นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดสระบุรี ประจ�ำปี 2564
SARABURI สระบุรี EXCLUSIVE องค์กรขับเคลื่อนพระพุทธศาสนา
สู่ความมั่นคง สังคมด�ำรงศีลธรรม น�ำสันติสุขอย่างยั่งยืน
นางสาวพัชรา สุคันธี ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี
ศูนย์รวมใจแห่งศรัทธา
วัดป่าสว่างบุญ นมัสการ
“พระมหารัตนโลหะเจดีย์ ศรีศาสนโพธิสัตว์สว่างบุญ”
เจดีย์ 500 ยอด
ชม พระพุทธสีหไสยาสน์ (พระนอน) ความยาว 209 เมตร
Vol.11 Issue 118/2021
www.issuu.com
.indd 3
22/12/2563 13:56:07
ไออุ่นรีสอร์ท
i-oon resort
ะเก็ด
saraburi
ยินดีต้อนรับลูกค้าทุกท่าน ให้รีสอร์ทของเราเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของท่าน มอบความสุขให้แก่ทา่ น ด้วยบ้านพักทีส่ ะอาด สบาย มีสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกครบครันวงจร ซึ่งโอบล้อมด้วยธรรมชาติ สูดอากาศบริสุทธิ์
ห้องพักหลากหลายสไตล์ แบบเป็นหลัง มี 37 หลัง แบบห้องพัก 20 ห้อง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในมีหลากหลาย บริการ สระว่ายน�้ำแบบสระเกลือ ทั้งสระเด็กและสระผู้ ใหญ่ บริการฟิตเนส อาหารเช้าแบบบุฟเฟต์ ร้านอาหารเปิดบริการตั้งแต่ 10.00-23.00 น. อาหารหลากหลากสไตล์ และมีห้องประชุม ส�ำหรับจัดงาน งานประชุมสัมมนา งานเลี้ยง งานแต่ง บริการห้องพัก ห้องประชุม พร้อมสระว่ายน�้ำ และฟิตเนส ตั้งอยู่ที่ 41 หมู่ 1 ต�ำบลตะกุด อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี 18000 สอบถามและส�ำรองห้องพัก : 036-340209, 065-5136097 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย 3 : ไออุ่นรีสอร์ท : @ioon-resort : i-oon_resort@hotmail.com
1
(
3).indd 3
21/12/2563 16:06:25
QR code
มี แอนด์ ทรี วิลล่า
“ ที่พักแสนสบาย ในตัวเมืองแก่งคอย ” where peace and convenience meet
4
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
2
.indd 4
21/12/2563 18:40:54
“ Special place For Special People”
สถานที่เที่ยวใกล้ๆ น�ำ้ ตกเจ็ดสาวน้อย น�ำ้ ตกมวกเหล็ก วนอุทยานแห่งชาติเจ็ดคต-โป่งก้อนเส้า วัดพระพุทธฉาย วัดถ�ำ้ พระโพธิสัตว์ วัดป่าสว่างบุญ มี แอนด์ ทรี วิลล่า “Me and Tree Villa” : 24/1 ถนนวัชรอุทัยกุล ต�ำบลแก่งคอย อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี 18110 : มี แอนด์ ทรี วิลล่า “Me and Tree Villa” : meandtree โทรศัพท์ 036-670671
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 5 081-4144293
2
.indd 5
21/12/2563 18:41:06
ะเก็ด
บริการห้องพักทีท่ นั สมัย ตัง้ อยูใ่ จกลางเมือง ใกล้สถานทีส่ ำ� คัญในตัวเมืองสระบุรี เช่น โรงพยาบาลสระบุรี โรงเรียน วิทยาลัย สถานีตำ� รวจ เป็นต้น เราใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นภายในห้องพักทุกห้องจึงเป็นห้องปลอดบุหรี่ ส�ำหรับท่านที่รักการออกก�ำลังกายทางโรงแรมก็มีสระว่ายน�้ำ และห้องฟิตเนตพร้อมอุปกรณ์ออกก�ำลังกายครบครันไว้บริการอีกด้วย
6
1
โรงแรมใกล้กันเพลส Glai Gan Place Hotel เลขที่ 66 ซอย 1 ถนนเทศบาล 4 ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี สอบถามและส�ำรองห้องพัก : 090 249 2497 , 036 212 141
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
.indd 6
21/12/2563 18:46:18
Rongsang Resort ร่องแซงรีสอร์ท จังหวัดสระบุรี “ รีสอร์ทในทุ่งกว้างกับการพักผ่อนวิถีชีวิตใหม่ พร้อมสระว่ายน�้ำกลางแจ้งเพื่อผ่อนคลาย ที่พักส�ำหรับผู้เดินทางไกลต้องการพักผ่อนระหว่างทาง ”
เดินทางทั้งทีก็ต้องให้มีที่พักผ่อนให้หายเหนื่อย เติมพลังส�ำหรับวันใหม่ ร่องแซงรีสอร์ท เราทุ่มเทจัดให้ ในสิ่งที่คุณต้องการ พร้อมห้องพักสะอาด สะดวกสบาย ร่มรื่น นอนหลับ พักผ่อนสบายๆ ด้วยที่นอน Slumberland สิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน พร้อมอาหารเช้า สะอาด สดใหม่ ส�ำหรับทุกท่าน ภายในห้อง/ที่พัก มีทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น กาต้มน�้ำร้อน free Wi-Fi ที่นอน Spring ของ Slumberland และสระว่ายน�้ำกลางแจ้งที่อยู่ใจกลางรีสอร์ทให้ทุกท่านได้ผ่อนคลาย ตลอด 24 ชั่วโมง
ร่องแซงรีสอร์ท จังหวัดสระบุรี เพราะเราอยู่ใกล้...นิคม WHA เหมราชหนองแค และ นิคมอุตสาหกรรมหนองแค ใกล้วัดพระพุทธแสงธรรม หลวงพ่อส�ำเร็จศักดิ์สิทธิ์ หลวงพ่อรวยวัดตะโก
ที่อยู่ติดต่อ 2/3 หมู่ 2 ต�ำบลหนองปลาหมอ อ�ำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี : Rongsang Resort : kosol050 : rongsangresort
ร่องแซงรีสอร์ท จังหวัดสระบุรี ที่พักส�ำหรับผู้เดินทางไกล ต้องการพักผ่อนระหว่างทาง
7 TEL : 087-121-7000, 061-657-7730
1
.indd 7
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
21/12/2563 18:50:56
Editor's talk.indd 8
22/12/2563 13:33:15
SBL
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th
EDITOR’S
issue 118/2021
บริษัท สมาร์ทบิซิเนสไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์ : 0-2522-7171 เว็บไซต์ : www.sbl.co.th คณะผู้บริหาร คณะที่ปรึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์, ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล บรรณาธิการอ�ำนวยการ : อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
“พระพุทธบาทสูงค่า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ฐานผลิตอุตสาหกรรม เกษตรน�ำล�้ำ แหล่งเที่ยวหนึ่งเดียวกะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลืองอร่ามทุ่ง ทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง” SBL ฉบับนี้ผมจะพาไปกราบสักการะรอยพระพุทธบาท ที่จังหวัดสระบุรีกันนะครับ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการอ�ำนวยการ สระบุรี เมืองคนดี มีน�้ำใจ อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯมากนัก ที่นักท่องเที่ยวสายบุญ สามารถเดินทางมาท�ำบุญและเทีย่ วชมความสวยงามของวัดวาอารามต่างๆ ทีเ่ ป็นศูนย์กลาง และศูนย์รวมใจของชาวจังหวัดสระบุรีและจังหวัดใกล้เคียง อย่างเช่น วัดวัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร วัดพระพุทธฉาย วัดหลวงพ่อขาว เป็นต้น ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ บรรณาธิการการตลาด ถึงจังหวัดสระบุรีแล้วอย่าเพิ่งเลี้ยวขวานะครับ เพราะเราจะพาไปกราบนมัสการและ ท�ำความรู้จักกับคณะสงฆ์สายการปกครอง และคณะสงฆ์สายปฏิบัติของจังหวัดสระบุรี กันก่อนครับ วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการฝ่ายบุคคล
บรรณาธิการงานบุคคล : พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด : ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ : กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา คณะทีมงาน : อรรถพร สว่างแจ้ง, ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์ ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล : นันท์ธนาดา พลพวก ฝ่ายประสานงานข้อมูล : ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน : มนสิกุล โอวาทเภสัชช์ ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม : พัชรา ค�ำมี กราฟิกดี ไซน์ : พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า ช่างภาพ : ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ ตัดต่อวีดีโอ : วัชรกรณ์ พรหมจรรย์, ณัฐพล ชื่นข�ำ ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี : ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน : สุจิตรา แดนแก้วนิต การเงิน : ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
SBL MAGAZINE
Editor's talk.indd 9
22/12/2563 13:33:21
118
ISSUE
สารบัญ
CONTENTS 12 SARABURI
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี นางสาวพัชรา สุคันธี
118 Editor's talk.indd 10
HISTORY OF BUDDHISM 22 วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร 28 วัดพระพุทธแสงธรรม
22/12/2563 13:33:29
38 42 52 58 62 66 70 74 78
Editor's talk.indd 11
วัดพระพุทธฉาย วัดป่าสว่างบุญ วัดนิคมวาสี วัดเชิงเขา วัดเกาะแก้วอรุณคาม วัดสวนส�ำราญ วัดถ�้ำธรรมโอสถ ศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ วัดถ�้ำดาวเขาแก้ว ส�ำนักปฏิบัติธรรม ประจ�ำจังหวัดสระบุรี แห่งที่ 9
22/12/2563 13:33:36
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
SARABURI
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
นางสาวพัชรา สุคันธี
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี
12
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 12
21/12/2563 16:26:38
EXC LU S IV E
“ส่งเสริมพุทธธรรมน�ำชีวิต มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มีจิตบริการ ประสานสามัคคี” วิสัยทัศน์ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี “เป็นองค์กรในการขับเคลื่อนกิจการพระพุทธศาสนา และสนองงานคณะสงฆ์อย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการน�ำหลักธรรมไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนให้เกิดสันติสุขอย่างยั่งยืน”
พันธกิจ 1. เสริมสร้างให้สถาบันและกิจการ ทางพระพุทธศาสนามีความมั่นคงยั่งยืน 2. สนับสนุนส่งเสริมและจัดการการ ศึกษาสงฆ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เพื่อพัฒนาให้มีความรู้คู่คุณธรรม 3. จั ด การศึ ก ษาสงฆ์ เ พื่ อ ผลิ ต และ พัฒนาศาสนทายาททีเ่ ปีย่ มปัญญาพุทธธรรม เผยแผ่ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญ งอกงาม และร่วมสร้างสังคมพุทธธรรมที่ มีความเข้มแข็ง 4. ด� ำ เนิ น การให้ ป ระเทศไทยเป็ น ศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาโลก 5. พัฒนาการดูแลรักษาและจัดการ ศาสนสมบัติให้เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ ศาสนาและสังคมเพื่อให้สามารถบรรลุเป้า หมายตามพันธกิจ
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
6
.indd 13
13
21/12/2563 16:26:38
อ�ำนาจหน้าที่ 1. ด�ำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ และกฎหมายว่าด้วย การก�ำหนดวิทยฐานะ ผู้ส�ำเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา รวมทั้งกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการและ การบริหารการปกครองคณะสงฆ์ 3. เสนอแนวทางการก�ำหนดนโยบายและมาตรการในการคุ้มครอง พระพุทธศาสนา 4. ส่งเสริม ดูแล รักษา และท�ำนุบ�ำรุงศาสนสถานและศาสนวัตถุทาง พระพุทธศาสนา 5. ดูแล รักษา และจัดการวัดร้างและศาสนสมบัติกลาง 6. พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา 7. ท�ำนุบ�ำรุงพุทธศาสนศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม 8. สนับสนุนและส่งเสริมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ รวมทั้งการเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก 9. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายก�ำหนดให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของ ส�ำนักงานหรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
14
.
ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี ศูนย์ราชการจังหวัดสระบุรี
ชั้น 1 ต�ำบลตะกุด อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี 18000 หมายเลขโทรศัพท์ : 0 3634 0756 หมายเลขโทรสาร : 0 3634 0757 E-mail : bud.saraburi2562@gmail.com หมายเหตุ :กิจกรรมเพิ่มเติมสามารถค้นหาได้จาก Facebook : ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสระบุรี
เว็บไซต์ส�ำนักงาน
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 14
21/12/2563 16:26:39
แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ
วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ณ ต�ำบลขุนโขลน อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2167 สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าให้สร้างขึ้นไว้ มูลเหตุที่จะทรงโปรดให้สร้างวัดนี้ เพราะ สืบเนื่องมาจากพระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นรอยพระพุทธบาทประดิษฐาน ณ ที่ตรงนั้น มีปูชนียสถานที่ส�ำคัญ คือ “รอยพระพุทธบาท” ที่ประทับไว้ บนหินเหนือไหล่เขาสุวรรณบรรพต หรือเขาสัจจพันธคีรี เป็นที่รู้จักและสักการบูชาของชาวไทยและชาวต่างประเทศ มีโบราณสถาน แหล่งส�ำคัญ ทางประวัติศาสตร์และศาสนาอีกหลายแหล่ง อาทิ บ่อพรานล้างเนื้อ พิพิธภัณฑ์สถานพระพุทธบาท พระต�ำหนักท้ายพิกุล ต�ำหนักธารเกษม เป็นต้น เทศกาลที่ส�ำคัญ ได้แก่ เทศกาลนมัสการรอยพระพุทธบาท เดือน 3 ซึ่งเป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยอยุธยา จัดให้มีขึ้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค�่ำ ถึงขึ้น 15 ค�่ำ เดือน 3 รวม 15 วัน และประเพณีตักบาตรดอกไม้ ซึ่งเป็นประเพณีส�ำคัญหนึ่งเดียวในประเทศไทย โดยถือเอาวันเข้าพรรษา วันแรม 1 ค�่ำ เดือน 8 ของทุกปี และดอกไม้ที่น�ำมาใส่บาตร คือ ดอกเข้าพรรษา ซึ่งขึ้นอยู่ตามไหล่เขาในบริเวณละแวกวัด SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
6
.indd 15
15
21/12/2563 16:26:43
วัดพระพุทธฉาย วัดพระพุทธฉาย ตั้งอยู่ ณ ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี มีพระพุทธฉาย คือ เงา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อยูบ่ นหน้าผา มีลกั ษณะคล้ายพระพุทธรูปยืนเป็นเส้นเงาสีแดงคล้ายดินเทศ สู ง ประมาณ 5 เมตร บริ เวณผนั ง หิ น มี พ ระจารึ ก พระปรมาภิ ไ ธยของ พระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ ประเพณีส�ำคัญ ได้แก่ งานเทศกาล แสงเทียนแห่งศรัทธา น้อมถวายผ้าพระพุทธฉาย ชมขบวนแห่เสลี่ยงเทียน วันมาฆบูชาชมการประกวดสวดมนต์หมู่ท�ำนองสรภัญญะ เวียนเทียนใน วันมาฆบูชา ฟังเทศน์ ฟังธรรม และประเพณีตักบาตรข้าวต้มลูกโยน เป็น ประเพณีที่จัดในช่วงวันออกพรรษา วันแรม 1 ค�่ำ เดือน 11 ของทุกปี ของทีน่ ำ� มาใส่บาตร คือ “ลูกโยน” หรือข้าวเหนียว (ลักษณะคล้าย ข้าวต้ม มัด)
วัดสมุหประดิษฐาราม ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลสวนดอกไม้ อ�ำเภอเสาไห้ จังหวัด สระบุรี เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ สร้ า งในสมั ย รั ช กาลที่ 3 ต่ อ มาถวายเป็ น พระอารามหลวง ในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึง่ ทรงเป็น ผู้พระราชทานนามให้แก่วัด มีจิตรกรรมฝาผนัง อายุกว่า 100 ปี สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมท้อง ถิ่ น และวิ ถี ชี วิ ต ของคนไทยยวนเมื่ อ อดี ต กว่ า 200 ปี ที่ผ่านมาอย่างเด่นชัด
16
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 16
21/12/2563 16:26:44
กิจกรรมส�ำคัญ ตรวจเยี่ยมการสอบธรรม สนามหลวง
โครงการ “หมู่บ้านรักษาศีล 5”
วัดศาลาแดง ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลปากเพรี ย ว อ� ำ เภอเมื อ งสระบุ รี จั ง หวั ด สระบุ รี มีพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ เป็นพระคู่บ้านคู่เมือง พระพุทธ รูปปางนี้ มีเพียง 4 องค์ทวั่ ประเทศ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานให้แก่ชาวสระบุรี เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2511 ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน เพื่อเป็น พระพุทธรูปประจ�ำทิศตะวันออก
พิ ธี ส วดพระพุ ท ธมนต์ และเจริญจิตภาวนา เนื่องใน วันคล้ายวันสวรรคต พระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว 23 ตุลาคม 2563 โครงการส่งเสริมการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา เนือ่ งในเทศกาล วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ประจ�ำปี 2563 ศู น ย์ ช ่ ว ยเหลื อ ผู ้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบจากการแพร่ระบาด ของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา 2019 (COVID-19) ตามพระด�ำริ ของสมเด็จพระสังฆราช SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
6
.indd 17
17
21/12/2563 16:26:44
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสระบุรี (ฝ่ายมหานิกาย)
พระธรรมปิฎก (ชวลิต อภิวฑฺฒโน ป.ธ.9)
เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี เจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร
พระราชเมธากร (ทองย้อย โชติวโร ป.ธ.5) ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี เจ้าอาวาสวัดศรีบุรีรัตนาราม
พระครูโกศลสรกิจ (หวีด จนฺทวณฺโณ)
พระครูภาวนาพิลาศ (วัชระชัย อินฺทวํโส)
พระราชธีราภรณ์ (ประดิษฐ์ ฐิตเมโธ ป.ธ.9)
พระวิสิฐคณาภรณ์ (อาทิตย์ สิริวฑฺฒโน)
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี เจ้าอาวาสวัดสร้างบุญ
รองเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี / เจ้าอาวาสวัดพระพุทธฉาย ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเขาขี้เหล็ก
18
ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี เจ้าอาวาสวัดเขาวง
พระครูรัตนสรคุณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี
รองเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี เจ้าอาวาสวัดมงคลชัยพัฒนา
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 18
21/12/2563 15:58:35
พระมหาสมหมาย ธมฺมเสวี ป.ธ.8
พระครูภาวนาวรคุณ (จกฺกวโร ป.ธ.5)
พระครูสิริสารวิสิฐ (อคฺคปุญฺโญ ป.ธ.)
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสระบุรี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดศรีบุรีรตนาราม
เจ้าคณะอ�ำเภอแก่งคอย / เจ้าอาวาสวัดเขาพระ / ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดแก่งป่าสัก
พระครูศุภธรรมคุณ (ส�ำอางค์ คุณธมฺโม) เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านหมอ เจ้าอาวาสวัดมะขามเรียง
พระมหาสมัย อคฺคปญฺโญ ป.ธ.8
เจ้าคณะอ�ำเภอพระพุทธบาท / ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร
พระมหาประพันธ์ศักดิ์ ทิฏฺฐิวิสุทฺธี ป.ธ.7
พระวิสุทธิโสภณ (ประโยชน์ สุขุมาโล ป.ธ.7)
พระครูวชิรธรรมรักษ์ (วิเชียร จนฺทูปโม)
พระครูสุธีวรานุสิฐ (สมควร ญาณวีโร ป.ธ.6)
เจ้าคณะอ�ำเภอเสาไห้ เจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว วรวิหาร
พระครูศรีวรกิจจารักษ์ (พิทักษ์ ถิรนาโถ ป.ธ.6)
เจ้าคณะอ�ำเภอมวกเหล็ก / ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร
พระครูสุนันทกิจโกศล (สุวัฒน์ สุวฑฺฒโน) เจ้าคณะอ�ำเภอดอนพุด เจ้าอาวาสวัดดอนทอง
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองแซง เจ้าอาวาสวัดหนองนกชุม
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองแค เจ้าอาวาสวัดบ้านลาด
เจ้าคณะอ�ำเภอวิหารแดง เจ้าอาวาสวัดหนองสรวง
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองโดน เจ้าอาวาสวัดศรีบุรีรตนาราม
พระมหาเสงี่ยม สุวโจ ป.ธ.9 เจ้าคณะอ�ำเภอวังม่วง / ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร
พระศรีปริยัติเวที (ล�ำใย สุวฑฺฒโน ป.ธ.9)
เจ้าคณะอ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ / ผู้ช่วยเจ้าอาวาส วัดพระพุทธบาท ราชวรมหาวิหาร
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 19
19
21/12/2563 15:58:43
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสระบุรี (ฝ่ายธรรมยุต)
พระสุนทรธรรมภาณ วิ. (สมชาติ ธมฺมโชโต) เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี (ธ) เจ้าอาวาสวัดพระพุทธแสงธรรม
พระครูสุเมธาวราภรณ์ (บุญเลิศ สุเมโธ)
ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสระบุรี (ธ) เจ้าอาวาสวัดพีระภูมาราม
ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอแก่งคอย (ธ) เจ้าอาวาสวัดป่าสว่างบุญ
พระครูวีรธรรมปวุฒิ (คูณ อติวีโร)
พระครูประสาทสารคุณ (คามิน สมาหิโต)
ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแค วิหารแดง (ธ) / เจ้าอาวาสวัดศรีสัจจาวาส
20
พระครูวิสุทธิสุตวัฒน์ (สมชาย ปุญฺญมโน)
ผู้รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอพระพุทธบาท เจ้าอาวาสวัดศรัทธาประชากร
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 20
21/12/2563 15:58:48
ความสุข
“ไม่ต้องไปหา ความสมบูรณ์แบบที่ไหนไกล แค่ใจเรา นั่นแหละคือชีวิตที่ดีแล้ว”
สงบ
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 21
21
22/12/2563 15:53:01
History of buddhism....
วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร พระธรรมปิฎก เจ้าคณะจังหวัดสระบุรี ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร
22
วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร พระอารามหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 19/3 หมู่ที่ 8 ต�ำบลขุนโขลน อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 22
21/12/2563 16:39:58
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 23
23
21/12/2563 16:40:05
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 19/3 หมู่ที่ 8 ต�ำบลขุนโขลน อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 6,268 ไร่ 24 ตารางวา โฉนดที่ดินเป็นพระราช กฤษฎีกาตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2167 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาในปีดังกล่าว เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 16 เมตร ยาว 28.70 เมตร ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นพระอารามหลวงในปีเดียวกัน
24
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 24
21/12/2563 16:40:11
ประวัติความเป็นมา
วัดพระพุทธบาท ได้ท�ำการก่อตั้งในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี สมเด็จพระเจ้าทรงธรรมโปรดเกล้าให้สร้าง ขึ้นไว้ มูลเหตุที่จะทรงโปรดให้สร้างวัดนี้ เพราะสืบเนื่อง มาจากพระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นรอยพระพุทธบาท ประดิษฐาน ณ ที่ตรงนั้น ทรงพระเจริญพระราชศรัทธา เลื่อมใสยิ่งนักจึงโปรดเกล้าฯ ให้ช่างก่อเป็นเรือนน้อย สวมรอยพระพุทธบาทไว้เป็นการชั่วคราวก่อนภายหลัง จากได้เสด็จพระราชด�ำเนินกลับถึงราชธานี จึงเริ่มงาน สถาปนายกสถานที่ พ ระพุ ท ธบาทนั้ น ขึ้ น เป็ น พระมหา เจดี ย สถานและโปรดให้ ส ร้ า งพระมหามณฑปครอบ รอยพระพุทธบาท พร้อมกับโปรดให้เจ้าพนักงานสร้าง พระอาราม ส�ำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่อาศัยเป็นประจ�ำ เพื่ อ ดู แ ลรั ก ษาพระมหาเจดี ย สถานพร้ อ มกั บ บ� ำ เพ็ ญ สมณธรรมสืบไป ปัจจุบัน พระอารามซึ่งกว้างขวางใหญ่โต แบ่งออกเป็น สองเขต คือเขตพุทธาวาสเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาท พระอุโบสถ และปูชนียสถานอื่นๆ ที่อยู่บนไหล่เขาตลอด ลงมาถึงเชิงเขา และเขตสังฆาวาสเป็นที่อยู่จ�ำพรรษาของ พระภิกษุสามเณร มวลหมู่กุฎีพร้อมทั้งศาลาการเปรียญ ตั้งอยู่ที่บริเวณพื้นดินติดกับเขตพุทธาวาส ทั้งสองเขตมี ก�ำแพงล้อมรอบเป็นสัดส่วน มีถนนคั่นกลางระหว่างเขต เพราะเหตุว่าวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท จึง ได้รับพระราชทานนามมาแต่เดิมว่า “วัดพระพุทธบาท” แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปนิยมเรียกสั้นๆว่า “วัดพระบาท” รอยพระพุทธบาทภายในพระมณฑปมีขนาดกว้าง 21 นิว้ ยาว 60 นิ้ว (3 ศอก 6 นิ้ว) ลึก 11 นิ้ว ประดิษฐานภายใน ครอบบุษบก ซึง่ อยูภ่ ายในพระมณฑปใหญ่ รอยพระพุทธบาท เบื้องต้น มีความเชื่อว่าเป็นอุทเทสิกเจดีย์เป็นสิ่งที่สร้างขึ้น มาแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต่อมาค้นพบหลักฐาน และมีความเชื่อตามคติชาวลังกาว่า พระพุทธเจ้าเสด็จไป ประทับรอยพระพุทธบาทไว้หา้ แห่ง ซึง่ รอยพระพุทธบาทที่ จังหวัดสระบุรี เป็นหนึ่งในจ�ำนวนห้าแห่งจึงมีความเชื่อว่า เป็นบริโภคเจดียใ์ นชัน้ หลังและเป็นปูชนียสถานอันศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีส่ ำ� คัญของพุทธศาสนิกชน ทัง้ ชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นสัญลักษณ์แทนพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ลักษณะของ รอยพระพุ ท ธบาทนี้ เป็ น หนึ่ ง ที่ แ สดงถึ ง ลั ก ษณะของ มหาบุรษุ คือ เมือ่ พระบาทเหยียบลงบนพืน้ จะเต็มไม่เว้าแหว่ง และปรากฏลายมงคลร้อยแปด
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 25
25
21/12/2563 16:40:14
พระวิหารป่าเลไลยก์
พระวิหารป่าเลไลยก์ ตั้งอยู่ด้านใต้มณฑป เป็นวิหารก่ออิฐถือปูน ประตู หน้าต่างสลักลวดลาย หลังคามุงกระเบือ้ งไทย เป็นทีป่ ระดิษฐาน พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ หน้าตักกว้าง 3.50 เมตร องค์สูงตลอด พระรัศมี 9.50 เมตร และมีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ขนาดองค์ยาว 6.20 เมตร กับพระพุทธรูปปางต่างๆ เป็นทีส่ กั การะแห่งหนึง่ บูรณะใหม่ หลังคาเปลี่ยนมุงกระเบื้องเคลือบสี พ.ศ. 2496 26
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
6
.indd 26
21/12/2563 16:40:20
ประเพณีตักบาตรดอกไม้ สระบุรี
ในครั้งพุทธกาล นายมาลาการ ผู้ที่ท�ำหน้าที่เก็บดอกมะลิถวาย พระเจ้าพิมพิสาร พระราชาแห่งเมืองราชคฤห์ ได้พบเห็นองค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก�ำลังออกบิณฑบาตพร้อมกับพระภิกษุสงฆ์ เกิดความเลื่อมใสศรัทธา จึงถวายดอกมะลิถึง 8 ก�ำมือ ความถึง พระเจ้ า พิ ม พิ ส ารเลยบ� ำ เหน็ จ รางวั ล ความดี ค วามชอบและ พระราชทานสิ่งของทั้งปวงให้กับ นายมาลาการ นายมาลาการก็ อยู่อย่างร่มเย็นปราศจากทุกข์ใดทั้งปวงด้วยอานิสงส์ของการน�ำ ดอกมะลิบูชาแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จนเกิดประเพณี ตักบาตรดอกไม้มาจนถึงทุกวันนี้ ส�ำหรับชาวเมืองพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ก็มีประเพณีตักบาตรดอกไม้ในช่วงเข้าพรรษาตั้งแต่ ครั้งโบราณเช่นกันโดยใช้ “ดอกเข้าพรรษา” ที่ออกดอกบานสะพรั่ง รับเทศกาลนี้ ตักบาตรกับพระสงฆ์ก่อนขึ้นไปไหว้รอยพระพุทธบาท ที่ “วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร”
งานเทศกาลนมัสการรอยพระพุทธบาท
- งานเดือนสาม เริ่มตั้งแต่ขึ้น 1 ค�่ำ - 15 ค�่ำเดือนสาม - งานเดือนสี่ เริ่มตั้งแต่ขึ้น 8 ค�่ำ – 15 ค�่ำ เดือนสี่ หากปีใดที่เป็น ปีอธิกมาส (เดือนแปด 2 หน) งานเดือนสี่ จะมี 15 วัน SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 27
27
21/12/2563 16:40:23
วัดสวย สระบุรี Unseen โดมยักษ์สุดอลังการ History of buddhism....
วัดพระพุทธแสงธรรม วัดพระพุทธแสงธรรม ตั้งอยู่ที่ต�ำบลหนองนาก อ�ำเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี
28
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 28
21/12/2563 16:54:55
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 29
29
21/12/2563 16:55:02
เป็นสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ทีม่ พี นื้ ทีก่ ว้าง เงียบ สงบ สวยงาม มีชอื่ ว่า แสงธรรมส่องชีวิต อยู่ท่ามกลางความเงียบสงบ บนพื้นที่กว่า 300 ไร่ วัดนี้เป็นอีกวัดที่สร้างขึ้นโดยจิตศรัทธาของพุทธศาสนิกชนที่มี ร่วมกัน โดยมี พระสุนทรธรรมภาณ วิ. (สมชาติ ธมฺมโชโต) เจ้าคณะ จังหวัดสระบุรี (ธ) เป็นประธานในการก่อสร้าง เพื่อไว้ส�ำหรับเป็น ศูนย์รวมจิตใจแก่ชาวพุทธและใช้เป็นสถานทีใ่ นการเผยแพร่ศาสนาพุทธ ให้คงอยู่และสืบต่อไป
30
6
นอกจากนี้ ยังมี มหาวิหาร ทรงบาตรคว�ำ ่ นับว่าเป็นสถาปัตยกรรม สุดล�้ำ ยิ่งใหญ่กลางเมืองสระบุรีมีความสูง 50 เมตร และกว้างกว่า 90 เมตร ครอบองค์พระพุทธรูปปางปฐมเทศนาเอาไว้
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 30
21/12/2563 16:55:03
นอกจากนั้น บริเวณรอบๆ วัดพระพุทธแสงธรรม ยังมี อุโบสถไม้แดง ที่ประดับด้วยโคมไฟต่างๆ ภายในมี พระประธานองค์พุทธปฏิมากรสีขาว พระยืนปางห้ามสมุทรอยู่ด้านซ้าย และปางแสดงอิทธิปาฏิหาริย์อยู่ด้านขวา เป็นองค์สีขาวล้วนดูสวยงามและสะอาดตา ภายในอุโบสถเย็นสบาย ตกแต่งด้วยไม้แดงสวยมากๆ
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 31
31
21/12/2563 16:55:10
อีกทั้งยังมี ศาลาปฏิบัติธรรม ตั้งอยู่ตรงกันข้ามอุโบสถไม้แดง ที่เปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถมาปฎิบัติธรรมที่วัดได้อีกด้วย ภายในวัด ยังมี อุทยานเจ้าแม่กวนอิม ที่มีการจัดสวนเอาไว้อย่างสวยงามอยู่บริเวณข้างๆ สระน�้ำขนาดใหญ่ ที่สามารถ มองเห็นศาลาและโดมยักษ์ เป็นจุดชมวิวและจุดถ่ายภาพสวยๆ ประจ�ำวัด
32
6
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 32
21/12/2563 16:55:14
บรรยากาศภายในวัดพุทธแสงธรรม
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 33
33
21/12/2563 16:55:19
SARABURI
สระบุรีเป็นเมืองส�ำคัญเมืองหนึ่งแต่โบราณ สันนิษฐานว่าตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2092 ในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ การตั้งเมืองนี้สันนิษฐานว่า พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้แบ่งเขตพื้นที่บางส่วนของเมืองลพบุรี เมืองนครนายก และเมืองนครราชสีมา มารวมกันตั้งขึ้นเป็นเมืองสระบุรี ทั้งนี้เพื่อต้องการให้เป็น ศูนย์ระดมพลเมืองในยามศึกสงคราม เพราะฉะนั้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นต้นมา จึงมักพบเรื่องราวของจังหวัดสระบุรีเกี่ยวกับการศึกสงครามอยู่เสมอ
34
.indd 34
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:01:01
วั ดพระพุ ทธฉาย
พระพุ ทธฉาย หรื อ “รอยพระพุ ท ธรู ป ” อยู ่ บนแผ่ นหิ น ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ บ นชะง่ อ นผา
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 35
35
21/12/2563 17:01:02
วั ด พระพุ ท ธบาทราชวรมหาวิหาร
“รอยพระพุทธบาทที่ ป ระทั บ ไว้ บ นแผ่ น ดิ น เหนือไหล่เขาสุวรรณบรรพต หรื อเขาสั จจพั น ธ์ คี รี ”
นอกจากนี้ ยังมีข้อสันนิฐานว่า เป็นเมืองเก่าแก่ตั้งแต่สมัยทวารวดี มีถ�้ำพระโพธิสัตว์ อ�ำเภอแก่งคอย อีกทั้งเป็นสถานที่จำ� ศีลภาวนาของนักบวช และฤาษี เพราะมีถ�้ำมีธารน�้ำตก เหมาะกับการตั้งหลักแหล่งพ�ำนักอาศัยของบรรดานักบวช และชุมชน สระบุรีจึงเป็นเรื่องราวที่น่าศึกษาเรียนรู้อย่าง ยิ่งในบวรแห่งพระพุทธศาสนาที่น�ำความร่มเย็นมาสู่สังคมสมัยนั้น จนถึงปัจจุบันนี้ พบรอยพระพุทธบาทสระบุรใี นรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จากนัน้ มาเป็นราชประเพณีนยิ มทีพ่ ระมหากษัตริยจ์ ะเสด็จมานมัสการ ทรงน�ำนุบำ� รุง พระพุทธบาทรวมทั้งเสด็จไปนมัสการพระพุทธฉาย จนถึงสมัยรัชกาลที่ 4 ยังทรงมีพระราชนิยมเสด็จมานมัสการพระพุทธบาทรวมทัง้ โปรดเกล้าฯ ให้ ซ่อมแซมพระพุทธบาท บูรณะมณฑปพระพุทธบาท และทรงเคยเสด็จ พระราชด�ำเนินหลายครั้ง จนถึงปัจจุบัน สระบุรี มีความหมายว่า เมืองแห่งน�้ำ หรือ ตัวเมืองใกล้น�้ำ เพราะที่ตั้ง เมืองอยู่บริเวณบึงโง้ง ต�ำบลเมืองเก่า อ�ำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ด้วย จังหวัดสระบุรี เป็นจังหวัดรอยต่อระหว่างภาคกลาง และภาคอีสาน หลายคน จึงใช้สระบุรเี ป็นทางผ่านเพือ่ มุง่ หน้าไปยังภาคอีสาน แต่แท้จริงแล้ว สระบุรี เป็นจังหวัดที่มีสถานที่เที่ยวอยู่มากมาย ทั้งด้านพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ ประเพณี และธรรมชาติ แถมยังอยูไ่ ม่ไกลจากกรุงเทพฯ ทีเ่ พียงขับรถชัว่ โมง กว่าๆ ก็สามารถหลีกหนีความวุ่นวายของเมืองกรุง ออกมาสัมผัสวิถีชุมชน และแหล่งท่องเที่ยวน่าสนใจได้มากมาย 36
.indd 36
ตามค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดที่ว่า
“ พระพุทธบาทสูงค่า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ฐานผลิตอุตสาหกรรมเกษตร น�ำล�้ำแหล่งเที่ยว หนึ่งเดียวกะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลืองอร่ามทุ่งทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง ” สระบุรี จึงไม่เป็นเพียงด่านผ่านระหว่างภาคกลางกับภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ หากมี ป ระวั ติ ศ าสตร์ เ ก่ า แก่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง ทรั พ ยากรธรรมชาติ มี โ บราณวั ต ถุ ส� ำ คั ญ ในด้ า นพระพุ ท ธศาสนา ประวัตศิ าสตร์ ประเพณี ซึง่ ยังคงคุณค่าไว้ได้อย่างครบถ้วน มีแหล่งท่องเทีย่ ว ทางธรรมชาติทสี่ มบูรณ์อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก อีกทัง้ เป็นจังหวัดหนึง่ ทีน่ า่ ท่องเทีย่ ว และศึกษาหาความรู้
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:01:05
ลักษณะภูมปิ ระเทศ : ตอนเหนือ ตะวันออก และตอนกลางของจังหวัดเป็น ป่ามีเนินเขาสลับที่ราบสูง เหมาะในการปลูกพืชไร่ ตอนใต้และตะวันตก ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเหมาะในการท�ำนา แม่น�้ำที่ส�ำคัญมีเพียงสายเดียว คือ แม่นำ�้ ป่าสัก ซึง่ นับว่าเป็นเส้นเลือดใหญ่ของจังหวัดสระบุรี โดยอาศัยน�ำ้ ใช้ในการเกษตร และประโยชน์อย่างอื่น แม่น�้ำป่าสักไหลผ่านอ�ำเภอมวก เหล็ก อ�ำเภอแก่งคอย อ�ำเภอเมืองสระบุรี อ�ำเภอเสาไห้ ไปบรรจบกับแม่นำ�้ เจ้าพระยาที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา คิดเป็นความยาวประมาณ 105 กิโลเมตร สระบุรยี งั มีคลองทีส่ ำ� คัญๆ หลายสาย เช่น คลองรพีพฒ ั น์ คลองเริงราง คลองวิหารแดง และคลองเพรียว เป็นต้น และยังเป็นเมืองที่มีความส�ำคัญ ต่อภาคอุตสาหกรรมล�ำดับต้นๆ ของประเทศไทย โดยเป็นที่ตั้งของโรงงาน อุตสาหกรรมมากมายทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลกอีกด้วย นับเป็นอีกหนึง่ จังหวัดที่ มีศักยภาพที่เพียบพร้อมในทุกๆ ด้าน ทั้งทางธรรมชาติ สถานที่ท่องเที่ยว ศิลปะ วัฒนธรรม และอุตสาหกรรม ของประเทศไทย
การปกครอง : แบ่งออกเป็น 13 อ�ำเภอ 111 ต�ำบล 965 หมู่บ้าน การปกครองส่วนท้องถิ่น มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 109 แห่ง แบ่งออกเป็น เทศบาล เมือง 4 แห่ง เทศบาลต�ำบล 34 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนต�ำบล 71 แห่ง สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ แ ละศาสนา มี ม ากมาย อาทิ วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร สถานที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทที่ ประทับไว้บนแผ่นหินเหนือไหล่เขาสุวรรณบรรพต ซึง่ ค้นพบในสมัยพระเจ้า ทรงธรรมและนับเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่เมืองสระบุรีนับแต่นั้นเป็นต้นมา และ หากมีโอกาสมาที่วักพระพุทธบาทในวันเข้าพรรษาก็จะได้ร่วมประเพณี ตักบาตรดอกไม้ทนี่ บั เป็นประเพณีโบราณ และมีทจี่ งั หวัดสระบุรเี พียงแห่งเดียว วัดพระพุทธฉาย เป็นอีกวัดส�ำคัญของจังหวัดด้วยเป็นที่ประดิษฐาน รอยพระพุทธรูปบนแผ่นหินบนชะง่อนผา และมีภาพเขียนลายเส้น ยุคก่อน ประวัตศิ าสตร์ทบี่ ริเวณเชิงผาและบริเวณโดยรอบ อีกทัง้ ยังมีรอยพระพุทธบาท เบื้องขวาอยู่ในบริเวณเดียวกันอีกด้วย นอกจากนี้ยังมี วัดเขาแก้ววรวิหาร วัดศรีบรุ รี ตั นาราม วัดศาลาแดง พระบวรราชวังสีทา เขาพระพุทธบาทน้อย ถ�ำ้ พระธาตุเจริญธรรม หรือ ถ�ำ้ บ่อปลา และอีกหลายวัด หลายถ�้ำที่หยุดเวลานักเดินทางไว้ที่นี่ เพื่อซึมซับความสงบเย็นของสถานที่ ซึ่งมีประวัติศาสตร์เป็นพันปี สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงธรรมชาติ เช่นถ�ำ้ ดาวเขาแก้ว ถ�ำ้ ศรีวไิ ล ถ�ำ้ พระโพธิสตั ว์ ทุ่งทานตะวัน อ�ำเภอมวกเหล็กและวังม่วง น�้ำตกโกรกอีดก สวนรุกขชาติ มวกเหล็กและพุแค อุทยานแห่งชาตินำ�้ ตกเจ็ดสาวน้อย ในอ�ำเภอมวกเหล็ก ที่มีต้นก�ำเนิดมาจาดผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ซึ่ง สามารถลงเล่นน�้ำได้ และสวยงามที่สุดในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน นอกจากนีย้ งั มี น�ำ้ ตกมวกเหล็ก น�ำ้ ตกเหวน้อย ไร่สกุ มุ า อุทยานแห่งชาติ น�ำ้ ตกสามหลัน่ ก็นบั เป็นอีกแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ ทีห่ ากมีเวลาก็ไม่ ควรพลาดเช่นกัน ด้วยภายในอุทยานมีภูเขาน้อยใหญ่ อาทิ เขาครก เป็นจุด ชมวิวเมืองสระบุรีที่ส�ำคัญ รวมไปถึงมีอ่างเก็บน�้ำ และน�้ำตกอีกหลายแห่ง ให้แวะเที่ยวชม และถึงแม้ว่าจังหวัดสระบุรีจะได้ชื่อว่าเป็นฐานผลิตทางอุตสาหกรรมที่ ส�ำคัญของประเทศ แต่สระบุรเี องก็นบั เป็นแหล่งเกษตรกรรมทีส่ ำ� คัญเช่นกัน ไม่วา่ จะเป็น ไร่องุน่ แห่งอ�ำเภอมวกเหล็ก ทีส่ ามารถออกผลผลิตได้ตลอด ทัง้ ปี นักท่องเทีย่ วสามารถชิมองุน่ สด หรือเลือกซือ้ ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาก องุ่น เป็นของฝากติดมือกลับบ้านได้ SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 37
37
21/12/2563 17:01:09
History of buddhism....
วัดพระพุทธฉาย พระราชธีราภรณ์ (ประดิษฐ์ ฐิตเมโธ น.ธ.เอก ป.ธ. 9) รองเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี / เจ้าอาวาสวัดพระพุทธฉาย
วัดพระพุทธฉาย บ้านพระพุทธฉาย หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองปลาไหล อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงค์มหานิกาย
พระพุทธฉาย สิ่งมหัศจรรย์ของผู้มีวาสนา หนึ่งเดียวในโลก ผู้มีบุญเท่านั้นจึงจะเห็นได้ชัดเจน
38
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
).indd 38
21/12/2563 17:14:25
ลักษณะที่ตั้งวัดเป็นเนินเขา มีต้นไม้และล�ำธาร ร่มรื่น มีถนนเข้า ถึ ง วั ด การคมนาคมสะดวก มี ที่ ดิ น ตั้ ง วั ด เนื้ อ ที่ 578 ไร่ 3 งาน 29 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 42735 เล่มที่ 428 หน้า 35 ให้ไว้ ณ วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2540 และมีที่ธรณีสงฆ์จ�ำนวน 3 แปลง แปลงที่ 1 มีเนื้อที่ 21 ไร่ 2 งาน 36 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 3999 เล่มที่ 40 หน้าที่ 99 ให้ไว้ ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2480 พื้นที่ตั้ง อยู่ต�ำบลหนองยาว อ�ำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี แปลงที่ 2 มีเนื้อที่ 10 ไร่ 3 งาน 6 ตารางวา โฉนดเลขที่ 27230 เล่มที่ 273 หน้าที่ 30 ให้ไว้ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 แปลงที่ 3 มี เนื้อที่ 7 ไร่ 60 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 27231 เล่มที่ 273 หน้าที่ 31 ให้ไว้ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
ประวัติวัดพระพุทธฉาย
วัดพระพุทธฉาย สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณปี พ.ศ. 2163 สมัย กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในรัชสมัยของพระเจ้าทรงธรรม ได้ค้นพบ พระพุทธฉาย ณ เงื้อมภูเขาปฐวี ได้สร้างมณฑปครอบไว้และได้พบ รอยพระพุทธบาทบนยอดเขา พร้อมกับสร้างมณฑปครอบไว้ ในรัชสมัยของพระเจ้าแผ่นดินต่อๆ มาหลายพระองค์ได้เสด็จมา ทรงนมัสการพระพุทธฉาย และได้บูรณปฏิสังขรณ์เสนาสนะสืบต่อมา ในคราวที่บ้านเมืองไม่สงบสุขเพราะถูกข้าศึกรุกราน อาคารถาวรวัตถุ ต่างๆ ในวัดขาดการบ�ำรุงได้ทรุดโทรมเป็นอันมาก ถึงสมัยรัชกาลที่ 5 ได้เสด็จมาทรงฟืน้ ฟู บูรณปฏิสงั ขรณ์หลายรายการ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2491 เป็นต้นมา พระครูพุทธฉายาภิบาล( นาค ปชฺโชโต ปานรัตน์ ) เป็น เจ้าอาวาสได้พฒ ั นาวัดอย่างมากโดยได้ดำ� เนินการสร้างอุโบสถขึน้ ใหม่ แทนอุโบสถหลังเดิมทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมจนใช้การไม่ได้ เป็นอุโบสถคอนกรีต เสริมเหล็กก่ออิฐถือปูน กว้าง 5.66 เมตร ยาว 15.25 เมตร ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา (เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2496 เป็น ปีที่ 8 ในรัชกาลปัจจุบนั เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ผูกพัทธสีมาในปี พ.ศ. 2498 และได้ก่อสร้างกุฏีสงฆ์ 14 หลัง เป็น คอนกรีตเสริมเหล็กสองชั้น 1 หลัง เป็นไม้หลังคามุงสังกะสี 13 หลัง และได้ ริ เริ่ มโครงการสร้ า งศาลาการเปรี ย ญคอนเกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 25 เมตร ยาว 40 เมตร เป็นอาคารคอนกรีต 2 ชั้น สร้างศาลา ประดิษฐานพระพุทธรูป 2 หลัง เป็นศาลาคอนเกรีตเสริมเหล็ก ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530 พระครูอาทรพุทธิญาณ (สุวรรณ์ พุทฺธสาโร แสงบ�ำรุง) เป็นเจ้าอาวาสได้สานต่อโครงการสร้างศาลาการเปรียญจนแล้วเสร็จ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 พระมหาประดิษฐ์ ฐิตเมโธ ป.ธ.9 เป็น เจ้าอาวาส ได้พัฒนาวัดมาโดยล�ำดับ เช่น ปรับภูมิทัศน์ลานจอดรถ และสร้างร้านค้า ปรับภูมิทัศน์คลองน�้ำ ถมดินปรับภูมิทัศน์ด้านหน้า พระพุทธฉาย ถมดินสร้างลานจอดรถบนเนินเขา ถมดินสร้างลานจอดรถ หลังโรงเรียน สร้างถนนขึ้นนมัสการพระพุทธบาท ขุดสระกักเก็บน�้ำ สร้างกุฎสี งฆ์คอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐถือปูนสองชัน้ 3 หลัง สร้างกุฏสี งฆ์ คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ก่ อ อิ ฐ ถื อ ปู น ชั้ น เดี ย ว 2 หลั ง บู ร ณะมณฑป พระพุทธฉาย สร้างอุโบสถทดแทนหลังเดิมเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก ก่ออิฐ ถือปูน กว้าง 7 เมตร ยาว 15 เมตร จ�ำนวน 1 หลัง สร้างบันได ขึ้นนมัสการพระพุทธฉาย และรอยพระพุทธบาท สร้างศาลาตรีมุข ด้านหน้าอุโบสถ สร้างสะพานข้ามคลองเข้าวัด สร้างถนนภายในวัด บูรณะมณฑปพระพุทธบาท สร้างหอระฆัง ปรับปรุงต่อเติมศาลาการเปรียญ ก่อตั้งศูนย์ศึกษาบาลีพุทธฉาย บนพื้นที่ 20 ไร่ ต�ำบลห้วยแห้ง อ�ำเภอ แก่งคอย จังหวัดสระบุรี ภายในศูนย์ศึกษาบาลีมีการก่อสร้าง ศาลา การเปรียญ สร้างศาลาโรงฉัน กุฏีสงฆ์ อาคารเรียน อาคารห้องน�้ำ ฯลฯ
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 39
39
21/12/2563 17:14:35
โบราณสถาน วัดพระพุทธฉาย
1. โบราณสถานพระพุทธฉาย พระพุทธฉาย คือ เงาลางเลือน ที่เป็นรอยประทับอยู่ที่หน้าผา เชิงเขา มีลักษณะคล้ายพระพุทธรูปยืน สันนิษฐานว่า ค้นพบในสมัยพระเจ้าทรงธรรม แห่งกรุงศรีอยุธยา โปรดให้สร้างวัดพระพุทธฉาย ราวปี พ.ศ. 2163-2171 ต�ำนานพระพุทธฉายโดยย่อ พระพุทธเจ้าเสด็จมาที่เขาฆาฏกะ (เขาพระพุทธฉาย) เพื่อโปรดนายพรานฆาฏกะจนส�ำเร็จพระอรหันต์ ครั้ น พระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ กลั บ พระฆาฏกะได้ ทู ล ขอให้ ป ระทาน สิ่งอันเป็นอนุสรณ์เพื่อสักการะกราบไหว้ พระพุทธเจ้าจึงทรงแสดง พุทธปาฏิหาริย์ให้เงาของพระองค์ประทับติดอยู่ในเนื้อหิน ที่เงื้อม เขาฆาฏกะบรรพต
40
(4
2. โบราณสถานเขาลม มีรอยพระพุทธบาทเบื้องขวา และรอย พระพุทธบาทจ�ำลองส�ำฤทธิ์สร้างสมัยรัชกาลที่ 4 มีมณฑปทรงเจดีย์ 5 ยอดที่ครอบรอยพระพุทธบาทไว้ บนยอดเขาลมยังเป็นที่ตั้งอุโบสถ อีกด้วย การค้นพบรอยพระพุทธบาท รอยพระพุทธบาทเบื้องขวา ประทับรอยอยู่ในเนื้อหินยอดเขาลม สันนิษฐานว่า มีการค้นพบใน สมัยพระเจ้าทรงธรรม กรุงศรีอยุธยา ในครั้งนั้นมีพระสงฆ์จ�ำนวน หนึ่งออกไปถึงลังกาทวีปเพื่อบูชารอยพระพุทธบาทที่เขาสุมณกูฏ ถู ก พระสงฆ์ ลั ง กาถามว่ า รอยพระพุ ท ธบาทที่ มี อ ยู ่ ทั้ ง หมดนั้ น เขาสุวรรณบรรพตก็อยูใ่ นประเทศไทย คนไทยไม่ไปบูชารอยพระพุทธบาท ที่นั่นดอกหรือ จึงดั้นด้นมาบูชาถึงลังกาทวีป พระภิกษุสงฆ์จ�ำนวน นั้นกลับมาน�ำความขึ้นบังคมทูลพระเจ้าทรงธรรม พระองค์จึงโปรดฯ ให้ มี ต ราสั่ ง ไปยั ง หั ว เมื อ งเที่ ย วตรวจค้ น ดู ต ามภู เขาว่ า จะมี ร อย พระพุทธบาท อยู่ ณ ที่แห่งใด เมื่อค้นพบจึงโปรดให้สร้างเป็นมหา เจดียสถานมีพระมณฑป รวมรอยพระพุทธบาทและโปรดให้สร้าง สังฆารามแล้วทรงพระราชอุทิศที่ส่วนหนึ่งโดยรอบพระพุทธบาทและ พระพุทธฉายถวายเป็นพุทธบูชา ต่อมาถึงรัชสมัยพระเจ้าเสือ ราวปี พ.ศ. 2246 – 2251 ปรากฏว่า ทรงปฏิสังขรณ์พระมณฑปโปรดให้ เปลี่ยนแปลงเป็นพระมณฑป 5 ยอดโดยไม่มีซ่อมแซมอีกรวมอายุ เกือบ 400 ปี ต่อมาปี พ.ศ. 2537 โดยกรมศิลปากรได้อนุมัติงบประมาณเพื่อ บูรณะ พระมณฑป 5 ยอดซึ่งช�ำรุดทรุดโทรมไปมาก เข้าด�ำเนินการ บูรณะเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2537 การบูรณะมาถึงเดือนสิงหาคม ช่ า งได้ เ คลื่ อ นย้ า ยรอยพระพุ ท ธบาทจ� ำ ลองออกเพื่ อ จะท� ำ การ ซ่ อ มแซมโดยการทุ บ พื้ น ซี เ มนต์ เ ก่ า ออกเพื่ อ ปรั บ พื้ น ปู ก ระเบื้ อ ง ระหว่างขนย้ายเศษปูนออกก็พบเห็นทรายหยาบๆ อยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก จึงขนทรายออกจนหมด ปรากฏเห็นรอยพระพุทธบาทเบื้องขวา เป็นที่อัศจรรย์ ลักษณะเป็นรอยพระพุทธบาทเบื้องขวา ตรงกลาง รอยพระพุทธบาทมีรอยธรรมจักรถูกต้องตามลักษณะทุกประการ
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
).indd 40
21/12/2563 17:14:38
5. พระปรมาภิไธยย่อ จปร. รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช หรือ พระพุทธเจ้าหลวง รัชกาลที่ 5 เสด็จพระราชด�ำเนินมานมัสการพระพุทธฉาย 4 ครั้ง คือ ร.ศ. 79 (พ.ศ. 2403), ร.ศ. 91 (พ.ศ. 2415), ร.ศ. 104 (พ.ศ.2428), ร.ศ.115 ( พ.ศ.2439)
3. โบราณสถาน ถ�้ำฤษี มีสิ่งส�ำคัญ คือ ตัวถ�้ำ มีลักษณะหินซ้อน กันไว้ และมี เทวรูปฤษี มีอายุประมาณพันกว่าปี มีชอื่ เสียงด้านรักษาโรค และให้โชคลาภ และค้าขายดี
6. พระปรมาภิไธยของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงเสด็จ พระราชด�ำเนินมานมัสการพระพุทธฉาย และทรงถวายผ้าพระกฐินต้น ในวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516
4. โบราณสถาน ถ�้ำล�ำดวน ลักษณะเป็นถ�้ำหินปูน ไม่สามารถ เที่ยวชมได้เพราะเป็นถ�้ำที่อยู่บนหน้าผาไม่มีทางขึ้น รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาส เมืองสระบุรี (ตอนเสด็จพระพุทธฉาย) วันจันทร์ ที่ 17 ธันวาคม เวลาเช้า หนึ่งโมงเศษ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จม้าพระทีน่ งั่ ออกพลับพลา ไปตามทางหลวงข้ามทางรถไฟออกทุ่งนา และเข้าดงถึงพระพุทธฉาย เวลาเช้า 3 โมงเศษ ระยะทาง 233 เส้น มีพระสงฆ์สวดชยันโต รับเสด็จอยู่ที่เชิงเขา เสด็จพระราชด�ำเนินขึ้นนมัสการพระพุทธฉาย แล้วประทับเสวยเช้าที่ศาลาแล้วทรงจารึกอักษรพระนาม จ.ป.ร. ที่ เพิงผา และมีปีที่เสด็จพระราชด�ำเนินมา ณ ที่นี้ ร.ศ.79 และ 91 และ 104 และ 115 และโปรดให้อาราธนาเจ้าอธิการลัน วัดพระพุทธฉาย มาถวายเทศนามหาชาติคำ� ลาว เวลาบ่ายเสด็จพระราชด�ำเนินขึน้ เขาลม มีมณฑปพระบาทบนยอดเขา เสด็จลงจากเขาลมแล้วเสวยกลางวัน ทีศ่ าลานัน้ แล้วทรงฉายพระรูป เวลาบ่าย 3 โมงครึง่ เสด็จกลับจากพระฉาย
พระราชธีราภรณ์ (ประดิษฐ์ ฐิตเมโธ น.ธ.เอก ป.ธ. 9) รองเจ้าคณะจังหวัดสระบุรี / เจ้าอาวาสวัดพระพุทธฉาย
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 41
41
21/12/2563 17:14:42
ง
History of buddhism....
วัดป่าสว่างบุญ
Wat Pasawangboon พระครูวิสุทธิสุตวัฒน์ (หลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน) เจ้าคณะอำ�เภอแก่งคอย (ธรรมยุต) / เจ้าอาวาสวัดป่าสว่างบุญ
PHRAKHRU WISUTTHISUTTAWAT (LUANG PHOR SOMCHAI PUNYAMANO) HOLDS THE POSITION OF ABBOT OF THE TEMPLE.
42
8
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
2
.indd 42
21/12/2563 17:32:30
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
ศูนย์รวมใจแห่งศรัทธาและขัดเกลาลดละกิเลสทั้งปวง
“พระมหารัตนโลหะเจดีย์ ศรีศาสนโพธิสัตว์สว่างบุญ” นมัสการ
ด้วยศรัทธาปสาทะ น้อมนำ�จิตเป็นสิริมงคลแห่งชีวิต ปฏิบัติธรรมเพื่อดับทุกข์ทางใจในวัฏสงสาร
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2
.indd 43
43
21/12/2563 17:32:36
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
ท่านสอนเสมอว่า ทิ้งอะไรย่อมทิ้งได้ แต่อย่าให้ใจทิ้ง ภาวนา และ พิจารณา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้เป็นอารมณ์ใจอยู่เสมอ According to Luang Phor Somchai’s teachings, one could fail to recall anything except one’s mindfulness. One should remind oneself of Impermanence (Anicca), Suffering (Dukkha), and Insubstantiality (Anatta). วัดป่าสว่างบุญ หรืออีกชื่อหนึ่งที่เป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยวคือ วัดพระเจดีย์ 500 ยอด ตั้งอยู่เลขที่ 6/2 หมู่ที่ 5 บ้านคลองไผ่ ต�ำบลชะอม อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โทรศัพท์ 080-0764488 ช่วงเวลา ติดต่อ 08.00-17.00 น. ID LINE : WATPASAWANGBOON4488 Wat Pasawangboon, also known as Wat Phra Chedi Haroi Yod (Chedi with 500 Pinnacles) among tourists is located at 6/2 Moo 5 in Ban Khlong Pai, Cha-Om sub-district, Khaeng Khoi district, Saraburi province. ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 28 กุ ม ภาพั น ธ์ 2528 โดย พระครูวิสุทธิ สุตวัฒน์ (หลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน) บนเนื้อที่กว่า 400 ไร่ ซึ่งที่ดินดังกล่าวเป็นที่ดินของโยมพ่อของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อสมชายเอง The temple was established on 28 February 1985 covering approximately 400 Rai of land by Phrakhru Wisutthisuttawat (Luang Phor Somchai Punyamano). The aforementioned piece of land belonged to Luang Phor Somchai’s father. 44
8
ในวัดเป็นสถานที่ที่สงบเงียบเหมาะกับการปฏิบัติภาวนาธรรม เป็นอย่างมาก เนื่องจากพื้นที่ทางด้านหลังติดกับเชิงเขามีอากาศที่ เย็นสบาย มีต้นไม้ สบายตาและร่มรื่น ในทุกเดือนมีประชาชนเข้ามา ปฏิบัติธรรมไม่ขาดสาย Inside the temple is a peaceful and quiet ambience that is suitable for practicing mindfulness meditation. The rear part of the temple is attached to the foothill surrounded by scenery of nature with trees. It allows the fresh cool breeze flowing through the temple. Buddhists gather at the temple to practice meditation every month. จุดเด่นส�ำคัญทีว่ ดั คือ พระเจดีย์ 500 ยอด มีชอื่ เต็มว่า “พระมหารัตน โลหะเจดียศ์ รีศาสนโพธิสตั ว์สว่างบุญ” มีเจดียอ์ งค์ประธานองค์ใหญ่ อยู่ตรงกลาง และมีองค์เจดีย์รายองค์เล็กๆ ตั้งลดหลั่นกันลงมาอยู่ รอบๆ ทิศ เป็นทรงลังกา สมัยสุโขทัย มีซมุ้ ประตูทางขึน้ ทัง้ สีม่ มุ ท�ำเป็น บันไดไปยังองค์พระเจดีย์ที่ตั้งอยู่ทางด้านบน ตัวองค์เจดีย์เป็นปูนปั้น รูปแบบสวยงามประณีตเคลือบสีทองทั้งหมดทุกองค์ The outstanding part of the temple is Phra Chedi Haroi Yod, namely “Phra Maha Rattana Loha Chedi Srisatsana Bodisat Sawangboon”. There is the main/chief chedi standing in the center, surrounded by the smaller chedis on the circular pedestal. The chedis are Sri Lankan-style chedi in Sukhothai era. Phra Chedi Haroi Yod has facades in all four sides. Each façade leads to the main chedi in the center. All chedis are polishedly gilded stucco chedis.
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
2
.indd 44
21/12/2563 17:32:39
The wall of the main chedi rigorously adorned with ruby red glass and with pictures of significant Phra That Chedis around Thailand. The Buddha’s relics brought from Nepal, India, and Sri Lanka are enshrined inside all the chedis. Also, the main chedi enshrines many sacred and precious objects. The chedi is Sri Lankan-style chedi which consists of square shaped spire base carrying the spire above. Regarding the Ong-rakhang part, its shape is like the bell shape. The Lord Buddha’s relic, the fragment of the skull part received from Nepal Temple, Lumpini, Nepal has been brought to enshrine inside the main chedi. The abbot who presented the Buddha’s relic to be enshrined inside the main chedi is the last generation of Shakya Clan. Besides, the chedi is surrounded by Indian sculptures.
ผนังด้านในของพระเจดีย์องค์ประธานประดับกระจกทับทิมโดย รอบสวยงาม มีภาพ พระธาตุเจดีย์สำ� คัญๆ ทั่วประเทศไทยประดับไว้ ด้านบนภายในองค์พระเจดีย์ ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุจาก ประเทศ เนปาล อินเดีย ศรีลังกา และสาธารณชนมาร่วมบรรจุใน พระมหาเจดีย์ครบทั้ง 500 ยอดตลอดทั้งได้มีการบรรจุวัตถุมงคลของ มีค่ามาสักการบูชาจ�ำนวนมากบรรจุอยู่ในพระเจดีย์องค์ประธาน องค์พระเจดีย์จะเป็นทรงลังกา ประกอบด้วยบัลลังก์เป็นฐานตัด ทรงสี่เหลี่ยมต�่ำจากปล้องฉัตรลงมา ในส่วนขององค์ระฆังมีลักษณะ เหมือนระฆังคว�่ำ ภายในพระเจดีย์องค์กลางได้อัญเชิญพระบรม สารีรกิ ธาตุสว่ นพระเศียร จากวัดเนปาล ลุมพินี ประเทศเนปาล เจ้าอาวาส เป็นตระกูลศากยวงศ์รนุ่ สุดท้ายมอบให้มาบรรจุ พืน้ ทีโ่ ดยรอบพระเจดีย์ จะมีประติมากรรมแบบอินเดียอยู่โดยรอบ SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2
.indd 45
45
21/12/2563 17:32:44
วัตถุประสงค์การก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ภายในวัด
เพื่อให้วัดป่าสว่างบุญเป็นสถานรวมความศรัทธาของพระพุทธ ศาสนาตลอดทัง้ เป็นสถานทีส่ อนและเผยแผ่พระพุทธศาสนา จึงได้ให้มี การจัดสร้างสถานวัตถุตา่ งๆ ขึน้ ภายใต้แนวความคิดทีว่ า่ พระพุทธศาสนา มีศาสนค�ำสอนเกิดขึน้ จึงก่อให้เกิดเป็นศาสนบุคคลและศาสนวัตถุตามมา สิง่ นีเ้ ป็นเครือ่ งยืนยันในทุกยุคทุกสมัย อาทิเช่น พระเจ้าอโศกมหาราช ได้สร้างศาสนวัตถุต่างๆ ไว้ในพระพุทธศาสนามากมาย พระพุทธรูป สถูปเจดีย์ ต้นศรีมหาโพธิ์ ให้เราได้ศกึ ษาเรียนรูค้ วามเป็นไปและความ เจริญรุ่งเรืองทางพุทธศาสนา มาจนสืบถึงทุกวันนี้ ทางวัดป่าสว่างบุญจึงสร้างศาสนวัตถุที่จะสามารถท�ำให้ครบทั้ง ศาสนค�ำสอนและศาสนบุคคลขึ้น เมื่อเราลาจากโลกใบนี้ศาสนวัตถุที่ เป็นเครือ่ งยืนยันทางพระพุทธศาสนาจะยังคงยืนหยัดเคียงคูก่ บั ศาสนธรรม ค�ำสอนต่อไป เพื่อให้ชนรุ่นหลังได้สืบสานและสืบต่อพระพุทธศาสนา วัดป่าสว่างบุญจึงตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์รวมใจแห่งศรัทธาและขัดเกลา ลดละกิเลสทั้งปวง
46
8
Accommodations and Buildings inside the Monastery There are monks’ residences, spacious pavilion for meditation, Mahatan Pavilion, Phra Tripidok Pavilion, Phra Buddha Metta Building, church, and other facilities to accommodate many faithful Buddhists who travel from every region for participating in religious activities organized by the temple every month. Objective of Accommodations Construction The accommodations are constructed, so that people who have faith can gather at the temple. Moreover, dissemination of Buddhism can be conducted at the provided accommodations. According to the Lord Buddha’s Doctrine, Dhamma is soullessness or non-self. It can be defined that nothing is capable of controlling Dhamma. Dhamma occurs and remains in accordance with causes and factors. In the same way, faith itself is Dhamma that could be found correspondingly with causes and factors. When faith occurs, there is no place for defilement. Wat Pasawangboon, therefore, has been founded as the center of faith and as the place where one’s mind will be purified.
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
2
.indd 46
21/12/2563 17:32:46
อานิสงส์จากการสร้างพระเจดีย์
อานิสงส์การร่วมบุญสร้างพระธาตุเจดีย์ การสร้างเจดีย์เพื่อบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ หรือ อัฐิธาตุของธาตุบุคคลที่ควรบูชาได้แก่ พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ และพระเจ้า จักรพรรดิ เป็นการสร้างมงคลให้กับตนเองอย่างสูงสุด เมื่อตายไปย่อมไปสู่สุคติ โลกสวรรค์ยอ่ มได้ ดวงตาเห็นธรรมและบรรลุมรรคผลนิพพานโดยง่าย การมีสว่ นร่วมสร้าง พระเจดียจ์ ะมากหรือน้อยถ้าท�ำด้วยความเลือ่ มใส ก็ยอ่ มได้อานิสงส์มากมายดังตัวอย่างทีห่ ยิบยกมาให้ทา่ นได้อา่ นต่อไปนี้ The Benefits of Stupa/Chedi Construction Participation in stupa construction for enshrining the relics of persons who should be worshipped including the Buddha, Individually Enlightened one; private Buddha, Buddhist Saints, and God the Emperor brings the greatest benefits. When a person dies accumulating the merit by building stupa, they will be reborn in the celestial abode, gaining wisdom, and swiftly achieving Nirvana. If persons intentionally take part in stupa construction with faith, they will gain a lot of benefits.
พระเถระรูปหนึง่ ในชาติกอ่ นมีสว่ นร่วมสร้างเจดีย์ เพียงท่านใส่กอ้ น ปูนขาวลงในช่องแผ่นอิฐ ซึ่งประชาชนก�ำลังก่ออิฐสร้างเจดีย์อยู่ เพื่อ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ด้วยจิตใจที่เลื่อมใส อ�ำนาจแห่งบุญนัน้ ได้บนั ดาลให้ทา่ นไปเกิดในสวรรค์ แลโลกมนุษย์ ถึง 94 กัปป์ พอมาถึงสมัยพระพุทธเจ้าสมณโคดม ท่านได้มาบวชใน พระพุทธศาสนาท่านคือ พระสุธาบิณฑิยเถระ In the past life of Phra Thera (a Buddhist monk who entered the monkhood for ten or more years), the monk had purposely participated in building a stupa with faith. He just placed a piece of slaked lime to fill the hole between the two bricks, while other people were carrying out the brickwork for stupa construction. The benefit of the merit making brought the monk to be reborn in the celestial realm and in the world for 94 Kalpas. One of his past lives, he was born as a human and ordained as a Buddhist monk during the time of Gautama Buddha. The monk’s name was Phra Sudhapindiya Thera.
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2
.indd 47
47
21/12/2563 17:32:48
พระมหาโมคคัลลานะเถระ ท่านได้พบเทพบุตรตนหนึ่งมีวิมาน สวยงามวิจิตรตระการตาแวดล้อมด้วยนางฟ้าจ�ำนวนมาก มาฟ้อนร�ำ ขับร้องให้เบิกบานใจ และเทพบุตรตนนีม้ อี ำ� นาจยิง่ ใหญ่เหนือเทพบุตร ทัง้ ปวง ท่านจึงถามเทพบุตรตนนัน้ ว่า เมือ่ ท่านเป็นมนุษย์ได้ทำ� บุญอะไร ไว้หรือ ท่านถึงมีอานุภาพมากมีรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอย่างนี้ เทพบุตรตนนั้นตอบว่า แต่ก่อนเมื่อเป็นมนุษย์ได้มีศรัทธาใน พระพุทธศาสนาได้ออกบวชอยู่ 7 พรรษา และเป็นสาวกของพระ ศาสดานามว่า สุเมธ ต่อมาได้ดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว พระบรม สารีรกิ ธาตุของท่านบรรจุไว้ในรัตนเจดียซ์ งึ่ ห่อหุม้ ด้วยข่ายทองค�ำ ท่าน ได้ชักชวนประชาชนให้ไปสักการบูชาด้วยความเลื่อมใส กุศลจะส่งผล ให้ขนึ้ สวรรค์ ด้วยบุญนีเ้ องท�ำให้ขา้ พเจ้าได้มาเสวยสุขอยูใ่ นทิพย์วมิ าน นี้เอง Venerable Maudgalyayana met a celestial being who possessed extremely nice heavenly palace surrounded by a lot of female angels singing and dancing very beautifully. Besides, the celestial being was the most powerful angel of all. Maudgalyayana, therefore, asked him what kind of merit the male angel collected when he was born as a human. The glamourous angel answered that he had extreme faith in Buddhism. He entered the monkhood for 7 years as a follower of the Prophet named Sumet. After the Prophet passed away, his relics were enshrined in a glass stupa wrapped in Golden net. The follower then persuaded people to come worship the relics of the Prophet with faith. The accumulated merit brought him to be reborn as the celestial being living blissfully in the celestial abode.
48
8
ส่วนพระมหากัสสปะเถระ ท่านได้พบเปรตตนหนึ่งมีกลิ่นเหม็น เน่า มีหนอนกินปาก นอกจากนี้ยังถูกยมบาลเฉือนปาก แล้วราดน�้ำ ให้แสบร้อน จึงถามถึงผลกรรมของเปรตนั้น ทราบว่าแต่ก่อนตาย เป็นมนุษย์ ตนเป็นชาวนครราชคฤห์ได้ห้ามมิให้บุตร ภรรยา บูชา พระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พร้อมกับเล่าถึงพวกที่มีความคิด และกระท�ำเหมือนตน ส่วนภรรยา และบุตรของตนได้ไปเสวยสุขอยู่ บนสวรรค์ มีวิมานสวยสดงดงาม เพราะอานิสงส์ที่ได้ไปไหว้พระบรม สารีริกธาตุ ส�ำหรับตนเองนั้นตั้งใจไว้ว่าหากได้เกิดเป็นมนุษย์อีกครั้ง จะท�ำการบูชาพระสถูปเจดีย์ให้มากอย่างแน่นอน The hungry ghost also told Phra Mahakasyapa about the group of people who had the same opinion as him. Regarding his wife and son, they were reborn in the celestial abode living contentedly and blissfully. The benefit of worshipping the relics enshrined inside the stupa brought them to heaven. The hungry ghost told that he was determined to pay homage to the stupa if he hada chance to be born as a human again.
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
2
.indd 48
21/12/2563 17:32:54
ในครั้งพุทธกาล พระเจ้าปเสนทิโกศล ผู้ครองนครเมือง สาวัตถี พร้อมด้วยทหารข้าราชบริพารเป็นจ�ำนวนมาก ได้เดินทางไปที่ริมฝั่ง แม่น�้ำ พระองค์ได้ทอดพระเนตรหาดทรายสีขาวสวยงามมากยิ่งนัก ทรงมีจิตศรัทธาเลื่อมใสอย่างแรงกล้า ได้รับสั่งข้าราชบริพารให้ช่วย กันก่อกองทรายให้เป็นรูปเจดีย์ถึง 84,000 องค์ เป็นทิวแถวสวยงาม เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา เสร็จแล้วได้เสด็จไปเฝ้า พระพุทธเจ้าที่บุบผารามมหาวิหาร พระอารามของนางวิสาขาที่สร้าง ถวายพระพุทธเจ้า พระองค์ ไ ด้ ทู ล ถามถึ ง อานิ ส งส์ แห่ ง การก่ อ เจดี ย ์ ท ราย พระพุทธเจ้าตรัสว่าขอถวายพระพรมหาบพิตร ผู้มีศรัทธาแรงกล้าได้ ก่อเจดีย์ทรายถึง 84,000 องค์หรือแม้แต่องค์เดียว ก็ย่อมได้รับ อานิสงส์มาก จะไม่ตกนรกตลอดร้อยกัปล์ถ้าเกิดเป็นมนุษย์ จะอุดม สมบูรณ์ทุกอย่าง มีชื่อเสียงเกียรติยศไปทั่วทุกทิศ จากนั้นจะได้ไป สวรรค์เสวยทิพย์สมบัติ เป็นท้าวสักเทวราชอีกเป็นเวลานาน การก่อเจดีย์ทรายเป็นเรื่องของผู้มีความฉลาด มีความคิดดี ได้ ท�ำเป็นประเพณีมาแล้วในอดีต แม้พระตถาคตเองก็เคยท�ำมาแล้วใน ครั้งเป็นพระโพธิ์สัตว์ ในครั้งนั้นตถาคตยากจนมาก มีอาชีพตัดฟืน ขาย วันหนึ่งได้พบทรายขาวสะอาดมากในราวป่า ก็มีจิตใจศรัทธา ผ่องใส วันนั้นได้หยุดตัดฟืนทั้งวัน ได้กวาดทรายก่อเป็นเจดีย์โดยไม่ เห็นแก่ความเหนื่อยยากแล้วเปลื้องผ้าห่มของตน During the time of Gautama Buddha, King Pasenadi of Kosala together with his Royal Family and many courtiers traveled to Savatthi. When reaching the sand beach of a river, the King saw extremely beautiful pure white sand. It made the King truly admired what he had seen. Then he ordered his courtiers to work together to build 84,000 sand pagodas standing very beautifully in rows. The objective was to pay homage to the Buddha, Dhamma, and Sangha. Later, the King traveled to visit the Lord Buddha at Pubbarama. The King asked the Buddha about the benefits of building sand pagodas. The Buddha clarified that one who had such extreme faith in building 84,000 sand pagodas or only sand pagoda, they surely gained the great benefits. They would not go to hell for a hundred lives. If they were born as humans, they became renowned. Their greatness would be expounded in the ten directions. Later, they would be reborn in the celestial abode living wealthily.
ฉีกท�ำเป็นธงประดับไว้ เพื่อบูชาพระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้ว อธิษฐานจิต ขอให้เป็นปัจจัยแห่งพระโพธิญาณในอนาคตกาล ครัน้ เมือ่ ตาย ไปแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์อยู่ 2 พันปีทิพย์ เมื่อสิ้นอายุขัย ได้อุบัติมาเกิดเป็นพระตถาคตนี้เอง ส�ำหรับพระเจ้าปเสนทิโกศลนั้น ก็ได้รับพยากรณ์ว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า Building stupa was considered a business of wise persons in accordance with the tradition in the past. The Lord Buddha himself also accumulated the merit by constructing the stupa when he was the Bodhisattva. In that past life, he was very poor. He was a woodcutter. One day he found very beautiful clean sand. He felt overjoyed and committed. He stopped cutting wood and started to scoop up a lot of sand by his two hands to form a sand pagoda untiredly. His blanket was torn to make a traditional flag pinning on the sand pagoda. Then he paid homage to the Tissa Buddha. He was determined to attain his enlightenment in his next life. After he died, he was reborn in the celestial abode called the Tavatimsa Heaven (2nd Heaven) for two thousand years of Tavatimsa Heaven. After he passed away, he was born to be the Lord Buddha. Regarding King Pasenadi of Kosala, he was predicted to be one of the next Buddhas.
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2
.indd 49
49
21/12/2563 17:32:57
พระพุทธรูปในอิริยาบถนอนตะแคงขวานั้น บางคนเข้าใจว่าเป็น ปางปรินิพาน แต่แท้จริงแล้วคือ ปางไสยาสน์ อันเกี่ยวเนื่องกับการที่ พระพุทธเจ้าทรงแสดงปาฏิหาริย์ให้สุรินทราหูได้เห็น สุรินทราหูเป็น ยักษ์ตนหนึ่งที่ดูแคลนมนุษย์ร่างเล็กอย่างพระพุทธเจ้าจนไม่อยากก้ม หัวลงไปคุยด้วย พระพุทธองค์จงึ เนรมิตให้รา่ งใหญ่โตขึน้ กว่าสุรนิ ทราหู หลายเท่า ท�ำให้ยกั ษ์ตนนีศ้ รัทธา แล้วลดทิฐแิ ละความหลงของตนเองลง เบือ้ งหลังพระนอน จึงมีความหมายสอนชาวพุทธอย่างเราว่า ให้อย่า ยึดติดกับอัตตา อวดตัวเองว่าดีกว่าคนอืน่ แต่ควรจะนอบน้อม ให้เกียรติ เพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างเสมอภาค Regarding Buddha statue lying down on his right side, some people considers the statue as the Buddha statue in the attitude of Nirvana. In fact, the statue is in the posture of Reclining Buddha image related to the miracle performed to teach Asurin Tra Rahu by the Lord Buddha. The true meaning behind the great Reclining Buddha statue Curious? ‘Why to Have the Great Reclining Buddha Constructed.’ Asurin Tra Rahu is a giant who insults humans with the smaller body. So, he doesn’t want to bow his head and talk to the Buddha. Therefore, the Buddha transforms himself into a bigger giant than Asurin Tra Rahu manyfold. It makes the giant have faith in the Buddha and reduce his ego and pride.
50
8
The true meaning behind the story of the Reclining Buddha aims to teach Buddhists not to cling to ego and arrogance. On the other hand, we should be humble and respectful to others. วัดป่าสว่างบุญ (เจดีย์ 500 ยอด) จ.สระบุรี พระพุทธสีหไสยาสน์ (พระนอน) ความยาว 209 เมตร ก�ำลังด�ำเนิน การก่อสร้าง Wat Pasawangboon (Chedi Haroi Yod), Saraburi province The 209-meter-long Reclining Buddha is under construction. “ท�ำอะไร เพื่ออะไร ให้ใจตอบ ต้องคอยสอบถามใจอยู่ทุกข์เมื่อ ให้รู้ชัด แจ้งชัด อย่าคลุมเครือ จนหมดเชื้อหมดไฟ ใจสบาย... ทิ้งอะไรย่อมทิ้งได้ แต่อย่าให้ใจทิ้ง ภาวนาและพิจารณา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้เป็นอารมณ์ใจอยู่เสมอ” One should always remind oneself. One should get a clear answer to oneself to what one has done or what to be done. Then one will have peace of mind… One could fail to recall anything except one’s mindfulness. One should always refresh one’s memory about Anicca, Dukkha, and Anatta. ค�ำสอน พระครูวิสุทธิสุตวัฒน์ (หลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน) The teachings of Phrakhru Wisutthisuttawat (Luang Phor Somchai Punyamano)
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
2
.indd 50
21/12/2563 17:33:00
ประวัติโดยย่อ
พระครูวิสุทธิสุตวัฒน์
(หลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน) ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่ง
• เจ้าคณะอ�ำเภอแก่งคอย (ธรรมยุต) • เจ้าคณะปกครองพระสงฆ์ต�ำบลชะอม ฝ่ายธรรมยุต • เจ้าอาวาสวัดป่าสว่างบุญ • (วัดป่าสว่างบุญ ได้รับคัดเลือกเป็นอุทยาน การศึกษาธรรม ประจ�ำจังหวัดสระบุรี) • วิทยากรพิเศษแสดงพระธรรมเทศนา ประจ�ำกระทรวงศึกษาธิการ • วิทยากรพิเศษแสดงพระธรรมเทศนาประจ�ำกรมทางหลวง • วิทยากรพิเศษแสดงพระธรรมเทศนาทาง สถานีวิทยุสวนมิสกวัน มณฑลทหารบกที่ 11 • วิทยากรพิเศษแสดงพระธรรมเทศนาประจ�ำ ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์ จังหวัดนครราชศรีมา • ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาประจ�ำประเทศไทย สาขาการเผยแผ่พระพุทธศานา ประจ�ำปี พ.ศ.2562
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
8
2
.indd 51
51
21/12/2563 17:33:02
History of buddhism....
วัดนิคมวาสี พระครูพิสณฑ์สิทธิการ ดร. ( อรุณ ธมฺมวโร ) เจ้าอาสวัดนิคมวาสี / รองเจ้าคณะอำ�เภอพระพุทธบาท
52
3
วัดนิคมวาสี ตั้งอยู่บ้านสะพานขาว เลขที่ 12 หมู่ที่ 10 ต�ำบลขุนโขลน อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 52
21/12/2563 17:55:36
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
วัดนิคมวาสี เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อ วันที่ 11 เดือนกันยายน พ.ศ. 2512 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2538 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร วัดมีเนื้อที่ จ�ำนวน 6 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ที่ดินนิคมสร้างตนเอง พระพุทธบาทให้ใช้ประโยชน์เพื่อสร้างวัด ในปีพ.ศ. 2551 นายเฉลียว แก้วผลึก ได้ยกที่ดินถวายให้วัดนิคมวาสี จ�ำนวน 1 แปลง เนื้อที่รวม 6 ไร่ ทีด่ นิ วัดนิคมวาสีรวมทัง้ หมด 7 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา ทีธ่ รณีสงฆ์ จ�ำนวน 1 แปลงมีเนื้อที่ รวม 6 ไร่ รวมที่ดินของวัดนิคมวาสีทั้งหมด จ�ำนวน 13 ไร่ 2 งาน 50 ตารางวา อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จรด ถนนพหลโยธิน ,ทิศใต้ จรดที่ดินเอกชน, ทิศตะวันออก จรดที่ดิน เอกชน, ทิศตะวันตก จรดที่ดินเอกชน
สิ่งศ
1 2 3
ปูชนียวัตถุ
- พระประธานประจ�ำอุโบสถ ปางมารวิชัย เนื้อโลหะทองเหลือง จ�ำลองพระพุทธชินราช ขนาดหน้าตัก 49 นิ้ว สูง 179 นิ้ว สร้างปี พ.ศ. 2535 - พระประธานประจ�ำศาลาการเปรียญ ปางมารวิชัย ลักษณะ ปูนปั้น ขนาดหน้าตัก 3 เมตร ขนาดความสูง 6 เมตร สร้างปี พ.ศ. 2535
การบริหารและการปกครอง
รูปที่ 1 พระสมุห์อ่อน จุลฺลวโร รูปที่ 2 พระปลัดสิริ ถิรจิตฺโต รูปที่ 3 พระครูพิสณฑ์สิทธิการ
ท�ำเน
ไม่ทราบพ.ศที่แน่ชัด - พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2532 – 2545 พ.ศ. 2545 – ปัจจุบัน
พระครูพิสณฑ์สิทธิการ ดร. (อรุณ ธมฺมวโร) เจ้าอาสวัดนิคมวาสี / รองเจ้าคณะอ�ำเภอพระพุทธบาท SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 53
53
21/12/2563 17:55:51
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
อาคารเสนาสนะภายในวัดนิคมวาสี ดังนี้
1. อุโบสถ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมือ่ วันที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 เขตวิสงุ คามสีมากว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร 2. ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 27 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2536 เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3. หอสวดมนต์ กว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร สร้างทดแทน หลังเก่าเมื่อปี พ.ศ. 2562 4. กุฏสิ งฆ์ เป็นอาคารสองชัน้ คอนกรีตเสริมเหล็กโครงสร้างบนมุง กระเบือ้ งก่ออิฐมอญ มีจำ� นวน 24 ห้อง ลักษณะทรงไทย กว้าง 12 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2547 5. วิหาร กว้าง 9 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2550 6. ศาลาเอนกประสงค์ กว้าง 12 เมตร ยาว 40 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2557 7. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศล กว้าง 10 เมตร ยาว 25 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2558 นอกจากนี้ มีอาคารเสนาสนะต่างๆ ดังนี้ ฌาปนสถาน จ�ำนวน 1 หลัง หอระฆัง จ�ำนวน 1 หลัง, ห้องน�ำ ้ - ห้องสุขา จ�ำนวน 3 หลัง และโรงครัว จ�ำนวน 1 หลัง
54
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 54
21/12/2563 17:55:56
Buddhism
in Thailand
Everything You Need to Know About Buddhism in Thailand There are some 30,000 Buddhist temples in Thailand.
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
21/12/2563 17:01:36
56
.indd 56
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:01:38
น�้ำตกเจ็ดสาวน้อย
เจ็ดสาวน้อย น�้ำเจ็ดชั้น
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
21/12/2563 17:01:39
History of buddhism....
วัดเชิงเขา พระปลัดนิวัฒน์ อกิญฺจโน เจ้าอาวาสวัดเชิงเขา
58
4
วัดเชิงเขา ตั้งอยู่เลขที่ 32 ถนนเทศบาล 1 ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง จังหวัดสระบุรี
วัดเชิงเขา สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483 เดิมวัดตั้งอยู่ที่ บ้านตีนเขา หมู่ที่ 5 เรียกว่า “วัดตีนเขา” ต่อมาทางราชการทหารได้ท�ำ การเวนคืนทีด่ นิ เพือ่ ประโยชน์แก่ทางราชการ จึงได้ยา้ ยไปตัง้ อยู่ ณ บ้านเขาดิน ประกาศย้ายวัด วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2508 ในขณะนั้นมีผู้ซื้อที่ดิน บริจาคให้วดั คือ นายเบอะ-นางแก้ว สุกใส ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 58
21/12/2563 17:48:11
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
พระมหาธาตุเจดีย์ปาสาทิโก (พระธาตุเชิงเขา)
ในสมัยครัง้ พุทธกาล พระเจ้าปเสนทิโกศล เสด็จไปยังเมืองสาวัตถี พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชบริพาร ครั้นถึงหาดทราย ริมฝัง่ แม่นำ �้ พระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นทรายขาวผ่องบริสทุ ธิย์ งิ่ นัก ทรงมีพระหฤทัยเลือ่ มใสอย่างแรงกล้า ได้รบั สัง่ ให้ชว่ ยกันก่อกองทราย ให้เป็นรูปเจดีย์ถึง 84,000 องค์ มองดูเป็นทิวแถวสวยงาม เพื่อเป็น พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา เสร็จแล้วได้เสด็จไปเฝ้าพระพุทธเจ้าที่ บุปผารามมหาวิหาร แล้วได้ทลู ถามถึงอานิสงส์ แห่งการก่อเจดียท์ ราย พระพุทธเจ้าตรัสว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตรผูม้ ศี รัทธาแรงกล้า ได้ก่อเจดีย์ทรายถึง 84,000 องค์ หรือแม้แต่องค์เดียว ก็ย่อมได้รับ อานิสงส์มาก จะไม่ตกนรกตลอดร้อยชาติถา้ เกิดเป็นมนุษย์ จะอุดมสมบูรณ์ ทุกอย่าง มีชื่อเสียงเกียรติยศไปทั่วทุกทิศ จากนั้นจะได้ไปสวรรค์เสวย ทิพย์สมบัติ
การก่อเจดีย์ทราย เป็นเรื่องของผู้ที่มีความฉลาด มีความคิดดี ได้ท�ำเป็นประเพณีมาแล้วในอดีต แม้พระตถาคตเองก็เคยท�ำมาแล้ว ในครัง้ เป็นพระโพธิสตั ว์ ในครัง้ นัน้ ตถาคตยากจนมาก มีอาชีพตัดฟืนขาย วันหนึ่งได้พบทรายขาวสะอาดมากในราวป่า ก็มีจิตใจศรัทธาผ่องใส วันนั้นได้หยุดตัดฟืนทั้งวัน ได้กวาดทรายก่อเป็นเจดีย์โดยไม่เห็นแก่ ความเหนือ่ ยยาก แล้วเปลือ้ งผ้าห่มของตน ฉีกท�ำเป็นธงประดับไว้เพือ่ บูชาพระติสสะสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วอธิษฐานจิตขอให้เป็นปัจจัยแห่ง พระโพธิญาณในอนาคตกาล ครัน้ เมือ่ ตายไปแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์อยูส่ องพันปีทพิ ย์ เมือ่ สิน้ อายุขยั ได้อบุ ตั มิ าเกิดเป็นพระตถาคต นี้เอง ส�ำหรับพระเจ้าปเสนทิโกศลนั้น ก็ได้รับพยากรณ์ว่าจะได้เป็น พระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 59
59
21/12/2563 17:48:23
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
การร่วมบริจาคทรัพย์ ท�ำบุญสร้างอนุสารณียวัตถุใดที่จะให้เจริญ พระราชกุศลยิ่งใหญ่ คงจะไม่มีสิ่งอื่นใดเทียบเท่า การสร้างพระธาตุ เจดียบ์ รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุขององค์สมเด็จสัมมาสัมพุทธเจ้า กอปร กับปวงอาณาประชาราษฎรชาวบ้านเขาดิน ต่างเห็นประจักษ์ดว้ ยกันว่า การสร้างพระธาตุเจดีย์ของวัดเชิงเขา ต�ำบลปากเพรียว อ�ำเภอเมือง สระบุรี จังหวัดสระบุรี เป็นวิธเี ดียวทีช่ าวบ้านเขาดินจะได้ฉลองศรัทธา ที่ยิ่งใหญ่เปี่ยมล้นอย่างสูงสุดที่มีต่อองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า สถานที่ประดิษฐานพระธาตุเจดีย์นี้จึงควรสถิตอยู่ ณ จุดที่สูงที่สุด ในบ้านเขาดิน ที่ชาวบ้านจะขึ้นไปสักการะได้ กอปรกับวัดเชิงเขา ได้ รับความเมตตาจากพระเดชพระคุณเจ้ามงคลสิทธาจารย์ ( หลวงพ่อรวย ปาสาทิโก) เป็นประธานอุปถัมภ์ เพือ่ สร้างพระมหาธาตุเจดียป์ าสาทิโก (พระธาตุเชิงเขา) ซึง่ เป็นพระมหาธาตุเจดีย์ องค์ที่ 2 ทีพ่ ระเดชพระคุณ พระมงคลสิทธาจารย์ ได้รับมอบจากประเทศศรีลังกา ประดิษฐาน ณ พระมหาธาตุเจดีย์ปาสาทิโก (พระธาตุเชิงเขา) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่ อ ให้ พุ ท ธศาสนิ ก ชนได้ สั ก การบู ช า เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู ้ ท างด้ า น ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของพระพุทธศาสนาและปฏิบัติธรรมของ พุทธศาสนิกชน รวมทัง้ เป็นแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมเชิงสักการะ เพือ่ เป็น การเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง 60
4
รายนามเจ้าอาวาส
รูปที่ 1 พระอธิการดวง รูปที่ 2 พระอธิการพูน รูปที่ 3 พระอธิการสุข รูปที่ 4 พระอธิการถวิล รูปที่ 5 พระอธิการสมจิตร รูปที่ 6 พระอธิการอ่อน รูปที่ 7 พระครูพิศาลธรรมภาณ รูปที่ 8 พระอธิการชูชาติ รูปที่ 9 พระอธิการบุญนาค รูปที่ 10 พระอธิการเฉลียว สุนุทโร รูปที่ 11 พระปลัดนิวัฒน์ อกิฺ จโน
พ.ศ. 2484 – 2490 พ.ศ. 2490 – 2497 พ.ศ. 2497 – 2503 พ.ศ. 2503 – 2508 พ.ศ. 2508 – 2510 พ.ศ. 2510 – 2519 พ.ศ. 2519 – 2534 พ.ศ. 2534 – 2538 พ.ศ. 2538 – 2543 พ.ศ. 2543 – 2558 พ.ศ. 2558 – ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 60
21/12/2563 17:48:27
พระมหาธาตุเจดีย์ มีขนาดกว้าง 21 เมตร สูง 45 เมตร บรรจุ พระบรมสารีรกิ ธาตุ บนชัน้ สูงสุด ภายในห้องโถงประดิษฐานพระพุทธรูป ปางพุทธกลับ (หลวงพ่อแก้วประทานพร) ขนาดหน้าตักกว้าง 9 เมตร สูง 15 เมตร คงความเป็นมาของหลวงพ่อแก้วประทานพร เป็นความเห็น ของชาวบ้านเขาดินทีเ่ คยเห็นดวงแก้วสีฟา้ สุกใสขึน้ จากยอดสูงสุดของ โคกเขาดิน จึงใช้ชอื่ พระพุทธรูปทีป่ ระดิษฐานในห้องโถงพระมหาธาตุเจดีย์ ว่า “หลวงพ่อแก้วประทานพร” ภายในห้องโถงด้านล่างจัดเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงความเป็นมาของ พระเดชพระคุณพระมงคลสิทธาจารย์ (หลวงพ่อรวย ปาทิโก) เจ้าอาวาส วัดตะโก ต�ำบลดอนหญ้านาง อ�ำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในฐานะผูอ้ ปุ ถัมภ์การสร้าง อีกส่วนหนึง่ จัดเป็นสถานทีป่ ฏิบตั ศิ าสนกิจ ของคณะสงฆ์ และพุทธศาสนิกชน อีกทัง้ ยังจัดเป็นพิพธิ ภัณฑ์วถิ ชี มุ ชน ท้องถิ่น จังหวัดสระบุรี ด้วยเพื่อเป็นการศึกษาส�ำหรับคนรุ่นใหม่ได้ เรียนรู้ภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษในอดีตกาล
ชมความอลังการของ
“ถ�้ำใต้มหาเจดีย์ฯ”
ที่สร้างด้วยพลังแห่งศรัทธา
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 61
61
21/12/2563 17:48:31
History of buddhism....
วัดเกาะแก้วอรุณคาม พระมหาเทอดศักดิ์ สิริจนฺโท เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้วอรุณคาม
วัดเกาะแก้วอรุณคาม ตั้งอยู่เลขที่ 98 หมู่ 7 ต�ำบลหนองหมู อ�ำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี
วัดเกาะแก้วอรุณคาม เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 41 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา โฉนดเลขที ่ 6902 อาณาเขตของวัดเกาะแก้วอรุณคาม เฉพาะทีเ่ ป็นเขตพุทธาวาสและสังฆาวาส มีดงั นี้ ทิศเหนือติดคลองล�ำศาลา - คลอง 4 บางกง, ทิศใต้ติดที่ดินเลขที่ 1 – 3 – 6, ทิศตะวันออกติดที่ดินเลขที่ 3 – 6 คลองบางกง, ทิศตะวันตกติดที่ดินเลขที่ 1 คลองล�ำศาลา 62
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
4
.indd 62
21/12/2563 18:16:41
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
วัดเกาะแก้วอรุณคาม สร้างขึ้นเป็นวัดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2437 โดยหลวงรักษาเขตนิกร (รุณ ถีระวงษ์) บริจาคบ้าน 3 หลัง และทีด่ นิ 3 ไร่เศษ สร้างขึน้ เป็นวัดเรียกว่า “วัดหนองหมูเหนือ” เพราะมี วัดอีกวัดอยู่ทางทิศใต้ของวัดนี้ คือ “วัดหนองหมูใต้” อยู่ใน หมู่บ้านเดียวกัน แต่ชาวบ้านเรียกสั้นๆ ว่า “วัดเหนือ” ต่อมาขุนหาญ ยุทธนา บริจาคที่ดินเพิ่มอีก 5 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา เพื่อเป็นเกียรติ อนุ ส รณ์ แ ห่ ง ความดี ข องผู ้ บ ริ จ าคบ้ า นและที่ ดิ น สร้ า งวั ด ครั้ ง แรก ถึงปี พ.ศ. 2459 ได้ขึ้นทะเบียนเป็นวัดและได้เปลี่ยนนามวัดใหม่เป็น “วัดเกาะแก้วอรุณคาม” พ.ศ. 2489 นายดิษฐ์ นางเทียบ ทิพย์ประเสริฐ อุบาสิกาบุญส่ง ทิพย์ประเสริฐ บริจาคที่ดินอีก 1 แปลง เนื้อที่ 41 ไร่ 2 งาน 28 ตารางวา และได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่ เมือ่ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เปิดสอนพระปริยัติธรรม แก่พระภิกษุ สามเณร ตัง้ แต่ พ.ศ. 2484 จนถึงปัจจุบนั และเปิดสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกบาลี แก่พระภิกษุ สามเณร ตั้งแต่ พ.ศ. 2538 จนถึงปัจจุบัน
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 63
63
21/12/2563 18:16:53
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
บริเวณและเสนาสนะภายในวัด
บริเวณโดยทั่วไปของวัดเกาะแก้วอรุณคาม มีการปลูกต้นไม้ไว้ จ�ำนวนมากมาย มีทั้งไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ให้ร่มเงา การจัดสวนหย่อม จึงท�ำให้บริเวณวัดมีความสวยงาม ร่มรื่น อาคารเสนาสนะได้จัดไว้ อย่างเป็นระเบียบ ส่วนเรือ่ งความสะอาดของวัดเกาะแก้วอรุณคามนัน้ ได้นำ� กิจกรรม 5 ส. คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และสร้างนิสยั มาเป็นแนวทางในการพัฒนาวัด ซึ่งจังหวัดสระบุรีร่วมกับคณะสงฆ์ จังหวัดได้ตดิ ตามประเมินผล ปรากฏว่า ได้รบั คะแนนสูงสุดเป็นอันดับ 2 ของจังหวัดสระบุรี จึงแสดงให้เห็นว่า การด�ำเนินการพัฒนาวัดทาง ด้านอาคารสถานที่บริเวณวัดและสิ่งแวดล้อมในวัดเกาะแก้วอรุณคาม จัดได้ว่ามีคุณภาพค่อนข้างมาก สมควรที่วัดอื่นจะดูเป็นตัวอย่างได้
ที่ธรณีสงฆ์
มีที่ธรณีสงฆ์ จ�ำนวน 5 แปลง เนื้อที่ประมาณ 67 ไร่ 2 งาน 10 ตารางวา โฉนดเลขที่ 2991, 6764 น.ส.3 เล่ม 5 หน้า 8 สารบบ เล่มที่ 2 ได้รบั อนุญาตให้ตงั้ เป็นวัดเมือ่ ปี พ.ศ. 2449 ได้รบั พระราชทาน วิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ได้รับคัดเลือกเป็น วัดพัฒนาตัวอย่างประจ�ำปี 2531 และได้รบั คัดเลือกเป็นวัดพัฒนาดีเด่น ประจ�ำปี 2546 (ครั้งที่ 2) โดยการน�ำของพระครูพิศาลกิจจาทร หลังจากก่อนหน้านี้เคยได้รับคัดเลือกเป็นวัดพัฒนาดีเด่น (ครั้งแรก) สมัยพระครูวิจารณ์พัฒโนวาท เป็นเจ้าอาวาส (รูปที่ 10)
64
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
4
.indd 64
21/12/2563 18:16:57
ล�ำดับเจ้าอาวาส วัดเกาะแก้วอรุณคาม
1. พ ระอาจารย์ บุต ร พ.ศ. 2460 - 2463 รวม 3 ปี 2. พ ระอาจารย์ สั ง ข์ พ.ศ. 2463 - 2465 รวม 2 ปี 3. พ ระอาจารย์ พ ร้ อ ม พ.ศ. 2465 - 2480 รวม 15 ปี 4. พ ระอาจารย์ ผั น พ.ศ. 2480 - 2485 รวม 5 ปี 5. พ ระครู ส รนั น ทโสภิ ต พ.ศ. 2485 - 2493 รวม 8 ปี 6. พ ระอธิ ก ารเลิ ศ พ.ศ. 2493 - 2499 รวม 6 ปี 7. พ ระอธิ ก ารปลิ ว พ.ศ. 2499 - 2501 รวม 2 ปี 8. พ ระอธิ ก ารที พ.ศ. 2501 - 2505 รวม 4 ปี 9. พ ระอาจารย์ ผ ่ อ ง พ.ศ. 2505 - 2506 รวม 1 ปี 10.พระครู วิ จ ารณ์ พัฒ โนวาท พ.ศ. 2507 - 2543 รวม 36 ปี 11.พระครู พิ ศ าลกิ จ จาทร พ.ศ. 2543 – 2561 รวม 18 ปี 12.พระมหาเทอดศั ก ดิ์ สิ ริ จ นฺ โ ท พ.ศ. 2561 - ถึงปัจจุบัน
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
พระมหาเทอดศักดิ์ สิริจนฺโท
เจ้าอาวาสวัดเกาะแก้วอรุณคาม SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 65
65
21/12/2563 18:17:04
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
History of buddhism....
วัดสวนส�ำราญ พระครูเกษมเสลธรรม เจ้าคณะตำ�บลธารเกษม เจ้าอาวาสวัดสวนสำ�ราญ
วัดสวนส�ำราญ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 10 ต�ำบลหนองแก อ�ำเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี โทรศัพท์ 087-9472302
พระครูเกษมเสลธรรม
เจ้าคณะต�ำบลธารเกษม เจ้าอาวาสวัดสวนส�ำราญ
66
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 66
21/12/2563 18:12:48
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 67
67
21/12/2563 18:12:55
วัดสวนส�ำราญ 0-9940-02232-31-1
68
3
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 68
21/12/2563 18:13:02
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
22/12/2563 13:36:34
History of buddhism....
วัดถ�้ำธรรมโอสถ พระมหาสมหวัง ปัญญาวชิโร เจ้าอาวาสวัดถ้ำ�ธรรมโอสถ
วัดถ�้ำธรรมโอสถ ตั้งอยู่เลขที่ 103 บ้านหนองใหญ่ หมู่ที่ 13 ต�ำบลมวกเหล็ก อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
วัดถ�้ำธรรมโอสถ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 32 ไร่ เป็นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ตั้งวัดเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2538 ผูด้ ำ� เนินการก่อสร้าง คือพระสมุหช์ ำ� นาญ อิสริโย และนายเดชา หามมนตรี ร่วมกับราษฎรในหมูบ่ า้ นหนองใหญ่ เดิมเป็นทีพ่ กั สงฆ์ บริเวณป่าดงดิบ ตามทีเ่ ล่าสืบกันมาว่า มีพระภิกษุได้เดินธุดงค์มาปักกลดในบริเวณทีพ่ กั สงฆ์ ได้นมิ ติ เห็นภายใน ภูเขามีถ�้ำขนาดใหญ่ สามารถบรรจุคนได้ประมาณ 200 กว่าคนและค้นพบหินก้อนกลมๆ ภายในมีฝุ่นผงสีเหลืองใช้รักษาโรคได้ จึงเป็นที่มาของชื่อวัด “วัดถ�้ำธรรมโอสถ” 70
2
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 70
21/12/2563 18:21:11
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
อาคารเสนาสนะภายในวัดถ�้ำธรรมโอสถ ประกอบด้วย - ศาลาการเปรีย ญ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2537 - ศาลาอเนกประสงฆ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2549 - กุ ฏิ ส งฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง - ศาลาปฏิบัติธรรม 1 หลัง
ปูชนียวัตถุ ภายในวัดถ�้ำธรรมโอสถ
มี พ ระประธาน คือ พระพุทธชิน ราช พระปางนาคปรก พระปางมารวิชัย พระปางมารวิชัยทรงเครื่องจักรพรรดิสมัยอยุธยา
สิ่งศ
การบริหารการปกครองมีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ
1. หลวงพ่อทอง 2. หลวงพ่อเตี่ย 3. พระก้าน 4. พระสาย 5. พระสมุห์ช� ำนาญ อิสริโย 6. พระหนู เขมานัน โท 7. พระครูสมุห์บ รรจง ฐิต สัทโท 8. พระมหาสมหวัง ปัญ ญาวชิโร
1 2 3
ท�ำเน
พ.ศ. 2531 - 2538 พ.ศ. 2539 - 2542 พ.ศ. 2542 - 2547 พ.ศ. 2547 - ปั จ จุ บัน
พระมหาสมหวัง ปัญญาวชิโร เจ้าอาวาสวัดถ�้ำธรรมโอสถ
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 71
71
21/12/2563 18:21:25
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
72
.indd 72
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:02:06
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ และท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
เจ็ดคต-โป่งก้อนเสา
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
21/12/2563 17:02:07
History of buddhism....
ศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์
ศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ ศิษย์พระราชพรหมยาน จังหวัดสระบุรี ตั้งอยู่ 45/2 หมู่ที่ 4 ต�ำบลหน้าพระลาน อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมตรั ย รั ต น์ เริ่ ม จากการรั บ บริ จ าคที่ ดิ น จากญาติโยม ที่ มี ค วามเลื่ อ มใสศรั ท ธาเมื่ อ เดื อ นเมษายน พ.ศ. 2556 จ�ำนวน 6 ไร่ 2 งาน จากนัน้ พระตรัยรัตน์ ขนฺตพิ โล ได้เข้ามาเริม่ ปรับทีด่ นิ อันว่างเปล่า พร้อมเริ่มสร้างกุฏิที่อยู่อาศัย ไม้ไผ่ขนาดความกว้าง 2.0 เมตร ความยาว 2.5 เมตร จ�ำนวน 1 หลั ง พร้ อ มกุ ฏิ ไ ม้ ไ ผ่ ส� ำ หรั บ เป็ น ศาลาสวดมนต์ ท� ำ วั ต ร เช้า –เย็น และเริ่มถมที่ดินภายในศูนย์ปฏิบัติธรรม เนื่องจาก สถานที่ ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ธ รรมเป็ น ดิ น ร่ ว นซุ ย ทั้ ง หมดเวลาฝนตก รถยนต์จะไม่สามารถสัญจรได้รวมถึงร้านวัสดุกอ่ สร้างไม่สามารถ เข้ามาส่งของเพื่อสร้างถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนาได้
74
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
4
.indd 74
21/12/2563 18:28:34
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 75
75
21/12/2563 18:28:41
วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ได้รับความเมตตาจากพระเดช พระคุณพระภาวนากิจวิมล (สมณศักดิ์ ณ เวลานัน้ ) ท่านเจ้าอาวาสวัดท่าซุง จังหวัดอุทยั ธานี เดินทาง มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ในการเทปูนหล่อ พระประธานสมเด็จองค์ปฐม (องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า) พร้อมวางศิลาฤกษ์สร้างอาคารปฏิบัติธรรมและวางแผ่นดวงก�ำเนิด ศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ ศิษย์พระราชพรหมยานร่วมกับท่านนาย อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติและประชาชนที่ทราบข่าว หลังจากงานพิธี ครั้งนั้นผ่านพ้นเสร็จเป็นที่เรียบร้อย หลวงพ่อท่านเจ้าคุณพระภาวนา กิจวิมล พร้อมคณะญาติโยม ที่ศรัทธาต่างก็พร้อมใจกันเดินทางมาร่วม ท�ำบุญทอดผ้าป่า รับเป็นเจ้าภาพสร้างเสนาสนะในพระพุทธศาสนา ตลอดมา เป็นประจ�ำทุกปีจนถึงปี พ.ศ. 2560 หลวงพ่อท่านเจ้าคุณ พระราชภาวนาโกศล หลวงพ่อผูม้ พี ระคุณได้มรณภาพลง ทางศูนย์ปฏิบตั ิ ธรรมตรัยรัตน์ฯ จึงได้ไปน้อมกราบนิมนต์หลวงพ่อท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ ท่านเจ้าอาวาสวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพมหานคร มาเป็นองค์ประธานในการยกฉัตรวิหารศักดิ์สิทธิ์ กลางน�้ำที่สร้างเสร็จเพื่อน้อมถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 พร้อมบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ จากวันนั้นถึงวันนี้เข้าสู่ปีที่ 7 ศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ฯ ได้สร้าง ถาวรวัตถุ ในพระพุทธศาสนาครบตามหลักเกณฑ์และพร้อมแล้วที่ จะขออนุญาตยกสถานะขึ้นเป็นวัดถูกต้องตามกฎหมายเพื่อน้อมเป็น จุ ด รวมใจของประชาชนที่ ต ้ อ งการมาปฏิ บั ติ ธ รรม และประกอบ ศาสนากิจสืบไป
76
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
4
.indd 76
21/12/2563 18:28:45
โดยมีรายละเอียดซึ่งจัดท�ำเป็นรูปภาพการก่อสร้างถาวรวัตถุ ทั้งหมดภายในศูนย์ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ฯ ตั้งแต่ปีแรกเริ่ม พ.ศ. 2556 จนถึงปีปัจจุบัน พ.ศ. 2563 ซึ่งใช้งบการก่อสร้างจากปัจจัย ของญาติโยมที่มีจิตศรัทธารวมแล้วทั้งสิ้นยี่สิบล้านกว่าบาท ทางศูนย์ ปฏิบัติธรรมตรัยรัตน์ฯ จึงได้น้อมจัดท�ำประวัติเพื่อเรียนมาให้ทราบ ณ โอกาสนี้ ทุกหยาดเหงือ่ ขอน้อมเป็นส่วนหนึง่ ในงานของพระพุทธศาสนา เพื่อด�ำรงครบ 5,000 ปี” (เพื่อน้อมแทนคุณแผ่นดิน)
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 77
77
21/12/2563 18:28:53
History of buddhism....
วัดถ�้ำดาวเขาแก้ว
ส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสระบุรี แห่งที่ 9 พระครูประโชติบุญญาภรณ์ (ประทวน อคฺตทีโป) ดร. เจ้าสำ�นักวัดถ้ำ�ดาวเขาแก้ว สำ�นักปฏิบัติธรรมประจำ�จังหวัดสระบุรี แห่งที่ 9
ตั้งอยู่หมู่ที่ 10 บ้านเขาถ�ำ้ ต�ำบลล�ำพญากลาง อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี
ความเป็นมา
พระครูประโชติบุญญาภรณ์ (อาจารย์ประทวน) ธุดงค์จาริกมาเจอสถานทีแ่ ห่งนี้ ซึง่ มีความสัปปายะและ เงียบสงบ ซึ่งเป็นที่ของกรมป่าไม้ จึงได้ขออนุญาตให้ที่ แห่งนีใ้ นการจัดตัง้ วัดและจัดตัง้ เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2535 และได้รบั การจัดตัง้ เป็นส�ำนักปฏิบตั ธิ รรม ประจ�ำจังหวัดเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 ในปีพ.ศ. 2544 พระอาจารย์ประทวน เริ่มจัดงาน ปริวาสกรรมปฏิบตั ธิ รรม ในวันที่ 20 - 29 เมษายน และ ได้จัดมาทุกปี จนถึงปัจจุบัน ได้รับอนุมัติจากมหาเถร สมาคมให้เป็นส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสระบุรี แห่งที่ 9 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
78
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
(6
).indd 78
21/12/2563 18:36:01
ว หลัง ในสม พระ อ วิสุงค กิ ต ต เป็ น กว้าง องค
สิ่งศ
1 2 3
ท�ำเน
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 79
79
21/12/2563 18:36:08
ร ร ร ร ร ร ร ร ร ร
ระเบียบของส�ำนัก
พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา ทางส�ำนักปฏิบัติธรรมได้จัดหลักสูตรและ ระเบียบการปฏิบัติกรรมฐาน อันเป็นนโยบายอันดับ 1 ของส�ำนัก ปฏิบัติธรรมวัดถ�้ำดาวเขาแก้ว ตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตรในแนว ปฏิปทาของครูบาอาจารย์เพื่อเผยแผ่ธรรมะให้พระภิกษุและสามเณร อารามิกชนภายในวัดและภิกษุอาคันตุกะที่จรมา รวมทั้งญาติโยม อุบาสก อุบาสิกา ที่พักมาปฏิบัติธรรมบ�ำเพ็ญกุศลให้ได้ประโยชน์สุข ตามก�ำลังวาสนาบารมีของแต่ละบุคคลดังนี้ 03.30 น. ระฆังเตือนตื่นขึ้นมาเตรียมตัวพร้อมกัน 04.00 น. สมาทานกรรมฐานเจริญจิตภาวนา 05.00 น. ท�ำวัตรเช้า 06.00 น. เดินจงกรม 06.30 น. พระภิกษุสงฆ์ออกบิณฑบาต ญาติโยมช่วยกันท�ำความ สะอาดวัด 08.00 น. ฉันภัตตาหารเช้า ฟังธรรม 13.00-15.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย เจริญจิตภาวนา 16.00-17.00 น. ท�ำความสะอาดวัด ระฆังเตือนเตรียมตัว 18.00-20.00 น. ท�ำวัตรเย็น เจริญพระพุทธมนต์ 20.00-21.00 น. เจริญจิตภาวนา 21.00 น. พักตามอัธยาศัย ในระเบียบของส�ำนัก 80
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
(6
).indd 80
21/12/2563 18:36:12
ต�ำแหน่งทางการปกครอง
- เจ้าอาวาสวัดหนองพลวงน้อย ต�ำบลโพธิ์กลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา - ประธานสงฆ์ วัดถ�้ำดาวเขาแก้ว อ�ำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี - ประสานสงฆ์ ส�ำนักสงฆ์ทรัพย์กังวานบุญญาภรณ์ อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา - ประธานสงฆ์ สวนป่าสันติธรรมประโยค อ�ำเภอปากช่อง จังหวัด นครราชสีมา - ประธานศูนย์ปฏิบัติธรรมพระครูประโชติบุญญาภรณ์ ประเทศ เนเธอร์แลนด์
วุฒิการศึกษา
พระครูประโชติบุญญาภรณ์ ผู้ก่อตั้งส�ำนักปฏิบัติธรรมวัดถ�้ำดาวเขาแก้ว
พ.ศ. 2550 น.ธ.เอก พ.ศ. 2551 ป.บส. พ.ศ. 2554 พธ.บ. พ.ศ. 2557 พธ.ม.(กิตติมศักดิ์) วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ปริญญาบัตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (PhD) จาก International of University of Morality USA.(IUM)
ประวัติโดยสังเขป พระครูประโชติบุญญาภรณ์ ฉายา อตฺตทีโป นามเดิม ประทวน ฉัตรกระโทก เป็นบุตรของ นายทนต์ นางอุย ฉัตรกระโทก ภูมิล�ำเนา บ้านแชะ ต�ำบลแชะ อ�ำเภอครบุรี จังหวัดนครราชสีมา เกิดวันอาทิตย์ ขึ้น 10 ค�่ำ เดือน 9 ปีขาล วันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ. 2505 ปัจจุบัน อายุ 58 ปี พรรษา 33 พระครูประโชติบญ ุ ญาภรณ์ อุปสมบทในปี พ.ศ. 2533 ณ พัทธสีมา วัดราษฎร์นริ มิต อ�ำเภอตะกัว่ ป่า จังหวัดพังงา มีพระครูบญุ ญเขตคณาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอตะกั่วป่า ในสมัยนั้น เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่ออุปสมบท แล้วไม่ได้คิดว่าจะอยู่ในร่มกาสาวพัตร์นาน คิดว่าจะบวชเพียง 7 วัน เท่านัน้ แต่มเี หตุปจั จัยให้ได้อยูใ่ นพระพุทธศาสนาต่อ คือ ได้เกิดความ สงสัยในพระธรรมขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงได้ตงั้ ใจทีจ่ ะศึกษา ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ จึงได้เรียนพระปริยัติธรรมจนสามารถสอบไล่ ได้นักธรรมชั้นตรี และด้วยนิสัยที่ชอบความท้าทายและผจญภัยจึง กราบลาพระอุปชั ฌาย์ขอจาริกธุดงค์ในพรรษาต้นๆ เพือ่ อกปฏิบตั แิ ละ แสวงหาครูบาอาจารย์ พระครู ป ระโชติ บุ ญ ญาภรณ์ เดิ น ธุ ด งค์ ไ ปทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคของ ประเทศไทยตลอดจนประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศพม่า ท่านมี ความตั้งใจแน่วแน่ในการปฏิบัติและศึกษาหลักธรรมของพระพุทธเจ้า เคร่งครัดในพระธรรมวินัยมีศีลาจารวัตรที่งดงามเป็นที่เคารพนับถือ ของสาธุชนทั่วไป ท�ำให้มีศิษยานุศิษย์มากมายทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 81
81
21/12/2563 18:36:14
กิจกรรมการส่งเสริมการถือศีลปฏิบัติธรรม
ส�ำนักปฏิบัติธรรมวัดถ�้ำดาวเขาแก้ว จัดเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2535 ปัจจุบันได้จัดโครงการประพฤติวัตรปฏิบัติธรรม งานปริวาสกรรมโดย 1 ปี จัดขึ้น 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 งานปริวาสกรรม(รุ่นทั่วไป) เริ่มตั้งแต่ วันที่ 20 - 29 เมษายน ของทุกๆ ปี รวม 10 วันรับพระภิกษุเข้าร่วมปฏิบัติธรรม ทัว่ ไป แต่ละปีมพี ระภิกษุเข้าร่วมปฏิบตั ธิ รรมประมาณ 300 – 400 รูป ญาติโยมสาธุชนประมาณ 600 คน ครั้งที่ 2 งานปริวาสกรรม (รุ่นพระนิสิต นักศึกษา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1-10 ธันวาคม พ.ศ. 2535 รวม 10 วัน รับพระภิกษุที่ศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ของมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขต นครราชสีมา (มจร.ขว.นม.) แต่ละปีจะมีพระภิกษุ สามเณรเข้าร่วม ปฏิบัติธรรมปีละประมาณ 150 – 200 รูป ญาติโยมสาธุชน ประมาณ 400 คน นอกจากนี้ ยังจัดกิจกรรมส่งเสริมการถือศีลปฏิบัติธรรมใน ทุกวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา
82
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
(6
).indd 82
21/12/2563 18:36:17
วัดถ�้ำดาวเขาแก้ว เป็นวัดที่มีเสน่ห์โดยธรรมชาติ อากาศร่มรื่น เย็นสบาย สายบุญ สายเที่ยว ต้องมาสักครั้งในชีวิต
สถานที่ศักดิ์สิทธิ์สงบเงียบ และมีต�ำนานความเชื่อเกี่ยวกับ
เรื่องพญานาค
ภายในถ�้ำมีความสวยงามด้วยหินงอกหินย้อย
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 83
83
21/12/2563 18:36:27
“รอยพระพุทธบาท” ที่ประทับไว้บนแผ่นดิน
เหนือไหล่เขาสุวรรณบรรพต หรือเขาสัจจพันธ์คีรี
วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร
รอยพระพุทธบาทแห่งนี้เป็นรอยพระพุทธบาทเบื้องขวา ซึ่งถูกค้นพบตั้งแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรม พระมหากษัตริย์องค์ที่ 22 แห่งกรุงศรีอยุธยา
84
.indd 84
วั ด พระพุ ท ธบาทราชวรมหาวิ ห าร ตั้ ง อยู ่ ที่ ต� ำ บลขุ น โขลน อ� ำ เภอ พระพุทธบาท ห่างจากตัวเมืองจังหวัดสระบุรปี ระมาณ 28 กิโลเมตร มีทางเลีย้ วซ้าย ก่อนถึงอ�ำเภอพระพุทธบาทเข้าไปประมาณ 1 กิโลเมตร วัดพระพุทธบาท เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก สร้างขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ 2167 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม ปูชนียสถานทีส่ ำ� คัญคือ “ รอยพระพุทธบาท ที่ประทับไว้บนแผ่นดินเหนือไหล่เขาสุวรรณบรรพต หรือเขาสัจจพันธ์คีรี” ตามประวัติความเป็นมา ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม แผ่นดิน กรุงศรีอยุธยา ปรากฏว่า มีพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยคณะหนึง่ เดินทางไปยังลังกา ทวีป ด้วยหวังจะสักการบูชาพระพุทธบาท ณ เขาสุมนกูฏ การไปคราวนั้นเป็น เวลาทีพ่ ระสงฆ์ชาวลังกาทวีปก�ำลังสอบประวัติ และทีต่ งั้ แห่งรอยพระพุทธบาท ทั้งปวง ตามที่ปรากฏอยู่ในต�ำนานว่ามีเพียง 5 แห่ง ภายหลังสืบได้ความว่า ภูเขาที่ชื่อว่า สุวรรณบรรพต มีอยู่ในสยามประเทศ พระภิกษุสงฆ์ไทยคณะนั้นได้รับค�ำบอกเล่า เมื่อกลับมาสู่ประเทศไทย จึง น�ำความขึ้นถวายสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีท้อง ตราสั่งบรรดาหัวเมืองทั้งปวง ให้เที่ยวตรวจตราค้นดูตามภูเขาต่างๆ ว่าจะมี รอยพระพุทธบาทอยู่ ณ ที่แห่งใด ครั้งนั้น
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:02:55
เจ้าเมืองสระบุรี สืบได้ความจากนายพรานบุญว่า ครั้งหนึ่งออกไป ล่าเนือ้ ในป่าใกล้เชิงเขา ยิงถูกเนือ้ ตัวหนึง่ เจ็บล�ำบากหนีขนึ้ ไปบนไหล่เขา ซุกเข้าเชิงไม้หายไป พอบัดเดี๋ยวก็เห็นเนื้อตัวนั้น วิ่งออกจากเชิงไม้เป็น ปกติอย่างเก่า นายพรานบุญนึกประหลาดใจ จึงตามขึ้นไปดูสถานที่บน ไหล่เขาที่เนื้อหนีขึ้นไป ก็พบรอยปรากฏอยู่ในศิลา มีลักษณะเหมือนรูป รอยเท้าคน ขนาดยาวประมาณสักศอกเศษ และ ในรอยนัน้ มีนำ�้ ขังอยูด่ ว้ ย นายพรานบุญเข้าใจ ว่าบาดแผลของเนือ้ ตัวทีถ่ กู ตนยิง คงหายเพราะดืม่ น�ำ้ ในรอยนัน้ จึงวักน�ำ้ ลองเอามาทาตัวดู บรรดาโรคผิวหนังคือ กลากเกลือ้ น ซึง่ เป็นเรือ้ รังมาช้านานแล้ว ก็หายหมดสิน้ ไป เจ้าเมืองสระบุรี จึงสอบสวน ความจริงดู ก็ตรวจค้นพบรอยนั้น สมดังค�ำบอกเล่าของนายพรานบุญ จึงมีใบบอกแจ้งเรือ่ งเข้ามายังกรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม จึง เสด็จพระราชด�ำเนินขึ้นไป ณ ที่เขานั้น ทอดพระเนตรเห็นรอยนั้นแล้ว จึง ทรงพระราชวิ จ ารณ์ ต ระหนั ก แน่ น พระราชหฤทั ย ว่ า คงเป็ น รอย พระพุทธบาท เพราะมีลายลักษณ์กงจักร ประกอบด้วยอัฏฐุตตรสตมหา มงคลร้อยแปดประการ ตรงกับเรือ่ งทีช่ าวลังกาทวีปแจ้งเข้ามาด้วย เกิด พระราชศรัทธาปราโมทย์โสมนัสเป็นก�ำลัง โดยทรงพระราชด�ำริเห็นว่า รอยพระพุทธบาทย่อมจัดเป็นบริโภคเจดีย์แท้ เพราะเป็นพุทธบทวลัญช์ อันเนื่องมาแต่พระพุทธองค์ ย่อมประเสริฐยิ่งกว่าอุเทสิกเจดีย์ เช่น พระ สถูปเจดีย์ สมควรจะยกย่องบูชาเป็นพระมหาเจดียสถาน จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯให้ชา่ งก่อเป็นคฤหหลังน้อย สวมรอยพระพุทธบาทไว้ เป็นการชัว่ คราวก่อน ครัน้ เสด็จพระราชด�ำเนินกลับมายังราชธานี จึงทรง
สถาปนายกทีพ่ ระพุทธบาทขึน้ เป็นเจดียสถาน เป็นการส�ำคัญโปรดเกล้าฯ ให้ ส ร้ า งพระมณฑปยอดเดี่ ย วสวมรอยพระพุ ท ธบาทก� ำ หนดเป็ น พุทธเจดีย์ และสร้างอารามวัตถุอื่นๆ เช่น พระอุโบสถ พระวิหาร ให้เป็น ที่ส�ำหรับพระภิกษุอยู่แรม เพื่อท�ำการบริบาลพระพุทธบาท การกราบไหว้พระพุทธเจ้าจึงไม่ตอ้ งไปถึงอินเดีย พระพุทธเจ้าเสด็จ มาอยู่ประเทศไทยหลายพระองค์ โดยเฉพาะพระพุทธบาทในจังหวัด สระบุรแี ห่งนี้ ยิง่ ในอนาคตประเทศไทยแถบนีท้ งั้ หมดจะเจริญรุง่ เรืองทาง จิตใจพบสันติสุข เมื่อได้น�ำพระธรรมค�ำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธ เจ้ามาปฏิบัติกันอยู่เนืองนิตย์ SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 85
85
21/12/2563 17:02:59
มหัศจรรย์พระพุทธฉาย
และรอยพระพุทธบาทเบื้องขวา
วัดพระพุทธฉาย วัดพระพุทธฉาย ตัง้ อยูเ่ ชิงเขาปถวี (ปฐวี) ต�ำบลหนอง ปลาไหล เข้าทางเดียวกับอุทยานแห่งชาตินำ�้ ตกสามหลัน่ เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธฉาย หรือ รอยพระพุทธรูป อยู่บนแผ่นหินซึ่งตั้งอยู่บนชะง่อนผา มีการสร้าง มณฑปครอบไว้ มีบันไดจากบริเวณวัดด้านล่างขึ้น ไปยั ง มณฑป และต่ อ ไปยั ง หน้ า ผาซึ่ ง อยู ่ เ หนื อ มณฑปขึ้นไป ที่นี่ยังมีภาพเขียนลายเส้นยุคก่อน ประวัตศิ าสตร์ทบี่ ริเวณเชิงผา ได้แก่ ภาพสัตว์ลาย เส้นคล้ายตัวกวาง บริเวณข้างประตูเข้าพระพุทธฉาย พบภาพมือคนและภาพสัญลักษณ์ บริเวณจากถ�้ำ ฤาษีไปทางพระพุทธฉายทางทิศตะวันตก พบภาพ เขียนรูปไก่ ภาพพระพุทธรูป และภาพสัญลักษณ์ ส่วน บริเวณหน้าผา จปร. พบภาพลายเส้นขนาดใหญ่ที่มีความ ซับซ้อน คล้ายภาพเขียนก่อนประวัตศิ าสตร์ทเี่ คยถูกค้นพบ ที่ผาแต้ม จังหวัดอุบลราชธานี เขียนด้วยยางไม้มีอายุเก่า แก่ประมาณ 3,000 ปี โดยเขียนสัญลักษณ์ใช้สื่อความ หมายให้เข้าใจในหมูเ่ ดียวกัน ซึง่ อาจจะเป็นสือ่ ทางพิธกี รรม และความเชื่อของคนในยุคนั้น อีกทั้งยังพบ รอยพระพุทธบาทเบื้องขวา เมื่อ พ.ศ. 2537 กรมศิลปากรได้ท�ำการซ่อมมณฑปบนภูเขาบริเวณ วัดพระพุทธฉาย และเมือ่ รือ้ พืน้ ซีเมนต์พบรอยพระพุทธบาท เบื้องขวาอยู่ใต้ทรายปรากฏเห็นเป็น รูปรอยประทับในหิน 86
.indd 86
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:03:04
รอยพระพุทธบาทเบื้องขวาที่ปรากฏอยู่บนเนื้อหิน มีอายุกว่า 400 ปี ซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในมณฑป บนยอดเขาและพระพุทธฉาย ภาพเงาของพระพุทธเจ้า บนเงื้อมเขา ซึ่งปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาติ มีต�ำนานเล่าขานกันมานาน เป็นที่เคารพศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนเป็นจ�ำนวนมาก
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
21/12/2563 17:03:05
พระมหารัตนโลหะเจดีย์ศรีศาสนโพธิสัตว์สว่างบุญ พระมหาเจดีย์ 500 ยอด
88
.indd 88
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:03:06
ศูนย์ร่วมใจ
อลังการมหาเจดีย์ทองค�ำ 500 ยอด
“พระมหารัตนโลหะเจดีย์ ศรีศาสนโพธิสัตว์สว่างบุญ”
วัดป่าสว่างบุญ
วัดป่าสว่างบุญ เจดีย์ทองค�ำ 500 ยอด ตัง้ อยูท่ ี่ อ.แก่งคอย จ.สระบุรี สร้างขึน้ ใน ปี 2528 โดยหลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน ใน เนื้อที่กว่า 400 ไร่ ทางด้านในวัดเป็นสถานที่ สงบเงียบเหมาะกับการปฏิบัติธรรมเป็นอย่าง มาก เนือ่ งจากพืน้ ทีท่ างด้านหลังติดกับเชิงเขา มีอากาศเย็นสบาย มาก และมีประชาชนเข้าไป ปฏิบัติธรรมกันเป็นจ�ำนวนมากในช่วงวันหยุด สุดสัปดาห์ วั ด นี้ น อกจากจะมี ชื่ อ เสี ย งในเรื่ อ งของ ความสงบ ท�ำให้มีผู้คนมาปฏิบัติธรรมกันเป็น จ� ำ นวนมากแล้ ว ความโดดเด่ น ของ สถาปัตยกรรมทีส่ วยงามก็เป็นอีกหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ ชือ่ เสียงขจรขจายไปไกลอีกด้วย โดยความเด่น
แห่ง
ศรัทธา
เรื่องความงามของวัดแห่งนี้อยู่ที่ “พระมหา เจดีย์ 500 ยอด มีชื่อเต็มว่า “พระมหารัตน โลหะเจดี ย ์ ศ รี ศ าสนโพธิ สั ต ว์ ส ว่ า งบุ ญ ซึ่ ง ประกอบไปด้วย “เจดียป์ ระธานองค์ใหญ่” อยู่ ตรงกลาง และมี องค์เจดีย์รายองค์เล็กตั้งลด หลัน่ กันลงมาอยูร่ อบๆทิศ ตัวองค์เจดียเ์ ป็นปูน ปั ้ น เคลื อ บสี ท องทั้ ง หมดทุ ก องค์ ด้ า นใน ประดับกระจกทับทิม และได้อัญเชิญพระบรม สารีริกธาตุจากประเทศเนปาล อินเดีย ศรี ลังกา มาบรรจุในพระมหาเจดีย์ครบทั้ง 500 ยอด รวมทั้งได้น�ำพระบรมสารีริกธาตุ และ วัตถุมงคลของมีค่า มาบรรจุอยู่ในพระเจดีย์ องค์ประธานอีกด้วย ค�ำสอนจาก พระครูวิสุทธิสุตวัฒน์ (หลวงพ่อสมชาย ปุญญมโน)
ท�ำอะไร เพื่ออะไร ให้ใจตอบ ต้องคอยสอบถามใจ อยู่ทุกข์เมื่อ ให้รู้ชัด แจ้งชัด อย่าคลุมเครือ จนหมดเชื้อหมดไฟ ใจสบาย... ทิ้งอะไรย่อมทิ้งได้ แต่อย่า ให้ใจทิ้ง ภาวนา และพิจารณา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้เป็นอารมณ์ใจอยู่เสมอ SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 89
89
21/12/2563 17:03:09
วัดเขาแก้ววรวิหาร
เป็นวัดโบราณที่สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในอ�ำเภอเสาไห้ จ.สระบุรี ตั้งอยู่บนเขาเตี้ยๆ ริมฝั่งแม่น�้ำป่าสัก
พระเจดีย์ทรงไทยห้ายอด สูง 34 เมตร กว้าง 34.5 เมตร ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุสาวก มีค�ำเล่าลือกันว่า ในวันดีคืนดี จะเห็นดวงแก้วสุกสว่าง เหนื อ วิ หารวัด เขาแก้วอยู่เ สมอ ถื อ ว่ าเป็ นการแสดงปาฏิหาริย ์ ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่บรรจุในองค์พระเจดีย์
90
.indd 90
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
21/12/2563 17:03:11
หลวิชัย คาวี พระสมุทรโฆษ
จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถ
วัดสมุทรประดิษฐาราม ตั้ ง อ ยู ่ ที่ ต� ำ บ ล ส ว น ดอกไม้ อ�ำเภอเสาไห้หา่ งจาก ที่ว่าการอ�ำเภอประมาณ 2 กิโลเมตร พระอุโบสถสร้าง เสร็จเมือ่ พ.ศ. 2440 ภายใน มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อง “คาวี ” มี ค วามงดงามมาก พระประธานในพระอุโบสถ อั ญ เชิ ญ มาจากเมื อ งเก่ า สุโขทัย เป็นพระพุทธรูปส�ำริด ปิ ด ทองปางมารวิ ชั ย และ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระ โมคคัลลานะ พระสารีบุตร อั ค รสาวกซ้ า ยขวา และใน เดือนกันยายนของทุกปีจะมี การแข่งขันเรือยาวประเพณีที่ วัดแห่งนี้ เป็นรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง ลึก ลงไปในดินกว้าง 1 ศอกเศษ ยาว 3 ศอก ตัง้ อยูใ่ นบริเวณวัดพระพุทธบาท น้อย อ�ำเภอแก่งค่อย ตัง้ อยูใ่ นหุบเขา หินปูน มีทศั นียภาพสวยงามแปลกตา ห่างจากตัวจังหวัดสระบุรีประมาณ 20 กิโลเมตร ไปตามถนนมิตรภาพ เลี้ยวซ้ายเข้าอ�ำเภอแก่งคอย ข้าม สะพานอดิเรกสาร เลีย้ วซ้ายไปตาม ถนนอดิเรกสาร เลีย้ วขวาไปตามถนน สองคอน-พระบาทน้ อ ย-พุ แ ค ประมาณ 7.5 กิโลเมตร ก็ไปถึงวัด พระพุทธบาทน้อย
รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง
ประทับลึกลงไปในดินกว้าง 1 ศอกเศษ ยาว 3 ศอก
พระพุทธบาทน้อย
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 91
91
21/12/2563 17:03:14
SARABURI รายชื่อวัดจังหวัดสระบุรี
พระพุทธบาทสูงค่า เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ฐานผลิตอุตสาหกรรม เกษตรน�ำล�้ำแหล่งเที่ยว หนึ่งเดียวกะหรี่ปั๊บนมดี ประเพณีตักบาตรดอกไม้งาม เหลืองอร่ามทุ่งทานตะวัน ลือลั่นเมืองชุมทาง
อ�ำเภอเมืองสระบุรี วัดแก่งขนุน บ้านแก่งขนุน ต�ำบลปากเพรียว
วัดขาคูบา บ้านเขาคูบา ต�ำบลปากเพรียว
วัดเจดีย์งาม ต�ำบลปากเพรียว
วัดเชิงเขา บ้านเขาดิน ต�ำบลปากเพรียว
วัดดาวเรือง ถนนเทศบาล 5 ต�ำบลปากเพรียว
วัดดาวเสด็จ บ้านดาวเสด็จ ต�ำบลปากเพรียว วัดทองพุ่มพวง ถนนพหลโยธิน ซอย 15 ต�ำบลปากเพรียว วัดบ้านบึง บ้านบึง ถนนพิชัย ณรงค์สงคราม ต�ำบลปากเพรียว
วัดบ้านอ้อย บ้านอ้อย ต�ำบลปากเพรียว
วัดบ�ำรุงธรรม ม. 3 บ้านแพะ ต�ำบลปากเพรียว
วัดศรีบุรีรตนาราม บ้านปากเพรียว ต�ำบลปากเพรียว
วัดศาลาแดง บ้านศาลาแดง ต�ำบลปากเพรียว
วัดหนองโสน บ้านหนองโสน ต�ำบลปากเพรียว วัดคีรีวง ม. 6 บ้านหนองจาน ต�ำบลหน้าพระลาน
วัดคุ้งเขาเขียว ม. 3 บ้านคุ้งเขาเขียว ต�ำบลหน้าพระลาน วัดซอย 6 ขวา ม. 10 บ้านซอย 6 ขวาหนองจาน ต�ำบลหน้าพระลาน
92
.
วัดซอยสิบ ม.5 ซอย 10
วัดหงษ์ดาราวาส
หนองจาน ต�ำบลหน้าพระลาน วัดถ�้ำวิมานแก้ว ม. 3 บ้านคุง้ เขาเขียว ต�ำบลหน้าพระลาน วัดป่าด�ำรงธรรม ม.5 บ้านบ่อลักน�้ำ ต�ำบลหน้าพระลาน วัดศรัทธาประชากร ม. 4 บ้านเขารวก ต�ำบลหน้าพระลาน วัดหน้าพระลาน ม. 7 บ้านหน้าพระลาน ต�ำบลหน้าพระลาน วัดโคกดินแดง ม. 7 บ้านโคกดินแดง ต�ำบลพุแค วัดประสิทธิ์พรชัย ม.5 บ้านวังเลน ต�ำบลพุแค วัดพุแค ม.1 บ้านพุแค ต�ำบลพุแค
ม. 1 บ้านหงษา ต�ำบลนาโฉง วัดถนนเหล็ก ม. 8 บ้านถนนเหล็ก ต�ำบลโคกสว่าง วัดหัวถนน ม. 5 บ้านหัวถนน ต�ำบลโคกสว่าง วัดนาร่อง ม. 2 บ้านนาร่อง ต�ำบลหนองโน วัดป๊อกแป๊ก ม. 1 บ้านป๊อกแป๊ก ต�ำบลหนองโน วัดหนองโนใต้ ม. 6 บ้านหนองโนใต้ ต�ำบลหนองโน วัดหนองโนเหนือ ม.3 บ้านหนองโน ต�ำบลหนองโน
วัดสามัคคีธรรม ม. 6 บ้านห้วยยาง ต�ำบลพุแค วัดหนองหว้า ม. 7 บ้านหนองหว้า ต�ำบลพุแค
วัดป่าคา ม. 8 บ้านป่าคา ต�ำบลห้วยบง
วัดมงคลชัยพัฒนา ม.10 บ้านมงคล ต�ำบลห้วยบง วัดสาธุประชาสรรค์ ม. 9 บ้านสาธุประชาสรรค์ ต�ำบลห้วยบง วัดหนองม่วง ม. 7 บ้านหนองม่วง ต�ำบลห้วยบง วัดห้วยบง ม. 6 บ้านห้วยบง ต�ำบลห้วยบง วัดโตนด ม. 6 ต�ำบลดาวเรือง วัดป่าสัก ม. 4 บ้านป่าสัก ต�ำบลดาวเรือง
วัดป่าไผ่ ม. 7 บ้านป่าไผ่ ต�ำบลหนองยาว วัดหนองขริ้น ม. 10 บ้านหนองยาว ต�ำบลหนองยาว วัดหนองเขื่อนช้าง ม. 4 บ้านหนองเขือ่ นช้าง ต�ำบลหนองยาว วัดหนองจักร ม. 8 บ้านหนองจักร ต�ำบลหนองยาว วัดหนองยาวใต้ ม. 2 บ้านหนองยาวใต้ ต�ำบลหนองยาว วัดหนองยาวสูง ม. 9 บ้านหนองยาว ต�ำบลหนองยาว วัดปากข้าวสารใต้ ม. 1 บ้านปากข้าวสารใต้ ต�ำบลปากข้าวสาร
วัดสุวรรณคีรี ม. 4 บ้านเขาตะกร้า ต�ำบลปากข้าวสาร วัดโคกหนามแท่ง ม. 3 บ้านโคกหนามแท่ง ต�ำบลหนองปลาไหล
วัดบ้านพลับ ม. 3 บ้านพลับ ต�ำบลหนองปลาไหล วัดพระพุทธฉาย ม. 1 บ้านพระพุทธฉาย ต�ำบลหนองปลาไหล วัดอรัญญวาสี ม.5 บ้านเขาจ�ำปา ต�ำบลหนองปลาไหล วัดกุดนกเปล้า ม. 3 ต�ำบลกุดนกเปล้า วัดโคกเพ็ก ม. 6 บ้านโคกเพ็ก ต�ำบลกุดนกเปล้า
วัดเจริญราษฎร์บำ� รุง (โนนคล้อ) ม. 7 บ้านโนนคล้อ ต�ำบลกุดนกเปล้า วัดทุ่งสาริกา ม. 5 บ้านทุ่งสาริกา ต�ำบลกุดนกเปล้า วัดโนนสภาราม ม. 2 บ้านโนนสภาราม ต�ำบลกุดนกเปล้า
วัดตลิ่งชัน ม. 6 บ้านตลิ่งชัน ต�ำบลตลิ่งชัน
วัดท่าเยี่ยม ม. 1 บ้านท่าเยี่ยม ต�ำบลตลิ่งชัน
วัดหนองบัว ม. 7 บ้านหนองบัว ต�ำบลตลิ่งชัน
วัดห้วยลี่
วัดปากข้าวสารเหนือ
ม. 4 บ้านห้วยลี่ ต�ำบลตลิ่งชัน
ม. 1 บ้านปากข้าวสารเหนือ ต�ำบลปากข้าวสาร
ม. 2 บ้านตะกุด ต�ำบลตะกุด
วัดบ้านกล้วย ม. 5 บ้านกล้วย ต�ำบลตะกุด
วัดสะตือ ม. 4 บ้านสะตือ ต�ำบลตะกุด
วัดบ้านกอก ม. 6 บ้านกอก ต�ำบลบ้านแก้ง
วัดประดิษฐ์ธรรม ม. 2 บ้านโง้ง ต�ำบลบ้านแก้ง
วัดลาดเขาปูน ม. 8 บ้านลาดเขาปูน ต�ำบลบ้านแก้ง
วัดสุนันทาราม ม. 3 บ้านแก้ง ต�ำบลบ้านแก้ง
วัดสูงยาง ม. 4 บ้านสูงยาง ต�ำบลบ้านแก้ง
วัดท่าวัว ม. 3 บ้านท่าวัว ต�ำบลผึ้งรวง
วัดผึ้งรวง ม.5 บ้านผึ้งรวง ต�ำบลผึ้งรวง
วัดเพลียขวา ม. 1 บ้านเพลียขวา ต�ำบลผึ้งรวง
วัดแพะโคก ม. 5 บ้านแพะโคก ต�ำบลผึ้งรวง
วัดเขาดิน ม. 2 บ้านเขาดิน ต�ำบลเขาดินพัฒนา
วัดถ�้ำเจริญสุข ม. 6 บ้านถ�ำ้ เจริญสุข ต�ำบลเขาดินพัฒนา
วัดตะกุด
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 92
22/12/2563 16:07:17
THE IMPORTANT TEMPLES SARABURI
อ�ำเภอแก่งคอย วัดแก่งคอย
วัดตาลเดี่ยว ม. 2
วัดท่าคล้อเหนือ ม. 10
ถนนสุดบรรทัด ต�ำบลแก่งคอย
ถนนสุดบรรทัด ต�ำบลตาลเดี่ยว วัดนาบุญ ม. 10 บ้านนาบุญ ต�ำบลตาลเดี่ยว วัดราษฎร์พัฒนา ม. 7 บ้านขอนหอม ต�ำบลตาลเดี่ยว วัดใหม่สามัคคี ม. 9 บ้านโคกเชือก ต�ำบลตาลเดี่ยว วัดเขาลาดวนาราม ม. 4 บ้านเขาแย้ ต�ำบลห้วยแห้ง
บ้านท่าคล้อ ต�ำบลท่าคล้อ วัดท่าศาลา ม.8 บ้านท่าศาลา ต�ำบลท่าคล้อ วัดท่าสบก ม. 2 บ้านท่าสบก ต�ำบลท่าคล้อ วัดป่าดงพญาเย็น ม. 2 บ้านท่าสะแก ต�ำบลท่าคล้อ วัดหาดสองแคว ม. 1 บ้านหาดสองแคว ต�ำบลท่าคล้อ วัดถ�้ำเขาเขียว ม. 6 บ้านเขาเขียว ต�ำบลหินซ้อน วัดถ�้ำญาณสังวร ม. 9 บ้านหินซ้อน ต�ำบลหินซ้อน วัดท่าเดื่อ ม. 7 บ้านท่าเดื่อ ต�ำบลหินซ้อน วัดนิคมซอย 25 ม. 5 บ้านนิคมซอย 25 ต�ำบลหินซ้อน วัดผังพัฒนาราม ม. 8 บ้านผังสามัคคีพฒ ั นา ต�ำบลหินซ้อน วัดสาย 5 ธรรมมงคล ม. 4 บ้านซอย 5 ต�ำบลหินซ้อน วัดหินซ้อนใต้ ม. 1 บ้านหินซ้อนใต้ ต�ำบลหินซ้อน วัดท่ากระเบา ม. 2 บ้านท่ากระเบา ต�ำบลบ้านธาตุ วัดบ้านธาตุใต้ ม. 1 บ้านธาตุใต้ ต�ำบลบ้านธาตุ วัดบ้านธาตุเหนือ ม.4 บ้านใหม่ ต�ำบลบ้านธาตุ
วัดบ้านม่วง บ้านม่วง ต�ำบลแก่งคอย
วัดเขามันธรรมาราม ม. 3 บ้านเขามัน ต�ำบลทับกวาง
วัดซับบอน ม. 5 บ้านซับบอน ต�ำบลทับกวาง วัดถ�้ำพระโพธิสัตว์ ม. 10 บ้านนิคมสร้างตนเอง ต�ำบลทับกวาง
วัดทับกวาง ม. 4 บ้านทับกวาง ต�ำบลทับกวาง
วัดบ้านโป่ง ม. 6 บ้านโป่ง ต�ำบลทับกวาง
วัดบ�ำเพ็ญบุญ ม. 3 บ้านไทย ต�ำบลทับกวาง
วัดป่าไผ่ ม. 8 บ้านป่าไผ่ ต�ำบลทับกวาง
วัดพระธาตุเจริญธรรม ม. 5 บ้านสะพานสี่ ต�ำบลทับกวาง วัดวาลุการาม ม. 7 บ้านหนองผักบุ้ง ต�ำบลทับกวาง วัดสามัคคีวราราม ม. 7 บ้านสะพานสอง ถนนมิตรภาพ ต�ำบลทับกวาง
วัดสิทธิราช ม.6 หัวเขา ต�ำบลทับกวาง
วัดขอนหอม ม. 7 บ้านขอนขว้าง ต�ำบลตาลเดีย่ ว วัดโคกสะอาด ม. 8 บ้านโคกสะอาด ต�ำบลตาลเดี่ยว
วัดจ�ำศีล ม.4 บ้านหลุบเลา ต�ำบลตาลเดี่ยว
วัดนาดี ม. 2 บ้านาดี ต�ำบลห้วยแห้ง
วัดบ้านไร่ ม. 7 บ้านไร่ ต�ำบลห้วยแห้ง
วัดบุใหญ่ ม. 10 บ้านบุใหญ่ ต�ำบลห้วยแห้ง วัดหนองน�้ำเขียว ม.8 บ้านหนองน�้ำเขียว ต�ำบลห้วยแห้ง วัดหนองสองห้อง ม. 6 บ้านหนองสองห้อง ต�ำบลห้วยแห้ง วัดห้วยคงคาวราวาส ม. 9 บ้านห้วยแห้ง ต�ำบลห้วยแห้ง วัดเขาหินดาด ม. 11 บ้านเขาหินดาด ต�ำบลท่าคล้อ วัดค�ำใหญ่ ม. 5 บ้านค�ำใหญ่ ต�ำบลท่าคล้อ วัดถ�้ำเต่า ม. 7 บ้านถ�้ำเต่า ต�ำบลท่าคล้อ วัดถ�้ำประกายแก้ว ม. 11 บ้านป่าไผ่ ต�ำบลท่าคล้อ วัดท่าเกวียน ม. 6 บ้านท่าเกวียน ต�ำบลท่าคล้อ วัดท่าคล้อใต้ ม. 9 บ้านท่าคล้อใต้ ต�ำบลท่าคล้อ
วัดสองคอนกลาง ม. 4
วัดบ้านช่องใต้ ม. 8 บ้านช่องใต้ ต�ำบลบ้านป่า วัดบ้านป่า ม. 4 บ้านป่า ต�ำบลบ้านป่า วัดบ้านป่าใต้ ม. 4 บ้านป่าใต้ ต�ำบลบ้านป่า วัดวังกวาง ม. 1 บ้านวังกวาง ต�ำบลบ้านป่า
วัดหนองมะค่า ม.6 ต�ำบลบ้านป่า
วัดท่าศรีโพธิ์ใต้ ม. 3 บ้านท่าศรีโพธิ์ใต้ ต�ำบลท่าตูม วัดท่าศรีโพธิ์เหนือ ม. 3 บ้านท่าศรีโพธิ์เหนือ ต�ำบลท่าตูม วัดกะเหรี่ยงคอม้า ม. 3 บ้านกะเหรี่ยงคอม้า ต�ำบลชะอม วัดเขาสะท้อนสูง ม.4 เขาสะท้อนสูง ต�ำบลชะอม
วัดคลองไผ่สามัคคีธรรม ม.7 คลองไผ่ ต�ำบลชะอม
บ้านสองคอนกลาง ต�ำบลสองคอน วัดสองคอนใต้ ม. 5 บ้านสองคอนใต้ ต�ำบลสองคอน วัดสองคอนเหนือ ม. 1 บ้านสองคอนเหนือ ต�ำบลสองคอน วัดสีทาใต้ ม. 9 บ้านสีทาใต้ ต�ำบลสองคอน วัดสีทาเหนือ ม. 8 บ้านสีทาเหนือ ต�ำบลสองคอน วัดหนองน้อย ม. 3 บ้านหนองน้อย ต�ำบลสองคอน วัดเตาปูน ม. 6 บ้านเตาปูน ต�ำบลเตาปูน
วัดบ�ำเพ็ญธรรม ม. 5 บ้านแพะ ต�ำบลเตาปูน วัดโคกกรุง ม. 2 บ้านโคกกรุง ต�ำบลช�ำผักแพว วัดช�ำผักแพว ม. 3 บ้านช�ำผักแพว ต�ำบลช�ำผักแพว
วัดตาดใต้
วัดบ้านดง
ม. 1 บ้านตาดใต้ ต�ำบลชะอม วัดบ�ำรุงธรรม ม. 2 บ้านชะอม ต�ำบลชะอม
วัดป่าไผ่
วัดบึงไม้ ม. 5 บ้านบึงไม้ ต�ำบลชะอม
64. วัดป่าสว่างบุญ
วัดเขาพระ
ม. 7 บ้านคลองไผ่ ต�ำบลชะอม วัดแก่งป่าสัก ม.1 บ้านแก่งป่าสัก ต�ำบลสองคอน วัดปรางคล้อ ม. 6 บ้านปรางคล้อ ต�ำบลสองคอน
ม. 9 ต�ำบลบ้านป่า วัดบ้านช่อง ม. 5 บ้านช่อง ต�ำบลบ้านป่า
ม. 10 บ้านพระพุทธบาทน้อย ต�ำบลสองคอน
ม. 1 บ้านดง ต�ำบลช�ำผักแพว ม. 5 บ้านป่าไผ่ ต�ำบลช�ำผักแพว
วัดวังแพ ม. 9 บ้านวังแพ ต�ำบลช�ำผักแพว วัดสุนทริกาวาส ม. 8 บ้านมะขามป้อม ต�ำบลช�ำผักแพว วัดท่ามะปราง ม. 1 บ้านท่ามะปราง ต�ำบลท่ามะปราง วัดโป่งมงคล ม.13 บ้านโป่งมงคล ต�ำบลท่ามะปราง
วัดพระพุทธบาทน้อย
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 93
93
22/12/2563 16:07:19
อ�ำเภอหนองแค วัดเกาะกลาง ถนนเจริญทัศน์ ต�ำบลหนองแค
วัดมงคลทีปาราม บ้านเกาะลอย ต�ำบลหนองแค
วัดสหมิตรมงคล ถนนพหลโยธิน ต�ำบลหนองแค
วัดเสนานฤมิตร หัวสะแก ต�ำบลหนองแค
วัดหนองพระบาง บ้านหนองตาบาง ต�ำบลหนองแค วัดกุ่มหัก ม. 9 ต�ำบลกุ่มหัก
วัดสวนกล้วย
ม. 12 บ้านสวนกล้วย ต�ำบลกุม่ หัก
วัดกระทงลอย ม. 4 บ้านกระทงลอย ต�ำบลคชสิทธิ์
วัดขอนชะโงก ม. 11 ต�ำบลคชสิทธิ์
วัดชัยเฉลิมมิตร ม. 2 บ้านโคกขีเ้ หล็ก ต�ำบลคชสิทธิ์
วัดชัยสิทธิ์อนุสรณ์ ม. 6 บ้านหนองตาน้อย ต�ำบลคชสิทธิ์
วัดแก้วเกาะลอย ม.5 เกาะลอย ต�ำบลโคกตูม
วัดโคกแดง ม. 9 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลโคกตูม
วัดสันติวิหาร ม. 6 บ้านสันติวิหาร ต�ำบลโคกตูม
วัดหนองโนน้อย ม. 1 บ้านหนองโนน้อย ต�ำบลโคกตูม
วัดไทยงาม ม. 2 บ้านไทยงาม ต�ำบลโคกแย้
วัดบ่อน�้ำเค็ม ม. 14 บ้านบ่อน�ำ้ เค็ม ต�ำบลโคกแย้ วัดราษฎร์สามัคคี ม. 8 บ้านหนองสมัครใต้ ต�ำบลโคกแย้ วัดหนองจอกน้อย ม.15 บ้านหนองจอกน้อย ต�ำบลโคกแย้ วัดหนองจอกใหญ่ ม. 10 บ้านหนองจอกใหญ่ ต�ำบลโคกแย้ วัดหนองผักชีเหนือ ม. 6 บ้านหนองผักชีเหนือ ต�ำบลโคกแย้ วัดหนองสมัคร ม. 5 บ้านหนองสมัคร ต�ำบลโคกแย้ วัดบกน้อย ม. 8 บ้านบกน้อย ต�ำบลบัวลอย วัดบัวลอย ม. 3 ถนนสุวรรณศร ต�ำบลบัวลอย
94
.
วัดสันมะค่า ม. 5
วัดหนองรี ม. 2
บ้านสันมะค่า ต�ำบลบัวลอย วัดหนองดินแดง ม. 11 บ้านหนองดินแดน ต�ำบลบัวลอย วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม ม. 6 บ้านไผ่ต�่ำ ต�ำบลไผ่ต�่ำ วัดโคกกลาง ม. 8 บ้านโคกกลาง ต�ำบลโพนทอง วัดโพนทอง ม. 4 บ้านโพนทอง ต�ำบลโพนทอง วัดหนองแซงใหญ่ ม.2 บ้านหนองแซงใหญ่ ต�ำบลโพนทอง วัดเขาน้อย ม. 9 บ้านห้วยขมิ้น ต�ำบลห้วยขมิ้น วัดบ้านลาด ม. 11 บ้านลาด ต�ำบลห้วยขมิ้น วัดมุจลินทสราราม ม. 14 บ้านหนองจิก ต�ำบลห้วยขมิ้น วัดห้วยขมิ้น ม. 9 บ้านห้วยขมิ้น ต�ำบลห้วยขมิ้น วัดห้วยทองหลาง ม. 1 บ้านห้วยทองหลาง ต�ำบลห้วยขมิน้ วัดบ้านยาง ม. 5 บ้านยาง ต�ำบลห้วยทราย วัดพัชรบรรพตวราราม ม. 4 บ้านโคกสว่าง ต�ำบลห้วยทราย วัดโสรกโขมง ม. 5 บ้านโสรกโขมง ต�ำบลห้วยทราย วัดห้วยทราย ม. 3 บ้านห้วยทราย ต�ำบลห้วยทราย วัดโคกมะตูม ม. 6 บ้านโคกมะตูม ต�ำบลหนองไข่น�้ำ วัดใหญ่วันนา ม. 10 บ้านโคกใหญ่ ถนนพหลโยธิน วัดราษฎร์เจริญ ม. 1 คลอง ซอยส่งน�้ำ 8 อาร์ ต�ำบลหนองแขม วัดหนองอ่างทอง ม. 7 คลองซอย 28 ฝั่งเหนือ ต�ำบลหนองแขม วัดบ้านไผ่ ม. 1 บ้านไผ่ ต�ำบลหนองจิก วัดหนองจิก ม. 7 บ้านหนองจิก ต�ำบลหนองจิก วัดหนองตะเฆ่ ม. 5 บ้านหนองตะเฆ่ ต�ำบลหนองจรเข้ วัดหนองตาเดี้ยง ม. 4 บ้านหนองตาเดีย้ ง ต�ำบลหนองจรเข้
บ้านหนองรี ต�ำบลหนองจรเข้ วัดบ้านจาน ม. 3 บ้านจาน ต�ำบลหนองนาก วัดป่าบ�ำเพ็ญธรรม ม. 2 บ้านเขาน้อย ต�ำบลหนองนาก วัดหนองครก ม.5 บ้านหนองครก ต�ำบลหนองนาก
วัดหนองนาก(หนองนาค) ม. 7 บ้านหนองนาก ต�ำบลหนองนาก วัดท่าช้าง ม. 9 บ้านท่าช้าง ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดร่องแซง ม. 1 บ้านร่องแซง ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดหนองบอน ม. 8 บ้านหนองบอน ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดหนองปลากระดี่ ม. 7 บ้านหนองปลากระดี่ ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดหนองปลาหมอ ม. 5 บ้านหนองปลาหมอ ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดหนองผักชีใต้ ม. 6 บ้านหนองผักชีใต้ ต�ำบลหนองปลาหมอ วัดทุ่งดินขอ ม.8 ทุ่งดินขอ ต�ำบลหนองปลิง วัดหนองขนาก ม. 2 บ้านหนองขนาก ต�ำบลหนองปลิง วัดหนองปลิง ม. 4 บ้านหนองปลิง ต�ำบลหนองปลิง วัดหนองสะเดา ม. 3 บ้านหนองสะเดา ต�ำบลหนองปลิง
วัดคลองห้า(ราษฎร์ประดิษฐ์) ม. 9 บ้านคลองห้า ต�ำบลหนองโรง วัดราษฎร์บำ� รุงวนาราม ม. 6 บ้านตลาดคลองสิบ ต�ำบลหนองโรง วัดศรีปทุม ม. 8 บ้านล�ำบัว ถนนระพีพัฒน์ ต�ำบลหนองโรง วัดหนองโรง ม. 3 บ้านหนองโรง ต�ำบลหนองโรง วัดใหม่เทพนิมิตร ม.10 คลองห้า ต�ำบลหนองโรง
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 94
22/12/2563 16:07:19
THE IMPORTANT TEMPLES SARABURI
อ�ำเภอวิหารแดง วัดกาะแก้วอรุณคาม ม. 7 บ้านหนองหมู ต�ำบลหนองหมู วัดคลองใหม่ ม. 3 บ้านคลองใหม่ ต�ำบลหนองหมู วัดสร้างบุญ ม. 5 บ้านคลอง 13 ต�ำบลหนองหมู วัดหนองหมูใต้ ม. 2 บ้านหนองหมู ต�ำบลหนองหมู วัดโคกกระต่าย ม. 1 บ้านโคกกระต่าย ต�ำบลบ้านล�ำ วัดดงหมี ม. 4 บ้านดงหมี ต�ำบลบ้านล�ำ วัดบ้านดอน ม. 6 บ้านดอน ต�ำบลบ้านล�ำ
วัดพุทธบูชาญาณสังวร ม.3 ต�ำบลบ้านล�ำ
วัดศรีสัจจาวาส ม. 12 บ้านคลองตะเคียน ต�ำบลบ้านล�ำ วัดหนองตาบุญ ม. 4 บ้านหนองตาบุญ ต�ำบลบ้านล�ำ วัดเขาแก้วธรรมาราม ม. 4 บ้านเขาแก้ว ต�ำบลคลองเรือ
วัดคลองไทร ม. 9 ต�ำบลคลองเรือ
วัดคลองยาง ม. 8 บ้านคลองยาง ต�ำบลคลองเรือ วัดคลองหัวช้าง ม. 5 บ้านคลองหัวช้าง ต�ำบลคลองเรือ วัดหนองไทร ม. 6 บ้านหนองไทร ต�ำบลคลองเรือ วัดเกาะเซิงหวาย ม. 6 บ้านเกาะเชิงหวาย ต�ำบลวิหารแดง วัดบางกง ม. 9 บ้านบางกง ต�ำบลวิหารแดง วัดบ้านล�ำ ม. 5 บ้านล�ำ ต�ำบลหนองสรวง วัดสหกรณ์รังสรรค์ ม. 7 บ้านสหกรณ์คลอง 26 สายบน ต�ำบลหนองสรวง วัดหนองโพธิ์ ม. 10 บ้านหนองโพธิ์ ต�ำบลหนองสรวง วัดหนองสรวง ม. 4 บ้านหนองสรวง ต�ำบลหนองสรวง วัดเขาน้อยจอมสวรรค์ ม. 7 บ้านเขาน้อย ต�ำบลเจริญธรรม วัดเจริญธรรม ม.5 บ้านเจริญธรรม ต�ำบลเจริญธรรม วัดราษฎร์เจริญ ม. 6 บ้านราษฎร์เจริญ ต�ำบลเจริญธรรม
อ�ำเภอหนองแซง วัดโคกน้อย ม.4 บ้านโคกน้อย ต�ำบลหนองแซง วัดหนองกีบม้า ม. 7 บ้านหนองกีบม้า ต�ำบลหนองแซง วัดหนองน�้ำสร้าง ม. 3 บ้านหนองน�ำ้ สร้าง ต�ำบลหนองแซง วัดหนองหอย ม. 1 บ้านหนองหอย ต�ำบลหนองแซง วัดท่าราบ ม. 2 บ้านท่าราบ ต�ำบลหนองควายโซ วัดหนองพลับ ม. 4 บ้านพลับ ต�ำบลหนองควายโซ วัดหนองหญ้าปล้อง ม. 6 บ้านหนองหญ้าปล้อง ต�ำบลหนองหัวโพ วัดหนองหัวโพธิ์ ม.4 บ้าน หนองหัวโพธิ์ ต�ำบลหนองหัวโพ วัดบ้านขาม ม. 3 บ้านขาม ต�ำบลหนองสีดา วัดบ้านโดน ม. 6 บ้านโดน ต�ำบลหนองสีดา วัดหนองสีดา ม. 4 บ้านหนองสีดา ต�ำบลหนองสีดา วัดหนองกบ ม.2 บ้านหนองกบ ต�ำบลหนองกบ วัดหนองทางบุญ ม. 5
บ้านหนองทางบุญ ต�ำบลหนองกบ วัดไก่เส่า ม. 5 บ้านไก่เส่า ต�ำบลไก่เส่า วัดบ้านใหม่ ม. 8 บ้านใหม่ ต�ำบลไก่เส่า วัดหนองหญ้าปล้อง ม. 2 บ้านหนองหญ้าปล้อง ต�ำบลไก่เส่า วัดงิ้วงาม ม. 2 บ้านงิ้วงาม ต�ำบลโคกสะอาด วัดหนองกระธาตุ ม. 5 บ้านหนองกระธาตุ ต�ำบลโคกสะอาด วัดหนองกวางโจน ม. 4 หนองกวางโจน ต�ำบลโคกสะอาด วัดหนองนกชุม ม. 1 บ้านหนองนกชุม ต�ำบลโคกสะอาด วัดหนองหลัว ม. 6 บ้านหนอง หลัว ต�ำบลโคกสะอาด วัดม่วงหวาน ม. 8 บ้านม่วงหวาน ต�ำบลม่วงหวาน วัดหนองสองห้อง ม. 2 บ้านหนองสองห้อง ต�ำบลม่วงหวาน วัดอู่ตะเภา ม. 6 บ้านหนองอู่ ส�ำเภาทอง ต�ำบลม่วงหวาน วัดเขาไกรลาศ ม. 4 บ้านเขาไกรลาศ ต�ำบลเขาดิน วัดเขาดิน ม. 1 บ้านเขาดิน ต�ำบลเขาดิน
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 95
95
22/12/2563 16:07:19
อ�ำเภอบ้านหมอ วัดดอนทอง ม. 2
วัดบ้านหมอ ม. 3 บ้านหมอ ต�ำบลบ้านหมอ วัดธรรมเสนา ม. 2 ต�ำบลบางโขมด บ้านหมอ วัดสารภี ม. 10 บ้านสารภี ต�ำบลบางโขมด
วัดสุนทรเทพมุนี(สะพานช้าง) ม. 1 บ้านสะพานช้าง ต�ำบลบางโขมด วัดโคกงาม ม.5 ต�ำบลสร่างโศก วัดบ่อพระอินทร์ ม. 7 บ้านบ่อพระอินทร์ ต�ำบลสร่างโศก วัดปัญจาภิรมย์ ม.6 ปัญจาภิรมย์ ต�ำบลสร่างโศก วัดราษฎร์บ�ำรุง ม. 1 บ้านคลองกระโดน ต�ำบลสร่างโศก วัดสร่างโศก ม.3 บ้านสร่างโศก ต�ำบลสร่างโศก วัดโคกมะขาม ม. 8 บ้านโคกมะขาม ต�ำบลตลาดน้อย วัดโบสถ์(โบสถ์แจ้ง) ม. 5 บ้านคลองน�้ำ ต�ำบลตลาดน้อย วัดโพธิ์ทอง ม. 7 บ้านคลอง มะเกลือ ต�ำบลตลาดน้อย วัดโคกกุ่ม ม. 4 บ้านกุ่ม ต�ำบลหรเทพ วัดจั่นเสือ ม. 6 บ้านจั่นเสือ ต�ำบลหรเทพ
บ้านหรเทพ ต�ำบลหรเทพ วัดโคกใหญ่ ม. 6 บ้านโคกใหญ่ ต�ำบลโคกใหญ่ วัดหนองนางปุ๋ย ม. 3 บ้านหนองนางปุ๋ย ต�ำบลโคกใหญ่ วัดมะขามเรียง ม. 2 บ้านบ่อกะโดน ต�ำบลไผ่ขวาง วัดหนองพันเรือ ม. 1 บ้านหนองพันเรือ ต�ำบลไผ่ขวาง วัดบางขวัญ ม. 2 บ้านบางขวัญ ต�ำบลบ้านครัว วัดบ้านครัว ม. 1 บ้านครัว ต�ำบลบ้านครัว วัดม่วงน้อย ม. 3 บ้านม่วงน้อย ต�ำบลบ้านครัว วัดมหาโลก(ลานคา) ม. 6 บ้านลานคา ต�ำบลบ้านครัว วัดโคกเสลา ม. 5 บ้านโคกเสลา ต�ำบลหนองบัว วัดหนองเขศรีมงคล ม.3 บ้านหนองเข ต�ำบลหนองบัว วัดหนองคล้า ม. 4 บ้านหนองคล้า ต�ำบลหนองบัว วัดหนองถ่านใต้ ม. 6 บ้านหนองถ่านใต้ ต�ำบลหนองบัว วัดหนองบัว ม. 1 บ้านหนองบัว ต�ำบลหนองบัว
อ�ำเภอหนองโดน วัดคลองบุญ ม. 3
วัดสองคอน ม. 1
บ้านคลองบุญ ต�ำบลหนองโดน วัดโคกสะอาด ม. 5 บ้านโคกสะอาด ต�ำบลหนองโดน วัดตอยาง ม. 2 บ้านตอยาง ต�ำบลหนองโดน วัดบ้านครัว ม. 8 บ้านครัว ต�ำบลหนองโดน วัดป่าแหน ม. 10 บ้านป่าแหน ต�ำบลหนองโดน วัดศรีนวลตอยาง ม. 2 บ้านศรีนวลตอยาง ต�ำบลหนองโดน วัดหนองโดน ม. 9 บ้านหนองโดน ต�ำบลหนองโดน วัดหนองระก�ำ ม. 6 บ้านหนองระก�ำ ต�ำบลหนองโดน วัดดงสัก ม. 9 บ้านดงสัก ต�ำบลบ้านกลับ วัดบ้านคลอง ม. 6 บ้านคลอง ต�ำบลบ้านกลับ
บ้านสองคอน ต�ำบลบ้านกลับ
วัดสุวรรณคีรีบ้านกลับ ม. 2 บ้านกลับ ต�ำบลบ้านกลับ วัดหลังสวน ม. 10 บ้านหลังสวน ต�ำบลบ้านกลับ
วัดกองทองสว่างอารมณ์ ม. 5 บ้านกองทอง ต�ำบลดอนทอง วัดทองย้อย ม. 4 บ้านทองย้อย ต�ำบลดอนทอง วัดหนองแร่ ม. 1 บ้านหนองแร่ ต�ำบลดอนทอง วัดโปร่งเก่า ม.3 บ้านโปร่งเก่า ต�ำบลบ้านโปร่ง วัดโป่รงสว่าง(โป่งสว่าง) ม. 1 บ้านโปร่งสว่าง ต�ำบลบ้านโปร่ง วัดโปร่งหัวถนน ม. 4 บ้านโปร่งหัวถนน ต�ำบลบ้านโปร่ง
อ�ำเภอดอนพุด วัดดอนพุด ม. 5 บ้านดอนพุด ต�ำบลดอนพุด วัดหนองกะทะ ม. 1 บ้านหนองกะทะ ต�ำบลดอนพุด วัดบ้านรี ม. 3 บ้านรี ต�ำบลไผ่หลิ่ว
วัดไผ่หลิ่ว(ดอนทองเหนือ) ม. 1 บ้านไผ่หลิ่ว ต�ำบลไผ่หลิ่ว วัดหลังคาแดง ม. 5 บ้านหลังคาแดง ต�ำบลไผ่หลิ่ว
96
.
วัดอ้อมแก้ว ม. 6 บ้านอ้อมแก้ว ต�ำบลไผ่หลิ่ว วัดช้าง(กุญชร) ม. 4 บ้านหลวง ต�ำบลบ้านหลวง วัดหนองมน ม. 6 บ้านหนองมน ต�ำบลบ้านหลวง วัดโคกโพธิ์ ม. 1 บ้านโคกโพธิ์ ต�ำบลดงตะงาว วัดดอนทอง ม. 8 บ้านดอนทอง ต�ำบลดงตะงาว
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 96
22/12/2563 16:07:21
THE IMPORTANT TEMPLES SARABURI
อ�ำเภอพระพุทธบาท วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม
วัดหนองนายาว(นายาว)
ม. 5 บ้านห้วยประดู่ ต�ำบลพระพุทธบาท วัดสวนมุตโตทัย ม.4 ห้วยจาน ต�ำบลพระพุทธบาท วัดซับชะอม ม. 4 บ้านซับชะอม ต�ำบลขุนโขลน วัดนิคมวาสี ม.10 บ้านสะพานขาว ต�ำบลขุนโขลน วัดพระพุทธบาท ม. 8 บ้านพระพุทธบาท ต�ำบลขุนโขลน วัดเขาเงิน ม.6 บ้านธารเกษม ต�ำบลธารเกษม วัดเขาบรเพ็ด ม. 12 บ้านเขาบรเพ็ด วัดตรีบุญญาราม ม. 2 บ้านธารเกษม ต�ำบลธารเกษม วัดธารเกษม ม. 8 บ้านล�ำธารโศก ต�ำบลธารเกษม วัดปราสาททรงธรรม ม. 7 บ้านธารทองแดง ต�ำบลธารเกษม วัดพุขามหวาน ม. 5 บ้านพุขาม ต�ำบลธารเกษม วัดพุซาง ม. 1 บ้านพุซาง ต�ำบลธารเกษม วัดพุทธนิคม ม. 12 บ้านหลัง โรงพยาบาล ต�ำบลธารเกษม วัดสายตรี ม. 3 บ้านสายตรีซอย 2 ต�ำบลธารเกษม วัดโกมลกิตติ ม. 1 บ้านสระล�ำไย ต�ำบลนายาว วัดซอยสี ม. 2 บ้านซอย 4 ต�ำบลนายาว วัดซับครก ม. 2 บ้านซับครก ต�ำบลนายาว วัดดงมณี ม. 5 บ้านดงมณี ต�ำบลนายาว พระพุทธบาท
ม. 4 บ้านนายาว ต�ำบลนายาว วัดนิคมเขมาราม ม. 2 บ้านถ�้ำบ่มกล้วย ต�ำบลพุคำ� จาน
วัดนิคมพัฒนา ม.5 หนองใหญ่ ต�ำบลพุค�ำจาน วัดนุตจรัสวงศาราม ม. 9 บ้านพุค�ำจาน ต�ำบลพุค�ำจาน วัดบ่อวังครุ ม. 3 บ้านบ่อวังครุ ต�ำบลพุค�ำจาน วัดพรหมประสิทธิ์ ม. 9 บ้านพรหมประสิทธิ์ ต�ำบลพุคำ� จาน วัดพุค�ำจาน ม. 1 บ้านพุคำ� จาน ถนนสายโทซอย 6 ต�ำบลพุค�ำจาน วัดพุค�ำบรรพต ม. 7 บ้านพุค�ำจาน ต�ำบลพุค�ำจาน วัดหนองกระทุ่ม ม. 4 บ้านหนองกระทุ่ม ต�ำบลพุคำ� จาน วัดหนองใหญ่ ม.6 วงษ์ศรีพัฒนา ต�ำบลพุค�ำจาน วัดเขาพลัด ม. 3 บ้านบางพลัด ต�ำบลเขาวง
วัดเขาวง ม. 5 บ้านเขาวง ต�ำบลเขาวง วัดซับบอน(เขาวงนอก) ม.2 บ้านซับบอน ต�ำบลเขาวง วัดบ้านน้อย ม. 6 บ้านน้อย ต�ำบลเขาวง วัดเขตสว่าง ม.2 บ้านห้วยศาลเจ้า ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดดอยหินปูน ม. 13 บ้านดอยหินปูน ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดบ้านโพธิ์ ม.7 บ้านโพธิ์ ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดศรีจอมทอง ม. 11 บ้านตีนโนน ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดหนองถ่านเหนือ ม. 6 บ้านหนองถ่านเหนือ
ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดหนองโป่ง ม. 5 บ้านหนองโป่ง ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดหนองสุทธะ ม. 12 บ้านหนองสุทธะ ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดใหม่สุวรรณโน ม. 10 บ้านใหม่หนองไข่นำ�้ ต�ำบลห้วยป่าหวาย วัดกัลยาณบรรพต ม. 5 บ้านเขาเลี้ยว ต�ำบลพุกร่าง
วัดพุกร่าง ม. 2 บ้านพุกร่าง ต�ำบลพุกร่าง วัดหนองคณฑี ม. 4 บ้านหนองคณฑี ต�ำบลพุกร่าง วัดหนองสองตอน ม. 3 บ้านหนองสองตอน ต�ำบลพุกร่าง วัดตาลเสี้ยน ม. 11 บ้านตาลเสี้ยน ต�ำบลหนองแก วัดเนินยาว ม. 3 บ้านเนินยาว ต�ำบลหนองแก
วัดประดู่ ม.5 บ้านประดู่ ต�ำบลหนองแก วัดศรีอัมพร ม. 2 บ้านโคกเลียบ ต�ำบลหนองแก วัดส้มป่อย ม. 8 บ้านส้มป่อย ต�ำบลหนองแก วัดสวนส�ำราญ ม.10 บ้านสวนส�ำราญ ต�ำบลหนองแก วัดหนองแก ม. 1 บ้านหนองแก ต�ำบลหนองแก วัดหนองเครือตาปลา ม. 4 บ้านหนองเครือตาปลา ต�ำบลหนองแก วัดหนองจิก ม. 7 บ้านหนองจิก ต�ำบลหนองแก วัดหนองโดนน้อย ม. 9 บ้านหนองโดนน้อย ต�ำบลหนองแก
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 97
97
22/12/2563 16:07:22
อ�ำเภอเสาไห้ วัดสูง ม. 6 บ้านป่า ต�ำบลเสาไห้ วัดเสาไห้ ม. 4 บ้านเสาไห้ ต�ำบลเสาไห้ วัดชัน ม. 11 บ้านหมาก ต�ำบลบ้านยาง วัดบ้านยาง ม. 4 บ้านยาง ต�ำบลบ้านยาง วัดเพชร ม. 10 บ้านเจ้าฟ้า ต�ำบลบ้านยาง วัดศรีอุทัย ม. 6 บ้านม่วงมอญ ต�ำบลบ้านยาง วัดเขาดินใต้ ม.12 บ้านเขาดินใต้ ต�ำบลหัวปลวก วัดโคกกะพี้ ม. 1 บ้านโคกกะพี้ ต�ำบลหัวปลวก วัดบ�ำเพ็ญพรต ม. 4 บ้านแพะ ต�ำบลหัวปลวก วัดม่วงฝ้าย ม.10 ม่วงฝ้าย ต�ำบลหัวปลวก วัดห้วยหวาย ม. 11 บ้านหัวหวาย ต�ำบลหัวปลวก วัดโคกกระท้อน ม. 5 บ้านโคกกระท้อน ต�ำบลงิ้วงาม วัดปากบาง ม. 3 บ้านปากบาง ต�ำบลงิ้วงาม วัดป่าสัก ม.5 ศาลารีไทย ต�ำบลศาลารีไทย วัดพะเยาว์ ม. 1 บ้านพะเยาว์ ต�ำบลศาลารีไทย วัดอัมพวัน ม. 4 บ้านอัมพวัน ต�ำบลศาลารีไทย วัดเขาแก้ว ม. 1 ต�ำบลต้นตาล วัดต้นตาล ม. 3 บ้านต้นตาล ต�ำบลต้นตาล วัดท่าช้างใต้ ม. 6 บ้านท่าช้างใต้ ต�ำบลท่าช้าง
วัดท่าช้างเหนือ ม. 4 บ้านท่าช้างเหนือ ต�ำบลท่าช้าง วัดห้วยบุญ ม. 8 บ้านห้วยบุญ ต�ำบลท่าช้าง วัดพระยาทด ม. 1 บ้านพระยาทด ต�ำบลพระยาทด วัดโพธิ์ ม. 6 บ้านโพธิ์ ต�ำบลพระยาทด วัดหนองจิก ม. 5 บ้านหนองจิก ต�ำบลพระยาทด วัดตะเฆ่ ม. 6 บ้านม่วงงาม ต�ำบลม่วงงาม วัดบ้านกลาง ม. 2 บ้านกลาง ต�ำบลม่วงงาม วัดบ้านโคก ม. 8 บ้านโคก ต�ำบลม่วงงาม วัดม่วงงาม ม. 4 บ้านม่วงงาม ต�ำบลม่วงงาม วัดมะกรูด ม. 1 บ้านมะกรูด ต�ำบลม่วงงาม วัดเชิงราก ม. 3 บ้านเชิงราก ต�ำบลเริงราง วัดบัวงาม ม. 5 บ้านบัวงาม ต�ำบลเริงราง วัดบ้านซุ้ง ม. 4 บ้านชุ้ง ต�ำบลเริงราง วัดจันทบุรี ม. 6 บ้านเมืองเก่า ต�ำบลเมืองเก่า
วัดชุ้ง ม. 4 บ้านเมืองเก่า ต�ำบลเมืองเก่า วัดเจ้าฟ้า ม. 2 บ้านเจ้าฟ้า ต�ำบลสวนดอกไม้ วัดไผ่ล้อม ม. 8 บ้านไผ่ล้อม ต�ำบลสวนดอกไม้ วัดสมุหประดิษฐ์ ม. 7 บ้านสวนดอก ต�ำบลสวนดอกไม้ วัดสวนดอกไม้ ม. 7 บ้านสวนดอกไม้ ต�ำบลสวนดอกไม้
อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ วัดใหม่โพธิ์งาม ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค
วัดห้วยหินขาว ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค
วัดห้วยบง ถ.พหลโยธิน ต.หน้าพระลาน
วัดหน้าพระลาน ถ.พหลโยธิน ต.หน้าพระลาน
วัดหนองหว้า ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค
วัดหนองม่วง ถ.พหลโยธิน ต.ห้วยบง
วัดสูงยาง ซ.อดิเรกสาร ต.บ้านแก้ง
วัดสุนันทาราม ซ.อดิเรกสาร ต.บ้านแก้ง
วัดสามัคคีธรรม ถ.พหลโยธิน ต.พุแค
วัดสาธุประชาสรรค์ ถ.พหลโยธิน ต.ห้วยบง
วัดศรัทธาประชากร ซ.21 ต.หน้าพระลาน
วัดมงคลชัยพัฒนา
.
ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค วัดป่าคา ซ.1 ต.ห้วยบง
วัดประสิทธิ์พรชัย (วัดวังเลน) ซ.21 ต.พุแค
วัดประดิษฐ์ธรรม (วัดบ้านโง้ง) ซ.อดิเรกสาร ต.บ้านแก้ง
วัดเบญจคีรีนคร ซ.21 ต.หน้าพระลาน
วัดบ้านกอก ซ.อดิเรกสาร ต.บ้านแก้ง วัดบ่อโศก ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค วัดท่าวัว ซ.อดิเรกสาร ต.ผึ้งรวง วัดถ�้ำศรีวิไล ถ.พหลโยธิน ต.หน้าพระลาน
วัดถ�้ำพระธาตุเจริญธรรม ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค วัดถ�้ำเต่า ซ.3385 ต.หน้าพระลาน
วัดถ�้ำเจริญสุข ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค วัดซอยสิบ ซ.3385 ต.หน้าพระลาน
ซ.1 ต.ห้วยบง
วัดโคกดินแดง
วัดเพลียขวา ซ.อดิเรกสาร ต.ผงึ้ รวง วัดพุทธเนรมิต ซ.3385
วัดคุ้งเขาเขียววนาราม
ซ.อดิเรกสาร 3 ต.พุแค
ต.หน้าพระลาน วัดพุแค ซ.21 ต.พุแค วัดผึง้ รวง ซ.อดิเรกสาร ต.ผึง้ รวง
ถ.พหลโยธิน ต.หน้าพระลาน
ซ.21 ต.หน้าพระลาน
ซ.3385 ต.หน้าพระลาน วัดเขาดิน ซ.1 ต.ห้วยบง
วัดป่าสมพรชัย
98
วัดปางคล้อ
วัดคีรีวง ซ.3385 ต.หน้าพระลาน
วัดเขาพรหมสวรรค์
SBL บันทึกประเทศไทย I สระบุรี
.indd 98
22/12/2563 16:07:22
THE IMPORTANT TEMPLES SARABURI
อ�ำเภอมวกเหล็ก วัดถ�้ำธรรมโอสถ ม.13 บ้านหนองใหญ่ ต�ำบลมวกเหล็ก วัดบ้านหมาก ม.1 บ้านหมาก ต�ำบลมวกเหล็ก วัดปิ่นแก้วสามัคคี ม. 7 บ้านหลังเขา ต�ำบลมวกเหล็ก วัดมวกเหล็กนอก ม. 3 บ้านมวกเหล็ก ต�ำบลมวกเหล็ก วัดหลังเขา ม. 7 บ้านหลังเขา เขต 3 ต�ำบลมวกเหล็ก วัดเหวลาด ม. 4 บ้านเหวลาด ต�ำบลมวกเหล็ก วัดคั่นตะเคียน ม. 2 บ้านคั่นตะเคียน ต�ำบลมิตรภาพ วัดธนพัฒนาราม ม. 6 บ้านถ�้ำ ต�ำบลมิตรภาพ วัดประชาวิจิตร ม. 4 บ้านซับพริก ต�ำบลมิตรภาพ วัดพุทธนิมิต ม.6 บ้านอ่างหิน ต�ำบลมิตรภาพ วัดมวกเหล็กใน ม. 3 บ้านมวกเหล็กใน ต�ำบลมิตรภาพ วัดกลุ่มพระบาท ม.9 กลุ่มพระบาท ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดคลองไทร ม.1 บ้านคลองไทร ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดซับล�ำใย ม. 11 บ้านซับล�ำใย ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดสวนทองรวมมิตร ม. 2 บ้านซับขอน ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดสัจจะพล ม.7 บ้านหนองผักหนอก ต�ำบลหนองย่างเสือ
วัดหนองผักหนอก ม. 7 บ้านหนองผักหนอก
ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดหนองมะค่า ม. 10 บ้านหนองมะค่า ต�ำบลหนองย่างเสือ วัดซับดินด�ำ ม. 6 บ้านซับดินด�ำ ต�ำบลล�ำสมพุง วัดล�ำสมพุง ม.1 บ้านล�ำสมพุง ต�ำบลล�ำสมพุง วัดเขานมนาง ม.5 บ้านเขานมนาง ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดคลองม่วงเหนือ ม. 3 บ้านคลองม่วงเหนือ ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดซับน้อยเหนือ ม.1 บ้านซับน้อยเหนือ ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดป่าศรีอุทุมพร ม.8 ยุบใหญ่ ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดล�ำพญากลาง ม.2 ล�ำพญากลาง ต�ำบลล�ำพญากลาง
วัดหนองตอตะเคียน ม. 7 บ้านหนองตอตะเคียน ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดหนองเอี่ยว ม. 6 บ้านหนอง เอี่ยว ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดหนองเอี่ยวใน ม.14 บ้านหนองเอีย่ วใน ต�ำบลล�ำพญากลาง วัดซับกระดาน ม.5 บ้านซับกระดาน ต�ำบลซับสนุ่น วัดซับขาม ม.8 บ้านซับขาม ต�ำบลซับสนุ่น
วัดซับตะเคียน ม.1 ต�ำบลซับสนุ่น วัดซับสนุ่น ม. 1 บ้านซับสนุ่น ต�ำบลซับสนุ่น วัดซับเหว ม. 6 บ้านซับเหว ต�ำบลซับสนุ่น
อ�ำเภอวังม่วง วัดปึกส�ำโรง ม. 2 บ้านปึกส�ำโรง ต�ำบลแสลงพัน
วัดมณีโชติ ม. 1 บ้านมณีโชติ ต�ำบลแสลงพัน วัดหินซ้อนเหนือ ม. 3 บ้านหินซ้อนเหนือ ต�ำบลแสลงพัน
วัดค�ำพราน ม. 2 บ้านค�ำพราน ต�ำบลค�ำพราน
วัดดงน�้ำฉ่า ม. 8 บ้านดงน�ำ้ ฉ่า ต�ำบลค�ำพราน วัดดงมะเกลือ ม. 5 บ้านดงมะเกลือ ต�ำบลค�ำพราน วัดตะพานหิน ม. 5 บ้านตะพานหิน ต�ำบลค�ำพราน วัดท่าระหัด ม.8 บ้านท่าระหัด ต�ำบลค�ำพราน
วัดปากน�้ำ ม. 3 บ้านปากน�้ำ ต�ำบลค�ำพราน
วัดป่าลานหินดาด ม.6 บ้านป่าสัก ต�ำบลค�ำพราน วัดภิบาลวังม่วง ม. 7 บ้านสุขาภิบาล ต�ำบลค�ำพราน
วัดมณีขวัญชัย ม. 1 บ้านมณีขวัญชัย ต�ำบลค�ำพราน วัดหลังเขา ม.4 บ้านหลังเขาเขต 3 ต�ำบลค�ำพราน วัดคลองมะเกลือ ม. 13 บ้านคลองมะเกลือ ต�ำบลวังม่วง
วัดซับกระทิง ม. 7 บ้านซับกระทิง ต�ำบลวังม่วง
วัดโป่งเก้ง ม. 10 บ้านโป่งเก้ง ต�ำบลวังม่วง
วัดโป่งตะขบ ม. 4 บ้านโป่งตะขบ ต�ำบลวังม่วง
วัดวังม่วง ม. 5 บ้านวังม่วง ต�ำบลวังม่วง
วัดวังยาง ม. 3 บ้านหนองไทร ต�ำบลวังม่วง วัดสวนมะเดื่อ ม. 11 บ้านสวนมะเดื่อ ต�ำบลวังม่วง
วัดหนองบอน ม.9 บ้านหนองบอน ต�ำบลวังม่วง วัดหาดเล็บยาว ม.8 บ้านหาดเล็บยาว ต�ำบลวังม่วง
SARABURI I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 99
99
22/12/2563 16:07:22
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
WWW.SBL.CO.TH
.indd 100
21/12/2563 16:58:19