SBL บันทึกประเทศไทย | ฉบับที่ 93 - จังหวัดแพร่

Page 1

นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดแพร่ ประจ�ำปี 2562

Magazine

EXCLUSIVE

พระราชเขมากร เจ้าคณะจังหวัดแพร่

พระอริยบุคคลผู้สร้าง คุณูปการแก่สาธุชนชาวแพร่

PHRAE

ต�ำนานแห่งเมืองรุ่งเรืองพระพุ ทธศาสนา “พระพุ ทธโกศัย ศิริชัยมหาศากยมุนี”

กราบนมัสการพระคู่บ้านคู่เมืองแพร่ ณ วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง

EXCLUSIVE

พระโกศั ยเจติยารักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ พระอริยบุคคลซึ่งบริหารและ พั ฒนาวัดด้วยหลักไตรสิกขา

SPECIAL INTERVIEW

นางสาวอนันยา เจียมศรีพงษ์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน พระพุ ทธศาสนาจังหวัดแพร่

Vol.9 Issue 93/2019

www.issuu.com

_

.indd 1

โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริ บ้านนาตอง จังหวัดแพร่

4/7/2562 10:50:56


วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง

Wat Phra That Cho Hae องค์พระธาตุช่อแฮ

ปูชนียสถานอันศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดแพร่ เป็นหนึ่งในพระธาตุประจ�ำ ปีเกิดสิบสองราศี

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

12

+4

.indd 2

29/6/2562 9:48:05


วั ด พระธาตุ ช่ อ แฮ อารามหลวง คนทั้ ง ปวง ศรั ท ธา มหาศาล สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ คู่ เ มื อ งแพร่ ตลอดกาล คนปี ข าล น้ อ มบู ช า พาสุ ข ใจ

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 3

3

29/6/2562 9:48:08


วัดพระธาตุจอมแจ้ง

ขอพรพระเจ้าทันใจศักดิ์สิทธิ์ พระครูสุจินต์รัตนาธิมุต (สมคิด ปริสุทโธ) เจ้าอาวาส วัดพระธาตุจอมแจ้ง ตัง้ อยูบ่ า้ นไคร้ ต�ำบลช่อแฮ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่

ความส�ำคัญของวัดพระธาตุจอมแจ้ง

วัดพระธาตุจอมแจ้ง มีเนือ้ ทีอ่ ยู่ 75 ไร่ เป็นวัดทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ทาง ธรรมชาติ บริเวณรอบวัดทั้ง 4 ทิศ ล้อมรอบด้วยป่าไม้ มีทั้งไม้ยืนต้นและยา สมุนไพรหลากหลายสายพันธุ์ เหมาะกับการปฏิบตั ธิ รรมควบคูก่ บั การศึกษา เรียนรู้ธรรมชาติ โดยท่านพระครูสุจินต์รัตนาธิมุต เจ้าอาวาส มีแนวคิดที่จะ พัฒนาวัดควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ ส่งเสริมให้ชาวบ้านได้เข้าวัด ศึกษาธรรมะควบคู่ไปกับการอนุรักษ์ป่าไม้ โดยสอนธรรมะผ่านธรรมชาติ ป่าไม้ ท�ำให้ชาวบ้านตระหนักและเห็นความส�ำคัญของป่าไม้ และช่วยกัน อนุรักษ์สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

4

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 4

15/6/2562 9:15:53


4. พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ลงรักปิดทองศิลปะสมัย สุโขทัย ปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 0.75 ม. สูง 1.50 ม. เป็นพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ เชื่อกันว่าหากใครประสงค์สิ่งใด แล้วไปขอพรกับพระเจ้าทันใจ แล้วจะส�ำเร็จ สมประสงค์ดังค�ำอธิษฐาน 5. บ่อน�ำ้ ทิพย์โบราณ เป็นบ่อน�ำ้ ทิพย์ทอี่ ยูค่ กู่ บั พระธาตุจอมแจ้ง ตัง้ แต่ สมัยโบราณกาล เป็นบ่อ 5 เหลีย่ ม แต่มคี วามแปลกทีบ่ อ่ น�ำ้ แห่งนีไ้ ม่เคยแห้งเลย ถึงแม้ว่าจะเป็นฤดูแล้ง และตั้งอยู่บนเนินเขาสูง ก็ยังมีน�้ำอยู่ตลอดเวลา ซึ่ง เชื่อกันว่าใครได้น�ำน�้ำจากบ่อน�้ำนี้ไปอาบ หรือดื่มแล้วก็จะหายจากโรคภัย ไข้เจ็บ และท�ำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง 6. รูปปั้นนรก สวรรค์จ�ำลอง สร้างขึ้นเพื่อเตือนสติให้เราท�ำความดี ละเว้นความชั่ว 7. พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น เดิมสร้างขึ้นโดย พระครูอุดมขันติคุณ อดีตเจ้าอาวาส จัดเก็บรักษาของโบราณที่มีค่าและหาดูได้ยาก เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนคนรุ่นหลังได้เยี่ยมชม ศึกษาค้นคว้า และตระหนักถึง ความส�ำคัญ ปัจจุบนั ท่านพระครูสจุ นิ ต์รตั นาธิมตุ เจ้าอาวาสได้สร้างอาคาร พิพธิ ภัณฑ์หลังใหม่ เป็นทรงไทยล้านนา 2 ชัน้ เป็นอาคารทีม่ คี วามสวยงาม 8. เจดีย์นางแก๋ว-นางแมน สนมของพญาลิไทย สร้างขึ้นครอบปากถ�้ำ เป็นเจดียท์ มี่ คี วามสวยงาม ก่อสร้างด้วยอิฐถือปูน รูปทรงสุโขทัยร่วมกับเวียง โกศัย สร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 19-20 ในสมัยของพญาลิไท ตามความ เชื่อที่ว่า หากใครได้ตกลงไป หรือเดินเข้าไปในถ�้ำแล้ว จะมีทางออกไปโผล่ ที่แม่น�้ำยม

กิจกรรมส�ำหรับนักท่องเที่ยว

นมัสการพระธาตุจอมแจ้ง และหลวงพ่อจอมแจ้ง ปฏิบตั ธิ รรมช่วงเข้าพรรษา

เทศกาล-งานประจ�ำปี ในขณะเดียวกัน ท่านพระครูสจุ นิ ต์รตั นาธิมตุ เจ้าอาวาส ยังได้เล็งเห็น ถึงความส�ำคัญของสิง่ ก่อสร้างทีเ่ ป็นปูชนียวัตถุ และปูชนียสถานทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ได้เสือ่ มสภาพทรุดโทรมไปตามกาลเวลา จึงได้ทำ� การบรูณะก่อสร้างขึน้ ใหม่ ให้มคี วามคงทนถาวร เช่น กุฏิ ก�ำแพง ศาลา อุโบสถ และอาคารพิพธิ ภัณฑ์ ฯลฯ

งานนมัสการพระธาตุจอมแจ้ง ในวันขึ้น 11 ค�่ำ - 15 ค�ำ่ เดือน 5 เหนือ (เดือน 3 ใต้) ของทุกปี

ถาวรวัตถุและปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ

1. พระธาตุจอมแจ้ง สร้างใน พ.ศ. 1331 เป็นพระธาตุกอ่ ด้วยอิฐหุม้ ด้วย ทองจังโก้ ทาสีทอง ความสูง 29 ม. ฐานกว้าง 10 ม. องค์พระธาตุตั้งอยู่บน เนินเขาเตีย้ ในปี พ.ศ. 1900 พญาลิไท กษัตริยก์ รุงสุโขทัย ได้มาบูรณะปฏิสงั ขรณ์ องค์พระธาตุ อุโบสถ ก�ำแพง และบันไดนาค องค์พระธาตุจอมแจ้งเป็นสถานที่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทางวัดไม่อนุญาตให้ผหู้ ญิงเข้าไปในเขตก�ำแพง ฐานขององค์พระธาตุ เข้าได้เฉพาะผู้ชายเท่านั้น 2. พระพุทธรูปยืน ปางนาคปรก มีขนาดความสูง 29 ม. เท่ากับองค์เจดีย์ 3. พระปางไสยาสน์ เป็นพระพุทธรูปนอนองค์ใหญ่ทสี่ ดุ ใน จ.แพร่ อยูใ่ น สวนลานปฏิบัติธรรม อยู่บริเวณซ้ายมือทางเข้าประตูวัด 3. หลวงพ่อจอมแจ้ง ประดิษฐานในวิหาร มีอายุมากกว่า 600 ปี เป็น พระพุทธรูปปูนปัน้ ศิลปะเชียงแสนและแบบสุโขทัยผสมผสาน ลงรักปิดทอง ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 3.50 ม. สูง 4.30 ม. ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชี มีลายปูนปั้นบัวคว�่ำหงาย ประดับด้วยกระจก PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 5

5

15/6/2562 9:15:58


ห้องพักสไตล์วินเทจผสานความเป็นธรรมชาติอย่างลงตัว

PHOOMTHAI GARDEN HOTEL ที่พักหรู ใจกลางเมืองแพร่ สร้างแบบล้านนาบรรยากาศเหมือน รีสอร์ท เป็นที่พักที่ดีส�ำหรับคุณและครอบครัว ห้องพักทุกห้องตกแต่ง อย่างหรูหราทันสมัยน่าอยู่ มีระเบียงนั่งเล่นส่วนตัว พรั่งพร้อมด้วยสิ่ง อ�ำนวย ความสะดวกครบครัน ทัง้ เครือ่ งปรับอากาศตูเ้ ย็น ทีวพ ี ร้อมช่อง สัญญาณจากดาวเทียมโทรศัพท์สายตรง และสัญญาณอินเตอร์เน็ตที่ ต่อให้ ใช้ฟรีถึงทุกห้อง PHOOM THAI GARDEN HOTEL ให้บริการห้องพักที่ตกแต่งแบบ ไทย ๆ ภายในห้องพักมีเคเบิลทีวี มินิบาร์ และเครื่องปรับอากาศ ผู้เข้าพัก สามารถเพลิดเพลินกับการจิบเครื่องดื่มที่ระเบียงส่วนตัวของห้องพัก ได้ตามต้องการ ห้ อ งอาหารของโรงแรมให้ บ ริ ก ารอาหารประจ� ำ ภาคและอาหาร นานาชาติ โดยน�ำเอาวัตถุดิบในท้องถิ่นมาใช้ ในการปรุงอาหาร นอกจากนี้ PHOOM THAI ยังมีห้องนวดซึ่งให้บริการนวดแผนไทยเพื่อ การผ่อนคลายส�ำหรับผู้เข้าพักอีกด้วย

6

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

2.indd 6

โรงแรมภูมิ ไทยการ์เด้นท์ (PHOOMTHAI GARDEN HOTEL) 31 ถนนศศิบุตร ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ 54000 ติดต่อส�ำรองห้องพักโทร. 05-4627-359 โรงแรมภูมิ ไทยการ์เด้น จังหวัดแพร่ PHOOMTHAI GARDEN HOTEL PHRAE HOTELPHOOMTHAI@YAHOO.COM WWW.PHOOMTHAIGARDEN.COM 4/7/2562 11:44:54


WELCOME TO PHOOMTHAI GARDEN HOTEL

PHOOMTHAI GARDEN HOTEL, AN EXQUISITE BOUTIQUE RESORT, IS A TRANQUIL OASIS RIGHT IN THE HEART OF PHRAE CITY WITH EASY ACCESS TO LOCAL MARKET AND SIGHTSEEING. THROUGHOUT THE FORTY-SIX ROOMS YOU WILL FIND THOUGHTFUL USE OF TEAK AND A LANNA YET PRACTICAL STYLE. THE DESIGN IS MATCHED BY RELAXED YET PROFESSIONAL SERVICE, PROVIDING A WELCOMING RETREAT FOR YOUR STAY. FROM YOUR ROOM OVER-LOOKING THE GARDEN YOU WILL BE ENSURED RELAX AT YOUR PRIVATE BALCONY OR ENJOY REFRESHMENTS SERVED IN THE GARDEN TERRACE BAR. WHENEVER YOU WOULD LIKE TO ESCAPE TO YOUR OWN LITTLE PLACE, TO A BEAUTIFUL LITTLE HIDEAWAY WHERE YOU CAN RELAX & BE YOURSELF AND TO A QUIET RETREAT WHERE ALL YOUR SENSES CAN BE PAMPERED – COME TO STAY WITH US.

NAN I SBL บันทึกประเทศไทย

2.indd 7

7

1/7/2562 17:21:08


EDITOR’S TALK

TALK

EDITOR’S

เมืองแพร่หรือ “เวียงโกศัย” หัวเมืองส�ำคัญของล้านนา มี ป ระวั ติ ศ าสตร์ ย าวนาน เปี ่ ย มไปด้ ว ยเอกลั ก ษณ์ ข อง วัฒนธรรมประเพณีอนั งดงามตึกรามบ้านช่อง วัดวาอาราม โดดเด่นเป็นสง่างานสถาปัตยกรรมอันวิจติ รบรรจง สวยงาม โดดเด่ น แพร่ เ ป็ น เมื อ งที่ มี เ สน่ ห ์ ดึ ง ดู ด ชั ก ชวนให้ ผู้ ค น ไปสัมผัสไปเยือนสักครั้ง “แพร่ เมืองต้องห้ามพลาด”

อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์

บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 8

. - 01/07/2562 09:16:38 AM


PHRAE ฉบับที่ 93 จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2562

วัดพระธาตุซ่อแฮ @เมืองแพร่

SBL

ของพระพุทธศาสนาต่อวิถีชีวิตและสังคมของชาวเมืองแพร่นับตั้งแต่อดีต จวบจนปั จ จุ บั น จนได้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของค� ำ ขวั ญ ประจ� ำ จั ง หวั ด แพร่ ว ่ า “คนแพร่นี้ใจงาม”

ชีวประวัติโดยย่อของพระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต ป.ธ.9 ,ผศ.ดร.) เจ้าคณะจังหวัดแพร่ ผู้ถึงพร้อมด้วยความเป็นพระอริยบุคคล และได้สร้าง คุณูปการอเนกอนันต์ทั้งแก่สถาบันสงฆ์ สถาบันสังคม สถาบันการศึกษา และประเทศชาติ และชี ว ประวั ติ ข องพระโกศั ย เจติ ย ารั ก ษ์ รองเจ้ า คณะ จั ง หวั ด แพร่ และเจ้า อาวาสวัด พระธาตุช ่อ แฮ ผู้เ ป็น ก�ำลังส�ำคัญในการ ยกระดั บ วั ด พระธาตุช ่อ แฮ จากวัด ราษฎร์เ ป็นพระอารามหลวง พร้อม บทสั ม ภาษณ์ พิ เ ศษ “นางสาวอนั น ยา เจี ย มศรี พ งษ์ ” ผู ้ อ� ำ นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ ที่จะมาบอกเล่าถึงความส�ำคัญ

พร้อมพบกับวัดชื่อดังของเมืองแพร่ที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงศาสนา ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่ผสมผสานกลมกลืนกันอย่างมี มนต์ขลัง อาทิ วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง ซึ่งเป็นที่ ประดิษฐาน “พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี” พระคู่บ้านคู่เมืองแพร่, วั ด พระธาตุ ช ่ อ แฮ พระอารามหลวง วั ด ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย ว เชิ ง ศาสนาและศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ มี ชื่ อ เสี ย ง, “เมื อ งคั ม ภี ร ์ ธั ม ม์ โ บราณ” วั ด สู ง เม่ น แหล่ ง อนุ รั ก ษ์ คั ม ภี ร ์ พุ ท ธศาสนาในล้ า นนาที่ ส มบู ร ณ์ แ ละ มี จ� ำ นวนมากที่ สุ ด ในแผ่ น ดิ น ล้ า นนา, รู ้ จั ก “ประเพณี ไ หว้ ส านมั ส การ วัดพระธาตุแหลมลี่ - ล่องเรือวัดใต้เดือนหกเป็ง” ประเพณีเก่าแก่และที่มี เพียงหนึ่งเดียวในอ�ำเภอลอง, “โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริ บ้านนาตอง” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยืน และปัจจุบัน ได้รับเลือกเป็นหมู่บ้าน OTOP นวัตวิถีที่สวยงามในหุบเขา และก�ำลังได้รับ ความนิยมในหมู่นักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ ฯลฯ

บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษนี้ “วัดทั่วไทย” พบกับจังหวัดแพร่ จังหวัดแพร่ในอดีต มักจะถูกมองว่าเป็นเพียงเส้นทางขึ้นล่องระหว่าง จังหวัดทางภาคเหนือด้านตะวันออกสู่ภูมิภาคอื่นๆ แต่ปัจจุบันเป็น 1 ใน 55 เมื อ งรอง ที่ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ ค นเข้ า มาเยื อ นกั น มากขึ้ น ซึ่ ง จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลของเราก็พบว่า จังหวัดแพร่มีความน่าสนใจ ในหลากหลายมิติ เกินกว่าจะเป็นแค่เมืองรองของการท่องเที่ยว จึงอัดแน่น ด้วยเรื่องราวมากมาย อาทิ

Editor's talk .

.indd 9

. - 01/07/2562 09:16:41 AM


TALK

EDITOR’S

จังหวัดแพร่ เป็นจังหวัดที่เราได้ยินกันบ่อยๆ แต่ถ้าหาก ถามว่ามีใครเคยไป อาจจะมีไม่กี่คนหรอกที่ยกมือ เพราะ ที่ นี่ เ ป็ น จั ง หวั ด เล็ ก ๆ หรื อ ที่ เ ราเรี ย กกั น ว่ า เมื อ งแพร่ แอบซ่อนอยู่ เป็นส่วนหนึง่ ของภาคเหนือ ใครจะรูว้ า่ เมืองแพร่ เล็กๆ แห่งนีแ้ หละ ทีม่ รี อ่ งรอยของประวัตศิ าสตร์อนั มากมาย ที่รอให้ทุกคนได้มาสัมผัสกัน

ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ

บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 10

. - 04/07/2562 11:13:28 AM


PHRAE ฉบับที่ 93 จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2562

คณะผู้บริหาร

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล

บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร

กองบรรณาธิการ

นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย

ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน

ผู้จัดการ

ทวัชร์ ศรีธามาศ

คณะทีมงาน

ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต อมร อนันต์รัตนสุข

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก

คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ @เมืองแพร่

ฝ่ายประสานงานข้อมูล

ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค

นักเขียน

คุณิตา สุวรรณโรจน์

ฝ่ายศิลปกรรม

ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี

กราฟิกดีไซน์

พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย

ช่างภาพ

ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์

ตัดต่อวีดีโอ

วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน

บัญชี

ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต Website

Facebook

การเงิน

บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด

ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา

9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย

Editor's talk .

.indd 11

EMAIL : sbl2553@gmail.com

www.sbl.co.th

. - 04/07/2562 11:13:30 AM


ฉบับที่ 93 จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2562

PHRAE 2019

CONTENTS

จังหวัดแพร่

ความศรัทธา ความงดงาม ธรรมชาติที่อยู่เหนือกาลเวลา จังหวัดแพร่มักจะเป็นเพียงจังหวัดทางผ่านของผู้ที่จะเดินทางไป-มายังจังหวัดทางภาคเหนือ ด้านตะวันออก แต่ทุกวันนี้ ถ้าคุณลองมาสัมผัสมรดกทางการท่องเที่ยวอันล�ำ้ ค่าของชาวแพร่สักครั้ง ไม่ว่าจะเป็นมรดกทางพระพุทธศาสนา มรดกทางประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรม-ภูมิปัญญา และมรดกทางธรรมชาติ รับรองว่าคุณจะติดใจจนต้องกลับมาเยือนอีกแน่นอน

04

วัดพระธาตุจอมแจ้ง

ขอพรพระเจ้าทันใจศักดิ์สิทธิ์

26

ใต้ร่มพระบารมี “โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริ บ้านนาตอง จังหวัดแพร่” หมู่บ้านนาตอง หมู่ที่ 9 ต�ำบลช่อแฮ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นหนึ่งในหมู่บ้าน OTOP ท่องเที่ยวนวัตวิถี ที่ก�ำลังได้รับความนิยมในหมู่นักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ ที่ใฝ่ฝันจะสัมผัสวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ที่เรียบง่ายแบบชนบท ท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า ขุนเขา และสายน�้ำ ที่รังสรรค์บรรยากาศชวนฝันของผู้มาเยือนให้เป็นจริง

30

EXCLUSIVE

บันทึกเส้นทางพบเจ้าคณะจังหวัดแพร่ พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต ป.ธ.9, ผศ.ดร.)

32

EXCLUSIVE

บันทึกเส้นทางพบรองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ พระโกศัยเจติยารักษ์

34

SPECIAL INTERVIEW

บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่

นางสาวอนันยา เจียมศรีพงษ์

EBook PhRae

.indd 12

40

ท�ำเนียบคณะสงฆ์

. - 01/07/2562 09:21:09 AM


108 80 92

อุทยานแห่งชาติเวียงโกศั ย

114 120

ถ�้ำนางคอย

42

98

120

142

46

102

126

148

72

104

128

150

78

106

130

152

80

108

132

154

92

114

138

156

บันทึกเส้นทางความเป็นมา บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา วัดพระธาตุช่อแฮ วัดพงษ์สุนันท์

.indd 13

วัดนาคูหา วัดพระนอน วัดพระร่วง วัดร่องซ้อ วัดสะแล่ง วัดศรีดอนค�ำ

วัดพระธาตุแหลมลี่ วัดบ่อแก้ว วัดโพธิบุปผาราม วัดพระธาตุดอยน้อย วัดสูงเม่น วัดป่าเวียงทอง

วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี วัดเด่นชัย วัดพงป่าหวาย วัดศรีคิรินทราราม วัดสัมฤทธิ์บุญ วัดบางสนุก

. - 01/07/2562 09:21:22 AM


ฉบับที่ 93 จังหวัดแพร่ พ.ศ. 2562

PHRAE 2019

CONTENTS

158

168

160

171

162

172

163

174

164

178

วัดพระธาตุขวยปู

วัดศรีมูลเรือง

วัดวังเบอะ

วัดพระพุทธวิชิตมาร

วัดพระธาตุพระกัปป์

วัดหนองม่วงไข่

ธุดงคสถานพรรัตนะแพร่ วัดคุ้มครองธรรม

วัดต�ำหนักธรรม รายชื่อวัดจังหวัดแพร่

166

วัดพระธาตุหนองจันทร์

วนอุทยานแพะเมืองผี

รีสอร์ท ที่พัก จังหวัดแพร่ โรงแรมภูมิ ไทย โรงแรมเรือนบัวตอง โรงแรมอนันตยาโฮม เด่นชัย ซิตี้ รีสอร์ท เฮือนนานา เฮือนอัมพร วังทอง รีสอร์ท

EBook PhRae

.indd 14

เฮือนสักทอง รีสอร์ท

โรงแรมเฮือนสักทอง รีสอร์ท

. - 01/07/2562 09:21:31 AM


ทองเที่ยว

จังหวัดแพร ว ย ่ ี เท ง อ  ท ่ ี ท น า ถ ส

ร

ที่นาสนใจในจังหวัดแพ

1. อุทยานแหงชาติเวียงโกศัย 2. บานนาทุม-นามน 3. ถํ้าเอราวัณ 4. อางเก็บนํ้าแมมาน 5. ภูหินปะการัง 6. อุทยานแหงชาติผากลอง 7. วัดพระธาตุซอแฮ 8. แพะเมืองผี 9. อางเก็บนํ้าถาง 10. ถํ้าผานางคอย 11. อางเก็บนํ้าแมสอง 12. อุทยานแหงชาติแมยม

12

อําเภอสอง 11

10

อําเภอรองกวาง อําเภอหนองมวงไข

9

8

อําเภอลอง

5

6

อําเภอเมืองแพร

2

7

3

อําเภอสูงเมน 4

1

อําเภอเดนชัย อําเภอวังชิ้น

.indd 15

. - 01/07/2562 09:21:31 AM


เรือนบัวตอง รีสอร์ท

เรือนบัวตอง รีสอร์ท “...บ้านหลังที่สองของคุณที่สูงเม่น”

บริการห้องพัก สะอาด สะดวก สบาย บรรยากาศดี ร่มรืน่ เงียบ สงบ เหมาะกับการพักผ่อน แบบครอบครัวหรือเป็นส่วนตัว พร้อม เครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบครันภายในห้อง

16

SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน

.indd 16

เรื อ นบั ว ตอง รี ส อร์ ท (RUEAN BUA TONG RESORT)

163 หมู ่ 3 ต� ำ บลดอนมู ล อ� ำ เภอสู ง เม่ น จั ง หวั ด แพร่ 54130ติ ด ต่ อ ส� ำ รองห้ อ งพั ก โทร. 08-9561-6674

15/6/2562 9:07:07


ใกล้ร้านสะดวกซื้อ,โรงพยาบาล และสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญ อาทิ

• วัดพระหลวง

กับต�ำนานงูใหญ่ที่กลายเป็นทองค�ำ

• วัดสูงเม่น

แหล่งรวบรวมคัมภีร์โบราณมากที่สุดในโลกถึง 20,000 ผูก

• พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน (บ้านฝ้าย)

สัมผัสกลิน่ อายความเป็นอยูข่ องชาวเมืองแพร่ เมือ่ ราว 100 กว่าปีมาแล้ว

• ตลาดหัวดง

แหล่งรวมผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากไม้และหวายคุณภาพดี ราคาถูกใจ

• อ่างเก็บน�ำ้ แม่มาน

สนุกกับกิจกรรมนัง่ ล้อวัวเทียมเกวียนชมรอบบริเวณศูนย์วจิ ยั พืชสวนแพร่

“เรือนบัวตอง รีสอร์ท ยินดีต้อนรับทุกท่านด้วยความอบอุ่น เป็นกันเอง ในราคามิ ตรภาพ” NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 17

.indd 17

15/6/2562 9:07:14


ANANTAYA HOME “อนั น ตยาโฮม” ...ที่ พั ก ที่ จ ะเปลี่ ย นเมื อ งทางผ่ า นอย่ า งแพร่ ให้ ก ลายเป็ น จุ ด หมายที่ นั ก ท่ อ งเที่ ย วต้ อ งมาเยื อ น

18

2

SBL บันทึกประเทศไทย I พิจิตร

2.indd 18

15/6/2562 9:06:08


@ANANTAYA HOME

อนันตยาโฮม ( ANANTAYA HOME ) ให้บริการทีพ ่ กั ระดับพรีเมีย่ ม ที่ได้รบั การออกแบบตกแต่งอย่างเก๋ ไก๋ ในสไสตล์ลา้ นนาโมเดิรน์ ท่ามกลางบรรยากาศสวนทีส่ งบ ร่มรืน่ เขียวขจี เหมาะส�ำหรับการพักผ่อนอย่างแท้จริง ....อนั น ตยาโฮม ยั ง ใส่ ใ จกั บ เมนู อ าหารทุ ก จาน ด้ ว ยการใช้ ผลผลิ ต ออแกนิ ค จากแปลงเกษตรอิ น ทรี ย ์ ที่ เ ราปลู ก เองด้ ว ยความ รั ก ความใส่ ใ จ คุ ณ จึ ง มั่ น ใจได้ ใ นความสด สะอาด ปลอดภั ย ต่ อ สุ ข ภาพ และรั บ ประกั น ความอร่ อ ยจากลู ก ค้ า ที่ เ ข้ า พั ก นอกจากนี้ อนันตยาโฮม ยังอยูใ่ กล้แหล่งท่องเทีย่ วชือ่ ดัง ในตัวเมืองแพร่ อาทิ วัดพระธาตุช่อแฮ คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ คุ้มวงศ์บุรี (บ้านสีชมพู) วัดหลวง วัดพระบาทมิง่ เมือง ฯลฯ เพราะเราอยูใ่ กล้เมืองแพร่ แค่ 5 นาทีเท่านัน้

ให้รางวัลกับการเดินทางและการท�ำงานอันเหนื่อยล้า ด้วยการพักอย่างผ่อนคลายที่ “อนันตยาโฮม ออแกนิค ฟาร์ม แอนด์ รีสอร์ท” นะคะ... อนั น ตยาโฮม ( ANANTAYA HOME )

19

SBL บันทึกประเทศไทย I

หมู ่ 4 ต.ร่ อ งกาศ อ� ำ เภอสู ง เม่ น จั ง หวั ด แพร่ 54130 ( ปากทางเข้ า วิ ท ยาลั ย สารพั ด ช่ า ง ) พิจิต8/15 ร ติ ด ต่ อ ส� ำ รองห้ อ งพั ก โทร. 054-060-173, 088-629-6154

0640833785 2

2.indd 19

ANANTAYA HOME ORGANIC FARM AND RESORT

DECHABALLBALL@HOTMAIL.COM 15/6/2562 9:06:17


“เด่นชัยซิตี้ รีสอร์ท” ตอบโจทย์ทกุ ความต้องการของนักเดินทางยุคใหม่ เพราะเราเป็นทีพ ่ กั ราคาประหยัด แต่เพียบพร้อม ด้วยความสะดวกสบาย ทีส่ ำ� คัญคือตัง้ อยูใ่ นย่าน ตัวเมืองเด่นชัย และใกล้แหล่งท่องเทีย่ วชือ่ ดังของ จังหวัดแพร่ อาทิ วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี สามัคคีธรรม ทีอ่ ยูห่ า่ งไม่เกิน 2 ก.ม. วัดพระธาตุ จอมแจ้ ง ที่ อ ยู ่ ห ่ า งไม่ เ กิ น 19.37 ก.ม. และ วัดพระธาตุชอ่ แฮ ทีอ่ ยูใ่ นระยะ 20.96 ก.ม. เท่านัน้

DENCHAI CITY Resort

เด่นชัยซิตี้ รีสอร์ท …ประหยัด สบาย ใกล้ท่ีเที่ยว 20

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 20

4/7/2562 11:41:25


พบกับบริการอันแสนประทับใจ

ด้วยแผนกต้อนรับตลอด 24 ชั่วโมง ยินดีให้บริการต่าง ๆ ไม่ว่าเช็คอิน เช็คเอาท์ หรือความช่วยเหลืออืน่ ๆ ตามทีค่ ณ ุ ต้องการ เพียงแจ้งความประสงค์ ของคุณ เราพร้อมอ�ำนวยความสะดวกเสมอ

อิ่มอร่อยกับอาหารจานโปรดนานาชนิด

พร้ อ มเติ ม ความสดชื่น กระปรี้ก ระเปร่า ด้วยกาแฟสดและเครื่ อ งดื่ ม หลากหลาย ได้แล้ววันนี้ที่ “เด่นชัยซิตี้ ค๊อฟฟี่” ที่ที่คุณจะฟินกับ บรรยากาศสุดชิลล์ ด้วยกาแฟราคาหลักสิบ รสชาติหลักร้อย วิวหลักล้าน

เด่นชัยซิตี้ รีสอร์ท

เด่นชัยซิตี้รีสอร์ท (DENCHAI CITY RESORT) : 322 หมู่ 5 ต. เด่นชัย อ. เด่นชัย จ. แพร่ 54110 : 062 424 2939 : เด่นชัยซิตี้รีสอร์ท Denchai City Resort. CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 21

21

15/6/2562 9:01:23


เฮื อ นนานาบู ติ ค

HUERN NA NA BOUTIQUE

...พักสบายใจกลางเมืองแพร่ สัมผัสความสบายแบบเหนือระดับ ในวันพิเศษของคุณได้ที่ “ เฮือนนานาบูติค ”

เฮือนนานาบูติค

(HUERN NA NA BOUTIQUE)

โรงแรมระดับสีด่ าวแห่งแรกและแห่งเดียวในแพร่ ทีม่ เี อกลักษณ์อนั โดด เด่นด้วยสถาปัตยกรรมแบบ Modern Contemporary ผสมผสาน กลิ่นอายของล้านนา อาคารห้องพักหรูหราตัง้ อยูท่ า่ มกลางบรรยากาศ อันรื่นรมย์ เฮือนนานาบูตคิ ให้บริการห้องพักมาตรฐาน จ�ำนวน 28 ห้อง พร้อม ห้องอาหาร สระว่ายน�้ำ ห้องประชุมสัมมนา-จัดเลี้ยง ที่รองรับได้ตั้งแต่ 10-100 ท่าน พร้อมห้องคาราโอเกะ และบริการนวดสปาเพือ่ ผ่อนคลาย และตัง้ อยูห่ า่ งจากสนามบินเพียง 20 นาที ห่างจากสถานีรถโดยสารเพียง 15 นาที และห่างจากใจกลางเมืองเพียง 5 นาที เท่านั้น

เฮือนนานาบูติค ให้บริการห้องพัก 3 รูปแบบ ได้แก่ • Na Na Deluxe

ห้องพักที่มีพื้นที่ใช้สอย 36 ตารางเมตร บริการเตียงเดี่ยว และเตียงคู่ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ ทีวีจอ LCD ขนาด 42 นิ้ว, อินเตอร์เน็ต Wifi, เครื่องท�ำกาแฟสด, มินิบาร์, ไดร์เป่าผม , เสื้อคลุม, รองเท้าแตะ และตู้นิรภัยขนาดเล็ก •

Empire Suite

ห้องพักที่กว้างขวางโอ่อ่า ด้วยพื้นที่ใช้สอยรวมกว่า 72 ตารางเมตร แบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของห้องพัก และส่วนของห้องนั่งเล่นที่ผนวกเข้า กับส่วนของ pantry เพื่อความสะดวกสบาย และให้ความรู้สึกเหมือนได้อยู่คอนโดหรู •

Victoria Suite

ที่สุดของความหรูหรา ด้วยพื้นที่ใช้สอยขนาด 65 ตารางเมตร อ�ำนวยความสะดวกสบายในส่วนของห้องนอน และห้องนั่งเล่น พร้อมกับห้องน�ำ้ ที่มีอ่างอาบน�ำ้ ให้คุณได้เอนกาย ที่จะท�ำให้คุณรู้สึกผ่อนคลายได้อย่างไร้คำ� บรรยาย

22

เฮือนนานาบูติค (HUERNNANA BOUTIQUE) 7/9 ถนนศศิบุตร ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ 05-4524-800 www.huernnana.in.th Huern​na​na​boutique Hotel​Phrae​ SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

�����������������.indd 22

เฮื อ นนานาบู ติ ค โฮเต็ ล , แพร่

15/6/2562 9:02:36


เฮื อ นอั ม พร รี ส อร์ ท ...ดี ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ วั น พิ เ ศษของครอบครั ว

haunaumpron resort

เฮื อ นอั ม พร รี ส อร์ ท

เฮื อ นอั ม พร รี ส อร์ ท

• บรรยากาศเงียบสงบ ใกล้ชดิ กับธรรมชาติ จึงเหมาะกับการพักผ่อนอย่างแท้จริง • ตัง้ อยูใ่ นท�ำเลทีเ่ ดินทางสะดวก เพราะอยูห่ า่ งจากใจกลางเมืองสูงเม่นเพียง 3 ก.ม. คุณจึงเดินทางไปยังสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วยอดนิยมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวกและง่ายดาย • เพียบพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน อาทิ ฟรี WIFI อาหาร เครื่องดื่ม และของว่าง

...เราคือที่พักที่ดีที่สุด ส�ำหรับวันหยุดสุดพิเศษของทุกคนในครอบครัว ด้วยบริการห้องพักที่กว้างขวาง สะอาด สะดวกสบาย เป็นส่วนตัว

มาสูงเม่นครัง้ ใด ให้ “ เฮือนอัมพรรีสอร์ท ” รับใช้คณ ุ และครอบครัวนะคะ

เฮือนอัมพร รีสอร์ท (Huan Aumpron Resort) 205/7 หมู่ที่ 10 ต�ำบลร่องกาศ อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ 54130

.indd 23

05-4660-299, 08-3605-1877

PHICHIT I SBL บันทึกประเทศไทย

23

HAUNAUMPRONRESORT

15/6/2562 9:08:45


วั ง ทองรี ส อร์ ท ..

วังทองรีสอร์ท ตั้งอยู่ที่ต�ำบลวังชิ้น อ�ำเภอวังชิ้น อ�ำเภอเล็ก ๆ ในจังหวัดแพร่ ที่ยังคง

ความเป็นธรรมชาติ และวิถีชีวิตชาวบ้านในชนบท ที่คุณจะประทับใจ บริการห้องพักรายวัน / รายเดือน สไตล์รีสอร์ท บรรยากาศดี เพราะเราตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่น�้ำยม คุณจะได้สัมผัสกับบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ สงบเงียบ สวยงามและโรแมนติก สะดวกสบายต่อการเดินทาง เพราะเราอยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอวังชิ้นไม่ถึง 2 กม. และห่างจากแหล่งท่องเทีย่ วชือ่ ดัง อาทิ บ่อน�ำ้ พุรอ้ นแม่จอก และน�ำ้ ตกแม่เกิง๋ ( อุทยาน แห่งชาติเวียงโกศัย) ไม่ถึง 20 กม. ครบวงจรเบ็ดเสร็จในทีเ่ ดีย่ ว เพือ่ ให้คณ ุ ได้รบั ความสุขและความเพลิดเพลินอย่างเต็มที่ เรามีร้านอาหาร คาราโอเกะ ร้านกาแฟไว้คอยบริการ และยังรับจัดเลี้ยงในโอกาสพิเศษสุด ของคุณอีกด้วย

วังทองรีสอร์ท อ.วังชิ้น พร้อมส่งมอบความสุขที่คุณจะประทับใจไม่รู้ลืม วังทองรีสอร์ท (WANGTHONG RESORT) 291 หมู่ 2 ต�ำบลวังชิ้น อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ (ตั้งอยู่หัวสะพานข้ามแม่น�้ำยม) 24 SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทราวังทองรีสอร์ท 4 สาขาปาย 377 ม.8 ต.เวียงใต้ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน 58130 081-885-8030, 084-485-0976 วังทองรีสอร์ท อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ������ 1 ����.indd 24

วังทองรีสอร์ท

15/6/2562 9:09:55


HUEN SAKTHONG RESORT

เฮือนสักทอง รีสอร์ท

เฮือนสักทอง รีสอร์ท... อบอุ่นเหมือนอยู่บา้ น สงบสบายสไตล์ล้านนา

เฮือนสักทอง รีสอร์ท (Huen Sakthong Resort) ให้บริการบ้านพักแบบเป็นหลัง สไตล์ลา้ นนา ให้ความรูส้ กึ อบอุน่ และเป็น ส่วนตัว ท่ามกลางแมกไม้ พร้อมบริการกาแฟสดและเครื่องดื่มเย็น ๆ ชื่นใจ เฮือนสักทอง รีสอร์ท คือค�ำตอบของผูท้ กี่ ำ� ลังมองหาทีพ ่ กั ในจังหวัดแพร่ เมืองที่สงบ มีวิถีชีวิตเรียบง่าย และมีวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านที่เก่าแก่ มายาวนาน รวมถึงธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์งดงาม ด้วยสายน�้ำและ ผืนป่าบริสุทธิ์ ที่รอการมาเยือนของท่าน

เฮือนสักทองรีสอร์ท (Huen Sakthong Resort) 279 ม.4 ต.ต�ำหนักธรรม อ.หนองม่วงไข่ จ.แพร่ 54170 092-619-7856

.indd 25

เฮือนสั กทองรีสอร์ท จ.แพร่ CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 25

15/6/2562 9:11:37


UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี

His Majesty project forbetter life of countrypeople

BAN NA TONG

บ้านนาตอง จ.แพร่...จากโครงการพระราชด�ำริ สู่ชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี

26

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 26

2/7/2562 13:50:23


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 27

27

2/7/2562 13:50:24


บ้านนาตอง จ.แพร่

จากโครงการพระราชด�ำริ

สู่ชุมชนท่องเที่ยวนวัตวิถี

หมู่บ้านนาตอง หมู่ที่ 9 ต�ำบลช่อแฮ อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด แพร่ เป็ น หนึ่ ง ใน หมู่บ้าน OTOP ท่องเที่ยวนวัตวิถี ที่ก�ำลัง ได้รับความนิยมในหมู่นักท่องเที่ยวรุ่นใหม่ ที่ ใ ฝ่ ฝ ั น จะสั ม ผั ส วิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ เรียบง่ายแบบชนบท ท่ามกลางความอุดม สมบูรณ์ของผืนป่า ขุนเขา และสายน�้ำ ที่ รังสรรค์บรรยากาศชวนฝันของผู้มาเยือน ให้เป็นจริง 28

ทว่า...ในอดีตผืนป่าที่ดูเขียวชอุ่มชุ่มชื่นแห่งนี้ เคยถูกบุกรุกเพื่อปลูกฝิ่น และท�ำไร่เลื่อนลอย กระทั่งมี “ โครงการพัฒนาป่าไม้ตามแนวพระราชด�ำริ บ้านนาตอง จังหวัดแพร่ ” ซึ่งอยู่ในความดูแลของ ส่วนประสานโครงการ พระราชด�ำริและกิจการพิเศษ ส�ำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 13 (แพร่) ซึ่ง ปัจจุบันมีนายสิงหา สมใจ เจ้าพนักงานป่าไม้ช�ำนาญงาน เป็นหัวหน้า โครงการ พื้นที่แห่งนี้จึงได้รับการพัฒนาให้กลายเป็นพื้นที่ทำ� กินของคนใน หมูบ่ า้ น ทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์และพัฒนาป่าไม้เพือ่ สิง่ แวดล้อม โดย อยู่บนพื้นฐานแนวคิดการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับป่า มีการใช้และพัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านป่าไม้ให้เกิดประโยชน์ต่อการด�ำรงชีวิตของชุมชนได้ อย่างยั่งยืน จากโครงการพระราชด�ำริ สู่ชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ส�ำหรับโครงการชุมชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวิถี ซึง่ ถูกขับเคลือ่ นพัฒนา ประเทศตามโครงการ “ไทยนิยม ยัง่ ยืน” จากการทีร่ ฐั บาลปัจจุบนั มีนโยบาย ลดความเหลือ่ มล�ำ้ ของสังคม ทีม่ งุ่ สร้างรายได้และความเจริญ ความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจ จึงมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็น ผู้รับผิดชอบ หลักส่งเสริมด�ำเนินงาน OTOP โดยร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ยกระดับ ผลิตภัณฑ์ และพัฒนาช่องทางการตลาดที่หลากหลาย เพื่อให้ขายสินค้าได้ อีกทัง้ ยังมุง่ ปรับตัวสูก่ ารค้าแบบสากล โดยต้องมีการเปลีย่ นผ่านยุคการผลัก ดันขายสินค้า OTOP ออกจากชุมชน สูร่ ายได้ตามความต้องการ (Demand Driven Local Economy) โดยการจ�ำหน่ายสินค้าที่อยู่ในชุมชนจากการ ท่องเที่ยว มีการใช้เสน่ห์ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และความคิด สร้างสรรค์ แปลงเป็นรายได้ รวมทัง้ ท�ำให้มคี ณ ุ ค่าเพียงพอ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ ว เข้ามาเยี่ยมเยือน และใช้จ่ายเงินในทุกกิจกรรมของชุมชน ส่งผลให้เกิดการ กระจายรายได้อยูก่ บั คนในชุมชนโดยรอบ เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชน และเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างแท้จริง ส�ำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดแพร่ กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้คดั เลือก หมู่บ้านนาตอง ให้เป็นหนึ่งในหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี เนื่องด้วย หมู่บ้านดังกล่าวมีประวัติความเป็นมาที่น่าสนใจ มีสถานที่ท่องเที่ยวและ แหล่งเรียนรู้หลายแห่ง อาทิ - แหล่งเรียนรูท้ างประวัตศิ าสตร์ มีถำ�้ ปูป่ นั ตาหยีทมี่ าการขุดค้นพบโครง กระดูกมนุษย์โบราณและชิน้ ส่วนเครือ่ งมือทีท่ ำ� จากหินภูเขาไฟ ซึง่ ถูกน�ำมา จัดแสดงทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์บา้ นนาตอง ซึง่ เกิดจากความร่วมมือกันในการจัดการ เรียนรู้โบราณคดีของชุมชน ระหว่างชุมชนบ้านนาตอง SPAFA และกรม ศิลปากร โดยในปี พ.ศ. 2548 มีการจัดแสดงโครงกระดูก “นาตองแมน” ทีค่ อ่ นข้างสมบูรณ์ได้รบั การยืนยันจากศูนย์ภมู ภิ าคโบราณคดีและวิจติ รศิลป์ (SPAFA : SEAMEO Regional Centre for Archaeology and Fine Arts) ว่ามีอายุเก่าแก่ราว 4,500 ปี นับเป็นแหล่งความรู้ด้านโบราณคดีที่สำ� คัญ แห่งหนึ่งของภาคเหนือ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 28

4/7/2562 10:54:38


- แหล่งท่องเที่ยวทางศาสนาและวัฒนธรรม มีวัดนาตอง (วัดธรรมานุภาพ) วัดประจ�ำหมูบ่ า้ นนาตอง เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระธาตุเจดีย์ศรีนาตอง - แหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ อาทิ ถ�ำ้ บ้านนาตอง ถ�ำ้ พระ ถ�้ำรันตู และมีล�ำห้วยที่ใสสะอาดไหลผ่านหุบเขาอันเป็นที่ตั้ง ของหมู่บ้าน จึงมีกิจกรรมล่องแพชมธรรมชาติของผืนป่าเขียว ขจีทขี่ นาบอยูต่ ลอดสองฝัง่ ล�ำน�ำ้ ชมเต่าปูลู เต่าประจ�ำถิน่ ทีห่ า ชมได้ยากและมีลกั ษณะแตกต่างจากเต่าทัว่ ไป เพราะเป็นเต่า ที่มีหัวใหญ่กว่ากระดองจึงไม่สามารถหดหัวเข้าไปในกระดอง ได้ มีปากงุ้มปลายแหลมคล้ายปากนกแก้ว และมีหางยาว - แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา ซึ่งมีกิจกรรมให้นักท่องเที่ยวได้ เรียนรูแ้ ละลงมือสร้างสรรค์ชนิ้ งานด้วยตัวเอง อาทิ การแปรรูป เมีย่ ง-การน�ำเมีย่ งมาท�ำเป็นอาหาร การหมักห้อม-การปลูกต้น ห้อม-การย้อมผ้าหม้อห้อม - มีสถานที่พักภายในชุมชนในรูปแบบโฮมสเตย์ จ�ำนวน 5 หลัง ราคา 450 บาทต่อคนต่อคืน (พร้อมอาหาร 2 มื้อ คือ มื้อเช้าและมื้อเย็น) รองรับได้ 50 คน - มีผลิตภัณฑ์ OTOP ซึ่งผลิตจากพืชผลทางการเกษตร ในหมู่บ้าน อาทิ กาแฟคั่วนาตอง สบู่เมี่ยง ชาเมี่ยง ไข่เค็ม สมุนไพร ฯลฯ ปัจจุบันหมู่บ้านนาตอง ต�ำบลช่อแฮ อ�ำเภอเมือง จังหวัด แพร่ ซึ่งเคยประสบปัญหาด้านการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�ำไร่ เลื่อนลอยและปลูกฝิ่น ได้กลายเป็นสวรรค์บนดินทั้งของชาว บ้านนาตองเอง และของนักท่องเที่ยวที่มาเยือนเพิ่มมากขึ้น ทุกปี นับเป็นอีกหนึ่งหมู่บ้านที่อยู่ใต้ร่มพระบารมีปกเกล้าฯ แห่งองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ขอขอบคุณข้อมูลจาก

- ส่วนประสานโครงการพระราชด�ำริและกิจการพิ เศษ ส�ำนักบริหาร พื้ นที่อนุรักษ์ท่ี 13 (แพร่) - ส�ำนักงานพั ฒนาชุมชนจังหวัดแพร่ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 29

29

4/7/2562 10:54:41


EXC LU S I VE

พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต ป.ธ.9 ,ผศ.ดร.) เจ้าคณะจังหวัดแพร่ “สึกไปก็ช่วยอะไรใครไม่ ได้ จงช่วยตัวเองเสียก่อน” กว่าที่บรรพชิตท่านหนึ่งจะยืนหยัดอยู่ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ จวบจน ได้ รั บ พระบั ญชาแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำ แหน่ง “เจ้าคณะจังหวัด” ได้นั้น ต้องพากเพียรเอาชนะกิเลสอย่างยิ่งยวด และด้วยข้อคิดเตือนสติจาก พระอาจารย์ที่ว่า “สึกไปก็ช่วยอะไรใครไม่ ได้ จงช่วยตัวเองเสียก่อน” จึ ง ท� ำ ให้ ใ นปั จ จุ บั น นี้ พระอารามต่ า งๆ ในจั ง หวั ด แพร่ ตลอดจน พระภิกษุสงฆ์ และพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ได้มี พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต ป.ธ.9 ,ผศ.ดร.) เป็น เจ้าคณะจังหวัดแพร่ ผู้ถึง พร้อมด้วยความเป็นพระอริยบุคคล และได้สร้างคุณูปการอเนกอนันต์ ทั้งแก่สถาบันสงฆ์สถาบันสังคม สถาบันการศึกษา และประเทศชาติ ชาติภูมิ พระราชเขมากร นามเดิมว่า ประยุทธ วงศ์ยศ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 ณ บ้านเลขที่ 23 หมู่ 3 ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ โยมมารดาชื่อนางค�ำ วงศ์ยศ บรรพชา-อุปสมบท บรรพชาเป็ น สามเณร เมื่ อ วั น ที่ 18 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2520 ณ พัทธสีมาวัดนาหลวง ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ โดยมี พระครู อ ดุ ล ยธรรมรั ง สี (หลวงปู ่ สี ) เจ้ า อาวาสวั ด นาหลวง เป็ น พระอุปัชฌาย์ โดยจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดนาแก และศึกษาพระปริยัติธรรม ที่แผนกธรรมส�ำนักศาสนศึกษาวัดพระธาตุศรีดอนค�ำ และสอบได้ นักธรรมชั้นตรี-โท ปีพ.ศ. 2523 นางค�ำ วงศ์ยศ มารดาได้เสียชีวิต จิตใจเริ่มสับสน วุน่ วาย หลังเทศกาลสงกรานต์ จึงขอลาสิกขากับครูบาสมจิต จิตตฺคตุ โต แต่ครูบาท่านไม่อนุญาต ท่านให้ข้อคิดว่า “สึกไปก็ช่วยอะไรใครไม่ ได้ จงช่วยตัวเองเสียก่อน” จากนั้นจึงตัดสินใจไม่ลาสิกขา ก่อนย้ายมา เรี ย นภาษาบาลี ที่ ส� ำ นั ก วั ด หนองม่ ว งไข่ โดยมี พ ระราชรั ต นมุ นี (รส คันธรโส) เจ้าคณะจังหวัดแพร่ เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษา หลังจาก สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค จึงลากลับไปเยี่ยมบ้านที่อ�ำเภอลอง และเข้าไปกราบพระครูวิจิตรนวการโกศล (ครูบาสมจิต จิตตคุตโต) วัดสะแล่ง และอุปสมบท ที่วัดสะแล่ง ได้รับฉายานามว่า ภูริทตฺโต การศึกษา - ส�ำเร็จปริญญาโท M.A. (Psy.) - ส�ำเร็จ Ph.d. (Psy.) พ.ศ.2526 สอบได้นักธรรมชั้นเอก พ.ศ.2527 สอบได้ประโยค 1-2 ส�ำนักวัดหนองม่วงไข่ พ.ศ.2528 สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ส�ำนักวัดหนองม่วงไข่ พ.ศ.2529 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักวัดคลองโพธิ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ พ.ศ.2533 สอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค 30

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 30

พ.ศ.2538 สอบได้เปรียญธรรม 9 ประโยค ส�ำนักวัดใหม่พิเรนทร์ พ.ศ.2539 ส� ำ เร็ จ ปริ ญ ญาตรี พุ ท ธศาสตรบั ณ ฑิ ต (พธ.บ. เกียรตินิยม) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เกียรติคุณ พ.ศ. 2550 ได้ รั บ รางวั ล เสาเสมาธรรมจั ก รทองค� ำ ผู ้ ท� ำ คุ ณ ประโยชน์แก่พระพุทธศาสนา ประเภทส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา สาขาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ พ.ศ. 2550 ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ ผู้สนองงานในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (พระอิสริยยศในขณะนัน้ ) ในการสนับสนุนโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา พ.ศ. 2552 ได้รับรางวัลพัดยศสมณาคุณสภากาชาดชั้นที่ 3 โล่ คนดีศรีพุทธศาสน์ รางวัล และเงินรางวัล 33,000 บาท จากส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2541 เป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พ.ศ. 2545 เป็น รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2554 เป็น เจ้าคณะจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2555 เป็น เจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พ.ศ. 2547 เป็น พระอุปัชฌาย์ วิสามัญ ฝ่ายการศึกษา - อาจารย์ ใหญ่ส�ำนักศาสนศึกษา วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร - พระปริยัติ นิเทศก์จังหวัดแพร่ - เจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองม่วงไข่ - ประธานพระปริยัตินิเทศก์หนเหนือ - กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนแพร่ปัญญานุกุล - กรรมการสถานศึกษาโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา - คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาแพร่ เขต 1 พ.ศ. 2553 เป็น ครูสอนพระปริยัติธรรมส�ำนักวัดคลองโพธิ์ พ.ศ. 2561 เป็น รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ - เจ้าส�ำนักเรียนจังหวัดแพร่ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2538 เป็น เปรียญธรรม 9 ประโยค 12 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่ พระเมธีธรรมาลังการ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556 เป็น พระราชาคณะชัน้ ราช ที่ พระราชเขมากร ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี

1/7/2562 9:34:54


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 31

31

1/7/2562 9:34:55


EXC LU S I VE

พระโกศัย เจติย ารัก ษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่

“พัฒนาวัดพระธาตุช่อแฮ จากวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวง” ด้านการศึกษา ท่านสนใจใฝ่หาความรู้ท้ังทางธรรมและทางโลก โดยส�ำเร็จนักธรรมชั้นเอกจากส�ำนักเรียนจังหวัดแพร่ และปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 1 จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ และปริญญาโทสาขาบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร หน่วยสอนจังหวัดแพร่ ด้ า นการพั ฒ นา ท่ า นได้ รั บ มอบหมายภารกิ จ อั น ยิ่ ง ใหญ่ จ าก เจ้าคณะจังหวัดแพร่ ในการพัฒนาวัดพระธาตุช่อแฮ การพัฒนาการ ศึกษานักธรรม-บาลี และยกฐานะจากวัดราษฎร์เป็นพระอารามหลวง โดยท่านได้ทุ่มเทอย่างเต็มก�ำลังจนวัดได้รับเกียรติบัตรและโล่รางวัล มากมาย กระทั่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากในหลวงรัชกาลที่ 9 ให้ ย กฐานะวั ด พระธาตุ ช ่ อ แฮ ขึ้ น เป็ น พระอารามหลวงชั้ น ตรี ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน 2549 ในวโรกาสที่ทรงครอง สิริราชสมบัติครบ 60 ปี และปัจจุบันท่านได้พัฒนาวัดพระธาตุช่อแฮ อย่ า งสวยงามและเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ย จนกลายเป็ น ศู น ย์ ก ลาง การท่องเที่ยวทางศาสนาและศิลปวัฒนธรรมที่ส�ำคัญ และมีชื่อเสียง โด่งดังที่สุดในจังหวัดแพร่ นิตยสาร SBL บันทึกวัดทั่วไทย มีความภูมิใจน�ำเสนออัตประวัติ ของพระโกศัยเจติยารักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ และเจ้าอาวาส วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ชาติภูมิ นามเดิ ม วิ ช าญ เชิ ด ชู เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 8 ส.ค. พ.ศ. 2509 ที่บ้านเลขที่ 41 หมู่ 6 บ้านไร่หลวง ต.นาพูน อ.วังชิน้ จ.แพร่ บิดา-มารดา ชื่ อ นายจรั ญ และนางเป็ ง เชิ ด ชู เรี ย นจบชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ที่โรงเรียนบ้านไร่หลวง อ.วังชิ้น บรรพชา-อุปสมบท เมื่ออายุได้ 12 ปี ได้บรรพชาที่วัดธรรมามิการาม อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย มีพระครูสุพัฒน์ธรรมคุณ เป็นพระอุปัชฌาย์ กระทั่งอายุ ครบ 20 ปีบริบูรณ์ จึงเข้าพิธีอุปสมบทที่วัดพงเสลียง อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย มี พระครูประภัทรพรหมโชติ วัดพงเสลียง เป็นพระอุปชั ฌาย์, พระครู ใ บฎี ก าเสรี อาสโภ วั ด ช่ อ งลม อ.สู ง เม่ น จ.แพร่ เป็ น พระกรรมวาจาจารย์ และพระอภิรักษ์ อภิรักขิโต วัดช่องลม เป็น พระอนุสาวนาจารย์ การศึกษา - สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนจังหวัดแพร่ - ปริ ญ ญาตรี พุ ท ธศาสตรบั ณ ฑิ ต เกี ย รติ นิ ย มอั น ดั บ 1 จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ - ปริ ญ ญาโท การศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต สาขาบริ ห ารการศึ ก ษา มหาวิทยาลัยนเรศวร หน่วยสอนจังหวัดแพร่ 32

.

ต�ำแหน่ง ฝ่ายปกครอง พ.ศ. 2535 เป็น ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระธาตุช่อแฮ พ.ศ. 2536-2550 เป็น เจ้าอาวาสวัดพระธาตุช่อแฮ พ.ศ. 2550 เป็น เจ้าอาวาสวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง พ.ศ. 2557 รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ ฝ่ายการศึกษา - อาจารย์บรรยายพิเศษ และ อาจารย์ตรวจวิทยานิพนธ์นิสิต ปริญญาโท มจร.วิทยาเขตแพร - ประธานหน่วยอบรมประชาชนต�ำบลป่าแดง - เจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดพระธาตุช่อแฮ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2535 เป็น พระครูสมุห์ ฐานานุกรมใน พระธรรมรัตนากร (พระมหาโพธิวงศาจารย์ สุจี กตสาโร) วัดพระบาทมิ่งเมือง วรวิหาร พ.ศ. 2539 เป็น เปรียญธรรม 3 ประโยค พ.ศ. 2540 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอก ที่ พระครูวิมลกิตติสุนทร พ.ศ. 2549 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นตรี ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2550 เป็น พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นเอก ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2554 เป็ น พระครู สั ญ ญาบั ต ร รองเจ้ า คณะจั ง หวั ด ใน ราชทินนามเดิม 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เป็น พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญที่ พระโกศัยเจติยารักษ์ ผลงานด้านการพัฒนาวัดพระธาตุช่อแฮ - วัดพัฒนาตัวอย่าง ประจ�ำปี 2538 ของกรมการศาสนา กระทรวง ศึกษาธิการ - วั ด อุ ท ยานการศึ ก ษา ประจ� ำ ปี 2538 ของกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ - เกียรติบัตรการส่งเสริมและสนับสนุนงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ ของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2541 - เกียรติบัตรวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น ของกรมการ ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2541 - และอื่น ๆ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

2

ver.2.indd 32

1/7/2562 9:38:45


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.

2

ver.2.indd 33

33

1/7/2562 9:38:48


PHRAE

PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่

นางสาวอนัน ยา เจียมศรีพงษ์

จังหวัดแพร่ เป็นดินแดนที่พระพุทธศาสนาได้หยั่งรากมานาน นับแต่สมัยพุทธกาล จากต�ำนานของ วัดสะแล่งที่กล่าวว่า เมื่อ พระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ณ บริเวณที่วัดตั้งวัด ชายาเจ้าเมืองได้ ถวายพระกระยาหารและดอกสะแล่ ง แด่ พ ระผู ้ มี พ ระภาคเจ้ า พระองค์ทรงรับและอนุโมทนา พร้อมกันนั้นก็ ได้พยากรณ์ ไว้ว่า... สถานที่ แ ห่ ง นี้ จ ะเป็ น วั ด ที่ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ ง และเป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน พระบรมสารีริกธาตุของเราตถาคตต่อไปในภายภาคหน้า

34

สมัยต่อมา คือในราว พ.ศ.1078 พระนางจามเทวี พระราชธิดา ของกษัตริย์เมืองละโว้ ได้รับพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ไป ปกครองเมืองล�ำพูน ได้อญ ั เชิญพระบรมสารีรกิ ธาตุบรรจุผอบทอง เพื่อน�ำมาประดิษฐานตามเส้นทางที่เสด็จผ่าน ทรงโปรดให้สร้าง พระเจดียค์ รอบผอบทองค�ำไว้ กาลต่อมาได้สร้างเป็นพระธาตุขะอูบค�ำ วัดสะแล่ง และพระธาตุหว้ ยอ้อ วัดศรีดอนค�ำ และในยุคทีม่ กี ารก่อตัง้ เมืองแพร่ เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล ก็ ได้สร้าง วัดหลวงขึ้นพร้อมๆ กับการตั้งเมืองพลนครด้วย

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 34

1/7/2562 9:54:17


“ต้นแบบที่ดีเพื่อสังคมสงบสุข” PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 35

35

1/7/2562 9:54:22


SPECIAL INTERVIEW S P EC I A L I N TE RVI EW

ในยุคปัจจุบัน แพร่จึงเป็นจังหวัดที่มีวัดวาอารามและ ที่พักสงฆ์จ�ำนวนมาก มีพระเถรานุเถระที่มีชื่อเสียงเป็นที่ รู้จักหลายรูป และชาวแพร่เองก็อาศัยอยู่อย่างสงบสุขด้วย ว่ามีพระพุทธศาสนาเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจให้ประกอบแต่ ความดี จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของค�ำขวัญประจ�ำจังหวัด แพร่ที่ว่า “คนแพร่นี้ใจงาม” นิตยสาร SBL บันทึกวัดทั่วไป ฉบับจังหวัดแพร่ ได้รับ เกียรติอย่างสูงจากนางสาวอนันยา เจียมศรีพงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ เปิดบ้านต้อนรับทีมงาน พร้อมให้ขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจเกีย่ วกับส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดแพร่ อาทิ วิสยั ทัศน์ พันธกิจ อ�ำนาจหน้าที่ ตลอดจน ข้อมูลของวัดที่ส�ำคัญและมีความโดดเด่นของจังหวัดแพร่ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ประวัติอาคารส�ำนักงาน

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ ตั้งอยู่ ณ อาคารโรงเรียนวัดเมธัง กราวาส (เดิม) ถนนสันเหมืองหลวง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ซึ่งเป็นอาคาร ที่อาจารย์รัตน์ พนมขวัญ ประธานคณะกรรมการศึกษาและผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนวัดเมธังกราวาส ได้รวบรวมเงินซื้อที่ดินของแม่ชุ่ย เอนกนันท์ ในเนื้อที่ 1 งาน 65 ตารางวา จากนั้น อาจารย์รัตน์ พนมขวัญ และคุณวิฑูร บุนนาค ได้ ติดต่อทางกระทรวงศึกษาธิการ ของบประมาณปี 2505 เพื่อสร้างอาคารเรียน ตามแบบ 017 ของกรมสามัญศึกษา ให้ทางจังหวัดเป็น ผู้ด�ำเนินการสร้าง โดยมี นายเครือ สุวรรณสิงห์ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน เริ่มการปลูกสร้างเมื่อวัน ที่ 1 กันยายน 2505 สร้างเสร็จตามสัญญา เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2505 และเปิดท�ำการสอน ได้ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2506 ในปีการศึกษา 2507 คณะกรรมการศึกษาและผู้ปกครองนักเรียนได้ช่วยกันบริจาคเงินต่อเติมห้องเรียน ชั้นล่างอีก 3 ห้อง และตกลงให้ช่ืออาคารเรียนหลังนี้ว่า “อาคารรัตน์ราษฎร์ อนุเคราะห์” เนื่องจากได้รับความร่วมมือและอุปการะจากอาจารย์รัตน์ พนมขวัญ ประธานกรรมการศึกษาเป็นอย่างดียิ่ง และเนื่องจากโรงเรียนวัดเมธังกราวาสได้ รับอนุมัติงบประมาณแผ่นดินซื้อที่ดิน ซึ่งอยู่ห่างจากโรงเรียนเดิมประมาณ 700 เมตร อยู่ในเขตเทศบาลเมืองแพร่ จึงได้ย้ายโรงเรียนออกไปอยู่ที่ใหม่ ท�ำให้อาคาร เรียนแห่งนี้ว่างอยู่ และได้มีหน่วยงานราชการหลายหน่วยงานได้ท�ำหนังสือขอใช้ อาคารเพื่อเป็นที่ท�ำการ และย้ายออกไปเมื่อมีที่ตั้งที่เหมาะสม จนกระทั่งอาคารแห่งนี้ว่างลงในปี พ.ศ. 2548 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จั ง หวั ด แพร่ ได้ ท� ำ เรื่ อ งขอใช้ อ าคารสถานที่ และเริ่ ม เปิ ด ท� ำ การเมื่ อ เดื อ น พฤศจิกายน 2548 มีการท�ำบุญเปิดอาคารส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดแพร่ พร้อมกับการ จัดผ้าป่าสมทบทุนปรับปรุงอาคารส�ำนักงาน เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2549 ซึ่งได้รับความเมตตาอนุเคราะห์ จากคณะสงฆ์จังหวัดแพร่ และหน่วยงาน ราชการ ประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างดียิ่ง และเปิดเป็นที่ท�ำการ จนถึงปัจจุบันนี้ 36

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 36

1/7/2562 9:54:25


วิสัยทัศน์ พันธกิจ ของส�ำนักงานฯ วิสัยทัศน์

ส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธศาสนาจั ง หวั ด แพร่ เป็ น องค์ ก รที่ เ ข้ ม แข็ ง เป็นต้นแบบที่ดีของสังคม เพื่อให้สังคมมีความสงบสุข และประชาชน อยู่ในศีลธรรมอันดี

พันธกิจ

1. ขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา เสริมเสร้างสถาบันทางพระพุทธ ศาสนาให้มีความยั่งยืน 2. พัฒนาองค์กรให้เป็นหนึง่ เดียว มีศลี ธรรม เป็นทีย่ อมรับของสังคม 3. สนองงานคณะสงฆ์ สนับสนุน จัดการศาสนสมบัติและการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา 4. ก�ำกับ ดูแล รักษา ปกป้องศาสนสมบัติ 5. พัฒนาศาสนทายาท ท�ำนุ บ�ำรุง พระพุทธสศาสนา ให้มีความ

เจริญงอกงาม

อ�ำนาจหน้าที่ของส�ำนักงานฯ

ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด มีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (ก) ศึกษา วิเคราะห์ และรายงานข้อมูลสารสนเทศด้านพระพุทธศาสนา เพื่อก�ำหนดนโยบายในระดับจังหวัด รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข (ข) ติดตามและประเมิน ผลการด�ำเนินงานตามนโยบาย แผนงาน โครงการของหน่วยงานในความดูแลของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัด รวมทั้งรายงานผลด�ำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคให้หน่วยที่ เกี่ยวข้องทราบ (ค) ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุ ทางพระพุทธศาสนารวมทั้งดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสน สมบัติกลางในจังหวัด

(ง) ส่งเสริมและสนับสนุนให้วัดเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และแหล่ง ภูมิปัญญาของชุมชนรวมทั้งส่งเสริมให้มีศูนย์กลางในการจัดกิจกรรม ทางพระพุทธศาสนาของจังหวัด (จ) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานด้านการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนา และด้ า นพระพุ ท ธศาสนศึ ก ษา รวมทั้ ง ดู แ ลและควบคุ ม มาตรฐานคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดภายในจังหวัด ให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม และพัฒนาบุคลากรทางพระพุทธศาสนา (ฉ) รับสนองงาน ประสานงาน และสนับสนุนกิจการและการ บริหารการปกครองคณะสงฆ์ ตลอดจนการด�ำเนินการตามนโยบาย และมาตรการในการคุ้มครองพระพุทธศาสนา (ช) ส่งเสริมและประสานการด�ำเนินงาน ในการปฏิบัติศาสนพิธี และกิจกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา (ซ) ปฏิ บั ติ ง านตามกฎหมายในความรั บ ผิ ด ชอบของส� ำ นั ก งาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ เ ป็ น อ� ำ นาจหน้ า ที่ ข อง ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือตามที่ได้รับมอบหมาย (ฌ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

ข้อมูลทั่วไป

จั ง หวั ด แพร่ มี วั ด รวมจ� ำ นวนทั้ ง สิ้ น 370 แห่ ง แบ่ ง เป็ น วัดราษฎร์ 368 แห่ง พระอารามหลวง 2 แห่ง ทีพ่ กั สงฆ์จำ� นวน 54 แห่ง วัดร้างจ�ำนวน 17 แห่ง มีพระภิกษุรวมจ�ำนวน 1,275 รูป สามเณร 785 รูป มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ 6 แห่ง แผนธรรม 33 แห่ง และบาลี 6 แห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กันยายน 2561 )

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 37

37

1/7/2562 9:54:28


S P EC I A L I N TE RVI EW

38

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 38

1/7/2562 9:54:30


วัดที่ส�ำคัญในจังหวัดแพร่

ภาพจาก www.sadoodta.com

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร

วัดพระบาทมิง่ เมืองมาจากสองวัดรวมกัน ได้แก่ วัดพระบาท และวัดมิง่ เมือง ตัง้ อยูห่ า่ งกัน เพียงมีถนน กั้นเท่านั้น วัดพระบาทเป็นวัดของ พระยาอุปราชหรือเจ้าหอหน้า ส่วนวัดมิ่งเมือง เป็นวัดของเจ้าผูค้ รองนครแพร่ เมือ่ เมืองนครแพร่ ถูกล้มเลิกระบบเจ้าผู้ครองนคร วัดทั้งสองก็ถูก ทอดทิ้งอยู่ในสภาพทรุดโทรมมาก กระทั่งคณะ กรมการจังหวัดเห็นสมควรรวมสองวัดเข้าด้วยกัน ให้ชื่อว่า วัดพระบาทมิ่งเมือง

ภาพจาก www.thai-tour.com

วัดหลวง

เป็นวัดเก่าแก่คบู่ า้ นคูเ่ มือง เพราะสร้างขึน้ พร้ อ มกั บ การสร้ า งเมื อ งแพร่ สิ่ ง ที่ น ่ า สนใจ ภายในวัดได้แก่ วิหารหลวงพลนคร วิหารเก่าแก่ สร้ า งพร้ อ มกั บ การสร้ า งเมื อ งแพร่ ภายใน ประดิษฐานพระเจ้าแสนหลวง พระธาตุหลวง ไชยช้างค�้ำ

วัดสะแล่ง

เป็ นวั ด เก่ า แก่ วั ด หนึ่ ง ในอ� ำ เภอลอง สั น นิ ษ ฐานว่ า สร้ า งตั้ ง แต่ ส มั ย ทวารวดี ปัจจุบันที่ศาลาการเปรียญได้จัดแสดงวัตถุ โบราณ และของส�ำคัญของวัด อาทิ พระพุทธ รูปโบราณ ปับ๊ สา รอยพระพุทธบาทสัมฤทธิ์ วิหารจ�ำลอง บาตรหิน ผ้าพระบท สัตตภัณฑ์ เครือ่ งรางของขลัง ผ้ายันต์ ชิน้ ส่วนพระพุทธรูป เทวรูป นอกจากนีย้ งั มีของใช้ อาทิ เครือ่ งเขิน มีดดาบ ถ้วยชามสังคโลก ของทีอ่ ยูใ่ นอาคาร หลังนี้ส่วนใหญ่เป็นของเก่าแก่ ทางวัดจึง ห้ามมิให้ถ่ายภาพเพื่อความปลอดภัย

วัดพระนอน

มี พ ระอุ โ บสถแบบเชี ย งแสน คื อ ไม่ มี หน้าต่าง แต่ทำ� เป็นช่องรับแสงแทน มีพระพุทธ รูปปางสีหไสยาสน์ประดิษฐานในวิหาร ทีช่ ายคา เป็นไม้ฉลุสวยงาม เป็นโบราณสถานที่สร้างขึ้น ราว จ.ศ.236 ในสมัยเจ้าพระยาชัยชนะสงคราม เป็นศิลปะแบบผสมผสานสามยุคคือเชียงแสน สุโขทัย และอยุธยาตอนปลาย

วัดพระธาตุจอมแจ้ง

ปูชนียสถานโบราณอีกแห่งหนึง่ ทีม่ ปี ระวัติ ความเป็ น มาคู ่ กั บ พระธาตุ ช ่ อ แฮ เป็ น ที่ ประดิษฐานพระพุทธรูปหลวงพ่อทันใจ มีพพิ ธิ ภัณฑ์ รวบรวมสิ่งของโบราณ ทั้งของวัดและชาวบ้าน มีรูปปูนปั้น รูปสวรรค์ นรกภูมิจ�ำลอง เพื่อเป็น ข้ อ คิ ด เตื อ นสติ บุ ค คลให้ ก ระท� ำ แต่ ค วามดี ละเว้นความชั่ว ภาพจาก www.lek-prapai.org

วัดศรีดอนค�ำ

เป็นโบราณสถานที่สร้างในสมัยพระนาง จามเทวีเสด็จมาจากเมืองละโว้ไปเมืองหริภญ ุ ชัย ราว พ.ศ.1078 มีพระธาตุเจดีย์เก่าแก่ที่เชื่อว่า สร้างขึน้ พร้อมกับพระธาตุขวยปู ปูตบั๊ ไฮสร้อย และพระธาตุแหลมลี่ มีชื่อเสียงไม่น้อยกว่ า พระธาตุช่อแฮและพระธาตุจอมแจ้ง

วัดพระธาตุพระลอ

เป็นโบราณสถานทีม่ ปี ระวัตเิ กีย่ วเนือ่ งกับ เวียงสรอง เมืองโบราณที่กล่าวถึงวรรณคดีไทย เรือ่ งลิลติ พระลอ และเป็นทีป่ ระดิษฐานพระศรี สรรเพชญ พระคู่บ้านคู่เมืองของอ�ำเภอสอง ภายในวัดมีรปู ปัน้ ของพระลอ พระเพือ่ น พระแพง พระธาตุพระลอ

วัดสูงเม่น สันนิษฐานว่าเป็นวัดทีส่ ร้าง ขึ้ น ในสมั ย กรุ ง ธนบุ รี ต ่ อ เนื่ อ งสมั ย กรุ ง รัตนโกสินทร์ตอนต้น ผูค้ นรูจ้ กั วัดนีด้ ใี นสมัย ที่ ค รู บ ากั ญ จนอรั ญ ญวาสี ม หาเถร หรื อ ชาวบ้านมักเรียกสัน้ ๆ ว่า “ครูบามหาเถรเจ้า” ท่านเป็นพระที่มีความรู้ความสามารถ เป็น นักปราชญ์ทางวรรณกรรมล้านนา และมี ศีลาจารวัตรอันงดงาม เป็นที่เคารพนับถือ นับตั้งแต่เจ้าผู้ครองนครไปจนถึงราษฎร วัดป่าแดง ได้รับการคัดเลือกเป็นวัด พัฒนาตัวอย่าง ปี 2551 เป็นอุทยานการ ศึกษาในวัด ปี 2549 และมีโฮงค�ำหลวงเป็น พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านในวัด PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 39

39

1/7/2562 9:54:34


ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดแพร่ ภาค ๖

พระราชเขมากร เจ้าคณะจังหวัดแพร่

พระราชวิสุทธี

พระโกศัยเจติยารักษ์

ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดแพร่

รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่

พระครูพิบูลพัฒนโกศล

พระครูโกศลพิพัฒนคุณ

พระครูกิตติชัยวัฒน์

พระครูบัณฑิตานุกูล

พระครูวรธรรมสาร

พระครูสุธรรมกิตติวงศ์

เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองแพร่

เจ้าคณะอ�ำเภอสูงเม่น

เจ้าคณะอ�ำเภอร้องกวาง

เจ้าคณะอ�ำเภอลอง

เจ้าคณะอ�ำเภอสอง

เจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย

พระครูวจิ ติ รธรรมสาธก

พระครูวิจิตรพัฒนพิมล

พระมหาบุญชิต อติธมโม

พระครูวรเวทย์สังฆกิจ

พระครูวีรการโกวิท

พระครูวิทิตธรมวิมล

เจ้าคณะอ�ำเภอวังชิ้น

เจ้าคณะอ�ำเภอหนองม่วงไข่

รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองแพร่

รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองแพร่

รองเจ้าคณะอ�ำเภอสูงเม่น

รองเจ้าคณะอ�ำเภอร้องกวาง

40

พระครูบุญสารประสิทธิ์

พระครูมงคลธรรมรักษ์

รองเจ้าคณะอ�ำเภอลอง

รองเจ้าคณะอ�ำเภอสอง

พระมหาสมจิตร อุปลวณโณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอวังชิ้น

พระปลัดสายัน จนทวณโณ

พระครูศรีกิตติวงค์

เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดแพร่

เลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดแพร่

SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา

.indd 40

1/7/2562 10:05:03


ความเสียสละ เป็นทางของความสงบ ความอยากได้จนเกินพอดี เป็นทางมาของความโกลาหลวุ่นวาย - ปัญญานันทภิกขุ -

CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 41

41

1/7/2562 10:05:05


Traveling in a Prehistoric

TRAVELING IN A PREHISTORIC บันทึกเส้นทางความเป็นมาจังหวัดแพร่

แพร่...ต�ำนานแห่งเมืองรุ่งเรืองพระศาสนา

42

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 42

2/7/2562 10:54:14


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 43

43

2/7/2562 10:54:15


44

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 44

2/7/2562 10:54:16


แพร่...ต�ำนานแห่ง เมืองรุ่งเรืองพระศาสนา

แม้จะไม่มีการจารึกถึงประวัติการสร้างเมือง ที่แน่ชัด แต่จากหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ พบว่า บริเวณที่ตั้งของจังหวัดแพร่ในปัจจุบัน มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์เริ่มมาตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และพบว่าเมื่อมีการ สร้างบ้านแปงเมืองขึ้น เจ้าผู้ครองเมืองจะ ริเริ่มสร้างพระอารามขึ้น อีกทั้งยังเป็นผู้ ให้ การอุปถัมภ์ค�้ำชูพระพุทธศาสนาจนเจริญ รุ่งเรืองคู่กับเมืองสืบมาไม่ว่าจะผ่านมา กี่ยุคสมัยก็ตาม

“นาตองแมน” มนุษย์แพร่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จากการขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์โบราณ “นาตองแมน” และชิน้ ส่วน เครื่องมือที่ท�ำจากหินภูเขาไฟ อาทิ เครื่องมือหินขัด เศษภาชนะดินเผา บริเวณถ�้ำ 3 แห่ง ในต�ำบลช่อแฮ ได้แก่ ถ�้ำปู่ปันตาหมี ถ�้ำพระ และถ�ำ้ รันตู โดยเฉพาะทีถ่ ำ�้ ปูป่ นั ตาหมี บ้านนาตอง ต.ช่อแฮ ซึง่ ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์ โบราณ เมือ่ ช่วงต้นปี พ.ศ. 2552 โดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ และภาคประชาชน อาทิ ข่ายลูกหลานเมืองแพร่ และชุมชนบ้านนาตอง กศน.แพร่ สภาวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ หน่วยจัดการต้นน�้ำแม่ก๋อน-แม่สาย สถานีอนามัยบ้านนาตอง โรงเรียน บ้านนาตอง ส�ำนักศิลปากรที่ 7 จ.น่าน คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร กรมศิลปากร และศูนย์ภมู ภิ าคโบราณคดีและวิจติ รศิลป์แห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (SEAMEO-SPAFA) หลักฐานทางโบราณคดีดังกล่าว ได้รับการยืนยันจาก SPAFA ว่ามีอายุเก่าแก่ราว 4,500 ปี และในพื้นที่หลายอ�ำเภอของจังหวัดแพร่ ยังมีร่องรอยการอยู่อาศัย ของมนุษย์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เช่นกัน อาทิ บ้านต้าแป้น บ้านต้าเวียง ต�ำบลเวียงต้า อ�ำเภอลอง ได้พบขวานหินกะเทาะ และขวานหินขัดหรือ ขวานหินมีบ่า ที่ชาวบ้านเรียกว่า เสียมตุ่น นอกจากนั้นยังพบเครื่องมือ โลหะที่ทำ� ด้วยส�ำริด ที่ชาวบ้านเรียกว่า ขวานฟ้าผ่า ในเขตอ�ำเภอลอง และ อ�ำเภอวังชิน้ แต่ทว่าการศึกษาแหล่งโบราณคดีบา้ นนาตองถือเป็นก้าวส�ำคัญ ในการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองแพร่ เนื่องจากเป็นแหล่งโบราณคดีสมัย ก่อนประวัติศาสตร์แห่งแรกในภาคเหนือฝั่งตะวันออก ที่มีการขุดค้นอย่าง เป็นระบบโดยมีชุมชนร่วมมืออย่างเข้มแข็ง และไม่เคยมีการศึกษา ขุดค้น และขึ้นทะเบียนแหล่งโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์ ในจั งหวั ดแพร่ มาก่อน ปัจจุบันมีการจัดแสดงหลักฐานที่ค้นพบที่พิพิธภัณฑ์บ้านนาตอง เพื่อประโยชน์ต่อการศึกษาอดีตของเมืองแพร่และของประเทศไทย PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 45

45

2/7/2562 10:54:18


ก�ำเนิดเมืองแพร่ ต�ำนานพระธาตุชอ่ แฮกล่าวว่า เมืองแพร่มมี าแต่สมัยพุทธกาล ส่วนในต�ำนานวัดหลวง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ กล่าวว่า เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล ราชนัดดากษัตริย์น่านเจ้าได้ อพยพคนไทยเชือ้ สายไทลือ้ -ไทเขินส่วนหนึง่ มาจากเมืองเชียงแสน ไชยบุรี และเวียงพางค�ำ ลงมาสร้าง เมืองบนที่ราบริมฝั่งแม่นำ�้ ยม ให้ชื่อว่า เมืองพลนคร อันเป็นที่ตั้งของเมืองแพร่ในปัจจุบัน จากผังเมืองทีเ่ ป็นรูปวงรีไม่สม�ำ่ เสมอ รูปร่างคล้ายรอยเท้า คล้ายผังเมืองหริภญ ุ ไชย หรือล�ำพูน และ การขุดค้นหลักฐานทางโบราณคดี ประมาณอายุของเมืองทัง้ สองนีว้ า่ สร้างขึน้ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 17 และจากต�ำนานสิงหนวัติที่กล่าวว่าพญาญีบา แห่งแคว้นหริภุญไชยปกครองเมืองแพร่ ท�ำให้ สันนิษฐานว่าเมืองแพร่ และเมืองล�ำพูน สร้างขึ้นในระยะเวลาใกล้เคียงกัน และมีความเกี่ยวข้องกัน

หลากหลายนามตามต�ำนานก�ำเนิดเมือง จังหวัดแพร่ในอดีตมีชื่อเรียกอย่างหลากหลาย อาทิ เมืองพล หรือนครพล หรือพลรัฐนคร เป็นชื่อเก่าแก่ดั้งเดิมที่สุดที่พบในต�ำนานเมืองเหนือ ฉบับ ใบลาน พ.ศ. 1824 เมือ่ ศึกษาต�ำแหน่งทีต่ งั้ ของนครพลตามต�ำนานดังกล่าวพบว่า คือเมืองแพร่นนั่ เอง และชือ่ นครพลยังปรากฏเป็นชือ่ วิหารในวัด โดยเชือ่ ว่าวัดนีเ้ ป็นวัดทีส่ ร้างมาพร้อมกับการสร้างเมืองแพร่ และเจ้าเมืองแพร่ให้ความอุปถัมภ์มาตลอดจนหมดยุค เมืองโกศัย เป็นชือ่ ทีป่ รากฎในพงศาวดารเมืองเงินยางเชียงแสน ใช้เรียกชือ่ เมืองแพร่ในสมัยทีข่ อม มีอำ� นาจ ซึ่งได้เปลี่ยนชื่อเมืองในอาณาจักรล้านนาเป็นภาษาบาลี เมืองโกศัยน่าจะมีที่มาจากชื่อดอย อันเป็นทีป่ ระดิษฐานพระธาตุชอ่ แฮ ซึง่ เป็นพระธาตุคบู่ า้ นคูเ่ มืองแพร่ คือดอยโกสิยธชัคบรรพต หมายถึง ดอยแห่งธงผ้าแพร เมืองแพล เป็นชือ่ ทีป่ รากฏอยูใ่ นศิลาจารึกพ่อขุนรามค�ำแหงมหาราช หลักที่ 1 มีขอ้ ความตอนหนึง่ ว่า เบื้องตีนนอน รอดเมืองแพล เมืองน่าน เมืองพลัว พ้นฝั่งของ เมืองชวาเป็นที่แล้ว เมืองแพร่ เป็นชื่อที่คนไทยในอาณาจักรสุโขทัย และอาณาจักรอยุธยาใช้เรียกเมืองแพล ซึ่งอาจจะ กลายเสียงมาเป็นแพรหรือแพร่ หรืออีกประการหนึ่ง มาจากความหมายของดอยโกสิยธชัคบรรพต อันหมายถึงดอยแห่งธงผ้าแพร ดังกล่าวมาแล้ว เมืองแป้ เป็นชื่อที่ชาวแพร่ใช้เรียกเมืองของตนด้วยภาษาค�ำเมือง ซึ่งกลายเสียงตัว พ เป็นตัว ป หมายถึงการแพร่กระจายออกไป 46

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 46

2/7/2562 10:54:20


เมืองแพร่ในสมัย อาณาจักรล้านนาและสุโขทัย เมืองแพร่มคี วามสัมพันธ์เกีย่ วข้องกับเมืองล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา และน่าน มาก่อน การสถาปนา อาณาจักรล้านนา เมื่อปี พ.ศ. 1986 พระเจ้า ติโลกราช กษัตริยอ์ าณาจักรล้านนาได้สง่ กองทัพ มาตีเมืองแพร่ ซึ่งขณะนั้นเป็นเมืองอิสระท้าว แม่นคุณ เจ้าเมืองแพร่ ยอมอ่อนน้อม เมืองแพร่ จึงได้เข้ารวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา ในฐานะเป็นเมืองประเทศราช ในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง และพ่อขุนเม็งราย ต่างถือว่าเมืองแพร่และเมืองน่าน เป็นเมือง บริ ว ารของอาณาจั ก รของพระองค์ โดยที่ อาณาจั ก รสุ โ ขทั ย ปกครองเมื อ งแพร่ ใ นฐานะ หัวเมืองชั้นนอก ในสมัยพระญาลิไทย พระองค์ ได้ยกก�ำลังพลมาอยู่ที่เมืองแพร่นาน 7 เดือน ทรงบูรณะซ่อมแซมพระธาตุช่อแฮ และพระธาตุ จอมแจ้ง เมื่อปี พ.ศ. 1921 กรุงสุโขทัยตกเป็น ประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา เมืองแพร่จงึ ตัง้ ตัว เป็นอิสระ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 1954 เมืองแพร่ได้ ท�ำศึกกับเมืองน่านและได้ชัยชนะ เจ้าเมืองแพร่ จึงตัง้ ตนเป็นเจ้าเมืองน่าน แต่ตอ่ มาเพียงหนึง่ ปีเศษ เมืองน่านก็ตงั้ ตัวเป็นอิสระโดยได้รบั ความช่วยเหลือ จากกองทัพเมืองเชลียง PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 47

47

2/7/2562 10:54:20


เมืองแพร่ในสมัยอาณาจักรอยุธยา เมืองแพร่ตกเป็นหัวเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2003 ในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ เมืองแพร่ก็กลับมาอยู่ในอ�ำนาจของอาณาจักรล้านนาอีก จนถึงปี พ.ศ. 2088 สมเด็จพระไชยราชาธิราช ได้อาณาจักรล้านนามาเป็นประเทศราช ของกรุงศรีอยุธยา เมืองแพร่จงึ ตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2101 พระเจ้าบุเรงนองกษัตริยพ์ ม่า ยกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่ ซึง่ เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนาได้ บรรดาหัวเมืองต่างๆ ในอาณาจักรนี้ จึงตกเป็นของพม่า และพม่าได้เกณฑ์ก�ำลังจากหัวเมืองเหล่านี้ลงมาตีกรุง ศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2112 เมืองแพร่ก็เช่นเดียวกับหัวเมืองในอาณาจักร ล้านนาอื่นๆ ต้องตกอยู่ในอ�ำนาจของพม่า จนปี พ.ศ. 2127 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงกูเ้ อกราชจากพม่าได้ และขับไล่พม่าออกไปจากดินแดนไทยทัง้ หมด อาณาจักรล้านนาจึงกลับมา เป็นของกรุงศรีอยุธยาจนถึง พ.ศ. 2177 พระเจ้าสุทโทธรรมกษัตริย์พม่า ได้ยกกองทัพมาตีเมืองเขียงใหม่ และหัวเมืองอื่นๆ ในอาณาจักรล้านนาได้ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2204 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ทรงขับไล่พม่า ออกไปจากอาณาจักรล้านนา ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2304 พม่าได้ยึดครองอาณาจักรได้ท�ำให้หัวเมือง ต่างๆ ของอาณาจักรล้านนา ตกอยู่ในอิทธิพลของพม่า เมืองแพร่จึงขึ้นกับ พม่าในครั้งนั้น ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2305 พม่าได้เกณฑ์ให้ พระยาแพร่ (มังไชยะ) คุมก�ำลังชาวแพร่มาในกองทัพ เนเมียวสีหบดี ยกกองทัพมาตี กรุงศรีอยุธยา แต่พระยาแพร่ได้หนีกลับไปเสียก่อน เมืองแพร่ในสมัยกรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ยกทัพขึ้นไปขับไล่ พม่าทีย่ ดึ เมืองเชียงใหม่อยู่ เมือ่ กองทัพกรุงธนบุรี ยกไปถึงเมืองพิชยั มังไชยะ หรือพระยาเมืองไชย เจ้าเมืองแพร่ ได้เข้ามาสวามิภักดิ์ จึงได้รับแต่งตั้งให้ เป็น พระศรีสุริยวงศ์ แล้วให้ครองเมืองแพร่ต่อไป เมื่ออะแซหวุ่นกี้ยกทัพ ยึดครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ ได้จับตัวมังไชยะไปไว้ที่เมืองยอง ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2330 มังไชยะได้ชักชวนพระยายอง ยกก�ำลังไปโจมตีพม่าที่ยึดครอง เมืองเชียงแสนได้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงให้ มังไชยะมาท�ำราชการอยู่ที่กรุงเทพฯ หลังจากมังไชยะแล้ว เมืองแพร่ยงั มีเจ้าเมืองปกครองต่อมาอีกหลายคน เช่น เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์อุดร ในปี พ.ศ.2434 พระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปกครองส่วนภูมภิ าค โดยจัดให้ มีการปกครองแบบ เทศาภิบาล แบ่งเขตการปกครองออกเป็น มณฑล จังหวัด อ�ำเภอ ต�ำบล และหมูบ่ า้ น เทศาภิบาลมณฑลมีขา้ หลวงเทศาภิบาล เป็นผูส้ ำ� เร็จราชการมณฑล เมืองแพร่ขนึ้ กับมณฑลลาวเฉียง ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ เป็นมณฑลพายัพ ทีว่ า่ การมณฑลอยูท่ เี่ มืองเชียงใหม่ การปกครองตามรูปแบบ ใหม่นี้ ท�ำให้อ�ำนาจเจ้าเมืองที่มีอยู่เดิมลดลง 48

_

เมื่อปี พ.ศ. 2445 เกิดเหตุการณ์กบฏ เงีย้ วเมืองแพร่ขนึ้ น�ำโดยพะกาหม่อง สล่าโปชัย และหม่องจีนา น�ำก�ำลังประมาณ 50 คน บุกเข้าโจมตีสถานีตำ� รวจ ที่ทำ� การไปรษณีย์ และจวนที่ พั ก พระยาไชยบู ร ณ์ ข้ า หลวง ประจ�ำเมืองแพร่ จากนั้นเข้าปล้นคลังหลวง และบุกเข้าเรือนจ�ำ ปล่อยนักโทษเป็นอิสระ ท� ำ ให้ กองก� ำ ลั ง เงี้ ยวเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น ประมาร 300 คน เมื่อยึดเมืองแพร่ได้ส�ำเร็จ ก็ไป เชิญให้เจ้าหลวงเมืองแพร่ ปกครองบ้าน เมืองดังแต่ก่อน ทางกรุงเทพฯ ได้ส่งก�ำลัง จากหัวเมืองใกล้เคียงเข้าปราบปราม โดย ให้เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสงชูโต) เป็นแม่ทัพยกก�ำลังมาปราบปรามจนสงบ ราบคาบ หลังเหตุการณ์กบฏ เจ้าพิรยิ เทพวงศ์อดุ ร เจ้าหลวงเมืองแพร่ได้ไปพ�ำนักอยู่ที่เมือง หลวงพระบาง ประเทศลาว จึงถูกถอดถอน ออกจากต�ำแหน่งเจ้าเมือง เนื่องจากขาด ราชการนานเกินก�ำหนด ในภาวะทีบ่ า้ นเมือง ไม่สงบ ต�ำแหน่งเจ้าหลวงเมืองแพร่จึงถูก ยกเลิก

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 48

2/7/2562 10:54:22


การจัดรูปการปกครอง ตามระบอบมณฑลเทศาภิบาล ปี พ.ศ.2458 ทางราชการได้ประกาศให้รวม หัวเมืองฝ่ายเหนือขึ้นเป็นมณฑล โดยจัดให้เมือง แพร่ เมืองน่าน เมืองล�ำปาง รวมเป็นมณฑล เรียกว่ามณฑลมหาราษฎร์ และให้ตั้งที่ว่าการ มณฑลขึ้นที่จังหวัดล�ำปาง มีผู้ส�ำเร็จราชการ มณฑล 3 ท่าน คือ มหาเสวกตรี พระยาเพชรรัตนราชสงคราม (เลื่อง ภูมิรัตน) จางวางตรี พระยาไกรเพชรรัตนสงคราม (ชม โชติกะพุกกะณะ) มหาเสวกโท พระยาเดชานุชติ (หนา บุนนาค) ปี พ.ศ.2469 ทางราชการได้สงั่ ให้รวมมณฑล มหาราษฎร์กับมณฑลพายัพดังเดิม มีที่ว่าการ มณฑลตั้งอยู่ที่เมืองเชียงใหม่ ปี พ.ศ.2476 ทางราชการยกเลิกการปกครอง แบบมณฑลเทศาภิบาล ประกาศใช้ พระราช บัญญัติจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินใหม่ โดยแบ่งเป็นภาคๆ เมืองแพร่จัดอยู่ในภาคที่ 5 ที่ท�ำการภาคตั้งอยู่ที่จังหวัดล�ำปาง ขึ้นกับ กระทรวงมหาดไทย ต่อมาปี พ.ศ. 2500 ทางราชการได้ประกาศ ยกเลิกการปกครองแบบภาค ให้ทุกจังหวัดขึ้น ตรงรัฐบาลกลางที่กรุงเทพมหานคร จนกระทั่ง ถึงปัจจุบัน

ขอขอบคุณข้อมูลจาก หอมรดกไทย, ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดแพร่, http://a-natong.blogspot.com

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 49

49

2/7/2562 10:54:25


TRAVELING TO PHRAE บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวจังหวัดแพร่

Traveling to Phrae

ความศรัทธา ความงดงาม ธรรมชาติที่อยู่เหนือกาลเวลา แต่ไหนแต่ไรมา แพร่มักจะเป็นเพียงจังหวัดทางผ่านของผู้ที่จะเดินทางไป-มายังจังหวัดทางภาคเหนือ ด้านตะวันออก แต่ทุกวันนี้ ถ้าคุณลองมาสัมผัสมรดกทางการท่องเที่ยวอันล�้ำค่าของชาวแพร่สักครั้ง ไม่ว่าจะเป็นมรดกทางพระพุทธศาสนา มรดกทางประวัติศาสตร์ มรดกทางวัฒนธรรม-ภูมิปัญญา และมรดก ทางธรรมชาติ รับรองว่าคุณจะติดใจจนต้องกลับมาเยือนอีกแน่นอน ถ้าพร้อมแล้วก็ไปเที่ยวแพร่ด้วยกันนะคะ

50

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 50

2/7/2562 10:54:26


ความศรัทธา ความงดงาม ธรรมชาติที่อยู่เหนือกาลเวลา

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 51

51

2/7/2562 10:54:27


52

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 52

2/7/2562 10:54:27


กราบขอพร พระเจ้ายืน

วัดศรีชุม เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุด และมีมาก่อนการสร้างเมืองแพร่ ภายในวิหารประดิษฐาน “พระเจ้ายืน” พระพุทธรูปปาง ประทับยืนที่มีความสูงที่สุด ของจังหวัดแพร่

ณ วัดศรีชุม

วัดศรีชุม ตั้งอยู่ท่ีต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง ในเขตก�ำแพงเมืองด้าน ประตูศรีชุม สร้างเมื่อปี พ.ศ.1322 ในอดีตเป็นวัดที่ มี ความส� ำ คั ญ คื อ เจ้ากาวิละจากล�ำปางเคยบวชเรียนที่วัดนี้เมื่อ พ.ศ. 2302 ก่อนจะกลับไป ครองเมืองล�ำปาง หากมีพิธีถือน�้ำพิพัฒน์สัตยาก็จะท�ำพิธีที่วัดนี้ อีกทั้งใน เทศกาลถวายสลากภัตก็จะต้องถวายที่วัดศรีชุมก่อนเสมอ สิ่งส�ำคัญภายในวัด ได้แก่ พระเจดีย์ เป็นศิลปะแบบล้านนา สร้างราว ศตวรรษที่ 20 เป็นเจดีย์ทรงปราสาทยอดทรงระฆัง ฐานย่อมุม 28 กว้าง ด้านละ 5 วา ด้านบนมีซมุ้ จรนัมภายในประดิษฐานพระพุทธรูป อุโบสถและ วิหาร เป็นสถาปัตยกรรมสมัยเชียงแสน ปั้นรูปฤๅษีบ�ำเพ็ญตบะไว้ด้านหน้า ประตูทางเข้าและบนจั่วหน้าวิหาร โดยใช้ช่างฝีมือดีจากเมืองพางค�ำหรือ เมืองเชียงแสน ก�ำแพงวัดด้านหน้าเป็นรูปปั้นรูปเทพนมสลับกับแจกัน ดอกไม้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด ได้แก่ พระพุทธรูปปางประทับยืน หรือที่เรียก ติดปากว่า “พระเจ้ายืน” ประดิษฐานในวิหาร เป็นพระพุทธรูปที่มีความ สง่างาม อ่อนช้อย และมีขนาดองค์ที่สูงที่สุดในจังหวัดแพร่ โดยสร้างขึ้น พร้อมๆ กับการสร้างวัดศรีชุม และได้รับการบูรณะเมื่อราวปี พ.ศ.1900 ชาวแพร่มคี วามเชือ่ ความศรัทธาว่าถ้ามาขอพรจากพระเจ้ายืน ก็จะประสบ ความส�ำเร็จสมดังปรารถนา ท่านใดที่มีโอกาสมาเยือนจังหวัดแพร่ อย่าลืมไปกราบสักการะขอพร จากพระเจ้ายืนกันนะคะ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 53

53

4/7/2562 11:11:23


54

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 54

2/7/2562 10:54:31


นมัสการ

พระเจ้าแสนหลวง

ณ วัดหลวง นอกจากนี้ ภายในวัดยังเป็นที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้ทาง ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรม และวิถชี วี ติ ของ ชาวแพร่ในอดีต ได้แก่ พิพิธภัณฑ์เมืองแพร่ สถานที่จัด แสดงโบราณวัตถุทสี่ ำ� คัญ อาทิ พระพุทธรูป จารึกอายุกว่า 500 ปี ศิลาจารึกเจ้าผู้ครองนคร คัมภีร์ศาสนา วรรณคดี กฎหมาย สมุนไพรโบราณ ฯลฯ คุ้มพระลอ ลักษณะเป็น บ้านแบบล้านนาโบราณ ด้านล่างจัดแสดงเครื่องทอผ้า และล้อเกวียนเก่า ชัน้ บนจัดแสดงของใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน เช่น เตารีดสมัยโบราณแบบใช้ถา่ น เครือ่ งทอฝ้าย ร่มโบราณ ฯลฯ หอวัฒนธรรมจังหวัดแพร่ สร้ า งด้ ว ยไม้ สั ก ทอง อายุ 200 ปี เป็นที่เก็บรวบรวมศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน มากมาย เช่น หีบสมบัติโบราณ โลงไม้แกะสลัก ฯลฯ มาเยือนวัดหลวงทีเ่ ดียว ้ บุญ อิ่มทัง ้ ปัญญากันเลยนะคะ อิ่มทัง

วั ด หลวง เป็นวัด โบราณอายุนับพันปีที่สร้างไล่เ ลี่ยกับ เมืองแพร่ หรือเมืองพลนครในอดีต เป็นวัดที่มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองที่ชาวแพร่ให้ความเคารพศรัทธามิเสื่อมคลาย วัดหลวง ตั้งอยู่ที่ถนนค�ำลือ ต�ำบลในเวียง อยู่ภายใน บริเวณเขตก�ำแพงเมืองเก่า มีสิ่งที่น่าสนใจ คือ พระวิหาร หลวงพลนคร เป็นวิหารหลังเดียวในจังหวัดแพร่ที่มีช่อฟ้าเป็น รูปตัวหงส์ และมีใบระกาแบบล้านนา วิหารนีเ้ ป็นทีป่ ระดิษฐาน พระเจ้าแสนหลวง พระประธานปางมารวิชัยหุ้มด้วยทองค�ำ ทั้งองค์ เป็นศิลปะเชียงแสน พระธาตุหลวงไชยช้างค�ำ้ สร้าง ด้ ว ยการก่อ อิฐ ถือ ปูนทาสีข าวศิลปะเชีย งแสน และเป็นที่ ประดิษฐานพระธาตุซึ่งน�ำมาจากเมืองหงสาวดี ตุงกระด้าง ท�ำด้วยไม้สักยาวประมาณ 3 เมตร แกะสลักลวดลายเป็น รูปพญานาค 4 คู่ ตอกติดกับเสาหงส์ศิลปะแบบพม่า และมี ประตู โ ขง ประตู วั ด ที่ เ ก่ า แก่ เ ป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานรู ป ปั ้ น ของ เจ้าเมืองแพร่ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 55

55

2/7/2562 10:54:35


อลังการพุ ทธศิลป์พม่า

ณ วัดจอมสวรรค์ วัดจอมสวรรค์ เป็นวัดเก่าแก่ที่มีสถาปัตยกรรมและ เจดีย์แบบพม่า สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้รับ การประกาศขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติ เมือ่ ปี พ.ศ. 2523 56

_

วัดจอมสวรรค์ ตัง้ อยูท่ ตี่ ำ� บลในเวียง อ�ำเภอเมือง สร้างโดย พ่อเฒ่าค�ำอ่อง (ชาวเงีย้ ว) ได้รว่ มมือกับพ่อฮ่อยกันตี (ต้นตระกูล เจริญกุศล) สร้างวัดขึ้นในปี พ.ศ.2437 ใช้เวลาสร้างประมาณ 5 ปี จึงแล้วเสร็จ ลักษณะอันโดดเด่น งดงาม และหาชมได้ ยากยิ่งคือ เป็นวัดที่สร้างตามแบบศิลปะพม่า โดยตัวโบสถ์ ศาลาการเปรียญและกุฏิ สร้างด้วยไม้สักทั้งหลังรวมอยู่ใน อาคารเดียวกัน มีหลังคาเหล็กใหญ่ฉลุลายลดหลั่นกัน 9 ชั้น ลวดลายวิจิตรงดงาม เสาและเพดานประดับกระจกสีท�ำเป็น ลวดต่างๆ เสาไม้ในโบสถ์ลงรักปิดทอง มีข้อความจารึกเป็น ภาษาพม่ารอบเสา จ�ำนวน 35 ต้น และมีเจดีย์ลักษณะคล้าย เจดียช์ เวดากองของพม่า คือมีเจดียใ์ หญ่อยูต่ รงกลาง รายล้อม ด้วยเจดีย์เล็กทั้ง 4 ด้านๆ ละ 3 องค์ นอกจากนี้ยังมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ส�ำคัญ อาทิ หลวงพ่อสาน เป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร ที่สร้างด้วยไม้ไผ่สานเป็น องค์แล้วลงรักปิดทอง มีหน้าตักกว้าง 54 เซนติเมตร สูง80 เซนติเมตร พระพุทธรูปงาช้าง ศิลปะแบบพม่า คัมภีร์โบราณ ที่ท�ำจากงาช้าง หรือคัมภีร์ปาติโมกข์ โดยน�ำงาช้างมาบด แล้วอัดเป็นแผ่นบางๆ เขียนลงรักแดง จารึกเป็นอักษรพม่า พระพุทธรูปหินอ่อน ประดิษฐานบนบุษบกลวดลายวิจิตร งดงาม ฯลฯ โบราณวัตถุเหล่านี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น สมบัติล�้ำค่าโดยกรมศิลปากรแล้ว ต้องบอกเลยว่าใครที่ชื่นชอบพุทธศิลป์แบบพม่า เพียงแค่ วางแผนมาเที่ยวเมืองแพร่ ก็จะได้ดื่มด�่ำกับความงามอันเป็น เอกลักษณ์ของวัดจอมสวรรค์อย่างเต็มอิ่มค่ะ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 56

2/7/2562 10:54:40


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 57

57

2/7/2562 10:54:41


สักการะพระนอนพั นปี

ณ วัดพระนอน วัดพระนอน เป็นวัดเก่าแก่และเป็นวัดเดียวของจังหวัดแพร่ ที่ยังคงรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานกันระหว่างศิลปะ เชียงแสน ศิลปะสุโขทัย และศิลปะอยุธยาตอนปลายได้อย่าง กลมกลืน วัดพระนอน ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของแม่นำ�้ ยม ต�ำบลในเวียง อยู่ใกล้กับวัดหลวง จุดเด่นภายในวัดคือ อุโบสถ เป็นศิลปะ เชียงแสนที่ไม่มีการเจาะช่องหน้าต่าง แต่มีช่องแสงที่ผนังตาม แบบศิลปะสุโขทัย ที่ลวดลายหน้าบันเป็นศิลปะแบบอยุธยา ตอนปลาย ผูกเป็นลายก้านขด มีภาพรามเกียรติ์ วิหารพระนอน มีรูปแบบการก่อสร้างเช่นเดียวกับอุโบสถ ตกแต่งบริเวณ ชายคาเป็นไม้ฉลุโดยรอบ หลังคาประดับด้วยไม้แกะสลักเป็น รูปพญานาคบริเวณหน้าจั่ว ภายในวิหารมีพระพุทธไสยาสน์ พระพุทธรูปปูนปั้นปางไสยาสน์ยาว 9 เมตร ลงรักปิดทอง ตลอดองค์ ส�ำหรับผู้ที่เกิดวันอังคาร น่าจะหาโอกาสมากราบขอพร พระพุทธไสยาสน์ ทีว่ ดั พระนอนกันนะคะ เพราะเป็นพระพุทธ รูปเก่าแก่ที่สร้างมาแล้วกว่าพันปี โดยทุกปีทางวัดได้จัดงาน ประเพณีไหว้พระนอน ในวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 7 (เดือน 9 เหนือ) 58

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 58

2/7/2562 10:54:44


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 59

59

2/7/2562 10:54:46


60

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 60

2/7/2562 10:54:47


จิตวิญญาณ

ที่ไม่เคยจางหาย

ณ คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ สถาปัตยกรรมไทยผสมยุโรป หรือ ที่เรียกว่าแบบขนมปังขิง ที่ได้รับความนิยมในสมัยรัชกาลที่ 5 ปัจจุบันเป็นอาคารอนุรักษ์ดีเด่นประจ�ำ ปี 2540 คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2435 ในสมัย เจ้าพิริยะชัยเทพวงศ์อุดร เจ้าเมืองแพร่องค์สุดท้าย ลักษณะ อาคารเป็นสถาปัตยกรรมไทยผสมยุโรป เป็นแบบพระราชนิยม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตอนต้น หลังคาแบบเรือนปั้นหยามุงด้วย ไม้แป้นเกล็ด รอบตัวอาคารประดับด้วยไม้แกะฉลุลวดลาย สวยงาม เป็นฝีช่างชาวจีนที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น ตัวอาคาร สร้างด้วยอิฐถือปูน มี 2 ชัน้ ไม่มกี ารฝังเสาเข็ม แต่ใช้ไม้ซงุ ท่อน รองรั บ ฐานเสาทั้ ง หลั ง ภายใต้ ตั ว อาคารซึ่ ง สู ง จากพื้ น ดิ น ประมาณ 2 เมตร มีห้องส�ำหรับคุมขังข้าทาส บริวาร สมัยต่อมา คุม้ เจ้าหลวงกลายเป็นจวนผูว้ า่ ราชการจังหวัด แพร่ ซึง่ เคยใช้เป็นทีป่ ระทับแรมของพระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ในรัชกาลที่ 9 เมือ่ คราวทีเ่ สด็จมาเยีย่ มเยียนราษฎร จังหวัดแพร่ ในระหว่างวันที่ 15-17 มีนาคม พ.ศ. 2501 นอกจากนี้ คุ้มเจ้าหลวง ยังได้รับพระราชทานรางวัลจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้เป็น สถาปัตยกรรมดีเด่นประเภทอาคารสถาบัน และสาธารณะ ประจ�ำปี 2540 ปัจจุบนั องค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ได้เปิดคุม้ เจ้าหลวง เป็นพิพธิ ภัณฑ์ เพือ่ ให้นกั เรียน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป ได้ศึกษาเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของคุ้มแห่งนี้ ซึ่งไม่ว่ากาล เวลาจะผ่ า นมานานเพี ย งใด ก็ ยั ง สั ม ผั ส ได้ ถึ ง บรรยากาศ แห่งอดีตได้ทุกอณู

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 61

61

2/7/2562 10:54:50


ซะป๊ะสินค้าผ้าหม้อห้อม

บ้านทุ่งโฮ้ง

62

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 62

2/7/2562 10:54:51


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 63

63

2/7/2562 10:54:52


ซะป๊ะสินค้าผ้าหม้อห้อม

บ้านทุ่งโฮ้ง

ไม่ซ้อ ื ไม่ได้แล้ว

ส�ำหรับสาวๆ ไม่วา่ จะสาวน้อยสาวใหญ่ ลองได้หลงหลุดเข้าไปที่ “ตลาด ต้องชม” ย่านสรรพสินค้าจากผ้าหม้อห้อม ที่ตั้งเรียงรายริมสองฝั่งถนนที่ บ้านทุ่งโฮ้งแล้วละก็ บอกได้เลยว่ายากที่จะถอนตัวออกมาได้ง่ายๆ ตลาดต้องชมแห่งนี้ ตั้งอยู่ที่ชุมชนทุ่งโฮ้ง ถนนยันตรโกศล ต�ำบลทุ่งโฮ้ง อ�ำเภอเมือง ที่นี่เป็นแหล่งจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์นานาชนิดจากผ้าหม้อห้อม ผ้าฝ้ายทีผ่ า่ นการย้อมจนเป็นสีนำ�้ เงินเข้มด้วยวัตถุดบิ ธรรมชาติ คือต้นห้อม ที่ถือเป็นราชาแห่งสีย้อม ผ่านกรรมวิธีการย้อมที่สลับซับซ้อนแบบโบราณ อันเป็นภูมปิ ญ ั ญาของชาวบ้านทุง่ โฮ้งทีไ่ ด้รบั การสืบทอดมาจากบรรพบุรษุ ที่ อพยพมาจากเมืองพวน แขวงเมืองเชียงขวาง สปป.ลาว มานานกว่า 200 ปี โดยผ้าหม้อห้อมแท้เนื้อผ้าจะนุ่ม สวมใส่สบาย ระบายอากาศดี สีไม่ตก สามารถปกป้องผิวจากการท�ำลายของแสงแดดได้ และมีกลิน่ หอมเฉพาะตัว ด้วยสรรพคุณและอัตลักษณ์อันโดดเด่นนี้เอง “หม้อห้อม” จึงถูกน�ำมาเป็น ส่วนหนึ่งในค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดแพร่กันเลยทีเดียว ปัจจุบนั สินค้าจากบ้านทุง่ โฮ้งมีหลากหลายมากๆ และไม่ได้มแี ค่เสือ้ ผ้า ส�ำหรับทุกเพศทุกวัยเท่านั้น แต่ยังมีกระเป๋าถือ ย่าม สมุดบันทึก แฟ้ม เอกสาร กล่องดินสอ ผ้าพันคอ พวงกุญแจ ของที่ระลึก ฯลฯ ที่ดูทันสมัย น่าซื้อไปหมด ท�ำให้บ้านทุ่งโฮ้งได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP เชิงหัตถกรรม และล่าสุดคือกระทรวงพาณิชย์รว่ มกับหลายหน่วยงาน ได้คัดเลือกให้ชุมชนทุ่งโฮ้ง เป็น “ตลาดต้องชม” ตลาดที่มีอัตลักษณ์เชิง พาณิชย์ และอัตลักษณ์ของชุมชนที่โดดเด่น ค�ำเตือนเมือ่ ไปเยือนตลาดต้องชมบ้านทุง่ โฮ้ง คุณผูช้ ายควรหาร้านกาแฟ นั่ ง พั ก เพื่ อ รอคุ ณ ผู ้ ห ญิ ง ไปเลื อ กซื้ อ จะดี ที่ สุ ด นะคะ เพราะร้ า นรวง สองข้างทางเขาเยอะมากจริงๆ 64

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 64

2/7/2562 10:55:00


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 65

65

2/7/2562 10:55:11


66

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 66

2/7/2562 10:55:13


ชมดงสักงาม

พั กเต็นท์แก่งเสือเต้น ณ อุทยานแห่งชาติแม่ยม ป่าต้นน�้ำแม่ยมที่อุดมด้วยต้นสักขนาดสูง ใหญ่ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ จนนับได้ว่าเป็น ตัวแทนของป่าสักทีส่ วยงามในเขตภาคเหนือ อยู่ ที่อุทยานแห่งชาติแม่ยม ซึ่งมีพื้นที่ส่วนหนึ่งอยู่ที่ อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ ด้วยความอุดมสมบูรณ์และงดงามของป่าสัก ธรรมชาติ ทางอุทยานฯจึงได้จัดเส้นทางศึกษา ธรรมชาติดงสักงาม เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้ชนื่ ชม ทิวทัศน์ที่สวยงามสมชื่อ มีจุดทะเลหมอกและ ทิวเขา ทีอ่ ยูห่ า่ งจากทีท่ ำ� การอุทยานฯ 13 กิโลเมตร มีจุดชมวิวผาลาดซึ่งเป็นหน้าผาสูง อยู่บริเวณ หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ มย.5 (ผาลาด) เป็นที่อยู่อาศัยของนกยูงสายพันธุ์ไทย แต่ที่มี ชื่ อ เสี ย งที่ สุ ด ก็ คื อ แก่ ง เสื อ เต้ น แก่ ง หิ น ตาม ธรรมชาติในแม่น�้ำยม ระยะทางยาวประมาณ 4 กิโลเมตร อยูบ่ ริเวณหน้าทีท่ ำ� การอุทยานแห่งชาติ แม่ยม ตามแก่งหินจะมีเนินทรายริมน�ำ้ ให้กางเต็นท์ พักแรมได้ และมีกจิ กรรมล่องแก่งตามล�ำน�ำ้ แม่ยม ให้ตื่นเต้นด้วย อุทยานแห่งชาติแม่ยมอยูห่ า่ งจากจังหวัดแพร่ ประมาณ 70 กิโลเมตร โดยไปตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 101 สายแพร่-น่าน เมื่อถึง สีแ่ ยกอ�ำเภอร้องกวางให้เลีย้ วซ้ายไปตามทางหลวง แผ่นดินหมายเลข 103 สายร้องกวาง-งาว ราว 26 กิโลเมตร จะถึงอ�ำเภอสอง ไปตามเส้นทาง หลวงจังหวัดหมายเลข 1154 สายสอง - งาว ประมาณ 20 กิโลเมตร PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 67

67

2/7/2562 10:55:17


พั กร้อนไปนอนแช่นำ�้

น�้ำตกแม่เกิ๋งหลวง

ช่วงนี้หลายคนบ่นเรื่องอากาศร้อน จนต้องสรรหาที่ เทีย่ วทีจ่ ะได้สมั ผัสกับสายน�ำ้ ให้เย็นฉ�ำ่ ชืน่ ใจ ไม่วา่ จะเป็น ล�ำน�ำ้ ธรรมชาติ อ่างเก็บน�ำ้ ทะเลสาบ หรือน�ำ้ ตก แต่กใ็ ช่ ว่าทุกที่จะมีนำ�้ ให้เล่นได้ในช่วงแล้ง แต่ ที่ น�้ ำ ตกแม่ เ กิ๋ ง หลวง ซึ่ ง อยู ่ ใ นบริ เ วณที่ ท�ำ การ อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย ท้องที่ต�ำบลแม่ป้าก อ�ำเภอ วังชิ้น จังหวัดแพร่ เป็นน�ำ้ ตกที่สวยงามและมีขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ในจังหวัดแพร่ โดยสายน�ำ้ จะไหลลงมาจากยอดดอย แม่เกิง๋ สามารถมองเห็นสายน�ำ้ สีขาวยาวพาดผ่านไหล่เขา ได้จากระยะไกล จากนั้นจะไหลลดหลั่นลงมาเป็นชั้น ๆ รวม 7 ชัน้ ระยะทางประมาณ 213 เมตร คล้ายบันได ซึง่ ค�ำว่า “แม่เกิ๋ง” เป็นภาษาพื้นเมืองแปลว่าขั้นบันได โดยมี เส้นทางให้ปนี ป่ายขึน้ ไปชมความงามจนถึงชัน้ ที่ 7 แต่ละ ชัน้ จะมีแอ่งน�ำ้ ใสสะอาดให้ลงเล่นน�ำ้ ได้อย่างปลอดภัย ที่ ส�ำคัญคือน�้ำตกสายนี้จะมีนำ�้ ไหลตลอดปีด้วย ร้อนตับแลบอย่างนี้ น�้ำตกแม่เกิ๋งหลวง จะเป็นทาง เลือกที่ดีที่สุดของการพักผ่อนในวันหยุดของคุณ

68

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 68

2/7/2562 10:55:22


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 69

69

2/7/2562 10:55:23


70

_

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 70

2/7/2562 10:55:24


สถานที่ๆ ไม่มีทั้งแพะและผี

แพะเมืองผี

วนอุทยานแพะเมืองผี เมื่อครั้งในอดีตกาลนานมาแล้ว ชาวบ้านขนานนามว่า เป็น “แพะเมืองผี” ไม่มีผู้ใดทราบ ประวัติเป็นที่ แน่นอน แต่ได้เล่าสืบทอดกันมาว่า แต่ก่อน บริเวณป่าแห่งนี้ เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ มีพันธ์ไม้ใหญ่ขึ้นอยู่ หนาแน่นและสัตว์ป่า น้อยใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก ในสมัยนั้น มีครูบาปัญโญฯ เป็นเจ้าอาวาสวัดน�ำ้ ช�ำ ต�ำบลน�ำ้ ช�ำ ซึง่ ชาวบ้าน ได้พร้อมใจกันนิมนต์มาเป็น เจ้าอาวาสองค์แรก ของวัดน�ำ้ ช�ำ และได้บอกเล่าประวัติแพะเมืองผีสืบทอดติดต่อกันมาว่า มีหญิงชราคนหนึ่งซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ย่าสุ่ม” เข้าไปหาผัก หน่อไม้ เป็นอาหาร แต่หลงป่าแล้วไปพบหลุมเงิน ทองค�ำ จึงได้น�ำเงิน และทองค�ำ ใส่ถุงแล้วเตรียมหาบ จะกลับบ้าน เสร็จแล้วเกิดหลงป่าอีก โดยไม่สามารถน�ำเอาหาบเงิน ทองค�ำ ออกมาได้ ย่าสุ่มจึงวางหาบจะกลับบ้านเสร็จแล้วเกิด หลงป่า อีก โดยไม่สามารถน�ำเอาหาบเงิน ทองค�ำออกมาได้ ย่าสุ่ม จึงวางหาบแล้วหาไม้มาคาดเป็นราว (ราวไม้) ต่อมาออกจาก ป่าจน ถึงบ้านและ เดินกลับไปราวไม้ที่คาดไว้เป็นแนวทางไว้ ซึ่งปัจจุบันเป็นร่องทางน�ำ้ พบเห็นได้ เป็นแนวออกไปทางบ้าน น�้ำช�ำ ทิศตะวันออกของ แพะเมืองผี ย่าสุ่ม จึงได้ชักชวนชาว บ้านให้เข้าไปด้วยปรากฏว่า ชาวบ้านก็ได้ติดตามย่าสุ่มเข้าไป ถึงจุดที่ ย่าสุ่มวางหาบไว้แต่ ไม่พบเงินและทองค�ำ ในหาบแต่ อย่างใด ไม่รวู้ า่ หายไปได้อย่างไร ชาวบ้านจึงขนานนามสถานที่ นั้นว่า “แพะย่าสุ่มคาดราว” และได้ช่วยกันค้นหา พบรอยเท้า คนเดินและชาวบ้านได้เดินตามรอยเท้าเหล่านั้นไปจนกระทั่ง มาถึงพื้นที่ซึ่งชาวบ้าน ขนานนามว่า “แพะเมืองผี” ภาษา พื้นเมืองทางภาคเหนือค�ำว่า “แพะ” ในที่นี้หมายถึงป่าแพะ นั่นเอง ส่วนค�ำว่าเมืองผีก็เป็นชื่อ ที่ชาวบ้านเรียก กันสืบมา ในสมัยดึกด�ำบรรพ์ โดยอาจจะเห็นว่าป่าแพะตรงนี้มีลักษณะ พิศดารของภูมิประเทศ และเพราะความเร้นลับตามเรื่องราว ที่เชื่อถือเล่าสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันนี้ก็อาจเป็นได้ ขอขอบคุณข้อมูลจาก กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานจังหวัดแพร่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพั นธุ์พืช PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

_

.indd 71

71

4/7/2562 11:09:07


วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร สักการะพระพุทธโกศัยศิริชัยศากยมุนี พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต) เจ้าคณะจังหวัดแพร่ / เจ้าอาวาสวัด

วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 16 ถนนเจริญเมือง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของศาลากลาง จังหวัด เป็นวัดที่เกิดจากการรวมตัว 2 วัด คือ วัดพระบาทกับวัดมิ่งเมือง เป็นวัดพระบาทมิ่งเมือง ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้ยกฐานะจากวัดราษฎร์ ให้เป็นพระอารามหลวง ชัน้ ตรี ชนิดวรวิหาร 72

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

6

.indd 72

26/6/2562 17:17:31


การรวมตัววัดพระบาท กับวัดมิ่งเมือง เป็นวัดพระบาทมิ่งเมือง ในช่วงปี พ.ศ. 2490 วัดพระบาท กับวัดมิ่งเมือง อยู่ห่างกันเพียงมี ตรอกคั่น เจ้าอาวาสทั้ง 2 วัดได้ปรึกษากับเจ้าตุ่น วังซ้าย ซึ่งเป็นศรัทธาต้น (ศรัทธาเก๊า) ของวัดมิง่ เมืองว่าจะจัดงานกิน๋ สลากทีว่ ดั มิง่ เมือง แต่วดั มิง่ เมือง คับแคบ จึงได้ตกลงทีจ่ ะทุบก�ำแพงรวมวัดทัง้ สองเข้าด้วยกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2491 พระปริยัติวงศาจารย์ ได้ทำ� หนังสือขออนุญาตสังฆมนตรี ให้รวมวัด พระบาทกับวัดมิ่งเมืองเป็นวัดเดียวกัน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศรวมวัดพระบาทกับวัดมิ่งเมืองเข้าด้วยกัน เป็นวัดพระบาทมิ่งเมือง มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 กระทรวงวัฒนธรรม ได้ประกาศว่า วัดพระบาท มิ่งเมือง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ ยกฐานะจากวัดราษฎร์ ให้เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 73

73

4/7/2562 11:33:04


สร้ า ง นขึ้น ทธิ์คู่ รึกษา ดที่จะ ษายน ปสมัย สูงจด มีส่วน

พระพุทธโกศัยสิริชัยมหาศากยมุนี ( พระคู่บ้านคู่เมืองแพร่) “ พระพุทธโกศัยศิรชิ ยั มหาศากยมุน”ี หรือทีช่ าวบ้านนิยมเรียกชือ่ สัน้ ๆ ว่า “พระพุทธโกศัย” เป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มืองแพร่ ประดิษฐาน อยู่ที่ วัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ พระพุทธโกศัยศิริชัยมหาศากยมุนี สร้างขึ้นระหว่างวันที่ 22-24 เมษายน 74 SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่2498 พร้อมกับสร้าง เหรียญพระพุทธโกศัย รุ่น 2498 หรือ เหรียญพระพุทธโกศัย รุ่น 1

6

.indd 74

26/6/2562 17:17:39


พระพุทธมิ่งขวัญเมือง เป็นพระพุทธรุูปโบราณ เก่าแก่ ซึ่งเจ้าหลวงเมืองแพร่ ได้สร้างขึ้นเป็นพระประธาน ในพระวิหารหลวงมิ่งเมืองเป็นศิลปะพื้นเมืองแพร่ ที่ศักดิ์สิทธิ์และสวยสดงดงาม หาดูได้ยากในเมืองแพร่ ณ ปัจจุบันนี้

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 75

75

26/6/2562 17:17:40


ปูชนียวัตถุที่สำ� คัญ คือ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ หลวงพ่ อ พระพุ ท ธโกศั ย สิ ริ ชั ย มหาศากยมุ นี (พระคู่บ้านคู่เมืองแพร่) หลวงพ่อพระพุทธมิ่งขวัญเมือง พระเจดีย์มิ่งเมือง และมณฑปรอยพระพุทธบาท เป็นต้น

ประวัติรอยพระพุทธบาท สมัยครัง้ พระพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้เสด็จโปรดเวไนยสัตว์แล้วได้เสด็จ ลงมายังเมืองพลนครหรือนครพล และได้มาประทับพักพระอิรยิ าบถ ณ ปาก ถ�้ำพญานาคซึ่งมีลมออกจากปากถ�้ำแรง จากนั้นพระพุทธองค์ได้เสด็จ ประทับรอยพระพุทธบาทไว้ ณ ปากถ�ำ้ สถานทีด่ งั กล่าวก็คอื วัดพระพุทธบาท ต่อมาเจ้ามหาอุปราช ได้สร้างพระวิหารครอบรอยพระพุทธบาท 4 รอย จาก นั้นปากถ�้ำก็ถูกปิดทันที ต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2448 พระยาบุรีรัตน์ (หนู มหายศปัญญา) หรือเจ้าบุรี รัตน์ได้สร้างวิหารพระบาทต่อมาเนือ่ งจากวิหารพระพุทธบาทหลังเดิมช�ำรุด ตามธรรมชาติทสี่ ร้างมานาน ทางวัดจึงรือ้ แล้วสร้างเป็นรูปมณฑปหลังคาเท คอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2485 ส�ำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2486

รายนามเจ้าอาวาสวัดพระบาทเท่าที่สืบได้ มี 4 รูป คือ

1. พระครูพุทธวงศาจารย์ (ทองค�ำ พุทฺธวํโส) พ.ศ. 2410-พ.ศ. 2455 2. พระปลัดคันธะ คนฺธวิชโย พ.ศ. 2455-พ.ศ. 2464 3. พระอธิการค�ำลือ กญฺจโน พ.ศ. 2464-พ.ศ. 2474 4. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว) พ.ศ. 2474-พ.ศ. 2492

เจ้าอาวาสวัดมิ่งเมืองเท่าที่สืบได้ มี 4 รูป คือ

1. ครูบามณีวรรณ พ.ศ. 2365-พ.ศ. 2387 2. ครูบาวงษ์ พ.ศ. 2387-พ.ศ. 2420 3. พระครูมหาญาณสิทธิ์ (โท้ กญฺจโน) พ.ศ. 2462-พ.ศ. 2488 4. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร) พ.ศ. 2490-พ.ศ. 2491

เจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมือง มี 1 รูป คือ

1. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว) พ.ศ. 2492-พ.ศ. 2498 76

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

6

.indd 76

26/6/2562 17:17:47


เจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร มี 3 รูป คือ 1. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (ฟู อตฺตสิโว) พ.ศ. 2498-พ.ศ. 2518 2. พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สุจี กตสาโร) พ.ศ. 2518-พ.ศ. 2554 3. พระราชเขมากร (ประยุทธ ภูริทตฺโต) พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน

ประวัติอดีตเจ้าอาวาส

ชื่ อ พระมหาโพธิว งศาจารย์ ฉายา กตสาโร อายุ 95 พรรษา 75 น.ธ.เอก ป.ธ.3, พธ.ด.กิต ติม ศักดิ์, ค.ด.กิต ติม ศักดิ์, ปร.ด.กิตติมศักดิ์ สถานะเดิม ชื่อ สุจี นามสกุล ขรวงค์ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2460 ปีมะเส็ง เกิดทีบ่ า้ นทุง่ อ่วน หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลนาจักร อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บรรพชาเมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 ณ วัดกาญจนาราม อุปสมบทเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2481 ณ วัดกาญจนาราม

ประวัติพระธาตุมิ่งเมือง พระธาตุมิ่งเมือง เป็นพระธาตุโบราณ สร้างมานาน เสมือนเป็น เครื่องหมายใจกลางเมือง จึงเรียกว่าพระธาตุมิ่งเมือง ไม่มีประวัติที่จะให้ ค้นคว้าหาหลักฐาน แต่เป็นที่เคารพนับถือของประชาชน พระธาตุองค์นี้ ฐานยกพื้นลง 3 ศอก ฐานองค์พระธาตุบนฐานยกพื้น 2 ศอก เป็นฐาน สีเ่ หลีย่ ม กว้างด้านละ 3 วา 2 ศอก องค์พระธาตุ 5 เหลีย่ มตัง้ บนฐานสูง 7 วา 2 ศอก นับแต่พื้นดินถึงยอดพระธาตุสูง 8 วา 1 ศอก

เคยด�ำรงต�ำแหน่ง

1. เจ้าอาวาสวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร พระอารามหลวง 2. ที่ปรึกษาคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช 3. ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 6 4. รองเจ้าคณะภาค 6 5. เจ้าคณะจังหวัดแพร่ 6. พระอุปัชฌาย์ 7. ผู้อำ� นวยการโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ 8. ผู้จัดการโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ 9. ประธานสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ 10. รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่

พระมหาโพธิวงศาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 77

77

26/6/2562 17:17:49


โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา โรงเรียนต้นแบบในโครงการตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร จังหวัดแพร่ เป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา ต้นแบบในโครงการ ตามพระราชด�ำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สงั กัดมหาเถรสมาคม กองพุทธศาสนศึกษา ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา ที่ 37 ก่อตัง้ เมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2500 ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 16 ถนนเจริญเมือง ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่

ประวัติความเป็นมา

โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ มีนามเดิมว่า “โรงเรียน ธรรมราชวิทยา” เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2500 โดยมี พระภัทร สารมุนี (สุจี กตสารมหาเถระ) (พระมหาโพธิวงศาจารย์) เป็นผู้ก่อตั้ง พระครูวิชิตวินัยการ เป็นผู้จัดการ พระอินจันทร์ สีเหลือง เป็นครูใหญ่ โดยจัดการเรียนการสอนทั้งแผนกธรรม และแผนกบาลี ปีพทุ ธศักราช 2507 ทางมหาเถรสมาคมมีมติให้ยบุ โรงเรียนบาลี มัธยมศึกษาทีม่ อี ยูท่ งั้ หมดทัว่ ประเทศ โรงเรียนธรรมราชวิทยาจึงถูกสัง่ ยุบไปด้วย ปีพทุ ธศักราช 2508 ได้จดั ตัง้ เป็นโรงเรียนสาธิต สาขามหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แต่ต่อมากรมสามัญศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ มิให้นักเรียนที่จบชั้นสูงสุด สอบสมทบชั้นสุดประโยค (ป.7 และ ม.ศ.3) 78

ปีพทุ ธศักราช 2513-2517 ทางกระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุญาต จัดตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ในช่วงปีพุทธศักราช 2517 ถึง ปีพุทธศักราช 2519 ได้มีการ จัดการศึกษาทัง้ แบบศึกษาผูใ้ หญ่ และการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมควบคู่ กันไป มีอาคารท�ำการซึ่งได้รับการอนุเคราะห์สร้างถวายโดย นายห้าง กมล สุโกศล โดยตั้งชื่อว่า “อาคารกมลสุโกศล” เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น จ�ำนวน 16 ห้องเรียน มีพระภิกษุและสามเณรเข้าศึกษาประมาณ 500 -700 รูป และมีอาคารยาขอบเป็นที่ท�ำการ และได้มีการเปิดท�ำการ เรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ป.5 ถึง ม.ศ.3 ควบคู่ไปกับการศึกษา ผู้ใหญ่ระดับ 4

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.

15-06-62.indd 78

1/7/2562 10:09:44


ผู้บริหารปัจจุบัน

ท่านเจ้าคุณพระราชเขมากร, รศ.ดร ผู้จัดการสถานศึกษา พระครูวิจิตรปริยัตยาทร ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา ปีพุทธศักราช 2519 จัดการศึกษาแบบพระปริยัติธรรมอย่างเดียว โดย ยุบโรงเรียนการศึกษาผู้ใหญ่ออก คงเหลือแต่การเปิดการเรียนการสอนแบบ พระปริยัติธรรม ระดับ ม.ศ.1 ถึง ม.ศ.3 (ปัจจุบันคือ มัธยมศึกษาตอนต้น) ปีพุทธศักราช 2520-2525 เปิดท�ำการเรียนการสอนเฉพาะพระปริยัติธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ปีพุทธศักราช 2526 เปิดท�ำการเรียนการสอนทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และพัฒนาโรงเรียนจนกระทัง่ มีการบริหารจัดการ ทีเ่ ป็นแบบสากลทัว่ ไป คือกระจายอ�ำนาจการบริหารจัดการ ออกเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายปกครอง ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายงบประมาณและบุคคล และฝ่ายบริหารงานทั่วไป

รายนามผู้บริหารโรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา

1. พระอินจันทร์ สีเหลือง 2. พระราชปริยัตยาภรณ์ 3. พระครูวิมลกิตติสุนทร 4. พระครูปลัดสุวัฒนโพธิคุณ 5. พระครูโสภณพัฒนานุยุต 6. พระมหาวรพงษ์ ยสชาโต 7. พระวิมลกิจจาภรณ์ 8. พระครูวิจิตรปริยัตยาทร

พ.ศ. 2500-2507 พ.ศ. 2513-2540 พ.ศ. 2541-2544 พ.ศ. 2544-2545 พ.ศ. 2545-2546 พ.ศ. 2547-2550 พ.ศ. 2550-2558 พ.ศ. 2558-ปัจจุบัน

ความภาคภูมิใจของสถานศึกษา

ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจาก สมศ. ทัง้ 3 รอบ ได้รับรางวัล “โรงเรียนพระปริยัติธรรมดีเด่น” ใน ปี พ.ศ. 2547 ได้เข้าเป็นโรงเรียนในโครงการตามพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2550 ได้รับทุนสนับสนุนโรงเรียนส่งเสริมคุณธรรมดีเด่น จากส�ำนักงานป้องกันและปราบปราบทุจริตแห่งชาติ ประจ�ำปี 2551-2555 ได้รับรางวัลชนะเลิศ “โรงเรียนแห่งการเรียนรู้” ของ สพป.แพร่ เขต 1 ในปี พ.ศ. 2553 โรงเรียนคุณธรรมดีเด่นระดับประเทศ ในปี พ.ศ. 2554-2555 ได้รับรางวัลเหรียญทองระดับประเทศ ในการ แข่งขันเขียนกระทู้ธรรม และบรรยายธรรมะ ในปี พ.ศ. 2553 และ 2554 ได้รับรางวัลประเภทคะแนนการจัดการเรียนการ สอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมดีเด่น ประจ�ำปี 2559 ระดับประเทศ เป็นตัวแทนโรงเรียนมัธยมขนาดกลาง ระดับจังหวัด แพร่ เข้าแข่งขันโรงเรียนพระราชทานระดับกลุ่มจังหวัด ได้รบั เสด็จ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาส ทรงทอดพระเนตรผลงานการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียนพุทธโกศัยวิทยา จังหวัดแพร่ ในปี พ.ศ. 2553 และปี พ.ศ. 2557 ปี ก ารศึ ก ษา 2555 ได้ รั บ การคั ด เลื อ กให้ เ ป็ น โรงเรียนต้นแบบ ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนก สามั ญ ศึ ก ษาในโครงการตามพระราชด� ำ ริ ส มเด็ จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.

15-06-62.indd 79

79

1/7/2562 10:09:48


H I STORY OF BU DDHI S M

80

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 80

29/6/2562 9:49:09


History of buddhism

“วัดพระธาตุช่อแฮ” สักการะพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองแพร่

วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 11 ถนนช่อแฮ ต�ำบลช่อแฮ อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ อยู่ห่างจากตัวเมืองแพร่ประมาณ 8 กิโลเมตร ในบริเวณวัดประดิษฐานพระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองแพร่ และเป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีขาล (ปีเสือ)

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 81

81

29/6/2562 9:49:10


WAT PHRA THAT CHO HAE

“วั ด พระธาตุ ช ่ อ แฮ”

พระโกศัยเจติยารักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดแพร่ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง

WORSHIPPING SACRED AND INVALUABLE RELIC OF PHRAE WAT PHRA THAT CHO HAE

วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง อยู่ห่างจากตัวเมืองแพร่ประมาณ 8 กิโลเมตร ในบริเวณวัดประดิษฐานพระธาตุช่อแฮ ซึ่งเป็นพระธาตุศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองแพร่ และเป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีขาล (ปีเสือ)

ประวัติความเป็นมา การสร้างวัดพระธาตุชอ่ แฮนัน้ ไม่ ป รากฏหลั ก ฐานที่ ชั ด เจนว่ า สร้ า งขึ้ น เมื่ อ ใด แต่ จ ากต� ำ นาน พระเจ้าเลียบโลกกล่าวว่า สมัยครัง้ พุทธกาลพระพุทธเจ้าได้เสด็จมา ณ ดอยโกสิยะแห่งนี้ และได้มอบ พระเกศาให้กับขุนลัวะอ้ายก้อม หัวหน้าชุมชนในยุคนัน้ ซึง่ ได้นำ� มา ใส่ในท้องสิงห์ทองค�ำบรรจุไว้ในถ�ำ้ ใต้องค์พระธาตุแห่งนี้เพื่อไว้เป็นที่ เคารพสักการะสืบมา 82

12

หลักฐานด้านประวัติศาสตร์ ปรากฏพระนามของพระธาตุช่อแฮในสมัยกรุงสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ.1879-1881 ในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชา (ลิไท) ขณะด�ำรงพระยศเป็นพระมหาอุปราช ปกครองเมืองศรีสัชนาลัย ได้เสด็จ มาสักการะพระธาตุช่อแฮ ต่อมาใน พ.ศ.1902 ได้เสด็จมาปฏิสังขรณ์พระเจดีย์แห่งนี้ และขนานนามภูเขาซึ่งเป็นที่ ตั้งองค์พระธาตุว่า โกสิยธชัคคปัพพเต หรือ โกสัยธชัคคบรรพต จากนั้นได้จัดงานสักการะ 7 วัน 7 คืน ต่อมาพระ ธาตุนจี้ งึ ได้ชอื่ ว่า พระธาตุชอ่ แฮ (สันนิษฐาน ค�ำว่า ช่อแฮ เป็นค�ำทีเ่ พีย้ นมาจากค�ำว่า ช่อแพร ซึง่ เป็นผ้าทีใ่ ช้สกั การะ โดยน�ำมาห่มองค์พระธาตุ) พ.ศ.2312 สมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกกองทัพมาขับไล่พม่าที่ยึดครองล้านนา โดยมี พญาแพร่หรือเจ้ามังไชยะ ผู้ปกครองเมืองแพร่ น�ำขุนนางกรมการเมืองและไพร่พลเข้าเฝ้าถวายบังคม และร่วมทัพ ไปตีพม่าทีเ่ มืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ จึงโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้เป็นพระยาศรีสรุ ยิ วงศ์ ปกครองเมืองแพร่ สืบต่อไป และได้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาดูแลองค์พระธาตุช่อแฮจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ.2361 เจ้าหลวงเทพวงศ์ (ลิ้นตอง) เจ้าหลวงเมืองแพร่ ได้บูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุช่อแฮ ต่อมาในปี พ.ศ.2373 เจ้าหลวงอินทวิไชย เจ้าหลวงเมืองแพร่ ได้บูรณปฏิสังขรณ์ต่อจากเจ้าหลวงเทพวงศ์ พ.ศ.2415 เจ้าหลวง

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 82

29/6/2562 9:49:12


ต�ำนานพระธาตุช่อแฮ

ที่ มี บทบาทในต�ำ บลป่าแดงมากที่สุด และอุป ถัม ภ์พ ระบรมธาตุช่อแฮ ตลอดมาคือ เจ้าหลวงพิมพิสาร (เจ้าหลวงขาเค) และเจ้าหลวงพิรยิ ะเทพวงศ์ อุดรฯ (พระยาพิริยะวิชัย) เจ้าหลวงองค์สุดท้ายของเมืองแพร่ ซึ่งปกครอง เมืองแพร่ระหว่าง พ.ศ.2432-2445 ในปี พ.ศ.2467 องค์พระธาตุชอ่ แฮได้รบั การบูรณะครัง้ ใหญ่อกี ครัง้ โดย นักบุญแห่งล้านนาไทย ซึง่ คนเมืองแพร่เรียกนามท่านว่า ครูบาศีลธรรม หรือ ที่รู้จักกันดีคือ ครูบาศรีวิชัยนักบุญแห่งล้านนา ต่อมากรมศิลปากรได้ประกาศขึน้ ทะเบียนองค์พระธาตุชอ่ แฮ เป็นโบราณ สถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 ตอนที่ 75 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ.2478 และได้ประกาศก�ำหนดขอบเขตโบราณสถานเล่มที่ 97 ตอนที่ 159 ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2532 ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ได้มีหนังสือรับรองสภาพวัดไว้ว่า วัดพระธาตุชอ่ แฮ ตัง้ วัดเมือ่ พ.ศ.1900 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ.1910 ตามหนังสือ ที่ พ.ศ.0003/526 ลงวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2548 ในปีต่อมา วัดพระธาตุช่อแฮ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกฐานะจาก วัดราษฎร์ขนึ้ เป็นพระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ ตัง้ แต่วนั ที่ 23 มิถนุ ายน พ.ศ.2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 123 ตอนที่ 96 ลงวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ปัจจุบัน วัดพระธาตุช่อแฮ เป็นวัดส�ำคัญเป็นที่รู้จักกว้างขวางไปทั่ว ประเทศ แต่ละปีได้จัดงานประเพณีนมัสการองค์พระธาตุช่อแฮ โดยยึดถือ ตามจันทรคติ ระหว่างวันขึ้น 9 ค�่ำ ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 4 ใต้ เดือน 6 เหนือ โดยใช้ชอื่ งานว่า “งานประเพณีไหว้พระธาตุชอ่ แฮ เมืองแพร่แห่ตงุ หลวง” ด้วยความส�ำคัญของพระธาตุช่อแฮ เมื่อกรมศิลปากรได้ก�ำหนดให้แต่ละ จังหวัดออกแบบตราประจ�ำจังหวัดใน พ.ศ.2483 คณะกรรมการจังหวัดแพร่ ได้เลือกน�ำองค์พระธาตุชอ่ แฮ ประดิษฐานบนหลังม้า เป็นดวงตราสัญลักษณ์ ของจังหวัด และน�ำมาเป็นส่วนหนึ่งของค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดแพร่ดังนี้

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ เตวาติเตวัง วักขามิโก ชิยะปัธชะ ปัพพะตัง ธาตุติทาสัง ปะระเตวะรัตตัง อะหังอันว่า ข้านะมิตตา น้อมนพแล้ว เตวาติเตวัง ยังพระพุทธเจ้า ตนเป็นเทวะ ยิ่งกว่า เทวะ 3 ประการ คือ เป็นสมมุติเทวะ ได้แก่ อุปติเทวะ วิสุทธิเทวะ สุถะตัว ฃงเทวะ สุกะตะ สุดตะรัง ทานัง ถะตัดตา เหตุภาวะ พระพุทธเจ้า ถึงฐานะ อันยิ่ง คือ นิพพาน มิตตวา น้อมนพแล้ว ประมูลจะยัง นะจะ โลกุตตะระ ธรรมเจ้า 7 ประการ 10 ทั้งปะริยัตตินะมิตตวาจะ ข้าน้อมนพแล้ว ยังอะริ ยะสังฆะวะระตักขินัยยังอันควรรับเอาทานประเสริฐ วักขามิ จักกล่าว ดังนี้ โภคิยะ ปัพพะ ปัพพะตัง ยังดอยอันชื่อว่า ช่อแฮ ในเมืองแพร่ ธาตุติ ทานังอันทรงธาตุแห่งพระพุทธเจ้ามากนัก ทะระเตวะรัตถัง อันเกิดในเมือง ปะละนคร (พะละนคร, พลนคร) ซึ่งเป็นเมืองบริวารของนพบุรีเชียงใหม่ และเมือ่ พระพุทธเจ้าได้ตรัสรูแ้ ล้วได้ 25 วัสสา (พรรษา) ขณะทีพ่ ระพุทธเจ้า อยูใ่ นเมืองเชตะวันนัน้ ในคืนหนึง่ พระองค์นอนอยูใ่ นกัณฑะกุฏิ เมือ่ ยามใกล้ รุ่งได้ร�ำพึงว่า บัดนี้อายุกูได้ 70 ปีเข้ามาแล้ว และเมื่ออายุ 80 ปี กูก็จัก นิพพาน และเมื่อกูยังเหลืออายุสั้นอย่างนี้ กูก็จักอธิษฐานให้ย่อยเป็น 3 ประการ ให้คนและเทวดาทั้งหลายแบ่งปันกันเอาไว้เป็นที่สักการบูชา เหมือนดั่งตนกูตะถาคะตะยังอยู่สั่งสอนสัตว์โลก แหละเหตุว่าอายุกูเหลือ น้อยนัก ขอให้สัตว์ทั้งหลายได้ไปได้ไหว้ได้เห็นกูพร้อมกันเถิด พระพุทธเจ้า เมือ่ ก่อนนิพพานได้อธิษฐานเอาธาตุไปไว้ทใ่ี ด กูจกั ไปท�ำนายธาตุแห่งกูอย่าง นั้นไปไว้ที่นั่น ครั้นเมื่อออกพรรษาแล้ว วันหนึ่งมีพระอรหันต์ชื่อว่า รัตนะเถระ และ อนันตเถระ ได้ออกเดินทางไปพร้อมกับพระพุทธเจ้า โดยมีพระยาอินทร์ลง มาถือสัตตะกัง และมีพระยาตนหนึง่ ชือ่ อโศกราชผูค้ รองเมืองกุสนิ ารายณ์ ก็ ไปเป็นอุบาสกอุปฏั ฐากพระพุทธเจ้าไปถึงเมืองเชตะวัน มีความยินดีนกั โดย ถือรองเท้ากับไม้เท้าไปกับพระพุทธเจ้า ออกจากเมืองเชตะวันเมือ่ เดือนเกีย๋ ง (เดือน 1) แรม 1 ค�ำ่ เดินทางไปเทศนาสัง่ สอนสัตว์โลกในบ้านเมืองน้อยใหญ่ เป็นต้นว่าไปเมืองกุสินารายณ์ แล้วไปเมืองกลว เมืองแก้ว เมืองลังกา เมือง สวนตาล เมืองจินหลวง เมืองวิเตหะ เมืองฮ่อ เมืองงื้อ เมืองเถิน เมืองตาก แล้วไปนอนทีด่ อยเรือ เมืองเชียงแสนแล้วไปเมืองพะเยา เมืองละคร (ล�ำปาง) เมืองน่าน แล้วไปถึงเมืองแป้ (เมืองแพร่) ได้ไปนอนอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ต้นหนึ่ง อันมีพิษ มีล�ำต้น กิ่งก้านสาขางามนัก คนทั้งหลายเรียกว่าได้จองแค่(สะแก) ขึ้นอยู่เหนือยอดดอยน้อยซึ่งอยู่ใกล้ต้นหมากใหญ่ 8 ก�ำ สูง 20 วา ก�ำลังติด ผลดก อยูท่ างทิศตะวันออกห่างจากแม่นำ�้ ยมมะนานนะที หรือเรียกว่า แม่นำ�้ ยม เป็นระยะทาง 4,000 วา

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 83

83

29/6/2562 9:49:14


IMPORTANT สิ่งส�ำคัญภายในวัดพระธาตุช่อแฮ

จากพงศาวดารว่าด้วยกรุงสุโขทัย หอสมุดแห่งชาติ บันทึกไว้ว่า พญาลิไท หรือพระมหาธรรม ราชาธิราช เมื่อครั้งยังเป็นมหาอุปราชครองเมืองศรีสัชนาลัย มีศรัทธาในพุทธศาสนาอย่าง แรงกล้า ทรงรับเอาพระพุทธศาสนาในแบบลังกาวงศ์เข้ามาในประเทศ และโปรดให้สร้าง ศาสนสถานตามที่ปรากฏในพุทธประวัติหลายแห่ง โดยทรงเลือกสถานที่ด้วยพระองค์เอง

>> องค์พระธาตุช่อแฮ พระธาตุประจ�ำปีเกิดปีขาล (เสือ) พระธาตุช่อแฮ เป็นพระธาตุหนึ่งใน 12 ราศี คือเป็นพระธาตุประจ�ำปีเกิดของผู้ที่เกิดปีขาล (ปีเสือ) ลักษณะองค์พระธาตุเป็นเจดียท์ รงระฆังในผัง 8 เหลีย่ ม สูง 33 เมตร ฐานตอนล่างสุด เป็นฐานเขียงสีเ่ หลีย่ ม ขนาด 11x11 เมตร รับฐานหน้ากระดานแปดเหลีย่ มซ้อนลดหลัน่ 2 ชัน้ >> หลวงพ่อช่อแฮ หรือ พระเจ้าช่อแฮ เป็นพระประธานประดิษฐานในพระอุโบสถ ลักษณะเป็นพระพุทธรูปปูนปั้น ปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง ศิลปะเชียงแสน มีซุ้มเรือนแก้วแกะสลักด้วยไม้สัก มีความประณีตอ่อนช้อย งดงาม พระอุนาโลมประดับเพชรที่พระนลาฏ(หน้าผาก) มีหน้าตักกว้าง 380 เซนติเมตรสูง 450 เซนติเมตร ตัง้ ประดิษฐานบนฐานชุกชี มีลายปูนปัน้ บัวคว�ำ่ บัวหงาย สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ หลังจากสร้างองค์พระธาตุช่อแฮแล้ว ราวพุทธศักราช 1600 มีอายุประมาณ 900 ปี >> หลวงพ่อทันใจ หรือพระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางสมาธิ ลงรักปิดทองศิลปะเชียงแสน หน้าตักกว้าง 80 เซนติเมตร สูง 120 เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูปทีส่ ร้างขึน้ เมือ่ พ.ศ.2465 ผูส้ ร้างคือ ส่างค�ำปัน เป็นชาว ไทยใหญ่(เงี้ยว) เป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่มีนักท่องเที่ยวมาอธิษฐานขอพรอยู่เสมอ >> พระเจ้านอน เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางไสยาสน์ ลงรักปิดทอง ศิลปะแบบพม่า ขนาดยาว 370 เซนติเมตร สูง 135 เซนติเมตร ประดิษฐานในศาลาพระนอน เป็นพระพุทธรูปทีช่ าวจังหวัดแพร่เคารพนับถือ ก่อนจะขึ้นนมัสการองค์พระธาตุช่อแฮ ชาวบ้านนิยมเดินทางมานมัสการพระเจ้านอนก่อน ผูส้ ร้างคือพ่อจองปัน จิตะ๊ แค แม่ออน ปรางสุวรรณ สร้างเมือ่ วันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 เหนือ พ.ศ.2459 >> พระพุทธโลกนาถบพิตร เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปางนาคปรก ลงรักปิดทอง ศิลปะแบบสุโขทัยผสมอยุธยา ขนาดหน้าตัก กว้าง 360 เซนติเมตร สูง 700 เซนติเมตร ประดิษฐานอยูใ่ นพระวิหารศิลปะล้านนาประยุกต์ ผูส้ ร้าง คือ พ่อแสน-แม่บญ ุ ปัน๋ มนกลม, คุณปรีชา-คุณฉันท์ทพิ ย์ กลิน่ โสภณ, และครอบครัว สร้างขึ้นในปี พ.ศ.2534 โดยมีเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( ฟื้น ชุตินฺธโร ป.ธ.9) เป็นประธานเททองหล่อและเบิกเนตร >> พระเจ้าไม้สัก เป็นพระพุทธรูปสร้างด้วยไม้สักทอง ปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา หน้าตักกว้าง 82.5 เซนติเมตร สูง 217.5 ประดิษฐานในศาลาบาตร ลานพระธาตุช่อแฮ >> พระพุทธธรรมจักร เป็นพระพุทธรูปปางปฐมเทศนา ศิลปะรัตนโกสินทร์ประยุกต์ สร้างด้วยทองเหลือง ขนาด หน้าตักกว้าง 3 เมตร สูง 3.50 เมตร ประดิษฐานอยูด่ า้ นทิศตะวันออกขององค์พระธาตุชอ่ แฮ ติดกับทางขึ้นบันไดสุระอ้ายก้อม >> พระพุทธรัชมงคลอุบลบพิตร เป็นพระพุทธรูปปางสมาธิ ศิลปะอู่ทอง สร้างด้วยทองเหลืองลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 25 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวารของทูลกระหม่อมหญิง อุบลรัตนราชกัญญาสิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี ประทานถวาย วัดพระธาตุชอ่ แฮ เมือ่ วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2548 84

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 84

29/6/2562 9:49:24


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 85

85

29/6/2562 9:49:25


86

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 86

29/6/2562 9:49:26


>> พระพุทธเจดีย์โกศัย เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชยั หล่อด้วยทองจังโก ศิลปะล้านนาผสมสุโขทัย มีทั้งหมด 3 องค์ มีจารึกใต้ฐานพระพุทธรูป ชื่อ พระพุทธเจดีย์โกศัย ทั้งสามองค์แต่มีขนาดต่างกันดังนี้ องค์ที่ 1 หน้าตักกว้าง 92 เซนติเมตร สูง 155 เซนติเมตร องค์ที่ 2 หน้าตักกว้าง 93 เซนติเมตร สูง 160 เซนติเมตร องค์ที่ 3 หน้าตักกว้าง 93 เซนติเมตร สูง 155 เซนติเมตร พระพุทธรูปทัง้ สามองค์น้ี สร้างขึน้ ในปี พ.ศ.2432 โดยการน�ำเอาทองจังโกทีห่ มุ้ องค์พระธาตุ ช่อแฮเดิม มาท�ำการเททองหล่อพระพุทธเจดียโ์ กศัย ช่างหล่อน�ำโดย ครูบาชัยลังกา วัดพระหลวง (ธาตุเนิ้ง) อ�ำเภอสูงเม่น และช่างแก้ว ชาวอ�ำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ท�ำการหล่อ ณ วัดพระหลวง (ธาตุเนิ้ง) มีพระยาบุรีรัตน์กับคุณหญิงจันทร์ค�ำ มหายศปัญญา เป็นผู้ให้ความ อุปถัมภ์ในการหล่อ แล้วน�ำมาประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุช่อแฮ เมื่อปี พ.ศ.2472 >> พระพุทธรูปพม่า เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย ศิลปะพม่า มีจ�ำนวน 2 องค์ ดังนี้ องค์ที่ 1 หน้าตักกว้าง 180 เซนติเมตร สูง 265 เซนติเมตร องค์ที่ 2 หน้าตักกว้าง 180 เซนติเมตร สูง 280 เซนติเมตร พระพุทธรูปทั้ง 2 องค์ นี้ประดิษฐานอยู่ด้านซ้ายขององค์พระประธานในพระอุโบสถ >> พระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง 200 เซนติเมตร สูง 225 เซนติเมตร ประดิษฐานด้านขวาขององค์พระประธาน ในพระอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปศิลปะล้านนาผสมเชียงแสน สร้างโดยอุบาสิกาชาวล�ำปาง วัตถุประสงค์สร้างเพื่อถวายในพระพุทธศาสนาและระลึกถึงลูกชายที่เสียชีวิต >> พระพุทธรูปไม้ เป็นพระพุทธรูปทีแ่ กะสลักด้วยไม้มงคลต่างๆ เช่น ไม้สกั ไม้ขนุน ไม้ตน้ โพธิ์ เป็นต้น ส่วนมาก เป็นพระพุทธรูปศิลปะล้านนา โดยผู้ที่สร้างไม่สามารถที่จะสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ได้ ตามประเพณีโบราณชาวล้านนาจึงนิยมสร้างพระพุทธรูปแกะสลักด้วยไม้มาถวายไว้ใน พระพุทธศาสนาเป็นจ�ำนวนมาก >> รูปหล่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) องค์ที่ 1 เป็นรูปหล่อด้วยโลหะขัดมันปู หน้าตักกว้าง 60 เซนติเมตร สูง 85 เซนติเมตร องค์ที่ 2 เป็นรูปหล่อด้วยปูนปัน้ ลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 50 เซนติเมตร สูง 60 เซนติเมตร >> รูปหล่อครูบาศรีรีวิชัย ครูบาศรีวิชัยเป็นพระสงฆ์ ที่ชาวบ้านนาเคารพสักการะ ยกย่องเป็นนักบุญแห่งล้านนา พ.ศ.2467 ครูบาศรีวชิ ยั ได้จาริกแสวงบุญมายังเมืองแพร่ และได้บรู ณปฏิสงั ขรณ์วดั พระธาตุชอ่ แฮ ใน พ.ศ.2538 ชาวแพร่จงึ ได้ทำ� การสร้างรูปหล่อครูบาศรีวชิ ยั หล่อด้วยทองเหลือง ลงรักปิดทอง มีหน้าตักกว้าง 70 เซนติเมตร สูง 35 เซนติเมตร ท�ำการหล่อโดยครูบาอานนท์ วัดพระธาตุ แสงแก้วมงคล อ�ำเภอดอกค�ำใต้ จังหวัดพะเยา น�ำมาประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุช่อแฮ เพื่อ ระลึกถึงการมาของนักบุญแห่งล้านนาไทย >> กู่อัฐิครูบาศรีวิชัย กู่อัฐิเป็นสิ่งก่อสร้างที่บรรจุอัฐิธาตุส่วนที่ 5 จาก 23 ส่วน ของครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่ง ล้านนาไทย สร้างขึ้นเพื่อบูชาพระคุณของท่านที่ได้ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา และเป็น ประธานบูรณะซ่อมแซมองค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อปี พ.ศ.2467 >> ธรรมาสน์โบราณ เป็นทีส่ ำ� หรับพระภิกษุสงฆ์เทศน์มหาชาติในประเพณียเี่ ป็ง(ตัง้ ธรรมหลวง) และประเพณีไหว้ พระธาตุ ธรรมาสน์นสี้ ร้างด้วยไม้สกั มีความสวยงามวิจติ ร ศิลปะรัตนโกสินทร์ ฝีมอื ช่างท้องถิน่ ซึ่งนางแก้ว ทองถิ่น สร้างอุทิศให้นายคลอง ทองถิ่น เมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2496 ที่ได้ บูรณปฏิสังขรณ์วัดพระธาตุช่อแฮ และท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 87

87

29/6/2562 9:49:35


>> โกฏิไม้สักทอง สร้างขึน้ จากไม้สกั ทองแกะสลัก ลงรักปิดทอง ลวดลายวิจติ รงดงาม มีความประณีตอ่อนช้อย เป็นศิลปะรัตนโกสินทร์ฝมี อื ช่างล้านนา เป็นทีบ่ รรจุอฐั สิ ว่ นที่ 5 ของครูบาเจ้าศรีวชิ ยั นักบุญ แห่งล้านนาไทย หลังจากพิธีพระราชทานเพลิง ณ วัดจามเทวี อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน ได้อัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัดพระธาตุช่อแฮ >> แผ่นศิลาจารึก เป็นแผ่นหินทรายทีไ่ ด้จารึกเรือ่ งราวการสร้างบันไดนาค ด้านทิศตะวันตก ข้อความว่า ลงมือ สร้างบันไดนาค เดือน 10 เหนือ ถึง 12 ค�ำ่ วันเสาร์ พ.ศ.2462 ศรัทธานายจองทูล เป๋นเก๊า พร้อมด้วยภรรยานางแก้วมาลูน และลูกเต้าทุกคนและญาติพี่น้องทุกคน ปัจจัยเงินทุน 3,100 บาท ข้าพระพุทธเจ้าขอเอาสุข 3 ประการ มีพระนิพพาน เป็นที่แล้ว >> เตียงพระเจ้า / อาสนะ / แท่นบรรทม เป็นเครือ่ งสักการะทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ถวายเป็นพุทธบูชาตามคติความเชือ่ ของชาวล้านนา แสดง ถึงความเลื่อมใสศรัทธาองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สร้างโดยพระครูวิมลกิตติสุนทร เจ้าอาวาสวัดพระธาตุชอ่ แฮ พร้อมภิกษุสามเณร ศรัทธาทุกคนสร้างถวายเป็นพุทธบูชา และ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรม นาถบพิตร วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2547 ปัจจุบันใช้ประกอบขบวนแห่ในงานประเพณีไหว้ พระธาตุช่อแฮเมืองแพร่แห่ตุงหลวง >> สุ่มหมาก, สุ่มพลู, สุ่มดอก สุ่มหมาก สุ่มพลู และสุ่มดอก ใช้เป็นหนึ่งในเครื่องสักการะที่จัดถวายเป็นพุทธบูชาแด่องค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สร้างด้วยไม้สัก ลงรักปิดทอง สร้างโดยพระครูวิมลกิตติสุนทร เจ้าอาวาสวัดพระธาตุชอ่ แฮ พร้อมพระภิกษุสามเณร และคณะศรัทธาทุกคน เนือ่ งในโอกาส เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2547 >> ตุงกระด้าง เป็นเครือ่ งสักการะทีแ่ สดงถึงความศรัทธาในพระพุทธศาสนา ตุงกระด้างสร้างด้วยไม้สกั แกะ สลักเป็นรูปนาคเกี้ยวลงรักปิดทอง ศิลปะล้านนาสูง 400 เซนติเมตร กว้าง 47 เซนติเมตร สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ.2472 โดยอุบาสกชาวจังหวัดล�ำปาง เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องใน วันคล้ายวันเกิดปีมะโรง สร้างขึน้ 2 ตัว เจ้าภาพได้นำ� มาถวายทีว่ ดั พระธาตุชอ่ แฮ จ�ำนวน 1 ตัว และน�ำไปถวายที่วัดพระธาตุลำ� ปางหลวง อีก 1 ตัว >> ระฆังโบราณ เป็นระฆังหล่อด้วยทองจังโกทีเ่ หลือจากการหล่อพระพุทธเจดียโ์ กศัย สูง 66 เซนติเมตร กว้าง 46 เซนติเมตร หล่อโดยครูบาชัยลังกา วัดพระหลวง(ธาตุเนิ้ง) อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นศิลปะล้านนา >> ต้นหมากและต้นจองแค่ ( ต้นสะแก ) เป็นต้นไม้ในต�ำนานการสร้างพระธาตุช่อแฮ ที่กล่าวถึงการเสด็จมาของสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า ถึงเมืองพล(เมืองแพร่) และได้ประทับ ณ ใต้ต้นจองแค่ และเสวยหมากที่ดอย โกสัยธชัคคะบรรพต ต้นหมากและต้นจองแค่จึงเป็นต้นไม้ที่สำ� คัญของวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง >> ยอดปลีองค์พระธาตุช่อแฮโบราณ พ.ศ.2495 ได้มีการบูรณะยอดปลี โดยมีนายเม็ด กุลวงศ์ ช่างเงินบ้านพระนอน อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ เป็นผูส้ ร้างยอดปลีดว้ ยเงินเป็นรูปกลีบบัวหงาย 9 กลีบ มีความยาว 26 เซนติเมตร กว้าง 5 เซนติเมตร ดอกบัวตูม เส้นผ่าศูนย์กลาง 38 เซนติเมตร สูง 70 เซนติเมตร ก้านยาว 29 เซนคติเมตร ฐานดอกบัวเป็นรูปยนต์จักร (วงจักร) รองรับ ต่อมาในปี พ.ศ.2535 ได้มี การบูรณะยอดปลีหล่อด้วยเงินหุ้มด้วยทองค�ำหนัก 20 บาท โดยร้านทองเจนถิ่นเป็นผู้ริเริ่ม 88

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 88

29/6/2562 9:49:43


>> บันไดทางขึ้นพระธาตุช่อแฮ วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง มีบันไดขึ้น 5 ด้าน คือบันไดนาค 4 ด้าน และบันไดสิงห์ 1 ด้าน ดังนี้ บันไดกุมภัณฑ์ เป็นบันไดทางขึน้ ด้านหน้าวัดพระธาตุชอ่ แฮ ตัง้ อยูท่ ศิ ตะวันออก มีบนั ได ทัง้ หมด 78 ขัน้ ซึง่ คนทัว่ ไปมักเข้าใจว่าเป็นด้านหลังของวัดลักษณะของราวบันไดเป็นรูปปัน้ พญานาค 5 เศียร หางของพญานาคมีกุมภัณฑ์น่ังทับอยู่ทั้ง 2 ข้าง เชื่อว่ายักษ์กุมภัณฑ์ ทับไว้ไม้ให้นาคแอบไปเล่นน�ำ้ แม่ก๋อน-แม่สาย ซึ่งอยู่ใกล้ๆ กับวัด บันไดนาคขด ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของวัด ราวบันไดเป็นรูปปั้นพญานาค 5 เศียร มีขั้นบันได จ�ำนวน 44 ขั้น บันไดนาค ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตก ในอดีตเป็นบันไดขึน้ ด้านหลังองค์พระธาตุชอ่ แฮ อยูต่ ดิ ศาลาพระนอน มีพญานาคเฝ้าบันไดอยู่ช้างละ 2 ตัว คาบซ้อนกัน มีขั้นบันไดจ�ำนวน 119 ขั้น ภายหลังได้กลายมาเป็นบัไดทางขึ้นหลักของวัด บันไดสิงห์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตก ด้านหน้าองค์พระธาตุขนานกับบันไดนาคโดยอยู่ติด กับถนนช่อแฮ มีรุปปั้นสิงห์ข้างละ 1 ตัว และมีรุปปั้นเสืออยู่ข้างๆ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่าเป็น พระธาตุประจ�ำปีเกิดปีขาล(เสือ) มีขันบันไดจ�ำนวน 94 ขั้น บันไดสุระอ้ายก้อม ตัง้ อยูท่ างทิศเหนือ ลักษณะเป็นบันไดนาค 5 เศียร สีขาว มีขนั้ บันได จ�ำนวน 44 ขั้น ซึ่งเป็นบันไดที่นักท่องเที่ยวนิยมใช้มากที่สุดเนื่องจากสะดวกในการจอดรถ และมีช่วงสั้นที่สุด

วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง นอกจากจะเป็นปูชนียสถานอันทรงคุณค่า แก่การ กราบสักการะของพระบรมราชจักรีวงศ์ดังกล่าว แล้ว ยังเป็นที่เคารพสักการะเลื่อมใสศรัทธาของ ประชาชนชาวแพร่ และชาวไทยอยู่เสมอ เหล่าพสกนิกรชาวแพร่จึงมีความภาคภูมิใจ ในมรดกทางศาสนาและวัฒนธรรมแห่งนี้เป็นที่สุด

วัดพระธาตุ ช่อแฮ อารามหลวง คนทั้งปวง ศรัทธา มหาศาล สิ่งศักดิ์สิทธิ์ คู่เมืองแพร่ ตลอดกาล คนปีขาล น้อมบูชา พาสุขใจ

สถาบันกษัตริย์กับวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง วัดพระธาตุชอ่ แฮ พระอารามหลวง ตามประวัตศิ าสตร์ปรากฏหลักฐานการก่อสร้างขึน้ ในสมัยสุโขทัย ระหว่างจุลศักราช 586-588 (ปี พ.ศ.1879-1881) ในสมัยพระมหาธรรมราชา (ลิไท) ขณะด�ำรงพระยศเป็นพระมหาอุปราชปกครองเมืองศรีสัชนาลัยได้เสด็จมาสักการะ องค์พระธาตุชอ่ แฮ และในปี พ.ศ.1902 พระองค์ได้เสด็จมาปฏิสงั ขรณ์พระเจดียแ์ ห่งนี้ ท�ำให้ วัดพระธาตุช่อแฮ ได้รับการอุปถัมภ์จากเจ้านายยุคสมัยต่อมา จวบจนกระทั่งในสมัย รัตนโกสินทร์ พระบรมราชจักรีวงศ์หลายพระองค์ ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมากราบสักการะ องค์พระธาตุช่อแฮ ดังนี้ พ.ศ.2455 สมเด็จพระเจ้าฟ้าบริพตั รกรมหลวงนครสวรรค์วรพินติ พระโอรสในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระปิตุฉาเจ้าสุขมาลมารศรี พ.ศ.2448 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ขณะด�ำรงพระยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ได้เสด็จโดยขบวนม้า ทรงกราบสักการะ องค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2448 (จากหนังสือลิลิตพายัพ พระราช นิพนธ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) พ.ศ.2469 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 เสด็จพระราชด�ำเนินทรง กราบสักการะองค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ.2469 พ.ศ.2501 พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพ ลอดุล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เสด็จพระราชด�ำเนินทรงกราบสักการะองค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2501 พ.ศ.2533 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงน�ำนักเรียนนายร้อย จปร. ศึกษาดูงาน และทรงกราบ สักการะองค์พระธาตุช่อแฮ (ครั้งที่ 1)

พ.ศ.2546 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑา ภรณ์ เสด็จกราบสักการะองค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ.2546 พ.ศ.2547 หม่อมเจ้าหญิงจันทรจรัสศรี ยุคล และ หม่อมเจ้าหญิงมาลินีมงคล อมาตยกุล เสด็จกราบสักการะ องค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ.2547 พ.ศ.2548 พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรม หมื่นสุทธนารีนาถ เสด็จกราบสักการะองค์พระธาตุช่อแฮ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 และหม่อมหลวงสราลี กิติยากร ตามเสด็จ พ.ศ.2548 ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญาสิริ วัฒนาพรรณวดี เสด็จทรงกราบสักการะองค์พระธาตุชอ่ แฮ และพระราชทานถวายพระพุทธรัชสมัยมงคลอุบลบพิตร พระพุทธรูปประจ�ำพระชนมวาร วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2548 เวลา 15.00 น. พ.ศ.2550 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนิน ทรงกราบสักการะองค์พระธาตุช่อแฮ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2550 เวลา 19.00 น.

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 89

89

29/6/2562 9:49:43


90

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 90

29/6/2562 9:49:45


WAT PHRA THAT CHO HAE

WORSHIPPING SACRED AND INVALUABLE RELIC OF PHRAE WAT PHRA THAT CHO HAE

Phra Kosaichetiyarak, Phrae province vice monk dean & Abbot of Wat Phra That Cho Hae, royal monastery Wat Phra That Cho Hae, royal monastery, is located at 1 village no.11, Cho Hae road, Cho Hae sub-district, Mueang Phrae district, Phrae province. This temple is approximately 8 kilometers from city center. Phra That Cho Hae is enshrined in this temple’s area which it is an invaluable sacred relic of Phrae province and relic of people who was born in the year of the tiger.

HISTORY OF THIS TEMPLE

There was no explicit evidence of when this temple was built. However, according to the legend of Phra Chao Liap Lok, it stated that during Buddha era, Lord Buddha came to this Kosiya hill and gave his hair to Khun Lua Ai Kom, leader of this community at that time which Khun Lua Ai Kom put his hair in golden lion’s stomach that was placed inside the cave under this Phra That in order to be the sacred object for worshipping. Refer to historical evidence, the name of Phra That Cho Hae was appeared during B.E.1879 – 1881, in the reign of Phra Maha Thammaracha (Lithai) when he was a crown prince and ruler of Sri Satchanalai City. He came to pay homage to Phra That Cho Hae. After that, in B.E.1902, he came to this pagoda to renovate it and named the mountain which is the place where this Phra That is located as Phra That Cho Hae. (There was a suggestion stated that the word “Cho Hae” was a discordant word that was derived from the word “Cho Phrae” which is the cloth for paying homage to Buddha’s relic by covering it). In B.E.2312, era of Thonburi kingdom, king Taksin the great led his army to expel Myanmar army that occupied Lanna kingdom by the support of Phraya Phrae or so called Chao Mangchaiya, the ruler of Phrae at that time. He led many of noblemen and his troops to have an audience with king Taksin and joined his army to fight Myanmar army at Chiang Mai city. After that, king Taksin was kind enough to appoint him to be Phraya Sri Suriyawong and ruled Phrae city after the war end which he have been supported Buddhism and have taken care of Phra That Cho Hae until early period of Rattanakosin kingdom. In B.E.2361, Chao Luang Thepwong (Lintong), ruler of Phrae, repaired Phra That Cho Hae. Next, in B.E.2373, Chao Luang Inthawichai, ruler of Phrae, continued the restoration of Phra That Cho Hae after he was appointed to be ruler of Phrae and took the place of Luang Thepwong. After that, in B.E.2415, the ruler who played the most important role in Pa Dang sub-distirct and had been maintained Phra That Cho Hae continuously when he was a ruler of Phrae was Chao

Luang Pimpisan (Chao Luang Kakhe). Lastly, Chao Luang Piriya Thepwongudon (Phraua Piriya Wichai), the last ruler of Phrae who ruled over this city since B.E.2432 until B.E.2445. Then, in B.E.2467, Phra That Cho Hae was greatly restored again by the saint of Lanna which people of Phrae called him Khruba Sintham or so-called Khruba Sriwichai, the saint of Lanna. After that, Fine Arts Department announced the registration of Phra That Cho Hae to be archaeological site in the government gazette, volume 56, chapter 75, announced on 8th March B.E.2478 and an announcement on the boundary of this archaeological site was in the government gazette, volume 97, chapter 159, pm 14th October B.E.2532. National Office of Buddhism issued this temple’ state certificate which is as follows: Wat Phra That Cho Hae was founded in B.E.1900 and it was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) in B.E.1910 as per mentioned in the certificate of B.E. 0003/526, issued on 24th January B.E.2548. Then, Thai Royal family was kind enough to elevate the status of Wat Phra That Cho Hae from Wat Rat (ordinary temple) to the lowest level of royal temple on 23 June B.E.2549, it was issued in the government gazette, volume 123, chapter 96, which it was issued on 19 September B.E.2549. At present, Wat Phra That Cho Hae is an important temple which is well-known throughout the country. This temple arranges Phra That Cho Hae-worshipping ceremony every year by holding onto lunar calendar between 9th day and 15th day of the 4th waxing moon (6th waxing moon for northern region) which the name of this ceremony is “Phra That Cho Hae-worshipping traditional ceremony, Tung Luang parade of Mueang Phrae “. Due to an importance of Phra That Cho Hae, when Fine Arts Department assigned each province to design provincial emblem in B.E.2483. Phrae provincial committee chose Phra That Cho Hae that was enshrined on the back of the horse to be Phrae provicne’s emblem which they also made it as a one part of the motto of this province as follows: Mauhom shirt, Teakwood, The place where Phar Lor fell in love with his lovers, Glorious and renowned Cho Hae, Famous Phae Mueang Phi, People of Phrae have beautiful mind. (Muahom is Northern Thai round neck and short sleeve shirt, usually dyed in dark blue or black). (Phae Mueang Phi is the hill that is originated from the soil landscape and natural erosion of sandstones into various shapes).

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 91

91

29/6/2562 9:49:45


วัดพงษ์สุนันท์ สักการะขอพรพระเจ้าแสนสุข พระครูโกวิทอรรถวาที เจ้าอาวาส

วัดพงษ์สุนันท์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนค�ำลือ ต.ในเวียง อ.เมือง จ.แพร่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปีพ.ศ.2499 ที่ดิน ตั้งวัดเนื้อที่ 3 ไร่ 31.41 ตารางวา มีเอกสารสิทธิ์เป็นโฉนดที่ดิน เลขที่ 16649

ประวัติความเป็นมา

สันนิษฐานว่าวัดพงษ์สุนันท์ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าพรหม ซึ่งเป็น กษัตริย์ไทยองค์แรก ที่ทรงกู้เอกราชได้จากขอม และตั้งอาณาจักรไทยขึ้น ใหม่ เมือ่ ราว พ.ศ.1400 ก่อนอาณาจักรสุโขทัย ซึง่ เป็นยุคสร้างบ้านแปงเมือง พ.ศ.1350-1826 (จากหนังสือประวัติศาสตร์เมืองแพร่ ฉบับที่ พ.ศ.2550 92

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 92

4/7/2562 11:46:55


หน้า 135 อบจ.แพร่) จนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.1524 ขอมส่งกองทัพจ�ำนวนหลาย หมืน่ คนเข้ารุกรานอาณาจักรโยนก และเชียงแสน โดยเข้าตีเมืองต่างๆ พร้อม กัน พลรัฐนคร(แพร่) ก็ถกู กองทหารขอมโจมตีและเข้าเมืองได้ในวันขึน้ 6 ค�ำ่ เดือน 11 ได้เผาวัดวาอารามลอกเอาทองค�ำที่หุ้มพระพุทธรูปและเจดีย์ไป เป็นจ�ำนวนมากจากวัดต่าง ๆ ในพลรัฐนคร ได้ถูกท�ำลายยับเยิน จนกลาย เป็นวัดร้างไประยะหนึ่ง รวมถึงวัดพงษ์สุนันท์ด้วย จนถึง พ.ศ.1559 ท้าววังสุพล รวบรวมผู้คนเมืองพลเข้ามาโจมตีขับไล่ ทหารขอมแตกผ่ายหนีไปจนหมดสิน้ แล้วสร้างเมืองบูรณะซ่อมแซมวัดขึน้ ใหม่

วัดพงษ์สุนันท์ เป็นวัดที่สร้างอยู่ในเขตก�ำแพงเมืองเก่า เดิมเป็นวัดร้าง ชื่อ “วัดปงสนุก” ไม่มีหลักฐานปรากฏว่าสร้างในสมัยใด แต่พบบันทึกว่า เมื่อปี พ.ศ. 2472 ผนังวิหารได้พังทลายลงเพราะเกิดน�้ำท่วม ท�ำสังฆกรรม ไม่ได้หลายปี จึงได้มกี ารบูรณะวัด และสร้างวิหารใหม่ โดยหลวงพงษ์พบิ ลู ย์ และเจ้าสุนันตามหายศปัญญา พระมหาโกศล อคฺคธีโร จึงได้เปลี่ยนชื่อ เป็น “วัดพงษ์สนุ นั ท์” ตามชือ่ หลวงพงษ์พบิ ลู ย์ และเจ้าแม่สนุ นั ตา จนถึง ปัจจุบัน และตั้งเป็นวัดประจ�ำตระกูลวงศ์บุรีแต่นั้นมา PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 93

93

1/7/2562 17:18:16


โบราณวัตถุและเสนาสนะตั้งแต่อดีต-ปัจจุบัน พระธาตุพงษ์สุนันท์มงคล เดิมชื่อ พระธาตุหนองเต่าค�ำ ซึ่งเป็นเจดีย์ ขนาดเล็กมีเต่า 4 ตัว ประดิษฐานอยู่รอบเจดีย์ สร้างในปี พ.ศ.2101 หลวงพ่อพระเจ้าแสนสุข เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่มีความ สวยงามวิจติ รตามพุทธลักษณะ เป็นศิลปะล้านนา-สุโขทัย สร้างราวพ.ศ.1984 อายุประมาณ 569 ปี (ปัจจุบัน พ.ศ.2562) พระบรมสารีรกิ ธาตุ (พระวรกายธาตุ) ประทานโดยสมเด็จพระญาณ สังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลสังฆปรินายก ทรงประทานให้เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2546 โดยส�ำนักบริหารจัดการในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ 23 และ ครอบครัวศิวิลัย สร้างบุษบกประดิษฐานถวายและได้รื้อถอนเพื่อสร้าง ประดิษฐานถาวรในพระวิหารแก้ว 108 ยอด พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปองค์จ�ำลอง ประดิษฐานไว้ในวิหาร หลวงพ่อพระพุทธสุรัสวดีประทานพร จัดสร้างโดย ท่านดร.ปลอด ประสพ สุรัสวดี และผู้มีจิตศรัทธาประชาชนทั่วไป ได้พร้อมกันสร้าง พระพุทธรูปสุรัสวดีประทานพรขึ้นในโอกาสแม่เจ้าไข่มุกข์ วงศ์บุรี ประชา ศรัยสรเดช มีอายุครบ 80 ปี โดยได้รบั พระเมตตาจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังหราชสกลสังฆปรินายก ทรงประทานพระบรมสารีริกธาตุ มาบรรจุไว้ที่พระโมลีพระเกศาของพระสุรัสวดีประทานพร และบรรจุ

94

พระผงทองค�ำหลวงพ่อพระพุทธโกศัยสิรชิ ยั มหาศักยมุนี เมือ่ วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2546 ในสมัยของพระครูศรีวรคุณ (แก้ว อมโร) เป็นเจ้าอาวาส สมเด็จพระศรีรุ่งเรืองเมืองโกศัย เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์หรือ พระนอน มีขนาดความยาว 19 เมตร สูง 6 เมตร สร้างในสมัยของ ท่านพระครูศรีวรคุณ (แก้ว อมโร) เป็นเจ้าอาวาส สมเด็จพระพุทธศากยมุนีบรมราชบพิตร เป็นพระพุทธรูปปางห้าม ญาติ สร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 9 ในโอกาสที่ทรงครองราชย์สมบัติครบ 60 ปี พระพุทธสมปรารถนา (พระเจ้าทันใจ) ยืนชีน้ วิ้ แบบพม่า สร้างในสมัย พระครูโกวิทอรรถวาทีในปี พ.ศ.2557 รูปปัน้ พระอินทร์ ปัน้ ในสมัยพระครูศรีวรคุณ และได้บรู ณะในปี พ.ศ.2557 โดยพระครูโกวิทอรรถวาที โดยมี ดร.ปลอดประสพ–คุณธัญญา สุรัสวดี เป็นเจ้าภาพ แม่พระธรณี สร้างในสมัยพระครูโกวิทอรรถวาที ในปี พ.ศ.2557 โดย มี ดร.ปลอดประสพ–คุณธัญญา สุรัสวดี เป็นเจ้าภาพ กุฏิเจ้าอาวาส เป็นตึก 2 ชั้น สร้างโดยพ่อเจ้าพรหม–แม่เจ้าสุนันตา วงศ์บุรี สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้หลวงพงษ์พิบูลย์ พ.ศ.2480

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 94

1/7/2562 17:18:18


พระวิหารแก้ว 108 ยอด หรือ พระมหาเจดีย์ 108 ยอด ด�ำเนินการ วางศิลาฤกษ์ และก่อสร้างเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2551 อุโบสถหลังใหม่ ใช้ประกอบสังฆกรรมและศาสนพิธีกรรมต่าง ๆ ของ ทางวัด สร้างโดยแม่เจ้าบัวถา ตลอดถึงศรัทธาสาธุชนทั่วไป ร่วมกันสร้าง เมือ่ ปี พ.ศ.2472 สร้างเสร็จปี พ.ศ.2477 ประดับลวดลายบนเพดานสวยงาม มาก และมีคานเสายึดผนังไว้ 5 ต้น ปัจจุบันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธเจ้า แสนสุขพระประธานในอุโบสถและพระพุทธรูปที่เก่าส�ำคัญอีก 8 องค์ หอธรรมในอุโบสถ หรือ (ธรรมมาสน์) ใช้ส�ำหรับแสดงธรรมมหาชาติ เวสสันดรชาดก สร้างโดยหลวงพงษ์พบิ ลู ย์ และแม่เจ้าสุนนั ตา วงศ์บรุ ี สร้าง ถวายอุทศิ ส่วนกุศลให้แม่เจ้าบัวถา มหายศปัญญา พ.ศ.2478 ในปี พ.ศ.2540 ครอบครัวอุ่นเรือนได้ท�ำการบูรณะขึ้นอีกครั้งหนึ่ง หอไตรปิฎก เดิมอยู่ติดประตูวัดด้านขวา และปั้นสิงห์เฝ้า 4 ตัว ต่อมา ได้ย้ายหอไตรมาไว้ด้านซ้ายของกุฏิเจ้าอาวาส และน�ำสิงห์ 2 ตัว ไปไว้หน้า ประตูวดั อีก 2ตัวช�ำรุดเสียหายขณะท�ำการเคลือ่ นย้าย ปัจจุบนั เก็บรวบรวม คัมภีร์ใบลานไว้ บางส่วนเป็นชาดก ต�ำนาน และต�ำราเก่าแก่ ซุ้มประตูมงคล 19 ยอด มีคุณแม่วรรณี วงศ์บุรี พร้อมด้วยบุตร-ธิดา ร่วมกับคณะศรัทธาสร้างถวาย เมื่อ ปี พ.ศ. 2537 ในสมัยของท่านพระครู ศรีวรคุณ (แก้ว อมโร) เป็นเจ้าอาวาส และได้บรู ณะทาสีใหม่ ในสมัยพระครู โกวิทอรรถวาที มีคณ ุ พ่อวิโรจน์–คุณแม่นธิ มิ า-คุณเพ่งเพียร เหล่าก�ำเนิด เป็นเจ้าภาพ ศาลาการเปรียญศรัทธาปัญญาธร แต่เดิมเป็นโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม เป็นเรือนไม้ 2 ชั้น ต่อมาได้ช�ำรุดผุกร่อนไปตามกาลเวลา จึงได้รื้อถอนออก และสร้างศาลาขึ้นแทน พญาเต่าทองค�ำ มหาอุปคุตทันใจ สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2560 พระอุปคุตทันใจ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2559 พระมาลัยทันใจ สร้างเมื่อปี พ.ศ.2560

เทศกาล-ประเพณีส�ำคัญของวัด

ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ของทุก ๆ ปี วัดพงษ์สนุ นั ท์ จะมีการจัดประเพณี งานสรงน�ำ้ พระบรมสารีรกิ ธาตุ ในชือ่ “งานไหว้สาพระธาตุพงษ์สนุ นั ท์มงคล

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 95

95

1/7/2562 17:18:25


WAT PHONG SUNAN

Paying homage to Phra Chao Saen Suk to receive great fortune Phra Khru Kowitattawathi, the abbot

Wat Phong Sunan is located at 1 Khamlue road, Nai Wiang sub-district, Mueang district, Phrae province. It belongs to Maha Nikaya clergy. This temple was granted Wisungkhamsima (Land granted from Royal family to build temple or other religious buildings) in B.E.2499. Total scale of this temple’s land is 1.2 acres and 125.64 square meters. The title deed of this land is title deed no.16649.

96

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 96

1/7/2562 17:18:26


History of this temple There is an assumption made about Wat Phong Sunan that it was built during the reign of Phra Chao Phrom which he was the first Thai ruler, he retrieved independence from Khmer and established kingdom of Thailand approximately in B.E.1400 before Sukhothai kingdom was established which is the era of nation-building during B.E.1350-1826 (According to the book “History of Phrae province” page 135 of version that published in B.E.2550 by Phrae Provincial Administrative Organization). Until B.E.1524, Khmer sent an army of ten thousands men to invade Singhanavati Kingdom which they divided this army into many armies, then, attacked many cities at the same time. State of the Phrae also had been invaded by Khmer army which they have entered this city on 6th day of the 11th waxing moon, burned down the temple and peeled the gold that covered lots of Buddha images and pagodas which many temple in this city including Wat Phong Sunan were destroyed and became abandoned temple for some period of time. Until B.E.1559, King Wangsuphon gathered citizen of Phon city, and led an army to expel all of Khmer armies. Then, he rebuilt the city and renovated all temples. Wat Phong Sunan was situated in an area of Ban Wongburi in Kamphaeng Mueang Kao district. Formerly, it was an abandoned temple name “Wat Pongsanook”. There was no

evidence when it was built, but there was a record discovered which stated that the wall of Buddha image hall was collapsed due to the flood in B.E.2472, which inhibited monk from religious rite-performing. After that, in the same year, the restoration of this temple and rebuilt Buddha image hall occurred. An aforementioned event was performed by Luang Phor Phibun and Chao Sunan Tamhayodpanya Phra Maha Kosol Akkathiro, then, they changed temple’s name to “Wat Phong Sunan” after the name of Luang Phor Phibun and Chao Mae Sunanta which this name is still used now. Moreover, they also chose this temple to be the temple of Wongburi lineage since then until now. Significant festival-tradition of this temple During February of every year, Wat Phong Sunan always arrange water-pouring onto Buddha’s relics festival under the name “Phra That Phong Sunan-worshipping festival”.

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 97

97

1/7/2562 17:18:29


วัดนาคูหา สักการะขอพร “พระเจ้าต๋นหลวง” ให้สุขภาพแข็งแรง พระมหาชาญชัย ชุตนิ ธฺ โร เจ้าอาวาส วัดนาคูหา

วัดนาคูหา ตั้งอยู่ ณ บ้านนาคูหา หมู่ที่ 5 ต�ำบลสวนเขื่อน อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด 2 ไร่เศษ

ประวัติวัดนาคูหา

วัดนาคูหา เริม่ สร้างประมาณ พ.ศ.2443 มีความเป็นมาจากค�ำบอกเล่า ของพ่อเฒ่าเมือง ธรรมจิตร อายุ 80 ปี (เล่าเมือ่ 11 ก.ค.2544 ) มีใจความว่า “วัดนาคูหานี้ พ่อแดง ธรรมจิตร ซึ่งเป็นพ่อของผมได้เล่าให้ฟังว่า แต่ เดิมไม่มีวัด ท่านจึงได้ชักชวนพ่อหนานจักร ลาดไร่ และพ่อหนานอุด อิสุปิน ซึ่งมีที่นาอยู่ติดกัน รวมกันเสียสละที่นาคนละส่วนสร้างวัดขึ้น เมื่อสร้างวัด เสร็จได้ตั้งชื่อว่า “วัดนาผามอย” การก่อสร้างได้ท�ำแบบง่ายๆ พอเป็นวัด เป็นวาเท่านั้น เพราะชาวบ้านยังมีน้อย และได้นิมนต์พระจากที่อื่น มาอยู่ เป็นการเริม่ ต้น ต่อมาได้เปลีย่ นชือ่ วัดใหม่วา่ ‘วัดนาคูหา’ ประมาณการสร้าง วัดก่อนผมเกิด 20 ปี” 98

.indd 98

และจากหลักฐานทางวัตถุทที่ างวัดนาคูหาพบเพียงชิน้ เดียวคือ ก้อนอิฐ ซึง่ เก็บได้เมือ่ คราวรือ้ วิหารหลังที่ 2 เมือ่ พ.ศ. 2529 มีอกั ษรพืน้ เมืองปรากฏ อยูบ่ นก้อนอิฐข้อความว่า “มูลศรัทธา สามเณรหวันเป๋นเก้า ก็ได้ปน้ั มะดินกีน่ ี้ ไว้ก่อสร้างวิหารหลังที่ 2 เดือน 4 เป็งปั้นปีสันจุกราชได้ 1274” ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2455 จากหลักฐานชิน้ นีป้ ระกอบกับการประมาณการของพ่อเฒ่าเมือง ธรรมจิตร ใกล้เคียงกับความเป็นจริงอย่างมาก และวัดนาคูหาได้สร้างขึน้ มา ประมาณ 119 ปีแล้วจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2562)

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

15/6/2562 9:14:34


ประวัติพระพุทธเมตตามงคลคีรีมุนีประชานาถ บรมศาสดา (พระเจ้าต๋นหลวงกลางนา) พระพุทธเมตตามงคลคีรมี นุ ปี ระชานาถ บรมศาสดา หรือพระเจ้าต๋น หลวงกลางนา วัดนาคูหา เป็นพระพุทธรูปปางฉันลูกสมอ ศิลปะเชียงแสน สิงห์ 1 ประยุกต์ ขนาดหน้าตักกว้าง 7เมตร สูง 13 เมตรรวมฐาน สร้างขึ้น เมื่อปีพ.ศ.2559 โดยการน�ำของพระมหาชาญชัย ชุตินฺธโร (ราชไร่) พร้อม ด้วยสมณศรัทธาและมูละศรัทธาพุทธศาสนิกชนจากทิศทัง้ แปด จุดประสงค์ การสร้างเพือ่ เป็นพระประธานลานธรรม ต�ำนานพระพุทธรูปปางฉันลูกสมอ ครั้นพระผู้มีพระภาคประทับเสวยวิมุติสุข ณ ร่มไม้จิก ชื่อว่ามุจจลินท์ ได้ 7 วันแล้ว ก็เสด็จไปประทับยังร่มไม้เกต ชื่อราชายตนะอันตั้งอยู่ในทิศ ทักษิณแห่งต้นมหาโพธิ์นั้น เสวยวิมุติสุขอยู่อีกตลอด 7 วัน ครั้นล่วง 7 วัน แล้ว เวลาเช้าเสด็จออกจากสมาธิวหิ ารทรงประดิษฐาน ณ ทีน่ นั้ ครัง้ นัน้ ท้าว สักกะอัมรินทราธิราช ทรงด�ำริวา่ พระผูม้ พี ระภาคเสวยวิมตุ สิ ขุ ถึง 7 สัปดาห์ นับแต่วันตรัสรู้มาถึงวันนี้ รวมเป็น 49 วันแล้ว ยังมิได้เสวยพระกระยาหาร เลย สมควรจะเสวยพระกระยาหารบ้างแล้ว จึงน�ำผลสมออันเป็นทิพย์โอสถ น้อมเข้าไปถวายพระผู้มีพระภาค ๆ ก็ทรงรับ และเสวยผลสมอนั้นตามเทว ประสงค์ ครั้นเสวยแล้วทรงท�ำสรีรกิจลงพระบังคน ได้ความผาสุกแห่งพระ วรกาย ทรงบ้วนพระโอฐแล้วเสด็จประทับนั่งยังสถานที่นั้น. พระพุทธจริยาที่เสวยผลสมอนี้นั้น เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปปางนี้ เรียกว่า “ปางฉันสมอ” PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 99

99

15/6/2562 9:14:40


ประวัติถำ�้ น้อย – ผาสิงห์ ถ�ำ้ น้อยนาคูหา ในสมัยก่อนทีป่ ากถ�ำ้ มีหนิ งอกหินย้อยรูปช้างยืน่ ออกมา ด้านทางซ้ายมือของปากถ�้ำมีงวงยาวประมาณ 1 เมตร มีงายาวประมาณ 1 คืบ มีความสวยงามมาก หินเป็นผลึกแคลไซด์มีประกายระยิบระยับ แต่มี คนมาท�ำลายทุบออกไปเพราะอยากน�ำไปครอบครอง ตอนนีจ้ งึ เหลือเฉพาะ หินส่วนล�ำตัว จึงเป็นที่มาของชื่อถ�้ำช้างน้อย พอนานวันเข้าค�ำว่าช้างน้อยก็ เหลือเพียงถ�้ำน้อย เหตุเพราะไม่มีหินรูปช้าง ชาวบ้านจึงเรียกว่าถ�้ำน้อย ถ�้ำน้อยมีต�ำนานว่าเป็นที่อยู่ของนางแก๋วนางแมน นางสิบสอง มีชาว บ้านเคยเห็นเป็นผูห้ ญิงนุง่ สิน้ แล้ใส่เสือ้ ขาว มีผา้ ขาวม้าคลุมศีรษะ อยูบ่ ริเวณ หน้าถ�้ำ พอตามไปดูก็ไม่เห็นมีใครและส่วนมากจะมีคนเห็นเป็นผู้หญิงวน เวียนใกล้ ๆ ถ�้ำ คล้ายชาวบ้านมาหาของป่า แต่เรียกก็ไม่ขาน พอตามไปดูก็ ไม่เจอใคร ทุกวันนี้ชาวบ้านที่อยู่ใกล้บริเวณภูเขาลูกนี้ จะเซ่นไหว้ด้วยเหล้า ไหไก่คเู่ ป็นประจ�ำทุกปี และการบวงสรวงเซ่นไหว้ในงานใหญ่ จะใช้มะพร้าว 12 ลูก น�้ำ 12 แก้ว น�้ำเขียวน�้ำแดง 12 มีบุหรี่ เมี้ยง อย่างละ 12 ดอกไม้ธูป เทียนอย่างละ 12 หัวหมู 1 เป็ด ไก่ อย่างละ 1 ตัว ผาสิงห์ เป็นภูเขาหินปูนตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของวัด ห่าง ประมาณ 200 เมตร มีจุดชมวิวผาสิงห์ที่สามารถมองเห็นหมู่บ้านนาคูหาได้ ตั้งแต่เหนือจดใต้ ที่โอบล้อมด้วยขุนเขาทั้งสี่ด้านในมุมมองแบบพานอราม่า ที่มาของชื่อผาสิงห์คือคนสมัยก่อนบอกว่าบางจุดของบริเวณผาแห่งนี้ มอง แล้วมีลักษณะคล้ายหัวสิงห์สัตว์ในวรรณคดี 100

.indd 100

หินบริเวณนี้จะมีลักษณะพิเศษคือ เมื่อน�ำไม้ไปเคาะจะมีเสียงกังวาน คล้ายระฆังนอกจากนีท้ ผี่ าสิงห์แห่งนีย้ งั มีจดุ ชมต้นจันทร์ผาทีข่ นึ้ อยูม่ ากมาย ตามหน้าผาสูงชัน มีพชื แปลก ๆหายากหลายชนิด เช่น ต้นฤาษีคนื ชีพ ขนุนดิน ต้นมะพร้าวเต่า ปรงโบราณ ฯ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

15/6/2562 9:14:42


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รายนามเจ้าอาวาส ก่อนได้รับการยกฐานะเป็นวัดอย่างถูกต้องตามกฎ มหาเถรสมาคม ได้แก่ 1. ครูบาธรรมใจ พ.ศ. 2466-2475 2. ครูบาบุญศรี พ.ศ. 2475-2480 3. ครูบาลาศ พ.ศ. 2480-2487 4. พระเป๊ก พ.ศ. 2487-2490 5. พระแก้ว (อิสุปิน) พ.ศ. 2490-2495 6. พระจู (เขื่อนรอบเขต) พ.ศ. 2495-2503 7. พระลพ พ.ศ. 2503-2513 8. พระล�ำดวน ขันติโก พ.ศ. 2513-2517 9. ครูบาตัน พ.ศ. 2517-2519 10. พระอธิการสุมัย สุภาจาโร พ.ศ. 2519-2542 11. พระอธิการสวิง ธิตปุญฺโญ พ.ศ. 2542–2545 12. พระชาญชัย ชุตินฺธโร พ.ศ. 2545–2547 (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) 13. พระมงคล สุมงฺคโล พ.ศ. 2547–2548 (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) 14. พระบัญชา สุวณฺณภทฺโธ พ.ศ. 2551–2553 (รักษาการแทนเจ้าอาวาส) รายนามเจ้าอาวาส ตั้งแต่ได้รับประกาศแต่งตั้งวัดที่ถูกต้องตามกฎ มหาเถรสมาคม คือ พระมหาชาญชัย ชุตินฺธโร พ.ศ.2556–ปัจจุบัน

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 101

101

15/6/2562 9:14:43


H I STORY OF BU DDHI S M

หลวงพ่อพระเจ้านอน

วัดพระนอน ไหว้สาพระเจ้านอนศักดิ์สิทธิ์

พระอธิการศักดิ์ดา ฉนฺทโก,ดร.

เจ้าอาวาสวัดพระนอน

วัดพระนอน ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ เป็นโบราณ สถานทีเ่ ก่าแก่ยงิ่ แห่งหนึง่ ในเมืองแพร่ โดยได้รบั เกียรติจากทางจังหวัดแพร่ ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญแห่งหนึ่งของเมืองแพร่

ประวัติวัดพระนอน

ชัยชนะสงครามเห็นเหตุการณ์ดังนั้น จึงตรัสสั่งมเหสีว่า ดูกร เจ้าพิมพา ศึกมาถึงบ้านถึงเมืองแล้ว ความแตกตื่นย่อมมีดังนี้ ขอให้สร้างให้เสร็จแล้ว ท�ำบุญวันรุ่งขึ้นของวันใหม่ แล้วเจ้าชัยชนะสงครามก็ออกศึกและสวรรคต ในสนามรบ น้องชื่อท้าวยาสิทธิ์แสนหาญ ออกรบสู้พม่าก็หายสาบสูญอีก นางพิมพาจึงได้ลงมือสร้างวัดพระนอนและเจดียข์ นึ้ แล้วจารึกในแผ่นทองค�ำ เป็นตัวหนังสือพื้นเมืองเหนือว่า “วัดพระนอนนี้ให้มีการนมัสการไหว้สา ในเดือนเจ็ดใต้เดือนเก้าเหนือขึ้นสิบห้าค�่ำ” ดังนั้น วัดพระนอนจะมีงาน นมัสการในเวลาดังกล่าวทุกปี

หลวงพ่อมงคลทิพณี

หลวงพ่อพระครูนิพัทธ์กิจจาทร อดีตเจ้าอาวาส ได้บอกเล่าต�ำนาน วัดพระนอนที่จารึกในใบลาน ซึ่งได้จากพ่อเจ้าหนานขัด ชาวเชียงใหม่ที่เคย อยู่วัดพระสิงห์ มีใจความว่า วัดพระนอนสร้างโดยเจ้าพระยาชัยชนะสงคราม และพระนางเจ้าอูท่ อง ศรีพิมพา เมื่อ จ.ศ.236 แต่เดิมวัดนี้มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ คือพระนอน ซึง่ องค์จริงนัน้ เป็นหินยาวขนาดหกศอก ต่อมาเจ้าปูท่ า้ วค�ำ ซึง่ เป็นพระอัยกา ของเจ้าพระยาชัยชนะสงคราม เห็นว่าไม่ปลอดภัย จึงสั่งให้สร้างพระนอน องค์ใหญ่ครอบองค์เดิมไว้ และช่วยกันตกแต่งพระพุทธรูปนอนองค์ใหม่ ให้สวยงาม พอดีมกี องทัพพม่ามารุกรานเมืองโกศัยชาวเมืองก็ตนื่ กลัวพากัน อพยพหลบลี้ตามป่าเขา โดยยังมิทันได้ฉลองพระพุทธรูปนอน เจ้าพระยา 102

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 102

21/6/2562 17:09:36


พระวิหารวัดพระนอน

หลวงพ่อพระเจ้าทันใจ

หลวงพ่อพระสารีบุตร

เสนาสนะ/ปูชนียวัตถุส�ำคัญภายในวัด วัดพระนอนได้รับการประกาศตั้งขึ้นเป็นวัดเมื่อ พ.ศ.1320 และได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2336 โดยสิ่งก่อสร้าง และปูชนียวัตถุส�ำคัญ ได้แก่ อุโบสถ สร้างแบบสมัยเชียงแสน ไม่มีการเจาะหน้าต่าง แต่ท�ำผนัง เป็นช่องแสงขนาดประมาณ 6x30 นิ้ว ตามแนวตั้ง ส�ำหรับลวดลายหน้าบัน เป็ น ลวดลายแบบอยุ ธ ยาตอนปลาย ผู ก เป็ น ลายก้ า นขดและมี ภ าพ รามเกียรติ์ประกอบ ความงดงามของอุโบสถ มีส่วนบันดาลใจให้มีผู้น�ำไป เป็นแบบ ดัดแปลงในการก่อสร้างศาสนสถานอื่นๆ อาทิ ในบางส่วนของ วัดสุโทนมงคลคีรี อ.เด่นชัย จ. แพร่ เป็นต้น วิหาร มีรูปแบบการก่อสร้างเช่นเดียวกับอุโบสถ แต่ตกแต่งบริเวณ ชายคาเป็นไม้ฉลุโดยรอบ และหลังคาประดับด้วยไม้แกะสลักเป็นรูป พระยานาคบริเวณหน้าจั่ว พระพุ ท ธรู ป นอนปางสี ห ไสยาสน์ ซึ่ ง เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น มี ความยาว 9 เมตร ลงรักปิดทองตลอดองค์ พระธาตุสิงหอุตรนคร เจดีย์ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังอุโบสถ เป็นเจดีย์ทรง ระฆังคว�่ำรูป 8 เหลี่ยม มีพระพุทธรูปอยู่ 4 ด้าน สร้างพร้อมกับพระนอน

วัดพระนอนแต่ก่อนเก่ากาล มีแต่นานเนืองมาน่านับถือ มีประวัติสืบเล่าเขาเลื่องลือ ว่าเคยชื่อ “ม่วงค�ำ” จ�ำมานาน อนุชนรุ่นหลังรับฟังไว้ จงภูมิใจซึ้งคุณค่ามหาศาล มรดกตกทอดตลอดกาล อยู่คู่บ้านเมืองแพร่แต่นี้เทอญ คติธรรม

พระธาตุสิงหอุตรนคร ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. พระโพธา โพธาธิโก ไม่ปรากฏ พ.ศ. 2. อาณา อาภาธิโก ไม่ปรากฏ พ.ศ. 3. พระอินต๊ะวงค์ อภิวังโส พ.ศ. 2467-2475 4. พระมหาวัน (ตุ๊ลุงอ้น) จารุวณฺโณ พ.ศ. 2475-2476 5. พระอธิการด�ำ อธิปุณฺโณ พ.ศ. 2477-2480 6. พระอินถา ถาวโล พ.ศ. 2480-2483 7. พระจันทร์แดง นาถธมฺโม พ.ศ.2485-2486 8. พระมหาวิชิต อานุจารี (ท่านพระครูวิชิตวินัยการ) พ.ศ.2487-2489 9. พระอธิการสุพัฒน์ สุภทฺโท (พระครูนิพัทธ์กิจจาทร) พ.ศ.2492-2557 10. พระมหาสมทรง กิตฺติธมฺโม พ.ศ.2558-2560 11. พระครูโสภณพัฒนานุยุต,ผศ.ดร. พ.ศ.2560-2561 12. พระอธิการศักดิ์ดา ฉนฺทโก,ดร. พ.ศ.2561-ปัจจุบัน

ความส�ำคัญของวัดพระนอน วัดพระนอน มีประวัติความเป็นมายาวนานเป็นที่นับถือและศรัทธา ของคนทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนบ้านพระนอน จะถือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นมงคล ชาวบ้านจะมีงานนมัสการทุกปี ในวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 9 เหนือ ซึ่งถือเป็นประเพณีที่ส�ำคัญยิ่ง และสิ่งที่ขาดไม่ได้ในงานนี้ก็คือการจุดบอก ไฟดอก ซึ่งถือกันว่าเป็นการจุดเพื่อบูชาพระเจ้านอน นอกจากนี้ยังถือเป็น การแสดงออกถึงความสามัคคีเป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกันของชาวบ้านพระนอน ซึ่ ง นั บ วั น ก็ จ ะหาได้ ย ากยิ่ ง ในหมู ่ ค นสั ง คมเมื อ ง ทั้ ง นี้ เ พราะชาวบ้ า น พระนอนมีหลวงพ่อพระเจ้านอนเป็นศูนย์รวมจิตใจนั่นเอง

พระอธิการศักดิ์ดา ฉนฺทโก,ดร. เจ้าอาวาสวัดพระนอน PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 103

103

21/6/2562 17:09:41


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดพระร่วง

วัดเฉลิมพระเกียรติพ่อขุนรามค�ำแหง พระครูใบฎีกาประสงค์ ชินวํโส เจ้าอาวาส วัดพระร่วง เป็นวัดทีเ่ ก่าแก่มมี าตัง้ แต่โบราณกาล สร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 1310 แต่เดิมสันนิษฐานว่ามิใช่ชื่อวัดพระร่วง แต่จะเป็นชื่อใดนั้นไม่มีหลักฐาน ปรากฏ จากค�ำบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ทราบว่า สมัยก่อนวัดนีเ้ ดิมมีผคู้ นเรียกว่า “วัดพญาฮ่วง” “ฮ่วง” ซึ่งเป็นส�ำเนียงภาษาพื้นเมือง ตรงกับภาษาไทย กลางว่า “ร่วง” (ร่วง แปลว่า รุ่งเรือง,รุ่งโรจน์) ดังนั้นถ้าจะเรียกชื่อวัดนี้เป็น ภาษาไทยกลางก็คอื “วัดพญาร่วง” ซึง่ ค�ำๆ นีจ้ ะตรงกับค�ำทีช่ าวไทยล้านนา นิยมเรียกชือ่ พ่อขุนรามค�ำแหงว่า “พญาฮ่วง” ซึง่ น่าจะเป็นไปได้วา่ ผูส้ ร้าง วัดพระร่วง (พญาฮ่วง) คือ พญาลิไท โดยสร้างขึ้นเพื่อสืบทอดพระพุทธ ศาสนา เฉลิมพระเกียรติยศ และถวายเป็นพระราชสดุดแี ด่พอ่ ขุนรามค�ำแหง ซึง่ เป็น “...พระมหาธรรมราชาผูป้ ฯู่ ...” ดังทีป่ รากฏในศิลาจารึกทีส่ อดคล้อง กันทั้งสองหลักคือ ศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงและศิลาจารึกวัดป่าแดง วัดพญา ฮ่วง จะเปลีย่ นเป็นวัดพระยาฮ่วง หรือวัดพระร่วง เมือ่ ใดไม่มหี ลักฐานปรากฏ 104

2

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส เนือ่ งจากวัดพระร่วงเป็นวัดทีเ่ ก่าแก่ รายชือ่ และปีทเ่ี จ้าอาวาสในชัน้ ต้น ๆ จึงไม่สามารถหาหลักฐานได้ โดยรวบรวมได้ดังนี้ 1. พระอธิการหนัก 2. พระอธิการหมื่น วิรัชกร 3. พระอธิการหลี้ วังใน 4. พระอธิการทองค�ำ 5. พระมหาอินผ่อง พ.ศ.2499-2501 6. พระครูภทั รธรรมโกศล (กุศล อคฺควโร) พ.ศ.2501-2554 7. พระครูใบฎีกาประสงค์ ชินวํโส พ.ศ.2554-ปัจจุบัน

สภาพเดิมของวัดพระร่วง

พระวิหารหลังเก่าของวัดพระร่วง สร้างด้วยอิฐถือปูนเป็นสถาปัตยกรรม เชียงแสน (ล้านนา) เป็นพระวิหารขนาดกลางหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีบันไดขึ้นสองด้านคือด้านทิศเหนือและด้านทิศใต้ ราวบันไดทั้งสองด้านมี ลักษณะเป็นหางหวัน (ตัวเหงา) มีหลังคาคลุมสองชัน้ ส่วนด้านหลังของวิหาร

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 104

15/6/2562 9:21:27


ทีร่ อื้ ไปนัน้ เป็นศิลปกรรมสมัยเชียงแสนหรือล้านนาแน่นอน ซึง่ อาจจะมีการสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์จากของเก่าขึ้นมาใหม่ในช่วงรัชกาลพระเจ้าติโลกราช ถึงรัชกาลพระเมืองแก้ว (พ.ศ. 1986-2047) กล่าวเช่นนีเ้ นือ่ งจากในปี พ.ศ. 2020 เป็นปีที่พระเจ้าติโลกราชโปรดให้มีการสังคยานาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 8 ณ วัดเจ็ดยอด อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งหลังจากที่พระองค์ขึ้นครอง เมืองเชียงใหม่แล้ว 34 ปี ทรงประกอบพระราชกรณียกิจมากมายหลายด้าน ไม่วา่ จะเป็นด้านการปกครอง การสงคราม การเศรษฐกิจ และเป็นการส่งเสริม ศีลธรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ การส่งเสริมพระพุทธศาสนาในยุคของพระองค์ ถือได้ว่ามีความเจริญอย่างสูงสุด และในช่วงปี พ.ศ.2038-2068 ซึ่งเป็นยุค สมัยของพระเมืองแก้วครองเมืองเชียงใหม่ ก็เป็นอีกยุคหนึ่งที่พระพุทธ ศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากที่สุดเช่นกัน การน�ำเหตุการณ์ความเจริญทางพระพุทธศาสนาทั้งสองสมัยมากล่าว ไว้ ณ ทีน่ ี้ ก็เพือ่ จะชีใ้ ห้เห็นว่าประวัตศิ าสตร์เมืองแพร่ในช่วงนัน้ มีสถานการณ์ อย่างไร โดยในปี พ.ศ. 1986 พระเจ้าติโลกราชได้ยกทัพไปตีเมืองแพร่-น่าน นัน้ ได้แบ่งกองทัพให้พระมหาเทวีผเู้ ป็นชนนียกตีเมืองแพร่อกี ทัพหนึง่ เมือง แพร่ขณะนั้นมีท้าวแม่คุณเป็นผู้ปกครองเมือง และมีก�ำลังน้อยกว่าเกรงว่า ชาวเมืองจะล้มตายกันมาก จึงออกไปถวายบังคมต่อพระมหาเทวี เมืองแพร่ จึงรวมอยู่ในขอบขัณฑสีมาของเชียงใหม่เรื่อยมาจนถึงสมัยพระเมืองแก้ว ซึ่งจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในช่วงสองยุคสมัยดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ ค�ำนวณได้ว่าพระวิหารวัดพระร่วงหลังเก่าคงได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ ในสมัยพระเจ้าติโลกราช หรือไม่ก็สมัยพระเมืองแก้ว

ท�ำเป็นทางขึ้นสองด้านเช่นกันแต่ขนาดเล็กกว่า ทางขึ้นด้านทิศใต้เป็น ประตู ส� ำ หรั บ ขึ้ น ลงของพระสงฆ์ ที่ เข้ า ไปปฏิ บั ติ ศ าสนาพิ ธี ต ่ า งๆ ส่ ว น พุทธศาสนิกชนทั่วไป ใช้ประตูใหญ่ด้านหน้า หลังคาพระวิหารทั้งหลังซ้อน กั น สองชั้ น แบ่ ง เป็ น สองส่ ว นเสมื อ นมี ส องหลั ง เชื่ อ มต่ อ ด้ ว ยรางริ น หน้าต่างมีลกั ษณะเจาะเป็นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าใช้แผ่นไม้ทำ� เป็นบานปิด–เปิด ลั่นดานแผ่นไม้ที่ท�ำเป็นบานปิด–เปิด และลั่นดานดังกล่าวนี้รวมถึงบาน ประตูทั้งสี่แห่งด้วย จากการสอบถามนั ก โบราณคดี แ ละผู ้ เชี่ ย วชาญงานด้ า นศิ ล ปะ สถาปัตยกรรม และประติมากรรม ท�ำให้ทราบว่า พระวิหารวัดพระร่วงหลังเก่า

ปูชนียวัตถุ/ถาวรวัตถุที่สำ� คัญของวัด พระเจ้าทันใจ เป็นพระพุทธรูปปูนปัน้ ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 0.90 เมตร สูง 1.20 เมตร ปัจจุบันลงรักปิดทอง ประดิษฐานในซุ้มเรือนแก้ว ถือเป็น พระประธานที่มีขนาดองค์เล็กองค์หนึ่งในจังหวัดแพร่ พระพุทธรูปปั้นศิลปะเชียงแสน ปางมารวิชัย จ�ำนวน 2 องค์ ประดิษฐาน อยู่บนแท่นฐานไม้สักที่แกะสลักลวดลายอย่างสวยงามทั้ง 2 องค์ พระร่วง เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะสุโขทัย เป็นพระพุทธรูปที่ สวยงามองค์หนึ่ง พระธาตุเจดีย์วัดพระร่วง เป็นเจดีย์ศิลปะเชียงแสนแบบแปดเหลี่ยมย่อมุม ไม้สิบสอง บุด้วยทองดอกบวบหรือทองจังโก PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 105

105

15/6/2562 9:21:35


วัดร่องซ้อ

สักการะพระธาตุมณีศรีศาสดา พระครูอมรพุทธิคุณ เจ้าคณะต�ำบลในเวียง เขต 1, เจ้าอาวาสวัดร่องซ้อ วัดร่องซ้อ ตั้งอยู่เลขที่ 167 บ้านร่องซ้อ ต�ำบลในเวียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ โดยตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของก�ำแพงเมืองแพร่ พื้นที่ ของวัดมีทั้งหมด 4 ไร่ 14 ตารางวา

ประวัติวัดร่องซ้อ

ผู้เฒ่าผู้แก่ที่ยังมีชีวิตอยู่ในช่วงปี 2543 กล่าวว่า วัดร่องซ้อไม่ปรากฏ หลักฐานว่าสร้างขึน้ เมือ่ ใดและใครเป็นคนสร้าง อาณาเขตบริเวณวัดเป็นป่า ไผ่หนาทึบ ห่างจากบริเวณวัดทางทิศตะวันตก 50 เมตร มีร่องน�้ำ (ชาวบ้าน เรียก ฮ่องน�้ำ) ที่มีต้นซ้อขึ้นตามแนวเขตร่องน�้ำ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป มีทางเดินเรียบแนวตลอดทาง ผูท้ ใี่ ช้เส้นทางนีส้ ว่ นมากเป็นพ่อค้าวัวต่างจาก อ�ำเภอลับแล อุตรดิตถ์ จากพะเยา ตลอดจนถึงชาวบ้านปงศรีสนุก (ชุมชน วัดหลวง, วัดพงษ์สนุ นั ท์ ในปัจจุบนั ) ทีอ่ ยูใ่ นตัวเมืองแพร่ทยี่ า้ ยออกมาท�ำไร่ 106

2

ท�ำสวน ได้ถางดงไผ่กับพ่อค้าวัวต่างโดยจัดบริเวณตรงกลางดงไผ่โล่ง และ ให้ส่วนหนึ่งเป็นรั้วล้อมบริเวณนี้ไว้ เพื่อสร้างเป็นที่พักและผูกวัวควายได้ ต่อมาได้ยา้ ยมาอยูเ่ ป็นการถาวร และใช้เป็นทีค่ า้ ขายแลกเปลีย่ นสินค้าซึง่ กัน และกัน ครัน้ มีฐานะความเป็นอยูด่ ขี นึ้ ทุกคนต่างมีความส�ำนึกในบุญคุณของ บริเวณทีไ่ ด้พกั พิง จึงได้รว่ มแรงร่วมใจกันสร้างศาลาหลังเล็กมุงด้วยหญ้าคา ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทจี่ ะใช้เป็นทีพ่ กั ของสงฆ์ และเป็นสถานทีใ่ ห้พระสงฆ์ มารับบิณฑบาตรับจตุปัจจัยไทยทานเป็นครั้งคราว ในจ�ำนวนชาวบ้านทีอ่ าศัยพืน้ ทีส่ ว่ นนี้ โดยมากเป็นต้นตระกูล “ร่องซ้อ” และ “อินต๊ะนอน” ต่างก็ได้เชิญชวนผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาช่วยกัน

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 106

4/7/2562 11:26:40


พระพุทธรูปบูชาเนือ้ ทองสัมฤทธิ์ 1 องค์ ปางมารวิชยั หน้าตักกว้าง 9 นิว้ อุโบสถ สร้างสมัยพระอธิการฮ่อน กิตติสาโร พระธาตุมณีศรีศาสดา สร้างสมัยอธิการเฉลิม ฉน.ทกโร ปี 2524

ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดร่องซ้อ

พระดี จิตตวํวโร พ.ศ. 2487-2490 พระปลิ้น พ.ศ. 2490-2496 พระอธิการฮ่อน กิตติสาโร พ.ศ. 2496-2519 พระอธิการเฉลิม ฉนฺทกโร พ.ศ. 2519-2525 พระครูสมุห์สุรินทร์ สุทธิโก พ.ศ. 2526-2529 พระครูอมรพุทธิคุณ พ.ศ. 2529- ปัจจุบัน

ประวัติพระธาตุมณีศรีศาสดา

ต้นซ้อ ต้นไม้ประจ�ำวัดร่องซ้อ ท�ำบุญสร้างเป็นส�ำนักสงฆ์ขนึ้ โดยเชิญชวนชาวบ้านและพ่อค้าวัวต่างมาร่วม สนับสนุนด้านก�ำลังเงิน ก�ำลังกายช่วยกันสร้างถาวรวัตถุที่มั่นคงถาวรเพิ่ม เติม เช่น สร้างกุฏิ วิหาร ศาลา บ่อน�้ำ และเรียกชื่อสถานที่ท�ำบุญว่า “วัด ฮ่องซ้อ” ตามสภาพภูมปิ ระเทศทีเ่ ป็นร่องน�ำ้ และมีตน้ ไม้ซอ้ ขึน้ โดยทัว่ ไปชือ่ “วัดฮ่องซ้อ” เรียกขานกันมาเท่าใดไม่ปรากฏ และบ้านเรือนทีอ่ ยูบ่ ริเวณโดย รอบก็เรียกขานตามชื่อวัดไปด้วยว่า “บ้านฮ่องซ้อ” แล้วกลายมาเป็นค�ำว่า “ร่องซ้อ” ในที่สุด วัดร่องซ้อขึน้ ทะเบียนประกาศเป็นวัดชือ่ “ร่องซ้อ” เมือ่ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2444 และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2511 ถูกต้องตามกฎมหาเถรสมาคม กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ

ถาวรวัตถุที่ส�ำคัญ

พระพุทธรูปประทับยืนปางเปิดโลก สูง 3 เมตร 33 เซนติเมตร เป็น พระประธานในโบสถ์ อยู่คู่กันมาช้านานไม่ปรากฏ พ.ศ. ที่สร้าง สันนิษฐาน มีมายาวนานกว่า 200 ปี

พระธาตุมณีศรีศาสดา ก่อสร้างเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2523 เสร็จ เมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2524 มีประวัติความเป็นมาคือ มีผู้เฒ่าผู้แก่เล่าขานกันว่า วัดร่องซ้อมีข้อดี ถ้าวันดีคืนดีก็จะมีลูกแก้ว 3 ลูก ปรากฏออกมา ครั้นท่านพระอธิการเฉลิม ฉนฺทกโร เป็นเจ้าอาวาส ท่านก็อยากเห็นลูกแก้วทีผ่ เู้ ฒ่าผูแ้ ก่เล่า พอตอนท�ำ วัดเย็นเสร็จแล้วท่านก็ตงั้ จิตอธิษฐานว่า ถ้ามีลกู แก้วจริงขอให้ทา่ นได้เห็นลูก แก้วด้วย ต่อมาหลายคืนผ่านไปท่านก็นอนไม่หลับ เวลาประมาณตีหนึง่ กว่า ๆ ท่านก็เดินออกจากห้องมายืนอยู่ที่หน้าห้องโถงของกุฏิ มองทางซ้ายมอง ทางขวาสักพัก ท่านก็เห็นแสงสว่างทางหลังวิหาร แล้วก็มลี กู แก้ว 3 ลูก ลอย ขึน้ ไปจนสุดยอดของช่อฟ้า แล้วก็ลอยไปทางหน้าวิหาร ซึง่ นอกวัดมีตน้ ฉ�ำฉา (ต้นจามจุร)ี ต้นใหญ่ขนาดคนโอบสัก 3-4 คน แล้วลูกแก้วก็แตกออกเป็นไฟ ดอกสีขาวแล้วล่วงลงที่ต้นฉ�ำฉาทั้ง 3 ลูก หลังจากนั้นประมาณสัก 10 นาที ก็ได้เป็นลูกแก้วสีเขียวลูกใหญ่เท่ากับลูกมะพร้าว ลอยขึน้ ไปทางพระธาตุชอ่ แฮ ท่านก็เดินเข้าห้องนอนหลับสนิท จนรุ่งเช้า ท่านพระอธิการเฉลิม ฉนฺทกโร ก็ท�ำวัตรเช้าเสร็จแล้ว ท่าน เลยมาคิดในใจว่าท่านเห็นแก้วจริงตามทีท่ า่ นอธิษฐานไว้ ท่านจึงได้สร้างธาตุ ขึ้น โดยมีพ่ออาจารย์รัตน์ พนมขวัญ เป็นประธานฝ่ายฆราวาสในการวาง ศิลาฤกษ์ ต่อมาสมัยของพระครูอมรพุทธิคุณ ท่านเป็นเจ้าอาวาส เลยตั้งชื่อ พระธาตุนวี้ า่ พระธาตุมณีศรีศาสดา แล้วมีการจัดให้มงี านประเพณีไหว้พระ มณีศรีศาสดามาตลอดทุกปี โดยจัดทุก ๆ เดือน 4 เหนือ เริ่มงานเดือน 4 เหนือขึ้น 13 ค�่ำ- 15 ค�่ำของทุกปี PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 107

107

4/7/2562 11:26:49


วัดสะแล่ง

พระอารามที่อ�ำนวยประโยชน์สุขแก่ชุมชน พระครูสลี สังวราภิรตั เจ้าคณะต�ำบลห้วยอ้อ เขต 2 / เจ้าอาวาสวัดสะแล่ง วัดสะแล่ง ตั้งอยู่เลขที่ 19/1 หมู่ที่ 4 ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอลอง ระยะทาง 3 กิโลเมตร มีเนื้อที่ วัดทัง้ หมด 6 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา (ปัจจุบนั ขยายเนือ้ ทีร่ วมทัง้ หมดมี 20 ไร่) เป็นวัดเก่าแก่ซ่ึงมีอดีตเจ้าอาวาสคือ ครูบาสุปินโน พระเถราจารย์ที่มีชื่อ เสียงโด่งดังทีส่ ดุ ของเมืองลองในอดีต และทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปางลีลา ที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือ

ประวัติวัดสะแล่ง

วัดสะแล่ง เป็นชื่อที่ใช้เรียกวัดนี้มาแต่โบราณกาล สาเหตุที่เรียกมี ต�ำนานโดยย่อพอสรุปได้ดงั นี้ เมือ่ พระพุทธเจ้าเสด็จมาถึง ณ บริเวณทีว่ ดั ตัง้ นี้ นางค�ำฟุน่ นางค�ำเฟือย ชายาเจ้าเมืองได้ถวายพระกระยาหาร และดอกสะแล่ง แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงรับและอนุโมทนา พร้อมกันนั้นก็ได้ พยากรณ์ไว้วา่ สถานทีแ่ ห่งนีจ้ ะเป็นวัดทีเ่ จริญรุง่ เรือง และเป็นทีป่ ระดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุของเราตถาคตต่อไปในภายภาคหน้า 108

6

ต่อมา พ.ศ.1000-1200 พระนางจามเทวี พระราชธิดาของกษัตริย์ เมืองละโว้ ได้รับพระราชโองการโปรดเกล้าฯให้ไปปกครองเมืองล�ำพูน ได้ อั ญ เชิ ญ เอาพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ม าบรรจุ ต ามที่ ต ่ า งๆ ในเส้ น ทางที่ เสด็จผ่าน ขณะที่เสด็จพักแรม ณ สถานที่ตั้งวัดในปัจจุบัน ได้ประดิษฐาน ผอบทองบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุไว้ในขณะพักแรมตรงทีพ่ ระธาตุขะอูบค�ำ ประดิษฐานอยู่ในปัจจุบันนี้ แล้วจึงอัญเชิญไปบรรจุที่พระธาตุห้วยอ้อ และ รับสั่งให้น�ำก้อนหิน กองไว้เป็น เครื่องหมายทั้งสองแห่ง คือ ทั้งที่บรรจุ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 108

15/6/2562 9:23:28


พระธาตุห้วยอ้อและพระธาตุขะอูบค�ำ อันเป็นที่ประดิษฐานพระธาตุ ชั่วคราว โดยสร้ า งพระเจดี ย ์ ค รอบเศษผงธุ ลี พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ แ ละ ฉายาของพระธาตุ ซึ่งบรรจุผอบทองตั้งไว้ในครั้งนั้น ค�ำว่า “ขะอูบ” เป็นภาษาล้านนาไทยโบราณ หมายถึง “ผอบ” ขะอูบค�ำ ก็คือ ผอบทองค�ำ นั่นเอง ค�ำว่า “สะแล่ง” อันเป็นนามของวัด เป็นชื่อของ ดอกไม้ป่ายืนต้นชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสีขาวบริสุทธิ์ ลักษณะดอกคล้ายดอกปีบ (ก๋าสะลอง) วัดสะแล่งได้เริม่ สร้างขึน้ ตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา ได้มกี ารบูรณะปรับปรุง เปลี่ยนแปลงมาหลายยุคหลายสมัย ตามหลักฐานที่ขุดค้นพบได้ค้นพบ โบราณวัตถุ ศิลปะวัตถุตั้งแต่สมัยลพบุรี สุโขทัย อยุธยา หลักฐานดังกล่าว ที่ขุดค้นพบคือ พระพุทธรูปในสมัยต่าง ๆ เครื่องปั้นดินเผา แผ่นอิฐมีอักษร โบราณจารึก ยิ่งไปกว่านั้น ยังขุดพบขวานหินอันเป็นโบราณวัตถุก่อนสมัย ประวัติศาสตร์อีกด้วย

การบูรณปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุ-ศาสนวัตถุแบ่งเป็น 3 ยุค ดังนี้

ยุคแรก พ.ศ.1100-2020 พ.ศ. 1200 สร้างพระธาตุขะอูบค�ำ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่นอนว่าผู้ใด สร้าง แต่ตามต�ำนานกล่าวเพียงการเสด็จมาของพระนางจามเทวีมาประทับ พักแรม โปรดให้ตั้งพระบรมธาตุให้ประชาชนเข้าสักการะกราบไหว้เท่านั้น ต่อมาจึงได้มีการสร้างเจดีย์ครอบในภายหลัง พ.ศ. 1300-2020 สร้างอุโบสถ กุฏิ ก�ำแพง บ่อน�ำ้ ซุม้ พระ ซุม้ สิงห์จามเทวี ซึ่ ง สิ่ ง ก่ อ สร้ า งภายในวั ด ทั้ ง หมดได้ ก ่ อ สร้ า งโดยแบ่ ง แยกออกเป็ น เขต พุทธาวาส สังฆาวาส ถูกต้องตามหลักวิชาการ และตามคตินิยมของการ ก่ อ สร้ า งในพระพุ ท ธศาสนาฝ่ า ยเถรวาททุ ก ประการ ริ้ ว รอยของ สถาปัตยกรรมล้านนาไทยที่สวยงามเหล่านี้ ได้ปรักพังลงตามกาลเวลา ต่อมาจึงได้บรู ณะขึน้ พอสมควร แต่กร็ กั ษาสภาพเดิมของศาสนวัตถุไว้พอจะ มองเห็นอยู่บา้ ง

ยุคกลาง พ.ศ. 2020-2200 พ.ศ. 2030-2100 บูรณะอุโบสถ กุฏิ ฮ้านบาตร แท่นบูชา ศาลาบาตร แท่นรดน�้ำพระเจ้าแก้ว ยุคหลัง พ.ศ. 2506-2532 หลังจากพระอธิการสมจิต จิตตฺ คุตโฺ ต (พระครูวจิ ติ รนวการโกศล) และ เจ้าอธิการมิ่ง จิตฺตสํวโร (พระครูสีลสังวราภิรัต) เข้ามาพ�ำนักจ�ำพรรษาเมื่อ ปี พ.ศ. 2506 ได้มกี ารบูรณปฏิสงั ขรณ์ เสริมสร้างถาวรวัตถุ เสนาสนะหลาย อย่างดังต่อไปนี้ พ.ศ. 2506 วันที่ 9 พฤศจิกายน พระครูเกษมรัตนคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอ ลอง เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายหนอม คงถาวร นายอ�ำเภอลอง เป็นประธาน ฝ่ายคฤหัสถ์ ได้ท�ำการวางศิลาฤกษ์และบูรณะวัดขึ้นมาใหม่ โดยเริ่มสร้าง มณฑปพระแก้วและแล้วเสร็จในปีต่อมา พ.ศ. 2507 สร้างบ่อน�้ำ 1 บ่อ กุฏิ 2 หลัง พ.ศ. 2509 สร้างระฆังวงเดือนขนาดใหญ่ มีความกว้าง 60 นิว้ หนา 3 นิว้ หล่อด้วยทองส�ำริด เจิมโดยพระธรรมโมลี เจ้าคณะภาค 6 สร้างกุฏิ 1 หลัง พ.ศ. 2510 สร้างบ่อน�้ำ 1 บ่อ ซึ่งมีขนาดปากบ่อกว้าง 6 เมตร นับว่าเป็น บ่อน�้ำใหญ่ที่สุดในจังหวัดแพร่ สร้างกุฏิ 1 หลัง พ.ศ. 2511 สร้างศาลาบาตรด้านทิศตะวันออกของวัด โรงครัว เรือนรับรอง PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 109

109

15/6/2562 9:23:33


พ.ศ. 2512 สร้างกุฏิ 2 หลัง ถังเก็บน�ำ้ ฝน 2 ถัง พลโทประชุม-คุณหญิงสวาท ประสิทธิสรจักร สร้างหอระฆัง 1 หลัง พ.ศ. 2512 วางศิลาฤกษ์และสร้างเจดีย์ 1 องค์ เป็นเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุด ในอ�ำเภอลอง ขุดสระข้างเจดีย์ 1 แห่ง พ.ศ. 2514 จอมพลถนอม กิตติขจร เจิมยอดฉัตร ยอดทองค�ำเจดีย์ และ ยกยอดฉัตรยอดทองค�ำโดย นายปฐม สุทธิวาทนฤพุฒิ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดแพร่ พ.ศ. 2515 สร้างศาลาเปรียญหลังใหญ่ และสร้างถังเก็บน�ำ้ ประปา ต่อท่อ น�้ำประปาทั่วบริเวณวัด พ.ศ. 2515-2517 สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชัย และพระพุทธรูปลีลา ปูนปัน้ ศิลปะตระกูลช่างสุโขทัย เป็นพระพุทธรูปลีลาทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ พ.ศ. 2519 พลโทประชุม-คุณหญิงสวาท ประสิทธิสรจักร สร้างพระ ประธานโลหะ 1 องค์ พ.ศ. 2523 บูรณะมณฑปพระแก้ว ดร.ชูวงศ์ ฉายะบุตร ผู้ว่าราชการ จังหวัดแพร่ เป็นประธานยกยอดทองค�ำ พ.ศ. 2523 คุณหญิงบัวเขียว รังคสิริ สร้างพระประธานโลหะ 1 องค์ พ.ศ. 2524 ตัดถนนผ่านหน้าวัดเชือ่ มระหว่างบ้านหมู่ 3-4 ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง พ.ศ. 2525 สร้างก�ำแพงรอบวัด พ.ศ. 2526 วางศิลาฤกษ์สร้างอุโบสถ และเปิดถนนที่ตัดผ่านหน้าวัด โดยมี รมช.ณรงค์ วงศ์วรรณ ร่วมกับพระครูเกษมรัตนคุณ เป็นประธานพิธี 110

6

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 110

15/6/2562 9:23:43


ฝ่ายสงฆ์และฝ่ายคฤหัสถ์ พ.ศ. 2526 กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศยกวัดร้างเป็นวัดมีพระสงฆ์ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2526 พ.ศ. 2527 บูรณะซ่อมแซมภายในเขตพุทธาวาสเดิม โดยบูรณะปูชนีย สถานต่าง ๆ มีอุโบสถหลังเดิม พระธาตุขะอูบค�ำ ซุ้มจามเทวีที่ประดิษฐาน พระพุทธรูปสามพี่น้อง ซุ้มสิงห์จามเทวี ฐานหอธรรม ทั้งนี้ตามค�ำแนะน�ำ ของกรมศิลปากร เพือ่ อนุรกั ษ์ไว้ซงึ่ ศิลปกรรมและเพือ่ ให้คงสภาพเดิมเท่านัน้ มิได้เปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด พ.ศ. 2529 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ก�ำหนดกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2529

พ.ศ. 2530 วางศิลาฤกษ์สร้างโรงเรียนปริยัติธรรม พ.ศ. 2532 ท�ำพิธีฝังลูกนิมิต ผูกพัทธสีมาอุโบสถ พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสนิ ทรมหาวชิราลงกรณฯ พระ วชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั ขณะทรงด�ำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จแทนพระองค์ทรงตัดลูกนิมิต

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 111

111

15/6/2562 9:23:53


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส เนื่องจากวัดสะแล่งเป็นวัดเก่าแก่ และร้างมาหลายยุคหลายสมัย หลังสุดร้างมาเกือบสามร้อยปี เพิ่งมาเริ่มบูรณะเสริมสร้างขึ้นอย่างจริงจัง เมือ่ พ.ศ. 2506 ดังนัน้ ท�ำเนียบเจ้าอาวาสจึงไม่มหี ลักฐานทีแ่ น่นอน แต่พระ เถระที่ชาวบ้านกล่าวขานจนทุกวันนี้ก็คือ ครูบาสุปินโนเท่านั้น ที่เป็นอดีต เจ้ า อาวาสและเป็ น พระเถราจารย์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งโด่ ง ดั ง ที่ สุ ด ในยุ ค นั้ น ประวัติความเป็นมาของท่านอาจกล่าวโดยย่อดังนี้ ท่านมาอยู่วัดสะแล่ง โดยเจ้าผูค้ รองเมืองลองได้อาราธนาท่านมาจากวัดพระธาตุหริภญ ุ ชัย ราวๆ พ.ศ.2020-2030 นัยว่าท่านเป็นราชนิกุลของราชวงศ์ฝ่ายเหนือ รูปที่ 1 ครูบาสุปินโน รูปที่ 2 ครูบาสมจิต จิตฺตคุตฺโต วงศ์แสนศรี (พระครูวิจิตรนวการโกศล) พ.ศ. 2506-2560 รูปที่ 3 พระครูสีลสังวราภิรัต (มิ่ง เต็มใจ) พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน

112

6

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 112

15/6/2562 9:24:05


วัดสะแล่ง...พระอารามที่อ�ำนวยประโยชน์สุขแก่ชุมชน วัดสะแล่งเป็นปูชนียสถานที่เก่าแก่ จึงมีความส�ำคัญมากทั้งในด้าน พระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และอืน่ ๆ นับเป็นสถาบันทีส่ ำ� คัญแห่งหนึง่ ของสังคม โดยเป็นสาธารณสถานที่ให้บริการในด้านต่างๆ และเป็นศูนย์ บริการที่อ�ำนวยประโยชน์แก่ชุมชน อาทิ เช่น 1. เป็นส�ำนักงานเลขานุการเจ้าคณะอ�ำเภอลอง 2. เป็นส�ำนักงานเจ้าคณะต�ำบลห้วยอ้อ เขต 2 3. เป็นศูนย์วัฒนธรรม และ พิพิธภัณฑ์อ�ำเภอลอง 4. เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรม 5. เป็นศูนย์ส่งเสริม อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ท้องถิ่น 6. เป็นศูนย์พฒ ั นาจิตใจ อบรมปลูกฝัง สร้างเสริมคุณธรรมแก่ประชาชน 7. เป็นส�ำนักเรียนปริยัติธรรม นักธรรมตรี โท เอก 8. เป็นศูนย์เผยแผ่ค�ำสอนของพระพุทธศาสนา 9. เป็นศูนย์เผยแพร่ความรู้ การฝึกอบรม เพื่อพัฒนาคุณภาพของ ประชากร เช่นการฝึกอบรมกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเยาวชน กลุ่มเกษตรกร กลุ่มชาวไร่ชาวนา กลุ่มอาสา เป็นต้น 10. เป็นศูนย์พัฒนาหมู่บ้านและปลูกฝังระบอบประชาธิปไตยแก่ ประชาชน โดยใช้เป็นสถานที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาหมู่บา้ น 11. เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ข่าวสารแก่ประชาชนในหมู่บ้าน โดยใช้ เป็นที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจ�ำหมู่บ้าน 12. เป็นหน่วยงานแห่งหนึ่งของพระธรรมทูตสาย 4

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 113

113

15/6/2562 9:24:20


วัดศรีดอนค�ำ (ห้วยอ้อ)

กราบนมัสการขอพร “พระเจ้าพร้าโต้” พระครูสริ วิ รโสภิต เจ้าคณะต�ำบลห้วยอ้อ / เจ้าอาวาสวัดศรีดอนค�ำ

114

6

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 114

4/7/2562 11:28:10


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 115

115

4/7/2562 11:28:12


วัดศรีดอนค�ำ (ห้วยอ้อ)

กราบนมัสการขอพร “พระเจ้าพร้าโต้” พระครูสริ วิ รโสภิต เจ้าคณะต�ำบลห้วยอ้อ / เจ้าอาวาสวัดศรีดอนค�ำ วัดศรีดอนค�ำ เป็นวัดราษฎร์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมู่ 7 ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ มีพนื้ ที่ 11 ไร่ 2 งาน 169 ตารางวา วัดศรีดอนค�ำเป็นวัดโบราณ ที่มีพระธาตุห้วยอ้อ เป็นพระธาตุเก่าแก่ขนาดใหญ่ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งใน จังหวัดแพร่ และมีพระเจ้าพร้าโต้ซงึ่ ชาวเมืองลองสักการะบูชามาแต่โบราณ

ประวัติวัดศรีดอนค�ำ

หากจะกล่าวถึงประวัติความเป็นมาของวัดศรีดอนค�ำ ต้องเริ่มจากการ สร้างพระธาตุหว้ ยอ้อก่อน ซึง่ เป็นพระธาตุทมี่ อี ายุเก่าแก่คกู่ บั เมืองลองและ วัดศรีดอนค�ำ ตามต�ำนานกล่าวว่า ราวปี พ.ศ.1078 พระนางจามเทวีพระราชธิดากษัตริยผ์ คู้ รองเมืองละโว้ เป็นมเหสีของพระยารามัญ ผู้ครองเมืองอโยฌิยา (เมืองรามบุรี) ขณะนั้น ทรงตัง้ ครรภ์ฝาแฝดยังอ่อนอยูไ่ ด้เสด็จมาครองเมืองหริภญ ุ ชัย (ล�ำพูน) เวลา ที่มานั้นพระราชบิดาได้มอบผอบทองค�ำบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของ พระพุทธเจ้าช่วงพระอุระ (กระดูกอก) ซึง่ ได้มาจากโหรพราหมณ์ พระนาง เสด็จมาด้วยเรือพร้อมด้วยคณะสงฆ์ นักปราชญ์ และไพร่พลอันมาก ชะรอยผิดกระแสน�้ำปิงมาตามล�ำน�้ำยม พระนางก็หันน�้ำจ้อมจึงคะนึงใจว่า 116

6

“เราลองขึน้ ไปก่อนเถอะ” ว่าอัน้ แต่นนั้ มาจึงเรียกว่าเมืองลองจนบัดนี้ และ แล้วได้ประชุมยังสังฆะ นักปราชญ์ พิจารณาเห็นว่า ทีน่ เี้ ป็นทีป่ นู สนุกถูกเนือ้ เปิงใจก็ใคร่ปจุพระธาตุ ว่าอั้นแล้วพอถึงวันดีจึงพร้อมกันปจุพระธาตุไว้และ ปลูกต้นมะแงต้นหนึง่ แล้วจึงน�ำริพลร่องน�ำ้ ยมกลับขึน้ ไปรอดเมืองหริภญ ุ ชัย พระธาตุห้วยอ้อได้รับการบรูณะหลายครั้ง ปัจจุบันมีฐานเป็นปูน ส่วนบน ประดับด้วยแผ่นโลหะสีทอง จากหลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ ข องเมื อ งลอง กล่ า วถึ ง การสร้ า ง วัดศรีดอนค�ำว่า พระยาล�ำปางและพระยานครแพร่ ได้ช่วยกันสร้า ง วัดศรีดอนค�ำขึ้น เมื่อพ.ศ. 2169 มีการขออนุญาตโบกปูนพระธาตุ และสร้าง กุฏิให้พระเจ้ามหาเถรเจ้าสุทธนะ เป็นพระประธาน และได้สร้างวิหารขึ้น ในปี พ.ศ.2236 พร้อมอุโบสถขนาดเล็กกว้าง 4 วา ยาว 8 วา โดยลาดพื้น และผูกพัทธสีมา ซึ่งต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2477

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 116

4/7/2562 11:38:47


ส่วนไม้ทเี่ หลือจากการสร้างพระเจ้าพร้าโต้ ได้สร้างพระพุทธรูปขนาดเล็ก อีก 4 องค์ องค์ที่ 2 กรมศิลปากรได้อัญเชิญไปประดิษฐานที่ไร่แม่ฟ้าหลวง องค์ที่ 3 อัญเชิญไปประดิษฐานที่พิพิธภัณฑ์วัดหลวง อ.เมืองแพร่ องค์ที่ 4 ถูกขโมยไป องค์ที่ 5 มีขนาดเล็กที่สุด ประดิษฐานอยู่ที่วัดศรีดอนค�ำ พระเจ้าเชียงแสน พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ชนิดส�ำริด ขนาดหน้าตักกว้าง 70 ซม. ฐานกว้าง 16 ซม. สูงทั้งฐาน 96 ซม. ธรรมาศน์บุษบก ส�ำหรับแสดงธรรม สร้าง พ.ศ.2391 อาสนะ ส�ำหรับพระสงฆ์สวดพุทธาภิเษก ( สวดเบิก) สร้าง พ.ศ.2394

โบราณวัตถุและปูชนียวัตุส�ำคัญ พระเจ้าพร้าโต้ พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านนา ขนาดหน้าตัก กว้าง 74 ซม. ฐานกว้าง 34 ซม. สูงทัง้ ฐาน 3.84 ซม. เนือ่ งจากเป็นพระพุทธรูป ที่แกะสลักจากไม้แก่นจันทน์ที่มีความสูง 3 เมตร หน้าตักกว้าง 1.5 เมตร ด้วยการใช้ “พร้าโต้” หรือ “มีดอีโต้” ทีม่ ขี วานเล็ก ๆ อยูข่ า้ งบน เพือ่ สะดวก ในการเจาะไม้ จึงเป็นทีม่ าของพระนาม “พระเจ้าพร้าโต้” ปัจจุบนั กรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนไว้แล้ว

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 117

117

4/7/2562 11:28:41


ท�ำเนียบเจ้าอาวาส รูปที่ 1 ครูบาดอนไฟ พ.ศ.2202 รูปที่ 2 ครูบาฟ่อนสร้อย พ.ศ.2204 รูปที่ 3 ครูบาหลวงใจ พ.ศ.2239 รูปที่ 4 ครูบาสุทธนะ พ.ศ.2294 รูปที่ 5 ครูบากาวิชา พ.ศ.2346 รูปที่ 6 ครูบาวอ พ.ศ.2389 รูปที่ 7 ครูบาอินทปัญญา พ.ศ.2391 รูปที่ 8 ครูบาศรีท ิ พ.ศ.2399 รูปที่ 9 ครูบาญารังสี พ.ศ.2405 รูปที่ 10 ครูบาหน่อม พ.ศ.2411 รูปที่ 11 ครูบาค�ำวงษา แก้วค�ำแสน พ.ศ.2415 รูปที่ 12 ครูบาพรหมินทร์ พ.ศ.2420 รูปที่ 13 ครูบาอินทวิชัย เมืองลอง พ.ศ.2421 รูปที่ 14 ครูพรหมจักร พ.ศ.2422 รูปที่ 15 พระครูจันทรังสี พ.ศ.2456 รูปที่ 16 เจ้าอธิการแดง อินสา พ.ศ.2487 – 2500 รูปที่ 17 พระครูเกษมรัตนคุณ พ.ศ.2500 – 2546 รูปที่ 18 พระครูอดุลสารธรรม พ.ศ.2546 – 2555 รูปที่ 19 พระครูสิริวรโสภิต พ.ศ.2555 – ปัจจุบัน

ประวัติพระครูเกษมรัตนคุณ เจ้าอาวาสรูปที่ 17 พระครูเกษมรัตนคุณ ( แก้ว เขมธมฺโม, วันแก้ว) บรรพชา วันเสาร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2479 ณ วัดศรีดอนค�ำ พระอุปัชฌาย์ พระครูจันทรังสี วัดศรีดอนค�ำ อุปสมบท วันอาทิตย์ ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2484 ณ วัดศรีดอนค�ำ พระอุปัชฌาย์ พระครูจันทรังสี วัดศรีดอนค�ำ วิทยฐานะ พ.ศ. 2483 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดพระบาทมิ่งเมืองวรวิหาร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ พ.ศ.2484 สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค ส�ำนักเรียนวัดพระบาทมิ่งเมือง วรวิหาร ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีดอนค�ำ รูปที่ 17 ( พ.ศ.2500 – 2546 ) , ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดแพร่ มรณภาพ เมื่อ พ.ศ.2546 อายุ 86 ปี พรรษา 63

ประวัติพระครูอดุลสารธรรม เจ้าอาวาสรูปที่ 18

พระครูอดุลสารธรรม ( อินสอง กตสาโร, อุ่นตา) สถานะเดิม ชื่อ อินสอง นามสกุล อุ่นตา ( มูลอุ่นตา) เกิดวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.2468 บิดาชื่อ นายเทศ มูลอุ่นตา, มารดาชื่อ นางน้อย มูลอุ่นตา ณ บ้านช่วงเปา หมูที่ 9 ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ 118

6

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 118

4/7/2562 11:28:50


บรรพชา วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2485 ณ วัดศรีดอนค�ำ พระอุปัชฌาย์ พระครูจันทรังสี วัดศรีดอนค�ำ อุปสมบท วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2489 ณ วัดศรีดอนค�ำ พระอุปัชฌาย์ พระครูอดุลธรรมรังสี วัดนาหลง ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ วิทยฐานะ ป.4 นักธรรมเอก ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีดอนค�ำ รูปที่ 18 (พ.ศ.2546–2555) รองเจ้าคณะอ�ำเภอลอง มรณภาพ เมื่อ พ.ศ.2555 อายุ 87 ปี พรรษา 65

ประวัติพระครูสิริวรโสภิต เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระครูสิริวรโสภิต ( พิรุณ วรปญโญ, วงศ์ประสงค์) สถานะเดิม ชื่อ พิรุณ นามสกุล วงศ์ประสงค์ เกิดวันพุธ ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ.2504 บิดาชื่อ นายบุญส่ง วงศ์ประสงค์ , มารดาชื่อ นางหรัด วงศ์ประสงค์ บรรพชา–อุปสมบท วันจันทร์ ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2534 ณ วัดศรีดอนค�ำ พระอุปัชฌาย์ พระครูเกษารัตคุณ วัดศรีดอนค�ำ วิทยฐานะ พ.ศ.2536 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดศรีดอนค�ำ พ.ศ.2541 สอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดแพร่ วัดศรีดอนค�ำ ต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีดอนค�ำ รูปที่ 19 (พ.ศ.2555–ปัจจุบัน) และ เจ้าคณะต�ำบลห้วยอ้อ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

.indd 119

119

4/7/2562 11:29:09


วัดพระธาตุแหลมลี่ พระปลัดวิเชียน วชิรญาโณ เจ้าอาวาส

วัดพระธาตุแหลมลี่ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 35 หมู่ 5 ต�ำบลปากกาง อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ เป็นโบราณสถานส�ำคัญที่ได้รับการประกาศราชกิจจา นุเบกษา เล่มที่ 71 ตอน 3 ลงวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2497 และต่อมาได้ มีการประกาศขึน้ ทะเบียนตามพระราชบัญญัตโิ บราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พ.ศ.2504

ประวัติพระธาตุแหลมลี่ เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว ก็ได้เสด็จมาแสดงธรรมชื่อว่า “สารัมมะ จิตตะสูตร” เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพานแล้วได้ 220 ปี ได้มพี ระศรีธรรม โศกมหาราช พร้อมด้วยพระสงฆ์ องค์อรหันต์ 400 องค์ ได้นำ� พระธาตุของ พระพุทธเจ้ามาบรรจุไว้ นับตั้งแต่นั้นมา ราว พ.ศ. 949 สมัยพระยา พรหมกุ ลี เป็ น ผู ้ ค รองเมื อ งเววาทภาษี ต ์ (อ� ำ เภอลอง) ในสมั ย นั้ น เมืองอาลัยยะราโม มีพระยามินัยยะเป็นผู้ครองเมืองทุ่งยั้ง พระยาจังโก

120

2

เป็นผู้ค รองเมื อ งฝาง พระยาศิ ริ สุ ท ธะวั ง สา เป็ น ผู ้ ค รองเมื อ งละโว้ (ลพบุรี) ซึ่งเป็นสหายกัน ได้มาสร้างพระธาตุแหลมลี่ ดังนั้นพระธาตุแหลมลี่จึงถือเป็นสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์แห่งหนึ่งใน ประเทศไทย หรือว่าในโลก กล่าวคือในภัทรกัลป์นี้ มีพระพุทธเจ้าห้า พระองค์ คือ พระกกุสนั ธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสปะ พระโคตมะ พระ อริยเมตตรัย มาแสดงธรรมชื่อว่า “สารัมมะจิตตะสูตร” ทุกพระองค์ ดัง นั้นที่วัดแหลมลี่แห่งนี้ จึงเป็นที่น่าอัศจรรย์ยิ่ง ถ้าผู้ใดมาไหว้ที่นี่ก็เสมือน หนึ่งเราได้ไหว้พระเจ้าทั้งห้าพระองค์ ไม่มีบุญใดที่จะเปรียบปานได้ ในอดีตที่แห่งนี้คงเจริญรุ่งเรืองเป็นแท้ เพราะผู้ที่มาสร้างก็ล้วนเป็น บุคคลที่มีบุญญาธิการทั้งนั้น แต่ทุกสิ่งทุกอย่างถ้าเจริญถึงขีดสุดแล้วก็มี เสื่อมไปตามธรรมดา นับตัง้ แต่นนั้ มาก็ถอยมาเป็นล�ำดับ ขาดความเอาใจ ใส่รักษา และมิหน�ำยังมีคนบาปหนาอธรรมมาเบียดเบียนท�ำร้ายต่อ พระพุทธรูปและเจดียเ์ สมอมา

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 120

21/6/2562 16:47:03


ไหว้สาพระธาตุแหลมลี่ เสมือนหนึ่งบูชา พระเจ้าห้าพระองค์ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 121

121

21/6/2562 16:47:04


อุโบสถ

ขบวนไทยทานที่แห่มาทางเรือ (งานนมัสการไหว้สาพระธาตุแหลมลี่) 122

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 122

21/6/2562 16:47:06


ภายในอุโบสถ

พระธาตุน้อยปากถ�้ำ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 123

123

21/6/2562 16:47:10


วิหารน้อย

ภายในวิหารน้อย ปูชนียสถาน-ปูชนียวัตถุส�ำคัญภายในวัด

เจดีย์พระธาตุน้อย มีฐานเหลี่ยม องค์พระธาตุเจดีย์เป็นรูปแปดเหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง ด้านบนเป็นรูปทรงระฆังคว�่ำ เป็นศิลปะสมัยล้านนาตอนต้น ปัจจุบันอยู่ในสภาพทรุดโทรม เจดีย์พระธาตุแหลมลี่ เป็นรูปแปดเหลี่ยม ย่อมุมไม้สิบสอง กว้าง 7 เมตร สูง 10 เมตร ก่อด้วยอิฐหุ้มทองจังโก ได้มีการบูรณะจึงอยู่ในสภาพดี โบสถ์ไม้ อายุไม่น้อยกว่า 200 ปี ก่อด้วยอิฐถือปูนไม่มีเสาด้านใน หลังคามุงด้วยกระเบื้องดิน คันทวย (เท้าแขน) เป็นไม้แกะสลักรูปนาคและลายกนก เหนือประตูเป็นสังกะสีตอกเป็นลาย กนก ตัวโบสถ์เป็นศิลปกรรมแบบล้านนาผสมพม่า พระประธานในวิหาร เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ชื่อ พระเววา

พระพุทธเววาทภาษีต์ 124

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 124

4/7/2562 11:31:18


ประเพณีไหว้สานมัสการวัดพระธาตุแหลมลี่ วัดพระธาตุแหลมลี่ จัดให้มปี ระเพณีไหว้สานมัสการวัดพระธาตุแหลมลี่ –ล่องเรือวัดใต้เดือนหกเป็ง ซึง่ เป็นประเพณีเก่าแก่และมีเอกลักษณ์หนึง่ เดียว ในอ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่โดยงานจัดขึน้ ทุกวันขึน้ 15 ค�ำ่ เดือน 6 เหนือของ ทุกปี (วันขึ้น 15 ค�่ำเดือน 4 ไทย) โดยชาวบ้านและหัววัดของแต่ละหมู่บ้าน ภายในต�ำบลปากกาง จะตกแต่งเครื่องไทยทานและเรืออย่างสวยงาม เช่น ท�ำเป็นปราสาท หรือรูปตามปีนักษัตรนั้น ๆ จากนั้นจะจัดขบวนแห่ไปรวม กันที่ฝั่งแม่น�้ำยมที่หมู่ที่ 2 ต�ำบลปากกาง เมื่อพร้อมกันแล้วก็จะเอาเครื่อง ไทยทานใส่เรือ คณะศรัทธาทั้งหลายที่นั่งไปในเรือ จะตีฆ้องตีกลองฟ้อนร�ำ อย่างสนุกสนานบนเรือ แล้วพากันล่องตามล�ำน�ำ้ ยมเป็นแถวอย่างมีระเบียบ โดยให้ขบวนของวัดนาหลวงน�ำหน้า เพราะคนบ้านนาหลวงถือเป็นคน อุปฏั ฐาก (ข้ารับใช้ดแู ลพระธาตุ) มาตัง้ แต่โบราณ หากบ้านนาหลวงยังไม่มา ก็ล่องเรือไม่ได้ จะเกิดเหตุเพศภัยต่าง ๆ เช่นเรือล่ม หรือมีฝนตก เมื่อล่อง เรือถึงที่พักแรมในสมัยโบราณคือเกาะแก้ว ตอนล่างแหลมลี่ พระสงฆ์ เจ้าเมืองหรือนายอ�ำเภอ พร้อมบริวารและชาวเมืองลอง จะจัดฟ้อนร�ำและ การละเล่นพื้นบ้าน ต้อนรับขบวนแห่ครัวทานและเครื่องสักการะขึ้นบน พระธาตุ เพื่อถวายและนมัสการพระธาตุพร้อมกัน ประเพณีไหว้สานมัสการวัดพระธาตุแหลมลี–่ ล่องเรือวัดใต้เดือนหกเป็ง ถือเป็นประเพณีที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน เป็นมรดกและเอกลักษณ์ของ เมืองลองที่หาดูชมได้ยาก และยังเหลืออยู่ที่วัดพระธาตุแหลมลี่เพียงแห่ง เดียวของประเทศไทย

พระเจ้าปุค�ำ

พระเจ้าแสนทอง

พระเจ้าปุเงิน

พระธาตุแหลมลี่

พระเจ้าฝนแสนห่า

พระยอดธง

พระปลัดวิเชียน วชิรญาโณ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 125

125

21/6/2562 16:47:19


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดบ่อแก้ว

ต�ำนานพระยอดขุนพลกรุบ้านปิน “เสื้อเกราะเมืองแพร่” พระครูอาทรกิตยานุรักษ์ เจ้าอาวาส วัดบ่อแก้ว หรือวัดบ้านบ่อ หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบ้านปิน อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ พระอารามอันเกิดแต่ความเลื่อมใสศรัทธาอันแรงกล้าของพุทธศาสนิกชน 3 ชาติพนั ธุ์ และทีม่ าของ “พระยอดขุนพล วัดบ้านบ่อ กรุบา้ นปิน” ทีข่ นึ้ ชือ่

ประวัติวัดบ่อแก้ว

วัดบ่อแก้ว เป็นวัดร้างมาก่อน ชื่อเดิมคือวัดเหมือนวาด บริเวณหมู่บ้าน ที่ตั้งวัดในอดีต เป็นที่ตั้งชุมชนใหญ่พอประมาณ มีอยู่ 3 ชนเผ่าอยู่ร่วมกัน ได้แก่ ชุมชนคนพืน้ เมือง ชุมชนเผ่าไทยลือ้ ชุมชนเผาลัว๊ ะ เป็นชุมชนทีเ่ จริญ รุ่งเรืองทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีทางศาสนาเป็นอย่างมาก โดยจะชอบ สร้างวัด สร้างพระพุทธรูป สร้างพระธาตุเจดีย์ และพระเครื่อง เมื่อประมาณ พ.ศ.2520 ได้ไปขุดพบกระเบื้องดินเผามุงหลังคาอุโบสถ เขียนเป็นภาษาพื้นเมืองเหนือล้านนาว่า...1,245–1,247 ปี ประมาณ 1,315-1,317 ปี และอีกประการหนึง่ เขียนติดก้อนอิฐว่า “ หมาย�ำ่ ดินกีต่ คุ๊ ำ� ” แปลว่า หมาเหยียบก้อนอิฐพระค�ำ และมีรอยหมาเหยียบด้วยเช่นกัน เขียน เป็นภาษาพื้นเมืองล้านนา ทางพระค�ำ (ตุ๊ค�ำ) ตอนหลังนี้ได้เดินทางขึ้นไป 126

2

เยี่ยมทางบ้านเกิดที่เชียงแสน แต่ไม่ได้กลับมาอีกเพราะเป็นไข้ป่ามรณภาพ ชุมชนคนพื้นเมือง คนลั๊วะ คนไทยลื้อ พร้อมพระภิกษุสามเณร จึงได้ไป ขุดเอาแร่เหล็ก แร่ตะกั่ว บริเวณเขาหรือม่อนห้วยถ�้ำในปัจจุบันนี้ แล้วเอา มาหลอมท�ำพระพุทธรูปสัมฤทธิอ์ งค์ใหญ่ องค์เล็ก พระยอดขุนพล เป็นสังฆาฏิ ยาวถึงสะดือเหมือนกันหมด เพราะยุคก่อนต้องเป็นเช่นนี้ พระยอดขุนพล มี 2 ชนิด 1. ปรกโพธิ์ 2. ฉัตรทวน เป็นเนื้อดินเผาและเนื้อตะกั่ว เพราะ พระภิ ก ษุ ส งฆ์ แ ละชุ ม ชนคนยุ ค นั้ น ได้ ท� ำ ขึ้ น คนรุ ่ น หลั ง จึ ง ได้ ใ ห้ ชื่ อ ว่ า “พระยอดขุนพล วัดบ้านบ่อ กรุบ้านปิน” มาจนถึงปัจจุบันนี้ ปั จ จุ บั น วั ด บ้ า นบ่ อ มี สั ญ ลั ก ษณ์ คื อ บ่ อ น�้ ำ โบราณ พระเจดี ย ์ พระพุทธรูป องค์ใหญ่ องค์เล็ก พระเครื่อง พร้อมอุปกรณ์อื่น ๆ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 126

4/7/2562 11:30:31


การพัฒนาวัดบ้านบ่อ - วันอังคารที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2518 ปีเถาะ มาอยู่ที่วัดบ่อแก้ว (บ้านบ่อ) เป็นส�ำนักสงฆ์และรักษาการเจ้าส�ำนักสงฆ์ - วันจันทร์ ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2527 แรม 4 ค�่ำ ปีชวด ได้ขอยกวัดร้างขึ้นเป็นวัดมีพระสงฆ์ - วันพุธ ที่ 9 มกราคม พ.ศ.2528 แรม 4 ค�่ำ ปีฉลู ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดบ่อแก้ว (บ้านบ่อ) - เริม่ ท�ำการบูรณปฏิสงั ขรณ์ เสนาสนะ ปรับพืน้ ทีท่ ำ� ก�ำแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก พร้อมพระภิกษุสามเณร - สร้างศาลาบ�ำเพ็ญบุญ คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น เสร็จเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2545 ใช้งบประมาณ ก่อสร้าง 2,879,851 บาท - สร้างกุฏิสงฆ์ วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ.2548 คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น งบประมาณ 319,819 บาท - สร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2550 งบประมาณ 316,739 บาท - วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ.2555 วางศิลาฤกษ์ ขึ้นเสาเอก เริ่มท�ำการก่อสร้างอุโบสถจัตุรมุข 2 ชั้น คอนกรีตเสริมเหล็ก - วันอังคาร ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2559 ท�ำพิธเี ททองหล่อพระประธานอุโบสถ วัดบ่อแก้ว ชือ่ พระยอดขุนพลเนือ้ สัมฤทธิ์ หน้าตัก 45 นิว้ สูง 60 นิว้ โดยมี คุณแม่พรรณี-คุณเขษณี-คุณอภิวชิ เขมสถิตย์, คุณเศษฐาครุปต์ คณาวัฒนกุล พร้อมคณะญาติพี่น้องเป็นเจ้าภาพ - วันอาทิตย์ ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ.2560 ปีระกา สร้างพระธาตุเจดียศ์ รีสทุ โธนาค ส�ำเร็จเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 20 มกราคม พ.ศ.2562 ปีกุน โดยการน�ำของ คุณสายไหม เที่ยงธรรม พร้อมด้วยคณะศิษยานุศิษย์ สร้างถวายใช้ค่าก่อสร้างทั้งหมด 6,000,000 บาท

ประวัติพระครูอาทรกิตยานุรักษ์ พระครูอาทรกิตยานุรักษ์ เจ้าอาวาสวัดบ้านบ่อ สถานะเดิม ชื่อ สมบูรณ์ นามสกุล แก้วมาลา ฉายา กิตฺติธมฺโม เกิดวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2497 ขึ้น 11 ค�่ำ ปีมะเมีย บ้านเลขที่ 48 บ้านบ่อ หมู่ 2 ต�ำบลบ้านปิน อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ อุ ป สมบท วั น อาทิต ย์ ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2518 ขึ้น 11 ค�่ำ ปีเถาะ ณ พัทธสีมา วัดโพธิบุปผาราม ต�ำบลบ้านปิน อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ พระอธิการสุข ธมฺมชโย วัดโพธิบปุ ผาราม เป็นพระอุปชั ฌาย์, พระเมธี ปณฺฑโิ ต เป็นพระกรรมวาจาจารย์, พระทอง วชิรญาโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 127

127

15/6/2562 9:27:35


วัดโพธิบุปผาราม ขอพรพระเจ้าทันใจให้สมหวังทันจิต พระครูนิวิฐจิตสังวร (นิโรธ จิตฺตสํวโร) เจ้าคณะต�ำบลบ้านปิน/เจ้าอาวาส

วัดโพธิบปุ ผาราม ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 202 หมูท่ ี่ 5 ต�ำบลบ้านปิน อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ บนเนือ้ ทีป่ ระมาณ 9 ไร่ วัดโพธิบปุ ผารามเป็นวัดทีไ่ ด้รบั คัดเลือก เป็นอุทยานการศึกษาในวัด พ.ศ. 2558 และได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนา ตัวอย่าง พ.ศ. 2560

ประวัติวัดโพธิบุปผาราม

วัดโพธิบปุ ผาราม สร้างขึน้ ประมาณ ปี พ.ศ.2310 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2474 แต่เดิมชื่อ วัดปินลอง ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดบ้านปิน มีเรื่องเล่าว่าในปี พ.ศ. 2400 เกิดนิมิตสิ่งอัศจรรย์ขึ้นคือ ต้นโพธิ์ ในวัดเกิดมียางสีแดงไหลย้อยออกมาจากล�ำกิง่ เนิง้ (กิง่ ทีแ่ ยกจากต้นขนานไปกับ พืน้ ดิน) พอยางหยุดไหลประมาณอีก 49 วัน ต้นโพธิ์ก็เกิดปาฏิหาริย์ มีดอก ออกมาเป็นสีขาวปนชมพู 9 ดอก เป็นสิง่ ทีน่ า่ อัศจรรย์ยงิ่ นัก ท่านครูบาจุมปู เจ้าอาวาสในขณะนัน้ พร้อมด้วยคณะศรัทธา ทายก ทายิกา จึงได้นำ� ดอกโพธิ์ ไปมอบให้เจ้าหลวงญาณรังสี เจ้าเมืองนครล�ำปาง ซึ่งในขณะนั้นเมืองลอง ขึ้นกับเมืองนครล�ำปาง 128

2

อาศัยเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ ดังกล่าว มาในปี พ.ศ.2482 จึงได้ขอเปลีย่ นชือ่ มาเป็น “วัดโพธิบุปผาราม” แปลว่าวัดโพธิมีดอก มาจนถึงปัจจุบันนี้ (ต้นโพธิ์ที่ออกดอก ก็ยังมีอยู่ทางทิศตะวันตกของอาคาร ธมฺมชโย) ประวัติ ได้สูญหายและขาดการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ ดังนั้นอาจคลาด เคลื่อนจากความเป็นจริงหรือตกหล่นได้เพราะใช้การบอกเล่าสืบ ๆ กันมา

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 128

15/6/2562 9:28:21


- เจ้าคณะต�ำบลบ้านปิน - ประธานหน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลบ้านปิน - พระธรรมทูตฝ่ายปฏิบัติการประจ�ำอ�ำเภอลอง

ประวัติการสร้างพระเจ้าทันใจ

การบริหารและการปกครอง

พระพุทธนีโรธกนกสหัสสะมงคล เป็นพระนามของ พระเจ้าทันใจ ซึง่ หมายถึงพระพุทธรูปทีส่ ร้างเสร็จภายใน 1 วัน โดยจะเริม่ พิธปี น้ั ตัง้ แต่หลัง หกทุ่มเป็นต้นไป จนสามารถสร้างพระส�ำเร็จก่อนพระอาทิตย์ตกดิน (ก่อน เวลา 18.00 น.) ของวันถัดไป (ถ้าสร้างไม่เสร็จถือว่าเป็นพระพุทธรูปธรรมดา ทัว่ ไป) และสามารถท�ำพิธพี ทุ ธาภิเษกได้ในคืนวันเดียวกัน ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากการ สร้างพระพุทธรูปปั้นจะมีขั้นตอนและพิธีกรรมที่ละเอียดซับซ้อน การสร้าง และสามารถท�ำพิธีพุทธาภิเษกได้ส�ำเร็จภายใน 1 วัน จึงถือว่าเป็นเรื่อง มหัศจรรย์ โดยเชื่อกันว่าเป็นเพราะพระพุทธานุภาพแห่งเทพยดาที่บันดาล ให้พิธีกรรมส�ำเร็จโดยปราศจากอุปสรรค ดังนั้นพุทธศาสนิกชนจึงเชื่อว่า พระเจ้าทันใจมีพระพุทธานุภาพ ทีส่ ามารถดลบันดาลให้โชคลาภ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข และเมือ่ อธิษฐานขอพรสิง่ ใดก็จะสมความปรารถนาได้ทนั อกทันใจ นอกจากนี้ การสร้างพระเจ้าทันใจยังมีลักษณะที่แปลกกว่าการสร้าง พระพุทธรูปอืน่ ๆ กล่าวคือจะมีการบรรจุหวั ใจพระเจ้าทีค่ ล้ายกับหัวใจของ มนุษย์ ตลอดจนการบรรจุวัตถุมงคลสิ่งของมีค่าไว้ในองค์พระพุทธรูปด้วย และในช่วงระยะเวลาทีก่ ำ� ลังปัน้ จะมีการเจริญพระพุทธมนต์ของพุทธบริษทั ตลอดทัง้ คืนจนสว่าง ด้วยความสามารถหลอมรวมพุทธศาสนิกชนให้มคี วาม เป็นน�ำ้ หนึง่ ใจเดียวกัน ประสานความร่วมมือของพุทธบริษทั 4 ประกอบบุญ กิรยิ าวัตถุ 10 ประการ อย่างครบถ้วน ชาวพุทธเชือ่ ว่าอานิสงส์ของการสร้าง การปิดทองค�ำปลิวพระเจ้าทันใจจะเป็นก�ำลังใจให้เราท�ำกิจการใด ๆ ก็จะ ส�ำเร็จสมประสงค์อย่างทันอกทันใจเป็นที่น่าอัศจรรย์

วัดโพธิบุปผาราม มีเจ้าอาวาสปกครองจ�ำนวน 9 รูป ได้แก่ ครูบาเสือคบ (พ.ศ. 2331–2367) ครูบาอินทปัญญาวิชาเพียน (พ.ศ. 2367–2399) ครูบาจุมปู (พ.ศ. 2400–2411) ครูบาพรมปันดิ (พ.ศ. 2411–2415) ครูบาเสน (พ.ศ.2415–2420) ครูบากิจวงศ์ รตนญาโณ (พ.ศ. 2421–2431) ครูบาแจ้ อภิญาโน (พ.ศ. 2432–2463) เจ้าอธิการสุข ธมฺมชโย (พ.ศ. 2463–2530) และพระครูนิวิฐจิตสังวร (นิโรธ จิตฺตสํวโร) พ.ศ. 2531–ปัจจุบัน

ประวัติเจ้าอาวาสวัด

พระครูนิวิฐจิตสังวร (นิโรธ จิตฺตสํวโร) อายุ 64 ปี พรรษา 42 วิทยฐานะ น..เอก ม.3 นามเดิม ชื่อ นิโรธ นามสกุล กาวีเปิบ บรรพชา เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2520 ณ วัดโพธิบุปผาราม พระอุปัชฌาย์ คือ เจ้าอธิการสุข ธมฺมชโย วัดโพธิบุปผาราม อุปสมบท เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ.2520 ณ วัดโพธิปุปผาราม ฉายา จิตฺตสํวโร พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการสุข ธมฺมชโย ต�ำแหน่ง - เจ้าอาวาสวัดโพธิบุปผาราม PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 129

129

15/6/2562 9:28:28


วัดพระธาตุดอยน้อย ปาฏิหาริย์แห่งรอยพระพุทธบาทสู่พระธาตุดอยน้อย

วัดพระธาตุดอยน้อย ตั้งอยู่ที่ต�ำบลบ้านปิน อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่

ต�ำนานบ้านปินกับวัดพระธาตุดอยน้อย

จากต�ำนานที่ผู้เฒ่าผู้แก่เล่าสืบต่อกันมาว่า เมื่อครั้งสมัยพุทธกาลนั้น เมื่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าส�ำเร็จพระอรหันต์ (ตรัสรู้) แล้ว พระองค์พร้อมด้วยพระอรหันต์ จ�ำนวน 500 รูป ได้เสด็จมาที่เขาดอยน้อย (วัดพระธาตุดอยน้อยในปัจจุบัน) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือห่างจากบ้านปิน ประมาณ 1 กิโลเมตร พระองค์ทรงแสดงพระธรรมเทศนาโปรดราษฎร และมี หญิงหม้ายคนหนึ่งเกิดความเลื่อมใสศรัทธาขึ้น จึงได้ถอดปิ่นทองซึ่งปักที่ มวยผมถวายแด่พระพุทธองค์เพือ่ เป็นพุทธบูชา พระองค์ได้ทรงรับไว้และได้ มีพทุ ธท�ำนายว่า ในอนาคตกาลบริเวณนีจ้ ะเกิดเป็นบ้านเมืองรอบ ๆ เขาแห่งนี้ และมีความเจริญรุง่ เรืองมีความเลือ่ มใสในพุทธศาสนา แลมีชอื่ ว่า “บ้านปิน่ ” ซึ่งต่อมาได้เรียกเป็น “บ้านปิน” จนถึงปัจจุบัน

ประวัติการก่อสร้างพระธาตุดอยน้อย ในอดีตกาล พระบาทเจ้าดอยน้อย (รอยพระพุทธบาทดอยน้อย) ถูกบดบังด้วยพงไม้รกชัฎและถูกเถาวัลย์ชอนไชท�ำให้รอยพระพุทธบาทแตกร้าว แต่ในคืน เดือนเพ็ญชาวบ้านมักจะเห็นล�ำแสงลุกโพรงที่บริเวณรอยพระพุทธบาทนั้นเสมอ บ้างคิดว่าเป็นไฟป่า บ้างก็ว่าเป็นผีโพง เมื่อชาวบ้านได้เข้าไปดูที่บริเวณนัน้ ก็พบว่ามีรอยพระพุทธบาทซ่อนอยู่ ชาวบ้านต่างปิตยิ นิ ดีชว่ ยกันแพ้วถางบูรณะเพือ่ ให้เป็นทีส่ กั การบูชาทัง้ ในหมูเ่ ทพเทวดา พญาครุต พญานาคและมนุษย์ ต่อมาวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2475 (วันศุกร์ขนึ้ 15 ค�ำ่ ) พระศรีบตุ รศิรบิ วร วัดท่าสะตอย เมืองนครเจียงใหม่ พร้อมด้วยคณะศิษย์และญาติโยมผูม้ จี ติ ศรัทธา อาทินายฮ้อยหม่องโมส่วย หม่องทุนไหล และหม่องเม กับพวกยาง ขมุ ไทย พร้อมภรรยาและบุตร และคณะศรัทธาทัง้ ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่และคนหนุม่ สาวทัง้ หลาย ปรึกษาหารือและพร้อมใจกันทีจ่ ะสร้างพระธาตุเจดียค์ รอบรอยพระพุทธบาทไว้ โดยนายฮ้อยหม่องโมส่วย เป็นหัวเรีย่ วหัวแรงคนส�ำคัญในการบริจาคทุนทรัพย์ การจัดหาวัสดุกอ่ สร้าง และจัดหาช่างฝีมอื ดี ชือ่ สล่าถิน่ จากเชียงใหม่ มาท�ำการก่อสร้างขึน้ รูปพระพุทธบาทเป็นเพระธาตุดอยน้อย ในวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2476 130

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

1

.indd 130

4/7/2562 11:27:04



วัดสูงเม่น

เมืองคัมภีร์ ใบลาน ถิ่นก�ำเนิดครูบามหาเถร สืบสานประเพณีตากธัมม์ พิพิธภัณฑ์คัมภีร์ ใบลานล้านนา พระครูปัญญาสารนิวิฐ เจ้าอาวาส

วัดสูงเม่น ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลสูงเม่น อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็น วัดเก่าแก่ทมี่ อี ายุไม่นอ้ ยกว่า 300 ปี ในอดีตมีครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร หรือ “หลวงปู่ครูบามหาเถรเจ้า” พระเถระชาวสูงเม่นผู้มีศีลาจารวัตร อันงดงาม เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาทั้งจากเจ้าผู้ครองนครไปจนถึงราษฎร อีกทัง้ ท่านยังเป็นพระนักปราชญ์ทสี่ ร้างคัมภีรใ์ บลานตามรอยพระพุทธองค์ เป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้วดั สูงเม่น ณ ปัจจุบนั ได้ชอื่ ว่าเป็นแหล่งอนุรกั ษ์คมั ภีร์ วรรณกรรมพุทธศาสนาในล้านนา ที่มีความสมบูรณ์และมีจ�ำนวนมากที่สุด ในแผ่นดินล้านนา นายสมหวัง พวงบางโพ อดีตนายอ�ำเภอสูงเม่น จึงได้ ขนานนามวัดสูงเม่นว่าเป็น “เมืองคัมภีร์ธัมม์โบราณ”

ประวัติวัดสูงเม่น

มีการสันนิษฐานว่าวัดสูงเม่นสร้างขึน้ ภายหลังจากสมเด็จพระเจ้าตากสิน ขับไล่พม่าที่เข้าปกครองล้านนาแล้ว และเริ่มพลิกฟื้นอารยธรรมล้านนาให้ 132

กลับมามีบทบาทในการพัฒนาบ้านเมือง และการค�้ำชูพระพุทธศาสนา ซึง่ จากหลักฐานตามประวัตขิ องครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร ซึง่ ท่านเป็น เจ้าอาวาสวัดสูงเม่นระหว่างปี พ.ศ. 2352-2409 แสดงว่าวัดสูงเม่นได้กอ่ ตัง้ มาก่อนหน้านั้นนานแล้ว วัดสูงเม่น เดิมเรียกว่า “วัดสุง่ เม้น” เนือ่ งจากในอดีตบริเวณนีเ้ ป็นป่าไผ่ และทุ่งหญ้า รวมถึงป่าไม้เบญจพันธุ์ และมี “เม่น” อาศัยเป็นจ�ำนวนมาก จึงได้ชอื่ ว่า “ป๋างสุง่ เม้น” (“สุง่ ” เป็นภาษาท้องถิน่ หมายถึงอยูร่ วมกันมาก) และใช้เรียกชื่อว่า “บ้านสุ่งเม้น”

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 132

15/6/2562 9:30:55


หอฟ้า หรือ หอพระไตรปิฏกอักขระภาษาล้านนา วัดสูงเม่นเป็นวัดที่มีการเก็บรวบรวมคัมภีร์วรรณกรรมพุทธศาสนาใน ล้านนา ทีม่ คี วามสมบูรณ์และมีมากทีส่ ดุ ในแผ่นดินล้านนา กล่าวคือ มีคมั ภีร์ ภาษาล้านนารวมกันไม่นอ้ ยกว่า 8,000 ผูก มีใบลานมากกว่า 85,000 ใบลาน สามารถแยกเป็นหมวดต่าง ๆ เช่น หมวดพระไตรปิฎก อานิสงส์ ประเพณี พิธกี รรม นิทานพืน้ บ้าน ประวัตศิ าสตร์ชมุ ชน กฎหมาย ต�ำรายา ฯลฯ

เสนาสนะ/ปูชนียวัตถุส�ำคัญ วิหารเมืองคัมภีร์ ไม่ปรากฏปีที่สร้างชัดเจน แต่มีการบูรณะเมื่อปี พ.ศ. 2469 โดยเจ้าหลวงทีค่ รองเมืองแพร่ในสมัยนัน้ ทีเ่ รียกว่า วิหารเมืองคัมภีร์ เพราะในอดีตเมื่อสร้างคัมภีร์และมีพิธีเกี่ยวกับคัมภีร์จะมีการสมโภชคัมภีร์ ณ วิหารนี้ วิหารเมืองคัมภีร์จึงเปรียบเสมือนที่อยู่ของพระพุทธเจ้า เมื่อมี นักท่องเทีย่ วเป็นหมูค่ ณะหรือในช่วงทีว่ ดั มีงานประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ ได้จดั ให้มกี ารเวียนธัมม์รอบวิหารตามแบบโบราณ ซึง่ มีความเชือ่ ว่าเป็นการ บูชาพระพุทธเจ้า พระเจ้าใจดี หรือ หลวงพ่อใหญ่ หลวงพ่อโต ฯลฯ พระนาม “พระเจ้าใจดี” ใช้อย่างเป็นทางการเมื่อครั้ง สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯวัดสูงเม่น สืบเนื่องมา จากส�ำนักราชเลขาธิการให้วัดก�ำหนดชื่อพระประธานเพื่อใส่ในหมาย ก�ำหนดการ ครั้งนั้นวัดจึงน�ำเสนอชื่อว่า “พระเจ้าใจดี” ซึ่งมีที่มาจากโยม ท่านหนึ่งเข้ามาไหว้พระประธานในวิหารแล้วเห็นว่าองค์พระยิ้มให้ จึงเรียก กันต่อ ๆ มาว่า “พระเจ้าใจดี” หอธัมม์เจ้าเมือง (หอนิพพาน หรือ หอธัมม์แห่งความรักษ์) สาเหตุที่ ชื่อนี้เนื่องมาจากคัมภีร์ธัมม์ของเจ้าเมืองทั้งหมดจะเก็บอยู่ภายในหอแห่งนี้ สิ่งส�ำคัญภายในหอธัมม์นี้คือ “ตู้เจ้าหลวง” ซึ่งเจ้าหลวงในอดีตได้สร้าง

ตู้หลังนี้ขึ้นด้วยความรักเพื่ออุทิศให้โอรสที่สิ้นพระชนม์ คนในสมัยก่อน เชื่อว่า ถ้าได้ถวายคัมภีร์ไว้ร่วมกัน หากเกิดมาชาติใหม่ก็จะได้เกิดมาเจอกัน อีกในดินแดนที่มีศีลมีธรรม ชาวบ้านจึงเรียกหอธัมม์แห่งนี้อีกชื่อหนึ่งว่า “หอธัมม์แห่งความรักษ์” ตู้พระธรรม (หีดธรรมพระไตรปิฎก) ลายรดน�้ำศิลปะล้านนาประยุกต์ ซึง่ เจ้าหลวงเมืองแพร่และพระชายาสร้างถวายเมือ่ พ.ศ.2378 โดยทีบ่ านประตู ตู้ได้จารึกข้อความที่แสดงบุญกิริยาวัตถุไว้เป็นหลักฐานของผู้สร้าง ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า วัดสูงเม่นเป็นแหล่งอนุรักษ์วรรณกรรมลายลักษณ์โบราณ ที่หายาก มีการจัดเก็บเป็นระบบและใหญ่ยิ่งของล้านนาและประเทศไทย เจดีย์วัดสูงเม่น เจดีย์นี้เป็นเจดีย์ทรงหกเหลี่ยมบรรจุพระบรมธาตุและ สารีริกธาตุ ซึ่งครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร น�ำมาแต่ประเทศพม่า เมื่อปี พ.ศ. 2383 จ�ำนวน 13 ดวง ทีฐ่ านเจดียด์ า้ นใต้ทำ� เป็นซุม้ ประดิษฐานรูปจ�ำลอง ของครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร ซึง่ ทางวัดจัดให้มงี านนมัสการในวันขึน้ 15 ค�่ำ เดือน 6 ใต้ (เดือน 8 เหนือ) ทุกปี หอพระไตรปิฏกอักขระภาษาล้านนา หรือ หอฟ้า เป็นอาคารสร้างใหม่ เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร ภายในบรรจุคัมภีร์ใบ ลานทีเ่ ป็นพระไตรปิฎกทัง้ หมด หากใครเข้าไปในหอนิพพานจะเห็นว่าคัมภีร์ มีหลายหมวด แต่หมวดทีเ่ ป็นพระไตรปิฎกทัง้ หมดจะอยูบ่ นหอฟ้าแห่งนีเ้ ท่านัน้ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 133

133

15/6/2562 9:31:00


หอมนุษย์ หรือ พิพธิ ภัณฑ์คมั ภีรใ์ บลาน วัดสูงเม่น จัดแสดงประวัตแิ ละ เครื่องอัฏฐบริขารของครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร และมีส่วนจัดแสดง คัมภีร์ธัมม์ใบลาน องค์ความรู้เกี่ยวกับธัมม์ใบลานและอักษรล้านนา

“พลังแห่งศรัทธา” จุดเริ่มต้นสู่การท่องเที่ยวเชิงศาสนา

หอนิพพาน หรือ หอธัมม์เจ้าเมือง 134

วัดสูงเม่นเริ่มต้นพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว เมื่อ พ.ศ.2557 โดยมี หลวงพ่อพระครูปญั ญาสารนิวฐิ เจ้าอาวาสวัดสูงเม่น ร่วมกับ พระครูวบิ ลู สรภัญ (ฉัตรเทพ พุทฺธชาโต) รองเจ้าอาวาส เป็นผู้ริเริ่ม เพื่อแสดงกตเวทิตาคุณต่อ วัดสูงเม่น และ“ครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร” และเพือ่ สานต่อความตัง้ ใจ ของครูบากัญจนอรัญญวาสีมหาเถร ที่ประสงค์ให้คัมภีร์ที่สร้างขึ้นนั้น อยูไ่ ปถึง 5,000 ปี และเป็นก�ำลังใจทีย่ งิ่ ใหญ่ทที่ ำ� ให้วดั สูงเม่นด�ำเนินการด้าน การท่องเที่ยวคือ การเสด็จพระราชด�ำเนินมาวัดสูงเม่นของสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2557 ทรงสนพระทัยพิพิธภัณฑ์ และหอนิพพาน โดยพระราชทานพระราชกระแส ให้พระ ชุมชน และชาวบ้านรวมกันทัง้ เรือ่ ง ประเพณีตากธัมม์ และการอนุรักษ์ด้านต่างๆ วัดจึงด�ำเนินการท�ำแหล่ง เรียนรู้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคต และมุ่งเน้นในเรื่องของการอนุรักษ์ คัมภีร์ โดยมีหน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วยกันพัฒนาวัด โดยท�ำในนาม “เมืองคัมภีร์ธัมม์โบราณ” มีการปรับภูมิทัศน์ใหม่ โดยมีเป้าหมายที่จะ รับเสด็จฯ ซึง่ วัดสูงเม่นได้นำ� เกณฑ์พฒ ั นาตัวอย่างจากส�ำนักพระพุทธศาสนา มาเป็นแนวทาง โดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม จนกระทั่งวัดได้รับเลือกเป็น “วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น”

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 134

15/6/2562 9:31:04


ปัจจุบนั วัดสูงเม่น ได้รบั การขนานนาม จากนักวิชาการ บัณฑิต นักปราชย์ ทั่วโลกว่า เป็นเมืองคัมภีร์ธัมม์โบราณ หรือ เมืองพระธัมม์ ของโลก เพราะ เป็นวัดที่มีคัมภีร์จ�ำนวนมากและสมบูรณ์ที่สุดในโลก แม้ผ่านการรักษามา แล้ ว กว่า 200 ปี วิธีการส�ำคัญที่ หลวงปู่ ครูบามหาเถร ได้คิดไว้ให้ ชาวสูงเม่น ดูแลและจัดการแบบมีส่วนร่วม คือ การจัดให้มีประเพณี ชื่อว่า ประเพณีตากธัมม์ ซึ่งเป็นประเพณีโบราณ ที่หลวงปู่ได้ให้ความส�ำคัญเป็น พิเศษ เมื่อถึงเดือน 4 เหนือ ก็มักจะไปเป็นประธาน และ ชวนเจ้าเมือง เจ้าหลวง บัณฑิต นักปราชญ์ ชาวบ้าน และ วัดที่มีคัมภีร์ใบลาน ทั่วล้านนา และ ล้านช้าง ร่วมกันน�ำคัมภีรม์ ากตากแดด เพือ่ ลดความชืน้ และ ก�ำจัดเชือ้ รา ขยายอายุใบลานให้เพิ่มออกไปอีกหลายปี ค�ำสอนที่ปรากฏในใบลานจะได้ อยูอ่ ย่างยืนยาว และ อีกเหตุผลหนึง่ เป็นการสอนกรรมฐานผ่านการอนุรกั ษ์ ธัมม์ เพราะค�ำว่า ตากธัมม์ หมายถึง การช�ำระจิตให้บริสทุ ธิ์ ด้ายการปฏิบตั ิ ธรรมตามรอยพระพุทธเจ้า ปัจจุบัน ประเพณีนี้มีปรากฏแห่งเดียวในโลกที่ วัดสูงเม่น ปัจจุบัน ได้มีการฟื้นฟูขึ้นใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 ชื่อ “ประเพณี ตากธัมม์ ตานข้าวใหม่ หิงไฟพระเจ้า” โดยจัดขึน้ 13–15 ค�ำ่ เดือน 4 เหนือ (เดือน 2 ไทย) ของทุกปี (ประมาณเดือนมกราคม) แต่ละปีมีผู้คนทั่วสารทิศ มาร่วมขบวนแห่คัมภีร์ธัมม์ยาวที่สุดในโลก เพื่อยกย่องและเชิดชูบูชาคุณ บุคคลส�ำคัญของโลกคือ หลวงปูค่ รูบากัญจนอรัญวาสีมหาเถร หรือ ครูบามหาเถร ปฐมสังฆครูบาแห่งล้านนาไทย ผูส้ ร้างคัมภีรพ์ ระไตรปิฏกใบลานมากทีส่ ดุ ในโลก

หอมนุษย์ หรือหอชีวประวัติครูบากัญจนอรัญวาสีมหาเถร PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 135

135

15/6/2562 9:31:12


Wat Sung Men

City of ancient dharma scripture, the sacred Buddhist place of Sung Men district Phra Khru Panyasaraniwit, abbot History of Wat Sung Men There was an assumption that Wat Sung Men was built after king Taksin had dispelled Burma army that ruled Lanna at that time and started to recover Lanna civilization which made it has an important role on nation development and Buddhism-supporting. According to evidence of Khruba Kanchana Aranyawasimahathen’s biography, an abbot of Wat Sung Men during B.E.2352 – 2409, it stated that Wat Sung Men was built long time ago before the time when we was an abbot. Wat Sung Men is the temple that has been collecting Buddhist literary scriptures in Lanna which has the completeness and the largest amount of scripture in Lanna, in other words, there are scriptures which recorded in Lanna Language more than 8,000 scriptures and ancient palm leaf manuscripts more 136

than 85,000 manuscripts which can be classified into many categories such as Tripitaka, result of merit, tradition, ceremony, folktale, history of community, law, pharmacopoeia, and so on.

“Power of faith” The beginning which lead up to religious tourism

Wat Sung Men started its development to be the tourist attraction in B.E.2557 which Luang Phor Phra Khru Panyasaraniwit, abbot of Wat Sung Men, together with Phra Khru Wiboonsorapan (Chatthep Phutthachato), vice abbot of Wat Sung Men, were the initiators of this temple’s development. Both of them have done this because they wanted to express their gratefulness toward Wat Sung Men and “Khruba Kanchana

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 136

15/6/2562 9:31:20


Aranyawasimahathen”. Moreover, they wanted to carry on an intention of Khruba Kanchana Aranyawasimahathen which his aim is to carry on all of the scriptures and make it still existed even 5,000 years later. The starting of this development began at “Human hall” which exhibit ancient dharma, Buddha’s doctrine, folk literary works, textbook and significant artifact of this temple that conveyed various kind of esthetic that circle round this mundane world. At the same time, “Heavenly hall” is the place that contained tripitaka only. It is an entrance to dharma which releases one from the world. Moreover, the faithful one who have visited two aforementioned halls, the last place they must visit is “Nirvana hall” which is surrounded by water, anyone who want to access this hall have to cross the water by using the bridge which similar to cross the cycle of life and access dharma which releases one from the world which is nirvana. This nirvana hall only open on weekend. Stringing story of “Human hall”, “Heavenly hall” and “Nirvana hall” together is not only an allegory of Buddhist doctrine, but for tourism purpose, it also acts as great strategy that let tourist travel around this temple’s area methodically and interestingly. Tourist will see an outstanding trait of this temple which are “Dharma scriptures” that appeared on various areas of this temple and these scriptures are also this temple’s main “Theme”.

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 137

137

15/6/2562 9:31:26


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดป่าเวียงทอง

พระอารามดีเด่น ท่ามกลางธรรมชาติอันร่มเย็น พระครูภาวนาปัญญาคุณ วิ.

เจ้าคณะอ�ำเภอจังหวัดแพร่ (ธรรมยุต) / เจ้าอาวาสวัดป่าเวียงทอง

วัดป่าเวียงทอง เลขที่ 9 หมูท่ ี่ 9 บ้านเวียงทอง ต�ำบลเวียงทอง อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแพร่แห่งที่ 1 (ธรรมยุต) ซึง่ ไม่เพียงแต่จะเกือ้ กูลพระภิกษุสามเณรทีป่ ว่ ยไข้ ให้ ได้มที รี่ กั ษาพักพิงกาย เท่านัน้ แต่ยงั เกือ้ กูลสรรพชีวติ ให้อยูเ่ ย็นเป็นสุข ด้วยธรรมะแห่งองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและธรรมชาติแห่งผืนป่าอันสงบร่มรื่นชื่นเย็น 138

4

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

..indd 138

21/6/2562 17:07:14


หลวงตาธรรมดา

ประธานสงฆ์วัดป่าเวียงทอง

ประวัติวัดป่าเวียงทองโดยสังเขป พระอธิการสุทธินนั ท์ สุทธฺ ญ ิ าโณ หรือ หลวงตาธรรมดา อดีตเจ้าอาวาส วัดป่าเวียงทองซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งวัด ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับความเป็นมาของ วัดป่าเวียงทอง เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2559 ดังนี้ วัดป่าเวียงทองเป็นวัดป่ากรรมฐาน เริ่มก่อตั้งเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 แต่เดิมเริม่ แรกหลวงตาธรรมดาได้เดินทางจาริกมาทางภาคเหนือ ในปี พ.ศ.2528 และกลับมาอีกครั้งเมื่อปลายปี พ.ศ. 2532 โดยด�ำริจะ จ�ำพรรษาทีจ่ งั หวัดแพร่ และพักทีป่ า่ ช้าบ้านเวียงทองหมูท่ ี่ 3 ในขณะนัน้ ทาง คณะครูได้จดั งานบวชสามเณรภาคฤดูรอ้ น และได้มโี อกาสช่วยงานในครัง้ นัน้ เมื่อเสร็จงานญาติโยมได้ปวารณาเป็นโยมอุปัฏฐาก และมีพระภิกษุและ สามเณรป่วยไม่สบาย จะขอติดตามหลวงตาจาริกไปด้วย จึงอยากจะเกือ้ กูล พระภิกษุสามเณรที่ป่วยไข้ จึงได้ไปปฏิบัติธรรมที่ถ�้ำจักรพรรดิ (ถ�้ำบ้านอิม) เมื่อใกล้ฤดูที่จะเข้าพรรษา ได้มาจ�ำพรรษาป่าช้าหมู่บ้านเวียงทองใหม่หมู่ที่ 9 มีสภาพเป็นป่าช้ามีตน้ ไม้ใหญ่หา่ งจากหมูบ่ า้ นพอสมควร เป็นสถานทีส่ งบ และเหมาะที่จะปฏิบัติธรรม หลวงตาจึงตัดสินใจและตั้งใจที่จะจ�ำพรรษาที่ ป่าช้าแห่งนั้น ญาติโยมที่อุปัฏฐากทราบข่าวจึงได้ไปนิมนต์หลวงตาให้จ�ำ พรรษาต่อ

ในพรรษาแรกนั้นต้องพบอุปสรรคมากมาย แต่ก็ต่อสู้ฝ่าฟันอุปสรรค เหล่านั้นได้ไปด้วยดี ตอนแรกนั้นหลวงตาไม่คิดที่จะตั้งส�ำนักหรือสร้างวัด ขึ้นมา เพียงแต่จะเกื้อกูลพระภิกษุสามเณรที่ป่วยไข้เท่านั้น ด้วยเหตุปัจจัย ท�ำให้เกิดเป็นส�ำนักขึ้นมาจนได้ และได้รับหนังสืออนุญาตให้สร้างวัดเมื่อ เดือนกันยายน พ.ศ.2542 และได้รบั ประกาศเป็นวัดในพระพุทธศาสนา เมือ่ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2543 และได้นามวัดว่า “วัดป่าเวียงทอง” ตามที่ ทางกระทรวงศึกษาธิการตั้งให้ (เดิมวัดได้ขอเสนอชื่อวัดป่าแพร่นันทาราม) หลังจากนั้นทางวัดมีการก่อสร้างกุฏิและศาลามาตามล�ำดับ ได้รับอุปัฏฐาก ในการก่อสร้างตั้งแต่เริ่มแรกโดยมีโยมตาจ๋อย ทองค�ำ เป็นผู้นำ� และพร้อม ด้วยคณะญาติธรรมมาโดยตลอดมิได้ขาด หลังจากนั้นทางวัดป่าเวียงทอง ได้พฒ ั นาสิง่ ปลูกสร้าง อันได้แก่ อุโบสถป่าธรรมชาติ ศาลาหอฉัน หอสวดมนต์ กุฏิกรรมฐานจ�ำนวน 27 หลัง โรงครัว ศาลาเอนกประสงค์ เมรุเผาศพ และ ขยายพืน้ ทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง โดยได้รบั อุปการะจากญาติธรรมและศิษยานุศษิ ย์ วัดป่าเวียงทอง และพุทธศาสนิกชนทั่วไป ได้ถวายผ้าป่า ทอดผ้ากฐินทุกปี ตั้งแต่เริ่มสร้างวัดจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งญาติธรรมได้ท�ำนุบ�ำรุงวัด และเข้า ปฏิบัติธรรมอย่างต่อเนื่องด้วยดีเสมอมา วัดป่าเวียงทองได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2553

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

4

..indd 139

139

21/6/2562 17:07:17


พระอารามดีเด่น ท่ามกลางป่าอันร่มเย็น วัดป่าเวียงทองได้ขยายพืน้ ทีป่ ลูกป่าเพือ่ ความร่มรืน่ และให้เหมาะทีจ่ ะ เป็นวัดป่า และพื้นที่ ณ ปัจจุบันนี้มีประมาณ 24 ไร่ และจะขยายปลูกป่าให้ เป็นเสนาสนะป่าที่ร่มเย็นอย่างต่อเนื่อง และก่อสร้างอุโบสถป่าธรรมชาติ เป็นอุโบสถที่ใช้ต้นไม้เป็นหลังคาและเป็นที่จัดปฏิบัติธรรม เป็นลานธรรม และจัดงานกลางแจ้ง และกิจกรรมต่างๆ ของวัด วัดป่าเวียงทอง ได้รบั แต่งตัง้ จากมติมหาเถรสมาคม ให้เป็นส�ำนักปฏิบตั ิ ธรรมประจ�ำจังหวัดแพร่แห่งที่ 1 (ธรรมยุต) เมื่อพ.ศ.2550 เป็นสถานที่ รองรับผูป้ ฏิบตั ธิ รรมทัว่ ไปและหน่วยงานราชการ, เอกชน ทีม่ คี วามประสงค์ น�ำคณะเจ้าหน้าที่ พนักงาน เข้าร่วมโครงการปฏิบัติธรรมของวัดทุกปี และ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดดีเด่น เมื่อปี พ.ศ.2556

140

4

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

..indd 140

21/6/2562 17:07:19


ประวัติเจ้าอาวาสวัดป่าเวียงทอง พระครูภาวนาปัญญาคุณ วิ. ต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอจังหวัดแพร่ (ธรรมยุต) และเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าเวียงทอง บ้านเวียงทอง ต�ำบลเวียงทอง อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ นามเดิม สมพงษ์ กรุณา เกิดวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2516 อายุ 46 ปี พรรษา 23 การศึกษา นธ.เอก, ปธ.1-2, พุทธศาสตรบัณฑิตมหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บรรพชา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2530 อุปสมบท ครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2536 สังกัดมหานิกาย) และอุปสมบท (แปรญัตติใหม่สังกัดธรรมยุติกนิกาย) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2539

รายนามเจ้าอาวาส วั ด ป่ า เวี ย งทองมี เจ้ า อาวาสมาแล้ ว สองรู ป คื อ หลวงตาธรรมดา (พระอธิการสุทธินนั ท์ สุทธิญาโณ) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และพระครูภาวนา ปัญญาคุณ วิ. เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน

พระครูภาวนาปัญญาคุณ วิ.

เจ้าอาวาสวัดป่าเวียงทองรูปปัจจุบัน

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

4

..indd 141

141

4/7/2562 11:28:31


H I STORY OF BU DDHI S M

พระพุทธชินเรศนวราชบพิตร(พระประธานในพระอุโบสถ)

วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ วัดที่รวบรวม 11 สุดยอดพุทธศิลป์มาไว้ ในหนึ่งเดียว โดย...พระครูวิฑิตพิพัฒนาภรณ์ (พระครูบามนตรี ธม มเมธี) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ

กวีรัตนโกสินทร์ นามเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ผู้รจนากวีนิพนธ์ เรื่อง “เขียนแผ่นดิน” ได้พรรณนาความงามของนครเวียงโกศัยหรือ เมืองแพร่ ที่วัดพระธาตุช่อแฮไว้ตอนหนึ่งว่า โพธิ์ค�ำพระทองขาน คือแผ่นค�ำผดมค�ำ กลับแก้วจงกลกรรม อันเหนือกรรมอยู่ไกวัล พลิ้วพลิ้วพนมแพร คือช่อแฮระเหิดหัน รับธาตุมณเฑียรธรรม์ ณ แพร่แพร่พระธรรมเสถียร เมืองแพร่ ดินแดนแห่งไม้สักทองอันลือชื่อ นอกจากจะมีสถานที่ ส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา คือวัดพระธาตุชอ่ แฮ รวมทัง้ อนุสรณ์สถานแห่ง ความรักอันอมตะของลอราชและเพือ่ นแพง ในลิลติ พระลอ ซึง่ ตัง้ อย่ทู ี่ อ�ำเภอสองแล้วสถานทีท่ นี่ า่ สนใจอีกแห่งหนึง่ คือวัดพระธาตุสโุ ทนมงคลคีรฯี ศาสนสถาน ที่มี พุทธศิลปะ และพุทธปรัชญา อันควรแก่การศึกษา ติดตามอยู่ไม่น้อย

พระเจ้าทันใจเป็นพระพุทธรูปท่ี่หล่อเสร็จภายในวันเดียว ศิลปะเชียงแสนสิงห์ 3 142

เมืองแพร่พินาศร้างล่ม สุโทนธาตุพุทธศิลป์ ปูนปั้นแกะสลักอินทร์ โยนกล้านนาหม้า

ลงดิน แลฤา ส่องหล้า อวดโลก ใหม่ศรี

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

6

ver.2.indd 142

1/7/2562 11:39:20


วั ด พระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ ตั้งอยู่บ นถนนสายแพร่ - ล�ำ ปาง ต�ำบลไทรย้อย อ�ำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ 54110 มีท่านพระครูวิฑิต พิพฒ ั นาภรณ์(พระครูบามนตรี ธมฺมเมธี) เป็นเจ้าอาวาส วัดนีเ้ ป็นศาสน สถานทีส่ ร้างขึน้ อย่างทรงคุณค่าและน่าสนใจ เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง และลวดลายปูนปั้นที่วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ แห่งนี้ ในอนาคต จะเป็นมรดกทางพุทธศิลปะล้านนา ที่มีความส�ำคัญ ไม่แพ้จิตรกรรม ฝาผนัง วัดภูมินทร์ จังหวัดน่านและวัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่, พิพธิ ภัณฑ์ไม้สกั ทอง ทีส่ ร้างเป็นเรือนกาแลตามคติและสถาปัตยกรรม ล้านนาเป็นสถานที่ ทีเ่ ก็บรวบรวมโบราณวัตถุอนั ล�ำ้ ค่า รูปภาพ สิง่ ของ เครื่องใช้ต่างๆ หลักฐาน ข้อมูลเกี่ยวกับต้นตระกูลของเจ้าผู้ครองใน อาณาจักรล้านนารวมถึงประวัติ เจ้าเมืองแพร่ จึงเป็นศูนย์รวมของ ศิลปะวัฒนธรรมท้องถิน่ ล้านนาทีส่ ำ� คัญ เป็นทีศ่ กึ ษาค้นคว้าข้อมูลทาง ประวัตศิ าสตร์ และเป็นสถานทีท่ ที่ รงคุณค่า ควรแก่การเข้าชมแห่งหนึง่ ในภาคเหนือ ในพระอุโบสถและพระวิหารยังมี พุทธศิลปะพระพุทธรูป ที่ ง ดงาม อาทิ พระพุ ท ธชิ น เรศนวราชบพิ ต ร,พระเจ้ า เก้ า ตื้ อ , พระมหาเมี๊ยะมุนีรวมถึงพระพุทธรูปปางไสยาสน์(พระนอนแสนสุข) องค์ใหญ่ซึ่งอยู่ด้านหน้าวัด

งานชิ้นส�ำคัญๆ บ่อยครั้งที่มีผู้พบเห็น ท่านพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี ก�ำลังท�ำงานบนนัง่ ร้านหลังคาโบสถ์หรือก�ำลังปัน้ โครงร่างพระพุทธรูป ก่อนที่จะให้ช่างที่มีฝีมือมาด�ำเนินการต่อ

พระมหาเมี๊ยะมุนี จ�ำลองจากพระมหาเมี๊ยะมุนี เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศเมียนมาร์

ความสามารถในงานพุทธศิลป์ ของท่านได้รับการกล่าวขานจาก ผ้พู บเห็นมาโดยตลอด แม้แต่เจ้าหน้าทีจ่ ากกรมศิลปากรทีเ่ คยมาวัด ต่าง ก็ทงึ่ ในฝีมอื ของท่านเป็นอันมาก โดยเฉพาะการเขียนลวดลายต่างๆ ซึง่ ไม่ตอ้ งมีตน้ แบบและไม่ตอ้ งมีแบบร่าง เมือ่ ท่านจรดดินสอบนกระดาษ ท่านก็ สามารถวาดลวดลายได้ทันที ต่างไปจากหลักการร่างลายไทย โดยทั่วๆ ไป ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ฝีมือเชิงช่างรุ่นใหม่ที่ได้นฤมิต ผลงานไว้จึงมีความ งามที่ควรแก่การยกย่องมิใช่น้อย โดยเฉพาะฝีมือ ช่างปูนปั้น กล่าวได้ว่า ลวดลายปูนปั้น รูปพรรณพฤกษา และ รูปเทวดา มีความอ่อนช้อยงดงาม ไม่แพ้ลวดลายปูนปั้นวัดป่าสัก วัดปันสาดหรือวัดเจ็ดยอด

พระเจ้าเก้าตื้อพุทธศิลปะล้านนา จ�ำลองเท่าองค์จริง จากวัดสวนดอก จ.เชียงใหม่

พุทธศิลปะที่ท�ำให้วัดแห่งนี้ มีความน่าสนใจ มิใช่อยู่ที่ความใหญ่ โตรโหฐาน แต่อยู่ที่ความลึกซึ้งและมีรากเหง้าทางภูมิปัญญาของพุทธ ศิลปะล้านนา ความลึกซึง้ ดังกล่าวนี้ อย่ทู คี่ วามเอาใจใส่ ความละเอียด ความประณีต บรรจงสรรสร้างผลงานไว้ให้กับแผ่นดิน สิ่งส�ำคัญคือ ในด้าน ปฏิปทาและวัตรปฏิบัติของท่านพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี สมควรแก่การเคารพบูชาเป็นอย่างยิง่ อานิสงส์สว่ นหนึง่ ทีท่ ำ� ให้วดั แห่งนี้ เป็นศูนย์รวมแห่งพุทธศิลปะล้านนา รุน่ ใหม่ ซึง่ มีความลึกซึง้ วิจติ รบรรจง และมีจิตวิญญาณของภาคเหนือนั้น เกิดมาจากการที่ท่านได้เดินทาง ไปตามวัดวาอารามและสถานทีต่ า่ งๆ ใน ภาคเหนือ เพือ่ ศึกษารูปแบบ และความงดงามเชิงช่าง ทีบ่ รรพบุรษุ ได้ รังสรรค์ไว้แต่กาลก่อน พร้อมทัง้ ได้นำ� เอาส่วนทีส่ วยงามและดีเด่นในแต่ละแห่งมาประยุกต์ สร้างสรรค์ รวมกันไว้ในวัดแห่งนี้ รวมถึงเสาะแสวงหาช่าง ที่มีความเป็นเอก ในแต่ละด้านมาเป็นผ้สู ร้างผลงาน (ช่างฝีมอื ชัน้ ยอดที่ เรียกว่า “สล่า” ของ ภาคเหนือ)ร่วมกันก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยมีพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี เป็นผู้ควบคุม ออกแบบและลงมือก่อสร้างด้วยตัวเอง ในส่วนที่เป็น

พระธาตุบารมี ๓๐ ทัส ศิลปะล้านนาท่ี่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

พระพุทธรูปยืน ด้านข้างพระวิหาร พระมหาเมี๊ยะมุนี

พระประธานวิหารระเบียงคด ศิลปะเชียงรุ้ง ทรงเคร่ือง,ศิลปะลังกา, ศิลปะเชียงแสนสิงห์ 1, ศิลปะเชียงแสนผสมเชียงใหม่และศิลปะสุโขทัย PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 143

143

1/7/2562 11:39:26


วิหารพระแก้วหยกศิลปะล้านนา

พระอุโบสถและซุ้มประตูโขงศิลปะล้านนา

สุดยอดของพุทธศิลปะล้านนา จ�ำนวนถึง 11 แห่ง ที่น�ำมา ประยุกต์สร้างโบสถ์วิหาร และสิง่ ปลูกสร้างต่างๆ ภายในวัดพระธาตุสโุ ทนมงคลคีรฯี ประกอบไปด้วย 1. ซุ้มประตูด้านหน้าโบสถ์ ศิลปะจาก วัดพระธาตุ ล�ำปางหลวง จังหวัดล�ำปาง 2. ซุ้มประตูด้านตะวันออก ศิลปะจาก วัดพระธาตุ ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ 3. ซุ้มประตูด้านตะวันตก ศิลปะวัดพระธาตุหลวง เวียงจันทร์สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึง่ วัดนี้ สร้างโดยช่างฝีมือจากเชียงใหม่ ที่พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช เป็นผู้น�ำไปสร้าง 4. ฐานพระอุโบสถรูปซิกแซก วังประทับพญามังราย มหาราช ศิลปะจาก จังหวัดเชียงราย 5. ประตูและหน้าต่างลวดลายแกะสลัก ศิลปะจาก วิหารลายค�ำ วัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ 6. ปัน้ ลมลวดลายเก่าศิลปะทางเหนือ จากวัดต้นเกว๋น อ�ำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 7. นก 7 เศียร แบบขอมและรูปนางอัปสร ปูนปั้น ศิลปะ จากวัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ 8. หอไตร ศิลปะจากวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ 9. หอระฆัง ศิลปะจากวัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัด ล�ำพูน 10. กุ ฏิ ห ลั ง ใหญ่ ส ร้ า งจากไม้ สั ก ทอง ศิ ล ปะจาก บ้านไทยสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน 11. พ ระบรมธาตุ 30 ทั ส ศิ ล ปะเชี ย งแสน จาก วัดพระธาตุหน่อ เมืองลวง แคว้นสิบสองปันนา ของ พระชนกพญามังรายมหาราช 144

ศาลาพิพิธภัณฑ์สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลัง

รูปปูนปั้นยักษ์ถือกระบองเฝ้าประตูโบสถ์

ซุ้มประตูทางเข้าโบสถ์ทางด้านทิศตะวันออก

พระวิหารที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจ ศิลปะล้านนา

หอไตรไม้สักส�ำหรับเก็บพระคัมภีร์โบราณ

รูปปูนปั้นยักษ์หลับเฝ้าประตูโบสถ์

สิงห์สูง 9 เมตรศิลปะล้านนา

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

6

ver.2.indd 144

1/7/2562 11:39:36


จิตรกรรมฝาผนังบริเวณระเบียงคดรอบอุโบสถ

ประวัติพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี พระครูบามนตรี ธมฺมเมธี เดิมชื่อ เด็กชายมนตรี บุญมี เกิดเมื่อ วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 ท่านมี ความสนใจในพระพุทธศาสนา และสนใจงานปัน้ มาตัง้ แต่เด็ก ท่านชอบปัน้ พระ ตัง้ แต่อายุ 5 ขวบ เมือ่ อายุได้ 9 ปี เคยปัน้

พระบรมธาตุบารมี ๓๐ ทัส (เท่าพระบารมีของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ที่บ�ำเพ็ญมา) หุ้มด้วยทองจังโก๋ลงรักปิดทอง ศิลปะล้านนา เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ

บริเวณด้านหลังวิหารพระเจ้าเก้าตื๊อ

บริเวณโดยรอบพระธาตุบารมี 30 ทัส

ภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ เป็นเร่ื่องเก่ียวกับพุทธประวัติ

อสูร 2 ตนยืนเฝ้าทวารประตูเข้า สู่บริเวณด้านทิศตะวันตก ของพระธาตุและอุโบสถ

อนุสรณ์สถานทหารกล้าเป็นท่ี่เก็บอัฐิเหล่าทหารท่ีเสียชีวิต ในสมรภูมิ ของกองทัพ ภาค 3

พระหน้าตักกว้าง 3 ศอก ไว้กลางท่งุ นา แถวบ้านปงป่าหวาย อ�ำเภอเด่นชัย โดยใช้เวลาปัน้ แค่วนั เดียว เมือ่ บวชเรียนก็ ศึกษางานปั้น จากช่างอาวุโสคือ คุณตาหมื่น บุณยเวทย์ วัย 85 ปี และ คุณตาอยู่ คะณา วัย 80 ปี จากบ้านเตว็จ จังหวัดสุโขทัย ที่สอนหล่อพระ หล่อระฆัง จากนั้นก็ได้ รับการถ่ายทอด การปั้นพระและสร้างวิหาร จาก ครูบา คัมภีระปัญญา วัดเฟือยลุง จังหวัดน่าน พระครูบามนตรี ธมฺมเมธี ได้ศึกษาบาลี และสมถะ กรรมฐาน จาก พระสุพรหมยานเถระ (ครูบาพรหมจักร พรหมจักโก) ณ วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน และได้ศึกษาอักขระ สมัยล้านนาจาก พระครูมงคลรังษี วัดศรีมงคล (วัดบ้านก๋ง) อ�ำเภอ ท่าวังผา จังหวัดน่าน จนสามารถใช้ภาษาล้านนาได้อย่าง คล่องแคล่ว กระทัง่ ต่อมาท่านได้รบั สถาปนา ให้เป็น “พระครูบา” โดยได้เข้าพิธยี กยอ(รดน�ำ้ มุรธาภิเษก) สถาปนาเถราภิเษก แต่งตัง้ ให้เป็น พระครูบา เมือ่ ปี พ.ศ. 2541 ณ เมืองเชียงตุง (สหรัฐไทยเดิม)ประเทศพม่า (สหภาพเมียนมาร์) ตาม ราชประเพณีที่สืบทอดกันมาจากประเทศศรีลังกา ยังมีพทุ ธศิลปะทีน่ า่ ชมน่าทัศนาอีกมากมายภายใน วัดพระธาตุสโุ ทนมงคลคีรฯี หากมีโอกาสเชิญทุกท่านมา เที่ ย วชม ศึ ก ษาข้ อ มู ล ทางประวั ติ ศ าสตร์ เ กี่ ย วกั บ ล้านนาไทยและกราบสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด พร้อมทั้งสนทนาธรรมปฏิบัติกับท่านพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี ซึง่ ถือว่าเป็นพระปฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบในล้านนาไทย อีกรูปหนึง่ ทีน่ า่ เลือ่ มใส น่าศรัทธา น่ากราบไหว้บชู าด้วย ความสนิทใจ เพื่อความเป็นสิริมงคล แก่ตนแก่ตัวของ ทุกท่านสืบไป. PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 145

145

1/7/2562 11:39:45


พระครูบามนตรี ธมฺมเมธี รับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงรัชกาลที่ 9) ในหลวงทรงพระปฏิสันถาร ธรรมปฏิบัติกับท่านพระครูบามนตรี ธมฺมเมธี

สมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุ ฏ ราชกุ ม าร (พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทรรามาธิ บ ดี ศ รี สิ น ทรมหาวชิ ร าลงกรณฯ พระวชิ ร เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว พระมหากษั ต ริ ย ์ รั ช กาลที่ 10) เสด็ จ พระราชด� ำ เนิ น แทนพระองค์ ท รงตั ด ลู ก นิ มิ ต หยก(หนึ่ ง เดี ย วในโลก) จากประเทศแคนาดา ณ อุโบสถวัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ อ�ำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เมื่อ วันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.2540

146

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

6

ver.2.indd 146

1/7/2562 11:39:51


พระพุทธรูปปางไสยาสน์(พระนอนแสนสุข)ศิลปะจากสหภาพพม่า(เมียนมาร์)

Wat Phra That Suthon Mongkol Kiri 11 great Buddhist art of Lanna are gathered together in this temple

Wat Phra That Suthon Mongkol Kiri or Wat Phra That Suthon Mongkol Kiri Samakkhitham is a new temple that was built in B.E.2520. It is located at Sai Yoi sub-district, Den Chai district, Phrae province, postcode 54110. At present, Phra Khru Withitphipattanaphon (Khruba Noi also known as Phra Athikarn Montri Thammamethi) takes a position of abbot. Wat Phra That Suthon Kiri is one of a temple that collect lots of Lanna applied artistic work which extremely gorgeous. Luang Phor Montri (Khruba Noi) imitated beautiful pattern and prominent point of various important temples in the northern region of Thailand and temple in other countries which are Myanmar, China and Laos by combined all of it neatly. He was a supervisor, designer and builder who built animportant artistic work by himself. People usually saw him working onthe beam of Buddhist sanctuary or molded a frame of Buddha statue before he let the artisan carry on his work. His artistic skill on Buddhist art is well-known by everyone who have seen his works, even officer from Fine Arts Department used to see his works which all of them were greatly astonished by his skill especially an artistic work-drawing without any model or sketch, when the pencil in his hand touched paper, he can draw an artistic work immediately which is different from general Thai painting principle. He was appointed to be “Phra Khruba” which he participated in monk’s rank promotion ceremony and the celebration of this ceremony. He was promoted to the rank “Khruba” during promotion ceremony in B.E.2541 at Kengtung, Myanmar, followed royal tradition of Sri Lanka.

That Lampang Luang. 2. East arch from Wat Phra That Doi Suthep. 3. West arch from Wat Phra That Luang Vientiane. 4. Base of Buddhist sanctuary in Zigzag pettern from Phraya Mangrai Maharat palace, Chiang Rai province. 5. Carved doors and windows from Buddha image hall of Wat Phra Singh, Chiang Mai province. 6. Gable end carving with ancient northern art design from Wat Ton Kwen, Samoeng district, Chiang Mai province. 7. Seven-headed Naga in Khmer art style/ stucco angel statue from Wat Jed Yod, Chiang Mai. 8. Tripitaka hall from Wat Phra Singh, Chiang Mai. 9. Belfry from Wat Phra That Hariphunchai. 10. Giang monk’s houseIt made of golden teak wood from Thai style house in Xishuangbanna, China. Lastly, 11. Phra Borommathat 30 pagoda – The building in the style of Chiang Saen from Wat Phra That No (Nor) in Xishuangbanna. Moreover, there is a museum which is Lanna style building that made of teak wood inside this temple. This museum collects story of Lanna and Phrae province, exhibits tools and weapons of ancient warrior, including with photo of northern royalty and picture of various significant events that occurred in Lanna.

11 great Buddhist art of Lanna

Gorgeous Buddhist art of Lanna from 11 temples which Luang Phor Montri applied these Buddha artistic works to the construction of Buddhist sanctuary, Buddha image hall and other buildings which these 11 artistic works are as follows: 1.Acrh in front of Buddhist sanctuary from Wat Phra PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

6

ver.2.indd 147

147

1/7/2562 11:39:55


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดเด่นชัย

รายนามเจ้าอาวาสวัดเด่นชัย

นมัสการหลวงพ่อแสนแซ่ศักดิ์สิทธิ์ พระครูนิสิฐธรรมาวุธ (เจริญ ฐิตธมฺโม)

เจ้าอาวาสวัดเด่นชัย

วัดเด่นชัย อ�ำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อ แสนแซ่ หรื อ พระพุ ท ธรู ป ทองสั ม ฤทธิ์ ซึ่ ง ประดิ ษ ฐานอยู ่ ใ นอุ โ บสถ วัดเด่นชัยมานานปี จัดว่าเป็นพระพุทธรูปเก่าแก่องค์หนึ่งที่มีประวัติ ความเป็นมาที่น่าสนใจ

ประวัติวัดเด่นชัย ประมาณปี พ.ศ.2440 บางท่านกล่าวว่า ปี พ.ศ.2402 มีภิกษุรูปหนึ่ง มีนามว่าพระเจ้าภาหรืออาจารย์ภา อยู่วัดระฆังโฆสิตาราม พระนคร พร้อม ด้วยฆราวาส ชื่อนายเลื่อม ไม่ปรากฏนามสกุล เป็นพ่อค้าไม้ นายเลื่อมกับ อาจารย์ภาได้เดินทางมาที่จังหวัดแพร่ อาจารย์ภาได้ปรารภกับนายเลื่อม ว่า...เด่นชัยท�ำเลดี ต่อไปจะเจริญ ฝูงชนจะหลัง่ ไหลกันมาอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก สมควรที่จะมีวัดเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้บ�ำเพ็ญบุญกุศลในอนาคต จึงได้ ตกลงพร้อมใจกันตัง้ ส�ำนักสงฆ์ขนึ้ เมือ่ ปี พ.ศ.2440 ให้ชอื่ ว่า “วัดเลือ่ มนิมติ ” โดยมีอาจารย์ภาเป็นเจ้าส�ำนักสงฆ์รูปแรก และก็มีพระภิกษุอยู่จ�ำพรรษา นับแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน 148

.indd 148

พระอาจารย์ภา พ.ศ.2440-2457 พระอาจารย์อ้น พ.ศ.2457 ไม่ปรากฏชื่อ พ.ศ.2471 พระอาจารย์เลียบ พ.ศ.2471-2480 พระอาจารย์ประยูร พ.ศ.2480-2492 พระอาจารย์ปุ่น พ.ศ.2492-2485 พระครูวิศาลศีลวัฒน์ (แก้ว ชยวํโส) พ.ศ.2498-2533 (อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย) พระสมพงษ์ ธมฺมวิจาโร (บุญทา) พ.ศ.2533-2535 พระครูนิสิฐธรรมาวุธ (เจริญ ฐิตธมฺโม) พ.ศ.2535-ปัจจุบัน

พึงชนะความไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะความโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะความตระหนี่ ด้วยการให้ ผู้โกรธย่อมมองไม่เห็นธรรม คติธรรม

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

21/6/2562 17:12:43


หลวงพ่อแสนแซ่ ความเป็นมาของหลวงพ่อแสนแซ่ ซึ่งได้มาประดิษฐานอยู่ในวัดเลื่อม หรือวัดเด่นชัยในปัจจุบัน เหตุมีอยู่ว่าเมื่อพระสงฆ์มาจ�ำพรรษาที่วัดเด่นชัย มากขึ้น ทางวัดยังขาดพระประธานที่พุทธศาสนิกชนจะสักการบูชา ดังนั้น ในปี พ.ศ.2457 เจ้าอาวาสวัดเด่นชัยพร้อมด้วยนายสี ตันเหลง มัคทายกวัด และเหล่าทายก ทายิกา ทั้งหลายได้ไปขอความอนุเคราะห์จากท่านพระครู พุทธวงศาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดแพร่ ในสมัยนั้น ท่านได้อนุโมทนาจัดมอบ “หลวงพ่อแสนแซ่” พระพุทธรูปขนาดใหญ่ มีน�้ำหนัก 275 กก. หน้าตัก กว้าง 32 นิ้ว สูงถึงโมลี 42 นิ้ว เป็นพระนั่งขัดสมาธิปางมารวิชัย ศิลปะสมัย เชียงแสน ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ วัดพระบาทมิ่งเมืองให้ตามค�ำขอ ทั้งหมด จึงได้อาราธนาน�ำมาประดิษฐานไว้ ณ อุโบสถ วัดเด่นชัย นายสี ตันเหลง มัคทายกวัด ได้เล่าถึงประวัติหลวงพ่อแสนแซ่เพิ่มเติม ว่า พระพุทธรูปองค์นเ้ี ดิมอยูใ่ นประเทศจีน ทีเ่ มืองถาลี หรือตาลีฟใู นปัจจุบนั เป็นเมืองที่อยู่เหนือแคว้นสิบสองปันนา สมัยที่เชียงแสนเป็นราชธานีของ ไทยได้น�ำเอาหลวงพ่อแสนแซ่มาด้วย หลวงพ่อแสนแซ่จึงได้มาประดิษฐาน อยู่ ณ เชียงแสนเป็นเวลานานปี

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขอเชิญชวนญาติโยม ศรัทธาธรรมทุกท่าน ร่วมกันสร้างวิหาร เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐานองค์ จ� ำ ลองพระเจ้ า แสนแซ่ แ ละหลวงปู ่ พระครูวิศาลศีลวัฒน์ สามารถติดต่อร่วมบุญได้ที่ เจ้าอาวาสวัดเด่นชัย โทร 088-266-7369, 082-867-8188 PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 149

149

21/6/2562 17:12:49


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดพงป่าหวาย

พระอารามใต้ร่มพระบารมีรัชกาลที่ 10 พระครูสุธรรมกิตติวงศ์

เจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย/เจ้าอาวาสวัดพงป่าหวาย

วัดพงป่าหวาย เลขที่ 79 หมู่ที่ 6 ต�ำบลปงป่าหวาย อ�ำเภอเด่นชัย จั ง หวั ด แพร่ เป็ น วั ด ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ เนื่ อ งด้ ว ยสมเด็ จ พระสั ง ฆราช พระองค์ที่ 18 และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหา วชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) เสด็จฯเพื่อทรง ประกอบพระราชกรณียกิจ ณ วัดพงป่าหวาย

อาคารเสนาสนะและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ส�ำคัญ ศาลาทรงธรรมมหามงคล เป็นศาลาการเปรียญหลังแรก สร้างเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2500 โดยพระ อธิการจันทร์ ธมฺมสาโร และผู้ใหญ่โข้ กึกก้อง ผู้ใหญ่บ้านในขณะนั้น เป็น ประธานสร้างร่วมกับศรัทธาประชาชนบ้านปงป่าหวาย ศาลานีเ้ คยเป็นสถาน ทีป่ ระทับรับเสด็จสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก (วาสนมหาเถระ) คราวเสด็จทรงวางศิลาฤกษ์อุโบสถ ในวันที่ 25 พ.ค. 2520 เวลา 15.30 น. และเป็นสถานที่ประทับรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) เมื่อครั้ง 150

2

ทรงด�ำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหามกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงยกช่อฟ้าอุโบสถ เมื่อวันที่ 10 มิ.ย. พ.ศ.2529 เวลา 14.00 น. ต่อมาศาลาหลังนี้ได้ทรุดโทรมลงตามกาลเวลา พระครูสธุ รรมกิตติวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย และเจ้าอาวาสวัดพงป่าหวาย ได้เป็นประธานบูรณะปฏิสังขรณ์ด้วยไม้สักทองทั้งหลัง สิ้นงบประมาณ 7 ล้านบาทพระพุทธรูปทีป่ ระดิษฐาน ณ ศาลาทรงธรรมมหามงคล ประกอบด้วย พระพุทธรูปประธาน หล่อด้วยทองเหลือง พระพุทธรูปปางถวายเนตร พระประจ�ำวันเกิดวันอาทิตย์ แกะสลักด้วยไม้สักทองต้นใหญ่ พระพุทธรูป ปางห้ามญาติ พระประจ�ำวันเกิดวันจันทร์ แกะสลักด้วยไม้ขนุนต้นใหญ่ อายุร้อยกว่าปี หลวงพ่อแสงจันทร์มหามงคล พระพุทธรูปองค์ซ้าย (ด�ำ) ร้านอาหารแสงจันทร์ได้น�ำเศียรพระพุทธรูปมาถวายวัด ท่านเจ้าอาวาส จึงได้ให้ช่างแกะสลักไม้สร้างเป็นองค์พระทรงเครื่อง หลวงพ่อพุทธชาติ ตการมงคล ปางไสยาสน์พระประจ�ำวันเกิดวันอังคาร แกะด้วยไม้สักทอง ได้มาจากอ�ำเภอชาติการ จังหวัดพิษณุโลก อุโบสถหลังใหม่ ได้รบั พระเมตตาจากสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสนมหาเถระ) เสด็จทรงวางศิลาฤกษ์อุโบสถ และทรงปลูกต้นอโศกเป็น สิริมงคลไว้หน้าอุโบสถ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 10) เสด็จฯแทนพระองค์

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 150

21/6/2562 17:12:07


ทรงยกช่อฟ้าอุโบสถและทรงปลูกต้นพิกลุ เป็นมหามงคลทีร่ ะลึก ณ ทิศเหนือ ของวัด เมื่อได้ก่อสร้างอุโบสถหลังปัจจุบันแล้ว จึงได้อัญเชิญพระพุทธวชิรมาร วิชัยสถิตแพร่ เป็นพระประธานอุโบสถ (ซึ่งในอดีตมีพระนามว่า “หลวงพ่อ ชาติตการมหามงคล” โดยคุณแม่ชงิ จรินทร คหบดีอำ� เภอเด่นชัยสร้างถวาย เมื่อปี 2478) ซึ่งได้ขอพระราชทานนามพระพุทธรูป ส�ำนักพระราชวังได้ ประทานนามว่า “พระพุทธวชิรมารวิชยั สถิตแพร่” เมือ่ วันที่ 22 กันยายน พ.ศ.2522 ตามหนังสือที่ พว 0004/0167จากกองงานในพระองค์สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช ในกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภ 193 ถนนราชวิถี เขตดุสิต กทม. 10300 พระธาตุศรีสังเวชยนีย์สิทธัทถะมหามงคล เป็นพระธาตุทบี่ รรจุมวลสารมหามงคล เมือ่ ครัน้ หลวงพ่อพระครูสธุ รรม กิตติวงศ์ จาริกแสวงบุญ ณ สังเวชนียสถานสีต่ ำ� บล ประเทศอินเดีย เมือ่ วันที่ 8 มีนาคม 2527 และได้รับประทานพระธาตุจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช วัดบวรนิเวศวิหาร เพือ่ บรรจุในพระธาตุ และประดิษฐาน พระพุทธสิทธัตถะมหามงคล สร้างด้วยทองเหลือง ศาลาการเปรียญสุธรรมกิตติวงศ์ สร้างวันที่ 16 มี.ค.2536 ด้วยไม้ตะเคียนจากแม่น�้ำยม จ�ำนวน 46 ต้น เท่ากับอายุพระครูสุธรรมกิตติวงศ์ ในขณะนั้น ไม้ทุกต้นได้มาจากแรง อธิษฐานจุดธูปเทียนเพือ่ อัญเชิญมาสร้างเสนาสนะวัดพงป่าหวาย พระพุทธ รูปซึ่งประดิษฐาน ณ ศาลาการเปรียญสุธรรมกิตติวงศ์ ประกอบด้วย หลวงพ่อเชียงแสน พระประธานสร้างด้วยทองเหลือง พระมงคล ประทีปพลีผล พระประธานรองฯ สร้างด้วยทองเหลือง พระพุทธนาคราช ปางร�ำพึงพระประจ�ำวันเกิดวันศุกร์ แกะสลักด้วยไม้ตะเคียนจากล�ำน�้ำยม พระพุทธอุตรมหามงคล ปางอุ้มบาตรพระประจ�ำวันเกิดวันพุธ แกะสลัก ด้วยไม้สักทอง พระพุทธบรมนาถบพิตรมหามงคล ปางลีลาพระประจ�ำ พระชนมวารพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร สร้างถวายเป็นพระราชกุศลฯ ในคราวเสด็จ สู่สวรรคาลัยครบปัญญาสมวาร (50 วัน) เมื่อวันที่ 27 พ.ย. 2559 แกะสลัก ด้วยไม้สักทอง ไม้อีกส่วนหนึ่งน�ำมาแกะสลักเป็น พระพุทธมงคลคู่บารมี ปางร� ำ พึ ง พระพุ ท ธรู ป ประจ� ำ พระชนมวารสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

วิหารแก้ว เดิมเป็นศาลาครอบพระพุทธบาทจ�ำลอง พระครูสุธรรมกิตติวงศ์ เป็น ประธานบูรณะก่อสร้างเป็นวิหารแก้ว ศิลปะแบบลังกา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2552 สิน้ ค่าก่อสร้าง 4 ล้านบาท โดยมีพระพุทธสิหงิ ค์ จ�ำลองจากวัดพระสิงห์ จังหวัดเชียงใหม่ หล่อด้วยทองเหลือง เป็นพระประธานประจ�ำวิหารแก้ว พระเจ้าทันใจพุทธชยันตี พระประจ�ำทิศใต้ของจังหวัดแพร่ ประดิษฐานอยู่ด้านทิศเหนือของวัด สร้างเมือ่ ปีพทุ ธชยันตี พ.ศ. 2555 โดยผูว้ า่ ราชการ จ.แพร่ และส่วนราชการ เป็นประธานร่วมสร้าง โดยชาวแพร่ผู้มีจิตศรัทธามักจะน�ำดอกไม้ ธูป 8 คู่ เทียน 1 คู่ มาอธิษฐานขอพรให้สมปรารถนา โดยเฉพาะด้านการงาน เมื่อ สมปรารถนาแล้วให้น�ำไข่ต้มจ�ำนวนลงท้ายด้วยเลข 9 มาถวาย กุฎีสงฆ์หลังใหญ่ สร้างเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2513 ในสมัยพ่อก�ำนันยืน เรือนค�ำ เป็น ผูใ้ หญ่บา้ น ร่วมกับศรัทธาวัดพงป่าหวาย สร้างด้วยไม้สกั ทองและไม้เนือ้ แข็ง กุฎีมุทิตาสามัคคีอนุสรณ์ กุฎีเจ้าอาวาส สร้างปี 2541 สร้างด้วยไม้สักทองทั้งหลังโดยคณะ ศิษยานุศษิ ย์และคณะศรัทธาเพือ่ ถวายพระครูสธุ รรมกิตติวงศ์ เป็นกุฎเี จ้าอาวาส ซุ้มประตูเอก หน้าอุโบสถ สร้างปี 2548 โดยพระครูสุธรรมกิตติวงศ์เป็นประธาน ด�ำเนินการก่อสร้างด้วยศิลปะล้านนาประยุกต์ ตกแต่งด้วยกระจกสีและ ลวดลายปูนปั้น PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 151

151

21/6/2562 17:12:13


H I STORY OF BU DDHI S M

พระครูศิริบุณยวัฒน์ (ปลุกเสก ปุญฺญกาโม) ปฐมเจ้าอาวาส ผู้บุกเบิกก่อตั้งและพั ฒ นาวั ด อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย

วัดศรีคิรินทราราม วัดศรีคิรินทราราม ตั้งอยู่เลขที่ 340 บ้านม่อนป่าก๋อย หมูที่ 11 ถนนยันตรกิจโกศล ต�ำบลเด่นชัย อ�ำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ปัจจุบันมีที่ดินที่ตั้งวัดออกโฉนดใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2551 มีจ�ำนวน 7 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา วัดศรีคิรินทราราม ได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จากกรม การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ.2522 ซึ่งทางวัดก็ยงั คงท�ำการ พัฒนาวัดสืบต่อไปตามล�ำดับ จนกระทั่งได้รับพัดและประกาศนียบัตร เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น จากสมเด็จพระสังฆราช เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ.2527

ความเป็นมาของวัด

วัดศรีคริ นิ ทราราม ได้เริม่ ก่อสร้างขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.2496 โดยศรัทธาสาธุชน ชาวอ�ำเภอเด่นชัย น�ำโดยศรัทธา พ่อหนานเทพ-แม่เจีย ศรีจนั ทร์กาศ ได้อทุ ศิ ทีด่ นิ ให้จำ� นวน 6 ไร่ 49 ตารางวา และต่อมา พ่อบุญมี-แม่บวั ค�ำ สุวรรณกาศ ได้อุทิศที่ดินเพิ่มให้จ�ำนวน 2 งาน 64 ตารางวา โดยมอบหมายให้เป็นพื้นที่ ก่อสร้างวัด คณะศรัทธาสาธุชนชาวเด่นชัยซึง่ มีความเลือ่ มใสในปฏิปทาของ 152

2

หลวงปูพ่ ระครูศริ บิ ณ ุ ยวัฒน์ ซึง่ ขณะนัน้ อายุได้เพียง 27 ปี มีพรรษา 7 เท่านัน้ ท่านเป็นชาวเมืองแพร่โดยก�ำเนิด จึงนิมนต์ให้มาประจ�ำอยู่ และร่วมแรง ร่วมใจกันก่อสร้างวัดขึ้นตลอดมา ท�ำให้วัดเจริญรุ่งเรืองพัฒนาขยายตัวมาก ขึ้นตามล�ำดับ วัดศรีคริ นิ ทราราม ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2504 และได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2512

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 152

15/6/2562 9:35:26


ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงปูพ่ ระครูศริ บิ ณ ุ ยวัฒน์ (ปลุกเสก ปุญญ ฺ กาโม) เจ้าอาวาสรูปแรก (พ.ศ.2494–2550) อดีตทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอเด่นชัย อายุ 84 พรรษา 63 2. พระครูบรรพตชัยโสภณ ( ชัยวัฒน์ กมมสุทโธ) เจ้าอาวาสรูปที่ 2 (พ.ศ.2550–ปัจจุบนั ) วิทยฐานะ ศึกษาศาสตร์บณ ั ฑิต (ศษ.บ.,นักธรรม ชั้นเอก ,บาลี ประโยค 1-2 อายุ 46 พรรษา 22

ศูนย์กลางการจัดการศึกษาส�ำหรับพระภิกษุ-สามเณร ของอ�ำเภอเด่นชัย ภาพประวัตศิ าสตร์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเสด็จทรงงาน ทอดพระเนตรผลงานการจัดการศึกษาแก่พระภิกษุสามเณร ของวัดศรีคริ นิ ทราราม วันที่ 11 มีนาคม 2557

อาคารเสนาสนะ สิ่งปลูกสร้าง อุโบสถ ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ.2511 เป็นแบบทรงไทย ศาลาการเปรียญ หลังที่ 1 สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2509 หลังที่ 2 สร้างเมื่อ ปี พ.ศ.2532 กุฏิสงฆ์ 2 ชั้น 1 หลัง และกุฏิสงฆ์ หลังเล็ก 4 หลัง อยู่ได้หลังละ 2 รูป อาคารโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม 1 หลัง แบบทรงไทย 2 ชั้น ก่อด้วยอิฐ ถือปูนเสริมเหล็ก พื้นช่วงล่วงเทปูนซีเมนต์ ชั้นบนปูพื้นกระดานไม้สัก ขนาดกว้าง 12 เมตร ยาว 32 เมตร หอระฆัง 1 หลัง สร้างเมือ่ พ.ศ.2538 แบบทรงไทย เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก หอพระไตรปิฎก ประจ�ำอ�ำเภอเด่นชัย สร้างเมื่อ พ.ศ.2542

ปูชนียวัตถุส�ำคัญ

พระศรีสคุ ตบรมศาสดา พระพุทธรูปองค์ประธานในอุโบสถ ปางมารวิชยั แบบสุโขทัย พ่อเลี้ยงเกียรติ แม่เลี้ยงวิไล ตันจันทร์พงศ์ เป็นเจ้าภาพสร้าง เมือ่ วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2509 โดยสมเด็จพระสังฆราชพระราชทานนาม นายช่างฟุง้ บ้านช่างหล่อ เป็นผูป้ น้ั และนายช่างณรงค์ โอระวัติ เป็นแกะสลัก ไม้สักเป็นซุ้มเรือนแก้ว พระเพชรมหามงคล พระพุทธรูปองค์ประธานในศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย สมัยเชียงแสน โดยมีคุณสุจินต์ สีหาสุกิจ สร้างถวาย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2535 พระเจ้าตนหลวง พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ปางมารวิชัย สมัยเชียงแสน เนื้อทองส�ำริดสีคล้ายมันปู ได้มาจากพ่อหนานเทพ-แม่เจ้ย ศรีจันทร์กาศ ขนาดหน้าตัก 12 นิ้ว สูง 12 นิ้ว เช่นกัน

หลวงปู่พระครูศิริบุญยวัฒน์ อดีตเจ้าอาวาสวัดรูปแรก ได้วางนโยบาย ในการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรม ซึ่งเน้นหลักธรรมค�ำสอนทางพระพุทธ ศาสนา และทรงไว้ซึ่งการสร้างศาสนทายาทที่ดี เพื่อสืบต่ออายุพระพุทธ ศาสนาโดยใช้หลักว่า “ทางโลกก็ไม่ให้ช�้ำ ทางธรรมก็ไม่ให้ขุ่น” ทางธรรม ได้เปิดส�ำนักเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม-บาลี โดยจัดตัง้ ส�ำนักศาสนศึกษาขึน้ เพือ่ ให้การศึกษาแก่พระภิกษุสามเณรในอ�ำเภอเด่นชัย มีการสอนนักธรรม ชัน้ ตรี โท เอก ตามล�ำดับ ตัง้ แต่ พ.ศ.2496 มาจนถึงปัจจุบนั ทางโลก ได้เปิดสอนหลักสูตรการศึกษาผูใ้ หญ่ กรมการศึกษานอกโรงเรียน ให้การศึกษาแก่ภิกษุสามเณรและคฤหัสน์ในพื้นที่อ�ำเภอเด่นชัย ชื่อว่า โรงเรียนผู้ใหญ่ศิริวัฒน์ศึกษา ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2540 ได้ยุบเลิกโรงเรียนผู้ใหญ่ศิริวัฒน์ศึกษา และได้ ขออนุญาตจัดตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา ต่อกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเป็นศูนย์กลางการศึกษาคณะสงฆ์ประจ�ำอ�ำเภอ เด่นชัย จนกระทั่งได้รับอนุญาตให้จัดตั้งตามใบอนุญาตกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ.12/2540 ลงวัน ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ.2540 ชือ่ ว่า โรงเรียนศรีคริ นิ ทร์วทิ ยา ท�ำการเปิดสอนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1- ม.3) เริ่มเปิดท�ำการสอนตั้งแต่ ปีการศึกษา 2540 เป็นต้นมา

อาคารเรียนพระปริยตั ธิ รรม เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สร้างเมือปี ๒๕๕๘ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 153

153

15/6/2562 9:35:32


วัดสัมฤทธิบุญ

ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแพร่ แห่งที่ 14 พระครูวิจิตรธรรมสาธก (ชาญชัย ชาตวีโร) เจ้าคณะอ�ำเภอวังชิ้น / เจ้าอาวาส วัดสัมฤทธิบญ ุ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 129 หมู่ 5 ต�ำบลแม่เกิง๋ อ�ำเภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินวัดมีเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน อาณาเขตทิศเหนือ จดทีด่ นิ เอกชน ทิศใต้ประมาณ 30 เส้น 15 วา จดทีด่ นิ เอกชน ทิศตะวันออก ประมาณ 10 เส้น จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกประมาณ 10 เส้น 18 วา 3 ศอก จดที่ดินเอกชน

ประวัติวัดสัมฤทธิบุญ

ตามค�ำบอกเล่าของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในหมูบ่ า้ นกล่าวว่า วัดสัมฤทธิบญ ุ เป็นวัด ทีเ่ ก่าแก่วดั หนึง่ ซึง่ ได้สร้างมานาน โดยการน�ำของท่านครูบาบุญนะ เดิมตัง้ อยู่ เลขที่ 41 บ้านสบป้าก หมูท่ ี่ 10 ต�ำบลแม่ปา้ ก อ�ำเภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ วัดสัมฤทธิบญ ุ ได้รบั อนุญาตให้สร้างอย่างเป็นทางการ เมือ่ พ.ศ. 2466 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2481 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ในปี พ.ศ. 2531 วัดสัมฤทธิบญุ ได้ขาดพระภิกษุทจี่ ะจ�ำพรรษา ทางญาติโยม จึงได้ไปนิมนต์ พระมหาชาญชัย ฉายา ชาตวีโร (พระครูวจิ ติ รธรรมสาธก) ซึง่ ได้ไปศึกษาภาษาบาลีและเรียนวิชากัมมัฏฐานกับหลวงปูค่ รูบาพรหมาอยูท่ ่ี วัดพระพุทธบาทตากผ้า อ�ำเภอป่าซาง จังหวัดล�ำพูน กลับมาจ�ำพรรษาและ รักษาการเจ้าอาวาส ต่อมาได้มีญาติโยมซื้อที่ดินถวายวัดขยายออกไปอีก จ�ำนวน 29 ไร่ รวมเป็น 31 ไร่ 3 งาน 154

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 154

4/7/2562 11:27:50


อาคารเสนาสนะ อุโบสถ กุฏสิ งฆ์ อาคารเรียน อาคารปฏิบตั ธิ รรม โรงครัวหอฉัน ศาลา บ�ำเพ็ญกุศล ปูชนียวัตถุมพี ระพุทธรูปปูนปัน้ พระพุทธรูปทองส�ำริด

การบริหารและการปกครอง

วัดสัมฤทธิบญ ุ มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบคือ 1. ครูบาบุญนะ 2. ครูบาขา 3 .ครูบาอินตยศ 4. หลวงพ่อมัง่ ติสสฺ โร 5. พระครูวจิ ติ รธรรมสาธก (ชาญชัย ชาตวีโร) พ.ศ. 2531-ปัจจุบนั

การศึกษา

พ.ศ. 2537 ได้จดั ตัง้ ส�ำนักศาสนศึกษา เปิดให้มกี ารเรียนการสอนทัง้ แผนก ธรรมและแผนกบาลี พ.ศ. 2550 ได้รบั อนุญาตให้จดั ตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญ ศึกษา ชือ่ โรงเรียนสัมฤทธิบญ ุ วิทยา สังกัดส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เปิดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และตอนปลาย พ.ศ. 2552 ได้รบั อนุญาตจากมหาเถรสมาคมให้จดั ตัง้ “ส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดแพร่ แห่งที่ 14” และได้เปิดโอกาสให้พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ได้เข้ารับการอบรมปฏิบตั ธิ รรมตลอดทัง้ ปี

การพัฒนาวัด

การพัฒนาวัดได้เริม่ พัฒนาทัง้ ถาวรวัตถุ และพัฒนาบุคลากรให้มคี วาม เจริญมาโดยล�ำดับ การสร้างถาวรวัตถุได้ด�ำเนินการสร้างศาลาการเปรียญ กุฎิสงฆ์ อุโบสถ อาคารเรียนพระปริยัติธรรม หอฉัน ห้องน�้ำ ห้องสุขา และ ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาอุโบสถหลังใหม่ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2547 กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ปัจจุบนั มี พระครูวจิ ติ รธรรมสาธก (ชาญชัย ชาตวีโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสัมฤทธิบญ ุ และ เจ้าคณะอ�ำเภอวังชิน้ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 155

155

15/6/2562 9:38:21


H I STORY OF BU DDHI S M

156

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 156

21/6/2562 17:01:08


ต�ำนานพระธาตุพระพิมพ์ ในสมัยกรุงสุโขทัย นายสลอบได้ไปเป็นทหาร ทิ้งมารดาไว้ผู้เดียวเป็น เวลานาน ท�ำให้นางพิมพ์ ผู้เป็นมารดาเกิดความเป็นห่วงและคิดถึงลูกชาย จึงได้เดินทางไปยังกรุงสุโขทัย ฝ่ายลูกชายเมือ่ ได้เลือ่ นยศเป็นเจ้าพายสลอบ ด้วยความเห่อเหิมในยศศักดิข์ องตนและกลัวว่าคนอืน่ จะรูว้ า่ ตนเป็นลูกชาย ของนางพิมพ์ผยู้ ากจน เขาจึงท�ำเป็นไม่รจู้ กั มารดาของตนเอง ท�ำให้นางพิมพ์ รู้สึกเสียใจในลูกชายตัวเองมาก จึงเดินทางกลับมาที่บ้าน ต่อมาเจ้าพายสลอบรู้สึกเสียใจในความประพฤติของตนซึ่งได้แสดง ต่อมารดาด้วยความอกตัญญู จึงได้พาพลทหารและข้าทาสบริวารเดินทาง มาหมายจะแสดงความกตเวทีแด่ผเู้ ป็นมารดา แต่ปรากฏว่า มารดาได้ถงึ แก่ กรรมไปเสียแล้ว ด้วยความเสียใจและระลึกถึงบาปแห่งตนที่ได้สร้างไว้ เจ้าพายสลอบจึงตัดสินใจสร้างวัดขึ้นพร้อมด้วยพระธาตุพระพิมพ์ เพื่อ ไถ่บาปและอุทิศถวายแก่ดวงวิญญาณผู้เป็นมารดา

วัดบางสนุก

อนุสรณ์สถานแห่งพระคุณมารดา พระปลัดมานิตย์ อนุภทฺโธ

เจ้าอาวาสวัดบางสนุก และเจ้าคณะต�ำบลนาพูน

วั ด บางสนุ ก เดิ ม ชื่ อ วั ด ปากสลอบ หรื อ ปากสลก เพราะตั้ ง อยู ่ ปากห้วยสลกที่ไหลออกสู่แม่น�้ำยม ซึ่งเป็นชื่อที่ชาวบ้านเรียกกัน ในจารึก ที่พบจากวัดบางสนุกปรากฏชื่อเมืองตรอกสลอบ ค�ำว่าสลอบ น่าเชื่อ ว่ า เป็ น ค� ำ เดี ย วกั บ ค� ำ ว่ า สอบ หมายถึ ง มี ลั ก ษณะเรี ย วลงด้ า นใด ด้านหนึ่งหรือสองด้าน เหมาะตรงกับลักษณะภูมิศาสตร์ที่ตั้งของเมือง ในช่องเขาริมแม่น�้ำยมแห่งนี้

ประวัติวัดบางสนุก สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 1942 พร้อมพระธาตุที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ต่อมาชาวบ้านได้อพยพไปท�ำมาหากินในที่อื่น จึงท�ำให้วัดนี้ถูกทอดทิ้ง ให้รกร้างว่างเปล่า ถึงปี พ.ศ.2472 ได้มกี ารบูรณะวัดขึน้ มาใหม่และได้เปลีย่ น ชื่อเป็นวัดปงสนุก โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาและผูกพัทธสีมา ตั้งแต่พ.ศ.2486 ครั้นพ.ศ. 2488 พระอุบาลีอดีตเจ้าคณะจังหวัดแพร่ และ เจ้าคณะตรวจการภาค 5 พิจารณาเห็นว่าในจังหวัดนี้มีวัดชื่อปงสนุกซ�้ำกัน หลายวัด จึงเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า “วัดบางสนุก” จนถึงปัจจุบัน PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 157

157

21/6/2562 17:01:15


วัดชัยสิทธิ์พระธาตุขวยปู สักการะพระมหาชินธาตุเจ้าขวยปู พระอธิการสุธินันท์ ชินวํโส เจ้าอาวาส

วัดชัยสิทธิ์พระธาตุขวยปู ตั้งอยู่เลขที่ 151 หมู่ที่ 4 ต�ำบลแม่ป้าก อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่

ต�ำนานพระมหาชินธาตุเจ้าขวยปู พอสังเขป

ในสมัยก่อนพุทธกาล เมื่อครั้งพระโพธิสัตว์ได้บังเกิดมาเพื่อสะสม พระปรมัตถบารมี เพื่อจักเป็นสมเด็จพระสัพพัญญูพุทธเจ้าในอนาคตกาล ในครั้ ง นั้ น พระองค์ เ สวยพระชาติ บั ง เกิ ด เป็ น พญาปู ด� ำ โพธิ สั ต ว์ โดยมี พระสิริลักษณะเป็นปูนาตัวใหญ่ดั่งช้างสาร ผิวกายนั้นเป็นสีทอง ได้อาศัย อยู่ ณ ถ�้ำกก พญาปูด�ำโพธิสัตว์ได้อาศัยอยู่กับมารดาแม่เจ้าผู้เฒ่าชรา เพียงล�ำพังสองแม่ลูกนั้น พญาปูด�ำก็ได้เฝ้าเลี้ยงดูมารดาด้วยความรัก ความกตั ญ ญู ก ตเวทิ ต าจนแม่ เจ้ า มารดาได้ ล าลั บ ดั บ สั ง ขาร พญาปู ด� ำ โพธิ สั ต ว์ ที่ ไ ด้ สู ญ เสี ย มารดาผู ้ เ ป็ น ที่ พึ่ ง ไปเสี ย แล้ ว จึ ง เศร้ า โศกเสี ย ใจ จึงบังเกิดความคิดจะหาที่บ�ำเพ็ญบารมีเพื่อเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า ในอนาคตกาล แลเป็นกุศลที่จะได้อุทิศไปหามารดาปูของตนที่ได้ละสังขาร จึงได้ก�ำหนดสถานที่ที่จะบ�ำเพ็ญภาวนาคือหนองแส่หรือเมืองหนองแส่ 158

2

ต่อมาได้มีพระมหาเถระชาวละปูน (ล�ำพูน) นามว่า อินต๊ะ วัดพระยืน ได้ เ ดิ น ทางจาริ ก มาพบซากองค์ พ ระเจดี ย ์ ธ าตุ จึ ง มี จิ ต ศรั ท ธาและได้ ก่อสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ขึ้นมาอีกครั้ง โดยสร้างได้รวดเร็วและสวยงาม และได้ปั้นพระพุทธรูปไว้ด้วยอีกหนึ่ง กาลต่อมาได้มีพระภิกษุรูปหนึ่งจาริก แสวงบุญมาพบ และได้ทราบประวัติแห่งองค์พระมหาเจดีย์องค์นี้ ท่านนั้น คือ พระมหาเถรนันตาติยา (พระภิกษุชาวนันทบุรนี ครน่าน อันมีถนิ่ ก�ำเนิด เดิมเป็นคนบ้านป่าดาหลวง ท้ายเมืองน่าน เกิดในช่วงของสมัยของพระเจ้า สุรยิ พงษ์ผริตเดช เจ้าผูค้ รองนครน่านได้อปุ สมบททีว่ ดั สวนตาล เมืองนครน่าน) ครั้นเดินทางจาริกมาถึงท้ายเมืองลอง ที่ปงน�้ำแม่ป้ากอันเป็นที่ตั้งแห่งองค์

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 158

15/6/2562 9:34:31


พระธาตุขวยปูแห่งนี้เป็นที่ประดิษฐานอัฐิธาตุ ส่วนไหล่ซ้ายขององค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า พระมหาเจดีย์ธาตุขวยปู ใน จ.ศ.1345 (พ.ศ.2426) ท่านก็มีความศรัทธา ที่จะสร้างองค์พระธาตุเจ้าขวยปูขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อแล้วเสร็จองค์พระธาตุ มีฐานกว้างได้ 5 วา สูงได้ 9 วา แลได้สร้างเจดีย์บริวารและนรสิงห์ไว้ ทั้ง 4 มุม และก่อก�ำแพงไว้ล้อมรอบ ในการก่อสร้างในครั้งนี้ได้มีพวกยาง (กะเหรี่ยง) ได้เป็นก�ำลังสนับสนุนส�ำคัญในการจัดหาเสบียง มีค้างจ๋อม คอยบ้านแซ่ผ้า ผู้เป็นใหญ่กว่าค้างทั้งหลายน�ำมาให้ องค์พระธาตุแล้วเสร็จ โดยสมบูรณ์ ในวันเสาร์ ขึ้น 3 ค�่ำ เดือน 6 เหนือ 4 ใต้ จ.ศ.1264 ปีขาล ตรงกับวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2446 ใช้เวลาในการสร้าง 3 ปีเศษ และ ได้สร้างวิหารไม้ขนึ้ อีกหนึง่ หลัง กว้าง 4 วา ยาว 6 วา 1 ศอก และก่อก�ำแพง รอบองค์พระธาตุแล้ว ได้ทำ� การฉลองสมโภชองค์พระมหาชินธาตุเจ้าขวยปู เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 8 เหนือ 6 ใต้ จ.ศ.1265 ปีเถาะ ตรงกับ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ.2446 ซึ่งเป็นวันวิสาขบูชาด้วย ด้วยคุณความดีของพระมหาเถรนันตาติยาที่ได้สร้างไว้จึงได้เลื่อน สมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นเอก ที่ พระครูญาณวิลาศ และได้รับ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า คณะแขวงเมื อ งลองรู ป แรก (พ.ศ.2450–2470) ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ปั จ จุ บั น ทางวั ด ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ก่อสร้างเสนาสนะสถาปัตยกรรมแบบล้านนา

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 159

159

15/6/2562 9:34:32


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดวังเบอะ

ร่วมสร้างพระธาตุรัตนปุญฺญาบารมีศรีสัตตะมงคลอุดมทรัพย์ เจ้าอธิการอาณัติ ปุญฺญาคโม

เจ้าคณะต�ำบลวังชิ้น เขต 1 / เจ้าอาวาสวัดวังเบอะ

วัดวังเบอะ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 131 หมูท่ ี่ 3 ต�ำบลวังชิน้ อ�ำเภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 3 ไร่ 3 งาน 6 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 1 เส้น 15 วา จดที่ดินเอกชน ทิศใต้ประมาณ 1 เส้น จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกประมาณ 2 เส้น 6 วา จดถนน สาธารณะ ทิศตะวันตกประมาณ 2 เส้น 6 วา จดแม่น�้ำยม 160

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 160

21/6/2562 17:04:06


ประวัติวัดวังเบอะ วัดวังเบอะ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2427 โดยการน�ำของ หลวงปู่ครูบาป้อ เจ้ า อาวาสองค์แรกของวัด ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา วัน ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 11 เมตรยาว 19 เมตร มีพระครูสาทรภัทรญาณ เป็นอดีตเจ้าอาวาส ถึง พ.ศ. 2548

อาคารเสนาสนะ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ และ วิหาร สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด หลวงพ่อสักทอง เป็นพระพุทธรูปไม้สักทองสร้างจากพร้าโต้ อายุร้อยกว่าปี หลวงพ่อพระเจ้า 5 พระองค์ หลวงพ่อทันใจ ประวัติเจ้าอธิการอาณัติ ปุญฺญาคโม เจ้าอธิการอาณัติ ปุญญ ฺ าคโม อายุ 41 พรรษา 12 เจ้าอาวาสวัดวังเบอะ รูปที่ 9 และเป็นเจ้าคณะต�ำบลวังชิ้น เขต 1 สถานะเดิม นาม อาณัติ ใจมา เกิดเมือ่ วันศุกร์ที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2521 บิดาชื่อ นายสมพงษ์ ใจมา มารดาชื่อ นางวันเพ็ญ เตชะค�ำ อยู่บ้านเลขที่ 123 หมู่ที่ 7 บ้านดอนทราย ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ บรรพชา วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2550 โดยมีพระครูอดุลสารธรรม วัดศรีดอนค�ำ ต�ำบลห้วยอ้อ อ�ำเภอลอง จังหวัดแพร่ เป็นพระอุปัชฌาย์ วิทยฐานะ - นักธรรมเอก - รัฐศาสตรบัณฑิต มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ งานปกครอง พ.ศ.2554 เป็นเจ้าอาวาสวัดวังเบอะ พ.ศ.2559 เป็นเจ้าคณะต�ำบลวังชิ้น เขต 1 งานบรรพชา-อุปสมบทภาคฤดูร้อน วัดวังเบอะ จัดงานบรรพชาอุปสมบทภาคฤดูรอ้ นเฉลิมพระเกียรติ และ ประเพณีสรงน�้ำพระ เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมและ สืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวตลอดไป โดยแต่ละปีจะมีศรัทธาสาธุชน ในพื้นที่และนอกพื้นที่ปกครอง เข้าร่วมบรรพชา-อุปสมบทเป็นจ�ำนวนมาก

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ วัดวังเบอะ ขอเชิญศรัทธาสาธุชนทัง้ หลายร่วมบุญสร้าง “พระธาตุรตั น ปุ ญ ญาบารมี ศ รี สั ต ตะมงคลอุ ด มทรั พ ย์ ” หรื อ “พระธาตุ 9 ยอด” เพื่ อ ให้ ส ถิ ต ถาวรในพระบวรพุ ท ธศาสนาสื บ ไป โดยติ ด ต่ อ ท� ำบุ ญ ได้ ที่ เจ้าอธิการอาณัติ ปุญญ ฺ าคโม เจ้าอาวาสวัดวังเบอะ โทร. 088-4066608

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 161

161

21/6/2562 17:04:13


วัดพระธาตุพระกัปป์ สักการะขอพรพระธาตุให้อายุยืนยาว พระอธิการคะนอง มหาปญฺโญ เจ้าอาวาส

วัดพระธาตุพระกัปป์ ตั้งอยู่เลขที่ 9/1 หมู่ 6 บ้านแม่สิน ต�ำบลแม่เกิ๋ง อ�ำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ มีเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 16327

ประวัติความเป็นมา

วัดพระธาตุพระกัปป์ มีชื่อเดิมเรียกว่า “วัดศรีดอนมูลโต่งล้อม” มีประวัตทิ ไี่ ด้จารึกในแผ่นไม้แกะสลักเป็นภาษาล้านนากล่าวว่า เมือ่ จ.ศ.1245 (พ.ศ.2458) คณะศรัทธาวัดพระศรีวใิ จยาจะนะ ศรัทธาค้างติบ๊ ขา กับศรัทธา ค้าแอง เป็นเก๊า ได้นิมนต์ตุ๊เจ้าศรีปัญญาสร้างอารามวัดศรีดอนมูลโต่งล้อม และได้สร้างพระธาตุขนึ้ องค์หนึง่ ชือ่ ว่า “พระธาตุพระกัปป์” (สันนิษฐานว่า สร้างพร้อมๆ กับพระธาตุแหลมลี่ วัดแหลมลี่ อ�ำเภอลอง) ให้ไว้เป็นทีส่ กั การะแก่ หมู่คนและเทวดา ให้เจริญไปตราบ 7,000 วัสสา อายุ วันโน สุขัง พลัง และ ได้สร้างกุฏิสงฆ์และศาลาเป็นเพิงเล็กๆ มุงด้วยหญ้าคา เพื่อใช้เป็นสถานที่ ในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และได้นิมนต์พระจากที่อื่นมาอยู่ 162

จ�ำพรรษา แต่กไ็ ม่ได้อยูป่ ระจ�ำเป็นอย่างนีม้ าตลอด วัดจึงขาดการดูแลรักษา ท�ำให้สงิ่ ปลูกสร้างภายในวัดและพระธาตุพระกัปป์ มีสภาพทรุดโทรม จนเมือ่ ปี พ.ศ.2510 มีพระแก้วมาจ�ำพรรษา แต่ก็ไม่ได้ทำ� การบูรณะอะไรมากนัก ในปี พ.ศ. 2518 ครูบาสมจิตร (พระครูวิจิตรนวการโกศล เจ้าอาวาส วัดสะแล่ง อ�ำเภอลอง) มาอยู่จ�ำพรรษา ได้เล็งเห็นว่าวัดพระธาตุพระกัปป์ จะต้องท�ำการบูรณะ เนื่องจากชาวบ้านแม่สินส่วนมากเป็นชาวไทยภูเขา เผ่ากระเหรี่ยง จะนับถือภูตผีตามบรรพบุรุษ แต่ยังมีชาวบ้านส่วนหนึ่งเป็น คนพื้นบ้านภาคเหนือที่นับถือศาสนาพุทธ จะได้มีสถานที่ให้ท�ำบุญในวัน ส�ำคัญต่างๆ จะได้ไม่ต้องเดินทางไปกลับล�ำบาก ประกอบกับชุมชนได้รับ การพัฒนาทางด้านศาสนาพิธีต่างๆ เช่น งานท�ำบุญศพ งานขึ้นบ้านใหม่ งานกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา งานท�ำบุญสถานที่ต่างๆ จะมีพระสงฆ์ เข้ามามีบทบาทในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ท�ำให้ชาวบ้านในหมู่บ้าน หันมานับถือและปฏิบัติศาสนพิธีมากยิ่งขึ้น ครูบาสมจิตร จึงได้ร่วมกับชาวบ้านแม่สินและคณะศรัทธาใกล้เคียง ได้ ช ่ ว ยหาปั จ จั ย ในการบู ร ณะวั ด ที่ มี ส ภาพทรุ ด โทรม ได้ ส ร้ า งกุ ฏิ ส งฆ์ (ปัจจุบนั ได้รอื้ และสร้างใหม่อกี จ�ำนวน 3 หลัง) ศาลาปฏิบตั ธิ รรม และบูรณะ องค์พระธาตุพระกัปป์ โดยสร้างเจดีย์องค์ใหญ่ครอบพระธาตุองค์เดิมไว้ มีขนาดกว้าง 11 เมตร ยาว 11 เมตร สูง 19 เมตร และมีพระภิกษุอยูจ่ ำ� พรรษา ตลอดมาจนถึงปัจจุบัน

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

1

.indd 162

15/6/2562 9:33:23


ธุดงคสถานพรรัตนะ และศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่ พระมหาธนาวิชญ์ ธนวิชโช ประธานสงฆ์

ธุดงคสถานพรรัตนะและศูนย์อบรมเยาวชนจังหวัดแพร่ ตัง้ อยู่ เลขที่ 199 หมู่ 5 ต�ำบลแม่ปา้ ก อ�ำเภอวังชิน้ จังหวัดแพร่ จัดสร้างขึน้ เพือ่ รองรับโครงการบรรพชาพระภิกษุ-สามเณร และใช้ ในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา ฟื้นฟูศีลธรรม ในจังหวัดแพร่และจังหวัดใกล้เคียง ติดต่อสอบถามโครงการได้ที่ พระมหาธนวิชญ์ ธนวิชโช และพระบุญรัตน์ ฐิตปสาโท โทร.086-556-6314, 098-438-5662 PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 163

163

21/6/2562 16:58:31


วัดคุ้มครองธรรม ขอพรพระพุทธคุ้มมงคลศิริ พระครูมงคลธรรมรักษ์ เจ้าอาวาส วัดคุ้มครองธรรม

ประวัติวัดคุ้มครองธรรม

ต่อมา พ.ศ. 2275 ชาวบ้านได้มีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จึงได้ ร่วมแรงร่วมใจ สร้างวัดขึ้นมา ชื่อว่า “วัดคุ้ม” โดยได้สร้างวิหาร จ�ำนวน 1 หลัง เพื่อให้พระภิกษุได้ท�ำพิธีสังฆกรรม ใน พ.ศ. 2481 พระสมุห์อาจ เจ้าอาวาสในเวลานั้น ได้ขนานนามวัดใหม่เป็น “วัดคุ้มครองธรรม”

วัดคุ้มครองธรรม ตั้งอยู่เลขที่ 70 หมู่ที่ 12 ต�ำบลบ้านกลาง อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีเนือ้ ที่ 5 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา สร้างเมือ่ พ.ศ. 2275 (ปัจจุบัน พ.ศ. 2562 อายุ วัดรวม 287 ปี) ได้รับวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2526 เขต วิสงุ คามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร

ตามต�ำนานเล่าขานว่า เมื่อประมาณ พ.ศ. 2250–2270 มีเจ้าเมืองแพร่ พระองค์หนึง่ (ไม่สามารถระบุพระนามได้) เสด็จมายังเมืองสองบริเวณแม่นำ�้ กาหลง (แม่น�้ำสอง) เพื่อท�ำการคล้องช้าง เนื่องจากพื้นที่นี้มีความอุดม สมบูรณ์ของป่าไม้และสัตว์ป่านานาพันธุ์ โดยเฉพาะช้างป่า เจ้าเมืองแพร่ เกณฑ์ไพร่พลสร้างที่ประทับ (คุ้มเจ้า) ด้วยไม้สักทั้งหลังโดยการใช้ช้างชัก ลากไม้สัก กาลต่อมา ณ บริเวณดังกล่าวเริ่มมีชาวบ้านมาจับจองพื้นที่ท�ำมา หากินและสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยรวมกันเป็นกลุม่ โดยเรียกหมูบ่ า้ นนีว้ า่ “บ้านคุม้ ” (เพราะหมู่บ้านนี้อยู่รอบ ๆ บริเวณคุ้มเจ้าหลวง) และได้สร้างศาลขึ้นหนึ่ง หลัง (ศาลจ้าพ่อเลีย้ งกุมภัณฑ์) เป็นจุดศูนย์รวมจิตใจและเป็นทีเ่ คารพนับถือ ของชาวบ้าน ปัจจุบันศาลดังกล่าวอยู่บริเวณลานปฏิบัติธรรม 164

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 164

15/6/2562 9:37:27


ประเพณีที่ส�ำคัญของวัดคุ้มครองธรรม

พระพุทธคุ้มมงคลศิริ เป็นพระประธานในอุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2468 เป็นพระปางสะดุ้งมาร สูง 4 ม. 96 ซ.ม. หน้าตักกว้าง 3 ม. 66 ซ.ม. องค์พระพุทธรูปมีความสวยงาม พระพักตร์มลี กั ษณะคล้ายพระเจ้าตนเอีย้ ง แห่งเมืองพะเยา (พระเจ้าตนหลวง วัดศรีโคมค�ำ) และมีพระสาวกสององค์ (ด้านขวาพระสารีบตุ ร และด้านซ้าย พระโมคลานะ) ต่อมาปี พ.ศ. 2555 ทางวัดได้ขอประทานนามพระประธาน ในอุโบสถ ต่อสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก และได้รับประทานนามว่า “พระพุทธคุ้มมงคลศิริ”

ประเพณีแห่ไม้ง่ามค�้ำศรีมหาโพธิ์ ต้นโพธิ์ตามต�ำนานเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ ประจ�ำศาสนาพุทธ และตาม ความเชื่อมาแต่โบราณกาล จะมีประเพณีน�ำไม้ไปค�้ำต้นโพธิ์ เพื่อค�้ำบ้าน ค�้ำเมือง ค�้ำพระพุทธศาสนา ตามวัดที่มีต้นโพธิ์ใหญ่ ๆ จากแนวคิดนี้ คุณครู สวัสดิ์ สังเวียนวงศ์ จึงได้น�ำเรื่องนี้มาปรึกษากับ พระครูมงคลธรรมรักษ์ ว่า น่าจะท�ำไม้ง่ามค�้ำศรีต้นศรีมหาโพธิ์จ�ำนวน 3 ต้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์ของ ความสามัคคีของพุทธศาสนิกชนทัง้ 3 หมูบ่ า้ น คือบ้านคุม้ หมูท่ ี่ 2 (นายเฉลิม ปลาลาศ ผูใ้ หญ่บา้ น) บ้านต้นผึง้ หมูท่ ี่ 11 (นายสมคิด บุญยืน ก�ำนัน) บ้านหล่าย หมู่ที่ 12 (นายสว่าง พวงพยุง ผู้ใหญ่บ้าน) เพราะเป็นคณะศรัทธาวัด เดียวกัน ทางวัด จึงได้กำ� หนดท�ำพิธยี กไม้งา่ มค�ำ้ ศรีมหาโพธิข์ นึ้ ในวันอาทิตย์ ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2554 โดยมี นายอนุวธั วงศ์วรรณ นายกองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดแพร่ เป็นประธานในพิธยี กไม้งา่ มค�ำ้ ศรีตน้ ศรีมหามงคลรวมพลัง สามัคคี ทัง้ 3 หมูบ่ า้ น เพือ่ เป็นสัญลักษณ์ในพระพุทธศาสนา และเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วอีกแห่งหนึง่ ของอ�ำเภอสอง ตัง้ แต่นนั้ มา และวันที่ 24 พฤศจิกายน 2555 นายนิพนธิ์ นางไฉน ค�ำชืน่ พ.ท.ด�ำรงค์ ส.อ.หญิงวิรชั กุลเศรษฐ์พร้อม ครอบครัว ได้ถวายพระสิงห์ ประดิษฐาน ณ ต้นโพธิ์วัดคุ้มครองธรรม และ การท่องเที่ยวจังหวัดแพร่ ได้บรรจุเข้าปฏิทินการท่องเที่ยวของจังหวัดแพร่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา

พระเจ้าทันใจพุทธชยันตีสี่มุมเมือง การจัดสร้างพระเจ้าทันใจนี้เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง สมโภชพุทธชยันตี 2600 แห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า โดยผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่ในขณะ นัน้ คือ นายเกษม วัฒนธรรม มีนโยบายให้สร้างพระเจ้าทันใจขึน้ ในสีม่ มุ เมือง ของจังหวัดแพร่ เรียกว่า “พุทธชยันตีสมี่ มุ เมือง” ซึง่ ทางทิศเหนือ คณะสงฆ์ จังหวัดแพร่มมี ติให้สร้างทีว่ ดั คุม้ ครองธรรม ในวันขึน้ 9 ค�ำ่ เดือน 7 ใต้ เดือน 9 เหนือ ตรงกับวันพุธที่ 30 พฤษภาคม 2555ต้นโพธิ์วัดคุ้มครองธรรม ในอดีตภายในวัดคุม้ ครองธรรมมีตน้ โพธิอ์ ยูใ่ กล้กนั สองต้น คาดว่าน่าจะ ปลูกพร้อม ๆ กับการสร้างวัด ต่อมาราวปี 2503 ต้นโพธิ์ตายลงไปหนึ่งต้น ปัจจุบันต้นโพธิ์ที่เหลือนี้มีเส้นรอบวง 14 เมตร มีความสูง 25 เมตร

ประเพณี 9 เป็ง เป็นประเพณีสง่ เสริมและสืบสานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ ของไทย เพื่อให้ชุมชนมีโอกาสได้ร่วมกิจกรรมและแสดงพลังความสามัคคี ยึดถือปฏิบัติและยึดมั่นในประเพณีดั้งเดิมของไทยที่เคยปฏิบัติมาให้เป็น มรดกตกทอดถึงลูกหลานภายหน้าสืบไป เนื่องจากวันขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 9 เหนือ (เก้าเป็ง) ซึ่งเป็นวันที่ทางวัดจัดเป็นประเพณีของทางวัดและของ หมูบ่ า้ นเป็นประจ�ำทุกปี โดยจัดมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2524 เพือ่ ท�ำพิธสี ะเดาะเคราะห์ สืบชะตาของพระสงฆ์และคณะศรัทธา มีการสวดเบิกเพื่อเป็นสิริมงคลตาม ประเพณีโบราณ

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 165

165

4/7/2562 11:50:48


วัดพระธาตุหนองจันทร์ ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดแพร่ แห่งที่ 18 พระครูวิธานนพกิจ (มานพ ติกฺขวีโร) เจ้าอาวาส วัดพระธาตุหนองจันทร์

วัดพระธาตุหนองจันทร์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ้านหนุน อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ 54120 เป็นศาสนสถานที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งในอ�ำเภอสอง คู่กับ พระธาตุพระลอ ซึ่งตั้งอยู่ต�ำบลห้วยหม้าย ทางทิศตะวันตกของฝั่งแม่น�้ำยม ห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอสองประมาณ 12 กิโลเมตร ห่างจากถนนสายสอง–งาว ทิศตะวันตกบ้านลูนิเกต ไปประมาณ 3 กิโลเมตร 166

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

2

.indd 166

4/7/2562 11:55:23


ประวัติความเป็นมา วัดพระธาตุหนองจันทร์ มีพระธาตุหนองจันทร์เป็นปูชนียวัตถุเก่าแก่ แต่ ใ ครเป็ น ผู ้ ส ร้ า งเป็ น เจดี ย ์ ค รั้ ง แรกนั้ น ไม่ มี ห ลั ก ฐานแน่ ชั ด เพี ย งแต่ สันนิษฐานกันว่าบูรณะเสริมสร้างขึ้นในสมัยพม่าเรืองอ�ำนาจ เพราะมี ฝี มื อ เงี้ ย วปรากฏอยู่ ต่อมาประมาณ พ.ศ. 2445 ครูบาภิจัย (ภิชัย ) เจ้ าอาวาสวั ดกลาง อ.สอง ได้บูรณะขึ้น ซึ่งรูป เดิมมีปรากฏอยู่ค ล้าย จอมปลวกใหญ่ ๆ เท่านั้น

เรียบร้อย จนถึง พ.ศ. 2521 พระอาจารย์มานพ ติกขฺ วีโร ได้บรู ณะต่อ อาทิ หุ้มองค์พระธาตุด้วยทองเหลือง สร้างถนนคอนกรีตรอบพระธาตุ สร้างกุฏิ ศาลาการเปรียญ

ร่วมสร้างเส้นทางบุญ

ปัจจุบันวัดพระธาตุหนองจันทร์ ก�ำลังด�ำเนินการสร้างพระพุทธรูป ขนาด 9 วา 3 ศอก เพื่อประดิษฐานไว้เป็นที่สักการะและยึดเหนี่ยวจิตใจ ของชาวต�ำบลบ้านหนุน อ�ำเภอสอง จังหวัดแพร่ จึงขอเชิญชวนท่านสาธุชน ทีม่ จี ติ ศรัทธาร่วมสร้างเส้นทางบุญกับทางวัดได้ที่ พระครูวธิ านนพกิจ เจ้าอาวาส

ต่อจากนั้นประมาณ พ.ศ. 2482 ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธิสุนทร (ชมภู กาละวงศ์) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอสอง วัดเทพสุนทรินทร์ ได้เป็น หัวหน้าบูรณะก่อสร้างให้สงู ขึน้ โดยท�ำพิธยี กยอดพระธาตุและซ่อมแซมใหม่ เนือ่ งจากมีวาตภัย ลมแรงมาพัดพังทลายเสียหาย ฐานกว้างประมาณ 12 ศอก สูงประมาณ 20 ศอก และได้สร้างวิหารติดด้านเหนือพระธาตุอีกหลัง กว้าง ประมาณ 24 ศอก ยาวประมาณ 30 ศอก จัดให้มีงานประจ�ำปีมาแต่ดั้งเดิม คือ เดือน 5 เพ็ญ 3 ใต้ของทุก ๆ ปี ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2509 ท่านพระครูสุวรรณธรรมกร อดีตเจ้าคณะ อ�ำเภอสอง วัดเทพสุนทรินทร์ ได้เป็นประธานก่อก�ำแพง 4 ด้าน รอบพระธาตุ PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 167

167

19/6/2562 8:54:44


วัดศรีมูลเรือง

วัด-ราษฎร์ร่วมใจ ศรัทธามิเสื่อมคลาย พระครูสริ สิ ารสุนทร จิตตฺ สุโภ เจ้าอาวาส วั ด ศรี มูลเรือง เลขที่ 371 บ้านศรีมูลเรือง หมู่ที่ 4 ถนนวังซ้าย ต� ำ บลบ้ า นหนุน อ�ำเภอสอง จังหวัด แพร่ มีพื้นที่จ�ำนวน 3 ไร่ 1 งาน 55 ตารางวา อยู่ใ นปกครองคณะสงฆ์ม หานิกาย ประเภทของวัดเป็น วัดราษฎร์ ปัจจุบันมีพระภิกษุจ�ำนวน 4 รูป สามเณร 1 รูป วัดศรีมูลเรือง เป็นวัดที่ชาวบ้านมีความศรัทธาเลื่อมใสมาก เจ้าอาวาส เป็นคนในหมูบ่ า้ น มีการพัฒนาต่อเนือ่ ง จนได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดตัวอย่าง เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2519 และมีการพัฒนาต่อยอดอย่างไม่หยุด จนได้รบั ยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาผลงานดีเด่น เมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2540

ประวัติวัดศรีมูลเรือง

วัดศรีมูลเรืองเดิมชื่อว่า “วัดดอนชัย” (วัดธาตุฮอยงู ปัจจุบัน) อยู่ใน สังกัดของหมู่บ้านปางหมื่น มีพระตุ้ย ผิวละออ เป็นเจ้าอาวาส พร้อมด้วย คณะศรัทธาและผู้ใหญ่บ้านชื่อนายตา อุปกิจ และคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ ได้ประชุมตกลงกันว่า ควรหาท�ำเลเหมาะสมมาสร้างวัดของศรัทธาโดย แท้จริง เพราะวัดดอนชัยของนายจักร กล้าหาญ(หนานจักร) นั้นชาวบ้าน และแกนน�ำร�ำคาญและทนความเป็นเผด็จการของนายจักร กล้าหาญไม่ได้ 168

3

พระศรีมงคล จึงชวนกันแสวงหาที่ใหม่มาสร้างวัดแทน เมื่อปรึกษากันแล้วจึงไปขอบูชา แบ่งทีด่ นิ ของพ่อจ่า ศรีมลู -แม่คำ� แปง คงชนะ(หมืน่ กล้าผจญ) ซึง่ เป็นคหบดี ที่มีอ�ำนาจของอ�ำเภอสองสมัยนั้น คณะกรรมการได้บอกวัตถุประสงค์ว่า ที่มากันครั้งนี้เพื่อจะมาขอบูชาที่ดินของท่านที่อยู่ทิศตะวันตกของถนน (ซึง่ ก่อนหน้านัน้ ถนนใหญ่ คือ เส้นทีอ่ ยูห่ ลังโรงเรียนบ้านศรีมลู เรือง ปัจจุบนั นี)้ ซึง่ เป็นป่าละเมาะมีพนื้ ทีป่ ระมาณ 10 ไร่ เพือ่ น�ำมาสร้างวัดและโรงเรียนขึน้ ใหม่ เมื่อสองสามีภรรยาได้รับทราบความเป็นมาเป็นไป จึงยินยอมยกที่ดิน บริเวณดังกล่าวให้เป็นกรรมสิทธิ์ของวัดและโรงเรียนต่อไป โดยเสียค่าบูชา ที่ดินเพียง 100 บาท และขอตั้งชื่อวัดใหม่นี้ว่า วัดศรีมูลเรือง โรงเรียนบ้าน

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 168

4/7/2562 11:27:27


วิทยฐานะ - ส�ำเร็จการศึกษาสามัญสูงสุดจากสถานศึกษาชือ่ โรงเรียนบ้านศรีมลู เรือง (วัลลภราษฎรรังสรรค์) โดยได้วุฒิการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - ส�ำเร็จการศึกษานักธรรมสูงสุด คือ นักธรรมเอก ในปี พ.ศ. 2505 ต�ำแหน่งทางการปกครองสงฆ์ เจ้าอาวาสวัดศรีมูลเรือง มหาเถระสมาคมได้แต่งตั้งยกย่องให้เป็นพระ กิตติมศักดิ์ ในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2549

ท�ำเนียบเจ้าอาวาส

1. พระอธิการวัลลภ เขมงฺกโร เมื่อปี พ.ศ. 2479-2510 2. พระอธิการสนั่น จิตฺตสุโภ เมื่อปี พ.ศ. 2511-2515 3. พระครูสิริสารสุนทร เมื่อปี พ.ศ. 2516-ปัจจุบัน

ศาสนสถานภายในวัด

วัดศรีมลู เรืองมีศาสนสถานหรือสิง่ ปลูกสร้างต่าง ๆ ดังนี้ พระธาตุฮอยงู สร้างในที่ดินธรณีสงฆ์, วิหาร ทาด้วยสีทองทั้งหลัง ด้านหน้าวัดบันไดขึ้น 2 ข้าง ก่อสร้างราวบันไดเป็นปูนปั้นพญานาค มีรูปแพะและรูปวัวโผล่ออกมา จากอกพญานาคซึง่ เป็นสัญลักษณ์เป็นปีเกิดของเจ้าอาวาส 2 รูป,อุโบสถ ชือ่ “พระบุญมาประสาร”, ศาลาการเปรียญ ชื่อ “สิริสารสุนทร”,อาคาร อเนกประสงค์, โรงครัว, ห้องสุขา 4 หลัง, อาคารเก็บโบราณวัตถุของวัด, กุฏิ 2 หลัง, หอระฆัง, ศาลาบาตร, หอฉันท์

แหล่งเรียนรู้ภายในวัด

อุโบสถ พระบุญมา ประสาน ศรีมูลเรือง และชื่อหมู่บ้านใหม่ว่าบ้านศรีมูลเรือง จากนั้นไม่นานนักพวกชาวบ้านต่างดีใจพากันสาธุท่วมหัว และพากัน แผ้วถางป่าก่อสร้างอารามพอเป็นรูปร่างพอทีจ่ ะใช้ทำ� บุญกัน ในปี พ.ศ. 2479 โดยมีพระอธิการตุ้ย ผิวละออ เป็นเจ้าอาวาส มาจน พ.ศ. 2510 ท่านได้ อาพาธลงด้วยโรคมะเร็งและได้ถึงแก่มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์ได้แต่งตั้ง พระสนั่น ศรีโพธิ์ ซึ่งเป็นพระลูกวัดขึ้นเป็นเจ้าอาวาสแทนตั้งแต่บัดนั้น จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2515 ต่อมา พ.ศ. 2516 พระอธิการสนั่น ศรีโพธิ์ ได้รับ การแต่งตั้งเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นสมณศักดิ์ พระครูสัญญาบัตร นามว่า พระครูสิริสารสุนทร จิตฺตสุโภ

ประวัติเจ้าอาวาสวัด พระครูสิริสารสุนทร ฉายา จิตฺตสุโภ อายุ 82 ปี พรรษา 62 พรรษา ล�ำดับชั้น สมณศักดิ์ พระครูสัญญาบัตรชั้นโท เดิมชื่อ สนั่น สกุล ศรีโพธิ์ หลวงพ่อเจ้าอาวาส ท่านเป็นนักพัฒนา นักบริหารวัด ถึงแม้ร่างกาย จะไม่เอื้ออ�ำนวย เดินไม่ได้ แต่ท่านคิดแต่เรื่องการบริหารพัฒนาวัดจริงๆ

อาคารเก็บรวบรวมวัตถุโบราณ มีทงั้ ทีเ่ ป็นศาสนวัตถุและข้าวของเครือ่ ง ใช้ในชีวิตประจ�ำวันที่เป็นของโบราณหาชมได้ยากยิ่ง ที่พักสงฆ์และสถานปฏิบัติธรรม ตั้งอยู่ในที่ดินธรณีสงฆ์ซึ่งอยู่ห่างจาก วัดศรีมูลเรือง ประมาณ 200 เมตร ที่แห่งนี้ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้ำสอง บริเวณ โดยรอบปกคลุมด้วยต้นไม้รม่ รืน่ ดีมลี ำ� ห้วยสุขตาโอบล้อมเป็นทีส่ ปั ปายะยิง่ นัก ทางวัดจึงใช้เป็นสถานที่พักสงฆ์ ซึ่งประกอบด้วยอาคารต่าง ๆ เช่น กุฏิ พระ วิหาร ศาลาปฏิบัติธรรม พระนอน ศาลเจ้า และบ่อน�้ำโบราณ ต้นถ่านไฟผี เป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่หายากมากในจังหวัดแพร่ แต่ จะมีที่ธาตุฮอยงูเพียงแห่งเดียวเท่านั้น

สิ่งส�ำคัญภายในวัด ประวัติพระธาตุฮอยงู

พระธาตุฮอยงูมปี ระวัตคิ วามเป็นมาสืบเนือ่ งมาจาก เดิมวัดแห่งนีถ้ กู ทิง้ ไปนานเป็นสถานที่พงรกร้าง มีแต่ศาลาเก่ามุงเป็นเพิงปกเศียรพระพุทธรูป เก่าองค์หนึ่งชื่อ พระศรีดอนชัย บริเวณนี้ปกคลุมด้วยต้นไม้ใหญ่น้อยและ หญ้าสาบเสือ มีพื้นที่ 12 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา กาลครั้งหนึ่งมีพระภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งธุดงค์มาที่วัดร้างแห่งนี้ ท่านเกิด อาพาธขึน้ จึงได้อาศัยศาลาเก่า ๆ ปักกลด และได้วปิ สั สนาตัง้ จิตอธิษฐาน ณ วัดดอนชัยแห่งนีว้ า่ ...หากแม้นว่ามีรกุ ขเทวดา พญานาคราชทัง้ หลายปกปัก รักษาสถานที่แห่งนี้อยู่ ขอท่านโปรดรับรู้เถิดว่าตัวข้านี้เจ็บป่วยด้วยสาเหตุ ใดที่ท�ำให้ไม่สามารถเข้าฌานสมาธิได้ ข้าขอบนบานต่อพระแม่ธรณีและ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่สิงสถิต ณ ที่แห่งนี้ โปรดช่วยให้ข้าพเจ้าหายจากอาการ เจ็บป่วยด้วยเถิด พอท่านอธิษฐานจิตเสร็จแล้วก็เข้านอน และแล้วในคืนนัน้ ท่านได้นมิ ติ ว่า มีชายหนุ่มรูปงามคนหนึ่งคลานเข้ามาหาลงกราบท่าน แล้วพูดว่า... PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

3

.indd 169

169

4/7/2562 11:27:30


มานี้ก็ดีแล้ว โปรดช่วยสร้างธาตุเจดีย์ไว้หลังศาลานี้ให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด แล้วอาการเจ็บป่วยของท่านก็จะหายไปเอง ว่าแล้วร่างนัน้ ก็หายวับกลับเป็น งูใหญ่เลื้อยออกไป พระธุดงค์สะดุ้งตกใจตื่นขึ้นมาท่ามกลางดึกคืนนั้นแล้ว พิจารณาใคร่ครวญและอธิษฐานต่อว่า...ถ้าท่านอยากได้ธาตุจริง ๆ ข้าพเจ้า รับปากว่าจะสร้างให้แล้วท่านก็นงั่ วิปสั สนาสมาธิจนถึงรุง่ สาง แล้วท่านก็เดิน ไปทางทิศใต้ด้านหลังศาลาที่พักปักกลด ปรากฏว่าบริเวณจอมปลวกเตี้ย ๆ แห่งนัน้ มีรอยงูเลือ้ ยเต็มพืน้ ทีไ่ ปหมด ท่านจึงพูดเปรยออกมาว่า...ถ้าเป็นจริง ดั่งว่าข้าจะสร้างธาตุตรงนี้แหละ พอท่านกลับมาที่พักรู้สึกว่าอาการไข้ได้ อันตรธานหายไปเหมือนปลิดทิ้ง ท่านได้กล่าวเรื่องราวให้ญาติโยมฟังถึงสิ่ง มหัศจรรย์ทเี่ กิดขึน้ กับท่านในครัง้ นีไ้ ด้ฟงั และแล้วท่านก็ได้วางแผนก่อสร้าง ธาตุองค์นี้จนส�ำเร็จในปี พ.ศ. 2524 โดยให้ชื่อว่า “ธาตุฮอยงู”

ธาตุดอยงู

ประวัติพระศรีมงคล

พระศรีมงคล เป็นพระพุทธรูปทีส่ ร้างโดยช่างพืน้ บ้าน สร้างในสมัยรัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประมาณปี พ.ศ. 2480 เป็นพระพุทธรูปทีม่ พี ระพักตร์ งดงามอิม่ เอิบ แย้มพระโอษฐ์นดิ ๆ พระสรีระสมส่วน ชาวบ้านมีความศรัทธา ว่า หากใครที่มีความทุกข์ เมื่อได้สบพระเนตรพระศรีมงคลแล้ว ท่านจะทรง แผ่รัศมีแห่งความเมตตามาให้ ความทุกข์ก็จะค่อย ๆ คลายหายไปในที่สุด

ประวัติพระศรีดอนชัย

พระศรีดอนชัย เป็นพระพุทธรูปที่ก่อสร้างด้วยอิฐถือปูน สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2476 โดยคณะศรัทธาและชาวบ้านปางหมืน่ ในสมัยนัน้ เป็นผูส้ ร้าง นับ ว่าเป็นองค์พี่ของพระศรีมงคล แต่ถูกละทิ้งมานานจึงมีร่องรอยการขุดเจาะ ในตัวองค์พระเสียหายหลายแห่ง คณะศรัทธาจึงได้รว่ มมือร่วมใจกันซ่อมแซม โดยตกแต่งเขบ็ดหน้าหรือพระพักตร์เสียใหม่ โดยพ่อสล่าหมวก อุตค�ำมี ช่าง ชาวบ้านได้ท�ำการปั้นเกศา แล้วเอาปูนโบกร่องรอยที่ขโมยลักขุดเจาะองค์ พระด้วยความศรัทธาเลื่อมใส

พระศรีดอนชัย ต่อมาพระศรีดอนชัยได้มนี กั บุญสายปฏิบตั ธิ รรมเกิดศรัทธา พากันสร้าง ศาลาหลังใหม่ มุงหลังคาครอบองค์พระ และมีการขอขมาอนุญาตให้มีการ หันพระพักตร์ใหม่มาทางทิศตะวันออก (เดิมหันไปทางทิศเหนือ) ขณะยกพระ ออกจากฐานชุกชี ได้คน้ พบเหรียญเงินตราสกุลต่างๆ ตัง้ แต่สมัยรัชกาลที่ 5-6 เป็นจ�ำนวนมากบริเวณฐานพระ เมื่อสร้างศาลาการเปรียญหลังนี้เสร็จแล้ว ได้ใช้เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม อบรมธรรม จริยธรรม ส�ำหรับพุทธศาสนิกชน ที่สนใจใฝ่ในธรรมทั่วไป

ประเพณีสำ� คัญประจ�ำปี

ประเพณีสรงน�ำ้ พระธาตุฮอยงู จัดกิจกรรมระหว่างวันขึ้น 14-15 ค�ำ่ เดือนยี่เป็ง ซึ่งช่วงเทศกาลกระทง เพราะสถานที่เอื้อต่อการจัดกิจกรรม เนื่องจากอยู่ติดกับแม่น�้ำสอง ฝายหนองคุ้มและสวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 โดยก่อนลอยกระทงในแม่นำ�้ ประชาชนได้นำ� กระทงขึน้ บูชาถวายพระพุทธรูป ก่อนน�ำไปลอยในแม่น�้ำสองประเพณีดังกล่าวจะมีประชาชน ตลอดถึง หน่วยงานต่างๆ สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ามามีส่วนร่วม ในกิจกรรมประเพณีครั้งนี้จ�ำนวนมาก 170

3

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 170

15/6/2562 9:29:58


HISTO RY O F B U DDH IS M

ต่อมา ได้สอบถามพ่อเฒ่าค�ำ ซึง่ ขณะนัน้ มีอายุประมาณ 80 ปี (พ.ศ.2414) ท่านบอกว่า พระพุทธรูปองค์นี้ เป็นพระประธานของวัดเก่าชือ่ “วัดโปรดสัตว์” เหตุที่ตั้งชื่อดังนี้เนื่องจากสมัยก่อนเมื่อเจ้าหน้าที่บ้านเมืองจับกุมผู้ร้ายได้ ก็จะน�ำตัวไปประหารชีวติ แล้วจะต้องผ่านวัดนี้ พระภิกษุทอี่ ยูใ่ นวัดมักจะเข้ามา สอบถามว่ามีโทษหนักร้ายแรงขนาดไหน ถ้าเห็นว่าโทษนั้นไม่ร้ายแรงมาก นักพระภิกษุจะขอบิณฑบาตไว้ แต่ถ้าเป็นโทษหนักก็จะปล่อยเลยตามเลย ท�ำให้ผกู้ ระท�ำผิดหลายคนหลุดพ้นจากการประหารชีวติ วัดแห่งนีจ้ งึ ได้ชอื่ ว่า “วัดโปรดสัตว์” ในกาลต่อมาพระพุทธรูปได้ทรุดโทรมลง เนื่องจากได้มีผู้ไปตัดเศียร พระพุทธรูป เพื่อจะค้นหาข้าวของมีค่าหรือพระเครื่อง ซึ่งเข้าใจว่าบรรจุไว้ ในองค์พระ เมื่อไม่พบจึงได้ขุดที่ฐานอีก ทิ้งร่องรอยปรากฏอยู่ ท�ำให้เศียร พระพุทธรูปหล่นอยู่ที่หน้าพระพุทธรูป ท�ำให้มีการเรียกพระพุทธรูปองค์นี้ ว่า “หลวงพ่อเศียรขาดเมืองแพร่” การบูรณะดังกล่าวได้กระท�ำกันถึง 2 ครัง้ รวมทัง้ การต่อเศียรพระพุทธ รูปองค์นี้เป็นแบบสุโขทัยปางสะดุ้งมาร ส่วนการตั้งชื่อพระพุทธรูปนั้น สมเด็จพระสังฆราชอริยวงศาคตญาณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ประทานนาม ว่า “พระพุทธวิชิตมารประทานสันติสุข สวัสดีชินสีห์ธรรมบพิตร” ต่อมาเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2557 ได้มาสร้างองค์จำ� ลองประดิษฐาน ณ วัดพระพุทธวิชิตมาร วัดพระพุทธวิชิตมาร 137 หมู่ 5 ต�ำบลร้องเข็ม อ�ำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ เพื่อให้สาธุชนกราบสักการะบูชาต่อไป

วัดพระพุทธวิชิตมาร นมัสการหลวงพ่อวิชิตมารองค์จ�ำลอง

ครูบาพัตร วิสุทธสีโล เจ้าอาวาสวัดพระพุทธวิชิตมาร วัดพระพุทธวิชติ มาร เลขที่ 137 หมู่ 5 ต�ำบลร้องเข็ม อ�ำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โทร. 089-555-6386 พระพุทธวิชิตมาร เป็นพระพุทธรูปสร้างด้วยปูนขาวสมัยโบราณ ประทับอยู่กับพื้น หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ความเป็นมาของพระพุทธ วิชติ มาร จากหลักฐานและต�ำนานทีไ่ ด้บนั ทึกไว้ของโรงเรียนการป่าไม้แพร่ ดังนี้ “หนานขัด” แขลา (วงศ์ แขลา) อดีตเคยท�ำงานในคุ้มเจ้าหลวงนคร เมืองแพร่ ได้เล่าว่าสมัยบวชเป็นเณร เมื่ออายุได้ 14 ปี เข้าไปเก็บผลไม้ คือ มะหลอดหรือส้มหลอด หลังป่าทึบของก�ำแพงเมือง ซึ่งมีเชิงเทินไว้ส�ำหรับ รบพุ่งข้าศึกและมีประตูก�ำแพงลอดออกไปข้างนอกได้ ประตูนี้เรียกว่า “ประตูมาร” ได้พบพระพุทธรูปองค์หนึง่ มีลกั ษณะสง่างามมากมีพระวรกาย และพระพักตร์ขาวตลอด มีพระเกศเป็นมวยผมอยูด่ ว้ ย ห่มจีวรสไบเฉียงสีทอง มีสายระย้าห้อยเป็นพู่เรียงกันอยู่ที่ปลายสไบ ฐานเป็นรูปบัวคว�่ำบัวหงาย สลับกัน PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

1

.indd 171

171

19/6/2562 9:26:13


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดหนองม่วงไข่ นมัสการหลวงพ่อพุทธจักรลานนาไทย พระครูสุตพัฒนกิตติ์

เจ้าคณะต�ำบลหนองม่วงไข่/เจ้าอาวาสวัดหนองม่วงไข่

วัดหนองม่วงไข่ เลขที่ 1 หมู่ 1 ต�ำบลหนองม่วงไข่ อ�ำเภอหนองม่วงไข่ จังหวัดแพร่ 54170 เป็นวัดทีอ่ ยูใ่ นสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ทีต่ งั้ วัด มีเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 56 ตารางวา มีอาณาเขต กว้าง 2 เส้น ยาว 2 เส้น

172

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 172

19/6/2562 9:18:20


ประวัติความเป็นมาวัดหนองม่วงไข่ วัดหนองม่วงไข่ เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2318 สถานที่ ก่อตั้งวัดในอดีต ตั้งอยู่บริเวณข้างหนองน�้ำซึ่งเคยเป็นร่องน�้ำยมมาก่อน ปัจจุบันนี้แม่น�้ำยมได้ไหลเปลี่ยนทิศทางไป บริเวณนี้ในอดีตมีต้นมะม่วง อยู่ตามฝั่งหนองน�้ำมากมาย แล้วมีไก่ป่ามาอาศัยอยู่และวางไข่ตามใต้ ต้นมะม่วง จึงเป็นเหตุให้ชาวบ้านถือเอาเป็นชื่อของวัดและชื่อของหมู่บ้าน ว่า “วัดหนองม่วงไข่” ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา วัดหนองม่วงไข่ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปี พ.ศ. 2468 และ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516 ขึ้น 13 ค�่ำ เดือน 12 ใต้ (เดือนยีเ่ หนือ) ได้รบั พระราชทานกฐินต้น จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ตามเสด็จด้วย

ถาวรวัตถุ/ปูชนียวัตถุภายในวัด อุโบสถวัดหนองม่วงไข่ (หลังใหม่) เป็นอุโบสถทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภาคเหนือ เริ่มก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2550 มีขนาดกว้าง 21 เมตร ยาว 38 เมตร หลวงพ่อพุทธจักรลานนาไทย วันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2512 ได้ท�ำพิธี หล่อพระประธานหน้าตักกว้าง 6 ศอก 9 นิว้ โดยมีสมเด็จพระวันรัต (สมเด็จ พระสังฆราชในสมัยนั้น) เสด็จเป็นองค์ประธานท�ำพิธีเททอง และทรง ประธานพระมงคลนามว่า “หลวงพ่อพุทธจักรลานนาไทย” ก�ำแพงวัด ปีพ.ศ. 2476 สร้างก�ำแพงวัดทั้งสี่ด้าน และปีพ.ศ. 2494 ได้บูรณปฏิสังขรณ์ก�ำแพงวัดทั้งสี่ด้าน โรงเรียนพระปริยัติธรรม ปัจจุบันพระครูสุตพัฒนกิตติ์ ได้ด�ำเนินการ ฟืน้ ฟูโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมขึน้ มาใหม่อกี ครัง้ หนึง่ โดยมีการเรียนการสอน ทัง้ 3 แผนก คือ นักธรรม บาลี และธรรมศึกษา รวมทัง้ โรงเรียนพุทธศาสนา วันอาทิตย์ด้วย กุฏิ พ.ศ. 2496 ได้ก่อสร้างกุฏิขึ้นหลังหนึ่งเป็นกุฏิอดีตเจ้าอาวาส และ ตัง้ แต่ พ.ศ.2550 เป็นต้นมา ได้ใช้เป็น “พิพธิ ภัณฑ์เพือ่ การเรียนรูข้ องชุมชน” ของวัดหนองม่วงไข่

ประวัติเจ้าอาวาส พระครูสุตพัฒนกิตติ์ เจ้าอาวาสวัดหนองม่วงไข่ เจ้าคณะต�ำบลหนองม่วงไข่พระอุปัชฌาย์ นามเดิม ชื่อ พระมหากิตติศักดิ์ ฉายา กิตฺติวฑฺฒโน (ช่างทอง) เกิด วันพุธที่ 9 เดือนเมษายน พ.ศ.2523 ณ บ้านเลขที่ 153 หมู่ 4 ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน บรรพชา วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2536 อุปสมบท วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2543 พระครูอดุลโชติวัฒน์ จอ.ปัว วัดปรางค์ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสภุ ทั รนันทคุณ จต.ศาเพชร วัดป่าเหมือด เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูสุทินนันทธรรม จอ.บ่อเกลือ วัดภูเก็ต เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การศึกษาทางธรรม พ.ศ.2538 สอบได้นักธรรมชั้นเอก, พ.ศ.2551 สอบได้เปรียญ 4 ประโยค การศึกษาทางโลก พ.ศ.2547 จบปริญญาตรีพุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.), พ.ศ.2555 จบปริญญาโทพุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.บ) ต�ำแหน่งการปกครอง พ.ศ.2555 เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองม่วงไข่ พ.ศ.2561 เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองม่วงไข่ พ.ศ.2562 เป็นพระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ พ.ศ.2559 เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ชั้นเอกในพระราชทินนามที่ “พระครูสุตพัฒนกิตติ์” พ.ศ.2561 ปรับพัดยศเป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในพระราชทินนามเดิม PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 173

173

19/6/2562 9:18:27


H I STORY OF BU DDHI S M

วัดต�ำหนักธรรม ศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านต�ำหนักธรรม พระครูปราโมทย์ธรรมโมภาส เจ้าอาวาสวัดต�ำหนักธรรม

บ้านต�ำหนักธรรม หรือบ้านแม่ค�ำมีต�ำหนักธรรม เดิมชื่อบ้านไฮ่ (บ้านไร่) เหตุทชี่ อื่ ว่าบ้านไร่ เพราะราษฎรทีม่ าตัง้ ถิน่ ฐานครัง้ แรกอพยพมา จากบ้านเหมืองค่า บ้านสบู อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ และบ้านตอนิมิต อ�ำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ราษฎรเหล่านั้นได้มาท�ำไร่ท�ำสวนปลูกฝ้าย ปลูกอ้อย ปลูกข้าว ฯลฯ ติดกับบริเวณล�ำห้วยแม่ค�ำ โดยมีประมาณ 20 หลังคาเรือน แล้วเรียกชื่อหมู่บ้านตัวเองว่า “บ้านไร่” ประมาณปี พ.ศ. 2520 174

2

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 174

21/6/2562 17:05:49


ต่อมามีชาวบ้านคนหนึง่ ชือ่ นายเต๋ ได้นำ� แพะมาเลีย้ งทีท่ างทิศตะวันตก ของหมูบ่ า้ น และมีรอ่ งน�ำ้ เล็กๆ อยูข่ า้ งบ้าน จึงเรียกว่าร้อง(ร่อง) ปูเ่ ต๋ ต่อมา มีราษฎรมาอาศัยมากขึน้ แล้วพร้อมใจกันตัง้ ชือ่ หมูบ่ า้ นว่า “บ้านแม่คำ� มีแพะ” ทั้งนี้เพราะมีการเลี้ยงแพะกันมากนั่นเอง เมื่อตั้งหมู่บ้านขึ้นแล้ว ก็ได้ตั้ง วัดขึ้นเป็นครั้งแรกในบริเวณท่าร้างซึ่งอยู่ในซอย 3 ตรงกันข้ามโรงเรียน แม่ค�ำมีต�ำหนักธรรม (ต�ำหนักธรรมวิทยาคาร) ปัจจุบัน หลังจากนั้นก็ย้าย มาตัง้ บริเวณป้อมต�ำรวจในปัจจุบนั ซึง่ ติดกับล�ำห้วยแม่คำ� มีตรงข้ามกับบ้าน มีค�ำมีศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ต่อมามีการตัดถนนและผ่านบริเวณวัด ดังนัน้ จึงย้ายวัดมาตัง้ อยูบ่ ริเวณ ที่ตั้งปัจจุบัน ในปี พ.ศ. 2435 กระทั่งปี พ.ศ. 2469 ได้เปลี่ยนชื่อจาก “บ้าน แม่ค�ำมีแพะ” เป็น “บ้านแม่ค�ำมีต�ำหนักธรรม” สาเหตุที่เปลี่ยนชื่อนั้น สื บ เนื่ อ งมาจาก สมเด็ จ เจ้ า ฟ้ า กรมหลวงนครสวรรค์ ว รนิ มิ ต บริ พั ต ร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี ได้เสด็จประพาสนครน่านโดยช้างและม้า ครั้นเสด็จมาถึง เขตติดต่อระหว่างบ้านแม่ค�ำมีศรีภูมิ อ�ำเภอเมือง ซึ่งติดกับบ้านแม่ค�ำมี ต�ำหนักธรรม อ�ำเภอร้องกวาง ได้ทรงหยุดพักเสด็จและประทับในพลับพลา ทีข่ า้ ราชบริพารทีต่ ามเสด็จและราษฎรสร้างขึน้ ถวาย ชาวบ้านเรียกพลับพลา ที่ประทับว่า “โฮงกุลี” ปัจจุบันที่ทั้งสองแห่งนี้เป็นที่ราชพัสดุ ในปี พ.ศ. 2535 ได้ยกระดับหมู่บ้านขึ้นเป็นต�ำบลต�ำหนักธรรม บ้าน ต�ำหนักธรรม หรือบ้านแม่คำ� มีตำ� หนักธรรม มีนายวุฒิ วงศ์แพระ เป็นผูใ้ หญ่ บ้านคนแรก และเมือ่ ยกระดับขึน้ เป็นต�ำบล มีนายมนัสภุมริ นิ ทร์ เป็นก�ำนัน คนแรก ปัจจุบันภายในวัดต�ำหนักธรรมยังเป็นที่ตั้งของ “พิพิธภัณฑ์ต�ำหนัก ธรรม” ซึ่งจัดแสดงเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวันในอดีต มีทั้งที่ท�ำจากไม้ ไม้ไผ่ และเครื่องปั้นดินเผา ฯลฯ ซึ่งหาชมได้ยากจ�ำนวนมาก PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

2

.indd 175

175

4/7/2562 11:14:01


บันทึกไทยแลนด์ 4.0

NIA เร่งสร้างศักยภาพเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพไทย ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ หรือ สนช. (National Innovation Agency- NIA) ซึง่ เป็นองค์กรหลักในการเสริมสร้างระบบนวัตกรรม แห่งชาติเพือ่ เพิม่ คุณค่าทีย่ งั่ ยืน เร่งปรับโฉมการส่งเสริมและสนับสนุน ผูป้ ระกอบการและสตาร์ทอัพไทย ผ่านแพคเกจใหม่ “Groom Grant Growth” ตัง้ เป้ายกระดับศักยภาพผูป้ ระกอบการและสตาร์ทอัพไทย ทั้งในธุรกิจนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจและสังคม พร้อมเดินหน้าเร่ง สร้างศักยภาพเอสเอ็มอีและสตาร์ทอัพไทยผ่านการบ่มเพาะ เงินทุน อุดหนุน และโอกาสการต่อยอดทางธุรกิจนวัตกรรม เตรียมต่อยอด ขยายโปรแกรมอบรมผ่ า นออนไลน์ เพิ่ ม โอกาสการเข้ า ถึ ง การ สนับสนุน NIA เร่งปรับแผนงานและแนวทางสนับสนุนให้สอดคล้องกับความ ต้องการในปัจจุบัน และเป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการสนับสนุน ในกลุ ่ ม ผู ้ ป ระกอบการและสตาร์ ท อั พ อี ก ด้ ว ย โดยขณะนี้ ถื อ ว่ า มีความพร้อมทัง้ ในด้านบุคลากร โครงการ และปัจจัยทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับ การสนับสนุนครบทุกมิติ ถือเป็นอีกหนึง่ โอกาสส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้ความ สามารถทางนวัตกรรมของผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไปถึงเป้า หมายได้รวดเร็วขึน้

176

aec.indd 176

การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรม ด้านเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพที่จะเข้ามาขอรับการ สนับสนุน จะต้องผ่านการอบรมบ่มเพาะ (Groom) ในโปรแกรม นวัตกรรมส�ำหรับผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ เพื่อติวเข้มเรียนรู้ และเข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรม พร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อ เสนอโครงการนวัตกรรมเพือ่ ขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) ซึง่ จะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) ธุรกิจนวัตกรรมมุง่ เป้าและ 2) ธุรกิจ นวั ต กรรมแบบเปิ ด ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการหรื อ สตาร์ ท อั พ ที่ มี ศักยภาพในการขยายผล จะส่งต่อผ่านการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรม ผ่านเครือข่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ (Growth) เช่น โครงการ พัฒนาศักยภาพวิสาหกิจเริม่ ต้นสูก่ ารลงทุน การพัฒนาความร่วมมือ ด้านนวัตกรรมกับหน่วยงานต่างประเทศ โครงการพัฒนาการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐส�ำหรับวิสาหกิจ (GPT) และกลไกการสนับสนุนด้าน การเสริมสร้างศักยภาพด้านนวัตกรรม (Mind Credit) ส�ำหรับการส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเพื่อสังคม จะมี การด� ำ เนิ น การสนั บ สนุ น ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ นวัตกรรมด้านเศรษฐกิจ แต่จะมีการอบรมบ่มเพาะผู้ประกอบการ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

1/7/2562 16:01:33


ผ่านเครือข่ายที่เรียกว่า “หน่วยขับเคลื่อนนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Driving Unit) ” ที่กระจายอยู่ใน 5 ภูมิภาค ทั้งภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก และใต้ เพื่อส่ง ต่อมายังส่วนการสนับสนุนด้านเงินทุนต่อไป โดยเมื่อไม่นานมานี้ NIA โดยทีมฝ่ายนวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจ ร่วมกับเครือข่ายนวัตกรรม หอการค้าไทยจัดกิจกรรมสัมมนา เชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาโครงการนวัตกรรม Innovation 101” เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพแก่ ผู้ ป ระกอบการในการพั ฒ นาโครงการ นวัตกรรม ให้เข้าใจบทบาทในการส่งเสริมนวัตกรรมแก่ผู้ประกอบ การ ผ่านกลไกการสนับสนุนทุน Open Innovation ทั้งนี้ มีผู้ประกอบการให้ความสนใจสมัครเข้ามาเพื่อยกระดับ ความสามารถทางนวัตกรรมทั้งสิ้น 70 ราย โดยผ่านการคัดเลือก จากหอการค้ า ไทยเพื่ อ เข้ า สั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร “การพั ฒ นา โครงการนวัตกรรม รุ่นที่ 2” จ�ำนวน 50 ราย หลังจากการสัมมนาฯ ผู้เข้าร่วมได้จะเข้าสู่การพิจารณาของคณะท�ำงานพิจารณาและ กลั่นกรองข้อเสนอโครงการเบื้องต้น (concept idea) ซึ่งโครงการที่ ได้รับการอนุมัติข้อเสนอโครงการเบื้องต้นนี้จะเข้าสู่การอบรมการ พัฒนาโครงการนวัตกรรมแบบเข้มข้น (innovation 102) เพือ่ พัฒนา

ข้อเสนอโครงการนวัตกรรม รูปแบบธุรกิจ การวางแผนการลงทุน และเทคนิ ค การ pitching จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญของหอการค้ า ไทย และ สนช. เพือ่ น�ำเข้าสูก่ ารพิจารณาของคณะอนุกรรมการพิจารณา และกลั่นกรองโครงการนวัตกรรมด้านเศรษฐกิจต่อไป นับเป็นโอกาสดีที่ผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพจะได้เรียนรู้และ เข้าใจมุมมองด้านนวัตกรรม พร้อมเทคนิคแนวทางการเขียนข้อเสนอ โครงการนวัตกรรม เพื่อขอรับการสนับสนุนด้านเงินทุน (Grant) อีกทั้งผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพในการขยายผล ก็จะได้รับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมผ่านเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างประเทศ (Growth) อีกด้วย

*ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ econ.nia.or.th PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

aec.indd 177

177

1/7/2562 16:01:33


ท่องเที่ยวทางใจ 369 วัด "มนตร์เสน่ห์เมืองสวยกลางหุบที่เงียบสงบ จังหวัดแพร่"

369 วั ด

PHRAE จังหวัดแพร่

หม้อห้อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี้ ใจงาม อ�ำเภอเมืองแพร่ วัดกวีรัตน์ ม.1 ต.นาจักร วัดกาซ้อง ม.4 ต.เหมืองหม้อ วัดกาซ้องเหนือ ม.3 ต.แม่หล่าย วัดกาญจนาราม ม.6 ต.กาญจนา วัดจอมเขา ม.11 ต.ช่อแฮ่ วัดจอมสวรรค์ ม.4 ต.ทุ่งกราว วัดชัยมงคล ต.ในเวียง วัดเชตวัน ต.ในเวียง วัดดงใต้ ม.8 ต.สวนเขื่อน วัดดงเหนือ ม.4 ต.สวนเขื่อน วัดดอนดี ม.1 ต.กาญจนา วัดต้นไคร้ ม.5 ต.ช่อแฮ วัดต้นธง ต.ในเวียง วัดต้นม่วง ม.2 ต.แม่คำ� มี วัดต้นห้า ม.8 ต.ป่าแมต

178

วัดถิ่นนอก ม.2 ต.บ้านถิ่น วัด ถิ่นใน ม.1 ต.บ้านถิ่น วัดท่าขวัญ ม.1 ต.ท่าข้าม วัดทุ่งกราว ม.1 ต.ทุ่งกราว วัดทุ่งล้อม ม.6 ต.ห้วยม้า วัดทุ่งโฮ้งใต้ ม.5 ต.ทุ่งโฮ้ง วัดทุ่งโฮ้งเหนือ ม.5 ต.ทุ่งโฮ้ง วัดธรรมเมือง ม.4 ต.ช่อแฮ วัดธรรมานุภาพ ม.9 ต.ช่อแฮ วัดนันทาราม ม.3 ต.แม่ยม วัดนาคูหา ม.5 ต.สวนเขื่อน วัดนาแคม ม.6 ต.สวนเขื่อน วัดนาจักร ม.3 ต.นาจักร วัดนาแหลมเหนือ ม.3 ต.ทุ่งกราว วัดน�้ำโค้ง ม.1 ต.ป่าแมต วัด น�้ำช�ำ ม.1 ต.น�้ำช�ำ วัด น�้ำช�ำ ม.2 ต.ป่าแมต วัดบ้านใน ม.6 ต.ช่อแฮ

วัดบ้านเหล่า ม.5 ต.นาจักร วัดบุญเจริญ ม.1 ต.แม่หล่าย วัดบุญรักษา ม.7 ต.ป่าแมต วัดปทุม ม.11 ต.เหมืองหม้อ วัดปากห้วย ม.3 ต.วังธง วัดป่าแดง ม.2 ต.ป่าแดง วัดโปร่งศรี ม.6 ต.บ้านถิ่น วัดไผ่ล้อม ม.2 ต.ท่าข้าม วัดพงชัย ม.4 ต.ห้วยม้า วัดพงษ์สุนันท์ ต.ในเวียง วัดพนมขวัญ ม.3 ต.ห้วยม้า วัดพระธาตุจอมแจ้ง ม.5 ต.ช่อแฮ วัดพระธาตุช่อแฮ ม.1 ต.ช่อแฮ วัดพระธาตุถิ่นหลวง ม.3 ต.บ้านถิ่น วัดพระนอน ต.ในเวียง วัดพระบาทมิ่งเมือง ต.ในเวียง วัดพระร่วง ต.ในเวียง วัดพันเชิง ม.3 ต.ช่อแฮ

วัดมณีวรรณ ม.4 ต.ป่าแมต วัดมหาโพธิ์ ม.5 ต.ป่าแมต วัดเมธากรังวาส ต.ในเวียง วัดแม่แคน ม.7 ต.สวนเขื่อน วัดแม่หล่าย ม.2 ต.แม่หล่าย วัดร่องซ้อ ต.ในเวียง วัดร่องฟอง ม.4 ต.ร่องฟอง วัดวังช้าง ม.3 ต.แม่ค�ำมี วัดวังธง ม.7 ต.วังธง วัดวังเย็น ม.1 ต.ห้วยม้า วัดวังหงษ์ ใต้ ม.7 ต.วังหงษ์ วัดวังหงษ์เหนือ ม.2 ต.วังหงษ์ วัดเวียงตั้ง ม.1 ต.วังธง วัดศรีชุม ต.ในเวียง วัดศรีบุญเรือง ต.ในเวียง วัด ศรีภูมิ ม.4 ต.แม่ค�ำมี วัด ศรีสิทธิ์ ม.5 ต.ห้วยม้า วัด ศุภศิริ ม.5 ต.กาญจนา วัดสระบ่อแก้ว ต.ในเวียง

วัดสวนเขื่อน ม.1 ต.สวนเขื่อน วัดสวรรคืนิเวศน์ ม.4 ต.ทุ่งกราว วัดสองแคว ม.7 ต.ป่าแมต วัดสันกลาง ม.9 ต.ป่าแดง วัดสันป่าสัก ม.1 ต.แม่ค�ำมี วัดส�ำเภา ม.1 ต.เหมืองหม้อ วัดสุนทรนิวาส ม.3 ต.ห้วยม้า วัดสุพรรณ ม.12 ต.ป่าแมต วัดสุวรรณาราม ม.1 ต.ช่อแฮ วัดเสด็จ ม.4 ต.นาจักร วัดหนองกลาง ม.3 ต.แม่ยม วัดหนองแขม ม.1 ต.ป่าแดง วัดหนองบ่อ ม.4 ต.กาญจนา วัดหลวง ต.ในเวียง วัดหัวข่วง ต.ในเวียง วัดหัวฝาย ต.กาญจนา วัดเหมืองค่า ม.6 ต.เหมืองหม้อ วัดเหมืองแดง ต.ในเวียง วัดเหมืองหม้อ ม.8 ต.เหมืองหม้อ

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 178

1/7/2562 10:12:44


THE IMPORTANT TEMPLES PHRAE

อ�ำเภอสอง วัดกลาง ม.5 ต.บ้านกลาง วัดข่วงธรรมวนาราม ม.5 ต.เตาปูน วัดคุ้มครองธรรม ม.2 ต.บ้านกลาง วัดดงเจริญ ม.3 ต.หัวเมือง วัดดอนแก้ว ม.6 ต.ห้วยหม้าย วัดดอนชัย ม.1 ต.สะเอียบ วัดแดนชุมพล ม.4 ต.แดนชุมพล วัดต้นหนุน ม.5 ต.ห้วยหม้าย วัดเตาปูน ม.3 ต.เตาปูน วัดท่อสมาน ม.2 ต.เตาปูน วัดทุ่งน้าว ม.1 ต.ทุ่งน้าว

วัดเทพสุนทรินทร์ ม.6 ต.บ้านกลาง วัดโทกค่า ม.2 ต.แดนชุมพล วัดนาฝาย ม.2 ต.สะเอียบ วัดนาสวรรค์ ม.4 ต.เตาปูน วัดนาหลวง ม.4 ต.สะเอียบ วัดป่าแดงใต้ ม.3 ต.แดนชุมพล วัดป่าเลา ม.3 ต.สะเอียบ วัดพรธาตุพระลอ ม.1 ต.บ้านกลาง วัดพระธาตุหนองจันทร์ ม.2 ต.บ้านหนุน วัดมัทธะ ม.3 ต.หัวเมือง วัดแม่เต้น ม.5 ต.สะเอียบ วัดร่องเย็น ม.5 ต.ทุ่งน้าว

วัดวังดิน ม.9 ต.บ้านกลาง วัดวังฟ่อน ม.7 ต.หัวม่วง วัดศรีบุญเรือง ม.4 ต.บ้านหนุน วัดสันปู่สี ม.6 ต.หัวมือง วัดหนองบัว ม.8 ต.หัวเมือง วัดหนองสุวรรณ ม.8 ต.บ้านกลาง วัดหนุนใต้ ม.11 ต.บ้านหนุน วัดหนุนเหนือ ม.1 ต.บ้านหนุน วัดห้วยขอน ม.3 ต.ห้วยหม้าย วัดห้วยโป่ง ม.7 ต.สะเอียบ วัดห้วยหม้าย ม.7 ต.ห้วยหม้าย วัดหัวเมือง ม.1 ต.หัวเมือง วัดอัมพวัน ม.7 ต.เตาปูน

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 179

179

1/7/2562 10:12:48


ท่องเที่ยวทางใจ 369 วัด "มนตร์เสน่ห์เมืองสวยกลางหุบที่เงียบสงบ จังหวัดแพร่"

อ�ำเภอลอง วัดแก่งหลวง ม.5 ต.แม่ปาน วัดแขมบัณฑิตตะนาราม ม.5 ต.บ่อเหล้กลอง วัดเตวัน ม.3 ต.หัวทุ่ง วัดดงลาน ม.4 ต.บ้านปิน วัดดอนมูล ม.10 ต.ห้วยอ้อ วัดต้นม่วงคีรี ม.7 ต.หัวทุ่ง วัดต้าแป้น ม.1 ต.เวียงต้า วัดต้าม่อน ม.3 ต.เวียงต้า วัดต้าเวียง ม.3 ต.เวียงต้า วัดต้าเหล่า ม.2 ต.เวียงต้า

180

วัดท่าเดื่อ ม.3 ต.ปากกาง วัดทุ่งแล้ง ม.2 ต.ทุ่งแล้ง วัดนาแก ม.3 ต.ห้วยอ้อ วัดนาตุ้ม(นาทุ่ม) ม.8 ต.หัวทุ่ง วัดนาบุญ ม.6 ต.หัวทุ่ง วัดนาสาร ม.1 ต.บ้านปิน วัดนาหลวง ม.4 ต.ห้วยอ้อ วัดน�้ำริน ม.2 ต.ต้าผามอก วัดบ่อแก้ว ม.2 ต.บ้านปิน วัดบ้านปง ม.3 ต.ต้าผามอก วัดบ้านอิม ม.5 ต.ต้าผามอก วัดบุยเย็น ม.2 ต.ปากกาง วัดปากจอก ม.3 ต.ทุ่งแล้ง

วัดปากปง ม.6 ต.ปากกาง วัดผาคัน ม.10 ต.บ้านปีน วัดผาจั๊บ ม.6 ต.ทุ่งแล้ง วัดผามอก ม.1 ต.ต้าผามอก วัดผาลายค�ำ ม.6 ต.เวียงต้า วัดไผ่ล้อม ม.2 ต.หัวทุ่ง วัดพรหมสวรรค์ ม.6 ต.แม่ปาน วัดโพธิบุปผาราม ม.5 ต.ป้านปีน วัดโพธิสาร ม.5 ต.ทุ่งแล้ง วัดแม่เกี๋ยม ม.1 ต.ห้วยอ้อ วัดแม่จอก ม.4 ต.หัวทุ่ง วัดแม่ปาน ม.2 ต.แม่ปาน วัดแม่ลอง ม.4 ต.บ่อเหล็กลอง

วัดแม่ลานใต้ ม.12 ต.ห้วยอ้อ วัดแม่ลานเหนือ ม.11 ต.ห้วยอ้อ วัดแม่หลู้ ม.11 ต.บ่นปีน วัดแม่หีด ม.9 ต.ป้านปีน วัดร่องบอน ม.1 ต.ปากกาง วัดลองลืมบุญ ม.3 ต.บ้านหนุน วัดลูนิเกด ม.3 ต.ห้วยหม้าย วัดเคียน ม.4 ต.ปากกาง วัดวังต้นเกลือ ม.7 ต.ปากกาง วัดวังเลียง ม.7 ต.ทุ่งแล้ง วัดศรีดอนแก้ว ม.5 ต.หัวทุ่ง วัดศรีดอนค�ำ ม.7 ต.ห้วยอ้อ วัดศรีดอนไชย ม.1 ต.ทุ่งแล้ง

วัดศรีวิสุทธาราม ม.5 ต.เวียงต้า วัดสะแล่ง ม.4 ต.ห้วยอ้อ วัดห้วยแม่ต้า ม.7 ต.บ้านปีน วัดหัวฝาย ม.7 ต.เวียงต้า วัดหาดผาคัน ม.8 ต.ทุ่งแล้ง วัดแหลมลี่ ม.9 ต.ปากกาง วัดใหม่เจริญธรรม ม.4 ต.ทุ่งแล้ง วัดใหม่พม่า ม.6 ต.ต้าผามอก วัดอินทปัญญาราม ม.12 ต.บ้านปีน วัดไฮสร้อย ม.5 ต.ปากกาง

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 180

1/7/2562 10:12:51


THE IMPORTANT TEMPLES PHRAE

อ�ำเภอสูงเม่น วัดกาศใต้ ม.3 ต.บ้านกาศ วัดกาศเหนือ ม.9 ต.บ้านกาศ วัดกุญชรนิมิต ม.5 ต.บ้านกวาง วัดเกษมสุข ม.1 ต.น�้ำช�ำ วัดแก้วมงคล ม.7 ต.ดอนมูล วัดเขื่อนค�ำลือ ม.7 ต.เวียงทอง วัดค่างาม ม.1 ต.ดอนมูล วัดช่องลม(นาลาว) ม.2 ต.หัวฝาย วัดโชคเกษม ม.6 ต.สูงเม่น วัดไชยามาตย์ ม.1 ต.เวียงทอง วัดดอนแก้ว ม.2 ต.กาญจนา วัดดอนชัย ม.7 ต.หัวฝาย วัดดอนทัน ม.7ต.ร่องกาศ วัดดอนแท่น ม.2 ต.ดอนมูล วัดตอนิมิต ม.1 ต.ร่องกาศ วัดทองเกศ ม.3 ต.เวียงทอง วัดทุ่งเจริญ ม.4 ต.หัวฝาย วัดน�ำ้ ช�ำ ม.1 ต.น�ำ้ ช�ำ วัดนิวิฐศรัทธาราม ม.4 ต.ร่องกาศ วัดบวกโป่ง ม.9 ต.น�ำ้ ช�ำ วัดปงท่าข้าม ม.2 ต.บ้านปง วัดป่าเวียงทอง ม.9 ต.เวียงทอง วัดผาสุก ม.8 ต.เวียงทอง วัดพงพร้าว ม.6 ต.ร่องกาศ วัดพงหัวหาด ม.3 ต.บ้านปง วัดพระธาตุดอนแก้ว ม.14 ต.น�้ำช�ำ วัดพระหลวง ม. 8 ต.ดอนมูล วัดพิชัยศิริ ม.5 ต.บ้านเหล่า วัดโพธิสุนทร ม.5 ต.เวียงทอง วัดมงคลถาวร ม.4 ต.บ้านกวาง วัดมณีอรัญญิการาม ม.3 ต.บ้านเหล่า วัดม่วงเกษม ม.4 ต.บ้านกาศ วัดร่องกาศใต้ ม.5 ต.ร่องกาศ วัดร่องแค ม.7 ต.น�้ำช�ำ วัดร่องแดง ม.6 ต.น�้ำช�ำ วัดร่องเสี้ยว ม.5 ต.น�้ำช�ำ วัดวังวน ม.3 ต.สบสาย วัดวุมิมงคล ม.6 ต.ดอนมูล วัดเวฬุวัน ม.5 ต.น�ำ้ ช�ำ

วัดศรีสว่าง (แตนมด) ม.4 ต.สูงเม่น

วัดโภนาลัย ม.2 ต.ทุ่งกราว วัดสร่างโศก ม.6 ต.สูงเม่น วัดสิทธิวิมล ม.1 ต.บ้านเหล่า วัดสุงเม่น ม.3 ต.สุงเม่น วัดหนองช้างน�ำ้ ม.4 ต.บ้านกาศ วัดหาดลี่ ม.4 ต.สบสาย

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 181

181

1/7/2562 10:12:53


ท่องเที่ยวทางใจ 369 วัด "มนตร์เสน่ห์เมืองสวยกลางหุบที่เงียบสงบ จังหวัดแพร่"

อ�ำเภอเด่นชัย วัดจอมคีรีชัย ม.5 ต.เด่นชัย วัดชัยเขต ม.7 ต.แม่จั๊วะ วัดดงสุระ ม.2 ต.แม่จั๊วะ วัดเด่นชัย ม.1 ต.เด่นชัย วัดเด่นชุมพล ม.4 ต.ปงป่าหวาย วัดเด่นทัพเด่นชัย ม.8 ต.เด่นชัย วัดไทรย้อย ม.2 ต.ไทรย้อย วัดน�ำ้ โค้ง ม.4 ต.เด่นชัย วัดน�ำ้ พร้าว ม. 6 ต.ไทรย้อย วัดบ่อแก้ว ม.4 ต.ไทรย้อย วัดน�ำ้ แรม ม.9 ต.ห้วยไร่ วัดบุญคุ้มวนาราม ม.10 ต.แม่จั๊วะ วัดปางเคาะ ม.3 ต.ไทรย้อย วัดป่าไผ่ ม.5 ต.ไทรย้อย

182

วัดพงป่าหวาย ม.6 ต.ปงป่าหวาย วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี ม.5 ต.เด่นชัย

วัดแพร่ธรรมาราม ม.5 ต.เด่นชัย วัดแพะร่องหิน ม.6 ต.แม่จั๊วะ วัดแพะโรงสูบ ม.6 ต.เด่นชัย วัดแพะหนองบ่อ ม.1 ต.แม่จั๊วะ วัดแม่จั๊วะธรรมาราม ม.10 วัดแม่พวก ม.5 ต.ห้วยไร่ วัดแม่ยุ้น ม.9 ต.ปงป่าหวาย วัดศรีเกษม ม.1 ต.ไทรย้อย วัดศรีคิรินทราราม ม.11 ต.เด่นชัย วัดสวนหลวง ม.2 ต.ปงป่าหวาย วัดใหม่วงศ์วรรณ ม.5 ต.แม่จั๊วะ วัดอัมพวนาราม ม.1 ต.ปงป่าหวาย วัดอินทนิเวศน์ ม.10 ต.เด่นชัย

อ�ำเภอร้องกวาง วัดกาศผาแพร่ ม.4 ต.ร้องกวาง วัดดอนชุม ม.4 ต.แม่ยางร้อง วัดต้นเดื่อต้นผึ้ง ม.4 ต.ทุ่งคีรี วัดทุ่งศรี ม.3 ต.ทุ่งศรี วัดไทรพร้าว ม.1 ต.ไผ่โทน วัดน�ำ้ เลา ม.2 ต.น�้ำเลา วัดบุญแจ่ม ม.1 ต.น�้ำเลา วัดบุญภาค ม.2 ต.แม่ยางร้อง วัดบุญเริง ม.4 ต.บ้านเวียง วัดปากห้วยอ้อย ม.5 ต.บ้านเวียง วัดปางยาว ม.6 ต.ไผ่โทน วัดป่าวัฒนาราม ม.1 ต.ร้องกวาง วัดผาราง ม.2 ต.ทุ่งศรี วัดผาหมูสามัคคี ม.8 ต.ร้องกวาง

วัดไผ่โทน ม.2 ต.ไผ่โทน วัดไผ่ย้อย ม.4 ต.น�้ำเลา วัดพระธาตุปูแจ ม.4 ต.บ้านเวียง วัดพระธาตุเลาใต้ ม.6 ต.น�้ำเลา วัดพระพุทธวิชิตมาร ม.5 ต.ร้องเข็ม วัดแพร่แสงเทียน ม.11 ต.แม่ยางฮ่อ วัดแม่ทราย ม.1 ต.แม่ทราย วัดแม่ยางกราว ม.7 ต.แม่ยางตาล วัดแม่ยางตาล ม.3 ต.แม่ยางตาล วัดยางโทน ม.4 ต.แม่ยางตาล วัดแม่ยางเปี้ยว ม. 4 ต.แม่ยางฮ่อ วัดยางพัฒนา ม.5 ต.แม่ยางฮ่อ วัดแม่ยางยวง ม.2 ต.แม่ยางร้อง

วัดร้องกวาง ม.7 ต.ร้องกวาง วัดร่องเข็ม ม.2 ต.ร่องเข็ม วัดวังโป่ง ม.5 ต.ร้องกวาง วัดวังพึ่ง ม.4 ต.ไผ่โทน วัดวังหม้อ ม.1 ต.ทุ่งศรี วัดวิเวก ม.8 ต.ไผ่โทน วัดเวียงสันทราย ม.2 ต.บ้านเวียง วัดศรีดอนมูล ม.4 ต.ร้องเข็ม วัดสันกวาง ม.4 ต.แม่ยางร้อง วัดสันพยอม ม.3 ต.ร้องเข็ม วัดหนองเจริญ ม.2 ต.แม่ยางตาล วัดห้วยกิ้วนาราม ม.1 ต.ห้วยโรง วัดห้วยเอียด ม.7 ต.ไผ่โทน วัดอ้อยหลวง ม.1 ต.บ้านเวียง

วัดยางโพธิ์พัฒนาราม ม.4 ต.ร้องกวาง

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 182

1/7/2562 10:12:57


THE IMPORTANT TEMPLES PHRAE

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 183

183

1/7/2562 10:13:00


ท่องเที่ยวทางใจ 369 วัด "มนตร์เสน่ห์เมืองสวยกลางหุบที่เงียบสงบ จังหวัดแพร่"

อ�ำเภอม่วงไข่ วัดต�ำหนักธรรม ม.2 ต�ำบลแม่ค�ำมี

วัดทุ่งแค้ว ม.2 ต�ำบลวังหลวง

วัดปทุมธรรมาราม ม.4 ต�ำบลหนองม่วงไข่

วัดแม่ค�ำมี ม.1 ต�ำบลแม่คำ� มี

วัดย่านยาว ม.3 ต�ำบลน�้ำรัด

วัดรัตนสุนทร ม.2 ต�ำบลน�้ำรัด

วัดวังหลวง ม.3 ต�ำบลวังหลวง

วัดสะเลียม ม.1 ต�ำบลต�ำหนักธรรม

วัดหนองม่วงไข่ ม.1 ต�ำบลหนองม่งไข่

184

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

.indd 184

1/7/2562 10:13:11


THE IMPORTANT TEMPLES PHRAE

อ�ำเภอวังชิ้น วัดค้างค�ำปัน วัดค้างปินใจ ม.4 ต�ำบลแม่พุง วัดจิตตวิเวการาม ม.10 ต�ำบลป่าสัก วัดชัยสิทธิ์ ม.4 ต�ำบลแม่ปาก วัดแช่ฟ้า ม.6 ต�ำบลแม่ปาก วัดดงยาง ม.7 ต�ำบลนาพูน วัดดอนกว้าง ม.5 ต�ำบลนาพูน วัดนาใหม่ ม.8 ต�ำบลวังชิ้น วัดบางสนุก ม.7 ต�ำบลวังชิ้น

วัดบุญเรือง (ศรีบุญเรือง) ม.5 ต�ำบลสรอย วัดปางมะโอ ม.12 ต�ำบลแม่พุง วัดปางไม้ ม.2 ต�ำบลป่าสัก วัดปางไฮ ม.8 ต�ำบลแม่พุง วัดป่าไผ่ ม.11 ต�ำบลแม่พุง วัดป่าม่วง ม.9 ต�ำบลแม่พุง วัดป่าไร่หลวง ม.6 ต�ำบลนาพูน วัดป่าสัก ม.8 ต�ำบลป่าสัก วัดเปาปม ม.7 ต�ำบลนาพูน วัดพระธาตุพระกัปป์ ม.6 ต�ำบลแม่เกิง๋

วัดพันเจน ม.8 ต�ำบลแม่เกิ๋ง วัดม่วงค�ำ ม.10 ต�ำบลสรอย วัดแม่กระต๋อม ม.6 ต�ำบลสรอย วัดแม่เกิ๋ง ม.2 ต�ำบลแม่เกิ๋ง วัดแม่ขมวก ม.6 ต�ำบลสรอย วัดแม่ขมิง ม.2 ต�ำบลสรอย วัดแม่บงใต้ ม.3 ต�ำบลแม่ป้าก วัดแม่บงเหนือ ม.2 ต�ำบลแม่ป้าก วัดแม่แปง ม.1 ต�ำบลวังชิ้น วัดแม่พุง ม.10 ต�ำบลแม่พุง วัดรัมณีย์ ม.7 ต�ำบลแม่พุง

วัดวักวาง ม.3 ต�ำบลแม่พุง วัดวังขอน ม.1 ต�ำบลแม่พุง วัดวังชิ้น ม.2 ต�ำบลวังชิ้น วัดวังเบอะ ม.3 ต�ำบลวังชิ้น วัดวังแฟน ม.5 ต�ำบลวังชิ้น วัดวังลึก ม.4 ต�ำบลนาพูน วัดศรีคีรี ม.5 ต�ำบลแม่ป้าก วัดศรีบุญน�ำ ม.3 ต�ำบลสรอย วัดศรีสูงกลาง ม.6 ต�ำบลนาพูน วัดสวนธรรมาราม ม.4 ต�ำบลแม่เกิง่ วัดสองแควบน ม.4 ต�ำบลป่าสัก

วัดสองแควล่าง ม.7 ต�ำบลป่าสัก วัดสัมฤทธิ์บุญ ม.10 ต�ำบลแม่ป้าก วัดสีทิใน ม.4 ต�ำบลวังชิ้น วัดสีทพิ นั ธ์มงคลคีรี ม.9 ต�ำบลวังชิน้ วัดสูงเหนือวรรณาราม ม.6 ต�ำบลนาพูน วัดหาดรั่ว ม.6 ต�ำบลนาพูน วัดใหม่กลาง ม.1 ต�ำบลวังชิ้น วัดอมรธรรม ม.3 ต�ำบลนาพูน

PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

.indd 185

185

1/7/2562 10:13:15


วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง

Wat Phra That Cho Hae

186

12

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

+4

.indd 186

29/6/2562 9:52:33


PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย

12

+4

.indd 187

187

29/6/2562 9:52:34


สุโทนพระธาตุแก้ว พุทธศิลปะส�ำคัญ แพร่พุทธปรัชญาอัน แพร่น่านยืนอยู่ค�้ำ ชีวิตเกิดดับม้วย ดื่มทิพย์จิบฝันมา ภัทรกัปพระศรีอา บุญแบ่งทานอุทิศรั้ง Wat Phra That Suthon Mongkol Kiri

188

วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ

ไกลวัล ค่าล�้ำ เอกอุต ตมะแฮ อสงไขย มรณา หมื่นครั้ง ริยะยุค ใหม่พ่อ ร่วมเทอญ วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรีฯ ตั้งอยู่บนถนนสายแพร่-ล�ำปาง ต�ำบลไทรย้อย อ�ำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ 54110

SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่

รวม 11 สุดยอดพุทธศิลป์ล้านนาไว้ ในหนึ่งเดียว

.indd 188

1/7/2562 10:29:50


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.