นิิตยสารท่่องเที่่�ยวเชิิงวััฒนธรรมจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ประจำำ�ปีี 2564
เที่่�ยววััดทั่่�วไทย ชวนไปไหว้้พระ วััดดอนสััก(สิิงขร) กราบขอพร
หลวงปู่่�ทวดองค์์ใหญ่่
ที่่�สุุดในโลก
EXCLUSIVE กราบนมััสการ
พระธรรมวิิมลโมลีี เจ้้าคณะภาค ๑๖
เจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง
นางพิิ มพ์์ วรััชญ์์ รอดจิิตต์์
ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักงาน พระพุุ ทธศาสนาจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
เป็็นองค์์กรหลัักในการขัับเคลื่่�อนพระพุุ ทธศาสนา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี สู่่�เมืืองคนดีีวิิถีีธรรม
Vol.11 Issue 125/2021
www.issuu.com
SURAT THANI สุุราษฎร์์ธานีี
หลวงพ่่อสมหวััง พระประธานในอุุโบสถ 2
วััดสมหวััง ตำำบลวััดประดู่่� อำำเภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดนิิคมธรรมาราม ตั้้�งอยู่่เ� ลขที่่� 1 หมู่่ที่ � ่� 6 ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัง ั หวัด ั สุุราษฎร์์ธานีี 84000
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
3
ห้้องพัักสไตล์์รีีสอร์์ท ท่่ามกลางธรรมชาติิแห่่ง ขุุนเขา ปกคลุุมด้้วยสายหมอกแห่่งเขาสกยามเช้้า
Location ภููผาและลำำ�ธารรีีสอร์์ท
ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� 251 กม.71 ถนนสุุราฏร์์ธานีี-ตะกั่่�วป่่า หมายเลข 401 ตำำ�บลคลองศก อำำ�เภอพนม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
Contact us
077913055 Email: cliffandriver_khaosok@hotmail.com
Khanom Cabana Beach Resort ขนอมคาบานา รีีสอร์์ท มาเที่่� ย ว “ขนอม” เมืื อ งคอน แล้้ ว มองหาที่่� พัั กใน บรรยากาศส่่วนตััว เราขอแนะนำำ� “ขนอมคาบาน่่าบีีชรีีสอร์์ท ” ให้้เป็็นที่่พัั � กผ่่อนสำำ�หรัับคุุณ ที่่พัั � กสไตล์์บููติิครีีสอร์์ท
Location
Khanom Cabana Beach Resort
Contact us
075809120 097998992
Line : khanomcabna E-mail : khanomcabana@gmail.com
พีี .เฉวง เกสท์์เฮาส์์ (P.Chaweng Guest House)
P.Chaweng Guest House ใช้้เวลาเดิิน เพีียง 5 นาทีีจากหาดเฉวง (Chaweng Beach) บนเกาะสมุุย (Samui Island) เกสต์์ เฮาส์์ ห้้องพัักแบบสถาปััตยกรรมไทยดั้้ง � เดิิม และให้้บริิการห้้องอาหาร
Location
P.Chaweng Guest House 46/32 Moo3 , Bophut, Koh Samui, Suratthani
Contact us
4
SBL บัันทึึกประเทศไทย I ฉะเชิิงเทรา
077230684
100 Islands Resort & Spa
โรงแรมร้้อยเกาะมีีห้้องพััก เตีียง Double และเตีียง Twin และสำำ� หรัับครอบครััวแบบ Deluxe Room มีีสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกครบครััน เช่่น ทีีวีี, � ้อนและน้ำำ�� เย็็น เครื่่�องปรัับอากาศ, โทรศััพท์์, น้ำำ�ร้ ผ่่อนคลายในสวนสระว่่ายน้ำำ�� ของเราในร่่มเงา ของต้้นไม้้ บริิการฟรีี WiFi ทั่่�วพื้้� นที่่�
Location 100 ISLANDS RESORT
19/6 หมู่่�ที่่� 3 ถนนเลี่่ย � งเมืือง (บายพาส) ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 84000
Contact us
077201150-1 ไรซ์์ ฟาร์์ม วิิลล่่า (Rice Farm Villa)
Welcome to Rice farm Villa ไรซ์์ฟาร์์มวิิลล่่า ตั้้ง � อยู่่ใ� นจัังหวััดสุุราษฏร์์ธานีี วิิลล่่าแห่่งนี้้�ประกอบ ด้้วยสระว่่ายน้ำำ�� กลางแจ้้ง วิิลล่่ามีีวิิวของนาข้้าว ฟรีีอิินเทอร์์เน็็ตไร้้สาย (Wi-Fi) ไรซ์์ ฟาร์์ม วิิลล่่า ตั้้ง � อยู่่ใ� นพื้้�นที่่เ� ดีียวกัันกัับโรงแรมร้้อยเกาะ
Location Rice Farm Villa
ตั้้� ง อยู่่� เ ลขที่่� 19/6 หมู่่� 3 ถ น น บ า ย พ า ส ตำำ� บ ล ม ะ ข า ม เ ตี้้� ย อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
Contact us
077201150-1 fax 077201159
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
5
Wangtai Hotel Suratthani
“ครบทุุกความต้้องการ ผสานความทัันสมััย ใส่่ใจในการบริิการ” ยิินดีีต้้อนรัับเข้้าสู่่� โรงแรมวัังใต้้ ที่่ใ� ห้้บริิการห้้องพัั ก พร้้อมด้้วยสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกอย่่างครบครััน ทั้้�งสระว่่ายน้ำำ�� ฟิิตเนส ซาวน่่า นอกจากนี้้�ท่่านยัังได้้ลองทานรสอาหารพื้้� นเมืืองจากห้้องอาหารท่่าทองและค็็อฟฟี่่� ช็็อปของทางโรงแรมซึ่่ง � เปิิดบริิการ ตั้้�งแต่่ 6.00-24.00 น. ของทุุกวััน บริิการอาหารเช้้านานาชาติิ มุุมกาแฟอัันเงีียบสงบ นัับเป็็นโอกาสดีีในวัันหยุุดพัั กผ่่อนของท่่าน
6
SBL บัันทึึกประเทศไทย I ฉะเชิิงเทรา
FACILITIES
ภายในห้้องพัั ก ท่่านสามารถมองเห็็นทััศนีียภาพภายนอก � าปีี ได้้อย่่างสวยงาม ไม่่ว่่าจะเป็็นบรรยากาศริิมสองฝั่่�งแม่่น้ำำ�ต � าปีี เป็็นอีีกหนึ่่ง ทิิวทัศ ั น์์ของเกาะลำำ�พูู เกาะเล็็กๆ กลางแม่่น้ำำ�ต � สถานที่่พั � ั กผ่่อนหย่่อนใจ และออกกำำ�ลัังกาย หากคุุ ณ กำำ�ลัั ง มองหาห้้ อ งสำำ�ห รัั บ จัั ด ประชุุ ม สัั ม มนา งานเลี้้�ยงสัังสรรค์์ ในและนอกสถานที่่� ห้้องจััดงานมงคลสมรส โรงแรมวัังใต้้ เรามีีบริิการห้้องหลากหลายขนาดไว้้รองรัับ ท่่าน พร้้อมด้้วยอุุปกรณ์์โสตฯ และบริิการ Wifi-Internet ครอบคลุุมทั้้�งบริิเวณโรงแรมฯ พร้้อมที่่�จอดรถที่่�สามารถ รองรัับได้้อีีกกว่่า 100 คััน
Location Wangtai Hotel
เลขที่่� 1 ถนนตลาดใหม่่ ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 84000
+66(77)283020 แฟกซ์์ : +66(77)281007 WANGTAISRT@GMAIL.COM
WWW.WANGTAISURAT.COM
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
7
รอให้้คุุณมาสััมผััส กัับความสุุข และลงตััว
C TOWER HOTEL โรงแรม ซีี ทาวน์์เวอร์์
ซีี ทาวน์์เวอร์์ ตกแต่่งห้้องพัั กแบบสมััยใหม่่ มีีผนัังห้้องในโทนสีีกลางๆ ติิดด้้วยสีีสัันแบบ colorful ภายในห้้อง จะมีีแสงธรรมชาติิส่่องเข้้า � ่วนตััว มาอย่่างเต็็มที่่� ห้้องพัั กแต่่ละห้้องมีีสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกครบครััน แบ่่งสััดส่่วน ห้้องนอนซึ่่ง � ทำำ�อาหาร ระเบีียง ห้้องน้ำำ�ส่
8
SBL บัันทึึกประเทศไทย I ฉะเชิิงเทรา
FACILITIES
โรงแรมซีีทาวเวอร์์ สุุราษฎร์์ธานีี ห้้องพัั กที่่�นี่่ที่่ � เ� ดีียว กัับ ห้้องพัั กสไตล์์คอนโดมิิเนีียม ในราคาสุุดคุ้้�ม สะดวกครบครััน ใกล้้ สถานีีขนส่่ง ห้้างเซนทรััล สนามบิิน โรงพยาบาลกรุุงเทพ และอีีกมากมายรอให้้คุุณมาสััมผััส..กัับความสุุขความลงตััว
Location C Tower Hotel
เลขที่่� 140 หมู่่� 10 ตำำ�บลวััดประดู่่� อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสราษฎร์์ธานีี
Get Direction
ฟรีี . .. อาหารเช้้า แสนอร่่อย
077-200371
089-4744724
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
9
สััมผััสกัับบรรยากาศธรรมชาติิ บริิการที่่อ � บอุ่่�น ที่่พั � ั กสไตล์์บูทีี ู ค พร้้อมสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกครบครััน เหมาะแก่่การพัั กผ่่อนหย่่อนใจ
ตั้้�งอยู่่�ตำำ�บลเขาพัั ง อำำ�เภอบ้้านตาขุุน จัังหวััดสุุ ราษฏร์์ธานีี เป็็นสถานที่่�พัักผ่่อนสัั มผััส ธรรมชาติิ ร องรัั บ นัั ก ท่่องเที่่� ยว ทั่่� ง คนไทยและต่่างชาติิ สัั มผัั สกัั บ บรรยากาศธรรมชาติิ และบริิการที่่�อบอุ่่�น ที่่�พัักสไตล์์บููทีีค มีีความเป็็นธรรมชาติิ เขีียวสดใสร่่มรื่่�น มีีสิ่่� งอำำ�นวย ความสะดวกครบครััน เหมาะแก่่การพัั กผ่่อนหย่่อนใจ
The Phutawan Restaurant ร้้านอาหารภููตะวััน บริิการอาหาร หลากหลาย รสชาดอร่่อย มีีหลาก หลายให้้ เ ลืือกรัั บ ประทาน พร้้ อมทั่่� ง เครื่่อ � งดื่่ม � หลากหลายเมนููให้้เลืือกชิิม
1 SBL
บันนทึกกประเทศไทย I ฉะเชิงงเทรา
สััมผััสธรรมชาติิ เดอะ ตะวััน บููทีีค อยู่่�ไม่่ไกลจากแหล่่งท่่องเที่่�ยวอยู่่�ใกล้้กัับ
แพภููตะวััน เขื่่อ � นรััชชประภา
ตำำ�บลเขาพัั ง สุุราษฎร์์ธานีี แพภููตะวััน บรรยากาศเรีียบง่่ายแสน สบาย ด้้ วย ธรรมชาติิ ที่่� บ ริิ สุุ ทธิ์์� ผืืนน้ำำ�� สีี เขีียวมรกต ทำำ� ให้้ อ ดใจไม่่ไหวที่่� จ ะ กระโดดเล่่นน้ำำ�� จนฉ่ำำ�� อุุรา
Location The Phutawan Boutique @ Cheowlan
เลขที่่� 679/1 หมู่่� 4 ตำำ�บลเขาพัั ง อำำ�เภอบ้้านตาขุุน จัังหวััดสุุราษฏร์์ธานีี 84230
077 313999, 077 313998, 081 6069007, 086 28296551 : putawan_2012@oไutlook.com
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย : Phutawan Rafthouse - แพภููตะวัั น
Lam Poh Beach Resort แหลมโพธิ์์�บีีช รีีสอร์์ท ตั้้ง � อยู่่ใ� น อำำ�เภอไชยา ท่่านสามารถเพลิิดเพลิินกัับวััน พัักผ่่ อ นได้้ อ ย่่างสบายใจ ได้้ อ ยู่่� กัั บ ธรรมชาติิ แ ละใกล้้ สถานที่่�เที่่�ยวเด่่นๆ เช่่น สวนโมกข์์ สวนโมกขพลาราม รวมถึึงดื่่�มด่ำำ�� ธรรมชาติิอัันงดงาม ณ หาดแหลมทราย และหาดพุุ มเรีียงวัั ด พระบรมธาตุุ ไ ชยาราชวรวิิ ห าร น้ำำ�� พุุ ร้้อนโบราณ for all
FACILITIES
เรามีีบริิ กา รห้้ อ งพัักที่่� ส ะอาด สะดวก สบายด้้ วยสิ่่� ง อำำ�นวยความสะดวกภายในห้้องพัักอย่่างครบครััน พร้้อมนี้้� ท่่านยัังสามารถท่่ อ งโลกอิิ น เตอร์์ เ น็็ ต ได้้ อ ย่่างสบายใจ ด้้วย WiFi ฟรีี รอบสถานที่่ภ � ายในรีีสอร์์ท
1 SBL
บันนทึกกประเทศไทย I ฉะเชิงงเทรา
Special
มีีบริิการเรืือนำำ�เที่่ยว � เล่่นน้ำำ�� ดัักปูู ตกปลา หาหอย นอกจากนี้้�แหลมโพธิ์์�บีีช รีีสอร์์ท เรายัังมีีบริิการ ขี่่�ม้้า ให้้ ผู้้�ที่่� เ ข้้ าพััก ได้้ ผ่่ อ นคลายหลัังจากเดิิ น ทางท่่ อ งเที่่� ยว จิิบกาแฟ ในบรรยากาศส่่วนตััว และลงตััวที่่สุ � ุด เมื่่อ � เข้้าพัักที่่� แหลมโพธิ์์� บีี ช รีีสอร์์ ท ผู้้� เข้้ าพััก จะได้้ พ บกัั บ บริิ กา รแบบ มืืออาชีีพและสิ่่�งอำำ�นวยความสะดวกมากมายที่่ผ � สมผสานกัน ั อย่่างลงตััว
เปิิดแบบจััดเต็็ม ครบจบที่่เ� ดีียว รีีสอร์์ทที่พััก ่� เรืือตกปลาพาเล่่นน้ำำ�� ขี่่ม้ � า้ แบบเท่่ ๆ
ที่่แ � หลมโพธิ์์� บีีชรีีสอร์์ท
Location Lam Poh Beach Resort
เลขที่่� 111/1 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลพุุ มเรีียง อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 84110 Get Direction
0897308999 0847472555 สจ.ฟาเรส คาน
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
1
Princess
Park Hotel
Surat Thani
โรงแรม ปริ๊๊�นเซส ปาร์์ค นัับเป็็นโรงแรมกลางเมืืองร้้อยเกาะนามสุุราษฎร์์ธานีี ที่นี่่ ่� ถื � ือได้้ว่่าเป็็นหนึ่่ง � ในความสะดวกสบาย ใกล้้ตััวเมืือง มีีความสงบ และเป็็นส่่วนตััว ภายในห้้องยัังสามารถมองชมวิิวทิิวทััศน์์รอบๆ โรงแรมได้้อย่่างสวยงาม
1 SBL
บันนทึกกประเทศไทย I ฉะเชิงงเทรา
FACILITIES
โรงแรม ปริ๊๊�นเซส ปาร์์ค แบ่่งห้้องพัั กเพื่่� อตอบสนองความ ต้้องการในการพัั กผ่่อนได้้หลากหลายรููปแบบ ตกแต่่งอย่่าง ทัันสมััย อีีกทั้้�งยัังดููอบอุ่่�นและโปร่่งสบาย นอกจากนี้้� เรายัังมีีร้้านอาหารในรสชาติิแบบปัักษ์์ใต้้ให้้ บริิการคุุณด้้วย และหากคุุณกำำ�ลัง ั มองหาสถานที่ใ่� นการจััด ประชุุมสััมมนา ที่่นี่่ � ก็ � มี ็ บ ี ริิการพร้้อมโสตทััศนููปกรณ์์ที่ทั ่� น ั สมััย
Location Princess Park Hotel
ที่่อ � ยู่่� 19/19 ถนนเลี่่�ยงเมืือง ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎรานีี 84000
Get Direction
077-405-989 077-405-993 www.princessparkhotel.com
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
1
มััสยิิดกลาง ประจำำ�จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี
16
ตั้้ง � อยู่่�เลขที่่� 65/25 ถนนท่่าทอง ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 84000 โทร. 077-287-130 SBL บันทึกประเทศไทย
EDITOR’S
SBL
บันทึกประเทศไทย www.sbl.co.th issue 125/2021
บริิษััท สมาร์์ทบิิซิิเนสไลน์์ จำำ�กััด 9/4-6 ถนนรามอิินทรา แขวงอนุุสาวรีีย์์ เขตบางเขน กรุุงเทพฯ 10220 โทรศััพท์์ : 0-2522-7171 เว็็บไซต์์ : www.sbl.co.th
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ทีีมงานนิิตยสาร “SBL บัันทึึกประเทศไทย” ฉบัับพิิเศษ “วััดทั่่�วไทย” ในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ขอเชิิญชวนท่่านผู้้�อ่่านสััมผััสพระพุุทธศาสนาในมิิติิต่่างๆ “สุุราษฎร์์ธานีี” จัังหวััดท่่องเที่่�ยวที่่� สำำ�คััญแห่่งหนึ่่�งของภาคใต้้แม้้สภาพภููมิิประเทศจะติิดทะเลทางด้้านฝั่่�งอ่่าวไทย แต่่ที่่�เที่่�ยวทาง ทะเลของที่่�นี่่� ก็็สวยงามไม่่แพ้้ใคร และไม่่ได้้มีีดีีแค่่ที่่�เที่่�ยวทางธรรมชาติิเท่่านั้้�น แต่่ยัังมีีแหล่่ง ท่่องเที่่�ยวเชิิงวััฒนธรรมมากมายสมกัับคำำ�ขวััญของจัังหวััดที่่�ว่่า “เมืืองร้้อยเกาะ เงาะอร่่อย หอยใหญ่่ ไข่่แดง แหล่่งธรรมะ” อััคราพงษ์์ ศิิลปรัังสรรค์์ บรรณาธิิการอำำ�นวยการ สิ่่�งแรกเมื่่�อไปถึึงสุุราษฎร์์ธานีีที่่�ไม่่ควรพลาดคืือการสัักการะ “ศาลหลัักเมืือง” เป็็นศููนย์์รวม จิิตใจของชาวเมืืองสุุราษฎร์์ฯ ศาลหลัักเมืืองหลัังนี้้�สร้้างด้้วยคอนกรีีตตามแบบศิิลปะศรีีวิิชััย คล้้ายกัับพระธาตุุไชยา ตกแต่่งงดงาม หากมาท่่องเที่่�ยวเมืืองสุุราษฎร์์ธานีีแล้้วละก็็ อย่่าลืืมแวะ สัักการบููชาเพื่่�อความสิิริิมงคล อีีกหนึ่่�งแห่่ง “วััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร” ปููชนีียสถาน สำำ�คััญคู่่�บ้้านคู่่�เมืืองของจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ปััณณ์์ฐาโชค ธนสานสิิทธิิโชติิ บรรณาธิิการการตลาด อีี ก แห่่ ง ที่่� ส ายปฏิิ บัั ติิ ธ รรมรู้้� จัั ก ดีี คืื อ “สวนโมกขพลาราม” สถานที่่� ที่่� เ มื่่� อ ย่่ า งก้้าวแรก สััมผััสได้้ถึึงความสงบเรีียบง่่ายที่่�กลมกลืืนไปกัับธรรมชาติิได้้เป็็นอัันหนึ่่�งอัันเดีียวกััน สวนโมก ขพลารามตั้้�งอยู่่�บริิเวณรอบเขาพุุทธทอง ต.เลม็็ด อ.ไชยา จ.สุุราษฎร์์ธานีี “วััดพััฒนาราม” (วัั ด ใหม่่ ) วัั ด เก่่ า แก่่ บ รรยากาศร่่ ม รื่่� น เงีี ย บสงบ เหมาะแก่่ ผู้้� ที่่� ชื่่� น ชอบความสงบ มีี อ ดีี ต “หลวงพ่่อพััฒน์์นารโท เป็็นอดีีตเจ้้าอาวาสเกจิิอาจารย์์ที่่�มีีชื่่�อเสีียงโด่่งดัังในภาคใต้้ วนััสกฤษณ์์ ศิิลปรัังสรรค์์ บรรณาธิิการฝ่่ายบุุคคล
SBL MAGAZINE
คณะผู้บริหาร คณะที่่�ปรึึกษา : ศ.ดร.กฤช เพิ่่�มทัันจิิตต์์, พลเอกสรชััช วรปััญญา, ดร.นิิเวศน์์ กัันไทยราษฎร์์, ดร.ประยุุทธ คงเฉลิิมวััฒน์์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุุมิิท แช่่มประสิิท, ดร.วััลลภ อารีีรบ, ดร.พิิชััย ทรััพย์์เกิิด, ดร.ไอศููรย์์ ดีีรััตน์์, ดร.สุุเทษณ์์ จัันทรุุกขา, ดร.อรรถสิิทธิ์์� ตัันติิวิิรััชกุุล บรรณาธิิการอำำ�นวยการ : อััคราพงษ์์ ศิิลปรัังสรรค์์ บรรณาธิิการงานบุุคคล : พงษ์์ศักดิ์์ ั � พรณััฐวุุฒิิกุุล, วนััสกฤษณ์์ ศิิลปรัังสรรค์์ บรรณาธิิการการตลาด : ปััณณ์์ฐาโชค ธนสานสิิทธิิโชติิ ฝ่่ายประสานงานโครงการภาครััฐและเอกชน ผู้้�จััดการ : กิิตติิชััย ศรีีสมุุทร, ทวััชร์์ ศรีีธามาศ, อััครกฤษ หวานวงศ์์, ภููษิิต วิิทยา คณะทีีมงาน : อรรถพร สว่่างแจ้้ง, ธนิิน ตั้้�งธำำ�รงจิิต, ถาวร เวปุุละ, พุุฒิิธร จัันทร์์หอม, อมร อนัันต์์รััตนสุุข, นิิรุุจน์์ แก้้วเล็็ก, สุุษฎา พรหมคีีรีี, พร้้อมพงศ์์ สืืบด้้วง, สรวิิชญ์์ อัังกููรศุุภเศรษฐ์์ ผู้้จั� ดั การฝ่่ายประสานงานข้้อมููล : นัันท์์ธนาดา พลพวก ฝ่่ายประสานงานข้้อมููล : ศุุภญา บุุญช่่วยชีีพ, นลััชนัันท์์ เทีียมเกตุุทวีีโชค นัักเขีียน : มนสิิกุุล โอวาทเภสััชช์์ ฝ่่ายศิิลปกรรม ผู้้�จััดการฝ่่ายศิิลปกรรม : พััชรา คำำ�มีี กราฟิิกดีีไซน์์ : พิิมพ์์พิิสุุทธิ์์� พัังจููนัันท์์, วรเชษฐ สมประสงค์์, อนุุธิิดา คำำ�หล้้า ช่่างภาพ : ปณต ปิิติิจารุุวิิศาล, กิิติิวััฒน์์ ทิิศมั่่�ง วิิทยา ประเสริิฐสัังข์์, ธีีระพงษ์์ ธรรมเจริิญ ตััดต่่อวีีดีีโอ : วััชรกรณ์์ พรหมจรรย์์, ณััฐพล ชื่่�นขำำ� ฝ่่ายบััญชีี / การเงิิน บััญชีี : ปััฐมาภรณ์์ แสงบุุราณ ผู้้�จััดการฝ่่ายการเงิิน : สุุจิิตรา แดนแก้้วนิิต การเงิิน : ชวััลชา นกขุุนทอง, สุุภาวรรณ สุุวรรณวงค์์
สะพานศรีีตาปีี
C O NTENTS วััดนิิคมธรรมาราม 3 เจ้้าคณะภาค 16 22
พระธรรมวิิมลโมลีี (พงศสรร อสิิญาโณ)
เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 24
พระครููปริิยััตยาภิิรม (สมบููรณ์์ สมฺฺปุุณฺฺโณ)
พุุทธทาสภิิกขุุ 30 Surat Thani 32 Provincial Office of Buddhism
นางพิิมพ์์วรััชญ์์ รอดจิิตต์์ ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนา
วััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง วััดพััฒนาราม พระอารามหลวง วััดสมหวััง วััดนิิคมธรรมาราม(หััวเขา) วััดแหลมทอง วััดโพธาวาส
38 44 48 52 54 56
58 60 64 68 72 76 80 82 84 88 92 94 100
วััดธรรมบููชา วััดวิิภาวดีีกาญจนา วััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์ วััดท่่าไทร วััดพ่่วง วััดอุุภััยชนาราม วััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์ วััดกงตาก วััดหััวหมาก วััดกาญจนาราม วััดปราการ วััดสถิิตคีีรีีรมย์์ (วััดเขาราหูู) วััดพระบรมธาตุุไชยา ราชวรวิิหาร
วััดโลการาม วััดพุุมเรีียง วััดชยาราม วััดศรีีเวีียง(หนองอููม) วััดโพธาราม วััดศัักดิ์์�คุุณาราม วััดดอนสััก วััดอััมพาราม สำำ�นัักสงฆ์์คลองวััว(วััดปิิยธรรมาราม) วััดท่่าเฉวีียด วััดนัันทาราม (วััดใหม่่) วััดชััยธาราวาส(ดอนชาย) วััดศรีีพนมพลาราม วััดศรีีสุุวรรณ
104 111 112 114 116 118 120 126 130 134 138 140 144 146
148 150 156 160 164 168 172 176 180 184 188
วััดเขากอม วััดป่่าท่่าไท วััดอภััยเขตตาราม(วััดใหม่่) วััดพััฒนารมย์์ วััดสุุคนธาวาส วััดควนสุุบรรณ วััดสองพี่่�น้้อง วััดพุุนพิินใต้้ วััดหนองไทร วััดดอนกะถิิน วััดตรณาราม(วััดตััน)
192 198 200 202 204 208 210
วััดประชาวงศาราม วััดเขาพระอานนท์์ วััดสัันติิคีีรีีรมย์์ วััดรััตนธรรมาราม(ท่่าล้้อน) วััดคลองตาล วััดคลองฉนวน วััดทุ่่�งหลวง
S URAT T HA N I
พระธรรมวิิมลโมลีี ศรีีศาสนกิิจโกศล โสภณธรรมานุุสิิฐ ตรีีปิิฎกบััณฑิิต มหาคณิิสสร บวรสัังฆาราม คามวาสีี
22
เจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง เจ้้าคณะภาค ๑๖
SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่
พระธรรมวิิมลโมลีี (พงศ์์สรร อสิิาโณ) อายุุ ๖๗ พรรษา ๔๖ วััดไตรธรรมาราม (พระอารามหลวง) อำำเภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ตำำแหน่่ง เจ้้ าอาวาสวัั ดไตรธรรมาราม และเจ้้ าคณะภาค ๑๖ การศึึ กษา
เปรีียญธรรม ๙ ประโยค เกีียรติิคุุณ
ได้้รัับการถวายปริิญญาบััตร ปริิญญาพุุทธศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์์� สาขารััฐประศาสนศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย ได้้รัับการถวายปริิญญาศาสนศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์์� สาขาศาสนศึึกษา มหาวิิทยาลััยมหามกุุฎราชวิิทยาลััย สมณศัั กดิ์์�
๕ ธ.ค. ๒๕๓๗ ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระราชาคณะชั้้�นสามััญในราชทิินนาม พระศรีีธรรมนาถมุุนีี ๕ ธ.ค. ๒๕๔๔ ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระราชาคณะชั้้�นราชในราชทิินนาม พระราชปริิยััติิบดีี ๕ ธ.ค. ๒๕๔๗ ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระราชาคณะชั้้�นเทพในราชทิินนาม พระเทพสุุธีี ๕ ธ.ค. ๒๕๕๖ ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระราชาคณะชั้้�นธรรมในราชทิินนาม พระธรรมวิิมลโมลีี ตำำ�แหน่่งฝ่่ายปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๒ เลขานุุการรองเจ้้าคณะภาค ๑๗ พ.ศ. ๒๕๓๓ เลขานุุการเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. ๒๕๓๔ ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง พ.ศ. ๒๕๓๖ เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านตาขุุน พ.ศ. ๒๕๓๘ – ปััจจุุบััน พระอุุปััชฌาย์์ วิิสามััญ พ.ศ. ๒๕๔๐ รองเจ้้าคณะภาค ๑๖ พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปััจจุุบััน เจ้้าคณะภาค ๑๖ พ.ศ. ๒๕๕๑ ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง พ.ศ. ๒๕๕๒ – ปััจจุุบััน เจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง
PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย
23
พระครูู ปริ ยั ิ ต ั ยาภิิ ร ม (สมบููรณ์์ สมฺฺ ปุุ ณฺฺ โณ ป.ธ.๔) 24
SBL บันทึกประเทศไทย I แพร่
เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครูู ปริ ยั ิ ต ั ยาภิิ ร ม (สมบููรณ์์ สมฺฺ ปุุ ณฺฺ โณ ป.ธ.๔) เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ชาติิภููมิิ พระครูู ปริิยัต ั ยาภิิรม มีีนามเดิิมว่่า สมบููรณ์์ บััวแก้้ว เกิิดเมื่่อ � วัันที่่� ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๗ บิิดา นายจิิต บััวแก้้ว มารดา นางแนม บััวแก้้ว อยู่่�บ้้านเลขที่่� ๑๓๑ หมู่่�ที่่� ๕ ตำำ�บลชลคราม อำำ�เภอดอนสัั ก จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
บรรพชา บรรพชา เมื่่อ � วัันที่่� ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๑ ณ วััดชลคราม ตำำ�บลชลคราม อำำ�เภอดอนสัั ก จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี โดยมีี
พระครูู ชลธารธรรมพิิทัักษ์์ (หงษ์์ ฐิิตธมฺฺโม) เจ้้าคณะตำำ�บลชลคราม เจ้้าอาวาสวััดชลคราม ตำำ�บลชลคราม อำำ�เภอดอนสัั ก จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นพระอุุปัช ั ฌาย์์
อุุปสมบท อุุปสมบท เมื่่อ � วัันที่่� ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ณ วััดไตรธรรมาราม ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี
จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี โดยมีี พระครูู สุุนทรธรรมวิิธาน วััดไตรธรรมาราม เป็็นพระอุุปัช ั ฌาย์์ พระมหาถวิิล อนุุภาโส
วััดไตรธรรมาราม เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ พระครูู วิินััยธรลาภ วรธมฺฺโม วััดไตรธรรมาราม เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์
การศึึ กษา พ.ศ. ๒๕๒๓ สอบได้้ นัักธรรมชั้้� นเอก สำำ �นัักศาสนศึึ กษาวััดขัันเงิิน อำำ�เภอหลัังสวน จัังหวััดชุุ มพร พ.ศ. ๒๕๓๐ สอบได้้ เปรีียญธรรม ๔ ประโยค สำำ �นัักศาสนศึึ กษาวััดไตรธรรมาราม อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พ.ศ. ๒๕๕๗ สำำ �เร็็จการศึึ กษา ปริิญญาศิิ ลปศาสตรบััณฑิิต (ศศ.บ.) คณะศิิ ลปศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััย
ความชำำ �นาญ พิิมพ์ดีี ์ ดภาษาไทย , พิิมพ์ค ์ อมพิิวเตอร์์ , การเทศนา
การศึึ กษาพิิเศษ วิิชาเลขานุุการ , โหราศาสตร์์ , ยาสมุุนไพร
ตำำ�แหน่่งทางการปกครองคณะสงฆ์์ พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็็น ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็็น เลขานุุการเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ของพระเทพสิิ ทธิินายก
อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็็น เลขานุุการเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ของพระเทพพิิพัฒ ั นาภรณ์์ พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๕๑ เป็็น เจ้้าคณะตำำ�บลตลาด เขต ๑ พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑ เป็็น เจ้้าคณะอำำ�เภอดอนสัั ก พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็็น พระอุุปัช ั ฌาย์์ ประเภทวิิสามััญ
พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็็น ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็็น เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็็น ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดพััฒนาราม พระอารามหลวง PHRAE I SBL บันทึกประเทศไทย
25
ท�ำเนียบการปกครองคณะสงฆ์ สุุราษฎร์์ธานีี (มหานิิกาย)
พระครููปริิยััตยาภิิรม
(สมบููรณ์์ สมปุุณโณ ป.ธ.๔)
เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เจ้้าอาวาสวััดพััฒนาราม (พระอารามหลวง)
พระครููปริิยััติิคุุณาวุุธ (เสรีี ภููริิปญฺฺโญ)
รองเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ผู้้�รัักษาการแทน เจ้้าคณะอำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี เจ้้าอาวาสวััดกลางใหม่่
พระครููสถิิตวััฒนาภรณ์์ (ภาระดา ฐิิตลาโภ) เจ้้าคณะอำำ�เภอพููนพิิน เจ้้าอาวาสวััดท่่าตลิ่่�งชััน
26
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
พระครููวิิชััยธรรมสาร (สุุนทร จตฺฺตมโล) เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาเดิิม เจ้้าอาวาสวััดพััฒนารมย์์
พระครููวิสุิ ุทธิิวุุฒิิคุุณ (วรวุุฒิิ ญาณวุุฑฺฺโฒ ป.ธ.๑-๒) เจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ เจ้้าอาวาสวััดเขาแก้้ว
พระครููธีีรธรรมพิิมล ดร. (ทิิม ฉนฺฺทธมฺฺโม ป.ธ.๑-๒) เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร เจ้้าอาวาสวััดโฉลกศิิลาราม
พระครููไพโรจน์์ธรรมรุุจิิ (วิิลาส วิิโรจโน ป.ธ.๔) เจ้้าคณะอำำ�เภอดอนสััก เจ้้าอาวาสวััดดอนสััก
พระครููสิิริิทีีปรััต (นิิพนธ์์ วรกวิินฺฺโท ป.ธ.๕)
พระครููสิิริิธรรมวััฒนากร (ณััฐพงษ์์ ณฏฺฺฐวํํโส ป.ธ.๔)
พระครููโกวิิทนวการ (ประภาส โกวิิโท)
พระครููสุุทธิิภาตารัักษ์์ (สถิิต ปริิสุุทฺฺโธ)
พระครููโฆสิิตสรคุุณ (ประดิิษฐ์์ ฐานิิสฺฺสโร)
พระครููวรกิิจโกศล (โกศล โกสโล)
พระครููพิิทัักษ์์เจติิยานุุกููล (สุุเทพ สุุเทโว ป.ธ.๓)
พระครููพิิทัักษ์์สุุวรรณเขต (ประสิิทธิ์์� บุุปผคนฺฺโธ)
พระครููสิิริิทีีปคุุณากร (ประจวบ ปญฺฺญาทีีโป ป.ธ.๕)
พระครููสุุตวราภิิยุุต (สุุริิยันต์ ั ์ ปญฺฺญาวุุโฑ ป.ธ.๓)
เจ้้าคณะอำำ�เภอเกาะพะงััน เจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์เจริิญ
เจ้้าคณะอำำ�เภอเคีียนซา เจ้้าอาวาสวััดพุุนพิินใต้้
เจ้้าคณะอำำ�เภอไชยา ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดพระบรมธาตุุไชยาฯ
เจ้้าคณะอำำ�เภอเวีียงสระ เจ้้าอาวาสวััดเวีียงสระ
เจ้้าคณะอำำ�เภอพนม เจ้้าอาวาสวััดสองพี่่�น้้อง
เจ้้าคณะอำำ�เภอชััยบุุรีี เจ้้าอาวาสวััดสมััยสุุวรรณ
พระปลััดนนทณััฏฏ์์ ชิินวโร ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าคณะอำำ�เภอพระแสง รองเจ้้าอาวาสวััดย่่านดิินแดง
เจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าฉาง เจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม
เจ้้าคณะอำำ�เภอเกาะสมุุย เจ้้าอาวาสวััดคุุณาราม
พระมหาเดชา ปญฺฺญาวโร ป.ธ.๗ เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านตาขุุน วััดพระมหาธาตุุคีีรีอิี ินทรวิิหาร
เจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าชนะ เจ้้าอาวาสวััดถ้ำำ��ใหญ่่
เจ้้าคณะอำำ�เภอคีีรีรัี ัฐนิิคม เจ้้าอาวาสวััดเกษตราราม
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
27
ทำำเนีียบการปกครองคณะสงฆ์์ สุุราษฎร์์ธานีี (ธรรมยุุต)
พระราชไพศาลมุุนีี
(ปราโมทย์์ สิิริิจนฺฺโท ป.ธ.๑-๒) เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธ) เจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชา พระอารามหลวง
พระครููสุุนทรธรรมพิินิิจ (เที่่�ยง ญาณุุชุุโก ป.ธ.๓)
เจ้้าคณะอำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี(ธ) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดธรรมบูชา พระอารามหลวง
พระครููอมรวิิหารวััตร (สุุทธิิเวช อมโร) 28
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
เจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ (ธ) เจ้้าอาวาสวััดหััวหมาก
พระครููธีีรธรรมานุุยุุต (ธีีระยุุทธ ยโสธโร) เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร (ธ) เจ้้าอาวาสวััดวิิภาวดีีกาญจนา
วััดเขาศรีีวิิชััย
พระเดชพระคุุณ พระธรรมโกศาจารย์์ (เงื่่�อม อิินทปญฺฺโญ) พุุทธทาสภิิกขุุ
พระธรรมโกศาจารย์์ นามเดิิม เงื่่อ � ม พานิิช ฉายา อิินทปญฺฺโญ หรืือรู้้ จั � ก ั ในนาม พุุทธทาสภิิกขุุ เป็็นชาวอำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
เกิิดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2449 เริ่่�มบวชเรีียนเมื่่อ � อายุุได้้ 20 ปีี ที่่วั � ดบ้้ ั านเกิิด จากนั้้�นได้้เข้้ามาศึึ กษาพระธรรมวิินัย ั ต่่อที่่�กรุุ งเทพมหานคร จนสอบได้้
เปรีียญธรรม 3 ประโยค แต่่แล้้วท่่านพุุทธทาสภิิกขุุก็พ ็ บว่่าสัั งคมพระพุุทธศาสนาแบบที่่�เป็็นอยู่่�ในขณะนั้้�นแปดเปื้้� อนเบืือนบิิดไปมาก และไม่่อาจ
ทำำ�ให้้เข้้าถึึงหััวใจของศาสนาพุุทธได้้เลย ท่่ านจึึงตััดสิินใจหัันหลัั งกลัั บมาปฏิิบััติิธรรมที่่� อำ� ำ เภอไชยา ซึ่่� งเป็็นภููมิิลำ� ำ เนาเดิิ มของท่่ านอีี กครั้้� ง พร้้อมปวารณาตนเองเป็็น พุุทธทาส เนื่่อ � งจากต้้องการถวายตััวรัับใช้้พระพุุทธศาสนาให้้ถึึงที่่สุ � ุด
30
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ผลงานเด่่นของท่่านพุุทธทาส คืือ งานหนัังสืือ อาทิิ หนัังสืือพุุทธธรรม, ตามรอยพระอรหัันต์์ และคู่่�มืือมนุุษย์์ และเป็็นสงฆ์์ไทยรููปแรกที่่�บุกุ เบิิก การใช้้โสตทััศนููปกรณ์์สมััยใหม่่สำำ�หรัับการเผยแพร่่ธรรมะ และท่่านมีี สหายธรรมคนสำำ�คััญ คืือ ปััญญานัันทภิิกขุุ วััดชลประทานรัังสฤษฎ์์ และท่่าน บ.ช. เขมาภิิรัตั
สวนโมกขพลาราม
หมู่่�ที่่� 6
ตำำ�บลเสม็็ด
อำำ�เภอไชยา
สุุราษฎร์์ธานีี 84110
สวนโมกขพลาราม หรืื อ ชื่่� อ เรีี ย กทางการว่่ า วัั ด ธารน้ำำ�� ไหล จััดตั้้�งโดย พุุทธทาสภิิกขุุ ตั้�ง้ ที่่�เขาพุุทธทอง ริิมทางหลวงหมายเลข 41 บริิเวณกิิโลเมตรที่่� 134 อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เพื่่�อให้้ เป็็นสถานที่่�ปฏิิบัติั ธิ รรมและสถานที่่�เผยแผ่่พระพุุทธศาสนาที่่�มีชื่ี อ่� เสีียง ไปทั่่�วโลก ท่่านพุุทธทาส หรืือ พระมหาเงื่่�อม ในเวลานั้้�น พร้้อมด้้วยโยม น้้องชาย คืือ นายยี่่�เกย หรืือ คุุณธรรมทาส พานิิช และ เพื่่�อนใน คณะธรรมทานประมาณ 4 - 5 คน เท่่านั้้�น ที่่�ร่่วมรัับรู้้�ถึึงปณิิธาน อัันมุ่่�งมั่่�นในการปฏิิบััติิธรรม ตามรอยพระอรหัันต์์ ของท่่าน ทุุกคน เต็็มอกเต็็มใจ ที่่�จะหนุุนช่่วยด้้วยความศรััทธา โดยพากัันออกเสาะหา สถานที่่� ซึ่่�งคิิดว่่ามีี ความวิิเวก และ เหมาะสมจะเป็็นสถานที่่� เพื่่�อ ทดลองปฏิิบััติิธรรม ตามรอยพระอรหัันต์์ สำำ�รวจกัันอยู่่�ประมาณ เดืือนเศษ ก็็พบ วััดร้้าง เนื้้�อที่่�ประมาณ 60 ไร่่ ชื่่�อ วััดตระพัังจิิก ซึ่่�งรกร้้างมานาน บริิเวณเป็็น ป่่ารกครึ้้�ม มีีสระน้ำำ��ใหญ่่ ซึ่่�งร่ำำ��ลืือกัันว่่า มีีผีีดุุอาศััยอยู่่� เมื่่�อเป็็นที่่�พอใจแล้้ว คณะอุุบาสก ดัังกล่่าว ก็็จััดทำำ�เพิิง ที่่�พััก อยู่่�หลััง พระพุุทธรููปเก่่า ซึ่�ง่ เป็็น พระประธาน ในวััดร้้างนั้้�นแล้้ว ท่่านก็็เข้้าอยู่่�ใน วััดร้้างแห่่งนี้้� เมื่่อ� วัันที่่� 12 พฤษภาคม 2475 อัันตรงกัับ วัันวิิสาขบููชา โดยมีี อัฐั บริิขาร ตะเกีียง และ หนัังสืืออีีกเพีียง 2 - 3 เล่่ม ติิดตััวไป เท่่านั้้�น เข้้าไปอยู่่�ได้้ไม่่กี่่�วััน วััดร้้าง นาม ตระพัังจิิก นี้้� ก็็ได้้รัับ การตั้้�งนามขึ้้�นใหม่่ ซึ่่�งท่่านเห็็นว่่า บริิเวณใกล้้ที่่�พัักนั้้�น มีี ต้้นโมก และ ต้้นพลา ขึ้้�นอยู่่�ทั่่�วไป จึึงคิิดนำำ�คำำ�ทั้้�งสองมาต่่อเติิมขึ้้�นใหม่่ ให้้มีี ความหมายใน ทางธรรม จึึงเกิิดคำำ�ว่่า สวนโมกขพลาราม อัันหมายถึึง สวนป่่าอัันเป็็นกำำ�ลัังแห่่งความหลุุดพ้้นทุุกข์์ ขึ้้�นในโลกตั้้�งแต่่บััดนั้้�น เป็็นต้้นมา SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
31
EXC L US IVE I N TE RVI E W
SURAT THANI
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
นางพิิ ม พ์์วรััชญ์์ รอดจิิต ต์์
ผู้้�อำำ�นวยการสำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนาจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
32
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
EXCL U S IVE วิิ สััยทัั ศน์์ (VISION)
สำำ �นัั ก งานพระพุุ ท ธศาสนาจัั ง หวัั ด
สุุ ร าษฎร์์ ธ านีี เป็็ น องค์์ ก รหลัั ก ในการ ขัับเคลื่่� อนพระพุุทธศาสนา นำำ �จัังหวัั ด สุุ ราษฎร์์ธานีี สู่่� เมืืองคนดีี วิิถีีธรรม
พัันธกิิ จ (MISSION)
1. ส่ง่ เสริิม ให้้สถาบัันและกิิจการทางพระพุุทธ ศาสนาในจัั ง หวัั ด สุุ ร าษฎร์์ ธ านีี พัั ฒ นามั่่� น คง ยั่่�งยืืน 2. ส่ง่ เสริิมและจััดการ การศึึกษาสงฆ์์ และการ เผยแผ่่พระพุุทธศาสนา เพื่่�อพััฒนาความรู้้�ให้้คู่่� คุุณธรรม 3. จััดการศึึกษาสงฆ์์ในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เพื่่� อ ผลิิ ต และพัั ฒ นาศาสนทายาทที่่� เ ปี่่� ย มด้้ วย พุุทธธรรมเผยแผ่่ทํํานุุบํํารุุงพระพุุทธศาสนาให้้ เจริิญงอกงาม และร่่วมสร้้างสัังคมพุุทธธรรมที่่�มีี ความเข้้มแข็็ง 4. ส่่งเสริิมการพััฒนาคุุณธรรม จริิยธรรมของ เด็็ก เยาวชน นัักเรีียน นัักศึึกษา และประชาชน ในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 5. พัั ฒ นาการดููแลรัั ก ษา และจัั ด การศาสน สมบััติิให้้เป็็นประโยชน์์ต่่อพระพุุทธศาสนาและ สัังคมเพื่่�อให้้บรรลุุเป้้าหมายตามพัันธกิิจ ยุุทธศาสตร์์ (STRATEGY) BUDDHA
1. ส่่งเสริิมสนัับสนุุน การศึึกษาสงฆ์์ของคณะ สงฆ์์ในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 2. ส่่งเสริิมสนัับสนุุน ให้้ความรู้้�ด้้านพระพุุทธ ศาสนาแก่่สัังคม ประชาชน และองค์์กรเครืือข่่าย พระพุุทธศาสนาในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 3. การส่่งเสริิมสนัับสนุุนงานกิิจการคณะสงฆ์์ ของคณะสงฆ์์ในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 4. ส่่งเสริิมสนัับสนุนุ การดููแล และบริิหารจััดการ ศาสนสมบััติิของวััดในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 5. ส่่ ง เสริิ ม การจัั ด กิิ จ กรรมพัั ฒ นาคุุ ณ ธรรม จริิ ย ธรรมของเด็็ ก เยาวชน นัั ก เรีี ย น และ ประชาชนในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
33
เป้้าประสงค์์ (GOAL) 1. คณะสงฆ์์จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ได้้รัับการส่่งเสริิมสนัับสนุุนการศึึกษาการปฏิิบััติิ ธรรม แผนกธรรม – บาลีี และแผนกสามััญศึึกษาอย่่างทั่่�วถึึง ครอบคลุุม ครบถ้้วนตาม หลัักสููตร ของพรบ. การศึึกษาพระปริิยััติิธรรม ประจำำ�ปีี พ.ศ. 2562 2. คณะสงฆ์์จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี มีีความรู้้�ในหลัักธรรม สามารถเผยแผ่่หลัักธรรมได้้ ถููกต้้องทัันสมััย และมีีความรอบรู้้�ทางโลก สัังคมปััจจุุบััน นำำ�เทคโนโลยีีมาช่่วยในการ เผยแผ่่ได้้อย่่างเหมาะสมกัับการเปลี่่�ยนแปลง 3. ประชาชนทุุกเพศ ทุุกวััย เข้้าใจถึึงหลัักธรรมคำำ�สอนในทางพระพุุทธศาสนา สามารถ นำำ�ไปปรัับใช้้ในชีีวิิตประจำำ�วััน พััฒนาคุุณภาพชีีวิิตของตน ดำำ�รงชีีวิิตอย่่างมีีความสุุข ในสัังคม 4. เพื่่�อให้้ ระเบีียบ กฎหมาย ของคณะสงฆ์์เป็็นเกราะคุ้้�มกัันภััยทางพระพุุทธศาสนา ให้้เกิิดความมั่่�นคง ยั่่�งยืืน ป้้องกัันการบ่่อนทำำ�ลายพระศาสนา
34
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
35
36
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ค่่านิิ ยม (CORE VALUE) ส่่ ง เสริิ ม พุุ ท ธธรรมนำำ� ชีี วิิ ต มุ่่�งผลสัั ม ฤทธิ์์� ข องงาน มีี จิิ ต บริิ ก าร ประสานสามััคคีี
สำำ �นัักงานพระพุุทธศาสนาจัั งหวัั ดสุุ ราษฎร์์ธานีี Surat Thani Provincial Office of Buddhism ศาลากลางจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี หลัังแรก ถนนดอนนก ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี โทรศััพท์์/โทรสาร : 0 7728 6192 SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
37
วััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง History of Buddhism....
วััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย เดิิมเป็็นวััดราษฏร์์ ได้้รับ ั พระราชทานพระบรมราชานุุญาตยกฐานะ
เป็็นพระอารามหลวง ชั้้� นตรีี ชนิิดสามััญ เมื่่อ � วัันที่่� ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๑ เป็็นวััดกลางเมืือง ตั้้�งอยู่่ตำ � � ำ บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ทิศ ิ ตะวัันตก จรดถนนหน้้าเมืือง ทิิศตะวัันออก จรดถนนตลาดใหม่่
วััดไตรธรรมาราม เป็็นวััดเก่่าแก่่ มีีอายุุประมาณ ๑๙๐ ปีี (คาดว่่าสร้้างประมาณรััชกาลที่่� ๓) ชื่่� อเดิิม วััดสามหม้้าย ตามเรื่่อ � งเล่่าขาน
ชื่่� อ “วััดสามม่่าย” ได้้ปรากฏในพระราชหััตถเลขาล้้นเกล้้ารััชกาลที่่� ๕ (พระปิิยะมหาราช) คราวเสด็็จประพาสแหลมมลายูู ร.ศ. ๑๐๘
กล่่าวว่่า อุุบาสิิ กาสามคนร่่วมกัันสร้า ้ งวััด
(พ.ศ. ๒๔๓๒) ตอนขากลัับ วัันที่่� ๘ สิิ งหาคม ทรงบัันทึึกว่่า ได้้เสด็็จพระราชดำำ�เนิินผ่า ่ นหน้้า “วััดสามม่่าย” ผ่า ่ นตลาด และได้้ถวาย เงิินพระสงฆ์์
ถึึ งยุุคส่่งเสริิ มวัั ฒนธรรม ตามนโยบายรัั ฐบาลจอมพล ป. พิิบููลสงคราม ในปีี พ.ศ.๒๔๘๖ พระเทพรัั ตนกวีี (เกตุุ ธมฺฺมวโร)
(ขณะนั้้�นเป็็น พระครููวััตตจารีีศีีลสุุนทร รัักษาการเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี) จึึงได้้เปลี่่�ยนชื่่� อวััดสามหม้้ายเป็็น “วััดไตรธรรมาราม”
พระอุุโบสถ สร้้าง พ.ศ. ๒๕๐๘ สถาปััตยกรรมแบบรััตนโกสิินทร์์ เป็็นวััดเดีียวในจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ที่่�ใบเสมาผนึึกติิดกัับมุุมทั้้�ง ๔ ของพระอุุโบสถ เหนืือซุ้้�มประตููและหน้้าต่่างประดิิษฐานพระพุุทธเจ้้า ในอดีีต ๒๘ พระองค์์ พร้้อมพระนามตามที่่�ปรากฏในพุุทธปกิิรณกกััณฑ์์ หน้้ า บัั น เป็็ น ปูู น ปั้้� น ปิิ ด ทองติิ ด กระจกสีี ด้้ า นหน้้ ารูู ป พระพุุ ท ธเจ้้ า โปรดปััญจวััคคีย์ี ์ ด้้านหลัังรููปพระพุุทธเจ้้าประทัับนั่่�งสมาธิิใต้้ต้้นโพธิ์์�
38
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระประธานในพระอุุโบสถ เป็็นพระพุุทธรููปปางมารวิิชััย ๓ องค์์ มีีนามว่่า พระปริิสุุทธิิพุท ุ ธปฏิิมา ศรีีรัต ั นโกสิิ นทรขััตติิยกััลยาวดีีนิร ิ มิิต (องค์์กลาง) พระปััญญามุุนิน ิ ทะ อนธิิวรปฏิิมา (องค์์ซ้้าย) พระกรุุณาวิินายก อนัันตชิิ นปฏิม ิ า (องค์์ขวา)
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
39
ด้้านหน้้าพระอุุโบสถ มีีพระพุุทธปฏิิมาขนาดใหญ่่แบบอิินเดีีย หน้้าตัักกว้้าง ๓ วา ๒ ศอก สููง ๔ วา ๑ ศอก ๘ นิ้้�ว ปางสมาธิิ ประทัับ หน้้าต้้นโพธิ์์� ซึ่่�งเป็็นหน่่อที่่�ได้้จากพระศรีีมหาโพธิ์์� พุุทธคยา อิินเดีีย ปลููกเมื่่�อ ๑๓ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ พระพุุทธรููปนี้้�นาม พระโพธิิพุุทธ คยานุุสรณ์์ สร้้างเมื่่�อ ๒๒ ตุุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ พระปฏิิมาอีีกองค์์ ประทัับนั่่ง� หน้้าต้้นมะม่่วง (อััมพวา) ปางนาคปรก นาม พระมุุจจลินิ ทนาค ราชานุุสรณ์์ สร้้างปีี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระปฏิิมาทั้้�งสององค์์นี้้� นัับเป็็น พระพุุทธรููปปููนปั้้�นขนาดใหญ่่ที่่�สุุดในอำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี
ณ สถานที่่�ตั้้�งพระพุุทธปฏิิมากลางแจ้้งนี้้� มีีความสำำ�คััญด้้วยเป็็น เจดีีย์์สถานที่่�ระลึึกถึึงพระพุุทธเจ้้า ๔ ประการ คืือ ๑. ธาตุุเจดีีย์์ ได้้แก่่ พระบรมสารีีริิกธาตุุ ซึ่่�งได้้บรรจุุไว้้ในองค์์ พระปฏิิมา ๒. ธรรมเจดีีย์์ ได้้แก่่ พระพุุทธวััจนะที่่�จารึึกลงในแผ่่นทองคำำ� แล้้วนำำ�มาบรรจุุไว้้ในองค์์พระปฏิิมา ๓. บริิโภคเจดีีย์์ ได้้แก่่ ต้้นพระศรีีมหาโพธิิพฤกษมงคล อัันมีีเชื้้�อสายมาจากต้้นที่่�พระพุุทธองค์์ทรงประทัับนั่่�งแล้้วตรััสรู้้� ณ พุุทธคยา ประเทศอิินเดีีย ๔. อุุ ท เทสิิ ก เจดีี ย์์ ได้้ แ ก่่ พระโพธิิ พุุ ท ธคยานุุ ส รณ์์ ซึ่่� ง เป็็ น พระปฏิิมากรแทนองค์์พระพุุทธเจ้้า โดยปููนปั้้�นนั้้�นได้้ผสมด้้วยดิินและ อิิฐจากสัังเวชนีียสถาน และสถานที่่�สำำ�คััญอัันพระพุุทธเจ้้าเคยเสด็็จ ประทัับ เช่่น เวฬุุวนาราม เมืืองราชคฤห์์ เชตวนาราม และบุุพพาราม เมืืองสาวััตถีี เป็็นต้้น ผู้้�ใดได้้เข้้ามานมััสการในสถานที่่�นี้้ ก็ � ไ็ ด้้นมััสการสััมมาสััมพุุทธเจดีีย์์ ในคราวเดีียวกัันทั้้�ง ๔ ประการ
40
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดไตรธรรมาราม ปััจจุุบััน เป็็นศููนย์์การฝึึกอบรมและพััฒนา พระสัังฆาธิิการของคณะสงฆ์์หนใต้้ (๑๔ จัังหวััดภาคใต้้ รวมถึึงวััดไทย ในมาเลเซีีย) โดยอาคารหลัักในการทำำ�กิิจกรรม ได้้แก่่ พุุทธสาสนสัังคหะสััมมนาคาร อาคาร ๓ ชั้้�น ประกอบด้้วย หอฉััน หอประชุุม และหอพััก เป็็นที่่�ตั้้�งของ ๑. สัังฆาธิิการวิิชชาลััยแห่่งคณะสงฆ์์หนใต้้ ทำำ�กิจิ กรรมเป็็นศููนย์์การพััฒนาพระสัังฆาธิิการของคณะสงฆ์์หนใต้้ ฝึึกอบรมและพััฒนาพระภิิกษุุ มีีหลัักสููตรที่่�เปิิดประจำำ�ทุุกปีี อาทิิ การฝึึกอบรมพระภิิกษุุเป็็นพระนัักเทศน์์ การฝึึกอบรมเจ้้าอาวาสใหม่่ การฝึึกอบรมพระภิิกษุุเพื่่�อเป็็นพระอุุปััชฌาย์์ การสััมมนาพระสัังฆาธิิ การและพระวิินยาธิิการ เป็็นต้้น ๒. สำำ�นัักปฏิิบััติิธรรมประจำำ�จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี แห่่งที่่� ๑๑ ทำำ�กิจิ กรรมการบ่่มเพาะคุุณธรรมจริิยธรรมแก่่เยาวชน การอบรม วิิปััสนากััมมััฏฐานทั้้�งแก่่ฆราวาสและพระภิิกษุุสามเณร
มหาคณิิ ส สรสามัั ค คยาลัั ย (อาคาร ก๋๋ ง วณิิ ช ย์์ โพธิิ รัั ก ขิิ ต ) อาคาร ๒ ชั้้�น ประกอบด้้วย ห้้องประชุุม ห้้องพัักรัับรองพระเถระ อาคัันตุุกะ เป็็นที่่�ตั้้ง� ของ สำำ�นักั งานเจ้้าคณะภาค ๑๖, สำำ�นักั งานหััวหน้้า พระธรรมทููตสายที่่� ๙, สำำ�นักั งานประธานขัับเคลื่่�อนโครงการโครงการ วััดประชารััฐ สร้้างสุุข ประจำำ�หนใต้้ ศาลาธรรมวิิมลโมลีี อาคารห้้องโถงชั้้�นเดีียว สำำ�หรัับกิิจกรรมการ ศึึกษาบาลีี ได้้แก่่ การเรีียนบาลีี การสอบบาลีีสนามหลวง และการตรวจ ใบตอบบาลีี นอกจากนี้้� ยังั ใช้้เป็็นที่่�จัดั นิิทรรศการในโอกาสสำำ�คัญ ั ต่่างๆ เช่่ น นิิ ท รรศการสำำ�นึึ ก ในพระมหากรุุ ณ าธิิ คุุ ณ พระบาทสมเด็็ จ พระเจ้้าอยู่่�หััวภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช เป็็นต้้น SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
41
วััดไตรธรรมาราม ศููนย์์กลางพััฒนาพระสัังฆาธิิการคณะสงฆ์์หนใต้้ วััดไตรธรรมาราม เป็็นที่่จำ� �ำ พรรษาของเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี มาตั้้ง� แต่่ พ.ศ. ๒๔๘๙ และเป็็นที่่จำ� �ำ พรรษาของเจ้้าคณะภาค ๑๖ ตั้้�งแต่่ พ.ศ. ๒๕๔๕ ถึึงปััจจุุบััน จึึงนัับเป็็นศููนย์์กลางของการปกครองคณะ สงฆ์์และเป็็นวััดที่่�ทำำ�กิิจกรรมเกี่่�ยวกัับการพััฒนาพระสัังฆาธิิการมา โดยตลอด ปััจจุุบัันมีี พระธรรมวิิมลโมลีี เป็็นเจ้้าอาวาส
พระธรรมวิิมลโมลีี (พงศ์์สรร อสิิาโณ) ป.ธ.๙ ในความเป็็น พระสัังฆาธิิการได้้รับั ภาระหน้้าที่่�ในฐานะต่่างๆ ฐานะทางการปกครอง ได้้แก่่ เจ้้าอาวาสวััดไตรธรรมาราม พระอารามหลวง, พระอุุปััชฌาย์์ วิิสามััญ, เจ้้าคณะภาค ๑๖ ฐานะทางการเผยแผ่่พระศาสนา ได้้แก่่ หััวหน้้าพระธรรมทููตสายที่่� ๙ ฐานะทางงานด้้านสงเคราะห์์สัังคม ได้้แก่่ ประธานคณะทำำ�งานขัับเคลื่่�อนโครงการวััดประชารััฐสร้้างสุุข ประจำำ�หนใต้้
พระธรรมวิิมลโมลีี มีีความเชื่่�อว่่า ผู้้�ฝึึกตนดีีแล้้วย่่อมได้้ที่่�พึ่่�งอััน หายาก (อตฺฺตนา หิิ สุุทนฺฺเตน นาถํํ ลภติิ ทุุลฺฺลภํํ - พุุทธสุุภาษิิต) และ เชื่่�อว่่า การปกครองที่่�ดีคืี ือการให้้ความรู้้�แก่่ผู้้�ใต้้ปกครอง ท่่านจึึงได้้จััด ให้้มีีการฝึึกอบรมพระภิิกษุุ โดยเฉพาะพระสัังฆาธิิการ ซึ่่�งต้้องเป็็น ที่่�พึ่่�งได้้ เป็็นพระที่่�ต้้องปกครองพระภิิกษุุและอบรมสั่่�งสอนชาวบ้้าน ท่่านจึึงจััดหลัักสููตรอบรมตลอดปีีช่ว่ งนอกจำำ�พรรษา เช่่น การฝึึกอบรม เจ้้ า อาวาสใหม่่ การฝึึ ก อบรมพระภิิ ก ษุุ เ พื่่� อ เป็็ น พระอุุ ปัั ช ฌาย์์ การสััมมนาพระสัังฆาธิิการและพระวิินยาธิิการ การฝึึกอบรมพระภิิกษุุ เป็็นพระนัักเทศน์์
42
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระธรรมวิิมลโมลีี สำำ�เร็็จการศึึกษาเปรีียญธรรม ๙ ประโยค และ ได้้ทำำ�งานส่่งเสริิมการศึึกษาของคณะสงฆ์์ เริ่่�มตั้้�งแต่่เป็็นพระปริิยััติิ นิิเทศก์์ จนได้้รัับความไว้้วางใจจากคณะสงฆ์์ให้้ได้้ทำำ�งานกว้้างขวาง มากขึ้้�นตามลำำ�ดัับ พระธรรมวิิมลโมลีี ได้้รัับโปรดเกล้้าพระราชทาน สมณศัักดิ์์�ตามลำำ�ดัับ เป็็นพระราชาคณะชั้้�นสามััญ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ใน ราชทิินนามที่่� พระศรีีธรรมนาถมุุนีี เป็็นพระราชาคณะชั้้�นราช (พ.ศ. ๒๕๔๔) ในราชทิินนามที่่� พระราชปริิยัติั บิ ดีี เป็็นพระราชาคณะชั้้น� เทพ (พ.ศ. ๒๕๔๗) ในราชทิินนามที่่� พระเทพสุุธีี เป็็นพระราชาคณะชั้้น� ธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๖) ในราชทิินนามที่่� พระธรรมวิิมลโมลีี และได้้รับั การเชิิดชูู เกีียรติิคุุณมอบถวายปริิญญาบััตร ปริิญญาพุุทธศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิต กิิตติิมศัักดิ์์� สาขารััฐประศาสนศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณ ราชวิิทยาลััย และปริิญญาศาสนศาสตรดุุษฎีีบััณฑิิตกิิตติิมศัักดิ์์� สาขา ศาสนศึึกษา มหาวิิทยาลััยมหามกุุฎราชวิิทยาลััย
วััดไตรธรรมารามเป็็นวััดที่่�อยู่่�กลางเมืือง ประกอบกัับมีี พระปฏิิมากลางแจ้้งองค์์ใหญ่่ ๒ องค์์ คือ ื พระโพธิิพุทุ ธคยานุุสรณ์์ และ พระมุุจจลิินทนาคราชานุุสรณ์์ ซึ่่�งเป็็นที่่�เคารพบููชาของ ชาวบ้้าน จึึงเป็็นสถานที่่�นักั ท่่องเที่่�ยวประชาชนข้้าราชการนิิยม มากราบไหว้้ขอพร และมีีชาวบ้้านเข้้ามาทำำ�กิิจกรรมอย่่าง สม่ำำ��เสมอ เช่่น สวดมนต์์ฟังั ธรรมเทศนาทุุกวัันพระ ทำำ�บุญ ุ เวีียน เทีียนในวัันสำำ�คััญทางพระพุุทธศาสนา และประเพณีี เข้้ า ร่่ ว มอบรมปฏิิ บัั ติิ ธรรมเป็็นหมู่่�คณะ รวมทั้้�งกิิจกรรมใน โอกาสพิิเศษ เช่่น การบวชหมู่่� และการ ตำำ�บลตลาด สวดมนต์์ตามกำำ�หนดของราชการ อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
43
วััดพััฒนาราม พระอารามหลวง History of Buddhism....
ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดพััฒนาราม พระอารามหลวง เดิิมชื่่� อวััดใหม่่ ชื่่� อที่่�ชาวบ้้านทั่่� วไปเรีียกขานว่่า วััดหลวงพ่่อพััฒน์์ ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 87/1 ถนนหน้้าเมืือง
ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุ ราษฎร์์ธานีี จัังหวัั ดสุุ ราษฎร์์ธานีี สร้้างขึ้้�นเมื่่�อ พ.ศ.2439 โดยหลวงพ่่อพััฒน์์ นารโท เป็็นผู้้�ชัักชวนชาวบ้้าน
หัั กร้้ างถางพง ที่่� บริิเวณเดิิ มเป็็นป่่าทึึบ เป็็นที่่� อยู่่�อาศัั ยของสัั ตว์์ป่่านานาชนิิ ด ไม่่มีีผู้้�ใดกล้้ าเข้้าไปอยู่่�อาศัั ย แต่่ ท่่านก็็ สามารถก่่ อสร้้ าง กุุฎิที่ ิ พั �่ ก ั พระสงฆ์์ พระอุุโบสถ ศาลาการเปรีียญ หอฉััน ในเนื้้�อที่่� 29 ไร่่ 3 งาน 10 ตารางวา สำำ �เร็็จขึ้�น ้ ได้้ และได้้รับพ ั ระราชทานวิิสุุงคามสีีมา ผููกพััทธสีีมาในปีี พ.ศ.2444
44
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ถาวรวััตถุแ ุ ละปููชนีียสถานภายในวััด
ชาวบ้้านเรีียกชื่่อ� วััดนี้้� 2 ชื่่อ� คืือ “วััดใหม่่” เนื่่อ� งจากเป็็นวััดที่่ส� ร้้าง ขึ้้�นหลัังวััดอื่่�นๆ ในย่่านตลาดเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี และอีีกชื่่�อเรีียกว่่า “วััดพััฒนาราม” ตั้้�งขึ้้น� หลัังจากหลวงพ่่อพััฒน์์มรณภาพแล้้ว เพื่่อ� เป็็น อนุุสรณ์์แก่่ท่่านที่่�เป็็นผู้้�สร้้างวััดนี้้� วััดพััฒนาราม เป็็นวััดสำำ�คัญ ั ที่่มี� ปร ี ะวััติกิ ารสร้้างในรััชสมััยพระบาท สมเด็็จพระจุุลจอมเกล้้าเจ้้าอยู่่�หััว และเป็็นที่�ทำ่ ำ�พิธีิ ถืี อื น้ำำ��พิพัิ ฒ ั น์์สัตั ยา ของทางราชการ ตั้้�งแต่่วััดเริ่่�มสร้้างเสร็็จมาจนถึึงมีีการเปลี่่�ยนแปลง การปกครอง ในปีี พ.ศ.2475 จึึงยกเลิิกไป นัับแต่่เริ่่มก่ � อ่ สร้้างเมื่่อ� ปีี พ.ศ.2439 จนถึึงปััจจุุบันั (พ.ศ.2564) รวม ระยะเวลา 125 ปีี มีีการก่่อสร้้าง พััฒนาวััดให้้มีีความเจริิญรุ่่�งเรืือง มีีเจ้้าอาวาสปกครองวััดตามลำำ�ดัับ ดัังนี้้� รููปที่่� 1 พระอุุปััชฌาย์์พััฒน์์ นารโท (หลวงพ่่อพััฒน์์) พ.ศ.2439 - พ.ศ.2485 รููปที่่� 2 พระอธิิการเจีียว สิิริสุิ ุวณฺฺโณ พ.ศ.2485 - พ.ศ.2490 รููปที่่� 3 พระภิิญโญ รัักษาการ พ.ศ.2490 - พ.ศ.2492 รููปที่่� 4 พระศรีีปริิยััตโยดม (จัันทร์์ เขมจารีี ป.ธ.๙) พ.ศ.2492 - พ.ศ.2541 รููปที่่� 5 พระมหาวิิชััย อีีทิิสธมฺฺโม ป.ธ.๔ รัักษาการ พ.ศ.2541 - พ.ศ.2542 รููปที่่� 6 พระศรีีปริิยััตยาภรณ์์ (กลีีบ วรปญฺฺโญ ป.ธ.๙) พ.ศ.2543 - พ.ศ.2558 รููปที่่� 7 พระเทพพิิพััฒนาภรณ์์ (ชููชาติิ กนฺฺตวณฺฺโณ ป.ธ.๕) พ.ศ.2558 - พ.ศ.2561 รููปที่่� 8 พระธรรมวิิมลโมลีี (พงศ์์สรร อสิิญาโณ ป.ธ.๙) รัักษาการ พ.ศ.2561 รููปที่่� 9 พระครููเมธีีวััฒนานุุยุตุ (วิิจิิตร พุุทฺฺธรกฺฺขิิโต ป.ธ.๖) พ.ศ.2561 - พ.ศ.2562 รููปที่่� 10 พระครููพิิศาลพััฒนานุุกิิจ (สุุจิินต์์ ทีีปธมฺฺโม) รัักษาการ พ.ศ.2562 - พ.ศ.2563 รููปที่่� 11 พระครููปริิยััตยาภิิรม (สมบููรณ์์ สมปุุณฺฺโณ ป.ธ.๔) พ.ศ.2563 – ปััจจุุบััน
วััดพััฒนารามได้้รัับการพััฒนา มีีสิ่่�งปลููกสร้้างเพิ่่�มขึ้้�น มีีโบราณ สถาน ปููชนีียสถาน และถาวรวััตถุุที่�สำ่ ำ�คััญ ดัังนี้้� พระอุุโบสถ สร้้างด้้วยคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก กว้้าง 13 เมตร ยาว 20.5 เมตร ความสููงพื้้�น 1.80 เมตร ความสููงจากพื้้�นถึึงสัันหลัังคา 10.50 เมตร มีีลัักษณะพิิเศษคืือ พื้้�นหิินอ่่อนขนาด 30 x 30 นิ้้�ว เสาไม้้กลม ขนาดใหญ่่ทั้้ง� ต้้น จำำ�นวน 26 ต้้น โดยอยู่่�รอบนอก 18 ต้้น ด้้านใน 8 ต้้น แสดงถึึงเอกลัักษณ์์เรืือนไทยภาคใต้้ที่ใ่� ช้้ไม้้ธรรมชาติิท้อ้ งถิ่่น� ภาคใต้้ คือื ไม้้หลุุมพอ ส่่วนประตููหน้้าต่่าง เป็็นไม้้ตะเคีียน ภายในพระอุุ โ บสถ ประดิิ ษ ฐานพระประธานปางมารวิิ ชัั ย ทรงเครื่่�อง เรีียกกัันว่่า “พระหน้้าโรง” สาเหตุุที่่�มีีชื่่�อย่่างนี้้�เพราะ พระประธานองค์์ นี้้� ปร ะดิิ ษ ฐานอยู่่�หน้้ า โรงพิิ ธีี ถืื อ น้ำำ��พิิ พัั ฒ น์์ สัั ต ยา มีีพระพุุทธรููปปางอุ้้�มบาตรทรงเครื่่�องประดิิษฐานอยู่่�เบื้้�องขวา และ พระพุุทธรููปปางห้้ามสมุุทร ประดิิษฐานอยู่่�เบื้้�องซ้้ายพระประธาน ภายในพระพระอุุโบสถยัังมีีภาพจิิตรกรรมฝาผนัังที่่มี� คี วามน่่าสนใจ แสดงเรื่่�องราวทางพุุทธประวััติิพร้้อมกัับข้้อความอธิิบายใต้้ภาพแต่่ละ ห้้อง โดยแทรกสภาพวิิถีีชีีวิิตของผู้้�คนในยุุคสมััยนั้้�น มีีจุุดเด่่นอยู่่�ที่่�การ ปรากฏภาพชาวต่่างชาติิและการแต่่งกายที่่ไ� ด้้รับอิ ั ทธิ ิ พล ิ จากตะวัันตก อัันเป็็นเป็็นสมััยที่่ปร � ะเทศไทยมีีการเปลี่่�ยนแปลงทางสัังคม วััฒนธรรม เพื่่�อให้้ทััดเทีียมอารยประเทศ พระอุุโบสถวััดพััฒนาราม กรมศิิลปากรได้้ประกาศขึ้้น� ทะเบีียนและ กำำ�หนดที่่�ดิินโบราณสถาน เมื่่�อวัันที่่� 24 สิิงหาคม 2544 ลงประกาศใน ราชกิิจจานุุเบกษา เล่่มที่่� 11 ตอนพิิเศษ 127 วัันที่�่ 21 ธัันวาคม 2544 พื้้�นที่โ่� บราณสถานประมาณ 1 ไร่่ 1 งาน 3 ตารางวา ศาลาการเปรีียญ สร้้างด้้วยคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก ทรงไทยชั้้�นเดีียวมีีมุุขยื่่�น 2 ด้้าน กว้้าง 29 เมตร ยาว 43 เมตร สร้้างขึ้้�นในสมััยที่่�พระศรีีปริิยััตโยดม เป็็นเจ้้าอาวาส แล้้วเสร็็จ เมื่่�อ พ.ศ. 2540 ปััจจุุบัันใช้้เป็็นสถานที่่� ประกอบพิิธีีสำำ�คััญ และจััดกิิจกรรมต่่างๆ หอระฆััง ลัักษณะทรง 4 เหลี่่�ยม 2 ชั้้� น ฐานกว้้ างด้้ านละ 3.5 เมตร สููง 4.5 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ.2453 ในสมััยหลวงพ่่อพััฒน์์ นารโท เป็็นเจ้้าอาวาส
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
45
มณฑปประดิิษฐานรููปเหมืือนหลวงพ่่อพััฒน์์ นารโท
ลัักษณะสถาปััตยกรรมทรงไทยประยุุกต์์ท้อ้ งถิ่่น� ขนาด 8.45 เมตร สี่่�เหลี่่ย� มจััตุุรััส ฐานสููง 1.25 เมตร เป็็นที่่�ประดิิษฐานรููปเหมืือนหลวง พ่่อพััฒน์์ นารโท และบรรจุุสัังขารของท่่านซึ่่�งนั่่�งขััดสมาธิิมรณภาพ สัังขารไม่่เน่่าเปื่่�อยไว้้ใต้้ฐานของรููปเหมืือน ปััจจุุบัันมีีประชาชนทั่่�วทุุก สารทิิศที่่�เคารพนัับถืือและศรััทธาในหลวงพ่่อได้้แวะเวีียนเข้้ามากราบ ไหว้้บููชาขอศีีลขอพรมิิได้้ขาด หอไตรกลางน้ำำ�� ลัั ก ษณะทรงไทย เป็็ น อาคารไม้้ ทั้้� ง หลัั ง ตั้้� ง อยู่่�กลางสระน้ำำ�� ขนาด 6.30 เมตร สี่่�เหลี่่ย� มจััตุรัุ สั หลัังคามุุงด้้วยกระเบื้้อ� งเคลืือบดิินเผา สร้้างมานานไม่่ปรากฏหลัักฐาน ก่่อนหน้้านี้้�ทรุุดโทรมและน้ำำ��ตื้้�นเขิิน บููรณปฏิิสัังขรณ์์ครั้้�งใหญ่่ เมื่่�อ พ.ศ. 2543 หอฉัันพััฒนา หอฉัันพััฒนา แบ่่งออกเป็็น 3 ส่่วน คืือ 1. อาคารหอฉััน เป็็นอาคารไม้้ยกพื้้�นมีีใต้้ถุุนเตี้้ย� ภายในลานกว้้าง ยกพื้้�นอาสน์์สงฆ์์เป็็นแนวยาวติิดผนััง สร้้างขึ้้�นในสมััยหลวงพ่่อพััฒน์์ นารโท เป็็นเจ้้าอาวาส และหลวงพ่่อพััฒน์์เคยใช้้เป็็นสถานที่่�รัักษา ผู้้�ป่่วย ภายหลัังชำำ�รุุดทรุุดโทรม พระศรีีปริิยัตั โยดม เจ้้าอาวาสในขณะ นั้้�น ได้้ทำำ�การบููรณะปฏิิสัังขรณ์์ขึ้้�นใหม่่ และตั้้�งชื่่�อว่่า “หอฉัันพััฒนา” 2. กุุฏิิหลวงพ่่อพััฒน์์ เดิิมเป็็นเรืือนไม้้ 2 ชั้้�น มีีใต้้ถุุนสููง ลัักษณะ แบบเรืือนไทยภาคใต้้ หลัั ง คาทรงปั้้� น หยา ขนาดกว้้ า ง 9 เมตร ยาว 12.60 เมตร สร้้างติิดต่่อกัับหอฉััน ในสมััยที่�พร ่ ะศรีีปริิยััตยาภรณ์์ เป็็ นเจ้้ า อาวาส ได้้ดำำ� เนิิ น การบููรณะหอฉัั นและกุุฏิิหลวงพ่่อ พััฒ น์์ โดยยกระดัับกุุฏิิขึ้้�น แล้้วก่่ออิิฐถือื ปููนชั้้น� ใต้้ถุุน ให้้เป็็น 3 ชั้้�น ปััจจุุบันั กุุฏิหิ ลวงพ่่อพััฒน์์ชั้้น� 2 ได้้จัดั เป็็นพิิพิธิ ภััณฑ์์หลวงพ่่อพััฒน์์ จััดแสดงรููปภาพ เครื่่อ� งบริิขารของหลวงพ่่อพััฒน์์ ภาพถ่่ายนั่่�งมรณภาพ ภาพถ่่ายสัังขารไม่่เน่่าเปื่่อ� ยหลัังจากมรณภาพได้้ 6 ปีี ภาพถ่่ายพิิธีสี รงน้ำำ�� หลวงพ่่อพััฒน์์ ชั้้�นล่่าง พระครููปริิยััตยาภิิรม เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบััน ได้้ทำำ�การปรัับปรุุงให้้เป็็นห้้องปฏิิบััติิธรรม 3. หอพัั ก อุุ บ าสิิ ก า ลัั ก ษณะทรงปั้้� น หยา สร้้ า งด้้ ว ยคอนกรีี ต เสริิมเหล็็ก 2 ชั้้�น สร้้างต่่อเติิมจากตััวหอฉััน และกุุฏิิหลวงพ่่อพััฒน์์ เมื่่�อ พ.ศ. 2543 เป็็นที่่�พัักอุุบาสิิกา ในเวลาที่่�จััดกิิจกรรมถืือบวชเนก ขััมมจาริิณีี อาคารผู้้�มีีพระคุุณ สมเด็็จพระพุุฒาจารย์์ (เกี่่�ยว อุุปเสณมหาเถร) เป็็นที่่พั� กั ของพระภิิกษุุสามเณรผู้้�ศึึกษาพระปริิยัติั ธิ รรม และศึึกษา ในมหาวิิ ท ยาลัั ย มหาจุุ ฬ าลงกรณราชวิิ ท ยาลัั ย วิิ ท ยาลัั ย สงฆ์์ สุุราษฎร์์ธานีี วััดพััฒนาราม
46
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
อาคารบุุญธรรมสภาพััฒนานุุสรณ์์
ใช้้เป็็นสถานที่่�จััดประชุุม อบรม ทั้้�งในส่่วนงานของคณะสงฆ์์ ส่่วนราชการ สถานศึึกษา องค์์กรภาคเอกชน มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬา ลงกรณราชวิิทยาลััย วิิทยาลััยสงฆ์์สุุราษฎร์์ธานีี และอื่่�นๆ ห้้องสมุุดพััฒนานุุสรณ์์
ลัักษณะทรงไทย 2 ชั้้�น เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก ชั้้�นล่่าง ปููพื้้�นด้้วยหิินขััด ชั้้�นบนปููด้้วยไม้้และหิินขััด ขนาดกว้้าง 16 เมตร ยาว 25 เมตร ปััจจุุบััน ใช้้อาคารนี้้�เป็็นห้้องเรีียนพระปริิยััติิธรรมแผนก บาลีีของสำำ�นัักศาสนศึึกษาวััดพััฒนาราม เกีียรติิคุณ ุ ของวััด
พ.ศ.2507 ได้้รับคั ั ดั เลืือกจากกรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่าง พ.ศ.2548 ได้้รัับการคััดเลืือกจากสำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนา แห่่งชาติิ เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างที่่�มีีผลงานดีีเด่่น พ.ศ.2549 เนื่่�องในวโรกาสที่่�พระบาทสมเด็็จพระชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร (รััชกาลที่่� ๙) ทรงครอง สิิริิราชสมบััติิครบ 60 ปีี ได้้รัับการยกฐานะจากวััดราษฎร์์ ขึ้้�นเป็็น พระอารามหลวงชั้้�นตรีี ชนิิดสามััญ
งานประเพณีี กิิจกรรมที่่สำ � ำ�คัญ ั ของวััด
วััดพััฒนาราม มีีงานประเพณีีและกิิจกรรมที่่�สำำ�คััญของวััด ดัังนี้้� 1. งานเทศกาลปิิดทองสรงน้ำำ�รููป � เหมืือนหลวงพ่่อพััฒน์์ นารโท วัันขึ้้น� 7 ค่ำำ�� เดืือน 5 ถึึงวัันขึ้้น� 15 ค่ำำ�� เดืือน 5 (9 วััน 9 คืืน) ของทุุกปีี 2. พิิธีตัี กั บาตรดอกไม้้วันั เข้้าพรรษา วัันแรม 1 ค่ำำ�� เดืือน 8 ของทุุกปีี 3. วัันสลากภััตทุุเรีียน วัันแรม 6 ค่ำำ��เดืือน 8 ของทุุกปีี 4. วัันกตััญญููบููรพาจารย์์วััดพััฒนาราม วัันที่่� 11 กรกฎาคม ของ ทุุกปีี กิิจกรรมและความสำำ �คัญ ั ที่่วั � ด ั พััฒนาราม
1. เป็็นที่�อ่ บรมเยาวชนจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 2. โครงการเข้้าวััดวัันอาทิิตย์์ชีีวิิตเป็็นสุุข 3. โครงการวััดเข้้มแข็็ง 4. เป็็ น ที่่� ตั้้� ง ของมหาวิิ ท ยาลัั ย มหาจุุ ฬ าลงกรณ์์ ร าชวิิ ท ยาลัั ย วิิทยาลััยสงฆ์์สุรุ าษฎร์์ธานีี 5. โครงการ “ชุุมชนคุุณธรรมขัับเคลื่่�อนด้้วยพลัังบวร” กระทรวง วััฒนธรรม 6. โครงการ “บวร On Tour” กระทรวงวััฒนธรรม วััดพััฒนารามเป็็นวััดสำำ�คััญวััดหนึ่่�งที่่�อยู่่�คู่่�บ้้านคู่่�เมืืองสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นศููนย์์รวมความเลื่่�อมใสศรััทธาของประชาชนและมีีความสััมพัันธ์์ เกี่่�ยวข้้องกัับวิิถีีชีีวิิตของชาวสุุราษฎร์์ธานีีมาอย่่างยาวนาน นอกจากนี้้� ยัังมีีโบราณสถานและโบราณวััตถุุที่่�สำำ�คััญทั้้�งทางประวััติิศาสตร์์และ ศิิลปวัฒ ั นธรรมที่่เ� ก่่าแก่่และงดงามควรค่่าแก่่การอนุุรักั ษ์์ เราทุุกคนควร ที่่�จะได้้ตระหนัักและช่่วยกัันทำำ�นุุบำำ�รุุง สอดส่่องดููแล ทั้้�งโบราณสถาน และโบราณวััตถุุตลอดจนสิ่่ง� ก่่อสร้้างต่่างๆ ภายในวััดพััฒนาราม ให้้กลัับ มางดงามเจริิญรุ่่�งเรืืองดัังเดิิม เพื่่�อให้้วััดพััฒนารามเป็็นวััดที่่�คงอยู่่�คู่่� เมืืองสุุราษฎร์์ธานีีตลอดไป
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 87/1
ถนนหน้้าเมืือง ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
47
วััดสมหวััง History of Buddhism....
วััดสมหวััง เป็็นวััดสร้้างใหม่่ที่่�มีีอายุุประมาณ 60 กว่่าปีี โดยเริ่่ม ่ มกัันบริิจาคที่่�ดิินสร้้างเป็็นที่่�พำ�นั ำ ักสงฆ์์และไปนิิมนต์์ � แรกชาวบ้้านได้้ร่ว
หลวงพ่่ออ้้วน ถิิรปััญโญ (พระถััน) จากวััดไผ่่ล้อ ้ ม จัังหวััดนครปฐมมาเป็็นผู้้�ดููแล ได้้ตั้้�งชื่่� อในสมััยนั้้�นว่่า ที่่พั � ก ั สงฆ์์บ้า ้ นใหม่่สมหวััง ท่่านได้้เป็็นที่่�
นัับถืือของประชาชนทั่่� วไป เพราะเป็็นพระหมอเก่่งทางรัักษาโรคต่่าง ๆ เช่่ น ผีีเข้้า ถููกคุุณไสย โดยใช้้ มีีดอีีโต้้สัับลงบนกระดานเฉีียงขัับไล่่
สิ่่� งไม่่ดีีต่า ่ งๆ ต่่อมาท่่านได้้มรณภาพ ในปีี พ.ศ. 2514 ทำำ�ให้้ที่พั ่� ก ั สงฆ์์แห่่งนี้้�มีีพระจำำ�พรรษาบ้้าง ไม่่มีีบ้้าง สมััยนั้้�นต้้องเดิินทางทางน้ำำ�อย่่างเดีียว หรืือไม่่ก็ต้ ็ อ ้ งบุุกป่่าฝ่่าดงเดิินทางมา เนื่่อ � งจากความเป็็นอยู่่�ลำำ�บาก ทั้้�งอาหารการกิินและการสัั ญจรที่่ลำ � �บ ำ ากอย่่างมาก
48
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
กระทั่่ง� ปีี พ.ศ. 2524 พระครููโพธิิวรสาร หรืือหลวงพ่่อประมวล โพธิิวโร ได้้เดิินธุุดงค์์ผ่่านมา ชาวบ้้านเห็็นวััตรปฏิิบััติิแล้้วเกิิด เลื่่�อมใสศรััทธา จึึงนิิมนต์์ให้้ท่่านอยู่่�จำำ�พรรษา และได้้ร่่วมกััน บููรณะพััฒนาจนเป็็นสำำ�นัักสงฆ์์ เริ่่ม� ก่่อสร้้างเสนาสนะต่่าง ๆ จน วััดเจริิ ญ รุ่่�งเรืื อ งขึ้้� น ตามลำำ�ดัับ กลายเป็็ น วััดที่่� ก ลมกลืื น กัับ ธรรมชาติิ ร่ม่ รื่่น� เย็็นใจ มีีระเบีียบสวยงาม น่่าท่่องเที่่ย� วพัักผ่่อน หย่่อนใจ พััฒนาได้้เป็็นวััดทางพระพุุทธศาสนาได้้รัับพระราชทาน วิิสุงุ คามสีีมาเป็็นวััตถุุถูกู ต้้องตามกฎหมาย หลวงพ่่อได้้มรณภาพลง เมื่่�อ พ.ศ. 2557 และต่่อมา พระครููสุุตธรรมสิิทธิ์์� หรืือท่่าน พระมหาสมศัักดิ์์ สิ � ริิ ธมฺ ิ โฺ ม ซึ่่ง� เดิิมเป็็นรองเจ้้าอาวาส ได้้รัับหน้้าที่่� เป็็นเจ้้าอาวาส ณ ปััจจุุบััน และดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะตำำ�บล ขุุนทะเล ได้้สืืบสานพััฒนาวััดตามเจตนารมณ์์ ของอาจารย์์ มาตามลำำ�ดัับ
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
49
วััดสมหวััง มีีสถานที่่ศั � ั กดิ์์�สิิทธิ์์ใ� ห้้กราบไหว้้ 5 แห่่ง คืือ
1. หลวงพ่่อสมหวััง พระประธานประจำำ�อุุโบสถ ท่่านกล่่าวไว้้ว่่า ท่่านใดได้้กราบ ขอได้้ สมหวััง ดัังชื่่�อวััด 2. ศาลพ่่อเฒ่่าศัักดิ์์สิ� ทธิ์์ ิ อ� ภิินิหิ าร (หลวงปู่่�จ้อ้ ย) ซึ่ง่� เป็็นบููรพาจารย์์ ที่่�ชาวบ้้านสมหวัังนัับถืือ 3. วิิหารหลวงพ่่ออ้้วน อดีีตเจ้้าอาวาสวััด 4. ศาลามหาเทพสมหวััง ซึ่่�งได้้สร้้างขึ้้�นเพื่่�อประดิิษฐานหลวงพ่่อ สมหวััง อดีีตเจ้้าอาวาสวััดสมหวััง และเป็็นที่่�ประดิิษฐาน มหาเทพ สมหวัังเนื้้�อนิิล เป็็นรููปเคารพของมหาเทพ 3 องค์์ 5. ศาลพ่่อตาขุุนทะเล (จระเข้้) ซึ่่�งตามประวััติิกล่่าวว่่าเป็็นผู้้�ที่่� ร่ำำ��เรีียนวิิชาอาคมมามากจนกลายร่่างเป็็นจระเข้้ได้้ ใครที่่ไ� ปกราบไหว้้ บนบานมัักประสบผลสำำ�เร็็จ โดยเฉพาะในเรื่่อ� งของหาย โรคภััยไข้้เจ็็บ เบีียดเบีียนเพีียงออกชื่่อ�
50
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 1 หมู่่�ที่่� 8 ตำำ�บลวััดประดู่่� อำำ�เภอเมืือง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครููสุุตธรรมสิิทธิ์์�
เจ้้าคณะตำำ�บลขุุนทะเล / เจ้้าอาวาสวััดสมหวััง
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
51
วััดนิิคมธรรมาราม History of Buddhism....
วััดนิิคมธรรมาราม สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ที่่ดิ � น ิ ที่่ตั้ � �ง ้ วััดมีีเนื้้อ � ที่่ � 12 ไร่่ 3 งาน 86 ตารางวา ได้้เริ่่�มทำำ�การก่่อสร้้างเมื่่�อประมาณ พ.ศ. 2494
โดยหลวงปู่่ส � มบุุญ ฐิิตฉนฺฺโท ซึ่่� งเป็็นศิิษย์์ร่ว ่ มสำำ �นัก ั กัับหลวงปู่่ข � อม อนิิโช วััดไผ่่โรงวััวได้้จาริิกธุุดงค์์จากจัังหวััดสุุพรรณบุุรีีมาปัักหลัักปฏิิบัติ ั ธ ิ รรม ที่่บริ � เิ วณหััวเขาท่่าเพชรแล้้วได้้ชัักชวนชาวบ้้านพััฒนาพื้้น � ที่่ดั � ง ั กล่่าวจนเป็็นวััดที่่ส � มบููรณ์์ ซึ่่� งปููชนีียวััตถุุต่า ่ งๆ ภายในวััด เช่่ น พระปางป่่าเลไลย์์
ต้้นงิ้้ว ้ า ้ งเลีียนแบบจากวััดไผ่่โรงวััว จัง ั หวััดสุุพรรณบุุรีี วััดนี้้�เดิิมชาวบ้้านเรีียกชื่่� อตามที่่ตั้ � �ง ้ ว่่า วััดหััวเขา ต่่อมาในปีี พ.ศ. 2499 ได้้ตั้�ง ้ � เป็็นต้น สร้ ชื่่� อวััดเป็็นทางการว่่า วััดนิิคมธรรมาราม เนื่่�องจากอยู่่ใ� กล้้บริเิ วณเขตนิิคมสร้้างตนเองขุุนทะเล
ได้้รับ ั อนุุญาตให้้สร้า ้ งวััด
วัันที่่ � 28 มิิถุน ุ ายน พ.ศ. 2520
ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีีมา
วัันที่่ � 27 ธัันวาคม พ.ศ. 2526
ได้้รับ ั ประกาศตั้้�งวััด
วัันที่่ � 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2522
ภายในวััดมีีสิ่่� งศัั กดิ์์สิ � ั กการบููชา คืือ สรีีระหลวงปู่่ส � มบุุญ ฐิิตฉนฺฺโท อดีีตเจ้้าอาวาสผู้้�ก่่อตั้�ง ้ วััด พ่่อตาทิิศช้้ าง เป็็นต้น ้ � ิ ทธิ์์ป � ระจำำ�วััดซึ่่� งเป็็นที่่สั
52
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
เนื่่�องจากวััดนิิคมธรรมาราม ตั้้�งอยู่่�ใกล้้กัับหน่่วยงานราชการที่่� สำำ�คัญ ั ๆ เช่่น สำำ�นักั งานคลัังเขต 7 สำำ�นักั งานอธิิบดีีผู้พิ้� พิ ากษาศาลภาค 8 ศาลแขวงจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ศููนย์์ราชการกระทรวงแรงงานและ สวััสดิกิ ารสัังคม มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์ วิ์ ทย ิ าเขตสุุราษฎร์์ธานีี มหาวิิทยาราชภััฎสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นต้้น จึึงเป็็นแหล่่งบำำ�เพ็็ญบุุญของ ข้้าราชการผู้้�ใหญ่่ รวมถึึงการใช้้พื้้�นที่่�วััดในการจััดกิิจกรรมต่่างๆ ของ ทางราชการ และยัังเป็็นแหล่่งถ่่ายทอดความรู้้� แหล่่งศึึกษาธรรมของ นัักเรีียน นัักศึึกษาและผู้้�สนใจจำำ�นวนมากในแต่่ละปีี
การบริิหารและการปกครอง
มีีเจ้้าอาวาสมาแล้้ว 8 รููป ลำำ�ดับั เจ้้าอาวาสตั้้ง� แต่่อดีีตจนถึึงปััจจุุบันั ดัังนี้้� 1. พระอธิิการสมบุุญ ฐิิตฉนฺฺโท ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2494 - 2533 2. พระครููโสภณวีีรธรรม ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2533 – 2533 3. พระอธิิการพร้้อม ปสุุโต ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2533 – 2543 4. พระมหาไพโรจน์์ เขมวีีโร ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2544 – 2548 5. พระครููสุุตธรรมวาทีี ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2548 – 2550 6. พระมหาสุุริินทร์ สุ ์ ุริินฺฺโท ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2551 – 2500 7. พระอธิิการปาลิิต ยสธโร ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2533 – 2533 8. พระมหาสััญญา ธีีรสญฺฺญโม ตั้ง้� แต่่ พ.ศ. 2562 – ปััจจุุบันั
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้้วย
- อุุโบสถ กว้้าง 8.10 เมตร ยาว 26.20 เมตร เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2542 - ศาลาการเปรีียญ กว้้าง 14 เมตร ยาว 24 เมตร เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - หอสวดมนต์์ กว้้าง 9 เมตร ยาว 11 เมตร เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - กุุฏิิสงฆ์์ จำำ�นวน 18 หลััง เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก จำำ�นวน 8 หลััง เป็็นอาคารครึ่่�งตึึกครึ่่�งไม้้ จำำ�นวน 2 หลััง เป็็นอาคารไม้้ จำำ�นวน 8 หลััง - ศาลาอเนกประสงค์์ กว้้าง 15.25 เมตร ยาว 22.35 เมตร เป็็น อาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - ศาลาบำำ�เพ็็ญกุุศลศพ กว้้าง 17.90 เมตร ยาว 28.25 เมตร เป็็น อาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - ฌาปนสถาน จำำ�นวน 1หลััง - หอระฆััง จำำ�นวน 1 หลััง - อื่่น� ๆ มณฑปอดีีตเจ้้าอาวาส, ศาลพ่่อตาทิิศช้้าง, ศาลาพระประจำำ�วััน
เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบัน ั
พระมหาสััญญา ธีีรสญฺฺญโม (พรหมอิินทร์์) ป.ธ.7, พธ.บ., รป.ม. เจ้้าอาวาสวััดนิิคมธรรมาราม, เจ้้าคณะตำำ�บลวััดประดู่่� ผู้้�จััดการโรงเรีียนปััญญาทีีปวิิทยานุุสรณ์์ พระจริิยานิิเทศก์์จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ปููชนีียวััตถุุ
- พระประธานประจำำ�อุุโบสถ ปาง มารวิิชััย ขนาดหน้้าตััก กว้้าง 59 นิ้้�ว สููง 81 นิ้้�ว - พระประธานประจำำ�ศาลาการเปรีียญ ปางมารวิิชััย ขนาดหน้้าตััก กว้้าง 36 นิ้้�ว สููง 55 นิ้้�ว - ปููชนีียวััตถุุอื่่�นๆ พระสัังกััจจายน์์ ขนาดหน้้าตััก กว้้าง 162 นิ้้�ว สููง 177 นิ้้�ว ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 27 เดืือน ธัันวาคม พ.ศ. 2526 เขตวิิสุุงคามสีีมา กว้้าง 19.70 เมตร ยาว 30 เมตร
พระมหาสัั ญญา ธีีรสญฺฺญโม (ป.ธ7,พธ.บ.,รป.ม.)
เจ้้าคณะตำำ�บลวััดประดู่่� / เจ้้าอาวาสวััดนิิคมธรรมาราม
ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� 1 บ้้านหััวเขา
ถนนสุุราษฎร์์ธานีี – บ้้านนาสาร
หมู่่�ที่่� 6 ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย
อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
53
วััดแหลมทอง History of Buddhism....
ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดแหลมทอง เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ที่่�ดิิน
ตั้้�งวััดมีีเนื้้อ � ที่่� 15 ไร่่ 2 งาน 60 ตารางวา อาณาเขต ทิิศเหนืือจรดที่่ดิ � น ิ เอกชน ทิิ ศใต้้ จรดคลองบางไทร ทิิ ศ ตะวัั น ออกจรดคลองฉนาก ทิิศตะวัันตกจรดที่่ดิ � น ิ เอกชน
อาคารเสนาสนะประกอบด้้วย
อุุโบสถ สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2490 ศาลาการเปรีียญ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2509 กุุฏิิสงฆ์์ จำำ�นวน 10 หลััง นอกนั้้�นมีีฌาปนสถาน หอระฆััง โรงครััว และกุุฏิิเจ้้าอาวาส วััดแหลมทอง ตั้้�งเมื่่�อวัันที่่� 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2460 นายชููนายปลอด ชััยชนะ ได้้บริิจาคที่่�ดิินให้้สร้้างวััด โดยได้้สร้้างสำำ�นัักสงฆ์์ ชื่่อ� ว่่า สำำ�นักั สงฆ์์แหลมโทง เนื่่อ� งจากเป็็นแหลมทรายที่่�มีปล ี าโทงซึ่่ง� มา กิินดอกข้้าวลอยมาติิดสัันทรายนี้้�เป็็นอย่่างมาก ในปีี พ.ศ. 2492 จึึงได้้ เปลี่่�ยนชื่่�อเป็็น วััดแหลมทอง โดยได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 23 สิิงหาคม พ.ศ. 2499
54
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิ พระครูู พิพั ิ ฒ ั น์์จัน ั โทภาส
วััตถุุมงคลวััดแหลมทอง
พระครููแบน ธััมมรโต อดีีตเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ได้้จัดั สร้้างวััตถุุ มงคลประกอบด้้วย รููปหล่่อบููชาหลวงพ่่อแบน, เหรีียญพระประจำำ�วันั , เหรีียญโบ, เหรีียญไม่่มีีโบ, รููปหล่่อปั๊๊�ม, ล็็อกเก็็ตพระวิินััยธรแบน, แหวนพิิรอด, ภาพถ่่ายหลวงพ่่อแบน, ผ้้ายัันต์์, ตะกรุุด พระครููเกษมจิิตตารัักษ์์ อดีีตเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ได้้จััดสร้้าง วััตถุมุ งคลประกอบด้้วย เหรีียญหยดน้ำำ�� หลวงพ่่อแบน หลัังพระประจำำ�วันั , เหรีียญสองหน้้า หลวงพ่่อแบนหลััง หลวงพ่่ออิินทร์์, แหวนพระครููแบน พระสมุุห์์หนูู อมรทััตโต อดีีตเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ได้้จััดสร้้าง รููปหล่่อเหมืือนเท่่าองค์์จริิง พระสมุุห์์หนูู อมรทััตโต พระครููพิิพััฒน์์จัันโทภาส เจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ได้้จััดสร้้างวััตถุุ มงคลหลวงพ่่อแบน ธััมมรโต รุ่่�นยกช่่อฟ้้าอุุโบสถ (ย้้อนยุุค) ขึ้้�น วััตถุุประสงค์์ในการจััดสร้้างเพื่่�อนำำ�รายได้้สร้้างเขื่่�อนรอบวััด กำำ�หนด พิิธีีพุุทธาภิิเษกในวัันที่่� 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พระเกจิิอาจารย์์ ชื่่�อดัังร่่วมนั่่�งปรกอธิิษฐานจิิตปลุุกเสก อาทิิ หลวงพ่่อเอ็็น วััดเขาหูู, พระอาจารย์์ ท อง วัั ด สกลธรรมาราม, หลวงพ่่ อ อิ้้�น วัั ด ทัั บ ใหม่่ , หลวงพ่่ อ ล้้ า นวัั ด เกษมบำำ�รุุ ง , หลวงพ่่ อ คลาย วัั ด จัั น ทาวาส, หลวงพ่่อท้้วม เขมจาโร, พระอาจารย์์ห้้อม วััดปากคูู, พ่่อท่่านเอีียด วััดโคกแย้้ม, พระราชพิิพััฒนาภรณ์์
ชื่่�อ พระครููพิิพััฒน์์จัันโทภาส ฉายา สิิริิจัันโท อายุุ 46 พรรษา 22 วิิทยฐานะ น.ธ. เอก, ป.บส วุุฒิิทางโลก/ปริิญญาตรีี พธ.บ ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาส วััดแหลมทอง ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี สถานะเดิิม ชื่่�อ พิิพััฒน์์ นามสกุุล ทิินเกตุุ เกิิดวััน 3 ฯ 5 ค่ำำ�� ปีีจอ ตรงกัับวัันที่่� 14 เดืือนเมษายน พ.ศ. 2513 บิิดา นายบุุญเลิิศ นามสกุุล ทิินเกตุุ มารดา นางมาลีี นามสกุุล บุุญคง บ้้านเลขที่่� 49 หมู่่�ที่่� 5 ตำำ�บลตลิ่่�งงาม อำำ�เภอเกาะสมุุย จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วััน 1 ฯ 7 ค่ำำ�� ปีีระกา วัันที่่� 6 มิิถุุนายน พ.ศ. 2536 วััดแหลมทอง ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููเกษมจิิตตารัักษ์์ (หลวงพ่่ออิินทร์์ วััดแหลมทอง) พระกรรมวาจาจารย์์ พระสมุุห์์หนูู อมรทััตฺฺโต (หลวงพ่่อหนูู วััดแหลมทอง) พระอนุุสาวนาจารย์์ พระสมุุห์์นิิตย์์ ปิิยสีีโล (หลวงพ่่อนิิตย์์ วััดบุุญบัันเทิิง) วิิทยฐานะ พ.ศ. 2539 สอบไล่่ได้้ น.ธ.เอก สำำ�นัักเรีียนวััดแหลมทอง อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2555 สำำ� เร็็ จ การศึึกษาตามหลัั ก สูู ตรปร ะกาศนีี ย บัั ตร การบริิหารกิิจการคณะสงฆ์์ (ป.บส) มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราช วิิทยาลััย (วััดพััฒนาราม พระอารามหลวง) ห้้องเรีียนสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2559 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้น� ปริิญญาตรีีพุทุ ธศาสตรบััณฑิิต (พธ.บ) การจัั ด การเชิิ ง พุุ ท ธ มหาวิิ ท ยาลัั ย มหาจุุ ฬ าลงกรณราชวิิ ท ยาลัั ย (วััดพััฒนาราม พระอารามหลวง) ห้้องเรีียนสุุราษฎร์์ธานีี การศึึกษาพิิเศษ นวกรรมการก่่อสร้้าง คอมพิิวเตอร์์ งานปกครอง พ.ศ. 2544 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งรองเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2550 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งรัักษาการเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2552 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง ตำำ�บลคลองฉนาก อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
1. 2. 3. 4.
พระครููแบน ธััมมรโต พระครููเกษมจิิตตารัักษ์์ พระสมุุห์์หนูู อมรทััตโต พระครููพิิพััฒน์์จัันโทภาส
ตั้�้งอยู่่�หมู่่�ที่่� 3
ตำำ�บลคลองฉนาก
อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครูู พิพั ิ ฒ ั น์์จัน ั โทภาส เจ้้าอาวาสวััดแหลมทอง
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
55
วััดโพธาวาส History of Buddhism....
วััดโพธาวาส เดิิมชื่่� อวััดโพธิ์์�ไทรงาม ตั้�้งขึ้้�นเมื่่อ � วัันที่่� 10 มกราคม พ.ศ. 2330 เดิิมวััดมีีเนื้้�อที่่� 7 ไร่่เศษ แต่่ตอนนี้้�เหลืือเพีียง 5 ไร่่เศษ
เนื่่อ � งจากถููกตััดเป็็นถนนส่่ วนหนึ่่�ง ถููกน้ำำ�กัด ั เซาะส่่ วนหนึ่่�ง ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่อ � วัันที่่� 3 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2337 มีีเจ้้าอาวาส ชื่่� อมีี (ไม่่มีีนามสกุุล) ต่่อมาได้้รับ ั สมณศัั กดิ์์� เป็็นพระครูู สุุวรรณรัังสีี (ชาวบ้้านเรีียกท่่านว่่า พ่่อท่่านเฒ่่า )
56
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระครูู วิธู ิ ูรธรรมศาสน์์ (หลวงพ่่อกล่่อม) วััดโพธาวาส
หลวงพ่่อกล่่อมท่่าน เป็็นพระเกจิิอาจารย์์ที่่�มีีชื่่�อเสีียงเลื่่�องลืือใน ด้้านวิิทยาคม ปััจจุุบัันแม้้ท่่านจะล่่วงลัับไปเป็็นเวลานาน แล้้วก็็ตาม เกีียรติิคุณ ุ ด้้านความเก่่งกล้้าในวิิทยาคมของท่่าน ก็็ยังั เลื่่อ� งลืือไม่่รู้�จั้ กั จบ ถ้้าท่่านมีีโอกาสผ่่านไปทางวััดก็็จะเห็็นผู้้�คนพากัันไปกราบไหว้้รููปหล่่อ หลวงพ่่อ ด้้วยดอกไม้้ ธููปเทีียน และบนบานศาลกล่่าวต่่างๆ นานามิิได้้ ขาด สมััยที่ท่่� า่ นยัังมีีชีีวิิตอยู่่� ก็็มีีคนไปบนบานศาลกล่่าวอยู่่�เนืืองนิิจ เมื่่อ� ประสบความสำำ�เร็็จสมเจตนารมณ์์ ก็็มีีการเอาทองไปติิดตามหน้้าเข้้ง ของหลวงพ่่อเต็็มไปหมด หลวงพ่่อกล่่อมเป็็นผู้้�ที่เ่� คร่่งครััดในพระวิินัย ยึ ั ดมั่่ ึ น� ในพระบวรพุุทธ ศาสนา การปฏิิบัติั ถึิ งึ พร้้อมซึ่่ง� ศีีล สมาธิิ ปัญ ั ญา จึึงเป็็นที่่ศ� รััทธาเลื่่อ� มใส แก่่ผู้้�พบเห็็นเป็็นอย่่างยิ่่�ง ให้้ความเมตตาแก่่บุุคคลทั่่�วไป หลวงพ่่อ มรณภาพเมื่่อ� วัันที่่� 23 มกราคม พ.ศ. 2474 รวมอายุุได้้ 85 ปีี พรรษา 62 พ่่อหลวงกล่่อมเป็็นพระเกจิิผู้้�ทรงวิิทยาอาคม และมีีชื่่อ� เสีียงโด่่งดััง มากเรื่่�อง "เรืือแข่่ง" ในงานประจำำ�ปีีของ จ.สุุราษฎร์์ธานีี ที่่�เรีียกว่่า "งานชัักพระ" ซึ่่�งจะมีีการแข่่งขัันเรืือยาวกััน สมััยนั้้น� เรืือยาว (สาลิิกา ล่่องลม) ของวััดโพธาวาสไม่่มีีคำำ�ว่่าพ่่ายแพ้้ต่่อผู้้�ใด เล่่ากัันว่่า ท่่านให้้ ลููกศิิษย์์จััดการขุุดเรืือขึ้้�นมา พอเวลาเช้้าของวัันแข่่งขัันท่่านจะออกมา ยืืนริิมคลองมะขามเตี้้�ยแล้้วบริิกรรมคาถา ปรากฏว่่าเรืือที่่�จอดอยู่่�บน คานแล่่นลงน้ำำ��ได้้อย่่างอััศจรรย์์ และยัังมีีเรืือยาวยููงทองอีีก 1 ลำำ� ปััจจุบัุ นั ได้้เก็็บไว้้เป็็นพิิพิธภั ิ ณ ั ฑ์์ หลัังมณฑปพ่่อหลวงกล่่อม นอกจากนี้้� ท่่านยัังสามารถบริิกรรมคาถาสะกดจระเข้้ ซึ่่�งชุุกชุุมยิ่่�งนัักในบริิเวณ ลำำ�น้ำำ��มะขามเตี้้ย� และแม่่น้ำ��ำ ตาปีี เมื่่อ� ผ่่านบริิเวณเขตวััดจระเข้้จะจมตััว ไม่่ลงต้้องลอยน้ำำ�� ให้้ผู้้�คนเห็็นตลอดทุุกตััว และมีีเรื่่�องเล่่าขานกัันว่่า ในเช้้าวัันที่่ท่� า่ นจะมรณภาพนั้้�น พ่่อหลวงกล่่อมเกิิดอยากฉัันน้ำำ�� มะพร้้าว อ่่อนขึ้้น� มา ลููกศิิษย์์จึงึ ได้้ปีนี ต้้นมะพร้้าวเก็็บมาให้้ท่า่ นลููกหนึ่่�ง ครั้้น� เมื่่อ� ผ่่ามะพร้้าวออกมา ปรากฏว่่ามีี ปลาตััวใสมองเห็็นก้้างและลำำ�ไส้้ว่่าย อยู่่�ภายในน้ำำ��มะพร้้าวอย่่างน่่าอััศจรรย์์
ตำำ�บลตลาด
อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระสมุุห์ม ์ โณวััฒน์์ ธมฺฺมโชโต (แพเพชร) เจ้้าอาวาสวััดโพธาวาส
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาส เท่่าที่่ท � ราบนาม ดัังนี้้�
1. พระครููสุุวรรณรัังสีี ( มีี ) พ่่อท่่านเฒ่่า 2. พระครููวิิธูรู ธรรมศาสน์์ หลวงพ่่อกล่่อม 3. พระมหาเต็็ก ( นายเต็็ก ) 4. พระอธิิการเอื้้�อน ( นายเอื้้อ� น เด็็ดเดี่่�ยว ) 5. พระมหาเขีียน (เลขาเจ้้าคณะจัังหวััดประจวบคีีรีีขัันธ์์ ปีี พ.ศ.2528 ) 6. พระเทพรััตนกวีี ( สมััยที่่�ยัังเป็็นเจ้้าคุุณวััดจารีีศีีลสุุนทร ) ( เกตุุ แสงหิิรััญ ) 7. พระครููโพธิิธรรมรััตน์์ ( พริ้้�ง เทพสัันตา ) ฐิิตปุุญฺฺโญ 8. พระมหาภิิรมย์์ กตปุุญโญ ( ภิิรมย์์ งามทอง ) 9. พระครููพิิพัฒน์ ั โ์ พธิิกิจ ิ (สุุวรรณ ไกรสิินธ์์ ) อภิิญาโณ พ.ศ. 2532 - 2561 10. พระครููปริิยััติคุิ ุณาวุุธ ( เสรีี ภููริิปญฺฺโญ ) รัักษ์์เจริิญ รองเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 11. พระสมุุห์์มโณวััฒน์์ ธมฺฺมโชโต (แพเพชร) พ.ศ. 2561 เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบััน SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
57
พระราชไพศาลมุุนีี (ปราโมทย์์ สิิริจ ิ นฺฺโท)
เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธ) / เจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชา พระอารามหลวง 58
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดธรรมบููชา History of Buddhism....
วัั ด ธรรมบูู ช า สุุ ร าษฎร์์ ธ านีี ตั้้� ง อยู่่� ต รงมุุ มสี่่� แ ยกกลางเมืื อ ง
สุุราษฎร์์ธานีี บริิเวณถนนตลาดใหม่่ตััดกัับถนนชนเกษม ซึ่่� งเป็็นถนน
สายสำำ �คัญ ั ผ่่าน เลขที่่� 143/1 ถนนชนเกษม ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ที่่�ดิน ิ ตั้�ง ้ วััดมีี 19 ไร่่ 1 งาน 49.5 ตารางวา มีีฐานะ
เป็็นพระอารามหลวงชั้้� นตรีี เมื่่�อวัั นที่่� 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 ในสมััยพระธรรมโรจนเถร (พลัับ ฐิิติโิ ก) เป็็นเจ้้าอาวาส
วััดธรรมบููชา เป็็นพระอารามหลวงชั้้�นตรีี ชนิิดสามััญ บริิเวณที่่�ตั้้�ง วััดเดิิมเป็็นป่่าดอนสำำ�หรัับฟัังศพ และเผาศพ ชาวบ้้านเรีียกกัันว่่าป่่าช้้า ดอนเลีียบ เป็็นทีีรกชััฎและเงีียบสงััดปราศจากผู้้�คน ทิิดปลี้้�ม ได้้สร้้าง ศาลาหลัังคามุุงจาก 2 หลััง เพื่่�อให้้พระภิิกษุุสวดอภิิธรรม ต่่อมามีี พระภิิกษุุได้้มาจาริิกอยู่่�บริิเวณนั้้�น ราษฎรในหมู่่�บ้้านจึึงนิิมนต์์ให้้อยู่่� ประจำำ�และสร้้างเป็็นที่่�พัักสงฆ์์ชื่่�อว่่า "ที่่�พัักสงฆ์์ดอนเลีียบ" และได้้ ก่่อสร้้างกุุฏิิหลัังเล็็กเพื่่�อใช้้เป็็นที่่�พัักสงฆ์์ ต่่อมาท่่านได้้ลาสิิกขาและมีี พระภิิกษุุุจ� ากวััดอื่่น� เข้้ามาอาศััยอยู่่�ปริิวาสกรรม ต่่อมาที่พั�่ กั สงฆ์์ดอนเลีียบ ได้้ร้า้ งชั่่ว� ระยะหนึ่่ง� เนื่่อ� งจากไม่่มีพี ระภิิกษุุอยู่่�จำ�ำ พรรษา เมื่่อ� ปีี พ.ศ.2447 มีีพระกรัับ ญาณวีีโร พร้้อมด้้วยพระภิิกษุุอีีก 2 รููป ได้้เดิินทางมาถึึงที่่่� พัักสงฆ์์ดอนเลีียบก็็พอใจสถานที่ จึ ่� งึ มาจำำ�พรรษา ราษฎรในหมู่่�บ้้านได้้ ช่่วยกัันสร้้างเสนาสนะเพื่่�อใช้้เป็็นที่่�พัักสงฆ์์ และขอเปลี่่�ยนชื่่�อต่่อ เสนาบดีีมหาดไทย ซึ่่�งมีีกรมพระยาดำำ�รงราชานุุภาพดำำ�รงตำำ�แหน่่งอยู่่� กรมพระยาดำำ�รงราชานุุภาพได้้ออกตรวจราชการทรงมณฑลภาคใต้้ ได้้เปลี่่�ยนชื่่�อวััดเป็็น "วััดธรรมยุุติิการาม" พระกรัับได้้ทำำ�การบููรณ ปฏิิสัังขรณ์์อยู่่� 4 ปีี ร่่วมกัันเจ้้าจอมพิิณศรีี สุุพรรณศรีี ต่่อมาในปีี พ.ศ. 2454 พระครููโยคาธิิการวิินิติ ได้้ดำ�ำ รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาส ได้้จัดั ทำำ� แผนผัังรายงานต่่อสมเด็็จพระมหาสมณเจ้้ากรมพระยาวชิิรญาณวโรรส วััดบวรนิิเวศวิิหาร สมเด็็จพระมหาสมณเจ้้าได้้มีีลายพระหััตถ์์ ถึึงกรม พระยาดำำ�รงราชานุุภาพให้้เปลี่่�ยนชื่่�อวััดเป็็น "วััดธรรมบููชา" ปััจจุุบััน มีีพระราชไพศาลมุุนีี เป็็นเจ้้าอาวาส
เลขที่่� 143/1
ถนนชนเกษม
ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืือง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
59
วััดวิิภาวดีีกาญจนา History of Buddhism....
ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดวิิภาวดีีกาญจนาได้้รับ ั หนัังสืื ออนุุญาตให้้สร้า ้ งวััดจากกรมการศาสนาด้้วยความเห็็นชอบของกระทรวงศึึ กษาธิิการและมหาเถรสมาคม
เมื่่�อวัันที่่� 23 เมษายน 2541 โดยอนุุญาตให้้นางสาวนทีีธิป ิ ปััจจัักขภััติิ เป็็นผู้้รั � บ ั อนุุญาตตั้้�งแต่่วัน ั ที่่� 20 มีีนาคม 2541 ถึึง วัันที่่� 19 มีีนาคม 2546
และได้้รัับประกาศกระทรวงศึึ กษาธิิการ เรื่่�องตั้้� งวััดในพระพุุทธศาสนา เมื่่�อวัันที่่� 20 กัันยายน 2543 มีีนามว่่า วััดวิิภาวดีีกาญจนา ตั้้� งอยู่่� ณ บ้้านดอนนก หมู่่�ที่่� 5 ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
60
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วัั ด วิิ ภ าวดีี ก าญจนา ได้้ รัั บ บริิ จ าคที่่� ดิิ น จากคุุ ณ แม่่ ก าญจนา
โดยมีีพระสุุธรรมาธิิบดีี (แสง ชุุตินฺ ิ ธ ฺ โร) พระเทพสารสุุธีี ในขณะนั้้�น
ปััจจัักขภััติิ เนื้้�อที่่�ทั้้�งหมด 18 ไร่่เศษ เป็็นผู้้รั � บ ั บริิจาค
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
1. พระใบฎีีกาซุ่่�นหงี่�่ กตวุุฑฺฺโฑ จากวััดธรรมบููชา มาเป็็นหััวหน้้า สำำ�นัักสงฆ์์วิิภาวีีกาญจนา ตั้้�งแต่่เริ่่�มสร้้างปีี พ.ศ. 2541 2. พระครููสุุธีีคุุณาธาร เดิิมเป็็นเจ้้าอาวาสวััดปากด่่าน อำำ�เภอสิิชล จัังหวััดนครศรีีธรรมราช พระครููสุุธีีคุุณาธารก็็รัับสนองเจตนารมณ์์ ของพระสุุธรรมาธิิบดีี (หลวงปู่่�แสง) มารัับเป็็นเจ้้าอาวาส ปีี 2543-2548 และเป็็นเจ้้าอาวาส รููปแรก ได้้ถึงึ แก่่มรณภาพเมื่่�อ 15 พฤษภาคม 2548 รวมสิิริิอายุุ 58 ปีี พรรษา 38 3. พระครููสมุุห์ธี์ ีระยุุทธ ยโสธโร (ปััจจุุบััน พระครููธีีรธรรมานุุยุุต เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบััน) รัักษาการเจ้้าอาวาสปีี 2548 พระครููสมุุห์์ ธีีระยุุทธ ยโสธโร ซึ่่�งเป็็นศิิษย์์ของพระครููสุุธีีคุุณาธาร ได้้รัับมอบหมาย แต่่งตั้้�งให้้เป็็นเจ้้าอาวาสตั้้�งแต่่ปีี 2549 ถึึงปััจจุุบััน ปััจจุุบัันได้้รับั สมณศัักดิ์์ที่่� � พระครููธีรี ธรรมานุุยุุต และดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาส และเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร ธรรมยุุต ปััจจุุบััน 2564 มีีพระภิิกษุุจำำ�พรรษา 4 รููป สามเณร 8 รููป มีีการ ศึึกษาทั้้�งทางโลกทางธรรมภายในวััดมีีโรงเรีียนพระปริิยััติิธรรมแผนก สามััญศึึกษาและแผนกสามััญและแผนกธรรม-บาลีี มีศี าลาการเปรีียญ 1 หลััง โรงฉััน 1 หลััง ศาลาคู่่�เมรุุ 1 หลััง กุุฏิิที่่�พัักสงฆ์์ 10 หลััง ที่่�พััก สามเณร 2 หลััง จำำ�นวน 7 ห้้อง ห้้องน้ำำ�� 12 ห้้อง ห้้องสมุุดโรงเรีียน พระปริิยัติั ธิ รรมชั่่ว� คราว และในวััดยัังเป็็นที่่ตั้้� ง� สำำ�นักั งาน พระวิินยาธิิการ (ตำำ�รวจพระ) ปััจจุุบััน กำำ�ลัังก่่อสร้้างอุุโบสถ์์ขนาด 8-16 จำำ�นวน 1 หลััง
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
61
ประวััติย่ ิ อ ่ ของพระครููธีีรธรรมานุุยุต ุ
พ.ศ. 2536 สอบนัักธรรมชั้้น� เอกได้้ในสนามจัังหวััดนครศรีีธรรมราช พ.ศ. 2541 เป็็นพระครููสมุุห์์ ฐานานุุกรม ในพระธรรมวราภรณ์์ เจ้้าอาวาสวััดราชผาติิการาม กรุุงเทพมหานคร พ.ศ. 2548 รัักษาการเจ้้าอาวาสวััดวิิภาวดีีกาญจนา อ.เมืือง จ.สุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2549 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาสวััดวิิภาวดีีกาญจนา พ.ศ. 2552 เป็็นพระครููวิินััยธร ฐานานุุกรมในพระสุุธรรมาธิิบดีี เจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชา อ.เมืือง จ.สุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2553 ได้้รัับการโปรดเกล้้าให้้เป็็นพระครููสััญญาบััตรใน ราชทิินนาม ว่่า พระครููธีีรธรรมานุุยุุต (เจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์ ชั้้�นโท) พ.ศ. 2554 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลตลาด พ.ศ. 2559 ได้้รัับการเลื่่�อนชั้้�นพระสัังฆาธิิการ ในราชทิินนามเดิิม เทีียบเท่่าเจ้้าคณะอำำ�เภอชั้้�นเอก พ.ศ. 2562 เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พ.ศ. 2563 เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาส, เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร, ผู้้�อำำ�นวยการโรงเรีียนพระปริิยััติิธรรมแผนกสามััญ, บาลีีและนัักธรรม และ หััวหน้้าศููนย์์การศึึกษามหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััยศููนย์์ การศึึกษาสุุราษฎร์์ธานีี, กรรมการและเลขานุุการพระวิินยาธิิการ
62
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระครููธีีรธรรมานุุยุต ุ
เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร(ธ)
เจ้้าอาวาสวััดวิิภาวดีีกาญจนา
โรงเรีียนแสงธรรมพิิทยาคม
ตั้้� ง อยู่่� เ ลขที่่� 69/53 ตำำ� บลมะขามเตี้้� ย อำำ� เภอเมืือง จัั ง หวัั ด สุุราษฎร์์ธานีี รหััสไปรษณีีย์์ 84000 โทรศััพท์์มืือถืือ 086-5948225 E-Mail : Seangthum@hotmail.com สัังกััดสำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนาแห่่งชาติิ เปิิดสอนตั้้�งแต่่ระดัับชั้้น� มััธยมศึึกษาตอนต้้น ถึึงระดัับมััธยมศึึกษาตอนปลาย โดยมีีเขตพื้้�นที่่� บริิการอำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี โรงเรีียนแสงธรรมพิิทยาคม เป็็นโรงเรีียนปริิยััติิธรรมแผนกสามััญ ศึึกษา ก่่อตั้้�งเมื่่�อวัันที่่� 6 มกราคม พ.ศ. 2518 โดยมีีพระเทพสารสุุธีี (พระธรรมธััชมุุนีี) เป็็นผู้้�ได้้รัับอนุุญาต และเป็็นผู้้�จััดการของโรงเรีียน มีีพระศรีีสุุทธิิโกศล (พระราชวรญาณมุุนีี) เป็็นครููใหญ่่ เดิิมโรงเรีียนแสง ธรรมพิิทยาคม ตั้้�งอยู่่� ณ วััดธรรมบููชา เลขที่่� 143/1 ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอ เมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ต่่อมาได้้ขอย้้ายที่่�ตั้้�งโรงเรีียน มาอยู่่�ที่่� วััดวิิภาวดีีกาญจนา เมื่่�อปีี พ.ศ. 2553 จนถึึงปััจจุุบััน โดยมีีพระครููธีีรธรรมานุุยุุตเป็็นเจ้้าอาวาส วััดวิิภาวดีีกาญจนา และเป็็นผู้้�อำำ�นวยการโรงเรีียน เพื่่�อให้้สอดคล้้อง กัับนโยบายการจััดการศึึกษาในรููปแบบของการศึึกษาปริิยัติั ิ โดยใช้้ตรา สััญลัักษณ์์ประจำำ�โรงเรีียน แทนเป็็นเส้้นวงกลม 2 วง ล้้อมรอบด้้วยแสง แห่่งเทีียน หนัังสืือ และธรรมจัักร ใช้้เครื่่อ� งหมายเป็็นเส้้นวงกลม 2 วง ล้้อมด้้วยแสงแห่่งเทีียน หนัังสืือ และธรรมจัักร ความหมาย แสงเทีียนเปรีียบเสมืือน แสงสว่่าง หนัังสืือเปรีียบเสมืือน ปััญญาความรู้้�ทางโลก และธรรมจัักร คืือปััญญาทางธรรม ดัังนั้้�น องค์์ ความรู้้�ที่่�เปี่่�ยมด้้วยปััญญาจะนำำ�พาชีีวิิตไปสู่่�คุุณธรรมและความดีีงาม
3. เผยแผ่่และทำำ�นุุบำำ�รุุงพระพุุทธศาสนาให้้เจริิญงอกงาม เอกลัักษณ์์ โรงเรีียนแกนนำำ�พระพุุทธศาสนา อััตลัักษณ์์ กิิจกรรมเด่่น เน้้นคุุณธรรม นำำ�เทคโนโลยีี สู่่�วิถีิ ีพอเพีียง
ปรััชญาโรงเรีียน
นตฺฺถิิ ปญฺฺญาสมา อาภา แปลว่่า แสงสว่่างเสมอด้้วยปััญญาไม่่มีี (Light is like wisdom) ความหมาย
ปััญญา คืือความรู้้�ทั่่�วถึึงเหตุุผลสามารถวิิเคราะห์์ได้้อย่่างรวดเร็็ว ถููกต้้อง ว่่าอะไรดีีอะไรชั่่�วควรจะกระทำำ�หรืือไม่่ ก่่อให้้เกิิดประโยชน์์ใน การดำำ�เนิินชีีวิิต โรงเรีียนแสงธรรมพิิทยาคม ก่่อตั้้�งเพื่่�อ ผลิิตศาสน ทายาทและสืืบทอดพระพุุทธศาสนาให้้เจริิญงอกงามอย่่างมีีคุุณภาพ ปรััชญาโรงเรีียน สร้้างปััญญา เพื่่�อพััฒนาตนเอง วิิสััยทััศน์์ พัฒ ั นาผู้้�เรีียนให้้เป็็นศาสนทายาทที่่�ดี มี ี คุุี ณธรรม ดำำ�เนิิน ชีีวิิตอย่่างพอเพีียง และมุ่่�งให้้โรงเรีียนเป็็นศููนย์์กลางของชุุมชน พัันธกิิจ ประเด็็นยุุทธศาสตร์์ เป้้าประสงค์์ และผลผลิิตของแผน ยุุทธศาสตร์์ 1. จััดการศึึกษาพระปริิยััติิธรรมแผนกสามััญศึึกษาเพื่่�อผลิิตและ พััฒนาศาสนทายาทที่่�เปี่่�ยมปััญญาพุุทธธรรม 2. พััฒนาระบบบริิหารโรงเรีียนเข้้มแข็็งเป็็นโรงเรีียนคุุณภาพที่่�ได้้ มาตรฐานและเป็็นศููนย์์กลางของชุุมชน เป็็นโรงเรีียนต้้นแบบในกลุ่่�ม การศึึกษาพระปริิยััติิธรรม แผนกสามััญศึึกษา
ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย
อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
63
วััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์ History of Buddhism....
ตั้้�งอยู่่ห � มู่่�ที่่� 4 ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นวัด ั ราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์ธรรมยุุตนิก ิ าย หลวงปู่่� “พระสุุธรรมาธิิบดีี (แสง ชุุตินฺ ิ ธ ฺ โร)” ดำำ�หริิสร้า ้ งเมื่่อ � ประมาณ พ.ศ. 2507 โดยคณะศรััทธา ของนายผดุุง-นางเสี้้� ยน วััชรพงษ์์ และนายพัันธ์์ แก้้วหีีดนุ้้�ย น้้อมถวายที่่�ดินมี ิ เี นื้้�อที่่� 23 ไร่่ 9 ตารางวา ได้้รับ ั ใบตราตั้้�งวััดเมื่่อ � วัันที่่� 31 ตุุลาคม พ.ศ. 2516 และได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 17 มีีนาคม พ.ศ. 2547
64
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
หลวงปู่่ข � าว
หลวงปู่่� พระสุุธรรมาธิิบดีี (แสง ชุุติินฺฺธโร) ผู้�มี้ ีวิิสััยทััศน์์ก้า้ วไกลเล็็ง เห็็นถึึงการณ์์พระพุุทธศาสนาเป็็นอย่่างยิ่่�ง ได้้ส่่งสััทธิิวิิหาริิกมาประจำำ� พรรษารัักษาศรััทธามิิได้้ขาด พ.ศ. 2538 ได้้ส่่ง “พระวิิสุุทธิิคณาภรณ์์” ซึ่่�งในขณะนั้้�นดำำ�รง สมณศัักดิ์์�พระครููสััญญาบััตรชั้้�นเอกที่่� “พระครููสุุนทรศาสนคุุณ” มาครองวััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์จนถึึงปััจจุุบััน ตลอดระยะเวลา 26 ปีี ท่่านสร้้างและพััฒนาเสนาสนะภายใน วััดเจริิญก้้าวหน้้าเป็็นที่่�ปรากฏชััดด้้วยความวิิริิยะอุุตสาหะกล่่าวได้้ว่่า วัั ดส ามัั ค คีี ผดุุ ง พัั นธ์์ เ ป็็ น หนึ่่� ง ในสถานที่่� ร มณีี ย สถานในจัั ง หวัั ด สุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2546 ท่่านได้้ก่่อสร้้างอุุโบสถ 2 ชั้้�น มีีมณฑปโดยรอบ 4 ทิิศ แทนอุุโบสถหลัังเก่่า ซึ่่�งถืือเป็็นผลงานชิ้้�นเอกของท่่าน ภายในอุุโบสถ ประดิิษฐาน“พระพุุทธประธานสามััคคีีสถิิตประสิิทธิ์์�คุุณสุุนทร” สิ้้� น งบประมาณร่่ ว ม 30 ล้้าน ใช้้เวลาในการก่่ อ สร้้างร่่ ว ม 6 ปีี จึึงแล้้วเสร็็จ สิ่่ง� ศัักดิ์สิ์� ทิ ธิ์์คู่่� วั� ดั : ชาววััดสามััคคีีมีบี ารมีี “หลวงปู่่�ขาว” ซึ่่ง� เป็็น หลวงพ่่อเจ้้าวััดเป็็นที่่�ยึึดเหนี่่�ยวจิิตใจ ศรััทธาสาธุุชนต่่างหลั่่�งไหล มากราบไหว้้ขอพรไม่่ขาดสาย หากมาแล้้วไม่่ได้้กราบองค์์ท่่าน ชื่่�อว่่ามาไม่่ถึึงวััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์
พระวิิสุท ุ ธิิคณาภรณ์์
ที่่�ปรึกษ ึ าเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธรรมยุุต) / เจ้้าอาวาสวััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์
พระมหาฐิิติวั ิ ฒ ั น์์ จิิรวฑฺฺโฒ เจ้้าคณะตำำ�บลทุ่่�งเตาใหม่่ (ธรรมยุุต) รองเจ้้าอาวาสวััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
65
สถาบัันพลัังจิิตตานุุภาพ สาขา 133 วััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์
เปิิดทำำ�การเรีียนการสอน “หลัักสููตรครููสมาธิิ” ของสมเด็็จพระ ญาณวชิิโรดม (หลวงพ่่อวิิริยัิ งั ค์์ สิริิ นิิ ธิ โร) ให้้แก่่บุคุ คลทั่่�วไป ในวัันจันทร์ ั ์ – วัันศุกร์ ุ ์ เวลา 18.00 น. – 20.00 น. โดยมีีอาจารย์์ จรีี เสีียงแจ้้ว เป็็นผู้้�ดููแลสาขา ท่่ า นผู้้� สน ใจสามารถติิ ดต่่ อ สอบถามรายละเอีี ย ดเพิ่่� ม เติิ ม ได้้ที่่� 081 979 8758 (อ.จรีี เสีียงแจ้้ว) / 094 480 3070 (อ.อนัันต์ สกุ ์ ลุ ธนา) วิิทยาลััยสารพััดช่่างสุุราษฎร์์ธานีี ตั้้�งอยู่่�ภายในวััดสามััคคีีผดุุงพัันธ์์โดยท่่านเจ้้าอาวาส อนุุญาตให้้ กรมอาชีีวศึึกษาเช่่าจััดผลประโยชน์์ ที่่�ดิินวััดมีีพื้้�นที่่�ประมาณ 6 ไร่่ ตั้้�งแต่่วัันที่่� 25 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2535 จนถึึงปััจจุุบััน
อาจารย์์ จรีี เสีี ยงแจ้้ว ผู้้�ดููแลสาขา
ด้้วยพลัังศรััทธาในท่่านอาจารย์์พระวิิสุทธิ ุ คิ ณาภรณ์์ วัดจึ ั งึ เป็็นศููนย์์ รวมจิิตใจแก่่อุบุ าสกอุุบาสิิกาชาววััดสามััคคีีผดุงุ พัันธ์ต์ ลอดมา มีีอุบุ าสก อุุบาสิิกาชั้้นนำ � ำ� “กลุ่่�มรู้้�รักั สามััคคีี” เป็็นกำำ�ลังั ในการดููแลและสนัับสนุุน กิิจกรรมทางพระพุุทธศาสนาของวััด “เสีียสละทั้้�งแรงกายแรงใจ แรงบุุญ แรงทุุนทรััพย์์ มีีศรััทธาที่่�มั่่�นคงยิ่่�ง น่่าชื่่�นชมอนุุโมทนา” กลุ่่�มรู้้�รัักสามััคคีี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 397 หมู่่� 4 ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย
อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี
66
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ศาลหลัักเมืืองสุุราษฎร์์
History of Buddhism....
วััดท่่าไทร
ตำำ�บลท่่าทองใหม่่ อำ� ำ เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี 84290
วััดท่่าไทร เป็็นวััดที่่เ� ก่่าแก่่ ซึ่่� งได้้รับ ั อนุุญาตให้้สร้้างและตั้้�งเป็็นวััดในพระพุุทธศาสนา อย่่างถููกต้อ ้ งตามกฎหมาย เมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2200 (นัับจนถึึง
ปััจจุุบัน ั เป็็นเวลาประมาณ 364 ปีี) มีีเนื้้�อที่่�ประมาณ 35 ไร่่ ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีีมา 2 ครั้้�ง ได้้แก่่ ครั้้�งแรก วัันที่่� 12 เมษายน 2511 เขตวิิสุุงคามสีีมา กว้้าง 22 เมตร ยาว 32 เมตร และครั้้�งที่่� 2 วัันที่่� 22 กัันยายน 2546 เขตวิิสุุงคามสีีมา กว้้าง 30 เมตร ยาว 40 เมตร (โดยขยายเขตกว้้างจากเดิิม)
68
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ลัักษณะเด่่นของวััดท่่าไทร
ผลงานดีีเด่่นและความสำำ �คัญ ั วััดท่่าไทร
- ได้้รับั คััดเลืือกและประกาศให้้เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างประจำำ�ปีี 2533 จาก กรมการศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ เมื่่�อวัันที่่� 14 มิิถุุนายน 2533 - ได้้รับั การคััดเลืือกและประกาศให้้เป็็น “อุุทยานการศึึกษา” ของจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อ พ.ศ. 2536 - ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เท่่าที่่�พอสืืบหาข้้อมููลได้้ ปรากฏว่่า วััดท่่าไทร ได้้รัับพระราชวิิสุุงคามสีีมา 2 ครั้้�ง ได้้แก่่ ครั้้�งแรกเมื่่อ� วัันที่่� 12 เมษายน 2511 กว้้าง 22 เมตร ยาว 32 เมตร, ครั้้�งที่่� 2 ขอรัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมาโดยขอขยายเขตกว้้าง จากเดิิม เพื่่�อประโยชน์์แก่่พระสงฆ์์ ในการทำำ�สัังฆกรรมตาม พระวิินััย โดยได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อ วัันที่่� 22 กัันยายน 2546 กว้้าง 30 เมตร ยาว 40 เมตร
1. เป็็นวััดที่เ่� ก่่าแก่่ ซึ่่ง� สร้้างและตั้้ง� เป็็นวััดมากว่่า 364 ปีี (พ.ศ. 2564 – 2200 = 364) 2. เป็็นวััดที่่�ถููกต้้องตามกฎหมาย คืือ ได้้รัับอนุุญาตให้้สร้้างและตั้้�ง เป็็นวััดเรีียบร้้อยตามกฎหมายแล้้ว 3. เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างตามโครงการวััดพััฒนาของ กรมการ ศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ โดยได้้รัับการพิิจารณาและประกาศให้้ เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่าง เมื่่�อ พ.ศ. 2533 4. เป็็นอุุทยานการศึึกษาของจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อ พ.ศ. 2536 5. เป็็นที่่�ตั้้�งของศููนย์์อบรมประชาชนประจำำ�ตำำ�บลท่่าทองใหม่่ 6. เป็็นที่่�ตั้้�งของที่่�อ่่านหนัังสืือประจำำ�ตำ�ำ บลท่่าทองใหม่่ 7. เป็็ น วัั ดที่่� ตั้้� ง อยู่่�ในศูู น ย์์ ก ลางแหล่่ ง ชุุ ม ชน และตั้้� ง อยู่่�ในเขต สุุขาภิิบาลตำำ�บลท่่าทองใหม่่ การคมนาคม ไป - มาสะดวกมาก 8. เป็็นศููนย์์กลางชุุมชนในการจััดงานและจััดกิิจกรรมต่่าง ๆ เช่่น ประชุุมชาวบ้้าน อบรม สััมมนา ฯลฯ ของหน่่วยราชการและหน่่วยงาน เอกชนทั่่�วไป 9. เป็็นวััดที่่�เข้้าร่่วมโครงการลานวััด ลานใจ ลานกีีฬา ของกรม การศาสนา กระทรวงศึึกษาธิิการ ตั้้�งแต่่ปีี 2540 เป็็นต้้นมาจนกระทั่่�ง ปััจจุุบััน
"มณฑปหลวงพ่่อชม วััดท่่าไทร พระเกจิิศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ชื่่�อดัังสายใต้้" SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
69
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
1. หลวงพ่่อขรััวทิพย์ ิ ์ ( ไม่่ทราบฉายา ) ไม่่ปรากฏปีี พ.ศ. ที่่�ดำ�ร ำ ง ตำำ�แหน่่ง 2. หลวงพ่่อขรััวนาค (ไม่่ทราบฉายา) ไม่่ปรากฏปีี พ.ศ. ที่่�ดำำ�รง ตำำ�แหน่่ง 3. หลวงพ่่อตู้้� (ไม่่ทราบฉายา) ไม่่ปรากฏปีี พ.ศ. ที่่ดำ� ำ�รงตำำ�แหน่่ง 4. หลวงพ่่อแก้้ว (ไม่่ทราบฉายา) ไม่่ปรากฏปีี พ.ศ. ที่่ดำ� �ร ำ งตำำ�แหน่่ง 5. พระปลััดล้้อม บุุญชูู (ไม่่ทราบฉายา) ไม่่ปรากฏปีี พ.ศ. ที่่�เข้้า ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 6. พระครููดิิตถารามคณาศััย (ชม คุุณาราโม) ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง พ.ศ. 2471- 2521 7. พระมหาสนอง วิิโรจโน ป.ธ.9 รัักษาการแทนเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2521 – 2522 8. พระเทพพิิพัฒ ั นาภรณ์์ (ชููชาติิ กนฺฺตวณฺโฺ ณ ป.ธ.5,น.ธ.เอก, ศศ.ม .(กิิตติิมศัักดิ์์�)) ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาส พ.ศ.2523-2561 9. พระครููวิสุิ ทุ ธิิวุฒิ ุ คุิ ณ ุ (วรวุุฒิิ ญาณวุุฑฺโฺ ฒ ป.1-2,น.ธ.เอก,ศน.บ.) ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2561 - ปััจจุบัุ ัน
พระครูู วิสุ ิ ุทธิวุ ิ ฒิ ุ คุ ิ ณ ุ
เจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดท่่าไทร
70
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดท่่าไทร เป็็นวััดที่่�มีีสภาพร่่มรื่�่นด้้วยธรรมชาติิประกอบไปด้้วย พัันธุ์์�ไม้้นานาชนิิด เพราะทั้้�งอดีีตเจ้้าอาวาส และเจ้้าอาวาสรููปปัจจุุบั ั ัน ท่่านมีีความสนใจและชมชอบธรรมชาติิมาก จึึงได้้ชัักชวนพุุทธบริิษััท ให้้ปลููกต้้นไม้้ขึ้้�นภายในวััดมากมายหลายชนิิด เช่่น ต้้นสััก ต้้นโพธิ์์� ต้้นไทร ต้้นสะเดาเทีียม ฯลฯ วััดจึึงมีีสภาพร่่มรื่น�่ น่่าอยู่่� น่่าอาศััย สมกัับ ที่่�ได้้ชื่่�อว่่า “อาราม” อย่่างแท้้จริิง นอกจากนี้้ยั� งั จััดให้้มีกี ารขุุดสระขนาดใหญ่่ภายในวััด จำำ�นวน 2 แห่่ง เพื่่�อให้้เป็็นที่่�อยู่่�อาศััยและปล่่อยเต่่า ปล่่อยปลาของประชาชนพุุทธ บริิษััททั่่�วไป ซึ่่�งปััจจุุบัันมีีประชาชนมาทััศนศึึกษาเที่่�ยวดููชมธรรมชาติิ ดููปลาชนิิดต่่าง ๆ และให้้อาหารปลาเป็็นต้้นอยู่่�เป็็นประจำำ�
ตั้้� งอยู่่�ตำำ�บลท่่าทองใหม่่ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี โทร. 08-1797-4847,08-1569-0309, www.watthasai.com, E-mail : watthasai@gmail.com
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
71
วััดพ่่วง
History of Buddhism....
72
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดพ่่วง สร้้างมากว่่า 300 ปีี เจ้้าอาวาสที่่ป � กครองวััดไม่่สามารถระบุุได้้ แต่่ตามข้้อมููล
ที่่ทร � าบมาเบื้้อ � งต้้นมีี อาจารย์์ม่อ ่ ง, ปลััดสุุวรรณ, พระเช่่ ม ท่่านได้้มาอยู่่�ก่่อน แล้้วในปีี พ.ศ. 2529 พระครููโอภาสรััตนากรได้้มาอยู่่�และพััฒนาวััด สร้้างถาวรวััตถุต่ ุ า ่ งๆ ทุุกหลััง เริ่่ม � สร้้าง
ตั้้�งแต่่ปี พ ี .ศ. 2530 - ปััจจุุบัน ั องค์์พ่อ ่ ท่่านวััดราม เมื่่�อก่่อนอยู่่�วััดราม ตำำ�บลพลายวาส อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ (ได้้ถูก ู ทิ้้�งร้้าง) เลยอััญเชิิญมาประดิิษฐานที่่วั � ด ั พ่่วง
พระครููโอภาสรััตนากร (อรุุณ รตนวณโณ) เกิิดปีี พ.ศ. 2485 อายุุ 79 ปีี ท่่านเป็็นเจ้้าอาวาสนัักพััฒนา ที่่�ช่่วยสร้้างถาวรวััตถุุ และ พััฒนาวััดจนถึึงปััจจุุบััน อาคารเสนาสนะและสิ่่�งปลููกสร้้าง มีีดัังนี้้� 1. สร้้างเมรุุ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2530 2. สร้้างศาลาเมรุุ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2531 3. สร้้างกุุฏิิเจ้้าอาวาส/กุุฏิิห้้องแถว สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2535 4. สร้้างอุุโบสถ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2539 5. สร้้างหอระฆััง สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2553 6. สร้้างศาลา/กุุฏิิเจ้้าอาวาส สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2556 7. สร้้างศาลาอเนกประสงค์์ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2563 8. ซุ้้�มประตูู สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2532 9. กุุฏิที่ิ ่�พัักสงฆ์์ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2540 เจ้้าอาวาสที่่�ดููแล และพััฒนาวััดพ่่วง มาตั้้�งแต่่เริ่่�มสร้้างวััด ดัังนี้้� 1. ท่่านทองสุุข 2. ท่่านทองใส 3. ท่่านทองมาก
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
73
พระครูู โอภาสรััตนากร
เจ้้าคณะตำำ�บลช้้ างขวา / เจ้้าอาวาสวััดพ่่วง
74
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 10 หมู่่�ที่่� 5 ตำำ�บลพลายวาส
อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดอุุภััยชนาราม History of Buddhism....
วัั ด อุุ ภัั ย ชนาราม เดิิ ม ชื่่� อว่่ า "วัั ด เจริิ ญ ราษฎร์์ ว นาราม" ซึ่่� งรัั ก ษาการเจ้้ า อาวาสชื่่� อว่่ า พระเจริิ ญ ในขณะนั้้� น เป็็ น ผู้้� ตั้�้ ง ชื่่� อวัั ด โดยมีี
นายจิิตร วิิชััยดิิษฐ์์ ยกที่่�ดิินให้้สร้้างวััดซึ่่� งมีีเนื้้�อที่่�ดิินประมาณ 6 ไร่่ 1งาน โดยกรมที่่�ดิินได้้ออกหนัังสืือสำำ �คััญแจ้้งการครอบครองที่่�ดิิน ส.ค.1 เลขที่่� 77 ซึ่่� งอยู่่�ในพื้้�นที่่ หมู่่� � ที่่� 7 ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี
76
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ในเวลาต่่อมาเห็็นว่่าที่่�ตั้้�งวััดเดิิมเป็็นที่่�ต่ำำ��ในฤดููน้ำ��ห ำ ลากมีีน้ำำ��ท่่วม เป็็ น ประจำำ� เป็็ น ความลำำ� บากต่่ อ การทำำ�กิิ จ ของสงฆ์์ แ ละทำำ�บุุ ญ ของประชาชนในหมู่่�บ้้าน จึึงได้้ย้้ายมาตั้้�งวััดใหม่่ ในพื้้�นที่่� หมู่่�ที่่� 6 ตำำ�บลพลายวาส อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ซึ่่�งตรงข้้าม ฝั่่�งคลองกะแดะ) เมื่่�อปีี พ.ศ. 2490 ซึ่ง่� เป็็นที่่�ตั้้�งวััดในปััจจุุบัันนี้้� ได้้มา โดยหมื่่�นภัักดีี และนายผ่่อง หุ้้�ยเวชศาสตร์์ ได้้มอบถวายที่่ดิ� นิ ให้้สร้้างวััด โดยมีีหนัังสืือสำำ�คััญ แจ้้งการครอบครองที่่ดิ� ิน ส.ค.1 เลขที่่� 63 จำำ�นวน เนื้้� อ ที่่� ดิิ น 22 ไร่่ และเมื่่� อ ปีี พ .ศ. 2501 ได้้ เ ปลี่่� ย นชื่่� อ เดิิ ม จาก วััดเจริิญราษฎร์์วนาราม มาเป็็น วััดอุุภััยชนาราม โดยพระครููโกศล ธรรมพุุทธ ซึ่่�งดำำ�รงตำำ�แหน่่งเป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี วััดบางใบไม้้ ในขณะนั้้�น เป็็นผู้้�เปลี่่�ยนตั้้�งชื่่�อใหม่่ว่่า วััดอุุภััยชนาราม หมายถึึง วััดของประชาชนทั้้�งสองฝั่่�งคลอง
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
77
รายนามเจ้้าอาวาส ตั้�ง ้ แต่่รููปแรกจนถึง ึ ปััจจุุบัน ั
รููปที่่� 1 พระถาวร (ร.ก.) พ.ศ. 2483-2485 รููปที่่� 2 พระสมนึึก (ร.ก.) พ.ศ. 2485-2486 รููปที่่� 3 พระหม้้อง (ร.ก.) พ.ศ. 2486-2488 รููปที่่� 4 พระสิินธิ์์� (ร.ก.) พ.ศ. 2488-2490 รููปที่่� 5 พระเจริิ (ร.ก.) พ.ศ. 2491-2492 รููปที่่� 6 พระทุ่่�ม (ร.ก.) พ.ศ. 2492-2499 รููปที่่� 7 พระคลาด (ร.ก.) พ.ศ. 2499-2505 รููปที่่� 8 พระอธิิการเขีียน อตฺฺตทนฺฺโต พ.ศ. 2505-2519 รููปที่่� 9 พระอธิิการวิิชิิต วิิริิโย พ.ศ. 2519-2522 รููปที่่� 10 พระแพร้้ว (ร.ก.) พ.ศ. 2522-2525 รููปที่่� 11 พระครููสมหมาย พ.ศ. 2525-2530 รููปที่่� 12 พระครููสิิริิกาญจนดิิษฐ์์ (ร.ก.) พ.ศ. 2530-2530 รููปที่่� 13 พระธีีระวุุฒิิ ปญญาวุุโธ (ร.ก.) พ.ศ. 2532-2534 รููปที่่� 14 พระครููศรีีกาญจนาภิิวััฒน์ จนฺ ์ ทฺ สโร (ป.ธ.6) พ.ศ. 2535-ปััจจุุบััน
พระครููศรีีกาญจนาภิิวัฒ ั น์์ จนฺฺทสโร
ชาติิภููมิิ เกิิดวัันที่่� 1 กรกฎาคม พ.ศ.2495 อายุุ 69 พรรษา 47 อุุปสมบท เมื่่อ� วัันที่่� 25 มิิถุนุ ายน 2517 ณ วััดอุุภััยชนาราม เลขที่่� 78 หมู่่�ที่่� 6 ตำำ�บลพลายวาส อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยฐานะ นัักธรรมเอก, ปริิญญาตรีี ม.ส.ธ. สมณศัักดิ์์� พ.ศ. 2535 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดอุุภััยชนาราม พ.ศ. 2539 พระครููศรีีกาญจนาภิิวััฒน์์ พ.ศ. 2544 เจ้้าคณะตำำ�บลพลายวาส พ.ศ. 2545 พระอุุปััชฌาย์์ ตำำ�แหน่่งพิิเศษทางคณะสงฆ์์ พ.ศ. 2536 พระปริิยััตินิิ ิเทศ พ.ศ. 2537 พระธรรมฑููต
พระครููศรีีกาญจนาภิิวัฒ ั น์์ จนฺฺทสโร เจ้้าคณะตำำ�บลพลายวาส เจ้้าอาวาสวััดอุุภัย ั ชนาราม
78
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้�งอยู่่�หมู่่�ที่่� 6
ตำำ�บลพลายวาส
อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดเขาสุุวรรณประดิิษฐ์์
วััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์ History of Buddhism....
วััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์ หรืือ (วััดหนุุน) ตั้้�งอยู่่ที่ � บ้ ่� า ้ นวััดหนุุน หมู่่ที่ � ่� 3 ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี มีีเนื้้�อที่่ป � ระมาณ
15 ไร่่ เป็็นวััดเก่่าแก่่อยู่่กั � บ ั เมืืองกาญจนดิิษฐ์์มาช้้ านาน เดิิมเป็็นวััดร้้าง ในวััดเคยมีีเจดีีย์์เก่่าองค์์หนึ่่�งแต่่พัังไปนานแล้้ว ชาวบ้้านเล่่าว่่าตอนขุุดเจดีีย์์
พบหม้้อน้ำำ�มนต์์สำำ�ริด ิ มีีฝา และ ภาชนะรููปเต่่าทำำ�ด้วยท ้ องคำำ� หม้้อน้ำำ�มนต์์สำำ�ริด ิ มีีฝาปััจจุุบัน ั เก็็บรัก ั ษาไว้้ที่วั ่� ด ั ในศาลาการเปรีียญ ส่่วนเต่่าทองคำำ�
เจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ในสมััยนั้้�นเก็็บรัก ั ษาไว้้ที่วั ่� ด ั ท่่าไทร จากการศึึกษาสำำ �รวจพอสัั นนิิษฐานได้้ว่่าสร้้างขึ้้�นเมื่่�อประมาณปีี พ.ศ.2222 หรืือ 342 ปีีมาแล้้ว เป็็นยุุคกลางของกรุุงศรีีอยุุธยา ในสมััยของพระนารายณ์์ มหาราช หรืือ สมเด็็จพระรามาธิิบดีีศรีีสรรเพชญ์์ อีีกนามหนึ่่�งว่่า สมเด็็จ
พระรามาธิิบดีีที่่� 3 บริิเวณที่่�ตั้�้งวััดเป็็น ชุุ มชนเก่่าแก่่จึึงมีีวััดร้้างที่่�มีีพื้้น � ที่่�ติิดต่่อและอยู่่ใ� กล้้กััน จำำ�นวน 4 วััด คืือ วััดในมีีเนื้้�อที่่�ติิดกัับวััดถนนฯ วััดใหม่่อยู่่ ห่่ � างกัับวััดถนนฯ ประมาณ 500 เมตร วััดไทรอยู่่ห่่ � างกัับวััดถนนฯ ประมาณ 300 เมตร วััดควนอยู่่ห่่ � างกัับวััด ถนนฯ ประมาณ 300 เมตร ซึ่่� งวััดเหล่่านี้้�ได้้รกร้้าง สร้้างมาสมััยใดนั้้�นไม่่ทราบแต่่เหลืือวััดถนนฯ เท่่านั้้�น
ปีีพุท ุ ธศัั กราช 2500 ท่่านหมื่่�นอนุุวัต ั ร วิิชััยดิษ ิ ฐ พร้้อมกัับชาวบ้้านได้้ร่่วมกัน ั พััฒนาสร้้างเป็็นวััดขึ้้�นมาใหม่่โดยได้้ไปอาราธนาหลวงพ่่อแดง
สิิ ริสุ ิ ุวณฺโฺ ณ จากวััดกรวดมาเป็็นเจ้้าอาวาสรููปแรก
80
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาสที่่มีี � หลัักฐานปรากฏ
ปีี พ.ศ. 2500-2518 หลวงพ่่อแดง สิิริิสุุวณฺฺโณ เป็็นเจ้้าอาวาส จนกระทั่่�งมรณภาพ ปีี พ.ศ. 2518-2524 ไม่่ปรากฏชื่่�อเจ้้าอาวาส ปีี พ.ศ. 2524-2533 พระครููปลััดวิิจิิตร หรืือพระครููสุุธรรมานุุวััตร เป็็นเจ้้าอาวาส ปีี พ.ศ. 2533-2537 ไม่่มีีพระภิิกษุุอยู่่�จำำ�พรรษา ปีี พ.ศ. 2538 จนถึึง ปััจจุุบััน พระเทพพิิพััฒนาภรณ์์ เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี และเจ้้าอาวาสท่่าไทรในสมััยนั้้�น ได้้ส่่งพระชาติิชาย คมฺฺภีีรธฺฺมโม มารัั ก ษาการเจ้้ า อาวาส ซึ่่� ง ในปัั จ จุุ บัั น คืือพระครูู ธ รรมิิ ศ ราภรณ์์ เจ้้าอาวาสวััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์ ผลงานที่่โ� ดดเด่่น
ปีี พ.ศ. 2553 ได้้ รัั บ การยกย่่ อ งให้้ เ ป็็ น อุุ ท ยานการศึึ ก ษา จากสำำ�นักั งานพระพุุทธศาสนาแห่่งชาติิ ปีี พ.ศ. 2559 ได้้รับั การยกย่่อง จากสำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนา เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่าง ปีี พ.ศ. 2562 ได้้ รัั บ การยกย่่ อ งจากสำำ�นัั ก พระพุุ ท ธศาสนา เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่าง ที่่�มีีผลงานดีีเด่่น
พระครููธรรมิิศราภรณ์์
เจ้้าอาวาสวััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์
ตั้�้งอยู่่�ที่่�บ้้านวััดหนุุน
หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครููธรรมิิศราภรณ์์
ชื่่อ� พระครููธรรมิิศราภรณ์์ อายุุ 48 พรรษา 29 วิิทยาฐานะ น.ธ.เอก วุุ ฒิิ ท างโลก ปริิ ญ ญาโท (ศศม.) วัั ด ถนนสุุ ว รรณประดิิ ษ ฐ์์ ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 1. เป็็นเจ้้าอาวาสวััดถนนสุุวรรณประดิิษฐ์์ 2. ผู้้�ดำำ�เนิินการก่่อสร้้างธรรมสถานถ้ำำ�ท้ � อ้ งพระโรง ตำำ�บลปากแพรก อำำ�เภอดอนสััก จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 3. เป็็นผู้้�ดููแลรัับผิิดชอบธรรมสถานถ้ำำ�สั � ันติิธารา ตำำ�บลคลองสระ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บรรพชา วัันที่่� 10 เดืือนเมษายน พ.ศ. 2530 วััดท่่าไทร ตำำ�บล ท่่าทองใหม่่ อำ�ำ เภอกาญจนดิิษฐ์์ จังั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปัชั ฌาชย์์ พระอุุดมธรรมปรีีชา (ข้้อง เกสโร) วััดไตรธรรมาราม ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วัันที่่� 26 เดืือนมกราคม พ.ศ. 2536 วััดท่่าไทร ตำำ�บล ท่่าทองใหม่่ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาชย์์ พระครูู ศ รีี ก าญจนาภิิ วัั ฒน์์ วัั ด ท่่ า ไทร ตำำ� บลท่่ า ทองใหม่่ อำำ� เภอ กาญจนดิิษฐ์์จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจารย์์ พระปลััดสาโรจน์์ วััดคููหา ตำำ�บลช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุสาวนาจารย์์พระอาจารย์์สุุวิิทย์์ สำำ�นัักสงฆ์์ถ้ำ��น้ำ ำ ำ��ทิิพย์์ ตำำ�บล ท่่าอุุแท อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยาฐานะ (1) พ.ศ. 2530 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�นป.6 โรงเรีียนวััดบ้้านใน อำำ�เภอ กาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (2) พ.ศ. 2533 สอบไล่่ได้้ น.ธ.เอก สำำ�นัักวััดท่่าไทร อำำ�เภอ กาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (3) พ.ศ.2548 สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาบััตร ศิิลปะศาสตร์์ บััณฑิิต (ศศบ.) จาก มหาวิิทยาลััยราชภััฎสุุราษฎร์์ธานีี (4) พ.ศ. 2554 สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับมหาบััณฑิิต ศิิลปะศาสตร์์ (ศศม.) จากมหาวิิทยาลััย ราชภััฎสุุราษฎร์์ธานีี (5) การศึึกษาพิิเศษ พิิมพ์ดี์ ีดภาษาไทย (6) ความชำำ�นาญการ งานนวััตกรรม สมณศัักดิ์์� พ.ศ. 2541 ได้้รัับแต่่งตั้้ง� เป็็นฐานานุุกรมที่่� พระครููสัังฆรัักษ์์ ใน พระราชพิิพััฒนาภรณ์์ พ.ศ. 2548 ได้้รัับแต่่งตั้้ง� เป็็นฐานานุุกรมที่่� พระครููวินัิ ัยธร ใน พระเทพพิิพััฒนาภรณ์์ พ.ศ. 2549 ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระครููสััญญาบััตร จร.ชท ในพระราชทิินนามที่่� พระครููธรรมิิศราภรณ์์ พ.ศ. 2554 ได้้ รัั บ พระราชทานเลื่่� อ นสมณศัั ก ดิ์์� เป็็ น พระครูู สััญญาบััตร จร.ชั้้�นเอก ใน พระราชทิินนามที่่� พระครููธรรมิิศราภรณ์์ พ.ศ. 2562 ได้้ รัั บ พระราชทานเลื่่� อ นสมณศัั ก ดิ์์� เป็็ น พระครูู สัั ญ ญาบัั ต ร เทีี ย บผู้้�ช่่ วย เจ้้ า อาวาสพระอารามหลวง ชั้้� น เอกใน พระราชทิินนามที่่� พระครููธรรมิิศราภรณ์์ SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
81
วััดกงตาก History of Buddhism....
วััดกงตาก เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้้�งวััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2468 และได้้รับ ั วิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 23 เมษายน พ.ศ. 2529
วััดเป็็นศููนย์์รวมใจของชาวบ้้าน เป็็นสถานที่ป ่� ระกอบกิิจกรรมสำำ �คัญ ั ทางพระพุุทธศาสนา ปััจจุุบัน ั มีี พระอธิิการสิิทธิโิ ชค มหาวีีโร เป็็นเจ้้าอาวาส
82
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�ที่่�หมู่่�ที่่� 4
ตำำ�บลช้้ างซ้้ าย
อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
83
วััดหััวหมาก History of Buddhism....
เมื่่�อ พ.ศ. 2502 ชาวบ้้านหััวหมากล่่าง และหมู่่�บ้้านใกล้้เคีียงได้้คิิดปรึึกษาและตกลงกัันสร้้างที่่�พัักสงฆ์์ขึ้�้นที่่�บ้้านหััวหมากล่่าง หมู่่�ที่่� 5
ตำำ�บลช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี บนที่ดิ ่� น ิ 24 ไร่่ 1 งาน 45 ตารางวา ตามหลัักฐานโฉนดที่ดิ ่� น ิ เหตุุผลเนื่่อ � งจากเกิิดความ ไม่่สะดวกในการบำำ�เพ็็ญในโอกาสต่่างๆ จึึงได้้ไปนิิมนต์์พระครููธรรมธรเชื่่� อม เขมนิิวตฺฺโต จากวััดเขากุุมแปได้้มาจำำ�พรรษาเป็็นรููปแรก
84
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััตถุุประสงค์์ของการสร้้างก็็เพื่่�อจะได้้บำำ�เพ็็ญบุุญตามหลััก พระพุุทธศาสนา มีีการให้้ทานรัักษาศีีล และเจริิญภาวนา ได้้ สร้้างเสนาสนะตามความเหมาะสมและความจำำ�เป็็น เช่่น ศาลา การเปรีียญ กุุฏิิ เมรุุ ศาลาฌาปนสถาน นายคล้้อย สอนขำำ� ซึ่่�ง เป็็นผู้้�ใหญ่่บ้้านในขณะนั้้�นจึึงได้้ขออนุุญาตสร้้างวััดต่่อกรมการ ศาสนา และได้้รับั อนุุญาต เมื่่อ� วัันที่่� 25 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2526 ได้้ ตั้้� ง เป็็ น วัั ด ตามประกาศกระทรวงศึึกษาธิิ ก าร มีี น ามว่่ า “วััดหัวั หมาก” ตามชื่อ�่ หมู่่�บ้า้ น เมื่่อ� วัันที่่� 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ได้้รับพ ั ระราชทานวิิสุงุ คามสีีมา ขนาดกว้้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร ตามประกาศสำำ�นัักนายรััฐมนตรีี เมื่่�อวัันที่่� 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ปีี พ.ศ. 2542 ได้้สร้้างอุุโบสถขึ้้�นมา 1 หลััง แบบทรงไทยหลัังคาลด 3 ชั้้�น คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก ขนาดกว้้าง 8 เมตร ยาว 22 เมตร สิ้้�นค่่าก่่อสร้้างประมาณแปดล้้านบาท ได้้ผููกพััทธสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 28 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2559 เจ้้าอาวาส รููปปััจจุุบััน 2540 – 2564 คืือ พระครููอมรวิิหารวััตร
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
85
86
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิ พระครููอมรวิิหารวััตร
ชื่่�อ พระครููอมรวิิหารวััตร ฉายา อมโร นามสกุุล คุ้้�มสุุวรรณ อายุุ 58 พรรษา 37 วิิทยฐานะ น.ธ.เอก วััดหััวหมาก ตำำ�บลช้้างขวา อำำ�เภอ กาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เจ้้าอาวาสวััดหััวหมาก เจ้้าคณะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ ธรรมยุุต สถานะเดิิม ชื่่�อ สุุทธิิเวช นามสกุุล คุ้้�มสุุวรรณ เกิิดวัันที่่� 24 เดืือน มีีนาคม พ.ศ. 2506 ที่่บ้� า้ นหััวหมากบน ตำำ�บลช้า้ งซ้้าย อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บิิดา สนั่่�น คุ้้�มสุุวรรณ มารดา สัังข์์ คุ้้�มสุุวรรณ อุุปสมบท วัันที่่� 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 วััดเขากุุมแป ตำำ�บล ช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปัชั ฌาย์์ : พระครููปััญญาคมสถิิต วััดกาญจนาราม ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจาจารย์์ : พระครููนิิกรธรรมประสิิทธิ์์� วััดนิกิ รประสาท ตำำ�บลตะเคีียนทอง อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุสาวนาจารย์์ : พระสมุุห์์เจีียร ปนฺฺนภาโร วััดเขากุุมแป ตำำ�บลช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยฐานะ พ.ศ. 2517 สำำ� เร็็ จ ชั้้� น ประถมศึึกษาปีี ที่่� 4 โรงเรีี ย นบ้้ า น หััวหมากล่่าง ตำำ�บลช้า้ งขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จังั หวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2530 สอบไล่่ได้้นัักธรรมชั้้�นเอก สัังกััดวััดหััวหมาก ตำำ�บล ช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี สำำ�นัักเรีียนคณะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธ) พ.ศ. 2532 สำำ�เร็็จโรงเรีียนพระสัังฆาธิิการ คณะธรรมยุุต วััดบวรนิิเวศวิิหาร พ.ศ. 2546 สำำ�เร็็จชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� 6 การศึึกษานอกโรงเรีียน เขตอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ พ.ศ. 2555 สำำ�เร็็จปริิญญาตรีี พุุทธศาสตรบััณฑิิต มหาวิิทยาลััย มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย ห้้องเรีียนสุุราษฎร์์ธานีี วััดพััฒนาราม อำำ�เภอเมืืองสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยาเขตจัังหวััด นครศรีีธรรมราช การปกครอง พ.ศ. 2536 – 2539 รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดหัวั หมาก ตำำ�บล ช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2540 – 2563 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดหััวหมาก ตำำ�บลช้้างขวา อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 5/1 หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลช้้างขวา
อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครููอมรวิิหารวััตร
เจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์(ธ) / เจ้้าอาวาสวััดหััวหมาก
พ.ศ. 2547 – 2563 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี (ธ) เป็็นพระวิินยาธิิการประจำำ�จังั หวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี คำำ�สั่่�ง พระราชไพศาลมุุนีี จจ.สุุราษฎร์์ พ.ศ. 2563 เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ สมณศัักดิ์์� พ.ศ. 2539 ได้้รับั แต่่งตั้้ง� เป็็นพระครููสมุุห์์ ฐานานุุกรมของพระราช วรญาณมุุนีี (สุุขีี อภโย ป.ธ.9) อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธ) วััดธรรมบููชา พ.ศ. 2542 ได้้รับพ ั ระราชทานตั้้�งสมณศัักดิ์์� เป็็นพระครููสััญญาบััตร เจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์ชั้้น� โท ในราชทิินนามที่่ พ � ระครููอมรวิิหารวััตร พ.ศ. 2549 ได้้รัับเลื่่�อนชั้้�นพระสัังฆาธิิการ เป็็นพระครููสััญญาบััตร เจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์ชั้้�นเอก ในราชทิินนามเดิิม พ.ศ. 2555 ได้้รัับเลื่่�อนชั้้�นพระสัังฆาธิิการ เป็็นพระครููสััญญาบััตร เทีียบผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสพระอารามหลวงชั้้�นเอก ในราชทิินนามเดิิม ผลงาน พ.ศ. 2542 – สร้้างอุุโบสถ ทรงไทย คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก 7 x 22 เมตร และ กำำ�แพงแก้้วอุุโบสถ – สร้้างกุุฏิิเจ้้าอาวาส คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก 9 x 13.5 เมตร สร้้างกุุฏิิคอนกรีีต 5 x 30 เมตร จำำ�นวน 10 ห้้อง – สร้้างกุุฏิิไม้้ 6 x 24 เมตร จำำ�นวน 4 ห้้อง สร้้างซุ้้�มประตููทาง เข้้าวััด ป้า้ ยชื่่อ� วััด กำำ�แพงวััด ศาลาพัักนาค มณฑปพ่่อท่่าน ต่่อเติิมศาลา ป่่าช้้า ห้้องน้ำำ�� 15 ห้้อง บููรณะโรงครััว เมรุุ พ.ศ. 2559 28 กุุมภาพัันธ์์ ผููกพััทธสีีมาอุุโบสถ SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
87
วััดกาญจนาราม History of Buddhism....
ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัง ั หวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วัั ดกาญจนาราม เดิิ มชื่่� อว่่ าวัั ดกำำ�แพง ซึ่่� งเป็็นวัั ดคู่่� บ้้านคู่่� เมืืองของกระแดะมาแต่่ โบราณ จากหลัั กฐานโบราณสถานโบราณวััตถุุคืื อ
พระเจดีีย์อ ์ งค์์เก่่า และพระพิิมพ์์ดิินดิิบ ที่่�ขุด ุ พบในพระเจดีีย์ข ์ องวััด ซึ่่� งหลวงบริิบาล-บุุรีภั ี ัณฑ์์ ให้้ความเห็็นไว้้ว่่า พระพิิมพ์์ที่่�ทำ� ำ ในสมััยศรีีวิิชััย
ไม่่เหมืือนสมััยอื่น ่� คืือทำำ�ด้วยดิ ้ น ิ ดิิบไม่่เผาไฟเพราะเป็็น พระพิิมพ์์ที่ลูู ่� กศิิ ษย์์ทำ�ขึ้้ ำ �นเพื่่อ � เป็็นอนุุสรณ์์แก่่อาจารย์์ซึ่�่ งได้้มรณภาพลง เมื่่อ � ทำำ�ฌาปนกิิจ แล้้ วเก็็ บกระดููกมาโขลกผสมกัั บดิิน ทำำ�พระพิิมพ์์ซึ่�่ งสอดคล้้ องกัั บที่่� สมเด็็ จกรมพระยาดำำ�รงราชานุุ ภาพได้้ ทรงเล่่ าไว้้ ในสาส์์ นสมเด็็ จว่่ า
พระพิิมพ์์ดิินดิิบที่่�พบในเมืืองไทยตั้้� งแต่่เขตนครศรีีธรรมราชไปถึึงยะลา ทำำ�เป็็นดิินดิิบไม่่เผาไฟเพราะเห็็นว่่าสรีีระได้้ถููกเผามาครั้้�งหนึ่่�งแล้้ว
จึึงไม่่ควรเผาอีีก ประกอบกัับการสัั นนิิษฐานว่่าพระยาศรีีธรรมโศกราชมีีบัญ ั ชาให้้ นายง้้อและนายทองอยู่่ม � าสร้้างวััดที่่�กระแดะ วััดจึึงน่่าจะ มีีมาดั้้�งเดิิมอย่่างน้้อยสมััยศรีีวิชั ิ ัย
88
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ศาสนสถานที่่สำ � ำ �คัญ ั ของวััด
สมััยสุุโขทััยยัังเป็็นวััดสำำ�คััญจนล่่วงสมััยอยุุธยา กระแดะเป็็น หััวเมืืองของนครศรีี ธรรมราช ชื่่� อเป็็นทางการว่่ ากำ�ำ แพงกระแดะ วััดจึึงเรีียกตามชื่่�อหััวเมืือง ว่่า วััดกำำ�แพงกระแดะ แต่่เรีียกกัันสั้้น� ๆ ว่่า “วัั ด กำำ� แพง” ต่่ อ มาได้้ รัั บ การปฏิิ สัั ง ขรณ์์ ได้้ ดัั ด แปลงพระวิิ หา ร หน้้าพระเจดีีย์์เป็็นอุุโบสถและใช้้วิิสุุงคามสีีมาที่่�ตั้้�งอุุโบสถต่่อมาจนถึึง สมััยรััตนโกสิินทร์์ พ.ศ. 2450 เปลี่่�ยนสัังกััดเป็็นธรรมยุุติิกนิิกาย พ.ศ. 2465 เปลี่่� ย นชื่่� อ เป็็ น วัั ด กาญจนาราม ตามข้้ อ เสนอของ พระเทพโมลีี(เซ่่ง อุุตฺตฺ โม) พ.ศ. 2470 และได้้ทำ�ำ การผููกพััทธสีีมาใหม่่ พ.ศ. 2510 ได้้รัับการคััดเลืือกเป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างจากกรมการ ศาสนา และได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 4 มีีนาคม พ.ศ. 2529
พระเจดีีย์ศ์ รีีกาญจนดิิษฐ์์ ทรงสี่่เ� หลี่่�ยมจััตุรัุ สั สููง 40 เมตร สุุดยอด พุุทธสถานที่่�จำำ�ลองเจดีีย์พุ์ ทุ ธคยา มาจากประเทศอิินเดีีย ซึ่่�งเป็็นสถาน ที่่�สำำ�คััญทางพระพุุทธศาสนา กล่่าวคืือ สถานที่่�ตรััสรู้้�ขององค์์สมเด็็จ พระสััมมาสัมพุ ั ทุ ธเจ้้า พุทุ ธสัังเวชนีียสถานที่่�มีความสำ ี ำ�คััญที่่�สุดุ ของชาว พุุทธทั่่ว� โลก ก่่อสร้้างเมื่่อ� ปีี 2539 โดยพระครููปัญ ั ญาคมสถิิต อุุโบสถ มีีรููปทรงที่่�วิิจิติ รสวยงาม ด้้านในมีีภาพเขีียนเล่่าถึงึ วิิถีีชีีวิติ ของชุุมชนกะแดะในอดีีต วิิหาร เป็็นที่่�ประดิิษฐานพระพุุทธรููปเก่่าแก่่ของวััด สวนพััฒนากาย พััฒนาจิิต บนเนื้้�อที่่�ประมาณ 4 ไร่่ ซึ่่ง� เป็็นรมณีีย สถานของวััด ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2470 เป็็นต้้นมา มีีเจ้้าอาวาสมาแล้้ว 9 รููป และเจ้้า อาวาสรููปปััจจุุบััน คืือ พระครููวินัิ ัยธรสมชััย ขนฺฺติิขโม พระครููวินัิ ัยธรสมชััย ขนฺฺติิขโม เรีียบเรีียง อ้้างอิิง ชีีวิวัิ ฒ ั น์์ พระนิิพนธ์์สมเด็็จพระบรมวงศ์์เธอ เจ้้าฟ้้ากรมพระยาภาณุุ พัันธุุวงศ์์วรเดช ศึึกษาภััณฑ์์พาณิิชย์์ พระเทพโมลีี (พระธรรมวโรดม) บัันทึึกรายงานเรื่่�องวััดกำำ�แพง อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ 2465 ราชกิิจจานุุเบกษา เล่่มที่่� 103 ตอนที่่� 40 วัันที่่� 12 มีีนาคม 2529 สัังข์์ บุญ ุ ญาภิิวัฒ ั น์์ “เมืืองท่่าทองหลัังสงครามพม่่า” กาญจนดิิษฐ์์ สััมพัันธ์์ ครั้้�งที่่� 15 วัันที่่� 2 กัันยายน 2532 อนุุสรณ์์กาญจนดิิษฐ์์สัังสรรค์์ 2511
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
89
ประวััติพ ิ ระครููวิินัย ั ธรสมชัั ย ขนฺฺติข ิ โม
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 112 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลกะแดะ
อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์
วััดกาญจนาราม ตำำ�บลกะแดะ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ชื่่�อ พระครููวิินัยั ธรสมชััย ฉายา ขนฺฺติิขโม อายุุ 53 พรรษา 32 - เป็็นผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชาพระอารามหลวง - รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดกาญจนาราม - เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลกะแดะ (ธ) - เป็็นพระธรรมทููตสายปฏิิบััติิการประจำำ�จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี - เป็็นครููสอนพระปริิยััติิธรรมแผนกธรรม - เป็็นกรรมการตรวจนัักธรรม-ธรรมศึึกษาสนามหลวง - เป็็นพระปริิยััตินิิ ิเทศก์์ประจำำ�จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี สถานะเดิิม ชื่่�อ สมชััย นามสกุุล ปานควร เกิิดวัันจัันทร์์ที่่� 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 ตรงกัับขึ้้�น 5 ค่ำำ�� เดืือน 6 ปีีมะแม บ้้านเลขที่่� 184 หมู่่�ที่่� 4 ตำำ�บลทุ่่�งเตา อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บิิดา นายเปลี่่�ยน ปานควร มารดา นางละเอีียด ปานควร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
อุุปสมบท วัันที่่� 4 เมษายน พ.ศ. 2531 ณ วััดธรรมบููชา ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอ เมืืองฯ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระเทพสารสุุธีี (พระสุุธรรมาธิิบดีี แสง ชุุตินฺิ ฺธโร) เจ้้ า อาวาสวัั ด ธรรมบูู ช า ตำำ� บลตลาด อำำ� เภอเมืื อ งฯ จัั ง หวัั ด สุุราษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจาจารย์์ พระศรีีวิิสุทธิ ุ ิโกศล (พระเทพวราจารย์์ สุขีุ ี อภโย ป.ธ.9) ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชา ตำำ�บลตลาด อำำ�เภอเมืืองฯ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุ ส าวนาจารย์์ พระครูู สิิ ริิ วุุ ฒิิ ชัั ย (พระราชไพศาลมุุ นีี ) เจ้้ า อาวาสวัั ด โมกขธรรมาราม ตำำ� บลขุุ น ทะเล อำำ� เภอเมืื อ งฯ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ปััจจุุบััน ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาสวััดธรรมบููชา และเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (ธ)
พระครููวิินัย ั ธรสมชัั ย ขนฺฺติข ิ โม เจ้้าอาวาสวััดกาญจนาราม
90
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วิิทยฐานะ (1) พ.ศ. 2533 สอบได้้นัักธรรมชั้้�นเอก สำำ�นัักเรีียนคณะจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี (2) พ.ศ. 2538 สอบได้้เปรีียญธรรม 3 ประโยค สำำ�นัักเรีียนคณะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (3) พ.ศ. 2547 สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาตรีี คณะศาสนาและ ปรััชญา (ศน.บ.) มหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััย (4) พ.ศ. 2550 สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับปริิญญาโท ศึึกษาศาสตร มหาบััณฑิิต (ศษ.ม.) มหาวิิทยาลััยสงขลานคริินทร์์
วััดปราการ (วััดละมุุ) History of Buddhism....
วััดปราการ ตั้�ง ้ วััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2354 เดิิมวััดแห่่งนี้้มีี � ชื่่� อเรีียกกัันว่า ่ “วััดละมุุ” เนื่่อ � งจากตั้�ง ้ อยู่่ก � ลางหมู่่บ้ � า ้ นละมุุ ในปีี พ.ศ. 2462 ได้้เปลี่่�ยนชื่่� อ
การบริิหารและการปกครอง มีีเจ้้าอาวาสเท่่าที่่ท � ราบนาม รููปที่่� 1 พระอธิิการเชื่่� อม ธมฺฺฒโชโต พ.ศ. 2463-2493 รููปที่่� 2 พระครููพจนกวีี
เป็็น “วััดปราการ” มาจนถึึงปััจจุุบัน ั ได้้รับวิ ั สุ ิ ุงคามสีีมา เมื่่อ � วัันที่่� 12 มิิถุน ุ ายน พ.ศ. 2542
(ฟุ้ง ้� โกวิิโท) พ.ศ. 2494-2541 รููปที่่� 3 พระครููปราการถิิรคุุณ พ.ศ. 2552-ปััจจุุบัน ปููชนีี ั ยวััตถุุ มีีพระประธานประจำำ�อุุโบสถปางมารวิิชััย
ขนาดหน้้าตััก กว้้าง 58 นิ้้�ว สููง 87 นิ้้�ว สร้า ้ งเมื่่อ � พ.ศ. 2541 ปููชนีียวััตถุอื่ ุ น ่� ๆ ได้้แก่่ เจดีีย์์บรรจุุอัฐิ ั อ ิ ดีีตเจ้้าอาวาส และมณฑปประดิิษฐานรููปหล่่อ อดีีตเจ้้าอาวาส ทั้้�ง 3 รููป ซึ่่� งเป็็นพระเกจิิที่ป ่� ระชาชนให้้การนัับถืือ
92
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติอ ิ ดีีตเจ้้าอาวาส
พระอธิิการเชื่่�อม ธมฺฺมโชโต มีีนามเดิิมว่่า เชื่่�อม จิิตรััตน์์ เกิิดเมื่่�อปีี พ.ศ. 2426 ปีีมะแม บิิดาชื่่อ� นายกลัับ จิิตรััตน์์ ถิ่่น� ฐานบ้้านเดิิมของบิิดา อยู่่�บ้า้ นน้ำำ�� รอบ อำำ�เภอพุุนพิิน มารดาชื่่อ� นางปีีด (ไม่่ทราบนามสกุุลเดิิม) ถิ่่น� ฐานเดิิมของมารดาอยู่่�บ้้านบางเดืือน อำำ�เภอพุุนพิิน ซึ่่�งตามการนัับ ญาติิแล้้วท่่านมีีศัักดิ์์�เป็็น อา ของพระครููสถิิตสัันตคุุณ (พััว เกสโร) แต่่ ท่่านมีีอายุุน้้อยกว่่าหลวงพ่่อพััว 7 ปีี มีีพี่่�น้้องร่่วมบิิดามารดา 2 คน คืือ 1.นางทรััพย์์ จิิตรััตน์์ 2.นายเชื่่อ� ม จิิตรััตน์์ (พระอธิิการเชื่่อ� ม ธมฺฺมโชโต) อุุปสมบท ท่่านอุุปสมบทครั้้�งที่่� 1 เมื่่�ออายุุครบ 20 ปีี พ.ศ. 2446 ได้้ศึึกษา พระธรรมอยู่่�พอสมควร อยู่่�ในเพศบรรพชิิตได้้ระยะหนึ่่�ง ต่่อมาได้้ ลาสิิกขาออกมาใช้้ชีวิี ติ ฆราวาส ต่่อมาท่่านเบื่่อ� หน่่ายชีีวิติ ฆราวาส จึึงได้้ เข้้าอุุปสมบทเป็็นครั้้�งที่่� 2 เมื่่�ออายุุได้้ 28 ปีี วัันที่่� 16 ธัันวาคม พ.ศ. 2454 ตรงกัับวัันเสาร์์ แรม 11 ค่ำำ�� เดืือน 1 ปีีกุุน ณ พััทธสีีมาวััดถ้ำำ�� สิิงขร โดยมีี พระครููประกาศธรรมคุุณ เจ้้าคณะแขวงคีีรีีรััฐนิิคม ขณะ ดำำ�รงสมณศัักดิ์์�ที่่� พระครููเกว ติิสฺฺโส วััดถ้ำำ��สิิงขร เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พระครููสถิิตสัันตคุุณ ขณะยัังเป็็น พระพััว เกสโร วััดจันั ทร์์ประดิิษฐาราม (บางเดืือน) เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ ได้้รับั ฉายาทางธรรมว่่า “ธมฺฺมโชโต” แปลว่่า แสงสว่่างแห่่งธรรม เล่่าขานพ่่อท่่านเชื่่� อมวััดปราการ
หลัังจากที่่�ท่า่ นอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุในครั้้ง� ที่่� 2 นี้้� ท่า่ นตั้้ง� ใจด้้วย ศรััทธาที่่�แท้้จริิงว่่าจะดำำ�รงอยู่่�ในสมณเพศตลอดชีีวิิต ด้้วยความมุ่่�งมั่่น� ท่่านได้้จำำ�พรรษาศึึกษาพระธรรมวิินัยั ณ วััดปราการ ซึ่่ง� สมััยนั้้�นยัังเรีียก วััดละมุุ เป็็นวััดเก่่าแก่่ มีีสภาพทรุุดโทรม ต่่อมาได้้มีีการบููรณะ ท่่าน เป็็นพระสงฆ์์ที่่�เคร่่งครััดพระธรรมวิินััยอย่่างมาก มีีความเชี่่�ยวชาญ วิิปััสสนากรรมฐาน และรอบรู้้�สรรพวิิชาต่่างๆ เกี่่�ยวกัับด้้านความขลััง คาถาอาคม ซึ่่ง� ท่่านได้้ไปศึึกษาจากพระอาจารย์์ต่า่ งๆ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่ง� ท่่านศึึกษาจากพระอธิิการคล้้าย วิิชิิโต วััดอิินทราวาส (หลวงพ่่อคล้้าย วััดย่่านปราง) ปััจจุุบัันมีีชื่่�อวััดว่่า วััดพระมหาธาตุุคีีรีอิี ินทรวิิหาร
ในสมััยที่่�หลวงพ่่อเชื่่�อมยัังดำำ�รงขัันธ์์อยู่่�นั้้�น ท่่านได้้สร้้างวััตถุุมงคล ประเภทตะกรุุด ลููกอม และผ้้ายัันต์์ แต่่ก็ส็ ร้้างจำำ�นวนน้้อย หาได้้ยากมาก วััตถุุมงคลเครื่่อ� งรางอีีกอย่่าง คืือ เสืือ ที่่�แกะจากงาหรืือเขี้้ย� วเสืือ กล่่าว กัันว่่าท่่านสามารถเสกเสืือให้้ดิ้้�นได้้เช่่นกััน ซึ่่�งปััจจุุบัันหาได้้ยากมาก ต้้องอาศััยที่่�มาอย่่างชััดเจน นอกจากนี้้�อาคาร สิ่่�งก่่อสร้้างในวััดปราการ สมััยท่่านดำำ�รงขัันธ์์อยู่่� ท่่านได้้ลงมืือเองเกืือบทั้้�งหมด โดยการช่่วยเหลืือของพระเณรและชาวบ้้าน เข้้าร่่วมด้้วย ดัังที่่�ปรากฏในปััจจุุบัันนี้้� นอกจากถาวรสถานแล้้ว ยัังมีี การสร้้างรููปหล่่อเหมืือนเท่่าองค์์จริิงเนื้้�อโลหะ เปรีียบเสมืือนสิ่่�งที่่�เป็็น ตััวแทนท่่าน ซึ่่�งทำำ�การหล่่อขึ้้�นเมื่่�อ พ.ศ. 2491 สมััยที่่�ท่่านมีีอายุุ 65 ปีี พรรษาที่่� 37 ปััจจุุบัันรููปเหมืือนได้้ประดิิษฐานในมณฑปวััดปราการ ร่่ ว มกัั บรููป เหมืือนพระครููพจนกวีี (ฟุ้้� ง โกวิิ โ ท) อดีี ต เจ้้ า อาวาส วััดปราการรููปต่่อมา และรููปเหมืือนพระครููปราการสมานคุุณ (เรีียม คุุณวุุฒฺโฺ ฑ) อดีีตเจ้้าคณะอำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม อดีีตเจ้้าอาวาสวััดตาขุุน และ รููปถ่่ายอดีีตพระเถราจารย์์แห่่งลุ่่�มน้ำำ��พุุมพวงและลุ่่�มน้ำำ��คลองยััน ส่่วนวััตถุุมงคลประเภทเหรีียญที่่�ระลึึก (รุ่่�นแรก) เนื้้�อทองแดง กะไหล่่ทองที่่�ได้้รัับความนิิยมนั้้�น ได้้จััดสร้้างขึ้้�นภายหลัังจากที่่�ท่่าน มรณภาพ วััตถุุประสงค์์เพื่่�อแจกเป็็นที่่�ระลึึกในงานฌาปนกิิจศพในปีี พ.ศ. 2499 เพื่่อ� เป็็นที่่�ยึึดเหนี่่�ยวและระลึึกถึึงขอบารมีีท่า่ นคุ้้�มครอง โดย จััดสร้้างขึ้้�นเมื่่�อประมาณปลายปีี พ.ศ. 2498 ได้้รัับการอธิิษฐานจิิต ปลุุกเสกจากพระคณาจารย์์สายคีีรีรัี ฐั นิิคม พุุมดวง-คลองยััน ในสมััยนั้้น� เช่่น พระครููสถิิตสัันตคุุณ หรืือหลวงพ่่อพััว เกสโร วััดจันั ทร์์ประดิิษฐาราม เป็็นต้้น การคณะสงฆ์์
ตั้้�งแต่่พรรษาแรกที่่�ได้้อุุปสมบทในครั้้�งที่่� 2 เนื่่�องจากก่่อนหน้้านี้้� ท่่านได้้อุุปสมบทมาระยะหนึ่่�ง ก่่อนสึึกออกไป แล้้วท่่านก็็กลัับมา อุุปสมบทใหม่่เมื่่�อปลายปีี พ.ศ. 2454 เข้้าช่่วงที่่�ท่่านพระครููสถิิต สัันตคุุณ ในสมััยที่่�เป็็นพระพััว เกสโร เจ้้าอาวาสวััดบางเดืือน ได้้มา ปฏิิสัังขรณ์์วััดละมุุ (วััดปราการ) ในการพััฒนาวััดละมุุครั้้�งนี้้� ได้้มีี พระเชื่่อ� มเป็็นหััวแรงหลัักในการช่่วยเหลืือพััฒนา ซึ่่ง� พระเชื่่อ� มมีีความรู้้� ความสามารถด้้านการช่่าง จึึงเป็็นที่่�ไว้้ใจ หลวงพ่่อพััวจึึงมอบหน้้าที่่�ให้้ พระเชื่่อ� มเป็็นผู้้�ดููแลวััดละมุุ (วััดปราการ) ในฐานะรัักษาการเจ้้าอาวาส จวบจนพััฒนาขึ้้น� ได้้เป็็นวััดจึึงแต่่งตั้้ง� ให้้พระเชื่่อ� มเป็็นเจ้้าอาวาสสืืบต่่อไป พ.ศ. 2463 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งให้้เป็็นเจ้้าอาวาสวััดปราการ และ แต่่งตั้้ง� เป็็นเจ้้าคณะหมวดละมุุ (ตำำ�บลท่า่ ขนอน) ต่่อมาได้้เปลี่่�ยนชื่่อ� วััด จาก วััดละมุุ เป็็น วััดปราการ และเมื่่�อปีี พ.ศ. 2504 ทางราชการ บ้้านเมืืองได้้เปลี่่�ยนชื่่อ� อำำ�เภอ จากอำำ�เภอท่่าขนอน เป็็น อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม มรณภาพ
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 85 หมู่่�ที่่� 2 บ้้านท่่าขนอน
ตำำ�บลท่่าขนอน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม
พระครููปราการถิิรคุุณ เจ้้าอาวาสวััดปราการ
พระอธิิการเชื่่�อม ธมฺฺมโชโต ได้้ถึึงแก่่มรณภาพ เมื่่�อวัันที่่� 26 มกราคม พ.ศ. 2493 ตรงกัับวัันพฤหััสบดีี (วัันพระ) ขึ้้�น 8 ค่ำำ�� เดืือน 3 ปีีฉลูู สิิริิอายุุ 67 ปีี พรรษา 39 มีีการตั้้�งศพบำำ�เพ็็ญกุุศลอยู่่�ระยะหนึ่่�ง และได้้ทำำ�การปิิดบรรจุุศพโดยเก็็บสรีีระของท่่านไว้้ประมาณ 6 ปีีเศษ ต่่อมาได้้มีกี ารเปิิดศพ เพื่่อ� นำำ�ออกมาทำำ�การฌาปนกิิจ ในปีี พ.ศ. 2499 SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
93
วััดสถิิตคีีรีรี มย์์ History of Buddhism....
ประวััติวั ิ ด ั สถิิตคีีรีร ี มย์์
วััดสถิิตคีีรีีรมย์์ ได้้ก่่อสร้้างเมื่่�อวัันที่่� 20 สิิงหาคม พ.ศ. 2480 และได้้รัับอนุุญาตให้้ตั้้ง� วััด เมื่่�อวัันที่่� 20 เมษายน พ.ศ. 2480 ได้้รัับ พระราชทานวิิสุงุ คามสีีมา เมื่่อ� วัันที่� ่ 24 มกราคม พ.ศ. 2501 มีีความกว้้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ผู้้�เป็็นประธานในการก่่อสร้้างวััดสถิิตคีีรีรี มย์์ คืือ พระเดชพระคุุณท่่านอาจารย์์ พระครููสถิิตสัันตคุุณ “หลวงพ่่อพััว เกสโร” อดีีตเจ้้าคณะอำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม และพระอธิิการเชื่่อ� ม ธมมโชโต อดีีตเจ้้าอาวาสวััดปราการ และเจ้้าคณะตำำ�บลท่่าขนอน ซึ่่�งได้้ขอ อนุุ ญ าตจากท่่ า นขุุ น อนุุ ก ารคหกิิ จ นายอำำ� เภอคีี รีี รัั ฐ นิิ ค ม และ ท่่านขุุนย่่านยาวนายก กำำ�นัันตำำ�บลย่่านยาว เดิิมชาวบ้้านเรีียกชื่่�อว่่า “วััดเขา” และเมื่่�อวัันที่่� 23 เมษายน พ.ศ. 2483 พระเทพรััตนะกวีี อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ได้้เดิินทางกลัับจากการผููกพััทธสีีมา วััดเขาพััง คลองพระแสง ได้้แวะเยี่่�ยมการก่่อสร้้างวััดเขาของหลวงพ่่อ พระครููสถิิตสัันตคุุณ ซึ่่�งกำำ�ลัังก่่อสร้้างอยู่่� และได้้มีีความเห็็นอัันเป็็น สมควร จึึงได้้ขนานนาม “วััดเขา” เป็็นชื่่อ� วััดสถิิตคีีรีรี มย์์ สิ่่ง� ปลููกสร้้าง อัันเป็็นทรััพย์์สินิ ของวััดสถิิตคีีรีรี มย์์ ท่า่ นพระเดชพระคุุณท่่านอาจารย์์ พระครููสถิิตสัันตคุุณ “หลวงพ่่อพััว เกสโร” ได้้ริเิ ริ่่ม� ก่่อสร้้างถาวรวััตถุุ ปููชนีียสถานและปููชนีียวััตถุุประจำำ�วััดสถิิตคีีรีรี มย์์ ได้้สร้้างพระพุุทธบาท จำำ� ลองสี่่� ร อยซ้้ อ นกัั น เป็็ น ชั้้� น ๆ และก่่ อ สร้้ า งพระปรางค์์ ม ณฑปที่่� ประดิิษฐานพระพุุทธบาทจำำ�ลอง 1 หลััง ก่่อสร้้างกุุฏิถิ าวร 1 หลััง และ กุุฏิิชั่่�วคราวหลายหลััง มีีพระภิิกษุุจำำ�พรรษาปีีละหลายรููปตลอดมา เจ้้าอาวาสองค์์แรก ชื่่�อ พระครููสถิิตสัันตคุุณ มรณภาพ พ.ศ. 2508
94
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิ ท่่านพระครูู สถิิตสัันตคุุณ (หลวงพ่่อพััว เกสโร)
“ท่่านพระครููสถิิตสัันตคุุณ” (หลวงพ่่อพััว เกสโร) นามเดิิมและ นามสกุุล “พััว จิิตรััตน์์” นามบิิดา นายแก้้ว จิิตรััตน์์ มารดา นางหีีต เกิิดวัันพุุธ แรม 5 ค่ำำ�� เดืือน 1 ปีีชวด วัันที่�่ 7 ธัันวาคม พ.ศ. 2419 อายุุ 88 พรรษา 68 ชาติิภููมิิ บ้้านบางเดืือน ตำำ�บลบางเดืือน อำำ�เภอ พุุนพิิน(เดิิม อำำ�เภอพุุมดวง) จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาสวััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม วััดสถิิตคีีรีีรมย์์ และ เจ้้าคณะอำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม (ท่่าขนอน) กิ่่�งอำำ�เภอพนม เป็็นพระอุุปัชั ฌายะ ในคณะมหานิิกาย จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เริ่่�มศึึกษาเล่่าเรีียน (2432) ในวััยเยาว์์เมื่่�ออายุุได้้ 13 ปีี ได้้เริ่่�ม ศึึกษาเล่่าเรีียนอัักขระวิิธีี ปฐมมาลา ปฐมจิินดามุุนีี (เวลานั้้�นยัังไม่่มีี โรงเรีียนประชาบาล) ในสำำ�นัักท่่านอธิิการยงฯ เจ้้าอาวาสวััดบางเดืือน เก่่า ตำำ�บลบางเดืือน อำำ�เภอพุุนพิิน (อำำ�เภอพุุมดวง) จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อยู่่�เป็็นเวลา 2 ปีี มีีความรู้้�อ่่านออกเขีียนได้้ในสมััยนั้้�น บรรพชาเป็็นสามเณร เป็็นนัักเทศน์์มหาชาติิ (2434 - 2439) ครั้้�นอายุุได้้ 15 ปีี บรรพชาเป็็นสามเณรที่่วั� ดั ท่่าโขลง โดยพระอธิิการนุ้้�ย ประทุุมสุุวรรณ เป็็นพระอุุปััชฌายะ เมื่่�อบวชแล้้วกลัับไปเรีียนหนัังสืือ เพิ่่�มเติิมและศึึกษาธรรมวิินััยอยู่่�กัับพระอธิิการยงฯ วััดบางเดืือนเก่่า ตามเดิิ ม ในระหว่่ า งที่่� ท่่ า นเป็็ น สามเณรอยู่่�นั้้� น ท่่ า นได้้ ฝึึ กหัั ด เทศน์์ มหาชาติิตลอดจนคาถาพััน จนขึ้้น� ชื่่�อว่่าเป็็นนัักเทศน์์ที่่�ขึ้้�นชื่่�อผู้้�หนึ่่�งใน สมััยนั้้�น อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ และสวดพระปาฏิิโมกข์์ได้้จบบริิบููรณ์์ (2440) ล่่วงเข้้าอายุุ 21 ปีี ท่่านได้้อุปุ สมบทเป็็นพระภิิกษุุที่่�พัทั ธสีีมา วัั ด ท่่ า โขลง โดยมีี พ ระอธิิ ก ารเย็็ น จนฺฺ ทมุุ นีี วัั ด บางงอน เป็็ น พระอุุปัชั ฌาย์์ พระอธิิการนุ้้�ย ประทุุมสุุวรรณ วััดท่่าโขลง เป็็นพระกรรม วาจาจารย์์ พระอธิิการเพชร อิินฺทสุ ฺ วรร ุ ณ วััดเงิิน เป็็นพระอนุุศาสนา จารย์์ ได้้นามและฉายาว่่า “พระพััว เกสโร” เมื่่�ออุุปสมบทแล้้วได้้กลัับ มาจำำ�พรรษาอยู่่�วััดบางเดืือนเก่่า
เดิินทางเข้้ากรุุงเทพฯ เรีียนบาลีี (2443) ต่่อมาท่่านได้้มีคว ี ามคิิด ที่่�จะศึึกษาพระธรรมเพิ่่�มขึ้้�นจึึงได้้เดิินทางเข้้าศึึกษาที่่�จัังหวััดพระนคร ได้้พัักอาศััยเรีียนบาลีีอยู่่�สำำ�นัักวััดพระเชตุุพลวิิมลมัังคลาราม (วััดโพธิ์์�) การศึึกษาของท่่านดำำ�เนิินไปด้้วยดีี แต่่ในที่่�สุุดโชคไม่่อำำ�นวยให้้ท่่านได้้ สมความตั้้ง� ใจ กล่่าวคืือ พอใกล้้จะถึึงวัันเข้้าสอบบาลีี ท่า่ นได้้เกิิดอาพาธ ป่่วยไข้้ขึ้้�นอย่่างกะทัันหััน ไม่่สามารถสอบบาลีีได้้ ดัังนั้้�น พอปวารณา พรรษาแล้้วท่่านได้้ตััดสิินใจเดิินทางกลัับวััดบางเดืือนเก่่า จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีีทัันทีี ศึึกษาสมถกััมมััฏฐานและวิิปััสสนากััมมััฏฐานธุุดงค์์ไปจัังหวััด ภููเก็็ต (2444) หลัังจากกลัับจากพระนครมาจำำ�พรรษาต่่อที่่�วััดบาง เดืือนเก่่าดัังเดิิม (พ.ศ. 2444) ท่่านได้้ตั้้�งปณิิธาน ที่จ่� ะศึึกษาทางด้้าน สมถกััมมััฏฐานและวิิปััสสนากััมมััฏฐาน โดยได้้ศึึกษากัับพระอาจารย์์ เพชรฯ วััดเงิิน ในเบื้้�องต้้น และท่่านได้้ออกรุุกขมููลธุุดงค์์เพื่่�อฝึึกฝน โดยลำำ�พััง ฝึึ ก สมถกัั มมัั ฏ ฐานและวิิ ปัั สสนากัั มมัั ฏฐานอยู่่�จัั ง หวัั ด ภูู เ ก็็ ต (2445 - 2446) เมื่่อ� ธุุดงค์์รุกุ ขมููลถึึงจัังหวััดภููเก็็ต ท่่านได้้เข้้าฝากตััวกับั พระอาจารย์์รอดฯ วััดโฆสิิตาราม อยู่่�ฝึกึ อบรม รวมเป็็นเวลา 2 พรรษา ธุุดงค์์จาริิกไปนมััสการพระธาตุุชะเวดากอง กรุุงย่่างกุ้้�ง ประเทศ พม่่า (2446) เมื่่�อปวารณาพรรษาที่่� 2 แล้้ว ท่่านได้้กราบลาท่่าน อาจารย์์ออกธุุดงค์์จาริิก เพื่่อ� ไปนมััสการพระธาตุุชะเวดากอง กรุุงย่่างกุ้้�ง ประเทศพม่่า โดยการเดิินทางครั้้�งนี้้�จนกลัับคืืนยัังวััดโฆสิิตาราม ใช้้เวลา 4 เดืือนเศษ ธุุดงค์์อยู่่�ป่่าช้้า (2447 - 2448) เมื่่�อกลัับมายัังวััดบางเดืือนเก่่า ท่่านได้้ยึึดป่่าช้้าเป็็นที่่�พัักอาศััยสำำ�หรัับการปฏิิบััติิสมถกััมมััฏฐานฯ ธุุดงค์์จาริิกไปนมััสการพระพุุทธบาท พระพุุทธฉาย จัังหวััด สระบุุรีีและไปนมััสการพระแท่่นดงรััง จัังหวััดกาญจนบุุรีี (2449) ท่่ า นได้้ อ อกธุุ ด งค์์ จ าริิ กอีี กครั้้� ง โดยมุ่่�งหน้้ า สู่่�กรุุ ง เทพฯ นมัั ส การ พระแก้้วมรกตต่่อไปยัังวััดพระมงคลบพิิตร จัังหวััดอยุุธยา ต่่อเรื่่�องไป ยัังพระพุุทธบาท จัังหวััดสระบุุรี ล่ ี ว่ งเข้้าจัังหวััดลพบุุรีี และไปอีีกหลาย จัังหวััดในเขตนั้้�น และยัังเลยไปถึึงพระแท่่นดงรััง จัังหวััดกาญจนบุุรีี ก่่อนกลัับมายัังวััดพระเชตุุพนวิิมลมัังคลาราม แล้้วกลัับคืืนสู่่�วััดบาง เดืือนเก่่า สร้้างวััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม (2450 - 2455) ด้้วยจริิยวััตรอััน งดงามของท่่านจนเป็็นที่ศ่� รััทธาแก่่ชาวบ้้าน จึึงได้้ชักั ชวนชาวบ้้านสร้้าง วััดขึ้้น� ในพื้้น� ที่่บ� ริิเวณตำำ�บลบางเดืือน ได้้ชื่อ�่ ว่่า “วััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม” ธุุดงค์์จาริิกไปนมััสการพระแท่่นศิิลาอาศน์์ จัังหวััดอุุตรดิิตถ์์และ เลยไปจัังหวััดสุุโขทััย (2455) ในระหว่่างการสร้้างวััดท่่านเห็็นว่่าขั้้น� ตอนการก่่อสร้้างเริ่่ม� เข้้าที่เ่� ข้้าทาง ท่่านจึึงได้้ออกธุุดงค์์จาริิกอีกครั้้ ี ง� โดย โดยคราวนี้้�มีจุี ดุ หมายที่่พ� ระแท่่นศิิลาอาสน์์ จังั หวััดอุุตรดิิตถ์์ ซึ่่ง� ระหว่่าง ทางท่่านได้้แวะยัังสถานที่่�สำำ�คััญอีีกหลายที่่� วััดจัันทร์์ประดิิษฐารามได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมาและสร้้าง พระประธาน (2455) ได้้กลัับมายัังวััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม ซึ่่�งในปีี เดีียวกัั น ทางวัั ดได้้ รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา และได้้ หล่่ อพระ ประทานเป็็นผลสำำ�เร็็จ
ไปนมััสการพระธาตุุชะเวดากอง กรุุงอัังวะ กรุุงหงษาวดีี ประเทศ พม่่าครั้้ง� ที่่� 2 (2457) ท่่านได้้จาริิกธุดุ งค์์ไปนมััสการพระธาตุุชะเวดากอง อีีกครั้้�ง โดยคราวนี้้�ท่่านได้้ลงเรืือที่่�ระนองข้้ามไปยัังพม่่า แล้้วเดิินเท้้า ต่่อจนถึึงพระธาตุุ หลัังจากการธุุดงค์์จาริิกไปยัังที่่�ต่่างๆท่่านได้้กลัับมา จำำ�พรรษาที่่วั� ดั จัันทร์์ประดิิษฐาราม จนอายุุท่า่ นล่่วงเข้้า 40 พรรษาที่่� 20 ฝึึกเป็็นพระอุุปััชฌายะ (2459 - 2461) ท่่านเจ้้าคณะจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี ท่่านเจ้้าคุุณพระชยาภิิวััฒน์์ ได้้เห็็นถึึงศีีลาจริิยวััตรอััน งดงามตลอดจนอายุุกาลพรรษาของท่่าน เห็็นสมควรที่่�จะขอแต่่งตั้้�ง ท่่ า นเป็็ น พระอุุ ปัั ช ฌายะ จึึงดำำ�ริิ ใ ห้้ ท่่ า นเข้้ า รัั บ การฝึึ กหัั ด เป็็ น พระอุุปััชฌายะ กัับพระครููสารคณกิิจ(จวน) เจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน ในสมััยนั้้�น และได้้ เข้้ารัับการฝึึกกัับเจ้้าคุุณพระธรรมาราม เจ้้าคณะ จัังหวััดหลัังสวน(ขณะนั้้�นยัังเป็็นจัังหวััด) และได้้เข้้ารัับการฝึึกต่่อที่่� วัั ด พระเชตุุ พ นวิิ ม ลมัั ง คลาราม จนมีี คว ามชำำ� นาญจึึงลากลัั บ ยัั ง วััดจัันทร์์ประดิิษฐารามดัังเดิิม ปฏิิสัังขรณ์์วััดละมุุ (วััดปราการปััจจุุบััน) (2462 - 2463) ใน ระหว่่างท่่านจำำ�พรรษาที่่�วััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม ท่่านได้้ช่่วยบููรณะ ปฏิิสัังขรณ์์ วััดละมุุ (วััดปราการ) ซึ่่�งตั้้�งอยู่่�ที่่�ตำำ�บลท่่าขนอน อำำ�เภอ คีีรีีรััฐนิิคม จนแล้้วเสร็็จในปีี พ.ศ. 2463 และได้้แต่่งตั้้�งให้้พระเชื่่�อม เป็็นผู้้�ดููแลรัักษาวััดสืืบไป สร้้างวััดสถิิตคีีรีีรมย์์ (2480 - 2490) จากการธุุดงค์์จาริิกไปยัังที่่� ต่่างๆของท่่าน ท่่านได้้พบว่่าพื้้�นที่บ่� ริิเวณเขาพระราหูู เห็็นควรจะมีีวััด ซัักแห่่งหนึ่่�งจึึงชัักชวนชาวบ้้านร่่วมกัันสร้้างวััดขึ้้�น (พ.ศ. 2480) ซึ่่�งใน ขณะนั้้� น ท่่ า นมีี อ ายุุ ล่่ ว งได้้ 62 ปีี จนสำำ� เร็็ จ ได้้ รัั บ พระราชทาน วิิสุุงคามสีีมา ในปีี พ.ศ. 2503 ซึ่่�งเป็็นปีีที่�ท่่ ่านมีีอายุุครบ 7 รอบพอดีี ตลอดเวลาท่่านได้้ดููแลปกครองคณะสงฆ์์และอบรมชาวบ้้านให้้ ดำำ�เนิินไปในทางอัันดีีงาม จนล่่วงเข้้าปีีต้้น พ.ศ. 2508 ท่่านได้้อาพาธ ด้้วยโรคชราโดยก่่อนหน้้า ท่่านได้้ประกาศการจััดการเกี่่ยวกั � บั สรีีระของ ท่่านตลอดจนการดำำ�เนิินการต่่างๆไว้้ ซึ่่�งต่่างเข้้าใจกัันว่่าท่่านคงจะ ทราบถึึงกาลมรณะก่่อนหน้้าแล้้ว จนวัันที่่� 31 มกราคม พ.ศ. 2508 เวลา 16.05 น. ท่่านก็็ได้้ถึึงกาลมรณภาพ สิิริิชนมายุุ 88 ปีี 1 เดืือน 24 วััน
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
95
ประวััติพ่ ิ อ ่ ท่่านเอ็็น วััดเขาราหูู
พระครููสุุคนธวิิศิษิ ฏ์์(หลวงพ่่อเพริ้้ม� โกสิิโย) หรืือพ่่อท่่านเอ็็น ที่่ผู้� ้�คน ที่เ�่ คารพศรััทธาต่่อท่่าน เอ่่ยนามท่่านว่่า พ่่อท่่านเอ็็น หรืือ หลวงพ่่อเอ็็น กัันจนติิดปาก แต่่เดิิมพื้้�นเพท่่านเป็็นชาวอำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม ท่่านได้้ถืือ กำำ�เนิิดขึ้้�น เมื่่�อวัันที่่� 6 เมษายน พ.ศ. 2474 ซึ่่�งตรงกัับ วัันจัันทร์์ แรม 4 ค่ำำ�� เดืือน 5 ปีีมะแม นามเดิิม เพริ้้ม� ทองสััมฤทธิ์์� นามบิิดา นายพััฒน์์ ทองสััมฤทธิ์์� มารดา นางพร้้อม ทองสััมฤทธิ์์� มีีพี่่�น้้องทั้้�งหมด 5 คน ท่่านเป็็นคนที่่� 4 ภููมิิลำำ�เนา หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลบ้้านยาง อำำ�เภอคีีรีรัี ัฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี การศึึกษาในวััยเยาว์์ท่า่ นได้้สำำ�เร็็จการศึึกษาระดัับ ชั้้�นประถมศึึกษา ปีีที่่� 4 จากโรงเรีียน บ้้านย่่านยาว อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อปีี พ.ศ. 2484 ท่่านได้้บรรพชาเป็็นสามเณร ณ วััดปราการ อำำ�เภอ คีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อวัันที่่� 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ซึ่่ง� ตรงกัับวัันจัันทร์์ แรม 14 ค่ำำ�� เดืือน 6 ปีีขาล โดยมีีพระอุุปัชั ฌาย์์ คืือ ท่่านพระครููสถิิตสัันตคุุณ ซึ่่�งขณะนั้้�นปกครองวััดสถิิตคีีรีีรมย์์อยู่่� ต่่อมาท่่านได้้อุปุ สมบท ณ พััทธสีีมา วััดฑีีฆาราม อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อวัันที่่� 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2494 โดยมีี พระอุุปัชั ฌาย์์คืือ ท่่านพระครููสถิิตสัันตคุุณ วััดสถิิตคีีรีรี มย์์ ตำ�ำ บลย่่านยาว อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม มีีพระกรรมวาจาจารย์์คืือ ท่่านพระครููปราการสมานคุุณ วััดปราการ ตำำ�บลท่่าขนอน อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม และมีีพระอนุุสาวนาจารย์์ คืือ ท่่านพระครููมนููญธรรมธาดา วััดถ้ำำ��สิิงขร ตำำ�บลท่่าขนอน อำำ�เภอ คีีรีรัี ฐั นิิคม หลัังจากอุุปสมบทแล้้วท่า่ นได้้พากเพีียรศึึกษาหาความรู้้� จน สามารถสอบได้้ นักั ธรรมเอก ในปีี พ.ศ. 2484 ณ สำำ�นักั เรีียนวััดปราการ อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ในปีี พ.ศ. 2498 ท่่านได้้รัับ สมณศัักดิ์์�เป็็นพระสมุุห์์เพริ้้�ม และในปีี พ.ศ. 2508 ท่่านได้้รัับความไว้้ วางใจ ให้้ดำ�ร ำ งตำำ�แหน่่งรัักษาการเจ้้าอาวาส วััดสถิิตคีีรีรี มย์์ ต่อ่ มาในปีี พ.ศ. 2512 ท่่านก็็ได้้รัับแต่่งตั้้�งให้้เป็็นเจ้้าอาวาส วััดสถิิตคีีรีีรมย์์ ใน ปีีพ.ศ. 2531 ท่่านได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์�เป็็น พระครููสััญญา บััตรชั้้�นตรีี ต่่อมาในปีี พ.ศ. 2539 ท่่านก็็ได้้รัับพระราชทานสมณศัักดิ์์� เป็็นพระครููสััญญาบััตรชั้้�นโท
96
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ในงานด้้านการปกครอง ท่่านได้้ยึึดถืือกฎระเบีียบในการปกครองวััด ตามหลัักพระธรรมวิินััย นอกจากนี้้�ท่่านยัังเป็็นผู้้�ใฝ่่ ศึึกษาหาความรู้้� อยู่่�เสมอ โดยท่่านได้้เข้้ารัับการ ศึึกษาพิิเศษ เข้้ารัับการอบรมพระธรรมทููต พระธรรมถึึก พระครููแผนใหม่่ จนมีีความชำำ�นาญในการบรรยายธรรม ซึ่่�งได้้รัับนิิมนต์์เป็็นผู้้�บรรยายธรรม ในที่่�ประชุุมประจำำ�อำำ�เภออยู่่�เสมอ อีีกด้้วย ท่่านยัังเป็็นผู้้�รู้้�ในธรรมอัันเห็็นได้้จาก ในปีี พ.ศ. 2500 ท่่าน ได้้เป็็นครููสอนปริิยััติิธรรม แผนกธรรม สำำ�นัักเรีียน(ศาสนศึึกษา) วััดปราการ อำำ�เภอคีีรีรัี ฐั นิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีีและในปีี พ.ศ. 2512 ท่่านได้้เป็็นเจ้้าสำำ�นัักศาสนศึึกษา วััดสถิิตคีีรีีรมย์์ (แผนกนัักธรรม) อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ซึ่่�งท่่านได้้ให้้การสนัับสนุุนการ ศึึกษา แก่่บรรดาภิิกษุุสามเณร เป็็นอย่่างดีีด้้วยจะมีีผู้้�สำำ�เร็็จการศึึกษา นวกภููมิิ และแผนกธรรม อยู่่�โดยตลอด ในส่่วนของงานด้้านการเผยแผ่่ พระศาสนา ท่่านได้้เป็็นผู้้�นำำ�ชุุมชน ในการประกอบพิิธีีทางศาสนา ใน วัันสำำ�คััญต่่างๆเสมอมา ได้้มีีการจััดอบรมแก่่บุุคคลต่่างๆ ทั้้�งอบรมศีีล ธรรมแก่่นักั เรีียน ข้้าราชการ ตลอดจนผู้้ห� ลงผิิดติิดยา ให้้กลับั ตััวดำำ�เนิิน ชีีวิิตในทาง ที่่�ถููก และจััดให้้มีีการอบรมพระนวกะทุุกปีี ในงานด้้าน สาธารณููปการ ท่่านได้้ทำำ�การทำำ�นุบำุ ำ�รุงุ วััดสถิิตคีีรีรี มย์์เพื่่อ� ให้้สมกัับเป็็น วััดที่่�จะเป็็นหน้้าเป็็นตาของชุุมชน ดัังเจตนา ของ ท่่านพระครููสถิิตสััน ตคุุณ (หลวงพ่่อพััว เกสโร) ผู้้เ� ป็็นอาจารย์์ และผู้้เ� ริ่่ม� ก่่อตั้้ง� วััด โดยที่่ผ่� า่ น มาท่่านได้้ดำำ�เนิินการ ก่่อสร้้าง บัันไดขึ้้�นเขา อีีกทั้้�งสร้้างกุุฏิิพระสงฆ์์ และแม่่ชีีเพิ่่�มจากเดิิม ได้้สร้้างกำำ�แพงกำำ�หนดเขตวััดและปรัับปรุุง ทััศนีียภาพของวััดให้้ดููงามตา วััตถุุมงคลที่่�ท่่านสร้้างและขึ้้�นชื่่�อในปััจจุุบัันเช่่น ขุุนแผน เสน่่ห์์ จัันทร์์แดง และวััตถุุมงคลรุ่่�น "โชคอำำ�นวย รวยไม่่รู้้�จบ" ประวััติเิ ขาราหูู
ตามตำำ�นานเล่่ามาตั้้�งแต่่รุ่่�นทวดว่่ามีีมาก่่อนนั้้�น ก็็เห็็นเป็็นรููป หน้้าตาคล้้ายราหูู ก็็มีีอาถรรพ์์มากอยู่่� ว่่าถ้้ารููปราหููสีีแดงก็็เกิิดอาเพศ เจ้้าเมืืองก็็เสีียชีีวิิต ต่่อมาก็็มีีการตรึึงแก้้อาถรรพ์์ก็็เกิิดความสงบ และ ได้้สร้้างรููปจำำ�ลององค์์ราหููขึ้้�น ปีี พ.ศ. 2554 และเป็็นที่่�เคารพสัักการะ บนบาน ศาลกล่่าว ก็็สมหวัังกัันทุุกๆ ท่่าน SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
97
98
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระปลััดอุุดมศัั กดิ์์� สทฺฺธาธิิโก เจ้้าอาวาสวััดสถิิตคีีรีร ี มย์์
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
99
วััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร History of Buddhism....
วััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร เป็็นที่่�ประดิิษฐานองค์์พระบรมธาตุุเจดีีย์์บรรจุุพระบรมสารีีริิกธาตุุของสมเด็็จพระสัั มมาสัั มพุุทธเจ้้า
ซึ่่� งเป็็นปููชนีียสถานที่่�เคารพสัั กการะของพระพุุทธศาสนิิกชนทั่่� วไป เป็็นวััดเก่่าแก่่ตั้้�งอยู่่�ภายในเมืืองโบราณไชยา ตำำ�บลเวีียง อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เดิิมเป็็นวััดราษฎร์์ พระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิพ ิ ลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร ทรงพระกรุุ ณา โปรดเกล้้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุุญาตให้้ยกฐานะขึ้้�นเป็็น พระอารามหลวงชั้้� นตรีี ชนิิดสามััญ เมื่่�อวัันที่่� 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2491
มีีนามว่่า "วััดพระธาตุุไชยา" และต่่อมาทรงพระกรุุ ณาโปรดเกล้้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุุญาตให้้เลื่่�อนฐานะวััดพระธาตุุไชยาขึ้้�นเป็็น พระอารามหลวงชั้้� นเอก ชนิิดราชวรวิิหาร และพระราชทานนามใหม่่ว่า ่ "วััดพระบรมธาตุุไชยา" เมื่่�อวัันที่่� 6 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2500
100
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร เป็็นวััดโบราณ สร้้างขึ้้�น เมื่่�อใดไม่่ปรากฏหลัักฐานทางเอกสารที่่�แน่่ชััด สิ่่�งสำำ�คััญที่่�สุุด ภายในวััด ได้้แก่่ พระบรมธาตุุเจดีีย์์ รูปู แบบสถาปััตยกรรมศิิลปะ ศรีีวิิชััยที่่�สมบููรณ์์ที่�่สุุดเท่่าที่่�ยัังเหลืืออยู่่�ในปััจจุุบัันสัันนิิษฐานว่่า สร้้างขึ้้น� ราวพุุทธศตวรรษที่่� 14-15 ด้้วยเหตุุนี้้�นักั ประวััติิศาสตร์์ นัักประวััติิศาสตร์์ศิิลปะ และนัักโบราณคดีีหลายท่่าน เช่่น ศาสตราจารย์์ หม่่อมเจ้้าสุุภัทั รดิิศ ดิศกุ ิ ล ุ หม่่อมเจ้้าเจ้้าจัันทร์์จิริ า ยุุรัชั นีี นายมานิิต วััลลิโิ ภดม พระธรรมโกศาจารย์์ (พุุทธทาสภิิกขุุ) จึึงเชื่่�อว่่าไชยาน่่าจะเป็็นกรุุงศรีีวิิชััยตามที่่�ปรากฏหลัักฐานใน ศิิลาจารึึกที่่� 23 เนื่่�องจากได้้พบโบราณวััตถุุ โบราณสถาน สมััยศรีีวิิชััยเป็็นจำำ�นวนมาก
ปููชนีียวััตถุุ และโบราณวััตถุุ
ภายในวััดพระบรมธาตุุไชยาเป็็นที่่�ประดิิษฐานปููชนีียสถานสำำ�คััญ และโบราณสถานสำำ�คััญ ได้้แก่่ พระบรมธาตุุเจดีีย์์ เจดีีย์์ทิศ ิ พระอุุโบสถ พระวิิหารหลวง และระเบีียงคด พระบรมธาตุุเจดีีย์์
เจดีีย์์พระบรมธาตุุไชยา เป็็นเจดีีย์์ "ทรงปราสาทยอด" ประดัับด้้วย สถููปองค์์เล็็กๆ (สถููปิิกะ) ที่่�มุุมและที่่ด้� ้านของแต่่ละชั้้�น ซึ่�ง่ เป็็นรููปแบบ เฉพาะของศิิลปกรรมสมััยศรีีวิิชัยั สร้้างตามลััทธิิมหายาน ช่่วงประมาณ พุุทธศตวรรษที่่� 14-15 องค์์เจดีีย์์อยู่่�ในผัังรููปกากบาท มีีมุุขทั้้�ง 4 ด้้าน เจดีีย์์ทิิศ ตั้้ง� อยู่่�รอบองค์์พระบรมธาตุุที่มุ่� มุ ทั้้�งสี่่ทิ� ศ ิ (ปััจจุุบันั อยู่่�รอบนอกของ สระน้ำำ�ที่ � ขุ�่ ดุ รอบฐานองค์์พระบรมธาตุุ) เจดีีย์์ทางทิิศตะวัันออกเฉีียงเหนืือ ลัักษณะเป็็นเจดีีย์์ฐานสี่่เ� หลี่่ย� ม ชั้้�นล่่างเป็็นฐานบััวลูกู แก้้วทรงสููง ก่่ออิิฐ ฉาบปููนตำำ�รองรัับบััวลููกแก้้วอีีกชั้้�นหนึ่่�งซึ่่�งรองรัับองค์์ระฆัังทรงกลม ส่่วนยอดเป็็นบััลลัังก์์ ปล้้องไฉนและปลีียอด เจดีีย์์องค์์นี้้�แตกต่่างจาก เจดีีย์์ทิิศที่่�มุุมอีีก 3 ด้้าน ซึ่่�งเป็็นเจดีีย์์ทรงกลมแบบลัังกา ตั้้�งอยู่่�บนฐาน เขีียงรองรัั บ มาลัั ย ลูู ก แก้้ ว 8 แถว เจดีีย์์ นี้้� น่่ า จะสร้้ า งขึ้้� น ในสมัั ย รััตนโกสิินทร์์หลัังกว่่าเจดีีย์์ทางด้้านทิิศตะวัันออกเฉีียงเหนืือซึ่่�งน่่าจะ สร้้างในสมััยอยุุธยา ส่่วนเจดีีย์์ด้า้ นทิิศตะวัันตกด้้านหลัังองค์์พระบรมธาตุุ เป็็นเจดีีย์์ทรงมณฑปสร้้างขึ้้�นใหม่่สมััยรััตนโกสิินทร์์ SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
101
พระอุุโบสถ
ตั้้�งอยู่่�ทางทิิศตะวัันตกของพระบรมธาตุุ สร้้างขึ้้�นใหม่่ เมื่่�อ พ.ศ. 2498 แทนพระอุุโบสถเก่่าซึ่่�งชำำ�รุุดและรื้้�อถอนออกไป พระประธาน ภายในพระอุุโบสถเป็็นพระพุุทธรููปศิิลาทรายแดง ปางมารวิิชััย ศิิลปะ สมััยอยุุธยา เบื้้�องหน้้าพระประธานประดิิษฐานพััทธสีีมาคู่่�ซึ่่�งเป็็น ของเดิิมแต่่ครั้้�งพระอุุโบสถเก่่าสมััยอยุุธยา พระวิิหารหลวง
อยู่่�ทางทิิศตะวัันออกของพระบรมธาตุุ ด้้านหลัังพระวิิหารสร้้าง ยื่่�นล้ำำ��เข้้ามาในเขตพระวิิหารคด ภายในประดิิษฐานพระพุุทธรููปใหญ่่ น้้อยหลายองค์์ ศิิลปะสมััยอยุุธยา สกุุลช่่างไชยา พระวิิหารหลวงได้้รัับ การบููรณะครั้้�งใหญ่่ในสมััยรััชกาลที่่� 5 และต่่อมาใน พ.ศ. 2500 ท่่านพระครููอินิ ทปััญญาจารย์์ (เงื่อ�่ ม อิินฺทฺ ปญฺฺโญ) พุุทธทาสภิิกขุุ เมื่่อ� ครั้้�ง พระครููโสภณเจตสิิการาม (เอี่่ย� ม นามธมฺฺโม) ก่่อตั้้ง� พิิพิธิ ภััณฑ์์วัดั ขึ้้น� เมื่่อ� พ.ศ. 2478 ได้้ใช้้พระวิิหารหลวงเป็็นที่่�จััดแสดงโบราณวััตถุุต่่างๆ ระเบีียงคด
ระเบีียงคด วิิหารคด หรืือพระระเบีียง เป็็นระเบีียงล้้อมรอบองค์์ พระธาตุุอยู่่�ในผัังรููปสี่เ�่ หลี่่ย� มจััตุรัุ สั กว้้างยาวด้้านละ 38 เมตร สููง 4 เมตร ภายในประดิิษฐานพระพุุทธรููปปางต่่างๆ รวม 180 องค์์ ชาวบ้้าน เรีียกว่่า "พระเวีียน"
1
2.
3.
4.
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
รููปที่่� 1 พระวิินััยธรรมยวด สุุริิโย รููปที่่� 2 พระครููสิิริวิิ ชัิ ัยเจติิยานุุรัักษ์์ (เคลื่่�อน อนุุภาโส ป.ธ.๓) รููปที่่� 3 พระครููอิินทปััญญาจารย์์ (พระธรรมโกศาจารย์์ เงื่่�อม อิินฺฺทปญฺฺโญ ป.ธ.๓) รููปที่่� 4 พระราชสุุธรรมเมธีี (สัังข์์ ภููริิปญฺฺโญ ป.ธ.๙) รููปที่่� 5 พระอุุดมธรรมปรีีชา (จำำ�ลอง ธมฺฺมิิสฺฺสโร ป.ธ.๔) เจ้้าอาวาส องค์์ปััจจุุบััน
102
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
โบราณวััตถุภ ุ ายในพิิพิธ ิ ภััณฑ์์สถานแห่่งชาติิไชยา
ภายในวััดพระบรมธาตุุไชยา มีีปููชนีียวััตถุุ โบราณวััตถุุ ศิิลปวััตถุุ สำำ�คััญอีีกหลายอย่่าง ได้้แก่่ พระพุุทธรููปกลางแจ้้ง พระโพธิิสััตว์์ อวโลกิิเตศวร 2 กร สำำ�ริิด พระโพธิิสััตว์์อวโลกิิเตศวร 8 กร สำำ�ริิด
พระพุุทธโคดม
พระพุุทธสัั มฤทธิ์์�ผล
ท่่านเจ้้าคุุณพระชยาภิิวัฒ ั น์์สุุภัท ั รสัั งฆปาโมกข์์
(หนูู ติสฺ ิ ฺโส ) เจ้้าคณะเมืืองไชยา ได้้บูร ู ณะครั้้�งใหญ่่ ระหว่่าง พ.ศ. 2439 - 2453
ตั้้� งอยู่่�ที่่�ถนนรัักษ์์นรกิิจ ตำำ�บลเวีียง
อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระอุุดมธรรมปรีีชา (จำำ�ลอง ธมฺฺมิสฺ ิ ส ฺ โร ปธ.๔) เจ้้าอาวาสวััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร
พระครูู พิทั ิ ก ั ษ์์เจติิยานุุกูล ู (สุุเทพ สุุเทโว ปธ.๓) เจ้้าคณะอำำ�เภอไชยา
ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดพระบรมธาตุุไชยาราชวรวิิหาร
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
103
History of Buddhism....
วััดโลการาม
ตำำ�บลตลาดไชยา อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วััดโลการาม เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ที่่ดิ � น ิ ตั้�ง ้ วััดมีีเนื้้อ � ที่่� 5 ไร่่ 3 งาน 53 ตารางวา โฉนดที่่ดิ � น ิ เลขที่่� 17278 อาณาเขต ทิิศเหนืือ จดที่่ดิ � น ิ เอกชน ทิิศใต้้ จดคลองชลประทาน
ทิิศตะวัันออก จดเขตรถไฟ ทิิศตะวัันตก จดที่่ดิ � น ิ เอกชน มีีที่่ธ � รณีีสงฆ์์ 1 แปลง เนื้้อ � ที่่� 4 ไร่่ 1 งาน 47 ตารางวา โฉนดเลขที่่� 10070
104
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระประธานประจำำ�อุุโบสถคืือ
พระพุุทธไชยามงคลโมลีีศรีีโลกนาถ (หลวงพ่่อใหญ่่)
วััดโลการาม ตั้้�งวััดเมื่่�อปีี พ.ศ. 2312 สร้้างสมััยกรุุง ศรีีอยุุธยาตอนปลาย เดิิมเรีียกว่่า “วััดโฉลกพุุมเรีียง” ตามที่่� สมเด็็จกรมพระยาวชิิรญาณวโรรสทรงเรีียก แต่่ชาวบ้้านเรีียก ว่่า “วััดโลกา” พ.ศ. 2496 ได้้รับป ั ระกาศตั้ง้� วััดและเปลี่่�ยนชื่่อ� วััดเป็็น “วััดโลการาม”
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
105
การบริิหารและการปกครอง มีีเจ้้าอาวาสเท่่าที่่ท � ราบนาม
รููปที่่� 1 พ่่อท่่านเนีียม จนฺฺทสิิริิ ช่่วงปีี พ.ศ. 2442 รููปที่่� 2 พระอธิิการยััง อภิิรโต พ.ศ. 2495 – 2496 รููปที่่� 3 พระอธิิการนาต กิิตฺติฺ สุิ ุทโธ พ.ศ. 2496 – 2498 รููปที่่� 4 พระใบฎีีกาสอน ปุุญญงฺฺกโร พ.ศ. 2510 – 2552 รููปที่่� 5 พระครููธรรมธรพรชััย อกิิญฺฺจโน พ.ศ. 2557 – ปััจจุุบััน
พระครูู ธรรมธรพรชัั ย อกิิญฺจ ฺ โน
เจ้้าอาวาสวััดโลการาม / เจ้้าคณะตำำ�บลพุุมเรีียง
106
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� 93 บ้้านวััดโลกา ถนนรามพััฒนา หมู่่�ที่่� 3
ตำำ�บลตลาดไชยา อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
107
วััดเขาสุุวรรณประดิิษฐ์์
จุุดชมวิิวบ้้านไม้้งาม
วััดพุุมเรีียง History of Buddhism....
วััดพุุมเรีียง ตั้�ง ้ วััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2390 สร้้างในสมััยกรุุ งศรีีอยุุธยา
ตั้้� ง อยู่่� ใ นชุุ ม ชนที่่� มีี ค วามเจริิ ญ รุ่่� ง เรืืองในสมัั ย นั้้� น และได้้ ร้้ า งไป ครั้้�งหนึ่่�งเมื่่อ � ครั้้�งที่่เ� สีี ยกรุุ งศรีีอยุุธยาแก่่พม่่า ชาวบ้้านมีีการอพยพหนีี
และวััดถููกเผาทำำ�ลาย จนเมื่่อ � ศึึกสงครามสงบลง ประชาชนได้้กลัับ
เข้้ามาตั้้�งถิ่่�นฐานบ้้านเมืืองได้้รัับการพััฒนาฟื้้� นฟูู จึึงได้้มีีการบููรณ
ปฏิิสัังขรณ์์วััดพุุมเรีียงขึ้้�นมาใหม่่ และเรีียกชื่่� อวััดว่่า "วััดใหม่่" หรืือ "วััดใหม่่พุุมเรีียง" ต่่อมาได้้เปลี่่�ยนชื่่� อเป็็นทางการว่่า "วััดพุุมเรีียง"
ตามชื่่� อหมู่่�บ้้าน ได้้ รัับพระราชทานวิิ สุุงคามสีี มาเมื่่�อ พ.ศ. 2391 เขตวิิสุุงคามสีี มา กว้้าง 12.80 เมตร ยาว 18.20 เมตร
อาคารเสนาสนะภายในวััดประกอบด้้วย
พระครููพิิลาศสรกิิจ เจ้้าอาวาสวััดพุุมเรีียง
พระครููพิิลาศสรกิิจ ฉายา ฐิิตญาโณ อายุุ 46 พรรษา 23 ป.ธ.4 น.ธ.เอก วััดพุุมเรีียง ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี การศึึกษา ปริิญญาโท สาขาพระพุุทธศาสนา จากมหาวิิทยาลััย มหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััยวิิทยาเขตนครศรีีธรรมราช สถานะเดิิม ชื่่�อ นายสุุรศัักดิ์์� นามสกุุล ธารายศ เกิิดวัันที่่� 13 สิิงหาคม พ.ศ. 2518 บิิดา นายสัันติิ มารดานางอารมณ์์ ณ หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลย่่านยาว อำำ�เภอคีีรีรัี ัฐ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บรรพชา วัันที่่� 2 เดืือนพฤศจิิกายน พ.ศ. 2540 ณ วััดนิิลาราม ตำำ�บลบ้้านยาง อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููสัันติิยาภิิรม วััดนิิลาราม ตำำ�บลบ้้านยาง อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วัันที่่� 2 เดืือนพฤศจิิกายน พ.ศ. 2540 ณ วััดนิิลาราม ตำำ�บลบ้้านยาง อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููสัันติิยาภิิรม วััดนิิลาราม ตำำ�บลบ้้านยาง อำำ�เภอคีีรีีรััฐนิิคม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
- อุุโบสถ กว้้าง 13.95 เมตร ยาว 19.15 เมตร สร้้างเมื่่อ� พ.ศ. 2390 - ศาลาการเปรีียญ กว้้าง 12.40 เมตร ยาว 16.46 เมตร สร้้างเมื่่อ� พ.ศ. 2390 เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมหลัักทรงไทย 2 ชั้้�น - กุุฏิสิ งฆ์์ จำำ�นวน 2 หลััง เป็็นอาคารไม้้ 1 หลััง ครึ่ง�่ ตึึกครึ่ง�่ ไม้้ 1 หลััง - ศาลาบำำ�เพ็็ญกุุศล จำำ�นวน 1 หลััง นอกจากนี้้มี� ฌ ี าปนสถาน หอระฆััง หอกลอง โรงครััว และกุุฏิเิ จ้้าอาวาส ปููชนีียวััตถุุ มีีพระประธานประจำำ�อุโุ บสถ ปางมารวิิชัยั ขนาดหน้้าตััก กว้้าง 76 นิ้้�ว สููง 88 นิ้้�ว สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2390 ปููชนีียวััตถุุอื่่�นๆ ได้้แก่่ พระพุุทธรููปปางสมาธิิ หน้้าตัักกว้้าง 48 นิ้้�ว สููง 66 นิ้้�ว พระพุุทธรููป ปางมารวิิชััย หน้้าตัักกว้้าง 32 นิ้้�ว สููง 40 นิ้้�ว พระพุุทธรููปปางมารวิิชััย หน้้าตัักกว้้าง 48 นิ้้�ว สููง 68 นิ้้�ว พระพุุทธรููปปางมารวิิชัยั หน้้าตัักกว้้าง 28 นิ้้ว� สููง 40 นิ้้ว� พระพุุทธรููปปางสมาธิิ หน้้าตัักกว้้าง 44 นิ้้ว� สููง 60 นิ้้ว� พระพุุทธรููปทั้้ง� 5 องค์์ สร้้างในสมััยอยุุธยา ประดิิษฐานอยู่่�ในอุุโบสถ
วััดพุุมเรีียง 177 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
111
วััดชยาราม History of Buddhism....
วััดชยาราม เดิิมเรีียกกัันว่่า “วััดศาลาทึึง” เป็็นวััดโบราณวััดหนึ่่�งในหลายๆ วััด ของอำำ�เภอไชยา ซึ่่� งมีีประวััติอั ิ น ั ยาวนาน ใครเป็็นผู้้ส � ร้้างหรืือ
สร้้างขึ้้�นในสมััยไหนไม่่ปรากฏหลัักฐานแน่่ชััด ตามหนัังสืื อประวััติวั ิ ด ั ในประเทศไทยของกรมการศาสนา ระบุุไว้้ว่่าวััดชยารามตั้้�งขึ้้�นประมาณ ปีี พ.ศ. 1310 ดัังนั้้�นวััดชยารามคงจะมีีอายุุร่ว ่ มสมััยเดีียวกัับสมััยศรีีวิชั ิ ัย
112
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดนี้้�ตั้้�งอยู่่�ในชุุมชนโบราณเก่่าแก่่ซึ่่�งเป็็นชุุมชนใหญ่่แห่่งหนึ่่�งมีี แม่่น้ำำ��ใหญ่่ไหลผ่่านกลางชุุมชนคืือ คลองไชยา มีีต้้นน้ำำ��กำำ�เนิิดจากเขา แดนซึ่่�งกั้้�นเขตระหว่่างอำำ�เภอไชยากัับอำำ�เภอกะเปอ จัังหวััดระนอง คลองไชยาแห่่งนี้้�เดิิมเป็็นแม่่น้ำำ��ใหญ่่ประมาณ 60 – 70 ปีีเศษมานี้้� คลองไชยายัังมีีขนาดใหญ่พ่ อที่เ่� รืือบรรทุุกสิินค้า้ เข้้าไปขายได้้ถึงึ ตลาด ไชยาและรัับเอาข้้าว และของป่่า เช่่นหวายนำำ�ไปขายยัังจัังหวััดใกล้้เคีียง ชุุมชนที่่กล่่ � าวถึึงนี้้� ได้้แก่่ หมู่่บ้� า้ นต่่างๆ ซึ่่ง� ตั้ง�้ อยู่่บ� นสัันทราย กลางที่่ร� าบลุ่่ม� สองฟากคลองไชยา เช่่น บ้้านโคกหม้้อ บ้้านเลม็็ด บ้้านปากท่่อ และ บ้้านท่่าโพธิ์์� เป็็นต้้น ที่�สั่ ันนิิษฐานว่่าวััดนี้้�ตั้้�งอยู่่�ในชุุมชนใหญ่่ ก็็เพราะ ว่่าในบริิเวณใกล้้เคีียงกัันนี้้� มีีวััดโบราณร่่วมสมััยและมีีอายุุการตั้้�งวััด ใกล้้เคีียงกัันอีีกหลายวััด เช่่น วััดป่่าลิิไลยก์์ วััดสำำ�โรง วััดจาย(ร้้าง) วััดใหม่่ท่่าโพธิ์์� วััดใหม่่ชลธาร(ร้้าง) และวััดโท(ร้้าง) เป็็นต้้น ถ้้าไม่่เป็็น ชุุมชนใหญ่่จริิงๆ คงไม่่สามารถสร้้างวััดได้้มากมายในบริิเวณใกล้้เคีียง กัันได้้เช่่นนี้้� แสดงถึงึ ความอุุดมสมบููรณ์์และศัักยภาพของชุุมชนโบราณ แห่่งนี้้� ที่่�ได้้สร้้างสมติิดต่่อกัันมาเป็็นระยะเวลาอัันยาวนานนัับได้้พันปี ั ี
การที่ไ� ่ ด้้ชื่่อ� ว่่า “วััดศาลาทึึง” นั้้น � พระครููสุุธนธรรมสาร (ธน จนฺฺทโชโต) อดีีตเจ้้าอาวาสวััดชยาราม เล่่าถึงึ ที่ม่� าของชื่่อ� นี้้ว่่� า เดิิมบริิเวณรอบๆ วััด แห่่งนี้้เ� ป็็นป่า่ ละเมาะและทุ่่�งนามีีบ้้านเรืือนตั้้ง� อยู่่เ� ป็็นหย่่อมๆ ห่่างออก ไปด้้านทิิศเหนืือของวััดมีีทางด่่านเก่่า ซึ่่ง� เป็็นทางด่่านที่่ใ� ช้้ในการสััญจร ติิดต่่อกัันมาตั้ง� ้ แต่่เมืืองไชยาเดิิมชาวบ้้านจากชุุมชนต่่างๆ ทางทิิศตะวัันตก ของเมืืองไชยา เวลาจะไปติิดต่่อทางราชการ หรืือนำำ�พืืชผลทางการ เกษตรไปขายที่บ้่� า้ นพุุมเรีียง ต้้องเดิินผ่า่ นทางหน้้าวััดในชนบททั่่�วไปที่่� มัักจะสร้้างศาลาไว้้หน้้าวััดเพื่่�อคนเดิินทางจะได้้หยุุดพัักอาศััยเวลา เดิินทาง ใกล้้ศาลาหลัังนี้้�มีีต้้นไม้้ใหญ่่ต้้นหนึ่่�ง แผ่่กิ่่ง� ก้้านสาขาไปทั่่�วให้้ ความร่่มรื่่�นแก่่ผู้้�อาศััยร่่มเงาเวลาเดิินทางผ่่านไปมา ต้้นไม้้เรีียกกัันว่่า “ต้้นทึึง” ไม้้ขึ้้�นอยู่่�คู่่�กัับศาลาหลัังนี้้� เลยเป็็นสััญลัักษณ์์ของศาลาหน้้า วััดแห่่งนี้้� จึึงได้้เรีียกติิดปากกัันต่่อมาว่่า “วััดศาลาทึึง” แต่่ชาวบ้้าน เรีียกกัันตามความสะดวกปาก ตามภาษาท้้องถิ่่�นว่่า “วััดหลาทึึง” ตั้ง้� แต่่นั้้�นมา ต่่อในสมััยที่่� พระครููโสภณเจตสิิการาม (ขำำ� ธมฺมฺ โชโต) เป็็น เจ้้าอาวาส จึึงได้้เปลี่่�ยนชื่่อ� วััดเสีียใหม่่ว่่า “วััดชยาราม” เมื่่อ� พ.ศ. 2480 ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส เท่่าที่่�ทราบ
1. พระอธิิการดำำ� 2. พระอธิิการลำำ�พูู 3. พระครููโสภณเจตสิิการาม (ขำำ� ธมฺฺมโชโต) พ.ศ. 2480-2496 4. พระครููสุุธนธรรมสาร (ธน จนฺฺทโชโต) พ.ศ. 2496-2536 5. พระครููอมรชยานุุยุุต (สวััสดิ์์� อมรวีีโร) พ.ศ. 2537-2550 6. พระครููกิิตติิชยารัักษ์์ อุุดมศัักดิ์์� ปณฺฺณญาโณ พ.ศ. 2550-2560 7. พระปลััดสุุชาติิ ปญฺฺญาวชิิโร พ.ศ. 2560 - ปััจจุุบััน
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 336 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลตลาดไชยา อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
113
วััดศรีีเวีียง History of Buddhism....
วััดศรีีเวีียง ตั้้�งขึ้้�นเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2325 สมััยกรุุ งธนบุุรีี เดิิมชื่่� อ
วััดหนองอููม เป็็นวััดเล็็กๆ อยู่่�กลางทุ่่�งนา มีีบึึงใหญ่่อยู่่�ทางทิิศ ตะวัันออกของวััด ห่่างประมาณ 100 เมตร ในสมััยนั้้�นวััดยัังไม่่มีี เขตวิิสุุงคามสีี มา จึึงใช้้ บึึงนี้้�กระทำำ�สัังฆกรรม ก่่อนนี้้�ผู้เ้� ฒ่า ่ ผู้้�แก่่ เล่่าว่่ามีีเสาอยู่่�กลางบึึงนี้้� จึึงสัั นนิิษฐานว่่าเป็็นเสาอุุโบสถ (โบสถ์์ กลางน้ำำ�)
วััดหนองอููม ได้้เปลี่่�ยนชื่่� อเป็็นวััดศรีีนาวาประดิิษฐ์์ ท่่านเจ้้าคุุณ
พระชยาภิิ วััฒน์์ดำ�ร ำ งตำำ�แหน่่งเจ้้ าคณะเมืืองไชยา ได้้ เห็็ นว่่า
ขุุนศรีีนาวา (ผอม) มีีบ้า ้ นเรืือนตั้�ง ้ อยู่่�ใกล้้วัด ั นี้้�และเป็็นผู้้�ดููแลตลอด จนการแผ้้วถางวััดนี้้�ให้้โล่่งเตีียนอยู่่�เสมอ จึึงแต่่งตั้�้งขุุนศรีีนาวา
(ผอม) เป็็ น มัั ค คทายกของวัั ด ศรีี เ วีี ย ง (หนองอูู ม ) และเป็็ น ผู้้�อุุ ปัั ฏ ฐากวัั ด นี้้� ต่่ อมาท่่านเจ้้ า คุุ ณ พระชยาภิิ วัั ฒน์์ ไ ด้้ เ ปลี่่� ย น นามวัั ดนี้้� ใหม่่ เพื่่�อให้้ถููกต้้ องตรงกัั บชื่่� อของผู้้�อุุ ปััฏฐากวัั ดนี้้� ว่่ า วััดศรีีนาวาประดิิษฐ์์
เมื่่อ � พ.ศ. 2481 ได้้เปลี่่�ยนชื่่� อจากวััดศรีีนาวาประดิิษฐ์์มาเป็็น
วััดศรีีเวีียง ที่่�ดิน ิ ตั้�ง ้ วััดเนื้้�อที่่� 9 ไร่่ 2 งาน 60 ตารางวา อาณาเขต ทั้้�ง 4 ทิิศจดเอกชน และมีีที่่ธ � รณีีสงฆ์์ จำ� ำ นวน 1 แปลงเนื้้�อที่่� 1 ไร่่ 2 งาน 40 ตารางวา
พ่่อท่่านนััยธร
114
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
อาคารเสนาสนะประกอบด้้วย
ประวััติิ พระครูู เพชร วฑฺฺฒโน
- อุุโบสถ กว้้าง 8.20 เมตร ยาว 16 เมตร สร้้างเมื่่�อพ.ศ. 2520 เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - ศาลาการเปรีียญ กว้้าง 11.50 เมตร ยาว 21.50 เมตร สร้้างใน สมััยพระครููเพชร วฑฺฺฒโน เป็็นเจ้้าอาวาส และได้้บููรณะเสร็็จสิ้้�นเมื่่�อ พ.ศ. 2541 เป็็นอาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็กทรงไทยชั้้น� เดีียว - กุุฏิ จำ ิ �ำ นวน 5 หลััง เป็็นอาคารไม้้ 2 หลััง อาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก 3 หลััง - ศาลาบำำ�เพ็็ญกุุศล 1 หลััง สร้้างด้้วยคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก นอกจาก นี้้�ยัังมีีฌาปณสถานคืือ หอระฆััง 1 หอ หอฉััน 1 หอ เรืือนเก็็บวััสดุุ 1 เรืือน และกุุฏิิ เจ้้าอาวาส 1 หลััง ปููชนีียวััตถุุ มีี พระประธานประจำำ�อุุโบสถ ปางมารวิิชััย ขนาด หน้้าตัักกว้้าง 52 นิ้้�ว สููง 68 นิ้้�ว พระอััครสาวกประทัับยืืนประนมมืือ 2 องค์์ พระประธานประจำำ�ศาลาการเปรีียญปางสมาธิิ พระประธานประจำำ�ศาลาการเปรีียญ สร้้างด้้วยศิิลาทรายแดงฉาบ ปููนลงรัักปิิดทอง ขนาดหน้้าตัักกว้้าง 56 นิ้้�ว สููง 76 นิ้้�ว ปางมารวิิชััย สร้้างในสมััยอยุุธยาตอนปลาย
พระปลััดธวััช ถาวโร เจ้้าอาวาสวััดศรีีเวีียง
พระครููเพชร วฑฺฺฒโน เจ้้าอาวาส วััดศรีีเวีียง (วััดหนองอููม) ท่่านเกิิดวันั ที่่� 24 มิิถุุนายน พ.ศ. 2420 ตรงกัับ วัันอาทิิตย์์ ขึ้้�น 14 ค่ำำ� � เดืือน 8 ปีีฉลูู เมื่่อ� ตอนวััยเยาว์์ บิดิ าได้้พาไปฝากให้้ เล่่าเรีียนหนัังสืือไทยกัับพระอาจารย์์เจิิง เจ้้าอาวาสวััดพระบรมธาตุุไชยา เมื่่อ� อ่่ า นออกเขีี ย นได้้ แ ตกฉานแล้้ ว จึึงลาพระอาจารย์์ออกจากวััดไปช่่วย พ่่อแม่่ประกอบอาชีีพทำำ�ไร่่ทำำ�นา พ.ศ. 2443 ท่่านอายุุครบ 23 ปีีได้้เข้้าบรรพชาอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ ณ อุุโบสถวััดพระบรมธาตุุไชยาโดยมีีพระครููโสภณเจตสิิการาม(คง) เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พระอธิิการกลัับวััดท่่าม่่วง อำำ�เภอท่่าชนะเป็็น พระกรรมวาจาจารย์์ พระอธิิ ก ารเจิิ ง วัั ด พระบรมธาตุุ ไชยาเป็็ น พระอนุุสาวนาจารย์์ หลัั ง จากอุุ ป สมบทแล้้ ว ท่่ า นได้้ เข้้ า ศึึกษาทางพระศาสนากัั บ พระชยาภิิวััฒน์์ พ่่อท่่านเพชรได้้จำำ�พรรษาที่่�วััดพระบรมธาตุุไชยา 19 พรรษามีีความอุุตสาหและเคร่่งครััดในการปฏิิบััติิศาสนกิิจ พ.ศ. 2462 ท่่านได้้ย้้ายออกจากวััดพระบรมธาตุุไชยามาเป็็น เจ้้าอาวาสวััดศรีีนาวาประดิิษฐ์์ (วััดหนองอููม) ระหว่่างที่่�ท่่านได้้เป็็น เจ้้าอาวาสอยู่่�นั้้น� ท่่านได้้บูรู ณะและพััฒนาวััดนี้้� สร้้างสิ่่ง� ปลููกสร้้างต่่างๆ มากมาย และพ่่อท่่านเพชรเป็็นผู้้�ที่่เ� คร่่งครััดในหลัักปฏิิบัติั ทิ างพระพุุทธ ศาสนา ท่่านได้้ให้้ความรู้้�และอบรมสั่่�งสอนชาวบ้้าน จนท่่านเป็็นที่่� เลื่่�อมใสและศรััทธาของชาวบ้้านในบริิเวณอำำ�เภอไชยาและอำำ�เภอ ใกล้้เคีียงเป็็นอย่่างมาก ในปีี พ.ศ. 2485 ท่่านได้้รับั พระมหากรุุณาธิิคุณ ุ โปรดเกล้้ า พระราชทานสมณะศัั ก ดิ์์� เ ป็็ น พระครูู เ พชร วฑฺฺ ฒ โน ท่่านพำำ�นัักอยู่่�ที่่�วััดหนองอููมรวม 49 พรรษา จนถึึงวัันที่่� 15 ตุุลาคม พ.ศ. 2511 ตรงกัับวันั อัังคาร แรม 9 ค่ำำ�� เดืือน 11 ปีีวอก ท่่านมรณภาพ ด้้วยโรคชรา หััวใจวายหลัังจากฉัันอาหารเช้้าเสร็็จแล้้ว ท่่านละสัังขาร ไปด้้วยความสงบ สิิริิอายุุได้้ 91 ปีี 3 เดืือน 21 วััน พรรษา 68 งานบุุญประเพณีีประจำำ�ปีีวััดศรีีเวีียง
1. งานสรงน้ำำ�� พระครููเพ็็ชร วฑฺฺฒโน (แรม 14 ค่ำำ�� เดืือน 5 ) 2. ประเพณีีบุุญสราทเดืือนสิิบ (ตา-ยาย)(รัับขึ้้�น 8 ค่ำำ� � เดืือน 10 / ส่่งแรม 8 ค่ำำ�� เดืือน 10 ) 3. ทัักษิิณานุุปทานครบรอบมรณภาพพระครููเพ็็ชร วฑฺฺฒโน (แรม 9 ค่ำำ�� เดืือน 11 )
ตั้�้งอยู่่�หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลเวีียง
อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
115
วััดโพธาราม History of Buddhism....
วััดโพธาราม หรืือที่่�ชาวบ้้านเรีียกเป็็นชื่่� อเดิิมว่่า วััดเหนืือ สัั งกััด
คณะสงฆ์์มหานิิกาย อยู่่ใ� นเขตปกครองของคณะสงฆ์์ ตำ�บ ำ ลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ภาค 16 วััดมีีเนื้้�อที่่�จำ� ำ นวน 6 ไร่่
3 งาน 7 ตารางวา มีีหนัังสืื อแสดงกรรมสิิ ทธิ์์ที่ ่� น ิ คืือ น.ส.3 เลขที่่� 34 � ดิ
วััดได้้รับ ั อนุุญาตให้้สร้า ้ งประมาณ พ.ศ. 1830 และได้้รับ ั พระราชทาน
วิิ สุุ ง คามสีีมาประมาณ พ.ศ. 1835 ได้้ ป ระกอบพิิ ธีี ผูู ก พัั ท ธสีีมา ประมาณพ.ศ. 1840 การประมาณสร้้ างวัั ดทางกรมการศาสนา มีีนายมงคล ศรีีไพรวรรณ อธิิบดีี กรมการศาสนาได้้ ประมาณมา ให้้ที่วั �่ ด ั ตามที่่วั � ด ั ได้้มีีหนัังสืื อร้้องขอหลัักฐานไปที่่ก � รมศาสนา
ที่่ช � าวบ้้านได้้เรีียกว่่าวััดเหนืือนั้้�น เพราะวััดนี้้�ได้้ตั้้�งอยู่่�ทางทิิศเหนืือ
ของเมืืองไชยาในครั้้� งโบราณ และได้้ตั้้�งอยู่่�ในที่่� ที่่�ชาวบ้้านเรีียกว่่า
บ้้านเหนืือ ที่่�ได้้มีีชื่่� อเรีียกว่่าวััดโพธาราม ก็็เพราะวััดนี้้�ในครั้้�งโบราณ
ที่่�ข้้างๆ วััดได้้มีีต้้นโพธิ์์�อยู่่�เป็็นอัันมาก ชาวบ้้านหรืือพระก็็ไม่่ทราบ เป็็นผู้้�ตั้้� งชื่่� อวััด เลยตั้้� งชื่่� อวััดให้้ติิดชื่่� อต้้นโพธิ์์�ไว้้ด้้วย เพราะให้้สมกัับ
ที่่มีีต้ � น ้ โพธิ์์�อยู่่ม � ากในครั้้�งโบราณ ส่่ วนวััดโพธารามนี้้� ได้้สร้า ้ งไว้้เมื่่�อไร และผู้้�ใดได้้สร้้างไว้้ ก็็ไม่่มีีใครจะทราบได้้ ส่่วนการบููรณะซ่่ อมแซม ก็็ ค งมีีการบููรณะซ่่ อมแซมกัั น มาแล้้ ว หลายยุุ ค หลายสมัั ย ตามที่่�
ชาวบ้้านได้้เล่่าให้้ฟังั ว่่า เมื่่�อพระรููปใดได้้มาเป็็นเจ้้าอาวาส พระรููปนั้้�น ก็็ได้้ชัักชวนชาวบ้้านให้้ช่่วยกัันซ่่ อมแซมตลอดมา
116
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ปููชนีียวััตถุุ และโบราณวััตถุุ
- พระประธานที่่โ� รงอุุโบสถ 5 รููป เป็็นที่่สั� กั การบููชาของพระภิิกษุุ สามเณรและประชาชน ลัักษณะเป็็นพระปางสดุ้ง้� มารทั้้�ง 5 รููป ส่่วน องค์์ใหญ่่ หน้้าตัักกว้้าง 148 ซม. สููง 196 ซม. องค์์เล็็กที่่�อยู่่�ข้้างขวามืือ ขององค์์ใหญ่่ หน้้าตัักกว้้าง 98 ซม. สููง 120 ซม. และองค์์ที่่�อยู่่�ฝ่่าย เดีียวกััน แต่่ถััดลงไปชั้้�นล่่าง หน้้าตัักกว้้าง 127 ซม. สููง 152 ซม. และ องค์์เล็็กทางซ้้ายมืือขององค์์ใหญ่่ หน้้าตัักกว้้าง 96 ซม. สููง 113 ซม. และถััดลงไปชั้้�นล่่างอยู่ฝ่่� า่ ยเดีียวกััน หน้้าตัักกว้้าง 135 ซม. สููง 158 ซม. และยัังมีีพระพุุทธรููปอีีก 2 องค์์ สำำ�หรัับใช้้ในการชัักพระบก เมื่่�อ วัันออกพรรษาทุุกๆ ปีี เป็็นพระปางอุ้้�มบาตรยืืนตรง - เจดีีย์์ใหญ่่ 1 องค์์ อยู่่�นอกเขตพััทธสีีมา ทางทิิศหรดีีของ โรงอุุโบสถไปข้้างหลััง เพราะเป็็นเจดีีย์์ในสมััยโบราณ ก่่อด้้วยอิิฐดิินเผา โบกปููนและในสมััยก่่อนได้้มีีชื่่�อเสีียงว่่า ถ้้ามีีหนัังตะลุุง หรืือ มโนรา ได้้เดิินทางผ่่านที่่ห� น้้าเจดีีย์์องค์์นี้้แ� ล้้ว ถ้้าไม่่ได้้หยุุดรำำ�ถวายก็็จะมีีอาการ ต่่างๆ เช่่น มีีการปวดท้้องบ้้าง ปวดหััวบ้้างและเป็็นไข้้บ้้าง แต่่ถ้้าได้้หยุุด รำำ�ถวาย อาการเช่่นว่่านั้้�นก็็หายได้้ไม่่ต้้องไปกิินยาเลย เรื่่�องเกีียรติิคุุณ ก็็เป็็นที่่สั� กั การะของประชาชนทั่่�วไปจนถึึงปััจจุุบันั นี้้� ลัักษณะทำำ�เป็็นรููป ปููนปั้้�นรอบองค์์เจดีีย์์ และเป็็นเจดีีย์์ขนาดใหญ่่ในวััดโพธาราม โบราณวััตถุุ มีีแต่่ถ้้วยลายครามอยู่่�สิิบกว่่าใบ ส่่วนประวััติิและ ชื่่�อเสีียงเกีียรติิคุุณก็็ไม่่ปรากฏ ลัักษณะเป็็นถ้้วยลายครามใส่่อาหาร แบบโบราณ ปููชนีียวััตถุุและโบราณวััตถุุของวััดโพธาราม มีีมากมายในสมััย โบราณแต่่มาสููญหายเมื่่�อ พ.ศ. 2484 กัับเมื่่�อ พ.ศ. 2513 จนหมดสิ้้�น
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
วััดโพธาราม สร้้างเมื่่�อประมาณ พ.ศ. 1830 - 2564 (734 ปีี) รููปที่่� 1-15 ไม่่ทราบได้้ รููปที่่� 16 พระรััตนมุุนีีศรีีสัังฆราชาลัังกาแก้้ว(ทองอยู่่�) พ.ศ. 2383-2433 รููปที่่� 17 พระชยาภิิวััฒน์์ (หนูู ติิสฺฺโส) พ.ศ. 2433-2443 รููปที่่� 18 พระครููโสภณเจตสิิการาม (คง วิิมโล) พ.ศ. 2436-2472 รููปที่่� 19 พระครููโพธาภิิรััต (ช่่วย ติิสฺฺโส) พ.ศ. 2472-2503 รููปที่่� 20 พระเสมอ กมฺฺพุุวณฺฺโณ พ.ศ. 2503-2513 รููปที่่� 21 พระอุุดม ธมฺฺมราโม พ.ศ. 2513-2523 รููปที่่� 22 พระครููโพธานุุกููล (เจิิม ฐานกโร) พ.ศ. 2523 รููปที่่� 23 พระฐาวรธรรมวิิทสุุทธิ์์� (ตาหลวงเมืือง) รููปที่่� 24 พระครููสมุุห์์ราเชนทร์์ (วณฺฺณวฑฺฺฒโน) พ.ศ. 2557-2562 รููปที่่� 25 พระอธิิการสุุภาส ถิิรจิิตฺฺโต พ.ศ. 2562-ปััจจุุบััน
พระอธิิการสุุภาส ถิิรจิิตฺโฺ ต เจ้้าอาวาสวััดโพธาราม
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 98
บ้้านพุุมเรีียง
หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
117
วััดศัักดิ์์�คุุณาราม History of Buddhism....
วััดศัั กดิ์์�คุุณาราม ตั้�้งวััดเมื่่อ � วัันที่่� 11 มิิถุุนายน พ.ศ. 2387 เดิิมเรีียกว่่า “วััดหััวคูู” เนื่่�องจากในสมััยกรุุ งศรีีอยุุธยา ได้้มีีการสู้้�รบกัับพม่่า
ชาวบ้้านร่่วมกัันตั้�ง ้ ค่่ายต่่อสู้้� และได้้ขุด ุ คููล้อ ้ มรอบค่่าย โดยวััดตั้�ง ้ อยู่่�เหนืือสุุดของคููค่า ่ ย และเมื่่อ � พม่่าตีีค่่ายได้้จึง ึ ได้้กวาดเอาทรััพย์์สิิ น และเผาวััด ชาวบ้้านอพยพหนีี ทำำ�ให้้วัด ั กลายเป็็นวััดร้้าง
วััดได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2389 อุุโบสถมีีลัักษณะเป็็นอาคารเครื่่อ � งไม้้มุงุ กระเบื้้�องเกล็็ดเต่่า รอบอุุโบสถมีีเสมาหิินทราย
แดงทั้้�งแปดทิิศ ภายในประดิิษฐานหมู่่�พระพุุทธรูู ปปูน ู ปั้้�นลงรัักปิิดทองปางมารวิิชัั ย สมััยอยุุธยาตอนปลายต้้นรััตนโกสิินทร์์ จำ� ำ นวน 8 องค์์
118
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ต่่อมา ประมาณปีี พ.ศ. 2453 พระครููศัักดิ์์� ธมฺฺมรกฺฺขิิโต ได้้ชัักชวน ชาวบ้้านมาบููรณะปฏิิสัังขรณ์์วััดขึ้้�นมาใหม่่และเป็็นเจ้้าอาวาสรููปแรก จากนั้้�นได้้ดำำ�เนิินการพััฒนาวััดจนเจริิญก้้าวหน้้ามีีการส่่งเสริิมการ ศึึกษาพระปริิยััติิธรรมและบาลีีของพระภิิกษุุสามเณร และท่่านยัังเป็็น หมอยาแผนโบราณที่่�เสีียสละ โดยเฉพาะเกี่่ย� วกัับการเจ็็บไข้้ได้้ป่ว่ ยของ ชาวบ้้าน ไม่่ว่่าคนพุุทธหรืือคนอิิสลามมาตามให้้ไปรัักษาได้้ทุุกเวลา ทำำ�ให้้เป็็นที่่�เคารพศรััทธาของคนในชุุมชนมาก ต่่อมาได้้รับั พระราชทาน สมณศัักดิ์์�เป็็น พระครููคณานุุกููล และได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็น เจ้้าคณะ แขวงเมืืองไชยา เมื่่�อ พ.ศ. 2469 ท่่านเป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ในพิิธีีอุุปสมบทของพระภิิกษุุเงื่่�อม อิินฺฺทปญฺฺโญ (ท่่านพุุทธทาสภิิกขุุ) และเมื่่�อท่่านมรณภาพลงแล้้วปรากฏ ว่่าสัังขารไม่่เน่่าเปื่่อ� ย พระเงื่่อ� ม อิินฺฺทปญฺฺโญ ร่่วมกัับพระสงฆ์์ สามเณร และชาวบ้้าน ได้้ทำำ�สถููปเก็็บสรีีระสัังขารท่่านไว้้ โดยประดิิษฐานอยู่่� หน้้าอุุโบสถวััดศัักดิ์์�คุุณาราม และทางคณะสงฆ์์ได้้เปลี่่�ยนชื่่�อวััดใหม่่ว่่า “วััดศัักดิ์์�คุุณาราม” เพื่่�อเป็็นเกีียรติิประวััติิและอนุุสรณ์์ในคุุณงาม ความดีีของท่่าน ซึ่่�งใช้้เรีียกกัันมาถึึงปััจจุุบััน
พระอธิิการวิิจารย์์ ขนฺติิ ฺ โก เจ้้าอาวาสวััดศัั กดิ์์คุ ุ าราม � ณ
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาส เท่่าที่่ท � ราบนาม ดัังนี้้�
ตั้�้งอยู่่�หมู่่�ที่่� 1
ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
1. พระครููคณานุุกููล(ศัักดิ์์� ธมฺฺมรกฺฺขิโิ ต) พ.ศ. 2432 - 2475 2. พระสมุุห์์ชูู เกสโร พ.ศ. 2476 - 2490 3. พระมหาพร้้อม ญาณโสภโณ พ.ศ. 2490 - 2495 4. พระครููกิิตติิญาณโสภิิต(มงคล ปิิยาสโภ) พ.ศ. 2496 - 2560 5. พระครููธรรมธรพรชััย อกิิญฺฺจโน(รก.) พ.ศ. 2560 - 2563 6. พระอธิิการวิิจารย์์ ขนฺฺติิโก พ.ศ. 2563 - ปััจจุุบััน SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
119
วััดดอนสััก (สิิงขร) History of Buddhism....
ตํําบลดอนสัั ก อํําเภอดอนสัั ก จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ความเป็็นมา วััดดอนสัั ก (สิิ งขร ) นี้้เ� มื่่อ � ประมาณ พ.ศ. 2050 ชาวบ้้านได้้ช่่วยกัันสร้้างวััดขึ้้�นมา โดยไม่่ทราบว่่าภิิกษุุรููปใดดููแลวััดเป็็นรูู ปแรก
120
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิความเป็็นมาของวััดดอนสัั ก (สิิ งขร)
ข้้อมููลทั่่�วไปของวััดดอนสััก(สิิงขร) เป็็นวััดสัังกััดคณะสงฆ์์ มหานิิกาย เดิิมวััดดอนสััก (สิิงขร) เป็็นวััดที่่�เก่่าแก่่มีีเนื้้�อที่่� ประมาณ 50 ไร่่ ตามหลัักฐานที่่�ขึ้้�นทะเบีียนกัับกรมศาสนาได้้ ขอตั้้�งวััดเมื่่�อ พ.ศ. 2050 และรัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา ในปีีพ.ศ. 2080 นัับถึึงปััจจุุบัันมีีอายุุประมาณ 505 ปีี ถืือเป็็น วััดแรกของอำำ�เภอดอนสััก และยัังมีีถ้ำำ��ที่่�ชาวบ้้านเล่่าขานกัันว่่า มีีสิ่่�งของที่่�ชาวบ้้านนำำ�มาเก็็บสมััยบ้้านเมืืองมีีสงครามเขาจึึง เรีียกถ้ำำ��นี้้�ว่่าถ้ำำ��สิ่่�งของ และมีีชาวบ้้านสัับเปลี่่�ยนเวีียนกัันมาเฝ้้า พอนานเข้้าของอาจจะหมด หรืืออาจจะเป็็นอุุบายจากสิ่่ง� ของมา เป็็นสิิงขรจะได้้ไม่่ต้อ้ งระวัังกัันมากนี้้ป� ระการหนึ่่ง� อีีกประการหนึ่่ง� จากคำำ�ว่่าสิ่่�งของพอนานเข้้าอาจจะเพี้้�ยนเป็็น สิิงขร ก็็เป็็นได้้ เดิิมวััดดอนสััก (สิิงขร) มีีโบราณสถานและโบราณวััตถุุเก่่าแก่่ อยู่่�มากมาย เช่่น ขัันลงหิิน ถ้้วยชาม สัังคโลก และพระพุุทธรููป บููชา แต่่ปััจจุุบัันโบราณวััตถุุเหล่่านี้้�ได้้สููญหายไป สิ่่�งที่่�ใช้้ได้้ ชาวบ้้านอาจจะเอาไปใช้้บ้า้ ง หรืืออาจจะเอาไปขายก็็ไม่่แน่่ เหลืือ อยู่่�แต่่พระพุุทธรููปดิินเผาบ้้าง ดิินแดงบ้้าง เท่่าที่่�เห็็นอยู่่�ตอนนี้้� ส่่ ว นที่่� เ หลืือก็็ ชำำ�รุุ ด ทรุุ ด โทรมไปตามกาลเวลา เนื่่� อ งจาก วััดดอนสัักในอดีีตเป็็นวััดร้้างนานอยู่่�หลายปีีและไม่่มีีผู้้�ดููแล จึึง ทำำ� ให้้ วัั ดชำำ�รุุ ด ทรุุ ด โทรมไปมากมีีบางช่่ ว งที่่� มีี พระสงฆ์์ ม า จำำ�พรรษาแต่่ก็็อยู่่�ได้้ไม่่นาน จึึงมีีการพััฒนาอยู่่�บ้้างตามกำำ�ลััง ของชาวบ้้าน แต่่การพััฒนานั้้�นเป็็นไปอย่่างไม่่เต็็มที่่� จนมาถึึง พ.ศ. 2547 เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบัันได้้มีีการบููรณะ และดำำ�เนิินการ พััฒนาสร้้างโบสถ์์ขึ้น้� มาใหม่่แทนโบสถ์์หลัังเก่่าที่่ชำ� ำ�รุดุ ทรุุดโทรม และได้้รัับพระราชทาน วิิสุุงคามสีีมาใหม่่ เมื่่�อวัันที่่� 2 มีีนาคม พ.ศ. 2553 และวัันที่่� 5 ธัันวาคม พ.ศ. 2555 ได้้เริ่่�มสร้้างหลวง ปู่่�ทวด ขนาดหน้้าตััก 29.90 เมตร สููง 33.90 เมตร เพื่่�อเป็็นที่่� สัักการบููชา ของประชาชนผู้้�ที่่�มีีความเคารพศรััทธาและให้้นััก ท่่องเที่่ย� วที่่จ� ะเดิินทางไปยัังเกาะสมุุย, เกาะพงััน, เกาะเต่่า และ หมู่่�เกาะอ่่างทอง ได้้แวะสัักการบููชา เพื่่�อความเป็็นสิิริิมงคล ก่่ อ นหรืือหลัังจากเดิิ น ทางไปท่่ อ งเที่่� ย ว ซึ่่� ง ในขณะนี้้� กำำ�ลัั ง ดำำ�เนิินการสร้้างอยู่่� SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
121
122
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ปููชนีียวััตถุุที่่สำำ�คั � ญ ั ของวััด
พ่่อท่่านเจ้้าวััด เป็็นพระพุุทธรููปองค์์หนึ่่�งที่่�อยู่่�คู่่�วััด พระพุุทธรููป องค์์นั้้น� สร้้างขึ้้น� มาจาก ดิินเผา พอพระพุุทธรููปองค์์นั้้น� หัักพัังจึึงถููกย้้าย ลงมาจากโบสถ์์มาตั้้�งอยู่่�ที่่�โขดหิินบริิเวณหน้้าโบสถ์์ (หลัังเก่่า) จากนั้้�น ก็็ได้้มีีผู้้�คนมากราบไหว้้พระพุุทธรููปองค์์นั้้�นที่่�โขดหิิน หลัังจากนั้้�นก็็ได้้ มีีคนนำำ�เอา ขวดกระดููกของญาติิพี่่�น้้องที่่�เสีียชีีวิิตมาไว้้มาฝากไว้้กัับ พระพุุทธรููปที่่โ� ขดหิินนั้้�น หรืืออาจจะไม่่มีีที่เ�่ ก็็บ จึึงนำำ�มาไว้้ที่โ่� ขดหิินนั้้�น จนนานๆเข้้าขวดที่่�ใส่่กระดููกนั้้�นเพิ่่�มมากขึ้้�นเรื่่�อยๆ จากนั้้�นวััดก็็ได้้ ว่่างเว้้น จากเจ้้าอาวาส จึึงไม่่มีีใครมาดููแลวััดอยู่่�เป็็นเวลานาน จนเวลา ผ่่านไปปลวกก็็ได้้สร้้างรัังขึ้้�นมาห่่อหุ้้�ม ขวดกระดููกและพระพุุทธรููป ที่่�โขดหิินนั้้�น จนทำำ�ให้้ชาวบ้้านไม่่สามารถรู้้�และมองเห็็นได้้ว่่าข้้างใน จอมปลวกนั้้�น มีีพระพุุทธรููปและขวดกระดููกอยู่่� พอเวลาผ่่านไป ชาวบ้้านก็็ได้้มีีความคิิดเห็็นที่่�จะขุุดทำำ�ลายจอมปลวกนั้้�นแต่่ก็็ไม่่มีี ชาวบ้้านคนใดกล้้าที่่�จะไปขุุดทำำ�ลายจอมปลวกนั้้�น จากนั้้�นก็็ไม่่มีี ชาวบ้้านคนใด คิิดที่่�จะขุุดทำำ�ลายจอมปลวกนั้้�นอีีกเลย แต่่พอได้้มีีเจ้้า อาวาสรููปปััจจุุบัันมาจำำ�พรรษาจึึงขุุดทำำ�ลาย จอมปลวกนั้้�นจึึงได้้พบเห็็น พระพุุทธรููปและขวดกระดููกเยอะแยะมากมายจึึงหยุุดขุุด จากนั้้�นก็็ได้้ สร้้างพีีระมิิดเจดีีย์์เล็็กๆขึ้้�นมาห่่อหุ้้�มพระพุุทธรููปที่่�หัักพัังและขวด กระดููกนั้้�นเอาไว้้ จากนั้้�นก็็ได้้นำำ�พระพุุทธรููป ที่่เ� ก่่าแก่่มาประดิิษฐานไว้้ บนพีีระมิิดเจดีีย์์แทนพระพุุทธรููปที่่�หัักพััง แต่่พระพุุทธรููปที่่�หัักพัังนั้้�น ยัังคงอยู่่� ข้้างในพีีระมิิดเจดีีย์์เหมืือนเดิิม ชาวบ้้านจึึงเรีียกพระพุุทธรููป องค์์นั้้�นว่่า “พ่่อท่่านเจ้้าวััด” SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
123
ประวััติค ิ วามเป็็นมาของถ้ำำ�สิิงขร
ประวััติิที่ ปู่่ ่� ย่ � า่ – ตา ยาย เล่่าขานกัันว่่าเมื่่อ� ก่่อนถ้ำำ��สิงิ ขร เขาเรีียก กัันว่่า ถ้ำำ��สิ่่ง� ของ เพราะถ้ำำ��แห่่งนี้้�มีีสิ่่ง� ของอยู่่�มากมาย สิ่่�งของที่่อ� ยู่่�ในถ้ำำ�� นั้้�นชาวบ้้านเชื่่�อกัันว่่า เมื่่�อสมััยกรุุงศรีีอยุุธยาตอนกลางได้้มีีกองทหาร หััวเมืืองนครศรีีธรรมราช และหััวเมืืองไชยา มาตั้้�งกองกำำ�ลัังอยู่่�เขตนี้้� (จะให้้แน่่ชััดว่่าอยู่่�บริิเวณไหนนั้้�น ก็็ยากที่่�จะพิิสููจน์์ แต่่มีีหลัักฐานซึ่่�ง เป็็นคำำ�บอกเล่่าที่่�มีีความเป็็นไปได้้สููง คืือที่่�สำำ�นัักสงฆ์์ดอนเสาธง และ วััดดอนสััก เพราะมีีเสาธงไม้้ปัักอยู่่�เป็็นหลัักฐานถึึงชนรุ่่�นหลัังที่่�ได้้เห็็น เสาธงนั้้�น ตอนนี้้�เสาธงนั้้�น ไม่่ได้้มีีผู้้�ดููแลรัักษาจนหัักพัังและสููญหายไป ในที่่�สุุด ) เพื่่�อที่่�จะดููแลความปลอดภััยและอำำ�นวยความสะดวกให้้กัับ ชาวบ้้านและพ่่อค้้าที่่�เดิินทางไปมาระหว่่างหััวเมืืองนครศรีีธรรมราช และหััวเมืืองไชยา การเดิินทางสมััยนั้้�นจะใช้้ควายลากเกวีียนเป็็นหลััก อีีกประเด็็นหนึ่่�งคืือทหารที่่ม� าตั้้ง� กองกำำ�ลัังอยู่่�เขตนี้้�อาจจะมาดููแลความ ปลอดภััยและคุ้้�มครองทรััพย์์สิินของราษฎรที่่�นำำ�มาฝากไว้้ ซึ่่�งทหาร ได้้นำำ�ทรััพย์์สิินที่่�ราษฎรฝากไว้้ มาเก็็บรัักษาไว้้ข้้างในถ้ำำ�ก็ � ็เป็็นไปได้้ จึึงทำำ�ให้้ชาวบ้้านเรีียกถ้ำำ�นั้้ � น� ว่่าถ้ำำ�สิ่่ � ง� ของ ต่่อมาทหารเหล่่านั้้น� ถููกเรีียกตััว กลัับเพราะได้้มีีข้้าศึึกมาบุุกโจมตีีหััวเมืือง แต่่ก่อ่ นจะกลัับไปนั้้น� พระสงฆ์์ ที่่ช� าวบ้้านศรััทธา ได้้สร้า้ งวััตถุุมงคลเป็็นลัักษณะ พระยอดขุุนพลเพื่่�อที่่จ� ะนำำ� ไปให้้ทหารพกติิดตััวเอาไว้้เพื่่�อที่่จ� ะปกป้้อง และเป็็นสิิริมิ งคลแก่่ตนเอง
กาลเวลาผ่่านไปทหารเหล่่านั้้น� ก็็ไม่่มีีใครกลัับมาอีีกเลย เนื่่อ� งจากพม่่าได้้ ตีีกรุุงศรีีอยุุธยาแตก ภายหลัังเมื่่�อไม่่มีีทหารมาคุ้้�มครองรัักษาทรััพย์์สินิ ที่่�อยู่่�ในถ้ำำ�สิ่่ � �งของ ขโมยก็็ได้้เข้้าไปเอาสิ่่�งของที่่�มีีค่่าไปจนเกืือบหมด ที่่เ� หลืืออยู่่�ก็็ไม่่มากส่่วนใหญ่่เป็็นเศษที่่หัั� กพัังอธิิเช่่น ขัันลงหิิน ถ้้วยชาม สัังคโลก และพระยอดขุุนพลเก่่าที่่หัั� กพััง( สมััยกรุุงศรีีอยุุธยา ) ต่่อมา กาลเวลาได้้ผ่่านไปตามยุุกต์์ตามสมััยชาวบ้้านก็็ได้้เปลี่่�ยนชื่่�อถ้ำำ��สิ่่�งของ มาเป็็น ถ้ำำ�สิ � ิงขร เพราะสภาพภููมิิลำำ�เนาภููเขา และลำำ�คลองอยู่่�ใกล้้กััน หรืืออาจจะ ตั้้�งให้้เข้้ากัับชื่่�อวััดก็็เป็็นได้้ ต่่อมาเจ้้าอาวาสปััจจุุบัันได้้นำำ�พระ และชาวบ้้านไปบููรณะ และ พััฒนาบริิเวณหน้้าปากถ้ำำ�� และข้้างในถ้ำำ�� เพื่่�อที่่�จะทำำ�ให้้ถ้ำำ��สิิงขรแห่่งนี้้� แหล่่งเรีียนรู้้�เชิิงนิิเวศ และเป็็นสถานที่่ท่� อ่ งเที่่ย� ว พอเข้้าไป ถึงึ ข้้างในถ้ำำ�� ก็็ได้้พบเจอกัับพระยอดขุุนพลเก่่าที่่หัั� กพัังแล้้ว เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบัันจึึง มีีความคิิดที่่�จะสร้้าง วััตถุุมงคล โดยนำำ�พระยอดขุุนพลที่่�พบเจอข้้างใน ถ้ำำ��มีีอายุุกว่่า 500 ปีี มาสร้้างขึ้้�นใหม่่เป็็นลัักษณะ พระยอดขุุนพล เหมืือนเดิิม จากนั้้�นก็็ได้้นำำ�พระยอดขุุนพลที่่�สร้้างเสร็็จแล้้วมาทำำ�พิิธีี พุุทธาภิิเษก โดยได้้นิมิ นต์์พระเกจิิอาจารย์์ชื่่อ� ดัังมาทำำ�พิธีีิ ปลุุกเสกพระ
124
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติอ ิ ดีีตเจ้้าอาวาส
เนื่่�องจากวััดดอนสััก (สิิงขร) เป็็นวััดที่่�ห่่างไกลจากชุุมชนการ คมนาคมจึึงไม่่สะดวกทำำ�ให้้วััดดอนสััก (สิิงขร) เป็็นวััดร้้างอยู่่�หลายต่่อ หลายครั้้�ง เหตุุนี้้�จึึงทำำ�ให้้วััดขาดการพััฒนาอย่่างต่่อเนื่่�อง ปััจจุุบััน การคมนาคมสะดวกขึ้้น� กว่่าสมััยก่่อนและมีีการพััฒนาทั้้�งชุุมชนและวััด ควบคู่่�กัันไป วััดดอนสััก (สิิงขร) จึึงมีีพระเข้้ามาจำำ�พรรษาอย่่างต่่อเนื่่�อง นัับตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2487 จนถึึงปััจจุุบััน ก่่อนปีี พ.ศ. 2487 วััดได้้ร้้างอยู่่�นานไม่่สามารถสืืบค้้นข้้อมููลได้้ พ่่อท่่านพัับ เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2487 - 2490 พ่่อท่่านพร้้อม เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2491 - 2492 พ่่อท่่านแก้้ว เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2493 - 2497 พ่่อท่่านสุุด เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2498 - 2505 พ่่อท่่านพร้้อม เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2506 - 2511 พ่่อท่่านชม รัักษาการเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2512 พ่่อท่่านช้้อย รัักษาการเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2513 พ่่อท่่านขำำ� เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2514 - 2526 พ่่อท่่านนง รัักษาการเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2526 พระสมุุห์์ขอม เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2532 - 2539 พระอธิิการเนิิบ เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2540 - 2546 พระครููไพโรจน์์ธรรมรุุจิิ (พระมหาวิิลาศ) เป็็นเจ้้าอาวาส พ.ศ. 2547 จนถึึงปััจจุุบััน
พระครูู ไพโรจน์์ธรรมรุุ จิิ (พระมหาวิิลาศ) เจ้้าอาวาสวััดดอนสัั ก (สิิ งขร) เจ้้าคณะอำำ�เภอดอนสัั ก
ตั้้� งอยู่่�หมู่่�ที่่� 2
ตํําบลดอนสัั ก
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
อํําเภอดอนสัั ก
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
125
วััดอััมพาราม (วััดม่่วง) History of Buddhism....
วััดอััมพาราม ประชาชนนิิยมเรีียกว่่า "วััดม่่วง" นัับตั้้�งแต่่อดีต ี จนถึึงปััจจุุบัน ั นี้้� ความจริิงแล้้วมีชื่ ี ่� อเรีียกเต็็มๆ ว่่า "วััดมะม่่วง" แต่่ภาษาปัักษ์์ใต้้
นิิยมพููดสั้�้ นๆ โดยตััดคำำ�ว่่า "มะ" ออกไป จึึงเหลืือเรีียกสั้้� นๆ ว่่า "วััดม่่วง" สาเหตุุเนื่่อ � งจากมีีต้้นมะม่่วงอยู่่�บริิเวณวััดมาก นอกจากนี้้�ยังั มีีต้้นหว้้า ขนาดใหญ่่อยู่่�ด้ว ้ ย วััดนี้้�เป็็นวััดที่่สร้ � า ้ งมาเก่่าแก่่ มีส ี ภาพชำำ �รุุดทรุุ ดโทรมจนกระทั่่�งพ่่อท่า ่ นมนต์์ ธมฺฺมปาโล พระอาจารย์์ของพ่่อท่า ่ นนุ้้�ย ได้้เข้้าไป บููรณปฏิิสัังขรณ์์เมื่่อ � ประมาณปีี พ.ศ. 2425 ให้้มีค ี วามเจริิญรุ่่�งเรืืองขึ้้�นมาใหม่่
126
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
อาคารเสนาสนะ ประกอบด้้วย
- อุุโบสถ กว้้าง 8 เมตร ยาว 23 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2515 เป็็น อาคารคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก - ศาลาการเปรีียญ สร้้างเมื่่อ� พ.ศ. 2476 เป็็นอาคารไม้้ทรงปั้้น� หยา - หอสวดมนต์์ กว้้าง 9.30 เมตร ยาว 15.50 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2481 เป็็นอาคารครึ่่�งตึึกครึ่่�งไม้้ - กุุฏิสิ งฆ์์ จำำ�นวน 6 หลััง เป็็นอาคารไม้้ 3 หลััง ครึ่ง�่ ตึึกครึ่ง�่ ไม้้ 3 หลััง - ศาลาอเนกประสงค์์ กว้้าง 10.20 เมตร ยาว 20.50 เมตร สร้้าง เมื่่�อ พ.ศ. 2511 - ศาลาบำำ�เพ็็ญกุุศล จำำ�นวน 1 หลััง สร้้างด้้วยคอนกรีีตเสริิมเหล็็ก
- หลัังจากที่่พ่� อ่ ท่่านมนต์์มรณภาพไปแล้้ว ทางคณะกรรมการ วััดและประชาชน ได้้ร่ว่ มใจกัันไปนิิมนต์์พ่อ่ ท่่านนุ้้ย� สุุวณฺฺโณ จาก สำำ�นักั ไป ตำำ�บลปากฉลุุย อำำ�เภอท่่าฉาง มาประจำำ�ที่่วั� ดั อััมพารามแทน พ่่อท่่านมนต์์ เพื่่อ� เป็็นกำำ�ลัังสำำ�คัญั ในการพััฒนาวััดต่่อไป ปััจจุุบััน วััดอััมพาราม หรืือ วััดม่่วง มีีเนื้้อ� ที่่� 27 ไร่่ 3 งาน 30 ตารางวา โฉนดที่่ดิ� นิ เลขที่่� 1583 และที่่ธ� รณีีสงฆ์์จำ�ำ นวน 1 แปลง เนื้้อ� ที่่� 72 ไร่่ 2 งาน 86 ตารางวา วััดอััมพารามตั้้ง� เมื่่อ� พ.ศ. 2425 ได้้ รัับพระราชทานวิิสุงุ คามสีีมาเมื่่อ� วัันที่่� 28 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2521 เขตวิิสุงุ คามสีีมา กว้้าง 33 เมตร ยาว 39 เมตร
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
127
ประวััติพ่ ิ อท่ ่ า ่ นนุ้้�ย สุุวณฺโฺ ณ โดยย่่อ
ด้้านการบริิหารและการปกครองวััด มีีเจ้้าอาวาสที่่ท � ราบนาม ได้้แก่่
1. พ่่อท่่านมนต์์ ธมฺฺมปาโล (ประมาณ พ.ศ. 2425 - ประมาณ พ.ศ. 2445) 2. พระอธิิการนุ้้�ย สุุวณฺฺโณ (ประมาณ พ.ศ. 2445 - ลาออกจาก ตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาส เมื่่�อ พ.ศ. 2480) มรณภาพ พ.ศ. 2497 3. พระอธิิการชูู ฉนฺฺทเสวีี (พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2522) เจ้้าอาวาส 4. พระครููปัญ ั ญาภิิรัตั (ลาภ ปญฺฺญาวุุโธ) (พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2534) 5. พระครููโฆสิิตสรคุุณ (ประดิิษฐ์์ ฐานิิสฺสฺ โร) (พ.ศ. 2534 - ปััจจุุบััน)
128
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ชาตะ : วัันที่่� 30 เมษายน พ.ศ. 2401 ตรงกัับวัันศุุกร์์ แรม 3 ค่ำำ�� เดืือน 6 ปีีมะเมีีย ณ บ้้านบางคราม แขวงเสวีียดเมืืองไชยา (หมู่่�2 ตำำ�บล ปากฉลุุย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี) บรรพชา : เมื่่�ออายุุ 12 ปีี (พ.ศ. 2413) ณ วััดประตููใหญ่่ อุุปสมบท : เมื่่�ออายุุได้้ 20 ปีี (พ.ศ. 2421 ปีีขาล) ได้้ญััตติิจาก สามเณรเป็็นพระภิิกษุุ ณ วััดประตููใหญ่่ โดยมีี พระครููรััตนมุุนีีศรีีสัังฆ ราชาลัังกาแก้้ว (ทองอยู่่�) เป็็นพระอุุปััชฌาย์์จารย์์พ่่อท่่านนวล เป็็น พระกรรมวาจาจารย์์ พ่่อท่่านพััด เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ มรณะ : วัันที่่� 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2497 ตรงกัับวัันเสาร์์ ขึ้้�น 1 ค่ำำ�� เดืือน 9 ปีีมะเมีีย สิิริิอายุุ : 96 ปีี 76 พรรษา ฌาปนกิิจศพเมื่่�อ พ.ศ. 2499
ประวััติเิ จ้้าอาวาส
ชื่่�อ พระครููโฆสิิตสรคุุณ ฉายา ฐานิิสฺฺสโร อายุุ 72 พรรษา 49 วิิทยฐานะ น.ธ.เอก ชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� 6 วััดอััมพาราม ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 1. เจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม 2. ผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าฉาง สถานะเดิิม ชื่่�อ ประดิิษฐ์์ นามสกุุล สโมสร เกิิดวััน 4 ฯ 6 ค่ำำ�� ปีีมะเมีีย วัันที่่� 1 มิิถุุนายน พ.ศ. 2485 บิิดา นายลั่่น� สโมสร มารดา นางเลข สายใจบุุญ ที่่�บ้้านเลขที่่� 005 หมู่่�ที่่� 2 ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บรรพชา วัันที่่� 14 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2502 วััดโพธาราม อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููโพธาภิิรััต วััดโพธาราม ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วัันที่่� 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 วััดพระพรหม อำำ�เภอ ท่่าฉาง จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููรัตั นวิิมล วััดอิินทาราม ตำำ�บลท่่าฉาง อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจาจารย์์ พระมหามั่่ง� จิิตฺตฺ เสโน วััดมููลเหล็็ก ตำำ�บลท่่าฉาง อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุสาวนาจารย์์ พระใบฎีีกาช้้อย ฐิิตมโน วััดพระพรหม ตำำ�บลท่่าเคย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี งานปกครอง พ.ศ. 2534 เป็็นผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2530 เป็็นผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2534 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2534 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลเสวีียด อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2544 เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ (ประเภท สามััญ) พ.ศ. 2557 เป็็นผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าฉาง งานเผยแผ่่ พ.ศ. 2525 เป็็นครููอบรมและสอนศีีลธรรมในโรงเรีียนวััดอััมพาราม พ.ศ. 2530 เป็็นครููสอนพระปริิยััติิธรรม วััดอััมพาราม พ.ศ. 2537 เป็็นพระธรรมทููต พ.ศ. 2544 เป็็นกรรมการแห่่งหน่่วย อ.ป.ต. ประจำำ�อำ�ำ เภอท่่าฉาง พ.ศ. 2545 เป็็นที่่�ปรึึกษาการส่่งเสริิมวััฒนธรรม หมู่่�บ้้าน ณ ที่่�ว่่าการอำำ�เภอท่่าฉาง
ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� 204 บ้้านคลองไทร
ตำำ�บลคลองไทร อำำ�เภอท่่าฉาง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
129
สำำนัักสงฆ์์คลองวััว (วััดปิิยธรรมาธาร) History of Buddhism....
130
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
เมื่่� อ ปีี 2530 ได้้ ตั้�้ ง เป็็ น สำำ� นัักสงฆ์์ ค ลองวััว โดยมีี พ ระครูู สิิ ริิ
วััฒนาภรณ์์(อาจารย์์พร้้อม) และ ผู้ใ้� หญ่่สมพงษ์์ พรหมอุุบลผู้้�ใหญ่่บ้า้ น หมู่่�ที่่�4 ต.ท่่าเคย อ.ท่่าฉาง พร้้อมด้้วยชาวบ้้านได้้พร้้อมใจช่่ วยกััน
สร้้างวััด ต่่อมาได้้มีี นายเกริิน เนีียมมีีศรีี กัับชาวบ้้าน ได้้ดำ� ำ เนิินการสร้้าง สำำ�นัักสงฆ์์คลองวััว โดยมีี พระปลััดวิิริย ิ ะ ธมฺฺมโชโต สัังกััดมหานิิกาย ได้้มาเป็็นประธานสงฆ์์ เมื่่อ � ปีี 2553 ได้้ทำ� ำ การบููรณะก่่อสร้้างเสนาสนะ
กุุฏิิ ศาลา ฯลฯ บนเนื้้�อที่่� 14 ไร่่ เศษ และ ต่่อได้้ทำ� ำ การ ขอที่่�ดิินเพิ่่�ม อีีก 7 ไร่่ เศษ จากท่่านสุุเทพ เทืือกสุุบรรณ เพื่่อ � ทำำ�การสร้้างอุุโบสถ หลัังใหม่่
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
131
ประวััติิ พระครูู สุุภััทรธรรมโชติิ (วิิริิยะ ธมฺฺมโชโต) น.ธ.เอก,วศ.บ,ศน.ม
1. เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าฉาง
3. เลขานุุการเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าฉาง
พระครูู สุุภััทรธรรมโชติิ
(วิิริย ิ ะ ธมฺฺมโชโต) น.ธ.เอก,วศ.บ,ศน.ม
เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าฉาง / ประธานสงฆ์์สำำ�นัักสงฆ์์คลองวััว รองเจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม
เลขานุุการเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าฉาง
132
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
2. รองเจ้้าอาวาสวััดอััมพาราม
4. ประธานสงฆ์์สำำ�นัักสงฆ์์คลองวััว
สถานะเดิิม ชื่่�อ วิิริิยะ นามสกุุล ขำำ�แก้้ว เกิิดวััน 7 ฯ4 ค่ำำ�� ปีีฉลูู วัันเสาร์์ที่่� 2 เดืือนมีีนาคม พ.ศ. 2517 ที่่บ้� า้ นเลขที่่� 149 หมู่่ที่� ่� 5 ตำำ�บลท่่าเคย อำำ�เภอ ท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วััน 1ฯ 8 ค่ำำ�� ปีีระกา วัันอาทิิตย์์ที่่� 10 เดืือน กรกฎาคม พ.ศ. 2548 วััดพระพรหม อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููปิิยธรรมาธาร วััดพระพรหม ตำำ�บลท่่าเคย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจาจารย์์ พระครููสิิทธิิธรรมธร วััดพระพรหม ตำำ�บล ท่่าเคย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุสาวนาจารย์์ พระจัักรีี สุจิุ ตฺิ โฺ ต วััดพระพรหม ตำำ�บลท่่าเคย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยฐานะ พ.ศ. 2529 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�น ประถมศึึกษา (ป.6) โรงเรีียนวััด พระพรหม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2533 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้น� มััธยมศึึกษาตอนต้้น (ม.3) โรงเรีียน ท่่าฉางวิิทยาคาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2536 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�น ประกาศนีียบััตรวิิชาชีีพ (ปวช.) วิิทยาลััยเทคนิิคสุุราษฎร์์ธานีี จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2538 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�น ประกาศนีียบััตรวิิชาชีีพชั้้�นสููง (ปวส.) สถาบัันเทคโนโลยีี ราชมงคล วิิทยาเขตอุุเทนถวาย จัังหวััด กรุุงเทพมหานคร พ.ศ. 2545 สำำ�เร็็จการศึึกษา ปริิญญาบััตร ระดัับปริิญญาตรีี (วศ.บ.โยธา) มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีมหานคร จัังหวััดกรุุงเทพมหานคร พ.ศ. 2557 สำำ�เร็็จการศึึกษาปริิญญาบััตร ระดัับปริิญญาโท (ศน.ม. รััฐศาสตร์์การปกครอง) มหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััย จัังหวััด นครปฐม พ.ศ. 2552 สอบไล่่ได้้ น.ธ. เอก สำำ�นัักเรีียนวััดพระพรหม อำำ�เภอ ท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ตั้้�งอยู่่�เลขที่่� 56 หมู่่�ที่่� 4 ตำำ�บลท่่าเคย
อำำ�เภอท่่าฉาง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
133
วััดท่่าเสวีียด History of Buddhism....
ตำำ�บลเสวีียด อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วััดท่่าเสวีียด เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้�ง ้ วััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2325 ได้้รับ ั วิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � ปีีพ.ศ. 2514
เป็็นศููนย์์กลาง รวมใจของชาวบ้้านในตำำ�บลเสวีียด และหมู่่�บ้้านใกล้้เคีียง เป็็นสถานที่่�ประกอบพิิธีก ี รรมทางพระพุุทธศาสนา
134
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
135
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาส
รููปที่่� 1 พ่่อท่่าน นวล รููปที่่� 2 พ่่อท่่าน พััฒน์์ รููปที่่� 3 พระครููนวการประสิิทธิ์�์ (อ.แดง) รููปที่่� 4 พ่่อท่่าน ควััน รููปที่่� 5 พระครููพิิสุทธิ ุ ิธรรมโชติิ เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบััน
ตั้้�งอยู่่�ที่่�หมู่่�ที่่� 4
ตำำ�บลเสวีียด
อำำ�เภอท่่าฉาง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
136
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดนัันทาราม(วััดใหม่่) History of Buddhism....
วััดนัันทาราม เดิิมมีีชื่่�อเรีียกว่่า "วััดใหม่่ขี้ล ้� ม" เพราะตั้�้งอยู่่�ในกลางทุ่่�งนา ทำำ�เลโพ้้เพ้้ มีีลมจััด พระอธิิการปาน อานัันโท เป็็นเจ้้าอาวาส
แต่่ชรามาก ญาติิพี่่�น้้องจึึงติิดต่่อ หลวงพ่่อแต่่ง ซึ่�่ งขณะนั้้� นเป็็นเจ้้าอาวาสวััดสองพี่่�น้้อง ตำำ�บลคลองศก อำำ�เภอพนม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ให้้ไปช่่ วยภาระการปกครองวััด ท่่านรัับรองและไปอยู่่�จำ� ำ พรรษาตามที่่�ญาติิวิง ิ วอน ปััจจุุบัน ั วััดนัันทาราม(วััดใหม่่) มีี พระปลััดอำำ�นวย ฐานจาโร เป็็นเจ้้าอาวาส
138
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
เมื่่อ� พระอธิิการปาน อานัันโทมรณภาพ ท่่านก็็ได้้รับั การแต่่งตั้้ง� เป็็น เจ้้าอาวาสสืืบแทน หลวงพ่่อแต่่งจึึงได้้ยืืนหนัังสืือถึึงเจ้้าคณะจัังหวััด พระเทพรััตนกวีี เพื่่�อเสนอขอเปลี่่�ยนชื่่�อวััด โดยใช้้ฉายาของท่่านเป็็น เครื่่�องพิิจารณา วััดนี้้�จึึงได้้รัับการเปลี่่�ยนชื่่�อจาก วััดใหม่่ขี้้�ลม มาเป็็น วััดนัันทาราม ตั้้�งแต่่บััดนั้้�นเป็็นต้้นไป ในระยะแรกที่่�ท่่านเป็็นเจ้้าอาวาส สภาพของวััดยัังเป็็นป่่าอยู่่�มาก ท่่ านได้้ เร่่ งรัั ดพััฒนาถึึ งสามทาง คืือการศึึ กษาพระธรรมวิินััย ของ พระเณร การวางแผนผัังและปรัับปรุุงสภาพวััด การศึึกษาประชาบาล ของเยาวชนในท้้องถิ่่น� แม้้ท่า่ นเองก็็ศึกึ ษาปริิยัติั ธิ รรมควบคู่่�กันั ไปด้้วย จนสามารถสอบไล่่ได้้นัักธรรมชั้้�นโท ส่่วนลููกศิิษย์์ที่่�ท่่านสอนก็็ปรากฏ ว่่าสอบได้้มากที่่�เดีียว
หลวงพ่่อแต่่ง วััดนัันทาราม
หลวงพ่่อพระสมุุห์์แต่่ง นัันทสโร เป็็นพระภิิกษุุที่่�เรืืองวิิทยาคมรููป หนึ่่�งท่่านมีีความรู้้�ทางด้้านไสยศาสตร์์มากมาย สามารถสร้้างเครื่่อ� งราง ของขลัังได้้มากชนิิด โดยเฉพาะอย่่างยิ่่ง� การสร้้างตะกรุุด สามารถสร้้าง ได้้มากชนิิด อานุุภาพแต่่ละชนิิดก็็แตกต่่างกััน ซึ่่�งท่่านจะมีีชื่่�อเรีียก เป็็นชนิิดๆ ไปตะกรุุดประจำำ�วััน คู่่�ชีีพ มหาอุุด พิิชััยสงคราม ฯลฯ หลวงพ่่อพระสมุุห์แ์ ต่่ง นัันทสโร เดิิมชื่่อ� นายแต่่ง นามสกุุล สัังข์์เทพ เกิิดเมื่่�อวัันที่่� 7 กรกฎาคม 2423 ตรงกัับ วัันพุุธ ขึ้้�น 1 ค่ำำ� � เดืือน ยี่่� ปีี มะโรง เวลา 9.00 น ที่่�บ้้านน้้อยสี่่� หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บท่่าเคย อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อเยาว์์วััย บิิดามารดาได้้ให้้ศึึกษาภาษาไทย ในสำำ�นัั ก ของสมุุ ห์์ ท องพิิ มพ์์ ภัั ท ทมุุ นีี อดีี ต เจ้้ า อาวาสวัั ดหัั ว สวน (วััดในแร่่ว) หมู่่�ที่่� 2 ตำำ�บลหััวเตย อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี จบความรู้้�อ่่านออกเขีียนได้้ บิิดามารดาก็็ให้้บรรพชาเป็็นสามเณร ต่่อมาได้้ลาสิิกขา กลัับไปช่่วยงานทางบ้้าน ครั้้�งอายุุได้้ 28 ปีี จงได้้ อุุปสมบทเป็็นภิิกษุุที่่�วััดหััวสวน โดยมีีพระครููพิิศาลคณะกิิจ(จ้้วน) เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พระปลััดเกตุุ เกสโร เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ พระสมุุห์์นวล มณีีโสภโน เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ เมื่่�ออุุปสมบทเสร็็จแล้้ว ก็็ได้้ศึึกษาพระธรรมวิินััย และวิิปััสนา กรรมฐาน ศึึกษาภาษาไทยจนจบหลัักสููตรชั้้�นมููลสาม ทางราชการจึึง ได้้ให้้ช่่วยสอนนัักเรีียนในโรงเรีียนประชาบาล นอกจากศึึกษาทางพระธรรมวิินัย ั และวิิชาภาษาไทยแล้้ว ท่่านยัังได้้ ศึึกษาวิิชาโหราศาสตร์์และไสยศาสตร์์ ในสำำ�นักั ของพระสมุุห์ท์ องพิิมพ์์ วััดหััวสวน ได้้ติิดตามไปธุุดงค์์ในดิินแดนต่่างๆมากมายหลายแห่่ง นอกจากนี้้�ยังั ได้้ไปศึึกษากัับพระครููธรรมปรีีชา วััดดอนยาง อำำ�เภอ หลัังสวน จัังหวััดชุมุ พร และพระอาจารย์์นาค วััดโคกข่่อย จัังหวััดพัทั ลุุง แล้้วกลัับมาศึึกษาอยู่่ใ� นสำำ�นักั ของพระอธิิการนุ้้�ย สุุวัณ ั โณ วััดอัมั พาราม (วััดม่่วง) อำำ�เภอท่่าฉาง จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ซึ่่�งหลวงพ่่อนุ้้�ย รููปนี้้�ท่่าน เก่่งวิิชาอาคมมากมาย หากพิิจารณาประวััติแิ ล้้วก็็ต้อ้ งยกให้้ท่า่ นอยู่่ใ� น ระดัับปรมาจารย์์ทางไสยศาสตร์์เลยทีีเดีียว นอกจากนี้้� วิชิ าการแพทย์์ แผนโบราณ ท่่านก็็สนใจศึึกษา จนมีีความรู้้�ในวิิชาเหล่่านี้้�เป็็นอย่่างดีี ส่่วนงานด้้านการปกครอง ท่่านได้้รับั นิิมนต์์เป็็นเจ้้าอาวาสวััดสองพี่่�น้อ้ ง เป็็นเวลา 3 ปีี ท่า่ นได้้วางแผนผัังวััดได้้อย่่างงดงามมาก ผลงานทางวััตถุุ ในวััดนัันทารามมีีมากมาย อาทิิ อุุโบสถ ศาลาการเปรีียญหลัังเก่่าและ ใหม่่ กุุฏิิพระลููกวััด กุุฏิิเจ้้าอาวาส หอฉััน นอกจากนี้้�ก็็ได้้ช่่วยสร้้างโรงเรีียนประชาบาลทั้้�งในวััดนัันทาราม และโรงเรีียนบ้้านท่่าแซะ ทางด้้านสัังคมก็็จัดั สร้้างสะพานข้้ามคลองห่่อ พร้้อมกัับพระครููประนม ปภััสสโร การอนุุเคราะห์์ประชาชนผู้้�เจ็็บไข้้ ด้้วยยาก็็มีีอยู่่�เป็็นประจำำ�เพราะท่่านเป็็นแพทย์์แผนโบราณด้้วย หลวงพ่่อได้้ถึึงแก่่มรณภาพ ในวัันที่่� 25 มกราคม 2524 สิิริิอายุุ 100 ปีี 6 เดืือน 8 วััน
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 176/1
หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลท่่าเคย
อำำ�เภอท่่าฉาง
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
139
วััดชััยธาราวาส History of Buddhism....
ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฏร์์ธานีี
วััดชัั ยธาราวาส ตั้้�งวััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2323 (สมััยธนบุุรี)ี ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มาเมื่่อ � พ.ศ. 2498 เขตวิิสุุงคามสีี มา กว้้าง 18 เมตร
ยาว 25 เมตร ที่่�ดิินตั้�้งวััดมีีเนื้้�อที่่� 10ไร่่ 42 งาน น.ส.3 ก เลขที่่� 2212 อาณาเขต ทิิศเหนืือจดลำำ�คลองสาธารณะ ทิิศใต้้จดถนนสาธารณะและ ที่่�ดิน ิ เอกชน ทิิศตะวัันออกและทิิศตะวัันตกจดที่่�ดิน ิ เอกชน
140
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
การบริิหารและการปกครอง มีีเจ้้าอาวาส เท่่าที่่�ทราบนาม
รููปที่่� 1 พระครููศิิลปพงษ์์คณารัักษ์์ (บรรณ) (พ.ศ. 2452 – 2460) รููปที่่� 2 พระครููประสงค์์สารการ (พ.ศ. 2460 – 2472) รููปที่่� 3 พระอธิิการกลิ่่น� ญานสํํวโร (พ.ศ. 2472 – 2484) รููปที่่� 4 พระใบฎีีกายิ้้�ม จารุุวณฺฺโณ (พ.ศ. 2484 – 2500) รููปที่่� 5 พระอธิิการเลีียบ ฐิิตธมฺฺโม (พ.ศ. 2501 – 2507) รููปที่่� 6 พระอธิิการยั้้�ว ฐานปญฺฺโญ (พ.ศ. 2507 – 2526) รููปที่่� 7 พระครููปริิยััติิวรวุุฒิิ (สากล โกวิิโท ปธ.5) (พ.ศ. 2526 – ปััจจุบััุ น) การตั้้�งวััดชัั ยธาราวาส
การตั้้� ง วัั ด ชัั ย ธาราวาส ปรารภเรื่่� อ งการทำำ� สงครามระหว่่ า ง กรุุงธนบุุรีีกัับอาณาจัักรศรีีวิิชััย (รััชสมััย พระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี หรืือ พระเจ้้าตากสิินมหาราช) โดยยกทััพไปตีีกัันที่่�บริิเวณอ่่าวพุุมเรีียง (ปััจจุุบัันคืือบริิเวณชายหาดบ้้านพุุมเรีียง ตำำ�บลพุุมเรีียง อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี) สงครามครั้้ง� นั้้น� ทััพกรุุงธนบุุรีมีี ชัี ยั ในสงคราม ได้้ ย้้อนทััพกลัับมาขึ้้�นที่่�หาดที่่�วััง (ปััจจุุบััน คืือบริิเวณ วััดอััมพาวาส ตำำ�บลวััง อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี) ได้้เสาะแสวงหาพื้้�นที่่� เพื่่อ� จะสร้้างวััดฉลองชััยชนะ และทำำ�บุุญอุุทิศิ ให้้แก่่เหล่่าทหารที่่�พลีีชีพี ในสงคราม ทััพได้้เดิินเท้้าย้้อนมาเรื่่�อยๆ จนเจอต้้นโพธิ์์�ใหญ่่ (ปััจจุุบััน ต้้นโพธิ์์�อยู่่�กลางลานวััดชััยธาราวาส) ซึ่ง่� อยู่่�ใกล้้กัับวััดเพหาร (ปััจจุุบััน เป็็นวััดร้้าง) แต่่วััดเพหารไม่่มีีอะไรที่่�จะเป็็นสััญลัักษณ์์ของพระพุุทธ ศาสนา มีีเพีียงอุุโบสถและกุุฏิิสงฆ์์เท่่านั้้�น พระเจ้้ากรุุงธนบุุรีี จึึงมีี พระบรมราชโองการรัับสั่่�ง ให้้ย้้ายวััดเพหารไปที่่�ต้้นโพธิ์์�ใหญ่่ โดยให้้ ชื่่อ� ว่่า “วััดดอนกระชาย” เนื่่อ� งจากพื้้�นที่่�ดอนแห่่งนี้้�มีต้ี น้ กระชายเยอะ และให้้ยกวััดเพหารเป็็นป่่าช้้าของวััดดอนกระชายตามลำำ�ดัับ ซึ่ง�่ ชาวบ้้าน ก็็จะเรีียก “วััดดอนกระชาย” บ้้าง “วััดดอนชาย” บ้้าง ภายหลััง ก็็เรีียก “วััดดอนชาย” กัันจนติิดปากมาจนถึึงปััจจุบััุ น ต่่อมาในสมััย รััฐบาล จอมพล ป. พิิบููลสงคราม นายกรััฐมนตรีี พ.ศ. 2486 ได้้เปลี่่ย� น ชื่่�อจาก “วััดดอนชาย” เป็็น “วััดชััยธาราวาส” จนถึึงปััจจุุบััน
พระครููปริยั ิ ติ ั ว ิ รวุุฒิิ (สากล โกวิิโท) เจ้้าอาวาสวััดชัั ยธาราวาส / เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าชนะ
พระครููชััยธารานุุกูล ู (ศศิิ กรณ์์ สุทฺ ุ ธ ฺ จิิตฺโฺ ต)
รองเจ้้าอาวาสวััดชัั ยธาราวาส เจ้้าคณะตำำ�บลคัันธุุลีี เลขานุุการเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าชนะ
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
141
ประวััติย่ ิ อ ่ พระครูู ปริยั ิ ติ ั ว ิ รวุุฒิิ
พระครููปริิยััติิวรวุุฒิิ ฉายา โกวิิโท อายุุ 77 พรรษา 54 น.ธ. เอก ป.ธ. 5 ม.ศ. 5 วััดชััยธาราวาส ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง 1. เจ้้าอาวาสวััดชััยธาราวาส 2. เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าชนะ บรรพชา 10 วััน 7 ฯ 8 ค่ำำ� ปี � ีฉลูู วัันที่่� 22 เดืือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 พััทธสีีมา วััดสุุมัังคลาราม ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปัชั ฌาย์์ พระครููนิิยามธรรมสิิริิ วัดั สุุมัังคลาราม ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท 7 วััน 5 ฯ 7 ค่ำำ� ปี � ีมะเมีีย วัันที่่� 26 เดืือนพฤษภาคม พ.ศ. 2509 พััทธสีีมา วััดสุุมัังคลาราม ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููนิิยามธรรมสิิริิ วััดสุุมัังคลาราม อำำ�เภอ ท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระกรรมวาจาจารย์์ พระครููประโชตรััตนคุุณ วััดวิิชิิตดิิตถาราม อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอนุุสาวนาจารย์์ พระครููโอภาสวุุฒิคุิ ณ ุ วัดั มััชฌิิมาราม อำำ�เภอ ท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยฐานะ (1) พ.ศ. 2516 สำำ�เร็็จการศึึกษา ชั้้น� มััธยมศึึกษาตอนปลาย (ม.ศ.5) สายสามััญ แผนกศิิลป์์ โรงเรีียนวััดราชาธิิวาส วััดราชาธิิวาสราชวรวิิหาร พระอารามหลวง กรุุงเทพมหานคร (2) พ.ศ. 2506 สอบไล่่ได้้ น.ธ. เอก สำำ�นัักเรีียนวัดั สุุมัังคลาราม คณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (3) พ.ศ. 2510 สอบไล่่ได้้ ป.ธ. 5 สำำ�นัักเรีียนวััดพระบรมธาติิไชยา คณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี (4) ความชำำ�นาญการ งานนวกรรม งานปกครอง พ.ศ. 2526 เป็็นผู้้�รัักษาการแทนเจ้้าอาวาสวััดชััยธาราวาส ตำำ�บล ท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2527 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดชััยธาราวาส ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอ ท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2549 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 15 หมู่่�ที่่� 6 ตำำ�บลท่่าชนะ อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
142
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
สมณศัักดิ์์� (1) พ.ศ. 2531 ได้้รัับพระราชทานตั้ง� ้ สมณศัักดิ์์� เป็็น พระครููสััญญาบััตร ตำำ�แหน่่ง จร.ชอ. (พระครููสััญญาบััตร เจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์ ชั้�้นเอก) ในราชทิินนาม ที่่� พระครููปริิยััติิวรวุุฒิิ (2) พ.ศ. 2550 ขอปรัับพััดยศ เป็็นพระครููสััญญาบััตร ตำำ�แหน่่ง จต.ชท. (พระครููสััญญาบััตร เจ้้าคณะตำำ�บล ชั้้�นโท) ในราชทิินนามเดิิม (3) พ.ศ. 2556 ได้้รัับพระราชทานเลื่่�อนสมณศัักดิ์์� เป็็น พระครูู สััญญาบััตร ตำำ�แหน่่ง จต.ชอ. (พระครููสััญญาบััตร เจ้้าคณะตำำ�บล ชั้้�นเอก) ในราชทิินนามเดิิม ประเพณีีชัักพระบก วััดชัั ยธาราวาส
ประเพณีีชัักพระบก วััดชััยธาราวาส เป็็นประเพณีีที่่�สืืบสานมา ช้้านาน จากการสอบถามผู้้�สููงอายุุในพื้้�นที่่� ได้้ให้้ข้อ้ มููลว่่า เท่่าที่่�จำำ�ความ กัันได้้ ประเพณีีนี้้�ก็็มีีมานานแล้้ว คาดว่่าน่่าจะเริ่่�มจััดขึ้้�นตั้้�งแต่่ตั้้�งวััด มีี ห ลัักฐานพอจะสนัับสนุุ น ได้้ คืื อ พระพุุ ท ธรููปปางอุ้้�มบาตร และ พระพุุทธรููปปางห้้ามญาติิ ศิลิ ปะสุุโขทััย ซึ่่ง� เป็็นพระพุุทธรููปคู่่วั� ดั มานาน สัันนิิษฐานได้้ว่่า ประเพณีีชัักพระบก วััดชััยธาราวาส เกิิดขึ้้�นจาก ตอนตั้้ง� วัดั ชัยั ธาราวาส เหล่่าทหารได้้ทำ�ำ การชักั ลากพระพุุทธรููปทั้้ง� สอง องค์์จากทััพหลวง(ทััพกรุุงธนบุุรีี) บริิเวณที่่�วัังมายัังวััดดอนกระชาย เมื่่� อชาวบ้้ านเห็็ นก็็ ช่่วยกัันเข้้ ามาชัั กลากพระด้้ วย ต่่อมาชาวบ้้ าน ได้้จัดั ให้้มีกี ารชักั พระบกเป็็นประจำำ�ทุกุ ปีี ใน วันั แรม 14 ค่ำำ��เดืือน 5 ถึึง วัันขึ้้�น 1 ค่ำำ� � เดืือน 6 ของทุุกปีี (จบปีีจบเดืือน ตามคติิของคนปัักษ์์ใต้้) โดยอาราธนาพระพุุทธองค์์คู่วั�่ ดั ทั้้ง� สององค์์ลงในเรืือ แล้้วผููกเชืือกช่่วยกััน ลากเรืือพระ มีีการร้้องลำำ�กัันพอสมควร วัันแรกจะลากจากวััดชััยธาราวาส ไปสมโภช ณ เขตเทศบาลตำำ�บลท่่าชนะ รุ่่�งขึ้้�นจึึงทำำ�การลากเรืือพระ กลัับยัังวััดชัยั ธาราวาส ปััจจุุบััน จะเริ่่�มงานสมโภชเรืือพระบก วัันแรม 13 ค่ำำ��เดืือน 5 รุ่่�งขึ้้�น วัันแรม 14 ค่ำำ� � เดืือน 5 ลากเรืือพระบกไปยััง เทศบาลตำำ�บลท่่าชนะ ทำำ�การฉลองเรืือพระ วัันขึ้้�น 1 ค่ำำ�� เดืือน 6 จึึง ทำำ�การลากเรืือพระบกกลัับยัังวัดั ชััยธาราวาส ตามที่่�เล่่ามานี้้� จึึงเป็็น ที่่�มาของประเพณีีชักั พระบก วัดั ชััยธาราวาส ผู้้�ให้้ข้้อมูลู พระครููชัยั ธารานุุกููล รองเจ้้าอาวาสวััดชัยั ธาราวาส เจ้้าคณะตำำ�บลคัันธุุลีี เลขานุุการเจ้้าคณะอำำ�เภอท่่าชนะ อ้้างอิิง หนัังสืือ “ตำำ�นานศรีีวิิชััย” กรมศิิลปากร หนัังสืือ “พระศรีีโพธิ์์�” พุุทธทาสภิิกขุุ สวนโมกขพลาราม หนัังสืือ “ประวััติิวััดทั่่�วราชอาณาจัักร เล่่ม 23” หมวดจัังหวััด สุุราษฏร์์ธานีี หน้้าที่่� 139-หน้้าที่่� 319 จััดพิิมพ์์โดย กองพุุทธศาสนสถาน สำำ�นัั กงานพระพุุ ท ธศาสนา แห่่ ง ชาติิ พิิ ม พ์์ ที่่� โรงพิิ ม พ์์ สำำ�นัั กงาน พระพุุทธศาสนาแห่่งชาติิ
วััดศรีีพนมพลาราม( บ้้านโคง ) History of Buddhism....
วััดศรีีพนมพลาราม สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้�ง ้ อยู่่ใ� นที่ดิ ่� น ิ 10 ไร่่ 1 งาน 85 ตารางวา วััดศรีีพนมพลาราม
ชื่่� อเดิิมวััดบ้้านโค้้ง ตั้้�งเมื่่อ � 23 ธัันวาคมพุุทธศัักราช 2547 และ ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มาเมื่่อ � พ.ศ. 2558
144
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ลำำ�ดับ ั เจ้้าอาวาส
รููปที่่� 1 พระครููสังั ฆรัักษ์์พรม ปุุณวุุฒโท ( หลวงพ่่อพรหม ) ผู้้บุ� กุ เบิิก การสร้้างวััด รููปที่่� 2 พระอธิิการวัับ วิิปุุโล อดีีตเจ้้าอาวาส รููปที่่� 3 พระปลััดไกรสร เกสโร วััดศรีีพนมพลาราม เจ้้าอาวาส องค์์ปัจจุ ั ุบััน วััดศรีีพนมพลารามนี้้�ได้้ทำำ�การก่่อสร้้างเสนาสนะอยู่่�หลายปีีแต่่ยััง ไม่่แล้้วเสร็็จจวบจนถึึงรุ่่�น พระปลััดไกรสร เกสโร ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเข้้า มาเป็็นเจ้้าอาวาส ได้้เชิิญชวน ชาวบ้้านมาสานงานต่่อ ในการก่่อสร้้าง อุุโบสถและพััฒนาเสนาสนะต่่างๆ จนมีีความเจริิญรุ่่�งเรืืองสืืบมาจน ปััจจุุบััน
พระปลััดไกรสร เกสโร เจ้้าอาวาสวััดศรีีพนมพลาราม
ตั้�้งอยู่่�บ้้านโคง หมู่่�ที่่� 4
ตำำ�บลประสงค์์ อำำ�เภอท่่าชนะ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
145
วััดศรีีสุวรร ุ ณ History of Buddhism....
ตำำ�บลสมอทอง อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดศรีีสุุวรรณ เดิิมชื่่� อวััดดอนมะพร้้าว ได้้สร้า ้ งวััดขึ้้�นก่่อนปีี พ.ศ. 2440 และได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 15 กรกฎาคม ร.ศ. 128
(พ.ศ. 2442) มีีเจ้้าอาวาสปกครอง ดัังนี้้�
1. พระครูู จ่า ่ ง วิิริโิ ย (พ.ศ. 2442- 2469 )
2. พระครูู ฮอด หิิรญฺฺโญ ( พ.ศ. 2469 – 2499 )
3. พระสุุวรรณสุุมงคล (เขีียม เขมจาโร) หรืือหลวงพ่่อท้้วม ( พ.ศ. 2499 - 2561) 4. พระมหาพนม กตคุุโณ (อัักษรสม) ป.ธ.4 (พ.ศ. 2561- ปััจจุบั ุ น ั )
วัั ดศรีี สุุวรรณมีีชื่่�อเสีี ยงในสมััยพระสุุ วรรณสุุ มงคลหรืือหลวงพ่่อท้้ วมเป็็นเจ้้ าอาวาสเพราะความศัั กดิ์์� สิิทธิ์์� และความมีีเมตตาของ
หลวงพ่่อท่่านจึึงเป็็นที่่�เคารพนัับถืือและศรััทธาเลื่่�อมใสของชาวจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีีและใกล้้เคีียง วััดศรีีสุุวรรณจึึงโด่่งดัังเป็็นที่่�รู้้�จัักกัันในนาม วััดหลวงพ่่อท้้วม เขมจาโร
146
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ปููชนีย ี สถานและปููชนีย ี วััตถุุ
1. อุุโบสถขาว 2. หลวงพ่่อทองพระประธานอุุโบสถปางมารวิิชััย 3. วิิหารหลวงพ่่อท้้วม 4. เสาหงส์์ (เสาเดิิมหัักโค่่นและได้้สร้้างทดแทน พ.ศ. 2554) 5. สมอทอง 6. เรืือพระบกหนุุมาน
กราบหลวงปู่่�ท้ว ้ ม ศููนย์์รวมคุุณงามความดีี แผ่่บารมีี ปรีีดิ์์เ� ปรมเกษมทั่่�วหล้า ้
ส่่ วนลููกนี้้ห � นอ กราบขอรอปู่่�เมตตา ช่่ วยกรุุ ณา พาข้้ามความจนสัั กทีี
กราบหลวงปู่่�ท้ว ้ ม ศููนย์์รวมชาวเมืืองสุุราษฎร์์ ใจลููกแทบขาด เพราะบาดเจ็็บแผลภััยมีี การงานล้้มลุุก ใจลููกก็ทุ ็ กข์ ุ สิ้้ ์ � นดีี
หวัังพึ่่�งบารมีี ปู่่ช่ � ่ วยชี้้� ดลบัันดาล
วััดศรีีสุุวรรณ ลืือลั่่�นปู่่�ท่า ่ นศัั กดิ์์สิ � ิ ทธิ์์�
แผ่่อิท ิ ธิิฤทธิ์์� เปลื้้�องปลิิดพิิษภััยเชี่่� ยวชาญ โปรดช่่ วยลููกทีี ให้้มีค ี วามสุุขสำำ�ราญ จิิตใจเบิิกบาน การงานก็็สำำ�เร็็จผล
กราบหลวงปู่่�ท้ว ้ ม ศููนย์์รวมดวงใจชาวใต้้ โปรดรัับลููกไว้้ เป็็นศิิ ษย์์ใกล้้ปู่่สั � ั กคน
เหรีียญปู่่�ยัน ั ต์์ยุ่่�ง เรืืองรุ่่�งไร้้ห่ว ่ งกัังวล
มีีแต่่ความสุุขล้น ้ ท่่วมท้้นเมื่่อ � ได้้รับ ั พร. ( พระมหาพนม กตคุุโณ )
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 1 หมู่่� 2 ตำำ�บลสมอทอง อำำ�เภอท่่าชนะ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
147
วััดเขากอม History of Buddhism....
� เมื่่อ วััดเขากอม ก่่อตั้้�งขึ้้น � วัันที่่� 10 เดืือนสิิงหาคม พ.ศ. 2541 ซึ่�่ งวััดเขากอมได้้รับ ั พระราชทานวิิสุง ุ คามสีีมา เมื่่อ � วัันที่่� 11 เดืือนเมษายน พ.ศ. 2562
อยู่่�ติิดกัับเชิิ งเขา มีีเนื้้�อที่่�ประมาณ 16 ไร่่เศษ เป็็นสถานที่่�ท่่องเที่่�ยวเชิิ งปฏิิบััติิธรรม มีีถ้ำำ�อยู่่� 22 คููหา มีีสิ่่� งศัั กดิ์์�สิิทธิ์์�ให้้เคารพบููชา เช่่ น
พระพุุทธรููปเก่่าแก่่ภายในถ้ำำ�จำำ�นวน 3 องค์์ มีีรอยพระพุุทธบาท และมีีพระพุุทธรููปปางประทานพรบนยอดเขา ส่่ วนในถ้ำำ�พบตะพาบน้ำำ� ภายในถ้ำำ� เป็็นห้้องโถงกว้้างลึึกยาวกว่่า 100 เมตร ชาวบ้้านบริิเวณใกล้้วัด ั ได้้กล่่าวกัันว่่า มีีเหล็็กไหลในถ้ำำ� และสิ่่� งศัั กดิ์์�สิิทธิ์์อ � � ำ นวนมาก ทั้้�งภายในวััดเป็็น � ยู่่จำ สถานที่่ร่ � ม ่ รื่่น � ด้้วยต้้นไม้้และเนิินเขาที่่เ� งีียบสงบ มีีประวััติค ิ วามเป็็นมายาวนานโดยเจ้้าอาวาสรููปแรก ได้้แก่่ รูู ปที่่� 1 พระครููภาวนานนท์์คุณ ุ รููปที่่� 2 พระอธิิการอดิิเทพ อธิิวัณ ั โณ (เจ้้าอาวาสรููปปััจจุบั ุ น ั )
148
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติเิ จ้้าอาวาส
พระอธิิ ก ารอดิิ เ ทพ อธิิ วัั ณ โณ นามเดิิ ม อดิิ เ ทพ หมกทอง เกิิดเมื่่�อวัันพุุธที่่� 24 กัันยายน พ.ศ. 2518 ที่่อำ� ำ�เภอปากพนััง จัังหวััด นครศรีีธรรมราช บิิดาชื่�อ่ นายสร้้อย หมกทอง มารดาชื่�อ่ นางมะลิิ หมกทองเป็็นบุุตรคนที่่� 3 ในจำำ�นวนพี่่�น้้องทั้้�งหมด 7 คน จบชั้้�นประถม ศึึกษาปีีที่่� 6 จากโรงเรีียนวััดบางบููชาชนาราม ต่่อมาเมื่่อ� วัันที่่� 1 เมษายน พ.ศ. 2531 ได้้บรรพชาสามเณรที่่วั� ดั เสาธงทอง อำำ�เภอปากพนััง จัังหวััด นครศรีีธรรมราช ได้้สอบนัักธรรมตรีี โท เอก ผ่่านทุุกปีีและได้้สอบบาลีี ไวยากรณ์์ได้้ประโยคเปรีียญธรรม 4 ในปีี พ.ศ. 2536 ที่่�วััดพระนาง สร้้างเทพกษััตรตรีี อำำ�เภอถลาง จัังหวััดภููเก็็ต ปีี พ.ศ. 2537 ได้้สอบ มัั ธ ยมการศึึ ก ษาตอนปลายผ่่ า น จึึ ง ขึ้้� น ไปอยู่่�วัั ด สระเกศ จัั ง หวัั ด กรุุงเทพมหานคร ได้้อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุในปีี พ.ศ. 2538 โดยมีี สมเด็็จพระพุุฒาจารย์์ (เกี่่ย� ว) อุุปาสโณ เป็็นพระอุุปัชั ฌาย์์ ได้้ลาสิิกขา เมื่่�อปีี พ.ศ. 2540 ได้้อยู่่�ครองเพศฆราวาสเป็็นเวลา 10 ปีี เมื่่อ� วัันที่่� 28 มีีนาคม พ.ศ. 2552 ได้้อุปุ สมบทอีีกครั้้ง� ที่่วั� ดั ศรีีสุุวรรณ หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลสมอทอง อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี โดยมีี พระสุุวรรณสุุมงคล (หลวงปู่่�ท้้วม) เจ้้าอาวาสวััดศรีีสุุวรรณ เป็็น พระอุุปัชั ฌาย์์ พระครููสิริิ รัิ ตั นโสภณ (พระอนุุศาสตร์์) พระสุุทิพิ ธ์์ ทีีปธััมโม (พระกรรมวาจา) ณ อุุโบสถวััดศรีีสุุวรรณ หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลสมอทอง อำำ�เภอ ท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ได้้เป็็นครููสอนปริิยััติธิ รรม แผนกธรรมที่่� โรงเรีียนวััดศรีีสุุวรรณ และได้้พััฒนาวััด สร้้างกุุฏิิ อุุโบสถ ศาลา ถนนหนทางลานวััดและห้้องน้ำำ� จ � นเป็็นที่่�เรีียบร้้อยในระยะเวลา 6 ปีี ต่่อมาได้้ย้้ายมาอยู่่�ที่่�วััดเขากอม ตำำ�บลคลองพา อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ในวัันที่่� 4 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2558 โดยได้้อบรม กรรมฐานแก่่พระภิิกษุุ สามเณร และแม่่ชีี มาโดยตลอด และได้้รัับการ แต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาส เมื่่�อวัันที่่� 1 ตุุลาคม พ.ศ. 2559 รวมทั้้�งสร้้างกุุฏิิ ที่่�อยู่่� อาคารปฏิิบััติธิ รรมและอุุโบสถ ในระหว่่างนั้้�นก็็ได้้ศึึกษาเล่่าเรีียน จนสำำ�เร็็จการศึึกษาขั้้น� ปริิญญาพุุทธศาสตรมหาบััณฑิิต (พธ.ม.) บััณฑิิต วิิทยาลััย สาขาวิิชาการพััฒนาสัังคม จากมหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกร ณราชวิิทยาลััย เมื่่�อวัันที่่� 25 เมษายน พ.ศ. 2561 พระอธิิการอดิิเทพ อธิิวัณ ั โณ เจ้้าอาวาสวััดเขากอม
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 201 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลคลองพา อำำ�เภอท่่าชนะ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
149
วััดป่่าท่่าไท History of Buddhism....
โครงการก่่อสร้้างมหาเจดีีย์วั ์ ด ั ป่่าท่่าไท เฉลิิมพระเกีียรติิถวายเป็็นพระราชกุุศลแด่่พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หัว ั มหาวชิิ ราลงกรณบดิินทร
เทพยวรางกููร และเป็็นอนุุสรณ์์สถานปููชนีียวััตถุพุ ุ ท ุ ธศิิ ลป์เ์ ฉลิิมพระเกีียรติิแห่่งสมััยรัช ั กาลที่่� 9
150
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ความเป็็นมาของโครงการ
พระครููกิิตติิปััญญากร ได้้เป็็นผู้้�ริิเริ่่�มการบุุกเบิิกสร้้างวััดป่่า ท่่าไทพร้้อมด้้วยพุุทธบริิษัทที่ ั เ่� ลื่่อ� มใสปฏิิปทาของพระสายป่่า วััด ป่่าท่่าไท ตั้้�งอยู่่�ที่่�หมู่่� 7 ตำำ�บลคลองพา อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี แต่่เดิิมเป็็นสำำ�นักั สงฆ์์ชั่่ว� คราวมีีสภาพพื้้�นที่่เ� ป็็นเขต ป่่าสงวนแห่่งชาติิอันั ทุุรกัันดารประกอบกัับอดีีตเป็็นพื้้�นที่่สีี� ชมพูู ด้้วยเป็็นพระนัักคิิด พระนัักพััฒนารุ่่�นใหม่่ จึึงเน้้นอนุุรัักษ์์สิ่่�ง แวดล้้อมได้้ตััดสิินใจพลิิกฟื้้�นผืืนป่่ามองเห็็นคุุณประโยชน์์อัันยิ่่�ง ใหญ่่ของธรรมชาติิความเป็็นป่่าต้้นน้ำำ��ลำำ�ธาร ซึ่ง่� กำำ�ลังั ถููกทำำ�ลาย มาอย่่างต่่อเนื่่�องในสัังคมไทยจึึงเกิิดแนวคิิดเมื่่�อเห็็นชาวบ้้านมีี การตััดต้้นไม้้โค่่นทิ้้�ง ได้้นำำ�ไม้้มาใช้้ประโยชน์์พััฒนาสถานที่่� โดย ขออนุุญาตใช้้พื้้�นที่่�ป่่าสงวนแห่่งชาติิจััดตั้้�ง “วััดป่่าท่่าไท” เป็็น โบสถ์์ไม้้หลัังใหญ่่ 2 ชั้้�น การก่่อสร้้างเป็็นลัักษณะศิิลปะแบบภาค เหนืือจนสำำ�เร็็จเมื่่�อปีี พ.ศ. 2554 ชั้้�นล่่างเป็็นใต้้ถุุนโล่่ง ชั้้�นบน เป็็นที่่ป� ฏิิบัติั กิิ จิ ของพระสงฆ์์และวัันสำำ�คัญ ั ทางศาสนาจะมีีคณะ อุุบาสก อุุบาสิิกา มาถืือศีีลวิิปััสสนากรรมฐาน พระครููกิิตติิ ปััญญากร จึึงอุุทิิศตนให้้กัับงานพระพุุทธศาสนาเต็็มรููปแบบนำำ� คนเข้้าสู่่�วิิถีีธรรมมีีบทบาทในการผสานวััดเข้้ากัับชุุมชนใช้้สถาน ที่่�วััดอบรม ปฏิิบััติิธรรมเผยแผ่่งานพระพุุทธศาสนา
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
151
วััดป่า่ ท่่าไทในปััจจุบัุ นั อาศััยผืืนป่่าท่่ามกลางธรรมชาติิ พัฒ ั นาตาม โครงการพระราชดำำ�ริิพััฒนาแหล่่งน้ำำ��กิิจกรรมหลััก คืือ การปลููกป่่า สถานที่่�พัักเงีียบสงบ ร่่มรื่่�น ควรแก่่การบำำ�เพ็็ญภาวนา ดัังจะเห็็นได้้ว่่า พุุทธประวััติทิ างศาสนาสััมพัันธ์์กับป่ ั า่ โดยตลอด สถานที่่บริ � เิ วณรอบวััด ภายในวััด จึงึ ควรเป็็นที่่พึ่่� ง� ทางจิิตใจ ส่่งเสริิมอบรมสั่่ง� สอนให้้ศาสนิิกชน ปฏิิบัติั ดีี ป ิ ฏิิบัติั ชิ อบโดยเน้้นหลัักคุณ ุ ธรรมแก่่พระสงฆ์์ อุบุ าสก อุุบาสิิกา ให้้ มีี ความเข้้ า ใจในหลัั ก ธรรมคำำ� สอนของพระสัั ม มาสัั ม พุุ ท ธเจ้้ า นำำ�ไปเป็็นหลัักในการดำำ�เนิินชีีวิิตได้้ตามหลัักการแห่่งพระพุุทธศาสนา ธำำ�รงปฏิิปทาพระสายป่่ากรรมฐานเป็็นเนื้้�อนาบุุญของชาวพุุทธ บำำ�เพ็็ญ บารมีี การเจริิญภาวนา ปฏิิบััติิตามหลัักพระพุุทธศาสนาอย่่างแท้้จริิง คนเข้้าถึึงความสงบ สว่่างไสวทางปััญญาอัันเป็็นหนทางแห่่งความพ้้น ทุุกข์์ในอนาคต ด้้วยเหตุุนี้้พ� ระครููกิติ ติิปัญ ั ญากร พร้้อมด้้วยหน่่วยงานภาครััฐ ภาค เอกชน พุุทธบริิษััททั่่�วไป มีีความศรััทธา สำำ�นึึกในบุุญคุุณต่่อชาติิและ แผ่่นดิิน สรรพสิ่่�งทั้้�งหลายของธรรมชาติิแหล่่งกำำ�เนิิดแห่่งชาติิ ได้้ ตระหนัักถึึงความสำำ�คััญทางศาสนาสถานถาวรวััตถุุเจดีีย์์ มหาปููชนีีย สถานสำำ�คััญในทางพระพุุทธศาสนา จึึงจััดสร้้าง “พระมหาเจดีีย์์วัดป่ ั ่า ท่่าไท เฉลิิมพระเกีียรติิพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวมหาวชิิราลงกรณ บดิินทรเทพยวรางกููรและเป็็นอนุุสรณ์์สถานปููชนีียวััตถุุพุุทธศิิลป์์แห่่ง สมััยรััชกาลที่่� 9” อััญเชิิญพระบรมสารีีริิกธาตุุขึ้้�นประดิิษฐานในสถาน ที่่�อัันสมควรเพื่่�อสัักการบููชา เป็็นศููนย์์รวมจิิตใจของพุุทธศาสนิิกชนมีี พระมหากรุุณาธิิคุุณของพระมหากษััตริิย์์เป็็นกำำ�ลัังใจ สืืบทอดศาสนา ให้้ยั่่�งยืืนด้้วยพระคุุณอัันประเสริิฐทรงเป็็นองค์์พุุทธมามกะทำำ�นุุบำำ�รุุง พระพุุทธศาสนา ให้้เจริิญวััฒนาสถาพรอยู่่�คู่่�ผืืนแผ่่นดิินไทย
152
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดป่่าท่่าไทพร้้อมด้้วยคณะพุุทธบริิษััทน้้อมระลึึกสำำ�นึึกในพระ มหากรุุณาธิิคุุณอัันยิ่่�งใหญ่่เต็็มเปี่่�ยมไปด้้วยความจงรัักภัักดีีอัันปกแผ่่ ไพศาลไปทั่่�วทุุกหนแห่่งหาที่่�สิ้้�นสุุดมิิได้้ เพื่่�อประโยชน์์สุุขของมหาชน ชาวสยามต่่อแผ่่นดิินไทย ทรงดำำ�เนิินพระราชกรณีียกิิจต่่างๆ ทุุก พระองค์์ทรงงานอย่่างหนัักเพื่่อ� วางรากฐานที่่มั่่� น� คงให้้กับป ั ระเทศชาติิ ตลอดมา ดัังกล่่าวนี้้�จึงึ ประสงค์์กระทำำ�ประโยชน์์สิ่่�งใดสิ่่�งหนึ่่�งฝากไว้้ใน แผ่่นดิิน เพื่่�อถวายเป็็นพระราชกุุศลพิิเศษสนองพระคุุณ ชาติิ ศาสนา พระมหากษัั ต ริิ ย์์ ด้้ ว ยความกตัั ญ ญูู ก ตเวทีีเป็็ น ที่่� สุุ ด หวัั ง ให้้ เ ป็็ น เอกลัั กษณ์์ ท างพุุ ท ธศิิ ลป์์ แ ห่่ ง สมัั ย รัั ช กาลที่่� 9 เป็็ น มงคลสถานที่่� พุุทธศาสนิิกชนได้้ตระหนัักถึึงคุุณค่่าอัันเป็็นประโยชน์์มีีคุุณููปการนัับ เอนกอนัันต์์ต่่อประเทศชาติิตลอดจนมวลมนุุษยชาติิโดยรวม จึึงได้้ออกแบบส่่วนใต้้ฐานพระมหาธาตุุเจดีีย์์ เป็็นสถานที่่�ในการ ศึึกษาเรีียนรู้้�เรื่่�องราวในพระพุุทธศาสนาตามหลัักธรรมคำำ�สั่่�งสอนแห่่ง องค์์สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้า ในการเผยแผ่่พระพุุทธศาสนายุุคใหม่่ แบบ 4 มิิติิ ตามวิิวัฒ ั นาการเทคโนโลยีีของสัังคม จััดแสดงนิิทรรศการ เรื่่�องราวของพระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวภููมิิพลอดุุลยเดช และ พระบรมวงศานุุวงศ์์ทุุกพระองค์์ ที่่�ประชาชนคนไทยทุุกคนได้้รัับรู้้�ถึึง พระราชกรณีียกิิจและพระอััจฉริิยภาพ ตลอดจนพระราชประวััติิด้ว้ ย ความจงรัั กภัั กดีี ให้้ ป ระชาชนทั่่� ว ไปได้้ รัั บรู้้� เป็็ น แรงบัั น ดาลใจและ ต้้นแบบที่่ดีี� งามในการดำำ�รงชีีวิิตและพััฒนาประเทศชาติิสืืบต่่อไป
มหานิิสงส์์ การสร้้างพระมหาเจดีีย์์
1. สร้้างวิิหารทาน อัันเป็็นทางที่่�มีีอานิิสงส์์ผลบุุญสููงที่่�สุุด ใน ประเภทอามิิสทานหรืือวััตถุุทาน 2. ให้้ธรรมเป็็นทานกล่่าวคืือ เมื่่�อมีีผู้้�มาใช้้สอยสถานที่่�และปฏิิบััติิ ธรรมเจริิญภาวนาสมาธิิเพื่่อ� ขััดเกลากิิเลสตนเอง นี้้�ให้้ผลเป็็นธรรมทาน แก่่ผู้้�ปฏิิบััติิเอง และบุุญนั้้�นย่่อมสะท้้อนกลัับเป็็นทัับทวีีสู่่� ผู้้�เสีียสละ สติิปััญญา ความรู้้� ความสามารถและกำำ�ลัังทรััพย์์ ให้้พระมหาเจดีีย์์นี้้� สำำ�เร็็จลง 3. บำำ�เพ็็ญพุุทธบููชา ธรรมบููชา สัังฆบููชาเพราะพระมหาเจดีีย์์ เป็็น ที่่ป� ระดิิษฐานพระบรมสารีีริิกธาตุุพระพุุทธรููปปางต่่างๆ และปููชนีียวััตถุุ อื่่�นๆ ที่่�สำำ�คััญ ความเป็็นสิิริิมงคลย่่อมมีีแก่่ผู้้�ได้้มาสัักการบููชา ถึึง พระรััตนตรััย คืือ พระพุุทธรััตนะ พระธรรมรััตนะ พระสัังฆรััตนะ ทั้้�ง ด้้วยอามิิสบููชาและปฏิิปััตติิบููชา ให้้ได้้รัับผลเป็็นความสัันติิสุุข และ สมบููรณ์์ บริิบููรณ์์ ด้้วยมนุุษย์์สมบััติิ สวรรค์์สมบััติิ และพระนิิพพาน สมบััติิ มีีมรรค 4 ผล 4 นิิพพาน 1 พระเจ้้าวรวงศ์์ เธอ พระองค์์เจ้้าโสมสวลีี กรมหมื่่น � สุุทธนารีีนาถ
ทรงเสด็็จเป็็นประธานตััดหวายลููกนิมิิ ติ ณ อุุโบสถวััดป่า่ ท่่าไท เมื่่อ� วัันที่่� 3 มีีนาคม พ.ศ. 2557 และได้้ปรารภกัับพระองค์์ท่่าน เรื่่�องการ ก่่อสร้้างมหาเจดีีย์์เพื่่�อบรรจุุพระบรมสารีีริิกธาตุุ ทางวััดจึึงได้้ดำำ�เนิิน การก่่อสร้้างโดยได้้รับก ั ารอนุุเคราะห์์แบบจากกรมศิิลปากร และดำำ�เนิิน การก่่อสร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 2558 เป็็นต้้นมา จนถึึงปััจจุุบััน โดยทุุนทรััพย์์ จากพุุทธบริิษััทสาธุุชนและผู้้�ประกอบการทั่่�วไป
พิิธีอั ี ญ ั เชิิ ญพระบรมสารีีริก ิ ธาตุุ จากประเทศศรีีลัังกาสู่่�วััดป่่าท่่าไท
เมื่่อ� วัันที่่� 23 ธัันวาคม พ.ศ. 2561 สมเด็็จพระวััสกาดุุเว มหิินทวงศ์์ มหานายกะเถโร สมเด็็จพระสัังฆนายกแห่่งอมรปุุระนิิกาย ประเทศศรีี ลัังกาได้้เสด็็จอัญ ั เชิิญพระบรมสารีีริิกธาตุุส่ว่ นพระกรด้้านขวาขององค์์ สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้า โดยได้้เมตตาแบ่่งจากพระบรมสารีีริิกธาตุุ ที่่�ถููกขุุดพบเมื่่�อปีี พ.ศ. 2439 โดยมิิสเตอร์์วิิลเลี่่�ยม แคลกซ์์ตััน เปปเป (William Claxton Pappe) ชาวอัังกฤษ ในซากปรัักหัักพัังของสถููป โบราณซึ่ง�่ จมอยู่่�ภายใต้้เนิินดิินี่ตำ่� ำ�บลปิปิ ราห์์วะ (Piprahwa) ทิิศตะวััน ออกเฉีียงเหนืือของอำำ�เภอบััสติิ (อัันเป็็นที่่ตั้้� ง� กรุุงกบิิลพัสั ด์์สมััยพุุทธกาล) และได้้ถูกนำ ู ำ�มาเก็็บรักษ ั าไว้้ ณ วััดวััสกาดุุเว ประเทศศรีีลัังกาโดยขณะ นี้้�พระบรมสารีีริิกธาตุุดัังกล่่าว ได้้ประดิิษฐานชั่่�วคราว ณ อุุโบสถไม้้ วััดป่า่ ท่่าไท เพื่่อ� รอประดิิษฐาน ณ พระมหาเจดีีย์์อรุุ-โณโชติิธรรมท่่าไท เมื่่�อก่่อสร้้างแล้้วเสร็็จต่่อไป จึึงนัับเป็็นมหามงคลและโอกาสอัันดีียิ่่�ง สำำ�หรัับพุทุ ธบริิษัทั ชาวไทย ทั้้�งประเทศ รวมทั้้�งพุุทธศาสนิิกชนในประเทศใกล้้เคีียง ที่่จ� ะได้้มีีโอกาส บููชาสัักการะพระบรมสารีีริิกธาตุุขององค์์สมเด็็จพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้า อย่่ า งใกล้้ ชิิ ด เพื่่� อ เป็็ น การจรรโลงไว้้ ซึ่่� ง พระพุุ ท ธศาสนาให้้ อ ยู่่�คู่่� ประเทศไทยสืืบไป SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
153
การค้้นพบพระบรมสารีีริก ิ ธาตุุของพระพุุทธเจ้้า เมืืองปััสติิ ชายแดนเนปาล
ปีี พ.ศ. 2439 ณ ตำำ�บลปิิปราห์์วะ เมืืองปััสติิ ชายแดนเนปาล มีี ซากกองอิิฐขนาดใหญ่่ สัันนิิษฐานเป็็นสถููปโบราณแห่่งกบิิลพััสดุ์์�ในยุุค พุุทธกาล มีีการขุุดสำำ�รวจทางโบราณคดีีโดย Mr.William Pappe เมื่่�อเปิิดหลุุมบนกลางกองอิิฐกว้้าง 10 ฟุุต ขุุดลึึกราว 8 ฟุุต พบผนัังอิิฐ ก่่อปิิดช่่อง จึึงมั่่�นใจว่่าต้้องพบหลัักฐานที่่�มีีความสำำ�คััญต้้องหยุุดรอ ผู้้�เชี่่�ยวชาญช่่วยเหลืือ เมื่่�อได้้ข้้อมููลมากเพีียงพอ การขุุดค้้นได้้ดำำ�เนิิน ต่่อในวัันที่่� 20 มกราคม พ.ศ. 2440 เมื่่�อการขุุดลึกล ึ งถึึงระดัับ 10 ฟุุต พบหีีบศิิลาหิินทรายสี่่เ� หลี่่ย� มขนาดใหญ่่ เมื่่อ� เลื่่อ� นเปิิดแผ่่นศิิลา ภายใน พบผอบหิิน 3 ผอบ หม้้อแก้้ว 1 หม้้อ ภายในผอบพบอััฐิิธาตุุพร้้อม เครื่่�องบููชาจำำ�นวนมาก เป็็นแผ่่นโลหะมีีค่่า และเครื่่�องประดัับพลอย สลัักตราสััญลัักษณ์์ต่่างๆ นี้้�คืือการค้้นพบทางโบราณคดีีครั้้�งประวััติิศาสตร์์ที่่�มีีความสำำ�คััญ เพราะที่่�ฝาผอบหิินชิ้้�นหนึ่่�งมีีรอยจารึึกอัักขระโบราณสลัักอยู่่�รอบฝา เป็็นอัักขระพราหมีีที่่ใ� ช้้กันั ในยุุคพุุทธกาลอัันเก่่าแก่่กว่า่ อัักขระที่่พ� บใน จารึึกสมััยจัักรพรรดิิอโศก
พระบรมสารีีริก ิ ธาตุุ
พระบรมสารีีริิกธาตุุ หมายถึึง พระอััฐิิธาตุุอัันเป็็นส่่วนสำำ�คััญแห่่ง พระพุุทธสรีีระของพระพุุทธเจ้้า ซึ่่�งยัังคงอยู่่�เป็็นที่่�เคารพบููชา รวมทั้้�ง ส่่วนสำำ�คััญอื่่�นๆ ของพระองค์์ เช่่น พระเกศา หลัังพระสรีีระของ พระพุุทธเจ้้าถููกเผาด้้วยเตโชธาตุุแล้้ว คงเหลืือไว้้แต่่พระบรมสารีีริิกธาตุุ รวมได้้ 16 ทะนาน
154
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ไขปริิศนาคำำ�จารึึก เผยความจริิงแท้้ พระบรมธาตุุภายในผอบ
Sir Kanningham ผู้้�อำำ�นวยการหน่่วยงานสำำ�รวจโบราณคดีีอิินเดีีย ในเวลานั้้�นได้้ส่ง่ หนัังสืือพร้้อมสำำ�เนาจารึึกอักั ขระพราหมีีบนฝาผอบหิิน ไปยัังพระศรีีสุุภติิ ประธานสงฆ์์แห่่งวััดทีีปทุุตตมาราม กรุุงโคลััมโบ ประมุุขสงฆ์์สููงสุุดแห่่งนิิกาย อมรปุุระ เกาะลัังกา ผู้้�เป็็นพหููสููตใน พระพุุทธศาสนาภาษาบาลีี-สัันสกฤต ภาษาอัังกฤษ และอัักษรโบราณ ท่่านศรีีสุุภููติิยัังมีีความสััมพัันธ์์ใกล้้ชิิดด้้วย Sir Kanningham และ Mr.William Pappe อีีกทั้้�งยัังเป็็นที่่�ปรึึกษาของหน่่วยงานสำำ�รวจ โบราณคดีีแห่่งอาณานิิคม พระศรีีสุุภูติู ิ ได้้ถอดคำำ�เป็็นภาษาบาลีีดัังนี้้�
อิิยํํ สลิิลนิธ ิ เน พุุธส ภควเต
สกิิยนํ สุ ํ กิ ุ ติ ิ ภ ิ ติินํํ สภคิินิก ิ นํํ สปุุตทลนํํ
มีีความหมาย ที่่�บรรจุุพระบรมสารีีริิกธาตุุของพระผู้้�มีีพระภาคนี้้� เป็็นของตระกููลศากยราช ผู้้�มีีเกีียรติิอัันงามกัับพระภาตา (น้้องชาย) พระคิินีี (น้้องหญิิง) พร้้อมพระโอรสและพระชายา ด้้วยนััยแห่่งคำำ�แปลตามจารึึกนี้้ มีี � ความหมายชััดเจนว่่า พระบรมธาตุุ ภายในผอบหิินชิ้้น� นี้้� คืือ พระบรมสารีีริิกธาตุุแห่่งองค์์สมเด็็จพระสััมมา สััมพุุทธเจ้้า ถููกต้้องทั้้�งโดยสถานที่่�ตั้้�งทางภููมิิศาสตร์์ ถููกต้้องตาม มหาปริินิิพพานสููตร และที่่�สำำ�คััญก็็คืือยืืนยัันพระบรมสารีีริิกธาตุุจาก พุุทธสรีีระได้้ถููกต้้อง (ขอบคุุณข้้อมููลจากหนัังสืือพระบรมสารีีริิกธาตุุ วััดนายโรง กรุุงเทพมหานคร)
ประวััติพ ิ ระครููกิิตติิปัญ ั ญากร (ชนะ)
ชื่่�อ พระครููกิิตติิปััญญากร (กิิตติิปััญโญ) เกิิดวัันที่่� 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2500 ที่่�จัังหวััดชุุมพร อายุุ 64 ปีี พรรษา 29 การศึึกษา ปริิญญา ตรีี, น.ธ.เอก ที่่�อยู่่�ปัจจุ ั บัุ ัน วััดป่่าท่่าไท ตำำ�บลคลองพา อำำ�เภอท่่าชนะ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บิิดาชื่่�อ ร.ต.ต. ชาญชััย อรุุญโชติิ มารดาชื่่�อ นางเวชทย์์ อรุุณโชติิ อุุปสมบท เมื่่�อวัันที่่� 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2535 ณ วััดอโสการาม ตำำ�บลท้า้ ยบ้้าน อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสมุุทรปราการ โดยมีีพระครููสุวุ รรณ ธรรมโชติิ (ทอง จัันทศิิริิ) เป็็นอุุปััชฌาย์์ มีีพระกรรมวาจาจารย์์ มีี พระอาจารย์์บุุญกู้้� อนุุวััฒโน เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ เมื่่�ออุุปสมบท แล้้วพระครููกิติ ติิปัญ ั ญากรได้้ตั้้ง� ศึึกษาพระกรรมฐานอยู่่�กัับพระอุุปัชั ฌา ยาจารย์์อยู่่�ระยะหนึ่่�งหลัังจากนั้้�นท่่านได้้ศึึกษานัักธรรมและสอบไล่่ ได้้ระดัับนักั ธรรมชั้้น� เอกแล้้วเดิินทางไปศึึกษาสายหลวงปู่่�มั่่น� ที่่วั� ดอิ ั นิ ทร เนรมิิต อำำ�เภอแม่่เมาะ จัังหวััดลำำ�ปาง และครููบาอาจารย์์อีีกหลายท่่าน จากทางภาคเหนืือ เมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2540 ท่่านได้้จาริิกมาสู่่�ภาคใต้้สู่่�จังั หวััด สุุราษฎร์์ธานีี และเมื่่�อวัันที่่� 23 ธัันวาคม พ.ศ. 2561 ได้้รับก ั ารถวาย พระบรมสารีีริิกธาตุุ ของพระสััมมาสััมพุุทธเจ้้าเป็็นส่่วนพระกรด้้านขวา จากกรุุงโคลััมโบ ประเทศศรีีลัังกา อััญเชิิญมาโดยสมเด็็จพระวััสกาดุุ เวมหิินทวงศ์์มหานายกะเถโร สมเด็็จพระสัังฆนายก แห่่งอมรปุุระนิิกาย ประเทศศรีีลัังกา เพื่่�อประดิิษฐานไว้้ที่่�มหาเจดีีย์์อรุุโนโชติิธรรมท่่าไท ซึ่่ง� ออกแบบควบคุุมการก่่อสร้้างโดยกรมศิิลปากร (กำำ�ลังั ก่่อสร้้าง) เพื่่อ� เป็็นศููนย์์รวมและเป็็นแหล่่งเรีียนรู้้� และเผยแพร่่พระพุุทธศาสนาแบบ มิิติิใหม่่ต่่อไป
เลขที่่� 232 หมู่่�ที่่� 7 ตํําบลคลองพา อํําเภอท่่าชนะ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
155
วััดอภััยเขตตาราม History of Buddhism....
ตำำ�บลนาสาร อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ประวััติพ ิ ระเถราจารย์์แห่่งเมืืองเงาะนาสาร ผู้้มี � อ ี ายุุยืน ื 102 ปีี 82 พรรษา (พ.ศ.2564) พระสงฆ์์ผู้ม ้� ากด้้วยอายุุและแก่่พรรษาที่่สุ � ุดในภาคใต้้
ณ ปััจจุุบัน ั พระครููพิิศาลคุุณาภรณ์์ (ประพัันธ์์ สุุจิณฺ ิ โฺ ณ) หรืือ พ่่อท่่านพััน วััดอภััยฯ (พ่่อท่่านพััน นาสาร) ที่ป ่� รึึกษาเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร เจ้้าอาวาสวััดอภััยเขตตาราม อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
156
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
157
อุุปสมบท
พระครููพิิศาลคุุณาภรณ์์ (ประพัันธ์์ สุุจิณฺ ิ โฺ ณ) ที่่ป � รึึกษาเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร เจ้้าอาวาสวััดอภััยเขตตาราม
ชาตะ
พระครููพิิศาลคุุณาภรณ์์ เดิิมชื่่�อ ประพัันธ์์ นามสกุุล คงเจริิญ เกิิด เมื่่�อวัันที่่� 14 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2462 ตรงกัับวัันศุุกร์์ แรม 9 ค่ำำ��เดืือน 3 ปีีวอก (ถ้้านัับตามปััจจุุบัันจะตรงกัับ พ.ศ. 2463 ในสมััยนั้้�นเปลี่่�ยน ศัักราชเดืือนเมษายน) เป็็นบุุตรของนายจัันทร์์ - นางหวน คงเจริิญ กำำ�เนิิด ณ ตำำ�บลนาสาร อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี มีีพี่่�น้้องร่่วมบิิดามารดา 7 คน เป็็นชาย 4 คนหญิิง 3 คนท่่านเป็็นบุุตร คนที่่� 3 ของครอบครััว ต่่อมาเมื่่�อท่่านอายุุได้้ 7 ขวบ โยมบิิดา-มารดา ก็็ได้้เสีียชีีวิติ ลง นัับว่่าเป็็นความสููญเสีียอย่่างใหญ่่หลวง ในวัั ย ปฐมได้้ เ รีี ย นหนัั ง สืืออัั ก ขระสมัั ย ในสำำ� นัั ก พ่่ อท่่ า นมีี อิินฺฺทมุุนีี วััดโพธิ์์�ไทรงาม พระเถระวิิปััสสนาจารย์์ชื่่�อดัังในสมััยนั้้�น ต่่อ มาเมื่่�ออายุุโตขึ้้�นมาอีีกหน่่อยเข้้าเกณฑ์์วััยเรีียนตามข้้อกำำ�หนดของ รัั ฐบา ล โดยพี่่� ชา ยคนโตของท่่ า น (อาจารย์์ จ รัั ส คงเจริิ ญ ) ซึ่่ง� เป็็นครููใหญ่่โรงเรีียนบ้้านกาญจนดิิษฐ์์ ก็ไ็ ด้้พาท่่านไปศึึกษาต่่อจนจบ ชั้้�น ป.5 ณ โรงเรีียนบ้้านกาญจนดิิษฐ์์ และได้้เรีียนชกมวย กระบี่่�กระบอง ด้้วย ต่่อมาเมื่่�อเข้้าสู่่�วััยรุ่่�นก็็ได้้ออกจากโรงเรีียนมาช่่วยทาง บ้้านประกอบสััมมาอาชีพี ทางด้้านกสิิกรรม โดยทำำ�น้ำำ��ตาลจากต้้นโตนด เลี้้ย� งวััวเลี้้�ยงควายในทุ่่�งนาสารนั้้�นจนอายุุครบอุุปสมบท
158
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
เมื่่�ออายุุได้้ 21 ปีีเศษ ได้้อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ เมื่่�อวัันที่่� 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 ตรงกัับวัันพุุธ แรม 15 ค่ำำ�� เดืือน 8 ปีีมะเส็็ง เวลา 14.35 น. ณ พััทธสีีมาวััดนาสาร อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี โดยมีี พระครููอภััยเขตนิิคม (เซ่่ง อภโย) วััดบ้้านส้้อง เป็็น พระอุุปัชั ฌาย์์ พระอธิิการรุ่่�ม อิิสฺสรมุ ฺ นีุ ี วััดควนสุุบรรณ (ขณะจำำ�พรรษา ณ วััดนาสาร) เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ พระครููลอย เจตฺฺสิิกาโร วััดเวีียงสระ (ขณะจำำ�พรรษา ณ วััดนาสาร) เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ ได้้รัับฉายาทางธรรมว่่า “สุุจิิณโณ” แปลว่่า ผู้้�ประพฤติิดีีแล้้ว วิิทยฐานะ
• พ.ศ. 2475 สำำ�เร็็จการศึึกษาสายสามััญ ป.5 จากโรงเรีียนบ้้าน กาญจนดิิษฐ์์ อำำ�เภอกาญจนดิิษฐ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี • พ.ศ. 2486 สำำ�เร็็จการศึึกษานัักธรรมชั้้�นโท สำำ�นัักเรีียนวััดนาสาร อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี • พ.ศ. 2498 สอบได้้ความรู้้�ธรรมวิินััยชั้้�นนวกภููมิิ ในสำำ�นัักเรีียน วััดมหาธาตุุยุุวราชรัังสฤษฎิ์์�ฯ กทม. • พ.ศ. 2499 สอบได้้ความรู้้�ชั้้�น จููฬอาภิิธรรมมิิกตรีี สำำ�นัักเรีียน อภิิธรรมสถานวััดระฆัังโฆสิิตารามฯ กทม.
เล่่าเรื่่�องพระอริิยสงฆ์์ผู้เ้� ฒ่่า
งานคณะสงฆ์์/สมณศัั กดิ์์�
• พ.ศ. 2494 เป็็นครููสอนปริิยััติิธรรมประจำำ�สำำ�นัักศาสนศึึกษาวััด อภััยเขตตาราม และเป็็นกรรมการตรวจประโยคธรรมสนามหลวง • พ.ศ. 2496 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาสวััดอภััยเขตตาราม อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี • พ.ศ. 2497 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นพระสมุุห์์ฐานานุุกรมใน พระครูู อภััยเขตนิิคม (เซ่่ง อภโย) เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร วััดบ้้านส้้อง ที่่� พระสมุุห์์ประพัันธ์์ สุุจิิณฺฺโณ • พ.ศ. 2498 เป็็นกรรมการสงฆ์์อำำ�เภอบ้้านนาสาร ในตำำ�แหน่่ง องค์์การสาธารณููปการอำำ�เภอ • 5 ธัั น วาคม พ.ศ. 2502 เนื่่� อ งในวัั น เฉลิิ ม พระชนมพรรษา รััชกาลที่่� 9 พระราชทานสมณศัักดิ์์�เป็็นพระครููสััญญาบััตรชั้้�นตรีี มีีราชทิินนามว่่า “พระครููพิิศาลคุุณาภรณ์์” • พ.ศ. 2510 ได้้รับั การแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลนาสาร • พ.ศ. 2517 รัับพระราชทานเลื่่อ� นสมณศัักดิ์์พ� ระครููสััญญาบััตร เป็็น พระครููเจ้้าอาวาสวััดราษฎร์์ชั้้�นโท ในราชทิินนามเดิิม • พ.ศ. 2523 รัับพระราชทานเลื่่�อนสมณศัักดิ์์�พระครููเจ้้าคณะตำำ�บล ชั้้�นเอก ในราชทิินนามเดิิม • 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ได้้รับั การแต่่งตั้้�งเป็็นพระอุุปัชั ฌาย์์ • พ.ศ. 2537 ได้้ รัั บ การแต่่ ง ตั้้� ง เป็็ น รัั ก ษาการเจ้้ า คณะอำำ� เภอ บ้้านนาสาร • พ.ศ. 2538 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร และ ได้้รับั พระราชทานปรัับพัดั ยศสมณศัักดิ์์� เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอชั้้�นโท ใน ราชทิินนามเดิิม • พ.ศ. 2543 ได้้ รัั บ การแต่่ ง ตั้้� ง เป็็ น ที่่� ป รึึ ก ษาเจ้้ า คณะอำำ� เภอ บ้้านนาสาร เนื่่�องจากอายุุครบ 80 ปีี (เกษีียณอายุุ) • และได้้รัับตำ�ำ แหน่่ง เจ้้าคณะอำำ�เภอชั้้�นเอก และปััจจุุบััน เป็็นที่่� ปรึึกษาเจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาสาร
นัับตั้้ง� แต่่ท่า่ นอุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุสงฆ์์ ท่า่ นเป็็นพระที่่�เคร่่งครััด พระธรรมวิินัยั อย่่างเคร่่งครััด เป็็นพระนัักพััฒนา มีีวิสัิ ยั ทััศน์์ที่่ก้� าว ้ ไกล ในการธำำ�รงไว้้ซึ่่ง� พระพุุทธศาสนา เริ่่�มจากศึึกษาด้้านธรรมะ ตามรอย องค์์พระศาสดา ต่่อมาได้้เดิินทางไปเมืืองหลวง โดยไปศึึกษาวิิปััสนา กรรมฐาน กัับ พระธรรมธีีรราชมหามุุนีี (โชดก ญาณสิิทฺฺธิิ) ป.ธ.9 วััดมหาธาตุุยุุวราชรัังสฤษฏิ์์� กรุุงเทพมหานคร จนสำำ�เร็็จกระบวนวิิชา โดยมีีพระสหธรรมิิกรุ่่�นพี่่� ตรวจสภาวะจิิต ซึ่่�งเป็็นพระชาวมอญ คืือ พระราชอุุดมมงคล (เอหม่่อง อุุตฺฺตโม หรืือ หลวงพ่่ออุุตมะ) วััดวัังก์์ วิิเวการาม จัังหวััดกาญจนบุุรีี และต่่อมาท่า่ นก็็เดิินธุุดงค์์อยู่่�ช่ว่ งหนึ่่�งจน เข้้าใจถึึงแก่่นแท้้ ต่อมา ่ ได้้เดิินทางกลัับมาจำำ�พรรษาที่่�วัดอภั ั ยั เขตตาราม ซึ่่�งเป็็นวััดที่่� พระครููอภััยเขตนิิคม (เซ่่ง อภโย) อดีีตเจ้้าคณะอำำ�เภอ บ้้านนาสาร วััดบ้้านส้้อง พระอุุปััชฌาย์์จารย์์ของท่่านได้้สร้้างไว้้ และ ได้้เป็็นเจ้้าอาวาสมาตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2496 ตราบจนถึึงปััจจุุบัันนี้้� ท่่านเป็็นพระนัักพััฒนา ได้้ดำำ�เนิินการงานในหน้้าที่่�ด้้วยความ เรีียบร้้อย ดีีงามของคณะสงฆ์์และการพระศาสนา ตามตำำ�แหน่่งที่่�ได้้รับั มอบหมายด้้วยความเรีียบร้้อยทุุกประการ โดยความร่่วมมืือในการ ทำำ�งานของคณะสงฆ์์ ได้้วางแบบแผนเป็็นรากฐานการดำำ�เนิินงานไว้้ จนถึึงปััจจุุบันั ท่่านเป็็นพระอริิยสงฆ์์ที่่มี� อายุ ี แุ ละพรรษายืืนยาว ปััจจุุบันั พ.ศ. 2564 อายุุย่่างเข้้า 102 ปีี พรรษาที่่� 82 เป็็นที่่�เคารพนัับถืืออย่่าง กว้้างขวาง คุุณธรรมในตััวท่่านที่่�ควรยึึดถืือเป็็นแบบอย่่างคืือ อุุเบกขา การวางเฉย สมถะ ความสะอาดเรีียบร้้อย และ ความประหยััดมััธยััสถ์์ ปััจจุุบัันท่่านมีีสุุขภาพร่่วงโรยตามวััย มีีภาพจำำ�คืือ ท่่านจะมีีไม้้เท้้าอยู่่� 1 ด้้าม ไว้้พกพาค้ำำ��ยัันช่่วยเวลาเดิินไปไหนมาไหน นัับว่่าท่่านยัังมีี สุุขภาพที่่�แข็็งแรง สามารถนั่่�งรัับแขกสาธุุชนที่่�ไปกราบไหว้้บููชา ท่่านมีี เมตตาธรรมสููงมาก ไม่่เลืือกชั้้�นวรรณะ สามารถเข้้าพบสนทนาธรรม และเรื่่�องต่่างๆ ได้้ทุุกเพศ ทุุกวััย ท่่านมีีความจำำ�ที่่�แม่่นมาก ยัังปฏิิบััติิ กิิจโดยการกวาดลานวััดเป็็นประจำำ� เห็็นได้้จากความสะอาดเรีียบร้้อย ภายในวััดท่่าน และความสะอาดของกุุฏิิที่่�ท่่านพัักจำำ�พรรษาของท่่าน
ตำำ�บลนาสาร
อำำ�เภอบ้้านนาสาร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
159
วััดพััฒนารมย์์ History of Buddhism....
วััดพััฒนารมย์์ (วััดปลายน้ำำ�) เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้�ง ้ วััด เมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2440
รัับวิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 20 กัันยายน พ.ศ. 2498 ในช่่ วงเวลาที่่� จอมพล ป. พิิบูล ู ย์์สงคราม เป็็นนายกรััฐมนตรีี
160
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระครููวิชั ิ ั ยธรรมสาร (สุุนทร)
เจ้้าคณะอำำ�เภอบ้้านนาเดิิม / เจ้้าอาวาสวััดพััฒนารมย์์
รายนามเจ้้าอาวาส
1. พ่่อท่่านเชืือก 2. พระอธิิการรุ่่�ม วััฑฒนสีีโล 3. พระครููสัังฆรัักษ์์บุุญให้้ ปาลิิโก 4. พระครููวิิชััยธรรมสาร (สุุนทร) เจ้้าอาวาสวััดพััฒนารมย์์รููปปััจจุุบััน
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
161
หลวงพ่่อรุ่่�ม วฑฺฺฒนสีี โล อดีีตเจ้้าอาวาสวััดพััฒนารมย์์ (วััดปลายน้ำำ�)
หลวงพ่่อรุ่่�ม ท่่านเกิิดปีีชวด ตรงกัับปีี พ.ศ.2443 ภููมิิลำำ�เนาเป็็น ชาวบ้้านหมู่่�ที่่� 5 ตำำ�บลลำำ�พููน อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บิิดาชื่่�อคุุณพ่่อร่่วง มีีบุุตรทั้้�งหมด 4 คน หลวงพ่่อรุ่่�มเป็็นคนที่่� 3 ใน ปีี พ.ศ.2463 หลวงพ่่อรุ่่�มได้้บรรพชาอุุปสมบท ท่่านเป็็นพระภิิกษุุ ที่่�สััมมถะ เป็็นพระนัักพััฒนาเป็็นผู้้�สร้้างและบููรณะวััดบริิเวณละแวก นั้้�นจำำ�นวน 3 วััด ภาษาชาวบ้้านเรีียกว่่าหัักดง เพราะสมััยนั้้�นเป็็น ป่่ารกทึึบ ต้้องใช้้จอบ พร้้า ขวาน บวกกัับความช่่วยเหลืือของชาวบ้้าน ละแวกนั้้�นด้้วยความเลื่่�อมใสในหลวงพ่่อ หลวงพ่่อรุ่่ม� เป็็นเจ้้าอาวาสวััดควนสุุบรรณ เมื่่อ� วัันที่่� 1 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2477 ตรงกัับวัันขึ้้น� 9 ค่ำำ��ปีีจอ อยู่่�สร้้างวััดประมาณ 10 ปีีเศษ แล้้วไปสร้้างวััดพััฒนารมย์์(วััดปลายน้ำำ��) และขึ้้�นเป็็นเจ้้าอาวาสวััด รููปแรกของวััดพััฒนารมย์์ ปีี พ.ศ. 2487 นอกจากนั้้�นท่่านยัังเป็็นศููนย์์ รวมที่่�พึ่่�งทางจิิตใจของชาวบ้้าน ท่่านยัังเป็็นหมอยาสมุุนไพรรัักษาโรค รัักษาคนถููกงููกััด รัักษาเริิม รวมทั้้�งวิิชาการต่่อกระดููก ท่่านก็็รัักษาได้้ เมื่่�อชาวบ้้านเดืือดร้้อนก็็จะมาหาท่่าน ท่่านก็็คอยช่่วยเหลืือ ไม่่แบ่่ง ชนชั้้�นวรรณะ หลวงพ่่อรุ่่�มเป็็นพระที่่�มีีพลัังจิิตสููง มีีตะบะเดชะสููง เป็็นผู้้�หยั่่�งรู้้�อนาคต การดููฤกษ์์ยาม สำำ�เร็็จวิิชากระสุุนคต(สั่่�งกระสุุน) วิิชาธนููสั่่�ง สะเดาะกุุญแจ และที่่�สุุดยอดท่่านสำำ�เร็็จวิชิ ากสิินน้ำำ� � ในยุุค สมััยนั้้�นกล่่าวกัันว่่าผ้้าจีีวรที่่�ท่่านใช้้ ผ้้าเช็็ดเท้้าหน้้ากุุฏิิท่่าน จะมีีทั้้�ง ข้้าราชการและช่่างบ้้านมาขอตััดแบ่่งไปเก็็บไว้้บูชู าเสมอ ด้้วยอััธยาศััย ที่่�ร่่าเริ่่�งของท่่านไม่่ยึึดติิดสิ่่�งของ ลาภยศ ต่่อมาชาวบ้้านจึึงขอให้้ท่่าน สร้้างวััตถุุมงคลเช่่น พระเครื่่�อง เครื่่�องรางต่่างๆ เพื่่�อแจกจ่่ายชาวบ้้าน ไว้้ป้้องกัันตััวและเป็็นที่่�ยึึดเหนี่่�ยวจิิตใจ หลวงพ่่อรุ่่�ม ได้้มรณภาพในปีี 2528 ในกุุฏิิของท่่านอย่่างสงบนิ่่�ง ศิิริิอายุุ 85 ปีี พรรษาที่่� 65
162
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้�งอยู่่�หมู่่�ที่่� 5
ตำำ�บลลำำ�พููน
อำำ�เภอบ้้านนาสาร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดท่่าเรืือ หรืือ วััดปััฏนาราม History of Buddhism....
วััดท่่าเรืือ หรืือวััดปััฏนาราม เป็็นวััดเก่่าแก่่ จากหลัักฐานคืือใบเสมาหิินทราย ซึ่่� งเป็็นศิิ ลปะสมััยอยุุธยาตอนปลาย และอิิฐก้้อนใหญ่่ ซึ่่� งเป็็น
อิิฐสมััยศรีีวิชั ิ ั ย มีีขนาดใหญ่่กว่า ่ ปััจจุุบัน ั มาก กว้้างประมาณ 15 ซม. หนาประมาณ 10 ซม. (ใหญ่่) กว่่านี้้�จะเป็็นอิิฐสมััยอยุุธยา ส่่ วนอุุโบสถนั้้�น
สร้้างประมาณ ปีี พ.ศ. 2510 กว่่าๆ โดยหลัังเดิิมนั้้�นเป็็นไม้้ผุพั ุ ง ั ไปหมดแล้้ว หลัังใหม่่ได้้สร้า ้ งที่่�โบสถ์์หลัังเก่่า สำำ �หรัับพระพุุทธรูู ปในโบสถ์์เป็็น สมััยอยุุธยาศิิ ลปะภาคใต้้ การสร้้างวััดไม่่ปรากฏ ว่่าผู้้�ใดเป็็นคนสร้้าง ผู้้�เฒ่่าผู้้�แก่่ในหมู่่�บ้้านเล่่ากัันมาว่่ามีีรููปปั้้�นเจ้้าอาวาสซึ่่� งชาวบ้้านเรีียกกัันว่่า
พ่่อท่่านเจ้้าฟ้้า เป็็นที่่เ� คารพเลื่่อ � มใสมาก มีีการมาบนบานต่่อรูู ปบููชาท่่านที่วั ่� ด ั ก็็มัก ั จะหายจากโรค หากมีีภัย ั ใดๆ ก็็จะเข้้าทรงบอกกล่่าวชาวบ้้าน ให้้เตรีียมตััวระวัังและรัักษาโรค ทุุกปีจึึ ี งมีีประเพณีีถวายหรัับ หรืือ สำำ �รับ ั แด่่พ่อ ่ ท่่านเจ้้าฟ้้า
ตั้้�งอยู่่�หมู่่�ที่่� 3
ตำำ�บลท่่าเรืือ
อำำ�เภอบ้้านนาเดิิม
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
163
วััดสุุคนธาวาส History of Buddhism....
ตำำ�บลพรุุ พีี อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
164
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดสุุคนธาวาส ได้้เริ่ม�่ ก่่อตั้ง�้ ขึ้้น� เมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2482 โดยมีีเนื้้อ� ที่่� 111 ไร่่ 1 งาน 90 ตารางวา โดยนายเฟื่่�อง หนููศรีีแก้้ว อดีีตกำำ�นัันตำำ�บลพรุุพีี ได้้ชัักชวนพี่่�น้้องชาวบ้้าน ร่่วมมืือร่่วมใจกัันสร้้างและได้้นิิมนต์์พระ มาอยู่่�จำำ�พรรษาติิดต่่อกัันเรื่่�อยมา จนถึึงปีี พ.ศ. 2490 คณะกรรมการ และพุุทธศาสนิิกชน ได้้อาราธนานิิมนต์์พระครููขัันติิธรรมคุุณ (เคล้้า ขัันฺฺติิธมฺฺโม) มาเป็็นเจ้้าอาวาส จนได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมาจาก พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวภููมิิพลอดุุลยเดช เมื่่�อวัันที่่� 8 กัันยายน พ.ศ. 2498 และได้้สร้้างอุุโบสถชั่่�วคราวขึ้้�นหลัังหนึ่่�งเพื่่�อเป็็นที่่�ปฏิิบััติิ ศาสนกิิจ จากนั้้�นก็็ได้้พัฒ ั นาบุุกเบิิกสร้้างกุุฏิเิ จ้้าอาวาส และกุุฏิที่ิ พั�่ กส ั งฆ์์ ทั้้�งหมด 40 กว่่าหลััง โรงครััว 1 หลััง และศาลาการเปรีียญ 1 หลััง ตลอดจนปรัั บปรุุ งลานวัั ดให้้กว้้างยิ่่� งขึ้้� น และได้้สละที่่�วััดให้้ สร้้าง โรงเรีียนราชประชานุุเคราะห์์ 12 (วััดสุุคนธาวาส) ขึ้้�นและที่่�วััดอัันเป็็น เขตติิดต่่อกัันกัับทางรถไฟให้้เป็็นสาธารณประโยชน์์ ต่่อมาเมื่่�อปีี พ.ศ. 2543 มีีพระครููวิิจิิตรธรรมานัันท์์ เป็็นเจ้้าอาวาส จนถึึงปััจจุุบ้้น
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
165
การพััฒนาก็็ได้้ทำำ�ติิดต่่อกัันมาเรื่่�อยๆ จนถึึงปีี พ.ศ. 2519 โดยที่่� พระบาทสมเด็็จพระเจ้้าอยู่่�หััวภููมิิพลอดุุลยเดช รััชกาลที่่� 9 สมเด็็จ พระบรมราชิินีีนาถ สมเด็็จพระเทพรััตนราชสุุดาและสมเด็็จพระเจ้้า ลููกยาเธอเจ้้าฟ้้าจุุฬาภรณ์์วลัยั ลัักษณ์์ เสด็็จมาเยี่่ย� ม วััดสุุคนธาวาส เมื่่อ� วัันที่่� 17 กัันยายน พ.ศ. 2519 และพระราชทานพระราชทรััพย์์ส่่วน พระองค์์ 10,000 บาท (หนึ่่�งหมื่่น� บาท) ทางวััดก็็ได้้ทำำ�ให้้เป็็นประโยชน์์ อัันสููงใหญ่่ต่อ่ ไป จึึงได้้สร้า้ งช่่อฟ้้า ใบระกา ศาลาการเปรีียญ เอาพี่่�น้อ้ ง ประชาชนมาเห็็นแล้้วจะได้้ชื่่�นชมภููมิิใจ ต่่อมาเมื่่�อปีี พ.ศ. 2529 พระครููปััญญาสารวิิสิิฐ (เจ้้าอาวาสใน ตอนนั้้�น) ได้้ชักชว ั นพี่่�น้อ้ งประชาชน ร่่วมกัันสร้้างอุุโบสถ ขึ้้น� ใหม่่ บัดั นี้้� อุุโบสถได้้สร้้างเสร็็จเรีียบร้้อยเป็็นที่่�ปฏิิบััติิศาสนกิิจของพระภิิกษุุ สามเณร เป็็นประจำำ�ทุุกวััน
166
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�หมู่่�ที่่� 4 ตำำ�บลพรุุ พีี
อำำ�เภอบ้้านนาสาร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
เบอร์์โทร 077-267026
วััดควนสุุบรรณ History of Buddhism....
ตำำ�บลควนสุุบรรณ อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดควนสุุบรรณ เป็็นวััดราษฎร์์ สัังกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้�้งวััดเมื่่�อปีี พ.ศ. 2475 ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีี มาเมื่่�อปีี พ.ศ. 2511
ปััจจุุบัน ั วััดควนสุุบรรณเจริิญรุ่่�งเรืืองเป็็นไปโดยลำำ�ดับ ั มีีเสนาสนะ อุุโบสถ วิิหาร ศาลาปฏิิบัติ ั ธ ิ รรมเฉลิิมพระเกีียรติิ และเป็็นศููนย์์กลางทางจิิตใจ แก่่พุุทธบริิษััททั้้� งหลาย เป็็นศูู นย์์กลางพััฒนาศัั กยภาพให้้แก่่ประชาชนและเยาวชนในด้้ านต่่างๆ เช่่ น ศูู นย์์อบรมประชาชนประจำำ�ตำ� ำ บล
ศููนย์์อบรมคุุณธรรมจริิยธรรมของเด็็กและเยาวชนใน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี จึง ึ ถืือได้้ว่่า วััดควนสุุบรรณ ได้้สืื บทอดอายุุพระศาสนาและพััฒนา ด้้านสัั งคมควบคู่่�กัน ั ไป
168
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
สิ่่� งศัั กดิ์์สิ � ิ ทธิ์์�ภายในวััดควนสุุบรรณ
1. หลวงพ่่อโกงเหลง เป็็นพระพุุทธรููปโบราณอายุุกว่่า 100 ปีี 2. หลวงพ่่อเพชร เป็็นพระพุุทธรููปประจำำ�อุุโบสถวััดควนสุุบรรณ 3. รููปเหมืือนหลวงปู่่�ทวด 4. รููปเหมืือนพ่่อท่่านคล้้าย 5. รููปเหมืือนอดีีตเจ้้าอาวาสวััดควนสุุบรรณ หลวงพ่่อรุ่่�ม วฒฺฺนสีีโล และหลวงพ่่อรุ่่�ม อิิสระมุุณีี กิิจกรรมส่่งเสริิมสัั งคม
1. ชุุ ม ชนคุุ ณ ธรรมขัั บ เคลื่่� อ นด้้ ว ยพลัั ง ..บวร ของกระทรวง วััฒนธรรม 2. หน่่ ว ยอบรมประชาชน..อปต.และหมู่่�บ้้ า นรัั ก ษาศีี ล 5 ของ สำำ�นัักงานพระพุุทธศาสนาแห่่งชาติิ 3. วััดประชารััชสร้้างสุุขด้้วย 5 ส. 4. วััดส่่งเสริิมสุุขภาพ 5. ฑููตทางวััฒนธรรมจากลุ่่�มแม่่น้ำ�ำ� ตาปีีสู่่�ลุ่่�มแม่่น้ำำ��มูลู เป็็นวััดแรกที่่� เชื่่อ� มวััฒนธรรมเข้้าพรรษาที่่� จ.อุุบลราชธานีี และออกพรรษาเที่่�ยวงาน ชัักพระทอดผ้้าป่่าและแข็็งเรืือยาวที่่�สุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
169
พญาครุุ ฑเพิ่่�มทรััพย์์ วััดควนสุุบรรณ
ขณะนี้้�ทางวััดได้้ดำำ�เนิินการสร้้างวััตถุุมงคลหลวงพ่่อท่่านโกงเหลง และหลวงพ่่อเพชรเพื่่�อให้้ไว้้เป็็นที่่�ระลึึกสำำ�หรัับผู้้�มีีจิติ ศรััทธามาทำำ�บุญ ุ ที่่�วััดควนสุุบรรณ
พระครูู สัังฆรัักษ์วิ ์ ท ิ วััส โชติิญาโณ เจ้้าคณะตำำ�บลควนสุุบรรณ เจ้้าอาวาสวััดควนสุุบรรณ
170
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้�งอยู่่�หมู่่� 2
ตำำ�บลควนสุุบรรณ อำำ�เภอบ้้านนาสาร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดสองพี่่�น้้อง History of Buddhism....
ตำำ�บลคลองศก อำำ�เภอพนม จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
172
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
173
ประวััติพ ิ ระครูู วิริ ิ ย ิ าธิิการ (อั้้�น ฐานทิินฺโฺ น) หลวงพ่่ออั้้�น
อดีีตเจ้้าคณะอำำ�เภอพนม อดีีตเจ้้าอาวาสวััดสองพี่่�น้้อง พระครููวิริิ ยิ าธิิการ มีีนามเดิิมว่า่ อั้้น� นามสกุุล ปาลคะเชนทร์์ กำำ�เนิิด เมื่่�อวัันที่่� 4 เมษายน พ.ศ. 2460 ตรงกัับวัันพุุธ ขึ้้�น 13 ค่ำำ�� เดืือน 5 ปีีมะเส็็ง ณ บ้้านสองพี่่�น้อ้ ง หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลคลองศก อำำ�เภอพนม จัังหวััด สุุราษฏร์์ธานีี ในวััยเด็็กสมััยนั้้�นยัังไม่่มีีโรงเรีียน ได้้ศึึกษาเล่่าเรีียนทางบ้้านตาม ความนิิยมของคนโบราณ โดยมีีคุณ ุ ทวด เหมิ้้น� สารีีพััฒน์์ เป็็นผู้้�แนะนำำ� สั่่�งสอนภาษาไทยให้้จนอ่่านออกเขีียนได้้พอสมควร บรรพชา เมื่่�ออายุุได้้ 16 ปีี พ.ศ. 2476 ได้้บรรพชาเป็็นสามเณร ณ วััดพนม พระอุุปัชั ฌาย์์ตีด ติ ี สฺิ โฺ ส เป็็นพระอาจารย์์บรรพชาสามเณร อุุปสมบท อายุุ 20 ปีีได้้อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ ณ พััทธสีีมา วััดพนม เมื่่�อปีีพ.ศ. 2480 ตรงกัับปีีฉลูู โดยมีี - พระอธิิการตีีด ติิสฺฺโส วััดพนม เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ ได้้รัับฉายา ทางธรรมว่่า “ฐานทิินโน” แปลว่่า ผู้้�ให้้ฐานะ และได้้จำำ�พรรษา ณ วััดสองพี่่�น้้อง จวบจนมรณภาพ ตำำ�แหน่่งหน้้าที่่�/การคณะสงฆ์์ - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาส วััดสองพี่่�น้อ้ ง - พ.ศ. 2500 ได้้รัับแต่่งตั้้�งเป็็นพระใบฏีีกา ที่่� พระใบฎีีกาอั้้�น ฐานทิินโน - 2 เมษายน พ.ศ. 2512 ได้้รัับแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลพนม - 5 ธัันวาคม พ.ศ. 2517 ได้้รัับพระราชทาน พระครููสััญญาบััตร มีีราชทิินนามว่่า “พระครููวิิริิยาธิิการ” ตามระบุุในราชกิิจจานุุเบกษา เล่่ม 91 ตอนที่่� 229 ฉบัับพิิเศษหน้้า 29 ลงวัันที่่� 31 ธัันวาคม พ.ศ. 2517 - 21 มิิถุนุ ายน พ.ศ. 2536 ได้้รัับแต่่งตั้้ง� เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอพนม - ปีี พ.ศ. 2542 เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอพนมกิิตติิมศัักดิ์์� ตามพระราช บััญญััติิคณะสงฆ์์ เพราะเกษีียรอายุุเนื่่�องจากชราภาพ เมื่่�ออายุุ 82 ปีี 62 พรรษา พระครููวิริิ ิยาธิิการ (หลวงปู่่�อั้้�น ฐานทิินโน) มรณะภาพ เมื่่�อวัันที่่� 9 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2543 เวลาเช้้า 05.00 น. ตรงกัับวัันพุุธ ขึ้้�น 5 ค่ำำ�� เดืือน 3 ปีีเถาะ สิิริิอายุุ 83 ปีี 63 พรรษา
174
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระครูู สุุทธิภ ิ าตารัักษ์์ (สถิิต)
เจ้้าคณะอำำ�เภอพนม / เจ้้าอาวาสวััดสองพี่่�น้อ ้ ง
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 1 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลคลองศก
อำำ�เภอพนม
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
175
วััดพุุนพิินใต้้ History of Buddhism....
วััดพุุนพิินใต้้ สร้้างขึ้้�นเมื่่อ � ปีีพุท ุ ธศัั กราช 1989 และได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � พุุทธศัั กราช 1995 มีีเนื้้�อที่่�ประมาณ 18 ไร่่ 2 งาน 72 ตารางวา ลัักษณะพื้้�นที่่�เป็็นพื้้�นที่่�ราบติิดคลองพุุนพิินซึ่�่ งเป็็นคลองสาขาของแม่่น้ำ�ต ำ าปีี หลัักฐานที่่�ปรากฏอยู่่จ � นถึง ึ ทุุกวัันนี้้� คืือ
1. พระพุุทธรููปประธาน ทำำ�จากหิินทรายแดงสมััยอยุุธยา หน้้าตััก กว้้าง 6 ศอก 1 คืืบ สููง 4 เมตรลัักษณะพระพัักตร์์อวบอ้้วน มีีไรพระศก รััศมีีเป็็นเปลวไฟ 1 องค์์ ประดิิษฐานอยู่่�ภายในวิิหาร 2. พระพุุทธรููปหิินทรายแดงสมััยอยุุธยา ประดิิษฐานอยู่่�บริิเวณ ด้้านหน้้าวิิหาร 1 องค์์ 3. เสมาหิินทรายแดง 4 แผ่่น ทำำ�ด้้วยหิินทรายแดงที่่�ยัังมีีสภาพดีี อยู่่�จำำ�นวน 4 ใบนอกนั้้�นแตกหัักเป็็นท่่อน จากการคำำ�นวณอายุุของ นัักตรวจการของกรมศิิลปากร ว่่าสร้้างเมื่่�อสมััยศรีีวิิชััย 4. เจดีีย์์ย่่อมุุมไม้้สิิบสอง ก่่อด้้วยอิิฐโบราณ ฐานเป็็นรููปสี่่�เหลี่่�ยม จััตุุรััส กว้้างคููณยาวด้้านละ 3.50 เมตร ตั้้�งอยู่่�หลัังวิิหาร 5. อุุ โ บสถหลัั ง เดิิ ม ซึ่่� ง สัั น นิิ ษ ฐานว่่าสร้้ า งในสมัั ย อยุุ ธ ยา และ อุุโบสถก่่ออิิฐถืือปููนสร้้างเพิ่่�มเติิมในสมััยรััตนโกสิินทร์์ตอนต้้น
176
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดพุุนพิินใต้้ เป็็นวััดประจำำ�บ้้านพุุนพิินโดยเป็็นที่่�รู้้�จัักมัักคุ้้�นของ พ่่อค้้าหรืือคนเดิินทาง ในสมััยนั้้�นวััดพุุนพิินใต้้ได้้ร่่วมสร้้างถาวรวััตถุุ ต่่างๆ ภายในวััดจากพ่่อค้้าเรืือสำำ�เภาของชาวจีีนและคนไทยเชื้้อ� สายจีีน ที่่�มาตั้้ง� รกรากถิ่่น� ฐานทำำ�การค้้าทางเรืือและชาวบ้้านคลองเรืือที่่�มีพื้้ี น� ที่่� ติิดต่่อกัับวััดพุุนพิินใต้้ทางตอนเหนืือ เวลานี้้�สัันนิิษฐานว่่าเป็็นที่่�ต่่อเรืือ หรืือซ่่อมเรืือสำำ�เภาเพราะในบางแห่่งชาวบ้้านได้้ขุุดพบเสาโบราณมีี ขนาด 10 คููณ 10 นิ้้�ว หรืือขนาด 12 คููณ 12 นิ้้�ว เป็็นไม้้ตำำ�เสาอยู่่� หลายแห่่ง มาในระยะหลัั ง ได้้ เ กิิ ด วิิ ก ฤตการณ์์ ร้้ า ยแรงประมาณ พ.ศ.2328 ได้้บัังเกิิดโรคห่่าระบาด ชาวบ้้านคลองเรืือล้้มตายเป็็น จำำ�นวนมากที่่�เหลืือส่่วนน้้อยก็็ได้้ย้้ายภููมิิลำำ�เนาไปตั้้�งถิ่่�นฐานทำำ�มาหา กิินอยู่่ใ� นที่่�อื่่�น บ้้านคลองเรืือก็็ต้้องร้้างไป วััดพุุนพิินใต้้ก็็ต้้องร้้างไปโดย ปริิยาย ต่่อมาภายหลัังได้้รัับการบููรณะใหม่่ประมาณ พ.ศ. 2400 จาก ชาวบ้้านที่่�แยกจากบ้้านพุุนพิิน บ้้านคลองเรืือเดิิมมาตั้้�งถิ่่�นฐานอยู่่�ฝั่่�ง คลองตรงข้้ามกัับวััดพุุนพิินใต้้คือื ชาวบ้้านคลองน้้อยในปััจจุุบันั จากคํํา บอกเล่่าของคนเก่่าคนแก่่เช่่น นายนิ่่�ง เจริิญกุุล ที่่�มีีบ้้านติิดต่่อกัับ วััดพุุนพิินใต้้บรรพบุุรุุษของท่่านซึ่่�งเคยอุุปััฏฐากค้ำำ�จุ � ุน วััดพุุนพิินใต้้ มาก่่อนและตััวท่่านเองพร้้อมด้้วยลููกหลานที่่�ยัังมีีชีีวิิตอยู่่�ในปััจจุุบัันก็็ ยัังให้้ความอุุปััฏฐากค้ำำ��จุนุ วััดพุุนพิินใต้้นี้้อ� ยู่่เ� สมอ อีีกหลัักฐานหนึ่่ง� จาก การสร้้างระฆัังประมาณปีี พ.ศ. 2445 มีีพ่่อค้้าเรืือ สำำ�เภาคนหนึ่่�งชื่่�อ นายฮ่่องเกีียรติิ แซ่่เขา ซึ่่�งเป็็นต้้นตระกููลเขาประสิิทธิ์์�และยัังมีีตระกููล เศรษฐภัักดีี ตระกููลเจริิญพานิิชย์ ต ์ ระกููลสุวุ รรณกููล ในสมััยของพระครูู พิิศาล คณกิิจ เจ้้าคณะแขวงอำำ�เภอพุุนพิินและเป็็นเจ้้าอาวาสวััดพุุนพิินใต้้ ในขณะนั้้�นระฆัังใบนี้้�ทำำ�ด้ว้ ยทองเหลืืองผสมสััมฤทธิ์์ซึ่� ง่� มีีขนาดกว้้างวััด วงในได้้ 50 เซนติิเมตร สููง 1 เมตร หอระฆัังทำำ�ด้้วยไม้้อยู่่�ในสระน้ำำ��ต่่อ มาคณะลููกหลานได้้ สร้้างขึ้้น� ใหม่่ด้้วยการทำำ�ของแม่่เลี้้ย� ง เจริิญพานิิชย์์ แม่่อนงค์์ สุุวรรณกููล แม่่เสี่่�ยน เศรษฐภัักดีี และคณะลููกหลานซึ่่�งทำำ� ด้้วยคอนกรีีตเสริิมเหล็็กตั้้ง� อยู่่ห� ลัังพระอุุโบสถหรืือพระวิิหารเดิิมจนทุุก วัันนี้้� ก่่อนสมััยพระครููพิศิ าล คณกิิจ ไม่่มีีหลัักฐานใดๆ ปรากฏ สอบถาม จากคนเก่่าคนแก่่ก็็จำำ�ไม่่ได้้ อีีกหลัักฐานหนึ่่�งได้้รัับคำำ�บอกเล่่าจาก คนเฒ่่าคนแก่่ที่่�เคยเรีียนหนัังสืือจากวััดพุุนพิินใต้้สมััยพระครููพิิศาล คณกิิจเช่่น นายนึึก เจริิญเวช ลููกหลานท่่านขุุนพุุนพิิน ลููกหลาน
นายเพิ่่�ม ฤกษ์์จำำ�นง ลููกหลานตระกููลวารีีวานิิชและตระกููลวงศ์์วานิิช ว่่าวััดพุุนพิินใต้้เคยร้้างมาก่่อนและได้้รัับการบููรณะใหม่่เมื่่�อประมาณ 100 ปีีเศษๆ จากการคำำ�นวนที่่�บ้้านคลองเรืือร้้างจนถึึงในสมััยของ พระครููพิิศาล คณกิิจ คิิดแล้้ววััดพุุนพิินใด้้ร้้างประมาณ 117 ปีีมีี เจ้้าอาวาสสืืบอายุุตั้้ง� แต่่สมััยพระครููพิศิ าล คณกิิจ และพระธรรมปรีีชาอุุดม อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี หลัังจากนั้้�นอดีีตเจ้้าคณะจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีีได้้ย้้ายไปจำำ�พรรษาอยู่่� ณ วััดตรณารามเพื่่�อความเหมาะ สมของทางราชการแห่่งคณะสงฆ์์ จนมาได้้ถึึงการก่่อสร้้างพระวิิหาร ในขณะนั้้�นถึึง 6 องค์์แต่่องค์์ที่่� 3 ถึึงองค์์ที่่� 5 ไม่่ปรากฏเจ้้าอาวาส วััดพุุนพิินใต้้เพราะเป็็นพระมาจากที่่�อื่่น� และอาศััยอยู่่ชั่่� วค � ราว องค์์ที่่� 6 ขณะนั้้�นคืือพระครููประพััฒน์์ คณานุุกิิจ โดยระหว่่างองค์์ที่่� 5 ถึึงองค์์ที่่� 6 วััดพุุนพิินใต้้ได้้ร้า้ งมาเป็็นทอดๆ อีีกครั้้�งหนึ่่ง� ปรากฏตามคำำ�บอกเล่่า ของนายนิ่่�ง เจริิญกุุลที่่บ้� า้ นอยู่่ใ� กล้้เคีียงกัับวััดพุุนพิินใต้้และได้้อุปััุ ฏฐาก ค้ำำ��จุนุ วััดพุุนพิินใต้้อยู่่ส� มััยพระครููประพััฒน์ ค ์ ณานุุกิจิ พร้้อมด้้วยคณะ กรรมการของวััดและพุุทธศาสนิิกชนทั้้ง� หลายโดยมีีนายหล่่อ จัันทร์์พันั ธ์์ นายแก้้ว ชููเพ็็ญ นายยกชิ้้�น วััฒนกุุล นายมั้้�ย บุุญช้้าง นายประกอบ วารีีวานิิช นางสาวเนื่่�อม เจริิญกุุล นายเตี้้�ยน บุุญช้้าง นายละม้้าย ทาบ สุุวรรณ นายลิิขิต ิ ทาบสุุวรรณ ได้้ริิเริ่่�มบููรณะพระวิิหารเดิิมแล้้ว จะกลัับกลายให้้เป็็นพระอุุโบสถ พระวิิหารของเดิิมสร้้างด้้วยไม้้ มุงุ ด้้วย กระเบื้้�องดิิน กำำ�แพงทำำ�ด้้วยอิิฐ คณะกรรมการของวััดจึึงได้้พิิจารณา แล้้วได้้ร่่วมกัันรื้้�อพระวิิหารหลัังเก่่าที่่�ทำำ�ด้้วยไม้้ออกและสร้้างใหม่่ด้้วย คอนกรีีตเสริิมเหล็็ก แทนมีีขนาดกว้้าง 12 เมตร ยาว 26 เมตร เมื่่�อปีี ขาล พ.ศ. 2505 ทำำ�ได้้แต่่เพีียงเทคาน ก่่อดิิน หล่่อเสาไว้้แล้้วต้้องหยุุด ชะงัักลงเพราะมีีอุุปสรรคทางด้้านการเงิินประกอบกัับการขนส่่งวััสดุุ หนัักๆ ไม่่สะดวกเพราะขณะนั้้�นไม่่มีีถนนหนทางเข้้าสู่่�วััดพุุนพิินใต้้ จนกระทั่่�งพ.ศ.2517 รวมเป็็นเวลา 12 ปีีที่่� ต้้องค้้างคาอยู่่�และปีี พ.ศ. 2517 นี้้�ชาวบ้้านพุุนพิินได้้ร่่วมกัันบริิจาคที่่�ดิินให้้สร้้างถนนเข้้าสู่่� วััดพุุนพิินใต้้ การนำำ�ของ นายแพทย์์เขีียน เจริิญเวช คุุณครููจำำ�รััส ประดิิษฐ์์พร (เคยเป็็นครููสอนหนัังสืือบนศาลาวััดพุุนพิินใต้้มาเป็็นเวลา ถึึง 20 ปีี) แม่่ผวน ฤกษ์์จำำ�นง แม่่เลื่่�อน วงศ์์วานิิช นายยกชิ้้น� วััฒนกุุล นายมั้้ย� บุุญช้้าง นางกิ้้ม� เตืือน วารีีวานิิช นายหล่่อ-นางหลิ่่�ว จันั ทร์์พันั ธ์์
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
177
นางสาวเนื่่�อม เจริิญกุุล กำำ�นัันจำำ�ลอง วงศ์์สุุบรรณ นายพิิบููลย์์ เทพศิิริิ ร่่วมกัับชาวบ้้านคลองน้้อยชาวบ้้านพุุนพิินที่่�อยู่่�ด้้วยและที่่� ออกไปอยู่่� ทางต่่างจัังหวััดและผู้้�มีีศรััทธาทั้้�งหลายได้้เสีียสละและรวบรวมทุุน ทรััพย์์ร่่วมกันั ก่่อสร้้างพระวิิหารเรื่่อ� ยๆ มาจนกระทั่่�งบััดนี้้�เป็็นเวลาร่่วม 20 ปีีแล้้วโดยมีีพระครููโกวิิทนวการ (เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าข้้ามเขต 1) เป็็น ผู้้�ดำำ�เนิินการก่่อสร้้างและได้้เป็็นเจ้้าอาวาสองค์์ปััจจุุบันั เป็็นจำำ�นวนเงิิน ค่่าวััสดุุ และค่่าแรงงาน ประมาณ ห้้าล้้านบาท เงิินจำำ�นวนนี้้�เป็็นเงิินที่่� ได้้มาจากการบริิจาคในความศรััทธาของข้้าราชการ พ่่อค้้า ประชาชน และเงิินของสมาชิิกสภาผู้้�แทนราษฎรคืือ นายภิิญญา ช่่วยปลอด เป็็น จำำ�นวนเงิิน หนึ่่�งหมื่่�นบาท และได้้รัับเงิินอุุดหนุุนบููรณปฏิิสัังขรณ์์ทั่่�ว ราชอาณาจัักรประจำำ�ปีี งบประมาณ 2538 แก่่ทางวััดพุุนพิินใต้้เป็็น จำำ�นวนเงิินทั้้�งหมด สามหมื่่�นบาท สมััยพระครููโกวิิทนวการ เป็็น เจ้้าอาวาสได้้ทำำ�การบููรณะพระพุุทธรููป 4 องค์์ซึ่่�งเป็็นของเดิิมที่่� ชำำ�รุุด ทรุุดโทรมนั้้�นให้้สำำ�เร็็จบริิบููรณ์์เมื่่อ� เดืือน 12 ปีี พ.ศ. 2540 ซึ่่�งตรงกัับ วัันศุุกร์์ ขึ้้�น 1 ค่ำำ� � เดืือน 12 ปีีฉลูู และนางกาญจนา สัันติิวรางกููร นายสััตวแพทย์์ชาญณรงค์์ พุุฒิิคุุณเกษม พร้้อม ญาติิมิิตรได้้ร่่วมสร้้าง พระประจำำ�วัันทั้้�งหมดแปดองค์์ พร้้อมด้้วยกระถางธููปขนาด 21 นิ้้�ว 1 กระถาง และขนาด 8 นิ้้�ว 2 กระถางเข้้าประดิิษฐานในพระอุุโบสถ วััดพุุนพิินใต้้ในวัันนั้้�นด้้วย
พระครููโกวิิทนวการ
ปริิศนาธรรมหรืือลายแทงที่่�มีอ ี ยู่่�คู่่�กับ ั วััดมาแต่่โบราณ ว่่า.....
เจ้้าอาวาสวััดพุุนพิินใต้้
สระสระ รชต อยู่่ห � ลััง ข้้างหน้้าพระยััง
รายนามเจ้้าอาวาสตั้้�งแต่่อดีีตจนถึง ึ ปััจจุุบัน ั
รููปที่่� 1 พระครููพิิศาลคณะกิิจ (จวน) รููปที่่� 2 พระอธิิการสอน รููปที่่� 3 พระมหาพุ่่�ม โชติิปาโล (พระธรรมปรีีชาอุุดม) ตั้้�งแต่่ 10 มกราคม 2465 ถึึง 29 กรกฎาคม 2474 รููปที่่� 4 พระอธิิการหยอด ชาตสงวโร รููปที่่� 5 พระใบฎีีกาแก้้ว ฐิิตเมโธ รููปที่่� 6 พระอธิิการโชติิ รููปที่่� 7 พระอธิิการเผืือก กิิตติิสาโร รููปที่่� 8 พระครููประพััฒน์์คณานุุกิิจ (ปล่่อง ภสฺฺทสโร) ตั้้�งแต่่ 1 มกราคม 2494 ถึึง 24 เมษายน 2524 (30 ปีี 3 เดืือน 23 วััน) รููปที่่� 9 พระครููโกวิิทนวการ (ประภาส โกวิิโท) ตั้้�งแต่่ พ.ศ. 2524 ถึึง ปััจจุุบััน
178
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
หลัังพระภููมิิ หนึ่่�งเจดีีย์์
สองศรีีมหาโพช สามโบสถ์์ สี่่� วิห ิ าร ห้้าปากทวาร
หกปกไว้้ ถ้้าใครคิิดได้้กิน ิ ไม่่รู้้�สิ้้� นเลย
ตั้้� งอยู่่� 91 หมู่่�ที่่� 1
ตำำ�บลท่่าข้้าม
อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดเกาะธรรมประทีีป History of Buddhism....
วััดเกาะธรรมประทีีป เดิิมชื่่�อ เกาะคอย เพราะเป็็นที่่�รอคอยของ
พ่่อค้้า และชาวสวนที่่�ล่่องเรืือมาค้้าขาย เป็็นวััดเมื่่�อไหร่่ไม่่ปรากฏ
หลัักฐาน คนเก่่าๆ เล่่าว่่า ก่่อนสงครามโลกครั้้�งที่่� 2 มีีพระอาศัั ยอยู่่�
เมื่่�อสงครามเกิิดขึ้้�นร้้าง หลัังสงครามมีีพระอยู่่�อีีก เมื่่�อ พ.ศ. 2515
ได้้มีก ี ารสร้้างเป็็นที่่�พำ�นั ำ ก ั สงฆ์์ โดยมีีพระครููสุุวิม ิ ลสิิ ริธ ิ รรม ( อำำ�นวย
สิิ ริิจนฺฺ โท ) เป็็นประธาน และได้้ กราบขอมงคลนามไปยัังสมเด็็ จ พระสัั งฆราช (ปุ่่�น ปุุณฺณ ฺ สิิ ริ)ิ ได้้มงคลนามว่่า เกาะธรรมประทีีป ตั้้�งแต่่ บััดนั้้�นเป็็นต้้นมา
2529 และได้้ประกาศตั้้�งเป็็นวััดในพระพุุทธศาสนา เมื่่อ � วัันที่่� 8 ตุุลาคม พ.ศ. 2552 ตามลำำ�ดับ ั มา.
ประวััติเิ จ้้าอาวาส
วััดเกาะธรรมประทีีปได้้ขึ้�น ้ ทะเบีียนไว้้เป็็นที่่�พำ�นั ำ ก ั สงฆ์์ เมื่่อ � พ.ศ.
เจ้้าอาวาสรููปปััจจุุบัน ั ชื่่� อ พระครููศรีีวิชั ิ ั ยธรรมคุุณ ได้้รับ ั แต่่งตั้้�ง
เมื่่อ � วัันที่่� 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
พระครููศรีีวิชั ิ ั ยธรรมคุุณ เจ้้าอาวาสวััดเกาะธรรมประทีีป
อาคารเสนาสนะและสิ่่� งปลููกสร้้างภายในวััด
- ศาลาการเปรีียญ กว้้าง 21 เมตร ยาว 41.50 เมตร ลัักษณะชั้้�นเดีียวเสาพื้้�นคอนกรีีตมุุงกระเบื้้�อง - ศาลาบำำ�เพ็็ญบุุญ กว้้าง 16 เมตร ยาว 24 เมตร 1 หลััง - ศาลาเอนกประสงค์์ กว้้าง 11 เมตร ยาว 25 เมตร 1 หลััง - ศาลาหลวงพ่่อพุุทธโสธร 1 หลััง - ฌาปนสถาน 1 หลััง - กุุฏิพิ ระสงฆ์์ 7 หลััง - ห้้องน้ำำ� � – ห้้องสุุขา 2 หลััง ( 9 ห้้อง ) - อุุโบสถ กำำ�ลัังก่่อสร้้าง เมื่่�อปีี พ.ศ. 2556
พระครููศรีีวิิชััยธรรมคุุณ ( พิิชััยศิิษฐ์์ วิิชโย ) อายุุ 49 พรรษา 28 ปธ.6 น.ธ.เอก ศน.ม วััดเกาะธรรมประทีีป ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท วัันที่่� 20 เดืือนมิิถุุนายน พ.ศ. 2536 ณ วััดตรณาราม ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พระอุุปััชฌาย์์ พระครููบวรธรรมรัังษีี วััดตรณาราม ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี วิิทยฐานะ พ.ศ. 2538 สอบได้้ นธ. เอก สำำ�นัักเรีียน วััดตรณาราม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2551 สอบได้้ ปธ.6 สำำ�นัักเรีียน วััดดุุสิิดาราม เขต บางกอกน้้อย กรุุงเทพ ฯ พ.ศ. 2555 สำำ�เร็็จ ปริิญญาโท ( ศน.ม. ) จาก มหาวิิทยาลััยมหามกุุฏราชวิิทยาลััย ศููนย์์สุุราษฎร์์ธานีี ดำำ�รงตำำ�แหน่่งทางคณะสงฆ์์มาแล้้ว คืือ พ.ศ. 2550 เป็็น เลขานุุการรองเจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน พ.ศ. 2552 เป็็นรัักษาการเจ้้าอาวาสวััดเกาะธรรมประทีีป พ.ศ. 2554 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดเกาะธรรมประทีีป พ.ศ. 2558 เป็็นเลขานุุการเจ้้าคณะอำำ�เภอเคีียนซา สมณศัักดิ์์� พ.ศ. 2547 เป็็น พระครููวิินััยธร ใน พระธรรมญาณมุุนีี (วรรณ มนุุญฺฺโญ) พ.ศ. 2562 เป็็นพระครููสััญญาบััตร ที่่� พระครููศรีีวิิชััยธรรมคุุณ
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 47 /2 หมู่่�ที่่� 3
ถนนธรรมประทีีป ตำำ�บลท่่าข้้าม
อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
179
History of Buddhism....
วััดหนองไทร
ตำำ�บลหนองไทร อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดหนองไทร ตั้้�งวััดเมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2319 ได้้รับ ั พระราชทานวิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2491 วััดตั้�ง ้ อยู่่ติ � ด ิ กัับแม่่น้ำำ� พุม ุ ดวง มีีเนื้้�อที่่� 7 ไร่่ 36 ตาราง
วา อาณาเขต ทิิศเหนืือ จดทางหลวงชนบท ทิิศใต้้ จดแม่่น้ำำ�พุม ุ ดวง ทิิศตะวัันออก จดโรงพยาบาลส่่งเสริิมสุุขภาพตำำ�บล ทิิศตะวัันตก จดที่่�ดิน ิ นาง
สร้้าง สายสายสวััสดิ์์ ต่่ � ปีี พ.ศ. 2538 พระครููนิิโครธนัันทคุุณ พร้้อมด้้วยคณะกรรมการวััด มีีความเห็็นร่่วมกัันว่่าอุุโบสถเก่่าแก่่ทรุุ ดโทรม � อมาเมื่่อ
สมควรที่่�จะสร้้างอุุโบสถหลัังใหม่่ และในวัันที่่� 29 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2539 ได้้วางศิิ ลาฤกษ์์ สร้า ้ งอุุโบสถหลัังใหม่่ ขนาดกว้้าง 18.40 เมตร ยาว 35.40
เมตร ได้้รับ ั วิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 31 ตุุลาคม พ.ศ. 2548 เขตวิิสุุงคามสีี มา กว้้าง 18.40 เมตร ยาว 35.40 เมตร ผููกพััทธสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 16 มีีนาคม พ.ศ. 2551
180
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
รายนามเจ้้าอาวาส
1. หลวงพ่่อขำำ� รตฺฺตโน 2. พระครููสนธิ์์� อิินฺฺทุุปโม 3. พระครููมงคลกิิตต์์ 4. พระครููนิิโครธนัันทคุุณ
พ.ศ. 2425 พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2532
ความสำำ�คัญ ั ของวััดหนองไทร ที่่มีี� ต่่อชุุมชน คืือความศรััทธา ที่่มีี� ต่่อ หลวงพ่่อขำำ� รตฺฺตโน อดีีตเจ้้าอาวาสวััดหนองไทร มีีชื่่�อเสีียงเป็็นที่่เ� คารพ ของชาวบ้้านในอำำ�เภอพุุนพิิน ตั้้�งแต่่อดีีตมาจนถึึงปััจจุุบััน เมื่่�อถึึง วัันแรม 8 ค่ำำ�� เดืือน 5 ของทุุกปีี ชาวบ้้านก็็จะร่่วมกัันจััดงานประจำำ�ปีี และทำำ�พิิธีีสรงน้ำำ�รู � ูปเหมืือนหลวงพ่่อขำำ� ทุุกปีี เหรีียญหลวงพ่่อขำำ�ก็็ยััง เป็็นที่่�นิิยม มีีการบููชานำำ�ไปเพื่่�อความเป็็นสิิริิมงคลกัันมาตลอด
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
181
ตั้�้งอยู่่� หมู่่ที่่ � �1
ตำำ�บลหนองไทร อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ประวััติเิ จ้้าอาวาส พระครููนิิโคธนัันทคุุณ
เดิิมชื่่อ� พระปรีีชา ฉายา อานนฺฺโท ( ปรีีชา รััตนมณีี) เกิิดเมื่่อ� วัันที่่� 15 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2502 ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวด สุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบทเมื่่�อวัันที่่� 22 มีีนาคม พ.ศ. 2523 ณ วััดสระพััง ตำำ�บลพุุนพิิน อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี การศึึกษา นัักธรรมเอก พ.ศ. 2530 ปริิญญาตรีี พุุทธศาสตรบััณฑิิต คณะพุุทธศาสตร์์ สาขาวิิชา ศาสนา มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราช วิิทยาลััย พ.ศ. 2555 พระครููนิิโครธนัันทคุุณ
เจ้้าคณะตำำ�บลหนองไทร / เจ้้าอาวาสวััดหนองไทร
182
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ปััจจุุบัันดำำ�รงตำำ�แหน่่ง พ.ศ. 2532 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดหนองไทร พ.ศ. 2555 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บล
วััดดอนกะถิิน History of Buddhism....
ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ในอดีีตก่่อนที่่�จะเป็็นวััดดอนกะถิิน มีีคุุณยายท่่านหนึ่่�งได้้ครอบครองที่่�ดิินบริิเวณนี้้�มาก่่อนคุุณยายท่่านนี้้�มีน ี ามเรีียกขานว่่า “แม่่ยายถิิน”
ซึ่่� งมีีตำ� ำ นานเกี่่�ยวกัับท่่านปรากฏอยู่่จ � นทุุกวัันนี้้� โดยท่่านนั้้�นไม่่มีท ี ายาทหรืือผู้้�รัับมรดก กาลต่่อมาได้้มีพ ี ระธุุดงค์์รููปหนึ่่�งเดิินทางมาปัักกลดค้้างคืืน
ใกล้้กับ ั ที่ดิ ่� น ิ ของท่่าน (สมััยนั้้�นยัังเป็็นป่่า แม้้บริิเวณใกล้้เคีียง อย่่างเช่่ น ควนสวนสราญรมย์์ ก็เ็ ป็็นป่่ารกชัั ฏ มีีสััตว์์ป่า ่ อยู่่�มาก ฯลฯ เป็็นที่่เ� หมาะสม
แก่่การบำำ�เพ็็ญเพีียรของพระธุุดงค์์) คุุณยายฯ เกิิดความเลื่่�อมใสศรััทธาในปฏิิปทาของพระธุุดงค์์รููปนั้้�นจึึงเปล่่งวาจาว่่า ตััวท่่านไม่่มีบุ ี ต ุ รธิิดา หรืือทายาทรัับมรดกที่่�สำำ�คััญคุุณยายท่่านมีีที่่�ดิินทำำ�กิินอยู่่�จำ� ำ นวนมาก ท่่านจึึงมอบที่่�ดิินบริิเวณนี้้�ถวายไว้้ในบวรพระพุุทธศาสนาเพื่่�อตั้้�งเป็็นวััด “ดอนกะถิิน”
184
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
การก่่อตั้้ง� เป็็นวััด ได้้รับั ประกาศตั้้ง� เป็็นวััดเมื่่อ� พ.ศ. 2224 (สมััยอยุุธยา) นัับถึึงปััจจุุบัันได้้ 340 ปีี (ปััจจุุบัันพ.ศ. 2564) ได้้รัับพระราชทาน วิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 13 กุุมภาพัันธ์์ พ.ศ. 2517 ได้้รัับประกาศ ให้้ เป็็นอุุทยานการศึึกษา เมื่่�อ พ.ศ. 2546 ปััจจุุบัันวััดดอนกะถิิน มีีเนื้้�อที่่� ตั้้ง� วััด จำำ�นวน 13 ไร่่ 88 ตารางวา มีีที่่ธ� รณีีสงฆ์์ 1 แปลง จำำ�นวน 5 ไร่่ 2 งาน 20 ตารางวา
พุุทธศาสนสถานสำำ �คัญ ั ของวััด
1. อุุโบสถ ขนาดกว้้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร แบบทรงไทยเป็็น ที่่�ประดิิษฐาน พระประธานเป็็นพระพุุทธรููปเก่่าแก่่ปางมารวิิชััย ลงรััก ปิิดทอง หน้้าตััก กว้้าง 45 นิ้้ว� สููงจากพระเพลาถึึงพระเกตุุยอด มาลา 99 นิ้้�ว สร้้างอุุโบสถเมื่่�อ พ.ศ. 2516 ปั้้�นลายหน้้าปััน โดย อ.ชััยวััฒน์์ วรรณานนท์์ 2. ศาลาการเปรีียญ ลัักษณะทรงไทยประยุุกต์์ กว้้าง 15 เมตร ยาว 33 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2534 3. โรงเรีียนพระปริิยััติิธรรม สองชั้้น� ลัักษณะทรงไทย กว้้าง 16 เมตร ยาว 40 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2540 4. หอระฆัังสองชั้�น้ ลัักษณะทรงไทย กว้้าง 4 เมตร ยาว 4 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2516 อยู่่�ด้้านหน้้าอุุโบสถ 5. ห้้องสมุุดคณานุุสรณ์์ ลัักษณะตึึกสองชั้้�น กว้้าง 6 เมตร ยาว 12 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2516 6. มณฑปชั้�น้ ครึ่่�ง ลัักษณะทรงไทย กว้้าง 4 เมตร ยาว 9 เมตร สร้้างเมื่่อ� พ.ศ. 2552 เป็็นที่่ป� ระดิิษฐาน อดีีตเจ้้าอาวาส พระครููคณานุุกูลู และพระพุุทธรููปหยกขาว รอยพระบาทจำำ�ลอง 7. ซุ้ม้� ประตููศิิลปะศรีีวิิชััย กว้้าง 6 เมตร สููง 11 เมตร สร้้างเมื่่�อ พ.ศ. 2551 ออกแบบ และปั้้น� โดย อ.ชััยวััฒน์์ วรรณานนท์์ ศิิลปิินแห่่งชาติิ 8. พระพุุทธรููปหยกขาวและรอยพระพุุทธบาท หน้้าตัักกว้้าง 24 อายุุประมาณ 300 ปีี ประดิิษฐานในมณฑปหลัังใหม่่ 9. พระพุุทธรููปหิินศิิลาแลง หน้้าตัักกว้้าง 49 นิ้้�ว อายุุประมาณ 350 ปีี ประดิิษฐานหลัังอุุโบสถ 10. พระพุุทธรัักษาหิินศิิลาแลง หน้้าตัักกว้้าง 25 นิ้้�ว อายุุ ประมาณ 350 ปีี ประดิิษฐานในกุุฏิิสำ�นั ำ ักงานเจ้้าคณะอำำ�เภอ
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
185
ความสำำ �คัญ ั ของวััด
1. เป็็นวััดทางประวััติิศาสตร์์สมััยสงครามโลก 2. เป็็นวััดหน้้าด่่านประตููเมืืองสู่่�จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี 3. เป็็นสถานที่่ตั้้� ง� สำำ�นักั เรีียนพระปริิยัติั ธิ รรมตั้้ง� แต่่อดีีต ถึึงปััจจุุบันั 4. เป็็นหน่่วยอบรมประชาชนประจำำ�อำำ�เภอพุุนพิิน (อปอ.) 5. เป็็นสำำ�นัักงานเจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน และสำำ�นัักงานเจ้้าคณะ ตำำ�บลท่่าข้้ามเขต 1 6. เป็็นสถานที่่�สอบประโยคนัักธรรมตั้้�งแต่่อดีีต ถึึงปััจจุุบััน 7. เป็็นศููนย์์กลางการประชุุมคณะสงฆ์์ และราชการ
การบริิหารและการปกครอง มีีเจ้้าอาวาสปกครองดููแลตามลำำ�ดับ ั ดัังนี้้�
1. พ่่อท่่านเฒ่่า 2. พ่่อท่่านเริ่่�ม 3. พ่่อท่่านเซ้้ง 4. พระครููคุุณานุุกููล (คล้้อย คเวสโก) พ.ศ. 2435 - 2483 5. พระครููคณานุุกููล (สุุวรรณ เขมิิโย) พ.ศ. 2483 - 2532 6. พระครููสุวิุ ิมลสัังฆกิิจ (พิิรุุณ ฐานทตฺฺโต) พ.ศ. 2532 – ปััจจุุบััน
มีีผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาส 2 รููป คืือ 1. พระครููถาวรธรรมากร เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าข้้าม เขต1 2. พระครููวีีรสัังฆานุุกููล เจ้้าคณะตำำ�บลบางงอน
พระครููสุุวิม ิ ลสัังฆกิิจ
เจ้้าคณะอำำ�เภอกิิตติิมศัักดิ์์� เจ้้าอาวาสวััดดอนกะถิิน
พระครููถาวรธรรมากร
พระครููวีีรสัังฆานุุกููล
ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดดอนกะถิิน
ผู้้�ช่่วยเจ้้าอาวาสวััดดอนกะถิิน
เจ้้าคณะตำำ�บลท่่าข้้าม เขต 1
186
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 15 หมู่่�ที่่� 6 ตำำ�บลท่่าชนะ
อำำ�เภอท่่าชนะ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
เจ้้าคณะตำำ�บลบางงอน
วััดตรณาราม History of Buddhism....
ตำำ�บลท่่าข้้าม อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดตรณาราม ตั้้�งอยู่่บ � นควน (เนิิน) ท่่าข้้าม มีีเนื้้อ � ที่่� กว้้าง 8 เส้้ น ยาว 8 เส้้ น ทิิศตะวัันออกติิดต่่อที่่�ดิน ิ โรงพยาบาลสวนสราญรมย์์ ทิศ ิ ตะวัันตก
ติิดต่่อกัับสวนสาธารณะ ทิิศเหนืือเนื้้อ � ที่่�ลงไปถึึงเชิิ งเนิิน ติิดต่่อกัับถนนหลวงสายบ้้านดอน-ท่่าข้้าม ทิิศใต้้ติด ิ ต่่อกัับโรงพยาบาลสวนสราญรมย์์ เป็็นเนื้้อ � ที่่�วัด ั สามชั้้� น ชั้้� นล่่างเป็็นดิินราบเชิิ งเนิิน ชั้้� นกลางเป็็นถนนเดิิม จากหน้้าสถานีีตำ� ำ รวจภููธรอำำ�เภอพุุนพิิน ไปโรงพยาบาลสวนสราญรมย์์ และก่่อสร้้ า งกุุ ฏิิ เ จ้้ า อาวาส กุุ ฏิิ รัั บ รองอาคัั น ตุุ ก ะ และโรงฉัั น ชั้้� นบนก่่อสร้้ า งอุุ โ บสถ ศาลาการเปรีี ย ญ กุุ ฏิิ ที่่� พัั ก พระภิิ ก ษุุ ส ามเณร และปููชนีียสถานอื่่�นๆ
188
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ผู้้�ริิเริ่่�มสร้้างวััดนี้้� คืือ ท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมวโรดม (อุุตตมเถระ) วััดราชาธิิวาส กรุุงเทพมหานคร เจ้้าคณะรองหนใต้้ เจ้้าคณะมณฑล นครศรีีธรรมราช และมณฑลภููเก็็ต ได้้มาตรวจการเจ้้าคณะสงฆ์์ จังั หวััด สุุราษฎร์์ธานีี เมื่่อ� พ.ศ. 2473 และพัักแรมอยู่่�ที่่วั� ัดพุุนพิินใต้้ ซึ่่�งท่่าน พระมหาพุ่่�ม โชติิปาโล (เจ้้าคุุณพระธรรมปรีีชาอุุดม) ขณะนั้้�นเป็็น เจ้า้ คณะอำำ�เภอพุุนพิน ิ ท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมวโรดม ได้้มาตรวจเห็็นบน เนิินนี้้� เป็็นสถานที่่�เหมาะสมควรเป็็นที่่อ� ยู่ข่� องพระภิิกษุุสงฆ์์ในพระพุุทธ ศาสนา จึึงจััดการตั้้�งวััดขึ้้�นในปีีนี้้� โดยมีีความประสงค์์จะให้้เป็็นธรรม ยุุตติิกนิิกาย ให้้ชื่่�อว่่า “วััดตััรณาราม” (แทนคำำ�สามััญซึ่่�งเรีียกกัันว่่า วัั ด ตัั น ) คำำ�ว่่ า “ตัั ร ณาราม” นี้้� ท่่ า นเจ้้ า คุุ ณ พระธรรมวโรดมให้้ ความหมายว่่า “อารามท่่าข้้าม” หรืือ “วััดท่่าข้้าม” จะตั้้�งชื่่�อเป็็น “วััดท่่าข้้าม” โดยตรงไม่่ได้้ เพราะวััดท่่าข้้ามมีีอยู่วั่� ดั หนึ่่ง� แล้้ว ครั้้�นถึึง พ.ศ. 2477 เจ้้าอาวาสวััดนี้้� คืือ พระครููธรรมปรีีชาอุุดม (พุ่่�ม โชติิปาโล) ได้้รัั บ พระราชทานเลื่่� อ นสมณศัั ก ดิ์์� เ ป็็ น พระราชาคณะมีีนามว่่ า “พระธรรมปรีีชาอุุดม คณะนิิยมสุุราษฎร์์ธานีี สัังฆปาโมกข์์” ชื่่�อวััด นี้้�ในสััญญาบััฏเป็็น “ตรณาราม” โดยตััดหัันอากาศของอัักษร ต. ออกเสีีย นััยว่่าถููกเจ้้าหน้้าที่่�แก้้ จะมีีความหมายถููกผิิดอย่่างไรไม่่อยู่่�ใน ฐานะที่่�ต้้องวิิจารณ์์ในที่่�นี้้� แต่่คำำ�ว่า่ “วััดตรณาราม” นั้้�นพากัันเรีียกว่่า “วััดตััน” นี้้ควร � ได้้รัับการวิิจารณ์์และแก้้ไข เพราะไม่่ถููกต้้องตามชื่่�อที่่� มีีอยู่่� ฉะนั้้�น หวัังส่่าผู้้�ที่่�ออกชื่่�อวััดนี้้ จ � ะได้้เรีียกให้้ถููกต้้องต่่อไป ในการสร้้างวััดตรณารามนี้้� ท่่านเจ้า้ คุุณพระธรรมปรีีชาอุุดม ได้้ให้้ พระปลััดเอี่่�ยม นามธมฺฺโม ซึ่่�งต่่อมาได้้เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอไชยา และได้้ รัับพระราชทานสมณศัั กดิ์์�เป็็น “พระครูู โ สภเจตสิิ ก าราม” และ มรณภาพ พ.ศ. 2486 เป็็นหัวั หน้้าสร้้างอุุโบสถ ให้้ขุุนพิิมลโภคาการ (จำำ�รัสั พิิมลศรีี) นายนึึก เจริิญเวช นายเทศ ปิ่่นท � อง นายเลื่่อ� น บุุญชููช่่วย เป็็นกรรมการ นอกจากนี้้� ยัังมีีจิิตศรััทธาบริิจาคทรััพย์์ และกำำ�ลัังช่่วย เหลืือวััดนี้้�เป็็นอันั มาก ทั้้�งฝ่่ายคณะสงฆ์์และคฤกััสถ์์ การที่่� ท่่ า นเจ้้ า คุุ ณ พระธรรมวโรดม มีีจุุ ด ประสงค์์ จ ะให้้เป็็ น วััดธรรมยุุตติิกนิิกาย ครั้้�นเห็็นความเอาใจใส่่ต่่อวััดนี้้�ของพระมหาพุ่่�ม
เจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน และคณะสงฆ์์ ตลอดถึึงพุุทธศาสนิิกชนโดย ทั่่�วๆไป ในสุุราษฎร์์ธานีีที่่�มีีความเคารพนัับถืือ โดยพระมหาพุ่่�มเป็็น เจ้้าอาวาสวััดนี้้� ในขณะที่่�ท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมวโรดม มาตรวจการคณะสงฆ์์เมื่่�อ พ.ศ. 2473 และประเดิิมสร้้างวััดนี้้�ขึ้้�นนั้้�น ท่่านเจ้้าคุุณพระชยาภิิวััฒน์์ (หนูู ติิสฺฺสเถระ) เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ได้้ลาออกจากตำำ�แหน่่ง เจ้้าคณะวััด พระมหาพุ่่�ม โชติิปาโล จึึงได้้รั้้�งตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี เมื่่อ� วัันที่่� 17 มกราคม 2473 พ.ศ. 2474 ท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมวโรดม (อุุตตมเถระ) ได้้ย้้าย พระมหาพุ่่�ม โชติิปาโล ผู้้รั้้� �งตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี มา ปกครองวััดนี้้� เมื่่�อวัันที่่� 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 วัันที่่� 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 ตรงกัับวัันพุุธ ขึ้้�น 15 ค่ำำ�� เดืือน 8-8 ปีีมะแม พระยาสุุราษฎร์์ธานีี (เต่่า สตกููรม) ผู้้�ว่่าราชการจัังหวััด สุุ ร าษฎร์์ ธ านีีได้้เป็็ นหัั ว หน้้าจัั ด ขบวนเรืื อ ไปรัั บ พระมหาพุ่่�ม จาก วััดพุุนพิินใต้้ มาเป็็นเจ้้าอาวาสวััดตรณาราม ในเวลานั้้�นกำำ�ลัังดำำ�เนิิน การสร้้างอุุโบสถ และสร้้างกุุฏิิที่่�พัักสงฆ์์ชั่่�วคราว พอได้้อาศััยเท่่านั้้�น และได้้ดำำ�เนิินการก่่อสร้้างเจริิญมาเป็็นลำำ�ดัับ ในบัั ด นี้้� มีีสิ่่� ง ที่่� ก่่ อ สร้้างเป็็ น หลัั ก ฐานอยู่่� แ ล้้ว คืื อ 1. อุุ โ บสถ 2. กุุฎิิสงฆ์์ จำำ�นวน 6 หลััง 3. โรงฉััน 4. ศาลาการเปรีียญ 5. หอระฆััง นอกจากนี้้� ยัังมีีผู้้�บริิจาคทรััพย์์สร้้างสิ่่�งประกอบหลายอย่่าง พอควร เท่่าความต้้องการของวััดนี้้� และวััดนี้้�ได้้รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่�อวัันที่่� 27 สิิงหาคม พ.ศ. 2476 แต่่ยัังไม่่ได้้ทำำ�การผููกพััทธสีีมาให้้ เป็็นหลัักฐานตามทางพระวิินััย เจ้้าอาวาสผู้้�ปกครองวััดนี้้� คืือ ท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมปรีีชาอุุดม เจ้้ า คณะจัั ง หวัั ด สุุ ร าษฎร์์ ธ านีี ได้้มาปกครองวัั ด นี้้� เมื่่� อ วัั นที่่� 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2474 และมรณภาพลง เมื่่�อวัันที่่� 3 พฤศจิิกายน พ.ศ. 2494 พระมหาเฟื้้�อ อุุตฺฺตรญาโณ เผยแผ่่อำำ�เภอพุุนพิินอยู่่�วััดนี้้� แต่่ก่่อนท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมปรีีชาอุุดม มรณภาพ ได้้รัับตำำ�แหน่่งสืืบ แทนตั้้�งแต่่นั้้�นมา
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
189
รายนามเจ้้าอาวาสวััดตรณาราม
1. พระธรรมปรีีชาอุุม (พุ่่�ม โชติิปาโล) พ.ศ. 2474 – 2494 2. พระครููโอภาสศาสนกิิจ (เฟื้้�อ อุุตฺฺตรญาโณ) พ.ศ. 2495 – 2507 3. พระมหาสวััสดิ์์� ฐานปุุญฺฺโญ พ.ศ. 2508 – 2512 4. พระครููบวรธรรมรัังษีี (ภาณุุ ปทุุโม) พ.ศ. 2515 – 2543 5. พระครููอาคมปััญญาคุุณ (นาวีี ปญฺฺญาคโม) พ.ศ. 2544 – ปััจจุบัุ นั พระธรรมรััตชโยดม เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บัันทึึก วัันที่่� 24 เมษายน 2497 คััดจากหนัังสืือธรรมปรีีชานุุสรณ์์ จััดพิิมพ์์เป็็นที่่�ระลึึก ในงานบรรจุุศพ พระธรรมปรีีชาอุุดม (โชติิปาลเถระ) อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครููอาคมปััญญาคุุณ เจ้้าอาวาสวััดตรณาราม
190
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตำำ�บลท่่าข้้าม
อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดประชาวงศาราม History of Buddhism....
ตำำ�บลกรูู ด อำำ�เภอบ้้านนาสาร จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วัั ด ประชาวงศาราม เดิิ ม เป็็ น เป็็ น “ที่่� พัั ก สงฆ์์ บ้้ า นกรูู ด ” ต่่ อ มาได้้ ข ออนุุ ญ าตจัั ด ตั้้� ง เป็็ น วัั ด ในปีี 2511 และได้้ รัั บ อนุุ ญ าตในปีี 2513
ในนาม “วััดประชาวงศาราม”
192
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระครููชััยวงศ์์วุุฒิิคุุณ (ฐิิตวุุฑฺฺฒิิ) หรืือ “หลวงพ่่อวงศ์์” เป็็น ปฐมเจ้้าอาวาสของวััดประชาวงศาราม ประวััติิท่่านเกิิดเมื่่�อ วัันที่่� 6 มีีนาคม 2472 ที่่� ตำำ�บลบางมะเดื่่อ� อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี ชื่่�อเดิิม “วงศ์์ ตาลประสิิทธิ์์�” เป็็นบุุตรนายเขีียน นางบุุญมาก อุุปสมบท เมื่่�อวัันที่่� 20 มิิถุุนายน 2499 เมื่่�ออายุุ 26 ปีี ที่่� วััดทองนพคุุณ กรุุงเทพฯ มีีหลวงพ่่อพระสัังวรวิิมล เป็็นพระ อุุปััชฌาย์์ เจ้้าคุุณหลวงพ่่อภััทรมุุณีี เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ หลวงพ่่อพระกิิตติิสารโสภณ เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ หลัังจาก บวชได้้ 2 พรรษา ท่่านได้้เริ่่ม� ออกธุุดงค์์ เมื่่อ� วัันที่่� 6 มีีนาคม 2501 ก่่อนออกธุุดงค์์ ท่่านได้้ไปกราบพระประธานในอุุโบสถ พร้้อม อธิิษฐานต่่อหน้้าพระในใจว่่า “ขอมอบกายถวายชีีวิิตนี้้�ให้้แก่่ชาติิ ศาสนา พระมหากษััตริิย์์ จะขอยึึดเอาเพศบรรพชิิตไปตลอดชีีวิิต จะไม่่สิิกขาลาเพศออก ไปครองเรืือนตลอดชีีวิิต” ทั้้�งนี้้� หลวงพ่่อวงศ์์ ออกธุุดงค์์ไปทางภาคเหนืือ ประมาณ 7-8 ปีี พบอาจารย์์ทั้้�งที่่�เป็็นพระเกจิิอาจารย์์และฆราวาสจอม ขมัังเวทหลายท่่าน ในจำำ�นวนนั้้�นก็็มีีอยู่่�ท่่านหนึ่่�งที่่ขึ้้� �นชื่่�อว่่าเป็็น ฆราวาสจอมขมัังเวทแห่่งปากน้ำำ��โพ คืือ “ปู่่�โทน รำำ�แพน” ซึ่่�ง มีีชื่่�อเสีียงในการเสกกระดาษเป็็นธนบััตร โดยท่่านได้้ขอให้้ปู่่โ� ทน เสกกระดาษให้้ดูู เพื่่�อให้้เห็็นด้้วยตาจริิงๆ จากนั้้�นท่่านก็็ฝากตััว เป็็นศิิษย์์ เรีียนวิิชากัับปู่่�โทน นอกจากนี้้�ยังั เรีียนวิิชากัับจากพระ อาจารย์์ชาวเขมรอีีกหลายรููป
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
193
ตำำ�แหน่่งทางการปกครองคณะสงฆ์์
พ.ศ. 2513 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลท่่าโรงช้้าง พ.ศ. 2519 เป็็นพระอุุปัชั ฌาย์์ พ.ศ. 2529 เป็็นเจ้้าอาวาสวััดประชาวงศาราม พ.ศ. 2530 เป็็นเจ้้าคณะตำำ�บลกรููด-พุุนพิิน พ.ศ. 2531 เป็็นรองเจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน พ.ศ. 2532 เป็็นเจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน พ.ศ. 2546 เป็็นที่่�ปรึึกษาเจ้้าคณะอำำ�เภอพุุนพิิน พระครููชััยวงศ์์วุุฒิิคุุณ มรณภาพด้้วยโรคชรา เมื่่�อช่่วงเที่่�ยงของวััน ที่่� 27 พฤษภาคม 2558 รวม สิิริิอายุุ 86 ปีี 60 พรรษา หลวงพ่่อวงศ์์ ได้้เคยนิิมนต์์พ่่อท่่านคล้้าย วาจาสิิทธิ์์� มาที่่�บ้้านกรููด เนื่่�องด้้วยเมื่่�อวัันที่่� 25 ตุุลาคม 2505 นั้้�น ลมพายุุโซนร้้อนแฮเรีียต พััดถล่่มพื้้�นที่่ต่� า่ งๆ ในหลายจัังหวััดทางภาคใต้้ หลวงพ่่อวงศ์์ จึึงได้้เดิิน ทางไปขอพึ่่�งบารมีีธรรมแห่่งองค์์พ่อ่ ท่่านคล้้าย พ่่อท่่านคล้้ายได้้เมตตา ช่่ ว ยจัั ด หาปัั จจัั ย ต่่ า งๆ และจัั ด การทอดกฐิิ น สมโภชขึ้้� น ที่่� พัั ก สงฆ์์ บ้้านกรููดราวเดืือนพฤศจิิกายน พ.ศ.2505 ซึ่่ง� พ่่อท่่านคล้้ายเดิินทางมา เป็็นองค์์ประธานด้้วยตนเอง ในตอนกลางวััน ก่่อนทำำ�การทอดกฐิิน
194
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
หลวงพ่่ อ วงศ์์ ไ ด้้ นำำ� พานดอกไม้้ พ ร้้ อ มด้้ ว ยธูู ป เทีียนไปกราบ พ่่อท่่านคล้้าย วาจาสิิทธิ์์� เป็็นการส่่วนตััว แล้้วได้้กล่่าวถวายที่่�พัักสงฆ์์ บ้้านกรููดแห่่งนี้้� ให้้แก่่พ่่อท่่านคล้้าย ซึ่่�งพ่่อท่่านคล้้ายตอบกลัับมาว่่า “เอาต่่ะฉานจะรัับเป็็นวััดของฉััน แต่่คุุณวงศ์์ต้้องอยู่่�ที่่�นี้้�อย่่าไปไหน เพราะต่่อไปข้้างหน้้าวััดนี้้� จะเจริิญพััฒนาก้้าวหน้้ามาก กลายเป็็น วััดที่่�สำำ�คััญแห่่งหนึ่่�งของจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีีด้้วย” หลวงพ่่อวงศ์์ ยัังได้้กล่า่ วขออนุุญาตจากพ่่อท่่านคล้้าย ในการขอสร้้างพระรููปหล่่อรููป เหมืือนพ่่อท่่านคล้้ายเพื่่�อจะหาปััจจััยในการสร้้างวััด พระผงพ่่อท่่าน คล้้าย ที่่�หลวงพ่่อวงศ์์สร้้างถวายไว้้ที่่�วััดธาตุุน้้อย พระผงสร้้างปีี 2506 และได้้เข้้าพิิธีีปีี 2507 พร้้อมรููปหล่่อก้้นอุุ พ่่อท่่านคล้้ายท่่านอนุุญาต ว่่า “ให้้ทำำ�พระรููปหล่่อได้้” และพ่่อท่่านคล้้ายพููดว่่า “ทำำ�ให้้เหมืือน ฉัันนะ” หลวงพ่่อวงศ์์ได้้รับั การขนานนามจากลููกศิษิ ย์์ที่นิ่� ยิ มชมชอบการลง ยัันต์์น้ำำ��มัันว่่า "จอมขมัังเวทย์์แห่่งพุุนพิิน" ทั้้�งนี้้�ท่่านมัักจะถููกนิิมนต์์ให้้ ไปร่่วมพิิธีีนั่่�งปรกปลุุกเสกวััตถุุมงคลเป็็นประจำำ� แต่่อีีกด้้านหนึ่่�งท่่าน เป็็นนัักพััฒนาและนัักสร้้างถนน โดยเฉพาะทางหลวงหมายเลข 4113 เป็็นฝีีมืือการสร้้างของหลวงพ่่อวงศ์์
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
195
196
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติเิ จ้้าอาวาสรูู ปปััจจุบั ุ น ั
ปััจจุุบัันวััดประชาวงศารามมีี พระครููสมุุห์์ดิิฐภููมิิ จิิรธมฺฺโม เป็็น เจ้้าอาวาสรููปที่่� 2 ประวััติิท่่านเกิิดเมื่่�อวัันที่่� 19 กรกฎาคม 2509 ณ บ้้านเลขที่่� 20 หมู่่�ที่�่ 1 ตำำ�บลน้ำำ�� รอบ อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ท่่านได้้อุุปสมบทเมื่่�อวัันที่่� 14 พฤษภาคม 2529 มีีพระครููสุุกิิจ ประคุุณ วััดบางมะเดื่่�อ เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ พระครููประดิิษฐธรรมโชติิ วััดจัันทร์์ประดิิษฐาราม เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ พระครููอนุุภาสวุุฒิคุิ ณ ุ วััดน้ำำ��รอบ เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ การศึึ กษา
พ.ศ. 2529 นัักธรรมชั้้�นตรีี พ.ศ. 2531 นัักธรรมชั้้�นโท พ.ศ. 2536 นัักธรรมชั้้�นเอก พ.ศ. 2556 : ประกาศนีียบัั ต รการบริิ ห ารกิิ จก ารคณะสงฆ์์ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย ห้้องเรีียนสุุราษฎร์์ธานีี (ป.บส.) พ.ศ. 2560 : ปริิญญาตรีี พุุทธศาสตรบััณฑิิต (พธ.บ.) สาขาการ จััดการเชิิงพุุทธ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย ห้้องเรีียน สุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2562 ปริิญญาโท พุุทธศาสตรมหาบััณฑิิต (พธ.ม.) สาขาการ จััดการเชิิงพุุทธ มหาวิิทยาลััยมหาจุุฬาลงกรณราชวิิทยาลััย (ส่่วนกลาง) ประสบการณ์์การทำำ�งาน
พ.ศ. 2536 ครููพระปริิยััติิธรรม พ.ศ. 2544 เลขานุุการเจ้้าคณะตำำ�บลท่่าโรงช้้าง อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2551 พระธรรมทููต พ.ศ. 2553 เลขานุุการเจ้้าคณะตำำ�บลกรููด อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2555 พระสอนศีีลธรรมในโรงเรีียน โรงเรีียนวััดประชาวงศาราม พ.ศ. 2560 เจ้้าอาวาส วััดประชาวงศาราม
พระครููสมุุห์ดิ ์ ฐ ิ ภููมิ จิ ิ ร ิ ธมฺฺโม เจ้้าอาวาสวััดประชาวงศาราม
ตั้้� งอยู่่�หมู่่�ที่่� 3 ตำำ�บลกรูู ด
อำำ�เภอบ้้านนาสาร
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
197
วััดเขาพระอานนท์์ History of Buddhism....
ตำำ�บลศรีีวิิชััย อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดเขาพระอานนท์์ หรืือ วััดหััวเขาล่่าง/วััดล่่าง เป็็นวััดที่่�มีีทิิวทััศน์์สวยงามด้้านหน้้าริิมฝั่่�งคลองแม่่น้ำ�พุ ำ ุนพิิน การสร้้างวััดมีีการสร้้าง
ศาสนสถานบนภููเขา โดยก่่อกำำ�แพงล้้อมรอบภููเขาลดหลั่่�นกัันไป 3 ขั้้�น ตััวยอดเขาถููกปรัับพื้้�นที่่ใ� ห้้เรีียบ แล้้วสร้้างเจดีีย์์และอุุโบสถไว้้คู่่�กัน ั
องค์์พ่่อท่่านเจ้้าฟ้้า
198
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
สิ่่� งที่่น่ � า ่ สนใจ
วััดเขาพระอานนท์์ สร้้างเมื่่�อปีี พ.ศ. 1890 สมััยกรุุงสุุโขทััย โดย พระยาลิิ ไ ทย ได้้ เ สด็็ จ ประพาสหัั ว เมืื อ งทางใต้้ มีี ชุุ ม พร, ไชยา, นครศรีีธรรมราช และได้้โปรดเกล้้าให้้เจ้้าฟ้้าพี่่�ยาเธอก่่อสร้้างวััดบนยอด เขาพระอานนท์์และเจ้้าฟ้้าพี่่�ยาเธอเป็็นเจ้้าอาวาสองค์์แรกของวััดนี้้� วััดเขาพระอานนท์์ เป็็นวััดที่่�อยู่่�ของพระราชาคณะ เป็็นวััดหลวง ขึ้้�นตรงต่่อกรุุงสุุโขทััย เมื่่อ� กรุุงสุุโขทััยสิ้้�นอำำ�นาจก็็ได้้สถาปนาให้้ขึ้้�นกัับ กรุุ ง ศรีี อ ยุุ ธ ยา และกรุุ ง รัั ต นโกสิิ น ทร์์ ต ามลำำ�ดัั บ ต่่ อ มาสมเด็็ จ พระเจ้้าอยู่่�หััวได้้ขึ้้�นครองราชย์์สมบััติิหลายพระองค์์ จนมาถึึงพระเจ้้า หลานเธอพระเจ้้ารามาธิิบดีี บรมจัักรพััตราธิิราช เสวยราชสมบััติิใน เดืือน 5 ปีีวอก โทศก พ.ศ. 2366 เวลาล่่วงมาได้้ 6 ปีี ถึึงปีีฉลูู เอกศก พ.ศ. 2371 กรุุณาโปรดเกล้้าให้้เจ้้าหน้้าที่่� คืือ 1. หลวงวิิจารย์์อาวุุธ กรมกลาโหม เป็็นแม่่กอง 2. ขุุนทิิพย์์สมบััติิ กรมท่่า 3. นายรอด มหาดเล็็ก เวรฤก 4. พัันอนาประทาน กรมมหาไทย 5. ขุุนอิินทรสมบััติิ กรมสรรพากรใน 6. นายศรีีเถีียร กรมวััง 7. หมื่่น� วิิจารย์์ กรมนา 8. ขุุนเทพสุุภา ข้้าหลวงกรมราชวัังบวร เป็็นผู้้�ออกสำำ�รวจ เมืืองชุุมพร, ไชยา, นครศรีีธรรมราช และได้้ขึ้้�น ทะเบีียนวััดเขาพระอานนท์์อยู่่�ในการปกครองดููแล ของกรมศิิลปากร เมื่่�อวัันที่่� 17 กัันยายน พ.ศ. 2479 ประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เล่่มที่่� 53 ตอนที่่� 34 มีีหลัักฐานที่่�หน่่วย 8 นครศรีีธรรมราช และ กรมศิิลปกรได้้บููรณะพระอุุโบสถครั้้�งที่่� 3 เมื่่�อปีี พ.ศ. 2530 จนถึึง ปััจจุุบััน พ.ศ. 2564 วััดเขาพระอานนท์์ มีีอายุุ 674 ปีี
1. เจดีีย์์ เป็็นเจดีีย์ท์ รงปราสาทก่่ออิิฐถืือปููน สููงประมาณ 9 เมตรเศษ ฐานสี่่เ� หลี่่ย� มจตุุรัสั กว้้างด้้านละ 5.10 เมตร เรืือนธาตุุมีซุ้ี ม้� จระเข้้นำำ�ทิศิ ทั้้�ง 4 ด้้าน ด้้านทิิศตะวัันออกมีีบันั ไดทางขึ้้น� สามารถเดิินเข้้าไปนมััสการ พระพุุทธรููปในองค์์เจดีีย์์ได้้ หน้้าบัันไดเหนืือซุ้้�มทำำ�เป็็น 2 ชั้้�น ชั้้�นล่่าง เป็็นรููปราหููอมจัันทร์์ ชั้้�นบนเป็็นรููปเทพพนม มีีลายกนกประกอบเป็็น ฉากหลััง ยกเว้้นด้้านทิิศตะวัันออกด้้านเดีียวเป็็นรููปพระอิินทร์์ทรงช้้าง เอราวััณ ถััดจากชั้้�นเรืือนธาตุุเป็็นอาคารย่่อส่่วนเลีียนแบบ ชั้้�นล่่าง รองรัับองค์์ระฆัังสี่่�เหลี่่�ยมย่่อมุุมไม้้สิิบสอง หน้้าบัันไดเหนืือมุุขอาคาร ชั้้�นนี้้�มีีลายปููนปั้้�นรููปดอกบััว ส่่วนยอดเป็็นบััวรองรัับก้้านฉััตรและ ธาตุุไชยาคงสร้้างสมััยอยุุธยาตอนปลาย และยัังมีีรููปแบบศิิลปกรรม คล้้ายกัับเจดีีย์์วััดอััมพาวาส (วััดท่่าม่่วง) อำำ�เภอท่่าชนะอีีกด้้วย 2. อุุโบสถ ขนาดกว้้าง 6.50 เมตร ยาว 12.70 เมตร ก่่ออิิฐถืือปููน ใช้้ฝาผนััง รัับน้ำำ��หนัักแทนเสา เครื่่�องบนเป็็นเครื่่�องไม้้มุงุ กระเบื้้�อง ของ เดิิมคงเป็็นกระเบื้้�องกาบกล้้วย มีีกระเบื้้�องเชิิงชายรููปเทพพนมเพราะ ได้้พบแตกกระจายอยู่่�ในเขตวััดภายในอุุโบสถมีีพระพุุทธรููปหิินทราย สีีแดง 7-8 องค์์ เหนืือบานประตููหน้้าต่่างด้้านใน ประดัับด้้วยเครื่่�อง ถ้้วยใบเสมารอบอุุโบสถทำำ�ด้้วยหิินทรายสีีแดง ไม่่สลัักลวดลายใดๆ การวิิเคราะห์์หลัักฐาน ศิิลปกรรมสมััยอยุุธยาที่่�วััดเขาพระอานนท์์ แสดงถึึง การอยู่่�อาศััยอย่่างต่่อเนื่่�องของชุุมชนโบราณที่่�ตั้้ง� ถิ่่น� ฐานแถบ เขาศรีีวิชัิ ัยเรื่่�อยลงมาถึึง วััดเขาพระอานนท์์
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 1 หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลศรีีวิิชััย อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระอธิิการอภิิชััย อภิิชโย เจ้้าอาวาสวััดเขาพระอานนท์์
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
199
วััดสัันติิคีีรีรี มย์์ History of Buddhism....
วััดสัั นติิคีรี ี ร ี มย์์ ได้้ก่อ ่ ตั้้�งวััดเมื่่อ � วัันที่่� 26 เมษายน พ.ศ.2450 ตามประวััติที่ ิ พ ่� อสืืบค้้นได้้นั้้�น เมื่่อ � แรกเริ่่�ม สถานที่ตั้้ ่� �งวััดสัั นติิคีรี ี ร ี มย์์แห่่งนี้้� เป็็น
สถานที่่�รกร้า ้ งว่่างเปล่่ามาก่่อน มีีลัักษณะเป็็นป่่ารกเต็็มไปด้้วยพัน ั ธุ์์ไ� ม้้นานาพัันธุ์์� เป็็นสถานที่่�อุุดมสมบููรณ์์ เป็็นที่่�อยู่่�อาศัั ยของเหล่่าสรรพสัั ตว์์ ตามธรรมชาติิ เป็็นแหล่่งที่่�ชาวบ้้านพอหาของป่่า หาของกิินตามวิิถีีชาวบ้้านชาวป่่า เป็็นพื้้�นที่่�ดงดานตั้้� งชิิ ดติิดกัับเชิิ งภููเขาลููกใหญ่่ทางด้้าน ตะวัันออกเฉีียงเหนืือของภููเขาที่่มี � ชื่ ี ่� อว่่า ภููเขาหััวควาย ตามที่ช ่� าวบ้้านเรีียกขานเป็็นตำำ�นานมา เพราะลัักษณะภููเขานี้้�มีลั ี ก ั ษณะคล้้ายกัับรูู ปควาย นอนหมอบ เมื่่อ � มองจากมุุมสููง และบ้้านเขาหััวควายแห่่งนี้้�สมัยนั้้ ั �นได้้ตั้้�งอยู่่�ในเขตปกครองของตำำ�บลท่่าสะท้้อน อำำ�เภอพุุนพิิน จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
มาก่่อน ต่่อมาได้้มีโี ครงการก่่อสร้้างทางรถไฟสายใต้้ได้้ตัด ั ผ่่านพื้้�นที่บ้ ่� า ้ นเขาหััวควาย จึึงได้้มีผู้้�ค ี นจากถิ่่�นอื่่น � ได้้เข้้ามาขายแรงงานด้้วยการรัับจ้้าง
ตีีหิน ิ โรยรางรถไฟ ซึ่�่ งยัังพอมีีร่อ ่ งรอยให้้เห็็น คืือกองหิินที่่ยั � งั เหลืืออยู่่�ที่่ด้ � ้านหลัังวััดที่่ติ � ิดกัับภููเขาหััวควาย ดัังนั้้�นเมื่่อ � มีีผู้้�คนเดิินทางมาอยู่่�มากขึ้้�น
จึึงได้้ปรึึกษาหารืือกัันตั้้�งหมู่่�บ้้าน ตั้้�งชุุมชน และได้้มีม ี ติิให้้ตั้้�งวััด เพื่่อ � เป็็นที่ป ่� ระกอบพิิธีกรร ี มต่่างๆ เป็็นที่ยึ ่� ด ึ เหนี่่�ยวจิต ิ ใจและทำำ�บุุญ จึง ึ ได้้เลืือก
พื้้�นที่่ตั้้ � �งวััดในปััจจุุบัันนี้้�เป็็นพื้้�นที่่ส � าธารณะเพื่่อ � เป็็นสถานที่่สร้ � า ้ งวััด และก็็ได้้มีพ ี ระภิิกษุุสงฆ์์ผู้้�ทรงคุุณทรงศีี ลรููปหนึ่่�งมาปัักกลดในที่่นี้้ � � ชาวบ้้านจึึง ได้้ขออาราธนาให้้ท่า ่ นอยู่่� และร่่วมกัันสร้้างวััดขึ้้�นเพื่่อ � ให้้ท่า ่ นได้้อยู่่�จำำ�พรรษาตลอดไป เมื่่อ � ท่่านรัับอาราธนานิิมนต์์แล้้วโดยอาการดุุษฎีียภาพแล้้ว จึึงได้้ถามถึึงนามชื่่� อว่่าพ่่อท่่านมีีชื่่�อว่่าอะไรขอรัับพระคุุณเจ้้า ท่่านจึึงตอบว่่า อาตมาภาพชื่่� อว่่า ท่่านกรด ชาวบ้้านจึึงได้้เรีียกท่า ่ นว่่าพ่่อท่่านกรด
ตั้้�งแต่่บัด ั นั้้�นเป็็นต้้นมา เมื่่อ � ชาวบ้้านได้้สร้า ้ งวััดขึ้้�นเพื่่อ � เป็็นที่่�พึ่่�งทางจิิตใจและต่่อมาได้้มีลู ี ูกหลานญาติิโยมในบ้้านเขาหััวควายได้้เข้้ามาศึึ กษา หลัักธรรมคำำ�สั่่� งสอนของพระพุุทธศาสนาจากพ่่อท่่านกรดแล้้ว จึึงบัังเกิิดความเลื่่�อมใสศรััทธาออกบวชเป็็นภิิกษุุสงฆ์์ เป็็นสามเณร เป็็นแม่่ชีี และบ้้างก็็ได้้แสดงตนเป็็นอุุบาสก อุุบาสิิ กา และได้้ช่่วยกัน ั ดููแลวััดมาด้้วยดีี
200
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดสัันติิคีีรีีรมย์์แห่่งนี้้� ได้้ตั้้�งขึ้้�นเมื่่�อถึึงวัันประจำำ�ปีีที่่�สำำ�คััญของ ชาวใต้้คือื วันั จบปีีจบเดืือน เมื่่อ� ปีี พ.ศ.2450 โดยที่่�ชาวบ้้านได้้มีคี วาม สามััคคีี กัั นเสีี ย สละทรััพย์์ สิิ นตามกำำ�ลัั งเพื่่� อ สร้้ า งวัั ด ให้้ กัับ เหล่่ า ดวงวิิญญาณของบรรพบุุรุุษของตนและอุุทิิศให้้กัับเจ้้าป่่าเจ้้าเขาที่่� พวกตนได้้นัับถืือคืือ พ่่อตาโคตรตะบอง ซึ่่�งเป็็นเจ้้าที่่�ดั้�้งเดิิมที่่�มีีความ ศัักดิ์์�สิิทธิ์์�มาก และได้้ขึ้้�นทะเบีียนในทำำ�เนีียบการตั้้�งวััดและสำำ�นัักสงฆ์์ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ในชื่่�อว่่า สำำ�นัักสงฆ์์บ้้านเขาหััวควาย ก่่อนที่่�ท่่าน เจ้้าคุุณพุ่่�ม วััดตรณาราม (พระธรรมปรีีชาอุุดม) อดีีตเจ้้าคณะจัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีีในขณะนั้้น� ท่่านได้้รัับอาราธนานิิมนต์์จากชาวบ้้านตำำ�บล เขาหััวควาย ซึ่่ง� เป็็นตำำ�บลตั้้ง� ใหม่่ซึ่ง่� ได้้แยกมาจากตำำ�บลท่่าสะท้้อนเดิิม นำำ�โดยคณะของคุุณโยมแหม เย็็นมากและพรรคพวกญาติิมิิตร ได้้ขอ อนุุญาติิตั้้ง� วัดั แทนการตั้้ง� สำำ�นัักสงฆ์์ และก็็ได้้รัับความเมตตาอนุุเคราะห์์ จากท่่านเจ้้าคุุณพระธรรมปรีีชาอุุดม เจ้้าคณะจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีีใน ขณะนั้้�น ได้้ขนานนามวััดที่่�ขอตั้้�งใหม่่นั้้�นว่่า วััดสัันติิคีีรีีรมย์์ และจึึงได้้ ทูู ล เกล้้ า ขอพระราชทานการขออนุุ ญ าติิจััดตั้้� ง วัั ด และก็็ ไ ด้้ รัับ พระราชทานอนุุ ญ าติิให้้ ใช้้ ชื่่� อ วัั ด ตามที่่� ก ล่่ า วมาแล้้ ว ข้้ า งต้้ น จนถึึ ง ปััจจุบััุ น ( ผู้้�ให้้ข้อ้ มููลเจ้้าของประวััติิ นายฟุ้้�ง เรีียมรัักษ์์ วันั ที่่ใ� ห้้ถ้อ้ ยคำำ� 20 พ.ค. 2525) สิ่่�งศัักดิ์์�สิิทธิ์์�ที่่�เป็็นเครื่่�องยึึดเหนี่่�ยวจิิตใจ ของพุุทธบริิษััทญาติิโยมวััดสัันติิคีีรีีรมย์์ คืือ 1. รููปพระพุุทธรููปแกะสลัักเนื้้�อหิินทรายโบราณปางมารวิิชััย ขนาด หน้้าตัักกว้้าง 13.5 นิ้้�ว สููง 24 นิ้้�ว ชื่่�อว่่าพ่่อท่่านกรด วััดเขาหััวควาย ซึ่ง่� มีีเหรีียญบููชาหลวงพ่่อท่่านกรด ที่่�ชาวบ้้านมีีเอาไว้้บูชู าและหวงแหน และหาได้้ยากมากในปััจจุบััุ น 2. รูู ป หล่่ อ อดีี ต ท่่ า นเจ้้ า อาวาสคืื อ หลวงพ่่ อ พระสมุุ ห์์ ส มถวิิล จิิรปััญโญ ที่่�ตั้้�งประดิิษย์์ฐานในวิิหารมณฑปและยัังมีีร่่างสัังขารของ หลวงพ่่อบรรจุุอยู่่�ที่่ฐ� านรองรููปหล่่อของหลวงพ่่อ ตามที่่�มีคำี ำ�สั่่ง� จากท่่าน เอาไว้้ว่่า ให้้อยู่่�ชั่่�วฟ้้าดิินสลาย ท่่านจะอยู่่�ที่่�นี่่� 3. ศาลเจ้้าแม่่ตะเคีียน2พี่่�น้อ้ งคืือศาลเจ้้าแม่่ตะเคีียนแม่่สร้้อยสุุดา และเจ้้าแม่่ตะเคีียนแม่่สุุดาทิิพย์์ ที่่�มีีต้้นตะเคีียนใหญ่่ขนาด4-5คนโอบ ซึ่่�งมีีความศัักดิ์์�สิิทธิ์์�มาก คนในพื้้�นที่่�เขาหััวควายและใกล้้เคีียงนั้้�นรู้้� กิิตติิศััพท์์ดีีและยัังมีีวััตถุุสิ่่�งโบราณอีีกมากมาย โดยเฉพาะงานศิิลปะ ภาพวาดในโบสถ์์เป็็นงานวาดสีีฝุ่่�นสีีโปสเตอร์์จากนายช่่างฝีีมืือดีี
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาส
1. พ่่อท่่านกรด เริ่่�มตั้้�งวััด แต่่ไม่่ปรากฏถึึงปีีมรณภาพ 2. พระสมุุห์์สมถวิิล จิิระปััญโญ พ.ศ.2492 - พ.ศ. 2525 3. พระครููธรรมธรบุุญชูู กตปุุญโญ พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2556 4. พระโชคชััย ปภััสสโร(ร ก.) พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561 5. พระประยุุค ยติิกโร(ร ก.) พ.ศ. 2561 - พ.ศ. 2562 เจ้้าอาวาสรููปปััจจุบััุ น คืือ พระอธิิการประยุุค ยติิกโร ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาสเมื่่�อปีี พ.ศ. 2562 ถึึงปััจจุุบััน งานบุุญประเพณีีต่่างๆ คืือ งานจบปีีจบเดืือน งานสรงน้ำำ�� ประจำำ�ปีี พ่่อท่่านกรดในวัันสงกรานต์์ วัันเข้้าพรรษา วัันรัับตายายเดืือนสิิบ วัันส่่งตายายเดืือนสิิบ วัันออกพรรษาชัักพุ่่�มผ้้าป่่า วันั ทอดกฐินิ สามััคคีี ประจำำ�ปีี และวัันสำำ�คััญทางศาสนาคืือ วัันมาฆบููชา วัันวิิสาขบููชา วัันอาสาฬหบููชา
พระอธิิการประยุุค ยติิกโร เจ้้าอาวาสวััดสัั นติิคีรี ี ร ี มย์์
ตั้้� งอยู่่�หมู่่�ที่่� 2
บ้้านเขาหััวควาย
ตำำ�บลเขาหััวควาย อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
201
วััดรััตนธรรมาราม History of Buddhism....
วััดรััตนธรรมาราม เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย วััดมีีอายุุเก่่าแก่่มานานกว่่า 70 ปีี ปััจจุุบัันวััดมีีเนื้้�อที่่�ทั้้�งหมด 14 ไร่่เศษ
เดิิมประมาณปีี พ.ศ. 2490 ได้้ตั้้�งเป็็นสำำ �นัักสงฆ์์ มีชื่ ี ่� อว่่า สุุราษฎร์์ธรรมาราม มาก่่อน มีีนายห้้อย พร้้อมประเสริิฐ เป็็นผู้้ถ � วายที่่�ดิินจำำ�นวน
� เป็็น วััดรััตนธรรมาราม โดยพระครููรััตนธรรมคุุณ (จำำ�รััส วิริ 9 ไร่่เศษ และต่่อมาได้้จัด ั ตั้้�งขึ้้น ิ โิ ย) เมื่่�อวัันที่่� 22 สิิงหาคม 2516 และได้้รับวิ ั สุ ิ ง ุ คามสีีมา
เมื่่� อ วัั น ที่่� 3 กุุ ม ภาพัั น ธ์์ 2521 มีี พ ระครูู รัั ต นธรรมคุุ ณ (จำำ� รัั ส วิิ ริิ โ ย) เป็็ น เจ้้ า อาวาสรููปแรก ได้้ ม รณภาพเมื่่� อ ปีี พ .ศ.2549
ต่่อมาพระครููโกวิิทบุญ ุ วััฒน์์ (เฉลีียว มหาปุุญโญ)เป็็นเจ้้าอาวาสรููปที่่� 2 และมรณภาพ เมื่่�อปีีพ.ศ. 2562 ปััจจุุบัน ั มีี พระประดิิษฐ์์ ผลญาโณ เป็็นเจ้้าอาวาส
202
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
พระประดิิษฐ์์ ผลญาโณ
ตั้้� งอยู่่�ถนนธารทิิพย์์ ตำำ�บลท่่าข้้าม
อำำ�เภอพุุนพิิน
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
เจ้้าอาวาสวััดรััตนธรรมาราม
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
203
วััดคลองตาล History of Buddhism....
ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดคลองตาล เดิิมชื่่� อว่่า “วััดท่่าโรงช้้ าง” ที่่ไ� ด้้ชื่่�อว่่าวััดท่่าโรงช้้ าง
เพราะเป็็นสถานที่่ตั้้ � �งโรงช้้ างต้้นของเจ้้าเมืืองเวีียงสระ ก่่อนมีีการย้้าย
ไปตั้้�งเมืืองใหม่่ ณ เมืืองนครศรีีธรรมราชในปััจจุบั ุ น ั ต่่อเมื่่อ � พ.ศ.2324 ได้้มีีการเปลี่่�ยนชื่่� อวััดใหม่่ชื่่�อว่่า “วััดคลองตาล” เพื่่อ � สอดคล้้องกัับ ลำำ�คลองที่่ผ่ � า ่ นบริิเวรวััด มีีเนื้้�อที่่ทั้้ � �งหมด 28 ไร่่ 3 งาน 58 ตารางวา ได้้
รัับพระราชทานวิิสุุงคามสีีมา เมื่่อ � พ.ศ. 2473 วััดคลองตาล มีีการผููก พััทธสีีมา ในสมััยใดไม่่มีีหลัักฐานปรากฏแน่่ชััด
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาสวััดคลองตาล (มีีหลัักฐานบัันทึึก)
1. พระสมุุห์์ทอง นนฺฺโท พ.ศ. 2475 – พ.ศ. 2487 2. พระครููสัังวรวิิริิยกิิจ (ด่่วน นรโท) พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2496 3. ระหว่่าง พ.ศ. 2497 - พ.ศ. 2511 ไม่่มีีปรากฏนามเจ้้าอาวาส 4. พระครููกัันตสราภิิวััฒน์์ (พระอุุปััชฌาย์์สงวน กนฺฺตสีีโล) พ.ศ. 2512 – พ.ศ. 2559 5. พระครููธีรี ธรรมานุุกูลู (ชััยวััฒน์์ จิริ ธมฺฺโม) พ.ศ. 2560 – ปััจจุุบันั
204
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิ พระสมุุห์ท ์ อง นนฺฺโท (พ่่อท่่านทอง) วััดคลองตาล อ.เวีียงสระ จ.สุุราษฎร์์ธานีี
ชาตะ : พระสมุุห์์ทอง นนฺฺโท เดิิมชื่่�อ “ทอง” สมััยที่่�กำำ�เนิิด ยัังไม่่มีี นามสกุุลใช้้ แต่่ต่่อมาเมื่่�อมีีนามสกุุลใช้้ ญาติิๆของท่่านใช้้นามสกุุล “รััตนบุุรี”ี กำำ�เนิิดเมื่่อ� พ.ศ. 2424 ปีีมะเส็็ง ไม่่สืืบทราบนามบิิดามารดา ทราบเพีียงว่่า ท่่านเป็็นชาวเวีียงสระโดยกำำ�เนิิด อุุปสมบท : อุุปสมบทเมื่่�อ อายุุ 25 ปีี พ.ศ. 2449 ปีีมะเมีีย ไม่่สืืบ ทราบนามพระอุุปััชฌาย์์ และวััดที่่�ท่่านอุุปสมบท ถ้้าดููในระดัับพื้้�นที่่� สมัั ย นั้้� น เวีี ย งสระได้้ เ ป็็ น แขวง ชื่่� อ แขวงลำำ�พูู น ขึ้้� น อยู่่�กัั บม ณฑล นครศรีีธรรมราช และแขวงลำำ�พููนได้้มีีพระครููปลอด วััดเวีียงสระ เป็็น เจ้้าคณะแขวง แต่่ท่า่ นไม่่ได้้เป็็นประอุุปัชั ฌาย์์ ซึ่ง่� แขวงที่่�ใกล้้ๆคืือ แขวง ฉวาง มีีพระอุุปััชฌาย์์คืือ พระครููกลาย คงฺฺคสุุวณฺฺโณ วััดหาดสููง สัันนิิษฐานว่่า ท่่านได้้มีีพระครููกลาย วััดหาดสููง เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ ** *แขวงลำำ�พููน เป็็นพื้้�นที่่�กว้้าง รวมพื้้�นที่่� 4 อำำ�เภอคืือ อำำ�เภอพระแสง อำำ�เภอชััยบุุรี อำ ี ำ�เภอเวีียงสระ พื้้�นที่่�บางส่่วนของอำำ�เภอบ้้านนาเดิิม และ พื้้�นที่่�บางส่่วนของอำำ�เภอเคีียนซา ต่่อมา แขวงลำำ�พููน ได้้โยกย้้ายมาขึ้้�น กัับเมืืองไชยา (จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี) ลงประกาศแจ้้งความกระทรวง มหาดไทย วัันที่่� 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2449 ซึ่่�งเป็็นปีีเดีียวกัับที่่�ท่่าน อุุปสมบท การคณะสงฆ์์ : พ.ศ. 2475 ตามเรื่่อ� งตั้้ง� กรรมการศึึกษา ในหนัังสืือ ราชกิิจจานุุเบกษา ระบุุว่า่ มีีพระสมุุห์ท์ อง เป็็นเจ้้าคณะหมวดเวีียงสระ (ต.เวีียงสระ อ.บ้้านนา ในสมััยนั้้�น) ซึ่่�งอำำ�เภอบ้้านนาในสมััยนั้้�น มีี พระครููพิศิ าลคณะกิิจ (เผือื ก พุุทฺฺธสโร) วััดห้ว้ ยใหญ่่ เป็็นเจ้้าคณะแขวง บ้้านนา (เดิิมท่่านจำำ�พรรษาวััดถ้ำำ��สิิงขร อ.พุุนพิิน) ต่่อมาท่่านได้้มาจำำ� พรรษา ณ วััดห้้วยใหญ่่ และลาสิิกขาเมื่่�อ พ.ศ. 2481 และในปีีนั้้�นเอง ทางการได้้เปลี่่�ยนชื่่�ออำำ�เภอบ้้านนา เป็็น อำำ�เภอบ้้านนาสาร ต่่อมา พ.ศ. 2483 ได้้ตั้้�งพระครููอภััยเขตนิิคม (เซ่่ง อภโย) วััดบ้้านส้้อง เป็็น เจ้้าคณะแขวงนาสาร (อำำ�เภอบ้้านนาสาร) รููปแรก พ่่อท่่านทอง เป็็น พระสมุุห์ท์ อง ในฐานานุุกรม ของ พระครููพิศิ าลคณะกิิจ (เผือื ก พุุทฺธฺ สโร) วััดถ้ำำ��สิิงขร เจ้้าคณะแขวงบ้้านนา (ลาสิิกขา พ.ศ.2481) ก่่อน พ.ศ. 2470 พ่่อท่่านทอง ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะตำำ�บลเวีียงสระ ต่่อมา ได้้ ล าออกเมื่่� อ พ.ศ.2484 โดยตั้้� ง พระใบฎีี ก าด่่ ว น นรโท ซึ่�ง่ เป็็น เจ้้าอาวาสรููปต่่อมา ดำำ�รงตำำ�แหน่่งต่่อ พ่่อท่่านทองเป็็ น พระสงฆ์์ ที่่� มีี ความเชี่่ย� วชาญด้้านยาสมุุนไพรรัักษาโรค เป็็นพระหมอยาพื้้�นบ้้านที่่�พึ่่ง� ของสาธุุชนในสมััยนั้้�น ท่่านมีีอายุุน้้อยกว่่าหลวงพ่่อเปี่่�ยมวััดทุ่่�งหลวง และรู้้�จักกั ั นั ในฐานะสหธรรมิิกรุ่่�นน้้อง อีีกทั้้ง� ยัังเป็็นพระสงฆ์์ที่่ง� ามด้้วย จริิยาวััตร เป็็นที่่�เคารพศรััทธาอย่่างกว้้างขวาง มรณภาพ : พ่่อท่่านทอง นนฺฺโท วััดคลองตาล ได้้มรณภาพ เมื่่�อ ประมาณ พ.ศ. 2490 สิิริิอายุุ 66 ปีี 41 พรรษา ได้้ตั้้ง� ศพบำำ�เพ็็ญกุุศล และได้้ฌาปณกิิจ ณ วััดคลองตาล ต่่อมาชาวบ้้านได้้สร้้างรููปหล่่อเท่่า องค์์จริิงเนื้้�อทองผสมไว้้เป็็นที่่�สัักการบููชา ประดิิษฐาน ณ มณฑปวััด คลองตาล ค้้ นคว้้ า/เรีี ย บเรีีย ง โดย นายจัักรกฤษณ์์ แขกฮู้้� นัักวิิชาการ วััฒนธรรม สำำ�นัักงานวััฒนธรรมจัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ประวััติิ พระครูู สัังวรวิิริย ิ กิิจ (ด่่วน นรโท)
ชาตะ พระครููสัังวรวิิริิยกิิจ นามเดิิม ด่่วน นามสกุุล แข็็งมาก บิิดา ชื่่�อ นายกล่ำำ�� แข็็งมาก มารดาชื่่�อ นางส้้มแป้้น แข็็งมาก เกิิดเมื่่�อวัันที่่� 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 ณ บ้้านกระชุุม หมู่่�ที่่� 1 ตำำ�บลพ่่วงพรหมคร อำำ�เภอบ้้านนา (ปััจจุุบััน อำำ�เภอเคีียนซา) จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี บรรพชาอุุปสมบท เมื่่�อเรีียนจบชั้้�นประถมศึึกษาปีีที่่� 5 แล้้ว บิิดา ได้้ให้้บรรพชาเป็็นสามเณร ที่่�วัดั อรััญคามวารีี อำำ�เภอบ้้านนา (ปััจจุุบััน อำำ�เภอเคีียนซา) จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เมื่่�อวัันอัังคาร ที่่� 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 ตรงกัับ แรม 13 ค่ำำ� � เดืือน 8 โดยมีี พระครููโสภณเจตสิิการาม วััดสัักคุุณาราม อำำ�เภอไชยา จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ ต่่อมาได้้อุปุ สมบทเป็็นพระภิิกษุทีุ่่ วั� ดั เวีียงสระ อำำ�เภอบ้้านนา (ปััจจุุบันั อำำ�เภอเวีียงสระ) เมื่่อ� วัันศุุกร์ ที่่ ์ � 26 มีีนาคม พ.ศ. 2468 ตรงกัับ ขึ้น�้ 13 ค่ำำ�� เดืือน 9 โดยมีี พระครููโสภณเจตสิิการาม วััดสัักคุุณาราม อำำ�เภอไชยา จัั ง หวัั ดสุุ ร าษฎร์์ ธ านีี เป็็ น พระอุุ ปัั ช ฌาย์์ พระครูู ธ รรมสรานุุ วัั ต ร์์ วััดอรััญคามวารีี เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ และมีี พระครููชุ่่�ม วัดั เวีียงสระ เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ การศึึกษา สอบไล่่ได้้นัักธรรมชั้้�นโท เมื่่�อปีี พ.ศ. 2476 สำำ�นัักเรีียน วััดอรััญญคามวารีี การคณะสงฆ์์ พระครููสัังวรวิิริิยกิิจ (ด่่วน นรโท) ได้้รัับการแต่่งตั้้�ง ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งต่่างๆทางคณะสงฆ์์ ได้้แก่่ พ.ศ. 2487 – พ.ศ. 2496 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาสวััดคลองตาล พ.ศ. 2484 – พ.ศ. 2517 ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะตำำ�บลเวีียงสระ มรณภาพ พระครููสัังวรวิิริิยกิิจ (ด่่วน นรโท) ได้้มรณภาพ เมื่่�อวััน ที่่� 14 กัันยายน พ.ศ. 2530 เวลา 22.30 น. ด้้วยโรคชรา ณ วััดอรััญ คามวารีี อำำ�เภอเคีียนซา จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี สิริิ อิ ายุุ 83 ปีี พรรษา 62 และมีีพิิธีีพระราชทานเพลิิงศพ ในวัันที่่� 19 พฤษภาคม พ.ศ.2534 ณ วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
205
ประวััติิ พระครููกัน ั ตสราภิิวัฒ ั น์์ (พระอุุปัช ั ฌาย์์สงวน กนฺฺตสีีโล)
ชาตะ พระครููกันั ตสราภิิวัฒ ั น์์ นามเดิิมชื่อ�่ สงวน ชััยสวััสดิ์์� เกิิดเมื่่อ� วัันที่่� 10 เดืือน กัันยายน พ.ศ. 2479 ปีีชวด บิิดาชื่่�อ นายรุ่่�ม มารดา ชื่่อ� นางฝ้้าย ณ บ้้านคลองตาล หมู่่�ที่่� 8 ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี อุุ ป สมบท เมื่่� อ วัั น ที่่� 25 เดืือนพฤษภาคม พ.ศ. 2500 ณ วััดบ้้านส้้อง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี ได้้รัับฉายา ทางธรรมว่่า “กนฺฺตสีีโล” โดยมีี พระครููอภััยเขตนิิคม วััดบ้้านส้้อง ตำำ�บลบ้้านส้้อง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี เป็็นพระอุุปัชั ฌาย์์ พระครููจัันทวุุฒิิคุุณ วััดทุ่่�งหลวง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ และมีี พระครููสัังวรวิิริิยกิิจ วััดกััลปนาราม อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็น พระอนุุสาวนาจารย์์ วิิทยฐานะ พ.ศ. 2519 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�น ม.ศ.3 โรงเรีียน วััดถ้ำำ��โกบ อำำ�เภอ เขาพนม จัังหวััดกระบี่่� พ.ศ. 2503 สอบไล่่ได้้ น.ธ.เอก สำำ�นักั เรีียนคณะจัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี วััดบ้้านส้้อง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี การคณะสงฆ์์ งานด้้านการปกครองนั้้�น ได้้รับม ั อบหมายจากคณะ สงฆ์์ให้้ทำำ�หน้้าที่่�ด้้านการปกครอง ดัังนี้้�. พ.ศ. 2512 - 2559 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาส วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2528 - 2556 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าคณะ ตำำ�บลเวีียงสระ พ.ศ. 2532 - 2559 ได้้รับก ั ารแต่่งตั้้ง� ให้้เป็็นพระอุุปัชั ฌาย์์ สามััญ พ.ศ. 2556 – 2559 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าคณะ อำำ�เภอเวีียงสระ มรณภาพ พระครููกัันตสราภิิวััฒน์์ (พระอุุปััชฌาย์์สงวน กนฺฺตสีีโล) ได้้มรณภาพ เมื่่�อวัันที่่� 27 สิิงหาคม พ.ศ. 2559 เวลา 04.45 น. ด้้วย โรคชรา ณ วัั ด คลองตาล อำำ� เภอเวีี ย งสระ จัั ง หวัั ดสุุ ร าษฎร์์ ธ านีี สิิริิอายุุ 79 ปีี พรรษา 59 และมีีพิิธีีพระราชทานเพลิิงศพ ในวัันที่่� 7 กัันยายน พ.ศ. 2559 ณ วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
ประวััติิ พระครูู ธีีรธรรมานุุกูล ู (ชัั ยวััฒน์์ จิร ิ ธมฺฺโม)
ชาตะ นามเดิิมชื่่�อ ชััยวััฒน์์ นามสกุุล รััชชูู เกิิดเมื่่�อวัันที่่� 21 เดืือน เมษายน พ.ศ. 2513 บิิดาชื่่อ� นายวิิโรจน์์ รัชั ชูู มารดาชื่่อ� นางผิิว รััชชูู ณ บ้้านเลขที่่� 46/4 หมู่่�ที่่� 8 ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััด สุุราษฎร์์ธานีี อุุปสมบท เมื่่อ� วัันที่่� 24 เดืือนกรกฎาคม พ.ศ. 2534 ณ วััดคลองตาล อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี โดยมีี พระครููกัันตสราภิิวััฒน์์ วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี เป็็น พระอุุปััชฌาย์์ พระสมุุห์์วิิรััช ธีีรปญฺฺโญ วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นพระกรรมวาจาจารย์์ และมีี พระครููบุุญกิิจวิิกรม วััดวิิกรมประชาราม ตำำ�บลบ้้านส้้อง อำำ�เภอ เวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี เป็็นพระอนุุสาวนาจารย์์ วิิทยฐานะ พ.ศ. 2525 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�นประถมศึึกษา โรงเรีียนวััดคลอง ตาล อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2532 สำำ�เร็็จการศึึกษาชั้้�นมััธยมศึึกษาตอนปลาย โรงเรีียน เวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2537 สอบไล่่ได้้ น.ธ.เอก สำำ�นักั เรีียนคณะจัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี วััดคลองตาล อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2548 สำำ�เร็็จการศึึกษาปริิญญาบััตร รััฐศาสตร์์บัณ ั ฑิิต (ทฤษฏีี และเทคนิิคทางรััฐศาสตร์์) มหาวิิทยาลััยสุุโขทััยธรรมาธิิราช พ.ศ. 2555 สอบไล่่ได้้ประโยค 1-2 สำำ�นักั เรีียนจัังหวััดสุรุ าษฎร์์ธานีี วััดบ้้านส้้อง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี งานปกครอง งานด้้านการปกครองนั้้�น ได้้รับม ั อบหมายจากคณะสงฆ์์ให้้ทำำ�หน้า้ ที่่� ด้้านการปกครอง ดัังนี้้�. พ.ศ. 2554 - 2559 ได้้รับก ั ารแต่่งตั้้ง� ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งรองเจ้้าอาวาส วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2560 - ปััจจุุบันั ได้้รัับการแต่่งตั้้�งให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาส วััดคลองตาล ตำำ�บลเวีียงสระ อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี พ.ศ. 2564 - ปััจจุุบััน ได้้รัับการแต่่งตั้้ง� ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าคณะ ตำำ�บลบ้้านส้้อง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
กิิจกรรมประจำำ�ปีีของวััดคลองตาล 1. งานประเพณีีสรงน้ำำ�รู � ปู หล่่อหลวงพ่่อทอง นนฺฺโท พ่่อท่่านคล้้าย วาจาสิิทธิ์์� และพระครููกันั ตสราภิิวัฒ ั น์์ (พระอุุปัชั ฌาย์์สงวน) ในวัันขึ้้น� 1 ค่ำำ�� เดืือน 6 ของทุุกปีี 2. กิิจกรรมวัันสำำ�คัญ ั ทางพระพุุทธศาสนา เช่่น วัันวิิสาขบููชา เป็็นต้้น
206
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ตั้้� งอยู่่�เลขที่่� 161 หมู่่�ที่่� 8 ตำำ�บลเวีียงสระ
อำำ�เภอเวีียงสระ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
พระครูู ธีีรธรรมานุุกูล ู
เจ้้าคณะตำำ�บลบ้้านส้้ อง / เจ้้าอาวาสวััดคลองตาล
วััดคลองฉนวน History of Buddhism....
วััดคลองฉนวน เป็็นวััดราษฎร์์ สัั งกััดคณะสงฆ์์มหานิิกาย ตั้�้งวััด เมื่่อ � ปีี พ.ศ. 2465 ได้้รับ ั วิิสุุงคามสีี มา เมื่่อ � วัันที่่� 16 ตุุลาคม พ.ศ. 2528
โดยมีีพระครูู ขัน ั ติิพลากร (จรััล) เป็็นเจ้้าอาวาสปััจจุุบัน ั ที่่�ดููแลพััฒนาวััดร่่วมกัับชาวบ้้านมาโดยตลอดหลัังจากได้้รับ ั ตำำ�แหน่่ง วััดคลองฉนวน เป็็นศููนย์์รวมใจของชาวบ้้าน เป็็นสถานที่่จั � ด ั กิิจกรรมทางพระพุุทธศาสนา วัันสำำ �คัญ ั ทางพระพุุทธศาสนา
208
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติห ิ ลวงพ่่อพร้้อม
หลวงพ่่อพร้้อม กายสิิทธิ์�์ วาจาสิิทธิ์ วั �์ ดั คลองฉนวน เป็็นพระเกจิิ อาจารย์์ที่มีี�่ ชื่่อ� เสีียงโด่่งดัังมากทั้้ง� ในอดีีตและปััจจุุบันั หลวงพ่่อพร้้อมเป็็น พระเกจิิอาจารย์์ร่่วมสมััยกัับพ่่อท่่านคล้้ายวาจาสิิทธิ์์� อดีีตเจ้้าอาวาส วััดสวนขััน จัังหวััดนครศรีีธรรมราช ถึึงแม้้หลวงพ่่อพร้้อมมรณภาพมา เป็็ น เวลานาน แต่่ ช าวบ้้ า นยัั ง คงให้้ ค วามเคารพนัั บถืื อตลอดมา มีีผู้้อ� าวุุโสเล่่าว่่าหลวงพ่่อพร้้อมเป็็นสหายธรรมกัับพ่่อท่่านคล้้ายวาจาสิิทธิ์�์ บางท่่านบอกว่่าเป็็นศิิษย์์สำำ�นัักอาจารย์์เดีียวกัันกัับพ่่อท่่านคล้้าย หลวงพ่่อพร้้อมนอกจากเป็็นพระเกจิิอาจารย์์ที่มีี่� วาจาสิิทธิ์์แ� ล้้ว ยัังเพีียบ พร้้อมไปด้้วยด้้านเมตตา ด้้านคงกระพัันชาตรีี กล่่าวคืือหากมีีชายหนุ่่�ม ติิดทหารก่่อนเดิินทางไปรัับใช้้ชาติิ บรรดาชายหนุ่่�มเหล่่านั้้�นจะมา ขอพรจากหลวงพ่่ อ พร้้ อ ม ทุุ ก คนจะแคล้้ ว คลาดปลอดภัั ย ไม่่ มีี อุุปสรรคใด ๆ เมื่่�อเสร็็จหน้้าที่่�รัับใช้้ชาติิแล้้ว จะเดิินทางกลัับมาโดย สวััสดิิภาพทุุกคน ปััจจุุบันั ทางวััดคลองฉนวน ได้้สร้้างรููปหลวงพ่่อพร้้อม ซึ่ง่� ประกอบ ด้้วยรููปหล่่อและรููปถ่่าย ให้้ประชาชนที่่�ได้้สัักการบููชา
ทำำ�เนีียบเจ้้าอาวาส
- พระสมุุห์ฉิ้้์ ม� กตปุุญฺโฺ ญ - พระสมุุห์พั์ ฒ ั น์์ ฐิิตธมฺฺโม - พระครููปลััดนิิคม ภููนวิิโร - พระครููขันั ติิพลากร เจ้้าอาวาสองค์์ปัจั จุุบันั
พระครูู ขัน ั ติิพลากร (จรััล) เจ้้าอาวาสวััดคลองฉนวน
ตั้�้งอยู่่�เลขที่่� 14/4 หมู่่�ที่่� 2 ตำำ�บลคลองฉนวน อำำ�เภอเวีียงสระ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
209
วััดทุ่่�งหลวง History of Buddhism....
ตำำ�บลทุ่่ง � หลวง อำำ�เภอเวีียงสระ จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
วััดทุ่่�งหลวง เดิิมเป็็นวััดร้้าง ชาวบ้้านในละแวกนั้้� นเรีียกกัันว่่าวััดโคกกรวด ตามคำำ�บอกเล่่าของคนเฒ่่าคนแก่่ วััดโคกกรวดนี้้�สร้้างโดย
พ่อ ่ ท่่านดำำ� แต่่จะเป็็นด้้วยสาเหตุุอัันใดไม่่แน่่ชัั ด วััดโคกกรวดนี้้�กลัับต้อ ้ งกลายสภาพเป็็นวััดร้้างอยู่่น � านหลายปีี ต่่อมาหลวงพ่่อเปี่่�ยมจึึงได้้มาบููรณะ ปฏิิสัังขรณ์์วััดโคกกรวด ซึ่่� งร้้างอยู่่� โดยท่่านได้้เริ่่�มสร้้างสำำ �นัักสงฆ์์บ้า ้ นโคกกรวดขึ้้�นมาใหม่่ ในปีีประมาณ 2471 เป็็นพััทธเสมา เป็็นวััดและ เปลี่่�ยนชื่่� อเป็็น วััดทุ่่�งหลวง ต่่อมาได้้มีก ี ารแต่่งตั้้� งให้้หลวงพ่อ ่ เปี่่�ยมเป็็นเจ้้าอาวาสปกครองวััดทุ่่�งหลวงแห่่งนี้้� และเนื่่�องจากหลวงพ่อ ่ เปี่่�ยมเป็็น
พระที่่�มีวั ี ต ั รปฏิิบัติ ั ง ิ ดงาม เป็็นพระนัักพััฒนา และมีีความสามารถ รอบรู้้�วิิชาโหราศาสตร์์และไสยศาสตร์์ ทำ� ำ ให้้มีผู้ ี เ้� ลื่่อ � มใสศรััทธา มีีลููกศิิ ษย์์ลููกหา เป็็นจำำ�นวนมากทำำ�ให้้วัด ั ทุ่่ง � หลวงเริ่่�มเป็็นที่่�รู้้�จัก ั และมีีความรุ่่ ง � เรืืองขึ้้�นเป็็นลำำ�ดับ ั
210
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
วััดทุ่่�งหลวง ได้้ริิเริ่่�มก่่อร่่างสร้้างให้้เป็็นที่่�พัักสงฆ์์ตั้้�งแต่่ ปีี พ.ศ. 2323 มีีพระภิิกษุมุ าอยู่่อ� าศััยและผลััดเปลี่่ย� นหมุุนเวีียนกััน มาจนกระทั่่�งประมาณปีี พ.ศ. 2465 หลวงพ่่อเปี่่�ยม อิินฺทสุุวณฺ ฺ โฺ ณ ได้้ย้้ายตััวท่่านมาพััฒนาในสมััยนั้้�นวััดทุ่่�งหลวงยัังมีีชื่่�อเดิิมที่่� เรีียกว่่าสำำ�นัักสงฆ์์โคกกรวด หลวงพ่่อเปี่่�ยมได้้พััฒนาสำำ�นัักสงฆ์์ เจริิญขึ้้�นมาตามลำำ�ดัับ จนกระทั้้�งปีีพ.ศ. 2471 หลวงพ่่อเปี่่�ยม อิินฺทสุุวณฺ ฺ โฺ ณ ได้้ขออนุุญาตจััดสร้้างอุุโบสถยกฐานะขึ้้น� ให้้เป็็นวััด ถููกต้้องตามกฎหมายโดยให้้ชื่อ่� ว่่า “วััดทุ่่ง� หลวง” ในปีีพ.ศ. 2473 ตั้้�งแต่่นั้้�นเป็็นต้้นมา ทางคณะสงฆ์์ภายใต้้การนำำ�ของเจ้้าอธิิการ เปรีียบเหมืือนสมัั ยนี้้� คืื อเจ้้ า คณะตำำ� บลยื่่� น เสนอชื่่� อ ไปตาม ลำำ�ดัั บ ชั้้� น จนมีีคำำ�สั่่� ง แต่่งตั้้� ง หลวงพ่่อเปี่่� ย ม อิิ นฺฺ ทสุุวณฺฺ โ ณ ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเป็็นเจ้้าอาวาส มีีสมณศัักดิ์์� พระอธิิการเปี่่�ยม อิินฺฺทสุุวณฺฺโณ เป็็นต้้นมา หลัังจากนั้้�นหลวงพ่่อและชาวบ้้าน ร่่วมมืือกัั น พัั ฒ นาวัั ด จนเจริิ ญ ขึ้้� น มาตามลำำ�ดัั บ เพราะผู้้�คน ชาวบ้้านทั้้�งหลายนัับถืือหลวงพ่่อเปี่่�ยม อิินฺฺทสุุวณฺฺโณ เป็็นอย่่าง มากเพราะหลวงพ่่อเป็็นพระที่่�ปฏิิบััติิดีีปฏิิบััติิชอบใช้้ชีีวิิตอย่่าง เรีียบง่่ายแบบสมถะ เป็็นผู้้�มากพร้้อมด้้วยสััพพะวิิทยาเวทมนต์์ คาถาถึึงพระด้้วยศีีลสุุตตาธิิคุุณเป็็นพระผู้้�มัักน้้อยพร้้อมด้้วย ความเมตตา จนมีีชาวบ้้านประชาชนให้้ความนัับถืือเลื่่อ� มใสเป็็น จำำ�นวนมากมีีศิิษยานุุศิิษย์เ์ ป็็นจำำ�นวนมาก หลวงพ่่อเปี่่�ยมได้้ดำำ�รง ตำำ�แหน่่ง จนกระทั้้ง� ปีีพ.ศ. 2499 หลวงพ่่อได้้ทำ�ก ำ ารมรณภาพลง
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
211
หลัังจากนั้้�นในปีีพ.ศ. 2500 ได้้มีีการแต่่งตั้้ง� พระมหาบุุญมีี สิิริจัิ นั โท หลวงพ่่อมหาบุุญมีีเป็็นศิิษย์์เอก ของหลวงพ่่อเปี่่�ยม อิินฺฺทสุุวณฺโฺ ณ เป็็น ผู้้�มากพร้้อมด้้วยพระสััพวิทย ิ า เรื่่อ� งการสั่่�งสอนโปรดเทศนาให้้ชาวบ้้าน นัับถืือพุุทธศาสนาอย่่างถููกต้้องเถรตรง จนเป็็นที่่เ� กรงขามเป็็นอย่่างมาก ต่่อชาวบ้้านเป็็นพระผู้้�ปฏิิบััติิดีีปฏิิบััติิชอบเป็็นที่่�เลื่่�อมใสแก่่ประชาชน เป็็นจำำ�นวนมาก จนกระทั่่�งปีีพ.ศ. 2535 หลวงพ่่อพระมหาบุุญมีี ได้้ทำำ�การมรณภาพลง จากนั้้�นทางคณะสงฆ์์ได้้แต่่งตั้้�งให้้พระวิิเชีียร ฐานสีีโล ดำำ�รงตำำ�แหน่่งเจ้้าอาวาสวััดทุ่่�งหลวง เป็็นพระอธิิการวิิเชีียร ฐานสีีโล รุ่่�นที่่� 3 หลวงพ่่อได้้พััฒนาวััดทุ่่�งหลวงเจริิญขึ้้�นมาตามลำำ�ดัับ จนกระทั้้�ง ประมาณวัันที่่� 19 ธัันวาคม พ.ศ. 2555 พระอธิิการวิิเชีียร ฐานสีีโล ได้้ทำำ�การ มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์์ แ ละชาวบ้้ า นได้้ ปรึึกษ าหารืือกัั น เสนอชื่่� อ พระพรณรงค์์ วิิชโย ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่งรัักษาการเจ้้าอาวาสวััดทุ่่�งหลวง ในวัันที่่� 22 ธัันวาคม พ.ศ. 2555 และในวัันที่่� 1 มิิถุุนายน พ.ศ. 2557 ทางคณะสงฆ์์และชาวบ้้านได้้ปรึึกษาหารืือกัันเสนอชื่่อ� ให้้ดำำ�รงตำำ�แหน่่ง เจ้้าอาวาส วััดทุ่่�งหลวงรุ่่�นที่่� 4 เป็็นต้้นมาจนมาถึึงปััจจุุบััน ต่่อมาได้้ ดำำ�รงตำำ�แหน่่งฐานานุุกรมใน พระวััตตจารีีศีีลสุุนทร ท่่านเจ้้าคุุณ อดีีตเจ้้าอาวาสวััดบ้้านส้้องและอดีีตที่่�ปรึึกษาเจ้้าคณะอำำ�เภอเวีียงสระ เป็็นพระปลััดเมื่่อ� วัันพฤหััสบดีี ที่่� 8 มกราคม พ.ศ.2558 และได้้พัฒ ั นา วััดทุ่่�งหลวงให้้เจริิญขึ้้�นตามลำำ�ดัับจนถึึงปััจจุุบััน
212
SBL บันทึกประเทศไทย
จั งหวั ดสุ ราษฎร์ ธานี
ประวััติิ : พระอธิิการเปี่่�ยม อิินฺทสุุวณฺ ฺ โฺ ณ
เดิิมชื่่�อ เปี่่�ยม ช่่วยบำำ�รุุง กำำ�เนิิดเมื่่�อ เดืือน 7 ปีีมะเส็็ง พ.ศ. 2412 โยมบิิดาชื่่�อหมื่่�นไกร ช่่วยบำำ�รุุง โยมมารดาชื่่�อนางทิิม ช่่วยบำำ�รุุง เป็็น คนพื้้�นเพเดิิมบ้้านโคกกรวด ต.ทุ่่ง� หลวง ท่่านเป็็นบุุตรคนที่่� 3 ในจำำ�นวน พี่่�น้้องทั้้�งหมด 4 คน ในวััยเด็็กได้้เข้้าศึึกษาอัักขระสมััย ขอม-ไทย จนมีีความรู้้�พอที่่�จะช่่วยเหลืือตััวเองได้้ บรรพชา เมื่่�ออายุุ 17 ปีี ประมาณ พ.ศ. 2429 ได้้บรรพชาเป็็น สามเณร ณ วััดเวีียงสระ อุุปสมบท เมื่่�ออายุุย่่างเข้้า 20 ปีี วัันที่่� 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2432 ตรงกัับวัันศุุกร์์ ขึ้้�น 8 ค่ำำ�� เดืือน 8 ปีีฉลูู ได้้อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ ณ พััทธสีีมาวััดหาดสููง ต.ไม้้เรีียง อ.ฉวาง จ.นครศรีีธรรมราช โดยมีี พระอธิิการกราย คงฺฺคสุุวณฺฺโณ วััดหาดสููง เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ ไม่่ทราบ นามพระคู่่�สวด ได้้รัับฉายาทางธรรมว่่า “อิินฺฺทสุุวณฺฺโณ” แปลว่่า ผู้้�มีี วรรณะดุุจพระอิินทร์์ เล่่ากล่่าวขานหลวงพ่อ ่ เปี่่�ยมวััดทุ่่ง � หลวง
หลัังจากนายเปี่่ย� ม อุุปสมบทเป็็นพระภิิกษุุ “พระเปี่่ย� ม อิินฺทสุุวณฺ ฺ โฺ ณ” ได้้ศึึกษาพระธรรมวิินัยั อยู่่�กัับพระอุุปััชฌาย์์กราย อยู่่�ช่่วงหนึ่่�ง และได้้ เดิินทางมาจำำ�พรรษา ณ วััดโคกอิินทนิินธาราราม อยู่่ร� ะยะหนึ่่�ง และ ท่่านก็็ได้้จาริิกธุุดงค์์ไปในสถานที่่�ต่่างๆ ต่่อมาประมาณ พ.ศ. 2439 ชาวบ้้านทุ่่ง� หลวงได้้นิมิ นต์์ท่่านไปจำำ�พรรษาและพััฒนา “วััดโคกกรวด” ซึ่่�งเป็็นวััดร้้าง หลวงพ่่อเปี่่�ยมได้้เข้้ามาบููรณะ ปฏิิสัังขรณ์์ จนมีีความ เจริิญขึ้้�นมา และได้้เปลี่่�ยนชื่่�อจาก วััดโคกกรวด เป็็น “วััดทุ่่�งหลวง” ตามชื่่อ� พื้้�นที่่บ� ริิเวณที่่ตั้� ง้� วััดที่่ช� าวบ้้านส่่วนใหญ่่เรีียกชื่่อ� ว่่าบ้้านทุ่่ง� หลวง วััดทุ่่�งหลวงสมััยนั้้�นเป็็นวััดที่่�เจริิญมาก เนื่่�องจากหลวงพ่่อเปี่่�ยม เป็็นพระสงฆ์์ที่มีี่� วััตรปฏิิบัติั งิ ดงาม เป็็นพระนัักพััฒนา มีีผู้้�เคารพศรััทธา อย่่างกว้้างขวาง มีีความคิิดอ่่านหลัักแหลมยาวไกล และที่่�สำำ�คััญท่่าน มีีความเชี่่�ยวชาญวิิชาโหราศาสตร์์ และไสยศาสตร์์ และสำำ�เร็็จอภิิญญา มีีอภิินิิหารเป็็นที่่�ประจัักษ์์มากมาย ท่่านสามารถย่่อย่่นระยะทางได้้ ทราบเหตุุการณ์์ล่่วงหน้้า แหวกฝน ฝนตกไม่่โดนตััวท่่าน เป็็นต้้น ท่่าน เป็็นพระสงฆ์์ที่สั่� นั โดษ มัักน้อ้ ย สมถะ พููดน้้อย และมีีวาจาสิิทธิ์์อีีกด้ � วย ้ ท่่านงามด้้วยศีีลจารวััตร เคร่่งพระธรรมวิินััย บิิณฑบาตร กวาดวััด สวดมนต์์ อันั เป็็นกิิจของสงฆ์์ท่่านมิิขาดเลย อีีกทั้้�งพ่่อท่่านเปี่่�ยมยัังเป็็น ศิิษย์์พี่่�พ่่อท่่านคล้้าย จนฺฺทสุุวณโณ จ.นครศรีีธรรมราช เมื่่�อพ่่อท่่าน คล้้ายมีีกิิจนิิมนต์์เดิินทางผ่่านวััดทุ่่�งหลวง พ่่อท่่านคล้้ายจะแวะกราบ นมััสการและสนทนาธรรมด้้วยเสมอ พ่่อท่่านคล้้าย เอ่่ยนามเรีียก หลวงพ่่อเปี่่�ยมว่่า “พี่่�หลวง” เพราะ หลวงพ่่อเปี่่�ยม มีีความอาวุุโสกว่่า พ่่อท่่านคล้้าย 7 ปีี ทั้้ง� อายุุและพรรษา หลวงพ่่อเปี่่�ยมยัังเป็็นผู้้�ส่่งเสริิมการศึึกษา สำำ�นักั วััดทุ่่ง� หลวง จึึงเป็็น ศููนย์์กลางด้้านการศึึกษา โดยตััวท่่านเอง จะเป็็นครููสอนหนัังสืือแก่่ เด็็กๆ รวมทั้้�งสอนนัักธรรมแก่ภิ่ ิกษุุสามเณรอีีกด้้วย
พระปลััดพรณรงค์์ วิช ิ โย เจ้้าอาวาสวััดทุ่่ง � หลวง
- 13 มิิถุุนายน พ.ศ. 2473 ได้้รัับการแต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาส วััดทุ่่�งหลวง โดยก่่อนหน้้าท่่านเป็็นรัักษาการเจ้้าอาวาสวััดทุ่่�งหลวง มาหลายปีี ตั้ง้� แต่่เริ่่ม� พััฒนาวััดร้้าง ชื่่อ� วััดโคกกรวด มาเป็็น วััดทุ่่ง� หลวง ก่่อนได้้รัับการแต่่งตั้�ง้ เมื่่�อ พ.ศ. 2473 - เป็็นพระอุุปััชฌาย์์ประจำำ�อำำ�เภอ มรณภาพ
พระอธิิการเปี่่�ยม อิินฺทสุุวณฺ ฺ ฺโณ หรืือ หลวงพ่่อเปี่่�ยม วััดทุ่่�งหลวง ได้้มรณภาพอย่่างสงบด้้วยความชรา ณ กุุฏิิของท่่าน วััดทุ่่�งหลวง ท่่ามกลางความโศกเศร้้าเสีียใจ ของบรรดาศิิษยานุุศิิษย์ที่์ ค�่ อยปรนนิิบัติั ิ อาการอาพาธ เมื่่�อวัันที่่� 13 มกราคม พ.ศ. 2499 เวลา 02.55 น. ตรง กัับวัันศุุกร์์ แรม 1 ค่ำำ�� เดืือน 3 ปีีมะแม สิิริิอายุุ 87 ปีี 67 พรรษา
ตั้้� งอยู่่�ตำำ�บลทุ่่�งหลวง อำำ�เภอเวีียงสระ
จัังหวััดสุุราษฎร์์ธานีี
SBL บันทึกประเทศไทย SURAT THANI
213
อุุทยานธรรมเขานาใน
อุุทยานธรรมเขานาใน
อุุทยานธรรมเขานาใน
Princess Park
Halal Hotel
Surat Thani
โรงแรม ปริ๊๊น � เซส ปาร์์ค นัับเป็็นโรงแรมกลางเมืืองร้้อยเกาะนามสุุราษฎร์์ธานีี ที่่�นี่่�ถืือได้้ว่่าเป็็นหนึ่่�งในความสะดวกสบาย ใกล้้ตััวเมืือง มีีความสงบ และเป็็นส่่วนตััว ภายในห้้องยัังสามารถมองชมวิิวทิิวทััศน์์รอบๆ โรงแรมได้้อย่่างสวยงาม นอกจากนี้้�เรามีีห้้องละหมาดบริิการฟรีีตลอดทุุกเวลา
FACILITIES
โรงแรม ปริ๊๊น � เซส ปาร์์ค แบ่่งห้้องพัั กเพื่่� อตอบสนองความต้้องการในการพัั กผ่่อนได้้หลากหลายรููปแบบ ตกแต่่งอย่่างทัันสมััย อีีกทั้้�งยัังดููอบอุ่่�นและโปร่่งสบาย นอกจากนี้้� เรายัังมีีร้้านอาหารในรสชาติิแบบปัักษ์์ใต้้ให้้บริิการคุุณด้้วย และหากคุุณกำำ�ลัังมองหาสถานที่่�ในการจััดประชุุม สััมมนา ที่่�นี่่�ก็็มีีบริิการพร้้อมโสตทััศนููปกรณ์์ที่่�ทัันสมััย
2 SBL
บันททึกปประเทศไทย I ฉะเชิงเเทรา
Breakfast Halal Food
Location Princess Park Hotel
ที่่อ � ยู่่� 19/19 ถนนเลี่่ย � งเมืือง ตำำ�บลมะขามเตี้้�ย อำำ�เภอเมืือง จัังหวััดสุุราษฎรานีี 84000 Get Direction
Madina restaurant
077-405-989 077-405-993 www.princessparkhotel.com
CHACHOENGSAO I SBL บัันทึึกประเทศไทย
2
ลํ�าสมัยไม่ตกเทรน คุณภาพคับเล่ม
WWW.SBL.CO.TH
www.ookbee.com/Magazine/SBLMAGAZINE www.issuu.com/sblmagazine SBL บันทึกประเทศไทย