SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 94 - จังหวัดพะเยา

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดพะเยา ประจ�ำปี 2562

Magazine

“พระเจ้าตนหลวง” มหัศจรรย์พระพุ ทธรูปศั กดิ์สิทธิ์ที่ใหญ่ที่สุดในล้านนา กับความศรัทธาอันมั่นคงในพระพุ ทธศาสนากว่าพั นปี แห่ง “วัดศรีโคมค�ำ”

ท่องเที่ยวทางธรรม 477 วัด ในจังหวัดพะเยา

PHAYAO เมืองหน้าด่าน ปราการแห่งความเมตตา SPECIAL INTERVIEW นางเกลียวพรรณ์ ข�ำโนนงิ้ว

ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดพะเยา

Vol.9 Issue 94/2019

www.issuu.com

.indd 1

ย้อนยุคการสร้างอาณาจักรภูกามยาว โดยพญาจอมธรรม

27/7/2562 15:52:20



2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


โรงแรมชายกว๊าน

โรงแรมชายกว๊ า น (Chaykwan Hotel) ตั้งอยู่ริมกว๊านพะเยา ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา เป็นโรงแรมเปิดใหม่ปี พ.ศ.2559 มีอยู่ 3 ชั้น ห้องพักทั้งหมด 17 ห้อง (ห้องเตียงคู่ เตียงเดี่ยว และห้องครอบครัว) เครื่องอ�ำนวย ความสะดวกครบครั น มี ที่ จ อดรถปลอดภั ย ห้องพักกว้าง สะอาด บรรยากาศดี สงบ เหมาะแก่ การพั ก ผ่ อ น ใกล้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วหลายแห่ ง ระยะทางห่างจากสนามบินเชียงราย 90 นาที

4

2

Chaykwan Hotel

ที่พักริมกว๊านพะเยา

กับการพักผ่อนอันอุดมสมบูรณ์

อาหารเช้าแสนอร่อยแบบอเมริกัน แถมข้าวต้ม โจ๊ก กาแฟสด น�ำ้ ส้มสด

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

Chaykwan Hotel.indd 4

5/7/2562 16:48:12


“ชายกว๊านกาแฟ” พร้อมเสิร์ฟ ... กาแฟรสนุ่มละมุนลิ้น ในราคาหลักสิบ บรรยากาศหลักล้าน

“ชายกว๊านกาแฟ” ตั้งอยู่ถนนท่ากว๊าน ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา บริการอาหาร เครื่องดื่ม อาหารว่าง ขนม และผลไม้ เวลา 08.00 น. - 17.00 น. ทุกวัน...เชิญแวะชิมนะคะ

“ร้านเบียร์มอกม่วน” แฮงค์เอาท์ ชิล ชิล กับบรรยากาศสุดชิค ได้ที่ร้านเบียร์มอกม่อน เปิดให้บริการ ตั้งแต่ เวลา 18.00 น - 24.00 น.

โรงแรมชายกว๊าน พะเยา (Chaykwan Hotel)

53/9 ถนนท่ากว๊าน อ�ำเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา ส�ำรองห้องพัก โทร. 054-073-991-2, 080-043-7728 chaykwanhotel www.chaykwanhotel.com

2

Chaykwan Hotel.indd 5

NAN I SBL บันทึกประเทศไทย

5

5/7/2562 16:48:35


ไร่ภูกลองฮิลล์

ลิ้มรสองุ่น 3 สายพันธุ ์ ความสุขที่กินได้ ณ ไร่ภูกลองฮิลล์

ไร่ ภูก ลองฮิ ล ล์ (Phuklong Hill) ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นห้ ว ยลึก ต�ำบลบ้านตุ่น อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ.2558 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน แต่เดิมพื้นที่แห่งนี้ปลูกยางพารา และ ต่อมาได้พัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกทั้งยังเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับ ผู้ที่สนใจปลูกองุ่นในพื้นที่ 10 ไร่ โดยมีการปลูกองุ่นถึง 3 สายพันธุ์ ได้แก่

บิวตี้ซีดเลส ( Beauty seedless ) สีด�ำไร้เมล็ด รสชาติหวานหอม แบล็คโอปอ ( Blackopor) สีด�ำไร้เมล็ด รสชาติหอมหวานกรอบ ไวท์มะลกา ( White Malaga ) สีเหลืองมีเมล็ด รสชาติหวานหอมกรอบ บนเนื้อที่ “ภูกลองฮิลล์” กว่า 500 ไร่ ในพื้นที่บ้านห้วยลึก ต�ำบลบ้านตุ่น อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พะเยา ยั ง หลากหลายไปด้ ว ยต้ น ไม้ ดอกไม้ และ ผลไม้นานาพันธุ์ โดยเฉพาะ “องุ่น” ที่ปลูกและดูแลอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ ได้ ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพ ระบบการดูแลแปลงองุ่นของภูกลองฮิลล์เน้นกลไกธรรมชาติเป็นหลัก ในการดูแลและก�ำจัดศัตรูพืช โดยก�ำลังพัฒนาผลผลิตเป็นองุ่นไร้สาร ตามมาตรฐาน GPA ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพือ่ สร้างความมัน่ ใจ ในความปลอดภัยแก่ผู้บริโภคทุกเพศ ทุกวัย และทุกกลุ่ม

6

2

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

.indd 6

23/7/2562 9:12:59


ไร่ภูกลองฮิลล์ นอกจากเป็นสถานที่

ท่องเทีย่ วในจังหวัดพะเยาระดับแนวหน้า ทีม่ นี กั ท่องเทีย่ ว มาพักผ่อนจ�ำนวนมาก ด้วยเพราะบรรยากาศสวย ล้ อ มรอบด้ ว ยสายน�้ ำ และป่ า สี เ ขี ย วมี ฉ ากหลั ง เป็ น ภูเขาสวยงามแล้ว ยังเหมาะแก่การมาพักผ่อนอีกด้วย เพราะเรามีบริการห้องพักท่ามกลางธรรมชาติ

เติมพลัง พักผ่อนริมสวนน�้ำ ใจกลางธรรมชาติ

Phuklong Hill Resort รีสอร์ทภูกลองฮิลล์

เงียบ สงบ สวยงาม ริมสวนน�ำ้ กลางไร่องุน่ เหมาะแก่การพักผ่อนฟืน้ ฟูพลังในธรรมชาติ บริการห้องพักแบบ 2 ท่าน แบบครอบครัว และหมูค่ ณะ แวดล้อมไปด้วยความสนุกสนานกลางสวนน�ำ้ วอเตอร์ปาร์ค บริการ รถatv รถไฟฟ้า เรือถีบ จักรยาน และ ร้านอาหารสุดชิลล์ บนเนือ้ ที่ “ภูกลองฮิลล์” กว่า 500 ไร่ ในพืน้ ทีบ่ า้ นห้วยลึก ต�ำบล บ้านตุน่ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา

ภูกลองฮิลล์ (Phuklong Hill)

188 หมู่6 ต�ำบลบ้านตุ่น อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000 ส�ำรองห้องพัก โทร. 054-430-959 ,088-749-4778 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 7

7

23/7/2562 9:13:11


ที่พักสไตล์ ไทยล้านนาประยุกต์

ตากลมชมดอย รีสอร์ท แอนด์ โฮมสเตย์ ตากลมชมดอย รีสอร์ท แอนด์ โฮมสเตย์ ได้รับการออกแบบในการรองรับทั้งนักเดินทางเพื่อธุรกิจและการพักผ่อน โดยตั้งอยู่อย่างเหมาะเจาะในพะเยา ซึ่งเป็นย่านที่ ได้รับความนิยมที่สุดย่านหนึ่งของเมือง ที่พัก 3 ดาวแห่งนี้ต้ังอยู่บนท�ำเลที่เยี่ยมยอด อยู่ห่างจากตัวเมืองอันน่าตื่นตา เพียงการเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมของเมืองจึงท�ำได้โดยง่าย 8 SBL บันทึกประเทศไทย เนื่องจากที I น่าน่พักตั้งอยู่ในท�ำเลที่เดินทางสะดวก ผู้เข้าพักจึงไปยังสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมต่างๆ ของเมืองได้ โดยง่าย

2

.indd 8

27/7/2562 14:44:50


หากก�ำลังมองหาที่พักที่สะดวกสบายในพะเยา ตากลม-ชมดอย รีสอร์ท จะเปรียบได้ดั่งบ้านหลังที่สองและรีสอร์ทส่วนตัวของท่าน บ้านเรือนไทยประยุกต์ เหมาะส�ำหรั บ จั ด งานพิ ธีแ ต่ ง งานครบวงจร และรั บจั ดเลี้ ยงอบรมสั มมนา พร้อมบริการอาหารและเครื่องดื่ม

มีห้องพักบรรยากาศดีกว่า 20 ห้อง ไม่ว่าจะพักห้องไหน ท่านก็จะได้สลัดความเครียด ที่แบกไว้แล้วเพลิดเพลินไป กับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกมากมาย ได้ผ่อนคลายหลังจากเดินทางท่องเที่ยว มาอย่างเหน็ดเหนื่อย

ตากลมชมดอยรีสอร์ทแอนด์ โฮมสเตย์

149 หมู่15 บ้านสันหมื่นแก้ว ต�ำบลแม่ปืม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา : @ตากลมชมดอย : PANYARAT2513 WWW.TAKLOMCHOMDOI.COM

2

.indd 9

ส�ำรองห้องพักได้ที่ โทร. 095-264-6539 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 9 054-430-985 27/7/2562 14:44:57


BR2 Ho us e Reso rt กระท่อมที่พัก...ใจกลางธรรมชาติ

BR2 HOUSE RESORT ( บีอาร์ทู เฮ้าส์ รีสอร์ท) ตัง้ อยูใ่ นจังหวัดพะเยา ห้องพักตกแต่งสไตล์โมเดิรน์ ปูนเปลือย ห้องกว้างขวาง พร้อมเครือ่ งอ�ำนวย ความสะดวกครบครัน สะอาด สว่าง สงบ เปิดมุมมองกลางสวนผ่านห้อง กระจกปรั บ อากาศ สั ม ผั ส อากาศบริ สุท ธิ์ พร้อ มเสียงนกร้อ งยามเช้า มีอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WiFi) ฟรี

บรรยากาศเงียบสงบ เป็นส่วนตัว เหมาะแก่การพักผ่อน เตรียมพร้อมเพื่อวันใหม่

บีอาร์ทู เฮ้าส์ รีสอร์ท (BR2 HOUSE RESORT)

10

่ 12 ต�I ำฉะเชิ บลท่ าวังทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 56000 SBL359 บันทึกหมู ประเทศไทย งเทรา

BR2 House Resort.indd 10

ส�ำรองห้องพักโทร. 088-251-0882

8/7/2562 9:27:21


P.M. Place Hotel ห้องพักรายวัน-รายเดือน ใกล้มหาวิทยาลัยพะเยา ราคาย่อมเยากันเอง

มีมุมอ่านหนังสือ และจุดขายของ ภายในโรงแรม (บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป ขนม เครื่องดื่ม ของใช้เบ็ดเตล็ด) บริเวณใกล้เคียงมีทั้งร้านเซเว่น อีเลฟเว่น, ร้านกาแฟร้านค้าร้านอาหาร มากมาย

บริการห้องพัก ( รายวัน-รายเดือน ) มี พืน้ ทีแ่ ละบริเวณลานจอดรถทีก่ ว้างขวาง มีหอ้ ง พักพร้อมให้บริการจ�ำนวนมาก ห้องประชุม สัมมนา พร้อมสิง่ อ�ำนวยความสะดวกครบครัน

สะอาด ปลอดภัย ตั้งอยู่ในต�ำบลแม่กา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา อยู่ใกล้มหาวิทยาลัยพะเยา

โรงแรม พี. เอ็ม. เพลส พะเยา (P.M. Place Hotel)

799 หมู่ 16 ต�ำบลแม่กา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ 56000 สอบถามรายละเอียด และส�ำรองห้องพัก โทร. 054-466-659, 054-466-288 pmplace699@hotmail.com pmplacepayao CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.

.indd 11

11

8/7/2562 9:45:16


เปิด 4 ยุทธศาสตร์

ประตูการค้าท�ำเลทอง ณ ด่านบ้านฮวก พื้นที่ชายแดนไกลปืนเที่ยงก�ำลังกลายเป็นท�ำเลทองในฐานะ ประตูการค้า ณ บ้านฮวก ต�ำบลภูซาง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา พรมแดนติดต่อกับ แขวงไซยะบุรี ประเทศลาว ซึ่งที่ประชุมคณะ รัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบยกระดับจากจุดผ่อนปรนเป็นจุดผ่านแดน ถาวรตั้งแต่ช่วงต้นปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่าเศรษฐกิจปีละประมาณ 180 ล้านบาท หากมองในเชิงยุทธศาสตร์ บ้านฮวกจะเป็นประตู การค้าและการท่องเที่ยวส�ำคัญที่เชื่อมกับในแขวงไซยะบุรี ซึ่งกลุ่ม ทุนไทยเข้าไปลงทุนด้านพลังงานที่ส�ำคัญ 2 โครงการ หนึ่ง คือ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินที่เมืองหงสา อีกหนึ่งโครงการ คือ เขื่อน กั้นแม่น�้ำโขงผลิตกระแสไฟฟ้า จากแผนการพัฒนา 4 ด้าน ณ ด่าน บ้านฮวก 4 ประกอบด้วย 1.การพัฒนายกระดับด่านบ้านฮวกเป็น ด่านถาวร และพัฒนาศักยภาพด่านชายแดนไทย-ลาว 2.ปรับปรุง ระบบไฟฟ้า ประปา โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ เพื่อส่งเสริม การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ปรับปรุงเส้นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1093 สายสบบง-เลาอู (อ.ภู ซ าง จ.พะเยา-อ.เทิ ง จ.เชียงราย) เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจชายแดนเชื่อมโยงกับจีน 3.การ พัฒนาการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐานเพื่อส่งเสริมการยกระดับ จุดผ่านแดนถาวร มีการสร้างศูนย์อาคารเรียนรูอ้ าเซียน และ 4.ส่งเสริม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งทั้ง 4 ยุทธศาสตร์ ใช้เวลาด�ำเนิน การระหว่างปี พ.ศ. 2559-พ.ศ. 2562 (www.posttoday.com) 12

4

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

AEC 4.0

.indd 12

23/7/2562 16:25:04


โรงแรมศิวาพร เรสซิเดนซ์ ( SIWAPORN RESIDENCE) ต้อนรับทุกท่านด้วยที่พักสะดวก สบาย สไตล์หรู สู่เมืองพะเยา บริการห้องพักสะอาด ปลอดภัย และใกล้มหาวิทยาลัยพะเยา ทัง้ รายวันและรายเดือน พร้อมอุปกรณ์อำ� นวยความสะดวกครบครันจ�ำนวน 35 ห้อง ราคามิตรภาพ บริการคุณภาพระดับโรงแรมที่ประทับใจเมื่อได้มาพัก แต่ละห้องตกแต่งหรูหราด้วยเฟอร์นิเจอร์สไตล์ยุโรป หลากสีสันตามที่ท่านต้องการ เลือกได้ตามสไตล์ที่ท่านชื่นชอบ

S iw ap or n

สะดวก สบาย สไตล์หรู สู่เมืองพะเยา

โรงแรมศิวาพร เรสซิเดนซ์ ( SIWAPORN RESIDENCE)

879 หมู่ 16 ต�ำบลแม่กา อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000 ส�ำรองห้องพักโทร. 054-466-447, 095-619-6971

Re sid enc e

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 13

13

8/7/2562 9:33:22


WELCOME TO...

SA KUN GA RESORT 3

ยินดีต้อนรับสู่...

สกุลกา รีสอร์ท 3

“คิดถึงที่พัก คิดถึง สกุลกา รีสอร์ท 3”

สกุลกา รีสอร์ท 3 บริการห้องพักใน บรรยากาศสบาย ๆ ท่ามกลางธรรมชาติ อันร่มรืน่ เงียบสงบ ราคาเป็นกันเอง 14

2

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

.indd 14

15/7/2562 9:19:37


ผู้เข้าพักสามารถไปยังแหล่งท่องเที่ยวหลาย

แห่งของอ�ำเภอเชียงค�ำและภูซางได้ โดยสะดวก เช่น วัดนันตาราม วัดพระนั่งดิน น�้ำตกภูซาง เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ป กั บ บ ริ ก า ร แ ล ะ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกได้ที่ สกุลกา รีสอร์ท 3 ดังนี้

เครื่องปรับอากาศ

เครื่องท�ำน�้ำอุ่น LCD TV Free Wifi ตู้เย็น ที่จอดรถกว้างขวางสะดวกสบาย

บริการห้องพักแบบเป็นหลัง สะดวก สบาย เงียบสงบพร้อม เครือ่ งอ�ำนวยความสะดวกครบครันภายในห้องพักฟรี WiFi

“ห้องพักส�ำหรับครอบครัวในอ้อมกอดของธรรมชาติ” สกุลกา รีสอร์ท (Sa Kun Ga Resort)

เลขที่ 109 หมูท่ ี่ 11 ต�ำบลสบบง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

088-404-4971 087-176-3056 โทรศัพท์ :

สกุลการีสอร์ท เรามีทพ ี่ กั ให้บริการ 3 สาขา ท่านสะดวกเข้าพักสาขาที่ใกล้ ได้เลยคะ สามารถโทรสอบถามและจองห้องพักได้ตามเบอร์ด้านล่างคะ

สกุลกา รีสอร์ท 2

เลขที่ 108/1 หมู่ 5 บ้านดอนไชย ต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา โทร. 088-404-6272

2

.indd 15

สกุลการีสอร์ท 3

เลขที่ 339 หมู่ 1 บ้านธาตุ ต�ำบลหย่วน 15 อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา โทร. 082-184-8123

NAN I SBL บันทึกประเทศไทย

15/7/2562 9:19:48


EDITOR’S TALK

TALK

EDITOR’S

“พะเยา” เมืองสงบที่มีวิถีชีวิตเรียบง่าย และมีเสน่ห์ อี ก เมื อ งหนึ่ ง ที่ ถ ้ า ได้ ม าแวะ ต้ อ งหลงใหลในความงาม ของธรรมชาติ โดยเฉพาะภาพความโรแมนติกของสายหมอก ในยามเช้า เป็นอีกหนึ่งภาพสุดโรแมนติกที่ดึงดูดให้นักเดิน ทางอยากมาสัมผัสความงามด้วยตาตัวเองให้ ได้ซักครั้ง เป็ น เมื อ งที่ มี วั ฒ นธรรมและเอกลั ก ษณ์ ข องสิ่ ง ก่ อ สร้ า ง ที่มีรูปแบบเฉพาะโดยเฉพาะวัดวาอารามที่มีสถาปัตยกรรม ที่แปลกตาชวนให้มาสัมผัสครับ

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 16

. - 25/07/2562 16:26:40 PM


PHAYAO ฉบับที่ 94 จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2562

อนุสาวรีย์พ่อขุนง�ำเมือง @เมืองพะเยา

SBL

บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษนี้ “วัดทั่วไทย” พบกับจังหวัดพะเยา

เราได้ก้มกราบ “พระเจ้าตนหลวง” พระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำเมือง ที่ท�ำให้สัมผัสได้ถึงความศักดิ์สิทธิ์ในพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ และ สังฆานุภาพอย่างอบอุ่นร่มเย็นในใจที่ได้ท่องไปทุกพื้นที่ของการเดินทาง ดังพุทธพจน์ว่า “อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา บัญฑิตย่อมฝึกตน” ไม่ว่า ไปที่ ไหน ทุกย่างก้าวคือ การฝึกตน เมื่อฝึกตนก็จะเห็นตน เมื่อเห็นตน ก็จะเห็นธรรมในที่สุด บันทึกการท่องเที่ยวพะเยาฉบับนี้ เราเดินทางไปด้วยความเคารพ ในวัดวาอารามในทุกสถานที่ ได้ ใส่บาตรยามเช้ากับพระภิกษุสงฆ์ที่เดิน บิณฑบาตด้วยเท้าเปล่าอย่างเงียบๆ ท่านท�ำให้นักเดินทางท่องเที่ยว

Editor's talk .

.indd 17

ทางโลกเห็ น ว่ า ในการเดิ น ทางทางธรรมนั้ น มี จุ ด มุ ่ ง หมายอย่ า งไร ทุกเป้าหมายอยู่ที่การสัมผัสผืนดินอย่างมีสติในทุกย่างก้าว ชีวิตจึงมี ปลายทางที่ชัดเจน คือเดินเข้าไปข้างในใจ เพื่อมุ่งขัดเกลาตนบนหนทาง สู ่ ค วามพ้ น ทุ ก ข์ บนหนทางแห่ ง การแบ่ ง ปั น กั ล ยาณมิ ต รจึ ง เกิ ด ขึ้ น ตลอดเวลาตั้งแต่เช้าจรดค�่ำ ท�ำให้ทีมงานหลับเป็นสุข ตื่นก็สดชื่นทุกวัน ขณะเดียวกัน เราก็ ได้รับการต้อนรับด้วยไมตรีจิตตลอดเส้นทาง จากผู้หลักผู้ ใหญ่ในจังหวัด ในนามของนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ผมขอถือโอกาสนี้ กราบขอบพระคุณทุกท่าน โดยเฉพาะคุณเกลียวพรรณ์ ข�ำโนนงิ้ว ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดพะเยา และ ผู ้ บ ริ ห ารองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ต่ า ง ๆ ศาสนสถาน บริ ษั ท ห้างร้าน ฯลฯ ซึ่งกรุณาสนับสนุนให้ทีมงานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับจังหวัดพะเยา ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี

. - 25/07/2562 16:26:43 PM


TALK

EDITOR’S

หากจะพู ด ถึ ง จั ง หวั ด ที่ มี บ รรยากาศ และสถานที่ ท่องเที่ยวสวยงามในภาคเหนือ “จังหวัดพะเยา” ต้องเป็น จังหวัดต้นๆ ที่ผุดขึ้นมาในหัวแน่นอน เพราะมีทั้งธรรมชาติ วั ด วาอารามสุ ด อลั ง การ แถมยั ง เป็ น บ้ า นเมื อ งเล็ ก ๆ ที่ เ งี ย บสงบ และมี อ ากาศดี ๆ ท� ำ ให้ ใ ครที่ ไ ด้ ม าจั ง หวั ด นี้ ก็จะตกหลุมรักได้อย่างไม่ยากเลยครับ

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 18

. - 25/07/2562 16:26:43 PM


PHAYAO ฉบับที่ 94 จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2562

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

ทวัชร์ ศรีธามาศ

คณะทีมงาน

ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต อมร อนันต์รัตนสุข พุฒิธร จันทร์หอม

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

อุทยานแห่งชาติดอยภูนาง @เชียงม่วน

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์ มนสิกุล โอวาทเภสัชช์

ฝ่ายศิลปกรรม

ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย

ช่างภาพ

ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

Website

Facebook

การเงิน

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 19

EMAIL : sbl2553@gmail.com

www.sbl.co.th

. - 25/07/2562 16:26:45 PM


ฉบับที่ 94 จังหวัดพะเยา พ.ศ. 2562

P H A YA O 2 0 1 9

CONTENTS

จังหวัดพะเยา แอ่วเบาเบา ให้ม่วนใจ

ณ ดินแดนแห่งนี้มีธรรม มีธรรมชาติ ผสานกันไปวงดนตรีมีชีวิต มีสีสัน เสียงน�้ำตก กับเสียงระฆัง และเสียงนกร้อง เป็นหนึ่งเดียวกัน สัมผัสด้วยหัวใจกับมุมมอง 380 องศา กับสถานที่ท่องเที่ยว เหนือกว๊านพะเยา เมืองที่เงียบสงบ กับชีวิตเรียบง่าย ในบรรยากาศสะอาดบริสุทธิ์สดชื่น

22

ใต้ร่มพระบารมี “ โครงการฝายวังผาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ ” อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา เป็นโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชาติ การบริหารทรัพยากร และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม และเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ซึ่งนอกจากจะส่งผลให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ ที่ดีแล้ว ยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติเป็นส่วนรวมด้วย

26

บันทึกเส้นทางความเป็นมา

36

SPECIAL INTERVIEW

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา นางเกลียวพรรณ์ ข�ำโนนงิ้ว

44

ท�ำเนียบคณะสงฆ์

EBook Phayao

.indd 20

46

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

. - 25/07/2562 17:18:56 PM


70 64

อุทยานแห่งชาติถ้�ำสะเกิน

กว๊านพะเยา

108 114 รีสอร์ท ที่พัก จังหวัดพะเยา

64

84

120

วัดศรีสุพรรณ

โรงแรมชายกว๊าน

70

108

122

ไร่องุ่นภูกลองฮิลล์

76

112

124

78

114

126

วัดศรีโคมค�ำ วัดศรีอุโมงค์ค�ำ วัดหลวงราชสัณฐาน(วัดหลวงใน) วัดพระธาตุจอมทอง

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัดร้องเก่า วัดแวนโค้งเก่า ส�ำนักปฏิบัติธรรมฯ (วัดแท่นค�ำ)

วัดห้วยทรายขาว วัดเมืองอิงหลวง วัดป่าห้วยดอกอูน

80

117

128

82

118

130

วัดร่องป่าเปา วัดภูมินทร์

.indd 21

วัดเทพวราราม(วัดป่า) วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่

วัดสันต้นผึ้ง บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวทางธรรมชาติ

ตากลม-ชมดอย

รีสอร์ท&โฮมสเตย์

BR2 House Resort P.M. Place Hotel ศิวาพร เรสซิเดนซ์ สกุลกา รีสอร์ท

. - 25/07/2562 17:19:11 PM


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE โครงการฝายวังผาอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เป็นโครงการ แผนงาน หรือกิจกรรม ที่ ส ่ ว นราชการ รั ฐ วิ ส าหกิ จ เป็ น ผู้ด�ำเนินงานเพื่อสนองพระราชด�ำริ และเป็น โครงการที่ ไ ด้ รั บ พระราชทานพระราชด� ำ ริ ใ น เบือ้ งต้นเท่านัน้ แต่กว่าจะถึงขัน้ ด�ำเนินการต้อง ผ่านขั้นตอนการกลั่นกรองจากหลายฝ่าย และ บางกรณีได้เลิกล้มไปเพราะไม่เหมาะสม เป็น โครงการที่ส่งผลประโยชน์ให้แก่ประชาชนใน ส่วนต่างๆ ของประเทศโดยตรง โดยเฉพาะ ชาวชนบทที่ ห ่ า งไกลทุ ร กั น ดาร และยากจน อย่างแท้จริง โครงการเหล่านี้ ส่วนใหญ่เป็น โครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนในชาติ การบริหารทรัพยากร และอนุรักษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม และเสริ ม สร้ า งความมั่ น คงของ ชาติ ซึ่ ง นอกจากจะส่ ง ผลให้ ป ระชาชนมี ความเป็นอยู่ที่ดีแล้ว ยังก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อประเทศชาติเป็นส่วนรวมด้วย โดยมีคณะ กรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เรียกย่อว่า “กปร.” มี อ� ำ นาจหน้ า ที่ เ ป็ น องค์ ก รกลางระดั บ ชาติ ควบคุม ก�ำกับดูแล ติดตามผล และประสาน การด� ำ เนิ น งานของหน่ ว ยงานราชการ และ รัฐวิสาหกิจทั้งปวงที่ด�ำเนินงานตามโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ให้ ส ามารถ ด� ำ เนิ น งานได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และเป็ น ไปตาม เป้ า หมายเพื่ อ สนองพระราชด� ำ ริ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพมากที่สุด 22

4

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 22

26/7/2562 8:49:49


เพราะน�้ำคือชีวิต... ฝายทดน�้ำเล็กๆ จึงส�ำคัญ สื บ เนื่ อ งจากพระราชด� ำ ริ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ รับโครงการฝางวังผา เป็นโครงการ อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ ตามที่ น ายประเสริ ฐ ผั น แก้ ว ได้ ท� ำ หนั ง สื อ ขอพระราชทาน พระมหากรุณาธิคณ ุ ในการก่อสร้าง ฝายทดน�ำ้ เพือ่ ช่วยเหลือราษฎร ซึ่งประสบปัญหาขาดแคลนน�้ำ อุปโภค-บริโภคในฤดูแล้ง และ การเกษตรรวมทั้งปัญหาอุทกภัย

“จากโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำฯ ส่งผลท�ำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในเขตพื้นที่จังหวัดพะเยาดีขึ้นตามล�ำดับ อันเป็นผลมาจากเกษตรกรสามารถ ท�ำการเพาะปลูก และมีน�้ำอุปโภค-บริโภคอย่างสมบูรณ์ตลอดทั้งปี” PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 23

23

26/7/2562 8:49:50


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

ที่ตั้งของโครงการอยู่ที่ บ้านแสล่ง หมู่ที่ 5 ต�ำบลเชียงแรง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา วัตถุประสงค์โครงการ : เพื่อจัดหา แหล่งน�ำ้ ช่วยเหลือราษฎรจ�ำนวน 3 หมูบ่ า้ น ในเขต�ำบลเชียงแรง ให้มนี ำ�้ ใช้ในการอุปโภค บริโภค และช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกของ ราษฎร รวมทั้งเพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย ความหมายของ “ฝาย” ฝายต้นน�ำ้ ล�ำธาร (Check Dam) คือ สิ่งก่อสร้างขวางหรือกั้นทางน�้ำ ซึ่งปกติมัก จะกั้นล�ำห้วยล�ำธารขนาดเล็กในบริเวณที่ เป็นต้นน�ำ้ หรือพื้นที่ที่มีความลาดชันสูงให้ สามารถกักตะกอนอยู่ได้ และหากช่วงที่ น�้ำไหลแรงก็สามารถชะลอการไหลของน�้ำ ให้ช้าลง และกักเก็บตะกอนไม่ให้ไหลลง ไปทับถมแหล่งน�้ำตอนล่าง ซึ่งเป็นวิธีการ อนุรักษ์ดินและน�ำ้ ได้มากวิธีการหนึ่ง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พระราชทาน 24

4

ค�ำอธิบายว่า การปลูกป่าทดแทนพืน้ ทีป่ า่ ไม้ ทีถ่ กู ท�ำลายนัน้ “...จะต้องสร้างฝายเล็กเพือ่ หมุนน�ำ้ ส่งไปตามเหมืองไปใช้ในพืน้ ทีเ่ พาะปลูก ทั้งสองด้าน ซึ่งจะค่อยๆ แผ่ขยายออกไป ท�ำความชุ่มชื้นในบริเวณนั้นด้วย...” รูปแบบและลักษณะฝายต้นน�ำ้ ล�ำธาร นัน้ ได้พระราชทานพระราชด�ำรัสว่า “ให้พจิ ารณา ด�ำเนินการสร้างฝายราคาประหยัด โดยใช้ วัสดุราคาถูกและหาง่ายในท้องถิน่ เช่นแบบ หิ น ทิ้ ง คลุ ม ด้ ว ยตาข่ า ยปิ ด กั้ น ร่ อ งน�้ ำ กั บ ล�ำธารขนาดเล็กเป็นระยะๆ เพือ่ ใช้กกั เก็บ น�ำ้ และตะกอนดินไว้บางส่วน โดยน�้ำที่กัก เก็บไว้จะซึมเข้าไปในดินท�ำให้ความชุ่มชื้น แผ่ ข ยายออกไปทั้ ง สองข้ า งต่ อ ไป จะ สามารถปลูกพันธุ์ไม้ป้องกันไฟ พันธุ์ไม้โต เร็วและพันธุ์ไม้ทิ้งใบเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ต้นน�้ำ ล�ำธารให้มีสภาพเขียวชอุ่มขึ้นเป็นล�ำดับ...”

ความหมายของ “ฝายทดน�ำ้ ” ส�ำหรับ “ฝายทดน�ำ้ ” คือ สิ่งก่อสร้างที่ สร้างปิดขวางทางน�้ำไหล เพื่อทดน�้ำที่ไหล มาให้มีระดับสูงขึ้นจนสามารถผันน�้ำเข้าไป ตามคลองหรือคูสง่ น�ำ้ ให้แก่พนื้ ทีเ่ พาะปลูก บริเวณสองฝัง่ ล�ำน�ำ้ ได้สะดวก งานฝายทดน�ำ้ อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริที่ก่อสร้างใน ภูมิภาคต่างๆ เนื่องจากบางพื้นที่สภาพ ภูมิประเทศไม่เหมาะสมต่อการสร้างอ่าง เก็บน�้ำ จึงอาจพิจารณาสร้างฝายปิดกั้น น�ำ้ เฉพาะในล�ำน�้ำขึ้นแทน เพราะถึงแม้ว่า จะเกิดประโยชน์ต่อการเพาะปลูกได้เพียง ช่ ว งเวลาที่ มี น�้ ำ ไกลมาก็ ต าม แต่ น�้ ำ ซึ่ ง เก็บไว้ในล�ำน�้ำด้านหน้าฝายจะใช้ส�ำหรับ อุปโภคบริโภคในฤดูแล้งพอที่จะบรรเทา ความเดือดร้อนของประชาชนเกี่ยวกับน�้ำ กินน�ำ้ ใช้

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 24

26/7/2562 8:49:52


หน่วยงานผู้ด�ำเนินงาน /หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง : ด�ำเนินก่อสร้างโดย ส�ำนัก ชลประทานที่ กรมชลประทาน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ลักษณะโครงการ กรมชลประทานได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ฝายคอนกรี ต ปนหิ น ใหญ่ ข นาดสั น ฝาย ยาว 60 เมตร สูง 2.50 เมตร พร้อมประตู ระบายทราย ขนาดกว้าง 2.4 เมตร สูง 2.1 เมตร สะพานเดินกว้าง 1.2 เมตร ยาว 77.5 เมตร และก่อสร้างสะพานดิน โดยได้จ้างราษฎร ในพื้นที่ประมาณ 100 คน เป็นแรงงานใน การก่อสร้าง ผูไ้ ด้รบั ประโยชน์ : ประชาชน จ�ำนวน 3 หมู่บ้านในเขตต�ำบลเชียงแรง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

ผลการด�ำเนินงานและกิจกรรมโครงการ สามารถส่ ง น�้ ำ ช่ ว ยเหลื อ พื้ น ที่ ก าร เกษตรของราษฎรได้ ใ นฤดู ฝ นประมาณ 2,00 ไร่ ในฤดูแล้งประมาณ 1,100 ไร่ และสามารถบรรเทาปัญหาอุทกภัยได้ ช่วย ให้ราษฎร จ�ำนวน 3 หมู่บ้าน รวม 393 ครัวเรือน 1,572 คน มีน�้ำใช้ในการอุปโภค บริโภคอย่างเพียงพอตลอดปี และสามารถ เพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตรให้แก่ราษฎร ส่งผลให้ราษฎรมีรายได้และมีสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ความส�ำเร็จของโครงการ จากการได้ เ ดิ น ทางร่ ว มงานในพิ ธี ส่ ง มอบโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชด�ำริ พื้นที่จังหวัดพะเยา ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยได้สอบถาม นายแสง ค�ำมา เกษตรกรบ้านสะแล่ง หมู่ 4

ต�ำบลเชียงแรง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา หนึ่งในผู้ได้รับประโยชน์จากโครงการฝาย วังผาอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริบอกว่า ปัจจุบันครอบครัวตนมีพื้นที่ประมาณ 3 ไร่ที่ใช้ประโยชน์ในปลูกพืชผักต่างๆ อาทิ ข้าวโพด กระเทียมและยาสูบ ซึ่งในอดีต พื้นที่ของตนในช่วงหน้าแล้งจะไม่สามารถ น�ำมาใช้ประโยชน์อะไรได้เลยเพราะไม่มนี ำ�้ แต่หลังจากมีฝายวังผาท�ำให้มีน�้ำตลอดทั้ง ปี ท�ำให้ปลูกพืชผักได้ตลอดทั้งปีด้วย โดย จะปลูกสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไป เช่นเดียวกับ นายปัญญา ค�ำประเสริฐ อายุ 53 ปี ต�ำบลเชียงแรง อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา ที่ยอมรับว่า หลังมีโครงการ ฝายวังผาอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริทำ� ให้ ชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นมาก เพราะมีรายได้ ตลอดทั้งปีจากอาชีพการเกษตร มีเนื้อที่ เพาะปลูกประมาณ 2 ไร่เศษ โดยมีรายได้ หลักจากการปลูกฟักทองและได้ปลูกพืช อื่นๆ ร่วมด้วย อาทิ ข้าวโพด กระเทียม ยาสูบ ส่วนตลาดจะมีพ่อค้ามารับซื้อถึง แปลงในราคากิโลกรัมละ 5 บาท ผลผลิต เฉลี่ยประมาณ 2 ตันต่อไร่ แม้โครงการดังกล่าวผ่านไปเกือบสิบปี แล้ว แต่กเ็ ป็นจุดเริม่ ต้นเล็กๆ จากโครงการ พัฒนาแหล่งน�ำ้ อันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ ที่ ท รงใส่ ใ จความทุกข์ยากของประชาชน คนเล็ ก ๆ ส่ ง ผลท� ำ ให้ ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ของประชาชนในเขตพื้นที่จังหวัดพะเยาดี ขึ้นตามล�ำดับ อันเป็นผลมาจากเกษตรกร สามารถท�ำการเพาะปลูกและมีน�้ำอุปโภคบริโภคอย่างสมบูรณ์ตลอดทั้งปี หมายเหตุ : จากเอกสารรายละเอียด โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริในเขต จังหวัดพะเยา โครงการชลประทานพะเยา ส�ำนักชลประทานที่ 2 “กิจกรรมสือ่ มวลชน สัญจร” สือ่ ศิลปินรวมใจถวายในหลวง ของ ส�ำนักงาน กปร. กลุ่มผู้ใช้น�้ำ : จากโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด�ำริ เบอร์ติดต่อ 0-54413694 ที่ อ ยู ่ โครงการชลประทานพะเยา อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา 56120 PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

.indd 25

25

26/7/2562 8:49:53


TRAVELING IN A PREHISTORIC

26

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

10

.indd 26

24/7/2562 9:35:25


“PHAYAO PROVINCE” ตามรอยพะเยา ผ่านลมหายใจของสองตายาย

สู่ความมั่นคงทางใจในบวรพระพุ ทธศาสนา

จากต�ำนานที่มาของ

พระเจ้าตนหลวงอันศักดิ์สิทธิ์

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

10

.indd 27

27

24/7/2562 9:35:26


“กว๊านพะเยาแหล่งชีวิต

ศักดิ์สิทธิ์พระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพ่ อขุนง�ำเมือง งามลือเลื่องดอยบุษราคัม” ค�ำขวัญจังหวัดพะเยาที่เล่าภาพรวมของจังหวัดได้อย่างงดงามภายสี่ประโยค และหนึ่งประโยค ในนั้นกล่าวถึง “พระเจ้าตนหลวง” ถือเป็นพระพุทธรูปส�ำคัญประจ�ำเมือง จึงมีการอัญเชิญ ไว้ ในตราสัญลักษณ์ประจ�ำจังหวัด ประทับเหนือกว๊านพะเยา มีช่อรวงข้าวประดับอยู่สองข้าง เบื้องบนมีลายกนกเปลว 7 ลายลอยอยู่ จึงเป็นที่มาส�ำคัญที่ชวนกันมาย้อนรอยบันทึก ความเป็นมาจังหวัดพะเยาผ่าน พระเจ้าตนหลวงศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองพะเยาแห่งนี้

“พระเจ้าตนหลวง” เป็นพระประธาน อยู ่ ใ นวิ ห ารวั ด ศรี โ คมค� ำ สร้ า งขึ้ น ในปี พ.ศ. 2034 ตรงกับรัชสมัยของพญายอด เชียงราย กษัตริยล์ า้ นนาแห่งราชวงศ์มงั ราย และสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งราชวงศ์ สุ พ รรณภู มิ พระมหากษั ต ริ ย ์ ข องกรุ ง ศรีอยุธยา พระเจ้าตนหลวงเป็นพระพุทธ รูปปูนปั้นปิดทอง ปางมารวิชัย ศิลปะสกุล ช่างเชียงแสน เป็นพระพุทธรูปทีม่ ขี นาดใหญ่ ที่สุดในดินแดนล้านนา พระเจ้ า ตนหลวงเป็ น พระพุ ท ธรู ป คู ่ บ้านคูเ่ มืองพะเยา เดิมชือ่ พระเจ้าตนหลวง ทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยา เนื่องจากสร้างขึ้น บริเวณริมหนองเอีย้ ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2482 กรมประมงได้มีการก่อสร้างประตูกั้นน�้ำ ท�ำให้น�้ำแม่อิงและล�ำห้วยต่างๆ เอ่อล้น ท่วมหนองเอี้ยงเป็นบริเวณกว้าง จนเกิด เป็นบึงขนาดใหญ่ ซึง่ ภายหลังเรียกว่ากว๊าน พะเยา ท�ำให้พระเจ้าตนหลวงประดิษฐาน อยู่ริมกว๊านพะเยามาจนถึงทุกวันนี้

28

ปลายทางที่กว๊านพะเยา สู่ต้นทางจากต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก

ย้อนกลับไปเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าได้ เสด็ จ เดิ น ทางออกโปรดสั ต ว์ ใ นดิ น แดน สุวรรณภูมติ ามต�ำนานพระเจ้าเลียบโลกได้ เสด็จมาเมืองพะเยา ขณะนัน้ มียกั ษ์ตนหนึง่ ไม่ได้กินอะไรมา 7 วัน เห็นพระพุทธเจ้า จึงไล่เลยไปจนเหนื่อย พระพุทธเจ้าจึง ประทั บ รอยพระบาทบนแผ่ น หิ น ยั ก ษ์ คิดในใจว่าชายผู้นี้มีแรงมากแท้ สามารถ เหยียบหินให้มีรอยเท้าได้ พระพุทธเจ้าจึง โปรดและให้ยักษ์รับศีลห้าไว้ และตรัสกับ พระอานนท์วา่ ยักษ์วงิ่ ไล่เลย ภายหลังโจร จะมาอยู่ที่นี่และเรียกว่า “เวียงเลย” และ ได้พบกับตายายสองผัวเมีย ตายายสอง ผั ว เมี ย ไม่ มี ข ้ า วจึ ง ถวายพลู แ ละครกหิ น ต�ำหมากพลู พระพุทธเจ้าจึงตรัสกับพระอานนท์ว่า ตายายสองผัวเมียได้ถวายพลูและครกหิน ต�ำหมากพลู ภายหน้าทีน่ จี่ ะเรียกว่าพลูปอ และเมื อ งนี้ จ ะมี หิ น มากนั ก จากนั้ น พระพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นสู่จอมดอยและ ได้ พ บกั บ นายช่ า งทอง นายช่ า งทองได้ ถวายข้ า วปลาอาหารแด่ พ ระพุ ท ธเจ้ า พระพุทธเจ้าฉันเสร็จแล้วได้ลูบพระเศียร ประทานพระเกศาให้ แ ก่ น ายช่ า งทอง นายช่ า งทองรั บ ใส่ ก ระบอกไม้ ร วก

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

10

.indd 28

27/7/2562 14:41:22


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

10

.indd 29

29

24/7/2562 9:35:34


30

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

10

.indd 30

24/7/2562 9:35:37


นั่ ง ฉั น ภั ต ตาหาร มาให้ พ ระพุ ท ธเจ้ า ประทับนั่งฉันน�้ำ พระพุทธเจ้ามีพุทธ ท�ำนายว่า ภายหลัง ตายายสองผัวเมีย ทีถ่ วายหมากพลูจะได้สร้างพระพุทธรูป องค์ใหญ่เท่าพระกกุสันธพุทธเจ้า และ สั่งให้พญานาคธุมมสิกขีน�ำค�ำ (ภาษา เหนือเรียกทองค�ำว่า ค�ำ) มามอบให้ ตายายสองผัวเมีย

ภายหลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินพิ พาน

ภายหลังคือพระธาตุจอมทอง ตั้งอยู่ ที่ต�ำบลบ้านต๋อม อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จากนั้น พระพุทธเจ้าทรงกระหาย น�้ ำ รั บ สั่ ง ให้ พ ระอานนท์ ไ ปตั ก น�้ ำ ตรง หนองตีนดอยมาถวาย พระอานนท์จะ ตักน�้ำ แต่พญานาคชือ่ ธุมมสิกขีขดั ขวาง และเนรมิตหงอนให้เป็นควันปิดหนองไว้ พระพุทธเจ้าจึงเสด็จไปประทับยืนข้าง หนองน�ำ ้ พญานาคจะพ่นควันแผ่พังพอน

ใส่แต่ก็เห็นพระวรกายของพระพุทธเจ้า เต็มไปด้วยฉัพพรรณรังสี จึงทูลถามว่า เป็นใคร พระพุทธเจ้าได้แนะน�ำตัวและ แสดงอภินหิ ารเนรมิตพระวรกายให้ใหญ่ เท่ากับพระกกุสนั ธพุทธเจ้า พระโกนาค มนพุทธเจ้าพระกัสสปพุทธเจ้า ประทับ นัง่ พระวรกาย สูง 32 ศอก และเหยียบ พญานาคธุ ม มสิ ก ขี จ มลงไปในหนอง พญานาคธุมมสิกขีจึงรีบไปน�ำก้อนหิน ที่พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมน พุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้าเคยประทับ

ไปแล้ว พญายอดเชียงรายเป็นกษัตริย์ เมืองเชียงใหม่ พระเมืองยี่เป็นเจ้าเมือง พะเยา ตายายสองผัวเมียที่เคยถวาย หมากพลูได้มาเกิดเป็น ตายายสองผัวเมีย ท� ำ อาชี พ เลี้ ย งเป็ ด เลี้ ย งห่ า นขาย พญานาคธุมมสิกขีจึงเนรมิตกายเป็น ชายนุง่ ขาวห่มขาวน�ำค�ำ 420,500 บาท มามอบและบอกให้ตายายสองผัวเมีย สร้ า งสร้ า งพระพุ ท ธรู ป องค์ ใ หญ่ เ ท่ า พระกกุสันธพุทธเจ้า และเนรมิตกาย ตนให้เป็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่เท่ากับ พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมน พุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้า ประทับนัง่ พระวรกายสูง32ศอก และหนีหายไป พ.ศ.2034 ตายายสองผัวเมียจึงเริม่ ถมสระหนองเอี้ ย งและท� ำ การปั ้ น อิ ฐ ใช้เวลาถึง 33 ปีจึงท�ำการปั้นองค์พระ ทาปูน ทารัก ปิดทอง ส�ำเร็จใน พ.ศ.2067 ในรัชสมัยพญาแก้ ว เป็ น กษั ต ริ ย ์ เ มื อ ง เชียงใหม่ พระเมืองตูเ้ ป็นเจ้าเมืองพะเยา ในครั้ ง นั้ น พญาแก้ ว มี ศ รั ท ธาสร้ า ง พระวิหารหลวงครอบพระเจ้าตนหลวง ก�ำหนดเขตแดนของวัด และพญาแก้ว พระเมืองตู้ ได้ถวายข้าพระ 20 ครัวเรือน ให้เป็นข้าพระเจ้าตนหลวงตั้งชื่อวัดว่า วัดศรีโคมค�ำ จึงเป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง จังหวัดพระเยา ภาพพระเจ้าตนหลวงจึง ได้ประดิษฐานอยู่บนตราประจ�ำจังหวัด มาจนถึงปัจจุบัน PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

10

.indd 31

31

24/7/2562 9:35:40


จังหวัดพะเยา เป็นจังหวัดในภาค เหนือตอนบน บริเวณที่ต้ังของตัวเมือง พะเยาในปัจจุบันอยู่ติดกับกว๊านพะเยา เดิมเป็นที่ตั้งของเมืองภูกามยาว หรือ พะยาว ทีก่ อ่ ตัง้ ขึน้ เมือ่ พุทธศตวรรษที่ 16 โดยกษัตริย์องค์แรกคือ พญาจอมธรรม ซึ่ ง เป็ น ราชบุ ต รองค์ ห นึ่ ง จากเมื อ ง หิ รั ญ นครเงิ น ยางเชี ย งแสน และเป็ น บรรพบุรุษของกษัตริย์เมืองพะยาวอีก หลายองค์ เช่น พญาเจือง วีรบุรุษแห่ง เผ่าไท-ลาวในพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำโขง และ พญาง�ำเมืองซึ่งได้กระท�ำสัตย์สาบาน เป็นไมตรีตอ่ กันกับพญามังรายแห่งนคร พิงค์เชียงใหม่ และพญาร่วงรามค�ำแหง แห่งสุโขทัย ภายหลังมีการเปลีย่ นแปลง อ�ำนาจ และตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ อาณาจักรล้านนา ในสมัยพญาค�ำฟู เมื่ อ ถึ ง สมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ ใน พ.ศ. 2386 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 3 32

เมืองพะเยาถูกตั้งขึ้นใหม่พร้อมเมือง เชี ย งรายและเมื อ งงาวเพื่ อ เป็ น เมื อ ง หน้าด่านต่อตีกับกองทัพพม่าที่ตั้งอยู่ ที่เมืองเชียงแสน โดยให้เมืองพะเยาขึ้น ตรงต่อ นครล�ำปาง (พื้นที่บางส่วนของ จังหวัดพะเยาปัจจุบัน ได้แก่ อ�ำเภอ เชียงม่วน อ�ำเภอปง อ�ำเภอเชียงค�ำ และ อ�ำเภอภูซางขึน้ ตรงต่อนครน่าน) และใน ท้ายทีส่ ดุ ก่อนทีพ่ ะเยาจะถูกยกฐานะขึน้ เป็นจังหวัด พะเยาอยู่ใต้การปกครอง ของจังหวัดเชียงรายในฐานะ อ�ำเภอ พะเยา และเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 อ�ำเภอพะเยาได้ยกฐานะขึ้นเป็น จังหวัดพะเยา นับเป็นจังหวัดที่ 72 ของ ประเทศไทย จั ง หวั ด พะเยาจั ด งาน “นมั ส การ พระเจ้าตนหลวง” ขึ้นทุกปี ในเดือนหก หรื อ เดื อ นพฤษภาคม ช่ ว งสั ป ดาห์ วิสาขบูชา เรียกว่าเทศกาลแปดเป็ง

“แปดเป็ง” หมายถึงคืนวันเพ็ญใน เดือนแปด (นับตามปฏิทนิ จันทรคติแบบ ล้านนา) ตรงกับเดือนพฤษภาคม มีความ ส�ำคัญ เกี่ยวเนื่องกับพระเจ้าตนหลวง 5 ประการ ได้แก่เป็นวันที่เริ่มโยนหิน ก้อนแรกลงถมหนองเอีย้ ง (กว๊านพะเยา ในปัจจุบนั ) เพือ่ ปรับปรุงพืน้ ทีใ่ ช้สำ� หรับ ก่ อ ปู น ขึ้ น เป็ น องค์ พ ระ, เป็ นวั น เริ่ ม ก่อสร้างองค์พระเจ้าตนหลวง ,เป็นวัน ที่สร้างองค์พระเสร็จสมบูรณ์ ,เป็นวัน เฉลิมฉลององค์พระครั้งแรก และเป็น ประเพณีทชี่ าวบ้านถือปฏิบตั เิ ป็นประจ�ำ ทุ ก ปี ในช่ ว งวั นวิ ส าขบู ช า ซึ่ ง จั ด ขึ้ น ภายในวัดศรีโคมค�ำ ช่วงกลางวันมีการ ท�ำบุญฉลององค์พระเจ้าตนหลวง พระ ประธานในวิหาร ช่วงกลางคืนมีการออก ร้านขายของและมหรสพต่างๆ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

10

.indd 32

24/7/2562 9:35:44


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

10

.indd 33

33

24/7/2562 9:35:46


พะเยา จึ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง จั ง หวั ด ของ “วัดทั่วไทย” ที่เป็นจุดเชื่อมต่อ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาจากสมัย ทวาราวดีถึงรัตนโกสินทร์ ที่ท�ำให้ บ้านเมืองสงบร่มเย็นมาได้ถึงทุกวัน นี้ ก็ เ พราะมี ร ากฐานอั น มั่ น คงจาก บวรพระพุทธศาสนา กว่า 400 วัด ในจังหวัดคือค�ำตอบ กับความศรัทธา อั น มั่ น คงในพระพุ ท ธศาสนากว่ า พันปี ในดินแดนแห่งลุ่มน�้ำอันอุดม สมบูรณ์ที่ชื่อว่า กว๊านพะเยา... 34

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

10

.indd 34

24/7/2562 9:35:47


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

10

.indd 35

35

24/7/2562 9:35:48


S P EC IAL I N TE RVI EW

PHAYAO

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา

นางเกลียวพรรณ์ ข�ำโนนงิ้ว

พระพุทธศาสนามั่นคง พุทธศาสนิกชนด�ำรงคุณธรรม น�ำสังคมมีสุข...

คือวิสัยทัศน์ อันเป็นแผนปฏิบัติงานการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา ที่มีวัดกว่า 477 วัด ในการดู แลช่วยเหลือ เกื้อ กูล ให้ก ารท�ำ งานเผยแผ่

36

พระพุทธศาสนาเดินหน้าอย่างมัน่ คงน�ำสังคมสันติสขุ ด้ ว ยคุ ณ ธรรม ซึ่ ง ที ม งานทุ ก คนมองไปในทิ ศ ทาง เดียวกัน โดยมีพันธกิจ “อุปถัมภ์ ส่งเสริมการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา พัฒนาบุคลากรผู้เผยแผ่ เพื่อน�ำ หลักธรรมสู่สังคมและประชาชนอย่างมีคุณภาพ” ที่ ต้องสานสร้างให้เป็นจริง

SBL บันทึกประเทศไทย I นครราชสีมา

.indd 36

27/7/2562 14:39:49


ย อ�ำเภอนาน้ NAKHON RATCHASIMA I เสาดิ SBL นบันาน้ นทึกอประเทศไทย 37อย

.indd 37

24/7/2562 9:26:10


SPECIAL INTERVIEW

เป้าประสงค์คือ 1. บุคลากรผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาได้รับการอุปถัมภ์ และส่งเสริม ด้านการเผยแผ่อย่างมีคุณภาพ 2. บุคลากรผู้เผยแผ่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วยวิธีการที่หลากหลาย และ 3. ป ระชาชนใช้ ห ลั ก พุ ท ธธรรมเสริ ม สร้ า งคุ ณ ธรรมจริ ย ธรรมและ พัฒนาคุณภาพชีวิตน�ำไปสู่สังคมที่สงบสุข

ยุทธศาสตร์ที่น�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ยุทธศาสตร์ที่ 1 อุปถัมภ์ ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 1 อุปถัมภ์ ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 2 ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น และ พั ฒ นางานด้ า นการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาของคณะสงฆ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาบุคลากรผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีศักยภาพ และขีดความสามารถในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาบุคลากรด้านการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา ยุทธศาสตร์ที่ 3 จัดกิจกรรมการเผยแผ่หลักพุทธธรรมด้วยรูปแบบและ วิธีการที่หลากหลาย กลยุทธ์ที่ 1 ส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมของชุมชน กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมให้วดั มีศกั ยภาพเป็นศูนย์การเรียนรูห้ ลักพุทธธรรม และปฏิบัติกิจกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 3 ส่ ง เสริ ม พั ฒ นารู ป แบบและนวั ต กรรมในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในทุกมิติ ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 1 จัดตัง้ และพัฒนาศักยภาพองค์กรการเผยแผ่พระพุทธศาสนา กลยุทธ์ที่ 2 ส่ ง เสริ ม การมี ส ่ ว นร่ ว มในการเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา สู่องค์กรทุกภาคส่วน

38

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 38

วัดพระธาตุดอยหยวก 24/7/2562 9:26:14


วัดอนาลโยทิพยาราม เมษาร้อนกาย แต่เย็นใจ กับกิจกรรมที่ภาคภูมิใจ อาทิ 1 เมษายน พ.ศ. 2562 ผอ.พศจ.พะเยา พร้อมด้วยคณะข้าราชการ ส�ำนักงานฯ ได้เข้าร่วมกิจกรรม “ข้าราชการจิตสาธารณะ” เนื่องใน วันข้าราชการพลเรือน ประจ�ำปี 2562 ภายใต้หัวข้อ “ข้าราชการไทย มีน�้ำใจนักกีฬา เป็นเจ้าบ้านอาสา ร่วมพาเที่ยวไทย” 4 เมษายน พ.ศ. 2562 ผอ.พศจ.พะเยา บรรยายถวายความรู้แด่ พระภิกษุและสามเณร ตามโครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุสามเณร ภาคฤดูรอ้ น เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ณ วัดเชียงบาน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา 8 - 9 เมษายน พ.ศ. 2562 ผอ.พศจ.พะเยา พร้อมด้วยคณะข้าราชการ ส�ำนักงานฯ ร่วมด�ำเนินงานประกอบพิธีท�ำน�้ำอภิเษกและพิธีเวียนเทียน สมโภชน�ำ้ อภิเษกจังหวัดพะเยา ณ พระวิหารวัดศรีโคมค�ำ พระอารามหลวง

ต� ำ บลเวี ย ง อ� ำ เภอเมื อ งพะเยา จั ง หวั ด พะเยา โดยมี น ายณรงค์ ศั ก ดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการจังหวัดพะเยา เป็นประธาน ทั้งนี้มีหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้น�ำท้องถิ่นและประชาชนเข้าร่วมพิธีดังกล่าวจ�ำนวนมาก 10 เมษายน พ.ศ. 2562 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา ด�ำเนินการจัดพิธีตักบาตรข้าวเหนียววันพุธ (ตักบาตรทุกวันพุธ) สืบทอด พระพุทธศาสนา จังหวัดพะเยา ณ บริเวณวัดติโลกอาราม อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 17 เมษายน พ.ศ. 2562 ผอ.พศจ.พะเยา พร้อมด้วยคณะข้าราชการ ส� ำ นั ก งานฯ ร่ ว มพิ ธี ส รงน�้ ำ พระเจ้ า ตนหลวง / พ่ อ ขุ น ง� ำ เมื อ ง / สระเกล้าด�ำหัวขอพรพระเถระผู้ใหญ่จังหวัดพะเยา เนื่องในประเพณี ปีใหม่ไทย พ.ศ. 2562

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

24/7/2562 9:26:17


“ตามรอยพะเยา ผ่านลมหายใจของสองตายาย สู่ความมั่นคงทางใจในบวรพระพุทธศาสนา จากต�ำนานที่มาของพระเจ้าตนหลวงอันศักดิ์สิทธิ์”

วัดศรีอุโมงค์ค�ำ

วัดศรีอุโมงค์ค�ำ ตั้งอยู่เลขที่ 3 ถนนท่ากว๊าน ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ชาวบ้านเรียกว่า วัดสูง เพราะตั้งอยู่ในที่ราบสูงทั้งเจดีย์ และพระอุโบสถยังตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมยกสูงอีก ดังนั้นจึงท�ำให้วัดนี้ สู ง สง่ า งาม ประตู ท างเข้ า เป็ น ซุ ้ ม ประตู ไ ม้ แ กะสลั ก ใช้ แ ป้ น เก็ จ เป็ น

40

แผ่นปูท�ำหลังคา ก�ำแพงก่ออิฐท�ำเหมือนก�ำแพงเมืองเก่าไม่มีการฉาบปูน สีอิฐไหม้ท�ำให้นึกถึงก�ำแพงโบราณ เข้าไปด้านหน้าประตูจะต้องขึ้นบันได สองชั้นเข้าไปสู่พระอุโบสถ หน้าบันเป็นลายไทยปูนปั้นติดกระจกพื้น สีเขียวท�ำให้แปลกตาไปอีกแบบหนึง่ ใบระกามีชน้ั เดียวแต่มมี ขุ ซ้อนกันสามชัน้

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 40

24/7/2562 9:26:21


วัดศรีโคมค�ำ

วัดแท่นค�ำ

วัดร้อง (ร้องเก่า)

วัดหลวงราชสัณฐาน(วัดหลวงใน)

วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่

วัดพระธาตุจอมทอง

วัดพระเจ้าตนหลวง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิ ด สามั ญ สั ง กั ด มหานิ ก าย ภายในวิ ห าร ประดิษฐานพระเจ้าตนหลวงเป็นพระประธาน สร้ า งขึ้ น ในรั ช สมั ย ของพญายอดเชี ย งราย กษัตริย์ล�ำดับที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย

ศึกษา “พระสถูปเจดีย์หินทราย” หนึ่งเดียว ในจังหวัดพะเยา ชวนชม “ภาพพุทธประวัติ” จิตรกรรมบนแผ่นไม้ วัดหลวงราชสัณฐาน เป็น วัดเก่าแก่ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองพะเยามาช้านาน เดิมเคยเป็นวัดร้าง ต่อมาเจ้าหลวงวงศ์ผู้ครอง เมืองพะเยาได้บูรณปฏิสังขรณ์จนแล้วเสร็จเป็น วัดที่สมบูรณ์ จากนั้นในปี พ.ศ. 2387 ชาวบ้าน จึงเรียกว่า “วัดหลวง” และต่อมาได้ใช้ช่ือว่า “วัดหลวงราชสัณฐาน”

พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ สืบเนื่องมา จากพระครูสวุ รรณ เจ้าอาวาสวัดแท่นค�ำ ท�ำบุญ อายุ ค รบวั ฒ นมงคล 60 ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ 27 สิงหาคม 2560 คณะศรัทธาวัดแท่นค�ำ พร้อม ด้วยอุบาสก อุบาสิกาได้พร้อมใจกันวางศิลาฤกษ์ พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ

เป็นวัดเก่าแก่โบราณสร้างมานานหลายร้อยปี โดยตั้งอยู่ภายในบริเวณเวียงโบราณชาวบ้าน เรียกว่า “เวียงชมพู” เดิมมีสภาพทุรกันดาร รกร้างเป็นป่ารกชัฏเต็มไปด้วยต้นไม้นอ้ ยใหญ่ มี วัชพืชขึน้ ปกคลุมหนาแน่น สถานทีแ่ ห่งนี้ ชาวบ้าน ไม่กล้าเข้าไปใกล้เพราะมีความเชื่อว่าผีดุ

วัดร้องเก่า เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา และยังเป็นศูนย์รวมทาง ด้านจิตใจ ของชุมชนและของชาวเชียงค�ำ โดย มีพระครูปิยชัยสิทธิ์ (ครูบาสิทธิชัย ปิยภาณี) หรือท่านครูบาอู๋ เจ้าอาวาสวัดร้องเก่า และ ได้เป็นผู้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาจิตใจคนในชุมชนและยังเป็นผู้ริเริ่มใน การพัฒนาวัดวาอาราม ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั

นมัสการพระพุทธเจ้า ณ สถานทีป่ ระดิษฐาน พระเกสาธาตุ และพระบรมสารี ริ ก ธาตุ แขนเบื้องซ้าย ณ พระธาตุประจ�ำเมืองพะเยา เวียงพระธาตุ และกราบสักการะพระเจ้าทันใจ

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

27/7/2562 14:37:51


วัดติโลกอาราม

ส�ำนักพุทธฯ ชวนเที่ยว “พะเยา” จังหวัดพะเยา เมืองสงบที่มีวิถีชีวิตเรียบง่าย และมีเสน่ห์อีกเมืองหนึ่ง ที่ ถ ้ า ได้ ม าแวะ ต้ อ งหลงใหลในความงามของธรรมชาติ โดยเฉพาะ ภาพความโรแมนติ ก ของสายหมอกในยามเช้ า ที่ ภู ลั ง กา รี ส อร์ ท เป็ น อีกหนึ่งภาพสุดโรแมนติกที่ดึงดูดให้นักเดินทางอยากมาสัมผัสความงาม ด้วยตาตัวเองให้ได้สักครั้ง เป็นเมืองที่มีวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ของ สิ่งก่อสร้างที่มีรูปแบบเฉพาะโดยเฉพาะวัดวาอารามที่มีสถาปัตยกรรม ที่แปลกตาชวนให้มาสัมผัส

42

วัดอนาลโยทิพยาราม

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 42

24/7/2562 9:26:34


ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา

นางเกลี ย วพรรณ์ ข�ำโนนงิ้ว

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

24/7/2562 9:26:37


ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดพะเยา

พระราชปริยัติ

เจ้าคณะจังหวัดพะเยา วัดศรีโคมค�ำ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

พระครูโสภณปริยัติสุธี รองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา รูปที่ ๑ วัดศรีโคมค�ำ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

พระสุนทรกิตติคุณ

พระครูสุภัทรพรหมคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงค�ำ วัดหย่วน ต�ำบลหย่วน อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา

พระครูวรพงศ์คณารักษ์

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพะเยา วัดศรีโคมค�ำ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

พระครูวิมลขันตยาภรณ์

พระครูอดุลสุนทรการ เจ้าคณะอ�ำเภอจุน วัดเชียงยืน ต�ำบลลอ อ�ำเภอจุน จังหวัดพะเยา

พระมหาจิตรการก์ อภิปุญฺโญ

เจ้าคณะอ�ำเภอภูกามยาว วัดห้วยทรายขาว ต�ำบลห้วยแก้ว อ�ำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา

พระครูขันติวชิ รธรรม

พระครูวิจิตรพิพัฒนโกศล

รองเจ้าคณะอ�ำเภอเชียงค�ำ วัดหนองร่มเย็น ต�ำบลร่มเย็น อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอําเภอเชียงคํา วัดเชียงบาน ตําบลเชียงบาน อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา

เจ้าคณะอ�ำเภอปง วัดนาปรัง ต�ำบลนาปรัง อ�ำเภอปง จังหวัดพะเยา

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 44

รองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา รูปที่ ๒ วัดลี ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

พระครูนันทบุ รีพิทักษ์

พระครูสิริจันทประโชติ

พระครูสิริวรนารถ

พระครูสุกิตยากร

พระครูสังวรวรคุณ

พระครูสุวรรณธรรมนิวิฐ

รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพะเยา วัดหัวข่วงแก้ว ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอกค�ำใต้ วัดแท่นค�ำ ต�ำบลห้วยลาน อ�ำเภอ ดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา

พระครูพิทักษ์จิตสังวร

พระครูกิตติปัญญาวุ ฒิ

เจ้าคณะอ�ำเภอเชียงม่วน วัดป่าแขม ต�ำบลบ้านมาง อ�ำเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา

เจ้าคณะอ�ำเภอภูซาง วัดสถาน ต�ำบลป่าสัก อ�ำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพะเยา วัดศรีอุโมงค์ค�ำ ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

พระครูนิปุณพัฒนกิจ

พระครูศรีวรพินิจ

รองเจ้าคณะอําเภอจุน วัดพระธาตุขิงแกง ตําบลพระธาตุขิงแกง อําเภอจุน จังหวัดพะเยา

พระมหาศิวกร ปญฺญาวชิ โร

44

พระวิมลญาณมุนี

เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา วัดศรีโคมคํา ตําบลเวียง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอําเภอปง วัดศรีโคมคํา ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดพะเยา

พระครูพิศาลสรกิจ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดพะเยา วัดศรีโคมคํา ตําบลเวียง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

เจ้าคณะอ�ำเภอแม่ ใจ วัดศรีดอนตัน ต�ำบลบ้านเหล่า อ�ำเภอแม่ ใจ จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอําเภอปง วัดทัศนาราม ตําบลปง อําเภอปง จังหวัดพะเยา

เจ้าคณะอ�ำเภอดอกคาใต้ วัดบุญเกิด ต�ำบลบุญเกิด อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา

รองเจ้าคณะอําเภอแม่ ใจ วัดพระธาตุจําม่วง ตําบลบ้านเหล่า อําเภอแม่ ใจ จังหวัดพะเยา

พระมหากิตติพงษ์ กิตฺติญาโณ เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดพะเยา วัดศรีโคมคํา ตําบลเวียง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

26/7/2562 10:49:27


เวลาที่เราไม่มีอะไรเป็นของเราเลย นั่นแหละเป็นเวลาที่เรามีความสุขที่สุด - พุทธทาสภิกขุ -

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

26/7/2562 10:49:30


ประทีปธรรมกลาง “กว๊านพะเยา” หนึ่งเดียวในโลก

กว๊านพะเยา อยู่ในเขตอ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เป็น ทะเลสาบน�ำ้ จืดใหญ่เป็นอันดับ 1 ในภาคเหนือ และอันดับ 4 ของ ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งน�้ำที่ส�ำคัญที่สุดของจังหวัดพะเยา เป็นทั้ง แหล่งประมงน�ำ้ จืดทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของภาคเหนือตอนบน และเป็นสถาน ที่ท่องเที่ยว สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของชาวพะเยา ค�ำว่า “กว๊าน” ภาษาพื้นเมืองหมายถึง “บึง” กว๊านพะเยา จึง เป็นบึงน�้ำอันกว้างใหญ่สุดสายตา โอบล้อมขุนเขาดอยแม่ใจ ที่ตั้ง ตระหง่านอยูด่ า้ นทิศตะวันตก ในยามเช้า หลังจากท�ำบุญใส่บาตรแล้ว นักท่องเทีย่ วสามารถนัง่ เรือพายไปนมัสการหลวงพ่อศิลากลางกว๊าน พะเยา และเมื่อถึงวันเพ็ญเดือน 3 เดือน 6 และเดือน 8 ซึ่งตรงกับ มาฆบูชา วิสาขบูชา และอาสาฬหบูชา จะมีพิธีเวียนเทียนกลางน�้ำ ในยามใกล้ค�่ำ ชาวเมืองต่างพากันน�ำดอกไม้ธูปเทียน ล่องเรือไป เวียนเทียนบูชาองค์หลวงพ่อศิลากลางน�้ำ 3 รอบ กว๊านพะเยาใน ยามนีจ้ ะงดงามด้วยแสงประทีปท่ามกลางสีสนั ของท้องฟ้าและผืนน�ำ ้ กว้างใหญ่ในวันพระจันทร์เต็มดวง เป็นอีกภาพหนึ่งที่น่าประทับใจ ไม่เหมือนใครในโลก

46

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 46

27/7/2562 14:34:55


PHOTO : EKKAPOB

กว๊านพะเยา ลานพญานาคราช แลนด์มาร์คที่สำ� คัญอีกแห่งหนึ่ง ที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยว ที่จะแวะเวียน มาถ่ายรูปและชมความสวยงามของพระอาทิตย์ ก่อนที่จะลับขอบฟ้า ณ ยอดดอยหลวงในทุกๆ วัน

ประทีปธรรมกลาง “กว๊านพะเยา” หนึ่งเดียวในโลก PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 47

47

27/7/2562 14:34:55


48

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 48

24/7/2562 9:52:36


สั กการะ

“พระเจ้าตนหลวง”

พระพุ ทธรูปใหญ่ที่สุด เก่าแก่ที่สุด ในแผ่นดินล้านนา ประดิษฐานอยู่ใน วิหารหลวงของ “วัดศรีโคมค�ำ”

ภายในวิหารหลวงประดิษฐานพระเจ้าตนหลวง พระพุ ท ธรู ป ศิ ล ปะล้ า นนาที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด ใน ภาคเหนือ พระพุทธรูปนี้มีต�ำนานเล่าว่า ครั้งหนึ่งเมื่อ พระพุทธองค์พร้อมด้วยพระอรหันตสาวกเสด็จมายัง เมืองภูกามยาว (ชื่อเดิมของเมืองพะเยา) ทรงประทับ ณ ดอยลูกหนึ่งข้างสระหนองเอี้ยงซึ่งมีหมู่บ้านโดย รอบ ได้มชี า่ งทองในหมูบ่ า้ นทราบข่าวการเสด็จมาและ ได้จัดภัตตาหารถวายพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ พระพุทธองค์ได้พิจารณาเห็นว่าที่นี่มีความเหมาะสม ที่ จ ะประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธศาสนาจึ ง ประทานเส้ น พระเกศาแก่ช่างทองน�ำไปบรรจุในผอบ 7 ชั้น โดย ประทานแก่พระยาอโศก ซึ่งได้มอบถวายพระอินทร์ แล้ ว ให้ พ ระวิ ษ ณุ ก รรมน� ำ ไปประดิ ษ ฐานในถ�้ ำ ใต้ จอมดอย ท�ำให้ดอยแห่งนั้นได้ชื่อว่า ดอยจอมทอง ต� ำ นานยั ง เล่ า ต่ อ อี ก ว่ า ณ บริ เ วณแถบนี้ พระพุ ท ธเจ้ า ยั ง ได้ ท รมานพญานาคในหนองเอี้ ย ง และตรัสสั่งว่า เมื่อศาสนามาถึงครึ่งค่อน 5,000 ปี ให้พญานาคสร้างรากฐานของพระพุทธศาสนาลงที่ หนองเอี้ยงและสร้างพระพุทธรูปขนาดเท่าพระพุทธ เจ้ากกุสนั ธะ (ในภัทรกัปทีเ่ ราอยูต่ อนนีม้ พี ระพุทธเจ้า อยู่ 5 พระองค์ พระพุทธเจ้ากกุสันธะเป็นองค์แรก ส่วนพระสมณโคดมเป็นองค์ที่ 4) ดังนั้น เมื่อพระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน แล้ว พญานาคจึงได้น�ำทองค�ำจากพิภพนาคมาไว้ที่ ฝั่งหนองเอี้ยง ก่อนจะเนรมิตตัวเองเป็นบุรุษนุ่งขาว และเดินทางไปหาตายายผัวเมียที่ท�ำอาชีพเลี้ยงห่าน พร้อมกับน�ำทองค�ำนัน้ มอบแก่สองตายายและให้สร้าง พระพุทธรูปตามที่พระพุทธองค์ได้ตรัสสั่งไว้ ตายาย จึงได้น�ำดังกล่าวไปใช้เป็นค่าจ้างในการถมหนองเอี้ยง จากนัน้ จึงเริม่ ก่อองค์พระเจ้าตนหลวงด้วยดินกีห่ รืออิฐ จนแล้วเสร็จเมือ่ สร้างเสร็จ พระเมืองตูไ้ ด้สง่ ราชสาส์น ไปทูลพระเมืองแก้ว กษัตริยผ์ ปู้ กครองเชียงใหม่ในเวลานัน้ ว่าการก่อสร้างพระเจ้าตนหลวงได้ส�ำเร็จเสร็จสิ้นแล้ว พระเมืองแก้วจึงพระราชทานเงินและทองด้วยความ ศรั ท ธาของพระองค์ เ พื่ อ น� ำ มาใช้ ส ร้ า งวิ ห าร และ ทรงพระราชทานพระนามแก่พระพุทธรูปองค์นี้ว่า “พระเจ้าตนหลวงทุ่งเอี้ยงเมืองพะเยา’

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 49

49

24/7/2562 9:52:38


มหัศจรรย์ศาสนสถานสมัยล้านนา

วัดเก่าแก่กลางกว๊านพะเยา อายุ 500 ปี “วัดติโลกอาราม” วัดเก่าแก่กลางกว๊านพะเยาทีม่ อี ายุราว 500 กว่าปี แห่งนี้ คือวัดติโลกอาราม เป็นศาสนสถานเก่าแก่ที่มีมา ก่อนกว๊านพะเยา ซึ่งจมอยู่ใต้กว๊านพะเยายาวนานกว่า 68 ปี ปัจจุบันตัววัดยังจมอยู่ใต้กว๊านพะเยามีเพียง ยอดเจดียท์ กี่ อ่ ด้วยอิฐดินเผา เท่านัน้ ทีโ่ ผล่ พ้นน�ำ้ ขึน้ มา ต่อมามีการค้นพบแผ่นหินทราย ซึ่งเป็นจารึกวัดติโลก อาราม จารึกด้วยอักษรฝักขาม ซึง่ ถือว่าเป็นหนึง่ ในเมือง ที่มีจารึกหินทรายสมัยล้านนามากที่สุดบอกเล่าประวัติ ของวัดไว้อย่างชัดเจน โดยระบุว่า วัดนี้ ถูกสร้างขึ้นใน รัชสมัยของพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์แห่งอาณาจักร ล้านนา สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2019 – พ.ศ. 2029 ใช้เวลาในการสร้างกว่า 10 ปี เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระเจ้ า ติ โ ลกราช ในปี พ.ศ. 2526 มีการค้นพบ พระพุทธรูป ใต้กว๊านพะเยา เป็นพระพุทธรูปหินทราย ปางมารวิชัย ศิลปะสกุลช่างพะเยา และชาวบ้านได้ อัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นมาจากน�้ำ ปัจจุบัน ประดิษฐาน อยู่บนฐานบุษบกบริเวณลานซึ่งสร้างขึ้นมาเหนือน�้ำ ที่วัดติโลกอาราม ประเพณีที่ส�ำคัญของวัดคือ การเวียนเทียน ซึ่งมี ความแตกต่างจากการเวียนเทียนในวัดอื่นๆ เป็นการ เวียนเทียนกลางน�้ำ ผู้ที่มาเวียนเทียน จะนั่งอยู่บนเรือ เพื่อท�ำการเวียนเทียนรอบลานอิฐดินเผาและพระธาตุ ที่ โ ผล่ พ ้ น ผิ ว น�้ ำ โดยในแต่ ล ะปี จ ะมี ก ารเวี ย นเที ย น ทั้งหมด 3 ครั้ง คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และ วันอาสาฬหบูชา

50

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 50

27/7/2562 14:31:31


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

24/7/2562 9:52:42


“พระนั่งดิน”

พระพุ ทธรูปมีชีวิตผู้พิทักษ์ พระพุ ทธศาสนาให้ยืนยาว 5000 ปี วัดพระนัง่ ดิน ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลเวียง อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา เป็ นวั ด ที่ อ งค์ พ ระประธานของวั ด ไม่ มี ฐ านรองรั บ เหมื อ นกั บ พระประธานองค์อื่นๆ เคยมีราษฎรสร้างฐานรองรับเพื่ออัญเชิญ พระประธานขึ้นประดิษฐานบนฐานรองรับ แต่ปรากฏว่าพยายาม ยกเท่าไรก็ยกไม่ขึ้น จึงเรียกสืบต่อกันมาว่า พระนั่งดิน นอกจากนี้ ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าขานสืบกันมาว่า เคยมีชาวบ้าน ได้พากันสร้างฐาน ชุกชีแล้วได้อนั เชิญพระเจ้านัง่ ดินขึน้ ประทับ แต่ได้เกิดเหตุอศั จรรย์ ฟ้าได้ผ่าลงมาที่กลางพระวิหารถึง 3 ครา พุทธบริษัททั้งหลายจึง อาราธนาพระเจ้านั่งดินมาประดิษฐานบนพื้นดินดังเดิมตราบจน ทุกวันนี้ ตามต�ำนานพระนั่งดินกล่าวไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้เสด็จออก โปรดเมตตาสรรพสัตว์โดยทั่วทางอภินิหารจนพระองค์ได้เสด็จมา ถึงเขตเวียงพุทธรสะ (อ�ำเภอเชียงค�ำในปัจจุบัน) พระพุทธองค์ได้ ประทับอยู่บนดอยสิงกุตตระ (พระธาตุดอยค�ำในปัจจุบัน) ทรงแผ่ เมตตาประสาทพรตรัสให้พระยาค�ำแดงเจ้าเมืองพุทธรสะในขณะนัน้ สร้างรูปเหมือนพระองค์ไว้ยงั เมืองพุทธรสะแห่งนี้ และตรัสว่า “ขอ ให้ทา่ นจงอยูร่ กั ษาศาสนาของกูตถาคตให้ครบ 5,000 พระพรรษา” พระรูปเหมือนจึงได้น้อมรับ แล้วประดิษฐานอยู่ ณ พื้นดินที่นั้น สืบมา ด้วยเหตุนี้พุทธบริษัทจึงหมายเหตุเรียกพระรูปเหมือนของ พระพุทธองค์ว่า พระเจ้านั่งดิน

52

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 52

24/7/2562 9:52:47


ศิ ลปะไทยใหญ่ ในพุ ทธศิ ลป์ “วัดนันตาราม”

วัดนันตาราม ตั้งอยู่บ้านดอนไชย ใน เขตเทศบาลต�ำบลเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา เป็นวัดที่อนุรักษ์วิหารศิลปะแบบไทยใหญ่ ตัววิหาร สร้างด้วยไม้สักทั้งหลักตกแต่ง ลวดลาย ฉลุ ไ ม้ อ ย่ า งสวยงาม ภายใน วิหารก็สงบ ขรึม เปี่ยมไปด้วยพลังแห่ง ศรัทธา มีเจดีย์แบบไทยใหญ่ มีพิพิธภัณฑ์ ธนบั ต รเก่ า เครื่ อ งใช้ โ บราณ ผ้ า ลาย โบราณ และภาพวาดโบราณเกี่ยวกับการ เทศน์มหาชาติแต่ละตอน สิ่งน่าสนใจอีก อย่ า งหนึ่ ง ในวิ ห ารก็ คื อ “ธรรมาสน์ ” สีทองเหลืองอร่ามฉลุลวดลายอ่อนช้อย สวยงาม ที่ท�ำจ�ำลองมาจากราชบัลลังก์ ของพม่าตั้งโดดเด่นอยู่ ส่วนถ้าแหงนหน้า มองเพดานก็จะพบกับลวดลายประดับ กระจกสีที่งดงามวิจิตร ซึ่งทั้งพระพุทธรูป และ ศิลปกรรมต่างๆ วัดนันตาราม ตัง้ อยู่ ใกล้กบั ตลาดเทศบาลต�ำบลเชียงค�ำ เปิดให้ เข้าชมเวลา 08.00-18.00 น.

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

24/7/2562 9:52:53


อั ศ จรรย์ แสงทองอร่ามเรืองรอง วัดอนาลโยทิพยาราม

วัดอนาลโยทิพยาราม หรือ ดอยบุษราคัม ตั้งอยู่บนดอยบุษราคัม สร้างโดยพระปัญญา พิศาลเถร (ไพบูลย์ สุมังคโล) ขณะท่านอยู่วัด รัตวนาราม โดยในสมัยนั้นท่านมีปรากฏการณ์ เห็นทรายทองไหลลงมาสู่วัดเป็นสายรังสีแสง ของทรายทองที่ไหลพรั่งพรูราวกับสายน�ำ ้ อาบ วัดทั้งวัดแทบจะกลายเป็นวัดทองคํา ท่านมอง ทวนลําแสงสีทองไป ก็เห็นเขาที่อยูอ่ ีกฟากหนึ่ง ของกว๊านพะเยา จากนั้นได้มีโยมอาราธนาไป ดูสถานที่สําคัญและแปลกประหลาดเพื่อจะได้ สร้างสํานักสงฆ์ไว้เป็นทีบ่ าํ เพ็ญกุศลของชาวบ้าน และสืบเนื่องจากชาวบ้านมักจะเห็นแสงสว่าง เป็นดวงกลมล่องลอยไปมาอยู่บนดอยสูงแสง นั้นดูสว่างเรืองรองบางทีก็สว่างจ้าเป็นสีเหลือง สดอาบทัง้ ดอยราวกับเป็นดอยทองคํา เหตุการณ์ เหล่านี้มักปรากฏในวันสําคัญทางพุทธศาสนา เช่น วันพระ 8 หรือ 15 ค�่ำเป็นต้น หลังจากที่ พิจารณาดูสถานที่แล้วเห็นว่าเป็นสถานที่สวย เหมาะสมแก่การเจริญเมตตาภาวนาเป็นอย่างยิง่ ควรที่จะสร้างให้เป็นสถานที่พักปฏิบัติธรรม ท่ า นจึ ง ได้ ร ่ ว มกั บ ศรั ท ธาชาวบ้ า นสร้ า งเป็ น อุทยานพระพุทธศาสนา ประดิษฐานพระพุทธรูป ศิ ล ปะสมั ย สุ โ ขทั ย องค์ ใ หญ่ และปู ช นี ยวั ต ถุ มากมาย บรรยากาศร่มรื่น พื้นที่กว้างขวาง แวดล้อมไปด้วยทรัพยากรป่าไม้ จากยอดดอย สามารถชมทัศนียภาพของกว๊านพะเยา และ ตัวเมืองของพะเยาได้อย่างสวยงาม อีกทั้งมี ที่พักแบบรีสอร์ทอยู่บนวัด

54

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 54

24/7/2562 9:52:55


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

24/7/2562 9:53:01


กราบพระธาตุเจดีย์ เก่าแก่อายุกว่า 800 ปี วัดพระธาตุสบแวน

วัดพระธาตุสบแวน เป็นอีกหนึง่ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วพะเยาที่ ห้ามพลาด ด้วยที่นี่มีสิ่งที่น่าสนใจมากมาย อาทิ บ้านชาวไท ลือ้ ซึง่ มีความเก่าแก่ มีลกั ษณะสถาปัตยกรรมตามแบบดัง้ เดิม ทีส่ มบูรณ์ และยังเป็นศูนย์หตั ถกรรมทอผ้า งานหัตถกรรมจาก ผ้าฝ้าย, ต้นจามจุรีขนาดใหญ่อายุกว่า 100 ปี ที่สร้างความ ร่มรืน่ ให้กบั วัดแห่งนี้ และทีต่ อ้ งไปสักการะกันให้ได้กค็ อื “พระ ธาตุสบแวน” ซึง่ เป็นเจดียเ์ ก่าแก่อายุมากกว่า 800 ปี ตัง้ อย่าง สวยงามอยู่ทางด้านหลังของวิหารภายในวัด และแวะนั่งท�ำ สมาธิสกั พักจนจิตใจสงบก็จะพบกับความสบายใจไร้กาลเวลา

56

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 56

24/7/2562 9:53:05


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

24/7/2562 9:53:11


้น พลิ ก ฟื คืนลมหายใจล้านนา หอวัฒนธรรมนิทัศน์ วัดศรีโคมค�ำ

เดินทางรอบเมืองพะเยา แล้วหมุนกลับมา ที่วัดศรีโคมค�ำอีกครั้ง ที่นี่ยังมีสถานที่จัดแสดง วัตถุโบราณ รวมถึงเอกสารข้อมูลส�ำคัญทาง ประวัติศาสตร์ ทั้งด้านวรรณกรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และวิถีความเป็น อยู่ของชาวบ้านในจังหวัดพะเยา เป็น ผลงาน แห่งความอุตสาหพยายามในการสืบเสาะและ เก็บรักษาของหลวงพ่อ พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ เจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำเป็นเวลากว่า 43 ปี ที่ หลวงพ่อได้พบซากปรักหักพังและประติมากรรม ในยุคหินทรายของเมืองพะเยา (พุทธศตวรรษที่ 20-22) อาทิ ส่วนเศียรและส่วนองค์พระพุทธรูป ที่แตกหัก ช้างเอราวัณ 4 เศียร ดอกบัวหินทราย ถ้วยชามเวียงกาหลง เป็นต้น

58

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 58

27/7/2562 14:29:17


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 59

59

24/7/2562 9:53:20


Cultural Exhibition Hall

ว่าจะกลายเป็นหอวัฒนธรรมนิทศั น์ วัดศรีโคมค�ำต้องใช้ระยะเวลากว่า 32 ปี จึงแล้ว เสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2539 หอวัฒนธรรม นิทัศน์ วัดศรีโคมค�ำได้รับการออกแบบด้วย ศิลปะล้านนาประยุกต์ด้านหลังอาคารติดกับ กว๊ า นพะเยาจึ ง มี ภู มิ ทั ศ น์ ที่ ส วยงามตาม ธรรมชาติ ภายในอาคาร 2 ชั้น ประกอบด้วย ห้องจัดแสดงทัง้ หมด 5 ห้อง แต่ละห้องแบ่งเป็น ส่วนๆ รวมทั้งหมดเป็น 12 ส่วน ได้แก่ 1. กว๊านพะเยา 2. ลานศิลาจารึก 3. พะเยาก่อนประวัติศาสตร์ 4. พะเยายุคต้น 5. พะเยายุครุ่งเรือง 6. เครื่องปั้นดินเผา 7. พะเยายุคหลัง 8. กบฏเงี้ยว 9. ประวัติพระเจ้าตนหลวง 10. วีถชี วี ติ และภูมปิ ญ ั ญาพะเยากับความหวัง 11. คนกับช้าง 12. คลังวัตถุโบราณ

60

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 60

24/7/2562 9:53:26


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 61

61

24/7/2562 9:53:36


62

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 62

24/7/2562 9:53:38


once...

ครั้งหนึ่ง

พระพุ ทธเจ้าเสด็จมาที่นี่ วัดพระธาตุดอยหยวก

วั ด พระธาตุ ด อยหยวกตั้ ง อยู ่ บ นเนิ น เขา บรรยากาศร่ ม รื่ น เงี ย บสงบ เป็ นวั ด ส� ำ คั ญ ของ อ�ำเภอปง พระธาตุมีลักษณะงดงามมาก เป็นศิลปะ เฉพาะของพะเยา เจดียส์ ที อง วิหารเป็นทรงล้านนา ต�ำนานกล่าวไว้ว่า เมื่อครั้งพุทธกาล พระพุทธเจ้า เสด็จมายังดอยภูเติม พญานาคที่รักษาดอยนี้คิด ว่าพระองค์เป็นพญาครุฑ จึงแทรกกายหนี ครั้นได้ ฟังธรรมจากพระองค์ พญานาคก็เกิดความเลื่อมใส พระพุ ท ธองค์ จึ ง มอบพระเกศาให้ และตรั ส กั บ พระอานนท์ว่า เมื่อพระตถาคตนิพพานแล้ว ให้นำ� กระดูกริมตาขวามาไว้รวมกับพระเกศานั้น กาลข้าง หน้าจะมีชอื่ ว่าพระธาตุภเู ติม จึงมีการสร้างพระธาตุ และบรรจุพระเกศาธาตุและพระบรมสารีริกธาตุที่ เป็นกระดูกตาขวาไว้ภายใน ต่อมาเรียกภายหลังว่า พระธาตุดอยหยวก

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

24/7/2562 9:53:41


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดศรีโคมค�ำ

วัดพระเจ้าตนหลวง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญสังกัดมหานิกาย ภายในวิหารประดิษฐานพระเจ้าตนหลวง เป็นพระประธาน สร้างขึ้นในรัชสมัยของพญายอดเชียงราย กษัตริย์ล�ำดับที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย

64

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

ver.2.indd 64

23/7/2562 16:20:54


ประวัติวัดศรีโคมค�ำ พอสังเขป วัดศรีโคมค�ำ ตั้งอยู่ริมกว๊านพะเยาเขตเทศบาลเมืองพะเยา เลขที่ 692 ถนนพหลโยธิน หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ห่างจากตัวเมืองไปทางเหนือประมาณ 1,000 เมตร เริ่มก่อสร้างองค์พระประธาน (พระเจ้าตนหลวง)เมื่อ พ.ศ. 2034 มาส�ำเร็จ บริบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2067 ใช้เวลาสร้างโดยประมาณ 33 ปี จัดเป็นวัดโดยสมบูรณ์ การก่อสร้าง ในสมัยนั้นพระเมืองตู้ เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาผู้ทรงอุปถัมภ์ วัดศรีโคมค�ำเป็นวัดที่สร้างขึ้นภายหลังจากการก่อสร้างพระเจ้าตนหลวง ตัววิหารหลังเดิม ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าผู้ใดสร้าง เนื่องจากเมืองพะเยามีการอพยพผู้คนจากภัยสงคราม

ท� ำ ให้ ตั ว เมื อ งถู ก ปล่ อ ยร้ า ง จนกระทั่ ง มี ก ารฟื ้ น ฟู เมืองขึ้นมาใหม่ หลังยุคที่กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ ตีเอาล้านนามาจากพม่า มาจนถึงช่วงทีพ่ ระยาประเทศ อุดรทิศ เป็นผู้ครองเมืองพะเยาคนสุดท้าย ก่อนที่จะมี การเปลี่ยนระบบการปกครองแบบหัวเมือง มาเป็น มณฑลเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 ช่วงสมัยนี้ เริ่มมี การบูรณะวัดศรีโคมค�ำและพระเจ้าตนหลวงขึ้นมา อีกครั้ง หลังตัววัดและองค์พระมีสภาพทรุดโทรมมา เกือบ 60 ปี การบูรณะวัดศรีโคมค�ำ เป็นการบูรณะไป ทีละส่วน เนือ่ งจากขาดงบประมาณ ท�ำให้เกิดความล่าช้า จนเมื่อ ปี พ.ศ. 2465 ชาวเมืองพะเยา ภายใต้การน�ำ ของพระยาประเทศอุดรทิศได้อาราธนาครูบาศรีวิชัย จากเมืองล�ำพูน เข้ามาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ การบูรณะวัด ปี พ.ศ. 2466 ภายใต้การน�ำของครูบาศรีวิชัย ได้มีการ รือ้ วิหารหลังเก่าทีค่ รอบพระเจ้าตนหลวงออกแล้วสร้าง หลังใหม่ขึ้นมาแทน มีการสร้างศาลาราย โบสถ์ วิหาร พระพุทธบาทจ�ำลอง ทั้งหมดแล้วเสร็จภายในระยะ เวลาเพียง 1 ปี จนเมื่อปี พ.ศ. 2467 ก็ได้มีการท�ำบุญ ฉลองวัดที่บูรณะขึ้นมาใหม่ เป็นระยะเวลานานกว่า หนึ่งเดือน

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส วัดศรีโคมค�ำ

- พ.ศ.2465-2467 พระครูศรีวิราชวชิรปัญญา เจ้าคณะแขวงเมืองพะเยาเป็นเจ้าอาวาส - พ.ศ.2488-2506 ครูบาปัญญา ปญฺโญ เป็นเจ้าอาวาส - พ.ศ.2506-2509 ครูบาแก้ว คนฺธวํโส เป็นเจ้าอาวาส - พ.ศ.2509-ปัจจุบัน พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ( ปวง ธมฺมปญฺญมหาเถร ป.ธ.5) PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ver.2.indd 65

65

23/7/2562 16:21:00


ประวัติพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ ) พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ) มีนามเดิมว่า ปวง นามสกุล วงศ์เรือง เกิดเมื่อวันพุธที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 แรม 7 ค�่ำ เดือน 8 (เดือน 10 ตามปฏิทินล้านนา) ปีมะเส็ง ณ บ้านสางเหนือ ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โยมบิดาชื่อพ่อหนานปุ๊ด วงศ์เรือง โยมมารดาชื่อ แม่หลวง วงศ์เรือง

อุปสมบท บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 ขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 6 (เดือน 8 เหนือ) ปีวอก ณ วัดสางเหนือ ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีพระอุปัชฌาย์ชื่อเจ้าอธิการตื้อ ธมฺมวํโส วัดศรีบุญเรือง ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันศุกร์ที่ 10 มิถุนายน 2481 ขึ้น 12 ค�่ำ เดือน 7 (เดือน 9 เหนือ) ปีขาล ณ พัทธสีมาวัดสางเหนือ โดยมีพระอุปชั ฌาย์ ชื่อเจ้าอธิการตื้อ ธมฺมวํโส วัดศรีบุญเรือง พระกรรมวาจาจารย์ พระปวง ธมฺมวโร วัดศรีบุญเรือง ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา และพระอนุสาวนาจารย์ พระตุ้ย ญาณรํสี วัดสันกว๊าน ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ได้รับฉายานามว่า ธมฺมปญฺโญ วิทยฐานะ - จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านสาง ต�ำบลบ้านสาง อ�ำเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา - พ.ศ. 2475 สอบได้นกั ธรรมชัน้ ตรี ส�ำนักศาสนศึกษาวัดสางใต้ อ�ำเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา - พ.ศ. 2483 สอบได้นักธรรมชั้นโท ส�ำนักเรียนวัดมหาพฤฒารามวรวิหาร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร - พ.ศ. 2484 สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ส�ำนักเรียนวัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร - พ.ศ. 2485 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียนวัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนารามราชวรวิหาร เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร - พ.ศ. 2487 สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค ส�ำนักเรียนวัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร การปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484 เป็นเจ้าอาวาสวัดเมืองชุม พ.ศ. 2484 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพะเยา พ.ศ. 2490 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2497 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีอุโมงค์ค�ำ (วัดสูง ) พ.ศ. 2501 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2512 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำ ต่อมาวัดได้ยกฐานะเป็นพระอาราม หลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ พ.ศ. 2521 เป็นเจ้าคณะจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2526 เป็นรองเจ้าคณะภาค 6 พ.ศ. 2542 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 66

เกียรติคุณที่ ได้รับ พ.ศ. 2526 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติจากมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ พ.ศ. 2528 ได้รับเหรียญเชิดชูเกียรติในโครงการแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง จาก ฯ พณ ฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2529 ได้รับยกย่องเชิดชูด้านการส่งเสริมการศึกษาพระพุทธศาสนา จากคณะกรรมการอ�ำนวยการงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา พ.ศ. 2532 ได้รับพระราชทานโล่ผู้อนุรักษ์วัฒนธรรมดีเด่นจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2533 ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้าน วัฒนธรรม สาขามนุษยศาสตร์ จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 ได้รับการถวายปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา มนุษยศาสตร์ จากวิทยาลัยครูเชียงราย พ.ศ. 2536 ได้รับเกียรติคุณ คนดีศรีสังคม ของมูลนิธิประภาส อวยชัย พ.ศ. 2538 ได้รับการถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาไทยคดีศึกษา จากมหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2540 ได้รับเข็มและโล่ประกาศเกียรติคุณผู้อนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น ประจ�ำปี 2541 จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. 2545 ได้รับการถวายปริญญาพุทธศาสตร์บัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขา ภาษาไทย จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. 2550 ได้รับการถวายปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ 3 สาขาปริญญา จาก 3 มหาวิทยาลัย คือมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, มหาวิทยาลัยราชภัฏ ล�ำปาง และมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง พ.ศ. 2557 ได้รับการถวายถวายปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยพะเยา ผลงานด้านศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์โบราณคดี เป็นพระสงฆ์ที่มคี วามเข้าใจและมีวิริยะอุตสาหะการศึกษาค้นคว้าด้าน ประวัตศิ าสตร์โบราณคดีของล้านนาและเมืองพะเยา เป็นเวลานานมากกว่า 40 ปี เป็นผู้เปิดประตูเมืองพะเยาในอดีตให้อนุชนได้ศึกษาทั้งส่วนของ โบราณสถาน โบราณวัตถุ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจความหวงแหน วัฒนธรรมของตนอันเป็นมรดกอันล�้ำค่าได้เก็บสะสมโบราณวัตถุต่างๆ มา ตั้งแต่ พ.ศ. 2508 มีโบราณวัตถุตา่ งๆ เป็นจ�ำนวนมาก เช่น ประติมากรรม ศิลปวัตถุ ศิลาจารึก โบราณวัตถอื่นๆ อีกมากมาย พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ปวง ธมฺมปญฺโญ ) อายุ 102 ปี 82 พรรษา มรณภาพ วันที่ 29 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 โดยมีพระสุนทรกิตติคณ ุ รักษาการ แทนเจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำ เป็นผู้ดูแลและพัฒนาวัดแทนเจ้าอาวาส ซึ่งมี ผู้ช่วยเจ้าอาวาส ดังนี้ 1. พระราชปริยัติ 2. พระครูโสภณปริยัติสุขี 3. พระครูศรีวรพินจ 4. พระครูพินิต ธรรมประภาส 5. พระครูปลัดสุวัฒนจริยคุณ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

ver.2.indd 66

23/7/2562 16:21:05


พระอุบาลีคุณูปมาจารย์

อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะ ภาค ๖ , อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำ PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ver.2.indd 67

67

23/7/2562 16:21:09


จุดที่น่าสนใจบริเวณวัดและใกล้เคียง อุโบสถกลางน�้ำ ศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2528 รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ตัวอุโบสถ สร้างยื่นเข้าไปในกว๊านพะเยา ด้านหน้ามีทางเดินเชื่อม ภายในมีภาพเขียน จิตรกรรมฝาผนังของ อังคาร กัลยาณพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ

พร

ะปร

68

ะธานใ

า นอุโบสถกล

งน้นำ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

ver.2.indd 68

23/7/2562 16:21:30


หอวัฒนธรรมนิทัศน์ เป็นพิพิธภัณฑ์แสดงโบราณวัตถุ เอกสาร ข้อมูล ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดพะเยา เช่น ความเป็นมา วรรณกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของ ชาวพะเยา พิพิธภัณฑ์ เปิดท�ำการ เวลา 09.00-16.00 น. หยุดวันจันทร์ และอังคาร จุดชมพระอาทิตย์ตกดินริมกว๊านพะเยา อยู่ด้านหลังวัดศรีโคมค�ำ ติดกับกว๊านพะเยา จากจุดนี้ สามารถมองเห็นทิวเขาผีปันน�้ำทอดตัวเป็น แนวยาวอยู่ด้านหลังกว๊านพะเยาได้อย่างชัดเจน จุดชมพระอาทิตย์ตก ด้านหลังวัดศรีโคมค�ำนี้ เป็นหนึ่งในสถานที่ ที่สามารถมองเห็นพระอาทิตย์ ตกดิน นกน�้ำ กว๊านพะเยา และทิวเขา ได้สวยงามที่สุดของจังหวัดพะเยา

ชวนเที่ยว สวนเปรต วัดศรีโคมค�ำ สวนเปรตแห่งนี้ สร้างขึ้นเพื่อต้องการให้ผู้คนที่เข้ามาชม ได้รู้จัก บาป บุญ คุณ โทษ เกรงกลัวต่อบาป

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ver.2.indd 69

69

23/7/2562 16:21:48


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดศรีอุโมงค์ค�ำ

กราบพระเจดีย์สมัยเชียงแสนสักการะพระเจ้าล้านตื้อ(พระเจ้าแสนแซ่) พระเทพญาณเวที เจ้าอาวาสวัดศรีอุโมงค์ค�ำ

วัดศรีอุโมงค์ค�ำ ตั้งอยู่เลขที่ 3 ถนนท่ากว๊าน ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ชาวบ้านเรียกว่า วัดสูง เพราะตั้งอยู่ในที่ราบสูงทั้งเจดีย์ และพระอุโบสถยังตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมยกสูงอีก ดังนั้นจึงท�ำให้วัดนี้ สู ง สง่ า งาม ประตู ท างเข้ า เป็ น ซุ ้ ม ประตู ไ ม้ แ กะสลั ก ใช้ แ ป้ น เก็ จ เป็ น แผ่นปูท�ำหลังคา ก�ำแพงก่ออิฐท�ำเหมือนก�ำแพงเมืองเก่าไม่มีการฉาบปูน 70

สีอิฐไหม้ท�ำให้นึกถึงก�ำแพงโบราณ เข้าไปด้านหน้าประตูจะต้องขึ้นบันได สองชั้นเข้าไปสู่พระอุโบสถ หน้าบันเป็นลายไทยปูนปั้นติดกระจกพื้น สีเขียวท�ำให้แปลกตาไปอีกแบบหนึ่ง ใบระกามีชั้นเดียวแต่มีมุขซ้อนกัน สามชั้น

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 70

23/7/2562 10:57:55


พระเจ้าล้านตื้อ (พระเจ้าแสนแซ่) พระเจ้ า ล้ า นตื้ อ มี ห ลั ก ฐานปรากฏในศิ ล าจารึ ก ว่ า สร้ า งขึ้ น ในสมัยพระเจ้าเมืองสร้อยพะเยา ในราวปี พ.ศ. 2058 แต่ ไม่ ท ราบว่ า แต่ เ ดิ ม มาจากที่ ไ หน เพราะพบถู ก ทิ้ ง อยู ่ ที่ สนามเวียงแก้ว (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งศาลหลักเมืองพะเยา) ก่อนถูกอัญเชิญมาเป็นพระประธานภายในโบสถ์ของ วั ด ศรี อุ โ มงค์ ค� ำ พระเจ้ า ล้ า นตื้ อ เป็ น ปางมารวิ ชั ย ท�ำจากทองส�ำริดหน้าตักกว้าง 184 เซนติเมตร สูง 270 เซนติเมตร ส�ำหรับพระเจ้าล้านตื้อ ยังมีอีกสองชื่อเรียก คือ “พระเจ้า แสนแซ่” หรือ “หลวงพ่องามเมืองเรืองฤทธิ์” พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ มี ค วามพิ เ ศษตรงที่ ตลอดทั้ ง องค์ ข องท่ า น ช่างท�ำเป็นสลัก สามารถถอดประกอบได้ มีทั้งหมด 4 จุดด้วยกัน คือทีพ่ ระศอ(คอ) ข้อศอกทัง้ 2 ข้าง และทีเ่ อว ส่วนชือ่ “หลวงพ่องาม เมืองเรืองฤทธิ์” นั้น เป็นชื่อที่มาทีหลัง ตั้งเพื่อยกย่องให้เกียรติ ในความงดงามของพระเจ้าล้านตื้อ ซึ่งได้รับการยกย่องว่า เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี พุ ท ธลั ก ษณะงดงามที่ สุ ด องค์ ห นึ่ ง แห่งล้านนา พระเจ้าล้านตื้อ มีพระวรกายอวบอิม่ สีทอง งามอร่าม พระพักตร์ ดูอมยิม้ อยูต่ ลอดเวลา

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 71

71

23/7/2562 10:57:58


พระเจ้าทันใจ พระเจ้าทันใจ ดัง้ เดิมเป็นพระจากทีไ่ หนไม่มใี ครทราบ แต่ในปี พ.ศ.2497 หลวงพ่อใหญ่ หรือ พระธรรมวิมลโมลี ขณะนัน้ เป็นพระครูพนิ ติ ธรรมประภาส ได้ยา้ ยจากวัดเมืองชุม ต�ำบลแม่ตำ�๋ มาเป็นเจ้าอาวาสทีว่ ดั แห่งนี้ หลวงพ่อใหญ่ เป็นผู้นิยมสะสมพระพุทธรูปเก่า เมื่อท่านพบพระพุทธรูปองค์นี้ที่สวนของ นายอัฐ สายวรรณะ ใกล้ๆ กับป่าช้าวัดลี (แหล่งขุดค้นงานพุทธศิลป์ 72

หิ น ทรายอั น ส� ำ คั ญ แห่ ง เมื อ งพะเยา) จึ ง อั ญ เชิ ญ มาประดิ ษ ฐานที่ วัดศรีอุโมงค์ค�ำในปีเดียวกัน พระเจ้าทันใจองค์นี้ เป็นพระพุทธรูปหินทราย ที่ได้ชื่อว่ามีความสมบูรณ์ที่สุดในบรรดาพระพุทธรูปหินทรายที่ขุดค้นพบ เดิ ม พระพุ ท ธรู ป องค์ นี้ ไ ม่ มี ชื่ อ เรี ย ก แต่ ด ้ ว ยความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องท่ า น คนที่มาสักการะขอพรมักสมหวัง ชาวบ้านจึงเรียกท่านว่า พระเจ้าทันใจ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 72

23/7/2562 10:58:02


ความส�ำคัญของวัด เป็นวัดที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองพะเยาอีกองค์หนึ่ง นามว่า “หลวงพ่องามเมืองเรืองฤทธิ์” (ชาวบ้านเรียก พระเจ้าล้านตื้อ) ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ทางศิลปะของเมืองภูกามยาว พระเจ้าล้านตื้อเป็น พระประธานในวั ด ศรี อุ โ มงค์ ค� ำ ซึ่ ง เป็ น เนื้ อ สั ม ฤทธิ์ ป างมารวิ ชั ย หน้าตักกว้าง 184 เซนติเมตร สูงทั้งฐาน 270 เซนติเมตร ได้รับ การยกย่องว่าเป็นพระพุทธรูปที่งดงามที่สุดในล้านนาไทย บริเวณหลังพระอุโบสถก็มีพระเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยม กว้างยาว ประมาณเกือบ 30 เมตร เป็นเจดีย์ศิลปะล้านนาอีกสมัยหนึ่ง เรียกว่าเจดียห์ น้าไม้สบิ สอง มีซมุ้ จรน�ำทัง้ สีท่ ศิ มีพระพุทธรูป ปางต่างๆ ประดิษฐานอยู่ในซุ้มเจดีย์องค์นี้ได้รับการบูรณะ ซ่อมแซมมาหลายครัง้ เพราะเคยถูกฟ้าผ่าหักโค่น สมัยหนึง่ มีการบูรณะขึ้นมาใหม่ ส่วนล่างของฐานพระอุโบสถและ เจดีย์ ยังมีวิหารเล็กๆ กว้างประมาณ 10 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป ส�ำคัญสององค์

วัดศรีอุโมงค์ค�ำ เป็นวัดที่มีพระเจดีย์สมัยเชียงแสนที่อยู่ในสภาพ ที่สมบูรณ์มาก พระธาตุเจดีย์สีทองอร่ามบนฐานสี่เหลี่ยมยกสูงตั้งเด่น เป็ น สง่ า เป็ น เจดี ย ์ ศิ ล ปะล้ า นนาหน้ า ไม้ สิ บ สอง ฐานสี่ เ หลี่ ย ม ซ้อนกัน 3 ชั้น เรือนธาตุรูปแปดเหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มจระน�ำทั้งสี่ทิศ มีพระพุทธรูปปางต่างๆ ประดิษฐานอยู่ในซุ้ม ด้วยความที่เจดีย์องค์นี้ ในอดีตมักถูกฟ้าผ่าอยู่บ่อยครั้ง ท�ำให้ คนโบราณหลายคนเชื่อว่าเป็นเจดีย์อาถรรพ์ แต่หากมองกัน ในข้อเท็จจริงของหลักวิทยาศาสตร์ ยุคนั้นยังไม่มีสายล่อฟ้า การที่เจดีย์องค์น้ีตั้งอยู่บนเนินที่สูงถือเป็นสื่อน�ำไฟฟ้า อย่างดี ดังนั้นเมื่อกาลเวลาผ่านไปมีการติดตั้งสายล่อ ฟ้าที่เจดีย์ขึ้นก็ท�ำให้ปัญหาเรื่องฟ้าผ่าเจดีย์หักพัง เป็นอันหมดไป

องค์พระธาตุเจดีย์ PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 73

73

23/7/2562 10:58:05


โรงเรียนพินิตประสาธน์

วิหารพระเจ้าทันใจ 74

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 74

23/7/2562 10:58:18


สิ่งส�ำคัญภายในวัด วิหารเล็ก ด้านล่างของฐานพระอุโบสถและเจดีย์ ยังมีวิหารเล็กๆ กว้างประมาณ 10 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปส�ำคัญ สององค์ องค์แรก คือ พระพุทธรูปหินทรายพระเจ้าทันใจ พระพุทธรูปอีกองค์คือ พระพุทธรูปหินทรายกว๊านพะเยา พระเจ้ากว๊าน พระเจ้ากว๊าน หรือ “หลวงพ่อศิลา” เป็นพระพุทธรูปหินทรายสกุล ช่างพะเยา ปางมารวิชัยอายุเก่าแก่กว่า 500 ปี ถูกค้นพบในกว๊านพะเยา ช่วงน�้ำลดในปี พ.ศ. 2526 (ก่อนจะเป็นอ่างเก็บน�้ำในปีพ.ศ. 2482 กว๊าน พะเยาเคยเป็นชุมชนมีวัดมีหมู่บ้านมาก่อน) พระเจ้ากว๊าน ถูกอัญเชิญ จากกว๊านพะเยามาประดิษฐานที่วัดศรีอุโมงค์ค�ำอยู่ 20 กว่าปี จนกระทั่ง ทางการบูรณะปรับแต่ง “วัดติโลกอาราม” กลางกว๊านพะเยาเสร็จสิ้น จึงได้อัญเชิญหลวงพ่อศิลากลับไปประดิษฐานที่วัดติโลกอารามในกว๊าน พะเยาตามเดิม ทางวัดศรีอุโมงค์ค�ำจึงสร้างองค์พระเจ้ากว๊านจ�ำลอง ขึ้นมาเพื่อร�ำลึกว่าครั้งหนึ่งท่านเคยมาประดิษฐานอยู่ที่วัดศรีอุโมงค์ค�ำ พระเจ้าแข้งคม พระเจ้ า แข้ ง คม ประดิ ษ ฐานอยู ่ ท างมุ ม ด้ า นขวาของโบสถ์ เป็ น พระพุทธรูปหินทรายที่เป็นผลงานศิลปะพื้นบ้าน เหตุที่พระพุทธรูปองค์น้ี ได้ชื่อว่าพระเจ้าแข้งคม เป็นเพราะท่านมีหน้าแข้ง (พระชงฆ์) เป็นเหลี่ยม เป็นสันคมชัดอย่างชัดเจน ซึ่งพระพุทธรูปแบบนี้ในเมืองพะเยามีไม่มากนัก และที่มีชื่อเสียงคล้ายกับพระเจ้าแข้งคมเมืองพะเยา คือพระเจ้าแข้งคม วัดศรีเกิดเชียงใหม่ สันนิษฐานว่าพระเจ้าแข้งคมวัดศรีเกิดกับพระเจ้าแข้งคม วัดศรีอุโมงค์ค�ำมีความเกี่ยวพันกันทางด้านศิลปะ นับเป็นอีกหนึ่งในงาน พุทธศิลป์พื้นบ้านล้านนา เส้นทางการเดินทางและแผนที่ จากศาลากลางจังหวัดพะเยา ใช้ถนนเส้นทางไปต�ำบลเวียง โดยเริ่มต้น จากถนนหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ไปจนถึงสามแยกร่องห้า แล้ว เลี้ยวขวาขับตรงไปตามถนนจะผ่านทางเข้าสถานีขนส่งผู้โดยสาร บขส. ด้ า นซ้ า ยมื อ เลยไปไม่ ไ กลจะมี ป ้ า ยบอกทางเข้ า ไปวั ด ศรี อุ โ มงค์ ค� ำ รวมระยะทางประมาณ 5.5 กิโลเมตร

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 75

75

23/7/2562 10:58:27


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดหลวงราชสัณฐาน (วัดหลวงใน) ศึกษา “พระสถูปเจดีย์หินทราย” หนึ่งเดียวในพะเยา ชวนชม “ภาพพุทธประวัติ” จิตรกรรมบนแผ่นไม้ พระครูอุปถัมภ์จันทวงศ์ เจ้าอาวาสวัดหลวงราชสัณฐาน (วัดหลวงใน)

วัดหลวงราชสัณฐาน (วัดหลวงใน) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 945/4 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา เป็นวัดเก่าแก่ทอี่ ยูค่ บู่ า้ นคูเ่ มือง พะเยามาช้านาน เดิมเคยเป็นวัดร้าง ต่อมาเจ้าหลวงวงศ์ผู้ครองเมืองพะเยา ได้บูรณปฏิสังขรณ์จนแล้วเสร็จเป็นวัดที่สมบูรณ์ จากนั้นในปี พ.ศ. 2387 ชาวบ้านจึงเรียกว่า “วัดหลวง” ต่อมาได้ชื่อว่า “วัดหลวงราชสัณฐาน” ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ. 2478 วัดหลวงราชสัณฐาน เป็นสถาปัตยกรรมแบบพืน้ เมืองล้านนาทีส่ วยงาม มีอายุกว่าร้อยปี วิหารเดิมของวัดสร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 1717 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2527 เกิดพายุฝนท�ำให้วิหารพังทลายลงมาทั้งหมด รวมทั้งภาพ จิตรกรรมบนแผ่นไม้ดว้ ย ต่อมามีการสร้างวิหารหลังใหม่ โดยสร้างวิหารบน ฐานเดิมและคงรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบเดิมไว้ แต่ได้มีการปรับเปลี่ยน รูปแบบบ้างในบางส่วน และได้น�ำภาพจิตรกรรมของเดิมที่ยังเหลืออยู่มาไว้ ในวิหารหลังใหม่ 76

พระครูอุปถัมภ์จันทวงศ์ เจ้าอาวาสวัดหลวงราชสัณฐาน เจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดพะเยาแห่งที่ 9

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 76

23/7/2562 13:14:49


โบราณสถานในวัด

จิตรกรรมฝาหนังภายในวัด

ภายในวัดมีโบราณสถานที่ส�ำคัญคือ องค์พระเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรง พื้นเมืองล้านนา ประกอบด้วยฐานเขียงสี่เหลี่ยมสามชั้น ต่อด้วยบัวหงาย มีเรือนธาตุถดั ขึน้ ไป เป็นบัวคว�ำ่ บัวหงาย ต่อด้วยฐานเขียงรูปทรงกลมสามชัน้ ต่อด้วยมาลัยเถา รูปทรงกลม ถัดขึน้ เป็นคอระฆังกลม องค์ระฆังรูป 8 เหลีย่ ม ถัดขึ้นไปเป็นบัลลังก์ 8 เหลี่ยม ปล้องไฉนเป็นปูนปั้นรูปกลีบบัว 2 ชั้นและ ปลียอด นอกจากนี้ มีการค้นพบพระสถูปเจดีย์หินทราย 1 องค์ มีลักษณะ รูปทรงคล้ายเจดีย์แบบสุโขทัย อยู่ในพุทธศตวรรษที่ 20-21 ตั้งอยู่ดา้ นหลัง วิหาร มีเพียงหนึ่งเดียวในพะเยา

“พุทธประวัติ” จิตรกรรมบนแผ่นไม้ ภาพจิตรกรรมแผ่นไม้ในวัดหลวงราชสัณฐานเป็นภาพเขียนสมัยโบราณ อายุกว่าร้อยปี เขียนด้วยสีฝุ่นผสมกาวยางไม้ เขียนลงบนกระดาษสา และแปะอยู่บนแผ่นไม้ แต่เดิมเป็นฝาผนังและหน้าต่างของวิหาร เรื่องราว ทีเ่ ขียนเป็นเรือ่ งพุทธประวัตแิ ละมหาชาติชาดก ภาพเขียนสีคอ่ นข้างเลือนราง ดูไม่ชดั เจนเท่าไร แต่ทรงคุณค่าในเชิงประวัตศิ าสตร์ทางด้านความศรัทธาใน บวรพระพุทธศาสนาของคนสมัยก่อนทีต่ อ่ เนือ่ งมายาวนาน ซึง่ ทางวัดได้เก็บ รักษาไว้เป็นมรดกอย่างดีเพื่อเผยแพร่ให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้และศึกษา ประวัติความเป็นมาของพระพุทธเจ้าและมหาชาติชาดกในสมัยที่พระพุทธ องค์ทรงเป็นพระโพธิสัตว์ว่าทรงบ�ำเพ็ญบารมีมาอย่างยิ่งยวดอย่างไรใน แต่ละชาติ พระองค์ทรงเสียสละแม้แต่ชีวิตตนเองในแต่ละชาติเพียงใด พระองค์ทรงมีความกตัญญูกตเวทีมหาศาลขนาดไหน เพื่อเป็นก�ำลังใจ ในการบ�ำเพ็ญโพธิญาณตามรอยพระพุทธเจ้าอย่างไม่ลดละของคนรุน่ นีแ้ ละ รุ่นต่อๆ ไป

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

23/7/2562 13:14:59


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดพระธาตุจอมทอง

นมัสการพระพุทธเจ้า ณ สถานที่ประดิษฐานพระเกสาธาตุ และพระบรมสารีริกธาตุแขนเบื้องซ้าย ณ พระธาตุประจ�ำเมืองพะเยา เวียงพระธาตุ และกราบสักการะพระเจ้าทันใจ

วัดพระธาตุจอมทอง ตั้งอยู่บนดอยจอมทอง ในเขตพื้นที่ต�ำบลต๋อม อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ทางด้านทิศเหนือของเมืองพะเยา เป็นทีธ่ รณีสงฆ์ ของวัดศรีโคมค�ำ (พระเจ้าตนหลวง) พระอารามหลวง ตามกฎหมาย สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ภาค 6 มีเนื้อที่ประมาณ 105 ไร่ ปัจจุบันมีพระสงฆ์ จ�ำพรรษาอยู่จ�ำนวน 7 รูป

ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก จาก “พุทธต�ำนาน” สู่ มหาธาตุเมืองพะเยา ในต�ำนานล้านนา ปรากฏในอดีตกาลพระพุทธเจ้ามีพระชนมายุ 60 พรรษา ได้เสด็จจากชมพูทวีปสูโ่ ยนกประเทศด้วยพุทธอิทธิฤทธิเ์ พือ่ โปรดสรรพสัตว์ พระพุทธเจ้าทรงเสด็จสัญจรไปตามหัวเมืองต่างๆ เช่นเชียงใหม่ ล�ำพูน ถึง เมืองลื้อ เมืองไต เมืองยอง เชียงแสน และพะเยา โดยเสด็จไปประทับที่ ดอยจอมทอง ที่นั่นก็พบนายช่างทอง(ช่างโลหะ) ผู้หนึ่งตีทอง(โลหะ) ขายเป็นอาชีพอยู่บนดอย ช่างทองก็มีศรัทธาเลื่อมใสจึงจัดท�ำข้าวอาหาร 78

ถวายเป็นข้าวบิณฑบาตและปัจจัยอันควรฉันแด่พระองค์ พระองค์ทรงรับ ข้ า วบิ ณ ฑบาตแล้ ว ก็ ฉั น ภั ต ตาหารบนดอยที่ นั้ น ครั้ น พระพุ ท ธองค์ ฉันภัตตาหารเสร็จ แล้วจึงตรัสแก่พระอานนท์วา่ “ดูกรอานนท์ ฐานะทีน่ ดี่ นี กั ควรตั้งศาสนา ณ ที่แห่งหนึ่ง” แล้วพระอานนท์จึงกราบทูลขอพระธาตุต่อ พระพุทธเจ้า พระองค์จึงเอาพระหัตถ์ขวาลูบบนศีรษะก็ได้พระเกสา 1 เส้น มอบให้แก่พระอานนท์ พระอานนท์ก็ทรงรับพระเกสาแล้วส่งต่อมอบให้ พญา(กษัตริย์)อโศก พญาอโศกรับเอาแล้วส่งมอบให้แก่นายช่างทอง นายช่างทองจึงเอากระบอกไม้รวกมารับเอา แล้วพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า “ให้พระธาตุกพู ระตถาคตเข้าไว้ในดอยทีน่ เี้ ต๊อะ” พญาอโศกและพญาอินทร์ จึงเอาใส่อูบ(ผอบ)แก้ว ใส่อูบค�ำ อูบเงิน และใส่อูบหิน แล้วจึงเอาลงใส่ใน ถ�้ำลึก 70 วา พญาอินทร์ก็เจาะตามประทีปทิพย์ส่องไว้แล้วใส่ยันต์ทิพย์ ไว้ตราบเท่า 5,000 พระวัสสา ใส่ลงในถ�้ำลึก 70 วา แล้วพระพุทธองค์ตรัส สั่งไว้ว่า เมื่อเราตถาคต เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว จงเอาพระธาตุ แขนซ้ายของพระตถาคตมาไว้ในถ�้ำที่นี่

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 78

23/7/2562 13:18:01


ประวัติศาสตร์วัดพระธาตุจอมทอง เวียงมหาธาตุเมืองพะเยา เมื่อพ.ศ. 1840 หลังการสิ้นพระชนม์ของมหาเทวีอั้วมิ่งเชียงแสน พญาง�ำเมืองกษัตริย์เมืองพะเยาได้ถวายชาวลัวะไว้เป็นข้าในพระธาตุเจ้า ตามโบราณราชประเพณีอันมีมาแต่ก่อนเช่นเดียวกับพญาทั้งหลายในอดีต ต่อมาทรงให้พระราชโอรสขุนค�ำแดง อยู่รักษาการงานเมืองพะยาวให้เป็น “นาหลัง” ของพระองค์ กระทัง่ เมือ่ พญาง�ำเมืองสิน้ พระชนม์แล้ว ขุนค�ำแดง ขึ้นครองเมืองพะยาวในปี จุลศักราช 640 ตัว พุทธศักราช 1841 ปี เวียงพระธาตุจอมทองในอดีตมีแนวคูเวียงล้อมรอบทุกด้าน ถือเป็น 1 ใน 7 เวียงของเมืองพะเยา และท�ำหน้าทีเ่ ป็นศาสนาจักรของเมือง ภายหลัง เมื่อแคว้นพะเยาถูกผนวกรวมเป็นอาณาจักรล้านนาซึ่งเป็นช่วงพระพุทธ ศาสนาเจริญขีดสุดในดินแดนแถบนีโ้ ดยเฉพาะ พระพุทธศาสนานิกายป่าแดง (หรือลังกาวงศ์ใหม่)ซึ่งในเมืองพะเยามีการสร้างวัดอย่างแพร่หลาย จนถึง สมัยล้านนาตกอยู่ภายใต้อ�ำนาจพม่าพ.ศ. 2101 เกือบ 200 กว่าปี ที่บ้าน เมืองรกร้างผู้คน จนถึงยุคการฟื้นฟูพะเยาในสมัยเจ้าเจ็ดตน เมืองพะเยาจึง กลับมามีชีวิตอีกครั้ง พร้อมกับการบูรณะวัดพระธาตุจอมทอง สร้างวิหาร พระธาตุจอมทอง ก่อสร้างศาลาบาตร(วิหารคด) บนดอยพระธาตุจอมทอง และในปี พ.ศ. 2413 ได้สร้างพระพุทธรูปหินทรายไว้ในอาราม เรียกว่า “พระเจ้าทันใจ” พ.ศ. 2449 เจ้าอุปราชมหาชัย ศีติสาร ลงไปรับสัญญาบัตร เป็นที่ “พระยาประเทศอุดรทิศ หรือเจ้าหลวงประเทศอุดรทิศ ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าผู้ครองเมืองพะเยาองค์สุดท้าย ได้ท�ำนุบ�ำรุงทางฝ่ายพุทธจักรเป็นก�ำลัง พระพุทธศาสนา สร้างระฆังใหญ่ให้วัดพระธาตุจอมทอง” และต่อมาใน ปี พ .ศ. 2465 ครู บ าเจ้ า ศรี วิ ชั ย ได้ เ ดิ น ทางจากเมื อ งล� ำ พู น มาบู ร ณะ พระเจ้ า ตนหลวงและได้ ขึ้ น มาจ� ำ พรรษายั ง วั ด พระธาตุ จ อมทองและ ท�ำการบูรณะพระธาตุจอมทอง พร้อมทัง้ ปลูกต้นศรีไว้ยงั ข่วงแก้ว และสร้าง รอยพระพุทธบาทถวายพร้อมสร้างวิหารครอบไว้ พ.ศ. 2504 พ่อตั๋น ฟูมะเฟือง พร้อมด้วยศรัทธาบ้านแท่นดอกไม้ ได้ร่วมกันสร้างวิหารพระเจ้าทันใจ และ พ.ศ. 2507 ได้ร่วมกันเทลานวัด ต่อมา พ.ศ. 2543 ครูบาเจ้าเทือง นาถสีโลและเจ้าครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร ได้ท�ำการหุ้มทองจังโก๋องค์พระธาตุอย่างสวยงามตามแบบศิลปะล้านนา ถวายพระเจ้ายิ้มหน้าองค์พระธาตุเจ้าและสร้างก�ำแพงแก้วทั้งสี่ทิศ ต่อมา พ.ศ. 2561 พระกษิพัฑฒิ สิริภัทโท น�ำคณะศรัทธาญาติโยมร่วมกันบูรณะ วัดจนสมบูรณ์

“6 เป็ง เลิศฟ้าบูชาพระธาตุเจ้าจอมทอง” ประเพณีประจ�ำปี สรงน�้ำและห่มผ้าพระธาตุ เป็นงานการถวายทาน น�้ำต้น(คนโท) น�้ำหม้อ(หม้อน�้ำ) แห่ผ้าห่ม พระธาตุ การสรงน�้ำพระธาตุ มหรสพพื้นบ้านล้านนา สวดมนต์ท�ำวัตรเย็น เวียนเทียนและการสวดเบิกล้านนาเพื่อเป็นการสมโภชองค์พระธาตุเจ้าใน วันประเพณีหกเป็ง (วันเพ็ญขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 6 เหนือ) ติดต่อสร้างทานบารมี : ปัจจุบนั ทางวัดก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างวิหาร 140 ปี ชาตกาลครูบาเจ้าศรีวิชัย ให้วัดเป็นสถานที่ในการสืบทอดพระพุทธ ศาสนา และสถานทีเ่ รียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ศาสนาเมืองพะเยา อีกทัง้ วัดยังเป็น สถานที่ท่องเที่ยวชมทิวทัศน์กว๊านพะเยา หากท่านใดสนใจสร้างบารมีทาน มีเจตนาจะร่วมสร้างถวายไว้กับพระธาตุเจ้าและศาสนา สามารถติดต่อ สอบถามได้ที่ โทร. 087-357-5931

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

23/7/2562 13:18:06


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดร่องป่าเปา

ตั้งอยู่เลขที่ 11/3 ต�ำบลท่าวังทอง อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา พระไตรรัตน์ รตนโชโต เจ้าอาวาสวัดร่องป่าเปา วัดร่องป่าเปา (วัดบ้านปาน) ถือได้ว่าเป็นวัดที่มีความส�ำคัญทาง ประวัตศิ าสตร์ เพราะเป็นวัดทีพ่ ระเจ้าติโลกราช เจ้าผูค้ รองนครเชียงใหม่ได้ สร้ า งขึ้ น เพื่ อ อุ ทิ ศ เป็ น พระราชกุ ศ ลให้ กั บ พระมารดาของพระมเหสี เมือ่ ปี พ.ศ. 2039 (ค.ศ.1496) ขณะเสด็จผ่านเมืองภูกามยาวหรือเมืองพะเยา ในปัจจุบันนี้ ดังปรากฏหลักฐานตามศิลาจารึกซึ่งขณะนี้ได้ประดิษฐานอยู่ ในอุโบสถวัดร่องป่าเปา (วัดบ้านปาน) ภายหลังบ้านเมืองเปลี่ยนแปลงวัด ได้ช�ำรุดทรุดโทรมและร้างไปเป็นเวลานานจนต่อมาในปี พ.ศ. 2530 ได้มี พระอธิการเติมศักดิ์ ชาตวีโร เจ้าอาวาส ( อดีตต�ำรวจตระเวนชายแดน) ได้มาสร้างอุโบสถพัฒนาวัดขึ้นใหม่ และปัจจุบันนี้ พระไตรรัตน์ รตนโชโต เจ้ า อาวาส ได้ เข้ า มาบู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ์ ต ่ อ เมื่ อ ปี พ.ศ. 2559 โดยมี

นายทองหล่อ ครุฑไทย เป็นอดีตศึกษาธิการอ�ำเภอเมืองพะเยา, อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยาคนแรก, เป็นไวยาวัจกรและกรรมการวัดร่องป่าเปา

80

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 80

27/7/2562 14:13:55


เมตตาจิตแปลงวัดเป็นบ้านพักสุนขั รองรับคนรักหมาแต่ไม่มเี วลาดูแล ที่วัดร่องป่าเปาหรือวัดบ้านปาน ต.ท่าวังทอง อ.เมือง จ.พะเยา ได้เลี้ยง ดูสุนัขสายพันธุ์ต่างๆ กว่า 40 ตัว 15 สายพันธุ์ ซึ่งพระไตรรัตน์ รัตนโชโต เจ้าอาวาสได้เลี้ยงไว้ พระไตรรัตน์ เปิดเผยว่า เดิมทีตนเองเป็นคนรักสัตว์ตั้งแต่จ�ำความได้ ต่อมาได้บวชเรียนและจ�ำพรรษาที่วัดน้อย จ.สุพรรณบุรี ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นวัด ที่เลี้ยงสุนัขมากที่สุดอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทย และได้ดูแลสุนัขทั้งหมด เกือบ 100 ตัว ต่อมาได้ย้ายมาจ�ำพรรษาที่วัดร่องป่าเปา ที่พะเยา ปรากฏ ว่าบรรดาญาติโยม หรือกลุม่ คนทีร่ กั สัตว์ทตี่ ดิ ต่อกันสมัยอยูท่ สี่ พุ รรณ ก็ตาม มาเยี่ยมและน�ำสุนัขที่เจ้าของรักแต่ไม่มีเวลาดูแลมาฝากเลี้ยง เริ่มจาก 1 คู่ เมื่อประมาณ พ.ศ.2558 จากนั้นก็เริ่มมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ด้วยความรัก สัตว์เป็นทุนเดิมอยู่แล้วและต้องการดึงญาติโยมเข้าหาธรรมะก็เลยรับเลี้ยง ไว้ทั้งหมด ญาติโยมเมื่อคิดถึงน้องหมาก็จะมาหา มาเยี่ยม พระก็สามารถ อบรม สั่งสอนเรื่องธรรมะต่างๆได้

ส่วนการดูแลเรื่องสุขภาพทางวัดมีจนท.จากโรงพยาบาลสัตว์แสนสุข จ.พะเยาและชมรมคนรักสัตว์ในพื้นที่คอยเกื้อกูล คอยให้ค�ำแนะน�ำปรึกษา เรื่องสุขภาพ อนามัย โรคภัย และสุนัขที่ตายลงไปทางวัดก็ท�ำพิธีให้แล้ว จะน�ำไปฝังในพืน้ ทีบ่ ริเวณวัด แต่ปจั จุบนั เริม่ ไม่มพี นื้ ทีแ่ ล้ว จึงอยากจะสร้าง เตาเผาสุนัขขึ้น และจะท�ำพิธีตามความประสงค์ของเจ้าของสุนัข ซึ่งยัง ขาดแคลนทุนทรัพย์อีกมาก

ส�ำหรับท่านที่ต้องการบริจาคเพื่อสร้างเตาเผาสุนัข สามารถ บริจาคได้ที่บัญชีธนาคาร พระไตรรัตน์ รัตนา ธนาคารกสิกรไทย สาขาพะเยา เลขที่ 014 3 723836 หรือต้องการทราบรายละเอียด ติดต่อพระไตรรัตน์ ที่ 097 215 4840 PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

81

23/7/2562 13:19:26


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดภูมินทร์

อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต ปปฺโปติ วิปุลํ สุขํ ผู้ ไม่ประมาทพินิจอยู่ ย่อมถึงสุขอันไพบูลย์ (พุทธพจน์) วัดภูมนิ ทร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 222 ถนนสายในแม่ตำ�๋ ต�ำบลแม่ตำ�๋ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ประกาศตัง้ เป็นวัดเมือ่ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2342 ปีวอก โทศก พุทธศักราช 2343 จุลศักราช 1162 รัตนโกสินทร์ 13 คริสต์ศักราช 1200 เป็นปกมาสปกวาร ปกติสุรทิน มีเนื้อที่ตั้งวัด 12 ไร่ 2 งาน 71 .2/10 ตารางวา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 ผู้รับสนองพระราชโองการ นายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรี ได้ทำ� การผูก พัทธสีมา เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2505

วัดมีกิจกรรมดีๆ มากมายร่วมกับชุมชน เช่น โครงการชุมชนคนดี ศรีเมืองพะเยา ชุมชนวัดภูมนิ ทร์ โดยมีการช่วยกันท�ำความสะอาดของคนใน ชุมชนเป็นประจ�ำ ในบริเวณวัดภูมินทร์ และยังมีตลาดประชารัฐ โครงการ ไทยนิยมยั่งยืน ซึ่งได้จัดงานบุญและงานสินค้าโอทอปในชุมชนวัดภูมินทร์ ทุกสัปดาห์

รายนามเจ้าอาวาส

1

1. พระอ้าย อินฺทวํโส พ.ศ. 2480-พ.ศ. 2490 2. พระน้อย ชัยฉนฺโท พ.ศ. 2490-พ.ศ. 2499 3. พระมหาสุนทร สุนฺทโร พ.ศ. 2499-พ.ศ. 2501 4. พระบุญส่ง อมรธมฺโม พ.ศ. 2501-พ.ศ. 2505 5. พระศรีวงศ์ ฐิตปุญฺโญ พ.ศ. 2505-พ.ศ. 2518 6. พระครูนิวิฐ ศีลาจาร ( ประหยัด อจโล) พ.ศ. 2518-พ.ศ. 2542 7. พระอธิการประหยัด อาจารสมฺปนฺโน พ.ศ. 2544-พ.ศ. 2559

82

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 82

23/7/2562 13:21:05


Magazine

ที่สุดแห่งการบันทึก ความทรงจ�ำ SBL บันทึกประเทศไทย SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราว ของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึก และครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงาน ราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยว ที่ สดใหม่ ทั น สมั ย ทั้ ง สถานที่ เ ที่ ย ว ที่ พั ก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิ ติด้า นอุ ต สาหกรรม-การค้า การลงทุ น ที่ เป็ นตั ว ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ตลอดจน มิ ติด้า นการศึ ก ษา ศาสนา วั ฒ นธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

www.sbl.co.th

AD_

.indd 83

24/7/2562 9:07:32


แอ่วเบาเบา

PHAYAO ให้ม่วนใจ ณ ดินแดนแห่งนี้มีธรรม มีธรรมชาติ ผสานกันไปวงดนตรีมีชีวิต มีสีสัน เสี ยงน�้ำตก กับเสี ยงระฆัง และเสี ยงนกร้อง เป็นหนึ่ง เดียวกัน สัมผัสด้วยหัวใจกับมุมมอง 380 องศา กับ 20 สถานที่ ท่องเที่ยว เหนือกว๊านพะเยา เมืองที่เงียบสงบ กับชีวิตเรียบง่าย ในบรรยากาศสะอาดบริสุทธิ์สดชื่น

PHOTO : Phongsak Manodee

84

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 84

23/7/2562 15:32:37


TRAVEL GUIDE

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 85

85

23/7/2562 15:32:37


86

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 86

23/7/2562 15:32:38


เล่นน�ำ้ ตกอุ่นๆ

อุทยานแห่งชาติภูซาง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ภู ซ าง อยู ่ ใ น เขตอ� ำ เภอภู ซ าง จั ง หวั ด พะเยา เป็นพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ของ ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ปา่ มีนำ�้ ตก อุ ่ น ภู ซ าง ซึ่ ง เป็ น น�้ ำ ตกที่ มี ค วาม พิ เ ศษกว่ า น�้ ำ ตกทั่ ว ไป คื อ น�้ ำ จะ อุ่น มีอุณหภูมิประมาณ 35 องศา เซลเซี ย ส น�้ ำ ตกภู ซ าง เป็ น น�้ ำ ที่ ไหลมาจากเทื อ กเขาดอยผาหม่ น ไหลลงมาจากหน้ า ผาหิ น ปู น 25 เมตร และน�ำ้ ตกจะมีนำ�้ ใส อมเขียว สะอาด บริเวณน�้ำตกมีแอ่งน�้ำให้ เล่น สามารถนอนแช่น�้ำได้

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 87

87

23/7/2562 15:32:40


นกยูงร�ำแพน

อุทยานแห่งชาติดอยภูนาง น�้ำตกธารสวรรค์ เขตอุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง ต�ำบลบ้านมาง อ�ำเภอเชียงม่วน จั ง หวั ด พะเยา สมั ย กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ พุทธศักราช 2386 พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงตั้งเมือง พะเยาเป็นเมืองขึน้ ของนครล�ำปาง ผูค้ รอง เมืองนครล�ำปางทุกคนได้รับพระราชทาน นามว่ า “พระยาประเทศอุ ด รทิ ศ ” ปี พุทธศักราช 2437 พระยาประเทศอุดรทิศ (เจ้ า ไชยวงศ์ ) เป็ น ผู ้ ค รองเมื อ งพะเยา อาณาเขตการปกครองยึดเอาล�ำห้วย แม่นำ�้ ดอย เป็นหลัก ทิศตะวันตกเฉียงใต้ (หรดี) 88

เมื อ งในอ� ำ นาจปกครองคลอบคลุ ม ถึ ง งาว สะเอียบ เชียงม่วน สระ แม่น�้ำปั๋ง ซึ่ ง อุ ท ยานแห่ ง ชาติ ด อยภู นาง ตั้ ง อยู ่ ใ น บริเวณเขตแม่น�้ำปั๋ง ถือได้ว่าอยู่ในเขต การปกครอง ของพระยาประเทศอุดรทิศ (เจ้าไชยวงศ์) ในสมัยนัน้ บริเวณน�ำ้ ตกธาร สวรรค์ มีสภาพเป็นป่าดิบแล้งทีร่ กทึบ ผูค้ น ยากทีจ่ ะเข้ามาสัมผัส ปีพทุ ธศักราช 2504 มีชาวบ้านอพยพมาตั้งถิ่นฐานในหมู่บ้าน บ่ อ เบี้ ย วิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า นส่ ว นใหญ่ มีการจับปลา ล่าสัตว์ การปลูกพืช ท�ำไร่ท�ำนา ตัดไม้เพือ่ สร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย ในสมัยนัน้

มี ก ารสั ม ปทานท� ำ ไม้ ใ นพื้ น ที่ ป ่ า แม่ ย ม ป่าแม่ตำ�๋ ป่าแม่รอ่ งขุย คนทีเ่ ข้ามาท�ำไม้ได้ ใช้ประโยชน์จากแม่นำ�้ ปัง๋ บริเวณน�ำ้ ตกธาร สวรรค์เป็นที่พักผ่อน ใช้น�้ำในการอุปโภค น�้ำตกธารสวรรค์ ลักษณะน�้ำใส สีเขียว มรกต ตั้งอยู่กลางแม่น�้ำปั๋ง ปีพุทธศักราช 2532 รั ฐ บาลได้ ป ระกาศยกเลิ ก การ สัมปทานท�ำไม้ เรียกว่า ปิดป่า ราษฎรใน พื้นที่ยังคงใช้ประโยชน์จากผืนป่าบริเวณ น�ำ้ ตกธารสวรรค์ ทัง้ ประโยชน์ทางตรง และ ทางอ้อม เรื่อยมา ปีพุทธศักราช 2533 กรมป่าไม้ได้ส�ำรวจเพื่อก�ำหนดป่าผืนนี้ และบริเวณใกล้เคียงเป็นอุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง เพือ่ อ�ำนวยประโยชน์แก่ราษฎร ในพื้นที่อย่างยั่งยืนตลอดไป โดยมีน�้ำตก ธารสวรรค์เป็นแหล่งท่องเทีย่ วเด่นทีส่ ำ� คัญ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 88

23/7/2562 15:32:42


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 89

89

23/7/2562 15:32:43


90

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 90

23/7/2562 15:32:44


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 91

91

23/7/2562 15:32:45


ชมวิวทะเลหมอกบนภูเขายอดตัด

อุทยานแห่งชาติป่าแม่ปืม ครอบคลุมพื้นที่ถึง 2 จังหวัด คือจังหวัดเชียงรายและจังหวัดพะเยา พื้นที่ป่า ส่วนใหญ่เป็นป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง เต็มไปด้วยต้นไม้ ดอกไม้ป่า และสัตว์ป่า มากมาย พร้อมทัง้ อ่างเก็บน�ำ้ แม่ปมื ทีโ่ อบล้อมไปด้วยภูเขา ซึง่ มีบรรยากาศทีส่ วยงาม ผ่อนคลาย เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจได้อย่างดี และอย่าลืมแวะ “จุดชมวิวดอยงาม” ตัง้ อยูบ่ ริเวณหน่วยพิทกั ษ์อทุ ยานแห่งชาติแม่ปมื ที่ 1 (ป่าแดงงาม) เป็นภูเขายอดตัด มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลปานกลางประมาณ 978 เมตร สามารถมองเห็นภูเขา โดยรอบ และวิวของทะเลหมอกได้อย่างสวยงามสุดๆ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่ อุทยานแห่งชาติป่าแม่ปืม โทรศัพท์ 080-671-5033

92

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 92

23/7/2562 15:32:45


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 93

93

23/7/2562 15:32:46


94

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 94

23/7/2562 15:32:47


ตั้งจิตอธิษฐาน สมความปรารถนา

อนุสาวรีย์พ่อขุนง�ำเมือง พ่อขุนง�ำเมือง กษัตริย์ล�ำดับที่ 9 แห่ง เมืองภูกามยาวหรือพะเยาในปัจจุบัน เป็น พระราชโอรสของพ่อขุนมิง่ เมือง ครองราชย์ ในพ.ศ. 1801-1841 ในสมัยที่พ่อขุนง�ำ เมืองปกครองอาณาจักรพะเยาเป็นยุคสมัย ที่เจริญรุ่งเรืองมาก พ่อขุนง�ำเมืองศรัทธา เลื่ อ มใสในพระพุ ท ธศาสนา ไม่ ช อบ สงคราม ปกครองบ้ า นเมื อ งด้ ว ยความ เทีย่ งธรรม ผูกไมตรีจติ ต่อประเทศราชและ เพื่อนบ้าน พ่อขุนง�ำเมือง ปกครองเมือง ภูกามยาว จนเจริญเป็นอาณาจักรใหญ่ 1 ใน 3 อาณาจักรของชนเผ่าไทยแถบนี้ นัน่ คือ อาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัย และ อาณาจักรพะเยา ที่ส�ำคัญพระองค์เป็น

พระสหายร่วมน�ำ้ สาบานกับพ่อขุนเม็งราย แห่งเมืองเชียงราย และพ่อขุนรามค�ำแหง แห่ ง กรุ ง สุ โ ขทั ย ซึ่ ง ทั้ ง สามพระองค์ ไ ด้ กระท�ำสัตย์ต่อกัน ณ แม่น�้ำอิง นอกจากนี้ ยังมีการเชื่อกันว่าพ่อขุนง�ำเมืองเป็นผู้ทรง อิทธิฤทธิ์ โดยกล่าวกันว่าเมือ่ พระองค์เสด็จ ไปทางไหน “แดดก็บ่อฮ้อน ฝนก็บ่อฮ�ำ จักให้แดดก็แดด จักให้บดก็บด” จึงได้ พระนามว่า “ง�ำเมือง” ผูส้ ร้างความรุง่ เรือง ให้แคว้นพะเยา จังหวัดพะเยาได้รบั การยกฐานะให้เป็น จังหวัดที่ 72 ในปี พ.ศ. 2520 ชาวพะเยา จึงร่วมใจกันสร้างอนุสาวรียพ์ อ่ ขุนง�ำเมืองขึน้ บริเวณสวนสาธารณะริมกว๊านพะเยา เป็น

รูปปัน้ ส�ำริดความสูงเท่าครึง่ ขององค์จริงใน ท่าประทับยืน ทรงชุดกษัตริย์สวมมงกุฎ พระหัตถ์ถอื ดาบอาญาสิทธิ์ หันพระพักตร์ ไปทางกว๊านพะเยา ประดิษฐานบนแท่นสูง พ่อขุนง�ำเมืองเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาว พะเยา ในวันที่ 5 มีนาคม ของทุกปี จะมี การจัดพิธสี กั การะบวงสรวงพ่อขุนง�ำเมือง เป็นงานประเพณียิ่งใหญ่ของเมืองพะเยา จัดขึ้นทุกปี ตรงกับวันประสูติของพ่อขุน ง�ำเมือง กษัตริยผ์ ปู้ กครองอาณาจักรพะเยา ซึ่งในพิธีประกอบด้วยการบวงสรวงแบบ พราหมณ์ การถวายเครื่องสักการะ เพื่อ สักการะดวงวิญญาณของพ่อขุนง�ำเมืองให้ สถิตคู่เมืองพะเยา และประทานสุขสวัสดิ์ แก่ประชาชนชาวพะเยา PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 95

95

23/7/2562 15:32:49


หมู่บ้านเหนือกาลเวลา

โบราณสถานบ้านร่องไฮหมู่บ้านร่องไฮ-ตีมีดบ้านร่องไฮ เป็นโบราณสถานที่เป็นชุมชนโบราณ ขนาดใหญ่ อยูร่ มิ กว๊านพะเยา เป็นส่วนหนึง่ ของวัดติโลกอารามในสมัยโบราณ บริเวณ ใกล้เคียงกันมีร่องรอยของศาสนสถานอยู่ ประมาณ 8-9 แห่ง โดยมีกลุม่ โบราณสถาน บ้านร่องไฮ ต�ำบลแม่ใส อ�ำเภอเมือง หลักฐาน ทีเ่ คยพบเกีย่ วข้องโดยตรงกับ วัดติโลกอาราม คือ จารึกวัดติโลกอาราม พบทีเ่ นินสันธาตุ ในกว๊านพะเยาใกล้กับท้ายหมู่บา้ น ร่องไฮ หมู่บ้านร่องไฮ แต่เดิมไม่ได้บันทึกประวัติ ในการจั ด ตั้งหมู่บ้าน แต่เ ดิมชุมชนบ้า น ร่องไฮประมาณ 100 กว่าปีพื้นที่ในชุมชน บ้านร่องไฮยังเป็นป่าไม้รงั ไม้ไผ่ไม้ทองกวาว และไม้เบญจพรรณ เป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ต่อ มาได้มีกลุ่มชนที่มาตั้งหลักฐานในหมู่บ้าน มาจากบ้านท่ากว๊านในต.เวียงพะเยา ได้มา ตัง้ บ้านเรือนอยูต่ ามหัวไร่ปลายนาประกอบ อาชีพท�ำนา เลี้ยงสัตว์ประมาณ10-20 ครัวเรือน ซึ่งต้นตระกูลแรกที่มาตั้งบ้าน เรือนคือ ตระกูลชุม่ ค�ำลือต่อมาเป็น ชุม่ ลือ แล้วต่อมาก็มีประชากรเริ่มอพยพมาจาก บ้านกาดเมฆอ�ำเภอเมืองจังหวัดล�ำปาง มาท�ำมาหากินตั้งถินฐานโดยการน�ำเอา วัฒนธรรมการตีมีดมาด้วยจนท�ำให้เป็น อาชีพของชาวบ้านร่องไฮซึ่งประชากรที่ อพยพมาจากล�ำปางเริ่มมาเมื่อพ.ศ.2458 การตั้งชื่อหมู่บา้ นมีจากค�ำบอกเล่าว่า เมื่อ สมัยก่อนบ้านร่องไฮมีรอ่ งน�ำ้ ไหลผ่านกลาง หมู่บ้านลงสู่แม่น้�ำอิง หรือหนองเอี้ยงซึ่ง สองข้างฝั่งร่องน�้ำมีต้นไทรใหญ่ขึ้นอยู่เรียง กันซึ่งทางภาคเหนือ หรือภาษาพื้นเมือง เรียกต้นไทรว่า ต้นไฮ จึงตั้งชื่อตามร่องน�้ำ ที่มีต้นไฮ ขึ้นว่า ร่องไฮจนมาถึงทุกวันนี้ ในอดีตบ้านร่องไฮ มีเพียงหมู่บ้านเดียว คือบ้าน ร่องไฮหมูท่ ี่ 1 ต�ำบลแม่ใส อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ต่อมาได้มีการแยกหมู่บ้าน เพิม่ จึงเป็นบ้านร่องไฮหมูท่ 1ี่ และบ้านร่องไฮ หมู่ที่11 พ.ศ. 2540 เหตุผลของการแยก 96

หมู่บ้านในครั้งนั้น สืบเนื่องจากเขตการ ปกครองของบ้าน ร่องไฮ หมู่ที่ 1 มีมาก และประชาชนในหมู่บ้านมีความต้องการ ที่ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานทั้ง ในภาครั ฐ และภาคเอกชนเพิ่ ม มากขึ้ น ทั้ ง ในด้ า นของโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า น สาธารณู ป โภค ด้ า นการเงิ น การจั ด ตั้ ง กองทุนหรือจัดตั้งชมรมต่างๆ ฉะนั้นการ แยกหมู่บ้านจึงเป็นหนทางที่ประชาชนใน หมู่บ้านร่องไฮจะได้รับการช่วยเหลือเป็น สองเท่าจากที่เป็นอยู่แต่การแยกหมู่บ้าน ครั้ ง นั้ น ก็ มิ ไ ด้ มี ผ ลกระทบต่ อ ทางด้ า น สังคมและวัฒนธรรมดั้งเดิมที่มีอยู่ แต่จะ เป็นการเพิ่มความสามารถและการเพิ่ม ประสิทธิภาพและความเข็มแข็งของชาว บ้านในการพัฒนาหมู่บ้านร่องไฮให้ดีขึ้น

และเจริ ญ ยิ่ ง กว่ าเดิ ม หรือนักท่องเที่ยว จะใช้บริการรถสาธารณะสองแถวที่ผ่าน ชุมชนบ้านร่องไฮ สายพะเยา-แม่นาเรือแม่ใจ ทีส่ ามารถขึน้ รถได้ทบี่ ริเวณตลาดสด พะเยา ซึ่งจะมีร ถผ่านชุมชนจนถึงเวลา 17.00 น. รถเทีย่ วสุดท้ายทีอ่ อกจากชุมชน ไปยังตัวเมือง เวลา 15.00 น. ซึ่งสามารถ ใช้บริการรถสาธารณะสองแถวได้โดยที่ ไม่มีร ถยนต์ ส่วนตัวตลอดเส้นทางจาก ตัวอ�ำเภอเมืองพะเยา ถึง ย่านชุมชนแม่ ต�๋ำซึ่งเป็นถนน สี่ช่องทางเดินรถแต่ช่วงสี่ แยกแม่ต�๋ำเข้ามายังชุมชนบ้านร่องไฮ เป็น ถนนลาดยางเป็นระยะทาง 2 กิโลเมตร จนมาถึ ง สายหลั ก ภายในหมู ่ ที่ เ ชื่ อ มต่ อ จากถนน แม่นาเรือ-แม่ใจ เป็นถนนลาด คอนกรีตเสริมเหล็ก

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 96

23/7/2562 15:32:53


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 97

97

23/7/2562 15:32:57


98

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

20

.indd 98

23/7/2562 15:32:58


ถนนดอกไม้

ถนนดอกทองกวาว

ดอกทองกวาวดั ง กล่าวได้มีการผลัดใบ และจะออกดอกในช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ไปจนถึ ง เดื อ นเมษายนนี้ ท�ำให้ถนนสายนี้ ซึ่งชาวพะเยาเรียกว่า ถนนสายดอกไม้ จึงมี บรรยากาศที่สวยงาม ตลอดระยะทาง เหมาะ กั บ การท่ อ งเที่ ย วเป็ น อย่ า งมากในห้ ว งนี้ นอกจากนั้นเป็นการแสดงสัญลักษณ์ว่าเริ่ม เข้าสู่ช่วงฤดูร้อนแล้ว ส�ำหรับถนนสายดังกล่าวถือว่าเป็นถนน ที่สวยงามติด 1 ใน 9 ถนนสวยงามระดับ ประเทศ ซึ่งในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ไปจนถึง เมษายน จะบานสะพรั่ ง ตลอดระยะทาง 20 กิโลเมตร ดังนั้นจึงอยากให้นักท่องเที่ยว สามารถมาสัมผัสบรรยากาศที่สวยงามของ ดอกไม้ในช่วงนี้ ที่ก�ำลังเบ่งบานสะพรั่งตลอด แนวถนน

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 99

99

27/7/2562 15:52:42


100

20

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 100

23/7/2562 15:33:01


ลิ้นจี่หวาน กับ กาแฟชั้นดี

บ้านปางปูเลาะ

เป็นหมูบ่ า้ นชาวเขาเผ่าเมีย่ นหรือเย้า ส่วนใหญ่มอี าชีพท�ำสวนลิน้ จีแ่ ละไร่กาแฟเชิงเขา ซึ่งเป็นสินค้าขึ้นชื่อของอ�ำเภอแม่ใจ สามารถเข้าไปเที่ยวชมสวนได้ในเดือนพฤษภาคมถึง เดือนมิถนุ ายน นับเป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม ลิน้ จีอ่ อกผลสามารถเลือกชิมสดๆ ได้จากต้น และหาซือ้ ได้ในราคาถูก ทิวทัศน์สวยงาม อากาศเย็นสบายทัง้ ปี แวะเทีย่ วทีศ่ นู ย์วฒ ั นธรรม ชนเผ่าเมีย่ นหรือเย้า เป็นทีจ่ ดั แสดงข้าวของเครือ่ งใช้ เครือ่ งแต่งกาย เครือ่ งประดับ เครือ่ งมือ เกษตร อุปกรณ์และเครื่องมือล่าสัตว์ รวมถึงประวัติความเป็นมาของชุมชนท�ำให้เห็น วิถีชีวิตพื้นบ้านของชาวเขาที่กว่าจะมาถึงวันนี้

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 101

101

23/7/2562 15:33:02


102

20

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 102

23/7/2562 15:33:04


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 103

103

23/7/2562 15:33:08


ศิลปะกินได้

ตลาดเช้าเชียงค�ำ ตลาดเช้าในเชียงค�ำ บรรยากาศเรียบง่าย อยู ่ ใ กล้ ๆ กั บ ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอเชี ย งค� ำ และ ไปรษณีย์ อาหารพื้นเมืองมีมากมาย ปิดท้าย ก่อนกลับบ้าน หรือจะปักหมุดแรกของการ เดินทางไปไหว้พระธาตุตา่ งๆ หรือชมบ้านไทลือ้ และมาจับจ่าย ชมแหล่งอาหารของชาวเชียงค�ำ กันก่อน ร้านชากาแฟ น�้ำเต้าหู้ มีอยู่รอบๆ ตลาด ไม่ควรพลาดตลาดเช้าของชาวเชียงค�ำ

104

20

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 104

27/7/2562 15:52:33


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 105

105

23/7/2562 15:33:23


106

20

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 106

23/7/2562 15:33:24


Magic Mountain หนาวนี้ใครที่อยากจะไปนอนบนไหล่เขา ชมวิวทะเลหมอกบอกเลยที่นี่ต้องห้ามพลาด ภูลังกา จังหวัดพะเยา หนึ่งสถานที่ท่องเที่ยว ที่สวยงามจนต้องร้องว้าว เพราะความยิ่งใหญ่ ของภูเขาที่สลับซับซ้อนกันและมีทะเลหมอก หลัง่ ไหลมาให้เราได้ชมกันแบบเต็มตา สามารถ เที่ยวได้ตลอดทั้งปีเพราะที่นี่มีอากาศที่หนาว เย็นตลอด ใครทีอ่ ยากชมทะเลหมอกบอกเลย ที่นี่ไม่ผิดหวังอย่างแน่นอน

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

20

.indd 107

107

23/7/2562 15:33:25


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดร้อง (ร้องเก่า)

ตั้งอยู่เลขที่ 145 หมู่ที่ 1 บ้านร้อง ต�ำบลร่มเย็น อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา พระครูปิยชัยสิทธิ์ (ครูบาอู๋) เจ้าอาวาสวัดร้อง (ร้องเก่า) วั ด บ้ า นร้ อ ง หรื อ วั ด ร้ อ งเก่ า สร้ า งเมื่ อ ประมาณ ปี พ.ศ. 2320 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2509 โดยมี จอมพลถนอม กิตติขจร (นายกรัฐมนตรีสมัยนั้น) เป็นผู้สนองรับพระบรม ราชโองการ วัดร้องเก่ามีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 4 ไร่ ทิศเหนือติดกับแม่นำ�้ (น�ำ้ ยวน) ทิศตะวันออก ติดกับทุ่งนา (ที่ของนายเขียน อินต๊ะสิน) ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนสาธารณะประโยชน์และทิศใต้ติดกับทุ่งนา (ที่ของนายป้อม ยกยอดี) วัดร้องเก่า ตัง้ อยูบ่ ริเวณหมูบ่ า้ น บ้านร้อง ซึง่ ค�ำว่า “ร้อง” เพีย้ นมาจากค�ำว่า “ล้อง” ซึ่งหมายถึง แอ่งน�้ำ หรือ หนองน�้ำ อันเป็นลักษณะภูมิประเทศ ของหมู่บ้าน จึงเรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านว่า วัดร้อง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2517 ชาวบ้านหนองป่าแพะ ได้ตั้งวัดขึ้นมาใหม่อีกหนึ่งวัด ชื่อว่า “วัดร้องใหม่” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชาวบ้านเรียกวัดร้องที่ตั้งก่อนว่า “วัดร้องเก่า” และ วัดที่ตั้งใหม่ เรียกว่า “วัดร้องใหม่” สืบมา อีกชื่อหนึ่งที่ผู้เฒ่าผู้แก่อายุ ประมาณ 70 ปี ขึน้ ไปมักจะเรียก วัดร้องเก่า นีว้ า่ “วัดร้องขมิ้น” อันมีทมี่ า เนือ่ งจากว่า บ้านร้องมีลำ� เหมืองผ่านหมูบ่ า้ น ชือ่ เหมืองขมิน้ เลยเรียกง่ายๆ ว่า “ร้องขมิ้น” 108

.indd 108

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

23/7/2562 13:23:10


วัดร้องเก่า มีพระพุทธรูปและปูชนียสถานที่ส�ำคัญ คือ พระธาตุเจดีย์ พระพุทธสิหงิ ค์ จ�ำลองหรือ พระสิงห์สามสมัย พระสิงห์ 1, พระสิงห์ 2 และ พระสิงห์ 3 พระเจ้าทันใจ เหตุเรียกว่า พระเจ้าทันใจ เพราะใช้เวลา สร้างส�ำเร็จ ทันใจ ภายในเวลา 20 ชั่วโมง พร้อมพิธีพุทธาภิเษก และชาวบ้านมักจะมา กราบไหว้ขอพร บนบานสานกล่าวเรื่อง การค้าขาย ราชการ เป็นต้น พระประธานในอุโบสถ ที่มีลักษณะศิลปะแบบล้านนาโบราณโดย ช่างสมัย 200 กว่าปีที่ผ่านมา พระอุปคุตมหาเถระ เป็นพระที่มีลักษณะ มีอจกบาตร ศรีษะเอียง มองท้องฟ้า และวัดร้องเก่า ยังมีต้นไม้ที่สำ� คัญ คู่วัดคู่วา ต้นสะหลีมหาโพธิ์ ที่ชาวบ้านมักเรียกว่า “ต้นสะหลี” (ต้นโพธิ์) ซึง่ เป็นไม้ทมี่ อี ายุประมาณ 200 กว่าปี ซึง่ อยูใ่ นบริเวณวัดด้านทิศตะวันออก ของพระธาตุเจดีย์ และที่ส�ำคัญวัดร้องเก่า จัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับพุทธประวัติ โดยตัง้ เป็นสถานทีป่ ระสูติ (จ�ำลอง) โดยมีการจ�ำลอง รูปเหมือน พระนางสิริ มหามายา ( มารดาพระพุทธเจ้า) และเจ้าชายสิทธัตถะ ( พระพุทธเจ้าปาง ประสูติ ) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอุโบสถ

วัดร้องเก่า เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา และยัง เป็นศูนย์รวมทางด้านจิตใจ ของชุมชนและของชาวเชียงค�ำ โดยมีพระครู ปิยชัยสิทธิ์ (ครูบาสิทธิชัย ปิยภาณี) หรือท่านครูบาอู๋ เจ้าอาวาสวัดร้องเก่า และได้เป็นผู้ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาจิตใจคนในชุมชน และยังเป็นผู้ริเริ่มในการพัฒนาวัดวาอาราม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

109

23/7/2562 13:23:19


ประเพณีวัฒนธรรมของวัดร้องเก่า หรือ บ้านร้องเก่า ประเพณีหรือวัฒนธรรมของหมูบ่ า้ นนัน้ มีอยูห่ ลายๆ อย่าง เช่น ประเพณี ตานก๋วยสลาก, ประเพณีรดน�้ำด�ำหัวผู้สูงอายุ, ประเพณีบายศรีสู่ขวัญ พระภิกษุสามเณร, ประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่า, ประเพณีสืบชะตา ฯลฯ เป็นต้น แต่ขอยกประเพณีที่เด่นชัดของวัดร้องเก่า นั่นก็คือ ประเพณีใส่บาตร พระอุปคุต หรือ ตักบาตรเที่ยงคืนเป็งปุ๊ด วันเป็งปุ๊ด หรือการตักบาตรพระอุปคุตตอนเที่ยงคืน ส�ำหรับผู้ที่นับถือ พระพุทธศาสนานัน้ หลายท่าน อาจจะไม่เคยได้ยนิ ว่ามีการตักบาตรกลางคืน แต่ในอดีตเมื่อใกล้เวลาประมาณเที่ยงคืน ที่ย่างเข้าสู่วันพุธ วันเพ็ญขึ้น 15 ค�ำ่ จะมีประชาชนจ�ำนวนมากมาร่วมท�ำบุญตักบาตรพระภิกษุสงฆ์ สามเณร เรียกวันดังกล่าวว่า “วันเป็งปุ๊ด” โดยมีประวัติความเป็นมาสืบเนื่องมาจาก ความเชื่อที่ว่า พระมหาอุปคุตซึ่งเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งที่มีมหาอิทธิฤทธิ์ สามารถดลบันดาลโชคลาภวาสนาได้ หลังจากการเข้าฌานสมาบัตใิ ต้สะดือ ทะเล แล้วแปลงกายเป็นสามเณรน้อย ออกมาโปรดสัตว์โลก เชื่อกันว่าหาก ผู้ใดได้ท�ำบุญตักบาตรพระมหาอุปคุตบุคคลนั้นถือว่าเป็นผู้มีบุญ จะมีโชค ลาภวาสนาร�่ำรวย และบังเกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต ซึ่งประเพณีการ ตั ก บาตรเที่ ย งคื น ถื อ เป็ น ประเพณี ที่ ป ฏิ บั ติ กั น มาช้ า นาน ท่ า นครู บ าอู ๋ เจ้าอาวาสวัดร้องเก่า ได้เป็นผู้นำ� ฟื้นฟูวัฒนธรรมอันนี้และจัดให้มีประเพณี ตักบาตรเที่ยงคืน(เป็งปุ๊ด) ขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ดังนั้นการ ตักบาตรเที่ยงคืนของชาวเชียงค�ำ-ภูซาง เริ่มเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย โดยมี ค ณะศรั ท ธาจากหลายๆ พื้ น ที่ ไ ปร่ ว มท� ำ บุ ญ ใส่ บ าตรพระอุ ป คุ ต ณ วัดร้องเก่าเป็นประจ�ำทุกๆ ปีที่ผ่านมา

110

.indd 110

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

23/7/2562 13:23:24


ล�ำดับเจ้าอาวาส

1. พระครูบากาวิชัย 2. พระกัณชัย 3. พระอภิวงศ์ษา 4. พระอินต๊ะประสงค์ 5. พระศรี ยกยอดี 6. พระแก้ว สุทธสม 7. พระบุญตัน โยปัญญา 8. พระอินวาสน์ จนฺทธมฺโม 9. พระสนั่น โยปัญญา 10. พระผัด แจ้งสว่าง 11. พระสิงหา โยปัญญา 12. พระอธิการวิชัย ปิยธมฺโม 13. พระอธิการชนะพล ธีรปญฺโญ 14. พระครูปิยชัยสิทธิ์ (ครูบาอู๋)

พ.ศ.2320-2380 พ.ศ.2380-2415 พ.ศ.2415-2436 พ.ศ.2436-2466 พ.ศ.2466-2498 พ.ศ.2498-2508 พ.ศ.2508-2510 พ.ศ.2510-2515 พ.ศ.2515-2517 พ.ศ.2517-2520 พ.ศ.2520-2522 พ.ศ.2522-2538 พ.ศ.2538-2547 พ.ศ.2547-ปัจจุบัน PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 111

111

23/7/2562 13:23:27


ะเยา

รรษา พสัตว์ น ถึง ทับที่ ลหะ) าร

H I STORY OF BU DDHI S M

วัดแวนโค้งเก่า

สามัคคีชุมชนกับงานบุญ ปฏิบัติธรรม สร้างบารมี วิถีพุทธ พระอธิการครรชิต ปภากโร เจ้าคณะต�ำบลฝายกวาง เขต 2 และเจ้าอาวาสวัดแวนโค้งเก่า วัดแวนโค้งเก่า ตั้งอยู่เลขที่ 121 บ้านสันติสุข หมู่ที่ 11 ต�ำบลฝาย อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ วัดมีเนือ้ ที่ 3 ไร่ 1 งาน 45 ตารางวา ด้วยสภาพพื้นที่ของทางวัดติดกับชุมชนบ้านสันติสุข พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม เริ่มตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2551 ทางส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้ มีประกาศแต่งตั้งให้เป็นวัดโดยมีชื่อว่า วัดแวนโค้งเก่า ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2555 ขึ้น 11 ค�่ำ เดือน 3 ปีมะโรง

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระติ๊บ ฐิตปญฺโญ ตั้งแต่ พ.ศ.2542-วันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552 (ลาสิกขา) 2. พระอธิการครรชิต ปภากโร ตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาส โดยสังเขป พระอธิการครรชิต ปภากโร อายุ 47 ปี พรรษา 20 เดิมชื่อ ครรชิต นามสกุล แสงศรีจันทร์ นักธรรมชั้นเอก ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (พ.ธ.บ) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 112

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 112

23/7/2562 13:25:40


กิจกรรมทางวัดได้ท�ำกิจกรรมร่วมกับชุมชน อาทิเช่น กิจกรรมท�ำบุญในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา วันส�ำคัญของชาติ วันมาฆบูชา วันอัฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันลอยกระทง วันสงกรานต์ วันเฉลิมพระชนพรรษา 5 ธันวามหาราช วัน 12 สิงหามหาราชินี วันที่ 28 ธันวาคม งานประเพณีทอดผ้าป่าสามัคคีประจ�ำปี 1- 8 เมษายน โครงการบรรพชาอุปสมบทหมู่บวชภาคฤดูร้อน วันที่ 15 เมษายน ท�ำบุญตักบาตร ทานเจดีย์ทราย สรงน�้ำพระ ครูบา-อาจารย์ ด�ำหัวผู้สูงอายุ วันที่ 16 เมษายน พิธีสืบชะตาหลวงเพื่อรับปีใหม่เมือง

เชิญชวนญาติธรรมร่วมสร้างเส้นทางบุญ สอบถามโทร 084-808-4837

ถาวรวัตถุและพระพุทธรูปส�ำคัญในวัด พระประธานในอุโบสถ หลวงพ่อพระพุทธเมตตา เนื้อทองสัมฤทธิ์ เป็นพระประธานปางนั่งสมาธิ หน้าตักวัดได้ 72 นิ้ว ความสูง 108 นิ้ว สร้างปี พ.ศ.2541 พระประธานในศาลาแก้ว เป็นพระพุทธรูปพระพุทธชินราชเนื้อทอง สัมฤทธิ์ หน้าตัก 49 นิ้ว ความสูง 92 นิ้ว สร้างปี พ.ศ.2559 เสนาสนะ ประกอบด้วย พระวิหาร, กุฏิสงฆ์, ศาลาหอฉัน, ศาลา อเนกประสงค์, หอระฆัง, ซุ้มประตู, โรงครัว, ห้องน�้ำ

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 113

113

23/7/2562 13:25:48


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดแท่นค�ำ

“ วัดแท่นค�ำ น�ำธรรมะ ชนะใจคน” พระครูสุวรรณธรรมนิวิฐ ( เกรียงไกร อตฺถกาโม) รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอกค�ำใต้ / เจ้าอาวาสวัดแท่นค�ำ วัดแท่นค�ำ ห่างจากอ�ำเภอดอกค�ำใต้ 20 กิโลเมตร ระยะทางห่างจาก จังหวัดพะเยา 32 กิโลเมตร เริ่มบุกเบิกสร้างวัดขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2463 ได้ตงั้ เป็นส�ำนักสงฆ์ ชือ่ ส�ำนักสงฆ์วดั ป่าคา ซึง่ มีเนือ้ ทีส่ ร้างวัด 6 ไร่ 27 ตารางวา และมีธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 3 งาน 70 ตารางวา โดยมี นายตา เจนใจ เป็นผู้ใหญ่บ้านผู้ริเริ่มบุกเบิกในการสร้างวัดโดยแยกมาจาก วัดบุญชุม (บ้านห้วยต้นตุม้ ) และได้รว่ มกันสร้างกุฏสิ งฆ์ ศาลาท�ำบุญชัว่ คราว และได้นิมนต์พระฝ้ายมาอยู่ประจ�ำรักษาการ

114

.indd 114

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

23/7/2562 13:28:57


การสร้างและพัฒนาวัดแท่นค�ำ พ.ศ. 2475 ได้ขอเสนอเป็นวัดที่ถูกต้องชื่อ “วัดแท่นค�ำ” พ.ศ. 2480 ได้รว่ มสร้างพระวิหารและพระประธานในพระวิหาร 3 องค์ สร้างด้วยอิฐถือปูนโดยจ้างช่างจากล�ำพูน พ.ศ. 2481 สร้างก�ำแพงรอบวัด 4 ด้าน ขุดสระน�้ำ ขุดน�้ำบ่อ พ.ศ. 2491 ได้สร้างกุฏิสงฆ์ ไม้ชั้นเดียว 1 หลัง พ.ศ. 2491 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา พ.ศ. 2531 ทางศูนย์ประสานงานเพื่อความมั่นคงแห่งชาติ (ก.น.ช.) ได้ยกวัดแท่นค�ำเป็นวัดพัฒนาจิตใจของศูนย์ ก.น.ช. พ.ศ. 2540 ทางจังหวัดพะเยาจึงได้เสนอชือ่ ต่อกรมศาสนา เพือ่ คัดเลือก ให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่นประจ�ำปี พ.ศ. 2540 สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายกทรงประธานพัดวัดพัฒนาตัวอย่างทีม งานดีเด่น และตราตั้งแก่พระครูสุวรรณธรรมนิวิฐ เจ้าอาวาสวัดแท่นค�ำ เมือ่ วันที่ 11 มกราคม 2540 ณ วัดพนัญเชิงวรวิหาร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระพุทธศรีประทานพรไภษัชย์

ปัจจุบันวัดแท่นค�ำได้เป็นศูนย์กลางพัฒนาชุมชน เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น

เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์วัฒนธรรมไทยสายใยชุมชน เป็นศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตในชุมชน เป็นศูนย์สงเคราะห์ผู้ติดเชื้อเอดส์ เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ เป็นศูนย์หน่วยอบรมพุทธมามกะ เป็นหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล(อ.ป.ต.) เป็นวัดต้นแบบการส่งเสริมสุขภาพ เป็นหน่วยอบรมเยาวชน ศูนย์อบรม บรรพชา-อุปสมบทภาคฤดูร้อน เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมดีเด่นประจ�ำจังหวัดพะเยา แห่งที่ 10 PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 115

115

27/7/2562 14:15:28


พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ สืบเนื่องมาจากพระครูสุวรรณ เจ้าอาวาสวัดแท่นค�ำ ท�ำบุญอายุครบ วัฒนมงคล 60 ในวันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม 2560 คณะศรัทธาวัดแท่นค�ำ พร้อมด้วยอุบาสก อุบาสิกาได้พร้อมใจกันวางศิลาฤกษ์ พระธาตุนวรัตนแท่น สุวรรณ

วัตถุประสงค์ในการสร้างพระธาตุ “ นวรัตนแท่นสุวรรณ” 1. ปีพ.ศ. 2559 ผูม้ จี ติ ศรัทธาถวายพระบรมสารีรกิ ธาตุ ของ 5 พระองค์ ยังไม่มที บี่ รรจุ 2. เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ 3. ประดิษฐานพระธาตุ ประจ�ำวัดแท่นค�ำ 4. เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้มีสถานที่กราบไหว้พระธาตุประจ�ำวันเกิด 5. เพื่อยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศาสนิกชนน้อมน�ำการบูชาศรัทธาใน พระพุทธศาสนาให้มั่นคง 6. เพื่อความสมัครสมานสามัคคีของชุมชน

คุณประสิทธิ์ ร่วมใจพัฒนกุล ประธานประสานงานก่อสร้าง ศาลาปฏิบัติธรรม ๘๙,พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ

โดยได้รบั ความอุปถัมภ์การก่อสร้างพระธาตุ “ นวรัตนแท่นสุวรรณ”

ภก.ก�ำพล ภกญ.วาทินี กุลบุศย์ ประธานสร้างศาลา ปฏิบัติธรรม ๘๙, พระธาตุนวรัตนแท่นสุวรรณ

116

.indd 116

1. เภสัชกรก�ำพล-เภสัชกรหญิงวาทินา กุลบุศย์ ประธานด�ำเนินการ ก่อสร้าง 2. คุณประสิทธิ์ ร่วมใจพัฒนกุล ประธานประสานงานการก่อสร้าง 3. กลุ่มเพื่อนวันพฤหัสและกลุ่มเพื่อนวงการยา 4. คณะศรัทธาวัดแท่นค�ำ

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

23/7/2562 13:29:22


HISTO RY O F B U DDH IS M

วัดเทพวราราม (วัดป่า) พระครูถาวรธรรมวิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดเทพวราราม (วัดป่า)

วัดเทพวราราม (วัดป่า) สร้างเมื่อปี พ.ศ.2528 เป็นวัดที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย ไม่ทราบข้อมูลทีแ่ น่นอนว่าใครเป็นผูร้ เิ ริม่ สร้างวัด ปัจจุบนั วัด มีเนื้อที่ 23 ไร่ และได้รับการพัฒนามาเรื่อยๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมี เจ้าอาวาสรวมทัง้ สิน้ 14 รูป ทีช่ ว่ ยกันกับชาวบ้านและคณะศรัทธาร่วมสร้าง และพัฒนาวัดจนเจริญรุ่งเรือง เป็นสถานที่รวมใจของพุทธศาสนิกชน ประกอบพิธีสำ� คัญทางศาสนา

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ กับวัดเทพวราราม(วัดป่า) สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เบอร์โทร 086-429-6267 พระครูถาวรธรรมวิสุทธิ์ เจ้าอาวาส PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 117

117

23/7/2562 13:30:22


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่

ตั้งอยู่บ้านจ�ำไก่ เลขที่ 88 หมู่ 11 ต�ำบลสันโค้ง อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา 56120 พระศุภกร สรวิชัย ประธานสงฆ์วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่ วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่ เป็นวัดเก่าแก่โบราณสร้างมานานหลายร้อยปี โดยตั้งอยู่ภายในบริเวณเวียงโบราณชาวบ้านเรียกว่า “เวียงชมพู” เดิมมี สภาพทุรกันดาร รกร้างเป็นป่ารกชัฏเต็มไปด้วยต้นไม้น้อยใหญ่ มีวัชพืชขึ้น ปกคลุมหนาแน่น สถานทีแ่ ห่งนี้ ชาวบ้านไม่กล้าเข้าไปใกล้เพราะมีความเชือ่ ว่าผีดุ เจ้าทีแ่ รงและยังพบซากปรักหักพักของซากเจดีย์ ซากโบสถ์ซงึ่ เหลือเพียง กองอิฐกองดิน ทับถมกันอยู่มีเศษชิ้นส่วนพระพุทธรูปหิน มีสภาพเศียรหัก

องค์ แ ตกแขนขาด เป็ น ภาพที่ น ่ า เศร้ า สลดสั ง เวชใจอย่ า งยิ่ ง ยั ง มี เ หตุ มหัศจรรย์ปรากฏอยู่ในยามค�่ำคืน ชาวบ้านมักจะเห็นดวงแก้ว (ดวงไฟ) ลักษณะเป็นดวงกลมมีแสงสว่างมากล่องลอยไปมาอยู่บริเวณวัดร้างแห่งนี้ ในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ดังนั้นศรัทธาชาวบ้านตลอดจนชาวพุทธ ทั้งหลาย จึงได้ร่วมใจกันฟื้นฟู บูรณปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ขึ้นมาอีกครั้งเพื่อ จรรโลงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป 118

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 118

23/7/2562 13:31:09


ด้วยแรงศรัทธาพุทธศาสนิกชน ในปี พ.ศ. 2544 มีพระธุดงค์ (ธรรมยุติ) มาปักกลดชาวบ้านได้นิมนต์

มาจ�ำพรรษา (พระอาจารย์ธวัช) พระรูปนี้เป็นคนภาคอีสาน ชาวบ้านจ�ำไก่ มีคนอีสานจ�ำนวนมาก ต่อมาท่านพระธวัช ได้ปรึกษาหารือกับชาวบ้าน และลุงศักดิเ์ พือ่ หาผูม้ จี ติ ศรัทธาในการสร้างพระเจดียจ์ งึ ได้ชวนคุณชาญชัย ภู่มีเกียรติ เป็นผู้น�ำชาวบ้าน พ่อค้า ประชาชน ในจังหวัดพะเยาและศรัทธา ทางอ�ำเภอดอกค�ำใต้ ร่วมกับหลวงพ่ออนันต์วัดห้วยทรายเลื่อน จัดผ้าป่า และวางศิลาฤกษ์ ก่อสร้างพระเจดีย์ จากนั้นก็มีผ้าป่ากองเล็กเมื่อมีทุน สนับสนุนก็สร้างต่อไปเรื่อยๆ ต่อมา การก่อสร้างได้ความสูงประมาณ 5 ถึง 6 เมตร (การก่อสร้างเป็น เจดีย์ตันท�ำให้มีน�้ำหนักมาก ซึ่งการก่อสร้างได้สร้างทับครอบเจดีย์ของเดิม ซึง่ เป็นเนินดิน มีเศษอิฐเศษปูนทับถมกันและมีหลุมซึง่ เกิดจากมีผมู้ าลักลอบ ขุดของโบราณจึงได้ถมหลุมไม่มกี ารตอกเสาเข็ม จึงท�ำให้พระเจดียท์ รุดเอียง จึงได้หาวิธีปักเสาหินซึ่งเป็นเสาไฟฟ้าไม่มีตระแกรงตีนเสาจ�ำนวน 56 ต้น เมือ่ ประสบปัญหาและขาดแคลนปัจจัยสนับสนุนจึงได้หยุดการก่อสร้าง จาก นั้นไม่นานพระธวัชก็ได้ย้ายออกไปจ�ำพรรษาที่วัดอื่นทางภาคอีสาน ท�ำให้ วัดร้างอีกครั้ง

ในปี พ.ศ. 2548 ชาวบ้านได้นิมนต์พระอ�ำพร อนาลโย ให้มาจ�ำพรรษา คณะคุณศักดิ์ คุณชาญชัยได้ปรึกษาหารือกับคุณภัทราวดี วงศ์มีเกียรติ ช่วยบอกบุญหาปัจจัยมาช่วยสร้างวัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่ ต่อมามีคณะของ ท่านอาจารย์พิชัยและคุณอารยา พร้อมคณะศรัทธาจากกรุงเทพ-พะเยา ได้มาช่วยสร้างพระธาตุเจดีย์ต่อ แต่ติดขัดเรื่องโครงสร้างพระธาตุเจดีย์และ รูปแบบพระเจดีย์ คุณศักดิ์ คุณชาญชัย และคุณพิบูลย์ จึงได้มาติดต่อขอให้ คุณอุดม ช่วยออกแบบโครงสร้างและรูปแบบพระธาตุเจดีย์ให้ใหม่ และ ขอให้ช่วยควบคุมการก่อสร้างพระเจดีย์ด้วยซึ่งระหว่างสร้างพระเจดีย์ก็ได้ สร้างศาลาปฏิบตั ธิ รรม ศาลาประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม ซุม้ พระพุทธนิมติ รจฤทธิ์ ศาลาประดิษฐานแม่พระธรณี ท�ำเสาอโศก 2 ต้น พระธาตุเจดีย์หลวง และสาธารณูปโภค สิ่งก่อสร้างอื่น ๆ จนเสร็จสมบูรณ์แ ล้วถวายไว้ใน พระพุทธศาสนา ในปี พ.ศ. 2551 ปี พ.ศ. 2552 หลังจากสร้างวัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่เสร็จแล้ว ท่าน อาจารย์ พิ ชั ย และคณะอารยา พร้ อ มคณะศรั ท ธาจากกรุ ง เทพฯ และ ชาวดอกค� ำ ใต้ ไ ด้ ท อดกฐิ น ที่ วั ด บุ ญ เกิ ด แล้ ว สร้ า งองค์ พ ระธาตุ เจดี ย ์ ศรีอริยเมตตรัยจนส�ำเร็จและถวายไว้ในพระพุทธศาสนา ปี พ.ศ. 2557 หลวงตาพร ได้ย้ายออกไปจ�ำพรรษาที่วัดอื่น ท�ำให้ วัดพระธาตุหลวงจ�ำไก่กลายเป็นวัดร้างอีกครั้งหนึ่ง ในเดือน มกราคม พ.ศ. 2558 ศรัทธาชาวบ้านได้นิมนต์พระศุภกร ปัญญาวโร (ธรรมยุต) เพื่อให้ท่านมาพัฒนาวัดและเผยแพร่พระธรรมสืบไป PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 119

119

23/7/2562 13:31:18


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดศรีสุพรรณ พระครูสุวรรณสิริรักษ์ เจ้าอาวาสวัดศรีสุพรรณ

“สืบสานประเพณี สืบศรีสมัย สืบสายสัมพันธ์ สืบธรรมอ�ำไพ” ค�ำขวัญวัดศรีสุพรรณ วัดศรีสุพรรณ ตั้งอยู่ที่บ้านแม่ใจปง เลขที่ 57 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน ต�ำบลแม่ใจ อ�ำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เดิมมีชื่อ ของวัดทีช่ าวบ้านเรียกว่า “วัดแม่ใจปงสนุก” ในบันทึกของ พระครูศรีวริ าช วชิรปัญญา อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีโคมค�ำ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ได้บนั ทึก ชื่อวัดศรีสุพรรณ ในครั้งอดีตว่า “วัดไชยปงสนุก” บางท่านเรียกว่า “วัดพระเจ้าทองทิพย์” ซึ่งความหมายหรือค�ำแปลแต่ละค�ำนั้นหมายถึง องค์พระพุทธรูปพระเจ้าทองทิพย์ ซึง่ ประดิษฐานในวิหารหลวงวัดศรีสพุ รรณ ปั จ จุ บั น วั ด ศรี สุ พ รรณมี พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด และที่ ธ รณี ส งฆ์ ทั้ ง หมด 8 ไร่ 1 งาน 29 ตารางวา

พระเจ้าทองทิพย์ เป็นพระพุทธรูปศิลปะล้านนาตอนปลายหรือศิลปะเชียงแสน ทีช่ าวบ้าน นิยมเรียกกันว่าพระสิงห์สาม โดยมีศิลปะเชียงแสน, ศิลปะสุโขทัย, และ ศิลปะล้านช้าง (ลาว) ผสมผสานในองค์พระเดียวกันอย่างกลมกลืน เป็นที่ งดงามจ�ำเริญตายิ่ง และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นสมบัติของชาติตามที่ได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 108 ตอนที่ 188 ลงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2534 ปั จ จุ บั น ทุ ก วั น ที่ 15-17 เมษายน ของทุ ก ปี จะมี พิ ธี อั ญ เชิ ญ พระเจ้าทองทิพย์ลงจากแท่นที่ประดิษฐานในวิหารหลวง แห่และสรงน�้ำ องค์พระตามความเชื่อมาแต่ครั้งโบราณ อย่างยิ่งใหญ่ 120

1

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญญาติธรรมทั้งหลายร่วมสร้างอุโบสถกับวัดศรีสุพรรณ สามารถติดต่อท่านเจ้าอาวาสได้โดยตรง โทร 088-626-4623

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 120

23/7/2562 13:33:51


เตรียม 1,500 ไร่

สร้างสนามบิน รับ AEC ที่พะเยา เทศบาลต�ำบลแม่กา อ�ำเภอเมือง จังหวัดพะเยา เตรียมพื้นที่ 1,500 ไร่ สร้างสนามบิน รองรับ AEC รองรับยุคไทยแลนด์ 4.0 ชี้อนาคตหวังเป็นจุดเสริมศักยภาพจังหวัด ในการเป็นศูนย์กลาง การแพทย์ เพื่ อ รองรั บ ผู ้ สู ง อายุ และความเจริ ญ ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด พะเยา ที่มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเขตพื้นที่ที่จะจัด สร้างสนามบินเป็นแนวติดต่อกันถึง 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลคือเวียง ต�ำบลจ�ำป่าหวาย ต�ำบลปิน และต�ำบลแม่กา ซึ่งเป็นเขตติดต่อ ระหว่างอ�ำเภอเมืองพะเยา อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา เป็น พื้นที่ป่าชุมชน และ สปก. โดยจุดศูนย์กลางพื้นที่ต�ำบลแม่กา ต�ำบล จ�ำป่าหวาย อ�ำเภอเมืองพะเยา และต�ำบลคือเวียง อ�ำเภอดอกค�ำใต้ โดยพื้นที่ดังกล่าวมีการส�ำรวจไว้เพื่อสร้างสนามบิน จ�ำนวน 1,500 ไร่ และพบว่ า เป็ น พื้ น ที่ ร าบ และอยู ่ กึ่ ง กลางระหว่ า งเขตติ ด ต่ อ ทุ ก ทิศทาง มีถนนเข้าออกทุกด้าน ซึ่งเป็นพื้นที่เหมาะสมกับการสร้าง สนามบินจังหวัดพะเยา เพื่อการรองรับ AEC ยุค 4.0 และยังเชื่อมต่อ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ กลุ่มประเทศอาเซียน ระหว่าง ไทย ลาว จีน พม่า เป็นต้น (www.thairath.co.th)

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

4

AEC 4.0

.indd 121

121

23/7/2562 16:26:22


บลต๋อม รณีสงฆ์ ย สังกัด พระสงฆ์

H I STORY OF BU DDHI S M

วัดห้วยทรายขาว

พระครูวิมลขันตยาภรณ์ (บุญก�้ำ ขนฺติพโล ) เจ้าอาวาสวัดห้วยทรายขาว วัดห้วยทรายขาว ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 2 หมู่ 7 ต�ำบลห้วยแก้ว อ�ำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 2 ตารางวา มีอาณาเขตติดต่อกัน ดังนี้ ทิศเหนือ จรดโรงเรียนบ้านห้วยทรายขาว ทิศใต้ จรดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออก จรดถนนพะเยา-ป่าแดด ทิศตะวันตก จรดทีน่ าของประชาชน ปัจจุบนั พระครูวมิ ลขันตยาภรณ์ (บุญก�ำ้ ขนฺตพิ โล) น.ธ.เอก,พธ.บ. เป็นเจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอภูกามยาว

ประวัติความเป็นมา แบ่งเป็น 2 ยุค ด้วยกัน ยุคที่ 1 สร้างเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2480 ตั้งอยู่บริเวณกลางหมู่บ้าน ปัจจุบันเป็นที่อยู่อาศัยของประชาชน ต่อมาวัดไม่มีเจ้าอาวาส ประกอบกับ ประชาชนมีจ�ำนวนไม่มากนักและยากจน ต้องท�ำมาหาเลี้ยงชีพ เป็นเหตุให้ วัดขาดการอุปถัมภ์ดูแลเอาใจใส่จึงร้างไปในที่สุด ตั้งแต่นั้นมา ชาวบ้านจึง ได้เดินทางไปท�ำบุญทีว่ ดั หาดแฟน ซึง่ ห่างจากหมูบ่ า้ นไปทางทิศใต้ประมาณ 2 กิโลเมตร 122

ยุคที่ 2 เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506 ผู้น�ำหมู่บา้ นห้วยทรายขาวใน ครั้งนั้น ซึ่งประกอบด้วย พ่อหลวงตา มุสุ ผู้ใหญ่บ้าน, พ่อเป็ง วงศ์สม, พ่อหน้อยใจ๋ สายวงศ์, พ่อหน้อยเสาร์ วงศ์จมิ า และพ่ออุย้ จันทร์ชมุ วงศ์คำ� ตัน ได้น�ำเรื่องนี้ปรึกษากับพ่อหนานประเสริฐ ฟักแก้ว และมีมติเบื้องต้นว่าควร สร้างวัดประจ�ำหมูบ่ า้ นขึน้ ต่อมาวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2506 จากการประชุม ชาวบ้านมีมติเห็นชอบในการสร้างวัด โดยมีแก้ว ทาเขียว, พ่อเจอ แสงเมือง, พ่อเป็ง วงศ์สม ได้มอบที่ดินให้ (ที่ตั้งปัจจุบัน) จากนั้นในปีต่อมาวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 พ่อหลวงตา มุสุ ผู้ใหญ่บ้าน พร้อมด้วยคณะได้ เดินทางด้วยเท้าเปล่าไปวัดศรีอโุ มงค์คำ� (วัดสูง) เพือ่ ขออนุญาตสร้างวัดจาก พระโสภณธรรมมุนี เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพะเยา ในสมัยนั้น (ปัจจุบันเป็น พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6) หลังจากที่ได้รับอนุญาต สร้างวัดแล้ว วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ.2507 มีมติร่วมกันให้สร้างกุฏิสงฆ์ก่อน กระทั่ ง วั น ที่ 10 มี น าคม พ.ศ.2507 ได้ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ โดยยก เสามงคลลงหลุมเป็นต้นแรก เป็นมงคลนิมิตหมายอันดีว่าวัดห้วยทรายขาว จักเจริญต่อไป

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 122

23/7/2562 13:35:07


งานบูรณปฏิสังขรณ์ พ.ศ. 2557 ด�ำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร และทาสีใหม่ทั้งหลัง ในปีต่อมา พ.ศ. 2558 ด�ำเนินการบูรณ ปฏิสังขรณ์อาคารหอฉันหน่อแก้ว โดยท�ำการเคลื่อนย้ายเพื่อใช้เป็นสถานที่ ก่อสร้างพระธาตุแก้วหทัยนเรศวร์ จากนั้น ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2559 ด�ำเนินการสร้างเรือนรับรองเชื่อมอาคารกรรมฐาน “อุดมบารมี” หลังเดิม และต่อมาในปีเดียวกัน ด�ำเนินการบูรณะบริเวณอุโบสถ ด้วยการปูกระเบือ้ ง เสริมร่องระบายน�้ำ และปรับภูมิทัศน์บริเวณโดยรอบอุโบสถ

วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 สร้างพระพุทธปฏิมา เป็นพระประธาน (หลวงพ่อขาว) ประจ�ำวัดลักษณะก่ออิฐถือปูน ขนาดหน้าตักกว้าง 3 ศอก พ.ศ.2514 ได้ร่วมกันสร้างศาลาการเปรียญหลังแรกในปีนั้น และในปี พ.ศ. 2523 ได้ทำ� การสร้างก�ำแพงรอบวัด จากนัน้ วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2525 ได้ท�ำพิธีวางศิลาฤกษ์อุโบสถ ต่อมาวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2537 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา และวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2538 ประกอบพิธี เฉลิมฉลองอุโบสถและปิดทองฝังลูกนิมิต พ.ศ. 2553 สร้างอาคารหอฉัน 2 ชั้น ขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 20 เมตร โดยมีแม่หล้า หน่อแก้ว พร้อมบุตรธิดา เป็นเจ้าภาพ และในปีเดียวกันก็ได้ สร้างหอระฆัง ขนาดความกว้าง 3 เมตร สูง 14 เมตร โดยมี นายฮ่วน และ แม่เมา มุสุ เป็นเจ้าภาพ ต่อมาในปีพ.ศ.2554 ก่อสร้างวิหารคด (ศาลาบาตร) จ�ำนวน 37 ห้อง ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 111 เมตร

โครงการพัฒนาและปรับภูมิทัศน์ เพื่อการศึกษาทางวัฒนธรรม พ.ศ.2556 ได้ด�ำเนินการโครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ทาง วัฒนธรรมขึ้นโดย พระศรีธรรมมุนี ปัจจุบัน พระราชรัตนมุนี (บุญเทียม ญานินฺโท ป.ธ.8 ,ผศ.ดร.) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการาม ,เลขานุการ เจ้าคณะใหญ่หนกลาง ประธานโครงการและจัดหาทุน รายละเอียดดังนี้ พ.ศ.2556 สร้างศาลาสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (อุปสมมหาเถร) พ.ศ.2557 สร้างกุฏิรับรอง เมตตาภิรมย์ และ แดนธรรมล้านนา (ลานพระอุปคุต) พ.ศ.2558 พิธหี ล่อสมเด็จองค์ปฐมสมปรารถนานิโรคันตราย (หลวงพ่อทันใจ) พระพุทธหิรัญมณี (หลวงพ่อเงิน) และ พระพุทธสุวรรณมุนี (หลวงพ่อทอง) ในปีเดียวกัน จัดพิธเี ททองหล่อพระพุทธเมตตา และพระธาตุแก้วหทัยนเรศวร์ ปัจจุบนั วัดห้วยทรายขาวเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านในการบ�ำเพ็ญ บุญและปฏิบัติธรรมเพื่อความพ้นทุกข์ ในสังสารวัฏ และเกื้อกูลพระสงฆ์ และวัดให้เจริญรุ่งเรืองในบวรพระพุทธศาสนาสืบไป PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 123

123

23/7/2562 13:35:16


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเมืองอิงหลวง

พระครูวิสุทธิวรการ เจ้าคณะต�ำบลแม่อิง / เจ้าอาวาสวัดเมืองอิงหลวง วัดเมืองอิงหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 107 ต�ำบลแม่อิง อ�ำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ในบริเวณบ้านแม่อิงหลวง เดิมมี ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มรกร้าง มีต้นไม้ขึ้นเป็นป่ารกทึบ มีแม่น�้ำ แม่องิ ไหลผ่าน ต่อมามีชาวบ้านเดินทางมาพักแรมเพือ่ เลีย้ งวัวและเลีย้ งควาย ได้สร้างเพิง(กระท่อม) สร้างปางวัวปางควายโดยมีพ่อเฒ่าตุ่น แม่เฒ่าเปี้ย และ พ่อหน้อยใจ แม่บวั ค�ำ เป็นผูม้ าแผ้วถางดายหญ้าเพือ่ เป็นพืน้ ทีพ่ กั อาศัย และบุกเบิกพื้นที่ท�ำเป็นเรือนสวนไร่นา เพราะเห็นว่าเป็นผืนดินอุดสมบูรณ์ สองครอบครัวจึงได้ยึดอาชีพท�ำสวนท�ำนา ต่อมาเมื่อมีลูกมีหลานญาติ และเพื่ อ นบ้ า นได้ ย ้ า ยมาอยู ่ ร วมกั น มี จ� ำ นวนมากขึ้ น ได้ ตั้ ง ชื่ อ หมู่บ้านว่าหมู่บ้านแม่อิงหลวง และได้สร้างวัดประจ�ำหมู่บ้านตั้งชื่อว่า “วัดเหมืองอิงหลวง” ต่อมาชื่อวัดได้เพี้ยนมาเป็นชื่อ “วัดเมืองอิงหลวง” ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันอังคารที่ 24 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2482 วัดมีพื้นที่ 3 ไร่ 51 ตารางวา ปัจจุบันมี พระครูวิสุทธิวรการ เจ้าคณะ ต�ำบลแม่อิง ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

124

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 124

23/7/2562 13:36:38


ประวัติครูบาไชยวงศ์ ชยวํโส พระครูวิสุทธิวรการ ล�ำดับเจ้าอาวาสตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 1. ครูบายศ 2. ครูบาวงศ์ (ไชยวงศ์ ชยวํโส) 3. พระรส 4. พระผัด 5. พระโต 6. พระเอี้ยง 7. พระฟอง 8. พระขืน อินฺทจกฺโก 9. พระเตี่ยม ชยมงฺคโล 10. พระปั๋น คนฺธญาโณ พ.ศ. 2493 11. พระศรีนวล สิริปุญฺโญ พ.ศ. 2502-พ.ศ.2509 12. พระสมุทร อุตฺตมปญฺโญ พ.ศ. 2509-พ.ศ.2517 13. พระทองสุข วิสุทฺธสีโร พ.ศ. 2517-พ.ศ.2522 14. พระบุญเรือง เขมวีโร พ.ศ. 2522-พ.ศ.2524 15. พระประมงค์ โชติธมฺโม พ.ศ. 2524-พ.ศ.2530 16. พระอธิการสุพิชญ์ สิทธิปญฺโญ พ.ศ. 2530-พ.ศ.2538 17. พระครูวิสุทธิวรการ ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2539 - ปัจจุบัน

อดีตเจ้าอาวาสวัดเมืองอิงหลวง และ อดีตเจ้าคณะแขวงดอกค�ำใต้ ครูบาไชยวงศ์ ชยวํโส (พระไชยวงศ์ นามสกุล ชวนคิด) เกิดเมือ่ พ.ศ. 2407 ชาติภูมิเป็นชาวลาว ได้อพยพจากประเทศลาว มาพร้อมกับหลานของท่าน คนหนึง่ ชือ่ ว่า พ่ออุย้ ชุม ชวนคิด อยูท่ บี่ า้ นบัว ต�ำบลบ้านตุน่ อ�ำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ได้กราบอาราธนาท่านมาเป็นเจ้าอาวาสบ้านร้อง(วัดเกษศรี) แต่ก็เป็นได้ไม่นาน เมื่อต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเหมืองอิงหลวงว่างลง ท่านก็ ย้ายมาด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเหมืองอิงหลวง และต่อมาท่านได้เปลีย่ นชือ่ วัดเหมืองอิงหลวง เป็นวัดเมืองอิงหลวง ตราบจนถึงทุกวันนี้ ครูบาไชยวงศ์ เป็นพระที่เคร่งครัดในพระธรรมวินัย มีวัตรปฏิบัติเป็นที่ น่าเลื่อมใส ทั้งฝ่ายอาณาจักรและพุทธจักร จนได้รับความไว้ใจแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะแขวงดอกค�ำใต้ (เจ้าคณะหมวดพระอุปัชฌาย์) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2451 (ร.ศ.127) ขณะอายุ 44 พรรษา 24 (หลักตามหนังสือ ประวัติสงฆ์ จังหวัดพะเยา โดยพระธรรมวิมลโมลี (ปวง ธมฺมปญโญ ป.ธ.5) เมื่อครั้งด�ำรงสมณศักดิ์ที่พระราชวิสุทธิโสภณ พิมพ์ที่บัณฑิตการพิมพ์ กรุงเทพมหานคร เมื่อ พ.ศ. 2527 ได้กล่าวถึง ชื่อ-ต�ำแหน่ง และวันเดือนปี ที่แต่งตั้ง ตลอดถึงออกตรวจการณ์คณะสงฆ์ที่วัดเมืองอิงหลวงด้วย นอกจากนี้ ท่านยังเป็นทั้งเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์และเป็นที่นับถือ เลื่อมใสของประชาชนทั่วไป มีผู้เฒ่า ผู้แก่ เล่าว่าท่านเป็นพระที่มีวิชาอาคม เก่งกล้า ด้านอยูย่ งคงกระพัน ศาสตราวุธใดๆ ไม่สามารถทีจ่ ะท�ำร้ายท่านได้ ท่านด�ำรงสมณเพศจนจึงแก่มรณภาพเมื่ออายุได้ประมาณ 79 ปี คณะสงฆ์ และคณะศรัทธาตั้งศพท่านบ�ำเพ็ญกุศลที่วัดเมืองอิงหลวงและได้มีพิธี ฌาปนกิจศพของท่านที่ด้านใต้ของวัดใกล้แม่น�้ำอิง ห่างจากวัดประมาณ 200 เมตร สถานทีด่ งั กล่าวเป็นทีต่ งั้ ของเจ้าพ่อม้าขาว เป็นทีเ่ คารพสักการะ ของชาวบ้านแม่อิง และประชาชนทั่วไป ตราบจนถึงปัจจุบัน PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 125

125

23/7/2562 13:36:46


H I STORY OF BU DDHI S M

เรียนรู้วัตรปฏิบัติของพระป่า ปฏิปทาเพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์

วัดป่าห้วยดอกอูน

พระครูปลัดโกมล อธิปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าห้วยดอกอูน วัดป่าห้วยดอกอูน ตั้งอยู่ที่บ้านสันป่าส้าน เลขที่ 137 หมู่ที่ 12 ต�ำบลห้วยแก้ว อ�ำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา สังกัดธรรมยุตกิ นิกาย ทีด่ นิ ที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 48 ตารางวา สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2553ได้รับ อนุญาตสร้างวัดเมือ่ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ ประกาศตัง้ วัดเมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557โดยมีพระอาจารย์ โกมล อธิปัญโญ เป็นผู้มาเริ่มสร้าง วัดป่าห้วยดอกอูนปัจจุบัน พระครูปลัด โกมล อธิปัญโญ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส

126

2

ประวัติความเป็นมา “วัดป่าห้วยดอกอูน” เหตุผลที่ตั้งชื่อว่า “วัดป่าห้วยดอกอูน” เพราะสภาพพื้นที่เป็นที่ราบ เชิงเขาตั้งอยู่ริมล�ำห้วย ซึ่งเป็นบริเวณที่มีต้นไม้ช่ือดอกอูนขึ้นอยู่หนาแน่น ชาวบ้านในพื้นที่เรียกล�ำห้วยนี้ว่า ล�ำห้วยดอกอูน “ดอกอูน” มีชอื่ เรียกอีกอย่างว่า “อูนป่า”, “อูน” หรือ “ดอกพวงไข่มกุ ” เป็นไม้ดอกสีขาว มีถิ่นก�ำเนิดในจีน พม่า และเทือกเขาหิมาลัย มักขึ้นใน ป่าดงดิบเขาในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นไม้ยนื ต้นผลัดใบ ดอกอูน มีกลิน่ หอมจึงมักน�ำมาเป็นดอกไม้บชู าพระ เมือ่ มีวดั มาตัง้ อยูบ่ ริเวณ แห่งนี้จึงได้ชื่อว่า “วัดป่าห้วยดอกอูน” ซึ่งอยู่ในสถานที่สงบร่มรื่น ฤดูฝนมี น�้ำป่าไหลผ่านล�ำห้วยภายในวัด เป็นสถานที่เหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติ ธรรมเจริญจิตภาวนา อีกทัง้ ตัง้ อยูใ่ นหมูบ่ า้ น สันป่าส้าน เป็นหมูบ่ า้ นเกษตร สร้างสรรค์วิถีธรรมชาติในครัวเรือนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงท�ำให้วัดป่าห้วยดอกอูน เป็นหลักยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวบ้าน เป็นวัด ของชุมชนเป็นบวรในพระพุทธศาสนา “บ้าน วัด ชุมชน” ที่จักท�ำให้สังคม แข็งแรง มั่นคงด้วยจิตใจและสติปัญญา

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 126

27/7/2562 14:25:49


ศาสนสถานภายในวัดป่าห้วยดอกอูน - พระธาตุเจดีย์ ศาลาปฏิบัติธรรมพระกรรมฐาน - ศาลาที่พัก กุฏิ โรงครัว ห้องน�้ำ-ห้องสุขา

ปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน พระภิกษุฝ่ายที่มุ่งศึกษาธรรม โดยการกระท�ำ หรือลงมือปฏิบตั ิ และพ�ำนักอยู่ ตามป่าเขา ทีส่ งบ สงัด สะดวกต่อการปฏิบัติ จึงเรียกว่า พระฝ่ายอรัญวาสี พระธุ ด งคกรรมฐาน หรื อ พระป่ า ซึ่ ง พระภิ ก ษุ บูรพาจารย์ใหญ่แห่งกองทัพธรรมพระกรรมฐานใน ประเทศไทย ได้แก่ ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต ค�ำว่า “พระป่า” หรือ “พระธุดงคกรรมฐาน” สายท่านพระอาจารย์มนั่ มีพระเถระผูม้ บี ทบาท ในการ สร้างหลักปักธงชัยพระกรรมฐานในแผ่นดินทีร่ าบสูง แดนอีสานได้แก่ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) วั ด บรมนิ ว าส กรุ ง เทพฯ โดยที่ หลวงปู่มั่น ภูริทัตตมหาเถร กาลต่อมาได้ให้การอบรม สั่ ง สมบารมี ธ รรมแก่ พ ระภิ ก ษุ ส ามเณรจนมี ศิ ษ ย์ เป็นพระธุดงคกรรมฐาน ผู้ทรงคุณธรรม สัมมาปฏิบัติ ออกจาริกธุดงค์เผยแผ่ธรรมน�ำศรัทธาสาธุชนได้ผลดี เป็นอันมากต่อกิจการงานพระศาสนา จึงสร้างส�ำนักป่า วัดวา ศาสนสถานในพระพุทธศาสนา ตามแบบทีเ่ รียกว่า “วัดป่า” ที่เน้นธรรมชาติ ความเรียบง่าย สะอาด สงบ สว่างด้วยแสงธรรม เกื้อกูลกันโดยธรรม จนกว่าจะ ดวงตาเห็นธรรม มาจนถึงทุกวันนี้

พระครูปลัดโกมล อธิปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าห้วยดอกอูน

ดอกอูน PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 127

127

23/7/2562 13:38:18


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดสันต้นผึ้ง

พระครูกิตติวรรณพิพัฒน์ กิตฺติวณฺโณ เจ้าอาวาสวัดสันต้นผึ้ง วัดสันต้นผึ้ง ตั้งอยู่เลขที่ 83 หมู่ 6 ต�ำบลแม่องิ อ�ำเภอภูกามยาว จังหวัดพะเยา สร้างเมือ่ ปีพ.ศ. 2479 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบัน พระครูกติ ติวรรณพิพฒ ั น์ กิตตฺ วิ ณฺโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส บ้ า นสั น ต้ น ผึ้ ง ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลแม่ อิ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พะเยา มีประวัตคิ วามเป็นมาในการตัง้ ถิน่ ฐานของชุมชนในลุม่ น�ำ้ อิง คือ ผูน้ ำ� แต่ละ ชุมชนในอดีตค�ำนึงถึงลักษณะชัยภูมิที่ดีเป็นเกณฑ์ในการมาตั้งถิ่นฐาน บ้านสันต้นผึง้ สภาพเดิมเป็นทุง่ นา ป่าไผ่ และมีแม่นำ�้ อิงไหลผ่านตลอดสาย ต่อมาได้มีพ่ออุ้ยหนานโม่ง วงค์แก้ว, พ่ออุ้ยหนานยะ ไชยโพธิ์, อุ้ยหนานดี ไชยโพธิ์ ได้อพยพถิน่ ฐานมาจากบ้านห้วยดอกเข็ม มาตัง้ อยูค่ รัง้ แรกประมาณ 128

2

10 กว่าหลังคาเรือน และต่อมาตั้งเป็นหมู่บ้านขึ้น ในหมู่บ้านมีต้นไม้งิ้ว เป็นคู่แฝดอยู่ 2 ต้น และมีผึ้งมาสร้างรังอยู่ตลอดปี จึงเป็นที่มาของชื่อ “บ้านสันต้นผึ้ง” ต่อมามีชาวบ้านได้อพยพจากบ้านห้วยดอกเข็ม บ้านดงครกมาอยู่ รวมกันหลายครอบครัวจึงได้ตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2468 ก็ได้ตั้ง พ่อหลวงคนแรก คือ พ่อหลวงโม่ง วงค์แก้ว และในปี พ.ศ. 2543 นายวิเชียร นามอยู่ ได้รับเลือกเป็นก�ำนันคนแรกของหมู่บ้านสันต้นผึ้ง ชาวบ้านในชุมชนบ้านสันต้นผึ้งประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ จึงมีการปฏิบตั ศิ าสนกิจในวันทีม่ คี วามส�ำคัญทางศาสนา โดยมี “วัดสันต้นผึง้ ” เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน เป็นทีป่ ระกอบพิธกี รรมทางศาสนาต่างๆ เช่น วันพระ วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ ส่วนเทศกาล ประเพณีที่สืบทอดมาตั้งแต่อดีต ได้แก่ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสลากภัตร ประเพณีแห่เทียนพรรษา ประเพณี รดน�้ำด�ำหัว ประเพณีเวียนเทียน และประเพณีแห่ไม้ค�้ำศรี เป็นต้น

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 128

นมัสการพระพุทธเจ้า ณ สถานที่ประดิษฐานพระเกสาธาตุ และพระบรมสารีริกธาตุแขนเบื้องซ้าย

23/7/2562 13:39:42


ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูกิตติวรรณพิพัฒน์ กิตฺติวณฺโณ อายุ 49 พรรษา 29 ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาสวัดสันต้นผึ้ง เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2546 ได้รับ พระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นโท (จร.ชท.) เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ผลงานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและการสงเคราะห์ชุมชน เป็นผู้อ�ำนวยการโรงเรียนผู้สูงอายุ ต�ำบลแม่อิง (ตั้งอยู่ ณ องค์การ บริหารส่วนต�ำบลแม่อิง) วัดมีศูนย์ไถ่ชีวิตและโคกระบือ ให้เกษตรกรเลี้ยง เป็นอาชีพเสริม (ปัจจุบันมี 22 ตัว ) อานิสงส์การไถ่ชีวิตโคกระบือ จะได้อานิสงส์ใหญ่ เพราะถือเป็นชาติที่ ใกล้มนุษย์(หมายถึงเชื่อว่าชาติตอ่ ไปของโคกระบือมีสทิ ธิม์ ากทีจ่ ะได้เกิดมา เป็นมนุษย์) การที่โคกระบือถูกจับเข้าโรงฆ่าสัตว์จะท�ำให้จิตเศร้าหมองใน ขณะตายจึงท�ำให้ชาติตอ่ ไปเดิมมีสทิ ธิไ์ ด้มาเกิดเป็นมนุษย์จะต้องเสียโอกาส เพราะจิตเศร้าหมอง การไถ่ชวี ติ โคกระบือจึงหมายถึงช่วยให้สตั ว์ในอบายภูมิ สามารถกลับมาเกิดเป็นมนุษย์โดยช่วยให้จิตไม่เศร้าหมองทรมานก่อนตาย อีกทัง้ ผูท้ ที่ ำ� บุญด้วยการบริจาคทรัพย์ไถ่ชวี ติ โคกระบือ ด้วยอานิสงส์ผล บุญในด้านการช่วยเหลือชีวิตคนหรือสัตว์อื่นให้รอดพ้นจากความตายนั้น จะได้รบั อานิสงส์คอื มีอายุทยี่ นื ยาวปราศจากสรรพทุกข์ สรรพโศก สรรพภัย ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ รอดพ้นจากกรรม ที่เรียกว่าชะตาขาดหรือหมดวัย อันควร หรือการเจ็บป่วยด้วยโรคกรรมก็ตาม

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 129

129

27/7/2562 14:21:41


TRAVEL GUIDE

130

6

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 130

23/7/2562 15:31:47


ความสวยงามของธรรมชาติ

PHAYAO น�้ำตกน�้ำมิน

หรือที่ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่า “น�้ำตกห้วยโป่ง” เป็นน�้ำตกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และมีความ สวยงามและน่ามาเยือนมากแห่งหนึ่ง โดยน�้ำตก ตั้งอยู่ในเขตพื้ นที่ของวนอุทยานน�้ำตกน�้ำมิน ต�ำบลแม่ลาว อ�ำเภอเชียงค�ำ จังหวัดพะเยา น�้ำตกน�้ำมิน เป็นน�้ำตกที่มีน้ำ� ไหลใสเย็น อยู่ตลอดทั้งปี มีความสูงประมาณ 50 เมตร สภาพบริเวณรอบๆ น�้ำตก ล้วนแวดล้อมด้วย เหล่าต้นไม้ใหญ่นอ ้ ย และพื ชคลุมดินนานาชนิด ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น นับว่าเหมาะแก่การ เป็นสถานที่ส�ำหรับศึกษาธรรมชาติได้อีกด้วย

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 131

131

23/7/2562 15:31:49


132

6

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 132

23/7/2562 15:31:53


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 133

133

23/7/2562 15:31:56


PHAYAO

134

6

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 134

23/7/2562 15:31:58


PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 135

135

23/7/2562 15:32:02


ท่องเที่ยวทางใจ 477 วัด "ความสงบที่เรียบง่าย เสน่ห์เมืองที่น่าสัมผัส ความงามของธรรมชาติ"

477 วั ด

PHAYAO จังหวัดพะเยา

กว๊านพะเยาแหล่งชีวิต ศักดิ์สิทธิ์พระเจ้าตนหลวง บวงสรวงพ่อขุนง�ำเมือง งามลือเลื่องดอยบุษราคัม

136

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 136

24/7/2562 10:38:31


THE IMPORTANT TEMPLES PHAYAO

อ�ำเภอเมืองพะเยา

วัดไชยอาวาส ต�ำบลเวียง วัดบุญยืน ต�ำบลเวียง วัดภูมินทร์ ต�ำบลเวียง วัดราชคฤห์ ต�ำบลเวียง วัดลี ม. 2 ต�ำบลเวียง วัดศรีโคมค�ำ ต�ำบลเวียง วัดศรีจอมเรือง ต�ำบลเวียง วัดศรีอุโมงค์ดำ� ต�ำบลเวียง วัดหลวงราชสันฐาน ต�ำบลเวียง วัดหัวข่วงแก้ว ต�ำบลเวียง วัดป่าลานค�ำ ต�ำบลแม่ต�๋ำ วัดเมืองชุม ต�ำบลแม่ต�๋ำ วัดอินทร์ฐาน ต�ำบลแม่ต�๋ำ วัดเกษศรี ม. 7 ต�ำบลดงเจน วัดเชียงหมั้น ม. 1 ต�ำบลดงเจน วัดปุปอ(ปูปอ) ม. 3 ต�ำบลดงเจน วัดร่องปอ ม. 8 ต�ำบลดงเจน วัดรัตนวนาราม ม. 21 ต�ำบลดงเจน วัดศรีดอนชัย ม. 9 ต�ำบลดงเจน วัดสันป่าเหียง ม. 2 ต�ำบลดงเจน วัดบ้านซ่อน ม. 7 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดบ้านโซ้ ม.2 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดบ้านไร่ ม. 5 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดพระธาตุภูขวาง ม. 6 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดแม่นาเรือ ม. 10 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดร่องค�ำ ม. 3 ต�ำบลแม่นาเรือ วัดดอกบัว ม. 4 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดตุ่นกลาง ม. 2 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดตุ่นใต้ ม. 1 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดทุ่งกิ่ว ม. 10 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดสันกว๊าน ม. 8 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดห้วยลึก ม. 6 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดห้วยหม้อ ม. 5 ต�ำบลบ้านตุ่น วัดขุนต�ำ๊ ม. 9 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต�๊ำกลาง ม. 8 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต�๊ำดอนมูล ม. 2 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต�๊ำน�ำ้ ล้อม ม. 5 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต�๋ำป่าลาน ม. 3 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต�๊ำพระแล ม. 7 ต�ำบลบ้านต�๊ำ

วัดต�๊ำม่อน(ต�ำ๊ บ่อน) ม. 6 ต�ำบลบ้านต�๊ำ

วัดพระธาตุโป่งขาม ม. 10 ต�ำบลบ้านต�๊ำ

วัดห้วยเคียนเหนือ

วัดพระธาตุดอยน้อย

ม. 1 ต�ำบลบ้านต�๊ำ วัดต๋อมกลาง ม. 4 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดต๋อมดง ม. 5 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดต๋อมใต้ ม. 3 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดผาช้างมูบ ม. 1 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดแม่ต๋อมใน ม.7 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดร่องไผ่ ม. 10 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดร่องห้า ม. 1 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดสันป่าม่วง ม. 8 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดสันปูเลย ม. 3 ต�ำบลบ้านต๋อม

ม. 11 ต�ำบลจ�ำป่าหวาย วัดร่องเข็ม ม. 6 ต�ำบลจ�ำป่าหวาย วัดเจดีย์งาม ม. 1 ต�ำบลท่าวังทอง วัดเชียงทอง ม. 8 ต�ำบลท่าวังทอง วัดดอกบัว ม. 7 ต�ำบลท่าวังทอง

วัดห้วยทรายค�ำ

วัดป่าแดงบุญนาค ม. 3 ต�ำบลท่าวังทอง วัดป่าแดด ม.2 ต�ำบลท่าวังทอง

วัดป่าหนองหวี ม. 5 ต�ำบลท่าวังทอง วัดร่องป่าเปา ม. 2 ต�ำบลท่าวังทอง

วัดห้วยผาเกี๋ยง

ม. 8 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดอนาลโย ม. 16 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดกาดถี ม. 8 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดป่าฝาง ม. 2 ต�ำบลห้วยแก้ว

ม.3 บ้านห้วยผาเกี๋ยง ต�ำบลท่าวังทอง วัดบ่อแฮ้ว ม. 5 ต�ำบลแม่ใส วัดแม่ใส ม. 2 ต�ำบลแม่ใส วัดร่องไฮ ม. 1 ต�ำบลแม่ใส

วัดพระธาตุภูขวาง

วัดสันช้างหิน

ม.1 บ้านม่วงค�ำ ต�ำบลห้วยแก้ว วัดมงคลคีรี ม. 10 ต�ำบลห้วยแก้ว วัดม่วงค�ำ ม. 1 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดสันต้นแหน ม. 9 บ้านสันต้นแหน ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดห้วยแก้วหลวง ม. 3 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดห้วยทรายขาว ม. 6 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดห้วยทรายขาว ม. 7 ห้วยทรายขาว ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดอิงโค้ง(ดงยา) ม. 5 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดบ้านบัว ม. 7 ต�ำบลแม่กา เมือง วัดบุญโยง ม. 9 ต�ำบลแม่กา วัดแม่กาโทกหวาก ม. 4 ต�ำบลแม่กา วัดแม่กาไร่ ม. 6 ต�ำบลแม่กา วัดแม่กาหลวง ม. 3 ต�ำบลแม่กา

วัดแม่กาห้วยเคียน ม. 2 ต�ำบลแม่กา

วัดหม้อแกงทอง ม.1 ต�ำบลแม่กา วัดท่ากลอง ม. 1 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดบ้านโป่ง ม. 3 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดบ้านเหยี่ยน ม. 7 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดร่องไฮ ม. 5 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดใหม่หลวง ม. 4 ต�ำบลบ้านใหม่ วัดดอนมูล ม. 2 ต�ำบลจ�ำป่าหวาย วัดดาวเรือง ม. 9 ต�ำบลจ�ำป่าหวาย วัดบุญเรือง ม. 7 ต�ำบลจ�ำป่าหวาย

ม.7 บ้านสันช้างหิน ต�ำบลแม่ใส วัดสันป่าถ่อน ม. 6 ต�ำบลแม่ใส วัดช้างหิน ม. 8 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดต�๊ำนกกก ม. 1 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดต�๊ำเหล่า ม. 2 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดท่าจ�ำปี ม. 5 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดทุ่มท่า ม. 4 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดห้วยเคียน ม. 10 ต�ำบลท่าจ�ำปี วัดก�ำแพงหิน ม. 8 ต�ำบลแม่ปืม วัดบ้านแม่ปืม ม. 6 ต�ำบลแม่ปืม วัดป่าคา ม. 2 ต�ำบลแม่ปืม วัดป่าตุ้ม ม. 4 ต�ำบลแม่ปืม วัดโป่งเกลือ ม. 9 ต�ำบลแม่ปืม วัดภูเงิน ม. 13 ต�ำบลแม่ปืม วัดร่องคือ ม. 1 ต�ำบลแม่ปืม วัดศรีบุญเรือง ม. 12 ต�ำบลแม่ปืม วัดสันต้นหวีด ม. 7 ต�ำบลแม่ปืม วัดสันทราย ม. 3 ต�ำบลแม่ปืม วัดสันหมื่นแก้ว ม. 10 ต�ำบลแม่ปืม วัดห้วยบง ม. 14 ต�ำบลแม่ปืม วัดบ้านงิ้ว ม. 6 ต�ำบลบ้านสาง วัดศรีบุญเรือง ม. 1 ต�ำบลบ้านสาง วัดสันบัวบก ม. 8 ต�ำบลบ้านสาง วัดสันเวียงใหม่ ม. 4 ต�ำบลบ้านสาง วัดสางเหนือ ม. 2 ต�ำบลบ้านสาง วัดเมืองอิงหลวง ม. 2 ต�ำบลแม่อิง วัดสันต้นผึ้ง ม. 6 ต�ำบลแม่อิง วัดสั่นป่างิ้วงาม ม. 4 ต�ำบลแม่อิง วัดสันป่าพาด ม. 5 ต�ำบลแม่อิง

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

24/7/2562 10:38:33


ท่องเที่ยวทางใจ 477 วัด "ความสงบที่เรียบง่าย เสน่ห์เมืองที่น่าสัมผัส ความงามของธรรมชาติ"

อ�ำเภอจุน วัดกิ่วแก้ว ม. 4 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดกู่ผางลาง ม. 5 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดดอยกู่ไก่แก้ว(ดอยกู่ไก่) ม. 6 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดสันป่าก้าว ม.3 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดสันป่าสัก ม. 2 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดห้วยข้าวก�่ำ ม. 1 ต�ำบลห้วยข้าวก�่ำ วัดค้างหงษ์ ม. 3 ต�ำบลจุน วัดจนหลวง ม. 2 ต�ำบลจุน วัดดอนไชย ม.6 ดอนไชย ต�ำบลจุน วัดบ้านธาตุ ม. 16 ต�ำบลจุน วัดบุญเกิด ม. 1 ต�ำบลจุน วัดพระธาตุขิงแกง ม. 11 ต�ำบลจุน วัดแม่ทะลาย ม. 9 ต�ำบลจุน วัดแม่วังช้าง ม. 8 ต�ำบลจุน วัดร่องดู่ ม. 5 ต�ำบลจุน วัดสร้อยศรี ม. 7 ต�ำบลจุน วัดเชียงยืน ม. 4 ต�ำบลลอ

138

วัดน�้ำจุน ม. 5 ต�ำบลลอ วัดปางป้อม ม. 2 ต�ำบลลอ วัดร่องย้าง ม. 3 ต�ำบลลอ วัดศรีปิงเมือง ม. 1 ต�ำบลลอ วัดศรีเมืองชุม ม. 8 ต�ำบลลอ วัดปัจฉิมวาส ม. 3 ต�ำบลหงส์หิน วัดพระธาตุบุญนาค

วัดประชาสามัคคี(พญาลอ)

ม. 7 ต�ำบลหงส์หิน วัดพวงพยอม ม. 5 ต�ำบลหงส์หิน วัดศรีจอมแจ้ง ม. 1 ต�ำบลหงส์หิน วัดสักลอ ม. 2 ต�ำบลหงส์หิน วัดสักสัน ม. 4 ต�ำบลหงส์หิน วัดสันทราย ม. 7 ต�ำบลหงส์หิน

วัดแผ่นดินทอง

ม. 6 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดสันหลวง ม. 5 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดห้วยไคร้ ม. 1 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดห้วยงิ้ว ม. 2 ต�ำบลทุ่งรวงทอง วัดบุญเรือง ม. 7 ต�ำบลห้วยยางขาม วัดปงสนุก ม. 8 ต�ำบลห้วยยางขาม ม. 9 ต�ำบลห้วยยางขาม วัดฝั่งหมิ่น ม. 6 ต�ำบลห้วยยางขาม

วัดศรีบุญชุม ม. 4 ต�ำบลห้วยยางขาม

วัดห้วยเกี๋ยง

วัดหงส์หิน

ม. 5 ต�ำบลห้วยยางขาม

ม.6 พวงพยอมใหม่ ต�ำบลหงส์หิน

วัดห้วยยางขาม

วัดใหม่พัฒนา(สันก�ำแพง)

ม. 2 ต�ำบลห้วยยางขาม

ม. 8 ต�ำบลหงส์หิน

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 138

24/7/2562 10:38:34


THE IMPORTANT TEMPLES PHAYAO

อ�ำเภอเชียงค�ำ วัดแช่แห้ง ม. 6 ต�ำบลหย่วน วัดดอนไชย ม. 5 ต�ำบลหย่วน วัดแดนเมือง ม.7 ต�ำบลหย่วน วัดนันตาราม(นันทาราม)

วัดสถาน ม. 5 ต�ำบลภูซาง วัดหนองเลา ม. 8 ต�ำบลภูซาง วัดฮวก ม. 10 ต�ำบลภูซาง วัดกิ่วชมภู

ม. 5 ต�ำบลหย่วน วัดบุญนาค ม. 8 ต�ำบลหย่วน วัดบุญเรือง ม. 12 ต�ำบลหย่วน วัดเปื๋อยเปียง ม. 3 ต�ำบลหย่วน

ม.6 กิ่วชมภู ต�ำบลน�้ำแวน วัดใคร้ป่าคา ม. 3 ต�ำบลน�้ำแวน วัดผาลาด ม. 5 ต�ำบลน�้ำแวน วัดแม่ตำ�๋ ม. 4 ต�ำบลน�้ำแวน วัดศรีกู่เอี้ยง ม. 7 ต�ำบลน�้ำแวน วัดศรีชุม ม. 1 ต�ำบลน�้ำแวน วัดศรีมงคล ม. 2 ต�ำบลน�้ำแวน วัดไชยพรม ม. 5 ต�ำบลเวียง วัดดอนแก้ว ม. 9 ต�ำบลเวียง วัดดอนไชย ม. 8 ต�ำบลเวียง วัดทราย ม. 3 ต�ำบลเวียง วัดปี้ ม. 1 ต�ำบลเวียง วัดพระแก้ว ม. 6 ต�ำบลเวียง

วัดพระธาตุสบแวน ม. 1 ต�ำบลหย่วน วัดศรีบุญยืน ม. 9 ต�ำบลหย่วน วัดแสนเมืองมา ม. 4 ต�ำบลหย่วน วัดหย่วน ม. 3 ต�ำบลหย่วน วัดก๊อซาว ม. 2 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดก๊อน้อย ม. 1 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดงุ้นพัฒนา ม. 9 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดทุ่งกล้วย ม. 5 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดทุ่งกว๋าว ม. 3 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดปงใหม่ ม. 8 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดสา ม. 6 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดหัวนา ม. 7 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดดอนตัน ม. 4 ต�ำบลสบบง

วัดพระนั่งดิน

ม. 8 ต�ำบลสบบง

ม. 7 พระนั่งดิน ต�ำบลเวียง วัดล้า ม. 4 ต�ำบลเวียง วัดทุ่งหล่ม ม. 6 ต�ำบลฝายกวาง วัดปัวแหลง ม. 2 ต�ำบลฝายกวาง วัดปัวใหม่ ม. 5 ต�ำบลฝายกวาง วัดฝายกวาง ม.1 ต�ำบลฝายกวาง

วัดปง

วัดพระธาตุขุนห้วยสวด

ม. 7 บ้านปงหลวง ต�ำบลสบบง วัดสบบง ม. 2 ต�ำบลสบบง วัดหล่าย ม. 9 ต�ำบลสบบง วัดหัวขัว ม. 5 ต�ำบลสบบง วัดดอนแก้ว ม. 6 ต�ำบลเชียงแรง วัดดอนไชย ม. 7 ต�ำบลเชียงแรง วัดดอนมูล ม. 8 ต�ำบลเชียงแรง

ม.9 บ้านใหม่เจริญไพร ต�ำบลฝายกวาง วัดแวนโค้ง ม. 8 ต�ำบลฝายกวาง

วัดบัวหล่าย(ปัว)

วัดร้องเชียงแรง ม. 1 ต�ำบลเชียงแรง วัดศรีไฮค�ำ ม. 5 ต�ำบลเชียงแรง วัดแก ม. 2 ต�ำบลภูซาง วัดทุ่งแขม ม. 9 ต�ำบลภูซาง วัดทุ่งติ้ว ม. 6 ต�ำบลภูซาง วัดป่าสัก ม. 4 ต�ำบลภูซาง วัดผาลาด ม. 7 ต�ำบลภูซาง วัดพระธาตุภูซาง ม. 8 ต�ำบลภูซาง วัดม่วงชุม ม. 12 ต�ำบลภูซาง

วัดศรีพรมบัวนาค ม. 3 ต�ำบลฝายกวาง วัดสลาบ ม. 1 ต�ำบลฝายกวาง วัดหนอง ม.4 ต�ำบลฝายกวาง วัดกว้าน ม. 6 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดดอนเรือง ม. 8 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดบ้านปุ(ปุ) ม. 5 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดบุญยืน ม. 7 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดปัวชัย ม. 4 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดปิน ม. 9 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดร่องค้อม ม. 10 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดวังเค็มเก่า ม. 1 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดวังเค็มใหม่ ม. 2 ต�ำบลเจดีย์ค�ำ วัดคุ้ม ม. 6 ต�ำบลร่มเย็น วัดดอนมูล ม. 4 ต�ำบลร่มเย็น

วัดทุ่งรวงทอง ม.12 บ้านทุ่งรวงทอง ต�ำบลร่มเย็น วัดปางถ�ำ้ ม. 9 ต�ำบลร่มเย็น

วัดพระธาตุดอยค�ำ ม. 5 ต�ำบลร่มเย็น วัดร้อง ม. 1 ต�ำบลร่มเย็น วัดร่องส้าน ม. 8 ต�ำบลร่มเย็น วัดร้องใหม่ ม. 3 ต�ำบลร่มเย็น วัดสบสา ม. 5 ต�ำบลร่มเย็น

วัดหนองร่มเย็น(หนอง) ม. 2 ต�ำบลร่มเย็น

วัดห้วยสา ม. 3 ต�ำบลร่มเย็น วัดเชียงคาน ม. 7 ต�ำบลเชียงบาน วัดเชียงบาน ม. 3 ต�ำบลเชียงบาน วัดทองแย้ม ม. 4 ต�ำบลเชียงบาน วัดทุ่งมอก ม. 2 ต�ำบลเชียงบาน วัดปางวัว ม. 1 ต�ำบลเชียงบาน วัดแวนพัฒนา ม. 5 ต�ำบลเชียงบาน วัดศรีบุญเรือง ม. 6 ต�ำบลเชียงบาน วัดกอก ม. 11 ต�ำบลแม่ลาว วัดดอนมูล ม. 5 ต�ำบลแม่ลาว วัดทุ่งเย็น ม. 2 ต�ำบลแม่ลาว วัดน�้ำมิน ม. 6 ต�ำบลแม่ลาว วัดบุบผาราม ม. 7 ต�ำบลแม่ลาว วัดผาลาด ม. 3 ต�ำบลแม่ลาว วัดวังถ�้ำ ม. 8 ต�ำบลแม่ลาว วัดจ�ำบอน ม. 7 ต�ำบลอ่างทอง วัดดอยอิสาน ม. 2 ต�ำบลอ่างทอง วัดนาเจริญ ม.6 บ้านนาเจริญ ต�ำบลอ่างทอง วัดเนินสามัคคี ม. 1 ต�ำบลอ่างทอง วัดปางมดแดง ม. 9 ต�ำบลอ่างทอง วัดสันปูเลย ม. 8 ต�ำบลอ่างทอง วัดหนองบัวเงิน ม. 5 ต�ำบลอ่างทอง วัดหล่ายพัฒนา ม. 3 ต�ำบลอ่างทอง วัดทุ่งควบ ม. 2 ต�ำบลทุ่งผาสุข วัดผาฮาว ม. 4 ต�ำบลทุ่งผาสุข วัดไร่แสนสุข ม. 3 ต�ำบลทุ่งผาสุข

วัดหัวทุ่ง ม. 5 บ้านหัวทุ่ง ต�ำบลทุ่งผาสุข

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 139

139

24/7/2562 10:38:35


ท่องเที่ยวทางใจ 477 วัด "ความสงบที่เรียบง่าย เสน่ห์เมืองที่น่าสัมผัส ความงามของธรรมชาติ"

อ�ำเภอเชียงม่วน วัดไชยสถาน ม. 4 ต�ำบลเชียงม่วน วัดไทยสุภาพ ม. 5 ต�ำบลเชียงม่วน วัดบ้านปิน ม. 3 ต�ำบลเชียงม่วน วัดปงสนุก ม. 2 ต�ำบลเชียงม่วน วัดหลวง ม. 1 ต�ำบลเชียงม่วน วัดหล่ายทุ่ง ม. 6 ต�ำบลเชียงม่วน วัดทุ่งมอก ม. 5 ต�ำบลบ้านมาง วัดบ่อเบี้ย ม. 6 ต�ำบลบ้านมาง วัดป่าแขม ม. 4 ต�ำบลบ้านมาง วัดศรีเมืองมาง ม. 1 ต�ำบลบ้านมาง วัดท่าฟ้าใต้ ม.2 ต�ำบลสระ วัดท่าฟ้าเหนือ ม. 1 ต�ำบลสระ วัดทุ่งหนอง ม. 5 ต�ำบลสระ วัดสระ ม. 3 ต�ำบลสระ วัดสระใต้ ม. 4 ต�ำบลสระ

140

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 140

24/7/2562 10:38:35


THE IMPORTANT TEMPLES PHAYAO

อ�ำเภอดอกค�ำใต้ วัดดอนไชย ม. 9 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดทุ่งหลวง ม. 7 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดบุญเกิด ม. 4 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดบุญฮอม ม. 8 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดสะพานด�ำ ม. 10 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดสันกลาง ม. 1 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดสันช้างหิน ม. 7 ต�ำบลดอกค�ำใต้ วัดจ�ำปาหลวง ม.6 บ้านทุ่งหลวง ต�ำบลดอนศรีชุม วัดดอนเหล็ก ม. 5 ต�ำบลดอนศรีชุม วัดบ้านทุ่ง ม. 4 ต�ำบลดอนศรีชุม วัดบุญเรือง ม. 9 ต�ำบลดอนศรีชุม

วัดเทพวราราม ม.11 บ้านสันต้นเปา ต�ำบลบ้านถ�้ำ

วัดพระธาตุจอมศีล ม. 11 ต�ำบลบ้านถ�้ำ

วัดพระธาตุแจ่โห้ว ม. 15 ต�ำบลบ้านถ�้ำ

วัดรัตนคูหาวนาราม ม. 11 ต�ำบลบ้านถ�้ำ วัดศรีปันต้น ม. 6 ต�ำบลบ้านถ�้ำ

วัดสุวรรณคูหา ม. 1 ต�ำบลบ้านถ�้ำ วัดงิ้วหงก ม. 7 ต�ำบลบ้านปิน

วัดต้นต้อง ม. 6 ต�ำบลบ้านปิน วัดทุ่งกาไชย ม. 12 ต�ำบลบ้านปิน วัดพระธาตุจอมคีรีเวียงหม้าย ม. 3 ต�ำบลบ้านปิน วัดศรีดอนมูล ม. 2 ต�ำบลบ้านปิน วัดทุ่งต้นศรี ม. 1 ต�ำบลห้วยลาน วัดแท่นค�ำ ม. 10 ต�ำบลห้วยลาน

วัดเนินสมบูรณ์วนาราม ม. 12 ต�ำบลห้วยลาน วัดบุญชุม ม. 6 ต�ำบลห้วยลาน

วัดสถิตย์ธัมมาราม

วัดแม่พริกเทพนิมิตร

ม. 11 ต�ำบลห้วยลาน วัดจ�ำไก่ ม. 6 ต�ำบลสันโค้ง วัดพระธาตุจ�ำไก่ ม. 6 ต�ำบลสันโค้ง

ม. 5 ต�ำบลหนองหล่ม วัดศรีล้อม ม. 8 ต�ำบลหนองหล่ม

วัดพระธาตุแสงแก้วมงคล

ม.6 กองแล ต�ำบลดงสุวรรณ วัดดงสุวรรณ ม.1 ต�ำบลดงสุวรรณ วัดปงสนุก ม. 8 ต�ำบลดงสุวรรณ วัดศรีบุญยืน ม. 9 ต�ำบลดงสุวรรณ วัดสันป่าสัก ม.10 ต�ำบลดงสุวรรณ วัดสุขเกษม ม. 7 ต�ำบลดงสุวรรณ วัดบุญโยชน์ ม. 6 ต�ำบลสว่างอารมณ์ วัดศรีชุม ม. 8 ต�ำบลสว่างอารมณ์

ม. 9 ต�ำบลสันโค้ง วัดร่องชมภู ม. 7 ต�ำบลสันโค้ง วัดราษฎร์บ�ำรุง ม.5 ต�ำบลสันโค้ง วัดศรีสำ� ราญ ม. 5 ต�ำบลสันโค้ง

วัดห้วยทรายเลื่อน

วัดป่ากล้วยงาม

ม. 3 ต�ำบลสันโค้ง

ม. 2 ต�ำบลห้วยลาน

วัดดอนตัน ม. 8 ต�ำบลป่าซาง วัดศรีเมืองมูล ม. 7 ต�ำบลป่าซาง วัดไชยมงคล ม. 7 ต�ำบลหนองหล่ม

วัดพระธาตุจอมไคร้ ม. 10 ต�ำบลห้วยลาน

วัดกองแล

วัดสว่างอารมณ์ ม. 1 ต�ำบลสว่างอารมณ์

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 141

141

24/7/2562 10:38:36


ท่องเที่ยวทางใจ 477 วัด "ความสงบที่เรียบง่าย เสน่ห์เมืองที่น่าสัมผัส ความงามของธรรมชาติ"

อ�ำเภอปง วัดค่าไพบูลย์ ม. 16 ต�ำบลปง วัดดอนมูล ม. 2 ต�ำบลปง วัดดู่ ม. 3 ต�ำบลปง วัดทัศนาราม ม. 4 ต�ำบลปง วัดบุญเรือง ม. 9 ต�ำบลปง วัดพระธาตุดอยหยวก ม. 6 ต�ำบลปง วัดม่วง ม. 5 ต�ำบลปง วัดแม่จั๊วะ ม. 10 ต�ำบลปง

วัดศรีดอนชัย(ศรีดอนไชย) ม. 11 ต�ำบลปง

142

วัดห้วยสิงห์ ม. 1 ต�ำบลปง วัดใหม่บ้านบอน ม. 7 ต�ำบลปง วัดควรดง ม. 1 ต�ำบลควร วัดป่าคา ม.3 ป่าคา ต�ำบลควร วัดป่าคาใหม่ ม. 13 ต�ำบลควร วัดวังบง ม. 7 ต�ำบลควร วัดสีพรม ม. 4 ต�ำบลควร วัดแสะ ม.11 ต�ำบลควร วัดใหม่ดอนมูล ม. 2 ต�ำบลควร วัดไชยพฤกษ์ ม. 8 ต�ำบลออย วัดดอนแก้ว ม. 2 ต�ำบลออย

วัดดอนเงิน ม. 1 ต�ำบลออย วัดดอนไชย ม. 3 ต�ำบลออย วัดบ้านหลวง ม. 6 ต�ำบลออย วัดฝายแก้ว ม. 7 ต�ำบลออย วัดแม่ทาย ม. 9 ต�ำบลออย วัดสงเคราะห์ราษฎร์ ม. 7 ต�ำบลออย วัดหนองขวง ม. 10 ต�ำบลออย วัดหล่าย ม. 4 ต�ำบลออย วัดใหม่ต้นฝาง ม. 5 ต�ำบลออย วัดเก้าเงา ม. 15 ต�ำบลงิม วัดควร ม. 3 ต�ำบลงิม วัดดอนไชย ม. 4 ต�ำบลงิม

วัดทุ่งแต ม. 1 ต�ำบลงิม วัดนาดอ ม. 17 ต�ำบลงิม วัดน�้ำฮาก ม. 16 ต�ำบลงิม วัดบ้านตุ่น ม. 14 ต�ำบลงิม วัดบ้านเลี้ยว ม. 10 ต�ำบลงิม วัดบ้านแฮะ ม. 11 ต�ำบลงิม วัดแบ่ง ม. 5 ต�ำบลงิม วัดปัว ม. 6 ต�ำบลงิม วัดปัวดอย ม. 10 ต�ำบลงิม วัดปางผักหม ม. 7 ต�ำบลงิม วัดป่าแดง ม. 5 ต�ำบลงิม วัดสันกลาง ม. 8 ต�ำบลงิม วัดหนองบัว ม. 2 ต�ำบลงิม

วัดใหม่น�้ำเงิน ม. 18 ต้า ต�ำบลงิม วัดดอนแก้ว ม. 4 ต�ำบลนาปรัง วัดนาปรัง ม. 1 ต�ำบลนาปรัง วัดบุญยืน ม. 2 ต�ำบลนาปรัง วัดสังคหะราษฎร์ ม. 3 ต�ำบลนาปรัง วัดนาอ้อม ม. 5 ต�ำบลขุนควร วัดน�้ำปุก ม. 9 ต�ำบลขุนควร วัดน�้ำแป้งพนาราม ม. 14 ต�ำบลขุนควร วัดผาตั้ง ม. 6 ต�ำบลขุนควร

วัดสุจิตธรรม(สุจริตธรรม) ม. 8 ต�ำบลขุนควร วัดห้วยขุ่น ม. 10 ต�ำบลขุนควร

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 142

24/7/2562 10:38:37


THE IMPORTANT TEMPLES PHAYAO

อ�ำเภอแม่ ใจ วัดศรีดอนแก้ว ม. 10 ต�ำบลแม่ใจ วัดศรีบังวัน ม. 8 ต�ำบลแม่ใจ วัดศรีสุพรรณ ม. 1 ต�ำบลแม่ใจ วัดสีมา ม. 2 ต�ำบลแม่ใจ วัดฝายหิน ม. 6 ต�ำบลศรีถ้อย วัดโพธาราม ม. 2 ต�ำบลศรีถ้อย วัดศรีบุญชุม ม.5 ป่าสัก ต�ำบลศรีถ้อย วัดศรีบุญเรือง ม. 7 ต�ำบลศรีถ้อย วัดตาลถ้อย ม. 3 ต�ำบลแม่สุก วัดปันเจิง ม. 5 ต�ำบลแม่สุก วัดแม่สุก ม. 2 ต�ำบลแม่สุก วัดแม่สุกธาตุ ม. 9 ต�ำบลแม่สุก วัดป่าแฝกกลาง ม. 2 ต�ำบลป่าแฝก วัดป่าแฝกใต้ ม. 5 ต�ำบลป่าแฝก วัดป่าแฝกเหนือ ม. 3 ต�ำบลป่าแฝก วัดแม่เย็นใต้ ม. 1 ต�ำบลป่าแฝก

วัดหนองสระ ม.6 บ้านหนองสระ ต�ำบลป่าแฝก วัดดงบุญนาค ม.7 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดดงอินตา ม. 6 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดปทุมทอง ม. 2 ต�ำบลบ้านเหล่า

วัดพระธาตุจ�ำม่วง ม. 9 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดศรีดอนตัน ม. 3 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดศรีดอนมูล ม. 5 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดสันก�ำแพง ม. 8 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดเหล่าธาตุ ม. 4 ต�ำบลบ้านเหล่า วัดป่าม่วง ม. 5 ต�ำบลเจริญราษฎร์

วัดพระธาตุมุงเมือง ม. 6 ต�ำบลเจริญราษฎร์ วัดศรีเกิด ม. 4 ต�ำบลเจริญราษฎร์

วัดสันดอนแก้ว ม. 8 ต�ำบลเจริญราษฎร์ วัดสันสลี ม. 7 ต�ำบลเจริญราษฎร์

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 143

143

24/7/2562 10:38:38


ท่องเที่ยวทางใจ 477 วัด "ความสงบที่เรียบง่าย เสน่ห์เมืองที่น่าสัมผัส ความงามของธรรมชาติ"

อ�ำเภอภูซาง วัดฮวก บ้านฮวก ม.3 ต�ำบลภูซาง วัดก๊อซาว ม.11 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดก๊อน้อย ม.1 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดแก ม.2 ต�ำบลภูซาง วัดแกใหม่ธรรมนิมิตร ม.6 ต�ำบลป่าสัก

วัดงุ้นพัฒนา ม.9 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดดอนแก้ว ม.6 ต�ำบลเชียงแรง วัดดอนไชย ม.8 ต�ำบลเชียงแรง วัดดอนตัน ม.4 ต�ำบลสบบง วัดดอนมุล ม.8 ต�ำบลเชียงแรง วัดทุ่งกล้วย ม.5 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดทุ่งกว๋าว ม.4 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดทุ่งแขม ม.12 ต�ำบลภูซาง วัดทุ่งติ้ว ม.6 ต�ำบลภูซาง วัดบัวหล่าย(ปัว) ม.9 ต�ำบลสบบง

144

วัดปง ม.37 ต�ำบลสบบง วัดปงใหม่ ม.8 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดป่าสัก ม.4 ต�ำบลป่าสัก วัดผาลาด ม.7 ต�ำบลภูซาง วัดพระธาตุภูซาง ม.9 ต�ำบลภูซาง วัดม่วง ม.5 ต�ำบลป่าสัก วัดร้องเชียงแรง ม.1 ต�ำบลเชียงแรง วัดศรีไฮค�ำ ม.5 ต�ำบลเชียงแรง วัดสถาน ม.5 ต�ำบลเชียงแรง วัดสบบง ม.2 ต�ำบลสบบง วัดสา ม.6 ต�ำบลทุ่งกล้วย วัดหนองเลา ม.8 ต�ำบลภูซาง วัดหล่าย ม.9 ต�ำบลสบบง วัดหัวขัว ม.5 ต�ำบลสบบง วัดหัวนา ม.7 ต�ำบลทุ่งกล้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I พะเยา

.indd 144

24/7/2562 10:38:40


THE IMPORTANT TEMPLES PHAYAO

อ�ำเภอภูกามยาว

วัดสันต้นแหน

วัดม่วงค�ำ

วัดท่าร้อง

หมู่ 9 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 14 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 1 ต�ำบลแม่อิง

วัดหนองลาว

วัดหนองลาว

วัดสันต้นผึ้ง

วัดมงคลคีรี

วัดเชียงหมั้น

หมู่ 4 ต�ำบลห้วยแก้ว

บ้านหนองลาว หมู่ 4 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 6 ต�ำบลแม่อิง

หมู่ 10 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 13 ต�ำบลดงเจน

วัดอิงโค้ง(ดงยา)

วัดสันป่าเหียง

วัดศรีดอนชัย

วัดพระธาตุภูขวาง

วัดเกษศรี

บ้านอิงโค้ง หมู่ 5 ต.ห้วยแก้ว

บ้านสันป่าสัก หมู่ 2 ต�ำบลดงเจน

หมู่ 9 ต�ำบลเจน

หมู่ 1 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 6 ต�ำบลดงเจน

วัดหาดแฟน

วัดสันป่าพาด

วัดร่องปอ

วัดปุปอ(ปูปอ)

วัดกาดถี

บ้านหาดแฟน หมู่ 6 ต.ห้วยแก้ว

บ้านสันป่าพาด หมู่ 5 ต�ำบลแม่อิง

หมู่ 14 ต�ำบลดงเจน

หมู่ 9 ต�ำบลดงเจน

หมู่ 8 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดห้วยทรายขาว

วัดสันป่างิ้วงาม

วัดเมืองอิงหลวง

วัดป่าห้วยดอกอูน

บ้านห้วยทรายขาว หมู่ 7 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 8 ต�ำบลแม่อิง

บ้านแม่อิงหลวง หมู่ 7 ต�ำบลแม่อิง

หมู่ 2 ต�ำบลห้วยแก้ว

วัดห้วยแก้วหลวง

วัดสันป่าแดงธรรมาราม

วัดม่อนป่าสัก

วัดป่าฝาง

บ้านห้วยแก้วหลวง หมู่ 3 ต.ห้วยแก้ว

หมู่ 11 ต�ำบลห้วยแก้ว

หมู่ 6 ต�ำบลดงเจน

หมู่ 2 ต�ำบลห้วยแก้ว

PHAYAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 145

อ�ำเภอภูกามยาว

145

24/7/2562 10:38:42


ข้าวหอมมะลิคุณภาพดีที่พะเยา ก้าวสู่ AEC ไทยแลนด์ 4.0

146

4

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

AEC 4.0

.indd 146

23/7/2562 14:47:51


A EC T HA ILA ND 4.0

ข้าวหอมมะลิคุณภาพดีที่พะเยา ก้าวสู่ AEC ไทยแลนด์ 4.0 จากโครงการพัฒนาศักยภาพการผลิต ข้ า วหอมมะลิ จั ง หวั ด พะเยาสู ่ ม าตรฐาน GAP/อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2557 ของ ส�ำนักงานเกษตรจังหวัดพะเยา สูก่ ารส่งออก ข้าวหอมมะลิ 4.0 อย่างต่อเนื่องผ่านระบบ พาณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ม ากขึ้ น โดยที่ ศู น ย์ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วพะเยา อ� ำ เภอเมื อ ง จังหวัดพะเยา ได้จัดกิจกรรมมอบเมล็ดพันธุ์ ข้าวหอมมะลิ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการจัด ตั้ ง ศู น ย์ เ มล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วดี ใ นชุ ม ชนให้ แก่ เ กษตรกร 9 อ� ำ เภอในจั ง หวั ด พะเยา เพื่อเป็นการส่งเสริมเพิ่มศักยภาพการผลิต ข้ า วหอมมะลิ จั ง หวั ด พะเยามาโดยตลอด ให้ มี คุ ณ ภาพและเป็ น การเตรี ย มความ พร้ อ มให้ แ ก่ เ กษตรกรเพื่ อ รองรั บ การ เติ บ โตของลู ก ค้ า จากประชาคมอาเซี ย น โดยมอบให้เกษตรกร 550 ราย รวมพื้นที่ 4,500 ไร่ๆ ละ 10 กิโลกรัม รวมเมล็ดพันธุ์ ข้าวหอมมะลิที่สนับสนุนเกษตรกรจ�ำนวน 45,000 กิโลกรัม เนื่องจากข้าวหอมมะลิ ของจังหวัดพะเยา มีคุณภาพดีได้รับรางวัล ระดับประเทศไม่ต�่ำกว่า 2-3 รางวัล ใน ทุ ก ๆ ปี ข องวั น พื ช มงคล จั ง หวั ด พะเยา สามารถผลิ ต ข้ า วที่ ดี มี คุ ณ ภาพเป็ น ที่ ยอมรับไปทั่วประเทศ เป็นที่ต้องการของ ตลาดและสามารถแข่งขันกับจังหวัดอื่นได้ นอกจากนี้ผลผลิตข้าวที่ได้ยังมีมาตรฐาน เป็นสินค้าเกษตรปลอดภัยเพื่อรองรับ AEC อย่างต่อเนือ่ งด้วย (จาก banmuang.co.th)

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

4

AEC 4.0

.indd 147

147

23/7/2562 14:47:54


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

AD.indd 148

23/7/2562 16:49:01


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.