SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 105 - จังหวัดอ่างทอง-จังหวัดสิงห์บุรี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอ่างทอง-สิงห์บุรี ประจ�ำปี 2563

Angthong Singburi เมืองคู่แฝด สงบงาม น่าอยู่น่าเที่ยว ร�ำลึกเกียรติประวัติวีรชนผู้กล้าแห่งกรุงศรี หลากหลายที่เที่ยววิถีพุทธ-วิถีไทย ทัวร์อ่างทองไหว้พระ 9 วัด ชมแหล่งเตาเผาแม่น�้ำน้อย ใหญ่สุดในกรุงศรีท่ีเมืองสิงห์

Vol.10 Issue 105/2020

10

ANNIVERSARY www.issuu.com

.indd 3

SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย

th

23/4/2563 15:48:03


การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจ�ำเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะเป็นพระที่งามบริบูรณ์ ไม่ได้ พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖

2

AD.indd 2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

26/4/2563 21:10:09











EDITOR’S

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

หลายๆ ท่านอาจคิดสงสัยว่า ในยุคที่ผู้คน ส่วนใหญ่เปลีย่ นไปเสพสือ่ ออนไลน์กนั แล้ว แต่ทำ� ไม SBL ยังคงด�ำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือออกมาเป็นรูปเล่มอยู่ นั่นเพราะ เรายังเชื่อมั่นว่า ถึงอย่างไรสื่อสิ่งพิมพ์ก็ยัง จ�ำเป็น ในฐานะที่ทุกท่านสามารถหยิบจับ ขึ้นมาอ่านเมื่อไหร่ก็ได้ แม้จะไม่มีไฟฟ้า ไม่มีสัญญาณอินเตอร์เน็ท หรือสัญญาณ ไวไฟก็ตาม และหนังสือก็เป็นรูปธรรมที่จะ คงอยู่เป็นประจักษ์พยานให้เราได้ดีที่สุด

ในเล่มพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี ผมขอ แนะน�ำเส้นทางท่องเที่ยววิถีพุทธ-วิถีไทย ณ อ่างทอง เมืองน่าอยู่น่าเที่ยว ชวนท่าน ไปกราบขอพรพระใหญ่ 9 วัด เพื่อความ เป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ชมความมหัศจรรย์ ของโบสถ์ต้นโพธิ์ที่เป็นฉากถ่ายท�ำละคร และภาพยนตร์มากมาย พร้อมท่องเที่ยว วิถีไทยก็เท่ได้ที่บางเจ้าฉ่า แนะน�ำวัดที่ อาจไม่ได้อยู่ในเทรนด์การท่องเที่ยวให้ รู้จัก หลายวัดมีภูมิทัศน์ที่สวยงาม ร่มรื่น ร่มเย็นเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม อาทิ วัดสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา ที่อ�ำเภอ เดียวกันนี้เราขอชวนท่านไปกราบขอพร “หลวงพ่อใหญ่” ศักดิ์สิทธิ์แห่ง วัดหมื่น เกลา วัดเก่าแก่มีมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นราวปีพ.ศ. 2250 วัดช้าง (ช้างให้) วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น ประจ�ำ ปี 2562 และนมัสการ “หลวงพ่อทองค�ำ” พระพุทธรูปปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย วัดนางในธัมมิการาม เป็นต้นครับ

ตลอดระยะเวลาการท�ำงานของ SBL กระทั่งก้าวขึ้นสู่ปีที่ 10 ในปี 2020 นี้ พิสูจน์ให้เห็นว่าทีมงานทุกส่วนของเรา มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการน�ำเสนอเรื่องราว ที่น่าสนใจ ที่อาจจะแอบซ่อนอยู่ในถิ่นที่ ใครๆ มองข้าม ให้ปรากฏแก่สาธารณชน ให้เป็นทีร่ บั รูว้ า่ ประเทศไทยของเรามีสงิ่ ดีๆ มากมาย ทั้งโบราณสถาน-โบราณวัตถุอัน ทรงคุณค่า ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ที่งดงาม สถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลาย วัดวาอารามที่มั่นคงสวยงาม และมี สมณเจ้าผู้อุทิศตนเพื่อสืบสานพระพุทธ ศาสนาให้เจริญ และสถิตมั่นคงในจิตใจ ของผู้คน

ผมและทีมงานฝ่ายการตลาด หวังเป็นยิ่ง ว่าผู้ให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์นิตยสาร SBL จะได้รับประโยชน์อย่างสูงสุดจาก การน�ำเสนอที่หลากหลายช่องทางของเรา และผมขอถือโอกาสนี้ กล่าวขอบพระคุณ อย่างสูงแด่ท่านที่กรุณามอบความไว้วางใจ ให้เราได้ประชาสัมพันธ์ธุรกิจหรือองค์กร ของท่านครับ

Editor's talk.indd 12

ซึ่งในเล่มพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี นี้จะ ท�ำให้ท่านได้สัมผัสวิถีพุทธ วิถีไทย เที่ยว ได้คุ้มค่ากับการอ่านและติดตามไปสัมผัส กับสถานที่ต่างๆ ได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจกัน เลยนะครับ

27/4/2563 15:45:55


Editor's talk.indd 13

26/4/2563 20:49:26


Magazine คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

คณะทีมงาน ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน มนสิกุล โอวาทเภสัชช์

ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า

ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ

ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์

ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171

www.sbl.co.th

Editor's talk.indd 14

26/4/2563 20:49:27


Editor's talk.indd 15

26/4/2563 20:49:30


100

105

ISSUE

20 สารบัญ

CONTENTS ANGTHONG - SINGBURI

20

ANG THONG PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง

99 Editor's talk.indd 16

24

วัดต้นสน

28

วัดตาลเจ็ดช่อ

33 34

วัดโพสะโสภณ

สมเด็จพระศรีเมืองทองศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองอ่างทอง กราบสักการะหุ่นขี้ผึ้ง “สมเด็จโต” องค์ใหญ่ที่สุดในโลก วัดอันเป็นที่พึ่งของชาวโพสะ

วัดช้าง (ช้างให้)

อนุสรณ์สถานทหารเอกคู่ใจพระนเรศวรฯ

26/4/2563 20:49:42


วัดแก้วกระจ่าง

กราบขอพรเจ้าแม่แก้วประกายทอง

วัดหมื่นเกลา

สักการะ “หลวงพ่อใหญ่ศรีสรรเพชญ” ศักดิ์สิทธิ์

วัดสีบัวทอง

นมัสการหลวงพ่อแดงศักดิ์สิทธิ์

วัดบ้านแก

ต�ำนานการเผาข้าวหลาม ถวายเป็นพุทธบูชา

วัดยาง

ต�ำนานหลวงพ่อธรรมโชติและศึก บางระจัน

วัดเจ้าบุญเกิด

ให้ชีวิต ลิขิตโอกาส

วัดเอกราช

กราบขอพรหลวงพ่อโต

38 73 44 78 50 82 56 84

วัดพิจารณ์ โสภณ

62 86 68 88 70 90

วัดกลางราชครูธาราม

ANGTHONG

104

92

อนุสรณ์สถานของชาวมอญ สมัยกรุงศรี

วัดนางในธัมมิการาม

ชมหอบูรพาจารย์ ที่ระลึกถึงหลวงพ่อนุ่ม

วัดห้วยโรง

ความรู้คู่คุณธรรม จุดเริ่มต้นของความผาสุก

วัดก�ำแพงมณี

กราบขอพร “หลวงพ่อแก่น” ศักดิ์สิทธิ์ ร�ำลึกพระเดชพระคุณหลวงพ่อแพ เกสโร

วัดสามขาว

จากวัดร้างสู่พระอารามอันมั่นคง

วัดท่าชุมนุม

จากพลังแห่งพุทธศรัทธา สู่วัดส�ำคัญของ อ.สามโก้

วัดยางทอง

กราบขอพรหลวงพ่อขาวศักดิ์สิทธิ์

SINGBURI SINGBURI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

112

วัดบุดดา

วัดข่อยสังฆาราม

116 118

วัดประดับ (ขุนโลก)

122

วัดม่วงชุม

128

วัดโบสถ์

134

วัดโพธิลังการ์

137

วัดแจ้ง

วัดท่าอิฐ

138 139

วัดราษฎร์บ�ำรุง

140

วัดม่วง

141

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสิงห์บุรี

นมัสการองค์เจ้าแม่กวนอิม ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดสิงห์บุรี แห่งที่ 11 ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำ จังหวัดสิงห์บุรี แห่งที่ 16

ขอพร พระสิงห์ใหญ่ วัดพัฒนาตัวอย่างปี 2560 กราบขอพรพระพุทธรูป ทองค�ำศักดิ์สิทธิ์ ๕ สมัย พระครูพิพิธ โพธิกิจ(เสงี่ยม สุธีโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส สร้างสมัยรัชกาลที่ 5 ไหว้หลวงพ่อบุญ ชมเรือพลายแก้ว “วัดท่าอิฐ” วัดราษฎร์บ�ำรุง อินทร์บุรี วัดเก่าสมัยอยุธยา วัดเก่าสมัยรัตนโกสินทร์ ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยา

Editor's talk.indd 17

26/4/2563 20:49:51


ขอพร “หลวงพ่อใหญ่” ถวายพ่อหลวง ณ วัดม่วง

วัดม่วง เดิมเป็นวัดร้างเมื่อมีการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ จึงมีการสร้างพระพุทธรูปองค์ ใหญ่ เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร วัดม่วงสร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ต่อมาเมือ่ เสียกรุง พม่าได้เผาผลาญบ้านเรือน วัด และพระพุทธรูปจ�ำนวนมาก วัดม่วงจึงเหลือแค่ซากปรักหักพัง จนกระทั่งท่านพระครู วิบูลอาจารคุณ (หลวงพ่อเกษม อาจารสุโภ) ได้ธุดงค์มาปักกลดเห็นว่าเป็นสถานที่ที่น่า ปฏิบตั ธิ รรม ในระหว่างนัง่ สมาธินนั้ ท่านได้ปรากฏนิมติ เห็นองค์หลวงปูข่ าวและหลวงปูแ่ ดง บอกว่าให้ชว่ ยบูรณะวัดขึน้ มาใหม่ หลังจากนัน้ ท่านจึงได้เริม่ การปฏิสงั ขรณ์ศาสนสถานต่างๆ เรื่อยมา หลังจากนั้นวัดม่วงได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัดม่วง หลวงพ่อเกษมจึง รวบรวมจิตอธิษฐานร่วมกับประชาชนผู้มีจิตศรัทธาสมทบทุนในการสร้างพระพุทธรูปปาง มารวิชัย เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีพระนามว่า “พระพุทธมหานมินทร์ศากยมุนีศรีวิเศษชัยชาญ” หรือ “หลวงพ่อใหญ่” มีขนาดหน้าตัก กว้าง 62 เมตร สูง 93 เมตร พุทธลักษณะงดงามสีทองอร่าม สามารถมองเห็นได้จากระยะ ไกล ใช้เวลาก่อสร้างทั้งสิ้นถึง 16 ปี

18

.indd 18

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:22:12


จุดเด่นของวัดม่วงคือ โบสถ์ทมี่ สี ถาปัตยกรรมวิจติ รงดงามและใหญ่โต โดยล้อมรอบด้วย กลีบบัวปูนปั้นที่สวยงาม และใหญ่ที่สุดในโลก ภายในมีภาพจิตรกรรมเกี่ยวกับประวัติ พระพุทธเจ้า ส่วนบริเวณรอบ ๆ วัดมีรปู ปูนปัน้ พระอรหันต์ เทพเจ้าต่างๆ ทัง้ จีนและพราหมณ์ มีการจ�ำลองเมืองนรก-สวรรค์ ทีแ่ ฝงไปด้วยคติสอนใจ และเหตุการณ์สำ� คัญของค่ายบางระจัน ให้ผู้ที่เดินทางมานมัสการได้ศึกษาประวัติศาสตร์ที่ควรจดจ�ำ การเดินทาง วัดม่วง ตั้งอยู่ต�ำบลหัวตะพาน อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ อยู่ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 8 กิโลเมตร ตามถนนสายอ่างทอง-สุพรรณบุรี จากอ่างทองใช้ทางหลวงหมายเลข 3195 (อ่างทอง-วิเศษชัยชาญ) แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าถนน รพช. อท. 4008 อีก 1 กิโลเมตร ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 19

19

20/4/2563 14:22:13


ANG THONG

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง “ สร้า งชุมชนเข้ ม แข็ ง มี ความสุ ข ด้ วยหลั ก พุ ท ธธรรม ” วั ด และศาสนสถานนั บ เป็ น สถาบั น ที่ มี ความส� ำ คั ญ ต่ อ วิ ถี ชี วิ ต ของคนในสั ง คมไทย มาช้านาน แม้ว่าในปัจจุบันสังคมไทยจะมีความ เปลีย่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ

20

.

สังคม และเทคโนโลยีก็ตาม แต่ท ว่าวัดและ พระภิกษุสงฆ์ ยังคงมีบทบาทส�ำคัญในการถ่ายทอด คุณธรรมและจริยธรรม สืบทอดศิลปวัฒนธรรม ประเพณีต่างๆ และเสริมสร้างความสมัครสมาน

สามัคคีของคนในชุมชนด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในสังคมชนบทซึ่งกิจกรรมส�ำคัญๆ มักจะเริ่มขึ้น ที่วัดเสมอ

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

อนุสรณ์ สถานท้ .indd 20 าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง

20/4/2563 12:40:33


วิสัยทัศน์ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง

“ ส่งเสริม สนับสนุนงานพระพุทธศาสนาให้มีความมั่นคง สร้างชุมชนเข้มแข็ง มีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม ” ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง เป็ น หน่ ว ยงานส่ ว นภู มิ ภ าคของส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ซึ่งประกาศตั้ง ณ วัน ที่ 30 มกราคม 2547 โดยท�ำหน้าที่ในฐานะ ตัวแทนส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพื่อ ด�ำเนินภารกิจเกี่ยวกับกิจการพระพุทธศาสนา ทั้ ง ปวง ปั จ จุ บั น ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด อ่ า งทอง ตั้ ง อยู ่ ที่ ศ าลากลางจั ง หวั ด อ่างทอง (หลังเก่า) ชั้น 2 ถนนเทศบาล 1 ต�ำบล บางแก้ว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง รหัส ไปรษณีย์ 14000

โดยมีภาระหน้าที่ในการท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธ ศาสนา ศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพุทธ ศาสนา สนับสนุนการด�ำเนินงานของคณะสงฆ์ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และการปกครอง คณะสงฆ์ ประสานงานระหว่างบ้าน วัด ชุมชน และส่ ว นราชการต่ า งๆ รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม และ ประสานงานการด�ำเนิน ศาสนพิธีและกิจกรรม ในวั น ส� ำ คั ญ ทางพระพุ ท ธศาสนาในระดั บ จังหวัด

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 21

21

20/4/2563 12:40:38


อ�ำนาจหน้าที่ของ พศจ. ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด เป็ น หน่ ว ยงานส่ ว นราชการบริ ห ารส่ ว นภู มิ ภ าค ท�ำหน้าที่ในฐานะตัวแทนส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ มีภารกิจและอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1.ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ และรายงานข้ อ มู ล สารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนด นโยบายระดั บ จั ง หวั ด รวมทั้ ง เสนอแนะ แนวทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงาน ตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงาน ในความดู แ ลของส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนา จั ง หวั ด รวมทั้ ง รายงานผลการด� ำ เนิ น งาน ปัญหาและอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทราบ

22

.

3. ส่ ง เสริ ม ดู แ ล รั ก ษา และท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสน สมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริม และสนับสนุนให้วดั เป็นศูนย์กลาง การเรียนรูแ้ ละแหล่งภูมปิ ญ ั ญาของชุมชน รวมทัง้ ส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนาของจังหวัด 5. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา และด้านพุทธศาสนศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐานคุณภาพการ ศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัด ให้ ผู ้ เรี ย นมี ค วามรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม และพั ฒ นา บุคลากรทางพระพุทธศาสนา

6. รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุน กิจการบริหารการปกครองคณะสงฆ์ ตลอดจน การด�ำเนินการตามนโยบายและมาตรการใน การคุ้มครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานใน การปฏิบัติศาสนพิธีและกิจกรรมในวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิบตั งิ านตามกฎหมายในความรับผิดชอบ ของส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ซึ่ ง ก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการ จังหวัด หรือตามที่ได้รับมอบหมาย 9. ปฏิ บั ติ ง านรวมกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การ ปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ที่ได้รับมอบหมาย

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 22

20/4/2563 12:40:40


ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 : ส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนาและสนองงาน คณะสงฆ์และรัฐ ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 : ส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 : ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ 4 : ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม นโยบายหลักของ พศจ.อ่างทอง ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอ่างทอง ได้กำ� หนดนโยบายในการพัฒนา และเสริมสร้างศาสนสถานให้เป็นศูนย์กลางชุมชน ในการเผยแผ่หลักธรรม โดยมีการเร่งรัดพัฒนาวัดและศาสนสถานให้มั่นคง ถาวร เหมาะสมกับเป็น ศูนย์กลางชุมชนในการประกอบศาสนกิจและการจัดท�ำกิจกรรมของท้องถิ่น ตลอดจนเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นอุทยานการศึกษา โดยการบูรณะ และปฏิสังขรณ์วัด การพัฒนาวัดให้เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ เป็นศูนย์กลาง การปฏิบัติธรรม เพื่อให้ข้าราชการและประชาชน น�ำหลักธรรมไปใช้ในการ ปฏิบตั งิ านและด�ำรงชีวติ อย่างมีความสุข เป็นศูนย์รวมการท�ำกิจกรรมร่วมกัน และสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวั ด กั บ ชุ ม ชน เพื่ อ พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด และ พิพิธภัณฑ์ในวัด พัฒนาวัดให้มีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม น�ำภูมิปัญญา ท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม ตลอดจนส่งเสริมการใช้สมุนไพร ไปรักษาโรคตามหลักวิชาการแพทย์แผนไทย สร้างเสริมรายได้ดา้ นการท่องเทีย่ ว สนับสนุนโยบายปราบปรามยาเสพติด โดยการใช้วดั เป็นสถานทีอ่ อกก�ำลังกาย และเล่นกีฬา เป็นต้น โครงการที่โดดเด่นของ พศจ.อ่างทอง โครงการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดทั่วไป/วัดอารามหลวง โครงการสวนสมุนไพรในวัด โครงการลานวัด ลานใจ ลานกีฬา โครงการสร้ า งความปรองดองสมานฉั น ท์ โดยใช้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5” (ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี) โครงการ “วัด ประชา รัฐ สร้างสุข” โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เครือข่ายคุณธรรม ส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ข้อมูลเกี่ยวกับวัดในจังหวัดอ่างทอง (ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2560) วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น มีจ�ำนวน 10 วัด วัดพัฒนาตัวอย่าง มีจ�ำนวน 20 วัด อุทยานการศึกษาในวัด มีจ�ำนวน 10 วัด ลานวัด ลานใจ ลานกีฬา มีจ�ำนวน 7 วัด วัดจัดกิจกรรมที่เอื้อประโยชน์ต่อชุมชน มีจ�ำนวน 219 วัด วัดพัฒนาตัวอย่างที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีจ�ำนวน 28 วัด โดยในปี 2562 จังหวัดอ่างทองมีวัดที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนา ตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จ�ำนวน 2 วัด คือ วัดช้าง ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง และวัดท่าโขลงกิตติยาราม ต�ำบลบ่อแร่ อ�ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 23

23

20/4/2563 12:40:41


24

3

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 24

20/4/2563 12:45:52


History of buddhism....

วัดต้นสน สมเด็จพระศรีเมืองทองศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองอ่างทอง พระเทพสุวรรณมุนี เจ้าคณะจังหวัดอ่างทอง และเจ้าอาวาสวัดต้นสน

วัดต้นสน ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นต้นสน ถนนเทศบาล 2 ต�ำบลตลาดหลวง อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัด อ่างทอง โดยตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ เจ้าพระยาฝัง่ ตะวันตก ตรงข้ามกับวิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง ปัจจุบันมี เนื้ อ ที่ 27 ไร่ 3 งาน 32 ตารางวา ได้ รั บ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ.2485

สันนิษฐานว่าวัดต้นสนสร้างขึน้ ในสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนปลาย ประมาณปี พ.ศ.2310 แต่ ไม่มีการจดบันทึกประวัติเป็นหลักฐานแน่ชัด จึงเล่าสืบต่อกันมาว่า วัดช�ำรุดทรุดโทรมมาก เกือบจะกลายเป็นวัดร้าง ต่อมาในปี พ.ศ. 2488 พระราชสุ ว รรณโมลี อดี ต เจ้ า คณะจั ง หวั ด อ่างทอง ได้บูรณะก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ขึ้น และขยายอาณาเขตให้กว้างขวาง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 25

25

20/4/2563 12:46:03


ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

ภายหลังจากทีพ่ ระราชสุวรรณโมลี ได้บรู ณะปฏิสงั ขรณ์วดั ขึน้ ใหม่ แล้ว ปีพ.ศ.2516 ท่านได้เริ่มสร้างพระพุทธรูปปางสะดุ้งมารองค์ใหญ่ นามว่า “สมเด็จพระพุทธนวโลกุตร ธัมมบดีศรีเมืองทอง” หรือ “สมเด็จพระศรีเมืองทอง” เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิท์ พี่ ทุ ธศาสนิกชน อ่างทองและใกล้เคียงเคารพนับถือมาก หล่อด้วยทองเหลือง หน้าตัก กว้าง 6 วา 3 ศอก 9 นิ้ว สูง 9 วา 2 ศอก 19 นิ้ว ปิดทองค�ำแท้ทั้งองค์ นับเป็นพระพุทธรูปหล่อด้วยโลหะขนาดใหญ่ที่สุดองค์แรก และยังมี พุทธศิลป์งดงามเป็นทีป่ ระทับใจแก่ผพู้ บเห็นเป็นอย่างยิง่ โดยพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ ในการประกอบพิธีสวมพระเกตุสมเด็จพระศรีเมืองทอง เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2528 นอกจากนี้ ภายในวั ด ต้ น สนยั ง มี โ บสถ์ ศิ ล ปะอยุ ธ ยา เป็ น ที่ ประดิษฐานหลวงพ่อด�ำ พระพุทธรูปศิลปะสมัยอยุธยาอายุกว่าร้อยปี วิหารพระพุทธชินราช ประดิษฐานพระพุทธชินราช (จ�ำลอง) และ สมเด็จพระศรีเมืองเงิน องค์ใหญ่ประดิษฐานอยูก่ ลางแจ้งทางด้านซ้ายมือ ของซุม้ ประตูวดั นอกจากนีย้ งั มีวงั ปลาทีส่ วยงามและใหญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ อีกด้วย 26

3

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 26

20/4/2563 12:46:27


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 13

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 25/11/2562 09:25:59 AM


History of buddhism....

วัดตาลเจ็ดช่อ วัดตาลเจ็ดช่อ...กราบสักการะหุ่นขี้ผึ้ง “สมเด็จโต” องค์ใหญ่ที่สุดในโลก

วัดตาลเจ็ดช่อ เลขที่ 1 หมู่ 1 ต�ำบลตลาดกรวด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง วัดดังแห่งจังหวัดอ่างทองทีไ่ ม่เพียงแต่เป็นศาสนสถาน เพื่อการบ�ำเพ็ญบุญบารมีเท่านั้น แต่ยังเป็นที่บ�ำเพ็ญทานบารมี ที่มีมานานกว่า 60 ปีแล้ว วัดตาลเจ็ดช่อเป็นวัดโบราณ ที่มีมานานตั้งแต่สมัยอยุธยา โดย สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2367 เดิมเชื่อว่า ในบริเวณที่ตั้งของวัดและบริเวณรอบๆ เป็นเส้นทางการเดินทัพของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึง่ ทางด้านหลังวัดเป็นปากคลองบางแก้ว และลี้พลกองทัพช้างศึกก็ได้ยกพลขึ้นมายังบริเวณนี้ด้วย จึงกลายเป็น ที่มาของการเรียกชื่อสถานที่ดังกล่าวว่า ท่าช้าง ด้วยเช่นกัน 28

เหตุที่ได้ชื่อว่าวัดตาลเจ็ดช่อนั้น เล่าสืบต่อกันมาว่า ต้นตาลที่อยู่ใน อาณาบริเวณวัดนี้ ได้มีจั่นตาลหรืองวงตาล ออกดอกชูช่อเจ็ดช่อ โดย มีช่อใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นที่ประหลาดใจแก่ชาวบ้าน จึงเรียกชื่อ ตามความอัศจรรย์นี้ว่า วัดตาลเจ็ดช่อ วัดตาลเจ็ดช่อ เป็นดินแดนพุทธสถานอันศักดิส์ ทิ ธิท์ ไี่ ด้รบั การพัฒนา จากเจ้าอาวาสหลายรูปสืบต่อกันมา จนถึงเมื่อปี พ.ศ. 2500 ท่าน พระครูสิริวัฒนากร(หลวงพ่อมิ้ม) นอกจากท่านจะได้ท�ำการพัฒนา วัดตาลเจ็ดช่อให้เป็นอุทยานแห่งธรรมให้กับพุทธศาสนิกชนแล้ว ท่าน ยังให้การอุปการะเลี้ยงดูเด็กก�ำพร้าที่ถูกทอดทิ้งและเด็กยากจน โดย ให้วัดเป็นที่อยู่อาศัยเป็นที่หลับนอนและให้การศึกษา เปรียบเสมือน ร่มโพธิ์ร่มไทรของเด็กที่ด้อยโอกาส

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 28

20/4/2563 13:01:18


ปาฏิหาริย์สมเด็จโต ณ วัดตาลเจ็ดช่อ เมื่อหลวงพ่อมิ้มได้มรณภาพลง เมื่อปี พ.ศ. 2534 ท่านพระครู พิบูลพัฒนพิมล ผู้เป็นศาสนในการสืบทอด ได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสที่วัดตาลเจ็ดช่อ ในระยะแรก ศิษยานุศิษย์ต่างเป็นห่วง เพราะขาดเสาหลักอันเป็นศูนย์รวมจิตใจ ตลอดทั้งเสนาสนะต่างๆ โดยเฉพาะอุ โ บสถและสิ่ ง ก่ อ สร้ า งก็ ท รุ ด โทรมลงตามกาลเวลา หลังเกิดเหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่ ความกังวลเหล่านี้เป็นค�ำถาม ที่อยู่ในใจของท่านพระครูพิบูลพัฒนพิมล นับตั้งแต่วันที่ท่านได้รับ ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ว่าจะสืบทอดเจตนารมณ์ของหลวงพ่อมิม้ ได้อย่างไร ต่อมาคืนหนึง่ ด้วยความทีท่ า่ นพระครูเคารพบูชา และมีความศรัทธา เชือ่ มัน่ ในบุญบารมีของท่านสมเด็จโต พรหมรังสี ตัง้ แต่อยูใ่ นเพศฆราวาส และครองสมณเพศ จึงเกิดนิมิตว่าท่านสมเด็จโต ได้ปรากฏกายทิพย์ เกิดเสียงก้องในมโนนิมิตว่า จงท�ำอะไรที่ใหญ่โตเหมือนดังชื่อฉัน เพือ่ สร้างพัฒนาวัดให้ใหญ่โตก็ทำ� ได้ ฉันจะช่วยให้สำ� เร็จ สิง่ ทีส่ ร้างใหญ่โต ตามความหมายของนามฉัน ผูท้ เี่ คารพศรัทธาฉัน ก็จะช่วยสร้างทีแ่ ห่งนี้ ให้ใหญ่เท่าที่สร้างขึ้น ท่านพระครูพิบูลพัฒนพิมล จึงน�ำมโนนิมิตนั้น มาเล่าปรึกษาเหล่าคณะกรรมการวัดและเป็นทีม่ าของการสร้างหุน่ ขีผ้ งึ้ องค์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด ขอเชิญทุกท่านสักการะปิดทองและขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด อาทิ หุ่นขี้ผึ้งหลวงปู่ทวด และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) องค์ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก พระพุทธปางเปิดโลกมหามงคล พระศรีอริยเมตไตรย์ หลวงพ่อพุทธชัยยะมิ่งมงคลอุดมโชค หลวงพ่อพระพุทธโลกะวิฑูรศรี ศากยะมุนีนารถ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ นับตั้งแต่ปี 2500 ที่ท่านพระครูสิริวัฒนากร หรือ หลวงพ่อมิ้ม ได้ ใ ห้ ก ารอุ ป การะเลี้ ย งดู เ ด็ ก ก� ำ พร้ า ที่ ถู ก ทอดทิ้ ง และเด็ ก ยากจน จนถึงปัจจุบันนับเป็นระยะเวลากว่า 60 ปีแล้ว ทางวัดตาลเจ็ดช่อ ก็ยังเป็นเสมือนร่มโพธิ์ร่มไทรของเด็กที่ด้อยโอกาสได้มีที่พักพิงและ ได้ โ อกาสทางการศึ ก ษาเพื่ อ อนาคตที่ ดี จึ ง ขอเชิ ญ ท่ า นสาธุ ช น ร่วมท�ำบุญบริจาคข้าวสาร อาหารแห้ง หรือปัจจัยอื่นๆ ได้ที่พระครู พิบูลพัฒนพิมล เจ้าอาวาสวัดตาลเจ็ดช่อ โทร.081-763-3061, 081-623-9989, 035-610-410 หรือบริจาคผ่านธนาคารไทยพาณิชย์ ชื่อบัญชีวัดตาลเจ็ดช่อ เลขที่บัญชี 627-231136-4

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

20/4/2563 13:01:28


พระครูพิบูลพัฒนพิมล 30

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 30

20/4/2563 13:01:30


TARN JED CHOR TEMPLE Wat Tarn Jed Chor…Paying homage to the biggest waxwork of “Somdej Toh” in the world

Wat Tarn Jed Chor is located at 1 village no.1, Talad Kruad sub-district, Mueang district, Ang Thong province. It is suggested that it was built during nearly the end of Ayutthaya kingdom around B.E.2367. Wat Tarn Jed Chor is sacred Buddhist land which has been developed by many abbots consecutively until B.E.2500, Than Phra Khru Siri Wattanakorn (Luang Phor Mim) had developed Wat Tarn Jed Chor from general temple to park of Dharma. He also supported and raised up lots of orphans whom were abandoned including poor children. Therefore, he was like the guardian of children who gets fewer opportunities.

When Luang Phor Mim passed away in B.E.2534, Than Phra Khru Phiboon Phatthanaphimon was appointed abbot of Wat Tarn Jed Chor which he has been worshipping and believing in the virtue of Somdej Toh Phrommarangsi since the first time he became Buddhist monk. One day, he had an omen that Somdej Toh appeared in the form of astral body and he said resoundingly “You must do something big like my name (Toh means big in Thais), develop this temple to make it prosperous, is possible. I will help you succeed this act, building thing that big as same as the meaning of my name. The one who worship me will assist you on the building of this place to make it prosperous as it should be”. Phra Khru Phiboon Phatthanaphimon then told temple committee about this omen and it became the beginning of making the biggest waxwork of Somdej Phra Phutthachan (Toh Phrommarangsi) in the world. ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

20/4/2563 13:01:40


塔吉查洛寺庙 在这座寺庙中有一座名叫索姆迪的佛像。可以来拜拜。

塔吉查洛寺庙,这座寺庙建于1824年的大城府 后期。位于Mueang区Talad Kruat Ampha街道Moo1 1号。 红统府。 这个寺庙被认为是神圣的地方。 佛教徒对此 寺庙非常重视。 这个寺庙一直由寺庙的方丈支持 和建设。1957年,方丈帮助了被许多父母遗弃的 孤儿和父母贫穷发育的孩子。 他像天使般存在。 他于1991年去世,另一位教务长被任命为这座 寺庙的掌管人。通过敬拜和相信他的功绩的佛 像,因为他是平民并且尚未受命 有一天,他梦见 索姆迪的佛像,佛像告诉他会帮助他建造一座巨 大的寺庙,之后,神职人员互相讨论并建造了这 座神庙。这个寺庙里面有一个非常大的佛像。 32

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 32

26/4/2563 20:52:21


พระอธิการนิกร วชิรญาโณ เจ้าอาวาสวัดโพสะโสภณ

History of buddhism....

วัดโพสะโสภณ วัดอันเป็นที่พึ่งของชาวโพสะ วัดโพสะโสภณ สร้างขึ้นประมาณ พ.ศ. 2300 ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมมีนามว่า วัดโพสะ แต่ได้เปลี่ยนนามวัดใหม่เป็น วัดโพสะโสภณ ภายหลั ง ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ในเดื อ นกั น ยายน 2501 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

เสนาสนะส�ำคัญ อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 20 เมตร โครงสร้างก่ออิฐถือเป็นปูน ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร เป็นอาคารไม้ ปูชนียวัตถุภายในวัด พระประธาน ประดิษฐานในอุโบสถ รูปหล่อหลวงพ่อน้อย อดีตเจ้าอาวาส และพระเกจิอาจารย์ที่มี ชื่อเสียงในจังหวัดอ่างทองและสิงห์บุรี ประดิษฐาน ณ ปูชนียสถาน หลวงพ่อน้อย ที่พึ่งของชาวชุมชนโพสะ วัดโพสะโสภณ ไม่เพียงแต่จะเป็นที่พึ่งพิงทางใจให้แก่ชาวบ้าน เท่านั้น ทว่าที่ผ่านมาทางวัดซึ่งน�ำโดยพระอธิการนิกร วชิรญาโณ เจ้าอาวาส ยังได้ให้การช่วยเหลือชาวบ้านในละแวกวัดมาโดยตลอด อาทิ ในปี 2559 ทางวัดได้ใช้พื้นที่โล่งในวัดเป็นลานตากข้าว เมื่อชาว บ้านประสบปัญหาข้าวราคาต�่ำเพราะฝนตกก่อนเก็บเกี่ยว และในปี 2562 ทางวัดได้ให้เทศบาลต�ำบลโพสะเช่าพืน้ ทีว่ า่ งหลังวัด เพือ่ จัดสร้าง อาคารทีท่ ำ� การเทศบาลฯหลังใหม่ เนือ่ งจากสถานทีเ่ ดิมมีความคับแคบ และไม่สะดวกต่อการบริการประชาชน เป็นต้น ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 33

33

20/4/2563 13:07:23


34

4

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 34

20/4/2563 13:11:25


History of buddhism....

วัดช้าง (ช้างให้) อนุสรณ์สถานทหารเอกคู่ใจพระนเรศวรฯ พระครูสุวัฒน์วรกิจ เจ้าอาวาสวัดช้าง

วัดช้าง (ช้างให้) เลขที่ 55 หมูท่ ี่ 5 บ้านน�ำ้ ผึง้ ต�ำบลบ้านอิฐ อ�ำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง (อยู ่ บ ริ เวณสี่ แ ยกเอเชี ย -อ่ า งทอง มี ถ นนสาย บางปะอิน-นครสวรรค์ตัดผ่าน) สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญวัดหนึง่ ในสมัย อยุธยา และได้รับพระราชทานทองค�ำในการ ปฏิสังขรณ์วัดจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

วัดช้าง (ช้างให้) เป็นวัดเก่าแก่มีมาแต่สมัย สุโขทัย สร้างขึน้ ราวปีพ.ศ. 1845 แต่เดิมสถานที่ ตั้งวัดนี้เคยมีฝูงช้างป่าอาศัยพักและลงเล่นน�้ำ ต่อมามีพระฝ่ายอรัญวาสีมาแวะพักผ่อนประจ�ำ ชาวบ้านจึงช่วยกันสร้างที่พักถวายพระ ช้างป่า โขลงนี้จึงให้ที่หลีกเลี่ยงไปบริเวณอื่น ชาวบ้าน จึงเรียกวัดแห่งนี้ว่า “วัดช้างให้” ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 35

35

20/4/2563 13:11:36


ต่อมาสมัยอยุธยา พ.ศ. 2128 มีการรบที่ทุ่งบางแก้ว พระราชมนู (เพชร) แม่กองระวังหน้า ได้ใช้วดั ช้างเป็นทีต่ งั้ ทัพทหารจ�ำนวน 10,000 นาย และส่งกองทหารออกลาดตระเวนดูกองก�ำลังของกองทัพพระเจ้า เชียงใหม่ แม่ทัพหน้าพม่า ซึ่งการรบครั้งนี้เป็นการรบแบบกองโจร ครั้งแรกของประวัติศาสตร์ชาติไทย ครั้นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงได้รับชัยชนะ จึงโปรดฯให้น�ำพระราชทรัพย์มีทองค�ำเป็นต้น มา ปฏิสงั ขรณ์วดั ช้างให้ พระราชมนูจงึ ให้พอ่ ครูดาบพลอย ใช้เรือกระแชง ไปขนทองค�ำและพัสดุที่จ�ำเป็นจากกรุงศรีอยุธยา และมีช่างสิบหมู่ มาช่วยบูรณะอุโบสถ ต่อมาหลังเปลีย่ นแผ่นดิน พระราชมนูได้ลาออกจากสมุหกลาโหม แล้วมาบวชอยู่ที่วัดช้างให้นี้ พระราชมนูหรือหลวงพ่อเพชรได้สร้าง วิหารถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จนท่าน สิน้ อายุขยั ศิษย์และชาวบ้านจึงสร้างเจดียร์ ปู ทรงกลม(ระฆังคว�ำ่ )บรรจุ อัฐิของท่าน ในสมัยอยุธยาตอนปลาย มีพระสงฆ์ 3 พ่อลูกทรงฌานอภิญญา ปกครองวัดสืบมา ได้แก่ หลวงปู่รอด, หลวงพ่อพ่วง และหลวงพ่อเพ็ง และว่างเว้นพระสงฆ์ในช่วงเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2310 จนถึงสมัย รัตนโกสินทร์ มีพระพ่วง และพระเปรือ่ งปกครองและว่างเว้นพระสงฆ์อกี ต่อมาในปีพ.ศ. 2472 นายแรม นางใย ข�ำพักตร์ ร่วมกับผู้มีจิต ศรัทธาช่วยกันบูรณะวัดขึน้ มาใหม่ ในช่วงนีท้ วี่ ดั มีชา้ งตาบอดอาศัยอยู่ และพืน้ บ้านนีเ้ ป็นสถานทีเ่ จ้าหน้าทีก่ รมช้าง น�ำช้างกลับมาเลีย้ งทีบ่ า้ น เกิดและที่วัด ชาวบ้านจึงเรียกวัดนี้ว่า “วัดช้าง”จนถึงปัจจุบันนี้ วัดช้างได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2403 ได้หนังสือ รับรองสภาพวัดใหม่ ที่ อท 0030/03 ลงวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดอ่างทองแห่งที่ 2 36

4

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 36

20/4/2563 13:11:40


หลวงปู่เพ็ง (บุตร) หลวงปู่รอด(บิดา) หลวงปู่พ่วง (บุตร) พระผู้ทรงอภิญญา อดีตเจ้าอาวาสวัดช้าง

โบราณสถาน-โบราณวัตถุในวัด

โบสถ์มหาอุด อายุ 708 ปี สร้างสมัยสุโขทัย มีพระพุทธรูปประธาน ปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย เรียกว่าหลวงพ่อทองค�ำ และมีหลวงพ่อเพ็ชร พระพุทธรูปปางสมาธิ วิหาร พระราชมนูสร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายในมีพระประธานสมัยอยุธยา เจดีย์ ทรงลังกา สมัยอยุธยา 2 องค์ พระพุทธรูปทวารวดี สร้างจากหินทรายจ�ำนวนมาก ใบสีมา หินทรายแดง ลงรักปิดทองสมัยอยุธยาตอนกลาง รูปปั้นหลวงพ่อรอด หลวงพ่อพ่วง หลวงพ่อเพ็ง พระผู้ทรงคุณพิเศษสมัยอยุธยา เป็นที่เคารพสักการะมาจนปัจจุบันนี้ วิหารฐานส�ำเภา มีพระพุทธชินราช(องค์จำ� ลอง) สร้างถวายเป็น ที่ระลึกปีกาญจนาภิเษก 72 พรรษา รัชกาลที่ 9 หอปฏิบตั ธิ รรม มีพระอนันตชิน เป็นพระประธานปางปฐมเทศนา เป็นที่ระลึก 80 พรรษามหาราชา(หลวงพ่อส�ำเร็จ) เจดีย์บรรจุอัฏฐิของพระราชมนู เจ้าพระยาอัครมหาเสนาบดี ที่สมุหกลาโหม เจดีย์บรรจุอัฏฐิสมภารเจ้าวัด (อดีตเจ้าอาวาส) เจดีย์พลีกรรม (เจ้ากรรมนายเวร) ถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมาสน์บุษบก อายุประมาณ 150 ปี สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ตอนกลาง นายช่างผู้สร้าง คือ นายชิด เกิดเพียร เจ้าภาพสร้างถวาย โดย ทวดแรม ทวดใย ข�ำพักตร์ ซุ้มก�ำแพงแก้วอุโบสถใหม่ สร้าง พ.ศ.2545 อุโบสถหลังใหม่ สร้าง พ.ศ.2527 พระสังกัจจายน์ สร้าง พ.ศ.2527 สร้างถวายโดย คุณสุพิศ์ สุขสุวรรณ ร้านข้าวสารตุ่มทอง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 37

37

20/4/2563 13:12:04


History of buddhism....

วัดแก้วกระจ่าง กราบขอพรเจ้าแม่แก้วประกายทอง

วัดแก้วกระจ่าง ตั้งอยู่เลขที่ 41 หมู่ 6 ต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอ แสวงหา จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด ประมาณ 25 ไร่ 3 งาน 14 ตาราวาง ปัจจุบันพระครูวิบูลวรวัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดแก้วกระจ่าง แต่เดิมชาวบ้านเรียกกันว่า วัดยางอู่ เพราะบริเวณ สถานที่ตั้งวัดในขณะนั้น พื้นที่ค่อนข้างเป็นที่ดอนและมีต้นยางขึ้นอยู่ เป็นจ�ำนวนมาก ทางด้านทิศตะวันตกจะมีล�ำรางทางน�้ำธรรมชาติ ไหลจากทางทิศเหนือลงทางทิศใต้ (ปัจจุบันทางราชการได้ปรับปรุง ให้เป็นคลองส่งน�้ำเพื่อการเกษตรกรรม) 38

ต่อมาได้เปลี่ยนไปเรียกชื่อว่า วัดแก้วกระจ่าง เนื่องมาจากในขณะ นั้นนายกระจ่าง แมลงทับ เป็นก�ำนันดูแลในเขตต�ำบลสีบัวทอง และ ยังมีนายแก้ว พลอยแสง ร่วมกับบุคคลผู้มีศรัทธาอีกหลายท่านใน สมั ย นั้ น เป็ น คนดู แ ลช่ ว ยเหลื อ สร้ า งให้ เ ป็ น ที่ พั ก สงฆ์ จนเป็ น ที่ ประกอบพิธีทางศาสนาส�ำหรับชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงบริเวณนั้น จึง เป็นสาเหตุที่เรียกว่า วัดแก้วกระจ่าง มาจนถึงปัจจุบัน วั ด แก้ ว กระจ่ า ง สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ประมาณปี พ.ศ.2479 โดยมี นายจุ่น-นางหอม แมลงทับ บริจาคที่ดินให้เป็นที่สร้างวัด ต่อมาในปี พ.ศ.2480 ทางราชการได้ จั ด ตั้ ง โรงเรี ย นประถมศึ ก ษาขึ้ น ที่ วั ด นี้ โดยอาศัยศาลาการเปรียญเป็นที่ท�ำการเรียนการสอน จนถึงปี พ.ศ. 2484 ได้จัดสร้างอาคารเรียนเป็นเอกเทศตั้งอยู่ในบริเวณวัด

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 38

20/4/2563 13:14:36


ประวัติ “แม่แก้วประกายทอง” วั ด แก้ ว กระจ่ า ง มี สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวบ้ า นกราบไหว้ บู ช าคื อ “แม่แก้วประกายทอง” ซึ่งแกะสลักจากต้นตะเคียนทอง ตามประวัติ กล่าวว่า องค์การบริหารส่วนต�ำบลสีบัวทอง อ�ำเภอแสวงหา จังหวัด อ่ า งทอง ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใ นเขต หมู ่ ที่ 4 บ้ า นคลองชะอม ซึ่ ง อยู ่ ใ กล้ บึงธรรมชาติที่เรียกว่า บึงสีบัวทอง ที่อยู่ทางทิศเหนือของวัดแก้ว กระจ่าง ในเขตของหมู่ที่ 1,2,5 ห่างจากวัดแก้วกระจ่างประมาณ 4-5 กิโลเมตร ต่อมาทางราชการได้มีโครงการท�ำเป็นที่กักเก็บน�้ำ โดยทาง สถานีพัฒนาที่ดินได้มีการส�ำรวจและมีการสร้างงานพัฒนาแหล่งน�้ำ ขนาดเล็ก เมื่อปี 2551-2552 โดยขณะทีร่ ถได้ขดุ ลอกอยูน่ นั้ ก็ได้พบต้นไม้จมอยูใ่ ต้ดนิ ลึกประมาณ 4 เมตร จึงได้ขดุ ขึน้ มา พบว่าเป็นต้นตะเคียนทองซึง่ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1.50 เมตร มีความยาวหรือสูงประมาณ 25 เมตร ต่อมา องค์การบริหารส่วนต�ำบลสีบัวทอง จึงได้ถวายต้นตะเคียนทองให้กับ วัดแก้วกระจ่าง และวัดที่อยู่บริเวณใกล้เคียงอื่น ๆ อีกหลายต้น ทางวัดแก้วกระจ่างโดยพระครูวิบูลวรวัตร เจ้าอาวาส ได้เห็นคุณค่า เพราะหาไม่ง่ายนัก และถ้าทิ้งไว้ในรูปแบบเดิม ๆ เราก็จะมองไม่เห็น คุณค่าและประโยชน์สักเท่าใดนัก ประกอบกับมีความเชื่อตามคติชน ของคนไทยที่มีมาทุกยุคทุกสมัยว่า ไม้ตะเคียนนั้นมีความศักดิ์สิทธิ์ มีเทพเทวดาที่เรียกว่ารุกขเทวดามาอาศัยอยู่ ท่านจึงได้ว่าจ้างทีมงาน ช่างวิสาหกิจชุมชนวังหลวงมาท�ำการแกะสลัก โดยนายรัฐการต์ จันทนุ หรือก�ำนันอรรถ บ้านเลขที่ 99 หมู่ 2 ต�ำบลวังหลวง อ�ำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ ด�ำเนินการแกะสลักต้นตะเคียนทองให้เป็นรูปลักษณะของ แม่ตะเคียน มีความสูง 5 เมตรรวมฐาน ดังที่ปรากฏอยู่นี้ เมื่อส�ำเร็จแล้ว ทางวัดได้จัดงานบวงสรวงขึ้น เมื่อวันเสาร์ที่ 22 มิถนุ ายน 2556 โดยมีทา่ นผูว้ า่ ราชการจังหวัดอ่างทอง นายศิว ศิศสิ มิต และท่านนายอ�ำเภอแสวงหา นายปริญญา เขมะชิต ได้ให้เกียรติมาเป็น ประธานเปิดป้ายชือ่ -ทีอ่ ยูแ่ ม่ตะเคียน และป้ายชือ่ แม่ตะเคียน (แม่แก้ว ประกายทอง) โดยการประสานงานจากวัฒนธรรมอ�ำเภอ

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

20/4/2563 13:14:51


40

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 40

20/4/2563 13:14:53


WAT KAEO KRACHANG …Paying homage to Chao Mae Kaeo Prakaithong for fortunate life Phra Kheu Wiboon Worawat, the abbot

Wat Kaeo Krajang is located at 41 village no.6, Si Bua Thong sub-district, Sawaeng Ha district, Ang Thong province. It belongs to Maha Nikaya clergy. Scale of this temple’s land is approximately 10 acres and 1,256 square meters. Formerly, locals called it Wat Yang U because there were many rubber trees in the location where it is situated at that time. After that, the name was changed to Wat Kaeo Krachang due to Mr.Krachang Malaengthab who the headman of Si Bua Thong sub-district at that time and Mr.Kaeo Ploysaeng together with group of faithful people who were assisted on the construction of monk’s houses. They jointly developed this temple until it became a place for performing religious ceremony for locals who live around this area. Therefore, it is the reason why this temple was called Wat Kaeo Krachang until today. Wat Kaeo Krachang was built around B.E.2479 which the land where it is located was donated by Mr.Jun and Mrs.Hom Malaengthab. After that, in B.E.2480, government established elementary school at this temple by using sermon hall as the place for teaching and studying until B.E.2484, school building was built individually in temple’s area.

History of “Mae Kaeo Prakaithong”

Wat Kaeo Krachang has sacred object that is worshipped by local which is “Mae Kaeo Prakaithong”. It was sculptured from iron wood. According to its history, land development station had searched and made a job regarding small water source development in the area of Si Bua Thong Sub-district Administration Organization in B.E.2551-2552. During process of dredging, they found out the Takhien Thong (iron wood) which its diameter was around 1.5 meters and its length was 25 meters. Then, Si Bua Thong Sub-district Administration Organization offered this iron wood to Wat Kaeo Krachang and other nearby temples.

Phra Kheu Wiboon Worawat, abbot of Wat Kaeo Krachang acknowledged its value since this kind of iron wood was quite rare accompanying with his believe that iron wood has sacredness, it has god or goddess reside in it which called RukkaThewada (Tree spirit). He then hired craftsmen of Wang Luang community to carve this iron wood which it was done by Mr.Rattakarn Chanthanu or Sub-district headman At who live at 99 village no.2, Wang Luang sub-district, Nong Muang Kai district, Phrae province. He carved the iron wood into the shape of Mae Takhien (Beautiful woman spirit that dwell in iron wood) which it is 5 meters in height including the base as it appears presently. When the carving is completed, this temple held spirit-worshipping ceremony on Saturday, 22 June B.E.2556 which Ang Thong province governor, Mr.Siwa Sisitmit and chief of Sawaeng Ha district, Mr.Parinya Khemachit had conferred upon us to preside in Mae Takhien’s nameplate -opening ceremony (Mae Kaeo Prakaithong) by coordinating with District Council of Cultural Affairs. ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

20/4/2563 13:15:00


开克拉昌寺 开克拉昌寺衷心地祝福金母普拉赫鲁维本旺瓦特方丈

开克拉昌寺位于泰国省府41号府的姆邦布阿通 区,土地所属佛教僧侣,原名为轮胎寺杨,因为 寺庙当时种植有很多橡胶树。卡姆南昆虫在布阿 通区得到保存,还有一杯珍贵的光杯和国防部的 许多有关信仰的内容,这是牧师成为附近村民的 宗教仪式的原因,也是开克拉昌神庙存在的原因。 开克拉昌寺约于2479 年由 君先生开始建造, 在一年之后,2480年。政府在这个寺庙中建立了 小学。并且将神学作为一个教学过程,直到2484 年,在寺庙内已经建成了一座独特的校舍

普拉赫鲁维本旺瓦特方丈看到开克拉昌神庙 后,因为对他来说,相信木材是神圣的,并不容 易得到。有一个天使叫生活之宣,聘请了一个团 队,成为皇家社区企业。 拉特坎先生将树形雕刻成母亲的形状。5 米的 高度包括如图所示的底座。完成后,这座寺庙被 称为大昭寺。 2556年6月22日星期六,总督翁通西瓦莫格萨 塔姆·西西特先生和帕里尼亚先生,以及赫马奇 特先生很荣幸成为主席。

闪闪发光的金玻璃的历史 开克拉昌寺庙崇拜的神圣事物是”闪闪发光的 金玻璃”,它根据金塔里斯曼的历史而雕刻,目 前已被挖掘,并创造了一个小的水利开发工程, 位于区行政组织——布阿通区。2551-2552年,当 汽车行驶进入时,发现了一条直径约1.50米、长 25米的黄金痕迹。 42

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 42

30/4/2563 9:12:00


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE

www.sbl.co.th

SBL บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE SBL บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขาพระอั ง คาร ตั้งอยู่ในท้องที่ อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

และเขตของอ� ำ เภอนางรอง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ เป็ น ภู เ ขาไฟที่ ดั บ สนิ ท แล้ ว ห่ า งจากภู เ ขาพนมรุ ้ ง ไปทางทิ ศ ตะวั น ตกประมาณ 10 กิ โ ลเมตร ห่ า งจาก จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ป ระมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตามเส้ น ทางบุ รี รั ม ย์ - นางรอง

Book of sbl.indd 16

. - 19/04/2562 14:30:07 PM


History of buddhism....

วัดหมื่นเกลา วัดหมื่นเกลา...สักการะ “หลวงพ่อใหญ่ศรีสรรเพชญ” ศักดิ์สิทธิ์

วัดหมื่นเกลา ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 4 บ้านหมืน่ เกลา ต�ำบลวังน�ำ้ เย็น อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด 32 ไร่ 38 ตารางวา (2 แปลง รวมกัน) โฉนดที่ดิน เลขที่ 7253 - 7254 อาณาบริเวณวัดสงบร่มรื่นร่มเย็นด้วยต้นไม้ นานาพันธุ์เหมาะแก่การปฏิบัติธรรม

44

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 44

20/4/2563 13:18:17


ประวัติความเป็นมา วัดหมืน่ เกลา เป็นวัดเก่าแก่มมี าแต่สมัยโบราณ ตามประวัตกิ ล่าวว่า วัดนี้สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ราวปีพุทธศักราช 2250 ตามหนังสือ แผนการณ์เป็นคัมภีร์ใบลานอักษรขอม สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ถึงตอนปลาย ราวปี พ.ศ. 2250 ได้กล่าวไว้วา่ มีพระธุดงค์ (ไม่ปรากฏชือ่ ) มาปลั ก กลดพ�ำ นั ก อยู ่ เป็ น ที่ เ ลื่ อ มใสศรั ท ธาของชาวบ้า น ต่อมา นายบ้านชื่อ “เกลา” มีบรรดาศักดิ์เป็นขุนหมื่นเรียก “หมื่นเกลา” ได้ น� ำ พาชาวบ้ า นมาสร้ า งวั ด ถวาย เรี ย ก “วั ด หมื่ น เกลา” ในปี พ.ศ. 2260 ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า (หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ประวัตศิ าสตร์วดั ทัว่ ราชอาณาจักร เล่มที่ 4) มีอาณาเขตอุปจาระ ดังนี้ เสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยอุโบสถ(ก�ำลังก่อสร้าง) ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ กุฎิ ปูชนียวัตถุ ได้แก่ หลวงพ่อใหญ่ศรีสรรเพชญ พระพุทธรูปปางมารวิชยั เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถ พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั สร้างด้วยหยกสีขาวทัง้ องค์ เมือ่ พ.ศ. 2545 ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ปัจจุบันวัดหมื่นเกลาก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างอุโบสถ ซึ่งได้รับการ ออกแบบอย่างประณีตงดงาม จึงขอเรียนเชิญท่านผู้มีจิตศรัทธาใน บวรพระพุทธศาสนาร่วมสมทบทุนสร้างได้ที่พระครูนิเทศธรรมวิรัช เจ้าอาวาสวัดหมื่นเกลา

การคมนาคม ปัจจุบันการเดินทางไปวัดหมื่นเกลาสามารถใช้เส้นทางได้หลาย เส้นทางและสะดวกรวดเร็ว หากเดินทางจากกรุงเทพใช้ถนนสายเอเชียทางหลวงหมายเลข 334 แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าตัวเมืองอ่างทอง ผ่านอ�ำเภอโพธิ์ทองใช้ถนนหลวง หมายเลข 3064 เข้าอ�ำเภอแสวงหา จากอ�ำเภอแสวงหาถึงวัดหมืน่ เกลา โดยใช้ถนนหลวงชนบทหมายเลยเลข 4009 อีกเส้นทางหนึ่งจากกรุงเทพบางบัวทอง ใช้เส้นทางสายสุพรรณ - ชัยนาท ถึงอ�ำเภอศรีประจันต์ เลี้ยวขวาผ่านบ้านอนุรักษ์ควายไทย ผ่านบ้านสามจุ่น บ้านหนองสรวง ตลาดดอนปรู โดยใช้ถนนหลวง ชนบทหมายเลยเลข 3054-2010-4009 จึงถึงวัดหมื่นเกลา ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

20/4/2563 13:18:33


MUEN KLAO TEMPLE Wat Muen Klao…Paying homage to the sacred “Luang Phor Yai”

Phra Khru Nithetthamwirat, abbot of this temple Wat Muen Klao is located at 51 village no.4, Ban Muen Klao, Wang Nam Yen sub-district, Sawaeng Ha district, Ang Thong province. It is a peaceful, shady and cool temple which is rich with various kinds of tree where suitable for practicing the dharma.

History of this temple

Wat Muen Klao is an ancient temple that was built during the era of Ayutthaya kingdom around B.E.2250. According to historical record, there was a monk on pilgrimage (Name is unknown) who stayed at this place which villagers are believing in him. After that, leader of villagers, “Mr.Klao” who was granted rank of nobility as Khun Muen and was called “Muen Klao”, had led villagers to build temple and offer to him. The name of that temple is “Wat Muen Klao”. It was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) in B.E.2260.

Important building/ Sacred object

Important building consist of Ubosot (Buddhist sanctuary, in the process of constructing), sermon hall, chanting hall and monk’s dwelling. Sacred object - It is Luang Phor Yai, the Buddha statue in attitude of subduing Mara, principle Buddha image in Ubosot and sermon hall. Whole body of this Buddha image was made of white jade and it was built in B.E.2545

Joining in the construction of path of merit At present, Wat Muen Klao is in the process of constructing Ubosot which is designed delicately. Therefore, we would like to invite everyone who believed in Buddhism to join donating on the construction fee by donating to Phra Khru Nithetthamwirat, the abbot Wat Muen Klao.

46

SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย I Iเทีอ่​่ยาวพิ งทอง เศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 46

20/4/2563 13:18:34


ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 47

47

20/4/2563 13:18:37


梅卡寺

是尊重亚伊神父的地方。

梅卡寺位于泰国红统府 51号 Moo 4 Ban Muen Kla, Wang Nam Yen 小区, Sawaeng Ha 区。 这是一座宁静的阴凉庙宇,有多种树木适合冥想。 历史 梅卡寺(Muen Kla Temple)是一座古老的寺庙, 建于1897年的大城府时期。根据历史,一位和尚 来到这座寺庙远足,邻里的人非常相信这个和尚, 此后,村长卡(Kla)召集村民为和尚建造一座庙宇。 因此,这座寺庙被称为“梅卡寺庙”。

施工历史 目前,这梅卡寺庙正在建设中。教堂非常漂亮, 施工需要很长时间。因此,我们邀请所有人参加 捐款活动。 维护这座寺庙。在方丈联系的。 怎么去梅卡寺庙? 如今,前往这座寺庙的交通路线非常便捷。 如果来自曼谷,请使用亚洲路线 334号,然后 左转到红统府,通过Pho Thong区,用3064号高速 公路进入Sawaeng区,从Sawaeng区到梅卡寺庙用 4009号高速公路进入就到了。 另一种选择,如果您从曼谷开车,请使用名为 Bang Bua Thong的路,然后直行前往素攀武里府 和猜纳府。用3054-2010-4009号高速公路进入就到了。 48

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 48

26/4/2563 20:54:35


SBL บันทึกประเทศไทย

Website : www.sbl.co.th

Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56

06/07/61 14:25:11


History of buddhism....

วัดสีบัวทอง นมัสการหลวงพ่อแดงศักดิ์สิทธิ์

วั ด สี บั ว ทอง ตั้ง อยู่เลขที่ 100 หมู่ที่ 2 บ้า นสี บัว ทอง ต�ำ บล สี บั ว ทอง อ�ำเภอแสวงหา จัง หวัด อ่า งทอง วัดนี้เป็นวัดที่มีคุณค่าน่าศึกษา เช่น ที่ตั้งวัด สภาพภูมิศาสตร์ และซากโบราณวัตถุ เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง เป็นวัดที่ตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่ น�้ ำ สี บั ว ทอง เป็ น แม่ น�้ ำ ที่ แ ยกจากแม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ ปากคลองมะขามเฒ่ า ในเขตอ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชั ย นาท ในปั จ จุ บั น ตามปกติ ล� ำ แม่ น�้ ำ สี บั ว ทองแยกจากล� ำ แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาที่ ป ากคลองมะขามเฒ่ า ดั ง กล่ า วจะไหลคดเลี้ ย ว ผ่ า นหมู ่ บ ้ า นและต� ำ บลต่ า งๆ ลงสู ่ ล� ำ แม่ น�้ ำ น้ อ ยที่ ป ากแพลก เขตอ� ำ เภอวิ เ ศษชั ย ชาญ จั ง หวั ด อ่ า งทอง 50

วัดสีบัวทอง ตั้งอยู่สุดเขตแดนของจังหวัดอ่างทอง ซึ่งจะเรียกว่า ดินดอนสามเหลี่ยม โดยทางเหนือติดต่อกับเขตอ�ำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บรุ ี ห่างจากเขตวัดประมาณ 1 กิโลเมตร มีลำ� คลองบางทอง เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตกติดต่อกับเขตอ�ำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี มีล�ำน�้ำสีบัวทองเป็นเส้นแบ่งเขต เหตุที่ชื่อว่าวัดสีบัวทองนั้น เพราะวัดตั้งอยู่ใกล้บึงใหญ่ ซึ่งมีเนื้อที่ ประมาณ 5,000 ไร่เศษ และมีบวั หลวงขึน้ เป็นจ�ำนวนมาก เวลาออกดอก จะเห็นในท้องทุ่งมีสีชมพู จะแลเห็นเกสรบัวหลวงอร่ามดังสีทอง เพราะเหตุนี้ชาวบ้านจึงรียกว่าวัดบึงสีบัวทองและบ้านบึงสีบัวทอง ต่อมาค�ำว่าบึงกร่อนหายไป จึงเหลือแต่สบี วั ทอง จึงเรียกว่าวัดสีบวั ทอง และบ้านสีบัวทองมาจนถึงทุกวันนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 50

20/4/2563 13:24:17


สิ่งที่เป็นจุดเด่นของวัดสีบัวทอง อุโบสถวัดสีบวั ทอง ได้ทำ� การก่อสร้างแบบอุโบสถสมัยกรุงศรีอยุธยา ก่อด้วยอิฐทั้งก�ำแพงอุโบสถและก�ำแพงแก้ว ขณะที่มีผู้ค้นพบอุโบสถ หลังนีน้ นั้ สภาพของอุโบสถปรักหักพังมาก ไม่มหี ลังคา ก�ำแพงทัง้ สองชัน้ ได้พังลงมา เพราะมีมิจฉาชีพขุดค้นหาทรัพย์สิน หาพระพุทธรูป เครื่องรางของขลัง ประกอบกับมีต้นไม้ใหญ่ขึ้นปกคลุม รากของต้นไม้ ได้ชอนไชไปในระหว่างแผ่นอิฐ ท�ำให้ก�ำแพงและหลังคาหักพังลงมา เมื่อแรกค้นพบจึงมีแต่แนวก�ำแพงเตี้ยๆ ที่ยังปรากฏให้เห็นอยู่ ขณะนี้ พระครูปญ ั ญาสารคณี เจ้าคณะอ�ำเภอแสวงหา ได้ชกั ชวนผูม้ จี ติ ศรัทธา บูรณะปฏิสงั ขรณ์หลังคาอุโบสถโดยมุงด้วยสังกะสี ซึง่ ยังปรากฏให้เห็น อยู่ทุกวันนี้ (บูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2502) พระพุทธรูป ในอุโบสถมีพระพุทธรูปซึ่งช�ำรุดหลายองค์ ทุกองค์ ท�ำด้วยหินทรายแดง(ไม่ใช่ศลิ าแลง) พระพักตร์สวยงามมาก โดยนายช่าง ผูท้ ำ� ได้สกัดหินหทรายแดงออกเป็นส่วนแล้วเอามาต่อกัน เหมือนรูปแบบ การท�ำในสมัยสุโขทัย มีอยู่หลายองค์

รายนามเจ้าอาวาสวัดสีบัวทอง หลังจากที่ชาวบ้านได้อพยพมาจับจองที่ดินแล้ว ก็ร่วมกันบูรณ ปฏิสังขรณ์วัดสีบัวทองขึ้นมาใหม่ เพื่อใช้ประกอบศาสนกิจ เจ้าอาวาส วัดสีบัวทองเท่าที่สืบทราบได้ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. พระอาจารย์ถมยา พ.ศ.2472 - 2473 2. พระอาจารย์แม้น พ.ศ.2473 - 2474 3. พระอธิการบู่ พ.ศ.2474 - 2487 4. พระอาจารย์โล่ ภพฺพิโย พ.ศ.2487 - 2489 (พ.ศ.2489 - 2490 วัดร้างเพราะโจรผู้ร้ายชุกชุม ท�ำให้ประชาชน ต้องอพยพไปอยู่ที่อื่นหมด) 5. พระอาจารย์ใคร พ.ศ.2490 - 2491 6. พระอาจารย์หอม พ.ศ.2491 - 2493 7. พระอาจารย์เศวก รตโน พ.ศ.2494 - 2495 8. พระอาจารย์สุวรรณ พ.ศ.2495 - 2497 9. พระอาจารย์เจียม พ.ศ.2497 - 2498 10. พระอธิการบุญเชิด วุฑฺฒิธมฺโม พ.ศ.2499 - 2520 11. พระอาจารย์ฟื้น ธมฺมโชโต พ.ศ.2520 - 2525 12. พระครูสถิตเลขการ พ.ศ.2525 –ปัจจุบัน ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

20/4/2563 13:24:32


พระพุทธรูปที่ศักดิ์สิทธิ์ภายในวัดสีบัวทอง Luang Phor Daeng, the sacred Buddha image หลวงพ่อแดง พระพุทธรูปองค์นที้ ำ� ด้วยหินทราย (ไม่ใช่ศลิ าแลง) มีพระพักตร์สวยงามมาก นายช่างผู้ท�ำได้ท�ำด้วยการสกัด หินทรายแดงเป็นส่วนๆ ส่วนพระเศียร ส่วนพระวรกาย ส่วนพระพาหา ส่วนพระเพลา สันนิษฐานว่าการท�ำเช่นนัน้ เพื่อสะดวกในการขนย้ายมาประดิษฐาน สะดวกกว่าการ ท�ำให้เสร็จเป็นแท่งทัง้ องค์ ด้วยเหตุทพี่ ระเศียรหลวงพ่อแดง สวยงามมาก จึงเป็นเหตุให้พวกมิจฉาชีพลักพระเศียรไป ด้วยเดชะพระปาฏิหาริย์ ผู้ลักพระเศียรหลวงพ่อแดง ไปได้ น� ำ พระเศี ย รกลั บ มาไว้ ดั ง เดิ ม เมื่ อ ได้ พระเศียรหลวงพ่อแดงกลับมาแล้ว ชาวบ้าน สีบวั ทองภายใต้การน�ำของ นายเฟือ่ ง ทองสมบัติ ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านในขณะนั้น ได้ร่วมกันท�ำการ ต่อพระเศียรหลวงพ่อแดงให้ตดิ กับพระวรกาย ในขณะท�ำการต่อนัน้ เกิดนิมติ มหัศจรรย์เป็นรัศมีแสงยาว พุ ่ ง ออกจากพระศอไปทาง ทิศตะวันออก มีประชาชน

52

ที่อยู่ในบริเวณนั้นเห็นกันทั่วเป็นที่อัศจรรย์ยิ่งนัก ผู้ที่ร่วมกันคิดจะ ต่อพระเศียรต่างพากันเกรงกลัวจึงต้องล้มเลิกในวันนั้น ครั้นต่อมาได้ท�ำการต่อพระเศียรหลวงพ่อแดงใหม่ โดยได้ ตั้งบายศรี เครื่องสังเวยตามพิธีกรรมทางไสยศาสตร์จึงต่อ พระเศี ย รได้ ส� ำ เร็ จ เพื่ อ ป้ อ งกั น การถู ก ลั ก ขโมยอี ก จึ ง ได้ อัญเชิญหลวงพ่อแดงไปประดิษฐานเก็บรักษาไว้บนกุฏพิ ระสงฆ์ ถึงคราวเทศกาลไหว้พระวันเพ็ญกลางเดือน 6 และกลาง เดือน 12 ของทุกปี จะอัญเชิญหลวงพ่อแดงลงมา ให้ประชาชนได้ปิดทอง นมัสการกัน หลวงพ่อแดงมีความศักดิส์ ทิ ธิท์ างพระพุทธานุภาพ มาก ทุกๆ วันจะมีประชาชนมาสักการะและ ปิดทองมิได้ขาด ที่เรียกว่าหลวงพ่อแดงนั้น เป็น ชื่อที่ประชาชนชาวบ้านเรียก กั น เพราะเหตุ ที่ ท� ำ ด้ ว ย หินทรายแดงนั่นเอง ชื่ออื่น ยังไม่ได้ยินใครเรียก

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 52

20/4/2563 13:24:34


SI BUA THONG TEMPLE Wat Si Bua Thong…Paying homage to sacred Luang Phor Daeng

Wat Si Bua Thong is located at 100 village no.2, Ban Si Bua Thong, Si Bua Thong sub-district, Sawaeng Ha district, Ang Thong province. This temple is an ancient and significant temple which is also very educational, for example, location, geography and remains of antiques.

Luang Phor Daeng, the sacred Buddha image

Luang Phor Daeng - This Buddha image is made of sandstone (Not laterite), it has stunningly gorgeous face. The craftsman who built it had made it by extracting red sandstone into many parts for the convenience on transportation of this Buddha image. Moreover, head of Luang Phor Daeng was stolen by a thief due to its gorgeousness. However, because of its miracle, the thief who stole it had brought it back to the place where it belonged to. People of Ban Si Bua Thong then jointly attached the head of Buddha image to its body, but during the operation, there was light shone and jetted out from its neck toward the east which is supremely miraculous and made all of people who are doing this operation scared. Therefore, they stopped the operation on that day. After that, they offered rice offering and sacrifice that used for performing superstitious rite to the Buddha

image. Then, they are able to attach the head to its neck and to prevent anyone to steal the head again. They then respectfully engaged Luang Phor Daeng to place it in the monk’s dwelling. When paying respect ceremony which is occurred on middle of the lunar sixth and twelfth month annually has arrived This Buddha image will be respectfully engage from where it is situated to public place for people can cover it with gold leaves and pay homage to it. Luang Phor Daeng has abundant Buddhist sacredness. There will always be people who come to this temple for covering it with gold leaves and paying homage to it every day. The reason it was called Luang Phor Daeng is because locals named it after the material that used to build this Buddha image which is red sandstone and no one calls it by other name. (Red is the word “Daeng” in Thai). ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

20/4/2563 13:24:41


金莲花寺庙

在这里您可以尊敬名为大恩神父的神圣佛像。

金莲花寺庙位于泰国红统 sa wang ha 区 泗水通区 moo 2 号 100号。 金莲花寺的亮点是什么? 第一个,金莲花寺庙的教堂,这个地方完全由 砖建造而成,所以,当这个地方被发现时,我们只 发现了一堵矮墙。因此,在1959年,圣殿的方丈劝 说村民们来捐款修复圣殿的人。目前,教堂屋顶由 锌制成。

大恩神父,神圣的佛像 大恩神父,砂岩佛像 (不是红土)非常美丽, 这尊佛像是由提取红砂岩制成的,为了方便运 输。佛像分为几部分, 而且佛像的头像很漂亮 这就是为什么小偷偷了他的头。但是不久之后, 发生了一件奇怪的事情:被偷的佛像回到了原来 的位置,却没人知道来自哪里。 然后,村民们要一起造佛头,但是在那段时间 里,从佛像脖子向东射出了长长的光。村民们非 常害怕,所以那天没想要造佛头。之后,进行了 道歉,并为神秘仪式准备了护身符,从而成功地 建造了佛头。 为了防止小偷再次偷走佛像 因此, 把大恩神父佛像保存在和尚的神职人员手中。 每年6月中旬和12月中旬对僧侣的敬意会使大 恩神父佛像敬拜。 大恩神父佛像每天都有神圣的力量,人们崇拜 这种力量并将金币带到这里。

54

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 54

26/4/2563 20:53:18


ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

Magazine

AD_

.indd 146

www.sbl.co.th

9/12/2562 14:33:51


History of buddhism....

วัดบ้านแก ตำ�นานการเผาข้าวหลาม ถวายเป็นพุทธบูชา

ร่ ว มสานร้ อ ยดวงใจผ่ า นความร้ อ น เชื่ อ มความสามั ค คี เผาข้าวหลาม ถวายเป็นพุทธบูชาวันมาฆบูชา ณ วัดบ้านแก ต�ำบลศรีพราน อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง ปัจจุบันพระครูสุตานุยุตด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส พระครูสตุ านุยตุ เจ้าอาวาสวัดบ้านแก เดิมมีชอื่ ว่า พระมหาบัณฑิต สุ น าโค อุ ป สมบทที่ วั ด โคกพุ ท รา อ.โพธิ์ ท อง จ.อ่ า งทอง โดยมี พระครูอดุลสุตกิจเป็นพระอุปชั ฌาย์ และมีหลวงพ่อทองหยิบ ปัชโชโต วัดบ้านกลาง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และมีพระมหาสุชาติ เขมภิรโต วัดโคกพุทรา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2529 ท่ า นได้ ม าด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาส เมื่ อ วั น ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 56

.indd 56

ในปี พ.ศ. 2538 ญาติโยมที่มีปัญหาเจ็บไข้ได้ป่วยมาบ่นให้ท่านฟัง เป็นประจ�ำ ท่านก็พิจารณาปัญหาต่าง ๆ เท่าที่ญาติโยมมาปรึกษา หารือ ในคืนหนึ่งท่านได้นิมิตว่า มีผู้นุ่งขาวห่มขาวเดินทางมาหาท่าน เป็นจ�ำนวนมาก มาบอกว่าให้ท่านช่วย ในขณะนั้นท่านคิดว่าเรามี บุญบารมีน้อย จะช่วยได้อย่างไร จึงกล่าวว่าเชิญท่านมานั่งทางนี้ก่อน แล้วชี้บริเวณที่จะให้ผู้นุ่งขาวจ�ำนวนมากนั่ง ทว่าเมื่อท่านเหลียวกลับ มาดู ท่านผู้นุ่งขาวเหล่านั้นก็หายไป เมื่อท่านตื่นขึ้น ท่านก็คิดวิตก เรื่องที่ฝันนั้น และบอกกับชาวบ้านเรื่อยมา

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 13:36:33


ต่อมาระยะหนึ่งท่านก็นิมิตอีกว่า องค์พระประธานที่อยู่ในอุโบสถ ของวัดบ้านแก ที่หน้าตักมีช่องกลม ๆ เมื่อท่านมองเข้าไปในช่องนั้น ก็เห็นภูเขาสีด�ำเหมือนกับกระทะที่คว�่ำเรียงแถวไว้ ต่อกันเป็นแถว แบบสลับฟันปลา เห็นสีขาว ๆ เป็นกลุ่ม ๆ บนภูเขา สีขาวนั้นเหมือน กับแป้งที่คนโรยลงบนกระทะที่คว�่ำไว้ ท่านก็เกิดความคิดขึ้นมาในใจ ขณะนั้นว่า สีขาวนี้เปรียบได้กับคนผู้บริสุทธิ์ ส่วนสีด�ำนั้นเป็นประดุจ ว่าบุคคลผู้มีบาป มีความโลภโมโทสันติดเป็นอุปนิสัย สีด�ำดังก้น กระทะอย่างไรก็อย่างนั้น หลังจากนั้นมาท่านก็น�ำเรื่องราวที่นิมิตทั้งสองเรื่องมาเปรียบเทียบ ว่า สิ่งที่ปรากฏขึ้นนั้นคืออะไร เมื่อได้ข้อสรุปว่า สีขาวที่ปรากฏขึ้น นั้นเปรียบได้กับความดีที่มีอยู่ภายในและภายนอก สิ่งที่เป็นสีด�ำนั้น อาจเป็นเพราะการถูกหล่อหลอมด้วยสิ่งต่าง ๆ เช่น ความโลภ ความ โกรธ ความหลง ที่มีตัณหาเป็นเหตุ พาให้ท�ำความดีงามเสื่อมสูญไป จนบางครั้งกลายเป็นอุปนิสัยนอนเนื่องอยู่ในจิตใจของคนทั่วไป แม้ กระทั่งเราเอง เมือ่ เปรียบเทียบอยูเ่ ช่นนัน้ ท่านก็ปรารภกับอุบาสกอุบาสิกาบ่อย ๆ จนกระทั่งท่านได้ข้อสรุปว่า ทุกคนต้องการที่จะสร้างบุญเพื่อให้เป็น บารมี ชี วิ ต จะได้ อ ยู ่ ดีมีสุ ข ทั้ ง ในภพนี้ ยั น ภพหน้า แต่ด้วยอ�ำนาจ วาสนาที่ตนสั่งสมไว้ได้ ส่งให้ไปเกิดในภพในภูมิที่ดี ดังค�ำว่า “รู้จัก ทาน รักษาศีล เจริญภาวนาทุกค�่ำเช้า จะได้อยู่เย็นเป็นสุข” จากนิมิตดังกล่าว พระครูสุตานุยุต เจ้าอาวาส จึงได้ร่วมกับอุบาสก อุบาสิกา จัดงานบุญข้าวหลามถวายเป็นพุทธบูชาในวันมาฆบูชา เพื่อ เป็ น การเสริ ม สร้ า งพลั ง สามั ค คี ใ ห้ เ กิ ด ในชุ ม ชน เป็ น การสื บ สาน ประเพณีบุญถิ่นพลีกรรม อุทิศบุญให้บรรพชน สรรเสริญเทวดา อาราธนาคุณพระคุ้มครองในวันเพ็ญมาฆบูชาของทุก ๆ ปี โดยมี พระครูสุตานุยุต ผู้เป็นประธานสงฆ์ ได้ชักชวนท่านผู้ที่มีกุศลศรัทธา ร่วมกันเป็นเจ้าภาพและประสานบุญ ด้วยการร่วมร้อยดวงใจแสดง ความกตั ญ ญู ก ตเวทิ ต าคุ ณ โดยวิ ธี ช ่ ว ยกั น เผาข้ า วหลาม 5,000 กระบอก เพื่อบ�ำเพ็ญกุศลส่งบุญให้บรรพชน และบูชาคุณเทวดาด้วย พลีกรรมข้าวหลาม และร่วมร้อยดวงใจตักบาตรท�ำบุญเวียนเทียน ถวายเป็นพุทธบูชาวันมาฆบูชา

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

20/4/2563 13:36:46


หลวงพ่อปางประทานทรัพย์

สร้างเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด ที่เรียกชื่อว่าหลวงพ่อปางประทานทรัพย์ เพราะสมัยก่อนนั้นมีคนนิยมนำ�เอาทรัพย์สินเงินทองของมีค่า ที่หามาได้ มาบูชาสักการะกราบไหว้เพื่อขอความเป็นสิริมงคล และขอความเจริญบริบูรณ์มั่งคั่งในการดำ�เนินชีวิตให้มีความสำ�เร็จ 58

.indd 58

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 13:36:48


WAT BAN KAE

…The legend of glutinous rice in bamboo joints-roasting to offer it as offerings to Buddha Weaving hundreds of hearts together through the heat, connecting unity, roasting glutinous rice in bamboo joints to offer it as offerings to Buddha on Magha Puja Day at Wat Ban Kae, Sri Pran sub-district, Sawaeng Ha district, Ang Thong province. Phra Khru Sutanuyut, abbot of Wat Ban Kae together with laymen and laywomen have been arranging religious ceremony which is offering glutinous rice in bamboo joint to Buddha on Magha Puja day annually for producing and reinforcing unity in community. It is also traditional inheritance of local ceremony, the sacrificial ceremony which is for offering merit to ancestors, glorifying angels and requesting virtue of Buddha to protect oneself on full moon day, the Magha Puja day. Phra Khru Sutanuyut, leader of monk faction of this ceremony, invited anyone who have faith in Buddhism accompany with him to be the host and connect merit by weaving of hundreds of hearts together to express their gratitude by means of roasting 5,000 bamboo flasks of glutinous rice in bamboo joints in order to make merit and offer it to ancestor and worship grace of divinity by performing sacrificial ceremony through glutinous rice in bamboo joints and unite hundreds of hearts to jointly make merit, give food offerings to a Buddhist monk and walk with lighted candles in hand around a temple, then offer it as offerings to Buddha on Magha Puja Day.

Biography of abbot of Wat Ban Kae

Phra Khru Sutanuyut, abbot of Wat Ban Kae – His former name was Phra Maha Bundit Ya Sunakho. He was ordained at Wat Khok Putsa, Pho Thong district, Ang Thong province which Phra Khru Adulsutkit was the preceptor. Pair of monks who chant the ordination service were Luang Phor Thongyib Patchoto of Wat Ban Klang and Phra Maha Suchart Khemphirato of Wat Khok Putsa. He was ordained on 2 March B.E.2559 and appointed abbot of this temple on 24 May B.E.2537

In B.E.2538, folks who have problem regarding health and illness always come to mutter with him. Then one night, he had an omen that there are many men who dressed in white cloth paid him a visit and asked for his help. After a while, he had other omen that there was a round hole on the lap of this temple’s principle Buddha image, when he looked into it, he saw black Mountain like upside-down large frying pan lined up. He also saw group of white dots on the mountain which the white are comparable to innocent people and the black are sinful people who have greedy habit which those people are as black as , bottom of frying pan. When he came up with above comparison, he usually mentioned it with laymen and laywomen until he reached the conclusion that every person wanted to make merit for enhancing prestige then they will live well in this life and the next life due to merit that they have been accumulating and will make more of it in the future which will help them ascend to higher plane of existence as saying goes: “Realize the giving in charity, observe the precepts, practice the dharma every day and night, then your life will be in peace” ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 59

59

20/4/2563 13:36:53


班凯寺庙 有着大米饭传说的班凯寺庙是百神的信仰。在佛教日……在曼谷一个大学城的班凯寺。

城内寺庙是与佛教的米祭——乌巴索克日(Ubasok saw)结合在一起的,为了加强作为佛利卡姆 (Phlikam)传统的社区友谊,在玛卡布查日(Makha Bucha Da y)献祭米祭。每年由大学老师组织奉献 先人、赞美天使阿拉特纳。 总统邀请您到一个拥有慈善组织的主持人和协调 人身边。向您展示如何提供帮助。燃烧钻石5000 个圆柱体来做慈善,奉献功德给祖先,用佛利卡 姆大米向天使表达崇拜,并加入僧侣奉献功德。

60

.indd 60

2537年5月24日他来见方丈。2538年一个亲戚会定 期。在一个晚上,你有一个很好的愿景,有许多 白衣服,让你有能力帮助纳塔克的神庙。当你看 那座黑色的山时,就像倒过来锅一样,把khao 颜 色看作是这座白山上的一群人。与无辜的人相 比,黑色的部分被认为是一个性格复杂的人。 之后,得出结论:每个人都希望幸福快乐地生 活。 要快乐,它必须是善良和道德的。

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

26/4/2563 20:55:33


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


History of buddhism....

วัดยาง ตำ�นานหลวงพ่อธรรมโชติและศึกบางระจัน พระครูปกาสิตธรรมคุณ เจ้าอาวาสวัดยาง

วัดยาง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 115 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลห้วยไผ่ อ�ำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย เป็นวัดเก่าแก่ถูกทิ้งร้างมาตั้งแต่สมัย ศึกบางระจัน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยก สภาพเป็นวัดทีม่ พี ระสงฆ์ เมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2518

สันนิษฐานว่าวัดยาง สร้างในสมัยอยุธยา ตอนปลาย ยังคงมีซากโบราณสถานให้เห็นคือ พระอุโบสถซึง่ มีฐานโค้งเป็นเรือส�ำเภา พระพุทธรูป ศิลาทราย พระพุทธรูปปูนปัน้ ทีช่ ำ� รุดและใบเสมาหิน ห่างไปทางทิศใต้ของวัดประมาณครึ่งกิโลเมตร มี เ นิ น ดิ น ซึ่ ง เคยพบพระเครื่ อ งจ� ำ นวนมาก จากการที่อยู่ไม่ไกลจากบ้านบางระจันมากนัก จึงสันนิษฐานว่า บริเวณนี้คงเป็นสถานที่ซ่อน สมบัติของมีค่าของคนไทยในสมัยนั้น 62

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 62

20/4/2563 13:42:30


ด้วยเหตุที่วัดยางตั้งอยู่ติดๆ กับวัดโพธิ์เก้าต้นและค่ายบางระจัน ในอดีต พื้นที่แห่งนี้จึงเต็มไปด้วย ดวงวิญญาณและอัฐิของเหล่าวีรชน ชาวบ้าน ตลอดจนเหล่าไพร่พลพม่าที่มาล้มตาย จากการปกป้องของ ชาวบ้านบางระจัน จึงจัดว่าพืน้ ดินแห่งนีค้ งความศักดิส์ ทิ ธิอ์ ย่างมาก ต่อมา พ.ศ.2535 คณะสงฆ์จงั หวัดอ่างทองได้มอบหมายให้ พระครู ปกาสิตธรรมคุณ (หลวงพ่อสุวรรณ ถิรสทฺโธ) บูรณปฏิสังขรณ์วัดยาง โดยหลวงพ่อสุวรรณเป็นพระเกจิอาจารย์ทมี่ ชี อื่ เสียง เจ้าต�ำรับตะกรุด โทนทีเ่ ลือ่ งลือไปทัว่ ทุกสารทิศ ท่านจึงได้สร้างวัตถุมงคลให้ญาติโยมบูชา เพื่อหาปัจจัยมาบูรณะซ่อมแซมและก่อสร้างอุโบสถ ศาลาการเปรียญ เมรุ กุฏิสงฆ์ หอสวดมนต์ และอนุสรณ์สถานวีรชนไทยใจกล้า ความส�ำคัญของวัดยาง วัดยางเคยเป็นสถานทีท่ หี่ ลวงพ่อธรรมโชติเคยมาบวชเรียน ภายใน วัดยังคงมีต้นสะตืออันเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ของชาวบ้าน บางระจัน ภายในอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานองค์หลวงปู่ขาว ซึ่งเป็นที่ เคารพศรัทธาของชาวบ้าน และพุทธศาสนิกชนที่ประสงค์จะบูชาวัตถุ มงคลเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลแก่ชวี ติ สามารถบูชาพระและตระกรุดของ หลวงพ่อสุวรรณได้

ประวัติพระอาจารย์ธรรมโชติ

พระอาจารย์ธรรมโชติ เดิมชื่อว่า โชติ ครั้นบวชแล้วจึงได้นามว่า “ธรรมโชติรังษี” เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค�่ำ เดือน 7 ปีมะโรง พ.ศ.2243 ในแผ่นดินสมเด็จเทพราชา ทีเ่ มืองนครพนม บิดาชือ่ สมเด็จ เจ้าภิรมย์ เชื้อสายเจ้าครองนครจ�ำปาศักดิ์ มารดา ชื่อ บาง เป็นธิดา ของคุณอิม่ กับขุนวาสีห์ สรเดช กรมการเมืองนครพนม ครัง้ รับราชการ สนอง พระเดชพระคุณในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมือ่ ปีชวด พ.ศ.2251 ขณะที่พระอาจารย์ธรรมโชติมีอายุได้ 9 ขวบ บิดา-มารดา ได้อพยพมาอยูท่ บี่ า้ นเดิมบาง ตรงบริเวณเหนือเขาพระฝัง่ ตะวันตกของ แม่นำ�้ ท่าจีน อันเป็นภูมิล�ำเนาเดิมของมารดา เรียนเวทมนต์คาถาจาก บิดาของท่านและพระอาจารย์เขมร ชือ่ เขือ่ นเพชร ศึกษาพิชยั สงคราม จากต�ำราพิชัยยุทธของขุนสีห์สุรเดช คุณตาของท่านมีความสามารถ เพลงอาวุธทุกชนิด เมื่ออายุ 19 ปี ได้แต่งงานกับหญิงในหมู่บ้าน เดียวกัน มีบุตรชาย 2 คน คนแรกเสียชีวิต ตั้งแต่เกิด ส่วนคนที่ 2 เสียชีวิตในศึกบางระจัน พระอาจารย์ธรรมโชติออกบวชเมื่อเดือน 3 ปีฉลู พ.ศ.2265 อายุได้ 22 ปี ที่วัดยาง ต�ำบลแสวงหา อ�ำเภอ วิเศษชัยชาญ ฝัง่ ตรงข้ามกับวัดโพธิเ์ ก้าต้น จ�ำพรรษาอยูท่ วี่ ดั นีเ้ ป็นเวลา 6 พรรษา จึงย้ายไปตั้งส�ำนักสงฆ์เพื่อบ�ำเพ็ญจิตให้สูงขึ้น ณ บริเวณถ�ำ้ บนยอดเขานางบวช แขวงเมืองสุพรรณบุรี ตอนที่เกิดศึกบางระจัน พระอาจารย์ธรรมโชติ อายุ 66 พรรษา เมือ่ เสียค่ายบางระจัน ท่านได้หลบไปจ�ำพรรษาทีว่ ดั นครจ�ำปาศักดิอ์ ยู่ 3 ปี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกู้ชาติกลับคืนมาได้ บ้านเมือง สงบลงจึงเดินทางพร้อมพระภิกษุมายังส�ำนักเขาขึน้ และได้รบั สมณศักดิ์ พัดยศเป็น “พระครูธรรมโชติรงั สี” จากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช อยู่ต่อมาหลายปีท่านจึงได้มรณภาพลงด้วยโรคชรา อายุ 82 พรรษา ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 63

63

20/4/2563 13:42:53






History of buddhism....

วัดเจ้าบุญเกิด ให้ชีวิต ลิขิตโอกาส พระครูวิวัฒน์ปุญญากร(โฉมยงค์) เจ้าอาวาสวัดเจ้าบุญเกิด

วัดเจ้าบุญเกิด ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลเทวราช อ�ำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง เป็นวัดรับอุปการะ เลี้ ย งดู แ ละให้ ก ารศึ ก ษาแก่ เ ด็ ก ก� ำ พร้ า และ เด็กด้อยโอกาสชาวม้ง ที่เดินทางจากจังหวัด ทางภาคเหนื อ ทั้ ง เชี ย งใหม่ เชี ย งราย ตาก แม่ฮ่องสอน น่านฯ โดยมี พระครูธรรมาภิวัฒน์ อดี ต เจ้ า อาวาส วั ด เจ้ า บุ ญ เกิ ด เป็ น ผู ้ ริ เ ริ่ ม รั บ เลี้ ย งดู เ ด็ ก ๆ ภายในวั ด ด้ ว ยหวั ง ว่ า เด็ ก ๆ ที่ได้รับโอกาสเหล่านี้ จะเติบโตเป็นคนดีและเป็น พลเมื อ งดี ที่ จ ะช่ ว ยพั ฒ นาประเทศชาติ ไ ด้ ในอนาคต ดังค�ำสอนของท่านที่ว่า....“ชีวิตเลือก เกิดไม่ได้ แต่เลือกที่จะเป็นคนดีได้”

68

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 68

20/4/2563 13:45:44


ในระยะเริม่ แรก วัดเจ้าบุญเกิดรับอุปการะเด็กราว 16 คน ปัจจุบนั มีมากถึง 57 คน ที่อาศัยกินอยู่หลับนอนที่วัด และเรียนหนังสือที่ โรงเรียนวัดเจ้าบุญเกิด(ธรรมาอุปถัมภ์) โดยทางวัดจะมีอาหารเลีย้ งเด็กๆ ทุกเช้าและเย็น ส่วนกลางวันอาศัยอาหารจากกองทุนอาหารกลางวัน ที่โรงเรียนวัดเจ้าบุญเกิด ในวันหยุดวัดจะท�ำอาหารเลี้ยง 3 มื้อ ถ้ามี ญาติโยมมาเลี้ยงอาหารเด็ก ทางวัดก็ทุ่นค่าใช้จ่ายไป ซึ่งค่าใช้จ่ายใน การท�ำอาหารเลีย้ งเด็กก�ำพร้าชาวเขาประมาณวันละ 1,000 บาท หรือ เดือนละไม่น้อยกว่า 20,000 บาท ส่วนเสื้อผ้าก็มีญาติโยมน�ำเสื้อผ้า ที่ไม่ใช้แล้วมาให้ ส่วนชุดนัดเรียนเป็นของหลวงที่ให้ปีละชุด จากข้าวก้นบาตรและเงินท�ำบุญของญาติโยม ได้สร้างชีวิตใหม่ ให้เด็กก�ำพร้าและเด็กด้อยโอกาสบางคน ได้สำ� เร็จการศึกษาเป็นแพทย์ หรือบางคนก็จบการศึกษาระดับปริญญาตรีกม็ ี โดยท่านพระครูววิ ฒ ั น์ ปุ ญ ญากร กล่ า วว่ า ...“การเลี้ ย งเด็ ก ๆ เหล่ า นี้ ไว้ ก็ เ พื่ อ เอาบุ ญ ไม่ได้เลี้ยงเพื่อเป็นบุญคุณที่จะต้องทดแทนกัน” ประหนึ่งความรัก ความปรารถนาดีของบิดามารดาที่มีต่อบุตรธิดาอย่างแท้จริง วัดเจ้าบุญเกิด จึงขอเชิญท่านผูม้ จี ติ เมตตา ร่วมสมทบทุนอาหาร กลางวันและปัจจัยอื่นๆ ช่วยเหลือเด็กก�ำพร้าและเด็กด้อยโอกาส ได้ที่ พระครูวิวัฒน์ปุญญากร(โฉมยงค์) เจ้าอาวาสวัดเจ้าบุญเกิด โทร.099-1959951, 085-4219409 หรือชื่อบัญชีวัดเจ้าบุญเกิด เลขบัญชี 384-217721-8 ธนาคารกรุงเทพ สาขาอ่างทอง

ทว่ า นั บ ตั้ ง แต่ ป ี 2548 เป็ น ต้ น มา พระครู วิ วั ฒ น์ ปุ ญ ญากร (โฉมยงค์) เจ้าอาวาสวัดรูปปัจจุบัน ก็ได้สานต่อเจตนารมณ์ของท่าน พระครูธรรมาภิวัฒน์ที่ได้มรณภาพลง โดยท่านตั้งปณิธานว่าจะรับ อุปการะเด็กๆ จนหมดย่าม หรือจนสิ้นอายุขัยของท่านเอง โดยทุกวัน หลั ง จากท่ า นฉั น เพลเสร็ จ แล้ ว ท่ า นจะเดิ น ทางไปซื้ อ พื ช ผั ก และ เนื้อสัตว์ พร้อมเครื่องปรุงต่างๆ ที่ตลาดอ่างทอง เพื่อไว้ท�ำอาหาร ให้เด็กก�ำพร้ากินในตอนเย็นและเช้าของทุกวัน

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 69

69

20/4/2563 13:46:04


History of buddhism....

วัดเอกราช กราบขอพรหลวงพ่อโต พระครูปลัดอรวรรณ ปริปุณฺโณ เจ้าอาวาสวัดเอกราช

วัดเอกราช ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 33 บ้านบางแพ หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลเอกราช อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 17 ไร่ 2 งาน 20 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 8695

วัดเอกราช ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2375 เดิมมี นามว่า “วัดโบสถ์บางแพ” หรือ “วัดบางแพ” ได้เปลี่ยนเป็น “วัดเอกราช” ในปี พ.ศ.2487 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2405 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร

70

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 70

20/4/2563 13:48:27


อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 19 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด ศาลาการเปรียญ กว้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร เป็นอาคารทรงไทยไม้ทั้งหลัง ชั้นเดียว สร้างเมื่อ พ.ศ.2473 หอสวดมนต์ กว้าง 8 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคารไม้สัก สร้างเมื่อพ.ศ.2482 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 13 หลังเป็นอาคารไม้ 7 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 4 หลัง และอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 หลัง วิหาร กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ด้านหลังคาเป็นไม้ และอืน่ ๆ ได้แก่ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ฌาปนสถาน 1 หลัง หอระฆัง 1 หลัง

ปูชนียวัตถุ

พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางสะดุง้ มาร ขนาดหน้าตักว้าง 98 นิว้ สูง 150 นิ้ว พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางสะดุ้งมาร ขนาดหน้าตักกว้าง 40 นิ้ว สูง 80 นิ้ว และปูชนียวัตถุอื่น ๆ อาทิ พระพุทธรูปหลายองค์ ธรรมาสน์ 2 ตัว

การศึกษา

มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.2482 การปริหารและการปกครอง 1. พระอธิการบุญมาก 2. พระอธิการเปีย 3. พระอธิการวุฒิ 4. พระอธิการล�ำไย 5. พระอธิการพุด 6. พระครูวุฒิธรรมทร 7. พระครูมงคลวรวัตร 8. พระพิชิต สิริปุณฺโญ รักษาการ (ลาสิกขา) 9. พระครูปลัดอรวรรณ ปริปุณฺโณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 71

71

20/4/2563 13:48:54


History of buddhism....

วัดพิจารณ์โสภณ อนุสรณ์สถานของชาวมอญสมัยกรุงศรี พระครูโสภณธรรมวิจารณ์ เจ้าอาวาสวัดพิจารณ์โสภณ

วั ด พิ จ ารณ์ โ สภณ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 หมู ่ 8 ต� ำ บลโผงเผง อ�ำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง

วัดพิจารณ์โสภณ เดิมชือ่ “วัดมอญ” สร้างเป็นวัดตัง้ แต่ปี พ.ศ.2275 ในรัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา จากการนิมิต ผูส้ ร้างวัดได้เขียนชือ่ เป็นอักษรมอญ แล้วให้รา่ งทรงองค์เทพองค์พรหม (ร่างพระองค์ด�ำ หรือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช) อ่าน ปรากฏว่า “วัดมอญ” สร้างโดยนาย อุฑการ ซึ่งเป็นชนชั้นเหลนโหลนชาวมอญ ได้สร้างอุทิศส่วนบุญกุศลและให้เป็นอนุสรณ์แก่บรรพบุรุษชาวมอญ ทัง้ หลาย ทีไ่ ด้อพยพติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราชมาจากเมืองแครง มาอาศัยร่มโพธิสมภารกรุงศรีอยุธยา ในคราที่สมเด็จพระนเรศวร มหาราช ประกาศอิสรภาพไม่ขนึ้ ต่อกรุงหงสาวดี เมือ่ วันขึน้ 1 ค�ำ่ เดือน 6 ปี พ .ศ. 2127 โดยบรรพบุ รุ ษ ชาวมอญได้ อ าสาร่ ว มก� ำ ลั ง พลกั บ กรุงศรีอยุธยา ตราบจนถึงปี พ.ศ. 2495 กรมการศาสนาได้ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า วัดมอญ มีประชาชนจ�ำนวนมากเลื่อมใสศรัทธา และมาท�ำบุญกุศล สม�่ำเสมอ เห็นสมควรให้เปลี่ยนชื่อวัดเสียใหม่จาก “วัดมอญ” เป็น “วัดพิจารณ์โสภณ” เพื่อความเป็นสิริมงคล 72

1

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 72

20/4/2563 13:53:02


พระต�ำหนักค�ำหยาด

โบราณสถาน พระต�ำหนักค�ำหยาด ที่ปลีกวิเวกของ สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร กษัตริย์พระองค์ที่ 32 ของกรุงศรีอยุธยา หลังสละราชสมบัติให้พระเชษฐา ทรงเสด็จประทับที่พระต�ำหนักค�ำหยาด ซึ่งพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ ผู้เป็นพระราชบิดาสร้างไว้เป็นที่ประทับแรมเมื่อครั้งเสด็จประพาสเมืองอ่างทอง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 73

73

23/4/2563 15:26:24






78

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

4

.indd 78

20/4/2563 13:57:09


History of buddhism....

วัดนางในธัมมิการาม ชมหอบูรพาจารย์ ที่ระลึกถึงหลวงพ่อนุ่ม พระโสภณปริยัติเมธี

เจ้าอาวาสวัดนางในธัมมิการาม

วั ด นางในธั ม มิ ก าราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 99 บ้ า นนางใน หมู ่ ที่ 7 ต� ำ บลศาลเจ้ า โรงทอง อ� ำ เภอวิ เ ศษชั ย ชาญ จั ง หวั ด อ่ า งทอง สั ง กั ด คณะสงฆ์มหานิกาย

นางใน หมายถึง สตรีซงึ่ อยูร่ าชส�ำนักฝ่ายใน เป็นเขตพื้นที่พระราชฐานเฉพาะส�ำหรับสตรี อันเป็นที่ประทับและเป็นที่อยู่ของพระมเหสี พระสนม เจ้าจอม เจ้าจอมมารดา พระราชธิดา ข้าบาทบริจาริกา ข้าราชการส�ำนักฝ่ายใน เขตนี้ ถือเป็นพื้นที่หวงห้าม จนลุล่วงถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ก็ยังคงมีสตรี ชาววิ เ ศษไชยชาญเป็ น พนั ก งานราชส� ำ นั ก ฝ่ายในอยู่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 พระองค์โปรดการสร้างวัด และการท�ำนุบำ� รุงพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิง่ ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 79

79

20/4/2563 13:57:16


เมื่ อ พระองค์ ท รงพระประชวรในเดื อ น 3 ปีจอ พ.ศ.2393 ทรงมี พระราชด�ำริว่า “เงินในท้องพระคลังที่เหลืออยู่จากการแผ่นดินมีถงึ 5 หมืน่ ชัง่ ขอสักหมืน่ หนึง่ เถิด ให้ผทู้ เี่ ป็นเจ้าแผ่นดินต่อไปท�ำนุบำ� รุง วัดที่ชำ� รุด และวัดที่ยังสร้างค้างอยู่นั้นให้สำ� เร็จ” แล้วโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเบิกเงินจากท้องพระคลัง ท�ำบุญถวายปัจจัยแก่พระราชาคณะ พระสงฆ์เปรียญ สามเณรเปรียญ พระครูฐานาอันดับ รวม 7,359 รูป ต่อมาอีกเดือนเศษ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 เสด็จ สวรรคตพนักงานนางในที่มีนิวาสสถานอยู่วิเศษไชยชาญก็ประสงค์ จะสร้างกุศลตามพระราชด�ำริจึงรวบรวมทุนทรัพย์ปัจจัยมาสร้างวัด แห่งหนึง่ ในหย่อมย่านบ้านเดิมของตน เพือ่ เป็นการอุทศิ ถวายพระราช กุศล เรียกชื่อกันว่า วัดนางใน การสร้างวัดขึ้นมาใหม่ท�ำให้ชาววิเศษ ไชยขาญซึ่ ง อพยพย้ า ยถิ่ น ไปตั้ ง แต่ ค รั้ ง เสี ย กรุ ง ได้ ย ้ า ยกลั บ มายั ง ภูมลิ ำ� เนาเดิม เมือ่ ย้ายมาอยูม่ ากขึน้ ก็ชว่ ยกันท�ำนุบำ� รุงวัดให้เจริญยิง่ ขึน้ ตามล�ำดับ ในขณะนัน้ วิเศษไชยชาญยังเป็นอ�ำเภอไผ่จำ� ศีล จนกระทัง่ พ.ศ.2451 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาส เมืองอ่างทอง ได้รับพระราชทานเปลี่ยนชื่อ อ�ำเภอไผ่จ�ำศีล ให้เป็น อ�ำเภอวิเศษไชยชาญ ตามชือ่ เมืองเดิม ชาวชุมชนวัดนางในพร้อมใจกัน สร้างอุโบสถใหม่ขึ้น กว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร วัดนางในธัมมิการาม ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ.2453 (ในสมัยรัชกาลที่ 5) การบูรณะพัฒนาวัดได้เริ่มอย่างจริงจังและเจริญ ก้าวหน้ามากในสมัยพระอุปัชฌาย์นุ่ม ธมฺมาราโม เป็นเจ้าอาวาส (พ.ศ.2468-2497) 80

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

4

.indd 80

20/4/2563 13:57:30


ในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ.2562 ที่จะถึงนี้ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา เสด็จเป็นองค์ประธานถวายผ้ากฐิน และเททองหล่อ พระเพื่อประดิษฐานในอาคารบ�ำเพ็ญกุศล ณ วัดนางในธัมมิการาม วัดนางในธัมมิการามมีจุดเด่นอยู่ที่หอบูรพาจารย์ ซึ่งเป็นสถานที่ รวบรวมความเป็น สิริม งคลทั้งของที่วัด นางในฯและวั ด ต่ า งๆ ที่ มี ชื่อเสียงในจังหวัดอ่างทอง โดยพระมหาวีระ วีรญาโณ เจ้าอาวาสรูป ปัจจุบัน ได้คิดสร้างหอบูรพาจารย์ขึ้น เพื่อเชิดชูบารมีหลวงพ่อนุ่ม ธมฺมาราโม และหลวงพ่อชม ธัมมธีโร อดีตเจ้าอาวาสองค์ส�ำคัญ ของวั ด นางในฯ โดยหลวงพ่ อ นุ ่ ม ท่ า นเป็ น พระเกจิ อ าจารย์ ชั้ น แนวหน้าของจังหวัดอ่างทอง เป็นที่เลื่อมใสศรัทธามาก โดยเฉพาะ วัตถุมงคลของท่าน ล้วนแต่มีผู้นิยมบูชากันมาก หอบูรพาจารย์นี้เป็นอาคารคอนกรีตทรงปั้นหยาประยุกต์ ได้รับ การออกแบบจากคณะอาจารย์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหาร ลาดกระบัง โดยสร้างคร่อมบนกุฏิหลังเก่า ซึ่งหลวงพ่อนุ่ม และหลวงพ่อชม ท่านใช้จ�ำพรรษามาหลายสิบปี แต่ทว่ากุฏิเดิมได้ ช�ำรุดทรุดโทรมตามกาลเวลาเกินกว่าจะบูรณะใหม่ ส่วนด้านหลังมี ศาลาการเปรียญทรงโบราณประยุกต์แบบเปิดโล่งจัดเก็บพระพุทธรูป ปางต่างๆ หลายปาง

อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ 1. อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2453 กว้าง 6 เมตร ยาว 16 เมตร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน 2. ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2525 กว้าง 30 เมตร ยาว 48 เมตร โครงสร้างเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3. หอสวดมนต์ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2499 กว้าง 10 เมตร ยาว 22 เมตร เป็นอาคารไม้ทั้งหลัง 4. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 5. ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ

การบริหารและการปกครอง

วัดนางในธัมมิการาม มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ พ.ศ.2468-2497 พระอุปัชฌายะนุ่ม ธมฺมาราโม พระครูสุนทรศีลคุณ (ชม ธมฺมธีโร) พ.ศ.2498-2546 พระครูปัญญาลังการ (แป้น จนฺทวณฺโณ) พ.ศ.2547-2547 พ.ศ.2548-2549 พระมหาวีระ วีรญาโณ ป.ธ.8 รก. พระครูปัญญาประโชต (พายัพ ปญฺญาโสโต) รก.พ.ศ.2550-2551 พ.ศ.2552-ปัจจุบนั พระโสภณปริยัติเมธี

ยาทิ สํ วปเต พี ชํ ตาทิ สํ ลภเต ผลํ กลฺ ย าณการี กลฺ ย าณํ ปาปการี จ ปาปกํ บุ ค คลหว่ า นพื ช เช่ น ใด ย่ อ มได้ ผ ลเช่ น นั้ น ผู ้ ท� ำ กรรมดี ย่ อ มได้ ผ ลดี ผู ้ ท� ำ กรรมชั่ ว ย่ อ มได้ ผ ลชั่ ว ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 81

81

20/4/2563 13:57:43


History of buddhism....

วัดห้วยโรง ความรู้คู่คุณธรรม จุดเริ่มต้นของความผาสุก วัดห้วยโรง เลขที่ 149 ต�ำบลห้วยคันแหลน อ� ำ เภอวิ เ ศษชั ย ชาญ จั ง หวั ด อ่ า งทอง สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 17 ไร่เศษ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูงมีหมู่บ้านและทุ่งนาโดย รอบบริเวณวัด

วัดห้วยโรง สร้างขึ้นเมื่อใดนั้นไม่ปรากฏ หลักฐานที่แน่นอน คงทราบจากคนเฒ่าคนแก่ เล่าสืบกันมาว่า บริเวณวัดห้วยโรงแต่เดิมนั้น เป็ น ล� ำ ห้ ว ยมี น�้ ำ อุ ด มสมบู ร ณ์ ชาวบ้ า น วิเศษชัยชาญได้อพยพมาปลูกโรงเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย เป็นจ�ำนวนหลายครอบครัว ต่อมามีพระธุดงค์ รูปหนึ่งมาปักกลดเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน อยู่บริเวณนี้ และเป็นที่เลื่อมใสของชาวบ้าน ท่านได้ท�ำนายไว้ว่าบริเวณนี้ควรจะสร้างวัดขึ้น เพื่ อ ให้ ช าวบ้ า นและหมู ่ บ ้ า นใกล้ เ คี ย งได้ ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และต่อไปในวัน ข้างหน้าวัดนี้จะเจริญรุ่งเรืองเป็นล�ำดับ 82

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 82

20/4/2563 14:01:49


จะมีเจ้าอาวาสปกครองวัดทีม่ คี วามรู้ ความสามารถท�ำนุบำ� รุง ศาสนาให้ เจริญรุ่งเรือง นับแต่นั้นมาชาวบ้านห้วยโรงและหมู่บ้านใกล้เคียง จึงได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างวัดขึ้น และตั้งชื่อว่า วัดห้วยโรง ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 30 ตุ ล าคม พ.ศ.2479 ด้านเจ้าอาวาสไม่ปรากฏหลักฐานอย่างไร จนกระทั่งปี พ.ศ.2514 มีพระครูปัญญาประโชต (พายัพ ปญฺญาโสโต) เป็นเจ้าอาวาสจนถึง ปัจจุบัน

พระนักพัฒนา ผู้สร้างความผาสุกให้ชุมชน

พระครูปัญญาประโชต (พายัพ ปญฺญาโสโต) ท่านเป็นพระ นักพัฒนาที่ไม่เพียงแต่จะสร้างถาวรวัตถุต่างๆ ภายในวัดให้เจริญ เช่น อุโบสถ ศาลาอเนกประสงค์ ฯลฯ ท่านยังเล็งเห็นความส�ำคัญของ การอบรมเลี้ยงดูเด็กเล็กให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ จึงได้สร้างอาคาร ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์ขึ้นด้วย ในขณะเดียวกันท่านยังส่งเสริมการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ให้กบั ชาวบ้าน ในละแวกวัด ด้วยการจัดสร้างอาคารศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ที่อ่าน หนั ง สื อ พิ ม พ์ และสร้ า งอาคารศู น ย์ ส าธิ ต การตลาดให้ กั บ กลุ ่ ม ออมทรัพย์ของวัดห้วยโรง ตลอดจนซ่อมแซมบูรณะสิ่งต่างๆ ที่ช�ำรุด ทรุ ด โทรมให้ มี ส ภาพที่ ดี เพื่ อ ให้ ส าธุ ช นประกอบกิ จ กรรมตาม ขนบธรรมเนียมประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ โดยเฉพาะเน้นในเรื่อง การสร้างความรู้และคุณธรรมให้กับสาธุชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้าง ความผาสุกให้แก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 83

83

20/4/2563 14:02:13


History of buddhism....

วัดก�ำแพงมณี กราบขอพร “หลวงพ่อแก่น” ศักดิ์สิทธิ์ พระปลัดศิริ สิริจนฺโท เจ้าอาวาสวัดกำ�แพงมณี

วั ด ก� ำ แพงมณี (หลวงพ่อแก่น ) เลขที่ 76 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลห้วยคันแหลน อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง

วัดก�ำแพงมณี (หลวงพ่อแก่น) สร้างมาแต่ ครั้งใดไม่ปรากฏ เมื่อประมาณปี 2436 วัดนี้ ยังคงมีสภาพเป็นเพียงโคกวัดร้าง โดยตั้งอยู่ บนกลางโคกร้าง มีพระพุทธรูปปูนปัน้ ประดิษฐาน อยู่องค์หนึ่ง เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิประทับ นั่ง ขนาดหน้าตัก 5 ศอกเศษ และกล่าวว่าเป็น พระพุ ท ธรู ป สมั ย อู ่ ท อง พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ โครงสร้างท�ำด้วยไม้ หรือเป็นพระแกะสลักจากไม้ เมือ่ ปูนทีป่ น้ั ไว้กะเทาะออกเนือ่ งจากความเก่าแก่ จึงมองเห็นแต่แก่นไม้ พุทธศาสนิกชนจึงเรียก ท่านว่า “หลวงพ่อแก่น” ตามลักษณะที่เห็น 84

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 84

20/4/2563 14:04:43


หลวงพ่ อ แก่ น เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วทางใจและเป็ น ที่ สั ก การบู ช า เคารพกราบไหว้ของประชาชนทั่วไป ไม่ว่าใกล้หรือไกล ตั้งแต่อดีตมา จนกระทั่งทุกวันนี้ โดยมีความเคารพศรัทธาว่า ท่านเป็นพระพุทธรูป ที่ มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ และมี ค วามอั ศ จรรย์ เ ป็ น พิ เ ศษ โดยชาวบ้ า น ทีท่ กุ ข์ยาก หรือเจ็บป่วยสิน้ หวัง มักจะมาพึง่ บารมีหลวงพ่อแก่นให้ทา่ น ช่วยปัดเป่าให้หายเจ็บหายไข้ ประสบแต่ความสุขความเจริญ และ แคล้วคลาดจากสิ่งไม่ดีทั้งปวง ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขณะนี้ วัดก�ำแพงมณี (หลวงพ่อแก่น) ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง กุฏสิ งฆ์ และปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะทีช่ ำ� รุดทรุดโทรม จึงขอเรียนเชิญท่าน สาธุชนทั้งหลาย ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับทางวัดก�ำแพงมณี ได้ที่ โทร.091-278-1147

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 85

85

20/4/2563 14:05:07


History of buddhism....

วัดกลางราชครูธาราม รำ�ลึกพระเดชพระคุณหลวงพ่อแพ เกสโร พระครูอุโฆษธรรมนันท์ (สนั่น สุนันฺโท) เจ้าอาวาสวัดกลางราชครูธาราม

วั ด กลางราชครู ธ าราม ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ ประมาณ พ.ศ. 2400 โดยตั้ ง อยู ่ ท ่ า มกลาง วั ด หั ว ตะพานและวั ด ลิ้ น ทอง จึ ง เรี ย กชื่ อ ว่ า วัดกลาง ซึ่งแต่เดิมมีวัดตาครู เป็นวัดร้างที่ตั้งอยู่ ก่อนแล้วและอยู่ใกล้กับวัดกลาง จึงรวมเรียกว่า วัดกลางราชครู ต่อมาได้เติมสร้อยท้ายของวัดเป็น วัดกลางราชครูธาราม นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2461 โดยมีเขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 11.20 เมตร ยาว 17.20 เมตร และได้เจริญรุง่ เรืองมาโดยตลอด โดยเฉพาะในสมัยพระเดชพระคุณพระครูวิเศษ ธรรมวาที (หลวงพ่อแพ เกสโร) ซึง่ เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 3 ซึ่งหลวงพ่อเป็นพระสุปฏิปันโณ และ เป็ น ที่ เ คารพศรั ท ธาของประชาชนทั่ ว ไป

86

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

2

.indd 86

20/4/2563 14:07:21


ปัจจุบันมี เ หล่ า ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ จ ะมาร่ ว มท� ำ พิ ธี ร� ำ ลึ ก ถึ ง พระคุ ณ ของ หลวงพ่อแพในเทศกาลสงกรานต์เป็นประจ�ำทุกปี จนถึงสมัย พระครูอุโฆษธรรมนันท์ (หลวงพ่อสนั่น สุนนฺโท) เป็น เจ้าอาวาส ซึง่ ท่านได้ดำ� รงต�ำแหน่ง “รองเจ้าคณะอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ” ท่านได้พัฒนาวัดจนมีความเจริญรุ่งเรืองอีกทั้งท่านยังเป็นพระสงฆ์ นักพัฒนาและนักเผยแผ่ฯ จนได้รับพระราชทานรางวัล “เสาเสมา ธรรมจักร” สาขาการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากสมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน ปี พ.ศ.2550 และได้รับประทาน “เสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม” ผู้ท�ำ ประโยชน์ด้านศาสนา สังคมและประเทศชาติ จากพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ ในปี พ.ศ.2560 ล�ำดับผลงานการพัฒนาวัด พ.ศ.2550 ได้รบั คัดเลือกเป็น อุทยานการศึกษาในวัด จากส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2553 หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลหัวตะพาน 2 ได้รับ คัดเลือกเป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลดีเด่น เฉลิมพระเกียรติ ฯ จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2555 ได้รับคัดเลือกเป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง จากส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ.2559 ได้รับโล่เกียรติยศในฐานะการจัดการสิ่งแวดล้อมในวัด ระดับ ดี จากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2560 ได้รับคัดเลือกเป็น วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

พระครูอุโฆษธรรมนันท์ (สนั่น สุนันฺโท)

เจ้าอาวาสวัดกลางราชครูธาราม

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 87

87

20/4/2563 14:07:43


History of buddhism....

วัดสามขาว จากวัดร้างสู่พระอารามอันมั่นคง พระครูกิตติญาณวิสิฐ เจ้าอาวาสวัดสามขาว

วัดสามขาว ตั้งอยู่เลขที่ 199 หมู่ที่ 2 บ้านสามขาว ต�ำบลอบทม อ�ำเภอสามโก้ จังหวัดอ่างทอง สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 22 ไร่ 60 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มริมคลองสามขาว ในอดีตเคย เป็นเส้นทางสัญจรทางน�้ำ

วั ด สามขาว เดิ ม ชื่ อ วั ด สิ ง ห์ ร าชสั ท ธาธรรม ชาวบ้านเรียกว่าวัดสิงห์คะนอง และพูดติดปากว่า "พระวัดสิงห์คะนองอยู่คลองสามขาว บิณฑบาตร หากินอยูถ่ นิ่ ท่าลาว" สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ ปีพ.ศ. 2280 แต่ได้ถกู พม่าท�ำลายไปเมือ่ ปี พ.ศ.2310 จึงกลายสภาพ เป็นวัดร้าง ถึง พ.ศ.2460 ประชาชนได้มาตั้งถิ่นฐาน มากขึน้ จึงได้รว่ มใจกันบูรณปฏิสงั ขรณ์ใหม่อกี ครัง้ หนึง่ และให้ชื่อตามถิ่นบ้านสามขาวว่า “วัดสามขาว” 88

1

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 88

20/4/2563 14:09:33


นับตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2460 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2517 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อาคารเสนาสนะ/ปูชนียวัตถุ อุโบสถ กว้าง 6.75 เมตร ยาว 22.75 เมตร บูรณะ พ.ศ.2551 โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 18 เมตร สร้างด้วยไม้ กุฎสี งฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ นอกจากนีม้ ี หอสวดมนต์ หอระฆัง หอกลอง หอฉัน และฌาปณสถาน ส�ำหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถ

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 89

89

20/4/2563 14:09:55


History of buddhism....

วัดท่าชุมนุม จากพลังแห่งพุทธศรัทธา สู่วัดสำ�คัญของ อ.สามโก้ พระอธิการสิงห์ สุจิตโต เจ้าอาวาสวัดท่าชุมนุม

วั ด ท่ า ชุ ม นุ ม ตั้ ง อยู ่ บ ริ เวณบ้ า นท่ า ชุ ม นุ ม ต� ำ บลโพธิ์ ม ่ ว งพั น ธ์ อ�ำเภอสามโก้ จังหวัดอ่างทอง อยูใ่ ต้ถนนสายอ่างทอง-สุพรรณบุรี มีทางแยก ถนนลูกรังเข้าวัดเป็นระยะทาง 900 เมตร อยู่ห่างจากอ�ำเภอสามโก้ ประมาณ 6 กิโลเมตร

วัดท่าชุมนุม เริ่มก่อสร้างเมื่อพ.ศ.2477 โดยตั้งชื่อวัดท่าเจริญ (ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็นวัดท่าชุมนุม) โดยมีนายพุฒ นางนวม ไม่ทราบนามสกุล, นายพล-นางเชย ไม่ทราบนามสกุล, ได้อุทิศที่ดิน จ�ำนวน 14 ไร่ และเป็นผูร้ เิ ริม่ ชักชวนชาวบ้านเพือ่ สร้างวัด จึงน�ำความคิด เรือ่ งนีไ้ ปปรึกษากับนายแพ แจ่มกระจ่าง ผูใ้ หญ่บา้ น หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลอบทม อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ฦ(สมัยนั้น) ในการก่อสร้างวัดนี้มีนายอินทร์ บัวคุม้ , นายทรัพย์ พันธุ, นายสิน พันธุ และนายปอง ไม่ทราบนามสกุล เป็นผู้ดำ� เนินงานการก่อสร้างโดยร่วมกับชาวบ้านท่าชุมนุม ได้ช่วยกัน สละทรั พ ย์ แ ละแรงงานสร้ า งกุ ฏิ ขึ้ น และได้ พ ร้ อ มใจกั น นิ ม นต์ พระอาจารย์ขวัญ มาเป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ชาวบ้านได้ชว่ ยกันพัฒนา วัดเรื่อยมา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2526 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร 90

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

1 sohk.indd 90

20/4/2563 14:12:35


เมือ่ พ.ศ.2506 พระอธิการเฉลิม เจ้าอาวาสวัด และคณะกรรมการ วัดได้ท�ำการรื้อย้ายวัดจากทางใต้มาอยู่ทางเหนือ และได้ท�ำการสร้าง หอสวดมนต์ขึ้น แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ.2507 ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2510 พระ อาจารย์หอม เจ้าอาวาสและคณะกรรมการวัด ได้ติดต่อขอที่ดินจาก ชาวบ้านแถวหน้าวัด เพื่อท�ำถนนลูกรังจากถนนสายอ่างทอง-สุพรรณ แยกเข้าวัดท่าชุมนุม เป็นระยะทาง 900 เมตร และปฏิสังขรณ์วัด เรื่อยมา เมื่อ พ.ศ.2515 พระอธิการเสนาะ โอฬาลิโก เจ้าอาวาสได้ สร้างศาลาการเปรียญขึ้นอีกหลังหนึ่ง ในปี พ.ศ.2520 ชาวบ้ า นท่ า ชุ ม นุ ม ได้ พ ร้ อ มใจกั น ไปนิ ม นต์ พระวิโรจน์ ฐิตสีโล จากวัดสุวรรณาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มาเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าชุมนุม และได้ท�ำการพัฒนาวัดเรื่อยมา เมื่อปี พ.ศ.2527 ได้รบั สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ในพระราชทินนามว่า พระครูไพโรจน์ วิรยิ ะคุณ ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�ำบลโพธิม์ ว่ งพันธ์ และได้ท�ำการชักชวนชาวบ้านท่าชุมนุมสร้างอุโบสถขึ้น โดยวางศิลา ฤกษ์เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2521 โดยมีพ่อไข่ แม่เนียม บัวคุ้ม ได้อุทิศที่ดินจ�ำนวน 1 งาน 16 ตารางวา ให้สร้างโบสถ์ ปัจจุบันมีพระอธิการสิงห์ สุจิตโต เป็นเจ้าอาวาส และพัฒนาวัด ร่วมกับชาวบ้านมาจนถึงทุกวันนี้

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1 sohk.indd 91

91

20/4/2563 14:12:59


History of buddhism....

วัดยางทอง กราบขอพรหลวงพ่อขาวศักดิ์สิทธิ์ วัดยางทอง ตัง้ อยู่ ณ บ้านสามเรือนตะวันตก เลขที่ 33 หมู่ 8 ต�ำบลบางเจ้าฉ่า อ�ำเภอโพธิ์ทอง จั ง หวั ด อ่ า งทอง วั ด ยางทอง เป็ น วั ด ราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 31 ไร่ 2 งาน 94 ตารางวา โฉนดเลขที่ 8786 พื้นที่ตั้งวัดเป็น ที่ราบลุ่มริมแม่น�้ำน้อย ฝั่งตะวันตกของเขตที่ดิน มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม ด้านหลังวัดสอบ เป็นแง่เหลี่ยม

วั ด ยางทอง ได้ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งเป็ น วั ด ขึ้ น นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2384 โดยมีหัวหน้าหมู่บ้าน ชื่อนายฉ่า เป็นผู้ริเริ่มก่อสร้างวัดขึ้น แต่เดิมมี บ้านอยู่สามหลังเรียกว่า บ้านสามเรือน บางคน เรียกว่าบ้านบางเจ้าฉ่า หมายถึงมีผนู้ ำ� ตัง้ บ้านเรือน อยู่เดิมเป็นผู้ริเริ่มไว้ บัดนี้เรียกว่า วัดยางทอง ด้วยมูลเหตุที่ว่ามีต้นยางใหญ่มากมายขึ้นอยู่ บริเวณวัด จึงเรียกว่าหมู่บ้านวัดยางทอง ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา 92

2

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 92

20/4/2563 14:14:49


ครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ.2481 และได้รับพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม าครั้ ง ที่ ส อง เมื่ อ วั น ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.2540 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

อาคารเสนาสนะ

อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 26 เมตร ได้บูรณะสร้างใหม่ (ที่เดิม) เมื่ อ ปี พ.ศ.2529 เป็ น อาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ก่ อ อิ ฐ ฉาบปู น มีลักษณะตามแบบสถาปัตยกรรมไทย หลังคายกซ้อน 3 ชั้น ประดับ ช่อฟ้า ใบระกา นาคสะดุ้ง หางหงส์ ลงรักปิดทอง ประดับกระจก ลวดลายปูนปั้นบนหน้าบัน ส่วนผนังประดับซุ้มประตู ซุ้มหน้าต่าง บานประตูเป็นบานไม้แกะลงรักปิดทอง รอบอุโบสถมีก�ำแพงล้อม รอบทางเข้าประดับซุ้มประตูทรงบุษบกปิดทองประดับกระจก ศาลาการเปรีย ญ กว้าง 20 เมตร ยาว 32 เมตร สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ.2510 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก-ไม้ ทรงไทย 2 ชั้น หอสวดมนต์ กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2510 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก-ไม้ ทรงไทย 2 ชั้น กุ ฏิ ส งฆ์ จ�ำนวน 10 หลัง ครึ่งตึกครึ่งไม้ 9 หลัง และอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก 1 หลัง วิหาร กว้าง 6.25 เมตร ยาว 9 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อปี พ.ศ.2535 ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 2.50 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ ปีพ.ศ.2544 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก-ไม้ สร้างด้วยไม้ หอฉั น ทรงไทยภาคกลาง สร้างด้วยไม้ ศาลาธรรมสั ง เวช สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงอาคาร เหล็ก ทรงไทย กว้าง 12 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2546 ฌาปนสถาน (เมรุ) สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก พ.ศ.2524

พระครูกิตติวัชรสาร เจ้าอาวาสวัดยางทอง

ปูชนียวัตถุ

พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตัก กว้าง 59 นิ้ว สูง 79 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ.2536 พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางพระพุทธชินราช ขนาด หน้าตัก กว้าง 39 นิ้ว สูง 48 นิ้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ.2544 หลวงพ่อขาว พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนและญาติโยมให้ ความเคารพนับถือ หน้าตักกว้าง 49 นิ้ว สูง 59 นิ้ว สร้างด้วยปูนปั้น ประมาณปี พ.ศ.2490 ต้นยางนาที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในจังหวัดอ่างทอง เป็นต้นยางที่มี ขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศ เส้นรอบโคนต้นมีขนาด 9.50 เมตร สูงประมาณ 80 เมตร มีอายุประมาณ 350 ปีขึ้นไป

เกียรติคุณที่ได้รับ

พ.ศ.2541 ได้รายงานผลการพัฒนาวัดและได้รับเลือกจากกรมการ ศาสนา เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ.2544 ได้รายงานผลการพัฒนาวัดและได้รับเลือกจากกรม ศาสนา เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ.2546 ได้ ร ายงานผลการพั ฒ นาวั ด และได้ รั บ เลื อ กจาก ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นวัดพัฒนาตามโครงการ วัดละ หนึ่งต�ำบล (เขตปกครองต�ำบลทางคณะสงฆ์) ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 93

93

20/4/2563 14:15:10


ท่องเที่ยว

วิถีพุทธ-วิถี ไทย ณ อ่างทอง เมืองน่าอยู่น่าเที่ยว

อ่างทองในอดีตมีประวัติศาสตร์ร่วมสมัยกับกรุงศรีอยุธยามาโดยตลอด เนื่องด้วยเป็นเขตแนว กันชนกองทัพพม่ากับเมืองอโยธยา จึงมีวีรกรรมของบรรพบุรุษที่ได้รับการยกย่องมากมาย อาทิ ศึกรบพม่าทีค่ า่ ยบางระจัน ซึง่ มีนายดอกและนายทองแก้ว ชาวเมืองวิเศษชัยชาญร่วมรบอย่างกล้าหาญ หรือขุนรองปลัดชูกับกองก�ำลังอาทมาต 400 นาย เป็นต้น ทว่าในยามบ้านเมืองสงบสุข เมืองอ่างทองก็ถูกหยิบยกมากล่าวถึงในวรรณกรรมหลายเรื่อง อาทิ ลิลิตพายัพ นิราศมะเหลเถไถ นิราศเชียงใหม่ นิราศตามเสด็จ ฯลฯ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เมือง อ่างทองนัน้ เป็นทีป่ ระทับใจแก่ผทู้ ี่ได้มาพบเห็นและสัมผัสกับความงดงามในจิตใจของผูค้ น ซึง่ ด�ำเนิน ชีวิตโดยมีพระและวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจมาช้านาน ด้วยเหตุดังกล่าว จังหวัดอ่างทองจึงมีศักยภาพ ด้านการท่องเที่ยวด้านพระพุทธศาสนาและการท่องเที่ยววิถีไทย ที่เป็นเสน่ห์ดึงดูดให้ผู้คนมาเยือน ทุกยุคสมัย ดังค�ำขวัญของจังหวัดที่ว่า “พระสมเด็จเกษไชโย หลวงพ่อโตองค์ใหญ่ วีรไทยใจกล้า ตุ๊กตาชาววัง โด่งดังจักสาน ถิ่นฐานท�ำกลอง เมืองสองพระนอน” ในศักราชใหม่นี้ เราจะชวนไปกราบขอพรพระใหญ่ 9 วัดในจังหวัดอ่างทอง เพื่อความเป็น สิริมงคลแก่ชีวิต ชมความมหัศจรรย์ของโบสถ์ต้นโพธิ์ พร้อมท่องเที่ยววิถีไทยก็เท่ได้ที่บางเจ้าฉ่าค่ะ

94

.indd 94

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:21:46


จังหวัดอ่างทอง บั นทึ กเส้ นทางท่ อ งเที่ ยว จั ง หวั ด อ่ า งทอง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

20/4/2563 14:21:47


ขอพร “พระนอน”

องค์ ใหญ่อันดับ 2 ของไทย ณ วัดขุนอินทประมูล

วัดทีม่ ตี ำ� นานเล่าว่าสร้างจากการยักยอกเงินหลวงของขุนอินท ประมูล นายอากรในสมัยสุโขทัย จึงถูกลงโทษจนเสียชีวิต และเป็น ที่มาของชื่อวัดขุนอินทประมูล ภายในวัดเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย มีความยาว 50 เมตร มีพระพักตร์อมิ่ เอิบงดงาม เปีย่ ม ด้วยเมตตาน่าเลื่อมใสศรัทธายิ่งนัก เดิมพระพุทธไสยาสน์ประดิษฐาน

อยูใ่ นวิหาร แต่ตอ่ มาหักพังหมดเหลือแต่เสาจึงมองดูคล้ายประดิษฐาน บนโคกดิน ชาวบ้านจึงเรียกว่า โคกพระนอน เมื่อเสียกรุงครั้งที่ 1 วัด นี้ถูกไฟเผาและกลายเป็นวัดร้างกว่า 100 ปี ต่อมาสมัยพระเจ้าบรม โกศได้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์ และมีการบูรณะอีกครั้งในสมัยรัชกาล ที่ 5 ปัจจุบันองค์พระพุทธไสยาสน์อยู่กลางแจ้ง การเดินทาง วัดขุนอินทประมูล ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลอินทประมูล อ�ำเภอ โพธิ์ทอง ไปตามเส้นทางสายอ่างทอง-โพธิ์ทอง ประมาณ 7 กิโลเมตร เลี้ยวขวาไปประมาณ 2 กิโลเมตรกว่าอยู่ทางขวามือ

“พระนอน-พระรอดวชิรโมลี” นมัสการ ณ วัดราชปักษี พระพุ ท ธไสยาสน์ อ งค์ ใ หญ่ ที่ มี ลั ก ษณะคล้ า ยพระพุ ท ธไสยาสน์ วัดป่าโมกวรวิหาร แต่มีขนาดย่อมกว่าเล็กน้อย วัดราชปักษี หรือวัดนก วัดโบราณสมัยอยุธยา เป็นอีกวัดหนึ่งที่มี พระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่ สันนิษฐานว่าเป็นพระพุทธรูปเก่าสมัยอยุธยา แต่ เดิมองค์พระช�ำรุดทรุดโทรมมาก จึงได้รบั การบูรณะขึน้ มาใหม่ ประดิษฐาน อยู่ภายในซุ้มหลังคาแลเห็นเด่นชัด และที่วัดนี้ยังมี “พระรอดวชิรโมลี” พระพุทธรูปที่สร้างสมัยพระเจ้าทรงธรรมราว พ.ศ. 2163 เดิมพระพุทธรูป องค์นปี้ ระดิษฐานอยูร่ มิ แม่นำ�้ เจ้าพระยาเสีย่ งต่อการพังทลายลงน�ำ้ พระมหา วิเชียร ขันนาค พร้อมด้วยพุทธบริษัทได้ช่วยกันเลื่อนเข้ามาประดิษฐานไว้ ณ ที่ปัจจุบัน เมื่อปี พ.ศ. 2490 เมื่อสร้างพระวิหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึง ท�ำการฉลองเมือ่ ปี พ.ศ. 2502 เพราะเหตุทผี่ า่ นอุปสรรคจากกิเลสมารตลอด รอดมาได้อย่างราบรื่น จึงพร้อมใจกันถวายพระนามดังกล่าว เพื่อเป็นที่สัก การะเคารพบูชาอันศักดิ์สิทธิ์ ของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายตลอดกาล 5,000 พรรษา 96

.indd 96

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:21:52


กราบสักการะ “หลวงพ่อโต” ศักดิ์สิทธิ์ ณ วัดสี่ร้อย

วัดสี่ร้อย เป็นวัดเก่าแก่ในอ�ำเภอวิเศษชัยชาญ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำน้อย มีอายุประมาณ 200 ปี สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ เพือ่ เป็นอนุสรณ์แก่ขนุ รองปลัด ชูและชาวบ้านวิเศษชัยชาญ 400 คน ทีเ่ สียชีวติ จากสงครามระหว่างไทยกับ พม่า ในสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศน์แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นเหตุให้ได้ชื่อว่า “วัดสี่ร้อย” ภายในบริเวณวัดมี หลวงพ่อโต พระพุทธรูปปางพระปาลิไลยก์องค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่กลางแจ้งด้านหน้าอุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2452 องค์พระ ท�ำด้วยปูน มีหน้าตักกว้าง 6 เมตร สูง 21 เมตร ชาวบ้านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “หลวงพ่อร้องไห้” ชาวบ้านให้ความเคารพศรัทธามาก เนื่องจากเชื่อกันว่า ท่านมีความศักดิ์สิทธิ์มาก และมีพุทธศาสนิกชนเดินทางมากราบไหว้เพื่อ เป็นสิริมงคล การเดินทาง วัดสี่ร้อย ตั้งอยู่ต�ำบลสี่ร้อย อ�ำเภอวิเศษชัยชาญ จาก ทางหลวงหมายเลข 3195 (อ่างทอง-วิเศษชัยชาญ) เข้าทางหลวงหมายเลข 3454 (วิเศษชัยชาญ-ผักไห่) ประมาณ 5 กิโลเมตร หรือจากตลาดศาลเจ้า โรงทอง ถึงสี่แยกเลี้ยวซ้ายตามคลองชลประทานประมาณ 3 กิโลเมตร วัด จะอยู่ซ้ายมือ

ชมบารมี “หลวงพ่อสด” องค์ ใหญ่ที่สุดในโลก ณ วัดจันทรังษี

วัดจันทรังษี เป็นวัดที่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2446 ทว่าภายในวัดมี วิหารจัตุรมุข มียอดบุษบกกลาง 5 ชั้น สูง 48 เมตร กว้าง 24 เมตร ยาว 33 เมตร จัดเป็นสถาปัตยกรรมที่วิจิตรงดงาม อลังการ บ่งบอก ถึงความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาในจังหวัดอ่างทองได้เป็น อย่างดี ภายในวิหารจัตรุ มุขเป็นทีป่ ระดิษฐานรูปหล่อ “หลวงพ่อสด จันทสโร” วัดปากน�้ำ หล่อด้วยโลหะองค์ใหญ่สุดในโลก มีขนาดหน้าตักกว้าง 6 เมตร 9 นิ้ว สูง 9 เมตร 9 นิ้ว นอกจากองค์หลวงพ่อสดที่ประชาชน มากราบักการะแล้ว ในโบสถ์ยังเป็นที่ประดิษฐาน “หลวงพ่อโยก” พระพุทธรูปปูนปั้นศิลปะแบบอยุธยาที่มีความศักดิ์สิทธิ์ของชาวหัวไผ่ โดยมีชาวบ้านเล่าว่าพระพุทธรูปองค์นสี้ ามารถโยกไปมาได้ และเคยมี ผู้พบเห็นพระโลหิตไหลออมาทางพระนาสิกด้วย บริ เวณหน้ า วิ ห ารมี ป ระติ ม ากรรมปู น ปั ้ น รู ป ช้ า งขนาดใหญ่ ท่ี สวยงาม มีประวัติที่เล่าสืบต่อมาว่า สามเณรสงัด สะอาดเอี่ยม ได้ ติดตามปรนนิบตั หิ ลวงตาทัยซึง่ พ�ำนักอยูใ่ นป่าช้าวัดจันทรังษี หลวงตา ได้บอกกับสามเณรว่าวัดจันทรังษีมีช้างใหญ่อยู่เชือกหนึ่งเป็นช้างที่ สวยงามมาก ชื่อว่าช้างมงคล และต่อไปวัดจันทรังษีนี้จะเจริญรุ่งเรือง ในปัจจุบันวัดจันทรังษีมีความเจริญสมกับค�ำพูดของหลวงตาทัย ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

20/4/2563 14:21:57


“พระมหาพุทธพิมพ์”

หลวงพ่อโต วัดไชโยวรวิหาร พระอารามหลวงชัน้ โท ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึง่ แต่เดิมมีพระพุทธรูป ปางสมาธิองค์ใหญ่เป็นปูนขาวไม่ปดิ ทองประดิษฐานอยูก่ ลางแจ้ง สร้าง โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดไชโยวรวิหาร เดิมชือ่ “วัดเกษไชโย” เป็นวัดราษฎร์ สร้างมาแต่ ครั้งใดไม่ปรากฏ ครั้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) แห่งวัดระฆังโฆสิตาราม เมืองธนบุรี ทรงสร้างพระพุทธ รูปปางสมาธิองค์ใหญ่เป็นปูนขาวไม่ปิดทองประดิษฐานไว้กลางแจ้ง ณ วัดแห่งนี้ วัดแห่งนีจ้ งึ มีความส�ำคัญขึน้ โดยมีประชาชนเดินทางมาก ราบสักการะพระพุทธรูปองค์โตที่สมเด็จโตทรงสร้างไว้ ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จฯ มานมัสการและโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดเกษไชโย ใน ปีพ.ศ. 2430 โดยโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยารัตนบดินทร์ (บุญรอด) สมุหนายก เป็นแม่กองปฏิสังขรณ์ทั้งหมด ในปีพ.ศ. 2430-2437 ทว่า การกระทุง้ ฐานรากเพือ่ สร้างโบสถ์และวิหาร ท�ำให้พระพุทธรูปองค์โต พังทลายลง หลังจากนัน้ พระองค์ได้โปรดเกล้าฯให้ พระองค์เจ้าประดิษฐ์วรการ ช่างปั้นพระพุทธรูปฝีพระหัตถ์ยอดเยี่ยม มาช่วยสร้างพระพุทธรูปขึ้น ใหม่ และทรงสถาปนาวัดเกษไชโยให้เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชื่อ “วัดไชโยวรวิหาร” และพระราชทานนามพระพุทธรูปว่า “พระมหา พุทธพิมพ์” ปัจจุบันองค์หลวงพ่อโตประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร ที่มีความสูง ใหญ่สง่างามแปลกตากว่าวิหารแห่งอื่นๆ นอกจากนี้พระอุโบสถยัง ก่อสร้างด้วยสถาปัตยกรรมไทยอันงดงามเช่นกัน ภายในพระอุโบสถมี ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ ฝีมือช่างสมัยรัชกาลที่ 5 การเดินทาง วัดไชโยวรวิหาร อยู่บนเส้นทางสายอ่างทอง สิงห์บุรี ห่างจากอ�ำเภอเมืองอ่างทองประมาณ 18 กิโลเมตร

98

.indd 98

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:22:02


ท่องเที่ยววิถีไทยก็เท่ได้ บางเจ้าฉ่า

บางเจ้าฉ่าหมูบ่ า้ นโอท็อปเพือ่ การท่องเทีย่ ว ทีใ่ ห้บริการบ้าน พักโฮมสเตย์ นั่งรถอีแต๋น ขี่จักรยาน ชมสวนเกษตรผลไม้ตาม ฤดูกาล และชมพิพิธภัณฑ์เครื่องจักสานฝีมือประณีต บางเจ้าฉ่า เป็นหมูบ่ า้ นเก่าแก่ทมี่ มี าแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ตัง้ อยู่ ริมฝั่งแม่น�้ำน้อย ต�ำบลบางฉ่า อ�ำเภอโพธิ์ทอง เดิมชื่อบ้านสาม เรือน เพราะเมือ่ แรกตัง้ ชุมชนนัน้ มีเรือนเพียงสามหลัง เมือ่ ชุมชน ขยายใหญ่ข้ึน จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่าบางเจ้าฉ่า ตามชื่อนายฉ่าซึ่ง เป็นผูน้ ำ� ชาวบ้านต่อสูก้ บั พม่าเมือ่ คราวก่อนเสียกรุงครัง้ ที่ 2 พ.ศ. 2310 ปัจจุบนั บางเจ้าฉ่ามีการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ชมสวน และวิถีชีวิตของชาวบ้านอย่างเป็นระบบ ชาวบ้านส่วนใหญ่ท�ำ เครื่องจักสานซึ่งเป็นสินค้าขึ้นชื่อของชุมชน เป็นที่ยอมรับใน ความละเอียดประณีต มีรปู ทรงสวยงาม ได้รบั ความนิยมอย่างสูง ที่นี่เป็นแหล่งผลิตเครื่องจักสานด้วยไม้ไผ่ สมเด็จพระกนิษฐาธิ ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเคยเสด็จฯเยือนและได้พระราชทานค�ำแนะน�ำให้ราษฎรปลูก ไม้ไผ่สีสุก เพื่อเป็นวัตถุดิบในการท�ำเครื่องจักสาน และเป็นการ อนุรักษ์งานฝีมือประเภทนี้ไว้ งานจักสานของบ้านบางเจ้าฉ่านี้ มีความละเอียดประณีตสวยงามสามารถพัฒนางานฝีมือตาม ความต้องการของตลาด ไม่ยึดติดกับรูปแบบเก่าจนสามารถส่ง ออกขายต่างประเทศได้ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นหมู่บ้าน ตัวอย่างในการพัฒนาอาชีพ

ภายในหมู่บ้านมีพิพิธภัณฑ์เครื่องใช้ไม้ไผ่ แสดงอุปกรณ์ เครื่องใช้พื้นบ้านต่างๆ ที่ผลิตจากไม้ไผ่และมีเก็บรวบรวมเอาไว้ นอกจากนี้ท่ีบางเจ้าฉ่า ยังมีบริการรถอีแต๋นชมวิถีชีวิตริมแม่น�้ำ น้อย กิจกรรมชมแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร สวนมะม่วง สวน มะยงชิด และสวนกระท้อน ฯลฯ ชมแหล่งท่องเที่ยวในอ�ำเภอ ใกล้เคียง อ�ำเภอโพธิท์ อง อ�ำเภอไชโย และอ�ำเภอแสวงหา มีบา้ น พักโฮมสเตย์ไว้คอยบริการด้วย สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ทศี่ นู ย์ การท่องเที่ยวบางเจ้าฉ่า โทร.0 3564 4091, 0 3564 4319 ขอขอบคุณที่มา : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, ส�ำนักงานจังหวัดอ่างทอง ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

20/4/2563 14:22:17


ดินแดนแห่งจินตนาการ

บ้านหุ่นเหล็ก

ธีมปาร์คฝีมือคนไทย บ้านหุน่ เหล็กเป็นการสร้างสรรค์ดนิ แดน แห่งจินตนาการบอกเล่าความมหัศจรรย์เหล่านี้ ผ่านทางหุน่ เหล็กแต่ละตัวทีม่ เี อกลักษณ์เป็น ของตั ว เอง ซึ่ ง แน่ น อนว่ า ถู ก ใจคุ ณ หนู ๆ แน่นอน เพราะที่นี่มีทั้งหุ่นซุปเปอร์ฮีโร่และ ตัวละครจากในการ์ตูนเรื่องต่างๆ รวบรวม เอาไว้อย่างมากมาย ไม่วา่ จะเป็นหุน่ Ironman, หุน่ Bubble B , หุน่ Captain America, หุน่ Batman เป็นต้น ซึ่งหุ่นแต่ละตัวก็จะถูกจัด เป็นโซนๆ ตามธีมของตัวละครนั้นๆ เรียกได้ ว่ามีการจัดการที่ดีมากเลยทีเดียว ไม่แพ้ธีม ปาร์คในเมืองนอกอย่างแน่นอน และในส่วน ของเรือนไทยภายในบ้านหุ่นเหล็กนั้นก็จะ เป็ น งานศิ ล ปะจากเศษเหล็ ก สไตล์ ไ ทยๆ ภายในตัวเรือนไทยประดิษฐานพระพิฆเนศ และพระพุทธรูปเอาไว้หลากหลายองค์เลยที เดียวให้นักท่องเที่ยวได้มากราบไหว้สักการะ กัน ทั้งหมดนี้ก็คือผลงานระดับโลกจากฝีมือ คนไทย ที่ใครต่อใครมาเห็นก็ต้องอึ้ง ความ วิจติ รงดงามและรายละเอียดของหุน่ แต่ละตัว นั้นท�ำออกมาได้อย่างน่ามหัศจรรย์ เป็นธีม ปาร์คฝีมือคนไทยที่เราอยากให้ทุกคนได้มา เห็นด้วยตาตัวเองสักครั้งจริงๆ

ที่ตั้งบ้านหุ่นเหล็ก : 41/2 หมู่ 6 ต�ำบลตลาดกรวด อ�ำเภอเมือง อ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ค่าเข้าชม : ผูใ้ หญ่ 60 บาท เด็ก 30 บาท เวลาเปิด-ปิด : 9.00-17.00 น. ติดต่อ : 081 339 3345

100

.indd 100

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:22:26


ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ เป็น เรือนไทยทรงสูง อยู่บริเวณวัดท่าสุทธาวาส ในพื้นที่ต�ำบลบ้านบางเสด็จ ต�ำบลนี้เดิมชื่อ บ้านวัดตาล ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นชื่อบ้านบาง เสด็จเนือ่ งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และสมเด็ จ พระบรมราชิ นี น าถได้ เ สด็ จ พระราชด�ำเนินพระราชทานความช่วยเหลือ แก่ราษฎรผู้ประสบอุทกภัยในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ซึ่งสร้างความปลื้มปิติให้แก่ราษฎรเป็นอัน มาก เพือ่ เป็นการระลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ จึงได้เปลี่ยนชื่อบ้านวัดตาลเป็น บ้านบาง เสด็จ ศูนย์ตุ๊กตาชาววังที่บ้านบางเสด็จเป็น โครงการที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า พระบรม

ราชินนี าถ ทรงมีพระราชด�ำริให้จดั ตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เพื่อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มพูนราย ได้ให้แก่ราษฎร ภายในหมู่บ้านบางเสด็จนี้ นอกจากจะได้ชมทัศนียภาพอันร่มรื่นและ สวยงามริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ เจ้ า พระยาแล้ ว ยั ง สามารถชมการปัน้ ตุก๊ ตาชาววังทีส่ วยงามจาก บ้ า นเรื อ นราษฎรละแวกนั้ น ได้ อ ย่ า งเป็ น กันเอง มีการรวมกลุ่มในรูปของสหกรณ์โดย มีศูนย์กลางอยู่ที่ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบาง เสด็จ ซึ่งจะจัดให้สมาชิกมาสาธิตการปั้น ตุ๊กตาชาววังพร้อมกับจัดจ�ำหน่ายในราคาที่ ย่อมเยา ตุ๊กตาชาววังท�ำจากดินเหนียวแสดง ให้ เ ห็ น วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องผู ้ ค นและ วัฒนธรรมประเพณีไทยต่างๆ เช่น การละเล่น

ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ ตั้งอยู่ ภายในบริเวณวัดท่าสุทธาวาส ริมฝั่งแม่น�้ำ เจ้าพระยาซึง่ มีทศั นียภาพโดยรอบร่มรืน่ และ สวยงาม เป็นอาคารทรงไทย 2 ชัน้ ชือ่ ว่า "คุม้ สุ ว รรณภู มิ ” ชั้ น บนแสดงนิ ท รรศการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พร้อมด้วย พระบรมวงศานุวงศ์ ชัน้ ล่างเป็นทีท่ ำ� การของ กลุ่มปั้นตุ๊กตาชาววัง มีการจัดแสดงผลงาน และจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ตุ๊กตาชาววัง พร้อม ด้วยผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดอ่างทอง ในราคาทีย่ อ่ มเยา เป็นการสร้างงานสร้างราย ได้ให้แก่ชุมชนแห่งนี้ได้อย่างยั่งยืน และเป็น แหล่งเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ที่นักท่องเที่ยว สามารถชมการสาธิตปั้นตุ๊กตาชาววัง เรียนรู้ การปัน้ ตุก๊ ตาด้วยดินเหนียวทีแ่ สดงให้เห็นวิถี ชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนและวัฒนธรรม ประเพณีไทยต่าง ๆ อาทิเช่น การละเล่นของ เด็กไทย วงมโหรีปี่พาทย์ สุภาษิตค�ำพังเพย ไทย หรือรูปผลไม้ไทยหลากหลายชนิดซึ่ง ล้วนมีความสวยงามน่ารัก และรูปแบบต่างๆ มากมาย นอกจากที่ศูนย์ตุ๊กตาชาววังแห่งนี้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วยั ง สามารถชมการปั ้ น ตุ ๊ ก ตา ชาววังได้ที่บ้านเรือนราษฎรในละแวกนั้นได้ อย่างเป็นกันเอง เนือ่ งจากในแต่ละบ้านจะท�ำ ตุ๊กตาคนละแบบแตกต่างกันไป ของเด็กไทย วงมโหรีปี่พาทย์ สุภาษิตค�ำ พังเพยไทย หรือรูปผลไม้ไทยหลากหลาย ชนิดซึง่ ล้วนมีความสวยงามน่ารักและเหมาะ ที่ จ ะซื้ อ เป็ น ของฝากหรื อ ของที่ ร ะลึ ก เป็ น อย่างยิ่ง ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้านบางเสด็จ สามารถใช้ทางหลวงหมายเลข 309 จาก จั ง หวั ด อยุ ธ ยามุ ่ ง หน้ า สู ่ จั ง หวั ด อ่ า งทอง ประมาณ 16 กิโลเมตร จะมีทางแยกซ้ายมือ เข้าสู่บ้าน บางเสด็จ ศูนย์ตุ๊กตาชาววังบ้าน บางเสด็จ อยู่ติดกับวัดท่าสุทธาวาส

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 101

101

20/4/2563 14:22:27


102

.indd 102

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

26/4/2563 20:46:11


เมืองแห่งวิถี

วีรชนคนกล้า วิ ถี พุ ท ธ วิ ถี ไ ท ย ใ น เ มื อ ง สิ ง ห ์

อีกหนึ่งจังหวัดในภาคกลาง ที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาควรค่าแก่การร�ำลึกถึง และ เหมาะอย่างยิ่งที่ผู้ปกครองจะได้พาบุตรหลานมาเที่ยว เพราะไม่เพียงแต่จะได้มาสัมผัสกับวิถีชีวิต ความเป็นไทย ที่อยู่ใกล้ๆ เมืองกรุงเท่านั้น แต่ยังสามารถบอกเล่าให้เด็กและเยาวชนได้ตระหนักถึง ความรักและหวงแหนเอกราชของชาติไทย ที่บรรพบุรุษของเมืองสิงห์บุรีได้สละเลือดเนื้อปกป้องไว้

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 103

103

26/4/2563 20:46:12


สักการะพระนอน องค์ ใหญ่ที่สุดของไทย

วัดพระนอนจักรสีห์วรวิหาร วัดพระนอนจักรสีห์วรวิหาร ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ องค์ ที่ ใ หญ่ แ ละยาวที่ สุ ด ของประเทศ และมี พิ ธี ป ารุ ป ะนั ง และ สรงน�้ำพระ เพื่อความเป็นสิริมงคลในช่วงสงกรานต์ของทุกปี วัดพระนอนจักรสีหว์ รวิหารสร้างมาก่อนกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยสันนิษฐานจากหลักฐานปรากฏคือ พระเจ้าอยูห่ วั บรมโกศ ได้เสด็จ

พระราชด�ำเนินไปทรงนมัสการพระนอน เมือ่ ปีจอ ฉศก จุลศักราช 1111 ซึ่ ง ตรงกั บปี พ.ศ. 2297 และได้ เสด็จไปอีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2299 เพื่อสมโภชฉลอง พระนอนจักรสีห์ เป็นพระพุทธรูปไสยาสน์ ปางโปรดอสุรนิ ทราหู สันนิษฐานว่าสร้างก่อนตัง้ กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เป็นพระนอน องค์ที่ใหญ่และยาวที่สุดของไทย มีความยาว 1 เส้น 3 วา 2 ศอก 1 คืบ 7 นิว้ หรือ 47.40 เมตร โดยในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ทางวัด จัดให้มีพิธีปารุปะนัง หรือพิธีห่มผ้าองค์พระนอนฯ โดยผ้าห่มมี ความยาวขนาดเท่าองค์พระ หลังจากห่มผ้าองค์พระแล้วจะมีพิธี สรงน�้ำพระเพื่อเป็นสิริมงคลด้วย

ร�ำลึกพระเดชพระคุณหลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง วัดพิกุลทอง เป็นวัดที่มีความสวยงามด้วย ศิลปกรรมและการตกแต่งที่วิจิตรตระการตา จึงเป็นอีกหนึ่งวัดที่ไม่ควรพลาดชม วัดพิกุลทอง เดิมชื่อ วัดใหม่พิกุลทอง เพราะ เป็ น วั ด ที่ ส ร้ า งขึ้ น ใหม่ โ ดยขุ น สิ ท ธิ์ , นายกลั บ สถิตย์บุตร และนายช่วง เป็นหัวหน้าด�ำเนินการ ก่ อ สร้ า งเมื่ อ พ.ศ.2434 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2440 ต่อมาในปี พ.ศ.2483 ได้ขอเปลี่ยนนามวัด เป็น “วัดพิกุลทอง” 104

.indd 104

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

26/4/2563 20:46:15


นมัสการหลวงพ่อทรัพย์หลวงพ่อสินศักดิ์สิทธิ์ วัดประโชติการาม

วัดเก่าแก่ทปี่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปางห้ามญาติทมี่ คี่ วามงดงามและ พิเศษคือ พระพุทธรูปยืนซ้อนกัน 2 องค์ ซึ่งมีเพียงหนึ่งเดียวในโลก และ มีความศักดิ์สิทธิ์ในด้านโชคลาภ พระพุทธรูปปางห้ามญาติ หรือปางห้ามสมุทร เป็นศิลปะสมัยสุโขทัย ขนาดใหญ่ 2 องค์ องค์ใหญ่ด้านหลังคือ หลวงพ่อทรัพย์ สูง 6 วา 7 นิ้ว และ องค์เล็กด้านหน้าคือ หลวงพ่อสิน สูง 3 วา 3 ศอก 5 นิ้ว เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ที่ประชาชนทั่วไปในสิงห์บุรี และจังหวัดใกล้เคียงให้ความเคารพ ศรัทธาอย่างมาก โดยมักจะมาขอโชคขอลาภจากท่านเสมอ โดยมีเรื่องเล่าว่า ในอดีตหลวงพ่อสินอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก ท่าน มหาสม พ่วงภักดี เมือ่ ครัง้ บวชเป็นเณรผ่านมาเห็น จึงได้ชกั ชวนชาวบ้านมา ช่วยกันหาไม้คำ�้ หลวงพ่อมิให้พงั ทลายลง พร้อมอธิษฐานว่าหากภายภาคหน้า ท�ำการค้าเจริญรุง่ เรืองจะน�ำเงินกลับมาบูรณะ ปรากฏว่าเป็นจริงดังค�ำขอจึง ได้ทำ� การบูรณะปฏิสงั ขรณ์ให้สมบูรณ์ นอกจากนีช้ าวบ้านยังเชือ่ กันว่าถ้ามา อาราธนาศีลจากหลวงพ่อสิน แล้วไปขอพรจากหลวงพ่อทรัพย์ ก็จะสมหวัง ตามที่ปรารถนา

พระปรางค์องค์ ใหญ่สีทอง วัดพระปรางค์มุนี

วัดที่คาดว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลายแห่งนี้ และเหตุที่ชื่อ วัดพระปรางค์มนุ นี า่ จะสืบเนือ่ ง จากพระปรางค์องค์ใหญ่สที องอร่ามตา ที่แลดูโดดเด่นเป็นสง่าเมื่อมองมาแต่ไกล อย่างไรก็ตาม นอกจาก พระปรางค์องค์ใหญ่แล้ว ภายในวัดยังมีส่ิงที่น่าสนใจซึ่งนักท่องเที่ยว หลายคนน่าแวะไปเยี่ยมเยือนหากมีโอกาส ได้แก่ • วิหารหลวงพ่อเย็น พระพุทธรูปปูนปัน้ เก่าแก่ หลวงพ่อขาวและ หลวงพ่อนาก ซึ่งมีเรื่องเล่ากันมาว่า มีพระธุดงค์รูปหนึ่งมาปักกลด ภาวนาอยูใ่ นวัดและได้อาราธนาขอน�ำ้ มนต์จากหลวงพ่อเย็นซึง่ ขณะนัน้ มีแต่เศียร ท่านได้นำ� น�ำ้ นีไ้ ปรักษาโรคภัยต่างๆ ให้ชาวบ้าน ดังนัน้ ชาวบ้าน ที่เลื่อมใสจึงพากันเรียก ติดปากว่าหลวงพ่อเย็น ซึ่งหมายถึงความ ร่มเย็นเป็นสุขนั่นเอง • พระประธาน ทีป่ ระดิษฐานภายในพระอุโบสถสีทองอร่ามนามว่า พระภูเขาทอง • หลวงพ่อใหญ่ชยั มงคล หรือพระพุทธนิมติ พิชติ มารมหาจักรพรรดิ์ ประดิษฐานบนศาลาการเปรียญ • บ่อน�ำ้ ศักดิ์สิทธิ์และต้นนารีผลจ�ำลอง ซึ่งอยู่ใกล้กับศาลเจ้าแม่ ตะเคียนทอง และด้านหลังวิหารยังมีต้นศรีมหาโพธิ์ ซึ่งบริเวณโคนต้น มีพระผุด • ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภายในโบสถ์ที่สวยงามซึ่งเป็นฝีมือของ นายเพ็ง คนลาว ทีว่ าดไว้เมือ่ ปีพ.ศ.2462 เล่าเรือ่ งเกีย่ วกับนรก สวรรค์ พุทธประวัติและพุทธชาดก ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 105

105

26/4/2563 20:46:18


แหล่งเตาเผาแม่น�้ำน้อย ศูนย์ศึกษาเครื่องปั้นดินเผา ที่ส�ำคัญของโลก

แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่ทรงคุณค่า เนื่องด้วยเป็น แหล่งผลิตเครือ่ งปัน้ ดินเผา ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และในปัจจุบันยังเป็นศูนย์ศึกษาด้านเครื่องปั้นดินเผาที่ส�ำคัญ อีกแห่งหนึ่งของโลกด้วย แหล่งเตาเผาแม่น�้ำน้อย ตั้งอยู่ในบริเวณวัดพระปรางค์ (ชัณสูตร) เป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาขนาดใหญ่ที่สุดในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในช่วงระหว่าง พ.ศ.1914-2310 โดยพบร่องรอยเตาเผาโบราณ กระจายตัวตามแนวล�ำแม่น้�ำน้อยตลอดระยะ 2 กิโลเมตร มีจ�ำนวน มากกว่า 200 เตา แต่ส่วนใหญ่เกิดการช�ำรุดไปตามกาลเวลา ลักษณะเด่นของเตาเผายุคนี้คือ ตัวเตาเป็นแบบระบายความร้อน เฉียงขึน้ ก่อด้วยอิฐ ตัวเตาบางส่วนคล้ายเรือประทุน จึงเรียก “เตาประทุน” แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ปล่องไฟ ห้องวางเครือ่ งปัน้ ดินเผา และห้องเชือ้ เพลิง ตัวเตาเผาทีน่ บั ว่ามีขนาดใหญ่ มีความยาวถึง 14 เมตร กว้าง 5.60 เมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางของปล่องควันไฟยาว 2.15 เมตร เคยใช้เป็นที่ ผลิตภาชนะดินเผา เช่น ไห อ่าง ครก กระปุก ช่อฟ้า กระเบื้องปูพื้น เป็นต้น กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. 2509 และได้จัดสร้างพิพิธภัณฑ์เตาแม่น�้ำน้อย เป็นอาคารขนาดใหญ่เชื่อม ต่อกันสองหลัง โดยหลังแรกเป็นอาคารโปร่งโล่ง มีเตาเผาจ�ำนวน 2 เตา สามารถเดินชมโดยรอบเตาเผาได้ อาคารหลังที่ 2 จัดแสดงแบบจ�ำลอง เตาเผาแม่น�้ำน้อย และตัวอย่างเครื่องปั้นดินเผาที่มีการขุดค้นพบใน แหล่งนี้ การเดินทาง ด้วยรถยนต์ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 3251 (สาย สิงห์บรุ -ี บางระจัน-สรรคบุร)ี ขับไปประมาณ 16 กิโลเมตรเมือ่ เลยตลาด ชัณสูตร ไปประมาณ 1 กิโลเมตร ก็จะถึงแหล่งเตาเผาแม่น�้ำน้อย พิพธิ ภัณฑ์เตาแม่นำ�้ น้อย เปิดให้เข้าชมทุกวัน ตัง้ แต่เวลา 08.30-17.00 น.

106

.indd 106

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

26/4/2563 20:46:27


พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อินทร์บุรี สิงห์บุรี

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อินทร์บุรี เดิมเป็นพิพิธภัณฑ์ ของวัดโบสถ์ ก่อตั้งโดยอดีตเจ้าอาวาสวัดโบสถ์ "พระเทพสุทธิ โมลี" (เจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี-อุทัยธานี ฝ่ายธรรมยุต) ในขณะ ทีเ่ ป็นพระครูวสิ ทุ ธิธรรม ได้รวบรวมจัดเก็บรักษาโบราณวัตถุศลิ ป วัตถุที่มีคุณค่า ตั้งแต่ พ.ศ.2483 โดยด�ำเนินงานในรูปของคณะ กรรมการมีอดีตเจ้าอาวาสวัดฌบสถ์เป็นประธานบริหารงาน ใน พ.ศ.2496 พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ได้รับการจัดตั้งเป็นสาขา พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ประจ�ำอ�ำเภออินทร์บุรี ต่อมา พ.ศ. 2504 คณะกรรมการพิพธิ ภัณฑสถาน ได้พจิ ารณาเห็นว่า อาคาร ไม้หลังเก่าไม่เพียงพอส�ำหรับจัดเก็บรักษาโบราณวัตถุทมี่ จี ำ� นวน มากขึน้ จึงได้รบั บริจาคเงินก่อสร้างอาคารหลังใหม่จาก นางเพิม่ ดุริยางกูร และตั้งชื่ออาคารว่า ตึกเพิ่ม ดุริยางกูร และปรับปรุง ศาลาการเปรียญของวัดหลังเดิม คือ ศาลาศักดิ์บุรินทร์ เป็น อาคารจัดแสดงอีกหลังหนึ่ง ต่อมา พ.ศ.2514 อดีตเจ้าอาวาสวัดโบสถ์ เมื่อครั้งมีสมศักดิ์ เป็นพระราชเมธาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี ได้ให้ความ อนุเคราะห์สนับสนุนกรมศิลปากรในการด�ำเนินงานปรับปรุงการ จัดแสดงให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และในปี พ.ศ.2516 สาขา พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ อิ น ทร์ บุ รี ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อินทร์บุรี

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

26/4/2563 20:46:38


Central park hotel โรงแรม เซ็นทรัล พาร์ค

โรงแรม เซ็นทรัล พาร์ค

โรงแรม เซ็นทรัล พาร์ค

โรงแรม เซ็นทรัล พาร์ค

ปรารถนาให้แขกทุกท่านได้รบั ความสะดวกสบาย ทีส่ ดุ ขณะเข้าพัก บริการห้องพักทีส่ ะอาด แสนสบาย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ได้แก่ ฟรี Wi-Fi ทุกห้อง, ระบบความปลอดภัย 24 ชั่วโมง

ตัง้ อยูใ่ นเมืองสิงห์บรุ ี ท่านจะได้เยือนสถานทีส่ ำ� คัญ เช่น พระพุทธรูปวัดพิกุลทอง และ วัดอัมพวัน รวมถึงที่เที่ยวเด่นๆ ของสิงห์บุรีอีกมากมาย

คือตัวเลือกที่ดีที่สุดส�ำหรับนักท่องเที่ยว ที่มองหาความผ่อนคลาย สะดวกสบาย และเสน่ห์ของสิงห์บุรี

โรงแรม เซ็นทรัล พาร์ค

172/2 หมู่ที่ 1 ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 036 523 444, 089 901 9999

Central Park Hotel.indd 108

142 ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000

20/4/2563 14:34:24


Z E N

G A R D E N

R E S O R T

เซ็นการ์เด้น รีสอร์ท โรงแรมเปิดใหม่จังหวัดสิงห์บุรีห้องพักหรูหรา ในราคาที่ทุกท่านสัมผัสได้ห้องพักทันสมัย สะอาด พร้อมทีวีอินเตอร์เน็ตจอใหญ่ 42” สมาร์ททีวี และดิจิตอลทีวี WiFi แรงสุด มาตัวเปล่าก็เล่นเน็ตได้ ตู้เย็น และน�้ำอุ่นทุกห้องระเบียงห้องส่วนตัวทุกห้อง พร้อมที่นั่งเล่นให้นั่งพักผ่อนสบายๆ

142 ต�ำบลบางมัญ อ�ำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16000 036 510 888-9, 08-1851-4024 www.facebook.com/ZenGardenResort

ZEN Graden Resort.indd 109

20/4/2563 14:35:50


19/45 ถนนโพธิ์เก้าต้น หมู่ 6 ตำ�บลต้นโพธิ์ อำ�เภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี 16000 0-3651-0333, 08-9330-3009, 09-5156-5698 kriangkk

ห้องพักสวย สะอาด ตกแต่งแบบสบายๆ สไตล์ลอฟท์ ท่ามกลางธรรมชาติ บรรยากาศดี บริการ Smart TV. พร้อมฟรี WiFi ทุกห้อง

.indd 110

27/4/2563 15:38:29


งานจักสานของบ้านบางเจ้าฉ่า นี้มีความละเอียดประณีต สวยงามสามารถพัฒนางานฝีมือตามความต้องการ ของตลาดไม่ยึดติดกับรูปแบบเก่า จนสามารถส่งออก ขายต่างประเทศได้ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นหมู่บ้าน ตัวอย่างในการพัฒนาอาชีพ ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 111

111

23/4/2563 15:27:20


SINGBURI

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บุรี 112

.

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

อนุสรณ์.indd สถานท้ 112าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง

20/4/2563 14:42:10


วิสัยทัศน์ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บุรี

“ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บุรี เป็นหน่วยงานที่สนองงานคณะสงฆ์ ส่งเสริมพัฒนากิจการพระพุทธศาสนาอย่างมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนให้เยาวชนและประชาชน น�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืน ”

ประวัติส�ำนักงาน

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บรุ ี เดิมเป็นส่วนราชการภายในของส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ซึ่ ง ส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นส่วนราชการ ที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ไม่สังกัดส�ำนัก นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง ตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะเทียบเท่ากรม ปฏิบัติ หน้าทีใ่ นระดับจังหวัด ขึน้ ตรงอยูใ่ นบังคับบัญชา ของผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ ตามประกาศส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ เรื่อง ก�ำหนดส่วนราชการ และหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นการภายใน ลงวันที่ 30 มกราคม 2547 มีอ�ำนาจหน้าที่ ในพื้นที่จังหวัดเกี่ยวกับการด�ำเนินการตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎหมายว่าด้วย การก� ำ หนดวิ ท ยฐานะผู ้ ส� ำ เร็ จ วิ ช าทาง

พระพุทธศาสนา รวมทัง้ ร่างกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง รั บ สนองงานประสานงานและถวายการ สนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์ ด� ำ เนิ น การตามนโยบายและ มาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา ส่งเสริมดูแลรักษา และท�ำนุบำ� รุงศาสนสถาน และศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา ดูแลรักษา และจั ด การวั ด ร้ า งและศาสนสมบั ติ ก ลาง ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง พุ ท ธศาสนศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม การ ปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่ศาสนธรรมเพื่อ พัฒนาความรูค้ คู่ ณ ุ ธรรม และปฏิบตั กิ ารอืน่ ใด ตามทีก่ ฎหมายให้อำ� นาจหน้าทีข่ องส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ หรือนายกรัฐมนตรี มอบหมายในระดับจังหวัดในการบริหารจัดการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสิงห์บุรี แบ่งการบริหารงานออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ ่ ม อ� ำ นวยการและประสานงาน กลุ ่ ม นโยบายและแผน กลุ่มพุทธศาสนาศึกษา

และการคณะสงฆ์ และกลุ่มพุทธศาสนสถาน และศาสนสมบัติ ในระยะแรกมีข้าราชการ จากส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาโอนมา ด�ำรงต�ำแหน่ง จ�ำนวน 4 คน นายเดช กองแก้ว เป็นหัวหน้าส่วนราชการในต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ส�ำหรับสถานทีป่ ฏิบตั งิ าน ได้ขอใช้อาคาร ของส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาสิ ง ห์ บุ รี (อาคารส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงห์บุรี เดิม) ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณศูนย์ราชการจังหวัด สิงห์บรุ ี ถนนสิงห์บรุ ี - บางพาน ต�ำบลบางมัญ อ� ำ เภอเมื อ งสิ ง ห์ บุ รี จั ง หวั ด สิ ง ห์ บุ รี เป็ น สถานที่ปฏิบัติงานชั่วคราว

ช่องทางในการติดต่อประสานงาน 0-3650-7307-8 0-3650-7307 buddasing@hotmail.com

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 113

113

20/4/2563 14:42:11


อ�ำนาจหน้าที่

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 มีอ�ำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบาย ระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงาน ในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด รวมทั้งรายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหา และอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่งภูมิปัญญาของชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของจังหวัด 5. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และประสานงานด้ า นการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา และด้ า น พุทธศาสนศึกษา รวมทั้งดูแลและควบคุมมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ภายในจังหวัดให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณ และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา

114

.

6. รั บ สนองงาน ประสานงาน และ สนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครอง คณะสงฆ์ ตลอดจนด�ำเนินการตามนโยบาย และมาตรการในการคุม้ ครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงาน ในการปฏิบตั ศิ าสนพิธแี ละกิจกรรมในวันส�ำคัญ ทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิ บั ติ ง านตามกฎหมายในความ รับผิดชอบของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่ ง ชาติ ซึ่ ง ก� ำ หนดให้เป็นอ�ำ นาจหน้าที่ ของผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด หรื อ ตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย 9. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ที่ได้รับมอบหมาย

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 114

20/4/2563 14:42:13


ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 115

115

20/4/2563 14:42:15


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดบุดดา นมัสการองค์เจ้าแม่กวนอิม

วั ด บุ ด ดาก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ในปี พ .ศ. 2537 ยั ง เป็ น เพี ย งส� ำ นั ก สงฆ์ ผ่ า นมาจนถึ ง ปี พ .ศ.2545 จึ ง ได้ เ ปลี่ ย นเป็ น วั ด อย่ า งเต็ ม ตั ว กิ จ กรรมส่ ว นใหญ่ ข องทางวั ด ในปั จ จุ บั น เป็ น กิ จ กรรมที่ เ น้ น การรั ก ษาศี ล ภาวนามี กิ จ กรรมการศึ ก ษาพระพุ ท ธ ศาสนา ในหลายรูปแบบ ทั้งการถือศีลเป็นหมู่คณะของนักเรียนนักศึกษา ภายในจังหวัดสิงห์บรุ โี รงเรียนพระพุทธศาสนา ฤดูรอ้ นของนักเรียน หลายๆ คน หลวงเตี่ยท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงปู่บุดดา ถาวโร 116

.indd 116

อดีตเจ้าอาวาสวัดกลางชูศรีเจริญสุข ในจังหวัดลพบุรี ปัจจุบัน พระอธิการศุภรัตน์ ฐิตธมฺมปาโล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส สิ่งส�ำคัญภายในวัดบุดดา พระนาคปรก ก�ำแพงพญานาค รูปปั้นพญานาค

พระอุโบสถกลางน�้ำ ศาลเจ้าแก้ปีชง พระโพธิสัตว์กวนอิม พิพิธภัณฑ์หิน

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:46:13


ดินแดนแห่งจินตนาการ บ้านหุ่นเหล็ก ธีมปาร์คฝีมือคนไทย ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 117

117

23/4/2563 15:27:57


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดข่อยสังฆาราม สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดสิงห์บุรี แห่งที่ 11

พระครูภาวนาวรานุศาสก์, ชัน้ เอก วิ. (พระมหาอุไร ฉายา อาตาปโก) เจ้าอาวาสวัดข่อยสังฆาราม และ เจ้าคณะต�ำบลหัวไผ่ วัดข่อยสังฆาราม ตั้งอยู่เลขที่ 13 ต�ำบลหัวไผ่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี ได้รับตั้งอนุญาต เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2340 และประกาศตั้งเป็นวัด เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2523 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 19 เมษายน 2530 ชาวบ้าน เรียกสั้นๆ ว่า “วัดข่อย” เพราะเดิมบริเวณวัดนี้เป็นวัดร้างมี ต้นข่อยมาก หลวงพ่อทองได้มาบูรณะวัดร้างนี้ แต่ต่อมาอยู่ไม่ได้ เนื่องจากมีความอดอยากมาก หลังจากนั้นมีพระภิกษุอีกรูปหนึ่ง มาบูรณะวัดนี้ ให้เป็นที่รู้จักอีกครั้ง ภิกษุรูปนี้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธา ของชาวบ้านมาก ชื่อ หลวงพ่อโต๊ะ 118

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 118

20/4/2563 14:51:10


กิจกรรมโครงการประจ�ำวัดข่อยสังฆาราม โครงการการปฏิบตั วิ ปิ สั สนากัมมัฏฐาน ตามหลักมหาสติปฏั ฐานสูตร ประจ�ำปี 2563 จัดตลอดปี มีทุกเดือน นอกโครงการมาปฏิบัติได้ ตลอดเวลา ไม่มีค่าใช้จ่าย ติดต่อสอบถามโทร 08-4754-5433 และ 08-6413-0972 ตารางปฏิบัติธรรมประจ�ำวัน วันที่หนึ่ง เวลา 17.00-18.00 น. ลงทะเบียน/รับประทานอาหาร เวลา 18.00-19.00 น. ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย/ ท�ำวัตรเย็น/สมาทานศีล 8/สมาทานกัมมัฏฐาน เวลา 19.00 21.00 น. ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน เวลา 21.00 น. พักและก�ำหนดอิริยาบถ วันที่สอง เวลา 04.00 น. เวลา 04.30-06.00 น. เวลา 06.00-07.00 น. เวลา 07.00-08.30 น. เวลา 08.30-11.00 น. เวลา 11.00-13.00 น. เวลา 13.00-16.00 น. เวลา 16.00-18.00 น. เวลา 18.00-19.00 น. เวลา 19.00-21.00 น. เวลา 21.30 น. วันที่สาม เวลา 04.00 น. เวลา 04.30-06.00 น. เวลา 06.00-07.00 น. เวลา 07.00-08.30 น. เวลา 08.30-11.00 น. เวลา 11.00-13.00 น. เวลา 13.00-16.00 น. เวลา 15.00-16.00 น.

ตื่นนอน/ท�ำกิจส่วนตัว ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท�ำวัตรเช้า/บรรยายธรรม ฉันภัตตาหารเช้า/รับประทานอาหารเช้า/พัก ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฉันภัตตาหารเพล/รับประทานอาหารกลางวั/พัก ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน/ส่งและสอบอารมณ์ ดื่มน�้ำปานะ/พักท�ำกิจส่วนตัว ท�ำวัตรเย็น/บรรยายธรรม ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน พักและก�ำหนดอิริยาบถ ตื่นนอน/ท�ำกิจส่วนตัว ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ท�ำวัตรเช้า/บรรยายธรรม ฉันภัตตาหารเช้า/รับประทานอาหารเช้า/พัก ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฉันภัตตาหารเพล/รับประทานอาหารกลางวัน/พัก ปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน พิธีขอขมาพระอาจารย์/ลาศีล 8 และ สมาทานศีล 5/พิธีปิดการฝึกการอบรม/ เดินทางกลับ ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

119

20/4/2563 14:51:21


Mabuna Resort มาบูน่า รีสอร์ท

FACEBOOK Mabuna Resort

Mabuna Resort.indd 120

ตั้งอยู่เลขที่ 12/1 หมู่ 9 ต�ำบลบางระจัน อ�ำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 16150 06-1825-3535, 08-6998-9591 language_som-enjoy@hotmail.com Mabuna-Resort zorsom12

20/4/2563 14:54:53


รีสอร์ท “เพื่อคนรักสุขภาพ” แห่งเดียว ในจังหวัดสิงห์บุรี เป็นรีสอร์ท ที่แตกต่างจากรีสอร์ทที่อื่นๆ คือ ต้องการให้ลูกค้าที่เข้ามาพัก ได้มีสุขภาพที่ดี เมนูอาหารต่างๆ เน้น เพื่อสุขภาพและมีผลิตภัณฑ์แบรนด์ “แม่บัวศรี” ที่ผลิตจาก “ลูกยอ” ที่ได้รับการยืนยันแล้วว่า มีส่วนช่วย ในการต่อต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันและควบคุมการกระจายตัวของมะเร็ง ให้บริการ อีกทั้งมี สถานที่กว้างขวาง จัดแบ่งพื้นที่ต่างๆ ส�ำหรับ การออกก�ำลังกายมีกิจกรรมนันทนาการเพื่อสุขภาพที่ดี ครบวงจร ห้องพักแต่ละห้องมีความหลากหลาย ตกแต่งแบบน่ารักลงตัว พนักงานบริการด้วยความใส่ใจ และเป็นกันเอง ห้องพักสะอาด ได้มาตรฐาน

Mabuna Resort.indd 121

20/4/2563 14:55:30


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดประดับ (ขุนโลก) วัดประดับ ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 70 หมู่ที่ 10 บ้านทับเจ๊กฮะ ต�ำบลบางระจัน อ�ำเภอค่ายบางระจัน จังหวัดสิงห์บรุ ี ถนนหมายเลข 3032 สายสิงห์บรุ ี - สุพรรณบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ. 2398 เดิมเรียก “วัดขุนโลก” ต่อมาได้เปลีย่ นเป็น “วัดประดับ” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2403 เป็นวัดที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย ปัจจุบนั พระครูสถิตธรรมาลังการ,ดร. ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดประดับ เจ้าคณะต�ำบลบางระจัน และ เจ้าส�ำนัก ปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสิงห์บุรี แห่งที่ 16 122

.indd 122

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 14:49:19


ปูชนียวัตถุ

อุโบสถ ได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์ เมือ่ พ.ศ. 2515 โดยพระพยนต์ ปพฺภทฺสโร และหม่อมราชวงศ์หญิงสุนันทาสนิทวงศ์ และบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้ง เมือ่ พ.ศ. 2552 ด้านหน้าอุโบสถมีฐานเจดียย์ อ่ มุม 12 ขนาดย่อม 2 องค์ ใบเสมาของอุโบสถเป็นแบบคู่แกะสลักจากหินทรายสีชมพู พระพุทธธรรมจารีมุนีวรญาณ เป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางประทานพร เนื้อทองเหลืองลงรักปิดทอง มีขนาดหน้าตัก 49 นิ้ว สูง 69 นิ้ว โดยคุณธรรมจารีนี (บุญธรรม) บริรักษ์นิติเกษตร เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2515 และได้บูรณะลงรักปิดทองอีกครั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2553 โดย คุณเกษม - คุณอาภรณ์ พูลวรลักษณ์ และ ครอบครัวเป็นเจ้าภาพ พระพุทธรูปสมัยรัตนโกสินทร์ ปางมารวิชัย มีขนาดหน้าตัก 26 นิ้ว อายุประมาณ 100 ปี หลวงพ่อเขียว เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่วัด ประดิษฐานใน วิหารหลวงพ่อเขียว สร้างเมือ่ พ.ศ. 2539 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก พระประธานในวิหาร แกะสลักจากหินทราย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั ฝาผนังด้านในวาดด้วยสีน�้ำมันรูปเทวดา ล้อมรอบด้วยลายไทย พระสีวลี สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 9 ศอก สร้างเมือ่ พ.ศ. 2539 พระพุทธธรรมสิงหมงคล เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มีขนาด หน้าตัก 5.60 เมตร สูง 7.62 เมตร สร้างเมือ่ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2553 สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยพลวงพ่อจ�ำเนียร สีลเสฏฺโฐ และ พระอาจารย์งาม รตนญาโณ เป็นประธานอุปถัมภ์

การเผยแผ่พระพุทธศาสนา

มี ง านปริ ว าสกรรมและบวชเนกขั ม มะ ระหว่ า งวั น ที่ 10-19 กุมภาพันธ์ ของทุกปี และการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาตลอดทั้งปี

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

20/4/2563 14:49:27


FACEBOOK

บ้านไพทยา รีสอร์ท

วันเดียวเที่ยวสิงห์บุรี เมืองรองที่ต้องลองไป จะพักค้างคืน พักผ่อนแบบสบายๆ เป็นส่วนตัว

ขอแนะน�ำ บ้านไพทยา รีสอร์ท บางระจัน ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว ที่ไม่ควรพลาด ตลาดบ้านบางระจัน ไหว้พระวัดโพธิ์เก้าต้น เที่ยวชมพิพิธภัณฑ์ บ้านบางระจัน ถิ่นวีรชนคนกล้า จะท�ำให้ท่านได้พักผ่อนอย่างแท้จริง ในวันหยุดกับครอบครัว

บ้านไพทยา รีสอร์ท บริการห้องพักแบบเป็นหลัง มีความเป็นส่วนตัว พร้อมเครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ยินดีให้บริการทุกท่าน 91/6 หมู่ 8 ต�ำบลไม้ดดั อ�ำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บรุ ี 16130

555-2.indd 124

08-1293-8729

20/4/2563 15:17:02


555-2.indd 125

20/4/2563 15:17:18


SABAIDEE RESORT สบายดี รีสอร์ท

สบายดี รีสอร์ท...สิงห์บุรี (Sabaidee Resort Singburi) ...น่าเข้าพักพร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และบริการที่เป็นกันเอง

ห้องพักพร้อมระเบียงส่วนตัว เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เคเบิล ทีวีจอแบน ฟรี WiFi บรรยากาศดี ร่มรื่น ในสวน เงียบสงบ เหมาะกับท่านที่ต้องการพักผ่อน และเป็นส่วนตัว

40/1 หมู่ 13 ต�ำบลเชิงกลัด อ�ำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 16130 09-9565-1935, 06-1949-1654 สบายดีรีสอร์ท สิงห์บุรี

555.indd 126

sabaideeatsingburi

20/4/2563 15:21:57


เรือนไทยคหบดีอายุกว่า 100 ปี “เรือนรับขวัญ” สไตล์เรือนไทยคหบดี ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 127

127

23/4/2563 15:28:22


FACEBOOK SBL

พระพุทธสิหิงห์มิ่งมงคล หรือ พระสิงห์ใหญ่ สร้างเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่ ในหลวง ร.9 และเป็นพระสิงห์ที่งดงาม และใหญ่ที่สุด ในประเทศไทย

128

.indd 128

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 15:25:50


History of buddhism

วัดม่วงชุม ขอพร พระสิงห์ใหญ่ วัดม่วงชุม วัดพัฒนาตัวอย่างปี 2560

วัดม่วงชุม ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 7 ต�ำบลไม้ดัด อ�ำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี วัดม่วงชุม เป็นวัดเก่าแก่ร่วม 400 ปี สันนิษฐานว่า สร้างตั้งแต่สมัยอยุธยา เดิมชื่อว่า “วัดกระดังงา” เป็นวัดร้าง ตั้ ง แต่ ส มั ย สงครามกั บ พม่ า และเสี ย กรุ ง ครั้ ง ที่ 2 มี ก ารขุ ด พบ เศียรพระหินทรายเป็นจ�ำนวนมาก ดังมีตัวอย่าง หลวงพ่อด�ำ ที่ประดิษฐานอยู่ด้านหลังวัด ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

20/4/2563 15:25:55


ต่อมาในภายหลังเมื่อสงบจากศึกกับพม่าพวกชาวบ้านจึงกลับมา ตั้งถิ่นฐานกันใหม่ จนประมาณปีพ.ศ. 2424 นายโคกร่วมกับชาวบ้าน ได้ก่อสร้างวัดขึ้นมาใหม่ ณ ที่ตั้งวัดในปัจจุบัน ซึ่งใกล้กับวัดเดิมและ ตัง้ ชือ่ ว่า “วัดม่วงชุม” ทีม่ าของชือ่ วัดนีม้ าจาก การทีช่ าวบ้านบางระจัน ได้มาชุมนุมกันที่ใต้ต้นมะม่วง ณ ที่แห่งนี้ วัดม่วงชุม จึงแปลได้ว่า “ชุมนุมใต้ต้นมะม่วง” วัดม่วงชุมเป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดสิงห์บุรี แห่งที่ 13 ตามความเห็นชอบ ของมหาเถรสมาคมว่าด้วยเรื่อง การขอจัดตั้ง ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมประจ�ำจังหวัดเพือ่ ส่งเสริม ให้ประชาชนเข้าวัดท�ำบุญ ปฏิบัติธรรมในวันส�ำคัญต่างๆ

130

.indd 130

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 15:25:57


บริเวณวัดม่วงชุม

ลักษณะเด่นภายในวัด พระพุทธรูปหลวงพ่อขาว หลวงพ่อด�ำ พระสิงห์ใหญ่พระพุทธสิหิงห์มิ่งมงคล พระมหาเจดีย์บางระจัน ช้างเอราวัณ พ่อปู่ศรีสุทโธนาคราช

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 131

131

20/4/2563 15:26:14


พระพุทธชัยมงคลสุพรรณรังสีโลกนาถมหามุนี (หลวงพ่อขาว) พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ปางมารวิชัย เดิมมีสีขาว ต่อมามีการลงรักปิดทองค�ำแท้จนกลายเป็นสีเหลืองทองทั้งองค์ เดิมทีนั้นตั้งอยู่พูนดินกลางแจ้ง แล้วจึงสร้างอุโบสถครอบในภายหลัง อายุประมาณ 200 ปี หน้าตักกว้าง 2.85 เมตร จากฐานถึงยอดพระเกศสูง 3.60 เมตร และฐานสูง 1 เมตร พระหัตถ์ซ้ายประคองดวงแก้วสีขาว เป็นพระใหญ่และเก่าแก่ที่สุด ในลุ่มแม่น�้ำน้อย คาดว่าปั้นพระพุทธรูปนี้ขึ้นมาเพื่อทับปิดกรุสมบัติไม่ให้พม่าเอาไป

132

.indd 132

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 15:26:17


วีรชนค่ายบางระจัน

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 133

133

23/4/2563 15:29:18


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดโบสถ์ วัดโบสถ์ตั้งอยู่เลขที่ 6 หมู่ 6 ต.ถอนสมอ อ.ท่าช้าง จ.สิงห์บุรี สร้าง ครั้งแรกเมื่อประมาณปีกุล พ.ศ. 2370 วัดโบสถ์ในสมัยก่อนเป็น วัดราษฎร์ทมี่ ขี นาดเล็กๆ วัดหนึง่ ตัง้ อยูใ่ กล้เกือบจะสุดเขตแดนของ จังหวัดสิงห์บรุ ี ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (คือเป็นวัดสุดท้ายทางด้านนี้ ใต้ไปอีกประมาณ 1 กิโลเมตร ก็จะเข้าเขตอ�ำเภอโพธิ์ทองจังหวัด อ่างทอง) เมื่อครั้งก่อนโน้น ตั้งอยู่ในเขตท้องที่อ�ำเภอพรหมบุรี ปัจจุบนั (พ.ศ. 2521–2551) ขึน้ อยูก่ บั ท้องทีอ่ ำ� เภอท่าช้าง วัดโบสถ์ ได้ถกู สร้างขึน้ มาใหม่อกี ครัง้ หนึง่ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น นับถึง ปัจจุบัน (พ.ศ. 2563) นับได้ 193 ปี จากหลักฐานของวัดโบสถ์ที่ พอจะสืบได้ 134

พระพุทธรูปทองค�ำศักดิ์สิทธิ์ ๕ สมัย

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

_New.indd 134

20/4/2563 15:33:28


สถานที่ส�ำคัญและวัตถุส�ำคัญ

พระพุทธมงคลนิมติ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั (สร้างเลียนแบบ สมัยสุโขทัย) ขนาดหน้าตักกว้าง 2 ศอก 7 นิ้ว สูง 3 ศอก ประดิษฐาน อยู่บนฐานชุกชี 4 ชั้น สลับฐานสิงห์ เบื้องหน้ามีผ้าทิพย์ปูทอดลงมา และองค์พระพุทธรูปนัง่ อยูใ่ นเรือนแก้ว (ฐานชุกชีและซุม้ เรือนแก้ว ท�ำด้วย ไม้แกะจ�ำหลักลงรักปิดทองสวยงาม เป็นพระพุทธรูปประธานในอุโบสถ วัดโบสถ์ตั้งแต่ปี 2496 เป็นต้นมา พระบรมสารีริกธาตุเจดีย์หน้าอุโบสถ 2 องค์ เจดีย์บรรจุพระบรม สารีรกิ ธาตุ ตัง้ อยูห่ น้าอุโบสถ เป็นเจดียส์ ร้างเลียนแบบเจดียส์ มัยอยุธยา ตั้งอยู่บนฐานสิงห์ 4 เหลี่ยม สร้างเสร็จและฉลองเมื่อปี พ.ศ. 2535 ภายในบรรจุพระสมเด็จพิมพ์เล็กใหญ่เป็นเนื้อกระเบื้องและพระพุทธ รูปปางต่างๆ หอสวดมนต์ หอสวดมนต์ของวัดโบสถ์ เป็นอาคารไม้ทงั้ หลัง ยกพืน้ สูง เครื่องบนเป็นไม้สักทั้งหมด มีช่อฟ้าหน้าบันมุงด้วยกระเบื้องดินเผาสี เหลืองเขียว ด้านล่างพืน้ เทคอนกรีต ท�ำเป็นห้องพิพธิ ภัณฑ์ทอ้ งถิน่ เพือ่ เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาในอนาคต กุฏเิ จ้าอาวาส เป็นอาคารไม้ทงั้ หลัง (เคียงคูก่ บั หอสวดมนต์) ยกพืน้ สูง เครื่องบนเป็นไม้สักทั้งหมด มีช่อฟ้าหน้าบัน หลังคามุงด้วยกระเบื้อง ดินเผาเช่นเดียวกันกับหอสวดมนต์ ประตูหน้าต่างเป็นฝาปะกนไม้สัก สวยงาม ด้านล่างพืน้ เทคอนกรีต ท�ำเป็นห้องเก็บของสงฆ์ ถ้วยจาน ฯลฯ เป็นทีอ่ ยูป่ ระจ�ำของท่านเจ้าอาวาส ได้ประพฤติวตั รปฏิบตั ดิ แู ลบริหารวัด ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล ศาสนธรรมและศาสนพิธี ให้เรียบร้อยงานเจริญ รุ่งเรืองสืบต่อไป

พระครูนาคดิตถ์คณาภิรักษ์ เจ้าอาวาสวัดโบสถ์

ศาลาการเปรียญหลังใหม่ ตั้งอยู่เคียงคู่กับอุโบสถทางทิศใต้ สร้าง เมือ่ พ.ศ. 2524-2531 ในสมัยพระครูธรรมสารคุณาภรณ์เป็นเจ้าอาวาส (ใช้เวลาก่อสร้างอยู่ 7 ปี จึงส�ำเร็จ จัดงานฉลองเมื่อ พ.ศ. 2531) เป็น อาคารทรงไทยประยุกต์ 2 ชั้น กุฏิพระสงฆ์สามเณร กุฏทิ รงปัน้ หยา 5 หลัง เครือ่ งบนเป็นไม้ยางหรือไม้เบญจพรรณสร้าง เมื่อปี 2492 กุฏทิ รงปัน้ หยา อีก 3 หลัง สร้างในปี พ.ศ. 2501 ประตูหน้าต่างเป็นไม้สกั แต่เครื่องบนฝาและพื้นเป็นไม้เบญจพรรณ ลูกกรงเป็นไม้สักทุกหลัง กุฏิ 3 หลังแถวตะวันตก ได้รับความอุปถัมภ์จากตระกูลเต็งวงษ์ วัฒนะ สร้างถวายเมื่อปี 2503 เป็นทรงสมัยใหม่ กุฏิทรงไทย 3 หลัง ตะวันออก 2 หลังแรกเป็นทรงไทยแฝดติดกัน หลังหนึ่งมี 3 ห้อง เริ่มสร้างเมื่อปี 2513 แต่มาเสร็จเอาประมาณปี 2534 กุฏิธรรมสารคุณาภรณ์ เป็นทรงไทยคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างปี พ.ศ. 2533 ปัจจุบันเป็นที่เก็บของเก่า ของพระครูธรรมสารคุณาภรณ์ เช่น พระพุทธรูป โต๊ะหมู่ เครื่องพิมพ์ดีด กระเป๋าเดินทาง เครื่องเล่น แผ่นเสียง และของใช้อื่นๆ ในสมัยเมื่อท่านมีชีวิตอยู่ หอระฆัง ลักษณะเป็นเสาคอนกรีต 4 ต้น มีลวดลายบ้างพองาม ชัน้ บน หลวงพ่อพรุครูธรรมสารคุณาภรณ์ ได้นำ� ปลอกลูกระเบิดขนาดใหญ่ (ตัดค่อนลูก) มาแขวนไว้ท�ำเป็นระฆัง เวลาตีดังเสียงเพราะดังไปไกล ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

_New.indd 135

135

20/4/2563 15:33:38


พระพุทธมงคลนิมิต ผิ ด กั บ ระฆั ง ธรรมดา จนเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องวั ด โบสถ์ อ.ท่ า ช้ า ง จ.สิงห์บุรี ใช้ตีให้สัญญาณในงานส�ำคัญๆ เช่น เวลาเพล เช้ามืดในช่วง พรรษา ในคราววันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา บอกเวลาเวียนเทียน ฯลฯ เมรุหรือฌาปนสถาน สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2505 เพื่อเป็นประโยชน์ แก่ผเู้ สียชีวติ และญาติผเู้ สียชีวติ ให้ความสะดวกแก่คณะญาติและบุคล ทั่วไป ในคราวที่มีงานอวมงคล สมัยก่อนเป็นเตาถ่าน ต่อมาในสมัย พระครูนาคดิตถ์คณาภิรักษ์ พ.ศ. 2548 ได้เปลี่ยนเป็นเตาไร้สารพิษ (ใช้ถ่านและน�้ำมันดีเซล) เพื่อไม่ให้ควันพิษแพร่กระจ่ายเชื้อโรคไปยัง ประชาชนคนทั้งหลาย ศาลากาแล เป็นศาลาหน้าเมรุ เพื่อให้ความร่มเย็นแก่ท่านสาธุชน และญาติของคนตายทีม่ าในงานเผาศพนัน้ ๆ เป็นศิลปะผสมไทย-ยุโรป เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 โครงสร้างข้างบนเป็นโครงไม้ ด้านล่างเป็น คอนกรีตเสริมเหล็ก เสาเป็นแบบโรมัน พืน้ เป็นหินแกรนิตเชิงชาญโดย รอบแกะสลักลวดลายด้วยไม้สักสวยงาม พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้ง (เดิมที่ท�ำเป็นห้องสมุดประชาชน เป็นที่อ่าน หนังสือพิมพ์ และหนังสือต่างๆ) เริ่มสร้าง พ.ศ. 2531 ต่อมาลุถึงปี พ.ศ. 2550 พระครูนาคดิตถ์คณาภิรักษ์และคณะศิษยานุศิษย์ท่าน 136

สาธุชนที่เคารพนับถือร่วมกันด�ำริสร้างหุ่นขี้ผึ้ง (ปัจจุบันวัสดุที่สร้าง เปลี่ยนเป็นไฟเบอร์กลาส) สมเด็จโตพรหมรังสี หลวงพ่อแพ เขมงฺกโร และหลวงปูท่ วด เหยียบน�ำ้ ทะเลจืด ในอนาคตจะจัดสร้างอีกหลายองค์ เช่น หลวงปูม่ นั่ เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2551 ได้ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงหอสมุด ให้เป็นพิพธิ ภัณฑ์หนุ่ ขีผ้ งึ้ ในเขตภาคกลางตอนบนเพือ่ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว การศึกษาของนักเรียนนักศึกษา และท่านสาธุชนทั่วไป หอประชุม ใช้เป็นทีป่ ระชุมสงฆ์ หรือชาวบ้านในคราวมีธรุ ะหรือท�ำ กิจกรรมต่างๆ สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2506 (หลังจากสร้างเมรุเสร็จแล้ว) เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียวทรงสูง ยาว 12 วา 3 ศอก กว้าง 6 วาเศษ ในระยะหลังจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) ใช้เป็นศาลา บ�ำเพ็ญกุศลข้างเมรุ ต่อไปในอนาคตกาล จะปรับปรุงบูรณะให้สวยงาม และใช้งานได้สะดวกยิ่งขึ้น (ในคราวที่สร้างเมรุใหม่เสร็จเรียบร้อย) หอฉัน (อาหารเช้า-เพล) เป็นอาคารไม้ทงั้ หลัง (เคียงคูอ่ ยูก่ บั หอสวด มนต์) ยกพื้นสูง เครื่องบนเป็นไม้สักทั้งหมดมีช่อฟ้าหน้าบัน (หลังคา มุงด้วยกระเบือ้ งดินเผาเช่นเดียวกับหอสวดมนต์ ประตูหน้าต่างเป็นฝา ปะกนไม้สกั สวยงาม (เป็นช่างคนจีน) กัน้ ห้องพืน้ ไม้แดงเสาไม้เต็ง ด้าน ล่างกั้นเป็นห้องๆ ไว้เก็บของนานาชนิด หรือเป็นที่อยู่อาศัยได้อีกด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

_New.indd 136

20/4/2563 15:33:55


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดโพธิลังการ์ พระครูพิพิธ โพธิกิจ(เสงี่ยม สุธีโร) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาส

วัดโพธิลังการ์ ตั้งอยู่ที่หมู่ 6 ต�ำบลอินทร์บุรี อ�ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งขึ้น เมือ่ ปี พ.ศ. 2432 เดิมชือ่ วัดลังกา ต่อมาได้เปลีย่ นเป็นวัดโพธิลงั การ์ เพราะมี ต ้ น โพธิ์ อ ยู ่ ใ นวั ด ตรงหลวงพ่ อ ธรรมจั ก ร ถื อ ว่ า เป็ น สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ชาวบ้านเคารพสักการะ วัดโพธิลงั การ์สร้างขึ้นเป็น

วัดนับตั้งแต่ประมาณ ปี พ.ศ. 2432 โดยมีนายเอี๋ยว พรหมจันทร์ และ นายสอน กาญจนสมบั ติ ร่ ว มกั บ ชาวบ้ า นผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธา ก่อสร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2470 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 60 เมตร

ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

20/4/2563 15:29:35


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดแจ้ง วัดแจ้ง อินทร์บุรี..สร้างสมัยรัชกาลที่ 5

วัดแจ้ง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 7 ต�ำบลท่างาม อ�ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นวัดเก่ายุครัตนโกสินทร์ตอนกลาง น่าจะปลาย รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ซึง่ จากเอกสารส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ระบุวา ่ เจ้าอธิการ นามว่าพระสอน และก�ำนันบัวเป็นผูร้ เิ ริม่ ท�ำเรือ่ งกราบบังคมทูลขอ พระราชทานวิสุงคามสีมา เพื่อสร้างเป็นวัดให้ถูกต้อง ซึ่งก็ได้รับ พระบรมราชานุญาตให้ด�ำเนินการได้เมื่อ ร.ศ.128 เทียบได้กับ พ.ศ. 2453 (ปีเดียวกับที่ล้นเกล้าฯรัชกาลที่ 5 สวรรคต)

ลักษณะเด่นของวัดแจ้งก็คอื มีกลุม่ พระเจดียเ์ ก่า รูปทรงสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กว้าง และยาวเท่ากันคือ 6 เมตร ทัง้ ทีย่ งั สมบูรณ์และช�ำรุดทรุดโทรม หักพัง ล้มกองอยู่ กับพืน้ บริเวณลานหน้า อุโบสถ ซึง่ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชดั ว่าใครเป็นคนสร้าง 138

.indd 138

พระอธิการปิยะศาสน์ ฐิตปุญโญ เจ้าอาวาสวัดแจ้ง

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

20/4/2563 15:36:08


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดท่าอิฐ ไหว้หลวงพ่อบุญ ชมเรือพลายแก้ว “วัดท่าอิฐ”

วัดท่าอิฐ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 ต�ำบลท่างาม อ�ำเภออินทร์บรุ ี จังหวัดสิงห์บรุ ี เป็นวัดเก่าแก่อยูค่ ชู่ าวท่างามมาเป็นเวลานาน แต่เดิมบริเวณหน้าวัด เป็นท่าน�้ำและมีการน�ำอิฐที่ขนมาทางเรือมาขึ้นบริเวณนี้ ชาวบ้าน จึงเรียกวัดนี้ว่า วัดท่าอิฐ ปัจจุบันพระครู​ูวิศิษฏ์ปัญญาวุธ ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดท่าอิฐ มีพระเกจิอาจารย์ดัง คือหลวงพ่อบุญ พรหมโชติ ซึ่งเดิม เป็นเจ้าอาวาสวัด ท่านเก่งในด้านการรักษาโรคต่างๆ เช่น งูกดั ปวดฟัน เป็นต้น และความสามารถในด้านการหล่อพระ(พิมพ์ดอนกลอย) หล่อระฆัง จนทุกวันนีผ้ ทู้ เี่ คารพนับถือและศรัทธา มักจะมีพระดอนกลอย หรือรูปหล่อเหมือนของหลวงพ่อไว้บูชา และคล้องติดตัวเชื่อว่างู

จะไม่เข้าใกล้และไม่ท�ำอันตรายหรือตั้งไว้ในรถยนต์ เวลาดินทาง จะรู้สึกปลอดภัย ตามความเชื่อผู้ที่มีความเคารพ ในวันแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 จะมีงานประจ�ำปีวัดท่าอิฐจะเป็น วัดแรกของแม่น�้ำบริเวณนี้ที่จะมีการแข่งเรือยาว เรือที่สร้างชื่อเสียง คือ เรือพลายแก้ว ด้วยความสามัคคี ของฝีพายทีร่ วมใจเป็นหนึง่ เดียวกัน ท�ำให้เรือพลายแก้วมีชัยชนะอย่างต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันด้วยสภาพ แวดล้อมประกอบกับอาชีพของคนในพืน้ ทีท่ ำ� ให้ฝพี ายเรือมีจำ� นวนน้อย จึงเปลี่ยนจากเรือ 30 ฝีพาย เหลือเป็นเรือ 8 - 10 และ 3 ฝีพายเรือ พื้นบ้านแทน เรือยาวพลายแก้วจึงถูกเก็บไว้เป็นอนุสรณ์ให้คนรุ่นหลัง ได้ศึกษาต่อไป ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

20/4/2563 15:38:30


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดราษฎร์บ�ำรุง วัดราษฎร์บำ�รุง อินทร์บุรี วัดเก่าสมัยอยุธยา

วัดราษฎร์บำ� รุง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 21 หมู่ 4 ต�ำบลน�ำ้ ตาล อ�ำเภออินทร์บรุ ี จังหวัดสิงห์บรุ ี พระครูอินทเขมานุวัตร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดราษฎร์บ�ำรุง เป็นวัดเก่าสมัยอยุธยา สร้างปีไหนอย่างไร ไม่ ปรากฎหลั ก ฐานชั ด เจน มี เ พี ย งค� ำ บอกเล่ า ที่ ยั ง ไม่ อ าจบั น ทึ ก เป็นข้อมูลได้ ทราบเพียงว่าสร้างในสมัยอยุธยา ต่อมากลายเป็น วัดร้าง จนกระทั่งปี 2435 ขุนขจร(บุญ) ได้บริจาคที่ดินเพิ่มเติม เพื่อปรับปรุงวัดขึ้นมาใหม่ 140

เล่ า กั น ว่ า บิ ด าของขุ น ขจรชื่ อ ตาเชต เป็ น คหบดี ค นหนึ่ ง ใช้บริเวณนี้ เป็นแหล่งเลี้ยงวัวซึ่งมีอยู่จ�ำนวนมาก มีท่าส�ำหรับให้วัว ลงไปกินน�้ำ เป็นร่องน�้ำย่อยๆ ไหลลงสู่เจ้าพระยา ต่อมาจึงเรียก วัดแห่งนี้ว่า วัดบางตาเชต สมัยต่อมามีการเปลี่ยนชื่อใหม่ให้ทันสมัย ขึ้นว่า “วัดราษฎร์บูรณะประชุมธรรม” เปิดสอนปริยัติธรรมด้วย แต่ ชื่ออาจจะยาวไป ชาวบ้านจึงนิยมเรียกย่อๆ ว่า “วัดราษฎร์บ�ำรุง” มาจนถึงปัจจุบัน วัดราษฎร์บ�ำรุง เปิดปฏิบัติธรรมตลอดทั้งปี

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

.indd 140

20/4/2563 15:40:14


FACEBOOK SBL

History of buddhism

วัดม่วง วัดเก่าสมัยรัตนโกสินทร์ ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา

วัดม่วงเป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในอ�ำเภออินทร์บุรี มีหลักฐาน ทีช่ ดั เจน คือ เจดีย์ และวิหาร ทีเ่ ก่าแก่สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ พ.ศ. 2365 โดยปู่สุขและปู่มี ซึ่งเป็นชาวเวียงจันทร์และ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาในอดีต มีบุคคลส�ำคัญมาเยี่ยม เยื อ นวั ด ม่ ว งอยู ่ เ สมอ นั บ ตั้ ง แต่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ แ ละ พระบรมวงศานุวงศ์ สมเด็จพระสังฆราชผู้น�ำประเทศ ผู้น�ำเหล่าทัพฯ ฯลฯ ซึ่งส่งให้วัดม่วงนั้นเป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง ของอ�ำเภออินทร์บุรี ปัจจุบันพระครูโสภิตบุญญาคมด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดม่วง สิ่งที่น่าสนใจภายในวัดม่วง ได้แก่ เจดีย์ อุโบสถ หอสวดมนต์ โดย เฉพาะวิ ห ารเก่ า แก่ ซึ่ ง เป็ น อาคารปู น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า หน้ า บั น ประดับด้วยภาชนะเครื่องถ้วยต่างๆ วิหารแห่งนี้เป็นที่ประดิษฐาน

พระพุทธรูปปางมารวิชยั ทีม่ พี ทุ ธลักษณะงดงาม ทัง้ ยังมีจติ รกรรม ฝาผนังเขียนด้วยสีฝุ่น ฝีมือช่างพื้นบ้านซึ่งคาดว่าน่าจะเขียนขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 4 เล่าเรื่องราวพุทธประวัติตลอดจนวิถีชีวิต ความเป็นอยูใ่ นสังคมโบราณ ส่วนเจดียน์ นั้ เป็นแบบสีเ่ หลีย่ มย่อมุม ไม้สบิ สองทีม่ เี ล่าลือกันว่าเป็นทีบ่ รรจุอาวุธ วัตถุมงคล ของมีคา่ ซึ่งชาวบ้านเชื่อ กันว่าสร้างขึ้นเพื่อล้างบาป นอกจากนี้วัดม่วง ยังมีชื่อเสียงในเรื่อง การปลุกเสกวัตถุมงคล โดยหลวงพ่อเอ๊าะ พระครูอินทวุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส ผู้เพียบพร้อมด้วยศีลาจารวัตร และเชี่ยวชาญด้านไสยเวททุกแขนง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2537 - 2538 ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์จาก กรมศิลปากร เพื่ออนุรักษ์ไว้เป็นมรดกของชาติ และเพื่อเป็นแหล่ง การศึกษาทางด้านศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน และโบราณคดี ANGTHONG-SINGBURI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 141

141

20/4/2563 15:43:09


รากต้นโพธิ์และต้นไทร ที่โอบยึดก�ำแพง โบสถ์สถานที่ประดิษฐ์องค์พระประธาน

โบสถ์วัดไทร 142

AD.indd 142

SBL บันทึกประเทศไทย I เที่ยวพิเศษ อ่างทอง-สิงห์บุรี

23/4/2563 15:29:34


Chidchol Resort บ้านชิดชล รีสอร์ท สิงห์บุรี

ห้องพักสวย สะอาด บรรยากาศดี บ้านชิดชล รีสอร์ท สิงห์บุรี เหมาะกับการพักผ่อน ในวันสบายๆ พร้อมอุปกรณ์ อ�ำนวยความสะดวกภายในห้องครบครัน

55/5 หมู่ 6 ต�ำบลพรหมบุรี อ�ำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16160 09-3948-2715, 08-1852-0648 FACEBOOK

.indd 143

20/4/2563 15:56:10


รุ่งอรุณ

รี ส อร์ ท

รุ่งอรุณ รีสอร์ท โอบล้อมด้วยผืนน�้ำ ท้องทุ่ง และอากาศบริสุทธิ์ของ อ�ำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี อีกทั้งรายล้อมไปด้วยสถานที่ส�ำคัญทางศาสนา ไม่ว่าจะเป็น วัดอัมพวัน (วัดหลวงพ่อจรัญ), วัดพิกุลทองวรวิหาร(วัดหลวงพ่อแพ), วัดไชโยวรวิหาร, วัดพระนอนจักรสีห์ เรามีบริการห้องพักแบบส่วนตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่ครบครัน แอร์ ทีวี เครื่องท�ำน�้ำอุ่นฯ ถึงแม้เราจะไม่ใช่โรงแรมระดับ 5 ดาวแต่เราพร้อมจะดูแลคุณเหมือนคนในครอบครัว แล้วคุณจะเพลิดเพลินกับประสบการณ์ ใหม่ที่แสนประทับใจในท้องทุ่ง

RO FAMILY

OM

บรรยากาศริมบึง

ห้องพักริมบึง

STANDARD ROOM

รุ่งอรุณรีสอร์ท และ ร้านอาหารรุ่งอรุณฟิชชิ่งปาร์ค WEBSITE

.indd 144

FACEBOOK

ตั้งอยู่เลขที่ 119/2 ต�ำบลโรงช้าง อ�ำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี 16120 036-599-111 08-8460-5150

20/4/2563 16:04:16


รุ่งอรุณฟิชชิ่งปาร์ค ร้านอาหารริมบึง ท่ามกลางธรรมชาติ รุ่งอรุณฟิชชิ่งปาร์ค อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ มีที่นั่งริมบึง ที่สามารถนั่งหย่อนเบ็ดหาปลา ชมนกธรรมชาติชิลล์ๆ สบายๆ รุ่งอรุณฟิชชิ่งปาร์ค เปิดให้บริการมายาวนานกว่า 30 ปี จุดเด่นของร้านนี้คือบรรยากาศร้านที่ให้ความรู้สึกใกล้ชิด ธรรมชาติ เมนูอาหารเน้นความสดใหม่ ปลาหลากหลายชนิด น�ำมาปรุงเป็นเมนูแสนอร่อย ทั้งปลาช่อนเผา ปลาม้าลวกจิ้ม และ ปลาพื้นบ้าน และเมนูแซบๆ อย่าง ย�ำผักบุ้งฟรุ้งฟริ้ง 036-599-111

OPEN E V E R Y D AY 9:00AM - 21:00PM

ัดไ ปลาหมึกย

.indd 145

ส้นึ่งมะนา

ปลาช่อนเผา

20/4/2563 16:04:33


Ad 10

.indd 146

23/4/2563 15:25:54


ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10

บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !

Ad 10

.indd 147

10 th

ANNIVERSARY ISSUE

23/4/2563 15:26:17


พระพุทธปางเปิดโลกมหามงคล วัดตาลเจ็ดช่อ อ�ำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง 148

SBL บันทึกประเทศไทย I อ่างทอง

.indd 148

TARN JED CHOR TEMPLE 20/4/2563 12:56:04


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.