางและ นิ ย มเรี ย กวั ด นี้ว ่า วัด บ้านท่าสองยาง ตามชื่อ ของหมู ่ บ้ า น วัดมงคลคีรีเขตร์ คงสร้างขึ้นมานานแล้ว เพราะก่อนปี พ.ศ. 2462 วัดนี้ก็มีแล้วตามค�ำบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน นานเท่าไรไม่ทราบ โดยสร้างพอเป็นที่พักของพระสงฆ์เท่านั้น 76

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 76

30/6/2563 15:05:51


จนกระทั้งปี พ.ศ. 2462 มีพระภิกษุรูป 1 ชาวบ้านเรียกว่า ครูบา กาวิ เป็นชาวไทยใหญ่มาจากเชียงตุง เดินมาพักอาศัยอยู่ที่วัดแห่งนี้ ศรัทธาและชาวบ้านท่าสองยางเห็นว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเป็น ที่เลื่อมใส่ศรัทธา ชาวบ้านจึงได้นิมนต์ให้อยู่จ�ำพรรษาที่ วัดบ้าน ท่าสองยาง และต่อมาก็ได้เป็นเจ้าอาวาส วัดบ้านท่าสองยาง ได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดมงคลคีรีเขตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2505 ในสมัยของหลวงพ่อสร้อย ขนฺติสาโร เป็นเจ้าอาวาสและได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2523

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 77

77

30/6/2563 15:06:09


ประวัติพอสังเขป ครูบาสร้อย ขันติสาโร

ครูบาสร้อย ขันติสาโร หรือ “ครูบาศักดิ์สิทธิ์แห่งบ้านมะตะวอ” ครูบาสร้อย ขันติสาโร หรือ พระครูนิมมานการโสภณ วัดมงคล คีรีเขตร์ อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก พระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่มี วิทยาคมรูปหนึ่งภาคเหนือ เกิดเมื่อวันจันทร์ ที่ 7 กันยายน 2472 ปีมะเส็ง บ้านโคกใหม่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลละหานทราย อ�ำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์ เมื่ออายุได้ 7 ขวบ โยมมารดาของท่านได้ถึงแก่กรรม ท่านได้มาอยู่ในความดูแลของคุณยาย ซึ่งคุณยายของท่านชอบเข้า วัดฟังธรรมตามวิถีชีวิตชนบท และมักพาท่านไปด้วยเสมอ ท�ำให้ท่าน ได้ใกล้ชิดกับวัดมา จวบจนอายุ 22 ปี จึงได้อุปสมบท มี หลวงพ่อมั่น เป็นพระอุปัชฌาย์, หลวงพ่อสุข วัดโพธิ์ทรายทอง เป็นพระกรรม วาจาจารย์ และหลวงพ่อสุต เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา ขันติสาโร ครูบาสร้อยได้พัฒนาวัดมงคลคีรีเขตร์ จนเจริญรุ่งเรืองเป็นที่รู้จัก ของญาติโยมและคณะศรัทธา จนท่านได้รับการขนานนามว่า เทพเจ้า แห่งท่าสองยาง วัตถุมงคลของครูบาสร้อยมีจัดสร้างขึ้นมาก มายทั้ง พระเครื่องและเครื่องรางของขลัง โดยเฉพาะประเภทเหรียญ ที่ได้ รับความนิยมจากบรรดาเซียนพระและนักสะสมพระเครื่องเป็นอย่าง ยิ่ง คือ เหรียญครูบาสร้อย รุ่นสุริยุปราคา ปี 2538 เหรียญครูบา สร้อย เป็นเหรียญที่ได้รับความนิยมในวงการ มีพุทธคุณโดดเด่นด้าน แคล้วคลาดปลอดภัย ครูบาสร้อยได้ละสังขารอย่างสงบ เมื่อวันที่ 19 ธ.ค. พ.ศ. 2541 สิริอายุ 69 พรรษา 49 ปัจจุบันอยู่ในโลงแก้วในกุฏิ ที่ท่านเคยอยู่โดย ไม่เน่าเปื่อย

ล�ำดับเจ้าอาวาสที่ปกครอง วัดมงคลคีรีเขตร์ อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก มี 9 รูป ดังนี้ 1. ครูบากาวิ พ.ศ. 2462- 2467 2. พระจ่อ พ.ศ. 2468- 2470 3. พระอ้าย พ.ศ. 2470- 2477 4. พระด�ำ พ.ศ. 2477- 2483 5. พระเจ่ง พ.ศ. 2483- 2490 6. พระเสื้อ พ.ศ. 2490- 2495 7. พระสวัสดิ์ พ.ศ. 2495-2498 8. พระครูนิมมานการโสภณ (หลวงพ่อสร้อย ขนฺติสาโร ) พ.ศ. 2498- 2541 9. พระครูสุเขตมงคลการ ( พระฉลวย ยนฺตสีโล ) พ.ศ. 2541 ถึง ปัจจุบัน 78

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 78

30/6/2563 15:06:14


ประวัติพระครูสุเขตมงคลการ (ฉลวย ยนฺตสีโล)

พระครูสเุ ขตมงคลการ (ฉลวย ยนฺตสีโล) เจ้าอาวาสวัดมงคลคีรเี ขตร์ /เจ้าคณะอ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ปัจจุบันอายุ 56 พรรษา 36 วิทยฐานะนักธรรมชั้นเอก คณะสงฆ์ภาค 5

ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง

- เจ้าอาวาสวัดมงคลคีรีเขตร์ - เจ้าคณะอ�ำเภอท่าสองยาง - เป็นพระอุปัชฌาย์ - เป็นประธานหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลแม่ต้าน - เป็นที่ปรึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม - เป็นรองประธานพระปริยัติธรรมแผนกบาลี - เป็นกรรมการการศึกษาโรงเรียนชุมชนบ้านท่าสองยาง

พ.ศ.2553 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลแม่ ต ้ า น อ� ำ เภอ ท่าสองยาง จังหวัดตาก มีวัดในปกครอง 6 วัด 1.วัดมงคลคีรีเขตร์ 2.วัดแม่ต้านเหนือ 3.วัดอารัญญาวาส 4.วัดบ้านแม่หละ 5.วัดศรีดอยชัย 6.วัดพระธรรมริกสลิดหลวง ได้ด�ำเนินการงานในหน้าที่ของตนเองเพื่อความเรียบร้อยของ คณะสงฆ์และการพระศาสนาตามต�ำแหน่งที่ได้รับผิดชอบด้วยความ เรียบร้อยโดยเฉพาะงานในหน้าที่หลักของคณะปกครอง 2 ประการ 1.งานตรวจการณ์คณะสงฆ์ในเขตปกครองของตน 2. งานจัดการประชุมพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ต�ำบลแม่ต้าน อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก พ.ศ. 2563 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอท่าสองยาง

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 79

79

30/6/2563 15:06:22


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดแม่ต้านเหนือ พระครูใบฎีกานครินทร์ โกวิโท เจ้าอาวาสวัดแม่ต้านเหนือ / เจ้าคณะตำ�บลแม่ต้าน

วัดแม่ตา้ นเหนือ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 92 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลแม่ตา้ น อ�ำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 81 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือยาว 150 วา ติดต่อกับล�ำห้วย และทีน่ า, ทิศใต้ยาว 106 วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ, ทิศตะวันออกยาว 332 วา ติดต่อกับ ถนนสาธารณะ, ทิศตะวันตกยาว 236 วา ติดต่อกับค่าย ต.ช.ด.โดยมี น.ส. 3ก เลขที่ 74 เป็น หลักฐาน มีทธี่ รณีสงฆ์จำ� นวน 1 แปลง เนือ้ ที่ 3 ไร่ 26 ตารางวา ตาม น.ส. 3ก เลขที่ 89 (ปัจจุบนั เอกสารสิทธิเ์ ป็นโฉนด) พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีเ่ นินภูเขาเล็กๆ อาคารเสนาสนะต่างๆ มี - อุโบสถ กว้าง 12.80 เมตร ยาว 28 เมตร สร้างพ.ศ. 2514 โครงสร้างเป็นไม้พนื้ คอนกรีต - ศาลาการเปรียญ กว้าง 9.50 เมตร ยาว 28.50 เมตร สร้างพ.ศ. 2523 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 2 ชัน้ - หอฉัน กว้าง 8.50 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างพ.ศ. 2521 เป็นอาคารไม้ยกพืน้ สูง 2 เมตร - กุฎสี งฆ์ จ�ำนวน 16 หลัง - หอระฆังสร้างด้วยไม้ ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มี พระพุทธรูปไม้ขนุนแกะสลัก 2 องค์ นายพรหม นางพิมพ์ สร้างไว้ เมือ่ พ.ศ. 2420 พระพุทธรูปไม้ขนุนอีก 2 องค์ สร้างโดยท้าวอินต๊ะและท้าวเขือ่ นเพชร เมือ่ ปี พ.ศ. 2442 พระประธานในวิหาร 3 องค์ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ 80

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 80

30/6/2563 14:24:56


วัดแม่ตา้ นเหนือ สร้างขึน้ เป็นวัดนับตัง้ แต่ประมาณ พ.ศ. 2320 ที่ จริงแล้ววัดนีน้ บั เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่มมี าก่อน พ.ศ. 2320 แต่จะนานเท่าใด ไม่ปรากฏหลักฐาน เดิมตัง้ อยูท่ บี่ า้ นล�ำร้อง หมูท่ ี่ 2 เป็นวัดคูบ่ า้ นคูเ่ มือง ของชาวแม่ตา้ น ต่อมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2440 ได้ยา้ ยเสนาสนะมาจัด สร้างขึน้ ใหม่ทางทิศตะวันตกของหมูบ่ า้ น มีทดี่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 2 ไร่ ครัน้ ถึงปี พ.ศ. 2466 สมัยทีพ่ ระปัญญาเป็นเจ้าอาวาส ได้ยา้ ยวัดมาตัง้ อยูท่ ี่ สี่แยกถนนราชด�ำเนินปัจจุบันที่นี้เป็นที่ธรณีสงฆ์ของวัดแม่ต้านเหนือ (ท่ารถปัจจุบนั ) เพราะทางวัดได้ยา้ ยอีกครัง้ หนึง่ เป็นครัง้ สุดท้าย ได้รเิ ริม่ ด�ำเนินการย้ายเสนาสนะในปี พ.ศ. 2496 ได้ยา้ ยมาสร้าง ณ ทีต่ งั้ ปัจจุบนั ซึง่ อยูห่ า่ งจากทีต่ งั้ วัดเดิมประมาณ 1 กิโลเมตร เนือ่ งจากทีต่ งั้ วัดเดิมเป็น ทีล่ มุ่ ถูกน�ำ้ ท่วมขังในฤดูฝนและคับแคบ ขยายไม่ได้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศย้ายวัดเมือ่ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2499 ทีด่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 81 ไร่ เกีย่ วกับนามวัด แต่เดิมนัน้ เรียกกันหลายอย่างคือ “วัดครูบากิง่ ” “วัดครูบากัน๋ ” เรียกตามนามเจ้าอาวาส “วัดม่วงค�ำ” เพราะมีตน้ มะม่วง ค�ำขนาดใหญ่เก่าแก่อยูใ่ นวัด “วัดเหนือ” เพราะตัง้ อยูต่ อนเหนือของ หมูบ่ า้ น ส�ำหรับนามทีใ่ ช้อยูป่ จั จุบนั ว่า “วัดแม่ตา้ นเหนือ” เรียกตามชือ่ ของหมูบ่ า้ น วัดแม่ตา้ นเหนือ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาวันที่ 24 มิถนุ ายน พ.ศ. 2522 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 25 เมตร ยาว 50 เมตร ทางวัดได้เปิด สอนพระปริยตั ธิ รรม พ.ศ. 2514

เจ้าอาวาสส่วนมากเป็นผู้รักษาการแทนมี 20 รูป

รูปที่ 1 พระครูบากิง่ พ.ศ. 2355 – 2400 รูปที่ 2 ครูบากัน๋ พ.ศ. 2400 – 2440 รูปที่ 3 ครูบาปัญญา พ.ศ. 2440 – 2480 รูปที่ 4 พระแก้ว พ.ศ. 2480 – 2481 รูปที่ 5 พระพรหม พ.ศ. 2481 – 2483 รูปที่ 6 พระแก้ว พ.ศ. 2483 – 2491 รูปที่ 7 พระทิพย์ พ.ศ. 2491 – 2493 รูปที่ 8 พระอ้าย พ.ศ. 2493 – 2495 รูปที่ 9 พระทองดี พ.ศ. 2495 – 2496 รูปที่ 10 พระนนท์ พ.ศ. 2496 – 2499 รูปที่ 11 พระจี ๋ พ.ศ. 2499 – 2500 รูปที่ 12 พระเขียว พ.ศ. 2500 – 2502 รูปที่ 13 พระปัญญา พ.ศ. 2502 – 2506 รูปที่ 14 พระบุญตัน พ.ศ. 2506 – 2507 รูปที่ 15 พระส�ำราญ พ.ศ. 2507 – 2508 รูปที่ 16 พระแก้ว พ.ศ. 2508 – 2510 รูปที่ 17 พระสีเทา พ.ศ. 2510 – 2512 รูปที่ 18 พระบุญส่ง พ.ศ. 2512 – 2513 รูปที่ 19 พระบุญมี พ.ศ. 2513 – 2514 รูปที่ 20 พระครูพบิ ลู ธรรมานุวตั ร (พรหม พุทธฺ ภาโณ) พ.ศ. 2514 – 2560 (ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอแม่ระมาด – ท่าสองยาง) รูปที่ 21 พระครูใบฎีกานครินทร์ โกวิโท พ.ศ. 2560 – ปัจจุบนั (ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลแม่ตา้ น)

พระครูพิบูลธรรมานุวัตร

อดีตเจ้าอาวาสวัดแม่ต้านเหนือ

สถานภาพวัดแม่ต้านเหนือ

พระครูใบฎีกานครินทร์ โกวิโท

เจ้าอาวาสวัดแม่ต้านเหนือ / เจ้าคณะต�ำบลแม่ต้าน

1. เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย จังหวัดตาก ภาค 5 2. ได้รบั คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมือ่ ปี 2531 3. ได้รบั คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น เมือ่ ปี 2534 4. ได้รบั คัดเลือกเป็นหน่วย อ.ป.ต. 2523 อ.ป.ต. ดีเด่น เมือ่ ปี 2548 5. ได้รบั คัดเลือกเป็นหน่วยสงเคราะห์พทุ ธมามกะ เมือ่ ปี 2534 6. ได้รบั แต่งตัง้ เป็นส�ำนักเรียนพระปริยตั ธิ รรม เมือ่ ปี 2514 TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 81

81

30/6/2563 14:25:11


History of buddhism....

พระพุทธเจดีย์ไมตรีจิตมิตรภาพ วัดธรรมจาริกแม่สลิดหลวง ตั้งอยู่ที่ตำ�บลแม่สอง อำ�เภอท่าสองยาง จังหวัดตาก พระดี ศรีธรรมจาริก พระพิศาลประชานุกูล (ดำ�ริ อิทฺธิมนฺโต น.ธ.เอก,คบ.)

82

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 82

1/7/2563 13:23:20


Facebook SBL

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 83

83

1/7/2563 13:23:28


84

.indd 84

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

9/7/2563 10:33:58


TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 85

85

9/7/2563 10:34:02


S P ECI A L P R O V INC IA L บันทึกเส้นทางพิเศษของจังหวัดตาก

?

TRAVEL

Beautiful Place TAK

asd.1.indd 86

9/7/2563 10:36:20


TAK MAP แผนที่จังหวัดตาก

LOCATION 1 2 3 4

น�้ำตกทีลอซู เขตพันธุ์รักษาสัตว์ป่าอุ้มผาง อ�ำเภออุ้มผาง ดอยหัวหมด อ�ำเภออุ้มผาง เขื่อนภูมิพล อ�ำเภอสามเงา อุทยานแห่งชาติแม่เมย อ�ำเภอท่าสองนาง

5 วัดพระบรมธาตุ อ�ำเภอบ้านตาก 6 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง อ�ำเภออุ้มผาง 7 ดอยสอยมาลัย อ�ำเภอบ้านตาก 8 น�้ำตกนางครวญ อ�ำเภอพบพระ 9 น�้ำตกพาเจริญ อ�ำเภอพบพระ

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

asd.1.indd 87

87

9/7/2563 10:36:26


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดสุนทริกาวาส พระมหาวัชรินทร์ วขิรญาโณ เจ้าอาวาสวัดสุนทริกาวาส / เจ้าคณะตำ�บลแม่สอด เขต 2 วัดสุนทริกาวาส ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 92 ถนนชิดวนา ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดิน ที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 35.70 ตารางวา อาณาเขตวัด ทิศเหนือ จดถนนสายเอเชีย, ทิศใต้ จดถนนชิดวนา, ทิศตะวันออก จดถนนวัดป่าใหม่, ทิศตะวันตก จดเทศบาลนครแม่สอด

วัดสุนทริกาวาส เป็นวัดของชาวไทใหญ่ซึ่งสร้างขึ้น ประมาณ พ.ศ. 2447 เมื่อนายหม่งเสง แซ่กวา (ต้นตระกูล กวาตระกูล) ได้สร้างหอสวดมนต์ ศาลาอเนกประสงค์ และกุฏิสงฆ์อย่างละ 1 หลังพร้อมทั้งถวายที่เกือบ 7 ไร่ ให้ก่อตั้งเป็นวัดขึ้น เดิมมีชื่อว่า “วัดตอยะใหม่” ต่อมาได้ เปลี่ ย นชื่ อเป็น “วัด สุน ทริก าวาส” เมื่อปี พ.ศ. 2483 แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดป่าใหม่” ตามชื่อหมู่บ้าน วัดสุนทริกาวาสได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2517 88

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 88

30/6/2563 11:30:03


อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย

- อุโบสถ กว้าง 25 เมตร ยาว 50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2553 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - หอสวดมนต์ กว้าง 20.54 เมตร ยาว 24.40 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2471 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 10 หลัง, เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ จ�ำนวน 2 หลัง - วิหาร กว้าง 20 เมตร ยาว 22 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2556 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มี - พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 36 นิ้ว/เมตร สูง 48 นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางสมาธิ ขนาดหน้าตัก กว้าง 60 นิ้ว/เมตร สูง 80 นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2553 การบริหารและการปกครอง ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ดังนี้ รูปที่ 1 หลวงปู่อูกะเหว่ง ตั้งแต่ พ.ศ. 2483 - 2523 รูปที่ 2 พระอธิการณรงค์ นนฺทิโย ตั้งแต่ พ.ศ. 2523 - 2555 รูปที่ 3 พระมหาวัชรินทร์ วชิรญาโณ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบนั

ประวัติพอสังเขป พระมหาวัชรินทร์ เจ้าอาวาส

พระมหาวัชรินทร์ ฉายา วขิรญาโณ อายุ 39 พรรษา 17 ชื่อเดิม วัชรินทร์ นามสกุล ชื่นสิน เกิดวันที่ 1 เดือน มกราคม พ.ศ. 2524, อุปสมบท วันที่ 17 เดือนเมษายน พ.ศ. 2545 ทีว่ ดั ดอนแก้ว ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก, วุติการศึกษา(สูงสุด) ปวส. จากสถาบัน การศึกษาวิทยาลัยเทคนิค จังหวัดตาก วิทยฐานะ (ชั้นสูงสุด) ปธ. 4 ต�ำแหน่งหน้าที่ทางคณะสงฆ์ (ปัจจุบัน) 1. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสุนทริกาวาส พ.ศ. 2555 2. ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลแม่สอด เขต 2 พ.ศ. 2562 TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 89

89

30/6/2563 11:30:18


History of buddhism....

วัดไทยสามัคคี (พระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง)

Facebook SBL

Thai Unity Temple (Phra Chao Tanjai Rattan Mungmuang)

วัดไทยสามัคคี ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ท่ามกลางธรรมชาติอันงดงาม และอากาศสดชื่น บริเวณวัดไทยสามัคคีมอี ากาศและธรรมชาติทสี่ วยสดงดงามพาให้จติ ใจ สงบและผ่อนคลายไปในความเขียวขจีของพรรณไม้หลากหลายนานาชนิด โดยจะสัมผัสได้ถึงความร่มรื่นร่มเย็นเมื่อเข้ามาในส่วนของบริเวณดังกล่าว In the midst of beautiful nature and fresh air atmosphere. In the area of Thai Unity Temple, the air is fresh and nature is splendid , bringing the mind to calmness and peaceful from the greenery of various kinds of plants, which all can feel when entering the area.

รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง รอยพระพุทธบาทสร้างขึน้ เป็นพุทธบูชาเช่นเดียว กั บ การสร้ า งพระพุ ท ธรู ป มี อ ายุ ร าว 200 กว่ า ปี ลักษณะเป็นหินแกะสลัก โดยฝีมือช่างชาวเมียนมา ได้นำ� มาจากประเทศพม่า มาประดิษฐานไว้ ณ วัดไทย สามัคคี ตรงกับวันวิสาขบูชา วันศุกร์ ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 ปีฉลู เพื่อเป็นที่กราบไหว้บูชาส�ำหรับ พุทธศาสนิกชนทั่วไป และให้อนุชนรุ่นหลังได้ทราบว่าพระพุทธศาสนาได้ เจริญรุ่งเรืองในดินแดนแห่งนี้โดยมีรอยพระพุทธบาท ขององค์สมเด็จ พระบรมศาสนาเหยียบไว้เป็นพุทธานุสติสืบต่อไป 90

4

พระพุทธรูปปางประสูติ พระพุทธปฏิมาปฐมบรมศาสดาโลก (ปางประสูติ) “พระปางประสูติ” หรือ พระพุทธรูปปางประสูติ เป็นพระพุทธรูปปางประสูตใิ นอิรยิ าบถยืนหัน พระพักตร์ไปทางเหนือ เสด็จย่างพระบาทไป 7 ก้าว มีดอกบัวผุดขึ้นมารอง รับ 7 ดอก แล้วทรงกล่าว อาสภิวาจา (วาจาอันองอาจ) ว่า “อคฺโค หมสฺมิ โลกสฺส เชฏโฐ เสฏโฐ หมสฺมิ อยนฺติมา เมชาติ นตฺถิ ทานิ ปุนพฺพโว” มีความ หมายว่า “ในโลกนี้เราเป็นยอด เป็นผู้เจริญที่สุด เป็นผู้ประเสริฐที่สุด ชาตินี้ เป็นชาติสุดท้าย บัดนี้การเกิดใหม่มิได้มี” ส�ำหรับพระพุทธรูปปางประสูติวัดไทยสามัคคีนั้นสร้างด้วยการก่ออิฐ ถือปูน ความสูง 9 เมตร โดยได้แบบมาจากลุมพินีวัน ประเทศเนปาล หรือ อินเดียในกาลก่อน ความเชื่ อ ในการสั ก การะพระพุ ท ธรู ป ปางประสู ติ เนื่ อ งจากเป็ น อากัปกิรยิ าเริม่ แรกของพระโพธิสตั ว์สทิ ธัตถะ พุทธศาสนิชนไม่นอ้ ยจึงถือว่า เป็นสิ่งมงคลส�ำหรับผู้เริ่มต้นชีวิตใหม่ หรือผู้ที่ก�ำลังเริ่มต้นในการประกอบ อาชีพ การงาน หรือ ธุรกิจ ผู้ที่ได้บูชาพระพุทธรูปปางประสูติ จะเป็นผู้ได้ เริม่ ต้นชีวติ อันเจริญรุง่ เรือง เฉกเช่นเดียวกับอากัปกิรยิ าแรกเริม่ ของพระพุทธ องค์นั้นเอง

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

2

.indd 90

30/6/2563 13:45:24


ศาลาพญานาค เป็ น ศาลาที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระพุ ท ธรู ป หยกและพญานาค หินอ่อนเนื้อเขียว บริเวณองค์พระ ล้อมรอบไปด้วยบ่อน�้ำทิพย์ซึ่งมี สถาปั ต ยกรรมแบบล้ า นนาผสม ผสานศิลปะของชาวเมียนมา และ ยังมีจดุ เด่นคือการน�ำศิลปะการมุง หลังคาของชาวเมียนมาเข้ามาผสม ผสานรู ป แบบศิ ล ปะของล้ า นนา และภาคกลางได้อย่างลงตัว

พระโพธิสัตว์กวนอิม แกะสลักจากไม้ส่องค�ำทั้งต้นมีความสวยงามวิจิตรบรรจงอย่างยิ่ง มี ความสูงถึง 5.65 เมตร สูงที่สุดในจังหวัดตาก โดยไม้ที่น�ำมาแกะสลักนั้น เป็นส่วนของไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่ล้มเองตามธรรมชาติ ซึ่งน�ำมาจากป่าชุมชน ห้วยขนุน (ป่าชุมชนรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ) โดยการร่วมใช้แรงศรัทธา ของชาวบ้านในชุมชนถึง 200 คนในการลากจูงท่อนไม้ใหญ่จากป่ามาที่วัด เนื่องจากไม่สามารถน�ำรถเข้าไปในบริเวณป่าได้ โดยองค์ของพระโพธิสัตว์ กวนอิมใช้เวลาในการแกะสลัก 6 เดือนจึงแล้วเสร็จ

หมอชีวกโกมารภัจจ์

เทพทันใจ สมปรารถนา

หมอชีวกโกมารภัจจ์ เป็นที่ นิยมแก่นกั ท่องเทีย่ วมักนิยมขอพร เกี่ ย วกั บ ด้ า นสุ ข ภาพ เพื่ อ ให้ สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยต่างๆ โดยองค์ หมอชีวกมีสร้างลักษณะเดียวกัน กับพระเจ้าทันใจ คือการปั้นองค์ เสร็ จ ภายในวั น เดี ย วมี อ วั ย วะ ภายในเหมือนมนุษย์โดยเป็นเครือ่ ง เงินแท้บริสุทธิ์ ในพุทธต�ำนานเป็น แพทย์ประจ�ำพระองค์พระโคตม พุทธเจ้าและพระเจ้าพิมพิสารแห่ง แคว้นมคธ อาศัยอยู่ในราชคฤห์ ช่วง 600–500 ปีก่อนคริสตกาล มีชอื่ เสียงอย่างมากในเรือ่ งเล่าขาน ของเอเชียในฐานะแพทย์ตัวอย่าง ทั้ ง ได้ รั บ ยกย่ อ งให้ เ ป็ น แพทย์ ต้นแบบของแพทย์แผนโบราณใน หลายประเทศแถบเอเชีย

เทพทันใจ สมปรารถนา เป็น อี ก หนึ่ ง จุ ด ส� ำ คั ญ ที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว นิยมมาไหว้และขอพรกันอย่างมาก เมื่ อ เดิ น ทางมาวั ด ไทยสามั ค คี เนื่ อ งจากชาวพม่ า ความเชื่ อ ว่ า เ ท พ ทั น ใ จ ห รื อ นั ต โ บ โ บ ยี (ภาษาพม่า) เป็นนัตที่ปกปักรักษา พระเกศธาตุในเจดีย์โบตาทาวน์ เป็นหนึ่งในนัตหลวงที่ชาวพม่าให้ ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก เป็นเทพทันใจทีค่ นมาขอพรสมหวัง กันแทบทุกราย ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การเงิน การงาน ค้าขาย ความรัก โชคลาภ โดยเฉพาะเรื่องเงินทอง บารมีแรง เสริมดวงให้ชีวิตราบรื่น ในทุกๆ ด้าน (หมายเหตุ : นัต หมายถึง เทพ)

พระพิฆเนศ ปางอุดมทรัพย์สิน พูนทวี เป็นพระพิฆเนศที่แกะสลักจากเศษไม้สักทองถึง 1,000 กว่าชิ้น จาก การเหลือเศษไม้ที่ใช้ในการแกะสลักไม้ต่างๆ ที่จัดแสดงบนพิพิธภัณฑ์โฮง หลวง โดยการแกะสลักใช้ฝีมือช่างชาวเมียนมาซึ่งใช้เทคนิค ช่างโบราณ ในการเชื่อมแต่ของเศษไม้ในแต่และชิ้นอย่างแนบเนียน ปัจจุบันเป็นพระ พิฆเนศไม้แกะสลักที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดตาก

ราหูอมจันทร์ เป็นสถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ สร้างอยู่ด้านหน้าบริเวณทางเข้า วัดมีความสูง ถึง 10 เมตรเป็นราหู อมจั น ทร์ ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ใน อ�ำเภอแม่สอด TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 91

91

30/6/2563 13:45:39


พิพิธภัณฑ์โฮงหลวง จัดแสดงผลงานเกี่ยวกับของเก่าของสะสมท้องถิ่นที่หาดูได้ยาก ตลอด จนถึงการจัดแสดงวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อโบราณวิถีชีวิตของท้อง ถิ่น โดยจุดเด่นที่จัดแสดงด้านในพิพิธภัณฑ์นี้คือไม้แกะสลักจ�ำนวนมาก ที่ วัดแกะเองและได้รับบริจาคจากพุทธศาสนิกชนทั่วไป โดยงานไม้แกะสลัก วัดไทยสามัคคีนั้นแกะสลักจากไม้ที่ตายแล้ว ทั้งที่โค่นลงด้วยลมพายุ และ ตายเองตามธรรมชาติ ซึ่งอยู่ในเขตป่าชุมชนห้วยขนุน ป่าชุมชนรางวัลชนะ เลิศระดับประเทศของหมู่บ้านแม่กื้ดหลวง มีการขออนุญาตจากคณะ กรรมการป่าชุมชน เพื่อน�ำไม้ที่ตายแล้วมาแกะสลักเป็นพระพุทธรูป และ อื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งปัจจุบันได้น�ำแสดงอยู่ ณ อาคารพิพิธภัณฑ์โฮงหลวง เป็นที่เก็บรวบรวมไม้แกะสลัก และของพื้นบ้านอีกมากมายที่สูญหายไป กับการเจริญของบ้านเมืองและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตพื้นบ้าน เปิดให้ เข้าชมได้ทุกวันตั้งแต่ 06.00 น. – 18.00 น. ประชาชนโดยทั่วไป จะได้ เป็นเหล่งเรียนรู้ส�ำหรับอนุชนรุ่นหลังสืบไป

สวนหินหอยล้านปีสี่มหาราช เป็นสถานที่ที่ประดิษฐานองค์จ�ำลองของสี่มหาราชที่มีความส�ำคัญแก่ ชาวอ�ำเภอแม่สอดอย่างยิ่ง จนที่นี่ได้รับการกล่าวขานว่าแผ่นดินสี่มหาราช ได้แก่ 1.พ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช 2.พระนเรศวรมหาราช 3. พระนารายณ์ มหาราช และ 4. พระเจ้าตากสินมหาราช โดยสร้างเป็นองค์ส�ำริดทั้งหมด เท่าองค์จริง และจุดเด่นทีไ่ ม่ควรพลาดในสวนรอบๆ บริเวณนีป้ ระดับไปด้วย ก้อนฟอสซิล (ซากดึกด�ำบรรพ์) หอยล้านปีขนาดใหญ่ ที่ขุดค้นพบด้านหลัง บริเวณวัดเป็นจ�ำนวนมาก รายล้อมพรรณไม้นานาพรรณ เป็นที่พักผ่อน หย่อนใจให้กับนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี 92

4

งานประเพณีล้านนาไหว้สาป๋าระมีพระเจ้าทันใจรัตนมุงเมือง Buddhist religious ceremony in Lanna traditions paying respect to Phra Chao Tanjai Rattan Mung Muang ในวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันจันทร์ สุดท้ายของเดือนมกราคมในทุก ปี ทางวัดและชุมชนจะร่วมกันสืบสานประเพณีอันล�้ำค่า คือ การสืบสาน ประเพณี ล ้ า นนาไหว้ ส าป๋ า ระมี พ ระเจ้ า ทั น ใจรั ต นมุ ง เมื อ ง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความสมัครสมานสามัคคีในชุมชน และยังเป็นการ สืบสานประเพณีอันเก่าแก่และทรงคุณค่า ซึ่งงานประเพณีแบ่งออกเป็น สามวัน โดย วันพฤหัสบดี (ทางวัดไม่ได้รวมเข้ากับวันงานจริง) เป็นวันที่ ชาวบ้านแต่งกายแบบล้านนาและอัญเชิญองค์พระเจ้าทันใจจ�ำลองแห่ รอบๆ หมู ่ บ ้ า นและนครแม่ ส อดเพื่ อ เป็ น การประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ แ ก่ พุทธศาสนิกชนโดนทั่วไปได้ทราบว่างานประจ�ำปีของทางวัดจะได้เริ่มขึ้น แล้วในวันเสาร์จะเป็นวันแรกของงานประเพณี ซึ่งเป็นหัวใจหลักที่ส�ำคัญ ที่สุดของงาน คือมีการสรงในพระพุทธมนต์ศักดิ์สิทธิ์แด่องค์พระเจ้าทันใจ รัตนมุงเมือง โดยพระอริยเจ้าและพระมหาเถระ ถัดจากนั้นจะเข้าสู่พิธีสืบ ชะตาหลวงที่ยิ่งใหญ่เป็นประจ�ำทุกปี และมีการโยงด้ายจากวัดไปยังบ้าน ทุกหลังทุกหลังคาเรือน มีการอาราธนาพระเถระทั่วล้าน 199 รูป ท�ำพิธี สืบชะตาให้กับพุทธศาสนิกชนที่มาท�ำบุญ และในวันจันทร์ ซึ่งเป็นวัน สุดท้ายของประเพณีจะมีการละเล่นต่างๆ ที่เป็นแบบล้านนาโบราณ อาทิ การขับร้องซอล้านนา การฟ้อนร�ำ เป็นต้น On Saturday, Sunday and the last Monday of January every year The temples and communities will join together to preserve the precious tradition, namely the inheritance of the Lanna traditions, paying respect Phra Chao Tanjai Rattan Mung Muang. With the objective of creating unity in the community And still carry on the ancient traditions and valuables.

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

2

.indd 92

30/6/2563 13:45:46


พระบรมธาตุเจดีย์ศรีเมืองฉอด (Chedi Phra Sri Chedi) เจดีย์สองแผ่นดิน สร้างโดยพุทธศาสนิกชน ชาวไทย - ชาวเมียนมา Two land pagoda Created by Thai-Myanmar Buddhists. วัตถุประสงค์ในการจัดสร้าง เพื่อเป็นการฉลองพุทธชยันตี 2600 ปี แห่งการตรัสรู้ธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในปีพ.ศ. 2555 โดยมีแรงบันดาลใจในการจัดสร้าง เป็นรูปแบบผสม ระหว่างไทย เมียนมา และ อินเดีย Purpose of building is to celebrate the Buddha's endowment, the 2600 year of the Enlightenment of the Lord Buddha in 2012, with the inspiration to create a mixture of Thai, Myanmar and India styles. จุดเด่นในเจดีย์ ชั้นที่ 1 แสดงลักษณะเมืองบาดาล (นาคพิภพ ) มีพระพุทธเมตตาแกะสลักจากหินสีเขียว ประดิษฐานพระประจ�ำวันเกิด คนเกิดวันอาทิตย์ ชั้นที่ 2 ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ องค์พระธาตุพนม หลังเต่ามังกร ความหมายเต่ามังกร เนื่องมาจาก พระครูเมธากิจโกศลผู้ สร้างมีถิ่นก�ำเนิดในอ�ำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ สถิตราศีมังกรเกิดปี นักษัตร ปีวอก และพระธาตุพนม เป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดผู้ที่เกิดปีวอก ในชั้ น นี้ น อกจากบรรจุ พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ยั ง มี อั ฐิ และ เกศาครู บ า อาจารย์องค์ส�ำคัญหลายองค์ เช่น อัฐิครูบาศรีวิชัย เป็นต้น นอกจากนี้ใน ชั้ น นี้ ส่ ว นหนึ่ ง ยั ง ปู พื้ น ด้ ว ยเม็ ด หยกเพื่ อ ให้ นั่ ง สมาธิ โดยเม็ ด หยกมี คุณสมบัติในการช่วยกดจุดให้เลือดลมเดินสะดวกอีกด้วย และประดิษฐาน พระประจ�ำวันเกิด คนเกิดวันจันทร์ ในชั้นนี้ ฝาผนังได้ประดับด้วยรูปภาพ ที่ มี ทุ ก บ้ า นเพื่ อ น้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร

(ภาพได้รับมอบจากชาวบ้านทุกหลังคาเรือน ) เพื่อมาเก็บรวบรวมไว้ที่วัด ชั้นที่ 3 เป็นที่ประดิษฐานพระประจ�ำวันเกิด คนเกิดวันอังคาร ชั้นที่ 4 เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระประจ� ำ วั น เกิ ด คนเกิ ด วั น พุ ธ ชั้ น ที่ 5 เป็ น ที่ ประดิ ษ ฐานพระประจ� ำ วั น เกิ ด คนเกิ ด วั น พฤหั ส บดี ชั้ น ที่ 6 เป็ น ที่ ประดิษฐานพระประจ�ำวันเกิด คนเกิดวันศุกร์ ชั้นที่ 7 เป็นที่ประดิษฐาน หัวใจพระบรมธาตุเจดีย์ศรีเมืองฉอด ซึ่งหล่อด้วยเงิน น�้ำหนัก 51 กิโลกรัม อีกทั้งเป็นที่ประดิษฐานพระเก่าแก่ของทางวัด และ พระประจ�ำวันเกิด คนเกิดวันเสาร์ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก : ลานจอดรถ, รถ wheelchair บริการฟรี ส�ำหรับผู้ป่วย หรือคนชราและผู้พิการ ให้สามารถเข็นไปได้ทุกจุดรอบๆ บริเวณวัด, โรงทาน, ห้องน�้ำ ห้องสุขา สะอาด, ลานค้าชุมชน จ�ำหน่ายของ ฝากที่ระลึก ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และ ที่พักโฮมสเตย์ ติดต่อสอบถามด้านการท่องเที่ยว : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานตาก โทร. 0-5551-4341-3, สถานีต�ำรวจท่องเที่ยวจังหวัดตาก (แม่สอด) โทร.0-5553-3523, วัดไทยสามัคคี โทร. 087- 851-1899 , Tourism Authority of Thailand, Tak Office Tel. 0-5551-4341-3, Tak Tourist Police Station (Mae Sot) Tel. 0-5553-3523, Thai Samakkhi Temple Tel. 087- 851-1899 : www.watthaisamakkhee.in.th : watthaisamakkhee : 0878511899 : Thai Unity Temple. Thai

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

2

.indd 93

93

30/6/2563 13:45:50


พระตรีโลกเชษฐ์ 94

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 94

พระประธาน อุโบสถชั้น 3 วัดโพธิคุณ

30/6/2563 16:09:02


History of buddhism....

วัดโพธิคุณ (วัดห้วยเตย) WAT PO THI KHUN (WAT HUAI TOEI) พระครูสุธีวุฒิคุณ ดร. เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ รองเจ้าคณะอำ�เภอแม่สอด

PHRA KHRU SUTHIWUTTHIKHUN, PH.D., ABBOT OF WAT PHO THI KHUN AND MAE SOT DISTRICT VICE MONK DEAN

วัดโพธิคุณ ตั้งอยู่เลขที่ 64 หมู่ที่ 6 บ้านห้วยหินฝน หมู่ 6 ต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก “วัดโพธิคุณ” ได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2528 ณ หมู่ที่ 6 ต. แม่ปะ อ. แม่สอด จ. ตาก เมือ่ เป็นวัดถูกต้องตามกฎระเบียบแล้ว ได้แต่งตั้งพระมหาวิบูลย์ พุทฺธญาโณ ป.ธ. 4 น.ธ. เอก วิชาครู พิเศษมูล เป็นเจ้าอาวาส เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 และได้รับประกาศพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2532 โดยมีเนือ้ ทีพ่ ระราชทาน วิสงุ คามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 50 เมตร เมือ่ ได้รบั พระราชทานแล้ว ทางวั ด ได้ ด� ำ เนิ น การฝั ง ลู ก นิ มิ ต และผู ก พั ท ธสี ม าตามหลั ก พระวิ นั ย ตั้ ง แต่ วั น ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2536 ในวั น ที่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2550 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง ให้ เ ป็ น ส� ำ นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม ประจ�ำจังหวัดตากแห่งที่ 2 และในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2553 ได้รบั รางวัลส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดดีเด่น เฉลิมพระเกียรติ์ 83 พรรษา ส�ำหรับการก่อสร้างวัดโพธิคุณนั้น ได้รับการสนับสนุนเป็น อย่างดีจ ากพุ ท ธศาสนิ ก ชน การออกแบบสร้ า งอุ โ บสถ ศาลา การเปรียญและอาคารอื่นที่เป็นสถาปัตยกรรมซึ่งมีศิลปะงดงาม ได้รับการออกแบบจาก อ.ศมประสงค์ ชาวนาไร่ และหาทุนสร้าง โดยคณะศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ น� ำ โดยท่ า นอุ ทั ย มนธาตุ ผ ลิ น และ พุทธศาสนิกชนที่มีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ส�ำหรับอาณา บริเวณวัดได้มีการจัดไว้อย่างกลมกลืนกับธรรมชาติ

Facebook SBL

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 95

95

30/6/2563 16:09:11


หอภูมิทัศไนย (ศาลาการเปรียญ) วัดโพธิคุณ

Wat Po Thi Khun is located at 64 village no.6 Baan Huai Toei, Mae Pa sub-district, Mae Sot district, Tak province. “Wat Po Thi Khun” was granted permission to build temple on 22 September B.E.2528. After this temple became an official temple, Phra Maha Wiboon Phutthayano, graduated in Buddhist theology (Fourth level), Dhamma scholar advanced level, Graduate Diploma in Teaching Profession, was appointed abbot of this temple on 16 February B.E.2531. Then, he consulted with temple committee about issuing the request to a Thai monarch for Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings). After that, it was granted Wisungkhamsima which is announced on 2 October B.E.2532, the scale of land is 30 meters in width and 50 meters in length. After this temple was granted the land, they have buried round stones in temple’s 96

6

ground and performed demarcation ceremony by following the principle in Vinaya (The code of monastic discipline) on 29 April B.E.2536. Moreover, abbot also appointed Mrs. Utai Monthatplin to be lay ministry of Wat Pho Thi Khun according to all regulations of The Sangha Act. There were two most important and invaluable men regarding to the construction of Wat Pho Thi Khun. One has funded the construction while other one sacrificed all his time and exerted all of his energy to offer this as offering to Buddha by refusing any payment from temple. Both men jointly built ubosot and sermon hall which all buildings are gorgeous architecture. Apart from that, they also arranged this area by making it a Buddhist place where it is in harmony with nature.

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 96

30/6/2563 16:09:14


พระทศพลญาณ พระประธาน อุโบสถชั้น 2 วัดโพธิคุณ

ประวัติ ปฏิปทา หลวงพ่อมหาวิบูลย์ พุทฺธญาโณ องค์ปฐมเจ้าอาวาส พระอริยเจ้าผู้มากไปด้วยบุญฤทธิ์และเมตตาธรรมแห่งวัดโพธิคุณ

พระมหาวิบูลย์ พุทธญาโณ องค์ปฐมเจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ

ชือ่ พระมหาวิบลู ย์ ฉายา พุทธฺ ญาโณ สังกัด มหานิกาย วัดโพธิคณ ุ เลขที่ 64 หมู่ที่ 6 ถนน ตาก-แม่สอด ต�ำบลแม่ปะ อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เปรียญธรรม 4 ประโยค นักธรรมเอก วิชาสามัญประโยค ครูพิเศษมูล ชื่อเดิม วิบูลย์ นามสกุล รวดเงิน เกิดวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2478 สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย สถานที่เกิดบ้าน ไผ่ท่าโพเหนือ หมู่ที่ 1 ต�ำบลไผ่ท่าโพ อ�ำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร นามบิดา นายชิน นามสกุล รวดเงิน นามมารดา นางมอญ นามสกุล รวดเงิน (เกิดศาสตร์) เป็นบุตรชายคนโต ในบรรดาบุตรธิดา 5 คน อุปสมบท เมื่อ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 ณ อุโบสถ วัดชัยมงคล ต�ำบลในเขต อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร นาม พระอุปชั ฌาย์ พระครูพเิ ศษธรรมนิวษิ ฐ์ เจ้าคณะอ�ำเภอ สังกัดวัดชัยมงคล ต�ำบลในเขต อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ได้รับฉายา พุทฺธญาโณ ในปีพุทธศักราช 2501 พระครูพิเศษธรรมนิวิษฐ์ พระอุปัชฌาย์ ได้สง่ ไปเรียนหนังสือนักธรรมและบาลี ทีว่ ดั อินทารามวรวิหาร ตลาดพลู ธนบุรี กรุงเทพมหานครฯสังกัดอยูท่ วี่ ดั อินทารามวรวิหาร ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมาในปี พ.ศ. 2525 ได้มาเป็นประธานสงฆ์ให้อุบาสกอุบาสิกา ผู ้ มี ศ รั ท ธาได้ ม าเริ่ ม ก่ อ ตั้ ง วั ด โพธิ คุ ณ เป็ น เจ้ า อาวาสรู ป แรกของ วัดโพธิคณ ุ เมือ่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 และหลวงพ่อพระมหาวิบลู ย์ พุทธญาโณ มรณภาพ เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2555 TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 97

97

30/6/2563 16:09:20


ศาลาปฏิบัติธรรมอนุสรณ์ 80 ปี หลวงพ่อพระมหาวิบูลย์ พุทฺธญาโณ

พระพุทธญาณเทวนฤมิต พระประธาน ศาลาปฏิบัติธรรม

พระครูสุธีวุฒิคุณ ดร.

เจ้าอาวาสวัดโพธิคุณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด

98

6

หอสังฆาลัยธรรมรส (หอฉัน) วัดโพธิคุณ

หอธรรมโฆษณ์พิศาล (หอระฆัง) วัดโพธิคุณ

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 98

30/6/2563 16:09:34


พระครูสุธีวุฒิคุณ ดร. รองเจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด รูปที่ 1 เจ้าอาวาสรูปที่ 2

ได้สืบสานงานด้านการปฏิบัติธรรม และก่อตั้งส�ำนักศาสนศึกษา วัดโพธิคุณ โดยพัฒนาการศึกษาควบคู่กับการปฏิบัติ ได้มีการบริหาร การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยการอนุรักษ์ป่าต้นน�้ำ และได้ตั้งริเริ่ม โครงการแบ่งปันสุข แก่ผู้ยากไร้ ด้อยโอกาส ในเขต 5 อ�ำเภอชายแดน ได้รับพระราชทานเสาเสมาธรรมจักร จากสมเด็จพระเทพฯ ในฐานะ เป็นผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา สาขาเผยแผ่ภายพระพุทธ ศาสนาในประเทศ

Phra Khru Suthiwutthikhun, Ph.D., first monk of Mae Sot district vice monk dean

เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุํ ตถาคโต เตสญฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณติฯ " ธรรมทั้งหลาย เหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความดับแห่งธรรมทั้งหลายเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติ ทรงสั่งสอนอย่างนี้ "

Principal of school for religious education of Wat Pho Thi Khun. He had developed education, water and forest conservation. Also, he had established happiness-sharing project in order to help the poor and people who gets fewer opportunities in 5 border districts. He was granted Sao Sema Thammachak (Honorary award) from Princess Maha Chakri Sirindhorn as the one who make good things for Buddhism, domestic propagation branch. Moreover, he has been helping and improving righteous people’s life and society since then until today.

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 99

99

30/6/2563 16:09:40


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมณีไพรสณฑ์ พระครูประกาศบุญญากร เจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์ / เจ้าคณะตำ�บลแม่สอด เขต 1 วั ด มณี ไ พรสณฑ์ ตั้ ง วั ด หรื อ สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ. 2328 นั บ ว่ า เป็ น วั ด ที่ เ ก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ของอ� ำ เภอแม่ ส อด ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ 2499 โดย มีเขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พระครูประกาศบุญญากร ด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2552 -จนถึงปัจจุบัน

วัดมณีไพรสณฑ์ ชาวบ้านในสมัยนั้นเรียกว่า วัดน�้ำล้อม เนื่องจากวัดนั้นตั้งอยู่ตรงกลางสายน�้ำ มีน�้ำแยกจากล�ำห้วยแม่สอด ไหลผ่านเข้ามาล้อม รอบวัด สมัยก่อนบริเวณวัดนั้นหรือเนื้อที่ของวัด เป็นรูปคล้ายรูปตัวยู หรือลักษณะคล้ายรูปเกือกม้า ต่อมา พระราชวรมุนี ท่านเป็นเจ้าอาวาส จึงได้ เปลีย่ นชือ่ วัดให้ถกู ลักษณะพืน้ ภูมศิ าสตร์ของสถาน ที่ตั้งชื่อวัดเรียกว่า “วัดมณีไพรสณฑ์” 100

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 100

30/6/2563 14:30:34


เสนาสนะศาสนวัตถุในวัดมณี ไพรสณฑ์ ในปัจจุบัน

1. วิหารหลังใหม่ 1 หลัง 10. กุฏิ 2 ชั้น และ หอฉัน 2. ซุ้มประตู 1 ซุ้ม 11. ก�ำแพงรอบอุโบสถ 3. หอหอระฆัง 12. โรงเรียนปริยตั ธิ รรม 2 ชัน้ 4. กุฎีทรงไทย 3 หลัง 13. เขตพุทธาวาส 5. เตาอบสมุนไพร 14. ก�ำแพงล้อมรอบวัด 6. สัมพุทเธทรงเจดีย์ 15. ศาลาประทับใจ 2 ชั้น 7. ส�ำนักงานเลขานุการ 16. ส�ำนักแม่ชี 2 ชั้น 8. อาคารเรือนรับรอง 17. ศาลาบ�ำเพ็ญบุญกุศล 9. พระพุทธโคดมบรมศรีเมืองฉอด

พระครูประกาศบุญญากร

เจ้าอาวาสวัดมณี ไพรสณฑ์ / เจ้าคณะต�ำบลแม่สอด เขต 1

ล�ำดับเจ้าอาวาส

ในสมัยนั้นไม่ปรากฏว่ามีเจ้าอาวาสเป็นที่แน่นอนต่อมาปรากฏมี เจ้าอาวาสเป็นที่แน่นอนเมื่อ พ.ศ. 2450 คือ 1. พระครูรัตนสีมารักษ์ (สุธรรม) พ.ศ. 2450 - 2473 2. พระราชวรมุนี (พระมหาชิน ชินวํโส) พ.ศ. 2473 - 2505 3. พระราชวีรากร (วิเชียร ฐานฺวีโร) พ.ศ. 2507 - 2551 4. พระครูประกาศบุญญากร พ.ศ. 2552 - จนถึงปัจจุบัน

พระครูประกาศบุญญากร เจ้าอาวาสวัดมณี ไพรสณฑ์ / เจ้าคณะต�ำบลแม่สอด เขต 1

อุปสมบท เมื่ออายุ 22 ปี เมื่อวันที่ 1 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 เวลา 06.09 น. ณ พัทธสีมา วัดมณีไพรสณฑ์ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตาก พระราชวีรากร วัดมณีไพรสณฑ์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระบ�ำรุง ธมมฺธโร วัดมณีไพรสณฑ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอินเสาร์ ธมฺมกาโร วัดดอนไชย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ (พอสังเขป) - พ.ศ. 2555 ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช า รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร แม่สอด อ�ำเภอ แม่สอด จังหวัดตาก - พ.ศ. 2557 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชา การ บริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร การปกครอง - 28 มิ.ย. พ.ศ. 2547 เป็นเลขานุการเจ้าคณะต�ำบลแม่สอด ท่าสายลวด ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 5 มี.ค. พ.ศ. 2548 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์ ต�ำบล แม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 1 ก.พ. พ.ศ. 2552 เป็นรองเจ้าคณะต�ำบลแม่สอด - ท่าสายลวด ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 15 พ.ค. พ.ศ. 2552 เป็นเลขานุการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด - พบพระ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 3 ก.ย. พ.ศ. 2552 เป็นเจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 13 พ.ค. พ.ศ. 2553 เป็นเจ้าคณะต�ำบลแม่สอด เขต 1 ต�ำบล แม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก - 11 ก.พ. พ.ศ. 2557 เป็นพระอุปัชฌาย์ ต�ำบลแม่สอด เขต 1 อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดมณีไพรสณฑ์ เจ้าคณะต�ำบล แม่สอด เขต 1 จ�ำนวนพระภิกษุ-สามเณร ศิษย์วัด และ อารามิกชน วัดมณีไพร สณฑ์ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก มีจ�ำนวน ดังนี้ พ.ศ. 2562 มีพระภิกษุ 23 รูป, สามเณร 11 รูป, ศิษย์วัด 9 คน อารามิก ชน 2 คน มีระเบียบการท�ำวัตร สวดมนต์ท�ำวัตรเช้า-ท�ำวัตรเย็นตลอดทั้งปี มีการท�ำอุโบสถสังฆกรรม สวดพระปาฏิโมกข์ ทุกกึ่งเดือนตลอดทั้ง พรรษา และนอกพรรษามีพระภิกษุทรงพระปาฏิโมกข์ได้ 2 รูป

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 101

101

1/7/2563 13:09:59


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดแม่ตาว Wat Mae Tao พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล เจ้าอาวาสวัดแม่ตาว / เจ้าคณะอำ�เภอแม่สอด

PHRA KHRU PAIROTSATSANANUKUL, ABBOT OF WAT MAE TAO/ MAE SOT DISTRICT MONK DEAN

วัดแม่ตาว ตั้งอยู่ในหมู่บ้านแม่ตาวสันโรงเรียน เลขที่ 173 หมู่ที่ 5 ต�ำบลแม่ตาว อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ครั้งแรก จ�ำนวน 4 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา โดยมีนายรอด นางบัวค�ำ เปี้ยสุ พ่อขาวมา แม่ขาวตุ่น ทาวาง พร้อมด้วยคณะชาวบ้านได้ร่วมกันซื้อที่ดินถวายสร้างวัด ซึ่งมี พระอินต๊ะยศ ยโสธโร เป็นผู้รับมอบถวายและด�ำเนินการสร้างวัดเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2506 ตรงกับวัน แรม 8 ค�่ำ เดือน 2 ต่อมาวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2520 ตรงกับวันขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 2 นายยม-นางเฉลียว ละน้อย นายตา-นางมอย มณีวรรณ์ พร้อมด้วยคณะศรัทธาชาวบ้าน ได้ซื้อที่ดิน ถวายเพิ่มเติมอีกเป็นเนื้อที่ 2 ไร่ มีที่ดินตั้งวัด 6 ไร่ 3 งาน 26.60 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว 76 วา ติดต่อกับทางสาธารณะประโยชน์ ทิศใต้ยาว 63 วา ติดต่อกับที่นาของนายตา มณีวรรณ์ ทิศตะวันออกยาว 58 วา ติดต่อกับที่นาของนางเรียว ละน้อย ทิศตะวันตกยาว 53 วา ติดต่อกับที่นา ของนายป้อ ต๊ะสุ โดยมีโฉนดที่ดินเลขที่ 3739 เป็นหลักฐาน Wat Mae Tao is located at Ban Mae Tao San Rong Rian, village no.5, Mae Tao sub-district, Mae Sot district, Tak province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 2.7 acres and 1306.4 square meters. Its north territory is adjacent to public road and vein of a mine. The south borders on farmland of Mr.Ta Maneewan. The east is adjoining to farmland of Mr.Ypm Lanoi. Lastly, the west is adjacent to Mrs.Por Tasu. The title deed no.3739 is the proof of ownership of this land. 102

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 102

2/7/2563 11:19:58


พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม สภาพแวดล้ อ มเป็ น ทุ ่ ง นา อาคาร เสนาสนะต่างๆ มีศาลาการเปรียญกว้าง 10 เมตร ยาว 27 เมตร สร้าง พ.ศ. 2525 เป็นอาคารคอนกรีตยกพื้นชั้นเดียว มีภาพจิตรกรรม ฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ พุทธประวัติ พระเวสสันดร พระเจ้าสิบชาติ และพระมาลัย อาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม กว้าง 6 เมตร ยาว 19 เมตร สร้าง พ.ศ. 2528 เป็นอาคารคอนกรีตยกพื้น กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคาร ครึ่งปูนครึ่งไม้ พ.ศ. 2523 ได้รับอนุญาตให้สร้างวัด ตั้งแต่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2523 และในวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2523 นายป้อ ต๊ะสุ พร้อมด้วยครอบครัวได้ถวายที่ดินเพิ่มเติมอีก 1 งาน รวมเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 6 ไร่ 3 งาน 2 ตารางวา Location where this temple is situated is a plain which its environment is a farmland. Important buildings in this temple are as follows: Vihara (Buddha image hall), it is 8 meters in width and 20 meters in length, was built in B.E.2509 which there is mural of The Sama Jataka in this building. Sermon hall, its scale us 10 meters in width and 27 in length, it was built in B.E.2525. It is a single-story concrete building that was built on stilts. There are murals of Ramayana, biography of Lord Buddha, The ten Jataka tales of the Lord Buddha’s previous lives and Phra Malai. Next, Tripitaka-studying building, its scale is 6 meters in width and 19 meters in length, it was built in B.E.2528. It is also a concrete building that was built on stilts. Lastly, there are 2 of monk’s houses, one wooden house and two-story half-wood, half-concrete house. As for sacred object, there are two stucco principle Buddha images in Vihara and Phra Thong Plueng in sermon hall.

อัฐิแก้วหลวงพ่ออินต๊ะยศ ยโสธโร อดีตเจ้าอาวาสวัดแม่ตาว

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 103

103

2/7/2563 11:20:19


วั ด แม่ ต าว กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได้ ป ระกาศตั้ ง เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2526 การก่ อ สร้ า งวั ด ได้ ริ เริ่ ม ด�ำเนินการประมาณ พ.ศ. 2506 ระยะแรกเริ่มสร้างวัดเรียกนามวัด ว่า “วัดสันโรงเรียน” บ้าง เรียกว่า “วัดประชาราษฎร์บำ� รุง” บ้าง แต่นามวัดที่ถูกต้องซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งวัดให้มี นามว่า “วัดแม่ตาว” ตรงกับชื่อของต�ำบลผู้ร่วมด�ำเนินการจัดสร้าง วัดมี นายรอด-นางค�ำ เปี้ยสุ, พ่อขาวมา-แม่ขาวตุ่น ทาวาง พร้อม ด้วยประชาชนชาวบ้านแม่ตาวสันโรงเรียน ได้บริจาคทรัพย์จัดซื้อ ที่ดินให้เป็นที่สร้างวัดมีพระสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา 3 รูป สามเณร 19 รูป ตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2526 Wat Mae Tao has been established as official temple which is announced by Ministry of Education on 27 January B.E.2526. The construction of this temple has been started around B.E.2506. It had other names which was used before the current name such as Wat San Rong Rian or Wat Pracharat Bamrung. However, an official name of the temple that was announced by Ministry of Education is Wat Mae Tao which is the same as name of sub-district where this temple is situated in. The name of people who participated in the establishment of this temple are Mr.Rod, Mrs.Kham Piasu, Mr.Khaoma and Mrs. Khaokhun Thawang including people of Baan Mae Tao San Rong Rian who donated their money for buying land in order to build temple.

104

4

พระพุทธเมตตา

พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล

เจ้าอาวาสวัดแม่ตาว / เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 104

2/7/2563 11:20:26


ล�ำดับเจ้าอาวาส - พ.ศ. 2527 พระอธิการอินต๊ะยศ ยโสธโร ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส รูปที่ 1 วัดแม่ตาว นับว่าเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดแม่ตาว ต่อมาเมื่อเจ้า อาวาส รูปแรกได้มรณภาพลง และเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2529 จึงได้ แต่งตั้งพระอธิการพิมพ์ รตินฺธโร เป็นเจ้าอาวาส ปัจจุบันคือ (พระครู ไพโรจน์ศาสนานุกูล) และเมื่อปี พ.ศ. 2537 พระอธิการพิมพ์ รตินฺธโร ได้ รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสชั้นโท ใน ราชทินนามที่ พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล จนถึงปัจจุบันนี้ และเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2541 พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล เจ้าอาวาสวัดแม่ตาว ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลแม่ตาว-พระธาตุผาแดง - พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะต�ำบลแม่ตาว - พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌาย์ - พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด รูปที่ 2 - พ.ศ. 2562 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอแม่สอด วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2548 พระครูไพโรจน์ศาสนานุกูล เจ้าอาวาส ได้เสนอให้มีรองเจ้าอาวาสวัดแม่ตาว 1 รูป คือ พระอภิสิทธิ์ ทนฺตจิตฺโต และเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็น พระครูสญั ญาบัตร รองเจ้าอาวาส ในราชทินนามที่ พระครูสทิ ธิจติ ตานุยตุ (รจร.) - พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระอุปัชฌาย์ - พ.ศ. 2558 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เลขานุการรองเจ้า คณะอ�ำเภอแม่สอด - พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เจ้าคณะต�ำบลแม่ตาว - พ.ศ. 2562 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น เลขานุการเจ้าคณะ อ�ำเภอแม่สอด

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 105

105

2/7/2563 11:20:35


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดดอนแก้ว พระครูอนุกูลวรการ (พระมหาสมศักดิ์ ผาสุขกาโมแก้วปัญญา) เจ้าอาวาสวัดดอนแก้ว/ เจ้าคณะอำ�เภออุ้มผาง “ ภู มิ ทั ศ น์ ง ามตา การศึ ก ษาก้ า วไกล วิ นั ย เด่ น เป็ น ที่ พึ่ ง มวลประชา ใฝ่ ห าคุ ณ ธรรม น�ำพัฒนาประชาธิปไตย ทันสมัย ไอ ซี ที ”

วัดดอนแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 766 ถนนอินทรคีรี ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีทดี่ นิ ทัง้ หมดจ�ำนวนพืน้ ที่ 24 ไร่ 18 ตารางวา ทีธ่ รณีสงฆ์ 2 ไร่ 1 งาน 13 ตารางวา เป็นวัดที่สร้างขึ้นก่อนพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 วัดดอนแก้วเริ่ม ก่อสร้างขึน้ ตัง้ แต่ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2475 โดยการน�ำของพระอธิการสุคำ� สุวณฺโณ (ท�ำดีแท้) พร้อมครอบครัวนายตา แสนหาญ , นายตัน จันทระ ศรัทธา และศรัทธาทายกทายิกา ชาวบ้านในระแวกหมู่บ้านแม่สอด บนพื้นที่เนินสูงหมู่บ้านร้างชาวกะเหรี่ยงพะหน่อแก่ เพราะ เป็นพื้นที่ตอนเนินสูงจึงตั้งชื่อวัดว่าวัดดอนแก้ว อาณาเขต ทิศเหนือยาว 252 เมตร ติดต่อกับล�ำห้วยแม่สอดหมู่บ้านสองแคว 1 และ หมู่บ้านสองแคว 2 , ทิศใต้ ยาว 156 เมตร ติดต่อกับถนนสายเอเชีย , ทิศตะวันออก 220 เมตร ติดต่อกับถนนเข้าหมู่บ้านสองแคว 2 , ทิศตะวันตกยาว 325 เมตร ติดต่อกับสุสานและ ถนนเข้าหมู่บ้านสองแคว 2 โฉนดที่ดิน 10262 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2517 เป็นสถานที่ตั้งอยู่บนเนิน มีหมู่บ้านล้อมรอบหน้าวัดติดกับถนนสายเอเชีย ผ่านตรงไปติดชายแดนไทย- พม่า เป็นวัดที่มีพระภิกษุสามเณรจ�ำพรรษามิได้ขาด มีเจ้าอาวาส ปกครองบูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะให้รุ่งเรืองตามกาลสมัย 106

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 106

30/6/2563 14:05:36


ปูชนียวัตถุ

- ปูชนียวัตถุโบราณเจดีย์ทรงมอญ อายุประมาณ 97 ปี - พระประธานในวิหาร อายุประมาณ 90 ปี - พระประธานในอุโบสถ อายุประมาณ 50 ปี เสนาสนะที่มั่นคงมี พระอุโบสถ วิหารหลวง ศาลาการเปรียญ กุ ฏิ ส งฆ์ อาคารเรี ย น วั ด ได้ รั บ การพั ฒ นามาเป็ น ล� ำ ดั บ จนถึ ง ปี พ.ศ.2523 พระครูอนุกูลวรการ ( พระมหาสมศักดิ์ ผาสุกกาโม) ได้ น�ำชาวบ้านพัฒนาเสนาสนะให้มีความเจริญรุ่งเรืองมั่นคงถาวรยิ่งขึ้น

การพัฒนาวัดดอนแก้ว

- พ.ศ. 2527 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ โรงเรี ย น พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดดอนแก้ว - พ.ศ. 2531 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นศูนย์พระพัฒนาเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาของกรมการศาสนา - พ.ศ. 2533 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นศูนย์พระนักพัฒนาชุมชนของ กรมการศาสนา - พ.ศ. 2534 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นศูนย์ส�ำนักศาสนาศึกษาโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี วัดดอนแก้ว - พ.ศ. 2539 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำ ต�ำบลแม่สอด วัดดอนแก้ว - พ.ศ. 2540 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนเกณฑ์ อนุบาล ภายในวัดดอนแก้ว - พ.ศ. 2541 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น ศู น ย์ ส งเคราะห์ พุ ท ธมามกะ วัดดอนแก้ว - พ.ศ. 2542 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของกรมการ ศาสนา - พ.ศ. 2542 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ชุ ม ชน เฉลิมพระเกียรติ - พ.ศ. 2545 ได้ รั บ อนุ ญ าตตั้ ง เป็ น สนามสอบธรรมศึ ก ษาสนาม หลวงชั้นตรี โท เอก - พ.ศ. 2550 ได้รบั อนุญาตตัง้ เป็นโรงเรียนอนุกลู วิทยา วัดดอนแก้ว โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนาในโครงการพระราชด�ำริ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - พ.ศ. 2552 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นศูนย์พระธรรมทูตปฏิบัติการ ประจ�ำอ�ำเภอแม่สอด

พระครูอนุกูลวรการ (พระมหาสมศักดิ์ ผาสุขกาโมแก้วปัญญา) เจ้าอาวาสวัดดอนแก้ว / เจ้าคณะอ�ำเภออุ้มผาง

รางวัลโล่ที่ ได้รับ

- พ.ศ. 2539 ได้รับพระราชทานเสมาธรรมจักรทองค�ำ จากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - พ.ศ. 2542 ได้รับโล่วัดพัฒนาตัวอย่างจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช - พ.ศ. 2542 ได้รับโล่ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเฉลิมพระเกียรติ จาก ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก - พ.ศ. 2545 ได้รับพัดยศเกียรติบัตร หน่วย อ.ป.ต. ดีเด่น ระดับ จังหวัด จากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ - พ.ศ. 2546 ได้รับพัดยศเกียรติบัตร หน่วย อ.ป.ต. ระดับจังหวัด จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช - พ.ศ. 2548 ได้รับประกาศกิตติคุณัปปกาสินี หน่วย อ.ป.ต. มี ผลงานดีเด่นระดับอ�ำเภอจากสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เจ้าคณะ ใหญ่หนเหนือ - พ.ศ. 2553 ได้รับโล่รางวัลพุทธคุณูปการ รัชตเกียรติคุณ จาก สมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช - พ.ศ. 2556 ได้รับพัดเกียรติบัตร หน่วย อ.ป.ต. ดีเด่น ประจ�ำปี พ.ศ. 2556 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จากสมเด็จพระมหา รัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 107

107

30/6/2563 14:05:49


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดอรัญญเขต พระครูขันติอรัญกิจ เจ้าอาวาสวัดอรัญญเขต วั ด อรั ญ ญเขต ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 700 ถนนอิ น ทรคี รี ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 8 ไร่ 99 ตารางวา โดยมีโฉนดที่ดินเลขที่ 275, 3622, 415, 3590, 3623, 242, 10561 เป็นหลักฐาน วัดอรัญญเขต สร้างขึ้นเป็น วัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2530 โดยมี นายอุ่นใจ – นางสา ใจพรมเมือง น�ำชาวบ้านจัดสร้างวัดนี้ขึ้น เดิมมี เนื้อที่ดินประมาณ 1 ไร่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 8 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2530 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 25 เมตร ยาว 50 เมตร

อาณาเขตวัด ทิศเหนือ จด ชุมชนร่วมใจ ทิศใต้ จด ถนนอินทรคีรี ทิศตะวันออก จด ถนนสาธารณประโยชน์ ทิศตะวันตก จด ติดกับหมู่บ้าน ที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 8 แปลง มีเนื้อที่รวม 18 ไร่ 18 ตารางวา 108

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 108

30/6/2563 14:38:17


อาคารเสนาสนะ

- อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 26.30 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2496 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 19.50 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2509 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ - กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 15 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จ�ำนวน 14 หลัง, อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ จ�ำนวน 1 หลัง - วิหาร กว้าง 7 เมตร ยาว 17 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2510 เป็น อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 23 เมตร ยาว 23.70 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2548 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ปูชนียวัตถุ

- พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปาง มารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 99 นิ้ว/เมตร สูง 170 นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2497 - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 47 นิ้ว/เมตร สูง 74 นิ้ว/เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553

การศึกษา

- มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม รายละเอียด ชัน้ ตรี ชัน้ โท ชั้นเอก เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2485 - มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด รายละเอียด ชั้นอนุบาล 1 – ประถม 6 เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2540

การบริหารและการปกครอง

มีเจ้าอาวาสมาแล้ว 6 รูป ล�ำดับเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ดังนี้ 1. พระปัญญา ปญฺญาวชิโร ตั้งแต่ พ.ศ. 2430 ถึง พ.ศ. 2447 2. พระเปาค�ำ ปญฺญวุฑฺโฒ ตั้งแต่ พ.ศ. 2447 ถึง พ.ศ. 2462 3. พระสุต�ำ สุวณฺโณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2462 ถึง พ.ศ. 2475 4. พระราชสิทธินายก ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ถึง พ.ศ. 2522 5. พระวิบูลสิทธิคุณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2546 6. พระครูขันติอรัญกิจ ตั้งแต่ พ.ศ.2546 จนถึงปัจจุบัน

พระครูขันติอรัญกิจ เจ้าอาวาสวัดอรัญญเขต

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 109

109

30/6/2563 14:38:35


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดดอนไชย พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี ดร. เจ้าอาวาสวัดดอนไชย / เจ้าคณะอำ�เภอแม่ระมาด วัดดอนไชย ตั้งอยู่เลขที่ 5/10 ถนนประสาทวิถี ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะ สงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 6 ไร่ 1 งาน 41 ตารางวา ตามโฉนดที่ดิน เลขที่ 12820 เล่ม 129 หน้า 20 อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก

วัดดอนไชย ได้สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2428 มี น ามเดิ ม ว่ า วั ด กลางทุ ่ ง โดยมี นายตั๋น-นางทิม เป็นผู้บริจาคที่ดินให้เป็นที่สร้างวัด เดิมมีเนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา ต่อมามีผู้บริจาค จัดซื้อที่ดินเพิ่มเติม จึงรวมเป็นเนี้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 41 ตารางวา ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2513 เขตวิสุคามสีมา กว้าง 25 เมตร ยาว 40 เมตร เจ้ า อาวาสองค์ ป ั จ จุ บั น คื อ พระมหาธี ร วั ฒ น์ ธีรวฑฺฒนเมธี,ดร. วุฒิ นธ.เอก ป.ธ.7 110

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 110

30/6/2563 14:12:22


อาคารเสนาสนะ

- กุฏิที่พักพระสงฆ์และสามเณร 7 หลัง - ศาลาการเปรียญ 2 หลัง - พระอุโบสถ 1 หลัง - อาคารกาญจนาภิเษก 50 ปี 1 หลัง - หอกระจายข่าว 1 ที่ - เจดีย์มหามงคล 72 พรรษา 1องค์ - ซุ้มประตู 3 ซุ้ม ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปปูนปัน้ และทองสัมฤทธิ์ จ�ำนวน 33 องค์

ล�ำดับเจ้าอาวาส

พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี ดร. เจ้าอาวาสวัดดอนไชย / เจ้าคณะอ�ำเภอแม่ระมาด

1. พระพุทธิยะ พ.ศ. 2428-2435 2. พระครูอุทัย พ.ศ. 2435-2480 3. พระใบฎีกาแก้ว ฐานทินฺโน พ.ศ. 2480-2484 4. พระอินสวน พ.ศ. 2484-2488 5. พระชุ่ม พ.ศ. 2488-2495 (รกท.จร.) 6. เจ้าอธิการสนธิ์ สาริโน พ.ศ. 2496-2510 7. พระครูโอภาสสุคนธศีล พ.ศ. 2510-2544 8. พระอธิการแปง พ.ศ. 2544-2547 9. พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน

โรงเรียนโสภณวรคุณวิทยา

โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาเป็นสถานศึกษาใน สังกัดกองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ อยูภ่ าย ใต้ ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลของมหาเถรสมาคม ที่ จั ด การศึ ก ษาชั้ น พื้ น ฐาน ซึ่งเป็นการศึกษาในระบบ ควบคู่กับการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม ทัง้ แผนกบาลีและแผนกธรรม ให้แก่พระภิกษุและสามเณร ด�ำเนินการ สอนโดยครูซึ่งเป็นทั้งพระภิกษุและคฤหัสถ์ ในปัจจุบัน มีโรงเรียน พระปริยติธรรม แผนกสามัญศึกษา กลุ่มโรงเรียนจ�ำนวน 16 กลุ่ม มีจ�ำนวนทั้งหมด 908 โรงเรียน ทั่วประเทศ โรงเรียนโสภณวรคุณวิทยา ตั้งอยู่ในวัดดอนไชย เลขที่ 217 ถนนประสาทวิถี อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก รหัสไปรษณีย์ 63110 น�ำโดย เจ้าอาวาสวัดดอนไชย พระมหาธีรวัฒน์ ธีรวฑฺฒนเมธี ดร. โดยมี พระราชวีรากร เจ้าคณะจังหวัดตากในสมัยนั้นเป็นประธาน มีมติให้ ด�ำเนินการจัดตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษาเพือ่ ส่งเสริม ให้ตั้งเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของคณะสงฆ์ ซึ่งไต้ตั้งชื่อโรงเรียน แห่งนี้ว่า "โรงเรียนโสภณวรคุณวิทยา" ต่อมาได้ร้บใบอนุญาตจัดตั้ง โรงเรียนเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ตามพระราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2540 แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ กฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโดยสถาบัน พระพุทธศาสนา และระเบียบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่าด้วยโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน

จัดการศึกษาในระบบตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ผสมผสาน ทัง้ หลักสูตรแผนกธรรมและแผนกบาลี และ หลักสูตรสามัญศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการขึ้นด้วยกันเปิดท�ำการสอนครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายในระยะแรก ๆ ใช้ศาลา กุฏิ เป็นห้องเรียน และ นักเรียนมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี และเริ่มก่อสร้างอาคารที่มีเดิมอยู่ให้ เป็นอาคารเรียน TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 111

111

30/6/2563 14:12:35


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดมาตานุสรณ์ เจ้าอธิการชัยรัฐวิทย์ อาจารธมฺโม เจ้าอาวาสวัดมาตานุสรณ์ วัดมาตานุสรณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 171 หมู่ที่ 1 บ้านแม่กื้ดหลวง ถนนกัญไชยพัฒนา ต�ำบลแม่กาษา อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 16 ไร่ 31 ตารางวา

วัดมาตานุสรณ์ สร้างเป็นวัดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2470 โดยประชาชน ร่วมใจกันสร้างวัดนี้ ขึ้นมา เดิมมีนามว่า วัดแม่กึ๊ด หรือที่ประชาชน นิยมเรียกกันว่า วัดแม่กึ๊ดหลวง ตามชื่อหมู่บ้านต่อมาในปี พ.ศ. 2483 ได้ เ ปลี่ ย นนามวั ด ใหม่ เ ป็ น วั ด มาตานุ ส รณ์ ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมากว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถกว้าง 9 เมตร ยาว 18.50 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2496 และบูรณะซ่อมแซมขึ้นใหม่ พระวิหารกว้าง 27.50 เมตร ยาว 31 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตทรงจตุรมุข มีหอสวด มนต์กว้าง 6 เมตร ยาว 10.50 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2499 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 1 หลัง กุฎิส�ำหรับรับรองอาคันตุกะจ�ำนวน 2 หลัง ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถปางสมาธิ เป็นพระพุทธรูปปัน้ ต่อมาได้รับพระราชทานนาม จากสมเด็จพระสังฆราชฯ ว่า พระพุทธ สุคตอนันตคุณ และพระประธานในวิหาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร(พระยศในขณะนัน้ ) เสด็จ 112

2

พระราชด�ำเนินมาเป็นองค์ประธานในการเททอง หล่อพระประธานวัน ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2527 และพระราชทานนามพระประธาน พระพุทธ เมตตาศาสนโสทก ปัจจุบนั พระวิหารหลังนีม้ สี ภาพทรุดโทรมมากทาง วัดจึงได้ท�ำการบูรณะซ่อมแซมอยู่ในขณะนี้

เจ้าอธิการชัยรัฐวิทย์ อาจารธมฺโม เจ้าอาวาสวัดมาตานุสรณ์

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 112

30/6/2563 13:21:21


เถระประวัติพอสังเขป ท่านพระครูสิริรัตนาภรณ์ ( ครูบากัญไชย กาญจโน )

หลวงพ่อพระครูสิริรัตนาภรณ์ (กัญไชย กาญจโน) มีนามเดิมว่า เด็กชายดวงค�ำ พลายสาร เกิดเมื่อวันพุธที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2458 ตรงกับขึ้น 5 ค�่ำเดือน 7 ปีเถาะ ที่บ้านศรีบุญเรือง ต�ำบลม่วงตึ้ด อ�ำเภอเมือง จังหวัดน่าน หลวงพ่อเป็นบุตรคนที่ 5 ในบรรดาพี่น้อง ชายหญิง 9 คน บิดาชื่อ นายยศ มารดาชื่อ นางต่อม พลายสาร เมื่ออายุได้ 16 ปี หลวงพ่อมีความมุ่งมั่นปรารถนาที่จะขออุทิศตน เป็นพุทธสาวกของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้รับเมตตาอุปการะ จากพระอธิการกัญจนะวงศ์ เจ้าอาวาสวัดม่วงตึ๊ด เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อบรรพชาแล้วพระอธิการกัญจนวงศ์จึงเปลี่ยนชื่อให้ท่านใหม่ว่า กัญไชย หลวงพ่ อ ได้ อุ ป สมบทเมื่ อ วั น ที่ 2 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2478 ณ พัทธสีมาวัดม่วงตึ๊ด จ.น่าน โดยมีพระครูนันทสมณาจารย์ เจ้า คณะจังหวัดน่าน เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูธรรมสิริสุนทร เจ้าอาวาส วัดภูมนิ ทร์ เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูสริ ธิ รรมกิต เจ้าอาวาสวัดอภัย เป็นอนุสาวจารย์ ได้รับฉายาว่า กัญไชย กาญจโน วันหนึ่งในขณะที่ หลวงพ่อได้แผ่เมตตาจิตพระธรรมวินัยญาณ เหมือนนิมิตไปว่าท่าน ก�ำลังเดินทางมุ่งหน้าไปยังทิศตะวันตกของประเทศ ที่มีป่าเขาทึบ มีภูเขาสูงเสียดฟ้า ท�ำให้ท่านคิดได้ว่า อยากจะสร้างเสนาสนะวัดที่ ยากไร้ ในถิ่นทุรกันดารสักแห่งสองแห่งของทิศดังกล่าว แล้วจะกลับ มายังจังหวัดน่าน พระเดชพระคุณหลวงพ่อครูบากัญไชยเป็นพระเถระผู้ทรงศีล บริสุ ทธิ์เป็ นที่พึ่งของคณะศิษยานุศิษย์ และประชาชนผู ้ที่เคารพ เลื่อมใสศรัทธาทั้งหลาย หลวงพ่อเป็นพระแท้ มีจริยาวัตรนุ่มนวล มีปฏิปทาอันงดงาม สมเป็นสมณสารูปทุกอย่าง ที่ทุกคนกราบไหว้

ท่านได้อย่างสนิทใจ ผู้ใดได้มีโอกาสนมัสการกราบไหว้ท่านแล้ว จะ รู้สึกมีความสุข เกิดศรัทธาเลื่อมใส รู้สึกมีความสดชื่น มีก�ำลังใจ สามารถทีจ่ ะเอาชนะปัญหานัน้ ๆ ได้อย่างประหลาด นับได้วา่ หลวงพ่อ เป็นพระ “สุปฏิปันโน” ผู้ควรเคารพบูชาอย่างยิ่งรูปหนึ่ง ด้วยเพราะ ท่านเป็นพระเถระผู้ทรงวิทยาคุณ มีพลังจิตตานุภาพสูง เป็นผู้มีคาถา อาคมแก่กล้า ท่านจึงเป็นที่พึ่งของชาวบ้านทั่วๆ ไป กว่า 50 ปี ที่ ท่านอยู่ แม่สอด ได้มอบวัตถุมงคลให้กับลูกศิษย์ลูกหา ตลอดจน ชาวบ้านทั่วไปนับแสนๆ คน ปรากฎว่ายังไม่เคยมีผู้ใดประสบกับภัย อันตรายทั้งปวง จนท่านได้รับฉายานามว่า “เทพเจ้านักบุญแห่งลุ่ม น�้ำเมย” สมณศักดิข์ องหลวงพ่อครูบากัญไชย ได้รบั พระกรุณาโปรดเกล้าฯ เป็นพระครูสิริรัตนาภรณ์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2512 และได้รับ แต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลแม่กาษา เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2533 ปลายปี 2541 หลวงพ่อเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลแม่สอดหลาย ครั้ ง ด้ ว ยโรคหลอดลมอั ก เสบ เคยอาพาธหนั ก ที่ สุ ด เมื่ อ วั น ที่ 3 พฤษภาคม 2541 หลังจากนั้นหลวงพ่อเข้ารับการรักษาอีกครั้ง ใน วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ 2542 เมื่อเวลาบ่าย และต่อมา หลวงพ่อ ได้ละสังขารด้วยอาการสงบ เมื่อเวลา 22.05 น. ของวันอังคารที่ 9 แรม 9 ค�่ำ เดือนกุมภาพันธ์ 2542 สิริอายุรวม 83 ปี 8 เดือน 7 วัน 64 พรรษา

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 113

พระครูขันติอรัญกิจ

113

30/6/2563 13:21:33


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดราษฎร์เจริญธรรม พระครูอภิวัฒน์คณาภิบาล เจ้าอาวาสวัดราษฎร์เจริญธรรม / เจ้าคณะอำ�เภอพบพระ วัดราษฎร์เจริญธรรม ตั้งวัดเมื่อวันที่ 7 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2548

วัดราษฎร์เจริญธรรม เมื่อปี พ.ศ. 2516 ชาวบ้านได้ย้ายถิ่นฐาน มาจาก จังหวัดก�ำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดอุทัยธานี และ จังหวัดนครปฐม มาอยู่ในหมู่บ้านเสรีราษฎร์ หมู่ที่ 6 ต�ำบลช่องแคบ อ�ำเภอพบพระ จังหวัดตาก เขตป่าสงวนแห่งชาติ ( ป่าเสื่อมโทรม ) การท�ำบุญแต่ละครั้งจะต้องเดินทางไปกลับประมาณ 48 กิโลเมตร ซึ่งห่างไกลมาก ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันสร้างที่พักสงฆ์ขึ้น ให้มีชื่อว่าที่ พักสงฆ์ราษฎร์เจริญธรรม มีพระภิกษุจ�ำพรรษาไม่ได้ขาดจนถึงปี พ.ศ. 2535 ได้มีญาติโยมนิมนต์ พระสุชาติ โอปนยิโก มาจากจังหวัด ราชบุรี เพื่อสะดวกในการท�ำบุญ นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ก็มีพระภิกษุ มาจ�ำพรรษามากขึ้นเป็นล�ำดับ จนมาถึงปี พ.ศ. 2540 ทางคณะ กรรมการที่พักสงฆ์จึงมอบหมายให้ นายแดง ศรีภักดี เป็นตัวแทน ของที่พักสงฆ์ราษฎร์เจริญธรรม ท�ำเรื่องขอใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าแม่โกนเกน – ช่องแคบ และได้รับอนุญาตให้เข้าท�ำประโยชน์หรือ อยู่อาศัยภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติแล้ว ชาวบ้านก็พร้อมใจกันให้ นายแดง ศรีภักดี ท�ำเรื่องขออนุญาตสร้างวัดในปี พ.ศ. 2546 114

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 114

30/6/2563 14:20:16


จนได้รับอนุญาตให้สร้างวัดในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ทางวัดจึงได้สร้างกุฏิที่พักของสงฆ์ กว้าง 15 เมตร ยาว 3 เมตร จ�ำนวน 17 หลัง เพื่อเป็นที่พักของพระสงฆ์พร้อมกับสร้างศาลา การเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร เพื่อเป็นที่ท�ำบุญของ ญาติโยม เมื่อท�ำเรียบร้อยแล้วจึงขออนุญาตตั้งวัดในต้นปี พ.ศ. 2548 จนมาได้ รั บ ประกาศตั้ ง เป็ น วั ด ให้ ถู ก ต้ อ งตามกฎหมายในวั น ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2548 โดยมีพระสุชาติ โอปนยิโก เป็นเจ้าอาวาส พร้อม ทั้งได้รับแต่งตั้งฐานานุศักดิ์ให้เป็นพระครูสังฆรักษ์สุชาติ โอปนยิโก ในพระราชวีรากร ( เจ้าคณะจังหวัดตาก ) เนื่องจากระยะทางห่างไกล ดังกล่าว การท�ำสังฆกรรมเช่น สวดพระปาฏิโมกข์ อุปสมบทเป็นไป ด้วยความล�ำบาก ชาวบ้านเสรีราษฎร์จึงพร้อมใจกันสร้างอุโบสถ ขึ้น 1 หลัง กว้าง 7 เมตร ยาว 22 เมตร วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2549 สร้างเสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. 2552 ใช้เวลาสร้าง ประมาณ 3 ปีเศษ ใช้งบประมาณไปทั้งสิ้น 11,000,000 บาทเศษ

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 115

115

30/6/2563 14:20:29


ปั จ จุ บั น อุ โ บสถเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว สามารถที่ จ ะท� ำ สั ง ฆกรรมได้ แ ล้ ว จึ ง ได้ ท� ำ เรื่ อ งขอพระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ในโอกาสนี้ มีพระครูสังฆรักษ์สุชาติ โอปนยิโก เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2534 จนถึงปัจจุบัน ( ณ ปัจจุบัน พระครูสังฆรักษ์สุชาติ โอปนยิโก ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ที่พระครูอภิวัฒน์คณาภิบาล เจ้าคณะอ�ำเภอพบพระ)

116

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

4

.indd 116

30/6/2563 14:20:35


ประวัติพระครูอภิวัฒน์คณาภิบาล ( โดยสังเขป )

พระครู อ ภิ วั ฒ น์ ค ณาภิ บ าล เกิ ด ที่ บ้ า นเลขที่ 130 หมู ่ 2 ต�ำบลทุ่งหลวง อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี ชื่อสุชาติ ทิพย์สร บิดาชื่อนายวงศ์ ทิพย์สร มารดาชื่อนางจันทร์ ทิพย์สร เกิดวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2509 ปีมะเมีย ศึกษาที่โรงเรียนชุมชนวัดทุ่งหลวง จบชั้นป. 4 พ.ศ. 2519 อุปสมบทเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 ณ วัดทุ่งหลวง อ�ำเภอปากท่อ จังหวัดราชบุรี โดยมีพระครูสริ วิ ฒ ุ กิ ร เป็นพระอุปชั ฌาย์ มีพระสมพงษ์ อิสสรญาโณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ มีพระอธิการ ประสิทธิ์ ทสฺสนีโย เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การศึกษาพระปริยัติธรรม - ปีพ.ศ. 2530 สอบได้ น.ธ. ตรี วัดทุ่งหลวง - ปีพ.ศ. 2531 สอบได้ น.ธ. โท วัดทุ่งหลวง - ปีพ.ศ. 2532 สอบได้ น.ธ. เอก วัดทุ่งหลวง - ปีพ.ศ. 2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสังฆรักษ์ ฐานานุกรม พระราชวีรากรเจ้าคณะจังหวัดตาก - ปีพ.ศ. 2548 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดราษฎร์เจริญธรรม - ปีพ.ศ. 2550 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการสอบธรรมสนามหลวง - ปีพ.ศ. 2553 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลช่องแคบ - ปีพ.ศ. 2555 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอพบพระ - ปีพ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 117

117

30/6/2563 14:20:43


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดพบพระเหนือ เจ้าอธิการสุรศักดิ์ นรินฺโท เจ้าอาวาสวัดพบพระเหนือ กราบหลวงพ่อโต องค์ใหญ่ที่สุดใน 5 อ�ำเภอฝั่งตะวันตก จังหวัดตาก

วั ด พบพระเหนื อ แยกวั ด จากวั ด พบพระใต้ ป ี พ.ศ.2513 นายจันทร์ ทิปญ ั ญา เป็นก�ำนันต�ำบลพบพระคนแรกของต�ำบลพบพระ นายยิ้ม จันมา ที่ปรึกษาเป็นผู้มอบที่ดินสร้างวัด วัดพบพระเหนือ ได้ รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ.2505 เมื่อปี พ.ศ.2513 ได้สร้าง กุฏไิ ม้สกั ทองชัน้ 1 หลังคามุงด้วยไม้เกล็ดสักทองต่อมาในปี พ.ศ. 2515 ได้สร้างศาลาการเปรียญไม้สักทองขึ้นอีก 1 หลัง กว้าง 15 เมตร ยาว 21 เมตร เสา 48 ต้น หลังคามุงด้วยสังกะสีบนศาลาใช้เป็น ที่เก็บทรัพย์สินต่างๆ ของวัด ส่วนใต้ถุนได้เทพื้นคอนกรีตใช้เป็นที่ ประชุมและใช้ในกิจการต่างๆ ของทางราชการ เช่น ใช้เป็นสถานที่ เลือกตั้งต่างๆ ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 ได้สร้างวิหารขึ้นอีก 1 หลังโดย สร้ า งด้ ว ยไม้ ไ ผ่ ห ลั ง คามุ ง ด้ ว ยใบตองและหญ้ า คาหญ้ า แฝกใน ปี พ.ศ. 2517 ได้รื้อวิหารหลังไม้ไผ่ออกแล้วสร้างเป็นวิหารถาวรขึ้น แทนโดยใช้ไม้สักทองทั้งหลังใช้ในงานพิธีได้ 33 ปี ในปี พ.ศ. 2519 ได้สร้างศาลาที่พักสงฆ์อีก 1 หลัง ส�ำหรับให้เป็นที่พักจ�ำพรรษาของ พระสงฆ์ ใ นปี พ.ศ. 2520 ได้ ส ร้ า งกุ ฏิ เข้ า อาวาสขึ้ น อี ก 1 หลั ง 118

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 118

30/6/2563 13:49:59


เป็นกุฏิเจ้าอาวาส โดยเฉพาะปี พ.ศ. 2521 ได้สร้างมณฑปอีก 1 หลัง กว้าง 5.80 เมตร ยาว 7.80 เมตร ในมณฑปบรรจุพระพุทธรูปปางต่างๆ ให้ทุกท่านได้กราบไหว้บูชาต่อมาในปี พ.ศ.2521 ได้สร้างศาลาขึ้น อีก 1 หลัง เพื่อใช้เป็นที่ส�ำรับให้พระสงฆ์พ�ำนักจ�ำพรรษา และเป็น ห้องปฐมพยาบาลในวัดต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ปีเดียวกันพร้อมได้ สร้างห้องน�้ำห้องส้วมอีก 3 หลัง และมีสนามกีฬาให้เยาวชนได้ออก ก�ำลังกายในปี พ.ศ. 2528 ได้รับพระทานวิสุงคามสีมามีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าความกว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษามา เล่มที่ 102 ตอนที่ 37 เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2528 ตอนนั้ น นายอ� ำ เภอณรงค์ ฤ ทธิ์ สุ ข ะตุ ง คะ เป็ น ผู ้ ม าเขต วิสุงคามสีมา ให้เป็นเขตก่อสร้างวัดพบพระเหนือได้รับการคัดเลือก ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างของอ�ำเภอพบพระ เมื่อปี พ.ศ. 2533 ใน สมัยหลวงพ่อสิงห์เป็นเจ้าอาวาสต่อมาในปี พ.ศ. 2539 ได้สร้างศาลา การเปรียญขึ้นอีก 1 หลัง 2 ชั้น หลังคามุงด้วยกระเบื้องชั้นบนใช้ ส�ำหรับเป็นที่สอนนักธรรม ชั้นล่างใช้เป็นที่ท�ำบุญประจ�ำพิธีต่างๆ ตลอดไป กว้าง 18 เมตร ยาว 74 เมตร ในปี พ.ศ. 2540 ได้จัดสร้าง พระพุทธรูปองค์ประธานประจ�ำวัดองค์ใหญ่ กว้าง 17.50 เมตร สูง 24 เมตร นามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “หลวงพ่อโต” คือใหญ่ที่สุด ของซีก 5 อ�ำเภอฝั่งตะวันตก ในครั้งนี้ ปัจจุบันมีเจ้าอธิการสุรศักดิ์ นรินฺโท เป็นเจ้าอาวาสตั้งแต่ พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน

เจ้าอธิการสุรศักดิ์ นรินฺโท เจ้าอาวาสวัดพบพระเหนือ

ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป

กิจกรรมสรงน�้ำเปลี่ยนผ้าองค์พระพุทธโสภณวรคุณ ( หลวงพ่อโต ) และสรงน�้ำพระ-รดน�้ำหัวผู้สูงอายุ

เจ้าอธิการสุรศักดิ์ นรินฺโท เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2529 อายุ 34 พรรษา 15 วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก ต�ำแหน่งฝ่ายการปกครอง เจ้าอาวาสวัด พบพระเหนือ เจ้าคณะต�ำบลพบพระ-วาเล่ย์ ผลงานดีเด่น พ.ศ.2556 ได้รับประธานหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลพบพระ ระดับ อ�ำเภอ พ.ศ.2557 ได้รับประธานหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลพบพระ ระดับ อ�ำเภอ พ.ศ.2560 ได้รับประธานหน่วยอบรมประจ�ำต�ำบลพบพระ ระดับ อ�ำเภอ TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 119

119

30/6/2563 13:50:16


Facebook SBL

History of buddhism....

วัดนาโบสถ์ พระมหาภาสุ สมาจาโร เจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์ และเจ้าคณะตำ�บลนาโบสถ์ วัดนาโบสถ์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 ม.4 ต.นาโบสถ์ อ.วังเจ้า จ.ตาก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่มีเอกสารสิทธิ์ทั้งหมด 8 ไร่ 3 งาน 23 ตารางวา

วัดนาโบสถ์ เดิมเป็นที่พักสงฆ์ชื่อว่า วังต�ำลึงนาโบสถ์ เนื่องจาก เดิมที่พักสงฆ์ตั้งอยู่ระหว่างหมู่บ้านวังต�ำลึงกับหมู่บ้านนาโบสถ์ก่อตั้ง เมื่อปีพ.ศ. 2515 โดยพระครูโสภณธรรมนิเทศก์ และคณะศรัทธา ต่อมานายเรียน อ่อนแก้ว, นายประเสริฐ ตาวงษ์, นายแอ้ว - นางข�ำ เขียวสด, นายผ่อน - นางถ้วน เจือจุ่น บริจาคที่ดินให้เพื่อสร้างวัด คณะศรัทธาจึงช่วยกันก่อสร้างต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ ตั้งเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 9 ม.ค. 2527 มีนามตามชื่อหมู่บ้านว่า “วัดนาโบสถ์” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันที่ 4 ม.ค. 2529 นับเป็นอุโบสถหลังแรกของ อ�ำเภอวังเจ้า ต่อมาได้สร้างอุโบสถหลัง ใหม่ขึ้นในปี พ.ศ. 2557 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2560 มีพระพิเชษฐ ชัยมงคลพิชติ มาร เป็นพระประธานในอุโบสถ ภายในอุโบสถมีภาพวาด จิตรกรรม ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน และภาพวาดชีวประวัติ ของ พระครูโสภณธรรมนิเทศก์(หลวงพ่อค�ำ ใสภโณ) นอกจากพระพิเชษฐ ชัยมงคลพิชิตมาร ในอุโบสถแล้วยังมี พระพุทธธรรมจาริก ซึ่งถือว่า เป็นพระพุทธรูปคู่วัดอีกองค์หนึ่งเนื่องจากพระครูโสภณธรรมนิเทศก์ 120

2

ได้รับมอบมาจากสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ประธานพระธรรมจาริก เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ ในขณะนั้นประมาณปี พ.ศ. 2508 และยังมี หลวงพ่อขาว ซึ่งถือว่าเป็นพระพุทธรูปที่ชาวบ้านนับถือศรัทธา อีก องค์หนึ่ง สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2516 และภายในวัดยังมีพลับพลาของ องค์ ส มเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราชซึ่ ง สร้ า งด้ ว ยความส� ำ นึ ก ใน พระมหากรุ ณ าของพระองค์ โดยมี พลตรี ดร.พิ เชษฐ คงศรี เป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ และคณะศรัทธา ต�ำบลนาโบสถ์ อ�ำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก ร่วมกันสร้างขึน้ วัดนาโบสถ์ยงั เป็นส�ำนักศาสนศึกษาพระปริยตั แิ ผนกธรรม ประจ�ำต�ำบลนาโบสถ์ พระปริยตั ิธรรมแผนกบาลี ประจ�ำอ�ำเภอวังเจ้า

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 120

30/6/2563 15:00:52


ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์

1. พระครูโสภณธรรมนิเทศก์(หลวงพ่อค�ำใบ โสภโณ) พ.ศ. 2527 – พ.ศ. 2559 2. พระมหาภาสุ สมาจาโร (แก้วคง)ป.ธ.7 พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน

ประวัติพระครูโสภณธรรมนิเทศก์ (หลวงพ่อค�ำใบ โสภโณ)

พระครูโสภณธรรมนิเทศก์ นามเดิม ค�ำใบ แสงตา เกิดเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ ต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ( ปัจจุบันต�ำบลสร้างถ่อน้อย อ�ำเภอหัวตะพาน จังหวัดอ�ำนาจเจริญ) อุ ป สมบท เมื่ อ วั น ที่ 4 เดื อ นพฤษภาคม พ.ศ. 2493 ในปี พ.ศ. 2497 ท่านได้เดินธุดงค์มายังจังหวัดตากและได้จ�ำพรรษาอยู่ที่ วั ด ชั ย ชนะสงคราม อ� ำ เภอเมื อ งตาก ต่ อ มาปี พ .ศ. 2499 ได้ ไ ป จ�ำพรรษาอยู่ที่ วัดท่านา อ�ำเภอเมืองตาก ปี พ.ศ. 2515 ได้เป็นอาสา สมัครเป็นพระธรรมจาริกประจ�ำอาศรมวังต�ำลึง ต�ำบลเชียงทอง อ�ำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก (ในขณะนัน้ ) ปัจจุบนั เป็นหมูบ่ า้ นวังต�ำลึง ต�ำบลนาโบสถ์ อ�ำเภอวังเจ้า จังหวัดตากและได้เริ่มก่อตั้งที่พักสงฆ์ ขึ้นในหมู่บ้านวังต�ำลึงนาโบสถ์ ปัจจุบันคือ วัดนาโบสถ์ ต�ำแหน่งและสมณศักดิ์ - พ.ศ. 2497 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ส�ำนักเรียนวัดชัยชนะสงคราม - พ.ศ. 2499 เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรมวัดท่านา อ�ำเภอเมืองตาก - พ.ศ. 2501 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองบัวใต้ วังหิน เชียงทอง - พ.ศ. 2508 เป็นพระธรรมทูตสายที่ 8 เขตท้องถิ่นอบรม อ�ำเภอ สามเงา จังหวัดตาก - พ.ศ. 2510 เป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดตาก - พ.ศ. 2514 เป็นเจ้าอาวาสวัดท่านา อ�ำเภอเมืองตาก - พ.ศ. 2520 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต รเจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น ตรี ใน ราชทินนามที่ พระครูโสภณธรรมนิเทศก์ เป็นหัวหน้าพระธรรมจาริก เขต๓ เขตรับผิดชอบ จังหวัดตาก จังหวัดก�ำแพงเพชร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดอุทัยธานี

พระมหาภาสุ สมาจาโร

เจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์ และเจ้าคณะต�ำบลนาโบสถ์

- พ.ศ. 2527 เป็นเจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์ ต�ำบลนาโบสถ์ อ�ำเภอ วังเจ้า จังหวัดตาก - พ.ศ. 2529 เป็นพระอุปัฌชาย์ - พ.ศ. 2536 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น โท ในราชทินนามที่พระครูโสภณธรรมนิเทศก์ - พ.ศ. 2549 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร เจ้ า คณะต� ำ บลชั้ น เอก ในราชทินนามที่พระครูโสภณธรรมนิเทศก์ - พ.ศ. 2549 เป็นพระธรรมจาริกอาวุโส มรณภาพ เมื่อวันที่ 26 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 สิรอิ ายุรวม 88 ปี 2 เดือน 18 วัน 65 พรรษา

ประวัติพระมหาภาสุ สมาจาโร เจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์

พระมหาภาสุ สมาจาโร นามเดิม ภาสุ แก้วคง เกิดเมื่อ 20 เดือน เมษายน พ.ศ.2522 ณ ต�ำบลเชียงทอง อ�ำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก อุปสมบท เมื่อวันที่ 19 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2545 ณ พัทธสีมาวัด นาโบสถ์ มีพระครูโสภณธรรมนิเทศก์เป็นพระอุปัฌชาย์ จบการศึกษา เปรียญธรรม 7 ประโยค นักธรรมชั้นเอก - พ.ศ. 2548 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ส�ำนักเรียน วัดคลองโพธิ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ - พ.ศ. 2553 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ส�ำนักเรียน วัดชลประทานรังสฤษิ์ จังหวัดนนทบุรี - พ.ศ. 2556 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์ เป็นเจ้าคณะต�ำบล นาโบสถ์ - พ.ศ. 2559 เป็นเจ้าอาวาสวัดนาโบสถ์ - พ.ศ. 2561 เป็นพระอุปัชฌาย์ TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 121

121

30/6/2563 15:01:05


ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

TAK

จังหวัดตาก

ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

122

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 122

3/7/2563 17:14:40


THE IMPORTANT TEMPLES TAK

อ�ำเภอเมืองตาก วัดกลางสวนดอกไม้

วัดบ่อไม้หว้า

บ้านแม่ท้อ ม.2 ต�ำบลแม่ท้อ

บ้านบ่อไม้หว้า ม.3 ต�ำบลน�้ำรึม

วัดเกาะตาเถียร

วัดบ้านเด่น

บ้านเกาะตาเถียร ม.1 ต�ำบลไม้งาม

บ้านเด่น ม.2 ต�ำบลหนองบัวเหนือ

วัดแก่งหิน บ้านแก่งหิน ม.2 ต�ำบลวังประจบ

วัดเขาถ�้ำ บ้านแพะ ม.7 ต�ำบลไม้งาม

วัดเขาลาน�้ำ

วัดโบสถ์มณีศรีบุญเรือง บ้านรมณีย์ ต�ำบลหนองหลวง

วัดปทุมคีรี บ้านหนองหลวง ต�ำบลหนองหลวง

วัดปากห้วยไม้งาม

วัดวังหินเจริญธรรม บ้านตลุกสัก ม.13 ต�ำบลวังหิน

วัดส้มเกลี้ยง ม.3 ต�ำบลป่ามะม่วง

วัดสระตลุง บ้านสระตลุง ม.1 ต�ำบลตลุกกลางทุ่ง

วัดสระบัว บ้านสระบัว ม.13 ต�ำบลโป่งแดง

วัดสะแกเครือ

บ้านประจ�ำรักษ์ ม.10 ต�ำบลวังหิน

บ้านปากห้วยไม้งาม ม.3 ต�ำบลหนองบัวเหนือ

วัดคลองสัก

วัดป่าลานร่มเย็น

บ้านสะแกเครือ ม.3 ต�ำบลวังประจบ

วัดสันป่าพง

บ้านคลองสัก ม.1 ต�ำบลน�้ำรึม

บ้านชะลาดระฆัง ม.4 ต�ำบลโป่งแดง

วัดโคกเจดีย์

วัดโป่งแค

บ้านหัวเดียด ต�ำบลหัวเดียด

บ้านชะลาด ม.5 ต�ำบลป่ามะม่วง

บ้านโป่งแค ม.7 ต�ำบลวังประจบ

วัดโคกพลู

วัดโป่งแดง

วัดสิงขรวนาราม

บ้านหนองหลวง ต�ำบลหนองหลวง

บ้านโป่งแดง ม.2 ต�ำบลโป่งแดง

วัดชัยชนะสงคราม

วัดไผ่ล้อม

บ้านจีน ต�ำบลระแหง

บ้านท่าแค ต�ำบลเชียงเงิน

บ้านหนองระก�ำ ต�ำบลระแหง

วัดเชียงทอง

วัดไผ่สีซอ

วัดหนองกระทุ่ม

บ้านเชียงทอง ต�ำบลระแหง

บ้านเนินมะลื่น ม.12 ต�ำบลตลุกกลางทุ่ง วัดพร้าว ต�ำบลหนองหลวง

วัดดงชัฎก้อม บ้านดงชัฎก้อม ม.10 ต�ำบลโป่งแดง

วัดดงปู บ้านดงปู ม.4 ต�ำบลหนองบัวใต้ วัดดอนแก้ว ต�ำบลหนองหลวง

วัดดอนมูลชัย

บ้านหัวเดียด ต�ำบลหัวเดียด

วัดตลุกกลางทุ่ง

วัดโพธาราม

บ้านปากคลองน้อย ต�ำบลระแหง

วัดโพรงตะเข้ บ้านโพรงตะเข้ ม.9 ต�ำบลโป่งแดง

บ้านลานสาง ม.11 ต�ำบลแม่ท้อ

วัดสีตลาราม บ้านหนองกระทุ่ม ม.6 ต�ำบลโป่งแดง

วัดหนองกะโห้ บ้านหนองกะโห้ ม.7 ต�ำบลไม้งาม

วัดหนองแขม บ้านหนองแขม ม.8 ต�ำบลแม่ท้อ

วัดหนองตับ

วัดมณีบรรพต

บ้านหนองตับ ม.1 ต�ำบลหนองบัวเหนือ

บ้านเขาแก้ว ต�ำบลระแหง

วัดหนองนกปีกกา

บ้านตลุกกลางทุ่ง ม.5 ต�ำบลตลุกกลางทุ่ง วัดท่านา บ้านหนองบัวใต้ ม.2 ต�ำบลหนองบัวใต้

วัดมะเขือแจ้ ต�ำบลระแหง วัดไม้งามหลวง

วัดท่าไม้แดง

บ้านลานเต็ง ม.9 ต�ำบลวังประจบ วัดลานสอ ม.4 ต�ำบลวังประจบ วัดลานสาง ม.4 ต�ำบลแม่ท้อ

บ้านเกาะอ้ายด้วน ม.1 ต�ำบลวังหิน

บ้านลานห้วยเดื่อ ม.1 ต�ำบลโป่งแดง

วัดน�้ำดิบ

วัดวังประจบ

บ้านหนองนกปีกกา ม.3 ต�ำบลโป่งแดง วัดหนองบัวเหนือ บ้าน หนองบัวเหนือ ม.4 ต�ำบล หนองบัวเหนือ วัดหนองปรือ บ้านหนองปรือ ม.1 ต�ำบลหนองบัวใต้ วัดห้วยทรายสอง บ้านห้วย ทรายสอง ม.6 ต�ำบลหนองบัวใต้ วัดอรัญญาวาส บ้านหนองพม่า ม.6 ต�ำบลตลุกกลางทุ่ง

บ้านน�้ำดิบ ม.6 ต�ำบลวังประจบ

บ้านวังประจบ ม.1 ต�ำบลวังประจบ

วัดเนินมะคึกวนาราม

วัดวังม่วง ม.5 ต�ำบลไม้งาม วัดวังศิลาราม ม.5 ต�ำบลวังหิน

วัดอัมพวัน

บ้านท่าไม้แดง ม.3 ต�ำบลวังหิน

วัดท่าเล่วัฒนาราม บ้านท่าเล่ ม.5 ต�ำบลหนองบัวใต้

วัดทุ่งพระชัย

บ้านเนินมะคึก ม.7 ต�ำบลน�ำ้ รึม

บ้านไม้งาม ม.2 ต�ำบลไม้งาม

วัดลานเต็ง

วัดลานห้วยเดื่อ

บ้านป่ามะม่วง ม.2 ต�ำบลป่ามะม่วง

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

3/7/2563 17:14:42


ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

อ�ำเภอแม่ระมาด วัดจกปกพัฒนาราม

วัดแม่จะเรา

บ้านจกปก ม.11 ต�ำบลขะเนจื้อ

บ้านแม่จะเราบ้านทุ่ง ม.6 ต�ำบลแม่จะเรา

วัดดอนแก้ว บ้านสันเก้าก้อม ม.6 ต�ำบลแม่ระมาด

วัดแม่ระมาดน้อย

วัดดอนมูล

บ้านแม่ระมาดน้อย ม.8 ต�ำบลขะเนจื้อ

บ้านแม่ระมาด ม.3 ต�ำบลแม่ระมาด

วัดศรีบุญเรือง บ้านแม่ระมาด ม.4 ต�ำบลแม่ระมาด

วัดดอนมูล

วัดศรีมงคล

บ้านค้างภิบาล ม.1 ต�ำบลพระธาตุผาแดง

บ้านสันป่าไร่ ม.5 ต�ำบลพระธาตุ

วัดทุ่งมะขามป้อม บ้านทุ่งมะขามป้อม ม.4 ต�ำบลพระธาตุ

วัดเทพนิมิตร

วัดศรีมณีวัน บ้านแม่จะเราบ้านทุ่ง ม.1 ต�ำบลแม่จะเรา

วัดสิทธาวาส

บ้านไร่ ม.2 ต�ำบลขะเนจื้อ

บ้านแม่จะเราสองแคว ม.2 ต�ำบลแม่จะเรา

วัดนาแฮ

วัดหนองหลวง

บ้านนาแฮ กูเตอร์โกล ม.4 ต�ำบลสามหมื่น

บ้านหนองหลวง ม.13 ต�ำบลขะเนจื้อ

วัดบ้านวังผา

วัดอภัยคีรี

บ้านวังผา ม.4 ต�ำบลแม่จะเรา

บ้านแม่จะเราสองแคว ม.3 ต�ำบลแม่จะเรา

วัดป่าขะเนจื้อ บ้านขะเนจื้อ ม.7 ต�ำบลขะเนจื้อ

วัดป่าไม้ห้า บ้านป่าไม้ห้า ม.6 ต�ำบลแม่ระมาด

วัดภุมราวาส

วัดอัชคามาวาส บ้านแพะ ม.4 ต�ำบลขะเนจื้อ วัดอุดมสามัคคี ห้วยบง ม.8 ต�ำบลแม่จะเรา

บ้านต้นผึ้ง ม.1 ต�ำบลแม่ระมาด

124

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 124

3/7/2563 17:14:44


THE IMPORTANT TEMPLES TAK

อ�ำเภอแม่สอด ต�ำบลพระธาตุผาแดง

บ้านแม่ปะกลาง ม.2 ต�ำบลแม่ปะ

บ้านหนองบัว ม.7 ต�ำบลแม่ปะ

บ้านดอนไชย ม.6 ต�ำบลแม่ตาว

วัดพระธาตุสิริมงคล

วัดศรีเกิด

วัดห้วยแก้ว

วัดแดนอาณาเขต

บ้านแม่ปะ ม.9 ต�ำบลแม่ปะ

บ้านแม่ตาวกลาง ม.2 ต�ำบลแม่ตาว

บ้านแม่กุหลวง ม.1 ต�ำบลแม่กุ

วัดโพธิคุณ

วัดศรีบุญเรือง

บ้านห้วยกะโหลก ม.4 ต�ำบลแม่ปะ

วัดตรีรัตนาราม

บ้านห้วยเตย ม.6 ต�ำบลแม่ปะ

บ้านแม่ตาวสันแปร ม.4 ต�ำบลแม่ตาว

วัดห้วยบงวนาราม บ้านห้วยบง ม.7 ต�ำบลแม่กาษา

วัดศรีรัตนาราม

วัดห้วยผักหละ บ้านห้วยผักหละ ม.3 ต�ำบลแม่กุ

วัดเกศแก้วบูรพา

วัดแดนไทยพัฒนา

บ้านแม่กุน้อย ม.7 ต�ำบลแม่กุ

วัดโกกโก่ บ้านโกกโก่ ม.4 ต�ำบลแม่กาษา

วัดเจดีย์ โคะ บ้านเจดีย์โคะ ม.6 ต�ำบลมหาวัน

บ้านบัวคูณ ต�ำบลแม่สอด

วัดภาวนานิยมาราม

วัดชลประทาน

วัดไตรรัตนาราม

ต�ำบลแม่สอด

บ้านหัวฝาย ม.2 ต�ำบลพระธาตุผาแดง

บ้านแม่ตาว ม.1 ต�ำบลท่าสายลวด

วัดชัยมงคล

วัดถ�้ำเสือ

ม.2 ต�ำบลด่านแม่ละเมา

บ้านถ�ำ้ เสือ ม.5 ต�ำบลพระธาตุผาแดง

วัดชุมพลคีรี

วัดถ�้ำอินทนิล

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

บ้านหัวฝาย ม.2 ต�ำบลพระธาตุผาแดง

วัดเชตพน บ้านแม่ตาวใต้ ม.1 ต�ำบลแม่ตาว

วัดเชตวันคีรี บ้านแม่ละเมา ม.2 ต�ำบลพะวอ

วัดฐิตราม บ้านห้วยยะอุ ม.1 ต�ำบลด่านแม่ละเมา

วัดดอนแก้ว

วัดท่าสายโทรเลข บ้านริมเมย ม.2 ต�ำบลท่าสายลวด

วัดท่าอาจใหม่ บ้านท่าอาจ ม.3 ต�ำบลท่าสายลวด

วัดไทยวัฒนาราม บ้านแม่ตาว ม.1 ต�ำบลท่าสายลวด

วัดมงคลนิมิตร บ้านแม่กดี๊ ใหม่ ม.3 ต�ำบลแม่กาษา

บ้านแม่กื้ดสามท่าใหม่ ม.8 ต�ำบลแม่กาษา

วัดมณีไพรสณฑ์

วัดสว่างอารมณ์

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

บ้านแม่ตาวใหม่ ม.3 ต�ำบลพระธาตุผาแดง

วัดมาตานุสรณ์ บ้านแม่กื๊ดหลวง ม.1 ต�ำบลแม่กาษา

วัดแม่กาษา บ้านแม่กาษา ม.2 ต�ำบลแม่กาษา

วัดสว่างอารมณ์ บ้านแม่ละเมาไหล่ท่า ม.6 ต�ำบลพะวอ

วัดสักทองวนาราม วัดสันติธรรม

วัดห้วยยะอุ

บ้านสันติธรรม ม.3 ต�ำบลแม่ปะ

วัดแม่กุเหนือ

วัดสิลาลาด

บ้านห้วยยะอุ ม.1 ต�ำบลด่านแม่ละเมา

บ้านแม่กุเหนือ ม.8 ต�ำบลแม่กุ

บ้านผาลาด ม.2 ต�ำบลแม่กุ

วัดสุนทรีกาวาส

บ้านไทยสามัคคี ม.9 ต�ำบลแม่กาษา

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

วัดแม่ตาว

วัดสุวรรณบรรพต

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

วัดน�้ำดิบ

บ้านแม่ตาวสันโรงเรียน ม.5 ต�ำบลแม่ตาว

วัดหนองน�้ำเขียว

บ้านน�้ำดิบ ม.6 ต�ำบลแม่กาษา

วัดบ้านปูแป้

วัดดอยโตน

วัดบุญญาวาส

บ้านน�้ำดิบ ม.6 ต�ำบลแม่กาษา

บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

วัดดอยพระธาตุ

วัดพระธาตุดอยหัวฝาย

บ้านแม่กใุ หม่ทา่ ซุง ม.9 ต�ำบลแม่กุ

บ้านหัวฝาย ม.2

บ้านปูแป้ ม.3 ต�ำบลพะวอ

วัดห้วยไม้แป้น

บ้านชุมชนสักทอง ต�ำบลแม่สอด

วัดแม่กื้ดสามท่า

วัดไทยสามัคคี

บ้านดอนสว่าง ม.15 ต�ำบลแม่กาษา

บ้านห้วยมหาวงก์ ม.9 ต�ำบลมหาวัน

บ้านแม่กื้ดสามท่า ม.5 ต�ำบลแม่กาษา

บ้านแม่ตาวแพะ ม.3 ต�ำบลแม่ตาว วัดดอนแก้ว ต�ำบลแม่สอด

วัดดอนสว่างแม่กื้ดใหม่

วัดห้วยมหาวงก์

บ้านห้วยไม้แป้น ม.5 ต�ำบลมหาวัน

วัดแม่ซอดน่าด่าน

วัดดอนไชย

วัดห้วยพลู บ้านห้วยพลู ม.3 ต�ำบลด่านแม่ละเมา

วัดแม่ปะเหนือ บ้านแม่ปะเหนือ ม.1 ต�ำบลแม่ปะ

วัดวังตะเคียน

บ้านแม่โกนเกน ม.4 ต�ำบลมหาวัน บ้านหนองน�้ำเขียว ม.5 ต�ำบลแม่กุ

วัดหนองบัวค�ำ

ม.4 ต�ำบลท่าสายลวด

บ้านใหม่หนองบัวค�ำ ม.11 ต�ำบลแม่ปะ

วัดเวฬุวัน

วัดหนองบัวบูรพา

วัดใหม่ค�ำมา บ้านแม่ปะใต้ ม.3 ต�ำบลแม่ปะ

วัดใหม่มหาวัน บ้านมหาวัน ม.1 ต�ำบลมหาวัน

วัดใหม่สุวรรณ บ้านแม่กุใต้ ม.6 ต�ำบลแม่กุ

วัดอมราวดี บ้านห้วยม่วง ม.6 ต�ำบลท่าสายลวด

วัดอรัญญเขต บ้านแม่สอด ต�ำบลแม่สอด

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

3/7/2563 17:14:46


ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

อ�ำเภอพบพระ วัดเกษตรพัฒนาราม

วัดรวมไทยพัฒนา

บ้านเกษตรพัฒนา ม.8 ต�ำบลพบพระ บ้านห้วยนกแล ม.9 ต�ำบลช่องแคบ

บ้านรวมไทยพัฒนา 8 ม.6 ต�ำบลรวมไทยพัฒนา วัดรวมไทยพัฒนา 8 บ้านรวมไทยพัฒนา ที่ 8 ม.6 ต�ำบลรวมไทยพัฒนา

วัดช่องแคบ

วัดรวมไทยวนาราม

บ้านช่องแคบ ม.1 ต�ำบลช่องแคบ

บ้านรวมไทยพัฒนาที่7 ม.3 ต�ำบลรวมไทยพัฒนา

วัดเฉลิมเจริญธรรม

วัดดอนเจดีย์ บ้านดอนเจดีย์ ม.7 ต�ำบลช่องแคบ

วัดป่ารวมไทยสามัคคี บ้านทหารผ่านศึก ม.4 ต�ำบลรวมไทยพัฒนา

วัดพบพระ

บ้านเสรีราษฎร์ ม.6 ต�ำบลช่องแคบ

วัดราษฏร์พฒ ั นาสามัคคีธรรม

วัดพบพระเหนือ

บ้านผ่านศึกพัฒนา ม.6 ต�ำบลวาเล่ย์ วัดวาเลย์ ใต้ ม.2 ต�ำบลวาเล่ย์

บ้านพบพระเหนือ ม.1 ต�ำบลพบพระ

บ้านวาเล่ย์ ม.3 ต�ำบลวาเล่ย์

บ้านพบพระใต้ ม.3 ต�ำบลพบพระ

126

วัดราษฎร์เจริญธรรม

วัดวาเล่ย์เหนือ

วัดพระทรายงาม

วัดห้วยน�้ำเย็น

บ้านพบพระทรายงาม ม.7 ต�ำบลพบพระ

บ้านเจริญมิตร ม.8 ต�ำบลรวมไทยพัฒนา

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 126

3/7/2563 17:14:48


THE IMPORTANT TEMPLES TAK

อ�ำเภอบ้านตาก วัดเกาะลาน

วัดเด่นไม้ซุง

วัดบ้านปูน

วัดโพธิ์งาม

วัดวังมะกอก

บ้านสมอโคน ม.6 ต�ำบลสมอโคน

ม.7 ต�ำบลตากออก

วัดแม่ไข

ม.5 ต�ำบลเกาะตะเภา

บ้านสมอโคน ม.3 ต�ำบลสมอโคน

บ้านเด่นไม้ซุง ม.9 ต�ำบลแม่สลิด

บ้านปูน ม.6 ต�ำบลเกาะตะเภา

วัดฉลอมใต้

วัดท้องฟ้าเหนือ

วัดบ้านล้อง

บ้านฉลอม ม.3 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านท้องฟ้า ม.2 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านล้อง ม.3 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

วัดฉลอมเหนือ

วัดท่าช้าง

วัดบ้านใหม่

บ้านสันดินแดง ม.4 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านไม้งาม ม.4 ต�ำบลไม้งาม

วัดดงยาง

วัดท่านา

วัดวิเศษวานิช

บ้านใหม่ ม.1 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านห้วยแม่ไข ม.2 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

วัดโบสถ์

วัดแม่พะยวบ

วัดเวฬุวัน

บ้านแม่พะยวบ ม.8 ต�ำบลเกาะตะเภา

บ้านดงยาง ม.1 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

บ้านท่านา ม.9 ต�ำบลตากตก

บ้านตากตก ม.10 ต�ำบลตากตก

วัดดอยแก้วเทพเนรมิต

วัดทุ่งกระเชาะ

วัดปากวัง

บ้านแพะเหนือ ม.7 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

บ้านทุ่งกระเชาะ ม.6 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ วัดทุ่งยั้ง บ้านตากตก ม.10 ต�ำบลตากตก

บ้านปากวัง ม.10 ต�ำบลตากออก

วัดดอยคีรี บ้านหัวเดียด ต�ำบลหัวเดียด

วัดดอยเจดีย์

วัดเทพนิมิตมงคล

บ้านล้อง ม.3 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

บ้านหนองชะลาบ ม.1 ต�ำบลตากตก

วัดวังหม้อ ม.4 ต�ำบลสมอโคน บ้านแม่สลิด ม.1 ต�ำบลแม่สลิด

วัดแม่ยะ

วัดศรีค�้ำ ม.2 ต�ำบลเกาะตะเภา วัดสว่างอารมณ์

บ้านแม่ยะ ม.7 ต�ำบลเกาะตะเภา

บ้านหนองน�ำ้ ม.4 ต�ำบลตากตก

วัดยางโองน�ำ้

วัดสันดินแดง

ม.5 ต�ำบลแม่สลิด

บ้านสันดินแดง ม.4 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านท่าพระธาตุ ม.3 ต�ำบลเกาะตะเภา

วัดยางโองบน

วัดสันป่าลาน

ม.8 ต�ำบลแม่สลิด

บ้านสันป่าลาน ม.5 ต�ำบลตากออก

วัดพระธาตุน้อย บ้านหนองงิ้ว ม.3 ต�ำบลตากตก

วัดพระบรมธาตุ

วัดดอยช้างเผือก

วัดน�้ำปุ

วัดพระพุทธบาทดอยงู

วัดยางโองบน

วัดสันหนองจิก

บ้านเด่นผาแต้ม ม.9 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านตากตก ม.7 ต�ำบลตากตก

บ้านสองกอง ม.8 ต�ำบลตากออก

ม.8 ต�ำบลแม่สลิด

บ้านวังไม้สา้ น ม.11 ต�ำบลตากออก

วัดดอยมูล

วัดน�้ำล้อม

วัดพระพุทธบาทดอยโล้น

วัดรังแร้ง

บ้านตลาดตรอกซอย ม.6 ต�ำบลตากออก

บ้านปากร้องห้วยจี้ ม.1 ต�ำบลตากออก

บ้านฉลอมใต้ ม.3 ต�ำบลท้องฟ้า

บ้านรังแร้ง ม.9 ต�ำบลทุ่งกระเชาะ

อ�ำเภอท่าสองยาง วัดมงคลคีรีเขต

วัดแม่หละ

บ้านท่าสองยาง ม.1 ต�ำบลท่าสองยาง

วัดศรีดอนชัย

วัดแม่ต้านเหนือ

บ้านพะน้อคี ม.10 ต�ำบลแม่หละ

บ้านล�ำร้อง ม.2 ต�ำบลแม่ต้าน

บ้านแม่หละ ม.1 ต�ำบลแม่หละ

วัดอรัญญาวาส บ้านแม่ต้าน ม.1 ต�ำบลแม่ต้าน

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 127

127

3/7/2563 17:14:50


ธรรมชาติน่ายล ภูมิพลเขื่อนใหญ่ พระเจ้าตากเกรียงไกร เมืองไม้และป่างาม

อ�ำเภอวังเจ้า วัดแก้ววิเศษ

วัดประดาง

บ้านเด่นวัว ม.4 ต�ำบลเชียงทอง

บ้านประดาง ม.3 ต�ำบลประคาง

วัดชุมนุมกลาง

วัดเพชรชมภู

บ้านชุมนุมกลาง ม.13 ต�ำบลเชียงทอง

บ้านเพชรชมภู ม.2 ต�ำบลนาโบสถ์

วัดเชียงทอง

บ้านลาดยาว ม.1 ต�ำบลนาโบสถ์

บ้านวังเจ้า ม.1 ต�ำบลเชียงทอง

วัดดงซ่อม

วัดลาดยาวใหม่ วัดศรีตะเคียนมงคล

บ้านดงซ่อม ม.3 ต�ำบลเชียงทอง

บ้านตะเคียนด้วน ม.3 ต�ำบลนาโบสถ์

วัดเด่นวัว

วัดสบยม

บ้านเด่นวัว ม.4 ต�ำบลเชียงทอง

บ้านสบยม ม.2 ต�ำบลเชียงทอง

วัดโตงเตง

วัดสบยมใต้

บ้านโตงเตง ม.4 ต�ำบลประคาง

บ้านสบยมใต้ ม.14 ต�ำบลเชียงทอง

วัดท่าตะคร้อ

อ�ำเภอสามเงา วัดคลองไม้แดง

วัดป่าหนองยางตก

บ้านคลองไม้แดง ม.1 ต�ำบลยกกระบัตร

วัดพระเจดีย์วังไคร้

วัดชลประทานรังสรรค์

บ้านวังไคร้ ม.3 ต�ำบลวังหมัน

วัดแม่เชียงราย

วัดใหม่พรสวรรค์

บ้านจัดสรร ม.3 ต�ำบลสามเงา

บ้านทุ่งกง ม.1 ต�ำบลประคาง

บ้านใหม่พรสวรรค์ ม.6 ต�ำบลนาโบสถ์

บ้านดงลาน ม.5 ต�ำบลวังจันทร์

บ้านแม่เชียงราย ม.7 ต�ำบลยกกระบัตร

วัดนาโบสถ์

วัดอรัญญิกวนาราม

บ้านนาโบสถ์ ม.4 ต�ำบลนาโบสถ์

บ้านวังเจ้า ม.3 ต�ำบลเชียงทอง

บ้านท่าตะคร้อ ม.5 ต�ำบลประคาง

วัดทุ่งกง

อ�ำเภออุ้มผาง วัดพานิชย์นิรมล

วัดหนองหลวง

บ้านอุ้มผาง ม.1 ต�ำบลอุ้มผาง

วัดไพรสณฑ์สุนทร

บ้านหนองหลวง ม.1 ต�ำบลหนองหลว

บ้านแม่กลองเก่า ม.2 ต�ำบลแม่กลอง

วัดอุ้มผาง บ้านอุ้มผาง ม.1 ต�ำบลอุ้มผาง

วัดมหาวันวิเวก

วัดเอนกสิงขร

บ้านแม่กลองใหม่ ม.1 ต�ำบลแม่กลอง

บ้านปรอผาโด้ ม.1 ต�ำบลไมโกร

วัดดงลาน วัดดอยทองเจริญธรรม

วัดยกกระบัตร

บ้านใหม่สามัคคีเหนือ ม.10 ต�ำบลยกกระบัตร

บ้านยกกระบัตร ม.2 ต�ำบลยกกระบัตร

วัดถ�้ำดอยลาน

วัดวังไคร้

บ้านท่าปุย ม.5 ต�ำบลสามเงา

บ้านวังไคร้ ม.2 ต�ำบลวังหมัน

วัดท่าปุย

วัดวังน�้ำผึ้ง

บ้านท่าปุย ม.5 ต�ำบลสามเงา

บ้านวังน�้ำผึ้ง ม.3 ต�ำบลวังจันทร์

วัดท่าไผ่

วัดวังพระยาจันทร์

บ้านท่าไผ่ ม.3 ต�ำบลยกกระบัตร

บ้านวังพระยาจันทร์ ม.2 ต�ำบลวังจันทร์ วัดวังโพ ม.1 ต�ำบลวังจันทร์ วัดวังหมัน ม.4 ต�ำบลวังหมัน วัดวังหวาย ม.7 ต�ำบลวังหมัน

วัดนาตาโพ บ้านนาตาโพ ม.4 ต�ำบลวังจันทร์

วัดบ้านแม่ระวาน บ้านแม่ระวาน ม.5 ต�ำบลยกกระบัตร

วัดปากทางเขื่อนภูมิพล บ้านปากทางเขื่อนภูมิพล ม.1 ต�ำบลวังหมัน

วัดสองแคว

บ้านสองแคว ม.4 ต�ำบลยกกระบัตร

วัดป่าพระสามเงา

วัดสามเงา

บ้านหนองโสน ม.4 ต�ำบลย่านรี

บ้านสามเงา ม.3 ต�ำบลย่านรี

วัดป่าภาวนาราม

วัดสามเงาออก

บ้านจัดสรร ม.4 ต�ำบลสามเงา

บ้านสามเงาออก ม.2 ต�ำบลสามเงา

วัดป่ายางตก บ้านป่ายางตก ม.2 ต�ำบลย่านรี

วัดป่ายางใต้ บ้านป่ายางใต้ ม.1 ต�ำบลสามเงา

128

บ้านป่ายางตก ม.1 ต�ำบลย่านรี

วัดหนองเชียงคา บ้านหนองเชียงคา ม.6 ต�ำบลยกกระบัตร

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 128

3/7/2563 17:14:52


THE IMPORTANT TEMPLES TAK

TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

3/7/2563 17:14:54


History of buddhism....

วัดสุนทริกาวาส ตั้งอยู่บนถนนอะมีนาอุทิศ บ้านป่าใหม่ ต�ำบลแม่สอด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นวัดของชาวไทใหญ่ซึ่งสร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. 2447 เมื่อนายหม่งเสง แซ่กวา (ต้นตระกูลกวาตระกูล) ได้สร้างหอสวดมนต์ ศาลาอเนกประสงค์และกุฏิสงฆ์อย่างละ 1 หลังพร้อมทั้งถวายที่เกือบ 7 ไร่ให้ก่อตั้งเป็นวัดขึ้น เดิมมีชื่อว่า “วัดตอยะใหม่” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดสุนทริกาวาส” เมื่อปี พ.ศ. 2483 แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า “วัดป่าใหม่” ตามชื่อหมู่บ้าน วัดสุนทริกาวาสได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2517

130

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

+

.indd 130

30/6/2563 16:29:33


TAK I SBL บันทึกประเทศไทย

+

.indd 131

131

30/6/2563 16:29:42


วัดโพธิคุณ (วัดห้วยเตย) WAT PO THI KHUN (WAT HUAI TOEI)

132

SBL บันทึกประเทศไทย I ตาก

.indd 132

ตำ�บลแม่ปะ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก

30/6/2563 15:33:08


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.