SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 92 - จังหวัดชัยภูมิ

Page 1

นิตยสารแนะน�าแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดชัยภูมิ ประจ�าปี 2562

Magazine

CHAIYAPHUM เมืองสุขภาวะ เมืองธรรมะ และเมืองแห่งชัยชนะ...(ตนเอง)

บ่อน�้าศักดิ์สิทธิ์

“พระพุ ทธชัยภูมิพิทักษ์”

วัดไพรีพินาศ (วัดกลางเมืองเก่า) และ ชีผุด-ชีดั้น หนึ่งใน 108 แหล่งน�้าศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

เผยทัศนียภาพ 360 องศา

ณ วัดผาเกิ้ง

สร้างคนให้มีธรรมดูแลป่า สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าภูเขียว

Vol.9 Issue 92/2019

www.issuu.com

.indd 3

18/5/2562 14:31:18


พระประธาน

00 ป

วัดเ ดีย์

ตั้งอยู่ เลขที่ 6 หมู่ 1 บ้านนาเขิน ต�าบลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ 2

.indd 2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:38:31 PM


วั(วัดดดอแดสายธารธรรม ถาวรชัยศิร) ิ ตังอยู่ ี ้านป่าว่าน หมู่ ตา ลห้วยยาง อาเภอคอนสาร ังหวัดชัยภูม

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 3

3

. - 16/05/2562 18:47:48 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

4

2

(

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4-5).indd 4

หลวง ่อ ต แห่งวัด ูร 20/5/2562 10:13:13


วัด ูร

ังหวัดชัยภูม

กั ก ระ น เ บเน ร

ระ ท รป บร ท

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

(

4-5).indd 5

5

20/5/2562 10:13:17


พระประธาน

6

.indd 6

ุ มประตู SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:34:29 PM


วัดวะตะแบก

(ราษ ร์ศรัทธาธรรม) ตังอยู่เลข ี หมู่ ี ตา ลวะตะแ

้านวะตะแ นนสุรนาราย อาเภอเ ส ต ังหวัดชัยภูม

ย ุ ธ ภาสตี วา เขม น านปตตยา ุ ขสสนต รยาย สา เว วา านมุตตมา ระ ุ ธเ ้าตรัส ระวา าใด เปนคาปลอดภัย เ ือ รรลุ ระน าน และเ ือ า ีสุด ุ ข ระวา านันแล เปนสูงสุดแห่งวา า ังหลาย CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 7

7

. - 16/05/2562 19:34:32 PM


วัดชัยสามหมอ พระอารามหลวง

ระเ มงคลเมธี (ประ ั ชต ) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส ีปร าเ ้าค ะ ังหวัดชัยภูม

วัดชัยสามหมอ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตัง้ อยูถ่ นน ชัยภูม-ิ ภูเขียว หมู่ที่ 6 ต�าบลช่องสามหมอ อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ตั้งวัดเมื่อ พุทธศักราช 2470 มีที่ดินที่ตั้งวัด เนื้อที่ 20 ไร่ 1 งาน 61 ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2530 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาอีกครัง้ เมือ่ ปี พ.ศ.2539 ต่ อ มา ได้ รั บ ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ จาก พระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็น พระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดสามัญ เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดบ้านแก้งคร้อหนองไผ่” โดยชาวบ้านแก้งคร้อ บ้านหนองไผ่ ได้รว่ มกันก่อสร้างเพือ่ เป็นสถานทีท่ า� บุญ เนือ่ งจากเดินทาง ไปบ้านอื่นก็ระยะทางไกล 6-7 กิโลเมตร ทั้งสองหมู่บ้านจึงเห็นสมควร สร้ า งวั ด ระหว่า งกลางหมู่บ้า นทั้ง 2 หมู่บ้า นขึ้นเพื่อความสะดวก แก่ชาวบ้าน และได้สร้างกุฏหิ ลังเล็กๆ ขึน้ จ�านวน 3 หลัง หลังคามุงแฝก สร้างศาลาขึ้น 1 หลัง มุงแฝก เพื่อเป็นสถานที่ท�าบุญ ในปี พ.ศ. 2470 ชาวบ้านได้กราบนิมนต์ พระอาจารย์อาน กับพระ ลูกวัดอีก 3 รูป จากบ้านผักปัง อ�าเภอภูเขียว มาจ�าพรรษา และทีต่ รงนี้ หลวงพ่อชาแหล่ เป็นพระธุดงค์มาปักกลดอยู่เป็นประจ�าระหว่าง

8

โคนต้นไทร ต้นคร้อ ต้นประดู่ ต้นแก้ง ท่านธุดงค์ไปหลายจังหวัด และ หลายประเทศ ท่านได้นา� พระพุทธรูปหินติดตัวมาองค์หนึง่ จากประเทศพม่า ท่านรักมาก ไปไหนมาไหนเอาติดตัวไปด้วย ท่านบอกว่ามีความศักดิส์ ทิ ธิม์ าก ท่านตั้งไว้กราบไหว้บูชาที่โคนต้นไทร ต่อมาไม่นานหลวงพ่อชาแหล่ ก็มรณภาพอยูท่ ตี่ รงนี้ หลายปีตอ่ มาป่าก็ขนึ้ รกมาก เมือ่ ชาวบ้านได้สร้าง วัดขึน้ ตรงนี้ พระอาจารย์อาน ได้นา� พระภิกษุสามเณรญาติโยมชาวบ้าน แผ้วถางขุดปรับพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาวัด จึงได้พบพระพุทธรูปหินพร้อมแผ่นทอง เขียนก�ากับไว้ว่า ใครได้พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์องค์นี้ คือ พระชัยมงคล (พระคุ้มเมือง) ให้เก็บรักษาไว้ให้ดี ให้สร้างเจดีย์ประดิษฐานไว้ ใครได้ กราบไหว้ปรารถนาอะไรก็จะได้สมความปรารถนา พระอาจารย์อานกลัวคนขโมย จึงเอาปูนพอกเอาไว้ ให้คนทัง้ หลาย

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4

.indd 8

18/5/2562 16:39:41


ทราบว่าเป็นพระปูน ตัง้ ไว้กราบไหว้บชู า อยูต่ อ่ มาหลายปีพระอาจารย์อาน ได้ย้ายไปที่อื่น พระทองใบมาอยู่แทน ได้น�าญาติโยมชาวบ้านสร้างกุฏิ เพิ่มอีก จากนั้นมีพระมาจ�าพรรษาต่อมาอีกหลายรูป กระทั่งเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ ได้ส่งพระครูพิศาลชัยคุณ จากวัด หนองบัวลอย อ�าเภอคอนสวรรค์ มาเป็นเจ้าคณะอ�าเภอแก้งคร้อและ เจ้าอาวาสวัดชัยสามหมอ ปี พ.ศ. 2516 จนถึงปัจจุบนั และได้พฒ ั นาวัด มาตามล�าดับ ดังนี้ พ.ศ. 2533 ได้รบั คัดเลือกจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. 2534 ได้รบั คัดเลือกจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างทีม่ ผี ลงานดีเด่น พ.ศ. 2540 ได้รบั คัดเลือกจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นอุทยาน การศึกษาภายในวัด วัดชัยสามหมอ พระอารามหลวง มีเนือ้ ที่ 20 ไร่ 1 งาน 61 ตารางวา แบ่งออกเป็น 4 เขต มีเขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส เขตจัดประโยชน์ และเขตสาธารณะสงเคราะห์ วัดเป็นพิพธิ ภัณ ว์ ตั ถุสถานใต้พระอุโบสถ ชัน้ ล่าง จัดเป็นแหล่งเรียนรูท้ างการศึกษา และเผยแผ่ความรูแ้ ก่พระภิกษุ สามเณร นักเรียนนักศึกษา และประชาชนทั่วไป จัดเป็นสถานเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสาร บริเวณวัดให้มีความสะอาด สงบ ร่มรื่นสวยงาม มีโครงการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมศีลธรรม กิจกรรมวันส�าคัญต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา และทางสถาบันพระมหากษัตริย์ รวมทั้งกิจกรรม ที่เอื้ออ�านวยประโยชน์แก่ชุมชน ได้จัดการปกครองพระภิกษุสามเณร และศิษย์วัดอย่างมีระเบียบ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ค�าสั่งของมหาเถร สมาคม เพื่ อ ความเรี ย บร้ อ ยดี ง ามของคณะสงฆ์ ส ามเณรและศิ ษ ย์ ภายในวัด เพื่อความเจริญรุ่งเรืองแก่พระศาสนาสืบไป

ูชนียวัต ที่ส�าคั วั น รรม

ล หล่ง

าเรียนรู้ทาง าสนา ล

1. มีพระพุทธรูปองค์ประธานภายในพระอุโบสถ 2. มีหลวงพ่อพระชัยมงคล(พระคุ้มเมือง) ภายในพระวิหารเล็ก 3. มีภาพจิตรกรรมประเพณี ีต 12 ครอง 14 ภายในพระอุโบสถ 4. มีภาพจิตรกรรมพุทธประวัติ ภายในพระวิหารใหญ่ 5. มีภาพจิตรกรรมพระเจ้าสิบชาติ และพระเวสสันดร 13 กัณ ์ ภายในศาลาเ ลิมพระเกียรติ 6. มีภาพจิตรกรรมรามเกียรติ์ ท้าวจตุโลกบาลทัง้ 4 ทิศ และบุษบก ไม้สักทอง 4 องค์ ภายในพระมหาเจดีย์สิริชัยมงคล

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 9

9

17/5/2562 11:13:29


ร วัติท่านเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระ พมงคล ม ระจัก ์ ช ก) อายุ 6 พรรษา 66 วิทยฐานะ น.ธ.เอก พธ.ม.กิตติ์ฯ วัดชัยสามหมอ ต�าบลช่องสามหมอ อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ต�าแหน่งทางการปกครอง 1. เป็นเจ้าอาวาส วัดชัยสามหมอ พระอารามหลวง 2. เป็นทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ สถานะเดิม ชือ่ ระจัก ์ นามสกล บรร พ เกิดเมือ่ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2476 บิดาชื่อ นาย บรร พ มารดาชื่อ นางแ ะ บรร พ บ้านเลขที่ 4 หมู่ที่ 20 ต�าบลก�าพี้ อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม บรรพชา อุปสมบท วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2496 ณ วัดหนองขาม ต�าบลก�าพี้ อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม พระอุปชั าย์ พระครูบริรกั ษ์ธรรมกิตติ วัดบรบือสราราม ต�าบลบรบือ อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม พระกรรมวาจาจารย์ พระสมุห์หมั่น จารุวณโณ วัดบรบือสราราม พระอนุสาวนาจารย์ เจ้าอธิการทองสุข สุป โญ วัดดอนงัว ต�าบลก�าพี้ อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วิทยฐานะ พ.ศ. 2490 ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดหนองขาม ต�าบลก�าพี้ อ�าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2500 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก (น.ธ.เอก) ในส�านักเรียนคณะจังหวัดมหาสารคาม พ.ศ. 2552 ได้รบั ปริญญาบัตรพุทธศาสตรมหาบัณ ติ กิตติมศักดิ์ (พธ.ม.กิตติ์ฯ) จากมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย สมณศักดิ์ พ.ศ. 2554 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระเทพมงคลเมธี

ค�าขวั ร จ�าอ�าเภอ ้งคร้อ

แก้งคร้อเมืองอยู่ ผู้คนน่ารัก ศาสนจักรก้าวไกล พระชัยมงคลคู่บ้าน ศาลปู่ด้วงย่าดีคู่เมือง เลื่องลือเขื่อนล�าประทาว ชาวประชาสามัคคี 10

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4

.indd 10

17/5/2562 11:13:35


Wat Chai Sam Mo Royal temple

“ ”

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 11

11

17/5/2562 11:13:45


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

วัวัดดห่ง ารีรี า งล ิจาวนาราม รรมที่ส่งเสริม ีล รรม ระครูประ ั ธรรมาวุธ ธมมาวุ ธ ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัดครคงคาวนาราม เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูท่ ตี่ า� บลช่องสามหมอ อ�าเภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ สร้างเมือ่ พุทธศักราช 24 1 โดยนายชาร ผยแสงพัน ์ เปรียญธรรม 6 ประโยค ผูใ้ หญ่แดง ผูช้ ว่ ยผุย พร้อมด้วยชาวบ้านแก้งคร้อ บ้านหนองไผ่ ได้รว่ มกันสร้างขึน้ ทีช่ อ่ งสามหมอ ต�าบลแก้งคร้อ อ�าเภอภูเขียว เพือ่ ให้เป็นสาขาของวัดชัยสามหมอ ในสมัยนัน้ ได้เนือ้ ทีป่ ระมาณ 100 ไร่เศษ และปักหลักหมายเขตเสร็จในวันเดียวกัน ต่อมาได้ชักชวนบ้านแก้งคร้อ และชาวบ้านหนองไผ่ ไปแผ้วถางป่าสถานที่เพื่อสร้างกุฏิและศาลา ชัว่ คราวขึน้ และได้ไปนิมนต์พระอาจารย์สงั ์ อนาล ย มาเป็นเจ้าอาวาส จากอ�าเภอภูเขียว พร้อมพระลูกวัดอีก 2 รูป มาจ�าพรรษา ปี พ.ศ. 24 1 หลังจากนั้นท่านได้น�าพระภิกษุและญาติโยม ชาวบ้านแก้งคร้อ และ บ้านหนองไผ่ พัฒนาวัดคีรีคงคาวนารามเรื่อยมาตามล�าดับ โดยมี เจ้าอาวาสวัดชัยสามหมอ เป็นผู้ให้การอุปถัมภ์ทุกอย่าง ต่อมา พระครอดล สล นั ์และคณะศรัทธาร่วมกันสร้างพระพุทธ รูปใหญ่ หน้าตักกว้าง 3 เมตร สูง 4 เมตร เสร็จในปี พ.ศ. 2499 และ จัดงาน ลองวัดและพระพุทธรูปใหญ่ เป็นการ ลองกึง่ พุทธกาล ปี พ.ศ. 2500 จึงได้ไปกราบนิมนต์ สมเด็จพระพุฒาจารย์ สมัยด�ารงสมณศักดิ์ เป็น พระพมล รรม สังฆมนตรีว่าการองค์การปกครองวัดมหาธาตุ 12

ยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร มาเป็นประธานในการเปดงาน ลองวัด ลองพระพุทธรูปใหญ่ และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ อีกทั้งเปดส�านัก วิปัสสนากรรมฐานวัดคีรีคงคาวนาราม ต�าบลแก้งคร้อ อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิในคราวเดียวกัน ปัจจุบัน วัดคีรีคงคาวนาราม เป็นวัดที่มีสัดส่วน สะอาด สงบ ร่มรื่น สวยงาม อาคารเสนาสนะมั่นคงเป็นระเบียบเรียบร้อย มีการจัดการ ศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรและประชาชน และจัดกิจกรรมที่ส่งเสริม ศีลธรรม จัดกิจกรรมวันส�าคัญต่างๆ และกิจกรรมทีเ่ อือ้ อ�านวยประโยชน์ แก่ชุมชน จัดการปกครองพระภิกษุสามเณรและศิษย์วัดอย่างมีระเบียบ โดยปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบค�าสัง่ ของมหาเถรสมาคม จัดท�าแผนงานเพือ่ พัฒนาวัดอย่างต่อเนื่อง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

2

.indd 12

17/5/2562 9:43:09


ชู นียวัต ทีส่ า� คั หล่งท่องเทีย่ วทางวั น รรม ล รรมชาติ

1. มีพระเจ้าใหญ่มีชื่อว่า สมเด็จพระมหาพุทธปฏิมา สัมมาสัมพุทธสาน ฒาไตรรัสสหัสสมหามุนีโลกนาถปฏิมากร (สถิตอยู่ที่วัดคีรีคงคาวนาราม) 2. มีพระพุทธมงคลหลวง 3. มีรอยพระพุทธบาท 4. มีรูปเหมือนหลวงพ่อเจ้าคุณ พระเทพมงคลเมธี ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ 5. มีพญาชาลวัน(จระเข้) 1 ตัว และมีหมอปราบพญาชาลวัน 3 หมอ 6. มีหมาบักทอกใหญ่ 1 ตัว และยางแบกหิน 7. มีภาพจิตรกรรมแดนนรก และแดนสวรรค์ เป็นเครื่องเตือนสติ . มีอนุสาวรีย์จารย์ด้วง และศาลหลักเมือง 9. มีลา� ห้วยสามหมอ โขดหินธรรมชาติ ป่าไม้ และภูเขาล้อมรอบวัด

ร วัติท่านเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระคร ระจัก ์ รรมาว ายา มมาว นามสกุล รวงยาง อายุ 55 พรรษา 35 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.3 พธ.บ วัดคีรคี งคาวนาราม ต�าบลช่องสามหมอ อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ สถานะเดิม ชือ่ ลม นามสกุล รวงยาง เกิดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2505 บ้านเลขที่ 5 หมู่ที่ 7 ต�าบลหนองชัยศรี อ�าเภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์ บรรพชา อุปสมบท เมือ่ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2527 ณ วัดหนองหงส์ จังหวัดบุรรี มั ย์ พระอุปชั าย์ พระครรั นสรา บาล วัดหนองหงส์ พระกรรมวาจาจารย์ จ้าอ การรั น์ วัดเว ุวนาราม อ�าเภอหนองหงส์ พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการบุญจันทร์ วัดศรีเจริญคุณ อ�าเภอหนองหงส์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2551 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรเจ้าคณะต�าบลชัน้ เอก (จต.ชอ.) ในราชทินนามเดิม

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 13

13

17/5/2562 9:43:27


H ISTO RY OF BU DDHI S M

วัดสะ านหน ชิ ช ูม ิ ั ม

ิ ช

เ ทบั น รก กรไทย บั ระก ร บ เ เ ระ รย

ทร ย

ส มหา ุ ธา าประ าน ร วัดสะ านหน

14

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 14

21/5/2562 17:25:49


ทัน CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 15

21/5/2562 17:25:54


EDITOR’S TALK

TALK

EDITOR’S

SBL

ย ภู

ั ิ ยิ ชัยช ู

ั ิ ั ั ย ม ม ิ ม ั ั ชัยภูมิ ม ั ั ชัยช ั

ิ ั ั ม

อตตา หเว ชต เสย ย ชนะตนนันแหละเปนดี ั

ั ั ยยิม

ิ ั ม ิ

ย ม ย ั ั ย

อั รา ง

บรรณาธิการอ�านวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Website

ยยิม ม

ิ ย

ย ั

ิ ย ย

ั ั

ิลปรังสรร

ัม ั ย ย ช ย ม ชิ มม ิ ม ย ม ั

ัภ

ิ มม ิ ม ั ู

ั ิ

ช ย ั ยม ิ ม ม ิ ั ั ั ชัยภูมิ

ัย ยู ย ม

ชั

ชิ

Facebook

บริษัท สมาร์ท บิ ิเนส ไลน์ �ากัด ทร

6 นนรามอินทรา ขวงอนสาวรีย เขตบางเขน รงเท 11 1 บันท ร เท ทย

Editor's talk

.indd 16

1

มอหินขาว หนอง ัวแดง

. - 18/05/2562 17:05:54 PM


CHAIYAPHUM SBL MAGAZINE 2019

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�านวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ูจัด าร

ภูษิต วิทยา

ะทีมงาน

ถาวร เวปุละ ธนิน ตั้งธ�ารงจิต พร้อมพงศ์ สืบด้วง สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ูจัด าร ายประสานงานขอมูล นันท์ธนาดา พลพวก

าช

นสานสิท ิ ชติ

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ายประสานงานขอมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค

นั เขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายศิลปกรรม

ูจัด าร าย ิลป รรม

พัชรา ค�ามี

รา

ดี น

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย

ช่างภา

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดี อ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

ั ชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ูจัด าร าย ารเงิน

สุจิตรา แดนแก้วนิต

ารเงิน

ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา

น�า ดทั ลาว

Editor's talk

.indd 17

อนสาร

www.sbl.co.th

บริษัท สมาร์ท บิ ิเนส ไลน์ �ากัด

. - 18/05/2562 17:05:59 PM


ฉบับที่ 92 จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2562

C H A I YA P H U M 2 0 1 9

CONTENTS

งเทรา

จังหวัดชัยภูมิ

ท่องเที่ยว ท้อง ิ่น ร บ้าน ล ร รรม าน เดินสาย 1 วัดท�าบ ิบัติ รรม

วัดชัยภูมิพิทักษ์ (ผาเกิ้ง)

08

วัดชัยสามหมอ พระอารามหลวง

เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดบ้านแก้งคร้อหนองไผ่” โดยชาวบ้านแก้งคร้อ บ้านหนองไผ่ ได้ร่วมกัน ก่ อ สร้ า งเพื่ อ เป็ น สถานที่ ท� า บุ ญ ทั้ ง สองหมู ่ บ ้ า นจึ ง เห็ น สมควรสร้ า งวั ด ระหว่ า งกลางหมู ่ บ ้ า น ทั้ง 2 หมู่บ้านขึ้นเพื่อความสะดวกแก่ชาวบ้าน

12

วัด ีรี ง าวนาราม

วัดแห่งการศึกษา และกิจกรรมที่ส่งเสริมศีลธรรม สร้างเมื่อพุทธศักราช 2481 โดยนายชารี ผุยแสงพันธ์ เปรียญธรรม 6 ประโยค ผู้ใหญ่แดง ผูช้ ว่ ยผุย พร้อมด้วยชาวบ้านแก้งคร้อ บ้านหนองไผ่ ได้รว่ มกันสร้างขึน้ ทีช่ อ่ งสามหมอ ต�าบลแก้งคร้อ อ�าเภอภูเขียว เพื่อให้เป็นสาขาของวัดชัยสามหมอ

22

ใตร่มพระบารมี

รงการอันเนื่องมา ากพระราชด�าริ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าภูเขียว

Ebook Chaiyaphum

.indd 18

เพื่อให้การอนุรักษ์ผืนป่าเป็นไปได้จริงต้องสร้างคนในพื้นที่ให้มีธรรม เพื่ออยู่ร่วมกับป่าและเป็นผู้ดูแลป่าอย่างสมดุล

. - 20/05/2562 10:27:33 AM


118 34 08

น�้าตกตาดโตน @เมือง

28

62

86

123

30

64

90

124

34

66

94

134

40

70

96

44

74

98

76

100

144

78

112

146

80

118

150

ท�าเนียบ ร สัง า ิ าร วัด รี ินา วัด ลางเมองเ ่า วัดชัยภูมิวนาราม

ูนย ิบัติ รรม ร ท บาทภูชาติ

วัดชม ลสวรรค วัดตาลนา ง

วัด ลางหม่น ้ว มหาวิทยาลัยมหาจ าลง ร ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสง ชัยภูมิ

50

วัด นนสูงส อาด วัดสว่างอารม ชมชน นนสาทร วัด ิม ลี บ้านงิ้ว

วัดบูร า

54

วัด ค สว่าง

วัด ทมชาติ

58

วัดอดร

บันท เส้นทางความเ นมา วัด ทมาวาส วัดอัม วัน วัด ดยาง วัด ู่ ดง วัดเจริ

บันท เส้นทาง ารท่องเที่ยว วัด

วัดเขต

ิ รี

วัด รี งชัย วัดชัยภูมิ ิทั

าเ ิ้ง

วัด า ิลางาม วัดเต่า ห ่

136

วัดหนอง ห

138

วัดเว วันวราราม วัดรา ี

วัดเลียบน�้า หล วัดบ้านหลบงิ้ว

วัด ูลทรั ยลาด ห ่

ต า บาน

.indd 19

ร ยป บานประตูศาลาการเปรียญ ิ

ากปร . - 20/05/2562

10:27:39 AM


ฉบับที่ 92 จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2562

C H A I YA P H U M 2 0 1 9

CONTENTS

าลเจ้า ่อ

152

178

156

180

160

182

164

186

168

190

172

193

174

196

วัดนิคม

วัดชน จินดาราม วัดหนองม่วง วัดม เ ลอ วัดหนองลู ช้าง วัด ทมชาติ

Ebook Chaiyaphum

.indd 20

าล

วัดหนอง สน

วัดบูร

วัดเ ชรภูมิสวรร วราราม วัดบางอ�า ัน วัดบงชวน วัดหนอง ร ดู่ วัดหนอง ั ว่น วัด ร ชาสรรค วัดบ้าน นนม่วง

. - 20/05/2562 10:27:45 AM


196 208

พระธาตุชัยภูมิ @แก้งคร้อ

จุดชมวิวผาหัวนาค @เมือง

306

202

232

256

280

206

234

258

284

208

238

260

286

244

264

290

220

246

266

294

226

252

273

306

228

254

276

วัดบ้านหนองบัวน้อย วัดว ต บ รา ร รัท า รรม วัดเขา ร ตูชม ล

214 วัดเท

ิทอง

วัดยางเ ี่ยว วัดส านหิน วัด งขนเ ชร

.indd 21

วัดเขาบังเหยชม ลสีมาราม วัดเขาหวด นารั วัดบงบาล วัดน�้าอ้อม วัดบัวบาน วัดเ อ ง วัด ิลาดาด

วัดสง่าคงคาราม วัด สม

วัดภูเขาทอง วัด าสวรรค วัดสว่าง สงอร วัดเจดีย

วัดมงคล รี วัด าวรชัย ิริ วัดด้อ ด้สาย าร รรม วัดลาดชม ล วัดห้วยหิน น รายช่อวัด 1

วัด

วัด �้าสัจจ รรม

วัด าเร ร

. - 20/05/2562 10:27:53 AM


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE รงการอันเนื่องมา ากพระราชด�าริ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าภูเขียว จาก มอ พ พระบา สม ดจพระ รมน รมหา มพล อดลย ดช และสม ดจพระนาง จ้า พระบรมราชนนา สดจพระราชดา นน ดย ลคอ อร์ผ่าน รัก าพัน ์สั ว์ า ยว และมพระราชดาร นว่า “พน บน ยว น ราบสง กว้าง วาง พน อดมสมบร ์ หมาะแก่ การ น อย่อา ยั องสั ว์ าดังนันจงควรจัด ห้ นสวนสั ว์ า ด” และ พอ ห้การอนรัก ผ์ น า นไ ได้จรง ้องสร้างคน นพน ห้ม รรม พออย่ร่วมกับ าและ นผ้ดแล าอย่างสมดล ครงการอัน นองมาจากพระราชดาร ส าน พาะ ลยงสั ว์ า ยว จง กด นนับแ ่นันมา ครงการอัน นองมาจากพระราชดาร ส าน พาะ ลยงสั ว์ า ยว งอย่ ั บร ว บ้าน า ย ดม าบล ่งลยลาย อา อคอนสาร จังหวัด ชัย ม มพน ระมา ไร่ นส าพ นน า อดยาวไ าง ้ สงจากระดับนา ะ ล ระมา ม ร รอบ พน มลัก ะ น นน า ส าพดนส่วน ห ่ นดนร่วน และ ดนลกรังผสมหน นบางแห่ง ส าพ า น า งรัง และพชอาหารสั ว์ ลก น หม่ ช่น ไ ร มะ าม อม หว้า ะ บ และไผ่ น ้น 22

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 22

17/5/2562 13:47:08


History จากพระราชดารดังกล่าว างกอง พั าค กองบั ชาการ ผสมพล รอน ารวจ หาร พ ชัย ม รัก าพัน ์ สั ว์ า ยวและมหาว ยาลัย อนแก่น ดยความร่วมมอจาก หน่ ว ยงานราชการอกหลาย ายได้ ร ่ ว มกั น จั ด า ครงการ ่าง นได้แก่ ครงการพั นา หม่ บ ้ า น ครงการพั นาการ ก า ระชากร ครงการสงวน และค้ ม ครองสั ว์ า และ ครงการ พาะ ลยงและ ยาย พัน ์สั ว์ า งดา นนการ ดย าย พาะ ลยงและ ยายพัน ์ สั ว์ า กองอนรั ก ์ สั ว์ า กรม าไม้ ะนัน ดยการ จั ด ั งส าน พาะ ลยงสั ว์ า ยว นบร ว หม่บ้าน า ย าบล ง่ ลยลาย อา อคอนสาร จั ง หวั ด ชั ย ม ั งแ ่ พ น ้นมา

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 23

23

17/5/2562 13:47:09


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

เพื่อใหการอนุรักษ์ผืนป่า เปนไปได ริง ตองสราง นในพื้นที่ ใหมีธรรม เพื่ออยู่ร่วมกับป่า และเปนผูดูแลป่าอย่างสมดุล

วั

ระสงค์

1. เพื่ อ เพาะเลี้ ย งสั ต ว์ ป ่ า หายาก ใกล้สูญพันธุ์ และสัตว์ป่าที่มีคุณค่าทาง เศรษฐกิจ 2. เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย ด้านการ เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่า 3. เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย ด้านการ ปรับปรุงพันธุ์สัตว์ป่า 4. เพื่อศึกษา ค้นคว้า วิจัย อาหาร สัตว์ป่า 5. เพือ่ ศึกษา ค้นคว้า วิจยั โรคสัตว์ปา่ 6. เพือ่ บริการวิชาการเพาะเลีย้ งสัตว์ปา่ ระยะเวลาด�าเนินงาน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2527 ด�าเนินการต่อเนื่องตลอดไปมา จนถึงทุกวันนี้ 24

ลัก

ะการดา นนงาน

หลังจากโครงการได้เริ่มด�าเนินงาน เมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยฝ่ายเพาะเลี้ยง สัตว์ป่า กองอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมป่าไม้ (ขณะนัน้ ) งึ่ ได้รบั งบประมาณสนับสนุน จาก กปร.ในปีแรก และงบประมาณ ปกติจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชในปีต่อๆ มา ลักษณะการ ด�าเนินงานมีดังนี้ 1. ปรับปรุงสภาพพื้นที่ให้เหมาะสม กับการเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าและพักผ่อน หย่ อ นใจโดยการปรั บ ปรุ ง ปลู ก สร้ า ง เสริมป่าทั้งพืชอาหารสัตว์และไม้ร่มเงา ปรับปรุงแหล่งน�้าเพื่อเก็บไว้ใช้ตลอดปี และปรับปรุงสภาพพื้นที่ส�าหรับเพาะ

เลี้ยงสัตว์ป่าและพื้นที่ส�าหรับพักผ่อน หย่อนใจ 2. ก่อสร้างส�านักงาน บ้านพักเจ้า หน้ า ที่ แ ละคนงาน รวมทั้ ง กรงและ คอกส�าหรับเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า ตามงบ ประมาณที่ ได้รับการจัดสรรในแต่ละปี 3. จั ด หาพ่ อ -แม่ พั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า เพื่ อ เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์อย่างต่อเนื่อง 4. เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์สัตว์ป่า ให้มีจ�านวนเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง 5. ด�าเนินการปองกันและรักษาโรค สัตว์ป่าอย่างต่อเนื่อง 6. ศึกษา ค้นคว้าและวิจัยเกี่ยวกับ การเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าอย่างต่อเนื่อง 7. ส่ ง เสริ ม เผยแพร่ ค วามรู ้ ด ้ า น

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 24

17/5/2562 13:47:10


สัตว์ป่า การเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าและการ อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในและนอก สถานที่ . ปรับปรุงตกแต่งสถานที่ ปลูกพืช อาหารสัตว์ป่าและดูแลเพาะเลี้ยงและ ขยายพันธุ์สัตว์ป่าอย่างต่อเนื่อง

การ ผยแพร่และสงอานวยความ สะดวก ห้บรการแก่ ระชาชนดังน

นอกจากงานศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการ เพาะเลี้ยงสัตว์ป่า เพาะเลี้ยงและขยาย พันธุ์สัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์และ สัตว์ป่าที่มีค่าทางเศรษฐกิจให้มีจ�านวน มากขึ้ น เพื่ อ เป็ น แหล่ ง บริ ก ารข้ อ มู ล วิ ช าการและเตรี ย มพร้ อ มพ่ อ แม่ พั น ธุ ์

สัตว์ปา่ แก่ประชาชนทีส่ นใจจะเพาะเลีย้ ง สัตว์ป่า ทั้งไว้ดูเล่นและหรือเพื่อการค้า เมื่อกฎหมายเอื้ออ�านวยแล้ว สถานีฯ ยังจัดเป็นสถานทีท่ ศั นศึกษาและท่องเทีย่ ว แห่งหนึ่งของจังหวัดชัยภูมิ แต่ละปีมี ประชาชนรวมทัง้ นักเรียน นิสติ นักศึกษา จากสถาบันต่างๆ เข้ามาใช้บริการเป็น จ�านวนมาก สถานีฯจึงได้จัดเตรียมเจ้าหน้าที่ไว้ เพื่อบริการข้อมูลโดยเ พาะที่ติดต่อเข้า มาเป็นหมู่คณะ มีห้องส�าหรับบรรยาย ก่อนเข้าเยี่ยมชมกิจกรรมของสถานีฯ มี ปายค�าขวัญตามเส้นทางภายใน และมี ปายสือ่ ความหมายให้ความรูส้ ตั ว์ปา่ ตาม กรงเลี้ยงแก่ผู้เข้าเยี่ยมชม

นอกจากนีส้ ถานีฯยังได้พยายามจัดแต่ง ภูมทิ ศั น์เพือ่ ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ความสวยงาม ให้ ผู ้ เ ข้ า มาเยี่ ย มชมมี ความรู้สึกผ่อนคลาย สามารถเก็บเกี่ยว ความรู้และสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครัวหรือระหว่างหมู่คณะได้ อย่าง เต็มที่ ด ห้ ้า ยยมชม ตั้งแต่เวลา .30-16.00 น. ทุกวัน โดยจะมีเจ้าหน้าที่คอยให้ความรู้เกี่ยว กับสัตว์ปา่ แก่คณะทีต่ ดิ ต่อล่วงหน้า หรือ ตามโอกาสอ� า นวย ส� า หรั บ ที่ พั ก แรม สถานีฯ มีที่พักให้ได้ประมาณ 10 คน และสามารถติดต่อบ้านพักของหน่วย จัดการต้นน�้าทุ่งลุยลาย เขื่อนจุ าภรณ์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว ึ่งอยู่ ห่างจากสถานีฯ ประมาณ 7 กิโลเมตร กิโลเมตร และ 30 กิโลเมตรตามล�าดับ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 25

25

17/5/2562 13:47:10


พักกาย...สบายใจ...ในธรรมชาติอนั รื่ นรมย์

Phusuay Park View ักกาย สบาย

ท สวยปาร วิว

สวยปาร วิว ทา กลา ธรร าติอนั รนร ย กลินไอ วา อบอน กลส านททอ เทยวทนาสน อ ั วัด ัย ิ รอ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน เลอกสรรไวส�า รับ ณ ทน

โรงแรมภูสวยปาร์ควิว ตัง้ อยูต่ ดิ ถนนชัยภูมิ แก้งคร้อ ใกล้สถานที่ ท่องเทีย่ วทีน่ า่ สนใจของจังหวัดชัยภูมมิ ากมาย อีกทัง้ ยังเปนเส้นทางหลัก ในการเดินทางไปยังจังหวัดต่าง ในภาคอีสาน พร้อมด้วยห้องพักสไตล์ บูทีคโ เทล เฉดสี มีให้เลือกหลายระดับ เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอ�านวย ความสะดวกมากมาย อาหารอร่อย เดินทางสะดวก รายล้อมไปด้วย ธรรมชาติและบรรยากาศชานเมือง เหมาะส�าหรับการพัก ่อน ดื่มด�่ากับ ธรรมชาติอันร่มรื่น หลุดพ้นจากความแออัดภายในตัวเมือง ตอบโจทย์ ส�าหรับทุกการพัก ่อนจนคุณต้องประทับใจ 26

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

1.5

+

0.5

.indd 26

16/5/2562 14:34:49


บริการ ห้องประชุม ห้องอาหาร ร้านกาแ สิ่ ง อ� า นวยความสะดวก ที่ จ อดรถ บริการในห้องพัก บริการ ักรีด สถานที่ท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติตาดโตน มอหินขาว เขื่อนล�าปะทาว อนุสาวรีย์พระยา ภักดีชุมพล แล ศาลเจ้าพ่อพระยาแล อุทยาน แห่งชาติปาหินงาม ทุ่งดอกกระเจียว และเขื่อน จุ าภรณ์ ภูสวยปาร วิว หมู่ ถนนชัยภูมิ แก้งคร้อ ต�าบลบ้านเล่า อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ

ส�ำรองห้องพัก 044-854-111, 080-153-1331 phusuayparkview@hotmail.com 0801531331 ก ร ร สวยปาร วิว

Phusuay Num Sai ภูสวย น�า ส รีสอรท สวย น�า ส รสอรท ท กั ทา กลา บรรยากาศริ บึ กั ป สวนดอกไ ไ ประดับ อันรนร ย รอ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน

2

1.5

+

0.5

.indd 27

ส�ำรองทีพ ่ ัก

หมู่ ถนนภูเขียว ชุมแพ ต�าบล ักปัง อ�าเภอภูเขียว LOP BURIwww.phusuaygroup.com I SBL บันทึกประเทศไทย 27 จังหวัดชัยภูมิ

16/5/2562 14:35:00


ท�ำเนียบพระสังฆำธิกำร ังหวัดชัยภูมิ

ระเท บ เ

พระศรีสัจญาณมุนี (สุมินทร์ ป.ธ.๙)

พระราชชัยสิทธิสุนทร(ฉวี ป.ธ.๖) ร เ

ะั

ั ัย

ร เ

พระครูพิทักษ์ชยานุกิจ(กิตติพศ) เ

28

SBL บันทึกประเทศไทย I

นก รเ

ะั

ะั

ั ัย

ะั

น กร ป ั ัย

ทปรึก เ

ั ัย

พระมหาโยธิน โยธิโก ป.ธ.๙ เ

พระสุนทรปริยัติกิจ (อร่าม ป.ธ.๔)

พระเทพมงคลเมธี(ประจักษ์) จล.

นก รร เ

ะั

ั ัย

ะั

ั ัย

ทปรึก เ

ะั

ั ัย

พระครูปลัดพีระพันธ์ ธมฺมวุฑฺโฒ เ

นก รร เ

ะั

ั ัย

ชิ

.indd 28

18/5/2562 14:11:03


พระปริยัติกิจวิธาน(สมวงษ์ ป.ธ.๗) เ

ะ เ เ

พระครูจันทโพธานุวัตร(โพธิ์ทอง)

ัย

ะ เ

ั รั

พระครูสิริเมตตาธรรม (สิริพงศ์ ป.ธ.๕)

พระครูชยานันทคุณ

พระครูสุวิมลพุทธิสาร

พระครูพินิจสมณวัตร(เพิ่ม)

ะ เ

เย

ะ เ บ นเ

ะ เ

ัก

พระครูอนุรักษ์ชัยคุณ

พระครูกัลยาณ์กิจจานุกูล เ

ะ เ เก ร บร

ะ เ บเ น

ะ เ

พระครูปริยัติโพธิสาร(กิตติวัฒน์)

น บั ระเ

ะ เ

พระครูนันทเจติยาภิรักษ์(ไพรัตน์) เ

ะ เ

น ร

พระครูบรรพตวิหารการ(สมพร) เ

ะ เ เท

พระครูอรรถธรรมโกศล(สุนทร) เ

พระครูสุตชัยคุณ(วุฒินันท์)

น รร

ะ เ เนน

ะ เ

ก ร

พระครูสิริวชิรากร เ

ะ เ บ น ทน

พระครูสุวรรณจันทรังษี(ค�ามุ) เ

ะ เ

น บั

พระครูวิบูลคุณากร(ครรชิต) เ

ะ เ

ับ

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

18/5/2562 14:11:13


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด รี นา ั

รา รอย ระ ุ ธ า าลอง ู ั

ิ ย ม

ิยม

นักป บั รร ประ ั ั ัย ท

ระราชชัยส ธสุน ร ( วี มห ธ น สวง ป ธ ) ั

ั ชัยภูมิ ิ ั

ระ ทนประ

น ระบร

รรก

ระประ น น บ

เขตพุทธาวาสและสังฆาวาส มีเนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ อาณาเขตด้านทิศเหนือประมาณ 2 เส้น

วัดไพรีพินาศ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล เมืองชัยภูมิ เลขที่ 360ข บ้านเมืองเก่า ถนนเมืองเก่า ชุมชนเมืองเก่า ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบัน พระราชชัย สิ ท ธิ สุ น ทร ( วี มหทธโน สวงโท) (น.ธ.เอก ป.ธ. 6 พธ.ด. กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ ) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะ จังหวัดชัยภูมิ

30

จรดชุมชนหนองบัว ทิศใต้ประมาณ 2 เส้น จรดทีด่ นิ นางบุญนาค วัชราธร ทิศตะวันออกประมาณ 2 เส้น 9 วา จรดที่ดินนายภู บุญญานุสนธิ์ ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 13 ตารางวา จรดถนนเมืองเก่า และมีที่ธรณีสงฆ์ จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 2 งานเศษ โ นดที่ดินเลขที่ 2 39 อยู่ตรงกันข้ามถนนในทิศตะวันตกด้านหน้าของวัด ตามประวัติความเป็นมา วัดไพรีพินาศ เดิมชื่อว่า “วัดบ้าน นน อบด” ในสมัยพระยาภักดี ชุมพล (เกตุ) เป็นเจ้าเมืองชัยภูมิคนที่ 2 (ในสมัยรัชกาลที่ 3) ได้ย้ายที่ว่าราชการเมืองจาก บ้านหนองปลาเฒ่า (บ้านหลวง) มาอยู่บ้านโนนปอบิด (บ้านหนองบัว-เมืองเก่าในปัจจุบัน) ตามหลักฐานทางราชการระบุว่าวัดนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2315 ในสมัยกรุงธนบุรี และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2362 (กว้าง 1 เมตร ยาว 32 เมตร) ต่อมา พระครูหลักค�า หรือ พระครูปรีชาชินวงศาจารย์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิรูปแรก ร่วมกับชาวบ้านบูรณะวัดบ้านโนนปอบิด (เพราะมีต้นปอบิดเป็นจ�านวนมากที่ใช้เป็นสมุนไพร รักษาโรคได้) ขึ้นคู่กับเมืองใหม่แล้ว ได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น “วัดกลาง” เพราะตั้งอยู่ระหว่าง บ้านหนองบัวและบ้านโนนปอบิด

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 30

16/5/2562 18:09:09


ในปี พ.ศ. 2406 พระยาภักดีชุมพล (ที) เจ้าเมืองชัยภูมิคนที่ 4 ึ่งเป็นบุตรชาย พระยาภักดีชุมพล (แล) (สมัยรัชกาลที่ 4) ได้ย้ายจวนเจ้าเมืองมาตั้งเมืองใหม่ที่ บ้านหินตัง้ (บริเวณศาลากลางจังหวัดชัยภูมใิ นปัจจุบนั ) เพราะเห็นว่าสามารถจะขยับ ขยายเมืองได้มากขึน้ ส่วนชาวบ้านโนนปอบิด ได้เปลีย่ นชือ่ หมูบ่ า้ นใหม่เป็นบ้านเมืองเก่า ส่วนวัดได้ชื่อว่า “วัดกลาง มอง ก่า” ต่อมาในปี พ.ศ. 2549 สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้ประทานนามวัดใหม่เป็น “วัดไพรพนา ” ในพระสังฆ ราชูปถัมภ์

ป ัก

ระ รปร

น ศ

รย

หลวงปู่หลักค�า มีนามเดิมว่าพระอาจารย์สิงห์ หรือ เจ้าหัวครูสิงห์ ตามค�าบอกเล่าว่าท่านเดินทางมาจาก บ้านตาลเดี่ยว อ�าเภอโคกส�าโรง จังหวัดลพบุรี ได้รับ พระราชทานสมณศักดิเ์ ป็นพระครูปรีชาชินวงศาจารย์ และ เป็นเจ้าคณะแขวงเมืองชัยภูมิ รูปแรกในสมัยพระยาภักดี ชุมพล (เกตุ) เป็นเจ้าเมืองชัยภูมิ คนที่ 2 (พ.ศ. 237023 4) ท่านเป็นพระธุดงค์ที่เคร่งครัดในธุดงควัตร เมื่อได้ ท่านธุดงค์เรื่อยมาจากแผ่นดินบ้านเกิดท่านจนถึงเมือง ชัยภูมิ ญาติโยมบ้านโนนปอบิด เห็นจริยาวัตรที่งดงาม จึงได้นมิ นต์ให้จา� พรรษาทีว่ ดั กลางเมืองเก่า ต่อจากเจ้าหัว ครูวั่มที่เป็นอดีตเจ้าอาวาส ึ่งได้มรณภาพลง หลวงปู่หลักค�าเป็นพระสุปฏิปันโน มีคุณวิเศษโดย เ พาะเรื่องความอยู่ยงคงกระพันและทางเมตตานิยมจน ปรากฏเป็นเลื่องลือมากในสมัยนัน้ เช่น มีเหตุการณ์หลาย ครัง้ ทีม่ โี จรมาขโมยทรัพย์สนิ หรือของมีคา่ ของชาวบ้าน ชาว บ้านได้มาขอพึ่งบารมีของหลวงปู่ให้ช่วยติดตาม กลุ่มโจร ก็ยงิ หลวงปูจ่ นกระสุนปนหมด แต่กไ็ ม่สามารถท�าอันตราย ได้ มีเพียงแต่ทา� ให้สบงและจีวรช�ารุดไปบ้างเท่านัน้ ในทีส่ ดุ กลุ่มโจรก็ยอมจ�านนและคืนทรัพย์สินให้ ทราบถึงทาง มณ ลนครราชสีมาจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าคณะแขวง เมืองชัยภูมิ นอกจากนั้น ก็ยังมีปฏิปทาอื่นๆ อีกที่หลวงปู่ ได้น�าความเลื่อมใสและสร้างคุณงามความดีให้ปรากฏ ทั้ ง แก่ ส ่ ว นรวมและพระพุ ท ธศาสนา แม้ ใ นปั จ จุ บั น บุญญาภินหิ ารของหลวงปูห่ ลักค�าก็ยงั คุม้ ครองรักษาให้ผทู้ ี่ ไปขอพรได้ส�าเร็จดังปรารถนาจนเกิดมีงานบุญประจ�าปี ถวายหลวงปู่ตลอดมา

ป ัก

มณ ปหลวงปู ่ ห ลั ก ค� า เริ่ ม สร้ า งในปี พ.ศ. 2534

ระ

ป กั

พระครูศรีปริยตั กิ จิ ( วี) เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางเมืองเก่า เป็นมณ ปครอบพระธาตุบรรจุอฐั หิ ลวงปูห่ ลักค�า ลักษณะ เป็นมณ ปทรงจตุร มุข สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคามุงกระเบื้องดินเผาประดับลวดลายหลังคาด้วยปูน ปันและกระจกสี ชั้นล่างก่ออิฐถือปูน กว้าง 10 เมตร ยาว 32 เมตร พื้นปูหินขัด การสร้างมณ ปหลวงปู่หลักค�า เพื่อเป็นอนุสรณ์และ เป็นที่บรรจุอัฐิหลวงปู่หลักค�า ในฐานะเป็นบูรพาจารย์ ของวัด ยังเป็นทีป่ ระกอบพิธกี รรมทีส่ า� คัญในทางพระพุทธ ศาสนา โดยเ พาะอย่างยิ่ง ในงานบุญประเพณีวันเพ็ญ เดือนสี่จะมีการปดทองรูปเหมือนหลวงปู่หลักค�า เป็น ประจ�าทุกปี

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

16/5/2562 18:09:11


ร ยป

ป ัก

าลาร้อย หรือที่เรียกกันว่า “ าลาร้อย หลวง หลักคา” เป็นอาคารไม้ทรงไทย หลวงปู่หลักค�า หรือ พระครูปรีชาชินวงศาจารย์ อดีตเจ้าคณะแขวงเมืองชัยภูมิ พร้อมกับชาวบ้านร่วมกันสร้าง เป็นศาลา การเปรียญทีใ่ ช้ งุ ขนาดใหญ่คนโอบไม่มดิ ท�าเสาคานและเครื่องบนบาก หัวเสาเป็นลิ่มสอดยึดกัน ไม่มีตะปูตอกยึด และไม่มีการฝังเสาลงใต้ดิน ยืนตระหง่านอยู่เป็นร้อยปี ในอดีตเคยเป็นโรงเรียนส�าหรับให้พระภิกษุ สามเณรและเด็กๆ ในหมู่บ้านได้เล่าเรียน ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ ได้รับรองวิทยฐานะเป็นโรงเรียนประชาบาล เปดท�าการเรียนการสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 แบ่งชั้นเรียนโดยไม่มีฝากั้น ห้อง มีม้ายาว 2 เมตร กว้าง 30 เ นติเมตร สูง 20 เ นติเมตร เป็น โตะวางกระดานชนวนเขียนหนังสือ นักเรียนนัง่ กับพืน้ แถวละ 5 คน พ.ศ. 2546 ได้ท�าการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งหลัง ปัจจุบันทางกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณวัตถุแล้ว

ร ทร ัย

ทัศนย

32

ยท

บ น ศัก ท

เมื่อ พ.ศ. 2537 พระครูศรีปริยัติกิจ เจ้าอาวาสวัดกลางเมืองเก่า พร้อมคณะสงฆ์และชาวชุมชนเมืองเก่าได้ปรับพืน้ ทีภ่ ายในบริเวณวัดให้ เป็นระเบียบ จึงได้ชว่ ยกันขุดใบเสมาออกเพือ่ ปรับภูมทิ ศั น์ใหม่ เมือ่ ขุดดิน รอบใบเสมาคู่แรกได้ความลึกประมาณ 60 เ นติเมตร ก็พบเศียร พระพุทธรูป เมื่อยกเศียรพระพุทธรูปออกมา ปรากฏน�้าพุ่งทะลักออก มาจนไม่ ส ามารถขุ ด ต่ อ ไปได้ และไม่ ส ามารถน� า ใบเสมาขึ้ น มาได้ เนือ่ งจากขุดยังไม่ถงึ ฐาน แต่ใบเสมาถูกกระแทกหักครึง่ ท่อนจึงน�าขึน้ มา เก็บไว้ ในคืนนั้นพระภิกษุในวัด 2 รูป ฝันตรงกันว่า มีนักรบโบราณจ�านวน มากมาบอกให้น�าใบเสมาส่วนที่หักไปต่อคืนให้เหมือนเดิม เช้าวันรุ่งขึ้น จึงต้องต่อใบเสมาโดยใช้เหล็กดามไว้ ต่อมาพระภิกษุในวัดฝันอีกว่า ปรากฏสตรีแต่งองค์ทรงเครื่องกษัตริย์ บอกชื่อว่าวสุนธรา เป็นเจ้าของ สายน�้านี้ ึ่งไหลมาจากทางทิศเหนือของอุโบสถ ทางวัดจึงได้ตกแต่ง บ่อน�้าโดยถมทรายปรับพื้นให้สูงขึ้น พ.ศ. 2550 นายศุภกิจ บุญญฤทธิพงษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมใิ นสมัยนัน้ ได้ปรับปรุงพืน้ รอบ บ่อน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ โดยสร้างรัว้ และประตูเป็นแบบศิลปะขอมโบราณ เป็น ทางเข้าบ่อน�้าศักดิ์สิทธิ์ทั้ง 4 ทิศ ทางจังหวัดได้นา� น�า้ ในบ่อนีไ้ ปประกอบ พระราชพิธสี า� คัญๆ อีกด้วย พ.ศ. 2562 เป็นทีป่ ระกอบพิธพี ลีกรรมตักน�า้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เพือ่ ใช้ในการ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จกั รี

กศ

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 32

16/5/2562 18:09:15


ับเ

วัดไพรีพนิ าศ มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนามได้ คือ พระวัม่ พระครูปรีชา

ชินวงศจารย์ (หลวงปู่หลักค�า) อดีตเจ้าคณะแขวงเมืองชัยภูมิ พระต่าย สิทธิวงศ์ พระนรินทร์ สมองดี พระครูวจิ ติ รนิโรธคุณ (โชติ) อดีตเจ้าคณะ อ�าเภอเมืองชัยภูมิ พระต่วน สิทธิวงศ์ พระไสว เสวียงชัย พระมหากอง พรหมเ ยี ง พ.ศ. 24 0-24 4 พระราชมงคลมุนี (ลึก ป ญาวโร วีชยั ) พ.ศ. 24 5-24 6 อดีตเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ พระสุข ไพศาลพันธ์ พ.ศ. 24 6-24 9 พระวิชิต วงศ์สุรศิลป พ.ศ. 24 9-2492 พระครู อาทรชัยคุณ (หลง ยโสธโร) พ.ศ. 2493-2531 ในปัจจุบัน มีพระราช ชัยสิทธิสุนทร ( วี มหทธโน สวงโท น.ธ.เอก ป.ธ.6 พธ.ด. กิติตมศักดิ์) เป็นเจ้าอาวาสวัดไพรีพินาศ และเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ

ประ ั ย เ

พระราชชัยส สน ร ว มห น สวง (น.ธ.เอก ป.ธ. 6 พธ.ด. กิตติมศักดิ์) ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดไพรีพินาศ รองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ ผู้จัดการโรงเรียนวัดกลางเมืองเก่าวิทยา เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ปีกุน ณ บ้านเลขที่ 67 หมู่ 1 ต�าบลลุ่มล�าชี อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ บรรพชา วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2504 วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ มีพระครูพุทธิกรชโยดม อดีตรองเจ้าคณะ จังหวัดชัยภูมิ วัดทรงธรรม ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ เป็นพระอุปัช าย์ อ สมบ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ.2510 วัดศาลาลอย ต�าบล บ้านเขว้า อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ โดยมี พระวีรชัยมุนี อดีตเจ้าคณะ จังหวัดชัยภูมิ วัดทรงศิลา ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นพระอุปัช าย์ พระครูโสภิตชัยคุณ อดีตรองเจ้าอาวาสวัดทรงศิลา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูบุญสิริโสภณ อดีตเจ้าอาวาสวัดทุ่งสว่าง ต�าบลโพนทอง อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นพระอนุสาวนาจารย์

ว ย านะ พ.ศ. 2513 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2517 สอบได้วิชาสามัญชั้นประถมปีที่ 7 สนามสอบบุคคล ภายนอก กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2526 สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค ส�านักเรียนคณะ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2560 ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบณ ั ติ กิตติมศักดิ์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย การ กครอง พ.ศ. 2521 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดกลางเมืองเก่า พ.ศ. 2526 เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองชัยภูมิ พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าอาวาสวัดกลางเมืองเก่า จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2533 เป็นพระอุปัช าย์ พ.ศ. 253 -2540 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวระเหว พ.ศ. 2540 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวระเหว พ.ศ. 2543 ได้รับพระบัญชาแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2544-2547 เป็น ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2556 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�าเภอจัตุรัส สม

ักด พ.ศ. 2514 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นฐานานุกรมที่ “พระครสัง รัก ”์ ของ พระราชชัยมุนี อดีตเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดทรงศิลา อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 252 ได้รบั พระราชทานตัง้ สมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร รองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก ในราชทินนามที่ “พระคร ร รยั กจ” พ.ศ. 2545 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้น สามัญ ในราชทินนามที่ “พระวรชัยสน ร” พ.ศ. 2559 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เ ป็ น พระราชา ชัน้ สามัญ ในราชทินนามที่ พระราชชัยส สน ร รยั ว ร กรสัง กจ มหาค สสร บวรสัง าราม คามวาส” I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 33

33

16/5/2562 18:09:16


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

วัดชัยภูมิวนาราม ส�านักวิปสสนา ประ �า ังหวัดชัยภูมิ แห่งที่

ส�านั เรียน ร ริยัติ รรม ล บาลีที่มีช่อเสียง อันดับหน่งของจังหวัด

ระปรยัต วธาน ( ระมหาสมวง สีลภูส ต) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส และ เ ้าค ะอาเภอเมืองชัยภูม

วัดชัยภูมิวนาราม ตั้งอยู่บนถนนสายชัยภูมิ-ตาดโตน เลขที่ 107 หมูท่ ่ี 4 ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ห่างจากศาลากลางจังหวัด ประมาณ 1 กิโลเมตร มีเนือ้ ที่ 52 ไร่ 10 ตารางวา เลขทีโ่ นด 25576 เล่มที่ 256 หน้า 76 และ เล่มที่ 7192 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั ใบอนุญาตให้สร้างวัดเมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2499 ได้รบั อนุญาต ให้ตงั้ วัดชือ่ วัดชัยภูมวิ นาราม เมือ่ ปี พ.ศ. 2502 และได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2503

ร วัติความเ นมา

วัดชัยภูมิวนาราม ได้ริเริ่มสร้างขึ้นตามค�าแนะน�าของเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสมมหาเถระ) เมือ่ ครัง้ ด�ารงต�าแหน่งเป็น พระพิมลธรรม สังฆมนตรีวา่ การองค์การปกครองสงฆ์ งึ่ ได้เดินทางมายัง จังหวัดชัยภูมิ เพือ่ ตรวจการคณะสงฆ์และท�าพิธเี ปดวัดคีรคี งคาวนาราม ต�าบลช่องสามหมอ อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ โดย นายสวัสดิ์ วงศ์ปฏิทศั น์ 34

ผูว้ า่ ราชการจังหวัดชัยภูมใิ นขณะนัน้ และคณะข้าราชการ พ่อค้า ประชาชน ได้ต้อนรับเจ้าประคุณสมเด็จฯ ในคืนของวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 249 ึ่งท่านได้อบรมสั่งสอนข้าราชการและประชาชน ณ ศาลาการเปรียญ วัดชัยประสิทธิ์ และได้พักแรมจ�าวัด ณ วัดชัยประสิทธิ์หนึ่งคืน และที่ วัดคีรีคงคาวนาราม ึ่งเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาเปด เป็นวัดวิปัสสนา กรรมฐานแห่งแรกของจังหวัดชัยภูมิ ตัง้ อยูห่ า่ งไกลจากตัวจังหวัดประมาณ 40 กิโลเมตร ท่านจึงได้แนะน�าว่า น่าจะมีวดั วิปสั สนากรรมฐานทีต่ งั้ อยู่ ใกล้ตวั จังหวัดอีกแห่งหนึง่ เพือ่ ประโยชน์ในการอบรมประชาชน จากค�าแนะน�าของเจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นทีถ่ กู อกถูกใจของบรรดา ข้าราชการและประชาชน ทีม่ าต้อนรับในครัง้ นัน้ ยิง่ นัก ต่างก็ได้ให้คา� รับรอง ไว้ในที่ประชุมคืนนั้นว่า จะได้ร่วมกันสร้างวัดวิปัสสนากรรมฐานขึ้นให้ ส�าเร็จจนได้ เจ้าประคุณสมเด็จฯได้กรุณาให้ชื่อวัดนี้ไว้ว่า วัดชัยภูมิ วนาราม และมอบเงินก้อนหนึง่ งึ่ ได้จากการบูชากัณ เ์ ทศน์ในคืนนัน้ ไว้ เป็นทุนเริ่มแรกในการสร้างวัด โดยในครั้งนั้น นายสวัสดิ์ วงศ์ปฏิทัศน์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดชัยภูมิ พระยาราชเสนา นายกพุทธสมาคมจังหวัดชัยภูมิ นายผล พันธุป์ ระสิทธิ์ คหบดี ได้ถวายค�าแนะน�าแก่ทา่ นว่า บริเวณทีด่ นิ ว่างเปล่าอันเป็นป่าละเมาะโนนคลองแร่ ต�าบลรอบเมือง ห่างตัวเมือง ประมาณ 1 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 40 ไร่ มีสภาพพืน้ ทีเ่ หมาะสม พร้อมกับอาราธนาท่านไปตรวจดูสถานทีท่ จี่ ะสร้างวัดด้วย เจ้าประคุณสมเด็จฯ เมือ่ ได้ไปตรวจดูสถานทีแ่ ล้ว เห็นชอบด้วยและได้แนะน�าไว้วา่ การสร้างนัน้ ควรจะสร้างตามแบบแผนผังมาตรฐานของกรมการศาสนา เพือ่ เป็นวัด ตัวอย่างเป็นศรีสง่าแก่จงั หวัดชัยภูมิ ให้สมกับชือ่ จังหวัดชัยภูมิ

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

6

.indd 34

18/5/2562 15:32:36


ร วัติ าร ่อสร้าง

วัดชัยภูมวิ นาราม ได้รบั อนุญาตให้สร้างได้ตามใบอนุญาต งึ่ อ�าเภอ เมืองชัยภูมิ ได้ออกให้เลขที่ 1 2499 ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2499 โดยการอนุมัติจากคณะสังฆมนตรี ตามหนังสือกระทรวงวัฒนธรรมที่ 399 2499 ลงวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2499 ในขณะทีด่ า� เนินการอยู่ นัน้ คณะกรรมการสร้างวัดได้อาราธนา พระครูคมั ภีรญ ์ าณมุนี (ลึก ป ญาวโร ป.ธ.6 สมณศักดิใ์ นขณะนัน้ ภายหลังได้เป็นพระราชาคณะ ที่ พระคัมภีร์ ญาณเถระ และ ได้เลือ่ นสมณศักดิ์ เป็น พระราชมงคลมุน)ี ต�าแหน่งศึกษา จังหวัดชัยภูมิ มาเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2499 พร้อมด้วยพระภิกษุตดิ ตาม 6 รูป สามเณร 2 รูป (พระภิกษุผตู้ ดิ ตามรูป หนึง่ คือ พระครูพศิ ษิ ฐ์ขนั ติธรรม เจ้าอาวาสรูปที่ 2) ต่อมาได้รบั อนุญาต ให้ตงั้ วัดชือ่ วัดชัยภูมวิ นาราม เมือ่ ปี พ.ศ. 2502 และได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมา ขนาดกว้าง 40 เมตร ยาว 0 เมตร เมือ่ ปี พ.ศ. 2503

วัด ห่งวิ สสนา รรม าน

ทางวัดชัยภูมวิ นาราม ได้ยดึ ตามนโยบายเจ้าประคุณสมเด็จฯ ทีไ่ ด้วางไว้ โดยจัดให้มกี ารอบรมวิปสั สนากรรมฐาน ตามแนวมหาสติปฏั ฐานของวัด มหาธาตุ ตัง้ แต่วนั ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา ในขณะเดียวกัน พระเดชพระคุณพระราชมงคลมุนี ก็ได้จดั ให้มกี ารศึกษาพระปริยตั ธิ รรม ทัง้ ด้านธรรมและบาลีควบคูก่ นั ไปกับการปฏิบตั กิ รรมฐาน มีผสู้ อบเป็น มหาเปรียญได้จา� นวนมาก จนเป็นส�านักเรียนทีม่ ชี อื่ เสียงอันดับหนึง่ ของ จังหวัด

ล�าดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระราชมงคลมุนี (ลึก ป ญาวโร ป.ธ. 6) อดีตเจ้าคณะ จังหวัดชัยภูมิ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ พ.ศ. 2499-2533 รูปที่ 2 พระครูพศิ ษิ ฐ์ขนั ติธรรม (สุนนั ท์ ขนติโก น.ธ. เอก) อดีตเจ้าคณะ ต�าบลในเมือง เขต 3 พ.ศ. 2535-2549 และ รูปที่ 3 พระปริยตั กิ จิ วิธาน (พระมหาสมวงษ์ สีลภูสโิ ต ป.ธ. 7 พธ.บ พธ.ม.(พระพุทธศาสนา)) เจ้าคณะอ�าเภอเมืองชัยภูมิ พ.ศ. 2549-ปัจจุบนั ด้านการศึกษา น กู ารศึกษาแผนกธรรม-บาลี ให้มกี ารเรียนการ สอนทีด่ ขี นึ้ ปรับปรุงและ น กู ารศึกษาแผนกสามัญให้ดขี นึ้ ย้ายศูนย์

อบรมเด็กก่อนเกณ ภ์ ายในวัด ออกจากอาคารพระปริยตั ธิ รรมโดยสร้าง อาคารศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ห์ ลังใหม่ ด�าเนินการเปดมหาวิทยาลัย สงฆ์ ตามทีเ่ จ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ ได้มอบหมายให้ดา� เนินการ งึ่ ปัจจุบนั มีนกั ศึกษา จ�านวน 300 กว่ารูป ด้านการเผยแผ่ เป็นส�านักวิปสั สนาประจ�าจังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 9 เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นศูนย์อบรมศีลธรรม นักเรียนประจ�าเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาชัยภูมิ เขต 1 มีการจัดเข้าค่ายอบรม ศีลธรรมแก่นกั เรียนเป็นประจ�า มีผมู้ ารักษาอุโบสถศีลและปฏิบตั ธิ รรม ทุกวันพระตลอดปี CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 35

35

17/5/2562 11:10:40


เ ียรติ ร วัติของวัด

จากอดีตถึงปัจจุบนั สิง่ ทีน่ บั ว่าเป็นเกียรติสงู สุดของวัด ทีไ่ ด้มโี อกาส รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 (เมือ่ ครัง้ ด�ารงพระยศ สมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) สมเด็จพระสังฆราช สมเด็จพระราชาคณะ ผู้น�าของประเทศ ตลอดทั้งรัฐมนตรี อธิบดี และ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ตามล�าดับดังนี้ 1. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสมหาเถระ ป.ธ. ) ในขณะด�ารง สมณศักดิท์ พี่ ระพิมลธรรม ต�าแหน่งสังฆมนตรีวา่ การองค์การปกครองเป็น ผูใ้ ห้กา� เนิดวัดนี้ และท่านได้มาเยีย่ มเยียนเป็นประจ�าตลอดมา 2. ฯพณฯ พลเอกมังกร พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ ได้มาตรวจราชการด้านการศึกษาทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ และกรุณา มาตรวจเยีย่ มวัดเพือ่ ดูแลการฝกอบรมวิปสั สนากรรมฐานและการศาสนกิจ อืน่ ๆ เมือ่ ปี พ.ศ. 2500 3. ฯพณฯ พลต�ารวจเอกเผ่า ศรียานนท์ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง มหาดไทย และคุณหญิง ได้มาตรวจราชการและมาดูการก่อสร้างกุฎทิ ที่ า่ น บริจาคสร้าง 3 หลัง 4. สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารีมหาเถระ ป.ธ.9) วัดปทุมคงคา ในขณะด�ารงสมณศักดิท์ พี่ ระธรรมวโรดม ได้ตรวจเยีย่ มกิจการการศึกษา ส่วนตัว เมือ่ พ.ศ. 250 36

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

6

.indd 36

17/5/2562 11:10:45


11. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสนหาเถระ) ได้เสด็จมาประทานสัญญาบัตร-พัดยศ ผ้าไตร และตราตัง้ สมณศักดิพ์ ระครู แก่พระสังฆาธิการ ในเขตภาค 10 11 เมือ่ วันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2530 (เสด็จครัง้ ที่ 2) 12. นายมงคล ศรีไพรวรรณ อดีตรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ใน ขณะด�ารงต�าแหน่งอธิบดีกรมการศาสนา ได้มาตรวจราชการและตรวจ เยีย่ มวัดพัฒนาตัวอย่าง ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เมือ่ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2530

ครง าร ั นาวัด น จจบัน

1. ด�าเนินการสร้างอุโบสถให้แล้วเสร็จ งบประมาณ 15 ล้านบาท ปัจจุบนั มีทนุ ด�าเนินการแล้ว 5 ล้านบาท 2. น กู ารศึกษาพระปริยตั ิ ธรรมแผนกธรรม-บาลี และ น สู า� นักปฏิบตั ธิ รรม 3. ด�าเนินการยกฐานะ หน่วยวิทยบริการให้เป็นวิทยาลัยสงฆ์ 4. รือ้ ถอนกุฏสิ งฆ์ทที่ รุดโทรมและ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป มาสร้างเป็นกุฏิสงฆ์รวม เพื่อให้ง่ายต่อการ ปกครอง 5. จัดท�าแผนผังของวัด (แลนด์สเคป) 6. ปรับสถานทีป่ ลูกต้นไม้ ภายในวัดให้เป็นรมณียสถาน 7. ขุดสระ ยาว 100 เมตร กว้าง 12 เมตร ลึก 3 เมตร . ปรับปรุงถนน โดยลาดยางแอส ลั ต์ ยาว 300 เมตร 9. ปรับปรุง าปนสถาน โดยเปลีย่ นจากเตาเผาโดยใช้ถา่ น เป็นเตาระบบ ไร้ควันพิษ 10. บูรณะ อ่ มแ มโรงเรียน พระปริยตั ธิ รรม โดยเปลีย่ นหลังคา ทัง้ หลังและต่อเติมด้านหน้าอาคาร 11. โครงการสร้างลานธรรมและสร้าง พระประธานประจ�าวัด 5. สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณณกมหาเถระ ป.ธ.9) วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก กรรมการ มหาเถรสมาคม ได้มาเป็นประธานวางศิลาฤกษ์ศาลาการเปรียญและ อุโบสถหลังใหม่ พร้อมกับมาตรวจการคณะสงฆ์ พักแรมจ�าวัดค้างคืนที่ อาคารปริยตั ธิ รรม เมือ่ ปี พ.ศ. 2519 2523 และ 2525 6. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฐายี) วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร ได้เสด็จมาทรงเป็นประธานงานทอดกฐิน ของสมาคมชาวชัยภูมแิ ละมหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2511 7. ฯพณฯ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เป็นประธานน�า กฐินกลุม่ ชาวนาทัว่ ประเทศมาทอด เมือ่ ปี พ.ศ. 2514 และได้เป็นประธาน วางศิลาฤกษ์อาคารโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม . สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสนมหาเถระ) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ได้เสด็จ มาทรงประกอบศาสนกิจ เมือ่ ปี พ.ศ. 2524 (เสด็จครัง้ ที่ 1) 9. พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 (เมื่อครั้งที่พระองค์ด�ารงพระยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) ได้เสด็จพระราชด�าเนิน ทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานผ้าไตรแก่ผู้อุปสมบทหมู่ และ ทรงเยี่ยมพสกนิกรชาวชัยภูมิ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 10. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุว ฒนมหาเถระ ป.ธ.9) วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร มาพักที่วัด ณ ตึกสมเด็จพระสังฆราช เพื่ อ เป็ น ประธานจุ ด เที ย นชั ย พิ ธี พุ ท ธาภิ เ ษกเหรี ย ญและรู ป เหมื อ น เจ้าพ่อพญาแลทีว่ ดั ทรงศิลา พ.ศ. 2530

ร วัติเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระปริยตั กิ จิ วิธาน (พระมหาสมวงษ์ สีลภูสโิ ต (ประภาสโนบล) ป.ธ.7 พธ.บ พธ.ม.(พระพุทธศาสนา) เจ้าอาวาสวัดชัยภูมวิ นาราม และ เจ้าคณะ อ�าเภอเมืองชัยภูมิ ชาติกา� เนิด เกิดเมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2493 ณ บ้านเลขที่ 24 หมู่ที่ 5 ต�าบลบ้านตาล อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ บิดาชื่อ นายแกร ประภาสโนบล มารดาชือ่ นางสังวาล ประภาสโนบล การศึกษา จบ ป.4 จากโรงเรียนประชาบาล วัดสาลิกา งึ่ เป็นชัน้ สูงสุด แล้วออกมาประกอบอาชีพท�านา-ท�าไร่ ตามบรรพบุรษุ เมือ่ อายุ 23 ปี เข้าสูร่ ม่ เงากาสาวพัสตร์ ณ วัดสาลิกา ต�าบลบ้านตาล อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ โดยมี พระครู พิ ศิ ษ ฏภั ท รธรรม เป็ น พระอุ ป ั ช าย์ พระครูโพธิวุฒิคุณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์สนธิ เป็น พระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2517 สอบได้ น.ธ.เอก พ.ศ. 2529 จบ พธ.บ. และ พ.ศ. 2532 สอบได้ ป.ธ.7 งานปกครอง ปัจจุบนั เป็นเจ้าอาวาสวัดชัยภูมวิ นาราม เป็นเจ้าส�านัก ศาสนศึกษาวัดชัยภูมวิ นาราม เป็นผูจ้ ดั การโรงเรียนวัดชัยภูมวิ นาราม งานเผยแผ่ เป็ น ประธานชมรมสงฆ์ ชั ย ภู มิ เพื่ อ การพั ฒ นา กรุงเทพมหานคร เป็นชมรมสงฆ์ชาวจังหวัดชัยภูมใิ นกรุงเทพมหานคร เป็นพระจริยนิเทศประจ�าจังหวัดชัยภูมิ เป็นพระธรรมทูตฝ่ายอ�านวยการ เป็นครูสอนวิชาจริยธรรมประจ�าโรงเรียนวัดใหม่นเิ รนทร์กรุงเทพมหานคร เป็นประธานศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ์วัดชัยภูมิวนาราม โรงเรียนพุทธ ศาสนาวันอาทิตย์ วัดทรงศิลา วัดชัยภูมวิ นาราม และ งานสาธารณูปการ กับ งานบูรณปฏิสงั ขรณ์อกี มากมาย CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 37

37

18/5/2562 15:32:47


PHRA PHUTTHA SILABANCHORN WAT CHAIYAPHUM WANARAM

38

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

6

.indd 38

17/5/2562 11:10:48


-

(

(

)

-

22

)

. .2499

6

-

2

(

). -

(

)

. .2502

(

)

40

(

-

. .2503 0

.

) .

-

.

. 20

16

. .2500

. .249 1

-

.

.

-

40

.

(

.

1

-

.

. )

. 1 2499 1

. .2499.

22

-

(

))

. .2499 ( . .2535 (

-

-

(

.

-

.399 2499

)

(

).

. .2499

(

. )

16

-

.

. .

.

)

-

. .2533. 3 . . 2549. . . . .2549

. . .

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 39

39

17/5/2562 11:10:48


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ลางหมืนแ ้ว

Wat Klang Muen Phaeo

ระครูสรปรยัตยานุรั ( ระมหา ตวีร ) ั

ภ ม ชัยภูมิ ม

วัดกลางหมนแผ้ว ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหมืน่ แผ้ว หรือ บ้านค่ายหมืน่ แผ้วในปัจจุบนั ต�าบลบ้านค่าย อ� า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ มี อ ายุ ป ระมาณ 162 ปี สร้ า งเมื่ อ ปี พ.ศ. 2400 โดยมี ชาวบ้านค่ายร่วมกันสร้างขึน้ ในสมัยนัน้ และได้โยกย้ายทีต่ งั้ วัดไป หลายทีจ่ นถึงทีต่ งั้ ในปัจจุบนั ึ่งเดิม วั ด กลางหมื่ น แผ้ ว ตั้ ง อยู ่ ที่ ตั้ ง แห่ ง ที่ 1 คื อ ที่ “ ่ า วั ง พระ” ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ ตั้ ง ที่ท�าการ น�า้ ประปาบ้านค่าย ด้วยท่าวังพระเป็นทางน�า้ ไหล ฤดูฝนน�า้ ได้ไหลเ าะตลิง่ พังจน ไม่สามารถ อยู่ได้ จ�าเป็นต้องย้ายไปหาที่ตั้งวัดใหม่ถึง 4 แห่ง ปัจจุบันที่ตรงนั้นเรียกว่า “วัดกลางหมนแผ้ว” ง่ึ เป็นทีต่ งั้ แห่งที่ 4 มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 6 ไร่ 2 งาน 4 ตารางวา จากนัน้ พอถึงฤดูฝนน�้าได้ไหลเ าะจนตลิ่งพังเขามาในที่วัด ท�าให้ที่ดินของวัดหายไปเหลืออยู่ ประมาณ 5 ไร่ 1 งาน 17 ตารางวา Wat Klang Muen Phaeo is located at Ban Muen Phaeo which is present Ban Khai Muen Phaeo, Ban Khai sub-district, Mueang district, Chaiyaphum province. It was founded in B.E.2400 which its age is around 162 years old, it was built by locals who lived at Ban Khai at that time which the location of this temple has been changed many times until it locates at current location. Formerly, the first location of Wat Klang Muen Phaeo was “Tha Wang Phra” which is Ban Khai waterworks office. Due to Tha Wang Phra located on watercourse, then, during rainy season, there was flood that gouged out river bank which made this place uninhabitable. Therefore, they need to change the location of this temple for four times. At present, the current of this temple which is fourth location also called “Wat Klang Muen Phaeo ” and the scale of this land is approximately 2.4 acres and 816 square meters. After that, due to flood during the rainy season that washed away some part of this temple’s land. It made the total scale of this land was reduced to 2 acres and 468 square meters.

40

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 40

16/5/2562 17:58:13


ต่อมาเจ้าอาวาสรูปที่ 15 คือ พระคร ม ชัยค พระมหาแว่น ช ร เจ้าอาวาสในสมัยนั้น จึงได้น�าพระและชาวบ้านช่วยกันน�าหิน จากโคกบ้านหนองไข่น�้า ึ่งใช้เกวียนเทียมโคชักลากมาท�าเป็นท�านบ ปองกันน�้าเ าะ เพื่อไม่ให้ตลิ่งพัง ต่อมาได้ ื้อที่ดินของแม่ล้อม ไตรยศ เพื่อขยายที่วัดในเนื้อที่ประมาณ 1 งาน ึ่งอยู่ทิศเหนืออุโบสถ คือที่ต้ัง เมรุในปัจจุบัน วัดกลางหมื่นแผ้วได้รับอนุญาตให้สร้างวัด เมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2440 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการตัง้ เป็นวัด ลงวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2443 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2444 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งแรก เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2447 ในเนือ้ ทีก่ ว้าง 6 ตารางวา ยาว ตารางวา และได้ประกอบ พิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยมีค พ่อสมบร ์ แม่ ม ชยมชัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาสน�าก่อสร้างในสมัยนั้น

Next, the fifteenth abbot which is Phra Khru Methichaikhun (Phra Maha Waen Taechatharo), have led monks and villagers to bring rocks from hillock of Ban Nong Khai which they used the cart that hitched with cow to bring these rocks to this place in order to make dam for preventing water that washed away the river bank. After that, he bought the land of Mrs.Lom Triyod to expand temple’s territory around 400 square meters which located in the north of ubosot and it is the location where crematory is located presently. Wat Klang Muen Phaeo was permitted to build temple on 5 January B.E.2440, became official temple on 10 March B.E.2443 referring to notification of the Ministry of education and notification in the government gazette on 2 August B.E.2444. The first time this temple was granted “Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) was on 6 April B.E.2447 which the scale of this land is 24 square meters in width and 32 square in length. The monastic boundary-demarcating ceremony was performed on 1 March B.E.2457 by Mr.Somboon and Mrs.Khem Chayamachai who were the leader of laypersons that led the construction at that time.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

16/5/2562 17:58:20


ในปี พ.ศ. 2522 พระคร ม ชัยค เจ้าอาวาสในสมัยนั้นได้น�า ญาติโยมก่อสร้างอุโบสถหลังใหม่และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งที่ 2 ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2526 (ไม่ทราบแน่ชัด เพราะหลักฐานได้สูญหายไปพร้อมกับกุฎีสงฆ์หลังเก่าที่ถูกไ ไหม้) ปี พ.ศ. 2539 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันได้ ท�าการ ่อมแ มอุโบสถ โดยการติดช่อ าใบระกาใหม่ ติดตั้งบาน หน้ า ต่ า งทั้ ง หมดและก� า แพงแก้ ว รอบอุ โ บสถ สิ้ น ค่ า ่ อ มแ มและ ก่อสร้างทั้งหมดเป็นเงินจ�านวน 1 773 434 บาท (หนึ่งล้านเจ็ดแสน เจ็ดหมื่นสามพันสี่ร้อยสามสิบสี่บาทถ้วน) และสร้างสิ่งก่อสร้างในปี ต่อๆ มาอีก เช่น หอระฆัง ถังน�้าประปา ศาลาอ�านวยการ ศาลาริมน�้า เป็นต้น

In B.E.2522, Phra Khru Methichaikhun, abbot at that time, led people on building new ubosot and was granted Wisungkhamsima second time and performed monastic boundary-demarcating ceremony in B.E.2526 (There is no explicit evidence because the document was lost together with old monk’s house that was burned down.) In B.E.2539, Phra Khru Siri Pariyatyanurak, current abbot, have reconstructed ubosot by changed new gable apex and tooth-like ridges on the sloping edges of a gable, installed all new windows and low wall around an ubosot which the total of amount of reconstruction and building fee was 1,773,434 Thai Baht and he keep on constructing other buildings while he taking a position of abbot such as belfry, water supply tank, managing hall, riverside pavilion etc..

พ.ศ. 2542 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ คณะกรรมการวัดและชาว บ้านได้สร้าง มุ้ ประตูหน้าวัดกว้าง 4.50 เมตร สูง 14 เมตร เป็นจ�านวน เงิน 350 000 บาท (สามแสนห้าหมื่นบาทถ้วน) พ.ศ. 2544 พระครู สิ ริ ป ริ ยั ต ยานุ รั ก ษ์ คณะกรรมการวั ด และชาวบ้ า นได้ ส ร้ า งศาลา อเนกประสงค์ขึ้นหนึ่งหลัง กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร มีห้องเก็บของ หนึง่ ห้อง และห้องน�า้ ด้านหลัง 10 ห้อง เป็นจ�านวนเงิน 420 000 บาท ปี พ.ศ.254 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ คณะกรรมการวัดและชาวบ้าน ได้ อื้ ทีด่ นิ ของอาจารย์สดุ ใจ หมัน่ บุญ อยูต่ ดิ กับทีว่ ดั ทางทิศใต้ ในเนือ้ ที่ ประมาณ 1 ไร่ เป็นจ�านวนเงิน 1 000 000 บาท (หนึ่งล้านบาทถ้วน) ึ่งเป็นที่สร้างกุฎีสงฆ์หลังใหม่ พ.ศ. 254 -2556 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ คณะกรรมการวัด และชาวบ้านได้สร้างกุฏสิ งฆ์ขนึ้ 1 หลัง เพือ่ เป็นทีพ่ กั อาศัยของพระสงฆ์ กว้าง 14 เมตร ยาว 29 เมตร เป็นจ�านวนเงิน 9 310 9 9 บาท (เก้าล้านสามแสนหนึ่งหมื่นเก้าร้อยแปดสิบเก้าบาทถ้วน) พ.ศ. 2556 พระครู สิ ริ ป ริ ยั ต ยานุ รั ก ษ์ คณะกรรมการวั ด และชาวบ้ า นได้ ส ร้ า ง หอระฆังขึน้ กว้าง 4 เมตร สูง 16 เมตร เป็นจ�านวนเงิน 520 000 บาท (ห้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน) พ.ศ. 2557 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ คณะกรรมการวัดและชาวบ้านได้สร้างกุฎเี จ้าอาวาสขึน้ 1 หลัง กว้าง 9 เมตร ยาว 16 เมตรโดยอาศัยโครงอาคารเก่าที่มีอยู่แล้ว เป็นจ�านวนเงิน 4 1 162 บาท (สี่แสนแปดหมื่นหนึ่งพันหนึ่งร้อยหกสิบสองบาทถ้วน) ต่อมาในปีพ.ศ. 255 พระครูสิริปริยัตยานุรักษ์ คณะกรรมการวัดและ ชาวบ้านได้สร้างเมรุหลังใหม่ขึ้นอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง วัดกลางหมื่นแผ้ว มีเนื้อที่ 2 แปลง แปลงที่ 1 คือ ที่ดินตั้งวัด มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 7 ไร่ 2 งาน 16 ตารางวา และแปลงที่ 2 คือ ทีธ่ รณีสงฆ์ มีเนื้อที่ทั้งหมด 2 ไร่ 1 งาน 24 ตารางวา

42

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 42

16/5/2562 17:58:29


ก ร

ยน ั

1. อุโบสถ 2. ศาลาการเปรียญ 3.หอระฆัง 4.ศาลาริมน�้า 5. ถังน�้า ประปา 6. ศาลาอเนกประสงค์ 7. เมรุเผาศพหลังเก่า . ศาลาพักศพ 9. กุฎีสงฆ์ 10. กุฎีเจ้าอาวาส 11. อุโบสถหลังเก่า ส่วนที่ธรณีสงฆ์ เป็น ที่ก่อสร้างเมรุหลังใหม่ ่ึงอยู่ในระหว่างก่อสร้าง การศึกษา วัดกลางหมื่นแผ้ว ได้มีการสอนนักธรรมในชั้นตรี โท เอก แก่พระภิกษุและสามเณร ส่งเข้าสอบ ธรรมสนามหลวงตลอดมา ทุกปี ภายในฤดูกาลเข้าพรรษา ได้มีการอบรมธรรมแก่ญาติโยมและ ชาวบ้านที่มาท�าบุญและรักษาศีลอุโบสถ ภายในพรรษา นอกฤดูกาล เข้าพรรษาเป็นประจ�าตลอดมา

เ ะรั ก ก ร ทนเ ป บัน น น รป

Education of Wat Klang Muen Phaeo - There are classes for monk and novice to study dharma whether elementary, secondary and advanced level which also applying them to do the national dharma test for monks and novices every year. During the zBuddhist lent period including after the end of Buddhist lent, this temple always open dharma instructing class for layperson and villager who come to this temple to make merit and observe the eight precepts all along. At present, Phra Khru Siri Pariyatyanurak (Phra Maha Kritwepoj), Mueang Chaiyaphum district vice monk dean, takes a position of abbot at Wat Klang Muen Phaeo, Ban Khai sub-district, Mueang district, Chaiyaphum province.

น ึ

รูปที่ 1 พระอาจารย์แพง อยู่ยง พ.ศ. 2400 รูปที่ 2 พระอาจารย์ เที่ยง วิชชัยภูมิ รูปที่ 3 พระอาจารย์แจ้ง หมวดชัยภูมิ รูปที่ 4 พระอาจารย์สวัสดิ์ สันชัย รูปที่ 5 พระอาจารย์บุญมา เจริญผล รู ป ที่ 6 พระอาจารย์ เ ลิ ม ไตรยศ รู ป ที่ 7 พระอาจารย์ แ ดง ใจอดทน รูปที่ พระอาจารย์ชาลี สุโพธิ์ รูปที่ 9 พระอาจารย์เพชร ไตรยศ พ.ศ. 24 6 รูปที่ 10 พระอาจารย์เทียน พันธ์วเิ ศษ พ.ศ. 2495 รูปที่ 11 พระอาจารย์มหาทองสุข (ไม่ทราบ ายา) พ.ศ. 2500 รูปที่ 12 พระอาจารย์พัก สิทธตโถ พ.ศ. 2501 รูปที่ 13 พระอาจารย์จรูญ ญาณส�วโร พ.ศ. 2502 รูปที่ 14 พระอาจารย์บุญส่ง นอขุนทด พ.ศ. 2503 รูปที่ 15 พระครูเมธีชยั คุณ (พระมหาแว่น เตชธโร) พ.ศ. 2506 รูปที่ 16 พระอาจารย์สมดี กิตติสทโท พ.ศ. 2536 รูปที่ 17 พระครู สิริปริยัตยานุรักษ์ (พระมหากฤตวีร์พจณ์) พ.ศ. 253 จนถึงปัจจุบัน ต�าแหน่งทางการปกครอง เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองชัยภูมิ เจ้าอาวาส วัดกลางหมื่นแผ้ว ต�าบลบ้านค่าย อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

16/5/2562 17:58:34


วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ มหาวิทยาลัยมหา ุ าลงกร ราชวิทยาลัย

ัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูร าการกับศาสตร์สมัยใหม่ พั นา ิตใ และสัง ม พระศรีสั า มุนี(สุมินทร์ ยติก ร) ผูอ�านวยการวิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ

44

.

.indd 44

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

088

น่ า นรอยั ล รี ส อร์ ท (

)

16/5/2562 16:24:14


มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ ตั้งอยู่เลขที่ หมู่ที่ 14 บ้านโนนเหลี่ยม ถนนชัยภูมิ หนองบัวแดง ต�าบลนา าย อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ประ ั เปน ทย ัย ัย มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสง ์ แห่งค ะสง ์ไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุ าลงกร ์ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ได้ ท รงสถาปนาขึ้ น วัดมหาธาตุยุวราชรังส ษ ิราชวรมหาวิหาร กรุงเทพ เพื่อเป็น สถาบันการศึกษาพระไตรป กและวิชาชัน้ สูงส�าหรับพระภิกษุ สามเ ร และค หั ส ถ์ โดยพระราชทานนามว่ า มหาธาตุ วิ ท ยาลั ย เมื่ อ ปพุ ท ธศั ก ราช 24 และได้ เ ปดด� า เนิ น การศึ ก ษาเมื่ อ วั น ที่ 8 พ ศจิกายน พุทธศักราช 24 2

เพื่อสืบสานพระราชป ิธานของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ มกราคม พุทธศักราช 24 พระพิมลธรรม ช้อย านทตตมหาเถร อธิบดีสง ์วัดมหาธาตุสมัยนั้น พร้อมทั้ง พระเถรานุเถระ ่ายมหานิกาย จ�านวน รูป ได้ประชุมพร้อมกัน ที่ ต� า หนั ก สมเด็ จ วั ด มหาธาตุ ปรึ ก ษาหารื อ ได้ ข ้ อ ยุ ติ ที่ จ ะเปด การศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัย เปดรับผู้สนใจวิชาพระพุทธศาสนา พระปริยัติสัทธรรมชั้นสูง ทางด้านภาษาต่างประเทศและวิทยาการ บางอย่ า งอั น เป็ น อุ ป กร ์ แ ก่ ก ารค้ น คว้ า หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธ ศาสนาในครั้งนั้น มีจ�านวนผู้ผ่านการคัดเลือกให้เข้าศึกษาปแรก ในค ะพุทธศาสตร์ ปการศึกษา 24 4 จ�านวน 16 รูป ส�าเร็จ การศึกษาในป 24 8 เป็นพุทธศาสตรบั ิตรุ่นแรกจ�านวน 6 รูป

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 45

45

16/5/2562 16:24:18


ง ม วี ย ง ว

Mahachulalongkhorn rajavidyalaya University ในปพ ศ 2 4 โดยค� า แนะน� า ของรั สภา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ทรงพระกรุ าโปรดเกล้ า ให้ ต รา พระราชบั ญญั ติ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ าลงกร ราชวิท ยาลัย ให้มี สถานภาพเป็ น นิ ติ บุ ค คล และเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในก� า กั บ ของรั ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 114 ตอนที่ 1 ก ลงวันที่ 1 ตุลาคม พ ศ 2 4

พุทธศักราช 2 12 มหาเถรสมาคมได้ ออกค�าสัง่ เรือ่ ง การศึกษาของมหาวิทยาลัยสง ์ พ ศ 2 12 จ�านวน 12 ข้อ สาระส�าคัญ ของข้อ ระบุส่วนที่เกี่ยวกับมหาวิทยาลัย มหาจุ าลงกร ราชวิ ท ยาลั ย ไว้ ว ่ า “ให้ ก ารศึ ก ษาของมหาจุ าลงกร ราช วิ ท ยาลั ย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ วัดมหาธาตุยุวราชรังส ษ ิ ึ่งด�าเนินการ อยู่แล้ว เป็นการศึกษาของค ะสง ์” พุทธศักราช 2 2 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ โดยค�าแนะน�า และยินยอมของรั สภา ทรงพระกรุ า โปรดเกล้ า ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ ก� า หนดวิ ท ย านะผู ้ ส� า เร็ จ วิ ช าการทาง พระพุทธศาสนา พ ศ 2 2 โดยมาตรา 4 ก�าหนดว่า ให้ผสู้ า� เร็จวิชาการพระพุทธศาสนา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรบั ิต มหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย ในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ์ มี วิ ท ย านะชั้ น ปริ ญ ญาตรี เรียกว่า “พุทธศาสตรบั ิต” ใช้อักษร ย่อว่า “พธ บ ”

46

.

.indd 46

ต่อมาค ะสง ์จังหวัดชัยภูมิ ได้ขออนุมัติเปดโครงการหลักสูตร ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการค ะสง ์ ป บส วัดชัยภูมิ วนาราม ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ โดยมีพระนิสิต นักศึกษา ึ่งเป็นพระสัง าธิการจ�านวน 62 รูป เป็นต้นมา ในปพ ศ 2 1 ค ะสง ์จังหวัดชัยภูมิ โดยมีพระราชชัยมุนี เจ้าค ะจังหวัดชัยภูมิ สมัยนั้น เป็นประธาน ได้ด�าเนินการขอเปด หน่ ว ยวิ ท ยบริ ก าร มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ าลงกร ราชวิ ท ยาลั ย วิทยาเขตนครราชสีมา วัดชัยภูมิวนาราม ต�าบลในเมือง อ�าเภอ เมืองจังหวัดชัยภูมิ โดยได้รับอนุมัติให้จัดตั้งหน่วยวิทยบริการตาม ประกาศมหาวิทยาลัย ลงวันที่ 8 พ ษภาคม พุทธศักราช 2 1 จนถึง ปจจุบัน เป็นระยะเวลา 1 ป โดยเปดสอนหลักสูตรพุทธศาสตร บั ิตในสาขาวิชาดังต่อไปนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

16/5/2562 16:24:21


พ ศ 2 1 ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ปดหลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตรบั ิ ต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ ค ะสังคมศาสตร์ ตามประกาศมหาวิทยาลัย มหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย ลงวันที่ 8 พ ษภาคม พ ศ 2 1 พ ศ 2 ได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ปดหลั ก สู ต รพุ ท ธศาสตรบั ิ ต สาขาวิชารั ศาสตร์ เอกการปกครอง ค ะสังคมศาสตร์ ตามประกาศ มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย ลงวันที่ 1 เมษายน พ ศ 2 พ ศ 2 ได้รับอนุมัติให้เปดหลักสูตรพุทธศาสตร์ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา ตามประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย ลงวันที่ 1 เมษายน พ ศ 2 พ ศ 2 6 ได้รบั อนุมตั ใิ ห้หน่วยวิทยบริการวิทยาเขตนครราชสีมา ึ่งตั้งอยู่ วัดชัยภูมิวนาราม อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ย้ายสถานที่ ตัง้ ไปอยู่ เลขที่ หมูท่ ี่ 14 ถนนชัยภูมิ หนองบัวแดง บ้านโนนเหลีย่ ม ต�าบลนา าย อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ตั้งแต่ปการศึกษา 2 6 ลงวันที่ 18 มิถุนายน พ ศ 2 6 พ ศ 2 8 ได้ ย ก านะจากหน่ ว ยวิ ท ยบริ ก ารจั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เป็นวิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 1 2 ลงวันที่ พ ศจิกายน พ ศ 2 8

ปรั

น ัยทัศน ะ ัน ก

สุภาษิต ป ญา โลกสมิ ปชโชโต แปลว่า ปญญาเป็นแสงสว่าง ในโลก ปรัชญา ศูนย์กลางการศึกษาพระพุทธศาสนา บูร าการกับ ศาสตร์สมัยใหม่ พั นาจิตใจและสังคม ปณิธาน ศึกษาพระไตรป กและวิชาชั้นสูงส�าหรับพระภิกษุ สามเ รและค หัสถ์ วิสัยทัศน์ สร้างคนดีและเก่งอย่างมีสมรรถภาพ จัดการศึกษา และวิจัยอย่างมีคุ ภาพ บริการวิชาการดีอย่างมีสุขภาพ บริหารดี อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจ ผลิตบั ิต วิจัยและพั นา ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม ท�านุบ�ารุงศิลปวั นธรรม CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 47

47

16/5/2562 16:24:25


น ยบ ย ั น

ทย ัย

ัย

1 ผลิ ต บั ิ ต ให้ มี คุ ภาพ มี คุ ลั ก ษ ะที่ พึ ง ประสงค์ แ ละ เป็นที่ยอมรับของสังคม 2 พั นาวิทยาลัยสง ์ชัยภูมิให้เป็นวิทยาเขต พั นาและส่งเสริมบุคลากรและนิสติ ให้มกี ารศึกษา ค้นคว้า วิจัย และแสวงหาความรู้เกี่ยวข้องกับวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา และประยุกต์เข้ากับศาสตร์สาขาต่าง อันจะเป็นประโยชน์ต่อการ พั นาตน สังคม และประเทศชาติ 4 ให้บริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาทัง้ ภาคท ษ แี ละภาคป บิ ตั ิ อันจะก่อให้เกิดการพั นาบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน สนับสนุนส่งเสริมการศึกษาด้านศิลปวั นธรรม ประเพ ี วิถปี ระชา องค์ความรู้ความเป็นชัยภูมิและวิถีชีวิตของบรรพบุรุษ นอกจาก ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ได้แก่ ด้านการผลิตบั ติ ด้านการวิจยั ด้านการบริการวิชาการแก่สงั คม และด้านท�านุบา� รุงศิลปวั นธรรมแล้ว วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิยังมีพันธกิจที่จ�าเป็นต้องป ิบัติอีกหลายประการ เพื่อให้บรรลุเปาหมาย จึงได้ก�าหนดแผนพั นา หรือ มีพันธกิจที่ต้อง ท�าเพิ่มเติม ดังนี้ 1. ส่งเสริมการศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาการชัน้ สูงแก่พระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถ์ พระสังฆาธิการคือผู้บริหารวัด เป็นผู้น�าใน ชุมชนนัน้ ๆ จึงมีความจ�าเป็นต้องพั นาให้มคี วามรูท้ างพระพุทธศาสนา

ให้สูงขึ้น มีป ิปทาน่าเลื่อมใส ใ ่รู้ใ ่คิด มีความเป็นผู้น�าทางจิตใจ และป ญญา มี ค วามคิ ด ริ เริ่ ม สร้ า งสรรค์ มี โ ลกทั ศ น์ ก ว้ า งไกล สามารถก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลก มีศรัทธาที่จะอุทิศตน เพื่อพระพุทธศาสนา มีศีลธรรม และเสียสละเพื่อส่วนรวม 2. สนองงานคณะสงฆ์จงั หวัดชัยภูมดิ า้ นการศึกษาและการเผยแผ่ ค ะสง ์จังหวัดชัยภูมิ เป็นองค์กรสง ์ระดับจังหวัดที่มีหน้าที่ในการ ควบคุม ก�ากับ ดูแล ให้การปกครอง เผยแผ่หลักธรรมค�าสอน การ สาธาร ูปการ และการศึกษาของค ะสง ์ให้เป็นไปอย่างถูกต้อง ตามพระวินยั และก หมายสง ์ ก หมายบ้านเมือง จึงเน้นพระสัง าธิการ ที่ เ ป็ น นิ สิ ต ให้ พั นาองค์ ค วามรู ้ ใ นพระไตรป ก แล้ ว น� า ความรู ้ ไปประยุกต์ใช้แก้ไขปญหาศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้ง พั นาคุ ภาพงานวิ ช าการด้ า นพระพุ ท ธศาสนาให้ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง อย่างถูกต้อง 3. จัดกิจกรรมโครงการและงานต่างๆ เพื่อพัฒนาบุคลากร ทางพระพุทธศาสนาอย่างยัง่ ยืน การศึกษาตลอดชีวติ อุทยานการศึกษา วิทยาลัยสง ์เป็นแหล่งเรียนรู้พระสง ์และค หัสถ์ให้สามารถน�า วิชาการสมัยใหม่ไปบริหารและจัดการวัด 4. สร้างและร่วมเป็นเครือข่ายทางการศึกษากับสถาบันการศึกษา ทั้งในและต่างประเทศ 5. การบริหารจัดการ และองค์ประกอบอื่นๆ ตามหลักเกณฑ์ การประกันคุณภาพทางการศึกษา และมุง่ มัน่ ยกสถานะเป็นวิทยาเขต

ั ประ

1 เพื่อมุ่งพั นาวิทยาลัยสง ์ ให้สามารถป ิบัติภารกิจหลักทั้ง ในด้านการผลิตบั ิต การพั นาวิชาการการวิจัย การบริการทาง วิชาการแก่ชุมชน และการส่งเสริมพระพุทธศาสนาท�านุบ�ารุงศิลป วั นธรรมและอนุ รั ก ษ์ ส่ิ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ พั นาสถาบั น พระพุ ท ธ ศาสนา สังคมและประเทศชาติไปสู่ทิศทางที่พึงประสงค์ 2 เพื่อมุ่งพั นาศักยภาพของวิทยาลัยสง ์ ให้เป็นศูนย์กลาง การศึ ก ษา ค้ น คว้ า วิ จั ย ให้ เ กิ ด ความเป็ น เลิ ศ ทางวิ ช าการด้ า น พระพุทธศาสนา และสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ และ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษ กิจ สังคม และเทคโนโลยี เพื่อมุ่งพั นาสถานภาพ ปรับโครงสร้างและระบบการบริหาร ของวิทยาลัยสง ์ ให้ กะทัดรัดมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถ ป ิบัติงานได้บรรลุเปาหมายตามแผนพั นาของวิทยาลัยสง ์ 4 เพื่อพั นาคุ ภาพของนิสิตและบุคลากรของวิทยาลัยสง ์ ให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ มีคุ ธรรม จริยธรรมและมีความ รับผิดชอบต่อตนเอง พระพุทธศาสนา และสังคมโดยส่วนรวม เพื่อมุ่งพั นาวิทยาลัยสง ์ ให้เป็นศูนย์บริการวิชาการทาง พระพุทธศาสนาและศิลปวั นธรรมทั้งในภูมิภาคและระดับประเทศ ต่างประเทศ 48

.

.indd 48

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

16/5/2562 16:24:27


ัก ร ะ

ทเป

ปจจุบันวิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ มีทั้งหมด สาขาวิชา ในระดับ ปริญญาตรี คือ ะ ท ศ ร ท ศ รบั 1 สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ะ ั ศ ร ท ศ รบั 1 สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ 2 สาขาวิชารั ศาสตร์ ก ร ั ก รศึก มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ ได้จัดการศึกษา 2 ระดับดังต่อไปนี้ ระดับ ต�่ากว่าปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราช วิทยาลัย วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ ด�าเนินการจัดการศึกษาระดับต�่ากว่า ปริญญาตรี 1 หลักสูตรคือ หลักสูตรประกาศนียบัตร การบริหารกิจการค ะสง ์ ป บส ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกร ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสง ์ชัยภูมิ ด�าเนินการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี 2 ค ะ สาขาวิชาดังนี้ คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพุทธศาสนา วิชาเอกพระพุทธศาสนา คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารั ศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ วิชาเอกการจัดการเชิงพุทธ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ เลขที่ หมู่ 14 บ้านโนนเหลี่ยม ต�าบลนา าย อ�าเภอเมือง จังหวัด ชัยภูมิ 6 โทร 44 6 22 82 44 8 216 4 2

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 49

49

16/5/2562 16:24:32


วัดบูรพา

เส ล ย า เอ น วาเตน น สมีรติ เอว� นินทา ส�สาสน สมิ ชนติ ิตา ภูเขาหิน ท่งทบ ม่สั่นส เทอนเ รา ลม ัน ด บั ิตย่อม ม่หวั่น หว นนินทา ล สรรเสริ ันนั้น ท จน ระครูปรยัตวีรานุ าสน ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัดบรพา ตั้งอยู่เลขที่ 110 บ้านลาดใหญ่ หมู่ที่ 3 ถนนบูรพา ต�าบลลาดใหญ่ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 26 ตารางวา ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2446 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2461

อาคารเสนาสน ร อบด้วย

อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2461 ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2524 เป็นอาคารไม้ กุฏิสงฆ์ 1 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ วิหาร กว้าง 10 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2537 ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536

ูชนียวัต

มีพระประธาน 1 องค์

50

4

ิจ รรมของวัดบูร า จัดเท นมหาชาติเ น ร จ�าท

อานิสงส์การ ังเทศน์มหาชาติ การตั้งใจ ังเทศน์มหาชาติให้จบ เพียงวันเดียวครบบริบูรณ์ทั้ง 13 กัณ ์ มีความเชื่อกันว่าจะเป็นเหตุให้ ส�าเร็จความปรารถนาทุกประการ อาทิ 1. เมื่อตายจากโลกนี้แล้วจะมี โอกาสได้พบพระพุทธเจ้าพระนามว่าศรีอริยเมตไตยในอนาคต 2. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์จะเสวยทิพยสมบัติมโห าร 3. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 50

18/5/2562 16:38:12


ารบริหาร ล าร ครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบ คอ 1. อาจารย์โต จดชัย 2. อาจารย์บัว มณ าทิพย์ 3. อาจารย์แดง พันธุ์โอภาส 4. อาจารย์ถม พันธุ์กรรม 5. อาจารย์บัวพา พันธุ์จ�ารัส 6. อาจารย์เบ็ง สิทธิวงษ์ 7. อาจารย์อ่อน บูชาทิพย์ . อาจารย์สงวน แนวเมือง 9. อาจารย์เหลือม ประภาวงษ์ 10. อาจารย์เพ็ง สิทธิวงศ์ 11. อาจารย์จูม ศรีชัยภูมิ 12. อาจารย์บ่ง อิ่มสุข 13. พระใบฎีกาบุญล้อม 14. อาจารย์สีไพร หาทรัพย์ 15. อาจารย์เหลี่ยม มั่นคง 16. พระใบฎีกาทองค�า เรือนทอง 17. พระมหาสวน จิตตธมโม 1 . อาจารย์บัว 19. พระอาจารย์บุญธรรม ฐานกโร 20. พระปลัดผ่อง 21. พระมหาชม ชินปุตโต 22. พระมหาทวี ชุตินธโร 23. พระครูอรุณคุณาธาร 24. เจ้าอธิการค�านาย ฐิติคุโณ 25. พระครูปริยัติวีรานุศาสน์

พ.ศ. 2446 พ.ศ. 244 พ.ศ. 2450 พ.ศ. 2453 พ.ศ. 2455 พ.ศ. 2460 พ.ศ. 2461 พ.ศ. 2464 พ.ศ. 2465 พ.ศ. 2469 พ.ศ. 2470 พ.ศ. 2475 พ.ศ. 247 พ.ศ. 24 0 พ.ศ. 24 4 พ.ศ. 24 6 พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2506 พ.ศ. 250 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2553

244 2450 2453 2455 2460 2461 2464 2465 2469 2470 2475 247 24 0 24 4 24 6 2493 2495 2497 2500 2502 2506 250 2535 2553 ปัจจุบัน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 51

51

17/5/2562 10:28:59


Wat Burapa

52

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 52

17/5/2562 10:29:02


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 53

53

17/5/2562 10:29:07


พระ รู า ธรรมประสุต (ธนู) า ธ ร

วัดปทุมชาติ

ระครู า ธรรมประสุต (ธนู) า ธ ร ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาสวัดป ุมชาต และเ ้าค ะตา ลชีลอง

วัด มชา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 124 บ้านหนองบัวขาว หมูท่ ี่ 5 ต�าบลชีลอง อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 7 ไร่ 20 ตารางวา ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2390 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2440 อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถหลังเก่า 1 หลัง อุโบสถ หลังใหม่ กว้าง 5 เมตร ยาว 11 เมตร ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 254 ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 34 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2523 และ กุฏสิ งฆ์ จ�านวน 1 หลัง เป็นอาคารไม้ กุฏสิ งฆ์หลังใหม่ เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 13 เมตร ยาว 3 เมตร หลังคาพระนอน ปางสีหไสยาสน์ 54

.

ารบริหาร ล าร ครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คอ 1. พระอธิการบุดดา 2. พระอธิการโม้ เชือ้ บัวขาว 3. พระอธิการผง สุขโี ว 4. พระอธิการจ�าเนียร 5. พระอธิการบัวลา 6. พระอธิการวิชติ ญาณโสภโณ 7. พระอธิการจูม ชาลีวงษ์ . พระอธิการตา ชาวปทุม 9. พระอธิการปุน่ เกิดชีลอง 10. พระมหาสง่า มนุ โญ 11. พระอธิการลี อนุตตโร 12. พระมหาสมยศ โชติยโส 13. พระครูญาณธรรมประสุต

พ.ศ. 2505-2507 พ.ศ. 250 -2510 พ.ศ. 2511-2519 พ.ศ. 2520-2522 พ.ศ. 2523-2524 พ.ศ. 2525-2527 พ.ศ. 252 -2529 พ.ศ. 2530-2531 พ.ศ. 2532-2533 พ.ศ. 2534-ปัจจุบนั

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4

.indd 54

18/5/2562 16:19:44


าร

มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2534 ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2535

ร วัติเจ้าอาวาส

พระคร า รรม ระส น ายา า ร อายุ 55 พรรษา 36 วิทยฐานะ น.ธ.เอก พธ.บ. กศ.ม. วัดปทุมชาติ ต�าบลชีลอง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าคณะต�าบลชีลอง และเจ้าอาวาส วัดปทุมชาติ สถานะเดิม ชือ่ น นามสกุล ชยชม เกิดวันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2505 บิดา นายกอง ชยชม มารดา นางน้อย ชยชม บ้านเลขที่ 1 7 หมูท่ ี่ 5 บ้านหนองบัวขาว ต�าบลชีลอง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ บรรพชา เมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ทีว่ ดั ปทุมชาติ จังหวัดชัยภูมิ พระอุปัช าย์ พระราชมงคลมน วัดชัยภูมิวนาราม ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ อุปสมบท วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 ณ วัดปทุมชาติ พระอุปัช าย์ พระราชมงคลมุนี วัดชัยภูมิวนาราม พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาอนงค์ สร วัดชัยภูมิวนาราม พระอนุสาวนาจารย์ พระบัว อง กน ม ม วัดปทุมชาติ

วิทย าน

พ.ศ. 2522 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดปทุมชาติ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2534 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาตรีพทุ ธ ศาสตรบัณ ิต (พธ.บ.) คณะพุทธศาสตร์ วิชาเอกศาสนา มหาวิทยาลัย มหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 254 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาโท การศึกษามหาบัณ ติ (กศ.ม.) คณะศึกษาศาสตร์ (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

งาน าร ครอง

พ.ศ. 2534 เป็นเจ้าอาวาสวัดปทุมชาติ จังหวัดชัยภูมิ และ เป็นเจ้าคณะ ต�าบลชีลอง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

าร ิบัติหน้าที่ด้าน าร

พ.ศ. 2534 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม ส�านักศาสน ศึกษาวัดชัยภูมวิ นาราม ต�าบลในเมือง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2550 เป็นพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน โรงเรียนบ้านหนองบัวขาว ต�าบลชีลอง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

4

.indd 55

55

17/5/2562 17:55:04


-

. .2534 (

. .2535 (

)

124

2.

56

.

0

. (

.

.

. .2440.

.

) . .

.

55 . .

-

.

-

. .2390 )

36

.

9 .5

. .2505.

. .

.

. -

. 1 7

-

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4

.indd 56

17/5/2562 17:55:06


9 2

. .2525

. .2520

( . .)

-

-

. .2534.

-

.

. .2552. ( . .) . .254

.

-

. .2534 .

. .2534.-

. .2550. . .2523.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

4

.indd 57

-

.

.

-

)

(

:

57

17/5/2562 17:55:09


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ูล รั ยลาดให ่

ารป ัตธรรมเปน ารเ ม ูนอรย รั ย

“Dharma-practicing is an accumulation of seven noble treasures”

Wat Phun Sap Lat Yai ระครูสุตช ยภาส ั ู

ั ย

Phra Khru Sutchayophat takes a position of abbot at this temple.

วั ด พล รั พ ย์ ล าด ห ่ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 1 บ้ า นลาดใหญ่ ถนนชั ย ภู มิ - บั ว ใหญ่ หมู่ที่ ต�าบลลาดใหญ่ อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2537 ที่ดินตั้งวัดรวม 2 แปลงมีเนื้อที่ 16 ไร่ Wat Phun Sap Lat Yai is located at 1, Ban Lat Yai, Chaiyaphum-Bua Yai road, village no.8, Lat Yat sub-district, Mueang Chaiyaphum district, Chaiyaphum province. This temple belongs to Maha Nikaya clergy. It was built in B.E.2537. This temple’s area were divided into two parcels and the total scale of this temple’s land is 6.4 acres.

รก

58

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.

.indd 58

16/5/2562 18:46:25


ะ เปน ั

ทรั ย

เนือ่ งจาก ประชาชนในต�าบลลาดใหญ่ มีวถิ ชี วี ติ ในแบบเรียบง่าย พึง่ พา อาศัย ึ่งกันและกัน ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม และนับถือศาสนาพุทธ โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางในการยึดเหนี่ยวจิตใจ และมีการด�ารงชีวิตตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง จึงได้สร้างทีพ่ กั สงฆ์ขนึ้ บนทีด่ นิ ของนายทองสุข พา มิ พลี เพราะมีพระภิกษุทมี่ วี ตั รปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบเข้ามาปฏิบตั ธิ รรมอยู่ ชาวบ้าน มีความเลือ่ มใสศรัทธา ต่อมา นางเจียน พูลทรัพย์ ได้ อื้ ทีด่ นิ ถวายให้สร้างวัด มีชื่อว่า “วัดพล รัพย์ลาด ห ่” เพื่อเป็นเกียรติคุณแก่ผู้บริจาคที่ดิน จึงน�า นามสกุลของผู้บริจาคและต่อท้ายด้วยชื่อบ้านเพื่อแสดงต�าแหน่งที่ตั้งวัด The path to become Wat Phun Sap Lat Yai Due to the fact that people in Lat Yai sub-district had humble way of life, they mutually depended on each other. Most of them were Buddhists and earned a living from agriculture which there was a temple that acted as spiritual center. Moreover, they also followed the concept of sufficient economy. Then, they built a resting place for monk in the land of Mr.Thongsuk Phachimphli because there was some monks who had been observing the precepts excellently, usually came to this area to practice the dharma which made the faithfulness grew in their minds. After that, Mrs.Jien Phunsap had bought the land and offered this land to be land for temple-building which the name of that temple was “Wat Phun Sap Lat Yai” for the sake of the one who offered this land, that’s why they named this temple by surname of this contributor attached with area’s name to show the this temple’s location.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 59

59

16/5/2562 18:46:30


อา า ทิศเหนือจดถนนสายชัยภูมิ-บัวใหญ่ ทิศใต้ จดที่นาชาวบ้าน ทิศตะวันออก จดที่นาชาวบ้าน ทิศตะวันตก จดที่ดินนางหลง แ ่กิม อาคาร สนาสนะ ศาลาการเปรียญกว้าง 1 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2532 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กุฏิสงฆ์ จ�านวน 4 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 หลังและตึก 2 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 15 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2523 งานบ และ ระ พ ้อง น ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ สรงน�้าพระ ปฏิบัติธรรมวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา บุญเดือนหก เข้าพรรษาและ ออกพรรษา

ทัศนย

60

ยท

Territory : North territory is adjacent to Chaiyaphum-Bua Yai road. South and East territory are adjacent to folk’s farmland. West territory is adjacent to Mrs.Long Saekim’s land. Important buildings – Sermon hall which was built in B.E.2532. 4 Monk’s houses and multi-purpose hall, these buildings were built in B.E.2523. Religious ceremony and local custom – This temple has been held many religious ceremonies as follows: Songkran festival which people will sprinkle water onto a Buddha image. They also arranged dharma-practicing on Buddhist holy days as follows: Chao Phor Phraya Lae-worshipping festival, the start and end of Buddhist lent.

กศ

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.

.indd 60

16/5/2562 18:46:37


ก รบร ร ะก รปก ร

เท ททร บน

1. พระมหาพันธ์ พ.ศ.2516-2526 2. พระพินทะ ธมมทินโน พ.ศ. 2527-2529 3. พระครูสุตชโยภาส ปี พ.ศ. 2530 ถึงปัจจุบัน การ ก า มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2516 การเล่าเรียนศึกษาพระปริยตั ธิ รรมนัน้ เป็นสิง่ ส�าคัญทีร่ ฐั ให้ความส�าคัญ มาตลอด ในปัจจุบันมีการจัดการศึกษาบาลีอย่างเป็นระบบ โดยส�านักงาน แม่กองบาลีสนามหลวงรับผิดชอบดูแลโดยภายใต้การก�ากับของมหาเถร สมาคม ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทยเพราะภาษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาทีจ่ ารึกพระไตรปฎก เป็นภาษาทีพ่ ระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธ ศาสนาในสมั ย นั้ น หลั ง จากพุ ท ธปริ นิ พ พานมี ก ารท� า ปฐมสั ง คายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีส�าหรับจดจ�าพระไตรปฎก พระสงฆ์สาย เถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึก ึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบ ทานกับพระไตรปฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความ หมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปฎกให้ถกู ต้องไม่บดิ เบือน และหน้าทีน่ ี้ ก็เป็นหน้าทีข่ องพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันในการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา Administration of this temple – All the names of abbots as far as evidence goes are as follows: 1. Phra Mahaphan took a position of abbot since B.E.2516 until B.E.2526. 2. Phra Phintha Thammatinno took a position of abbot since B.E.2527 until B.E.2529. 3. Phra Khru Suttachayopas has been taking a position of abbot since B.E.2530 until now. Education – There is Phra Pariyatti Dhamma School at this temple which opened since B.E.2516. The tripitaka-studying is an important factor that government has always been giving priority to it. At present, the studying of Pali language is arranged systematically which Central Pali Testing Service Headquarters of Thailand is responsible and taking care of this issue under supervision of The Sangha Supreme Council of Thailand which supported by Thai government because Pali language or Magahi language are languages that inscribed in tripitaka which these languages were used by Lord Buddha when he propagated Buddhism during his era. After Lord’s Buddha went to nirvana, First Buddhist council was emerged and many senior monks agreed to use Pali language for tripitakarecording. Theravadin monk had to study Pali language to comprehend this language profoundly. Moreover, they are able to checked and compare an original tripitaka with another tripitaka that were kept in various places for preserving the correct interpretation of Buddha’s words in tripitaka which this duty is also the duty of Buddhist monk in Thailand like the propagation of Buddhism. Remark: Seven noble treasures are excellent treasures of the mind in Buddhism which are faith, morality, moral shame, moral fear, great learning, charity and wisdom. CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.

.indd 61

61

16/5/2562 18:46:43


H I STORY OF BU DDHI S M

ูนยป ัตธรรม ระ ุ ธ า ภูชาต สง สะอาด ประ า ระ ุ ธ าสนา

ระ ท บ ร

ระมหา ยธน ยธ ั ิช

ู ย ิ ั ิ

ภูช ิ

ปริมณ ลพระพุทธบาทภูชาติ เป็นโบราณสถานเก่าแก่ทางพระพุทธศาสนาอีกแห่งหนึง่ ทีถ่ กู ทอดทิง้ มานาน ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ต�าบลนาเสียว อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ ห่างจากตัวจังหวัดชัยภูมิ 12 กิโลเมตร อยู่ในเขตเทือกเขาภูชาติ พื้นที่สุดเขตด้านทิศตะวันออกของภูชาติติดกับถนนชัยภูมิแก้งคร้อ เส้นทางหมายเลข 201 ในช่วงกิโลเมตรที่ 136 ด้านทิศใต้ติดเขตกั้นระหว่างต�าบลบ้านเล่ากับ ต�าบลนาเสียว วัดมีสถานะเป็นที่พักสงฆ์ร้าง มีอายุไม่ต่�ากว่า 50 ปี ในอดีตมักมีพระธุดงค์เดินทาง มาปักกลดปฏิบตั ธิ รรมเป็นประจ�า ในพืน้ ทีป่ ริมณ ลดังกล่าวมีปชู นียวัตถุ งึ่ มีรอ่ งรอยความเจริญรุง่ เรือง เช่น มีรอยพระบาทอยูในระนาบเดียวกันกับพระพุทธบาทภูพระ สระหงษ์ ภูชาติ ภูแฝด และภูโค้ง โดยเ พาะอย่างยิ่งรอยพระพุทธบาทภูชาติ ผู้เฒ่าผูแ้ ก่ในบริเวณแถบนีก้ ็ร้กู นั ว่ามีรอยพระบาทอยูภ่ ายใน เทือกเขาภูชาติ แต่ไม่ทราบว่าประดิษฐานอยู่จุดใด อีกทั้งมีการน�าท่อนไม้ ุงมาปดทับรอยพระบาท ไว้เมื่อพระมหาโยธิน โยธิโก ปัดชาสี (ป.ธ.9 พธ.บ. ศศ.ม. อ.ม. พธ.ด.) ได้เดินทางพิจารณาสภาพทาง ภูมศิ าสตร์ตามค�าแนะน�าของพระราชชัยสิทธิสนุ ทร รองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ จึงเห็นว่าเป็นสถานทีเ่ หมาะสม ที่จะบ�าเพ็ญบารมีธรรมให้เจริญยิ่งขึ้น ทั้งยังเป็นชัยภูมิที่เหมาะสมที่จะก่อตั้งเป็นวัด จึงได้ตัดสินใจ อย่างแน่วแน่ทจ่ี ะสร้างสถานทีแ่ ห่งนี้ ตัง้ แต่วนั ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2559 อีกทัง้ เพือ่ ช่วยปองกันการบุกรุก และท�าลายป่าในปริมณ ลนี้ให้คงสภาพอุดมสมบูรณ์อีกด้วย 62

2

ถ�า้ พระนอน (พระพุทธไสยาสน์) หรือที่เรียกกันในอดีตว่า เกิ้งพระ ขี้ครั่ง เป็นพื้นที่ที่มีเจ้าป่า เจ้าเขา ปีศาจ ผีสางนางไม้ ที่สิงสถิตอยู่ใน อาณาบริเวณ ต้นไม้ ก้อนหิน ตลอดจน สิ่ ง ของสั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ถู ก สมมติ ใ ห้ มี ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ขึ้ น เป็ น ที่ เ คารพ ย� า เกรงของผู ้ ค นในชุ ม ชน ในคติ ความเชื่อทางพุทธศาสนา รูปแบบ ของคูหา ถ�า้ ทางธรรมชาติหลายแห่ง ได้ถูก สร้าง หรือ สมมติ ให้เป็น เขตศักดิ์สิทธิ์

ปเท

ก ร

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 62

16/5/2562 16:18:08


ถ�้าพระนอน (พระพุทธไสยาสน์) แห่งนี้ มีทางเข้าถ�้าสามารถเดิน ทะลุออกหลังถ�้าได้ แต่ตอนนี้ถูกดินทับถมปดทางออกไว้แล้ว และก็ เป็นภูมสิ ถานทีเ่ หมาะการเจริญพระกัมมัฏฐานอย่างยิง่ ภายในถ�า้ แห่งนี้ ยังมีเรือ่ งเล่าถึงความอาถรรพ์มากมาย โดยเ พาะเรือ่ งเกีย่ วกับเหล็กไหล และเชื่อว่ามีพระพุทธรูปอยู่ 4 องค์ และสิ่งของมีค่าภายในถ�้า (กล่าว ตามนิมติ และเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ) ถ�า้ แห่งนี้ มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ตะแคง า้ ย พระกรขวาทอดไปข้างหน้า ขนาดยาว 14 ศอก สูง 4 ศอก เป็นพระพุทธรูปฐานเป็นคูหาภิมุขอยู่หน้าถ�้า บ่อน�า้ ทิพย์ เป็นลักษณะบ่อทีเ่ กิดกลางแผ่นหิน ไม่ใช่บอ่ ทีม่ คี นขุด ความลึกของบ่อน�้าทิพย์ ไม่สามารถลงไปวัดได้ ภายในบ่อน�้าจะเป็น อุโมงค์ลึกความกว้างประมาณ 6 เมตร มีความเชื่อกันว่าเป็นเมือง บาดาลหรือดินแดนของพญานาคที่สถิตอยู่ เป็นที่เชื่อมโยงระหว่าง มนุษย์พิภพกับนาคพิภพ ตามต�านานได้เกี่ยวพันกับการให้โชคลาภ และสรรพคุณในการน�ามาดื่มเพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บ นอกจากนั้น ยังพบอีกบ่อหนึง่ ห่างกันออกไปอีกราว 500 เมตร เมือ่ ปลายปี 2561 ได้มพี ระสงฆ์ฝนั เห็นงูใหญ่เกล็ดสีเขียวออกแสง หลังจากความฝันเพียง 3 วันเท่านั้น ก็ได้พบบ่อน�้าทิพย์อีกบ่อหนึ่ง

ระ ท เ

บันทึก เศ

เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2560 พระพรหมสิทธิ เจ้าอาวาสวัด สระเกศราชวรมหาวิหาร ได้เมตตามอบพระบรมสารีริกธาตุในส่วนที่ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสณมหาเถร) อดีต ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชได้เก็บไว้ภายในวัด ึ่ง ได้รับจากรัฐบาลอินเดีย เมื่อปี พ.ศ. 2439 (สมัยรัชกาลที่ 5) ให้แก่ พระมหาโยธิน โยธิโก ณ ศาลาการเปรียญวัดสระเกศ เพื่ออัญเชิญ พระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานภายในปริมณ ลพระพุทธบาท ภูชาติ ึ่งขณะนี้อยู่ในช่วงการด�าเนินการปรับพื้นที่เพื่อด�าเนินการ ก่อสร้างพุทธอุทยานและพระบรมธาตุสิทธัตถะให้ส�าเร็จภายในปี พุทธศักราช 2569 งานส�าคัญและกิจกรรมต่างๆ ภายในวัด มีดงั นี้ 1. วันเพ็ญเดือน 3 จัดงานบุญผะเหวด งั เทศน์มหาชาติ งานนมัสการรอยพระพระพุทธบาท 2. วันที่ 12-15 เมษายนของทุกปี จัดงานสมโภชพระบรมสารีริกธาตุ ปฏิบัติธรรมกัมมัฏฐานข้ามวันทุกคืน 3. งานปฏิบัติธรรมประจ�าปี ท�าความดีต้อนรับพุทธศักราชใหม่ ระหว่างวันที่ 20-29 ธันวาคม ใน โครงการมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น 4. สวดมนต์และปฏิบัติธรรมหน้าถ�้าพระนอนเป็นประจ�าทุกวัน และ 5. เป็นที่ฝ กอบรมและปฏิบัติธรรมส�าหรับหน่วยงานราชการและ พุทธศาสนิกชนที่มีจิตใจศรัทธาปสาทะในพระพุทธศาสนา I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 63

63

16/5/2562 16:18:12


วัดชุมพลสวรร ์ ส่งเสริม าร ิบัติ รรม ล ม่ทิ้ง ันยามอา า

า ร ริยัติ รรม

ระครูธรรมธร ูรย เตชป ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส และเ ้าค ะตา ล ้านค่าย เขต

วัดชมพลสวรรค์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ เลขที่ 206 หมู่ 3 บ้านท่าหว้า ต�าบลบ้านค่ายอ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ มีเนือ้ ที่ 7 ไร่ 4 งาน 33 ตารางวา เป็นวัดโบราณ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2319 โดยมีหลวงพ่อทอง เป็นผูก้ อ่ ตัง้ วัด ต่อมาก็มกี ารก่อสร้างและมีการดูแล บูรณปฏิสังขรณ์อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

าร ครอง

นอกจากจะปกครองตามพระธรรมวินัย พระราชบัญญัติ กฎและ ระเบียบทางคณะสงฆ์แล้ว ยังมีประเพณีและระเบียบนิยมของวัดเป็น แนวทางปกครองสืบมา แม้มกี ารผลัดเปลีย่ นเจ้าอาวาสมาหลายรูปก็ตาม แต่ก็คงถือระเบียบปฏิบัติ เพื่อจะรักษาประเพณีนิยมของวัดอันมีมาแต่ โบราณกาลนั้นเอง 64

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 64

18/5/2562 13:57:52


ารอ สมบท

ใช้วธิ อี ปุ สมบทแบบอุกาสะเท่านัน้ พระภิกษุสามเณรทีม่ าจากต่างวัด เมื่ อ เข้ า สั ง กั ด วั ด แล้ ว จะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บนี้ โ ดยเคร่ ง ครั ด ผู้ละเมิดหรือไม่ปฏิบัติ จะต้องถูกลงทัณ กรรมหรือปัพพาชนียกรรม

ล�าดับเจ้าอาวาสวัดชม ลสวรรค เท่าที่ทราบนามมีดังนี้

1. หลวงพ่อ อง ผูก้ อ่ ตัง้ วัดและปกครองวัดจนถึงมรณภาพในสมณเพศ 2. พระครสรรั นา าน สง ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส เมือ่ ปี พ.ศ. 250 และเจ้าคณะต�าบลบ้านค่าย เขต 1 เป็นพระอุปชั าย์ตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2514 จนถึงมรณภาพในสมณเพศ เมื่อปีพ.ศ. 2553 3. พระคร รรม รไพ รย์ ช ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ชุมพลสวรรค์ในปัจจุบัน และเจ้าคณะต�าบลบ้านค่าย เขต 1 และเป็น พระอุปัช าย์

ด้าน าร

าลเ ย ่

สนับสนุนส่งเสริมให้พระภิกษุสามเณรให้ได้รบั การศึกษาตามความรู้ ความสามารถ โดยทางวัดได้ดา� เนินการให้มกี ารเปดสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม มีนักเรียนเข้าสอบในสนามหลวงมาโดยตลอด อนึ่ง เพื่อ เป็นการสนองงานคณะสงฆ์ในด้านนี้ ทางวัดได้ตราระเบียบให้พระภิกษุ สามเณรที่ยังไม่จบการศึกษาปริยัติธรรม ต้องเข้าเรียนที่ทางส�านักเรียน เปดสอน และได้วางหลักเกณ ์ในการส่งเสริมการศึกษา โดยจัดหา หนังสือหลักสูตร ตลอดถึงอุปกรณ์การเรียนการสอนให้ และถวายนิตยภัต แก่ครูผสู้ อน ทัง้ ครูและนักเรียน เมือ่ อาพาธจะได้รบั การดูแลรักษาด้วยดี ในการสอบธรรมสนามหลวงนัน้ ทางวัดโดย พระครูธรรมธรไพ รู ย์ เตชปญโญ เจ้าอาวาสได้จัดหาพาหนะไปกลับให้แก่นักเรียนด้วย การสาธารณูปการ บูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุ เช่น พระอุโบสถ ศาลา การเปรียญ เพื่อความมั่นคงสวยงาม และใช้ประกอบสังฆกรรมต่างๆ ตลอดถึงใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจของพุทธบริษัททั้งหลาย และมีการ ปรับปรุงลานวัด เพื่อให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างให้มีความสะอาดร่มรื่น เหมาะแก่การท�าบุญและการปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชนตลอดไป

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 65

65

17/5/2562 10:48:20


วัราบหลวง ดตาลนาแ ง ่อทอง ร ท รู ทองค�า ั ดิสิท ิ ระสุชาต ปภา ล ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วั ด าลนาแ ง ตั้ง อยู่เ ลขที่ 305 บ้า นหนองนาแ ง หมู่ที่ ต�าบลหนองนาแ ง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 5 ไร่ 2 งาน 1 ตารางวา ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2404 ลักษณะพื้นที่ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ เป็นที่ราบสูง วัดตาลนาแ ง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2523 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

ร วัติความเ นมา

ผู้ริเริ่มในการก่อสร้างวัดนี้คือ พ่อ ร ึ่งเป็นนายอ�าเภอในเขตนี้ ในสมัยนั้น แต่เดิมท่านเป็นคนบ้านหมี่ อ�าเภอหนองโดน จังหวัดลพบุรี ได้อพยพมาตัง้ หลักฐานอยูท่ บี่ า้ นหนองนาแ ง และท่านได้นา� พระพุทธรูป ทองค�าหน้าตัก 16 นิว้ สูง 34 นิว้ มาด้วย และได้นา� พาชาวบ้านสร้างวัด ขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทองค�า ึ่งชาวบ้านเรียกท่านว่า “หลวงพ่อ อง” เหตุทไี่ ด้ตงั้ ชือ่ ว่า “วัด าลนาแ ง” เนือ่ งจากมีตน้ ตาลทีป่ ลูกไว้ในวัด และมีหนองน�า้ “หนองนาแ ง” อยูใ่ กล้วดั เลยถือเอานิมติ นีใ้ นการตัง้ ชือ่ วัดนั่นเอง โดยเ พาะประชาชนในเขตต�าบลหนองนาแ ง มีภาษาถิ่น 66

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 66

18/5/2562 16:20:31


ที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจ�าวันคือ ภาษาไทย และภาษาอีสาน ส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ มีวดั ถึง 7 แห่ง และส�านักสงฆ์อกี 1 แห่ง วัดตาลนาแ ง เป็นหนึ่งในวัดที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านในต�าบลหนองนาแ ง และบริเวณใกล้เคียงรวมไปถึงผู้คนจากต่างถิ่นที่มาเยือน

อา าเขต

ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก จดถนนสาธารณะ มีที่ธรณีสงฆ์จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา โ นดที่ดินเลขที่ 6015

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 67

67

17/5/2562 14:15:08


อาคารเสนาสน ร อบด้วย

อุโบสถ กว้าง เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2514 เป็น อาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2529 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ กุฏิสงฆ์ จ�านวน 1 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 14 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2540 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ูชนียวัต มีพระประธานในอุโบสถและพระพุทธรูปปางต่างๆ อีก 45 องค์

ารบริหาร ล าร ครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม ดังนี้ 1. พระถัน 2. พระเก้า 3. พระหมั่น 4. พระรุณ 5. พระชน 6. พระสี 7. พระปัน . พระครูวิจิตรชยารักษ์ 9. พระทองเพชร 10. พระภิรมย์ 11. พระบุญธรรม 12. พระรอด 13. พระบัวลา 14. พระดาว 15. พระมิ่ง สุมงคโล 16. พระบัวเรียน สุภทโท 17. พระสุชาติ ปภากโล

พ.ศ. 2472 247 พ.ศ. 247 251 พ.ศ. 251 2519 พ.ศ. 2519 2520 พ.ศ. 2520 2522 พ.ศ. 2522 2523 พ.ศ. 2524 2532 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2534 2545 พ.ศ. 2546 2557 พ.ศ. 255 ปัจจุบัน

วัตร ิบัติ ล ิจ รรมทาง ร ท าสนา

วัดตาลนาแ ง มีวตั รปฏิบตั ขิ องพระสงฆ์ทเี่ คร่งครัดในพระธรรมวินยั มีกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาทุกวัน ตั้งแต่เช้าพระสงฆ์ออกบิณ บาต เป็นวัตรปกติ มีการสวดมนต์ท�าวัตรเช้า-เย็นทุกวัน ส�าหรับวันพระ มี ถื อ ศี ล อุ โ บสถส� า หรั บ ฆราวาส และจั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมในวั น ส� า คั ญ ทางพระพุทธศาสนาตลอดทั้งปี

68

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 68

18/5/2562 13:58:41


รเ

ี ล วั น รรมท้อง ิ่นที่ส�าคั

ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 มกราคมจัดงานท�าบุญตักบาตร ประเพณีบุญวันมาฆบูชา ประเพณีบญ ุ เทศมหาชาติ (บุญพระเวส) จัดในช่วงเดือน 4 ของทุกปี ประเพณีวันสงกรานต์ วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี จัดงานท�าบุญตักบาตรร่วมกันสรงน�้า พระ ขอพรจากผู้สูงอายุ ประเพณีบุญเบิกบ้าน (บุญเดือนหก เลี้ยงปู่ตา) จัดในช่วงเดือนหกของทุกปี ประเพณีวันเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคม ประเพณีบุญข้าวกระยาสารท จัดในช่วงเดือนสิบของทุกปี ประเพณีวันออกพรรษา จัดในช่วงเดือนสิบเอ็ดของทุกปี ประเพณีบุญกฐิน จัดในช่วงวันออกพรรษาไม่เกิน 1 เดือนของทุก CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 69

69

18/5/2562 13:58:46


วัด นนสูงสะอาด

จัดอบรม ิบัติ รรมท

ระอธ ารสุปน สุมงค ล ดารงตาแหน่งเ า้ อาวาส

วัด นนสงสะอาด ตั้งอยู่ที่บ้านโนน ม. ต.โนนส�าราญ อ.เมือง จ.ชัยภูมิ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเ ียงใต้ของหมู่บ้าน (สังกัดมหานิกาย) มีเนื้อที่ ไร่ 1 งาน 7 ตารางวา ทางทิศเหนือยาว 125.30 เมตร ติดถนนสาธารณะ ทางทิศใต้ ยาว 144.50 เมตร ติดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก ยาว 6 เมตร ติดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตก ยาว 102 เมตร ติดถนนสาธารณะ

ร วัติความเ นมา

วั ด โนนสูง สะอาด ตั้ง ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2470 ผู้จัด ตั้งครั้งแรก คือ นายดอ รัก ม์ งึ่ ขณะนัน้ ด�ารงต�าแหน่งเป็นผูใ้ หญ่บา้ น ได้รว่ มมือกับ บุคคลทีส่ า� คัญในหมูบ่ า้ น มนายจัน ร์ นยม น นายมล นยมพัน ์ และ 70

นายค นยม ชค เป็นหัวเรีย่ วหัวแรงในการก่อสร้าง พร้อมทัง้ หาทุนร่วม กับชาวบ้านทุกๆ คน ภายหลังบุคคลทัง้ สองยังเป็นทายกของวัดด้วยต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2513 ได้ย้ายวัดมาตั้งอยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบัน โดยการน�าของ นายอน ร์ ร อาจอนงค์ ผูใ้ หญ่ขณะนัน้ และนายใบ นายเมือง ร่วมกับชาวบ้าน บริจาคทีด่ นิ และแลกเปลีย่ นทีด่ นิ โดยมีทดี่ นิ ของนายอินทร์ศร เป็นหลัก

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 70

18/5/2562 16:01:46


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

17/5/2562 10:01:42


ร วัติเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระอ การส น สมงค ล ลมชัย ม เกิดเมือ่ วันศุกร์ 13 มีนาคม พ.ศ.250 ภูมลิ า� เนาเดิม 90 บ้านโนน หมู่ 1 ต�าบลโนนส�าราญ อ�าเภอเมือง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ปั จ จุ บั น ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด โนนสู ง สะอาด เลขที่ 175 บ้านโนน หมู่ ต�าบลโนนส�าราญ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เบอร์โทรศัพท์ 093-539-56 2

สิ่ง ลู สร้าง ล าวรวัต

1. กุฏิสงฆ์หลังใหญ่ 1 หลัง 2 ชั้น กว้าง 16 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2540 2. กุฏิกรรมฐาน หลัง กว้าง 2 เมตร ยาว 4 เมตร 3. พระอุโบสถ 2 ชั้น สร้างเมื่อปี พ.ศ. 254 ชั้นบนเป็น พระอุโบสถ กว้าง 14 เมตร ยาว 20 เมตร ชัน้ ล่างเป็นศาลาการเปรียญ กว้าง 24 เมตร ยาว 36 เมตร 4. ศาลาธรรมสังเวช 2 หลัง กว้าง 15 เมตร ยาว 16 เมตร 5. เมรุ 1 หลัง กว้าง 10 เมตร ยาว 15 เมตร สูง 35 เมตร 6. โรงทาน 2 หลัง กว้างหลังละ เมตร ยาว 20 เมตร 7. หอระฆัง 1 หลัง .หอกลอง 1 หลั ง 9. แท็ ง ก์ น�้ า 1 แท็ ง ก์ 10. ห้ อ งน�้ า 36 ห้ อ ง 11. โอ่งน�า้ 30 ใบ 12. มุ้ ประตู 3 มุ้ และ 13. ก�าแพงรอบๆ วัด 4 ทิศ

ที่ ร ีสง

ตัง้ อยูท่ ศิ ใต้ของวัด มีถนนสาธารณะเส้น บ้านค่าย บ้านกระพีด้ อนขวาง จ�านวนเนื้อที่ 5 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา ได้ ื้อจากชาวบ้าน ทิศเหนือ ยาว 100 เมตร ทิศใต้ ยาว 120 เมตร ทิศตะวันออกยาว 7 เมตร ทิศตะวันตก ยาว 49 เมตร

ท�าเนียบเจ้าอาวาส

ก่อนปี พ.ศ. 2526 ไม่สามารถสืบประวัติได้ 1. พระอธิการเสงี่ยม อริยวังโส พ.ศ. 2526 2542 2. พระอธิการสุปัน สุมังคโล พ.ศ. 2543-ปัจจุบัน

วยาวัจ รของวัด

นายบัวศรี นอกชัยภูมิ นายสมนึก นิยมพร และ นายค�าเขียน มนต์วเิ ศษ

72

าร

าสามั

าร

าทาง รรม

ประถมศึกษา โรงเรียน ิมพลีวิทยา พ.ศ. 2524 มัธยมต้น โรงเรียนสาคริทวิทยา พ.ศ. 2527 มัธยมปลาย โรงเรียนเขมาภิรตาราม พ.ศ. 252 ปริญญาตรี (ศปบ.) มหาวิทยาลัยรามค�าแหง พ.ศ. 2532

นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. 2533 นักธรรมชั้นโท พ.ศ. 2536 นักธรรมชั้นเอก พ.ศ. 2537

หน้าที่ ารงาน

ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 ต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดโนนสูงสะอาด

เ ียรติ ร วัติ ล ลงานดีเด่น

เป็นพระนักพัฒนา เป็นพระวิปัสสนาจารย์ เป็นพระธรรมทูตเผยแผ่ อบรมประชาชนและเยาวชนทั่วประเทศ และต่างประเทศ

ิจ รรมต่าง ของวัด

เปดอบรมปฏิบตั ธิ รรม ช่วงในระหว่างวันที่ 23-31 มีนาคม ของทุกๆ ปี อบรมพุทธศาสนิกชนในวันส�าคัญทางพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสา หบูชา และทุกๆ วันพระ วันขึน้ ปีใหม่ วันสงกรานต์ วันพ่อ วันแม่แห่งชาติ บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ทุกๆ ปี กิจกรรมค่ายคุณธรรม จริยธรรม ส�าหรับนักเรียน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 72

17/5/2562 10:01:43


า ใจในการพัก อน รั พิ

า ใจ รา

คอมแพคสไตล์ อบอุ่น คุ้มค่า ประทับใจ

The Wonders Hotel

รงแรมเดอะวันเดอรส

·Õ¨è ʹö¿ÃÕ Wi-Fi ¿ÃÕ ÊÃÐÇ‹Ò¹íÒé ¡Åҧᨌ§ âçáÃÁ»ÅÍ´ºØËÃÕè ½†ÒµŒÍ¹ÃѺ 24 ªÑèÇâÁ§ ˌͧÊÐÍÒ´¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ ·Õè¹Í¹ หมอนนอนแล้วหลับสบาย คุ้มค่าคุ้มราคา สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง อาทิ อุทยานแห่งชาติน�้าตกตาดโตน อุทยานแห่งชาติภแู ลนคา (มอหินขาว) Í‹Ò§à¡çº¹íéÒª‹ÍÃÐ¡Ò ÈÒÅ਌Ҿ‹Í¾ÃÐÂÒáÅ-ÊǹÊÒ¸ÒóРหนองปลาเฒ่า, ปรางค์กู่ วัดพระพุทธบาทภูแฝด วัดชัยภูมิพิทักษ์(ผาเกิ้ง) พระธาตุชัยภูมิ

ส� า หรั บ สระว่ า ยน�้ า เราใช้ ร ะบบน�้ า เกลื อ ฆ่ า เชื้ อ โรคในน�้ า โดยเกิ ด SODIUM HYPOCHLORITE และ SODIUM CHLORIDE(NaCI) ซึง่ เป็นเกลือธรรมชาติดงั้ เดิม น�า้ เกลือ จะไม่สญู หายไปเมือ่ ใช้ฆา่ เชือ้ โรคแล้ว ผูด้ แู ลสระจะวัดค่ากรดด่างของน�า้ เกลือ ความเค็มในสระ จะเค็มเท่ากับครึ่งหนึ่งของน�้าตามนุษย์ จึงไม่ระคายเคืองต่อตาผิวหนัง ที่ส�าคัญเพิ่มความ ชุ่มชืน่ แก่ผิวหนังได้ดอี กี ด้วย

รงแรมเดอะวันเดอรส

ต�าบล นเ อ อ�าเ อเ อ ั วัด ัย ิ onebuild298@gmail.com The Wonders Hotel ดวยนะ ะ

1

The Wonders Hotel.indd 73

16/5/2562 18:34:29


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดสว่างอารม ชุมชน นนสา ร ระครู ัน ป (ดเร น ป ั

ั ิ

าประ ชต )

ม ชมช

อาคาร สนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง เมตร ยาว 15 เมตร อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2545 เสร็จปี พ.ศ. 2552 กุฏิ 5 หลัง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูน 2 ชัน้ 1 หลัง ชัน้ เดียว 2 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลั ง มณ ป เป็ น อาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก พร้ อ มพระพุ ท ธรู ป ทองผสมพิ ม พ์ สุ โ ขทั ย ปางสมาธิ ศาลาธรรมสังเวช เป็นอาคารทรงไทยคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาอเนกประสงค์ เป็น อาคารไม้โล่ง ปัจจุบนั เป็นศูนย์การเรียนรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาชาวบ้าน สุขศาลา เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ปัจจุบันเป็นที่ท�าการ อสม.ชุมชนโนนสาทร พระพุทธรูปหิน ขนาดหน้าตักกว้าง 16 นิ้ว 2 องค์ พระประธาน 1 องค์ พระโมคคัลลานะ-พระสารีบุตร อย่างละ 1 องค์ พระพุทธรูปปางสมาธิ หล่อด้วยโลหะทองเหลือง 2 องค์ ชนยวั

วัดสว่างอารม ์ ชุมชนโนนสาทร ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 4 ต�าบลในเมือง (เดิม เป็น เลขที่ 1 หมู่ที่ 6 ต�าบลรอบเมือง) อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2450 เดิมชื่อ “วัด นนสา ร” ผู้บริจาคที่ดินให้สร้างวัด คือ ขุนพินิจอักษร ได้รับพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ พ.ศ. 24 3 เขต วิสงุ คามสีมา กว้าง เมตร ยาว 15 เมตร สังกัดการปกครองสงฆ์ ต�าบลในเมือง เขต 2 ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ ไร่ 3 งาน 2 ตารางวา 74

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 74

16/5/2562 18:16:16


ก รบร ร ะก รปก ร

รายนามเจ้าอาวาสปกครองวัดสว่างอารมณ์ ชุมชนโนนสาทร บันทึกไว้ได้ เท่าที่ทราบดังนี้ 1. พระเหลือง 2. พระบุญมา 3. พระปาน 4. พระแก้ว 5. พระบุญเพ็ง 6. พระเถ้า 7. พระวิสิทธิ์ . พระนิพนธ์ 9. พระอุด ร 10. พระค�า ตา 11. พระบุญชู พ.ศ.2501-2504 12. พระถวิล นามสกุล จินาวงศ์ พ.ศ.2504-2510 (ลาสิกขา) 13. พระบุญเลี้ยง จนทโสภโณ พ.ศ.2510-2515 14. พระสมพงษ์ อคคสุวณโณ พ.ศ.2515-251 (ต่อมาเป็นเจ้าคณะ อ�าเภอเทพสถิต ก่อนมรณภาพ พ.ศ.2557) 15. พระอธิการประดิษฐ์ สุขวโร พ.ศ.251 -2550 16. พระครูจนั ทปัญญาประโชติ (ดิเรก จนทป โญ) พ.ศ.2551-ปัจจุบนั

การ ก า มีโรงเรียนวัดสว่างอารมณ์ ตั้งอยู่ภายในวัด สังกัดส�านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชัยภูมิ เขต 1 ก่อตัง้ เมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 24 1 ยุบเลิกสถานศึกษา เมื่อปีการศึกษา พ.ศ. 2557 วัดตัวอย่าง รางวัล และความภูมิใจ วั ด พั ฒนาตั ว อย่ า ง ปี พ .ศ. 255 ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ วั ด ต้ น แบบด้ า นส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2557 ส�า นักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ อุทยานการศึกษาในวัด พ.ศ. 2556 วัดส่งเสริมสุขภาพดีเด่น ระดับเขต พ.ศ. 2556 วั ด ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพดี เ ด่ น จั ง หวั ด ชัยภูมิ พ.ศ. 2556 สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 219

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

16/5/2562 18:16:30


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ม ลี ้านงว ระมหา ุ เ ียง านสุ ภ ั ิม

วัด ิมพลี บ้านงิ้ว ตั้งอยู่เลขที่ 19 ต�าบลโนนส�าราญ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ เป็นวัดเก่าแก่ประมาณ 100 กว่าปี ึ่ง มีพระภิกษุเข้ารับด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส ด้วยกันหลายรูป

76

.indd 76

และในเวลาต่อมาพระครูพิพัฒน์ชัยคุณ ายา เรวโต ได้เข้ารับต�าแหน่งเป็น เจ้าอาวาส พ.ศ. 2472 ได้แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัด ิมพลี บ้านงิ้ว ต�าบลบ้านค่าย อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ

รร ะ ก ระไ รป ก

กก รเ ร

ประก ร

ดูกรราหุล เธอจงเจริญ เมตตาภาวนาเถิด เพราะเมือ่ เธอเจริญเมตตาภาวนาอยู่ จักละพยาบาทได้ เธอจงเจริญ กรุณาภาวนาเถิด เพราะเมือ่ เธอเจริญกรุณาภาวนาอยู่ จักละวิหิงสาได้ เธอจงเจริญ มุทิตาภาวนาเถิด เพราะเมื่อ เธอเจริญมุทิตาภาวนาอยู่ จักละอคติได้ เธอจงเจริญ อุเบกขาภาวนาเถิด เพราะเมือ่ เธอเจริญอุเบกขาภาวนาอยู่ จักละปฏิฆะได้ เธอจงเจริญ อสุภภาวนาเถิด เพราะเมื่อ เธอเจริญอสุภภาวนาอยู่ จักละราคะได้ เธอจงเจริญ อนิจจสัญญาภาวนาเถิด เพราะเมื่อ เธอเจริญอนิจจ สัญญาภาวนาอยู่ จักละอัสมิมานะได้. (พระไตรปิฎก ฉบับบาลีสยามรัฐ(ภาษาไทย) เล่มที่ 13 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 5 มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ หน้าที่ 115 หัวข้อที่ 145)

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:28:19 PM


ประ ั

พระครูพิพัฒน์ชัยคุณ ายา เรวโต เมื่อส�าเร็จการศึกษาเรียนปริยัติ ธรรมจบนักธรรมชั้นเอก ท่านได้ช่วยรับธุระต่างๆ ภายในวัด จนได้รับ ความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ในต�าแหน่งต่างๆ ด้วยดีมาโดยตลอด ท่านปฏิบตั งิ านในหน้าทีต่ า่ งๆ ในทุกระดับ จะขอยกมาพอเป็นตัวอย่าง ดังนี้ พ.ศ. 2472 ได้แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัด มิ พลี บ้านงิว้ ต�าบลบ้านค่าย อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2477 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัช าย์ วิสามัญ พ.ศ. 2515 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�าบลบ้านค่าย ด�ารงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองชัยภูมิ ชั้นโท พ.ศ. 2519 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นต�าแหน่งรองเจ้าคณะอ�าเภอเมืองชัยภูมิ ขึ้นเป็นชั้นเอก พ.ศ. 2524 พระธรรมทูต เพือ่ ด�าเนินการเผยแพร่พระพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์สุข

น น

ร ปก ร

พ.ศ. 2504 สร้าง ่อมแ มขยายอุโบสถ์หลังเก่าเสร็จและ ลอง เมื่อปี พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2515 รือ้ ศาลาการเปรียญหลังเก่ามาสร้างใหม่เนือ้ ทีใ่ หม่ 9 ห้อง เสร็จเรียบร้อย และ ลองในปี พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2526 สร้างเมรุเผาศพ เสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. 252 พ.ศ. 2527 รื้อกุฏิหลังเก่า สร้างขึ้นใหม่ที่เดิม เสร็จเรียบร้อยแล้ว ลองในปี พ.ศ. 252

ประ ั เ

รปป บัน ย ั เ ป

พระมหาบุญเที่ยง ายา ฐานสุโภ อายุ 52 พรรษา 2 วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม 3 ประโยค ปริญญาโท คณะครุศาสตร์ สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพฯ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง 1. เป็นเจ้าอาวาสวัด ิมพลี บ้านงิ้ว 2. เป็น เจ้าคณะต�าบลโนนส�าราญ

นปก ร พระมหาบุ เที่ยง านสุ ภ

เ ้าค ะตา ล นนสารา และเ ้าอาวาสวัด ม ลี ้านงว

วัตถุมง ลรูปเหมือนพระ รูพิพัตนชัย ุ อดีตเ าอาวาส หนาตัก นิ้ว รา า บาท

ขอเชิ ชวนพุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วม ท�าบุ เพือ่ บูร ะวัด ตามก�าลังศรัทธา ไดที่ ธนา ารกรุงไทย เลขที่บั ชี -0- 1 -8 ชื่อบั ชี วัด ิมพลี หรือ สอบถามเพิ่มเติมที่เบอร์ 08- 10- 1 พระมหาบุ เที่ยง านสุ ภ(เ าอาวาส)

เมื่อได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาส และเป็นเจ้าอาวาส วัด มิ พลี บ้านงิว้ ได้ปฏิบตั ติ ามหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั แต่งตัง้ ตามกฎมหาเถรสมาคม พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ กฎหมายบ้านเมือง ระเบียบ และกติกา ทุกประการ พ.ศ. 255 เป็นเจ้าอาวาสวัด มิ พลี ต�าบลโนนส�าราญ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 255 เป็ น เจ้ า คณะต� า บลโนนส� า ราญ ต� า บลโนนส� า ราญ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2559 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระอุปชั าย์ สามัญ เป็นพระธรรมทูต ประจ�าอ�าเภอเมืองชัยภูมิ (รุ่นที่ 51)

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

. - 16/05/2562 19:28:25 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ค สว่าง ระครูอาคมธรรมาวุธ ั

วัดโคกสว่าง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นห้วยบงเหนือ หมูท่ ี่ 2 ต�าบลโพนทอง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2475 ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 32 ไร่ มีธรณีสงฆ์จ�านวน 1 แปลง เนื้อที่ 1 งาน ผู ้ บ ริ จ าคที่ ดิ น สร้ า งวั ด คื อ นายจูม ใสรังกา และ นายขุลุ างชัยภูมิ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2519 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร 78

า วาธเนน เสย ย ิ

ก รบร ร ะก รปก ร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. . 9. 10. 11. 12.

ั ย

พระสวัสดิ์ พระมหาบุญชม โกวิโท พระสมพงศ์ พระสายพิณ พระประหยัด ยติโก พระหนูจันทร์ ปภากโร พระชั้น อาภากโร พระครูวิโรธ คุณาธาร พระถวิล พระอธิการสนั่น ชุตินธโร พระครูอรัญธรรมนิเทศน์ พระครูอาคมธรรมาวุธ

เท ททร บน

พ.ศ. 2509 - 2513 พ.ศ. 2514 - 2521 พ.ศ. 2521 - 2522 พ.ศ. 2522 - 2523 พ.ศ. 2523 - 2525 พ.ศ. 2526 - 2527 พ.ศ. 252 - 2530 พ.ศ. 2531 - 2537 พ.ศ. 2537 - 253 พ.ศ. 2539 2547 พ.ศ. 2547 2555 พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 78

. - 16/05/2562 19:12:16 PM


ระ ุ ธ ันใ

นับ นนก รศึก

วัดโคกสว่าง ได้มีส่วนอุปถัมภ์การเกิดขึ้นของโรงเรียนบ้านห้วยบง เหนื อ ในปั จ จุ บั น เดิ ม ชื่ อ โรงเรี ย นวั ด โคกสว่ า ง ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อวั น ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2474 โดยอาศัยศาลาวัดโคกสว่างเป็นสถานที่เรียน เปดสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 4 และในปี พ.ศ. 2479 ได้ ย้ายโรงเรียนจากศาลาวัดโคกสว่าง มาตั้งที่บ้านหนองหิน หมู่ที่ 7 ต�าบลห้วยบง อ�าเภอเมืองชัยภูมิ เป็นโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด ส�านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชัยภูมิ 1 ส�านักงานคณะ กรรมการการศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ “ า วา นน สย ย” หมายถึง ปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ เป็น ปรัชญา ที่โรงเรียนยึดเป็นแนวทางสั่งสอนและปลูกฝังให้นักเรียน ศึกษาเล่าเรียน ฝกฝนให้เป็นคนมีความรู้และมีความคิดสร้างสรรค์ น�าความรู้ที่ได้จากการเรียนไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง และอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข และมีค�าขวัญโรงเรียนว่า เรียนดี มีวินัย ใฝ่ คุ ณ ธรรม เพื่ อ พั ฒนาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาของผู ้ เ รี ย นให้ มี ค วามรู ้ คู่ความดี มีความเสียสละ มีพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

. - 16/05/2562 19:12:27 PM


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

วัดอุดร

วัดที่สร้างข้นจา �าลังทรั ย ล ลัง รัท าของชาวบ้าน ระครูส ตชัยวั น (สม ตร ตธม ม) ดารงตาแหน่งเ า้ อาวาส และเ า้ ค ะตา ล ดุ ตุม้

วัดอุดร ตั้งอยู่เลขที่ 32 หมู่ที่ 5 บ้านหนองคอนไทย ต�าบลกุดตุ้ม อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ วัดอุดร เดิมชือ่ วัดม่วง ตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2370 เปลีย่ นชือ่ เป็นวัดหอกลอง เมือ่ พ.ศ. 2430 ต่อมาเปลีย่ นจากวัดหอกลอง มาเป็นวัดอดร เมื่อพ.ศ. 24 5 จนถึงปัจจุบัน เดิมชาวบ้านได้ร่วมกัน สร้างวัดขึ้นตามก�าลังทรัพย์ และพลังศรัทธาของชาวพุทธที่นับถือ พระศาสนา เพือ่ ให้พระภิกษุ สามเณร ได้อยูอ่ าศัย และเป็นทีบ่ า� เพ็ญบุญ ทางพระศาสนา บนเนือ้ ที่ 11 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา หนังสือส�าคัญคือ น.ส.3 ทางอากาศเลขที่ 13 5 สังกัดมหานิกาย

เสนาสน ส�าคั ของทางวัด

มีศาลาการเปรียญ 1 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง พระอุโบสถ 1 หลัง กุฏทิ รงไทยประยุกต์ 5 หลัง ส�านักงานเจ้าคณะต�าบลกุดตุม้ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 3 หลัง หอระฆัง 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง แท้งค์เก็บน�้าฝนดื่ม ตลอดปี 1 แท้ ง ค์ ห้ อ งน�้ า ห้ อ งส้ ว ม อุ บ าสก อุ บ าสิ ก า 2 หลั ง 20 ห้อง ของพระภิกษุ สามเณร 2 หลัง 6 ห้อง มีก�าแพงรอบวัด 4 ด้าน ประตูโคลง 3 ด้าน 80

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 80

17/5/2562 10:14:15


17. พระอาจารย์สง่า ป โญ พ.ศ.2535 2537 1 . พระหลอด (รักษาการเจ้าอาวาส) พ.ศ.2537 2539 19. พระครูสถิตชัยวัฒน์ (สมจิตร์ ฐิตธมโม) พ.ศ.2539-ปัจจุบัน พระครส ชัยวั น์ สมจ ร์ ม ม จ้าอาวาสร จจบัน ท่านเป็นเจ้าคณะต�าบลกุดตุม้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าคณะต�าบลชัน้ เอก เป็นพระอุปัช าย์รูปแรกของต�าบลกุดตุ้ม

วยาวัจร รของวัดอดร น จจบัน 1. นายล้วน บ�ารุงภูมิ 2. นายกองพันธ์ ประจัญฤทธิ์ 3. นายบุญทัน เหวชัยภูมิ

4. นายชม้อย ร่างเจริญ 5. นายสายัณห์ มวลชัยภูมิ 6. นายมานะ เบ้าชัยภูมิ

ร วัติบ้านหนองคอน ทย

ต่อมาทางคณะสงฆ์พร้อมด้วยชาวบ้าน จึงได้รว่ มกันปรึกษาหารือกัน ทีจ่ ะสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ขน้ึ ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 63 เมตร สองชั้น ลักษณะคอนกรีตเสริมเหล็กทั้งหลัง ใช้งบประมาณในการ ก่อสร้างประมาณ 35 000 000 บาท (สามสิบห้าล้านบาท) ึ่ง วางศิลาฤกษ์ไปเมือ่ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2555 เวลา 11.55 น. เพราะ ศาลาการเปรียญหลังใหม่ หลังเก่านัน้ ได้สร้างมาตัง้ แต่ พ.ศ. 2507 ได้ชา� รุด ทรุดโทรมเป็นอันมาก ทางคณะสงฆ์ได้ด�าเนินการสร้างศาลาหลังใหม่ เพื่อจึงเป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางพระศาสนา และเป็นศูนย์รวมจิตใจ ของชาวบ้านที่มาร่วมท�าบุญที่วัดอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

รายนามเจ้าอาวาสวัดตั้ง ต่อดีตจน ง จจบัน ดังนี้

1. พระอาจารย์ยอย พ.ศ.2425-2431 2. พระอาจารย์เคลือ พ.ศ.2431-243 3. พระอาจารย์คูณ พ.ศ.243 -2445 4. พระอาจารย์แสน พ.ศ.2445-2452 5. พระอาจารย์ปน พ.ศ.2452-245 6. พระอาจารย์แสง พ.ศ.245 -2476 7. พระอาจารย์น้อย เพียรวิชา พ.ศ.2476-24 2 . พระอาจารย์สีทอง พ.ศ.24 2-24 5 9. พระอาจารย์สุข พ.ศ.24 5-24 7 10. พระอาจารย์กิ่ง เพียรยิ่ง พ.ศ.24 7-24 9 11. พระอาจารย์แหยม เที่ยงธรรม พ.ศ.24 9-2494 12. พระอาจารย์น้อย แต่งแดน พ.ศ.2494-2497 13. พระครูสุนทรธรรมานุยุต (จ�าปา จิตตเสโน) พ.ศ.2497-2503 14. พระอาจารย์บุญมี โฆสโก พ.ศ.2503-250 15. พระครูเขมบุญญาธิคุณ (บุญถม เขมงกโร) พ.ศ.250 -2533 16. พระมหาวินัย ปุ ญกาโม พ.ศ.2533-2535

เดิมทีตงั้ อยูท่ างทิศตะวันตกเ ยี งใต้ของหมูบ่ า้ น งึ่ อยูต่ ดิ กับหนองน�า้ สาธารณะ หนองเขื่องในปัจจุบัน เป็นที่ของท่านหมื่นนเรศ (ยศทาง ราชการในสมัยนั้น) ึ่งเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก หรือการ ท�าเกษตรกรรม เลีย้ งสัตว์ ปลูกผัก เพราะอยูต่ ดิ กันแหล่งน�า้ โดยท่านหมืน่ นเรศ ให้ขา้ ทาส บริวาร ทีเ่ ป็นลูกน้องเลีย้ งวัว เลีย้ งควาย ท�ากระตอบ (เถียงนา) ใกล้ๆ บริเวณนั้นเพื่อเลี้ยงสัตว์ ต่อมาก็มีผู้ออกมาอยู่ด้วยโดยออกมา จากบ้านกุดตุ้ม โดยเริ่มจากครอบครัวหนึ่ง เป็นสอง สาม สี่ ห้า จนเป็น ที่รู้จักกันในนาม หมู่บ้านหนองบัว ี ในราวพ.ศ. 2300 เริ่มมีผู้คนจากต่างแดน เดินทางมาอยู่ด้วย เพิ่ม มากขึน้ ๆ ต่อมาได้มที างหน่วยงานทางราชการออกมาตรวจดูความเป็นอยู่ ของชาวบ้านที่อาศัยที่หมู่บ้านนี้เป็นที่พักแรม เพราะหมู่บ้านนี้เป็น ศูนย์กลางของหมู่บ้านอื่น โดยชาวบ้านได้น�าละครมาเล่นให้ชาวบ้านได้ ดูคลายเครียด ในการออกตรวจราชการแทบทุกครั้ง เพราะชาวบ้าน หนองบัว ีนี้เป็นนักดนตรี และร้องหมอล�าเป็น จนเป็นที่รู้กันว่าทาง ราชการออกมาตรวจเมื่ อ ไรจะได้ ดู ล ะครเมื่ อ นั้ น จนกลายเป็ น ชื่ อ หนองบัวละครไทย ต่อมามีประชาชนมากขึน้ ทีอ่ ยูเ่ ริม่ คับแคบ เพราะทัง้ สองฝังเป็นหนองน�้าสาธารณะ ถึงฤดูน�้าหลาก น�้าก็ท่วมจึงพากันย้าย หมูบ่ า้ นขึน้ มาทางทิศเหนือหมูบ่ า้ น และชือ่ หมูบ่ า้ นหนองบัวละครไทยก็ เริ่มเรียกกันเพี้ยนมาเป็นบ้านหนองคอนไทยในปัจจุบัน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 81

81

17/5/2562 10:14:23


CHAIYAPHUM

82

AD.indd 82

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

16/5/2562 19:33:08


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 83

83

16/5/2562 19:33:12


า ใจในการพัก อน รั พิ

า ใจ รา มอบความเป็นส่วนตัวอย่างคุ้มค่าให้กับคุณ

LovelyResort Chaiyaphum เล ลี รีสอร

โรงแรมเลิ ลี่ รีสอร์ท ห้องพักใหม่ ทั้งเป็นห้องเดี่ยวพร้อมที่จอดรถ สวนหย่อม รับแสงอาทิตย์ยามเช้า สะอาด ปลอดภัย บริการ ชัว่ โมง ยินดีให้บริการอย่างเป็นกันเอง เดินทางเข้าพักสะดวกติดถนนใหญ่ ภายในห้องพัก มีเครื่องปรับอากา ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�าน�้าอุ่น และสัญญา อินเทอร์เน็ต รี มีทั้งห้องที่เป็นเตียงเดี่ยวและเตียงคู่ รอไว้พร้อมให้บริการทุกท่าน ในวันเดินทางกับการพักผ่อนอันเต็มอิ่ม

รงแรมเลิ ลี่ รีสอรท

นน ัย ิ ตาด ตน ก ต นเ อ อ เ อ ัย ิ ส�ารอ อ ักไดท รอ ร ร เลิ ล รสอรท

1

.indd 84

16/5/2562 15:45:21



TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทาง ามเ นมา ัง ั ั ม

86

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 86

17/5/2562 14:03:51


ชัยภูมิ เป็นจังหวัดในภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทย แต่หากแบ่งตามภูมิศาสตร์ ชัยภูมิ อยู่จะในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้านตะวันตก ร่วมกับจังหวัดเลย และนครราชสีมา หากแบ่งตามลักษณะ ภูมิอากาศจะจัดอยู่ในภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน และแบ่งตามแบบ เขตการปกครองจะจัดอยู่ในกลุ่ม ภาคอีสานตอนล่าง

ูก

พระ

จากนครหลวง วยงจัน น์ งชัย ม นยคกรง รอย ยา เมื่อตัดภาพประวัติศาสตร์กลับไป สันนิษฐานว่า บรรพบุรุษชาวชัยภูมิอพยพ มาในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยบริเวณจังหวัดชัยภูมิแห่งนี้มีประชากรลาว เข้ามาอาศัยอยู่ ึ่งมีการสร้างพระธาตุหนองสามหมื่น อยู่บริเวณต�าบลบ้านแก้ง อ�าเภอภูเขียวปัจจุบัน โดยมีลักษณะแบบศิลปะล้านช้าง ล้านนา และอยุธยา สร้างในสมัยพระไชยเชษฐาธิราชผู้ครองเมืองลาวในยุคนั้น ในเวลาต่อมาเมืองชัยภูมปิ รากฏในท�าเนียบแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา แต่ต่อมาผู้คนได้อพยพออกไปตั้งหลักแหล่ง ท�ามาหากินที่อื่น ในสมัยธนบุรี พระเจ้าตากสินหรือพระเจ้ากรุงธนบุรียกทัพมา ปราบกกเจ้าพิมาย ึ่งมีกรมหมื่นเทพพิพิธเป็นหัวหน้ากก ตั้งมั่นอยู่ที่เมืองพิมาย และต่อมาได้ ยึดเมืองนครราชสีมาเป็นที่ตั้งมั่น เจ้าพิมายให้พระยาวรวงษา ธิราชคุมทัพไปตั้งรับเพื่อตีสกัดทัพพระเจ้าตากสินที่ด่านขุนทดและถูกกองทัพ พระเจ้าตากสินตีจนแตกพ่ายในที่สุด ศึกครั้งนี้ ท�าให้อาจารย์ค�าผู้น�าหมู่บ้านสี่มุมได้น�าชาวบ้านเข้าสวามิภักดิ์ต่อ พระเจ้าตากสินและขออาสาเป็นกองก�าลังร่วมสู้รบในกองทัพหลวงด้วย พระองค์ ทรงยินดีรับไว้และให้เป็นกองก�าลังเข้าตีด่านจอหอจนแตกพ่ายสามารถยึด เมืองพิมายและเมืองนครราชสีมาคืนมาได้ในครั้งเข้าตีด่านจอหอ เมื่อเสร็จการศึก สงครามพระเจ้าตากสินจึงได้ปูนบ�าเหน็จความชอบให้อาจารย์ค�าเป็น พระนรินทร์สงคราม ยกฐานะบ้านสี่มุมขึ้นเป็น เมืองสี่มุม (ในเขตอ�าเภอจัตุรัส ในจังหวัดชัยภูมิปัจจุบัน) ให้ปกครองเมืองสี่มุมให้ขึ้นตรงต่อเมืองนครราชสีมา CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 87

87

17/5/2562 14:03:52


มองผ้กล้าแห่งกรงรั น กสน ร์ เมื่อก้าวเข้าสู่ยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลที่ 1 หมื่นอร่ามก�าแหง หรื อ นายภู มี ช าวเมื อ งนครไทย ึ่ ง เป็ น คนเชื้อสายหลวงพระบาง ได้เข้ามาตั้ง บ้านแปงเมืองในเขตพื้นที่บริเวณอ�าเภอ คอนสารในปั จ จุ บั น และขึ้ น ตรงต่ อ กรุงเทพมหานคร ในสมัยรัชกาลที่ 2 ปี พ.ศ. 2352 ในเขตอ�าเภอภูเขียว และ เกษตรสมบูรณ์ มีชุมชนลาวเวียงจันทน์ อพยพ คือหลวงไกรสิงหนาท ขึ้นตรงต่อ กรุงเทพมหานคร และเมือ่ ปี พ.ศ. 2360 นายแล ข้ า ราชการส� า นั ก เจ้ า อนุ ว งศ์ เมื อ งเวี ย งจั น ทน์ ไ ด้ อ พยพครอบครั ว และบริวารเดินทางข้ามล�าน�้าโขงมาตั้ง ถิ่นฐานอยู่ที่บ้านหนองน�้าขุ่น (หนอง อี จ าน) ึ่ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณท้ อ งที่ อ� า เภอ สูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2362 เมื่ อ มี คนอพยพเข้ า มาอยู ่ ม าก นายแลก็ ไ ด้ ย้ายชุมชนมาตั้งใหม่ที่บ้านโนนน�้าอ้อม บ้านชีลอง ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิ 6 กิโลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไป บรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบ�าเหน็จ ความชอบแต่งตั้งเป็น ขุนภักดีชุมพล ในปี พ.ศ. 2365 นายแลได้ยา้ ยชุมชนอีก ครัง้ หนึง่ เนือ่ งจากทีเ่ ดิมกันดารน�า้ มาตัง้ ใหม่ทบี่ ริเวณบ้านหลวง งึ่ ตัง้ อยูร่ ะหว่าง หนองปลาเฒ่ า กั บ หนองหลอด (เขต อ�าเภอเมืองชัยภูมปิ จั จุบนั ) และได้หนั มา ขึน้ ตรงต่อเมืองนครราชสีมา และส่งส่วย ทองค�าถวายแด่พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ไม่ยอมขึ้นต่อเจ้าอนุวงศ์ อีกต่อไป พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยูห่ วั จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายก บ้านหลวงขึน้ เป็นเมืองชัยภูมแิ ละแต่งตัง้ ขุนภักดีชุมพล (แล) เป็น พระยาภักดี ชุมพล เจ้าเมืองคนแรก ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้กอ่ การกบฏ ยก ทัพเข้ามาหมายจะตีกรุงเทพมหานคร โดยหลอกหัวเมืองต่างๆ ที่เดินทัพมา ว่ า จะมาช่ ว ยกรุ ง เทพมหานครรบกั บ 88

_

อังกฤษ จนกระทั่งเจ้าอนุวงศ์สามารถ ยึ ด เมื อ งนครราชสี ม าได้ เ มื่ อ ปี พ.ศ. 2369 ง่ึ ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้นต่อมาเมื่อ ความแตก เจ้าอนุวงศ์ได้กวาดต้อนชาว เมื อ งนครราชสี ม าเพื่ อ น� า ไปยั ง เมื อ ง เวียงจันทน์ เมื่อไปถึงทุ่งสัมฤทธิ์ หญิง ชายชาวเมื อ งที่ ถู ก จั บ โดยการน� า ของ คุณหญิงโม ภรรยาเจ้าเมืองนครราชสีมา ได้ลุก ือขึ้นต่อสู้ พระยาภักดีชุมพล(แล) เจ้าเมือง ชัยภูมิ พร้อมด้วยเจ้าเมืองใกล้เคียงได้ ยกทัพออกไปสมทบกับคุณหญิงโม ตี กระหนาบทัพเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์จน แตกพ่ายไป ฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่ง ล่ า ถอยจากเมื อ งนครราชสี ม าเข้ า ยึ ด

เมืองชัยภูมิไว้และเกลี้ยกล่อมให้พระยา ภั ก ดี ชุ ม พลเข้ า ร่ ว มเป็ น กบฏด้ ว ย แต่ พระยาภักดีชมุ พลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เกิด ความแค้นจึงจับตัวพระยาภักดีชมุ พลมา ประหารชีวิตที่บริเวณใต้ต้นมะขามใหญ่ ริมหนองปลาเฒ่า ึ่งต่อมาชาวชัยภูมิ ได้ ร ะลึ ก ถึ ง คุ ณ ความดี ที่ ท ่ า นมี ค วาม ื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน จึงได้ พร้อมใจกันสร้างศาลขึ้น ณ บริเวณนั้น ปัจจุบันทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่ เป็นศาลาทรงไทยชื่อว่า ศาลาพระยา ภักดีชุมพล (แล) มีรูปหล่อของท่านอยู่ ภายใน เป็นที่เคารพกราบไหว้และถือ เป็นปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของ จังหวัด ตัง้ อยูห่ า่ งจากศาลากลางจังหวัด ชัยภูมิประมาณ 3 กิโลเมตร

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 88

17/5/2562 14:03:56


เมื่ อ การปกครองเปลี่ ย นแปลง หัวเมืองชั้นนอกมาเป็นมณ ลจังหวัด อ�าเภอ ต�าบล หมู่บ้าน ได้เกิดการผนวก เมื อ งต่ า งๆ เข้ า เป็ น อ� า เภอส่ ว นหนึ่ ง ของจังหวัดชัยภูมิ ได้แก่ เมืองสี่มุมของ พระยานริ น ทรสงคราม ปั จ จุ บั น คื อ อ�าเภอจัตุรัส บ�าเหน็จณรงค์ เทพสถิต ับใหญ่ หนองบัวระเหว เนินสง่า ส่วน เมื อ งภู เ ขี ย ว-เกษตรสมบู ร ณ์ ข องพระ ไกรสิหนาท ปัจจุบันคือ อ�าเภอภูเขียว เกษตรสมบู ร ณ์ บ้ า นแท่ น แก้ ง คร้ อ หนองบั ว แดง ภั ก ดี ชุ ม พล ส่ ว นเมื อ ง คอนสารของหมื่นอร่ามก�าแหง ปัจจุบัน คื อ อ� า เภอคอนสาร ึ่ ง เคยเป็ น ต� า บล หนึ่งของอ�าเภอภูเขียว และเมืองชัยภูมิ ของพระยาภั ก ดี ชุ ม พล ปั จ จุ บั น คื อ อ�าเภอเมือง อ�าเภอบ้านเขว้า อ�าเภอ คอนสวรรค์ โดยทั้งหมดในปัจจุบันรวม กันเป็นจังหวัดชัยภูมิ ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยัง ไม่ มี ก ารจั ด ตั้ ง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ข้ึ น เป็ น ทางการ บริเวณจังหวัดชัยภูมิประกอบ ไปด้วยเมืองใหญ่ 3 เมือง คือเมืองชัยภูมิ เมืองภูเขียว และเมืองสีม่ มุ (จัตรุ สั ) ในปี พ.ศ. 2440 ในสมั ย ของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ ทรงเปลี่ ย นแปลงระบบการปกครอง

ราชอาณาจั ก ร โดยการจั ด ตั้ ง มณ ล เทศาภิบาล ให้อยู่ภายใต้บังคับบัญชา ของกระทรวงมหาดไทยหน่วยงานเดียว เมืองในจังหวัดชัยภูมิ จึงเข้าอยูใ่ นมณ ล นครราชสีมา ต่อมาในสมัยหลังการเปลีย่ นแปลง การปกครองปี พ.ศ. 2475 มี ก าร เปลี่ยนแปลงรูปการปกครองประเทศ ครั้งใหญ่ จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยพระ ราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่ง ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ได้ ยกเลิกเขตการปกครองแบบ เมือง ทั่ว ราชอาณาจักร แล้วตั้งขึ้นเป็น จังหวัด แทน เมืองชัยภูมิ ต่อมาเมืองภูเขียว และ เมืองสี่มุม (จัตุรัส) จึงรวมกันกลายเป็น จังหวัดชัยภูมิ โดยใช้บริเวณเมืองชัยภูมิ จัดตัง้ เป็นอ�าเภอเมืองชัยภูมยิ กฐานะเป็น ศูนย์กลางของจังหวัด ด้วยความทีช่ ยั ภูมิ เป็นแหล่งต้นน�า้ มีผืนป่าทอดยาวเป็นทิวแถวมากมาย ติดต่อกัน ึ่งป่าเคยถูกท�าลายไปมาก หลวงพ่ อ ค� า เขี ย น สุ ว ณโณ อดี ต เจ้ า อาวาสวัดป่าสุคะโต บ้านใหม่ไทยเจริญ ต�าบลท่ามะไ หวาน อ�าเภอแก้งคร้อ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ ึ่ ง เป็ น พระผู ้ ใ ช้ ชี วิ ต สอดคล้ อ งกั บ ธรรมชาติ บ นเทื อ กเขา

ภูแลนคากว่า 40 ปี จึงมีด�าริและได้จัด โครงการธรรมยาตรา เพือ่ น ชู วี ติ และ ธรรมชาติลุ่มน�้าล�าปะทาวขึ้นเริ่มตั้งแต่ ปีพ.ศ.2543 โดยมี พระอาจารย์ไพศาล วิ ส าโล เป็ น ผู ้ อ� า นวยการขั บ เคลื่ อ น โครงการให้ด�าเนินมากว่า 10 ปีแล้ว มี จุดมุ่งหมายทั้งในด้านศาสนธรรมการ อนุรักษ์และวิถีเกษตรอินทรีย์ เพื่อสร้าง แรงกระตุ ้ น ให้ ผู ้ ค นในชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และชุมชนเมืองได้ตระหนักถึงศักยภาพ และหน้ า ที่ ข องตนในการดู แ ลรั ก ษา และอยู่ร่วมกับธรรมชาติ เพราะชัยภูมิ มีเขตติดต่อกับจังหวัดเพื่อนบ้านหลาย จังหวัด ึ่งเป็นแหล่งต้นน�้าที่ส�าคัญอัน เป็นหัวใจของแผ่นดินในการขับเคลื่อน ชีวิต เศรษฐกิจ และการอยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 89

89

17/5/2562 14:04:00


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดป ุมาวาส ระครูวมล ัน สภ (ว) (ประยงค ขุนอน ร) ั

ภ ม

ิ ั ิ

ประวัติความเป็นมา แต่เดิมวัดนี้ชื่อว่า วัดปทุมวนาราม ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2506 ได้ขอ อนุญาตตัง้ วัดสร้างวัดจึงได้เป็นชือ่ “วัด มาวาส” เพราะว่าอยูใ่ กล้หนองน�า้ ทีม่ ดี อกบัว และ ด้วยความทีอ่ ยูใ่ นป่าช้าทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ไปด้วยต้นไม้และสัตว์ปา่ นานาพันธุ์ ส่วนมากชาวบ้าน ชอบเรียกติดต่อกันมาว่า “วัด า”

วัดปทุมาวาส ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�าบล บ้านเขว้า อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เมื่อปี พ.ศ. 2500 มีหลวงพ่อ 2 รูปจาก วัดมัช ิมาวาส บ้านเขว้า มาจ�าพรรษา และได้สร้างกุฏหิ ลังเล็กๆ พออยูอ่ าศัยได้ เพือ่ ปฏิบตั ธิ รรม เพราะว่าในบริเวณนีเ้ ป็น ป่าช้ารกทึบไปด้วยไม้เบญจพรรณ พระสงฆ์ ที่มาอยู่ภาวนาจึงไม่อยากที่จะรบกวน สัตว์ป่า จึงอยู่อาศัยในเสนาสนะเล็กๆ พอเพียงส�าหรับภาวนาไปด้วย 90

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 90

16/5/2562 17:04:27


พ.ศ. 2502 มีน ายอ�าเภอสุเ ทพ ก�า นัน ทองแดง เด่นวงษ์ และ ชาวบ้านเขว้ามีความคิดทีจ่ ะสร้างวัดขึน้ ประจ�าอ�าเภอ จึงได้ปรึกษาหารือ กั น ไปนิ ม นต์พ ระครูพิพิธ ชัย คุณ จากวัดศรีมหาโพธิ์ บ้านหลุบ โพธิ์ มาเป็นผู้น�าฝ่ายสงฆ์ และน�าพาชาวบ้านพัฒนาวัดเจริญรุ่งเรืองมาตาม ล�าดับจนได้รับยกย่องจากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการให้เป็น วัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อปี พ.ศ. 2516 ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาตามล�าดับ พ.ศ. 2529 ได้เป็นวัดพัฒนาดีเด่น พ.ศ. 253 ได้รับย่าม โล่ พัดยศ วัดพัฒนาที่มีผลงานดีเด่น จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2560 เป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดแห่งที่ 49 ส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัด (ศธจ.) เป็นหน่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในรูปแบบการสอนปฏิบัติกรรมฐาน ตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตรของ คณะสงฆ์ไทย ภายใต้การก�ากับของมหาเถรสมาคม ก่อตั้งครั้งแรกในปี พ.ศ. 2543 โดยใช้สา� นักปฏิบตั ธิ รรมทีม่ อี ยูแ่ ล้วได้รบั การยกขึน้ เป็นส�านัก ปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด หรือจัดตั้งขึ้นใหม่โดยคณะกรรมการจัดตั้ง ส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด

ปัจจุบนั ส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัด มีจา� นวนกว่า 1 510 ส�านัก แบ่งเป็นมหานิกาย 1 339 ส�านัก และธรรมยุต 171 ส�านัก กระจายอยู่ ในทุกจังหวัดในประเทศไทย โดยมีส่วนการศึกษาสงเคราะห์ กองพุทธ ศาสนศึกษา ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานหลัก ทีร่ บั สนองงานการด�าเนินงานสนับสนุนส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัด ของ มหาเถรสมาคมในปัจจุบัน นอกจากนี้ วัดปทุมาวาส ยังเป็นวัดที่มีศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ เป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน เป็นศูนย์รวมในการอบรม คุณธรรมจริยธรรม ส�าหรับศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นองค์กรทาง พระพุทธศาสนาองค์กรหนึ่ง ที่พระสงฆ์ได้จัดตั้งขึ้นมา เป็นการจัดการ ศึกษาสงเคราะห์ นอกระบบโรงเรียน ให้การศึกษาอบรมแก่ประชาชน งึ่ ส่วนใหญ่เป็นเด็กและเยาวชนทีก่ า� ลังอยูใ่ นวัยเรียน เพือ่ ให้รจู้ กั ใช้เวลา ว่างจากวันหยุดเรียน เข้ามาศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักค�าสอน ของพระพุทธศาสนา น้อมน�าไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจ�าวันด�ารง ตนอยู่ในสังคมด้วยความสงบสุข เด็กดีในวันนี้ จักเป็น ผู้ใหญ่ที่ดีมี คุณภาพในวันข้างหน้า

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 91

91

16/5/2562 17:04:31


ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ เกิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกใน ประเทศไทย เมือ่ ปีพ.ศ. 2501 เริม่ เปดด�าเนินการทีม่ หาจุ าลงกรณราช วิทยาลัย วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฏิ์ กรุงเทพมหานคร โดยได้แบบอย่าง มาจากประเทศศรีลังกา ต่อมาได้ขยายไปยังวัดอื่นๆ มากขึ้นตามล�าดับ ต่ อ มาถึ ง ปี พ.ศ. 2520 กรมการศาสนาได้ เ ห็ น ความส� า คั ญ ของ การเผยแพร่ปลูกฝังคุณธรรมในรูปแบบของศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนา วันอาทิตย์ จึงได้เสนอโครงการส่งเสริมต่อรัฐบาล และได้ตงั้ งบประมาณ อุดหนุนการด�าเนินงาน เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และรัฐบาลทุกสมัย ได้เล็งเห็นความส�าคัญของการด�าเนินงาน จึงได้ให้การสนับสนุนในด้าน งบประมาณเพิ่มมากขึ้นทุกปี

ั ประ

ศนยศึก

ระ ท ศ น ัน ท ย

1. เพือ่ อบรมให้เด็กและเยาวชนมีความรูใ้ นหลักธรรมทางพระพุทธ ศาสนา สมกับเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี 2. เพื่ อ เสริ ม ความรู ้ และปลู ก ฝั ง ศี ล ธรรม วั ฒ นธรรม และ ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของชาติไทย แก่เด็กและเยาวชน 3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนรู้จักปฏิบัติตนในสังคม และรู้จักด�าเนิน ชีวิตตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาโดยถูกต้อง 4. เพื่อหาโอกาสฝกฝนให้เด็ก และเยาวชนเป็น ผู้มีใจกว้าง รู้จัก บ�าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากขึ้น 5. เพือ่ ให้ความรูท้ างพระพุทธศาสนาภาคภาษาอังกฤษแก่เด็กและ เยาวชน

ป นย

นท

ย น ั ปท

อุโบสถ ศาลาการเปรียญ มหาเจดีย์จันทโสภณประชานุสรณ์ กุฏิเจ้าอาวาส กุฏิสงฆ์ กุฏิรับรองจ�านวน 2 หลัง ส�านักงานเจ้าอาวาส

ประ ั เ พระครูวมิ ลจันทโสภณ (วิ) (ประยงค์ ขุนอินทร์) รองเจ้าคณะอ�าเภอ บ้านเขว้า ป.ธ.1-2 น.ธ.เอก ศศ.บ. คม. เกิดวันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2507 บ้านเลขที่ 17 หมู่ที่ 7 ต�าบลชีบน (ปัจจุบันแยกจากต�าบลชีบน มาเป็นต�าบลภูแลนคา) อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ด้านการ ก า พ.ศ. 2552 จบปริญญาตรี จากมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิ คณะศิลปศาสตร์บัณ ิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ พ.ศ. 2557 จบปริญญาโท จากมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ จังหวัด ชัยภูมิคณะครุศาสตรมหาบัณ ิต สาขาวิชาการการบริหารการศึกษา

นกไ

92

น นไ

ร บน ึน ท

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 92

16/5/2562 17:04:37


เ ย ันท

ประ น ร I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

93

16/5/2562 17:04:39


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

วัดอัมพวัน

วัด บรา สมัย รง รีอย ยาตอน ลาย ระครูประ ั ป าคุ (สมัย) ว ร ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาสวัดอัม วัน และรองเ ้าค ะอาเภอ ้านเขว้า

วัดอัมพวัน ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 11 บ้านห้วย ต�าบลตลาดแร้ง อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดสร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2471 (เท่าทีท่ ราบ) ปัจจุบนั มี พระครูประจักษ์ปญ ั ญาคุณ เป็นเจ้าอาวาส

ร วัติ ล

ิ ทาท่านเจ้าอาวาส

พระครูประจักษ์ปญ ั ญาคุณ (สมัย) ายา จกกวโร เกิดเมือ่ วันอังคารที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2497 อายุ 65 พรรษา 44 ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส วัดอัมพวัน และรองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านเขว้า เมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลตลาดแร้ง เขต 1 ต่อมาได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่งรองเจ้าคณะอ�าเภอบ้านเขว้า เมือ่ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559 จนถึงปัจจุบนั พระธรรมทูต เป็นศาสนกิจที่ส�าคัญของคณะสงฆ์ไทยเริ่มด�าเนิน การมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2556 เพื่อน�าหลักธรรมค�าสอนของพระบรม ศาสดาไปเผยแผ่แก่ประชาชน เป็นการปลูกฝังและพัฒนาจิตใจของ ประชาชนให้ยึดมั่นในหลักธรรม โดยยึดหลักปฏิบัติตามพระด�ารัสที่ 94

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 94

17/5/2562 13:36:56


พระพุ ท ธองค์ ป ระทานแก่ พ ระสงฆ์ ส าวก 60 องค์ ในคราวส่ ง ไป ประกาศพระศาสนาครั้งแรกว่า เธอทั้งหลายจงเที่ยวจาริกไป เพื่อ ประโยชน์สุขแก่ชนเป็นอันมาก เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก ประโยชน์ เกื้อกูลและความสุข แก่เทวดาและมนุษย์ท้ังหลาย เป็นอุดมการณ์ของ พระธรรมทูต วิทยฐานะ น.ธ.เอก และ ด�ารงต�าแหน่งพระธรรมทูตประจ�าหน่วย ปฏิบัติการงานพระธรรมทูต ตั้ง ณ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ท�าเนียบเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์พิม 2. พระอาจารย์ที 3. พระอาจารย์จ�าปา 4. พระอาจารย์พอง 5. พระอาจารย์พู 6. พระอาจารย์พัฒ 7. พระอาจารย์วัน . พระอาจารย์กบิน 9. พระอาจารย์วีระ 10. พระอาจารย์พัน 11. พระอาจารย์วงษ์ 12. พระอาจารย์เลื่อน 13. พระครูอัมพวนารักษ์ (คัมภีร์) 14. พระครูประจักษ์ปัญญาคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

CHAIYAPHUM SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 95

95

17/5/2562 13:37:04


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ุดยาง (

่แู ดง) แหล่งเรียนรู้ประวัต าสตร รา ของเรา ย

ป ประ ั ปร

ม ั ยิ

มิ

รางค์กแ่ ดง หรือ กูแ่ ดง ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกุดยาง ต�าบลตลาดแร้ง อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เป็นโบราณสถานศิลปะขอมโบราณ มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 หรือประมาณพันกว่าปีแล้ว ปัจจุบันมีสภาพพังทลาย เหลือเพียงส่วนฐานที่ก่อด้วยศิลาแลง ผนังเรือนธาตุบางส่วนก่อด้วย อิฐและกรอบประตูทางเข้าที่ก่อด้วยหินทรายสีชมพูอมแดง โดยมีเศษชิ้นส่วนประกอบอาคารที่มีคุณค่าทางโบราณคดีพังถล่มลงมา ชาวบ้านได้เก็บ รักษาไว้ที่วัดกู่แดง ึ่งเป็นที่ตั้งขององค์ปรางค์กู่แดง อันได้แก่ บัวยอดปราสาท เสาประดับ กรอบประตู และทับหลังจ�านวนหนึ่ง โบราณสถานแห่งนี้ได้รับการขึ้นทะเบียนและก�าหนด ขอบเขตโบราณสถานจากกรมศิลปากร ตามพระราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 99 ตอนที่ 172 วันที่ 1 พฤศจิกายน 2525 หน้า 20 ( บับพิเศษ)เนื้อที่ทั้งหมด 1 ไร่ 3 งาน 42 ตารางวา ตามที่ น ายเลื่ อ น พิ ไ ลพั น ธ์ ได้ รั บ อนุญาตให้สร้างวัดกุดยาง ณ หมู่บ้านที่ 3 ต�าบลตลาดแร้ง อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัด ชั ย ภู มิ นั้ น บั ด นี้ ผู ้ รั บ อนุ ญ าตได้ ส ร้ า ง เสนาสนะขึ้ น สมควรเป็ น ที่ พ� า นั ก ของ พระภิกษุสงฆ์ได้แล้ว ู้ ่อตังวัดคนแร หลวง ่อ ุ ชตปุ 96

(

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

).indd 96

16/5/2562 16:45:35


จากการสังเกตโบราณวัตถุและโครงสร้างที่ยังหลงเหลืออยู่ที่ปรางค์กู่แดงในขณะนี้ เชื่อได้ว่าเดิมคงจะเป็นเทวาลัย หรือ ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์ หรือ ศาสนา ินดู ึ่งส่วนใหญ่แล้วในประเทศไทยจะเป็นลัทธิที่นับถือพระศิวะเป็นเทพสูงสุด ึ่งจังหวัดชัยภูมิ ปราสาทเทวาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในยุคศตวรรษที่ 16 นี้ก็มีอยู่ที่กู่แดง โดยสันนิษฐานว่าอดีตที่ ผ่านมา บริเวณนี้คงเป็นที่อยู่อาศัยของประชาชนมานานนับพันๆ ปี แต่อารยธรรมความเชื่อ การนับถือศาสนา ได้รับอิทธิพลมาจากยุคขอมโบราณโดยช่างท้องถิ่นที่เป็นบรรพบุรุษของ เราเอง ึ่งเป็นคนบูรณะ และเป็นผู้ก่อสร้างสิ่งเหล่านี้

จนกระทั่งการนับถือศาสนาได้มีการเปลี่ยนแปลงไป โดยศาสนาพุทธได้เริ่มมีอิทธิพล เข้ามาในประเทศไทย ึ่งเห็นได้ว่าปัจจุบัน ณ ที่แห่งนี้ก็เป็นที่ตั้งของวัดในศาสนาพุทธ เพราะ ะนัน้ ประวัตคิ วามเป็นมาปราสาทกูแ่ ดงจึงเป็นโบราณสถานทีม่ คี วามเป็นมาต่อเนือ่ งยาวนาน ถือเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจของประชาชนในเขตนี้ ที่ต่างมีจิตส�านึกในสิ่งที่ดีงามและต้องการ จะรักษาสิ่งที่บรรพบุรุษได้สร้างสมเอาไว้เพื่อเรียนรู้ประวัติศาสตร์อันเป็นรากฐานที่จะน�า รุ่นลูกหลานเดินหน้าอย่างมั่นคงบนหนทางที่ม่ันใจว่า “ รามราก”

กู่แดง ตั้งอยู่ในวัดกุดยาง ต�าบลตลาดแร้ง จากตัวเมืองชัยภูมิ ใช้ทางหลวงหมายเลข 225 ผ่ า นอ� า เภอบ้ า นเขว้ า จนถึ ง บ้ า นหลุ บ โพธิ์ ประมาณ 30 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวขวาไปบ้าน กุดยางอีก กิโลเมตร เป็นโบราณสถานสมัย ขอม ปั จ จุ บั น คงเหลื อ เพี ย งฐานรู ป สี่ เ หลี่ ย ม จัตุรัสย่อมุม ก่อสูงด้วยศิลาแลง มีร่องรอย บันไดทางขึน้ ทัง้ 4 ด้าน ผนังก่ออิฐแต่หกั พังหมด คงเหลือเสากรอบประตูทั้ง 4 ด้าน พบทับหลัง สลักเป็นภาพพระกฤษณะประลองก�าลังกับช้าง โบราณสถานแห่งนี้ประมาณอายุจากลวดลาย ทับหลัง อยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 16 ตรงกับ ศิลปะเขมรแบบบาปวน จังหวัดชัยภูมิ โดยองค์การบริหารส่วนต�าบล ตลาดแร้ง อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ร่วมกับ อ�าเภอบ้านเขว้า ก�านัน-ผู้ใหญ่บ้านพร้อมด้วย ชาวบ้านต�าบลตลาดแร้งจึงได้ร่วมกันจัดงาน ประเพณี บุญสรงกู่แดง เป็นประจ�าทุกปี ที่ บริเวณโบราณสถานปรางค์กแู่ ดง โบราณสถาน ศิ ล ปะขอมโบราณ และสถานที่ อั น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คูบ่ า้ นคูเ่ มืองมานานกว่า1 พันปีมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ และสืบทอด อารยธรรมอันยิ่งใหญ่ชั่วลูกหลาน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

(

).indd 97

97

18/5/2562 16:57:20


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเ ร

( ้านเขว้า)

ระอธ าร ง ั ด ุ ธส ร ั

ประ ั

เปน

ก่อนปี พ.ศ. 2450 ชาวบ้านคุ้มบ้านม่วงคุ้มขี้มอด ปัจจุบันคือ บ้านอุดมผล ต�าบลบ้านเขว้า อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ได้อาศัยการบ�าเพ็ญกุศลทางพุทธศาสนาที่วัดใหญ่ หรือ วัดมัช มิ าวาส บ้านเขว้า งึ่ อยูไ่ กลจากหมูบ่ า้ น การไปมาก็ลา� บากชาวบ้านจึงได้ประชุมปรึกษา หารือกัน และตกลงพร้อมใจกันขอสร้างวัดขึ้นมาอีกหนึ่งวัด โดยการปลูกสร้างส�านักสงฆ์ มีกุฏิ 1 หลัง และนิมนต์พระมาอยูจ่ า� พรรษา จึงเรียกชือ่ วัดนีว้ า่ “วัดน้อย” ต่อมาเป็นวัดร้างไปประมาณ 10 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2496 มีพระอาจารย์ตอง มาจ�าพรรษา โดยการน�าของพ่อพรม พ่อตา พ่อทอง จึงได้ร่วมแรงร่วมใจกันกับชาวบ้าน สร้างวัดหลังใหม่ขึ้นเพราะหลังเก่าถูกไ ไหม้ โดย ท่านเจ้าคุณวงค์ ึ่งเป็นเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ เป็นที่ปรึกษาในการก่อสร้าง ต่อมาพระตอง ได้ลาสิกขาไป เมื่อสร้างเสร็จ จึงได้ไปนิมนต์พระภิกษุจันทร์ จากวัดมัช ิมาวาส บ้านเขว้า มาเป็นเจ้าอาวาสโดยตั้งชื่อว่า “วัด จร ผล” ปูชนียสถาน มีพระอุโบสถ 1 หลัง กุฏิ 1 หลัง และ ศาลาการเปรียญ 1 หลัง

วัดเจริญผล ตัง้ อยูท่ ี่ บ้านเขว้า หมูท่ ี่ 2 ต�าบลบ้านเขว้า อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ มีเนือ้ ที่ 10 ไร่ 10 ตารางวา หนังสือส�าคัญ คือ น.ส. 3 ก. สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

98

.indd 98

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 14:19:31


ท เนยบเ

1. พระอาจารย์จันทร์ 2. พระอาจารย์เอ้ง 3. พระอาจารย์รินทร์ 4. พระอาจารย์ปัน 5. พระอาจารย์มี 6. พระอาจารย์อินทร์ 7. พระอาจารย์ที่ . พระอาจารย์โพธิ์ 9. พระอาจารย์หมู 10. พระอาจารย์เงินรอด 11. พระอาจารย์ทองอินทร์ 12. พระอาจารย์จันทร์ 13. พระอาจารย์เริ่ม 14. พระอาจารย์ทิน 15. พระอาจารย์โอด 16. พระอาจารย์ด่อน 17. พระอาจารย์รุณ 1 . พระอาจารย์สมบุญ อุปลวณโณ 19. พระอาจารย์โส ถิรจิตโต 20. พระอาจารย์เดช ป ญาธโร 21. พระอาจารย์ทอง โยชมตโต 22. พระอธิการพงศักดิ์ พุทธสโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

รร

บร ะ ระ บ

เนื่องจากพระอุโบสถของวัดเจริญผลได้ท�าการก่อสร้างมาเป็นเวลานานพอสมควร ขณะนี้ ห ลั ง คามุ ง ด้ ว ยกระเบื้ อ งสมั ย ก่ อ นได้ เ กิ ด การช� า รุ ด หั ก พั ง และทางวั ด ยั ง ไม่ มี ก าร ่ อ มแ มแต่ อ ย่ า งใด เพราะยั ง ขาดทุ น ทรั พ ย์ ที่ จ ะใช้ ใ นการ ่ อ มแ ม และกุ ฏิ ก็ อ ยู ่ ใ น สภาพที่ ท รุ ด โทรมเช่ น กั น เพราะสร้ า งมาประมาณ 20 ปี แ ล้ ว ปั จ จุ บั น ทางวั ด จึ ง ได้ ท� า การบู ร ณะและมี ก ารก่ อ สร้ า งในช่ ว งระยะ 3 ปี ที่ ผ ่ า นมา ส่ ว นศาลาการเปรี ย ญ ยั ง อยู ่ ใ นสภาพที่ ใ ช้ ง านได้ ป านกลางจึ ง ยั ง พอที่ จ ะอาศั ย ในการท� า กิ จ ของสงฆ์ แ ละจั ด ปฏิ บั ติ ธ รรมต่ อ ไปได้ ต ามก� า ลั ง จึ ง ขอเชิ ญ ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว มสร้ า งกุ ศ ลในการบู ร ณะ อุ โ บสถและเสนาสนะร่ ว มกั น ด ่อสอบ าม ร พระอ การพง ักด พ ส ร จ้าอาวาส CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

18/5/2562 14:19:36


TRAVEL GUIDE บันทึกเส้นทางท่ งเที

ัง ั ั ม

CHAIYAPHUM เมือง ท ท

100

_

ทุ

ธ ร ระ พระพุ ทธ

ลา

าแล

ระ ะ ร ุ ทธ ท ร ร ท ท ระ ร ท

ุ ะ

ท ร พ

ร ร

ร ท ร ทท

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 100

17/5/2562 13:51:23


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 101

101

17/5/2562 13:51:24


102

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 102

17/5/2562 13:51:27


ม กย ม ช

ผาสุดแผ่นดิน

เขื่อนจุฬาภรณ์

ท ก

จุ ด ชมวิ ว ผาสุ ด แผ่ น ดิ น อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ป ่ า หิ น งาม เขือ่ นจุ าภรณ์ เป็นแม่เหล็กดึงดูดให้นกั ท่องเทีย่ วทีส่ นใจ อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ สถานที่น่าเที่ยวตลอดทั้งปี ช่วงเดือน เข้ามาเยือนทีน่ อี่ ยูเ่ สมอ ด้วยความร่มรืน่ ของตัวเขือ่ นทีป่ กคลุม มิถนุ ายน-กรกฎาคม จะมีทงุ่ ดอกกระเจียว สามารถชมทิวทัศน์ ไปด้วยไม้ปา่ พร้อมมุมถ่ายภาพสวยๆ อีกมากมายจนกลายเป็น พืน้ ทีร่ อยต่อของภาคกลาง-เหนือ-ตะวันออกเ ยี งเหนือ จุดชมวิว แหล่งท่องเทีย่ วยอดนิยมดังเช่นในปัจจุบนั เอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น ผาสุดแผ่นดิน เป็นชะง่อนหน้าผาจุดสิ้นสุดแผ่นดินอีสานด้าน ของตัวเขื่อนแห่งนี้ก็คือ เป็นเขื่อนแบบหินถมมีแกนกลางเป็น ทิศตะวันตก สามารถชมทิวทัศน์ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดินเหนียวที่บดแน่นด้วยหินกรวด ตั้งอยู่บนเทือกเขาขุนพาย ับลังกา จังหวัดลพบุรี (ภาคกลาง) ที่อยู่เบื้องล่างได้อย่าง การใช้ประโยชน์โดยหลักจากเขื่อนคือการผลิตกระแสไ า สวยงาม เป็นจุดสูงสุดของอุทยานแห่งชาติปา่ หินงาม นักท่องเทีย่ ว การชลประทานรวมถึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้าเช่นกัน นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ก ารบ้ า นพั ก ใกล้ เ ขื่ อ น นิยมขึน้ ไปสัมผัสบรรยากาศยามเช้าและชม ว ั นสวย รวมทั้งสามารถเช่าเรือล่องชมทิวทัศน์บน พระอาทิตย์ตกในตอนเย็น ธรรมชาติอัน เ น ั ง หวั ม ว ั นสวยงาม เหนืออ่างเก็บน�า้ ได้อกี ด้วย จากการทีบ่ ริเวณ งดงามอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยว มแหล่ง ่องเ ยว น่าสน รอบๆ เขื่อนจุ าภรณ์ เป็นพื้นที่ที่มีป่าไม้ ปรางค์กู่ อ�าเภอเมือง อุดมสมบูรณ์ สภาพอากาศเย็นสบายตลอด หลายแห่ง รั วามนยม ปรางค์กเู่ ป็นปราสาททีใ่ ช้ประกอบพิธี ทั้งปี เป็นศูนย์รวมของสถานที่ท่อ งเที่ ยว ในสมัยโบราณ ภายในมีพระพุทธรูปสมัยทวารวดี โดยกษัตริย์ ทั้ ง ภายในพื้ น ที่ แ ละบริ เ วณใกล้ เ คี ย งเขื่ อ นจุ าภรณ์ ที่ มี ชัยวรมันต์ที่ 7 ึ่งเป็นกษัตริย์ที่เรืองอ�านาจองค์สุดท้ายของ เส้นทางการเดินทางสะดวก ปลอดภัย และน่าไปเยือน อาทิ กัมพูชาได้โปรดเกล้าให้สร้างไว้ในปี พ.ศ.7 2-1220 ึ่งเป็น พระพุทธสิรสิ ตั ตราชจ�าลอง (หลวงพ่อเจ็ดกษัตริย)์ ประดิษฐาน สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ โดยมีเทศกาลจัดขึน้ เ ลิม ลองทุกปีในเดือน ที่บริเวณหัวเขื่อนฝัง ้าย พระพุทธรูปที่มีความศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ เมษายน ปรางค์กู่ ตั้งอยู่ในเขตอ�าเภอเมือง อยู่ห่างจากศาลา เคารพนับถือของชาวชัยภูมิและประชาชนทั่วไป กลางจังหวัดประมาณ 1 กิโลเมตร

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 103

103

17/5/2562 13:51:31


รวย า ห ่

ชัยภม ชือว่าเ น ังหวั ม ืน า ขนา ห ่ ม ื น า เ นรอยละ . ของ ื น ังหวั แว ลอม วยเ ือ เขาสลั ั อน เ น ตัง ของอุ ยานแห่งชาตสา ั

ทย ช ิ อุทยานแห่งชาติตาดโตนครอบคลุม พื้ น ที่ บ างส่ ว นของเทื อ กเขาภู แ ลนคา น�้าตกที่ไหลลงมากระทบแผ่นหินกว้าง ท�าให้เกิดภาพและละอองน�้าที่สวยงาม โดยเ พาะอย่างยิง่ ในฤดูฝนมีนา�้ ปริมาณ มาก ภายในอุทยานยังมีนา�้ ตกหลายแห่ง ส�าหรับนักท่องเที่ยวได้เลือกท่องตามใจ ปรารถนา น�า้ ตกตาดโตน

เป็นหนึง่ ในน�า้ ตกทีส่ งู และสวยงาม ที่สุดในภาคตะวันออกเ ียงเหนือ เป็น ชัน้ หินสลับทับ อ้ นกันสูง 50 เมตร กว้าง 6 เมตร เกิดจากล�าห้วยตาดโตนไหลผ่าน ลานหินแล้วตกลงสูท่ ลี่ มุ่ เกิดเป็นแอ่งน�า้ สามารถลงเล่นน�้าได้ มีน�้าเย็นใสสะอาด บริเวณโดยรอบเป็นป่าไม้และดอกไม้ นานาพรรณ มีน�้าไหลตลอดทั้งปี โดย เ พาะในช่วงฤดูฝนระหว่างเดือนเมษายนเดือนกันยายน มีต้นน�้ามาจากป่าสงวน แห่งชาติภโู ค้ง ภูหยวก และภูอเี ถ้า ทีร่ วม กันเป็นเทือกเขาภูแลนคา แอ่งน�้าฝน ค่อยๆ ไหลลงสู่ห้วยพระเจ้าและไหล รวมกันสู่น�้าตกตาดโตน 104

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 104

17/5/2562 13:51:32


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 105

105

17/5/2562 13:51:33


มช

สวนรุกขชาติน�า้ ผุดทัพลาว

ิ ท ิ

ภู ย

ม พ ิ มภ

เขตรักษาพั นธุ์สัตว์ป่าภูเขียว

ตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2536 ในบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่า เขตรั ก ษาพั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า ภู เ ขี ยว อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ค าบเกี่ ยว ภู �าผักหนาม อยู่ที่บ้านผาเบียด หมู่ 2 ต�าบลห้วยยาง อ�าเภอ 3 อ� า เภอคื อ อ� า เภอภู เ ขี ยว อ� า เภอคอนสาร และอ� า เภอ คอนสาร จังหวัดชัยภูมิ บนพื้นที่ 160 ไร่ ตามต�านานเล่าว่า เกษตรสมบูรณ์ และเป็นส่วนหนึ่งของผืนป่าอีสานตะวันตก กองทัพแห่งราชอาณาจักรล้านนา(ลาว)ในอดีต ยกกองทัพผ่าน เชื่อมรวมเป็นผืนป่าเดียวกันกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 3 แห่ง มา ที่บ้านผาเบียด และเห็นถึงความอุดมสมบูรณ์ จึงได้ท�าการ และอุทยานแห่งชาติอกี 4 แห่ง คือ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ผาผึง้ เกษตร ปลูกข้าวสะสมเป็นเสบียงอาหารของกองทัพ และต่อมา เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ตะเบาะ-ห้วยใหญ่ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ก็มีคนลาวอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้เป็นจ�านวนมาก ภูผาแดง อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน อุทยานแห่งชาติภูกระดึง อุทยานแห่งชาติน�้าหนาว และอุทยานแห่ง จึงขนานนามว่า น�้าผุดทัพลาว หรือ น�้า ชาติตาดหมอก โดยดูแลด้านการอนุรักษ์ ผุดทับลาว สืบต่อกันมา มชางหลาย สัตว์ป่า การเพาะเลี้ยงและ การขยายพันธุ์ บ้านผาเบียด เป็นพืน้ ทีร่ าบเชิงเขา ดิน อา ล่าว ว่าเขตรั า ั นธุสัตว า สัตว์ป่า เช่น ไก่ าพญาลอ นกยูง เก้ง อุดมสมบูรณ์ มีตาน�้าขนาดใหญ่ผุดขึ้นจาก ภเขยว เ นแหล่งอา ัยหา น สา ั กวาง และเนื้อทราย เป็นต้นโดยปล่อย ใต้ภูเขา น�้าใสสีเขียวมรกต สวยงามสะอาด ของชาง าแห่งหนง นภา อสาน สัตว์ให้อาศัยอยู่ในพื้นที่ธรรมชาติสามารถ ปราศจากกลิ่น มีน�้าผุดตลอดทั้งปี ไหลเป็น สืบพันธุ์และขยายพันธุ์ได้เอง เขตรักษา ล�าธารแยกเป็นสายน�้าผ่านต้นไม้น้อยใหญ่ มองเห็นรากไม้ สวยงามจับใจ มองเห็นก้อนหินรูปร่างเล็กใหญ่ พันธุ์สัตว์ป่าภูเ ขียวได้มีการจัดท�า เส้นทางศึ ก ษาธรรมชาติ สวยงามอยู่ในล�าธาร เห็นแล้วก็อดที่ลงไปสัมผัสอุณหภูมิของ ส�าหรับผู้สนใจศึกษาธรรมชาติ อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้เขต น�้าที่เย็นชุ่ม �่าเสียมิได้ ลึกเข้าไปบนภูเขาก็จะเห็นสภาพป่า รักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียวยังถือว่าเป็นแหล่ง ศึกษาธรรมชาติ เช่น ดูนก ดูผีเสื้อ หรือ เดินป่า ที่ใครๆ มาก็จะหลงรัก เบญจพรรณที่ยังคงอุดมสมบูรณ์ 106

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 106

17/5/2562 13:51:35


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 107

107

17/5/2562 13:51:36


ณ ทุ่งดอกกระเจียว ป่าหินงาม

อุทยานแห่งชาติป่าหินงาม อยู่บนเทือกเขาพังเหย มีทุ่งดอก กระเจียวสุดลูกหูลูกตา จุดชมวิวผาสุดแผ่นดิน ลานหินงาม น�้าตกเทพนา เป็นอุทยานแห่งชาติที่ครอบคลุมพื้นที่ 2 อ�าเภอ ในจังหวัดชัยภูมิคือ อ�าเภอเทพสถิต และอ�าเภอ ับใหญ่ เป็น แหล่งต้นน�้าล�าธารของลุ่มน�้าชีและแม่น�้าป่าสักมีจุดเด่นทาง ธรรมชาติทสี่ วยงามหลายแห่งโดยเ พาะทุง่ ดอกกระเจียว และ ผาสุดแผ่นดิน ห่างจากทีท่ า� การอุทยานฯ ประมาณ 2 กิโลเมตร เป็นจุดที่สูงที่สุดของเทือกเขาพังเหย มีความสูงจากระดับน�้า ทะเล 46 เมตร เป็นแนวหน้าผา ึ่งเป็นรอยต่อระหว่างภาค กลางและภาคอีสาน ที่จุดชมวิวสุดแผ่นดินจะมองเห็นทิวทัศน์ สั น เขาสลั บ ั บ ้ อ นอย่ า งสวยงาม มี ล านหิ น ที่ มี รู ป ลั ก ษณ์ สวยงามแปลกตา มีดอกกระเจียว ึ่งพันธุ์ไม้ล้มลุกประจ�าถิ่น ที่มีดอกสีชมพูอมม่วงชูดอกสะพรั่งในช่วงต้นฤดูฝน มีน�้าตกที่ สวยงามเย็นตาเย็นใจเมื่อไปถึง

มอหินขาว

์ม

ทย

มอหินขาว ตัง้ อยูใ่ นเขตอุทยานแห่งชาติภแู ลนคา บ้านวังค�าแคน ต�าบลท่าหินโงม อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ประกอบด้วยกลุ่ม หินทรายสีขาววางเรียงรายคล้ายกับ สโตนเ นจ์ ในประเทศ อังกฤษ มอหินขาว จึงได้รบั การขนานนามอีกชือ่ หนึง่ ว่า สโตน เ นจ์เมืองไทย เป็นสวนหินธรรมชาติ ึ่งเกิดจากการสะสม ของตะกอนทรายและดินเหนียวแข็งตัวกลายเป็นหิน ลักษณะ ของหินกลุ่มต่างๆ เกิดจากเคลื่อนไหวของเปลือกโลกบีบอัด จนเกิดการคดโค้ง แตกหัก กัดเ าะทั้งแนวตั้งและแนวนอน สร้างสรรค์เป็นรูปต่างๆ ตามจินตนาการของผู้พบเห็น

อ มงาม

อุ ยานแห่งชาตหลายแห่งของชัยภม ขนชือเรือง วามงามของ อ ม า ยเ าะ นช่วง น ั หนาว และหนง น อ ม า ร ั ัน นหม่นั ่องเ ยว ือ อ ระเ ยว

108

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 108

17/5/2562 13:51:38


ลือนามวร ุรุ ระยาภั

ชุม ล เ น ุ

ชาวชัยภมเ าร นั ย ย่อง หเ นวร ุรุ

ย์ ชิ ชู กย

ือและ

ตามตานาน

ศาลเจ้าพ่ อพระยาแล

ตัง้ อยูร่ มิ หนองปลาเฒ่า ระยะทาง 4 กิโลเมตรทางด้านทิศตะวัน ตกจากศาลากลางจังหวัด โดยใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 205 (ชัยภูม-ิ โรงเรียนบ้านเขว้า) ศาลเจ้ามีประวัตศิ าสตร์อนั ศักดิส์ ทิ ธิ์ ยาวนาน งึ่ เจ้าพ่อพระยาแลถูกประหารชีวติ โดยทหารลาว ชาว บ้านได้พร้อมใจกันสร้างศาลเจ้านีข้ นึ้ เพือ่ ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่ เจ้าพระยาแล และเพื่อเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นขวัญก�าลัง ใจแก่คนชัยภูมิ ทุกๆ ปีในวันพุธแรกของเดือนพฤษภาคมจะมี งานประเพณี ลองเพื่อระลึกถึงพระยาแลเป็นเวลา 1 สัปดาห์

สุ ยอ

า หม

า หม านเขวา หนง นสุ ยอ า หม มชือเสยงของชัยภม มแหล่ง ลตสา ั อย่ มเอ ลั

ิ ช ิ

บ้านโนนเสลา

านเขวา

ือเนือ าแน่น

เนยน มันวาว เมือ ั เนือ า ม่ยุ

ชมชนคน อผ้า ด บ้าน นน สลา ังอย่ หม่ าบล หนอง ม อา อ ยว จังหวัดชัย ม นหม่บ้าน อผ้า ด ระดับ ระ นผล ั ์ หนง าบล หนงผล ั ์ มชอ สยง องหม่บา้ น คอ ผ้า ด อมอ มค าพ ดยผล ออกมา น หมอน ด สอส ร สอบร กระ รง ผ้าพันคอ ผ้าคลมไหล่ ผ้า ะ กล่อง ส่กระดา ชาระ กระ า น น้ นหลัก ระกันค าพและการดา นนงาน องกล่มและ ชมชน สะสม ระสบการ ์ นการ อผ้าและแ รร ชง การค้ามากกว่า นับ นแหล่ง อผ้า ดแหล่ง ห ่ สด น ระ ไ ย CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 109

109

17/5/2562 13:51:40


110

_

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 110

17/5/2562 13:51:40


ช ิ

พระมหาธาตุรัชมงคลเจดีย์สิริชัยภูมิ

ั พ

ั ท ์ ย

วัดผาเกิ้ง (วัดชัยภูมิพิทักษ์)

หรือที่ชาวบ้านเรียกขานกันว่า ระ าต ัย ูมิ ตั้ง ก่อนจะเข้าวัด ชวนขึ้นไปผาเกิ้ง ึ่งเป็นจุดชมวิวที่สวย ประดิษฐานอยูบ่ นยอดเขาช่องลม ณ อรุณธรรมสถาน หมูบ่ า้ น มาก ผาเกิง้ เป็นส่วนหนึง่ ของภูแลนคา โดยความรับผิดชอบของ ภูสองชัน้ ต�าบลเก่าย่าดี อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ สร้างขึน้ อุทยานแห่งชาติภูแลนคา หากเดินทางมาตามเส้นทางชัยภูมิตามแบบแผนการสร้างพระเจดีย์แบบโบราณ โดยมีเค้าโครง หนองบัวแดง จะเห็นหน้าผาสูงริมทางคล้ายพระจันทร์เสี้ยว จากการผสมผสานระหว่างศิลปะล้านช้างกับศิลปะอีสาน ยื่นออกมา ชาวบ้านจึงเรียกว่า ผาเกิ้ง ึ่งหมายถึงพระจันทร์ มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงปราสาทเรือนยอด ในภาษาอีสาน บนเขามี วัดผาเกิ้ง หรือ ระ ห ่ วารว มี มุ้ จระน�า (ชือ่ มุ้ ท้ายวิหารหรือท้ายโบสถ์ วัดชัยภูมิพิทักษ์ ตั้งอยู่เป็นที่ประดิษฐาน เป็นช่องตัน มักเป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูป) ระ ห ่ วารว หรือหลวง ่ อ ห ่ พระพุทธรูปชัยภูมิพิทักษ์ ด้านหน้าองค์ ือเ นสง ั ส ธ ่เมืองชัยภม ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนศิลปะแบบล้าน พระมีจดุ ชมวิวทีว่ เิ ศษสุด เห็นวิวท้องทุง่ นา ระ านอย่ วั อนสวรร ช้างปางห้ามสมุทรทั้งสี่ทิศ ส่วนยอดองค์ ได้กว้างไกล ภายในวัดมีพิพิธภัณ ์สมเด็จ เ น ระ ุ ธร ล ะสมั ย วารว พระเจดียบ์ หุ มุ้ ด้วยแผ่นทองจังโก (แผ่นทอง พระพุฒาจารย์ (เกีย่ ว อุปเสโณ) ทีอ่ อกแบบ ส�าริด) และปดทองค�าเปลวตามแบบล้านนา เป็นป่า แล้วแวะกราบพระบรมธาตุผาเกิ้ง ส่วนยอดพระเจดียห์ ล่อด้วยโลหะทองเหลือง มีปลียอดดอกบัวตูม ึ่งมีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงน�้าเต้ากลม เป็นศิลปะที่ผสมผสาน องค์พระเจดีย์สร้างครอบมณ ปทรงปราสาทแบบล้านช้าง ระหว่างพระธาตุพนม กับพระปฐมเจดีย์ ภายในประดิษฐาน ประดิษฐานองค์พระบรมสารีรกิ ธาตุ อย่างงดงาม นอกจากนีย้ งั พระบรมสารีริกธาตุบนบุษบกไม้แกะสลักลงรักปดทองและ เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม และศูนย์อบรมต่างๆ ด้วย บรรยากาศ พระพุทธชัยภูมิพิทักษ์จ�าลองปางยืนประทานพร เย็นสบายตลอดทั้งปี

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 111

111

17/5/2562 13:51:42


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ธ รี ระครู ธธรรมประยุต สมปน น ั

ภ ิ

ม ู

วัดโพธิ์ศรี ตั้งอยู่บ้านเดื่อ หมู่ที่ 1 ต�าบลบ้านเดื่อ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 7 ไร่ 3 งาน 60 ตารางวา โ นดที่ดินเลขที่ 1423 ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2459 เป็นวัดเก่าแก่โดยมีพระและ ชาวบ้านในเขตชุมชนใกล้เคียงสร้างขึ้น เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจและได้รับอนุญาต ถูกต้อง พ.ศ. 2465 112

.indd 112

ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาอุโบสถหลังเก่า วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.247 และ ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า วั น ที่ 21 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2530 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

รเ น นะ

ประกอบด้ ว ย อุ โ บสถ กว้ า ง 1 เมตร ยาว 20 เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2523 ศาลาการเปรียญ 24 เมตร ยาว 36 เมตร กุฏิสงฆ์ 3 หลัง อุโบสถหลังเก่า กว้าง 10 เมตร ยาว 16 เมตร และ เมื่อวันพุธที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ได้ท�าการก่อสร้างวิหารไม้

ป นย ั ประ

มีพระพุทธรูปที่อยู่ในอุโบสถหลังเก่าเป็นพระพุทธปางมารวิชัยปูนปัน สร้าง พ.ศ. 2475

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 17/05/2562 14:42:51 PM


ก รบร ร ะก รปก ร

1. พระอาจารย์ตั้ง ครุธมโม 2. พระด้วง สุจิตโต 3. พระทอง ธมมทีโป 4. พระพรหมา สุวณโณ 5. พระอธิการเขียน ฐิติป โญ 6. พระอาจารย์แหล่ ธมมธีโร 7. พระอาจารย์พา ฐิติธมโม . พระอาจารย์ดา จิตตเสนโน 9. พระอาจารย์สวน โสภิโต 10. พระอาจารย์เหรียญ อิน์ทว�โส 11. พระอาจารย์จันทร์ จกกวโร 12. เจ้าอธิการสุพจน์ ญาณสิทธิ 13. พระอาจารย์พุฒิ ยโสธโร 14. พระออม โสภิโต 15. พระอธิการทองแดง ป ญาวโร 16. พระอาจารย์บุตรศรี วิชิโต 17. พระอธิการส�าราญ ป ญาสิริ 1 . พระอธิการเจริญ ธมมโชโต 19. พระอธิการสมชาย อุตตโม 20. พระอาจารย์บุญพรม จนทโชโต 21. พระอาจารย์วิรัตน์ โชติญาโณ 22. พระอาจารย์ถนอม นรินโท 23. หลงพ่อแดง ปริปุณโณ 24. พระชนะ จารุวณโณ 25. พระอาจารย์ทองแดง สุณวณโณ 26. พระครูโพธิธรรมประยุต สมปนโน

ผู้สร้างวัด พ.ศ.2459 พ.ศ.2463 พ.ศ.246 พ.ศ.2471 พ.ศ.2476 พ.ศ.24 1 พ.ศ.24 4 พ.ศ.24 7 พ.ศ.2491 พ.ศ.2496 พ.ศ.249 พ.ศ.2501 พ.ศ.2502 พ.ศ.2503 พ.ศ.2504 พ.ศ.2506 พ.ศ.2510 พ.ศ.2512 พ.ศ.2516 พ.ศ.2519 พ.ศ.2520 พ.ศ.2522 พ.ศ.2526 พ.ศ.2529 พ.ศ.2530

พ.ศ.2463 พ.ศ.246 พ.ศ.2471 พ.ศ.2476 พ.ศ.24 0 พ.ศ.24 3 พ.ศ.24 6 พ.ศ.2490 พ.ศ.2495 พ.ศ.249 พ.ศ.2501 พ.ศ.2502 พ.ศ.2503 พ.ศ.2504 พ.ศ.2506 พ.ศ.2510 พ.ศ.2512 พ.ศ.2515 พ.ศ.2519 พ.ศ.2520 พ.ศ.2522 พ.ศ.2526 พ.ศ.2529 พ.ศ.2530 ปัจจุบัน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 113

113

. - 17/05/2562 14:43:00 PM


ประ ั ท นเ

ชื่อ พระครูโพธิธรรมประยุต ายา สมปนโน อายุ 5 พรรษา 3 วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก วัดโพธิศ์ รี ต�าบลบ้านเดือ่ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี และรองเจ้าคณะ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ สถานะเดิม ชื่อ สุบรรณ นามสกุล เ ็มเขียว เกิดเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2503 บิดา นายบุญทัน มารดา นางลุน บ้านเลขที่ 97 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลบ้านเดือ่ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ บรรพชา เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 วัดนครบาล ต�าบลผักปัง อ� า เภอภู เ ขี ยว จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ พระอุ ป ั ช าย์ พระครู ถ าวรคี รี วั ฒน์ วัดนครบาล อุปสมบท วันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 ณ วัดนครบาล พระอุปัช าย์ พระครูถาวรคีรีวัฒน์ วัดนครบาล พระกรรมวาจาจารย์ พระสังคม ฐานิสสโร วัดนครบาล พระอนุสาวนาจารย์ พระสุวิทย์ กิตติวณโณ วัดนครบาล จังหวัดชัยภูมิ วิทยฐานะ พ.ศ. 2553 ส�าเร็จศึกษา รัฐประศาสนศาตร์มหาบัณ ติ (รป.ม.) มหาวิทยาลัยอีสาน จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2527 สอบได้ นักธรรมชัน้ เอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดบริบรู ณ์ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ การปกครอง พ.ศ. 2531 เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี บ้านเดื่อ ต�าบลบ้านเดื่อ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าคณะต�าบลบ้านเดือ่ เขต 2 อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2540 เป็ น พระอุ ป ั ช าย์ พ.ศ. 2546 เป็ น รองเจ้ า คณะ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ และ พ.ศ. 2549 เป็นพระวินยาธิการ งานการศึกษา พ.ศ. 2525 เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรม (แผนกธรรม) ประจ�าส�านักศาสนศึกษาวัดโพธิศ์ รี ต�าบลบ้านเดือ่ อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 252 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม (แผนกธรรม) ประจ�า ส�านักศาสนศึกษาวัดบ้านมะกอก ต�าบลเนินมะกอก อ�าเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสรรค์ พ.ศ. 2531 - พ.ศ. 2556 เป็นเจ้าส�านักศาสนศึกษา วั ด โพธิ์ ศ รี ต� า บลบ้ า นเดื่ อ อ� า เภอเกษตรสมบู ร ณ์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ พ.ศ. 2530 - 2556 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการควบคุมห้องสอบธรรม สนามหลวงประจ� า หน่ ว ยสอบวั ด บริ บู ร ณ์ อ� า เภอเกษตรสมบู ร ณ์ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการควบคุมห้องสอบ ธรรมสนามหลวงประจ�าหน่วยสอบวัดชัยภูมิวนาราม อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2551 - พ.ศ. 2556 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ ควบคุ ม ห้ อ งสอบ ธรรมสนามหลวงประจ� า หน่ ว ยสอบวั ด นครบาล อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2556 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ น กรรมการควบคุ ม ห้ อ งสอบบาลี ส นามหลวงประจ� า หน่ ว ยสอบ วัดไพรีพินาศ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ สมณศั ก ดิ์ พ.ศ. 2557 ได้ รั บ พระราชทานเลื่ อ นสมณศั ก ดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เทียบเจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก ในราชทินนาม ที่พระครูโพธิธรรมประยุต(ทจอ.ชอ.) 114

.indd 114

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 17/05/2562 14:43:07 PM


WAT PHO SRI

.1

2.

.

1 440

.1423.

. .2459

. .2465.

.

( 10

. .247 . 21 20

. .2530 40 . Important buildings . . .2555.

)

. .2523 22

. .2475.

BIOGRAPHY OF ABBOT 3

-

.

.

5

. CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 115

115

. - 17/05/2562 14:43:14 PM


Prowaen WaterPark

นน ั ั ัย ปรก ก ร ก ร

น เ เก ร บร ร น เ ร ร ปร น ไทยระ ั บ ก เ น ก ย เปน นึ ท ะน เร น ทก น เ กย ย

เร ร

บรก ร นน ะ น ไ เ กย รับ ร บ รั น ัยรน รนเย ะทกรน เ ท นทก ัย

116

SBL บันทึกประเทศไทย

088

.indd 116

น่ า นรอยั ล รี ส อร์ ท (

)

. - 16/05/2562 16:59:16 PM


สวนน�้า ปรแหวน วอเตอร์พาร์ (

) และ สนามไดร์

ยั

ม ยั ม ม ั ยั ม ย ั ม ู ย ู ย ั ย ม ชม ั ย ม ิ ิ ั ย มม ิ ย

ั ม ม ย

ม ู ย ั ย ั

10 00-18 00 น

0 -

1-0

NAN

.indd 117

SBL บันทึกประเทศไทย

117

. - 16/05/2562 16:59:35 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเขต ส�านักป ิบัติธรรม ังหวัดชัยภูมิ

ตั้งอยู่สดเขต ดน สร้าง ด้ด้วย รง ห่ง รัท า ระครูสุวรร ัน รัง ี ภูมมว ร เ า้ ค ะอาเภอหนอง ัวแดง เ ้าอาวาสวัดเขต

วัด หรือทีช่ าวบ้านเรียกกันทัว่ ไปว่า วัด ลาด ้ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 24 บ้านลาดวังม่วง หมู่ที่ 15 ต�าบลหนองบัวแดง อ�าเภอหนองบัวแดง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สัง กัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2479 มี เ นื้ อ ที่ 6 ไร่ 3 งาน 26 ตารางวา สร้ า งโดย หลวงพ่ อ บ มา พ่อผ้ ห ห่ ม หาวชา งึ่ เป็นผูใ้ หญ่บา้ น บ้านลาดใต้ในสมัยนัน้ พร้อมด้วย พ่อไพ สาลลาด พ่อ ก้ ค ร นนกอก นายแดง หาวชา และชาวบ้าน ประมาณ 20 ครัวเรือน ร่วมกันสร้างขึน้ เพือ่ เป็นทีบ่ า� เพ็ญกุศล เป็นศูนย์รวม จิตใจ และเป็นสถานปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ น�าความสงบเย็นมาสูจ่ ติ ใจและสังคม

ความเ นมาของวัด

เนือ่ งจากวัดและหมูบ่ า้ นตัง้ อยูใ่ นถิน่ ทุรกันดาร สุดเขตการปกครอง ของบ้านเมือง ึ่งขึ้นอยู่กับอ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ในสมัยนั้น ผู้สร้างจึง ได้ตั้งชื่อว่า วัด คือ อยู่สุดเขตแดน ได้สร้างด้วยแรงศรัทธาของ ญาติโยมชาวบ้าน ร่วมกันบริจาคทัง้ วัสดุและปัจจัย ได้รบั การบูรณะและ 118

5

พัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองมาโดยล�าดับ ดังจะเห็นได้ว่าชาวบ้านได้บริจาค ปัจจัยสร้าง กุฏสิ งฆ์ ศาลาการเปรียญเพือ่ เป็นทีบ่ า� เพ็ญกุศล พระอุโบสถ เพื่อเป็นที่ท�าสังกรรมของพระสงฆ์ ึ่งก�าลังด�าเนินการก่อสร้างใกล้แล้ว เสร็จ รวมทั้งเมรุเผาศพ ห้องน�้า ห้องส้วม และโรงครัว วัดเขต ในอดีตเมื่อปี พ.ศ.24 3 เคยเป็นที่ตั้งโรงเรียนประชาบาล ประจ�าหมู่บ้าน ชื่อ รง รยนวัด บ้านลาด ้ มนายดด บ กล เป็น ครูใหญ่ พ.ศ.2510 จึงได้ย้ายมาตั้งเป็นโรงเรียนบ้านลาดใต้ ในปัจจุบัน วัดเขตยังเป็นศูนย์อบต. ประจ�าต�าบลและจัดอบรมสามเณรและเยาวชน ภาคฤดูร้อนเป็นประจ�าทุกปี

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 118

. - 20/05/2562 08:57:03 AM


ร วัติ ร ครูสวรร จันทรัง ี

พระครสวรร จัน รัง ายา มมว ร อายุ 57 พรรษา 36 วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก (น.ธ.เอก) สถานะเดิม ชือ่ ค�ามุ นามสกุล โคตรโนนกอก เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2505 บิดาชื่อ บุญทัน มารดาชื่อ สิมมา บ้านเลขที่ 239 หมู่ที่ 15 ต�าบลหนองบัวแดง อ�าเภอ หนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ จจบันดารง าแหน่ง 1. เป็นเจ้าอาวาสวัดเขต 2. เจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวแดง

วิทย าน

พ.ศ.2552 ส�าเร็จการศึกษา ศิลปศาสตรบัณ ิต (ศศบ.) มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อ�าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ.2530 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ในส�านักเรียนคณะจังหวัด มหาสารคาม มีความช�านาญการ ทางด้านนวกรรมช่างไม้และช่างปูน การศึกษาพิเศษ ใช้คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์

าร ครอง

พ.ศ.2542 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเขต พ.ศ.2542 เป็นเจ้าอาวาสวัดเขต พ.ศ.2543 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าคณะต�าบลหนองบัวแดง เขต 2 พ.ศ.2543 เป็นเจ้าคณะต�าบลหนองบัวแดง เขต 2 พ.ศ.2544 เป็นพระอุปัช าย์ พ.ศ.2547 เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวแดง พ.ศ.2559 เป็นเจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวแดง CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 119

119

. - 20/05/2562 08:57:13 AM


ประเพณี

บุญกระธูป อาเภอหนอง ัวแดง ังหวัดชัยภูม

ประเ

ี ุ

ระธูป ของชาวอ� า เภอหนองบั ว แดง จะท� า ก่ อ น

วั น ออกพรรษา วั น เพื่ อ เป็ น พุ ท ธบู ช า เมื่ อ ครั้ ง พระพุ ท ธเจ้ า เสด็จกลับจากสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์มายังโลกมนุษย์ เพือ่ โปรดพุทธมารดา โดยทัว่ ไปประเพ บี ญ ุ กระธูปของชาวบ้านในภาคตะวันออกเ ยี งเหนือ จะพบเห็นบ้าง แต่บญ ุ ประเพ บี ญ ุ กระธูปของชาวอ�าเภอหนองบัวแดง ได้จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ่ึงมีประวัติความเป็นมาเริ่มจากชาวบ้าน บ้านราษ ร์ดา� เนิน จัดให้มกี ารแข่งขันการท�าต้นกระธูปขึน้ ระหว่างคุม้ ึ่ ง ประกอบด้ ว ย คุ ้ ม บ้ า นแจ้ ง คุ ้ ม ลาดเหนื อ คุ ้ ม กลางเก่ า และ คุม้ หนองหวาย ปจจุบนั บ้านลาดบัวหลวง โดยน�าต้นกระธูปทีจ่ ดั ท�าขึน้ มาแห่รอบหมู่บ้าน และมีการจัดขบวน อนร�า ประกอบเป็นเรื่องราว ให้เหมาะสมกับเหตุการ ์ต่าง แล้วน�าต้นกระธูปมาตั้งสมโภชน์ วัดบ้านราษ ร์ด�าเนิน มีการจัดการประกวด ความสวยงามของ ต้นกระธูป ที่ประดิษ ์ขึ้น ึ่งในระยะแรกได้รับการสนับสนุนจาก พระครูปภากรวุ ิคุ เจ้าอาวาสวัดราษ ร์ด�าเนิน ผู้ใหญ่บ้าน ค ะครู และราษ รบ้านราษ ร์ดา� เนิน

ติดต่อสอบถาม

อาเภอหนอง ัวแดง ร ั เ

120

5

าลตา ลหนอง ัวแดง ร ั

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 120

. - 20/05/2562 08:57:16 AM


ต้นกระธูปที่จัดท�าขึ้นในระยะแรกนั้นจะใช้วัสดุภายในท้องถิ่น มาจัดท�า ประกอบด้วย ขุยมะพร้าว ใบอ้ม ใบเนียม โดยน�าใบไม้ ทั้ง 2 ชนิด มานึ่งแล้วน�าไปตากแดด แล้วจึงน�ามาบดอีกครั้งจะได้ ุ่นไม้ที่มีกลิ่นหอมแล้วน�ามาผสมกับขุยมะพร้าวห่อด้วยกระดาษให้ ได้รูปทรงยาว เหมือนธูป และน�ากระดาษสีมาประดับให้ได้ลวดลาย ที่สวยงาม ึ่งนิยมใช้ลายไทย เช่นเดียวกับลายมัดหมี่ แล้วจึงน�าธูป ที่ได้มัดติดกับดาวที่ท�าจากใบลาน แล้วน�ามามัดติดกับคันที่ท�าจาก ไม้ไผ่คล้ายคันเบ็ด จากนั้นน�ามาเสียบไว้กับแกนไม้ไผ่ที่เตรียมไว้ ความสูงประมา เมตร ให้ได้รูปทรงคล้าย ัตรก่อนจะน�าไปแห่ แล้วน�าไปจุดไ บูชาในวันก่อนวันออกพรรษา พร้อมกันนี้ได้น�าเอา

ลูกตูมกา ึ่งเป็นผลไม้ที่เปลือกแข็ง และผลคล้ายส้ม มาผ่าเป็น 2 ีก แล้วน�าน�้ามันพืชใส่และควั่นด้าย เป็นรูปตีนกาเพื่อจุดไ ให้แสงสว่าง ใต้ ต ้ น กระธู ป ด้ ว ยมี ที่ ม าจากพญากาเผื อ ก ตามต� า นานพื้ น บ้ า น ในโอกาสต่อมามีการพั นาโดยใช้ธปู ทีม่ ขี ายตามท้องตลาด มาห่อด้วย กระดาษและตกแต่งสีสัน ให้สวยงามตามแต่จินตนาการ ึ่งส่วนใหญ่ มั ก ใช้ ล วดลายพื้ น บ้ า น และเรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ พระพุ ท ธศาสนา พระมหากษัตริย์ และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของราษ ร ในอ�าเภอ หนองบัวแดง เพื่อสื่อความหมายถึงเอกลักษ ์เ พาะถิ่น และน�ามา ประกวดแข่งขัน CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 121

121

. - 20/05/2562 08:57:20 AM


ประเพณี

บุญกระธูป อาเภอหนอง เภอหนอง ัวแดง ังหวัดชัยภูม

รรม ีน่าสนใ ภายในงาน

บ น ประเ บ กระ ป ก บ ก ร เ ย น นบ กระ ป ประก กระ ป ะ กระ ป บร ก ร ั น ั ก รย น ป น เก เบ กระ ป ก รประก น ร นบ น กร ะ ั นย น ท เ ย

ส�าาหรั หรับการจัดขบวนแห่กระธูปแบบ เช่ น ปจจุ บั น นี้ ห ลั ง จากเริ่ ม จั ด ขบวนแห่ ตั้ ง สมโภชน์ ป ระกวดในหมู ่ บ ้ า นราษ ร์ ด� า เนิ น การในป พุทธศักราช 2 2 แล้วเมื่อปพุทธศักราช 2 8 2 41 ได้ น� า ขบวนแห่ ร อบตลาดในเขตเทศบาล ต�าบลหนองบัวแดง ต่อจากนัน้ น�าต้นกระธูปไปตัง้ สมโภชน์ ส�าหรับประเพ ีบุญกระธูปออกพรรษา ที่เห็น ปจจุบัน เริ่มด�าาเนิ เนินการในปพุทธศักราช 2 4 โดย นายเดชา ใจยะ อดีตนายอ�าเภอหนองบัวแดง ต่ อ มาในป 2 นายสาคร เถิ น มงคล นายอ�าเภอหนองบัวแดง จึงได้น�าเสนองานประเพ ีบุญกระธูป ต่อการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทย เพื่อบรรจุเป็นงานประจ�าป ของจังหวัดชัยภูมิ ึ่งปจจุบันการท่องเที่ยว แห่งประเทศไทยได้บรรจุงานประเพ บี ญ ุ กระธูปออกพรรษา ในป ทิ นิ เป็นงานประจ�าป ของจังหวัดชัยภูมิ ส�าหรับป 2 62 อ�าเภอหนองบัวแดง ได้ก�าหนดการจัดงานประเพ ี บุญกระธูป ออกพรรษา วันขึ้น 11 ค�่า เดือน 11 ในช่วงเดือนตุลาคม ของทุกป บริเว หน้าที่ว่าการอ�าเภอหนองบัวแดงและถนนศุภวงศ์ร�าลึก 122

5

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 122

. - 20/05/2562 08:57:27 AM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด รีธงชัย ระครูอน ธรรมธัช ั

ภ ชัย

วั ด ศรี ธ งชั ย ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 550 บ้านโนนเหม่า หมู่ 3 ต�าบลนางแดด อ� า เภอหนองบั ว แดง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สร้างเมื่อ พ.ศ. 24 1 สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย

อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ ศาลาคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ศาลาบ�าเพ็ญกุศล กุฏิ 3 หลัง หอระฆัง เมรุ และห้องน�้า ทั้งหมด 11 ห้อง ปูชนียวัต ุ มีเทวรูปพระปริโต (องค์จ�าลอง) งานประเ ีของวัด งานบุญแห่กระธูปอ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ เป็นประเพณีถอื ปฏิบตั ติ าม ตี สิบสอง ครองสิบสี่ของชาวพุทธในภาคอีสาน ึ่งมีคุณค่าต่อวิถีการด�าเนินชีวิตที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึง ปัจจุบัน ประวัต ่านเ ้าอาวาส ดยสังเขป พระครูอนิ ทธรรมธัช(วุฒศิ กั ดิ์ นรินโท) ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวแดง ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัด อายุ 62 ปี พรรษา 39 วัดศรีธงชัย จังหวัดชัยภูมิ วุฒิการศึกษาน.ธ.เอก ประโยค 1 - 2 พธ.บ. สม ั ด 5 ธันวาคม พ.ศ. 255 เป็น พระครูสัญญาบัตร เทียบเจ้าคณะอ�าเภอ ชั้นเอก ที่ พระครูอินทธรรมธัช CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

. - 16/05/2562 18:58:34 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดชัยภูม ั ( าเ ง) สานั ป ัตธรรมประ า ังหวัดชัยภูม แห่ง ี ระเ ภาวนาว รม ( ุ มา ปุ ั

124

.indd 124

ั ชัยภูมิ ั ชัยภูมิ ิ ั

าภร ต)

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 15:33:59


วั ด ชั ย มพ ั ก ์ หรอ วั ด ผา กง ั งอย่ บ้ า นนาคานหั ก าบลกดชมแสง อา อหนองบัวแดง จังหวัดชัย ม ห่างจาก วั จังหวัด ก ล ม ร อย่ ดกับ าการอ ยานแห่งชา แลนคา นวัด มความสงบ สวยงาม หมาะสาหรับผ้แสวงหาความ น รรมชา และ กอบรมจ จ นวัดพั นา วั อย่าง องจังหวัดชัย ม ม าส ร์ องวัดมหน้าผาสงและมหนยนออกมา หน น ด่นชัด หมาะสาหรับ ผ้ อ้ งการมา บั รรมและชม รรมชา จจบัน พระ พ าวนาวกรม บ มา า ร ดารง าแหน่ง จ้าอาวาสวัดชัย มพ กั ์ ผา กง และ จ้าค ะจังหวัดชัย ม าย นวัดมส าน สาคั อา พระบรม า ผา กง น าสนส าน สาคั แห่งหนง องวัดผา กง มลัก ะ น จดย์ รงนา ้ากลม น ล ะ ผสมผสานระหว่ า งพระ า พนมกั บ พระ ม จดย์ นอกจากน ยังมพพ ั ์ กสม ดจพระพ าจารย์ สร้าง มอ พ น รวบรวมผลงานและ อง บรา แร่ า กายส ่ า ง ม พระพ ร สาคั คอ “พระพ ชัย มพ กั ”์ นพระพ ร ยน าง ระ านพร ยกพระหั ์ วา หนอพระอระ ระด าน น พระพ ร ล ะสมัยรั น กสน ร์ นาดสงจาก าน งยอด อก ม ร ก่ออ อ น ห้มด้วยกระ บอง ม สกส อง งองค์ ั น คารพ สักการะและ นย์รวมแห่ง รั า องชาวชัย ม สาคั อกแห่งหนง

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

18/5/2562 15:34:01


ว่า ะมาเปนวัดชัยภูม ั ( าเ ง) ดย ระเ

ภาวนาว รม ( ุ มา ปุ

วั ด ชั ย ภู มิ พิ ทั ก ษ์ (ผาเกิ้ ง ) เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง ในปี พ.ศ. 2512 โดย นายประมูล ศรัทธาทิพย์ เมือ่ ครัง้ ทีด่ า� รงต�าแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดชัยภูมิ มาเห็นพื้นที่แห่งนี้ ึ่งเป็นป่าเขาบรรยากาศดีเป็นที่เจริญตาเจริญใจ เหมาะสมทีจ่ ะอนุรกั ษ์และพัฒนาให้เป็นพุทธอุทยานส�าหรับปฏิบตั ธิ รรม โดยได้ มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม ที่ จ ะสร้ า งพระพุ ท ธรู ป ขึ้ น ก่ อ น และก� า หนด วันเวลาวางศิลาฤกษ์สร้างองค์พระขึ้นในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2512 พร้อมกันนี้ท่านยังได้ปรึกษาหารือกับส่วนราชการทุกระดับในเขตการ ปกครองของจังหวัดชัยภูมิ ว่าควรจะท�าอย่างไร ในทีป่ ระชุมก็ตกลงเห็นชอบให้ทกุ อ�าเภอได้มสี ว่ นร่วม โดยได้กา� หนด ให้แต่ละอ�าเภอมาจัดสร้างทีพ่ กั เป็นรูปแบบของบ้านพัก ตลอดถึงการสร้าง เสนาสนะ เพื่อเป็นที่พักของพระภิกษุสงฆ์ เมื่อที่ประชุมเห็นพร้อมและ ตกลงกันเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้วก็เริม่ ลงมือปฏิบตั งิ าน โดยในส่วนอ�าเภอเมือง ลงมือก่อสร้าง กระท่อมทิพย์พงศ์ ึ่งใช้นามใกล้เคียงกับท่านผู้ว่าฯ ต่ อ มาอ� า เภอเกษตรสมบู ร ณ์ แ ละอ� า เภอบ� า เหน็ จ ณรงค์ ก็ เ ริ่ ม ก่อสร้างบ้านพักจนส�าเร็จเป็นที่เรียบร้อยเช่นเดียวกัน แต่ในปัจจุบัน ได้รื้อถอนสิ่งก่อสร้างทั้งหมดมาจัดสร้างไว้ในบริเวณวัด ึ่งได้ปรับปรุง ที่พักเหล่านั้นเป็นกุฏิสงฆ์ พอท่านผู้ว่าฯ ประมูล ศรัทธาทิพย์ ได้ริเริ่ม วางโครงการจนถึงวางศิลาฤกษ์ ท่านสร้างองค์พระพุทธรูป งึ่ ให้นามว่า 126

.indd 126

าภร ต)

พระพุทธชัยภูมิพิทักษ์ ในปีเดียวกันท่านยังร่วมท�าโครงการตัดถนนเส้นทางจากตัวจังหวัดชัยภูมิ ถึงอ�าเภอหนองบัวแดง โดยทะลุเขาภูแลนคาตรงผาเกิง้ นีเ้ ป็นถนนลูกรัง แต่ อ งค์ พ ระพุ ท ธรู ป และโครงการสร้ า งพุ ท ธอุ ท ยานก็ พึ่ ง จะเริ่ ม ต้ น ยังไม่ทันเสร็จทางราชการก็มีค�าสั่งย้ายให้ท่านไปปฏิบัติหน้าที่ที่จังหวัด ร้อยเอ็ด แม้ว่าท่านผู้ว่าฯ จะย้ายไป ท่านก็ได้ฝากงานในการก่อสร้าง พระพุทธชัยภูมพิ ทิ กั ษ์ และพุทธอุทยานแห่งนีไ้ ว้กบั ข้าราชการตลอดจน ผูว้ า่ ราชการคนใหม่ เมือ่ ผูว้ า่ ราชการคนใหม่มาด�ารงต�าแหน่งทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ ท่านก็ได้สานต่อโครงการและสร้างองค์พระโดยได้ชา่ งจากกรมศิลปากร มาควบคุมดูแลการก่อสร้าง ส่วนงานก่อสร้างเสนาสนะอื่นๆ ก็เป็น หน้าทีข่ ององค์การบริหารส่วนจังหวัดทีใ่ ห้ความดูแลอย่างใกล้ชดิ จากวัน เป็นเดือน จากเดือนเป็นปี จากปีเป็น 5 ปี ผ่านผูว้ า่ ราชการจังหวัด 3 ท่าน คือ นายประมูล ศรัทธาทิพย์ นายส�าราญ บุษปวนิชย์ และ นายอนันต์ อนั น ตกู ล จนถึ ง ปี พ .ศ.2516 องค์ พ ระพุ ท ธชั ย ภู มิ พิ ทั ก ษ์ ก็ ส� า เร็ จ เรียบร้อย เป็นพระพุทธรูปประทับยืนปางประทานพร สูง 14 ศอก (7 เมตร) ก่ออิฐถือปูนประดับด้วยกระเบื้องโมเสกสีทองทั้งองค์

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:50:06 PM


ในปี พ.ศ. 2516 นายอนันต์ อนันตกูล มาด�ารงต�าแหน่งเป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิได้เดินทางมาที่วัดชัยภูมิพิทักษ์ (ผาเกิ้ง) ท่ า นเห็ น องค์ พ ระยื น อยู ่ โ ดดเดี่ ยวท่ า มกลางป่ า ดงพงหนาไม่ มี ใ คร เฝาดูแลรักษา ึ่งก่อนหน้านี้พุทธอุทยานแห่งนี้ก็ถูกปล่อยให้รกร้าง มาเป็นเวลา 4-5 ปี ท�าให้ท่านคิดเสียดายและเป็นห่วงองค์พระมาก ถึงกับได้นา� ข้อมูลนีไ้ ปปรึกษาหารือกับส่วนข้าราชการ งึ่ อยูใ่ นการปกครอง ของท่านว่าจะท�าอย่างไร ทีจ่ ะหาพระไปอยูเ่ ฝาดูแลรักษาและช่วยพัฒนา พุทธอุทยานแห่งนี้ให้เจริญรุ่งเรืองและส�าเร็จเป็นวัดเป็นที่พึ่งทางใจของ ประชาชน ทีส่ ดุ ในทีป่ ระชุมก็ได้ตกลงกันว่าในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2517 จะอาราธนานิมนต์ หลวงพ่อเจ้าคุณพระเทพภาวนาวิกรม ึ่งตอนนั้น ท่านยังเป็นพระมหาบุญมา เปรียญธรรม 6 ประโยค เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม บ้านคลองไผ่งาม อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ึ่งหลวงพ่อเจ้าคุณฯ และชาวบ้านก็ไม่ขัดข้องและคัดค้านแต่ประการใด เพราะเห็นว่าเป็น ความประสงค์ของท่านผู้ว่าฯ เมื่อหลวงพ่อเจ้าคุณฯ มาอยู่ท่านก็ได้ บุกเบิกรกร้างถางพงปรับพืน้ ที่ งึ่ รกไปด้วยป่าดงพงหนา หลวงพ่อเจ้าคุณฯ ท่านได้เล่าให้ ังอีกว่า ได้พบเจออุปสรรคนานาประการ ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาเรือ่ ง เหลือบ ยุง ลิน้ สัตว์เลือ้ ยคลาน อสรพิษ ปัญหาพวก มิจ าชีพ งึ่ ไม่เข้าใจกัน ปัญหาพวกคนป่า(พวกคอมมิวนิสต์) ปัญหาอาหารและน�า้ ต้องพยายามแก้ไขปัญหาและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ โดยวิธีที่ว่า มีอะไรพอจะยังชีพให้อยู่ได้ก็ให้มีตามมีตามได้ เพื่อไม่ให้เพิ่มภาระ

เพิ่มปัญหาให้ชาวบ้านมากเกินไป คือ หัดตัวเองให้ง่ายๆ อะไรก็ได้ ที่พอจะไม่ให้เราตาย เมื่อไม่ตายก็จะได้ช่วยบ�าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม เท่าที่จะช่วยได้ จากวันเป็นเดือน จากเดือนเป็นปี ปัญหาเหล่านั้นก็ คลี่คลายเบาบางไป แต่ปัญหาที่ผ่านยากที่สุดก็คือ ปัญหาเรื่องคนป่า (พวกคอมมิวนิสต์) ปัญหานีย้ าวนานอยูถ่ งึ 6 ปี แต่กอ่ นยังไม่เคยพูดให้ใคร งั ถึงไม่ได้พดู ให้ใคร ังก็ยังมีข่าวอย่างนี้เล็ดลอดออกไปให้คนได้รู้ ถึงกับเล่าลือว่า พระวัดนี้เลี้ยงพวกคอมมิวนิสต์ตอนหลังเจ้าหน้าที่ฝ่ายปราบปรามก็ ยังมาคอยสังเกตการณ์อยู่ทุกวันเสาร์-อาทิตย์เป็นเวลา 3 เดือนตลอด พรรษาก็ไม่มีท่าทีวี่แววว่าจะเลี้ยงพวกคอมมิวนิสต์จริงเลย เพราะคน มาเทีย่ วทีว่ ดั มีมากมาย และคนทีม่ าเขาก็ไม่มปี ายประกาศติดตัวว่าเป็นใคร ปกติคนพวกที่ว่านี้เขาจะมาขอกินข้าวประจ�าทุกวัน วันละ 4-5 คน และก็มีพิรุธคือขณะกินอาหารเขาจะมอง ้ายมองขวา เมื่อกินอิ่มแล้ว มักจะห่อข้าวติดตัวไปด้วยอย่างนี้เสมอ บางทีมาตอนกลางคืนขอพัก คราวละ 10 ถึง 20 คนก็มี ถ้าถามเขาว่าโยมมาท�าอะไรค�า่ มืด เขาก็ตอบว่า เขามาหาของป่า หาผลไม้ หาผักแล้วกลับไม่ทันรถ เมื่อได้พักผ่อนแล้ว ประมาณตี 2 ก็จะลุกหุงข้าวท�ากับข้าว พอเสร็จก็จะห่อไปด้วยก่อนที่ พระจะลุกสวดมนต์ทา� วัตรประมาณตี 3 เวลานัน้ เขาก็พากันไปหมดแล้ว เป็นอยูอ่ ย่างนีป้ ระจ�า นับเป็นเวลา 6 ปี แต่มไิ ด้เล่าเรือ่ งอย่างนีใ้ ห้ใคร งั CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 127

127

. - 16/05/2562 19:50:16 PM


เราอยู่ที่นี่ได้เพราะคุณความดีความมีสัจจะมีธรรมะ โดยเ พาะ ได้ ตั้ ง เมตตาจิ ต แผ่ ไ มตรี ใ ห้ ม นุ ษ ย์ แ ละสรรพสั ต ว์ ทั่ ว ไปให้ เ ป็ น สุ ข ถ้วนหน้ากัน เคยสั่งพระ สั่งเณร แม่ชีอยู่เสมอว่า อย่าท�าจองหองอวดดี กับญาติโยมชาวบ้านที่มาวัด ไม่ว่าจะใครก็ตามที่มาวัดอย่าท�าและ อย่าพูดจองหองอวดดี ถ้าเราท�าเราพูดจองหองขัดใจเขาเหมือนเรา สร้างศัตรู เราจะอยู่ที่นี่ไม่ได้ เมือ่ เห็นญาติโยมมา ค�าพูดค�าแรกให้พดู ให้ถามเขาว่า โยมทานอาหาร มาหรือยัง ถ้ายังไม่ได้ทานก็ให้รบี พาเข้าโรงครัวจัดหาอาหารให้ทานกัน เรามีตน้ ไม้ มีผลไม้ ทีเ่ ราปลูกไว้ให้กต็ งั้ จิตแผ่เมตตาว่าให้เป็นทานแก่คน คนกินไม่หมดก็เป็นทานแก่นกและสัตว์ที่มีความต้องการ คนที่มาเขา จะต้องการสิ่งใดที่เราปลูกเอาไว้ขอก็ช่างไม่ขอก็ช่าง แจกทานเขาไป อย่าไปหวงเพราะเราปลูกแผ่เมตตา เราอยูท่ นี่ ไี่ ด้เพราะคุณความดีมเี มตตา ถ้าเป็นพระเถรเณรชีจองหองอวดดีแล้วอยูท่ นี่ ไี่ ม่ได้ จะไปใช้อารมณ์รอ้ น วู่วามบุ่มบ่ามนั้นอยู่ไม่ได้แน่ พูดดีท�าดีกับคนทุกคนอย่างนี้จึงอยู่รอด ปลอดภัยตลอดเป็นเวลาถึง 6 ปีเต็ม พอตอนหลังทางราชการให้ชาวบ้านค�าน้อย ึ่งเมื่อก่อนแยกย้าย กันอยูต่ ามไร่ของตน งึ่ เป็นชนทีใ่ ห้พวกคนป่าได้อาศัยเป็นสือ่ ส่งเสบียง หรือน�าเสบียงเข้าออกได้ง่ายสะดวก แต่พอทางราชการมีค�าสั่งให้มาอยู่ รวมกันเป็นหมู่บ้านจึงได้พัฒนาขึ้นเป็นบ้านค�าน้อยดังที่เห็นในปัจจุบัน พวกคนป่าก็หมดหนทางที่จะน�าอาหารหรือส่งอาหาร เมื่อหาอาหาร ไม่สะดวก พวกคนป่าที่หลบๆ ่อนๆ ตามป่าดงก็พากันย้ายไปอยู่อีก ากหนึง่ คือ เขาเขียว งึ่ อยูท่ างด้านทิศเหนือของตัวอ�าเภอหนองบัวแดง พวกทีไ่ ม่ยา้ ยไปเขาเขียวกับพวก เห็นว่าการย้ายไปเทีย่ วหลบๆ อ่ นๆ ตัวนัน้ เป็นสิง่ ล�าบากเขาก็เลยเข้ามอบตัว หลังจากทีท่ างราชการอภัยโทษ ให้พวกเขาก็มาขอบรรพชาอุปสมบททีว่ ดั นี้ และก็รบั เป็นอุปชั าย์บวชให้เขา ถึงกับมีค�ากล่าวหาเพิ่มขึ้นอีกคือ ครั้งแรกเขากล่าวหาว่าเลี้ยงคนป่า (คอมมิวนิสต์) ครัง้ ทีส่ องเขาก็กล่าวหาอีกว่า บวชคนป่า (คอมมิวนิสต์) อีก แต่กไ็ ม่เป็นไรเพราะคนส่วนมากเขาก็นยิ มชมชอบและส่งเสริมสนับสนุน อยูแ่ ล้ว จะได้รชู้ ดั ๆ ก็ในปี พ.ศ. 2525 จะออกไปธุดงค์ ลูกศิษย์คนทีเ่ ขา เคยเป็นคนป่า และเข้ามอบตัวแล้วมาขอให้เป็นอุปัช าย์อุปสมบทให้ เขารูว้ า่ เราผูอ้ ปุ ชั าย์อปุ สมบทให้ เขาก็ทา� หน้าทีเ่ ป็นพระทีด่ ี เป็นลูกศิษย์ ที่ดีพร้อมยังตอบแทนคุณ เมื่อรู้ว่าเราจะออกธุดงค์เขาก็รีบมาถามและ บอกว่าถ้าหลวงพ่อจะออกธุดงค์ไป จะไปที่ไหนถ้ารู้ว่ามีคอมมิวนิสต์ อยูห่ ลวงพ่ออย่าไปเด็ดขาด เพราะคอมมิวนิสต์เขาเกลียดพระทีส่ ดุ ก็เลย ถามเขาว่าท�าไมคอมมิวนิสต์เขาจึงเกลียดพระมากที่สุด เขาตอบว่า พระสอนประชาชนให้รวมกลุ่มรวมก้อนมีพลังสามัคคียึดเหนี่ยวน�้าใจ คนรวมพลังสามัคคี ึ่งเป็นอุปสรรคต่องานของเขา ยากที่เขาจะท�างาน ได้ส�าเร็จ เพราะ ะนั้นเขาจึงเกลียดพระที่สุดและเกลียดศาสนาพุทธ คิดจะท�าลายพระและท�าลายพุทธศาสนา ึ่งจะท�าให้งานของเขาส�าเร็จ ตามเปาหมายเร็วขึ้น นี้เป็นค�าบอกเล่าของเขา ด้วยเป็นห่วงอุปัช าย์ จะพลัดหลงเข้าไป

128

.indd 128

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:50:26 PM


เมือ่ เขาพูดจบก็พดู ถามเขาหลายอย่างว่าคุณไปใช้ชวี ติ อยูอ่ ย่างนัน้ กีป่ ี เขาบอกว่า 10 กว่าปี ถูกเขาส่งไปอบรมล้างสมองที่ านอย ประเทศเวียดนาม เป็นเวลา 5-6 ปี ทุกคนเมื่อแน่ใจว่าจิตยอมรับแน่วแน่มั่นคงแล้ว จึง ให้มาปฏิบัติหน้าที่แบบหลบๆ ่อนๆ คอยหาช่องทางหาโอกาส ถาม เขาอีกว่าไปหลบๆ อ่ นๆ ตามป่ามันสะดวกสบาย สนุกเพลิดเพลินดีหรือ เขาตอบว่า ไม่ละครับ บางทีอดอาหารไม่มีจะกิน ก็เอากล้วยป่า มาปอกเปลือกเอาเนื้ออ่อนๆ ต้มกินต่างข้าวพอปะทังชีวิต ให้อยู่ได้ เป็นครึ่งเดือน ค่อนเดือนก็มี หน้าฝนหน้าหนาวทรมานมากนอนกอด กองไ บางทีผา้ นุง่ ห่มไม่มขี าดปะแล้วปะอีกก็อยูก่ นั อย่างนัน้ แหละครับ เมื่ออยู่ทรมานอย่างนั้นไปอยู่กันท�าไม เขาตอบว่า ทุกคนอยูไ่ ด้ดว้ ยความหวัง ถามเขาว่า หวังอะไร เขาก็ตอบว่า ความหวังของทุกคนคือเมือ่ ท�างานได้สา� เร็จเมือ่ ไร ก็หวังได้เป็นใหญ่เป็นโต นี้เป็นความหวังแบบลมๆ แล้งๆ ของเขาเหล่านั้น แล้วถามเขาต่อไป ว่าตอนอยูป่ า่ เคยมาวัดนีบ้ า้ งไหม เขาตอบว่าเคยมาขอกินข้าวประจ�าเลย มาวัดนี้ไม่เกลียดวัดไม่เกลียดพระ เณร เกลียดแม่ชีหรือ เขาตอบว่า ไม่เลยครับเพราะ พระ เณร แม่ชี ที่นี่ดีมากไม่เหมือนวัดอื่นๆ นอกจาก จะไม่ให้อาหารยังมีคา� พูดสบประมาทให้เจ็บใจ แต่มาวัดนีไ้ ม่เคยผิดหวัง มาเช้าได้กินเช้า มาบ่ายได้กินบ่าย พวกผมอยู่ได้เพราะได้อาศัยวัดนี้ เพราะคุณความดีของวัดนี้เองจึงท�าให้ศรัทธา และเข้ามอบตัวกับทาง ราชการแล้วตัดสินใจมาบวชที่วัดนี้ เป็นอันว่าวัดนี้ได้เป็นชนวนจูงใจผู้หลงผิดให้ตัดสินใจมอบตัวและ ออกบวชในพระพุทธศาสนาหลายคน คนเหล่านี้เมื่อบวชแล้วก็ได้เล่า ความหลังให้ งั ว่า ได้ผา่ นไปผ่านมาในยามค�า่ คืนอยูเ่ ป็นประจ�าได้อาศัย ข้าวก้นบาตรทีไ่ ด้มาจากจิตใจทีม่ คี วามศรัทธาบริสทุ ธิข์ องญาติโยมแท้ๆ สามารถแปรสภาพจิตปรุงเป็นเลือดเนื้อของคนที่คนทั่วไปเรียกกันว่า คนป่า (คอมมิวนิสต์) ให้กลับมีชีวิตแบบใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ได้อย่างน่าอนุโมทนา ให้เรื่องร้ายกลายเป็นดี เรื่องหนักกลายเป็นเบา มี ป ั ญ หาชี วิ ต เกิ ด ขึ้ น ก็ แ ก้ ไ ด้ มี อุ ป สรรคต่ า งๆ ก็ ผ ่ า นไปได้ ชี วิ ต จักรุ่งเรือง สังคมจักร่มเย็น โลกร่มเย็นดับเข็ญได้ด้วยพระพุทธศาสนา นับตัง้ แต่วนั นัน้ เป็นต้นมาปัญหาต่างๆ ก็ผา่ นพ้นไป ไม่วา่ จะด้านอาหาร การเป็ น อยู ่ จ ากพื้ น ภู มิ อั น เป็ น ป่ า ดงพงไพรอั น รกชั ฏ กลายสภาพ มาเป็นเสียงเดียวกันว่าไปเที่ยวที่ไหนมาก็ไม่เกิดปีติเหมือนมาเที่ยวที่นี่ ตลอดถึงการก่อสร้างถาวรวัตถุก็ไม่มีอุปสรรค ไม่มีปัญหา ประชาชน ที่มาเที่ยวได้มาเห็นภูมิพื้นที่อันเจริญหูเจริญตาเจริญใจก็เกิดศรัทธา อดทีจ่ ะบริจาคไม่ได้ โดยทีท่ างวัดมิได้ออกปากเชือ้ เชิญอะไรเลย ต่างคน ต่างก็ยินดีบริจาคด้วยศรัทธาที่บริสุทธิ์สุด ึ้งจริงๆ ส าน ี ่องเ ียวใ ล้ ั วัดชัยภูม ั ( าเ ง) อุทยานเขาหินโยก อ�าเภอบ้านเขว้า เจดีย์เขาจูมฆ้อง หรือ เขาจอมจ้อง อ�าเภอบ้านเขว้า

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 129

129

. - 16/05/2562 19:50:33 PM


พระผู้สร้างคนให้มีธรรม พระเทพภาวนาวิกรม 130

.indd 130

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:50:34 PM


ประ ั เ

ยัเป

พระเทพภาวนาวิกรม (บุญมา ปุ ญาภิรโต) ชื่อ พระเทพภาวนาวิกรม วิ. (บุญมา ปุ ญาภิรโต) นามสกุล อุทัย อายุ 0 ปี พรรษา 60 เกิดวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 24 1 ปีขาล ทีอ่ ยูป่ จั จุบนั เลขที่ 1 3 หมูท่ ี่ 12 วัดชัยภูมพิ ทิ กั ษ์(ผาเกิง้ ) ต�าบลกุดชุมแสง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาส วัดชัยภูมิพิทักษ์(ผาเกิ้ง) และเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ

ก รศึก พ.ศ. 2496 ส�าเร็จชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านคลองไผ่งาม หลังจากนั้นได้บรรพชาเป็นสามเณรเพื่อเรียนในแผนกธรรมและบาลี พ.ศ. 2502 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดทรงธรรม พ.ศ. 2507 สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค ส�านักเรียนกรุงเทพมหานคร วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์ พ.ศ. 2550 ได้รบั ปริญญาดุษฎีบณ ั ติ กิตติมศักดิ์ สาขาพัฒนาชุมชน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ พ.ศ. 2555 ได้ รั บ ปริ ญ ญาพุ ท ธศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาวิปัสสนาภาวนา ศัก พ.ศ. 251 เป็นพระครูสัญญาบัตรเทียบผู้ช่วยพระอารามหลวง ชั้นเอกในราชทินนามพระครูศรีพิพัฒนคุณ พ.ศ. 2534 เป็นพระครูสัญญาบัตร เทียบผู้ช่วยพระอารามหลวง ชั้นพิเศษ ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2539 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระศีลวราลังการ พ.ศ. 2547 เป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชภาวนาวราจารย์ วิ. พ.ศ. 2557 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพภาวนาวิกรม วิ. ก รปก ร พ.ศ. 250 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด สุ ว รรณาราม ต� า บลบ้ า นเขว้ า อ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2517 เป็ น รั ก ษาการแทนเจ้ า อาวาสวั ด ชั ย ภู มิ พิ ทั ก ษ์ ต�าบลกุดชุมแสง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2519 เป็นรักษาการเจ้าคณะอ�าเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2521 เป็นพระอุปัช าย์ พ.ศ. 2531 เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ชั ย ภู มิ พิ ทั ก ษ์ ต� า บลกุ ด ชุ ม แสง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2535 เป็นเจ้าคณะต�าบลหนองบัวแดง เขต 2 อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2536 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2556 เป็นเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 131

131

18/5/2562 15:28:20


น นเ ย เป็น ผู้แสดงธรรมทุกๆ วันธรรมสวนะ และวันส�าคัญๆ เป็นพระธรรมทูตฝ่ายปฏิบัติการ จังหวัดชัยภูมิ เป็นพระวิปัสสนาจารย์ ประจ�าจังหวัดชัยภูมิ เป็นรองหัวหน้าพระธรรมทูตจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�าต�าบล เป็ น รองประธานอ� า นวยการโครงการฝกอบรมพระนั ก เทศน์ ประจ�าจังหวัดชัยภูมิ เป็นเจ้าส�านักส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 1 วัดชัยภูมิพิทักษ์(ผาเกิ้ง) ด�าเนินรายการแสดงธรรมเผยแผ่ธรรมะจากผาเกิ้ง ทุกวันอาทิตย์ ทางสถานีวิทยุ อสมท. ชัยภูมิ

132

.indd 132

เย เศ งานนวกรรมก่อสร้าง แสดงธรรม และอบรมธรรม วิปัสสนากรรมฐาน และได้รับความไว้วางใจจากคณะสงฆ์และ ฝ่ายบ้านเมือง ให้เป็นประธานในการด�าเนินการก่อสร้างวิทยาลัยสงฆ์ชยั ภูมิ จนส�าเร็จลุลว่ งใช้ประโยชน์ได้อย่างสมบูรณ์แบบ อีกทัง้ ยังได้ดา� เนินการ ก่อสร้างอนุพุทธมณ ลประจ�าจังหวัดชัยภูมิ บริเวณพื้นที่วิทยาลัยสงฆ์ ด�าเนินการสร้างอาคารจตุรมุขประดิษฐานพระพุทธรูปองค์ใหญ่ 6 ปาง เพื่อเป็นศูนย์รวมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของชาวชัยภูมิอีกด้วย ทัง้ อาคารวิทยาลัยสงฆ์ ทัง้ อนุพทุ ธมณ ล งึ่ ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้าง เพียงไม่ถึง 3 ปี สิ้นงบประมาณไปแล้วเกือบ 200 ล้านบาท นท ยึ ป บั ขยัน ประหยัด ฝกหัด ลดละ เสียสละ สามัคคี ถูกดี มีประโยชน์ คือตัวธรรมะ เป็นพระช่วยสังคม

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:50:42 PM


ะเกยร บั ร ทเ ยไ รับ เสมาธรรมจักรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สาขาส่งเสริมพระพุทธศาสนา โล่ประกาศเกียรติคุณจากส�านักงานป่าไม้จังหวัดชัยภูมิในฐานะ ส่งเสริมกิจการป่าไม้ โล่เกียรติคุณจากกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเป็นประธาน ด�าเนินการก่อสร้างส�านักงานศึกษาธิการอ�าเภอบ้านเขว้า โล่เกียรติคุณจากส�านักงานการประถมศึกษาอ�าเภอภักดีชุมพล โล่ เ กี ย รติ ย ศจาก รมต.ว่ า การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ท่านปองพล อดิเรกสาร ในโครงการปลูกป่าถาวรเ ลิมพระเกียรติ เหรียญเงินโครงการปลูกป่าถาวรเ ลิมพระเกียรติ 3 ปี ้อน โล่ประกาศเกียรติคณ ุ จากเรือนจ�าภูเขียว สร้างสถานพยาลบาลนักโทษ ประกาศนียบัตรพัฒนา กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พัดเกียรติยศ วัดพัฒนาที่มีผลงานดีเด่น พัดเกียรติยศ จากกระทรวงสาธารณสุข ในโอกาสสร้างตึกผู้ป่วย พิเศษโรงพยาบาลหนองบัวแดง ประกาศเกียรติคุณบัตรจากโรงเรียนชุมชนบ้านหนองบัวแดง วุฒิบัตรหลักสูตรการบริหารและจัดการวัด จากกรมการศาสนา และ สถาบันราชภัฏ

ใบประกาศเกียรติคุณจากโรงเรียนหนองบัวแดงวิทยา ใบประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนบ้านคลองเจริญ อ�าเภอหนองบัวแดง ใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ จากโรงเรี ย นบ้ า นราษฎร์ ด� า เนิ น อ�าเภอหนองบัวแดง ใบประกาศเกียรติจากโรงเรียนห้วยต้อนพิทยาคม อ�าเภอเมืองชัยภูมิ ใบประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนเจียงทองวิทยา อ�าเภอภักดีชมุ พล ใบประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนบ้านลาดใต้ อ�าเภอหนองบัวแดง ใบประกาศเกียรติคุณจากโรงเรียนกุดตุ้มวิทยา อ�าเภอเมืองชัยภูมิ ใบประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนนางแดดวังชมภู รัชมังคลาภิเษก อ�าเภอหนองบัวแดง ใบประกาศเกียรติคณ ุ จากโรงเรียนบ้านขีเ้ หล็กใหญ่ อ�าเภอเมืองชัยภูมิ ใบประกาศเกียรติคุณจากโรงเรียนบ้านวังสวาบ อ�าเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ใบประกาศเกียรติคุณจากพุทธสมาคมจังหวัดชัยภูมิ ใบประกาศเกียรติคุณจาก การปฏิบัติธรรมเ ลิมพระเกียรติ 9 วัน ณ ประเทศอินเดีย เนปาล สังเวชนียสถาน 4 ต�าบล CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 133

133

. - 16/05/2562 19:50:44 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดป่า ลางาม ั

(วัดเต่าให ่)

ระครูสัง รั สีลวั ตะ ร ขตธม ม ( ระครู า เยาว) ั

134

ม ั

ั ู ิ ั ิ ม

ยั ั ั ยิ ิ ู ิ

ม ย

วัดป่าศิลางาม (วัดเต่าใหญ่) ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 299 หมู่ 11 เทศบาลต�าบลหลวงศิริ อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ แต่กอ่ นเรียกพนังหินแตก เนือ่ งจากว่ามีกอ้ นหินขนาดใหญ่ได้แตกออกเป็นสอง กี จนคนเดิน ผ่านได้ มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร่ เป็นที่ดินของ พ่อเวิน-แม่หนม ประทุมแก้ว ึ่งได้มีจิตศรัทธาบริจาคให้ เป็นพุทธสถานแก่พระธุดงค์ ในปีพ.ศ. 2542 ต่อมาพระธุดงค์อยู่ได้ 1 ปี ก็จาริกไปยังถิ่นอื่น ไม่มีพระ จ�าพรรษาอีกเลย ดังนั้น ทางเจ้าภาพจึงได้น้อมถวาย หลวงพ่อเจ้าคุณ พระราชภาวนาวราจารย์ (ปัจจุบัน ด�ารงสมณศักดิท์ ี่ พระเทพภาวนาวิกรม ต�าแหน่งเจ้าคณะจังหวัดชัยภูม)ิ งึ่ ตอนนัน้ หลวงพ่อเจ้าคุณด�ารง ต�าแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ เป็นผู้ดูแล จนกระทั่งวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 หลวงพ่อเจ้าคุณวัดผาเกิ้งจึงได้นิมนต์ พระครูสังฆรักษ์ สีลวัณตะ รกขิตธมโม (พระครูบาพเยาว์) จากวัดศรีชมภู (บ้านห้วยหว้า) ต�าบลหนองแวง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ มาพ�านัก พร้อมกับสร้างเสนาสนะที่พออยู่ได้ถวาย และให้ชื่อว่า “พ อ ยาน าหนงาม” เมื่อพระครูบาพเยาว์มาพ�านักอยู่ก็ได้นิมิตเห็นพญาเต่าขนาดใหญ่มาขออยู่ด้วย เพราะเคยเป็นเจ้ากรรม นายเวรในอดีตชาติ ดังนั้นท่านจึงได้ปันรูปเต่าใหญ่เพื่อเป็นปริศนาธรรมมีลักษณะ คือ มีเทียนเล่มใหญ่ ก�าลังส่องประกาย มีดอกบัวเป็นฐานตั้ง อยู่บนหลังพญาเต่าที่ก�าลังก้าวไปข้างหน้า ึ่งมีความหมายเป็น พุทธปรัชญาว่า บัดนีธ้ รรมะของพระพุทธเจ้าจะดับสูญ ถ้าหากเรายังเขลาปัญญา ไม่รบี เร่งศึกษาพระธรรม ค�าสั่งสอนและปฏิบัติ ธรรมะก็นับวันจะยิ่งสิ้นสูญไปจากจิตใจของมนุษย์ จึงเป็นที่มาของ “วัด ่า ห ่”

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 134

16/5/2562 16:34:33


ต่อมาเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ท่ี 19) ได้ทรงประทานชื่อวัดให้ใหม่เพื่อเป็นศิริมงคลว่า “วัด า ลางาม” จึง ได้ใช้ชื่อวัดป่าศิลางามตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

นประ ป

บ กบ ขอเชิญร่วมมหาบุญสร้างศาลา อุโบสถเจดีย์ศรีบัวแดงพระโพธิสัตว์ กวนอิมพันกร รวยพันล้าน โดยเป็น เจ้าภาพ อิฐ หิน ปูน ทราย เหล็กเส้น หรื อ ร่ ว มท� า บุ ญ ตามก� า ลั ง ศรั ท ธา โอนปัจจัยร่วมบุญ ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี วัดป่าศิลางาม (วัดเต่าใหญ่) บัญชีเลขที่ 9 4 0-41243-4 ติดต่อสอบถาม พระครูบาพเยาว์ โทร 0 1-967-5756 ส�านักงานเลขานุการวัดป่าศิลางาม (วัดเต่าใหญ่) โทร 09 -420-9015

ั เ

พิธีห่มผ้าสไบทิพย์พระพุทธสุวรรณศิริมหามงคลมหาชนชัยภูมิพิทักษ์ (หลวงพ่ออธิษฐานได้ดั่งใจ) ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี น�าโดยท่าน นายอ�าเภอหนองบัวแดงและคณะญาติธรรมจากทิศทั้ง 4

เปน

หลังจากทีพ่ ระครูบาพเยาว์ ได้มาพ�านักทีต่ รงนีท้ า่ นก็กอ่ สร้างศาสนวัตถุ และศาสนบุคคลโดยถืออุดมการณ์ 4 ข้อ ว่า “ พยง น้ ไม้ ช่มชน วผน ั า พยง ารา งั อ่ง ยน จ่ม ส พยง สยงนกร้องก้อง นวไพร พยง พอ ห้ ผองมวลม รส รรม” ทีใ่ ช้ในการพัฒนาวัดตัง้ แต่ทยี่ งั เป็นป่าไม่สมบูรณ์ ไม่รม่ รืน่ ไม่มแี หล่งน�า้ ไม่มสี ตั ว์มาอยูอ่ าศัย และไม่มคี นสนใจทีจ่ ะเข้ามาแห่งนี้ แต่ท่านพัฒนาจนเป็นที่รู้จักของชาวอ�าเภอหนองบัวแดงและชาวจังหวัด ชัยภูมติ ลอดถึงสาธุชนทัว่ ไปมาจนถึงปัจจุบนั นีแ้ ละมักจะมีคา� กล่าวว่า เมือ่ ไป ถึงวัดเต่าอย่าลืมไหว้พระ 3 ดีทศี่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ คือ“ ด องหลวงพ่อ ส ร อพร หลวงพ่ออ านได้ดัง จ ดน างไกลไหว้หลวงพ่อ ชคด”

ั ปศ

ระเ

รัก ศ

จระเข้แสนรู้ดังกล่าวชื่อว่า “ จ้าคาค ” อาศัยอยู่สระน�้าภายใน บริเวณวัดป่าศิลางาม หรือ วัดเต่าใหญ่ กับปลานานาชนิด แต่ไม่เคยกิน ปลาที่ร่วมสระเดียวกัน เพราะกินข้าวสุกและขนมจีนเป็นอาหาร ึ่ง เป็นการ ีกกฎธรรมชาติของสัตว์กินเนื้อทั่วไป เวลากินข้าวพระพี่เลี้ยง จะเรียกชือ่ ค�า้ คูณ พร้อมกับใช้ไม้ตนี า�้ จากนัน้ จระเข้ ค�า้ คูณ ก็จะว่าย มากินอาหาร คือข้าวสุกหรือขนมจีน แต่ถ้าวันไหน ไม่มีใครเอาอะไรมา ให้กนิ เขาก็จะคาบปลาชูขนึ้ เหนือน�า้ โชว์ เพือ่ ให้รวู้ า่ วันนัน้ ทัง้ วันยังไม่ได้ กินอะไรเลย พระครูสังฆรักษ์สีลวัณตะ รกขิตธมโม หรือ พระครูบาพเยาว์ เจ้าอาวาสวัดป่าศิลางาม กล่าวว่า เจ้าค�้าคูณ มีญาติโยมน�ามาถวาย ตั้งแต่อายุประมาณ 2 ปี และได้ขังไว้ในกรงข้างสระน�้าบนบกติดกับ ก้อนหิน แรกๆ กินเนื้อตามปกติ แต่เลี้ยงได้สักพัก เขาก็ได้ปนออกจาก กรงขัง ลงไปยังสระน�า้ ทีอ่ ยูข่ า้ งๆ กรง และหายไปสามถึงสีว่ นั พระ-เณร ที่วัดก็ออกตามหาตามสระน�้าใกล้เคียงบริเวณวัด แต่ก็ไม่เจอ จนเข้า วันที่สี่ ก็มีเณรมาบอกว่า เจอจระเข้ ค�้าคูณ แล้วในสระน�้าข้างอุโบสถ รัตนเจดีย์ ท่านพระครูบาพเยาว์ จึงได้เดินมาดูก็เห็นเจ้าค�้าคูณลอยอยู่ ในสระ ท่านจึงได้อธิษฐานจิตว่า ชาตินี้เกิดเป็นจระเข้ ก็ทุกข์แล้ว อย่าเบียดเบียนสัตว์อื่นอีกเลย จากนั้นจระเข้ค�้าคูณก็ได้ด�าน�้าลงไป วันต่อมาก็มีคนเห็นจระเข้ค�้า คูณขึ้นมากินข้าวที่เอามาไว้ให้เต่าบริเวณขอบสระที่เขาอาศัยอยู่ ตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา เขาก็กินข้าวกับขนมจีนมาโดยตลอดจนถึงทุกวันนี้

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 135

135

16/5/2562 16:34:40


วัดหนองไห

อนรั งานบ ร เ ี ล ิล วั น รรม ร จ�าท้อง ิ่น ทยมิ ห้จางหาย ระครูประภั รธรรมาภรั ( ั ร ช ปภสส ร) เ ้าค ะตา ล าวัวแดงเขต และ เ ้าอาวาสวัดหนอง ห

วัดหนองไห ตัง้ อยูใ่ นหมูบ่ า้ นโนนเตาไห(หนองไห) เลขที่ 164 หมู่ 3 ต�าบลถ�้าวัวแดง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ในการขอ สร้างวัดในปีพุทธศักราช 2543 จ�านวน 6 ไร่ 3 งาน ทิศตะวันตกติด เขตโรงเรียนบ้านหนองไห ห่างจากสะพานข้ามล�าน�้าเจา 00 เมตร การเดินทาง สามารถเดินทางโดยรถยนต์และรถประจ�าทางมีถนน ทางหลวงชนบทหมายเลข 2359 หนองบัวแดง ภักดีชุมพล ตัดผ่าน ห่างจากวัด 1.500 กิโลเมตร

ความเ นมาของวัดหนอง ห

“วัดหนองไห” เป็นวัดที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ในปีพุทธศักราช 2519 ตาม ประวัติและหลักฐาน หลังจากชาวบ้านอพยพมาตั้งบ้านเรือนใหม่ เมื่อ 136

2

ครัง้ ทีเ่ กิดอุทกภัยครัง้ ร้ายแรงในปีพ.ศ.2505 ในขณะนัน้ ชือ่ วัดและทีต่ งั้ วัดยังไม่มีความแน่นอนหรือชัดเจน ต่อมา นายเชิด ทาสีเสียด ผู้ใหญ่ บ้านโนนเตาไห จึงขออนุญาตในการสร้างวัด โดยมี นายปรีชา สนัน่ เมือง ด�าเนินการให้ และได้รบั อนุญาตให้สร้างวัดหนองไห ในวันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 136

17/5/2562 11:23:31


ล�าดับเจ้าอาวาส ครองวัดหนอง ห ตามหลั านที่ รา 1. พระเพ็ง (ไม่ทราบ ายา และปีพ.ศ.) 2. พระหมื่น (ไม่ทราบ ายา และปีพ.ศ.) 3. พระเสริฐ (ไม่ทราบ ายา และปีพ.ศ.) 4. พระบุญมา ปภาโต พ.ศ. 2544 5 .พระอธิการโท ยโสธโร พ.ศ. 2545 2557 6. พระครูประภัศร์ธรรมาภิรักษ์ พ.ศ. 2557 ปัจจุบัน

ร วัติเจ้าอาวาส

พระคร ระ ั ร์ รรมา รัก ์ สส ร จักรก ช จัน ยด เกิดเมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2525 ภูมิล�าเนาที่เกิด บ้านเลขที่ หมู่ 3 บ้านโนนเตาไห ต�าบลถ�า้ วัวแดง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ อุปสมบท วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2546 เวลา 07.42 น. ณ พัทธสีมา วัดป่าสุริยวงค์ ต�าบลกุดชุมแสง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ

ร วัติ าร

พ.ศ. 2552 ส�าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) จากหน่วยวิทยบริการจังหวัดชัยภูมิ วิทยาเขตนครราชสีมา พ.ศ. 2556 ส�าเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี หลักสูตรพุทธศาสตรบัณ ิต (พธ.บ.) สาขาการจัดการเชิงพุทธ จากมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา สถานภาพปัจจุบนั นิสติ ปริญญาโท หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณ ติ (พธ.ม.) สาขาพุทธบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ที่อยู่ปัจ จุบัน วัด หนองไห บ้านโนนเตาไห ต�าบลถ�้ าวัวแดง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ รหัสไปรษณีย์ 36210 ต�าแหน่งหน้าที่ เจ้าคณะต�าบลถ�้าวัวแดง เขต 1 และ เจ้าอาวาส วัดหนองไห หมายเลขโทรศัพท์ 0 7-031- 196

ิจ รรมที่ทางวัดจัดเ น ร จ�าท

1. ระ พ บ ดอน จัดในวันขึ้น 15 ค�่า เดือน 3 ระยะเวลา 7 วัน โดยกิจกรรมมีการตักบาตรข้าวจี่ ถวายข้าวเปลือก (พระทรายข้าวเปลือก หรื อ ประทายข้ า วเปลื อ ก) พร้ อ มร่ ว มปฏิ บั ติ ธ รรมเสริ ม บุ ญ บารมี วันมาฆบูชา 2. ระ พ บ สงกราน ์ จัดในวันที่ 12-13 เมษายนของทุกปี โดยกิจกรรมจะร่วมกันก่อพระเจดีย์ทรายในเย็นวันที่ 12 และร่วม ตักบาตรสงกรานต์ในเช้าวันที่ 13 เมษายน ตอนเย็นร่วมพิธสี รงน�า้ พระ เจดีย์ทราย สรงน�้าพระสงฆ์ รดน�้าด�าหัวขอพรผู้สูงวัย และ สรงน�้าอัฐิ บรรพบุรุษ เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นทุกๆ ปี ตลอดจนเป็นวัดที่รักษาไว้ ึ่ง ประเพณีทั้ง 12 เดือน และอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประจ�าท้องถิ่น มิให้จางหาย

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 137

137

17/5/2562 11:23:41


วัดเว ุวันวราราม

ร่วมสร้างหอวิ สสนา ัมมั านเ ่อความ ้นท ข ระครู

าลสาร สุ ธ เ ้าอาวาสวัดเว ุวันวราราม

วั ด ว วั น วราราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 510 บ้ า นหนองแวง หมู ่ 1 ต�าบลหนองแวง อ�าเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ วัดมีเนื้อที่จ�านวน 19 ไร่ 2 งาน 79 ตารางวา อยู่ในเขตปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดราษฎร์ ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ.2542

ความเ นมา

วัด ว วันวราราม เป็นวัดเก่าแก่มาก่อน งึ่ ปัจจุบนั ได้บรู ณะขึน้ มาใหม่ พอมาถึง พ.ศ. 2542 จึงได้ทะเบียนวัดโดยถูกต้อง โดยมีเจ้าอาวาสวัด 1 รูป ที่ปกครองอยู่แต่ก่อน ึ่งปัจจุบันได้มีเจ้าอาวาสรูปที่ 2 ปกครอง อยูใ่ นปัจจุบนั นี้ “พระครไพ าลสารพส ” ด�ารงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 จนถึงปัจจุบัน 138

3

ร วัติเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระครูไพศาลสารพิสุทธิ์ เขมป โญ อายุ 57 พรรษา 36 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร (ชัน้ โท) เดิมชือ่ นายวัชพงศ์ ปยะวงษ์ ส�าเร็จการศึกษา ประถมศึกษาปีท่ี 6 จากหนองบัวแดง ส�าเร็จการศึกษานักธรรมเอก ต�าแหน่งทางการปกครองสงฆ์ เป็นเจ้าอาวาส

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 138

17/5/2562 9:46:46


ิจ รรมของวัด

าสนส าน ภาย นวัดต่าง ดังนี้

งานทอดกฐินสามัคคี จัดในระหว่างเดือนพฤศจิกายนของทุกปี รูปแบบการทอดกฐินสามัคคี เพือ่ สืบสารประเพณีไทย โดยมีคนมาร่วมงาน 100-300 คนขึ้นไป เพื่อให้ชาวบ้านมาท�าบุญที่วัด เพื่อหางบประมาณ มาบูรณะศาสนสถาน ทอดผ้าป่าประจ�าปี จัดงานในระหว่างเดือนเมษายน งึ่ มีผเู้ ข้าร่วมงาน 1 000-2 000 คน ผู้เข้าร่วมงาน ได้แก่ นายนิคม อบมาลี นายก องค์การบริหารส่วนต�าบลหนองแวง นายพงษ์ศักดิ์ ยิ้มเสงี่ยม ก�านัน ต�าบลหนองแวง พร้อมทั้งคณะกรรมการ ชาวบ้านบ้านหนองแวง บ้านห้วยไผ่เหนือ และคณะญาติธรรมทุกท่าน

ศาลาการเปรียญ กุฏิ 4 หลัง โรงครัว ุ้มประตูวัด พระใหญ่ (พระพุทธมหามงคลนฤริทธิ์พิชิตมาร) สมบัติของวัด คือ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ ชื่อหลวงพ่อพระพุทธมหา มงคลนฤริทธิพ์ ชิ ติ มาร สร้างขึน้ ด้วยก�าลังศรัทธาของชาวบ้านและชุมชน

ม้ ร ตูวัด เท ชัยมหามงคลราภา นอั CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 139

139

17/5/2562 9:46:52


ิ ทาหลวง ่อ ร ครู

าลสาร ิสท ิ

จุดประสงค์ของหลวงพ่อพระครูไพศาลสารพิสทุ ธิ์ เจ้าอาวาส ทีท่ า่ น ได้เร่งพัฒนาวัดเว วุ นั วรารามให้เจริญรุง่ เรืองไปด้วยการก่อสร้างวัดและ พัฒนาวัดให้มีระบบระเบียบเป็นอย่างมาก นี้คือความตั้งใจของท่านว่า ในอนาคตอยากพัฒนาวัดเว ุวันวรารามให้เป็นวัดวิปัสสนากัมมัฏฐาน ประจ�าต�าบลหนองแวงเพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม อานิสงส์ของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานมีมากมาย อาทิ ท�าให้ เป็นคน ลาดในหลักความจริง คือเป็นผูร้ จู้ ริง ไม่หลงติดในบัญญัติ ท�าให้ เป็นคนมีศลี ธรรม และรักษาธรรมอันเจริญ และดีงาม ท�าให้เป็นคนตัง้ มัน่ ในศีล 5 ไม่กล้าก้าวล่วงศีล ท�าให้คนรักใคร่ สนิทสนม ให้ความดูแล เอาใจใส่ งึ่ กันและกัน และเป็นการท�าลายความริษยา ท�าให้เป็นคนรูจ้ กั ตนเอง ปกครองตนเอง ท�าให้เป็นผูท้ วี่ า่ นอนสอนง่าย เพราะไม่มมี านะ ไม่เย่อหยิ่ง จองหอง ยังความชุ่มเย็น สงบใจให้กับชีวิตของผู้ปฏิบัติได้ ท�าให้เป็นคนประเสริฐ เพราะละนิวรณ์ อุปาทาน สังโยชน์ ท�าให้เป็น คนหนักแน่นในกตเวทิตา ท�าให้บ้านที่ตนอยู่เป็นบ้านแสนสุข ท�าให้ สามารถละความโศกเศร้าในวัฏฏะ ท�าให้มคี ติอนั เทีย่ ง มีความเป็นอยูส่ ขุ หยุ ด ความเป็ น สั ม ภเวสี ท� า ให้ เ ป็ น ผู ้ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า เดิ น ทางสายกลาง (มัช ิมาปฏิปทา) คือเป็นผู้เดินทางโดยไม่ประมาท ได้ชื่อว่าไม่เสียทีที่ เราเกิดมาพบพระพุทธศาสนา เป็น ผู้พร้อมด้วยเสบียงแห่งมรรคผล นิพพาน ได้ชื่อว่าเป็นผู้เตรียมตัวก่อนตายไว้ดีแล้ว ได้ชื่อว่ามีส่วนใน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญวัฒนาสถาพรต่อๆไป และเป็นผู้ถึง อมตมหานิพพาน สิ้นสงสารในเรื่องชีวิต ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด

งึ ขอเรียนเชิ ผูมี ิตศรัทธาร่วมเปนเ าภาพ สรางพระให ่ทาสีทองและ ุมประตูวัดใหแลวเสร ติดต่อสอบถาม พระ รูไพศาลสารพิสุทธิ์ ทร 08-10 -

140

3

8

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 140

17/5/2562 9:46:56


A P i n y a R E S O R T

“àÃÒ໚¹·Ñ駷Õè¾Ñ¡¨Ò¡¡ÒÃà´Ô¹·Ò§áÅзÕè¾Ñ¡¼‹Í¹”

กิจกรรม

รีสอรท

สิ่ อาน ย ามส

สร ายนา นา มาตร าน พ ิ พ ินกับ รอบ รั ก า อ ิ ารสอร์ มบาร์ รานอา าร บริการ พื่ อใ าพัก ออกกา ั กาย อน าย มร มอ ตอร์ ์ ใ ชา ต อ ชั่ ม

พรา ่น่ ราจั ามส กสบาย ใ าน... อ ิ ารสอร์ รสอร์ ติ นนสายชัย มิ นอ บั เลขที่

.indd 141

หมู่

เรา วา เปนเอกลัก ณ อ บานไทย นสไตล ธรร าติ เดินทา ไป าสะดวก เ ราะทนเรา ัด วา สะดวกสบาย ทาน อ ิ ารสอรท เปนทา านส ล ทอ เทยว อ ั วัด ยั ิ าก าย อาทิ อทยาน าติ ลน า ึ ด วิว า �า ด อ ิน าว ทั นยั อย กล วัด ัย ิ ิทัก าเกิ วัดเตา ท อเสย รอ ล รอยเทาได นเสาร อ อ�าเ อ นอ บัว ด เปนตน า ักทอ ิ ารสอรท นอ บัว ด ั วัด ัย ิ เปนไดทั ท ัก ากการเดินทา ละท ัก อน ดวย อ ั ก เปน บบบาน ั ก ตา ส ั ย ลากสไตล เลอก ทนั รับล เยน ย า สระวายน�า กล สา าร เปลยนเปน ดวายน� าออกก� า ลั กายไดเลย เ าะส�า รับ ทตอ การเปลยนบรรยากาศ ากบาน นเ อ า าท ัก อนสบาย เ อ อน ลาย วา ตึ เ รยด เ ราะทนเรา ัด วา สะดวกสบายไว ทาน

อภิ ารีสอรท บ้านหนองไ พัฒนา ต.หนองบัวแดง อ.หนองบัวแดง จ.ชัยภูมิ Apinya Resort . .

16/5/2562 19:41:42


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 142

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

. - 17/05/2562 14:46:53 PM


Buddhism

in Thailand

ัน ประเ ย น เ น เร ร ท นก ร ั น นก รท เทย ท ทัน ัย ทั น กรร ก ร ก ร ทนทเปน ั ะ ท

AD.indd 143

ทั ประเทศไทย ย เ ะ ึก ะ ะ เปน ย ก น ย นร ก ร ั นทเทย ท ัก ร น ร ร นก ับเ นเศร ก น นก รศึก เ น ะ เ ก ัก น น

ร บ ทก นั ั ปป ศ น ั น รร

17/5/2562 14:47:19


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดรา ี ั

สุ ข ปุ

สส อุ ย ความสังสม ุ นาสุขมาให้ ( ุ ธ น)

ิ ั ิ ม ั ชัยภูมิ

ระครู ัน ธานุวัตร น สภ ( ธ อง ชาตชนะ ) ภ ั ั

ั ั ร

วั ด ราษี มี บุ ร พาจารย์ ไว้ เ ชิ ด ชู อนุ ส รณ์ ส ถาน สามพระครู ผู้ทรงคุณ ผู ้ ก ารุ ณ สอนธรรม ให้ รู ้ ธ รรม มี ผู ้ น� า เป็ น นั ก ปราชญ์ ลาดเหลื อ สอนศี ล ธรรม สอนวิ ช าการ ท่ า นรู ้ ดี (ประพั น ธ์ โ ดย นายประสิ ท ธิ์ โม่ ง ใส ข้ า ราชการบ� า นาญ) 144

.indd 144

วัดราษี เลขที่ 105 หมู่ที่ 3 ตั้งอยู่บ้านกุดน�้าใส ต�าบลกุดน�้าใส อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 20 ตารางวา ประเภท โ นดที่ดิน เลขที่ 330 9 เล่มที่ 331 หน้า 9 ที่ดินอ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ได้รับอนุญาต ตั้งวัด เมื่อปี พ.ศ. 23 0 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 ได้รับอนุญาตตั้งเป็นส�านักศาสนศึกษาธรรมวัดราษีครั้งแรก ปี พ.ศ. 2465 ได้เปลี่ยนมาเป็น ส�านักศาสนศึกษาประจ�าต�าบลกุดน�้าใส เมื่อปี พ.ศ. 2536 และ เป็นส�านักปฏิบัติธรรมประจ�า จังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 32 ปัจจุบัน พระครูจันทโพธานุวัตร จนทโสภโณ (โพธิ์ทอง ชาติชนะ) ด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะอ�าเภอจัตุรัส และเจ้าอาวาสวัดราษี

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

21/5/2562 17:06:38


ท เนยบเ 1. พระอธิการคุต สุวณโณ (คุต ชาติชนะ) ไม่ปรากฏ พ.ศ. 2. พระครูจัตุรัสวิทยาคุณ (เคน ลากอก) พ.ศ.2450-พ.ศ.2460 3. พระครูพินิจสมณวัตร (คง ชาลีวรรณ) พ.ศ.2461-พ.ศ.2471 4. พระครูจิตวิทยาคุณ (เริง เลิศประเสริฐ) พ.ศ.2472-พ.ศ.2496 5. พระอธิการเขียน ปภาโส (เขียน ทอง ประสม) พ.ศ.2497-พ.ศ.2521 6. พระครูจนั ทโพธานุวตั ร (โพธิท์ อง ชาติชนะ) พ.ศ.2522-ปัจจุบัน

ประ ั เ พระครจัน พ านวั ร จน ส พ อง ชา ชนะ อายุ 67 ปี พรรษา 45 วุฒิการศึกษา น.ธ.เอก พธ.ม. สาขาวิปัสสนาภาวนา จากวิทยาเขตบา ีศึกษาพุทธโฆส จังหวัดนครปฐม เป็นเจ้าอาวาสวัดราษี เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ได้เลือ่ นต�าแหน่งเป็นเจ้าคณะต�าบลกุดน�า้ ใส ปี พ.ศ. 253 ได้เลือ่ นต�าแหน่งเป็นรองเจ้าคณะ อ�าเภอจัตุรัส ปี พ.ศ. 254 และได้เลื่อนต�าแหน่งแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�าเภอจัตุรัส เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2557 I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 145

145

21/5/2562 17:06:46


วัดเลียบน�้าไหล

วิสท ิ ส เ ลเสหิ หติ ท เขหิ นิ ติ ความหมดจดจา ิเลสทั้ง วง เ นทางดับท ขทั้งหลาย ท จน ระครูมนู ป าภนัน ชาตป ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส และรองเ ้าค ะอาเภอ ัตุรัส

วัด ลยบนาไหล ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นงิว้ หมูท่ ี่ 4 ต�าบลบ้านขาม อ�าเภอจัตรุ สั จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สัง กัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 6 ไร่ 12 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือจดทางสาธารณะ ทิศใต้จดห้วยพลายงาม ทิศตะวันออกจดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกจดทุ่งนา วัด ลยบนาไหล ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2119 เดิมชือ่ “วัด ง่ งวแ วราชสมา” ต่อมา เจ้าอธิการค�า น�าชาวบ้านมาตัง้ ชือ่ ใหม่วา่ “วัด ลยบนาไหล” เพราะตัง้ อยูใ่ นทีล่ ม่ ุ ประกอบกับมีลา� คลองห้วยพลายงามไหลผ่านท�าให้มนี า�้ ไหลมาท่วมวัด เป็นประจ�า ต่อมาได้มกี ารบูรณะพัฒนาวัดเป็นประจ�า และได้สร้างโบสถ์ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์และสะพานข้ามล�าห้วยพลายโดยการน�าของ เจ้าอาวาสในแต่ละยุค ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 12 มิถนุ ายน พ.ศ. 24 9 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 16.60 เมตร ยาว 31.40 เมตร 146

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 146

17/5/2562 9:45:12


อาคารเสนาสน ร อบด้วย

อุโบสถ กว้าง 7.50 เมตร ยาว 22.50 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 24 5 ศาลาการเปรียญ กว้าง เมตร ยาว 26.50 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2514 หอสวดมนต์ กว้าง 6 เมตร ยาว เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2531 กุฏสิ งฆ์ 1 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ วิหาร กว้าง 1 .90 เมตร ยาว 25. 0 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2525 ศาลาบ�าเพ็ญกุศล 1 หลัง นอกจากนั้นยังมี กุฏิเดี่ยว 1 หลัง เมรุ ห้องเก็บพัสดุ 1 หลัง ุ้มประตูเข้า-ออก 2 ุ้ม

ูชนียวัต มีพระประธานในพระอุโบสถ าร า มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม ารบริหาร ล าร ครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ

(1.) เจ้าอธิการค�า (2.) พระอธิการจันทร์ พ.ศ.2472 พ.ศ.24 2 (3.) พระอธิการจอย พ.ศ.24 3 พ.ศ.2493 (4.) พระครูวจิ ติ รนิมมานการ พ.ศ.2493 พ.ศ.2527 (5.) พระอธิการธวัชชัย ชีวสุทโธ พ.ศ. 2531-2532 (6.) พระครูมนูญปัญญาภินันท์ พ.ศ. 2535-ปัจจุบัน

ร วัติเจ้าอาวาส

พระครูมนูญปัญญาภินันท์ ายา ชาตป โญ อายุ 53 พรรษา 31 ชื่อเดิม มาโนช นามสกุล มั่งมี เกิดวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 ที่อยู่เดิม 2 หมู่ที่ 10 ต�าบลบ้านขาม อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ความสามารถพิเศษ นวกรรม บรรพชาและอุปสมบท วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2531 วัดเลียบน�้าไหล ต�าบลบ้านขาม อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พระอุปัช าย์ พระครูปริยัติธรรมนิเทศ วัดทรงธรรม ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ พระกรรมวาจาจารย์ พระมหาถนอม เขมภูสโิ ต วัดทรงธรรม ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ พระอนุสาวนาจารย์ พระมหาสมภาร ชยปาโล วัดทรงธรรม ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ วุฒกิ ารศึกษา จบปริญญาตรี จากมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย เขตนครราชสีมา ปีพ.ศ. 2552 วิทยฐานะ สอบได้นักธรรมชั้นเอก เมื่อ พ.ศ. 2533 วัดเลียบน�้าไหล จังหวัดชัยภูมิ

ต�า หน่งหน้าที่ทางค สง

จจบัน

1. ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดเลียบน�า้ ไหล พ.ศ. 2536 2. ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดา� รงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะอ�าเภอจัตรุ สั พ.ศ. 2557

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 147

147

18/5/2562 14:18:44


Wat Liap Nam Lai .4 .

. 2.4 . .2119 .

4

. led locals and named

( ).

148

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 148

17/5/2562 9:45:21


2

.

. -

-

-

. . 53 31

. 3

. .2509.

2

.10

-

. 5

. . .2531

. .

-

. .2552 -

. . .2533

.

1. . .2536. 2. . .2557.

.

-

( )

12

16.60

. .24 9 31.40

.

. .24 5. . .2514. . .2525.

. .2531. CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 149

149

17/5/2562 9:45:26


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ้านหลุ งว ระครูสุ ธธรรมประส ธ ภ ั ั ั

ูม

ม มม ิ

มม ิ

ยู ิ

ูม

ระวั ความ นมา วัดบ้านหลุบงิ้ว ตั้งเมื่อปี พ.ศ. 24 4 โดยพ่อพัน บูรณะธนิต พ่อคูณ ช่างช�านิ และ พ่อเทิน เพียรขุนทด ย้ายมาจากอ�าเภอจัตุรัส มาสร้างที่บ้านหลุบงิ้ว และได้บริจาค ที่ดินจ�านวน 29 ไร่เศษ สร้างวัดโดยใช้ชื่อว่า “วัดบ้านหลบงว” มีพระภิกษุจ�าพรรษามาโดยตลอด ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 17 เมตร ยาว 21 เมตร การบรหารและการ กครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระอธิการมา ญาณจารี 2. พระอธิการจันทร์ ฐิตจิตโต 3. เจ้าอธิการธีรวัฒน์ วิสุทธสีโส(พระครูสุทธิธรรมประสิทธิ์) รูปปัจจุบัน

วัดบ้านหลบงว ตั้งอยู่เลขที่ 245 บ้านหลุบงิ้ว หมู่ที่ 5 ต�าบลบ้านกอก อ� า เภอจั ตุ รั ส จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด มี เนื้อที่ 29 ไร่ 60 ตารางวา โ นดที่ดิน เลขที่ 1 6 อาณาเขต ทิศเหนือจดทาง สาธารณประโยชน์ ทิศใต้จดโรงเรียน บ้ า นหลุ บ งิ้ ว ทิ ศ ตะวั น ออกจดทาง สาธารณประโยชน์ ทิ ศ ตะวั น ตกจด ทางสาธารณประโยชน์ 150

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 150

16/5/2562 19:19:46


รเ น นะประก บ ย

อุโบสถ กว้าง 17 เมตร ยาว 21 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2521 เป็นอาคารไม้ ศาลา การเปรียญ กว้าง 21 เมตร ยาว 34 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2535 กุฏิสงฆ์ จ�านวน 1 หลัง เป็นอาคารไม้ ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 17 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2536

ประ ั เ

พระครส

รรม ระส

ายา วิสทุ ธสีโล

อายุ 67 พรรษา 47 วิทยฐานะ น.ธ.เอก พธ.บ. เจ้าอาวาสวัดหลุบงิว้ ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหลุบงิ้ว เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอจัตุรัส เป็นพระอุปัช าย์ เป็นพระวินยาธิการ และเป็นพระวิปัสสนาจารย์

ส านะ ดม ชื่อ ธีรวัฒน์ นามสกุล ภิรมย์กิจ เกิดวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2494 บิดาชื่อ นายมี ภิรมย์กิจ มารดาชื่อนางบุญ ภิรมย์กิจ บรรพชาและอ สมบ ตรงกับวันที่ 2 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2515 วัดศาลาลอย ต�าบล หนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ พระอุปชั าย์ เจ้าอธิการแหยม สิรปิ โญ วัดศาลาลอย ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พระกรรมวาจาจารย์ พระบุญมี โอภาโส วัดศาลาลอย ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พระอนุสาวนาจารย์ พระค�าวัย คมภีรธมโม วัดศาลาลอย ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ว ย านะ พ.ศ. 2505 ส�าเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านส้มป่อย ต�าบลส้มป่อย อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 251 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2520 ส�าเร็จชัน้ มัธยมต้นระดับ 4 โรงเรียนวัดวรนาดบรรพต ต�าบลปากน�า้ โพ อ�าเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2555 ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพุทธศาสตรบัณ ิต (พธ.บ.) วิชาเอก การจัดการเชิงพุทธ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยเขต นครราชสีมา อ�าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 151

151

16/5/2562 19:19:53


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดนคม ระครูสังวรชัยคุ ั ิ ม

ม ข ลยา ยา สาธุ มยั

ตตคุต ต

วัดนิคม ตั้งอยู่เลขที่ 349 หมู่ที่ 11 ต� า บลหนองบั ว บาน อ� า เภอจั ตุ รั ส จังหวัดชัยภูมิ เป็นวัดราษฎร์ สร้างเมื่อ วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2327 ได้รับ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า ครั้ ง ที่ 1 พ.ศ. 2352 - 2353 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2521 วัดมีเนื้อที่รวม 4 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา

152

.indd 152

บันทึกประ ั

ยช

เปน

ค�าว่า นิคม แปลว่า หมู่บ้านใหญ่ ต�าบลใหญ่ จึงได้ตั้งชื่อตามสภาพสิ่งแวดล้อม และ หมู่บ้านนี้ก็ได้เป็นต�าบลมาเป็นเวลานาน อีกทั้งมีความเจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีการบูรณปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2551 วัดนิคม นับว่าเป็นวัดโบราณที่เก่าแก่วัดหนึ่ง หลักฐานไม่ปรากฏเป็นที่ชัดเจนว่าใครเป็น ผู้สร้าง แต่เริ่มแรกมีพระอาจารย์ยันต์ ได้เป็นผู้เริ่มสร้างวัดนี้ขึ้น ในปี พ.ศ. 2327 ตั้งแต่ต้น กรุงรัตนโกสินทร์

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 17:57:59 PM


ประ ั ร เรยน ระปรยั รร ั น

นก รร

ในสมัยพระอธิการพิมพ์ สีลานุโลโม ได้ขอตัง้ เป็นส�านักศาสนศึกษา อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 24 2 มีนักเรียน นักธรรมและธรรมศึกษาเข้าสอบในสนามหลวงเป็นจ�านวนมากทุกๆ ปี จนถึงปัจจุบัน ต่ อ มาในปี พ .ศ. 2536 วั ด นิ ค มได้ เ ป็ น สนามสอบธรรมศึ ก ษา ของอ�าเภอจัตุรัส และตั้งโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 ทะเบียนเลขที่ 1345

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 153

153

. - 16/05/2562 17:58:13 PM


ท เนยบเ

1. พระอาจารย์ยันต์ 2. พระอาจารย์ า 3. พระอาจารย์จ้อย 4. พระครูมืด 5. พระอาจารย์พิมพ์ 6. พระอาจารย์บาง แหล่พั่ว 7. พระอาจารย์โ ่ ปนมณี . พระอาจารย์ปอง ทีบัวบาน 9. พระอาจารย์โส 10. พระอาจารย์สุ่ย ก้านเกิด 11. พระอาจารย์ศิลา จุมพลพงษ์ 12. พระอธิการพิมพ์ สีลานุโลโม 13. พระอธิการญอย อิสสริโก 14. พระอาจารย์จอม สวงโท(รกน.) 15. พระอาจารย์เสาร์(รกน.) 16. พระครูพุทธิกรชโยดม 17. พระมหาบรรจงศักดิ์ ธมมทินโน(รกน.) 1 . พระมหาพั่ว อาภากโร 19. พระสุภาส คุณวุ โฒ 20. พระวิรุ ห์ วิรุ หธมโม(รกน.) 21. พระมหาทองดี ธีรป โญ(รกน.) 22. พระมหาบัวผัน วชิรญาโณ 23. พระครูปทุมรัตนาภิบาล 24. พระครูสังวรชัยคุณ จต.ชั้น เอก

พ.ศ. 2327

พ.ศ. 2400 พ.ศ. 2459 - พ.ศ. 2463 พ.ศ. 2462 พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 24 7 พ.ศ. 24 - พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2493 - พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 249 พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2497 พ.ศ. 249 - พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2502 - พ.ศ. 250 พ.ศ. 250 - พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2509 - พ.ศ. 2510 พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 253 พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน

(หมายเหตุ รกน. ย่อมาจาก รักษาการในต�าแหน่ง)

154

.indd 154

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 17:58:15 PM


ประ ั เ

พระครูสงั วรชัยคุณ ายา จิตตคุตโต นามสกุลเดิม หงส์ไทย อายุ 52 พรรษา 32 วิทยฐานะ น.ธ. เอก วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ ปัจจุบันด�ารงต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลหนองบัวบาน และ เจ้าอาวาสวัดนิคม เกิดวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 บรรพชา วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ณ วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ โดยมี พระครูปทุมรัตนาภิบาล วัดนิคม เป็นพระอุปชั าย์ อ สมบ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ พระอุปชั าย์ พระครูปทุมรัตนาภิบาล วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พระกรรมวาจาจารย์ พระมานะ สมาหิโต วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ พระอนุสาวนาจารย์ พระวันชัย รกขิโต วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ (ปัจจุบนั เป็นพระครูอนุรกั ษ์ชยั คุณ เจ้าคณะ อ�าเภอหนองบัวระเหว) ว ย านะ พ.ศ. 2524 ส�าเร็จการศึกษาชัน้ ประถมปีที่ 6 โรงเรียนชุมชนบัวบาน สามัคคี ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

พ.ศ. 2534 สอบไล่ได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2542 ส�าเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ศูนย์การศึกษา นอกโรงเรียน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2555 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณ์ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา การ ก าพ วิชาพิมพ์ดีด และคอมพิวเตอร์ งานการ กครอง พ.ศ. 253 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดนิคม ต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2540 เป็ น ผู ้ รั ก ษาการแทนเจ้ า คณะต� า บลหนองบั ว บาน อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2541 - ปัจจุบนั เป็นเจ้าคณะต�าบลหนองบัวบาน อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 155

155

. - 16/05/2562 17:58:17 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดชนะ นดาราม (วัด ้าน นน ยอม) ระมนัส สุภา า ร ั

ั ช ิ

4

าชีวีชีวตมาหุ เส

บันทึกประ ั

วั ด ชนะจิ น ดาราม ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 51 หมู่ที่ 7 บ้านโนนพยอม ต�าบลบ้านขาม อ� า เภอจั ตุ รั ส จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ บนเนื้ อ ที่ 9 ไร่ 93 ตารางวา (ปากทางเข้าวัดเป็น ที่ตั้งของที่ท�าการ อบต.บ้านขาม)

156

ชิ

ยู ย

เปน

วัดชนะจินดาราม ริเริ่มการก่อสร้างเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2540 ด้วยมติประชาคม ร่ ว มระหว่ า งวั ด และหมู ่ บ ้ า น เริ่ ม ต้ น การสร้ า งวั ด จากที่ ดิ น ที่ ไ ด้ รั บ บริ จ าคจากครอบครั ว นายสุนันท์(อดีตครูใหญ่โรงเรียนบ้านนา)-นางส�าหราง ระจินดา พร้อมบุตร-ธิดา บริจาคที่ดิน เป็นเนื้อที่จ�านวน 4 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา และที่ดินจากครอบครัว นางกระแสร์ รังคะรัตน อีก จ�านวน 1 ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ที่มีการท�าสัญญายกที่ดินให้สร้างวัด ต่อนายอ�าเภอ จัตุรัส เมื่อ วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เพื่อท�าให้การสร้างวัดที่ถูกต้อง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 156

16/5/2562 18:06:08


โดยมีหลวงพ่ออ่วม ธีตะธัมโม เป็น รักษาการประธานที่พ�านักสงฆ์ มีคณะ ผู ้ น� าหมู่บ้านขณะนั้น คือ นายถวิล งอบสูงเนิน นาย ลวย เหล็กมา นายภู่ ทางไธสง นายสมคิด พลอยม่วง นายสงัด นาคประกอบ พร้ อ มพุ ท ธศาสนิ ก ชนบ้ า นใกล้ เ รื อ นเคี ย งและชาวบ้ า นโนนพยอม ทุกหลังคาเรือนร่วมด้วยช่วยกัน ต่อมา นายสุนันท์ ระจินดา ได้ใช้โ นดที่ดิน 2 แปลงดังกล่าวนี้ ยื่นขออนุญาตสร้างวัดตามมติประชาคมร่วมวัด-หมู่บ้าน ต่อนายอ�าเภอ จัตุรัส เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2542 และได้รับอนุญาตให้ด�าเนิน การก่อสร้างตามระเบียบทางราชการเมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2542 จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ และต่อมาได้มีผู้มีจิตศรัทธา บริจาคที่ดินเพิ่มอีก 3 ครอบครัว ดังนี้ ครอบครัวนายสุข (อดีตครูใหญ่ โรงเรียนบ้านขาม)-นางไ น (หนู) พิชัยกุล พร้อมบุตรธิดา บริจาคที่ดิน เป็นเนือ้ ที่ 2 ไร่ 73 ตารางวา นายเชิด-นางไม้ แสงเดือน พร้อมบุตรธิดา บริจาคทีด่ นิ เพือ่ ท�าการก่อสร้างโรงครัว นายสอน นางแหน มีสขุ พร้อม บุตรธิดา บริจาคที่ดินเพื่อก่อสร้างรั้ววัดด้านทิศตะวันออกเ ียงใต้ ของวัดให้เป็นแนวตรง ท�าให้ปัจจุบัน วัดชนะจินดารามมีอาณาเขตเป็น เนื้อที่ 9 ไร่ 93 ตารางวา การก่อสร้างวัดมีคณะศรัทธาจากทั่วสารทิศให้การอุปถัมภ์ โดยมี ลูกหลานชาวบ้านโนนพยอมเป็นผูป้ ระสานงาน โดยเ พาะคณะผูแ้ สวงบุญ จากบ้านสิ้ว เทศบาลต�าบลสองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี ที่สนับสนุน การสร้างวัดตัง้ แต่ตน้ จนถึงปัจจุบนั โดยการประสานงานของนายขวัญไชย ระจินดา

วัดชนะจินดาราม ได้รบั การประกาศตัง้ วัดในพระพุทธศาสนา สังกัด มหานิกาย โดยมีนามว่า วัดชนะจินดาราม เมื่อวันที่ พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และได้ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอน 102 ง หน้า 7 ลงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2543

ท เนยบเ

1. พระอ่วม ธีตะธัมโม ระหว่างปี พ.ศ. 2540-2541 รักษาการ ประธานที่พ�านักสงฆ์ 2. พระอลงกรณ์ ศิริวังโส ระหว่างปี พ.ศ. 2541-2543 รักษาการ ประธานที่พ�านักสงฆ์ 3. พระครูประทีปธรรโมดม ระหว่างปี พ.ศ. 2543-255 เจ้าอาวาส 4. พระครูมนูญปัญญาภินันท์ ระหว่างปี พ.ศ. 255 -2561 รักษาการเจ้าอาวาส 5. พระมหาวริศ ญาณธโร ระหว่าง เมษายน-มิถุนายน พ.ศ. 2561 รักษาการเจ้าอาวาส 6. พระมนัส สุภาจาโร ตั้งแต่ มิถุนายน พ.ศ. 2561-ปัจจุบัน รักษาการ เจ้าอาวาส

I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 157

157

16/5/2562 18:06:13


ก รก ร

ร ะเ น นะ

พ.ศ. 2540 สร้างศาลาการเปรียญ พ.ศ. 2541 สร้างหอกลอง เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น พ.ศ. 2543 สร้างกุฏิ 1 ชั้น 2 ห้องจ�าวัด จ�านวน 2 หลัง พ.ศ. 2544 สร้างหอกระจายข่าว หอระฆัง และเมรุเผาศพ พ.ศ. 2545 สร้างกุฏิพระสงฆ์ เพิ่มอีกสองหลัง สร้างศาลาพักศพ 1 หลัง ก่อสร้าง ุ้มประตูวัดด้านทิศตะวันออก พ.ศ. 2546 สร้างโรงครัว 1 หลัง พ.ศ. 254 สร้าง ุ้มประตูวัดด้านทิศตะวันตก พ.ศ. 2549 สร้างห้องน�้า ห้องสุขาเพิ่ม 6 ห้อง พ.ศ. 2554-2561 สร้างโบสถ์ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กพร้อมหล่อ องค์หลวงพ่อพุทธะจินดา องค์พระประธานภายในโบสถ์ โบสถ์วดั ชนะจินดาราม เริม่ การก่อสร้างตามมติประชาคมร่วมหลายฝ่าย โดยมี พระครูประทีปธรรโมดม เจ้าอาวาสขณะนั้น และชาวบ้านโนนพยอม ทุกหลังคาเรือนพร้อมศรัทธาจากพุทธศาสนิกชนจากทั่วสารทิศ มีคณะ ผู้น�าหมู่บ้านคือนายถวิล งอบสูงเนิน นาย ลวย เหล็กมา นางคณิดา แดนไธสง นายบันเทิง พิชยั กุล นายธีระพงษ์พนั ธ์ ทอมมัส มีคณะประธาน อุปถัมภ์การก่อสร้างโบสถ์น�าโดย พล.ร.อ.ไตรภพ พิชัยกุล คุณนภาลัย พิชัยกุล คุณขวัญไชย ระจินดา พล.ร.ต.กระหยิ่ม พิชัยกุล คุณจิรศักดิ์ รักเดช พร้อมคณะเป็นต้น โดยมี พ.ต.ท.ส�าเริง พิชยั กุล เป็นผูป้ ระสานงาน โครงการเริ่มการก่อสร้าง เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2554 แล้วเสร็จ เมือ่ ปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 ได้รบั พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ พระราชทานวิสุงคามสีมา ตามประกาศส�านักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานวิสงุ คามสีมา งวดที่ 4 ประจ�าปี 2559 ล�าดับที่ 6 ก�าหนด เขตกว้าง 32 เมตร ยาว 42 เมตร ประกาศ ณ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2559 โบสถ์วัดชนะจินดาราม ประกอบพิธีปักหมายเขตวิสุงคามสีมา พร้อมผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมติ ขึน้ ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ถึง วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

ไ ย ั กร น ยน ศ

ะกรร ก รบร ร ั ป บัน

ป บั น

พระมนัส ส าจา ร ประธานคณะกรรมการบริหารวัด (รักษาการเจ้าอาวาส) พระลกวัดชนะจนดาราม กร กรรมการ นาย ลวย หลกมา ไวยาวัจกร รองประธานคณะกรรมการ (ส.อบต) นางค ดา แดนไ สง รองประธานคณะกรรมการ (ผู้ใหญ่บ้าน) นาย ระพง ์พัน ์ อมมัส ไวยาวัจกร กรรมการ (ส.อบต รองประธานสภา อบต) นายสมัส หมันคง ไวยาวัจกร กรรมการ นายก ชัย ไ ยสมัคร ไวยาวัจกร กรรมการ นายวนัย างไ สง ไวยาวัจกร กรรมการ นายสม ักด งอบสง นน ไวยาวัจกร กรรมการ นางรั ม พรหมมา กรรมการ นางลา พ วรร ส กรรมการ นายอัครพล กรอบกระ ก กรรมการ นาย ออน ส่มสวรร กรรมการ นายสงห์หา แดนไ สง กรรมการ เลขานุการคณะกรรมการ นางอร ัย ไ ยสมัคร กรรมการ ผู้ช่วยเลขานุการฯ (ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน)

นับ นน

นาย ลวย หลกมา สมาชิกสภา อบต.บ้านขาม (อดีตผู้ใหญ่บ้าน) นางค ดา แดนไ สง ผู้ใหญ่บ้าน (อดีต สมาชิกสภา อบต.บ้านขาม) นาย วั ไชย ระจนดา ข้าราชการบ�านาญ

เรยบเรย ย

นายธีระพงษ์พันธ์ ทอมมัส ไวยาวัจกร ฝ่ายประสานงานทั่วไป โทร.0 -342-5114 29 . . 158

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 158

16/5/2562 18:06:18


I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 159

159

16/5/2562 18:06:20


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดหนองม่วง บ้านหนองม่วง เลขที่ 1 3 หมู่ที่ 4 ต�าบลส้มป่อย อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ตั้งขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2522 โดยมีหลวงพ่อเหวด(พระเหวด ธมมวโร) ศรีชัยภูมิ ชาวบ้านส้มป่อย วัดศาลาลอย โดยได้รบั บริจาคทีด่ นิ จ�านวน 2 ไร่เศษจากนางจันทร์ พลจัตรุ สั ชาวบ้านหนองม่วง ได้ยกถวายเป็นที่สร้างวัดแต่เริ่มแรกสร้างเป็นที่พักสงฆ์ สร้างศาลาที่พักสงฆ์ขึ้น 1 หลัง ต่อมา ท่านได้ย้ายไปจ�าพรรษาที่บ้านไทรงาม จังหวัดชัยภูมิ และลาสิกขาในที่สุด

วัดหนองม่วง ระครูสุน รวีรคุ (วีระ ง สุวี ร ธ ) ั

Phra Khru Soonthon Weerakhun

160

.indd 160

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

ิ ั ิ

18/5/2562 15:16:09


ภายหลังชาวบ้านหนองม่วงได้ไปกราบอาราธนานิมนต์พระวีระพงศ์ สุวีโร วัดศาลาลอยบ้านส้มป่อยมาจ�าพรรษาที่วัดหนองม่วงตั้งแต่ปี พ.ศ.2526 ต่อมาท่านได้พาชาวบ้านสร้างกุฏิที่พักสงฆ์ขึ้น 1 หลัง พ.ศ. 2529 ได้พาชาวบ้าน อื้ ทีด่ นิ ขยายส�านักสงฆ์ออกไปอีก 4 ไร่ 1 งาน พ.ศ. 2535 ได้พาชาวบ้านสร้างกุฏิสงฆ์ขึ้น 1 หลังเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ต่อปูน กว้าง 13 เมตร ยาว 1 เมตร ห้องน�้า ห้องครัว โรงเก็บของ เมรุเผาศพและปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปปางต่างๆ

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 161

161

17/5/2562 14:55:41


พ.ศ. 2539 ได้พาชาวบ้า นสร้า งศาลาการเปรียญขึ้น 1 หลัง กว้าง 16 เมตร ยาว 21 เมตร ต่อมาได้พาชาวบ้านและผู้น�าหมู่บ้าน ยื่ น เรื่ อ งขออนุ ญ าตสร้ า งวั ด โดยนายอดุ ล ย์ หล่ า บุ ต รศรี (ก� า นั น ต�าบลส้มป่อยในขณะนั้น) ได้รับใบอนุญาตสร้างวัดได้เมื่อวันที่ 2 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2542 และได้รับใบอนุญาตตั้งวัด ได้เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 ชื่อว่า วัดหนองม่วง ตามชื่อของหมู่บ้าน ต่อมาพระอธิการวีระพงศ์ สุวีโร ได้รับการแต่งตั้งเจ้าอาวาสรูปแรก เมื่ อวั น ที่ 15 กุมภาพัน ธ์ พ.ศ. 2545 จนถึง ปัจจุบัน ต่ อ มาในปี พ.ศ. 2551 ได้พาชาวบ้า นเริ่มด�าเนินการก่อสร้าง อุโบสถหลังแรกขึ้น โดยได้รับความอุปถัมภ์จากท่านเจ้าคุณพระปัญญา วชิ ร าภรณ์ (สุพนธ์ ป ญาวโร) ผู้ช ่ว ยเจ้า อาวาสวัด สระเกศ และ ท่ า นเจ้ า คุ ณ พระราชธี ร คุ ณ (บุ ญ เรี ย น ปุ ญ ญวิ ช โย) ขณะด� า รง สมณศั ก ดิ์ ที่ พ ระสิ ท ธิ ธ รรมธาดาและเลขานุ ก ารเจ้ า คณะภาค 12 ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวัดสระเกศ พ.ศ. 2553-2554 ได้พาชาวบ้านสร้างกุฏิสมเด็จพระพุฒาจารย์ ขึ้ น ภายในวั ด หนองม่ ว ง 1 หลั ง เป็ น อาคารไทยชุ ด ขนาดกว้ า ง 11 เมตร ยาว 15 เมตร พ.ศ. 2554 เจ้าอาวาสและท่านเจ้าคุณ พระปัญญาวชิราภรณ์มีความประสงค์จะให้วัดหนองม่วงแห่งนี้เป็น สถานที่ปฏิบัติธรรม สาขาของวัดสระเกศ จึงได้พาชาวบ้านด�าเนิน การก่ อ สร้ า งอาคารปฏิ บั ติ ธ รรมสมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ ขึ้ น ภายใน วั ด หนองม่ ว งอีก 1 หลัง ต่อ มาในปี พ.ศ. 2554 ได้พาชาวบ้าน ื้อ ที่ ดิ น ขยายวั ด หนองม่ว ง อีกจ�า นวน 3 ไร่ ได้มีจิตศรัทธาถวาย 37 ตารางวา อยู่ฝังทิศใต้ของวัดหนองม่วง และในพ.ศ. 2555 นายจ�ารูญ และ นางก่ ว ง สวงโท ได้ ถ วายที่ ดิ น ด้ า นหน้ า อุ โ บสถอี ก 2 งาน จึ ง รวมเป็ น ที่ดิน ของวัดทั้ง สิ้น 9 ไร่ 3 งาน 37 ตารางวา

162

.indd 162

In B.E.2539, he led locals on the construction of sermon hall which its scale is 16 meters in width and 21 meters in length. After that, he, together with locals and village headman jointly filed a petition on asking for permission to build temple which Mr.Adul Labutsri (Sompoi sub-district headman at that time) got the temple-constructing permit on 28 June B.E.2542 and temple-establishing permit on 29 May B.E.2544 which its name was “Wat Nong Muang” as same as village’s name. Then, Phra Athikarn Weerapong Suwero was appointed to be the first abbot of this temple since 15 February B.E.2545 until now. After that in B.E.2551, He led locals on the construction of the first ubosot which this construction was supported by Than Chao Khun Phra Panyawachiraphon (Supon Panyawaro), assistant abbot of Wat Sraket, and Than Chao Khun Phra Ratchatheerakhun (Boonrien Punyawitchayo), who upheld the monk’s title as Phra Sitthithamthada and took a position of secretary of twelfth region monk dean together with assistant abbot of Wat Sraket at that time. During B.E.2553-2554, he led locals to build the monk’s house of Somdet Phra Phutthachan inside Wat Nong Muang which it is Thai style building, 11 meters in width and 15 meters in length, construction was completed in B.E.2554. Abbot and Than Chao Khun Phra Panyawachiraphon intended to make Wat Nong Muang to be a place for practicing Dharma as a branch of Wat Saket. Then, they led locals to construct Somdet Phra Phutthachan dharma-practicing building inside Wat Nong Muang. After that in B.E.2554, the abbot led locals to buy the land in order to expand Wat Nong Muang’s territory around 1.2 acres which there were devotees who offered the land that located at the southern of this temple which its scale is 148 square meters. Lastly, in B.E.2555, Mr.Jamroon and Mrs.Guang Suangto had offered land in front of ubosot which the scale of this land is 800 square meters. Therefore, the total amount of this land is 3.6 acres and 1,348 square meters.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 17:00:14


ประ ั ท นเ

ย ัเป

พระอธิ ก ารวี ร ะพงศ์ สุ วี โ ร ได้ รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ โปรดเกล้า ตัง้ สมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชัน้ โทในราชทินนามที่ พระครูสนุ ทรวีรคุณ เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 พระครูสนุ ทรวีรคุณ(วีระพงศ์ พธ.บ.) ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าเลือ่ นชัน้ จากพระครู เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชัน้ โท เป็นชัน้ เอก เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 The summary order of monk’s title of the abbot Phra Athikarn Weerapong Suwero was officially endorsed the monk’s title as “Phra Khru Soonthon Weerakhun”, secondary rank (Thai Buddhist monk ranking system) and abbot of general temple on 5 December B.E.2551. Next, in B.E.2557, Phra Khru Soonthon Weerakhun (Weerapong, Bachelor of Arts) was officially endorsed on the promotion from his former rank to first rank on 5 December B.E.2557.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 163

163

18/5/2562 17:00:18


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดมะเ ลือ ระอธ าร รวั น

วร

ั ม

วัดมะเกลือ ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 6 บ้านมะเกลือ ต�าบลบ้านกอก อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ

164

.indd 164

ต้น ธ า ระดู และวัต ุดนเ า รา ิ

ประวัติความเป็นมาของการตั้งวัดแต่โบราณมีมา 3 สมัย เช่นเดียวกับการตั้งบ้านคือ สมัยที่ 1 สมัยที่ 2 หากทว่า ไม่มีใครทราบหลักฐานที่ชัดเจนว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ. เท่าไร เพราะ มิได้มีการบันทึกไว้อย่างเป็นทางการ แต่ก็พอทราบว่า วัดมะเกลือในสมัยที่ 1 ตั้งขึ้น ณ ที่แห่งเดียวกับปัจจุบันนี้ เมื่อปี พ.ศ. 2431 ถึงปี พ.ศ. 2555 มีอายุตงั้ วัดได้ 124 ปี เพราะมีตน้ โพธิใ์ หญ่สญ ั ลักษณ์แห่งการตรัสรู้ ของพระพุทธเจ้า อันชาวพุทธเคารพนับถือ และใต้พนื้ ดินลึกลงไปประมาณ 1 ศอก มี ากกระดูก และวัตถุดินเผา สองอย่างพอจะชี้ให้เห็นว่าเป็นวัดเก่าแก่ น่าเสียดายที่ต้นโพธิ์ต้นใหญ่ได้ถูก ตัดโค่นลงสร้างเป็นถนนเสียแล้ว ยังเหลือแต่ลูกของต้นโพธิ์ ห่างจากแม่ประมาณ 15 เมตร แต่ ณ บัดนีต้ น้ โพธิก์ ถ็ กู ท�าลายหมด วัดทีส่ ร้างขึน้ ในสมัยแรกได้เกิดเพลิงไหม้กฏุ ิ และมีสามเณรน้อย 1 รูป ตายในกองเพลิง วัดตั้งขึ้นในสมัยแรกจึงร้างลง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:41:23 PM


ัยท

สร้างขึ้นตรงกลางถนนสายเข้าไปในหมู่บ้านโนนทองหน้าบ้าน นายสีไพร คงสกุล เมื่อประมาณ 1 ปีมานี้ ยังมีหลักเสากุฏิและ หลักหีบน�า้ มันเก่ายังคงเหลืออยู่ วัดสมัยที่ 2 พระอาจารย์ขนั ตี ขันตักโร เป็นผูส้ ร้าง เมือ่ ท่านลาสิกขาไปแล้วไม่มพี ระรูปใดมาอยูแ่ ทน วัดก็รา้ งไป พระอาจารย์ขันตี ขันตักโร เป็นคนชาวเมืองกา สินธุ์

ัยท

สร้างขึน้ ปีมะเส็ง ตรงกับพุทธศักราช 2471 มีพระอาจารย์ภู่ ยโสธโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก มีนายนู รัตนวิชยั เป็นผูใ้ หญ่บา้ นคนแรก หลังจาก ที่ผู้น�าทั้ง 2 ท่านนี้เสียชีวิตไปแล้ว ครั้งต่อมามีพระอาจารย์มหาออด เขมจาโร เป็นเจ้าอาวาสวัดมะเกลือ รูปที่ 2 แทน นายรอด รัตนวิชัย เป็นก�านันต�าบลบ้านกอก

ต่อมา ชาวบ้านพร้อมใจกันเปลี่ยนชื่อเป็น วัดไตรงคาราม โดย ไม่ได้ขออนุญาตให้ถูกต้องจากกรมการศาสนาแต่อย่างใด ชื่อวัดใหม่นี้ วัดไตรงคาราม โดยถือเอานิมติ จากพระภิกษุ 3 รูป มาธุดงค์ ชาวบ้าน จึงขอนิมนต์ให้อยู่จ�าพรรษา แล้วสร้างวัดถวาย เนื่องด้วยนิมิตนี้ ท่าน พระอาจารย์มหาออด เขมจาโร เป็น ผู้ด�าริคิดค้นตั้งชื่อวัดไตรงคาราม แต่ ท างกรมการศาสนาไม่ อ นุ ญ าตเพราะว่ า มี วั ด ชื่ อ �้ า กั น กั บ อี กวั ด จึงตกไป จึงได้เปลี่ยนเป็น วัดมะเกลือ ในที่สุด วัดมะเกลือตั้งอยู่ติดถนนสายหนองบัวใหญ่-หนองบัวบาน เป็นรูป สี่เหลี่ยมผืน ผ้า ยาวตามล�าห้วยคัน ุ มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 23 ไร่ อยู ่ ด ้ า นทิ ศ ตะวั น ออกเ ี ย งใต้ บ ้ า นมะเกลื อ เป็ นวั ด ที่ ถู ก ต้ อ งของ กรมการศาสนา และใช้ชื่อ วัดมะเกลือ มาจนถึงปัจจุบัน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 165

165

. - 16/05/2562 19:41:31 PM


BODHI TREE, BONE REMAINS AND ANCIENT HARDENED CLAY OBJECTS. 124 YEARS OF THE JOURNEY OF BUDDHISM ESTABLISHMENT AT…

WAT MA KLUEA PHRA JIRAWAT CHAKKAWARO, ABBOT OF WAT MA KLUEA

.6

-

. .2431

. .2555

.

124

1 .

.

. .

. 15

.indd 166

.

.

0.5 .

166

.

.

.

. . .2471

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:41:33 PM


.

.

.

. .

-

.

.

.

(

.

.

9.2

).

.

. .

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 167

167

. - 16/05/2562 19:41:40 PM


วัดหนองลูกชาง

บวร วัด บ้าน รงเรียน ชมชนเ นหน่งเดียว ัน ระครูวาป ชัยคุ ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

เพราะความงดงามของหัวใจชาวบ้าน วัดจึงเกิดขึน้ ได้ใจกลางชุมชน วัดหนองลูกช้าง ตั้งอยู่ในต�าบลบ้านขาม อ�าเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ

ร วัติความเ นมา น ารสร้างวัด

จากพื้นที่แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่ท�ากินของค แม่สน หา วช ต่อมา คุณแม่สินได้ให้ความส�าคัญของการศึกษา จึงได้ยกพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นที่ สร้างโรงเรียนบ้านหนองลูกช้าง เพือ่ ให้ลกู หลานได้เรียนหนังสือ สมัยก่อน ชาวบ้านยังไม่มีโรงเรียนและไม่มีวัด ชาวบ้านจึงต้องไปท�าบุญที่วัดอื่น เป็นต้นว่า วัดบ้านท่าศาลา วัดบ้านขาม วัดบ้านนา วัดเลียบน�า้ ไหล(บ้าน งิ้ว) แล้วแต่ความสะดวกของชาวบ้าน ต่อมาในปีพ.ศ.2490 ชาวบ้านได้ช่วยกันสร้างศาลาขึ้นมาหนึ่งหลัง ในบริเวณโรงเรียนเพือ่ เป็นทีบ่ า� เพ็ญบุญกุศล ในช่วงแรกยังไม่มพี ระมาอยู่ ชาวบ้านจึงนิมนต์พระมาท�าบุญตักบาตรเ พาะวันพระ ค�า่ 15 ค�า่ เท่านัน้ 168

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 168

21/5/2562 13:16:42


ต่อมาในปีพ.ศ.2526 ชาวบ้านได้ไปนิมนต์ หลวงพ่อพัด และ หลวงพ่อนวน มาอยู่จ�าพรรษาจึงได้มีพระมาประจ�าอยู่ที่พักสงฆ์เรื่อย มาจนกระทั่งพระอาจารย์ชมพล หาสม น มาอยู่จ�าพรรษาจึงได้พา ญาติโยมชาวบ้านพัฒนาหมูบ่ า้ น พัฒนาด้านการศึกษา และการปกครอง พระสงฆ์ภายในวัดเรือ่ ยมา จนกระทัง่ ส�านักสงฆ์บา้ นหนองลูกช้าง ได้ขอ อนุญาตสร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2550 ตามบัญชีที่ 59 2550 และได้รับ แต่งตั้งวัดเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 บัญชีที่ 20 2553 เลขที่ 9 ชื่อ วัดหนองลูกช้าง ปัจจุบันมี พระครวา ชัยค น จ้าอาวาส

ล�าดับเจ้าอาวาสตั้ง ต่อดีตจน ง จจบัน

1. หลวงพ่อพัด มาอยู่ปี พ.ศ. 2526 2. หลวงพ่อเทศ มาอยู่ปี พ.ศ. 2527 3. หลวงพ่อเลื่อน มาอยู่ปี พ.ศ. 252 4. หลวงพ่อเทศ มาอยู่ปี พ.ศ. 252 -2531 5. พระอาจารย์ชุมพล หาสมโน มาอยู่ปี พ.ศ. 2531 6. พระครูวาปี ชัยคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 169

169

21/5/2562 13:16:48


ร วัติความเ นมา บ้านหนองลู ช้าง

บ้านหนองลูกช้าง ตั้งเป็นหมู่บ้านเมื่อราวปี พ.ศ. 2450 โดยมีชาว อ�าเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา อพยพมาตัง้ รากฐานบ้านเรือนเป็น ส่วนใหญ่ ในยุคสมัยนัน้ พืน้ ทีม่ หี นองน�า้ เป็นป่าไม้อดุ มสมบูรณ์พร้อมทัง้ สัตว์ปา่ มากมาย จึงท�าให้ทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ ได้มชี า้ งป่ามาคลอดลูก ลงในหนองน�้าดังกล่าว จึงได้ตั้งชื่อหมู่บ้านว่า บ้านหนองลูกช้าง เป็นต้นมา มีพื้นที่ขนาด 4.14 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 2 593 ไร่) มี อาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ บ้านโนนพะยอม หมู่ 7 ต�าบลบ้านขาม ทิศใต้ ติดกับ บ้านหนองสะแก หมู่ 9 ต�าบลบ้านขาม ทิศตะวันออก ติดกับ บ้านขาม หมู่ 2 ต�าบลบ้านขาม ทิศตะวันตก ติดกับ บ้านนา หมู่ 1 ต�าบลบ้านขาม และบ้านท่าศาลา ต�าบลบ้านตาล มีประชากร 1 ครัวเรือน จ�านวนประชากร 727 คน

170

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 170

21/5/2562 13:16:49


ชมชนมี ารจัดตั้ง บ่ง ล่มเ น 11 ล่ม ่งมีค บริหารจัด าร ล ด�าเนิน ิจ รรมดังนี้

1. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 2. กลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชน 3. ศูนย์สาธิตการตลาด 4. กลุ่ม าปนกิจหมู่บ้าน 5. กลุ่มสถาบันการเงิน 6. กองทุนหมู่บ้าน 7. กลุ่มออมทรัพย์กองทุนหมู่บ้าน . กองทุนแม่ของแผ่นดิน 9. กลุ่มสงเคราะห์ราษฎร 10. กลุ่มพัฒนาสตรี 11. กลุม่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมูบ่ า้ น (อสม.) เป็นรูปแบบ หนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยผ่านกระบวนการอบรมให้ความรูจ้ ากเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข และการปฏิบัติงานด้วยความเสียสละต่อประชาชนใน หมู่บ้าน กระทรวงสาธารณสุขได้เริ่มด�าเนินงานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา แม้วา่ พลังของ อสม. อาจจะดูเล็กน้อยดัง่ เม็ดกรวดเม็ดทราย เมื่อยามกระจายอยู่ตามหมู่บ้านและชุมชนต่างๆ แต่เมื่อมีการรวมตัว เป็นกลุม่ ก้อนเป็นชมรมฯ พลังเหล่านีก้ ม็ คี วามมัน่ คงดัง่ ภูผา พร้อมทีจ่ ะ ยืนหยัดและก้าวน�าไปสูก่ ารพัฒนาด้านสุขภาพและคุณภาพชีวติ ของภาค ประชาชนพร้อมๆ กับการพัฒนาด้านอื่นๆ

ด้าน าร ครองตั้ง ต่ ่อตั้งหมู่บ้านมา ด้มี ู้น�า 11 คน ดังนี้ 1. นายพุ่ม ศรีสิงห์ 2. นายพรม มั่งมี 3. นายเหลือ บุญมา 4. นายคง คณาศักดิ์ 5. นายเปรม อาสา 6. นายสว่าง นาคประกอบ 7. นายเชย ช�านาญกุล . นายแม้น สิงห์โตแก้ว 9. นายอั้น ตู้จ�านง 10. นายสนั่น มาตรังศรี 11. นางเชื่อง ค�าสุภาพ

ตั้งแต่ปีพ.ศ.2450 - ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ทราบแน่ชัด ไม่ทราบแน่ชัด ปี พ.ศ.2496 พ.ศ.2503 ปี พ.ศ.2503 พ.ศ.2512 ปี พ.ศ.2512 พ.ศ.2534 ปี พ.ศ.2534 พ.ศ.2542 ปี พ.ศ.2542-ปัจจุบัน

ค�าขวั หมู่บ้านหนองลู ช้าง

บ้านหนองลูกช้างงามน�้าใจ ยิ่งใหญ่พระธาตุเจดีย์ ประเพณีล�้าค่า ภาษาท้องถิ่น ดินน�้าสมบูรณ์ เพิ่มพูนคุณธรรม ผู้น�าเป็นนักพัฒนา

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 171

171

21/5/2562 13:16:50


H ISTO RY OF BU DDHI S M

รา ระธาตุเ ดีย ว่า ย

ย ู

วัดป ุมชาต ู ย

ย ู

ช ิ

ระครูวุ ธรรมธาดา ั ั

มช ิ

ชช

วัด มชา ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 201 หมู่ 2 บ้านหนองบัวใหญ่ ต�าบลหนองบัวใหญ่ (ฝังใต้บงึ หนองบัวใหญ่ แต่ในอดีตตัง้ อยูภ่ ายในนครหนองบัวใหญ่) อ�าเภอจัตรุ สั จังหวัดชัยภูมิ เป็นวัดที่ มีขนาดใหญ่ ระยะทางห่างจากอ�าเภอจัตุรัสประมาณ 2 กิโลเมตร และ ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 36 กิโลเมตร ผู้สร้างวัด วัดปทุมชาตินี้สันนิษฐานว่า เป็นวัดที่พระอาจารย์เฆเป็นหัวหน้าน�าพระภิกษุ สามเณร มีพระยานรินทร์(ทองค�า) เป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ ได้ดา� เนินการร่วมกับชาวบ้านก่อสร้างขึน้ ใน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปี พ.ศ. 2367 มีพระยานรินทร์(ทองค�า) เป็นเจ้าเมืองนครหนองบัวใหญ่ วัดนี้อายุได้ประมาณ 200 กว่าปีแล้ว นับตั้งแต่เริ่มสร้างหมู่บ้านหนองบัวใหญ่ และเป็นที่ เคารพศรัทธาของคนในชุมชน 172

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 172

16/5/2562 16:39:56


นามวัด เป็นทีน่ า่ สังเกตโดยทัว่ ไปว่า “วัดสว่างวารวหาร” พระอาจารย์เฆเป็นผูส้ ร้าง ต่อมา เขียนชือ่ ว่า “วัดสว่างอารม ”์ จนถึงสมัยพระอาจารย์อปุ ชั าย์พมิ พ์สลี านุโลโม ได้เปลีย่ นเป็น “วัด ระ มชา ” ให้ตรงกับความหมายของวัดและสถานที่ เพราะเหตุอยูต่ ดิ บึงหนองบัวใหญ่ และสระน�้ากินก็มีต้นดอกบัวใหญ่ ส�าหรับค�าว่า “ ระ มชา ” เพียงแต่เรียกชื่อและเขียน เท่านั้น ส่วนความหมายถึงดอกบัวที่อุดมสมบูรณ์ในบึง ผู้รู้ภาษาศาสตร์ จึงได้เปลี่ยนใหม่ เป็น “วัด มชา ” ถูกต้องตามอักขระวิธีสมัยปัจจุบัน และวัฒนธรรมของชาติไทยด้วย (เมื่อสมัยพระอาจารย์แปร เป็นเจ้าอาวาสหรือ ปี พ.ศ. 24 0) วัดปทุมชาติ มีงานประเพณี งานบุญประจ�าปี ปดทองรอยพระพุทธบาท ึ่งมีขนาดใหญ่ กว่าของจริง และมีพระธาตุเจดียท์ มี่ มี าตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ วัด ประมาณ 200 กว่าปี ได้ปฏิสงั ขรณ์ ขึ้นใหม่ อีกทั้งวัดปทุมชาติยังเปรียบเสมือนศูนย์การเรียนรู้แก่ประชาชน อาทิ ห้องสมุด ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์อบสมุนไพร สวนพฤกษศาสตร์ ฯลฯ นอกจากนี้ ยังเป็นที่ตั้งของ ศาลเจ้าพ่อพระยานรินทร์สงคราม นายอ�าเภอคนแรกของอ�าเภอจัตุรัส

ท เนยบเ

1. พระอาจารย์เฆ 2. พระอาจารย์กัง 3. พระครูหลักค�า 4. พระอาจารย์ทองดี 5. พระอาจารย์แดง 6. พระอาจารย์เ ้า 7. พระอาจารย์ปา . พระอาจารย์โพธิ์ 9. พระอุปัช าย์พิมพ์ 10. พระอธิการพวง 11. พระอาจารย์แปร 12. พระครูนิเทศศาสนธรรม 13. พระสร้อย จันทปโชโต 14. ประแดงแปง มเหสิโย 15. พระครูญาณสถิต ฐิติญาโณ 16. พระอธิการโส ส สนตจิตโต 17. พระครูวุฒิธรรมธาดา (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน)

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 173

173

16/5/2562 16:40:04


HISTO RY O F B U DDH IS M

สต ล สม ชาค ร สตเปนธรรมเครืองตืนอยู่ใน ล

วัดหนอง สน ระอธ ารภานุวั น อุตตมป ั

วัดหนอง สน ังอย่ ล บ้าน หนอง สน หม่ าบลหนองบัว คก อา อจั รัส จังหวัดชัย ม สังกัดค ะสง ์ มหานกาย นวัดรา ร์ ได้รับอน า ห้ งวั ั ด มอวัน ม ายน พ วัดม นอ ไร่ วัดมพระ ก จานวน ร ย์วัด คน เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น พระอธิ ก าร ภานุวัฒน์ ายา อุตตมป โญ อายุ 41 ปี พรรษา 16 เดิมชือ่ นายภานุวฒ ั น์ เชือ้ พหล จบปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณ ราชวิทยาลัย ส�าเร็จการศึกษานักธรรมเอก ต�าแหน่งทางการปกครองสงฆ์ รองเจ้าคณะ ต�าบลหนองบัวโคกและเจ้าอาวาส 174

2

าสนส าน คือ ศาลาการเปรียญ าปนสถาน กุฏิ 9 หลัง โรงครัว และ ห้องสุขา าสน ก า คือ ศูนย์อบรมประชาชนประจ�าต�าบล วัดได้จัด ห้มกจกรรม จัด น ระจา ก ระกอบด้วย ปฏิบัติธรรมประจ�าปี ระหว่างวันที่ 1-5 เมษายน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมของวัดประมาณ 500 คน ได้แก่ หน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรทุกองค์กร นักเรียน และประชาชนทั่วไป ทุกพื้นที่ อายวั นมงคลและไหว้ครบาอาจารย์ ในวันที่ 10 กรกฎาคม ของทุกปี มีผู้เข้าร่วม กิจกรรมของวัดประมาณ 500 คน ได้แก่ หน่วยงาน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และองค์กรทุกภาคส่วน ท�าพิธีบวงสรวงไหว้ครูบาอาจารย์และผู้ก่อตั้งวัด ตลอดถึงงานอายุ วัฒนมงคลเจ้าอาวาส และจัดกิจกรรมต่างๆ ตามวันส�าคัญทางศาสนาและประเพณี วัดหนอง สน ังอย่ ล บ้านหนอง สน หม่ จังหวัดชัย ม ร ัพ ์

าบลหนองบัว คก อา อจั รัส

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 174

17/5/2562 11:03:33


รอย ระ ุ ธ า าลอง

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 175

175

17/5/2562 11:03:42


ส�ำรองห้องพัก ัก อน สนสบาย วา ส เกไก ทกวัยเ ลิดเ ลิน

เดอะปาล วิลเล ั วัด ัย ิ รอ ตอนรับ ทกทานดวย อ กั ตก ต สไตล เดิรนท ต เติ วา นารักสด สอยตา ตา อาทิ นั อ อ ตละ อ กเปนลวดลายการตนเก ไ �ากัน รอ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน อาทิ เ รอ ปรับอากาศ ทว ตเยน เ รอ ท�าน�าอน ละบริการอินเทอรเนตไรสาย ร เดอะปาล วิลเล รบเ รอ เรอ วา ส วา ทันส ัย ส บ สะอาด ละปลอด ยั ส�า รับการเดินทา ทอ เทยว ละการท�า านท ะท�า ณ อน ลายยา ัก อน ละยั นรานกา ท ทั น อบ ละ เ รอ ด ลาก ลายเ น บริการท ก รเ นท ก ั เ ัย น ไปยั เ ั รั ระยะท ประ ก เ ร ร ไป น ึ บ น น ะน ะ บเ ะป เ ั ยเ ท นน ั ย บ ะ น เ ั รั ั ั ัย 176

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

2

.indd 176

16/5/2562 14:51:41


The Coffee House รานกา สด เ รอ ด เบเกอร ไอศกร เปดบริการตั ต น ทร �ำ

ันน ทส ป เยน อก กบานานา รต น ป ป รส าติตา

ร้ำ

เลอก

อีสำ

อา ารไทย อสาน านดวน ว อน เปดบริการตั ต น �ำ

ทร

ต�า าด ตรทะเล ทอด าว ัว ต�าปปลารา า าทะเลเดอด สา บเ า กรอบ ัดกะป

T-BAR Music & Restaurant

บรรยากาศ าย นรานสด สน ะสบาย น ลก าไดเลอกไ วา ะเปนดาน น บาน รอสวนดาน นา อา ารบริการ ลาก ลายรา าประทับ ดนตรสด ากว สลับเปลยนกับดเ ไดทกวันททบาร เปดบริการตั ต น

ทั ราน ตั อยบริเวณเดยวกัน ทตลาด าวสวย เล ท นน ัย ิ บานเ วา ต�าบล นเ อ อ�าเ อเ อ ั วัด ัย ิ

2

.indd 177

B LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย 177

16/5/2562 14:51:55


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ูร

หลวง ่อ ต ั

ระครู น สม วัตร ภ

ั ู

ั บร

เป็นพระพุทธรูปปูนปันประดิษฐาน อยู่ บ นแท่ น ในโบสถ์ วั ด บู ร ณ์ นั บ เป็ น พระพุทธรูปโบราณที่ใหญ่ที่สุดในอ�าเภอ บ�าเหน็จณรงค์ ถือเป็นพระพุทธรูปคูเ่ มือง เป็นที่เคารพสักการะและยึดเหนี่ยวจิตใจ ของลูกหลานชาวบ�าเหน็จณรงค์มานาน หลายชัว่ อายุคน อีกทัง้ ในโอกาสประกอบ พิธีถือน้�าพิพัฒน์สัตยาของท่านเจ้าเมือง บ�าเหน็จณรงค์ก็ได้อาศัยความศักดิ์สิทธิ์ ของหลวงพ่ อ พระประธานในวั ด นี้ เ ป็ น สักขีพยานสัตยานุสัตย์มาทุกปี 178

2

เปน

ั บร

วัดบูรณ์ มีชื่อเดิมว่า “วัด ะ ค” เป็นวัดประจ�าอยู่ในหมู่บ้านปะโค หมู่ที่ 3 ต�าบลบ้านชวน อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ เป็นวัดเก่าแก่ประจ�าด่านบ้านชวนมาตั้งแต่สมัยพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมนั้น วัดบูรณ์ได้พบแผ่นจารึกท�าด้วยแผ่นเงินและแผ่นทองค�าที่พบตกหล่นอยู่ฐานเจดีย์โบราณของ วัดบูรณ์ ึ่งตั้งอยู่หน้าอุโบสถจารึกประวัติสั้นๆ ข้อความจารึกนี้เดิมเป็นภาษาโบราณ ทางวัดได้ ติดต่อให้ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาศาสตร์ของกรมศิลปากรอ่าน และถ่ายทอดบทความได้ดังนี้ จ�าเดิมแต่ปางก่อนมาด่านชวนทรงพระกรุณาโปรดให้พระฤทธิ ชัยในเมืองด่านชวน ยกขึ้น เป็นเมืองอ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์แต่ ณ ปีกุน ปัพตา ครั้นอยู่มาถึง ณ วัน 5ฯ4 (13) ปีมะเมีย วกคุนอุตะมะกับพระฤทธิ ชัย เจ้าเมืองแลทายกทั้งปวง ได้สร้างโบสถ์ฝังลูกนิมิตพัทธเสมาไว้ ในพระพุทธศาสนาวัดปะโค

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 178

17/5/2562 14:59:40


ครั้นอยู่ต่อมาพุทธศักราชล่วงไปได้ 23 2 พระวะษา กากระสัง วั ด รจุ ล ศั ก ราช 1201 คนอุ ป ะทหกั ณ หากั บ หลวงยกบั ต รทายก เมืองบ�าเหน็จณรงค์ มีน้�าใจเลื่อมใสศรัทธาก่อสร้างพระประธานไว้ใน พระเจดีย์ศิลาไว้ในวัดปะโค เมืองบ�าเหน็จณรงค์ ในพระพุทธศาสนา ขอให้ได้แก่พระนิพพาน ณ ปัตจะโยโหตุ จากข้อความตามจารึกนีป้ ระกอบกับการสืบค้นประวัตทิ างอืน่ ๆ อีก จึงทราบว่าสถานที่ที่พระฤทธิ ชัยเจ้าเมืองบ�าเหน็จณรงค์ สร้างโบสถ์ ที่วัดบูรณ์นี้ เดิมเป็นปรางค์เก่าและช�ารุดทรุดโทรมปรักหักพัง ึ่งยังมี ก้อนหินศิลาแลงและหินทรายแกะสลักเป็นเสาหน้าบันอยู่มาก ดังนั้น พระฤทธิ ชัย จึงได้สร้างโบสถ์ตรงนี้ โดยใช้ศิลาแลงที่มีอยู่เรียง ้อน เป็นฐานโบสถ์ขึ้นมา ส่วนเสาโบสถ์ใช้เสาไม้จริง ฝาใช้ไม้รวกขัดแตะ หลังคามุงด้วยใบตองตรึง ครัน้ อยูต่ อ่ มาก็ชา� รุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา เจ้าอาวาสวัดพร้อมทายกและชาวบ้านในสมัยหลังๆ ได้ปรับปรุง อ่ มแ ม โดยมุงหลังคาด้วยสังกะสีและตีฝากระดานจนแข็งแรงสมบูรณ์

บร

ในบริเวณวัดบูรณ์แห่งนี้มีโบราณวัตถุที่ส�าคัญ ที่กรมศิลปากรได้ ส�ารวจและขึ้นทะเบียนไว้ และได้ออกประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 ตอนที่ 24 ลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2479 หมายเลข 6 มีดังนี้ เจดีย์ 1 องค์ ก่อด้วยอิฐ ฐานรองกว้าง 9 ศอกสี่เหลี่ยม องค์เจดีย์ กว้าง 1 วา ส่ีเหลี่ยม สูง 12 ศอก ยอดหัก สิงโตหิน 1 ตัว ยืนอยู่บน แท่นหินกว้าง 14 นิว้ สีเ่ หลีย่ มสูง 5 นิว้ ครึง่ พระพุทธรูปโบราณ 1 องค์ หน้าตักกว้าง 1.64 เมตร สูง 2.61 เมตร เป็นพระพุทธรูปปูนปัน ประดิษฐานอยู่บนแท่นในโบสถ์ นับเป็นพระพุทธรูปโบราณที่ใหญ่ที่สุด ในอ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ เป็นทีเ่ คารพสักการบูชาของประชาชนโดยทัว่ ไป กับทัง้ เป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของประชาชนด้วย พระพุทธรูปโบราณองค์นี้ ประชาชนโดยทั่วไปรู้จักท่านในนาม “หลวงพ่อ ” เมื่อพระฤทธิ ชัยปกครองเมืองบ�าเหน็จณรงค์มาถึงปี พ.ศ. 2377 ได้ เ กิ ด มี จิ ต ศรั ท ธาคิ ด อุ ป ถั ม ภ์ พ ระพุ ท ธศาสนาได้ พิ จ ารณาเห็ นว่ า วัดปะโคเป็นวัดเก่าแก่โบราณของบ้านเมือง เป็นที่บ�าเพ็ญกุศลทั้งของ ขุนนางข้าราชการและอาณาประชาชนทั่วไป และในโอกาสประกอบพิธี ถือน้�าพิพัฒน์สัตยาก็ได้อาศัยความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อพระประธาน ในวัดนี้เป็นสักขีพยานสัตยานุสัตย์มาทุกปี

ประ ั เ

พระครพนจสม วั ร พระ พม ายา วายาโม วิทยฐานะ น.ธ.เอก สถานะเดิมชือ่ เพิม่ นามสกุล ค�าสิงห์นอก เกิดเมือ่ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2497 ต�าบลตลาดไทย อ�าเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา บรรพชา และอุปสมบท เมือ่ อายุ 21 ปี วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2517 วัดสระจันทร์ ต�าบลทองหลวง อ�าเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ พระอุปัช าย์ พระครู ศีลวัตรวิมลู พระกรรมวาจาจารย์ พระสมหัต โกวิโท พระอนุสาวนาจารย์ พระบัณ ิต ปณ ิโต วิทยฐานะ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูพินิจ สมณวัตร เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 252 และได้รับการเลื่อนชั้น พระสังฆาธิการ พระครูเจ้าคณะอ�าเภอ ชั้นโท เป็นชั้นเอก เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2553 CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 179

179

18/5/2562 17:04:28


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

วัดเพชรภูมิสุวรร วราราม ส�านั าสน า น รรม ล ูนย ร ท าสนาวันอาทิตย ระครู ั นวัชรภูม รองเ ้าค ะอาเภอ าเหน ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

รงค

วัด พชร มสวรร วราราม เดิมชื่อว่า วัด ะบอง พชร ตั้งอยู่เลขที่ 35 หมู่ที่ 17 ต�าบลบ้านเพชร อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปี พ.ศ. 243 ได้รับประกาศตั้งวัดจาก กรมศาสนา มีที่ดินที่ตั้งวัดเนื้อที่ 13 ไร่-งาน 13 ตารางวา มีที่ดิน ธรณีสงฆ์ 2 แปลง พืน้ ทีต่ งั้ วัดเป็นทีร่ าบ มีหมูบ่ า้ นล้อมรอบ ทิศตะวันตก ติดถนนรุ่งเรืองศรี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2496

ท�าเนียบเจ้าอาวาส

1.หลวงพ่อผึง่ (มรณภาพ) 2.หลวงพ่อพระครูพนิ จิ สมณวัตร (มรณภาพ) 3.พระอาจารย์ปัทต์ 4.พระอาจารย์ยงค์ 5.พระครูพิศิษฏ์ภัทรธรรม (แย้ม ญาณมุณี มรณภาพ) 6.พระอาจารย์สมาน 7.พระครูพพิ ฒ ั น์วชั รภูมิ รองเจ้าคณะอ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ และด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั 180

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 180

18/5/2562 14:59:00


ร วัติเจ้าอาวาส ดยสังเข

พระครพพั น์วัชร ม เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2496 ที่ บ ้ า นเพชร บ้ า นเลขที่ 375 หมู ่ ที่ 1 ต� า บลบ้ า นเพชร อ� า เภอ บ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ คุณโยมของพระคุณเจ้า (พ่อ) ชื่อ นาย ัง แจ่ม พง มารดา (แม่) ชื่อ นางสาล แจ่ม พง อุปสมบท เมื่อวันที่ 15 มี น าคม พ.ศ. 251 ที่วัดเพชรภูมิสุว รรณวราราม จังหวัด ชัยภูมิ การศึกษา สายสามัญ มัธยมศึกษาปีที่ 6 สายนักธรรม น.ธ.เอก เปรียญธรรม ป.1-2 โรงเรียนปริยตั วิ ดั กาญจนสิงหาสน์วรวิหาร และ ได้รบั พระราชทาน สมณศักดิ์ชั้นพระครูพิพัฒน์วัชรภูมิ พ.ศ. 2536 าแหน่ง างการ กครอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดเพชร ภูมิสุวรรณวราราม พ.ศ. 2531 เป็นพระครูสัญญาบัตรทินนาม พระครู พิพัฒน์วัชรภูมิ พ.ศ. 2536 เป็นเจ้าคณะต�าบลบ้านชวน พ.ศ. 2541 เป็นพระอุปชั าย์ พ.ศ. 2542 เป็นครูสอนพระปริยตั ธิ รรม วัดเพชรภูมิ สุวรรณ พ.ศ. 2547 พระครูพพิ ฒ ั น์วชั รภูมิ เป็นพระนักพัฒนา ท่านสร้าง มุ้ ประตูเข้าวัด ด้านตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2545 สร้างฝังสระด้วยคอนกรีต เพื่อกันดิน พัง เพื่อความสวยงามสร้างเป็นขั้นบันได ด้านใต้ฝังก็ปลูกต้นไม้ประดับ หลายชนิด ในสระน�้าก็เอาปลาปล่อยเลี้ยงไว้เป็นเขตอภัยทาน ผู้ใดผ่าน ไปอยากรูอ้ ยากเห็นก็แวะเข้าชมได้ พระคุณเจ้าน�าญาติโยมสร้างมณ ป ขึ้นอยู่กลางสระน�้า 1 หลัง ส�าหรับเป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ของสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า มีศาลารายอยูร่ อบ 4 หลัง สวยงามมาก รอยพระพุทธบาทจ�าลองนี้ พระอาจารย์ อง นาคนล ท่านเป็นพระ

คู่สวดของหลวงพ่ออุปัช าย์ผึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2473 ท่านไปบูชามาจาก กรุงเทพฯ ได้เปดงาน ลองสมโภชปดทองเป็นประจ�า คือ ขึน้ 13 ค�า่ 14 ค�่า 15 ค�่า เดือน 3 ทุกๆ ปี บางทีก็เปดวันขึ้น 11-12-13-14-15 ค�่า เดือน 3 มีคนไปท�าบุญปดทองมากที่สุด พระครูพิพัฒน์วัชรภูมิ เป็นพระผู้ถือขันติมีวิริยะ เป็นผู้น�าพระลูก สงฆ์ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ึ่งพระลูกสงฆ์ก็ปฏิบัติตามด้วยความเคารพ เพราะท่านเป็นแบบอย่างที่ดี เวลากาลเข้าพรรษาพระคุณท่านชักชวน ญาติโยมไปรักษาศีล ค�่า 15 ค�่า ทุกๆ เดือน ได้น�าอุบาสก อุบาสิกา ท�าวัตรเช้า-เย็น ในเวลาเช้าท่านก็ไปให้ศลี อุโบสถ เทศสัง่ สอนให้ปฏิบตั ดิ ี ปฏิบัติชอบ หากวันใดท่านไม่ได้ไปก็ให้พระลูกสงฆ์ลงไปแทน เวลาเย็น เวลาค�่าท่านก็น�าพระ อุบาสก อุบาสิกา ทุกคนท�าวัตรเย็นแล้วก็น�านั่ง สมาธิต่อ เวลาบ่ายอากาศเย็นลง ท่านก็น�าเดินจงกรมรอบสระน�้าหรือ รอบมณ ป ฯลฯ ส�าหรับมณ ปสร้างในปี พ.ศ. 2537 ปัจจุบันก�าลังจะสร้างกุฎิสงฆ์ หลังใหม่แทนหลังเก่าที่ช�ารุดทรุดโทรม

อาคารเสนาสน

1.อุโบสถ กว้าง 6.60 เมตร ยาว 19.60 เมตร 2.กุฏไิ ม้หลังใหญ่ 2 ชัน้ ชัน้ บนเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของพระภิกษุสามเณร ชัน้ ล่างเป็นทีท่ า� บุญตักบาตร ของประชาชนในวันพระและตามเทศกาลต่างๆ 3.ศาลาการเปรียญ 1 หลัง 4.ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง 5. มณ ปกลางสระน�้า 1 หลัง

สั ารบูชา ร บรมสารีริ าต ล ร ท บาทจ�าลอง

ภายในมณ ปเป็นทีป่ ระดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�าลอง พระพุทธรูป บูชาทีน่ า� มาคูร่ อยพระพุทธบาทจ�าลอง พระบรมสารีรกิ ธาตุ ในปี พ.ศ. 2471 และได้กา� หนดจัดงาน ลองรอยพระพุทธบาทจ�าลองเป็นเวลา 3 วัน 3 คืน ในช่วงระหว่างกลางเดือน 3 ของทุกๆ ปี เปดให้ประชาชนท�าบุญกราบไหว้ ปดทองรอยพระพุทธบาทจ�าลอง ปดทององค์พระพุทธรูปบูชา และ สักการะพระบรมสารีริกธาตุได้ทุกวัน ปัจจุบัน วัดเพชรภูมิสุวรรณวราราม เป็นส�านักศาสนศึกษาแผนก ธรรม และศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 181

181

17/5/2562 10:21:01


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด างอา ันธ ระครูปรยัตช ยดม ั

ภ ั

ตั้งอยู่เลขที่ 29 หมู่ 1 บ้านหัวบึง ต�าบลบ้านตาล อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย

182

สร้างเมื่อ พ.ศ. 2455 ผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันบริจาค รวมเป็นเนื้อที่ ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา ผู้น�าในการก่อสร้างวัด คือ นายเนียม ศรแก้ว นายดี มั่งมณี นายสีเหล็กจีน นายเจก เหล็กจีน ที่ปลูกสร้างวัดนี้เป็นที่ดินของ นายดี มั่งมณี นายไม้ มั่งมณี ได้ร่วมกัน บริจาค รวมเป็นเนื้อที่ ไร่ 2 งาน 60 ตารางวา

ป นย

น ะป นย ั ท

ั นั

พระพุทธสุวรรณรังสี(หลวงพ่อทอง) เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�าวัดบางอ�าพันธ์ สร้างเมือ่ พ.ศ. 24 0 ประดิษฐานอยูใ่ นอุโบสถหลังเก่า รอยพระพุทธบาทจ�าลอง ประดิษฐานอยู่ ณ มณ ปกลางน�้ า สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2500 มี ก ารจั ด งานประจ� า ปี ป ดทองนมั ส การรอย พระพุทธบาทจ�าลองในเดือนของทุกปี(บุญเดือนสาม) พระพุทธชินราชจ�าลอง สร้างเมือ่ พ.ศ. 2530 ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ พระบรมสารีริกธาตุ ประดิษฐานอยู่ ณ มณ ปกลางน�้า ได้รับ ประทานจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก เมื่อวันที่ 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2554 พระสีวลีมหาลาภ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2555 หลวงปูท่ วดเหยียบน�า้ ทะเลจืด (หินทราย) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 หลวงปู่โต พรหมรังสี(หินทราย) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 ประดิษฐานอยูใ่ นวิหารหลวงปูโ่ ต หลวงปูท่ วดเหยียบน�า้ ทะเลจืด(ทองเหลือง) สร้างเมือ่ พ.ศ. 2555 ประดิษฐานอยูใ่ นอุโบสถหลังเก่าพระพุทธนาคราชาภิบาล สร้างเมือ่ พ.ศ. 2555 พระเทพวิทยาคม หลวงพ่อคูณ พ.ศ. 2562 และ พระอุปคุต สร้างเมื่อ พ.ศ. 2562

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 182

. - 16/05/2562 17:16:52 PM


ประ ั เ

รปป บัน

พระครูปริยัติชโยดม(ไขยา) ายา ปยชโย นามสกุล หมั่นบรรจง วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.4 ปร.ด. เกิดวันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 อายุ 50 พรรษา 29 อุปสมบท เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ณ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ ถนนมหาราช แขวงมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โดยมี พระสุเมธาธิบดี เป็นพระอุปชั าย์ พระสุ วิ ม ลธรรมาจารย์ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ พระครู ป ลั ด สุวัฒนสัทธาคุณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์

น นก รปก ร

ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด บางอ� า พั น ธ์ ได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เมื่ อ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2545 ด�ารงต�าแหน่ง รองเจ้าคณะอ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ ได้รับการแต่งตั้ง เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559

น นก รเ ย

ระ ท ศ น

พระวิปัสสนาจารย์ ผ่านการอบรมเมื่อ พ.ศ. 2561 จากโครงการ ทุนเล่าเรียนหลวงส�าหรับพระสงฆ์ไทย พระบัณ ิตเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้รับการแต่งตั้งเมื่อ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2554 กรรมการพระเผยแผ่พระพุทธศาสนาจังหวัด

ได้รับการแต่งตั้งเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เจ้าส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัด ได้รับการแต่งตั้งเมื่อ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2561

น นก รศึก

พระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ได้รับการแต่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2549 พระปริยตั นิ เิ ทศ ได้รบั การแต่งตัง้ เมือ่ วันที่ 19 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560

ระ รปรยั

ไ ั น ั บ

ัน ึ เปน ั เ ก

โดยได้ยกระดับให้เป็นวัดที่มีชื่อเสียงในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. พ.ศ. 2545 เป็นศูนย์วฒ ั นธรรมไทยสายใยชุมชน ต�าบลบ้านตาล 2. พ.ศ. 254 เป็นศูนย์เสมาส่งเสริมศีลธรรม กระทรวงศึกษาธิการ 3. พ.ศ. 2549 เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 4. พ.ศ. 2550 เป็นส�านักศาสนศึกษาแผนกธรรม - บาลี 5. พ.ศ. 2553 เป็นศูนย์ ชุมชน บ้านหัวบึง 6. พ.ศ. 2555 เป็นอุทยานกาศึกษาในวัด สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ 7. พ.ศ. 2557 เป็นศูนย์วัฒนธรรมเ ลิมราช . พ.ศ. 2559 เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ 9. พ.ศ. 2561 เป็นชุมชนคุณธรรมน้อมน�าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10. พ.ศ. 2561 เป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 51 CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 183

183

. - 16/05/2562 17:17:01 PM


WAT BANG AMPHAN PHRA KHRU PARIYATCHAYODOM

BAMNET NARONG DISTRICT VICE MONK DEAN AND ABBOT OF WAT BANG AMPHAN

.

. .

.

. .2455 . 3.2

) 50

184

29

.

( . .2545

.

.1

.

. .2545 -

. . .

1 040

. .254 . .2549 -

. .2550 . .2553 . .2555

. .2557 -

. .2559 ( . .2562).

. .2561 -

.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 184

. - 16/05/2562 17:17:02 PM


(

) . .24 0

. (

) . .2500. -

( )

. . .2530 .

5 . .2554. . .2555. ( . .2555.

) ( . .2555 .

) (

)

. .2555

. . .2555. . .2562.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 185

185

. - 16/05/2562 17:17:16 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด งชวน

เ ้าอธ ารอนุชา อคคธม ม

บันทึกประ ั

วัดบึงชวน ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านชวน หมู่ที่ 1 ถนนรุ่งเรืองศรี ต�าบลบ้านชวน อ� า เภอบ� า เหน็ จ ณรงค์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย วั ด ราษฎร์ ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด เมื่อปี พ.ศ. 2339 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ปี พ.ศ.250

186

.indd 186

รต ธมมรต ชนาต

มยิ

มย มช

มยิ

เปน

เดิมชื่อ วัดเมืองชวน หรือ วัดบ้านชวน และต่อมาสันนิษฐานว่าได้เปลี่ยนชื่อวัดเมื่อทางการ คณะสงฆ์ส�ารวจ เพื่อขึ้นทะเบียนวัด ปี พ.ศ. 24 4 ได้เปลี่ยนชื่อเป็นวัดบึงชวน ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมา วัด บึงชวนได้ก่อสร้างเมื่อราว พ.ศ. 2339 สันนิษฐานว่าวัดบึงชวนได้สร้าง สมัยพระฤทธิฤาชัย เป็นเจ้าเมืองบ�าเหน็จณรงค์

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:23:05 PM


ตามประวัติเล่าว่า พระฤทธิฤาชัย นามเดิมว่า ขุนพล มีต�าแหน่ง เป็นนายด่านบ้านชวน ขึ้นตรงต่อจังหวัดนครราชสีมา ในปี พ.ศ.2369 เจ้าอนุวงศ์คดิ กบฏ ถือโอกาสทีเ่ จ้าเมืองนครราชสีมายกก�าลังไปปราบปราม เหตุการณ์ความไม่สงบที่เมืองขุขันธ์ ยกทัพมากวาดต้อน คุณหญิงโม และครัวไทย เดินทางไปเวียงจันทน์ ขุนพลนายด่านบ้านชวนทราบข่าว เร่งยกก�าลังไปสมทบเพือ่ ปราบกบฏ ได้ชว่ ยเหลือคุณหญิงโมและครัวไทย ต่อสูก้ บั ทหารลาวทีค่ วบคุมจนได้ชยั ชนะ และพาครัวไทยทัง้ หมดไปตัง้ มัน่ รวมกันอยู่ที่บ้านส�าริด แขวงเมืองพิมาย เจ้าอนุวงศ์จัดทหารหนึ่งพัน มารบก็ถูกครัวไทยตีแตกไป ครั้งที่สองเจ้าสุทธิสาร เป็นแม่ทัพมาเอง กองทัพลาว ถูกพระยาปลัดทองค�า สามีคณ ุ หญิงโม และขุนพลกับครัวไทย ตีแตกอีกครัง้ หนึง่ ขณะทีพ่ ระยาปลัดทองค�าวางแผนกับขุนพลกองทัพใหญ่ จากกรุงเทพฯ ก็เดินทางมาถึงพอดี พวกลาวจึงหนีไปหมดสิ้น ความดี ความชอบครั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3

พระราชทานบ� า เหน็ จ ความชอบ ให้ ขุ น พลนายด่ า นบ้ า นชวนเป็ น พระฤทธิ ฤ าชั ย และให้ ย กฐานนะด่ า นบ้ า นชวนขึ้ น เป็ น เมื อ ง บ� า เหน็ จ ณรงค์ โดยให้ พ ระฤทธิ ฤ าชั ย ด� า รงต� า แหน่ ง เจ้ า เมื อ ง บ�าเหน็จณรงค์ สืบไป ปัจจุบัน อนุสาวรีย์พระฤทธิฤาชัย ตั้งอยู่ที่ ต�าบลบ้านชวน อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ต่อมาพบหลักฐานที่ได้จากใบสีมาใหญ่ขนาด 1.5 เมตร กว้าง 60 เ นติเมตร เก่าแก่มาจากโบสถ์หลังเก่า ได้เขียนประวัติย่อๆ ว่า พระฤทธิฤาชัยเจ้าเมืองและทายกทายิกาบ้านชวนได้สร้างโบสถ์ฝัง ลูกนิมติ ผูกพัทธสีมา เมือ่ วัน 5 (ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ 3) ึ่ ง เดิ ม วั ด บึ ง ชวนได้ ตั้ ง อยู ่ ท่ี ว ่ า การอ� า เภอ บ�าเหน็จณรงค์ และได้ย้ายมาตั้งใหม่ ึ่งเป็นที่ตั้งของวัดปัจจุบันเมื่อใด ไม่ปรากฏหลักฐาน I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 187

187

. - 16/05/2562 18:23:22 PM


ท เนยบเ

1. พระอาจารย์ด�า 2. พระอาจารย์ยอด 3. พระอาจารย์สุข 4. พระอาจารย์ยัง 5. พระอาจารย์มา 6. พระอาจารย์เปรม 7. พระอาจารย์ข�า . พระอาจารย์โ ม 9. พระอาจารย์ดี 10. พระอาจารย์หลี่ 11. พระอาจารย์อยู่ 12. พระครูมนูญชยกิจ(อ่วม) 13. พระครูปราโมทย์สีลคุณ(โหมด) 14. เจ้าอธิการอนุชา อคคธมโม

188

.indd 188

พ.ศ. 2426 - พ.ศ. 2441 พ.ศ. 2443 - พ.ศ. 2471 พ.ศ. 2471 - พ.ศ. 24 3 พ.ศ. 24 6 - พ.ศ. 2503 พ.ศ. 250 - พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2551 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:23:30 PM


ประ ั เ

เจ้าอธิการอนุชา ายา อคคธมโม อายุ 57 ปี พรรษา 1 เดิม ชื่อ นายอนุชา นามสกุล พลีพรม ส�าเร็จการศึกษาปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ ส�าเร็จ การศึกษานักธรรมชั้นเอก ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสและเจ้าคณะต�าบล บ้านชวน เขต 2 โทรศัพท์ 0 -11 6-9537

ศ น

น ยน ั

พระพุทธรูป หลวงพ่อใหญ่ งึ่ เป็นพระประธานภายในโบสถ์หลังแรก มณ ป ทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ 1 หลัง อาคารเรียนโรงเรียน พระปริยัติธรรม ส�านักเรียนธรรม-บาลี โรงครัว าปนสถาน และ ห้องสุขา

ก กรร ท ั ั เปนประ ทกป

สรงน�า้ พระ ท�าบุญอุทศิ แด่บรู พาจารย์ จัดระหว่างวันที่ 13-15 เมษายน ของทุ ก ปี ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของวั ด ประมาณ 1 000 คน ได้ แ ก่ เทศบาล ชุมชนต่างๆ ภายในเขตเทศบาล ออกพรรษา-ลอยกระทง เดือน11 จัดระหว่างวันขึน้ 15 ค�า่ เดือน 11 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมของวัดประมาณ 1 000 คน ได้แก่ ส่วนราชการ ทุกภาคส่วน และประชาชนทั่วไป บุญประเพณี เจดีย์ข้าวเปลือก จัดระหว่างวันขึ้น 15 ค�่าเดือน 3 วั น มาฆบู ช า ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมของวั ด ประมาณ 500 คน ได้ แ ก่ ส่วนราชการทุกภาคส่วน และประชาชนทั่วไป

I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 189

189

. - 16/05/2562 18:23:37 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดหนองประดู่ เ ้าอธ าร ุ ธรรม เ ้าค ะตา ลหัว ะเล เ ้าอาวาสวัดหนองประดู่ ั น ประ ั ยทบ น น ประ เ บ เ น ร ั ั ัย ั กั ท น ั ั เน ท ไร น ร

190

ท ะ

บ ั ทะเ นก ย

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 190

. - 16/05/2562 19:32:41 PM


น เ ร

น ป บั รร รัก ศ

เปนน

วัดหนองประดู่ ตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2524 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 252 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 13 เมตร

ทิ ศ เหนื อ จดที่น ายปุ ก ไชยทิพ ย์ ทิศ ใต้ จดที่นายหมึก แสงสุวรรณ ทิศตะวันออก จดทางหลวง ทิศตะวันตก จดโรงเรียนหนองประดู่

รเ น นะประก บ ย อุ โ บสถ กว้ า ง 5.2 เมตร ยาว 6.5 เมตร สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 252 เป็ น อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2516 เป็นอาคารไม้ กุฏิสงฆ์ 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นอาคารไม้ ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 24 เมตร ยาว 42 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2540 เป็นอาคารคอนกรีต ุ้มประตู สร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 ศาลาธรรมสังเวชและเมรุ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2561

ก กรร ัน ระ ัน รร นะ วัดหนองประดู่ ตั้งอยู่ ต�าบลหัวทะเล อ� า เภอบ� า เหน็ จ ณรงค์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ จัดสวดมนต์เจริญจิตตภาวนา ปฏิบัติธรรม รักษาศีล 5 โดยเจ้าอธิการบุญธรรม เขมรโต ร่วมกับพุทธศาสนิกชน เด็ก และเยาวชน เป็นประจ�าทุกวันและในวันพระ วันธรรมสวนะ ก รบร ร ะก รปก ร เ เท ททร บน 1. พระปัน ภูมสิ มบัติ 2. พระครูโพธิกติ ติวมิ ล 3. พระครูมนูญสังฆกิจ 4. เจ้าอธิการบุญธรรม เขมรโต พ.ศ. 2554 - จนปัจจุบนั

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 191

191

. - 16/05/2562 19:32:49 PM


ประ ั เ

เจ้ า อธิ ก ารบุ ญ ธรรม ายา เขมรโต อายุ 45 พรรษา 23 วิทยฐานะ ป.ธ.1-2 น.ธ.เอก พธ.บ. พธ.ม. วัดหนองประดู่ ต�าบลหัวทะเล อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ

ป บัน ด�ารงต�าแหน่ง 1. เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองประดู่ 2. เจ้าคณะต�าบลหัวทะเล นะเ ชื่อ นายบุญธรรม นามสกุล นาคหฤทัย เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2517 บิดาชือ่ นายอรุณ มารดาชือ่ นางสมใจ บ้านเลขที่ 35 หมูท่ ี่ 9 ต�าบลหนองกระทุ่ม อ�าเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา บรร วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2539 วัดต่างตา ต�าบลหนองจะบก อ� า เภอเมื อ งนครราชสี ม า จั ง หวั ด นครราชสี ม า พระอุ ป ั ช าย์ พระครูพินิตศุภการ วัดโคกไผ่(เว ุนาราม) ต�าบลหมื่นไวย อ�าเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ป บท วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2539 วัดต่างตา ต�าบลหนองจะบก อ� า เภอเมื อ งนครราชสี ม า จั ง หวั ด นครราชสี ม า พระอุ ป ั ช าย์ พระครูพินิตศุภการ วัดโคกไผ่(เว ุนาราม) ต�าบลหมื่นไวย อ�าเภอเมือง นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา พระกรรมวาจาจารย์ พระธงชัย วั ด โคกไผ่ ( เว ุ น าราม) ต� า บลหมื่ น ไวย อ� า เภอเมื อ งนครราชสี ม า จังหวัดนครราชสีมา พระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการประเสริฐ คเวสโก วัดต่างตา ต�าบลหนองจะบก อ�าเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ทย นะ พ.ศ. 2541 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�านักเรียนคณะจังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2550 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรบัณ ิต (พธ.บ.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา ต�าบลหัวทะเล อ�าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2553 สอบได้ ป.ธ.1-2 ส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2560 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณ ติ (พธ.ม.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา ต�าบลหัวทะเล อ�าเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ก รศึก

เศ สามารถพิมพ์คอมพิวเตอร์ได้ น ก ร ช�านาญด้านนวกรรมการก่อสร้าง

น นก รปก ร พ.ศ. 2554 เป็นรักษาการเจ้าอาวาสวัดหนองประดู่ พ.ศ. 2555 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองประดู่ พ.ศ. 2557 เป็นรองเจ้าคณะต�าบลหัวทะเล พ.ศ. 2560 เป็นเจ้าคณะต�าบลหัวทะเล SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 192

. - 16/05/2562 19:32:52 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดหนอง ั แว่น (วัดประชาสรรค)

ระครูนว สต ธรรม ( องสุข สต ) ั

วัดหนองผักแว่น วัด ระชาสรรค์ ตัง้ อยูท่ หี่ มู่ 10 ต�าบลบ้านเพชร อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สร้างเมื่อพ.ศ. 2521 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2539 โดยมีหนังสืออนุญาตให้สร้างวัดจาก กรมการศาสนาด้วยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการและมหาเถรสมาคมอนุญาตให้ นายธวัช อือ้ ไพโรจน์ถาวร อยูบ่ า้ นเลขที่ 152 หมูท่ ี่ 10 ต�าบลบ้านเพชร อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ สร้าง วัดขึน้ ทีบ่ า้ นหนองผักแว่น หมูท่ ี่ 10 ต�าบลบ้านเพชร อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ภายในก�าหนด ตั้งแต่วันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2521 ถึงวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2526 วิสุงคามสีมาคือ เขตที่พระราชทานแก่สงฆ์เพื่อใช้เป็นที่สร้างพระอุโบสถ (พจนานุกรม บับ ราชบัณ ิตยสถาน พ.ศ.2554)

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 193

193

16/5/2562 19:30:40


ประ ั เ พระครูนวิ ฐิ โสตถิธรรม(ทองสุข) ายา โสตถิโก อายุ 0 พรรษา 5 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดหนองผักแว่น ต�าบลบ้านเพชร อ�าเภอบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะต�าบลบ้านเพชรเขต 1 แต่งตั้ง ณ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

194

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 194

16/5/2562 19:30:48


ก รบรร

ะ ป บทบรร

เศ

อานิสงส์ของการบรรพชาและอุปสมบทนั้นบุคคลที่จะพึ่งได้ต้อง โมทนาก่อน หมายความว่า ถ้าบุตรธิดาของตนบ�าเพ็ญกุศล บิดามารดา ไม่โมทนาย่อมไม่ได้ แต่ว่าการอุปสมบทบรรพชานี้ องค์สมเด็จพระ ทรงธรรม์บรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้วา่ สมมุตวิ า่ บุตรชาย ของท่านผูใ้ ดออกจากครรภ์มารดาวันนัน้ บิดามารดาก็จากกัน ลูกกับพ่อ ลูกกับแม่ยอ่ มไม่รจู้ กั กัน เวลาทีบ่ รรพชานัน้ บิดามารดาก็ไม่ทราบ แต่ทว่า ถึงอย่างก็ดี องค์สมเด็จพระชินศรีตรัสว่า บิดามารดาย่อมได้อานิสงส์ โดยสมบูรณ์ นีเ่ ป็นอันว่า อานิสงส์แห่งการการอุปสมบทบรรพชานีแ้ ปลก จากบุญกุศลอย่างอื่น ด้วยบุญอย่างอื่นลูกท�าไปแล้ว พ่อแม่ไม่โมทนา ย่อมไม่ได้อานิสงส์นั้น แต่ว่าการอุปสมบทและบรรพชา บิดามารดา ึ่ง คลอดบุตรมาแล้ว ต่างคนต่างจากกันไป พ่อแม่ไม่ทราบว่าบุตรมีรูปร่าง หน้าตาเป็นประการใด เพราะจากกันไปตั้งแต่คลอดใหม่ๆ ส�าหรับ ลูกชายก็ไม่ทราบเหมือนกันว่า บิดามารดาเป็นใคร แต่ว่าอุปสมบท บรรพชาเมือ่ ไร บิดามารดาย่อมได้อานิสงส์สมบูรณ์ เหตุนกี้ ารอุปสมบท บรรพชาจึงจัดว่า เป็นกุศลพิเศษ ที่องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ทรง บัญญัติไว้ ค�าว่า บรรพชา นี้หมายความว่า บวชเป็นเณร ค�าว่า อุปสมบท นี้หมายความว่า บวชเป็นพระ ส�าหรับท่านที่บรรพชาในพุทธศาสนาเป็นสามเณร องค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสว่า ท่านผูบ้ รรพชาเองคือเณร ถ้าประพฤติปฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ ตามระบอบพระธรรมวินยั ส�าหรับเณรผูน้ นั้ ย่อมมีอานิสงส์ คือ ถ้าตายจากความเป็นคน ถ้าจิตของตนมีกุศลธรรมดา ไม่สามารถ จะทรงจิตเป็น าน องค์สมเด็จพระพิชิตมารตรัสว่า ท่านผู้นั้นจะเสวย ความสุขบนสวรรค์ ได้ถึง 30 กัป เลยทีเดียว ค�าว่า “กั หนง” นั้น มีปริมาณนับปีไม่ได้ องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงเปรียบเทียบไว้อย่างนีว้ า่ มีภเู ขาลูกหนึง่ เป็นหินล้วนไม่มี ดินเจือปน ถึงเวลา 100 ปี เทวดาเอาผ้ามีเนื้ออ่อนเหมือนส�าลีมาปัด ยอดเขานั้นครั้งหนึ่ง ท�าอย่างนี้ 100 ปีปัด 1 ครั้ง 100 ปีปัด 1 ครั้ง จนกระทั่งหินนั้นหมดไป หาหินไม่ได้ เหลือแต่ดินล้วน นั่นจึงจะมีอายุ ได้ครบ 1 กัป และอีกประการหนึ่ง ท่านพรรณนาไว้ในคัมภีร์พระวิสุทธิ มรรคว่า มีอปุ มาเหมือนกับว่ามีถงั ใหญ่ลกู หนึง่ มีความสูง 1 โยชน์ กว้าง 1 โยชน์ ยาว 1 โยชน์เหมือนกัน มีคนเอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดมาใส่ใน ถังนั้นจนเต็ม ถึงเวลา 100 ปีก็เอาเมล็ดพันธุ์ผักกาดนั้นออก 1 เมล็ด ท�าอย่างนีจ้ นกว่าเมล็ดพันธุผ์ กั กาดนัน้ จะหมดไป เป็นการเปรียบเทียบกัน ได้กบั ระยะเวลา 1 กัป นีเ่ ป็นอันว่า กัปหนึง่ เราจะนับเวลาประมาณไม่ได้ เช่นกัปหนึง่ เราจะนับเวลาประมาณไม่ได้ (จากหนังสือ พ่อสอนลูก โดย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน ) ดังนั้น การบรรพชาและอุปสมบทจึงมีอานิสงส์มาก

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 195

195

18/5/2562 15:12:44


วัด บบอย่าง น ารบริหาร ท ส าน ส�าหรับ ารเจริ วิ สสนา รรม าน

วัดบาน นนม่วง

ระครูอนุรั ชัยคุ (วันชัย ร ข ต) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส และเ ้าค ะอาเภอหนอง ัวระเหว

196

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 196

17/5/2562 10:45:12


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 197

197

17/5/2562 10:45:13


วัดบ้านโนนม่วง ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ ต�าบลวังตะเฆ่ อ�าเภอ หนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีต่ งั้ วัด ติดเขตปฏิรปู ทีด่ นิ ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัดได้รบั อนุญาตจาก (ส.ป.ก.) จ�านวน 15 ไร่ และมีที่ดินที่ผู้มีจิตศรัทธาถวายอีกประมาณ 30 ไร่ ติดเขตป่าชุมชนเขาวง ถนนสายชัยภูมิ-นครสวรรค์ ก.ม. ที่ แยกเข้าอุทยานแห่งชาติไทรทอง 1 กิโลเมตร เป็นที่ตั้งวัดห่าง จากน�้าตกไทรทอง กิโลเมตร

ร วัติของวัดบ้าน นนม่วง

วั ด บ้ า นโนนม่ ว ง เป็ นวั ด ที่ ส ร้ า งมานานและได้ เ ป็ นวั ด ที่ ข้ึ น ทะเบียนให้เป็นวัดเรียบร้อยแล้ว แต่ขาดการบ�ารุงรักษามานาน จนทรุ ด โทรม เมื่ อ ปี พ.ศ. 2552 พระครอนรั ก ์ ชั ย ค (วันชัย รก ) ได้เข้ามาพัฒนาวางแบบแปลน แผนผังใหม่ ทั้งหมด เรียกว่าเป็นการดีท็อกวัดทั้งหมดให้เสนาสนะเป็น สัดส่วนอย่างชัดเจนตามพระธรรมวินยั เป็นการเกือ้ กูลให้ พระเณรได้ประกอบพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาและมีพนื้ ที่ กุฏใิ นการภาวนาอย่างเหมาะสม และเพือ่ ให้พทุ ธบริษทั มาวัด ปฏิบตั ธิ รรมด�าเนินจิตไปจนกว่าจะสิน้ ทุกข์ในสังสารวัฏ

198

ดยแบ่ง าสนส านออก น ดังน 1.เขตพุทธาวาส สถานที่สร้างอุโบสถ 2.เขตสังฆาวาส สถานที่สร้างกุฏิสงฆ์ 3.เขตสาธารณะ สถานที่สร้างศาลาการเปรียญและเมรุฯ 4.เขตวิปัสสนากรรมฐาน สถานที่เจริญภาวนา กรรมฐาน จากนัน้ ได้ดา� เนินการท�าตามแบบมา ด้วยก�าลังศรัทธาของคณะศรัทธา ญาติโยมเป็นทีเ่ จริญหูเจริญตาแก่ผพู้ บเห็น และผูท้ มี่ าเยือนเป็นแบบอย่าง ในการบริหารพุทธสถานเป็นอย่างดี

อานิสงสของ ารบวชชี ราหม

การบวชชีพราหมณ์ ถือเป็นการบวชชั่วคราวเพื่อสร้างบุญ หรืออุทิศให้ พ่อแม่เจ้ากรรมนายเวร ึ่งนอกจากจะสร้างบุญกุศลที่ยิ่งใหญ่แล้วยัง ได้อานิสงส์มากมายอีกหลายอย่าง ตามคติความเชือ่ เช่น ท�าให้หน้าที่ การงานจะเจริญรุง่ เรือง ได้ลาภ ยศ สรรเสริญตามปรารถนา เจ้ากรรม นายเวรจะอโหสิกรรม หนีก้ รรมในอดีตจะคลีค่ ลาย สุขภาพแข็งแรง สติปัญญาแจ่มใส ปัญหาชีวิตคลี่คลาย และ เป็นปัจจัยสู่ พระนิพพานในภพต่อๆ ไป

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 198

17/5/2562 10:45:17


าสน 1. 2.

า ล หล่งเรียนรู้ภาย นวัด

มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี มีห้องหนังสือธรรมะ

าสนสมบัติ

1. พระธาตุปางจา เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ 2. พระเจ้าเก้าสมุทร์ เป็นพระประธานในอุโบสถ งึ่ สร้างขึน้ ตาม แบบเทพในนิมิต เนื้อนวโลหะ (ทองสัมฤทธิ์) 3. พระพุทธสุวรรณบรรพต(พระแก้ว) สร้างด้วยหินอ่อนสีเขียว จากอินเดีย ที่ลานปฏิบัติธรรม 4. พระพุทธเมตตาภาวนา พระประธานในอาคารวิปัสสนา กรรมฐานจิตตสะอางภาวนา เป็นพระประธานหินหยกสีขาวจากประเทศจีน

ิจ รรมของวัด ล ารท่องเที่ยว

มีการจัดอบรมวิปสั สนากรรมฐานในวันส�าคัญทางพระพุทธศาสนา ทุกวัน และมีการจัดบวชชีพราหมณ์ ปีละ 3 ครั้ง

เจ้าอาวาส ล าร ครองสง

พระครูอนุรักษ์ชัยคุณ (วันชัย รกขิโต) เป็นเจ้าอาวาส และเป็น เจ้าคณะอ�าเภอหนองบัวระเหว อายุ 57 ปี พรรษา 35 วุฒิการศึกษา นักธรรมเอก

งานเ ย ่

พ.ศ. 2561 เป็น เจ้าส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 47

าสนส านภาย นวัด

1. พระธาตุปางจา 1 องค์ 2. อุโบสถ ที่ก�าลังก่อสร้าง 3. กุฏิสงฆ์ 12 หลัง 4. ศาลาการเปรียญ 1 หลัง 5. เมรุ 1 หลัง 6. ห้องน�้าสาธารณะ 1 หลัง 7. โรงครัว 1 หลัง . อาคารวิปัสสนากรรมฐานจิตตสะอางภาวนา 1 หลัง 9. กุฏิกรรมฐาน 10 หลัง 10. ห้องน�้าสาธารณะ 1 หลัง CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 199

199

17/5/2562 10:45:22


WATBANNONMUANG (

)

WatBanNonMuang is located at 66 village no.8, Wang Takhe sub-district, Nong Bua Ra Heo district, Chaiyaphum province. It belongs to Maha Nikaya clergy. This temple was built since long time ago and it is a temple that was already dent due to the lacking of maintenance. In B.E.2552, Phra Khru Anurakchaikhun (Wanchai Rakkito) developed and designed the whole new temple’s plan to the point that buildings in this temple to be in perfect proportion as per Buddhist discipline. The reason why he developed this temple was for the supporting monks and novices on performing Buddhist ceremony, to be proper place for praying. Moreover, it is for every Buddhist who come to this temple can practice dharma and meditate until they have ended their sufferings in this samsara. 200

1. Shrine area – It is an area where ubosot was constructed. 2. Monastery area – It is an area where monk’s houses were built. 3. Public area – An area where sermon hall and crematory were built. 4. Meditation area – The place for practicing dharma and meditating. Then, he has been carried out his plan excellently which that plan was supported by many groups of faithful people

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 200

17/5/2562 10:45:28


and it made this place became successful and pleasant to the eyes of every spectator and visitor which this is a perfect model of Buddhist place-administrating. Phra Khru Anurakchaikhun (Wanchai Rakkito) is an abbot of this temple and monk dean of Non Bua Ra Heo district. He is 57 years old and has been ordained for 35 years. Educational background - Dhamma scholar advanced level. B.E.2561, he was the master of 47th dharma-practicing institute of Chaiyaphum province.

1. Phrapariyattidhamma School, dhamma-bali department. 2. Dhamma study room. 1. Phra That Pang Ja – The place where Buddha’s relics was enshrined. 2. Phra Chao Kao Samut – The principle Buddha image that was enshrined in ubosot which made of bronze as image of god that appeared in an omen. 3. Phra Phuttha Suwan Banphot (Phra Kaew) – This Buddha image was made of green marble from India which 4. Phra Phuttha Metta Pawwana - The principle Buddha image that was placed in meditation building which it was made of white marble from China.

There are meditation-instructing class at this temple on every Buddhist important day and arranging temporary nun ordination 3 times a year. The nun ordination which mentioned above was considered as temporary ordination which is for making merit for oneself or offering this merit to parent and any person with previous deeds on you. Apart from making great merit, people who ordained as a nun will get various results of merit as per belief goes, such as making your career prosperous, gaining fortunate and prestigious life, people will admire you as you wish, any person with previous deeds on you will forgive any misdeed you have done to them in the past life, healthy, brilliant wisdom, any problem in life will be solved and it is one of many factors that lead to nirvana in the next life. CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 201

201

17/5/2562 10:45:36


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ้านหนอง ัวน้อย ระใ ี าเ ร ั

วร ย

วัดบ้านหนองบัวน้อย ตัง้ อยู่ 0 หมูท่ ี่ 4 ต�าบลโสกปลาดุก อ�าเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ มีพนื้ ที่ ไร่เศษๆ ทิศเหนือ ติดทางสาธารณะและหมูบ่ า้ น ทิศตะวันออก ติดทางสาธารณะประโยชน์ ทิศใต้ ติดกับ ล�าห้วยระเหว ทิศตะวันตก ติดทุง่ นา เดิม มีชื่อว่า วัดศรีโพธิ์ทอง ึ่งพระอาจารย์ บุญตา กุสโร เป็นผูก้ อ่ ตัง้ วัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2513 โดยมีชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจช่วยกัน ตัดไม้จากในป่าเพือ่ ท�ากุฏขิ นึ้ เป็นหลักก่อน เพราะในช่วงเวลานั้น บ้านหนองบัวน้อย 202

ส วหาเรน สเ ยย เว ต ม

ย ย

มีต้นไม้ป่าขึ้นมากมาย เมื่อก่อสร้างกุฏิเสร็จพระอาจารย์บุญตา ก็เป็นผู้น�ากับชาวบ้านช่วยกัน ก่อสร้างศาลาการเปรียญขึ้นอีก 1 หลัง เพื่อใช้ประโยชน์ในการประกอบศาสนกิจต่างๆ ในวันส�าคัญทางพุทธศาสนา หลังจากสร้างเสร็จแล้ว พระอาจารย์บุญตาก็ออกเดินทาง ไปจ�าวัดที่อ่ืนต่อไป ต่อมาพระบุญหลาย ได้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการเจ้าอาวาสต่อเป็นเวลา หลายปี แ ละได้ ล าสิ ก ขาไป และพระจั น ทร์ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ รั ก ษาการเจ้ า อาวาสต่ อจาก พระบุ ญ หลายอยู ่ ห ลายปี ก็ ล าสิ ก ขาอี ก ชาวบ้ า นจึ ง ได้ นิ ม นต์ ห ลวงตาเกิ ด มาปกครองวั ด ต่อจากพระจันทร์ ในเวลาต่อมาชาวบ้านก็ได้นิมนต์สามเณรมนูญมาอยู่ที่วัดอีก 1 รูป ต่อมาสามเณรมนูญ อายุครบ 20 พรรษา ก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุและต่อมาได้รับ พัดยศเป็นเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2542 และต�าแหน่งเจ้าคณะต�าบลในปี พ.ศ. 2539 และในปี นั้นเอง พระมนูญได้รับพัดยศพร้อมทั้งได้แต่งตั้งชื่อใหม่เป็นพระครูปทุม คุณาภิบาล ต่อมาก็ ลาสิกขาในปี พ.ศ. 2560 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ทางคณะสงฆ์ได้แต่งตั้ง พระใบฎีกาเจริญ จกกวโร เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 และ ได้รับตราตั้งเป็นเจ้าคณะต�าบลโสกปลาดุกจนถึงปัจจุบัน ในวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2542 วัดบ้านหนองบัวน้อยได้มอบตราตั้งวัดและได้เปลี่ยน ชื่อจากวัดศรีโพธิ์ทองเป็นชื่อวัดบ้านหนองบัวน้อยจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 202

. - 16/05/2562 17:32:12 PM


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


»ÅÍ´ÀÑÂ.....ÊÐÍÒ´ ºÃÃÂÒ¡ÒÈ´Õ

Areeya Resort

ปลอด ัย สะอาด บรรยากาศด

อารยา รสอรท ท ักยอดนิย น ั วัด ัย ิ ทา กลา ธรร าติ ดยรอบ ท กั วา สะอาด ปลอด ยั บรรยากาศด สสันสด ส นทอ ท เ ยว ทานสา าร เดินทา ไปยั ส านทตา น ั วัด ัย ิไดอยา สะดวกอกดวย

ทก อ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน ทั ทรทัศนเ เบิล เ รอ ปรับอากาศ ตเยน น�าอน ร กา อ ปลอดบ ร น บริการส�า รับเดก เ รอ น อ น�า 204

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.indd 204

16/5/2562 19:44:35


เราพร้ อ มทั้ ง ห้ อ งพั ก และบ้ า นพั ก ส� า หรั บ ครอบครัว มีการรักษาความปลอดภัยตลอด ชั่วโมง มีที่จอดรถปลอดภัยสะดวกสบาย บริการห้องพัก ่งมีจ�านวนถง ห้อง บริการทั้งรายวัน และรายเดือน ราคามิตรภาพ

·ÃÔ»¹Õé ãËŒàÃÒ´ÙáÅ... อารียา รีสอรท

หมู่ ต�าบลหนองบัวระเหว อ�าเภอหนองบัวระเหว จังหวัดชัยภูมิ

ส�ำรองห้องพัก อารยา รสอรท

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 205

205

16/5/2562 19:44:44


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดวะตะแ (รา ร รั ธาธรรม) ระครูป ภา ธรรมรส ั

ิ ั

รเ น นะ

ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 15 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2505 ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 20 เมตร ยาว 36 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2534 เป็นอาคารคอนกรีตทัง้ หลัง กุฏสิ งฆ์ 2 หลัง

ป นย ั

วัดวะตะแบก(ราษฎร์ศรัทธาธรรม) ตั้งอยู่เลขที่ 9 6 หมู่ที่ 1 บ้านวะตะแบก ถนนสุ ร นารายณ์ ต� า บลวะตะแบก อ� า เภอเทพสถิ ต จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ สั ง กั ด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินมีเนื้อที่ 17 ไร่

ทิศเหนือจดถนนสุรนารายณ์ ทิศใต้ จดคลองสาธารณะ ทิศตะวันออกจดเขต กรมทางหลวง ทิศตะวันตกจดหมู่บ้าน 206

.indd 206

มีพระประธานชือ่ พระพุทธโม คี นั ธารราษฎร์มนุ ศี รีชยั ภูมนิ ครเขต สร้างเมือ่ พ.ศ. 2516 พระพุทธรูปประจ�าอ�า เภอเทพสถิต ชื่อ พระเทพสถิตศากยมหามุนี(พระใหญ่เทพสถิต) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2557

ประ ั

เปน

วัดวะตะแบก(ราษฎร์ศรัทธาธรรม) ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 247 ได้ชอื่ ว่า วัดวะตะแบก เพราะเชิงเขา เป็นที่ราบถึงตอนเย็นชาวบ้านน�าวัวลงมากินน�้า ชาวภาคอีสาน เรียกว่า บะ ผู้ตรวจเพ็ง กรมทางหลวง เป็นผูถ้ วายทีด่ นิ จ.ส.ท. โต ทองช�านาญ ร่วมกับชาวบ้านวะตะแบกเป็นผูส้ ร้าง และ บ�ารุงตลอดมา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เมื่อ พ.ศ. 2526

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:35:52 PM


พระเทพสถิตศากยมหามุนี(พระให ่เทพสถิต)

ศาลาการเปรีย

พระพุทธ ม ันธารราษ ร์มุนีศรีชัยภูมิน รเขต

หลวงปู่ทวดเหยียบน�้าทะเล ืด

รางวัลวัดพั นาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น ป พ ศ

0

ก รบร ร ะก รปก ร

มีเจ้าอาวาส ดังต่อไปนี้ 1. พระชาญชัย อภิชาโต 2. พระนเรนท์ สุวิชาโน 3. พระดา ปริ ญาโณ 4. พระกั้ง จตตสลโล 5. พระแก้ว กนตสีโล 6. พระสิริ สนตมโน 7. พระวิลาส ธมมชโย . พระสายชล ธุวธมโม 9. พระปลัดนิมิต ปโมทิโต 10. พระครูเทพสถิตคณารักษ์ 11. พระครูปฏิภาณธรรมรส

ก รศึก

พ.ศ. 247 - พ.ศ. 24 0 พ.ศ. 24 1 - พ.ศ. 24 5 พ.ศ. 24 6 - พ.ศ. 24 9 พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2491 พ.ศ. 2491 - พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 255 พ.ศ. 255 - ปัจจุบัน

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2530 โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2537

ศาลาเทพสถิต ารักษ์ป ุบัน เปนศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์

โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2537 นอกจากนี้ มี ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ เปด พ.ศ. 2533 และศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ์ในวัด เปดเมื่อ พ.ศ.2536 CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 207

207

. - 16/05/2562 19:36:02 PM


วัดเขาประตูชุมพล บิ ัติ รรมตามรอยบาท ร าสดา ล ครูบาอาจารย

ระอธ ารมานะ ป ย ค ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัด า ระ ชมพล เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม อยูบ่ นเทือกเขาพังเหย ติดเขตอุทยานแห่งชาติปา่ หินงาม ทุง่ ดอกกระเจียว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 44 หมู่ 9 บ้าน ับสะเลเต ต�าบลบ้านไร่ อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เริ่มสร้าง เมือ่ วันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ.2526 โดยมีหลวงพ่อสมพง ์ สม น น พระครไพ าล ระชานกล อดีตเจ้าอาวาสรูปแรก ได้น�าพาสานุศิษย์ ประกอบด้วยพระภิกษุ 2 รูป แม่ชี 5 รูป จากวัดป่าเรไรทอง อ�าเภอ วิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ เพือ่ มาสร้างวัดปฏิบตั ธิ รรม ในขณะนัน้ พืน้ ที่ บริเวณรอบๆ มีพระพุทธรูปเนือ้ ปูนปัน ปางอุม้ บาตรอยูใ่ กล้ๆ กับ มุ้ ประตู หินเขาประตูชุมพล ด้านทิศตะวันตกของ ุ้มประตูสุดเขตพะลานหิน มีศาลาพักสงฆ์หลังเล็กๆ อยู่ 1 หลัง(ปัจจุบันเป็นที่ตั้งอาคารโรงครัว หลังใหม่) นอกนั้นจะเป็นสภาพป่าไม้เสื่อมโทรม ชาวบ้านมาแผ้วถาง 208

6

จุดไ เผาป่า เพือ่ ปลูกข้าวโพด ข้าว า่ งและเลีย้ งวัว เลีย้ งควายกัน พอถึง ฤดูแล้งก็จุดไ เผาป่าเพื่อเป็นที่เลี้ยงสัตว์กันทุกปี เมื่อหลวงพ่อสมพงษ์มาสร้างวัดก็ก�าหนดเขตวัดและเขตดูแลรักษา น ูสภาพป่าเป็นบริเวณกว้างรวมโดยรอบแล้วประมาณ 240 กว่าไร่ แต่ได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ให้ใช้พื้นที่สร้างวัดตามกฎหมายได้เพียง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 208

18/5/2562 17:08:00


14 ไร่ นอกนั้นก็ให้ทางวัดดูแลรักษา น ูสภาพป่าให้กลับเป็นผืนป่า ตามธรรมชาติดั้งเดิม ึ่งทางวัดก็ปฏิบัติตาม ได้ท�าแนวเขตทางกันไ เพื่อปองกันไ ป่าไม่ให้เข้ามาในบริเวณที่ก�าหนด 240 กว่าไร่ มาจนถึง ปัจจุบัน จะเห็นได้ว่าผืนป่ารอบๆ บริเวณวัดจะมีความอุดมสมบูรณ์ ต้นไม้หนาแน่นเป็นป่าดงดิบตามธรรมชาติเป็นบริเวณกว้างเขียวขจี สวยงาม และภายในบริเวณวัดก็ร่มรื่น อากาศเย็นสบาย เหมาะแก่การ มาเที่ยวชมพักผ่อนหย่อนใจ หรือจะมาปฏิบัติธรรม สถานที่ก็สัปปายะ เหมาะแก่การบ�าเพ็ญเพียรภาวนา การสร้างวัดในระยะแรกมีความยากล�าบากมาก เพราะอยู่ห่างไกล จากความเจริญ มีปัจจัยมาเพียง 500 บาท และข้าวสารอาหารแห้งกับ ของใช้ทจี่ า� เป็นอีกส่วนหนึง่ หลวงพ่อสมพงษ์ตอ้ งน�าพาศิษย์ลงเขาตัดไม้ไผ่ มาสร้างเป็นกุฏิ ต้องเกีย่ วหญ้าแฝกมามุงเป็นหลังคา เพือ่ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย ในการปฏิบัติธรรม วัตรปฏิบัติแต่ละวันคือ สวดมนต์ นั่งสมาธิ ังธรรมทั้งภาคเช้าและ ภาคเย็นทุกๆวัน ช่วงเช้าพระไปบิณ บาตในหมู่บ้าน ฝ่ายแม่ชีต้องหุง หาอาหารเพิม่ โดย นั อาหารเพียงมือ้ เดียว ต่อมาได้มนี ติ ยสารโพธิญาณ นิตยสารโลกทิพย์ ได้มาขอประวัตขิ องหลวงพ่อสมพงษ์ ฐิตสิ มปนโน ไป พิมพ์เผยแพร่ ท�าให้ญาติโยมได้รจู้ กั วัดนีม้ ากขึน้ โดยมีผมู้ าฝากตัวเป็นศิษย์ พระ สามเณร แม่ชีมากขึ้นตามล�าดับ เพื่อมาอยู่ประพฤติ ปฏิบัติธรรม งึ่ ก็ได้รบั ปัจจัย 4 จากญาติโยมทัง้ หลายมาถวายเพือ่ ท�านุบา� รุงพระพุทธ ศาสนาให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป โดยเ พาะในส่วนถาวรวัตถุ สิ่งก่อสร้างต่างๆ หลวงพ่อสมพงษ์ได้ น�าพาคณะศิษย์ พระ สามเณร แม่ชี ช่วยกันก่อสร้างถาวรวัตถุทุกหลัง ภายในวัด ตัง้ แต่อดีตมาจนถึงปัจจุบนั ในส่วนการเผยแพร่ธรรมะ ได้แสดง ธรรมทั้ ง ภาคเช้ า และภาคเย็ น จั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ สั จ จะ ประวั ติ ข อง หลวงพ่อสมพง ์ สม น น และได้จดั พิมพ์หนังสือธรรมะ ดี ธี รรมะ ไว้แจกญาติโยมที่ต้องการน�าไปศึกษาปฏิบัติ

ร วัติย่อ ร ครู

าล ร ชาน ูล หลวง ่อสม ง ิติสม น น

นามเดิม สมพง ์ รอสง นน เกิดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.249 ที่บ้านหนองหอย อ�าเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา บิดาชื่อพ่อหล้า มารดาชื่อแม่สาล รอสง นน เป็นบุตรชายคนที่ 4 ในจ�านวนพี่น้อง ทั้งหมด 9 คน ึ่งต่อมาได้ย้ายมาอยู่ที่บ้านสันติธรรม อ�าเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 209

209

17/5/2562 9:49:25


บรร ชา ล อ สมบท

บรรพชา นสาม ร มอ ดอนพ าคม พ และ อ สมบ นพระ ก วัน ม ายน พ วัด า รไร อง อา อว ชยรบร จังหวัด พชรบร ์ ได้ ก าพระ รยั รรม พรร า จนสอบจบนัก รรมชัน อก ได้รบั บ ระกา นครสอนพระ รยั รรม และได้รบั รา งั บ ระกา นพระ ก า มก ์ พ ได้ รมออก ดงค์ บั รรม พอแสวงหาความพ้น ก ์ นสัจ รรม อง องค์สม ดจพระสัมมาสัมพ จ้า ดยได้ ัง านสัจจะบารม ไว้ว่า ะ ด ยังไม่พน้ ก พ์ บสัจ รรม จะไม่ อรับ ย์ นห ง นมา คาม นแม่ช ดด าด มอ ด มอ า้ พ จ้าแจ่มแจ้ง นสัจ รรม องพระสัมมาสัมพ จ้า แล้ว ้าพ จ้าจะ ังวัด บั รรม น มอนัน นการ บั รรมและออก ดงค์ งแ ั ่ พ จน ง ลาย พ จงได้สม ราร นา น รรมพบสัจ รรม และได้อ าน ร นา รรมออกมา บ ดังน

210

6

“ สม น น นหรอ คอชอ นั อ งสั ั จจะ านไว้ นพระพ าสนา จะ อ ระกา พระสัจ รรม องพ บดา ด้วยดวง า อง ัน หนแจ้ง ระจัก ์ นหลัก รรม” “ สม น น คย ง่ คยหลงมาก่อน จะนังนอนมแ ่ ก ไ์ ม่ส า แ ่บัดนได้พัง ลายแล้วอวชชา หมดความด ความชัว ไม่กลัว าย” “ มอราก อน ้ น าย ั ง บดอก ผล ออก กหล่ น ลงส่ ร าก ง ระจัก ค์ วามหมายหายกัง า รวม นหนง อกาว่าส จรง” “ นั ร้องไห้ สยดายอาลัยบ้าน แ ่ มอวานมันพังช่าง จหาย สากหัก พังระ นพนา ไ พบบ้าน หม่บ้าน ันคอ ลา ลา” “จะ อ นพนดนรองรับ งดชั ั ว พราะหมด วั หมด นพ้นแล้วหนา กาย จน อมอบ วายองค์พระสัมมา อบชา บองบา ด้วยสัจ รรม” “พด รรมะกันได้ งไ ม ลก า ความ ลาดพาไ ห้หลงไม่ ลง นั ์ รรมะ แ ไ้ ม่มมากอย่าง ร้กนั มหนง ดยว า่ นัน นั บอกมา” “ รรมะ ล่มนม ระ ยชน์สาหรับ นั พร้อม งั า่ น กคนไม่ ลอกหน้า จงอ่าน ดอ่านไ ได้ า ันร้มาอย่างไรไม่ ดบัง” “จ ดวงนม ครได้ หนบ้าง มันไม่กว้างไม่แคบดอก ่านหนา มันคอจ อย่กับอั า จงมา ด มา ด มา ดด”

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 210

18/5/2562 14:58:36


ในการสอนอบรมธรรมได้อยู่สอนธรรมที่ป่าช้า วัดป่าเรไรทอง อ�าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นเวลา 1 พรรษา และได้เดินทาง มาอยู่เขาประตูชุมพล บ้าน ับสะเลเต ต�าบลบ้านไร่ อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 เพื่อมาสร้าง เป็นวัดประกาศสัจธรรม และได้รบั ประกาศเป็นวัดสมบูรณ์ เมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ในการอยูส่ อนธรรมทีว่ ดั เขาประตูชมุ พล ตัง้ แต่ พ.ศ. 2526 มาจนถึงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2555 องค์ทา่ นจึงได้ละสังขาร ขณะนั้นอายุได้ 5 ปี รวมการอยู่สอนธรรมเป็นเวลา 30 ปี

งานด้าน าร ครอง ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�าบลบ้านไร่ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2533 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรพัดยศ ชั้นตรี เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรพัดยศ ชั้นโท เมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2543

ร วัติย่อ ร อ ิ ารมาน ย ค เจ้าอาวาสรู จจบัน พระอธิการมานะ ปโยโค นามเดิม มานะ จันทวงษ์ เกิดวันที่ 12

กรกฎาคม พ.ศ. 2505 บ้านเลขที่ 729 หมู่ 1 ต�าบลสลกบาตร อ�าเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก�าแพงเพชร เรียนจบชั้น ป.7 อุปสมบทเมื่ออายุ 22 ปี วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2527 ณ วัดสิงคาราม ต�าบลสลกบาตร อ�าเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก�าแพงเพชร เดิ น ทางมาศึ ก ษาปฏิ บั ติ ธ รรม ที่ วั ด เขาประตู ชุ ม พลกั บ หลวงพ่ อ พระครูไพศาลประชานุกูล เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2530 ได้เรียน พระปริยตั ธิ รรมและสอบจบนักธรรมชัน้ เอก เมือ่ ปี พ.ศ. 2532 วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสช่วยเหลือ หลวงพ่อเจ้าอาวาสในการบริหารงานด้านการปกครองภายในวัดแล้วยัง ได้รบั หน้าทีช่ ว่ ยงานด้านการก่อสร้าง อ่ มแ มเสนาสนะ เช่น อาคารศาลา และกุฏภิ ายในเขตวัดทัง้ หมด ได้นา� พาคณะพระ สามเณร แม่ชี ช่วยงาน ก่อสร้างตั้งแต่มาอยู่วัดเขาประตูชุมพลปีแรกจนมาถึงปัจจุบัน วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ได้รับตราตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดเขาประตูชุมพล

งาน ร เ

ี ร จ�า

งานเทศน์มหาชาติ ตรงกันวันมาฆบูชาของทุกปี ขึ้น 15 เดือน 3 งานสรงน�้าอัฐิธาตุของหลวงพ่อพระครูไพศาลประชานุกูล ทุกวันที่ 14 เมษายนของทุกปี CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 211

211

17/5/2562 9:49:34


WATKHAOPRATUCHUMPHON Wat Khao Pratu Chumphon is a place for practicing the dharma. It is located on Phan Hoei Mountain, adjacent to 44 village no.9, Ban Sap Salete, Ban Rai sub-dsitrict, Thep Sathit district, Chaiyaphum province. The construction of this temple started on 12 November B.E.2526 which Luang Phor Sompong Thitisampanno (Phra Khru Phaisan Prachanukul), 2 and 5 nuns from Wat Pa Lay Lai Thong, Wichian Buri district, Phetchabun province, to this area to build a temple for practicing the dharma. There were stucco Buddha image in attitude of holding monk’s alms-bowl around temple’s location at that time which it was situated near Khao Pratu Chumphon stone arch. On the west of stone arch at the end of stone bridge, there was an old resting pavilion (It is the place where scullery building is locate now). Apart from that, other areas were decadent forest that villager usually cleared and burned the forest to grow corn and millet and raised cattle. Then, when dry season arrived, they will burned the forest to make a place for raising cattle every year. When Luang Phor Sompong came to this area to build this temple, he demarcated temple’s area and forest-preserving and rehabilitating area which it was large area that the total scale of this area was approximately 96 acres. However, it was permitted from Royal Forest Department to use only 5.6 acres area to build a temple according to law. Apart from temple’s area, Royal Forest Department let this temple preserved and rehabilitated the decadent forest in order to return its state to natural forest which tating area which it is still effective now. At present, forest around temple’s area grow abundantly which trees in this forest are thicker like this forest becomes tropical rain forest that is a large verdant area. Moreover, an inside area of this temple is a pleasant and cool area which is suitable for visit and relax which it is also a supportive place for practice the dharma and do the meditation. 212

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 212

17/5/2562 9:49:35


The construction in the beginning is extremely tough, due to it is located far away from city. Moreover, Luang Phor Sompong only had 500 THB, rice, dried food and some necessary appliance. Then, he need to lead his disciples to cut the bamboo to build monk’s house, they also gathered vetiver grass with a sickle in order to roof a monk’s house which this monk’s house is a place to live and practice the dharma. The daily tasks he had to do are chanting, meditating, listening to sermon in the morning and evening. In the morning, all monks had to go about with a bowl to receive food in the nearby village. As for nuns, they had to prepared more food which they had only one meal per day. After that, Phothiyan magazine and Lokthip magazine contacted this temple to ask for biography of Luang Phor Sompong Thitisampanno for propagation which it made people knew more about this temple. There were many people came to this temple and asked him to be his disciple which amount of monk, novice and nun at this temple was increased consecutively. These disciples came to this temple to practice the dharma which they got four requisites from people that offered it to this temple for the purpose of maintaining the Buddhism’s prosperity. Especially for permanent structure and buildings, Luang Phor Sompong led disciples, monks, novices and nuns on the construction of every permanent structure in this temple since the past until today. As for dharma-propagating, there are monks who always preach to layperson in the morning and evening. This temple also publish Satja book, the biography of Luang Phor Sompong Thitisampanno, dharma book and dharma CD to distribute these media to layperson who would like to study and practice the dharma.

Chanthawong. He was born on 12 July B.E.2505 at 729 village no.1, Salokbat sub-district, Khanu Woralaksaburi district, Khamphengphet province. He studied only until seventh grade. He was ordained when he was 22 years old on 13 May B.E.2527 at Wat Singkharam, Salokbat sub-district, Khanu Woralaksaburi district, Khamphengphet province. He travelled to Wat Khao Pratu Chumphon to study and practice the dharma with Luang Phor Phra Khru Phaisan Prachanukul on 9 January B.E.2530, he studied Tripitaka until he completed the course and became dhamma scholar advanced 2 2 14 2 to be assistant abbot at this temple which apart from assisted an abbot on temple administration, he also assisted on construction and restoration of buildings such as pavilion and all monk’s houses inside temple’s area. He has been leading group of monks, novices and nuns on the this temple until now. On 1 February B.E.2559, he got the seal of appointment which appointed him to be abbot of Wat Khao Pratu Chumphon.

The Vessantara Jataka or so called Great Birth Sermon – It is on Magha Puja Day which is 15th day of 3rd waxing moon every year. Water-sprinkling onto relics of Luang Phor Phra Khru 14 April annually.

At present, Phra Athikarn Mana Payokho taking a position of abbot of this temple. He has been observing precepts and teaching meditation to monk, novice and layperson by follow the path of Luang Phor Sompong.

Phra Athikarn Mana Payokho, his former name was Mana CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 213

213

17/5/2562 9:49:36


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเ

ระครูสุมน ธสุวรร ั

สาขา ี

ธ อง

ของวัดหนองป่า ง

วัดเทพโพธิ์ทอง เดิมชื่อ วัดป่าเทพโพธิ์ทอง เป็นวัดปฏิบัติธรรม กรรมฐาน ลูกศิษย์หลานศิษย์ของหลวงปู่ชา สุภัทโท (สาขาที่ 151 ของวัดหนองป่าพง อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัดอุบลราชธานี) ตั้งอยู่ท่ี บ้านเทพภูทอง ต�าบลวะตะแบก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ

214

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 214

. - 16/05/2562 19:31:30 PM


ประ ั

เปน

จากเริ่มแรก พระครูสุมนโพธิสุวรรณ(สนธยา สุมโน) เดินธุดงค์มา พักปักกลดโดยการแนะน�าจากหลวงพ่อโสภา อุตตโม(พระครูภาวนา อุดมคุณ) วัดเขาวันชัยนวรัตน์ (สาขาที่ 2ของวัดหนองป่าพง) และ ได้ริเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2534 ตั้งอยู่บนภูเขา เตี้ยๆ พื้นที่ของ ส.ป.ก บ้านเทพภูทอง ต�าบลวะตะแบก อ�าเภอ เทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ นับแต่นั้นมา พระครูสุมนโพธิสุวรรณ ได้พา ญาติโยมชาวบ้านประพฤติปฏิบัติธรรมกรรมฐานมาโดยตลอดมิได้ขาด จนถึงปัจจุบัน พื้นที่วัดครอบครองมีอยู่ประมาณ 50 ไร่ โดยส�านักงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) มีหนังสืออนุญาตให้ใช้พื้นที่สร้างวัด 15 ไร่ และที่เหลือให้ดูแลรักษาปลูกป่าไม้ ึ่งหนังสืออนุญาตออกให้เมื่อปี พ.ศ. 2543 จึงได้ท�าเรื่องขอสร้างวัด ต่อมากรมการศาสนาได้อนุญาต ให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2544 และได้ท�าเรื่องขอ ตั้งวัด ึ่งทางส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้ประกาศแต่งตั้ง วัดป่าเทพโพธิ์ทอง เป็น วัดเทพโพธิ์ทอง ในพระพุทธศาสนาเมื่อ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2546

จากนั้นทางวัดได้ท�าเรื่องขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา และได้รับ วิสุงคามสีมา ประกาศ ณ วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2552 และประกาศ ราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2552 หลังจากนัน้ ทางวัด ได้วางศิลาฤกษ์สร้างพระมหาธาตุเจดีย์ ศรีเทพสถิตภูมิ เมื่อ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2551 จึงขอรับพระบรมสารีริกธาตุเพื่ออัญเชิญมา ประดิษฐานบรรจุในพระมหาธาตุเจดีย์ ศรีเทพสถิตภูมิ จาก สมเด็จ พระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จ พระสังฆราช วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดบวรนิเวศวิหาร ต่อมา ได้เข้ารับพระบรมสารีริกธาตุจากสมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศฯ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 และได้เข้ารับพระบรมสารีริกธาตุ จากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังปริณายก วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จากนั้น วั ด เทพโพธิ์ ท องก็ ไ ด้ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น ศู น ย์ วั ฒนธรรมไทยสายใยชุ ม ชนปี พ.ศ. 2552 เป็นล�าดับต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 215

215

18/5/2562 15:40:26


ประวัตเ ้าอาวาส ดยสังเขป พระครูสุมนโพธิสุวรรณ(สนธยา สุมโน) อายุ 59 ปี พรรษา 3 บวชเป็ น พระป่ากรรมฐานสายหลวงปู่ช า สุภัท โท วัด หนองป่าพง อ�าเภอวารินช�าราบ จังหวัดอุบลราชธานี (สาขาที่ 151 ของวัดหนองป่าพง) สังกัดวัดเทพโพธิท์ อง เลขที่ 122 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลวะตะแบก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ หมายเลขโทรศัพท์ 0-44 5-5196 เดิมชื่อ นายสนธยา วันหลัง เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2503 อุ ป สมบทเมื่ อวั น ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 วั ด ม่ ว งสามสิ บ ต�าบลม่วงสามสิบ อ�าเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี คณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส วันที่ 19 มิถนุ ายน พ.ศ. 2546 และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2547 ได้รับแต่งตั้งเป็น รักษาการแทนเจ้าคณะต�าบลวะตะแบก วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ต่อมาได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าคณะต�าบลวะตะแบก เขต 2 เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2551 ได้รับสมณศักดิ์พัดยศ เป็นพระครูเจ้าคณะต�าบลชั้นโท เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัช าย์ และเจ้าคณะต�าบล เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 ได้รบั เลือ่ นสมณศักดิพ์ ดั ยศเป็นพระครูเจ้าคณะต�าบลชัน้ เอก เมือ่ วัน ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 วิทยฐานะทางการศึกษาสูงสุด(ทางโลก) มัธยมศึกษาปีที่ 6 (ทางธรรม) นักธรรมเอก ารอ รมวปสสนา รรม าน ตลอดเวลาที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน พระครูสุมนโพธิสุวรรณ ได้ จัดการอบรมปฏิบตั ธิ รรมให้กบั พุทธบริษทั พระภิกษุ สามเณร อุบาสก และ อุบาสิกา ทั้งด้านประพฤติปฏิบัติสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน อีกทั้งสอนนักธรรมแก่ ภิกษุ-สามเณรมาตลอด และได้สอนนักเรียน นักศึกษา ประพฤติปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน อบรมคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนสอนการปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานแก่ผทู้ ถี่ กู ควบคุมความประพฤติ มาโดยตลอดทุกๆ ปี

216

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 216

18/5/2562 16:49:23


แนว าง าร ป ัต ดยหลวงปู่ชา สุภั เรือง าร าอ่านใ และดูใ ตัวเอง การปฏิ บั ติ ภ าวนาในทางพุ ท ธศาสนา ก็ คื อ การปฏิ บั ติ เ รื่ อ งใจ การฝกใจเป็นหลักส�าคัญ พุทธศาสนาเป็นศาสนาของใจ มันมีเท่านี้ เพราะใจของเรานี่มันอยู่ในกรง ยิ่งกว่านั้นมันยังมีเสือที่ก�าลังอาละวาด อยูใ่ นกรงนัน้ ด้วย ใจทีม่ นั เอาแต่ใจของเรานี้ ถ้าหากมันไม่ได้อะไรตามที่ มันต้องการแล้ว มันก็อาละวาด เราจะต้องอบรมใจด้วยการปฏิบัติ ภาวนา ด้วยสมาธิ นี้แหละที่เราเรียกว่า การฝกใจ ในเบื้องต้นของการฝกปฏิบัติธรรม จะต้องมี ศีล เป็นพื้นฐาน หรือรากฐาน ศีลนีเ้ ป็นสิง่ อบรมกาย วาจา อย่ายอมตามความติดของตน หยุดเป็นทาสมันเสีย พยายามต่อสู้เอาชนะอวิชชาให้ได้ด้วยการบังคับ ตัวเองเสมอ นี้เรียกว่าศีล เมื่อพยายามบังคับจิตของตัวเองนั้น จิตมัน ก็จะดิน้ รนต่อสูม้ นั จะรูส้ กึ ถูกจ�ากัด ถูกข่มขี่ เมือ่ มันไม่ได้ทา� ตามทีม่ นั อยาก มันก็จะกระวนกระวายดิ้นรน ทีนี้เห็นทุกข์ชัดละ ทุกข์ เป็นข้อแรกของอริยสัจ คนทั้งหลายพากันเกลียดกลัวทุกข์ อยากหนีทุกข์ ไม่อยากให้มีทุกข์เลย ความจริง ทุกข์นี่แหละจะท�าให้ เรา ลาดขึ้น ท�าให้เกิดปัญญา ดังนั้น แต่ก่อนจะปฏิบัติภาวนาก็ต้อง รู้จักเสียก่อนว่าทุกข์คืออะไร ต่อไปเมื่อเริ่มฝกนั่งสมาธิ เราก็ต้องการความสงบทีเดียวแต่ก็จะ ไม่ ไ ด้ ค วามสงบ เพราะมั น ยั ง ไม่ เ คยท� า สมาธิ ม าก่ อ น ใจก็ บ อกว่ า จะนั่งอย่างนี้แหละจนกว่าจะได้ความสงบ แต่ พ อความสงบไม่ เ กิ ด ก็ เ ป็ น ทุ ก ข์ ก็ เ ลยลุ ก ขึ้ น วิ่ ง หนี เ ลย การปฏิบัติอย่างนี้ไม่เป็น การพัฒนาจิต แต่มันเป็นการ ทอดทิ้งจิต ไม่ควรจะปล่อยใจไปตามอารมณ์ ควรที่จะฝกฝนอบรมตนเองตาม ค�าสัง่ สอนของพระพุทธเจ้า ขีเ้ กียจก็ชา่ ง ขยันก็ชา่ ง ให้ปฏิบตั มิ นั ไปเรือ่ ยๆ การปล่ อ ยใจตามอารมณ์ นั้ น จะไม่ มี วั น ถึ ง ธรรมของพระพุ ท ธเจ้ า พระพุทธเจ้าทรงสอนว่า อานนท์ ปฏิบตั ใิ ห้มาก ท�าให้มากแล้วจะสิน้ สงสัย ความสงสัยจะไม่มวี นั สิน้ ไปได้ ด้วยการคิด ด้วยทฤษฎี ด้วยการคาดคะเน หรือด้วยการถกเถียงกัน หรือจะอยูเ่ ยๆไม่ปฏิบตั ภิ าวนาเลย ความสงสัย ก็หายไปไม่ได้อกี เหมือนกัน กิเลสจะหายสิน้ ไปได้กด็ ว้ ยการพัฒนาทางจิต ึ่งจะเกิดได้ก็ด้วยการปฏิบัติที่ถูกต้องเท่านั้น ถ้าท่านปฏิบัติได้อย่างนี้ ท่านก็จะเหมือนกับบ้านว่าง หรือพูดอีก อย่างหนึ่งก็คือ นี่คือใจว่าง เป็นใจที่ว่างและอิสระจากกิเลส ความชั่ว ทั้งหลาย เราเรียกว่าใจว่าง แต่ไม่ใช่ว่างเหมือนว่าไม่มีอะไร มันว่าง จากกิเลส แต่เต็มไปด้วยความ ลาด ด้วยปัญญา ะนัน้ ไม่วา่ จะท�าอะไร ก็ท�าด้วยปัญญา คิดด้วยปัญญา จะมีแต่ปัญญาเท่านั้น

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 217

217

18/5/2562 16:49:28


WAT THEP PHO THONG PHRA KHRU SUMONPHOTHISUWAN, ABBOT OF WAT THEP PHO THONG

Wat Thep Pho Thong, its former name was Wat Pa Thep Pho Thong. It emphasizes on dharma-practicing and meditation which disciples of Luang Pu Cha Supattho always visit this temple (151st branch of Wat Nong Pa Phong, Warin Chamrap district, Ubon Ratchathani province). This temple is located at Watabak sub-district, Thep Sathit district, Chaiyaphum province.

At the beginning, Phra Khru Sumonphothisuwan (Sonthaya Sumno) who was on pilgrimage, travelled to this area to stay because of the recommendation of Luang Phor Sopa Uttamo(Phra Khru Pawwana Udomkhun) of Wat Khao Wanchainawarat (82nd branch of Wat Nong Pa Phong). Then, the construction of this temple had started on 25 June B.E.2534. It is situated on small mountain which is Ban Thep Phu Thong branch, Watabak sub-district, Thep Sathit district, Chaiyaphum province. Since then, Phra Khru Sumonphothisuwan led and advised locals to do the meditation and practice

218

the dharma continuously until today. Territory that is owned by this temple is approximately appointment of new temple in Buddhism from “Wat Thep Pho Thong” to “Wat Thep Pho Thong” on 18 April B.E.2546. After that, this temple issued a request to a Thai monarch for granting Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) to this temple which it was granted Wisungkhamsima on 5 January B.E.2552 and mentioned in announcement of government gazette on 9 January B.E.2552.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 218

. - 16/05/2562 19:31:52 PM


29

. .2551

(

.

.

-

)

-

.

. . .2552

21

. .2552 .

122

.

)

.

.

.1

.

.

-

.

.

.

-

.

.

.

.. CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 219

.

.

59

3

-

.

. .2552 (

.

29

219

. - 16/05/2562 19:31:56 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ้านยางเ ียวแ Wat Ban Yang Kiao Faek ระครูส ธ าวรคุ ั ย

วัด ีแ อย่าง า วัตรป ัตอันเข้มข้นของ ระนั ั นา Temple that was built from the model of an intense observance of precepts of the monk who is renowned as a developer

Phra Khru Sitti Thawornkhun takes a position of abbot of this temple and

นี​ี ประชาชน ัว ป ด้รั ารสงเคราะหให้ ้น ุ ข และมีความเปนอยู่ ีดีมีสุขมา ขน

รก

“At this place, general people will get a support in order to help them to be free from suffering and get better livelihood” 220

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 220

17/5/2562 14:47:52


วั ด บ้ า นยาง กยวแ ก ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นยางเกี่ ย วแฝก หมู ่ ที่ 3 ต� า บล วะตะแบก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เริ่มก่อตั้งในปีพุทธศักราช 24 4 โดยมีกลุ่มบุคคลที่เข้ามาบุกเบิก จับจองที่สร้างเป็นหมู่บ้านในขณะนั้นคือ นายหรี่ ชงขุนทด นายทอง เสียดขุนทด นายขอด เชื้อขุนทด นายพูล พดขุนทด และ นายเชื่อม คงแก้ว เป็นคณะกรรมการด�าเนินงาน เพื่อให้มี ศาสนสถานในการประกอบศาสนพิธี และสืบสานวัฒนธรรม ประเพณี สืบทอดลูกหลาน แม้ว่าวัดที่สร้างขึ้นยังไม่ได้ถูกรับรองเป็นวัดอย่างถูกต้อง ในขณะนั้น แต่ก็มีพระภิกษุสงฆ์เข้ามาอยู่จ�าพรรษาตลอดปี ไม่เคยเว้นว่าง และยังไม่มเี จ้าอาวาส มีเพียงหัวหน้าคณะสงฆ์ปฏิบตั หิ น้าทีร่ กั ษาการณ์แทน เจ้าอาวาสดังมีรายนามดังต่อไปนี้ 1. พระรอด ธมมทีโป พ.ศ. 24 4-พ.ศ.24 7 2. พระเทา อภิชาโต พ.ศ. 24 -พ.ศ.2490 3. พระถึง คุณวโร พ.ศ. 2491-พ.ศ.2494 4. พระเปีลย ธมมสาโร พ.ศ. 2494-พ.ศ.249 5. พระหมุน จันทสีโร พ.ศ. 2499-พ.ศ.2500 6. พระสมศักดิ์ ศีลวัณโณ พ.ศ. 2501-พ.ศ.2503 7. พระน้อย ปภากะโร พ.ศ. 2505-พ.ศ.250 . พระเขียว เขมจิตโต พ.ศ. 2509-พ.ศ.2510 9. พระทองอืนทร์ จิตตธมโม พ.ศ. 2511-พ.ศ.2514 10. พระล�าจวน อนาคโต พ.ศ. 2515-พ.ศ.2516 11. พระกง ันทะสาโร พ.ศ. 2517-พ.ศ.2519 12. หลวงพ่อทุย สมมจิตโต พ.ศ. 2520-พ.ศ.2524 13. หลวงพ่อขอด ธมมวาโร พ.ศ. 2525-พ.ศ.2527 14. หลวงพ่อจรูญ จิรวัฒโน พ.ศ. 252 -พ.ศ.2529 15. พระโตย เนตสีโล พ.ศ. 2530-พ.ศ.2531 16. พระวรรนุช รานิสโร พ.ศ. 2532-พ.ศ.2533 17. พระอธิการสมศักดิ์ ศิริธมโม พ.ศ. 2533-พ.ศ.2539 1 . พระอธิการสฤษธิ์ ถาวโร พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน

Wat Ban Yang Kiao Faek is located at Ban Yang Kiao Faek, village no.3, Watabak sub-dsitrict, Thep Sathit district, Chaiyaphum province. It was built in B.E.2484 by group of people who came to this area to clear land and occupy the land to build village at that time which operating committee of that construction were Mr.Lee Songkhuntod, Mr.Thong Sietkhuntod, Mr.Khot Cheuakhuntod, Mr.Phun Phodkhuntod and Mr.Cheuam Kongkaew. They established this village because they would like to have religious place in this area to perform religious rite, carry on culture and inherit tradition to their descendants. Although the temple that was built was not certified as an official temple at that time, there were some monks came to live at this temple throughout the year incessantly. Moreover, there was no abbot at that time, there were only 17 monk dean who deputized for an abbot.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 221

221

18/5/2562 16:51:28


ต่อมา มีการด�าเนินขอเอกสารรับรองส�านักสงฆ์ให้เป็นวัดที่สมบูรณ์ ได้ด�าเนินการโดยคณะกรรมการวัด ในปีพ.ศ. 2537 โดยมีคณะกรรมการ หมู่บ้าน จากการน�าของ นายโต นิยมสุข และพระอธิการสมศักดิ์ ศิริธมโม ก็ได้รบั หนังสือรับรองให้เป็นวัดทีถ่ กู ต้องจากกรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ตามระเบียบพระราชบัญญัติปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 งึ่ เป็นกฎหมายทีบ่ งั คับใช้ในกรมศาสนาในขณะนัน้ และมีใบตรา ตั้งให้พระอธิการสมศักดิ์ ศิริธมโม เป็นเจ้าอาวาสอย่างถูกต้องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 เมื่อมีองค์ประกอบครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว คณะกรรมการดังกล่าว และ ประชาชนชาวบ้านยางเกี่ยวแฝก ได้มีการประชุมก่อสร้างอุโบสถ เพื่อเป็น สถานที่ด�าเนินการทางศาสนพิธี ปฏิบัติธรรม สืบสานวัฒนธรรม ประเพณี อันดีงามทางพระพุทธศาสนา จึงได้วางศิลาฤกษ์อุโบสถในวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2537 โดยมีเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และ ส.ส.วุฒชิ ยั สงวนวงษ์ชัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ จากนัน้ มาคณะกรรมการวัด โดยการน�าของนายโต นิยมสุข และพีน่ อ้ ง ชาวบ้านยางเกี่ยวแฝกร่วมกันหาทุนทรัพย์ ด�าเนินการก่อสร้างอุโบสถขึ้น โดยใช้เวลาก่อสร้างติดต่อกัน 9 ปี 9 เดือน อุโบสถเสร็จสมบูรณ์ จึงได้ดา� เนิน การขอพระราชทานวิสงุ คามสีมาจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2544 โดยนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี เป็นผู้ลงนาม สนองพระบรมราชโองการ และมีใบตราตั้งแต่งตั้งให้ พระอธิการสฤษธิ์ ถาวโร เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านยางเกี่ยวแฝกจนถึงบัดนี้ เมื่อได้ด�าเนินการเป็นไปตามขั้นตอนอย่างถูกต้องครบถ้วนแล้ว ทาง คณะกรรมการจึงได้มมี ติในการด�าเนินงานพิธเี ปดงานผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมติ โดยได้ขออนุมัติจากกรมศาสนา ให้ด�าเนินการในวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2547 และก�าหนดการจัดงานท�าบุญ 5 วัน 5 คืน จนถึงวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2547 นับว่าเป็นเกียรติยศ ศักดิศ์ รีของพีน่ อ้ งประชาชนชาวบ้านยางเกีย่ วแฝก ที่ได้รวมพลังกันก่อสร้างอุโบสถเสร็จสิ้นสมบูรณ์ตามก�าลังศรัทธาปสาทะ อย่างเต็มเปียมในบวรพระพุทธศาสนา มีความสวยงาม เพื่อไว้เป็นศาสน สถานไว้ใช้ในการประกอบพิธที างพุทธศาสนา สืบทอดเป็นมรดกแก่ลกู หลาน และพุทธศาสนิกชนสืบไป

222

After that, this temple requested for an official certificate of temple establishment which operated by temple committee in B.E.2537, together with village committee under the lead of Mr.To Niyomsuk and Phra Athikarn Somsak Sirithamo. They received an official certificate of temple establishment from Department of religious affairs, Ministry of education rightfully and perfectly as per the regulation of the Sangha Act of 1902 which was the law that was enforced by Department of religious affairs at that time. In addition, there was a seal of appointment which appointed Phra Athikarn Somsak Sirithamo to be official abbot of this temple since B.E.2537 After all elements were fully prepared, an aforementioned committees and people of Ban Yang Kiao Faek held a meeting and discussed about construction of Buddhist sanctuary in order to built it as a place to perform religious rite, practice the dharma and carry on local culture including fine Buddhist traditions. Then, they performed foundation stone-laying ceremony on 5 March B.E.2537 which the leader of monk was Chaiyaphum province monk dean and leader of laymen was the member of the House of Representatives, Mr.Wuttichai Sanguanwongchai. After the ceremony was done, temple committee under the lead of Mr.To Niyomsuk together with people of Ban Yang Kiao Faek jointly funded the construction of Buddhist sanctuary which this construction had spent 9 years and 9 moths consecutively until it was completed. After that, they respectfully requested to Kind Rama IX to grant Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) and this temple was granted Wisungkhamsima on 16 February B.E.2544 which Mr. Chuan Leekpai, prime minister at that time, was the one who countersigned the Royal Command and there was a seal of appointment that appointed Phra Athikarn Sarit Thawaro to be abbot of Wat Ban Yang Kiao Faek since then until now.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 222

18/5/2562 15:42:55


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 223

223

17/5/2562 14:48:17


ระ ร ท

บบ ย

ระนัก ั น

วัดยางเกี่ยวแฝกได้พัฒนาจนรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง ด้วยผลงานของท่าน พระครู สิ ท ธิ ถาวรคุณ หรือ พระครูสฤษธิ์ ของชาวบ้านยางเกี่ยวแฝก สาธารณะประโยนช์ทั้งปวงที่ได้กล่าวมาล้วนเกิดจากการริเริ่มของท่าน พระครูสิทธิถาวรคุณในขณะที่ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดนับแต่ปีพุทธศักราช 2540 จนถึงปัจจุบัน พระครูสทิ ธิถาวรคุณเป็นพระสงฆ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ มีความกตัญ ู กตเวทีต่อพระพุทธศาสนาโดยการปฏิบัติรักษาศีล รักษาพระธรรมวินัย ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติและประทานไว้อย่างไม่มีราคีเศร้าหมองใดๆ มีความกตัญ ูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ เช่นการบวชให้แก่บิดามารดา เป็นต้น พระครู สิ ท ธิ ถ าวรคุ ณ มี จิ ต วิ ญ ญาณของนั ก พั ฒ นาและนั ก สั ง คม สงเคราะห์สิ่งที่ส่งเสริมจิตวิญญาณในการพัฒนาและการเกื้อกูลสงเคราะห์ ต่อประชาชนของท่าน ประการหนึ่งน่าจะได้แก่ ประสบการณ์ในการศึกษา บาลีไวยากรณ์ จนเมื่อ พ.ศ.2540 พระครูสิทธิถาวรคุณได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสวัดยางเกีย่ วแฝก ท่านได้ปฏิบตั ภิ ารกิจมากมายนานัปการ ผลงานของ ท่านปรากฏทั้งการบริหารวัด การพัฒนาวัด การพัฒนาการศึกษา และการ ประชาสงเคราะห์ เป็นคุณประโยชน์อย่างมากมายและกว้างขวาง วัดเจริญ รุ่งเรือง เด่นตาด้วยรูปลักษณ์ และข้อปฏิบัติอันงดงามในพระพุทธศาสนา เยาวชนในโรงเรียนได้มโี อกาสศึกษาตามองค์ประกอบส�าคัญ คือ พุทธิศกึ ษา จริยศึกษา และพลศึกษา ประชาชนทั่วไปได้รับการสงเคราะห์ให้พ้นทุกข์ และมีความเป็นอยู่ที่ดีมีสุขมากขึ้น

ทย นะ พ.ศ. 2520 ส�าเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านสันติสุข ดงค้อสามัคคี ต�าบลค้อวัง อ�าเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร พ.ศ. 2537 สอบได้ น.ธ. เอก ได้ในส�านักเรียนคณะจังหวัดยโสธร วัดค้อวัง อ�าเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร พ.ศ. 2557 ส�าเร็จการศึกษาปริญญาบัตรพุทธศาสตรมหาบัณ ติ จาก มหาวิทยาลัยจุ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา การ ก าพ มีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ความชานา การ เป็นพระธรรมกถึก นวกรรมการก่อสร้าง ต�ารายา สมุนไพร พ.ศ. 2543 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดยางเกี่ยวแฝก พ.ศ. 2544 เป็นเจ้าอาวาสวัดยางเกี่ยวแฝก พ.ศ. 2551 เป็นเจ้าคณะต�าบลวะตะแบก เขต 1

224

“Phra Khru Sitti Thawornkhun” model of the monk who is renowned as a developer Wat Ban Yang Kiao Faek has been developed till it became considerably prosperous due to the works of Phra Khru Sitti Thawornkhun, as known as Phra Khri Sarit by people of Ban Yang Kiao Faek. All of the aforementioned public interest were originated from an idea of Phra Khru Sitti Thawornkhun during the time he has been taking a position of abbot since B.E.2540 until now. Phra Khru Sitti Thawornkhun is a monk who conduct himself nicely, he is grateful to Buddhism by observing the precepts, preserving Buddhist discipline that Lord Buddha had legislated and granted it to his followers flawlessly. He is also grateful to his benefactor like his parent that he was ordained as a monk to offer this merit to them. He has a spirit of developer and social worker. One of the factor that support his spirit on developing and social-supporting might be an experience on Pali grammar-studying. Then, in B.E.2540, when he was appointed as an abbot of Wat Ban Yang Kiao Faek, he had performed several tasks which his works were acknowledged whether it be temple administration, temple development, education development and public welfare. All of the aforementioned are abundantly and widely beneficial toward various people which lead this temple to the prosperity, make it pleasant to the eye due to its outstanding appearance and excellent Buddhist principle. The youth will get an opportunity to study by follow three important elements which are cognitive education, moral education and physical education. Common people will be supported to help them be free from suffering and get better livelihood.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 224

20/5/2562 9:56:27


ก กรร

ัก

ั ย เกย

การบวช เนกขัมมจิริณี จัดเป็นประจ�าทุกปี ระหว่างวันที่ 1-7 กุมภาพันธ์ ของทุกปี การบรรพชา อุปสมบทหมู่ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล พระมหาปรมินทรภูมิพลอดุลยเดช ึ่งจัดต่อเนื่องมาแล้ว เป็นเวลา 3 ปี นับจากวันที่ท่านสวรรคต กิจการงานสงฆ์ ปฏิบัติธรรม ประพฤติวัตร ไม่เคยขาด

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 225

225

18/5/2562 16:46:35


H ISTO RY OF BU DDHI S M

วัดสะ านหน ระอธ าร ตช า สุข ต ั

โลเมตร สามเณร

ก กรร ักบ รท บ

ั ชิ ย

ั มู

ยม

ิ ภ

ม ิ

ั ชัยภูมิ

ก กรร ป บั รร

226

ั ะ น น

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 226

21/5/2562 17:16:44


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 227

227

21/5/2562 17:16:49


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ป่งขุนเพชร พระ รูพัชรชยาภินันท์ เ เ

ะ บ บ นไร เ ั ป นเ ร

ั ป นเ ร ั ร เ ป ศ ระ ั ั ท ะ ท ศ นก น น ประเ ั น รร

ย บ ป เปน นป บั เ เปน นท บ น กทั ประ ะเปนศนยร

นก เ เท รร เ เนน ะ นทั ไป เปน บน

ั ั ัย นทก ร ย ระ ก นท ั ก กรร

ประ ั ั ร ั ั ประ ป ศ ย ย ย ทป บั น เนนก รก ร เ ร ะ ร ั ศ ก ป ศ ย ประ น ย เ ะ ั ั เปนประ น ศ ย ร ัย น ัย ะ ป น น ั ร ย ระ ท บ ท

เรียนเชิ พุทธศาสนิกชน

ร่วมสรางบุ ให ่ เปนเ าภาพสรางมหาเ ดีย์ศรีชัยมุนี อง ์ ให ่ตาม ิตศรัทธา เพื่อเปนพุทธสถานที่ส�า ั ของประเทศไทยสืบต่อไป

228

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 228

ร ย ะเ ย ไ ท

. - 16/05/2562 18:43:02 PM


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 229

229

. - 16/05/2562 18:43:03 PM


พระ รูพัชรชยาภินันท์

เกย กับ ระ ั

รเ บรร ระบร รรก ระ รย ก ะ รยบ

ในส่วนงบประมาณที่ท�าการก่อสร้างสิ้นไปแล้วเป็นจ�านวนปัจจัย 32 435 17.60 บาท (สามสิบสองล้านสี่แสนสามหมื่นห้าพันแปด ร้อยสิบเจ็ดบาทหกสิบสตางค์) จึงขอเรียนเชิญทุกท่านมาร่วมสร้าง พระเจดีย์เพื่อบรรจุอัฐิธาตุของครูบาอาจารย์พระป่าพระกรรมฐาน ทีร่ อบรรจุบนยอดเจดีย์ จ�านวน 96 ท่าน เพือ่ เป็นพลังใจให้กบั ชนรุน่ หลัง ในการบ�าเพ็ญภาวนาด�าเนินวิถีจิตเพื่อความพ้นทุกข์ในสังสารวัฏ ดังนี้ หลวงปูแ่ ปลง ญาณวีโร หลวงปูส่ าย เขมธัมโม หลวงปูส่ อน ฐิตมาณโส จ.ชัยภูมิ หลวงปู่พัน ฐิตธัมโม หลวงปู่ท่อน ญาณธโร (ชานหมาก) พระปยะทัสสี หลวงปู่โกวิท หลวงปู่รื่น จิตตทโม หลวงปู่ค�าดี ปภาโส หลวงปู่โส กัสสโป หลวงปู่สุพัฒน์ สุวั ฒโน หลวงพ่ออุดม (วัดพิชัย) หลวงปูท่ องพูน ปุณญกาโม หลวงปูเ่ หรียญ วรลาโภ หลวงปูค่ ณ ู สุเมโธ หลวงปูจ่ นั ทา (วัดถ�า้ พระอุดร) หลวงปูฝ่ นั อาจาโร หลวงปูม่ หาเจิม (อังคาร) หลวงปูบ่ ญ ุ เพ็ง เขมาภิรโิ ต หลวงปูเ่ ทศก์ เทศรังสี หลวงปูศ่ รีจนั ทร์ วัณณาโก หลวงปูท่ องผุด ญาณวโร หลวงปูบ่ ญ ุ กู้ อนุวั ฒโน หลวงปูจ่ นั ทา (พิจติ ร) หลวงปูเ่ คน เขมาสโย หลวงปูบ่ ญ ุ มา คัมภีรธัมโม หลวงปูห่ นูเมย สิวชิ โร หลวงปูจ่ นั ทร์ศรี จันททีโป หลวงปูบ่ ญ ุ หนา (วัดป่าโสตถิผล) หลวงปูเ่ สถียร (วัดถ�้าภูวัว) หลวงปู่เผย วิริโย หลวงปู่ศรี มหาวีโร หลวงปู่ผ่าน ปัญญาปทีโป ครูบาศรีวชิ ยั ครูบาค�าแสง (วัดพระธาตุสนั ขวาง) ครูบาศรีวยั (วัดหนองเงือก) ครูบากวน จ.ล�าปาง ครูบาศรีมา (วัดผาลาด จ.ล�าปาง) หลวงปู่ทองอินทร์ กตปญโญ ครูบาน้อย เตชปญโญ (วัดศรีดอนมูล) หลวงพ่อไพโรจน์ วิโรจโณ หลวงปูห่ ลวง กตปญโญ หลวงปูอ่ นิ ทร์ถวาย หลวงปูแ่ บ สุภทั โท หลวงปูพ่ วง สุขนิ ทริโย หลวงปูท่ องพูล (วัดภูกระแต)

หลวงปู่แปลง สุนทโร หลวงปู่อุ้ม สุขกาโม หลวงปู่บุญพิน กตปุญโญ หลวงปู่สมัย ธัมมโฆสโก หลวงปู่สุนีย์ สิริจันโท หลวงปู่เคน กมโล พระราชสารโกศล (วัดสารภารนิมติ ) หลวงปูค่ า� ปัน จิรญาโน จ.เชียงราย ครูบามูล วิสุทโธ จ.เชียงใหม่ หลวงพ่ออุอาสะภะ อาสะโภ จ.เชียงใหม่ ครูบาศรีลัย สิริธัมโม จ.พะเยา หลวงปู่สแอ้ สุรัตโน (วัดป่าเจดีย์เหลียว จ.เชียงใหม่) หลวงปูป่ ระณต ธัมม นั โน จ.นครพนม ครูบาแก้ว สิรวิ ชิ โย (วัดดงมะเ อง) ครูบาจันทร์ตา สุวัณโณ (วัดสันมะเหม้า จ.เชียงราย) หลวงพ่อ เมือง พลวั โฒ ครูบาสัมผัส ญาณวิชโญ พระครูอินทวงศา (วัดเชือ้ เจ็ดตน) หลวงตาเจีย้ ขันติโก (วัดป่าช้าดอนอะราง) หลวงพ่อตรีคณ ู (วั ด อุ ด มธรรม) หลวงตาเจื อ ง ฐิ ต คุ โ ณ (วั ด ป่ า ช้ า ดอนอะราง) พระราชวุฒาจารย์ (สวัสดิ์ ขันติวริ โิ ย) พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมิโย จ.นครพนม) หลวงปูว่ งศ์ สุภาจาโร (วัดค�าพระองค์) หลวงปูล่ ี (วัดผาแดง จ.อุดรธานี) หลวงปู่มหาเจิม ปัญญาพโล หลวงปู่ชอบ ฐานสโม จีวร หลวงปู่แก้ว อัตตดุตโต (วัดสนามบิน) หลวงพ่อทองค�า กมโล (วัดเจดียค์ รี วี หิ าร) ผ้าอาบน�า้ หลวงปูบ่ ญ ุ พิน กตปุญโญ จีวร หลวงพ่อวิชยั เขมิโย (วัดถ�า้ ผาจม) แม่ชจี นั ดี โลหิตดี หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน หลวงปูเ่ ต็ม ธมมทินโน หลวงพ่อผจญ อสโม หลวงปูส่ มภาร ปัญญาวโร พระครูภาวนาปัญญาภรณ์ (หลวงปูบ่ ญ ุ ส่ง โกวิโท) หลวงปูค่ า� ผา ฆรมุตโต หลวงปูเ่ ลียน ชุตนิ ธโร หลวงปูใ่ บ ธีรปัญโญ หลวงปูเ่ อือ้ น (วัดป่านาสีดา) หลวงพ่อสนิท หลวงปูท่ องมี ปยสีโล (วัดป่านิโครธาราม) หลวงปูล่ ี สุวโี ร (วัดป่าโสตถิผล) หลวงปู่หนูหยาด วิริโย หลวงปู่ตุ้ม อนุตตโร หลวงปู่ พรหมา โชติโก หลวงปูต่ น้ สุทธิกาโม พระราชธีราภรณ์ (หลวงปูพ่ ร้อม เรวโต) และ หลวงปู่ริน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 230

. - 16/05/2562 18:43:15 PM


Phra Khru Patcharachayaphinan takes a position of abbot of this temple and B

.3 -

.

.

. .14 2.

. . .

.

.

. 96 .

. .2545

32 435 17.60 .

. -

96

. .2533

-

. .2547

.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 231

. - 16/05/2562 18:43:17 PM


วัดเขา ังเหยชุม ลสีมาราม(ธ) ระครู

ูลธรรม

เ ้าอาวาสวัดเขา ังเหยชุม ลสีมาราม(ธ)

วัด าบัง หยชมพลสมาราม หม่บ้าน ับมงคล าบล งนก อา อ พส จังหวัดชัย ม ส้น างชัย ม นครสวรรค์ หมาย ล

ãËŒÁͧµ¹àͧà¾×èÍá¡Œä¢áÅÐ ให้ม งคน นเพ ให้ ภ พระครู พ ู ธรรมกิ

ประ ั เ

ั เ บั เ ย

พระอาจารย์ดวงสมชัย คุณธโร(พระครูไพบูลธรรมกิจ) เจ้าอาวาส วัดเขาบังเหยชุมพลสีมาราม(ธ) หมูบ่ า้ น บั มงคล ต�าบลโป่งนก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ เป็นพระสายธรรมยุติ สายปฏิบัติหลวงปู่แหวน สุจิณโณ พระอริยสงฆ์แห่งวัดดอยแม่ปงั อาณาบริเวณวัดนีเ้ ป็นป่าทีม่ คี วามสมบูรณ์ ตามธรรมชาติ มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่จ�านวนมาก ึ่งเป็นสถานที่สงบวิเวก เหมาะสมแก่สมณการปฏิบตั ธิ รรม การสร้างศาสนสถาน เกิดจากความศรัทธา ของประชาชนที่มีจิตใจเสียสละทรัพทย์เป็นทาน ร่วมจิตร่วมใจกัน บริจาคทรัพย์สินส่วนตัวคนละเล็กคนละน้อย เพื่อสร้างศาสนสถาน เป็ น ผู ้ มี ค วามเลื่ อ มใสศรั ท ธาในบวร พระพุ ท ธศาสนา แม้ ท รั พ ย์ เพียงเล็กน้อย ก็มีอานิสงส์มาก พระครูไพบูลธรรมกิจ เป็นเจ้าอาวาส วัดเขาบังเหยชุมพลสีมาราม(ธ) งึ่ เป็นลูกศิษย์ พระอาจารย์นก ฐิตะธัมโม ที่มีชื่อเสียงมาก ในพื้นที่แถบนี้ ผู้คนพากันหลั่งไหลไปกราบขอพร ขอวัตถุมงคล เครื่องรางของขลัง เพื่อน�าไปบูชายึดเหนี่ยวจิตใจ ึ่งมี ประสบการณ์เล่าขานกันมากมายและมียาสมุนไพรในป่า ต้มแจกทาน ให้กิน อบ อาบ รักษาโรคต่างๆ แจกทาน รีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย บางคน ก็ ม าเที่ ย วชมภู มิ ทั ศ น์ ป ่ า ไม้ อั น สวยงาม บางคนมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อมาชมสถาปัตยกรรม บางคนสักการะขอพรตามศรัทธาความเชื่อ คนที่ ม าแล้ ว มี ค วามรู ้ สึ ก ประทั บ ใจสบายใจ บางคนชอบมาที่ วั ด นี้ เพื่อพักผ่อนเมื่อมีเวลาว่างหรือเมื่อมีงานบุญต่างๆ 232

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

4

.indd 232

. - 18/05/2562 17:00:13 PM


ทางเขาหนาวัด ะมี ุมประตูเปน ุมตนไมให ่ และ มีสิง ตเ าหนา ุมประตู

บันไดทางขึ้นไปกุ ิที่พักพระเถรานุเถระ

มหาอุ บสถและสิ่งก่อสรางต่าง บริเว วัด มุมสูงมีตนไมร่มรื่นสวยงาม เมื่อเดินเขาไปในบริเว ลานวัด ะเ อที่ปดทองลูกนิมิต บาง นสักการะขอพรตามศรัทธา วามเชื่อ

มหาอุ บสถในบริเว วัด มุมสูงมีตนไมร่มรื่นสวยงาม ร่มเยน

กราบขอพรพระบนศาลา พระอง ์ แลวมี วามรูสึกประทับใ สบายใ

บุ ลทั่วไปที่ ะมาพัก าง ืนในวัด ใหติดต่อสอบถามไดที่ประชาสัมพันธ์ ไม่ตองเสีย ่าใช ่ายใด ทั้งสิ้น

ที่พักส�าหรับบุ ลทั่วไป

เดินชมบริเว วัดเหนื่อยกพักนั่งดื่ม ยาสมุนไพรแกกระหายและรักษา ร ต่าง กุ ิที่พักส�าหรับพระภิกษุสามเ รภายในวัด

ศิลปกรรม ุมประตู ขงเ ดีย์ระ ัง เปนรูป ชสีห์ หาดูไดยาก

บาง นชอบมาที่วัดนี้เมื่อมีงานบุ สักการะขอพรตามศรัทธา วามเชื่อ เขาพิธีเ ริ พุทธมนต์ เพื่อ วามเปน สิริมง ลในชีวิต CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 233

233

. - 16/05/2562 19:27:11 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเขาหวด นารั ระอธ ารแดง คุ ง ร ั

ับเ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

234

พระอธิการจวน พระอธิการสุบิน พระอธิการเชียน พระอธิการสุบิน พระอธิการจ้อน ปยสีโล พระอธิการอุทัย ฐิตกุโล พ.ศ. 2553-2561 พระอธิการแดง คุณงกโร พ.ศ. 2562-ปัจจุบนั

วัดเขาหวดพนารักษ์ ตั้งอยู่ที่บ้านนายางกลัก หมู่ที่ 1 ต�าบลนายางกลัก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ ตัง้ เป็นวัดเมือ่ พ.ศ. 24 4 งึ่ เจ้าคณะปกครองฝ่ายสงฆ์ ได้ปกครองดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน โดยหนังสือนี้ กรมการศาสนาขอรับรองว่า วัดเขาหวดพนารักษ์ เป็นวัดสมบูรณ์ตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ.121 ึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น จึงออกหนังสือรับรองสภาพวัด ให้ไว้เป็นส�าคัญ ให้ไว้ ณ วันที่ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ ปี พ.ศ. 2553

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 234

. - 16/05/2562 18:47:12 PM


ป บันทึก

เปน

กร ร

ั น ั

ไทย

การสร้างวัดในสังคมไทยมีแบบอย่างที่เป็นอิทธิพลหลักจากลังกา เนื่องจากคนไทยนับถือพุทธศาสนาในลัทธิเถรวาทหรือหินยานผ่านมา ทางสายของลังกา (แบบลังกาวงศ์) มูลเหตุ คือการสร้างให้เป็นศาสนสถานเพื่อเอื้อต่อการกระท�า ศาสนพิธี และเหตุผลส�าคัญอีกประการหนึ่งคือ เป็น ผลสืบเนื่องจาก เนื้อหาค�าสอนใน ไตรภูมิ ที่ทรงนิพนธ์ขึ้นโดยพระยาลิไท กษัตริย์ แห่งกรุงสุโขทัยในราวปี พ.ศ. 1 ึ่งเนื้อหาส่วนใหญ่จะเน้นในเรื่อง ของ ปุพเพกตปุญญตา อันเป็นเรื่องที่พรรณนาเกี่ยวกับสวรรค์และ นรกเป็นอย่างมาก จึงกระตุน้ ให้เกิดความกลัวในเรือ่ งของการท�าความชัว่ และเร่งสร้างบุญความดี เพื่อจะได้ขึ้นไปเสวยสุขบนแดนสวรรค์หรือ ได้เกิดใหม่ในชาติภพหน้าที่เพียบพร้อมด้วยฐานันดรศักดิ์ที่สูงส่ง หรือ เพื่อสั่งสมบุญส�าหรับไปเกิดในยุคเดียวกับพระศรีอริยเมตไตรย หรือ ที่ นิ ย มเรี ย กว่ า พระศรี อ าริ ย ์ เป็ น พระโพธิ สั ต ว์ ผู ้ จ ะได้ ต รั ส รู ้ เ ป็ น พระพุทธเจ้าพระองค์ที่ 5 และองค์สุดท้ายแห่งภัทรกัปนี้ พุทธศาสนิกชนเชือ่ ว่าเมือ่ ศาสนาของพระโคตมพุทธเจ้าสิน้ สุดไปแล้ว โลกจะล่ ว งเข้ า สู ่ ยุ ค แห่ ง ความเสื่ อ มถอย อายุ ขั ย ของมนุ ษ ย์ ล ดลง จนเหลือ 10 ปี ก็เข้าสู่ยุคมิคสัญญี ผู้สลดใจกับความชั่วก็หันมา รวมกลุ่มกันท�าความดี จากนั้นอายุขัยเพิ่มขึ้นถึง 1 อสงไขยปี แล้วจึง ลดลงอีกจนเหลือ 0 000 ปี ในยุคนี้จะมีพระโพธิสัตว์ที่บ�าเพ็ญบารมี ครบ 0 อสงไขยแสนมหากัป ลงมาตรัสรู้เป็นพระเมตไตรยพุทธเจ้า การท�าบุญที่ให้ได้มาถึง ึ่งอานิสงส์มากที่สุดก็คือการสร้างวัดนั่นเอง เหตุนี้คนไทยจึงนิยมสร้างวัดกันมาโดยตลอดทุกยุคทุกสมัย

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 235

235

. - 16/05/2562 18:47:21 PM


·Ø¡¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁͺãËŒàÃÒ໚¹¼ÙŒ´ÙáÅ...

The Pano Thepsatit

ักกายส

ทา กลา เ าตนไ อากาศบริสทธิ ดวยท ักล�าส ัย นธรร าติ

เดอะ า น เท ส ิต ัย ิ รสอรท ทออก บบอยา ล�าส ัย ตอบรับ นรน ละทกวัยทก�าลั อ าท ัก ระ วา การเดินทา ทอ เทยว ท�า าน อยา ส บ ปลอด ัย ด ด�าไปกับ สิ วดลอ สะอาดปราศ าก ล ิ ดวยทตั อยบนท�าเลทวิเศ ลอ รอบ ดวย เ า ละตนไ บรรยากาศด สา าร เดินทา ไดสะดวก บา อ ัก ระเบย สา าร อ เ นกั ันล ไดอยา ัดเ น อ ักท การตก ต สวย า สะอาด ทันส ัย รอ ท อดร สะดวกสบาย

236

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

The Pano Thepsatit.indd 236

16/5/2562 19:39:13


อ ัก บบ S ละ อ กั ตละ อ ประกอบดวย เ รอ ปรับอากาศ ทว รอ เ เบิล ตเยน เ รอ ท�าน�าอน ละ อ น�าสวนตัว รอ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน

·Ø¡¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ÁͺãËŒàÃÒ໚¹¼ÙŒ´ÙáÅ·‹Ò¹ ... เดอะ า น เท ส ิต หมู่ ต�าบลวะตะแบก อ�าเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ

ส�ำรองห้องพัก 099-461-4265 The Pano Thepsathit 0994614265

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

The Pano Thepsatit.indd 237

237

16/5/2562 19:39:19


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด ง าล ระครูปรยัตวั นคุ

รองเ ้าค ะอาเภอภูเขียว เ ้าอาวาสวัด ง าล

วัดบงบาล บ้านมลกระบอ าบลหนองคอนไ ย อา อ ยว จั ง หวั ด ชั ย ม มอก่ อ น ระชาชนนยม รยกว่ า “บงบาลสวรรค์ ” ังอย่ าง ะวันออก องหม่บ้าน ได้รับอน า ห้สร้าง มอ พ งมพระอ การชา จาร ัม ม หลวง ชา น จ้าอาวาสร แรก ดยม นด ดน ล ล่ม หน้า อา อ ยว จังหวัดชัย ม ล ดน หน้าสารวจ าบลหนองคอนไ ย ม นอ ระมา ไร่ งาน ารางวา

238

.indd 238

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:45:02 PM


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 239

239

. - 16/05/2562 19:45:03 PM


าเนีย เ ้าอาวาส า อดีต น งป ุ 1. พระอธิการชาที จารุธัมโม 2. พระหลักค�า จันทสาโร 3. พระค�าปัน จิตตธัมโม 4. พระพรหมมา วรธัมโม 5. พระโอ ปภากโร 6. พระบุญมา ขันติโก 7. พระหน่อย ญาณวโร . พระสี วิปโล 9. พระเนาว์ ชยธัมโม 10. พระก่อน ปัญญาธโร 11. พระค�ามี ปยวัณโณ 12. พระบุญทัน จันทโสภโณ 13. พระเพ็ง เสตปโต 14. พระบุญมี อังควโร 15. พระสุพจน์ นรเทโว 16. พระแดง สุขวโร 17. พระพิกุล โสภิโต 1 . พระเข็มทราย จันทวังโส 19. พระเ ลิม รตนโชโต 20. พระทองเหลือง สุทธจารี 21. พระบุญหลาย มหาปุญโญ 22. พระสมบูรณ์ สมาจาโร 23. พระบุญโ ม กันตสีโล 24. พระสมาน อังควโร 25. พระอธิการบุญเริ่ม ปัญญาวุโธ 26. พระอธิการพิชิต ปภากโร 27. พระอินตา ครุธัมโม 2 . พระสม สีลส�วโร 29. พระไพรจิตร ปภากโร 30. พระทวีศักดิ์ สุคันโธ 31. พระบุญจันทร์ อินทวัณโณ 32. พระพันธ์ศักดิ์ ฐานจาโร 33. พระรอด วิปโล 34. พระลอง กิตติโสภโณ 35. พระอธิการโสภณ จันทโชโต 36. พระครูปริยัติวัฒนคุณ

240

.indd 240

ัน ดังนี พ.ศ. 2376 - พ.ศ. 2404 พ.ศ. 2407 - พ.ศ. 2415 พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2422 พ.ศ. 2423 - พ.ศ. 2426 พ.ศ. 2427 - พ.ศ. 2429 พ.ศ. 2430 - พ.ศ. 2433 พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2439 พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2442 พ.ศ. 2443 - พ.ศ. 2446 พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2451 พ.ศ. 2452 - พ.ศ. 2456 พ.ศ. 2457 - พ.ศ. 2461 พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2469 พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2472 พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2495 - พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2503 - พ.ศ. 2505 พ.ศ. 2506 - พ.ศ. 2507 พ.ศ. 250 - พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2512 - พ.ศ. 251 พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2523 - พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2526 - พ.ศ. 2527 พ.ศ. 252 - พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2533 - พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2539 - ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 15:09:38


ประวัตเ ้าอาวาส พระครูปริยัติวัฒนคุณ (วัฒนา ฐานุตตโม) เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2515 เป็นบุตรคนที่ 5 ของคุณพ่อบุญมา คุณแม่วนั ทอง เหมวงศ์ ณ บ้านเลขที่ 112 หมู่ที่ 13 บ้านเหมือดแอ่ ต�าบลนาเพียง อ�าเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น เมื่ออายุ 6 ขวบ เข้าเรียนหนังสือ ที่โรงเรียนบ้านนาเพียง จนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปี พ.ศ.2529 บรรพชาเป็นสามเณรทีว่ ดั โกสุมภาราม บ้านเหมือดแอ่ และได้ ศึ ก ษาพระธรรมวิ นั ย เป็ น ครั้ ง แรก ณ ที่ นี้ จ นสามารถสอบ นั ก ธรรมชั้ น ตรี ไ ด้ แล้ ว ในปี ต ่ อ มาจึ ง ได้ ไ ปศึ ก ษาต่ อ ที่ วั ด พระนอน ต�าบลทับยา อ�าเภออินทร์บรุ ี จังหวัดสิงห์บรุ ี และวัดโบสถ์ จังหวัดสิงห์บรุ ี ตามล�าดับ เป็นเวลา 7 ปี อุปสมบทเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 253 เวลา 06.30 น. ณ พัทธสีมาวัดอิสาณ บ้านอาจสามารถ ต�าบลนาเพียง อ� า เภอชุ ม แพ จั ง หวั ด ขอนแก่ น โดยมี พ ระครู ป ั ญ ญาวุ ฒิ ส าร เป็ น พระอุปัช าย์ พระครูพิพัฒน์บุญสาร เป็นพระกรรมวาจาจารย์และ พระครูประโชติวนาภิร มย์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ในปีเดียวกัน ได้ ย ้ า ยมาอยู ่ วั ด บึ ง บาล เมื่ อวั น ที่ 11 มี น าคม และรั บ ต� า แหน่ ง รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดบึงบาลเรือ่ ยมาๆ จนเมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 ได้รบั แต่งตัง้ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาสวัดบึงบาลอย่างถูกต้อง ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ การ ก า นักธรรม เอก ป.ธ.3 พธ.บ. เอกศาสนา(เกียรตินยิ ม) รป.ม. ค รรม ขยันให้คงที่ ท�าดีให้คงทน ท�าตนให้พองาม ท�าตาม พระธรรมวินัย เสนาสนะ ีสาคั ภายในวัด อุโบสถขนาด กว้าง 14 เมตร ยาว 2 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2524 เสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2534 ผูกพัทธสีมาเมื่อ พ.ศ. 2537 ศาลาการเปรียญ ขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 20 เมตร สูง 10 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2505 มุ้ ประตูใหญ่ ทิศตะวันตกของวัด สร้างเมือ่ 25 มกราคม พ.ศ. 2535 เสร็จเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2535 กุฏิสงฆ์เล็ก 5 หลังๆ ละ 150 000 บาท กุฏริ บั รองสงฆ์ โดย คุณแม่สะอาด แ โ่ ง้ว และคุณเสริมศักดิ์ วุฒธิ รชัย จ�านวน 676 96 บาท ศาลาพักญาติ ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2540 มณ ปหลวงปู่ชาที ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2540 หอระฆังเ ลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราช สร้างเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 เสร็จเมื่อ 12 สิงหาคม พ.ศ.2543 ก�าแพง ทิศเหนือ ยาว 91 เมตร ทิศใต้ ยาว 92 เมตร ทิศตะวันออก ยาว 100 เมตร ทิศตะวันตก ยาว 129 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2545 โรงครัว ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2546 กุฏิส�านักงานเจ้าอาวาส ทรงไทยสเปน ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว เมตร สร้างเมื่อ 2 มกราคม พ.ศ. 2549 เสร็จเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 เมรุ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2554 ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 7 เมตร ศาลาพักญาติ(หลังคาแดง) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2553 CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 241

241

. - 16/05/2562 19:45:20 PM


WAT BUENG BAN

PHRA KHRU PARIYAT WATTANAKHUN TAKES A POSITION OF PHU KHIAO DISTRICT VICE MONK DEAN AND ABBOT AT THIS TEMPLE.

Wat Bueng Ban is located at Ban Mun Krabue, Nong Khon Thai sub-dsitrict, Phu Khiao district, Chaiyaphum province. Formerly, many people usually called “Bueng Ban Sawan”. This temple is situated in the east of Mun Krabue village. It was permitted to build in B.E.2376 which Phra Athikarn Chati Jaruthammo (Luang Phu Chati)

242

.indd 242

was the first abbot and the title deed of this temple is title deed no.66435, volume 665, page 35, parcel no.321, parcel file no.6852. The total amount of this land is 2.4 acres and 1,188 square meters. At present, Phra Khru Pariyat Wattanakhun taking a position of abbot at this temple.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 19:45:22 PM


BIOGRAPHY OF ABBOT .

( . .2515.

6 . .13

112

) (

-

.

-

.

).

-

.

-

.

.

. .2529 . .2524

. .2534 . .2537.

. -

7

. .253 06.30 .

. -

-

25 -

15

.

11 10 .

. .2543

-

-

9 . .2505. .

. .2535 2 . .2535. . .253 . . .2540. . .2540 ( ). 72 5 . .2542 2 . .2543. 91 92 100 129 . . .2545. . .2546. -

2 . .2549. (

. .2549 )-

. .2554. . .2553.

2

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 243

243

. - 16/05/2562 19:45:25 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดนาอ้อม ระอธ าร รร ั

ประ ั

น สา ร

เปน

ั น

สร้างเมือ่ พ.ศ. 2357 โดยมีชาวบ้านช่วยกันบริจาคทีด่ นิ และสร้างถวายอยูท่ างทิศตะวันออกของ หมู่บ้านโนนทอง ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เป็นจ�านวน 3 ไร่ 10 วา ได้รับอนุญาต ให้สร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2357 ปัจจุบันวัดมีเนื้อที่ 3 ไร่ เป็นที่ดินมี น.ส.3 เลขที่ 4 5

วัดนาอ้อม ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบันมีพระอธิการบรรจบ จนทสาโร ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

244

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 244

20/5/2562 9:30:27


ับเ 1. พระลี งามโนนทอง ได้รับการแต่งตั้ง พ.ศ. 2357 2. พระทองอินทร์ จนทธมโม ได้รับการแต่งตั้ง พ.ศ. 2526 3. พระอธิการบรรจบ จนทสาโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

เ น นะ

บ พระ วส หรื อ บ ผะ หวด หรื อ ที่ เ รี ย กกั น โดยทั่ ว ไปว่ า บุญมหาชาติ เป็นประเพณีบุญตาม ีตสิบสอง ของชาวอีสาน เป็น ประเพณีการบริจาคทานครั้งยิ่งใหญ่ โดยในราวต้นเดือนสาม ดอกจิก ดอกจานบาน พุทธศาสนิกชนจะเก็บดอกไม้เหล่านี้ มาร้อยเป็นมาลัย เพื่อตกแต่งศาลาการเปรียญส�าหรับบุญมหาชาติในระหว่างเดือนสาม เดือนสี่ ไปจนถึงกลางเดือนห้า และในงานนี้ก็จะมีการเทศน์มหาชาติ ึ่งถือว่าเป็นงานอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้ใด ังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียว และบ�าเพ็ญคุณงามความดี จะได้อานิสงส์ไปเกิดในภพหน้า โดยมี ความเชือ่ ในการท�าบุญว่า เป็นการสละความเห็นแก่ตวั เพือ่ ประโยชน์สขุ อันไพศาลของมวลชนมนุษยชาติเป็นส�าคัญ ดังนั้น บรรพชนชาวไทย อีสานแต่โบราณ จึงถือเป็นเทศกาลที่ประชาชนทั้งหลายพึงสนใจร่วม กระท�าบ�าเพ็ญ และได้อนุรกั ษ์สบื ทอดเป็นวัฒนธรรมสืบมาจนถึงอนุชน รุ่นหลังที่ควรเห็นคุณค่าและอนุรักษ์เป็นวัฒนธรรมสืบไป

สิง่ ปลูกสร้างทีใ่ ช้การได้คอื กุฏิ มี 1 หลัง กว้าง 9 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2357 ศาลาการเปรียญ มี 1 หลัง กว้าง เมตร ยาว 10 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2357 หอระฆัง กว้าง 2 เมตร ยาว 2 เมตร สูง 5 เมตร กจกรรม องวัด ท�าวัตรสวดมนต์เช้า-เย็น พระสงฆ์ออกบิณ บาต ในยามเช้า วันพระชาวบ้านมาท�าบุญที่วัด ังธรรม ปฏิบัติธรรม และ ด้วยความที่ประชาชนส่วนใหญ่ในต�าบลกวางโจนนับถือศาสนาพุทธ จึงมีความเชื่อและความศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง ึ่งได้ สะท้อนออกมาในประเพณีตงั้ แต่สมัยก่อนมาจนถึงปัจจุบนั ทีย่ งั คงมีอยู่ ตามหมู่บ้านต่างๆ เช่น บุญพระเวส เป็นต้น

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 245

245

20/5/2562 9:30:42


H I S TO R Y O F B U D D H IS M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�าชีวิต

H I STORY OF BU DDHI S M

อ บส

วัดบัวบาน

จิต บิ ัติ รรม ลี วิเว เดิน ดงค สบสาน ร ท าสนา ห้ด�ารงคงอยู่สบ ระอา ารยเชน ร ธีรป

( ระอา ารยปรมัต ) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัดบัวบาน เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพักเกวียน เลขที่ 112 หมู่ 12 ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อวันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2401 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 2471

ิ ทา ร ครู าวร ีลวัตร

ท่านเป็นผู้ใจใหญ่ เห็นแก่ชาติ ศาสนาโดยแท้จริง เมื่อพระเดชพระคุณหลวงปู่พระครูถาวรศีลวัตร์ เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 4 และเป็นเจ้าคณะอ�าเภอภูเขียว รูปที่ 1 ในสมัยนัน้ จึงได้รเิ ริม่ ตัง้ โรงเรียน วัดบัวบานขึ้นเป็นโรงเรียนบุคคล โดยไม่ได้ใช้ทุนศาสนสมบัติส่วนกลาง หลวงปู่เจ้าท่านยังตั้งโรงเรียนบาลีมูลกัจจายสูตรขึ้น ที่วัดโนนมะเค็ง (บ้านหัวหนอง) และตัง้ ครูสอนปริยตั ธิ รรมตามต�าบลต่างๆ โดยท่านเอา ทุนส่วนตัวบ�ารุงเอง จึงเป็นทางส่อให้เห็นว่า ท่านเป็นผู้ใจใหญ่ เห็น แก่ชาติ ศาสนาโดยแท้จริง 246

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

2.indd 246

17/5/2562 11:21:22


ในด้านการสร้างวัดบัวบานและการบ�าเพ็ญกุศลอื่นๆ พระเดช พระคุณหลวงปู่ ท่านได้บริจาคทรัพย์ส่วนตัวสร้างกุฏิ 3 หลัง ศาลา การเปรียญและธรรมาสน์วัดบัวบาน เป็นเงินเหรียญ 2 395 บาท สร้าง โบสถ์พร้อมด้วยพระประธานขนาดใหญ่อีก 2 องค์ เป็นเงินเหรียญ 1 3 5 บาท สร้างโรงเรียนประชาบาลโดยธนบัตร เป็นเงิน 735 บาท โรงเรียนนีป้ รากฏว่าขุนภูมพิ ชิ ยั นายอ�าเภอภูเขียว บริจาคร่วม 0 บาท สร้างศาลาพักแขก เป็นเงิน 300 บาท สร้างสระน�า้ 70 บาท สร้างศาลา กลางน�า้ 200 บาท ทุกสิง่ ทุกอย่างมุงด้วยสังกะสี พืน้ และฝาไม้กระดาน อย่างมัน่ คง และหลวงปูเ่ จ้าท่านยังรับอุปสมบทคนอนาถานับรายไม่ถว้ น บริจาคท�าบุญกฐินผ้าป่า ไม่ค�านวณแน่นอน รวมเงินท่านบอกไว้ในส่วน การกุศลเป็นเงิน 5 265 บาท ทั้งที่เป็นธนบัตรและเงินเหรียญ พระเดช พระคุณหลวงปู่ ท่านได้พัฒนายกระดับการศึกษาของวัดบัวบานและ ต�าบลต่างๆ ในอ�าเภอภูเขียวให้เจริญรุ่งเรืองมากขึ้นในสมัยนั้น พระเดชพระคุณหลวงปู่พระครูถาวรศีลวัตร์ เป็นนักพัฒนาโดยแท้ มุง่ หวังประโยชน์สว่ นรวม เป็นพระผูม้ แี ต่ให้ ใจดี มีเมตตา มุง่ หมายความ เจริญรุง่ เรืองรุง่ โรจน์แห่งอนาคตเป็นอย่างยิง่ ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั นี้ จากวันที่สร้างวัดบัวบาน พ.ศ. 2401 จนถึง พ.ศ. 2562 เป็นระยะเวลา 161 ปี 1 เดือน มีเจ้าอาวาสตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั รวม 21 รูป ปัจจุบนั พระอาจารย์ ชน ร์ ร พระอาจารย์ รมั ์ ด�ารงต�าแหน่งเจ้าอาวาส

ร วัติท่านเจ้าอาวาสรู จจบัน ดยสังเข

พระอาจารย์ ชน ร์ ร พระอาจารย์ รมั ์ สถานะเดิม ชือ่ นายเชนทร์ นามสกุล บุตะเขียว เกิดวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 บิดาชื่อ นาย ลอน บ ะ ยว มารดาชื่อ นางสมพ บ ะ ยว ณ บ้านเลขที่ 9 หมูท่ ี่ 12 บ้านบัวพักเกวียน ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ อุปสมบท เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ณ วัดเฝอแฝง ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ โดยพระคร าวรชัยวั น์ เป็นพระอุปชั าย์ พระ ชน ร์ ร ได้ไปศึกษาพระธรรมวินยั และ พระกรรมฐานกับพระอาจารย์มหา รงค์ ก ส ณ วัดธรรมสถาน ต�าบลโอโล อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ขณะนั้นยังเป็นส�านักสงฆ์ ธรรมสถาน จากนั้นท่านได้กราบลาพระอาจารย์มหาณรงค์ ออกธุดงค์

ไปยังที่ต่างๆ เช่น จังหวัดอ�านาจเจริญ สกลนคร นครพนม ไปสิ้นสุดที่ อ�าเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ต่อมาท่านจึงย้อนกลับมาที่อ�าเภอภูกระดึง จังหวัดเลย ขณะท่าน ก� า ลั ง ธุ ด งค์ ที่ อ� า เภอภู ก ระดึ ง นี้ เ อง ได้ มี ผู ้ บ� า เพ็ ญ บุ ญ ติ ด ต่ อ มาว่ า ต้องการสร้างพระประธานถวายวัดที่ขาดแคลนเพื่อให้ได้รับประโยชน์ อย่างแท้จริง จงกราบเรียนท่านช่วยติดต่อหาวัดทีจ่ ะรับพระประธานไว้ โดยได้แจ้งจัดถวายให้กับวัดป่าช้าบ้านโป่งโพธิ์ เดชะบุญผู้ประสงค์จะ สร้างพระประธานถวายวัดได้เสียชีวิตลงอย่างกะทันหัน ท่านจึงติดต่อ อาจารย์วรินทร์ภรณ์ เจียรนัย(โยมแม่แก้ว) เพือ่ จัดหาเจ้าภาพถวายพระ ประธานทดแทน เพราะรู้จักโยมแม่แก้วแต่เพียงผู้เดียว CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2.indd 247

247

18/5/2562 16:17:28


ยมแม่แก้วจึงนิมิตท่านมาบอกบุญญาติโยมที่ราชบุรี โดยคืนก่อน เดินทางไปราชบุรี ท่านได้นิมนต์เห็นภาพพระพุทธรูปลอยอยู่ในอากาศ 5 องค์ ท่านจึงได้ไปอาศัยวัดมหาธาตุวรวิหาร จังหวัดราชบุรี โ นกรรมฐาน เป็นระยะเวลา 1 เดือน ในคืนหนึง่ ท่านได้นมิ ติ เห็นเทพ 2 องค์ ปรากฏกาย ลงมากราบ แต่ท่านไม่ให้กราบเทพจึงขอพรแทน ท่านบอกว่าไม่มีพรให้ เทพจึงเชิญท่านพักผ่อนและบอกว่า ต่อไปท่านจะไม่ได้พักแล้ว จะต้อง สร้างพระพุทธรูปใหญ่อีก 1 องค์(เหตุเกิด พ.ศ. 2549 ล่วงหน้าการ ก่อสร้างพระใหญ่ 4 ปี) โดยมีญาติโยมมาร่วมสร้างกับท่าน ได้รับเงิน ท�าบุญจากจังหวัดราชบุรี เป็นจ�านวน 435 000 บาท

248

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

2.indd 248

17/5/2562 11:21:35


จึงมาปักกลดปลีกวิเวกบ�าเพ็ญภาวนาอยูใ่ นป่าช้า เย็นวันหนึง่ ขณะก�าลัง โพล้เพล้ ด้วยความอ่อนเพลียในการภาวนา ท่านอาจารย์ก�าลังเคลิ้มก็ มีท้าวพระยายมราช รูปร่างสูงใหญ่ ศีรษะมีเขา ความสูงยอดไม้เทียบ เท่าสะดือ ถือกระบอง ลากโ ่มาดุท่าน ว่าให้เร่งภาวนาอย่าท�าเป็นเล่น ให้เสียเวลา ประจวบกับพระเดชพระคุณหลวงปู่พระครูถาวรชัยวัฒน์ ประสงค์ให้สร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมวัดบัวบาน เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรมใน อ�าเภอ จึงได้ริเริ่มสร้างตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา

ูนย ิบัติ รรมวิมตติสข วัดบัวบาน

เดิมทีบริเวณนี้เป็นป่าช้าใหญ่ของวัดบัวบาน มีต้นไม้ใหญ่ ึ่งเป็นป่า เบญจพรรณขึ้นมากมาย หลวงปู่คง (พระครูถาวรชัยวัฒน์) มีความ ประสงค์จะอนุรักษ์ป่าไม้และรักษาสิ่งแวดล้อมของธรรมชาติ จึงอยาก ให้ตงั้ ศูนย์ปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ พระสงฆ์จะได้มที ฝี่ กจิตปฏิบตั ธิ รรม ปลีกวิเวก เดินธุดงค์ เป็นการสืบสาน ถ่ายทอดเผยแพร่พระพุทธศาสนาให้ดา� รงคง อยู่สืบไป ึ่งสถานที่นี้เหมาะสมมาก เพราะมีทั้งป่าไม้ แหล่งน�้า อยู่ใกล้ ปัจจัย 4 หลวงปู่จึงปรารภกับพระอาจารย์ปรมัตถ์(พระอาจารย์เชนทร์ ธีรป โญ) ให้เป็นผู้รับผิดชอบสร้างศูนย์ปฏิบัติธรรมแห่งนี้ ดังนัน้ ในปี พ.ศ. 2553 พระอาจารย์ปรมัตถ์ จึงได้ปรารภกับลูกศิษย์ และญาติธรรมจากทีต่ า่ งๆ รวมทัง้ ญาติธรรมบ้านบัวพักเกวียน และเริม่ มีการสร้างพระใหญ่ (พระโคตมพุทธเจ้ามหาเมตตา) เป็นพระประธาน ลานพระใหญ่ ลานปฏิบตั ธิ รรม ระหว่างทีก่ า� ลังก่อสร้างก็ได้บอกบุญไปด้วย เป็นบุญทีท่ า่ นเจ้ากรมทหารช่างจากจังหวัดราชบุรี (รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ฯ) ได้มาช่วยขุดลอกสระหนองสิมใหญ่ และ สระโสกโก เพือ่ น�าดินมาถมพืน้ ทีใ่ นศูนย์ปฏิบตั ธิ รรม ท�าให้ชาวบ้านมีนา�้ อุปโภคบริโภคตลอดปี ถือว่าได้ประโยชน์สองชัน้ คือ นอกจากจะได้ศนู ย์ ปฏิบัติธรรมที่สัปปายะแล้ว ยังได้แหล่งน�้าเพื่ออุปโภคบริโภคสามารถ ช่วยเหลือชาวบ้านไม่ให้ขาดแคลนได้ ก็ทา� ให้การภาวนาก้าวหน้าไปในตัว เพราะไม่ต้องกังวลเรื่องปัจจัยพื้นฐานในการด�ารงชีวิตอย่างหนึ่ง

จึงได้สร้างพระพุทธรูปถวายวัดดังนี้ 1. วัดสระแก้ว จังหวัดขอนแก่น พระสีวลี 1 องค์ เป็นเงิน 50 000 บาท 2. วัดผาพระนอน จังหวัดขอนแก่น พระโมคคัลลานะ และพระสารีบตุ ร ปางยืนพนม อัครสาวก ้าย ขวา 2 องค์ เป็นเงิน 100 000 บาท 3. วัดป่าช้าบ้านโป่งโพธิ์ จังหวัดชัยภูมิ พระประธาน 1 องค์ พร้อม พระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตร ปางนั่งอัญชลี อัครสาวก ้าย-ขวา 2 องค์ เป็นเงิน 150 000 บาท เจตนารมณ์เดิมคือ ต้องการหาเงินสร้างพระประธานเพียงองค์เดียว แต่ได้รับเงินท�าบุญจ�านวนมากเกินความคาดหมาย และสามารถสร้าง พระถวายได้มากถึง 6 องค์ เมื่อหมดภาระหน้าที่แล้ว ท่านมีความประสงค์ธุดงค์ข้ามไปฝังลาว แต่ได้นิมิตเห็นหลวงปู่พระครูถาวรศีลวัตร์ อดีตเจ้าคณะอ�าเภอภูเขียว องค์แรกและพระครูถาวรชัยวัฒน์ งึ่ เป็นพระอุปชั าย์ของท่าน ท่านได้ นิมิตติดต่อกันถึง 7 วัน หลวงปู่ทั้งสองบอกท่านว่า ให้กลับมาอยู่บ้าน จึงเป็นเหตุให้ทา่ นต้องกลับมาบ้านเกิดของท่าน ทีบ่ า้ นบัวพักเกวียน ท่าน CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2.indd 249

249

17/5/2562 11:21:45


บันท ร วัติความเ นมา

ในปี พ.ศ. 2401ในยุครัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) สม ดจพระมหาสม จ้า กรมพระ รมานช ช นรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชไทยองค์ที่ 7 และเป็นพระราชวงศ์ พระองค์แรกทีท่ รงได้รบั สถาปนาให้ดา� รงต�าแหน่งสมเด็จพระสังฆราช สมัยรัชกาลที่ 4 คณะใหญ่คงแบ่งเป็น 4 เหมือนรัชกาลที่ 3 ทรงสถาปนากรมหมื่นนุชิตชิโนรส ขึ้นเป็นสม ดจพระมหาสม จ้า กรมพระ รมานช ช นรส ประธานแห่งสงฆ์บริษทั ทัว่ ราชอาณาจักร พ.ศ. 2394 ในสมัยนัน้ มีวดั ราษฎร์ทสี่ ร้างขึน้ ใหม่มากมาย วัดบัวบาน ก็ได้สร้างขึน้ ในสมัยนัน้ ด้วย โดยมีหลักฐานในส�านักงานพระพุทธศาสนา รหัสวัด 04361002001 ที่อยู่ หมู่ 1 ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ มหานิกาย ประเภทวัดราษฎร์ วันที่ตั้งวัด พ.ศ. 2401 วันที่รับวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2471 วันทีต่ งั้ วัดบัวบาน เป็นปีมะเส็ง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2401 วัน ศุกร์ที่ 26 ขึ้น 14 ค�่าเดือน 4 ปีมะเส็ง มีหลักฐานจากวิสุงคามสีมา และพระพุทธปฏิมากรประธานวัดบัวบาน สร้างปีมะเส็งพุทธศักราช 2472 ส�าเร็จด้วยเงิน 1 4 5 บาท โดย พระครูถาวรศีลวัตร์ ช้ากว่าส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ 1 ปี ในสมัย นั้น มี พระอ การส ส ว ร เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 1 พระ ดชพระค หลวง สได้พฒ ั นาวัดบัวบาน ตัง้ แต่ พ.ศ. 2401-2411 พระอ การลน ก เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 2 ได้พัฒนาวัดตั้งแต่ พ.ศ. 2412-2425 พระอ การคง ค ม ม เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 3 ตั้งแต่ พ.ศ. 2425-2432 ในสมัยนั้นการศึกษายังมีไม่มากหรือ ไม่มีโรงเรียน 250

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

2.indd 250

17/5/2562 11:21:46


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

6

2.indd 251

251

17/5/2562 11:21:47


วัดเ อแ ง เ น ิ ยต้องมีครู

ระครู าวรชัยวั น (หลวงปู่คง ส ธาปช ช ต) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัด อแ ง ตั้งอยู่ที่ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ พระ ดชพระค พระคร าวรชัยวั น์ หรือ ที่พวกเราเรียกท่า นว่า หลวง คง ส า ช ช ปัจจุบันท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดเฝอแฝง อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�าเภอภูเขียว หลวงปูค่ งเป็นพระเถราจารย์สายมหานิกาย ทีเ่ ป็นทีเ่ คารพสักการะอย่าง สูงยิ่งของชาวจังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดใกล้เคียง ผู้ที่มีโอกาสกราบไหว้ องค์หลวงปู่ ได้ งั การปรารภธรรม แสดงธรรมจากหลวงปู่ ต่างประจักษ์ ความไพเราะ นุม่ นวล ละมุนละไม ไพบูลย์ดว้ ยธรรมอันเป็นสากลสัจจะ ยังความอิ่มเอิบเบิกบาน และเป็นมงคลยิ่งแก่ชีวิต ทั้งองค์หลวงปู่ยังมี ปฏิปทา และศีลาจารวัตรงดงามอย่างเสมอต้นเสมอปลาย รวมทั้งด้าน วิชาอาคมต่างๆ ก็เป็นที่ประจักษ์ ชา กา นด : พระคร าวรชัยวั น์ หรอ หลวง คง ส า ช ช 252

2

นามเดิมว่า คง นามสกุล แก้วมลม เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2476 ตรงกับวันแรม 9 ค�่า เดือน 11 ปีระกา เบญจศก จุลศักราช 1295 แต่ได้แจ้งเกิดเป็นวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2475 ตรงกับ วันขึ้น 14 ค�่า เดือน 11 ปีวอก ณ บ้านหนองปอแดง หมู่ที่ 7 ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ บิดาของท่านชือ่ นาย ง แก้วมลม มารดา ชือ่ นางม่ย แก้วมลม หลวง คง เป็นบุตรคนที่ 9 ในจ�านวนพีน่ อ้ งร่วม บิดามารดาทั้งหมด 14 คน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 252

17/5/2562 10:23:47


บรรพชา นสาม ร เมือ่ ครัง้ หลวงปูค่ งเรียนจบชัน้ ประถมศึกษา ปีที่ 4 พ.ศ. 2490 ขณะนั้นหลวงปู่คงมีอายุได้ 15 ปี ก็ได้บรรพชาเป็น สามเณร โดยมีพระคร าวร ลวั ร์ หลวง สาร์ เจ้าอาวาสวัดบัวบาน บ้านบัวพักเกวียน ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ เป็น พระอุปัช าย์ หลังบรรพชาแล้วสามเณรคงได้อยู่ที่วัดเฝอแฝงเพื่อคอย อุปัฏฐากรับใช้ พระอาจารย์บัว ึ่งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเฝอแฝง และได้ศึกษาข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ และทุกวันหลังจาก ันเพลเสร็จ สามเณรคงจะเดินเท้าตามทางเกวียนทีส่ องข้างทางนัน้ เป็นป่าคงพงไพร จากวัดเฝอแฝงไปยังวัดบัวบานเพือ่ ศึกษาพระปริยตั ธิ รรม ณ ส�านักเรียน วัดบัวบาน หลังจากเรียนเสร็จก็เดินเท้ากลับวัดเฝอแฝงในเวลาประมาณ บ่ายสามโมงหลังจากเรียนไม่นานหลวงปู่คงก็เข้าสอบนักธรรมชั้นตรีได้ ในปี พ.ศ. 2490 ณ ส�านักเรียนวัดบัวบาน อ สมบ นพระ ก ในปี พ.ศ. 2494 สามเณรคงได้เข้าพิธี อุปสมบทเป็นพระภิกษุในฝ่ายมหานิกาย ณ พัทธสีมา วัดบัวบาน บ้านบัวพักเกวียน ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ในวันพุธ ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2494 ตรงกับวันขึ้น 7 ค�่าเดือน 4 ปีขาล โดยมี พระครอ สก สรค หลวง อ้น อ ส ก เป็นพระอุปัช าย์ และมี พระบ สงค์ ผล เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระคาสงห์ อนร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ ายาว่า “ส า ช ช ” หลังจากอุปสมบท แล้ว หลวง คง ส า ช ช จ�าพรรษาอยูท่ วี่ ดั เฝอแฝงตามเดิม ศึกษา ข้อวัตรปฏิบัติ และยังศึกษาพระปริยัติธรรม ณ ส�านักเรียนวัดบัวบาน จนสอบนักธรรมชั้นโทและเอกได้ ก านัก รรม หลวงปู่เมตตาเล่าให้ ังว่า แนวเรียนบ่ยาก แนวบ่ได้เรียนหนังสือมีแต่ดกู บั ดู ดูกะดูเ ยๆ สมัยก่อนมีเนือ้ หาอย่างเดียว แต่เดียวนี้มีแบบฝกให้เ ็ดน�า ปี พ.ศ. 2490 สอบได้นักธรรมตรี ณ ส�านักเรียนวัดบัวบาน บ้าน บัวพักเกวียน ต�าบลกวางโจน อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ รยนวชา ก่อนที่หลวงปู่คงจะบรรพชาเป็นสามเณรนั้นพี่ชายของ หลวง คง ได้ บ วชเป็ น พระอยู ่ ที่ วั ด บั ว บาน คื อ หลวงพ่ อ อง นาย อง แก้วมลม และโยมพ่อโยมแม่ของหลวงปู่คง เป็นโยม อุปัฏฐากพระครูถาวรศิลวัตร์ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า หลวง สาร์ ึ่งหลวงพ่อทองนั้น หลวงปู่เสาร์ท่า นรักและเมตตาเป็นอย่า งมาก มี เ รื่ อ งอะไรไม่ ว ่ า เรื่ อ งเล็ ก หรื อ เรื่ อ งใหญ่ หลวงปู ่ เ สาร์ ก็ จ ะเรี ย ก หลวงพ่อทองเข้าไปหาเป็นประจ�า มีวิชาอะไรหลวงปู่เสาร์ก็จะถ่ายทอด ให้กับหลวงพ่อทองตลอด เมื่อเรียนเสร็จหรือมีเวลาว่างหลวงพ่อทองก็ จดบันทึกวิชาต่างๆ เหล่านัน้ เอาไว้ และก่อนทีห่ ลวงปูเ่ สาร์จะมรณภาพ ท่านได้มอบต�าราวิชาต่างๆ ให้กับหลวงพ่อทอง หลังจากนั้นหลวงพ่อ ทองก็ได้มอบต�าราวิชาต่างๆ ของหลวงปูเ่ สาร์และทีห่ ลวงพ่อทองบันทึก ไว้ให้แก่หลวงปู่คง ต่อมาไม่นานหลวงพ่อทองก็ได้ลาสิกขา ภายหลังจากที่หลวงปู่เสาร์มรณภาพ หลวงปู่คงก็ศึกษาเล่าเรียนวิชา ต่างๆ จากต� า ราของหลวงปู ่ เ สาร์ ด้ ว ยเหตุ นี้ เ องหลวงปู ่ ค งจึ ง ถื อ พระคร าวร ลวั ร์ หลวง สาร์ เป็นครูบาอาจารย์ที่ท่านเดินตาม ปฏิปทา ปฏิบัติขัดเกลาตนจนล่วงทุกข์ได้ในที่สุด CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 253

253

17/5/2562 10:23:54


วัดศิลาดาด

ส�านั ิบัติ รรม ห่งที่ 6 ของจังหวัดชัยภูมิ ล ส�านั ิบัติ รรม ร จ�าจังหวัดดีเด่นอันดับ 1 ของ ร เท ระครูว

ชัยวั น(สุรน ร ขนต ) เ า้ อาวาสและ ปร ี าเ า้ ค ะตา ลธาตุ อง

วัด ลาดาด ตั้งอยู่เลขที่ 27 หมู่ที่ 1 ต�าบลธาตุทอง อ�าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ไร่ 3 งาน ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2475 ตอนที่ตั้งหมู่บ้านขึ้นนั้น มีเจดีย์เก่าแก่อยู่ จึงตั้งชื่อ บ้านว่าบ้านธาตุ ในบริเวณทีต่ งั้ วัดนี้ มีแผ่นหินขนาดใหญ่เป็นลานหินติด กับหนองน�้า จึงตั้งชื่อว่าวัดศิลาดาด จากนั้นได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ ปรับปรุงเรือ่ ยมา จนถึงปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2526 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

อาคารเสนาสน

ประกอบด้วย พระอุโบสถ กว้าง เมตร ยาว 16 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2523 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 1 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2514 เป็นอาคารคอนกรีตผสมไม้ กุฏสิ งฆ์ 6 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลัง ครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 4 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ 254

2

ยาว 15 เมตร กว้าง 6 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2516 และ ศาลาบ�าเพ็ญกุศล 2 หลัง สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก

ูชนียวัต

มีพระประธานในอุโบสถ องค์ใหญ่ 5 องค์ องค์เล็ก 5 องค์ พระประธาน ในศาลาการเปรียญ 6 องค์ พระแก้วมรกต 2 องค์ พระปางสมาธิ 1 องค์ ปางสะดุง้ มาร 2 องค์ ปางชินราช 2 องค์ องค์ใหญ่ 2 องค์ องค์เล็ก 1 องค์ พระสารีบตุ ร 1 องค์ และ พระโมคคัลลานะ 1 องค์ รวมทัง้ หมด 2 องค์

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 254

17/5/2562 9:47:57


ท�าเนียบเจ้าอาวาส

1. พระอาจารย์ก่าย สีลป โญ พ.ศ. 2475 24 0 2. พระอาจารย์เค ป ญาคโม พ.ศ. 24 0 24 3 3. พระอาจารย์บุญมา กตปุ โญ พ.ศ. 24 3 24 5 4. พระอธิการสน ส ญจิตโต พ.ศ. 24 5 24 7 5. พระอธิการสีมา สุภทโท พ.ศ. 24 7 24 6. พระอธิการลู ลาภสมปนโน พ.ศ. 24 2492 7. พระอธิการพิลา วิปุโล พ.ศ. 2492 2495 . พระอธิการ อง อกกโชโต พ.ศ. 2495 2496 9. พระอธิการวินโท เขมิโย พ.ศ. 2496 249 10. พระอธิการสมจิต ฐิตปุ โญ พ.ศ. 249 2500 11. พระอธิการเ ือง โกวิโท พ.ศ. 2500 2503 12. พระอธิการจุมพร กิตติคุตโต พ.ศ. 2503 2505 13. พระอธิการจวง ขนติธโร พ.ศ. 2505 250 14. พระอธิการขุนทอง สิริจนโท พ.ศ. 250 2510 15. พระอธิการหนูผ่อง สุทธลีโล พ.ศ. 2510 2513 16. พระครูวิศิษฏ์ชัยวัฒน์ (สุรินทร์ ขนติโก) พ.ศ. 2513-ปัจจุบัน

ร วัติเจ้าอาวาส

พระครว ์ชัยวั น์ สรน ร์ น ก เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 247 บ้านเลขที่ 50 หมู่ ต�าบลสวนหม่อน อ�าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ด�ารงต�าแหน่งที่ปรึกษาเจ้าคณะต�าบลธาตุทอง และ เจ้าอาวาสวัดศิลาดาด บรรพชา เมื่ออายุได้ 1 ปี วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 249 ณ วัดศรีนวล อ�าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น พระอุปชั าย์ พระครูพิบูลสารเวท เจ้าคณะอ�าเภอมัญจาคีรี วัดศรีนวล บ้านกกหุ่ง

ต�าบลสวนหม่อน อ�าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น อายุได้ 20 ปี ได้ลาสิกขาไป เพราะมีเหตุจา� เป็น ป่วยเป็นไข้จบั สัน่ จนแทบเอาชีวติ ไม่รอด พร้อมเป็นโรคผิวหนัง หิดกลาก ยายบอกให้ลาสิกขาเป็นฆราวาสอยูพ่ กั หนึง่ จนอายุครบ 21 ปี บริบูรณ์ก็อุปสมบท เมื่อวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. 249 เวลา 10.00 น. ณ วัดศรีนวล ต�าบลสวนหม่อน อ�าเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น พระอุปชั าย์ พระบดดา ผล ก พระกรรมวาจาจารย์ พระบ ม ช พระอนุสาวนาจารย์ พระม สมงค ล

สม ั ดิ

พ.ศ. 2521 เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นตรี ที่พระครูวิศิษฏ์ชัยวัฒน์ พ.ศ. 252 ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นโท พ.ศ. 2541 ได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก ท่านพระครูวิศิษฏ์ชัยวัฒน์ เป็นพระนักพัฒนาทุกด้าน ทั้งคันถธุระ และวิปัสสนาธุระ ตลอดจนการพัฒนาทางด้านเสนาสนะ ปูชนียวัตถุ เพือ่ ส่งเสริมการปฏิบตั ธิ รรม และสงเคราะห์ชาวบ้านมาโดยตลอด จนถึง ปี พ.ศ. 2551 ได้รบั คัดเลือกเป็นส�านักปฏิบตั ธิ รรมแห่งที่ 26 ของจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2555 ได้รบั การคัดเลือกเป็น ส�านักปฏิบตั ธิ รรมประจ�าจังหวัดดีเด่น อันดับ 13 ของประเทศ ให้ไว้ ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 พระลูกวัดที่จ�าพรรษาอยู่ มีดังนี้ พระอาจาร์ย ระพล รวว (รองเจ้าอาวาส) พระ กล สา ร พระสามาร าค ม พระ ชัย ส CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 255

255

18/5/2562 16:18:43


วัดสง่า ง าราม จงเ น ู้มีตนเ นที่ ่ง มี รรมเ นสร

ท จน

ระครู า วรา ร (เ ้าอธ ารสมร า ปปสุ ต) ดารงตาแหน่งเ ้าอาวาส

วัดสง่าคงคาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�าบลบ้านแก้ง อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน 5 ตารางวา มีหนังสือส�าคัญคือ น.ส.3 ก. เลขที่ 69 ออกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 251 สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย

ร วัติความเ นมา

เริ่มต้นจาก พระอาจารย์สวรร ด ได้ชักชวนญาติโยมกันสร้าง วัดอรั วาล ตอนแรกตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน เป็นวัดที่ อยูห่ า่ งไกลจากหมูบ่ า้ นมาก สร้างมาเมือ่ พ.ศ. 2479 หลังการตัง้ หมูบ่ า้ น ไม่กปี่ ี สิง่ ปลูกสร้างในสมัยนัน้ มีกฏุ ิ ศาลาการเปรียญ ทีด่ นิ ตัง้ วัดนัน้ ชาวบ้าน ได้จับจองเอาเอง (ปัจจุบันสร้างโรงเรียนแล้ว) วัดนี้ได้ตั้งอยู่เป็นเวลา 10 ปี จึงได้ย้ายไปตั้งใหม่มีพระอาจารย์หนูเจนน�าพาญาติโยมย้าย ไปเมือ่ พ.ศ. 24 9 เหตุทยี่ า้ ยเพราะ สถานทีต่ งั้ วัดอยูห่ า่ งไกลจากหมูบ่ า้ น ชาวบ้ า นจะไปท�าบุญแต่ล ะครั้ง ก็ล�า บากและทั้งกันดารน�้ากินน�้าใช้ พระเณรไปตักมาดืม่ มาอาบก็ตอ้ งเดินทางไกล จึงย้ายมาตัง้ ทีส่ ถานทีแ่ ห่งใหม่ อยู่ทางทิศใต้ของหมู่บ้าน โดยรื้อเอาสิ่งก่อสร้างที่วัดเก่ามาสร้างขึ้นใหม่ มีกฏุ ิ ศาลาการเปรียญ เป็นต้น ในการย้ายครัง้ นัน้ มี พระอาจารย์หน จน พระอาจารย์คาม และ พระอาจารย์พัน ์ อยู่จ�าพรรษาได้ 6 ปี จนถึง 256

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 256

17/5/2562 10:08:15


ท�าเนียบเจ้าอาวาส

1. พระสุวรรณดี ป ญาวโร 2. พระเคน ยโสธโร 3. พระสุวรรณดี ป ญาวโร 4. พระหนูเจน คมภีโร 5. พระค�ามี หาสจิตโต 6. พระพันธ์ จารุวณโณ 7. พระเสน ปสุโต . พระเสริม 9. พระจันทา 10. พระสวัสดิ์ จนทโชโต 11. พระจันทา ญาณวโร 12. พระเสาร์ จนทโชโต 13. เจ้าอธิการสมร ญาณปปสุโต

พ.ศ. 2479 พ.ศ. 24 5 พ.ศ. 2479 พ.ศ. 24 พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2493 พ.ศ. 2495 พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2506 พ.ศ. 250 พ.ศ. 2512

24 5 24 24 5 2490 2493 2495 2497 2499 2503 2506 250 2512 ปัจจุบัน

ร วัติเจ้าอาวาส

พ.ศ. 2495 ก็ตอ้ งย้ายอีกเพราะสถานทีไ่ ม่เหมาะสม โดยมีพระอาจารย์ สน เป็น ผู้น�าญาติโยม ย้ายมาตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเ ียงใต้ของหมู่บ้าน ใกล้กบั ห้วยติดถนนใหญ่ทดี่ นิ มีชาวบ้านออกเงิน อื้ ถวาย ปี พ.ศ. 2514 นายล ลอดส ได้ถวายเพิม่ 1 ไร่ ปี พ.ศ. 2520 นายพล จัน ร์ รอง ร ถวายอีก 2 งาน ในปีนนั้ ได้กฏุ ิ ศาลาการเปรียญจากวัดเก่ามาสร้างขึน้ ใหม่

เสนาสน ของวัด

กุฏิ 2 ห้อง 2 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2499 กุฏิ 5 ห้อง 1 หลัง สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2514 ค่าก่อสร้าง 50 000 บาท กุฏิ 2 ห้อง 2 หลัง สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2522 ค่าก่อสร้างหลังละ 20 000 บาท ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 21 เมตร 1 หลัง สร้างเมื่อ พ.ศ. 251 ค่าก่อสร้าง 150 000 บาท ได้งบประมาณจากกรมการศาสนา 25 000 บาท ขณะนี้ ก�าลังเริ่มก่อสร้างพระอุโบสถ

สถานะเดิม ชื่อ สมร นามสกุล บุสดี ายา ญาณปปสุโต อายุ 71 พรรษา 50 น.ธ.เอก พธ.บ. เกิดวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ภูมิล�าเนา บ้านเลขที่ 52 หมู่ที่ 9 บ้านโนน ต�าบลกู่สันตรัตน์ อ�าเภอ นาดูน จังหวัดมหาสารคาม บรรพชาและอุปสมบท เมื่ออายุ 21 ปี ณ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 ที่วัดดอนบม ต�าบลหนองแสง อ�าเภอ วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พระอุปัช าย์ พระครูมานิตปฏิภาณ วัดโสมนัสประดิษฐ์ อ�าเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พระกรรมวาจาจารย์ เจ้าอธิการโ น วัดโสมนัสประดิษฐ์ อ�าเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม พระอนุสาวนาจารย์ พระบุญมี วัดดอนบม ต�าบลหนองแสง อ�าเภอ วาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม

สม ั ดิ

พระครูสัญญาบัตรรองเจ้าคณะต�าบลชั้นตรี (จต.ชต) ราชทินนาม พระคร า วรากร ได้รบั เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 พระครูสญ ั ญาบัตร รองเจ้าคณะต�าบลชัน้ โท (จต.ชท) ราชทินนาม พระครูญาณวรากร ได้รบั เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2539 พระครูสญ ั ญาบัตรรองเจ้าคณะต�าบลชัน้ เอก (จต.ชอ) ราชทินนาม พระคร า วรากร ได้รับเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2547 พระครูสัญญาบัตรรองเจ้าคณะอ�าเภอชั้นเอก (รจอ.ชอ) ราชทินนาม พระครูญาณวรากร ได้รบั เมือ่ วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 257

257

17/5/2562 10:08:22


วัวัดดู้สผสม ร้าง ารอยู่ร่วม ันอย่างสันติสข

ระครู รีปรยัตคุ าธาร (วนัย วนยธ ร) ดารงตาแหน่งเ า้ อาวาส และรองเ า้ ค ะอาเภอแ ง้ คร้อ

วัดผสม ตั้งอยู่ที่บ้านนาหนองทุ่ม หมู่ 3 ต�าบลนาหนองทุ่ม อ�าเภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ มีเนื้อที่วัดตาม น.ส.3ก จ�านวน 10 ไร่ 2 งาน 0 ตารางวา สร้างเมื่อ พ.ศ. 24 3 การที่ชื่อวัดผสม เพราะตั้งขึ้นตาม ลักษณะการเข้ามาอยูร่ ว่ มกันจากถิน่ ฐานต่างๆ ของประชากร 5 หมูบ่ า้ น ปัจจุบันพระครูศรีปริยัติคุณาธาร (วินัย วินยธโร) วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.6 พธ.บ. รม ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าอาวาสและรองเจ้าคณะอ�าเภอแก้งคร้อ พระวนยา การ พระบัณ ิตเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระธรรมทูต ฝ่ายบริหาร เจ้าส�านักปฏิบัติธรรม 258

P.258-259.indd 258

สิ่งที่น่าสน จ นวัด

1. พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ชัยบรรดาล บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 2. ได้ขดุ พบแท่นศิวลึงค์สมัยขอมอายุราว 700 ปี ประดิษฐานวัดผสม 3. สร้างศาลารวมใจ 2 ชั้น สถานที่ฝกอบรม ปฏิบัติธรรม ังเทศน์ ศึกษาพระปริยัติธรรม

ด้าน าร

1. เคยเป็นโรงเรียนวัดผสมการศึกษาฝ่ายฆราวาส 2. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ระดับมัธยมศึกษา 3. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี 4. ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ์ในวัดผสม 5. ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

17/5/2562 17:26:10


ด้าน ร เ

ีวั น รรม

1. ส่งเสริมประเพณี ีต 12 คลอง 14 2. เป็นชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง และหมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบ ของอ�าเภอแก้งคร้อ 3. จัดเขตอภัยทานจุดให้อาหารนก 4. จัดพื้นที่ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษรอบสระหนองทุ่ม 5. เป็นตลาดประชารัฐ ตลาด ื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าชุมชน

มมสูตร เต่า ล สนัขจิ้งจอ

เมือ่ เต่าเห็นสุนขั จิง้ จอกเทีย่ วหากินริมฝังน�า้ น้อย ก็หดอวัยวะทัง้ 5 เข้า อยูใ่ นกระดองของตนแล้วหยุดนิง่ อยู่ สุนขั จิง้ จอกจึงมิได้โอกาสได้คดิ ว่า เวลาใดเต่าจะเหยียดคอหรือขาออกมาเราจะกัดมัน าดลงแล้วกินเสีย ตราบใดทีเ่ ต่าไม่เหยียดออกสุนขั จิง้ จอกก็หมดโอกาสหวังไม่ได้จงึ จากไป เสีย ภิกษุทงั้ หลาย แม้มารก็หวังเสมอว่า จักได้โอกาสทางตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ต่อผูไ้ ม่คม้ ุ ครองทวารในอินทรียจ์ งึ เข้าไปถือเอาด้วยนิมติ ด้วยพยัญชนะ ทางทวาร ทัง้ 6 เป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คืออภิช าและโทมนัสเข้าครอบง�า

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

P.258-259.indd 259

259

17/5/2562 17:26:19


วัดภูเขาทอง

วัด ห่ง าร บิ ัติ ล ั นา าสนส าน า ล หล่งเรียนรู้ ระอธ ารตงหมง าว ร เ ้าค ะตา ล ่ามะ หวาน และเ ้าอาวาสวัดภูเขา อง

วัดภูเขาทอง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 520 บ้านท่ามะไ พัฒนา หมูท่ ี่ 11 ต�าบล ท่ามะไ หวาน อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ วัดมีเนื้อที่ 31 ไร่ สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัด เมื่อ พ.ศ. 24 2 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2544

ความเ นมาวัดภูเขาทอง

ราวปี พ.ศ.2510 มีพระธุดงค์รปู หนึง่ นามว่า หลวงพ่อบึง้ มาปักกลด อยู่ในป่า ึ่งต่อมาก็คือพื้นที่วัดบ้านไทรทองในปัจจุบัน (หมู่ 10) หลังจากนั้นท่านก็ย้ายมาสร้างกระท่อมหญ้าคา เพื่อใช้เป็นที่มุงอาศัยที่ บริเวณโรงเรียนท่ามะไ หวานในปัจจุบัน (หมู่ 1) ต่อมาปี พ.ศ. 2511 จึงมีหลวงพ่อยิม้ หลวงพ่อทอง เพิม่ เข้ามา และมีหลวงพ่อบุด เพิม่ มาอีก ในปี พ.ศ. 2512 แต่พอถึงปี พ.ศ. 2513 พระแต่ละรูปแยกย้ายกันไปที่ อื่นหมด จึงไม่มีพระเหลืออยู่เลย ชาวบ้านจึงให้หลานชายพ่อใหญ่แสง บวชเป็นพระภิกษุเพือ่ มาดูแลวัด และได้นมิ นต์พระเ ยี ง จากบ้านโคกกุง มาเป็นเจ้าอาวาส แต่ในเวลาต่อมาท่านก็ลาสิกขา หลังจากนัน้ ไม่นานนัก หลวงพ่อยิ้ม ก็มาจ�าพรรษาที่วัดเวลานั้นเอง พ่อใหญ่จัน พ่อใหญ่แพง พ่อใหญ่แสง และพ่อใหญ่ต่วนได้ปรึกษากัน อยากจะให้วัดย้ายมาอยู่ที่ ปัจจุบนั (หมู่ 11) ดังนัน้ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2513 (ขึน้ 10 ค�า่ ) จึงลงแรง สร้างวัดใหม่แห่งนีแ้ ละยุบวัดเก่าลง และเรียกวัดแห่งนีว้ า่ วัดท่ามะไ หวาน 260

3

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

2.indd 260

18/5/2562 15:45:56


ล�าดับเจ้าอาวาสวัดภูเขาทอง

1. หลวงพ่อยิ้ม พ.ศ.2513 2514 2. หลวงพ่อจันทร์ พ.ศ.2515 251 3. หลวงพ่อค�าเขียน สุวณโณ (พระครูบรรพตสุวรรณกิจ) พ.ศ.2519 2557 4. พระอธิการตงหมิง ถาวโร พ.ศ.255 -ปัจจุบัน

ร วัติเจ้าอาวาส

พระอธิการตงหมิง ายา ถาวโร อายุ 46 พรรษา 12 จบมัธยมศึกษา ปีที่ 6 จากโรงเรียนผู้ใหญ่วัดราชสิงขร วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปัจจุบัน ด�ารงต�าแหน่ง เจ้าคณะต�าบลท่ามะไ หวาน และเจ้าอาวาสวัดภูเขาทอง ศาสนสถานภายในวัด อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ 22 หลัง หอไตร อาคารเอนกประสงค์ โรงครัว าปนสถาน ห้องสุขา

าสนส าน

า ล หล่งเรียนรู้ภาย นวัด

ส�านักปฏิบัติธรรมประจ�าจังหวัดชัยภูมิ แห่งที่ 45 ศูนย์อบรมเด็ก ก่อนวัยเรียน ศูนย์อบรมประชาชนประจ�าต�าบล และ สวนสมุนไพรในวัด ศาสนสมบัติ คือ ต้นนิโครธ และ พิพิธภัณ ์หลวงพ่อค�าเขียน สุวณโณ กิจกรรมของวัด ปฏิบัติธรรมประจ�าปี จัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 9-15 มีนาคม ของทุกปี บุญมหาชาติ หรือ บุญผะเหวด จัดกิจกรรมระหว่าง วันที่ 16-17 มีนาคม ของทุกปี ประเพณีทอดเทียนโ ม จัดกิจกรรมช่วง วันเข้าพรรษา ช่วงใกล้เข้าพรรษาปี พ.ศ. 2519 วัดท่ามะไ หวานขาดพระภิกษุที่ จะอยู่จ�าพรรษา ชาวบ้านจึงได้ไปนิมนต์หลวงพ่อค�าเขียน สุวณโณ จาก วัดป่าสุคะโตในปีนั้นให้มาเป็นเจ้าอาวาส วัดภูเขาทอง บ้านท่ามะไ หวาน งึ่ อยูห่ า่ งกันราว 3 กิโลเมตร ทีแรกหลวงพ่อไม่รบั นิมนต์ แต่หลัง จากที่ชาวบ้านมานิมนต์ครั้งแล้วครั้งเล่า ท่านก็รับเป็นเจ้าอาวาส ทั้งนี้ เพราะเล็งเห็นว่าท่ามะไ หวานเป็นหมู่บ้านใหญ่บนหลังเขาภูโค้ง หาก ชาวบ้านทีน่ มี่ พี นื้ ฐานทางธรรมก็จะเอือ้ ให้ทา่ นสามารถเผยแผ่ธรรมออก ไปได้อย่างกว้างขวาง เวลานัน้ หลวงพ่อจึงด�าริไว้วา่ จะมาประจ�าทีน่ เี่ พียง 1-2 ปีเท่านั้น และไม่คิดว่าจะมีกิจอย่างอื่น นอกจากการสอนธรรมแก่ ชาวบ้านเท่านัน้ แต่ดว้ ยความตัง้ ใจทีจ่ ะสอนธรรมนีเ้ อง จึงท�าให้หลวงพ่อ ต้องท�างานหลายด้าน เพื่อเป็นพื้นฐานน�าไปสู่ธรรม และเป็นเหตุให้ หลวงพ่อได้มาอยู่ท�างานที่นี่ยาวนาน และได้ทา� หลายสิ่งหลายอย่าง ึ่ง ไม่คดิ ว่าจะต้องท�ามาก่อน ท่ามะไ หวานในเวลานัน้ เป็นหมูบ่ า้ นตัง้ ใหม่ ห่างไกลจากทางการบ้านเมือง จึงมีอบายมุขมาก เมื่อหลวงพ่อมาที่นี่ งานแรกจึงเป็นการจัดระเบียบวัด โดยท่านได้วางเงื่อนไขไว้ 2 ข้อ คือ ข้อแรก จะต้องล้อมรั้ววัด ห้ามไม่ให้เอาวัวควายมาเลี้ยงในวัด ข้อที่สอง ห้ามไม่ให้มมี หรสพ เล่นการพนันหรือดืม่ สุราในวัด หลังจากนัน้ หลวงพ่อ ก็เริ่มปลูกต้นไม้ เพื่อ น ูสภาพวนาภายในวัดให้กลับมาใหม่ สร้างกุฏิ ขุดบ่อน�้าดื่ม ขุดสระน�้าแร่หลังวัด ท�าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดภูเขาทอง ในปี พ.ศ. 2521 ต่อมาก็มีการจัดตั้งสหกรณ์ข้าว และรณรงค์เรื่องการ อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น หลวงพ่อได้ใช้วิธีการท�างาน ด้านการพัฒนาควบคู่กับการสอนธรรมให้แก่ชาวบ้านเรือ่ ยมา CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

3

2.indd 261

261

18/5/2562 15:46:05


ตนนิ รธ 262

3

SBL บันทึกประเทศไทย I ชย

2.indd 262

17/5/2562 11:26:19


า ใจในการพัก อน รั พิ ันเ าพัก ่ น ง

การ

า ใจ รา

่าง ี ากเรา

Thai Ngam Palace Hotel

รงแรม ยงาม าเล

ส�าหรับครอบครับเดินทางมาท่องเทีย่ ว พักคุ้มยิ่งมากันหลายคน ราคาประหยัด ส�าหรับวันเวลาพักผ่อนของนักธุรกิจก็ทา� ให้ ท่านหายเหนือ่ ย และมีพลังเริม่ ต้นเช้าวันใหม่ ไม่ว่าท่านจะเป็นใคร เราดูแลท่านอย่างดี ด้วยพนักงานที่รกั การบริการ และซื่อสัตย์ เป็นเลิ ทุกห้องพร้อมเครือ่ งอ�านวยความ สะดวก แอร์ ทีวี ตู้เย็น รี

âçáÃÁä·Â§ÒÁ¾ÒàÅ« (Thai Ngam Palace Hotel) ˌͧ¾Ñ¡ã¨¡ÅÒ§µíҺŪ‹Í§ÊÒÁËÁÍ ã¹ÍíÒàÀÍ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ ที่สะดวก สะอาด ปลอดภัย ท�าเลดี เหมาะกับทุกท่านที่ก�าลังหาที่พกั ในจังหวัดชัยภูมิ

รงแรม ทยงาม าเล

ต อ สา อ อ ก รอ ส�ารอ อ ัก ทร

ัย ิ

LOP BURI I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 263

263

16/5/2562 14:24:51


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดผาสวรร ์ พระอธิการวีรชัยรังสี ั

ั ท น ั ยท ก

บเ

ปัจจุบันวัดผาสวรรค์ มีเนื้อที่ 30 ไร่ ล้อมรอบด้วยหุบเขาขุนเขาสวยงาม มีอากาศเย็นสบายตลอดปี มีหน้าผาสูงชันสวยงาม เป็นนามมงคลของวัดผาสวรรค์ ประชาชนทั่ ว ไปขึ้ น มาพั ก ผ่ อ น ั ง ธรรม มี ค วามสุ ข สบายใจไม่ ต ่ า งกั บ อยู ่ บ น สรวงสวรรค์เมืองแมน

ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ต�าบลท่ามะไ หวาน อ� า เภอแก้ ง คร้ อ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ อยู ่ ใ น เขตป่าสงวนแห่งชาติเทือกเขาภูแลนคา ส�านักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดชัยภูมิ ขึ้นทะเบียนส�านักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ เมื่อ พ.ศ. 24 1 เป็นวัดถูกต้อง และมี ส ถานภาพเป็ น นิ ติ บุ ค คลตาม พ.ร.บ. สงฆ์ ปี พ.ศ. 2505

264

.indd 264

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 17:38:44 PM


ประ ั

เปน

อดีตวัดผาสวรรค์เป็นวัดร้างที่ถูกปล่อยรกร้างมาช้านาน ไม่มี พระภิกษุสงฆ์อยู่จ�าพรรษาถาวร มาแล้วก็จากไป ไม่ปรากฏชัดว่ามี พระภิกษุสงฆ์อยู่ที่แน่นอน เมื่อปี พ.ศ. 2555 พระวีรชัยรังสี ได้จาริก ธุดงค์มาพบสภาพวัด และเห็นสภาพสิ่งแวดล้อมร่มเย็น เงียบสงบ ท่านจึงริเริ่มพัฒนาอย่างรวดเร็ว ึ่งพระวีรชัยรังสีท่านได้มอบตัวเป็น ลูกศิษย์หลวงปู่หงษ์ พรหมปัญโญ พระเกจิเถราจารย์ จังหวัดสุรินทร์ ตั้งแต่เมื่อปี พ.ศ. 2545 ก่อนที่จะจาริกมายังถิ่นนี้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2556 พระอธิการวีรชัยรังสี ท่านได้รับบัญชา จากคณะสงฆ์ จังหวัดชัยภูมิ ให้ดา� รงต�าแหน่งเป็นเจ้าอาวาส วัดผาสวรรค์ นับเป็นองค์ปฐมรูปแรกของวัด ท่านได้มุ่งมั่นสร้างวัดที่ร กร้าง ให้ เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง ร่ ม เย็ น และเป็ น ที่ พึ่ ง ทางใจ แก่ ป ระชาชนชาวบ้ า น โดยทั่วไปมาจนถึงปัจจุบัน และเมื่อปี พ.ศ. 2557 วัดผาสวรรค์ ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงพระราชทานผ้ า ไตรจี ว ร และเที ย นจ� า พรรษาแด่ วั ด ผาสวรรค์ นับเป็นเกียรติประวัติอันสูงสุดมงคลแก่วัดผาสวรรค์เป็นอย่างยิ่ง หากท่านใดไปเที่ยวน�้าตกตาดโตนหรือป่าปรงพันปี อย่าลืมแวะ กราบนมัสการเพื่อความเป็นสิริมงคล ได้ข้อคิด ได้หลักใจ ได้แนวทาง พัฒนาชีวิตสู่ความมั่นคง

กตั

ุตาบูรพา ารย์ หลวงปู่หงษ์ พรหมป

แห่งสุสานทุ่งมน

พระครู ป ราสาทพรหมคุ ณ (หลวงปู ่ ห งษ์ พรหมปั ญ โญ) แห่ ง สุสานทุ่งมน อดีตเจ้าอาวาสวัดเพชรบุรี อ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ชือ่ เดิม คือ สุวรรณหงษ์ จะมัวดี เป็นชาวอ�าเภอปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์ โดยท่านมีความขยันหมั่นเพียร กตัญ ู กตเวทีต่อบิดามารดา ช่วยท�า นาด้วยความวิริยะอดทน จนเมื่ออายุได้ 1 ปี จึงบรรพชาและเทศน์ สอนญาติโยม กระทั่งอายุ 20 ปี ก็ท�าการอุปสมบทเป็นพระสงฆ์และ ได้รับ ายา พรหมปัญโญ ึ่งแปลว่า ผู้มีปัญญาดุจพรหม หลวงปูห่ งษ์ หมัน่ เพียรศึกษาพระปริยตั ธิ รรมและจดท่องจ�าแม่นย�า นอกจากนี้ยังใฝ่หาความรู้เสมอ โดยเพียรศึกษากับครูบาอาจารย์อย่าง ไม่ลดละและเคยเดินธุดงค์ข้ามไปถึงประเทศกัมพูชา ท่านมีแต่ความ เมตตา ช่วยเหลือผู้คนมากมายจึงมีลูกศิษย์ทั้งในและนอกประเทศ ท่ า นเป็ น พระเถระที่ มี อ ายุ พ รรษาสู ง ที่ สุ ด รู ป หนึ่ ง ของแดนอี ส านใต้ ท่านมรณภาพอย่างสงบด้วยโรคชราในวัย 97 ปี เมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2557

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 265

265

. - 16/05/2562 17:38:49 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดสว่างแสงอรุ ระครูอรุ คุ าธาร ั

วัดสว่างแสงอร ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 354 หมูท่ ี่ 2 ถนนแก้งคร้อ-นาแก บ้านหนองแสง ต�าบลช่องสามหมอ

อ�าเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2476 โดยความเห็นของชาวบ้านที่อยากจะมี วัดใกล้บ้าน เพราะต้องเดินทางไปท�าบุญที่วัดอื่น ึ่งอยู่ไกลราว 5 กิโลเมตร จึงช่วยกันบริจาคที่ดิน สร้างวัดเป็นจ�านวน 9 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา สนาสนะ ระกอบด้วย ศาลาการเปรียญ ชั้นบนเป็นอุโบสถ กุฏิสงฆ์ 2 หลัง หลังใหญ่เป็น รูปแบบตึก 2 ชัน้ แบบคอนกรีตเสริมเหล็กทรงสมัยใหม่ มีหอ้ งน�า้ ทัง้ ชัน้ บนและชัน้ ล่าง หลังเล็กเป็น ที่ท�าการของส�านักงานเจ้าอาวาส มีเมรุที่ทันสมัยส�าหรับเผาศพ ประกอบด้วยศาลาบ�าเพ็ญกุศล และมีสระน�า้ ไว้ใช้สอยส�าหรับอุปโภค-บริโภคได้ยามจ�าเป็น มีหอ้ งน�า้ 2 หลัง หลังละ 6 ห้อง ส�าหรับ ผู้มาปฏิบัติธรรมมาท�าบุญ และผู้ที่สัญจรผ่านไปมา มีโรงอาหาร(ห้องครัว) 1 หลัง และโรงเก็บของ เครื่องใช้ต่างๆ อาทิ เต็นท์ โตะ เก้าอี้ เครื่องเสียง เป็นต้น

266

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 266

17/5/2562 13:28:42


ป นย ั ท

มี พ ระประธานในศาลาอั น เป็ น ที่ เ คารพกราบไหว้ ข องชาวบ้ า น ปางนัง่ สมาธิโชคลาภ และพระรูปแบบสมัยโบราณแต่เป็นพระสร้างใหม่ ด้วยมวลสารจากข้าวสารหินพันปีทขี่ ดุ พบแล้วน�ามาหล่อเป็นองค์พระที่ มีความศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ เทพเจ้าแห่งวัดบ้านไร่เป็นองค์ ปลุกเสก หลวงพ่อกล่าวว่าพระองค์นสี้ วยงามมากและมีความศักดิส์ ทิ ธิ์ มากบนบาลศาลกล่าวได้ตามปรารถนา สถิตอยู่วัดไหนก็จะมีแต่ความ เจริญรุ่งเรืองตามชื่อของท่านคือ หลวงพ่อประทานพรโชคลาภ

นก รศึก มีโรงเรียนปริยัติธรรมแผนกธรรม สอนธรรมพระภิกษุ-สามเณร มีศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ์ในวัด เปดสอน พ.ศ. 2540 มีศูนย์ศึกษาพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปดสอน พ.ศ. 2552 สถิติพระภิกษุ-สามเณรสอบธรรมได้ทุกปี สถิตินักเรียนสอบธรรมศึกษาได้ทุกปีๆละ 50-70 คน วันส�าคัญใน ทางพระพุทธศาสนามีการแสดงธรรมประจ�า มีหอกระจายข่าวสารประจ�าวัดและหมู่บ้านเพื่อกระจายข่าวสารใน ด้านต่างๆ มีการอบรมพระภิกษุ-สามเณร อุบาสก-อุบาสิกา ตลอดในพรรษา มี การสอนการประกอบอาหารจากหน่อ ไม้และผลิต ภัณ ์จ าก หน่อไม้ธรรมชาติ มีการเวียนเทียนในวันส�าคัญในทางพระพุทธศาสนา มี ก ารจั ด กิ จ กรรมวั น ส� า คั ญ ของชาติ ( วั น เ ลิ ม พระชนมพรรษา ในหลวง-ราชินี)

ประ ั เ

พระครูอรุณคุณาธาร เกิดที่ ต�าบลบ้านแคน อ�าเภอวาปีปทุม จังหวัด มหาสารคาม การศึกษา นักธรรมชั้นเอก ส�านักเรียนวัดโสมนัสประดิษฐ์ อ� า เภอวาปี ป ทุ ม จั ง หวั ด มหาสารคาม พุ ท ธศาสตร์ บั ณ ิ ต (พธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา รัฐประศาสน ศาสตรมหาบัณ ิต (รป.ม.) มหาวิทยาลัยปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี สมณศักดิ์ พระครูสัญญาบัตรที่ พระครูอรุณคุณาธาร เจ้าอาวาสวัด ราษฎร์ชั้นเอก

ท เนยบเ

1. พระโปร่ง สุชีโว 2. พระเล อมโร 3. พระทองใส สีลวัฒโณ 4. เจ้าอธิการบุญโ ม ชินว�โส 5. พระสมยศ อธิจิตโต 6. พระเคน อรุโณ 7. พระสามารถ จารุวณโณ . พระอธิการสมัย สีเตชะ 9. พระคนองเดช โรจนธมโม 10. พระสุชาติ สุชาโต 11. พระครูอรุณคุณาธาร

พ.ศ. 2476-พ.ศ.2500 พ.ศ. 2500-พ.ศ.2510 พ.ศ. 2510-พ.ศ.2515 พ.ศ. 2515-พ.ศ.2520 พ.ศ. 2520-พ.ศ.2525 พ.ศ. 2525-พ.ศ.252 พ.ศ. 252 -พ.ศ.2531 พ.ศ. 2531-พ.ศ.2541 พ.ศ. 2541-พ.ศ.2544 พ.ศ. 2544-พ.ศ.2547 พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 267

267

17/5/2562 13:28:47


If you love

HISTORY OF THAILAND you'll adore SBL MAGAZINE

www.sbl.co.th

บันทึกประเทศไทย SBL MAGAZINE บันทึกประเทศไทย

วั ด ภู เ ขา ระอั ง คาร ภ ม

ภู ั

Book of sbl.indd 268

ัมย

ิ ม

ั ยู ั

ั ิ ม

ภ ัมย

ภู ม

ิม ั

ย ิ ิ

ิ ม ัมย

. - 20/05/2562 14:30:35 PM


Phetchabun ช ู

ดิน ดน สวตเ อร ลนดเมอง ทย รรม ชาติ ลางขนเขา วัด ร าต า ่อน ้ว

www.sbl.co.th SBL บันทึกประเทศไทย

Let's go thailand.indd 269

SBL MAGAZINE

SBL บันทึกประเทศไทย

. - 20/05/2562 14:32:51 PM


เ ราะสรา ดวย วา รัก ึ เปนท ัก ณ า

เ ราะสรา ดวย วา รัก ึ เปนท ัก ณ า

Rak Kan

อ ักรักกันต

ท กั สะอาด เ ยบส บ รอ สิ อ�านวย วา สะดวก รบ รัน อาทิ เ รอ ปรับอากาศ เ รอ ท�าน�าอน ทว นิว เตย นอน นาด ต กา ร ท อดร ติด อ ัก ไปไ น าไ น น ัย ิ สะดวก ปลอด ัย กับการด ล ัว อ นกตอนรับ

270

2

SBL บันทึกประเทศไทย I LOP BURI

.indd 270

16/5/2562 15:54:12


หอง ั รั ันต

บาน นอ ไ ต�าบล นอ ไ อ�าเ อ ก รอ ั วัด ัย ิ

ส�ำรองห้องพัก อ ัก รักกันต รายวัน รายเดอน

2

.indd 271

16/5/2562 15:54:21


า ใจในการพัก อน รั พิ

ป ตลอ

า ใจ รา

ั ม พอคุ

Taweesub Resort

วี รั ย รีสอร

สถานที่ ใกล้เคียง าลากลางจังหวัดชัยภูมิ เพียง กิโลเมตร สวนสาธาร ะหนองปลาเฒ่า กิโลเมตร วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ กิโลเมตร อุทยานแห่งชาติตาดโตน กิโลเมตร

ทวีทรัพย์ รีสอร์ท พร้อมต้อนรับทุกการเดินทางของท่าน ด้วยห้องพักใหม่ที่เป็นสัดส่วนเหมือนบ้าน สะอาด สว่าง สงบ บรรยากา ดี ภายในรีสอร์ท มีบริการ ชา กาแ และในส่วนกลาง มีฝายต้อนรับ ชัว่ โมง สิ่งอ�านวยความสะดวก อาทิ รี ที่จอดรถ รี ทีวี ช่องเคเบิล และเครือ่ งปรับอากา

ทวีทรั ย รีสอรท

ต�าบล นอ นา อ�าเ อเ อ ส�ารอ อ ัก ทร ทวทรั ย รสอรท

1

.indd 272

ั วัด ัย ิ

16/5/2562 15:08:42


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเ ดีย ระครูนัน เ ตยาภรั ั

วัดเจดีย์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 6 หมู่ 1 บ้านนาเขิน ต�าบลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เดิมชือ่ วัดธาตุ หรือ วัดโพธิ์ เป็นวัดเก่าแก่แห่งแรกในประวัติศาสตร์ ก่อนตัง้ เมืองคอนสารยกขึน้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดกรมการศาสนา สังกัดมหานิกาย เมือ่ พ.ศ. 2411 ได้ขดุ พบพระพุทธรูปอายุกว่า 700 ปี หรือพระพุทธชัยสารมุนี ศิลปะ สมัยสุโขทัย ปางมารวิชัย เนื้อศิลาแลง สันนิษฐานว่า สร้างขึน้ สมัยสุโขทัยตอนต้น ราวพุทธศตวรรษที่ 1 และพบเจดีย์ ย่อมุมไม้สิบสองศิลปะอยุธยา

273

.indd 273

เรยนเ

ท ศ นก นร ร บ ศรัท เ เปน ท

เปนเ นท ั

ร เ ยศร ัย น ประเทศไทย บ ไป

ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2331 สมเด็จพระพุทธยอด าจุ าโลก รัชกาลที่ 1 ได้โปรดเกล้าฯ ให้หลวงพิชิตสงคราม(หมื่นอร่ามก�าแหง) เจ้าเมืองคอนสารคนแรก พร้อมด้วย ขุนจงอาสา พรานทองแดง จากนครไทย(อ.นครไทย จ.พิษณุโลก) เดินทางมาหางาช้าง ขี้ผึ้ง ดินประสิว ได้พบวัดร้าง พระพุทธรูป เจดีย์ และต้นศรีมหาโพธิ์ จึงท�าการบูรณปฏิสังขรณ์ ให้เป็นวัด ถูกต้อง ต่อมาปี พ.ศ. 2411 ได้ขึ้นทะเบียนเป็นวัดชื่อว่า วัดเจดีย์ สังกัดกรมการศาสนา มีพื้นที่ 5 ไร่ 2 งาน 5 ตารางวา ต่อมาส�านักงานพิพิธภัณ ์สถานแห่งชาติพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ได้ขนึ้ ทะเบียน พระพุทธรูปเป็นโบราณวัตถุ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 53 ตอนที่ 24 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2479 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 25 พฤษภาคม 2525 ปัจจุบันมี พระครูนันทเจติยาภิรักษ์(ไพรัตน์ อภินนโท) เป็นเจ้าอาวาสวัดเจดีย์ และ ด� า รงต� า แหน่ ง เป็ น เจ้ า คณะอ� า เภอคอนสาร ึ่ ง ได้ รั บ การพั ฒนาก่ อ สร้ า งสร้ า งเสนาสนะ ปรับภูมิทัศน์ เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านศาสนาศิลปวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง

ร ย ะเ ย ไ ท

ส�านักงานเจ้าอาวาสวัดเจดีย์ โทร. 09-599 -9556 . . วัดเจดีย์ อ�าเภอคอนสาร

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:37:34 PM


ปูชนียส านและปูชนียวัต ุ ีสาคั

ระ ท ัย ร น ป พระประธาน เนื้ อ หิ น ศิ ล าแลง ปางมารวิ ชั ย ศิ ล ปะสมั ย ขอม สร้างตัง้ แต่สมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 1 ขนาดหน้าตักกว้าง 2.70 เมตร สูง 3 เมตร มีลักษณะพุทธศิลปสมบูรณ์และงดงามยิ่งนัก ลักษณะ พิเศษเ พาะ คือพระโอษฐ์สีแดง หันหน้าไปด้านทิศตะวันตก เป็น พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ พระคูบ่ า้ นคูเ่ มืองคอนสาร เปดให้พทุ ธศาสนิกชน เข้ากราบไหว้ขอพรทุกวัน ตั้งแต่เวลา 07.00-1 .00 น. เทศกาลงาน ประจ�าปีปดทองหลวงพ่อ 700 ปี วันขึ้น 13-15 ค�่าเดือนสามของทุกปี เ ยศร ัย น เจดียย์ อ่ มุมไม้สบิ สอง ศิลปะสมัยอยุธยา สร้างในพุทธศตวรรษที่ 1 อายุ 700 กว่าปี เดิมชาวบ้านเรียกว่า ธาตุหลวง คือ สถานที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า หรืออัฐิที่ยิ่งใหญ่ศักดิ์สิทธิ์ ย่อมุม หมายถึง ปฏิจจสมุปบาท 12 ข้อธรรมที่อาศัยกันเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามธรรมชาติ อีกความหมายหนึง่ 12 มุมคือ พระธาตุสบิ สองราศีปเี กิด ต่อมาในปีพ.ศ. 2560 ทางวัดเจดียไ์ ด้ดา� เนินการก่อสร้าง มหาเจดียใ์ หญ่ องค์ใหม่ครอบองค์เดิม

ั นบ น ั เ ย เกิดขึน้ ด้วยความสามัคคีธรรมของคณะสงฆ์ และญาติธรรมคุม้ วัดเจดีย์ ที่ มี ค วามต้ อ งการจะสะสมสิ่ ง ของที่ เ ป็ น ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของชาว ไทคอนสาร ที่เคยมีประวัติศาสตร์เจริญรุ่งเรืองในอดีต ด้วยหลักฐาน โบราณวัตถุ พระประธานอายุ 700 กว่าปี เครื่องดนตรีไทยเดิม พร้อม หอก ดาบ หลาว งาว ที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานจากพระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอด าจุ าโลก รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็น แรงบันดาลใจให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์ โดยได้สร้างเป็นอาคารทรงไทย ไม้สักทอง 2 ชั้น ึ่งได้รับการสนับสนุนบริจาคเงินและไม้สักจาก พุทธศาสนิกชน เปดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 0 .00-17.00 น. เร นไทย บร ั เ ย เกิดจากชุมชนคุณธรรม วัดเจดีย์ บ้านนาเขิน ได้รับคัดเลือกเป็น ชุมชนคุณธรรม ต้นแบบดีเด่น ระดับจังหวัดชัยภูมิ ปี พ.ศ. 2560 คณะสงฆ์ และญาติธรรมคุม้ วัดเจดีย์ บ้านนาเขิน จึงร่วมแรงร่วมใจปรองดองสามัคคี จัดสร้างเรือนไทยโบราณย้อนยุค ท�าจากไม้หมาก โดยได้รับเงินบริจาค และต้นหมากจากญาติธรรม เพือ่ ใช้เป็นสถานทีท่ ศั นศึกษา แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาวิถีชีวิตไทคอนสารแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 274

274

. - 16/05/2562 18:37:43 PM


เ เ

รย

น ร น รก

ป น ร ก

ประวัติความเป็นมา ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ปี พ.ศ. 2331 มีนายภูมี ชาวเมืองนครไทย เมืองพิษณุโลก ได้มาเที่ยวป่ากับพวกพ้อง เห็นว่าบริเวณนี้ป่าดงดิบคือมีความอุดมสมบูรณ์ จึงตั้งถิ่นฐานเป็น หัวหน้าหมู่บ้าน ได้น�าเอาขี้ผึ้ง งาช้าง และดินประสิว เป็นเครื่อง ราชบรรณาการทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด าจุ าโลก เลยได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าเป็น หมื่นอร่ามก�าแหง มีต�าแหน่งเป็น นายหมวด มีหน้าที่รักษาป่า ผึ้ง มูลค้างคาวในบริเวณนี้ แต่เนื่องจากว่า ระยะทางจากกรุงเทพมหานครถึงบ้านคอนสารมันไกลมาก พระราชสาส์น ตราตั้ ง ที่ เ อามาต้ อ งห่ อ ผ้ า แล้ ว ใช้ ไ ม้ ค อนมาจนถึ ง หมู ่ บ ้ า น จึ ง ได้ ตั้งชื่อบ้านว่า คอนสาร มีภาษาพูดเหมือนชาวนครไทย และหล่มสัก ชาวคอนสาร จึงเรียกตัวเองว่า ไทยคอนสาร หรือ ไทคอนสาร มาจนทุกวันนี้ ต่อมาได้เลือ่ นยศเป็น หลวงพิชติ สงคราม เป็นเจ้าเมืองคอนสารคนแรก จึงมีการเปลีย่ นแปลงการปกครอง เมืองคอนสารได้ยบุ มาเป็นต�าบลหนึง่ ของอ�าเภอภูเขียว ปี พ.ศ. 2501 ได้แยกเป็น กิ่งอ�าเภอคอนสาร และ ปี พ.ศ. 2503 ได้ยกฐานะเป็น อ�าเภอคอนสาร

อนุสาวรีย์ปู่หมื่นอร่ามก�าแหง ตั้งอยู่ท่ีหน้าวัดเจดีย์ บ้านนาเขิน ต�า บลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัด ชัยภูมิ เป็นเทพศักดิ์สิท ธิ์ คุ้มครองเมืองคอนสาร และ มีการจัดงานประเพณี เ ่นสรวงบูชา วันแรม 15 ค�่า เดือน 4 ของทุกปี

วัดเ ดย วัดปาเรไร เ อน า รณ วัด

ลศร

ต บลท ระ Thung Phra

ต บลท นาเลา

ต บล อนสาร

Khon San

Thung Na Lao

ต บลด บั

Dong Bang

ต บลท ลยลาย

ต บล วยยา

ต บลด กลา

Huai Yang

Thung Luilai

Dong Klang

ต บล นน ณ Non Khun

วัด สั ธรร

วัด าวร ัยศิร

275

.indd 275

แ นที่อ เภอ อนสาร จังหวัดชัยภูมิ

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 16:07:20


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดป่าเร ร

ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีม า เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2524 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 14 เมตร ยาว 24 เมตร

ระครูสุตสารมงคล สุวช ย

พระครูสุตสารมงคล ายา สุวิชโย อายุ 47 พรรษา 20 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ.3 พธ.บ พธ.ม ปัจจุบนั ด�ารงต�าแหน่ง 1. เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าเรไร 2. เป็นรองเจ้าคณะอ�าเภอคอนสาร

วัดป่าเรไร เป็นวัดราษฎร์ ชื่อเดิม วัดเรไร ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 179 บ้านหัวนาม่วง หมู่ที่ 3 ต�าบลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รบั พระบรมราชานุญาตให้สร้างวัดตัง้ วัด ตามพระราชบัญญัตลิ กั ษณะการปกครอง คณะสงฆ์ ร.ศ. 121 เมื่อปี พ.ศ. 2462

276

.indd 276

ประ ั เ

นะเ

ชื่อ วิชัย นามสกุล อุตไธสง เกิดวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2515 ณ บ้านเลขที่ 2 2 หมู่ที่ 9 ต�าบลหนองบัว อ�าเภอคง จังหวัดนครราชสีมา บรรพชาและอุปสมบท วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 วัดโพธิ์ ต�าบลคอนสวรรค์ อ�าเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ โดยมี พระอุปัช าย์ พระครูสุนทรธรรมาวุธ วัดหนองบัวลอย ต�าบลคอนสวรรค์ อ�าเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ พระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสมคิด ปคุโณ วัดโนนโพธิ์ ต�าบลคอนสวรรค์ อ�าเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ และ พระอนุสาวนาจารย์ พระวิเชษ เชฏฐสีโล วัดหนองบัวลอย ต�าบลคอนสวรรค์ อ�าเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:55:42 PM


บันทึกป ั ป เรไร

ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2462 โดยนายเชย ภูมิคอนสาร พร้อมด้วย ชาวบ้านหัวนาม่วง ได้อาราธนาพระบุญสงค์ ึ่งเป็นพระธุดงค์มาอยู่ เป็นรูปแรก โดยชาวบ้านได้ปลูกกุฏิเล็กๆ หลังหนึ่งข้างสระน�้าให้อยู่ จ�าพรรษา ึ่งข้างสระน�้ามีต้นดอกล�าเจียกขึ้นอยู่เต็ม สถานที่บริเวณวัด แต่ก่อนเป็นป่ารกร้างว่างเปล่า ว่ากันว่าเป็นที่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่มีใครกล้า จับจองและถากถางได้ และมี ากปรักหักพังของวัดเก่าอยูก่ อ่ น ไม่ทราบว่า สร้างขึ้นสมัยใด โดยมีอุโมงค์ท่ีก่อด้วยอิฐ แท่นอิฐดูคล้ายจะเป็นอุโบสถ มาก่อน และมีนรสิงห์ 1 ตัว อยู่ที่ปากทางเข้าอุโมงค์ ปัจจุบันอุโมงค์ก็ดี นรสิงห์ก็ดี ขณะนี้ถูกท�าลายไปหมดแล้ว ส�าหรับแผ่นอิฐนั้น นายเชย

ภูมคิ อนสาร ขณะเป็นก�านันต�าบลคอนสาร ปี พ.ศ. 2476 ได้พาชาวบ้าน ก่ออุโบสถครอบไว้ แต่ไม่ได้ขอพระราชทานผูกพัทธสีมาให้ถูกต้อง ขณะนี้อุโบสถได้รื้อท�าลายแล้ว และได้สร้างศาลาเอนกประสงค์แทน ส่วนอุโบสถหลังใหม่ได้ยา้ ยไปสร้างบริเวณวัดด้านทิศตะวันตก อยูห่ า่ งจาก ที่ว่าการอ�าเภอคอนสาร 400 เมตร ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ 59 ตารางวา โ นดที่ดินเลขที่ 4142 เล่ม 42 หน้า 42 ตั้งอยู่เขตเทศบาลต�าบลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 277

277

18/5/2562 15:57:48


WAT PA LEY LAI

PHRA KHRU SUTSANMONGKOL SUWITYO, KHON SAN DISTRICT VICE MONK DEAN AND ABBOT OF WAT PA LEY LAI

Wat Pa Ley Lai is Wat Rat (temple that the land where it is established was granted by Royal family but it did not registered as Royal temple). Its former name was “Wat Ley Lai”, it is located at 179 Ban Hua Na Muang, village no.3, Khon San sub-district, Khon San district, Chaiyaphum province. It belongs to Maha Nikaya clergy. This temple was granted royal permission to establish temple in B.E.2462 according to the Sangha Act of 1902. It was granted “Wisungkhamsima” (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) on 30 December B.E.2524 which the scale of this land is 14 meters in width and 24 meters in length. At present, Phra Khru Sutsanmongkol Suwityo takes a position of abbot.

RECORD OF WAT PA LEY LAI’S BACKGROUND This temple is located in B.E.2462 by Mr.Choei Phumikhonsan together with people of Ban Na Hua Muang invited Phra Boonsong, locals built small monk’s house next to the pond for him which on the side of this pond, there were many Seashore screwpine trees at this area. The temple’s area used to be wilderness area which is said that it is holy area that no one dare to occupy and clear the land, this area also had ruins of old temple which the period that it was built is unknown. That temple had brick tunnel, brick platform which it seems like it once was an ubosot and one Narasimha situated in front of an entrance of the tunnel. At present, whether brick tunnel or 278

.indd 278

Narasimha were destroyed already. As for brick platform, Mr.Choei Phumikhonsan Khon San sub-district headman at the time, led locals and built ubosot by covered the platform . .2476 Monarch for monastic boundary-demarcating. At present, an old ubosot has already been demolished and multi-purpose pavilion is built instead. As for new ubosot, it was built on west area of the temple which is located 400 meters away . The scale of this temple’s land is 4.4 acres and 236 .4142 42 42. It is located in municipal area of Khon San sub-district, Khon San district, Chaiyaphum province.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 20/05/2562 09:55:14 AM


20 (

47

.

3)

-

. .2542

-

.

.

.

.

.

-

21

. .2515

2 2

.9 7

.

.

. .255 . CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 279

279

. - 16/05/2562 18:56:02 PM


วัดมง ลศรี

ดู รภิ ทั้งหลาย เม่อ ร อาทิตยจ ข้น สิ่งที่ข้น ่อน คอ สงเงิน สงทอง ัน ด สิ่งที่เ นเบ้องต้น เ นนิมิตมา ่อน ห่ง ารตรัสรู้อริยสัจ ตามความเ นจริง คอ สัมมาทิ ิ นั้นเหมอน ัน ท จน

ระ ตต ง สรภ รั า ารแ นเ ้าอาวาสรูปป ุ ัน

วั ด มงคลศรี ตั้ง อยู่เ ลขที่ 99 บ้านคลองบอน ต�าบลคอนสาร อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ วัดมีเนือ้ ที่ ไร่ 1 งาน 53 ตารางวา ปัจจุบนั พระก พง ์ สร รักษาการแทน เจ้าอาวาส มีพระภิกษุจ�าพรรษาจ�านวน 3 รูป

ร วัติความเ นมา

วัดมงคลศรีตงั้ เมือ่ พ.ศ. 2463 โดยมี นายพรม บุญบ�ารุง ผูใ้ หญ่บา้ น คลองบอนในขณะนั้น ได้น�าราษฎรสร้างวัดขึ้น โดยได้บริจาคที่ดิน แปลงดังกล่าวสร้างวัด ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2511 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 11 เมตร ยาว 20 เมตร อาณาเขต ทิศเหนือจดถนนสาธารณะ ทิศใต้จดโรงเรียนบ้านคลองบอน 280

4

ทิศตะวันออกจดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกจดถนนสาธารณะ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย 1.อุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2507 ขณะนี้ก�าลังบูรณะหลังคาอุโบสถใหม่ 2. ศาลา การเปรียญ จ�านวน 2 หลัง ศาลาการเปรียญหลังใหม่กว้าง 15 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.254 เป็นอาคารตึกชัน้ เดียว ศาลาการเปรียญ หลังเก่ากว้าง 14.50 เมตร ยาว 1 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2520 เป็น อาคารไม้ 3. กุฏสิ งฆ์ จ�านวน 5 หลัง เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ 1 หลัง เป็นอาคารไม้ 1 หลัง และ ศาลาเอนกประสงค์จ�านวน 1 หลัง อีกทั้ง อาคารอบสมุนไพร 1 หลัง ห้องน�้า จ�านวน 2 หลัง 24 ห้อง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 280

17/5/2562 9:41:08


ูชนียวัต

มีพระพุทธรูปพระประธาน จ�านวน 1 องค์ ที่ศาลาการเปรียญ จ�านวน 1 องค์ และพระพุทธรูปหินทรายแกะสลักปางประสูติ สูง 1 เมตร 1 องค์ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 150 สูง 250 จ�านวน 1 องค์ ปางปฐมเทศนา หน้าตักกว้าง 150 สูง 250 จ�านวน 1 องค์ปางปรินพิ พาน หน้าตักกว้าง 1 เมตร ยาว 200 จ�านวน 1 องค์ และก�าลังก่อสร้าง พระธาตุคอนสารมหาชัยมงคล กว้าง 16 เมตร ยาว 20 เมตร สูง 29 เมตร จ�านวน 1 องค์ การบริหารและการปกครอง วัดมงคลศรี มีเจ้าอาวาส ดังนี้ 1. พระอธิการขน อิสสโร พ.ศ. 2490 2546 2. เจ้าอธิการสุวิทย์ สิริภทโท พ.ศ. 2547 2550 3. พระครูสุตสารมงคล สุวิชโย พ.ศ. 2550 .2561 4. พระกิตติพงษ์ สิริภทโท รักษาการแทนเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน

าร

ขอเชิ ญ พุ ท ธศาสนิ ก ชนทุ ก ท่ า น ร่วมสมทบทุนสร้างพระธาตุคอนสาร มหาชัยมงคล ได้ที่บัญชี วัดมงคลศรี 2 5-0-22947-4 ธนาคารกรุงไทย สอบถามเพิ่มเติม 061-362-5403 พระครูสุตสารมงคล สุวิชโย

า นวัด

ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณ ์ในวัด เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 2544 ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เปดสอนเมื่อ พ.ศ. 254

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 281

281

17/5/2562 9:41:17


(

.

(

)

)

11

29

. .2511 20

. .

. 1.

Wat Mongkolsri 612 .

99 . .

.

Wat Mongkolsri

.

3.2 Kittipong Siribhatto

5 . .2507.

14.50 . .2520

1-

15 . 2. 23

3 24 . .2463

.

.

1

-

2

15 . .254

. 3.

.

2

-

.

282

4

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 282

17/5/2562 9:41:19


1 150

. 250

150

250

200

. 20

1 29

(

)

.

. 16 .

4. Kittipong Siribhatto . .2562 . -

1. 2. 3.

. .2490

. .2546 . .2547 . .2550 . .2550 . .2561

. .2544. . .254 .

-

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 283

283

17/5/2562 9:41:23


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด าวรชัย ร (วัดด้อแด้สายธารธรรม) ระอธ ารสม ร านว ร ั 284

ชัย ิ ิ

วั ด ถาวรชั ย ศิ ริ ( วั ด ด้ อ แด้ ส ายธารธรรม) ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นป่ า ว่ า น หมู ่ 4 ต� า บลห้ ว ยยาง อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ มีประวัติความเป็นมาเริ่มจากชาวบ้านป่าว่าน ( ึ่งชาวบ้าน เรียกว่าบ้านด้อแด้) มีความประสงค์ที่จะสร้างวัดประจ�าหมู่บ้านเพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจ จึงได้ รวบรวมเงินกันคนละเล็กคนละน้อย ื้อที่ดินได้ในจ�านวน 3 งาน 5 ตารางวา และจากนั้น ก็มีผู้มีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินเพิ่มเติมอีก 4 ท่าน คือ พ่อเพียร สวัสดิรักษ์ จ�านวน 2 งาน 6 ตารางวา พ่อแหวน เรืองเจริญ จ�านวน 1 งาน 92 ตารางวา พ่ออะภูมิคอนสาร จ�านวน 1 งาน 9 ตารางวา และ พ่อเพียร ชาติช�านาญ จ�านวน 17 ตารางวา

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 284

. - 16/05/2562 18:49:25 PM


ต่อมาชาวบ้านได้ปรึกษากันว่าจะหาพระภิกษุมาอยู่วัดเพื่อเป็น ผู้น�าทางจิตวิญญาณและเป็น ผู้น�าชาวบ้านสร้างเสนาสนะต่อไป โดยที่ ยายเพ็ง ยายใบ และ ยายนาง เดินทางไปที่จังหวัดร้อยเอ็ดไปหา หลวงพ่อดี ฐานทินโน ได้เล่าความประสงค์ให้ทา่ น งั และขอความเมตตา ท่านเพื่อจะได้นิมนต์พระภิกษุมาอยู่ประจ�า วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2545 ก็มภี กิ ษุ 2 รูป คือ พระอาจารย์สมพร ฐานวโร และ พระอาจารย์สมศักดิ์ สมัยนั้นนายแหยม ตู้จ�ารูญ เป็น ผู้ใหญ่บ้าน ได้ร่วมกับชาวบ้าน ถางป่า ท�าความสะอาดและช่วยกันสร้างกุฏิไม้หมาก 3 หลัง และ ได้ตั้งชื่อส�านักสงฆ์แห่งนี้ว่า วัดด้อแด้สายธารธรรม ค�าว่า ด้อแด้ เป็นภาษาท้องถิน่ คอนสาร แปลว่า สูง และสืบเนือ่ งจากทางเข้าหมูบ่ า้ น มีต้นเสลียงใหญ่ และมีผึ้งไปอาศัยอยู่เป็นจ�านวนมาก แต่ ไ ม่ มี ใ คร สามารถปีนเอาผึง้ ได้ เพราะต้นเสลียงสูงมาก งึ่ ชาวบ้านจะพูดว่า สูงด้อแด้ จากนัน้ พระอาจารย์สมพรก็เดินทางกลับไปจังหวัดร้อยเอ็ด หลวงพ่อดี ฐานทินโน จึงได้ประชุมสงฆ์ได้ลงมติกันพระอาจารย์สมพร ฐานวโร มาจ�าพรรษาที่วัดด้อแด้สายธารธรรม จังหวัดชัยภูมิ วันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2545 หลวงพ่อดี ฐานทินโน พร้อมชาวคณะ จังหวัดร้อยเอ็ดได้มาส่งพระอาจารย์สมพร ฐานวโร และพระภิกษุ อีก 4 รูป รวมเป็น 5 รูป ให้มาจ�าพรรษาที่วัดด้อแด้สายธารธรรม งึ่ ในปีนนั้ มีญาติโยมทีม่ าจ�าศีล ปฏิบตั ธิ รรมทัง้ หมด 24 คน (ชาย 5 คน หญิง 19 คน) และในพรรษานั้นได้มีการต่อเติมกุฏิพระอาจารย์สมพร และสร้างศาลาการเปรียญเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา 1 หลัง (หลังคา มุงด้วยหญ้าคา) เนือ่ งจากชือ่ วัดด้อแด้เป็นชือ่ ทีไ่ ม่ตรงกับชือ่ หมูบ่ า้ น ท�าให้ญาติธรรม ทางไกลสับสนจึงได้เปลี่ยนชื่อวัดจาก ด้อแด้สายธารธรรม เป็น ป่าว่านสายธารธรรม นับตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2551 เปลี่ยนชื่อ อีกครั้งเป็น วัดถาวรชัยศิริ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน หลวงพ่อได้สร้างเสนาสนะ ภายในวัดเพิ่มขึ้นมาอีก นอกจากนี้ยังได้ขยายพื้นที่ของวัดเพิ่มอีกจาก เดิมมีประมาณ 3 งาน จนเดียวนี้ปัจจุบัน 20 ไร่ โดยมีสิ่งก่อสร้าง ที่เพิ่มขึ้น อาทิ อุโบสถจัตุรมุข มีองค์หลวงพ่อใหญ่ตั้งอยู่บนหลังคา

อุโบสถ ก�าแพงแก้วรอบอุโบสถมีพระพุทธรูป มีปฏิมากรรมรายรอบ อยู ่ ท างทิ ศ ตะวั น ตก มี ส ระน�้ า ที่ ไ หลมาจากน�้ า ผุ ด ทั บ ลาวไหลลอด อุโบสถ ทางทิศใต้มีเขตกุฏิสงฆ์ มีคลองน�้าล้อมรอบ เหมาะแก่การ ปฏิ บั ติ ธ รรม ทางทิ ศ เหนื อ มี ก ารก่ อ สร้ า งพระมหาเจดี ย ์ หิ น และ รอบบริเวณวัดอุดมสมบูรณ์ไปด้วยต้นไม้ป่านานาพันธุ์

ก กรร ประ ป

1. พิธีกวนข้าวทิพย์ ในวันออกพรรษาทุกปี 2. โครงการจาริกธุดงค์ หลังปีใหม่ 3. สวดมนต์ข้ามปี 4. วันสงกรานต์ ในวันที่ 13-14 เม.ย. ของทุกปี ก่อเจดีย์ทราย สวดมนต์ รดน�้าด�าหัวผู้สูงอายุ 5. วันที่ 5 ก.ย. ของทุกปี รดน�้าขอพรสักการะ หลวงพ่อสมพร ฐานวโร เนื่องในวันคล้ายวันเกิด

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 285

285

. - 16/05/2562 18:49:29 PM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดลาดชุม ล ระครู ัลยา ั

านุ ูล

ภ ภั ชม ชม

เดิมมีชื่อว่า วัดชัยชุมพล แต่เพราะ ระเบียบมหาเถรสมาคมได้ประกาศให้ ที่ขออนุญาตตั้งต่อมาใช้ชื่อให้สอดคล้อง กับชุมชนคือหมู่บ้านลาดชุมพลจึงมีชื่อว่า วัดลาดชุมพล

286

.indd 286

อารามแห่ง ารเรียนรู้ชีวต วัดลาดชุมพล ตั้งอยู่เลขที่ 163 หมู่ที่ 1 ต�าบลเจาทอง อ�าเภอภักดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ พระครูกัลยาณ์กิจจานุกูล หลวงพ่อเจ้าอาวาสเล่าประวัติความเป็นมาของวัดว่า ก่อนที่อาตมา มาอยู่ 5 ปี ต้องมีเจ้าอาวาสก่อน 2-3 รูปเป็นแน่ และเดิม ณ ที่นี้ ก่อนที่ตั้งเดิมเป็นที่หยุดพัก กองเกวียนพ่อค้าโบราณและคนเดินป่าบางช่วงมีพระธุดงค์จาริกมาพักบ้าง เนื่องจากที่ชัยภูมิ สมบูรณ์ด้วยแหล่งน�้าและหาอาหารง่าย ต่อมาจึงคิดสร้างวัดโดยได้รับบริจาคที่ดินโดยได้รับ บริจาคที่ดินจาก นายหมื่น ศรนรา เป็นจ�านวน 40 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา เมื่อ พ.ศ. 2515 ได้รับประกาศส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เรื่อง การตั้งวัด ในพระพุทธศาสนา นามว่า วัดลาดชุมพล เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นวัดสังกัด มหานิกาย ทิศเหนือติดถนนสาธารณะ ทิศใต้ติดถนนสาธารณะและชุมชน ทิศตะวันตก ติดบ่อน�้าและโรงเรียนบ้านลาดชุมพล ทิศตะวันออกติด ส�านักงาน อบต.เจาทองและชุมชน

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:34:10 PM


ก ร เปนเ น นะ ั น

1.วิหารหอสวดมนต์ประดิษฐานพระพุทธปฏิมาพระใหญ่ชัยชุมพล (เก่ า คู ่ วั ด มาแต่ เ ดิ ม ) 2.ศาลาการเปรี ย ญสองชั้ น ทรงไทยประยุ กต์ ใช้ประกอบศาสนกิจทั่วไปและอยู่จ�าพรรษา 3.ศาลาเอนกประสงค์ ก�าลังสร้างยังไม่แล้วเสร็จเพื่อใช้ปฏิบัติธรรม อบรมนักเรียน และ ประชุมคณะสงฆ์จังหวัดสัญจร เป็นอาคารปันหยาประยุกต์ 4.กุฏิสงฆ์ สามหลังทรงไทยประยุกต์ และ 5. าปนสถาน วัดแบ่งส่วนที่ดินใช้สอยเป็น 4 ส่วน คือ 1.สวนหย่อมสนามหญ้า ประดั บ ด้ ว ยไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ มี ค วามหมายว่ า อั น เป็ น ดุ จ คนเรา เกิดมาเด็กๆ น่ารักสดใสและเป็นทีร่ นื่ รมย์รม่ เย็น ตรงกับค�าว่า อาราม ตามนโยบายกรมการศาสนา 2.ส่วนเสนาสนะสงฆ์การเปรียญ หมู่ กุฏิสงฆ์ส่วนนี้จัดส�าหรับเมื่อคนเราโตขึ้นปัญหามากขึ้นทุกข์มากขึ้น ก็มาแสวงหาทางดับปล่อยวางว่างเว้นบ้าง จากการบวชบ้าง มาปรึกษา ศึกษาสนทนาธรรมกับพระอาจารย์ 3.ป่าด้านหลังวัดส�าหรับมุมสงบ ความหมายคือ คราวชีวติ ล่วงกาลผ่านวัยมาแก่แล้วเจ็บป่วยกันแน่นอนจึงควร แสวงบุญแสวงหาสัจธรรมบ่อยๆ และ 4 สุดท้ายชีวติ คือ ปรโลกคือนุสรณ์

สถานบรรจุ อั ฐิ ธ าตุ ต ามคติ นิ ย มมาแต่ โ บราณ ทั้ ง หมดสี่ ส ่ ว นอยู ่ ใ น แผนด�าเนินการ ก�าลังจัดรอผู้ร่วมศรัทธา ม กครองค ะสง ์ าบล คอ ต� า บลเจาทอง มีพระมหาสมพัต ร ปยธมโม วัดหนองไม้แ ก่น เจ้าคณะต�าบล ต�าบลแหลมทอง มีพระครูประสิทธิช์ ยั วิมล วัดถ�า้ แก้ว เจ้าคณะต�าบล ต�าบลบ้านเจียง มีพระครูปทุมชัยธรรม วัดโนนศิลาทอง เจ้าคณะต�าบล ต�าบลวังทองเขต 1 มีพระปลัดวิเชียร วัด บั ประสิทธิ์ เจ้าคณะต�าบล ต�าบลวังทองเขต 2 มีพระมหานรินทร์ สุรป โญ วัดห้วยหินฝน เจ้าคณะต�าบล ภู มิ ป ระเทศรอบๆ ตั ว อ� า เภอ ทิ ศ ตะวั น ออกติ ด ภู เ ขาบั ง เหยอ อ�าเภอหนองบัวระเหว ทิศตะวันตกติดภูเขาพระยาฝ่อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ทิศเหนือติด อ�าเภอหนองบัวแดง ทิศใต้ติดอุทยานแห่งชาติป่าหินงาม ทุง่ ดอกกระเจียวบาน อ�าเภอล�าสนธิ จังหวัดลพบุรี และอ�าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 287

287

18/5/2562 16:00:05


WAT LAT CHUMPHON

Phra Khru Kanlayakitjanukul

Formerly, Wat Lat Chumphon

Monastery of the life-studying 1

. .2557. 163

announced that every temple’s

. .2557 288

.indd 288

2-3

-

.

. 1

.

.

.

960

. .2515 .

.1

.

5 .

16

. 23

. .2547.

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

. - 16/05/2562 18:34:26 PM


Important buildings of this temple are as follows:

1. Chanting hall where Phra Puttha Patima Phra Yai Chai Chumphon was enshrined (An invaluable Buddha image that was placed at this temple since it was built). 2. Applied Thaistyle two-story sermon hall that used for performing religious activities and staying during the Buddhist lent. 3. Multi-purpose hall which it is in the process of construction, the purpose of this hall is for practicing the dharma, teaching student and holding a meeting for mobile provincial clergy. It is an applied Panya style building. 4. Three small applied Thai-style monk’s houses. Lastly, 5.Crematory. (Panya style is Thai pattern of Thai construction of common houses without the gabl.)

The land of this temple was divided into 4 places

1. place is when we was born as a baby, cute, cheerful and delightful which match the word “Aram” as per policy of ( ). 2. Sermon hall and monk’s houses, the group of monk’s houses has been arranged for adult who have encountered various problem which make them distressed, they can come to extinguish their sorrow and let themselves on by various ways such as ordination or consulting and studying the dharma from Buddhist monks. 3. Forest behind temple, for resting at this tranquil place, the meaning of this place is when you have lived for a long time and turned to be elder, sickness will come to you accordingly. Then, we should make merit and seek for the truth of life as much as possible. Lastly. 4. The last state of life is “Afterworld is remembrance”, this is the place where cremains going to be contained as per tradition since ancient time. However, all of the four parts are in the process of planning which we are waiting for anyone who would like to join in the construction of these places.

The landscape around this district

East – it is adjacent to Bang Hoei Mountain, Nong Bua Ra Heo district. West – it borders Phraya Fo Mountain, Petchaboon province. North – it adjoins Nong Bua Dang district. South – It is adjacent to Pa Hin Ngam National park Lopburi province and Wichian Buri district, Petchaboon province.

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 289

289

. - 20/05/2562 10:01:04 AM


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดห้วยหน น ระ รีสั า มุนี (สุมน ร ยต ร ป ธ ธม ธด) ั

ยิ

ธ ั ชัยภูมิ

วัดห้วยหน น ตั้งอยู่ที่บ้านห้วยหินฝน หมู่ที่ ต�าบลวังทอง อ�าเภอภักดีชุมพล จังหวัด ชัยภูมิ ถนนสายนครสวรรค์-ขอนแก่น มีเนื้อที่ประมาณ 29 ไร่ 2 งาน ประเภทที่ดิน ภ.บ.ท. 5 เป็นวัดที่ห่างจากตัวจังหวัดมากพอสมควร เดิมเป็นที่พักสงฆ์อยู่นานหลายปี ต่อมาถึงปี พ.ศ. 2545 กรมการศาสนา ด้วยความเห็นชอบของกระทรวงศึกษาธิการ และมหาเถรสมาคม อนุญาตให้นายปัญญา สาระกุมาร สร้างวัดขึ้นที่บ้านห้วยหินฝนฯ ได้เป็นวัดที่ถูกต้อง ณ วันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2546 อาศัยตามความข้อ 4 แห่งกฎกระทรวง บับที่ 1 (พ.ศ. 2507) ออก ตามความ ในพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 และด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคม ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติจึงได้ประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดห้วยหน น” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปีพ.ศ. 2550 งวดที่ 1 ล�าดับที่ 45 ได้กา� หนดเขต กว้าง 2 เมตร ยาว 34 เมตร ง่ึ มีนายไพบูลย์ วัฒนศิรธิ รรม รองนายกรัฐมนตรี ในสมัยนั้น เป็นผู้รับสนองบรมราชโองการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา บับทั่วไป เล่มที่ 124 ตอนที่ 36 ง. ณ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2550

ับเ

1. พระครูมงคลจันทโชติ (พนม จนทโชโต น.ธ.เอก ป 1-2) เป็นเจ้าอาวาสตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2546-พ.ศ.2554 2. พระศรีสัจญาณมุนี (สุมินทร์ ยติกโร ป.ธ.9 พธ.บ. พธ.ม. พธ.ด.) เป็นเจ้าอาวาส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน 290

3.

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 290

16/5/2562 18:51:31


พ.ศ. 2562 ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตรพุทธศาสตร ดุษฎีบณ ั ติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) . .( ) มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

ประ ั เ

พระ รสัจ า มน สมน ร์ ย ก ร พ บ พระพ าสนา พ ม พระพ าสนา พ ด พระพ าสนา รองเจ้าคณะ จังหวัดชัยภูมิ และ เจ้าอาวาสวัดห้วยหินฝน อายุ 55 พรรษา 30 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ป.ธ. 9 พธ.บ.(พระพุทธศาสนา) พธ.ม.(พระพุทธ ศาสนา) พธ.ด.(พระพุทธศาสนา) จจบั น ดารง าแหน่ ง รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เจ้ า อาวาส วัดห้วยหินฝน ผู้อ�านวยการวิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ และ อาจารย์ประจ�า หลักสูตรสาขาวิชาพระพุทธศาสนา ส านะ ดม ชื่อ สมน ร์ นามสกุล ก่อบ เกิดวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2506 บิดาชื่อ นายเพิ่ม มารดาชื่อ นางสิมลา นามสกุล ก่อบุญ บ้านเลขที่ 16 หมูท่ ี่ 1 ต�าบลบ้านหัน อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ อ สมบ วั น ที่ 17 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2532 วัดบริบูรณ์ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ พระอุปัช าย์ พระคร ก รส ค วัดบริบูรณ์ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ พระกรรมวาจาจารย์ พระมหา รชา ก วัดบริบูรณ์ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ พระอนุ ส าวนาจารย์ พระยอด สสว ส วัดบริบูรณ์ ต�าบลบ้านยาง อ�าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ว ย านะ พ.ศ. 2534 สอบไล่ได้นกั ธรรม ชัน้ เอก ในส�านักเรียนคณะ จังหวัดชัยภูมิ วัดชัยภูมพิ ทิ กั ษ์ จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 254 ส�าเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรี หลักสูตรพุทธศาสตรบัณ ติ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) . .( ) คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราช วิทยาลัย พ.ศ. 2553 สอบไล่ได้ ป.ธ. 9 ในส�านักเรียนคณะจังหวัดชัยภูมิ วัดชัยภูมพิ ทิ กั ษ์ พ.ศ. 255 ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตร พุทธศาสตรมหาบัณ ิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) . . ( ) บัณ ิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุ าลงกรณราชวิทยาลัย

ความชานา การพ วิปัสสนากัมมัฏฐาน คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์ และนวกรรมการก่อสร้าง การ ก าพ พ.ศ. 2541 ผ่านการฝกอบรมหลักสูตรวิชาการ เทศนา รุ ่ น ที่ 6 ขององค์ ก ารเผยแผ่ วั ด ประยุ ร วงศาวาสวรวิ ห าร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 ผ่านอบรมสัมมนาเจ้าส�านักปฏิบัติธรรม ประจ�าจังหวัดชัยภูมิ เป็นประจ�าทุกปี พ.ศ. 2551 ผ่านการอบรมครู สอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรมหาวิทยาลัยจุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2553 ผ่านอบรม พระสังฆาธิการระดับ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ณ สถาบันพระสังฆาธิการ จั ง หวั ด ราชบุ รี พ.ศ. 2554 ผ่ า นการอบรมพระวิ ป ั ส สนาจารย์ หนตะวันออก รุ่นที่ 1 โครงการทุนเล่าเรียนหลวง ณ วัดประสิทธิเวช อ�าเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก พ.ศ.2543 ผ่านการอบรมพระนักเทศน์ ณ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร หลักสูตร 3 เดือน การ กครอง พ.ศ.254 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดชัยภูมิพิทักษ์ พ.ศ.2554 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดห้วยหินฝน เป็นเจ้าอาวาส วัดห้วยหินฝนและเป็นเจ้าคณะต�าบลวังทอง เขต 2 พ.ศ.2555 เป็น เจ้าคณะอ�าเภอภักดีชุมพล พ.ศ.2556 เป็นพระอุปัช าย์ พ.ศ.2557 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดชัยภูมิ งานการ ก า พ.ศ.2535 ถึงปัจจุบัน เป็นครูสอนปริยัติธรรม แผนกธรรม-บาลี พ.ศ.253 เป็นครูใหญ่ปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม ประจ�า ส�านักศาสนศึกษา วัดชัยภูมิพิทักษ์ พ.ศ.2539 ได้ผ่านการอบรม หลักสูตรฝกหัดครูสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม-บาลี ชัน้ กลาง พ.ศ. 2540-2545 เป็นพระอนุจรน�าข้อสอบบาลีสนามหลวง พ.ศ.25462549 เป็นผู้น�าข้อสอบบาลีสนามหลวงไปเปดสอบ พ.ศ.2543 ถึงปัจจุบัน เป็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง พ.ศ.2550 ถึงปัจจุบัน เป็นพระจริยานิเทศ ประจ�าจังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน เป็นกรรมการก�ากับห้องสอบบาลีสนามหลวง จังหวัดชัยภูมิ พ.ศ. 2554 ถึงปัจจุบนั เป็นกรรมการตรวจบาลีสนามหลวง ชัน้ ป.ธ.3 พ.ศ. 2554 เป็นรองประธานหน่วยสอบธรรมสนามหลวงอ�าเภอภักดี ชุมพล พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบนั เป็นเจ้าส�านักศาสนศึกษาวัดห้วยหินฝน เป็นประธานหน่วยสอบธรรมสนามหลวงอ�าเภอภักดีชมุ พล และ พ.ศ. 2555 ถึงปัจจุบัน เป็นรองประธานหน่วยสอบบาลีสนามหลวง จังหวัดชัยภูมิ

I SBL บันทึกประเทศไทย

3.

2

.indd 291

291

16/5/2562 18:51:46


CHAIYAPHUM

ั ม ก หยอกดอกกระเจียว สู่อาเ ียน

ชัยภูมิ ั มั ั ย ั ม ดอ ระเ ียว เรงร่า...สู่อาเ ียน ม ย ช ั ั ชั ย ภู มิ ิ ั ั ย ช ิ ิ ม ม ั ั ย ั ั ย ย ั ั ชัยภูมิ ั ช มิ ย ิ ม ิ ม มิ ย ม ย ัช ย ั ยั ม ย ม ช ชย ช ย ช ั ย ช ิ ิ ม ภ ิ ั ั ชั ย ภู มิ ั ช ิ ย ย ม ชมช ิ ม มิ ย ั ั ั ม ย ย ดอ ระเ ียวเรงร่า...สู่ อาเ ียน ั ู ช ม ิ ย ั

292

AD.indd 292

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

18/5/2562 15:37:46


CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

AD.indd 293

293

18/5/2562 15:37:48


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

วัดประชาสามัคคี

ชัยภูม เมือง ู้ ล้า

บ้านใหญ่พัฒนา ม.10 ต�าบลกุดตุ้ม

าแล

วัดประชาสามัคคี

วั ด Chaiyaphum

ม.10 ต�าบลโพนทอง วัดปรางค์กู่ ม.2 ต�าบลในเมือง

วัดปาคลองสมบูรณ์ บ้านหนองแวง ม.3 ต�าบล ับสีทอง

วัดปาบานโปงเกตุ บ้านโป่งเกตุ ม.7 ต�าบลชีลอง

วัดปาบานพลัง บ้านพลัง ม.10 ต�าบลนาฝาย

วัดปาพัฒนาธรรม บ้านนาสีนวล ม.5 ต�าบลนาเสียว

วัดปายางบง

ังหวัดชัยภูม

บ้านยางบง ม.9 ต�าบลห้วยบง

วัดโปร่งคลองเหนอ บ้านโปร่งคลองเหนือ ม.3 ต�าบลห้วยต้อน

วัดพญา ล บ้านโนนเหลี่ยม ม.14 ต�าบลนาฝาย

วัดพีรพัฒนวงศ์ บ้านห้วยหลัว ม.7 ต�าบลหนองนาแ ง

วัดพุทธรังษี บ้านโนนเหลี่ยม ม.14 ต�าบลนาฝาย

วัดพุทธวิจิตราราม บ้านกุดเหม่ง ม.2 ต�าบลชีลอง วัดพุทโธวาท ม.1 ต�าบลชีลอง

วัดท่าเสียว ม.3 ต�าบลบ้านเล่า วัดท่าหินโงม

วัดโนนหญาคา ม.7 ต�าบลหนองไผ่ วัดโนนหวานไพล

บ้านท่าหินโงม ม.1 ต�าบลท่าหินโงม วัดทุ่งสว่าง ม.2 ต�าบลโพนทอง วัดนครรังสิต บ้านโนนแดง ม.7

ม.5 ต�าบลลาดใหญ่

วัดพูลทรัพย์ลาด หญ่

วัดโนนอดนอย

ม.1 ต�าบลบ้านค่าย วัด กะพี ม.3 ต�าบลโนนส�าราญ

วัดฉิมพลี ม.7 ต�าบลโนนส�าราญ วัดชมพู ห้วยหว้า ม.1 ต�าบลห้วยบง วัดชมภู ม.1 ต�าบลนาฝาย วัดชัยประสิทธิ์ ม.1 ต�าบลในเมือง วัดชัยพิบูลย์ ม.3 ต�าบลหนองไผ่ วัดชัยภูมิวนาราม

วัดนพรัตน์วนาราม

วัดบริบูรณ์

วัดกุดเวียน

บ้านโนนสมอ ม.5 ต�าบลในเมือง

บ้านยางบ่า ม.3 ต�าบลโคกสูง

บ้านขี้เหล็กใหญ่ ม.9 ต�าบลในเมือง

บ้านลาดใหญ่ ม. ต�าบลลาดใหญ่ วัดเพชรพิบูลย์ ม.3 ต�าบลโพนทอง วัด โพธิ์ ม.4 ต�าบลกุดตุ้ม วัด โพธิ์ชัย ม.10 ต�าบลบุ่งคล้า

บ้านกุดเวียน ม.6 ต�าบลบ้านค่าย

วัดชัยศรีสมสะอาด

วัดนาคาวาสวิหาร

วัดบานชีลอง ต

วัดไพรีพินาศ

วัดกู่สุวรรณวนาราม

ม.2 ต�าบลชีลอง

ม.1 ต�าบลบ้านค่าย

บ้านชีลองใต้ ม.6 ต�าบลห้วยต้อน

บ้านเมืองเก่า ม.2 ต�าบลในเมือง

บ้านม่วง ม.7 ต�าบลบ้านเล่า วัดเกาะ ม.4 ต�าบลบ้านเล่า

วัดชีลองกลาง

วัดนาสีนวล

วัดบาน ับพระไวย์

วัดม่วงเงาะ

บ้านชีลองกลาง ม.7 ต�าบลห้วยต้อน

บ้านนาสีนวล ม.5 ต�าบลนาเสียว

วัด กงจิก

วัดชีลองเหนอ

วัดนิโครธาราม

บ้านห้วยบง ม.4 ต�าบลห้วยบง วัดยางนาเสียว ม.1 ต�าบลนาเสียว

บ้านแก้งจิก ม.7 ต�าบลบ้านค่าย

บ้านชีลองเหนือ ม.4 ต�าบลห้วยต้อน

บ้านไทรงาม ม.3 ต�าบลนาเสียว

วัดคลองลี่

วัดชุมพลสวรรค์

วัดโนนกานตง

บ้านคลองลี่ ม.12 ต�าบลในเมือง

บ้านโนนก้านตง ม.9 ต�าบลลาดใหญ่

วัดโคง นัน

ม.3 ต�าบลบ้านค่าย วัดชุม สง ม.3 ต�าบลห้วยบง วัด ับรวงไพร ับรวงไพร ม.4 ต�าบลนาเสียว วัดดอนกู่ ม.5 ต�าบลหนองไผ่

บ้านโค้งขนัน ม.4 ต�าบลบ้านค่าย

วัดดอน วาง

บ้านโนนดู่พัฒนา ม.15 ต�าบลนาฝาย

วัดจักษุวนาราม

ดอนขวาง ม.4 ต�าบลโนนส�าราญ วัดดอนหัน ม.6 ต�าบลหนองไผ่ วัดดาวเรอง ม.9 ต�าบลนาฝาย วัดตะกุด ม.5 ต�าบลบ้านค่าย วัดตาลเดี่ยว บ้านมุ้งคล้า ม.3 วัดตาลเดีย่ ว ม.11 ต�าบลหนองนาแ ง

วัดโนนม่วง

บ้าน ับพระไวย์ ม.6 ต�าบลโพนทอง วัดบาน อ บ้านผือ ม.1 ต�าบลกุดตุ้ม วัดบานโพธิ์ทอง บ้านโพธิ์ทอง ม. 12 ต�าบลบ้านเล่า วัดบานสราง ว บ้านสร้างแว้ ม.5 ต�าบลโพนทอง วัดบานโสกหวา บ้านโสกหว้า ม.6 ต�าบลโนนส�าราญ วัดบานหัวหนอง บ้านหัวหนอง ม. 14 ต�าบลชีลอง วัดบง วง ม.4 ต�าบลนาฝาย

บ้านโนนม่วง ม.7 ต�าบลโพนทอง

วัดบง วง

บ้านวังเดือนห้า ม.9 ต�าบลห้วยต้อน

วัดโนนมะเกลอ

วัด วังน�าเ ียว บ้านวังน�้าเขียว ม.5 ต�าบลท่าหินโงม วัดกลางเมองเก่า ต�าบลในเมือง

วัด โนนส�าราญ

บ้านหนองแวง ม.1 ต�าบลในเมือง วัดบุ่งสาวตาล ม.4 ต�าบลชีลอง วัดบูรพา ม.3 ต�าบลลาดใหญ่ วัดปทุมชาติ ม.5 ต�าบลชีลอง

วัดตาลนา ง

ม.1 ต�าบลโนนส�าราญ

วัดปทุมทอง(บานหนอง หน)

บ้านหนองหญ้าปล้อง ม.5 ต�าบลนาฝาย

ม.2 ต�าบลหนองนาแ ง วัดทรงศิลา ม.1 ต�าบลในเมือง

วัดโนนสูงสะอาด

ม.2 ต�าบลหนองไผ่ วัดประจิม ม.2 ต�าบลนาเสียว

บ้านโนนหญ้าคา ม.7 ต�าบลหนองไผ่

อาเภอเมืองชัยภูม วัดกกบก ม.13 ต�าบลรอบเมือง วัดกลางหม่น ว

วัดโคกนอยมอดิน ดง บ้านโคกน้อย ม.11 ต�าบลในเมือง วัดโคกสว่าง ม.2 ต�าบลห้วยบง

บ้านสามพันตา ม. ต�าบลห้วยต้อน วัด จง ม.5 ต�าบลบ้านเล่า

วัด จงเจริญ บ้านแจ้งเจริญ ม.2 ต�าบลท่าหินโงม วัด จงนอย ม.5 ต�าบลโนนส�าราญ วัด จงสว่าง ม.6 ต�าบลกุดตุ้ม

วัด จงสว่างอารมณ์ ม.2 ต�าบลนาฝาย

294

วัดโนนคูณ(อัมพวัน) ม.1 ต�าบลลาดใหญ่ วัดโนนชัย ม.6 ต�าบลบ้านเล่า

วัดโนนดู่พัฒนา

บ้านโนนมะเกลือ ม.13 ต�าบลนาฝาย วัดโนนสะอาด ม.7 ต�าบลนาฝาย

บ้านโนน ม.1 ต�าบลโนนส�าราญ

บ้านโนนอดน้อย ม.5 ต�าบลหนองนาแ ง

วัดยางภิรมย์ราษ ร์ บ้านยางบ่า ม.3 ต�าบลโคกสูง วัด รังษี ม.3 ต�าบลนาฝาย วัดราชพ กษ์ ม.1 ต�าบลกุดตุ้ม วัดราษีกุดสวง ม. ต�าบลบ้านเล่า วัดลาดนอย บ้านลาดน้อย ม.2 ต�าบลลาดใหญ่ วัดวังกานเหลอง ม.2 ต�าบลบ้านค่าย

วัดวังเดอนหา

วัดวีรวงศาราม วัดวุฒิธรรมวนาราม

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 294

30/5/2562 16:15:26


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

วัดศรีษะกระบอ ม.1 ต�าบลหนองไผ่ วัดศรีสง่าโนนกอก บ้านโนนกอก ม.1 ต�าบลรอบเมือง วัดศรีสะอาด ม.5 ต�าบลนาเสียว วัดศรีสะอาด ม. ต�าบลกุดตุ้ม วัดศรีสุนทร ม.10 ต�าบลบุ่งคล้า วัดศรีอุดม ม.3 ต�าบลหนองนาแ ง วัดศาลาลอย ม.3 ต�าบลชีลอง วัดศาลาวรรณ ม.9 ต�าบลชีลอง

วัดสิงห์ทอง ม.4 ต�าบลหนองนาแ ง วัดสุลาลัย ม.2 ต�าบลกุดตุ้ม วัดเสียวนอย

วัดหนองสัง ์ ม.7 ต�าบลรอบเมือง วัดหนองสัง ์ บ้านหนองสังข์ ม.6 ต�าบลในเมือง

บ้านเสี้ยวน้อย ม. ต�าบลบ้านค่าย

วัดหนองโสมง

วัด สงทองปยาราม

บ้านหนองโสมง ม.5 ต�าบลโคกสูง

บ้านคลองเรียง ม. ต�าบลในเมือง วัด สงอุทัย ม.9 ต�าบลกุดตุ้ม

บ้านหนองหลอด ม.25 ต�าบลในเมือง

วัดหนองหลอด

วัดโสกตลับ

วัดหวยมงคล

บ้านโสกตลับ ม. ต�าบลโคกสูง

บ้านห้วยตะแคง ม.6 ต�าบลโคกสูง

วัดศิริชัยมงคล

วัดหนองกระทุ่ม

วัดหวยยางราษ ร์บ�ารุง

บ้านห้วยหว้า ม.12 ต�าบลห้วยบง วัดศิลาอาสน์ ม.6 ต�าบลนาเสียว วัดสมบุญอุทิศ ม.1 ต�าบลนาเสียว

บ้านหนองกระทุ่ม ม.9 ต�าบลหนองไผ่

บ้านห้วยยาง ม.4 ต�าบลโคกสูง

วัดหนองเ ่องเทพธาราม

วัดหินกอง

บ้านหนองเขื่อง ม.6 ต�าบลกุดตุ้ม

บ้านหินกอง ม.6 ต�าบลห้วยบง

วัดสมศรีบ านเสียวนอย

วัดหนองไ ่นุ่น

วัด หม่บัวงาม

บ้านเสี้ยวน้อย ม.1 ต�าบลบ้านเล่า วัดสมานมิตร ม.1 ต�าบลห้วยต้อน วัดสระ กว ม.4 ต�าบลรอบเมือง วัดสว่างอารมณ์ ม.4 ต�าบลในเมือง

บ้านหนองไข่นุ่น ม. ต�าบลหนองไผ่ วัดหนองคู ม.4 ต�าบลโพนทอง

บ้านใหม่บัวงาม ม.7 ต�าบลท่าหินโงม

วัดหนองคูพัฒนา

วัดสัมพันธมิตร

วัดหนองนกเ า

บ้านสัมพันธ์ ม.5 ต�าบลบุ่งคล้า

บ้านหนองนกเขา ม.6 ต�าบลนาฝาย

วัดสามัคคีธรรม

วัดหนองนา ง

บ้านโนนคูณ ม. ต�าบลนาฝาย วัดอัมพวัน ม.7 ต�าบลบ้านเล่า วัดอัมพา ม.2 ต�าบลบ้านเล่า วัดอารมณ์ช่น ม.7 ต�าบลชีลอง วัดอิสาณ ม. ต�าบลหนองนาแ ง

บ้านหัวนา ม.6 ต�าบลบุ่งคล้า

บ้านหนองนาแ ง ม.2 ต�าบลหนองนาแ ง

วัดอิสาน

วัดสามัคคีธรรม

วัดหนองปลาโด

บ้านหนองโว้ง ม.1 ต�าบลหนองนาแ ง

บ้านหนอง นวน ม.1 ต�าบล ับสีทอง

วัดสามัคคีธรรมาราม

บ้านหนองปลาโด ม. ต�าบลชีลอง วัดหนองไ ่ ม.4 ต�าบลหนองไผ่

บ้านหนองคอนไทย ม.5 ต�าบลกุดตุ้ม

ม.2 ต�าบลลาดใหญ่

วัดหนองไ ่ล อม

วัดเอี่ยมชโลธร

บ้านหนองไผ่ล้อม ม.10 ต�าบลกุดตุ้ม

บ้านห้วยยางป่า ม.3 ต�าบลโคกสูง

วัดสามัคคีอุทิศ บ้านขี้น้อย ม.6 ต�าบลในเมือง วัด ส�ารอง ม.5 ต�าบลนาฝาย

อาเภอคอนสวรรค

บ้านหนองคูขาด ม.3 ต�าบลกุดตุ้ม

วัด หม่สามัคคี

วัด อุด ร

วัดหนองโมง บ้านหนองโมง ม.5 ต�าบลห้วยบง

วัดทุ่งสว่าง ม 1 ต�าบลบ้านโสก วัดเทพธรรมคุณ

วัดปา ก่นธรรม

วัดภูทอง

วัดสว่างนามน

บ้านหลุบเพ็ก ม 4 ต�าบลห้วยไร่

บ้านภูทอง ม ต�าบลช่องสามหมอ

บ้านหนองแดงน้อย ม 1 ต�าบลโคกมัง่ งอย

วัดปา ับทอง

วัดภูมิรัตนาราม

บ้านนามน ม ต�าบลศรีส�าราญ วัดสว่างนา ี ม 4 ต�าบลศรีส�าราญ

บ้าน ับทอง ม 1 ต�าบลห้วยไร่

วัดเกาะ กว

วัดเทพประสิทธิ์โพธิ์ธาราม

บ้านหนองใน ม 8 ต�าบลโคกมั่งงอย

บ้านห้วยไร่ ม 1 ต�าบลห้วยไร่

วัดคอนสวรรค์

วัดนรเทพหนอง าม

ม 11 ต�าบลคอนสวรรค์

บ้านหนองขาม ม ต�าบลคอนสวรรค์

วัดคอนสวรรค์ น

วัดนาเสียวนอย

ม 11 ต�าบลคอนสวรรค์ วัดโคกก่อง ต�าบลโนนสะอาด

ม ต�าบลคอนสวรรค์ วัดโนน ต ม 4 ต�าบลหนองขาม

วัดโคกมนพัฒนาราม

วัดโนนพันชาติ

วัดปาพรพิพัฒน์

บ้านโคกมน ม 14 ต�าบลบ้านโสก

วัดโคกสง่าวนาราม

บ้านโนนพันชาติ ม ต�าบลโนนสะอาด วัดโนนโพธิ์ ม 6 ต�าบลคอนสวรรค์

บ้านโคกสง่า ม ต�าบลห้วยไร่

วัดโนนสงเปลอย

บ้านโสกกกแดง ม ต�าบลโคกมั่งงอย

วัดศรีดาวเรอง

วัดหนองทอน

วัดจอมธาตุ

บ้านโนนสงเปลือย ม ต�าบลโนนสะอาด

ม 1 ต�าบลหนองขาม

ม 4 ต�าบลคอนสวรรค์

บ้านโคกมั่งอย ม ต�าบลโคกมั่งงอย

วัดโนนสะอาด

วัดโปร่งคลอง บ้านโปร่งคลอง ม ต�าบลบ้านโสก

วัดศาลาลอย

วัดหนองบัวบานเยน

วัด ับคูหาสวรรค์

ม 8 ต�าบลโนนสะอาด

บ้านยางหวาย ม 2 ต�าบลยางหวาย

ม ต�าบลศรีส�าราญ

บ้านชนแดน ม ต�าบลช่องสามหมอ วัดดงเยน บ้านดงเย็น ม 8 ต�าบลห้วยไร่

วัดโนนส�าราญ

วัดพุทธิสารโนนทอง บ้านโนนทอง ม 8 ต�าบลหนองขาม

วัดศาลาลอย

วัดหนองบัวลอย

ม 6 ต�าบลยางหวาย

ม ต�าบลโคกมั่งงอย

วัดดอนหัน

วัดประชามงคล

วัดโพธิ์

วัดศิริมังคลาราม

วัดหนองเบนมังคลาราม

บ้านดอนหัน ม 2 ต�าบลโนนสะอาด วัดทักษิณ ม 2 ต�าบลบ้านโสก วัดทุ่งสว่าง ม 8 ต�าบลยางหวาย

ม 1 ต�าบลช่องสามหมอ

ม 12 ต�าบลคอนสวรรค์ วัดโพธิ์ศรี ม 2 ต�าบลศรีส�าราญ

บ้านหนองไ ม 2 ต�าบลห้วยไร่

บ้านหนองเบ็น ม ต�าบลศรีส�าราญ

วัดโพธิ์ศรีดอนหัน

วัดสว่างคีรีวัน

วัดหนองปลาปง

บ้านดอนหัน ม ต�าบลบ้านโสก

ม 1 ต�าบลช่องสามหมอ

บ้านหนองปลาปง ม 1 ต�าบลศรีส�าราญ

บ้านโนนส�าราญ ม 1 ต�าบลบ้านโสก

วัดประทุมวัน บ้านหนองบัวเพวัน ม 4 ต�าบลบ้านโสก

บ้านจอก ม 1 ต�าบลคอนสวรรค์

วัดสว่างอารมณ์

วัดปา ับ ักกูด

วัดภูมิสวรรค์

บ้านโนนเขวา ม ต�าบลยางหวาย

บ้าน ับผักกูด ม 1 ต�าบลห้วยไร่

บ้านนาโจด ม 6 ต�าบลศรีส�าราญ

วัดโสกหาด

วัดปานา ีสามัคคีธรรม

วัดมณีรัตน์

บ้านโสกหาด ม 2 ต�าบลช่องสามหมอ

บ้านนา ี ม ต�าบลศรีส�าราญ

บ้านโสกมูลนาค ม ต�าบลห้วยไร่

วัดหงษาวนาราม

วัดปาโนนศิลา

วัดม่วง

บ้านหลุบเพ็ก ม 4 ต�าบลห้วยไร่

บ้านโนนหินขาว ม 4 ต�าบลช่องสามหมอ

บ้านยางหวาย ม 1 ต�าบลยางหวาย วัดม่วง ม ต�าบลยางหวาย

วัดหนองโก

บ้านหนองโนน้อย ม ต�าบลโคกมั่งงอย

วัดล�าชี

วัดหนองตาไก

วัดปาโสกกก ดง

ม 6 ต�าบลโนนสะอาด

ม ต�าบลหนองขาม

บ้านหนองโก ม 1 ต�าบลคอนสวรรค์

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 295

295

30/5/2562 16:15:29


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

อาเภอเ ตรสม ูร

วัด ามเวียน

วัดทรงศิลา ม 1 ต�าบลบ้านบัว วัดทรายมูล ม 8 ต�าบลบ้านบัว วัดทักษิณ ม ต�าบลโนนกอก วัดท่างอย ม 8 ต�าบลบ้านยาง วัดท่าศาลา ม ต�าบลกุดเลาะ วัด ทุ่งโพธิ์ ม 2 ต�าบลบ้านเปา วัดทุ่มศิลา ม 4 ต�าบลบ้านเปา วัดธาตุ ม ต�าบลบ้านเปา วัดธาตุนาจะหม่น

ม 1 ต�าบลกุดเลาะ

บ้านนาจะหมื่น ม ต�าบลบ้านเดื่อ

วัดโคกก่อง

วัดนอยพัฒนาราม

ม 4 ต�าบลหนองโพนงาม

บ้านน้อยพั นา ม 12 ต�าบลบ้านเดื่อ

วัดปาดอนสวรรค์

วัดโคกบ�ารุง

วัดนาหัวโสก

บ้านโจด ม 4 ต�าบลหนองข่า

ม 4 ต�าบลหนองข่า

บ้านนาหัวโสก ม 6 ต�าบลบ้านเดื่อ วัดเนินไสว ม ต�าบลบ้านหัน

วัดปาโนนสว่าง

บ้านโนนศิลา ม ต�าบลหนองข่า วัด โพธิ์ศรี ม 1 ต�าบลบ้านเดื่อ วัดมัช ิมวาส ม 8 ต�าบลกุดเลาะ

บ้านโนนเขวา ม 2 ต�าบลกุดเลาะ

วัดมุจรินทร์

วัดโนน องมังคลาราม

วัดปาปุญญาราม

บ้านหนองแต้ ม ต�าบลบ้านเดื่อ

บ้านศาลา ม 4 ต�าบลกุดเลาะ

วัดร่อง สนค�า

วัดปาภูน อยสันติธรรม

ม 6 ต�าบลบ้านเปา

ม ต�าบลบ้านยาง

บ้านโนน ้อง ม 2 ต�าบลสระโพนทอง วัดโนนตะโก ม 8 ต�าบลสระโพนทอง วัดโนนทราย ม 1 ต�าบลโนนกอก

บ้านโนนตุ่น ม ต�าบลกุดเลาะ

วัดราษ ร์บูรณะ

วัด กุด ฉิม ม.3 ต�าบลหนองโพนงาม

วัดกุดเลาะ ม 2 ต�าบลกุดเลาะ

วัด ามเทศ ม ต�าบลสระโพนทอง

วัดโคกสว่างดาราม บ้านหลักแดน ม 11 ต�าบลบ้านเดื่อ วัด จง ม ต�าบลบ้านยาง

วัด จงสองคอน

วัดบริบูรณ์ ม 1 ต�าบลบ้านยาง วัดบานเปา บ้านเปา ม 8 ต�าบลบ้านเปา วัดบานหวยโปงสามัคคี

วัดปาหวยกุ่ม

วัดสมบูรณ์นทิยาราม

บ้านห้วยหินลับ ม 11 ต�าบลหนองโพนงาม

ม 4 ต�าบลบ้านหัน วัด สมโพธิ์ ม ต�าบลบ้านบัว วัดสระ กว ม ต�าบลบ้านเดื่อ

วัดพการาม

บ้านห้วยโป่ง ม 1 ต�าบลบ้านเดื่อ วัดบงมะนาว ม 4 ต�าบลบ้านเดื่อ

ม 2 ต�าบลโนนกอก

วัดพระเจาอุ ย

วัดบงศรีษะกุญชร

วัดสว่างไพรงาม

บ้านโนนสุขสันต์ ม ต�าบลโนนกอก

ม 1 ต�าบลหนองโพนงาม

บ้านระหัด ม ต�าบลกุดเลาะ วัดบุญเรอง ม ต�าบลโนนกอก วัดบุป าราม ม 4 ต�าบลโนนกอก วัดบูรพา ม 1 ต�าบลบ้านหัน วัดบูรพาราม ม 14 ต�าบลบ้านเปา

วัดพระธาตุเกศ กวจุ ามณี

วัดสว่างอารมณ์

บ้านหนองแวง ม ต�าบล ับสีทอง

ม 1 ต�าบลหนองข่า

วัดพุทธาวราราม บ้านโนนทัน ม ต�าบลบ้านเดื่อ วัดโพธิ์ไทรโนนศิลา

วัดสะพานยาว ม 8 ต�าบลบ้านหัน วัดสาลิกา ม 11 ต�าบลบ้านหัน

วัดสุวรรณารา ม 4 ต�าบลสระโพนทอง

วัด สงสว่างดาราม ม 8 ต�าบลบ้านเดื่อ

วัดหนองคูสุวรรณาราม บ้านหนองคู ม ต�าบลสระโพนทอง

วัดหนอง ดงวนาราม บ้านหนองแดง ม ต�าบลหนองข่า

วัดเชิงบรรพต

วัดโนนมะเยา

วัดปาภูน อยสันติธรรม

ม 6 ต�าบลบ้านยาง

ม 6 ต�าบลหนองข่า วัดดอกไม ม ต�าบลโนนกอก วัดตลาด ม ต�าบลบ้านหัน

บ้านโนนมะเยา ม ต�าบลสระโพนทอง

บ้านโนนตุ่น ม ต�าบลกุดเลาะ

วัดวังม่วง

ม ต�าบลบ้านหัน

วัดโนนสมโ ง

วัดปาศรีสุพร

บ้านโนนส้มโ ง ม 12 ต�าบลสระโพนทอง

บ้านหนองบัวพั นา ม 14 ต�าบลบ้านเดือ่

ม ต�าบลหนองโพนงาม วัดศรีสะอาด ม 12 ต�าบลบ้านหัน

บ้านดอนกลาง ม 21 ต�าบลบ้านเดื่อ

วัดตะคลองหิน

วัดโนนสัง ์ประชานิมิต

วัดปาสามัคคีโ ษิตาราม

วัดศักดิ์งอย

วัดองค์ตอท่าเด่อ

บ้านโนนมะค่าง ม ต�าบลโนนทอง

บ้านโนนสังข์ ม ต�าบลบ้านเปา

บ้านบุ่งสิบสี ม 4 ต�าบลโนนทอง

บุ่งสิบสี่ ม 4 ต�าบลโนนทอง

บ้านท่าเดื่อ ม ต�าบลบ้านยาง

วัดตะบองเพชร

วัดโนนสัง ์สามัคคี

วัดปาหนอง ต

วัดสมบูรณ์

โนนทอง ม 1 ต�าบลโนนทอง

บ้านโนนสังข์ ม ต�าบลบ้านบัว

บ้านหนองแต้ ม ต�าบลบ้านเดื่อ

ม 2 ต�าบลหนองข่า

296

วัดหรดี วัด หม่ดอนกลาง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 296

30/5/2562 16:15:30


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

วัดปาสันติธรรม

วัดศาลาวรรณ

วัดสามัคคี

วัดหวยกุ่ม

บ้านโคกสะอาด ม ต�าบลท่าใหญ่ วัดปาสุริยวงศ์ ม ต�าบลกุดชุมแสง

ม 4 ต�าบลกุดชุมแสง

บ้านหนองปล้อง ม 2 ต�าบลหนองแวง

บ้านห้วยกุ่ม ม 14 ต�าบลนางแดด

วัดศิริมงคล

วัดสุ สันต์กัญญาวนาราม

วัดหวยม่วง

วัดเ ต

วัดปาหนองลุมพุก

บ้านไทยเจริญ ม 1 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านนารี ม 4 ต�าบลหนองแวง

บ้านห้วยม่วง ม ต�าบลหนองแวง

บ้านลาดวังม่วง ม 1 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านหนองลุมพุก ม 6 ต�าบลกุดชุมแสง

วัดศิลาธรรม

วัดโสกรัง

วัด หม่เจริญธรรม

วัดคลองเตย

วัดปาหม่อมเจาสมาคมกิติยากร

บ้านทรัพย์เจริญ ม ต�าบลวังชมภู

บ้านโสกรัง ม ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านหนองหอยปง ม 6 ต�าบลถ�้าวัวแดง

บ้านตลองเตย ม ต�าบลนางแดด

บ้านโนนคู ม 11 ต�าบลคูเมือง

วัดศิลามหาธาตุ

วัดหนองกุง

วัด หม่ชัยมงคล

วัดค�าศิลาวนาราม

วัดไ ่เงินวนาราม

บ้านโนนดู่ โนนพยอม ม 4 ต�าบลคูเมือง

บ้านหนองกุง ม ต�าบลหนองแวง

บ้านใหม่ชยั มงคล ม 12 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านหัวนาค�า ม ต�าบลถ�้าวัวแดง วัดชัยภูมิพิทักษ์ ม 8 ต�าบลกุดชุมแสง

บ้านห้วยไผ่ใต้ ม ต�าบลหนองแวง

วัดสง่าศรีมงคล

วัดหนองบัว ดง

วัด หม่วิเวกประชาสรรค์

วัดพนังม่วงวนาราม

บ้านโคกสง่า ม 1 ต�าบลหนองแวง

ม 6 ต�าบลกุดชุมแสง

วัดชิโนรสวิศยาราม

บ้านท่าวัง ม 6 ต�าบลวังชมภู

วัดสนามชัย

วัดหนองบัว ดง

บ้านหนองส�าราญ ม 12 ต�าบลหนองแวง

วัดพนังโสภาราม

บ้านหัวสนาม ม 1 ต�าบลหนองแวง

บ้านหนองแพง ม 2 ต�าบลคูเมือง

บ้านหลักแดน ม ต�าบลวังชมภู วัด หม่สามัคคีธรรม บ้านหนองไ ใต้ ม 8 ต�าบลหนองบัวแดง

วัดโชคอ�านวย

บ้านนาคานหัก ม 1 ต�าบลกุดชุมแสง

วัดสมสะอาด

วัดหนองประดู่

วัด หม่ส�าราญ

บ้านโชคอ�านวย ม ต�าบลกุดชุมแสง

วัดพรไตรรัตน์

บ้านโนนงิ้ว ม 14 ต�าบลคูเมือง

บ้านหนองประดู่ ม 14 ต�าบลหนองแวง

บ้านบุสีเสียด ม 1 ต�าบลถ�้าวัวแดง

วัดดาวเรอง

บ้านโนนสาธิต ม ต�าบลนางแดด

วัดสว่างธรรมาราม

วัดหนอง หว

วัดอรัญญวิเวก

บ้านหนองไ ใต้ ม 8 ต�าบลหนองบัวแดง

วัดพวงสว่างอรุณ

บ้านโนนสะอาด ม ต�าบลท่าใหญ่

บ้านหนองแห้ว ม 1 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านนายายชี ม 12 ต�าบลนางแดด

วัดทรัพย์เจริญ

บ้านหนองพวง ม ต�าบลวังชมภู

วัดสว่างอัมพร

วัดหนองไห

วัดอุดรนพพาลัย

บ้านทรัพย์เจริญ ม ต�าบลวังชมภู

วัดโพธิ์ทองประทุมวนาราม

บ้านนางแดดบุ่ง ม 1 ต�าบลนางแดด

บ้านหนองไห ม ต�าบลถ�้าวัวแดง

บ้านโนนมะค่า ม 6 ต�าบลท่าใหญ่

วัดท่า กวนาราม

บ้านเหมือดแอ่ ม 1 ต�าบลคูเมือง

วัดสะพุงเหนอ

วัดหนองไ เหนอ

วัดอุดรพร

บ้านโนนตูม ม ต�าบลวังชมภู

วัดโพนทอง

บ้านสะพุงเหนือ ม 8 ต�าบลหนองแวง

บ้านหนองไ เหนือ ม ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านโนนถาวร ม 2 ต�าบลถ�้าวัวแดง

อาเภอหนอง ัวแดง

วัดท่าชาง

ม 4 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านห้วยข่าเ ่า ม 2 ต�าบลท่าใหญ่

วัดภูนกเ ียน

วัดนาคสุวรรณ

บ้านภูนกเขียน ม ต�าบลท่าใหญ่

บ้านใหม่ส�าราญ ม 1 ต�าบลนางแดด

วัดภู าทอง

วัดนาเจริญ

บ้านภูผาทอง ม 1 ต�าบลถ�้าวัวแดง

บ้านนาเจริญ ม ต�าบลหนองแวง

วัดรัตนคงคาราม

วัดนาทุ่ง หญ่

บ้านห้วยหัน ม 4 ต�าบลวังชมภู

บ้านนาทุ่งใหญ่ ม 2 ต�าบลกุดชุมแสง

วัดราษ ร์ด�าเนิน

วัดโนนเก่า หญ่

บ้านราษ ร์ดา� เนิน ม 2 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านโนนเก่าใหญ่ ม 14 ต�าบลหนองบัวแดง

วัดราษ ร์บูรพาราม

วัดโนนพยอม

บ้านห้วยกนทา ม ต�าบลคูเมือง

บ้านโนนพยอม ม 1 ต�าบลนางแดด

วัดลุมพินี

วัดโนนศรีทอง

บ้านหนองลุมพุก ม 6 ต�าบลกุดชุมแสง

บ้านโนนศรีทอง ม ต�าบลท่าใหญ่

วัดเลิศประดิษ ์

วัดโนนศรีสง่า

บ้านโนนดู่ ม 4 ต�าบลคูเมือง

บ้านโนนศรีสง่า ม 8 ต�าบลนางแดด

วัดเว ุวัน

วัดบ่อทองวนาราม

บ้านหนองแวง ม 1 ต�าบลหนองแวง

บ้านบ่อทอง ม 8 ต�าบลถ�้าวัวแดง

วัดศรีชมพู

วัดบานโนนศรีสง่า

บ้านห้วยหว้า ม 6 ต�าบลหนองแวง

บ้านโนนศรีสง่า ม 4 ต�าบลท่าใหญ่

วัดศรีธงชัย

วัดบานโนนสะอาด

บ้านโนนเหม่า ม ต�าบลนางแดด

บ้านโนนสะอาด ม 6 ต�าบลหนองบัวแดง

วัดศรีมงคล

วัดบานโหลนสามัคคีธรรม

บ้านหนองแก ม ต�าบลกุดชุมแสง

บ้านโหล่น ม 2 ต�าบลนางแดด วัดบุญธรรม ม 6 ต�าบลคูเมือง

วัดศรีสกุณาราม

วัดประชารังสรรค์

วัดศรีสมพร

บ้านคลองเจริญ ม ต�าบลนางแดด

บ้านโนนลาน ม 4 ต�าบลถ�้าวัวแดง

วัดปาไทรงาม

วัดศรีสวรรค์

บ้านนางแดดโคก ม 1 ต�าบลวังชมภู

บ้านศรีสวรรค์ ม 2 ต�าบลนางแดด

วัดปานายายชี

วัดศรีสุมังคลาราม

บ้านนายายชี ม 12 ต�าบลนางแดด

บ้านหนองบัวแดง ม ต�าบลหนองบัวแดง

วัดปาศิลางาม

วัดศาลาลอย

บ้านหลวงศิริ ม 11 ต�าบลหนองบัวแดง

บ้านหนองเป็ด ม 1 ต�าบลท่าใหญ่

ม ต�าบลหนองบัวแดง

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 297

297

30/5/2562 16:15:32


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

วัดโนนเชอก ม ต�าบลส้มป่อย วัดโนนม่วงธรรมาราม

วัดปาสุวรรณไพโรจน์

วัดศรีวิเศษประชานิมิตร

วัดหนองโดน

บ้านโนน นชาติ ม ต�าบลหนองบัวใหญ่

บ้านห้วย ม ต�าบลหนองโดน

บ้านโนนม่วง ม 2 ต�าบลส้มป่อย

วัดพระพุทธบาทหลักศิลา

วัดโนนสง่า ม 12 ต�าบลละหาน วัดโนนสะอาด

บ้านหลักศิลา ม ต�าบลหนองบัวบาน

ม 2 ต�าบลบ้านขาม วัดศาลาลอย ม 4 ต�าบลส้มป่อย วัดศิริพงษาวาส ม 2 ต�าบลบ้านกอก

วัดพลับ

วัดสนามนาง

วัดหนองบัวรอง

ม 4 ต�าบลหนองบัวใหญ่

ม ต�าบลหนองบัวใหญ่

วัดสมปอย

วัดหนองพง

บ้านชาด ม 6 ต�าบลส้มป่อย

บ้านพลับ ม ต�าบลหนองโดน วัดโพธิทราราม ม ต�าบลหนองโดน วัดโพธิ์ลอม ม 1 ต�าบลหนองโดน วัดโพธิ์ศรี ม ต�าบลกุดน�้าใส วัดมะเกลอ ม 6 ต�าบลบ้านกอก

วัดบานท่าศาลา

วัดมุจลินธรรมาราม

บ้านโนนพยอม ม ต�าบลบ้านขาม วัดชัยชนะวิหาร ม 1 ต�าบลละหาน

บ้านท่าศาลา ม 6 ต�าบลละหาน วัดบานลี่ ม ต�าบลละหาน วัดบานหลุบงิว ม ต�าบลบ้านกอก

บ้านหนองโดน ม 2 ต�าบลหนองโดน วัดยานนาวา ม ต�าบลละหาน

บ้านส้มป่อย ม 12 ต�าบลส้มป่อย วัดสระสี่เหลี่ยม ม ต�าบลบ้านกอก วัดสวนสว่าง ม 1 ต�าบลบ้านขาม วัดสวรรค์คงคา ม 2 ต�าบลกุดน�้าใส วัดสว่างวารี ม 2 ต�าบลหนองโดน วัดสะ ก ม 4 ต�าบลหนองโดน

วัดร่วมมิตร

วัดสามัคคีธรรม

บ้านหนองลูกช้าง ม ต�าบลบ้านขาม

วัดดอนละนาม

วัดปทุมชาติ(หนองบัว หญ่)

บ้านร่วมมิตร ม 8 ต�าบลกุดน�้าใส

บ้านพลับ ม ต�าบลหนองโดน

วัดหนองสมบูรณ์

บ้านดอนละนาม ม 11 ต�าบลละหาน วัดทรงธรรม ม 1 ต�าบลบ้านกอก วัดทราย าว ม 8 ต�าบลบ้านขาม

ม 2 ต�าบลหนองบัวใหญ่

วัดรานหญาศรัทธาธรรม

วัดโสกรวก

วัดปา จง

บ้านโสกรวก ม ต�าบลหนองบัวโคก วัดหงษ์ทอง ม 2 ต�าบลบ้านกอก

บ้านหนองสมบูร ์ ม 1 ต�าบลละหาน วัดหนองโสน ม ต�าบลหนองบัวโคก

วัดท่า ตง

วัดปาฉัพพรรณรังสี

บ้านท่าแตง ม ต�าบลกุดน�้าใส วัดทุ่งสว่าง ม ต�าบลบ้านขาม วัดนิคม ม 2 ต�าบลหนองบัวบาน

บ้านโนน าย ม 11 ต�าบลหนองโดน

บ้านร้านหญ้า ม 4 ต�าบลหนองโดน วัดราษี ม ต�าบลกุดน�้าใส วัดเลียบน�าไหล ม 4 ต�าบลบ้านขาม วัดวังสว่าง บ้านวังวัด ม 4 ต�าบลกุดน�า้ ใส

วัดปาศรัทธาธรรม

อาเภอ ัตุรัส วัดกันกง บ้านกันกง ม ต�าบลละหาน วัดเ าจอมทอง ม ต�าบลหนองบัวบาน วัดคลองหวา ม 6 ต�าบลบ้านขาม วัดโคกสามัคคี ม 1 ต�าบลหนองบัวโคก วัดจ�าปาทอง ม 1 ต�าบลกุดน�้าใส วัดเจริญศรีสุ ม ต�าบลบ้านกอก วัดเจริญสูง บ้านหนองหญ้าข้าวนก ม 4 ต�าบลละหาน วัด จง ม 6 ต�าบลกุดน�้าใส

วัดชนะจินดาราม

บ้านโนนสะอาด ม 8 ต�าบลบ้านกอก

วัดโนนหัวชางรัตนาราม บ้านมะเกลือ ม 1 ต�าบลบ้านกอก

วัดบานชาด

บ้านมะเกลือ ม 1 ต�าบลบ้านกอก

วัดหนองบัวโคก บ้านหนองบัวโคก ม ต�าบลหนองบัวโคก

ม 6 ต�าบลหนองบัวโคก

วัดหนองม่วง บ้านหนองม่วง ม 4 ต�าบลส้มป่อย

วัดหนองลุมพุก ม 2 ต�าบลหนองบัวโคก

วัดหนองลูกชาง

วัด หม่นาดี

วัดหนอง กพนังเส่อ

บ้านใหม่นาดี ม 8 ต�าบลบ้านขาม

บ้านหนองแก ม 11 ต�าบลส้มป่อย

วัด หม่รวมมิตร

วัดเว ุวนาราม

วัดหนองคูวนาราม

บ้านห้วยดอนยาว ม 11 ต�าบลหนองบัวโคก

บ้านโพธิทอง ม 12 ต�าบลกุดน�้าใส

ม ต�าบลหนองบัวใหญ่

บ้านหนองคู ม 6 ต�าบลหนองบัวบาน

วัดอรัญญาวาส

วัดโนนครอเหนอ

วัดปาสุทธิโกศล

วัดศรีประชานิมิต

วัดหนอง ก

บ้านโนนคร้อเหนือ ม 11 ต�าบลบ้านขาม

บ้านหนองบัวโคก ม 1 ต�าบลหนองบัวโคก

ม 2 ต�าบลหนองบัวบาน

บ้านหนอง ึก ม 8 ต�าบลหนองบัวโคก

ม 8 ต�าบลละหาน วัดอัมพวัน ม 6 ต�าบลหนองโดน

298

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 298

30/5/2562 16:15:38


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

วัดหนองยายบุตร

วัดท่าศาลา ม ต�าบลบ้านตาล วัดบางอ�าพันธ์(บางอ�าพัน)

วัดเพชรดอนยาง

วัดสว่างโพธิ์งาม

ม 11 ต�าบลบ้านเพชร

ม 6 ต�าบลบ้านชวน

ม 1 ต�าบลบ้านตาล วัดบานกลอย ม ต�าบลบ้านเพชร

วัดเพชรพัฒนาราม

วัดสามัคคีอุทิศ

วัดหนอง วง

บ้านโคกตาเมา ม 6 ต�าบลโคกเพชรพั นา

วัดบานโปร่งหนองนายอู

วัดเพชรภูมิสุวรรณวราราม

บ้านโคกเพชรพั นา ม 1 ต�าบลโคกเพชรพั นา

วัดหนองสองหอง

ม 1 ต�าบลบ้านเพชร

วัดสาริกา

วัดเพชรวิศยาราม

วัดโกรก ักหวาน

ม ต�าบลเกาะมะนาว วัดบงชวน ม 1 ต�าบลบ้านชวน วัดบูรณ์ ม ต�าบลบ้านชวน

บ้านป่ารวก ม 2 ต�าบลเกาะมะนาว

วัดปากจาบ

ม 2 ต�าบลบ้านเพชร วัดโพธิ์ตาล ม 4 ต�าบลบ้านตาล

บ้านวังกะอาม ม ต�าบลบ้านตาล วัดส�าราญ ม ต�าบลหัวทะเล

วัดเ าดิน

บ้านปากจาบ ม ต�าบลโคกเพชรพั นา

วัดโพธิ์ศรีธาราม

บ้านเขาดิน ม ต�าบลหัวทะเล

วัดปารวก

อาเภอ าเหน

รงค

วัดกุด คน บ้านกุดแคน ม ต�าบลบ้านตาล วัดกุดตาลาด ม 4 ต�าบลโคกเริงรมย์

วัดเกาะมะนาว ม 1 ต�าบลเกาะมะนาว

บ้านหนองยายบุตร ม ต�าบลบ้านตาล ม ต�าบลบ้านเพชร บ้านหนองสองห้อง ม 12 ต�าบลบ้านชวน

วัดสุนทรสราวาส บ้านหัวสระ ม 2 ต�าบลหัวทะเล วัดหนองกก ม 8 ต�าบลบ้านเพชร

วัดคลองสันติธรรม

บ้านป่ารวก ม 2 ต�าบลเกาะมะนาว

ม 8 ต�าบลโคกเริงรมย์ วัดภิรมยาวาส ม 1 ต�าบลโคกเริงรมย์

ม 11 ต�าบลโคกเริงรมย์

วัดปาศรีสุ อุดมศักดิ์

วัดศรีสนามคงคา

บ้านหนองดง ม ต�าบลหัวทะเล

วัดโคกคม

ม 4 ต�าบลเกาะมะนาว

ม ต�าบลบ้านชวน

วัดหนองตะครอง บ้านหนองตะคลอง ม ต�าบลโคกเพชรพั นา

วัดหนองดง

บ้านโคกคึม ม ต�าบลโคกเริงรมย์

วัดปาสามัคคีมณีธรรม

วัดศาลาเ ต

วัดโคกสว่าง ม 4 ต�าบลบ้านเพชร วัดโคกหินตัง ม 6 ต�าบลโคกเริงรมย์ วัดทองค�าพิง ม 6 ต�าบลบ้านเพชร วัดท่าศาลา

ม ต�าบลบ้านตาล บ้านหนองโสน ม 1 ต�าบลบ้านชวน

บ้านหินตั้ง ม 4 ต�าบลบ้านชวน วัดศาลาทรง ม ต�าบลบ้านเพชร วัดศิริ ล ม 8 ต�าบลบ้านชวน

วัดโปร่งมีชัย

วัดศิลาเ ต

วัดหนอง ัก ว่

บ้านท่าศาลา ม 2 ต�าบลบ้านตาล

บ้านโปร่งมีชัย ม ต�าบลโคกเริงรมย์

บ้านหินตัง้ ม4 ต�าบลบ้านชวน

ม 1 ต�าบลบ้านเพชร

วัดปาส�าราญจิต

วัดหนองประดู่ ม 4 ต�าบลหัวทะเล

วัดหนองสะ กวนาราม บ้านหนองยางบุตร ม ต�าบลบ้านตาล

วัดหนองอีหล่อ ม 6 ต�าบลบ้านตาล

วัดหวยทราย บ้านห้วยทราย ม ต�าบลบ้านชวน

วัดหัวทะเล ม 1 ต�าบลหัวทะเล

วัด หม่สามัคคี บ้านคัน ูเก่า ม ต�าบลโคกเพชรพั นา

วัด หม่หินตัง บ้านใหม่หินตั้ง ม 4 ต�าบลบ้านชวน

วัดอัมพวัน บ้านหนองผักแว่น ม 1 ต�าบลบ้านเพชร

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 299

299

30/5/2562 16:15:43


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

อาเภอเ

ส ต

วัด ับถาวรพัฒนา

วัดโปงนก บ้านโป่งนก ม 1 ต�าบลโป่งนก

วัดวังอายโพธิ์ ม 4 ต�าบลบ้านไร่ วัดศรีดาวเรองวนาราม

วัดสามัคคีพัฒนาราม

บ้าน บั ถาวรพั นา ม 1 ต�าบลวะตะแบก

วัดเ าก�า พง

วัด ับไทรเจริญธรรม

วัดพระพุทธบาทเ ายายหอม

บ้านหัวสะพาน ม 2 ต�าบลนายางกลัก

วัดหนองจะบก

บ้านโคกไค ม ต�าบลวะตะแบก

บ้าน ับไทร ม 1 ต�าบลวะตะแบก

บ้านห้วยหินปูน ม 1 ต�าบลนายางกลัก

วัดศรีบรรพต

ม 2 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดเ ากี่สันติธรรม

วัด ับมงคล

วัดพุทธกิจจาราม

ม ต�าบลห้วยยายจิว

วัดหนองโบสถ์

บ้านเขากี่ ม 14 ต�าบลวะตะแบก

บ้าน ับมงคล ม 8 ต�าบลโป่งนก

บ้านหินดาดจาน ม ต�าบลนายางกลัก

วัดศรีเมองทอง

บ้านหนองโบสถ์ ม 1 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดเ าจอมดอย

วัด ับสมบูรณ์สว่างธรรม

วัดยางเกี่ยว ก

บ้านห้วยยายจิว ม 1 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดหนองไม ก่น

บ้านเสลี่ยงทอง ม ต�าบลนายางกลัก

บ้าน ับสมบูร ์ ม ต�าบลวะตะแบก

ม ต�าบลวะตะแบก

วัดศิริคงเจริญ

บ้านหนองไม้แก่น ม 1 ต�าบลโป่งนก

วัดเ านอย

วัด ับหมี

วัดวะตะ บก(ราษ ร์ศรัทธาธรรม)

บ้านวังอ้ายคง ม 6 ต�าบลบ้านไร่

วัดหนองหิน

บ้านโคกรัง ม ต�าบลห้วยยายจิว

บ้าน ับเจริญ ม 6 ต�าบลวะตะแบก

ม 1 ต�าบลวะตะแบก

วัดศิลาทอง

บ้านหนองหิน ม 1 ต�าบลวะตะแบก

วัดเ านอยนิโคธาราม

วัดดงลานเทพนิมิต

วัดวังคมคาย

บ้านศิลาทอง ม 6 ต�าบลโป่งนก

วัดหวยเกตุ

บ้านไทรงาม ม ต�าบลโป่งนก

บ้านดงลาน ม 11 ต�าบลวะตะแบก

บ้านวังคมคาย ม 6 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดสวนธรรมทาน

วัดเ านางรักษ์

วัดถ�าเ าเจดีย์

วัดวังตาเทพ

บ้านโนนสง่า ม 1 ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านห้วยเกตุ ม 2 ต�าบลวะตะแบก วัดหวยนอย ม 8 ต�าบลนายางกลัก

บ้านวังค้ายโพธิ ม 4 ต�าบลบ้านไร่

บ้านโคกได ม ต�าบลวะตะแบก

บ้านวังตาเทพ ม ต�าบลบ้านไร่

วัดสวนปาเทพสถิตวนาราม

วัดหวยหิน น

วัดเ าประตูชุมพล

วัดเทพนา

วัดวังตาลาดสมบูรณ์

บ้านเทพนา ม 1 ต�าบลบ้านไร่

ม 4 ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านสวนสวรรค์ ม 12 ต�าบลบ้านไร่ วัดสะพานหิน ม 2 ต�าบลโป่งนก

บ้านห้วยหิน น ม 1 ต�าบลนายางกลัก

บ้านหนองใหญ่ ม ต�าบลบ้านไร่

วัดเ าพนมโดมวนาราม

วัดเทพบุตรบรรพต

วัดวังบายศรีไพลงาม

วัดสันติประชาธรรม

บ้านหินราง ม 12 ต�าบลห้วยยายจิว

บ้าน ับหมี ม 6 ต�าบลวะตะแบก

บ้านมุ่งเวียน ม 4 ต�าบลโป่งนก

บ้านวังบายศรี ม ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านโนนเจริญ ม 14 ต�าบลนายางกลัก

วัด หม่โนนเมอง

วัดเ าพังเหย

วัดเทพโพธิ์ทอง

วัดวังมน

วัดสาม ยกสุ ประเสริ

บ้านใหม่โนนเมือง ม 14 ต�าบลห้วยยายจิว

บ้าน ับมงคล ม 8 ต�าบลโป่งนก

บ้านวะตะแบก ม 1 ต�าบลวะตะแบก

บ้านวังมน ม ต�าบลวะตะแบก

บ้านสามแยก ม 2 ต�าบลโป่งนก

วัดอุดมคีรีเ ต

วัดเ าวงค์พระจันทร์

วัดเทพสถิตประดิษ าราม

วัดวัง หม่พัฒนา

วัดสามัคคีธรรม

ม 2 ต�าบลบ้านไร่

บ้านเขาวงค์พระจันทร์ ม 1 ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านมอสามชั้น ม 12 ต�าบลวะตะแบก

บ้านวังใหม่พั นา ม 8 ต�าบลบ้านไร่

บ้านล�าปอแดง ม 1 ต�าบลบ้านไร่

วัดเ าหวดพนารักษ์

บ้านชัยมงคล ม 1 ต�าบลโป่งนก

บ้านนายางกลัก ม 1 ต�าบลนายางกลัก

วัดไทรงาม

วัดเ าอุดมพร

บ้านไทรงาม ม ต�าบลโป่งนก

บ้านคลองสอง ม 2 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดธรรมธาราภิวัฒน์

วัดคลองรวก

บ้านเขากี่ ม 14 ต�าบลวะตะแบก

บ้านคลองลวก ม 11 ต�าบลโป่งนก

วัดน�าตกเจริญธรรม

วัดคลองศิลา

บ้านน�้าโตน ม 4 ต�าบลวะตะแบก

บ้านคลองไทร ม ต�าบลนายางกลัก

วัดน�าลาด

วัดคลองสระ กว

บ้านน�้าลาด ม 4 ต�าบลนายางกลัก

บ้านคลองสระแก้ว ม 1 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดโนนสวรรค์

วัดคุมเกาศาลาชุมพล

บ้านโนนสวรรค์ ม 8 ต�าบลบ้านไร่

บ้านคุ้มเก้า ม 1 ต�าบลนายางกลัก

วัดบานโคกอนุ

วัดโคกกระเบอง

บ้านโคกอนุ ม ต�าบลนายางกลัก

บ้านโคกกระเบื้อง ม ต�าบลบ้านไร่

วัดบานนายางกลัก

วัดโคกสะอาด บ้านโคกสะอาด ม 6 ต�าบลนายางกลัก

บ้านนายางกลัก ม 1 ต�าบลนายางกลัก วัดบานไร่ ม 1 ต�าบลบ้านไร่

วัด จงไพรวนาราม

วัดบานวังตาทาว

ม ต�าบลโป่งนก

บ้านวังตาท้าว ม ต�าบลนายางกลัก

วัด จ่มประชาสรรค์

วัดบุ่งเวียนวนาราม

ม ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านบุ่งเวียน ม 4 ต�าบลโป่งนก

วัดชลประทาน

วัดประดู่งาม

บ้านโคกรัง ม ต�าบลห้วยยายจิว

บ้านประดู่งาม ม 8 ต�าบลห้วยยายจิว

วัดช่องส�าราญ

วัดประดู่งาม

บ้านช่องส�าราญ ต�าบลวะตะแบก

บ้านประดู่งาม ม 6 ต�าบลนายางกลัก

วัดชัยเจริญ

วัดปา าว

บ้านชัยเจริญ ม 1 ต�าบลวะตะแบก

บ้านป่าข้าว ม 1 ต�าบลวะตะแบก

วัดชัยมงคลโนนจ�าปา

วัดปาเทพอินทรประดิษ ์

บ้านโนนจ�าปา ม ต�าบลนายางกลัก

บ้านหลังสวน ม 1 ต�าบลบ้านไร่

วัด ับเจริญ

วัดโปง ุนเพชร

บ้าน ับเจริญ ม 6 ต�าบลวะตะแบก

บ้านโปร่งขุนเพชร ม ต�าบลโป่งนก

300

ม ต�าบลห้วยยายจิว

วัดหินราง

วัดเทพสุวรรณนภาราม

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 300

30/5/2562 16:15:45


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

อาเภอภูเขียว วัดกลางตาล ม 2 ต�าบลหนองตูม วัดก�า พง ม ต�าบลโคกสะอาด วัดเ าทองงาม บ้านหนองขาม ม ต�าบลบ้านเพชร

วัดโคกสะอาด บ้านโคกสะอาด ม 1 ต�าบลโคกสะอาด วัดจอมศรี ม ต�าบลโอโล วัดจูม อง ม ต�าบลบ้านเพชร วัดเจดีย์ ม 4 ต�าบลกวางโจน วัด จง ม 1 ต�าบลบ้านแก้ง วัด จงสว่าง ม 6 ต�าบลโคกสะอาด วัด จงสว่าง ม ต�าบลกุดยม วัดฉิมพลีมา ม ต�าบลบ้านเพชร วัดชางพัง ม ต�าบลหนองคอนไทย วัดชีลอง ม 8 ต�าบลโอโล

วัดชุมพลอย บ้านห้วยหอย ม ต�าบลธาตุทอง วัดดาวเรอง ม 6 ต�าบลหนองคอนไทย วัดตะคลอง ม 1 ต�าบลกุดยม

วัดตา ก ม 6 ต�าบลหนองตูม วัดตาล ม 2 ต�าบลบ้านแก้ง วัดถาวรชัยศิริ

วัดโนนธาตุงาม

หนองสองห้อง ม 1 ต�าบลผักปง วัดทรงศิลา ม ต�าบลบ้านแก้ง วัดทรายมูล ม ต�าบลบ้านแก้ง วัดท่า จง ม ต�าบลโคกสะอาด วัดทุ่งสว่าง ม ต�าบลกุดยม วัดทุ่งสว่าง ม ต�าบลหนองคอนไทย วัดเทพากร ม 4 ต�าบลกุดยม

ม ต�าบลหนองคอนไทย วัดบริบูรณ์ ม 1 ต�าบลโอโล

วัดธงทราย

บ้านแข้ ม 14 ต�าบลผักปง วัดบาน ดง ม 1 ต�าบลหนองตูม

บ้าน ายพญานาค ม 4 ต�าบลธาตุทอง

วัดธรรมสถาน

บ้านโนนงาม ม ต�าบลผักปง

วัดโนนมะเคง วัดบัวทองวนาราม บ้านหนองบัวทอง ม 1 ต�าบลผักปง วัดบัวบาน ม 1 ต�าบลกวางโจน วัดบัวลอย ม 1 ต�าบลหนองคอนไทย

วัดบาน วนาราม วัดบานนาหัว รด

บ้านหนองแวง ม 8 ต�าบลโอโล วัดธาตุ บ้านค้าว ม ต�าบลโอโล วัดธาตุวนาราม ม 1 ต�าบลธาตุทอง วัดนครบาล ม 1 ต�าบลผักปง

บ้านนาหัวแรด ม 11 ต�าบลบ้านแก้ง

วัดนาลอม

วัดบุญถนอมพัฒนาราม

บ้านนาล้อม ม 1 ต�าบลกวางโจน วัดน�าออม ม 2 ต�าบลกวางโจน

วัดโนนดิน ดง บ้านโนนดินแดง ม ต�าบลผักปง

วัดบานโนน ่า บ้านโนนข่า ม 2 ต�าบลหนองคอนไทย วัดบงบาล ม 8 ต�าบลหนองคอนไทย ม 6 ต�าบลหนองตูม วัดบูรพา ม ต�าบลผักปง วัดโบราณ ม 2 ต�าบลผักปง วัดปรางค์กู่ ม ต�าบลหนองคอนไทย

วัดปจฉิมานุการาม

วัดราษ ร์สามัคคี

ม 2 ต�าบลธาตุทอง

บ้านหนองคร้อ ม ต�าบลกวางโจน

วัดปจฉิมานุการาม

วัดวรญาติบ�าเพญ

บ้านหนองงูเหลือม ม 6 ต�าบลบ้านเพชร

บ้านโป่งโพธิ ม ต�าบลบ้านเพชร

ม 8 ต�าบลบ้านเพชร วัดวรญาติบ�ารุง ม ต�าบลธาตุทอง วัดศรีชมพู ม 6 ต�าบลผักปง วัดศรีบุญเรอง ม 2 ต�าบลบ้านเพชร วัดศาลาลอย ม 4 ต�าบลบ้านเพชร

วัดปาเมตตาธรรม

วัดศิริธรรมวนาราม

บ้านหนองเมย ม ต�าบลหนองตูม

บ้านมูลกระบือ ม 8 ต�าบลหนองคอนไทย

วัดปาศรัทธาธรรม

วัดศิริธรรมหนองกุง

บ้านเพชร ม 8 ต�าบลบ้านเพชร

บ้านหนองกุง ม 14 ต�าบลกวางโจน

วัดปาสมบูรณ์

วัดศิลาดาด

บ้านหนองกุงใหม่ ม ต�าบลธาตุทอง

ม 1 ต�าบลธาตุทอง

วัดปาสามัคคีธรรม

วัดศิลาทอง

บ้านโคกสะอาด ม 1 ต�าบลโคกสะอาด

บ้านศิลาทอง ม 16 ต�าบลบ้านแก้ง วัดสง่าโนนรัง ม 2 ต�าบลโคกสะอาด วัดสระเวียน ม ต�าบลบ้านเพชร วัดสวรรค์นคร ม 6 ต�าบลกวางโจน วัดสะพาน ม 6 ต�าบลบ้านเพชร

วัดปาเ านอย บ้านเรือ ม 2 ต�าบลกุดยม

วัดปาจิตติธรรมวนาราม

วัดปา สงสุรีย์ บ้านกุดแดง ม ต�าบลโคกสะอาด

วัดปาหนองดินด�า บ้านหนองดินด�า ม 2 ต�าบลบ้านแก้ง วัดเ อ ง ม ต�าบลกวางโจน

วัดพนมไพร

วัดสังวาลย์ราษ ร์บ�ารุง

บ้านโนนเจดียง์ าม ม 1 ต�าบลโคกสะอาด

บ้านโนนตุ่น ม 2 ต�าบลโอโล วัดสันติวิเวการาม ม ต�าบลกุดยม วัดสามัคคี ม ต�าบลโคกสะอาด วัดสุนทริกา ม 2 ต�าบลหนองคอนไทย วัดเสาธง ม 4 ต�าบลบ้านแก้ง วัดเสาหงษ์ ม ต�าบลบ้านแก้ง

วัดพระธาตุเด่อโกน

วัดหนองไรไก่

บ้านโคกสะอาด ม ต�าบลบ้านแก้ง

วัดพระธาตุหนองสามหม่น

บ้านหนองไรไก่2 ม 12 ต�าบลโคกสะอาด วัดหรดี ม 1 ต�าบลบ้านเพชร

ม 1 ต�าบลบ้านแก้ง

วัดหวยมงคลวนาราม

วัดพราวทัศนียาวาส

บ้านห้วยหอย ม 11 ต�าบลธาตุทอง วัดหอไตร ม 6 ต�าบลบ้านแก้ง วัดอรุณรังษี ม ต�าบลโคกสะอาด

ม 4 ต�าบลหนองคอนไทย วัดพรม ต ม ต�าบลผักปง วัดพรหมอารีย์ ม ต�าบลบ้านแก้ง

วัดพระธาตุเจดีย์

ม 8 ต�าบลผักปง วัดพายัพ ม 6 ต�าบลบ้านแก้ง วัดโพธาราม ม 1 ต�าบลบ้านเพชร วัดโพธิ์ศรี ม 4 ต�าบลโคกสะอาด วัดมัช ิมาวาส ม 2 ต�าบลกุดยม วัดมูลปกษี ม ต�าบลหนองตูม

วัดอรุณรังสี บ้านแ งวัวชน ม 1 ต�าบลโคกสะอาด วัดอิสาณ ม 12 ต�าบลบ้านเพชร

วัดอุดมประดิษ าราม ม ต�าบลหนองตูม

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 301

301

30/5/2562 16:15:47


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

อาเภอ ้านแ ่น วัดคงคาสีมาเดิม บ้านข่า ม ต�าบลบ้านแท่น วัดโคกก่อง ม 2 ต�าบลบ้านเต่า วัดโคก าม ม 8 ต�าบลบ้านแท่น วัดโคกรัง ม 8 ต�าบลบ้านเต่า วัดจูมทอง ม ต�าบลบ้านแท่น วัดจูมพร ม ต�าบลบ้านแท่น วัดจูม พง ม 6 ต�าบลสามสวน วัดชัยชนะ ม ต�าบลหนองคู

วัดชัยชนะสงคราม บ้านโนนคู ม 1 ต�าบลบ้านแท่น วัดชัยชมภู ม 1 ต�าบลหนองคู วัดชัยชุมพร ม ต�าบลบ้านเต่า วัดชัยชุมพล ม 1 ต�าบลบ้านเต่า วัดชัยบาล ม ต�าบลบ้านเต่า วัดชัยมงคล ม 6 ต�าบลบ้านเต่า วัดชัยมาลา ม 4 ต�าบลบ้านแท่น วัดชัยยางค�า ม 8 ต�าบลหนองคู

วัดชัยศิลาอาสน์ บ้านโคกก่อง ม 2 ต�าบลบ้านเต่า วัดชัยสว่าง ม 2 ต�าบลหนองคู วัดชัย สวง ม ต�าบลบ้านเต่า วัดชุมพร ม 2 ต�าบลบ้านแท่น วัดเดิมพันธ์ ม ต�าบลบ้านเต่า วัดทรงศิลา ม 4 ต�าบลบ้านเต่า วัดท่าสามัคคี ม ต�าบลสามสวน วัดธาตุ (ธาตุเจดีย)์ ม 4 ต�าบลสามสวน

วัดพรหมมาวาส บ้านเหล่าน้อย ม 8 ต�าบลบ้านเต่า วัดโพธิ์ทอง ม ต�าบลหนองคู

วัดวิเชียรธรรมาราม ม ต�าบลบ้านแท่น วัดศรีมงคล ม 4 ต�าบลหนองคู วัดศรีสง่า บ้านศรีสง่า ม 6 ต�าบลสระพัง วัดศรีสะอาด ม ต�าบลสามสวน วัดศิลาดาด ม ต�าบลสามสวน วัดสง่า ม 1 ต�าบลบ้านแท่น วัดสมอ ม 6 ต�าบลบ้านแท่น วัดสมุนไพร ม ต�าบลสระพัง วัดสระ กว ม ต�าบลสามสวน วัดสวรรค์คงคา ม 4 ต�าบลสามสวน วัดสว่าง ม ต�าบลบ้านแท่น

วัดสัง สามัคคีราษ ร์ บ้านสามพาด ม ต�าบลสระพัง วัดสัมพันธ์ ม ต�าบลสามสวน วัดสายทอง ม 1 ต�าบลสามสวน วัดส�าเนาว์ ม 2 ต�าบลบ้านเต่า วัดส�าเภา ม ต�าบลบ้านเต่า วัดเสนาถไพบูลย์ ม ต�าบลสามสวน วัดหงส์ทอง ม 8 ต�าบลสระพัง

วัดหนองโดนเทพนิมิต บ้านหนองโดน ม 1 ต�าบลสามสวน

วัดหนอง ักหลอด บ้านหนองผักหลอด ม 12 ต�าบลบ้านแท่น

วัดหนองม่วงวนาราม

บ้านโนนสะอาด ม 4 ต�าบลหนองคู วัดบัลลังก์ ม ต�าบลบ้านแท่น

บ้านหนองม่วง ม 12 ต�าบลสามสวน วัดอรัญญาวาส ม 6 ต�าบลหนองคู วัดอรุณ ม 1 ต�าบลสระพัง วัดอรุณราษ ร์ ม 8 ต�าบลสามสวน

วัดปาบานก่าน

วัดอารมณ์

บ้านดอนเค็ง ม 6 ต�าบลหนองคู วัดปามุจลินทร์ ม ต�าบลสามสวน

บ้านหนองทุ่ม ม ต�าบลสระพัง วัดอ�าภา บ้านนามั่ง ม ต�าบลสระพัง

วัดโนนสะอาด

302

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 302

30/5/2562 16:15:53


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

อาเภอแ ้งคร้อ วัดกองศรี ม 2 ต�าบลหนองสังข์ วัดคีรีคงคาวนาราม ม ต�าบลช่องสามหมอ วัดจักรวรรดิ์ ม 4 ต�าบลโคกกุง วัดจันทรังษี ม 1 ต�าบลหนองขาม

วัดชัยชุมพร บ้านโปร่ง ม 2 ต�าบลช่องสามหมอ วัดชัยชุมพล ม ต�าบลบ้านแก้ง

วัดชัยมงคล บ้านหนองรวก ม 2 ต�าบลนาหนองทุ่ม

วัดชัยศิริพนาราม ม ต�าบลหนองขาม

วัดชัยสามหมอ ม 12 ต�าบลช่องสามหมอ วัดชุมศิลา ม 1 ต�าบลนาหนองทุ่ม วัดญานนาวา ม ต�าบลหลุบคา วัดไตรศิริมงคล ม ต�าบลหลุบคา วัด ถวไพรวัน ม 2 ต�าบลหลุบคา วัด ถวอรัญญา ม 1 ต�าบลหลุบคา

วัด ถวอรัญญาวาส ม 6 ต�าบลหนองขาม วัดท่ากอก ม ต�าบลเก่าย่าดี วัดท่าทางเกวียน บ้านท่าทางเกวียน ม ต�าบลท่ามะไ หวาน วัดท่าเว่อวนาราม บ้านท่าเว่อ ม ต�าบลท่ามะไ หวาน วัดทุ่งสว่าง ม 2 ต�าบลบ้านแก้ง วัดไทรทอง ม 1 ต�าบลท่ามะไ หวาน วัดโนนงาม ม ต�าบลหนองสังข์

วัดศรีวิไลย์ ม ต�าบลบ้านแก้ง วัดศรีสง่า ม 4 ต�าบลหลุบคา วัดศรีสง่าสามัคคี

วัดสว่างศรีสมบูรณ์

บ้านแก้ง ม 4 ต�าบลบ้านแก้ง วัดปติธรรมาวาส ม ต�าบลโคกกุง

ม 8 ต�าบลหนองสังข์

วัดบานเ ียม

วัดโปร่งชาง

บ้านห้วยทรายทอง ม ต�าบลเก่าย่าดี

ม 2 ต�าบลช่องสามหมอ วัดสุวรรณาวาส ม 8 ต�าบลหลุบคา วัดเสาธงทอง ม ต�าบลหนองสังข์

บ้านเ ียม ม 2 ต�าบลโคกกุง

วัดศรีสวัสดิ์บรรพต

วัด สงจันทราวาส

วัดบานโนนทัน

บ้านโปร่งช้าง ม ต�าบลเก่าย่าดี วัด สม ม ต�าบลนาหนองทุ่ม

วัด าสวรรค์

วัดบานหนอง สง

ม 16 ต�าบลนาหนองทุ่ม วัดศรีสะอาด ม ต�าบลหนองสังข์

บ้านป่าเสี้ยว ม 6 ต�าบลช่องสามหมอ

บ้านโนนทัน ม 1 ต�าบลหนองสังข์

บ้านท่าเว่อ ม ต�าบลท่ามะไ หวาน

วัดศรีไสล

บ้านหนองแสง ม 2 ต�าบลช่องสามหมอ วัดบูรณาราม ม ต�าบลนาหนองทุ่ม วัดประชาสามัคคี ม 6 ต�าบลโคกกุง

วัดพุทธมงคลวนาราม

บ้านหนองไ ม ต�าบลช่องสามหมอ วัดศิริชัยมงคล ม ต�าบลโคกกุง

ม ต�าบลหลุบคา วัด สงสว่าง ม ต�าบลหนองขาม

วัดโนนสมบูรณ์

วัดปาโสกหวา

บ้านโนนสมบูร ์ ม 1 ต�าบลหนองขาม วัดโนนสว่าง ม ต�าบลหนองสังข์ วัด โนนส�าราญ ม ต�าบลบ้านแก้ง วัดบานเก่า ม 1 ต�าบลเก่าย่าดี

บ้านโสกหว้า ม ต�าบลหลุบคา

วัดประดู่คงคาวนาราม แวงน้อย ม ต�าบลโคกกุง วัดปรางค์กู่ ม 4 ต�าบลหนองขาม

วัดปาอุดมมงคล

ม 11 ต�าบลท่ามะไ หวาน วัด โพธิ์ศรี ม 6 ต�าบลบ้านแก้ง วัดโพธิสัตว์ ม 1 ต�าบลโคกกุง วัด โพธิ์สัย ม 8 ต�าบลบ้านแก้ง

วัดศรีสง่าสามัคคี

วัดศิริพัฒนาราม

บ้านหนองสามทม ม ต�าบลหนองไผ่

วัดสว่าง สงอรุณ

วัด สงทองธราวาส วัดหนองสัง ์ บ้านหนองสังข์ ม 1 ต�าบลหนองสังข์

ม ต�าบลหนองขาม

วัดหนองหวา

วัดศิริสมบูรณ์

บ้านหนองหว้า ม ต�าบลหนองสังข์

วัดโพนทอง

บ้านโนนคู ม ต�าบลช่องสามหมอ

วัดหลุบชางพลาย

วัดศิลาชัยภูสองชัน

บ้านหลุบช้างพลาย ม 8 ต�าบลเก่าย่าดี

ม 8 ต�าบลหนองขาม วัดปาโคกกุง ม 1 ต�าบลโคกกุง

บ้านหนองแก ม 4 ต�าบลหนองขาม วัดโพนทอง ม 8 ต�าบลช่องสามหมอ วัดโพน พง ม 4 ต�าบลบ้านแก้ง

วัดปาเจริญธรรม

วัดภูเ าทอง

วัดสกุณาราม

บ้าน �ามูลนาค ม ต�าบลหนองไผ่

ม 1 ต�าบลท่ามะไ หวาน

ม 4 ต�าบลท่ามะไ หวาน

วัดปา าด�า

วัดยางค�าวนาราม

วัดสง่าคงคาราม

บ้านแก้ง ม 4 ต�าบลบ้านแก้ง

บ้านยางค�า ม 4 ต�าบลท่ามะไ หวาน

ม 1 ต�าบลบ้านแก้ง

วัดอินทัก ิณาราม

วัดปายางค�าวนาราม

วัดราษ ร์สามัคคี

วัดสระทอง

ม 6 ต�าบลหลุบคา

บ้านยางค�า ม 4 ต�าบลท่ามะไ หวาน

ม 2 ต�าบลหนองขาม

วัดปาศรีพัฒนา

วัดเว ุวันวนาราม

บ้านศรีพั นา ม 1 ต�าบลช่องสามหมอ

ม 6 ต�าบลนาหนองทุ่ม

วัดปาสันติสุ

วัดศรี กงครอ

บ้านกุดเก่าน้อย ม 2 ต�าบลบ้านแก้ง

บ้านศรีพั นา ม 1 ต�าบลช่องสามหมอ

วัดปาสามัคคีธรรม

บ้านช�ามูลนาก ม ต�าบลหนองไผ่ วัดสระทอง ม 6 ต�าบลช่องสามหมอ วัดสระโนนทอง บ้านโนนทองหลาง ม 4 ต�าบลช่องสามหมอ วัดสระปทุมวัน ม ต�าบลหลุบคา

วัดศรีมงคลวนาราม

วัดสว่างปุญญาวาส

วัดเอราวัณ

บ้านหนองขามใต้ ม ต�าบลหนองขาม

บ้านดงพอง ม ต�าบลนาหนองทุ่ม

ม 8 ต�าบลนาหนองทุ่ม

บ้านใหม่ไทยเจริญ ม 8 ต�าบลท่ามะไ หวาน

วัดปจฉิมอรัญญาวาส

บ้านภูสองชั้น ม ต�าบลเก่าย่าดี วัดศิลาพนาวาส ม ต�าบลโคกกุง

วัดอรุณคงคาวนาราม บ้านหนองพีพ่วน ม 6 ต�าบลเก่าย่าดี วัดอัมพวัน ม 6 ต�าบลหนองสังข์ วัดอัมพวัน ม 2 ต�าบลโคกกุง วัด อ�าภา ม ต�าบลหนองสังข์

วัดอุดมคงคาวนาราม บ้านห้วยหินดาด ม 2 ต�าบลเก่าย่าดี วัด อุด ร ม 1 ต�าบลหนองสังข์

วัดอุทัยธรรมาราม บ้านกุดโง้ง ม ต�าบลท่ามะไ หวาน

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 303

303

30/5/2562 16:15:58


ทองเที่ยวทางใจ 1058 วัด "ชัยภูมิ เมืองผูกลา พญาแล"

อาเภอคอนสาร วัดกระดังงา ม 4 ต�าบลคอนสาร วัดกุดมะนาว

วัดคอนสารวนาราม

วัดนา ักเสียน

วัดปาสามัคคีธรรม

บ้านน�้าพุปางวัว ม 8 ต�าบลคอนสาร วัดโคกก่องวราราม ม 2 ต�าบลดงบัง

บ้านดงกลาง ม ต�าบลโนนคู

บ้านร่องแว่ ม 2 ต�าบลทุ่งลุยลาย

วัดน�าอุ่นเว ุวัน

วัดพระธาตุ กงกอย

วัดจันทาวนาราม

บ้านน�้าอุ่น ม ต�าบลทุ่งนาเลา

ม 1 ต�าบลโนนคู

วัดโนนจ�าปาทอง

วัดพระธาตุดอย สงธรรม

วัดสระประทุมทอง ม 6 ต�าบลห้วยยาง วัดสวนหมาก ม 2 ต�าบลคอนสาร วัดสว่างโนนสูง ม 1 ต�าบลโนนคู วัดสว่างอุดม ม ต�าบลโนนคู วัดสูงสุทธาวาส

บ้านนาเลา ม 1 ต�าบลทุ่งนาเลา

บ้านน�้าอุ่น ม ต�าบลทุ่งนาเลา

วัดโพธิ์ศรีวนาราม

วัดหนองเชียงรอดเหนอ

ม 2 ต�าบลทุ่งพระ วัดมงคลศรี ม ต�าบลคอนสาร วัดรั ถิวัลย์ ม ต�าบลคอนสาร

บ้านหนองเชียงรอดเหนือ ม ต�าบลทุ่งลุยลาย

บ้านโนนคู ม 1 ต�าบลโนนคู

บ้านน�้าทิพย์ ม ต�าบลทุ่งลุยลาย วัดเจดีย์ ม 1 ต�าบลคอนสาร

วัดเกษ กวจ�าปางาม

วัดถาวรชัยศิริ

บ้านโนนจ�าปา ม ต�าบลห้วยยาง

บ้านป่าว่าน ม 4 ต�าบลห้วยยาง

วัดเกาะม่วง

วัดถาวรนิมิต

บ้านนาเกาะ ม ต�าบลทุ่งนาเลา วัดเกาะหมาก ม ต�าบลห้วยยาง

บ้านม 1 ต�าบลห้วยยาง

บ้านโนนจ�าปา ม ต�าบลทุ่งนาเลา วัดโนนจ�าปาทอง ม ต�าบลทุ่งพระ วัดโนนสง่าโพธิศ์ รี ม ต�าบลโนนคู วัดโนนสง่าวราราม ม ต�าบลดงบัง วัดโนนสะอาด ม 2 ต�าบลโนนคู

วัดถ�าพรมนิมิตร

วัดบานปากช่อง

วัดราษ ร์บุญตาราม

บ้านหินรอยเมย ม 8 ต�าบลดงบัง

วัด ก่นจันทร์คงคาราม

บ้านทุ่งลุยลาย ม ต�าบลทุ่งลุยลาย วัดท่าศาลา ม ต�าบลโนนคู

บ้านปากช่อง ม 11 ต�าบลห้วยยาง

บ้านโนนหว้านไพร ม ต�าบลดงบัง

วัดปาชัยมงคล

บ้านห้วยขี้ตบ ม ต�าบลทุ่งพระ วัดราษ ร์สามัคคี ม ต�าบลดงบัง

บ้านม่วง ม 4 ต�าบลดงบัง

วัดเ าวงศ์คีรีเ ต

วัดทุ่งลุยลาย

บ้านดงใต้ ม 6 ต�าบลดงกลาง

วัดเว ุวัน

วัดอรัญญาวาส

บ้านน�้าทิพย์ ม ต�าบลทุ่งลุยลาย

บ้านโนนศิลา ม 6 ต�าบลทุ่งลุยลาย

วัดปานาวงเดอน

บ้านท่าเริงรมย์ ม 4 ต�าบลทุ่งพระ

ม 4 ต�าบลโนนคู

วัดคลองเตย น

วัดทุ่งสว่างวนาราม

วัดอัมพวัน

บ้านผาเบียด ม 2 ต�าบลห้วยยาง

บ้านนาวงเดือน ม 8 ต�าบลทุ่งนาเลา วัดปาเรไร ม ต�าบลคอนสาร

วัดสง่าท่าโพธิ์ศรี

บ้านคลองเตยใน ม 16 ต�าบลห้วยยาง

ม ต�าบลดงบัง

ม 6 ต�าบลโนนคู

วัด จงตราด

วัดนาอุดมสุวรรณาราม

วัดลาดชุมพล

วัดหนองโกทอง

บ้านแจ้งตราด ม ต�าบลบ้านเจียง

บ้านนาอุดม ม 6 ต�าบลเจาทอง

บ้านลาดชุมพล ม 1 ต�าบลเจาทอง

บ้านหนองโกทอง ม 11 ต�าบลเจาทอง

วัดคลองจันลา

วัด ับเจริญ

วัดโนนศิลาทอง

วัดวังทองสามัคคีธรรม

วัดหวยหิน น

บ้านคลองจันลา ม 6 ต�าบลบ้านเจียง

บ้าน ับเจริญ ม ต�าบลแหลมทอง

บ้านโนนศิลาทอง ม 1 ต�าบลบ้านเจียง

บ้านนาระยะ ม 1 ต�าบลวังทอง

บ้านห้วยหิน น ม 8 ต�าบลวังทอง

วัดคลองไทร

วัด ับประสิทธิ์

วัดบานหนองไม ก่น

วัดสาม ยกดงสวรรค์

วัด หลมทองศิริมงคล

บ้านคลองไทร ม ต�าบลบ้านเจียง

บ้าน ับประสิทธิ ม ต�าบลเจาทอง

บ้านหนองไม้แก่น ม 2 ต�าบลเจาทอง

บ้านสามแยกดงสวรรค์ ม ต�าบลแหลมทอง

บ้านแหลมทอง ม 1 ต�าบลแหลมทอง

วัดเจาทอง

วัดถ�าวัว ดง

วัดโพธิ์เยน

วัดหนองกระทุ่มทอง

บ้านเจาทอง ม ต�าบลเจาทอง

บ้านนาเจริญ ม 11 ต�าบลบ้านเจียง

ม 1 ต�าบลบ้านเจียง

บ้านหนองกระทุ่มทอง ม 8 ต�าบลเจาทอง

อาเภอภั ดีชุม ล

304

วัดหนองม่วง วัดหนองม่วง

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 304

30/5/2562 16:16:01


THE IMPORTANT TEMPLES CHAIYAPHUM

อาเภอเนนสง่า

อาเภอ ั ให ่

วัด ับ หญ่พัฒนา

วัดท่าชวน

วัดวัง อนสัก

บ้าน ับใหญ่พั นา ม 1 ต�าบล ับใหญ่

บ้านท่าชวน ม 6 ต�าบลท่ากูบ

บ้านวังขอนสัก ม ต�าบลท่ากูบ

วัดวังอุดม

วัดกะ าด

วัดเ าดินวนา

วัด ับ หม่

วัดบานโปงเกต

ม 6 ต�าบลกะ าด

บ้านเขาดินวนา ม 1 ต�าบล ับใหญ่

บ้าน ับใหม่ ม 6 ต�าบลตะโกทอง

บ้านโป่งเกต ม 2 ต�าบลท่ากูบ

บ้านวังอุดม ม 12 ต�าบลท่ากูบ

วัดโกรกกุลา

วัดชัยคุณาราม

วัดตะโกทองวนาราม

วัดบานวังรัง

วัดหนองนกเ ียน

ม 8 ต�าบลตาเนิน

บ้านตลุกคู ม 8 ต�าบล ับใหญ่

บ้านตะโกทอง ม 8 ต�าบลตะโกทอง

บ้านวังรัง ม 8 ต�าบลท่ากูบ

บ้านหนองนกเขียน ม ต�าบลตะโกทอง

วัดโกรกตา ปน

วัด ับสายออ

วัดถ�าสว่าง

วัดปาวิมุติธรรม

วัดหนองยางพัฒนา

บ้านโกรกตาแปน ม 2 ต�าบลหนอง ิม

บ้าน ับสายออ ม ต�าบลท่ากูบ

บ้าน ับสมบูร ์ ม ต�าบลท่ากูบ

บ้านโป่งเกตุ ม 2 ต�าบลท่ากูบ

บ้านหนองยางพั นา ม ต�าบลตะโกทอง

วัด ีเหลก

วัด ับห่างวนาราม

วัดท่ากูบ

วัดพายัพ ับ หญ่

วัดหวยเจริญ ล

ม ต�าบลกะ าด

บ้าน ับห่าง ม ต�าบล ับใหญ่

บ้านท่ากูบ ม 1

บ้านโนนสะอาด ม ต�าบล ับใหญ่

บ้านห้วยเจริญผล ม 4 ต�าบลตะโกทอง

วัดคูสีวนาราม

วัด ับ หญ่

วัดท่ากูบ

วัดวังกุง

ม 6 ต�าบลหนอง ิม

บ้าน ับใหญ่ ม 1 ต�าบล ับใหญ่

บ้านท่ากูบ ม 1 ต�าบลท่ากูบ

บ้านวังกุง ม 4 ต�าบลท่ากูบ

วัดโ สิตาราม ม 1 ต�าบลรังงาม

วัดเนินทอง บ้านเนินทอง ม 1 ต�าบลตาเนิน

วัดโนนสะอาด ม ต�าบลหนอง ิม

วัดบานกะ าดนอย บ้านกะ าดน้อย ม 1 ต�าบลกะ าด

วัดบงบริบูรณ์ ม ต�าบลตาเนิน

วัดมณีรัตนาราม บ้านหนองดินด�า ม 1 ต�าบลกะ าด

วัดรังงาม บ้านรังงาม ม 4 ต�าบลรังงาม

วัดศรีโนนคูณ บ้านโนนคู ม ต�าบลตาเนิน

วัดสุทธิวนาราม ม 1 ต�าบลหนอง ิม

วัดหนองกระเทอง ม ต�าบลกะ าด

วัดหนอง าม(บานหนอง าม) ม 2 ต�าบลตาเนิน

วัดหนอง ม บ้านหนองแขม ม 6 ต�าบลตาเนิน

วัดหนองไ ่น�า ม ต�าบลกะ าด

วัดหนองตาโพธิ์ บ้านหนองตาโพธิ ม 4 ต�าบลกะ าด

วัดหัวหนอง บ้านหัวหนอง ม ต�าบลหนอง ิม

วัดอโศกาวนาราม(อโศการาม) ม 2 ต�าบลหนอง ิม

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 305

305

30/5/2562 16:16:05


H I STORY OF BU DDHI S M

วัด าสั ธรรม(ธ) ระครูธรรมธรคา ข สภา า ร เ ้าอาวาสวัด าสั ธรรม(ธ)

เปน

สมเด ระวันรัต

หลวงปู่ชอ

หลวงปู่สี น

รร

สัจจธรรม แปลว่า ความจริงแท้ ค�านี้เป็นค�าที่ครูบาอาจารย์ ท่ า นให้ ไ ว้ กั บ ดิ น แดนที่ อ ยู ่ ร ายล้ อ มด้ ว ยธรรมชาติ แ ละหุ บ เขา ครั้งหนึ่งแต่เดิมได้มีพ่อแม่ครูบาอาจารย์ หลวงปู่ชอบ ฐานสโม ท่านเคยมาปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานและเดินจงกรมในถ�้าแห่งนี้ ปัจจุบันยังมีทางเดินจงกรมที่ให้ชาวบ้านได้ขึ้นไปกราบสักการ บูชารอยแห่งพระอรหันต์ผู้มากด้วยบารมี ต่อมา หลวงปูส่ ที น สีลธโน (วัดถ�า้ ผาปู)่ ท่านได้ออกเดินธุดงค์ มาตามนิมิตของท่าน และได้มาถึงที่ถ�้าสัจจธรรมแห่งนี้ ทุกอย่าง ทีอ่ ยูใ่ นถ�า้ ตรงตามทีท่ า่ นนิมติ ทัง้ หมด ส�าคัญทีส่ ดุ คือมีหนิ ขนาดใหญ่ สูงประมาณตึกสามชั้นที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอยู่ภายในถ�้า ึ่ ง ความพิ เ ศษของหิ น ก้ อ นนี้ จ ะมี รู ป ลั ก ษณะเป็ น พระเจดี ย ์ ทรงพระปรางค์ ที่สูงใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ภายหลังต่อมาท่านก็ได้เริ่มบุกเบิกพาชาวบ้านสร้างวัดนี้ขึ้น และได้ให้หลวงปู่เล็ก เจ้าอาวาสองค์ก่อนหน้านี้ มาประจ�าอยู่ท่ี วัดเป็นตัวแทนของท่าน และต่อมาไม่นานหลวงปู่เล็ก ท่านก็ได้ มรณภาพลง

306

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 306

. - 17/05/2562 13:37:28 PM


วัดถ�า้ สั ธรรม(ธ)

วัดถ�า้ สัจจธรรม(ธ) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 129 หมูท่ ี่ 7 บ้านหนองเชียงรอดเหนือ ต�าบลทุ่งลุยลาย อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ

ปัจจุบันวัดถ�้าสัจจธรรม(ธ) มีพระเดชพระคุณ พระครูธรรมธรค�าไข โสภาจาโร เป็ น เจ้ า อาวาส ท่ า นเป็ น พระนั ก พั ฒนาและเคร่ ง ครั ด ในจริยวัตรของสายวัดป่า (ธรรมยุต) เป็นอย่างมาก ในวันพุธที่ 6 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 พระครูธรรมธรค�าไข โสภาจาโร พร้อมด้วยคณะศิษยานุศิษย์ น�าโดย อาจารย์แทนคุณ ตรีเทพ และ คณะ ได้รับมอบ พระบรมสารีริกธาตุ จาก สมเด็จพระวันรัต ณ วั ด บวรนิ เ วศวิ ห าร กรุ ง เทพมหานคร เพื่ อ น� า มาประดิ ษ ฐาน ณ ยอดพระเจดี ย ์ หิ น พั น ปี วั ด ถ�้ า สั จ จธรรม ึ่ ง จะจั ด งานพิ ธี อั ญ เชิ ญ พระบรมสารีริกธาตุ ในวันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ วัดถ�้าสัจจธรรม(ธ) ต�าบลทุ่งลุยลาย อ�าเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ โดย อาจารย์ แ ทนคุ ณ ตรี เ ทพ (โหราจารย์ บ ้ า นตรี เ ทพเนรมิ ต ) น้อมถวายสักการะเป็นพุทธบูชาแด่องค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

CHAIYAPHUM I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 307

307

. - 17/05/2562 13:37:39 PM


วัด าสั ธรรม(ธ) ระครูธรรมธรคา ข สภา า ร เ ้าอาวาสวัด าสั ธรรม(ธ)

สวรร ์บนดิน

หนึ่งในสถานที่ดินแดนศักดิ์สิทธิ์ของ ังหวัดชัยภูมิ

308

SBL บันทึกประเทศไทย I ชัยภูมิ

.indd 308

. - 18/05/2562 16:56:24 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.