SBL บันทึกประเทศไทย - จังหวัดพิจิตร ฉบับที่ 85

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดพิจิตร ประจ�ำปี 2561

Magazine

PHICHIT ถิ่นประสู ติพระเจ้าเสื อ ต�ำนานเมืองชาละวัน

2561

เที่ยวแบบ EXCLUSIVE

พั ฒนาเพื่ อประชาชนเป็นสุ ข อย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพิ จิตร

Vol.9 Issue 85/2018

SPECIAL INTERVIEW

SLOW LIFE เที่ยวจังหวัดพิจิตร

“เมืองเล็ก แต่น่ารัก”

รู้ตน รู้คน รู้งาน รู้สถานที่ ใช้หลักการท�ำงานแบบเข้าถึง ดร. พิ เชษฐ์ จันทร์ส่ง ท้องถิ่นจังหวัดพิ จิตร

www.issuu.com

.indd 5

ชาละวัน จระเข้ใหญ่เลื่องชื่อ แห่งล�ำน�้ำน่านเก่าเมืองพิจิตร

28/1/2562 11:52:14



โรงแรมสร้างใหม่ 4 ชั้น สะดวก สะอาด ปลอดภัย ได้มาตรฐาน ใจกลางเมืองพิจิตร

นนะคะ

Th e Nes t

The Nest Hotel Phichit

Hot el Ph ich it

เปิดบริการห้องพักจ�ำนวน 66 ห้อง ทัง้ แบบเตียงเดีย่ ว และเตียงคู่ ทุกห้องออกแบบตกแต่งอย่างสวยงามทันสมัย มีพื้นที่นั่งเล่นและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ อินเทอร์เน็ตไร้สาย(wi-fi) ฟรี เครื่องปรับอากาศและ TV จอแบน ห้องน�้ำส่วนตัว พร้อมระเบียงชมวิวสวน บริการ อาหารและเครื่ อ งดื่ ม และที่ จ อดรถฟรี ใ กล้ ส ถานที่ ท่องเที่ยว วัดท่าหลวง บึงสีไฟ

โรงแรมเดอะเนสอยู่ในตัวเมืองจังหวัดพิจิตร อยู่ห่างจากสนามบินจังหวัดพิษณุโลกประมาณ 40 กิโลเมตร แผนกต้อนรับ บริการตลอด 24 ชั่วโมง โรงแรมเดอะเนส (THE NEST HOTEL PHICHIT) ที่อยู่ 28/68 ถ.สระหลวง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 โทร. 056-033-662 : www.thenesthotelphichit.com

1

.indd 3

: The Nest Hotel Phichit

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

3

19/12/2561 17:31:33


บ้ า นไร่ แ กรนด์ รี ส อร์ ท

พั ก ผ่ อ นแบบผ่ อ นคลาย ด้ ว ยห้ อ งพั ก ที่ ส ะดวกสบาย ในราคาหลั ก ร้ อ ย ได้ ที่

บ้ า นไร่ แ กรนด์ รี ส อร์ ท 4

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 4

19/12/61 16:39:46


ที่ ตั้ ง 99/9 หมู ่ ที่ 6 ต� ำ บลเนิ น มะกอก อ� ำ เภอบางมู ล นาก จั ง หวั ด พิ จิ ต ร 66120

0-5663-3339 09-9782-8993 09-6397-8246 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

19/12/61 16:40:02


Wonderful night in the Rice World

“บูติคโฮเทลโรงสี” แห่งแรกในเมืองไทย

ท่องเที่ยววิถี ไทยในเมืองพิจิตร เช้าจรดค�่ำ ในดินแดนแห่งทุ่งข้าว ที่รอทุกคนมา สัมผัสกับบรรยากาศบ้าน ๆ และกลิ่นอายของความดิบ Unseen in Phichit Thailand บูติคโฮเทลที่โอบล้อมไปด้วยมนต์เสน่ห์แห่งท้องนาและวิถีชีวิตเกษตรกร...นอนสัมผัส กับบรรยากาศชั้นเลิศในราคาสบาย ๆ ไม่ ไกลจากตลาด บนเส้นทางแหล่งท่องเที่ยว ส�ำคัญของเมืองพิจิตร เพียบพร้อมไปด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่างๆ

“มีห้องรับรองสไตล์ โรงสี บ้านพักสไตล์ โรงนา แพชมวิวทุ่งรวงทอง”

6

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

2

.indd 6

19/12/2561 17:37:27


บูติคโฮเทลที่จะพาคุณย้อนเวลากลับไปสัมผัสเรื่องราวของ วิถีชนบท ตั้งแต่ปลูกข้าวจนกว่าจะมาเป็นข้าวให้เรารับประทาน ผ่านงานออกแบบการน�ำของเก่าในโรงสีข้าวมาสร้างเป็นบูติค โฮเทลที่มีความหมายในทุกตารางนิ้ว “ครั้งหนึ่งในชีวิต ที่คุณต้องได้ลองสัมผัสกับการสีข้าว ในบูติคโฮเทลโรงสี แห่งแรกของเมืองไทย”

The First Ricemill Boutique Hotel in Thailand บรรยากาศความงดงามที่ ยั ง ตราตรึ ง ในใจ เราขอมอบ ความสุข ในคืนพิเศษ บนดินแดนแห่งข้าวนี้แด่คุณครับ • บริการที่พัก • สถานที่จัดเลี้ยง • ประชุมสัมมนา • รับจัดอาหารว่างและตามสั่งทั้งภาครัฐและเอกชน

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ “โรงแรมไร้ซ์คันทรีวิลเลจ บูติคโฮเทล” 109 หมู่ 8 ต.หอไกร อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร 66120 056-619-987, 082-398-6899, 097-925-7447 คุณหญิงเล็ก, คุณเบิร์ด : ID Line : rice.country : Rice Country Village Bangmunnak จ.พิจิตร CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 7

7

19/12/2561 17:37:35


โต้ง คาร์ ดีเทลลิ่ง : CGC STATION ศูนย์เคลือบแก้วและดูแลสภาพผิว สีรถยนต์ครบวงจร CGC Crystal Glass Coating Authorized Dealer & Service Providers เราเป็นศูนย์บริการที่ ได้รับการแต่งตั้ง อย่ า งเป็ น ทางการจาก CGC ผู ้ น� ำ แห่ ง นวัตกรรมเคลือบแก้วรถยนต์จากประเทศญีป่ น่ ุ CGC เคลื อ บแก้ ว มาตรฐาน ISO หนึ่ ง เดี ย วในประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ การ รับรองถึง 2 ระบบ ISO 9001:2008 และ ISO 14001:2004 พิสูจน์แล้ว CGC เงาจริง จากการผ่าน การทดสอบค่ า ความเงาตามมาตรฐาน มอก. (Thailand Automotive Institute)

เคลือบแก้ว CGC เป็นสารสังเคราะห์จากซิลิก้า(SiO2) เพื่อให้สามารถน�ำมาเคลือบ บนผิ ว สี ร ถยนต์ ชั้ น บนสุ ด ท� ำ ให้ เ กิ ด เป็ น ผลึ ก แก้ ว ที่ มี ค วามเงา ใส และทนความร้ อ นสู ง พร้อมทั้งยังมีระยะเวลาในการปกป้องที่ยาวนาน พร้อมด้วยคุณสมบัติ....พิเศษ ต่างๆ เช่น ล้างท�ำความสะอาดง่าย ช่วยลดการเกิดขนแมวบางๆ ป้องกันรังสี UV จากแสงแดด ที่เป็นต้นเหตุให้สีหมอง ปกป้องสีรถจาก คราบน�้ำ และคราบสกปรกต่างๆ สามารถล้างรถ เคลือบสีได้ตามปกติ ไม่มีข้อจ�ำกัดให้ยุ่งยาก พร้อมดูแล & Service ตลอดการรับประกัน 219 / 20 ถนนบุ ษ บา (ถนนเส้ น เดี ย วและใกล้ กั บ วั ด ท่ า หลวง) ต� ำ บลในเมื อ ง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร 66000

8

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

Tong Car Detailing.indd 8

20/12/61 11:19:45


โต้ ง คาร์ ดี เ ทลลิ่ ง

ให้บริการ เคลือบแก้ว CGC เคลือบแก้วแท้ๆ ที่ผลิตและน�ำเข้า จากประเทศญี่ปุ่น 100% เป็ น ศู น ย์ เ คลื อ บแก้ ว แห่ ง แรกและแห่ ง เดี ย วในจั ง หวั ด พิ จิ ต ร ด้วยประสบการณ์ที่ยาวนานกว่า 10 ปี ครบครันด้วยการบริการ ต่างๆ เช่น ล้างรถ เคลือบสี ขัดเคลือบสี ขัดลบรอยท�ำความสะอาด เบาะ/พรม / ฝ้า เพดาน ท�ำความสะอาดห้อ งเครื่ อง อบโอโซน ขจัดกลิ่นอับ ติดฟิล์มกรองแสง ฟิล์ม ใสกันรอยด้วยช่างที่ช�ำนาญการ ดูแลรักษา และฟื้นฟูรถของท่าน ด้วยระบบงาน และ ผลิตภัณฑ์ ที่ได้มาตรฐานจาก CGC

เปิดบริการทุกวัน

08:00 น. - 18:00 น.

ติ ด ต่ อ สอบถาม

0888 911 999 0888 011 999

PHICHIT I for SBL บันCar ทึกประเทศไทย 9 Tong Car Detailing Heaven Lovers

Tong Car Detailing.indd 9

20/12/61 11:19:52


นิ ต ยสาร SBL บัน ทึก ประเทศไทย มี ความประทับใจมิ ร้ ู ลืม ทุกครั ง้ ที่ ได้ มา เยื อ นถิ่ น ที่ มี ค วามหมายถึ ง ความงาม นามว่า “เมืองพิจิตร” จังหวัดที่มีเรื่ องเล่า กล่าวขานมาช้ านานหลายยุคหลายสมัย มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางประวั ติ ศ าสตร์ แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ ทีน่ า่ หลงใหล ชวนทุ ก ท่ า นให้ ไปสั ม ผั ส เมื อ งแห่ ง “ต� ำนานพญาชาละวัน ” จัง หวัด พิ จิ ต ร เราได้ รั บ การต้ อ นรั บ ด้ ว ยไมตรี จิ ต ในทุก เส้ น ทาง ระหว่า งการบัน ทึก ภาพ และเรื่ องราวอันน่าสนใจในวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี สถานที่ท่องเที่ยว อันเป็ นสัญลักษณ์ อย่า ง “บึง สี ไฟ” บึง น� ำ้ จื ด ขนาดใหญ่ ที่ โดดเด่นด้ ว ยรู ป ปั น้ พญาชาละวันขนาดใหญ่ สถานที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ “วัดโพธิ์ประทับช้ าง” วัดเก่าแก่ตงแต่ ั ้ สมัยสมเด็จพระพุทธเจ้ าเสือ พระเจ้ าแผ่นดินแห่งกรุ งศรี อยุธยา รวมไปถึงโบราณสถานอันเก่าแก่ “วัดท่าหลวง” วัดงามคู่เมืองพิจิตรซึ่งภายใน พระอุโ บสถนัน้ เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานพระพุท ธรู ป ปางมารวิ ชัย สร้ างขึ น้ ในสมัย เชียงแสน ท�ำให้ การเดินทางท่องเที่ยวในครัง้ นี ้ตื่นตาตื่นใจสนุกสนานน่าประทับใจ เป็ นอย่างยิ่ ง ในนามของนิ ต ยสาร SBL ผมขอถื อโอกาสนี ้ กราบขอบพระคุณ ท่า นผู้ว่า ราชการจัง หวัด พิ จิ ต ร “วี ร ะศัก ดิ์ วิ จิ ต ร์ แ สงศรี ” ท่ า นได้ พูด คุย ถึ ง การท� ำ งาน ที่ อยากให้ จังหวัดพิ จิตร “เป็ นเมื องแห่งความสุข เมื องเล็กแต่น่ารั ก” ท่านรอง ผู้ว่าราชการจังหวัด ท่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร ตลอดจนผู้บริ หารองค์กรปกครองส่วนท้ องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริ ษัท ห้ างร้ าน ฯลฯ ซึง่ กรุณาสนับสนุนให้ ทมี งานด�ำเนินการจัดท�ำนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับ จังหวัดพิ จิ ต ร ส� ำ เร็ จลุล่ว งได้ ด้ ว ยดี ค รั บ

บึงสีไฟ @อ�ำเภอเมือง

คุณศุภกิจ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Website

Facebook

Tel : 08-1442-4445, 08-4874-3861 Email : supakit.s@live.com

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 10

EMAIL : sbl2553@gmail.com

อาคารสถานแสดงพั นธุ์ปลาเฉลิมพระเกียรติ @อ�ำเภอเมือง

21/12/61 13:46:16


Talk

EDITOR’S

PHICHIT 2018

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ ศุภกิจ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการบริหาร อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

จิร โกมลทองทิพย์

คณะทีมงาน

ไพรัตน์ กลัดสุขใส มงคล แพร่ศิริพุฒิพงศ์

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นงลักษณ์ เทียมเกตุทวีโชค

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายศิลปกรรม

ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์

ช่างภาพ

ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ฝ่ายประสานงานจังหวัด กชกร รัฐวร

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต

การเงิน

จันทิพย์ กันภัย ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา

พิ พิธภัณฑ์บ้านดงโฮจิมินห์ @อ�ำเภอเมือง

.indd 11

www.sbl.co.th

21/12/61 13:46:21


CONTE NTS PHICHIT

2018

ฉบับที่ 85 จังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2561

issuu จังหวัดพิ จิตร

ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่าข่อย ข้าวเจ้าอร่อยลือเลื่อง ต�ำนานเมืองชาละวัน

20

ใต้ร่มพระบารมี “โครงการศูนย์ชัยพั ฒนาการเกษตรสิรินธร”

เพื่อการพัฒนาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ด้านการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและ ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ที่ประสบปัญหาอุทกภัย

26

ความเป็นมาจังหวัดพิ จิตร

ต�ำนานเรื่องชาละวันเป็นเรื่องที่เลื่องลือมาก จนพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกเรื่อง “ไกรทอง” และให้นามจระเข้ใหญ่ว่า “พญาชาลวัน”

สวนสมเด็ จ พระเจ้ า เสื อ

39

EXCLUSIVE

อ�ำเภอโพธิ์ประทับช้าง

บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดพิ จิตร

นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี

จังหวัดพิจิตร เมืองงาม เมืองสามแคว หรือชื่อดั้งเดิมตามประวัติศาสตร์แรกว่า “โอฆะบุรี” เมืองแห่งท้องน�้ำ

60

SPECIAL INTERVIEW บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดพิ จิตร

ดร.พิเชษฐ์ จันทร์ส่ง

การน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ให้สอดรับกับ นโยบายสังคมโดยเน้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว ชุมชน และสังคม

64

TRAVEL GUIDE บันทึกเส้นทางเที่ยวชม...ธรรมชาติ

.indd 12

ผามออีแ

22/12/61 10:07:53


76

วัดท่าหลวง พระอารามหลวง

79

วัดป่ามะคาบ

80

วัดหงษ์

วัดโบราณคู่บ้านคู่เมืองของชาว จังหวัดพิ จิตร

82

วัดท่าหลวง เป็นวัดโบราณวัดหนึง่ ซึง่ อยูค่ บู่ า้ นคูเ่ มือง ของจั ง หวั ด พิ จิ ต ร ตั้ ง อยู ่ ริ ม ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ น่ า น วั ด นี้ ไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัดว่าสร้างขึ้นครั้งแรกนั้น เมื่ อ ใด แต่ มี ห ลั ก ฐานที่ สื บ ทราบได้ ว ่ า สร้ า งขึ้ น เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา

84

วัดเขาพระ

วัดวังมะเดื่อ

86

วัดดงชะพลู

ตลาดบ้านใหม่ร้อยปี .indd 13 บานประตูศาลาการเปรียญ

จุดชมวิวพญากูปรี

22/12/61 10:07:57


CO N T E N TS ฉบั บ ที่ 85 จั ง หวั ด พิ จิ ต ร พ.ศ. 2561

88

วัดวังกระดี่ทอง

89

วัดศรีสัทธาราม(หนองลากฆ้อน)

90

วัดป่าเขาน้อย

92

วัดหลวง

94

วัดศรีสุวันโฆสิตาราม(วัดบ้านน้อย)

96

วัดวังแดง

97

วัดโพธิ์ไทรงาม

90 วัดป่าเขาน้อย

98

โรงเรียนวัดบ้านบางลายเหนือ ศึกษา พั ฒนา สามัคคี

ครู นั ก เรี ย นร่ ว มกั น พั ฒ นาระบบ ดู แ ล คอยช่วยเหลือนักเรียน และตระหนักถึง ความเป็ น สถาบั น ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ ความเป็นไทย เพือ่ อยูร่ ว่ มกันกับประชาคมโลก อย่างมีความสุข

.indd 14

22/12/61 10:08:11


ส า ร บั ญ จั ง หวั ด พิ จิ ต ร

PHICHIT 2018 ISSUU 85

100

วัดเทวประสาท

101

วัดทุ่งโพธิ์

102

วัดดงตะขบ

104

วัดชัยมงคล

106

วัดบางมูลนาก

108

วัดหล่ายหนองหมี

110

TRAVEL GUIDE บันทึกเส้นทางเที่ยวชม...วัดวาอาราม

138

TRAVEL GUIDE บันทึกเส้นทางเที่ยวชม...วิถีชีวิต ชาวพิ จิตร

126 TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางเที่ยวชม...ประวัติศาสตร์

.indd 15

150 โบสถ์เก่าซึ่งกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนอนุรักษ์ไว้ ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรม ฝาผนังเก่าโบราณที่ยังคง เอกลักษณ์แบบเดิมไว้โดยไม่ได้มีการบูรณะ หรือ เพิ่มเติมใดๆ ศิลปกรรมฝาผนัง สร้างในราว 80 ปีมาแล้ว ตรงกับรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 เรื่องราวที่ปรากฏบนฝาผนังเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุทธประวัติ และทศชาติชาดก ด้านหลังพระประธานในพระอุโบสถ เป็นเรื่องพระเวสสันดรทั้งหมด ส่วนเรื่องของพุทธประวัติอยู่เหนือระดับ หน้าต่างด้านซ้าย และตอนล่างระดับหน้าต่างด้านซ้าย แต่ส่วนล่างปูนกระเทาะเสียหายมาก

วัดโนนแย้

TRAVEL GUIDE บันทึกเส้นทางเที่ยวชม...บึงสีไฟ

156

TRAVEL GUIDE ธรรมชาติ และ อาหาร

22/12/61 10:08:23


ตั้ ง อยู ่ ห ่ า งจากตั ว เมื อ งพิ จิ ต ร เพี ย ง 1 กิ โ ลเมตร และสามารถ เดินทางไปยัง สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ ได้ง่ายๆ เช่น บึงสี ไฟ พิพิธภัณฑ์ พิจิตรและสถานีรถไฟพิจิตร

ORCH I D PLACE HOTEL “โรงแรมออร์คิดเพลส” 16

Ad-

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 16

....บริการครบจบที่เดียว

19/12/2561 17:43:02


เรา

พร้ อ ม

มี สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกครบครั น อาทิ โทรทัศน์ ช่องสัญญาณดาวเทียมและเคเบิล เครื่องท�ำน�้ำอุ่น เครื่ อ งปรั บ อากาศ ตู ้ เ สื้ อ ผ้ า ตู ้ เ ย็ น ฟรี Wi-Fi เป็ น ต้ น การบริ ก ารภายในโรงแรม อาทิ ร้ า นกาแฟ บริ ก ารซั ก รี ด ที่ จ อดรถ บริ ก ารต้ อ นรั บ 24 ชั่ ว โมง และระบบรั ก ษาความปลอดภั ย 24 ชั่ ว โมง

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ “โรงแรมออร์คิดเพลส (ORCHID PLACE HOTEL)” 24/115 ถ.สระหลวง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิจิตร 66000 โทร. 056-615422, 062-9369915, 086-4410886 Orchid Place Hotel orchidplace.phichit@gmail.com CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 17

Ad-

.indd 17

19/12/2561 17:43:11


ปี่ยม ยง

RIVER VIEW ระเบี ย งน�้ ำ รี ส อร์ ท ที่ พั ก ริ ม แม่ น�้ ำ น่ า นกลางเมื อ งพิ จิ ต ร RESORT ระเบี ย งน�้ ำ รี ส อร์ ท ที่ พั ก ริ ม แม่ น�้ ำ น่ า น กลางเมื อ งพิ จิ ต ร เหมาะส� ำ หรั บ นั ก ธุ ร กิ จ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ที่ ต ้ อ งการ ความสงบ ร่ ม รื่ น เป็ น ส่ ว นตั ว สะดวกสบายและปลอดภั ย

สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก

แอร์ TV น�้ ำ อุ ่ น ฟรี WI-FI กาแฟ บริ ก ารห้ อ งฟิ ต เนส ที่ จ อดรถบริ เ วณหน้ า ห้ อ งพั ก

138 หมู ่ ที่ 8 ต� ำ บลท่ า หลวง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร

ติ ด ต่ อ ส� ำ รองห้ อ งพั ก

08-1859-4907 08-6600-7575

RIVER V RIVER V IEW RE RIVER V RIVER V RIVER V IEW RE R S IEW RE O I V R E I R SORT E T R IEW RE I W VER VIE VIEW R ESORT R RESOR S I O V ER VIEW RT RIV RIVER V SORT W E S I พิ จ ิ ต ร R I V E R V 18 SBL บันทึTกประเทศไทย R O E R R ER VIEW SORT IEW RE T RIVE IVER VI RESOR I E W S R E T RIVE SORT R ORT R RESOR IVER VI RESOR W RESO RIVER V R VIEW T RIVE EW RES T RIVE IVER VI RT RIV VIEW RESORT E R IEW RE R R O W E E R V S R R T R I O E I V E V W R ER VIEW SORT RIVER V IEW RE T RIVE SORT RESOR RIVER V S R I R R VIEW ORT R EW RES T RIVE RESOR IVER IVER VI IEW RE T RIVE RESOR IVER VI ORT R R VIEW EW RES SORT RIVER V T E R I R V W O VIEW R ESORT ER VIEW RT RIV RIVER V RESOR I E W R E .indd 18 R I V E R V I E W ESORT ER VIEW T RIVE RIVER V R E S17:15:34 19/12/61 SOR ORT RES R


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 19

19

20/12/61 11:21:42


20

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

6

.indd 20

20/12/61 14:13:18


PHICHIT... “ โครงการศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร ต�ำบลเนินมะกอก อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ” ศู น ย์ ชั ย พั ฒ นาการเกษตรสิ ริ น ธร ตั้ ง อยู ่ ใ นเขตพื้ น ที่ ต� ำ บลเนิ น มะกอก อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจติ ร ซึง่ แต่เดิม พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ เ ป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม น�้ ำ ท่ ว มถึ ง ทุกปี เกษตรกรไม่สามารถท�ำการเกษตร และปลูกข้าวได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี พระราชทานพระราชานุมัติ ให้รับที่ดิน ซึ่งนางจรัสศรี จินดาสงวน น้อมเกล้าฯ ถวาย โดยมีแนวพระราชด�ำริ

ให้ใช้ที่ดินแปลงนี้เป็นแปลงสาธิต และ ให้ท�ำการร่วมกับเกษตรกร 2 รายที่เช่า ที่ ดิ น อยู ่ เ ดิ ม โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การพัฒนา ให้เป็นศูนย์เรียนรูด้ า้ นการเกษตร ตามแนวทางเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและ ด้ า นการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในพื้ น ที่ ที่ ประสบปัญหาอุทกภัย ต่อมา กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ได้ขอพระราชทาน พระราชานุ มั ติ จ ากสมเด็ จ พระเทพรั ต น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ด�ำเนินการ

พัฒนาที่ดินแปลงดังกล่าวร่วมกับมูลนิธิ ชั ย พั ฒ นา เพื่ อ เป็ น จุ ด การเรี ย นรู ้ แ ละ ถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร รวมถึง ด�ำเนินกิจกรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ได้ เ สด็ จ เพื่ อ ทรง เยี่ ย มชมพร้ อ มกั บ ทรงเปิ ด ป้ า ย “ศู น ย์ ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร” เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2550

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 21

21

22/12/61 17:57:32


22

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

6

.indd 22

22/12/61 17:57:44


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 23

23

22/12/61 17:57:46


ลั กษณะโครงการ / กิ จ กรรมภายในโครงการ การด�ำเนินงานในโครงการประกอบด้วย

1. จุ ด เรี ย นรู ้ ก ารปลู ก พื ช ผั ก และการเพาะเห็ ด เพื่ อ ให้ เ กษตรกร ได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการผลิตพืชผักที่ดี และเหมาะสมตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง และได้เรียนรูก้ ระบวนการผลิตพืชผักปลอดภัยจากสารพิษ ที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามความต้องการของตลาด และให้เกษตรกร สามารถท�ำการผลิตพืชผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตและ สิ่งแวดล้อมดี 2. จุดเรียนรู้ด้านประมง ประกอบด้วย กิจกรรมการอนุรักษ์และเพาะ เลี้ยงปลาสวยงาม กิจกรรมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก กิจกรรมการ เลี้ยงกบ กิจกรรมการผลิตพันธุ์ปลา 3. จุดเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตเมล็ดข้าว พันธุ์ดีเหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อกระจายพันธุ์ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ เป็น แปลงต้นแบบเทคโนโลยีการผลิตข้าวที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู้ของเกษตรกร ในการที่จะน�ำเอาความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว พันธุ์ดีต่อไป 4. จุ ด เรี ย นรู ้ ก ารเลี้ ย งโคนม เพื่ อ สาธิ ต และการเลี้ ย งโคนมโดยมี เป้าหมายเพื่อลดต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมของน�้ำนมดิบให้ต�่ำลง ได้ผลผลิต ที่เหมาะสมทั้งปริมาณและคุณภาพเพิ่มช่องว่างของรายได้กับต้นทุนให้มาก ขึ้นและผู้เลี้ยงอยู่รอด มีก�ำไร พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่ง ยืน ประกอบด้วย กิจกรรมการสาธิตการเลี้ยงโคนม กิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ กิจกรรม การสาธิตบ่อหมักแก๊สชีวภาพ 5. จุดเรียนรู้พันธุ์ไม้ผล เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมไม้ผลพันธุ์ดีต่างๆ ทั้งที่ เป็นพันธุ์ที่หายาก และพันธุ์ที่ปลูกเป็นพืชส�ำคัญทางเศรษฐกิจในเชิงระบบ ส�ำหรับเป็นแนวทางให้เกษตรกรและผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาหาความรู้และ สามารถน�ำไปปฏิบัติเพื่อประกอบเป็นอาชีพได้ 6. จุดเรียนรู้ด้านปุ๋ยอินทรีย์ เป็นการจัดตั้งโรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาที่ดินในโครงการ ขยายพันธุ์หญ้าแฝก เพื่อแจกจ่ายให้กับ เกษตรกรน�ำไปปลูกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน�้ำ

24

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

6

.indd 24

22/12/61 17:57:47


สถานที่ตั้งโครงการ

ชื่อโครงการ : โครงการศูนย์ชัยพัฒนาการเกษตรสิรินธร ต�ำบลเนินมะกอก อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ที่ตั้งโครงการ : บ้านสะพานยาว หมู่ที่ 11 ต�ำบลเนินมะกอก อ�ำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร โทรศัพท์ : 0-5663-2333 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 25

25

20/12/61 14:13:35


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดพิจิตร

พิจิตร

ตำ�นานเมืองชาละวัน...ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ เมื่อกล่าวถึงเมืองพิจิตร “พิจิตร” ที่แปลว่า “งาม” รวมความหมายถึง “เมืองงาม” เป็นเมืองที่มีมนต์เสน่ห์ต้องใจ ยามได้ ไปเยือนอยู่ไม่น้อย ความเป็นมาของเมืองพิจิตรนั้น มีมาช้านานเป็นเมืองที่มีพระเจ้าแผ่นดินปกครองสืบต่อกันมา หลายพระองค์ ในสมัยสุโขทัยปรากฎในศิลาจารึกหลักที่1ของพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราชและในศิลาจารึกหลักที่ 8 ในรัชกาล พระยาลิไท เรียกเมืองพิจิตรว่า “เมืองสระหลวง” ซึ่งมีสถานะเป็นหัวเมืองเอกของกรุงสุโขทัย ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “เมื อ งโอฆบุ รี ” ซึ่ ง แปลว่ า “เมื อ งในท้ อ งน�้ ำ ” ในรั ช กาลสมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช มี เ หตุ ก ารณ์ ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เมื อ งพิ จิ ต ร คื อ เป็ น ที่ ป ระสู ติ ข องสมเด็ จ พระสรรเพชญ์ ที่ 8 และเป็ น ถิ่ น ก� ำ เนิ ด ของ พระโหราธิบดี กวีเอกของไทย ดังที่ประวัติศาสตร์ ได้จารึกไว้ว่า เมื่อสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเสด็จไปเมืองสองแคว (พิษณุโลก) พระเพทราชา (ครองราชย์ พ.ศ. 2231-2246 ต้นราชวงศ์บ้านพลูหลวง) ได้พานางสนมที่ ได้รับพระราชทาน ซึ่งขณะนั้นตั้งท้องแก่จวนคลอดติดตามไปด้วย เมื่อถึงบ้านโพธิ์ประทับช้าง แขวงเมืองพิจิตร นางได้คลอดบุตรในเดือนอ้าย ปีขาล พ.ศ. 2201 และฝังรกไว้ที่ต้นมะเดื่อ หรือ ดอกเดื่อ ต่อมาได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงศรีอยุธยา ใน ราชวงศ์ บ้านพลูหลวง ทรงพระนามว่า สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 นอกจากนี้แล้ว ยังเป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง ว่าเป็นดินแดนของ จระเข้ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานที่มีความดุร้ายตามค�ำเล่าลือของชาวบ้าน ในสมัยรัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัย จึงได้ทรงราชนิพนธ์ค�ำกลอนเรื่อง ไกรทอง เนื่องจากเมืองพิจิตรเป็นเมืองที่มีแหล่งน�้ำมากมาย และมี จระเข้ชุกชุม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงอาศัยเค้าโครงเรื่องจากเรื่องราวชาวพิจิตรได้เล่าสืบต่อกันมา พระราชนิพนธ์วรรณคดีเรื่อง ไกรทอง ปัจจุบันในเรื่องไกรทองได้กลายเป็นชื่อต�ำบลชื่อหมู่บ้าน ตามท้องเรื่องหลายแห่ง เช่น บ้านดงเศรษฐี เกาะศรีมาลา ดงชาละวัน และสระไข่

“ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสี ไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่าข่อย ข้าวเจ้าอร่อยลือเลื่อง ตำ�นานเมืองชาละวัน” 26

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 26

21/12/2561 14:18:15


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 27

27

21/12/2561 14:18:16


พิ จิ ต รเป็น จังหวัดที่ตั้งอยู่ท างภาคเหนือตอนล่ าง มี เ นื้ อที่ 4,531.013 ตารางกิโลเมตร มีความยาวจากทิศเหนือจดใต้ ประมาณ 77 กิโลเมตร ความกว้างจากทิศตะวันออกจดทิศตะวันตก ประมาณ 72 กิโลเมตร ตัง้ อยูร่ ะหว่างจังหวัดนครสวรรค์กบั จังหวัด พิษณุโลก มีแม่น�้ำน่านกับแม่น�้ำยมไหลผ่าน ตัวเมืองอยู่ริมฝั่ง แม่น�้ำน่าน ปัจจุบันนี้มีฟาร์มจระเข้น�้ำจืดหลายแห่ง และจังหวัด พิจิตรยังเป็นถิ่นก�ำเนิดของนิทานเรื่องไกรทองพระราชนิพนธ์ ค�ำกลอนในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์โดยใช้เมืองพิจติ ร เป็นแหล่งก�ำเนิดของเรื่องราว เนื่องจากเมืองพิจิตร เป็นเมืองที่มี แหล่งน�้ำมากมายและมีจระเข้ชุกชุม หากกล่าวถึงชื่อจังหวัดพิจิตร ต้องท�ำให้นึกถึงต�ำนานชาละวัน ต�ำนานเล่าขานถึงความดุร้าย ขนาดอันใหญ่โตของจระเข้นำ�้ จืด ทีช่ าวบ้านขนานนามว่า “ไอ้ตาละวัน” ต่อมาก็เรียกเพี้ยนเสียงเป็น “ไอ้ชาละวัน” เรื่องชาละวันเป็นที่ เลื่องลือมาก ต�ำนาน “ชาละวัน’’ เป็นจระเข้ขนาดใหญ่เลื่องชื่อ แห่งแม่นำ�้ น่านเก่าเมืองพิจติ ร สันนิษฐานว่าเกิดขึน้ ในสมัยทีพ่ จิ ติ ร มีเจ้าเมืองปกครอง ตามต�ำนานกล่าวว่า มีตายายสองสามีภรรยา ออกไปหาปลาพบไข่จระเข้ที่สระน�้ำแห่งหนึ่ง จึงเก็บมาฟักเป็นตัว แล้วเลีย้ งไว้ในอ่างน�ำ้ เพราะยายอยากเลีย้ งไว้แทนลูก ต่อมาจระเข้ ตัวโตขึน้ จึงน�ำไปเลีย้ งไว้ในสระน�ำ้ ใกล้บา้ น ตากับยายหาปลามาให้ เป็นประจ�ำ ต่อมาตายายหาปลามาให้เป็นอาหารไม่พออิ่ม จระเข้ ตัวนัน้ จึงกินตากับยายเป็นอาหาร เมือ่ ขาดคนเลีย้ งดูคอยให้อาหาร จระเข้ตัวใหญ่จึงออกจากสระน�้ำไปอาศัยอยู่ในแม่น�้ำน่านเก่า ซึ่งอยู่ห่างจากสระตายายประมาณ 500 เมตร แม่น�้ำน่านเก่า

28

_

ในสมัยนั้นยังคงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพันธุ์ปลานานาชนิดและมีน�้ำ บริบรู ณ์ตลอดปี ขณะนัน้ ไหลผ่านบ้านวังกระดีท่ อง บ้านดงเศรษฐี ล่องไปทางใต้ ไหลผ่านบ้านดงชะพลู บ้านคะเชนทร์ บ้านเมือง พิจิตรเก่า บ้านท่าข่อย จนถึงบ้านบางคลาน จระเข้ตัวใหญ่ก็เที่ยว ออกอาละวาดอยูใ่ นแม่นำ�้ ตัง้ แต่ยา่ นเหนือเขตวังกระดีท่ อง ดงชะพลู จนถึงเมืองเก่า แต่ด้วยจระเข้ตัวใหญ่ของตายายได้เคยลิ้มลองเนื้อ มนุษย์แล้ว จึงเที่ยวอาละวาดกัดกินผู้คนทั้งบนบกและในน�้ำ ไม่มี เว้นแต่ละวัน จึงถูกขนานนามว่า “ไอ้ตาละวัน” ตามส�ำเนียงภาษา พูดของชาวบ้านที่เรียกตามความดุร้ายที่มันท�ำร้ายผู้คน ไม่เว้น แต่ละวัน ต่อมาก็เรียกเพี้ยนเป็น “ไอ้ชาละวัน” และเขียนเป็น “ชาลวัน” ตามเนื้อเรื่องในพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ต่อมาชื่อของชาละวันแพร่สะพัดไปทั่ว เพราะเจ้าชาละวันไปคาบเอาบุตรสาวคนหนึ่งของเศรษฐีเมือง พิจติ รขณะก�ำลังอาบน�ำ้ อยูท่ แี่ พท่าน�ำ้ หน้าบ้าน เศรษฐีจงึ ประกาศ ให้รางวัลหลายสิบชั่ง พร้อมทั้งยกลูกสาวที่มีอยู่อีกหนึ่งคนให้แก่ ผู้ที่ฆ่าชาละวันได้ วันหนึ่งมีพ่อค้าจากเมืองล่าง สันนิษฐานว่าจาก เมืองนนทบุรี รับอาสาปราบจระเข้ตัวใหญ่ ด้วยหอกลงอาคมหมอ จระเข้ ถ�้ำชาละวันสันนิษฐานว่าอยู่กลางแม่น�้ำน่านเก่า ปัจจุบัน อยูห่ ่างจากที่พักสงฆ์ถำ�้ ชาละวัน บ้านวังกระดี่ทอง ต�ำบลย่านยาว ไปทางใต้ประมาณ 300 เมตร ทางลงปากถ�้ำเป็นโพรงลึกเป็นรูป วงกลม จระเข้ขนาดใหญ่มากเข้าได้อย่างสบาย คนสมัยก่อนได้เล่า ถึงความใหญ่โตของชาละวันว่า เวลามันอวดศักดาลอยตัวปริ่มน�้ำ ขวางคลอง ล�ำตัวของมันจะยาวคับคลอง คือหัวอยูฝ่ ง่ั นี้ หางอยูฝ่ ง่ั โน้น

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 28

21/12/2561 14:18:17


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 29

29

21/12/2561 14:18:18


30

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 30

21/12/2561 14:18:19


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 31

31

21/12/2561 14:18:19


32

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 32

21/12/2561 14:18:21


เรือ่ งชาละวันเป็นเรือ่ งทีเ่ ลือ่ งลือมาก จนพระบาทสมเด็จพระพุทธ เลิศหล้านภาลัยได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครนอกเรือ่ ง “ไกรทอง” และให้นามจระเข้ใหญ่ว่า “พญาชาลวัน” อีกทั้งยังน�ำไปสร้างเป็น ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ เพลงลูกทุง่ เมืองพิจติ รจึงเป็นทีร่ จู้ กั และ กล่าวถึงเรื่องราวนี้จนถึงปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2435 กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ได้น�ำ รูปแบบการปกครองระบบ เทศภิบาลมาใช้และได้จัดตั้งมณฑล พิษณุโลก เป็นมณฑลแรกประกอบด้วย 5 เมือง คือ เมืองพิษณุโลก เมืองพิชยั เมืองสวรรคโลก เมืองสุโขทัย และเมืองพิจติ ร ในปี พ.ศ. 2450 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนค�ำว่า เมือง เป็น จังหวัด ดังนั้น เมืองพิจิตร จึงเปลี่ยนเป็นจังหวัดพิจิตร และต�ำแหน่งผู้ว่าราชการเมืองพิจิตร เปลี่ยนเป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร และในปีเดียวกันได้มีการ ประกาศใช้ชื่ออ�ำเภอที่เปลี่ยนใหม่ให้ตรงกับชื่อต�ำบลที่ตั้งว่าการ อ�ำเภอส�ำหรับจังหวัดพิจิตรได้เปลี่ยนอ�ำเภอเป็นอ�ำเภอเมืองเป็น อ�ำเภอท่าหลวง อ�ำเภอภูมิเป็นอ�ำเภอบางมูลนาก ส่วนอ�ำเภอบาง คลานคงเรียกชื่อเดิม จั ง หวั ด พิ จิ ต ร มี วั ด โพธิ์ ป ระทั บ ช้ า ง วั ด เก่ า แก่ ตั้ ง แต่ ส มั ย สมเด็จพระพุทธเจ้าเสือ เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ วัดท่าหลวงวัดงามคู่เมืองพิจิตรซึ่งภายในพระอุโบสถนั้นเป็นที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัย สร้างขึ้นในสมัยเชียงแสน ชาวบ้านเรียกกันว่า หลวงพ่อเพชร มีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ อย่างอุทยานเมืองเก่าพิจติ ร ทีม่ ลี กั ษณะเป็นเมืองโบราณบนเนือ้ ที่ กว่า 400 ไร่ ทีเ่ ชือ่ กันว่าเป็นตัวเมืองพิจติ รเก่า โดยภายในประกอบด้วย ก�ำแพงเมือง คูเมือง เจดีย์เก่า สวนรุกขชาติที่มีต้นไม้ใหญ่ให้ความ ร่มรื่น และถ�้ำชาละวัน ยามเย็นดูพระอาทิตย์ตกสวยๆ ที่บึงสีไฟ บึงน�้ำจืดขนาดใหญ่ โดดเด่นด้วยรูปปั้นพญาชาละวันขนาดใหญ่ ที่ภายในออกแบบเพื่อให้ใช้เป็นห้องประชุมได้ มีขนบธรรมเนียม ประเพณี การละเล่นที่ยังคงสืบต่อจนถึงปัจจุบันคือ ประเพณีแข่ง เรือยาว ด้วยจังหวัดพิจติ รนัน้ เป็นทางผ่านของแม่นำ�้ สายส�ำคัญถึง 2 สาย อันได้แก่ แม่นำ�้ ยมและแม่นำ�้ น่าน โดยประเพณีแข่งเรือยาว ที่ส�ำคัญของจังหวัดพิจิตรได้แก่ การแข่งเรือยาวของวัดท่าหลวงที่ เริ่มแข่งขันกันมานานยาวนานกว่าร้อยปีมาแล้ว

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 33

33

21/12/2561 14:18:24


34

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 34

21/12/2561 14:18:25


PHOTOPHICHIT : SASIN TIPCHAI I SBL บันทึกประเทศไทย 35

_

.indd 35

21/12/2561 14:18:27


36

AEC 2

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 36

22/12/61 18:22:08


บรรลุสู่การเป็น

“ประชาคมอาเซียน” กระบวนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักในการที่จะ ท�ำให้อาเซียนบรรลุสู่การเป็น “ประชาคม อาเซี ย น” ภายในปี 2558 มี ร ากฐาน มาจากน�ำความร่วมมือและความตกลงทาง เศรษฐกิจทีอ่ าเซียนได้ดำ� เนินการ มาระยะหนึง่ แล้ว มาต่อยอดให้มีผลเป็นรูปธรรมและ มี แ บบแผนมากยิ่ ง ขึ้ น อาทิ ความตกลง ว่ า ด้ ว ยการจั ด ตั้ ง เขตการค้ า เสรี อ าเซี ย น ความตกลงด้านการส่งเสริมการลงทุนอาเซียน ความตกลงด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน และความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้าน อุตสาหกรรมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน จะเป็น เครือ่ งมือส�ำคัญทีจ่ ะช่วยขยายปริมาณการค้า และการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพา ตลาดในประเทศที่สาม สร้างอ�ำนาจการ ต่ อ รองและศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น ของ อาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก เพิ่มสวัสดิการ และยกระดั บ ความเป็ นอยู ่ ข องประชาชน ของประเทศสมาชิกอาเซียน บนหลักการ ของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ การประหยัดต่อขนาด การแบ่งงานกันท�ำ และการพั ฒนาความช� ำ นาญในการผลิ ต

ของประเทศสมาชิกอาเซียน อีกประเด็น ส� ำ คั ญ ที่ จ ะมี ก ารหารื อ คื อ ความร่ ว มมื อ ด้านการ เงินระหว่างอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ในการจัดตั้งกองทุนส�ำรอง พหุภาคีภายใต้มาตรการริเริ่ม ซึ่งจะช่วย เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงินการคลัง ในภู มิ ภ าค โดยเฉพาะในกรณี เ ผชิ ญ กั บ วิ ก ฤตทางเศรษฐกิ จ การเงิ น ตลอดจน ส่งเสริมการค้า การลงทุน เพื่อชีวิตความ เป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ของประชาชนทุกคนในภูมภิ าค นอกจากนี้ การจัดตั้ง “คณะกรรมาธิการ ระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” จะส่งผลกระทบทางอ้อมต่อความร่วมมือ กับประเทศและองค์การระหว่างประเทศ นอกอาเซี ย นในทุ ก ๆ ด้ า น รวมทั้ ง ด้ า น เศรษฐกิจ เนื่องจากการมีกลไกทางด้าน สิทธิมนุษยชนอย่างเป็นรูปธรรมจะท�ำให้ อาเซียนเป็น ที่ยอมรับของนานาประเทศ มากขึ้น ซึ่งจะมีส่วนลดเงื่อนไขที่ประเทศ คู่ค้าส�ำคัญในประเทศตะวันตกจะน�ำไปใช้ ก�ำหนดมาตรการที่มีผลกีดกันทางการค้า อาทิ การส่งออกกุ้งแช่แข็งของไทยไปยัง สหภาพยุโรปที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา แรงงานเด็ก เป็นต้น

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

AEC 2

.indd 37

37

22/12/61 18:22:09


นายอดุ ล ย์ โชติ นิ ส ากรณ์ รองอธิ บ ดี กรมการค้าต่างประเทศ เปิดเผยว่า กรม การค้ า ต่ า งประเทศ ได้ เ ดิ น หน้ า ท� ำ แผน ยุ ท ธศาสตร์ ส ่ ง เสริ ม การค้ า ชายแดน 3 ยุทธศาสตร์ เพื่อเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดน ให้เติบโตตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ 1.7 ล้านล้านบาท ในปีนี้ โดยยุทธศาสตร์การส่งเสริมภาคเอกชน ไทยในการสร้ า งศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ตาม จุ ด ต่ า งๆ ที่ มี ศั กยภาพ เพือ่ ต่อยอดธุรกิจ SMEs ให้ มี ช ่ อ งทางการตลาดเพิ่ ม ขึ้ น ในการขายสิ น ค้ า ไปสู ่ ต ลาดเป้ า หมายใน ประเทศเพื่ อ นบ้ า น อย่ า ง CLMV โดย ตลาดกลางดั ง กล่ า วจะสามารถรองรั บ และอ�ำนวยความสะดวกในรูปแบบ One Stop Service ให้แก่ผู้ประกอบการไทย ที่เป็น SMEs โครงการนี้คาดว่าจะก่อสร้าง เสร็ จ สมบู ร ณ์ ภ ายในไตรมาสแรกของปี 2018 ซึง่ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมภาคเอกชน ไทยเข้าไปจัดตัง้ คลังสินค้าและศูนย์กระจาย สิ น ค้ า ตามแนวชายแดน เพื่ อ เป็ น จุ ด รวบรวมสิ น ค้ า และอ� ำ นวยความสะดวก แก่ผู้ประกอบการ SMEs ไทย และการ เข้าไปเปิดตลาดในประเทศเพือ่ นบ้าน ส�ำหรับ มูลค่าการค้าชายแดนของไทยทัง้ ค้าชายแดน ค้าผ่านแดน และค้าเมืองหน้าด่าน ในช่วง 8 เดื อ นแรกของปี นี้ มี มู ล ค่ า 9.4 แสน ล้ านบาท เพิ่ ม ขึ้ นจากช่วงเดียวกันของปี ก่อนหน้าร้อยละ 2.65 ส่วนมูลค่าการค้า ชายแดนในปีนี้คาดว่าจะมีมูลค่าประมาณ 1.47 ล้านล้านบาท ขอบคุณข้อมูลจาก : กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ, Tourismthailand.org/AEC

38

AEC 2

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 38

22/12/61 18:22:10


PHICHIT

GOVERNOR สารผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร

ตลอดระยะเวลา 70 ปี แห่ ง การครองราชย์ ตราบจนกระทั่ ง เสด็ จ สวรรคต เมื่ อ พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงด�ำรงมั่นอยู่ในทศพิธราชธรรม และทรงยึดมั่นในพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ทั้ ง ทรงพระวิ ริ ย อุ ต สาหะ ปฏิ บั ติ บ� ำ เพ็ ญ พระราช กรณียกิจน้อยใหญ่ นานัปการ จากการที่พระองค์ ทรงทุ่มเทพระวรกายเพื่อประชาชน เปรียบเสมือน หยาดน�้ ำ ทิ พ ย์ ที่ ช โลมผื น แผ่ น ดิ น และจิ ต ใจของ พสกนิกรชาวไทยให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุข

โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ กว่า 4,000 โครงการ ล้วนเป็นการพัฒนาประเทศ ให้กา้ วหน้าอย่างยัง่ ยืน แม้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร จะเสด็จสู่สวรรคาลัยแล้ว แต่โครงการพระราชด�ำริน้อยใหญ่ยังคงผลิดอกออกผลและ ให้ความร่มเย็น พระบรมราโชวาทและพระราชด�ำรัส ในโอกาสต่างๆ ยังคงเปรียบประดุจ ดั่งแสงสว่าง ที่คอยชี้น�ำแนวทางในการด�ำรงชีวิตแก่พสกนิกร และจะยังคงสถิตในดวงใจ ของเหล่าปวงชนชาวไทยสืบไป สิ่งส�ำคัญอีกประการ ของการสานฝันสู่ความส�ำเร็จที่ผมเน้นย�้ำเสมอคือ “งบประมาณ ไม่ใช่ปัญหาของการพัฒนา” หากเราใช้ “ใจ” เป็นตัวน�ำทาง เพราะการขับเคลื่อนงาน สักอย่างที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ “ใจ” เราไม่มีงบ เราก็ท�ำได้ เพราะเรามีใจ ใจจึงเป็นค�ำตอบเดียว ส�ำหรับความส�ำเร็จ “พิจิตรคือเมืองแห่งความสุข เมืองเล็กแต่น่ารัก” เมืองที่ทุกคนคิดว่าเป็นทางผ่าน แต่ผ่านแล้วต้องแวะ สิ่งนี้จะเกิดขึ้นและส�ำเร็จได้ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของทุกภาคส่วน และยังมีอีกหลายโครงการที่เราก�ำลังท�ำเพื่อสังคมของเรา จังหวัดพิจิตร ไม่ว่าจะเป็น โครงการบริหารจัดการและพัฒนาบึงสีไฟ และการฟื้นฟูแม่น�้ำพิจิตร โครงการส่งเสริม และพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นการศึ ก ษา โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และแก้ ไ ขปั ญ หา

ความยากจน ท้ า ยที่ สุ ด นั้ น ผมเชื่ อ มั่ นว่ า การท�ำงานทีย่ งิ่ ใหญ่จะประสบความส�ำเร็จได้ ก็ด้วยความรักและความสามัคคีของทุกคน ความร่วมมือจากทุกหน่วยงานเพื่อสังคม ของเรา ผมขอขอบคุณนิตยสาร SBL ที่ให้ผม ได้พูดคุยถึงการท�ำงาน การพัฒนาโครงการ ต่างๆ แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดพิจิตร และขอขอบคุณทุกภาคส่วน ทีใ่ ห้ความร่วมมือ ในการจัดท�ำนิตยสารเป็นอย่างดี ผมหวัง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า ท่ า นทั้ ง หลายจะประสบ พบเจอแต่ความสุขความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป ขอบคุณครับ

นายวีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร

SBL บันทึก ประเทศไทย จั งหวั ดพิ จิต ร พ.ศ. 2561

.indd 39

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

39 39

20/12/61 16:13:24


EXCL USIV E INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร

PHICHIT

GOVERNOR “พัฒนาเพื่อประชาชนเป็นสุข อย่างมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร

นายวีระศัก ดิ์ วิจิตร์แ สงศรี หลายคนมักมองพิจิตร ว่าเป็นจังหวัดทางผ่าน เป็นเมืองเล็ก ๆ บางคนเลวร้ายกว่า บอก ว่าพิจิตรเป็นเมืองไม่น่าผ่าน ไม่มีอะไรน่าสนใจ มีเพียงแค่วัด ส่วนบึงสีไฟก็สกปรก แห้งแล้งไม่มี น�้ำมานาน ยุงเยอะ มีทั้งสถิติไข้เลือดออกมากกว่าใคร ไข้หวัดซิก้า ไข้หวัดใหญ่ หลีกเลี่ยงได้ควร อย่างยิ่ง ที่จะไม่มาจังหวัดพิจิตร แต่ทว่าเวลาผ่านมา 2 ปี ผมอยากจะบอกว่า เมืองที่ใครหลายคน มองว่าเป็นทางผ่านวันนี้นั้นเป็น “เมืองแห่งความสุข” บนพื้นฐานวิถีชีวิตของผู้คนที่เรียบง่าย Slow Life มีความผูกพันกับสายน�้ำและการเกษตรกรรม ด้วยพื้นที่เพาะปลูกทางการเกษตร รวมกว่า 2,000,000 ไร่ อาทิเช่น ข้าว ส้มโอ มะม่วง มะยงชิด ฯลฯ รายได้ทางเศรษฐกิจของ จังหวัดพิจิตรมีมูลค่าประมาณ 38,278 ล้านบาท ในปีพ.ศ.2560 คิดเป็น ร้อยละ 0.3 ของ GDP ประเทศไทย ประชากรมีรายได้ต่อหัวประมาณปี 70,900 บาท จังหวัดพิจิตร เมืองงาม เมืองสามแคว หรือชื่อดั้งเดิมตามประวัติศาสตร์แรกว่า “โอฆะบุรี” เมืองแห่งท้องน�้ำ ตั้งอยู่บริเวณกึ่งกลางของประเทศ ด้วยพื้นที่ 12 อ�ำเภอ มีแม่น�้ำส�ำคัญ 3 สาย ไหลผ่าน ประกอบด้วย แม่น�้ำน่าน แม่น�้ำยม และแม่น�้ำพิจิตร และมี “บึงสีไฟ” แหล่งกักเก็บน�้ำจืด ขนาดใหญ่ ข องประเทศ เนื้ อ ที่ 5,390 ไร่ และเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ มี ระบบนิเวศวิทยา มีบัว นก ปลา นานาพันธุ์ ที่ส�ำคัญเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ

40

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 40

“ยึ ด หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สานพลั ง ประชารั ฐ ตามยุ ท ธศาสตร์ ช าติ 20 ปี

20/12/61 16:13:26


EXCLUSIVE INTERVIEW

ก�ำกับดูแลงาน

“ด้านสังคม”

ผมได้รบั มอบหมายจากท่านผูว้ า่ ราชการ จังหวัดพิษณุโลก ให้ก�ำกับดูแลการปฏิบัติ ราชการของหน่วยงานราชการส่วนกลาง, หน่วยงานราชการส่วนภูมิภาค, รัฐวิสาหกิจ ต่างๆ ในจังหวัดพิษณุโลก, การประสานงาน เอกชน และการปฏิบตั งิ านเชิงพืน้ ที่ โดยก�ำกับ ดูแลจ�ำนวน 3 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอบางระก�ำ อ�ำเภอบางกระทุ่ม และอ�ำเภอพรหมพิราม รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง ทีอ่ ยูใ่ นก�ำกับดูแลของอ�ำเภอ และก�ำกับดูแล คณะกรรมการพนักงานเทศบาล

ภารกิจพิเศษที่ ได้รับมอบหมาย

นอกเหนือจากภาระงานประจ�ำตามที่ ได้กล่าวไปข้างต้นแล้ว ผมก็ได้รบั มอบหมาย จากท่านผูว้ า่ ราชการจังหวัดพิษณุโลก ให้กำ� กับ ดูแลเป็นพิเศษในเชิงภารกิจ ได้แก่ การจัดหา พืน้ ทีเ่ พือ่ ก่อสร้างศูนย์ราชการจังหวัดพิษณุโลก (แห่งใหม่), การก�ำจัดขยะ น�ำ้ เสียชุมชน และ การพัฒนาเมือง, ก�ำกับดูแลงานด้าน Logistic และการขนส่ง, ก�ำกับดูแลงานด้านการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย และก�ำกับดูแลงาน ด้านการพัฒนาแหล่งน�ำ้ และการชลประทาน

“Put the right man on the right job” ผลการด�ำเนินงานที่ภาคภูมิใจ

การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกัน การทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย โดยได้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. เน้นการบริหารราชการแบบมีสว่ นร่วม การสร้างเครือข่ายในทุกภาคส่วน สร้างเสริม พลังประชารัฐ กระตุ้นให้มีการขับเคลื่อน พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยใช้คณะกรรมการ ประสานและขับเคลื่อนนโยบายสานพลัง ประชารัฐ (คสป.) และคณะท�ำงานชุดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะท�ำงานพัฒนาการ เกษตรสมัยใหม่ คณะท�ำงานด�ำเนินการ สร้างรายได้ ด้านการส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ฯลฯ ให้ขบั เคลือ่ นการท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายชุมชนอย่างแท้จริง 2. ได้ ป ระยุ ก ต์ แ ละใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย เพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศ (IS) ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ (GIS) ให้มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วน ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ สามารถจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล น�ำมาวิเคราะห์ และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว

และเป็นระบบ โดยพัฒนาให้ศนู ย์ปฏิบตั กิ าร จังหวัดเป็นศูนย์ขอ้ มูลกลางทีร่ วบรวมข้อมูล พื้ น ฐานด้ า นต่ า งๆ ส� ำ หรั บ การตั ด สิ น ใจ ของผูบ้ ริหาร เช่น การพัฒนาระบบสารสนเทศ ด้ า นสาธารณภั ย พั ฒ นาฐานข้ อ มู ล การ บริหารจัดการ ฐานข้อมูล ด้านการเกษตร ด้านการท่องเที่ยว ฯลฯ 3. บริหารจัดการบูรณาการการท�ำงาน ระหว่างส่วนราชการ และหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัด โดยใช้ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ในการขับเคลื่อน ก�ำหนดให้มีเจ้าภาพหลัก ผู ้ ส นั บ สนุ น รั บ ผิ ด ชอบงานในแต่ ล ะด้ า น อย่างชัดเจน พร้อมมีระบบติดตาม ประเมินผล เป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่อง 4. ระบบบริหารจัดการภาครัฐ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมในการ ให้ข้อเสนอแนะ ข้อท้วงติงที่เป็นประโยชน์ แก่การบริหารราชการได้ โดยปรับปรุงศูนย์ ด�ำรงธรรมจังหวัด/อ�ำเภอ ให้เป็นที่พึ่งพา ล�ำดับแรกของประชาชน PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

20/12/61 16:13:27


EXCLUSIVE INTERVIEW

“ แม่น�้ำน่าน แม่น�้ำยม แม่น�้ำพิจิตร และบึงสีไฟ จึงเป็นเสมือนหัวใจและเส้นเลือดหลัก ของคนพิจิตร ”

เมืองพิจิตร เมืองที่มีต�ำนานเล่าขาน ถึ ง จระเข้ ตั ว ใหญ่ มี บ ทเพลง บทละคร มากมาย นอกจากจะเป็นที่รู้จักเลื่องลือ ของ “พญาชาละวัน” แล้ว เมืองพิจิตรยัง มีสิ่งที่น่าสนใจ ทรงคุณค่ามาแต่อดีตกาล ให้ เ ราได้ ศึ ก ษาเรี ย นรู ้ อี ก มากมาย วั น นี้ นิ ต ยสาร SBL ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากท่ า น วี ร ะศั ก ดิ์ วิ จิ ต ร์ แ สงศรี ผู ้ ว ่ า ราชการ จั ง หวั ด พิ จิ ต ร มาพู ด คุ ย ถึ ง เรื่ อ งราวการ ท� ำ งาน โครงการที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการพั ฒนา เมืองพิจิตรให้น่าอยู่ ให้เป็น “พิจิตรเมือง แห่งความสุข เมืองเล็กแต่น่ารัก” นอกจากนี้เรายังมีแหล่งท่องเที่ยว ที่ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว ที่ ช อบเที่ ย วแบบ Slow Life ท่ อ งเที่ ย ว จังหวัดพิจิตร “เมืองเล็ก แต่น่ารัก” อาทิ เช่น กราบนมัสการหลวงพ่อเพชรวัดท่าหลวง

42

กราบสักการะถิน่ ประสูติ พระเจ้าสรรเพชญ์ ที่ 8 หรื อ สมเด็ จ พระเจ้ า เสื อ วั ด โพธิ์ ประทับช้าง เยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร์ เมืองเก่าพิจิตร เที่ยวป่าดอกกระเจียวยักษ์ รักเขาโล้น UNSEEN ในฤดูฝน เยี่ยมชม ชุมชนการค้าโบราณ ย่านเก่าวังกรด และ นั่งรถไฟสุดชิลล์ จากสถานีวังกรด มาลง สถานีพิจิตร ชมตึกโบราณ ต�ำนานรถไฟ Sky Walk ชานชาละวัน ศิลปะสมัยยุโรป ตะวั น ตก ยุ ค รั ช กาลที่ 5 หรื อ จะร่ ว ม บรรยากาศ อิ่ ม บุ ญ อิ่ ม ใจในทุ ก เช้ า ของ วั น เสาร์ เดิ น ตลาดต้ อ งชม นั ด นี้ เ พื่ อ น้ อ ง แล้ ว มาตั ก บาตรรั บ อรุ ณ ยามเช้ า หน้าก�ำแพงแห่งความภักดี ทั้งนี้ทั้งนั้น ผมเชื่อมั่นอยู่อย่างหนึ่ง ว่าเม็ดเงินในกระเป๋า อาจไม่ได้หมายถึง สิ่ ง ที่ บ ่ ง บอกความสุ ข ที่ แ ท้ จ ริ ง ของคน

จังหวัดพิจิตรได้ เพราะที่ส�ำคัญ “เรา คือ 1 ใน 4 ต้นแบบจังหวัดคุณธรรมน�ำร่องของ ประเทศไทย” บูรณาการสู่การขับเคลื่อน นโยบายจั ง หวั ด โดยยึ ด โยงประชาชน เป็ น ศู น ย์ ก ลางบนพื้ น ฐานของความ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน และ มี ค วามรู ้ คู ่ คุ ณ ธรรม น� ำ ไปสู ่ ทิ ศ ทางการ พัฒนาจังหวัดทีห่ ยัง่ รากและเข้มแข็ง สูว่ สิ ยั ทัศน์ จั ง หวั ด พิ จิ ต รที่ ว ่ า “เมื อ งเกษตรดี เมื อ ง สิง่ แวดล้อมดี เมืองสังคมและคุณภาพชีวติ ดี พร้ อ มสู ่ ส ากล” ท� ำ ให้ เ มื อ งเล็ ก ๆ แห่ ง นี้ เป็ นเมื องแห่ ง ความสุข เพราะประชาชน สร้างการตระหนักรูร้ ว่ มกันว่า“ จังหวัดพิจติ ร คือสังคมของเรา” เพราะฉะนั้น “สังคมเรา เราต้องดูแล” จากอดีตที่ใครเคยกล่าวว่า “พิจิตรเป็นเมืองทางผ่าน” แต่วันนี้ “พิจิตร คือเมืองแห่งความสุข เมืองเล็กแต่น่ารัก”

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 42

22/12/61 18:03:42


“หลายคนมักมองพิจิตร เป็นจังหวัดทางผ่าน เป็นเมือง เล็กๆ บางคนเลวร้ายกว่า บอกว่าพิจิตรเป็นเมือง ไม่น่าผ่าน...” นายวีระศัก ดิ์ วิ จิ ตร์ แ สงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิต ร

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 43

43

20/12/61 16:13:29


EXCLUSIVE INTERVIEW

โครงการส�ำคัญๆ ของจังหวัด

หากพู ด ถึ ง โครงการที่ ส� ำ คั ญ ผม ในฐานะผูว้ า่ ราชการจังหวัดพิจติ ร คงไม่อาจ เอ่ยได้ทงั้ หมด เพราะแท้ทจี่ ริงแล้วทุกโครงการ ที่เป็นการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ พีน่ อ้ งประชาชน การพัฒนาพืน้ ที่ ล้วนเป็น โครงการทีส่ ำ� คัญทัง้ สิน้ หากแต่การสัมภาษณ์ ครั้งนี้จะขอหยิบยกตัวอย่างโครงการที่เกิด จากความร่วมมือของทุกภาคส่วน ที่เป็น เครื่องยืนยันว่า “การพัฒนาจังหวัดพิจิตร ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั ผูว้ า่ ราชการจังหวัดเพียงคนเดียว แต่ขึ้นอยู่กับคนพิจิตรทุกภาคส่วนที่จะต้อง ร่วมแรงร่วมใจกัน”

1.โครงการบริ ห ารจั ด การและพั ฒ นา บึงสี ไฟ และการฟื้นฟูแม่น�้ำพิจิตร

หลายคนคงทราบกันดีว่าเมืองพิจิตร มีวถิ ชี วี ติ ผูกพันกับการเกษตรกรรมมาอย่าง ยาวนาน โดยเฉพาะแหล่งน�้ำที่หล่อเลี้ยง วิ ถี ชีวิต ของผู ้ ค น “พิจิต รเมือ งงาม เมือ ง 44

สามแคว” ประกอบด้วยแม่นำ�้ ยม แม่นำ�้ น่าน และแม่น�้ำพิจิตร รวมถึงบึงสีไฟ บึงน�้ำจืด ขนาดใหญ่มีพื้นที่กว่า 5,300 ไร่ หากแต่ ห้วงเวลาสองปีก่อนนี้ บึงสีไฟอยู่ในสภาวะ แล้งน�้ำ ร้างผู้คน พื้นดินแตกระแหง ถึง ขนาดคนสามารถเดิ น ลงไปเตะฟุ ต บอล กลางบึงได้ จากความร่วมแรงร่วมใจของ ทุ ก ภาคส่ ว นช่ ว ยกั น พั ฒนา นั บ ตั้ ง แต่ ยั ง ไม่มีงบประมาณ ด้วยการลงแรง ลงใจ เปิด เส้นทางระบายน�้ำ ขุดลอกเส้นทางน�้ำใน เมืองต้น ก�ำจัดผักตบชวาจนน�้ำสามารถ ไหลเข้ามารวมกันยังบึงสีไฟได้ ก่อนจะน�ำ มาสู่การพิจารณาอนุมัติงบประมาณจาก รัฐบาลเป็นจ�ำนวนเงิน 371 ล้านบาทใน การขุ ด ลอกบึ ง สี ไ ฟให้ ส ามารถกั ก เก็ บ น�้ ำ เพิม่ ขึน้ ได้เท่าตัวเป็น 12 ล้านลูกบาศก์เมตร เช่ น เดี ย วกั น กั บ แม่ น�้ ำ พิ จิ ต ร ที่ แ ห้ ง ขอด ตลอดความยาว 127 กิโลเมตร เต็มไปด้วย ผักตบชวาและความช�ำรุดทรุดโทรม ของ ประตู ร ะบายน�้ ำ จั ง หวั ด พิ จิ ต รเรามี ก ลุ ่ ม

ภาคประชาชนที่เข้มแข็งที่บูรณาการ พัฒนา ร่วมกับจังหวัดคือ “กลุ่มขุนศึกพ่อปู่ กอบกู้ แม่น�้ำพิจิตร” ภายใต้สภาพปัญหา ไม่ได้ ท�ำให้คนพิจิตรย่อท้อแต่กลับเป็นพลังให้ คนพิ จิ ต ร ลุ ก ขึ้ น รวมตั ว ร่ ว มกั บ ภาครั ฐ ด� ำ เนิ น การฟื ้ น ฟู แ ม่ น�้ ำ พิ จิ ต ร อี ก ทั้ ง สื บ เนื่องจากการลงพื้นที่ของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ในการประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี สั ญ จร ณ จั ง หวั ด นครสวรรค์ แ ละการตรวจเยี่ ย ม ข้าราชการในพื้นที่จังหวัดพิจิตร ส่งผลต่อ การบูรณาการพัฒนาขุดลอกแม่น�้ำพิจิตร อย่ า งยั่ ง ยื น เป็ น ระยะ และต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ปัจจุบันน�้ำสามารถไหลผ่านแม่น�้ำพิจิตรได้ ตลอดสายแล้ว คงเหลือการพัฒนาปรับปรุง ประตูระบายน�้ำและการแก้ไขปัญหาการ ผั น น�้ ำ เข้ า สู ่ ร ะบบนิ เ วศวิ ท ยาให้ มี ค วาม ต่ อ เนื่ อ ง โดยมี ส� ำ นั ก งานทรั พ ยากรน�้ ำ แห่งชาติเป็นหน่วยบูรณาการหลัก

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 44

20/12/61 16:13:30


2.โครงการส่งเสริมและพัฒนา การท่องเที่ยวเมืองรอง

“พิจิตรเมืองเล็ก แต่น่ารัก” ภายใต้ การบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ช่ ว ยกั น ท�ำให้เมืองที่เป็นทางผ่าน เมืองที่ไม่มีใคร อยากผ่าน เป็นทีร่ จู้ กั ผ่านสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว หลากหลาย นอกเหนือไปจากสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว พื้นฐาน อาทิ เช่น

Sky Walk ชานชาละวัน ตึกโบราณ ต�ำนานรถไฟ เมืองพิจิตร

แต่เดิมเป็นแหล่งเสื่อมโทรม มีป่ารก มีขยะ มีปัญหายาเสพติดในพื้นที่ แต่ภายใต้ กลไกการมีส่วนร่วม การประชาคม ระดม ความคิดเห็น ของทุกภาคส่วนอย่างต่อเนือ่ ง และจริงจัง ปัจจุบันสถานที่แห่งนี้จึงเป็น แลนด์มาร์คแห่งใหม่ ของเมืองพิจติ ร ทีใ่ ครๆ ก็ ต ้ อ งแวะมาแชะภาพ บน Sky Walk ชานชาละวั น ตึ ก โบราณต� ำ นานรถไฟ เมืองพิจติ ร แถมยังได้เลือกชม เลือกซือ้ สินค้า ผลิตภัณฑ์ จากตลาดนัดชุมชน ในทุกวันเสาร์ ช่วงเย็น 17.00 - 21.00 น อีกด้วย

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 45

45

20/12/61 16:13:31


พิพิธภัณฑ์บ้านดงโฮจิมินห์ ต�ำบลป่ามะคาบ

พิพิธภัณฑ์เพื่อการเรียนรู้แห่งส�ำคัญ ของประเทศ ที่ บ อกเล่ า เรื่ อ งราวการ ท� ำ ความดี ข อง ฯพณฯ โฮจิ มิ น ห์ อดี ต ประธานาธิ บ ดี แ ละผู ้ อ ภิ วั ฒ น์ ช นชาติ เวียดนาม อาจกล่าวได้วา่ อนุสรณ์สถานแห่งนี้ จุดประกายส�ำคัญ 2 ประการคือ “จุดประกาย การท�ำความดี” การสืบสานเดินตามรอย ของประธานโฮจิ มิ น ห์ ที่ ค รั้ ง หนึ่ ง เคยมา พึ่ ง พิ ง อาศั ย คนพิ จิ ต รก่ อ นการอภิ วั ฒ น์ ชนชาติ และปลู ก ฝั ง ให้ ค นภายนอกรู ้ ว ่ า “ที่นี่ไม่มีแค่วัดอย่างเดียว เป็นจุดเริ่มต้น ของการปฏิ วั ติ ป ระชาชนเวี ย ดนามด้ ว ย” สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือเป็นศูนย์มิตรภาพไทยเวียดนามที่เดียวในประเทศไทย ก่อสร้าง ด้วยเงินของคนไทย อันนี้เป็นเรื่องส�ำคัญ เป็ น ความภาคภู มิ ใ จที่ ค นไทยสามารถ ตอบมิตรประเทศทั่วโลกและมิตรประเทศ เวียดนามได้อย่างเต็มภาคภูมิ

46

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 46

20/12/61 16:13:31


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 47

47

20/12/61 16:13:40


48

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 48

20/12/61 16:13:41


ป่าดอกกระเจียวยักษ์ รักษ์เขาโล้น

สถานที่ท่องเที่ยว UNSEEN RAINY SEASON ตั้งอยู่ที่บ้านเขาโล้น ต�ำบลเขา เจ็ดลูก อ�ำเภอทับคล้อ เป็นความมหัศจรรย์ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติบนพืน้ ทีป่ า่ ชุมชน เขาลูกน้อยๆ ท่องป่าในระยะทาง 1 กิโลเมตร ก�ำลังพอดี นักท่องเที่ยวจะได้พบกับดอก กระเจียวที่มีขนาดใหญ่มาก เบ่งบานตลอด เส้นทางเขา จนทีน่ มี่ คี ำ� ขวัญว่า “กระเจียวเล็ก มีอยูท่ วั่ ไป กระเจียวใหญ่ตอ้ งทับคล้อพิจติ ร” เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วใน ฤดูฝนทีต่ อ้ งห้ามพลาด

ตลาดต้องชม นัดนี้เพื่อน้อง

เป็ น ตลาดนั ด สิ น ค้ า ชุ ม ชน พื ช ผั ก ปลอดสารพิษ ซึง่ ความพิเศษคือพ่อค้าแม่ขาย ส่วนใหญ่ เป็นเด็กและเยาวชนจากโรงเรียน ในเขตพื้นที่จังหวัดพิจิตร อายุตั้งแต่ 12 ปี เรียนประถม มัธยม แม้กระทั่งสายอาชีวะ มาจ�ำหน่ายสินค้าพืชผัก ผลไม้ ขนมคาวหวาน กาแฟหน้าจวน ตั้งแต่ตีห้าจนถึงเก้าโมงเช้า และตลาดดั ง กล่ า วเป็ น ที่ รู ้ จั ก มั ก คุ ้ น ของ คนในพื้ น ที่ แ ละนั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ นิ ย มเดิ น ทางมาในยามเช้าของวันเสาร์ทุกสัปดาห์ แบบชนิดที่ว่า คึกคักไปด้วยไออุ่นของความ พอเพียงกันเลยทีเดียว

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 49

49

20/12/61 16:13:45


3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้านการศึกษา BBL Brain-Based Learning สนาม เด็ ก เล่ น ตามหลัก การพัฒนาสมอง (เล่น ตามรอยพระยุคลบาท) หนึ่งในโครงการส�ำคัญที่เกิดจากการ สร้างความร่วมมือในการขับเคลือ่ นการศึกษา “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” โดยมี ส� ำ นั ก งานบริ ห ารและพั ฒ นา องค์ ค วามรู ้ (องค์ ก ารมหาชน) ภายใต้ การก� ำ กั บ ดู แ ลของส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี (Office of Knowledge Management 50

and Development OKMD) ร่ ว มกั บ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน และจังหวัดพิจิตร บูรณการความร่วมมือ ร่วมกับโรงเรียน บ้าน วัด ชุมชน จนเกิด โครงการการพั ฒ นาโรงเรี ย นต้ น แบบ สนามเด็ ก เล่ น ตามหลั ก การพั ฒนาสมอง “บ้านต้นไม้” (เล่นตามรอยพระยุคลบาท) บ้านต้นไม้ สนามเด็กเล่น เล่นตามรอย พระยุคลบาท BBL (Brain-based Learning) เกิดจากการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริในการ

อบรมเลี้ยงดู พระโอรสและพระธิดาของ สมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระบรม ราชชนนีของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มาเป็ น แนวทาง ในการออกแบบองค์ประกอบและกิจกรรม การจั ด สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้ ถื อ เป็ น สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย งเชิ ง การเรี ย นรู ้ ที่น่าสนใจครอบคลุมทั้ง 12 อ�ำเภอ

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 50

20/12/61 16:13:46


ศูนย์ธรณีวิทยาโรงเรียนบ้านบางลายเหนือ ศูนย์การเรียนรู้ที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่ง เกี่ยวกับเรื่องราวของพื้นดิน พื้นโลก ที่จังหวัด สนับสนุนงบประมาณ การด�ำเนินโครงการในโรงเรียน ซึ่งไม่ใช่โรงเรียนใหญ่โต หรือได้รับ โอกาสมากมาย หากแต่เพราะผมเชื่อมั่นว่าการกระจายโอกาสทางการเรียนรู้ให้แก่เยาวชน โดยเท่าเทียมกันที่สุด คือความส�ำเร็จของการศึกษา ศูนย์การเรียนรู้แห่งนี้ จึงเป็นอีก หนึ่งแห่งที่ ผมหมายมั่นปั้นมือ อยากเห็นศูนย์ธรณีวิทยาแห่งนี้ เป็นแหล่งเรียนรู้ของเด็กๆ พิ จิ ต รทุ ก คน และเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ยวในเชิ ง ธรรมชาติ วิ ท ยาให้ ไ ด้ ซึ่ ง ถ้ า ได้ น ่ า จะเป็ น แห่งแรกของโรงเรียนในประเทศไทย เห็นแล้วน่าชื่นใจ โดยความร่วมมือของชุมชนและ ทีมสถาบันพิพธิ ภัณฑ์เพือ่ การเรียนรู้ (สพร.) ได้มาด�ำเนินการให้ โดยเฉพาะในส่วนการแสดง ชัน้ ดิน ชัน้ หินของพิจติ ร สวยงามและน่าสนใจมาก หากใครสงสัยเรือ่ งทองค�ำในจังหวัดพิจติ ร ชั้นดินชั้นหินในจังหวัดพิจิตร ที่นี่มีค�ำตอบที่ชัดเจน

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 51

51

20/12/61 16:13:47


วัดโรงช้าง

พระนอนองค์ ใหญ่ วัดสุขุมาราม

วัดเขาพระ 52

วัดบางคลาน

วัดดงชะพลู

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 52

20/12/61 16:14:00


ตักบาตรรับอรุณ หน้าก�ำแพงแห่งความภักดี กิจกรรมต่อเนื่องหลังจากเดินตลาด ต้องชม นัดนี้เพื่อน้อง ในทุกเช้าวันเสาร์ เวลา 7 นาฬิกา เราก็จะเดินทางมาชม การแสดงศิ ล ปวั ฒ นธรรมและร่ ว มกั น สร้ า งบุ ญ กุ ศ ล ตั ก บาตรรั บ อรุ ณ ด้ ว ย ผักผลไม้สด เบื้องหน้าก�ำแพงแห่งความ ภักดี 84 ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดช บรมนาถบพิ ต ร ที่ ค นพิ จิ ต ร ร่วมกันวาดขึน้ มาจากหัวใจ ด้วยความงดงาม ความยาวกว่า 200 เมตร

นอกจากนี้ ยั ง มี ส ถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ซึ่ ง เกิ ด จากความร่ ว มแรงร่ ว มใจต่ อ ยอด และพัฒนาชุนของคนพิจิตรอีกหลายแห่ง อาทิ เ ช่ น วั ด ท่ า หลวงพระอารามหลวง วัดโพธิ์ประทับช้าง ชุมชนย่านเก่าวังกรด บ้ า นหลวงประเทื อ งคดี ฯลฯ และที่ ส�ำคัญอีกประการหนึ่ง จังหวัดพิจิตรได้ ประกาศปฏิทินการท่องเที่ยว 12 อ�ำเภอ เที่ยวเมืองรอง “พิจิตร เมืองเล็กแต่รัก” ให้เป็นที่รู้จักของผู้คนและนักท่องเที่ยว ทั้งประเทศ

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 53

53

20/12/61 16:14:01


4.โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และแก้ ไขปัญหาความยากจน ภายใต้ บ ริ บ ทวิ ถี ชี วิ ต อั น เรี ย บง่ า ยของคนพิ จิ ต ร ท� ำ ให้ ก ารขั บ เคลื่ อ นน้ อ มน� ำ พระราชด�ำริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปริมทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ไม่ใช่เรื่องยากเท่าใดนัก ผมในฐานะผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตรได้ร่วมลงพื้นที่ รับฟังความคิดเห็นพี่น้องประชาชนและเติมเต็มงบประมาณที่ภาคประชาชนต้องการ ใน การสร้างพลังภาคปรัชญาสังคม สร้างชุมชนต้นแบบทั้ง 21 อ�ำเภอ เกิดกิจกรรมโรงเรียน ผู้น�ำตามรอยพ่อ เวทีผู้สูงอายุสัญจร ทุกอ�ำเภอและทุกเดือนให้ภาคประชาชนเกิดพื้นที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การตามรอยศาสตร์พระราชาอย่างยั่งยืน ตัวอย่างของโครงการดังกล่าว เป็นเพียงส่วนหนึ่งของโครงการที่ส�ำคัญของคนพิจิตร เพราะทุกโครงการที่ คนพิจิตรร่วมคิด ร่วมสร้างร่วมท�ำ และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของพี่น้องประชาชน เป็นโครงการที่ส�ำคัญทั้งสิ้น ดังที่ผมเคยย�้ำไว้เสมอว่า “สังคมเรา เราต้องดูแล”

54

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 54

20/12/61 16:14:02


บุคคลผู้เป็นแรงบันดาลใจในการท�ำงาน ส�ำหรับผมนั้น บุคคลที่เป็นแรงบันดาลสูงสุดในชีวิตการท�ำงาน คือ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร “ในหลวงของปวงชน” ภาพการทรงงาน อย่างหนักของในหลวงภาพพระราชาที่ทรงงานบนพื้นที่ทุรกันดาร พื้นที่ที่มีราษฎรทุกข์ยาก ล�ำบาก ไม่ว่าจะใกล้หรือไกล เป็นสิ่งที่ผมเห็นจนชินตา ตั้งแต่ยังเด็กเรื่อยมา จวบจน การรับราชการ เป็นภาพที่ไม่ต้องปรุงแต่งใดๆ สามารถบอกเล่าเรื่องราวของบุคคลในภาพ ได้เป็นอย่างดี ผมไม่สามารถด�ำรงตนในสถานะข้าราชการที่ดีได้หากปราศจากต้นธาร แห่งการท�ำความดี เช่นพระองค์ท่านจะผ่านไปกี่ปี กี่เดือน กี่วัน ในหลวง รัชกาลที่ 9 ยังคงเป็นภาพเดียว ที่เกาะกุมพื้นที่ในหัวใจของผมได้ตลอดไป

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 55

55

20/12/61 16:14:02


จากใจท่านผู้ว่าฯ ด้านแนวความคิด และวิธีการท�ำงาน

หากใครที่ ท� ำ งานกั บ ผมก็ ค งจะรู ้ ว ่ า “ผมเป็ น คนชอบฝั น ” และความฝั น ที่ มี มักยิ่งใหญ่เสมอ และบอกกับทุกคนเสมอ ว่าการท�ำงานนั้นต้อง “จริงจัง ต่อเนื่อง และ คิ ด การใหญ่ ” และท� ำ ทั น ที จนหลายคน มองไปว่า เลื่อนลอย ห่างไกล เป็นไปไม่ได้ นึกย้อนไปถึงภาพบึงสีไฟ บึงน�้ำขนาดใหญ่ ที่เป็นเสมือนหัวใจและเส้นเลือดหลักของ คนพิจิตร ตกอยู่ในสถานการณ์วิกฤติผืนดิน แตกระแหง แล้งน�ำ้ ร้างผูค้ นและนักท่องเทีย่ ว ไร้ซึ่งงบประมาณ ภาพเมืองพิจิตร ในมุม ที่ใครๆ ไม่เคยรู้จัก จนเรียกติดปากกันว่า “เมืองพิจติ ร เป็นเมืองทางผ่าน หรือแม้กระทัง่ ไม่ มี ใ ครอยากผ่ า น” คื อ ประกายฝั น เมื่ อ สองปี ก ่ อ น กลั บ กลายเป็ น แรงผลั ก ดั น ที่ท้าทาย และสิ่งที่ผมใช้เป็นค�ำตอบตลอด ชั่วชีวิต ของการท�ำงานรับราชการ คือการ ลงมือท�ำ ด้วยความเชือ่ ทีว่ า่ “ความฝันยังคง ล่ อ งลอยอยู ่ ใ นสายลม ตราบใดที่ เ รายั ง ไม่ ล งมื อ ท� ำ ” สิ่ ง ส� ำ คั ญ อี ก ประการหนึ่ ง ของการสานฝันสู่ความส�ำเร็จ ที่ผมเน้นย�้ำ เสมอคือ “งบประมาณ ไม่ใช่ปัญหาของ การพัฒนา” หากเราใช้ “ใจ” เป็นตัวน�ำทาง เพราะการขับเคลื่อนงานสักอย่างที่ส�ำคัญ ที่สุด ก็คือ ใจ “เราไม่มีงบ เราก็ท�ำได้ เพราะ เรามีใจ ใจจึงเป็นค�ำตอบเดียวส�ำหรับความ ส�ำเร็จ” ท้ายทีส่ ดุ นัน้ ผมเชือ่ มัน่ ว่าการท�ำงาน ที่ยิ่งใหญ่จะประสบความส�ำเร็จได้ ก็ด้วย ความรักและความสามัคคีของทุกคน

56

“ จังหวัดพิจิตร คือสังคมของเรา” เพราะฉะนั้น “สังคมเรา เราต้องดูแล” จากอดีตที่ใครเคยกล่าวว่า “พิจิตร เป็นเมืองทางผ่าน” แต่วันนี้ “พิจิตร คื อ เมื อ งแห่ ง ความสุ ข เมื อ งเล็ ก แต่น่ารัก ” นายวีระศักดิ์ วิจิตร์ แ สงศรี ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 56

20/12/61 16:14:03


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 57

57

20/12/61 16:14:04


ข้อคิดหรือคติพจน์ประจ�ำใจ ในการด�ำเนินชีวิต “จริงจัง ต่อเนื่อง คิดการใหญ่ ” และ “ ททท. ท�ำ ทัน ที ” สิ่งที่ท่านประทับใจมากที่สุดตั้งแต่ รับราชการมาจนถึงปัจจุบัน ส� ำ หรั บ ตั ว ผมแล้ ว ตลอดช่ ว งชี วิ ต ของการรั บ ราชการ คื อ การที่ ไ ด้ ท� ำ งาน ในสิ่ ง ที่ ใ จรั ก และเป็ น ความประทั บ ใจที่ งดงามเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เวลาที่เรา ได้ ช ่ ว ยเหลื อ พี่ น ้ อ งประชาชน ช่ ว ยเหลื อ คนที่ เ ดื อ ดร้ อ น ท� ำ ให้ พ วกเขาเหล่ า นั้ น ได้ รั บ ความรู ้ สึ ก ว่ า ยั ง มี ค นที่ ค อยปกป้ อ ง เคียงข้าง เอาใจใส่ และคอยยื่นมือฉวยจับ ในยามทีไ่ ม่มใี คร ให้พวกเขาได้มคี วามสุขได้ เหมือนสิง่ ทีผ่ มเน้นย�ำ้ เสมอว่า “ถ้าประชาชน ทุกข์ ข้ า ราชการจะสุ ข ได้ อ ย่ า งไร” ห้ ว ง เวลาที่ ไ ด้ อ ยู ่ ใ นเหตุ ก ารณ์ เ ช่ น นี้ จึ ง เป็ น ความประทับใจ ความภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ส�ำหรับข้าราชการอย่างผม ในการท�ำหน้าที่ “บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข” ให้แก่พนี่ อ้ งประชาชน 58

คุณสมบัติส�ำคัญของผู้ท่ีจะ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด ต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง ในยุ ค ปั จ จุ บั น ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด ไม่ ไ ด้ เ หมื อ นสมั ย ก่ อ นแล้ ว ปั จ จุ บั น โลก มีความก้าวหน้า มีววิ ฒ ั นาการทางเทคโนโลยี หรืออาจเรียกกันติดปากว่า “4G” หรือ ยุค Thailand 4.0 ดังนั้น ผู้ว่าฯ ในสมัยนี้ ยุคนี้ ต้องซึมซับปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้อย่างรวดเร็ว และสามารถแก้ไขปัญหา ของพีน่ อ้ งประชาชนได้อย่างทันท่วงที ทีส่ ำ� คัญ การท�ำงานของคนมหาดไทยจะต้องสละ ความสุขส่วนตัว เพื่อประโยชน์ส่วนรวม เรียกให้เป็นคติพจน์ค�ำคมประจ�ำตัวผมว่า “เรื่องส่วนตัวใหญ่แค่ไหน ก็ต้องถือว่า เป็ น เรื่ อ งเล็ ก เรื่ อ งส่ ว นรวมเล็ ก แค่ ไ หน ก็ต้องถือว่าเป็นเรื่องใหญ่”

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 58

20/12/61 16:14:06


บึงสี ไฟ อ�ำเภอเมืองพิจิตร PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 59

59

22/12/61 18:04:03


S P ECI A L INT E R V IE W บันทึกเส้นทางพบท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร

PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION

“ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร” ท้อ งถิ่นจัง หวัด พิจิตร

ดร.พิเชษฐ์ จัน ทร์ส่ง

ส� ำ หรั บ โอกาสในการพั ฒ นา ได้ น� ำ นโยบายของรั ฐ บาลมาสนั บ สนุ น การน� ำ ปรั ช ญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาใช้ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ฐานราก ให้ ส อดรั บ กั บ นโนบายสั ง คม โดยเน้ น การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ ครอบครั ว ชุ ม ชน และสั ง คม กระแสของความยึ ด มั่ น ในความดี ความรั ก ชาติ ศาสนาพระมหากษั ต ริ ย ์

ดร.พิเชษฐ์ จันทร์ส่ง ท้องถิ่น จังหวัดพิจิตร

60

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 60

20/12/61 17:05:13


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 61

61

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย 20/12/61 PB

17:05:15


SPECIAL INTERVIEW หลักการส�ำคัญที่น�ำมาใช้ ในการท�ำงานร่วมกับอปท.

คื อ รู ้ ต น รู ้ ค น รู ้ ส ถานที่ ใช้ ห ลั ก การท� ำ งานแบบเข้ า ถึ ง บุ ค ลากร องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิน่ เพือ่ สร้างความสัมพันธ์ ใกล้ชิด เป็นตัวอย่างให้แก่องค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น น� ำ เอาประสบการณ์ แ ละ บทเรียนในเรื่องการบริหารจัดการ ไปใช้ ในการบริหารจัดการขององค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น ตน เพื่ อ ให้ อ งค์ ก รปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น อื่น ย่น ระยะเวลาการท�ำงาน ของตน ไม่ตอ้ งเสียเวลาในการลองผิดลองถูก ซึง่ จะท�ำให้การด�ำเนินงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ประสบความส�ำเร็จได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งสนับสนุนในการสร้างเครือข่ายการ ท�ำงาน การเรียนรู้และการช่วยเหลือกัน ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยยกระดั บ ความรู ้ ค วาม สามารถในการบริการสาธารณะขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นได้เพิ่มขึ้น รู้ตน คือ รู้จักตนเอง เข้าใจข้อจ�ำกัด ของตนเองในการท�ำงานร่วมกับบุคคลอื่น หรือส่วนราชการอื่น

ผลการด�ำเนินงานในปีที่ผ่านมา

ผลงานโดดเด่นที่ได้รับในปีที่ผ่านมา เป็นรางวัลชมเชย ในเรือ่ งการบริหารจัดการขยะ ในระดับประเทศ และได้รับรางวัลในการ ประสานขอความร่วมมือด�ำเนินโครงการ “มื อ ถื อ เก่ า ไป ชี วิ ต ใหม่ ม า” ซึ่ ง องค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นได้ให้ความร่วมมือใน การรับบริจาคโทรศัพท์มือถือเก่า ส่งต่อ ให้ ก รมส่ ง เสริ ม การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ด�ำเนินการตามโครงการ

แผนพัฒนา อปท.ในปีนี้

แผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ที่มีจุดเน้นเป็นพิเศษ จะเป็นเรื่องนโยบาย ด้ า นการก� ำ จั ด ขยะ และสิ่ ง แวดล้ อ มของ กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิน่ การศึกษา วัฒนธรรม ประเพณี เทคโนโลยี คุณภาพชีวติ และความปลอดภัย แต่ทงั้ นีก้ ย็ งั ให้ความส�ำคัญ ในเรื่ อ งของการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทีร่ ว่ มมือระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น และ ส�ำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ มาเป็นตัวขับเคลื่อนด้วย

รู ้ ค น คื อ รู ้ จั ก อุ ป นิ สั ย ใจคอบุ ค คล ที่เราร่วมงานด้วย เข้าใจข้อจ�ำกัดในการ ท�ำงานของบุคคลอื่น และเข้าใจจุดเด่นของ บุคคลอื่นในแต่ละด้าน โดยการสร้างความ คุ้นเคยใกล้ชิด ให้ความเป็นกันเอง ระหว่าง ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเป็น ผู้ประสานงานที่ดีระหว่างส่วนราชการกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รู้สถานที่ คือ การท�ำงานท้องถิ่นต้อง เข้ า ใจสถานที่ หรื อ บริ บ ทของแต่ ล ะแห่ ง ว่ามีข้อดี ข้อเสีย หรือข้อจ�ำกัดอย่างไร โดย วิธีการลงพื้นที่ คลุกคลีการท�ำงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

62

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 62

20/12/61 17:05:15


บทบาทเพิ่มเติม อปท.ในฐานะ ที่เป็นองค์กรภาครัฐที่อยู่ใกล้ชิด กับประชาชนในพื้นที่มากที่สุด เพื่อที่จะช่วยแก้ปัญหาให้กับ ประชาชนในพื้นที่ ได้อย่างทันท่วงที ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับองค์กร ที่เข้ามาช่วย อ� ำ นวยความสะดวกในการด� ำ เนิ น งาน ท�ำให้การเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว การ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และช่ ว ย ประหยัดต้นทุนในการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ของหน่วยงาน ทีเ่ ชือ่ มต่อในระบบอินเตอร์เน็ต เช่ น การรั บ ส่ ง จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ การมี เ ว็ บ ไซต์ส�ำหรับเป็น ช่อ งทางในการ ประชาสั ม พั น ธ์ ข ่ า วสารต่ า งๆ เป็ น ต้ น องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ที่จะต้องปรับตัวในทุกด้าน ที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยี อั น จะส่ ง ผลถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ และผลสัมฤทธิใ์ นการให้บริการ หรือการแก้ไข ปั ญ หาในพื้ น ที่ และปั จ จุ บั น ได้ มี แ นวคิ ด การสื่อสารทางไกลระหว่างองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง และส�ำนักงานส่งเสริม การปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดพิจิตร

เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ให้มีความเจริญก้าวหน้า สิง่ ทีต่ อ้ งการฝากไปยังองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ที่เราต้องยอมรับร่วมกัน จาก ประสบการณ์ที่ผ่านมาว่า องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ เป็นหน่วยงานหลัก และอันดับแรก ในการให้ความช่วยเหลือประชาชนได้อย่าง รวดเร็วและทันความต้องการ ซึง่ ทุกหน่วยงาน ล้วนแต่ต้องพึ่งพาและฝากความหวังไว้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ที่ผ่านมา ก็อาจจะมีอปุ สรรคอยูบ่ า้ ง แต่ไม่มาก สามารถ พัฒนาไปในเชิงบวกได้ เราจึงควรหันมา ร่ ว มมื อ กั น ปฏิ บั ติ ง านให้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้เกิดพลังความสามัคคี และการพัฒนา จะได้เป็นไป อย่างรวดเร็ว อันจะส่งผลที่ดี ต่อภาพลักษณ์ และความมัน่ ใจของประชาชน ในพื้นที่ต่อไปที่ดียิ่งขึ้นไป PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 63

63

20/12/61 17:05:16


TRAVEL GUIDE

บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดพิจิตร

จังหวัดพิจิตร ตั้งอยู่ทางภาคเหนือตอนล่าง มีเนื้อที่ 4,531.013 ตารางกิ โ ลเมตร มี ค วามยาวจากทิ ศ เหนื อ จดใต้ ป ระมาณ 77 กิ โ ลเมตร ความกว้ า งจากทิ ศ ตะวั น ออกจดทิ ศ ตะวั น ตก ประมาณ 72 กิ โ ลเมตร ตั้ ง อยู ่ ร ะหว่ า งจั ง หวั ด นครสวรรค์ กั บ จังหวัดพิษณุโลก มีแม่น�้ำน่านกับแม่น้�ำยมไหลผ่าน ตัวเมืองอยู่ ริมฝั่งแม่น�้ำน่าน อันความหมายว่า “เมืองงาม” นั้นย่อมมีสิ่งที่ งดงามทรงคุ ณ ค่ า ตกทอดสู ่ รุ ่ น ลู ก รุ ่ น หลาน และถ้ า หากกล่ า ว ถึง “ต�ำนานชาละวัน” รู้ ได้ทันทีว่าที่นี่คุณได้มาถึง “เมืองพิจิตร” แล้ว ด้วยความที่เป็นเมืองเก่าแก่จึงมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย ทั้งทางประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ทางธรรมชาติ เป็นที่ดึงดูดใจ ให้เมืองทางผ่านนี้ น่าผ่านแล้วแวะเข้าไปเที่ยวยิ่งนัก 64

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

12

.indd 64

22/12/2561 18:38:56


PHICHIT ต�ำนานเมืองชาละวัน

“ถิน ่ ประสูติพระเจ้าเสือ แข่งเรือยาวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่ อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 65

65

21/12/2561 14:24:15


TRAVEL GUIDE

เที่ยวชม...ธรรมชาติ 66

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

12

.indd 66

21/12/2561 14:24:16


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 67

67

21/12/2561 14:24:17


TRAVEL GUIDE เที่ยวชม...ธรรมชาติ

บ้านเราเริ่มมีแ หล่งท่องเที่ยวมากมายหลายที่เยอะขึ้นเรื่อยๆ ค่ะ มีบางที่ที่เกิดขึ้นใหม่ๆ หรือบางที่ที่มีมานานแล้ว แต่ ห ลายคนก็ยังไม่เคยได้ ไ ปเที่ย ว หรื อ แทบจะยั ง ไม่ รู้ จัก กั น ด้ ว ยซ�้ ำ วั น นี้ เ ราเลยรวบรวม ที่ เ ที่ ย วชมธรรมชาติ ในจังหวัดพิจิตร ที่เราเองอาจจะยังไม่รู้จักกันมากนัก มาแนะน�ำให้ ไปเที่ยวกันค่ะ 68

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

Bueng Si fai is a tourist attraction of the province Phichit. In the Lake of fire, the color. The _

12

.indd 68

21/12/2561 14:24:22


BUENG SI FAI

BUENG SI FAI IS A TOURIST ATTRACTION OF THE PROVINCE PHICHIT. IN THE LAKE OF FIRE, THE COLOR. THE NINE-SQUARE PAVILION. THE CROCODILE POND, THERE IS A STATUE OF THAI CHILDREN IN THE PAST.

บึงสีไฟ

ภายในบึงมีพรรณไม้นำ�้ ขึน้ ทัว่ ไป มีดอกบัว หลวงจ�ำนวนมาก ริมบึงปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และไม้ใหญ่ให้ความร่มรื่น นักท่องเที่ยว นิ ย มมาให้ อ าหารปลาและ ชมอาทิ ต ย์ อั สดง อี ก จุ ด ที่ น่ าสนใจคือ รูปปั้นพญา ชาละวั น เป็ นรู ป ปั ้ นจระเข้อยู่ด ้า นหน้า บึงสีไฟ ทีม่ คี วามยาวถึง 38 เมตร กว้าง 6 เมตร สูง 5 เมตร ภายในตัวจระเข้นี้สร้างเป็น ห้องประชุมขนาด 25-30 ทีน่ งั่ และยังเป็น รู ป ปั ้ น จระเข้ ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลกอี ก ด้ ว ย จุ ด ที่ ส อ ง คื อ ส ถ า น แ ส ด ง พั น ธุ ์ ป ล า เฉลิมพระเกียรติ ลักษณะอาคารเป็นรูป ดาวเก้าแฉก ยื่นลงไปในบึงสีไฟ ภายใน ประกอบด้วยตูแ้ สดงพันธุป์ ลามากกว่า 20 ชนิด และมี ก ารสั บ เปลี่ ย นชนิ ด ของปลาเป็ น ประจ�ำ นอกจากนี้บริเวณส่วนกลาง ของ อาคารยังท�ำเป็นช่องส�ำหรับชมปลาและให้ อาหารปลา ซึ่งเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชม วันธรรมดาเวลา 9.00-18.00 น. วันหยุด ราชการ เวลา 9.00-19.00 น. จุดที่สาม คือศูนย์จำ� หน่ายผลิตภัณฑ์พนื้ เมืองจังหวัด พิจิตร จัดจ�ำหน่ายสินค้าพื้นเมืองและของ ที่ระลึกต่างๆ ที่ชาวบ้านผลิตขึ้นเอง เช่น เครื่องจักสานจากผักตบชวา ผ้าทอบ้าน ป่าแดง มะขามแก้วสี่รส ฯลฯ เรียกได้ว่า มาแวะเที่ยวที่บึงสีไฟแห่งนี้ นอกจากจะ ได้ชมวิวทิวทัศน์ที่สวยงามให้สบายใจแล้ว ยังได้ความรู้ และของฝากกลับบ้านไปอีกด้วย

เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น�้ำจืดขนาดใหญ่ แหล่งอาศัยของนกหลายชนิด และสถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของประชาชนทัว่ ไป บึงสีไฟถือได้วา่ เป็นสัญลักษณ์ แห่งแรกของจังหวัดพิจติ ร มีเนือ้ ที่ 5,390 ไร่ โดยบริเวณบึงสีไฟยังมี สวนสมเด็จ พระศรีนครินทร์ฯ พิจติ ร สร้างขึน้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทรา บรมราชชนนี 80 พรรษา มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 170 ไร่ เป็นพืน้ ดิน ประมาณ 50 ไร่ และพื้นน�้ำประมาณ 120 ไร่ ริมบึงสีไฟมีสะพานทอดลงน�้ำสู่ศาลาใหญ่ เป็น แหล่งพักพิงและอยู่อาศัยของสัตว์หลายชนิด ในฤดูหนาวจะมีฝูงนกเป็ดน�้ำ อพยพมาอาศัยเป็นจ�ำนวนมาก จึงเป็นสถานทีส่ ำ� หรับชมนกและศึกษานกไปด้วย

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 69

69

21/12/2561 14:24:27


70

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

12

.indd 70

21/12/2561 14:24:28


NAKHON CHAI BOWORN

FOREST PARK

วนอุทยานนครไชยบวร PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 71

71

21/12/2561 14:24:30


72

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

12

.indd 72

21/12/2561 14:24:36


ในอดีตพื้นที่ป่าแห่งนี้ มีพันธุ์ ไม้ยางนา ที่ขึ้นตาม ธรรมชาติ ปกคลุมพื้นที่ อยู่อย่างหนาแน่น นับเป็น พื้นที่ป่าที่อุดมสมบูรณ์ มากของจังหวัดพิจิตร

วนอุทยานนครไชยบวร

การท่ อ งเที่ยวในวนอุท ยานนครไชยบวรมี 2 ลั ก ษณะคื อ ลักษณะทัศนาจรเช้าเย็นกลับ พักผ่อนรับประทานอาหาร ซึ่งมี ตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป โดยใช้เวลาพักผ่อนในพืน้ ทีป่ ระมาณ 1-5 ชัว่ โมง และลักษณะพักแรมค้างคืนเนื่องจากวนอุทยานฯ ไม่มีบ้านพัก รับรองนักท่องเที่ยว จึงเป็นในรูปแบบกางเต็นท์ เช่น กลุ่มลูกเสือ เนตรนารี เป็นกลุ่มมากกว่า 100 คนขึ้นไป ระยะเวลาพักแรมไม่ เกิน 3 วัน ส่วนนักท่องเที่ยวทั่วไปเป็นกลุ่มขนาดไม่เกิน 10 คน โดยมากางเต็นท์ซึ่งมีน้อยมาก และมีเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ (Nature trail) ซึ่งเป็นเส้นทางที่จัดท�ำขึ้นเพื่อใช้ศึกษาธรรมชาติใน ระยะใกล้ มุ่งเน้นถึงการสื่อความหมายธรรมชาติอย่างเป็นระบบ

เพื่อให้ความรู้ง่ายๆ แก่นักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินชมธรรมชาติ ทีไ่ ม่ไกลและไม่ลำ� บากเกินไปนัก เส้นทางนีม้ รี ะยะทาง 2,189 เมตร มีสถานีศกึ ษาธรรมชาติทงั้ ด้านสภาพป่าพันธุพ์ ชื พันธุส์ ตั ว์ จ�ำนวน 10 สถานี โดยมีทางเลือกในการเดินศึกษา 2 ทาง เพือ่ ความเหมาะสม ต่อตัวท่านเอง ทัง้ ข้อจ�ำกัดด้านเวลา วัย และสุขภาพของนักท่องเทีย่ ว โดยเส้นทางสายที่ 1 ส�ำหรับท่านที่มีเวลาอันจ�ำกัดและสุขภาพ ไม่ค่อยดีนัก เหมาะกับท่านสูงอายุหรือเด็ก เป็นเส้นทางระยะสั้น รวม 1,400 เมตร ผ่านสถานีศึกษา 7 สถานี ให้เวลาศึกษา ประมาณ 1 ชั่ ว โมง เส้ น ทางสายที่ 2 ส� ำ หรั บ ท่ า นที่ ต ้ อ งการ รายละเอียดตลอดเส้นทาง และมีเวลาพอสมควร พร้อมทัง้ สุขภาพ ทีแ่ ข็งแรง มีระยะทาง 2,188 เมตร ผ่านสถานีศกึ ษาทัง้ 10 สถานี ใช้เวลาศึกษาประมาณ 2 ชั่วโมง PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 73

73

22/12/2561 18:39:14


74

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

12

.indd 74

21/12/2561 14:24:47


สวนเกษตรวังทับไทร

จากจุดเริ่มต้นเมื่อปี 2527 ลุงสมหมายปลูกมะม่วง 2 ต้น ในพื้นที่ต�ำบลวังทับไทร จนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลากว่า 30 ปี ชาวบ้านในท้องถิน่ หันมาท�ำสวนมะม่วงเป็นอาชีพหลักไม่ตำ�่ กว่า 200,000 ไร่ ครอบคลุมรอยต่อ 3 จังหวัดในเขตภาคเหนือตอนล่าง โดยจังหวัดพิจติ รมีแหล่งปลูกมะม่วงในอ�ำเภอสากเหล็ก อ�ำเภอ เนินมะปราง อ�ำเภอวังทอง อ�ำเภอวังสะภู ส่วนจังหวัดเพชรบูรณ์ อยู่ในเขตอ�ำเภอชนแดน ส่วนพิษณุโลกปลูกมะม่วงในพื้นที่ อ� ำ เภอวั ง โป่ ง ทุ ก วั น นี้ ต� ำ บลวั ง ทั บ ไทร อ� ำ เภอสากเหล็ ก กลายเป็นแหล่งปลูกมะม่วงส่งออกที่ส�ำคัญของจังหวัดพิจิตร เกษตรกรนิยมปลูกมะม่วงกินสุก คือ มะม่วงน�้ำดอกไม้สีทอง และมะม่วงน�้ำดอกไม้สที อง เบอร์ 4 เพือ่ ส่งขายตลาดญีป่ นุ่ และ ปลูกมะม่วงพันธุ์ดิบ ได้แก่ มะม่วงฟ้าลั่น มะม่วงเขียวเสวย โดย ทั่วไปสวนมะม่วงในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (พิจิตร เพชรบูรณ์ ก�ำแพงเพชร อุทยั ธานี) จะเริ่มมีผลผลิตเข้าสู่ตลาดตั้งแต่กลาง เดื อ นธั น วาคมเป็ น ต้ น ไป ช่ ว งเดื อ นกุ ม ภาพั น ธุ ์ จ ะมี ผ ลผลิ ต สู่ตลาดมากที่สุด PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

12

.indd 75

75

22/12/2561 19:07:27


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัวัดดโบราณคู ท่า่บหลวง พระอารามหลวง ้านคู่เมืองของจังหวัดพิจิตร พระราชวิจิตรโมลี (หลวงพ่ อบุญมี ปริปุณฺโณ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าหลวง พระอารามหลวง

วัดท่าหลวง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่เลขที่ 674 ถนนบุษบา ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ที่ ดิ น ที่ ตั้ ง วั ด มี เ นื้ อ ที่ 46 ไร่ 3 งาน 17.40 ตารางวา ตั้ ง วั ด เมื่ อ ปี พ .ศ. 2388 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีม า เมื่อ วัน ที่ 8 กุม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2492 เขตวิ สุ ง คามสีม า กว้า ง 9 เมตร ยาว 26 เมตร เป็ น วั ดพั ฒ นา ตั ว อย่ า งเมื่ อ ปี พ .ศ. 2510-2513 และได้ รั บ การสถาปนาขึ้ น เป็ น พระอารามหลวง เมื่อ ปี พ.ศ. 2529 76

.indd 76

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

19/12/61 18:36:48


วัดท่าหลวง เป็นวัดโบราณวัดหนึ่ง ซึ่งอยู่คู่บ้านคู่เมืองของ จังหวัดพิจติ ร ตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ น่าน วัดนีไ้ ม่ปรากฏหลักฐานทีแ่ น่ชดั ว่าสร้างขึน้ ครัง้ แรกนัน้ เมือ่ ใด แต่มหี ลักฐานทีส่ บื ทราบได้วา่ สร้างขึน้ เมือ่ ประมาณ ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี ขณะนั้น มีฐานะเป็นวัดชนิดส�ำนักสงฆ์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ครั้งหลัง เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 ภายในพระอุโบสถ ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย สมั ย เชี ย งแสนมี น ามว่ า “หลวงพ่อเพชร” หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ พุทธลักษณะงดงามมาก หน้าตักกว้าง 1.40 เมตร สูง 1.60 เมตร เป็นพระพุทธรูปส�ำคัญ คู่เมืองพิจิตร อายุการก่อสร้างวัดตามปรากฏหลักฐานจากอดีต ถึงปัจจุบันรวมประมาณ 160 กว่าปี เกี่ยวกับนามของวัดมีชื่อ เรียกกันหลายนามคือ เดิมเรียก “วัดราษฎร์ประดิษฐาราม” ต่อมา เรียก “วัดประดิษฐาราม” ด้วย ภายหลังเมื่อ ปีพ.ศ. 2481 อ�ำเภอท่าหลวง ได้เปลี่ยนเป็นอ�ำเภอเมืองพิจิตร ทางราชการได้ เคยใช้สถานทีว่ ดั นีใ้ นการประกอบพิธถี อื น�ำ้ พิพฒ ั น์สตั ยาเป็นประจ�ำ ล�ำดับเจ้าอาวาสจากอดีต-ปัจจุบัน

รูปที่ 1 พระธรรมทัสสีมุนีวงศ์ มงคลพิ จิ ต ร สั ง ฆปาโมกข์ (หลวงพ่อเอี่ยม)

รู ป ที่ 2 พระครู ศี ล ธรารั ก ษ์ (หลวงพ่อยิ้ม ทัดเที่ยง)

รูปที่ 3 พระทีฆทัสสีมุนีวงศ์ (หลวงพ่อมหาไป๋ ญาณผโล - นาควิจิตร)

รู ป ที่ 4 พระราชวิ จิ ต รโมลี (หลวงพ่อบุญมี ปริปุณฺโณ) PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 77

77

19/12/61 18:36:57


ประวัติหลวงพ่อเพชร หลวงพ่อเพชร พระพุทธรูปทรงอานุภาพศักดิ์สิทธิ์ พุทธลักษณะ สมัยเชียงแสนรุ่นแรก สร้างในระหว่าง ปีพ.ศ. 1660-1880 (นับเวลา การสร้าง จนถึงปัจจุบันนี้ประมาณ 891 กว่าปี) หล่อด้วยโลหะส�ำริด ปางมารวิชยั นัง่ ขัดสมาธิเพชรชายสังฆาฏิสนั้ เหนือพระอุระประทับนัง่ บนฐาน รูปบัวคว�ำ่ บัวหงายรองรับ ขนาดหน้าตัก กว้าง 1.40 เมตร สูง 1.60 เมตร ตามประวัติการสร้างหลวงพ่อเพชร ไม่มีหลักฐานที่บ่งชัดแน่นอน แต่ มีต�ำนานที่เล่าสืบต่อมาแต่ครั้งบรรพกาลว่า แม่ทัพจากกรุงศรีอยุธยา ยกทัพไปปราบขบถทีจ่ อมทองจังหวัดเชียงใหม่ได้มาหยุดพักทัพทีเ่ มืองพิจติ ร เจ้าเมืองพิจติ รได้ปรารภว่าถ้าปราบขบถเรียบร้อยแล้ว ช่วยหาพระพุทธรูป งามๆ มาฝากสัก 1 องค์ เมือ่ เสร็จสิน้ จากการปราบขบถแล้ว ท่านแม่ทพั จึงได้อญ ั เชิญหลวงพ่อเพชรจากจอมทองมาด้วย โดยล่องแพมาตามล�ำน�ำ้ แม่ปิง ได้อัญเชิญมาประดิษฐานฝากไว้ท่ีเมืองก�ำแพงเพชร แล้วแจ้ง ให้เจ้าเมืองพิจิตรทราบ เมื่อพระพิจิตร(เจ้าเมืองพิจิตร) ได้ทราบ จึงพร้อมด้วยชาวเมืองพิจิตร เป็นจ�ำนวนมากพากันไปที่เมืองก�ำแพงเพชร กระท�ำการสักการบูชาแล้ว อัญเชิญหลวงพ่อเพชรจากเมืองก�ำแพงเพชรแห่มาประดิษฐานไว้ ณ วัดนครชุม เมืองพิจติ ร (เมืองเก่า) และถือเป็นพระพุทธรูปประจ�ำเมืองพิจติ ร ซึ่งมีประชาชนชาวเมืองพิจิตรและจังหวัดใกล้เคียงได้มากราบนมัสการ สักการบูชาตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา ด้วยพุทธานุภาพแห่งองค์หลวงพ่อเพชร ได้บนั ดาลความเป็นสุขและปกป้องคุม้ ครองให้เมืองพิจติ รพ้นจากภยันตราย ทั้งปวง แม้กระทั่งภัยสงครามทุกยุคทุกสมัย เมื่อราว ปีพ.ศ. 2482 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธเจ้าหลวง(ร.5) ทรงพระกรุณาโปรดให้สร้างวัดเบญจมบพิตร และมีพระราชประสงค์ จะอั ญ เชิ ญ พระพุ ท ธชิ น ราชจากเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลกไปประดิ ษ ฐานเป็ น พระประธานในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพมหานคร แล้วจึงมี พระกระแสรับสั่งให้สืบหาพระพุทธลักษณะงดงามกรอปด้วยกฤษดา ภินิหารไปแทนพระพุทธชินราชที่เมืองพิษณุโลก เจ้าพระยาศรีสุริยาศักดิ์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลพิษณุโลกทราบว่า หลวงพ่อเพชร ที่เมืองพิจิตรมีพุทธลักษณะดังกล่าวข้างต้นตรงตาม พระราชประสงค์ และชาวพิษณุโลกก็มาสักการบูชาเป็นประจ�ำ จึงควรคู่ แก่การอัญเชิญไปประดิษฐานแทน จึงแจ้งให้พระยาเทพาธิบดี(อิม่ ) เจ้าเมือง พิจิตรได้ทราบ และให้จัดการอัญเชิญหลวงพ่อเพชรขึ้นไปพิษณุโลก ในเหตุการณ์ครัง้ นัน้ ได้สร้างความเศร้าโศกเสียใจให้กบั ชาวเมืองพิจติ ร เป็นอย่างยิง่ การทีอ่ ญ ั เชิญพระพุทธชินราชจากเมืองพิษณุโลกมาทีก่ รุงเทพฯ นั้น ซึ่งชาวเมืองพิษณุโลกมีความหวงแหนพระพุทธชินราชและชาวเมือง พิจิตรก็มีความหวงแหนหลวงพ่อเพชรเช่นกัน จึงโปรดเกล้าให้หล่อ พระพุทธชินราชจ�ำลองขึ้นประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตรแทน แล้วสั่งให้อัญเชิญหลวงพ่อเพชรกลับเมืองพิจิตร แต่หลวงพ่อเพชรมิได้กลับไปเมืองพิจติ ร(เมืองเก่า) คือ พักอยูแ่ ค่เมืองพิจติ ร เมืองใหม่ปัจจุบันนี้เท่านั้น 78

.indd 78

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

19/12/61 18:36:59


HIST ORY O F BU DDHI SM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่ามะคาบ

วัดส�ำคัญของชาวบ้านป่ามะคาบ พระสมุห์พนม มงฺคลิโก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่ามะคาบ

วั ด ป่ า มะคาบ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 90 บ้ า นป่ า มะคาบ หมู ่ ที่ 3 ต� ำ บลป่ า มะคาบ อ� ำ เภอเมื อ งพิ จิ ต ร จั ง หวั ด พิ จิ ต ร สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย(วั ด ราษฎร์ ) ประวั ติ ก ารก่ อ ตั้ ง วั ด ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีผู้ ใดเป็นผู้ก่อตั้ง คงเกิดจากความร่วมมือ ของประชาชนในการจั ด สร้ า ง เพื่ อ จะได้ ไ ม่ ต ้ อ งไปท� ำ บุ ญ ไกลๆ ปัจจุบันวัดป่ามะคาบมีเนื้อที่ 16 ไร่ 3 งาน 45 ตารางวา วัดป่ามะคาบมีชื่อเดิมว่า “วัดป่ามะค่า” เพราะมีต้นไม้มะค่า จึงเรียกตามชือ่ หมูบ่ า้ น ต่อมาได้เรียกเพีย้ นไปเป็น “บ้านป่ามะคาบ” และเรียกชื่อวัดว่า “วัดป่ามะคาบ” จนถึงทุกวันนี้ วัดป่ามะคาบ สร้างมาตั้งแต่ปี พ.ศ. (ไม่แน่ชัด) ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2461 (อุโบสถเก่า) และต่ อ มาได้ ส ร้ า งพระอุ โ บสถหลั ง ใหม่ ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2525 วัดป่ามะคาบมีปชู นียวัตถุทสี่ ำ� คัญเป็นทีเ่ คารพบูชาของประชาชน คือ พระพุทธรูปประธานในวิหาร “หลวงพ่อพวง” หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว เป็นเนื้อปูนปั้นปางมารวิชัย และ “หลวงพ่อธรรมจักร” เป็นพระพุทธรูปยืน ปางห้ามญาติ สูงประมาณ 50 นิ้วเศษ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ รายนามเจ้าอาวาสวัดป่ามะคาบ 1. พระอธิการบุญรอด พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2473 2. พระอธิการมิ่ง สุขสะอาด พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2477 3. พระอธิการครอบ ฐิติโก พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2480 4. พระอธิการบาง ปภาโส พ.ศ. 2481 - พ.ศ. 2488 5. พระอธิการโพธิ์ ชาคโร พ.ศ. 2489 - พ.ศ. 2508 6. พระอธิการส�ำราญ 7. พระอธิการเฉลิม 8. พระครูพิมณฑ์ปัญญาภิรัต (มิ่ง) พ.ศ. 2521 - พ.ศ. 2558 9. พระสมุห์พนม มงฺคลิโก พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 79

79

20/12/61 09:32:35


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหงษ์

ต้นตะเคียนยักษ์ อายุมากกว่า 400 ปี พระครูวิวิธบุญกิจ

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหงษ์

วั ด หงษ์ (เดิ ม ชื่ อ วั ด โหง, วั ด หง, วั ด หงส์ , วั ด หงสาวาส) ตั้งอยู่เลขที่ 141 หมู่ 3 ต�ำบลย่านยาว อ�ำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร สร้ า งขึ้ น ประมาณ ปี พ .ศ. 2472 มี โ บราณวั ต ถุ ส� ำ คั ญ คื อ พระพุ ท ธรู ป พระประธานในโบสถ์ น ามว่ า “หลวงพ่ อ เหลื อ ” หรื อ “หลวงพ่ อ โต” 80

.indd 80

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

ประวัติความเป็นมา หลวงพ่อเหลือ (หลวงพ่อโต) เดิมประดิษฐานอยู่วัดร้าง ริมแม่น�้ำน่าน ฝั่งตะวันตกของบ้าน วัดหงษ์ แต่ไม่ทราบชื่อวัด เพียงแต่เรียกกันว่าวัดโหง หรือวัดหง ส�ำหรับพระประธานในโบสถ์นั้น เดิมเรียกว่า “หลวงพ่อโต” เมื่อปีพ.ศ. 2440 ชาวบ้านได้ท�ำการย้ายวัดร้างให้ห่างจาก ริมฝั่งแม่น�้ำอีก 3-4 เส้น เพราะตลิ่งพังจวนจะถึงโบสถ์ ต่อมา ในปีพ.ศ. 2472 ตลิ่งพังเข้าไปอีก ชาวบ้านวัดหงษ์โดยการน�ำของ พระอาจารย์สังวร สุมโน ได้พร้อมใจกันอัญเชิญ “หลวงพ่อเหลือ” ขึ้นแพข้ามฟากมาประดิษฐาน ณ โบสถ์วัดหงษ์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2472 ตรงกับวันแรม 15 ค�่ำเดือน 12 ปีมะเส็ง ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่ทางวัดหงษ์ ก�ำลังสร้างโบสถ์พอดี พุทธลักษณะของหลวงพ่อเหลือ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ประทับนั่งฐานเขียง พระเพลากว้าง 96 นิ้ว สูง 133 นิ้ว ทรงยืด พระอุระผึ่งผายต้นพระบาทถึงข้อพระกร ดูล�่ำสัน รูปพระเศียร ทรงบาตรโตผิดกับพระพุทธรูปอื่นสันนิษฐานว่าเป็นฝีมือสกุลช่าง สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย

20/12/61 10:56:54


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1 พระอาจารย์พา 2 พระอาจารย์จุ้ย 3 พระอาจารย์ฟ้อน 4 พระอาจารย์สังวร สุมโน 5 พระอาจารย์วัน 6 พระอาจารย์ชั้น 7 พระครูวิรุฬวีรธรรม (ทวี เขมวีโร) 8 พระครูวิวิธบุญกิจ ต้นตะเคียน ของวัดหงษ์ ต้นตะเคียนยักษ์ ตะเคียนใหญ่หรือที่ชาวบ้าน เรียกกันว่าต้น “แม่โหงแม่นาง” มีอายุมากกว่า 400 ปี เส้ น รอบวงโดยประมาณ 9.9 เมตร 10 กว่าคนโอบ สูงประมาณ 50.9 เมตร เป็นต้น ตะเคียนใหญ่ที่เก่าแก่ ยังยืนต้นอุดมสมบูรณ์และ ใหญ่ที่สุด ประวัติความเป็นมา เมื่ อ สมั ย สงครามไทยสู ้ ร บกั บ พม่ า ในอดี ต ขณะที่บ้านเมืองระส�่ำระสาย มีหัวหน้าหมู่บ้าน คนหนึ่ง ชื่อ “จางวางเหม็ง” ได้อพยพครอบครัว และบริวารชาวบ้านเชือกจากพระนครศรีอยุธยา มาตั้งรกรากอยู่ท่ีบ้านวัดหงษ์บริเวณใกล้ๆ กับ ต้นตะเคียนใหญ่ ทางฝั่งตะวันออกของล�ำน�้ำน่าน เดิมเรียกต้น “แม่โหงแม่นาง” เพราะเชื่อกันว่า มีนางไม้สิงสถิตอยู่ เป็นที่ศรัทธาเคารพนับถือ กั น มากในละแวกนั้ น และที่ บ ้ า นใกล้ เ คี ย งกั น จึงมีการบวงสรวงกันทุกปี ได้รับการขึ้นทะเบียน และประกาศเป็น “รุกขมรดกแห่งแผ่นดิน ใต้ร่มพระบารมี” The Trees of Siam : Treasures of the land under the Royal Benevolence of His Majesty the King. เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 81

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

81

20/12/61 10:56:56


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเขาพระ

ขอพรหลวงพ่อพระพุทธประทานพร พระอธิการธฤตมน เขมังกโร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดเขาพระ

วั ด เขาพระ ตั้งอยู่ที่ ต.หัว ดง อ.เมือ ง จ.พิจิตร ในปี พ.ศ. 2463 คณะศรัทธา และชาวบ้านเขาพระ หมู่ที่ 3 จ�ำนวนหนึ่ง ได้ก่อสร้าง ส�ำนักสงฆ์ขนึ้ บริเวณริมแม่นำ�้ น่าน ต.หัวดง โดยใช้ชอื่ ว่า “วัดเขาพระ เจริญศรัทธาธรรม” มีพระสงฆ์จ�ำพรรษาเรื่อยมาและได้ก่อสร้าง ศาลาการเปรี ย ญบริ เ วณริ ม น�้ ำ เพื่ อ เป็ น สถานที่ ป ระกอบกิ จ ของสงฆ์ และให้ ช าวบ้ า นได้ ม าท� ำ บุ ญ ตามประเพณี และใช้ เ ป็ น โรงเรียนสอนหนังสือให้กับลูกหลานชาวบ้าน 82

2

ต่อมาเส้นทางการคมนาคมสะดวกขึ้น เส้นทางน�้ำที่เคยใช้ใน สมัยก่อนจึงค่อยๆ ลดบทบาทลง คณะสงฆ์และชาวบ้านเขาพระ จึงช่วยกันย้ายที่ตั้งวัด จากบริเวณริมแม่น�้ำน่านเดิม มายังบริเวณ ด้ า นหน้ า ของภู เ ขา ห่ า งจากบริ เ วณเดิ ม มาทางทิ ศ ตะวั น ออก ประมาณ 1 กิโลเมตร และก่อสร้างศาลาการเปรียญและกุฏิของ พระสงฆ์ขึ้นจ�ำนวนหนึ่ง และเปลี่ยนชื่อวัดจาก “วัดเขาพระเจริญ ศรัทธาธรรม” เป็น “วัดเขาพระ” และได้ก่อสร้างพระพุทธรูป ปางประทานพร บริ เ วณยอดของภู เ ขา โดยท่ า นก� ำ นั นวิ ศ าล ภัทรประสิทธิ์ พร้อมกับชาวบ้านเขาพระ ในปี พ.ศ. 2499 หลังจากนัน้ ได้เรียกชือ่ พระพุทธรูปว่า “หลวงพ่อพระพุทธประทานพร” เรือ่ ยมา จนปัจจุบัน ชาวบ้านเขาพระและประชาชนทั่วไป มักจะนิยมมา ขอพรกันเป็นจ�ำนวนมาก ส่วนใหญ่มักจะประสบผลส�ำเร็จตามที่ ได้มาอธิษฐานขอพร โดยมักจะน�ำไข่ต้มมาถวาย เมื่อได้ในสิ่ง ที่ตนเองมาอธิษฐานขอพรไว้

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 82

19/12/61 17:30:30


พ.ศ. 2525 ท่านก�ำนัน วิศาล ภัทรประสิทธิ์ และชาวบ้าน เขาพระได้ร่วมใจกันก่อสร้างพระอุโบสถขึ้นบริเวณด้านหน้าของ เขาพระ โดยได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาในวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2527 หลังจากนัน้ ก็มพี ระสงฆ์จำ� พรรษาเรือ่ ยมาจนถึงปัจจุบนั พ.ศ. 2555 วัดเขาพระมีการบูรณปฏิสังขรณ์พระอุโบสถ โดย การน�ำของพระอธิการธฤตมน เขมังกโร เจ้าอาวาสวัดเขาพระ และ ก่อสร้างศาลาการเปรียญหลังใหม่ขึ้น ต่อมาได้ก่อสร้างถาวรวัตถุ อีกเป็นจ�ำนวนมาก อาทิ หลวงพ่อทันใจ ศาลาอเนกประสงค์ โรงครัว และองค์พระพิฆเนศ สร้างพระพุทธรูปเพื่อประดิษฐาน บริเวณภูเขา หล่อพระพุทธรูปจ�ำนวน 100 กว่าองค์ เพื่อเป็นที่ สักการบูชา

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 83

83

19/12/61 17:30:42


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังมะเดื่อ

จิตศรัทธาหลอมรวมก่อเกิดเป็นวัด พระนนทวัชร์ โชติทินฺโน

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวังมะเดื่อ

84

ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงพ่อพุ่ม พ.ศ. 2430 2. พระอาจารย์ชม ไม่ปรากฏปี 3. พระอาจารย์บู๊ ไม่ปรากฏปี 4. พระอาจารย์ไสว ไม่ปรากฏปี 5. พระอาจารย์สุข พ.ศ. 2484 6. พระอาจารย์ถนอม ไม่ปรากฏปี 7. พระมหาจ�ำรัส พ.ศ. 2492 8. พระอาจารย์ส�ำราญ ไม่ปรากฏปี 9. พระมหากอง ไม่ปรากฏปี 10. พระอธิการทัน พนฺธุสาโร พ.ศ. 2513 11. พระอธิการสมบัติ ปภสฺสโร พ.ศ. 2532 12. พระครูวิรุฬห์ธรรมรักษ์(ประกาศ ฉนฺทปาโล) พ.ศ. 2538 13. พระนนทวัชร์ โชติทินฺโน พ.ศ. 2561

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 84

20/12/61 10:15:09


ประวัติวัดวังมะเดื่อ วัดวังมะเดื่อ มีอีกชื่อว่า “วัดอุทุมพร” อยู่ห่างจากตัวเมือง จังหวัดพิจิตรไปทางทิศเหนือประมาณ 5 กิโลเมตร ตั้งอยู่ริมฝั่ง ตะวันตกของแม่นำ�้ น่าน มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 20 ไร่เศษ ทิศตะวันออก ติดกับแม่น�้ำน่าน ทิศตะวันตกติดกับหนองบึงคันไถ ทิศเหนือและ ทิศใต้ติดกับหมู่บ้าน ด้านการคมนาคมปัจจุบันมีทางหลวงชนบท ตัดผ่าน ใช้เวลาเพียง 5 นาที ก็สามารถเดินทางถึงตัวเมืองพิจิตร แต่เดิมทีทหี่ มูบ่ า้ นวังมะเดือ่ แห่งนีไ้ ม่มวี ดั นายเกียฮูแ้ ละนางแดง แซ่บุ่ย ได้มีจิตศรัทธาถวายที่ดินประมาณ 20 ไร่เศษ ซึ่งเป็น ที่ต่อเรือบรรทุกข้าวสารขนาดใหญ่ ให้เป็นธรณีสงฆ์ พร้อมทั้ง บริจาคเงินส่วนตัวและขอรับบริจาคเงินพร้อมทัง้ สิง่ ของจากชาวบ้าน มาร่วมกันจัดสร้างกุฏิขึ้นมาจ�ำนวน 9 หลัง ราวๆ ปีพ.ศ. 2430 เมื่อท�ำการสร้างกุฏิเสร็จ ก็ได้นิมนต์หลวงพ่อพุ่ม มาพ�ำนักอยู่ ที่วัดแห่งนี้ ต่อมาเมื่อปีพ.ศ. 2431 ได้เกิดไฟป่าลุกลามไหม้วัด จึงท�ำให้วดั นีก้ ลายเป็นวัดร้างไปประมาณ 30 ปี ครัน้ ถึงปีพ.ศ. 2461 นางทองค�ำ แซ่บุ่ย ผู้เป็นบุตรีของนายเกียฮู้และนางแดง พร้อมทั้ง ชาวบ้านวังมะเดื่อได้ขอรับบริจาคเงินมาจัดสร้างกุฏิใหม่ขึ้นมา อีก 2 หลัง และได้นิมนต์พระภิกษุมาอยู่ประมาณ 3-4 รูป ต่อมา ปีพ.ศ. 2476 นายเรือตรีรตั น์ สุขามาศ ได้มาอุปสมบท อยูจ่ ำ� พรรษา ณ วัดแห่งนี้ ได้ท�ำการจัดสร้างกุฏิขึ้นมาอีก 1 หลัง พร้อมทั้งได้ ร่วมกันกับชาวบ้านสร้างหอสวดมนต์และศาลาเล็กๆ ขึ้นมา ซึ่ง วัดวังมะเดื่อได้รับการประกาศจัดตั้งวัดเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2476 ได้ขนานนามวัดนีว้ า่ “วัดวังมะเดือ่ ” เพราะตัง้ อยูใ่ นหมูบ่ า้ น วังมะเดื่อ ต่อมานายวอน กลิ่นครุฑ มรรคนายกพร้อมชาวบ้าน ในแถบนีไ้ ด้ทำ� การขอรับบริจาคเงินและสิง่ ของเพือ่ ท�ำการก่อสร้าง

อุโบสถ เมื่อสร้างอุโบสถส�ำเร็จก็ได้ท�ำการผูกพัทธสีมาขึ้นเมื่อ ปลายปีพ.ศ. 2477 แต่การก่อสร้างในครั้งนั้นยังไม่เสร็จสมบูรณ์ มีเพียงแต่เสาคอนกรีตและลงรากฐานเท่านั้น ยังไม่มีเครื่องบน และฝาผนัง ต่อมาในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2486 นางกิมวา (วาณี) และนายเข่ง ลักษณากร สองสามีภรรยาพร้อมทัง้ ชาวบ้านได้ทำ� การ จัดสร้างอุโบสถต่อจากที่ท�ำค้างอยู่ โดยได้เรียกนายช่างสถาปนิก มาออกแบบแปลน และว่าจ้างช่างรับเหมามาก่อสร้างจนแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2487 พร้อมทั้งได้อัญเชิญหลวงพ่อขาว หลวงพ่อด�ำ พระพุทธรูปจากวัดท่าโรง จังหวัดพิษณุโลก มาขึ้น ประจ�ำอุโบสถ หลังจากสร้างอุโบสถเสร็จ นางทองค�ำ แซ่บยุ่ ก็ได้ซอื้ ที่ดินถวายวัดเพิ่มเติมอีกจ�ำนวน 1 ไร่ 3 งาน 36 วา เพื่อขยาย บริเวณอุโบสถให้กว้างขึน้ และในปีพ.ศ. 2495 ชาวบ้านก็ได้รว่ มกัน สร้างศาลาการเปรียญวัดวังมะเดื่อขึ้น ต่อมาในปี พ.ศ.2507 ได้เกิดภัยธรรมชาติ คือ น�้ำในแม่น�้ำน่านได้ท�ำการกัดเซาะตลิ่ง บริเวณที่ตั้งอุโบสถ ชาวบ้านจึงได้ท�ำการอัญเชิญหลวงพ่อขาว และหลวงพ่อด�ำออกจากอุโบสถ และท�ำการสร้างวิหารหลวงพ่อด�ำ หลวงพ่อขาวขึ้นมา ส่วนอุโบสถเดิมได้พังลงไปกับสายน�้ำ ต่อมา เมื่ อ วั น ที่ 4 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2509 ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา นางกิมวา ลักษณากร และชาวบ้านจึงได้ร่วมกัน สร้างอุโบสถหลังใหม่ โดยได้ท�ำการก่อสร้างจนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2511 พร้อมทั้งได้ท�ำการหล่อพระประธานประจ�ำอุโบสถ ขึ้นใหม่ โดยตั้งชื่อว่า “หลวงพ่อพระพุทธวานิมิต” หลังจากนั้น วัดวังมะเดื่อก็ได้มีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 85

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

85

20/12/61 10:15:17


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดดงชะพลู

วัดเก่าแก่ แหล่งรวมศรัทธาของชาวบ้าน พระครูวิภัชธรรมโสภิต รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพิ จิตร, เจ้าอาวาสวัดดงชะพลู

วัดดงชะพลู ตั้งอยู่เลขที่ 25/1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองคะเชนทร์ อ� ำ เภอเมื อ งพิ จิ ต ร จั ง หวั ด พิ จิ ต ร อยู ่ ท างฝั ่ ง ตะวั น ตกของ แม่ น�้ ำ พิ จิ ต รเก่ า แยกทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 115 ถนนพิ จิ ต ร-สามง่ า ม ประมาณ 500 เมตร มี ที่ ดิ น ประมาณ 24 ไร่ สั ง กั ดคณะสงฆ์ม หานิกาย

86

2

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูวภิ ชั ธรรมโสภิต เดิมชือ่ เชือน เพ็ชรนารถ เกิดเมือ่ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2502 ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมือง ชัน้ เอกราชทินนามพระครูวภิ ชั ธรรมโสภิต ฉายา อติชาโต อายุ 59 ปี 38 พรรษา เป็นประธานด�ำเนินการก่อสร้าง อุโบสถ สร้างเมรุ สร้างศาลาการเปรียญ และศาลาธรรมสังเวชฯ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2534 เป็นพระครูเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท พ.ศ. 2556 เป็นพระครูรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองชั้นเอก งานปกครอง พ.ศ. 2527 พระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ. 2529 เจ้าอาวาสวัดดงชะพลู พ.ศ. 2540 เจ้าคณะต�ำบลเมืองเก่า พ.ศ. 2540 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2546 เป็นเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพิจิตร พ.ศ. 2550 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองพิจิตร

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 86

19/12/61 18:26:14


ก่อสร้างเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 12 ค�่ำ เดือน 8 บุคคลที่เกี่ยวข้องและเป็นพลังอันเข้มแข็ง ในการสร้างวัด ประกอบด้วย 1.นายดง จินาพันธ์ (หัวหน้า) 2.นายเสาร์ คงทับ (ผูใ้ หญ่บา้ น) 3.นายเทีย่ ง ตุงคะศิริ (ผูช้ ว่ ยเหลือ ในการก่อสร้าง) 4.นายสาร คงทับ (ผู้ช่วยเหลือในการก่อสร้าง) ในปีแรกเป็นเพียงการสร้างศาลาส�ำหรับนิมนต์พระมาท�ำบุญ ในวันพระเท่านั้น ยังไม่มีพระจ�ำพรรษา ต่อมามีผู้ถวายบ้านเก่า มาสร้างกุฏิพระ ดังนี้ ผู้ใหญ่เสาร์ คงทับ 1 หลัง, นายห่วง เพิ่มพูน 1 หลัง, นายดี ตุงคะศิริ 1 หลัง, นายโคก นางชื่น 1 หลัง และ ในช่วงหลังมีอีกหลายรายเช่น นายพาน นางแอบ เป็นต้น ส�ำหรับ ทีด่ นิ ของวัดประมาณ 24 ไร่น้ี เดิมเป็นของนายหนุน นางน้อย ตุงคะศิริ ถือครองอยู่แต่ไม่มีเอกสารสิทธิ์และได้ย้ายไปประกอบอาชีพที่ จังหวัดก�ำแพงเพชร จึงทิง้ ทีว่ า่ งเปล่า ประชาชนจึงช่วยกันหวดถาง สร้างวัดขึน้ (ข้อมูลนีไ้ ด้จากพระสอน ธมฺมเสวี ได้สนทนากับยายแสง รุ่งรังสี เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ตอนนั้นยายแสง อายุ 69 ปี เกิดที่บ้านดงชะพลู) อุโบสถหลังแรกเป็นอาคารไม้ หลังคามุงกระเบือ้ งดินเผา ผูกพัทธสีมา เมือ่ ปีพ.ศ. 2490 รือ้ ถอน เมือ่ ปี พ.ศ. 2517 (อุโบสถหลังปัจจุบนั ผูกพัทธสีมา ปี พ.ศ. 2530)

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 87

87

19/12/61 18:26:24


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดวังกระดี่ทอง วัดประจ�ำต�ำบลย่านยาว

พระอธิการอภิชัย ถิรญาโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวังกระดี่ทอง

วั ด วั ง กระดี่ทอง ตั้งอยู่เ ลขที่ 99/2 หมู่ที่ 10 ต� ำ บลย่ า นยาว อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร 66000 ได้ รั บ พระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม า ตั้ ง เป็ น วั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2523 มี พื้ น ที่ 12 ไร่ โดยมี เ จ้ า อาวาสที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง มาแล้ ว 3 รู ป รวมถึ ง รู ป ปั จ จุ บั น ประวัติเจ้าอาวาส พระอธิการอภิชัย ถิรญาโณ (ปลื้มมนัส) อายุ 47 ปี 19 พรรษา นธ.เอก ปริญญาตรี สาขาพุทธศาสนา ปวส.คณะวิจิตรศิลป์ สาขาศิลปะถ่ายภาพ จากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขต เพาะช่าง ปัจจุบนั เข้ามารับด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวังกระดีท่ อง เมื่อปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน 88

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 88

20/12/61 10:25:09


HIST ORY O F BU DDHI SM

บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีสัทธาราม (หนองลากฆ้อน)

พระครูพิชิตสิทธิโสภณ(สมมาตร อาภาธโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีสัทธาราม

วั ด ศรี สั ท ธาราม (หนองลากฆ้ อ น) ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 159 บ้านหนองลากฆ้อน หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองพระ อ�ำเภอวังทรายพูน จั ง หวั ด พิ จิ ต ร สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย เริ่ ม ก่ อ สร้ า งวั ด เมื่ อ ปี พ.ศ. 2507 มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 12 ไร่ 2 งาน กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารได้ ป ระกาศตั้ ง วั ด ตั้ ง แต่ วั น ที่ 23 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2513 โทรศั พ ท์ 08-9550-2862 ปัจจุบนั มีอาคารเสนาสนะ ดังนี้ อุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง (เป็นศูนย์ กศน.ต�ำบลท่านั่ง) ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง เมรุ 1 หลัง วิหารหลวงพ่อห้อย 1 หลัง กุ ฏิ 1 หลั ง ในปี พ .ศ. 2552 ได้ เ ริ่ ม สร้ า งศาลาการเปรี ย ญ หลังใหม่ อีก 1 หลัง, ห้องสุขา 3 หลัง เจ้าอาวาสแต่เดิมมี 7 รูป ที่แต่งตั้งมี 3 รูป คือ รูปที่ 1 พระครูพินิจอรรถสาร รูปที่ 2 พระครูวิธานกิจจานุกูล รูปที่ 3 พระครูพิชิตสิทธิโสภณ ประวัติเจ้าอาวาส พระครูพิชิตสิทธิโสภณ ฉายา อาภาธโร เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2513 อายุ 48 ปี 24 พรรษา อุปสมบทปี พ.ศ. 2537 พระครูพชิ ติ สิทธิโสภณ (สมมาตร อาภาธโร ภูป่ าน) ปีพ.ศ. 2548 ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการ แทนเจ้าอาวาส ต่อมาปีพ.ศ. 2549 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดศรีสัทธาราม (หนองลากฆ้อน) และ ปีพ.ศ. 2554 ได้เข้ารับ พระราชทานสมณศักดิ์ที่ พระครูพิชิตสิทธิโสภณ จร.ชท.

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 89

89

20/12/61 10:48:03


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดป่าเขาน้อย

นมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ศรีแสงโอภาส สถิตย์ทั่วสกลมณฑลสง่างาม พระอาจารย์สุวรรโณ สุคนฺโธ

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดป่าเขาน้อย

90

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 90

20/12/61 09:20:51


ประวัติวัดป่าเขาน้อย วัดป่าเขาน้อย อยู่ในต�ำบลวังทรายพูน อ�ำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจติ ร เป็นป่าธรรมชาติ มีภเู ขาน้อยอยูส่ ามลูก เป็นสถานที่ ปฏิบตั ธิ รรมเป็นทีส่ งบสงัด ภายในวัดป่าเขาน้อย มีพระบรมธาตุเจดีย์ ศรีแสงโอภาสสถิตทั่วสกลมณฑลสงาม สร้างขึ้นจากแรงเคารพ ศรัทธาของศิษยานุศิษย์ ของหลวงปู่จันทา ถาวโร และหลวงปู่อ�่ำ ธมฺมกาโม เพือ่ เป็นทีป่ ระดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ และหุน่ ขีผ้ งึ้ หลวงปู่ทั้งสององค์ นอกจากนั้นยังประดิษฐานพระธาตุของสาวก ครั้ ง พุ ท ธกาล พระธาตุ พ ่ อ แม่ ค รู บ าอาจารย์ ห ลายองค์ และ เป็นเครื่องระลึกถึง พระคุณแห่งหลวงปู่ทั้งสองที่ได้ร่วมกันสร้าง วัดป่าเขาน้อย หลวงปู่จันทา ถาวโร และหลวงปู่อ�่ำ ธมฺมกาโม เป็นพระสายธรรมยุต และเป็นลูกศิษย์หลวงปู่ขาว อนาลโย แห่ง วั ด ถ�้ ำ ทองเพล จั ง หวั ด หนองบั ว ล� ำ ภู หลวงปู ่ จั น ทา ถาวโร มรณภาพเมือ่ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 และ ปี พ.ศ. 2555 พระอาจารย์ เ สถี ย ร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้าอาวาสต่อจากหลวงปู่ จันทา ถาวโร และได้ลาสิกขาเพศเมือ่ วันที่ 28 ก.พ. 2560 ปัจจุบนั พระอาจารย์สุวรรโณ สุคนฺโธ เป็นเจ้าอาวาส

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

ศาลากลางน�้ ำ

วั ด ป่ า เขาน้ อ ย เป็ นวั ด ถู ก ต้ อ งเมื่ อ ปี พ .ศ. 2538 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อเดือนมีนาคม ปีพ.ศ. 2539 อยู่ใน เขตอ�ำเภอวังทรายพูน แต่มีสภาพเป็นป่าเขาเหมาะแก่การเจริญ วิปัสสนากรรมฐาน สะดวกแก่การเดินทาง หลวงปู่จันทา ถาวโร มีความประสงค์ที่จะให้วัดป่าเขาน้อย เป็นศูนย์รวมศรัทธาของ ศิษยานุศษิ ย์ และประชาชน ในการปฏิบตั คิ ณ ุ งามความดี ตลอดจน การปฏิบัติสมาธิภาวนา-วิปัสสนากรรมฐาน หลวงปู่ได้เทศนาเป็น ค�ำกลอนดังนี้ว่า “รู้อื่นหมื่นแสนยังไม่แม้นเท่ารู้ตน ดีอื่นหมื่นล้าน ไม่พน้ พาลเหมือนดีตน ชนะอืน่ หมืน่ โกฐไม่พน้ โทษเหมือนชนะตน รู้ตนดีตนชนะตนนั้น ยอดคนคือผู้ชนะดี” วัดป่าเขาน้อยนี้ เป็น ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรมเป็นสมบัตกิ ลาง เป็นสมบัตขิ องศาสนาของแผ่นดิน หลวงปูจ่ นั ทา ถาวโร หลวงปูอ่ ำ �่ ธมฺมกาโม ท่านสร้างวัดป่าเขาน้อยไว้ ก็เพื่อประโยชน์ส่วนรวมและเพื่อลูกหลานในอนาคตนั่นเอง ประวัติหลวงปู่จันทา ถาวโร หลวงปู่จันทา ถาวโร เป็นบุตรของนายสังข์ ไชยนิตย์ และ นางเลีย่ ม ชมพูวเิ ศษ ท่านถือก�ำเนิดในวันเสาร์ ขึน้ 10 ค�ำ ่ เดือน 3 ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465 ณ หมู่บ้านแดง ต�ำบลเหนือเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ก�ำพร้าพ่อแม่ตงั้ แต่เด็ก อาศัยอยูก่ บั พีน่ อ้ ง ท�ำไร่ทำ� นา มีชวี ติ ทีย่ ากล�ำบาก เมือ่ อายุได้ 23 ปี ก็ถกู บังคับให้แต่งงานมีครอบครัวกับแม่หม้าย ลูก 3 แต่อยูด่ ว้ ยกัน ไม่นานเท่าไหร่ ก็มีเหตุท�ำให้ต้องเลิกราแยกทางกันไป หลวงปู่ จึงตัดสินใจบวชเป็นพระและเดินสายปฏิบัติธรรมมาตลอด PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 91

91

22/12/61 18:05:55


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหลวง

“หลวงพ่อเงิน” เป็นดุจเทพเจ้าของชาวโพทะเล พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหลวง

วัดหลวง ตั้งอยู่ริมแม่น�้ำพิจิตร เลขที่ 177 หมู่ 2 ต�ำบลท่าบัว อ� ำ เภอโพทะเล จั ง หวั ด พิ จิ ต ร และตามประวั ติ ที่ พ อสื บ ค้ น ได้ ในปั จ จุ บั น นี้ (จากประวั ติ วั ด ทั่ ว ประเทศของกรมการศาสนา) ได้สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ. 2320 มีเนื้อที่ปัจจุบัน 45 ไร่ สภาพวัด คือ มี ศ าลาการเปรี ย ญ 1 หลั ง สร้ า งขึ้ น ในสมั ย เจ้ า อาวาสรู ป ก่ อ น (แต่ ยั ง ไม่ แ ล้ ว เสร็ จ ) มี วิ ห ารเก่ า และพระพุ ท ธรู ป สร้ า งด้ ว ย อิฐถือปูน 1 หลัง (ยังไม่ได้บูรณะ) มีอุโบสถ 1 หลังสร้างขึ้นเมื่อ ปีพ .ศ. 2519 (ปั จ จุ บั น บู ร ณปฏิ สั ง ขรณ์ ขึ้ น ใหม่ ป ี พ .ศ. 2546) มี พ ระพุ ท ธชิ น ราชจ� ำ ลองเป็ น พระประธาน 92

.indd 92

มีวิหารและมีพระพุทธรูปสร้างด้วยนิลทั้งองค์ ปางมารวิชัย (บูรณะขึน้ ใหม่ปพี .ศ. 2546) ด้านเหนือของวัดประมาณ 300 เมตร มีวิหารเก่าประดิษฐานหลวงพ่อขาว ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 4 ศอก 9 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ปูนปั้นทาสีขาว ไม่พบหลักฐานว่าผู้ใดเป็นผู้สร้าง เพราะวัดได้เคยร้างมายาวนาน จึงได้มกี ารบูรณะฟืน้ ฟูให้มนั่ คงในยุคหลัง ท่านเจ้าอาวาสในยุคหลัง ไม่มีบันทึกหรือเก็บสิ่งใดไว้เป็นหลักฐานให้สืบค้นได้ และเมื่อ ปีพ.ศ. 2517 กุฏสิ งฆ์แบบหลังเดียวอยูร่ วมกันสร้างด้วยไม้ ถูกไฟไหม้ ท�ำให้สนั นิษฐานว่า น่าจะมีเอกสารส�ำคัญของวัดและคัมภีรโ์ บราณ ถูกไฟเผาสูญหายไปด้วย ปัจจุบันได้สร้างกุฏิสงฆ์ทรงไทยเฉลิมพระเกียรติฯ 80 พรรษา มหามงคล แบบโบราณมีหอสวดมนต์ตรงกลาง มีห้องพระสงฆ์ โดยรอบ 19 ห้อง มีห้องน�้ำ 6 ห้อง ชั้นบนมีบันไดขึ้นทางเดียว เพื่อสะดวกในการปกครองพระภิกษุสามเณร ด้านล่างเป็นศาลา บ�ำเพ็ญกุศล เป็นหอฉัน หอปริยตั ธิ รรม มีโรงท�ำครัว มีหอ้ งเก็บของ มีหอ้ งน�ำ ้ 8 ห้องและสามารถท�ำเป็นหอประชุมเอนกประสงค์ได้ดว้ ย สร้างขึ้นมีเมื่อปีพ.ศ. 2547 แล้วเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2551

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

20/12/61 11:10:09


ด้านประเพณี มีประเพณีสงกรานต์ทยี่ งิ่ ใหญ่ระดับจังหวัดมายาวนานกว่า 30 ปี ซึง่ จัดขึน้ ในวันที่ 20 เมษายน ของทุกปี จนเป็นทีร่ จู้ กั ของนักท่องเทีย่ ว วันสงกรานต์มีประชาชนจากทั่วสารทิศมาร่วมงานสรงน�้ำจ�ำนวน หลายพันคน และได้ร่วมงานบุญหลายประเภทด้วยกัน เช่น จัดแจงรวมญาติวันสงกรานต์ 12-15 เดือนเมษายนของทุกปี วันเข้าพรรษา วันสารทไทย วันออกพรรษา จัดให้เยาวชนแต่งกาย เป็ น นางฟ้ า เดิ น โปรยดอกไม้ น� ำ หน้ า พระสงฆ์ มี แ ห่ ง เดี ยวใน อ�ำเภอโพทะเล กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา จัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมในวันวิสาขบูชา 4 คืน 5 วัน มีการ เวียนเทียนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา มีการสวด สรภัญญะ ก่อนเวียนเทียนร่วมกันระหว่างพระสงฆ์กับชาวบ้าน วันแม่แห่งชาติ วันพ่อแห่งชาติ จัดครัง้ 4 คืน 5 วัน พิธถี วายพระพร จุดเทียนชัยมงคลในภาคประชาชนอย่างยิง่ ใหญ่ทกุ ครัง้ มีผนู้ ำ� ท้องถิน่ ผู้บริหารท้องถิ่น ทุกภาคส่วนเข้าร่วมพิธีถวายพระพรชัยมงคล และมีการจัดเยาวชนร�ำถวายพระพรเต็มรูปแบบ แบบภาคประชาชน ที่สามารถท�ำได้ ริเริ่มสิ่งใหม่ฝากไว้ในแผ่นดิน 1. ได้รเิ ริม่ สร้างกุฏสิ งฆ์ทรงไทยแบบดัง้ เดิม และปรับประยุกต์ ใช้วสั ดุสมัยปัจจุบนั ถึงเป็นการริเริม่ ใหม่แต่ทำ� ให้เชือ่ มต่อกับของเดิม ล�ำดับเจ้าอาวาสเท่าที่สืบค้นได้ 1. หลวงพ่อหอม(ร่วมยุคใกล้ชดิ กับหลวงพ่อเงิน วัดบางคลาน) 2. หลวงพ่อบัว เป็นเจ้าอาวาส 3. พระอาจารย์เชื่อม รักษาการแทน 4. พระอาจารย์เป้า รักษาการแทน 5. พระอาจารย์เชื้อ รักษาการแทน 6. พระอธิการบุญเชิญ ปุญฺญสิริ น.ธ.เอก เป็นเจ้าอาวาส 7. พระวันชัย วิชยธมฺโม รักษาการแทน 8. พระครูวริ ยิ กิจจาภิรตั (ทองพูน สิรวิ ฑฺฒโน/มานันท์ น.ธ.ตรี) เป็นเจ้าอาวาส, เป็นเจ้าคณะต�ำบลท่าบัว, เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2510-2544 9. พระครูพิสุทธิปัญญาภิวัฒน์(นพณัช กิตฺติปญฺโญ/คล้ายผึ้ง)

ได้ไม่ขัดแย้ง เพราะกุฏิสงฆ์แต่เดิมมีรูปแบบอย่างนี้โดยมาก และ สร้างด้วยไม้ ปัจจุบันไม้หายากและราคาแพง จึงใช้วัสดุปัจจุบัน เช่นปูน เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันนี้กุฏิสงฆ์แบบโบราณหาดูได้ยาก วัดหลวงจึงเป็นอีกวัดหนึ่งที่จะรักษาไว้ซึ่งถาวรวัตถุแบบเดิม ด้วย การปรับประยุกต์ให้เหมาะสมเพื่อรักษาสิ่งที่ดีงามไว้ให้ลูกหลาน 2. ได้สร้างหลวงพ่อเงิน พุทธฺ โชติ วัดหิรญ ั ญาราม (บางคลาน) ทรงยืนสูง 209 ซม. ขึ้น เป็นองค์แรกของประเทศไทย และ อีก 2 องค์สูง 156 ซม. (รวม 3 องค์) เพื่อฝากไว้ในแผ่นดิน เป็ น การต่ อ ยอดของเดิ ม และก้ า วไปอี ก ขั้ น หนึ่ ง ของการสร้ า ง หลวงพ่อเงิน เป็นการด�ำริดว้ ยความเคารพนับถืออย่างจริงใจ ของเดิม ทีม่ กี ารจัดสร้างไว้นนั้ ทรงนัง่ และครึง่ องค์ทงั้ หมด ซึง่ ก็มกี ารต่อยอด รูปแบบการจัดสร้างทีผ่ า่ นยุคสมัยนัน้ ดีเยีย่ ม ดีเลิศ ประเสริฐอยูแ่ ล้ว การสร้ า งหลวงพ่ อ เงิ น พุ ทฺ ธ โชติ ทรงยื น เป็ น ครั้ ง แรกนี้ จัดสร้างด้วยความเคารพนับถืออย่างจริงใจเพราะชาวบ้านวัดหลวง และใกล้เคียง คือลูกหลานรุน่ หลังได้พร้อมใจยอมรับว่าหลวงพ่อเงิน เป็นดุจเทพเจ้าของชาวโพทะเล และชาวจังหวัดพิจิตรโดยตรง วัดหลวงได้สร้างหลวงพ่อเงินทรงยืนครั้งนี้ (พ.ศ. 2552) เพื่อ เป็นอาจริยบูชาประกาศเกียรติคุณของหลวงพ่อเงินให้ขจรขจาย ไปทั่วทั้งแผ่นดิน เพราะหลวงพ่อเงินบางคลานเป็นอตมมหา เถราจารย์องค์แรกและองค์เดียวของชาวโพทะเลอย่างแท้จริง

หลวงพ่ อ ขาว พระคู ่ บ ้ า นวั ด หลวง

ขอเชิญ ผู้มีจิตศรัท ธา ทั้งหลายกราบขอพร “ หลวงพ่อเงิน ” เพื่อเป็นสิริมงคล ณ วัด หลวง อ�ำเภอโพทะเล จังหวัด พิจิต ร PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

93

22/12/61 18:06:43


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดศรีสุวันโฆสิตาราม (วัดบ้านน้อย) วัดโบราณที่มีการพัฒนามาโดยตลอด พระครูวิทิตปัญญาวุธ

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีสุวันโฆสิตาราม (วัดบ้านน้อย)

วั ด ศรี สุ วั น โฆสิ ต าราม (วั ด บ้ า นน้ อ ย) ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 1 ต� ำ บลบ้ า นน้อ ย อ�ำ เภอโพทะเล จังหวัด พิจิตร ในสมัย นครชัย บวร อายุป ระมาณ 800 ปี อยู่ ใ นหมู ่ บ้ าน โกญฑัญญคาม ห่างจากเมืองประมาณ 2 กิโลเมตร ทางทิศเหนือ ต่ อ มาเมื อ งนครชั ย บวรเกิ ด ทุ พ ภิ ก ขภั ย ฝนแล้ ง เป็ น เวลานาน 94

ข้าวยากหมากแพง เกิดโรคระบาดห่าลงเมืองหรือชาวบ้านเรียกว่า อหิวาตกโรค ชาวบ้านชาวเมืองเจ็บป่วยล้มตายเป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ หมูบ่ า้ นโกญทัญญคามเกิดติดต่อโรคระบาด ชาวบ้านเจ็บป่วย ล้มตายเช่นเดียวกัน ต่างก็หนีเอาตัวรอดย้ายออกจากถิน่ เดิมไปตัง้ ภูมิล�ำเนาใหม่ ที่เหลืออยู่บ้างเล็กน้อยจึงรวมกันตั้งหมู่บ้านใหม่ ชื่อว่า “หมู่บ้านน้อย” ชื่อวัดก็เปลี่ยนไปตามชื่อหมู่บ้านเรียกชื่อว่า “วัดบ้านน้อย” ดังทีป่ รากฏตามหลักฐานปัจจุบนั และประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ย้อนอดีตวัดศรีสุวันโฆสิตาราม (วัดบ้านน้อย) มีสภาพช�ำรุด ทรุดโทรมเป็นไปตามแห่งสัจธรรม เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 94

20/12/61 09:05:45


แต่ในปัจจุบนั นี้ วัดศรีสวุ นั โฆสิตาราม(วัดบ้านน้อย) ก�ำลังพัฒนา ให้ เ ป็ น ไปตามแผนการพั ฒ นาวั ด เริ่ ม ตั้ ง แต่ ปี พ .ศ. 2521 โดยการน�ำของพระครูวิทิตปัญญาวุธ เป็นประธาน 1. เริ่มสร้างกุฏิสงฆ์ทรงไทย 3 หลัง 2. สร้างก�ำแพงศิลาแลงรอบวัด 3 ด้าน 3. สร้างพระอุโบสถหลังใหม่ในที่เก่า 4. สร้างสะพานข้ามแม่น�้ำพิจิตรเก่า ติดเขตวัดทางทิศใต้ 5. สร้างศาลาปฏิบัติธรรม 1 หลัง 6. สร้างฌาปณสถานพร้อมศาลาบ�ำเพ็ญกุศล 1 หลัง 7. สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กหลายสายในวัด 8. สร้างวิหารจัตุรมุขแทนหลังเก่าในที่เดิม ซึ่งมีพระพุทธรูป เก่าแก่ประดิษฐานอยู่ 3 องค์ คือ หลวงพ่อโต หลวงพ่อเขียว หลวงพ่อขาว 9. สร้างศาลาโรงอาหาร 1 หลัง 10. หล่อรูปเหมือนหลวงพ่อเงิน บางคลาน เท่าองค์จริงถอดแบบ 11. สร้ า งรู ป หลวงพ่ อ เงิ น บางคลาน หน้ า ตั ก 80 นิ้ ว แบบประติ ม ากรรมถั ก สานด้ ว ยมื อ จากเส้ น ลวดทองเหลื อ ง หนึ่งเดียวในโลก 12. สร้างกุฏิที่พักส�ำหรับพระอาจารย์สอนกัมมัฏฐาน 1 หลัง 13. สร้างศาลาพักร้อนริมแม่น�้ำ 2 หลัง 14. สร้างห้องสุขา - ห้องน�้ำ 20 ห้อง 15. หล่อระฆัง 1 ใบ เส้นผ่าศูนย์กลาง 94 นิ้ว 16. สร้างสถานีอนามัย 1 หลัง ประจ�ำต�ำบลบ้านน้อย ขณะนี้ เปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลบ้านน้อย “ค่ าของคน คื อ ผลของงาน ยิ่ ง ผลงานมีประโยชน์เกื้อ กูล แก่ ผู้ อื่ นมากเพี ย งใด ชี วิ ต ก็ ยิ่ง มี ค ่ ามากขึ้นเพียงนั้น” พระครู วิ ทิ ต ปั ญ ญาวุ ธ เจ้ า อาวาส ผู ้ เ รี ย บเรี ย ง PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

20/12/61 09:05:56


วัดวังแดง

วัดส�ำคัญและศูนย์ศึกษาชาวต�ำบลท่านั่ง พระครูโสภณธรรมวิสุทธิ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดวังแดง

วั ด วั ง แดง สร้ า งเป็ น วั ด ประมาณ ปี พ.ศ. 2370 มี น าม ตามชื่ อ หมู ่ บ ้ า น ปั จ จุ บั น ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 129 หมู ่ 5 ต� ำ บลท่ า นั่ ง อ� ำ เภอโพทะเล จั ง หวั ด พิ จิ ต ร ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 10 มี น าคม 2525 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 40 เมตร ยาว 80 เมตร บนเนื้ อ ที่ ข องวั ด 16 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ปัจจุบนั มีอาคารเสนาสนะ ดังนี้ อุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง ศาลาเอนกประสงค์ 1 หลัง (เป็นศูนย์ กศน.ต�ำบลท่านั่ง) ศาลาธรรมสังเวช 1 หลัง เมรุ 1 หลัง วิหารหลวงพ่อห้อย 1 หลัง กุ ฏิ 1 หลั ง ในปี พ .ศ. 2552 ได้ เ ริ่ ม สร้ า งศาลาการเปรี ย ญ หลังใหม่ อีก 1 หลัง, ห้องสุขา 3 หลัง เจ้าอาวาสผู้ดูแลบริหารวัด 1 หลวงพ่อห้อย เถื่อนปาน พ.ศ. 2376- 2401 2 พระอาจารย์แหยม เมฆฉาย พ.ศ. 2401-2413 3 พระอาจารย์ ช้าง จรเกตุ(กรุงเกตุ) พ.ศ. 2413-2427 4 พระอาจารย์ มิ่ง คุ้มยิ้ม พ.ศ. 2427-2442 5 พระอาจารย์จัด คุ้มยิ้ม พ.ศ. 2442-2455 6 พระอาจารย์ลัง ภู่กันณ์ พ.ศ. 2455-2468 7 พระอาจารย์ผิว โอภาโส พ.ศ. 2468-2484 8 พระอาจารย์กุ่ม เตชธมฺโม(บุญรอด) พ.ศ. 2484-2494 9 พระอาจารย์ผล ปิยธมฺโม พ.ศ. 2494-2503 10 พระอาจารย์ ชื้น ชมเชย พ.ศ. 2503-2511 11 พระอธิการบรรจง จันทะสะโร (เกตุแก้ว) พ.ศ. 2511-2526 12 พระอธิการวันเสาร์ ธัมมะวะโร (พ่วงก้อน) พ.ศ. 2526-2537 13 พระครู โ สภณธรรมวิ สุ ท ธิ์ (นฤมิ น ทร์ โฉมเกิ ด ) ตั้ ง แต่ วันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 และได้รับการแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสวัดวังแดง เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 จนถึง ปัจจุบัน 96

.indd 96

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

20/12/61 10:02:39


วัดโพธิ์ ไทรงาม วัดประจ�ำต�ำบลโพธิ์ ไทรงาม

พระครูพิพัฒน์วีรธรรม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ไทรงาม

ประวัติความเป็นมา วั ด โพธิ์ ไ ทรงาม เดิ ม ตั้ ง อยู ่ ที่ บ ้ า นโพธิ์ ไ ทรงาม หมู ่ ที่ 1 ต�ำบลโพธิ์ไทรงาม อ�ำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร วัดโพธิ์ไทรงาม ปัจจุบนั ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 43/1 บ้านโพธิไ์ ทรงาม หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลโพธิไ์ ทรงาม กิ่งอ�ำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มี ที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ประมาณ 31 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว 61 วา ติดกับที่ดินของนายธง สิงห์เขียว ทิศใต้ ยาว 80 วา ติดกับถนนสายโพทะเล-บรรพตพิสัย ทิศตะวันออก ยาว 97 วา ติดกับที่ดินของนางนารี อ่อนอ้วน ตรงกลางที่ดิน ยาว 219 วา ทิศตะวันตกยาว 141 วา ติดกับที่ดินของนายจ�ำปา สาเหียง และส�ำเหมืองสาธารณประโยชน์ ได้สร้างขึ้นโดยการน�ำ ของนายนวล ดวงตาเวียง เป็น ผู้ริเริ่มชักน�ำชาวบ้านจัดสร้าง วัดโพธิ์ไทรงาม เมื่อ พ.ศ. 2520 เมื่อพระใบฎีกาจ�ำนองได้มาอยู่ จ�ำพรรษา พระใบฎีกาจ�ำนอง และนายนวล ดวงตาเวียง ก็ได้ ด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดให้ถูกต้องตามล�ำดับ และได้รับ อนุญาตให้สร้างวัดภายในก�ำหนดตัง้ แต่วนั ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2525 ถึงวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2530 ลงวันที่ 26 พฤศจิกายน แล้ว จึงได้ด�ำเนินการขออนุญาตตั้งวัดในพระพุทธศาสนา และได้รับ ประกาศตั้ ง วั ด ในพระพุ ท ธศาสนา ตามประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ ประกาศ ณ วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2526 มีนาม ตามชื่อหมู่บ้าน และในปี พ.ศ. 2526 พระใบฎีกาจ�ำนอง ได้รับ พระราชทานสมณศักดิ์พระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบล ชั้นโท ราชทินนาม “พระครูพพิ ฒ ั น์โพธิธรรม” พ.ศ.2533 วัดโพธิไ์ ทรงาม ได้ ซื้ อ ที่ ดิ น แปลงที่ อ ยู ่ ติ ด กั บ ที่ ดิ น ของวั ด ด้ า นทิ ศ เหนื อ เพิ่ ม อี ก จ�ำนวน 19 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา วัดโพธิ์ไทรงามมีที่ดินรวม จ� ำ นวน 31 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา ได้ รั บ พระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 มีผู้น�ำสงฆ์ปกครองวัดที่ปรากฏชื่อ 2 รูป คือ รูปที่ 1 พระแผ้ว พ.ศ. 2520-2523 รูปที่ 2 พระบุญช่วย พ.ศ. 2523-2525 (มรณภาพ)

มีรักษาการแทนเจ้าอาวาสปกครองวัดที่ปรากฏชื่อ 2 รูป คือ รูปที่ 1 พระประเดิม พ.ศ. 2535-2537 รูปที่ 2 พระลือศักดิ์ ฉายา สุเมโธ พ.ศ. 2536-2538 มีเจ้าอาวาสปกครองวัดจ�ำนวน 2 รูป คือ รูปที่ 1 พระครูพิพัฒน์โพธิธรรม (จ�ำนอง ทองเงิน) พ.ศ. 2526-2535 ลาสิกขา รูปที่ 2 พระครูพพิ ฒ ั น์วรี ธรรม ฉายา ปิยธมฺโม (อ�ำนวย สิงห์เขียว) พ.ศ. 2538-ปัจจุบัน PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

20/12/61 09:42:46


ครู นั ก เรี ย นร่ ว มกั น พั ฒ นาระบบ ดู แ ลช่ ว ยเหลื อ นั ก เรี ย น และตระหนั ก ความเป็ น สถาบั น ชาติ ศาสน์ กษั ต ริ ย ์ ความเป็ น ไทย เพื่ อ อยู ่ ร ่ ว มกั น กั บ ประชาคมโลกอย่ า งมี ค วามสุ ข

ประวั ติ ค วามเป็ น มา โรงเรี ย นวั ด บ้ า นบางลายเหนื อ ตั้ ง อยู ่ หมู ่ ที่ 2 ต� ำ บลบางลาย อ� ำ เภอบึ ง นาราง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร สั ง กั ด ส� ำนั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึ ก ษาพิ จิ ต ร เขต 2 มี เ นื้ อ ที่ 13 ไร่ 2 งาน จั ด อยู ่ ใ นโรงเรี ย น ขนาดกลาง ก่ อ สร้ า งเมื่ อ วั น ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2465 ปั จ จุ บั น นายสุ น ทร สุ ข รื่ น ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการช� ำ นาญการพิ เ ศษ ซึ่ ง บริ ห ารงานตามวิ สั ย ทั ศ น์

ปรั ช ญา “สุ วิ ช าโน ภวํ โหตุ ” “ผู ้ รู ้ ดี เป็ น ผู ้ เ จริ ญ ” คติ พ จน์ “ศึ ก ษา พั ฒ นา สามั ค คี ” รางวั ล ที่ ไ ด้ รั บ 1. รางวั ล ชนะเลิ ศ การตอบปั ญ หาธรรม ระดั บ ประถมศึ ก ษา ของ ทู ล กระหม่ อ มหญิ ง อุ บ ลรั ต นราชกั ญ ญา สิ ริ วั ฒ นาพรรณวดี 2. U – SCHOOL MENTORING AWARD 2017 ระดับดี มอบให้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาและโรงเรียนวัดบ้านบางลายเหนือ โดยเครื อ ข่ า ยเพื่ อ การพั ฒ นาอุ ด มศึ ก ษาภาคกลางตอนบน 3. ผลการทดสอบทางการศึ ก ษาระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (O-NET) นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 สู ง กว่ า ระดั บ ประเทศทุ ก วิ ช า

98

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 98

วิ สั ย ทั ศ น์

19/12/2561 17:45:23


1. บ้ า นต้ น ไม้ (ตามรอยพ่ อ อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง) บ้ า นต้ น ไม้ (ตามรอยพ่ อ อยู ่ อ ย่ า งพอเพี ย ง) เป็ น สนามเด็ ก เล่ น ตามหลั ก การพั ฒ นาสมอง (ตามแนวคิ ด BBL BRAIN - BASED LEARNING) สู ่ ก ารพั ฒ นาสมอง ของเด็ ก ปฐมวั ย และเด็ ก ประถม ศึกษาตามรอยพระยุคลบาท ซึ่งเป็นพื้นฐานการพัฒนาเด็กรอบด้าน ผ่ า นการเล่ น เพราะเป็ น การพั ฒ นาเด็ ก ทุ ก ด้ า น ทั้ ง ด้ า นร่ า งกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีความสุข โดยได้รับจัดสรรงบประมาณจากจังหวัดพิจิตรจ�ำนวน 80,000 บาท 2. ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ธ รณี วิ ท ยา จั ง หวั ด พิ จิ ต ร GEOLOGY LEARNING CENTER, PHICHIT PROVINCE ความเป็ น มา ก่ อ สร้ า งขึ้ น จากปณิ ธ านของนางวรรธนา ทั บ ทอง ครู ช� ำ นาญการพิ เ ศษโรงเรี ย นวั ด บ้ า นบางลายเหนื อ และนายสาโรช กลิ่ น ทอง นั ก ธรณี วิ ท ยาอิ ส ระ ได้ ร วบรวม แร่ หิ น มาจั ด เป็ น ห้ อ ง ธรณี วิ ท ยา เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นได้ ศึ ก ษาหาความรู ้ โดยได้ รั บ การ สนั บ สนุ น ของ นายสุ น ทร สุ ข รื่ น ผู ้ อ� ำ นวยการโรงเรี ย นวั ด บ้ า นบาง ลายเหนื อ และมี พิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ วั น ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2559 โดย นายสมหมาย เตชวาล รองอธิ บ ดี ก รมทรั พ ยากรธรณี วิ ท ยา เป็ น ประธานเปิ ด ห้ อ งธรณี วิ ท ยา ต่ อ มา นายวี ร ะศั ก ดิ์ วิ จิ ต ร์ แ สงศรี ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด พิ จิ ต รมาเป็ น ประธานเปิ ด บ้ า นต้ น ไม้ (BBL) เมื่ อ วั น ที่ 22 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ.2561 และเห็ น ว่ า ห้ อ งดั ง กล่ า วมี ความคั บ แคบจึ ง ได้ จั ด สรรงบประมาณจ� ำ นวน 888,700 บาท ให้ ปรั บ ปรุ ง ท� ำศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ธ รณี วิ ท ยาจั ง หวั ด พิ จิ ต ร เพื่ อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ แ ละท่ อ งเที่ ย วของจั ง หวั ด พิ จิ ต ร 3. ห้ อ งภู มิ ป ั ญ ญาไทย ดวงใจนิ รั น ดร์ โรงเรี ย นวั ด บ้ า นบางลายเหนื อ ร่ ว มกั บ คณะครู กรรมการสถาน ศึ ก ษา และประชาชนชาวบ้ า นได้ ร วบรวมของใช้ ใ นชุ ม ชนที่ ใ ช้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น รวบรวมเพื่ อ เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ภู มิ ป ั ญ ญาของชุ ม ชนให้ กั บ นั ก เรี ย นและประชาชนโดยรอบ 4. ห้ อ งพ่ อ หลวง เพื่อร�ำลึกถึงพ่อหลวงของปวงชน ที่ไ ด้ ใ ห้หลัก ค�ำสอนในหลายๆ ด้ า น ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช ซึ่ ง ทรงน� ำ หลั ก การด� ำ รงชี วิ ต อยู ่ อ ย่ า งมั่ น คง ประชาชนอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค วามสุ ข ไม่ ป ลู ก พื ช เชิ ง เดี่ ย วและน� ำ กั ง หั น น�้ ำ ชั ย พั ฒ นาซึ่ ง เป็ น ที่ รู ้ จั ก และเป็ น ที่ ย กย่ อ งของคนทั่ ว โลกในการแก้ ไ ขปั ญ หา ดิ น น�้ ำ อาหาร ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของมนุ ษ ย์ แ ละสหประชาชาติ โดยยกย่ อ ง พระองค์ ท ่ า นเป็ น พระบิ ด าของโลก และ“วั น ดิ น โลก” (WORLD SOIL DAY) ตรงกั บ วั น ที่ 5 ธั น วาคมของทุ ก ปี

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

19/12/2561 17:45:30


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดเทวประสาท วัดหนึ่งในโครงการไหว้พระ 9 วัด

พระครูวิลาสรัตนรังสี เจ้าคณะต�ำบลห้วยเกตุ, เจ้าอาวาสวัดเทวประสาท

วั ด เทวประสาท ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 121 ชุ ม ชนเทวประสาท ถนนริ ม น่ า นตะวั น ตก ต� ำ บลตะพานหิ น อ� ำ เภอตะพานหิ น จั ง หวั ด พิ จิ ต ร โทรสาร.0-5662-1423, 08-1040-7171 สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม า เมื่ อ วั น ที่ 13 กุ ม ภาพั น ธ์ พ.ศ. 2496 เขตวิ สุ ง คามสี ม า กว้ า ง 40 เมตร ยาว 60 เมตร ได้ จั ด งานผู ก พั ท ธสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 17 มี น าคม พ.ศ. 2497 พระประธานประจ� ำ ศาลาการเปรี ย ญ ปางประทานพร ขนาดหน้ า ตั ก 39 นิ้ ว สู ง 55 นิ้ ว มีโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ. 2490 ประวัติความเป็นมา วัดเทวประสาท มีความหมายว่า วัดทีเ่ ทวดาสร้าง เมือ่ พ.ศ. 2485 มีนายเชื้อ นางบุญมา เอมสะอาด ซึ่งมีภูมิล�ำเนาอยู่จังหวัดลพบุรี ได้ ม าประกอบอาชี พ อยู ่ ที่ อ� ำ เภอตะพานหิ น จั ง หวั ด พิ จิ ต ร ได้ อ าราธนาพระอาจารย์ ท องอยู ่ พร้ อ มกั บ พระอาจารย์ ซั้ ว พระอาจารย์ระย้า มาด�ำเนินการก่อสร้างวัด โดยมอบหมายให้ทา่ น พระอาจารย์ทองอยู่ เป็นประธานในการสร้างเบือ้ งต้น ได้นายสมบุญ สุขประเสริฐ และนายไปล่ น่วมเจิม ติดต่อขอรือ้ ถอนกุฏจิ ากวัดเกาะ ซึง่ เป็นวัดร้างมาสร้างเป็นกุฏิ 3 หลัง และตัง้ ชือ่ ว่า “วัดเทวประสาท” โดยมีพระอธิการทองอยู่ ฐิติญาโณ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อมา ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น “พระครูสุเทพสิทธิการย์” พระพุทธเกตุมงคล “พระพุทธเกตุมงคล” หรือ “หลวงพ่อโต” พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ปางประทานพร ขนาดหน้าตัก กว้าง 20 เมตร สูง 30 เมตร แท่น สูง 4 เมตร สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2508 เป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ทุ ธ ลักษณะสวยงามและขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ของจังหวัดพิจติ ร เป็นวัดหนึง่ ใน โครงการไหว้พระเก้าวัดของจังหวัดพิจิตร งานประจ�ำปี • งานลอยกระทง ทุกวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 ของทุกปี • งานนมัสการพระพุทธเกตุมงคล ตรงกับวันตรุษจีนทุกปี ในปี 2562 ตรงกับวันที่ 3-7 กุมภาพันธ์ 100

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 100

19/12/61 18:49:09


วัดทุ่งโพธิ์

พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่วัดทุ่งโพธิ์ พระครูพิทักษ์โพธิธรรม เจ้าคณะต�ำบลทุ่งโพธิ์, เจ้าอาวาสวัดทุ่งโพธิ์

วั ด ทุ ่ งโพธิ์ ตั้งอยู่เ ลขที่ 92 บ้า นทุ่งโพธิ์ หมู ่ 2 ต� ำ บลทุ ่ ง โพธิ์ อ� ำ เภอตะพานหิ น จั ง หวั ด พิ จิ ต ร บนเนื้ อ ที่ 12 ไร่ 2 งาน 85 ตารางวา พื้น ที่ตั้งวัด เป็น ที่ราบลุ่ม “ พระพุทธรูปหลวงพ่อขาว พระพุทธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู ่ บ้า นคู่วัด ทุ่ง โพธิ์ อายุเ ก่า แก่กว่า 200 ปี ” อภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ ครัง้ หนึง่ ราว 10 ปีทแี่ ล้ว เกิดเหตุการณ์อนั เชือ่ ว่าเป็นปาฏิหาริย์ หลวงพ่อขาวขึน้ ครัง้ นัน้ พระครูพทิ กั ษ์ โพธิธรรม เจ้าอาวาส ได้เตรียม ความพร้อมครัง้ ใหญ่ไว้สำ� หรับการจัดงานประเพณี ทีจ่ ะมีขนึ้ ในอีก ไม่กี่วันข้างหน้า โดยหลวงพ่อเป็นแม่แรงส�ำคัญในงานครั้งนั้น ท่านได้ขนึ้ ต้นไม้ตดั หูกวางด้วยตัวเอง เพราะกลัวว่ายอดต้นหูกวางทีส่ งู เหนือสายไฟขึน้ ไปนัน้ จะสร้างปัญหาให้ภายหลัง หลวงพ่อกระหน�ำ่ มีด อยูน่ าน สักพักกิง่ หูกวางขนาดยักษ์กข็ าดผึง่ ออกจากล�ำต้น ด้วยน�ำ้ หนัก ที่มากจึงตีลังกาลงสู่พื้นอย่างรวดเร็ว และดึงรั้งเอากิ่งเล็กกิ่งน้อย ทีอ่ ยูถ่ ดั เบือ้ งล่างไปพร้อมๆ กับร่างไร้สติของหลวงพ่อ ก็พลอยร่วงลง ในเวลาไล่เลีย่ กัน เดชะบุญทีก่ งิ่ หูกวางเบือ้ งล่างรองรับร่างของหลวงพ่อ เอาไว้ได้ ทุกคนต่างช่วยกันพยุงท่านให้ลุกขึ้นด้วยเข้าใจว่าเป็นลม แต่พอรูค้ วามจริงว่าหลวงพ่อถูกไฟฟ้าช๊อตหล่นลงมาจากต้นหูกวาง ก็รบี เรียกรถพาส่งโรงพยาบาล เป็นบุญเหลือเกินทีอ่ บุ ตั เิ หตุในครัง้ นัน้ ไม่คร่าชีวิตหลวงพ่อ วัยของท่านก็มากพอสมควร อาการที่น่าจะ หนักหนาสาหัสก็ดูไม่เป็นอะไรมาก นอกจากถลอกเล็กน้อยและ ซีโ่ ครงเดาะบางซีเ่ ท่านัน้ ถูกไฟช๊อตจนหมดสติมหิ น�ำซ�ำ้ ยังตกต้นไม้ ลงมาอีก การรอดราวปาฏิหาริย์ครั้งนั้นหลวงพ่อเล่าถึงความรู้สึก ทีไ่ ด้สมั ผัสในขณะเกิดเหตุการณ์ให้ฟงั ว่า ขณะทีต่ กลงมายังไม่ถงึ พืน้ ดิน ก็คล้ายกับว่ามีบางอย่างมารับไว้ ไม่ให้ตกลงพืน้ ถ้าจะบอกเป็นกิง่ หูกวาง ด้านล่างเสียทีเดียวก็เชิงเสียทั้งหมด เพราะรู้ๆ กันอยู่ว่าหูกวาง มันแตกกิ่งห่างกันแค่ไหน ความรู้สึกกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้น หลวงพ่อนึกถึงหลวงพ่อขาวขึ้นมาทันที ไม่ได้นึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อย่างอืน่ เพราะนึกไม่ทนั อีกอย่างเคยเห็นอภินหิ ารหลวงปูข่ าวหลายครัง้ หลายหนแล้ว แต่เรื่องอย่างนี้ก็แล้วแต่ความเชื่อของแต่ละบุคคล แม้จะไม่เห็นกับตาแต่เชื่อว่าเรื่องแบบนี้ทุกคนสัมผัสได้ PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 101

101

21/12/61 14:26:09


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัมุ่งดมั่นพัดงตะขบ ฒนาวัดให้มีความเจริญรุ่งเรือง พระครูปริยัติวโรภาส(บุญเรือน พลศักดิ์) เจ้าคณะต�ำบลงิ้วราย เขต 2, เจ้าอาวาสวัดดงตะขบ

วั ด ดงตะขบ ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 69 หมู ่ ที่ 4 ต� ำ บลดงตะขบ อ� ำ เภอตะพานหิ น จั ง หวั ด พิ จิ ต ร สั ง กั ด คณะสงฆ์ ม หานิ ก าย ก่ อ ตั้ ง ขึ้น ประมาณปี พ.ศ.2240 เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย 1. พระพุทธรูปสมัยสุโขทัยปางห้ามสมุทร(หลวงพ่อน�้ำเคือง) 2. พระพุทธรูปปูนปั้น(หลวงพ่อขาว) 3. รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง 102

.indd 102

สุ ดยอดของความส� ำ เร็ จ คื อ ความสามัคคี สุ ดยอดของความดี คื อ การเสียสละ

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

19/12/61 18:31:28


การจัดกิจกรรมและวัฒนธรรมประเพณีทคี่ วรค่าแก่การอนุรกั ษ์ สืบสาน ถ่ายทอดให้อนุชนรุน่ หลัง ได้พบเห็นและสืบทอดให้คงอยู่ สืบไปตราบนานเท่านาน คือ 1. วันขึ้นปีใหม่ ท�ำบุญตักบาตร 1 มกราคม 2. วั น มาฆบู ช า ท� ำ บุ ญ ตั ก บาตร ฟั ง ธรรมปฏิ บั ติ ธ รรม เวียนเทียน ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 3. วันบูรพาจารย์, ตรุษไทย วันอนุรักษ์มรดกไทยพื้นบ้าน แรม 15 ค�่ำ เดือน 4 4. ประเพณีขนทรายเข้าวัด ก่อพระเจดีย์ทราย 12 เมษายน 5. ประเพณีสงกรานต์ วันปีใหม่ไทย 13-15 เมษายน 6. การท�ำบุญบ�ำเพ็ญกุศล(วันแจงรวมญาติ) 16 เมษายน 7. ประเพณีกวนข้าวมธุปายาส(ข้าวทิพย์) ขึน้ 14 ค�ำ ่ เดือน 6 8. ประเพณีสลากภัต วันวิสาขบูชา ท�ำบุญตักบาตร ขึน้ 15 ค�ำ ่ เดือน 6 9. วันรวมพลคนจิตอาสาพัฒนาชุมชน ขับเคลือ่ นด้วยพลังบวร 1 มิถุนายน 10. วันอาสาฬหบูชา ท�ำบุญตักบาตร ฟังธรรม ปฏิบัติธรรม ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 11. วันเข้าพรรษา ท�ำบุญตักบาตร ถวายผ้าอาบน�ำ้ ฝน แรม 1 ค�ำ ่ เดือน 8 12. วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มหาวชิราลงกรณ์ บดินทรเทพยวรางกูร 28 กรกฎาคม 13. วันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 14. ท�ำบุญวันสารทไทย แรม 15 ค�่ำ เดือน 10 15. วันออกพรรษา เทศน์มหาชาติชาดก ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 11 16. ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ แรม 1 ค�่ำ เดือน 11 17. ประเพณีลอยกระทง ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 12 18. งานประจ�ำปี สมโภชหลวงพ่อน�้ำเคือง 30 ธ.ค.-3 ม.ค. 19. กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สั ม มาชี พ เช่ น กวนกระยาสารท งานเฟอร์นิเจอร์ไม้ไผ่ ไม้กวาดทางมะพร้าว ส� ำ หรั บ วั ด ดงตะขบเป็ นวั ด ที่ มี ก ารพั ฒนามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และด้วยปณิธานอันแน่วแน่ของเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ พระครู ปริยตั วิ โรภาส เจ้าคณะต�ำบลงิว้ ราย เขต 2 ท่านมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนา วัดดงตะขบ ให้มคี วามเจริญรุง่ เรืองยิง่ ขึน้ และมุง่ สร้างความร่มเย็น เป็นสุขให้แก่ชุมชนสืบต่อไป วัดเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน เป็นที่ตั้งส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดพิจิตร แห่งที่ 11 หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลดงตะขบ หมู่บ้านรักษาศีล 5 หมู่บ้านชุมชนคุณธรรม ขับเคลื่อนด้วยพลังบวร ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดดงตะขบ PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 103

103

22/12/61 18:28:30


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

พระมหาเจดีย์ศรีราชวิมล วัดชัยมงคล อ.บางมูลนาก จ.พิจิตร พระราชวิมลมุนี (วิจิตร นิมฺมโล) อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดพิ จิตร อดีตเจ้าอาวาสวัดชัยมงคล รูปที่ 5

104

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 104

พระราชวิมลมุน(ี วิจติ ร นิมมฺ โล) อดีตทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดพิจติ ร อดีตเจ้าอาวาสวัดชัยมงคล รูปที่ 5 (พ.ศ. 2511-2550) เป็น ผู้ริเริ่มการก่อสร้าง โดยมีคุณบุญจง สนธิทิม (สถาปนิกประจ�ำ ส�ำนักพระราชวัง) เป็น ผู้ออกแบบ คุณสุเทพ ภู่สวรรค์ คุณสังคม เต็มปิยพล เป็น ไวยาวัจกร คุณบรรพต ศรีบศุ กร ควบคุมการก่อสร้าง องค์เจดีย์เป็นทรงลังกาที่ก่อสร้างกันแพร่หลาย มาในอดีตกาล ในหัวเมืองภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ที่ปรากฏชัดจากที่ยัง หลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน ตั้งแต่สมัยเชียงแสน ก่อนสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ประกอบด้วยองค์ระฆังทรงกลม มีบัวฐานกลม เสาหาน บัวยอดปลี และยอดฉัตร จึงได้น�ำลักษณะเฉพาะเหล่านี้ มาเป็นต้นแบบในการออกแบบ ส่วนเจดีย์องค์นี้มีความพิเศษ ต่างจากเจดีย์อื่นๆ ในอดีต คือมีองค์ระฆัง 2 ชั้น โดยชั้นบน อยู่เหนือเสาหาน เพื่อจะเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของจังหวัดพิจิตร

19/12/61 18:19:49


เจดีย์ตั้งอยู่บนฐาน 3 ชั้น ชั้นแรก ขนาดกว้าง 35 เมตร ยาว 35 เมตร ยกสูงจากพืน้ ทางเดิน ประมาณ 1.50 เมตร มีบันไดกว้าง 4 เมตร ขึ้นทั้ง 4 ด้าน และ มีลานเปิดโล่ง ต่อเนื่องโดยรอบ ก�ำแพง ลูกแก้วหินอ่อนสีชมพู ทั้ง 3 ชั้น ส่วนกลางเป็นห้องโถงอเนกประสงค์ มีพระประธาน ปางประทานพร มี ม วยผม พระเกศาหยั ก ศก ทรงอิ น เดี ย หล่อด้วยสัมฤทธิ์ บนฐานชุกชี ล้อมรอบด้วยพระเกจิ 6 รูป คือ 1. หลวงปู่โง่น โสรโย 2. หลวงพ่อเงิน ธมฺมโชติ 3. หลวงพ่อเจ้าคุณพระราชวิมลมุนี 4. หลวงพ่อเขียน ธมฺมรกฺขิโต 5. หลวงพ่อขาว โคตมสาวโก ชั้ น ที่ ส อง เป็ น สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ขนาดกว้ า ง 22.50 เมตร ยาว 22.50 เมตร มีบันไดขึ้นทั้ง 4 ด้าน มาที่ระดับ 4.50 เมตร สู ง จากชั้ น แรก และโดยรอบมี ล านเปิ ด โล่ ง ต่ อ เนื่ อ งเช่ น กั น ส่วนกลางเป็นองค์เจดีย์จ�ำลอง บรรจุพระบรมสารีริกธาตุและ พระอรหันตธาตุ ให้บุคคลทั่วไป สักการบูชาได้ ชั้นที่สาม เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 15 เมตร สูงจากชั้นที่สอง 4 เมตร อันเป็นฐานที่ตั้งขององค์มหาเจดีย์ องค์เจดีย์ เป็นทรงระฆังกลม เส้นผ่าศูนย์กลางวัดทีฐ่ าน 11.50 เมตร เส้น ผ่าศูนย์กลางที่องค์ระฆัง 10 เมตร ความสูงจากฐานถึงยอด โดยประมาณ 37 เมตร (ไม่รวมยอดฉัตร) โครงสร้ า ง เป็ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ทั้ ง หมด องค์ เ จดี ย ์ ปู กระเบื้ อ งเซรามิ ค สี เ หลื อ งอมเขี ย ว ส่ ว นวั ส ดุ ปู พื้ น ภายนอก บริเวณระเบียงต่าง ๆ ทุกชั้น จะเป็นแผ่นดินเผา เทอราคอตตา ส�ำหรับพื้นภายในปูด้วยหินแกรนิต การก่อสร้าง วันวิสาขบูชา เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2547 ตอกเสาเข็มมหาฤกษ์ เดือนมิถุนายน พ.ศ.2547 ตอกเสาเข็มปูนต้นแรก พระราช วิมลมุนี เจิมแป้ง ปิดทอง ผูกผ้าสามสี ญาติโยมพุทธศาสนิกชน พ่อค้า ประชาชน ร่วมใจกันผูกกล้วย อ้อย ดอกไม้ ปิดทองร่วมกัน ปัน้ จัน่ ดึงเสาเข็มทีโ่ ยงสายสิญจน์ขนึ้ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา

**วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2551 พิธีอัญเชิญยอดฉัตรทองค�ำ ขึ้นสู่ยอดพระมหาเจดีย์ โดยมี ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี และ นายวีระ โรจน์พจนรัตน์ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธาน พร้อมด้วยแขกผู้ทรงเกียรติอื่นๆ อีกมากมาย ข้อมูลฉัตรทองค�ำ เป็นฉัตร 5 ชัน้ ท�ำด้วยทองแดงหนา 0.5 มิลลิเมตร ฉลุทองแดง ลายไทยโปร่ง ปิดด้วยทองค�ำเปลวซึ่งได้น�ำขึ้นไว้บนยอดเจดีย์ เรียบร้อยแล้ว สูรย์ฉัตร(ยอดฉัตร) เป็นทองแดงตัน (ประมาณ 13 กิโลกรัม) กลึงขึ้นรูป เคลือบด้วยโลหะเงิน 100 เปอร์เซ็นต์ ใช้ทองค�ำ บดละเอียดผสมปรอท(ทองเปียก) ทาและอบไล่ปรอทหลายๆ ครั้ง จนหนาพอ ในการนี้ ช่างได้ท�ำช่องส�ำหรับ ใส่ผอบทองค�ำ ซึง่ ได้บรรจุพระอรหันตธาตุทพี่ ระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชวิมลมุนี ได้อธิษฐานจิตไว้ก่อนมรณภาพไว้แล้ว สิ่งของต่างๆ ที่จะบรรจุในองค์เจดีย์ พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พ.ศ. 2539 ผนึกกระจก อัดซิลิโคน ใส่สารกันความชื้นเพื่อให้อยู่ได้คงทนนานที่สุด 1 ชุด จ�ำนวน 45 เล่ม บาตรหินอ่อน ขนาด 19 นิ้ว บรรจุวัตถุมงคล ในสมัยของ พระราชวิมลมุนี 1 บาตรเต็ม อีก 2 บาตร บรรจุวัตถุมงคลต่างๆ ที่ประชาชนร่วมน�ำมาถวาย พระพุทธรูปต่างๆ ที่ประชาชนร่วมน�ำมาถวาย แผ่นหินอ่อนขนาด กว้าง 60 เซนติเมตร ยาว 80 เซนติเมตร ลงรักปิดทอง ประวัติการก่อสร้างพระมหาเจดีย์ พิ ธี ฉ ลองสมโภช เมื่ อ วั น ที่ 17 ธั น วาคม พ.ศ. 2560 โดย ศ.น.พ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี เป็นประธาน

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 105

105

22/12/61 18:26:28


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดบางมูลนาก วัดเก่าแก่สมัยกรุงธนบุรี

พระครูพิศาลสุภัทรคุณ (พระมหาสมศักดิ์ สภทฺโท) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางมูลนาก

วั ด บางมู ล นาก เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง เป็ นวั ด ตั้ ง แต่ เ มื่ อ สมั ย กรุ ง ธนบุ รี เมื่อ ปีพ.ศ. 2321 จากประวัติที่มีคนเล่าว่า บ้านบางมูลนาก เมื่ อ สมั ย ก่ อ นมี ป ลาชนิ ด ต่ า งๆ จ� ำ นวนมาก มี สั ต ว์ ช นิ ด หนึ่ ง คือนากกินปลา เป็นจ�ำนวนมาก และมาจับปลากินเป็นอาหาร เมื่อกินปลาแล้วก็ถ่ายอุจจาระไว้ จึงมีการตั้งชื่อบ้านบริเวณนี้ ว่ า “บ้ า นบางขี้น าก” ต่อ มามีก ารเปลี่ย นชื่อ ใหม่ ใ ห้ สุภ าพขึ้ น ว่า“บ้านบางมูลนาก” วัดก็เรียกว่า “วัดบางมูลนาก” 106

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

เอกลักษณ์และจุดเด่นของวัดดงตะขบประกอบด้วย

.indd 106

19/12/61 18:56:59


วั ด บ า ง มู ล น า ก ตั้ ง อ ยู ่ เ ล ข ที่ 2 1 2 ถ น น ชู เ ชิ ด น ่ า น ต� ำ บลบางมู ล นาก อ� ำ เภอบางมู ล นาก จั ง หวั ด พิ จิ ต ร 66120 โทร : 08-9566-2605, 08-2551-9395 ประวัติของวัดบางมูลนาก มีหลักฐานปรากฏอยู่ในหนังสือประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เล่มที่ 6 ของกรมการศาสนา พิมพ์เมื่อ ปีพ.ศ.2530 หน้า 682 ได้บันทึกไว้ว่า ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา มาแล้ว 2 ครั้ง ครั้งแรก ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อใด ครั้งหลัง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506 และได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2508 มีเจ้าอาวาสปกครองวัด สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้ มี 13 รูป รายชื่อเจ้าอาวาสวัดบางมูลนาก ตั้งแต่อดีต ถึงปัจจุบัน 1. พระอาจารย์อู๋ พ.ศ. 2321-2332 2. พระอาจารย์จันทร์ พ.ศ. 2335-2340 3. พระอาจารย์แดง พ.ศ. 2340-2348 4. พระอาจารย์สุ่น พ.ศ. 2348-2358 5. พระอาจารย์เฟื่อง พ.ศ. 2358-2384 6. พระอาจารย์พวง พ.ศ. 2384-2421 7. พระครูล้อม พ.ศ. 2421-2443 8. พระครูมา พ.ศ. 2443-2457 9. พระครูลัพ พ.ศ. 2457-2473 10. พระครูพิทักษ์ศีลคุณ (หลวงพ่อน้อย) พ.ศ. 2473-2501 11. พระครูแฟ้ม พ.ศ. 2501-2505 12. พระครูวิจารณ์ธรรมสิริ (หลวงพ่อสิริ) พ.ศ. 2505-2533 13. พระครู พิ ศ าลสุ ภั ท รคุ ณ (พระมหาสมศั ก ดิ์ สภทฺ โ ท) พ.ศ. 2534-ปัจจุบัน มีพระพุทธรูปที่ส�ำคัญ 3 องค์ คือ องค์ที่ 1 “พระพุทธชินวร” หน้าตักกว้าง 3 ศอก 9 นิ้ว สูงถึง พระเกตุ 3 ศอก 9 นิ้ว เป็นพระพุทธรูป สมัยอู่ทอง ปางมารวิชัย เคยเป็นพระประธานของอุโบสถหลังเก่า ประดิษฐานที่วิหาร หน้าวัดบางมูลนาก ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบ้านเรียกว่า “หลวงพ่อพระพุทธชินวร” มีผถู้ วายนามไว้มชี อื่ เต็มว่า “พระพุทธชินวร มุนินทรบพิตร อนันตฤทธิประภาต” เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 องค์ที่ 2 “พระพุทธชินราชจ�ำลอง” หน้าตักกว้าง 3 ศอก 29 นิว้ สูงถึงพระเกตุ 3 ศอก 29 นิ้ว ประดิษฐานที่อุโบสถหน้าวัด ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้ องค์ ที่ 3 “พระพุ ท ธมงคล” เป็ น พระพุ ท ธรู ป สร้ า งด้ ว ย คอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ ปีพ.ศ. 2540 PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 107

107

19/12/61 18:57:07


H I STO R Y O F B U DDH I S M บันทึกเส้นทางธรรมหนุนน�ำชีวิต

วัดหล่ายหนองหมี สถานที่ปฏิบัติธรรมบ�ำเพ็ญกุศล พระครูวิศาลสีลสังวร

ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหล่ายหนองหมี

วั ด หล่ า ยหนองหมี มี ที่ ดิ น ประมาณ 30 ไร่ เ ศษ เดิ ม ชื่ อ วัดโพธิบัลลังก์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 10 บ้านนา ต�ำบลบ้านนา อ�ำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2525 ประวัติเจ้าอาวาส พระครูวิศาลสีลสังวร ฉายา สีลสาโร อายุ 51 พรรษา 31 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดหล่ายหนองหมี ต�ำบลบ้านนา อ�ำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร 108

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 108

19/12/61 18:59:05


ด้วยคณะโยมชาวบ้านสามง่าม บ้านไร่ บ้านนา โดยการน�ำของ พระในจังหวัดพิจิตรองค์หนึ่ง สร้างเป็นสาขาเพื่อจัดปฏิบัติธรรม มีพระจ�ำพรรษาตลอด และจัดปฏิบัติธรรมเป็นบางครั้ง ต่อมา นายรั ต น์ ดี พ ร้ อ มได้ ด� ำ เนิ น การขอตั้ ง วั ด และได้ รั บ ประกาศ กระทรวงศึกษาธิการยกขึน้ เป็นวัดเมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2543 วัตถุท่ีสร้างไว้ปัจจุบันเริ่ม ผุพังลง ญาติโยมในหมู่บ้านยังอาศัย มาปฏิบตั ธิ รรมบ�ำเพ็ญกุศลอยู่ เมือ่ พระยนต์ ฐิตสาโร มาจ�ำพรรษาอยู่ ตามค�ำอาราธนาของพระครูพศิ าลธรรมวุฒิ เจ้าคณะอ�ำเภอวชิรบารมี จึงได้เริ่มก่อสร้างแท้งน�้ำขึ้น เพื่อจ่ายน�้ำให้โยมในหมู่บ้านใช้และ สร้างโรงครัว สร้างกุฏิ 1 หลัง เพื่อเป็นที่อนุเคราะห์ญาติโยม ที่เดินทางมาท�ำบุญทั้งใกล้และไกล ทางวัดยังมีสิ่งที่ต้องก่อสร้าง อีกจ�ำนวนมาก เพื่อให้วัดมีปูชนียสถานที่มั่นคงถาวรในพระพุทธ ศาสนาตลอดไป นายรัตน์ ดีพร้อม ได้รบั อนุญาตให้สร้างวัด ณ บ้านหล่ายหนองหมี หมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้านนา อ�ำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร ทาง กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนา มีนามว่า “วัดหล่ายหนองหมี” ประกาศ ณ วันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2543

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 109

พระประธานอุ โ บสถกลางน�้ ำ

109

19/12/61 18:59:12


TRAVEL GUIDE

110

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 110

21/12/2561 14:44:34


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 111

111

21/12/2561 14:44:36


เส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดพิ จิตร ท่องเที่ยววัดวาอาราม

โบราณสถาน ที่ประสูติ พระเจ้าเสือ แห่งอโยธยา ในสมัยพระนารายณ์มหาราช พระองค์ได้เสด็จไปนมัสการ พระพุ ทธชินราช ระหว่างทางนางสนมเกิดเจ็บครรภ์และ คลอดทารกเพศชาย ตรงลานระหว่างต้นโพธิ์กับต้นมะเดื่อ ทรงให้น�ำรกเด็กน้อยไปฝังไว้ใต้ต้นมะเดื่อ ซึ่งภายหลัง ่ ได้ขน ึ้ ครองแผ่นดินอยุธยา และทรงพระนามว่า พระเจ้าดอกเดือ ตามชื่อต้นไม้ท่ท ี รงมีประสูติกาล

112

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 112

21/12/2561 14:44:37


วัดโพธิ์ประทับช้าง PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 113

113

21/12/2561 14:44:38


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดโพธิ์ประทับช้าง

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 ต่อมาสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงยกพระราชธิดาเมืองเชียงใหม่ ให้กับลูกพระเพทราชา นายเดื่อได้รับราชการเป็นหลวงสรศั กดิ์ เมื่อใกล้สิ้นรัชกาลของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ก็ได้คบคิดกับ พระเพทราชา ยึดอ�ำนาจแล้วสถาปนาพระเพทราชาขึ้นเป็นกษัตริย์

114

_

ส่วนตนเองได้รับการสถาปนาเป็นกรมพระราชวังบวร สถานมงคลในปี พ.ศ.2246 จึงปราบดาภิเษกขึ้นเป็น กษัตริย์ รู้จักกันต่อมาว่าพระเจ้าเสือ (สมเด็จพระสรร เพชญ์ท่8 ี ) ต่อมาจึงให้สร้างวัดขึ้นข้างต้นโพธิ์ใหญ่ และพระราชทานนามวัดนี้ ว่า “วัดโพธิ์ประทับช้าง” วัดโพธิ์ประทับช้าง ปัจจุบันยังคงใช้เป็นที่ประกอบ ศาสนกิจต่างอยู่เป็นประจ�ำแม้ว่าจะเก่าแก่มากแล้วก็ ตาม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีท่ด ี ินตั้งวัดเนื้อที่ 98 ไร่ มี น.ส.3 แสดงกรรมสิทธิ์ พื้ นที่วัดเป็นที่ราบสูง สภาพแวดล้อมเป็นป่าโปร่ง เต็มไปด้วยไม้ยืนต้นนานาชนิด

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 114

21/12/2561 14:44:43


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 115

115

21/12/2561 14:44:44


116

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 116

21/12/2561 14:44:47


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดเทวประสาท

พระพุ ทธเกตุมงคล หรือหลวงพ่ อโตตะพานหิน เป็นพระพุ ทธรูปปางประทานพร หน้าตักกว้าง 20 เมตร สูง 30 เมตร แท่นสูง 4 เมตร สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อปี พ.ศ. 2508 และเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2513 นับเป็นพระพุ ทธรูปที่มีพุทธลักษณะสวยงาม ได้สัดส่วน และใหญ่ทส ี่ ุดของจังหวัดพิ จต ิ ร หากเดินทางโดยรถไฟจะมองเห็น องค์พระเหลืองอร่ามแต่ไกล ทางเข้าวัดอยู่บริเวณเชิงสะพานแม่น�้ำน่าน

เป็นวัดที่ส�ำคัญและเก่าแก่อีกแห่งหนึ่ง ของอ�ำเภอ ตะพานหิน ตั้งอยู่เลขที่ 121 ต�ำบลตะพานหิน อ�ำเภอ ตะพานหิน จังหวัดพิ จิตร

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 117

117

22/12/2561 19:09:33


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดพระพุ ทธบาทเขารวก

บันไดมณฑปพระพุ ทธบาทเขารวก ่ ะได้เห็นคือ บันไดทอดยาวขึ้นไป เข้ามาภายในวัดพระพุ ทธบาทเขารวก สิ่งแรกทีจ บนเนินเขาเล็กๆ ดูไม่สูงมากนัก แต่สภาพแวดล้อมรอบๆ วัดก็อุดมสมบูรณ์ ด้วยธรรมชาติร่มรื่นและสงบอยู่ในชุมชนต�ำบลวังหลุม

118

_

ส่วนอาคารอืน ่ ๆ หากมองจากทางเข้าเมือ ่ แรกเห็น จะมีเจดีย์ 2 องค์ สีขาวและสีทอง ถัดเข้าไปเป็น วิหารหลวงปู่โง่น และพระอุโบสถ ความสงบ ของวัดท�ำให้เห็นนกยูงเดินหากินรอบๆ บริเวณ แม้เห็นคนเดินเข้ามา ก็ไม่แสดงท่าทีตกใจ แต่ถ้าหากเดินเข้าใกล้มันมันก็จะเดินห่างออกไป เรื่อยๆ สิ่งแรกที่จะท�ำเมื่อได้มาที่วัดนี้ก็คือขึ้นไป นมัสการรอยพระพุ ทธบาทจ�ำลองที่จ�ำลอง มาจากพระพุ ทธบาทสระบุรีท่ป ี ระดิษฐานใน มณฑปบนยอดเขาแห่งนี้

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 118

21/12/2561 14:45:04


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 119

119

22/12/2561 18:42:46


120

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 120

21/12/2561 14:45:09


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดโรงช้าง

เยือนวัดเก่าแก่ ชมพระธรรมขันธ์ในองค์เจดีย์ วัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อสมัยพระยาโคตรบองขึ้นครองราชย์ สถานที่แห่งนี้ เรียกว่า กองช้าง เพราะเป็นที่พักของกองช้าง ต่อมาได้เรียกกันเพี้ ยนไปเป็น คลองช้าง จนกระทั่งทางราชการได้เปิดโรงเรียนประชาบาลขึ้นที่วัดนี้ จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดโรงช้าง

บริเวณวัดโรงช้างมีพระพุ ทธรูปใหญ่อยู่กลางแจ้ง 3 องค์ เป็น พระพุ ทธรูปปางมารวิชัย ปางห้ามญาติ และปางไสยาสน์ สิ่งที่น่าสนใจของวัดนี้คือเจดีย์องค์ใหญ่ ของวัด สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2517 บริเวณรอบองค์เจดีย์ มีตู้พระไตรปิฎก จ�ำนวน 108 ตู้ เพื่ อให้ประชาชนทั่วไป ได้ท�ำบุญใส่ตู้เพื่ อเป็นสิริมงคล และภายในองค์เจดีย์ ได้สร้างเป็นห้องลับใต้ดินเพื่ อใช้ส�ำหรับ เก็บแผ่นอิฐจารึก พระไตรปิฎกจ�ำนวน 84,000 พระธรรมขันธ์ โดยได้ เล็งเห็นว่า ในอนาคตอาจมีเหตุการณ์ท่ค ี าดไม่ถึง เช่น สงครามนิวเคลียร์ซึ่งอาจท�ำให้พระไตรปิฎกสูญหาย จากโลกได้

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 121

121

21/12/2561 14:45:17


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดเขารูปช้าง

รอยพระพุ ทธบาทของพระพุ ทธเจ้า โบราณสถานของวัดเขารูปช้างที่มองเห็นเด่นเป็นสง่าคือ เจดีย์แบบลังกาซึ่งตั้งอยู่บน ยอดเขาที่มีหินสีขาวซ้อนกันมองดูคล้ายช้าง แต่เดิมเป็นเจดีย์เก่ามาก่อน และทางวัด ได้ท�ำการปฏิสังขรณ์ใหม่เมื่อประมาณ 20 ปีมานี้ โดยได้ประดับกระเบื้องเคลือบสีทอง ทั้งองค์ มีร้ว ั รอบองค์เจดีย์ ส�ำหรับลานกว้างบนยอดเขา ทางวัดได้สร้างวิหารใหญ่ ขึ้นหลังหนึ่งและมีเจดีย์เก่าอยู่องค์หนึ่งเป็นเจดีย์แบบลังกาทรงเหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง

122

_

สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอยุธยา มีตัวระฆังเป็นกลีบ มะเฟืองแต่ยอดเจดีย์หักแล้ว นอกจากนั้นยังมีมณฑป แบบจตุรมุขหลัง เก่าอยู่ใกล้ กั บ โบสถ์ ห ลั งใหม่ ภายในมณฑปประดิษฐานพระพุ ทธบาทส�ำริด ทีฝ ่ าผนัง มีภาพเขียนเรือ ่ งไตรภูมิพระร่วงด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 122

21/12/2561 14:45:25


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 123

123

21/12/2561 14:45:26


124

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 124

21/12/2561 14:45:29


ท่องเที่ยววัดวาอาราม... วัดสุขุมาราม

ชมพระนอนประติมากรรมที่งดงาม สักการะหลวงพ่ อเขียน วัดนี้ประดิษฐานพระพุ ทธไสยาสน์ ซึ่งมีความยาวถึง 55 เมตร ซึ่งใหญ่ เป็นอันดับ 3 ของประเทศ เพื่ อถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวามหาราช ยิ่งใหญ่สวยสดงดงามบนพื้ นทีก ่ ว่า 40 ไร่ ที่มีการก่อสร้างอาคารด้วยประติมากรรม ทีง ่ ดงามและสอดแทรกด้วย ศิลปะร่วมสมัยป็นทีฝ ่ ก ึ สมาธิ ปฏิบัติธรรม ฝึกกรรมฐาน บริเวณโดยรอบมีการปลูก ต้นไม้น้อยใหญ่นานาชนิดให้ครึม ้ ร่มเย็น เพื่ อให้ เป็นลาน ปฏิบัติธรรมส�ำหรับชาวพุ ทธจากทั่วโลกทีจ ่ ะมาแสวงหา ความสงบร่วมเย็นภายใต้แสงเทียนแห่งธรรมะ

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 125

125

21/12/2561 14:45:37


126

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 126

21/12/2561 14:45:39


TRAVEL GUIDE

เที่ยวชม...ประวัติศาสตร์

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 127

127

21/12/2561 14:45:41


ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์... วัดโพธิ์ประทับช้าง

ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 สมัยสมเด็จพระเจ้าเสือบ้านเมืองสงบสุขไม่มีศัตรูมารุกราน แม้พระองค์โปรดการ เสด็จประพาสไปในที่ต่างๆ ทั้งทางบกทางน�ำ้ เป็นส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ประทับในพระราชวัง

128

_

แต่ก็ไม่มีผู้ใดคิดร้าย เนื่องจากเกรงอ�ำนาจบารมี ของพระองค์ โปรดการคล้องช้างป่าเพื่ อน�ำมาใช้ ในราชการ โปรดการทรงเบ็ดตกปลา ล่าสัตว์ และ โปรดการชกมวยอย่างยิ่ง ทรงปลอมพระองค์เป็น สามัญชนนักมวยชาวกรุงผู้มีฝีมือเป็นเลิศเสด็จไป ตามสนาม มวยต่า งๆ เพื่ อเปรี ย บมวยชกและ ทรงชนะทุก ครั้ ง หาผู้ใดเปรี ย บฝีพระหั ต ถ์ ได้ ไม่ หลังการชกมวยพระองค์และทหารจะเสด็จเที่ยวชม งานเยี่ยงสามัญชนโดยไม่มีผู้ใด รู้ว่าพระองค์คือกษัตริย์

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 128

21/12/2561 14:45:45


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 129

129

21/12/2561 14:45:46


130

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 130

21/12/2561 14:45:49


ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์... วัดห้วยเขน

ชมจิตรกรรมฝาผนังโบราณ วัดห้วยเขน โบสถ์เก่าซึ่งกรมศิ ลปากรได้ขึ้นทะเบียนอนุรักษ์ไว้ ภายในโบสถ์มีภาพจิตรกรรม ฝาผนังเก่าโบราณที่ยังคงเอกลักษณ์แบบ เดิมไว้โดย ไม่ได้มีการบูรณะหรือ เพิ่ มเติมใดๆ ศิ ลปกรรมฝาผนัง สร้างในราว 80 ปีมาแล้ว

ตรงกับรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 เรื่องราวที่ปรากฏบน ฝาผนังเป็นเรื่องเกี่ยวกับพระพุ ทธประวัติ และทศชาติ ชาดก ด้านหลังพระประธานในพระอุโบสถ เป็นเรื่อง พระเวสสันดรทั้งหมด ส่วนเรื่องของพุ ทธประวัติอยู่ เหนือระดับหน้าต่างด้านซ้าย และตอนล่างระดับหน้าต่าง ด้านซ้าย แต่ส่วนล่างปูนกระเทาะเสียหายมาก จนเห็น แผ่นอิฐ เป็นศิลปกรรมทีง ่ ดงามมาก มีอท ิ ธิพลจากตะวันตก เข้ามาผสมผสานบ้างเล็กน้อย จากการสอบถามชาวบ้าน ทราบว่า ผู้เขียนภาพมีช่ือว่า “ทั่ง” ไม่ทราบว่าเป็นใคร มาจากไหน

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 131

131

21/12/2561 14:45:57


ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์... วัดมหาธาตุ

โบราณสถานก่อด้วยอิฐ ตั้งอยู่ก่ง ึ กลางเมืองพิ จิตรเก่า ตัวโบราณสถานและสภาพภูมิทัศน์ได้รับการดูแล อนุรักษ์ และบูรณปฏิสังขรณ์เป็นอย่างดี แม้ว่าจะมีพืชและสิ่งต่างๆรบกวนอยู่บ้าง เช่น วัชพื ชหรือพื ช ทั้งที่ขึ้นบนตัวโบราณและพื้ นที่ โดยรอบ โดยเฉพาะไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ท่ีขึ้นชิดกับโบราณสถาน

132

_

วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ใน “อุทยานเมืองเก่าพิ จิตร” ซึ่งเป็น แหล่งท่องเที่ยวทั้งทางประวัติศาสตร์โบราณคดีและ ธรรมชาติท่ีส�ำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดพิ จิตร ภายใน อุทยานมีโบราณสถานและปูชนียสถานหลายแห่ง รวมทั้งสภาพโดยทั่วไปยังมีความร่มรื่นและเงียบสงบ เนื่องจากเป็น “สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร” เหมาะทั้ง การท่องเที่ยวเพิ่ มพู นความรู้ สักการะสิ่งศั กดิ์สิทธิ์ สร้างเสริมประสบการณ์ และพั กผ่อนหย่อนใจ มี สิ่งอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับนักท่องเที่ยว เช่น ป้ายบอกทางไปยังสถานที่ส�ำคัญภายในอุทยานและ ป้ายบรรยายให้ข้อมูลโบราณสถานแต่ละแห่ง

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 132

21/12/2561 14:46:02


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 133

133

21/12/2561 14:46:04


134

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 134

21/12/2561 14:46:05


ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์... ศาลหลักเมืองพิ จิตร

โบราณสถานก่อด้วยอิฐ ตั้งอยู่กึ่งกลางเมืองพิ จิตรเก่า หลักโบราณท�ำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ อยู่ในบริเวณอุทยานเมืองเก่า ในปัจจุบัน ไม่พบหลักฐาน โดยการนั่งวิปัสสนาของหลวงปู่โง่น

ศาลหลักเมืองพิ จิตรสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1601 สมัย พระเจ้ากาญจนกุมารผู้ครองนครไชยบวรแต่ได้ช�ำรุด ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จึงไม่สามารถระบุสถานที่ตั้ง ได้อย่างแน่ชัด ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2507-2510 นายแสวง ศรีมาเสริม ผู้ว่าราชการจังหวัดพิ จิตรมีด�ำริท่ีจะบูรณะ ปรับปรุงฟื้ นฟู เมืองพิ จิตรเก่าขึ้น และสถานที่พักผ่อน หย่อนใจและได้ก�ำหนดให้มีการผังเสาหลักเมืองขึ้นใหม่ เพื่ อเป็นการเสริมสร้างและเป็นที่รวมจิตใจของชาวพิ จิตร โดยหลวงปู่โงน โสรโย ได้นั่งฌานสมาธิเห็นที่ตั้ง ศาลหลักเมืองเก่า และเมื่อขุดลงไปพบซากไม้ท่ีใช้ท�ำ หลักเมือง และซากโครงกระดูกวัตถุโบราณอีกมากมาย หลายอย่าง จึงพอสันนิษฐานได้ว่า บริเวณพื้ นที่ตั้ง ศาลหลักเมืองปัจจุบันเป็นที่ตั้งศาลหลักเมืองสมัยที่ พระยาโครตบอง ฝังไว้แต่เดิม

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 135

135

21/12/2561 14:46:10


ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์... สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร

อุทยานเมืองเก่าพิ จิตร สวนรุกขชาติกาญจนกุมาร เชื่อกันว่า เป็นเมืองพิ จิตรเก่า ภายในอุทยานจัดเป็นสวนรุกชาติ ร่มรื่นไปด้วยพั นธุ์ไม้ต่างๆ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

136

_

อีกแห่งหนึ่งของชาวเมืองพิ จิตร มีการขุดค้นพบ ศิ ลปะเครื่องปั้นดินเผา และพระพุ ทธรูปสมัยต่างๆ ภายใน องค์พระธาตุเจดียข ์ อง วัดมหาธาตุ ซึง ่ เป็น โบราณสถาน ก่อด้วยอิฐ เจดีย์ทรงลังกา ด้าหน้า พระเจดีย์ คือ วิหารเก้าห้อง ด้านหลังพระเจดีย์ เป็นพระอุโบสถ มี ใบเสมา 2 ชั้น ดูขรึมขลังจาก รากไทรที่เกาะอยู่หน้าบัน บริเวณใต้เนินดินส่วนวิหาร ยังพบสิ่งก่อสร้าง 2 ยุคสมัย คือ สมัยสุโขทัยและ สมัยอยุธยา รวมทั้งเจดีย์รายจ�ำนวนมากและแนว ก�ำแพงขนาดใหญ่

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 136

21/12/2561 14:46:15


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 137

137

21/12/2561 14:46:17


TRAVEL GUIDE

เที่ยวชม...วิถีชีวิตชาวพิจิตร

138

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 138

21/12/2561 14:46:18


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 139

139

21/12/2561 14:46:19


140

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 140

21/12/2561 14:46:20


ท่องเที่ยววิถีชีวิตชาวพิ จิตร... เทศกาลกินปลาชมบึงครั่งที่ 5

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 141

141

21/12/2561 14:46:26


142

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 142

21/12/2561 14:46:27


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 143

143

21/12/2561 14:46:29


144

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 144

21/12/2561 14:46:31


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 145

145

21/12/2561 14:46:33


ท่องเที่ยววิถีชีวิตชาวพิ จิตร... ถนนคนเดิน ตึกโบราณ ต�ำนานรถไฟเมืองพิ จิตร

ตึกโบราณ ต�ำนานรถไฟ ถนนคนเดินเมืองพิ จิตร “ถนนคนเดิน ตึกโบราณ ต�ำนานรถไฟเมืองพิ จิตร” ในช่วงทุกเย็นวันเสาร์ เพื่ อส่งเสริมการท่องเที่ยว สร้างภาพลักษณ์และวัฒนธรรมที่ล�้ำค่า รวมทั้ง เป็นการส่งเสริมให้ชุมชนชาวพิ จิตรมีรายได้เพิ่ มขึ้น

146

_

สถานี ร ถไฟพิ จิ ต ร เป็ น อี ก สถานที่ ห นึ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความนิยม จากประชาชนและนักเดินทาง ที่ต้องการ เดินทางโดยสารด้วยรถไฟ แต่ท่ส ี ถานีรถไฟพิ จิตร ยังมีความสวยงามซ่อนอยู่ โดยเฉพาะตัวอาคาร จะเป็นอาคารขนาดที่ไม่ใหญ่มาก แต่รูปแบบอาคาร ของที่ ท� ำ การสถานี แตกต่ า งไปจากสถานี อ่ื น เนื่องจากอาคารถูกสร้างในยุคสมัยรัชกาลที่ 5 รูป แบบก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น ผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้า ชั้นล่างเป็นที่ท�ำการ ห้องท�ำงานนายสถานี ห้องจ�ำหน่ายตั๋ว ห้องอาณัติสัญญาณ ส่วนด้านบน เป็นที่พักของเจ้าหน้าที่

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 146

21/12/2561 14:46:41


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 147

147

21/12/2561 14:46:46


148

_

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 148

21/12/2561 14:46:48


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 149

149

21/12/2561 14:46:50


ADVENTURE

THE EXCLUSIVE

ศาลาเก้าเหลี่ยม หรือที่นิยมเรียกกันว่า สถานแสดงพันธุ์ปลาเฉลิมพระเกียรติ เป็นอาคารรูปดาวเก้าแฉก LOCATION บริเวณบึงสีไฟ

150

5

.indd 150

DI S T RI C T เมืองพิจิตร

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

22/12/61 09:00:52


PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 151

151

22/12/61 09:00:53


T h e gr e a t es t e x pl or e r o n t h i s ea r t h ne v e r t a k e s v o y a g e s a s l o n g a s t h o s e of t h e m an w h o d e s ce n d s t o t h e d ept h o f h i s h e art . แม้นักส�ำรวจที่ยิ่งใหญ่ท่ีสุดในโลก ก็ไม่อาจเดินทางไกลได้เท่ากับผู้ที่เดินทางส�ำรวจใจของตัวเอง

152

5

.indd 152

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

22/12/61 09:00:55


R E LAX

WONDERFUL

Bueng Si Fai แหล่งน�้ำขนาดใหญ่ ลักษณะของบึงกลมคล้ายกะทะ และ มีศาลาบึงสีไฟ ให้ประชาชนได้พักผ่อนหย่อนใจ LO C ATI O N บึงสีไฟ

DI S TRICT เมืองพิจิตร

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 153

153

22/12/61 09:00:57


Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย

HISTORY OF THE PROVINCE

TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย

5

.indd 154

www.sbl.co.th SBL MAGAZINE

THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย

22/12/61 09:01:07


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ASD.indd 155

155

21/12/2561 19:33:43


Th e Na t u r e

Phi ch it มนุ ษ ย์ คื อ ธรรมชา ติ ไม่ ใ ช่ เ ป็ น “ส่ ว นหนึ่ ง ” ของธรร มชาติ (พระมหาวุ ฒิ ชั ย วชิ ร เมธี )

156

ASD.indd 156

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

21/12/2561 19:33:45


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ASD.indd 157

157

21/12/2561 19:33:46


Fo o d o f m y l ife

เมื่ อ อบอาหาร จงท� ำ ตามวิ ธี ก ารของมั น แต่ เ มื่ อ ปรุ ง อาหาร จงท� ำ ตามรสชาติ ข องคุ ณ เอง (Laiko Bahrs)

158

ASD.indd 158

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

21/12/2561 19:33:49


CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

ASD.indd 159

159

21/12/2561 19:33:51


ปี่ยม ยง

BAAN SUAN RESORT

บ้ า นสวน รี ส อร์ ท

“บริ ก ารดุ จ ญาติ มิ ต ร ใกล้ ชิ ด ธรรมชาติ ” บ้ า นไม้ ส วยราคาถู ก ฟรี WI-FI พร้ อ ม แอร์ เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น ที วี มี บ ริ ก ารอาหารเช้ า ฟรี

ติดต่อสอบถามห้องพัก

444 หมู่ที่ 4 ต�ำบลเขาทราย อ�ำเภอทับ คล้อ จัง หวัดพิจิตร

โทร. 08-8174-4414, 08-9907-6741

LINE 160

WEBSITE

FACEBOOK ดู แ ลโดย นายวั น ชั ย สั จ จาริ ย าภรณ์

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 160

19/12/61 16:57:13


TREE GARDEN RESORT ทรี ก าร์ เ ด้ น รี ส อร์ ท

TREE GARDEN RESORT ทรี ก าร์ เ ด้ น รี ส อร์ ท ยิ น ดี ใ ห้ บ ริ ก าร ในบรรยากาศสบายๆ สไตล์ ธ รรมชาติ ประดั บ ด้ ว ยไม้ ใ หญ่ ห ายาก ร่ ม รื่ น สะอาด ปลอดภั ย ใกล้ โ ลตั ส เอ็ ก เพรส ศาลหลั ก เมื อ ง(พ่ อ ปู ่ ) , บึ ง สี ไ ฟ, หลวงพ่ อ โต วั ด โพธิ์ ป ระทั บ ช้ า ง, ศาลเจ้ า พ่ อ เสื อ บริ ก ารห้ อ งพั ก ชั่ ว คราว-รายวั น เตี ย งคู ่ เตี ย งเดี่ ย ว พร้ อ ม สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกภายในห้ อ ง แอร์ ที วี ตู ้ เ ย็ น เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น โต๊ ะ ท� ำ งาน WI-FI ที่ จ อดรถ สะดวก ปลอดภั ย ฟรี ก าแฟ

บริ ห ารงานโดยนายกธี ร พงศ์ เพ็ ช รพงศ์

ส� ำ รองห้ อ งพั ก ได้ ที่ โทร 08-8282-2462 / 08-3954-2933 5/5 ถนนพิ จิ ต ร-วั ง จิ ก ต� ำ บลเมื อ งเก่ า อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ จิ ต ร 66000

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 161

161

19/12/61 16:15:37


บ้านเคียงตะวัน รีสอร์ท “ บ้านพัก ขนาดกะทัดรัด สะดวกสบาย เต็มเปีย่ ม ไปด้วยมิตรภาพ การบริการ รับจัดงานเลีย้ ง งานสัมมนา งานมงคลต่างๆ ”

หากคุ ณ ก� ำ ลั ง มองหาที่ พั ก ในเขต อ� ำ เภอตะพานหิ น ให้ เ ราเป็ น ตั ว เลื อ กแรกของคุ ณ นะคะ... สิ่งอ�ำนวยความสะดวก

เฟอร์ นิ เ จอร์ แอร์ ที วี ตู ้ เ ย็ น เครื่ อ งท� ำ น�้ ำ อุ ่ น ฟรี W IFI กล้ อ งวงจรปิ ด ร้ า นอาหาร...กาแฟสดรสเข้ ม คอฟฟี ่ บี น ส์ บ ายแนน เปิ ด ให้ บ ริ ก าร 6.00-22.00 น.

ส�ำรองห้องพักได้ที ่ 111 หมู่ที่ 4 บ้านโพธิ์ลอย ต�ำบลห้วยเกตุ อ�ำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร 66110

โทร. 08-9703-5137

162

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

.indd 162

19/12/61 16:25:12


2.indd 999

3/8/2561 9:24:03


Buddhism

in Thailand

SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ

164

.indd 164

WWW.SBL.CO.TH SBL บันทึกประเทศไทย I มหาสารคาม

22/12/2561 8:48:33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.