SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 117 - จังหวัดปทุมธานี

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดปทุมธานี ประจ�ำปี 2564

PATHUM THANI ปทุมธานี EXCLUSIVE เปิดโมเดล

“วัด ประชา รัฐ สร้างสุข” นายฉัตรชัย ชูเชื้อ ผอ.ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดปทุมธานี

วัดปัญจบูรพาจารย์ กราบนมัสการ

หลวงปู่มั่นองค์ ใหญ่

ณ สถานที่ปฏิบัติธรรม วัดป่าห้าพระองค์

Vol.11 Issue 117/2021

www.issuu.com

.indd 3

22/12/2563 14:50:08


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดเขียนเขต พระอารามหลวง พระธรรมรัตนาภรณ์ (พระมหาสมศักดิ์ โชตินฺธโร ป.ธ. 5 น.ธ. เอก พธ.ด.) เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี / เจ้าอาวาสวัดเขียนเขต พระอารามหลวง

วัดเขียนเขต พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 43 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบึงยี่โถ อ�ำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ประวัติวัดเขียนเขต พระอารามหลวง (พอสังเขป) วัดเขียนเขต หรือประชาชนโดยทั่วไปเรียกว่า “วัดเขียน” ตั้งอยู่ ริมฝั่งคลองรังสิตประยูรศักดิ์ (คลองแปดวา) ระหว่างคลอง 3 - 4 ฝั่งเหนือของถนนชูชาติก�ำภู (ปัจจุบัน ถนนรังสิต-นครนายก) ตั้งอยู่ ในเนื้อที่จ�ำนวน 35 ไร่เศษ ตามประวัติเดิมวัดเขียนเขต พระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิด สามัญ เป็นวัดเก่าแก่ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2439 หม่อมเขียน หม่อมในพระวรวงศ์เธอ เจ้าสาย สนิทวงศ์เป็นผู้มอบถวายที่ดินให้สร้างวัด แรกเริ่มเดิมทีนั้น 2

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

วัดนี้เป็นส�ำนักสงฆ์ มีหลวงพ่อด�ำเป็นเจ้าส�ำนัก ครั้งแรกวัดนี้สร้างขึ้น โดยเอาไม้ไผ่มาขัดเป็นพื้น (ขัดแตะ) แล้วเอาหญ้าปรือมาท�ำหลังคา และท�ำเป็นฝา มีพระเถระจ�ำพรรษามากพอสมควร ต่อมาหม่อมเขียน พร้อมด้วยเครือญาติและประชาชนในท้องถิ่นนี้ เห็นความล�ำบากของ พระภิกษุสามเณรที่อยู่จ�ำพรรษาจึงได้ช่วยกันบริจาคทรัพย์สร้างกุฏิ ขึ้นโดยสร้างกุฏิเป็นทรงไทยทางด้านทิศตะวันออกจ�ำนวน 4 หลัง ทางด้านทิศตะวันตก จ�ำนวน 2 หลัง เพื่อเป็นสมบัติในพระพุทธ ศาสนา วัดเขียนเขต เดิมชื่อว่า “วัดสาลีเขตตาราม” (ไม่ทราบว่า ใครเป็นผู้พระราชทานหรือให้นามวัดไว้ เพราะหาหลักฐานไม่ได้)


การทีไ่ ด้นามวัด มีความหมายคือ “อารามอันเป็นเนือ้ นาบุญแห่งข้าว” เพราะวั ด นี้ ตั้ งอยู่ในทุ่งหลวงรังสิต ซึ่งพื้น ที่ดังกล่ า วนี้ เ ต็ มไปด้ ว ย ข้าวกล้าและพืชธัญญาหาร เป็นเมืองที่อุดมสมบูรณ์เป็นอย่างยิ่ง ในปี พ.ศ. 2445 ( ร.ศ. 121 ) หม่อมเขียน ได้ทลู ขอพระบรมราชานุญาต ขอพระราชทานวิสุงคามสีมาและได้รับพระบรมราชานุญาติ เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2445 ร.ศ. 121 จ.ศ. 1264 ค.ศ. 0902 “ตามประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 20 หน้า 88 วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2446 เนื้อที่ยาว 15 วา กว้าง 8 วา รายนามเจ้าอาวาสตั้งแต่สร้างวัดมาจนถึงปัจจุบัน 1. หลวงพ่อด�ำ ( ตั้งแต่ พ.ศ. 2439 – 2444 ) 2. พระครู ธั ญ ญเขตเขมากร บวรสมณาจารย์ สั ง ฆวาหะ (หลวงพ่อช้าง) อดีตเจ้าคณะจังหวัดธัญบุรี ( ตั้งแต่ พ.ศ. 2445–2481) 3. พระครู ธั ญ ญวิ จิ ต รเขมคุ ณ (หลวงพ่ อ เปลื้ อ ง มาควิ โ ก) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอธัญบุรี (ตั้งแต่ พ.ศ.2482–2512) 4. พระครูอดุลธัญญสาร (หลวงปู่จู ฐานงฺกโร) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2513 – 2515) 5. พระปลัดคุ่ย ธมฺมสีโล (ตั้งแต่ พ.ศ. 2516 – 2521 ) 6. พระธรรมรัตนาภรณ์ (พระมหาสมศักดิ์ โชตินฺธโร ป.ธ. 5 น.ธ. เอก พธ.ด.) เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี (ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 จนถึง ปัจจุบัน) PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3


History of buddhism....

วัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์ พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิริวังโส เจ้าอาวาสวัดปัญจบูรพาจารย์ (วัดป่าห้าพระองค์)

วัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์ ตั้งอยู่ที่ต�ำบลคลองสาม อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

4

5

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4.indd 4

22/12/2563 15:45:31


นมัสการ

หลวงปู่มั่นองค์ ใหญ่ สถานที่ปฏิบัติธรรมวัดป่าห้าพระองค์

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

4.indd 5

5

22/12/2563 15:45:38


วั ด เจดี ย ์ ห อย วั ด ชื่ อ ดั ง ของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลบ่อเงิน อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี สิ่ ง ที่ โ ดดเด่ น ของวั ด นี้ คื อ เจดี ย ์ ห อยขนาดสู ง สร้างความตืน่ ตะลึงให้แก่ผพู้ บเห็นเป็นอันมาก มีอยูด่ ว้ ยกัน 2 องค์ องค์ แรกอยู ่ ป ากทางเข้ า วั ด องค์ ที่ ส องอยู ่ ใ น บริเวณวัด ภายในวัดมีการตกแต่งเป็นศิลปะแบบมอญ บรรยากาศรอบๆ จะเต็มไปด้วยเปลือกหอย และวิวทุ่งนา ที่ ใ ห้ ค วามสงบและร่ ม เย็ น ด้ า นในอุ โ บสถเราจะพบ พระประธานองค์ใหญ่สีทองอร่าม อย่าง พระพุทธนฤมิต รั ต นชนะมาร หรื อ หลวงพ่ อ ชนะมาร โดยความเชื่ อ ที่ว่าหากใครได้มากราบไหว้ขอพรจะได้รับความส�ำเร็จ ดั่ ง ใจหวั ง นอกจากนี้ในบริเวณวัด ยังมีแ หล่งท่อ งเที่ ย ว ทางเกษตรสวนสมุนไพรว่านยา พิพิธภัณฑ์เรือยาวและ บึงน�้ำขนาดใหญ่มีปลาสวายที่ทางวัดเลี้ยงอยู่เป็นจ�ำนวน มาก และบ่อเต่าอยู่ข้าง ๆ บึง

4

SBL บันทึกประเทศไทย I นนทบุรี


History of buddhism....

NONTHABURI I SBL บันทึกประเทศไทย

5


History of buddhism....

วัดชินวรารามวรวิหาร

8

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


พระมงคลวโรปการ (ช�ำนาญ อุตฺตมปญฺโญ) เจ้าอาวาสวัดชินวรารามวรวิหาร

วัดชินวรารามวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบางขะแยง อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 02 581 2242 วัดชินวรารามวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด เนือ้ ที่ 41 ไร่ 1 งาน 52 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 5339, 5340 ทีธ่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 5 แปลงเนือ้ ที่ 15ไร่ 2 งาน 6 ตารางวา โฉนดทีด่ นิ เลขที่ 2510, 2552, 2581, 2494, 23732, (ที่ของวัดถูกเวนคืน บางโฉนด) สภาพของวัด มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม เป็นที่ราบลุ่ม ด้านทิศตะวันออกติดกับ แม่น�้ำเจ้าพระยา ทิศเหนือ ทิศตะวันตก และทิศใต้ มีหมู่บ้านของ ประชาชนอยูโ่ ดยรอบพืน้ ที่ เดิมพืน้ ทีเ่ ป็นร่อง เป็นคูและป่า แต่ปจั จุบนั ทางวัดได้ปรับถมพืน้ ทีใ่ ห้เสมอกันหมด พร้อมทัง้ ปลูกต้นไม้ประดับและ ไม้ยืนต้น เพื่อใช้ร่มเงาเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่ผู้ที่ได้สัญจรไปมา

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

9


วัWat ดบางหลวง Bang Luang

พระมหาถาวร ถิรจิตฺโต (จิตรกระเนตร) เปรียญธรรม 9 ประโยค นักธรรมชั้นเอก เจ้าอาวาสวัดบางหลวง, เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองปทุมธานี

วัดบางหลวง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 53 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เขตการปกครอง คณะสงฆ์ภาค 1 มีเนือ้ ทีต่ งั้ วัด 13 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา วัดบางหลวง สร้างเป็นวัดตัง้ แต่ปี พ.ศ.2230 นับว่าเป็นวัดทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ซงึ่ เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา มีประวัติ และหลักฐานที่น่าศึกษาค้นคว้าอยู่มิใช่น้อย ดังจะเห็นได้จากจิตรกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติทั้งหมดภายในอุโบสถ และเจดีย์ เป็นศิลปะ สมัยอยุธยา และมีพระพุทธรูปส�ำคัญ 3 องค์ คือ หลวงพ่อใหญ่ พระประธานในอุโบสถ, หลวงพ่อเชร พระเชียงแสน พระหัตย์ขยับได้ และ พระปทุมธรรมราช สร้างสมัยรัชกาลที่ 5 วัดนีต้ งั้ อยูท่ างริมฝัง่ ของแม่นำ�้ เจ้าพระยาทางทิศตะวันตก ในต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 10 SBL บันทึกประเทศไทยงหวั I ปทุ มธานีมธานี ไปทางทิศใต้ประมาณ 3 กิโลเมตร ห่างจากศาลากลางจั ดปทุ


วัดพืชอุดม

Wat Puet Udom พระอธิการสมบูรณ์ สิริปุญโญ เจ้าอาวาสวัดพืชอุดม

วัดพืชอุดม ตั้งอยู่เลขที่ 25 คลองสิบสอง สายหกวา หมูท่ ี่ 9 ต�ำบลพืชอุดม อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี วัดพืชอุดม สร้างขึน้ เมือ่ ราวๆ ปีพทุ ธศักราช 2417 แต่เดิมมีชื่อว่า “วัดราษฎร์ศรัทธาราม” ต่อมาในสมัยพระอธิการช่วง ธัมมโชติ ได้เปลีย่ น ชือ่ มาเป็น “วัดพืชอุดม” เนือ่ งมาจากบริเวณวัด และพื้นที่ใกล้เคียงกับวัด อุดมไปด้วยไม้ผล ไม้ดอก และพืชพรรณธัญหารต่างๆ วัดพืชอุดม เกิดขึ้นจากแรงศรัทธาของราษฎรในท้องถิ่น โดยมี คุ ณ แม่ แ สง เอี๋ ย ววั ฒ นะได้ อุ ทิ ศ ที่ ดิ น เพื่อสร้างวัดจ�ำนวน 12 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

11


History of buddhism....

วัดโบสถ์ Wat Bot

SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทยI ปทุ I ปทุ มธานี 66 SBL มธานี


วั ด โบสถ์ ตั้ ง อยู ่ ต� ำ บลบางกระบื อ อ� ำ เภอสามโคก จั ง หวั ด ปทุมธานีโดยมี พระราชวรเมธาอาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี (ฝ่ายธรรมยุต) เป็นเจ้าอาวาส วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ห่างจากที่ ว่าการอ�ำเภอสามโคกเป็นระยะทาง 7 กิโลเมตร มีถนนสายสามโคก ท้ายเกาะใหญ่ผ่านวัดโบสถ์ วัดโบสถ์เป็นวัดโบราณสมัยอยุธยาเป็น ราชธานี มีชื่อเดิมว่า “วัดสร้อยนางหงส์ ” คู่กับวัดกร่างซึ่งชื่อเดิมว่า “วัดดงดารา” โดยมีชุมชนโบราณโคกยายมั่นอยู่ตรงกลางระหว่าง สองวัดนี้ซึ่งขุดพบหลักฐานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือเครื่องใช้ของ คนในสมัยอยุธยา มีคลองเกลือเป็นล�ำคลองเข้าสูชุมชน วัดโบสถ์เป็น วัดสังกัดคณะธรรมยุตนิกาย มีพื้นที่ตั้งวัด 15 ไร่ 2 งาน 56 ตาราง วา อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับที่เอกชน ทิศใต้ติดต่อกับที่ดินเอกชน ทิศตะวันตกติดต่อกับเอกชน ทิศตะวันออกติดต่อกับล�ำน�้ำเจ้าพระยา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ดอนมีพื้นที่กว้างขวางทั้งด้านหน้าและด้านหลังวัด โดยทั่วไปมีต้นไม้ใหญ่ขึ้นอยู่ทั่วบริเวณวัด เช่น ต้นตะเคียน ต้นยางนา ต้นโพธิ์ โดยรอบวัดมีกอไผ่สีสุกขึ้นเป็นกอหนาแน่นเหมือนวัดตั้งอยู่ ในป่า

PATHUM 7 PATHUMTHANI THANII SBL I SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย 7


Editor's talk.indd 14

22/12/2563 15:39:15


SBL

บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th

EDITOR’S

issue 117/2021

บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ปทุมธานี จังหวัดที่อิงแอบแนบชิดอยู่กับกรุงเทพฯ ที่มีความโดดเด่นไม่แพ้กรุงเทพฯ เมืองฟ้าอมรเลยสักนิด SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับนี้ จึงไม่พลาดที่จะพาไปชื่นชมความ สวยงามของวิถชี มุ ชนริมน�ำ้ เจ้าพระยา แล้วย้อนยุคไปกับแหล่งเรียนรูท้ างประวัตศิ าสตร์ของ จังหวัดปทุมธานี สมัยรัชกาลที่ 6 กันครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ การเดินทางไปท�ำบุญไหว้พระเสริมมงคลให้กบั ชีวติ ทีจ่ งั หวัดปทุมธานีนนั้ ง่ายแสนง่าย แถมสะดวกสบาย มีทั้งรถประจ�ำทางสาธารณะ หรือจะขับรถส่วนตัวที่จะท�ำให้เกิดความ สบายอกสบายใจและความเพลิดเพลิน ได้เป็นอย่างดีครับ ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด วันหยุดเสาร์-อาทิตย์ หรือช่วงวันหยุดยาว หากไม่ต้องการเดินทางไกล การได้ไปเที่ยว พักผ่อนท�ำบุญท�ำทานกันทั้งครอบครัว ผมว่าจังหวัดปทุมธานีเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจ ที่สุดครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล

บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์

SBL MAGAZINE

Editor's talk.indd 15

22/12/2563 15:39:21


117

ISSUE

สารบัญ

CONTENTS 2 8 11 12

วัดเขียนเขต พระอารามหลวง วัดชินวรารามวรวิหาร วัดพืชอุดม วัดโบสถ์

18 PATHUM THANI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM

117 Editor's talk.indd 16

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี นายฉัตรชัย ชูเชื้อ

22/12/2563 15:39:26


36 38 42 46 50 52 55 56 58 61 62 68 76 79 80 82 84 88 90 92

Editor's talk.indd 17

วัดชินวรารามวรวิหาร วัดบางหลวง วัดเทพสรธรรมาราม วัดเกาะเกรียง วัดตลาดใต้ วัดพืชอุดม วัดลาดสนุ่น วัดโพสพผลเจริญ วัดประชุมราษฎร์ วัดสว่างภพ วัดปัญจบูรพาจารย์ (วัดป่าห้าพระองค์) วัดเจดีย์หอย วัดสุราษฏร์รังสรรค์ วัดต�ำหนัก วัดไก่เตี้ย วัดสะแก วัดบึงบาประภาสะวัต วัดพวงแก้ว วัดโปรยฝน วัดนพรัตนาราม

22/12/2563 15:39:31


EXC LU SI VE I N TE RVI EW EXC LU SI VE I N TE RVI EW

PATHUM THANI PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM นายฉัต รชัย ชูเชื้อ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี

18

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 18

22/12/2563 16:32:44


EXC LU S IV E

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 19

19

22/12/2563 16:32:46


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

โครงการสร้างความปรองดรอง สมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

“ หมู่บ้านรักษาศีล 5”

นายฉั ตรชั ย ชู เ ชื้ อ

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดปทุมธานี

20

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 20

22/12/2563 16:32:47


ปทุมธานีแดนธรรมะ ศาสนทายาทเข้มแข็ง พุทธศาสนิกชนมีหลักธรรมด�ำเนินชีวิต วิสัยทัศน์ พันธกิจ 1. ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศ ด้าน พระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบายในระดับจังหวัด รวม ทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข 2. ติดตามและประเมินผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงานโครงการของหน่วยงานในความดูแลของส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัด รวมทั้งรายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 3. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและ ศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งดูแล รักษาและ จัดการ วัดร้าง และศาสนสมบัติกลางในจังหวัด 4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้วดั เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ และแหล่ ง ภู มิ ป ั ญ ญาของชุ ม ชน รวมทั้ ง ส่ ง เสริ ม ให้ มี ศู น ย์ ก ลาง ในการจัด กิจกรรมทางพระพุทธศาสนาของ จังหวัด 5. ส่งเสริมสนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาและด้านพุทธศาสนศึกษารวมทั้งดูแล และ ควบคุมมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ภายในจังหวัดให้ผู้เรียนมีความรู้ คู่คุณธรรม และพัฒนา บุคลากรทางพระพุทธศาสนา 6. รับสนองงานประสานงานและสนับสนุนกิจการ และ การบริหารการปกครองคณะสงฆ์ตลอดจนการด�ำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา 7. ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงานในการปฏิบัติ ศาสนพิธีและกิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา 8. ปฏิ บั ติ ง านตามกฎหมายในความรั บ ผิ ด ชอบของ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติซงึ่ ก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจ หน้าที่ของผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับมอบหมาย 9. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี ศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ถนนปทุมธานี – สามโคก ต�ำบลบางปรอก อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ : 02 581 1189 / แฟกซ์ : 02 581 1148 PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 21

21

22/12/2563 16:32:48


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

เที่ยววัด ไหว้พระ เสริมดวง ใกล้กรุง

กับผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดปทุมธานี

วัดเจดีย์หอย

เรามาเริ่มต้นเดินทางไหว้พระเสริมดวง กั น ที่ วั ด เจดี ย ์ ห อย หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลบ่ อ เงิ น อ� ำ เภอลาดหลุ ม แก้ ว จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี วั ด นี้ โ ดดเด่ น ด้ ว ยการน� ำ เปลื อ กหอยอายุ นั บ พั น ปี ท่ี ขุ ด พบภายในบริ เ วณวั ด มาสร้ า งเป็ น “เจดี ย ์ ห อย” ที่ดูแปลกตาจากเจดีย์อื่นๆ ทั่วไป โดยวัดเจดีย์หอยนั้นสร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2538 โดยท่านพระครูสุนทร คุณธาดา หรือหลวงพ่อ ทองกลึง สุนทโร

22

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 22

22/12/2563 16:32:52


PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 23

23

22/12/2563 16:32:53


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

24

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 24

22/12/2563 16:32:55


วัดป่าคลอง 11

จากนั้นมุ่งหน้าสู่คลอง 11 ต� ำ บลบึ ง กาสาม อ� ำ เภอหนองเสื อ จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี วัดนี้หลายท่านขนานนามให้ว่าเป็น “วัดป่าค�ำชะโนด 2” ชาวเมืองปทุมธานีและนักท่องเที่ยวต่างนิยมมากราบสัก การะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และไหว้องค์ปู่ศรีสุทโธ ย่าศรีปทุมมา รวมถึงรูปปั้นพญานาคยักษ์ เพราะต่างเชื่อกันว่าการ มากราบไหว้ขอพรองค์พญานาคที่วัดนี้จะเกิดความเป็น สิริมงคลกับครอบครัวและตัวเอง

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 25

25

22/12/2563 16:32:58


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

วัดโบสถ์

“หลวงพ่อเหลือ”

ไปกราบขอพร พระพุทธรูปเก่าแก่และศักดิ์สิทธิ์สมัยกรุงศรีอยุธยา คู่บ้านคู่เมือง ของเมืองปทุมธานี ที่วัดโบสถ์ ต�ำบลบางกระบือ อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี วัดโบสถ์สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2164 โดย ชาวมอญที่อพยพมาจากเมืองหงสาวดี นอกจากนี้ ยังมีรูปปั้นขนาดใหญ่ของ “สมเด็จพุฒาจารย์” (โต พรหมรังสี) ไว้ ให้ นักท่องเที่ยวได้กราบไหว้ขอพรด้วย

26

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 26

22/12/2563 16:33:00


วัดเจดีย์ทอง

“พระพุทธรูปหยกขาว”

กราบ พุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวไทยรามัญเคารพนับถือกัน นอกจากนี้ยังมี “เจดีย์สีทอง” ทรงรามัญ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของวัด สร้างขึ้นในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ โดยชาวมอญ เป็นสถาปัตยกรรมมอญที่เลียนแบบมาจากเจดีย์จิตตะกองของพม่า

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 27

27

22/12/2563 16:33:03


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

วัดปัญญานันทาราม ตั้งอยู่ที่หมู่ 10 ต�ำบลคลองหก อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ก่อตั้งโดย

“หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ” อดีตเจ้าอาวาสวัดชลประทานรังสฤษฏ์ วัดนี้มี “พุทธคยาจ�ำลอง” (พุทธมหาเจดีย์) ที่ ถอดแบบมาจากประเทศอินเดีย โดยหลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ มุ่งหวังให้เป็นมรดกธรรม สิ่งที่ส�ำคัญอีกอย่างคือ “ภาพปริศนาธรรม 3 มิติ” ที่แฝงไปด้วยคติธรรมสอนใจแห่งแรกในโลก จัดแสดงอยู่ด้านล่างเจดีย์พุทธคยาจ�ำลอง

28

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 28

22/12/2563 16:33:05


วัดสิงห์ จากนั้นไปกราบขอพร “หลวงพ่อโต” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่วัดสิงห์ บ้านสามโคก ต�ำบลสามโคก

อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในอุโบสถมีพระประธานพร้อมด้วย พระอู่ทองอีก 3 องค์ ที่สร้างมากว่า 300 ปี มีพิพิธภัณฑ์เก็บรักษาของเก่า เช่น “ตุ่มสามโคกโบราณ” เรียกได้ว่า ที่นี่เป็นแหล่งศึกษาประวัติศาสตร์โบราณคดี อีกแห่งของจังหวัดปทุมธานี PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 29

29

22/12/2563 16:33:07


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

วัดหงษ์ปทุมาวาส ตั้งอยู่ที่บ้านคลองบางปรอก ต�ำบลบางปรอก อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดเก่าแก่

ที่สร้างโดยชาวมอญที่อพยพมาจากพม่า สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2317 ภายในบริเวณวัดมี “เสาหงส์” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของวัดมอญและมี “พระพุทธชินราชจ�ำลอง” ปางมารวิชัย “เจดีย์มอญจ�ำลอง” ถอดแบบมาจากเจดีย์ ชเวดากอง และ “วิหารจ�ำลอง” ถอดแบบมาจากรุงหงสาวดี ซึ่งมีลวดลายที่งดงาม

30

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 30

22/12/2563 16:33:09


วัดบางกุฎีทอง กราบ “หลวงปู่โต๊ะ”, “หลวงพ่อชาญ”, “หลวงปู่แทน” และ “หลวงปู่สุรินทร์” พระเกจิอาจารย์ ชื่อดังผู้เก่งกล้าที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือที่วัดบางกุฎีทอง ต�ำบลบางกะดี อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นอีกหนึ่ง วัดมอญที่มีความส�ำคัญของเมืองปทุมธานี พร้อมกันนี้ยังได้สักการะองค์ “ท้าวมหาพรหม” องค์ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เพื่อความเป็นสิริมงคล PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 31

31

22/12/2563 16:33:12


EXC LU SI VE I N TE RVI EW

32

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.

( 16

).indd 32

22/12/2563 16:33:13


วั ด จั น ทน์ ก ะพ้ อ

ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลบางเตย อ� ำ เภอ สามโคก จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดเก่าแก่ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2358 โดยชาวมอญที่อพยพจากเมืองเมาะตะมะ ในสมัยรัชกาลที่ 2 โบสถ์สร้างด้วยหินอ่อนสวยงาม ภายในวัดมี “สถาปัตยกรรม แบบไทย-มอญ” และหอวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติรวบรวม ข้ อ มู ล ศิ ล ปวั ต ถุ ข ้ า วของเครื่ อ งใช้ ข องชาวมอญเมื อ งสามโคก จัดแสดงไว้ ให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาด้วย

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.

( 16

).indd 33

33

22/12/2563 16:33:15


34

.indd 34

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

21/12/2563 9:24:43


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

21/12/2563 9:24:44


History of buddhism....

วัดชินวรารามวรวิหาร ประวัติเดิม วัดชินวรารามวรวิหาร เดิมชื่อว่า “วัดมะขามใต้” เป็นวัดที่ สร้างขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปีที่ 7 แห่งรัชกาลที่ 2 เมื่อประมาณ พ.ศ. 2358 ที่ตั้งวัดอยู่ใกล้ชิดกับวัดร้าง 2 วัด คือ วัดใน และวัด คลองควาย วัดมะขามใต้ เป็นวัดรามัญนิกาย ในสมัยหม่อมเจ้าขจร ศุภสวัสดิ์ ครัง้ ยังเป็นผูว้ า่ ราชการจังหวัดปทุมธานี พร้อมกับพระรามัญ มุนี (สุด) ผู้เป็นเจ้าคณะเมือง ได้มอบวัดร้างทั้ง 2 วัดนั้นให้รวมเข้ากับ วัดมะขามใต้ วัดทั้งสามจึงรวมเรียกว่า “วัดมะขามใต้” แต่นั้นมา วั ด ชิ น วราราม เป็ น วั ด ที่ พ ระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ กรมหลวงชิ น วร สิ ริ วั ฒ น์ สมเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ้ า ได้ ท รงปฏิ สั ง ขรณ์ กล่ า วคื อ เมื่อคราวเสด็จตรวจการคณะสงฆ์มณฑลกรุงเทพฯ เป็นครั้งแรก ขณะนั้นทรงด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าคณะใหญ่หนกลาง ทอดพระเนตร เห็นศาลาการเปรียญ วัดเทียนถวายซ่อมทาสีใหม่ เพราะพระอุบาลี คุณปู มาจารย์ (นาค) วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพฯ เมือ่ ยังมีสมณศักดิ์ ที่พระศรีสมโพธิ มาซ่อมเพื่อประดิษฐานศพโยมของท่าน จึงเป็นเหตุ สะกิดพระหฤทัยให้ทรงด�ำริว่า ถ้าคราวพระองค์ทา่ นต้องท�ำศพหม่อม มารดา ควรท�ำอย่างนี้เป็นประโยชน์มาก ดีกว่าท�ำเมรุ แต่ทรงด�ำริ ถึงถาวรวัตถุในประเภทอืน่ ว่าควรท�ำอุโบสถดีกว่าศาลา แต่นนั้ มาก็ทรง แสวงหาอุโบสถที่ทรงจะปฏิสังขรณ์เรื่อยมา ครั้นเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2455 พระองค์ได้เสด็จไปตรวจ วัดในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เสด็จถึงวัดชินวรารามหรือ 36

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

วัดมะขามใต้เดิม ทรงเห็นท�ำเลวัดดี มีกุฏิหมู่หนึ่งพอเป็นที่พ�ำนักอยู่ อาศัยของพระภิกษุสามเณรได้ และมีอุโบสถซึ่งเริ่มก่อผนังไว้บ้างแล้ว ซึ่งไม่มีใครที่จะปฏิสังขรณ์ต่อ ให้ส�ำเร็จ ก็สมพระหฤทัยที่ทรงตั้ง ปณิธานไว้ จึงทรงรับที่จะปฏิสังขรณ์อุโบสถต่อไป ครั้นได้โปรดให้ปฏิสังขรณ์เสร็จเรียบร้อยแล้ว ได้จัดท�ำการฉลอง เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456 นับตั้งแต่นั้นมาก็ได้ทรงปฏิสังขรณ์ และก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ต่อมาตามล�ำดับ พ.ศ. 2476 ยังมีวัดอีกวัดหนึ่งตั้งอยู่เขตติดต่อกับวัดใน ซึ่งรวมกับ วัดมะขามใต้แล้ว ชื่อว่า “วัดเจตวงศ์” วัดนี้มีอุโบสถและพัทธสีมา แต่ทรุดโทรมมาก มีพระจ�ำพรรษาบ้างไม่มีบ้าง พระปทุมวรนายก (สอน) วัดเทียนถวาย เมื่อครั้งยังด�ำรงสมณศักดิ์ ที่พระครูสีลานุ โลมคุณ พร้อมด้วยความเห็นชอบของพระพิมลธรรม (เฮง) วัดมหาธาตุ กรุงเทพ ฯ เจ้าคณะมณฑลอยุธยา จึงสั่งให้รวมเข้ากับวัดชินวราราม เพิ่มอีกวัดหนึ่ง ดังนั้น วัดชินวราราม จึงมีเนื้อที่ตั้งวัดประกอบด้วย วัด 4 วัด รวมกัน การที่ วั ด ชิ น วราราม วรวิ ห าร เจริ ญ รุ ่ ง เรื อ งขึ้ น ได้ เ ป็ น ปานนี้ ก็ เ พราะพระบารมี พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ กรมหลวงชิ น วรสิ ริ วั ฒ น์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดมะขามให้ใหม่เกือบ ทั้ ง หมด ต่ อ มาเมื่ อ ปี พ.ศ. 2481 หลั ง จากที่ พ ระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า สิ้นพระชนม์แล้ว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล จึงทรงพระกรุณา


History of buddhism....

โปรดยกวัดมะขามใต้เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิด วรวิหาร เป็ น พระอารามหลวงวั ด แรกของจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี เพื่ อ เป็ น การ เฉลิมพระเกียรติและเทิดทูนพระเกียรติคุณของ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า และให้เปลี่ยนนาม เป็น “วัดชินวราราม” ตั้งแต่วันที่ 7 มิถุนายน 2481 การศึกษา พ.ศ. 2456 เมื่อพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมด็จ พระสังฆราชเจ้า ก็ทรงโปรดให้หาครูมาสอนพระปริยัติธรรมตาม หลักสูตร ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และทรงโปรดประทานกัปปิยภัณฑ์ (เงิน) ส่วนพระองค์เป็นค่านิตยภัต ถาวรวัตถุ 1. สร้างพระมณฑป แทนหลังเก่า 2. สร้างโรงเรียนประถมศึกษา 1 หลัง 3 ชัน้ 15 ห้องเรียน ห้องพักครู 3. บูรณปฏิสังขรณ์กำ� แพงพระอุโบสถ 4. บูรณปฏิสังขรณ์ธรรมาสน์ยอดปราสาท 5. บูรณะศาลาริมน�ำ้ เรือนไม้ทรงไทย 1 หลัง 6. สร้างกระโจม 8 เหลี่ยม หน้าโรงเรียนวัดชินวราราม เจริญผล วิทยาเวศม์ 7. สร้างเจดีย์ 3 องค์ ด้านหลังพระอุโบสถ 8. บูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถวัดเจตวงศ์ใหม่ทั้งหมด พร้อมประตู หน้าต่าง พื้น ฐานชุกชี หลังคา เพดาน และเจดีย์หน้าอุโบสถ ปูชนียวัตถุ 1. พระอุโบสถ ภาพจิตกรรมฝาผนัง 2. พระต�ำหนักชินวร 3. พระวิหาร 4. พระอุโบสถวัดเจตวงศ์

รายนามเจ้าอาวาส วัดนี้มีเจ้าอาวาสตั้งแต่สร้างวัดมาจนถึงปัจจุบัน คือ รูปที่ 1 ถึง 5 (ไม่สามารถสืบประวัติได้) 6. พระอธิการเปิง (ก่อน พ.ศ. 2456 - 2464) 7. พระครูปัญญารัตน์ (ติ๊ด) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2465 - 2488) 8. พระอุดมญาณมุน(ี ยศ โกลิโต ป.ธ. 5) (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2488 - 2512) 9. พระครูศรีปทุมาภรณ์ (ป.ธ. 5) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 - 2523) 10. พระครูอดุ มสังฆกิจ (สวัสดิ์ อุตตฺ โม) (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2524 - 2534) 11. พระครูวิบูลศีลคุณ (ปุ่น จิรธมฺโม) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2536 - 2541) 12. พระชินวงศ์วราภรณ์ (สมคิด ปรินนฺโท) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 2558) 13. พระมงคลวโรปการ (ช�ำนาญ อุตตฺ มปญฺโญ) (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2558 จนถึงปัจจุบัน) หมายเหตุ ส�ำรวจเมื่อเดือน กันยายน 2562

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

37


History of buddhism....

วัWat ดบางหลวง Bang Luang วัดบางหลวง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 53 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เขตการปกครอง คณะสงฆ์ภาค 1 มีเนือ้ ทีต่ งั้ วัด 13 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา วัดบางหลวง สร้างเป็นวัดตัง้ แต่ปี พ.ศ.2230 นับว่าเป็นวัดทีส่ ำ� คัญ ทางประวัตศิ าสตร์ซงึ่ เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่สร้างสมัยกรุงศรีอยุธยา มีประวัติ และหลักฐานทีน่ า่ ศึกษาค้นคว้าอยูม่ ใิ ช้นอ้ ย ดังจะเห็นได้จากจิตรกรรม ฝากผนังเรือ่ งพุทธประวัตทิ งั้ หมดภายในอุโบสถ และเจดีย์ เป็นศิลปะสมัย อยุธยาแทบทัง้ สิน้ แต่ศลิ ปะภาพจิตกรรมต่างๆ ร่วงโรยไปมาก แต่ได้มี การบูรณะสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ วัดนีต้ งั้ อยูท่ างริมฝัง่ ของแม่นำ�้ เจ้าพระยา ทางทิศตะวันตก ในต�ำบลบางหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ห่างจากศาลากลางจังหวัดปทุมธานี ไปทางทิศใต้ประมาณ 3 กิโลเมตร ประวัตคิ วามเป็นมาของวัดบางหลวง (พอสังเขป) ตามประวัติเดิมของวัดบางหลวง พระรามัญมุนี (สุทธิ์ ญาณรํสี) อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด บางหลวงและอดี ต เจ้ า คณะจั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ได้ บั น ทึ ก ไว้ เ มื่ อ พ.ศ. 2451 พอเป็ น เค้ า ว่ า วั ด บางหลวงในหรื อ วั ด บางหลวงไหว้ พ ระนี้ แต่ ก ่ อ นมิ ไ ด้ ส ร้ า งวั ด นี้ แต่ เ ป็ น ที่ ร กด้ ว ย หญ้าลัดดาวัลย์ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์จตุบาท ทวิบาทมีเสือดาว กวางทราย เป็นต้น มีลำ� คลองเข้าไปทุง่ นา แห่งหนึง่ เรียกว่า คลองบางหลวง พงป่ารกชัฏ ตามริมคลองเป็นที่เปลี่ยว ครั้นเมื่อมนุษย์มากขึ้นก็ อาศัย ตัง้ ภูมลิ ำ� เนาท�ำมาหากิน ตัง้ เป็นปึกแผ่นหนาแน่นมากขึน้ ทุกที ความเจริญของภูมปิ ระเทศก็ดขี นึ้ เป็นล�ำดับ ต่อมาเมื่อประมาณ พ.ศ. 2246 หรือจุลศักราช 1065 สมเด็จ พระสรรเพชรที่ 8 ทรงพระนามเดิ ม ว่ า “พระพุ ท ธเจ้ า เสื อ ” (ดอกเดือ่ ) เป็นพระเจ้าแผ่นดินในพระนครศรีอยุธยาทาราวดี คือกรุงเก่า ได้ทรงสร้างวัดนี้ขึ้น ที่ต�ำบลปากคลองบางหลวงฝั่งใต้ พระราชทาน 38

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

พระมหาถาวร ถิรจิตฺโต (จิตรกระเนตร) เปรียญธรรม 9 ประโยค เจ้าคณะอำ�เภอเมืองปทุมธานี / เจ้าอาวาสวัดบางหลวง Phra Maha Thaworn Thirajitto (Jitkranet) Graduation in highest level of Buddhist theology, dharma scholar advanced level and abbot of Wat Bang Luang

นามว่า “วัดสิงห์” มีทงั้ อุโบสถและหมูก่ ฏุ ิ แต่หมูก่ ฏุ อิ ยูด่ า้ นใต้ของอุโบสถ และได้ปน้ั รูปสิงห์ดว้ ยปูนเพชรตัง้ ไว้หน้าอุโบสถ 2 ตัว และปัน้ รูปจะเข้ ด้วยปูนเพชร ตั้งที่หน้าอุโบสถ 2 ตัว และได้ตั้งปริศนาไว้วา่ “ชั่วฟ้า หางหงส์ลงทีต่ นี สิงห์ คิดไม่ได้เอาทีป่ ลายตีน” รายนามเจ้าอาวาสวัดบางหลวง ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั ทีพ่ อจะสืบค้นได้ รูปที่ 1 พระไตรสรณธัช เป็นเจ้าคณะรามัญแขวงเมืองนนทบุรแี ละ สามโคก สมัยรัชกาลที่ 1


รู ป ที่ 2 พระรามั ญ มุ นี (สุ ท ธิ์ ญาณรํ สี ) เปรี ย ญ 4 ประโยค ฝ่ายรามัญ เคยด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี รู ป ที่ 3 พระรามั ญ มุ นี (มะลิ ปณฺ ฑิ โ ต) เปรี ย ญ 3 ประโยค ฝ่ายรามัญ เป็นพระราชาคณะชัน้ รามัญ เคยด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอ เมืองปทุมธานี รูปที่ 4 พระครูถาวรการโกวิท (กลิ่น ถาวโร) นักธรรมชั้นเอก เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ ตรี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลบางหลวง รูปที่ 5 พระราชสุเมธาภรณ์ (มังกร กสฺสโป) เปรียญธรรม 7 ประโยค นักธรรมชัน้ เอก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี รูปที่ 6 พระราชพุฒิเมธี (เทียน ทองเกิด) เปรียญ 5 ประโยค นักธรรมชัน้ เอก ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี รูปที่ 7 พระมหาปัญญา ขนฺตธิ มฺโม เปรียญ 7 ประโยค นักธรรม ชัน้ เอกด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอคลองหลวง พ.ศ. 2537- 2544 รูปที่ 8 พระมหาบุญมา ถาวรธมฺโม เปรียญ 4 ประโยค นักธรรม ชัน้ เอก พ.ศ. 2544 – 2545 รูปที่ 9 พระมหาถาวร ถิรจิตฺโต (จิตรกระเนตร) เปรียญธรรม 9 ประโยค นักธรรมชัน้ เอก รับต�ำแหน่งเมือ่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549 ปัจจุบนั ศาสนวัตถุ ทีส่ ำ� คัญของวัดบางหลวง 1. อุโบสถวัดบางหลวง สร้างสมัยอยุธยา 2. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง 3. หลวงพ่อใหญ่ พระประธานในอุโบสถ 4. หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปเชียงแสน ขุดพบสมัยพระเจ้าเอกาทศรถ 5. พระปทุมธรรมราช พระประจ�ำจังหวัดปทุมธานี สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 6. วิหารวัดบางหลวง 7. มณฑปแก้ว ทีป่ ระดิษฐานรูปเหมือนอดีตบูรพาจารย์วดั บางหลวง 8. สะพานโค้ง สร้างในสมัยรัชกาล ที่ 5 9. เจดียร์ ามัญ 10. เจดียบ์ รรจุอฐั อิ ดีตเจ้าอาวาส 11. ศาลาการเปรียญท่าน�ำ้ ประวัตพิ ระปทุมธรรมราช “พระปทุมธรรมราช” เป็นพระประจ�ำจังหวัดปทุมธานี สร้างใน สมั ย รั ช กาลที่ 5 เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปางขั ด สมาธิ เ พชร หล่ อ ด้ ว ย โลหะผสม หน้าตักกว้าง 3 คืบพระสุคตประมาณ 40 นิว้ สูง 50 นิว้ ห่มจีวรสังฆาฏิพาด ตัง้ อยูบ่ นฐานบัว สูง 8 นิว้ ยาว 47 นิว้ วัดความสูง ถึ ง ยอดพระเกตุ ม าลาได้ 65 นิ้ ว โดย พระศาสนโสภณ (อ่ อ น) เมื่อครั้งยังเป็น “พระธรรมไตรโลกาจารย์ “วัดพิชัยญาติการาม ซึ่งด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะมณฑลกรุงเทพมหานคร เห็นว่าในเขต ปกครองของท่ า นยั ง ไม่ มี พ ระพุ ท ธรู ป ส� ำ คั ญ ประจ� ำ เมื อ ง จึ ง ด� ำ ริ กับ “พระรามัญมุนี (สุทธิ์ ญาณรํสี)” เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี เจ้ า อาวาสวั ด บางหลวงในสมั ย นั้ น พร้ อ มด้ ว ย “พระยาพิ ทั ก ษ์ ทวยหาญ” เจ้าเมืองปทุมธานี และกรรมการบ้านเมือง ได้ร่วมจัดหา ทุนทรัพย์ในการหล่อพระพุทธรูปประจ�ำจังหวัด ครั้นเมื่อถึงเดือน มกราคม ร.ศ. 118 (พ.ศ. 2443) พระธรรมไตรโลกาจารย์ได้นำ� ช่างปัน้ หุน่ พระพุทธรูปมาจากกรุงเทพฯ โดยประกอบพิธี ณ โรงพิธี วัดปรมัย PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

39


ยิกาวาส ซึง่ ในการสร้างพระพุทธรูปครัง้ นี้ ได้สร้างขึน้ พร้อมกันจ�ำนวน 4 องค์ ซึง่ มีพทุ ธลักษณะทีเ่ หมือนกันทุกองค์ เพือ่ ให้เป็นพระพุทธรูป ประจ�ำเมือง 4 เมือง ต่อมาเมือ่ ปัน้ หุน่ พระพุทธรูปเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้มีก�ำหนดการเททอง ส�ำหรับพระพุทธรูปประจ�ำเมืองปทุมธานี ได้ประกอบพิธเี ททองเมือ่ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ ร.ศ 119 (พ.ศ. 2443) ณ โรงพิธวี ดั บางหลวง สิน้ เงิน 513 บาทเศษ เมือ่ ได้ทำ� การแต่งองค์ พระเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระธรรมไตรโลกาจารย์ จึงได้น�ำความขึ้น ทูลเกล้าขอพระราชทินนามพระพุทธรูป ทัง้ 4 รูป ซึง่ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชทานนามพระพุทธรูป ประจ�ำจังหวัดปทุมธานีวา่ “พระปทุมธรรมราช” แล้วทรงมีพระรับสัง่ ให้ น�ำมาประดิษฐานไว้ ณ วิหารวัดบางหลวง นับแต่นนั้ สืบมา

Wat Bang Luang

Wat Bang Luang is located at 53 village no.2, Bang Luang sub-district, Mueang district, Pathum Thani province. It is a general temple that belongs to Maha Nikaya and the 1st regional Sangha administrative district. The scale of this temple’s land is 5.13 acres and 960 square meters. History of Wat Bang Luang (Brief) Wat Bang Luang was built in 1687. It is considered to be a temple which has historical significance. It is an ancient temple that was built in Ayutthaya period. It has many quite interesting history and evidences for learning as it can be seen from murals about biography of Lord Buddha in ubosot (Buddhist sanctuary) and pagoda which most of mural are Ayutthaya art style. However, all murals were declined but it was restored during Rattanakosin period. This temple is situated on the west bank of Chao Phraya River in Bang Luang sub-district, Mueang district, Pathum Thani province. It is around 3 kilometers south of Pathum Thani Provincial Office According to former history of Wat Bang Luang, Phra Ramanmuni (Sut Yannarangsi), former abbot of Wat Bang Luang and former Pathum Thani province monk dean, had recorded in

40 SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

1908 that formerly the location of this temple before it was built was a land filled with climbing plants and lots of wildlife such as leopard, hog dear etc. There was a canal through the field which its name is Bang Luang canal. On the bank were dense forest and desolate place. Then, when population were increasing, some settled down on this area which the community kept expanding firmly and the growth of landscape also improving continuously. After that, around 1703 or year 1065 of Thai minor era, the time when Som Det Phra Sanpetch the eigth, his former name was “Phra Phuttha Chao Suea” (Dok Duea), was a king of Ayutthaya kingdom, he had built this temple at Pak Klong Bang Luang Tai sub-district and bestowed the name “Wat Singh” which had ubosot and monk’s houses, but these monk’s houses were under ubosot. He also molded two lion and two crocodile statues by using stucco and placed these statues in front of ubosot. He then posed the following puzzle “Forever, swan’s tail touch lion’s feet, unthinkable at the tiptoe”. History of Phra Pathum Thammarat Significant Buddha image of Pathum Thani province “Phra Pathum Thammarat” was built in the reign of king Rama V. It is Buddha image in attitude of sitting cross-legged that was molded from alloy. Its Na Tak (long measure of the Buddha statue in the posture of meditation) is around 40 inches and 50 inches in height. This Buddha statue adorned with monk’s robe with outer robe and sit on lotus base that 8 inches in height and 47 inches in length. Total height from the ground to halo above the head is 65 inches. Phra Satsanasophon (Aon) when he was “Phra Thamtrilokachan” of Wat Phichaiyatikaram that took a position of Bangkok monk dean, had thought that his administrative area did not have any provincial and significant Buddha image. He then discussed with “Phra Ramanmuni (Sut Yannarangsi)” Pathum Thani province monk dean, abbot of Wat Bang Luang during that time together with “Phraya Phitakthuayhan”, governor of Pathum Thani, with the committee, in order to jointly acquire capital for molding the provincial and significant Buddha image. On January, 1900, Phra Thamtrilokachan brought sculptor from Bangkok to build this Buddha image by performing ceremony at pavilion of Wat Porramaiyikawat which there are 4 Buddha images were built in this ceremony. These Buddha images have same characteristics in order to make all of it to be provincial Buddha image of four cities. After that, when molding process was completed, they decided the day to perform casting ceremony of Buddha image of Pathum Thani which is 19 February 1900 at pavilion of Wat Bang Luang, the total budget was 513 Baht. After the decoration of Buddha image was completed, Phra Thamtrilokachan then sent his humbly request to king Rama V to ask for title of four Buddha images which he had bestowed the name of Buddha image of Pathum Thani as “Phra Pathum Thammarat”, he also had an order to establish this Buddha image at Buddha image hall of Wat Bang Luang since then until today.


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

21/12/2563 9:25:59


History of buddhism....

วัดเทพสรธรรมาราม พระครูปลัดสุวัฒนวิสุทธิสารคุณ (เทียนชัย ชยทีโป) เจ้าอาวาสวัดเทพสรธรรมาราม

วัดเทพสรธรรมาราม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 159 หมู่ที่ 3 ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ตั้งวัดเมื่อวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555 ได้รับวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

42

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4

.indd 42

22/12/2563 15:53:12


วัดเทพสรธรรมาราม (บาย ตึ๊ก เจีย) องค์ ใหญ่ที่สุดในโลกเป็นองค์แรกองค์เดียวในประเทศไทย โดยพระครูปลัดสุวัฒนวิสุทธิสารคุณ(เทียนชัย ชยทีโป) เจ้าอาวาสวัดเทพสรธรรมาราม (บาย ตึ๊ก เจีย)

หลวงปู่สรวง

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 43

43

22/12/2563 15:53:22


วัดเทพสรธรรมาราม (บาย ตึ๊ก เจีย) ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ประชาชนทั่วไปมักจะเรียก วัดนี้ว่า วัดหลวงปู่สรวง เนื่องจากมีรูปปั้นหลวงปู่สรวงองค์ใหญ่เด่น เป็นสง่าอยู่ภายในวัด ให้ญาติโยมได้มาสักการบูชา ก่อนจะมีชื่อว่า วั ด เทพสรธรรมาราม นั้ น ในอดี ต จะเรี ย กว่ า สถานปฏิ บั ติ ธ รรม บาย ตึ๊ก เจีย ซึ่งเป็นภาษาเขมร ที่หลวงปู่สรวงชอบให้ศีลให้พรด้วย ค�ำนี้ ค�ำว่าบาย หมายถึง ข้าว ค�ำว่า ตึ๊ก หมายถึง น�้ำ ค�ำว่า เจีย หมายถึง ดี บาย ตึ๊ก เจีย = ข้าว น�้ำ ดี วัดเทพสรธรรมาราม เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธปฏิมา พระสิวลี พระอุ ป คุ ต พระหายโศก องค์ พ ่ อ จตุ ค ามรามเทพ พระพรหม พระโพธิสตั ว์กวนอิม หลวงปูท่ วด สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ฤาษีตาไฟ และที่ส�ำคัญ คือ รูปเหมือนของ หลวงปู่สรวง ที่รังสรรค์ขึ้น อย่างเป็นบุญเป็นกุศล หากต้องการสักการะสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิเ์ พือ่ ความเป็น สิรมิ งคลแห่งชีวติ ต้องการปฏิบตั ธิ รรม รักษาศีล เจริญจิตภาวนา ปรารถนา หาค�ำตอบให้กบั ชีวติ สวนพุทธธรรมบายตึก๊ เจีย (วัดเทพสรธรรมาราม) คือค�ำตอบของญาติโยมทุกท่าน 44

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4

.indd 44

22/12/2563 15:53:27


พระครูปลัดสุวัฒนวิสุทธิสารคุณ (เทียนชัย ชยทีโป)

เจ้าอาวาสวัดเทพสรธรรมาราม (บาย ตึ๊ก เจีย)

วัดเทพสรธรรมาราม จัดกิจกรรมปฏิบตั ธิ รรม ไหว้พระ สวดมนต์ ทุกวันอังคาร ญาติธรรมสามารถร่วมกิจกรรมได้

พระพุทธศาสนายังคง ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

วัดเทพสรธรรมาราม ก�ำลังด�ำเนินการสร้างอุโบสถ ขอเชิญญาติธรรม ผู ้ มี จิ ต ศรั ท ธาร่ ว มท� ำ บุ ญ สร้ า งอุ โ บสถ ได้ ที่ วั ด เทพสรธรรมาราม โดย สามารถโอนผ่านบัญชี ธนาคารทหารไทย สาขามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชื่อบัญชี วัดเทพสรธรรมาราม ปทุมธานี

เลขที่บัญชี 069-2-51176-9 / โทร 02-501 -3536

เป็นสิง่ ยึดเหนีย่ วจิตใจ ได้เข้าวัดท�ำบุญ สวดมนต์ ท�ำให้เรามีสมาธิ มีสติมากขึน้ ขอให้ทกุ คนมีสติกบั การด�ำเนินชีวติ และมีจติ ใจที่

สงบสุข

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 45

45

22/12/2563 15:53:36


History of buddhism....

46

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

วัดเกาะเกรียง


พระมหาบัญญัติ สุจิตฺโต ปธ.4 ดร. เจ้าอาวาสวัดเกาะเกรียง

วั ด เกาะเกรี ย ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 25 บ้ า นเกาะเกรี ย ง หมู ่ 5 ต�ำบลบางคูวัด อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 16 ไร่ 2 งาน 22 ตารางวา โฉนด ที่ดินเลขที่ 17820 มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 3 แปลง เนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 71 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 29223, 29224, 29226 วัดเกาะเกรียง ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยา ตามประวัติถือเป็นวัด เก่าแก่ สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2365 โดยชาวมอญที่อพยพมาจาก เมืองย่างกุ้งเป็นผู้บูรณะสร้างวัด และน�ำชื่อบ้านเกาะเกรียงมาจาก เมืองย่างกุ้งมาตั้งชื่อวัดมีหลักฐานส�ำคัญ คือ องค์พระเจดีย์มอญ ทีต่ งั้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ เจ้าพระยา มีพระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว สูง 59 นิ้ว รูปแบบสมัยกรุงศรีอยุธยา หุ้มด้วยปูนและลงรักปิดทองลอยน�้ำมาและจมอยู่หน้าวัดเกาะเกรียง ชาวบ้านได้ช่วยกันอัญเชิญมาประดิษฐานเป็นพระประธานในอุโบสถ และเรียกนามว่า “ หลวงพ่อขาว” มีความศักดิ์สิทธิ์ในด้านโชคลาภ การงาน ค้าขาย ปัจจุบันทางวัดก�ำลังพัฒนาเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้เข้ามาศึกษา ธรรมะ และท�ำบุญปฏิบัติธรรม ขณะนี้ได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ที่ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาเพื่อให้เป็นสถานที่กราบไหว้ยึดเหนี่ยวจิตใจของ สาธุชนเพื่อเป็นสิริมงคล จึงได้สร้างหลวงพ่อโต โดยย่อแบบมาจาก หลวงพ่อโตวัดพนัญเชิงวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความสูง จากฐานราก 24 เมตร เพื่อเป็นสถานที่ให้คณะสาธุชนได้ร่วมสร้าง และเป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วอี ก แห่ ง หนึ่ ง ในชุ ม ชนวั ด เกาะเกรี ย ง สามารถมองเห็นได้ทั้งฝั่งปทุมธานี และนนทบุรี มีอากาศเย็นสบาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2364 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

47


พระมหาบัญญัติ สุจิตฺโต (รอดคุ้ม) ป.ธ.4 ดร. เจ้าอาวาสวัดเกาะเกรียง ท่านเข้ารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสเมื่อปี พ.ศ. 2561 ถึงปัจจุบัน ท่านมีความมุ่งมั่นพัฒนาวัดและชุมชนให้มี ความเจริญก้าวหน้า คือการเริม่ บูรณะปรับปรุงบริเวณวัดให้สะอาด สะดวก เพือื่ ให้พทุ ธศาสนิกชนได้เดินทางมาปฏิบตั ธิ รรมเป็นทีพ่ งึ่ ทางใจของชาวไทย จรรโลงจิตใจชาวพุทธผ่านพิธีทางศาสนาและพิธีในวันส�ำคัญต่างๆ การค้นพบอันเป็นมงคลของกรุเจดีย์มอญ วัดเกาะเกรียง บริเวณวัดเกาะเกรียงแห่งนี้เป็นชุมชนชาวมอญโบราณที่อพยพ มาตั้งถิ่นฐานอยู่แล้วและได้สร้างวัดเกาะเกรียงขึ้นมาตามชื่อเมือง ของชาวมอญเองซึ่งคาดว่าในช่วงสมัยของรัชกาลที่ 3 ถึงรัชกาลที่ 4 มีการสร้างองค์เจดีย์มอญนี้ขึ้น ณ ริมแม่น�้ำเจ้าพระยาและอาจมีการ บูรณปฏิสังขรณ์วัดเกาะเกรียงนี้ไปพร้อมกันซึ่งท่านสมเด็จพระพุฒา จารย์โตพรหมรังสีและพระเถระผูใ้ หญ่ได้เสด็จมาท�ำพิธสี ร้างเจดียม์ อญ ซึ่งมีหลักฐานภาพเขียนฝาผนังบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ โดยให้ช่าง เขียนของท่านเขียนไว้ที่วัดอินทาราม บางขุนพรหม เพราะในเวลา นั้นท่านสมเด็จพุฒาจารย์โตพรหมรังสีท่านเป็นพระเถระผู้ใหญ่ อีกทั้ง การเดินทางจากกรุงเทพฯ มาวัดเกาะเกรียงแห่งนี้ไม่ได้ไกลกันเลย ด้วยสายน�้ำเจ้าพระยาถือว่าเป็นการเดินทางที่สะดวกมากๆ ซึ่งเชื่อ ได้ ว ่ า ท่ า นสมเด็ จ พระพุ ฒ าจารย์ โ ตพรหมรั ง สี ท่ า นได้ น� ำ พระกรุ วัดตะไกรและเครือ่ งมงคลต่างๆ มาบรรจุไว้ในองค์เจดียม์ อญแห่งนีด้ ว้ ย วัดเกาะเกรียง หลังจากพบกับภัยพิบัติน�้ำท่วมใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2554 ก็ได้รับความเสียหายและทรุดโทรมมาตลอด จนกระทั่งเมื่อ พระอาจารย์บัญญัติ สุจิตฺโต เข้ารับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเกาะเกรียง เมื่อปี พ.ศ. 2561 จึงได้เริ่มปรับปรุงภูมิทัศน์ของวัดเกาะเกรียงให้ดู สะอาด มีระเบียบเรียบร้อยเพื่อให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้เข้ามา ท�ำบุญเจริญธรรมได้สะดวก สะอาดตา และสงบร่มเย็น พร้อมกับได้ สร้างพระโต (ซัมปากง) สูง 24 เมตร โดยย่อแบบมาจากวัดพนัญเชิง วรวิหาร ประดิษฐานริมแม่น�้ำเจ้าพระยา และได้ท�ำการปฏิสังขรณ์ ซ่ อ มแซมยกฐานเจดี ย ์ ม อญโบราณให้ สู ง ขึ้ น ด้ ว ย จึ ง ได้ พ บกั บ ปาฏิหาริย์อัศจรรย์อันเป็นมงคลท�ำให้ได้พบพระเครื่องกรุวัดตะไกร เป็ น พระกรุ เ นื้ อ ดิ น เป็ น พระที่ ค นยุ ค เก่ า นิ ย มและเชื่ อ ถื อ กั น มาก พระทองค�ำและเครื่องบูชาอื่นๆ ซึ่งคาดว่าท่านสมเด็จพระพุฒาจาร ย์โตพรหมรังสีน�ำมาบรรจุไว้เป็นพุทธบูชาเมื่อเกือบ 200 ปีที่แล้ว นั บ ว่ า วั ด เกาะเกรี ย งแห่ ง นี้ มี ป ระวั ติ อั น ยื น ยาวทรงคุ ณ ค่ า ทาง ประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ 48

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

อาคารเสนาสนะประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2524 - ศาลาการเปรียญ กว้าง 14.60 เมตร ยาว 24.60 เมตร - กุฎิสงฆ์ จ�ำนวน 2 หลัง เป็นตึก 2 หลัง - ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง 14.60 เมตร ยาว 31.17 เมตร นอกจากนี้ยังมี หอฉัน 1 หลัง หอสวดมนต์ 1 หลัง ฌาปนสถาน 1 หลัง กุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง ปูชนียวัตถุ - พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 50 นิ้ว สูง 59 นิ้ว เป็นพระศิลาแดง แบบ 5 ท่อนต่อสมัยกรุง ศรีอยุธยา ปัจจุบันห่อหุ้มด้วยปูนและลงรักปิดทองลอยน�้ำมาและจม อยู่หน้าวัดเกาะเกรียง ชาวบ้านได้ช่วยกันอัญเชิญมาประดิษฐานเป็น พระประธานในอุโบสถและเรียกนามว่า “หลวงพ่อขาว” มีความ ศักดิ์สิทธิ์ในด้านโชคลาภ การงาน การค้าขาย ผู้ที่มาขอพรแล้วส�ำเร็จ ผลมักจะแก้บนด้วยไข่ต้ม และดอกไม้ ธูปเทียน - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางประธานพร ขนาด หน้าตักกว้าง 40 นิ้ว - พระพุทธไตรรัตนนายก หรือ หลวงพ่อโต เป็นพระพุทธรูปปูน ปั้นปางมารวิชัย เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะ อย่างยิ่งชาวจีนซึ่งขนานนามหลวงพ่อโตองค์นี้ว่า “ซ�ำปอกง” การบริหาร และการปกครอง มีรายนามเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบ คือ 1. พระครูวินัยธร (บี๋) (ตั้งแต่ พ.ศ. 2481 – พ.ศ. 2492) 2. พระอธิการค�ำหลาย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 – พ.ศ. 2513) 3. พระอธิการสงวน ปภสฺสโร (ตั้งแต่ พ.ศ. 2513 – พ.ศ. 2534) 4. พระอธิการประพันธ์ ชุตนิ ธฺ โร (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2541) 5. พระใบฎีกาพะยอม ฐานวีโน (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2542 – พ.ศ. 2549) 6. พระอธิการเกรียงศักดิ์ ธมฺมเตโช (ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 – พ.ศ....) 7. พระครูสิริพัฒนาภรณ์ (ตั้งแต่ พ.ศ. ...... – พ.ศ. 2561) 8. พระมหาบัญญัติ (รอดคุม้ ) ป.ธ.4 ดร. (ตัง้ แต่ พ.ศ. 2561– ปัจจุบนั )


History History of of buddhism.... buddhism....

ประวัติความเป็นมาพระกรุวัดตะไกร อยุธยา ถึงกรุเจดีย์มอญ วัดเกาะเกรียง ปทุมธานี วั ด ตะไกร ปั จ จุ บั น เป็ น วั ด ร้ า ง สร้ า งตั้ ง แต่ เ มื่ อ ใดไม่ ป รากฏ สันนิษฐานว่า น่าจะสร้างในสมัยอยุธยาตอนกลาง ตั้งอยู่ ณ ต�ำบล คลองสระบัว อ�ำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งอยู่บริเวณนอกคูเมืองออกไปไม่ไกลนัก ชาวบ้านเรียกขานกันว่า “วัดตะไกร” มาตั้งแต่เดิมแล้ว ตามหลักฐานทางโบราณคดีได้สันนิษฐานว่า วัดตะไกร น่าจะ สร้างขึ้นในช่วง พ.ศ. 2006 – 2170 ในแผ่นดินสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถมาจนถึงรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมและถูกทิ้งร้าง เมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 แต่มีหลักฐานว่าได้กลับมาใช้พื้นที่ วัดตะไกรแห่งนี้อีกครั้งในช่วงต้นสมัยรัตนโกสินทร์ ซึ่งสมเด็จพุฒา จารย์โตพรหมรังสี ได้เคยมาจ�ำวัดที่น่ีระยะหนึ่งก่อนขึ้นเป็นเจ้าคณะ และเจ้าอาวาสวัดระฆัง

ความเป็นมาของพระกรุวัดตะไกรแต่โบราณ ย้อนไปในสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ด้วยความเชื่อและ สร้างขวัญก�ำลังใจให้ทหารนักรบ ซึ่งในการ ออกรบก็มักจะท�ำพิธี สร้างพระเครื่องด้วยมวลสารชนิดต่างๆ ตามค่านิยม ปลุกเสกเป็น วัตถุมงคลติดตัวเพื่อสร้างขวัญก�ำลังใจ สร้างความมั่นใจ เครื่องยึด เหนี่ ย วเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น ในการออกศึ ก สงคราม และเมื่ อ เสร็ จ ศึกสงครามโดยความเชื่อจะไม่น�ำพระเครื่องที่พกติดตัวในการออก ศึกสงครามกลับเข้าบ้าน แต่จะน�ำไปฝากไว้ที่วัดเมื่อสิ้นสุดสงคราม บ้ า นเมื อ งสงบสุ ข เมื่ อ มี ก ารก่ อ สร้ า งพุ ท ธสถานใดๆ ก็ มั ก จะน� ำ พระเครื่องเหล่านั้นและเครื่องทองของบูชาทั้งหลายบรรจุไปด้วย เช่น บรรจุในองค์พระเจดีย์ หรือบรรจุไว้ใต้ฐานของพระประธาน เมื่อวัน เวลาผ่านไปสิ่งปลูกสร้างเสื่อมสลายทลายลง หรืออาจมีขโมยแอบ ขุดค้นเพื่อหาสมบัติก็มักพบพระเครื่องติดขึ้นมาด้วยเสมอ PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

49


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดตลาดใต้

พระพงษ์ศิริ สิริวํโส รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตลาดใต้

วัดตลาดใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 6 บ้านตลาด หมู่ที่ 3 ต�ำบลบางขะแยง อ�ำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี วัดตลาดใต้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด มีเนื้อที่ 10 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา พื้นที่วัดเป็นที่ราบลุ่มน�้ำท่วมถึง การคมนาคมทางน�้ำมีแม่น�้ำเจ้าพระยา ผ่านทางด้านทิศตะวันออก วัดตลาดใต้สร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2355 โดยชาวบ้านที่อาศัยอยู่ใน แถบนี้เป็นผู้สร้าง ที่ได้นามว่า วัดตลาดใต้ เพราะมีอีกวัดหนึ่งอยู่ทาง เหนือนามว่า “ วัดตลาดเหนือ” บริเวณแถบนี้ชาวบ้านได้น�ำของป่า มาซื้อขายกันมากนิยมเรียกว่าเป็นตลาดน�้ำ เมื่อสร้างวัดขึ้นจึงเรียก นามวัดว่า “ วัดตลาดใต้ “ ตามลักษณะภูมิประเทศ วัดตลาดใต้ได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2425 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 12.50 เมตร ยาว 19.50 เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2426 50

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

อาคารเสนาสนะประกอบด้วย - อุโบสถ กว้าง 6.50 เมตร ยาว 15.50 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2430 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก - ศาลาการเปรียญ กว้าง 14.50 เมตร ยาว 27 เมตร สร้างเมื่อ ปี พ.ศ. 2541 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ทรงไทยมีช่อฟ้า ใบระกา 2 ชั้น - หอสวดมนต์ กว้าง 9.50 เมตร ยาว 10.40 เมตร เป็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง เป็นอาคารไม้ และอาคารครึ่งตึก ครึ่งไม้ - ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล จ�ำนวน 1 หลัง สร้างด้วยไม้ 1 หลัง


นอกจากนี้มี ฌาปนสถาน 1 หลัง, หอระฆัง 1 หลัง, เรือนเก็บ พัสดุ 1 หลัง, กุฏิเจ้าอาวาส 1 หลัง ปูชนียวัตถุ มี - พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 49 นิ้ว สูง 49 นิ้ว - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชยั ขนาดหน้าตัก กว้าง 39 นิ้ว สูง 57 นิ้ว

พระพงษ์ศิริ สิริวํโส รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดตลาดใต้

การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระอธิการอัย พ.ศ. 2435 – 2460 2. พระอธิการพัฒน์ พ.ศ. 2460 – 2467 3. พระอธิการธรรมตา พ.ศ. 2467 – 2515 4. พระอธิการบุญ พ.ศ. 2515 – 2517 5. พระอธิการหนู พ.ศ. 2517 – 2523 6. พระอธิการแผ้ว พ.ศ. 2523 – 2534 7. พระอธิการสวิง พ.ศ. 2536 – 2540 8. พระอธิการเฉลิม พ.ศ 2541-2553 9. พระมหาธีรศักดิ์ อธิปุญฺโญ พ.ศ 2553-2563 10. พระพงษ์ศิริ สิริวํโส ปัจจุบันรักษาการแทนเจ้าอาวาส PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

51


History of buddhism....

วัดพืชอุดม

Wat Puet Udom วัดพืชอุดม วัดพืชอุดม ได้ด�ำเนินการสร้างอุโบสถไม้เนื้อแข็งทั้งหลัง โดย มีเถ้าแก่เฮง เอี๋ยววัฒนะ นางแจ่ม เกษรบัว และนายยศ–นางเที่ยง ยอดเพ็ชร ร่วมบริจาคเงินอุปถัมภ์ก่อสร้างและได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2418 ซึ่งตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5 ) และทางวัดได้ซื้อที่ดิน เพิ่มเติมในภายหลังทางทิศใต้อีกจ�ำนวน 7 ไร่ 1 งาน 83 ตารางวา ซึ่งในปัจจุบันนี้เป็นที่ตั้งของอุโบสถจตุรมุข หลังใหม่ วัดพืชอุดมมีพระอาจารย์แดงเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกได้ด�ำเนินการ ก่อสร้างอุโสถจตุรมุขไม้ทั้งหลัง มีขนาดกว้าง 9.36 เมตร ยาว 23.58 เมตร ภายในพระอุโบสถมีพระพุทธโสธรจ�ำลอง เป็นองค์พระประธาน ปัจจุบนั วัดพืชอุดม เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมทีม่ ชี อื่ เสียงของ จังหวัดปทุมธานี เป็นที่รู้จักกันดีในเชิงธรรมทัศนศึกษา ที่ได้รับความ นิยมมานานจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ วัดพืชอุดม เป็นวัดเดียวของไทยที่ได้หยิบยกเน้นเอาเรื่องราวของพระปฐมสมโพธิ ตอนทรงท�ำยมกปาฏิหาริย์ 'เปิดโลก' ตลอดทั่วทั้งหมื่นจักรวาลของ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระบรมศาสดา ซึง่ ได้นำ� เอามาเทศน์ สั่งสอนกันมากที่สุดและเป็นตอนที่มีความส�ำคัญดีเยี่ยมที่สุดที่ได้ทรง แสดงไว้ในพระไตรปิฎก วัดพืชอุดมได้สร้างวิหารพระเจ้าเปิดโลกเพื่อ 52

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

พระอธิการสมบูรณ์ สิริปุญโญ เจ้าอาวาสวัดพืชอุดม Phra Athikarn Somboon Siripunyo, abbot of Wat Puet Udom


วิหารหลวงพ่อโสธร

แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับนรก - สวรรค์ 31 ภูมิ เพื่อเป็นอนุสติเตือนใจ ให้คนละเว้นความชั่วมุ่งท�ำแต่ความดีตามหลักการที่ว่า "ท�ำดีได้ดี ท�ำชัว่ ได้ชวั่ ''ปลูกฝังคุณธรรมและ ให้ความรูใ้ นชาติกำ� เนิดภพภูมติ า่ งๆ รวมทัง้ ในด้านศิลปวัฒนธรรมทัง้ ทางคดีโลกและคติธรรมแบบโสตทัศน ธรรมศึกษา วิหารพระเจ้าเปิดโลกแสดงนรก-สวรรค์ 31 ภูมิของวัดพืชอุดม นี้เป็นวิหารขนาดใหญ่โดยชั้นล่างได้จัดสร้างและตกแต่งเป็นนรก ที่ได้รับความทุกข์อย่างแสนสาหัสน่าสยองพองขนอันเป็นผลจากการ กระท�ำความชั่วต่าง ๆ โดยมีหุ่นสัตว์นรกที่เคลื่อนไหวด้วยกลไกที่มี เสียงประกอบเพียงแห่งเดียวของเมืองไทย ส่วนชั้นบนนั้นได้แสดง สวรรค์ภูมิและพรหมภูมิด้วยภาพเขียนประกอบแสงสีสวยสดงดงาม ตระการตา

Wat Puet Udom

Wat Puet Udom is located at 25, khlong Sibsong Saihokwa, village no.9, Puet Udom sub-district, Lam Luk Ka district, Pathum Thani province. Wat Puet Udom carried out the construction of ubosot (Buddhist sanctuary) made of hardwood for the whole building which Mr.Heng Ieawwattana, Mrs.Jam Kesornbua, Mr.Thet and Mrs.Thiang Yodpetch had jointly donated money for the construction. This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) in 1875 which is during the reign of Phra Bat Somdet Phra Chunla Chom Klao Chao Yu Hua (King Rama V). After that, this temple bought land PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

53


on the south which its scale was 2.76 acres and 732 square meters. At present, this land is a place where new ubosot with four gable ends is situated. Wat Puet Udom had Phra Ajarn Daeng as the first abbot who built whole building of the ubosot, its scale is 9.36 meters in width and 23.58 meters in length. There is an imitation of Phra Phuttha Sothon which is principle Buddha image of this temple inside the ubosot. At the present time, Wat Puet Udom is a famous Buddhist tourism destination of Pathum Thani province. It is well-known in Dharma educational tourism aspect which is a topical place among tourists whether Thais or foreigners. Wat Puet Udom is the only temple in Thailand that bring up a story of Lord Buddha’s life when he displayed pair of miracles “World-opening” including ten thousand universes of Lord Buddha which is mostly used for preaching. Moreover, it is the greatest and significant chapter that shown in tripitaka. Wat Puet Udom had built Phra Chao Perd Lok Vihara (Vihara of god opening the world) for showing story about 31 worlds of hell – heaven in order to remind people to refrain from doing bad deeds and aiming at doing good deeds as the principle goes “As you sow, So Shall you reap”. In addition, it is for implanting dharma into people and educating in the birth of everything in various worlds including artistic and cultural aspect both worldly and religious in form of audio-visual education. Phra Chao Perd Lok Vihara of Wat Puet Udom is huge vihara which lower floor is decorated in hellish scenery of frightful and ultimate suffering that is a result from act of bad deeds. Moreover, there are robots of demonic beast from hell that move by sounding mechanism which is the only place in Thailand. As for upper floor, it exhibits heaven and world of Brahma through artistic and elegant color paintings.

54

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดลาดสนุ่น พระครูวิบูลวรคุณ (ฉวี) เจ้าอาวาสวัดลาดสนุ่น

วัดลาดสนุ่น ตั้งอยู่เลขที่ 25 บ้านลาดสนุ่น หมู่ที่ 7 ต�ำบลคูคต อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0-2994 9495 ประวัติวัด วัดลาดสนุ่น สร้างในสมัย รัชกาลที่ 5 ราวพุทธศักราช 2440 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงมี พ ระราชด� ำ ริ จะปรับปรุงพื้นที่ทุ่งรังสิต ซึ่งเป็นที่ดินกว้างขวางและว่างเปล่าอยู่มาก ให้เป็นประโยชน์ ในด้านการเกษตรกสิกรรม จึงโปรดเกล้าให้บริษัท ขุดคลองคูนาสยาม ขุดคลองส่งน�้ำขึ้น โดยให้พระเจ้าสายสนิทวงศ์ เป็ น ผู ้ ค วบคุ ม ด� ำ เนิ น การในครั้ ง นั้ น ครั้ น ขุ ด มาถึ ง คลองซอยที่ 1 หมู่บ้านลาดสนุ่น ได้พบพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อพระภิกษุโทน เป็นญาติ กับนายเที่ยง อาศัยอยู่ในโรงนาเล็กๆ ที่ปากบึงลาดสนุ่น (ที่ตั้งวัด ในปัจจุบัน) จึงเกิดศรัทธาคิดสร้างวัดขึ้นในสภาพที่นั้นจึงได้ปรึกษา หารือกับชาวบ้าน มีนายเที่ยง เป็นหัวหน้าจนเป็นที่ตกลงกัน จึงได้ จัดที่ให้กว้าง 4 เส้น ยาว 4 เส้น รวมเป็นเนื้อที่ตามโฉนด 15 ไร่ 3 งาน 18 ตารางวา และยกให้เป็นที่ตั้งวัด แต่ไม่ได้ท�ำรังวัดท�ำโฉนด ไว้ให้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2464 พระอธิการหมง เจริญมาก เจ้าอาวาส

ในสมัยนั้น ได้ท�ำเรื่องขอเนื้อที่จากพระคลังมหาสมบัติ และได้รับ อนุ ญาตให้ เ ป็ น ที่ วั ด โดยมอบให้ ห อทะเบี ย นที่ดิน จังหวัดธัญ บุรี ไปท�ำการรังวัดให้ PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

55


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดโพสพผลเจริญ พระครูปลัดประภัสสร ปญฺญาวุโธ เจ้าอาวาสวัดโพสพผลเจริญ

วัดโพสพผลเจริญ ตั้งอยู่เลขที่ 18 คลองหกวาล่าง หมู่ที่ 4 ต�ำบลคูคต อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี วั ด โพสพผลเจริ ญ สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มี ที่ ดิ น ของวั ด ทั้งหมด 32 ไร่ 1 งาน 94 ตารางวา พื้นที่วัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมถนน คลองหกวาล่างมีถนนล�ำลูกกาเป็นทางคมนาคมสะดวก สร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2436 โดยมีนายขุน ต�ำบลฉุน พร้อมด้วยบุตรภรรยา เป็นผู้ถวายที่ดินและด�ำเนินการสร้างวัดในสมัยรัชกาลที่ 5 เดิมมีชื่อ ว่าวัดลาดกระแซง ต่อมาเปลีย่ นชือ่ เป็นวัด “ไพสพผลเจริญ” เปลีย่ นชือ่ ครั้งสุดท้าย เป็น “วัดโพสพผลเจริญ” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งหลัง เมื่อวันที่ 1 ก.ค. พ.ศ. 2517 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 6 เมตร ยาว 14 เมตร ปัจจุบนั มี พระพุทธศรีทศพล เป็นพระพุทธรูปประจ�ำวัด ประดิ ษ ฐานอยู ่ ใ นอุ โ บสถ กว้ า ง 18 เมตร ยาว 34 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517 แทนอุโบสถหลังเดิมที่สร้างไว้เมื่อ พ.ศ. 2440 ศาลาการเปรียญ กว้าง 39.80 เมตร ยาว 82.35 เมตร กุฏิสงฆ์ 12 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 5 หลัง ฌาปนสถาน 1 หลัง 56

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

พระครูปลัดประภัสสร ปญฺญาวุโธ (ป.ธ.3) เจ้าอาวาสวัดโพสพผลเจริญ


ประวัติวัดโพสพผลเจริญ วัดโพสพผลเจริญ เป็นวัดทีม่ ผี นังอุโบสถเล่าเรือ่ งราว พุทธประวัติที่งดงามด้วยศิลปกรรม มีศาลาการเปรียญ ที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดปทุมธานี มีปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ คือ พระพุ ท ธศรี ท ศพลเป็ น พระพุ ท ธรู ป ประจ� ำ ในอุ โ บสถ ตู้พระไตรปิฎก และยังมีพระประจ�ำวันให้กราบไหว้บูชา วั ด โพสพผลเจริ ญ เลี้ ย งเต่ า ไว้ ใ นบ่ อ น�้ ำ กลางวั ด จ�ำนวนกว่า 1,000 ตัว โดยเริม่ จากการทีม่ คี นน�ำเต่ามาปล่อย และทางวัดก็เลี้ยงไว้ และเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

57


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดประชุมราษฎร์ พระครูไพโรจน์ธรรมคุณ เจ้าอาวาสปัจจุบัน

วั ด ประชุ ม ราษฎร์ ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 11 บ้ า นปากคลองหก ถนนล�ำลูกกา ต�ำบลบึงค�ำพร้อย อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดประชุมราษฎร์ มีที่ดินของวัดทั้งหมดจ�ำนวน 124 ไร่ 1 งาน 62 ตารางวา เป็นที่ตั้งวัด (คือที่ซึ่งตั้งวัดตลอดจนเขตของวัดนั้น) จ�ำนวน 22 ไร่ 1 งาน 62 ตารางวา ที่ธรณีสงฆ์ (คือที่ซึ่งเป็นสมบัติ ของวัด) จ�ำนวน 102 ไร่ เป็นวัดที่มีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ตั้งอยู่ โดดเด่นริมถนนล�ำลูกกา วัดประชุมราษฎร์ สร้างวัดเมื่อปี พ.ศ. 2400 โดยมีชาวบ้านร่วมใจ กันสร้าง เดิมวัดนี้ตั้งอยู่ริมคลองหกวา ต่อมาทางราชการได้ขุดคลอง หกขึ้ น ไปทางทิ ศ เหนื อ เชื่ อ มกั บ คลองรั ง สิ ต และขุ ด คลองสามวา ทางด้ า นทิ ศ ใต้ เ กิ ด เป็ น สี่ แ ยก และได้ ข นานนามว่ า “วั ด ประชุ ม ราษฎร์” แต่ชาวบ้านมักเรียกว่า “วัดปากคลองหก” เพราะอยู่ทาง 58

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

ด้ า นทิ ศ เหนื อ ของคลองหกวาในส่ ว นที่ ติ ด กั บ คลองหก (อนึ่ ง คลองหกวาเป็นคลองที่เชื่อมจากคลองสองไปจรดแม่น�้ำนครนายก หรือจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ส่วนคลองหกขุดภายหลังเชื่อม ระหว่ า งคลองหกวากั บ คลองรั ง สิ ต ปากคลองจะอยู ่ ต รงบริ เวณ วัดประชุมราษฎร์) ได้เริ่มพัฒนาวัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2512 เป็นต้นมา


วัดประชุมราษฎร์ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2441 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 15 เมตร ยาว 15 เมตร ได้ผูกพัทธสีมาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2483 ด้านการศึกษา ทางวัด ได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมเริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ. 2476 นอกจากนี้ยังได้สนับสนุนการศึกษาของชาติ ได้ใช้ทางราชการสร้าง โรงเรียนอยู่ในที่ดินของวัดและซื้อที่ดินให้โรงเรียนเพิ่มอีก 5 ไร่ ห่าง จากเขตวัด 5 เส้น PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

59


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

60

.indd 60

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

21/12/2563 9:27:10


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดสว่างภพ

พระครูวิจิตรอาภากร (นิวัตร อาภากโร ป.ธ.4) เจ้าคณะอ�ำเภอคลองหลวง / เจ้าอาวาสวัดสว่างภพ

วั ด สว่ า งภพ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 2 หมู ่ ที่ 16 ต� ำ บลคลองสี่ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี วั ด สว่ า งภพ สร้ า งเมื่ อ วั น ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2453 โดยมี นายไปล่ สว่างภพ เป็นผู้ถวายที่ดิน 19 ไร่ 2 งาน 72 ตารางวา และ ด�ำเนินการสร้างวัดพร้อมกับขนานนามว่า “วัดสว่างนพดาราม” วั ด นี้ มี แ ต่ ผู ้ รั กษาการแทนเจ้าอาวาสเรื่อยมา จนถึ ง พ.ศ. 2482 พระปทุ ม วรนายก เจ้ า คณะจั ง หวั ด ได้ แ ต่ ง ตั้ ง เจ้ า อาวาสและ เปลี่ ย นชื่ อ วั ด ใหม่ เ ป็ น “วั ด สว่ า งภพ” วั ด นี้ ไ ด้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2482 ปูชนียวัตถุภายในวัด 1. หลวงพ่ออู่ทอง สร้างด้วยเนื้อโลหะส�ำริด หน้าตัก 2 ศอก สร้ า งขึ้ น ราวปี พ.ศ. 2490 แต่ เ ดิ ม ประดิ ษ ฐานอยู ่ ที่ วั ด สิ ต าราม

(วัดคอกหมู) กรุงเทพมหานคร หลวงพ่อ พระครู ป ทุ ม กิ จ โกศล (หลวงพ่ อ แสวง) ท ่ า น ไ ป อั ญ เชิ ญ ม า จ า ก วั ด ค อ ก ห มู มาประดิษฐาน ณ วัดสว่างภพ ปีพ.ศ. 2510 หลวงพ่ อ อู ่ ท องเป็ น ที่ นั บ ถื อ ของ ชาวบ้านละแวกนี้มาก ถ้าใครมากราบไหว้ ขอพร ขอให้ประสบความส�ำเร็จในหน้าที่ การงาน ก็จะส�ำเร็จเป็นอัศจรรย์ 2. พระประธานในอุโบสถ (พระพุทธชินราชจ�ำลอง) สร้างด้วย เนื้อโลหะทองเหลือง หน้าตัก 4 ศอก สร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2500 3. สรีระสังขารหลวงพ่อแสวง ประดิษฐานอยูใ่ นโลงแก้ว เมือ่ ครัง้ ที่ ท่านยังมีชวี ติ อยู่ เป็นเกจิอาจารย์ชอื่ ดัง ท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ได้สร้างปลุกเสกพระไว้หลายชุด เป็นที่กล่าวขาน ในบรรดาลูกศิษย์ที่นับถือกันว่า พระที่หลวงพ่อแสวงได้จัดสร้างขึ้น นั้น ใครที่น�ำไปบูชาก็จะแคล้วคลาดปลอดภัยจากเหตุทุกประการ รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่สร้างวัดมาจนถึงปัจจุบัน คือ 1. พระอธิการเทียบ อุณฺนาโท ตั้งแต่ พ.ศ. 2484 - 2489 2. พระครูปทุมกิจโกศล (แสวง อริโย) ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 - 2547 3. พระครูวจิ ติ รอาภากร (นิวตั ร อาภากโร) ตัง้ แต่ พ.ศ. 2547 - ปัจจุบนั PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

61


History of buddhism....

วัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์ พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิริวังโส วัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์

วัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์ ตั้งอยู่ที่ตำ� บลคลองสาม อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

ประวัติความเป็นมาของ “ส�ำนักสงฆ์ปัญจบูรพาจารย์ หรือวัดป่าห้าพระองค์” จะเรียกว่า “ประวัติ” ก็คงจะพูดไม่ได้เต็มปากเต็มค�ำเท่าไหร่นัก เพราะค�ำว่าประวัติเป็นเรื่องที่ต้องสืบค้นตั้งแต่อดีตอันยาวนานแต่ ส�ำนักสงฆ์ปัญจบูรพาจารย์ที่มาหรือเริ่มก่อตั้งได้เพียง 4 ปี จึงสมควรเรียกว่า “จุดเริ่มต้น” จะเหมาะกว่า ประกอบกับญาติโยมสาธุชน มากมายหลายท่านสนใจใคร่รู้ ตัง้ ค�ำถามกับผูเ้ ขียนผูเ้ ริม่ ก่อตัง้ บางท่านก็ได้คำ� ตอบไปแล้ว คงจะมีอกี ไม่นอ้ ยทีย่ งั สงสัย จึงเป็นโอกาสทีผ่ เู้ ขียน จะได้บอกกล่าวให้ทราบในหนังสือเล่มนี้ 62

5

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4.indd 62

22/12/2563 15:46:08


ปฐมวัดป่าห้าพระองค์

เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้รับรู้มูลเหตุแห่งการเริ่มต้นตั้งส�ำนักสงฆ์ ปัญจบูรพาจารย์ หรือวัดป่าห้าพระองค์ ก่อนอื่นผู้เขียนผู้วางรากฐาน ของวัดขอแนะน�ำตัวเองให้ทา่ นได้ทราบพอสังเขปว่าเป็นใครมาจากไหน ชื่อ พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิริว์โส (จันทสิทธิ์) ย้อนอดีตกลับไป ในเยาว์วัย เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2501 คุณพ่อทองสาย จันทสิทธิ์ ผู้ให้ก�ำเนิด คุณแม่สิงห์ จันทสิทธิ์ ผู้ให้ชีวิต มีพี่น้องร่วม บิดามารดา 4 คน เป็นคนสุดท้อง หลังจากเติบโตและเรียนหนังสือ จบภาคบังคับ ชั้น ป.4 จากโรงเรียนประชาบาล บ้านปลาขา ต�ำบล หนองแค อ�ำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ อายุ 14 ปี ได้บวชเป็น สามเณร และเรียนต่อทางโลกและทางธรรม โดยคุณพ่อได้น�ำมา ฝากตัวเป็นลูกศิษย์ในปกครองของ หลวงตาพวง วัดศรีธรรมาราม (สร่างโศก) อ�ำเภอเมือง จังหวัดยโสธร เรียนจบ ม.ศ.5 ที่โรงเรียน ศรีธรรมวิทยา เมื่อปี พ.ศ. 2518 ลาสิกขาจากการเป็นสามเณร และ สอบวัดดวงเพือ่ ชิงชัยไปรับราชการตามประสงค์ของพ่อแม่ ทีอ่ ยากให้ ลูกได้ท�ำงานราชการ ปรากฎว่าสอบติดต�ำแหน่ง เจ้าหน้าที่ปกครอง และได้ รั บ บรรจุ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น ข้ า ราชการพลเรื อ นสามั ญ ที่ อ� ำ เภอ ราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2521 ชีวิตที่ มีอาชีพรับราชการ เป็นธรรมดาที่จะต้องโยกย้ายตามค�ำสั่งผู้บังคับ บัญชา และเพื่อความเจริญเติบโตในสายงาน จึงขอย้ายตัวเองเข้าสู่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย และเรียนต่อมหาวิทยาลัย รามค�ำแหง ชีวิตราชการรุ่งเรืองพอสมควร แต่ชีวิตครอบครัวต้อง ทนต่อสู้กับภาระค่าครองชีพไม่ไหว ขอย้ายตัวเองกลับต่างจังหวัด คือจังหวัดอุบลราชธานี ท�ำงานที่ฝ่ายปกครองและป้องกัน จังหวัด อุบลราชธานี 4 ปี สอบเลื่อนซี 5 ได้เจ้านายให้กลับมาท�ำงานใน กรมการปกครองอีกที่ส�ำนักเลขานุการกรมการปกครอง กองการ ทะเบียน วิทยาลัยการปกครอง ส�ำนักบริหารการทะเบียน นับเวลาที่ รับราชการรับใช้แผ่นดินในข้าพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้ 29 ปีเศษ

จุดพลิกผันของชีวิต

ปี พ.ศ. 2550 ทางรั ฐ บาล โดยหน่ ว ยงานกรมการศาสนา กระทรวงวั ฒ นธรรม ได้ จั ด โครงการอุ ป สมบทเฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ฯ เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 80 พรรษา จึ ง ได้ ส มั ค รใจเข้ า อุ ป สมบทหมู ่ ใ น โครงการดังกล่าว ณ พัทธสีมา วัดเขียนเขต (พระอารามหลวง) โดย มีพระเดชพระคุณ พระราชปริยัตยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเขียนเขต เจ้าคณะจังหวัดปทุมธานี ฝ่ายมหานิกายเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 พรรษาแรกปี พ.ศ. 2550 หลังจาก อุปสมบทที่วัดเขียนเขต ได้มาจ�ำพรรษาที่วัดกลางคลองสาม อ�ำเภอ คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เมื่อออกพรรษาจะต้องลาสิกขา และ รายงานตัวกลับเข้ารับราชการตามเดิม แต่ในความรู้สึกขณะนั้น รู้สึก เสียดายผ้าเหลืองเสียดายเพศสมณะมากกว่าเงินเดือน หรือต�ำแหน่ง หน้าที่ในราชการ ทั้งๆ ที่เวลาราชการเหลืออยู่อีก 10 ปี จึงตัดสินใจ ไม่ลาสิกขา แต่ตัดสินใจลาออกจากราชการ

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

4.indd 63

63

22/12/2563 15:46:19


ต่อจากนั้นก็ได้เสาะแสวงหาและศึกษาประวัติของพระอริยเจ้า ทั้ง 5 พระองค์มากขึ้น มีหลวงปู่ บุญมา ฐิตเปโม, หลวงปู่วัน อุตฺตโม, หลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ, หลวงปู่สิงฆ์ทอง ธมฺมวโร และหลวงปู่สุพัฒน์ สุขกาโม ซึ่งทั้ง 5 พระองค์ ล้วนแล้วแต่เป็นพระเกจิชื่อดังลูกศิษย์ ของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ที่ได้รับศรัทธา ปราสาทะแห่งพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ในขณะนั้น

พรรษาที่ 2-3 ( พ.ศ. 2551- 2552 ) พึ่งใบบุญครูบาอาจารย์

หลั ง จากตั ด สิ น ใจบวชต่ อ ไม่ ล าสิ ก ขา ได้ ม าช่ ว ยงานพั ฒ นา ส�ำนักสงฆ์คลองแอนด์สามสี่ธัมมิการาม (ซึ่งเป็นฝ่ายธรรมยุต) โดยมี พระอาจารย์มหารังสรรค์ สญฺญโม เป็นเจ้าส�ำนักก่อนเข้าพรรษา ในปีนั้น ได้ลาสิกขาชั่วคราว ประมาณ 3 ชั่วโมง เพื่อบวชใหม่เป็น พระฝ่ายธรรมยุต เมื่อวันที่ 14 กรกฏาคม พ.ศ. 2551 ณ พัทธสีมา วัดสุวรรณจินดาราม อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้รับ เมตตาจากหลวงปู่เพ (สุกรี) พระวิมลญาณเถร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูประสิทธิธรรมวิภชั เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูปทุมธรรมา ภิรักษ์ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “พระณเชษฐพงษ์ สิริวํโส” แปลว่า “ผู้มีวงศ์ตระกูลอันป็นสิริมงคล” กลับมาจ�ำพรรษา และพึ่งใบบุญครูบาอาจารย์พระมหารังสรรค์ สญฺญโม ที่ส�ำนักสงฆ์ คลองแอนด์ ส ามสี่ ธั ม มิ ก าราม จึ ง ได้ โ อกาสเรี ย นฝึ ก หั ด วิ ป ั ส สนา กรรมฐานในพรรษานี้ เ องได้ ศึ ก ษาประวั ติ แ ละปฏิ ป ทาของครู บ า อาจารย์สายวัดป่าวิปัสสนากรรมฐานหลายองค์ เพื่อจะยึดถือเป็น แนวทางในการปฏิบตั ิ เหมือนมีสงิ่ ดลใจ วันหนึง่ ก�ำลังนัง่ ท่องบทสวดมนต์ อยู่ได้มีอุบาสกท่านหนึ่งไม่รู้จักกันน�ำหนังสือประวัติ พระอาจารย์วัน อุตตฺ โม มาให้ เมือ่ ได้อา่ นและศึกษาแล้ว บอกกับตัวเองว่านีแ่ หละใช่เลย พระป่าที่เราจะยึดถือปฏิปทาของท่าน แล้วมาสดุดหยุดลงตรงที่ วันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2523 วันที่ท่านมรณภาพละสังขาร ทิ้งธาตุทิ้งขันธ์พร้อมกับพระอริยเจ้า 5 องค์ด้วยกัน ด้วยอุบัติเหตุ เครื่องบินตก ณ ทุ่งรังสิต ต�ำบลคลองสาม-สี่ อ�ำเภอคลองหลวง จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ท� ำ ให้ นึ ก ย้ อ นกลั บ ไปเมื่ อ ครั้ ง รั บ ราชการอยู ่ ที่ กึ่งอ�ำเภอบึงบูรพ์ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ข้าราชการกระทรวงมหาดไทย ต่างก็พูดถึงกรณีเครื่องบินตก มีข้าราชการระดับสูงของกระทรวงรอด ชีวิต 1 คน คือ นายสมพร กลิ่นพงษา ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม สมัยนั้น 64

5

เมื่อได้พิจารณาดูแล้วก็เห็นว่า สถานที่เกิดเหตุเครื่องบินตก คือ จุดที่พระอริยเจ้าทั้ง 5 พระองค์ละสังขารก็อยู่ไม่ไกลจากส�ำนักสงฆ์ ที่จ�ำพรรษาอยู่ จึงได้เดินทางมาตรวจสอบและไต่ถามโยมที่ท�ำนาอยู่ ในละแวกนั้น ในที่สุดก็ได้รับการบอกเล่าจาก โยมสงวน พิณนอก และ โยมจันทร์แรม โพธิสุวรรณ สองสามีภรรยา ผู้เช่าที่ดินท�ำนา เค้าบอกว่า “แปลงที่ผมท�ำนานี่แหละหลวงพี่ ที่เครื่องบินตกเมื่อ 30 ปีที่แล้ว” จึงได้ทราบว่าเป็นที่ดินของทายาทในราชนิกุล (ไม่ขอ เอ่ยนามท่าน) จิตส�ำนึกในขณะนั้นบอกกับตัวเองว่า ต้องสร้างอะไร สักอย่างไว้เป็นอนุสรณ์สถานแด่หลวงปู่พระอริยเจ้าทั้ง 5 พระองค์ ให้จงได้ ทันทีที่คิดจิตก็ตั้งอธิษฐาน “ถ้าหากลูกมีบุญหรือมีส่วนใด เกี่ยวข้องกับหลวงปู่องค์หนึ่งองค์ใดในอดีตชาติ ขอให้ค�ำอธิษฐาน ของลูกทีจ่ ะสร้างอนุสรณ์สถานจงเกิดขึน้ และเป็นไปด้วยความราบรืน่ และส�ำเร็จตามความปรารถนาด้วยเทอญ” โยมสงวนและโยมจันทร์แรม ได้แนะน�ำให้ไปพบกับทนายความ ผู้ดูแลทรัพย์สินของกองมรดกประจ�ำตระกูล ทนายความก็บอกว่า ให้ท�ำหนังสือขอบริจาคหนังสือหรือขอซื้อหนังสือบางส่วนไปที่กอง มรดก จากนั้นผู้เขียนจึงได้ท�ำหนังสือ และท�ำโครงการสร้างมหาเจดีย์ ปัญจบูรพาจารย์ไปยังกองมรดกของทายาทในราชนิกุล

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4.indd 64

22/12/2563 15:46:21


ออกเดินทางตามรอยพระอริยเจ้า 5 พระองค์

เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2553 ผู ้ เขี ย นพร้ อ มด้ ว ยสหธรรมิ ก มี หลวงพ่อสุทิน, หลวงพ่อสมพร, ครูบาสวาท ได้เดินทางสู่ภาคอีสานไป กราบไหว้บชู าพระธาตุขององค์หลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต ทีว่ ดั บ้านหนองผือ ต�ำบลนาใน และวัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร ไปกราบไหว้พระธาตุ หลวงปูว่ นั อุตตฺ โม ทีว่ ดั ถ�ำ้ อภัยด�ำรงธรรม (วัดถ�ำ้ พวง) อ�ำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร กราบไหว้พระธาตุหลวงปูส่ งิ ฆ์ทอง ธมฺมวโร วัดป่าแก้ว ชุมพล กราบไหว้พระธาตุหลวงปูส่ พุ ฒ ั น์ สุขกาโม วัดป่าประสิทธิส์ ามัคคี อ�ำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร กราบไหว้พระธาตุหลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ วัดเจติยาคีรีวิหาร (ภูทอก) อ�ำเภอศรีวิไล จังหวัดหนองคาย (ปัจจุบนั เป็ยนจังหวัดบึงกาฬ) และไปกราบไหว้พระธาตุหลวงปูบ่ ญ ุ มา ฐิตเปโม วัดป่าสิรสิ ารวัน อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู ทุกวัดทีไ่ ด้ไป กราบพระธาตุและรูปเหมือนของหลวงปู่ ผูเ้ ขียนได้ตงั้ จิตอธิษฐานเสมือน ว่าได้อยูต่ รงหน้าหลวงปูเ่ พือ่ กราบเรียนถึงวัตถุประสงค์และขออนุญาต สร้างอนุสรณ์สถาน ณ จุดทีท่ า่ นทัง้ 5 พระองค์ละสังขาร เมือ่ อธิษฐานแล้ว รูส้ กึ ว่ามีความสุขปิตยิ นิ ดีเป็นอย่างมาก จนอดคิดเข้าข้างตัวเองว่าหลวงปู่ คงยินดีและอนุญาตให้สร้างได้ นอกจากกราบพระธาตุของหลวงปูท่ งั้ 5 แล้ว ยังได้เข้าพบกราบเรียนเจ้าอาวาสวัดทัง้ 5 เพือ่ ขอค�ำชีแ้ นะ และได้รบั ความเมตตาจากเจ้าอาวาสทัง้ 5 วัด เพือ่ เป็นการถวายความเคารพต่อ พ่อแม่ครูบาอาจารย์ จึงขออนุญาตเอ่ยนามท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย 1. วัดป่าประสิทธิส์ ามัคคี (วัดหลวงปูส่ พุ ฒ ั น์ สุขกาโม) พระอาจารย์ ประสงค์ สุจติ โฺ ต เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้แสดงความยินดีและอนุโมทนา ในความตัง้ ใจจริงของผูเ้ ขียน และยังได้สง่ ปัจจัยช่วยงานบุญผ้าป่าอีกด้วย 2. วัดป่าแก้วชุมพล (วัดหลวงปูส่ งิ ฆ์ทอง ธมฺมวโร) หลวงปูอ่ นุ่ เหล้า ฐิตธมฺโม เป็นเจ้าอาวาส ขณะที่ผู้เขียนไปถึงวัดได้ทราบจากพระลูกวัด ว่าท่านก�ำลังพักผ่อนเพราะอาพาธ คงไม่ได้พบ ผู้เขียนรู้สึกผิดหวัง ก็เข้าใจในเวลาพักผ่อนของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ จึงก้มลงกราบที่ทาง เดินเข้าห้องพักของท่าน แล้วเดินออกจากบริเวณกุฏิของท่านยัง ไม่ทันไร พระอุปฐากหลวงปู่เดินรี่ตามมาบอกว่า “หลวงปู่ออกมา แล้วท่านให้ไปพบ” ความรู้สึกของผู้เขียนในขณะนั้นดีใจจนบรรยาย ไม่ถูก นึกในใจว่าหลวงปู่คงจะรู้ด้วยญาณ จึงเมตตาให้ได้พบทั้งๆ ที่อาพาธ ผู้เขียนได้กราบเรียนถึงวัตถุประสงฆ์ไปแล้ว หลวงปู่อุ่นหล้า ได้อวยชัยให้พรประสบความส�ำเร็จ 3. วัดถ�้ำอภัยด�ำรงธรรม (วัดถ�้ำพวง วัดหลวงปู่วัน อุตฺตโม) หลวงปู่หลอ พระครูอุดมญาณโสภณ เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ให้ความ เมตตาเห็นดีด้วย ยังกล่าวอีกว่า น่าจะมีคนคิดสร้างอะไรสักอย่างเป็น อนุสรณ์ตั้งนานแล้ว นี่มันล่วงเลยมาตั้ง 30 กว่าปีแล้ว 4. วัดเจติยาคีรีวิหาร (วัดภูทอก วัดหลวงปู่จวน กุลเชฏโฐ) หลวงตาแยง สุขกาโม พระครูสุน ทรวิหารธรรม เป็ น เจ้ า อาวาส เมื่อกราบและเรียนถึงวัตถุประสงค์แล้ว หลวงตาได้กล่าวห้วนๆ สั้นๆ ตามสไตล์ว่า “เอ้อดี ท�ำเลยถ้ามีเงิน” แล้วหลวงตาก็จุดบุหรี่ยี่ห้อ มอร์มวน เล็กๆ ยาวๆ พ่นควันอย่างสยบอารมณ์ พร้อมกับส่งยิ้มให้ เท่านี้ก็รู้แล้วว่าหลวงตาให้พร

5. วัดป่าสิริสารวัน (วัดหลวงปู่บุญมา ฐิตเปโม) อ�ำเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล�ำภู เส้นทางเดียวกันกับวัดถ�ำ้ กองเพลของหลวงปูข่ าว อนาลโย กราบเรียนต่อ หลวงปู่ไสว สุวโจ ผู้เป็นเจ้าอาวาส ท่านได้ เมตตาสนทนา และให้ข้อคิดหลายเรื่องจากประสบการณ์ที่ท่านได้ ประสบพบเห็นกับตัวท่านเอง นับว่าคุ้มค่าดีที่ได้มีโอกาสสนทนา ธรรมกับครูบาอาจารย์ผู้ปฏิบัติชอบ ก่อนจะกราบลาหลวงพ่อไสวได้ กล่าวขึ้นด้วยความเป็นห่วงว่า “ระวังเขาหลอกใช้พระนะ” ทั้ง 5 วัดที่ผ่านมาผู้เขียนได้รับความเมตตาจากหลวงปู่ หลวงตา ผู้เปรียบเสมือนพ่อแม่ครูบาอาจารย์ ท่านได้ให้ค�ำแนะน�ำชี้แนะแนว ทางด้วยความเมตตา ท�ำให้ผู้เขียนมีพลังทางใจเกิดขึ้นอย่างเต็มเปี่ยม มหาศาลประหนึ่งว่าได้รับโสถทิพย์ จนตั้งปฏิธานในใจของตนว่า “หากมีบุญวาสนาได้กระท�ำในสิ่งที่ตั้งใจไว้ เราจะไม่ท�ำให้พ่อแม่ ครูบาอาจารย์ และญาติโยมผูร้ ว่ มบุญผิดหวังเด็ดขาด” มีอยูค่ รัง้ หนึง่ เป็นครัง้ แรกทีก่ ราบพระธาตุของหลวงปูม่ นั่ ภูรทิ ตฺโต วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2553 เป็นวันคล้ายวันเกิดของหลวงปู่ที่วัดป่าบ้านหนองผือ ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ได้จดั งานบุญปฏิบตั ธิ รรม ทุกปี มีพระภิกษุ สามเณร อุบาสก และ อุบาสิกา ทั่วสารทิศหลั่งไหล กันไปร่วมบุญ ผูเ้ ขียนเดินทางไปถึงศาลาแสดงธรรมมองเห็นรูปเหมือน องค์หลวงปู่ ที่เขาตั้งประดิษฐานไว้ให้ผู้คนกราบไหว้บูชา รู้สึกเย็นวาบ ไปทั้งตัว ผู้เขียนตั้งสติได้แล้วก้มลงกราบรูปเหมือนหลวงปู่ด้วยจิตที่ เปี่ยมสุขเหมือนดั่งว่าเราผู้เป็นลูกหลานได้มาพบ มากราบบรรพบุรุษ ปู่ย่า ตายาย ของเราที่จากกันไปนานแสนนาน เสร็จภารกิจจากวัด บ้านหนองผือ ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร แล้ว จึงเดินทางต่อไปวัดของหลวงปู่ทั้ง 5 พระองค์

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

4.indd 65

65

22/12/2563 15:46:24


ผู้เขียนก็ลงพื้นที่ทันที โดยปลูกกุฏิ (น่าจะเรียกกระท่อมมากกว่า) หลังคามุงด้วยฟางฝาข้างกันฝนกันลมด้วยแผ่นไม้อัดเก่าๆ พออยู่ได้ ส�ำหรับพระป่าไม่เดือดร้อน วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 เริ่มอยู่ ในที่ดินผืนใหม่แต่ยังไม่ได้มอบถวายอย่างเป็นทางการ ผู้เขียนได้กราบเรียนปรึกษาหารือกับครูบาอาจารย์ (พระอาจารย์ มหารั ง สรรค์ สญฺ ญ โม) ว่ า ถ้ า ได้ ตั้ ง เป็ น วั ด ควรจะใช้ ชื่ อ ว่ า อะไร พระอาจารย์ได้ตั้งชื่อว่า “วัดปัญจบูรพาจารย์” นั่นหมายความว่า ปัญจ แปลว่า 5 บูรพาจารย์ ก็หมายถึง หลวงปู่ผู้เป็นพระบูรพาจารย์

นิมิตว่าหลวงปู่มาหา ครั้งที่ 2 นิมิตที่ดีเป็นก�ำลังใจ

ออกจากวัดป่าสิริสาลวัน จังหวัดหนองบัวล�ำภู ได้เดินทางต่อไป ยังวัดป่าปภาโส (วัดหลวงปู่ค�ำดี ปภาโส) อ�ำเภอหนองเรือ อยู่ท้าย เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น พ�ำนักและปฏิบัติธรรมอยู่ท่ีนี้ 3 คืน คืนที่ 2 ได้นมิ ติ ว่าเดินธุดงค์โดยแบกกลดสะพายถุงบาตรและสัมภาระ ของพระธุดงค์เดินตามหลังหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านพาเดินในถนน ลาดยาง แถวอ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร แต่เป็นถนนเนินสูงขึ้น เรื่อยๆ ในถนนสายนั้นมีพระภิกษุเดินกันขวักไขว่ ช้าบ้างเร็วบ้าง ต่างคนต่างเดิน ไม่มใี ครสนใจใคร หลวงปูท่ า่ นเดินตามปกติไม่ชา้ ไม่เร็ว แต่ผู้เขียนเดินตามท่านไม่ทัน ทิ้งช่วงประมาณสัก 20 วา เมื่อหลวงปู่ เดินไปถึงจุดสูงสุด ท่านก็หยุดยืนรอ ผู้เขียนจึงรีบสาวเท้าจนไปทัน หลวงปู่ที่ยืนมองผู้เขียนอยู่พร้อมกับเอ่ยถามด้วยน�้ำเสียงของผู้สูงอายุ ที่เปี่ยมด้วยความเมตตาเป็นภาษาอีสานว่า “เป็นหยังคือย่างช้าแท้ ว่าสิบ่ถ่าแล้วใด๋” แปลเป็นภาษากลางคือ “ ท�ำไมถึงเดินช้าจัง ว่าจะไม่รอแล้วนะ” แล้วหลวงปู่ก็เดินลงตามทางลาดชัน ส่วนผู้เขียน สะดุ้งตื่นลุกขึ้นมานั่งพิจารณาในนิมิตฝันนี้ ร้อยวันพันปีก็ไม่เคยฝัน เห็นหลวงปู่ ตัวจริงองค์ทา่ นก็ไม่เคยเห็น เพราะเกิดไม่ทนั ท่าน แต่กด็ ใี จ และเป็นสุขใจ คงไม่ใช่เรื่องร้ายแน่ๆ ที่ได้ฝันเห็นและเดินตามหลวงปู่ ซึ่งเป็นพระอรหันต์ หลังจากนั้น วันที่ 3 ที่วัดป่าปภาโส หลังจาก ท�ำวัตรเย็นเสร็จเวลาประมาณหกโมงเย็นเศษ เป็นเวลาทีเ่ ปิดโทรศัพท์ มือถือดูวา่ มีขอ้ ความหรือมีใครติดต่อมาหรือเปล่า สักพักหนึง่ มีสายเข้ามา ผู้เขียนกดรับสาย ปรากฏว่าเป็นเสียงห้าวๆ ของสุภาพบุรุษแบบ (ขออนุญาตไม่เอ่ยนาม) ผูม้ อี ำ� นาจแฝงด้วยค�ำสุภาพอ่อนโยน เขารายงานตัว บอกว่าเป็นใครโทรจากไหน และยังบอกด้วยว่าได้เห็นหนังสือขอบริจาค ที่ดิน 6 ไร่ เพื่อโครงการสร้างวัดในที่เครื่องบินตกเมื่อปี 2523 อยาก จะมาพบพูดคุยถึงแนวทางด�ำเนินการสร้างวัดกับผู้เขียน หลังจากนั้น ได้นัดหมายพูดคุยกันถึง 3 ครั้ง จนเป็นที่พอใจและเข้าใจตรงกันว่าจะ ร่วมกันสร้างวัดในพระพุทธศาสนา เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานอุทิศถวาย เป็นบุญกุศลแด่พระอริยเจ้าทั้ง 5 พระองค์ ตลอดทั้งดวงวิญญาณของ ผูท้ ปี่ ระสพเหตุเสียชีวติ ในครัง้ นัน้ เมือ่ ได้รบั ไฟเขียวจากเจ้าของทีด่ นิ แล้ว 66

5

เหน็ดเหนื่อยจากการเริ่มต้นก่อสร้างวัดได้ประมาณ 3 เดือน ก็ได้ นิมิตว่า หลวงปู่มั่นฯ และ หลวงตา มหาบัว ญาณสมฺปนฺโน 2 องค์ มาด้วยกัน (ในเวลานั้นหลวงตามหาบัวฯ ก�ำลังอาพาธ ในนิมิตนั้น หลวงปู่เมตตาถามเป็นภาษาอีสานว่า “เมื่อยบ่ล่ะ ซิให้ซ่อยหยังบ่” แปลเป็นภาษากลางว่า “เหนือ่ ยมัย้ ล่ะ จะให้ชว่ ยอะไรมัย้ ?”) ยังไม่ได้ ตอบค�ำถามหลวงปู่ ก็สะดุง้ ตืน่ อีก ลุกขึน้ มานัง่ สมาธิ แต่ไม่มสี มาธิหรอก เพราะนึกถึงแต่ค�ำพูดองค์หลวงปู่ฯ ได้แต่คิดเอาเองว่า หลวงปู่ท่าน คงจะเป็นห่วง เป็นใยเรา อุตส่าห์มาถามและจะช่วยเหลือ

เข้าพรรษาที่วัดใหม่

พรรษาแรกที่วัดใหม่แห่งนี้ (ปี 2553) มีพระมาจ�ำพรรษาด้วยกัน 5 รู ป โดยหวั ง ว่ า ออกพรรษาแล้ ว จะมี พ ระรั บ กฐิ น ครบองค์ ส งฆ์ แต่ความคาดหวังกลับพังทลาย เพราะมีพระนอกรีตนอกรอยที่รับไว้ จ�ำพรรษาด้วยกลับกลายเป็นงูเห่ากล่าวหาผู้เขียนว่าอมเงินท�ำบุญ และจะขอตรวจสอบเรา ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะสงฆ์ ทั้งๆที่ผู้เขียนตั้งใจ หาปัจจัยเพื่อสร้างวัดด้วยความเหน็ดเหนื่อยและเสียสละ มีญาติโยม หลายคนบอกว่ า มั น เป็ น มาร แถมยั ง พู ด ในท� ำ นองให้ ก� ำ ลั ง ใจว่ า มารไม่มี บารมีไม่เกิด

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

4.indd 66

22/12/2563 15:46:28


พบหลวงปู่มั่นฯ และหลวงตามหาบัวฯ ในนิมิตครั้งที่ 3

เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ก่อนออกพรรษาคืนนั้นฝนตกปรอยๆ หลังจากตรวจดูความเรียบร้อยภายในเต็นท์แล้วปลดมุ้งกลดลงเพื่อ จะเข้าสวดมนต์ และนัง่ สมาธิ ลมกระโชกแรงจนกลดแกว่งไปมาสักพัก ก็หยุดเป็นปกติ ผู้เขียนนั่งสมาธิได้ประมาณ 1 ชั่วโมง ด้วยความ เหน็ดเหนื่อยและอ่อนล้าจากการท�ำงาน จึงถือโอกาสจ�ำวัด(นอน) หลับง่ายดายคืนนั้นหลงปู่มั่นฯ และหลงตามหาบัวฯ มาพบในฝันอีก ผูเ้ ขียนนัง่ คุกเข่าพนมมือตรงหน้า ขณะทีท่ งั้ สององค์ยนื อยู่ หลวงปูม่ นั่ ฯ ได้เอ่ยขัน้ เป็นภาษาอีสานว่า “ซือวัดนีม้ นั จัง่ ได๋ๆอยู”่ แปลเป็นภาษากลาง ได้ความหมายว่า “ชือ่ วัดนีม้ นั ยังไงๆอยู”่ ท�ำนองว่าหลวงปูไ่ ม่คอ่ ยเห็นด้วย กับชื่อวัด……… เพราะไหนว่าจะสร้างวัดเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานถวาย ครูบาอาจารย์ แต่ชื่อวัดกลับไม่มีตรงไหนแสดงให้เห็นว่าเป็นอนุสรณ์ ได้เลย ผู้เขียนก�ำลังจะตอบหลวงปู่ว่า “เจ้าของที่ดินได้น�ำเอาชื่อ บรรพบุรุษมาตั้งชื่อวัดครับ” แต่ยังไม่ทันได้บอกก็ตื่นเสียก่อน

อีก 16 วันจะออกพรรษามีเหตุต้องเปลี่ยนแปลง

หลังจากทีผ่ เู้ ขียนได้นมิ ติ เห็นหลวงปูค่ รัง้ ที่ 3 ผ่านไป หนึง่ สัปดาห์ ก็ได้ รับทราบข่าวจากพระเดชพระคุณเจ้าคณะอ�ำเภอ (พระครูสศุ ลี คุณาธาร) วัดประทุมทอง อ�ำเภอสามโคก ท่านเมตตามาพบผู้เขียนถึงส�ำนักสงฆ์ ที่พ�ำนักอยู่ และบอกว่า “เจ้าของที่ดินเขาไม่ได้ถวายท่านหรอกนะ อย่าไปสร้างอะไรในทีด่ นิ เขานะเดีย๋ วจะโดนข้อหาบุกรุก ออกพรรษา แล้วขอให้ทา่ นกลับทีต่ งั้ เดิม” สิน้ เสียงเจ้าคณะอ�ำเภอ ผูเ้ ขียนรูส้ กึ สลด หดหู่ในหัวใจ แต่ก็พยายามเก็บอาการ พลางร�ำพึงในใจว่า “หรือเรา ไม่มีบุญวาสนาเสียแล้ว” อีก 16 วัน จะออกพรรษา บุญกฐินที่เราได้ บอกบุญกับญาติโยมไว้จะท�ำอย่างไร ออกพรรษาแล้วถ้าเราหนีไปคง ถูกต�ำหนิถูกด่าว่า พระนอกรีตพระปลอมมาหลอกให้โยมหลงเชื่อ ท�ำบุญแล้วหอบเงินหนีไป แล้วมันก็จะเข้าข่ายทีพ่ ระลูกวัดเคยกล่าวหา เราไว้ ไม่ได้ เราท�ำอย่างนั้นไม่ได้ เราจะไม่คิดหนีและทรยศญาติโยม เด็ดขาด เรารู้อยู่แก่ใจว่าเราบริสุทธิ์ แต่คนอื่นเขาจะเข้าใจอย่างไรก็ สุดแต่เขา ตราบใดที่มีลมหายใจ มีสติปัญญา มีญาติโยมที่เข้าใจอยู่เรา ต้องสู้ตามที่ได้ตั้งปณิธานไว้

พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิริวังโส

เจ้าอาวาสวัดปัญจบูรพาจารย์ –วัดป่าห้าพระองค์

พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิริวังโส อายุ 62 พรรษา 13 นักธรรมเอก

บรรพชา วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ที่วัดสุวรรณจินดาราม ต�ำบลคูบางหลวง อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พระวิมลญาณเถร เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ที่วัดสุวรรณจินดาราม ต�ำบลคูบางหลวง อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พระวิมลญาณเถร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูประสิทธิ์ธรรมวิภัช พระกรรมวาจาจารย์ พระครูปทุมธรรมมาภิรักษ์ พระอนุสาวนาจารย์ ท่านเป็นพระนักพัฒนา ท่านได้สร้างวัดขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2553 ในเนื้อที่ 6 ไร่ เศษ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและได้สร้าง โบสถ์ ขนาดใหญ่ไว้ภายในวัด ด้านบนเป็นรูปเหมือน หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิรวิ งั โส ท่านได้รบั รางวัล สิงห์ทอง พระนักพัฒนา องค์กรดีเด่นแห่งปี 2558 ซึง่ นับเป็นเกียรติอย่างยิง่ ส�ำหรับท่าน ทีท่ า่ นได้ ทุม่ เทแรงกาย แรงใจ สร้างและพัฒนาวัดป่าห้าพระองค์ ด้วยแรงศรัทธา อันยิ่งใหญ่ จึงเกิดให้เห็นเป็นรูปธรรมในปัจจุบัน ท่านได้รับ ประทานพรและ เกียรติบัตร จากสมเด็จพระอริย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก แสดงว่า “พระครูปลัดณเชษฐพงษ์ สิรวิ งั โส” ได้มสี ว่ นในการบ�ำเพ็ญ ประโยชน์ และเสียสละทัง้ ก�ำลังกาย ก� ำ ลั ง ใจ และก� ำ ลั ง สติ ป ั ญ ญา ในโครงการเฉลิมฉลองครบรอบ วาระ 150 ปีชาตกาล และในวาระทีไ่ ด้รบั ประกาศยกย่องเชิดชูให้เป็นบุคคลส�ำคัญของโลก สาขาสันติภาพจากองค์การยูเนสโก ในวาระปี พ.ศ. 2563 - พ.ศ. 2564 PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

5

4.indd 67

67

22/12/2563 15:46:35


History of buddhism....

วัดเจดีย์หอย

พระครู ดร. สุนทรคุณธาดา (หลวงพ่อทองกลึง สุนทโร) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หอย

วัดเจดีย์หอย ตั้งอยู่เลขที่ 73 หมู่ 4 ต�ำบลบ่อเงิน อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ประวัติวัดเจดีย์หอย (พอสังเขป) วัดเจดีย์หอย สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2538 โดยท่านพระครูสุนทร คุณธาดา ดร. หรือหลวงพ่อทองกลึง สุนทโร ประวัติวัดก็มีความน่าสนใจมากเพราะเกิด มาจาการที่หลวงพ่อท่านได้ไปธุดงค์ที่ประเทศพม่าพบพระอาจารย์ศิลบัน ตะหนึ่งพรรษา ก็ได้ ศึกษาวิชาอาคมจนแตกฉานจึงธุดงค์กลับมาที่ถ�้ำองจุ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ซึ่งเป็นที่จุดก�ำเนิดให้ท่านเกิดนิมิตเห็นว่าในสถาน ณ ปัจจุบัน เมื่อ 8 ล้านปีเป็นเมืองใหญ่ ชื่อเมืองรัตนาวดี และหลวงพ่อ ท่านเองก็เป็นเจ้าเมืองครองเมืองอยู่ที่นี่ ท่านจึงเดินทางมาตามหา ตามนิมิต จนพบ และมีความตั้งใจจะสร้างพื้นดินแห่งนี้ให้เป็นบริเวณอารามวัดขณะที่ ก�ำลังขุดบึงบ่อเพื่อ ไว้เป็นที่กักเก็บน�้ำ ไว้รดพืชสมุนไพร ท�ำให้เจอกับเปลือก หอยนางรมยักษ์ที่ฝังตัวอยู่ใต้พื้นดิน และมีอายุนับพันๆ ปีจ�ำนวนมหาศาล และท้ายที่สุดก็น�ำ เปลือกหอยนางรมยักษ์ที่ค้นพบมาสร้างเป็นเจดีย์และ ให้ชื่อว่า “วัดเจดีย์หอย” มาจนทุกวันนี้

68 SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทยI ปทุ I ปทุ มธานี 68 มธานี


PATHUM 69 PATHUMTHANI THANII SBL I SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทย 69


History of buddhism....

70 SBL SBLบับันนทึทึกกประเทศไทย ประเทศไทยI ปทุ I ปทุ มธานี 70 มธานี

พระพุทธนฤมิตรรัตนชนะมาร พระประธานในโบสถ์ วัดเจดีย์หอย


สถานที่ส�ำคัญภายในวัดเจดีย์หอย 1. เจดีย์หอย เจดีย์หอยสร้างจากเปลือกหอยนางรมยักษ์ที่มีอายุราว 8 ล้านปี กองรวมกั น ก่ อ เป็ น รู ป เจดี ย ์ ท รงระฆั ง จากการศึ ก ษาทางด้ า น ธรณีวิทยาพบว่าส่วนของกรุงเทพฯ และปริมณฑลต่างเคยเป็นทะเล มาก่ อ น และบริ เวณนี้ มี ก ารค้ น พบซากดึ ก ด� ำ บรรพ์ ห อยนางรม รวมถึงที่อื่นๆ ในบริเวณเดียวกัน การสร้างเจดีย์หอย สามารถดึงจิตศรัทธาของประชาชนเข้าวัด เจดีย์หอยมีอยู่ด้วยกันสององค์ องค์แรกมีขนาดเล็กตั้งอยู่หน้าทาง เข้าวัด อีกองค์ได้ทรุดโทรมไปจากการเกิดน�้ำท่วมใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2554 จึงมีการก่อสร้างใหม่ ปัจจุบันก�ำลังอยู่ระหว่างการบูรณะ ก่อสร้าง ซึ่งเมื่อเสร็จเจดีย์องค์ใหม่นี้จะมีความสูงถึง 59 เมตร 2. สระที่ขุดพบเปลือกหอย ที่สระน�้ำใหญ่ภายในวัดเจดีย์หอยคือ พื้นที่ที่พบเจอซากฟอสซิล ของหอยนางรมยั ก ษ์ จ� ำ นวนมากมาย มี ก ารใช้ ร ถแมคโครขุ ด ลึ ก ลงไปถึงความลึกระดับประมาณ 6-8 ตามข้อมูลการค้นพบสถาน ที่แห่งนี้ ครั้งเมื่อพระอาจารย์ทองกลึง สุนทโร เมื่อออกธุดงค์ได้ เกิดนิมิตระหว่างทาง ให้ท่านไปหาที่สร้างวัดใหม่ขึ้นที่เขตอ�ำเภอ ลาดหลุมแก้ว สถานที่แห่งนี้มีขุมทรัพย์ แต่ไม่ทราบแน่ชัดถึงสถานที่ ท่านจึงได้เดินทางมาในลักษณะธุดงค์ซึ่งสมัยก่อนกันดารเป็นอย่าง มาก ได้พบกับคุณเฉลิมผู้กว้างขวางและได้ติดต่อซื้อที่แห่งนี้ ขณะ ที่ลงมือปรับสถานที่เพื่อปลูกพืชสมุนไพร เมื่อขุดดินได้สัก 3 วา ก็พบเปลือกหอยขนาดใหญ่จ�ำนวนมากมาย ปัจจุบันก็ยังมีซากหอย ฟอสซิลนี้อยู่ในสระแต่ยุติการขุดแล้ว

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงเสด็จ ทอดพระเนตรการขุดซากหอยนางรมยักษ์เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2538 ทางวัดจึงยกเลิกการขุดนับแต่บัดนั้นเพื่อเป็นมงคล ปัจจุบัน ทางวัดเจดีย์หอยได้ท�ำทางเดินไปยังศาลากลางน�้ำ มีบ่อเต่า บ่อเลี้ยง ปลาสวาย ให้ประชาชนทั่วไปมาให้อาหารเลี้ยงได้ 3. พิพิธภัณฑ์ของเก่าโบราณ ในพิพิธภัณฑ์จะเป็นลักษณะการวางสิ่งของกองไว้ โดยจัดแบ่ง เป็นกลุ่มๆ อาทิ โอ่งโบราณที่มีรอยเปลือกหอยเกาะ สิ่งของเครื่อง ใช้ พื้ น บ้ า น ถ้ ว ยดิ น เผา ตุ ่ ม หม้ อ ไหโบราณ เปลื อ กหอยและ ซากสิ่งมีชีวิต เป็นต้น นอกจากนั้นในบริเวณวัดเรายังมีโอกาสเห็น ของโบราณหายากอีกมากมาย โดยเฉพาะโต๊ะไม้ขนาดใหญ่ที่ท�ำจาก ไม้แผ่นเดียว ปัจจุบันถือว่ามีมูลค่าอย่างมาก 4. โรงนวดสมุนไพร แผนโบราณ เป็นการนวดในแบบไทย ซึ่งเป็นศาสตร์บ�ำบัดและรักษาโรคแขนง หนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการกด การคลึง การบีบ การดัด การดึง และการอบ ประคบ ซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปใน ชื่อนวดแผนโบราณ ในการนวดแผนโบราณหรือการนวดแผนไทย เป็นจุดประสงค์ที่ไม่ใช่เป็นการรักษาโรค แต่เป็นการผ่อนคลายลึกๆ บนเตียงยกระดับหรือบนฟูกที่ปูบนพื้นโดยตรง ขอบคุณข้อมูล https://sites.google.com/site/watjadeehoi/ thi-tang-wad-cediy-hxy PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

71


ภาพมุมสูง บรรยากาศภายในบริเวณวัดเจดีย์หอย

72

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


History of buddhism....

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

73


หลวงพ่อพุทธมงคลนิมิตร Wat Chedi Hoi

Phra Khru Soonthorn Khunthada, Ph.D. (Luang Phor Thongkleung Soontharo), abbot of Wat Chedi Hoi Wat Chedi Hoi is located at 73 village no.4, Bo Ngoen sub-district, Lat Lum Kaeo district, Pathum Thani province Wat Chedi Hoi, famous temple of Pathum Thani is located in Bo Ngoen sub-district, Lat Lum Kaeo district. The outstanding feature of this temple is high clam pagoda that every single person who see it will be stunned. There are two pagodas which the first one is in front of temple’s entrance and other one is in temple’s area. Temple’s internal area is decorated with Khmer art style, surrounding environment is filled with shells and view of fields that give peaceful and secure feeling. Next, if we go to inside of the ubosot (Buddhist sanctuary), we will find huge and shiny gold principle Buddha image, Phra Phuttha Naramit Rattanachanamarn or Luang Phor Chanamarn which people belief that anyone who pay respect to this Buddha image, his or her wish will be granted. Apart from that, there are agricultural tourist attraction and other places which are Wan Ya herb garden, canal boat museum and large swamp respectively. The temple had been raising lots of striped catfish in this swamp and there is a turtle pond next to it. 74

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


การอาบน�้ำมนต์

พระครู ดร. สุนทรคุณธาดา (หลวงพ่อทองกลึง สุนทโร) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หอย Phra Khru Soonthorn Khunthada, Ph.D. (Luang Phor Thongkleung Soontharo), abbot of Wat Chedi Hoi

History of Wat Chedi Hoi (Brief) Wat Chedi Hoi was built in 1995 by Phra Khru Soonthorn Khunthada, Ph.D., or so called Luang Phor Thongkleung Soontharo. The history of this temple is pretty interesting because the time when he made a pilgrimage to Burma to meet with Phra Ajarn Sinbanta for a year, he studied magic until he was proficient in it. Then, he travelled back to Aongju Cave in Si Sawat district, Kanchanaburi province which is place that caused him to have an omen that this location in 8 million years ago was a big city under the name Rattanawadi and he was the ruler of that city. He then took a journey to search for a place in his omen. After he had found it, he intended to make this place a temple ground. During the time when digging a well for collecting water in order to water herbs, he discovered a lots of huge oyster’s shell under the ground which aged thousands of years. Lastly, he built Chedi of huge oyster’s shell and named it “Wat Chedi Hoi” which has existed since then until today.

ไหว้ครู

งานไหว้ครูประจ�ำปี

งานบวชประจ�ำปีก่อนเข้าพรรษา

งานปีใหม่จัดขึ้นทุกปี

งานวันเกิด12 เมษายน PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

75


History of buddhism....

วัดสุราษฏร์รังสรรค์ พระสมุห์จักรกฤษ สุทฺธิมฺโม เจ้าอาวาสวัดสุราษฎร์รังสรรค์ เจ้าอาวาสที่อายุน้อยที่สุดในจังหวัดปทุมธานี ด้วยวัย 26 ปี 5 พรรษา

วัดสุราษฏร์รงั สรรค์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 44 หมูท่ ี่ 4 ถนนปทุมธานี-สามโคก ต�ำบลคลองควาย อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี วัดสุราษฏร์รังสรรค์ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูร่ มิ แม่นำ�้ เจ้าพระยา สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2375 ไม่ปรากฏหลักฐานว่า ใครเป็นผูส้ ร้าง ต่อมา นางเต่า ผลมะขาม, นายไข่ อุม้ ญาติ และนางโหมด ทองอ่อน ได้ร่วมกันสร้างหอสวดมนต์ถวายวัด และมีนางแจ๋ว ภู่ห้อง ได้ถวายเรือไม้สักทรงไทย คนละ 9 หลัง กับนายไข่ อุ้มญาติ ได้รับ พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 ผูกพัทธสีมา เมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 วัดสุราษฎร์รงั สรรค์ ได้ดำ� เนินการก่อสร้างและปฏิสงั ขรณ์เสนาสนะ ภายในวัด ได้แก่ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล ศาลาท่าน�ำ้ ทางวัดมีโครงการจัดสร้างพระอุปคุตองค์ใหญ่ขนึ้ ทีร่ มิ แม่นำ�้ และสร้าง วังปลาเพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูท้ างธรรมชาติ 76

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


ในอนาคตจะมีการสร้างเขือ่ นขึน้ มาใหม่ ริมแม่นำ�้ ทางวัดจะสร้าง วังมัจฉา (วังปลา) และสร้างหลวงพ่อพระอุปคุตขนาดใหญ่ขนึ้ ทีร่ มิ แม่นำ�้ รวมไปถึงได้มกี ารวางแผนสร้างวิหาร พระครูปทุมธีรคุณ (ลมูล อาวุฑโฺ ฒ) เกจิคณาจารย์ทสี่ ำ� คัญของปทุมธานี เจ้าของตะกรุดหยุดลูกปืน ศิษย์ปหู่ อม วัดบางเตยกลาง ข้อมูลศาสนศึกษาและแหล่งเรียนรูภ้ ายในวัด ทางวั ด รอเขื่ อ นขึ้ น เสร็ จ จะได้ ด� ำ เนิ น การสร้ า งแหล่ ง เรี ย นรู ้ ทางธรรมชาติ (วังปลา) หน้าวัด ในส่วนนี้ ทางวัดมีบอ่ ตะพาบ ซึง่ เป็น ช่วงก�ำลังปรับปรุงเพื่อให้สวยงาม รวมไปถึงอนาคตจะท�ำพิพิธภัณฑ์ เรือโบราณ

ศาสนสถานภายในวัด ภายในวัดสุราษฎร์รงั สรรค์ มีพระคูบ่ ญุ คูบ่ ารมีของวัด คือหลวงพ่อเพ็ชร ทีส่ ร้างขึน้ มาพร้อมกับวัด ราวๆ ปี พ.ศ. 2375 ทีข่ นึ้ ชือ่ ว่าเป็นพระศักดิส์ ทิ ธิ์ ประจ�ำวัด ผูใ้ ดทีม่ าขอพร มักประสบความส�ำเร็จในการบนบานศาลกล่าว ทัง้ สิน้ นอกจากนี้

ข้อมูลเกีย่ วกับการท่องเทีย่ ว วัดจะจัดกิจกรรมหลัก คืองานประจ�ำปีปดิ ทองหลวงพ่อเพ็ชรและ งานครบรอบวันมรณภาพพระครูปทุมธีรคุณ ช่วงวันที่ 22-25 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เทศกาลสงกรานต์จะมีประเพณี ก่อพระเจดียท์ ราย สรงน�ำ้ พระ และ มีการละเล่น เพือ่ สร้างความสนุกสนานให้กบั ชุมชน ในวันที่ 16 เมษายน ของทุกปี วันลอยกระทง ทางวัดจัดประดับไฟ ตกแต่งอย่างสวยงาม และมีการ ละเล่นรวมไปถึงจัดกิจกรรมอย่างยิง่ ใหญ่ เพือ่ ให้ญาติโยมได้มสี ถานที่ ลอยกระทง PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

77


พระครูปทุมธีรคุณ (หลวงพ่อลมูล) พระครูปทุมธีรคุณ (หลวงพ่อลมูล) พระครูปทุมธีรคุณ หรือพระอาจารย์ลมูล อดีตเจ้าอาวาสวัดสุราษฎร์รังสรรค์ เกจิแห่ง ปทุมธานี เจ้าของฉายาตะกรุดหยุดลูกปืนแห่ง ลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา ท่านเป็นหนึ่งในยอดเกจิ ทีม่ ชี อื่ เสียงโด่งดัง ทัง้ สรรพวิชาอาคมต่างๆ ก็ไม่ ได้นอ้ ยหน้าใคร นัน่ ก็คอื วัตถุมงคลตะกรุดหยุด ลูกปืน ทีท่ า่ นได้เมตตาสร้างปลุกเสกอธิษฐาน จิตอย่างเหนียวแน่น เพื่อความเข้มขลังทาง ด้านมหาอุต หลวงพ่อมูล นอกจากท่านจะเป็นอดีต เจ้าอาวาสวัดสุราษฎร์รงั สรรค์แล้ว ท่านยังมีขอ้ วัตรสมณธรรมทีไ่ ด้สบื ทอดประพฤติปฏิบตั มิ า อย่างน่าเคารพนับถือ เรียกว่ากราบได้อย่างสนิทใจ ท่ า นมั ก จะมี ค ติ ธ รรมสั่ ง สอนศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ อยูเ่ สมอ ข้อวัตรงานพระศาสนาท่านก็เป็นได้ อย่างครบถ้วน เรียกว่าเป็นพระเถระทีห่ ายาก ซึง่ มีหน้าทีท่ งั้ ทางโลกและทางธรรม พระครู ป ทุ ม ธี ร คุ ณ (ลมู ล อาวุ ฑฺ โ ฒ) มรณภาพ เมือ่ วันอังคารที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ปัจจุบันสังขารท่านยังคงตั้งอยู่ที่วัด เพื่อให้ญาติโยมได้มากราบสักการบูชา และ ขอพร 78 SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี


History of buddhism....

History of buddhism....

วัดต�ำหนัก

พระมหาจุมพล จิตฺตพโล เปรียญธรรม 9 ประโยค เจ้าคณะอ�ำเภอสามโคก / เจ้าอาวาสวัดต�ำหนัก

วัดต�ำหนัก ตั้งอยู่เลขที่ 4 หมู่ 1 ต�ำบลสามโคก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่ 1 งาน 67.56 ตารางวา โฉนดเลขที่ 6758 อาณาเขต ทิศเหนือติดต่อ กับแม่น�้ำเจ้าพระยา ทิศใต้ติดต่อกับคลองวัดต�ำหนัก ทิศตะวันออก ติ ด ต่ อ กั บ ถนนสาธารณประโยชน์ ทิ ศ ตะวั น ตกติ ด ต่ อ กั บ แม่ น�้ ำ เจ้าพระยา ที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่ 56 ตารางวา โฉนด เลขที่ 6760 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองแม่น�้ำเจ้าพระยาและ ถนนสาธารณะผ่าน วัดต�ำหนัก ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อประมาณ พ.ศ. 2336 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 7 เมตร ยาว 24 เมตร ได้ผูกพัทธสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2337 วัดต�ำหนัก สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2352 ในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยมีพวก มอญที่อพยพมาจากเมืองเมาะตะมะ เป็นผู้ริเริ่มด�ำเนินการสร้างวัด และได้ขนานนามว่า “วัดแพพะแต๊ะ” แปลว่า ”วัดพระพุทธบาท” อาจจะหมายถึงพระพุทธบาทจ�ำลองที่มียู่แต่เดิมก็ได้ เดิมวัดนี้ชื่อ วัดขอมหรือวัดใหม่ อีกประการหนึ่งอ้างถึงหนังสือ “ประวัติวัดจังหวัดปทุมธานี”

จัดท�ำโดย นายด�ำเกิง สุรการ ผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี ปี พ.ศ. 2515 กล่าวถึงประวัติวัดต�ำหนักว่าเดิมมีชื่อว่า วัดขอม และวัดใหม่ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อไปเมื่อครั้งไหนไม่ทราบแต่เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 3 เสด็จเมืองสามโคก ได้เสด็จประทับ พลับพลาที่วัดต�ำหนัก จึงเข้าใจว่าชื่อ “วัดต�ำหนัก” คงเริ่มใช้ตั้งแต่ นั้นเป็นต้นมา ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ 1. อุโบสถ กว้าง 7 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2000 ลักษณะเป็นรูปเรือส�ำเภา ไม่มีหน้าต่าง มีประตูด้านหน้า 1 บาน พระประธานในพระอุโบสถเป็นศิลาแลง จะสร้างขึ้นเมื่อใดและได้มา จากไหนไม่ปรากฏหลักฐาน หน้าตักกว้างประมาณ 2 ศอก สูง 3 ศอกเศษ นับเป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่วัดหนึ่ง 2. มีกุฏิแบบเก่า มีประตูหน้าต่างตลอดจนฝาที่น่าศึกษามิใช่น้อย ประตูหน้าต่างที่มีแบบเดียวกันกับวัดนี้ คือ วัดสะแก และวัดสามโคก เป็นศิลปกรรมที่น่าศึกษาเป็นอย่างยิ่ง 3. พระพุทธบาทจ�ำลอง ซึง่ เป็นหินทัง้ หมด กว้าง 1 ศอก ยาว 3 ศอก เจ้าอาวาสวัดต�ำหนัก (เท่าที่ทราบนาม) รูปที่ 1 พระอธิการจันทร์ พ.ศ. 2478 - 2491 รูปที่ 2 พระครูใบฎีกาบัว ยโสธโร พ.ศ. 2491 - 2532 รูปที่ 3 พระครูปทุมอรรถสุนทร(โฉม เตชวโร) พ.ศ. 2532 - 2557 รูปที่ 4 พระมหาจุมพล จิตตฺ พโล(ป.ธ.9,รบ.) พ.ศ. 2557 - ปัจจุบนั PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

79


History of buddhism....

วัดไก่เตี้ย พระมหาไพบูลย์ ฐิตธมฺโม เจ้าอาวาสวัดไก่เตี้ย

วัดไก่เตี้ย ตั้งอยู่เลขที่ 31 หมู่ที่ 1 ต�ำบลกระแชง อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

80

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 80

22/12/2563 16:12:51


วัดไก่เตี้ย สร้างสมัยใดไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัด คนรุ่นเก่าๆ บอกว่ า สร้ า งก่ อ นสมั ย พระเจ้ า เอกาทศรถให้ ขุ ด ลั ด แม่ น�้ ำ อ้ อ ม เดิมชื่อ “วัดดอนไก่เตี้ย” โดยเล่าต่อกันมาอีกว่าพระอรหันต์รูปหนึ่ง ธุดงค์ผ่านมาพักแรม ระหว่างนั้นพบไก่เตี้ยๆ สองตัว สีสันงดงาม อัศจรรย์ใจ ก่อนวัดจะถูกสร้างขึ้น ต่อมาพระเจ้าแผ่นดินสมัยนั้น ทรงอุปถัมภ์ยกขึ้นเป็นวัดหลวง พระราชทาน “วัดดอนไก่เตี้ย” ต่อมาค�ำว่า “ดอน” หายไป ปัจจุบันมีสิ่งส�ำคัญ อาทิ พระประธานในพระอุโบสถ พระพุทธรูป ท�ำด้วยหินสีขาวสมัยอู่ทองยุคต้น ใบเสมาศิลาทรายสมัยอยุธยา หลวงพ่อพุทธโสธร รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง พระอุม้ บาตรสมัยกรุงศรี อยุธยา ตลอดจนต้นจัน อายุกว่า 100 ปี

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 81

81

22/12/2563 16:13:18


History of buddhism....

วัดสะแก พระอธิการเริงชัย ฐานุตฺตโร เจ้าอาวาสวัดสะแก

วัดสะแก เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 42 หมู่ที่ 2 ต�ำบลสามโคก อ�ำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

82

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 82

22/12/2563 16:07:49


วั ด สะแก สร้ า งวั ด เมื่ อ วั น ที่ 19 สิ ง หาคม พ.ศ. 2115 โดย ชาวรามัญที่ตั้งบ้านเรือนถิ่นฐานแถวนั้น ได้ร่วมกันสร้างวัดขึ้นมา ชาวบ้านเรียกว่า “วัดตะแก่” และได้เปลี่ยนเป็น “วัดสะแก” ในเวลา ต่อมาวัดสะแกได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2321 ภายในวัดมีอาคารเสนาสนะ ดังนี้ ศาลาการเปรียญ วิหาร และ หอระฆัง แบบเก่าประดับด้วยถ้วยชาม ปูชนียวัตถุ ได้แก่ พระประธานในอุโบสถสร้างด้วยศิลาแลง หน้าตักกว้าง 3 ศอก สมัยสุโขทัย พระพุทธรูปปางอุม้ บาตร ปรางค์หน้า อุโบสถสร้างด้วยศิลาแลง ตู้เก็บคัมภีร์ลายรดน�้ำสมัยกรุงศรีอยุธยา คัมภีร์โบราณท�ำด้วยงาช้างจารึกอักษรรามัญ

ล�ำดับเจ้าอาวาส

รูปที่ 1 พระครูอุตโมรองธาดา รูปที่ 2 พระครูปัญญารัตน์ รูปที่ 3 พระอธิการป่วน พ.ศ. 2435 – 2440 รูปที่ 4 พระอธิการผล พ.ศ. 2442 – 2477 รูปที่ 5 พระครูถาวรธรรมนิวิฐ พ.ศ. 2478 - 2540 รูปที่ 6 พระครูปทุมวุฒิคุณ (หลวงปู่แกละ) พ.ศ. 2541 – 2557 รูปที่ 7 พระอธิการเริงชัย ฐานุตฺตโร พ.ศ.2558 - ถึงปัจจุบัน

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 83

83

22/12/2563 16:08:01


History of buddhism....

วัดบึงบาประภาสะวัต พระครูสุจิตรัตนากร ดร. เจ้าคณะอำ�เภอหนองเสือ / เจ้าอาวาสวัดบึงบาประภาสะวัติ

วัดบึงบาประภาสะวัต ตั้งอยู่เลขที่ 53 บ้านคลองสิบสอง ต�ำบลบึงบา อ�ำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

84

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

3

.indd 84

22/12/2563 16:20:06


วัดบึงบาประภาสะวัต เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดทั้งหมด 90 ไร่ โฉนดที่ดินเลขที่ 1777 ที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 2 แปลง เนื้อที่ 101 ไร โฉนดเลขที่ 1037 และ 1348 พื้นที่ตั้งวัด ด้านทิศเหนือ ยาว 30 เส้น ติดต่อกับถนนหลวงชนบท ด้านทิศใต้ ยาว 30 เส้น ติดต่อกับที่ดินเอกชน ด้านทิศตะวันออก ยาว 8 เส้น ติดต่อกับคลองชลประทานที่ 10 ด้านทิศตะวันตก ยาว 8 เส้น ติดต่อกับคลองระบายน�้ำของ ชลประทาน

ประวัติวัด

วัดบึงบาประภาสะวัต สร้างเมือ่ วันที่ พ.ศ. 2464 โดยมีขนุ นรพัฒน์ นายอ�ำเภอหนองเสือ ร่วมกับประชาชนชาวหนองเสือเป็นผูถ้ วายทีด่ นิ และด�ำเนินการสร้างวัดและได้ขนานนามว่า “วัดบึงบาประภาวัต” บึงบาเป็นชื่อของต�ำบลที่ตั้ง และค�ำว่าประภาสะวัตก็เป็นนามสกุล ของขุนนรพัฒน์ จึงได้น�ำมารวมกันตั้งเป็นชื่อวัดต่อมาจนถึงทุกวันนี้ วัดบึงบาประภาสะวัตได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ ปี พ.ศ. 2471 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาใหม่ครั้งหนึ่งวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2531 วัดได้ด�ำเนินการก่อสร้างและปฏิสังขรณ์เสนาสนะภายในวัดไป แล้ว คือ อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 15 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2471 และได้สร้างอุโบสถหลังใหม่ เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 ด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก มีกฏุ ิ 14 หลัง, หอระฆัง, หอฉัน, ศาลาการเปรียญหลังใหม่ สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2530, วิหาร 1 หลัง มีก�ำแพงด้านตะวันออกและทิศเหนือ, ซุ้มประตู 2 ซุ้ม ก�ำแพงรอบวัด

ปูชนียวัตถุ

ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญภายในวัด คือ พระประธานในอุโบสถนามว่า หลวงพ่อเพชร หลวงพ่อพุทธโสธรจ�ำลอง หลวงพ่อเมตตาประชานิมติ ร ในอุโบสถหลังใหม่

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 85

85

22/12/2563 16:20:18


รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ

86

รูปที่ 1 พระอธิการเทียม รูปที่ 2 พระครูวิบูลย์ธัญญสาร รูปที่ 3 พระอาจารย์ไห้ รูปที่ 4 พระอาจารย์เชย รูปที่ 5 พระเมตตาวิหารี (ทองค�ำ) รูปที่ 6 พระครูสุจิตรัตนากร ดร.

พ.ศ. 2479 – 2482 พ.ศ. 2483 – 2489 ไม่ทราบปีที่แน่ชัด ไม่ทราบปีที่แน่ชัด พ.ศ. 2490 – 2563 พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

3

.indd 86

22/12/2563 16:20:25


PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 87

87

22/12/2563 16:20:29


History of buddhism....

วัดพวงแก้ว พระครูวิจิตรรัตนาธาร เจ้าอาวาสวัดพวงแก้ว

วัดพวงแก้ว เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 39 บ้านคลองแปด หมู่ที่ 5 ต�ำบลบึงบอน อ�ำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

วัดพวงแก้ว สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2445 โดยมีคุณหญิงนุ่ม พลางกูร ถวายที่ดินแด่พระครูสังฆกิจ (หลวงพ่อบัว) เนื้อที่ 9 ไร่ ต่อมามี นางเลียบ สิงโตแก้ว, นางบุญเรือน เผือกจิต และ นางสุรินทร์ ม่วงเงิน ถวายที่ดินแด่พระครูวิจิตรธัญญคุณ รวมกับที่ดินเดิม 9 ไร่ เป็น 31 ไร่ 2 งาน วัดพวงแก้วได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ. 2450 ได้ผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2451

อุโบสถหลังใหม่

ปูชนียวัตถุ

ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญของวัดพวงแก้ว คือ หลวงพ่อบัว พระพุทธรูป หล่อทองสัมฤทธิ์ หน้าตักกว้าง 28 นิ้ว ปางมารวิชัย พระพุทธรูปหล่อ ทองเหลืองปางสมาธิ 2 องค์ หน้าตักกว้าง 18 – 29 นิ้ว

รายนามเจ้าอาวาสวัดพวงแก้ว

อุโบสถหลังเก่า

ตั้งแต่สร้างวัดจนถึงปัจจุบัน มีดังนี้ รูปที่ 1 พระครูสังฆกิจ(หลวงพ่อบัว) รูปที่ 2 พระอาจารย์รอด รูปที่ 3 พระอธิการนวม รูปที่ 4 พระครูวิจิตรธัญญคุณ รูปที่ 5 พระครูปทุมภัทรคุณ รูปที่ 6 พระครูวิจิตรรัตนาธาร พระครูวิจิตรรัตนาธาร

หลวงพ่อสุขใจ

พระครู​ูสังฆกิจ หลวงปู่บัว

88

1

เจ้าอาวาสวัดพวงแก้ว

พระครูวิจิตรธัญญคุณ หลวงพ่อช่วง

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดพวงแก้ว

สามารถร่วมท�ำบุญ เพื่อท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา โดยการโอนผ่านบัญชี ธนาคารกรุงไทย สาขารังสิต-นครนายก คลอง 11 ชื่อบัญชี วัดพวงแก้ว บัญชีเลขที่ 692-0-30033-8 โทรศัพท์ 089-512-9622

พระครูปทุมภัทรคุณ หลวงพ่อเผือด

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 88

22/12/2563 16:21:14


Buddhism

in Thailand

Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 89

89

22/12/2563 16:38:25


History of buddhism....

วัดโปรยฝน พระครูสมุห์อำ�นวย โชติปญฺโญ เจ้าอาวาสวัดโปรยฝน

วัดโปรยฝน ตั้งอยู่เลขที่ 64 คลอง 11 หมู่ที่ 12 ต�ำบลหนองสามวัง อ�ำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

90

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 90

22/12/2563 15:31:33


วัดโปรยฝน เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างวัด เมื่อปี พ.ศ. 2441 โดยมีคุณหญิงสนาน อมาตยกุล และคุณหญิงภัทร อมาตยกุล เป็นผู้ถวายที่ดินและได้ด�ำเนินการขอสร้างวัด เดิมมีชื่อว่า “วัดทรามสงวน” จนมีเหตุการณ์ปรากฏขึ้นในแต่ละปีนั้นไม่วา่ จะ เป็นเทศกาลต่างๆ เช่น เทศกาลเข้าพรรษา ออกพรรษา ตรุษไทย บวชนาค และงานประจ�ำปี จะมีฝนโปรยลงมาและฝนตกทุกครั้งไป ต่อมาประชาชนชาวเขตบุญและใกล้เคียงทัว่ ไปได้ตงั้ ชือ่ ว่า “วัดโปรยฝน” และได้นามวัดนีส้ บื ต่อมาจนถึงปัจจุบนั วัดโปรยฝนได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478 ได้ผูกพัทธสีมา เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2478 ด้านการศึกษา ทางวัดโปรยฝนได้เปิดสอนพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2475 และได้สนับสนุนการศึกษาของชาติ โดยให้ทางราชการ แบ่งที่ดินสร้างโรงเรียนประชาบาล เนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ เนื้อที่ดินวัด มีทั้งหมด 12 ไร่ 3 งาน 41 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 71 อาณาเขต ทิศเหนือยาว 8 เส้นเศษ ติดกับที่ดินปฏิรูป, ทิศใต้ยาว 3 เส้นเศษ ติดกับที่ดินโรงเรียนวัดโปรยฝน, ทิศตะวันออกยาว 4 เส้น ติดกับ ที่ดินปฏิรูป, ทิศตะวันตก ยาว 3 เส้น ติดกับคลองชลประทาน พื้นที่วัดเป็นที่ราบลุ่ม แวดล้อมไปด้วยที่นา ภายในวัดมีอาคาร และเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ - อุโบสถ กว้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2510 - กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง ส่วนมากเป็นอาคารไม้ - หอสวดมนต์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2508 - ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยหลวงพ่อเกตุ น�ำญาติโยมสร้าง มีคุณโยมละออง เพ็ชรสมร อุปถัมภ์ ปูชนียวัตถุ มี พระประธานในอุโบสถ หน้าตักกว้าง 43 นิ้ว แบบสุโขทัย สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2513 โดยหลวงพ่อโฮม นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปแบบสุโขทัย 2 องค์ พระพุทธชินราช จ�ำลอง พระโมคคัลลาสารีบุตร 2 องค์ และพระพุทธรูปปางอื่นๆ อีก ประมาณ 3 องค์

รายนามเจ้าอาวาส จ�ำนวน 14 รูป

1. พระอาจารย์ทอง พ.ศ. 2441 – 2465 2. พระอธิการเพ็ชร พ.ศ. 2466 – 2483 3. พระอาจารย์ประทุม พ.ศ. 2484 – 2486 4. พระอาจารย์นิน พ.ศ. 2487 – 2486 5. พระอาจารย์ชู พ.ศ. 2491 – 2493 6. พระปิ่น พ.ศ. 2494 – 2496 7. พระแคล้ว พ.ศ. 2497 – 2500 8. พระอาจารย์มาลัย พ.ศ. 2501 – 2503 9. พระกี พ.ศ. 2501 – 2503 10. พระวิง พ.ศ. 2504 – 2505 11. พระครูธัญญวัฒน์ อ.เกตุ พ.ศ. 2506 – 2528. 12. พระครูสุวิมลธรรมสุนทร อ.มี พ.ศ. 2529 – 2545 13. พระครูพิรุณโชติวงศ์ อ.เกษม พ.ศ. 2545 – 2558 14. พระครูสมุห์อ�ำนวย โชติปญฺโญ (กุ๋ย) พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน

พระครูสมุห์อ�ำนวย โชติปญฺโญ (เกจิอาจารย์สายเจิม) เจ้าอาวาสวัดโปรยฝน

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 91

91

22/12/2563 15:31:46


History of buddhism....

วัดนพรัตนาราม พระมหาศิริพจน์ สุตธมฺโม เจ้าอาวาสวัดนพรัตนาราม

วัดนพรัตนาราม ตั้งอยู่เลขที่ 12 หมู่ที่ 6 ถนนเลียบคลอง 12 ต�ำบลนพรัตน์ อ�ำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

92

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

2

.indd 92

22/12/2563 15:37:09


ประวัติความเป็นมาในการสร้างวัด

เมื่อวันศุกร์ ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 ตรงกับขึ้น 3 ค�ำ ่ เดือน 3 ปี ม ะโรง มี ก� ำ นั น พริ้ ง แสนจ� ำ หน่ า ย ซึ่ ง เป็ น ก� ำ นั น ต� ำ บลศาลาคุ ในขณะนัน้ เป็นผูท้ มี่ าชักชวนกันสร้างวัดโดยมีชาวบ้านร่วมกันมอบทีด่ นิ ให้ คนละ 2 งานบ้าง 3 งานบ้าง รวมแล้วได้ที่ดินสร้างวัดทั้งหมด 26 ไร่ 77 ตารางวา บางคนก็ถวายบ้านเรือน บ้านทรงไทย ให้มาปลูกสร้าง เป็นกุฏิสงฆ์ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2470 ได้มีการประชุมของกลุ่ม ชาวบ้านที่สร้างวัด เพื่อที่จะหารือตั้งชื่อวัด โดยมีนายเต่า ปักครึก เสนอว่า ชือ่ วัดนพรัตนาราม หลายคนพอใจและเห็นด้วย ต่อมาก�ำนันพริง้ แสนจ�ำหน่าย ได้น�ำชื่อนพรัตนาราม เสนอทางคณะสงฆ์เพื่อขอตั้งวัด ต่อมาในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2470 กรมการศาสนาประกาศให้ตั้ง เป็นวัดและให้ชื่อว่า “วัดนพรัตนาราม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 สังกัด คณะสงฆ์ภาค 1 ฝ่ายมหานิกาย

พระมหาศิริพจน์ สุตธมฺโม เจ้าอาวาสวัดนพรัตนาราม

รายนามเจ้าอาวาสวัดนพรัตนาราม มีดังนี้

รูปที่ 1 พระมาก เพชรรัตน์ พ.ศ. 2471 – 2473 รูปที่ 2 พระแสน เทศมหา พ.ศ. 2474 – 2478 รูปที่ 3 พระเกิด ยิ้มกริ่ม พ.ศ. 2479 – 2480 รูปที่ 4 พระครูวิมลธัญญสุนทร (ไฝ ยโสธโร) พ.ศ. 2480 – 2532 รูปที่ 5 พระครูปทุมธรรมวาที (สุชิน โชติวโร) พ.ศ. 2532 – 2562 รูปที่ 6 พระมหาศิริพจน์ สุตธมฺโม เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 93

93

22/12/2563 15:37:24


PATHUM THANI รายชื่อวัดจังหวัดปทุมธานี ถิ่นบัวหลวง เมืองรวงข้าว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระต�ำหนักรวมใจ สดใสเจ้าพระยา ก้าวหน้าอุตสาหกรรม

อ�ำเภอเมืองปทุมธานี วัดเกริน

วัดบางกุฎีทอง

วัดโพธิ์เลื่อน

บ้านเกริน ม.1 ต�ำบลบางกระดี

บ้านบางกะดี ม.2 ต�ำบลบางกระดี

วัดเกาะเกรียง

วัดบางคูวัดกลาง

ม.1 ต�ำบลบ้านกระแซง

บ้านเกาะเกรียง ม.5 ต�ำบลบางคูวัด

บ้านตีนเลน ม.4 ต�ำบลบางคูวัด

วัดโคก ม.- ต�ำบลบางปรอก

วัดฉาง วัดชินวราราม ม.2 ต�ำบลบางขะแยง

วัดดาวดึงษ์ บ้านดงทองหลาง ม.5 ต�ำบลบ้านใหม่

วัดดาวเรือง บ้านบางพูด ม.6 ต�ำบลบางพูด

วัดตลาดใต้

วัดกลางคลองสาม บ้านคลองสาม ม.9 ต�ำบลคลองสาม บ้านคลองสอง ม.4 ต�ำบลคลองสอง

วัดเพิ่มทาน

คลองสาม ม.5 ต�ำบลคลองสาม

วัดบางคูวัดนอก

บ้านคลองบางโพธิ์ใต้ ม.2 ต�ำบลบางเดื่อ

บางคูวัดนอก ม.3 ต�ำบลบางคูวัด

วัดมะขาม

บ้านคลองสอง ม.10 ต�ำบลคลองสอง

วัดบางเดื่อ บ้านบางเดื่อ ม.4 ต�ำบลบางเดื่อ

วัดบางตะไนย์

ม.3 ต�ำบลบ้านกลาง

วัดคลองสอง

วัดรังสิต

วัดคุณหญิงส้มจีน

บ้านคลองเปรม ม.7 ต�ำบลหลักหก

บ้านคลองหนึ่ง ม.14 ต�ำบลคลองหนึ่ง

วัดราษฎร์ศรัทธาท�ำ

วัดทวีการะอนันต์

บ้านคลองโพธิ์ใต้ ม.6 ต�ำบลบางหลวง

คลอง 1 ม.11 ต�ำบลคลองหนึ่ง

วัดเวฬุวัน

ม.6 ต�ำบลคลองสอง

วัดบางพูน

คลองเปรมประชากร ม.1 ต�ำบลบางพูด

บ้านบางขัน ม.8 ต�ำบลคลองหนึ่ง

บ้านบางพูน ม.4 ต�ำบลบางพูน

วัดศาลเจ้า

วัดปัญญานันทาราม

บ้านคลองเชียงราก ม.3 ต�ำบลบ้านกลาง

คลองหก ม.10 ต�ำบลคลองหก

วัดสังลาน

คลองสี่ ม.11 ต�ำบลคลองสี่

บ้านบางตะไนย์ ม.6 ต�ำบลบางคูวัด

วัดบางนางบุญ บางนางบุญ ม.4 ต�ำบลบางขะแยง

บ้านคลองหนึ่ง ม.20 ต�ำบลคลองหนึ่ง

วัดพุทธชินวงศ์วนาราม

วัดเกิดการอุดม

วัดบางคูวัดใน

วัดพืชนิมิต

วัดกล้าชอุ่ม

วัดไพร่ฟ้า

บ้านใน ม.7 ต�ำบลบางคูวัด

ฉาง ม.6 ต�ำบลบางปรอก

อ�ำเภอคลองหลวง

วัดทับทิมแดง วัดบางขัน

คลองหก ม.7 ต�ำบลคลองหก คลองสี่ ม.4 ต�ำบลคลองสี่

วัดมงคลพุการาม คลองสี่ ม.14 ต�ำบลคลองสี่

วัดมูลเหล็ก บ้านคลองหก ม.14 ต�ำบลคลองหก

วัดศิริจันทาราม บ้านคลองห้า ม.13 ต�ำบลคลองห้า

วัดสว่างภพ คลองสี่ ม.16 ต�ำบลคลองสี่

วัดสายสุวพรรณ ม.4 ต�ำบลคลองสี่

วัดแสวงสามัคคีธรรม คลองระบายน�้ำที่ 5 ม.2 ต�ำบลคลองห้า

บ้านตลาด ม.3 ต�ำบลบางขะแยง

วัดบางโพธิ์ใน

วัดตลาดเหนือ

วัดบางหลวง

บ้านตลาดเหนือ ม.3 ต�ำบลบางขะแยง

บ้านบางหลวง ม.2 ต�ำบลบางหลวง

บ้านกองซอง ม.3 ต�ำบลบางกระดี

วัดผลาหาร

วัดหัตถสารเกษตร

วัดเทพสรธรรมาราม

วัดบุญชื่นชู

วัดส�ำแล

วัดอู่ข้าว

บ้านใหม่ ม.3 ต�ำบลบ้านใหม่

บางแขยด ม.3 ต�ำบลบางพูน

วัดเทียนถวาย

วัดบุญบางสิงห์

บ้านกระแชง ม.2 ต�ำบลบ้านกระแซง

ถนนริมคลองหกฝั่งตะวันตก ม.9 ต�ำบลคลองหก

บ้านใหม่ 1 ม.2 ซ.3 ถ.2 ต�ำบลบ้านใหม่

บางสิงห์ ม.8 ต�ำบลสวนพริกไทย

วัดนาวง

วัดโบสถ์

บ้านคลองบ้านใหม่ ม.1 ต�ำบลหลักหก

บ้านโบสถ์ ม.5 ต�ำบลบ้านกลาง

วัดน�้ำวน ม.6 ต�ำบลบางเดื่อ

บ้านบางขะแยง ม.2 ต�ำบลบางขะแยง

วัดบางกะดี

วัดเปรมประชา

บ้านบางกะดี ม.4 ต�ำบลบางกระดี

บ้านคลองเปรม ม.2 ต�ำบลบางพูน

94

บ้านบางโพธิ์ ต�ำบลบางปรอก

วัดป่ากลางทุ่ง

วัดเสด็จ บ้านคลองกระแชง ม.5 ต�ำบลสวนพริกไทย

วัดตะวันเรือง

วัดพระธรรมกาย บ้านคลองสาม ม.7 ต�ำบลคลองสาม

วัดหว่านบุญ คลองหก ม.3 ต�ำบลคลองหก บ้านคลองห้า ม.8 ต�ำบลคลองห้า บ้านคลองเจ็ด ม.8 ต�ำบลคลองเจ็ด

วัดโสภาราม ถนนโสภา ต�ำบลบางปรอก

วัดหงษ์ปทุมาวาส บ้านคลองบางปรอก ต�ำบลบางปรอก

วัดหนองปรง บ้านหนองปรง ม.3 ต�ำบลบางเดื่อ

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 94

22/12/2563 16:37:59


THE IMPORTANT TEMPLES PATHUM THANI

อ�ำเภอธัญบุรี วัดขุมแก้ว คลองสิบ ม.4 ต�ำบลบึงสนั่น

วัดเขียนเขต บ้านคลองสาม ม.2 ต�ำบลบึงยี่โถ

วัดคลองหนึ่ง บ้านคลองหนึ่ง ม.3 ต�ำบลประชาธิปัตย์

วัดจันทรสุข คลองสองฝั่งใต้ ม.5 ต�ำบลประชาธิปัตย์

วัดมูลจินดาราม คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ม.3 ต�ำบลบึงยี่โถ

วัดศิรจิ รรยาธรรมปัญญาราม ม.3 ต�ำบลรังสิต

วัดสระบัว บ้านคลองสิบเอ็ด ม.1 ต�ำบลบึงสนั่น

วัดแสงสรรค์

วัดนาบุญ

บ้านคลองสอง ม.6 ต�ำบลประชาธิปัตย์

คลองรังสิตประยูรศักดิ์ ม.3 ต�ำบลรังสิต

คลองเก้า ม.4 ต�ำบลล�ำผักกูด

วัดอัยยิการาม

วัดพิชิตปิตยาราม บ้านคลองสิบสาม ถนนชูชาติกำ� พู ม.4 ต�ำบลบึงน�้ำรักษ์

อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว วัดคูบางหลวงอนุกิจวิธูร

วัดบัวสุวรรณประดิษฐ์

บ้านคูบางหลวง ม.5 ต�ำบลคูบางหลวง

ถนนกรุงเทพ-บ้านแพน ม.9 ต�ำบลระแหง

วัดจันทาราม

วัดป่าไขแสงธรรมาราม

คลองเตย ม.1 ต�ำบลคูบางหลวง

หน้าไม้ ม.7 ต�ำบลหน้าไม้

วัดเจดีย์หอย

วัดป่าปทุมรัฐ

บ้านเจดีย์หอย ม.4 ต�ำบลบ่อเงิน

ม.7 ต�ำบลคลองพระอุดม

วัดทองสะอาด

วัดลาดหลุมแก้ว

คลองพระอุดม ม.2 ต�ำบลคลองพระอุดม

บ้านลาดหลุมแก้ว ม.1 ต�ำบลลาดหลุมแก้ว

วัดเนกขัมมาราม

วัดล�ำมหาเมฆ

บ้านเนกขัมมาราม ม.2 ต�ำบลหน้าไม้

ม.5 ต�ำบลบ่อเงิน

วัดบ่อเงิน

ม.4 ต�ำบลระแหง

ม.1 ต�ำบลบ่อเงิน

วัดบ่อทอง ถนนสุนทรธรรมทัต ม.2 ต�ำบลคูขวาง

วัดบัวแก้วเกษร บ้านคลองระแหง ม.3 ต�ำบลระแหง

วัดบัวขวัญ บ้านบัวขวัญ ม.3 ต�ำบลลาดหลุมแก้ว

วัดสหธรรมทรรศน์ วัดสุทธาวาส บ้านบางสะแก ม.4 ต�ำบลลาดหลุมแก้ว

วัดสุวรรณจินดาราม ถนนธนะรัชต์ ม.6 ต�ำบลคูบางหลวง

วัดสุวรรโณภาส คลองบางหลวง ม.5 ต�ำบลบ่อเงิน

วัดหน้าไม้ บ้านหน้าไม้ ม.5 ต�ำบลหน้าไม้

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

22/12/2563 16:38:01


อ�ำเภอล�ำลูกกา วัดกลางคลองสี่

วัดนังคัลจันตรี

วัดมงคลรัตน์

บ้านคลองสี่สายกลาง ม.5 ต�ำบลลาดสวาย

บ้านคลองเจ็ด ม.5 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

คลองสิบสองสายกลาง ม.11 ต�ำบลล�ำไทร

วัดเกตุประภา

วัดนาป่าพง

วัดราษฎร์ศรัทธาราม

คลองหก ม.9 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

ม.7 ต�ำบลบึงทองหลาง

วัดคลองชัน

วัดนิเทศราษฎร์ประดิษฐ์

บ้านคลองเจ็ดสายกลาง ม.4 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

บ้านปากคลองชัน ม.3 ต�ำบลลาดสวาย

คลองสิบสามสายกลาง ม.6 ต�ำบลพืชอุดม

วัดแจ้งล�ำหิน

วัดประชุมราษฎร์

บ้านลาดสนุ่น คลองซอยสายที่ 1 ม.7 ต�ำบลคูคต

คันคลองหกวาฝั่งใต้สายกลาง ม.18 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

บ้านปากคลองหก ถนนสายล�ำลูกกา ม.11

วัดลานนา คลองซอยที่ 9 ม.2 ต�ำบลล�ำลูกกา

วัดชัยมังคลาราม

วัดประยูรธรรมาราม

วัดสมุหราษฎร์บำ� รุง

คลองสิบสอง ม.14 ต�ำบลล�ำไทร

ถนนวิภาวดีรังสิต ซอยวิเชียร ม.8 ต�ำบลคูคต

คลองซอยที่ 9 ม.1 ต�ำบลล�ำลูกกา

วัดปัญจทายิกาวาส

บ้านสายไหม ม.3 ต�ำบลคูคต

วัดซอยสามัคคี ซอยสามัคคี ม.5 ต�ำบลคูคต

วัดดอนใหญ่ บ้านคลองแปด ม.9 ต�ำบลล�ำลูกกา

วัดทศทิศาราม

96

คลองซอยที่ 5 ม.13 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

วัดป่าจิตตภาวนา ม.5 ต�ำบลคูคต

วัดลาดสนุ่น

วัดสายไหม วัดสุวรรณบ�ำรุงราชวราราม คลองเก้า ม.11 ต�ำบลบึงทองหลาง

วัดโสภณาราม

คลองซอยที่สิบเอ็ดสายกลาง ม.2 ต�ำบลบึงทองหลาง

วัดป่าเจริญราช ม.2 ต�ำบลบึงทองหลาง

คลองซอยที่สิบสองสายกลาง ม.9 ต�ำบลบึงคอไห

วัดท�ำเลทอง

วัดพิรุณศาสตร์

วัดใหม่กลางคลองสิบ

บ้านคลองสิบ ม.17 ต�ำบลบึงทองหลาง

คลองซอยที่ 10 สายกลาง ม.4 ต�ำบลบึงทองหลาง

ม.7 ต�ำบลบึงทองหลาง

วัดธรรมานันทาราม

วัดพืชอุดม

คลองเจ็ด ม.1 ต�ำบลบึงค�ำพร้อย

คลองซอยที่ 7 ฝั่งตะวันออก ม.13 ต�ำบลล�ำลูกกา

คลองสิบสองสายหกวา ม.9 ต�ำบลพืชอุดม

วัดธัญญะผล

วัดโพสพผลเจริญ

บ้านปากคลองแปด ม.5 ต�ำบลล�ำลูกกา

คลองหกสายขวาล่าง ม.4 ต�ำบลคูคต

วัดใหม่คลองเจ็ด วัดอดิศร คลองซอยที่สิบเอ็ดสายกลาง ม.1 ต�ำบลบึงทองหลาง

SBL บันทึกประเทศไทย I ปทุมธานี

.indd 96

22/12/2563 16:38:02


THE IMPORTANT TEMPLES PATHUM THANI

อ�ำเภอสามโคก วัดกร่าง

วัดบัวทอง

วัดมหิงษาราม

บ้านกร่าง ม.1 ต�ำบลบางกระบือ

บ้านทางเกวียน ม.1 ต�ำบลบ้านปทุม

บางกระบือ ม.2 ต�ำบลบางกระบือ

ม.5 ต�ำบลเชียงรากน้อย วัดไก่เตี้ย ม.1 ต�ำบลกระแชง

วัดบัวหลวง

วัดเมตารางค์

คลองอ้อม ม.3 ต�ำบลเชียงรากใหญ่

บ้านเมตารางค์ ม.3 ต�ำบลเชียงรากน้อย

บ้านคลองขุด ม.4 ต�ำบลเชียงรากน้อย

วัดบางเตยกลาง

วัดวิมลภาวนาราม

บ้านคลองบางเตย ม.9 ต�ำบลบางเตย

ปลายคลองบางโพธิ์เหนือ ม.3 ต�ำบลบางโพธิ์เหนือ

วัดโกเมศรัตนาราม วัดคลองขุด

วัดจันทน์กะพ้อ บ้านตากแดด ม.3 ต�ำบลบางเตย

วัดเจดีย์ทอง บ้านเจดีย์ทอง ม.1 ต�ำบลคลองควาย

วัดแจ้ง ม.4 ต�ำบลสามโคก

วัดชัยสิทธาวาส บ้านคลองชาวเหนือ ม.3 ต�ำบลกระแชง

วัดเชิงท่า บ้านบางกระบือ ม.3 ต�ำบลบางกระบือ

วัดดอกไม้ บ้านเกาะใหม่ ม.9 ต�ำบลบางเตย

วัดตระพัง

วัดบางเตยนอก

วัดศาลาแดงเหนือ

บ้านบางเตย ม.9 ต�ำบลบางเตย

บ้านศาลาแดง ม.2 ต�ำบลเชียงรากน้อย

วัดบางเตยใน บ้านคลองบางเตย ม.7 ต�ำบลบางเตย

วัดบางนา บ้านคลองบางนา ม.1 ต�ำบลบางโพธิ์เหนือ

วัดสวนมะม่วง บ้านสวนมะม่วง ม.4 ต�ำบลบ้านงิ้ว

วัดสหราษฎร์บ�ำรุง

อ�ำเภอหนองเสือ วัดป่าคลอง 11 (หนองเสือ)

ถนนสามโคก ม.8 ต�ำบลคลองควาย

วัดคลองเก้า

ปากคลองบ้านพร้าว ม.6 ต�ำบลเชียงรากใหญ่

วัดสองพี่น้อง

วัดจตุพิธวราวาส

วัดบ้านพร้าวใน

วัดสะแก

บ้านคลองสิบเอ็ด ม.8 ต�ำบลนพรัตน์

บ้านพร้าว ม.5 ต�ำบลเชียงรากใหญ่ วัดโบสถ์ ม.1 ต�ำบลบางกระบือ

ม.2 ต�ำบลสามโคก

วัดจุฬาจินดาราม

วัดพวงแก้ว

บ้านคลองเก้า ม.6 ต�ำบลบึงกาสาม

วัดราษฎร์บ�ำรุง

วัดบ้านพร้าวนอก

บ้านสองพี่น้อง ม.2 ต�ำบลบ้านงิ้ว

วัดสามโคก บ้านคลองเกาะปิ้น ม.2 ต�ำบลสามโคก

บ้านคลองเก้า ม.1 ต�ำบลบึงบอน

บ้านเชียงรากใหญ่ ม.5 ต�ำบลเชียงรากใหญ่

วัดปทุมทอง

วัดต�ำหนัก

วัดป่างิ้ว

ม.1 ต�ำบลสามโคก

บ้านป่างิ้ว ม.3 ต�ำบลบ้านงิ้ว

ถนนสามโคก-เสนา ม.4 ต�ำบลคลองควาย

วัดถั่วทอง

วัดป่าภูริทัตตปฏิปทาราม

วัดสิงห์

บ้านคลองสิบสาม ม.6 ต�ำบลหนองสามวัง

บ้านถั่ว ม.3 ต�ำบลบ้านปทุม

บ้านคลองสระ ม.2 ต�ำบลคลองควาย

บ้านสามโคก ม.2 ต�ำบลสามโคก

วัดท้ายเกาะ

วัดนพรัตนาราม

ถนนสามโคก-บางไทร ม.2 ต�ำบลท้ายเกาะ

วัดไผ่ล้อม

บ้านโพธิ์ ม.4 ต�ำบลคลองควาย

บ้านไผ่ล้อม ม.5 ต�ำบลบ้านงิ้ว

วัดบัวแก้ววนาราม

วัดพลับสุทธาวาส

บัวแก้ว ม.1 ต�ำบลบ้านปทุม

บ้านวัง ม.5 ต�ำบลเชียงรากน้อย

บ้านปทุม ม.1 ต�ำบลบ้านปทุม

วัดสามัคคิยาราม

วัดสุราษฎร์รังสรรค์ วัดอัมพุวราราม บ้านสวนมะม่วง ม.5 ต�ำบลบ้านงิ้ว

บ้านคลองแปด ม.5 ต�ำบลบึงบอน

คลองสิบ ม.4 ต�ำบลบึงกาสาม

วัดธรรมราษฎร์เจริญผล

บ้านคลองสิบ ม.5 ต�ำบลบึงกาสาม

วัดศรีคัคณางค์ บ้านศรีคัคณางค์ ม.3 ต�ำบลบึงช�ำอ้อ

วัดศรีสโมสร

บ้านคลอง 12 ม.6 ต�ำบลนพรัตน์

วัดบึงกาสาม

บ้านคลองเจ็ด ม.8 ต�ำบลบึงบอน

วัดสอนดีศรีเจริญ บ้านคลองเจ็ด ม.10 ต�ำบลบึงช�ำอ้อ

บ้านคลองซอยที่ 9 ม.6 ต�ำบลบึงกาสาม

วัดสุขปุณฑริการาม

วัดบึงบอน บ้านคลองแปด ม.3 ต�ำบลบึงบอน

วัดบึงบาประภาสะวัต คลองสิบ ม.5 ต�ำบลบึงบา บ้านคลองสิบสี่ ม.12 ต�ำบลศาลาครุ

วัดโปรยฝน บ้านคลองสิบเอ็ด ม.12 ต�ำบลหนองสามวัง

วัดเจริญบุญ

วัดปทุมนายก

บึงกาสาม ม.2 ต�ำบลบึงกาสาม

บ้านคลองแปด ม.5 ต�ำบลบึงช�ำอ้อ

วัดสุนทริการาม บ้านคลองสิบสอง ม.8 ต�ำบลหนองสามวัง

วัดแสงมณี ม.3 ต�ำบลบึงบา

PATHUM THANI I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

22/12/2563 16:38:04


่ ั กผ่อนท่ามกลางธรรมชาติทไี่ ม่ไกลจากกรุงเทพฯ หากท่านก�ำลังมองหาสถานทีพ ่ ท “ธาริดา แกรนด์วว ิ รีสอร์ท” คือ สถานทีท ี่ า่ นก�ำลังมองหา..... เราพร้อมต้อนรับท่านด้วยห้องพั กหลากหลายสไตล์ทโี่ อบล้อมด้วยขุนเขา ้ ง และกิจกรรม ้ ง ั มีบริการห้องประชุมสัมมนา จัดเลีย นอกจากนีย ่ อ ่ มเยาว์ ด้วยบริการทีเ่ ป็นกันเอง และราคาทีย

ธาริดา แกรนด์วิว รีสอร์ท 124 หมู่ 2 ถ.สาริกา-นางรอง ต.สาริกา อ.เมือง จ.นครนายก 26000 โทร. 037-385-241 หรือ 081-781-2412 | www.taridagrandview.com | Line : @taridaresort


สวนตา นายาย รีสอร์ท บ้านพักวิวท้องนา หน้าเขื่อนขุนด่านปราการชล

บ้านพักหลังเล็ก น่ารัก เหมาะกับการพักผ่อนของคน เมืองกรุง ตื่นเช้ามารับอากาศบริสุทธิ์ กลิ่นอายของท้องนา และอากาศ ที่สดชื่น หายใจเข้าได้เต็มปอด

สวนตา นายาย รีสอร์ท

เลขที่ 49/1 หมู่ 2 ต�ำบลหินตั้ง อ�ำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก

086 153 4436


วัดเจดีย์หอย

ต�ำบลบ่อเงิน อ�ำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

2

SBL บันทึกประเทศไทย I ตราด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.