วัดทัวไทย
SBL บันทึกประเทศไทย
ดา ่ง าส แห ไทย ระศ 469 ทั่ว อยพ ์ 1, วัด ตามร นักสงฆ าม ส�ำ บง ละ ส ง ร ์ วั ด แ ทัว
นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดขอนแก่น ประจ�ำปี 2562
Khon Kaen ขามแก่น...สงบงาม ตามรอยพระศาสดา
Vol.9 Issue 98/2019
พระเทพวิสุทธิคุณ เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น กับรางวัล “ผู้น�ำพุ ทธโลก ประจ�ำปี 2559”
EXCLUSIVE www.issuu.com
_
.indd 1
นางสาวเพ็ ญประภา แพงไทย ผอ.พศจ.ขอนแก่น เน้นโครงการ “วัด ประชา รัฐ สร้างสุข”
25/10/2562 14:17:08
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 17:32:24 PM
นารากุล รีสอร์ท โฮเต็ล ขอนแก่น
นารากุล รีสอร์ท โฮเต็ล 50 หมู่ 19 ซอยบ ้านกอก ถนนมิตรภาพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
NARAKUL RESORT HOTEL_Artwork 4
25/10/2562 15:59:23
ร้านอาหาร สระว่ายน�ำ้ ห้องคาราโอเกะ ้ งขนาดใหญ่ ห้องจ ัดเลีย
3ดาว ขอนแก่น
...โรงแรมระดับ ตัง้ อยูใ่ นเมือง
ใกล้ศนู ย์การค้าและสถานศึกษา
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน
พร้อม
รองรับการจัด
อบรม สัมมนา ที่จอดรถสะดวกสบาย
043 915 888, 088 557 8640
NARAKUL RESORT HOTEL_Artwork 5
narakulresort@gmail.com
25/10/2562 15:59:30
_Artwork 6
25/10/2562 17:15:14
_Artwork 7
25/10/2562 17:15:25
ขอนแก่นดินแดนแห่ง เสียงแคน ดอกคูน 8 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
AD_2
.indd 8
25/10/2562 9:08:23
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 9
AD_2
.indd 9
25/10/2562 9:08:24
EDITOR’S TALK จังหวัดขอนแก่นเปรียบเป็นเมืองหลวง ของภาคอีสานก็ว่าได้ครับ เพราะเป็นที่ตั้ง ของสถาบันอุดมศึกษาชั้นน�ำ ซึ่งมีบทบาท ส�ำคัญในการพัฒนาจังหวัดให้ก้าวกระโดด อีกทั้งยังมีวัดและพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นศูนย์รวม จิตใจของชาวขอนแก่น ผนึกก�ำลังสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม และ สร้างสังคมที่สงบสุขจวบจนทุกวันนี้ ท�ำให้ ผมรู้สึกถึงความอบอุ่นใจ ความจริงใจ และ ความมีนำ�้ ใจของชาวขอนแก่นทีม่ ตี อ่ ผูม้ าเยือน SBL บันทึกวัดทั่วไทยฉบับนี้ จะพาทุกท่าน ไปเยือนวัดต่าง ๆ ที่ก่อก�ำเนิดมาเป็นร้อยปี และวัดที่แม้จะเพิ่งก่อตั้งใหม่ แต่ด้วยความ ศรัทธาของสาธุชนก็ท�ำให้เป็นวัดที่สงบงาม ร่มเย็นเหมาะแก่การปฏิบัติธรรมอย่างแท้จริง ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่า บันทึกวัดในจังหวัด ขอนแก่นเล่มนี้ จะเป็นไกด์ ไลน์ ให้ท่านที่สนใจ ใฝ่ในธรรมได้ท่องเที่ยวไปในเส้นทางสายนี้ อย่างอิ่มเอมใจ เหมือนกับผมเองที่มีความสุข ทุกครั้งที่ได้มาเยือนขอนแก่นครับ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
www.sbl.co.th
Editor's talk
.indd 10
28/10/2562 13:26:10
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, อัครกฤษ หวานวงศ์ ภูษิต วิทยา, ทวัชร์ ศรีธามาศ
คณะทีมงาน ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ, อมร อนันต์รัตนสุข นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม
Editor's talk
.indd 11
EDITOR’S letter
ไตรมาสสุดท้ายของปี 2019 ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างสูงที่ท่าน เพ็ญประภา แพงไทย ผู้อํานวยการ สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด ขอนแก่น ได้เปิดบ้านต้อนรับให้ ทีมงาน SBL บันทึกวัดทั่วไทย ร่วม บันทึกวัตรปฏิบัติอันงดงามของ พระสงฆ์สุปฏิปันโนตามรอยองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และ บันทึกภาพความงดงามและกิจกรรม ของวัดต่างๆ เพื่อให้สาธารณชน ได้รู้จักกันมากขึ้นว่า ขอนแก่นยังมี เพชรเม็ดงามซ่อนอยู่มากมาย
สมกับเป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 และมีประชากร มากเป็นอันดับ 3 ของภาคอีสาน และมีวัดมากถึง 1,469 แห่ง ขอเชิญ ทุกท่านร่วมเดินทางส�ำรวจทั้ง ด้านนอกและด้านใน(ใจ) ไปพร้อม กับเรานะครับ
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
28/10/2562 13:26:11
Phetchabun เพชรบูรณ์
ดินแดน สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ธรรมะ(ชาติ) กลางขุนเขา ณ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
www.sbl.co.th SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 137
SBL MAGAZINE
SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 17:32:45 PM
EDITOR’S note หากพูดถึงแดนอีสานที่เป็นศูนย์กลาง ความเจริญ จังหวัดที่นึกถึงเป็นอันดับ ต้นๆ ก็คงจะเป็น “จังหวัดขอนแก่น” ด้วยท�ำเลที่ตั้งที่อยู่กึ่งกลางของภาค อีสาน เป็นศูนย์กลางการคมนาคม ทั้งในประเทศและกลุ่มประเทศอินโดจีน มีสถาบันการศึกษาทีม่ ชี อื่ เสียงหลายแห่ง โรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์ที่ทันสมัย มีโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนอุบลรัตน์และ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมน�้ำพอง นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีต�ำนาน มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ส�ำคัญ ต่างๆ พระธาตุขามแก่น เป็นปูชนีย
สถานอันศักดิ์สิทธิ์ของชาวจังหวัด ขอนแก่น ดินแดนไดโนเสาร์ พบโครง กระดูกไดโนเสาร์กินพืช ยุคครีเตเชียส ตอนต้น บึงแก่นนครบึงขนาดใหญ่ กลางเมืองขอนแก่น สถานที่พักผ่อน หย่อนใจ และสักการะพระมหาธาตุ แก่นนคร (พระธาตุ 9 ชัน้ ) ในวัดหนองแวง ที่สามารถชมทัศนียภาพอันงดงาม รอบเมืองขอนแก่นได้ครับ
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน คุณิตา สุวรรณโรจน์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์ ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์
ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, วนิดา ศรีปัญญา
Website
Editor's talk
.indd 13
28/10/2562 13:24:33
.indd 14
28/10/2562 13:24:05
ฉบับที่ 98 จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2562
Khon Kaen
มรดกล�้ำค่าทางพุทธศาสนาที่อยู่คู่กับเมืองขอนแก่น ม่วนซื่นทั่วแดน ณ เมืองขอนแก่น
เป็นที่ทราบกันดีว่า จังหวัดขอนแก่นมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มานานหลายพันปี ดังที่ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดีและโบราณวัตถุตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นว่า อาณาบริเวณจังหวัดขอนแก่นเป็นแหล่งก�ำเนิดอารยธรรมอันสูงส่งมาแต่ดึกด�ำบรรพ์ จวบจนสมัยที่ พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากแห่งความศรัทธาบนผืนแผ่นดินแห่งนี้ และแผ่กิ่งก้านให้ความสงบร่มเย็น และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจแก่ผู้คนชาวขอนแก่นมาจวบจนปัจจุบัน
WWW.SBL.CO.TH บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747
.indd 15
28/10/2562 13:24:08
CONTENTS สารบัญจังหวัดขอนแก่น ฉบับที่ 98 จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2562
อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน
20
เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
พระเทพวิสุทธิคุณ (ถนอม ชินวํโส ป.ธ.6)
EXCLUSIVE INTERVIEW
28
ผอ. ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น นางสาวเพ็ญประภา แพงไทย
22
40
“ หลักส�ำคัญว่า ต้องมีน�้ำ น�้ำบริโภคและน�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพราะปลูก เพราะชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน�้ำ คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน�้ำ คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไฟฟ้าไม่มีนำ�้ คนอยู่ไม่ได้ ”
จังหวัดทางภาคอีสานได้รบั การพัฒนาให้เจริญรุดหน้าขึน้ มีสนามบิน มีทพี่ กั ร้านอาหาร และสถานที่ ท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากมาย และสามารถเทีย่ วได้ทกุ ฤดูกาล ทัง้ วัดวาอารามทีม่ อี ายุนบั พันปี ธรรมชาติอันบริสุทธิ์งดงามของป่าไม้ ขุนเขา และน�ำ้ ตก ตลอดจนแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปะและ วัฒนธรรมที่โดดเด่น
ใต้ร่มพระบารมี “โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำสองฝั่งล�ำน�้ำชี อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดขอนแก่น”
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
16 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.indd 16
28/10/2562 13:24:13
KHON KAEN 68
วัดบ้านหนองตูม (อ.เมือง)
40
70
วัดท่ายาราม
73
วัดเขื่อนอุบลรัตน์ (อ.อุบลรัตน์)
74
วัดโพธิ์สง่า
77
วัดถ�้ำแสงธรรม (อ.สีชมพู)
78
วัดนาเลาะ (อ.กระนวน)
79
วัดป่าโนนราศรี
80
วัดป่าสว่างพร (อ.เขาสวนกวาง)
81
วัดสระทอง (อ.มัญจาคีรี)
82
วัดคีรีวัน (อ.บ้านฝาง)
86
วัดผาพระนอนพัฒนาราม (อ.ชุมแพ)
88
วัดป่านาดี
90
ไทยแลนด์ 4.0
92
บันทึกรายชื่อวัดจังหวัดขอนแก่น
วัดป่าเทพนิมิต
วัดสันติวนาราม วัดอาคเนย์ วัดป่าสิริสมบัติ วัดป่าบ้านโป่งสังข์ วัดป่าค้อสุทธาราม วัดป่าค�ำหัวช้าง (อ.น�้ำพอง) วัดกู่ประภาชัย วัดสมศรี วัดโพธิ์ศรี
99
100
วัดป่าภูเม็งทอง
วัดแก้วจักรพรรดิสิริสุทธาวาส
56
บันทึกเส้นทางความเป็นมา จังหวัดขอนแก่น
72
วัดศรีภูเวียง (อ.ภูเวียง)
60
94
101 102 104 108 110 111 112 114 116 117 118 120
วัดซ�ำขามถ�้ำยาว
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 17
.indd 17
29/10/2562 16:52:39
ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดขอนแก่น
พระราชประสิทธิคุณ
พระเทพวิสุทธิคุณ เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
รองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
พระครูอรรถสารเมธี เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองขอนแก่น
รองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
พระครู สุทธิสารโสภณ
พระครู สารพัฒนาทร
เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำพอง
เจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง
พระมหาเสน่ห์ ธมฺมสิเนโห
พระครู โสภณวชิ รธรรม
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองเรือ
เจ้าคณะอ�ำเภอสีชมพู
พระครู รังษีธรรมสาร รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอชุมแพ
พระโสภณพัฒนบัณฑิต
พระครู อนุกูลสารธรรม
พระครู ปริยัติสารกิจ
เจ้าคณะอ�ำเภอมัญจาคีรี
เจ้าคณะอ�ำเภอกระนวน
พระครู รัตนทีปาภิบาล
พระมหาจริทธิ์ วชิ รเมธี
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านฝาง
เจ้าคณะอ�ำเภออุบลรัตน์
18 SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 18
25/10/2562 17:22:24
พระครู ญาณสารโสภณ
พระครู สิริปริยัติวราภรณ์
พระครู ไพศาลสารกิจ
พระครู อมรสารคุณ
เจ้าคณะอ�ำเภอเขาสวนกวาง
เจ้าคณะอ�ำเภอพระยืน
เจ้าคณะอ�ำเภอเปือยน้อย
เจ้าคณะอ�ำเภอภูผาม่าน
พระมหาสวัสดิ์ สจฺ จวาที
พระครูเกษมนันทสาร
พระครู มงคลสารกิจ
พระครู สุทธิปุญญสาร
เจ้าคณะอ�ำเภอพล
เจ้าคณะอ�ำเภอแวงน้อย
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านไผ่
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองสองห้อง
พระครู ปริยัติธรรมมงคล
พระครู สารธรรมาภรณ์
พระครู โอภาสกิจจานุกิจ
พระครูสิริสังวรธรรม
เจ้าคณะอ�ำเภอชนบท
เจ้าคณะอ�ำเภอแวงใหญ่
เจ้าคณะอ�ำเภอซ�ำสูง
เจ้าคณะอ�ำเภอโนนศิลา
พระครู วิริยคุณสาร
พระครู โพธิวชิ ราภรณ์
พระครู สุตธรรมานุกูล
พระครู สุนทรสารญาณ
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านแฮด
เจ้าคณะอ�ำเภอโคกโพธิ์ ไชย
เจ้าคณะอ�ำเภอเวียงเก่า
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองนาค�ำ
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 19
.indd 19
25/10/2562 17:22:41
EXC LU S I VE
พระเทพวิ สุท ธิ คุณ (ถนอม ชินวํ โส ป.ธ.6)
เจ้ าคณะจังหวัดขอนแก่น / เจ้าอาวาสวั ดหนองกุ ง /ประธานศู น ย์ พ ระปริ ยัตินิ เ ทศก์ ห นตะวัน ออก พระเดชพระคุ ณ หลวงพ่ อ พระเทพวิ สุ ท ธิ คุ ณ เจ้ า คณะจั ง หวั ด ขอนแก่น พระเถระชั้นผู้ ใหญ่ผู้สร้างคุณูปการอย่างใหญ่หลวงให้แก่ สังคม ประเทศชาติ และบวรพระพุทธศาสนามาโดยตลอดนับตั้งแต่ ก้าวเข้าสู่เพศบรรพชิต กระทั่งได้รับการถวายรางวัลและประกาศ เกียรติคุณจากหลายสถาบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งรางวัลผู้น�ำพุทธโลก ประจ�ำปี 2559 ซึ่งส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ(พศ.) ร่วมกับ องค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก(ย.พ.ส.ล.) จัดขึ้นเพื่อยกย่อง เชิดชู ประกาศเกียรติคุณ และเป็นขวัญก�ำลังใจให้แก่บุคคลและองค์กร ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาทั้งภายในและต่างประเทศ พระเทพวิสุทธิคุณ (ถนอม) ฉายา ชินวํโส อายุ 69 พรรษา 49 สังกัดวัดหนองกุง ต�ำบลหนองกุง อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น สถานะเดิม ถนอม เหลาลาภะ เกิดเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 ที่หมู่ 4 ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น วุ ฒิ ก ารศึ ก ษา น.ธ.เอก, ป.ธ.6, พธ.บ., พธ.ม., พธ.ด. (กิตติมศักดิ์)
ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2520 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดชัยศรี พ.ศ. 2523 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองกุง พ.ศ. 2523 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองกุง พ.ศ. 2527 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำพอง พ.ศ. 2532 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2541 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำพอง พ.ศ. 2544 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2557 เป็นเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
สมณศักดิ์ พ.ศ. 2524 เป็น เปรียญธรรม 6 ประโยค พ.ศ. 2536 เป็น พระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก ที่พระครูศรีปริยัติวราทร พ.ศ. 2540 เป็น พระราชาคณะชัน้ สามัญเปรียญ ที่ พระปริยตั วิ รคุณ พ.ศ. 2547 เป็น พระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชปริยัติโสภณ โกศลวรกิจจานุกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ. 2562 เป็น พระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพวิสุทธิคุณ วิบูล ศีลาจาร บริหารศาสนกิจจาทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
เกียรติคุณที่เคยได้รับ พ.ศ. 2553 ได้ รั บ การถวายโล่ ร างวั ล พุ ท ธคุ ณู ป การ กาญจน เกียรติคุณ พ.ศ. 2559 ได้รับรางวัล “เสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม” พ.ศ. 2559 ได้รับ รางวัลผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา “ผู้น�ำพุทธโลก” พ.ศ. 2559 ได้รับรางวัล “อีสานทองค�ำ” พ.ศ. 2561 ได้รับโล่วัดที่เจริญพระพุทธมนต์ และสวดธัมมจักกัปวัตรสูตร พ.ศ. 2561 ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นเกียรติคุณ จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2562 ได้รับแต่งตั้งเป็น หัวหน้าพระธรรมทูตจังหวัดขอนแก่น
20 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 20
25/10/2562 9:23:47
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 21
2
.indd 21
25/10/2562 9:23:53
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำสองฝั่งล�ำน�้ำชี อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดขอนแก่น
ห
“...หลักส�ำคัญว่า ต้องมีน�้ำ น�้ำบริโภค และน�้ำใช้ น�้ำเพื่อการเพาะปลูก เพราะ ชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน�้ำ คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน�้ำ คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไฟฟ้า คนอยู่ได้ แต่ถ้า มีไฟฟ้าไม่มีน�้ำคนอยู่ไม่ได้...” คื อ ส่ ว นหนึ่ ง ของพระราชด� ำ รั ส ในพระบาท สมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งพระราชทานเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ 2539 ณ พระราชต�ำหนัก จิตรลดารโหฐาน ด้วยทรงตระหนักถึงความส�ำคัญ ของน�้ำต่อสิ่งมีชีวิตบนผืนแผ่นดิน ดังนั้นโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ส ่ ว นใหญ่ จึ ง เป็ น โครงการที่ เ กี่ ย วกั บ การแก้ ป ั ญ หาเรื่ อ งน�้ ำ ให้ แ ก่ ราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดทางภาคอีสาน ซึ่งมักประสบปัญหาภัยแล้ง และน�้ำท่วมอยู่เสมอ “โครงการพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ สองฝั ่ ง ล� ำ น�้ ำ ชี อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ จั ง หวั ด ขอนแก่ น ” เป็ น หนึ่ ง ในหลายพั น โครงการที่ พ ระองค์ ไ ด้ พระราชทานแนวพระราชด�ำริแก่ส่วนราชการและ หน่ ว ยงานต่ า งๆ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการแก้ ไ ข ปั ญ หาความเดื อ ดร้ อ นให้ แ ก่ ร าษฎร โดยเฉพาะ อย่ า งยิ่ ง การแก้ ไ ขปั ญ หาความแห้ ง แล้ ง การ ขาดแคลนน�้ำเพื่อการเกษตร ปัญหาอุทกภัย ตลอด จนการประกอบอาชี พ ของราษฎร นั บ เป็ น พระ มหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ที่พระองค์ทรงมี ต่อพสกนิกรชาวขอนแก่น
22 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.
.indd 22
28/10/2562 14:31:29
ความเป็นมาของโครงการ ในคราวทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รนั ก ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น เมื่ อ วั น ที่ 19 ธันวาคม 2539 ทรงมีพระราชด�ำรัสกับ ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น และแม่ทัพ ภาคที่ 2 ว่าล�ำน�ำ้ ชีในฤดูนำ�้ หลาก น�ำ้ ท่วม พื้นที่ทั้งสองฝั่ง ซึ่งมีห้วย หนอง บึง และ พื้นที่สาธารณะมาก เมื่อถึงเวลาน�้ำลด น�้ำที่ท่วมพื้นที่ดังกล่าวก็ลดตามไปด้วย ท�ำให้เกิดการขาดแคลนน�้ำเช่นเคย จึง ควรที่จะมีการส�ำรวจและหาวิธีการเก็บ กักน�ำ้ ให้อยูใ่ นพืน้ ทีด่ งั กล่าวตลอดไป เพือ่ ประโยชน์ในการเพาะปลูก และเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2540 ทรงมีพระราชด�ำรัสกับผูว้ า่ ราชการจังหวัด ขอนแก่น และแม่ทพ ั ภาคที่ 2 ให้ประสาน กรมชลประทานหรื อ หน่ ว ยงานอื่ น ให้ ส� ำ รวจพื้ น ที่ ร อบๆ อ่ า ง เพื่ อ พิ จ ารณา ขุดลอกอ่างเก็บน�้ำเสริมคันดินกั้นน�้ำให้ สูง เพื่อให้เก็บน�้ำได้มากในฤดูฝน เพื่อ ให้สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ในการท�ำ นาปรังได้ รวมทั้งช่วยป้องกันน�้ำท่วมตัว เมืองขอนแก่นในฤดูที่มีฝนตกหนัก และ นอกจากนั้นจะช่วยให้สามารถน�ำมาใช้ ในโครงการเกษตรน�้ำฝนตามทฤษฎีใหม่ ได้ด้วย
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 23
.
.indd 23
28/10/2562 14:31:30
ล�ำน�้ำชี...เส้นเลือดใหญ่
ของภาคอีสานตอนล่าง กล่ า วส� ำ หรั บ ล� ำ น�้ ำ ชี นั้ น ถื อ เป็ น แม่ น�้ ำ ขนาดใหญ่ ที่ มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด จากเทื อ กเขาสั น ปั น น�้ ำ ของลุ ่ ม น�้ ำ ป่ า สั ก กั บ ลุ ่ ม น�้ ำ ชี ใ นเขตพื้ น ที่ จังหวัดชัยภูมิ มีน�้ำไหลตลอดปี สองฝั่งล�ำน�้ำชี จะแบนราบ ท้องน�ำ้ มีความลาดชันน้อย ในฤดูฝน น�้ ำ จะบ่ า ล้ น ตลิ่ ง สองฝั ่ ง การขึ้ น ลงของน�้ ำ มี ลักษณะขึ้นเร็วลงช้า กล่าวคือเมื่อมีฝนตกหนัก จะมีน�้ำไหลมากและล้นฝั่ง เมื่อฝนตกน้อยน�้ำ ในแม่น�้ำจะไหลน้อยลง โดยแม่น�้ำชีไหลเข้าสู่ จังหวัดขอนแก่น ที่อ�ำเภอแวงน้อย ผ่านอ�ำเภอ แวงใหญ่ อ�ำเภอชนบท อ�ำเภอมัญจาคีรี อ�ำเภอ บ้านไผ่ และอ�ำเภอเมืองขอนแก่น และไหลผ่าน อ�ำเภอโกสุมพิสัย พื้นที่ของจังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร และไปบรรจบกับ แม่น�้ำมูลที่จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง ประมาณ 900 กิโลเมตร การริเริ่มโครงการตามแนวพระราชด�ำริ จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ รั บ สนองกระแส พระราชด�ำริ ไปท�ำการศึกษารายละเอียดของ สภาพพื้ น ที่ เ พื่ อ ประกอบการวางแผนพั ฒนา สองฝั ่ ง ล� ำ น�้ ำ ชี ภายหลั ง จากการส� ำ รวจและ ศึ ก ษาสภาพพื้ น ที่ แ ล้ ว จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ จัดท�ำ “โครงการพัฒนาแหล่งน�้ำสองฝั่งล�ำน�้ำชี อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ จังหวัดขอนแก่น” ขึ้ น เพื่ อ สนองพระราชด� ำ ริ โดยโครงการมี วัตถุประสงค์หลักในการด�ำเนินงาน คือ ขุด ลอกอ่างเก็บน�้ำเดิม หรือแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติเดิม ที่มีอยู่ เสริมคันกั้นน�้ำเพื่อเพิ่มพื้นที่กักเก็บน�้ำ ในฤดูฝน และน�ำน�้ำไปใช้ประโยชน์ในการท�ำ นาปรัง เป็นแหล่งน�้ำต้นทุนในการน�ำน�้ำไปใช้ ในโครงการเกษตรน�้ำฝนตามทฤษฎีใหม่ เป็น แก้ ม ลิ ง ป้ อ งกั น น�้ ำ ท่ ว มตั ว เมื อ งขอนแก่ น ใน ฤดูน�้ำหลาก เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำ และ การประมงธรรมชาติ รวมทั้งเป็นแหล่งกักเก็บ น�้ำส�ำหรับการอุปโภคบริโภคในฤดูแล้ง ตลอด จนการเลี้ยงสัตว์ด้วย
24 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.
.indd 24
28/10/2562 14:31:33
ผลการด�ำเนินโครงการฯ ภายหลังจากได้รับกระแสพระราชด�ำริ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา จังหวัด ขอนแก่ น ได้ ท� ำ การพั ฒ นาแหล่ ง น�้ ำ ใน กิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วย การขุดลอก แหล่งน�้ำเพื่อเก็บกักน�้ำและแก้มลิง และ การจัดสร้างฝายเก็บน�้ำ โดยด�ำเนินการ ไปแล้วจ�ำนวน 29 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 8 อ�ำเภอที่ได้รับผลกระทบและเชื่อมโยง กั บ ล� ำ น�้ ำ ชี แหล่ ง น�้ ำ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นา ดั ง กล่ า วขณะนี้ รวมความจุ ข องน�้ ำ ได้ ทั้งสิ้นกว่า 47 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่ การเกษตรของราษฎรได้รับประโยชน์ถึง 37,437 ไร่ ครอบคลุมในพื้นที่ 17 ต�ำบล ของอ�ำเภอที่เชื่อมโยงกับล�ำน�้ำชี โดยแต่ละ โครงการจะมีรายละเอียดในการด�ำเนินงาน และการใช้ประโยชน์ที่หลากหลาย อาทิ โครงการพัฒนาบึงแก่งน�ำ้ ต้อน ตั้งอยู่ที่ หมูท่ ี่ 3 บ้านกุดกว้าง ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอ เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
หลั ง ด� ำ เนิ น การท� ำ ให้ ร าษฎรมี พื้ น ที่ ท�ำกินอยู่บริเวณรอบๆ จ�ำนวน 2 ต�ำบล 7 หมู่บ้าน 3,502 ครัวเรือน สามารถน�ำ น�้ำไปใช้ในการเพาะปลูกได้ นอกจากนี้ยัง เป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจของชุ ม ชน ที่ อ ยู ่ โ ดยรอบ เป็ น แหล่ ง น�้ ำ เพาะขยาย พันธุ์ปลาน�้ำจืด เป็นแหล่งน�้ำดิบเพื่อผลิต น�ำ้ ประปาหมูบ่ า้ นของ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น ในเขต 3 หมู่บ้าน คือ บ้านดอนช้าง ต�ำบล ดอนช้าง และบ้านโสกแสง บ้านสะอาด ต�ำบลเมืองเก่าเป็นแหล่งน�้ำต้นทุนส�ำหรับ พื้นที่การเกษตรของสถานีสูบน�้ำด้วยไฟฟ้า อีก 2 แห่ง คือ สถานีสูบน�้ำด้วยไฟฟ้า บ้ า นสะอาด ต� ำ บลเมื อ งเก่ า พื้ น ที่ รั บ ประโยชน์ 3,000 ไร่ และสถานีสูบน�้ำด้วย ไฟฟ้าบ้านป่าเหลื่อม ต�ำบลดอนช้างพื้นที่ รับประโยชน์ 2,100 ไร่เป็นแหล่งน�ำ้ ต้นทุน ส�ำหรับพื้นที่ “โครงการชลประทานพัฒนา แหล่งน�้ำท่าทั่วไทยเกษตรยุคใหม่ยั่ง ยืน”
ของกลุ ่ ม ผู ้ ใ ช้ น�้ ำ ปลู ก ผั ก ปลอดสารพิ ษ บ้ า นสะอาด ต� ำ บลเมื อ งเก่ า อ� ำ เภอ เมือง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งขณะนี้มีจ�ำนวน สมาชิก 43 คน พื้นที่เพาะปลูกประมาณ 34 ไร่ เป็นแหล่งเก็บกักน�้ำในช่วงฤดูฝน ในลั ก ษณะแก้ ม ลิ ง เพื่ อ ชะลอการไหล ของน�้ำจากล�ำน�้ำชีสามารถบรรเทาอุทกภัย บางส่วนในช่วงฤดูนำ�้ หลาก และสามารถน�ำ มาใช้เพือ่ การอุปโภคบริโภค และการเกษตร ในช่วงฤดูแล้ง เป็นแหล่งน�้ำเก็บกักน�้ำไว้ ใช้เสริมการเพาะปลูกในฤดูฝนได้ จ�ำนวน 1,840 ไร่ และการเพาะปลูกในฤดูแล้ง จ�ำนวน 460 ไร่ (เกษตรกร 307 ครอบครัว ประชากร 1,370 คน) รวมทั้ง เป็นแหล่ง เพาะพั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ ส� ำ หรั บ ให้ ร าษฎรได้ บริโภคและจ�ำหน่ายท�ำให้มีรายได้จากการ ประมงเพิ่มขึ้น
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 25
.
.indd 25
28/10/2562 14:31:35
โครงการขุดลอกหนองโง้ง ตั้งอยู่ที่หมู่ ที่ 3 บ้านโนนเขวา ต�ำบลดอนหัน อ�ำเภอ เมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น หนองโง้ ง เป็ น แหล่ ง น�้ ำ สาธารณะ มี ปริมาตรเก็บกัก 0.213 ล้านลูกบาศก์เมตร หลังจากขุดลอกหนองโง้ง ได้มีหน่วยงาน ทางราชการสนับสนุนประชาชนในเขตพืน้ ที่ พัฒนาโครงการต่อเนื่อง ท�ำให้ประชาชน ในพื้นที่ได้รับประโยชน์ อาทิ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคขยายเขตไฟฟ้าแรงต�่ำเพื่อให้ ประชาชนได้มไี ฟฟ้าใช้ในการท�ำการเกษตร จึงท�ำให้ราษฎรได้ท�ำการเกษตรตลอดทั้งปี ได้แก่ การท�ำนาปี นาปรัง และการปลูกพืชผัก สวนครัว ซึ่งสามารถปลูกได้ 4-5 ครั้งต่อปี นอกจากนี้เป็นแหล่งน�้ำต้นทุนในการผลิต น�้ำประปาของหมู่บ้าน โดยมีราษฎรได้รับ
ประโยชน์ 227 ครัวเรือน ท�ำให้ไม่มีปัญหา เรือ่ งน�ำ้ อุปโภคบริโภค เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ สั ต ว์ น�้ ำ ส� ำ หรั บ ให้ ร าษฎรได้ บ ริ โ ภคและ จ�ำหน่าย ท�ำให้มีรายได้จากการประมง เพิ่ ม ขึ้ น และพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วยั ง เป็ น พื้ น ที่ การปลู ก พื ช ที่ ล ดการใช้ ส ารเคมี ที่ ส� ำ คั ญ ของจังหวัด โดยการปลูกพืชปลอดสารพิษ ซึ่งจากการตรวจหาสารพิษตกค้างในแปลง ผักที่เกษตรกรด�ำเนินการในเขตพื้นที่รอบ แหล่งน�ำ้ ดังกล่าว พบว่าไม่มสี ารพิษตกค้าง ทุกแปลง โครงการพัฒนากุดพาน ตั้งอยู่ที่บ้าน ท่าพระ ต�ำบลท่าพระ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
กุดพานเป็นแหล่งน�้ำสาธารณะขนาด ใหญ่ที่อยู่ติดล�ำน�้ำชี มีพ้ืนที่รับน�ำฝน 22 ตารางกิ โ ลเมตร ประชาชนในพื้ น ที่ ไ ด้ ใช้ ป ระโยชน์ ห ลั ง จากด� ำ เนิ น การพั ฒนา กุ ด พาน โดยการใช้ น�้ ำ เพื่ อ การอุ ป โภค บริโภค เลี้ยงสัตว์ และการเกษตร โดยมี เกษตรกรได้รบั ประโยชน์จำ� นวน 4 หมูบ่ า้ น 580 ครัวเรือน ประชากร 3,144 คน พืน้ ที่ ได้รับประโยชน์ 3,000 ไร่ เป็นแหล่งเพาะ พั น ธุ ์ สั ต ว์ น�้ ำ ส� ำ หรั บ ให้ ร าษฎรได้ บ ริ โ ภค และจ�ำหน่าย ท�ำให้มรี ายได้จากการประมง เพิ่มขึ้น ใช้เป็นแหล่งน�้ำดิบส�ำหรับประปา หมู่บ้านที่มีความต้องการและขยายตัวเพิ่ม ขึ้นด้วย
26 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.
.indd 26
28/10/2562 14:31:36
ความส�ำเร็จของโครงการฯ จากการปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงาน ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการสนองพระราชด� ำ ริ ใ น พื้นที่จังหวัดขอนแก่น ไม่เป็นเพียงเฉพาะ การด�ำเนินงานภายใต้ “โครงการพัฒนา แหล่ ง น�้ ำ สองฝั ่ ง ล� ำ น�้ ำ ชี อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ” เท่านั้น ถ้าหากรวมโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ใ นพื้ น ที่ อื่ น ที่ ท รงพระราชทานเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาให้ กั บ ราษฎร เพื่ อ สร้ า งความอยู ่ ดี มี สุ ข อันเป็นการพลิกฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ ของแผ่นดิน เพื่อให้พสกนิกรได้มีคุณภาพ ชี วิ ต ที่ ดี แ ล้ ว ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น ได้ มี ก ารด� ำ เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ ปี 2520 จนถึงปัจจุบัน มีโครงการภายใต้ พระราชด�ำริทดี่ ำ� เนินการแล้วจ�ำนวนถึง 50 แห่ง โดยประกอบด้วยโครงการชลประทาน ขนาดกลาง ขนาดเล็ ก โครงการสู บ น�้ ำ ด้ ว ยไฟฟ้ า รวมทั้ ง โครงการภายใต้ ก าร พัฒนาแหล่งน�้ำสองฝั่งล�ำน�้ำชีดังได้กล่าว ข้างต้น การด�ำเนินการโครงการดังกล่าว ได้ แ ก้ ไ ขปั ญ หาเรื่ อ งน�้ ำ แก่ ร าษฎรในเขต พื้นที่ 16 อ�ำเภอ มีปริมาณน�้ำกักเก็บไว้ ใช้ประโยชน์ได้ถึง 75 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยมีพื้นที่ได้รับประโยชน์กว่า 76,000 ไร่ ซึ่งจากการด�ำเนินงานดังกล่าวได้ก่อให้เกิด ผลลัพธ์จากการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพชีวิตความ เป็นอยูข่ องราษฎรให้มอี าชีพหลักและอาชีพ เสริม ก่อให้เกิดรายได้ที่แน่นอน มีการ ดู แ ลอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น และหน่วยงานได้น�ำ แนวทางการพั ฒนาตามพระราชด� ำ ริ ไ ป เป็ น แบบอย่ า ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารขยาย การพัฒนาสู่ทุกพื้นที่อย่างกว้างขวางและ ต่อเนื่องในทุกปี
แนวทางการด�ำเนินงานต่อไป 1. แหล่ ง น�้ ำ ที่ ไ ด้ รั บ การพั ฒ นาแล้ ว ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาร่วมกัน ท�ำงานแบบบูรณาการ โดยส่งเสริมอาชีพ ด้านการเกษตร เช่น การสนับสนุนพันธุ์ พืชพันธุ์สัตว์ การพัฒนาปรับปรุงบ�ำรุงดิน การปลู ก หญ้ า แฝกเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ ดินและน�ำ ้ การสาธิตการท�ำปุย๋ คอก ปุย๋ หมัก พร้อมทัง้ ฝึกอบรมให้ความรูด้ า้ นการแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น เพื่อให้ ราษฎรมีอาชีพทีม่ นั่ คงและมีชวี ติ ความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น 2. สนับสนุนให้ศูนย์บริการถ่ายทอด เทคโนโลยี ก ารเกษตรประจ� ำ ต� ำ บลเป็ น ศูนย์ถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรตาม แนวพระราชด�ำริ ให้ราษฎรทีส่ นใจสามารถ มาศึกษาหาความรู้ เพื่อน�ำเอาไปปฏิบัติใน ที่ดินของตนเองต่อไป 3. สนั บ สนุ น การปลู ก พื ช พลั ง งาน ทดแทน อาทิ การปลูกไม้ 3 อย่าง แต่ให้ ประโยชน์ 4 อย่าง ได้แก่ ไม้ผล ไม้ใช้สอย
ไม้เศรษฐกิจ ซึ่งเกษตรกรใช้ประโยชน์ได้ ในระดั บ ครั ว เรื อ น และให้ ป ระโยชน์ ใ น การรักษาความชุ่มชื้นให้แก่ดิน หรือการ ส่ ง เสริ ม การผลิ ตน�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง จากพื ช ทดแทนการใช้น�้ำมันดีเซลในเครื่องจักรกล เพื่อการเกษตร ทั้งนี้ โดยสามารถศึกษา ตัวอย่างที่ประสบผลส�ำเร็จจากศูนย์ศึกษา การพั ฒนาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ต่างๆ 4. ส่งเสริมความรู้ด้านการผลิตอาหาร ปลอดภัย โดยการจัดท�ำโครงการเกษตร อินทรีย์ เพื่อลดปริมาณการใช้สารเคมีและ ปุ๋ยเคมี นอกจากนั้นยังเป็นการลดต้นทุน ในการผลิตได้อีกด้วยโดยการสนับสนุนให้ ราษฎรใช้ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น ขอขอบคุ ณ ที่ ม า : ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (ส�ำนักงาน กปร.)
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 27
.
.indd 27
28/10/2562 14:31:39
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
EXC LU SI VE
KHON KAEN PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น
นางสาวเพ็ ญ ประภา แพงไทย
28 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.
อนุสรณ์2 สถานท้ าวสุ28รนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง .indd
25/10/2562 17:18:09
“วัด ประชา รัฐ สร้างสุข” ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น เป็ น ส่ ว นราชการภู มิ ภ าค สั ง กั ด ส� ำ นั ก งาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปัจจุบันมี นางสาว เพ็ญประภา แพงไทย ด�ำรงต�ำแหน่ง ผูอ้ ำ� นวยการ ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด ขอนแก่ น ซึ่งท่านได้ให้เกียรติอย่างสูงแก่นิตยสาร SBL บันทึกวัดทั่วไทย ให้สัมภาษณ์ถึงผลการด�ำเนิน งานที่ ส� ำ คั ญ และโดดเด่ น ของส� ำ นั ก งานฯ แนะน�ำวัดดีน่าเที่ยว และการน้อมน�ำหลักธรรม ทางพระพุ ท ธศาสนาไปใช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น ดังรายละเอียดต่อไปนี้
5 ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดขอนแก่น ได้ดำ� เนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม ขับเคลือ่ น โดยใช้รูปแบบภาคีเครือข่าย และการพัฒนา ความเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างองค์กร เพื่อให้เกิด การพัฒนางานให้เป็นไปตามแนวทางการปฏิรปู กิจการพระพุทธศาสนา (6(+1) ได้แก่ การปฏิรปู กิจการพระพุทธศาสนาด้านการปกครอง ศาสน ศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณูปการ การศึกษา สงเคราะห์ การสาธารณสงเคราะห์ และการ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางพระพุทธ ศาสนาโลก เช่น 1.โครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์ โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้าน รักษาศีล 5” ในการบริหารจัดการนัน้ หน่วยงาน ร่ ว มวางแผนกั บ เครื อ ข่า ย ทั้ ง องค์ ก รภาครั ฐ องค์ ก รเอกชน องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น สถานศึ ก ษา และผู ้ น� ำ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ท� ำ ให้
ธรรมะเป็นที่พึ่งที่เกาะเกี่ยวของใจ การพัฒนาพระพุทธศาสนา รวมถึงการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจังหวัดขอนแก่นนั้นไม่ใช่เพียง หน้าทีค่ นใดคนหนึง่ แต่เป็นหน้าทีข่ องชาวพุทธทุกคนทีจ่ ะช่วยกันจรรโลงรักษาพระธรรมค�ำสัง่ สอนของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ไปสูใ่ จชาวโลก เพือ่ ประโยชน์แก่เพือ่ นมนุษย์ทงั้ ผองให้พวกเขาได้อาศัยธรรมะ เป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นที่เกาะเกี่ยวของใจ เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตให้อยู่ในครรลองที่ก่อประโยชน์ สุขให้แก่ตนเองและผู้อื่น รวมไปถึงชาวพุทธจะต้องอุปถัมภ์คุ้มครองพระพุทธศาสนาให้มีความมั่งคง ยัง่ ยืน ประพฤติปฏิบตั อิ ยูใ่ นศีลธรรมอันดีงาม ดํารงชีวติ อยูบ่ นรากฐานแห่งสัจจะหรือความจริง ไม่หลงงมงาย มีความพอเพียงรู้จักช่วยเหลือตนเอง ช่วยเหลือบุคคลอื่น และสามารถดํารงชีวิตอย่างมีความสุข หากเราชาวพุทธน�ำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปใช้ในชีวิตประจ�ำวัน และฝึกฝนตนเองอยู่ สม�ำ่ เสมอ ด�ำเนินชีวติ ด้วยปัญญา รูเ้ ท่าทันความจริงทีเ่ ป็นธรรมดาทีเ่ ป็นเหตุปจั จัยในกฎของธรรมชาติ สิ่งเหล่านี้เป็นประโยชน์แก่ตนเอง สามารถท�ำหน้าที่ของตนเองได้อย่างถูกต้อง ตั้งใจท�ำให้ดี พัฒนา ตนเองให้ถึงจุดมุ่งหมายของชีวิต ท�ำให้เกิดคุณประโยชน์ต่าง ๆ จนส่งผลให้มีความประสบความส�ำเร็จ ในหน้าที่การงาน จึงจะได้ชื่อว่าเป็นชาวพุทธที่แท้จริง
โครงการประสบผลส� ำ เร็ จ และได้ รั บ รางวั ล หมู่บ้านรักษาศีล 5 ต้นแบบดีเด่นระดับจังหวัด และระดับภาค ประจ�ำปี 2561 2. โครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข พัฒนา วัดด้วยแนวทาง 5 ส หน่วยงานได้ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยสงฆ์ในจังหวัด กรมส่งเสริมการ ปกครองส่วนท้องถิน่ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อพัฒนาวัดในด้าน กายภาพ การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้าง เสริมสุขภาพ ทั้งด้านสุขภาวะทางกาย สุขภาวะ ทางจิต สุขภาวะทางสังคม และสุขภาวะทาง ปัญญา เป็นการเชื่อมโยงระหว่างวัดกับชุมชน ทุกภาคส่วน และขยายผลสูโ่ ครงการอุทยานการ ศึกษาในวัด วัดพัฒนาตัวอย่าง และวัดพัฒนา ตัวอย่างดีเด่น 3.โครงการอบรมไวยาวัจกรวัด/ กรรมการวัด เป็นการส่งเสริมให้ไวยาวัจกร มีความรู้ความ เข้าใจในด้านการบริหารจัดการเกี่ยวกับการเงิน
การบัญชี ของวัดอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และ ตรวจสอบได้ 4.โครงการท� ำ บุ ญ ตั ก บาตรทวยราษฎร์ ถวายพระพร ทุกวันจันทร์แรกของเดือน เป็นการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมด้านการเสียสละ และการให้โดยไม่หวังผลตอบแทน 5.จัดกิจกรรมการสวดมนต์เช้า ฝึกอาราธนา ศีล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร แผ่เมตตา การเจริญจิตตภาวนา 10-15 นาที ทุกวันท�ำการ ก่อนการเริ่มปฏิบัติหน้าที่ เพื่อสร้างความผูกพัน ต่อองค์กร และเป็นการสร้างให้บุคลากรมีความ เป็นผูน้ ำ� ด้านศาสนพิธี กล้าคิด กล้าตัดสินใจตาม หลักพื้นฐานพระพุทธศาสนา ในการปฏิบัติงาน ท� ำ ให้ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งจากจั ง หวั ด ขอนแก่ น เชิ ด ชู เ กี ย รติ ห น่ ว ยงานที่ มี ผ ลการด� ำ เนิ น งาน ทีเ่ ป็น Best Practice ระดับส่วนราชการ ตามแผน ปฏิบัติการการปฏิบัติตนเป็น “ข้าราชการที่ดี” ของจังหวัดขอนแก่น KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 29
.
2
.indd 29
25/10/2562 17:18:12
_Artwork_Create.indd 30
25/10/2562 10:07:33
SF BIZ HOTEL_Artwork_Create.indd 31
25/10/2562 14:18:42
Artwork_The ROOM
_Create.indd 32
25/10/2562 17:13:03
_Artwork-3-TH_Create.indd 33
25/10/2562 17:24:42
sleep
“Enough for a night with reasonable price.”
_Artwork_Create.indd 34
25/10/2562 9:09:54
HIGHWAY HOTEL_Artwork_02_Create.indd 35
25/10/2562 16:01:34
Rungraeng Resort รุ่งเรืองรีสอร์ท รุ่งเรืองรีสอร์ท...พักสบายใกล้แหล่งท่องเที่ยว
รุง่ เรืองรีสอร์ท (Rungraeng Resort) ทีพ ่ กั สบายในอ้อมกอดของธรรมชาติ อันร่มรื่นเขียวขจี และอากาศอันบริสุทธิ์ สดชืน่ ของ อ.ชนบท จ.ขอนแก่น สะอาด สบาย ให้ความเป็นส่วนตัว ด้วย บริการห้องพักรายวัน จ�ำนวน 38 ห้อง พร้อมทีจ่ อดรถส่วนตัว ให้ความรูส้ กึ อบอุน่ เหมือนอยูบ่ า้ น
เพี ย บพร้ อ มด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความ สะดวกครบครัน อาทิ บริการฟรี WiFi แอร์ น�ำ้ อุน่ เคเบิล้ TV ตูเ้ ย็น กาต้มน�ำ้ เป็นต้น บริ ก ารห้ อ งประชุ ม -สั ม มนา เพื่ อ อ�ำนวยความสะดวกแก่หน่วยงานหรือ องค์กรต่าง ๆ
รุ่งเรืองรีสอร์ท (RUNGRAENG RESORT)
เลขที่ 103 หมู่ 7 ต�ำบลกุดเพียขอม อ�ำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น 36 SBL40180 บันทึกประเทศไทย น่าน (อยู่ระหว่Iางทางออกจากอ� ำเภอชนบทไปจังหวัดชัยภูมิ)
Ad-
1
.indd 36
ใกล้สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วชือ่ ดัง อาทิ ศาลาไหมไทย อุทยานภูผาม่าน มหาสารคาม
หมูบ่ า้ นเต่า วัดจุมพล ชัยภูมิ
ส�ำรองห้องพักได้ที่
090-580-3117 25/10/2562 9:19:26
Rungreang Hotel โรงแรมรุง่ เรือง
เป็นสุขก ับว ันพ ักผ่อนที่ พิเศษสุดของคุณ
โรงแรมรุง ่ เรือง บ้านไผ่
ที.่ ..
ั ประชุม-สมมนา
รองร ับการจ ัด
ทีจ ่ อดรถกว้างขวาง
สะดวก ปลอดภ ัย
เดินทาง
� รองทีพ สำ ่ ัก
โรงแรมรุง ่ เรือง บ้านไผ่
เลขที่ 94 หมู1 ่ 0 ถนนมิตรภาพ ต�ำบลบ ้านไผ่ อ�ำเภอบ ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น 40110 โทร. 091-501-7777
_Artwork.indd 37
25/10/2562 15:57:21
MARUM CHANG
มะรุมช้าง รีสอร์ท
มะรุมช้าง รีสอร์ท บริการห้องพักแบบเป็นส่วนตัวพร้อมเครื่องอ�ำนวยความสะดวกภายในห้องพักครบครัน บริการโอวัลตินและกาแฟ มุมกาแฟน่ารักๆ เข้ากับบรรยากาศนั่งจิบกาแฟตอนเช้า
มะรุมช้าง รีสอร์ท (MARUM CHANG RESORT) ที่อยู่ 107 หมู่ 1 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น 40110 38 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
1
.indd 38
Tel : 083-544-2929 043-267-399 25/10/2562 15:44:43
Aun-Ai-Ruk Resort โรงแรม ที่พักสไตล์คันทรี่ หอมอบอวล เต็มไปด้วย...
ความรัก
อุ่นไอรักรีสอร์ท สัมผัส..กลิ่นไอจากธรรมชาติ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน Wifi ฟรี แอร์ ทีวีระบบดาวเทียม ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น เครื่องดื่ม ที่จอดรถส่วนตัว
330 หมู่ 5 ต�ำบลโสกนกเต็น อ�ำเภอพล จังหวัดขอนแก่น 40120
087-5363773, 081-7615695 .indd 37
18/10/2562 10:29:45
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
ม่วนซื่นทั่วแดน ณ เมืองขอนแก่น
อีสานในความทรงจ�ำของหลายๆ คน อาจเป็นดินแดนที่แห้งแล้ง ทุรกันดาร ไม่น่าจะมีอะไรให้เที่ยว แต่ปัจจุบัน จังหวัดทางภาคอีสานได้รับการพั ฒนาให้เจริญรุดหน้าขึ้น มีสนามบิน มีที่พัก ร้านอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยว ที่ได้รับความนิยมมากมาย และสามารถเที่ยวได้ทุกฤดูกาล ทั้งวัดวาอารามที่มีอายุนับพั นปี ธรรมชาติอันบริสุทธิ์ งดงามของป่าไม้ ขุนเขา และน�ำ้ ตก ตลอดจนแหล่งท่องเที่ยวทางศิลปะและวัฒนธรรมที่โดดเด่น “บันทึกเส้นทาง ท่องเที่ยว” ฉบับนี้ จะพาท่านไปสัมผัสความงดงามอลังการของสถานที่ท่องเที่ยวในเมืองขอนแก่น เมืองที่ไม่เป็น สองรองใคร เมืองที่จะท�ำให้ประทับใจทุกครั้งที่ได้มาเยือน
40 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 40
28/10/2562 15:03:01
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 41
_
.indd 41
28/10/2562 15:03:03
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
สักการะ
พระมหาธาตุแก่นนคร ณ วัดหนองแวง
วัดหนองแวง พระอารามหลวง เป็นวัดเก่าแก่แต่ครั้งก่อตั้งเมืองขอนแก่น ที่ผู้มาเยือน ไม่ควรพลาดไปสักการะ “พระมหาธาตุแก่นนคร” หรือ “พระธาตุ 9 ชัน้ ” ทีม่ สี ถาปัตยกรรม ร่วมสมัยอันวิจิตรงดงามอลังการ และเป็นแลนด์มาร์คส�ำคัญของเมืองขอนแก่น วัดหนองแวง เป็นวัดเก่าแก่ทสี่ ร้างขึน้ จากความศรัทธาของท้าวเพีย้ เมืองแพน เจ้าเมือง คนแรก เมื่อครั้งก่อตั้งเมืองขอนแก่น ณ บ้านบึงบอน (บึงแก่นนคร) ในปี พ.ศ. 2332 ส่วนองค์พระมหาธาตุแก่นนครอันงดงามอลังการนั้น จัดสร้างขึ้นเนื่องในโอกาสที่ พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิรริ าช สมบัติครบ 50 ปี และมหามังคลานุสรณ์ 200 ปี เมืองขอนแก่น
42 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 42
28/10/2562 15:03:04
โดยองค์พระธาตุมฐี านสีเ่ หลีย่ มกว้างด้านละ 50 เมตร องค์พระธาตุสงู 80 เมตร เรือนยอด เจดีย์จ�ำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น มี พระจุลธาตุ 4 องค์ ตัง้ อยู่ 4 มุม และมีกำ� แพง แก้วพญานาค 7 เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะ สมัยทวารวดีผสมผสานศิลปะอินโดจีนตาม แบบของชาวอีสานปากแห ภายในองค์พระธาตุ 9 ชั้น แต่ละชั้นมีรายละเอียดดังนี้ ชัน้ ที่ 1 มีพระบรมสารีรกิ ธาตุสว่ นอุรงั คธาตุ (ส่วนอก) ของพระพุทธเจ้า ประดิษฐานอยูบ่ น บุษบก และมีพระประธาน 3 องค์อยู่ตรง กลาง ในตู้กระจกมีพระธาตุของพระสาวก ประมาณร้อยองค์ ชั้นนี้เหมาะส�ำหรับผู้ที่มี จิตศรัทธาจะท�ำบุญเพื่อความเป็นสิริมงคล แก่ชีวิต ไม่ว่าจะตักบาตร 108 ขอพรพระ ประจ�ำวันเกิด เสีย่ งเซียมซีหรือจะยกช้างเสีย่ งทาย ชั้นที่ 2 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดเก็บข้าวของ เครือ่ งใช้ในอดีตของชาวอีสานทีห่ าชมได้ยาก บนผนังมีภาพวาดข้อห้าม 35 ข้อ ทีช่ าวอีสาน ไม่ควรท�ำ เพราะถือว่าเป็นสิง่ ไม่ดไี ม่งาม ทัง้ นี้ เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ชัน้ ที่ 3 เป็นหอปริยตั ทิ จี่ ดั แสดงตาลปัตร พัดยศ และเครือ่ งอัฐบริขารของพระภิกษุสงฆ์ ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดขอนแก่น บานประตู หน้าต่างเขียนลวดลายเบญจรงค์ และภาพ แกะสลักนิทานเรือ่ งนางผมหอม เป็นนิทานที่
ได้เล่าสืบต่อกันมาแต่โบราณของชาวอีสาน ชั้นที่ 4 เป็นหอปริยัติธรรม ภายในมี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ที่ ร วบรวมของเก่ า บานประตู หน้าต่าง ภาพพระประจ�ำวันเกิด เทพประจ�ำทิศ ชั้นที่ 5 เป็นหอพิพิธภัณฑ์ มีอัฐบริขาร ของหลวงปู่พระครูปลัดบุษบา สุมโน อดีต เจ้าอาวาสวัด บานประตูหน้าต่างแกะสลักภาพ พุทธชาดก ชั้ น ที่ 6 เป็ น หอพระอุ ป ั ช ฌาจารย์ บานประตู หน้ า ต่ า งแกะสลักนิท านชาดก เรื่องเวสสันดร ชั้ น ที่ 7 เป็ น หอพระอรหั น ต์ ส าวก บานประตู หน้ า ต่ า งแกะสลั ก นิ ท านเรื่ อ ง พระเตมีย์มีใบ้ ชัน้ ที่ 8 เป็นหอพระธรรม เป็นทีร่ วบรวม พระธรรม พระไตรปิฎก คัมภีร์ส�ำคัญทาง พระพุ ท ธศาสนา บานประตู แ กะสลั ก รูปพรหม 16 ชั้น ชัน้ ที่ 9 เป็นหอพระพุทธ เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุของพระพุทธเจ้า บานประตู แกะสลักภาพ 3 มิติ รูปพรหม 16 ชั้น และ สามารถชมทัศนียภาพของตัวเมืองขอนแก่น ได้ทั้ง 4 ด้าน โดยเฉพาะทางด้านทิศตะวัน ออกสามารถมองเห็นทิวทัศน์ของบึงแก่นนคร ที่สวยงาม KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 43
_
.indd 43
28/10/2562 15:03:05
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
กราบนมัสการ
พระธาตุขามแก่น ณ วัดเจติยภูมิ
พระธาตุขามแก่น เป็นปูชนียสถานที่ส�ำคัญและมีความศักดิ์สิทธิ์ คูเ่ มืองขอนแก่น โดยทุกวันเพ็ญเดือน 6 ของทุกปี จะมีงานฉลองพระธาตุ ขามแก่นอันยิ่งใหญ่ และมีพุทธศาสนิกชนเดินทางมาร่วมงานเป็น จ�ำนวนมาก ตามประวัตไิ ด้กล่าวว่า พระธาตุแห่งนีม้ จี ดุ ก�ำเนิดเมือ่ ราวศตวรรษที่ 25 โดยโมริยกษัตริย์ เจ้าเมืองโมรีย์ ประเทศกัมพูชา มีความประสงค์ ที่ จ ะน� ำ พระอั ง คารของพระพุ ท ธเจ้ า มาบรรจุ ที่ อ งค์ พ ระธาตุ พ นม จึงโปรดให้พระอรหันต์และพระเถระเจ้าคณะรวม 9 องค์ น�ำขบวนอัญเชิญ พระอังคาร เมื่อผ่านมาถึงดอนมะขามแห่งหนึ่งซึ่งมีต้นมะขามใหญ่ ทีต่ ายแล้วเหลือแต่แก่น ประกอบกับเป็นเวลาพลบค�ำ่ พอดี จึงหยุดคณะ พักแรมชั่วคราว รุ่งเช้าจึงเดินทางต่อไปจนถึงภูก�ำพร้า แต่ปรากฏว่า พระธาตุพนมได้สร้างเสร็จแล้ว
44 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 44
28/10/2562 15:03:06
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 45
_
.indd 45
28/10/2562 15:03:07
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
มหารัตนเจดีย์ศรีไตรโลกธาตุ
จุดบรรจบของสามโลก ณ วัดทุ่งเศรษฐี
ณ จุดบรรจบกันของสามโลกธาตุนนั้ ท่านได้ สร้างมหาเจดีย์ขึ้น และให้นามว่า “มหาเจดีย์ รัตนะ” โดยมหาเจดีย์รัตนะจะเป็นเจดีย์ที่อยู่ตรง กลางระหว่างจุฬามณีเจดีย์บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่ ง บรรจุ พ ระเขี้ ย วแก้ ว ซี่ บ นขวา และเจดี ย ์ ใ น นาคพิภพซึง่ บรรจุพระเขีย้ วแก้วซีล่ า่ งซ้าย หลวงตาอ๋อย จึงได้อธิษฐานอัญเชิญพระเขี้ยวแก้วซี่ล่างขวามา บรรจุ ไว้ ใ นมหาเจดี ย ์ อ งค์ นี้ ต่ อ มาท่ า นเจ้ า คุ ณ สมาน (พระธรรมดิลก เจ้าอาวาสวัดป่าแสงอรุณ) ได้ให้ความเมตตาแนะน�ำให้ขยายนามมหาเจดีย์ รัตนะ ให้มีความหมายกว้างและลึกซึ้งกว่าเดิม ว่า “มหารัตนเจดีย์ศรีไตรโลกธาตุ” มีความหมาย สอดคล้องกับแนวคิดที่หลวงตาได้วางไว้ คือเป็น มหาเจดีย์แก้วรัตนะแห่งสามโลก
46 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 46
28/10/2562 15:03:09
ภูเก้า-ภูพานค�ำ
อุทยานธรรมชาติ-อุทยานธรรม อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานค�ำ เป็นอุทยานแห่งชาติขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมพื้นที่ตอนบน ของจังหวัดขอนแก่นและหนองบัวล�ำภู และพืน้ ทีต่ อนล่างของจังหวัดอุดรธานี โดยมีจดุ ท่องเทีย่ ว ที่น่าสนใจคือ ภูพานค�ำและภูเก้า ภูพานค�ำ เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาภูพาน บริเวณทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเทือกเขาภูพาน เป็นหุบเขาขนาดใหญ่และเป็นแอ่งทีร่ าบต�ำ่ ลุม่ น�ำ้ พอง เมือ่ มีการสร้างเขือ่ นอุบลรัตน์ ซึง่ เป็นพืน้ ที่ ประมาณครึง่ หนึง่ ของภูพานค�ำ บริเวณนีจ้ งึ กลายเป็นทะเลสาบทีม่ ที ศั นียภาพทีง่ ดงาม เป็นแหล่ง เพาะพันธุป์ ลาและเป็นแหล่งตกปลาทีม่ ชี อื่ เสียงของจังหวัดด้วย พืน้ ทีข่ องภูพานค�ำอีกส่วนหนึง่ มีสภาพเป็นป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณ ซึง่ ขึน้ ปะปนกับหินทีม่ รี ปู ร่างสวยงามแปลกตา ทีน่ เี่ ป็น สถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถมาพักแรมได้ โดยนักท่องเที่ยวจะน�ำเต็นท์มาเอง หรือพักที่บ้านพัก ของอุทยานฯ หรือทีศ่ าลาพักแรมของกรมประชาสงเคราะห์ บริเวณทะเลสาบท้ายเขือ่ นอุบลรัตน์ ก็ได้ ส่วนภูเก้านัน้ เป็นเทือกเขาทีป่ ระกอบด้วยภูเขา 9 ลูก คือ ภูฝาง ภูขมุ ปูน ภูหนั ภูเมย ภูคอ้ หม้อ ภูชั้น ภูเพราะ ภูลวก และภูวัด ลักษณะภูเก้าเป็นเทือกเขาสองชั้น ชั้นนอกเป็นภูเขาสูงและมี ความลาดชันมาก ไหล่เขาด้านในมีความลาดชันไม่มากนัก พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะสูงๆ ต�่ำๆ บางแห่งเป็นทีร่ าบประกอบด้วยป่าไม้ ซึง่ เป็นทีอ่ ยูข่ องสัตว์ปา่ นานาชนิด มีถำ�้ น�ำ้ ตก ลานหินลาด และหินลักษณะแปลกๆ คล้ายปราสาท
จุดที่น่าสนใจของภูเก้าคือถ�้ำพลาไฮ ซึ่ง เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของมนุษย์ในยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ซึ่งมีภาพเขียนรูปฝ่ามือ และ ภาพแกะสลักของมนุษย์ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ และศาลาบนยอดหินทีเ่ รียกว่าหอสวรรค์ เป็น จุดชมวิวได้ นอกจากนี้บริเวณภูเก้ายังมีวัด พระพุทธบาทภูเก้า (อยู่ในเขตของ อ.โนนสัง จ.หนองบัวล�ำภู) พบรอยเท้าคนและสุนัข ขนาดใหญ่สลักบนหิน อันเกี่ยวโยงกับนิทาน พืน้ บ้านเรือ่ ง พระสุพรหมวิโมขากับหมาเก้าหาง และตามผนังถ�้ำบริเวณวัดยังมีภาพเขียนสี ภาพสลักสมัยก่อนประวัติศาสตร์ การเดินทาง อุทยานแห่งชาติภเู ก้า-ภูพานค�ำ อยูห่ า่ ง จากเขื่อนอุบลรัตน์เพียง 25 กิโลเมตร และห่างจาก ตัวจังหวัดขอนแก่นประมาณ 56 กิโลเมตร KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 47
_
.indd 47
28/10/2562 15:03:10
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
สระน�้ำท่ามกลางธรรมชาติ
วนอุทยานน�้ำตกบ๋าหลวง 48 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 48
28/10/2562 15:03:12
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 49
_
.indd 49
28/10/2562 15:03:13
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
50 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 50
28/10/2562 15:03:14
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 51
_
.indd 51
28/10/2562 15:03:15
52 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 52
28/10/2562 15:03:19
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 53
_
.indd 53
28/10/2562 15:03:23
54 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 54
28/10/2562 15:03:24
ชีวิตนั้นสั้นแต่ศิลปะยืนยาว
MAMAFAKA GALLERY ในอดีตภาพกราฟฟิตอี้ นั เกิดจากการพ่นสีตามก�ำแพงหรือสถานทีต่ า่ งๆ ของวัยรุน่ ดูจะไม่คอ่ ย เป็นทีย่ อมรับมากนัก แต่ปจั จุบนั ได้รบั การยอมรับว่าเป็นผลงานศิลปะแนว Street Art ทีส่ ะท้อน อัตลักษณ์และแนวคิดของศิลปินได้ โดยเฉพาะในเมืองท่องเทีย่ วส�ำคัญๆ ก็มกั จะมีศลิ ปินกราฟฟิตี้ ที่โด่งดังทั้งไทยเทศไปฝากผลงานไว้ให้นักท่องเที่ยวและคนทั่วไปได้ชม ทีเ่ มืองขอนแก่นอันเป็นถิน่ ก�ำเนิดของศิลปินแนวสตรีทอาร์ตนาม “ตัม้ -พฤษ์พล มุกดาสนิท” หรือชื่อในวงการนักออกแบบคือ “MAMAFAKA” ผู้รังสรรค์ภาพ “Mr.HellYeah!” รูปสัตว์ ประหลาดสีด�ำ มีดวงตากลมโตตาเดียว มีขนยาวปกคลุมตลอดทั้งตัว อันเป็นผลงานที่สร้าง ชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก และยกระดับภาพกราฟฟิตี้ในสังคมไทยให้เป็นที่ยอมรับในวงกว้าง กระทั่งภาพดังกล่าวถูกน�ำไปใช้ดีไซน์บนสินค้าต่างๆ มากมาย อาทิ ตัวรถเวสป้า พร้อมด้วย คอลลเลคชัน่ เข้าชุดกันทัง้ ถุงมือ ผ้าพันคอ หมวกนิรภัย, กระเป๋าคอลเลคชัน่ พิเศษ, แผ่นสเก็ตบอร์ด และรองเท้ากีฬาชื่อดัง รวมไปถึงโปสการ์ด และเสื้อทีเชิ้ต เป็นต้น
ปั จ จุ บั น แม้ ว ่ า คุ ณ ตั้ ม -ศิ ล ปิ น ผู ้ ใ ห้ ชี วิ ต Mr.HellYeah! ได้ลาจากโลกนี้ไปแล้วก่อน วัยอันควร แต่เราสามารถไปชมผลงานศิลปะ ของเขาได้ ที่ MAMAFAKA GALLERY แกลเลอรี่เท่ๆ ที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ประมาณ 80 ตารางเมตร ซึ่งครอบครัว เพื่อนฝูง และคนที่ เคยร่วมงานกับเขาช่วยกันสร้างขึ้น เพื่อจัด แสดงผลงานของเขาอย่างถาวร เปิดให้เข้าชมฟรี ทุกวันอังคาร-อาทิตย์ เวลา 11.00-17.00 น. การเดินทาง MAMAFAKA GALLERY เลขที่ 165/12 หมู่บ้านพิมานชล 2 ซ. 3 ถ.รอบบึงแก่นนคร ต. ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น โทร. 09-2559-6514 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 55
_
.indd 55
28/10/2562 15:03:31
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
56 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 56
28/10/2562 15:03:33
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 57
_
.indd 57
28/10/2562 15:03:34
58 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 58
28/10/2562 15:03:35
ช้อปชิลรีวิวสนุกที่
ต้นตาล กรีนมาร์เก็ต ต้นตาล กรีนมาร์เก็ต ตลาดกลางคืนที่ ใหญ่ที่สุดในขอนแก่น ที่แม้จะเปิดให้บริการ มานานแล้ว แต่ก็ยังเป็นสถานที่ที่วัยรุ่นและ นักท่องเที่ยวยังมารีวิวกันไม่เลิกรา ที่นี่ไม่เพียงแต่จะเป็นแหล่งรวมสินค้า อุ ป โภคบริ โ ภค และร้ า นค้ า ที่ ทั น สมั ย ใน บรรยากาศสวนร่มรื่น ที่ใครๆ ต่างก็มาช้อป มาชิม มาชิล มารีวิวเพื่อไม่ให้ตกเทรนด์แล้ว ที่ นี่ ยั ง มี กิ จ กรรมหลากหลายที่ ก ลุ ่ ม วั ย รุ ่ น วัยเรียนและวัยท�ำงาน มักจะมารวมตัวกันท�ำ กิจกรรมหรือพูดคุยแลกเปลีย่ นกันตามความ สนใจ ไม่ว่าจะเป็นด้านดนตรี กีฬา ศิลปะ ภาพถ่าย ของสะสม ฯลฯ และมีพน้ื ทีส่ ว่ นกลาง ส�ำหรับจัดการแสดง แสง สี เสียง ครบครัน เรียกว่าคอนเสิรต์ วงดังๆ ต้องมาจัดทีน่ เี่ ท่านัน้ ทีส่ ำ� คัญคือยังมีพนื้ ทีพ่ กั ผ่อนและสนามเด็กเล่น ส� ำ หรั บ ทุ ก คนในครอบครั ว ด้ ว ย ต้ น ตาล กรีนมาร์เก็ต KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 59
_
.indd 59
28/10/2562 15:03:44
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
60 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 60
28/10/2562 15:03:51
ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิ พิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง
ธรรมชาติวิทยาและซากดึกด�ำบรรพ์ ศู น ย์ ศึ ก ษาวิ จั ย และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ดโนเสาร์ ภู เวี ย งจั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยความร่ ว มมื อ ของกรม ทรัพยากรธรณี การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย และจังหวัดขอนแก่น เพือ่ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้า ของนักวิชาการ ส�ำหรับให้การศึกษาแก่เยาวชน และเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น การจัดแสดงนิทรรศการถาวรเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติ วิวัฒนาการ ธรรมชาติศึกษาและ สิ่งมีชีวิตทางด้านธรณีวิทยาและไดโนเสาร์ อาคารพิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น 1.ส่วนบริการ 2.ห้องปฏิบัติการ ห้องท�ำงาน ห้องสมุด 3.ส่วนนิทรรศการ แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 น�ำเสนอเกี่ยวกับเรื่องการก�ำเนิดโลก หิน แร่และซากดึกด�ำบรรพ์ ส่วนที่ 2 ห้องโถงใหญ่จดั แสดงโครงร่างไดโนเสาร์เหล็กขนาดใหญ่เท่าตัวจริง กระดูกไดโนเสาร์ และแบบจ�ำลองรอยเท้าไดโนเสาร์ บอร์ดจัดแสดงพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ที่เกี่ยวข้องกับไดโนเสาร์ มุมแสดงข้อมูลแหล่งขุดค้นไดโนเสาร์ภูเวียง และซากสัตว์ดึกด�ำบรรพ์ บริเวณนี้ยังสามารถชมห้องปฏิบัติการโบราณชีววิทยาได้ด้วย ส่วนที่ 3 สวนไดโนเสาร์ จัดแสดงหุ่นจ�ำลองเท่าตัวจริงของไดโนเสาร์ทุกชนิดที่พบใน ประเทศไทย ตั้งอยู่ท่ามกลางบรรยากาศของน�้ำตกและป่าไม้
ส่วนที่ 4 จัดแสดงเรื่องวิวัฒนาการของ มนุษย์ สกุลมนุษย์ และต้นก�ำเนิดสายพันธุ์ มนุ ษ ย์ ใ นประเทศไทย ตามด้ ว ยการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี ส่วนที่ 5 ห้องภูเวียง แสดงแบบจ�ำลอง ภูมิประเทศของอ�ำเภอภูเวียง ประวัติการ ก่ อ ตั้ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ สดงถึ ง ภูมิปัญญาของชาวบ้าน นอกจากนิ ท รรศการภายในห้ อ ง นิทรรศการแล้ว ยังมีการจัดแสดงเรื่องหิน บริ เ วณลานกลางแจ้ ง และหุ ่ น จ� ำ ลอง ไดโนเสาร์บริเวณด้านข้างอาคารพิพิธภัณฑ์ อีกด้วย KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 61
_
.indd 61
28/10/2562 15:03:54
62 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 62
28/10/2562 15:03:59
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 63
_
.indd 63
28/10/2562 15:04:04
TRAVEL GUIDE
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดขอนแก่น
64 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 64
28/10/2562 15:04:05
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 65
_
.indd 65
28/10/2562 15:04:06
66 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 66
28/10/2562 15:04:09
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 67
_
.indd 67
28/10/2562 15:04:10
History of buddhism....
วัดบ้านหนองตูม กราบขอพรสมเด็จพระพุทธศากยมุนีศรีสารสุมณฑ์ พระครูสุนทรศีลวงศ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองขอนแก่น / เจ้าอาวาสวัดบ้านหนองตูม
วัดบ้านหนองตูม ตั้งอยู่เลขที่ 99 บ้านหนองตูม หมู่ที่ 2 ต�ำบลหนองตูม อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 3 งาน 6 ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
วัดบ้านหนองตูม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2420 ได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาครัง้ แรก เมือ่ พ.ศ. 2447 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 6.50 เมตร ยาว 9.50 เมตร (อุโบสถหลังเก่า) ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2541 วิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร (อุโบสถ หลังใหม่) 68 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 68
25/10/2562 16:42:36
ปูชนียวัตถุ-เสนาสนะส�ำคัญ
วัดบ้านหนองตูม เป็นที่ประดิษฐานสมเด็จพระพุทธศากยมุนี ศรีสารสุมณฑ์ พระพุทธรูปปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 5 เมตร สูง 8 เมตร ตั้งอยู่บนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ชั้นล่างสามารถใช้ประกอบ พิธีกรรมต่างๆ ได้ และมีอาคารพิพิธภัณฑ์พระครูบุญสารสุมณฑ์ (หลวงปู่บุญมา มุนิโก) ซึ่งเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองตูม ซึ่งเป็น ที่เคารพศรัทธาของชาวบ้านหนองตูม
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูสุนทรศีลวงศ์ (บุญศรี สจฺจวโร ป.ธ.5 พธ.บ.) สถานะเดิม นาม บุญศรี จันทร์โฮง เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 ณ บ้านเลขที่ 9 หมู่ที่ 3 ต�ำบลหนองตูม อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อุปสมบท เมื่อวันอังคารที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ณ วัดศิริ ธรรมิกาวาส อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น พระอุปัชฌาย์ พระครูสิริ สารธรรม พระกรรมวาจาจารย์ พระมงคลวุฒสิ าร พระอนุสาวนาจารย์ เจ้าอธิการปั่น จิตฺปุญโญ ต�ำแหน่งการปกครอง พ.ศ. 2523 เป็นเจ้าอาวาสวัดสุนทโรวาส พ.ศ. 2525-2562 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองตูม พ.ศ. 2526 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองตูม พ.ศ. 2547 เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านหนองตูม พ.ศ. 2562 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองขอนแก่น สมณศักดิ์ พ.ศ. 2556 เป็น พระครูสญ ั ญาบัตร เทียบเจ้าคณะอ�ำเภอ ชัน้ พิเศษ ที่พระครูสุนทรศีลวงศ์ KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 69
2
.indd 69
25/10/2562 16:43:10
History of buddhism....
วัดท่ายาราม งามสงบ ร่มเย็น เป็นหนทางแห่งนิพพาน พระครูมงคลประภัสสร เจ้าอาวาสวัดท่ายาราม
วัดท่ายาราม ตั้งอยู่ที่บ้านโคกท่า หมู่ที่ 5 ต�ำบลหนองตูม อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
ประวัติความเป็นมา
วัดท่ายาราม ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2460 โดยมีพระอาจารย์หลักค�ำ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ เป็นผู้น�ำชาวบ้านสร้างวัดขึ้น ได้รับบริจาค ที่ดินจ�ำนวน 6 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา จากนายสอน นางด้วง วัดนีต้ งั้ ขึน้ โดยชาวบ้านโคกท่า และอยูใ่ นเขตบ้านโคกท่า จึงตัง้ ชือ่ ว่า วัดท่ายาราม ต่อมานายเส็ง สิรบิ ญ ุ มี ได้บริจาคทีด่ นิ เพิม่ อีกจ�ำนวน 1 ไร่ รวมทีด่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 7 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา ส.ค.1 เลขที่ 260 และมีทธี่ รณีสงฆ์จำ� นวน 2 แปลง เนือ้ ที่ 6 ไร่ ส.ค.1 เลขที่ 258-259 อาคารเสนาสนะประกอบด้วยศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 21 เมตร เป็นอาคารไม้สร้างเมื่อ พ.ศ. 2527 และกุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นอาคารไม้ มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2514 70 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 70
25/10/2562 10:05:13
การบริหารและการปกครอง
วัดท่ายาราม มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระหลักค�ำ รูปที่ 2 พระสอ รูปที่ 3 พระแต้ รูปที่ 4 พระเป รูปที่ 5 พระจันดา รูปที่ 6 พระหลา รูปที่ 7 พระสิงห์ รูปที่ 8 พระทอง รูปที่ 9 พระมี รูปที่ 10 พระอ่อนตา รูปที่ 11 พระบุญชู รูปที่ 12 พระนุช รูปที่ 13 พระสมศรี รูปที่ 14 พระชาย รูปที่ 15 พระก่าย รูปที่ 16 พระค�ำภู รูปที่ 17 พระประครอง เขมิโย พ.ศ. 2514-2526 รูปที่ 18 พระอธิการอุดร ผาสุโก พ.ศ. 2526-2528 รูปที่ 19 พระประหยัด พ.ศ. 2532-2534 รูปที่ 20 พระครูมงคลประภัสสร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 71
2
.indd 71
25/10/2562 10:05:23
History of buddhism....
วัดป่าเทพนิมิต นฤมิตแห่งเหล่าเทวดา
พระครูคัมภีร์ธรรมานุวัตร ดร. เจ้าอาวาสวัดป่าเทพนิมิต วัดป่าเทพนิมติ ตัง้ อยูท่ ี่ 297 หมูท่ ี่ 17 บ้านหนองกุง ต�ำบลศิลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เนือ้ ทีว่ ดั 30 ไร่ ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ประวัติความเป็นมา
วัดป่าเทพนิมิต เริ่มก่อตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 โดยมีหลวงพ่อค�ำซ่าน สุภทฺโท (ศรีโนนม่วง) อดีตผู้ใหญ่ บ้านหนองกุง ซึง่ หลังจากเกษียณอายุราชการแล้วได้อปุ สมบทเป็นภิกษุ ในพระพุทธศาสนา และได้มาพ�ำนักในพื้นที่ส�ำนักสงฆ์ของหมู่บ้าน โดยหลวงพ่อมีปณิธานเพื่อมาดูแลรักษาพื้นที่ผืนป่าให้คงอยู่คู่กับ ชาวบ้าน และขณะทีพ่ ำ� นักอยูใ่ นส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ ก็มชี าวบ้านหนองกุง เป็นก�ำลังส�ำคัญในการอุปถัมภ์บำ� รุง และสนับสนุนกิจกรรมสงฆ์มไิ ด้ขาด ซึ่ ง หลวงพ่ อ ค� ำ ซ่ า น สุ ภ ทฺ โ ท ได้ อุ ทิ ศ ตนต่ อ พระพุ ท ธศาสนาด้ ว ย พลังศรัทธาอย่างแรงกล้า เป็นผู้ก่อตั้งวัด และเป็นเจ้าส�ำนักสงฆ์หรือ ประธานสงฆ์รูปแรกของวัด ได้น�ำพาชาวบ้านหนองกุงพร้อมด้วย พุทธศาสนิกชนทัว่ ไปพัฒนาทัง้ ภายนอกทีเ่ ป็นเสนาสนะศาสนวัตถุ และ พัฒนาภายในที่เป็นศาสนธรรมได้อย่างดี จนมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักและ ได้รับความเคารพนับถือของพุทธศาสนิกชนอย่างกว้างขวาง
เดิมที วัดป่าเทพนิมิต มีนามเดิมว่า “วัดป่าบ้านหนองกุง” ต่อมา เมือ่ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2548 วัดป่าบ้านหนองกุง จึงได้รบั การแต่งตัง้ ยกฐานะให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาอย่างถูกต้อง และได้ชื่อวัดว่า “วัดป่าเทพนิมิต” เป็นชื่อมงคลนามตามมติของชาวบ้านหนองกุง เมื่อครั้งประชุมหารือเพื่อขอตั้งวัด ชาวบ้านมีมติร่วมกันว่า ควรตั้งชื่อ วัดให้เป็นมงคลนามเพือ่ ยกย่องเชิดชูเกียรติ นายนิมติ จันทน์วมิ ล อดีต นายอ�ำเภอเมืองขอนแก่น และเลื่อนต�ำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด นครปฐมในขณะนั้น จึงควรมีค�ำว่า “นิมิต” เป็นมงคลนาม และใส่ค�ำ ว่า วัดป่าเทพ เพิ่มเข้าไปด้านหน้า รวมชื่อเต็มว่า “วัดป่าเทพนิมิต” ซึ่งมีความหมายโดยรวมว่า “วัดป่าที่มีเหล่าเทวดาผู้มีอ�ำนาจเนรมิต ให้เกิดผุดขึ้นมา หรือ วัดป่าที่เกิดผุดขึ้นมาด้วยอ�ำนาจการเนรมิต ของเหล่าเทวดา”
72 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
.indd 72
25/10/2562 16:14:11
History of buddhism....
วัดศรีภูเวียง ศูนย์รวมจิตใจของชาวภูเวียง พระครูเขมวุฒิกร
เจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-หนองนาค�ำ (ธ) เจ้าอาวาสวัดศรีภูเวียง
วัดศรีภเู วียง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 262 หมูท่ ี่ 3 บ้านดอนหัน ต�ำบลภูเวียง อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น วัดศรีภูเวียง เป็นที่ต้ังส�ำนักงาน เจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-หนองนาค�ำ (ธ) เป็นศูนย์การเรียนพระปริยตั ธิ รรม เป็นทีต่ งั้ มูลนิธวิ ดั ศรีภเู วียง เป็นส�ำนักงานยุวพุทธิกสมาคมภูเวียง เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวอ�ำเภอภูเวียงและพุทธศาสนิกชนทัว่ ไป
ประวัติความเป็นมา
วัดศรีภเู วียง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต มีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 25 ไร่ 1 งาน 32 ตารางวา ได้รับอนุญาตตั้งวัดเมื่อวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2498 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ประวัติเจ้าอาวาส
ปูชนียวัตถุ
พระประธานลงรั ก ปิ ด ทอง ขนาดหน้ า ตั ก กว้ า ง 1.50 เมตร สูง 2.50 เมตร พระประธานลงรักปิดทอง ขนาดหน้าตักกว้าง 1 เมตร สูง 1.20 เมตร 1 องค์ พระประธานเนื้อทองขัด ขนาดหน้าตักกว้าง 1 เมตร สูง 1.20 เมตร จ�ำนวน 3 องค์
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์อ้วน สุวโจ 2. พระครูสุนทรนวกิจ 3. พระครูพินิจสุทธิธรรม 4. พระครูเขมวุฒิกร
พ.ศ. 2492-2496 พ.ศ. 2496-2507 พ.ศ. 2507-2535 พ.ศ. 2535-ปัจจุบัน
พระครูเขมวุฒิกร นามเดิม อ�ำนวย สกุล น้อยก�ำ ่ เกิดวันจันทร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 อุปสมบทวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมาวัดป่าสิริสมบัติ บ้านหัน พระอุปัชฌาย์ พระครูพินิต สุทธิธรรม, พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสนั ติธรรมคุณ, พระอนุสาวนา จารย์ พระครูประสาทสาสนกิจ วิทยฐานะ พ.ศ. 2517 นักธรรมชั้นเอก, พ.ศ. 2552 ศาสนศาสตร์ บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน สมณศักดิ์ พ.ศ. 2520 เป็นผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดศรีภเู วียง, พ.ศ. 2535 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีภเู วียง, พ.ศ. 2553 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ เอก ในราชทินนามเดิม พระครูเขมวุฒิกร, พ.ศ. 2562 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอ ภูเวียง-หนองนาค�ำ (ธ) KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 73
1
.indd 73
25/10/2562 16:49:26
History of buddhism....
วัดแก้วจักรพรรดิสิริสุทธาวาส ร่วมบุญสร้างพระมหาธาตุเจดีย์เกศแก้วจุฬามณี พระเทวฤทธิ์ เทวธัมโม หัวหน้าส�ำนักสงฆ์วัดแก้วจักรพรรดิสิริสุทธาวาส
วัดแก้วจักรพรรดิสริ สิ ทุ ธาวาส ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองโพนน้อย ต�ำบลกุดขอนแก่น อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นวัดทีม่ สี ขี าว โดดเด่นทั้งเสนาสนะและถาวรวัตถุส่วนใหญ่จะเป็นสีขาว โดย สร้ า งขึ้ น จากศรั ท ธาความเชื่ อ ว่ า ...ที่ ตั้ ง วั ด นั้ น เป็ น สถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ มีดวงจิตสีขาวแห่งองค์นาคราชบ�ำเพ็ญธรรมสถิตอยู่ เป็นเสาหลักเมืองบาดาล เป็นจุดเชือ่ มต่อระหว่างภพภูมเิ พือ่ ให้ เหล่าลูกหลานได้มาขอพร ขอโชคลาภ เบิกทรัพย์สมบัติ 74 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
(3
).indd 74
25/10/2562 15:14:20
หลังจากนั้น ท่านพระครูวินัยธรผาสุข ฐานวีโร อดีตเจ้าอาวาส ก็น�ำพาญาติโยมท�ำศาสนกิจสวดมนต์ไหว้พระอยูเ่ ป็นประจ�ำ โดยท่าน พระครูได้อธิษฐานจิตขอบารมีไปถึงสมเด็จองค์พระปฐมพุทธสิกขีทศพล ที่ 1 หลวงปู่ปาน หลวงพ่อฤาษีลิงด�ำ เหล่าเทวนาคราชทั้งหลาย เพื่อขอสร้างและบูรณะสถานธรรมแห่งนี้ ให้เป็นศูนย์รวมจิตใจแก่ พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย โดยเริ่มท�ำการก่อสร้างเมื่อ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 และได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ วั ด จาก วั ด ถาวรพั ฒ นาราม เป็ น วัดแก้วจักรพรรดิสิริสุทธาวาส คือดินแดนสีขาวนาคราชบ�ำเพ็ญธรรม โดยเชื่อว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่มีดวงจิตนาคราชแห่งการบ�ำเพ็ญ ดวงจิตสีขาวสถิตอยู่ มีเสาหลักเมืองบาดาลเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่าง ภพภูมิ เพื่อให้เหล่าลูกหลานได้มาขอพร ขอโชคลาภ เบิกทรัพย์สมบัติ
ประวัติความเป็นมา
วัดแก้วจักรพรรดิสริ สิ ทุ ธาวาส เดิมชือ่ วัดถาวรพัฒนาราม สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2509 โดย นายมี และนางนวล สิงห์สกล ผู้เป็นเจ้าของที่ดิน ได้ยกพื้นที่เพื่อให้สร้างวัด เจ้าอาวาสรูปแรกคือ หลวงปู่บุญมา ถาวโร รูปต่อมาคือ หลวงพ่อบุญผูก ผาสุโก ซึ่งท่านได้น�ำญาติโยมประกอบ ศาสนกิจได้เพียง 5 ปี ก็ถึงแก่การมรณภาพ หลังจากนั้นก็ไม่มีพระ มาจ�ำวัดอีก ถ้ามีก็มีเพียงการแวะมาพ�ำนักชั่วคราวเท่านั้น พ.ศ. 2557 พระครูวินัยธรผาสุข ฐานวีโร (อดีตเจ้าอาวาส) พร้อมคณะได้ธดุ งค์ผา่ นมาและได้แวะพัก พร้อมน�ำญาติโยมปฏิบตั ธิ รรม เป็นเวลา 3 วัน ท�ำให้ชาวบ้านเกิดความศรัทธา จึงได้นิมนต์พระครู พร้อมคณะมาจ�ำพรรษาที่วัด ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา โดยมีเรื่องเล่าว่า ก่อนที่พระครูวินัยธรผาสุข ฐานวีโร จะมา จ�ำพรรษาทีว่ ดั แห่งนี้ ในคืนวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557 คนแก่ในหมูบ่ า้ น เกิดนิมิตอัศจรรย์ ว่ามีพญานาคล�ำตัวใหญ่สีขาวเลื้อยมาเป็นวงกลม เหนือวัดบนท้องฟ้า พอรุ่งขึ้นต่อมา ท่านพระครูใบฎีกาผาสุข ฐานวีโร ก็ได้มาจ�ำพรรษา ณ วัดแห่งนี้ โดยตั้งจิตอธิษฐานว่าหากสถานที่แห่งนี้ จะมีความเจริญรุ่งเรืองต่อไปในภายภาคหน้าขอให้เกิดนิมิตหมายที่ดี หลังจากตั้งอธิษฐานผ่านไปเพียง 2 วัน ก็เกิดพายุฝนตกกระหน�่ำ ลงมาอย่างหนักติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน 3 คืน น�ำ้ ท่วมพื้นที่โดยรอบ แต่ได้เกิดสิ่งอัศจรรย์คือเกิดหลุมขนาดใหญ่ โดยน�้ำที่ท่วมอยู่ก็ไหล ลงหลุมใหญ่นั้นหมด โดยไม่ทราบว่าไหลไปทางไหนต่อ ซึ่งในปัจจุบัน หลุมขนาดใหญ่นั้นเป็นที่ตั้งของพระสมเด็จองค์ปฐมบรมจักรพรรดิ ปางเปิดโลก ที่ถือว่าสูงที่สุดในประเทศไทย หลังจากนั้นชาวบ้านก็ได้ นิมิตถึงพญานาคสีขาวอยู่ประจ�ำ ซึ่งนั้นคือนิมิตหมายแห่งความดีงาม ที่จะเกิดขึ้น KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 75
(3
).indd 75
25/10/2562 15:14:27
นอกจากนี้ที่วัดแห่งนี้ยังมี ปู่ศรีสุทโธ-ย่าศรีปทุมมา ที่ลูกหลาน จะได้กราบไหว้ขอพร และมีสมบัติอจินไตย ซึ่งได้จากการอัญเชิญ ไว้ส�ำหรับลูกหลานปู่ย่า ได้บูชากลับไปกราบไหว้ เพื่อเป็นสิริมงคล ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะเป็นดวงแก้วพญานาค พระแก้วมณีโชติ ฯลฯ ทัง้ นีก้ อ่ นการสร้างเสนาสนะและถาวรวัตถุขนึ้ แต่ละอย่างนัน้ ท่าน พระครูวินัยธรผาสุข ฐานวีโร อดีตเจ้าอาวาส ต้องน�ำวัตถุประสงค์ขึ้น กราบเรียนขอบารมีแห่งสมเด็จองค์ปฐมพุทธสิกขีทศพลที่ 1 หลวงปูป่ าน หลวงพ่อฤาษีลิงด�ำ และเหล่าเทวนาคราชทั้งหลาย จึงท�ำการสร้างได้ จึงเป็นดินแดนสีขาวแห่งนาคราชบ�ำเพ็ญธรรมที่เห็นอยู่ปัจจุบันนี้
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดแก้วจักรพรรดิสิริสุทธาวาส ขอเชิญท่านสาธุชนร่วมสร้าง “พระมหาธาตุเจดีย์เกศแก้วจุฬามณี” ได้ที่ ธนาคารกรุงไทยเลขที่ บัญชี 677-9-16166-7 ชื่อบัญชี กองบุญร่วมสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ เกศแก้วจุฬามณี โดย พระเทวฤทธิ์ เทียบปัด นายพิชัย พัดค้อ และ นายเกษม ลุสีดา
76 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
(3
).indd 76
25/10/2562 15:14:38
History of buddhism....
วัดสันติวนาราม กราบขอพรพระพุทธรูปอู่ทองอุดมทรัพย์ พระครูสันติธรรมคุณากร เจ้าอาวาสวัดสันติวนาราม วัดสันติวนาราม เลขที่ 118 หมู่ 4 บ้านโคกสง่า ต�ำบลบ้านเรือ อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต เป็นวัด ที่มีสถานที่สงบ ร่มเย็น เหมาะแก่การเจริญภาวนา
ประวัติความเป็นมา
วัดสันติวนาราม เดิมทีชาวบ้านเรียกว่า “วัดป่าสันติพงษ์วนาราม” โดยนางหลอย มณีพงษ์ เป็นผู้ถวายที่ดินให้สร้างวัด มีเนื้อที่ 18 ไร่ 3 งาน 025/10 ตารางวา ปี พ.ศ. 2539 ได้ดำ� เนินการขออนุญาตสร้าง วัด ปี พ.ศ. 2542 ได้รับอนุมัติตั้งวัดจากกระทรวงศึกษาธิการให้นาม ว่า “วัดสันติวนาราม” ปี พ.ศ. 2542 ได้รับการแต่งตั้งเจ้าอาวาส ปี พ.ศ. 2549 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูสันติธรรมคุณากร ฉายา รกฺขิตธมฺโม สถานะเดิม ชือ่ จ�ำเนียร วงศ์เจริญ เกิดเมือ่ วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 บรรพชา-อุปสมบท วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 วัดส�ำราญ นิเวศ อ�ำเภอเมืองอ�ำนาจเจริญ จังหวัดอ�ำนาจเจริญ พระอุปัชฌาย์ พระครูทัศนประกาศ วิทยฐานะ นักธรรมเอก วุฒิสามัญ ปริญญาโท สมณศักดิ์ พ.ศ. 2559 ได้รับเลื่อนสมณศักดิ์ เจ้าอาวาสชั้นเอก นามเดิม ที่พระครูสันติธรรมคุณากร
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดสันติวนาราม ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนทั้งหลาย ร่วมสร้าง พระพุทธรูปไสยาสน์ปางเสวยสุข ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 08-7857-2847, 09-6786-8497 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 77
1
.indd 77
25/10/2562 17:10:18
History of buddhism....
วัดอาคเนย์
กราบพระเถระผู้เปี่ยมด้วยเมตตาธรรม
หลวงปู่พระครูประสาทสาสนกิจ (หลวงปู่ประสาท มหานาโค)
ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-เวียงเก่า(ธ) / เจ้าอาวาสวัดอาคเนย์
วัดอาคเนย์ บ้านโคกสงเปือย ต�ำบลทุง่ ชมพู อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น นับเป็น ศูนย์รวมจิตใจของทัง้ ฆราวาสและพระภิกษุ-สามเณรในอ�ำเภอภูเวียง เนือ่ งด้วยมีหลวงปู่ พระครูประสาทสาสนกิจ หรือ หลวงปูป่ ระสาท มหานาโค เป็นเจ้าอาวาส และเป็นทีป่ รึกษา เจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-เวียงเก่า(ธ)
เทศนาธรรมหลวงปู่ เรื่อง “บารมีต่างกัน”
“บารมีแต่ละคนมันบ่คือกันเนาะ มันผิด กันอยู่ ผู้จ่ังหนึ่งนั้นเฮ็ดได้ดี แต่ว่าคนบ่นิยม สมพรเท่าที่ควร บัดส่วนตัวเพิ่นในส่วนของ เพิ่นนั้นเฮ็ดได้เก่ง ข้อวัตรปฏิบัติของเพิ่นแต่ มันผิดบารมี ผิดอานิสงส์แตกต่างกัน เพราะว่า องค์จงั่ หนึง่ สิไปให้คนนิยมสมพรเท่าเทียมกันนิ บ่แม่นคือจั่งเฮาได้ยินประวัติพระสาวกของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเฮานิละองค์จั่งหนึ่งกะมี คนนิยมชมชอบหลาย องค์จั่งหนึ่งกะบ่ปานได๋ นิละจั่งเรียกว่าบารมีมันต่างกัน”
ประวัติหลวงปู่พระครูประสาทสาสนกิจ
หลวงปู ่ พ ระครู ประสาทสาสนกิ จ อายุ 85 พรรษา 65 น.ธ. เอก เกิดเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 ท่านได้เข้ารับ การอุปสมบท เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2497 ตรงกับ วันอังคาร แรม 8 ค�่ำ เดือน 6 ณ อุ ท กุ ก เขปสี ม า(สิ ม น�้ ำ ) วัดอาคเนย์ บ้านกุดปลาเฒ่า ต�ำบลหว้าทอง อ�ำเภอภูเวียง จังหวัด ขอนแก่น โดยมี พระครูสุนทรนวกิจ(ค�ำพวย) เป็นพระอุปชั ฌาย์ และ พระสมุหบ์ ญ ุ เรือง อติวโิ ร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ได้รับ ฉายานามว่า “มหานาโค” ซึ่งแปลความว่า “ผู้ประเสริฐยิ่ง” หลวงปู ่ พ ระครู ป ระสาทสาสนกิ จ เคยปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ในต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-เวียงเก่า(ธ) จนมีอายุครบ 80 ปีบริบูรณ์มหาเถรสมาคมจึงมีมติแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอภูเวียง-เวียงเก่า(ธ) ในปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมาจวบจนปัจจุบัน
หอระฆัง
ศาลาการเปรียญ
78 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
.indd 78
25/10/2562 9:57:52
History of buddhism....
วัดป่าสิริสมบัติ สักการะพระพุทธสิริสมบัติโสภณ พระครูวิบูลศีลโสภณ
เจ้าคณะต�ำบลหนองกุงธนสาร(ธ) / เจ้าอาวาสวัดป่าสิริสมบัติ
วัดป่าสิริสมบัติ เลขที่ 269 บ้านหันใหญ่ หมู่ที่ 4 ต�ำบล หนองกุงธนสาร อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นวัดทีม่ คี วามร่มรืน่ จากต้นไม้หลากชนิด เป็นสถานทีส่ ปั ปายะจึงเหมาะกับการปฏิบตั ิ ซึง่ เป็นแนวทางทีส่ ำ� คัญของวัด
ประวัติความเป็นมา
วัดป่าสิริสมบัติ ก่อตั้งปี พ.ศ. 2450 และได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา พ.ศ. 2471 มีที่ดิน 26 ไร่ เดิมเป็นวัดร้างมีเพียงโบสถ์ หลังเล็กทีผ่ พุ งั โดยมีพระมหาขุน และพระค�ำหมืน่ น�ำพาชาวบ้านบูรณะ ขึ้นมาใหม่ และเนื่องจากบริเวณวัดมีป่าหนามหันขึ้นอยู่จ�ำนวนมาก วัดนี้จึงมีชื่อเรียกติดปากชาวบ้านว่า “วัดป่าบ้านหัน” ซึ่งที่ผ่านมามี พระเถระสายกรรมฐานมาโปรดญาติโยมไม่เคยขาด เช่น หลวงปูจ่ นั ทร์ เขมปตฺโต
อาคารเสนาสนะ
ภายในวัดมีการก่อสร้างเสนาสนะเท่าที่จ�ำเป็น มีเพียงศาลา การเปรียญและโบสถ์หลังเก่าซึ่งในปัจจุบันไม่สามารถบ�ำเพ็ญกิจ ของสงฆ์ได้ ทางวัดจึงอยู่ระหว่างด�ำเนินการสร้างอุโบสถ โดยได้รับ ความเมตตาจากพระเดชพระคุ ณ พระธรรมดิ ล ก วั ด ป่ า แสงอรุ ณ เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 และประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธสิ ริ ส มบั ติ โ สภณ พระประธานอุ โ บสถ ปางเชียงแสน ขนาดหน้าตัก 60 นิ้ว
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนิกชนท่านใด มีจิตศรัทธาจะร่วมสร้างอุโบสถอันเป็น บุญใหญ่ เพื่อให้เป็นสถานที่ปฏิบัติกิจของสงฆ์และเพื่อสืบสานอายุ พระพุทธศาสนาให้ด�ำรงสืบไปชั่วลูกชั่วหลาน สามารถติดต่อได้ที่ พระครูวบิ ลู ศีลโสภณ โทร. 08-9577-5238 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 79
1
.indd 79
25/10/2562 17:11:23
History of buddhism....
วัดป่าบ้านโป่งสังข์ บ้าน-วัดหนุนนำ� ค้ำ�จุนพระศาสนา พระครูโอภาสธรรมคุณ
เจ้าอาวาสวัดป่าบ้านโป่งสังข์
วัดป่าบ้านโป่งสังข์ ตัง้ อยูท่ ี่ 219 หมู่ 6 ต�ำบลหว้าทอง อ�ำเภอ ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันมีพระครูโอภาสธรรมคุณ เป็น เจ้าอาวาส ซึ่งท่านได้ร่วมกับคณะศรัทธาของหมู่บ้านโป่งสังข์และ หมูบ่ า้ นใกล้เคียง พัฒนาสิง่ ก่อสร้างต่างๆ และศาสนวัตถุเพือ่ จรรโลง และสืบสานพระพุทธศาสนาให้เจริญรุง่ เรืองสืบไป อาทิ
“พระพุทธโคดมสมปรารถนา” (หลวงพ่อสมใจนึก)
ประดิษฐานที่ศาลา
“พระพุทธอิสานบรมนารถมหามุนี”
ประดิษฐานอยู่กลางแจ้งริมน�้ำ องค์จ�ำลองประดิษฐานอยู่ใต้ฐาน พระพุทธอิสานฯ
“พระพุทธประธานสมานใจเนตรทิพย์” (หลวงพ่อตาทิพย์)
พระประธานที่กำ� ลังก่อสร้างพร้อมกับการสร้างอุโบสถ
พระครูโอภาสธรรมคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าบ้านโป่งสังข์ ได้ด�ำเนินโครงการจิตอาสา คือ โครงการแบ่งปัน ความสุขแด่เพือ่ นผูย้ ากไร้ในถิน่ ทุรกันดาร โดยรับบริจาค สิ่งของเพื่อน�ำไปแจกจ่ายตามพื้นที่ที่ขาดแคลน ติดตามข่าวสารได้ที่ Facebook โครงการแบ่งปัน ความสุขแด่เพือ่ นฯ
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
พุทธศาสนิกชนที่ประสงค์จะร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดป่าบ้านโป่งสังข์ ติดต่อได้ที่พระครูโอภาสธรรมคุณ โทร. 085-001-5936
เทศนาธรรมพระครูโอภาสธรรมคุณ ชีวิตนี้ มีอะไร ให้มุ่งหมาย หญิงและชาย ให้ตรึกตรอง มองให้เห็น คุณความดี รีบท�ำไว้ ให้ชัดเจน กายเน่าเหม็น ไม่เสียค่า ราคาคน
80 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
.indd 80
25/10/2562 14:43:06
History of buddhism....
วัดป่าค้อสุทธาราม ประวัติความเป็นมา
เมื่อปี พ.ศ. 2539 พ่ออดีตก�ำนันสมบูรณ์ แม่ค�ำบาง บุตรจันทร์ ได้มศี รัทธาในพระพุทธศาสนา ได้นำ� บ้านของตนมาสร้างทีพ่ กั ให้พระสงฆ์ ที่สัญจรไปมาได้พักอาศัยในการประพฤติปฏิบัติธรรม ยังไม่ได้ก่อตั้ง เป็นวัด ต่อมาพ่ออดีตก�ำนัน พร้อมชาวบ้านค้อหรือบ้านใกล้เคียง ได้ ช่วยกันท�ำนุบำ� รุงพระสงฆ์ทเี่ ข้ามาปฏิบตั ธิ รรมด้วยดีเสมอมา ตลอดจน พ่อผู้ใหญ่จรัญ สิงห์สกล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 พ่อผู้ใหญ่สัมฤทธิ์ เสนาเลี้ยง ผู้ใหญ่บา้ นหมู่ 12 ต่อมาแยกหมู่บ้านก็มีหมู่ 15 คือพ่อผู้ใหญ่ประเวช สิงห์เมืองพล ตลอดถึงกรรมการหมู่บ้านบ้านค้อ เช่น นายกประยูร ได้ชว่ ยกันอุปถัมภ์ที่พักสงฆ์แห่งนี้ ต่อมาเริ่มปี พ.ศ. 2549 คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้ใหญ่บา้ น ผู้ช่วย อบต. ตลอดถึงชาวบ้านค้อทุกครอบครัว ได้มศี รัทธาทีจ่ ะสร้างวัด และ ถาวรวัตถุขึ้นที่ส�ำนักแห่งนี้ ในปี พ.ศ. 2552 พ่อดีได้สายบุญมาจาก กรุงเทพฯ คือ คุณแม่ประยูร พ่ออนุศักดิ์ มะเปี่ยม พร้อมคณะมา ทอดผ้าป่าหาทุนสร้างศาลาหลังปัจจุบัน และคณะคุณแม่นุ้ย คุณกิ่ง คุณรุง่ นภา พร้อมด้วยญาติมาจากกรุงเทพฯ อีกคณะหนึง่ มาช่วย ตลอด ถึงชาวบ้านค้อร่วมกันจนส�ำเร็จตามความตั้งใจ เมื่อปี พ.ศ. 2554 ในกาลต่อมาก็มีคุณแม่หนูไอ่ มะโนชัย พ่อพันเลิศ ค�ำมุเวียง พ่อสมชาติ คุณาจันทร์ ได้เดินเรื่องขอตั้งวัดสร้างวัด โดยมีพ่อผู้ใหญ่ ประสาร สิงห์สกล ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 พ่อผู้ใหญ่แสงเดือน ยศวงษ์ ผู้ใหญ่บา้ นหมู่ 12 พ่อผู้ใหญ่บุญธรรม โพธิ์สาจันทร์ และพ่อผู้ช่วยทั้ง 3 หมูบ่ า้ น ตลอดถึงคณะทายกทายิกา และผูท้ รงคุณวุฒพิ อ่ มหาชัยวัฒน์ นามบุตร พ่ออดีตผู้ใหญ่หมู่ 1 พ่อจรัญ สิงห์สกล พ่อนายกประยูร พรมนนท์ ท่านทั้งหลายที่กล่าวนามมานี้ และที่ไม่ได้กล่าวมา ก็ล้วน เป็นผูใ้ ห้การสนับสนุนวัดป่าค้อสุทธารามมาด้วยดีตลอดมา และคุณแม่ อาม่าซุ่ยจู แซ่โง้ว คุณแม่อาม่าสุ่ยฮวง แซ่โง้ว คุณแม่ประยูร มะเปี่ยม คุณวิชยั คุณรุง่ นภา กันทะณีย์ คุณกิง่ แก้ว และชาวบ้านค้อทุกครอบครัว เป็นเจ้าภาพสร้างอุโบสถให้กับทางวัด เพื่อให้เป็นสถานที่ปฏิบัติกิจ ของสงฆ์ต่อไป
จากพุทธศรัทธาสู่พระอารามอันมั่นคง พระมงคล ขนฺติโก เจ้าอาวาสวัดป่าค้อสุทธาราม วัดป่าค้อสุทธาราม ตัง้ อยูท่ บ่ี า้ นค้อ หมู่ 1 หมู่ 12 และหมู่ 15 ต�ำบลกุดขอนแก่น อ�ำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น เป็นวัดทีส่ งบร่มรืน่ เหมาะกับการปฏิบตั ธิ รรม
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 81
1
.indd 81
25/10/2562 14:36:06
History of buddhism....
วัดป่าค�ำหัวช้าง บทพิสูจน์แห่งศรัทธาและปาฏิหาริย์ พระศิริวัฒน์ ถาวรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดป่าค�ำหัวช้าง
วัดป่าค�ำหัวช้าง บ้านมิตรภาพ ต�ำบลม่วงหวาน อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
ประวัติความเป็นมา
การก่อตัง้ วัดป่าค�ำหัวช้างนัน้ ไม่ได้มกี ารบันทึก ประวัตทิ แี่ น่นอนไว้ พระศิรวิ ฒ ั น์ ถาวรธมฺโม ซึง่ เป็น เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั ให้สมั ภาษณ์วา่ “อาตมาได้ พ ยายามค้ น หาประวั ติ และ สอบถามกับคนเฒ่าคนแก่ในหมู่บ้าน แต่ก็ไม่มีใคร ทราบประวัตทิ แี่ น่นอนของวัดนี้ เพียงแต่บอกว่าวัดนี้ สร้างมาประมาณเกือบ 100 ปีแล้ว มีเนื้อที่ 31 ไร่ 9 ตารางวา”
หลวงปู่ทวด (องค์ต้นแบบ)
วัดป่าค�ำหัวช้าง อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น หน้าตักกว้าง 19.99 เมตร ความสูง 39.99 เมตร (รวมฐาน) ปั้นโดย ช่างบุญสืบ ชัยวุฒิ “เช่ น เดี ย วกั บ ประวั ติ เจ้ า อาวาสในอดี ต ก็ ไ ม่ มี ก ารบั น ทึ ก ไว้ เ ลย เท่ า ที่ ท ราบก็ มี หลวงพ่อสวาท เจ้าอาวาสรูปก่อนที่อาตมาจะมาเป็นเจ้าอาวาส เนื่องด้วยวัดนี้เคยเป็น วัดร้างมาเป็นช่วงๆ อีกทั้งคนสมัยก่อนก็มักเล่าลือกันว่า ป่าช้าวัดนี้ผีดุ บ้างก็เรียกว่า วัดโค้งร้อยศพ บ้างก็พูดท�ำนองว่าเจ้าที่แรงผีดุ บรรดาพระภิกษุ สามเณร และญาติโยม มักจะโดนหลอกกันเป็นประจ�ำ ถึงขนาดว่าพระและแม่ชีบางรูปถึงกับมีอาการวิกลจริต ก็มี แต่เท่าที่อาตมามาอยู่ 20 กว่าปีแล้ว ก็ไม่เห็นมีอะไร” 82 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
4
.indd 82
25/10/2562 13:37:27
“แต่ความเห็นส่วนตัวอาตมา กลับคิดว่าเจ้าที่ที่นี่ดีมากๆ ด้วยซ�ำ้ ไป เพราะเคยมีเหตุการณ์สองครัง้ แล้ว ทีอ่ าตมาได้ยนิ เสียง เคาะหน้าต่าง และมีเสียงเรียกบอกอาตมาว่า “ตื่นได้แล้วๆ” อาตมาตกใจตืน่ มาก็พบว่ามีขโมยขึน้ พอขโมยรูว้ า่ อาตมารูต้ วั แล้ว เขาก็วิ่งหนีไป แต่ส่วนพระเณรที่มาจ�ำพรรษาอยู่กับอาตมา ก็อยู่ไม่ได้เหมือนกัน ต่างก็บอกว่าผีดุ เจ้าที่แรง ต่างก็ได้ย้ายไป จ�ำพรรษาที่อื่น” ส่วนที่มาของชื่อ “วัดป่าค�ำหัวช้าง” นั้น พระศิริวัฒน์ ถาวร ธมฺโม เจ้าอาวาส เล่าถึงที่มาว่า “จากการที่อาตมาได้ฟังผู้เฒ่าผู้แก่ซึ่งเป็นคนในหมู่บ้านนี้ เขาเล่าต่อๆ กันคือ แต่เดิมบริเวณที่ตั้งวัดป่าค�ำหัวช้างนี้ เป็น ทางเดินทัพผ่านและเป็นที่พักแรมของพวกทหารและช้างศึก ทีก่ ลับจากการรบทีป่ ระเทศลาว แล้วก็มชี า้ งศึกตกไปในบ่อโคลน ขนาดใหญ่และลึก ไม่สามารถช่วยขึ้นมาได้และก็ล้มตายในที่สุด ตอนหลังก็พบแต่โครงกระดูกช้าง และบ่อโคลนตมนี้ก็ค่อยๆ ตืน้ เขินขึน้ ตามกาลเวลา ต่อมาก็ตงั้ ชือ่ ว่า “พุทธสถานค�ำหัวช้าง” เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ช้างที่ล้มตายในอดีต เมื่ออาตมามาเป็น เจ้าอาวาส ก็ได้ทำ� การเดินเรือ่ งขอตัง้ วัดจนได้เป็นวัดสมบูรณ์แล้ว โดยเรียกชื่อให้สั้นลงเป็น “วัดป่าค�ำหัวช้าง” ในปัจจุบัน”
ปาฏิหาริย์ “ช้างแก้วกระดิ่งทอง”
“ชัางพลายเเก้วกระดิ่งทอง”ช้างศึกที่มาล้ม(ตาย) ที่วัดป่าค�ำหัวช้างในต�ำนาน
ท่านเจ้าอาวาสวัดป่าค�ำหัวช้าง ยังได้เล่าถึงรูปปั้นช้างที่อยู่ภายในวัด ซึง่ มีเรือ่ งปาฏิหาริยค์ อื “ในปี พ.ศ. 2552 อาตมาได้ทำ� การปัน้ ช้างใหญ่ 1 เชือก ทีบ่ ริเวณหน้าวิหาร องค์พระใหญ่ คือในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ขณะทีอ่ าตมาพาสองสามี ภรรยากล่าวค�ำถวายทานอยูน่ นั้ ภรรยาของเขามีอาการแปลกๆ ออกมาคือมือ ทีพ่ นมอยูส่ นั่ แรงมากๆ อาตมาเลยมาถามเขาว่า...โยมเป็นอะไร เขาก็บอกว่า... เป็นเจ้าที่วัดป่าค�ำหัวช้าง อาตมาถามไปว่า...มีอะไร เขาก็ตอบมาว่า... ช้างทีก่ ำ� ลังปัน้ อยูน่ นั้ ให้ตงั้ ชือ่ ให้ดว้ ยว่า “แก้วกระดิง่ ทอง” อาตมาเลยถามว่า... ชือ่ นีส้ ำ� คัญอย่างไร เขาก็ตอบว่า...เป็นช้างศึกของน้องสาวคุณย่าโม เดินทัพ กลับมาจากประเทศลาวแล้วมาล้มตายทีน่ ี่ ซึง่ แต่เดิมตามต�ำนานทีเ่ ล่าสืบกัน มานัน้ ไม่รวู้ า่ เป็นช้างของใคร มีความส�ำคัญอย่างไร” “ก่อนทีท่ า่ นจะออกจากร่างนีไ้ ป ท่านได้กล่าวว่า...ถ้าท�ำอย่างทีบ่ อกไว้นี้ วัดจะรุ่งเรืองและเจริญมาก ท่านยังถามอาตมาอีกว่า...จ�ำได้ไหม ที่วันนั้น ถามว่าจะให้สมบัตเิ ก่าใต้จอมปลวกใหญ่แก่อาตมา ถ้าตอบว่า...เอา จะไม่ให้อยู่ เผอิญวันนั้นอาตมาตอบท่านไปว่า...ไม่เอาหรอกครับ ไม่รู้จะเอามาท�ำไม ช่วยผมสร้างวัดดีกว่า” “ต้องเล่าย้อนหลังไปเมื่อ 8 ปีก่อนหน้านั้น อาตมาเห็นศาลของท่าน เจ้าทีว่ ดั เก่าแก่ผพุ งั แล้วกองอยูก่ บั พืน้ อาตมาเลยท�ำให้ใหม่ ท่านก็มาเข้าร่าง โยมแล้วบอกว่าจะให้สมบัตเิ ก่าใต้จอมปลวกแก่อาตมา อาตมาเลยตอบว่า... ไม่ เ อาหรอกครั บ แต่ ต อนหลั ง อาตมาก็ ไ ด้ พ ระทองเก่ า ๆ หลายองค์ จากท่าน และวัดก็เจริญอย่างที่เห็นในปัจจุบันนี้ KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 83
4
.indd 83
25/10/2562 13:37:33
วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ในพิธีเททองหล่อหลวงปู่ทวด (องค์ ต้นเเบบ) ในขณะที่ต้มทองให้เดือด อยู่นั้น โยมที่มาร่วมงานในพิธีได้ ถ่ายภาพเเล้วเกิดติดรูปนีข้ นึ้ มา เลยน�ำ มาให้อาตมาดูแล้วถามว่า “หลวงพ่อ เห็นเป็นรูปอะไร” อาตมาดูเเล้วเห็น เป็นภาพพระนั่งพนมมือถือดอกบัว ที่ตักท่านมีลูกเเก้วอยู่ด้วย บางคนก็ เห็นเป็นรูปอื่น
วันที่ 19 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 ในวั น เดี ย วกั น กั บ ที่ เ ททองหล่ อ หลวงปู่ทวด(องค์ต้นเเบบ) ขณะที่ รถจอดติดอยูบ่ ริเวณหน้าวัดนัน้ โยม เขาได้ถา่ ยภาพเข้ามาในวัดบริเวณที่ ตั้งองค์หลวงปู่ทวด ภาพที่ถ่ายนั้น พอมาดูเกิดเห็นเป็นภาพนี้ขึ้นมา บางคนเห็นเป็นภาพพระพุทธรูป บางคนเห็นคล้ายพญานาคเเล้วเเต่ คนจะมอง
วันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 คุณนพวรรณ เเสนธรรมพล เขาได้ ถ่ายรูปบริเวณด้านหน้าองค์หลวงปูท่ วด(องค์ตน้ เเบบ) พอเขาถ่ายเสร็จ ก็พบว่าบริเวณหางคิ้วซ้ายไปถึงขอบตาเขา ท�ำไมถึงมีเส้นโค้งสีขาวๆ เส้นใหญ่ๆ ทั้งที่ไม่ได้ใช้แฟลช เขาจึงมาถามอาตมาว่า เขาจะเป็น อะไรไหม ท�ำไมถ่ายรูปเเล้วถึงเป็นเเบบนี้ อาตมาเลยมาลองขยายดู เผอิญไปเจอหน้าหลวงปูท่ วดขึน้ อยูบ่ นสังฆาฏิของท่าน อาตมาเลยบอก เขาว่าไม่เป็นอะไรหรอก กลับเป็นมงคลอย่างยิง่ ทีท่ า่ นมาปรากฏให้เห็น
วันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ. 2560 ในพิธเี ททองหล่อหัวใจหลวงปูท่ วด ขณะที่ท�ำการเททองเสร็จนั้น โยมเขาได้ถ่ายรูปบริเวณเบ้าเททอง หลวงปูน่ นั้ พอมาดูรปู ทีหลัง เห็นเป็นภาพเหมือนหลวงปูท่ วดมาลอย อยูเ่ หนือบริเวณเบ้าเททอง เห็นเเล้วเป็นทีน่ า่ อัศจรรย์มาก
วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ประมาณเกือบ 5 โมงเย็น ขณะนัน้ ช่างบุญสืบ ก�ำลังตกเเต่งบริเวณปากของรูปหล่อหลวงปูท่ วดอยูน่ นั้ อาตมาได้ถา่ ยภาพช่างบุญสืบ ไว้หลายภาพ เเต่พออาตมาเปิดดูกต็ อ้ งเเปลกใจ เพราะเห็นใบหน้าหลวงปูท่ วดมา ลอยอยู่เหมือนท่านมาตรวจงานว่าปั้นเหมือนหรือไม่ เเต่ในภาพเหมือนท่านยิ้ม เหมือนกับท่านพอใจ อาตมาก็สบายใจเเละดีใจเป็นที่สุดที่ท่านยิ้ม อาตมา ถือว่าเป็นมงคลเเก่ชีวิตที่ถ่ายภาพติดใบหน้าหลวงปู่ทวด เพราะอาตมาเป็น ผู้ด�ำเนินงานการเททองหลวงปู่ทวดเนื้อทองเหลืององค์ใหญ่ที่สุดในโลกองค์นี้ เหมือนท่านมาช่วยดูเเลการด�ำเนินงานทัง้ หมดเเละมาให้กำ� ลังใจด้วย เพราะอาตมา ก็สวดขอบารมีทา่ นทุกคืน ถ้าอย่างนัน้ คงไม่อยูม่ าถึงขนาดนี้ คงจะมรณภาพไปแล้ว 84 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
4
.indd 84
25/10/2562 13:37:36
วิหารองค์พระใหญ่ วัดป่าค�ำหัวช้าง
วัดป่าค�ำหัวช้าง บ.มิตรภาพ ต.ม่วงหวาน อ.น�้ำพอง จ.ขอนเเก่น
หัวใจหลวงปู่ทวด(จ�ำลอง)
ศาลเจ้าปู่คำ� หัวชัาง
บันไดทางขึ้นศาลเจ้าปู่คำ� หัวช้าง
เจ้าเเม่ตะเคียนทอง(เจ้าเเม่กัลยาณี)
พระเทพวิสุทธิคุณ (เจ้าคณะจังหวัดขอนเเก่น) องค์อุปถัมภ์เเละที่ปรึกษา ในการหล่อหลวงปู่ทวดเนื้อทองเหลือง(ใหญ่ที่สุดในโลก)องค์นี้
น�้ำมนต์หลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด
“ศาลเจ้าปู่คำ� หัวช้าง” มีทั้งคนมา “ขอ” มีทั้งมา “เเก้บน” ในเเต่ละวันเป็นจ�ำนวนมาก ท่านเป็นที่พึ่งของคนทั้งคนใกล้คนไกล
เจ้าเเม่ตะเคียนทอง (มาวันที่ 22 มี.ค. 2561) มาคืนเเรกก็ถ่ายติดภาพใบหน้าคนโบราณ) ดังในรูป
พระศิริวัฒน์ ถาวรธมฺโม (เจ้าอาวาส) ผู้ดำ� เนินงาน KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 85
4
.indd 85
25/10/2562 13:37:48
History of buddhism....
วัดกูป ่ ระภาชัย
โบราณสถานศักดิ์สิทธิ์สมัยขอมโบราณ วัดกู่ประภาชัย ตั้งอยู่ที่บ้านนาค�ำน้อย ต�ำบลบัวใหญ่ อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ภายในอาณาบริเวณของวัด มีโบราณสถานที่ส�ำคัญและพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นแหล่งเรียนรู้ กู่ประภาชัย เพื่อให้เยาวชนประชาชนทั่วไปได้ศึกษา
ประวัติปรางค์กู่ประภาชัย
ปรางค์กู่ประภาชัย หรือ กู่บ้านนาค�ำน้อย เป็นอโรคยศาล สถาปัตยกรรมของขอม ก่อสร้างด้วยศิลาแลงและหินทราย สร้าง ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมโบราณ ในราว พุทธศตวรรษที่ 18 (พ.ศ. 1720-1780) สภาพปัจจุบันสลักหักพัง ลงมาก แต่ได้รับการดูแลรักษาการจากวัดและชุมชนเป็นอย่างดี เป็ น โบราณสถานที่น ่าศึก ษาและไปสัก การบูชามี พ ระพุ ท ธรู ป ประดิษฐานไว้ มีหนิ ก้อนใหญ่ทถี่ อื ว่าเป็นหินศักดิส์ ทิ ธิว์ างไว้บนแท่น ที่ท�ำขึ้นใหม่เพื่อให้ประชาชนทั่วไปมาสักการบูชา
กู่ประภาชัย หรือบางคนเรียกว่ากู่บ้านนาค�ำน้อย เรียกตามชื่อของ คหบดี คือ นายประภาส บุญไชย ผู้เข้ามาพัฒนาหมู่บ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2459-2546 และเป็ น ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง วั ด กู ่ ป ระภาชั ย เมื่ อ ปี พ.ศ. 2482 ต่อมาจึงได้เปลี่ยนชื่อโบราณสถานนี้ว่า ปรางค์กู่ประภาชัย ตามนามของ ผู้ริเริ่มพัฒนา
86 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.indd 86
25/10/2562 17:20:06
ในการบูรณะของกรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2541-2543 ได้รื้อลง มาและประกอบขึ้นใหม่ตามวิธีบูรณะโบราณสถานแบบอนัสติโรซีล และเสริมส่วนที่พังทลายลงไปถึงยอดปรางค์ ทิศเหนือของปรางค์กู่ อยู่ใกล้กับพระอุโบสถวัดกู่ประภาชัย เป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรวบรวม โบราณวัตถุไว้มากมาย เช่น พระพุทธรูปบุทองค�ำ สมัยอาณาจักรล้านช้าง ซึ่งพบในไหกลางห้องครรภคฤหะขององค์ประธาน และพระพิมพ์ พระส�ำริด อีกมากมายที่พบในบริเวณนี้ เช่น พระบุเงิน 72 องค์ พระบุทอง 1 องค์ ในหม้อทีฝ่ งั ดินเอาไว้ ซึง่ เกิดปรากฏการณ์มเี ปลวไฟ พุ่งขึ้นเป็นล�ำแสงในขณะที่มีการขุดส�ำรวจ ก็พบพระพิมพ์จ�ำนวนมาก ดังกล่าวทันที ทัง้ หมดทีก่ ล่าวมานี้ จึงเป็นทีม่ าแห่งความเชือ่ และความศรัทธาของ ชาวบ้านทีเ่ คารพนับถือ และจัดงานประเพณีสรงน�ำ้ ปรางค์กปู่ ระภาชัย ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 5 ประจ�ำทุกปี
โบราณสถานส�ำคัญ
ภายในวัดกู่ประภาชัย ประกอบด้วยโบราณสถานส�ำคัญ อาทิ ปราสาทประธาน บรรณาลัย ล้อมรอบด้วยก�ำแพงแก้ว มีประตูซมุ้ หรือ โคปุระด้านทิศตะวันออกด้านเดียว นอกก�ำแพงมีมมุ ด้านทิศตะวันออก เฉียงเหนือมีสระน�้ำกรุด้วยศิลาแลง 1 สระ ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารประกอบพิ ธี ก รรมทางพุ ท ธศาสนา โดย พระสงฆ์ 9 รูป 9 วัด มาเจริญพระพุทธมนต์ ในวันเพ็ญ 15 ค�ำ ่ เดือน 5 เป็นประจ�ำทุกปี ถือเป็นบ่อน�้ำศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งของประเทศไทย เพราะถูกน�ำไปประกอบพระราชพิธใี นโอกาสต่างๆ ดังนี้ ครั้ ง ที่ 1 พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ครั้ ง ที่ 2 พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุครบ 6 รอบ ครั้ ง ที่ 3 พระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระชนมายุ 84 พรรษา เมื่อปี พ.ศ. 2554 ครั้ ง ที่ 4 พิ ธี พ ลี ก รรมตั ก น�้ ำ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ เนื่ อ งในพระราชพิ ธี บรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2562 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 87
.indd 87
25/10/2562 17:20:18
พระธาตุหลวงปู่ค�ำไพ
History of buddhism....
วัดสมศรี
สักการะพระพุทธโพธิ์ชัยคู่ชีวี พระครูสิริปริยัตยาภิวัฒน์ (หลวงพ่อสุกัน สญฺญาโม) อินทิแสง เจ้าคณะต�ำบลพังทุย/เจ้าอาวาสวัดสมศรี
วัดสมศรี ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพังทุย ต�ำบลพังทุย อ�ำเภอน�ำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น หลวงปู่ ไม้ในอุโบสถ
ประวัติความเป็นมา
เมื่อประมาณ พ.ศ. 2370 หลังจากที่พ่อเมืองแมน และพ่อแสนศาลา ได้สร้างบ้านพังทุยให้เป็นปึกแผ่นแล้วนัน้ ในปี พ.ศ. 2416 ได้มพี อ่ ปลัดเมืองซ้าย อพยพมาจากบ้าน เหล่าสมศรี ต�ำบลบ้านขาม อ�ำเภอน�ำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น
ศาลาการเปรียญ
ประตูเข้าวัดด้านทิศใต้
พ่อปลัดเมืองซ้ายเป็น ผู้มีจิตศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า ปรารถนาที่จะสร้างวัดเพื่อให้เป็นศูนย์รวมจิตใจ และสถานที่ประกอบ พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาให้กับบ้านกุดพังทุยในสมัยนั้น พ่อปลัดเมือง ซ้ายได้ขอแรงงานและขอบริจาคทรัพย์จากชาวบ้านกุดพังทุยสร้างศาลาไม้ ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยเลือกท�ำเลที่ตั้งห่างจากหมู่บ้านกุดพังทุยไปทางทิศ ตะวันออก ระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่ ตระกูลเหล่าสมศรีที่น�ำโดยพ่อปลัดเมืองซ้าย จึงได้เห็นพร้อมกันตั้งชื่อวัดที่ สร้างขึ้นใหม่นี้ว่า “วัดสมศรี” พุทธศาสนิกชนย่านนี้จึงเรียกว่า วัดสมศรี มา จนกระทั่งถึงทุกวันนี้
88 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
.indd 88
25/10/2562 16:11:57
พระไม้ในอุโบสถ พระพุทธโพธิ์ชัยคู่ชีวี
โบราณวัตถุที่มีและเหลือ อยู่ที่วัดสมศรี ซึ่งนับเป็นสิ่งที่ มีค่าสูงส่งทางด้านจิตใจเมื่อ ในอดีตถึงปัจจุบัน แม้คนรุ่น หลังจะไม่ค่อยได้สัม ผัส แต่ ได้ยนิ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่าขานให้ฟงั ก็คอื พระพุทธรูปไม้ทปี่ จั จุบนั ประดิ ษ ฐานไว้ ใ นอุ โ บสถวั ด สมศรี ปั จ จุ บั น ยั ง คงเหลื อ พระพุ ท ธรู ป ไม้ นี้ เ พี ย งสอง องค์ แต่องค์ทไี่ ด้ศกึ ษาประวัติ และได้ขอ้ มูลค่อนข้างจะสมบูรณ์ คือ พระพุทธรูปไม้องค์ใหญ่ ที่ ชาวบ้านตัง้ ชือ่ ว่าพระพุทธโพธิช์ ยั เป็นพระพุทธรูปที่อยู่คู่วัดสมศรี มาร้อยกว่าปีแล้ว
พระธาตุหลวงปู่ค�ำไพ
หลวงปู่ใหญ่พระญาธรรม
พระธาตุหลวงปู่ค�ำไพ
อุโบสถ
หอระฆังไม้โบราณทรงหกเหลี่ยม
พระธาตุหลวงปู่ค�ำไพ ประดิษฐานอยู่ทางทิศใต้ของวัด ติดกับ ก�ำแพงวัดและอยู่ใต้ร่มโพธิ์ สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2480 หลัง จากที่ท่านได้มรณภาพลง พุทธศาสนิกชนได้พากันสร้างเจดีย์เพื่อ เก็บอัฐิของท่าน เดิมทีนั้นเป็นเจดีย์ขนาดเล็ก ต่อมาปี พ.ศ. 2525 ชาวบ้านได้บรู ณะพระธาตุขนึ้ ใหม่ โดยได้จำ� ลองรูปแบบการก่อสร้าง คล้ายกับพระธาตุพนมครอบเจดีย์เดิม ชาวต�ำบลพังทุยเคารพนับถือต่อหลวงปูค่ ำ� ไพมาก จะเห็นได้จาก ในงานเทศกาลที่ส�ำคัญ จะมีญาติโยมไปนมัสการท่านเป็นจ�ำนวน มาก เทศกาลวันขึน้ ปีใหม่ วันสงกรานต์หรือเทศกาลอืน่ ๆ ณ บริเวณ พระธาตุของหลวงปู่จะคลาคล�่ำด้วยผู้คนมากหน้าหลายตา ทั้งลูก หลานที่ไปท�ำงานที่ต่างจังหวัดแล้วกลับมาบ้าน ทุกคนที่กลับมาจะ ต้องมากราบนมัสการท่านให้ได้ ซึ่งนับว่าเป็นสิริมงคลต่อตัวเอง นอกจากนี้แล้วชาวพังทุยที่มีความทุกข์ใจก็จะเข้าไปกราบนมัสการ บนบานให้หลวงปู่ช่วยปัดเป่าความทุกข์ ความเจ็บไข้ได้ป่วยให้หาย จากร้ายกลายเป็นดีได้ สิ่งที่คนส่วนมากอธิษฐานหรือขอหลวงปู่คือ จะขอให้อยูด่ มี สี ขุ การงานรุง่ เรือง ขอให้สมหวังในเรือ่ งการสอบหรือ เข้าท�ำงาน ตลอดทั้งการเรียนหรือครอบครัวมีความสุข หากขอสิ่ง เหล่านี้มักจะสมหวังกันทุกคน และเมื่อสมหวังแล้วก็จะน�ำทองมา ปิด หรือถวายพวงมาลัยให้องค์พระธาตุ ซึ่งนับวันพวงมาลัยที่ห้อย ที่องค์พระธาตุจะเพิ่มมากขึ้นทุกวัน KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 89
.indd 89
25/10/2562 16:12:05
History of buddhism....
วัดโพธิ์ศรี
120 ปีแห่งศรัทธาสู่พระอารามอันมั่นคง พระครูสุนทรวีรากร เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี
วัดโพธิ์ศรี ตั้งอยู่เลขที่ 105 บ้านหนองแวง หมู่ที่ 17 ต�ำบลบัวเงิน อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
ประวัติวัดโพธิ์ศรี
วัดโพธิ์ศรี ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2476 เดิมอยู่เลขที่ 140 บ้าน หนองแวง หมูท่ ี่ 4 ต�ำบลบัวเงิน อ�ำเภอน�ำ้ พอง จังหวัดขอนแก่น เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2442 คุณพ่อจารย์ครูด้วง ได้ถวาย ที่ดินให้กับวัดโพธิ์ศรี 9 ไร่ 2 งาน คุณพ่อสุวรรณ พรมเลา ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านหนองแวง และคุณพ่อทองอินทร์ มาตสีหา เป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และชาวบ้านหนองแวงได้ร่วมกันสร้าง วัดขึ้นมา ซึ่งขณะนั้นในบริเวณวัดมีต้นศรีมหาโพธิ์ใหญ่อยู่ ในวัด ชาวบ้านจึงตั้งชื่อวัดตามต้นโพธิ์ใหญ่ ชื่อว่าวัดโพธิ์ศรี จนถึงปัจจุบัน 90 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
( .
)2
.indd 90
25/10/2562 16:48:01
ประวัติหลวงปู่ขาวญาณมุนี
การพัฒนาบูรณะวัด
ในช่วงแรกวัดโพธิศ์ รียงั ไม่มสี งิ่ ปลูกสร้างทีถ่ าวรมัน่ คงนัก จนกระทัง่ ปี พ.ศ. 2502 มีเจ้าอธิการอ�ำนวย จนฺทาโก เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ พัฒนาวัดสร้างศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้ กว้าง 11 เมตร ยาว 23 เมตร และกุฏสิ งฆ์ 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ. 2503 เมือ่ มาถึงปี พ.ศ. 2508 มีเจ้าอธิการสุพรรณ์ สุมนเทโว (พระครูสุมนสารกิจ) มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ท�ำการพัฒนาบูรณะวัด ท�ำการก่อสร้างศาลาการเปรียญ ศาลา อเนกประสงค์ อุโบสถ หอระฆัง เมรุ และปูชนียวัตถุตา่ งๆ มาเป็นล�ำดับ ท�ำให้วัดโพธิ์ศรีเจริญรุ่งเรือง ต่อมาในปี 2552 พระอธิการชากล้า พลญาโณ (พระครูสุนทรวีรากร) เป็นเจ้าอาวาส พร้อมด้วยชาวบ้าน หนองแวง ได้รว่ มกันท�ำนุบำ� รุงวัดและสืบสานประเพณีวฒ ั นธรรม และ ด�ำเนินแนวทางตามท่านสืบต่อไป
รายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการซุย 2. พระอธิการหนูเนียม 3. พระอธิการพิมพ์ 4. พระอธิการชม 5. พระอธิการหนูถิน 6. พระอธิการสิงห์ทอง 7. พระอธิการอ�ำนวย จนฺทาโก 8. พระอธิการหนูเทศ พรมจาโร 9. พระอธิการสุพรรณ สุมนเทโว 10. พระอธิการอนุชิต ยสนฺธโร 11. พระอธิการสุพรรณ์ สุมนเทโว (พระครูสุมนสารกิจ) 12. พระอธิการชากล้า พลญาโณ (พระครูสุนทรวีรากร)
ในปี พ.ศ. 2479 ชาวบ้านหนองแวงได้อัญเชิญพระพุทธรูปสีขาว ปางสมาธิมาไว้ที่ต้นศรีมหาโพธิ์ โดยพ่อสิงห์น้อย วงษา เป็นเจ้าภาพ ถวาย ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2509 หลวงพ่อสุพรรณ์ สุมนเทโว ได้เข้ามา เป็นเจ้าอาวาสและได้นิมิตว่า มีชีปะขาวมา บอกว่ามาอาศัยอยู่ที่ ต้นศรีมหาโพธิ์นานแล้ว ถ้าหากว่าจะท�ำอะไรให้บอกกล่าวท่านก่อน จึงได้ชื่อว่า หลวงปู่ขาว หลังจากต้นโพธิ์ตาย หลวงพ่อสุพรรณ์ จึงได้ สร้างเจดีย์พุทธสถานลานโพธิ์ และได้ให้ช่างปั้นพระปางมารวิชัย ขึ้นโดยน�ำหลวงปู่ขาวประดิษฐานไว้ข้างในองค์พระปางมารวิชัย เพื่อ เป็นที่กราบไหว้สักการบูชา ขอพร ลาภ ยศ สรรเสริญและสิ่งต่างๆ ประสบผลส�ำเร็จตามความต้องการ เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้าน หนองแวงจนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. 2476-2479 พ.ศ. 2479-2493 พ.ศ. 2493-2495 พ.ศ. 2495-2498 พ.ศ. 2498-2500 พ.ศ. 2500-2502 พ.ศ. 2502-2505 พ.ศ. 2505-2508 พ.ศ. 2508-2519 พ.ศ. 2520-2533 พ.ศ. 2534-2550 พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 91
( .
)2
.indd 91
25/10/2562 16:48:08
History of buddhism....
วัดซ�ำขามถ�ำ้ ยาว รำ�ลึกหลวงปู่แนน สุภัทโท พระอริยสงฆ์แห่งวัดซำ�ขามถ้ำ�ยาว พระครูโสภณธรรมกิจ (โกศล จิตตปาโล) เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำพอง(ธ) / เจ้าอาวาสวัดซ�ำขามถ�้ำยาว
วัดซ�ำขามถ�้ำยาว ตั้งอยู่ที่บ้านดงเย็น ต�ำบลบัวเงิน อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
ประวัติความเป็นมา
วัดซ�ำขามถ�ำ้ ยาว ตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2483 ชาวบ้านเรียกว่า วัดถ�ำ้ ยาว วัดนีม้ นี ำ�้ ซ�ำและต้นมะขามหลายต้น และมีถำ้� หินยาว จึงตัง้ ชือ่ วัดว่า วั ด ซ� ำ ขามถ�้ ำ ยาว โดยมี พ ระอริ ย คุ ณ าธาร (เส็ ง ปุ ส โส) เป็ น ผู้ชักชวนชาวบ้านสร้างวัดขึ้น
ต่อมาเมือ่ หลวงปูแ่ นน สุภทั โท ได้ธดุ งค์และปลีกวิเวกทีถ่ ำ�้ ยาว ซึง่ เป็น สถานที่วิเวก ร่มรื่น มีถ�้ำเงื้อมผา ท่านได้อยู่บ�ำเพ็ญสมณธรรมที่นี่เรื่อยมา และได้เทศน์สอนชาวบ้านซึ่งแต่เดิมนับถือผีปีศาจ ให้เชื่อเรื่องกรรม และผลของกรรม และสั่งสอนให้นับถือศีลห้าศีลแปดและนับถือพระไตร สรณคมน์ จนภายหลังชาวบ้านได้นิมนต์ให้ท่านได้อยู่โปรดพวกเขาที่นี่ ต่ อ มาท่ า นจึ ง เริ่ ม สร้ า งเสนาสนะและกลายมาเป็ น วั ด ซ� ำ ขามถ�้ ำ ยาว จนถึงปัจจุบัน
92 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 92
25/10/2562 17:07:41
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
พระพุทธรูปทองสัมฤทธิ์ และพระพุทธรูปปางนาคปรก ประดิษฐาน อยู่ที่ถ�้ำยาว
การบริหารและการปกครอง
วัดซ�ำขามถ�ำ้ ยาว มีหลวงปูแ่ นน สุภทั โท เป็นเจ้าอาวาสปกครองวัด ตั้งแต่ พ.ศ. 2523-2542 ปัจจุบันนี้ มีพระครูโสภณธรรมกิจ (โกศล จิตตปาโล) เป็นเจ้าอาวาสวัด และเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอน�ำ้ พอง(ธ)
โอวาทธรรมหลวงปู่แนน สุภัทโท
“..จิตของปุถุชนเรานี้ ไม่ได้จรรโลงอยู่ด้วยความอ่อนน้อม ถ่อมตนประการใดดอก เพราะว่ามีมิจฉาทิฐิ หยิ่งจองหองอยู่ตลอด กัลยาณปุถุชนต้องรู้จักข่มจิตตนเอง มีขันติ สงบเสงี่ยมเจียมตน อยู่อย่างนั้น ไม่ให้อกุศลเข้าครอบง�ำได้..”
ปูชนียสถานส�ำคัญ
สุภทั โท เจดีย์ เป็นเจดียพ์ พิ ธิ ภัณฑ์หลวงปูแ่ นน สุภทั โท ซึง่ ปัจจุบนั ทางวัดก�ำลังบูรณปฏิสังขรณ์ โดยท่านผู้มีจิตศรัทธาสามารถร่วมสร้าง เส้นทางบุญได้ ที่พระครูโสภณธรรมกิจ (โกศล จิตตปาโล) เจ้าอาวาส วัดซ�ำขามถ�้ำยาว โทร. 08-1252-2597 หรือร่วมท�ำบุญได้ที่ธนาคาร กรุงไทย สาขากระนวน ชือ่ บัญชี พระโกศล จิตตปาโล บัญชีออมทรัพย์ เลขที่ 415-1-60308-5 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 93
2
.indd 93
25/10/2562 17:07:53
TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดขอนแก่น
94 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 94
28/10/2562 14:58:53
มรดกล�ำ้ ค่า ทางพุ ทธศาสนา
เมืองขอนแก่น เป็นที่ทราบกันดีว่า จังหวัดขอนแก่นมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มานานหลายพันปี ดังที่ปรากฏหลักฐานทางโบราณคดี และโบราณวัตถุตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งพิสูจน์ให้เห็นว่าอาณาบริเวณจังหวัดขอนแก่นเป็นแหล่งก�ำเนิดอารยธรรมอันสูงส่ง มาแต่ดึกด�ำบรรพ์ จวบจนสมัยที่พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากแห่งความศรัทธา บนผืนแผ่นดินแห่งนี้ และแผ่กิ่งก้านให้ความสงบร่มเย็นและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ แก่ผู้คนชาวขอนแก่นมาจวบจนปัจจุบัน
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 95
_
.indd 95
28/10/2562 14:58:54
พระพุ ทธศาสนา บนแผ่นดินขอนแก่น
ในเขตจังหวัดขอนแก่นพบแหล่งชุมชน ่ งกับ ่ วเนือ โบราณและศิลปกรรมทีเ่ กีย พระพุ ทธศาสนามากมาย
ทั้ ง พระพุ ท ธรู ป และเสมาหิ น (เนื่ อ งจาก ในอดีตชาวอีสานยังไม่นิยมสร้างพระธาตุเจดีย์ เพื่อกราบไหว้บูชา ส่วนมากจะปักลงเสมาหิน รอบๆ เนิ น ดิ น หรื อ ปั ก เสมาหิ น ให้ ท� ำ หน้ า ที่ เป็นหลักเขตของบริเวณที่ศักดิ์สิทธิ์) โดยแหล่ง โบราณคดีที่พบ ได้แก่ เสมาหินเมืองโบราณบ้านโพธิชัย
ต�ำบลโคกโพธิชัย อ�ำเภอโคกโพธิชัย มีอายุ อยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16 พบโบราณ วัตถุเนื่องในพระพุทธศาสนาหลายประเภท ที่ ส�ำคัญคือ พระเจ้าใหญ่ พระพุทธรูปหินทราย ปางสมาธิ ด้านหน้าองค์พระมีชิ้นส่วนเศียรนาค ท�ำด้วยหินทรายวางอยู่ สันนิษฐานว่าเป็นส่วน หนึ่ ง ของพระเศี ย รเก่ า ของพระพุ ท ธรู ป ปาง นาคปรก นอกจากนี้ ยั ง พบกลุ ่ ม ใบเสมาหิ น บริเวณพระพุทธรูปใหญ่ ใบเสมาเหล่านี้ปักอยู่ ในกรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าล้อมรอบทั้งแปดทิศ แต่ละทิศมีใบเสมาปักเป็นแนวเรียงกันสามแผ่น ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษที่ไม่พบในสมัยอื่นๆ กลุ่มที่ สองเรียกว่าสิมมะลี มีอยู่หกใบ กลุ่มที่สามอยู่ ในเขตวัดป่ามีอยู่ประมาณสิบใบ บางใบท�ำขอบ หยั ก ๆ บางใบสลั ก ลายก้ า นขดและลายกนก ประดับอยู่เหนือฐานบัวอย่างงดงาม
96 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 96
28/10/2562 14:58:57
บริเวณบ้านโนนเมือง วัดป่าพระนอน
ต�ำบลชุมแพ อ�ำเภอชุมแพ เป็นที่ตั้งของ เมืองโบราณ มีโคกเนินที่เป็นโบราณสถาน พบ เศษอิฐและกระเบื้องอยู่บนผิวดินทั่วไป และรูป สี่เหลี่ยมแบนที่ฐานมีลวดลายในลักษณะต่างๆ แต่ที่น่าสนใจคือรอยสลักเป็นรูปกลีบบัวกลีบ เดียวหรือสองกลีบ และพบแท่งหินทรงกลมมี รอยจารึกตัวอักษรมอญโบราณ ปัจจุบันคือเสา หลักเมืองขอนแก่น ในเขตวัดป่าพระนอน พระนอน หิ น สี น�้ ำ ตาลขนาดยาว 5.26 ม. องค์ ห นึ่ ง หันพระเศียรไปทางใต้ ลักษณะเป็นศิลปะแบบ ทวารวดี ฝีมือช่างพื้นเมือง นอกนั้นพบชิ้นส่วน ของพระแบบลพบุรี หรือแบบขอม สร้างด้วย หินทรายสีแดงในบริเวณวัดด้วย บริเวณยอดเขาภูเวียง
ระหว่างเขตอ�ำเภอชุมแพ และอ�ำเภอภูเวียง บนเทือกเขาภูเวียงมีพระพุทธรูปแบบทวารวดี และที่ส�ำคัญคือ พระพุทธไสยาสน์ภูเวียง เป็น พระนอนสลั ก อยู ่ บ นหน้ า ผาบนยอดเขาลู ก นี้ มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 มีขนาด ยาว 3.75 ม. หันพระเศียรไปทางตะวันตก และ หันพระพักตร์ไปทางใต้ ช่วงตอนพระเศียรถึง หน้าอกสลักในลักษณะนูนสูง ส่วนบริเวณต�่ำ จากบั้นเอวลงมาสลักนูนต�่ำ ลักษณะพระพักตร์ เป็นพุทธศิลป์แบบทวารวดี ผสมผสานกับฝีมือ ช่างท้องถิ่นอีสานในสมัยนั้น ที่นิยมแกะสลัก พระพุทธรูปตามผาหินหรือผนังถ�้ำ
ขนาดใหญ่แผ่นหนึ่ง มีการสลักเป็นรูปได้มีขอบ เป็นหลักๆ ลวดลายบนแผ่นหินเป็นแบบทวารวดี และอีกแผ่นหนึ่งได้ถูกเคลื่อนย้ายไปไว้ในศาลา มีลวดลายกนก และก้านขดอยู่เหนือฐาน
เมืองโบราณบ้านเมืองเพี ย
ชุมชนโบราณบ้านบัวสิมมา
ศิลาจารึกและเสมาหินวัดไตรรงค์
พบใบเสมาหิ น ทรายปั ก กระจายเป็ น วง ภายในบริเวณวัดหนองสระพัง มีขนาดต่างๆ กัน บางแผ่นสลักเป็นเสารองรับวงล้อพระธรรมจักร ตามแบบศิลปะอินเดีย บางใบท�ำลวดลายแกน กลางเป็นสันรูปสถูปหินทราย แกะสลักเป็นเศียร นาคฝังจมทรายอยู่ในบริเวณเดียวกัน นอกจาก นี้ ใ นบริ เวณใกล้ เ คี ย งมี เ นิ น ดิ น มี ก ลุ ่ ม ใบเสมา หินทรายอยู่สองกลุ่ม กลุ่มแรก ที่ดอนปู่ตา มีใบ เสมาอยูส่ ามใบ เคยมีผพู้ บพระพุทธรูปส�ำริด และ พระพุทธรูปหินอ่อนสีขาว กลุม่ ทีส่ อง ทีโ่ นนกกแจง อยู่ใกล้ดอนปู่ตา พบใบเสมาสี่ใบ เมืองโบราณบ้านท่ากระเสริม
พบใบเสมาขนาดใหญ่สลักลวดลายกลีบบัว ไว้ทฐี่ าน บางใบสลักเป็นช่องสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ เรียงกัน สันนิษฐานว่าเป็นการน�ำใบเสมามาใช้ประโยชน์ ในสมัยหลัง
พบพระพุทธรูปหินทราย และใบเสมาหินทราย ทั้ ง แบบเรี ย บและแบบที่ มี ล วดลายหม้ อ น�้ ำ ซึ่งมีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12-16 อยู่ที่บ้านโนนชาด ต�ำบลโนนหัน อ�ำเภอ ชุมแพ มีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14-15 ปราสาทหินเปือยน้อย หรือกู่เปือยน้อย
อยูใ่ นเขตอ�ำเภอเปือยน้อย เป็นปราสาทหิน ที่ ส มบู ร ณ์ แ ละสวยงามมาก สร้ า งประมาณ พุท ธศตวรรษที่ 16-17 ปราสาทหินกู่แก้ว และหลักศิลาจารึกกู่แก้ว
อยู่ที่บ้านหัวสระ ต�ำบลดอนช้าง อ�ำเภอ เมืองฯ มีอายุอยูป่ ระมาณพุทธศตวรรษที่ 18 เป็น โบราณสถานส�ำคัญแห่งหนึง่ ของจังหวัดขอนแก่น สร้างขึน้ เนือ่ งในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานในสมัย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอม พบรูป พระวัชรสัตว์พระโพธิสัตว์วัชรปาณีทรงครุฑ
เสมาหินที่เมืองชัยวาน เขตอ�ำเภอมัญจาคีรี
พบกลุม่ เสมาหินบริเวณเมืองร้างสมัยทวารวดี ทีม่ ชี อื่ ว่าเมืองชัยวาน เสมาเหล่านีป้ กั กระจายกัน อยู่ในบริเวณเมืองเป็นจุดๆ เอาต�ำแหน่งทิศทาง แน่นอนไม่ได้ ลักษณะเสมาเป็นแบบแผ่นหิน บางแห่งปักเป็นคู่ๆ ในเขตเมืองนี้ยังมีแผ่นหิน KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 97
_
.indd 97
28/10/2562 14:59:00
เมืองกับวัด
สายสัมพั นธ์ทอ ี่ ยูค ่ ก ู่ น ั มาช้านาน
ด้วยเหตุทพี่ ระพุทธศาสนาได้หยัง่ รากลงบน ผืนแผ่นดินไทยมานับพันปี วัดซึง่ เป็นตัวแทนของ สถาบันศาสนา จึงถูกสร้างขึน้ ควบคูก่ บั การสร้าง เมื อ งด้ ว ย และพระมหากษัต ริย ์ต ลอดจนเจ้า ผู้ครองเมือง ก็จะเป็นผู้อุปถัมภ์ค�้ำชูพระพุทธ ศาสนาเสมอมา การตัง้ เมืองขอนแก่นเริม่ ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หรือ ประมาณปี พ.ศ. 2332 เพีย้ เมืองแพน ซึง่ ตัง้ บ้าน เรือนอยู่ที่บ้านดอนกระยม (ปัจจุบันอยู่ในเขต
อ�ำเภอหนองไผ่) ได้แจ้งความจ�ำนงไปยังพระยานครราชสีมา ขอเป็นเจ้าเมืองแยกจากเมืองสุวรรณภูมิ ซึ่งขึ้นกับเมืองนครราชสีมา และรับอาสาส่งส่วยตามประเพณี พระยานครราชสีมา จึงกราบทูลไปยัง กรุงเทพฯ จึงโปรดเกล้าให้ตงั้ เพีย้ เมืองแพนเป็นพระนครศรีบริรกั ษ์ และโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านบึงบอน ขึ้นเป็นเมืองขอนแก่น ให้พระนครศรีบริรักษ์ปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2340 เมืองขอนแก่นเมื่อแรกตั้งอยู่ที่บ้านโนนทอง ฝั่งตะวันตกของบึงบอน มี 3 คุ้มคือ 1.คุ้มเหนือ อยู่บริเวณวัดหนองแวง 2.คุ้มกลางอยู่บริเวณรอบๆ วัดกลาง และ 3.คุ้มใต้อยู่บริเวณรอบๆ วัดธาตุ เพี้ยเมืองแพน ได้สร้างเมืองโดยเริ่มจากตั้งบือบ้าน (เสาหลักเมือง) ปัจจุบันอยู่ทางทิศตะวันตกของ วัดกลางในบ้านเมืองเก่า จวนเจ้าเมืองมีสามหลัง หลังใหญ่เป็นที่สั่งราชการเมือง และได้สร้างวัดขึ้น สองวัดวัดเหนือคือวัดหนองแวง วัดกลาง และบูรณะขึ้นอีก 1 วัด คือวัดพระธาตุโนนทอง ภายหลังจากการตั้งเมืองขอนแก่นแล้ว ก็มีการย้ายที่ตั้งที่สั่งการรวม 6 ครั้ง สืบเนื่องจากปัญหา ต่างๆ อาทิ ปัญหาเรื่องเขตแดน ปัญหาความแห้งแล้งกันดารน�ำ้ ปัญหาน�้ำท่วม ปัญหาการปกครองที่ แยกเป็นสองฝ่าย เป็นต้น
98 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
_
.indd 98
28/10/2562 14:59:02
พระธาตุขามแก่น ศูนย์รวมใจของชาวขอนแก่น
พระธาตุขามแก่น เป็นโบราณสถานทีส่ ำ� คัญ อีกแห่งหนึง่ ของจังหวัดขอนแก่น ซึง่ แสดงให้เห็น ถึงความศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างเหนียว แน่น พระธาตุขามแก่นสร้างขึ้นประมาณพุทธ ศตวรรษที่ 25 ตัง้ อยูใ่ นวัดเจติยภูมิ ต�ำบลบ้านขาม ตามประวัตโิ ดยย่อกล่าวว่า โมริยกษัตริยเ์ จ้าเมือง โมรีย์ ซึ่งเป็นเมืองอยู่ในอาณาเขตของประเทศ กัมพูชา มีความประสงค์ที่จะน�ำพระอังคารของ พระพุทธเจ้า ทีพ่ ระองค์ได้ไว้เมือ่ ครัง้ พระพุทธเจ้า ปริ นิ พ พานใหม่ ๆ มาบรรจุ ใ นพระธาตุ พ นม จึงโปรดให้พระอรหันต์และพระเถระเจ้าคณะ รวม 9 องค์ น�ำขบวนอัญเชิญพระอังคารมาใน ครั้งนี้ เมื่ อ ผ่ า นมาถึ ง ดอนมะขามแห่ ง หนึ่ ง ซึ่ ง มี ต้นมะขามใหญ่ทตี่ ายแล้วเหลือแต่แก่น เนือ่ งจาก เป็นเวลาพลบค�่ำแล้ว และบริเวณนี้ภูมิประเทศ ราบเรียบดีจงึ หยุดคณะพักชัว่ คราว รุง่ เช้าจึงเดิน ทางต่อไปถึงภูกำ� พร้า แต่ปรากฏว่าพระธาตุพนม ได้สร้างเสร็จแล้ว จึงเดินทางกลับและตัง้ ใจว่าจะ น�ำพระอังคารธาตุกลับไปประดิษฐานไว้ที่บ้าน เมืองของตน แต่เมื่อเดินทางผ่านดอนมะขาม อีกครัง้ ปรากฏว่าแก่นมะขามทีต่ ายแล้วนัน้ กลับ ยืนต้นแตกกิง่ ก้านผลิใบเขียวชอุม่ เป็นทีน่ า่ อัศจรรย์ คณะอัญเชิญพระอังคารธาตุจงึ พร้อมใจกันสร้าง เจดีย์ครอบต้นมะขามนี้ พร้อมกับน�ำพระอังคาร ธาตุและพระพุทธรูปบรรจุไว้ในองค์พระธาตุ และให้นามว่า “พระธาตุขามแก่น” มาจนทุก วันนี้ พระธาตุขามแก่นถือว่าเป็นโบราณสถานที่ ส�ำคัญของจังหวัดขอนแก่น กรมศิลปากรได้ขึ้น ทะเบียนเป็นโบราณสถานส�ำคัญของชาติ เมื่อปี พ.ศ.2478 และก�ำหนดขอบเขตโบราณสถานมี พืน้ ที่ 2 งาน 62 ตารางวา เมือ่ ปีพ.ศ.2530 ชาวบ้าน ขามร่วมกับทางอ�ำเภอน�้ำพอง พร้อมทั้งจังหวัด ขอนแก่น จัดให้มงี านนมัสการพระธาตุขามแก่น เป็นงานประจ�ำปี ระหว่าง วันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี
ขอขอบคุณที่มา : หอมรดกไทย โดยส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม, ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดขอนแก่น KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 99
_
.indd 99
28/10/2562 14:59:04
History of buddhism....
วัดป่าภูเม็งทอง
ตำ�นานวัดอันน่าอัศจรรย์ใจ พระอธิการสาคร อริโย เจ้าอาวาสวัดป่าภูเม็งทอง วัดป่าภูเม็งทอง เลขที่ 206 หมู่ 8 บ้านดอนหัน ต�ำบลยางค�ำ อ�ำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
ประวัติความเป็นมา
จากการบอกเล่าของคนเฒ่าคนแก่กล่าวว่า วัดป่าภูเม็งทอง หรือ ที่ชาวบ้านเรียกว่า วัดภูเขาภูเม็งทอง ตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2512 โดยมี เจ้าอาวาสรูปแรก คือ หลวงปู่ค�ำดี เจ้าอาวาสรูปที่ 2 คือ หลวงพ่อหนู (พระครูสุโก) และปัจจุบันคือพระอธิการสาคร อริโย
เหตุที่ได้ชื่อว่า วัดป่าภูเม็งทอง เนื่องจากที่ตั้งวัดมีสภาพเป็นป่า เล่ากันว่าในอดีตมีนายพรานออกหาล่าสัตว์ในกลางคืน อาทิ หากระรอก กระแต เก้ง หมูปา่ ครัง้ หนึง่ นายพรานได้ไปเห็นโบสถ์ดว้ ยความบังเอิญ โบสถ์ นั้ น สวยงามเหลื อ งอร่ า มเหมื อ นกั บ โบสถ์ ที่ อ ยู ่ ใ นหมู ่ บ ้ า น นายพรานได้เอาไฟส่องดูก็พบว่ามีแสงสว่างเหลืองอร่ามสวยงาม เหมือนมีคนดูแลรักษาท�ำความสะอาด เมื่อเข้าไปข้างในไม่มีอะไร มีเพียงตู้กระจกเหมือนตู้พระไตรปิฎก ภายในตู้มีพานวางผ้าไตร หรือ ภาษาอีสานเรียกว่า ผ้ามิง่ นายพรานคนทีเ่ ข้าไปพบเห็นนึกอยากสัมผัส แต่เกรงว่าจะมีอันเป็นไป จึงได้แค่ชมบารมี เขาจึงพูดว่า...วันพรุ่งนี้จะ หาหมู่คณะมาดูเป็นสักขีพยานว่าสถานที่แห่งนี้มีโบสถ์สวยสดงดงาม และเขาได้ใช้มีดพร้าที่มีท�ำสัญลักษณ์ตามทางเดินลงมาจากบนภูเขา ตรงที่เจอโบสถ์ ครั้นรุ่งเช้าเขาพาชาวบ้านขึ้นไปชมบารมี ชมความ สวยงามของโบสถ์ที่ได้พบ แต่ก็หาสัญลักษณ์น�ำทางที่ท�ำไว้ไม่เจอ เหตุการณ์ผ่านมาเป็นปี ก็มีคนไปเจอโบสถ์แบบเดิมอีก จึงพูด ปากต่อปากว่าสถานทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ บ้างก็วา่ เจอพานมิง่ และพูดกันต่อ ๆ มาว่า ภูเขามิง่ ภูเขามิง่ ทอง จนเพีย้ นเป็น “ภูเม็งทอง” ต่อมาเลยมีหลวงปู่ค�ำดี และหลวงพ่อหนู มาสร้างวัดที่นี่ จึงได้ตั้งชื่อ วัดว่า “วัดป่าภูเม็งทอง” เรื่อยมาตลอดจนถึงทุกวันนี้
100 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
.indd 100
25/10/2562 16:51:21
History of buddhism....
วัดเขื่อนอุบลรัตน์
กราบขอพรพระพุทธไสยาสน์ผาเจาะ
าราม
วัดเขือ่ นอุบลรัตน์ (ถ�ำ้ ผาเจาะ) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นท่าเรือ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เป็นวัดซึ่งมีหลวงปู่เจ้าคุณพระมงคลพรหมสาร (หลวงปูพ่ รหม พฺรหฺมสโร) พระเกจิอาจารย์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ และเปีย่ มด้วยเมตตาธรรม ท่านได้สร้างสาธารณประโยชน์มากมาย และได้ ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาจนเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของ ชาวขอนแก่น
มหาวิหารพรหมฤทธิ์
ปูชนียสถานที่สำ� คัญ
พระพุทธไสยาสน์ผาเจาะ พระประธานเก่าแก่ศกั ดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำวัด ประดิษฐานภายใต้สะพานหินธรรมชาติ 140 ล้านปี ถ�ำ้ พระธาตุ ภายในมีเจดียห์ นิ ศิลาแลง บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ และเคยเป็นสถานที่บ�ำเพ็ญภาวนาของหลวงปู่พรหม และพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ในอดีต
จัดสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ขณะหลวงปู่พรหม มีพรรษายุกาล ได้ 90 ปี จากทุนทรัพย์เบื้องต้น 100,000 บาท ซึ่งเป็นปัจจัยใต้ที่นอน ของหลวงปู่ ซึ่งพระอาจารย์มหาจริทธิ์ วชิรเมธี เจ้าคณะอ�ำเภอ อุบลรัตน์ ได้รับมอบหมายให้เป็นธุระด�ำเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จ สิ้นงบประมาณมากกว่า 40 ล้านบาท ภายในมหาวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปประธาน 2 องค์ คือ หลวงพ่อแสงเงิน กับ หลวงพ่อแสงทอง และนอกจากนั้นยังเป็นที่ตั้ง เก็บรักษาสรีระสังขารของหลวงปู่พรหม ซึ่งได้ละสังขารลง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2554 ขณะมีพรรษายุกาลได้ 101 ปี 7 เดือน 13 วัน 81 พรรษา และขณะนีค้ ณะศิษยานุศษิ ย์ ก�ำลังเตรียมการเพือ่ จัดสร้าง มณฑปเจดีย์ เพื่อเก็บรักษาสรีระสังขารหลวงปู่อย่างถาวรต่อไป เพื่อแสดงออกถึงความกตัญญูและบูชาคุณของหลวงปู่ คณะ ศิษยานุศิษย์ และศรัทธาสาธุชนชาวอ�ำเภออุบลรัตน์ โดยการน�ำของ พระอาจารย์มหาจริทธิ์ วชิรเมธี เจ้าอาวาสวัดเขื่อนอุบลรัตน์ เจ้าคณะ อ�ำเภออุบลรัตน์ ได้ร่วมด้วยช่วยกันสร้างตึกสงฆ์อาพาธ “ตึกสมเด็จ พระพุฒาจารย์ บารมีธรรม หลวงปู่พรหม วัดเขื่อนอุบลรัตน์” ณ โรงพยาบาลอุบลรัตน์ สิ้นงบประมาณก่อสร้าง 30 ล้านบาท KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 101
1
.indd 101
25/10/2562 17:02:39
History of buddhism....
วัดโพธิ์สง่า
นมัสการพระพุทธสยามสามัคคีรุ่งเรือง
พระครูวุฒิสารวิมล
รองเจ้าคณะอ�ำเภออุบลรัตน์ / เจ้าอาวาสวัดโพธิ์สง่า
วั ด โพธิ์ ส ง่ า ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 197 หมู ่ ที่ 6 บ้ า นห้ ว ยยาง ต�ำบลทุง่ โป่ง อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เป็นวัดทีม่ อี โุ บสถ กลางน�ำ้ ทีก่ อ่ สร้างจากไม้เนือ้ แข็งทัง้ หลัง ซึง่ เป็นเอกลักษณ์พเิ ศษ เพียงหนึ่งเดียวในจังหวัดขอนแก่น
ประวัติความเป็นมา
วัดโพธิ์สง่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2440 พร้อมกับการตั้งหมู่บ้าน ห้วยยางด้วย เริ่มแรกพระอาจารย์อุต อุตฺตโร เดินธุดงค์มาตาม แม่น�้ำมูล แม่น�้ำชีและแม่น�้ำพอง ในที่สุดท่านจึงได้มาหยุดพ�ำนัก ที่หมู่บ้านหนองผือ ต�ำบลทุ่งโป่ง ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ล�ำน�้ำพอง ในขณะนั้น บริเวณนี้ยังอยู่ภายใต้การปกครองของอ�ำเภอน�้ำพองอยู่ จากนั้น ท่านจึงออกส�ำรวจบริเวณใกล้เคียงจนกระทั่งได้มาพบกับบริเวณ ที่ตั้งของวัดและหมู่บ้านห้วยยางในปัจจุบัน ซึ่งเป็นที่ราบลุ่มและ มีล�ำห้วยยางไหลผ่านเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน 102 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 102
25/10/2562 17:21:05
จากนั้นท่านจึงกลับไปที่จังหวัดอุบลราชธานีอีกครั้งหนึ่ง เพื่อแจ้ง ข่าวแก่บรรดาญาติโยม หลังจากทีท่ า่ นกลับมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ก็มีญาติโยมติดตามมาด้วย และได้เริ่มสร้างหลักปักฐานที่บริเวณ ดังกล่าว ในสมัยก่อนบริเวณนี้เป็นป่ารกมีสัตว์ป่านานาชนิดรวมถึง วิญญาณผีร้ายด้วย ซึ่งได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชาวบ้านผู้มาอยู่ อาศัยตัง้ ถิน่ ฐานใหม่ แต่ดว้ ยบุญบารมีธรรมของพระอาจารย์อตุ อุตตฺ โร จึงส่งผลให้คมุ้ ครองคุม้ ภัยแก่ชาวบ้านได้อยูเ่ ย็นเป็นสุข แล้วจึงได้กอ่ ตัง้ หมู่บ้านและวัดตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และได้ตั้งชื่อว่าหมู่บ้านห้วยยาง เนื่องมาจากล�ำห้วยที่ไหลผ่านหมู่บ้านมีต้นยางนาขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก เดิมนั้นวัดตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของหมู่บ้าน จึงตั้งชื่อว่า วัดอิสาณ ต่อมาเกิดอัคคีภยั บ่อย ชาวบ้านมีความเห็นร่วมกันว่าให้ยา้ ย วัดมาตัง้ ทางทิศเหนือของหมูบ่ า้ น ต่อมาด้วยความอัศจรรย์ได้มตี น้ โพธิ์ เกิดขึ้นเองในบริเวณวัดสองต้น ชาวบ้านเรียกขานนามว่าต้นโพธิ์เงิน และต้นโพธิ์ทอง แล้วจึงได้ตั้งชื่อวัดว่า “วัดโพธิ์สง่า” ตั้งแต่บัดนั้นมา จนกระทั่งปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ
อุโบสถกลางน�้ำ (สิมน�้ำ) เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 อุโบสถกลางน�้ำหลังนี้มีเอกลักษณ์พิเศษตรงที่เป็นอุโบสถ ทีก่ อ่ สร้างจากไม้เนือ้ แข็งทัง้ หลังซึง่ มีเพียงหนึง่ เดียวในจังหวัดขอนแก่น พระพุทธสยามสามัคคีรงุ่ เรือง (พระทันใจ) พระพุทธสยามสามัคคี รุ่งเรืองเป็นพระที่ท�ำการเทสร้างในวันเดียวเสร็จ หรือที่นิยมเรียกว่า “พระทันใจ” สร้างขึน้ เมือ่ วันที่ 6 มิถนุ ายน พ.ศ. 2557 ซึง่ เป็นช่วง ระหว่างทีบ่ า้ นเมืองมีความขัดแย้งกันเป็นอย่างมาก พระครูวฒ ุ สิ ารวิมล จึงได้ตั้งชื่อพระทันใจองค์นี้ว่า “พระพุทธสยามสามัคคีรุ่งเรือง”
ประวัติพระครูวุฒิสารวิมล
พระครูวุฒิสารวิมล เดิมชื่อว่า เขียน จันทเรืองศรี ได้รับการ อุปสมบทเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 โดยได้รับฉายาว่า ทตฺตวุฒิ ต่อมาท่านได้รบั พระราชทานสมณศักดิท์ ี่ พระครูวฒ ุ สิ ารวิมล (จร.ชต.) เมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2540 และได้รบั พระราชทานเลือ่ น สมณศั ก ดิ์ ที่ พ ระราชทิ น นามเดิ ม พระครู วุ ฒิ ส ารวิ ม ล (จต.ชท.) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ต่อมาท่านได้รับแต่งตั้งต�ำแหน่ง ทางการปกครองคณะสงฆ์ เ ป็ น “รองเจ้ า คณะอ� ำ เภออุ บ ลรั ต น์ ” เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ต่อมาได้รับพระราชทานเลื่อน สมณศั ก ดิ์ ที่ พ ระราชทิ น นามเดิ ม พระครู วุ ฒิ ส ารวิ ม ล (รจอ.ชอ.) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 103
2
.indd 103
25/10/2562 17:21:14
History of buddhism....
วัดถ�้ำแสงธรรม นมัสการรอยพระพุทธบาทบนยอดเขา พระอาจารย์เสงี่ยม ปิยวัณโณ เจ้าอาวาสวัดถ�้ำแสงธรรม
วัดถ�้ำแสงธรรม ตั้งอยู่ที่บ้านผาน�้ำเที่ยง ต�ำบลบริบูรณ์ อ�ำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น
ประวัติความเป็นมา
วัดถ�ำ้ แสงธรรม ได้เริม่ ปรับปรุงสภาพถ�ำ้ ช่วงเข้าพรรษา ปี พ.ศ. 2541 โดยการน�ำของพระอาจารย์เสงี่ยม ปิยวัณโณ หรือที่ชาวบ้านเรียก ท่านว่า “หลวงปู่” ด้วยความเคารพ (ที่คณะศิษย์ได้ใช้สรรพนาม แทนพระอาจารย์ เนื่องด้วยมีปู่ฤาษีเป็นครูบาอาจารย์ โดยปู่ฤาษีมี นามว่า ปูฤ่ าษีหมิ าลัยโกฏิ เป็นญาณคุม้ ครอง คอยช่วยเหลือท่านเสมอ) หลวงปู่พร้อมด้วยญาติโยม อุบาสก อุบาสิกาช่วยกันปรับปรุงภูมิทัศน์ ทั้งพื้นที่ภายนอกและภายในถ�้ำ 104 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
3
+1.indd 104
25/10/2562 10:18:39
โดยการใช้ความวิริยะอุตสาหะสกัดก้อนหินให้ได้ระดับพื้นถ�้ำเดิม ซึ่งทับถมกันมานานหลายร้อยปี แล้วให้ช่างเทคอนกรีต ขัดหินอ่อน ภายในถ�้ำเป็นเสมือนศาลาการเปรียญใช้ในการประกอบศาสนกิจทาง ศาสนา ซึ่งมีความกว้างใหญ่เพียงพอ อากาศถ่ายเทสะดวกเย็นสบาย ตลอดเวลาเสมือนมีแอร์ขนาดใหญ่ของธรรมชาติ ลมพัดผ่านก้อนหิน น�ำไอเย็นมาสัมผัส พ.ศ. 2542 ก่อสร้างบันไดคอนกรีตขึ้นถ�้ำ 238 ขั้น พ.ศ. 2544 ก่อสร้างอาคารปฏิบัติธรรมสูง 3 ชั้น กว้าง 9 เมตร ยาว 15 เมตร และสร้างอาศรม พ.ศ. 2546 สร้างตาข่ายประตูเหล็กปิดปากถ�้ำ ป้องกันอันตราย จากสัตว์ที่จะมารบกวน โดยเฉพาะลิง ค้างคาว พ.ศ. 2548 ก่อสร้างตึกสูง 4 ชั้น ตั้งอยู่ทางทิศเหนือติดทางเข้าถ�้ำ กว้าง 17 เมตร ยาว 42 เมตร ด�ำเนินการก่อสร้างไปแล้ว พ.ศ. 2553 สร้างบันไดขึ้นไปสู่รอยพระพุทธบาท 176 ขั้น และ สร้างรอยพระพุทธบาทขึ้นเป็นรอยพระพุทธบาทจ�ำลองส่วนของจริง อยู่ด้านล่างของรอยจ�ำลอง พ.ศ. 2554 สร้างถังน�้ำปูนซีเมนต์บรรจุน�้ำ 35,000 ลิตร 1 ถัง พร้อมก�ำแพงราวกันตกบนหลังตึก พ.ศ. 2555 ได้ก่อสร้างบันได 222 ขั้นเป็นทางขึ้นไปนมัสการ รอยพระพุทธบาทบนยอดเขา พ.ศ. 2556 สร้างวิหารเจดีย์ 3 ยอด บนหลังตึก 1 หลัง จัดสร้าง โดมโค้งบนหลังตึก 1 หลัง ชื่อ ปู่ฤาษี พุทธมนต์หิมาลัยโกฏิ พ.ศ. 2559 วัดถ�้ำแสงธรรมมีไฟฟ้าแรงสูงใช้ในวัด โดยใช้หลอดไฟ LED 83 หลอด ใช้สวิตช์อัตโนมัติส่องสว่างทั่วไปบริเวณและเส้นทาง พ.ศ. 2561 วัดถ�้ำแสงธรรมสร้างถนนลาดยางมะตอยเชื่อมกับ ถนนทางหลวงชนบท ระยะทาง 400 เมตร พ.ศ. 2562 วัดถ�้ำแสงธรรม สร้างโดมหน้าปากถ�้ำคล้ายหัวล�ำโพง (สถานี ร ถไฟกรุ ง เทพฯ) 2 โดมหน้ า ปากถ�้ ำ เพื่ อ ป้ อ งกั น ฝนและ แสงแดดให้กับญาติโยม และปัจจุบันก�ำลังก่อสร้างอาคารหน้าปากถ�้ำ ทางทิ ศ ใต้ ซึ่ ง จะมี ค ลิ นิ ก รั ก ษาผู ้ ป่ ว ยและร้านกาแฟอเมซอน ให้ ลูกศิษย์ด�ำเนินการบริหาร ส่วนภายนอกบริเวณด้านล่างเป็นร้านค้าและร้านอาหาร มีระบบ ไฟฟ้า น�้ำสะอาด ห้องสุขา ลานจอดรถเพียงพอส�ำหรับผู้ไปเที่ยว อนาคตอันใกล้จะมีลฟิ ท์ขนึ้ -ลง เนือ่ งจากในแต่ละวันจะมีผมู้ าท่องเทีย่ ว จ�ำนวนมาก เพราะใช้ GPS, Google Map น�ำเส้นทางมาได้
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 105
3
+1.indd 105
25/10/2562 10:18:48
กราบสรีระสังขารหลวงปู่ครูบาธรรมชัย ในดินแดนพระนิพพาน
ประวัติเจ้าอาวาส
พระอาจารย์เสงี่ยม ปิยวัณโณ สกุลเดิม ประกอบเลียง เกิดเมื่อ ปี พ.ศ. 2497 ปีมะเมีย อุปสมบท เมื่อปี พ.ศ. 2521 ที่วัดอุทัยมัคคาราม ต�ำบลหินดาด อ�ำเภอห้วยแถลง จังหวัดนครราชสีมา ซึง่ มีหลวงพ่อพระครูอาทรนวกิจ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์วิรัตน์ ปสุโต และ พระอาจารย์เจือ ปัญญาสาโร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ การศึกษา - ส�ำเร็จนักธรรมชั้นตรี, โท, เอก แตกฉานทั้งด้านปริยัติธรรมและ การปฏิบัติ - ศึ ก ษาวิ ช าการเทศน์ แ สดงธรรมท� ำ งานด้ า นการเผยแพร่ พระพุทธศาสนา พระอาจารย์เสงี่ยม ปิยวัณโณ ได้ปฏิบัติธรรมตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2521-2529 และได้ปลีกตัววิเวกออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมอยู่เนืองนิจ ทุกปีตลอดห้วงที่จ�ำวัดอยู่วัดอุทัยมัคคาราม แล้วซาบซึ้งติดใจใน พระธรรม - พ.ศ. 2530 ออกธุดงค์แสวงบุญโดยการเดินไปทางภาคเหนือ เขตอ�ำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ รอนแรมไปเรื่อยๆ จากภาคเหนือ สู่อีสาน จนมาถึงอ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น อ�ำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ หยุดพักและจ�ำพรรษาที่วัดถ�้ำสัจจธรรม บ้านหนอง เชียงรอด ต�ำบลทุ่งลุยลาย อ�ำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ เป็นเวลา ยาวนานถึง 11 พรรษา ที่อยู่ในถ�้ำและป่าเขา - พ.ศ. 2540 ได้ร่วมกับชาวบ้านผาเบียด ต�ำบลห้วยยาง อ�ำเภอ คอนสาร จังหวัดชัยภูมิ ปรับปรุงถ�้ำสีหนาทเดชา เป็นสถานที่ปฏิบัติ จ�ำพรรษา ห่างจากวัดถ�้ำสัจจธรรมระยะทางกว่า 10 กิโลเมตร
- วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2541 พระอาจารย์ และคณะศิษย์ได้ ออกเดินทางจากถ�้ำสีหนาทเดชา เดินทางมาที่ถ�้ำแสงธรรม บ้านผา น�้ำเที่ยง ต�ำบลบริบูรณ์ อ�ำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น ท่านชื่นชอบ ในภูมิทัศน์และรับรู้จากปู่ฤาษีว่าเป็นสถานที่เคยปฏิบัติธรรมเมื่อ อดี ต ชาติ ท่ า นจึ ง ได้ เริ่ ม พั ฒ นาถ�้ ำ แสงธรรมร่ ว มกั บ คณะศิ ษ ย์ ที่ เลื่อมใสศรัทธา ในขณะพัฒนาถ�้ำได้พบโครงกระดูกเก่าแก่ภายในถ�้ำ ซึ่ ง มี ส ภาพกึ่ ง กระดู ก และหิ น แล้ ว คาดว่ า จะเป็ น นั ก ปฏิ บั ติ ธ รรม นานมาแล้ว กล่าวได้ว่าวัดถ�้ำแสงธรรมได้เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม สร้างคุณงามความดีสืบมาจวบจนปัจจุบันกาล
“ฐาตุ จิรํสตํธมฺโม” ขอพระสัทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะด�ำรงอยู่ตลอด
106 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
3
+1.indd 106
25/10/2562 10:18:53
History of buddhism....
WAT THAM SAENG THAM
Wat Tham Saeng Tham is located at Ban Pha Nam Thiang,
Boribun sub-district, Si Chomphu district, Khon Kaen province. It was established in B.E.2541 by Phra Ajarn Sa-Ngiam Piyawanno together with laymen and laywomen who jointly adjusted landscape of both outside and inside of the cave. They painstakingly carved rocks in the cave and reduced it to level of cave’s floor which these rocks had been piled up for hundreds years. After that, craftsmen then cemented and polished marbles inside this cave to be a sermon hall for performing religious activities which its space was fairly vast and it was well ventilated which made the air in the cave always comfortably cool like there was natural air conditioner that blew cold wind through rocks and brought it to person who come to this cave. B.E.2542 – The construction of concrete staircase to the cave which has 238 steps had started and finished in this year. B.E.2544 – Hermitage and three-story building for practicing the Dharma which is 9 meters in width and 15 meters in length, were built. B.E.2546 – Making steel net door for closing the cave in order to prevent disturbance from wild animals especially monkey and bat. B.E.2548 – The construction of four-story building which is located in the north and adjacent to cave’s entrance was started. At present, it is completed. The scale of this building is 17 meters in width and 42 meters in length. B.E.2555 – Constructing stairway which has 222 steps for paying respect to Buddha’s footprint on the top of mountain. B.E.2559 – Wat Tham Saeng Tham was able to use high voltage for electric appliances in temple’s area like 83 LED light bulbs that illuminated everywhere in temple’s area including pathway which all of light bulbs were controlled by automatic switch.
B.E.2561 – Wat Tham Saeng Tham built paved road that connecting with highway which this road is 400 meters in length. B.E.2562 – There were 2 domes that were built in front of the cave like domes at Hua Lamphong (Bangkok train station) in order to protect folks from rain and sunlight. At present, there is construction of building that is in the process of constructing, this building will consist clinic and café Amazon (coffee shop) which both will be administrated by disciples of this temple. As for external area of the building, there are stores and restaurants. There also are electrical system, clean water, restrooms and vast parking lot for people who travel to this temple. In the near future, there will be an elevator in this building due to a great number of people come to this temple every day because they can get to this temple easily by using GPS or Google Map.
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 107
3
+1.indd 107
25/10/2562 10:19:00
History of buddhism....
วัดนาเลาะ
วัดสำ�คัญประจำ�ตำ�บลหนองโน พระครูสุตสุนทรธรรม (สมควร สุนทรเมธี ป.ธ. 4, พธ.บ, ศษ.ม) เจ้าคณะต�ำบลหนองโน / เจ้าอาวาสวัดนาเลาะ
วัดนาเลาะ ตั้งอยู่เลขที่ 46 บ้านนาเลาะ ต�ำบลหนองโน อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
วัดนาเลาะ เป็นวัดเก่าแก่ของอ�ำเภอกระนวน ก่อตัง้ เมือ่ พ.ศ. 2416 ภายในวัดประกอบด้วยอาคารเสนาสนะ ดังนี้ ศาลาการเปรียญ กว้าง 20 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2518 วิหาร กว้าง 19 เมตร ยาว 34 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2546 กุฏิสงฆ์ 9 หลัง สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2547 เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2534 ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล กว้าง 8 เมตร ยาว 16 เมตร ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร และอุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 29 เมตร
ปูชนียวัตถุส�ำคัญได้แก่ พระประธาน ขนาดหน้าตักกว้าง 3 เมตร 50 เซนติเมตร สูง 4 เมตร พระประธานประจ�ำวิหารหล่อด้วยทองเหลือง ขนาดหน้าตักกว้าง 2 เมตร 52 เซนติเมตร สูง 3 เมตร 90 เซนติเมตร พระประธานประจ�ำอุโบสถ หล่อด้วยทองเหลือง ขนาดหน้าตักกว้าง 2 เมตร 70 เซนติเมตร สูง 3 เมตร 99 เซนติเมตร พระประธานประจ�ำ ศาลา หล่อด้วยทองเหลือง ขนาดหน้าตักกว้าง 2 เมตร 52 เซนติเมตร สูง 3 เมตร พระยืนปางประทานพร สูง 9 เมตร พระแก้วทรงเครื่อง ขนาดหน้าตัก 50 นิ้ว จ�ำนวน 2 องค์ พระแก้ว ขนาดหน้าตัก 30 นิ้ว จ�ำนวน 35 องค์
108 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 108
25/10/2562 13:48:49
การบริหารและการปกครอง
วัดนาเลาะ มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระอธิการทองสา ติกฺขวีโร พ.ศ. 2524-2532 รูปที่ 2 พระอธิการชิต เตชพโล พ.ศ. 2532-2535 รูปที่ 3 พระอธิการสี มหาปุญฺโญ พ.ศ. 2535-2546 รูปที่ 4 พระมหาสมควร สุนฺทรเมธี ปัจจุบันเป็น พระครูสุตสุนทรธรรม ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 109
2
.indd 109
25/10/2562 13:48:59
History of buddhism....
วัดป่าโนนราศรี
นมัสการพระพุทธศากยมุนีทศพลญาณ พระมหาสันติบท สุวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดป่าโนนราศรี
วัดป่าโนนราศรี ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 178 หมูท่ ี่ 18 บ้านโนนราศรี ต�ำบลหนองโก อ�ำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย เริม่ ต้นก่อสร้างเมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ปัจจุบนั วัดมีเนือ้ ทีท่ งั้ หมด 14 ไร่ 16 ตารางวา
ปูชนียวัตถุ/อาคารเสนาสนะ
วัดป่าโนนราศรี ประกอบด้วยปูชนียวัตถุส�ำคัญ ได้แก่ พระพุทธ ศากยมุนที ศพลญาณ(พระประธาน) พระพุทธรูปประทับยืนปางพุทธลีลา เสมาธรรมจักร พระพุทธรูปประทับนัง่ ปางมารวิชยั พระพุทธรูปชินราช จ�ำลอง(ขนาดเท่าองค์จริง) รูปเหมือนพระสีวลีเถระปางธุดงค์ อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วยศาลาการเปรียญอเนกประสงค์ ศาลาทีพ่ กั ญาติธรรม ศาลาโรงครัวโรงทาน หอกลอง หอระฆัง กุฏสิ งฆ์
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
วัดป่าโนนราศรี ขอเรียนเชิญท่านสาธุชนทั้งหลาย ร่วมสร้าง อุ โ บสถเพื่ อ ให้ เ ป็ น สถานที่ ป ฏิ บั ติ กิ จ ของสงฆ์ แ ละเพื่ อ สื บ สานอายุ พระพุทธศาสนาให้ด�ำรงอยู่สืบไป ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร. 08-6863-6299 110 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
.indd 110
25/10/2562 16:45:50
History of buddhism....
วัดป่าสว่างพร ร่มรื่น ร่มเย็น เห็นธรรม พระยูวิน ภูริปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดป่าสว่างพร วัดป่าสว่างพร ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองตะนา หมู่ 9 ต�ำบลเขาสวนกวาง อ�ำเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น สร้างเมือ่ วันที่ 2 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 โดยมีนายสมศักดิ์ สร้อยค�ำ เป็นผูม้ อบทีด่ นิ ถวาย จ�ำนวน 8 ไร่ 2 งาน 53 ตารางวา เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2553 เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั คือ พระยูวนิ ภูรปิ ญฺโญ (หลวงปูย่ วู นิ )
ประวัติเจ้าอาวาส
พระยูวิน ฉายา ภูริปญฺโญ สถานะเดิมชื่อ ยูวิน ยาเขียว เกิดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2512 ปีระกา อุปสมบทเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2544 วัดสามัคคีบ�ำเพ็ญผล ต�ำบลตาลเนิ้ง อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พระอุปชั ฌาย์ พระครูวทิ ติ คุณาภรณ์ พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์บุญรักษ์ กิตฺติวณฺโณ พ.ศ. 2546 สอบได้นักธรรมชั้นตรี ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสระบุรี
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิญท่านสาธุชนและลูกศิษย์หลวงปูย่ วู นิ ร่วมสร้างเส้นทางบุญ โดยสมทบทุนจัดซือ้ อิฐตัวหนอนปูรอบๆ บริเวณวัด ท่านใดประสงค์จะ ร่วมท�ำกับหลวงปูเ่ รียนเชิญได้ทวี่ ดั ป่าสว่างพร หรือโอนเงินเข้าบัญชีชอื่ พระยูวิน ภูริปัญโญ เลขที่ 792-223575-9 ธนาคารไทยพาณิชย์ ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคลจงมีแด่ท่านทุกกาลเทอญ. KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 111
1
.indd 111
25/10/2562 14:24:54
History of buddhism....
วัดสระทอง
ชมสิมรูปแบบอีสานดั้งเดิมที่ได้รับรางวัลจากยูเนสโก้
พระครูปลัดนรินทร์ กิตฺติภทฺโท เจ้าอาวาสวัดสระทอง
วัดสระทอง ตั้งอยู่เลขที่ 127 บ้านบัว หมู่ที่ 1 ต�ำบลกุดเค้า อ�ำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 7 ไร่ 50 ตารางวา
ประวัติความเป็นมา
วัดสระทอง ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2375 บริเวณที่ตั้งวัดด้านทิศเหนือ และทิศตะวันออกมีหนองน�้ำขนาดใหญ่โตติดเขตวัด จึงตั้งชื่อว่า “วัดสระทอง” ชาวบ้านเรียกว่า วัดบ้านบัว ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2456 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 4 เมตร ยาว 8 เมตร 112 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
2
.indd 112
25/10/2562 13:59:34
ในอดี ต บ้ า นบั ว เป็ น ชุ ม ชนเก่ า แก่ ที่ อ ยู ่ ม าก่ อ นการตั้ ง อ� ำ เภอ มัญจาคีรี พ.ศ. 2374 พ่อใหญ่ขนุ สีวอ, พ่อใหญ่โคตรวงศ์, พ่อใหญ่โคตะ, พ่อใหญ่แป, พ่อใหญ่กุนได้อพยพลูกหลานจากบ้านโนนเค้า (ปัจจุบัน วัดป่ามัญจาคีรี) เพื่อหนีโรคระบาดและการขาดแคลนน�้ำบริโภค มาตัง้ ถิน่ ฐานอยูร่ มิ หนองสระบัว ซึง่ มีดอกบัวขึน้ เต็มหนองสวยงามมาก จึงได้ตงั้ ชือ่ ว่า บ้านบัว และได้สร้างสิม(โบสถ์)ขึน้ นับว่าเป็นสิมแห่งแรก ของดินแดนแถบนี้ การอพยพครั้งนั้นได้อัญเชิญพระพุทธรูปหินทราย แดงมาด้วย เป็นพระพุทธรูปที่มีน�้ำหนักมาก มีรูปแบบอีสานบริสุทธิ์ เป็นประธานที่ประดิษฐานคู่กันมาตั้งแต่ดั้งเดิม วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2546 ได้รับมอบรางวัลอาคารทรงคุณค่า (Award of Merit) ด้านการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมแห่งเอเชียและแปซิฟิกจาก องค์การยูเนสโก้ (UNESCO)
ประวัติเจ้าอาวาส
พระครูปลัดนรินทร์ กิตตฺ ภิ ทฺโท (แหลมคม) เกิดวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ตรงกับวันขึ้น 14 ค�่ำเดือน 8 ปีวอก การศึกษาสามัญ/ ธรรมบาลี จบปริญญาตรี (มจร.), สอบไล่นักธรรมชั้นเอก อุปสมบท เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2555 โดยมีพระกิตติญาณ โสภณ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปยุทจักรธรรม พระกรรมวาจาจารย์ พระจีรพัฒน์ จิรวฒโณ พระอนุสาวนาจารย์ ต�ำแหน่งทางการปกครอง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 รับตราตั้งรักษาการเจ้าอาวาส วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งให้ดำ� รงฐานานุกรมที่ พระครูปลัด จากพระเทพสุเมธมุนี ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดตราด จนถึงปัจจุบัน KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 113
2
.indd 113
25/10/2562 13:59:53
History of buddhism....
วัดคีรีวัน(ค�ำหวายยาง) รำ�ลึกพ่อแม่ครูอาจารย์สายวัดป่า พระครูเกษมปริยัติกิจ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านฝาง(ธ) / เจ้าอาวาสวัดคีรีวัน(ค�ำหวายยาง)
วัดคีรีวัน ตั้งอยู่ที่บ้านปากช่อง หมู่ 5 ต�ำบลโคกงาม อ�ำเภอ บ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น ในอดีตวัดแห่งนี้มีพ่อแม่ ครูอาจารย์ หลายรูปเคยมาจ�ำพรรษา อาทิ หลวงปู่ท่อน หลวงปู่บุญเพ็ง หลวงปูส่ นัน่ หลวงปูท่ องมา หลวงพ่อขันตี หลวงพ่อสี โนนทองอิน เป็นต้น
114 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
(
)2
.indd 114
25/10/2562 15:47:51
ประวัติความเป็นมา
วัดคีรีวัน ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2480 โดยตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาภูพานค�ำ ชาวบ้านเรียกว่า วัดป่าค�ำหวายยาง เพราะมีต้นหวายยางและน�้ำผุด (น�้ำพุ) ขึ้นตามธรรมชาติ โดยหลวงปู่ค�ำดี ปภาโส ได้เดินธุดงค์มายัง ภูพานค�ำ บ้านปากช่องอินแปลง และได้มาปักกลดใต้ต้นบก (ปัจจุบัน คื อ บริ เวณเจดี ย ์ ห ลวงปู ่ มั่ น และหลวงปู ่ ค� ำ ดี ) ท่ า นและหมู ่ ค ณะ ซึ่งประกอบด้วยชาวบ้านปากช่อง, ค�ำหญ้าแดง, โคกงาม, โสกดั่ง, บ้านหนองผือ ร่วมใจกันสร้างเสนาสนะเป็นการชั่วคราวก่อน กระทั่ง พ.ศ. 2492 ก็ได้สร้างเป็นวัดขึ้น โดยมีนายอ�ำเภอหา บุญมาไชย เป็น เจ้าภาพ และได้พัฒนาวัดเรื่อยมาเป็นล�ำดับจนถึงปัจจุบัน ต่อมาได้ เปลีย่ นชือ่ เป็นวัดคีรวี นั (ธรรมยุต) โดยได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2501 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร มีเนื้อที่ 50 ไร่ วัดดูแลอีก 150 ไร่
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. หลวงปู่อ้น 2. หลวงปู่ก�่ำ 3. หลวงปู่พรมมา อุตฺตโม 4. หลวงปู่ค�ำดี ปภาโส 5. หลวงปู่หา บุญมาชัย 6. หลวงปู่บุญเพ็ง กัปปโก 7. หลวงปู่สมภาร โสโจ 8. พระครูเกษมปริยัติกิจ (ปัจจุบัน)
ศาสนสถานส�ำคัญ
1. อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2494 2. หอระฆัง 3. เจดีย์หลวงปู่มั่น 4. ศาลา 5. พระใหญ่ เป็นพระพุทธรูปหินทรายปางประทานพร ศิลปะอินเดีย 6. กุฏิเก่าหลวงปู่ท่อน หลวงปู่ค�ำดี
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 115
(
)2
.indd 115
25/10/2562 15:48:04
History of buddhism....
วัดผาพระนอนพัฒนาราม กราบพระนอนสลักบนผาหินอายุนับพันปี พระปลัดอ�ำนวย อนาลโย เจ้าอาวาสวัดผาพระนอนพัฒนาราม วัดผาพระนอนพัฒนาราม ตั้งอยู่ที่หมู่ 7 บ้านโนนสะอาด ต�ำบลหนองไผ่ อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น วัดนีถ้ อื เป็นสถานที่ ท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของอ�ำเภอชุมแพ เนือ่ งจากมีพน้ื ทีต่ ดิ อยู่ เชิงเขาจึงเป็นจุดชมวิวอ�ำเภอชุมแพที่สวยงาม และยังเป็นแหล่ง โบราณสถานสมัยทวารวดีทนี่ า่ ศึกษาอย่างยิง่
ประวัติความเป็นมา
ในอดีตบริเวณนีย้ งั ไม่มกี ารก่อตัง้ วัดขึน้ จนกระทัง่ มีหลวงตาจันทร์ หรือ พระอธิการสมพงษ์ จันทปุญฺโญ ธุดงค์จากจังหวัดอ�ำนาจเจริญ ผ่านมา ณ เชิงเขาภูเวียง และได้มาพ�ำนักเพื่อท�ำกิจของสงฆ์ และได้ ออกบิณฑบาต ด้วยความเมตตาและวัตรปฏิบัติอันเคร่งครัดของท่าน ท�ำให้ญาติโยมเลือ่ มใสศรัทธาและได้ปรึกษาหารือกัน จนมีมติให้นมิ นต์ หลวงตาอยู่ ณ แห่งนี้ คือวัดผาพระนอนพัฒนารามในปัจจุบัน และ คุณพ่อค�ำดี เหมกุล ได้ยกพื้นที่ส่วนเชิงเขาถวายทั้งหมด 65 ไร่ จึงได้ ก่อตัง้ วัดในปี พ.ศ. 2525 ส่วนชือ่ วัดได้มาจากพระพุทธรูปปางไสยาสน์ หรือพระนอนเก่าแก่บนภูเขาที่มีพื้นที่ติดวัด
จุดเด่นของวัดผาพระนอนพัฒนาราม
วัดผาพระนอนพัฒนาราม จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของ อ�ำเภอชุมแพ เนื่องจากมีปูชนียสถานเก่าแก่อายุ 1,200 – 1,400 ปี นัน่ คือ ผาพระนอน ซึง่ มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์สลักบนหน้าผา เป็น พระพุทธรูปสมัยทวารวดีที่งดงาม สลักอยู่บนหน้าผายาวกว่า 3.75 เมตร หันพระเศียรไปทางทิศตะวันตก และหันพระพักตร์ไปทางทิศใต้ นอนตะแคงพระเศียรหนุนแนบกับล�ำแขนขวา แขนซ้ายทอดไปตามล�ำ พระองค์เป็นท่านอนแบบเก่าที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย นอกจากนี้ภายในวัดยังมีสมเด็จพระพุทธมหาเมตตาศากยมุนี (หลวงพ่อขาว) และสถูปผาพระนอนจ�ำลองให้กราบไหว้ขอพร และมี อ่างเก็บน�้ำที่สวยงามเหมาะกับการพาบุตรหลานไปท�ำบุญให้อาหาร ปลาด้วย
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ขอเชิญพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ร่วมสร้างเส้นทางบุญกับ วัดผาพระนอนพัฒนาราม โดยสามารถติดต่อได้ที่เจ้าอาวาส โทร. 065-854-4669 116 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1
...indd 116
25/10/2562 15:55:23
History of buddhism....
วัดป่านาดี
พระครูสุมนศาสนกิจ เจ้าอาวาสวัดป่านาดี วัดป่านาดี เลขที่ 112 หมูท่ ี่ 9 บ้านนาดี ต�ำบลวังหินลาด อ�ำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ติดต่อสอบถามได้ที่ โทร 08-4516-7916
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 117
1
.indd 117
25/10/2562 9:43:27
บันทึกไทยแลนด์ 4.0
Drivemate แอพพลิเคชันเช่ารถเพื่อชีวิตดี๊ดี
ยุคนี้ ผู้บริโภคอย่างเรา ๆ ต่างได้รับความสะดวกสบายจากบริการต่าง ๆ มากขึ้น เรียกว่าแค่กดแป้นพิมพ์จากมือถือ เราก็จะได้กิน ของอร่อย ๆ ได้ใช้สนิ ค้าหรือบริการดี ๆ ในราคาถูกใจ ถึงทีก่ นั เลย ล่าสุดคือ บริการ peer-to-peer Carsharing หรือบริการเช่ารถจากเจ้าของ โดยตรง ผ่านเว็บไซต์ www.drivemate.asia และแอพพลิเคชัน Drivemate (สตาร์ทอัพไทยที่ได้รับการสนับสนุนจากดีป้า) เพื่อตอบโจทย์ ผู้ที่ต้องการใช้รถแบบไม่มีภาระ และเจ้าของรถสามารถก�ำหนดราคาและวันเวลาให้เช่าได้เองด้วย น่าสนใจแล้วใช่ไหมคะ ? ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจทิ ลั หรือ ดีปา้ เปิดเผยว่า ดีปา้ ได้สนับสนุนให้เหล่าสตาร์ทอัพ ไทยประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมดิจทิ ลั ในเชิงลึก (Deep Tech) เพื่อสร้างศักยภาพ ควบคู่ไปกับการเพิ่มจ�ำนวนสตาร์ทอัพให้ได้รับ การต่อยอดทางธุรกิจและการลงทุน (Deal Flow) จนสามารถแข่งขัน ได้ในระดับสากล ผ่านมาตรการขับเคลือ่ นต่าง ๆ โดยเฉพาะมาตรการ ช่วยเหลือหรือการอุดหนุนเพือ่ การเริม่ ต้นธุรกิจอุตสาหกรรมดิจทิ ลั (depa Digital Startup Fund) ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมและ สนับสนุนให้เกิดการลงทุนหรือประกอบกิจการร่วมกับดิจทิ ลั สตาร์ทอัพ และน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่งที่ผ่านมา ดีป้าให้การสนับสนุนทุนแก่สตาร์ทอัพรุ่นใหม่ที่มี ศักยภาพอย่าง Drivemate โดยร่วมลงทุน 5 ล้านบาท พร้อมสนับสนุน 118 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
aec Drivemate.indd 118
28/10/2562 15:22:47
การเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อขยายตลาดกับสตาร์ทอัพรายอื่น ๆ อีก ทัง้ เพิม่ โอกาสในการลงทุนโดย Venture Capital (VC) ผ่านโครงการ TechTycoon+ และล่าสุด Drivemate ได้รบั เงินลงทุนระดับ Series A จากแหล่งทุนระดับนานาชาติ ซึง่ นับว่าเป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดี เพราะนอกจาก Drivemate จะเติบโตได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังถือเป็นอีกหนึ่งต้นแบบ สตาร์ทอัพของเมืองไทยอีกด้วย Drivemate คือ ผู้ให้บริการ peer-to-peer Carsharing หรือ แพลตฟอร์มให้บริการเช่ารถจากเจ้าของโดยตรง ผ่านเว็บไซต์ www.drivemate.asia และแอพพลิเคชัน Drivemate ซึ่งผู้ให้เช่า สามารถก�ำหนดราคา และวัน-เวลาที่ต้องการปล่อยเช่า ขณะที่ Drivemate จะดูแลในเรือ่ งของการตลาดและความปลอดภัย โดยการ ด�ำเนินธุรกิจของ Drivemate จะเป็นรูปแบบ Sharing Economy โดยน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ นอกจากนี้ Drivemate ยังมีการให้บริการรูปแบบ Car Subscription เป็นรายแรกของไทยในชือ่ “Drivemate Switch” หรือการ เช่ารถแบบสมาชิก เพื่อตอบโจทย์ผู้ที่ต้องการใช้รถแบบไม่มีภาระ มี ให้เลือกหลากหลายแพคเกจ โดยผูท้ ตี่ อ้ งการใช้รถสามารถเลือกเช่า รถได้ตามความต้องการ จ่ายเงินเพียงครั้งเดียว แต่ใช้รถได้ทั้งเดือน และยกเลิกสัญญาได้ทันทีโดยไม่มีข้อผูกมัด ซึ่ง Drivemate Switch ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ใช้จ�ำนวนมาก คุณศิขริน ชลประทิน CTO และผูร้ ว่ มก่อตัง้ Drivemate เล่าว่า ภายหลัง ได้รับเงินลงทุนระดับ Series A จาก NETSOL Technologies Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว Drivemate จะเดินหน้าในเรือ่ งของการพัฒนา ซอฟท์แวร์และแพลตฟอร์ม เพื่อให้มีมาตรฐานและเป็นสากลมากขึ้น
“NETSOL Technologies พันธมิตรทางธุรกิจของเรามีจุดแข็ง ในเรือ่ งของ Connection และประสบการณ์ ซึง่ นอกเหนือไปจากเม็ดเงิน ลงทุนแล้ว NETSOL จะเข้ามาเป็น Strategic Partner โดยจะส่ง วิศวกรเข้ามาช่วยพัฒนาซอฟท์แวร์และแพลตฟอร์ม โดยเฉพาะ โครงสร้าง รวมถึงความปลอดภัย เพื่อให้มีมาตรฐานและเป็นสากล มากขึ้น นอกจากนี้จะมีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ ไม่ว่าจะเป็น Blockchain ที่จะน�ำมาใช้เก็บข้อมูล Transaction ต่าง ๆ ให้มีความ น่าเชือ่ ถือ หรือ AI ทีจ่ ะประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล เพือ่ ตอบโจทย์ ลูกค้าในทุกมิติ และ IoTs ทีม่ กี ารน�ำมาใช้แล้วกับอุปกรณ์ตดิ รถยนต์ ที่สามารถดู GPS ได้แบบ Real Time หรือเซ็นเซอร์ต่าง ๆ ซึ่งการ ด�ำเนินงานเฟสแรกคือ การพัฒนาซอฟท์แวร์และแพลตฟอร์มจะแล้ว เสร็จในเดือนกันยายน–ตุลาคมนี้ จากนั้นจะเดินหน้าในเฟสต่อไป ซึ่งการพัฒนาต่าง ๆ ถือเป็นการต่อยอดธุรกิจรองรับตลาดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อนขยายตัวต่อไปในอนาคต งานนีใ้ ครทีม่ รี ถหลายคันและอยากแบ่งปันให้ผอู้ นื่ ได้ใช้บา้ ง แถมยังมี รายได้ เ พิ่ ม ก็ ล องเข้ า ไปศึ ก ษารายละเอี ย ดต่ า ง ๆ ได้ ที่ เ ว็ บ ไซต์ WWW.DRIVEMATE.ASIA และแอพพลิเคชัน DRIVEMATE นะคะ
ขอขอบคุณที่มา : www.depa.or.th KHONKAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 119
aec Drivemate.indd 119
28/10/2562 15:22:47
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
1469 วั ด
Khon Kaen จังหวัดขอนแก่น
พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน
อ�ำเภอเมืองขอนแก่น วัดกลาง ต�ำบลในเมือง วัดกลางบุรี
วัดญาณรัตนาราม
บ้านดอนบม ม.6 ต.เมืองเก่า วัดกองศรี ม.3 ต�ำบลบ้านเป็ด
วัดดวงจันทราราม
วัดกู่ประชาสามัคคีบ้านอ้อ บ้านโนนเขวา ม.3 ต�ำบลดอนหัน วัดเกสรวนาราม ม.9 ต�ำบลศิลา
วัดเกาะแก้วสามัคคี
บ้านแดงใหญ่ ม.2 ต�ำบลแดงใหญ่ ม.5 ต�ำบลสาวะถี วัดดอนแก้ว ม.14 ต�ำบลพระลับ วัดตราชูวนาราม ต�ำบลในเมือง วัดตะคลองสีผึ้ง ม.5 ต�ำบลบ้านหว้า วัดตาลเรียง ม.14 ต�ำบลพระลับ
วัดท่าพระเนาว์ ม.6 ต�ำบลท่าพระ วัดท่าพระหงส์เทศประดิษฐ์ ม.10 ต�ำบลท่าพระ วัดท่าโพธิ์ ต�ำบลศิลา วัดท่ามะเดื่อ ม.9 ต�ำบลบ้านค้อ วัดท่ายางชุม ม.3 ต�ำบลโคกสี วัดท่ายาราม ม.16 ต�ำบลหนองตูม
วัดท่าราชไชยศรี
บ้านบึงเรือใหญ่ ม.10 ต�ำบลโคกสี วัดเกาะทอง ม.5 ต�ำบลโคกสี วัดโฆสิตาราม ม.8 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดจอมศรี ต�ำบลในเมือง วัดจอมศรี ม.10 ต�ำบลส�ำราญ วัดจันทรังษี ม.6 ต�ำบลหนองตูม วัดจันทรังษี ม.3 ต�ำบลดอนช้าง
วัดไตรคามบ�ำรุง
ม.8 ต�ำบลส�ำราญ วัดทรายมูล ม.1-2 ต�ำบลแดงใหญ่
วัดทุ่งเศรษฐี
วัดจารุกิตต์บำ� รุง
วัดทองวิทยาราม
วัดเทพปูรณาราม
บ้านห้วยเตย ม.9 ต�ำบลท่าพระ
บ้านทรัพย์เจริญ ม.10 ต�ำบลโนนท่อน วัดท่าชลาวาส ม.5 ต�ำบลดอนหัน วัดท่าบึง ม.1 ต�ำบลบ้านเป็ด
ม.12 ต�ำบลส�ำราญ วัดไตรประสิทธิ์ ม.5 ต�ำบลพระลับ วัดถาวร ม.5 ต�ำบลท่าพระ
วัดทรายบึงส�ำราญ
ม.15 ต�ำบลเมืองเก่า วัดท่าราษฎร์ ม.10 ต�ำบลศิลา วัดท่าเรียบ ม.17 ต�ำบลพระลับ วัดท่าแร่ ม.10 ต�ำบลดอนหัน วัดท่าสองคร ม.18 ต�ำบลพระลับ บ้านหนองไฮ ม.8 ต�ำบลพระลับ
วัดชัยแสงอรุณทอง
บ้านบึงฉิม ม.4 ต�ำบลบึงเนียม
ม.7 ต�ำบลท่าพระ วัดเทพสุวรรณ ม.2 ต�ำบลสาวะถี วัดไทรงาม ม.1 ต�ำบลสาวะถี วัดไทรทอง ม.9 ต�ำบลบ้านเป็ด วัดธาตุ ต�ำบลในเมือง
ม.11 ต�ำบลโคกสี วัดไชยศรี ม.8 ต�ำบลสาวะถี
วัดท่าประทาย
วัดธาตุกุดกว้าง
บ้านพระคือ ม.16 ต�ำบลพระลับ
ม.13 ต�ำบลเมืองเก่า
วัดจุณณะปิยะวนาวาส บ้านหนองไผ่ ม.14 ต�ำบลศิลา วัดชัยสิทธิ์ ม.4 ต�ำบลส�ำราญ
วัดท่าประชุม
วัดธาตุสว่าง ม.4 ต�ำบลหนองตูม วัดนวลจันทร์ ม.1 ต�ำบลดอนหัน วัดนาถวนาราม ม.7 ต�ำบลศิลา วัดน�้ำค้าง ม.7 ต�ำบลดอนช้าง วัดโนนขาม ม.5 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดโนนชัยวนาราม ต�ำบลในเมือง วัดโนนม่วง โนนม่วง ม.3 ต�ำบลศิลา วัดโนนราศรี ม.5 ต�ำบลส�ำราญ วัดโนนศิลา ม.1 ต�ำบลบ้านค้อ วัดโนนศิลา ม.1 ต�ำบลส�ำราญ วัดโนนสูง ม.9 ต�ำบลท่าพระ วัดบ้านท่อน (โพธิ์ศรีบ้านท่อน) ม.13 ต�ำบลส�ำราญ
วัดบ้านโนนศรีเรือง
วัดป่าธรรมอุทยาน บ้านเฟี้ยฟาน ม.5 ต�ำบลส�ำราญ
วัดป่าธรรมาราม บ้านดอนเงิน ม.13 ต�ำบลบ้านหว้า
วัดป่านาล้อม บ้านนาล้อม ม.13 ต�ำบลบ้านหว้า
วัดป่าบ้านม่วง บ้านม่วง ม.11 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดป่ามหาวนาราม ม.3 ต�ำบลศิลา วัดป่ารัตนมงคล ม.9 ต�ำบลศิลา
วัดป่ารัตนาราม บ้านสงเปือย ม.8 ต�ำบลบึงเนียม วัดป่าเรไร ม.11 ต�ำบลศิลา วัดป่าวิเวกธรรม ม.4 ต�ำบลในเมือง
ม.6 ต�ำบลบ้านค้อ วัดบึงบาล ม.3 ต�ำบลดอนหัน วัดบูรพาทิศ ม.10 ต�ำบลสาวะถี วัดปทุมแพงศรี ม.4 ต�ำบลดอนช้าง วัดป่าชัยวัน ต�ำบลในเมือง
วัดป่าวิสุทธิมรรค
วัดป่าชาดธรรมาราม
บ้านสวนมอน ม.3 ต�ำบลท่าพระ
บ้านป่าชาด ม.5 ต�ำบลแดงใหญ่
วัดป่าสามัคคีธรรม
วัดป่าญาณทัสสี
ม.5 ต�ำบลสาวะถี
บ้านหนองคู ม.8 ต�ำบลบ้านหว้า วัดป่าเทพนิมิต หนองกุง ม.17 ต�ำบลศิลา
วัดป่าแสงอรุณ ม.9 ต�ำบลพระลับ วัดป่าหนองค้า
บ้านหนองเบ็ญ ม.3 ต�ำบลโนนท่อน
วัดป่าศิริวันวนาราม บ้านหนองใหญ่ ม.6 ต�ำบลในเมือง
วัดป่าสวนมอน
บ้านหนองค้า ม.5 ต�ำบลโนนท่อน
120 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 120
26/10/2562 15:11:56
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
วัดป่าหนองหลุบ บ้านหนองหลุบ ม.4 ต�ำบลแดงใหญ่
วัดป่าอดุลยาราม ม.16 ต�ำบลในเมือง วัดป่าอภัยวัน ม.4 ต�ำบลบ้านทุ่ม
วัดป่าอรัญญาวาสี ม.8 ต�ำบลบ้านหว้า
วัดป่าอินทราราม บ้านโคก ม.12 ต�ำบลส�ำราญ วัดโพธาราม ม.8 ต�ำบลโคกสี
วัดศรีจันทร์ ต�ำบลในเมือง วัดศรีชมชื่น ม.6-7 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดศรีชมบาล บ้านม่วงโป้ ม.4 ต�ำบลสาวะถี วัดศรีชล ม.10 ต�ำบลหนองตูม วัดศรีฐาน ม.7 ต�ำบลโคกสี วัดศรีดอนกลาง ม.5 ต�ำบลแดงใหญ่ วัดศรีธาตุ ม.14 ต�ำบลในเมือง วัดศรีนวล ต�ำบลในเมือง
วัดศรีนาแพง
วัดสว่างโพธิ์ชัย ม.12 ต�ำบลพระลับ วัดสว่างมโน ม.5 ต�ำบลดอนหัน วัดสว่างมรรค ม.8 ต�ำบลดอนหัน วัดสว่างศรีวิชัย บ้านโนนตุ่น ม.5 ต�ำบลเมืองเก่า วัดสว่างศรีวิลัย ม.6 ต�ำบลโคกสี วัดสว่างสุทธาราม ม.2 ต�ำบลศิลา วัดสว่างหนองไฮ ม.8 ต�ำบลพระลับ
วัดสว่างอารมณ์
วัดโพธิ์ (โพธิ์โนนทัน)
บ้านหนองปอ ม.2 ต�ำบลบ้านค้อ
ม.16 ต�ำบลพระลับ วัดสามัคคี ม.1 ต�ำบลบ้านหว้า
ม.2 ต�ำบลในเมือง วัดโพธิ์กลาง ม.3 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดโพธิ์งาม ม.11 ต�ำบลบ้านค้อ วัดโพธิ์ชัย ม.7 ต�ำบลสาวะถี วัดโพธิ์ชัย ม.15 ต�ำบลพระลับ วัดโพธิ์ชัย ม.2 ต�ำบลบ้านหว้า
วัดศรีบุญเรือง
วัดสายราษฎร์บำ� รุง
บ้านทุ่ม ม.1-2 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดศรีบุญเรือง ม.11 ต�ำบลสาวะถี วัดศรีโพธิ์ทอง ม.9 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดศรีภูมิเรือง ม.4 ต�ำบลบ้านหว้า วัดศรีวนาวาส ม.9 ต�ำบลบ้านหว้า
ม.2 ต�ำบลดอนช้าง วัดส�ำราญ บ้านงิ้ว ม.9 ต�ำบลสาวะถี วัดส�ำราญ ม.8 ต�ำบลบ้านค้อ วัดสุทธิสังวรณ์ ม.3 ต�ำบลท่าพระ
วัดโพธิ์ทอง(เหล่าโพนทอง)
วัดศรีสว่างธรรมาราม
ม.7 ต�ำบลบ้านหว้า วัดโพธิ์นิมิต ม.15 ต�ำบลพระลับ วัดโพธิ์บัลลังก์ ม.2 ต�ำบลดอนหัน วัดโพธิ์ศรี ม.1 ต�ำบลศิลา วัดโพธิ์ศรี ม.3 ต�ำบลบ้านค้อ
บ้านเหล่านางาม ม.10 ต�ำบลบ้านหว้า
บ้านหนองงูเหลือม ม.3 ต�ำบลหนองตูม วัดเสมอภาพ ม.14 ต�ำบลสาวะถี
วัดศรีสว่างโนนทัน
วัดแสงศรีนิยม
บ้านโนนทัน ม.3 ต�ำบลในเมือง วัดศรีสะอาด ม.5 ต�ำบลบ้านเป็ด วัดศรีสะอาด ม.15 ต�ำบลส�ำราญ วัดศรีสุก ม.1 ต�ำบลดอนช้าง
บ้านหนองนิยม ม.14 ต�ำบลท่าพระ
วัดศรีอาราม
ม.2 ต�ำบลท่าพระ วัดหนองตูม ม.12 ต�ำบลหนองตูม
วัดโพธิ์ศรีธาราม บ้านโคกแปะ ม.12 ต�ำบลโคกสี วัดภูมิหลักฐาน ม.8 ต�ำบลท่าพระ วัดมณฑป ม.10 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดมรรคส�ำราญ ต�ำบลในเมือง วัดม่วง ม.7 ต�ำบลดอนหัน วัดม่วงศรี ม.3 ต�ำบลศิลา
วัดมิ่งโพธิ์วนาราม ม.11 ต�ำบลพระลับ
วัดมุกดาราม บ้านโคกเปี้ย ม.5 ต�ำบลบ้านค้อ วัดยอดแก้ว ม.4 ต�ำบลบ้านทุ่ม วัดยอดแก้ว ม.6 ต�ำบลดอนช้าง วัดรัตนาราม ม.4 ต�ำบลบ้านค้อ วัดราชบุรี ม.2 ต�ำบลส�ำราญ
บ้านกอก ม.7 ต�ำบลบ้านเป็ด วัดศิริธรรมิกาวาส ม.2 ต�ำบลโคกสี
วัดศิริมงคล บ้านหนองปลาเข็ง ม.1 ต�ำบลท่าพระ วัดสมศรี ม.7 ต�ำบลบ้านค้อ วัดสมศรี ม.10 ต�ำบลพระลับ วัดสมัคคาราม ม.4 ต�ำบลท่าพระ วัดสรรค์วนาราม ม.8 ต�ำบลศิลา วัดสระแก้ว ม.8 ต�ำบลบ้านเป็ด
วัดสระแก้ว บ้านโนนตุ่น ม.12 ต�ำบลสาวะถี วัดสระแก้ว ม.12 ต�ำบลศิลา
วัดสุนทโรวาส
วัดโสมสวรรค์พิมพาวาส บ้านโนนสวรรค์ ม.6 ต�ำบลแดงใหญ่
วัดหนองโข่ย (โพธิศ์ รีบา้ นหนองโข่ย) วัดหนองปิง บ้านหนองปิง ม.10 ต�ำบลสาวะถี วัดหนองแวง ต�ำบลในเมือง
วัดหนองห้าง บ้านหนองเม็ก ม.3 ต�ำบลสาวะถี วัดหัวหิน ม.1 ต�ำบลเมืองเก่า
วัดอดุลแก้วมอดี บ้านโนนม่วง ม.19 ต�ำบลศิลา วัดอรัญญาวาส ม.9 ต�ำบลดอนหัน
วัดอรัญญาสุทธาวาส ม.3 ต�ำบลส�ำราญ
วัดสระทอง
วัดอรุณวราราม
ม.13 ต�ำบลสาวะถี
บ้านหนองขาม ม.11 ต�ำบลบ้านเป็ด วัดสระมงคล ม.3 ต�ำบลแดงใหญ่
ม.9 ต�ำบลหนองตูม วัดอาภาราม ม.2 ต�ำบลบ้านค้อ
วัดวิจารณ์สว่างโศก
วัดสว่างกลางฮุง
วัดอุดม (อุดมไก่นา)
ม.8 ต�ำบลส�ำราญ
ม.16 ต�ำบลโนนท่อน วัดสว่างชัยศรี ม.3 ต�ำบลบึงเนียม วัดสว่างดอนยาง ม.11 ต�ำบลศิลา
ม.6 ต�ำบลส�ำราญ
วัดราษฎร์สังขรณ์
วัดวิจารณาราม ม.14 ต�ำบลบ้านค้อ วัดวุฒาราม ต�ำบลในเมือง วัดศรีแก้ว บ้านโนน ม.1 ต�ำบลโนนท่อน
วัดสว่างพิทยา ม.4-7 ต�ำบลแดงใหญ่
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 121
1,469 (20
).indd 121
26/10/2562 15:11:57
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอบ้านฝาง วัดเกษร(วัดแก่นเท่า) บ้านแก่นเท่า ม.5 ต�ำบลป่ามะนาว วัดเกาะแก้ว ม.7 ต�ำบลหนองบัว
วัดโพธิ์ตาล ม.12 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดโพธิ์สาลิการาม
บ้านหินฮาว ม.4 ต�ำบลโนนฆ้อง
ม.2 ต�ำบลโคกงาม วัดโพนเลา ม.3 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดระฆัง ม.2 ต�ำบลโนนฆ้อง
วัดคลองสะอาด
วัดราษฎร์บ�ำรุง
ม.7 ต�ำบลป่ามะนาว วัดคีรีวัน ม.5 ต�ำบลโคกงาม วัดโคกสามารถ ม.6 ต�ำบลหนองบัว วัดชนบ�ำรุง ม.10 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดดอนจันทร์ ม.6 ต�ำบลบ้านฝาง วัดตลาดโพธิ์ศรี ม.6 ต�ำบลโนนฆ้อง
บ้านกระเดื่อง ม.9 ต�ำบลป่ามะนาว
วัดขันธสีมา
วัดตลาดหัวหิน ม.2 ต�ำบลป่ามะนาว วัดท่าประชุม ม.4 ต�ำบลหนองบัว วัดทุ่งสว่าง ม.5 ต�ำบลโนนฆ้อง
วัดราษฎร์บ�ำรุง บ้านสร้างแก้ว ม.1 ต�ำบลโนนฆ้อง
วัดวังโพน บ้านวังโพน ม.6 ต�ำบลป่ามะนาว วัดวังเย็น ม.5 ต�ำบลหนองบัว วัดศรีชมภู ม.7 ต�ำบลป่าหวายนั่ง วัดศรีบาลเรือง ม.9 ต�ำบลป่ามะนาว
วัดศรีประชาราม บ้านโคกสี ม.5 ต�ำบลบ้านฝาง
วัดทุ่งสว่าง
วัดศรีประทุมวนาราม
บ้านนาโพธิ์ ม.2 ต�ำบลหนองบัว วัดแท่น ม.4 ต�ำบลบ้านเหล่า
ม.9 ต�ำบลบ้านฝาง วัดศรีพนาวาส ม.4 ต�ำบลโคกงาม
วัดนาฬิการาม
วัดศรีรัตนาราม
ม.11 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดโนนศรีเรือง ม.8 ต�ำบลบ้านฝาง
บ้านหนองคลองน้อย ม.8 ต�ำบลป่ามะนาว
วัดบ้านค้อ
วัดประโชติวนาราม
บ้านโนนสะอาด ม.6 ต�ำบลป่าหวายนัง่ วัดศิริธรรม ม.7 ต�ำบลหนองบัว วัดสมบูรณ์ ม.7 ต�ำบลบ้านฝาง วัดสมบูรณ์ ม.3 ต�ำบลโนนฆ้อง วัดสระแก้ว ม.4 ต�ำบลบ้านฝาง วัดสระบัว ม.2 ต�ำบลบ้านเหล่า
บ้านดอนหัน ม.6 ต�ำบลบ้านฝาง
วัดสว่างธรรมวราราม(ปัจจิม)
วัดป่าชุมพลวนาราม
ม.3 ต�ำบลป่าหวายนั่ง
บ้านโคกใหญ่ ม.10 ต�ำบลบ้านฝาง
วัดสว่างอารมณ์
วัดป่านิตย์สุทธาวาส
บ้านโสกคั่ง ม.3 ต�ำบลโคกงาม
บ้านโนนสะอาด ม.6 ต�ำบลป่าหวายนัง่
วัดสังเวชธรรมาราม
บ้านค้อ ม.10 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดบูรพาราม ม.12 ต�ำบลบ้านฝาง
วัดประชาสามัคคีวนาราม บ้านค�ำหัวช้าง ม.3 ต�ำบลป่ามะนาว
วัดศรีสะอาด
วัดป่าพระสถิตสันติธรรม
ม.4 ต�ำบลหนองบัว
บ้านหนองชาด ม.2 ต�ำบลบ้านเหล่า บ้านโนนฆ้อง ม.2 ต�ำบลโนนฆ้อง
วัดสามสวน ม.5 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดสุนทรสมุทร์ ม.6 ต�ำบลโคกงาม วัดสุวรรณเขต
วัดป่าวิปัสสนา
บ้านหนองแวง ม.7 ต�ำบลบ้านเหล่า
บ้านหนองเชียงซุย ม.5 ต�ำบลป่าหวายนัง่
วัดโสกม่วงสามัคคี
วัดป่าสุจิณโณ
บ้านโสกม่วง ม.3 ต�ำบลหนองบัว
บ้านหนองเซียงซุย ม.5 ต�ำบลป่าหวายนัง่
วัดห้วยหินร่อง
วัดพุทธสถานบ้านเหล่า
บ้านโนนค้อ ม.2 ต�ำบลโคกงาม วัดอัมพวนาราม ม.1 ต�ำบลป่าหวายนัง่ วัดอาภาวาส ม.7 ต�ำบลบ้านเหล่า
วัดป่าภูดิน
บ้านเหล่า ม.3 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดโพธิ์ชัย ม.1 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดโพธิ์ดก ม.4 ต�ำบลป่าหวายนั่ง
122 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 122
26/10/2562 15:11:59
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอพระยืน วัดจอมศรีมุนี ม.5 ต�ำบลหนองแวง วัดจันทราคม ม.6 ต�ำบลบ้านโต้น วัดเจดีย์
วัดป่าเรไรย์ ม.5 ต�ำบลพระยืน วัดพระเนาว์ศรี ม.8 ต�ำบลพระยืน วัดโพธาราม ม.2 ต�ำบลหนองแวง
บ้านชาด ม.3 ต�ำบลขามป้อม วัดไชโย ม.1 ต�ำบลพระยืน วัดดงกลาง ม.5 ต�ำบลบ้านโต้น วัดดาวดึงษ์ ม.4 ต�ำบลบ้านโต้น วัดเถาวัลย์ ม.6 ต�ำบลพระยืน วัดธงชัย ม.3 ต�ำบลพระยืน
บ้านโพธิ์ขุมดิน ม.5 ต�ำบลพระบุ วัดศรีตาล ม.4 ต�ำบลหนองแวง
วัดธัญญาสมจิตร
วัดศรีวิชัย
ม.3 ต�ำบลหนองแวง บ้านพระบุ ม.1 ต�ำบลพระบุ
บ้านโจดน้อย ม.4 ต�ำบลพระบุ วัดสมสะอาด ม.7 ต�ำบลพระยืน วัดสระเกษ ม.4 ต�ำบลขามป้อม
วัดบ้านบ่อทอง
วัดสระโนน
บ้านบ่อทอง ม.6 ต�ำบลขามป้อม
บ้านขามป้อม ม.1 ต�ำบลขามป้อม วัดสว่างจันทร์ ม.9 ต�ำบลพระยืน วัดสว่างวนาราม ม.3 ต�ำบลบ้านโต้น วัดสว่างแวงฮี ม.1 ต�ำบลหนองแวง วัดสุทธิมงคล ม.4 ต�ำบลพระยืน วัดหัวบึง หัน ม.3 ต�ำบลพระบุ
วัดบริบูรณ์
วัดป่าธรรมนิมิต บ้านหนองหญ้าข้าวนก ม.6 ต�ำบลหนองแวง
วัดป่าโนนบ่อ บ้านโนนบ่อ ม.12 ต�ำบลพระยืน
วัดโพธิ์ขุมดิน วัดศรีพิมล บ้านโต้น ม.1-2 ต�ำบลบ้านโต้น
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 123
1,469 (20
).indd 123
26/10/2562 15:12:01
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอหนองเรือ วัดกุเวียน ม.7 ต�ำบลโนนทอง วัดกู่แก้วพัฒนา
วัดทรายทอง ม.13 ต�ำบลโนนทอง วัดท่ามงคล
บ้านหนองกุง ม.15 ต�ำบลกุดกว้าง วัดโกศลภาราม ม.6 ต�ำบลกุดกว้าง วัดจันทร์ ม.2-3 ต�ำบลจระเข้ วัดจันทรบุรี ม.3 ต�ำบลโนนทอง วัดจูมพล ม.1 ต�ำบลกุดกว้าง วัดชัยมงคล ม.4 ต�ำบลบ้านกง วัดชัยมงคล ม.3 ต�ำบลยางค�ำ
บ้านโนนสะอาด ม.11 ต�ำบลโนนทัน วัดท่าลี่ ท่าลี่ ม.7 ต�ำบลบ้านกง วัดท่าอุทุมพร ม.12 ต�ำบลโนนทอง
วัดนทีตีรสถิตย์ บ้านเปือย ม.3 ต�ำบลบ้านกง
วัดโนนทันสามัคคีชัย
วัดดงน้อย
บ้านนา ม.6 ต�ำบลโนนทัน วัดโนนพานิช ม.8 ต�ำบลหนองเรือ
บ้านดงน้อย ม.14 ต�ำบลโนนทอง
วัดบ้านกุดฉิม
วัดดอนกู่
บ้านกุดฉิม ม.7 ต�ำบลโนนทัน
บ้านหนองนกเขียน ม.7 ต�ำบลโนนทอง วัดดาวเรือง ม.2 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดตระคลองโพธิ์ ม.5 ต�ำบลหนองเรือ วัดตระคลองหัน ม.5 ต�ำบลบ้านกง
วัดบ้านผือพัฒนา
วัดตลาดหนองเรือ
วัดประสิทธิ์ธรรมสาร
ม.1 ต�ำบลหนองเรือ
บ้านหนองแวง ม.7 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดไตรมิตร
บ้านผือพัฒนา ม.9 ต�ำบลบ้านผือ
วัดบึงเกษตร ม.4 ต�ำบลกุดกว้าง อ�ำเภอหนองเรือ
บ้านตลาดหนองแก ม.4 ต�ำบลโนนสะอาด วัดถนนยาว ม.1 ต�ำบลโนนสะอาด วัดถาวรนิมิต ม.4 ต�ำบลจระเข้
วัดป่าแจ้งสว่าง
วัดทรัพย์เจริญ
วัดป่าโนนทอง
บ้านทรัพย์เจริญ ม.18 ต�ำบลโนนทอง
บ้านโนนทอง ม.20 ต�ำบลโนนทอง
บ้านหนองสระ ม.4 ต�ำบลบ้านกง
วัดป่าโนนฆ้อง บ้านโนนฆ้อง ม.5 ต�ำบลบ้านผือ
วัดป่าภูเม็งทอง บ้านดอนหัน ม.8 ต�ำบลยางค�ำ
วัดป่าศิริมงคล บ้านผือพัฒนา ม.9 ต�ำบลบ้านผือ
วัดป่าสามัคคีธรรม ม.7 ต�ำบลจระเข้
วัดป่าอนันตคุณ ม.8 ต�ำบลจระเข้ วัดป่าอรัญญวิโมกข์ ม.1 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดพวงมาลัย ม.9 ต�ำบลโนนทัน
วัดพุทธอุทยาน บ้านโพนสว่าง ม.10 ต�ำบลจระเข้ วัดโพธิ์กลาง ม.1 ต�ำบลจระเข้ วัดโพธิ์งาม ม.5 ต�ำบลโนนทัน วัดโพธิ์ชัย ม.10 ต�ำบลโนนทอง
วัดโพธิ์ชัย บ้านโนนฟันเรือ ม.10 ต�ำบลกุดกว้าง วัดโพธิ์ทอง ม.2 ต�ำบลบ้านกง วัดโพธิ์บวร ม.10 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดโพธิ์เลียบ ม.4 ต�ำบลบ้านผือ วัดโพธิ์ศรี ม.4 ต�ำบลโนนทอง วัดภูศรีสว่าง ม.9 ต�ำบลบ้านเม็ง
วัดมณีจอมธรรม บ้านร่องสมอ ม.10 ต�ำบลโนนทัน วัดร่มประดู่ ม.5 ต�ำบลบ้านเม็ง
วัดรัตนสามัคคี ม.3 ต�ำบลบ้านผือ วัดราษฎร์รังสรรค์ ม.6 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดเรไร ม.12 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดเวียงไชย ม.4 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดศรีชมชื่น ม.3 ต�ำบลโนนทัน วัดศรีตาลเรือง ม.5 ต�ำบลจระเข้ วัดศรีบุญเรือง ม.9 ต�ำบลบ้านกง วัดศรีบุญเรือง ม.7-8 ต�ำบลโนนทัน วัดศรีบุรมย์ ม.1 ต�ำบลบ้านกง วัดศรีมงคล ม.6 ต�ำบลบ้านผือ วัดศรีสงฆ์เรือง ม.3 ต�ำบลหนองเรือ วัดศรีสะอาด ม.8 ต�ำบลโนนทอง
วัดสมจิตอาราม ม.7 ต�ำบลหนองเรือ วัดสมณมงคล ม.8 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดสระแก้ว ม.8 ต�ำบลโนนทอง วัดสระทอง ม.5 ต�ำบลโนนสะอาด วัดสระบัว ม.8 ต�ำบลยางค�ำ วัดสระโพนทอง ม.5 ต�ำบลโนนทอง
วัดสว่างเชิงเขา ม.8 ต�ำบลบ้านผือ วัดสว่างโนนดู่ ม.5 ต�ำบลกุดกว้าง วัดสว่างโพธิ์ศรี ม.10 ต�ำบลยางค�ำ วัดสว่างมนาวาส ม.7 ต�ำบลบ้านเม็ง วัดสว่างศิริเย็น ม.2 ต�ำบลโนนทอง วัดสว่างหนองไฮ บ้านหนองไฮ ม.2 ต�ำบลโนนสะอาด วัดสว่างอารมณ์ ม.2 ต�ำบลโนนทัน วัดสาลีวนาราม ม.4 ต�ำบลยางค�ำ วัดส�ำราญ ม.5 ต�ำบลยางค�ำ
วัดสิงห์ทอง บ้านโนนทอง ม.1 ต�ำบลบ้านผือ วัดสิทธิการาม ม.2 ต�ำบลหนองเรือ วัดสิมมาราม ม.6 ต�ำบลจระเข้ วัดสุนทราวาส ม.6 ต�ำบลบ้านกง วัดแสงจันทร์ ม.3 ต�ำบลโนนสะอาด วัดแสบง ม.11 ต�ำบลบ้านเม็ง
วัดหนองเขื่อนช้าง ม.6 ต�ำบลโนนทอง
วัดหนองแดง
วัดสระโอภาวาส
บ้านหนองแดง ม.10 ต�ำบลยางค�ำ
ม.6 ต�ำบลหนองเรือ
วัดหนองผือ
วัดสวรรคคงคา(สวรรคงคา)
บ้านหนองผือ ม.9 ต�ำบลบ้านผือ
ม.1-2 ต�ำบลยางค�ำ วัดสวรรคงคา ม.3 ต�ำบลกุดกว้าง วัดสว่างชัยศรี ม.2 ต�ำบลกุดกว้าง
วัดหนองไฮ บ้านหนองไฮ ม.9 ต�ำบลหนองเรือ
124 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 124
26/10/2562 15:12:03
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอพล วัดกุสวนาราม ม.5 ต�ำบลเมืองพล วัดครองธรรมมิการาม
วัดศรีประสิทธิ์ ม.1 ต�ำบลโคกสง่า วัดศรีพยูง บ้านหนองนาดี ม.3
ม.3 ต�ำบลโนนข่า วัดโคกกุง บ้านโคกกุง ม.11 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ
ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า วัดศรีมณี บ้านหลักด่าน ม.9 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ วัดศรีเมืองพล บ้านคุ้มศรีเมืองพล ม.1 ต�ำบลเมืองพล วัดศรี วิไล ม.7 ต�ำบลหนองมะเขือ วัดศรีสง่า ม.6 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดศรีสว่าง ม.3 ต�ำบลโจดหนองแก วัดศรีสุธรรม ม.2 ต�ำบลเก่างิ้ว
วัดจันทร์ค�ำภาวนาราม บ้านฮ่องแซง ม.7 ต�ำบลหัวทุ่ง วัดจันทรังษี ม.5 ต�ำบลลอมคอม
วัดจันทรัตนาราม บ้านหนองแวง ม.4 ต�ำบลเมืองพล
วัดชมพูพฤกษ์ ม.6 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า วัดชลขันธ์ ม.5 ต�ำบลโนนข่า วัดชัยประสิทธิ์ ม.2 ต�ำบลโคกสง่า วัดชุมพลบุรี ม.3 ต�ำบลเมืองพล วัดโชติการาม ม.9 ต�ำบลโจดหนองแก วัดถาวร ม.3 ต�ำบลโคกสง่า วัดไทยบ�ำรุง ม.4 ต�ำบลหัวทุ่ง วัดไทยสถิตย์ ม.2 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดธงชัย ม.9 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดนาวาสวัสดิ์ ม.7 ต�ำบลโจดหนองแก วัดนิโรธาราม ม.2 ต�ำบลหนองมะเขือ วัดนิลวรรณ ม.8 ต�ำบลโจดหนองแก
วัดเนกขัมมาภิรมย์ ม.1 ต�ำบลหนองมะเขือ
วัดโนนทัน ม.6 ต�ำบลโนนข่า วัดบูรณะธรรมาราม บ้านบูรณะ ม.8 ต�ำบลหนองมะเขือ
วัดบูรณาราม บ้านบุอ้ายตู้ ม.7 ต�ำบลโนนข่า
วัดบูรพาราม บ้านหัวนา ม.2 ต�ำบลโนนข่า วัดประทุมวัน ม.5 ต�ำบลเพ็กใหญ่
วัดป่าเป้าจันทราวาส บ้านป่าเป้า ม.2 ต�ำบลโสกนกเต็น วัดป่าสุริยาเย็น ม.5 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดพรหมวาสี ม.1 ต�ำบลลอมคอม วัดโพธาราม ม.3 ต�ำบลลอมคอม วัดมงคลธานี ม.8 ต�ำบลโนนข่า วัดมาลัยจันทร์ ม.1 ต�ำบลหัวทุ่ง วัดมิ่งเมืองพลาราม ต�ำบลเมืองพล วัดวาฬุการาม ม.1 ต�ำบลโจดหนองแก วัดเวฬุวัน ม.6 ต�ำบลโคกสง่า วัดศรีชมพู ม.4 ต�ำบลโจดหนองแก วัดศรีทอง ม.1 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า วัดศรีบวร ม.1 ต�ำบลโนนข่า
วัดศรีหงษ์ทอง บ้านหนองบัว ม.3 ต�ำบลโสกนกเต็น วัดศิรชิ ยั ม.2 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ วัดสระแก้ว ม.1 ต�ำบลเก่างิ้ว
วัดสระจันทร์ บ้านเมืองเก่า ม.3 ต�ำบลเมืองพล วัดสว่างทุ่งน้อย ม.4 ต�ำบลลอมคอม วัดสว่างอารมย์ ม.7 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดสะอาด ม.2 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า วัดสันติธรรม บ้านหนองตานา ม.4 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า วัดสามัคคี ม.4 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดสามัคคีธรรม ม.6 ต�ำบลลอมคอม วัดสิงห์ทอง ม.4 ต�ำบลโนนข่า วัดสีสะปาวัน ม.6 ต�ำบลโจดหนองแก วัดสีหมงคล ม.6 ต�ำบลเมืองพล วัดสุคนธาวาส ม.8 ต�ำบลเพ็กใหญ่ วัดสุภนิมิต ม.5 ต�ำบลโสกนกเต็น วัดสุวรรณาราม ม.7 ต�ำบลลอมคอม วัดแสงจันทร์ ม.4 ต�ำบลโคกสง่า วัดแสงธรรม ม.5 ต�ำบลโคกสง่า
วัดแสงสุวรรณ ม.3 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ วัดอโสการาม ม.1 ต�ำบลโสกนกเต็น วัดอัมพร ม.2 ต�ำบลลอมคอม วัดอัมพรมะติตถาราม(อัมพติตถาราม) ม.10 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ วัดอัมพวัน ม.5 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า
วัดอัมพาวาส ม.7 ต�ำบลหนองแวงนางเบ้า
วัดอินทร์แปลง ม.1 ต�ำบลหนองแวงโสกพระ
วัดอุทัยธรรม บ้านลอมคอม ม.8 ต�ำบลลอมคอม
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 125
1,469 (20
).indd 125
26/10/2562 15:12:05
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอชุมแพ วัดกลาง
วัดโนนคูณ
บ้านธาตุ ม.4 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านโคกม่วง ม.7 ต�ำบลขัวเรียง
วัดกลางสว่าง
วัดโนนบุรุษ
บ้านหนองไผ่ใต้ ม.5 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านโนนสะอาด ม.1 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดโกวสินธุ์วนาราม
วัดโนนเรียน
บ้านโนนโก ม.6 ต�ำบลนาหนองทุ่ม
บ้านโนนเรียน ม.8 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดโกสุมภาราม
วัดโนนลาน
บ้านเหมือดแอ่ ม.4 ต�ำบลนาเพียง
บ้านโคกสูง ม.14 ต�ำบลหนองไผ่
วัดโคกม่วงบุญญาราม
วัดโนนศิลา
บ้านโคกม่วง ม.6 ต�ำบลขัวเรียง
บ้านฝายหิน ม.4 ต�ำบลวังหินลาด
วัดโคกหย่อน
วัดโนนสะอาด
บ้านหนองผือ ม.7 ต�ำบลนาเพียง
บ้านไชยสอ ม.2 ต�ำบลไชยสอ
วัดจอมศรี
วัดโนนส�ำราญ
บ้านจอมศรี ม.2 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านโนนลาน ม.4 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดแจ้งสว่าง
วัดโนนสูง
บ้านโนนเมือง ม.5 ต�ำบลโนนหัน
บ้านโคกสูง ม.3 ต�ำบลโนนอุดม
วัดแจ้งสว่างนอก
วัดโนนแห่โพธิ์ชัย
บ้านแสนสุข ม.5 ต�ำบลโนนสะอาด
บ้านหอย ม.1 ต�ำบลโนนอุดม
วัดชลประทาน
วัดบรม
บ้านโป่งเอียด ม.11 ต�ำบลขัวเรียง วัดชัยประดิษฐ (บ้านไผ่กุดหิน) ในเขตเทศบาล ม.3 ต�ำบลไชยสอ
บ้านหนองหว้า ม.8 ต�ำบลไชยสอ
วัดดาวเรือง
วัดบ้านท่าเดื่อ
บ้านดอนหัน ม.9 ต�ำบลชุมแพ
บ้านท่าเดื่อ ม.6 ต�ำบลไชยสอ
วัดไตรรงค์
วัดบ้านห้วยอีเปาะ
บ้านโนนชาติ ม.4 ต�ำบลโนนหัน
บ้านห้วยอีเปาะ ม.3 ต�ำบลนาหนองทุม่
วัดทาม
วัดบึงนาเพียง
บ้านโนนอุดม ม.6 ต�ำบลโนนอุดม
บ้านนาเพียง ม.1 ต�ำบลนาเพียง
วัดทุ่งชัย
วัดบึงสว่าง
บ้านโนนตุ่น ม.8 ต�ำบลหนองเสาเล้า วัดธาตุ บ้านแห่ ม.1 ต�ำบลชุมแพ
วัดนาดี
บ้านสนามบิน ม.7 ต�ำบลโนนสะอาด วัดบุญบาลประดิษฐ(บ้านหัวหนอง) ในเขตเทศบาล ม.2 ต�ำบลชุมแพ
บ้านนาดี ม.9 ต�ำบลวังหินลาด
วัดบูรพา
วัดนาโพธิ์
บ้านโนนทองหลาง ม.2 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านนาโพธิ์ ม.13 ต�ำบลชุมแพ
วัดประจันตวราราม
วัดนาราม
บ้านหนองโดน ม.11 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านกุดเข้ ม.1 ต�ำบลหนองไผ่
วัดประดู่ทอง
วัดบริบูรณ์ บ้านไผ่กุดหิน ม.3 ต�ำบลไชยสอ
บ้านหนองบัว ม.5 ต�ำบลชุมแพ
บ้านหนองศาลา ม.3 ต�ำบลหนองเสาเล้า
วัดโพธิ์ศรี บ้านร่องแซง ม.3 ต�ำบลโนนหัน
วัดสว่างหนองสังข์
วัดประสิทธิ์ไพศาล
วัดมิ่งมงคล
บ้านโนนแหลมทอง ม.13 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านโนนศิลา ม.6 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านหนองสังข์ ม.5 ต�ำบลไชยสอ วัดสว่างอารมณ์ ม.5 ต�ำบลขัวเรียง
วัดมุจลินท์
วัดสว่างอินทร์แปลง
วัดป่านาหนองทุ่ม
บ้านหนองผือ ม.10 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านนาหนองทุ่ม ม.8 ต�ำบลนาหนองทุ่ม
วัดราศี
วัดป่าโนนรัง
วัดศรีโกศลวนาราม
(บ้านหนองใส) ในเขตเทศบาล ม.1 ต�ำบลไชยสอ วัดสามัคคีชัย บ้านหนองเสาเล้า ม.1 ต�ำบลหนองเสาเล้า
บ้านโนนรัง ม.10 ต�ำบลโนนสะอาด
บ้านสุขสมบูรณ์ ม.5 ต�ำบลหนองเสา เล้า
วัดสามัคคีพัฒนาราม
วัดป่าโนนลาน
บ้านใหม่สามัคคี ม.10 ต�ำบลไชยสอ
บ้านโนนลาน ม.4 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดศรีชมพู
วัดสุทธิไชยาราม
บ้านหนองหว้า ม.7 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านพรสวรรค์ ม.9 ต�ำบลหนองไผ่
วัดศรีบุญเรือง
วัดแสงจันทร์
บ้านหนองกุง ม.5 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านโสกอุดม ม.7 ต�ำบลวังหินลาด
วัดศิลาล�ำโจด
วัดหนองหนามแท่ง
บ้านหนองเขียด ม.9 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านหนองหนามแท่ง ม.8 ต�ำบลหนองเขียด
วัดสระแก้ว
วัดหันสว่าง
บ้านสัมพันธ์ ม.3 ต�ำบลขัวเรียง
บ้านนาสีนวน ม.1 ต�ำบลขัวเรียง วัดหินตัง้ บ้านหินตัง้ ม.9 ต�ำบลโนนอุดม
วัดป่าบ้านโนนอุดม บ้านโนนอุดม ม.7 ต�ำบลโนนอุดม
วัดป่าบ้านแห่ บ้านแห่ ม.1 ต�ำบลชุมแพ
วัดป่าศรีบุรี บ้านหนองตุ้มนก ม.6 ต�ำบลหนองไผ่
วัดป่าหนองม่วง บ้านหนองม่วง ม.7 ต�ำบลโนนหัน
วัดป่าหนองศาลา บ้านหนองศาลา ม.4 ต�ำบลหนองเสาเล้า
บ้านขามป้อม ม.4 ต�ำบลขัวเรียง
วัดสระแก้ว บ้านเหมือดแอ่ ม.2 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดใหม่สามัคคี
วัดสระพัง
บ้านหนองเขียด ม.1 ต�ำบลหนองเขียด
บ้านบัวสิมมา ม.5 ต�ำบลโนนอุดม
วัดอรัญญวิเวกธรรม
วัดสว่างโนนคูณ
บ้านหูกวาง ม.4 ต�ำบลหนองไผ่
วัดอรัญญาวาส
บ้านใหม่นาค�ำ ม.15 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านหนองไผ่เหนือ ม.8 ต�ำบลวังหิน ลาด
บ้านตลาดโคกสูง ม.14 ต�ำบลขัวเรียง
วัดโป่งแห้งราษฎร์บำ� รุง
วัดสว่างโนนงาม
วัดอัมพวัน
บ้านโป่งแห้ง ม.5 ต�ำบลวังหินลาด วัดพงษาวาส บ้านหนองโพงโพต ม.2 ต�ำบลหนองเสาเล้า
บ้านโนนสะอาดห้วยบั้งทิง ม.7 ต�ำบล หนองไผ่
บ้านหนองม่วง ม.7 ต�ำบลโนนหัน บ้านอาจสามารถ ม.8 ต�ำบลนาเพียง
วัดพนมไพร
วัดสว่างโนนทองหลาง บ้านโนนทองหลาง ม.4 ต�ำบลไชยสอ
วัดอิสาณราษฎร์บ�ำรุง
วัดสว่างโนนโพธิ์
บ้านวังยาวใหญ่ ม.4 ต�ำบลนาหนองทุม่
วัดป่าหินลาด บ้านโนนลาน ม.2 ต�ำบลนาเพียง
วัดป่าใหม่นาค�ำ
บ้านหนองไฮ ม.6 ต�ำบลนาเพียง
วัดพัฒนาราม บ้านหนองจิต ม.7 ต�ำบลชุมแพ วัดโพธิ์ก่อง (บ้านหนองขาม) ในเขตเทศบาล ม.9 ต�ำบลหนองไผ่ วัดโพธิ์ธาตุ (บ้านชุมแพ) ในเขตเทศบาล ม.1 ต�ำบลชุมแพ
วัดอิสาณ
บ้านโนนโพธิ์ ม.5 ต�ำบลนาเพียง
วัดอุดมเจริญธรรม
วัดสว่างวังบง
บ้านถิ่นอุดม ม.14 ต�ำบลหนองไผ่
บ้านห้วยบง ม.6 ต�ำบลหนองไผ่
วัดอุดมราษฏร์ประดิษฐ์
วัดสว่างศรีบุญเรือง
บ้านโนนชาติ ม.5 ต�ำบลนาหนองทุ่ม
บ้านหนองบัว ม.3 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดอุดมวิทยาราม
วัดสว่างหนองบัว
บ้านโนนหัน ม.2 ต�ำบลโนนหัน
126 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 126
26/10/2562 15:12:09
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอสีชมพู วัดกลางสามัคคี บ้านวังขอนยม ม. 10 ต�ำบลนาจาน วัดเกาะแก้ว ม.3 ต�ำบลหนองแดง
วัดโพธิช์ ยั บ้านพงษ์ ม.3 ต�ำบลบริบรู ณ์ วัดโพธิท์ อง
บ้านห้วยโจด ม.11 ต�ำบลหนองแดง
บ้านหินลาดทุ่งโพธิ์ ม.8 ต�ำบลศรีสุข วัดโพนสูง บ้านวังโพน ม.6 ต�ำบลนาจาน วัดวังมน ม.2 ต�ำบลสีชมพู
วัดแจ้งสว่าง
วัดวิเวกวนาราม
บ้านหนองแสง ม.8 ต�ำบลนาจาน วัดดอนเมือง ม.1 ต�ำบลซ�ำยาง
บ้านป่าน ม.8 ต�ำบลสีชมพู วัดศรีแก้ว ม.1 ต�ำบลนาจาน วัดศรีชมชืน่ ม.3 ต�ำบลสีชมพู
วัดโคกกลางสว่าง
วัดตลิง่ โนนงาม บ้านโนนทองหลาง ม.7 ต�ำบลสีชมพู วัดตาลเดีย่ ว ม.8 ต�ำบลสีชมพู
วัดท่าส�ำราญ บ้านร่องกลอง ม.3 ต�ำบลซ�ำยาง วัดธรรมิการาม ม.9 ต�ำบลนาจาน วัดโนนศิลา ม.7 ต�ำบลศรีสุข วัดโนนสูง บ้านวังโพน ม.6 ต�ำบลนาจาน
วัดศรีชยั วราราม บ้านโคกสูง ม.9 ต�ำบลสีชมพู วัดศรีรตั นปรับปรุง ม.2 ต�ำบลวังเพิม่
วัดศรีวงั มน บ้านวังมน ม.2 ต�ำบลสีชมพู
วัดศรีสง่า
วัดบริบรู ณ์
บ้านโนนหัวนา ม.5 ต�ำบลศรีสุข วัดศรีสว่าง ม.4 ต�ำบลนาจาน
บ้านบริบูรณ์ ม.1 ต�ำบลบริบูรณ์
วัดศรีสำ� ราญ
วัดบวรมงคล
บ้านนาเจริญ ม.11 ต�ำบลนาจาน
บ้านหนองตาใกล้ ม.2 ต�ำบลภูห่าน วัดศิรชิ ยั ศรี ม.3 ต�ำบลศรีสุข วัดศิรธิ รรม ม.4 ต�ำบลซ�ำยาง วัดสวรรค์นาตาด ม.5 ต�ำบลซ�ำยาง วัดสว่างโนนงาม ม.11 ต�ำบลวังเพิ่ม วัดสว่างหนองไฮ ม.2 ต�ำบลนาจาน วัดสักหลวง ม.10 ต�ำบลศรีสุข วัดสามัคคยาราม ม.5 ต�ำบลสีชมพู วัดสามัคคี ม.4 ต�ำบลหนองแดง
วัดป่าบุญทันธรรมาราม
วัดสายทอง
บ้านหนองดู่ ม.8 ต�ำบลวังเพิ่ม
บ้านโพธิ์ทอง ม.7 ต�ำบลหนองแดง
วัดป่าศรีดงลาน
วัดสีชมพู
บ้านศรีอุบล ม.5 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดป่าสันติสขุ ม.11 ต�ำบลวังเพิ่ม
บ้านทรายทอง ม.10 ต�ำบลวังเพิ่ม
วัดป่าสามัคคีธรรม บ้านโคกป่ากุง ม.1 ต�ำบลสีชมพู
บ้านหนองปลาซิว ม.1 ต�ำบลภูหา่ น วัดสุวรรณรังษี ม.3 ต�ำบลนาจาน
วัดป่าหนองจองจอย
วัดโสกจานนาดี
บ้านนาจาน ม.1 ต�ำบลนาจาน
บ้านโสกจานนาดี ม.4 ต�ำบลบ้านใหม่
วัดป่าหนองแดง
วัดโสภณวนาราม
บ้านหนองแดง ม.1 ต�ำบลหนองแดง วัดพรหมสุรนิ ทร์ ม.4 ต�ำบลศรีสุข วัดพิบลู ย์ ม.2 ต�ำบลศรีสุข
บ้านโนนงาม ม.3 ต�ำบลภูห่าน วัดหันสว่าง ม.4 ต�ำบลวังเพิ่ม วัดอรัญญาวาส ม.6 ต�ำบลวังเพิ่ม
บ้านปากห้วยฝาง ม.3 ต�ำบลวังเพิ่ม วัดบึงกาญน์ ม.5 ต�ำบลนาจาน
วัดประชาอุทศิ บ้านโคกจั๊กจั่น ม.5 ต�ำบลหนองแดง
วัดป่าแก้วโกศล บ้านนายม ม.5 ต�ำบลวังเพิ่ม
วัดป่าจันทรังษี
วัดสุวรรณบรรพต
วัดพิศาล บ้านพิศาลพัฒนา ม.11 ต�ำบลศรีสุข
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 127
1,469 (20
).indd 127
26/10/2562 15:12:11
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอน�้ำพอง
วัดป่าโนนสวรรค์ ม.8 ต�ำบลหนองกุง
วัดกลางอรัญเขต
วัดนาเรียงวนาราม
วัดป่าบ้านขาม
ม.4 ต�ำบลบ้านขาม วัดกู่ประภาชัย ม.1 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดเกาะแก้ว ม.7 ต�ำบลสะอาด
บ้านนาเรียง ม.5 ต�ำบลหนองกุง วัดโนนกลาง ม.3 ต�ำบลบัวเงิน วัดโนนสระบัว ม.9 ต�ำบลน�้ำพอง วัดบริบูรณ์ ม.1 ต�ำบลม่วงหวาน
บ้านขาม ม.15 ต�ำบลบ้านขาม วัดป่าบึงถุงเทียว ม.1 ต�ำบลน�้ำพอง
วัดเกาะแก้ว บ้านโคกเล้า ม.12 ต�ำบลบัวเงิน
วัดบัวบานจันทรังษี ม.8 ต�ำบลพังทุย
วัดเกาะเมตตา
วัดป่าบึงเป่ง บึงเป่ง ม.9 ต�ำบลท่ากระเสริม วัดป่าปิยะราช บ้านหนองบัวบาน ม.5 ต�ำบลทรายมูล
วัดป่าภูกระแต
บ้านนายม ม.2 ต�ำบลหนองกุง
วัดบัวระพา ม.10 ต�ำบลทรายมูล วัดบัวระพา ม.2 ต�ำบลกุดน�้ำใส วัดบ้านค�ำใหญ่
วัดค�ำจันทราราม
บ้านค�ำใหญ่ ม.9 ต�ำบลม่วงหวาน
วัดพังคียาราม
บ้านสร้างแซ่ง ม.7 ต�ำบลวังชัย
วัดเขาดินวนาราม บ้านค�ำบอน ม.8 ต�ำบลบัวเงิน วัดค�ำบง ค�ำบง ม.9 ต�ำบลสะอาด วัดค�ำมืด ม.12 ต�ำบลน�้ำพอง
วัดบ้านเสียว
วัดค�ำสว่าง
บ้านเหล่าโสกม่วง ม.4 ต�ำบลพังทุย วัดบึงบอล ม.9 ต�ำบลทรายมูล วัดบึงพลานชัย ม.7 ต�ำบลหนองกุง
บ้านค�ำมืดใต้ ม.14 ต�ำบลน�้ำพอง วัดจอมมณี ม.13 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดเจติยภูมิ ม.1 ต�ำบลบ้านขาม วัดชัยศรี ม.9 ต�ำบลวังชัย วัดชัยสว่าง ม.7 ต�ำบลบ้านขาม วัดชุมพร ม.5 ต�ำบลม่วงหวาน วัดซ�ำขามถ�ำ้ ยาว ม.11 ต�ำบลบัวเงิน
บ้านเสียว ม.13 ต�ำบลวังชัย
วัดบ้านโสกม่วง
วัดบูรพาภิรมยาราม ม.5 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดบูรพาราม ม.4 ต�ำบลท่ากระเสริม
วัดป่าค�ำบอน บ้านค�ำบอน ม.8 ต�ำบลบัวเงิน
วัดท่าเกษมสามัคคี
วัดป่าชลประทานศรัทธาธรรม
ม.5 ต�ำบลท่ากระเสริม วัดท่าน�้ำพอง ม.2 ต�ำบลน�้ำพอง วัดทุ่งสว่าง ม.9 ต�ำบลท่ากระเสริม วัดทุ่งสว่าง ม.6 ต�ำบลน�้ำพอง วัดธาตุจอมศรี ม.4 ต�ำบลหนองกุง วัดนวการาม ม.9 ต�ำบลบัวเงิน วัดนาขาม นาขาม ม.6 ต�ำบลพังทุย
บ้านหินกอง ม.4 ต�ำบลน�้ำพอง
วัดป่าเทพนิมิต บ้านทรายมูล ม.1 ต�ำบลทรายมูล วัดป่าไทรทอง บ้านทรายมูล ม.2 ต�ำบลทรายมูล วัดป่าธรรมนิมิต บ้านคอกวัว ม.11 ต�ำบลทรายมูล
บ้านค�ำใหญ่ ม.9 ต�ำบลม่วงหวาน วัดพลับพลาชัย ม.5 ต�ำบลหนองกุง
วัดวิชัยยาราม ม.7 ต�ำบลวังชัย วัดเวฬุวัน บ้านดงเย็น ม.12 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดศรีชมชื่น ม.8 ต�ำบลบ้านขาม วัดศรีชมชื่น ม.5 ต�ำบลทรายมูล วัดศรีชมชื่น ม.6 ต�ำบลสะอาด วัดศรีธรรมา ม.6 ต�ำบลทรายมูล วัดศรีนวน ม.1 ต�ำบลสะอาด วัดศรีบุญเรือง ม.1 ต�ำบลบัวเงิน วัดศรีบุญเรือง ม.1 ต�ำบลทรายมูล
วัดศรีปทุมวนาราม ม.10 ต�ำบลน�้ำพอง วัดศรีมงคล ม.1 ต�ำบลกุดน�้ำใส วัดศรีมงคล ม.7 ต�ำบลทรายมูล
วัดสว่างอรุณ ห้วยเสือเต้น ม.3 ต�ำบลน�้ำพอง
วัดสว่างอารมณ์ ม.10 ต�ำบลบ้านขาม
วัดสองคอน บ้านสองคอน ม.6 ต�ำบลบ้านขาม
วัดสามัคคีวิทยาราม ม.2 ต�ำบลบัวใหญ่
วัดส�ำราญนาศรี ม.10 ต�ำบลสะอาด วัดสิลาอาสน์ ม.6 ต�ำบลบัวเงิน วัดสีลาขันธุ์ ม.4 ต�ำบลน�้ำพอง วัดสีสปาวัน
วัดศรีเรืองชัย
บ้านห้วยเสือเต้น ม.3 ต�ำบลน�้ำพอง วัดสุนันทาวาส ม.8 ต�ำบลกุดน�้ำใส วัดสุริยะสว่าง ม.4 ต�ำบลสะอาด
วัดพิทักษ์ธรรมาราม
บ้านดงเรือง ม.5 ต�ำบลพังทุย
วัดโสภิตาราม
บ้านนาขาม ม.6 ต�ำบลพังทุย
วัดศรีสุมังค์
วัดพุทธเกษม
บ้านหนองผักตบ ม.11 ต�ำบลบ้านขาม
บ้านนาศรี ม.12 ต�ำบลสะอาด วัดหนองกุง ม.1 ต�ำบลหนองกุง
วัดศรีสุมังค์วนาราม
วัดหนองนกเขียน
ม.10 ต�ำบลบัวเงิน
บ้านหนองนกเขียน ม.6 ต�ำบลหนองกุง วัดหรคุณ ม.8 ต�ำบลน�้ำพอง วัดหินกองน้อย ม.5 ต�ำบลน�้ำพอง วัดหินลาด ม.7 ต�ำบลพังทุย วัดใหม่สามัคคีธรรม ม.7 ต�ำบลบัวเงิน วัดอัมพวัน ม.2 ต�ำบลสะอาด วัดอิสาณ ม.1 ต�ำบลท่ากระเสริม วัดอุทัย ม.6 ต�ำบลท่ากระเสริม วัดอุทุมพร ม.7 ต�ำบลท่ากระเสริม
บ้านคอกคี ม.9 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดพิชัยพัฒนาราม ม.1 ต�ำบลวังชัย
บ้านหนองกุง ม.10 ต�ำบลหนองกุง วัดโพธาราม ม.7 ต�ำบลกุดน�้ำใส วัดโพธิ์ชัย ม.2 ต�ำบลบัวเงิน วัดโพธิ์ชัย ม.2 ต�ำบลม่วงหวาน วัดโพธิ์ชัย ม.1 ต�ำบลน�้ำพอง วัดโพธิ์ชัย ม.11 ต�ำบลบัวใหญ่ วัดโพธิ์ศรี ม.4 ต�ำบลบัวเงิน วัดโพนทอง ม.5 ต�ำบลบัวเงิน วัดไพศาล บ้านหนองหญ้ารังกา ม.7 ต�ำบลน�้ำพอง วัดมหาชัย ม.8 ต�ำบลวังชัย วัดมหาวันวิหาร ม.4 ต�ำบลวังชัย วัดมุกดาราม ม.8 ต�ำบลทรายมูล วัดเลียบ ม.7 ต�ำบลม่วงหวาน
วัดศรีสุวรรณพรหมวราราม ม.11 ต�ำบลบัวเงิน
วัดศรีอุดม ม.3 ต�ำบลพังทุย วัดศิลาอาสน์ ม.4 ต�ำบลวังชัย วัดสมศรี ม.1 ต�ำบลพังทุย วัดสระแก้ว ม.4 ต�ำบลทรายมูล วัดสระแก้ว ม.8 ต�ำบลสะอาด วัดสระชัย ม.3 ต�ำบลหนองกุง วัดสระทรงศิลา ม.5 ต�ำบลสะอาด วัดสระทอง ม.3 ต�ำบลทรายมูล วัดสว่างแสงอรุณ
วัดอุปดิสทรงชัย บ้านหนองแซง ม.3 ต�ำบลวังชัย
ม.14 ต�ำบลบัวใหญ่
128 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 128
26/10/2562 15:12:13
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภออุบลรัตน์ วัดเขื่อนอุบลรัตน์
วัดโพธาราม
บ้านท่าเรือ ม.3 ต�ำบลเขื่อนอุบลรัตน์ วัดถ�ำ้ พระค�ำเม็ก ม.1 ต�ำบลนาค�ำ
บ้านโนนสะอาด ม.1 ต�ำบลทุ่งโป่ง วัดโพธิ์ชัย ม.4 ต�ำบลบ้านดง วัดโพธิ์ศรี ม.2 ต�ำบลโคกสูง
วัดทรัพย์ภูพาน บ้านทรัพย์ภูพาน ม.10 ต�ำบลบ้านดง วัดท่าเจริญ บ้านท่าพระยาณรงค์ ม.4 ต�ำบลศรีสุขส�ำราญ วัดทุง่ โป่ง บ้านทุง่ โป่ง ม.7 ต�ำบลทุง่ โป่ง วัดเทพนิมิต ม.1 ต�ำบลบ้านดง วัดนาค�ำ ม.1 ต�ำบลนาค�ำ
วัดนิคมพรหมรังสี
วัดโพธิ์ศรีส�ำราญ บ้านส�ำราญ ม.10 ต�ำบลศรีสุขส�ำราญ วัดโพธิ์สง่า ม.6 ต�ำบลทุ่งโป่ง วัดโพธิ์สมพร ม.8 ต�ำบลนาค�ำ
วัดมณีศิลาอาสน์ บ้านทานตะวัน ม.11 ต�ำบลนาค�ำ วัดยางค�ำ ม.5 ต�ำบลบ้านดง
บ้านนิคม ม.9 ต�ำบลโคกสูง
วัดศรีโนนเรือง
วัดนิคมพัฒนาราม
ม.6 ต�ำบลเขื่อนอุบลรัตน์
บ้านหนองผักแว่น ม.11 ต�ำบลบ้านดง
วัดศรีบุญเรือง
วัดนิคมวนาราม
ม.3 ต�ำบลศรีสุขส�ำราญ
บ้านทรัพย์สมบูรณ์ ม.4 ต�ำบลทุ่งโป่ง
วัดศรีบุญเรือง
วัดโนนทัน
บ้านหนองขาม ม.9 ต�ำบลนาค�ำ
บ้านห้วยทราย ม.7 ต�ำบลบ้านดง
วัดศรีพอง
วัดโนนราศรี
วัดประชานิคมพัฒนาราม
บ้านหนองผือ ม.5 ต�ำบลทุ่งโป่ง วัดสว่างศรีชมภู ม.3 ต�ำบลนาค�ำ วัดสว่างสามสวน ม.3 ต�ำบลโคกสูง วัดสว่างอารมณ์ ม.9 ต�ำบลนาค�ำ วัดสัมพันธวาราม ม.7 ต�ำบลนาค�ำ
บ้านอุดมศิลป์ ม.7 ต�ำบลโคกสูง
วัดใหม่โพธิ์งาม
วัดป่าดอนนาโพธิ์ บ้านขุนด่าน ม.1 ต�ำบลบ้านดง
บ้านดง ม.3 ต�ำบลบ้านดง วัดอัมพวัน ม.5 ต�ำบลศรีสุขส�ำราญ
วัดป่าประชาสงเคราะห์
วัดอินทราวาส
บ้านโคกสูง ม.1 ต�ำบลโคกสูง วัดป่ามัชฌิมวัลย์ ม.7 ต�ำบลบ้านดง
บ้านโนนอินทร์แปลง ม.3 ต�ำบลทุง่ โป่ง วัดอิสาน ม.4 ต�ำบลโคกสูง
วัดป่าสระแก้วชัยมงคล
วัดอุดมศิลป์
บ้านหนองไหล ม.4 ต�ำบลนาค�ำ
บ้านอุดมศิลป์ ม.7 ต�ำบลโคกสูง วัดอุตสาหะ ม.1 ต�ำบลบ้านดง
บ้านโนนราศรี ม.2 ต�ำบลนาค�ำ วัดบารมีชัย ม.8 ต�ำบลบ้านดง วัดบึงไทร ม.2 ต�ำบลบ้านดง
วัดป่าหนองแซง บ้านโคกสูง ม.12 ต�ำบลโคกสูง
วัดพระบาทภูพานค�ำ ม.1 ต�ำบลเขื่อนอุบลรัตน์
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 129
1,469 (20
).indd 129
26/10/2562 15:12:15
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอกระนวน วัดกลางธรรมนิมิต
วัดเนกขัมมาภิรมณ์ บ้านหอกเกี้ย
บ้านโนนราศรี ม.18 ต�ำบลหนองโก
ม.2 ต�ำบลน�้ำอ้อม วัดโนนกลาง บ้านห้วยยาง ม.1 ต�ำบลห้วยยาง วัดโนนสว่าง บ้านโคกกลาง ม.5 ต�ำบลหนองโน วัดโนนสัง บ้านโนนสัง ม.7 ต�ำบล ห้วยโจด วัดบูรพาราม บ้านหนองแวงคู ม.6 ต�ำบลบ้านฝาง วัดประทุมคงคา บ้านน�้ำอ้อม ม.5 ต�ำบลน�้ำอ้อม วัดป่าชัยมงคล บ้านชัยมงคล ม.10 ต�ำบลหนองโก วัดป่าโนนราศรี บ้านโนนราศรี ม.18 ต�ำบลหนองโก วัดป่าประชาบ�ำรุง บ้านโคกสูง ม.2 ต�ำบลห้วยยาง
วัดจอมแจ้ง บ้านผักหนาม ม.4 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
วัดชุมพรชัยศรี บ้านเวียงอินน์ ม.3 ต�ำบลน�้ำอ้อม
วัดชุมพล บ้านบะแต้ ม.5 ต�ำบลหนองโก
วัดไตรมิตร บ้านหนองซา ม.6 ต�ำบลน�้ำอ้อม
วัดไทรทอง บ้านนาฝาย ม.8 ต�ำบลห้วยโจด
วัดธรรมราชรังษี บ้านกุดจาน ม.4 ต�ำบลน�้ำอ้อม
วัดนามูลพุทธาวาส บ้านนามูล ม.4 ต�ำบลดูนสาด
วัดนาเลาะ บ้านนาเลาะ ม.4 ต�ำบลหนองโน
วัดป่าผักหนามชัย บ้านผักหนามชัย
วัดศรีชมชื่น
วัดสุทธาวาส
ม.12 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านป่ารัง ม.9 ต�ำบลห้วยโจด
บ้านผักแว่น ม.8 ต�ำบลหนองโก
วัดป่าเลไลย์
วัดศรีมงคล
วัดแสนสุขวนาราม
บ้านค�ำไฮ ม.3 ต�ำบลหนองโก
บ้านโนนศิลา ม.5 ต�ำบลห้วยโจด
วัดป่าหนองกุงใหญ่
วัดศรีมหานาท
บ้านแสนสุข ม.1 ต�ำบลห้วยโจด วัดหนองโน ม.1 ต�ำบลหนองโน
บ้านอนามัย ม.6 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านห้วยเชือก ม.4 ต�ำบลหนองโก
วัดเหนือส�ำโรง
วัดฝางศรีงามราษฎร์
วัดศรีสว่าง
บ้านกุดโง้ง ม.3 ต�ำบลหนองโน
บ้านฝาง ม.7 ต�ำบลบ้านฝาง
บ้านศรีสุข ม.7 ต�ำบลหนองโก
วัดอัมพวัน
วัดพรมประสิทธิ์
วัดศรีสุพร
บ้านหนองแสง ม.4 ต�ำบลห้วยโจด
บ้านค�ำแมด ม.3 ต�ำบลบ้านฝาง
บ้านโคกล่าม ม.5 ต�ำบลห้วยยาง
วัดอัมพวัน
วัดพรหมวิหารธรรม
วัดศิริชัยโย
บ้านหนองโอง ม.7 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านวังโพน ม.3 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านโป่งแค ม.6 ต�ำบลห้วยโจด
วัดอินทรประสิทธิ์
วัดพัฒนาสีลา
วัดสว่าง
บ้านศรีสมบูรณ์ ม.9 ต�ำบลหนองโก
บ้านฝาง ม.1 ต�ำบลบ้านฝาง
บ้านห้วยโจด ม.3 ต�ำบลห้วยโจด
วัดอิสาณ
วัดมธุวัณโณวาส
วัดสว่างแดนดิน
บ้านหัวนาค�ำ ม.2 ต�ำบลหัวนาค�ำ
บ้านหนองกุงใหญ่ ม.1 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านโคกกลาง ม.3 ต�ำบลห้วยยาง
วัดเวียงแก้ว
วัดสว่างวังหิน
บ้านเวียงแก้ว ม.2 ต�ำบลหนองกุงใหญ่
บ้านโสกเสี้ยว ม.2 ต�ำบลห้วยโจด
วัดศรีจันทร์
วัดสามัคคีธรรม
บ้านหนองโน ม.1 ต�ำบลหนองโน
บ้านป่าติ้ว ม.2 ต�ำบลหนองโน
130 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 130
26/10/2562 15:12:17
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอบ้านไผ่ วัดกิโลเมตรสิบหก
วัดบูรณะสิทธิ์ ม.5 ต�ำบลหัวหนอง วัดบูรณาวาส เป้า ม.3 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดบูรพาราม ม.2 ต�ำบลหนองน�้ำใส วัดป่ากู่แก้วมิ่งมงคล
ม.9 ต�ำบลหนองน�้ำใส วัดเขมาภิรมณ์ ม.3 ต�ำบลเมืองเพีย วัดคุ้มจัดสรรค์ ม.1 ต�ำบลในเมือง วัดแคนเหนือ ม.1 ต�ำบลแคนเหนือ วัดจอมศรี ม.2 ต�ำบลบ้านลาน วัดจันทรประสิทธิ์ ม.2 ต�ำบลในเมือง วัดจันทริการาม ม.7 ต�ำบลป่าปอ วัดจ�ำปา ม.1 ต�ำบลบ้านลาน วัดจ�ำปา ม.5 ต�ำบลภูเหล็ก วัดดุสิตาราม ม.4 ต�ำบลป่าปอ
ม.5 ต�ำบลในเมือง
วัดดู่ใหญ่วนาราม
วัดป่าฟ้าระงึม
บ้านดู่ใหญ่ ม.4 ต�ำบลเมืองเพีย วัดธรรมเจดีย์ ม.2 ต�ำบลแคนเหนือ วัดธรรมมงคล (ราษฎร์บ�ำรุง) ม.9 ต�ำบลหินตั้ง
บ้านโนนงิ้ว ม.2 ต�ำบลหัวหนอง วัดป่าสุมนามัย บ้านคุม้ วัดป่าสุมนามัย ม.20 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดป่าอาสภาวาส หินตั้ง ม.1 ต�ำบล หินตั้ง
วัดธรรมวิเวกประชาสรรค์
บ้านหนองนกเขียน ม.8 ต�ำบลหนองน�ำ้ ใส
วัดป่าชัยวารินทร์ บ้านล�ำห้วยทราย ม.13 ต�ำบลในเมือง
วัดป่าโนนสวรรค์ บ้านโนนสวรรค์ ม.11 ต�ำบลหนองน�ำ้ ใส
วัดป่าพุทธชัยมงคล
วัดโพธิ์ชัยบ้านไผ่ ม.2 ต�ำบลในเมือง วัดโพธิ์ตาก ม.4 ต�ำบลเมืองเพีย วัดโพธิ์ตาก ม.7 ต�ำบลหนองน�้ำใส วัดมงคลหลวง เมืองเพีย ม.2 ต�ำบลเมืองเพีย
วัดสมุหนาถราม ม.2 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดสว่างจูมทอง ม.6 ต�ำบลแคนเหนือ วัดสว่างชัยศรี ม.1 ต�ำบลหนองน�้ำใส วัดสว่างทุ่งมน ม.8 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดสว่างโนนชัย
วัดมะพร้าวกิ่งโพธิ์ศรี
ม.6 ต�ำบลหนองน�้ำใส
ม.8 ต�ำบลหนองน�้ำใส
ม.7 ต�ำบลในเมือง
วัดสว่างโนนเพียง
วัดมัชฌิมวิทยาราม ม.4 ต�ำบลบ้านลาน
ม.1 ต�ำบลในเมือง วัดสว่างเวหา ม.11 ต�ำบลบ้านลาน
วัดหนองแวงโอง ม.2 ต�ำบลในเมือง วัดหนองหญ้าปล้อง
วัดวารีภูษาราม
วัดสว่างสุริยาเย็น
บ้านหนองค้อ ม.13 ต�ำบลบ้านลาน
วัดศรีจันทร์
บ้านสว่าง ม.8 ต�ำบลหินตั้ง วัดสว่างอารมณ์ ม.5 ต�ำบลป่าปอ
บ้านแก่นค�ำ ม.10 ต�ำบลหินตั้ง วัดศรีบุญเรือง ม.3 ต�ำบลหินตั้ง วัดศรีบุญเรือง ม.3 ต�ำบลหัวหนอง
วัดสว่างอารมณ์
บ้านเหล่าหลวง ม.4 ต�ำบลแคนเหนือ
ม.5 ต�ำบลแคนเหนือ วัดสวาท ม.5 ต�ำบลบ้านไผ่
วัดใหม่โคกสูง
วัดศรีประยูรพรหม
วัดสะอาดโนนงาม
วัดใหม่สามัคคี
บ้านหนองร้านหญ้า ม.5 ต�ำบลหัวหนอง วัดศรีมหาโพธิ์ ม.3 ต�ำบลแคนเหนือ
บ้านหนองลุมพุก ม.7 ต�ำบลในเมือง
บ้านดอนนาดี ม.12 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดอมรบูรญาราม ม.2 ต�ำบลหินตั้ง
วัดศรีสง่า
บ้านขามป้อม ม.9 ต�ำบลบ้านลาน วัดสามัคคี ม.1 ต�ำบลบ้านไผ่
วัดสะอาดโพธิ์ศรี
วัดพรหมวิหารริการาม วัดพันธสามัคคี
วัดศิริชัยมงคล
วัดสุดาราษฏร์วราราม
วัดบ้านขามเรียน
บ้านชีกกค้อ ม.13 ต�ำบลเมืองเพีย วัดโพธิก์ ลาง บ้านเป้า ม.4 ต�ำบลบ้านไผ่ วัดโพธิ์ชัย ม.5 ต�ำบลเมืองเพีย วัดโพธิ์ชัย ม.5 ต�ำบลหนองน�้ำใส
บ้านป่าปอ ม.2 ต�ำบลป่าปอ วัดศิริมงคล ม.3 ต�ำบลป่าปอ
ม.4 ต�ำบลหัวหนอง วัดสุทธิการาม ม.6 ต�ำบลในเมือง
วัดสนวนวารีพัฒนาราม
วัดสุภีสีวราราม
ม.1 ต�ำบลหัวหนอง
บ้านโนนสวางค์ ม.7 ต�ำบลบ้านลาน
บ้านขามเรียน ม.12 ต�ำบลเมืองเพีย
วัดบุปผาราม บ้านหนองข่าลิ้น ม.6 ต�ำบลป่าปอ
ม.4 ต�ำบลหินตั้ง
บ้านโสกตลิ่ง ม.4 ต�ำบลในเมือง
วัดหนองกุง บ้านหนองกุง ม.10 ต�ำบลบ้านไผ่
วัดหนองนกเขียน
หนองหญ้าปล้อง ม.4 ต�ำบลภูเหล็ก วัดหนองฮี หนองฮี ม.3 ต�ำบลหินตั้ง วัดหินตั้ง หินตั้ง ม.1 ต�ำบลหินตั้ง
วัดเหล่าหลวง บ้านโคกสูง ม.7 ต�ำบลบ้านไผ่
บ้านโนนทอง ม.6 ต�ำบลหินตั้ง วัดนันทพิมพาราม ม.4 ต�ำบลในเมือง วัดโนนทอง ม.4 ต�ำบลหนองน�้ำใส
บ้านโคกโถ ม.7 ต�ำบลแคนเหนือ
วัดโสกตลิ่งโสภภณาราม
วัดอรัญญวาส บ้านโนนสวรรค์ ม.2 ต�ำบลภูเหล็ก วัดอรัญญาวาส ม.1 ต�ำบลภูเหล็ก วัดอุตตมวารี ม.6 ต�ำบลเมืองเพีย
วัดเอี่ยมไพบูลย์ บ้านเกิ้ง ม.5 ต�ำบลหัวหนอง
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 131
1,469 (20
).indd 131
26/10/2562 15:12:21
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอเปือยน้อย วัดแจ้ง(แจ้งอรุณศิลป์) บ้านนาเสียว ม.5 ต�ำบลสระแก้ว วัดชัยสวาสดิ์ ม.5 ต�ำบลขามป้อม วัดโชติการาม ม.4 ต�ำบลวังม่วง วัดธาตุกู่ทอง ม.1 ต�ำบลเปือยน้อย วัดนันทาราม ม.7 ต�ำบลขามป้อม วัดนาเลา ม.2 ต�ำบลขามป้อม
วัดป่าเก่าค้อ บ้านเก่าค้อ ม.3 ต�ำบลสระแก้ว วัดโพธิ์ชัย ม.5 ต�ำบลเปือยน้อย วัดโพธิ์ศรี ม.1 ต�ำบลสระแก้ว วัดมาลา ม.1 ต�ำบลขามป้อม วัดฤาษี ม.3 ต�ำบลวังม่วง
วัดเลียบโพธิ์ทอง ม.4 ต�ำบลขามป้อม วัดศรีสมพร ม.4 ต�ำบลเปือยน้อย วัดศรีสว่างวงษ์ ม.2 ต�ำบลเปือยน้อย วัดศรีสุมังค์ ม.6 ต�ำบลวังม่วง วัดศรีหงษ์ทอง ม.6 ต�ำบลขามป้อม วัดสายทอง ม.2 ต�ำบลสระแก้ว วัดสิงห์ทอง(บ้านหัวฝาย) ม.3 ต�ำบลเปือยน้อย วัดอัมพวัน ม.1 ต�ำบลวังม่วง วัดอิสาน(อิสานโพธิ์ทอง) ม.3 ต�ำบลขามป้อม วัดอุดร(อุดรมีชัย) ม.4 ต�ำบลสระแก้ว
132 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 132
26/10/2562 15:12:23
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอแวงใหญ่ วัดกัทลีวัณ ม.1 ต�ำบลใหม่นาเพียง วัดกาญจนาราม ม.1 ต�ำบลโนนทอง วัดจิตตปริวนาราม
วัดโปร่งจันทร์วนาราม
บ้านบะแค ม.5 ต�ำบลแวงใหญ่
ม.4 ต�ำบลคอนฉิม วัดไพรงาม ม.7 ต�ำบลโนนทอง
วัดจิตปาลิวัน บ้านดอนโจด ม.6 ต�ำบลคอนฉิม วัดจินดามณี ม.5 ต�ำบลใหม่นาเพียง วัดทรงธรรม ม.4 ต�ำบลคอนฉิม วัดทรงศีล ม.8 ต�ำบลใหม่นาเพียง
บ้านกุดหมากเห็บ ม.3 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดพิเศษประดิษฐ วัดมหรรณพาราม ม.3 ต�ำบลใหม่นาเพียง
วัดรัตนมงคล
บ้านโนนจันทึก ม.4 ต�ำบลใหม่นาเพียง
บ้านหัวหนองแวง ม.3 ต�ำบลแวงใหญ่ วัดลัฎฐิวัน ม.1 ต�ำบลคอนฉิม วัดศรีมณีธรรม ม.2 ต�ำบลโนนทอง วัดสระเกษ ม.1 ต�ำบลแวงใหญ่ วัดสระทอง ม.2 ต�ำบลโนนสะอาด
วัดโนนสวรรค์
วัดสวรรค์บูรพาราม
บ้านโนนสวรรค์ ม.3 ต�ำบลคอนฉิม วัดโนนสัมพันธ์ ม.8 ต�ำบลคอนฉิม
บ้านโนนสวรรค์ ม.3 ต�ำบลคอนฉิม
วัดบ้านบะแค
บ้านโนนข่า ม.4 ต�ำบลโนนทอง วัดสิงขรณ์ ม.5 ต�ำบลโนนทอง
วัดแท่นศิลาอาสน์ ต�ำบลใหม่นาเพียง
วัดนาคสงเคราะห์
บ้านบะแค ม.5 ต�ำบลแวงใหญ่
วัดสาลวัน
วัดบ้านโสกไผ่
วัดแสงสว่างอารมณ์
บ้านโสกไผ่ ม.6 ต�ำบลใหม่นาเพียง
ม.2 ต�ำบลคอนฉิม วัดหิมาลัย ม.3 ต�ำบลแวงใหญ่ วัดอินทนิมิต ม.2 ต�ำบลใหม่นาเพียง
วัดบุบผาราม บ้านป่าไม้งาม ม.8 ต�ำบลโนนทอง
วัดป่าดอนบาลไท บ้านดอนบาลไท ม.2 ต�ำบลแวงใหญ่
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 133
1,469 (20
อ�ำเภอภูกามยาว
).indd 133
26/10/2562 15:12:25
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอแวงน้อย
วัดพรมประสิทธิ์
วัดวิชัยชนาราม
วัดสุทธังคณาวาส
ม.3 ต�ำบลก้านเหลือง วัดศรีธงชัย ม.4 ต�ำบลแวงน้อย วัดศรีสวัสดิ์ ม.3 ต�ำบลท่าวัด
ม.1 ต�ำบลท่านางแนว วัดสุนทราวาส ม.6 ต�ำบลทางขวาง
วัดนิเวศวิทยาราม
ม.6 ต�ำบลก้านเหลือง วัดพุทธาวาส ม.9 ต�ำบลทางขวาง วัดโพธิ์เย็น ม.4 ต�ำบลท่าวัด วัดไพบูลย์ ม.7 ต�ำบลทางขวาง
วัดศิริวัน
บ้านนาจาน ม.10 ต�ำบลแวงน้อย
ม.4 ต�ำบลท่านางแนว
วัดมงคลนิมิตร
บ้านโคกสี ม.6 ต�ำบลแวงน้อย
วัดโสกสว่างอารมณ์
วัดจุมพล
วัดโนนทองหลาง
วัดศีลขันธาราม
ม.4 ต�ำบลก้านเหลือง
บ้านก้านเหลือง ม.1 ต�ำบลก้านเหลือง วัดชุมพร ม.5 ต�ำบลละหานนา วัดดอนศิลา ม.2 ต�ำบลแวงน้อย วัดทรงศิลา ม.2 ต�ำบลท่านางแนว วัดท่าละหาน ม.1 ต�ำบลละหานนา
ม.6 ต�ำบลละหานนา วัดบุพพาราม ม.1 ต�ำบลท่าวัด วัดบูรณ์ ม.1 ต�ำบลแวงน้อย
บ้านโนนศิลา ม.9 ต�ำบลแวงน้อย
วัดใหม่ไตรมิตรวราราม
วัดสว่างโพธิ์งาม บ้านบึงบัวทอง ม.12 ต�ำบลละหานนา
บ้านโคกล่าม ม.1 ต�ำบลท่าวัด วัดอัมพวัน ม.5 ต�ำบลแวงน้อย
วัดประชาสามัคคี
บ้านหนองแก ม.9 ต�ำบลก้านเหลือง วัดมหาวัน ม.5 ต�ำบลก้านเหลือง วัดมัคคาลัย ม.1 ต�ำบลทางขวาง วัดมุจจลินทร์ ม.7 ต�ำบลท่าวัด วัดราษฎร์บำ� รุง ม.3 ต�ำบลแวงน้อย
วัดสังข์สิริโภคา
วัดอัสสัสถาราม
บ้านหนองสองห้อง ม.7 ต�ำบลก้านเหลือง
วัดราษฎร์อดุ ม
บ้านหนองหอย ม.7 ต�ำบลแวงน้อย
บ้านป่าเป้ง ม.8 ต�ำบลแวงน้อย
วัดเทพนารักษ์
วัดป่าศรัทธาธรรม
วัดอุทัยประสิทธิ์
บ้านศรีเมือง ม.12 ต�ำบลแวงน้อย
ม.4 ต�ำบลละหานนา วัดเรไร ม.2 ต�ำบลละหานนา
วัดสารเขต
บ้านหนองกุง ม.6 ต�ำบลท่านางแนว
ม.3 ต�ำบลละหานนา
ม.5 ต�ำบลท่านางแนว
วัดเกตุศิริธรรม
วัดเทวราช
บ้านโนนศาลา ม.11 ต�ำบลก้านเหลือง วัดเกาะศิริ ม.10 ต�ำบลก้านเหลือง วัดคันธามวัน ม.2 ต�ำบลทางขวาง วัดจิตวิเวก ม.8 ต�ำบลก้านเหลือง
บ้านหนองแวงท่าวัด ม.2 ต�ำบลท่าวัด วัดไทยนิยม ม.6 ต�ำบลท่าวัด
วัดสุวรรณาราม
134 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 134
26/10/2562 15:12:27
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอหนองสองห้อง วัดกลางสระขาม ม.6 ต�ำบลตะกัว่ ป่า วัดเกษตรสุวรรณ
วัดป่าพรหมประชานิมิต ดอนดั่ง ม.
วัดศิริพัฒนาธรรมาวาส
1 ต�ำบลดอนดั่ง
ม.1 ต�ำบลดอนดั่ง วัดเกาะแก้ว ม.1 ต�ำบลหนองไผ่ล้อม
วัดปิยะวราวาส
ม.1 ต�ำบลคึมชาด วัดสกุณาวาส ม.4 ต�ำบลส�ำโรง
วัดเกาะสะอาด ม.1 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดครองบุรี ม.5 ต�ำบลส�ำโรง วัดคลองสินธุ์ ม.7 ต�ำบลส�ำโรง วัดคามวดี ม.8 ต�ำบลส�ำโรง วัดจันทนิมิต ม.8 ต�ำบลหนองเม็ก วัดชลธาร ม.5 ต�ำบลโนนธาตุ วัดชัยศรี ม.8 ต�ำบลดงเค็ง
วัดโชติการาม ชาดน้อย ม.12 ต�ำบลหันโจด วัดดงเค็ง ดงเค็ง ม.8 ต�ำบลดงเค็ง วัดด่านชัย หลักด่าน ม.6 ต�ำบลวังหิน วัดไตรมิตร ม.7 ต�ำบลดอนดั่ง วัดถิรธรรม ม.10 ต�ำบลหนองเม็ก วัดทรงศร ม.7 ต�ำบลวังหิน วัดทองประสาน ม.9 ต�ำบลดอนดั่ง วัดทองหลาง ม.3 ต�ำบลโนนธาตุ วัดท่าชมพู ท่า ม.2 ต�ำบลหนองเม็ก วัดเทพนิมิต ม.4 ต�ำบลคึมชาด วัดไทยนิยม ม.1 ต�ำบลหนองเม็ก วัดนาราธิวาส ม.5 ต�ำบลคึมชาด วัดนิรันดร ม.4 ต�ำบลดอนดู่ วัดนิเวศน์วิทยาราม ไทยนิยม ม.4 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดโนนทอง ม.1 ต�ำบลวังหิน วัดโนนรัง ม.3 ต�ำบลดอนดั่ง
บ้านหนองบอน ม.10 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดพัฒนาราม ม.4 ต�ำบลดอนดั่ง
วัดพิมพิลาราม บ้านป่าหวาย ม.11 ต�ำบลดอนดู่ วัดพิมลธรรมมาราม บ้านหนองกุง สว่าง ม.3 ต�ำบลหนองไผ่ล้อม
วัดพุทธฤทธิ์วนาราม บ้านหนองโบสถ์พัฒนา (ทางพาด) ม.13 ต�ำบลดงเค็ง วัดโพธิ์ชัย ม.1 ต�ำบลส�ำโรง
วัดโพธิธรรม ม.8 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดโพธิ์พฤกษ์ ม.9 ต�ำบลหันโจด วัดไพศาลศิลป์ ม.5 ต�ำบลดอนดู่ วัดมารวิชัย ม.6 ต�ำบลดอนดั่ง
วัดสระแคน ม.11 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดสระบัวแก้ว ม.4 ต�ำบลหนองเม็ก วัดสระบัวทอง ม.6 ต�ำบลหนองเม็ก วัดสระยาง ม.1 ต�ำบลตะกั่วป่า วัดสว่างอารมณ์ ม.1 ต�ำบลหันโจด
วัดสว่างอิสาณ ม.14 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดสังข์ทอง ม.6 ต�ำบลหันโจด
วัดสังวาลนุเคราะห์ บ้านหนองยาง ม.8 ต�ำบลวังหิน วัดส�ำราญจิต ม.4 ต�ำบลโนนธาตุ วัดส�ำราญราษฎร์ ม.3 ต�ำบลคึมชาด วัดสีตาราม ม.5 ต�ำบลหันโจด วัดสุตาราม ม.10 ต�ำบลโนนธาตุ
วัดสุทธารมณ์(สุทธาราม)
วัดรัตนนิมิตร
ม.3 ต�ำบลหันโจด
ม.3 ต�ำบลหนองสองห้อง
วัดสุทธาวาส
วัดรัตนมงคล วัดรามศิริวาส
บ้านหนองหญ้าขาว ม.1 ต�ำบลดงเค็ง วัดสุทธาวาส ม.1 ต�ำบลดงเค็ง วัดสุทธิจิตตาราม ม.6 ต�ำบลดอนดู่
บ้านศรีสมบูรณ์ ม.7 ต�ำบลคึมชาด
วัดเสลบูรณ์
บ้านส�ำราญน้อย ม.2 ต�ำบลโนนธาตุ
วัดราษฎร์ด�ำเนิน
ม.12 ต�ำบลหนองสองห้อง
บ้านโนนท่อน ม.3 ต�ำบลดอนดู่
วัดแสงอรุณ บ้านหนองโบสถ์พัฒนา
วัดวงศ์เจริญธรรม
ม.3 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดแสงอารมณ์ ม.2 ต�ำบลดอนดู่
บ้านโนนชาด ม.5 ต�ำบลดงเค็ง วัดวิจิตราราม ม.8 ต�ำบลตะกั่วป่า
วัดหนองบัวแดง
วัดบ้านโนนชาด
วัดวีระนาวาส
บ้านหนองบัวแดง ม.5 ต�ำบลตะกั่วป่า
บ้านโนนชาด ม.5 ต�ำบลหนองสองห้อง
บ้านแฝก ม.7 ต�ำบลหันโจด วัดศรีชมชื่น ม.7 ต�ำบลหนองไผ่ล้อม
วัดห้วยตะกั่ว
วัดบ�ำรุงธรรม ม.7 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดประชาสามัคคี ม.2 ต�ำบลส�ำโรง วัดประทุมแสง ม.5 ต�ำบลหนองเม็ก
วัดป่าโคกกลางธรรมรังษี บ้านโคกกลาง ม.12 ต�ำบลดงเค็ง
วัดป่าประชาสรรค์ บ้านหนองสองห้อง ม.1 ต�ำบลหนองสองห้อง
วัดศรีประทุม ม.6 ต�ำบลหนองสองห้อง วัดศรีโพธิ์ทอง ม.2 ต�ำบลตะกั่วป่า วัดศรีโพธิ์ทอง ม.2 ต�ำบลคึมชาด วัดศรีสมบูรณ์ บ้านโนนสมบูรณ์ ม.9 ต�ำบลหนองเม็ก วัดศรีสะอาด ม.1 ต�ำบลดอนดู่ วัดศรีอุดร ม.5 ต�ำบลตะกั่วป่า
บ้านห้วยตะกั่ว ม.10 ต�ำบลดอนดู่ วัดหัวหิน ม.6 ต�ำบลโนนธาตุ
วัดอมรินทราวาส ม.4 ต�ำบลหนองไผ่ล้อม วัดอัมพวัน ม.9 ต�ำบลโนนธาตุ
วัดอินทรประสิทธิ์ บ้านหนองเปล่ง ม.3 ต�ำบลตะกั่วป่า
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 135
1,469 (20
).indd 135
26/10/2562 15:12:29
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอภูเวียง วัดเกษมส�ำราญ
วัดบริบรู ณ์วราราม
ม.9 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
ม.2 ต�ำบลสงเปือย
วัดแก้วสว่าง
วัดบ้านเทพรักษา
ม.1 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
บ้านเทพรักษา ม.12 ต�ำบลหนองกุงธนสาร วัดบูรพา ม.4 ต�ำบลดินด�ำ
วัดจตุพร บ้านห้วยบง ม.3 ต�ำบลหว้าทอง วัดชัยมงคล ม.6 ต�ำบลสงเปือย
วัดประชาอินทร์
วัดชัยมงคล
บ้านโสกห้าง ม.9 ต�ำบลนาหว้า
บ้านอ่างศิลา ม.6 ต�ำบลสงเปือย
วัดป่าค้อสุทธาราม
วัดดอนเพิม่
บ้านค้อ ม.1 ต�ำบลกุดขอนแก่น
บ้านดอนเพิ่ม ม.7 ต�ำบลทุ่งชมพู
วัดป่าโนนรัง
วัดไตรมิตติการาม
บ้านโนนรัง ม.9 ต�ำบลนาชุมแสง
บ้านหนองลุมพุก ม.8 ต�ำบลนาชุมแสง วัดทวีวฒ ั นาราม บ้านโคกไม้งาม ม.7 ต�ำบลหนองกุงธนสาร วัดทองประสิทธิ์ ม.2 ต�ำบลทุ่งชมพู วัดท่าเดือ่ ม.1 ต�ำบลดินด�ำ วัดทามเรืองศรี ม.6 ต�ำบลหนองกุงเซิน
วัดป่าบ้านโป่งสังข์
วัดทุง่ สว่าง
ม.6 ต�ำบลหว้าทอง
วัดป่าวิเวกบ�ำเพ็ญ บ้านนาชุมแสง ม.1 ต�ำบลนาชุมแสง วัดป่าวิเวการาม ม.5 ต�ำบลหว้าทอง
วัดป่าสิรสิ มบัติ ม.4 ต�ำบลหนองกุงธนสาร วัดป่าสุขติ าราม บ้านหนองโพนน้อย ม.7 ต�ำบลกุดขอนแก่น
บ้านค�ำใหญ่ ม.4 ต�ำบลนาหว้า วัดแท่นศิลา ม.6 ต�ำบลหนองกุงเซิน วัดธานี ม.1 ต�ำบลทุ่งชมพู วัดโนนศิลา ม.3 ต�ำบลกุดขอนแก่น
วัดพระบาทโพธารา
วัดโนนสวรรค์
วัดพระบาทโพธิท์ อง
ม.10 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
บ้านพระบาทโนนคูณ ม.8 ต�ำบลทุง่ ชมพู
ม.2 ต�ำบลหว้าทอง
วัดพระบาทโพธาราม ม.2 ต�ำบลหว้าทอง
วัดพลแพง ม.1 วัดโพธิก์ ลาง บ้านหนองคลอง ม.4 ต�ำบลสงเปือย วัดโพธิการาม ม.7 ต�ำบลนาชุมแสง วัดโพธิง์ าม ม.4 ต�ำบลกุดขอนแก่น
วัดโพธิช์ ยั บ้านนาก้านเหลือง ม.1 ต�ำบลภูเวียง
วัดโพธิศ์ รี บ้านกุดน�้ำใส ม.4 ต�ำบลนาชุมแสง
วัดโพธิส์ ว่าง ม.6 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
วัดโพนทองดอนไข บ้านดอนดู่ ม.3 ต�ำบลทุ่งชมพู
วัดมิง่ เมืองพัฒนาราม ม.4 ต�ำบลภูเวียง วัดวารินทร์ ม.9 ต�ำบลบ้านเรือ วัดศรีชมชืน่ ม.1 ต�ำบลบ้านเรือ วัดศรีชมุ แสง ม.2 ต�ำบลนาชุมแสง วัดศรีบญ ุ เรือง ม.2 ต�ำบลบ้านเรือ วัดศรีบญ ุ เรือง ม.2
วัดศรีภเู วียง บ้านดอนหัน ม.3 ต�ำบลภูเวียง
วัดศรีราษฎร์บำ� รุง
วัดศรีสะอาด ม.5 ต�ำบลหนองกุงเซิน
วัดศิรมิ งคล บ้านนาหว้า ม.1 ต�ำบลนาหว้า
วัดศิรริ ตั นาวาส ม.5 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
วัดศิรวิ ทิ ยาราม ม.3 ต�ำบลหนองกุงธนสาร วัดศิลา ม.1 ต�ำบลหว้าทอง วัดศิลาอาสน์ ม.6 ต�ำบลทุ่งชมพู
วัดสงเปลือย(ศรีมงคล) ม.1 ต�ำบลสงเปือย วัดสระแก้ว ม.7 ต�ำบลภูเวียง วัดสวรรค์คงคา ม.6 ต�ำบลดินด�ำ วัดสว่างโนนรัง บ้านหนองคอง ม.4 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
วัดสว่างเลิงแสง ม.9 ต�ำบลกุดขอนแก่น
วัดสว่างวิทยาราม บ้านโนนอุดม ม.6 ต�ำบลนาหว้า
วัดสว่างแสงจันทร์ ม.13 ต�ำบลบ้านเรือ
วัดสว่างหนองกุง
วัดศรีสะอาด
ม.1 ต�ำบลหนองกุงเซิน วัดสว่างอรุณ ม.5 ต�ำบลนาชุมแสง
บ้านนาชุมแสง ม.10 ต�ำบลนาชุมแสง วัดศรีสะอาด ม.1 ต�ำบลนาชุมแสง
ม.8 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
ม.3 ต�ำบลนาหว้า
วัดสว่างอารมณ์
วัดสราษฎร์ไพรวัลย์ หนองหญ้าปล้อง ม.6 ต�ำบลภูเวียง
วัดสะพานยาว บ้านโพธิ์ ม.3 ต�ำบลในเมือง
วัดสันติการาม บ้านโคกไร่ ม.7 ต�ำบลสงเปือย
วัดสันติวนาราม บ้านโคกสง่า ม.4 ต�ำบลบ้านเรือ วัดสามัคคี ม.2 ต�ำบลกุดขอนแก่น วัดส�ำราญ บ้านค้อ ม.1 ต�ำบลกุด ขอนแก่น
วัดสุทธิธรรมวนาราม ม.2 ต�ำบลดินด�ำ
วัดโสภารัตนาราม บ้านโนนพัฒนา ม.3 ต�ำบลหนองกุงเซิน
วัดหนองกุงธนสาร บ้านหนองกรุงธนสาร ม.12 ต�ำบลหนองกุงธนสาร
วัดหรรษาวาส บ้านโนนสมบูรณ์ ม.2 ต�ำบลนาหว้า
วัดใหม่ศรีสำ� ราญ บ้านหนองเตาปูน ม.4 ต�ำบลในเมือง
วัดใหม่สขุ สันต์ บ้านใหม่สุขสันต์ ม.8 ต�ำบลบ้านเรือ วัดอัมพวัน ม.4 ต�ำบลหว้าทอง วัดอาคเนย์ ม.4 ต�ำบลทุ่งชมพู
136 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 136
26/10/2562 15:12:31
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอมัญจาคีรี วัดแก้วพวงมาลัย ม.4 ต�ำบลค�ำแคน วัดขนุนโพธิ์ ม.5 ต�ำบลสวนหม่อน วัดคงคาราม ม.8 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดค�ำแคนเหนือ ม.2 ต�ำบลค�ำแคน วัดค�ำมูล ม.21 ต�ำบลค�ำแคน วัดโคกสว่าง ม.8 ต�ำบลสวนหม่อน วัดฉิมพลี ม.12 ต�ำบลท่าศาลา วัดชนะชัย ม.11 ต�ำบลท่าศาลา วัดชมภู ม.8 ต�ำบลค�ำแคน วัดชมภูคำ� ม.10 ต�ำบลค�ำแคน วัดไชโย ม.2 ต�ำบลค�ำแคน วัดตระคลอง ม.5 ต�ำบลกุดเค้า วัดตลาดคลอง ม.1 ต�ำบลนางาม วัดท่าแขก
วัดป่าทรงธรรมคีรเี ขต
บ้านขามป้อม ม.10 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดทุง่ สว่าง ม.1 ต�ำบลท่าศาลา วัดทุง่ สว่าง ม.2 ต�ำบลสวนหม่อน
วัดป่าเหล่าใหญ่
วัดเทพนิมติ
ม.1 ต�ำบลสวนหม่อน วัดโพธิก์ ลาง ม.2 ต�ำบลกุดเค้า วัดโพธิไชย นาข่า ม.13 ต�ำบลนาข่า วัดโพธิท์ อง ม.9 ต�ำบลกุดเค้า วัดโพธิท์ อง ม.5 ต�ำบลนางาม วัดโพธิศ์ รี ม.5 ต�ำบลนาข่า วัดโพธิห์ อม ม.4 ต�ำบลกุดเค้า วัดวงกฎคีรี บ้านโคกสูง ม.4 ต�ำบลนางาม วัดศรีจนั ทร์ ม.6 ต�ำบลนาข่า วัดศรีนวล ม.7 ต�ำบลสวนหม่อน วัดศรีนวล ม.6 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดศรีบญ ุ เรือง ม.1 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดศรีบญ ุ เรือง ม.7 ต�ำบลหนองแปน วัดศรีสว่าง ม.5 ต�ำบลค�ำแคน วัดศรีสทิ ธิ์ ม.6 ต�ำบลค�ำแคน
บ้านดอนยูง ม.8 ต�ำบลกุดเค้า วัดไทรทอง ม.3 ต�ำบลหนองแปน วัดนามล ม.7 ต�ำบลนางาม วัดโนนแดง ม.4 ต�ำบลนางาม วัดโนนทอง ม.1 ต�ำบลนาข่า วัดโนนทัน ม.10 ต�ำบลนาข่า วัดโนนศิลา ม.2 ต�ำบลนาข่า วัดโนนสว่าง ม.2 ต�ำบลท่าศาลา วัดโนนสะอาด ม.13 ต�ำบลท่าศาลา
วัดโนนส�ำนัก บ้านโนนส�ำนัก ม.5 ต�ำบลหนองแปน วัดบ่อแก้ว ม.2 ต�ำบลหนองแปน วัดบ้านโจด ม.7 ต�ำบลกุดเค้า
วัดบ้านโนนพยอม บ้านโนนพยอม ม.10 ต�ำบลสวนหม่อน วัดปทุมวัน ม.9 ต�ำบลหนองแปน
บ้านนาข่า ม.7 ต�ำบลนาข่า
วัดป่าโพนเพ็ก บ้านโพนเพ็ก ม.1 ต�ำบลโพนเพ็ก
วัดป่ามัญจาคีรี บ้านหัน ม.13 ต�ำบลกุดเค้า
วัดป่าศรีมญ ั จา บ้านหนองไม้ตาย ม.6 ต�ำบลนาข่า
วัดป่าสันติธรรม ม.9 ต�ำบลสวนหม่อน
วัดป่าโสรโยขุมดิน บ้านขุมดิน ม.4 ต�ำบลกุดเค้า
วัดป่าเหล่ากกหุง่ บ้านเหล่ากกหุ่ง ม.7 ต�ำบลสวนหม่อน บ้านเหล่าใหญ่ ม.9 ต�ำบลนาข่า
วัดป่าอรัญญวิเวก
วัดศรีสขุ ม.9 ต�ำบลค�ำแคน วัดศรีสมุ งั คล์ ม.3 ต�ำบลสวนหม่อน วัดศรีสมุ งั คล์ ม.7 ต�ำบลค�ำแคน วัดศิลาธรรมิการาม บ้านแจ้ง ม.4 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดสถาพร ม.8 ต�ำบลหนองแปน วัดสมบูรณ์ ม.3 ต�ำบลนาข่า วัดสระเกษ ม.2 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดสระเกษ ม.1 ต�ำบลสวนหม่อน วัดสระทอง ม.1 ต�ำบลกุดเค้า วัดสระบัว ม.6 ต�ำบลสวนหม่อน วัดสวัสดี ม.8 ต�ำบลนาข่า วัดสว่างดงเค็ง ม.4 ต�ำบลท่าศาลา วัดสว่างดารา ม.3 ต�ำบลท่าศาลา วัดสว่างอารมณ์ ม.4 ต�ำบลนาข่า วัดสะอาด ม.1 ต�ำบลหนองแปน วัดสะอาด ม.9 ต�ำบลนาข่า วัดสะอาด ม.5 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดสะอาด ม.5 ต�ำบลหนองแปน วัดสามัคคีธรรม ม.3 ต�ำบลนางาม
วัดส�ำราญชัย บ้านหนองหญ้าปล้อง ม.9 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดสิงห์ทอง ม.11 ต�ำบลนาข่า วัดสุวรรณาราม ม.9 ต�ำบลนางาม
วัดหนองไฮ บ้านหนองไฮ ม.5 ต�ำบลโพนเพ็ก วัดอรัญญี ม.7 ต�ำบลโพนเพ็ก
วัดอรุณเรืองวนาราม ม.4 ต�ำบลสวนหม่อน วัดอัมพวัน ม.6 ต�ำบลท่าศาลา
วัดอุดมคงคาคีรเี ขต ม.6 ต�ำบลนางาม
วัดศรีสทิ ธิ์
วัดอุบลวนาราม
บ้านบูรณะ ม.3 ต�ำบลโพนเพ็ก
บ้านหนองบัว ม.8 ต�ำบลนางาม
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 137
1,469 (20
).indd 137
26/10/2562 15:12:33
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอชนบท วัดกุดน�ำ้ เทีย่ ง ม.8 ต�ำบลชนบท วัดโคกกรวด ม.3 ต�ำบลโนนพะยอม วัดเจริญวารี ม.6 ต�ำบลโนนพะยอม วัดเจริญวารี ม.5 ต�ำบลวังแสง วัดชัยประสิทธิ์ ม.5 ต�ำบลปอแดง วัดทรงศิลา ม.4 ต�ำบลห้วยแก วัดเทพนิมติ
วัดป่าธรรมวิเวก ม.4 ต�ำบลชนบท วัดป่าปริปณ ุ ณธรรมาราม ม.8 ต�ำบลศรีบุญเรือง
วัดป่าภูหนั บรรพต ม.8 ต�ำบลวังแสง วัดป่าสุรยิ าเย็น ม.8 ต�ำบลห้วยแก วัดป่าหนองไฮ บ้านหนองไฮ ม.3 ต�ำบลปอแดง
บ้านดอนดู่ ม.9 ต�ำบลศรีบุญเรือง
วัดป่าหัวนากลาง
วัดเทพาภิบาล
บ้านหัวนากลาง ม.3 ต�ำบลบ้านแท่น
ม.7 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดแท่นศิลา ม.6 ต�ำบลวังแสง วัดธงไชย ม.1 ต�ำบลโนนพะยอม วัดธรรมณี ม.5 ต�ำบลบ้านแท่น
วัดป่าหัวฝาย
วัดโนนค�ำมี
วัดราษฎร์สามัคคี
บ้านโนนค�ำมี ม.9 ต�ำบลวังแสง
บ้านม.2 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดวิเวกภูนางง�ำ ม.4 ต�ำบลห้วยแก วัดศรีชมชืน่ ม.7 ต�ำบลปอแดง วัดศรีชมชืน่ ม.4 ต�ำบลโนนพะยอม วัดศรีบญ ุ เรือง ม.2 ต�ำบลศรีบุญเรือง วัดศรีพนาวาส ม.3 ต�ำบลบ้านแท่น วัดศรีภบู าล ม.1 ต�ำบลห้วยแก วัดศรีวราราม ม.5 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดศรีสว่าง ม.3 ต�ำบลวังแสง วัดศรีสมุ งั คล์ ม.1 ต�ำบลชนบท
วัดโนนศิลา บ้านโนนศิลา ม.8 ต�ำบลวังแสง วัดโนนสะอาด ม.4 ต�ำบลวังแสง
วัดบ้านดอนข่า บ้านดอนข่า ม.7 ต�ำบลชนบท วัดบ�ำรุงวิรยิ ะ ม.9 ต�ำบลศรีบุญเรือง วัดบึงแก้ว ม.1 ต�ำบลศรีบุญเรือง วัดบึงเบ็ญ ม.5 ต�ำบลโนนพะยอม วัดบูรพา ม.9 ต�ำบลชนบท
บ้านหัวฝาย ม.2 ต�ำบลปอแดง วัดโพธิศ์ รีสะอาด ม.2 ต�ำบลชนบท วัดราษฎร์บำ� รุง ม.7 ต�ำบลห้วยแก
วัดป่าเกษมคงคาราม
วัดศิลาประชาวาส
ม.7 ต�ำบลศรีบุญเรือง
ม.7 ต�ำบลโนนพะยอม
วัดสระเกษ ม.2 ต�ำบลวังแสง วัดสระแก้ว ม.3 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดสระทอง ม.4 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดสวัสดี ม.1 ต�ำบลบ้านแท่น วัดสว่างวงษ์ ม.1 ต�ำบลปอแดง วัดสว่างอารมณ์ ม.1 ต�ำบลวังแสง วัดสะอาดโนนคูณ ม.6 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดสันติวนาราม ม.7 ต�ำบลวังแสง วัดสามัคคีธรรม ม.2 ต�ำบลปอแดง
วัดสามัคคีประชาวาส ม.2 ต�ำบลโนนพะยอม วัดสิงห์ทอง ม.2 ต�ำบลห้วยแก วัดสุทธาวาส ม.1 ต�ำบลกุดเพียขอม วัดแสงจันทร์ ม.3 ต�ำบลห้วยแก
วัดแสงธรรม บ้านนาผาย ม.3 ต�ำบลกุดเพียขอม
วัดแสงอุดมสิทธิราษฎร์ บ้านม.6 ต�ำบลห้วยแก
วัดหนองแต้ บ้านหนองแต้ ม.8 ต�ำบลปอแดง
วัดหนองแวงน้อย บ้านหนองแวงน้อย ม.4 ต�ำบลปอแดง วัดอรัญญิกาวาส ม.5 ต�ำบลชนบท
วัดอรุณวนาราม บ้านม.5 ต�ำบลบ้านแท่น วัดอัมพวัน ม.5 ต�ำบลศรีบุญเรือง
138 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 138
26/10/2562 15:12:34
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอเขาสวนกวาง วัดเกาะแก้ว ม.7 ต�ำบลเขาสวนกวาง วัดเขาสวนกวาง
วัดมรรคผดุงศรี
ม.1 ต�ำบลเขาสวนกวาง
วัดยางค�ำทุง่ บ่อ
วัดค�ำสมบูรณ์
ม.3 ต�ำบลดงเมืองแอม
ค�ำม่วง ม.2 ต�ำบลค�ำม่วง
วัดรัตนชุมพล
วัดจอมศรีวนาราม วัดดอนน�ำ้ ผึง้
บ้านค�ำสมบัติ ม.3 ต�ำบลค�ำม่วง วัดวังน�ำ้ ทิพย์ บ้านวังน�้ำทิพย์ ม.10 ต�ำบลโนนสมบูรณ์
บ้านโนนน�้ำผึ้ง ม.2 ต�ำบลดงเมืองแอม
วัดศรีดงเรือง
วัดทรัพย์สมบูรณ์
บ้านดงเรือง ม.1 ต�ำบลค�ำม่วง
บ้านทรัพย์สมบูรณ์ ม.4 ต�ำบลค�ำม่วง
วัดศรีเมืองแอม
บ้านห้วยบาก ม.6 ต�ำบลค�ำม่วง
ม.5 ต�ำบลดงเมืองแอม
วัดทางพาด
ม.1 ต�ำบลดงเมืองแอม
บ้านทางพาด ม.11 ต�ำบลค�ำม่วง
วัดศิรพิ นปุญญาวาส
วัดทุง่ สว่าง
ม.4 ต�ำบลดงเมืองแอม
ม.4 ต�ำบลเขาสวนกวาง
วัดศิรวิ รรณ
วัดทุง่ สว่างวนาราม
บ้านโนนสวรรค์ ม.3 ต�ำบลนางิ้ว
บ้านโนนสง่า ม.9 ต�ำบลค�ำม่วง
วัดสระกัญญาราช
วัดนาง้อง วัดโนนทอง
ม.5 ต�ำบลเขาสวนกวาง วัดสว่างค�ำอ้อ บ้านค�ำสมบูรณ์ ม.10 ต�ำบลดงเมืองแอม
บ้านโนนทอง ม.5 ต�ำบลค�ำม่วง
วัดสว่างอารมณ์
บ้านนาง้อง ม.2 ต�ำบลนางิ้ว
วัดโนนพลทอง
ม.1 ต�ำบลโนนสมบูรณ์
ม.4 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ วัดบัวระพา ม.3 ต�ำบลเขาสวนกวาง
วัดสุทธิวาส ม.7 ต�ำบลดงเมืองแอม วัดสุวรรณาวาส
วัดบ้านหัวหนอง
ม.6 ต�ำบลดงเมืองแอม
บ้านหัวหนอง ม.10 ต�ำบลเขาสวนกวาง
วัดหนองคู
วัดป่าโนนน�ำ้ ผึง้ บ้านโนนน�้ำผึ้ง ม.2 ต�ำบลดงเมืองแอม
บ้านหนองคู ม.9 ต�ำบลดงเมืองแอม วัดหนองโน ม.8 ต�ำบลดงเมืองแอม
วัดป่าพร้าว
วัดหนองแวงประชานิมติ
บ้านป่าพร้าว ม.8 ต�ำบลเขาสวนกวาง
บ้านหนองแวงประชา ม.13 ต�ำบลดงเมืองแอม
วัดป่าสว่างพร บ้านหนองตะนา ม.9 ต�ำบลเขาสวนกวาง วัดโพธิศ์ รีสำ� ราญ ม.1 ต�ำบลนางิ้ว
วัดมงคลศรีสวนกวาง บ้านเขาสวนกวาง ม.1 ต�ำบลเขาสวนกวาง
วัดหนองสองห้อง บ้านหนองสองห้อง ม.7 ต�ำบลเขาสวนกวาง วัดหัตถวิชยั ม.6 ต�ำบลเขาสวนกวาง
อ�ำเภอภูผาม่าน วัดเขาสามยอด
วัดศรีสว่าง
บ้านห้วยม่วง ม.3 ต�ำบลห้วยม่วง วัดเฉลียงทอง ม.2 ต�ำบลโนนคอม วัดซ�ำภูทอง ม.1 ต�ำบลห้วยม่วง วัดดงสะคร่าน ม.10 ต�ำบลวังสวาบ
วัดศิลาดาษ ม.5 ต�ำบลภูผาม่าน วัดสว่างยางค�ำ
วัดท่ากระบือ บ้านท่ากระบือ ม.4 ต�ำบลภูผาม่าน วัดท่าสองคอน ม.3 ต�ำบลนาฝาย วัดบัวสีมา ม.4 ต�ำบลโนนคอม วัดป่ามะนาวศรี ม.5 ต�ำบลภูผาม่าน วัดภูเขาวง เขาวง ม.5 ต�ำบลวังสวาบ
บ้านสว่างโนนสูง ม.3 ต�ำบลภูผาม่าน
บ้านนาฝายเหนือ ม.5 ต�ำบลนาฝาย วัดสว่างอารมณ์ ม.8 ต�ำบลนาฝาย วัดสะเคียนทอง ม.4 ต�ำบลนาฝาย
วัดสามัคคีธรรม บ้านป่ากล้วย ม.5 ต�ำบลโนนคอม
วัดห้วยซ้อ บ้านห้วยซ้อ ม.5 ต�ำบลห้วยม่วง
วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ม.6 ต�ำบลภูผาม่าน
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 139
1,469 (20
).indd 139
26/10/2562 15:12:36
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอซ�ำสูง วัดกุมพะศรีวลิ ยั วัดท่าแขก
วัดพุทธชาฎา บ้านคู ม.1 ต�ำบลคูค�ำ วัดโพธิช์ ยั ม.2 ต�ำบลกระนวน วัดมารวิชยั กระนวน ม.1 ต�ำบล
บ้านหลุบเลา ม.5 ต�ำบลห้วยเตย
กระนวน
วัดโนนสูง
วัดยางค�ำ
บ้านแห้ว ม.9 ต�ำบลบ้านโนน
บ้านสว่าง ม.4 ต�ำบลห้วยเตย
วัดโนนสูง
วัดยางใย
บ้านแห้ว ม.9 ต�ำบลบ้านโนน
บ้านโคกสูง ม.3 ต�ำบลกระนวน
วัดบัวบาล
วัดราษฎร์นยิ ม
บ้านหนองบัวค�ำมูล ม.4 ต�ำบลคูค�ำ
บ้านโคกกลาง ม.3 ต�ำบลค�ำแมด
วัดบัวระพา
วัดวิสทุ ธาราม
บ้านค�ำแมด ม.5 ต�ำบลค�ำแมด
บ้านบ่อใหญ่ ม.8 ต�ำบลคูค�ำ
วัดบัวระพา
วัดศรีบญ ุ เรือง
บ้านค�ำแมด ม.5 ต�ำบลค�ำแมด
บ้านดอนเขียง ม.4 ต�ำบลค�ำแมด
วัดบูรพา
วัดศรีสำ� ราญ
บ้านโคกใหม่ ม.6 ต�ำบลบ้านโนน
บ้านห้วยเตย ม.1 ต�ำบลห้วยเตย
วัดบูรพาพิทยาราม
วัดสว่างอรุณ
บ้านโคกใหม่ ม.6 ต�ำบลบ้านโนน
บ้านโนน ม.1 ต�ำบลห้วยเตย
วัดป่าศิรธิ รรมาวาส
วัดหายโศก
บ้านช�ำโอง ม.6 ต�ำบลห้วยเตย
บ้านสามแยก ม.9 ต�ำบลห้วยเตย
บ้านหม้อ ม.5 ต�ำบลคูค�ำ
140 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 140
26/10/2562 15:12:37
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอโคกโพธิ์ ไชย วัดกองศรี
วัดมัชฌิมาวาส
บ้านมูลนาค ม.10 ต�ำบลโพธิ์ไชย
วัดเกษามคม
บ้านสามหมอโนนทัน ม.1 ต�ำบลโพธิไ์ ชย วัดศรีชมภู บ้านนาดี ม.9
บ้านโพธิ์ชัย ม.6 ต�ำบลโพธิ์ไชย
วัดศรีบุญเรือง
วัดโคกสง่า
บ้านหนองนาค�ำ ม.2
บ้านโคกสง่า ม.8 ต�ำบลบ้านโคก
วัดสระทอง
วัดชมภู วัดชัยมงคล
บ้านกุดลอม ม.3 ต�ำบลโพธิ์ไชย วัดสว่าง แก้งคร้อ ม.2 ต�ำบลนาแพง วัดสว่าง ม.2 ต�ำบลนาแพง
บ้านหนองแก ม.8 ต�ำบลนาแพง
วัดสว่างอารมณ์
วัดตะคลอง
บ้านสงแดง ม.4 ต�ำบลนาแพง วัดสะอาด ม.6 ต�ำบลนาแพง
บ้านหนองทุ่ม ม.9 ต�ำบลบ้านโคก
บ้านหนองหญ้าปล้อง ม.2 ต�ำบลซับสมบูรณ์
วัดสะอาดชมภู
วัดทุ่งสว่าง
บ้านหินตั้ง ม.3 ต�ำบลซับสมบูรณ์
บ้านโนนกระยอม ม.4 ต�ำบลโพธิ์ไชย
วัดสาลวัน
วัดทุ่งสว่าง
บ้านหนองหวาย ม.7 ต�ำบลนาแพง
บ้านนายาว ม.6 ต�ำบลบ้านโคก
วัดหงษ์ทอง
วัดโนนศิลา
บ้านหนองหญ้ารังกา ม.5 ต�ำบลโพธิไ์ ชย
บ้านนาแพง ม.5 ต�ำบลนาแพง
วัดหนองคูสุวรรณาราม
วัดปากช่อง
บ้านโคก ม.1 ต�ำบลบ้านโคก
ม.1 ต�ำบลซับสมบูรณ์
วัดอัมพาผล
วัดโพธิ์ศรี
บ้านโคก ม.3 ต�ำบลบ้านโคก
บ้านโสกนาดี ม.1 ต�ำบลบ้านโคก
อ�ำเภอหนองนาค�ำ วัดจอมมณี ม.2 ต�ำบลขนวน วัดจันทมงคล ม.5 ต�ำบลขนวน วัดฉิมพลี
วัดโพธิ์ศรี ม.5 ต�ำบลบ้านโคก วัดโพธิ์ศรีวราราม
บ้านโนนงิ้ว ม.8 ต�ำบลบ้านโคก
วัดโพนแพง
วัดทุ่งสว่าง
บ้านหนองแวง ม.8 ต�ำบลกุดธาตุ
บ้านโนนลาน ม.6 ต�ำบลกุดธาตุ
วัดศรีชมภู
วัดโนนงาม
บ้านนาดี ม.9 ต�ำบลกุดธาตุ
บ้านสะอาด ม.5 ต�ำบลกุดธาตุ วัดโนนรัง บ้านโคก ม.10 ต�ำบลขนวน วัดโนนรัง บ้านโคก ม.10 ต�ำบลกุดธาตุ วัดบรมวาส ต�ำบลขนวน วัดประทุมวัน ม.7 ต�ำบลขนวน
วัดศรีบุญเรือง
วัดป่าขันติธรรมวนาราม
วัดสว่างโนนรัง
บ้านนาดี ม.13 ต�ำบลกุดธาตุ
บ้านหนองคอง ม.4 ต�ำบลบ้านโคก วัดสว่างวนาวาส ม.3 ต�ำบลขนวน วัดสว่างอารมณ์ ม.7 ต�ำบลบ้านโคก
วัดป่าชุมชนขนวน บ้านขนวน ม.9 ต�ำบลขนวน
บ้านกุดธาตุ ม.2 ต�ำบลกุดธาตุ
บ้านหนองนาค�ำ ม.2 ต�ำบลบ้านโคก วัดศรีบุญเรือง ม.2 ต�ำบลบ้านโคก
วัดศรีโพธิ์ชัย บ้านนาคูณ ม.3 ต�ำบลกุดธาตุ
วัดโพธยาวาส บ้านหัวนาหม้อ ม.7 ต�ำบลกุดธาตุ
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 141
1,469 (20
).indd 141
26/10/2562 15:12:39
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
อ�ำเภอบ้านแฮด วัดจุมพร
วัดศรีไพรวรรณ
บ้านขามเปี้ย ม.2 ต�ำบลหนองแซง
วัดฉัททันต์
บ้านหนองมะเขือ ม.2 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านหนองหัวช้าง ม.8 ต�ำบลโคกส�ำราญ
วัดศรีสุมังค์
วัดชัยมงคล บ้านห้วยม่วง ม.5 ต�ำบลหนองแซง
ม.5 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดธรณีธงชัย
วัดศิริทรงธรรม
บ้านหนองเต่า ม.3 ต�ำบลหนองแซง
บ้านขามเปี้ย ม.5 ต�ำบลบ้านแฮด อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดโนนทอง บ้านหนองกระหนวน ม.4 ต�ำบลโนนสมบูรณ์
วัดสระจันทร์
วัดบุญเรือง
บ้านหนองขาม ม.2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านแฮด ม.1 ต�ำบลบ้านแฮด
วัดสวรรค์
วัดป่าโคกส�ำราญ
บ้านแฮด ม.1 ต�ำบลบ้านแฮด อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านโคกส�ำราญ ม.11 ต�ำบลโคกส�ำราญ วัดป่าเทพนิมิต วัดสว่างส�ำราญ บ้านขามป้อม ม.2 ต�ำบลหนองแซง บ้านโคกส�ำราญ ม.1 วัดป่าพนาราม ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด บ้านห้วยม่วง ม.5 ต�ำบลหนองแซง วัดสว่างอารมณ์ วัดป่าพระยิ้ม ม.6 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด บ้านหนองไฮ ม.4 ต�ำบลบ้านแฮด วัดสะอาดชัยศรี วัดป่าวิเวกธรรมสามัคคี บ้านโนนพันชาติ ม.10 ม.1 ต�ำบลบ้านแฮด ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดป่าหินเกิ้งวิปัสสนา
วัดสาทรอักขราราม
บ้านวังหว้า ม.8 ต�ำบลบ้านแฮด
ม.1 ต�ำบลบ้านแฮด อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดพิมลธรรมาราม
วัดสุทธาวาส
บ้านโนนสมบูรณ์ ม.1 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ วัดพุทธรังษี ม.7 ต�ำบลบ้านแฮด
ม.4 ต�ำบลบ้านแฮด อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดสุมังคลาราม
วัดเวฬุวัน
บ้านหนองแซง ม.1 ต�ำบลหนองแซง อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านป่าม่วง ม.9 ต�ำบลโคกส�ำราญ
วัดเสนชัยดาประสิทธิ์
วัดศรเสนาราม
บ้านหนองเม็ก ม.3 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านทางพาดปอแดง ม.12 ต�ำบลโคกส�ำราญ
วัดศรีจันทร์
วัดอรัญญาวาส
บ้านดอนปอแดง ม.3 ต�ำบลโคกส�ำราญ
บ้านโนนหัน ม.2 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดศรีชมภู
วัดอรัญญาวาส
บ้านวังหว้า ม.8 ต�ำบลบ้านแฮด อ�ำเภอบ้านแฮด
ม.8 ต�ำบลโนนสมบูรณ์ อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดศรีชุมพล
วัดอุ่มลอง
บ้านหนองเกี่ยว ม.3 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด
บ้านปาแดง ม.7 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด
วัดศรีบุญนาค บ้านเล็บเงือก ม.4 ต�ำบลโคกส�ำราญ อ�ำเภอบ้านแฮด
142 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 142
26/10/2562 15:12:41
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
อ�ำเภอโนนศิลา วัดแก้วกู่ชัยมงคล บ้านดอนกู่ ม.15 ต�ำบลบ้านหัน
วัดแจ้งศิริ บ้านสระบัว ม.6 ต�ำบลโนนแดง
วัดเทพนิมิต บ้านหนองแวงน้อย ม.12 ต�ำบลบ้านหัน วัดเทพาราม ม.10 ต�ำบลบ้านหัน วัดนารานิวาส ม.11 ต�ำบลบ้านหัน
วัดศรีสุธรรม ม.4 ต�ำบลโนนแดง วัดสระบัวรอง บ้านหนองปลาหมอ ม.6 ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดสว่าง บ้านโนนแดง ม.1 ต�ำบล โนนแดง วัดสว่างน�้ำใส ม.5 ต�ำบลบ้านหัน วัดสว่างโนนงาม ม.6 ต�ำบลบ้านหัน
วัดสว่างโพธิ์ชัย บ้านเหล่าโนนคูณ ม.2 ต�ำบลโนนศิลา
วัดโนนศิลา
วัดสะอาดบุญญาราม
บ้านโนนศิลา ม.1 ต�ำบลโนนศิลา
ม.5 ต�ำบลเปือยใหญ่
วัดป่าภูเขาดิน
วัดสีหนาทาราม
ม.1-2 ต�ำบลเปือยใหญ่ วัดป่าสาคร ม.6 ต�ำบลโนนศิลา วัดระทอกโพ ม.6 ต�ำบลโนนศิลา
วัดหนองปลาหมอวนาราม
ม.1 ต�ำบลเปือยใหญ่
วัดราษฎร์ศรัทธาสามัคคี
บ้านหนองปลาหมอ ม.7 ต�ำบลหนองปลาหมอ
บ้านเก่าน้อย ม.3 ต�ำบลเปือยใหญ่
วัดอรัญญวาส
วัดวิสุทธิการาม
บ้านผักหวาน ม.5 ต�ำบลหนองปลาหมอ
บ้านหนองน�้ำขุ่นเหนือ ม.8 ต�ำบลบ้านหัน วัดศรีบุญเรือง ม.9 ต�ำบลบ้านหัน
วัดศรีประชาสรรค์ ม.1 ต�ำบลบ้านหัน วัดศรีสง่า ม.7 ต�ำบลโนนศิลา วัดศรีสว่างโนนแดงใหญ่ บ้าน ขอนสัก ม.4 ต�ำบลโนนศิลา
วัดอรัญญวาส ม.10 ต�ำบลเปือยใหญ่
วัดอัมพวนาราม ม.4 ต�ำบลบ้านหัน วัดอัมพวัน ม.9 ต�ำบลเปือยใหญ่ วัดอัมพวัน บ้านหนองกุง ม.3 ต�ำบลหนองปลาหมอ
อ�ำเภอเวียงเก่า วัดโคกสูง บ้านโคกสูง ม.10 วัดจันทร์เขมาราม
วัดป่าดอยแสงธรรม
บ้านนาแพง ม.4 ต�ำบลเขาน้อย
บ้านหนองนาค�ำ ม.8 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา
วัดจันทราราม
วัดโพธิ์ตาก
ม.3 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา
บ้านหนองคู ม.7 ต�ำบลในเมือง
วัดทรงศิลา
วัดโพธิ์ศรี
ม.9 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา
วัดนคราราม
บ้านบ่อ ม.1 ต�ำบลเขาน้อย วัดศรีชมพู ม.1 ต�ำบลในเมือง
บ้านหนองคอง ม.11 ต�ำบลในเมือง
วัดศรีบุญเรือง
วัดนายมวนาราม
ม.1 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา วัดศรีประทุม ม.2 ต�ำบลเขาน้อย วัดสว่างโพนงาม ม.3 ต�ำบลเขาน้อย วัดสามัคคีวฒ ุ ธิ รรม บ้านหนองนาค�ำ ม.8 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา วัดหนองดู่ ม.12 ต�ำบลในเมือง วัดหนองนาค�ำ บ้านหนองนาค�ำ ม.8 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา
ม.5 ต�ำบลในเมือง
วัดนาโหล่ง ม.7 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา วัดโนนงาม ม.8 ต�ำบลในเมือง
วัดโนนสะอาด บ้านโนนสะอาด ม.9 ต�ำบลในเมือง
วัดโนนสูงโพธิการาม บ้านโนนสูง ม.14 ต�ำบลในเมือง วัดบ้านบ่อ บ้านบ่อ ม.1 ต�ำบลเขาน้อย
วัดอรัญญิกาวาส ม.5 ต�ำบลเมืองเก่าพัฒนา
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 143
1,469 (20
).indd 143
26/10/2562 15:12:43
ท่องเที่ยวทางใจ 1469 วัด "พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน"
144 SBL บันทึกประเทศไทย I ขอนแก่น
1,469 (20
).indd 144
26/10/2562 15:12:44
THE IMPORTANT TEMPLES KHON KAEN
KHON KAEN I SBL บันทึกประเทศไทย 145
1,469 (20
).indd 145
26/10/2562 15:12:46
ทีส ่ ด ุ แห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
Magazine
AD_
.indd 146
www.sbl.co.th
25/10/2562 9:33:04
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 148
25/10/2562 9:20:45