นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดสงขลา ประจ�ำปี 2563
SONGKHLA สงขลา...เมืองสิงขร
EXCLUSIVE
นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา SONGKHLA CHARMING PLACES
เสน่ห์เมืองสองเล
พุทธมณฑล จังหวัดสงขลา
Vol.10 Issue 107/2020
www.issuu.com
.indd 3
22/5/2563 17:14:59
วัดคลองเรียน Khlong Rian Temple 2
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I
3
).indd 2
หลวงพ่อปาน ลิ้นดำ� Pastor Pan Lin dum พระมหาสันชัย ฐิตเมโธ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองเรียน Phra MahaSanChai Thitmetho He is an abbot of Khlong Rian Temple สงขลา
12/5/2563 14:43:15
วัดคลองเรียน ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 1 บ้านคลองเรียน ถนนศรีภูวนารถ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นราวปี พ.ศ.2210 จากค�ำบอกเล่า ของเจ้าอาวาสวัดคลองเรียนในสมัยก่อน เดิมเรียกวัดนี้ว่า “วัดคลองเวียน” เนื่องจากในอดีตเคยมีล�ำคลองเวียนรอบวัด ชาวบ้านจึงตั้งชื่อตามลักษณะ พื้ น ที่ ต่ อ มาจึ ง เพี้ ย นเป็ น “คลองเรี ย น” และที่ ส� ำ คั ญ วั ด คลองเรี ย น เป็นวัดแรกในอ�ำเภอหาดใหญ่ และเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนอีกด้วย Khlong Rian Temple is located at No. 1 Baan Khlong Rian Sri Phuwanat Road, Hat Yai District, Songkhla Province, this temple was built in 1667. Khlong Rian in the olden days known as "Wat Khlong Vien" because in the past there was a canal around the temple, so villagers named it after the area. Later became distorted as "Khlong Learn" The most important about Khlong Rien Temple is here is the first temple in Hat Yai district that also be a place to study.
อ่านต่อ หน้า 140 SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
3
).indd 3
3
12/5/2563 14:43:26
วัดควนเนียง ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ 3 ตำ�บลพะตง อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จากคำ�บอกเล่าของ พระครูปราโมทย์พัฒนกิจ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน ทราบว่า วัดควนเนียงมีอายุเก่าแก่เกินกว่า 200 ปี มีนายนุ้ย ได้บริจาคที่ดินประมาณ 100 กว่าไร่ เพื่อสร้างวัดแต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าเป็นปีใด วัดได้มีการพัฒนา มาเป็นลำ�ดับจนมีเจ้าอาวาสถึง 10 รูป
Facebook SBL
4
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
)
4-5.indd 4
12/5/2563 15:19:51
History of buddhism....
วัดควนเนียง วัดควนเนียงมีอายุเก่าแก่เกินกว่า 200 ปี พระครูปราโมทย์พัฒนกิจ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดควนเนียง
ประวัติพระครูปราโมทย์พัฒนกิจ
เกิดเมื่อวันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 บ้านเลขที่ 138 หมู่ 1 ต�ำบลชิงโค อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีนามเดิมว่า นายอิม่ ห้องโสภา เป็นบุตรของนายแฉ้ และนางกิ้ม ห้องโสภา ปัจจุบันอายุ 91 ปี พรรษา 70 วิทยฐานะ น.ธ.เอก พ.ศ. 2555 ได้รับแต่งตั้งให้ เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนควนเนียง ในวัยเยาว์จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ โรงเรียนวัด ตาหลวงคง(บ่อทอง) และไม่ได้ศึกษาต่อ จนกระทั่งได้บรรพชาและ อุปสมบทที่วัดธรรมโฆษณ์ ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา โดยมี พระครูธ รรมโฆษิต (พ่อท่านคง โกกนุ ตฺ โ ต) เป็ น พระอุปัชฌาย์ พระครูวิจิตรธรรมรัตน์ เป็น พระกรรมวาจาจารย์ และ พระแดง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ตามล�ำดับ ได้รับฉายา ฐิตปุญโญ ประวัติการศึกษา พระอิ่ ม ฐิ ต ปุ ญ โญ ได้ มุ ่ ง มั่ น ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรี-โท-เอก ต่อมาเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2519 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดควนเนียงจนถึงปัจจุบัน ได้รับการเลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระครูปราโมทย์พัฒนกิจ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2537 ส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร การบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บ.ส.) เมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2550 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนวัดควนเนียง เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
บันทึกร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ปัจจุบันนี้ทางวัดควนเนียงก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้างเจดีย์ ขอเชิญ ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย์ได้ที่ วัดควนเนียง ต�ำบลพะตง อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หรือ สอบถามรายละเอียดได้ที่ นายไมตรี อุทัยหอม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 โทรศัพท์ : 08-4750-1058 ธนาคารกรุงไทย วัดควนเนียง สาขาทุ่งลุง หมายเลขบัญชี 938-1-10075-6 SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
)
4-5.indd 5
5
12/5/2563 15:20:04
“เน้นความสะอาด เดินทางท่องเที่ยวสะดวก ไว้ใจเราด้านบริการ” Percayakan kami dalam kebersihan dan perkhidmatan
โรงแรมใจกลางเมืองสงขลาแห่งเดียว ที่ให้บริการรถบัคกี้น�ำเที่ยว อีกทั้งยังใกล้แหล่งท่องเที่ยว และร้านอาหารขึ้นชื่ออีกมากมาย มาพร้อมกับร้านค้าไวน์นานาชนิดให้ท่าน ได้เลือกดื่มด�่ำ ชมจันทร์ยามค�่ำคืน หรือจะชมหาดสมิหลาก็เดินทางแสนง่าย รวมทั้งยังอยู่ใกล้จุดชมวิวสงขลาอีกด้วย hotel terletak di dalam bandar. perkhidmatan buggy percuma di sekitar bandar. berhampiran tempat pelancongan dan restoran terkenal Hotel memperkenalkan dengan kedai wine dengan berbagai jenis dengan harga yang terbaik untuk anda menikmati sepanjang malam
ROOM RATE Standard Room ฿856 Superior Room ฿1,284 VIP Room ฿1,605 harga bilik
Bilik standard
Bilik superior
FACILITIES
บริการฟรี รถบัคกี้รับ-ส่ง ในตัวเมืองสงขลา Perkhidmatan ulang alik percuma di sekitar bandar บริการ Shuttle Airport perkhidmatan ulang alik ke lapangan terbang ลิฟต์ส่วนตัว lif peribadi untuk bilik istimewa kami สามารถรองรับผู้เข้าพักได้เป็นจ�ำนวนมาก ร่วมเครือกับ Montana Hotel Hotel mampu menampung sebilangan besar tetamu berfiliasi dengan hotel montana
มีบริการห้องครัว และโต๊ะท�ำงานให้ ในตัวทุกห้อง
Mempunyai dapur dan meja kerja di setiap bilik
บริการ Wifi Router ส่วนตัวฟรี Mempunyai penghala wifi peribadi di setiap bilik ให้บริการในส่วนร้านค้าเหล้า/ไวน์นานาชนิด Perkhidmatan kedai minuman dan makanan ringan บริการพื้นที่จอดรถฟรี Mempunyai ruang meletak kenderaan percuma terdekat kami ให้บริการด้านความปลอดภัย 24 ชม. Perkhidmatan Keselamatan 24 jam
6
สถานที่ท่องเที่ยว LOKASI TEMPAT PELANCONGAN MENARIK TERDEKAT หาดสมิหลา รูปปั้นนางเงือก Pantai Samila Patung Samila สถานีลิฟต์ เขาตังกวน (จุดชมวิวเมืองสงขลา) Stesen lif khao tang kuan สวนสองทะเล หัวพญานาค กรมหลวงชุมพรฯ
Taman di tepi Laut Kepala Naga dan tugu peringatan krom luang chumphon ถนนคนเดิน ก�ำแพงเมืองสงขลา (ศุกร์-เสาร์) Pasar Malam (Jumaat - Sabtu) วัดแหลมพ้อ (วัดพระนอน) Kuil Laem Pho Budha Tidur Ko Yor พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สงขลา Muzium nasional songkhla ย่านเมืองเก่า ถนนนางงาม Bandar lama Nangam Songkhla
วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร (วัดคู่บ้านคู่เมืองสงขลามากกว่า 300 ปี) Kuil Matchimawat Songkhla yang lebih dari 300 tahun สวนสาธารณะที่สวยที่สุดในประเทศไทย Taman yang paling terindah di thailand วัดเขากุฏิ เกาะยอ Kuil Khao Kuti Koh yo
The Luxury Hotel
SBL บันทึกประเทศไทย I 2/11 น่าน ถนนรามวิถี ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000
: Theluxury Hotel
Facebook SBL
(1
).indd 6
: Booking.com
Bilik VIP
: Theluxurysongkhla@gmail.com
TEL : 074-321977 มือถือ : 063-0819746, 063-0819747 20/5/2563 9:13:54
“โฮเทลที่ดีที่สุดในสงขลา เราใส่ใจทุกรายละเอียด ให้บริการประทับใจ เพราะคุณคือคนพิเศษ”
Hotel Terbaik Di Songkhla kami memperhatikan setiap perincian dan perkhidmatan yang mengagumkan
ให้วันพักผ่อนในสงขลาของคุณ เต็มไปด้วยรอยยิ้มและความสุข ตอบโจทย์ความต้องการของนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี Memenuhi keperluan pelancong sangat baik mebuatkan percutian anda penuh dengan kebahagian
Sparkling Wine Khas untuk bilik eksklusif แชมเปญพิเศษส�ำหรับห้อง exclusive
“ Warm, memorable and refined. A real experience to temember…”
FACILITIES
บริการฟรี รถบัคกี้รับ-ส่ง ในตัวเมืองสงขลา
Perkhidmatan buggy percuma di dalam bandar songkhla
บริการ Shuttle Airport Perkhidmatan ke lapangan terbang บริการจักรยาน Pekhidmatan Basikal percuma ลิฟต์ส่วนตัว Mempunyai Lif ไดร์เป่าผม Pengering rambut di setiap bilik ไมโครเวฟ Microwave ตู้เย็นขนาดเล็ก Peti Sejuk บริการชา/กาแฟ Kopi dan Teh เตารีด / โต๊ะรีดผ้า Seterika Dan Papan Seterika
บริการ Wifi Router ส่วนตัวฟรี
Mempunyai penghala wifi peribadi di setiap bilik
สามารถรองรับผู้เข้าพักได้เป็นจ�ำนวนมาก ร่วมเครือกับ The Luxury Hotel
Hotel mampu menampung sebilangan besar tetamu berafiliasi
dengan the luxury residence
มีบริการห้องครัว และโต๊ะท�ำงานให้ ในตัวทุกห้อง
Mempunyai dapur dan meja kerja di setiap bilik
บริการพื้นที่จอดรถฟรี Mempunyai ruang meletak kenderaan ให้บริการด้านความปลอดภัย 24 ชม.
Perkhidmatan Keselamatan 24 jam
Beyond Luxury Luxury room with modern interior design that gives you spaces to unwind and refresh, close to Samila beach and Songkhla Old Town. ต้อนรับด้วยความอบอุ่น ห้องพักกว้างขวาง หรูหรามีระดับ ดี ไซน์ทันสมัย ครบครั น ด้ ว ยสิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวก ระบบความ ปลอดภัยที่ ได้มาตรฐาน ใกล้หาสมิหลา และไม่ ไกลจากย่านเมืองเก่ามีบริการ รถคลาสสิกน�ำชมเมืองสุดเอ็กซ์คลูซีฟ Kami Menyediakan Perkhidmatan yang terbaik dan suasana yang indah dan harmoni untuk anda tidak dapat dilupakan ‘Biarkan kami menjadi kenangan yang terbaik anda’
Montana Hotel
24/3 ถ.สะเดา (ตรงข้ามจวนผู้ว่า) ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 : Montana Hotel Songkhla : Montana_hotel : Montana_hotel : www.montanahotelsongkhla.com
TEL : 074-300614, 074-300615, 063-0819746, 063-0819747 Montana Hotel (1
).indd 7
7
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย Facebook SBL
20/5/2563 9:03:45
“หนีความวุ่นวาย มาเอนกายสูดอากาศธรรมชาติกันเถอะ เที่ยวได้ทุกวัน สงขลาใกล้เเค่นี้เอง”
THE BED
VACATION RAJAMANGALA HOTEL
อยากพักผ่อนใกล้ชิดทะเล ให้ โรงเเรมเดอะเบด เวเคชั่น ราชมังคลา สงขลา เป็นทางเลือกของคุณสิคะ ห้องพักตกเเต่งสไตล์ โมเดิร์น เน้นความเป็นธรรมชาติ มีมุมพักผ่อนไว้จิบชายามบ่าย จิบไวน์ยามเย็น อากาศถ่ายเทสะดวก ที่ส�ำคัญโรงเเรมของเรา ปลอดบุหรี่ 100% ปลอดภัย ตอบโจทย์ส�ำหรับการพักผ่อนเเบบครอบครัวอย่างเเน่นอน
8
The Bed Vacation
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
1.50
& The Bed Hatyai 0.5
.indd 8
13/5/2563 11:08:26
ตื่นปุ๊ป เดินลงสระปั๊ป ฟินๆ เพียงแค่ ไม่กี่ก้าวจากห้องพัก ก็ ถึ ง สระว่ า ยน�้ ำ หลั ง ห้ อ งเเล้ ว คู ่ รั ก ท่ า นใดที่ ก� ำ ลั ง มองหาที่ พักผ่อน ขอแนะน�ำห้อง DELUXE POOL ACCESS ห้องพัก ติดสระว่ายน�้ำ บรรยากาศสุดฟิน แล้วมารับลมทะเลกันนะคะ
THE BED VACATION RAJAMANGALA HOTEL เลขที่ 3 ถนนชลาทัศน์ ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 WWW.THEBEDVACATION.COM
THE BED VACATION
+66(0)90-674-4444 +66(0)87-674-4444
Facebook SBL
THE BED HATYAI “เดอะเบด หาดใหญ่ โรงแรมสไตล์ ใหม่ ใจกลางเมืองหาดใหญ่” ด้ ว ยแนวคิ ด “นอนหลั บ ฝั น ดี ” อาคารของเดอะเบดจึ ง ออกแบบเป็น “มุ้ง” พักผ่อนในโรงแรมเดอะเบด หลับสบาย ด้วย กรีนทีอโรม่า และนิทานก่อนนอน
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
The Bed Vacation
1.50
เครื่องปรับอากาศ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ทีวีจอ LED 32 นิ้ว ชุดเครื่องนอนคุณภาพเยี่ยม มินิบาร์และขนมขบเคี้ยว ฟรี WI-FI บริการรถรับ – ส่ง จากสนามบินนานาชาติหาดใหญ่ 400 บาท บริการอาหารเช้า ระบบรักษาความปลอดภัย ลานจอดรถ เจ้าหน้าที่ 24 ชม.
& The Bed Hatyai 0.5
.indd 9
170/1-2 ถนนศุภสารรังสรรค์ ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ สงขลา 90110 074-237-678 THE BED HATYAI HOTEL NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 9
โทรศัพท์ : 089-5996555 , 087-4788555 , 074-237679
13/5/2563 11:08:38
Sing Golden Place Hotel “บริการประทับใจ ห้องพักสะอาด เดินทางสะดวก ใกล้แหล่งช้อปปิ้ง กินเที่ยวสบายใจ”
พร้อมให้บริการ ห้องพัก งานประชุม งานมงคล งานเลี้ยงสังสรรค์ ในราคาที่คุณจับต้องได้
ร้านอาหารขึ้นชื่อ อยู่บริเวณ โรงแรม ข้าวต้มนายยาว 150 เมตร ร้านอาหารกันเอง 200 เมตร ก๋วยเตี๋ยวเป็ ดหนานหยวน 150 เมตร ก๋วยเตี๋ยวกรหมี่ไก่ 200 เมตร เกาเหลานายตี๋ 100 เมตร โชคดีติ่มซ�ำ 300 เมตร
โรงแรม สิงห์ โกลเด้น เพลส (Sing Golden Place Hotel) 16/1 ถนนผดุงภักดี ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 16/1 Padungpakdee Rd., Hatyai, Songkhla. 90110 reservation@singgoldenplace.com 0882589350 Sing Golden Place Hotel 10 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
TEL : +66(0)74-232333, +66(0)88-2589350 1
.indd 10
Line @
map
Facebook SBL
13/5/2563 11:12:21
โรงแรมกรีนเวิลด์ พาเลซ สงขลา Green World Palace Hotel
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สระว่ายน�ำ้ อินเตอร์เน็ตไร้สาย มีเราเตอร์ ส่วนตัวทุกห้อง บริการซักรีด บริการอาหารและเครื่องดื่ม
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง บริการนวดแผนไทย ระบบรักษาความปลอดภัย ตลอด 24 ชัว่ โมง ลานจอดรถรองรับได้หลายคัน และสามารถจอดรถทัวร์ได้
แหลมสมิหลา หาดชลาทัศน์ เก้าแสน หัวนายแรง ย่านเมืองเก่า ถ. นางงาม STEER ART โรงสีแดง ถนนคนเดิน (เฉพาะวันศุกร์-เสาร์) สนามกีฬาติณสูลานนท์
วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร (วัดกลาง) พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ สถานีขนส่งผูโ้ ดยสาร เกาะยอ วัดท้ายยอ มรดกโลก วัดแหลมพ้อ
โรงแรมกรีนเวิลด์ พาเลซ (Green World Palace Hotel) เลขที่ 99 ถนนสามัคคีสุข 2 ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 : gwsongkhla@gmail.com : โรงแรมกรีนเวิลด์พาเลซ : Greenworld Palace
TEL : 074-307180-5 FAX : 074-307186-7 (1
).indd 11
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
11
Facebook SBL
13/5/2563 11:22:06
HATYAI SIGNATURE HOTEL Hatyai Signature Hotel is located in Hat Yai District, Songkhla Province, where is the important city of trade, investment and tourism. Hatyai Signature Hotel would like to present tourists the authenticity of Songkhla. Therefore, many tourist attractions and cultures are collected to represent the identity of the tourism in Songkhla through the different design of each room, as well as there are many pictures on the wall over the beds such as the Songkhla old city, Samila Beach, Sino Portuguese old buildings and Gimyong Market. Signature Hatyai Hotel is near the department stores, Central Festival and Diana, only 10 minutes by car. It is also convenient to go to Hat Yai Airport and Sadao Immigration Border from the hotel. In addition, there are full facilities to meet tourists’ needs, for example, Signature by Larn Ta Chu by Signature, a coffee bar, a fitness gym, a swimming pool, the Internet and safes. To facilitate customers to travel to the airport, the hotel can provide free pick-up and sending cars. Specially, a shuttle service is provided for the hotel’s customers to go shopping at Gimyong Market.
HATYAI SIGNATURE HOTEL
12
44 Noppakaow-rimmueng Road., Kor Hong, Hatyai, Songkhla 90110 : Hatyai Signature Hotel www.hatyaisignaturehotel.com
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน: contact@hatyaisignaturehotel.com
HATYAI SIGNATURE HOTEL
(1
).indd 12
TEL : 074 598 015-6
Facebook SBL
13/5/2563 10:56:37
“ยิ้มแย้มแจ่มใส ใส่ใจบริการ”
Hatyai Paradise Hotel & Resort หาดใหญ่ พาราไดส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท
หาดใหญ่ พาราไดส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท ตั้งอยู่ใกล้ตัวเมือง ใกล้ตลาดกิมหยง ห้องประชุมทั้งหมด 7 ห้อง ตั้งแต่ 50 ท่าน จนถึง 600 ท่าน มีห้องพักถึง 212 ห้อง
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่จอดรถกว้างขวาง ห้องอาหาร เคเบิ้ลทีวี กาต้มน�ำ้ ไฟฟ้า
ตูเ้ ย็ น มินิบาร์ ห้องอาบน�ำ้ ที่มาพร้อมอ่างอาบน�ำ้ และฝั กบัว FREE : WI-FI
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง มีสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ ตลาดน�ำ้ คลองแห วัดหาดใหญ่ใน
หาดใหญ่ พาราไดส โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท
99 ถนนราษฏ์อุทิศ ซอยเลื่อนอนุสรณ์ (เขต 8) ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ สงขลา 90110 : 074-255999 : Hatyai Paradise Hotel & Resort
Facebook SBL NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 13
TEL : 081-5981229, 074-363481-2 1
.indd 13
13/5/2563 11:10:41
กึ่งกลางระหว่าง-สงขลา-หาดใหญ่
เอนกาย สบาย รีสอร์ท “บรรยากาศ สบาย สบาย ติดถนนใหญ่”
เอนกาย สบาย รี ส อร์ ท ห้ อ งพั ก ที่ ถู ก ออกแบบมาในสไตล์ โ มเดิ ร ์ น ลอฟท์ คลาสสิค รายล้อมไปด้วยแหล่งท่องเที่ยว ร้านอาหารชื่อดังในหาดใหญ่และสงขลา ห้องนอนกว้าง สะอาด ปลอดโปร่ง ห้องน�้ำแบบ open และโซนน�้ำอุ่น มีแอร์ ทีวี ตู้เย็น เครื่องท�ำน�้ำอุ่น ที่จอดรถส่วนตัวถึงหน้าห้อง มีพนักงานบริการตลอด 24 ชั่วโมง ที่พร้อมดูแลท่านอย่างเต็มที่
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง ทีวี แอร์ ตูเ้ ย็ น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น ฟรี WI-FI ที่จอดรถส่วนตัว
14
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
(1
).indd 14
ตลาดน�ำ้ คลองแห เพียง 5 กม. หาดใหญ่แหล่ง SHOPPING เพียง 8 กม. แหลมสมิหลา เพียง 18 กม. เขาตังกวน เพียง 18 กม. แหล่งเมืองเก่า ถนนนครนอก-นครใน เพียง 17 กม. เกาะยอ เพียง 5 กม.
เอนกายสบายรีสอร์ท AneGuy Sabai Resort 191 หมู่ 7 ถ.ลพบุรีราเมศร์ ต.น�ำ้ น้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
TEL : 081-598-9882, 093-582-7191
Facebook SBL
13/5/2563 10:58:50
EDITOR’S
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
บรรณาธิการงานบุคคล นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
จังหวัดสงขลามีทรัพยากร ทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีเสน่ห์ทางวัฒนธรรมเมือง เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจการค้า ที่ส�ำคัญของจังหวัดภาคใต้ เป็น แหล่งช้อปปิ้งของชาวไทยและ ต่างชาติ การมาเยือนสงขลา ถ้าใช้เวลาเพียงวันเดียวคงไม่พอ แน่นอนครับ
ถ้าพูดถึงจังหวัดสงขลา หลานท่านอาจจะนึกถึงภาพ ของนางเงือกที่ริมหาดสมิหลา สัญลักษณ์ประจ�ำจังหวัด จริงๆ แล้วจังหวัดสงขลาไม่ได้มีนางเงือก และหาดสมิหลาธรรมชาติที่สวยงาม เพียงเท่านี้ แต่ยังมีความมหัศจรรย์ อีกตั้งมากมายหลายอย่าง SBL บันทึกประเทศไทยฉบับนี้ ขออาสาพาไปสัมผัสเสน่ห์ของ เมืองสองเล ครับ
ส�ำหรับนักเดินทางที่ชื่นชอบ การชิม&ช้อป บอกเลยครับว่า สงขลาคือ “Food City” ที่นักชิมไม่ควรพลาด เพราะ ทุกตรอกซอกซอยของเมืองสงขลา และหาดใหญ่ มีอาหารอร่อยๆ ทุกประเภทให้ได้ลิ้มลองกันแบบ ไม่ซำ�้ เลยครับ
Editor's talk.indd 15
18/5/2563 9:29:59
CONTENTS
EXCLUSIVE 37 GOVERNOR
นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
46 SONGKHLA VICE GOVERNOR
นายอ�ำพล พงศ์สุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
48 SONGKHLA VICE GOVERNOR
นางสุรียพรรณ์ ณ สงขลา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
50 SONGKHLA VICE GOVERNOR
นายสมหวัง เรืองเพ็ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
52 SONGKHLA VICE GOVERNOR
นายนฤทธิ์ มงคลศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
Editor's talk.indd 16
ISSUE 107 สัมผัสเสน่ห์เมืองสองเล...สงขลา จังหวัดสงขลา 2563
54 SONGKHLA PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
นายพนมเทียน เส้งวั่น ท้องถิ่นจังหวัดสงขลา
56 SONGKHLA PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
WORK LIFE 78 เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
นายประสงค์ บริรักษ์ นายกเทศมนตรีเมืองเขารูปช้าง
84 เทศบาลต�ำบลบางเหรียง
นายเวียง จันทฤทธิ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลบางเหรียง
นางสาวสุภาพร เกตุสุริยงค์ 86 เทศบาลต�ำบลคูหาใต้ นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการพิเศษ นายประกอบ จันทสุวรรณ รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการ นายกเทศมนตรีต�ำบลคูหาใต้ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสงขลา
58 สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ
สั่งสมและสร้างสรรค์ความรู้ เชิดชูภูมิปัญญา เพื่อพัฒนาสังคม
TRAVEL 66 SONGKHLA CHARMING PLACES
เสน่ห์เมืองสองเล
88 องค์การบริหารส่วน ต�ำบลตลิ่งชัน
นายเจะโส๊ะ หัดเหาะ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตลิ่งชัน
92 องค์การบริหารส่วน ต�ำบลดีหลวง
ว่าที่ร้อยตรี พันธ์ศักดิ์ ศรีอ่อน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วน ต�ำบลดีหลวง
18/5/2563 9:30:03
96 องค์การบริหารส่วน ต�ำบลคลองรี
นายขนบ แท่นประมูล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองรี
98 องค์การบริหารส่วน ต�ำบลคลองหรัง
นายบ�ำรุง พรหมเจริญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง
HISTORY OF BUDDHISM 100 102 106 110 112 114 116 120 121
Editor's talk.indd 17
วัดชัยมงคล พระอารามหลวง วัดโพธิ์ปฐมาวาส พระอารามหลวง วัดแจ้ง วัดหัวป้อมใน วัดดอนรัก(ธ) วัดเขาเก้าเสน(ธ) วัดโคกสมานคุณ พระอารามหลวง พุทธมณฑลจังหวัดสงขลา วัดม่วงค่อม
122 126 134 138 140 142 145 146 150 154 158 162 164 166 168 170 172 174 176 178 180 182
วัดมหัตตมังคลาราม (วัดหาดใหญ่ใน) วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) วัดคลองเปล (วัดน�ำ้ ผุด) วัดควนลัง วัดคลองเรียน วัดท่าแซ วัดควนโส วัดโคกเหรียง วัดเลียบ วัดปลักคล้า วัดโคกม่วง วัดในวัง พระอารามหลวง วัดนาทวี วัดท่าเมรุ วัดคงคาเลียบ วัดราษฎร์บ�ำรุง วัดสามบ่อ วัดเฉียงพง วัดเถรแก้ว วัดสีหยัง วัดพระเจดีย์งาม วัดใหม่ทุ่งคา
184 186 188 190 191 192 196 198 200 202 204 208 215 216 217 219 220 222 226 231 232 233
วัดห้วยหลาด วัดยางทอง วัดพังลา วัดเขามีเกียรติ วัดม่วงก็อง วัดหลักเขต วัดวังปริง วัดศรีวิเทศสังฆาราม วัดสันติวรคุณ วัดบ่อเกตุ วัดธรรมโฆษณ์ วัดเขาน้อย วัดสลักป่าเก่า (วัดเก่า) วัดอรุณดาราราม วัดแหลมจาก วัดคงคาเลี้ยว วัดห้วยพุด(ธ) วัดพะโคะ วัดจะทิ้งพระ วัดคูขุด วัดประดู่หอม วัดสุวรรณาราม
25/5/2563 9:14:20
Magazine คณะผู้บริหาร นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์, พลเอกสรชัช วรปัญญา, ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์, ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์, ดร.ชาญ ธาระวาส, ดร.สุมิท แช่มประสิท, ดร.วัลลภ อารีรบ, ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด, ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์,ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา, ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล, วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
ฝ่ายประสานงานโครงการภาครัฐและเอกชน ผู้จัดการ กิตติชัย ศรีสมุทร, ทวัชร์ ศรีธามาศ, อัครกฤษ หวานวงศ์, ภูษิต วิทยา
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
คณะทีมงาน ธนิน ตั้งธ�ำรงจิต, ถาวร เวปุละ, พุฒิธร จันทร์หอม, อมร อนันต์รัตนสุข, นิรุจน์ แก้วเล็ก, สุษฎา พรหมคีรี, พร้อมพงศ์ สืบด้วง, สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์
ฝ่ายประสานงานข้อมูล ศุภญา บุญช่วยชีพ, นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค นักเขียน มนสิกุล โอวาทเภสัชช์
ฝ่ายศิลปกรรม ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดี ไซน์ พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์, วรเชษฐ สมประสงค์, อนุธิดา ค�ำหล้า
ช่างภาพ ปณต ปิติจารุวิศาล, กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์, ธีระพงษ์ ธรรมเจริญ
ตัดต่อวีดีโอ วัชรกรณ์ พรหมจรรย์
ฝ่ายบัญชี / การเงิน บัญชี ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
การเงิน ชวัลชา นกขุนทอง, สุภาวรรณ สุวรรณวงค์
9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171
www.sbl.co.th
Editor's talk.indd 18
18/5/2563 9:30:09
Editor's talk.indd 19
18/5/2563 9:30:12
LEEVANA HOTEL
หากคุณก�ำลังมองหาที่พัก สงบส่วนตัว อุ่นใจ สบาย พร้อมบริการตลอด 24 ชั่วโมง รับรองว่าวันหยุดพักร้อนของคุณจะไม่สะดุด โรงแรมลีวาน่า หาดใหญ่ คืออีกหนึ่งทางเลือก
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ห้องพัก
78 ห้อง ห้องอาหารและ บาร์/เลานจ์ ฝ่ ายต้อนรับ 24 ชัว่ โมง เครื่องปรับอากาศ บริการท�ำความสะอาดทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ ร้านขายของช�ำ/ร้านสะดวกซื้อ บริการซักรีด ที่ฝากกระเป๋ าเดินทาง ทีวีในส่วนกลาง ห้องจัดเลี้ยงรับรอง WI-FI และที่จอดรถฟรี
20
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
).indd 20
14/5/2563 13:28:55
โรงแรมลีวาน่า (LEEVANA HOTEL) ตั้งอยู่ ในย่านบันเทิง ภายในระยะ 3 กม. ห่างจากโรงพยาบาลหาดใหญ่ ศูนย์การค้ากิมหยง และหาดใหญ่พลาซ่า ส่วนโอเชี่ยนช้อปปิ้งทาวน์ และศูนย์การค้า ลี การ์เดนส์ พลาซ่า อยู่ห่างจากโรงแรมไปไม่เกิน 5 กม. ARE YOU LOOKING FOR A PEACEFUL, SAFE AND COZY PLACE WITH 24-HOUR FRIENDLY SERVICE FOR YOUR VACATION IN HATYAI? LEEVANA HOTEL IS JUST WHAT YOU ARE LOOKING FOR!
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
(2
ศูนย์การค้า ลี การ์เดนส์ พลาซ่า - 3.4 KM หาดใหญ่พลาซ่า - 2.9 KM หอนาฬิกา - 2.9 KM ส�ำนักงานเทศบาลนครหาดใหญ่ - 2.2 KM
).indd 21
โรงแรมลีวาน่า (LEEVANA HOTEL) ตลาดกิมหยง - 2.8 KM โรงพยาบาลหาดใหญ่ - 1.7 KM น�ำ้ พุหาดใหญ่ - 2.7 KM โอเชี่ยนช้อปปิ้ งทาวน์ - 3.0 KM
Facebook SBL 738 ถนนราชอุทิศ หาดใหญ่นอร์ธ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ประเทศไทย 90110 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย 21 tel : 07436333 , 0973577333
: LEEVANAHOTEL
LEEVANAHOTEL
14/5/2563 13:29:05
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 25/11/2562 09:25:59 AM
ธารินทร์โฮเต็ล (TARIN HOTEL)
“ที่พักหรูสไตล์โมเดิร์นท่ามกลางบรรยากาศ ธรรมชาติ ที่ แ รกแห่ ง เดี ย วในอ� ำ เภอเมื อ งระโนด พร้อมไปด้วยกิจกรรม และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อย่างครบครัน ทีร่ อให้คณ ุ มาสัมผัส และเพลิดเพลิน ไปกับเรา อันเปรียบเสมือน “เรือส�ำราญ” ที่จะล่อง พาคุ ณ ไปเติ ม เต็ ม วั น หยุ ด พั ก ผ่ อ นธรรมด๊ า ธรรมดา ให้เป็นวันหยุดอันสุดแสนพิเศษ ซึ่งหวน ให้คุณต้องกลับมาสัมผัสอีกครั้งอย่างแน่นอน”
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ทีวี แอร์ ตูเ้ ย็ น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น ฟรี WI-FI สระว่ายน�ำ้ กลางแจ้ง
ธารินทร์ โฮเต็ล (TARIN HOTEL)
ห้องฟิ ตเนส ห้องอาหาร ห้องคาราโอเกะ ห้องประชุมสัมมนา ลานจอดรถ ปากซอยมีเซเว่น
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง ตลาดน�ำ้ คลองระโนด 1 กม. ชายทะเลปากแตระ 4 กม. ตลาดน�ำ้ คลองแดน 10 กม. สะพานเอกชัยหรือสะพานเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 15 กม. เกาะใหญ่แกรนด์แคนยอน 24 กม.
116/1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา 90140 Facebook : ธารินทร์ โฮเต็ลระโนด
TEL : 074-392538, 074-300296, 061-7160954, 094-0481626
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
23
Facebook SBL
1
.indd 23
13/5/2563 11:19:16
กึ่งกลางระหว่าง-สงขลา-หาดใหญ่
โรงแรมเจทู สงขลา “ J2 ไม่หรู อยู่สบาย ”
เราเป็นโรงแรมเล็กๆ ในสงขลา ให้ความส�ำคัญกับลูกค้าผู้มาเยือน เพราะคุณคือคนส�ำคัญของเรา We are a small hotel in Songkhla. Pay attention to the customers visitors, because you are the special person. ห่างจากตัวเมืองสงขลา 14 กม. จากตัวเมืองหาดใหญ่ 14 กม.
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
แอร์ ตูเ้ ย็ น เคเบิ้ลทีวี เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น สัญญาณ INTERNET สะดวกสบายตรงข้ามปั้ ม ปตท. 7-ELEVEN เทสโก้โลตัสเอ็ กซ์เพรส บิ๊กซี มินิ ตลาดนัดสัปดาห์ละ 4 วัน
โรงแรมเจทู สงขลา (J2 Songkhla Hotel) ที่อยู่ 132/1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลพะวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100 J2 Songkhla Hotel
เกาะยอ สถาบันทักษิณคดีศึกษา สะพานติณสูลานนท์ วัดแหลมพ้อ สวนสัตว์สงขลา หาดสมิหลา สงขลา ถนนคนเดินสงขลาเมืองเก่า สวนสาธารณะ หาดใหญ่ ตลาดกิมหยง หาดใหญ่
Facebook SBL
TEL : 095-0752075, 081-2762099 รับจัดท�ำขันหมาก โทร.081-8911815 กระหรี่ปั๊ป ปั้นขลิบ
24
(1
ขนมเปี๊ยะ
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
).indd 24
13/5/2563 11:01:16
ไม้งามรีสอร์ท MAI NGAM RESORT
“พักไม้งาม ตามสบาย เหมือนบ้านคุณ”
สิง่ อำ�นวยความสะดวก แอร์ ทีวี,กล่องรับสัญญาณ ตูเ้ ย็ น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น อ่างอาบน�ำ้ มีพื้นที่กลางแจ้งให้ลกู ค้า พักผ่อนตามอัธยาศัย
ไม้งามรีสอร์ท (MAI NGAM RESORT) 479/1 หมู่ที่ 3 ต�ำบลพะวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
Tel : 083-8175506
เตาปิ้ ง-ย่าง(แจ้งพนักงานล่วงหน้า) ที่จอดรถหน้าห้องพัก สามารถน�ำสุนัขมาพักได้ ฟรีอินเตอร์เน็ตไร้สาย(WI-FI) บริการซัก-รีด บริการกาแฟ FREE ร้านอาหาร,เครื่องดื่ม
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง ชายหาดแหลมสมิหลา สวนสัตว์สงขลา ตลาดกิมหยง
เกาะยอ ถนนคนเดินสงขลา
Facebook SBL
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 25
25
13/5/2563 11:06:35
วังรัก การ์เด้น ฮิลล์ “ธรรมชาติเหนือค�ำบรรยาย” สิ่งอ�ำนวยความสะดวก แอร์ / พัดลม ตูเ้ ย็ น ทีวีพร้อมสัญญาณดาวเทียม เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น กาน�ำ้ ร้อน FREE WI-FI ห้องพักส�ำหรับ 2 ท่าน และห้องพัก ส�ำหรับ 4 ท่าน และห้อง FAMILY (ขนาด 20 ท่าน)
ห้องพักส่วนตัวที่โอบกอดไปด้วยต้นไม้และธรรมชาติอันเขียวชอุ่ม นอนฟังเสียงน�้ำตก และนกนานาพันธุ์ ห้องพักซึ่งมีร้านอาหารให้ท่านนั่งชิลล์ๆ กับธรรมชาติได้เลย เหมาะกับ ครอบครัวที่ต้องการสูดไอกลิ่นของน�้ำตก
วังรัก การ์เด้น ฮิลล์
ตั้งอยู่เลขที่ 15 หมู่ที่ 1 ต�ำบลควนรู อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
26
โทรศัพท์ : 084-9643954 , 090-2234322 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
&
.indd 26
วังแร่รีสอร์ท
Facebook SBL
18/5/2563 10:54:13
ร้านอาหารห้อยขาวังแร่@รัตภูมิ เมนูแนะน� ำ
กะพงสมุนไพร
แกงส้มปลาขี้ตังเขากัน
กุ้งแม่น้ �ำราดซอสมะขาม
บริ ก ารอาหาร พื้ น บ้ า นปั ก ษ์ ใ ต้ หลากหลายเมนู ใ ห้ ท ่ า นเลื อ ก และมี ทั้ ง อาหาร ไทย –จีน –อีสาน บริการ และให้ท่านเลือกทานอาหารในบรรยากาศริมน�้ำตก นั่งทาน ท่ามกลางเสียงน�้ำตก และต้นไม้อันเขียวชอุ่ม ร่มรื่น อากาศดี อาหารอร่อย นั่งสูดอากาศ บริสุทธิ์ พร้ อ มรองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว กรุ ๊ ป ทั ว ร์ จั ด เลี้ ย งต่ า งๆ เรามี ล านจั ด เลี้ ย งพร้ อ ม คาราโอเกะ บริการท่านได้ถึง 100 ท่าน มีอาหารรองรับลูกค้าถึง 3 ชั้น บริการเป็นกันเอง ที่จอดรถสะดวก สบาย
ร้านอาหารห้อยขาวังแร่@รัตภูมิ ตั้งอยู่เลขที่ 15 หมู่ที่ 1 ต�ำบลควนรู อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา เวลาเปิด – ปิด 9.00น. – 21.00น. : ร้านอาหารห้อยขาวังแร่ & คาเฟ่
โทร.084-9643954
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
&
.indd 27
Facebook SBL
27
21/5/2563 15:53:27
UNDER HIS GRACIOUSNESS บันทึกเส้นทางใต้ร่มพระบารมี
HIS MAJESTY PROJECT FORBETTER LIFE OF COUNTRYPEOPLE โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำคลองจ�ำไหรและคลองหอยโข่ง อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ เมื่อปลายเดือนกันยายน พ.ศ.2524 พ.ต.ณรงค์เดช นันทโพธิ์เดช ได้น�ำพระราชด�ำริ ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เกีย่ วกับ การพัฒนาลุ่มน�้ำคลองจ�ำไหรและคลองหอยโข่ง มาให้ส�ำนักชลประทานที่ 9 (จังหวัดชลบุรี) เพื่อพิจารณาในการจัดหาน�้ำเพื่อการอุปโภค – บริโภค และการเกษตรกรรมให้กับราษฎรใน พื้นที่ต�ำบลคลองหอยโข่งและบางส่วนของต�ำบลทุ่ง ลาน อ�ำเภอคลองหอยโข่ง ปัจจุบันแยก การปกครองเป็นอ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ประกอบกับหน่วยทหารของ ร.5 พัน 4 ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกองพลพัฒนาที่ 4 (ค่ายรัตนพล) ได้ ไปตั้งหน่วยอยู่ในเขตบริเวณดังกล่าว ซึ่งขาดแคลนน�้ำในการอุปโภค
28
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 28
22/5/2563 17:25:47
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 29
29
22/5/2563 17:25:49
ที่ตั้งโครงการ
โครงการพัฒนาลุ่มน�้ำคลองจ�ำไหรและคลองหอยโข่ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งยูง ต�ำบลคลองหอยโข่ง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดขลา ห่างจากอ�ำเภอหาดใหญ่ ประมาณ 30 กม. มีเส้นทางเดินทางเข้า โครงการได้ 2 ทาง คือ แยกจากทางหลวงสายหาดใหญ่ – สะเดา ที่เทศบาลต�ำบลพะตง มาตามถนน รพช. หมายเลข 11033 ระยะทาง 11 กม. เป็นทางลาดยาง ตลอดถึงสามแยกบ้านเหนือแยกเข้าโครงการฯ ตามถนนบนคันคลอง อีกประมาณ 5.5 กม. แยกจากทางเข้าสนามบิน (ทางหลวงหมายเลข 4135 ) ตาม ถนนชูพนั ธ์ ผ่านกองบิน 56 ระยะทางประมาณ 12 กม. ถึงสามแยกบ้าน เหนือ แยกเข้าโครงการฯ ตามถนนบนคันคลองอีกประมาณ 5.5 กม. ทั้ง 2 เส้นทางดังกล่าว สามารถใช้การคมนาคมได้ตลอดทั้งปี
สภาพภูมิอากาศ
สภาพพื้นที่โดยทั่วไปในเขตโครงการ มีลักษณะเป็นดินปนทราย บริ เวณหั ว งานโครงการและพื้ น ที่ ส ่ ง น�้ ำ เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม น�้ ำ ระหว่ า ง คลองจ�ำไหรและคลองหอยโข่ง ตอนปลายจะไหลลงสู่คลอง อู่ตะเภา บริเวณอ่างเก็บน�้ำคลองจ�ำไหรเป็นที่ราบเชิงเขา มีสภาพเป็นสวนยาง ปนป่า คลองจ�ำไหรมีต้นก�ำเนิด จากน�้ำตกผาด�ำ บนเทือกเขาแก้ว ซึง่ มีพรมแดนติดต่อระหว่างอ�ำเภอคลองหอยโข่ง อ�ำเภอสะเดา อ�ำเภอ รัตภูมิ และอ�ำเภอควนโดน จังหวัดสตูล คลองจ�ำไหร ไหลผ่านต�ำบล คลองหอยโข่ง ต�ำบลโคกม่วง ต�ำบลทุ่งลาน ก่อนจะไหลลงสู่คลอง อู่ตะเภา และทะเลสาบสงขลา
วัตถุประสงค์โครงการ
เพื่อการเกษตรกรรมและการอุปโภค-บริโภค ทั้งนี้เนื่องจากใน ฤดูแล้งปริมาณน�้ำในเขตดังกล่าวขาดแคลนบ่อน�้ำที่ขุดไว้ใช้ ตาม หมู่บ้านต่างๆ จะมีความลึกเฉลี่ยประมาณ 12-15 ม. และมีปริมาณน�ำ้ ไม่เพียงพอจึงไม่สามารถท�ำการเกษตรกรรมได้ ทางฝ่ายทหารและ ทางราษฎรต้องการให้มีที่สำ� หรับการเกษตรกรรมในฤดูแล้ง
30
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 30
22/5/2563 17:25:52
ประโยชน์ที่ได้รับ
ช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการ ได้ 8,000 ไร่ ในฤดูแล้งได้ 4,000 ไร่ จัดหาน�ำ้ เพือ่ การอุปโภค - บริโภค แก่ราษฎร และทหารค่ายรัตนพล จ�ำนวน ประมาณ 500 ครอบครัว เพื่อบรรเทาอุทกภัยในเขต อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ใช้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลาน�ำ้ จืด ใช้ เ ป็ น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ ของ อ�ำเภอคลองหอยโข่ง และใกล้เคียง
ปัจจุบนั กลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ โครงการมีการบริหารกลุม่ ผูใ้ ช้นำ �้ โดยกลุม่ บริหารการใช้นำ�้ โครงการ เป็น หลักเพื่อบริหารกลุ่มผู้ใช้นำ�้ ชลประทาน (กลุ่มพื้นฐาน) จ�ำนวน 7 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คลองส่งน�้ำสายใหญ่ กม.1+800- กม. 2+100a กลุ่มที่ 2 คลองส่งน�้ำสายใหญ่ กม. 2+850-กม. 3+650 กลุ่มที่ 3 คลองส่งน�้ำสายใหญ่ กม. 4+120-กม. 4+310 กลุ่มที่ 4 คลองส่งน�้ำสายใหญ่ กม. 4+690-กม.5+660 และคลองซอย 5ขวา กม.0+680 กม.0+890 กลุ่มที่ 5 คลองซอย 1ขวา กม.1+260-กม.1+880 กลุ่มที่ 6 คลองซอย 3ขวา กม.3+180-กม.3+653 กลุ่มที่ 7 คลองแยกซอย 1ซ้าย กม.0+0174-กม.0+830 ด้วยพระบารมีปกเกล้า ท�ำให้ราษฎรไทยในพื้นที่ที่ขาดแคลนน�้ำ ได้มีน�้ำเพาะปลูกท�ำการ เกษตรและอุปโภค-บริโภค รวมทั้งยังเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา และใช้เป็นพื้นที่พักผ่อนหย่อน ใจของประชาชนใกล้เคียง ขอบคุณข้อมูล : ส�ำนักงาน กปร. SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 31
31
22/5/2563 17:25:55
NICE VILA RESORT
“ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติ บริการบ้านพักสไตล์ครอบครัว”
วิลล่าออกแบบและตกแต่งเป็นเอกลักษณ์ โดดเด่นเฉพาะตัว พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวก อาทิ
32
NICE VILA RESORT
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
98/2 หมู่6 ต.ทุ่งขมิ้น อ.นาหม่อม จ.สงขลา
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก
อินเตอร์เน็ต WI-FI สระว่ายน�ำ ้ ฟิ ตเนส ห้องประชุมสัมมนา จัดเลี้ยง คาราโอเกะ อุปกรณ์ประกอบอาหารภายในวิลล่า
สถานที่ท่องเที่ยวใกล้เคียง
CENTRAL FESTIVAL ม.อ.หาดใหญ่ สนามบินนานาชาติ ควนคานหลาว สนามไดร์ฟกอล์ฟ
Facebook SBL
The Nice Villa Resort & Café De Nice.indd 32
13/5/2563 11:04:01
“FRESHY HAPPY FAMILY สดชื่น ความสุข ครอบครัว”
ร้ า นอาหารที่ พ ร้ อ มให้ ทุ ก ท่ า นได้ ลิ้ ม ลอง อาหารรสเลิ ศ หลากหลายสไตล์ ไม่ ว ่ า จะเป็ น อาหารพื้ น บ้ า น อาหารไทย อาหารอิ ต าเลี่ ย น ที่เราบรรจงปรุงแต่ง และคัดสรรวัตถุดิบจากทุกแหล่ง ให้มีรสชาติที่อร่อย คงคุณค่าทางโภชนาการ และเป็นที่บอกต่อ ของผู้ที่ ได้มาลิ้มลอง
@THENICEGROUPS
Café de Nice เปิดบริการ : 09.00 น. - 22.00 น. : คาเฟ่เดอไนซ์ นาหม่อม THENICE.GROUPS WWW.THENICEGROUP.CO.TH
: 074-800715 , 061-2216345
The Nice Villa Resort & Café De Nice.indd 33
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่
33
Facebook SBL
สวนอาหารเนินเขาวิวทะเล 16/5/2563 13:27:06
บานาน่า รีสอร์ท สะเดา ( BANANA RESORT SADAO ) รีสอร์ทที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติเหมาะส�ำหรับผู้ที่ต้องการความร่มรื่น สงบและเลี่ยงความวุ่นวายของเมืองใหญ่ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองสะเดา (อ�ำเภอสุดท้ายของจ.สงขลาที่มีประตูเข้าสู่ประเทศมาเลเซียถึงสองพรมแดน) ภายในรีสอร์ทมีห้องพักรับรองหลากหลายประเภท,สระว่ายน�้ำ,ร้านกาแฟ,ห้องประชุมสัมมนา, อินเตอร์เน็ตไร้สายและที่จอดรถมากมายไว้บริการ
34
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
Banana Resort.indd 34
ที่ตั้ง 247/4 ถนนเลี่ยงเมือง 1 ต�ำบลสะเดา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 13/5/2563 10:54:49
Line Banana Sadao
Facebook Banana Sadao
บานาน่า รีสอร์ท สะเดา (Banana Resort Sadao)
247/4 ถนนเลี่ยงเมือง 1 ต�ำบลสะเดา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90120 bananasadao bananasadao
083 434 9981
สระว่ายน�้ำขนาดใหญ่มีสองโซน โซนสระเด็กลึก 70 ซม. และโซนสระ ผู้ ใหญ่ลึก 120-140 ซม. สามารถรองรับงานจัดเลี้ยงส่วนตัวริมสระ ว่ายน�้ำได้กว่า 100 ท่าน,“บานาน่าบิสโตร”ภายในรีสอร์ทให้บริการ กาแฟสด อาหารพร้อมทาน ของว่าง ขนม และไอศกรีม,ห้องประชุม สัมมนารองรับได้ถึง 40 ท่าน,ลานจอดรถภายในมีมากมายสามารถ รองรับรถทัวร์ขนาดใหญ่ รีสอร์ทอยู่ห่างจากทางหลวงสาย 4 (ถนนเพชรเกษม-ถนน กาญจนวนิช)เพียง 800 เมตร บนถนนเลี่ยงเมือง 1 และห่างจาก ด่านสะเดาประมาณ 10 กม.(ด่านพรมแดนที่จะเชื่อมต่อโดยตรงกับ ทางด่วนของมาเลเซียและตัดไปสู่สิงคโปร์) ในขณะที่สามารถเดินทาง ไปด่านปาดังเบซาร์ประมาณ 13 กม.(ด่านพรมแดนที่เชื่อมต่อกับ ระบบรถไฟขนส่งมวลชนของมาเลเซีย) อีกทั้งอยู่ห่างจากสนามบิน นานาชาติและตัวเมืองหาดใหญ่ประมาณหนี่งชม.
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
Banana Resort.indd 35
35
13/5/2563 10:54:55
36
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
final_SBL Mag.indd 36
16/5/2563 13:14:27
สารจากผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา มีความหลากหลายทั้งในเรื่องการท่องเที่ยวและอาหารการกิน การมาเยือนจังหวัด สงขลาเพียงแค่วันเดียวคงไม่พอ เพราะสงขลามีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าทึ่งกระจายอยู่ทั่วไป โดยเฉพาะ ถ้าเริ่มต้นที่ใจกลางเมืองหรือที่มาพักที่หาดใหญ่ รับประกันได้ว่าภายในหนึ่งอาทิตย์ท่านจะได้รับประทาน อาหารอร่อยๆ หลายประเภทแบบไม่ซ�้ำกันเลยสักมื้อ ส่วนสถานที่ท่องเที่ยวที่สร้างความสบายอกสบายใจ เราก็มี “เจ้าแม่กวนอิม” รูปปั้นบูชาที่สร้างอยู่ บนยอดเขา ที่สามารถชมความสวยงามของเมืองหาดใหญ่แบบ 360 องศา เรื่องโรงแรมที่พัก เรามีให้ บริการกว่า 200 แห่ง มีศูนย์ประชุมส�ำหรับสัมมนาและจัดนิทรรศการระดับนานาชาติได้อย่างสะดวก สบาย เรียกได้ว่าเรามีความพร้อมในทุกด้านเพื่อรองรับทุกท่านที่จะมาเยี่ยมจังหวัดสงขลาของเราครับ ความมีเสน่ห์ของจังหวัดสงขลา อย่าง “หาดสมิหลา” ที่คนรู้จักกันทั้งประเทศยังมีมนต์ขลังตั้งแต่ อดีตถึงปัจจุบัน ท�ำให้ผมเชื่อว่าหลายท่านเคยมาเยือนสงขลาแล้วมากกว่า 1 ครั้ง ส�ำหรับผมไม่ใช่ชาว สงขลา แต่ที่นี่ท�ำให้ผมประทับใจและได้มาเยือนแล้วถึง 20 ครั้ง ฉะนั้นจึงอยากเชิญชวนให้ทุกท่านได้ มาสัมผัสวิถีชีวิตของชาวสงขลา ขอให้เป็นจุดหมายปลายทางหนึ่งที่ท่านจะมาท่องเที่ยวสักครั้ง รับรอง ว่าท่านจะประทับใจและได้รับความสุขกลับไปอย่างแน่นอนครับ ผมขอขอบคุณนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ขอบคุณทุกหน่วยงาน ทุกภาคส่วนที่ช่วยสนับสนุน ข้อมูลในแง่มุมต่างๆ ที่จะช่วยเสริมภาพลักษณ์ให้จังหวัดสงขลา เป็นจุดหมายปลายทางที่ส�ำคัญของ ทุกๆคนตลอดไป
นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
เขาคูหา อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
Facebook SBL
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(9
).indd 37
37
16/5/2563 12:03:37
Special Interview
SONGKHLA
GOVERNOR ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
นายจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นอย่างสูง จากท่านจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัด สงขลา ให้สัมภาษณ์เรื่องราวความเป็นเมืองที่มีมนต์ขลังทางด้านการท่องเที่ยวระดับนานาชาติ พร้อมเปิดเผยวิสัยทัศน์ การพัฒนาจังหวัดให้มีความเป็นเมืองน่าอยู่ ความมีศักยภาพภาพสูงด้านเศรษฐกิจมากที่สุดในจังหวัดภาคใต้ของ ประเทศไทย ภายใต้เป้าหมายการพัฒนา “สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน” และพร้อมรับใช้พี่น้องประชาชนชาวจังหวัดสงขลา ด้วยหัวใจ
38
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(9
).indd 38
16/5/2563 12:03:38
สงขลา
“ ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน”
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(9
).indd 39
39
16/5/2563 12:03:39
สงขลาเมืองเศรษฐกิจอันดับหนึ่ง
จั ง หวั ด สงขลาเป็ น “เมื อ งศู น ย์ ก ลาง เศรษฐกิจอันดับหนึง่ ของภาคใต้” นะครับ เป็น เมื อ งที่ มี ช ายแดนติด ต่อกับ ประเทศมาเลเซีย มีด่านพรหมแดน 3 ด่านหลักใหญ่ๆ ที่มีมูล การค้าประมาณครึ่งหนึ่งของด่านทั้งหมดทั่ว ประเทศไทย ซึ่งตัวเลขมูลค่าการค้าชายแดน รวมกั น ทุ ก ด่ า นทั่ ว ประเทศ ประมาณหนึ่ ง ล้านล้านเศษ เฉพาะทีจ่ งั หวัดสงขลาจังหวัดเดียว ห้าแสนล้านเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่าจังหวัด สงขลาเราเป็นเมืองเศรษฐกิจที่รองรับการเจริญ เติบโตอย่างรวดเร็วทั้งด้านการค้า การลงทุน อย่างมีนัยส�ำคัญ 40
ทะเลสาบสงขลา มีพื้นที่ครอบคลุมถึง 3 จังหวัด ได้แก่ สงขลา พัทลุง และนครศรีธรรมราช ถือว่าเป็นทะเลสาบที่ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย สงขลาเมือง 2 ทะเล ส�ำหรับตัวเมืองสงขลา เป็นพื้นที่ที่ถูกขนาบ ด้วยทะเลอ่าวไทย และทะเลสาบสงขลา เฉพาะ “ทะเลสาบสงขลา” มีพ้ืนที่ครอบคลุมถึง 3 จังหวัด ได้แก่ สงขลา พัทลุง และนครศรีธรรมราช ถือว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บริเวณโดยรอบทะเลสาบมีชมุ ชนทีต่ งั้ ถิน่ ฐานอยู่ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอย่างยาวนาน
ที่ส�ำคัญในทะเลสาบแห่งนี้มีลักษณะของน�้ำ ที่ เป็นทั้งน�้ำเค็ม น�้ำจืด และน�้ำกร่อย จึงได้ชื่อว่า เป็น “ทะเลสาบ 3 น�้ำ” ที่ค่อนข้างมีความ อุดมสมบูรณ์ ทั้งสัตว์น�้ำและปลาตัวใหญ่ รวมถึง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ส� ำ คั ญ แหล่ ง หนึ่ ง ของ จังหวัดสงขลา นอกจากนี้ยังมีเกาะแก่งกลาง ทะเลสาบ เช่น เกาะยอ มีร้านอาหาร กลุ่มทอผ้า และเป็นจุดชมวิวที่สวยงาม
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(9
).indd 40
16/5/2563 12:03:43
พัฒนาเมืองเก่า สู่เมือง “มรดกโลก” ภายในตัวเมืองของจังหวัดสงขลา เรามีพ้ืนที่ที่อนุรักษ์เมืองเก่าๆ เอาไว้ค่อนข้างมาก เช่น ถนนนครนอก ถนนนครใน และถนนนางงาม ซึง่ มีตกึ อาคารโบราณสไตล์ “ชิโนโปรตุกสี ” อายุนบั ร้อยปี มีวิถีชีวิตที่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวสงขลา มีการพัฒนาต่อยอดความเป็นเมืองเก่าและ พยายามจะผลักดันให้เป็นเมืองมรดกโลกโดยกรมศิลปากร ท่านผูห้ ญิงสิรกิ ติ ยิ า เจนเซน ได้ลงมาส�ำรวจ แล้วท่านประทับใจ และเห็นว่าเมืองเก่าในตัวเมืองสงขลา มีศักยภาพเพียงพอที่จะก้าวสู่การเป็น “เมืองมรดกโลก” จากเมืองเก่าที่แทบจะกลายเป็นเมืองร้าง เคยเป็นแหล่งมั่วสุ่มในอดีต ปัจจุบันชาวสงขลามองเห็น คุณค่า และหันมาช่วยกันอนุรักษ์ดูแล ตึกที่ดูเก่ามากก็ช่วยกันปรับปรุง พัฒนา renovate ใหม่ ให้สวยคงเดิม ท�ำให้เมืองเก่ากลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญของสงขลา ปัจจุบันหากเดินเข้าไปใน ย่านเมืองเก่าสงขลา จะรู้สึกได้ว่าเหมือนเดินอยู่ในเมืองโบราณต่างประเทศเลยครับ
จังหวัดสงขลาเราเป็นเมืองเศรษฐกิจ ที่รองรับการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านการค้า การลงทุน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(9
).indd 41
41
16/5/2563 12:03:46
โซนเกษตร บริเวณอ�ำเภอบางกล�่ำ อ�ำเภอควนเนียง อ�ำเภอรัตภูมิ และอ�ำเภอนาหม่อม 4 อ�ำเภอนีจ้ ะ อยู่รอบๆพื้นที่เศรษฐกิจ จะเป็นโซนที่มีแหล่ง ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติคอ่ นข้างเยอะพอสมควร เช่น ในอ�ำเภอบางกล�่ำ มีล�ำคลองที่ใสสะอาด ส่วนที่อ�ำเภอนาหม่อมก็จะมีป่าเขาล�ำเนาไพร มียอดเขาที่สามารถชมวิวและทะเลหมอกได้ อย่างสวยงาม หรือถ้าอยากจะเที่ยวน�้ำตกก็ไปที่ อ� ำ เภอควนเนี ย ง และอ� ำ เภอรั ต ภู มิ เหมาะ ส� ำ หรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ ชื่ น ชอบความเป็ น ธรรมชาติครับ
โซนชายแดน ปัตตานี ยะลา
เนื่องจากจังหวัดสงขลาของเราก็มีความหลากหลายทั้งทางกายภาพและชีวภาพ เพื่อให้เห็นภาพ ชัดเจนยิ่งขึ้น เราจึงจัดแบ่งออกเป็น 4 โซนหลักๆ ได้แก่
โซนคาบสมุทร คาบสมุทรสทิงพระ ประกอบด้วย 4 อ�ำเภอ ได้แก่ อ�ำเภอสทิงพระ อ�ำเภอสิงหนคร อ�ำเภอกระแส สินธุ์ ไปจนถึงอ�ำเภอระโนด ซึ่งจะอยู่ติดริมทะเลสาบสงขลา จุดเด่นที่ส�ำคัญของคาบสมุทรสทิงพระ คือ “วัดพะโคะ” ที่ตั้งอยู่บริเวณเขาพัทธสิงค์ ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ ซึ่งเป็นถิ่นก�ำเนิดของ “หลวงพ่อทวด” พระเกจิอาจารย์ชื่อดังของภาคใต้ หรือเรียกว่าเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง ปัจจุบันถ้าได้ ไปเที่ยวชมวัดพะโคะ ก็จะเห็นร่องรอยประวัติความเป็นมาต่างๆ ซึ่งเป็นต�ำนานของหลวงปู่ทวด
โซนเศรษฐกิจ ส�ำหรับโซนเศรษฐกิจ ได้แก่ อ�ำเภอสะเดา อ�ำเภอหาดใหญ่ เชื่อมไปถึงอ�ำเภอเมืองสงขลา อ�ำเภอ สะเดานอกจากจะมีดา่ นชายแดน “ปาดังเบซาร์” ด่าน “จังโหลน” ยังมีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติ ที่สวยงาม เช่น “เขารูปช้าง” อ�ำเภอหาดใหญ่สมัยก่อนเคยเป็นเมืองแสงสี เป็นแหล่งบันเทิงของนักท่องเที่ยวชาวมาเลเชีย ปั จ จุ บั น เมื อ งหาดใหญ่ ไ ด้ ป รั บ เปลี่ ย นสถานะเป็ น เมื อ งแห่ ง “Food City” เมื อ งของอาหาร การกิน เพราะทุกซอกทุกมุมของหาดใหญ่มีอาหารการกินที่อร่อยมากๆ รวมไปถึงในตัวเมืองสงขลา ที่สามารถหาอาหารอร่อยๆรับประทานได้ทุกประเภทแบบไม่ซ�้ำกัน เช่น ติ่มซ�ำ ก๋วยเตี๋ยว หรือจะเป็น ร้านอาหารทั่วไป ร้านอาหารจีน ร้านอาหารเก่าแก่ประจ�ำถิ่น แต่ที่ขึ้นชื่อและพลาดไม่ได้ก็ต้อง “ไก่ทอดหาดใหญ่” ครับ
ส�ำหรับพื้นที่ที่มีเขตติดต่อระหว่างจังหวัด ปัตตานีและจังหวัดยะลา ได้แก่ อ�ำเภอจะนะ อ�ำเภอเทพา อ�ำเภอสะบ้าย้อย และอ�ำเภอนาทวี ในโซน 4 อ� ำ เภอนี้ จ ะมี ก ารผสมผสานทาง วัฒนธรรมที่แตกต่างกันของพี่น้องประชาชน ชาวพุทธ มุสลิม และชาวจีน ซึ่งมีอยู่ร่วมกันมา อย่างยาวนาน เช่น ที่อ�ำเภอเทพา ในหลวง รัชกาลที่ 5 ท่านเคยเสด็จมาเพือ่ ชิมอาหารอร่อย ประจ�ำท้องถิ่น นั่นก็คือ “ไก่ทอดเทพา” ซึ่งมี รสชาติแตกต่างกับไก่ทอดหาดใหญ่ ส่วนทีอ่ ำ� เภอ นาทวี จะเป็นพื้นที่ชายแดนที่มีด่านน้องใหม่ เรียกว่า “ด่านประกอบ” อ�ำเภอสะบ้าย้อยและ อ�ำเภอจะนะ เรียกว่าเป็น “เมืองพหุวฒ ั นธรรม” จุดเด่นของ อ�ำเภอจะนะ คือ มีการเลี้ยงนกเขา ชวาเพื่อการแข่งขันจ�ำนวนมาก จนมีการจัดงาน “นกเขา” ประจ�ำปีของดีประจ�ำเมืองจะนะ
ปัจจุบันเมืองหาดใหญ่ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองแห่ง Food City เพราะทุกซอกทุกมุมของหาดใหญ่มีอาหารอร่อยๆ ทุกประเภทไม่ซ�้ำกัน 42
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(9
).indd 42
16/5/2563 12:03:48
แผนพัฒนาจังหวัดสงขลา พัฒนาภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวและบริการ โครงสร้าง พื้นฐาน และระบบโลจิสติกส์ 1. โครงการเพิ่มศักยภาพการจัดการชุมชน ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี 2. โครงการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานตามแผน ชุมชน 3. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพด้าน การท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา 4. โครงการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษสงขลา ปี 2563 5. โ ครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการอ� ำ นวย ความสะดวกในการเดินทางผ่านด่านศุลกากร สะเดา
6. โครงการพัฒนาต่อยอดชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีสู่ความยั่งยืน 7. โครงการสร้างงาน สร้างอาชีพ รองรับ ระบบโลจิสติกส์ ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ประจ�ำปี พ.ศ. 2563 8. โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์อุทยานนกน�ำ้ คู ขุดเพื่อการท่องเที่ยว 9. โครงการพัฒนาอาชีพการเกษตรเพื่อเพิ่ม รายได้ให้แก่เกษตรกรจังหวัดสงขลา 10. โครงการจัดท�ำศูนย์อพยพสัตว์ “ควาย น�้ำทะเลน้อย” อ�ำเภอระโนด 11. โครงการสืบสานเปิดต�ำนานบ้านเกิด หลวงปูท่ วดเหยียบน�ำ้ ทะเลจืดเพือ่ การท่องเทีย่ ว (อุทยานธรรมตามรอยหลวงปู่ทวดฯ)
12. โครงการงานวั ฒ นธรรมของดี เ มื อ ง สงขลา 13. โครงการพั ฒ นายกระดั บ สิ น ค้ า อุตสาหกรรมชุมชนเพื่อก้าวสู่อุตสาหกรรม 4.0 14. โครงการยกระดับต�ำรับเมนูอาหารพื้น บ้านเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ จังหวัดสงขลา 15. โครงการพั ฒ นาทั ก ษะการสร้ า ง นวั ต กรรมเพื่ อ ธุ ร กิ จ เริ่ ม ต้ น จั ง หวั ด สงขลา (Songkhla Startup Innovation) 16. โครงการทายาทต่อยอดธุรกิจ 4.0 17. โครงการก่อสร้างลานคอนกรีตพร้อม ระบบระบายน�้ำบริเวณลานพุทธอุทยานเขาเล่ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(9
).indd 43
43
16/5/2563 12:03:51
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนบนฐานความรู้พหุวัฒนธรรม 1. โ ครงการเพิ่ ม ปริ ม าณสั ต ว์ น�้ ำ เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาความยากจนของ ประชาชนในพื้นที่ลุ่มน�ำ้ ทะเลสาบสงขลา 2. โครงการบ่มเพาะคนดี ครั้งที่ 10 (ต่อเนื่อง) 3. โครงการพัฒนาระดับน�ำ้ อุปโภค – บริโภค 4. โครงการชุมนุมลูกเสือสงขลา สมิหลาสัมพันธ์ 5. โครงการส่งเสริมการมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการปัญหามลพิษขยะ มูลฝอยจากแหล่งก�ำเนิด 6. โครงการก่อสร้างพุทธมณฑลจังหวัดสงขลา 7. โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยหนักรองรับการบาดเจ็บจาก อุบัติเหตุจราจรและการท่องเที่ยวของจังหวัดสงขลา 8. โครงการขยายผลโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริจงั หวัดสงขลา
อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 1. โครงการฟาร์มทะเลโดยชุมชนมีส่วนร่วมและสร้างแหล่งที่อยู่อาศัย บ้านปลา ประจ�ำปีงบประมาณ 2563 2. โครงการต้นแบบการฟื้นฟูบ่อกุ้งร้างในพื้นที่อ�ำเภอระโนด จังหวัด สงขลา เพื่อการเลี้ยงสัตว์น�้ำด้วยต้นทุนต�่ำที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน 3. โครงการส่งเสริมอนุรักษ์โลมาอิรวดีใกล้สูญพันธุ์ในทะเลสาบสงขลา เพื่อพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4. โครงการสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน 5. โครงการการบริหารจัดการขยะทะเลบริเวณจังหวัดสงขลาให้ปริมาณ ลดลงเพื่อความยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
44
6. โครงการจัดการแหล่งอาศัยสัตว์น�้ำในทะเล (ปะการังเทียม) พื้นที่ ชายฝั่งจังหวัดสงขลา ประจ�ำปีงบประมาณ 2563 7. โครงการบริหารจัดการน�้ำจังหวัดสงขลา 8. โครงการบริหารจัดการน�้ำอย่างบูรณาการตามแผนชุมชน
เสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน 1. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดสงขลา 2. โครงการก่อสร้างซุม้ หลังคาเหล็กประจ�ำด่านตรวจความมัน่ คงอ�ำเภอ หาดใหญ่ 3. โครงการเครือข่ายเยาวชนปฏิบตั กิ ารเพิม่ ความปลอดภัยทางถนนจาก สถานศึกษาสู่ชุมชน “YOUR” Network จังหวัดสงขลา 4. โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อความมั่นคง จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2563 5. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารงานของศูนย์ด�ำรงธรรม จังหวัดสงขลา 6. โครงการเชิดชูสถาบันและเพิ่มประสิทธิภาพด้านความมั่นคงจังหวัด สงขลา
เป้าหมายการพัฒนา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา “สงขลา ศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ประชาชนมีคุณภาพ สิ่งแวดล้อมยั่งยืน” ในปี 2565 จังหวัดสงขลาได้ให้ ความส�ำคัญในการพัฒนาเพื่อให้บรรลุผลใน 3 เรื่อง ซึ่งประกอบด้วย
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(9
).indd 44
16/5/2563 12:03:54
ประชาชนมีคุณภาพ
สงขลาศูนย์กลางเศรษฐกิจภาคใต้ ปัจจุบนั จังหวัดสงขลามีขนาดเศรษฐกิจทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ และมีศกั ยภาพสูงสุด ในภูมิภาคใต้ ระบบเศรษฐกิจที่มั่นคง โดยมีค่า GPP เป็น ร้อยละ 20.45 ของภาคใต้ ขนาดเศรษฐกิจ 241,701.19 ล้านบาท คิดเป็น 1 ใน 5 ของภาค ที่มีมูลค่าการค้าชายแดนสูงสุดของประเทศ จากศักยภาพและ ความพร้อมด้านต่างๆ เมื่อสิ้นแผนพัฒนาจังหวัดในปี 2565 จังหวัดสงขลา จะต้องมีความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน มีโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่ง เชื่อมโยงทางบก (รถไฟ ถนน) ทางน�้ำ (ท่าเรือสงขลาแห่งที่ 1) และทาง อากาศ (สนามบินนาชาติหาดใหญ่) นอกจากจะเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ ภาคใต้แล้ว สงขลาจะเป็นศูนย์กลางการค้าการลงทุนของภาคใต้ โดยใช้ ศักยภาพของนิคมอุตสาหกรรมยางพารา และเขตเศรษฐกิจพิเศษสงขลาที่ อ�ำเภอสะเดา เชื่อมโยงเศรษฐกิจทางตอนบนของภาค ประเทศเพื่อนบ้าน และนานาประเทศโดยเฉพาะอาเซียน (ด่านชายแดน 3 แห่ง) และเป็น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวของภาคใต้ตอนล่าง โดยใช้ความโดดเด่นจากฐาน เดิมที่เป็นเมืองชายแดน ความพร้อมและความสวยงามของทรัพยากรทาง ทะเล เช่น ทะเลสาบ 3 น�้ำ (น�้ำเค็ม น�้ำจืด และน�้ำกร่อย) แห่งเดียวใน ประเทศไทย และความหลากหลายทางวัฒนธรรม (อิสลาม จีน และไทย) รวมทั้ง เป็นเส้นทางส�ำคัญในการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยว ส�ำคัญของภูมิภาค ทั้งฝั่งทะเลอันดามันและอ่าวไทยนอกจากนี้ยังเป็น ศูนย์กลางการศึกษา (มีมหาวิทยาลัย 5 แห่ง) และศูนย์กลางการแพทย์ (โรงพยาบาลขนาดใหญ่ 10 แห่ง)
จังหวัดสงขลา มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชน จ�ำนวน 5 แห่ง ปี 2565 มีนักศึกษารวม 47,884 คน ประชาชนในจังหวัด สงขลาจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ควบคู่กับคุณธรรมและ จริยธรรม และมีความเป็นอยู่ที่ดีมีคุณภาพ ชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากมี ความเข้มแข็ง มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม และ ต้องได้รบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ ทุกช่วงวัย ตามแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของจังหวัด สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันทางศาสนาและ ชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงเป็นธรรม ทุกคนเข้าถึงบริการและ สวัส ดิการภาครัฐ สามารถลดความเหลื่อมล�้ ำ คนจนจะหมดไป และ ครอบครัวมีความสุข
สิ่งแวดล้อมยั่งยืน การพัฒนาของจังหวัดที่ให้ความส�ำคัญกับการแก้ไขปัญหาและอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาขยะ ปัญหาน�้ำเสีย การลดการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง และการใช้พลังงานไฟฟ้า และการด�ำเนิน โครงการน�ำร่อง Green City ภายใต้กรอบความร่วมมือสามเหลีย่ มเศรษฐกิจ (IMT-GT) และนโยบายของรัฐบาล ปี 2565 จังหวัดสงขลาต้องแก้ปัญหา ขยะตกค้างให้หมดไปและมีการฝังกลบทีถ่ กู หลักวิชาการ มีการพัฒนาพืน้ ที่ ชายฝั่งเพื่อลดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและ ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจากสาธารณภัย การเติบโตทาง เศรษฐกิจต้องเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีคุณค่า และยั่งยืน มีพื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น และมีการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(9
).indd 45
45
16/5/2563 12:03:57
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
“ รากฐานของความมั่นคง คือ ชุมชนต้องเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ ”
SONGKHLA
VICE GOVERNOR นายอ�ำพล พงศ์สุว รรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
ท่านอ�ำพล พงศ์สุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา คือข้าราชการอีกหนึ่งท่านที่ด�ำเนินรอยตามและยึดหลักการท�ำงานของ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์ผู้เปี่ยมไปด้วยทศพิธราชธรรม มีหลักการทรงงานที่มี ประสิทธิภาพ ยึดมั่นประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง เป็นแบบอย่างที่ดีในการด�ำเนินชีวิตและการท�ำงานแก่พสกนิกรชาวไทย นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย กราบขอบพระคุณท่านรองอ�ำพล พงศ์สุวรรณ เป็นอย่างสูง ที่ให้เกียรติสัมภาษณ์ถึงภาระหน้าที่รับผิดชอบ รวมถึงหลักในการปฏิบัติงาน ในฐานะรองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
ชาวประชาพึ่งพาตนเองได้ ภายใต้ ป ณิ ธ านแห่ ง การ “บ� ำ บั ด ทุ ก ข์ บ� ำ รุ ง สุ ข ” ตาม เจตนารมณ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรง ราชานุภาพ พวกเราชาวมหาดไทยล้วนตระหนักในภาระหน้าที่ และได้ ร ่ ว มปฏิ บั ติ ง านเพื่ อ อ� ำ นวยประโยชน์ สุ ข ให้ แ ก่ พี่ น ้ อ ง ประชาชนอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ การท�ำงานในฐานะ รองผู้ว่าราชการจังหวัดของผม จึงให้ความส�ำคัญกับวิถีชีวิต และความเข้มแข็งของชุมชน ภายใต้แนวความคิด “หากชุมชน เข้มแข็ง ประชาชนพึ่งพาตนเองได้ จะเป็นรากฐานที่มั่นคงของ ประเทศไทย” 46
ท่องเที่ยวชุมชน รักษาวิถีดั้งเดิม ประเทศไทยของเรามีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีแหล่งท่องเที่ยวทาง ธรรมชาติที่แสนวิเศษ และมีคุณค่า จึงมีความปรารถนาให้ชาวบ้านมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น และยังคงวิถีชีวิตดั้งเดิมที่สวยงาม ภารกิจในความรับผิดชอบจึงให้ความส�ำคัญกับ “การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานราก” เน้นการท่องเที่ยวชุมชน เริ่มต้นโดยชุมชน บริหารจัดการโดยชุมชน ดูแลทรัพยากรของตนเอง ซึ่งจะท�ำให้ชุมชนมีรายได้และมีการพัฒนาอย่าง ยั่ ง ยื น ตามหลั ก การทรงงานของพระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่ว่า “การกระท�ำใดๆ ต้อง ระเบิดจากข้างใน เริ่มจากคนที่เกี่ยวข้อง ต้องสร้างความเข้มแข็ง จากภายใน ให้เกิดความเข้าใจ และอยากท�ำ”
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 46
12/5/2563 10:39:57
EXC LU S IV E
อยากให้ ทุ ก ภาคส่ ว นน� ำ หลั ก การ
ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิ เ บศร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช บรมนาถบพิ ต ร มาใช้ เ ป็ น แนวทางในการท� ำ งาน เพื่ อ ประโยชน์ สุขของประชาชน
Facebook SBL
ขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
Songkhla Sport City
การขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา ซึ่งรัฐบาลก�ำหนดให้ท้องที่ต�ำบลสะเดา ต�ำบลส�ำนักขาม ต�ำบลส�ำนักแต้ว และต�ำบลปาดังเบซาร์ อ�ำเภอสะเดา เป็น “เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ” ซึ่งอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาในพื้นที่แบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ส่วนในด้านการลงทุน มีผู้สนใจร่วมลงทุนและได้รับการอนุมัติสิทธิประโยชน์ด้านการ ลงทุนจาก BOI แล้ว 7 โครงการ มูลค่ากว่า 2,305 ล้านบาท มีการจ้างงาน 1,018 คน
สงขลาเมืองกีฬา “Songkhla Sport City” จังหวัดสงขลาได้รับการประกาศเป็นเมืองกีฬา แล้ว ท�ำให้ผู้จัดการแข่งขันกีฬาเลือกเป็นสถาน ที่จัดการแข่งขันกีฬาในหลายรายการ โดยที่ ผ่านมามีรายการแข่งขันในระดับนานาชาติมา จัดการแข่งขัน เช่น การแข่งขันฟุตบอลชิงชนะเลิศ เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี รายการ AFC U-23 Championship 2020 Thailand กลุ่ม C โดย จัดการแข่งขันที่สนามกีฬาติณสูลานนท์ จังหวัด สงขลา ซึ่งได้รับการชื่นชมว่าเป็นสนามกีฬาที่มี ความสวยงาม และจะเป็ น อี ก หนึ่ ง สถานที่ ที่รองรับการแข่งขันกีฬาในระดับนานาชาติได้ ส่ ว นการจั ด การแข่ ง ขั น ที่ ก� ำ ลั ง จะเกิ ด ขึ้ น เช่ น การปั ่ น จั ก รยานระดั บ โลก รายการ L’ÉTAPE THAILAND by Tour de France 2020 การแข่ ง ขั น กี ฬ าประเภทสิ่ ง กี ด ขวาง รายการ Spartan Race 2020 “สงขลาเมืองกีฬา” จึ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง นโยบายที่ จ ะส่ ง เสริ ม ให้ ชาวสงขลาสนใจกีฬาและใส่ใจสุขภาพมากขึ้น รวมทั้ ง สร้ า งเศรษฐกิ จ ของจั ง หวั ด ให้ เ ติ บ โต ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น
สร้างถนนเชื่อมด่านศุลกากรสะเดา – บูกิตกายูฮิตัม การสร้างถนนเชื่อมระหว่างด่านศุลกากรสะเดา – บูกิตกายูฮิตัม โดยกระทรวงการต่างประเทศ ได้ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบสภาพพื้นที่ร่วมกับฝ่ายมาเลเซียส�ำหรับการพัฒนาด่านศุลกากร สะเดาและด่านศุลกากรบูกิตกายูฮิตัม ไทย – มาเลเซีย ครั้งที่ 2 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้จังหวัด สงขลาแต่งตั้งคณะท�ำงานด้านเทคนิคฝ่ายไทยส�ำหรับการชี้จุดพิกัดเชื่อมต่อด่านศุลกากรสะเดา – บูกิตกายูฮิตัม ร่วมกับฝ่ายมาเลเซีย ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาแนวถนนที่จะใช้เชื่อมต่อระหว่างด่าน ศุลกากรทั้ง 2 แห่ง
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 47
47
12/5/2563 10:40:01
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
“ งานทุกชิ้นที่ท�ำจะต้องใส่ใจ ต้องมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ไม่ใช่แค่ท�ำให้เสร็จๆ ไป ”
SONGKHLA
VICE GOVERNOR นางสุรียพรรณ์ ณ สงขลา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ไม่บ่อยนักที่เราจะเห็นผู้หญิงหรือสุภาพสตรีสักคนหนึ่งก้าวเข้ามามีบทบาทในฐานะผู้น�ำหรือผู้บริหารระดับสูงของบ้านเมือง ยิ่งถ้ามีลูกมีสามี งานของลู ก ผู ้ ห ญิ ง ในฐานะที่ ต ้ อ งดู แ ลคนในครอบครั ว ก็ ล ้ น มื อ อยู ่ แ ล้ ว การจะน� ำ เวลามาดู แ ลทุ ก ข์ สุ ข พี่ น ้ อ งประชาชนอี ก คงต้ อ งเหนื่ อ ย ขึ้นหลายสิบเท่า แต่ส�ำหรับท่านสุรียพรรณ์ ณ สงขลา ในฐานะรองผู้ว่าราชการจังหวัดหญิงคนแรกและหนึ่งเดียวของจังหวัดสงขลา ท่านบอกว่า ถึงจะหนักแค่ไหนก็พร้อมมุ่งมั่นตั้งใจท�ำงานได้เกินร้อย
48
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
...
.
(2
).indd 48
12/5/2563 10:25:04
EXC LU S IV E
งานทั้งหลายจะประสบความส�ำเร็จ
และมีคุณภาพต้องอาศัยความร่วมมือ จากหลายคนหลายฝ่ า ย ต่ อ ให้ เ รา ท�ำงานเก่งขนาดไหน ถ้าทีมงานไม่พร้อม จะเดินไปกับเราคงไม่มีวันส�ำเร็จ ภารกิจที่ ได้รับมอบหมาย ส�ำหรับภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากท่าน จารุวฒ ั น์ เกลีย้ งเกลา ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสงขลา ได้แก่ งานสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา เด็ ก การศึ ก ษา ผู ้ ด ้ อ ยโอกาส และแรงงาน ด้านการศึกษา จะเข้ามาดูแลตัง้ แต่เด็กเล็กจนถึง มหาวิทยาลัย ส่วนในเรื่องแรงงานเราจะต้องให้ ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการท�ำงาน ให้มี ความปลอดภัยและถูกต้องตามกฏหมาย และ เรื่องส�ำคัญอีกเรื่องหนึ่ง คือการฟื้นฟู อนุรักษ์ ผ้ า ทอพื้ น เมื อ งของชาวสงขลาให้ ค งอยู ่ แ ละ เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย
ท่านรองฯสายบุญ Facebook SBL
ครอบครัวคือ idol
ครอบครัว คือ ต้นแบบที่ดีงามของการท�ำงานในระบบราชการค่ะ เพราะตั้งแต่บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ญาติพี่น้อง ต่างมีอาชีพรับราชการกันทั้งครอบครัว ท�ำให้เรามีความภูมิใจและซึมซับ ต้นแบบที่ดีในการท�ำงานราชการของคนในครอบครัวมาโดยตลอด
ท�ำงานด้วยหัวใจ ใส่เกินร้อย เมื่อได้มาท�ำหน้าที่นี้ นอกจากต้นแบบที่ดีที่เราน�ำมาปฏิบัติแล้ว หลักในการท�ำงานของเรา คือ งานทุกชิ้นที่เราท�ำจะต้องใส่ใจ ไม่ใช่แค่ท�ำให้เสร็จๆ ไป แต่งานทุกชิ้นต้องมีคุณภาพและประสิทธิภาพ จนบางครั้งการท�ำงานที่ดูจริงจังเกินไปของเรา อาจท�ำให้ผู้ร่วมงาน ทีมงาน คนรอบข้างเขาเครียด ไปด้วย แต่เมื่องานเรียบร้อย เราก็สาย Entertain ท�ำให้ทุกคนสนุกสนานมีความสุขกับการท�ำงานได้ และเมือ่ งานออกมาดีมคี ณ ุ ภาพ สิง่ เหล่านีจ้ ะสะท้อนภาพลักษณ์และศักยภาพให้กบั องค์กรและผูบ้ ริหาร จังหวัด ดังนั้นเมื่อลงมือท�ำงานเราจึงไม่ลืมลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน คนรอบข้าง งานทั้งหลายจะประสบ ความส�ำเร็จและมีคุณภาพต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายคนหลายฝ่าย ต่อให้เราท�ำงานเก่ง ขนาดไหน ถ้าทีมงานไม่พร้อมจะเดินไปกับเราคงไม่มีวันส�ำเร็จ ดังนั้นทีมงานจึงมีความส�ำคัญ
อุทิศตัวให้กับงานสังคม เรื่องของวัฒนธรรม ประเพณี งานเกี่ยวกับสาธารณกุศล เราเป็น รองผู้ว่าฯหญิงคนแรกของจังหวัดสงขลา ความ เป็น ผู้หญิงท� ำให้มีงานสังคมเยอะ เราพร้อ ม ที่จะท�ำงาน พร้อมที่จะเข้าใจสตรี เด็ก คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส เราเหมือนเป็น idol เป็นผู้น�ำสตรี เป็ น ตั ว อย่ า งให้ กั บ สตรี ช าวจั ง หวั ด สงขลา โดยเฉพาะผู ้ ห ญิ ง จะมี ค วามอ่ อ นโยน ท� ำ ให้ โอกาสที่เราจะได้รับฟังปัญหา การเข้าถึงหรือ ไปท� ำ งานกั บ พี่ น ้ อ งประชาชนจึ ง เป็ น ไปด้ ว ย ความสบายใจ “เราจะเอาภาระบทบาทหน้าที่ที่เราด�ำรง อยู่มาช่วยคนที่ล�ำบาก ทุกข์ยาก ด้อยโอกาส ให้เขามีคุณภาพชีวิตที่ดี ถือเป็นการสร้างบุญ สร้างความดี ทดแทนบุญคุณให้กับแผ่นดิน”
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
...
.
(2
).indd 49
49
12/5/2563 10:25:08
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
“ วันแรก วันรุ่ง และพรุ่งนี้ ขอท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด เพราะไม่รู้ว่าวันพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไรและจะมีอีก หรือไม่ อดีตที่ผ่านมาคือประสบการณ์ที่ใช้สอนเรา ”
SONGKHLA
VICE GOVERNOR นายสมหวัง เรืองเพ็ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
การยืนอยู่ในต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูงของบ้านเมือง ใช่ว่าจะท�ำอะไรได้ตามอ�ำเภอใจ คิด พูด ท�ำ ต้องผ่านขั้นตอนการพินิจพิจารณาอย่าง รอบคอบและรอบด้าน เพราะทุกความคิด ทุกค�ำพูด และทุกการกระท�ำของผู้บริหารระดับสูง ย่อมน�ำมาซึ่งผลกระทบของพี่น้องประชาชน ผู้ร่วมงาน ในวงกว้าง เช่น การสื่อสารที่ผิดพลาดในภาวะวิกฤต นอกจากจะท�ำให้ประชาชนและผู้ปฏิบัติงานเกิดความเข้าใจผิดและบั่นทอนก�ำลังใจ ในการท�ำงานแล้ว อาจน�ำไปสู่เหตุการณ์ที่ร้ายแรงกว่าเดิม แต่ส�ำหรับหลักการปฏิบัติงานของท่านสมหวัง เรืองเพ็ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นั้น ท่านยึดระเบียบกฎหมายเป็นหลัก เพราะผลประโยชน์ ที่ราชการจะได้รับ นั่นหมายถึงผลประโยชน์ของพี่น้องประชาชน ถ้าปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย มีความบริสุทธิ์ ยุติธรรม โปร่งใส ใส่ใจผลประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ผลลัพธ์ของการท�ำงาน ถือว่าประสบความส�ำเร็จ 50
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
...
.
(2
).indd 50
12/5/2563 11:09:24
EXC LU S IV E
ถ้ า ทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มาช่ ว ยกั น คิ ด
ช่ ว ยกั น ท� ำ จั ง หวั ด สงขลาของเราจะ เป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ศั ก ยภาพและก้ า วไป ข้างหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืน
Facebook SBL
ผู้บังคับบัญชา คือ idol บุคคลที่เป็นแรงบันดาลใจหรือเป็นต้นแบบของผม คือ ผู้บังคับบัญชา ผมมีโอกาสได้ร่วมงานกับ ผู้บังคับบัญชามาหลายท่าน ผู้บังคับบัญชาส่วนใหญ่ ท่านสอนเราหลายๆเรื่อง ทั้งหลักกฎหมาย หลักการปฏิบัติงาน การอยู่กับพี่น้องประชาชน ที่ผ่านมาผมได้น�ำประสบการณ์ รวมถึงจุดเด่น ของแต่ละท่าน มาปรับกับการท�ำงานในรูปแบบของผมครับ
ภารกิจที่ ได้รับมอบหมาย ผมได้รับมอบหมายจากท่านจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ให้ก�ำกับดูแล งานกลุ่มภารกิจด้านความมั่นคง ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นงานของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงกลาโหม ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ ฯลฯ ลักษณะงานจะเป็นงานในส่วน ของงานการปกป้องและเทิดทูนสถาบันส�ำคัญของชาติ โครงการจิตอาสา งานเสริมสร้างความ ปรองดองสมานฉันท์ การแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์และแรงงานต่างด้าว การรักษาความสงบเรียบร้อย และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน งานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด งานจัดระเบียบสังคม งานนโยบายความมั่นคงและการรักษาความสงบเรียบร้อย งานป้องกันและ แก้ไขปัญหาสาธารณภัย การแก้ไขปัญหาประมงผิดกฎหมาย เป็นต้น
ร่วมคิด ร่วมท�ำ.. เพื่อสงขลาสู่ความมั่นคงและยั่งยืน การจัดท�ำแผนงาน แผนพัฒนา ทั้งในส่วน ของราชการและประชาชน ว่ามีความต้องการ จะพัฒนาให้จังหวัดสงขลาก้าวไปอย่างไรหรือ ทิศทางไหน ซึ่งเป็นตัวช่วยในการเสนอขอรับ งบประมาณ ขอรับความช่วยเหลือในหน่วยงาน ต่างๆ โดยแผนมีตั้งแต่ระดับหมู่บ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด แผนภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ จึงอยากให้ทุกภาคส่วนได้ เข้ า มาช่ ว ยกั น ระดมความคิ ด และช่ ว ยกั น ท� ำ จั ง หวั ด สงขลาของเราจะเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ศักยภาพและก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคงและ ยั่งยืน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
...
.
(2
).indd 51
51
12/5/2563 11:09:28
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
SONGKHLA
VICE GOVERNOR นายนฤทธิ์ มงคลศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา “ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คือบุคคลซึ่งเป็นแรงบันดาลใจส�ำคัญและเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติงานของผม ”
“เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” คือหลักการท�ำงานที่ท่านนฤทธิ์ มงคลศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา น�ำมายึดเป็นหลักในการปฏิบัติงานเพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์มากที่สุด เพราะไม่ว่างานใดก็ตามหากมีความเข้าใจในปัญหาและอุปสรรคของงานนั้นเบื้องต้นก่อนแล้ว เราจะพบแนวทางในการ แก้ปัญหาอย่างตรงจุด จนสามารถเข้าถึงเป้าหมายที่เราต้องการได้อย่างไม่ยากเย็น อีกทั้งยังสามารถน�ำมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการท�ำงาน ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป
หน้าที่รับผิดชอบ
ควบคุมดูแลโรคระบาด COVID-19
ส�ำหรับภาระหน้าที่หลัก ภายใต้การก�ำกับดูแลของท่านรองนฤทธิ์ มงคลศรี ซึ่งได้รับมอบหมายจากท่านจารุวัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ในการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาเพื่ อ พ่ อ แม่ พี่ น ้ อ งประชาชนชาวจั ง หวั ด สงขลา นั้นได้แก่ กลุ่มภารกิจพิเศษ โดยรับผิดชอบหน่วยงานราชการทั้งส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และรัฐวิสาหกิจ ที่ปฏิบัติงานภายในจังหวัดสงขลากว่า 51 หน่วยงาน ครอบคลุม 6 กระทรวงส�ำคัญ ได้แก่ กระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน และหน่วยงานในสังกัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
เนื่องจากจังหวัดสงขลาเป็นทั้งจังหวัดเศรษฐกิจ และเป็น แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญของภาคใต้ ดังนั้น ระบบสาธารณสุข ที่ดีมีคุณภาพจะสร้างความเชื่อมั่นและเชื่อถือให้แก่นักลงทุน และนักท่องเที่ยว เช่น เชื้อไวรัส COVID – 19 ที่ก�ำลังระบาด จนน่าวิตกอยู่ในขณะนี้ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีบทบาท หน้าที่ในการดูแลการบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ของจังหวัดสงขลา จึงต้องพยายามหามาตรการแนวทางใน การป้องกันไม่ให้ประชาชนติดเชื้อ
52
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
..
(2
).indd 52
12/5/2563 10:44:16
EXC LU S IV E
Facebook SBL
อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ บริหารจัดการด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่จังหวัดสงขลา เป็นจังหวัดที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติส�ำคัญจ�ำนวนมาก เช่น อุทยานแห่งชาติเทือกเขาสันกาลาคิรี อุทยานแห่งชาติเขาน�้ำค้าง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโตนงาช้าง และทะเลสาบสงขลา เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ป่าและแหล่งน�้ำ ที่ต้องอนุรักษ์และพัฒนาให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อรักษาระบบนิเวศวิทยาที่ดีต่อไป
ประชาสัมพันธ์และสื่อสารกับประชาชน จังหวัดสงขลา เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ เป็นเมืองหลวงทางเศรษฐกิจ
ของภาคใต้ การพัฒนาจังหวัดสงขลาจึงจ�ำเป็นต้องร่วมมือร่วมใจกัน ทุกภาคส่วน ในการพัฒนาจังหวัดสงขลาเจริญก้าวหน้าต่อไป พัฒนาการผลิตและใช้พลังงานอย่างคุม้ ค่า
การบริหารจัดการแหล่งพลังงานธรรมชาติที่ส�ำคัญของประเทศ เช่น แหล่งบงกช และแหล่ง เอราวัณ ซึ่งสามารถผลิตก๊าซธรรมชาติได้ปริมาณสูงถึง 2.1 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน หรือ 70% ของ ก�ำลังการผลิตก๊าซธรรมชาติในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด และดูแลให้โรงไฟฟ้าจะนะ ซึ่งเป็น แหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าหลักที่ส�ำคัญของภาคใต้ ให้มีศักยภาพที่ดีโดยกระทรวงพลังงาน
ส� ำ นั ก งานประชาสั ม พั น ธ์ จั ง หวั ด สงขลา และส�ำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 6 ซึ่งเป็น หน่ ว ยงานในสั ง กั ด ส� ำ นั ก นายกรั ฐ มนตรี ที่ มี บทบาทส� ำ คั ญ ในการสื่ อ สารประชาสั ม พั น ธ์ ระหว่างหน่วยงานราชการกับประชาชน เพื่อให้ ประชาชนได้ รั บ ทราบและเข้ า ใจในการ ปฏิบัติงาน ด�ำเนินงาน ของหน่วยงานราชการที่ ขับเคลื่อนงานในพื้นที่ และเป็นกระบอกเสียง ที่สะท้อนความต้องการของประชาชน ให้หน่วย งานราชการ “เข้ า ใจ เข้ า ถึ ง ในการพั ฒ นา ขับเคลื่อนจังหวัดสงขลาเพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ ประชาชน ทั้งในจังหวัดสงขลา และภาคใต้” SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
..
(2
).indd 53
53
12/5/2563 10:44:18
EXC LU SI VE
“ การแก้ ไขปัญหาให้กับประชาชน นับเป็นหัวใจส�ำคัญในภารกิจหลักของ อปท. ”
SONGKHLA
PROVINCIAL OFFICE FOR LOCAL ADMINISTRATION
ท้องถิ่นจังหวัดสงขลา
นายพนมเที ย น เส้ ง วั่ น
ปัจจุบันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีบทบาทส�ำคัญในการให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งครอบคลุมทุกเรื่อง ตามสิทธิที่ประชาชนจะได้รับ แต่ด้วยข้อจ�ำกัด เช่น การขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการท�ำงาน และขาดแคลนงบประมาณ ท�ำให้การ ด�ำเนินงานของ อปท.ในบางพื้นที่ยังไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของ อปท.
อปท. กับการแก้ ไขปัญหาให้ ปชช. นายพนมเทียน เส้งวั่น ท้องถิ่นจังหวัดสงขลา ในฐานะผู้บริหารและ ผู้น�ำการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัดสงขลา ได้กล่าวเสริมว่า บทบาทของ อปท. ในการช่ ว ยแก้ ไขปั ญ หาให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ นั้ น อปท. สามารถด�ำเนินการได้ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้ จ่ายเพื่อช่วยเหลือประชาชนตามอ�ำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น พ.ศ.2560 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งก�ำหนดให้ อปท.สามารถให้ ความช่วยเหลือประชาชนด้านสาธารณภัย ด้านการส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิต และการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 54
...
โดย อปท. แต่งตั้งคณะกรรมการช่วยเหลือประชาชนขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นมาด�ำเนินการช่วยเหลือประชาชน จัดทีมส�ำรวจ พื้นที่และจัดเก็บข้อมูลประชาชนที่ต้องการขอรับความช่วยเหลือจาก อปท. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้สามารถทราบความเดือดร้อน และความต้องการของประชาชน และสามารถแก้ไขได้อย่างทันท่วงที ปัจจุบันการด�ำเนินงานของ อปท. ยังไม่เป็นไปตามแนวทางที่ก�ำหนด และใช้กลไกดังกล่าวเพื่อแก้ไขปัญหาให้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา จันทบุรี
(2
).indd 54
12/5/2563 10:59:19
อปท. เป็นองค์กรภาครัฐที่อยู่ ใกล้ชิด กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ ม ากที่ สุ ด การแก้ ไ ข ปั ญ หาให้ กั บ ประชาชนในพื้ น ที่ อ ย่ า งทั น ท่วงที ต้องเป็นไปตามขั้นตอนและระเบียบ กฎหมายที่ก�ำหนด อย่างเต็มศักยภาพ
Facebook SBL
การด�ำเนินงานแก้ไขปัญหาให้กับประชาชน นับเป็นหัวใจส�ำคัญในภารกิจหลักของ อปท. ทั้งนี้ ส�ำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น จังหวัด ในฐานะผู้ท�ำหน้าที่ส่งเสริมสนับสนุน การด�ำเนินงานของ อปท. ยินดีและพร้อมให้ค�ำ แนะน�ำ สนับสนุนการด�ำเนินงานให้กับ อปท. สามารถด� ำ เนิ น การให้ เ ป็ น ไปตามแนวทางที่ ก� ำ หนด และสามารถแก้ ไ ขปั ญ หาให้ กั บ ประชาชนได้อย่างทันท่วงที
ไร้ขยะ” ซึ่งรางวัลดังกล่าวเป็นผลมาจากการ ขั บ เคลื่ อ นงานของส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม การ ปกครองท้องถิน่ จังหวัดสงขลา ในการขับเคลือ่ น ตาม วาระการพัฒนาจังหวัดสงขลา ปี2562 “สงขลาเมืองแห่งความสุข” วาระที่ 1 สงขลา สวยสะอาด ประเด็นที่ 1 การแยกเศษอาหาร ไม่ให้เข้าสู่ระบบการเก็บขนขยะ ซึ่งมีแนวทาง การด� ำ เนิ น งานให้ ทุ ก ครั ว เรื อ นของจั ง หวั ด สงขลาด�ำเนินการจัดการขยะเปียกอย่างถูกวิธี
ผลการด�ำเนินงานที่โดดเด่น
อมรมผู้น�ำชุมชน การจัดอบรมผู้น�ำหมู่บ้าน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน (อสม.) เครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ทสม.) เครือข่ายอาสาสมัคร ท้ อ งถิ่ น รั ก ษ์ โ ลก (อถล.) กลุ ่ ม เครื อ ข่ า ย ประชาสั ม พั น ธ์ (โฆษกชาวบ้ า น) ฯลฯ เพื่ อ เป็นต้นแบบ และขยายผลให้ครัวเรือนด�ำเนิน การจัดท�ำถังขยะเปียกครัวเรือน
รางวัลการบริหารจัดการขยะ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2562 นายวี ร นั น ทน์ เพ็ ง จั น ทร์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดสงขลา รับรางวัลจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทย พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจินดา ในงานสัมมนา “Success of Waste Separation - Change for Good : ความส�ำเร็จ ในการคัดแยกขยะ – เปลี่ยนเพื่อประเทศไทย
จัดท�ำสื่อหรือคลิปข่าวเพื่อรณรงค์ให้มีการ คัดแยกขยะเศษอาหารเพื่อไม่ให้เข้าสู่ระบบการ เก็บขนไปก�ำจัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การรณรงค์คัดแยกขยะในงานต่างๆ เช่น การรณรงค์คัดแยกเศษอาหารในงานฤดูร้อน และงานกาชาดประจ� ำ ปี 2562 การลดใช้ ถุงพลาสติก โดยการใช้ถุงผ้าที่ “ตลาดประชารัฐ คนไทยยิ้ ม ได้ ” (ตลาดนั ด วั น ศุ ก ร์ ) ด้ า นข้ า ง อ�ำเภอเมืองสงขลา รณรงค์คัดแยกขยะมูลฝอย แก่ ป ระชาชนชาวไทยมุ ส ลิ ม และครอบครั ว ที่ จ ะเดิ น ทางไปประกอบพิ ธี ฮั จ ย์ ประเทศ ซาอุดอิ าระเบีย บริเวณท่าอากาศยานนานาชาติ หาดใหญ่ เป็นต้น SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
...
(2
).indd 55
55
12/5/2563 10:59:22
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
EXC LU SI VE
SONGKHLA PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM
Facebook SBL
นักวิชาการศาสนาช�ำนาญการพิเศษ รักษาราชการแทนผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดสงขลา
นางสาวสุ ภ าพร เกตุ สุ ริ ย งค์
56
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
อนุสรณ์.indd สถานท้56าวสุรนารี (ย่าโม) อ�ำเภอเมือง
12/5/2563 11:19:12
ประเด็นสัมภาษณ์ “ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพระพุทธศาสนา” 1. บทบาทหน้ า ที่ ข องส� ำ นั ก งานพระพุ ท ธ ศาสนา จังหวัดสงขลา ต่อพระสงฆ์และประชาชน ในพื้นที่ ภารกิจของหน่วยงาน การด�ำเนินงานสนอง งานคณะสงฆ์และรัฐ โดยการท�ำนุบ�ำรุง ส่งเสริม กิ จ การพระพุ ท ธศาสนา ให้ ก ารอุ ป ถั ม ภ์ คุม้ ครองและส่งเสริมพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแล รักษา จัดการศาสนสมบัติ พัฒนาพุทธ มณฑลให้เป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาบุคลากร ทางศาสนา ภารกิจทีส่ ำ� คัญของส�ำนักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสงขลา ร่วมกับคณะสงฆ์จังหวัดสงขลา และจังหวัดสงขลา ก่อสร้างพุทธมณฑลจังหวัด สงขลาขึน้ ณ ทุง่ ป่าเสม็ดงาม หมู่ 6 ต�ำบลน�ำ้ น้อย อ� ำ เภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการจั ด กิ จ กรรมทางพระพุ ท ธ ศาสนาของจังหวัด รวมทั้งเป็นสถานที่พักผ่อน และท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งได้รับ งบประมาณจากงบพัฒนาจังหวัด โดยท่านผู้ว่า ราชการจังหวัดได้ให้การสนับสนุนและให้ความ ส� ำ คั ญ ในการก่อสร้างเป็นอย่างมาก รวมทั้ง องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด สงขลาที่ ใ ห้ ก าร สนั บ สนุ น งบประมาณ และงบบริ จ าคจาก พุทธศาสนิกชนและคณะสงฆ์ ปัจจุบันแม้ยังไม่แล้วเสร็จแต่ก็ใช้ในการจัด กิจกรรมของจังหวัดและคณะสงฆ์อย่างต่อเนื่อง เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอาสาฬหบูชา ซึ่งพุทธมณฑลจังหวัดสงขลาจะเป็นศูนย์กลาง ในการจัดกิจกรรมระดับจังหวัด และในทุกวันที่ 28 ของเดือน จะมีพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวาย พระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ตามมติ มหาเถรสมาคมเป็นประจ�ำทุกเดือน 2. ภาพรวมของวัด และพระสงฆ์ในจังหวัด และ แนะน�ำวัดและสถานปฏิบัติธรรมในจังหวัด สงขลา
จ�ำนวนวัดที่อยู่ในความดูแลทั้งสิ้น 435 วัด แบ่งเป็น มหานิกาย 380 วัด ธรรมยุต 53 วัด จีนนิกาย 1 วัด อนัมนิกาย 1 วัด พระอารามหลวง 5 วัด มหานิกาย 4 วัด ธรรมยุต 1 วัด พระภิกษุ 3,693 รูป มหานิกาย 3,317 รูป ธรรมยุต 376 รูป สามเณร 556 รูป มหานิกาย 441 รูป ธรรมยุต 115 รูป
แนะน�ำวัดและสถานปฏิบัติธรรม วัด 1. วัดมัชฌิมาวาส อ.เมืองสงขลา เป็นแหล่ง ที่รวมของงานศิลปะมากมาย, พิพิธภัณฑ์ภัทร ศีลสังวร 2. วั ด ชั ย มงคล อ.เมื อ งสงขลา เป็ น ที่ ประดิษฐานเจดีย์พระบรมธาตุ, พระพุทธไสย ยาสน์ชัยมงคล
3. วัดโพธิ์ปฐมาวาส จิตรกรรมฝาผนังและ เสารูปต้นไผ่ ภายในพระอุโบสถ 4. วัดพะโคะ อ.สทิงพระ เป็นที่ประดิษฐาน พระมาลิ ก เจดี ย ์ , รอยพระพุ ท ธบาท, หลวง ปู่ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด 5. วัดจะทิ้งพระ อ.สทิงพระ วัดเก่าแก่ อายุ 1,080 ปี, เจดีย์พระศรีรัตนมหาธาตุ 6. วัดนาทวี อ.นาทวี หลวงพ่อโต, การทาสี บริเวณวัดเป็นสีรุ้ง
สถานปฏิบัติธรรม
1. วัดชัยมงคล อ.เมืองสงขลา 2. วัดเอก อ.กระแสสินธุ์ 3. วัดป่ากันตพงษ์ อ.ควนเนียง 4. วัดศรีสว่างวงศ์ อ.หาดใหญ่ 5. วัดมหัตตมังคลาราม อ.หาดใหญ่ 6. วัดป่ารัตภูมิ อ.ควนเนียง 7. วัดเกาะบกรัตนาราม อ.รัตภูมิ 8. วัดโคกเปี้ยว (ธ) อ.เมืองสงขลา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
12/5/2563 11:19:15
EXC LU SI VE I N TE RVI EW
SONGKHLA FOLKLORE MUSEUM INSTITUTE FOR SOUTHERN THAI STUDIES, THAKSIN UNIVERSITY สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ ตั้งอยู่บนเนินเขาบ้านอ่าวทราย ต�ำบลเกาะยอ ห่างจากตัวเมืองสงขลา 16 กิโลเมตร ล้อมรอบไปด้วยทิวทัศน์ทะเลสาบสงขลา และวิถีชีวิตของชาวเกาะยอ เปรียบเสมือนห้องรับแขกของจังหวัดสงขลา ที่พลาดไม่ได้
58
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 58
18/5/2563 9:58:54
EXC LU S IV E
ปรัชญา
สั่งสมและสร้างสรรค์ความรู้ เชิดชูภูมิปัญญา เพื่อพัฒนาสังคม วิสัยทัศน์
รองศาสตราจารย์ ดร.วิ ชั ย ช�ำนิ
สถาบันทักษิณคดีศึกษา เป็นศูนย์กลางแห่ง การเรี ย นรู ้ ท างศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมภาคใต้ และเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรม ที่สมบูรณ์แบบและครบวงจร มีมาตรฐานการ บริ ก ารทางศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม พั ฒ นา ศักยภาพความเข้มแข็งเครือข่าย มุ่งสู่ความเป็น เลิ ศ ทางศิ ล ปะและวั ฒ นธรรมที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรั บ ในระดั บ ชาติ ภู มิ ภ าคอาเซี ย น และ ระดับนานาชาติ
อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ
หน้าที่ความรับผิดชอบ และพันธกิจของหน่วยงาน สถาบันทักษิณคดีศึกษาเป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัย ทักษิณ มีพันธกิจหลักในการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ และท�ำนุ บ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ โดยมีบทบาทในการเก็บรวบรวม ศึกษา วิจัย ส่งเสริม เผยแพร่ พัฒนาศิลปวัฒนธรรมภาคใต้ จัดการ เรียนการสอนด้านทักษิณศึกษา บริการวิชาการสู่สาธารณชน ในรู ป แบบของพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ค ติ ช นวิ ท ยา หอศิ ล ปกรรมทั ก ษิ ณ พิพธิ ภัณฑ์ภาพ พิพธิ ภัณฑ์เสียง หอวรรณกรรมท้องถิน่ หอเอกสาร ทักษิณ และกิจกรรมทางวัฒนธรรม
นายเชิ ด ชั ย อ๋ อ งสกุ ล
รักษาการแทนผู้อ�ำนวยการ สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 59
59
18/5/2563 9:59:01
ข้อมูลทั่วไป พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ค ติ ช นวิ ท ยา ก่ อ ตั้ ง ขึ้ น ตาม แนวคิดของศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ ผู ้ ส ถาปนาสถาบั น แห่ ง นี้ เ พื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับทักษิณคดีศึกษา ที่ มี เ นื้ อ หาครอบคลุ ม ในทุ ก มิ ติ อาทิ ด้ า น ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิ ล ปวั ฒ นธรรม และวิ ถี ชี วิ ต ของ กลุ่มชนในภาคใต้ ที่สะท้อนให้เห็นถึงรากเหง้า ของความเป็ น ภาคใต้ ใ นมิ ติ ที่ ห ลอมรวมและ แยกส่วน โดยใช้วตั ถุของจริงมากกว่า 70,000 ชิน้ ผสานกับสื่อหลากหลายชนิด เช่น หุ่นจ�ำลอง ภาพเขี ย น ภาพถ่ า ย วี ดิ ทั ศ น์ ฯลฯ เพื่ อ ให้ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ค ติ ช นวิ ท ยามี คุ ณ ค่ า ทั้ ง ทางด้ า น วิชาการและศิลปวัฒนธรรม โดยแบ่งการจัด แสดงเรื่องราววิถีชีวิตชาวใต้ออกเป็นห้องต่างๆ จ�ำนวน 30 ห้อง ภายในอาคาร 4 กลุ่ม คือ อาคารนวมภูมินทร์ อาคารกลุ่ม บ้านหลังคา บลานอ
60
อาคารกลุ่มบ้านหลังคาปั้นหยา และอาคารกลุ่มบ้านหลังคาจั่ว ที่ตั้งลดหลั่นตามแนวไหล่เขา เปรียบเสมือนส่วนหนึ่งของธรรมชาติ รวมถึงทิวทัศน์บนเขาเกาะยอที่มองเห็นทะเลสาบสงขลา ซึ่ง เป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีสะพานติณสูลานนท์ทอดยาวทั้ง 2 ฝั่ง ที่เชื่อมเกาะยอ และจั ง หวั ด สงขลาเข้ า ด้ ว ยกั น ท� ำ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ เ พลิ ด เพลิ น กั บ การเยี่ ย มชมเรื่ อ งราวทาง ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าของภูมภิ าคทักษิณแห่งราชอาณาจักรไทย ซึง่ เป็นผืนแผ่นดิน ที่อุดมสมบูรณ์และมีความรุ่มรวยทางวัฒนธรรมไม่แพ้ภูมิภาคใดๆในโลก
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 60
18/5/2563 9:59:12
รางวัลที่ ได้รับ
ประวัติการได้รับรางวัลของหน่วยงานสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ
ปี พ.ศ.2543 รางวัลดีเด่น “ประเภทแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและโบราณสถาน” จากการจัดประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Award) การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ปี พ.ศ.2548 รางวัล “หน่วยงานดีเด่นของชาติ สาขาเผยแพร่เกียรติภูมิของไทย” ส�ำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ ส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรี
ปี พ.ศ.2553 รางวัลดีเด่น “ประเภทแหล่งท่องเที่ยวนันทนาการเพื่อการเรียนรู้” จากการจัดประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Award) ครั้งที่ 8 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2561 รางวัล Museum Thailand Popular Vote 2018 เป็นการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาพิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ในประเทศไทยให้เป็น สถานที่ท่องเที่ยว เชิงการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ กระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวด้านพิพิธภัณฑ์ เพิ่มมากขึ้นอันจะเป็นการกระจายรายได้ สู่ภูมิภาค สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) พิพิธภัณฑ์คติชนวิทยา สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ :(+66) 7459 1611-2 เวลาเปิด-ปิด: เปิดให้บริการทุกวัน (ยกเว้นวันอังคาร) (+66) 9357 58827 เวลา 08.30 – 17.00 น. : (+66) 7459 1619 : folklore.ists@gmail.com : www.ists.tsu.ac.th : หมู่ที่ 1 บ้านอ่าวทราย ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมืองสงขลาจังหวัดสงขลา 90100 Moo 1, Ban Ao Sai, Koh Yor subdistrict, Muang district, Songkhla. 90100 Thailand SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย 61
(4
4
).indd 61
18/5/2563 9:59:13
62
.indd 62
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:05
สงขลา เมืองสิงขร " นกน�้ำเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์การค้าแดนใต้ " จังหวัดสงขลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง มีประชากรมากเป็น อันดับ 2 รองจากนครศรีธรรมราช และมีขนาดพืน้ ทีใ่ หญ่เป็นอันดับ 3 ของภาคใต้ รองจากสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช และยังมี อาณาเขตติดต่อกับรัฐไทรบุรีและรัฐปะลิสของประเทศมาเลเซีย
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
11/5/2563 16:08:06
ที่มาของ “เมืองสิงขร”
สงขลายุคสมัยโบราณ มีชุมชนและเมืองเก่าแก่ โบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการละเล่นพื้นเมือง ศิลปพื้นบ้านเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสงขลา ซึ่งปรากฏเป็นครั้ง แรกในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับ-เปอร์เซีย ระหว่าง ปี พ.ศ.1993-2093 ในนามของ “เมืองซิงกูร์” หรือ “ซิงกอร่า” แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมือง แห่งราชอาณาจักร สยามของนายกิโลลาส แซร์แวส เรียกชือ่ เมือง สงขลา ว่า “เมืองสิงขร” จึงมีการสันนิษฐานว่า “สงขลา” น่าจะ เพี้ยนมาจากชื่อ “สิงหลา” (สิง-หะ-ลา) หรือ สิงขร สิงหลา แปลว่า “เมืองสิงห์” ซึง่ ได้ชอื่ มาจากพ่อค้าชาวเปอร์เซีย อินเดีย ที่แล่นเรือเข้ามาค้าขาย และมองเห็นเกาะหนู เกาะแมว มาแต่ไกล คล้ายรูแสิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาวอินเดีย จึงเรียกเมืองนี้ว่า “สิงหลา” ส�ำหรับไทยเรานั้นเรียก ว่า “เมืองสทิง” เมื่อชาวมลายูเข้ามาติดต่อค้าขายกับเมืองสทิง ก็เรียกว่า “เมืองสิงหลา” แต่ออกเสียงเพี้ยนเป็นส�ำเนียงฝรั่งคือ เป็น “ซิงกอร่า” (Singora) แล้วเพี้ยนมาเป็น “สงขลา” 64
.indd 64
บ้างก็วา่ “สงขลา” เพีย้ นมา จาก “สิงขร” ซึง่ แปลว่า “ภูเขา” โดยอ้างว่าเมืองสงขลาตั้งอยู่ บริเวณเชิง “เขาแดง” ต่อมามีการ พระราชทานนาม เจ้าเมืองสงขลาว่า “วิเชียรคีร”ี ซึง่ มีความหมาย สอดคล้อง กับลักษณะภูมปิ ระเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยว่า “สงขลา” เดิม ชื่อ “สิงหนคร” (สิง-หะ-นะ-คะ-ระ) ชาวมลายูไม่ชอบ จึงเปลี่ยน เป็น “สิง-คะ-รา” แต่ออกเสียงเป็น “ซิงคะรา” หรือ “สิงโครา” จนมีการเรียกเป็น “ซิงกอรา” สมัยก่อนประวัติศาสตร์
จังหวัดสงขลาเป็นเมืองทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์ยาวนานมาตัง้ แต่ยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ โดยมีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดี เช่น “ขวานหิน” ซึ่งเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ในยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ที่อ�ำเภอสทิงพระ ส่วนประวัตคิ วามเป็นมา และวัฒนธรรมในสมัยทีเ่ มืองสทิงพระ เจริญรุ่งเรือง สทิงพระ คือศูนย์กลางของ “อาณาจักรเซี้ยะโท้” หรือ “เซ็กโท” เป็นดินแดนในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับ วัฒนธรรมอินเดียโดยตรงเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 7 ศตวรรษ เพราะ
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:06
มีร่องรอยทางสถาปัตยกรรม ประติมากรรม ที่แสดงให้เห็น ว่าเมืองสทิงพระ เป็นศูนย์กลางการปกครองของดินแดน รอบๆ ทะเลสาบสงขลา สมัยกุรงธนบุรีและรัตนโกสินทร์
เมื อ งสงขลา ได้ พั ฒ นามาเป็ น หั ว เมื อ งขนาดใหญ่ ใ น สมัยกรุงธนบุรี และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น เมื่อ พ.ศ. 2310 ประเทศสยามเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า ประชาชน แตกกระจายเกิดเป็นก๊กเป็นเหล่าต่างๆ มากมาย เจ้าพระยา นคร ซึ่งตั้งตัวเป็นใหญ่ ได้แต่งตั้ง นายวิเถีย ซึ่งเป็นญาติมา เป็นเจ้าเมือง เมื่อพระเจ้ากรุงธนบุรีปราบก๊กเจ้านครได้ จึงแต่งตั้งให้ จีนเหยี่ยง แซ่เฮ่า ซึ่งเป็นนายอากรรังนก เป็น เจ้าเมืองในปี 2318 ได้รับพระราชทินนามเป็น “หลวง สุวรรณคีรีสมบัติ” (ต้นตระกูล ณ สงขลา) เชื้อสายของ ตระกูลนีไ้ ด้ปกครองเมืองสงขลาติดต่อกันมาไม่ขาดสายถึง 8 คน (พ.ศ.2318-2444)
พ.ศ.2379 สมัยสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 3 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ได้โปรดเกล้าให้พระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง) ก่อสร้างป้อมก�ำแพงเมือง ระหว่างที่ก่อสร้างตวนกู อาหมัดสะอัด ชักชวนหัวเมืองไทรบุรี ปัตตานี และหัวเมืองทั้ง 7 ยกมาตีสงขลา เมื่อปราบปรามขบถเรียบร้อยแล้วจึงได้สร้างป้อม และก�ำแพง เมืองสงขลาจนเสร็จ และได้จดั ให้มกี ารฝังหลักเมือง และย้ายเมือง สงขลามายังฝั่งตะวันออกของแหลมสน "ต�ำบลบ่อยาง" ในเขต เทศบาลนครสงขลา ปัจจุบัน
จากมณฑล สู่ “จังหวัดสงขลา”
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูปการปกครอง ทรงจัดตั้ง มณฑลเทศาภิบาลขึ้น และได้ส่งพระวิจิตรวรสาสน์ (ปัน้ สุขมุ ) ลงมาเป็นข้าหลวงพิเศษตรวจราชการ เมือง สงขลา ในปี พ.ศ.2438 เป็ น แห่ ง แรก พ.ศ.2439 ได้จัดตั้งมณฑลนครศรีธรรมราช (พ.ศ.2439-2458) และเป็นที่ตั้งศาลาว่าการภาคใต้ (พ.ศ.2458-2468) จนสิ้นสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ครัน้ ถึงปี พ.ศ.2475 ได้มกี ารยุบมณฑลและภาค เปลีย่ น เป็นจังหวัด สงขลาจึงเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้จนถึง ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
11/5/2563 16:08:06
SONGKHLA CHARMING PLACES เสน่ห์เมืองสองเล
66
.indd 66
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:12
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 67
67
11/5/2563 16:08:18
สะพานติณสูลานนท์ Tinsulanonda Bridge สะพานคู่ยาวที่สุดในไทย ความภูมิใจของชาวสงขลา
68
.indd 68
“สะพานติ ณ สู ล านนท์ ” เป็ น สะพานที่ ย าวที่ สุ ด ใน ประเทศไทย เชื่อมระหว่างทางหลวงเลข 407 หาดใหญ่สงขลา กับทางหลวง 408 สงขลา-ระโนด ข้ามทะเลสาบ สงขลา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2527 และเสร็จสิ้น เมือ่ วันที่ 25 กันยายน 2529 ปัจจุบนั สะพานติณสูลานนท์เป็น สถานที่ที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ แวะชมและแชะภาพ ทิวทัศน์บริเวณสะพานและความงดงามของทะเลสาบสงขลา พร้อมทั้งพักรับประทานอาหารอร่อยๆ ที่เกาะยอ
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:20
เกาะยอ
A small Island in the Songkhla ในจังหวัดสงขลามีสถานที่ที่สวยงามมากมาย และขอน�ำแนะสถานที่ที่ หนึ่งที่มีความสวยงานไม่แพ้ที่ไหนนั้นก็คือ เกาะยอ ตั้งอยู่ที่ บ้านท้ายเสาะ ต�ำบลเกาะยอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นหมู่บ้านที่โอบล้อมไปด้วย ทะเลสาบสงขลา และเป็นจุดชมวิวที่สามารถมองและทะเลสาบได้ชัดเจน มีธรรมชาติที่สวยงาม ในบริเวณตรงนั้นมีการท�ำประมงของคนที่อาศัยอยู่ บริเวณและยังมีอาหารทะเลที่ลด และยังมีที่พักให้นักท่องเที่ยวได้พักด้วย และยังมีปลาประพงขาวจึงเป็นของขึน้ ชือ่ ของทีน่ ี่ บริเวณท้ายเกาะจากทางเข้า
สะพานติณสูลานนท์ สามารถชมวิวเมือง ใหญ่ 2 ทะเล คือ ทะเลใน คือ ทะเลสาบ สงขลา และ ทะเลนอก คือ ทะเลอ่าวไทย ใครได้มีที่นี่มักจะติดใจกับธรรมชาติและ ทะเลทีน่ เี่ พราะมีความสวยงามมากไม่แพ้ ที่ไหน จุดเด่นของเกาะ คือ ธรรมชาติที่ สวยงาม มี อ าชี พ หลากหลาย ทั้ ง การเกษตรและประมง การที่ ดิ ฉั น ได้ ตั ด สิ น ใจเขี ย นเกี่ ย วกั บ สถานที่ แ หล่ ง เพราะสถานทีน่ มี่ ที ะเลทีส่ วยไม่แพ้ทไ่ี หน มี จุ ด ชมวิ ว มากมายและได้ ใ กล้ ชิ ด กั บ ธรรมชาติ และได้นงั้ เรือชมวิวดูทะเลสาบ อย่างใกล้ชิดอีกด้วย และคนที่อาศัยอยู่ แนวนั้นก็เป็นคนมีน�้ำใจ ใจดีกับทุกคน
เป็นกันเอง และได้เห็นวิถีชีวิตความเป็น อยูข่ องคนในบริเณรนัน้ ว่ามีการด�ำรงชีวติ เป็นยังไง ดิฉนั จึงเลือกเขียนสถานทีแ่ หล่งนี้ เพราะมี ค วามประทั บ ใจมากมายกั บ สถานแหล่งนี้ ชื่นชอบและประทับใจทุก ครั้ ง ที่ ไ ด้ ไ ป อาจจะไปถ่ า ยรู ป ชมวิ ว ทะเลสาบ ไปทานอาหารทะเลที่สดใหม่ ทุกวันเพราะคนแถวนั้น เป็นชาวประมง เป็นส่วนใหญ่ ถ้าใครอยากจะมาเที่ยวที่ จังหวัดสงขลา อย่าลืมมาเที่ยวที่เกาะยอ คุณอาจจะได้อะไรมากว่าทีค่ ณ ุ คิด ได้เห็น วิถีชีวิตของคนที่นี่ ได้ทานอาหารทะเล สดๆ อร่อยไม่แพ้ที่ไหนเลย
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 69
69
11/5/2563 16:08:25
แหลมสมิหลา
“Golden Mermaid statue at Cape Samila Beach”
70
.indd 70
หาดสมิหลา สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญที่มีชื่อ เสียงของสงขลา อยูใ่ นเขตเทศบาลเมือง หาดสมิหลา มีโขดหิน ขนาดย่อมยื่ นลงทะเล หาดทรายขาว ละเอียดมากที่เรียกว่า "ทรายแก้ว" มีป่าสนร่มรื่น จากหาดสมิหลาสามารถมองเห็นทิวทัศน์อนั งดงาม ของ เกาะหนูเกาะแมว จนมีคำ� กล่าวว่าใครมาเยือน สงขลาแล้วไม่มาเยือนสมิหลาก็เหมือนมาไม่ถึง สงขลา มีสญ ั ลักษณ์ทมี่ ชี อื่ เสียงรูปปัน้ นางเงือกทอง โดยรอบบริเวณได้จัดสวนหย่อม ไว้ดูร่มรื่นเหมาะ เป็นที่นั่งพักผ่อนยามเย็น เมี่อมองออกไปในทะเล จะเห็น เกาะหนู เกาะแมวอันเป็นอีกสัญลักษณ์หนึง่ หาดสมิหลาเป็นชายหาดทีม่ บี รรยากาศสงบ เหมาะ ส�ำหรับมาพักผ่อนชมวิว มีชายหาดต่อเนื่องกัน เรียกว่าแหลมสนอ่อน อยู่เลยหาดสมิหลาไปทาง ตะวันตก ช่วงของแหลมสนอ่อนจะยาวไปจนถึง สันเขื่อนในทะเล
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:28
สวนสองทะเล
Two Sea Garden Song Thale Park สวนสองทะเลเป็นสวนสาธารณะที่สวยงาม ตั้งอยู่ ระหว่างท่าแพขนานยนต์สงขลา และศาลกรมหลวง ชุมพรเขตอุดมศักดิ์(อย่าลืมกราบไหว้เพื่อความเป็น ศิ ริ ม งคล) นอกจากนั้ น ยั ง พิ เ ศษเพราะอยู ่ ร ะหว่ า ง ทะเลสาบสงขลาและทะเลฝัง่ อ่าวไทย ทีส่ วนสองทะเลนี้ มีต้นสนให้ความร่มรื่น ลมพัดเย็นสบายทั้งวัน และมี ประติมากรรมรูปปั้นพญานาคส่วนหัว สร้างจากโลหะ รมสนิมสีเขียว สูงเกือบ 10 เมตรดูยิ่งใหญ่น่าเกรงขาม ซึ่งพญานาคจะพ่นน�้ำตั้งแต่เวลา 8 โมงเช้าของทุกวัน เป็นสัญลักษณ์ของความรุง่ เรืองและอุดมสมบูรณ์นนั่ เอง ถ้าขับรถเลาะชายหาดมาตัง้ แต่หาดสมิหลา หาดชลาทัศน์ ก่อนถึงสวนสองทะเลก็จะเห็นหางและล�ำตัวพญานาค ครบทัง้ 3 ส่วน เป็นกิจกรรมตามล่าแลนด์มาร์คระยะทาง ยาว 4 กิโลเมตรทีน่ า่ ท�ำอีกอย่างเมือ่ มาเยือนอ�ำเภอเมือง สงขลา
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 71
71
11/5/2563 16:08:33
Street art ย่านเมืองเก่า
Street art at Songkhla’s colorful old town 72
.indd 72
ย่านเมืองเก่าเมืองสงขลา อยู่บนถนน 3 สายด้วยกัน คือ ถนนนครนอก ถนนนครใน และถนนนางงาม ทีร่ อนักท่องเทีย่ ว สาย Art มาเดินชิลล์ซึมซับบรรยากาศคลาสสิค กับอาคาร บ้ า นเรื อ นสไตล์ “ชิ โ นโปรตุ กี ส” ตึ ก แถวแบบจี น โบราณ ซึ่งชาวสงขลาเขาร่วมแรงร่วมใจกัน Renovate ปรับปรุง ทัศนียภาพให้ดูดีมีสีสันสวยงาม เป็นแหล่งเรียนรู้วิถีชีวิตและ แหล่งท่องเที่ยวทรงคุณค่า ของชาวเมืองสงขลา
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:36
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 73
73
11/5/2563 16:08:43
“ทัชมาฮาลเมืองไทย” Taj Mahal of Thailand
ว่ากันว่า “มัสยิดกลางสงขลา” แห่งนี้นอกจากจะเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวมุสลิม ในจังหวัดสงขลาแล้ว ยังมีความสวยงามเทียบเท่า “ทัชมาฮาล” ด้วยความเป็นมัสยิด ที่ใหญ่โตโอ่อ่าอลังการ จึงได้รับฉายา “ทัชมาฮาลเมืองไทย” ด้วยความสวยงาม ที่โดดเด่น นอกจากจะเป็นสถานที่ท�ำพิธีกรรมทางศาสนาแล้ว ยังเป็นที่ต้องตาต้องใจ ของนักท่องเที่ยวทั่วไป จึงไม่ควรพลาดแวะไปแชะภาพไว้เป็นที่ระลึก
74
.indd 74
SBL บันทึกประเทศไทย I จังหวัดสงขลา
11/5/2563 16:08:44
เขาตังกวน
Khao Tang Kuan สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจในเทศบาล นครสงขลาอีกแห่งนัน่ ก็คอื “ยอดเขาตังกวน” ซึ่งมีเจดีย์ทรงโบราณ ว่ากันว่าเป็นศิลปะ สมัยทราวดี เมื่อปี 2539 พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราช กรุณาโปรดเกล้าพระราชทาน “พระบรม สารีริกธาตุ” บรรจุไว้ในพระเจดีย์หลวง เพื่อเป็นที่สักการะของชาวเมืองสงขลา บอกเลยว่าไม่ต้องกลัวข้อเข่าเสื่อมเพราะ ปัจจุบันเขามีลิฟต์อ�ำนวยความสะดวกใน การขึ้นไปบนยอดเขาตังกวน เพื่อกราบ พระบรมสารีริกธาตุและชมทิวทัศน์ของ เมืองสงขลาและทะเลสาบสงขลา
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 75
75
11/5/2563 16:08:46
Ad 10
.indd 76
11/5/2563 16:10:03
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 10
บั น ทึ ก ประเทศไทย ถือเป็นแหล่งข้อ มู ล อ้ า งอิ งได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ โดยให้ ร ายละเอี ยดข้ อมู ลอย่ า งครบถ้ ว น สมบู ร ณ์ และถู กต้ อง พร้อมรู ป ภาพจากสถานที่จริ ง ณ ปั จจุ บัน ล้ ว นได้ ถูกบั นทึ กเอาไว้ แ ล้ ว ในหนั ง สื อเล่ มนี้ !
Ad 10
.indd 77
10 th
ANNIVERSARY ISSUE
11/5/2563 16:10:26
WO R K LI FE
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง “ ประตู เ มื อ งสงขลา ก้ า วหน้ า อุ ต สาหกรรม งามล�้ ำ ประเพณี พึ่ ง บารมี ท วดช้ า ง ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา ต� ำ นานศิ ล าหั ว นายแรง ”
Facebook SBL
ค�ำขวัญของเทศบาลเมืองเขารูปช้าง
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ตั้งอยู่เลขที่ 333 หมู่ที่ 10 ถนนกาญจนวนิช ต�ำบลเขารูปช้าง
นายประสงค์ บริรัก ษ์ นายกเทศมนตรีเมืองเขารูปช้าง
นายประสงค์ บริรกั ษ์ นายกเทศมนตรีเมืองเขารูปช้าง ด�ำรงต�ำแหน่งผูบ้ ริหารท้องถิน่ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 จนถึง ปัจจุบัน มีแนวทางในการบริหารบ้านเมือง ที่มุ่งเน้นการ บริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล โดยได้ ก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญในการพัฒนาเมืองเขารูปช้าง ด้วยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน มุ่งพัฒนาให้เป็น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้มแข็งเป็นเลิศในการ บริหารสาธารณะแก่ประชาชน โดยเน้นความรวดเร็ว ทั่วถึง เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีความ มั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ภูมิใจในวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการศึกษา การกีฬา และสุขภาพ ร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ ง แวดล้ อ มควบคู ่ กั บ การพั ฒ นาเมื อ งอย่ า งมี ทิ ศ ทาง นอกจากนี้ ประชาชนสามารถพึง่ ตนเองได้และมีสว่ นร่วม ในการพัฒนาในรูปแบบบริหารจัดการที่ดี น�ำไปสู่ความ เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน. 78
อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000 โทร. 074-302555 แฟกซ์. 074-550798 E-mail : info@krc.go.th
“ เทศบาลเมื อ งเขารู ป ช้ า งจะเป็ น องค์ ก รที่ มี ค วามเข้ ม แข็ ง มุ ่ ง ให้ บ ริ ก ารสาธารณะแก่ ป ระชาชนอย่ า งทั่ ว ถึ ง รวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ประชาชนพึ่ ง ตนเองได้ แ ละมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาในรู ป แบบการบริ ห ารจั ด การที่ ดี น� ำ ไปสู ่ ค วามเป็ น เมื อ งที่ น ่ า อยู ่ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ” วิสัยทัศน์ของเทศบาลเมืองเขารูปช้าง
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(6
).indd 78
14/5/2563 14:04:42
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง มีพื้นที่ 27.49 ตร.กม. ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ต�ำบลเขารูปช้าง เป็นเมือง 2 ทะเล ทิศตะวันออกติดฝั่งอ่าวไทย ทิศตะวัน ตกติดทะเลสาบสงขลา เป็นเมืองที่มีพื้นที่เป็นเชิงเขา เป็นศูนย์รวมของ สถานที่ราชการหลายแห่ง สถานศึกษาส�ำคัญ 2 แห่ง ได้แก่ มหาวิทยาลัย ทักษิณ วิทยาเขตสงขลา และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มีลักษณะ กึ่งชุมชนเมือง ประกอบด้วย 10 หมู่บ้าน ประชากร จ�ำนวน 42,210 คน มีสถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญหลายแห่งที่ได้รับความสนใจ อาทิ จุดชมวิว หัวนายแรง หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา สงขลา สวนสัตว์สงขลา ศาสนสถานวัดวาอาราม และร้านค้า ร้านอาหารขึ้นชื่อ อีกหลายแห่ง ท�ำให้เมืองเขารูปช้างมีความเจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว การบริหารอย่างมีทิศทาง ด้วยหลัก “ธรรมาภิบาล”
“ครอบครัวเขารูปช้างเป็นกุญแจส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จ”
ครอบครัวเขารูปช้างเป็นครอบครัวใหญ่ มีสมาชิกที่มีชื่ออยู่ในทั้งระบบ ทะเบียนราษฎร์และที่มาอาศัยพ�ำนักเพื่อการประกอบอาชีพ การศึกษา และอื่น ๆ ทุกคนล้วนเป็นส่วนหนึ่งที่ร่วมกันสร้าง ร่วมกันพัฒนา จากการ ร่วมคิด ร่วมเขียน และร่วมท�ำ จนการบริหารและการพัฒนาเมืองเจริญ เติบโตขึ้น สร้างประโยชน์แก่ส่วนรวมและประเทศชาติ
ครอบครัวเขารูปช้าง “เปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง”
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง “ เปลี่ยนภาระให้เป็นพลัง ” ด้วย นวัตกรรม บันได 4 ขั้นสู่สุขภาวะที่ดีของผู้สูงวัยเมืองเขารูปช้าง จนได้รับรางวัลอันดับ 2 ระดับประเทศในการประกวดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่มีการ บริหารจัดการที่ดี ประจ�ำปี 2562 จากการที่ประเทศไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุในประเทศไทย ส่งผลให้ เทศบาลเมืองเขารูปช้างในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีความ ใกล้ ชิ ด กั บ ประชาชน และมี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม และพั ฒ นา คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยตรง ได้มีการวางแผนและบูรณาการความ ร่วมมือภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อให้ ผู้สูงอายุในเขารูปช้างได้รับการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสม สามารถเข้าถึง บริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง มีการจัดตั้ง “โรงเรียนผู้สูงอายุ” เพื่อเป็น ศูนย์กลางในการเรียนรู้ เพิ่มทักษะ ความสามารถ ส่งเสริมอาชีพ และเพิ่ม รายได้ สู่วัยสูงอายุที่มีศักยภาพ นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมของภาคต่าง ๆ ในการระดมทุนช่วยเหลือ ผ่านโครงการ อาทิ โครงการทอดผ้าป่าสามัคคี การทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล และ ซอดาเก๊าะซ์ วากัฟ เป็นต้น รวมถึง อาสาสมัครชุมชน ถือเป็นปัจจัย ส�ำคัญ ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมการดูแลผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 79
79
14/5/2563 14:04:44
ครอบครั ว เขารู ป ช้ า ง เสริ ม สร้ า งความ ปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ด้ ว ยนโยบาย “ Safety First ปลอดภัยไว้ก่อน ”
ความปลอดภั ย ของชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น ของ ประชาชนถื อ เป็ น หนึ่ ง ในภารกิ จ ที่ เ ทศบาลเมื อ ง เขารูปช้างให้ความส�ำคัญ โดยเฉพาะความปลอดภัย ทางถนน ซึง่ ถือเป็นอุบตั เิ หตุอนั ดับต้นๆ ของประเทศไทย โดยเทศบาลเมืองเขารูปช้างได้วางแผนการด�ำเนินการ เพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุบนท้องถนนที่เกิดขึ้นใน พื้นที่ เริ่มตั้งแต่การประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อก�ำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยทางถนน สร้างการรับรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ แจ้งเตือนผ่านการ ประชาสัมพันธ์และลงพื้นที่โดยตรง เพื่อให้ประชาชน ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยบนถนน ลดการสูญเสีย ชีวิตและทรัพย์สินของคนในชุมชน รวมทั้งการสร้าง จริยธรรมจิตส�ำนึกแก่ประชาชนตั้งแต่วัยเยาว์จนถึง ผู ้ สู ง อายุ เพื่ อ ร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมให้ เ มื อ ง เขารูปช้างเป็นเมืองแห่งความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน
80
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(6
).indd 80
14/5/2563 14:04:45
ครอบครัวเขารูปช้างพัฒนาการศึกษา สร้างคน สร้างชาติ ส่งเสริมด้านภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม และการดนตรี ควบคูก่ บั วิชาการ
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง มีสถานศึกษาภายในสังกัด จ�ำนวน 3 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดแช่มอุทิศ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดเขาแก้ว และ โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเขาแก้ว) โดยมีจุดมุ่งหมายเพี่อให้เด็กและ เยาวชนในพื้นที่ได้รับการศึกษาและสวัสดิการอย่างทั่วถึง ขยายโอกาส ทางการศึกษาอย่างเหมาะสมและเพียงพอ โดยปูพื้นฐานตั้งแต่ชั้นปฐมวัย อนุบาล จนเข้าสู่ชั้นประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเขาแก้ว) เป็นโรงเรียนเทศบาลที่จัดหลักสูตร ให้เป็น “โรงเรียน 3 ภาษา” โดยมีหลักสูตรภาษาต่างประเทศ ได้แก่ อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เป็นการเรียนรู้จากเจ้าของภาษาโดยตรง เพื่อให้นักเรียน ได้มีทักษะในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ครบในทุกด้าน อีกทั้ง ยังจัดระบบให้เป็นโรงเรียนอัจฉริยะ “เก่ง ดี มีสุข” นอกจากนี้ยังได้รับการยอมรับจากชุมชน ด้านการแสดงนาฏศิลป์และ ดนตรี โดยมีการจัดตั้งชมรมนาฏศิลป์ วงดนตรี ซึ่งเป็นการผสมผสาน ระหว่างดนตรีพื้นบ้าน ดนตรีไทย และดนตรีสากล อีกทั้งยังได้รับเกียรติ จาก นายควน ทวนยก ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประจ�ำปี พ.ศ. 2553 ในการให้ความรู้และค�ำแนะน�ำด้านดนตรีพื้นบ้านซึ่งในปัจจุบัน โรงเรียนเทศบาล 1 (บ้านเขาแก้ว) ได้มีการจัดการแสดงทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา ตลอดจนนักเรียนได้เข้าร่วมแสดงความสามารถจน ได้รับรางวัลในการแข่งขันทักษะวิชาการมาอย่างต่อเนื่อง สร้างความภาค ภูมิใจและเป็นที่ชื่นชมของคนในชุมชนเป็นอย่างมาก
ครอบครัวเขารูปช้างพัฒนาเมืองด้วยการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน
เนื่องจากเทศบาลเขารูปช้างเป็นเทศบาลที่ไม่มีคณะกรรมการชุมชน แต่ขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในรูป แบบของภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ซึ่งทุกคนล้วนเข้ามาด้วยจิตสาธารณะที่ ต้องการพัฒนาชุมชนของตนเองอย่างเต็มที่ ทั้งรูปแบบของกลุ่มแกนน�ำ และชมรมต่างๆ ครอบคลุมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสิ่งแวดล้อม และ ด้านเศรษฐกิจชุมชน รวมทั้งหน่วยงานในพื้นที่ทั้ง ภาครัฐและเอกชนที่ร่วมสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ ซึ่งความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วนนี้เอง ที่ท�ำให้เทศบาลเมืองเขารูปช้างเป็นองค์กรที่เข้มแข็ง เข้าถึงทุกปัญหาของประชาชน และได้รับความร่วมมือจากชุมชนอย่าง แท้จริง การสร้างรากฐานการด�ำรงชีวิตของคนในชุมชน การส่งเสริมสุขภาพ การประกอบอาชีพได้นอ้ มน�ำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทาง หลักในการจัดการความรู้และสร้างภูมิคุ้มกัน โดยมีเป้าหมายคือ ความ สามารถในการพึ่งพาตนเองได้ มีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรงและยกระดับ ความเป็นอยู่ให้เข้าถึงและได้รับบริการอย่างทั่วถึง นอกจากนี้ได้มุ่งเน้น การเสริมสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม โดยน�ำภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ มาใช้ในการสร้างสรรค์คุณค่าของสินค้าและบริการท้องถิ่น เพื่อสร้างอาชีพ และรายได้ที่สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 81
81
14/5/2563 14:04:48
สถานที่ท่องเที่ยว หัวนายแรง
“อยากดูพระอาทิตย์ขึ้น...ต้องหัวนายแรงสิ รับรองไม่ผิดหวัง” หั ว นายแรง เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เวศน์ ที่ ส วยงามของต� ำ บล เขารูปช้าง ตั้งอยู่ที่วัดเขาเก้าแสน ต�ำบลเขารูปช้าง จังหวัดสงขลา ลักษณะ ทางกายภาพเป็นโขดหินขนาดใหญ่บนยอดเขาริมทะเลฝั่งอ่าวไทย เป็น สถานที่ ส� ำ หรั บ คนที่ รั ก ธรรมชาติ สั ม ผั ส ฉากธรรมชาติ แ ห่ ง ท้ อ งทะเล และตราตรึงกับการดูพระอาทิตย์ดวงกลมโตโผล่ขึ้นจากผิวน�้ำทะเลบนฉาก หลังของท้องฟ้า นอกจากธรรมชาติที่ตระการตาแล้ว ยังมีต�ำนานเล่าขาน
กาลครั้งหนึ่ง เมืองนครศรีธรรมราช ก�ำหนดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ในเจดีย์ เจ้าเมืองชื่อ นายแรง ขนเงินทองเป็นจ�ำนวนเก้าแสนบรรทุก เรือส�ำเภา เดินทางไปเมืองนครศรีธรรมราช ขณะเดินทางถูกคลื่นลมพัดจน เรือส�ำเภาช�ำรุด จึงต้องแวะเข้าจอดชายหาดเพือ่ ซ่อมแซม หลังซ่อมแซมเสร็จ ทราบข่าวว่าทางเมืองนครศรีธรรมราชได้บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุเสร็จแล้ว นายแรงเสียใจมาก จึงให้ไพร่พลขนเงินทองบรรจุไว้บนเขาลูกหนึ่ง แล้วสั่ง ให้ลูกเรือตัดหัวของตนไปวางไว้บนยอดเขา เขาลูกนี้ภายหลังจึงเรียกว่า “เขาเก้าแสน” และเพี้ยนมาเป็น “เก้าเส้ง” ในเวลาต่อมา และก้อนหิน ทีป่ ดิ ทับอยูบ่ นยอดเขา เรียกว่า “หัวนายแรง” ชาวบ้านเชือ่ ว่าดวงวิญญาณ ของนายแรงยังเป็นปู่โสมเฝ้าทรัพย์จวบจนทุกวันนี้
พ่อทวดช้าง หรือ ทวดช้าง
พ่ อ ทวดช้ า งและพระเจดี ย ์ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เวณเขาเที ย มดา ในพื้นที่หมู่ที่ 2 ต�ำบลเขารูปช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จากต�ำนาน เล่าขานต่อกันมาว่าในอดีตกาล ท่านลักเก้า (เจ้าเมืองในหัวเมืองหนึ่งใน ภาคใต้) ได้เดินทางมาจากทางทิศใต้ น�ำช้าง 2 เชือก ชื่อพ่อพลายแก้ว แม่พังงา และควาญช้าง เดินทางจากเมืองกลันตันน�ำทรัพย์สมบัติไปสร้าง พระเจดีย์ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างทางเกิดพายุลมแรงท�ำให้ไม่ สามารถเดินทางต่อได้ จึงหยุดพักบริเวณเชิงเขาแห่งนี้ เมื่อพายุสงบท่าน ลักเก้าได้พบกับชาวบ้านที่กลับจากงานเฉลิมฉลองการสร้างพระมหาธาตุ จึงเสียใจได้ฝังสมบัติทั้งหมดไว้บนยอดเขาเพื่อเป็นสมบัติแผ่นดิน ต่อมา ช้างและควาญช้างเสียชีวิตลง ท่านลักเก้าจึงฝังไว้บนยอดเขา ต่อมาช้าง ผุดขึ้นเป็นหิน ชาวบ้านในละแวกนั้นได้ตั้งชื่อว่า เขารูปช้าง และเชื่อว่า ท่านได้ช่วยปกปักรักษาให้ชาวบ้านอยู่เย็นเป็นสุข ทั้งนี้ยังมีเจดีย์ทวดช้าง ที่สร้างในสมัย ร.4 ประดิษฐานไม่ห่างกันนัก ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของ ชาวบ้านเช่นกัน หากทุกท่านเดินทางผ่านถนนกาญจนวนิชมุ่งหน้าไปยัง เมืองสงขลา สังเกตุทางขวามือ บริเวณหน้าปากซอย 23 กาญจนวนิช มอง ขึ้นไปทางภูเขา จะเห็นหินขนาดใหญ่ตั้งซ้อนกันเด่นเป็นสง่า มองคล้าย ช้าง 2 ตัว ตามต�ำนานที่เล่าขานกันมา 82
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(6
).indd 82
14/5/2563 14:04:51
หอวิเชียรเทวด�ำรง
หอวิเชียรเทวด�ำรง สวนตูล ม.5 ต.เขารูปช้าง ซึ่ง เป็นโบราณสถาน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชกาลที่ 5 ปี พ.ศ. 2441 มีอายุถึง 121 ปี พื้นที่ตรงนี้สร้างโดย พระยาวิเชียรคีรี ซึ่งเป็นผู้ส�ำเร็จราชการเมืองสงขลาได้ สร้างไว้ เป็นสถานที่ฝังศพบรรพบุรุษ เป็นอาคารชั้น เดียวทรงยุโรป และยังพบหลักฐานชิ้นส�ำคัญ คือ ศิลา จารึกสวนตูล เป็นศิลาจารึกด้วยอักษรไทย จารึกเมื่อ ปี พ.ศ. 2441 เดิมตั้งอยู่ที่ผนังด้านทิศใต้ของหอวิเชียร เทว-ด�ำรง บริเวณดังกล่าวมีต้นไม้ปกคลุมร่มรื่น ใกล้ๆ มีน�้ำตกสวนตูล ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในหมู่ประวัติศาสตร์ สงคราม เพราะเคยเป็นเส้นทางเดินทัพของเจ้าเมือง ไทรบุรีเมื่อครั้งเดินทางมาตีเมืองสงขลา เมื่อปี พ.ศ. 2364
หอดูดาว
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา สงขลา (หอดูดาวภูมภิ าค สงขลา) โครงการพระราชด�ำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตั้งอยู่ที่ตำ� บลเขารูปช้าง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ก่อตัง้ โดยสถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) โดยความ ร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเทศบาล เมืองเขารูปช้าง เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ถือเป็นหอดูดาวภูมิภาคส�ำหรับ ประชาชนเต็ ม รู ป แบบแห่ ง ที่ 3 ของประเทศไทย หอดู ด าวแห่ ง นี้ มี จุ ด เด่ น คื อ มี ทั ศ นี ย ภาพที่ ส วยงาม “วิวสองทะเล” สามารถศึกษาวัตถุในซีกฟ้าใต้ได้ดีกว่า หอดูดาวในภูมภิ าคอืน่ และยังสามารถสังเกตการณ์ทาง ดาราศาสตร์ในช่วงฤดูฝนของประเทศไทยตอนบนได้ เนื่ อ งจากสภาพท้ อ งฟ้ า ของภาคใต้ ใ นเวลานั้ น เอือ้ อ�ำนวยต่อการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์มากกว่า ภูมภิ าคอืน่ ทีน่ นี่ อกจากเป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษา วิจยั ด้าน ดาราศาสตร์และอวกาศ ด้านวิทยาศาสตร์บรรยากาศ เต็มรูปแบบแห่งแรกของภาคใต้ โดยความร่วมมือทั้ง ระดับชาติและระดับนานาชาติ หอดูดาวภูมิภาคสงขลา ยังเป็น “ศูนย์การเรียนรูด้ าราศาสตร์มสุ ลิมแห่งแรกของ ประเทศไทย” มี พั น ธกิ จ คื อ ร่ ว มสั ง เกตการณ์ ท าง ดาราศาสตร์ เพือ่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกับการก�ำหนดเวลาทีใ่ ช้ ในพิธีทางศาสนาอิสลาม อันเป็นการสนับสนุนภารกิจ ของส�ำนักจุฬาราชมนตรีอีกด้วย
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 83
83
14/5/2563 14:05:03
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลบางเหรียง “ ประชาชนต� ำ บลบางเหรี ย งสุ ข ภาพดี มี ก ารศึ ก ษา ก้ า วหน้ า ทางเศรษฐกิ จ ด� ำ รงชี วิ ต แบบพอเพี ย ง ”
Facebook SBL
วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลบางเหรียง
ต�ำบลบางเหรียง เป็นต�ำบลหนึ่งในอ�ำเภอ ควนเนี ย ง จั ง หวั ด สงขลา “บางเหรี ย ง” เป็นค�ำทีเ่ พีย้ นมาจากค�ำว่า “บางเรียง” กล่าวคือ การตั้งชื่อบ้านในอดีตนั้น เริ่มต้นมาจากอ�ำเภอ หาดใหญ่ที่มีชื่อชุมชนหนึ่งว่า “บ้านบางแฟบ” ไล่เรียงกันมาเป็น บางกล�่ำ บางหยี บางทีง เรียงกันมาจนถึงบางสุดท้ายคือ “บางเรียง” ก็คือต�ำบลบางเหรียงในปัจจุบัน ลักษณะชุมชนในต�ำบลบางเหรียง คาดว่า ชุ ม ชนแรก คื อ ชุ ม ชนที่ อ าศั ย อยู ่ ริ ม คลอง บางเหรียง เนื่องจากยังมีสภาพอาคารบ้านเรือน ใต้ ถุ น สู ง ในอดี ต ประชาชนต� ำ บลบางเหรี ย ง มี ก ารติ ด ต่ อ ค้ า ขายโดยทางเรื อ กั บ ชุ ม ชน บ้านเกาะยอ และเมื่อมีสถานีรถไฟ ก็ได้น�ำเอา พืชผักที่ปลูกไปขายบนรถไฟ โดยเริ่มต้นที่สถานี รถไฟบ้ า นเกาะใหญ่ ไ ปสิ้ น สุ ด สถานี ร ถไฟ หาดใหญ่
ต�ำบลบางเหรียง มีเนื้อที่ 69.97 ตารางกิโลเมตร หรือ 43,731 ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น 13 หมู่บ้าน ประชากร 9,289 คน ต�ำบลบางเหรียงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของที่ว่าการอ�ำเภอ ควนเนียง ระยะทางห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอควนเนียงประมาณ 8 กิโลเมตร ห่างจากอ�ำเภอเมือง สงขลา 72 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ จด อบต.รัตภูมิ อ�ำเภอควนเนียง ทิศใต้ จด อบต.บางกล�่ำและ เทศบาลต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอบางกล�่ำ ทิศตะวันออก จด อบต.บางกล�่ำ อ�ำเภอบางกล�่ำ และทะเลสาบสงขลา ทิศตะวันตก จด เทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ
แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ บ้านโคกเมือง
นายเวียง จันทฤทธิ์ นายกเทศมนตรีต�ำบลบางเหรียง
84
.
(2
“บ้านโคกเมือง เรืองวิถีถิ่น กินร้อยอย่าง สร้างป่าเลน” บ้านโคกเมืองเป็นชุมชนที่มีแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย เกิดจากการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ในการสร้างและอนุรักษ์ป่าชายเลน ฟื ้ น ฟู ร ะบบนิ เ วศริ ม ฝั ่ ง ให้ เ ป็ น พื้ น ที่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ความอุดมสมบูรณ์ สามารถเป็นคลังอาหารให้กับประชาชนในลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา เป็นแหล่ง “ปลาสามน�้ำ” และมีป่าชายเลนที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งถือเป็นแหล่งธาตุอาหารของสัตว์น�้ำ และยังเป็น เสมือนก�ำแพงป้องกันน�้ำทะลักเข้าพังทลายบ้านเรือน ป้องกันการกัดเซาะของชายฝั่ง และเป็นแหล่ง ท่องเที่ยววิถีชุมชนของต�ำบลบางเหรียง
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 84
16/5/2563 9:20:58
บ้านบางเหรียงใต้
“นิเวศสวย หรอยผักปลา มาบางเหรียงใต้” บ้านบางเหรียงใต้ เป็นชุมชน “วิ ถี เ กษตรปลู ก ผั ก ปลอดภั ย ” เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยทรั พ ยากรธรรมชาติ มี แ ม่ น�้ ำ ล� ำ คลองที่ ส วยงาม มี ท ะเลสาบที่ อุดมสมบูรณ์ เป็นชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ของอ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และเชิงนิเวศ มีการล่องเรือ เที่ยวชมริมคลองบางเหรียง “ยกยอยักษ์” หรือ “ยกบาม” ถือเป็น มนต์เสน่ห์ในการจับปลาของชุมชนย่านนี้
วัดป่ากันตพงษ์
วั ด ป่ า กั น ตพงษ์ เป็ น ศาสนสถานที่ มี บ รรยากาศร่ ม รื่ น มี พั น ธุ ์ ไ ม้ โอบล้อมทั่วบริเวณ มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่สวยงาม อากาศเย็นสบาย แตกต่ า งจากวั ด ในเมื อ งใหญ่ ภายในอุ โ บสถมี พ ระประธานและภาพ จิตรกรรมฝาผนัง เกี่ยวกับพุทธประวัติฝีมือช่างพื้นบ้านสวยงาม นอกจาก ใช้ประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชนของชุมชนแล้ว ยังเป็นสถานที่ ปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน โดยใน “วันพระ” นักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะใหญ่ซึ่งอยู่ใกล้ๆ วัดมาท�ำบุญตักบาตร และมีประชาชน ที่สนใจศึกษาธรรมมาปฏิบัติธรรม ถือศีล 8
สินค้า OTOP
สวนพอเพียง
สวนพอเพียง เป็นสวนผสมผสานที่ได้น้อมน�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการปลูกพืช ของครูวิเชียร ขุนเพชร ที่มองว่า การท�ำเกษตรเชิงเดี่ยวมีความเสี่ยงสูง จึงหันมาท�ำเกษตรแบบผสมผสาน บนพื้นที่ 6 ไร่ โดยอาศัยความแตกต่างของการให้ผลผลิตของพืชแต่ละ ชนิดมาสร้างรายได้ รายวัน รายเดือน และรายปี เพื่อให้สามารถด�ำรงชีวิต อยู่ได้ โดยการหันมาปลูกสละพันธุ์สุมาลี สละอินโด เลี้ยงผึ้ง เลี้ยงเป็ด เลี้ยงไก่ ในสวน และพืชร่วมสวนสละ เช่น กล้วย หมาก ไผ่ เสาวรส ผักกูด ผักเหรียง และผักสวนครัวอื่นๆ ท�ำให้มีรายได้ตลอดทั้งปี และเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านหน้าควน เป็นกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชนที่ประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน ในเรื่องการจัดระบบวิสาหกิจ การจัดสวัสดิการส�ำหรับสมาชิก ชุมชน และ เป็ น การอนุ รั ก ษ์ ภู มิ ป ั ญ ญาของชาวบ้ า นภาคใต้ (เครื่ อ งแกงภาคใต้ ) ที่สามารถสร้างงานให้กับผู้สูงอายุในชุมชน สร้างรายได้เสริมให้กับสมาชิก กลุ่มแล้วยังสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรในพื้นที่ โดยกลุ่มรับซื้อวัตถุดิบ ทีใ่ ช้ในการผลิตเครือ่ งแกง เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ขมิน้ จากคนในชุมชนเป็นหลัก และในปัจจุบันสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชนปีละไม่ต�่ำกว่า 1 ล้านบาท
เทศบาลต�ำบลบางเหรียง
ตั้งอยู่เลขที่ 15/4 หมู่ที่ 8 ต�ำบลบางเหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 90220 โทร 0-7458-1641-2 โทรสาร 0-7458-1642 E-mail: bangrieang@hotmail.com SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 85
85
16/5/2563 9:21:08
WO R K LI FE
เทศบาลต�ำบลคูหาใต้ “ น� ำ คู ห าใต้ สู ่ ค วามเข้ ม แข็ ง พอเพี ย ง มั่ น คง มั่ ง คั่ ง ยั่ ง ยื น ”
Facebook SBL
วิสัยทัศน์ของเทศบาลต�ำบลคูหาใต้
ค้ น หา คู ห า แดนใต้ คู ห าใต้ หากยั ง ไม่ ม า อย่ า พึ่ ง สิ้ น ลม
นายประกอบ จันทสุวรรณ นายกเทศมนตรีต�ำบลคูหาใต้
ต�ำบลคูหาใต้ ชุมชนแห่งแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่หลากหลายภายในพื้นที่ ยุทธภูมิพ้ืนที่ กลางน�้ำ จากสายธารล�ำคลองภูมีเป็นสายเลือดใหญ่ ที่หล่อเลี้ยงสรรพชีวิต ณ ถิ่นดินแดนแห่งนี้ ผู้คนมีความเอื้อเฟื้อตามวิถีของชุมชนแห่งเครือญาติ ท�ำให้บรรยากาศต้อนรับผู้คนเป็นไปอย่าง อบอุ่น ไม่ว่าใครมาเยี่ยมหา ต่างน�ำพาความประทับใจกลับอย่างอิ่มเอิบ ต�ำบลคูหาใต้ ภายใต้การบริหารโดยนายประกอบ จันทสุวรรณ นายกเทศมนตรีต�ำบลคูหาใต้ โดยมีฐานทรัพยากรธรรมชาติ และสถานที่ที่เหมาะสมแก่การแวะชม ท่องเที่ยวตามวิถีคนท้องถิ่น ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากมาย ในยุคปัจจุบันที่ผู้คนหนีความวุ่นวายมาหาความสงบ ใช้ชีวิตแบบ สโลว์ไลฟ์ ในวันหยุดและโอกาสต่างๆ คูหาใต้มีสถานที่ธรรมชาติมาแนะน�ำ เช่น ปีนเขาคูหา เพื่อ ชมวิวมุมสูง ปีนป่ายขึ้นถ�้ำเขาจังโหลน เดินบันไดขึ้นเขาจุ้มปะ กราบไหว้ตาเจ้าเล็ก นั่งเอนกายรับ ลมชิวๆ ที่พรุโต๊ะนาย (ทะเลทิพย์คีรี) แหล่งน�้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ และมีกิจกรรมอีกมากมายตาม กลุ่มอาชีพในพื้นที่ ที่รอยินดีต้อนรับทุกท่านที่มาเยือน มีกิจกรรมหลากหลายให้ทดลองสัมผัสและ ในอนาคตทิศทางการพัฒนาต่อยอดการท่องเที่ยวของเทศบาลต�ำบลคูหาใต้ โดยใช้หลักคิด ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมรับผิด ร่วมรับชอบนัน้ มีการถอดบทเรียนต่างๆร่วมกับชุมชน จัดท�ำแผนระยะสัน้ ระยะยาว เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน พี่น้องในชุมชนเกิดอาชีพ รายได้จากการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และเป้าหมายต้องท�ำให้คูหาใต้เป็นต�ำบลที่ติดตราตรึงใจของผู้มาเยือน และเป็นที่กล่าวขานในเรื่อง การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และเชิงวิถี ที่ผู้คนมาแล้วอยากมาอีก ในทิศทางดังกล่าวจะประกอบด้วย หลายด้ า นเช่ น การคมนาคม สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกในสถานที่ การปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น์ แ ละ ความปลอดภัย เป็นต้น ทั้งนี้ ในการด�ำเนินการต้องร่วมกันทุกภาคส่วนในชุมชน เพราะคูหาใต้คือ ต�ำบลของเรา
ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลคูหาใต้ 155 หมู่ที่ 7 ต�ำบลคูหาใต้ อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา 90180 โทรศัพท์.074-256108 โทรสาร 074-256109 Email: kuhatai155@gmail.com 86
.
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 86
14/5/2563 14:08:30
แหล่งท่องเที่ยว
ทะเลทิพย์คีรี(พรุโต๊ะนาย)
เขาคูหา
เขาจังโหลน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 87
87
14/5/2563 14:08:42
WO R K LI FE
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลตลิ ่ ง ชั น Taling Chan Subdistrict Administrative Organization
Facebook SBL
“ โครงสร้ า งพื้ น ฐานทั น สมั ย ก้ า วไกลทางการศึ ก ษา คุ ณ ภาพชี วิ ต ได้ รั บ การพั ฒ นา ภายใต้ ห ลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง”
“Modern infrastructure, progress in education and quality of life improvement under the philosophy of sufficiency economy”
วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลตลิ่งชัน
องค์การบริหารส่วนต�ำบลตลิ่งชัน ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ของที่ว่าการอ�ำเภอจะนะ เป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่รับผิดชอบ 8 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1,2,3,4,5,6,7 และ 8 และมีอาณาเขต ติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้ Taling Chan Subdistrict Administrative Organization Located to the north of Chana District Office Distance is 5 kilometers away. Responsible for 8 villages, which are Moo 1,2,3,4,5,6,7 and 8 and have the territory to contact with nearby areas as follows ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับ อ่าวไทย North borders the Gulf of Siam. ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับ ต�ำบลบ้านนา ต�ำบลป่าชิง South borders with Ban Na Subdistrict, Pa Ching Subdistrict ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต�ำบลนาทับ ต�ำบลจะโหนง และต�ำบลคลองเปียะ West border with Na Thap Subdistrict, Chan Nong Subdistrict, and Khlong Pia Subdistrict ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับ ต�ำบลสะกอม East borders with Sakom subdistrict
นายเจะโส๊ะ หัดเหาะ
นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลตลิ่งชัน
Mr.Chesoh Hadhoh President of Taling Chan Subdistrict Administrative Organization องค์การบริหารส่วนต�ำบลตลิ่งชัน ตั้งอยู่ 101 หมู่ที่ 4 ต�ำบลตลิ่งชัน อ�ำเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา โทร. : 074-536090 fax : 074-536091 E-Mail : info@talingchan-chana.go.th
Taling Chan Subdistrict Administrative Organization is located 101 Moo 4, Taling Chan Subdistrict, Chana District, Songkhla Province. Tel : 074-536090 fax: 074-536091 E-Mail : info@talingchan-chana.go.th 88
.
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 88
16/5/2563 9:22:05
สถานที่ท่องเที่ยว Tourist attraction สนามหวังดี เป็นสนามแข่งขันนกเขาประจ�ำอ�ำเภอจะนะ ตั้งอยู่ใน พื้นที่ต�ำบลตลิ่งชัน การแข่งขันนกเขาเป็นที่นิยมในพื้นที่ มีการแข่งขัน นกเขาทุกปี มีทั้งประชากรในพื้นที่ และนอกพื้นที่ให้ความสนใจเข้าร่วม การแข่งขันนกเขา อีกทั้งนกเขาเป็นสัตว์ประจ�ำหรือสัญลักษณ์อ�ำเภอจะนะ Wangdee Stadium is Chana District’s Java competition field. Located in the Taling Chan Sub district area, Java competition is popular in the area. There is a bird competition every year. There are both populations in and out of the area. In addition, Java are symbolic animal in Chana District.
ตลิ่งชัน โฮมสเตย์ (Taling Chan Homestay) สถานที่ท่องเที่ยวพร้อมที่พัก อ.จะนะ จ.สงขลา เป็นรีสอร์ทริมหาด ติดชายทะเล บรรยากาศดี ทะเลหน้าร้อนสวยสุดๆ เรื่องอาหารการันตี ความอร่อยเหมือนยกทะเลมาเสิร์ฟกันเลยทีเดียว มีห้องครัวอุปกรณ์ครบ ครัน มาพร้อมเตาปิ้งย่าง จะปาร์ตี้เลี้ยงสังสรรค์ในหมู่เพื่อนหรือครอบครัว ก็สบายมาก Tourist Attraction with accommodation, Chana District, Songkhla Province. Taling Chan Homestay is a beachfront resort on the beach. The atmosphere is good when the summer is very beautiful.Delicious food like the sea served and has a fully equipped kitchen.
หาดรั้วสนตลิ่งชัน บ้านวังงู-หาดรัว้ สน เป็นสถานที่ท่องเทีย่ วแห่งใหม่ตั้งอยู่ในพืน้ ที่ต�ำบล ตลิ่งชัน หมู่ที่ 8 บ้านวังงู เป็นสถานที่ติดชายทะเล บรรยากาศดี สงบ สามารถมองเห็นพระอาทิตย์ขึ้นยามเช้า และยามเย็นบรรยากาศร่มรื่น นั่งปิคนิค เล่นน�้ำทะเล มีลานกว้างสามารถท�ำกิจกรรมเป็นกลุ่มเพื่อนหรือ ครอบครัวได้ Rua Son Beach, Taling Chan, Ban Wang Ngu - Hat Rua Son is a new tourist destination located in Taling Chan Subdistrict, Village No. 8, Ban Wang Ngu.It is a place on the seashore with a good atmosphere, can see the sunrise in the morning and evening, shady atmosphere, picnic, sea water, a courtyard, you can do activities as a group of friends or family. SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
4
.indd 89
89
16/5/2563 9:22:07
ฟาร์มเพาะเลี้ยงนกเขาชวาเสียง (Java’s bird sound Farm) ในปัจจุบนั ต�ำบลตลิง่ ชันเป็นต�ำบลหนึง่ ทีม่ กี ารเพาะเลีย้ งนกเขาชวาเสียง เป็ น อาชี พ หลั ก สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ครอบครั ว และชุ ม ชน ซึ่ ง จ� ำ นวน ผู้เพาะเลี้ยง มีจ�ำนวน 30 ราย ซึ่งปัจจุบันนกเขาชวาเสียงแบ่งเป็น 3 ประเภท เสียงกลาง เสียงใหญ่ เสียงเล็ก ดาวรุ่ง และเป็นแหล่งส่งออก นกเขาชวาเสียงไปยังกลุ่มประเทศอาเซียน และภายในประเทศ At present, Taling Chan Subdistrict is one of the sub-cultures of Java’s bird arming. Generate income for families and communities. The number of aquaculture is 30 people. Currently, Java’s bird sound into 3 types, middle tone, large voice, small voice, rising star, Currently,this is a source of exporting Java’s bird sound to ASEAN countries and within the country.
สวนแตงโม (Watermelon garden) แตงโม ถือเป็นพืชเอกลักษณ์ของอ�ำเภอจะนะ ที่มีรสหวาน ปลอดภัย จากสารพิษ เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลายของผู้บริโภคทั้งในจังหวัดและ ต่างจังหวัด ซึ่งท�ำรายได้ให้เกษตรกรปีละไม่ต�่ำกว่า 60 ล้านบาท ต�ำบล ตลิ่งชันและต�ำบลใกล้เคียงมีการส่งเสริมการปลูกแตงโม ซึ่งเป็นพืชฤดูแล้ง เป็นประจ�ำทุกปี Watermelons are considered a regular in Chana District, which are sweet, safe from toxins. It is widely accepted by consumers. Which generate income for farmers at least 60 million baht per year. Every year Taling Chan and nearby sub-districts have promoted watermelon cultivation. which is one of dry season plants
90
.
4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 90
16/5/2563 9:22:08
สวนมัลเบอร์รี่เสกสรร (Seksan Mulberry garden) สวนมัลเบอร์รี่ ตั้งอยู่ในพื้นที่บ้านป่างาม ต.ตลิ่งชัน อ.จะนะ จ.สงขลา มีนายเสกสรร ชูเขียว เป็นเจ้าของ โดยนอกเหนือจากการท�ำสวนยางพารา และปลูกมัลเบอร์รี่แล้ว ยังมีพืชผัก และผลไม้อีกหลายชนิดตามฤดูกาล เพื่อสร้างรายได้ต่อเนื่องตลอดทั้งปี Mulberry Garden Located in Ban Pa Ngam area, Taling Chan Subdistrict, Chana District, Songkhla Province, Mr. Seksan chukhaeaw. is the garden owner Apart from Planting rubber tree and mulberry, there are also many vegetables and fruits according to the season. to continuously generate income throughout the year.
กิจกรรม Activity วันของดีตำ� บลตลิง่ ชัน Day of goods, Taling Chan Subdistrict
สินค้า OTOP น�้ำพริกเผาดอกดาหลา Dhala Phao Chili Paste
กระเป๋าจักสานด้วยเส้นพลาสติก Woven bag from plastic strands.
วันเด็กแห่งชาติ National Children’s Day
วันผู้สูงอายุ Elderly day
มัลเบอรีแ่ ปรรูป Mulberry Product SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
4
.indd 91
91
16/5/2563 9:22:12
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง Facebook SBL
“ พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน เน้ น ธรรมาภิ บ าล ยึ ด หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง น� ำ สู ่ คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ” วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง
ว่าที่ร้อยตรี พันธ์ศัก ดิ์ ศรีอ่อน ปลัดองค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง ปฏิบัติหน้าที่ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง
สภาพทั่วไป
องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลดี ห ลวง ตั้ ง อยู ่ ท างทิ ศ เหนื อ ของอ� ำ เภอ สทิงพระ ระยะห่างจากอ�ำเภอสทิงพระ ประมาณ 12 กิโลเมตร ตั้งอยู่หมู่ ที่ 6 อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ประมาณ 9.90 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 6,187.50 ไร่ จ�ำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วน ต�ำบลดีหลวง มีทั้งหมด 8 หมู่บ้าน
แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ โรงปั้นพระดีหลวง ตั้ ง อยู ่ หมู ่ ที่ 1 ต� ำ บลดี ห ลวง อ� ำ เภอสทิ ง พระ จั ง หวั ด สงขลา เป็นโรงหล่อพระในต�ำบลดีหลวง รับหล่อพระพุทธรูป สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ วัตถุมงคล ทุกขนาด ทุกแบบ รับสั่งท�ำตามต้องการ
หาดดีหลวง หาดดี ห ลวง เป็ น หาดทรายขาวละเอี ย ด มี ทิ ว สนบริ เวณชายหาด เป็นที่พักผ่อนที่หย่อนใจ แก่นักท่องเที่ยว
ถนนทิวตาล ถนนทิวตาล เป็นสถานที่สวยงามอีกที่หนึ่งในต�ำบลดีหลวง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา บริเวณทิศตะวันตก ของวัดต้นเลียบ เป็นถนนที่มีต้นตาลโตนดอยู่ทั้งสองฝั่งของถนน ซึ่งมีความ สวยงาม นับเป็นจุดเช็คอินที่ส�ำคัญ ในต�ำบลดีหลวงเลยทีเดียว 92
.
(2
สวนสายใจไทย ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นสวน ปลูกผักผลไม้ ได้แก่ องุ่น, มะละกอ เป็นต้น
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 92
22/5/2563 10:42:18
วัดชะลอน ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา แต่เดิม วัดชะลอนเป็นวัดร้างและชื่อเดิมของวัดชะลอน คือ ทองร้อน เรียกกันต่อๆมา กลายเป็นวัดชะลอน เจ้าอาวาสชื่อว่า ท่านผ่อง พ่อเฒ่าวัดชะลอนได้มา ประดิษฐานอยู่ที่วัดชะลอนหลายร้อยปีมาแล้ว ตาม ค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่
วัดชะแม ตั้งอยู่เลขที่ 33 บ้านชะแม หมู่ที่ 5 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ตั้งอยู่หมู่ท่ี 2 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ โดย นางอารี เทพสุริวงค์ สนับสนุนโดย สหกรณ์การเกษตรอ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา พืชที่ปลูก ได้แก่ มะเขือเทศ , มะละกอ เป็นต้น
แปลงต้นแบบ เกษตรอินทรีย์ นายค�ำนึง สร้อยสีมาก ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ซึ่งอยู่ใน ความดูแลของ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเป็ น ต้ น แบบการท� ำ เกษตรอิ น ทรี ย ์ เ พื่ อ ใช้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ ก าร ท� ำ การเกษตรอิ น ทรี ย ์ หน่ ว ยงานหรื อ กลุ ่ ม บุ ค คลท่ า นใดสนใจศึ ก ษา หาความรู้เกี่ยวกับการท�ำการเกษตรอินทรีย์ ประสานไปยัง ม.สงขลา นครินทร์โดยตรง หรือติดต่อผ่านคุณค�ำนึง สร้อยสีมาก เบอร์โทรศัพท์ 093 - 3212716
จังหวัดสงขลา วัดชะแม สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ พ.ศ. 2242 เดิมเรียก ว่า “วัดชะแม่” หรือ “วัดชะแมะ” โดยมีเจ้าเถรโพธิเป็นหัววัด ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาครั้งหลังวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2513 ส�ำหรับการศึกษานั้น ทางวั ด ได้ ร ่ ว มกั บ ชาวบ้ า นได้ เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง โรงเรียนประถมศึกษาขึ้นนับว่าเป็นโรงเรียน แห่งแรกในต�ำบลดีหลวง
โครงการกิจกรรมต่างๆ โครงการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวในต�ำบลดีหลวง กิจกรรม “ท่องเที่ยวบ้านเกิดหลวงปู่ทวด” กิจกรรมการน�ำเที่ยว โดยใช้รถรางน�ำเที่ยว ตามเส้นทางท่องเที่ยว บ้านเกิดหลวงปู่ทวด ได้แก่ วัดต้นเลียบ วัดดีหลวง ถนนทิวตาล เป็นต้น
สวนนาวบ้านเล ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปลูกพืช เกษตร เช่น มะนาว, เสาวรส เป็นต้น
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านชะแม
ที่ท�ำการชุมชนหมู่บ้านและชุมชนเมือง บ้านพังไม้ ไผ่
ที่ตั้ง 39/1 หมู่ที่ 6 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ประธานกลุ่ม นางบุญญา ชุมแสง โทร 0810948581 สินค้า OTOP ได้แก่ ขนมโก๋สอดไส้ ขนมลากรอบ ขนมข้าวแต๋นน�้ำแตงโม (ขนมนางเล็ด) ขนมงาถั่วด�ำ ขนมงาถั่วขาว ข้าวเม่าอบน�้ำผึ้ง
ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็น โรงเพาะเห็ดชุมชน โดยมีการเพาะเห็ดนางฟ้า,เห็ดหลินจือ เป็นต้น
องค์การบริหารส่วนต�ำบลดีหลวง หมู่ที่ 6 อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา 90190 โทร 074-536603-4 แฟกซ์ 074-370317 / E-mail: info@diluang.go.th SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 93
93
19/5/2563 16:30:28
History of buddhism....
วัดดีหลวง วัดดีหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นในสมัยอยุธยา ปรากฏหลักฐานในแผนที่กัลปนาวัดเมืองพัทลุง เรียกชื่อวัดนี้ว่า “วัดกะดีหลวง”
อุโบสถวัดดีหลวง วัดดีหลวง เป็นวัดที่หลวงปู่ทวดเคยบวชเป็นสามเณร ถือได้ว่าเป็นวัด ส�ำคัญวัดหนึ่งในคาบสมุทรสทิงพระ ที่มีความเกี่ยวข้องกับหลวงปู่ทวด และเป็นวัดที่มีความเจริญรุ่งเรืองด้านสถาปัตยกรรม เป็นส�ำนักเรียนใหญ่ มาแต่โบราณ ปรากฏหลักฐานเล่าสืบต่อกันมาว่า วัดดีหลวง เป็นวัดที่เด็ก ชายปูเคยมาอาศัยกับสมภารจวง ซึ่งเป็นหลวงลุง เมื่ออายุได้ 14 ปี ก็ได้ บรรพชาเป็นสามเณร และศึกษาวิชาต่างๆ ในวัดจนหมดสิ้น และได้ไป เรียนต่อที่วัดสีหยัง และได้ศึกษาต่อไปจนถึงกรุงศรีอยุธยาตามล�ำดับ ภายในวัดมีโบราณสถานที่ส�ำคัญได้แก่ อุโบสถบรรพชาสามเณรปู พระประธานอุโบสถหลังนี้เป็นพระพุทธ รูปปูนปั้นปางมารวิชัย ลงรักปิดทอง ประดิษฐานอยู่ในซุ้มเรือนแก้ว ภายใน มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเทพชุมนุม ด้านหน้าของซุม้ ประดิษฐานพระพุทธรูป ปางเปิ ด โลกภายใต้ เ ศวตฉั ต ร การสร้ า งพระพุ ท ธรู ป ที มี ซุ ้ ม เรื อ นแก้ ว ครอบลักษณะนี้นั้น สันนิษฐานได้เลยว่า อุโบสถเดิมหลังนี้คงป็นอุโบสถ โล่งไม่มีผนัง แต่ภายหลังได้มีการต่อเติมให้มีผนังเกิดขึ้น ราวยุคสมัยของ “อาจารย์แก้ว พุทธฺมุณี” อดีตเจ้าอาวาส และชาวบ้านยังเรียกขานนาม พระพุทธรูปองค์นี้ว่า เป็น พระพุทธรูปนักเลง ประจ�ำอุโบสถวัดดีหลวง คือ เป็น พระพุทธรูปหิ้วนก
ภายในอุโบสถวัดดีหลวง 94
.
(2
ส่วนด้านหน้าของอุโบสถเป็นสถูปอาจารย์จวง ซึ่งเป็นหลวงลุงของ หลวงปู่ทวด สถานที่แห่งนี้หากได้มากราบไหว้สักการบูชาจะช่วยเสริม สร้างบุญบารมี และเป็นมงคลต่อชีวิตในด้าน “มีความเฉลียวฉลาด รอบรู้ และประสบความส�ำเร็จทางการศึกษา” ศาลาอาจารย์แก้ว พุทธฺมุณี เป็นศาลาโถงไม้ทรงไทย สร้างผสมผสาน ระหว่างไม้กับปูน มีความวิจิตรงดงามอย่างลงตัว โดยศาลาหลังนี้คณะ ศิษย์ยานุศิษย์ร่วมกันสร้างถวาย เป็นพุทธบูชาเพื่อประดิษฐานสรีระสังขาร ของอาจารย์แก้ว พุทธฺมุณี อดีตเจ้าอาวาสวัดดีหลวง สร้างเมื่อ พ.ศ.2485 ลักษณะเด่น คือ หน้าบันด้านหน้ามีมุขลดหลั่น หน้าบันมีลวดลายปูนปั้น รูปพระภิกษุนมัสการโกศใส่ศพ หน้าบันมุมด้านข้างเป็นลายปูนปั้นรูปฤๅษี และพระพิฆเนศ ส่วนด้านข้างทั้งสี่ด้าน สร้างเป็นเรือนยกพื้น ใช้เป็นเรือน ส�ำหรับพระสวดอภิธรรม ภายหลังด้านทิศตะวันตกได้ปรับเปลี่ยนเป็น อาสงฆ์เพื่อสะดวกในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
สถูปสมภารจวง
พระประธานอุโบสถวัดดีหลวง (หลวงพ่อยิ้ม) หรือ พระพุทธรูปหิ้วนก (6 นิ้ว)
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 94
19/5/2563 16:30:38
History of buddhism....
วัดต้นเลียบ ปูชนียสถานที่ฝังรกหลวงปู่ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด วัดต้นเลียบ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลดีหลวง อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นปูชนียสถานที่ฝังรกหลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด (บ้านเกิดและ สถานที่ฝังรกหลวงปู่ทวด) ต�ำนานที่มีหลักฐานปรากฏจริงบนคาบสมุทร สทิ ง พระ วั ด ต้ น เลี ย บมี ต ้ น ไม้ ข นาดใหญ่ อ ยู ่ ใ นตระกู ล เดี ย วกั บ ต้ น โพธิ์ วัดขนาดล�ำต้นโดยรอบแล้วล�ำต้นประมาณ 21 เมตร เป็นต้นไม้ที่มีอายุ ยืนยาวมานานแต่อดีตกาลนับได้ 500 กว่าปี ปัจจุบันนี้ยืนเด่นตระหง่าน แผ่กิ่งก้านสาขาให้ร่มเงาและความร่มรื่นอยู่ในวัดต้นเลียบ ซึ่งถือกันว่า เป็นต้นไม้ที่มีความศักดิ์สิทธ์
บริเวณวัดต้นเลียบ ตามประวัติเล่ากันว่า เมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมามีครอบครัว คนยากจนคูห่ นึง่ มีนามว่า นายหูและนางจันทร์ เป็นทาสในเรือนของเศรษฐีปาน ได้ให้ก�ำเนิดบุตรชาย เมื่อวันศุกร์ เดือนสี่ ปีมะโรง ช่วงประมาณปี พ.ศ. 2123 นายหูได้น�ำรกของลูกมาฝังไว้ที่โคนต้นเลียบ แล้วกลับมาที่บ้านเห็น อาการลูกชาย คืบคลานว่องไวเช่นจับปูใส่กระด้งจึงได้ตงั้ ชือ่ ว่า “เด็กชายปู”
สถานที่แห่งนี้หากได้มากราบไหว้สักการบูชาจะช่วยเสริมสร้างบุญบารมี และเป็นมงคลแห่งชีวิต ในด้าน “ชีวิตมีรากฐานมั่นคง” ภายในวัดแห่งนี้ ยังมีศาลาที่ประดิษฐานของหลวงปู่ทวดองค์ใหญ่ที่มีความสวยงาม หาก ต้องการจะให้ชีวิตอยู่เย็นเป็นสุข ต้องมาที่ศาลาแห่งนี้และกราบสักการะ หลวงปู่ทวด
นอกจากนั้นยังมีสรีระร่างกายของหลวงปู่จ�ำเนียร อดีตเจ้าอาวาส ซึ่ง ท่านรู้วันมรณภาพล่วงหน้า และท่านได้เขียนพินัยกรรมเอาไว้เมื่อปี พ.ศ. 2538 ว่า อีกหนึ่งปีท่านจะมรณภาพ เมื่อวันอาทิตย์ก่อนเข้าพรรษา และ ห้ามเผาศพ ให้เก็บศพท่านไว้ ศพจะไม่เน่าเปื่อย แต่ไม่มีใครเชื่อ พอถึง วันอาทิตย์ก่อนเข้าพรรษา ปี พ.ศ. 2539 ท่านก็มรณภาพจริง จึงได้เก็บ ศพไว้ตามพินัยกรรมที่ท่านเขียนเอาไว้ จนถึงปัจจุบัน
สรีระร่างกายของหลวงปู่จ�ำเนียร ทวดหู ทวดจันทร์ (โยมพ่อ โยมแม่ ของหลวงปู่ทวด
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 95
95
19/5/2563 16:30:50
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองรี “พั ฒ นาระบบสาธารณู ป โภคอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษา อาชี พ วั ฒ นธรรม การท่ อ งเที่ ย ว และให้ ป ระชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น ”
Facebook SBL
วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองรี
นายขนบ แท่นประมูล นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองรี
ข้อมูลทั่วไป
ต�ำบลคลองรี มีพน้ื ทีต่ งั้ อยูท่ างทิศตะวันตก เฉี ย งเหนื อ ของที่ ว ่ า การอ� ำ เภอสทิ ง พระ จังหวัดสงขลา มีลกั ษณะความยาวด้านตะวันตก ขนานไปกับทะเลสาบสงขลา และขนานไป กั บ ต� ำ บลต่ า งๆ ที่ มี แ นวเขตต่ อ เนื่ อ งกั น 3 ต� ำ บล มี ร ะยะทางจากที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ สทิงพระ ประมาณ 6 กิโลเมตร ที่ท�ำการ องค์การบริหารส่วนต�ำบล ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นคลองรี หมู่ที่ 5 ต�ำบลคลองรี อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัด สงขลา เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง การตั้ ง บ้ า นเรื อ น อยู่อาศัยของราษฎรแล้ว ถือเป็นจุดกึ่งกลาง ของต�ำบล 96
.
(2
ทีอ่ ยูอ่ าศัยของประชากรส่วนใหญ่ขนาบด้วยถนนลาดยางสายระฆัง - พะโคะ กับทะเลสาบสงขลา พื้นที่ด้านตะวันออกและด้านทิศเหนือ เดิมเป็นที่นาลักษณะดินเป็นดินเหนียวเหมาะแก่การท�ำนาข้าว และมีไม้ยืนต้นส�ำคัญเป็นเอกลักษณ์ คือ ต้นตาลโตนดมีเกาะในทะเลสาบสงขลา ซึ่งอยู่เขตรับผิดชอบ ของต�ำบลคลองรี คือ เกาะค�ำเหียง ประชาชนส่วนใหญ่จงึ ยึดอาชีพเกษตรกรรมและประมง ต�ำบลคลองรี ยังมีธรรมชาติมากมายซึ่งเหมาะแก่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และวัฒนธรรมประเพณีเป็นอย่างยิ่ง
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 96
14/5/2563 14:20:26
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�ำคัญ
เจ้าแม่อยูห่ ัว วัดท่าคุระ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่คู่ต�ำบลคลองรีมายาวนาน เป็ น ที่ ยึ ด เหนี่ ย วจิ ต ใจของลู ก หลานให้ เ กิ ด ความรั ก สามั ค คี กั น สื บ มา “ประเพณีตายายย่าน” หรือที่ชาวบ้านเรียกกันโดยทั่วไปว่า “ประเพณี ท� ำ บุ ญ เดื อ นหก” หรื อ ประเพณี ส มโภชเจ้ า แม่ อ ยู ่ หั ว วั ด ท่ า คุ ร ะ เป็ น ประเพณี ชุ ม ชนที่ สื บ ทอดกั น มาหลายร้ อ ยปี จั ด ขึ้ น ณ วั ด ท่ า คุ ร ะ หมู่ที่ 9 บ้านท่าคุระ ต�ำบลคลองรี อ�ำเภอทิงพระ จังหวัดสงขลา ในวันพุธ แรกข้างแรมของเดือนหก ของทุกปี ลูกหลานของชาวบ้านท่าคุระที่อาศัย อยู่ในบ้านท่าคุระ ตลอดจนผู้ที่ไปอาศัยอยู่ที่อื่น จะกลับมาร่วมประเพณี ตายายย่านกันอย่างพร้อมเพรียง เพื่อร่วมพิธีสรงน�้ำเจ้าแม่อยู่หัว แสดง ความเคารพนบนอบ หรือการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อพระพุทธรูป เจ้าแม่อยู่หัวและการแก้บนบาลศาลกล่าวต่อเจ้าแม่อยู่หัวที่ศักดิ์สิทธิ์
ล่องแพ แลเล แพประชารัฐต�ำบลคลองรี เป็นแพท่องเที่ยวของชุมชน ที่รับนักท่องเที่ยวได้ถึงเที่ยวละ 40 – 60 คน มีห้องพัก ห้องน�้ำ อาหาร เครื่องดื่มบริการ โดยจะน�ำนักท่องเที่ยวล่องไปตามทะเลสาบสงขลา และ เพลินกับการชมวิถีชีวิตที่เรียบง่ายของผู้คนที่ยังคงใช้ชีวิตเคียงคู่กับน�้ำ และ หมู่มวลเกาะต่างๆกลางล�ำน�้ำ ซึ่งเราสามารถเก็บภาพบรรยากาศสวยๆ ตลอดการเดินทางได้แบบไม่มีเบื่อ พร้อมทั้งสัมผัสความมหัศจรรย์ของ ธรรมชาติที่คาดไม่ถึงรอเราอยู่อีกมากมาย
เกาะค�ำเหียง อุทยานแห่งรัก เป็นเกาะที่อยู่ในทะเลสาบสงขลา และ อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองรี อยู่ห่าง จากต�ำบลคลองรีประมาณ 2 ก.ม. มีจ�ำนวน 3 เกาะเรียงกัน มีความ มหัศจรรย์และโดดเด่นควรแก่การท่องเที่ยวในเชิงธรรมชาติ และการ อนุรกั ษ์ เพราะมีทสี่ วยงามหลายจุดบนเกาะเล็กๆ แห่งนี้ เช่น อุทยานแห่งรัก สันหลังมังกร รูปปั้นนกอินทรี ถ�้ำค้างคาว ผาม่านไม้ ซึ่งสวยงามชวนให้ มาเที่ยวชมอย่างมาก
หลาดริมเล เป็นตลาดท่องเที่ยวและขายสินค้าพื้นบ้านของคนใน ชุมชนต�ำบลคลองรี เป็นการร่วมมือกันระหว่างองค์การบริหารส่วนต�ำบล คลองรี และชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีต�ำบลคลองรี มีการจ�ำหน่าย สินค้าพื้นบ้าน สินค้าท้องถิ่นของกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น น�้ำตาลโตนด ลูกตาลสด น�้ำตาลแว่น ตาลโตนด ปลาส้ม กุ้งส้ม ขนมครกสูตรโบราณ ข้าวย�ำปักษ์ใต้ ถ่านอัดแท่งจากตาลโตนด ฯลฯ และในตลาดยังมีสถานที่ ให้ถ่ายรูปได้มากมาย มีรูปปั้นจ�ำลองวิถีชาวนา ชาวโหนด ชาวเล เพื่อให้ นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้และถ่ายรูป โดยตลาดเปิดทุกวันเสาร์ ตั้งแต่เวลา 14.00 น.
เรือท่องเที่ยว เป็นเรือประชารัฐที่ร่วมกันท�ำ 4 หมู่บ้าน เพื่อเป็นการ เปิดบริการน�ำเที่ยวตามรอยเมืองลุง โดยน�ำเที่ยวทางทะเลสาบสงขลาไป ยังเกาะต่างๆ ในทะเลสาบสงขลา สามารถรับนักท่องเที่ยวได้เที่ยวละไม่ เกิน 35 คน เป็นการท่องเที่ยวรูปแบบผจญภัยที่น่าสนใจ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 97
97
14/5/2563 14:20:32
WO R K LI FE
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง Facebook SBL
วิสัยทัศน์ขององค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง
“ องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� ำ บลคลองหรั ง เป็ น องค์ ก รแห่ ง การสร้ า งคน สร้ า งงาน สร้ า งสั ง คม สร้ า งชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง สู ่ ป ระชาคมอาเซี่ ย น ”
นายบ� ำรุง พรหมเจริ ญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง
ที่ตั้ง ที่ท�ำการองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง เลขที่ 99 หมู่ที่ 2 บ้านแม่เปียะ ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอ นาหม่ อ ม จั งหวัด สงขลา มีเนื้อที่ 24.21 ตร.ม. หรือ ประมาณ 131.25 ไร่ ระยะห่างจากทีว่ า่ การอ�ำเภอนาหม่อม ประมาณ 2 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่ ห่างจากที่ท�ำการศาลากลางจังหวัดไปทางทิศใต้ ประมาณ 48 กิโลเมตร เนื้อที่ ทิศเหนือ ติดต่อ ต�ำบลนาหม่อม อ�ำเภอนาหม่อม - ทิศใต้ ติดต่อ ต�ำบลทุ่งขมิ้น อ�ำเภอนาหม่อม และ ต�ำบลนาหว้า อ�ำเภอจะนะ - ทิศตะวันออก ติดต่อ ต�ำบลคลองเปียะและต�ำบล นาหว้า อ�ำเภอจะนะ - ทิศตะวันตก ติดต่อ ต�ำบลทุ่งขมิ้น อ�ำเภอนาหม่อม จ�ำนวนหมู่บ้าน มีจ�ำนวนหมู่บ้านทั้งหมด 6 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 บ้านคลองหรัง,หมู่ที่ 2 บ้านแม่เปียะ,หมู่ที่ 3 บ้านใหม่, หมู่ที่ 4 บ้านแซะ,หมู่ที่ 5 บ้านต้นปริง,หมู่ที่ 6 บ้านปลักทิง 98
.
(2
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง ได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบล ตั้งแต่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ซึ่งมีภารกิจตาม พระราชบัญญัติสภาต�ำบลและองค์การบริหารส่วนต�ำบล พ.ศ.2537 (รวมถึงแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 7 พ.ศ.2562) มาตรา 66 มาตรา 67 และมาตรา 68 ประกอบปัจจุบันได้มี พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนกระจายอ�ำนาจ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีการถ่ายโอนภารกิจให้ ต้องกระท�ำจากหน่วยราชการอื่นจ�ำนวน 245 ภารกิจ ดังนั้นเพื่อเป็นการตอบสนองต่อภารกิจอ�ำนาจหน้าที่ และได้เห็นความส�ำคัญของการ ได้ยกฐานะจากสภาต�ำบลเป็นองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ทางคณะผู้บริหาร ฯ จึงได้ก�ำหนดให้วันที่ 23 กุมภาพันธ์ ของทุกๆ ปี เป็นวันคล้ายวันองค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง และก�ำหนดให้มีกิจกรรม ท�ำบุญ ขึ้นทุกปี
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลคลองหรัง ตั้งอยู่ หมู่ 2 ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา วิ สั ย ทั ศ น์ : ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ต� ำ บลคลองหรั ง มุ ่ ง จั ด การศึ ก ษาให้ เ ด็ ก ทุ ก คน มีพัฒนาการ และความพร้อมที่เหมาะสมกับวัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี อนุรักษ์วัฒนธรรม และประสานความร่วมมือกับครอบครัวและชุมชน เพื่อด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต�ำบลคลองหรัง ก่อตั้งขึ้นปี พ.ศ. 2549 มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 64 ตารางวา เตรียมความพร้อมของเด็กระดับปฐมวัย ระดับช่วงอายุ 2 ขวบ 6 เดือน - 6 ขวบ
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 98
14/5/2563 14:00:33
โครงการขั บ เคลื่ อ นลดขยะ ที่ต้น ทางและการบริห ารจัดการขยะ อินทรีย์ในครัวเรือนเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคระบาด
แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ น�้ำตกโตนลาด ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา น�้ำตกโตนลาด เป็นสถานที่ท่องเที่ยวโดยลักษณะน�้ำตกเป็น พื้นลาดยาว มีน�้ำไหลตลอดปี
รับเกียรติบัตร อปท. ที่ผ่านเกณฑ์ ประเมิ น ความสะอาดและความเป็ น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง (อปท. สะอาด)การประกวดการจั ด การขยะ มูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ประจ�ำปี พ.ศ. 2562
โบราณสถานเจดีย์ควนโยง ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอ นาหม่ อ ม จั ง หวั ด สงขลา ประวั ติ ค วามจากค� ำ บอกเล่ า ของชาวบ้ า น เจดีย์ควนโยงมีให้เห็นนานมาแล้ว ครั้งปู่ย่า ตา ทวด ก็เห็นเจดีย์คงอยู่แล้ว และจากการบอกเล่านั้น ได้มีชาวบ้านบริเวณใกล้เคียงได้สมทบเงินทอง เพื่อไปช่วยสร้างพระธาตุนครศรีธรรมราช แต่เมื่อไปถึงแล้วปรากฏว่า ได้สร้างเสร็จแล้ว ชาวบ้านจึงกลับมาและร่วมกันสร้างเจดีย์ควนโยงขึ้น
สนามกีฬาประจ�ำอ�ำเภอนาหม่อม
สินค้า Otop
สนามภู ริ วิ จิ ต ร ตั้ ง อยู ่ ห มู ่ ที่ 2 ต� ำ บลคลองหรั ง อ� ำ เภอนาหม่ อ ม จังหวัดสงขลา
กลุ ่ ม วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแปรรู ป กล้วยฉาบของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร บ้ า นคลองหรั ง ตั้ ง อยู ่ เ ลขที่ 49/1 หมู่ 1 ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา 90310 โทร. 081-0957995
องค์การบริหารส่วนต�ำบลคลองหรัง เลขที่ 99 หมู่ที่ 2 ต�ำบลคลองหรัง อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา 90310 โทร.: 074-383771 แฟกซ์ 074-383770 E-mail: khongrhang@hotmail.com http://www.khlongrhang.go.th/frontpage SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
(2
).indd 99
99
14/5/2563 14:00:37
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดชัยมงคล พระอารามหลวง พระเทพสุธรรมญาณ (แฉล้ม เขมปญฺโ ป.ธ.6) เจ้าอาวาสวัดชัยมงคล พระอารามหลวง ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 18 วัดชัยมงคล พระอารามหลวง เป็นวัดที่เก่าแก่และ ส�ำคัญแห่งหนึ่งในจังหวัดสงขลา ตั้งอยู่ที่ถนนชัยมงคล ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเมื่อ ใดนั้นไม่ปรากฏแน่ชัด แต่อาจจะราวปี พ.ศ. 2394 ปลายสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) วัดชัยมงคล เดิมมีชื่อว่า “วัดโคกเสม็ด” เพราะตั้ ง อยู ่บ นเนิน ทรายที่มีต้น เสม็ดอยู่จ�ำนวนมาก ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดชัยมงคล”
เจดีย์พระบรมธาตุ
พระสถูปเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ทรงลังกา ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของ ชาวจังหวัดสงขลาและจังหวัดใกล้เคียง โดยอาจารย์นะ ติสสโร มีความศรัทธาอย่าง แรงกล้าที่จะได้พระบรมสารีริกธาตุมาไว้เป็นที่สักการบูชาของชาวเมืองสงขลา ท่านจึงได้เดินทางไปประเทศลังกา เพื่อแสวงหาพระบรมสารีริกธาตุและน�ำมา บรรจุไว้ เมื่อวันวิสาขบูชาปีมะเมีย ตรงกับวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 และ ได้สร้างพระพุทธไสยยาสน์ ประดิษฐานทางด้านทิศใต้ของพระเจดีย์ไว้ด้วย
ในสมัยพระอาจารย์ศรี เป็นเจ้าอาวาส วัดชัยมงคล มีความเจริญรุ่งเรืองมากทั้งด้านศาสนวัตถุและศาสน บุคคล และสมัยที่พระมหาแฉล้ม เขมปญฺโ เป็น เจ้าอาวาส ได้ท�ำเรื่องเสนอคณะสงฆ์และบ้านเมือง เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต สถาปนาวัด ขึ้นเป็นพระอารามหลวง ตามหนังสือส�ำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีที่ นร.0240/7846 ลงวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2518 กระทรวงศึกษาธิการ ออกประกาศ ลงวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2528 100
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 100
12/5/2563 16:31:50
ประวัติ พระเทพสุธรรมญาณ (แฉล้ม เขมปญฺโ ป.ธ.6)
พระเทพสุธรรมญาณ (แฉล้ม เขมปญฺโ) นามเดิม แฉล้ม ชูโต เกิดเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2472 สถานที่เกิด บ้านเลขที่ 149 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา บิดาชื่อนาย เพชร ชูโต มารดาชื่อนางสั้น ชูโต ได้รับการศึกษาเบื้องต้นจาก โรงเรียนวัดธรรมโฆษณ์ ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เมื่อปี พ.ศ. 2486 ปัจจุบันด�ำรง สมณศักดิ์ที่ พระเทพสุธรรมญาณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 18 และ เจ้าอาวาสวัดชัยมงคล พระอารามหลวง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัด สงขลา อุปสมบท เมื่อวันเสาร์ ขึ้น 10 ค�่ำเดือน 8 ปีขาล ตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 ณ พั ท ธสี ม าวั ด ธรรมโฆษณ์ ต� ำ บล สทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา โดยมีพระครูธรรมโฆษิต (คง โกกนุตฺโต) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวิจิตรธรรมรัตน์ วัดธรรม โฆษณ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูสุวิมลศีลาจารย์ (พุ่ม สุวิมุตฺโม) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายา เขมปญฺโ สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2529 เป็นพระครูสัญญาบัตร ชั้นเอก ที่พระครูศรีมงคล เจติยาทร (ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง) • พ.ศ. 2536 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่พระวิเชียรโมลี • พ.ศ. 2548 เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่พระราชวรธรรมโกศล สุวิมลศาสนกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี • พ.ศ. 2557 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่พระเทพสุธรรมญาณ สุวิธานศาสนกิจนิวิฐธรรมสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
ประวัติ พระครูวิรัตธรรมโชติ (มีชัย พุทฺธสุภโร, ดร.)
พระครูวิรัตธรรมโชติ ฉายา พุทฺธสุภโร นามสกุล พุทธสุภะ วิทยฐานะ นักธรรมชั้นเอก พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สังคมศาสตร์ มหาบัณฑิต (M.A.) สังคมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Ph.D.) ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต (Ph.D.) สังกัด วัดชัยมงคล พระอารามหลวง ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ช่วย เจ้าอาวาสวัดชัยมงคล พระอารามหลวง (ฝ่ายปกครอง) และเจ้าคณะ อ�ำเภอเมืองสงขลา บรรพชา วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2524 ณ วัดเอก ต�ำบลเชิงแส อ�ำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระราชรัตนดิลก วัดโคกสมานคุณ ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 10 มิถนุ ายน พ.ศ. 2533 ณ พัทธสีมาวัดแหลมทราย ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระราชวชิรโมลี วัดแจ้ง ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัด สงขลา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูเกษมนวการ (แปลก เขมโก) วัดแหลมทราย ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พระอนุสาวนาจารย์ พระครูโอภาสบุญวัฒน์ (บุญเลิศ โอภาโส) วัดเจ้ามูล แขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 101
101
12/5/2563 16:31:59
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดโพธิ์ปฐมาวาส พระอารามหลวง พระโสภณวราภรณ์ (บัณฑิต ปณฺฑิตญาโณ) เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ปฐมาวาส พระอารามหลวง รองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา วัดโพธิ์ปฐมาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 236 บ้านบ่อยาง ถนนไทรบุรี หมู่ที่ 12 ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จั ง หวั ด สงขลา สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย เนื้อที่ 7 ไร่ 3 งาน 44.9 ตารางวาได้ ส ถาปนาขึ้ น เป็ น พระอารามหลวงเมื่อ พ.ศ. 2546 ได้รับการสถาปนา เป็ น พระอารามหลวง พ.ศ.2546 โดยมี พ ระครู ปราโมทย์โพธิคุณ (อิ่ม เตชปุญฺโญ)เป็นเจ้าอาวาส รูปแรก วัดโพธิ์ปฐมาวาส เป็นวัดที่ไม่ปรากฏหลักฐานว่า สร้างขึ้นเมื่อใดและใครเป็นผู้สร้าง เพียงสันนิษฐานว่า สร้างเมื่อประมาณ พ.ศ. 2000 บริเวณเดิมเรียกสถาน ที่ค้าโภค์ (ตลาดนัด) นามวัดเดิมเรียกว่า “วัดโภค์” ต่อมาเพีย้ นเป็น “วัดโพธิ”์ จนในสมัย พระครูสงั ฆโสภน เจ้าอาวาส จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “วัดโพธิ์ปฐมาวาส” เขตวิสุงคามสีมา พระอุโบสถ กว้ า ง 20 เมตร ยาว 22 เมตร ตั้งใกล้เคียงกับวัดมัชฌิมาวาส 102
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 102
12/5/2563 12:54:59
วั ด โพธิ์ ป ฐมาวาสเป็ น หนึ่ ง ในหกวั ด เก่ า ในเขตก� ำ แพงเมื อ งสงขลา บริเวณโดยรอบเป็นตลาดร้านค้า บ้านเรือนของราษฎร และศาลเจ้าอื่นๆ อีกหลายแห่ง ด้วยที่ตั้งติดเส้นทางสัญจรส�ำคัญสายหนึ่งของเมืองสงขลา ผู้อุปถัมภ์วัดโพธิ์ปฐมาวาส ตั้งแต่แรกสร้างจนถึงปัจจุบันส่วนใหญ่เป็น ราษฎร แต่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นวัดทีถ่ กู บูรณะโดยผูป้ กครองเมือง คือ พระยาศรีสมบัติจางวาง (บุญชิ้น ณ สงขลา) และผู้ส�ำเร็จราชการเมือง สงขลา เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (บุญสังข์ ณ สงขลา) บุตรของพระยาศรี สมบัติจางวาง
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 103
103
12/5/2563 12:55:14
104
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 104
12/5/2563 12:55:23
ประวัติ พระโสภณวราภรณ์ (บัณฑิต ปณฺฑิตญาโณ) สถานะเดิม ชื่อ บัณฑิต นามสกุล ประถม เกิดวันพฤหัสบดีที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2512 อายุ 50 พรรษา 29 ณ บ้านเลขที่ 51 หมู่ที่ 4 ต�ำบลทุ่งขมิ้น อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา บิดาชื่อ นายซิ่ม ประถม มารดาชื่อ นางยอม ประถม บรรพชา วันอาทิตย์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2529 ณ วัดใหม่ ต�ำบล บ่อดาน อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา โดยมีพระครูวรธรรมานุโยค วัดใหม่ ต�ำบลบ่อดาน อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท วันเสาร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2533 ณ วัดโพธิ์ปฐมาวาส ต� ำ บลบ่ อ ยาง อ� ำ เภอเมื อ ง จั ง หวั ด สงขลา โดยมี พ ระครู ป ิ ย สิ ก ขการ วัดหัวป้อมใน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูปราโมทย์โพธิคุณ (ภายหลังได้รับสมณศักดิ์เป็น พระวิศาลโพธิ สุนทร) วัดโพธิ์ปฐมาวาสต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครู วิ นั ย ธรอุ ทั ย สหอุ ท โย (ภายหลั ง ได้ รั บ สมณศักดิ์เป็น พระครูประคุณกิจจานุยุต) วัดโพธิ์ปฐมาวาส ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ • พ.ศ. 2524 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียน บ้านนาทองสุก ต�ำบลทุ่งขมิ้น อ�ำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2531 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก จากส�ำนักเรียนจังหวัดสงขลา ส�ำนักศาสนศึกษาวัดโพธิ์ปฐมาวาส ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สงขลา • พ.ศ. 2540 สอบไล่ได้เปรียญธรรม 7 ประโยค จากส�ำนักเรียนคณะ จังหวัดนนทบุรีส�ำนักศาสนศึกษาวัดนครอินทร์ ต�ำบลสวนใหญ่ อ�ำเภอ เมือง จังหวัดนนทบุรี • พ.ศ. 2541 ส�ำเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต (คณะสังคมศาสตร์) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • พ.ศ. 2548 ส�ำเร็จการศึกษาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (คณะพัฒนา สังคม) จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
ต�ำแหน่งปกครอง พ.ศ. 2541 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ปฐมาวาส พ.ศ. 2545 เป็นผู้รักษาการและเจ้าอาวาสวัดหัวป้อมใน พ.ศ. 2551 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสงขลา พ.ศ. 2554 เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส วัดโพธิ์ปฐมาวาส พระอารามหลวง พ.ศ. 2555 เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2560 เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ปฐมาวาส พระอารามหลวง สมณศักดิ์ • ได้ รั บ โปรดเกล้ า ฯ พระราชทานสมณศั ก ดิ์ ใ ห้ เ ป็ น พระราชาคณะ ชั้นสามัญ ที่ “พระโสภณวราภรณ์” เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 105
105
12/5/2563 12:55:28
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดแจ้ง พระพิศาลสิกขกิจ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดแจ้ง ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสงขลา ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนแจ้งวิทยา พระนักสอน นักการศึกษา นักพัฒนา และนักสงเคราะห์ วัดแจ้ง ตั้งอยู่บ้านแจ้ง เลขที่ 2 หมู่ที่ 3 ถนนไทรบุรี ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 9 ไร่ 1 งาน 46.5 ตารางวา สร้าง เป็นวัด ตั้งแต่ พ.ศ.2320 ในรัชสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี ขณะที่เมืองสงขลาตั้งอยู่ฝั่งแหลมสน พื้นที่ตั้งวัดมีราษฎรอาศัยอยู่น้อย เรียกว่า “บ้านแจ้ง” เมื่อตั้งวัดจึงได้ชื่อว่า “วัดแจ้ง” ไม่ปรากฏนามผู้สร้างวัด
106
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 106
12/5/2563 14:46:42
สมัยเจ้าจอมจันทร์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 เป็นทายาทศักดิ์ ณ สงขลา มีศกั ดิเ์ ป็นทวดของเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศร์ และพระยามานวราชเสวี ซึง่ เป็นผูส้ ำ� เร็จราชการเมืองสงขลา (เจ้าเมืองสงขลา) มีบา้ นเรือนอาศัยอยูต่ ดิ กับวัดแจ้ง ได้บริจาคทีด่ นิ ส่วนนีส้ ร้างบัวบรรจุอฐั ติ ระกูล ณ สงขลา แล้วมอบถวายเป็นศาสนสมบัติ วัดแจ้งจึงมีอาณาเขตกว้างขึ้น ปัจจุบนั มีพนื้ ทีจ่ ำ� นวน 9 ไร่ 1 งาน 46.5 ตารางวา ได้รบั วิสงุ คามสีมา เมือ่ พ.ศ. 2339 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 14 เมตร ยาว 25 เมตร
รายนามเจ้าอาวาส
1. ท่านพระครูรัตนโมลี (พ่อท่านทวด) 2. พ่อท่านเอียด (พ่อท่านเฒ่า) 3. พ่อท่านฤทธิ์ 4. พระราชวชิรโมลี พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2537 5. พระพิศาลสิกขกิจ พ.ศ. 2538 – ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 107
107
12/5/2563 14:46:56
108
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 108
12/5/2563 14:47:04
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ • อุโบสถ • เจดีย์ • พระประธาน (องค์ใหญ่) ในอุโบสถ ก่ออิฐถือปูน ลงรักปิดทองทัง้ องค์ ขนาดหน้าตัก กว้าง 3.20 เมตร ศิลปะช่างพืน้ เมือง สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ปาง มารวิชยั ประทับนัง่ เหนือรัตนบัลลังก์ มีเรือนแก้วโดยรอบ ทรงคับโบสถ์ • มณฑปพระครูรตั นโมลี อดีตเจ้าคณะเมืองสงขลา • ศาลาอัฐติ ระกูล ณ สงขลา • พระพุทธสิหงิ ห์ • พระบรมธาตุพระแก้วไพฑูรย์ (มีวตั ถุมงคล หลวงปูท่ วดเหยียบน�ำ้ ทะเล จืดของวัดแจ้ง)
ประวัติอุโบสถ อุโบสถวัดแจ้งสร้างโดย ท่านผู้หญิงสุทธิ์ ในพระยาวิเชียรคีรี (เม่น ณ สงขลา) เป็นบุตรีของพระยารัตนโกษา (บุญเกิด) เป็นคนกรุงเทพฯ ขณะ พระวิเชียรคีรีด�ำเนินการพัฒนาเจดีย์หลวงบนเขาตังกวน ท่านผู้หญิงสุทธิ์ ได้สร้างอุโบสถ 2 วัด คือ วัดแจ้ง และวัดศาลาหัวยาง ท่านได้ดำ� เนินการสร้าง วัดในกรุงเทพฯแผ่นดินเกิด 1 วัด คือ วัดสุทธิวราราม เขตยานนาวา กรุงเทพฯ อุโบสถวัดแจ้ง กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร ลักษณะสถาปัตยกรรม แบบรัชกาลที่ 4 มีสถาปัตยกรรมตะวันตกผสมบ้าง เป็นอาคารโครงสร้าง ก่ออิฐถือปูน ฐานบัวคว�ำ ่ บัวหงาย หลังคาทรงจัว่ มีระเบียงหลังคารอบ หลังคา มุงไม้ มุงกระเบือ้ งดินเผาปลายแหลม วัสดุพนื้ เมือง ระหว่างเสาระเบียงก่อผนัง ช่องโค้ง ตอนล่างระหว่างเสา มีลายพนักประดับด้วยกระเบือ้ งปรุ ประตูหน้าหลัง ด้านละ 2 ช่อง หน้าต่างด้านละ 5 ช่อง ฝาผนังตัง้ แต่หน้าต่างถึงพืน้ บุดว้ ย กระเบือ้ งเซรามิค เป็นลายใบไม้ ดอกไม้นนู พืน้ ปูดว้ ยกระเบือ้ งเซรามิคสี
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 109
109
12/5/2563 14:47:11
QR ode Facebook SBL
History of buddhism....
วัดหัวป้อมใน ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2315 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2325 ซึ่งเจ้าคณะปกคลองฝ่ายสงฆ์ได้ปกครอง ดูแลตลอดมาจนถึงปัจจุบัน
110
.
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 110
12/5/2563 12:18:33
กิจกรรมที่ทางวัดจัดขึ้น พระมหาณรงค์ ชั ย ฉายา สุ ว ณฺ ณ วํ โ ส อายุ 44 พรรษา 21 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ.,รป.ม.วัดหัวป้อมใน ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง
1.เจ้าอาวาสวัดหัวป้อมใน 2.เจ้าคณะต�ำบลบ่อยางเขต 3
1.กิจกรรมสรงน�้ำหลวงพ่อด�ำ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำวัด เดือน 5 ทุกวันที่ 13 เมษายนของทุกปี 2.เป็นส�ำนักศาสนศึกษาต�ำบลบ่อยางเขต 3 จัดการเรียนการสอน พระปริยัติธรรม แผนกธรรม และแผนกสามัญ 3.ท�ำบุญอดีตเจ้าอาวาสและบูรพาจารย์ /ทอดผ้าป่าการศึกษา ประจ�ำปี ทุกวันที่ 17 มีนาคม 4.กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ทุกวันที่ 31 ธันวาคม ของทุกปี 5.กิจกรรมวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.
.indd 111
111
12/5/2563 12:18:47
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดดอนรัก พระสุทธิสารสุธี (น.ธ.เอก , ศน.ม. กิตติ์) เจ้าอาวาสวัดดอนรัก เจ้าคณะจังหวัดสงขลา-สตูล (ธรรมยุต) วัดดอนรัก ตั้งอยู่เลขที่ 17 หมู่ที่ 4 ถนนไทรบุรี บ้านบ่อยาง ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง สงขลา จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่เนินสูง เดิมเป็นป่าต้นรัก มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2391 โดยมีเจ้าคุณสุนทรานุรักษ์ เป็น ผู้ให้สร้าง ชาวบ้านเรียกว่า “วัดใต้” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2395 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 20 เมตร
เจ้าคุณสุนทรานุรักษ์ ได้แบ่งที่ดินหลังจวน ซึ่งเป็นป่าต้นรักและเป็นเนินสูง ให้ตั้งวัด ขึ้นชื่อว่า “วัดดอนรัก” ได้จัดสร้างกุฏิ วิหาร และอุโบสถ เมื่อสร้างอุโบสถแล้ว จึงผูก พัทธสีมา ปรากฏว่าในวันผูกพัทธสีมานั้น นางศรีเนี่ยวได้ถึงแก่กรรมลง พร้อมๆ กับ สัญญาณระฆัง สัญญาณฆ้อง กลอง และคุณหญิงพักตร์ ณ สงขลา ภรรยาของพระยา สุนทรานุรักษ์ ได้คลอดบุตรชาย คือ พระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา) ซึ่งได้เป็นผู้ส�ำเร็จ ราชการเมืองสงขลา คนสุดท้าย และพระยาวิเชียรคีรี (ชม ณ สงขลา) ก็ได้อุปสมบท ณ วัดนี้ พร้อมกับได้สร้างพระไตรปิฎก ฉบับราชการที่ 7 ไว้ 1 ฉบับ สมัยนั้นวัดดอนรัก มีเจ้าอาวาสมาแล้ว 3 รูป เมื่อ พ.ศ. 2484 เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นยกพลขึ้นบกที่สงขลา วัดดอนรัก ถูกภัยทางอากาศเป็นครั้งแรก ท�ำให้สามเณร 1 รูป ศิษย์วัด 1 คน เสียชีวิต และอาคาร เสนาสนะเสียหายมาก เมื่อสงครามสงบ ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ได้บูรณะพัฒนาเรื่อยมา ปัจจุบัน ได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างในจังหวัดสงขลา 112
( ) (2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 112
12/5/2563 12:32:34
รายนามเจ้าอาวาส
1. พระอธิการชู ถาวโร 2. พระมงคลพุทธิญาณ วิ. 3. พระครูธรรมศีลวัตร 4. พระสุทธิสารสุธี พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน
ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุ
พระประธานภายในอุโบสถหลังเก่ามีนามว่า “หลวงพ่อยิ้ม” มี “รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง” สร้างด้วยหินอ่อน เมื่อ พ.ศ. 2517 โดยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และนายสังข์ นางเอี่ยม ธรรมโชติ ซึ่งถอดแบบจากพระพุทธบาท วัดบวรนิเวศวิหาร ซึ่งรัชกาลที่ 4 น�ำมาจากสุโขทัย
ประวัติ พระสุทธิสารสุธี(น.ธ.เอก , ศน.ม. กิตติ์)
พระสุทธิสารสุธี ฉายา ปิยธมฺโม อายุ 76 พรรษา 55 วิทยฐานะ น.ธ.เอก , ศน.ม.(กิตติ์) วัดดอนรัก ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา สถานะเดิม ชื่อ ฉาย ทองรักษ์ เกิดวัน 6ฯ 6 ค�่ำ ปี มะแม วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2486 บิดา นายปลอด ทองรักษ์ มารดา นางอิ่ม ทองรักษ์ บ้านเลขที่ 42 หมู่ที่ 1 ต�ำบลเกาะสะบ้า อ�ำเภอ เทพา จังหวัดสงขลา บรรพชา วัน 7 3 ฯ 7 ค�่ำ ปีมะโรง วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ณ วัดรัตนาราม ต�ำบลเกาะสะบ้า อ�ำเภอเทพา จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณศีลาจาร วัดควนมิตร ต�ำบลคลองเปียะ อ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา อุปสมบท วัน 3 7 ฯ 7 ค�่ำ ปีมะโรง วันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 ณ วัดนิคมประสาท ต�ำบลเกาะสะบ้า อ�ำเภอเทพา จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระครูโสภณศีลาจาร วัดควนมิตร ต�ำบลคลองเปียะ อ�ำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสธุ รรมประสาธน์ วัดเขาราม ต�ำบลทุ่งหวัง อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา วิทยฐานะ พ.ศ. 2499 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พ.ศ. 2515 สอบไล่ได้ น.ธ.เอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสงขลา (ธ) อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 ได้รับถวายปริญญาบัตร ศาสนศาตรมหาบัณฑิต กิตติมศักดิ์ (ศน.ม.กิตติ์) จากมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
ผลงานทางด้านการส่งเสริม เผยแผ่ อุปถัมภ์ และคุ้มครอง พระพุทธศาสนา
สนั บ สนุ น การศึ ก ษาโรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรมแผนกสามั ญ วัดโคกเปี้ยว จังหวัดสงขลามีนักเรียน 67 รูป สนั บ สนุ น การศึ ก ษานั ก ธรรมและบาลี ข องคณะสงฆ์ จั ง หวั ด สงขลา-สตูล (ธรรมยุต) อบรมนักศึกษาวิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดยะลา ปีละ 1 รุ่น จนถึงปัจจุบัน อบรมคุณธรรมแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย จังหวัดสงขลา เปิ ด อบรมหลั ก สู ต รกรรมฐานชั้ น ต้ น แก่ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา และ ประชาชนทั่วไป ที่วัดดอนรัก เปิ ด สาขาสถาบั น จิ ต ตานุ ภ าพ สาขา 5 เพื่ อ อบรมสมาธิ ณ วัดดอนรัก ได้ รั บ ประกาศยกย่ อ งเกี ย รติ คุ ณ ให้ เ ป็ น บุ ค คลต้ น แบบทาง พระพุทธศาสนา โดยเข้ารับประทานรางวัล"เสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม" ประจ� ำ ปี 2563 จาก พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เจ้ า โสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
( ) (2
).indd 113
113
12/5/2563 12:32:45
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดเขาเก้าแสน พระครูปลัดพิทักษ์ (เทพ) เขมจิตฺโต เจ้าอาวาสวัดเขาเก้าแสน วัดเขาเก้าแสน ตั้งอยู่บนเขาเก้าเส้ง หมู่ 3 ต�ำบลเขารูปช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ห่างจากหาดสมิหลา ประมาณ 3 กิโลเมตร โดยใช้เส้นทางไปสถาบันเพาะเลี้ยงสัตว์นำ�้ ชายฝั่ง แห่งชาติ
วัดเขาเก้าแสน เดิมเป็นส�ำนักทีพ่ กั สงฆ์ ชือ่ “บูรพาบรรพต” จัดตัง้ โดยพระครูปลัดอ่วม เมื่อปี พ.ศ. 2490 ในปีพ.ศ. 2542 ชาวบ้านออกเขา (คนรักษ์หัวนายแรง) ได้รวมตัวกัน และขออนุญาตสร้างวัดบนที่พักสงฆ์เดิมซึ่งมีเนื้อที่ 30 ไร่ 1 งาน 7 ตารางวา และ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นวัดชื่อว่า “วัดเขาเก้าแสน” เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2547 โดยให้เจ้าอาวาสวัดเกาะถ�้ำในขณะนั้นรักษาการเจ้าอาวาส จนกระทั่งในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จึงได้แต่งตั้งพระครูปลัดพัก ฐานเมโธ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเขาเก้าแสน ต่อมาท่านได้เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระครูพิศาล ศาสนกิจ ท่านได้พัฒนาวัดเขาเก้าแสนให้ มีความเจริญรุ่งเรือง มีการสร้างศาลาการเปรียญ อุโบสถและที่พักสงฆ์จนเป็นที่รู้จักของ ชาวจังหวัดสงขลาและจังหวัดใกล้เคียง ปี พ.ศ. 2557 จังหวัดสงขลา โดยนายทรงพล สวาสดิ์ธรรม ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาในขณะนั้นได้เข้ามาพัฒนาบริเวณหัวนายแรง ให้มีบันไดทางเดินที่สะดวก มีจุดชมวิว เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบนวัดเขาเก้าแสน จนเมื่อ ปี พ.ศ. 2561 พระครูพิศาล ศาสนกิจ ได้ประสบอุบัติเหตุถึงแก่มรณภาพ 114
(2
จึ ง ได้ แ ต่ ง ตั้ ง พระครู ป ลั ด พิ ทั ก ษ์ (เทพ) เขมจิตโต เป็นเจ้าอาวาสวัดเขาเก้าแสน เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ.2561 และพัฒนาต่อ เนื่อง ในสิ่งที่ยังไม่ส�ำเร็จ เช่น กุฏิและอาคาร อเนกประสงค์ และในปี 2562 วัดเขาเก้าแสน ได้รับการประเมินให้เป็นวัด 5 ส. ของอ�ำเภอ เมือง จังหวัดสงขลา จนกระทั่งปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 114
12/5/2563 14:50:11
ปูชนียสถาน หัวนายแรง บนยอดเขาหินทับเอาไว้แข็ง เชื่อกันเรื่องวิญญาณเฝ้าทรัพย์มา ตามความเชื่อใครผลักหินนี้พลัด คือต�ำนานนายแรงแต่เก่าก่อน
เรียกขานว่าหัวนายแรงเมืองสงขลา คนบูชาบ้างก็ว่ามาขอพร จะได้หีบสมบัติใต้สิงขร หลักฐานเล่าย้อนสู่ลูกหลานเอย
หัวนายแรงคือหินก้อนใหญ่ที่ตั้งวางอยู่อย่างหมิ่นเหม่บนริมผา ในบริเวณวัดเขาเก้าแสน มีความเชื่อที่ชาวสงขลาบอกต่อกันมารุ่นต่อ รุ่นว่าใต้หินก้อนใหญ่นี้บรรจุทรัพย์สมบัติไว้มูลค่าเก้าแสนบาท หาก ใครสามารถผลักหินก้อนนี้ตกลงไปได้ก็จะได้ครอบครองทรัพย์สมบัติ ทั้งหมด ท�ำให้กิจกรรมที่เป็นที่นิยมของผู้มาเยี่ยมเยียนวัดเขาเก้าแสน แห่งนี้ นอกจากจะมาสักการะทวดนายแรงที่เชื่อกันว่าเป็นผู้เฝ้าทรัพย์ สมบัตทิ งั้ หมดนีไ้ ว้แล้ว ก็ยงั ต้องมาลองผลักหินก้อนนีด้ เี ผือ่ โชคดีจะตก เป็นของตน ตามต�ำนานที่เล่าขานกันมาเชื่อกันว่า นายแรงหรือทวดนายแรง น่าจะเป็นคนพัทลุง เกิดในครอบครัวที่ยากจน แต่เกิดมาด้วยความ มหัศจรรย์ คือ ร่างกายใหญ่โตผิดมนุษย์ มีพละก�ำลัง ขยันหมั่นเพียร แต่ก็มีข้อเสียคือเป็นคนกินจุ กินจนพ่อแม่ร�ำคาญ เพราะยากจน
ในขณะนั้นพัทลุงเป็นหัวเมืองทางใต้ที่ขึ้นกับมณฑลนครศรีธรรมราช และมีศึกภายในเมือง นายแรงอาสาออกรบทัพจับศึกจนได้รับชัยชนะ เป็นที่พอใจของเจ้าเมืองพัทลุงจึงได้รับแต่งตั้งให้เป็นขุนทัพหัวเมือง พัทลุง ต่อมาทางนครศรีธรรมราชซึ่งปกครองหัวเมืองใต้ประกาศว่ามี การสร้างที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เมืองต่างๆ ที่เป็นเมืองขึ้นของ มณฑลต่างส่งแก้วแหวนเงินทองไปร่วมท�ำบุญกันถ้วนหน้า นายแรง ซึ่งเป็นหนึ่งในนั้นต้องส่งแก้วแหวนไปร่วมตามค�ำสั่ง ได้รวบรวมแก้ว แหวนเงินทองและเดินทางโดยเรือส�ำเภา พอนายแรงเดินทางมาถึง ปากอ่าวไทยบริเวณเก้าเส้งเรือส�ำเภาเกิดขัดข้องไม่สามารถเดินทาง ต่อได้ นายแรงจึงสั่งไพร่พลให้ท�ำการแก้ไขแต่เสียเวลาไปมาก จึงไม่ สามารถเดินทางไปมณฑลนครศรีธรรมราชเพื่อร่วมพิธีบรรจุพระบรม สารีริกธาตุได้ทัน ด้วยความผิดหวังและศรัทธาที่มีอย่างแรงกล้า นาย แรงตัดสินใจให้ไพร่พลขนสมบัติแก้วแหวนเงินทองทั้งหมดจ�ำนวน “เก้าแสน” ในสมัยนั้นไปวางไว้บนภูเขาลูกนี้และให้ตัดศีรษะของตน วางทับสมบัติเหล่านั้น ก่อนตัดศีรษะได้กล่าวสาปแช่งต่อหน้าไพร่พล ว่า “ใครยักยอกทรัพย์สมบัติกูแม้แต่นิดเดียวให้มีอันเป็นไปนอกจาก ลูกหลานกูเท่านั้นที่จะมาเอาสมบัติกูได้” สิ้นค�ำสาปนายแรงออกค�ำ สั่งให้ตัดศีรษะไปวางทับสมบัติเหล่านั้น ประกอบกับนายแรงเป็นผู้มี พละก�ำลัง ร่างกายใหญ่โต จึงท�ำให้นายแรงมีศีรษะที่ใหญ่โตเท่ากับ ก้อนหินดั่งที่เห็นทุกวันนี้ ข่าวนายแรงตัดศีรษะทับสมบัติไว้บนเขาลูกนี้ได้แพร่กระฉ่อนไป ตามหัวเมืองต่าง ๆ ชาวบ้านทั้งไทยและจีนในสมัยนั้นได้แห่กันขึ้นเขา ลูกนี้เพื่อแสดงความเป็นทายาทปู่ทวดนายแรงเพื่อผลักหินก้อนนี้แต่ ไม่เป็นผลส�ำเร็จแม้แต่รายเดียว เขาลูกนี้จึงได้ชื่อว่า “เขาเก้าแสน” และต่อมาชาวบ้านในย่านดังกล่าวได้เรียกเพี้ยนว่า “เก้าเส้ง” และได้ เรียกมาจนถึงทุกวันนี้ ในปัจจุบันเขาเก้าแสนได้เป็นที่ตั้งของวัดเขาเก้าแสน และเป็น สถานที่ท่องเที่ยวที่ส�ำคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา เจดีย์พระยาวิเชียรคีรี ว่ากันว่า เป็นเจดีย์ที่พระยาวิเชียรคีรี (บุญสังข์ ณ สงขลา) สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2372 และพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้เคยเสด็จมาทอดพระเนตร เมือ่ ปี พ.ศ.2402 ลักษณะพระเจดีย์เป็นศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น ทรงลังกา ก่ออิฐ ถือปูน เป็นโบราณสถานอยู่บนยอดเขาริมทะเล อุโบสถวัดเขาเก้าแสน ตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่บนยอดเขา เป็นอุโบสถ สองชั้น ซึ่งสามารถลอดใต้อุโบสถได้ สร้างเมื่อ พ.ศ.2554 ซึ่งมีพระครู พิศาล ศาสนกิจ อดีตเจ้าอาวาส ออกแบบและดูแลการก่อสร้างเอง จนเสร็จสมบูรณ์ในปีพ.ศ. 2561
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องสักการะ
หินหัวนายแรง พระพุทธเมตตา รอยพระพุทธบาท หินโชคลาภ
พระพุทธมารดา หลวงพ่อด�ำ รูปปั้นทวดตาแรง หินมหัศจรรย์ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 115
115
12/5/2563 14:50:23
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดโคกสมานคุณ พระอารามหลวง วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองหาดใหญ่ วั ด โคกสมานคุณ พระอารามหลวง ตั้งอยู่ที่ ถนนโชคสมาน 1 อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สังกัดปกครองคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดเก่าแก่ ของเมืองหาดใหญ่ที่ก่อตั้งมาเกือบ 100 ปี และเป็น ศาสนสถานที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวหาดใหญ่ อยู่ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอหาดใหญ่ประมาณ 1 กิ โ ลเมตร ทางการได้จัดขึ้น ทะเบียนผนวกไว้กับ ที่ดินราชพัสดุ (สถานที่ราชพัสดุ คือบริเวณบ้านพัก ต� ำ รวจภู ธ ร สถานี ต� ำ รวจภู ธ ร ที่ ตั้ ง ห้ อ งสมุ ด ประชาชนของเทศบาลนครหาดใหญ่ และที่พักคน งานเทศบาลนครหาดใหญ่)
พระธรรมวงศาจารย์ (นิมิต จิตฺตทนฺโต ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดโคกสมานคุณ พระอารามหลวง
116
พระราชวรเวที (ชิต ติกฺขปญฺโญ ป.ธ.9)
ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดโคกสมานคุณ และเจ้าคณะจังหวัดสงขลา
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 116
12/5/2563 15:37:00
วัดโคกสมานคุณ เดิมมีชื่อเรียกว่า “วัดโคกเสม็ดชุน” ซึ่งเป็น วัดร้างมาประมาณ 30 ปี ในสมัยที่ทางรถไฟย้ายจากสถานีชุมทาง อู่ตะเภา มาตั้งที่สถานีชุมทางหาดใหญ่ในปัจจุบัน พระอุปัชฌาย์ปาน วัดคลองเรียน ได้เห็นความล�ำบากของพระเณร ที่เดินทางโดยสาร รถไฟมาลงที่สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ในเวลามืดค�่ำแล้วไม่มีที่พัก ใกล้ๆ ท�ำให้ต้องเดินทางไปพักที่วัดคลองเรียน วัดคลองแห หรือ วัดท่าแซบ้าง จึงต้องการที่จะตั้งที่พักสงฆ์ในบริเวณที่วัดร้างเดิม แต่ที่ดินวัดร้างได้จัดขึ้นทะเบียนผนวกไว้กับที่ดินราชพัสดุ จึงได้ ปรึกษาหารือกับทางเจ้าคณะจังหวัดสงขลา สมัยนั้น คือ ท่านเจ้าคุณ พระราชเมธี (ภายหลังย้ายไปอยู่ที่วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ เลื่อนเป็นพระรัตนธัช) จะขอสร้างวัดมีพระสงฆ์พ�ำนัก ท่านเจ้าคุณ พระราชเมธี ทรงมี พ ระบั ญ ชาให้ ห ลวงทิ พ ย์ ก� ำ แหงสงคราม นายอ�ำเภอคนแรกของหาดใหญ่ เป็นผู้ประสานงานติดต่อเจ้าหน้าที่ เพือ่ แยกทีด่ นิ วัดร้างออกมายกฐานะเป็นวัดมีพระสงฆ์ตอ่ ไป (หลวงทิพย์ สงคราม ต่อมาเลื่อนเป็นพระเสน่หามนตรี) พระอุปัชฌาย์ปาน ได้เลือกวันอาทิตย์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2466 ตรงกับแรม 8 ค�่ำ เดือน 5 โดยถือต�ำราโหราศาสตร์ เป็นวันดีทาง จั น ทรคติ ที่ จ ะเข้ามาอยู่ที่วัด ซึ่งในพรรษาแรกมี พ ระภิ ก ษุ 5 รู ป สามเณร 3 รูป รวมเป็น 8 รูป สามเณรรูปหนึ่งในสามคือ สามเณร กลิ่น ศรนรินทร์ (ภายหลังได้เลื่อนเป็นพระเทพมุนี เจ้าอาวาสวัดโคก สมานคุณ พระอารามหลวง) พระครูสมานคุณารักษ์ เจ้าอาวาสวัด ต่อจากพระอุปัชฌาย์ปาน ได้สร้างอุโบสถหลังแรกในความอุปภัมภ์ของพระเสน่หามนตรี และ คุณนายเกษร สุคนธหงส์ (เสน่หามนตรี) ได้ท�ำการผูกพัทธสีมา เมื่อ พ.ศ. 2480 และได้เปลีย่ นชือ่ จากวัดโคกเสม็ดชุน เป็น “วัดโคกสมานคุณ” ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 อุโบสถหลังเก่าได้ช�ำรุดต้องรื้อหลังคาออก หมด และได้สร้างเปลี่ยนแปลงแบบหลังคาใหม่ตามแบบของกรม ศิลปากร จนแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2518
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 117
117
12/5/2563 15:37:12
สิ่งส�ำคัญภายในวัด
รูปปั้นหลวงปู่ทวด มีขนาดกว้าง 7.9 เมตร สูง 9 เมตร สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นรูป ปั้นขนาดใหญ่ ตั้งอยู่บนแท่นกลางแจ้ง ด้านล่าง เป็นอาคารโถง 2 ชั้น มีรั้วเหล็กกั้นรอบเคียงคู่ สูงเท่ากับอาคารปรางค์สามยอดสูงใหญ่มองเห็น แต่ไกล เกียรติคณ ุ เป็นทีเ่ คารพเลือ่ มใสของชาวไทย ทุกภาคว่า เหยียบน�้ำทะเลจืด นั่งท่าสมาธิมี ลูกแก้วศักดิ์สิทธิ์อยู่บนมือ มองดูประชาชนทั่ว สงขลาอย่างเมตตา
พระปรางค์สามยอด เป็นสิ่งก่อสร้าง ประเภทหนึง่ ในงานสถาปัตยกรรม เป็นหลัก ประธานในวัด เช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิม ถื อ ว่ า เป็ น งานสถาปั ต ยกรรมที่ มี รู ป แบบ ลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความเชื่อ ในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเขา พระสุ เ มรุ พระปรางค์ ย อดกลางต่ อ เป็ น อาคารลึกเข้าไปด้านใน ท�ำเป็นทีป่ ระดิษฐาน พระบรมสารีรกิ ธาตุ มียอดเป็นปรางค์ สร้าง อยู่เบื้องหลังยอดมณฑปกลาง
โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน
ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 118
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(4
).indd 118
12/5/2563 15:37:20
มณฑป ประดิ ษ ฐานหลวงพ่ อ ปาน เป็ น อาคาร คอนกรีตเสริมเหล็กทรงไทยจัตุรมุข กว้าง 5 เมตร ยาว 7 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ. 2553 พระอุปชั ฌาย์ปาน ปุญญมณี หรือ หลวงพ่อปาน มีภมู ลิ ำ� เนาอยูท่ บี่ า้ นพรุ ต�ำบลบ้านพรุ อ�ำเภอเหนือ (คืออ�ำเภอหาดใหญ่ ในปัจจุบัน) เป็นบุตร คนที่ 2 ของนายขวัญ นางบัวจันทร์ ชนะรัตน์ เกิดเมื่อ วันพฤหัสบดี เดือน 7 ปีระกา พ.ศ. 2404 มรณภาพ เมื่อ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 ท่านเป็นคนที่แปลกกว่าคนอื่นๆ เนื่องจากมีปานปิด ทวารหนักยาวไปทางเบื้องหลัง สิ้นสุดลงที่บั้นสะเอว ลักษณะคล้ายลิ้นวัว หรือที่เรียกว่า “โจงกระเบนเหน็บ” เรียกกันตามหลักไสยศาสตร์ว่า “มหาอุด” นอกจากนี้ เล็บมือนิ้วก้อย ของท่านยังเป็นเล็บตัน รูปกลมเหมือน ปลายงาช้าง เวลาตัดต้องเอาเลื่อยเล็กๆ มาเลื่อยถึง จะออก รูปปั้นนางธรณีบีบมวยผม หน้าต�ำหนักวรัตถคนธ์ สร้างเป็นอนุสรณ์ในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร มีพระราชด�ำรัสถวายพระราชทรัพย์ “บ�ำรุง วัดหลวง” เป็นเหตุให้วัดโคกสมานคุณสมควรยกฐานะ เป็นพระอารามหลวง หน้าแท่นนางธรณีบีบมวยผม พระเทพมุนีบักทึกร้อยกรองความว่า “โอ้แม่นางธรณี สักขีเขต บิดมวยเกษหลั่งธารพยานเห็น อ้างคนอื่นเป็น ฝืนประเด็น ไม่ชัดเจนเท่าองค์ทรงแผ่นดิน” โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม ประจ� ำ ส� ำ นั ก เรี ย น วั ด โคกสมานคุ ณ สร้ า งตามแบบแปลนของกรมการ ศาสนา กว้าง 15 เมตร ยาว 24 เมตร สูง 3 ชั้น บริเวณ ด้านหน้าอาคารมีนามอาคารว่า “เทพมุนีอนุสรณ์” หน้าบันอาคารประดับตราสัญลักษณ์ทรงครองสิริราช สมบัติครบ 50 ปี
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอุปัชฌาย์ปาน ปุญฺญมณี พ.ศ. 2466 – 2472 2. พระครูสมานคุณารักษ์ (ปั่น อนุตฺตโร) พ.ศ. 2472 – 2518 3. พระเทพมุนี (กลิ่น ฐิตคนฺโธ ป.) พ.ศ. 2518 – 2521 (วัดราษฎร์) พระเทพมุนี (กลิ่น ฐิตคนฺโธ ป.) พ.ศ. 2521 – 2539 (พระอารามหลวง) 4. พระธรรมวงศาจารย์ (นิมิต จิตฺตทนฺโต ป.ปริญญาโท) พ.ศ. 2539 – ปัจจุบัน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 119
119
16/5/2563 13:26:07
พุ ทธมณฑลจังหวัดสงขลา ไม่มีสถานะเป็นวัด ด�ำเนินการก่อสร้างด้วย เงินงบประมาณแผ่นดิน ไม่รับเงินบริจาค
AD.indd 120
19/5/2563 9:02:20
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดม่วงค่อม พระครูอุทัย ธรรมธาดา อตฺตทนฺโต เจ้าอาวาสวัดม่วงค่อม เจ้าคณะอำ�เภอหาดใหญ่ วัดม่วงค่อม เลขที่ 3 หมู่ที่ 5 ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา ภาค 18 คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. 2300 ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อพ.ศ. 2360 ที่ดิน 13 ไร่ โฉนดเลขที่ 220929
“ความพร้อมเพรียงเคียงบ่าและเคียงไหล่ งานอะไรมีนัดไม่ขัดขืน ทำ�ทุกคนชนทุกหมู่สู้ยั่งยืน จำ�เจริญรื่นทั่วประเทศเพราะเหตุเพรียง”
ล�ำดับเจ้าอาวาส 1.พ่อท่านในเขื่อน 2.พ่อท่านนก 3.พ่อท่านหนู อิสสโร 4.พระอธิการราม ธมฺมปาโล 5.เจ้าคุ่ยผู้ก่อตั้ง โรงเรียนวัดม่วงค่อม 6.พระครูมนูญธรรมนุวัตร อั้น มนูญโญ 7.พระกรัป ภงฺทบโร 8.พระครูอุทัย ธรรมธาดา อตฺตทนฺโต เจ้าอาวาสวัดม่วงค่อม เจ้าคณะอ�ำเภอหาดใหญ่ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 121
121
12/5/2563 13:29:19
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดมหัตตมังคลาราม Mahatat Mangkalaram Temple พระพุทธมหัตตมังคล พระพุทธไสยาสน์ BUDDHA MAHATATMONGKOL (RECLINING BUDDHA) พระครูมงคลถาวรกิจ เจ้าอาวาสวัดมหัตตมังคลาราม PHRAKRUA MONGKONTHAWORNKIT
วัดมหัตตมังคลาราม เดิมชื่อว่า “วัดหาดใหญ่” ตั้งอยู่เลขที่ 134 ถนนเพชรเกษม อ�ำเภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา เริ่ ม ก่ อ ตั้ ง เมื่ อ ปี พ.ศ.2479 มี เ นื้ อ ที่ ทั้งหมด 22 ไร่ 1 งาน 86 ตารางวา ตั้งอยู่ในย่านชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองหาดใหญ่ ห่างจากที่ว่าการอ�ำเภอ หาดใหญ่ประมาณ 400 เมตร Mahatat Mangkalaram Temple Formerly known as "Hat Yai Temple", located at 134 Petchkasem Road, Hat Yai District, Songkhla Province, was established in 1936 with a total area of 22 Rai 1 Ngan 86 square Wah, located in the community area In Hat Yai 400 meters from Hat Yai district office.
122
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 122
12/5/2563 17:02:42
ที่ดินตั้งวัดเดิมเป็นของนายทอง นางฉิ้น ใจเย็น อุทิศที่ดินส่วนหนึ่ง ของตนให้เป็นป่าช้า ประจ�ำหมู่บ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2479 นายทอง นางฉิ้น ใจเย็น พร้อมด้วยประชาชนชาวบ้านหาดใหญ่ ได้ช่วยกันพัฒนาป่าช้าให้ เป็นวัด เพื่อสะดวกแก่การบ�ำเพ็ญกุศล จึงได้บริจาคที่ดินของตนเพิ่มอีก 4 ไร่และสร้างศาลาบ�ำเพ็ญบุญขึ้น 1 หลัง กุฏิที่พักสงฆ์อีก 4 หลัง พร้อม ทั้งอาราธนา นิมนต์ พระมหาคลิ้ง อตฺถจาโร (เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน) จาก วัดเลียบ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และพระอนุจรอีกจ�ำนวนหนึ่ง มาอยู่ ประจ�ำที่ส�ำนักสงฆ์แห่งนี้ The original land belonged to Mr. and Mrs. Jaiyen, donated part of his land to be a cemetery. In 1936 Mr. and Mrs. Jaiyen and the people of Hat Yai help each other to develop the cemetery to be a temple. Total they already donated more 4 Rai of land and built 1 pavilion, 4 monks' residences, and invited Phra Maha Kaling otjaro (current abbot) from Wat Liab, Muang District, Songkhla Province.
ต่อมา นายจินต์ รักการดี นายอ�ำเภอหาดใหญ่ในสมัยนั้น พร้อมด้วย ข้าราชการ พ่อค้าประชาชน ได้อนุญาตให้สร้างเป็นวัด ตามหนังสืออ�ำเภอที่ 2364/2490 ลงวั น ที่ 18 มิ ถุ น ายน พ.ศ.2490 และที่ ตั้ ง ชื่ อ วั ด นี้ ว ่ า “วัดหาดใหญ่” เพือ่ ให้สอดคล้องกันกับหมูบ่ า้ น พร้อมแต่งตัง้ พระมหาคลิง้ อตฺถจาโร ป.ธ. 3 น.ธ. โท (ปัจจุบนั คือ พระครูวจิ ติ รพรหมวิหาร) ให้เป็น เจ้าอาวาสรูปแรกตลอดจนมาถึงปัจจุบนั Later, Mr. Jin Rakkandee, the sheriff of Hat Yai at that time along with government official, merchant to build a temple. According to the book of government No. 2364/2490 on 18 of June 1947 and named the temple as "Hat Yai" because linked the name same as the village. As well as invited Phra Maha Kling (Now is Phra Kru Vichit Phromviharn) as the first abbot until the present
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 123
123
12/5/2563 17:02:54
124
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 124
12/5/2563 17:03:02
เมือ่ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ.2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 10 ได้เสด็จพระราชด�ำเนินมาเป็นองค์ประธาน ในการประกอบพิธีวาง ศิลาฤกษ์สร้างวิหารพระพุทธไสยาสน์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้ารับ วัดหาดใหญ่ไว้ในพระราชานุเคราะห์ พร้อมทั้งพระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดมหัตตมังคลาราม” ทั้งนี้ก็เพื่อให้สอดคล้องกับนามพระพุทธไสยาสน์ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานนามว่า ั เชิญ “พระพุทธมหัตตมงคล” และได้พระราชทาน พระราชานุญาตให้อญ พระนามาภิไธยย่อ ม.ว.ก. ประดิษฐานทีห่ น้าบันซุม้ ประตูวดั On 4 August 1977, King Rama IX proceeded to be the president of the ceremony for the Reclining Buddha And graciously pleased to accept the Hat Yai temple in the Monarch property and change the name of the temple to "Wat Mahatat Mangkalaram" Temple” this is to be consistent with the name of the reclining Buddha that His Majesty the King Rama 9 named "Buddha MaHattamongkon" and granted The royal permission to invite the monogram of the King of Thailand, enshrined at the gate of the temple.
ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุ Antiques
1. อุโบสถ the chapel 2. พระพุทธมหัตตมังคล Mahatamangkang Buddha 3. พระประธานในอุโบสถ Buddha in the chapel 4. วิหารพระพุทธมหัตตมงคล Wihan of Mahatamangkang Buddha 5. ศาลาการเปรียญ Theology hall
พระครูมงคลถาวรกิจ เจ้าอาวาสวัดมหัตตมังคลาราม
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 125
125
12/5/2563 17:03:11
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) พระบรมธาตุเจดีย์ พระครูปลัดภูวนัย สุเมธโส ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์
วัดศรีสว่างวงศ์ ( เกาะเสือ ) ตั้งอยู่เลขที่ 312 ถนนนิพัทสงเคราะห์ 2 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 26 ไร่ 50 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบ อาคารเสนาสนะต่างๆมี อุโบสถกว้าง 18 เมตร ยาว 32 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2503 พระเจดีย์และวิหารพระนอนสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2529 กุฏิสงฆ์จ�ำนวน 9 หลัง ศาลาโรงฉัน 1 หลัง อาคารที่พักสงฆ์ 3 ชั้น 2 หลัง อาคารเอนกประสงค์ 4 ชั้น 1 หลัง ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพจ�ำนวน 6 หลัง เมรุเผาศพแบบก�ำจัดมลพิษ 1 หลัง วัดศรีสว่างวงศ์ ได้เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2500 และได้รับอนุญาตให้สร้างวัดเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2512 โดยมีนายกลับ พัฒโน เป็นผู้ได้รับมอบหมายให้ด�ำเนินการขออนุญาต ที่ดินสร้างวัดเป็นของนายกลับ พัฒโน,นายสีช่วย โพธิพงษา,นายเม่า อุไรรัตน์ ร่วมกันบริจาค กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2513 ที่ได้มีนามวัดอย่างนั้น เพื่อให้มีความหมายว่า “วัดที่ประชาชนผู้เป็นเชื้อสายนับถือพุทธศาสนาร่วมกันสร้างขึ้น ตัง้ อยูใ่ นทีแ่ จ้งกลางทุง่ นา เพือ่ เป็นมิง่ ขวัญไป” แต่ชาวบ้านมักเรียกสัน้ ๆ ว่า“วัดเกาะเสือ” ตามภูมิประเทศ ที่ตั้งวัดที่เรียกกันมาแต่เดิมมา
ปูชนียวัตถุส�ำคัญ ในวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) 1. พระพุทธชินราช จ�ำลอง ขนาดเท่าองค์จริงจากจังหวัดพิษณุโลก (องค์ใหญ่ที่สุดใน ภาคใต้) ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. 2512 โดย นายพิสุทธิ์ นิมมานเหมินท์ อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่ง ประเทศไทย พระด้วยคณะญาติโยมผู้มีจิตศรัทธาได้ร่วมกันด�ำเนินการสร้างและน�ำมาถวาย และประดิษฐานเป็นพระประธานประจ�ำอุโบสถวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) 2. พระบรมธาตุเจดีย์วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) ได้ด�ำเนินการเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2529 ประกอบพิธียกยอดเจดีย์ปี พ.ศ. 2541 และประกอบพิธีบรรจุพระบรม สารีริกธาตุซึ่งได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 (ขณะด�ำรงพระอิศริยยศที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร) ซึ่งทรง พระราชทานผ่านสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฒฺฑโน) เพื่อประทาน ไปประดิษฐานในอ�ำเภอต่างๆ อ�ำเภอละ 1 แห่ง ในโอกาสฉลองสมโภชพุทธชยันตี 2600 แห่งการตรัสรู้ในปี พ.ศ. 2555 และพระบรมสารีริกธาตุและดิน 4 สังเวชนียสถานซึ่งพระครู ปลัดภูวนัย สุเมธโส ได้รับมอบมาจากเมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย เมื่อปี พ.ศ. 2557 3. พระพุทธสิหิงค์ขนาดหน้าตัก 60 นิ้ว ซึ่งท�ำการเททองหล่อเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระ โอกาสฉลองสมโภช 60 ปีวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) ซึ่งประกอบพิธีเททองหล่อเมื่อ วันเสาร์ ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2560 และประดิษฐานเป็นพระประธานประจ�ำอาคารอนุสรณ์ 60 ปี วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) 4. ศาลาทวดศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นที่เคารพศรัทธานับถือของประชาชนที่เดินทางมาบนบาน สานกล่ า วต่ อ โคตรเสื อ ทวดทอง ทวดเต็ ม ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องวั ด ในสิ่ ง ที่ ต นเอง ปรารถนาให้สมหวัง 126
(4
วัดศรีสว่างวงศ์ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 5 กันยายน 2521 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 72 เมตร เจ้าอาวาสมี 3 รูป คือ 1. พระครูโอภาสสิริวรรณ (อ�่ำ สิริสุวณฺโณ) พ.ศ. 2516 - 2542 2. พระครูมงคลถิรวัตร (เจียร ธมฺมรโต) พ.ศ. 2544 – 2561 3. พระครูปลัดภูวนัย สุเมธโส พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 126
12/5/2563 16:52:00
ประวัติพระครูปลัดภูวนัย สุเมธโส เจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สถานะเดิม ชื่อ นายภูวนัย นามสกุล ทองวงศ์ เกิดวันที่ 26 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2526 บิดานาย ศักดิ์นันท์ มารดา นางสุชีพ ณ บ้านเลขที่ 5 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บรรพชา เมื่อวันที่ 7 เดือน เมษายน พ.ศ 2542 ณ วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พระครูถาวรสังฆพิเนต ( คง อุตโร ) อดีตเจ้าคณะต�ำบลคลองหอยโข่ง วัดเลียบ ต�ำบลคลองหอยโข่ง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา เป็น พระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่อวันที่ 27 เดือน เมษายน พ.ศ 2546 ณ วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมี พระครู โสภณคุณาทร วัดคลองเปล ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูมงคลถิรวัตร (เจียร ธมฺมรโต) อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) เป็นพระกรรมวาจาจารย์, พระอนุสิทธิ์ อนาลโย วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2539 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียน เทศบาล 3 (โสภณพิทยาคุณานุสรณ์) อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2542 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียน หาดใหญ่รัฐประชาสรรค์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2543 สอบได้ นักธรรมชั้นตรี จากส�ำนักเรียนวัดศรีสว่างวงศ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
พ.ศ. 2544 สอบได้ นักธรรมชั้นโท จากส�ำนักเรียนวัดศรีสว่างวงศ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2548 สอบได้ นักธรรมชั้นเอก จากส�ำนักเรียนวัดศรีสว่างวงศ์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2550 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ปบส.) จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตร์บัณฑิต (พธบ.) จาก มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการจังหวัดสงขลา ความช�ำนาญพิเศษ การแสดงพระธรรมเทศนา, ทรงพระปาฏิโมกข์, อบรมนักเรียน, สอนนักธรรม, สอนธรรมศึกษา, อบรมสอนวิปัสสนากัมมัฏฐาน ต�ำแหน่งหน้าที่ด้านงานปกครอง พ.ศ. 2551 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) พ.ศ. 2554 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะอ�ำเภอหาดใหญ่ พ.ศ. 2557 เป็นผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) พ.ศ. 2557 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา สนองงานใน พระครูพิทักษ์นิมพเขต รองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2559 เป็ น เลขานุ ก ารรองเจ้ า คณะภาค 18 สนองงานใน พระเทพปริยัตคุณ รองเจ้าคณะภาค 18 พ.ศ. 2559 เป็นเจ้าส�ำนักปฏิบัติธรรมประจ�ำจังหวัดสงขลา แห่งที่ 19 พ.ศ. 2561 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) พ.ศ. 2562 เป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ. 2562 เป็นเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา สนองงานใน พระโสภณวราภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2562 เป็นพระวินยาธิการ จังหวัดสงขลา ต�ำแหน่งหน้าที่ด้านงานศึกษา พ.ศ. 2549 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมแผนกนักธรรม พ.ศ. 2549 เป็นกรรมการสนามหลวงแผนกธรรม ต�ำแหน่งหน้าที่ด้านงานเผยแผ่ พ.ศ. 2553 เป็นผู้อ�ำนวยการสถานีวิทยุพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ประจ�ำจังหวัดสงขลา วัดศรีสว่างวงศ์ (วัดเกาะเสือ) คลื่น ความถี่ FM 97.75 Mhz พ.ศ. 2559 เป็นพระธรรมทูตปฏิบัติการ ประจ�ำอ�ำเภอหาดใหญ่ พ.ศ. 2561 เป็นพระวิปัสสนาจารย์ประจ�ำคณะสงฆ์ ภาค 18 สมณศักดิ์ พ.ศ. 2551 เป็น พระสมุห์ ฐานานุกรมใน พระศรีรัตนวิมล ผู้ช่วยเจ้า อาวาสวัดโคกสมานคุณ พ.ศ. 2555 เป็น พระปลัด ฐานานุกรมใน พระศรีรัตนวิมล รองเจ้า คณะจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 เป็น พระครูปลัด ฐานานุกรมใน พระราชวรเวที เจ้าคณะ จังหวัดสงขลา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 127
127
12/5/2563 16:52:10
ประวัติพระครูโอภาสสิริวรรณ (อ�่ำ สิริสุวณฺโณ) ชาติก�ำเนิด สถานะเดิมชื่อ อ�่ำ ละอองจิต เป็นบุตร นายทับ นางชุม ละอองจิต เกิดเมื่อ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2466 ตรงกับ วันศุกร์ เดือน 11 ปีกุน ณ บ้านท่าไทร หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองแห อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา มีน้องต่างมารดา 1 คน คือ นางเอี่ยม ละอองจิต การศึกษา จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดคลองแห ในสมัย นั้น นายเริ่ม บุญแย้ม เป็นครูใหญ่ เมื่ออายุได้ 18 ปี ได้บรรพชาเป็น สามเณร ณ วัดคลองแห อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อ พ.ศ. 2484 ครั้นเมื่ออายุได้ 20 ปีบริบูรณ์ ก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดคลองแห โดยมี พระอุ ป ั ช ฌาย์ ท อง คงฺ ฆ สฺ ส โร อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด คลองแหเป็ น พระอุปัชฌาย์ ท่านเจ้าคุณพระโสภณพิทยาคุณ(อุ้ย เขมาภิรโต) อดีต เจ้าคณะอ�ำเภอหาดใหญ่ และ อดีตเจ้าอาวาสวัดหงส์ประดิษฐารามเป็น พระกรรมวาจาจารย์ พระครูอรรถธรรมนาถ (บุญ ภาสโร) อดีตเจ้าอาวาส วัดคลองแหเป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้จ�ำพรรษาอยู่วัดคลองแหได้ระยะ หนึ่ ง ก็ ย ้ า ยไปอยู ่ วั ด หงส์ ป ระดิ ษ ฐารามเพื่ อ ไปศึ ก ษาด้ า นปริ ยั ติ ธ รรม จนสามารถสอบได้นักธรรมชั้นโท ความคิดใหม่ ครั้นปี พ.ศ. 2500 ได้ปรึกษากับท่านเจ้าคุณพระโสภณพิทยาคุณ( อุ้ย เขมาภิรโต )เพื่อขออนุญาตไปตั้งส�ำนักสงฆ์ บริเวณทุ่งนา ซึ่งได้รับค�ำนิมนต์ จากผู้บริจาคที่ดินคือ นายสีช่วย โพธิพงษา ได้รับอนุญาตให้ตั้งส�ำนักสงฆ์ ณ ที่ดังกล่าวได้ซึ่งเป็นทุ่งนา มีป่าละเมาะขึ้นเต็ม เป็นที่เปลี่ยวไม่มีใคร กล้าผ่านในบริเวณนั้น โดยตั้งส�ำนักสงฆ์ชื่อ ส�ำนักสงฆ์เกาะเสือ มีพระภิกษุ ที่จ�ำพรรษาที่วัดหงส์ประดิษฐาราม ติดตามมาปฏิบัติพัฒนาส�ำนักสงฆ์ร่วม 5 รูป ได้ร่วมกันในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นวัดในทางพระพุทธศาสนาซึ่งต่อ 128
(4
มาได้รับการประกาศตั้งเป็นวัดมีนามว่า “วัดศรีสว่างวงศ์” โดยพระครู โอภาสสิริวรรณ ได้บ�ำเพ็ญสมณธรรมตามแนวทางที่ท่านแสวงหาโดย ตนเองมาโดยตลอดจนเป็นที่เคารพศรัทธาของพุทธศาสนิกชนที่ได้มา สัมผัสในอัธยาศัยและปฏิปทาในการประพฤติปฏิบัติของท่านที่แปลกกว่า พระเถระรูปอื่นๆ การพัฒนาวัดในยุคแรกเริม่ อาศัยก�ำลังของพระภิกษุสามเณรเป็นหลัก พร้อมด้วยญาติโยมผู้มีผู้ศรัทธาในการสร้างเสนาสนะในวัดเพิ่มทวีมากขึ้น จึงได้ทุนมาสร้างไม่ขาดระยะ ป่าละเมาะเริ่มหายไปจากพื้นที่ อาคารต่างๆ เริ่มถูกวางผังตามแผนความคิดอันเฉียบแหลมของพระครูโอภาสสิริวรรณ พระครูโอภาสสิริวรรณ เป็นพระที่ไม่ชอบพูดหรือคุยกับใครง่ายๆ เว้น แต่ผู้นั้นแสดงความสนใจในธรรมอยากจะฟังค�ำสอนก็จะนั่งคุยกันได้นาน มีตัวอย่างผู้ที่ล้มเหลวในชีวิต ล้มเหลวในธุรกิจคิดฆ่าตัวตาย มากราบท่าน ขอค�ำแนะน�ำท่านก็แนะน�ำและน�ำไปปฏิบัติ จนธุรกิจกลับเจริญรุ่งเรืองฟื้น ตัวขึ้นจากความล้มเหลว ซึ่งก็มีอยู่หลายราย จนปัจจุบันบุคคลเหล่านั้นก็ ยังคงไปกราบท่าน ในสมัยก่อนวัดสร้างใหม่ๆมีเด็กวัดมากมาย ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ล�ำบาก อยากจะเรียนมาจากสถานที่ต่างๆก็มาฝากตัวอยู่พักเพื่อเรียนหนังสือระดับ สูงขึ้นจ�ำนวนนับสิบคนในแต่ละปี บางคนขาดผู้อุปการะท่านก็ส่งเสียให้ เล่าเรียนรับเป็นธุระแม้กระทั่งการเงิน หรืออื่นๆเพื่อให้เด็กวัดเหล่านั้นได้ พัฒนาตนเอง เพื่อให้ด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคมในรูปลักษณ์ที่สังคมต้องการใน อนาคต และผลปรากฏว่า เด็กวัดที่เป็นศิษย์วัดในความดูแลของท่านล้วน ได้รับการศึกษาออกไปประกอบอาชีพรับราชการเป็นส่วนใหญ่มากมาย ต�ำแหน่งสูงบ้าง ต�่ำบ้าง ท่านไม่สามารถทราบได้ เพราะศิษย์บางคนหลัง จากจบการศึกษาก็ไม่มาเยี่ยมท่านอีกเลย ท่านจึงมีศิษย์ที่รู้จักมักคุ้นเพียง ไม่กี่คน วันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2542 พระครูโอภาสสิริวรรณ ( อ�่ำ สิริสุวณฺโณ ) ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการสงบ ภายในกุฏิของท่าน เวลา ประมาณ 10.30 น. รวมสิริอายุได้ 75 ปี 55 พรรษา
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 128
12/5/2563 16:52:15
สังเขปประวัติ พระครูมงคลถิรวัตร (จิรานุวัตร ธมฺมรโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (เกาะเสือ) รูปที่ 2 อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สถานะเดิม พระครูมงคลถิรวัตร (จิรานุวัตร ธมฺมรโต) นามเดิม เจียร นามสกุล ขันไชย เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2474 ณ บ้านเลขที่ 68/2 หมู่ ที่ 2 ต�ำบลคลองแห อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นบุตรของนายกลับ นางทิ้ง ขันไชย มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจ�ำนวน 6 คน ในวัยเด็กท่านได้เข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนวัดคลองแห จนกระทั่งจบ การศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และเมื่ออายุได้ 21 ปี ได้เข้ารับ การเกณฑ์เป็นทหารประจ�ำการ ณ ค่ายเสนาณรงค์เป็นระยะเวลา 2 ปี การอุปสมบท (ครั้งที่ 1) หลังจากปลดประจ�ำการจากทหารเกณฑ์แล้วพระครูมงคลถิรวัตร (เจียร ธมฺมรโต) ได้เข้ารับการบรรพชาอุปสมบทครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2498 ณ วัดคลองแห โดยมีเจ้าอธิการทอง คงฺฆสฺสโร เป็นพระอุปัชฌาย์ หลังจาก อุปสมบทแล้วท่านได้อยู่จ�ำพรรษา ณ วัดคลองแห ได้ศึกษาพระปริยัติ ธรรมจนสามารถสอบได้ นั ก ธรรมชั้ น โทท่ อ งจ� ำ พระปาฏิ โ มกข์ แ ละบท สวดมนต์ 12 ต�ำนานตลอดถึงภาณยักษ์ได้ ต่อมาได้ย้ายมาอยู่จ�ำพรรษา เพื่อศึกษาพระปริยัติธรรมต่อ ณ วัดหงส์ประดิษฐาราม ซึ่งสมัยนั้นมี พระเดชพระคุณพระโสภณพิทยาคุณ (อุ้ย เขมาภิรโต) อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอ หาดใหญ่ เป็นเจ้าอาวาส ท่านสามารถสอบผ่านนักธรรมชั้นเอกในปี พ.ศ. 2502 และได้รับแต่งตั้งเป็นครูสอนพระปริยัติธรรม ท�ำหน้าที่สอนนักธรรม ประจ�ำส�ำนักเรียนวัดหงส์ประดิษฐารามในสมัยนั้น ต่อมาท่านได้ย้ายมา
อยูจ่ ำ� พรรษา ณ ทีพ่ กั สงฆ์เกาะเสือ (ปัจจุบนั คือวัดศรีสว่างวงศ์) เพือ่ ร่วมมือ กับพระครูโอภาสสิริวรรณ (อ�่ำ สิริสุวณฺโณ) ในการพัฒนาที่พักสงฆ์แห่งนี้ ให้เป็นวัดในพระพุทธศาสนาและได้ทา่ นลาสิกขาเมือ่ ประมาณปี พ.ศ.2507 ชีวิตครองเรือน หลั ง จากลาสิ ก ขาบทแล้ ว ท่ า นได้ ย ้ า ยถิ่ น ฐานมาสร้ า งครอบครั ว ที่ หมู่บ้านช่างแก้ว ต�ำบลคลองหลา อ�ำเภอคลองหอยโข่ง โดยสมรสกับ นางพิมพ์ ขันไชย และมีบุตร – ธิดา ด้วยกัน 6 คน ชีวิตการครองเรือนท่านยึดประกอบอาชีพเกษตรกรรมท�ำสวน ยางพาราจนมีความมั่นคงสามารถ สร้างครอบครัวตลอดถึงส่งเสริมบุตร – ธิดาให้ได้รับการศึกษาเล่า เรียนจนมีหน้าที่การงานที่ดีในปัจจุบัน การอุปสมบท ( ครั้งที่ 2) เมื่อท่านอายุได้ 64 ปี ได้ตัดสินใจเข้ารับการอุปสมบท (ครั้งที่ 2) เมื่อ วันที่ 10 กรกฎาคม 2538 ณ วัดศรีสว่างวงศ์ โดยมีพระครูสิทธิสีลาจารย์ (ด�ำ กิตตฺ สิ าโร) อดีตเจ้าคณะต�ำบลคูเต่า วัดชลธารประสิทธิ์ เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูโอภาสสิริวรรณ (อ�่ำ สิริสุวณฺโณ ) อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ (เกาะเสือ) รูปที่ 1 เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูสมุห์คล่อง กมฺพโล เจ้าอาวาสวัดแก้วสว่างวนาราม เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ พ.ศ. 2486 จบการศึกษาชั้น ป.4 จากโรงเรียนวัดคลองแห พ.ศ. 2498 สอบได้นักธรรมชั้นตรี จากส�ำนักเรียนวัดคลองแห พ.ศ. 2499 สอบได้นักธรรมชั้นโท จากส�ำนักเรียนวัดคลองแห พ.ศ. 2502 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก จากส�ำนักเรียนวัดหงส์ประดิษฐาราม ต�ำแหน่งการปกครอง พ.ศ. 2502 เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม วัดหงส์ประดิษฐาราม พ.ศ. 2538 เป็นที่ปรึกษาโรงเรียนศรีสว่างวงศ์ พ.ศ. 2541 เป็นที่ปรึกษาและอุปถัมภ์โรงเรียนวัดโคกสมานคุณ พ.ศ. 2542 เป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์แก้วสว่างวนาราม พ.ศ. 2544 เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีสว่างวงศ์ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2546 เป็นพระครูชั้นประทวน พ.ศ. 2554 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นโท ที่พระครูมงคลถิรวัตร มรณภาพ พระครูมงคลถิรวัตร (จิรานุวัตร ธมฺมรโต) ได้เริ่มมีอาการอาพาธด้วย โรคเส้นเลือดในสมองตีบเมื่อปลายปี พ.ศ. 2546 ซึ่งได้เข้ารับการรักษา ทางการแพทย์แผนปัจจุบันและแผนโบราณอยู่ต่อเนื่องอย่างสม�่ำเสมอ อาการของโรคมีอาการทรงตัวมาโดยล�ำดับ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2554 เริ่ม มีอาการร่างกายอ่อนแรงด้วยสภาพแห่งความชราของสังขารจนต้องนอน ติดเตียงตั้งแต่พ.ศ. 2557 จนกระทั่งถึงแก่มรณภาพด้วยอาการสงบ เมื่อ วันจันทร์ ที่ 2 เดือนเมษายน พ.ศ. 2561 เวลา 06.30 น. สิริรวมอายุได้ 87 ปี 1 วัน 23 พรรษา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
).indd 129
129
12/5/2563 16:52:17
S P ECI A L P R O V INC IA L บันทึกเส้นทางพิเศษของจังหวัดเชียงใหม่
?
TRAVEL
Beautiful Place SONGKHLA
asd.1.indd 130
25/5/2563 8:58:53
SONGKHLA MAP แผนที่จังหวัดสงขลา
1. อ�ำเภอเมืองสงขลา 2. อ�ำเภอสทิงพระ 3. อ�ำเภอจะนะ 4. อ�ำเภอนาทวี 5. อ�ำเภอเทพา 6. อ�ำเภอสะบ้าย้อย 7. อ�ำเภอระโนด 8. อ�ำเภอกระแสสินธุ์ 9. อ�ำเภอรัตภูมิ 10. อ�ำเภอสะเดา 11. อ�ำเภอหาดใหญ่ 12. อ�ำเภอนาหม่อม 13. อ�ำเภอควนเนียง 14. อ�ำเภอบางกล�่ำ 15. อ�ำเภอสิงหนคร 16. อ�ำเภอคลองหอยโข่ง
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
asd.1.indd 131
131
25/5/2563 8:58:58
Editor's talk.indd 132
25/5/2563 9:14:05
Editor's talk.indd 133
25/5/2563 9:14:09
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดคลองเปล (น�้ำผุด) WAT KHLONG PLAE (NAM PHUT) พระครูโสภณคุณาทร (สมปอง ทองชูช่วย) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองเปล PHRA KHRU SOPHONKUNATHON (SOMPONG THONGCHUCHUAI) TAKES A POSITION OF ABBOT AT WAT KHLONG PLAE
134
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 134
12/5/2563 16:42:31
วัดคลองเปล (น�้ำผุด) ตั้งอยู่กาญจนวนิช ซอย 4 ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต�ำนานบ้านคลองเปล (น�้ำผุด) เป็น หมู่บ้านเก่าแก่ เคยเป็นสถานที่เลี้ยงช้าง วัว ควาย เนื่องจากเป็นพื้นที่ อุดมสมบูรณ์ มีล�ำคลองเล็กๆไหลผ่านหมู่บ้าน ท�ำให้มีชาวบ้านจาก พื้นที่ใกล้เคียงเข้ามาจับจองที่ท�ำมาหากิน มีต�ำนานเล่าว่า ในสมัยนั้น มีหญิงสาวคนหนึ่งเป็นลูกใครไม่มีใครทราบ ชื่อว่า “นางเลือดขาว” หรือ “นางผมหอม” อาศัยอยู่ในถ�้ำเชิงเขาบันไดนาง ซึ่งอยู่ห่างจากวัด ประมาณ 1 กิโลเมตร ทุกๆเช้านางจะออกจากถ�้ำมาใส่บาตรพระสงฆ์ เป็นประจ�ำ พอเที่ยงวันนางจะไปอาบน�้ำ จากนั้นจะเดินทางกลับมานั่ง เล่ น ที่ เ ปล ซึ่ ง ผู ก ไว้ ที่ ริ ม คลอง (ปั จ จุ บั น กลายเป็ น สวนสาธารณะ) ด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่า “บ้านคลองเปล” ส่วนน�้ำผุดมาจากบริเวณที่ตั้ง วัด มีน�้ำผุดขึ้นมาจากพื้นดินตลอดทั้งปี ภายหลังนางได้หายสาบสูญไป โดยไม่มีใครทราบ Wat Khlong Plae (Nam Phut) is located on Kanjanavanit soi 4 Road,, Kor Hong sub-district, Hat Yai district, Songkhla province. Legend of Ban Khlong Plae (Nam Phut) is an ancient village. It was formerly a place for raising elephants, cows and buffalos because it was an abundant land which there was small canal flowed through. It made villagers from nearby village came to this place in order to lay claim land for making a living. Legend has it that during that era, there was one woman with unknown origin which her name was “Mrs.Leuat Khao” (White blood) or “Mrs.Phom Hom” (Fragrant hair), who lived in the cave at the foothills of Bandainang Hill which is approximately 1 Kilometers from the temple. Every morning, she always come out of the cave to offer food to monk. After that, in the noontime, she will take a bath. Then, she went to sit leisurely on cradle at the riverbank (Currently, it become park). Therefore, this area is called “Ban Khlong Plae” (Plae means cradle). As for Nam Phut (Rising water), it come from location of the temple that water have been rising from the ground throughout the year. Afterwards, she went missing without one knew her whereabouts.
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 135
135
12/5/2563 16:42:43
วัดคลองเปล เดิมเป็นที่พักสงฆ์ เรียกว่า “ทุ่งน�้ำผุด” มีเจ้าคุณ พระโสภณพิทยาคุณ (หลวงปู่อุ้ย) ได้มาปักกลดถือธุดงค์ อดีตผู้ใหญ่ บ้านคง แก้วจังหวัด และชาวบ้านได้ถวายที่ดินจ�ำนวน 25 ไร่ เพื่อ สร้างวัด โรงเรียนและป่าช้า หลังจากนั้นพัฒนามาจนถึงปีพ.ศ.2520 พระสมปอง อชิโต ได้รับผิดชอบส�ำนักสงฆ์ โดยมีอดีตผู้ใหญ่บ้านผล อุไรรัตน์ ได้ด�ำเนินการจัดท�ำหลักฐานกับเจ้าหน้าที่ที่ดิน เพื่อขอจัดตั้ง เป็นวัดจนสมบูรณ์ Wat Khlong Plae was monk’s residence which was called “Thung Nam Phut”. One day, Chao Khun Phra Sophonpitthayakhun (Luang Pu Aui) went on pilgrimage to this place. Former village headman of Ban Kong Kaew together with locals had offered 10 acres of land to him for building temple, school and cemetery. Then, they had been developed this place until B.E.2520, the time when Phra Sompong Achito who took charge of an unofficial temple, former village headman, Mr.Phon Urairat had carried out the preparation of document for temple establishment officially with an officer of Department of Lands.
หลังจากนั้นได้ท�ำโครงการ “บุญนิธิพัฒนาศาสนกิจสงเคราะห์ สั ง คม” ซึ่ ง อยู ่ ใ นความอุ ป ถั ม ภ์ ข องเจ้ า คณะอ� ำ เภอหาดใหญ่ แ ละ เจ้าคณะจังหวัดสงขลา เมื่อปี พ.ศ.2525 พระสมปอง อชิโต ได้รับ แต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก และมีสมณศักดิ์เป็นพระอธิการสมปอง อชิโต จากการท�ำงานฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อการพัฒนาด้านเยาวชนและ เผยแผ่ พุ ท ธศาสนารวมทั้ ง สร้ า งถาวรวั ต ถุ จ นได้ รั บ พระราชทาน สมณศักดิ์เป็น พระครูโสภณคุณาทร จนถึงปัจจุบัน After that, they initiated a project “Boonnithi for developing religious activities and supporting social” which is under the support of Hat Yai district monk dean and Songkhla province monk dean. In B.E.2525, Phra Sonpong Achito appointed the first abbot of this temple and was bestowed monk’s rank as Phra Athikarn Sompong Achito due to his diligently and undiscouragedly work for youth development and propagation of Buddhism including permanent object-making. In conclusion, all of his hard work made Royal family granted him the monk’s title as Phra Khru Sophonkunathon. 136
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 136
12/5/2563 16:42:50
ประวัติพระครูโสภณคุณาทร (สมปอง ทองชูช่วย) พระครู โ สภณคุ ณ าทร (สมปอง ทองชู ช ่ ว ย) เกิ ด เมื่ อ วั น ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2492 บ้านเลขที่ 23/1 หมู่ที่ 5 ต�ำบลคลองแห อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บรรพชาเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 อายุ 15 ปี ณ วัดคลองแห โดยมีพระครูวิจิตพรหมวิหาร เป็นพระอุปัชฌาย์ และได้ลาสิกขาเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2512 เพื่อเข้าศึกษาในสาขา ช่างไฟฟ้า ที่โรงเรียนสารพัดช่างคลองสาน เมื่อจบการศึกษาได้มีส่วนใน การซ่อมวิหารหลวงที่องค์พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ก่อนที่จะมา เป็นช่างไฟฟ้า ที่ร้านเทคนิคหาดใหญ่ อุปสมบท เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2514 อายุ 22 ปี ณ วัดหงส์ ประดิษฐาราม อ�ำเภอหาดใหญ่ โดยมีพระปริยัติวรานุกูลเป็นพระอุปัชฌาย์ ในทางธรรม ได้เป็นพระ น.ธ.เอก ที่วัดพรหมโลก จังหวัดนครศรีธรรมราช ป.7 (ระดับ 3) และได้มาศึกษาต่อที่วัดหัวป้อมในจังหวัดสงขลา ระดับ 4 (ม.3) วั ด นาคถลาง กรุ ง เทพฯ ได้ เข้ า รั บ การอบรมครู ชุ ด พกศ. วัดสุทธาวาส กรุงเทพฯ ศิลปการพูด วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ปัจจุบันอายุ 71 ปี เป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นโท น.ธ.เอก ม.3 (ระดับ4) อดีตเจ้าคณะต�ำบลหาดใหญ่ เขต 2 เจ้าอาวาสวัดคลองเปล (น�้ำผุด) อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และเป็นผู้ด�ำเนินการสร้างพระบรมธาตุทักษิณเจดีย์ ศรีโสภณ (เจดีย์แห่งเทพนิมิต) พระครู โ สภณคุ ณ าทร ยึ ด หลั ก การครองคน ครองตน ครองงาน ตามหลักคิดที่ว่า ครองตน ไม่ลืมตน ครองคน ด้วยหลักสังคหวัตถุ 4 ครอง งาน การท�ำงานคือการปฏิบตั ธิ รรม ท�ำด้วยอุดมคติ การปฏิบตั งิ าน งานทีท่ ำ� ท�ำด้วยอุดมคติ สอยธรรม น�ำปฏิบัติ พัฒนา (สถานที่ละบุคคล) ปรึกษากิจ (แก้ปัญหาชีวิต) พระครู โ สภณคุ ณ าทร ยึ ด ในค� ำ ปฏิ ญ าณตนที่ ว ่ า เมื่ อ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ขอปฏิบัติตามอุดมคติที่ตั้งเอาไว้ เมื่อมรณภาพร่างกายมอบให้โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ ดวงตามอบให้สภากาชาดไทย และขอมอบดวงใจมอบ ถวายเป็นพุทธบูชา
Biography of Phra Khru Sophonkunathon (Sompong Thongchuchuai) Phra Khru Sophonkunathon (Sompong Thongchuchuai) was born on 20 February B.E.2492, at 23/1 village no.5, Khlong Hae sub-district, Hat Yai district, Songkhla province. He was ordained as a novice on 23 May B.E.2507 when he was 15 years old, at Wat Khlong Hae by Phra Khru Wijitphromwiharn was the preceptor. After that, he left the Buddhist monkhood on 27 November B.E.2512 in order to study electrical mechanics at Thonburi Polytechnic College. Then, after he graduated, he took part in the repair of Buddha image hall of Phra Pathommachedi in Nakhon Pathom province, before he became an electrician at Technic Hat Yai shop.
Buddhist ordination – On 5 June B.E.2514 when he was 22 years old, he was ordained as Buddhist monk at Wat Hong Pradittharam, Hat Yai district, by Phra Pariyatwaranukul was a preceptor. Religious education – He became Dhamma scholar advanced level and seven degree graduate in Buddhist theology (Third level) at Wat Phrom Lok, Nakhon Si Thammarat province. After that, he continued his study (ninth grade) at Wat Hua Pom, Songkhla province. Then, he participated in training for graduation in twelfth grade at Wat Sutthawat, Bangkok. Lastly, he learnt art of talking at Wat Phra Chettuphon Wimon Mangkhalaram. At present, he is 71 years old, the second level of Phra Khru Sanyabatr, Dhamma scholar advanced level and graduate in ninth grade (fourth level), former monk dean of second area of Hat Yai sub-district, abbot of Wat Khlong Plae (Nam Phut) and the one who operate the construction of Phra Borommadhat Taksin Chedi Sri Sophon (Stupa of Thepnimit). SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 137
137
12/5/2563 16:42:51
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดควนลัง พระครูปลัดดำ�รง ถิรจิตฺโต ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดควนลัง วัดควนลัง ตั้งอยู่เลขที่เดิม 285 เลขที่ใหม่ 487 บ้านควนลัง ถนนเพชรเกษม หมู่ที่ 1 ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 16 ไร่ 85 ตารางวา ส.ค.1 เลขที่ 1296 สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2386 โดยมีพระยอด มาอยู่ พ�ำนัก แล้วได้ด�ำเนินการสร้างวัดขึ้นมา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ.2451 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร ผูกพัทธสีมาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2453 อาคารเสนาสนะต่างๆ อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ วัดควนลังเปิดสอนพระปริยัติธรรม แก่พระภิกษุสามเณรตั้งแต่ พ.ศ.2484 เป็นต้นมา นอกจากนี้มีโรงเรียนประถมศึกษาและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รวมถึงเป็นที่ตั้งของศูนย์สภา ต�ำบลควนลัง
138
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 138
12/5/2563 11:30:43
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
ประวัติ พระครูวิศาลธรรมคุณ (แปลง ติสฺสโร)
สถานะเดิม ชื่อ “แปลง” นามสกุล “เพชรพันธ์” บิดาชื่อ นายสี เพชรพันธ์ มารดาชื่อนางนุ่ม เพชรพันธ์ เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2452 ในครอบครัวชาวนาบ้านวังหรัง ต.ควนลัง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อุปสมบท วัดควนลัง โดยมี พระครูสุวรรณศิริวัฒน์ (ขวัญทอง) วัดโคกม่วง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการเขียว เจ้าอาวาสวัดควนลัง เป็นพระกรรมวาจาจารย์และพระมหายก วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพมหานคร เป็นอนุสาวนาจารย์ ได้ฉายาว่า “ติสฺสโร” หลัง จากอุ ป สมบทแล้ว ก็ไ ด้ศึก ษาพระธรรมจนแตกฉาน จึ ง สนใจทาง วิ ป ั ส สนาธุ ร ะพร้ อ มท� ำ การฝึ ก ฝนจนช� ำ นาญ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น พระเถระที่มีระเบียบวินัยเคร่งครัดในศีลสมาธิสังวรอยู่ตลอด จนเป็น ที่เลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้าน ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น “เจ้าอาวาสวัดควนลัง” ท�ำการพัฒนา วัดเจริญรุ่งเรืองทั้งการศึกษาปริยัติธรรมและถาวรวัตถุต่างๆ รวบรวม ศรัทธาจากลูกศิษย์และผู้นับถือสร้างวัดขึ้นได้ถึง 2 วัด คือ “วัดเกาะ” และ “วัดเนินพิชัย” ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น “พระครูวิศาล ธรรมคุณ” จากที่หลวงพ่อแปลง มีศีลบริสุทธิ์ท�ำให้ท่านท�ำอะไรก็เข้มขลังไป หมด แม้กระทั่ง ค�ำพูดของท่านที่เรียกได้ว่ามี “วาจาศักดิ์สิทธิ์” ปรากฏให้เห็นอยู่เสมอ ส่วนวัตถุมงคลของท่านก็มีความขลัง เช่น เหรียญรุ่นแรก ที่สร้างเมื่อปี พ.ศ.2531 ในงานฉลองอายุ 80 ปี เหรียญนีม้ อี ภินหิ ารทัง้ ทางเมตตามหานิยมแคล้วคลาด ด้านคงกระพัน เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 หลวงพ่อแปลง อายุได้ 93 ปี พรรษาที่ 73 ก็ได้ละสังขาร วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 จัดงาน พระราชทานเพลิงศพ ปรากฏว่าเมื่อน�ำร่างท่านออกมาจากหีบบรรจุ ต้องพบกับความอัศจรรย์ เพราะร่างกาย“ไม่เน่าเปื่อย” แต่คณะ กรรมการก็ต้องท�ำการพระราชทานเพลิงศพไปตามก�ำหนดเดิม และ เก็บอัฐธิ าตุของท่านเอาไว้ให้ผเู้ คารพนับถือกราบไหว้บชู า ณ วัดควนลัง ถึงปัจจุบัน
1. พระอธิการยอดจันทร์ พ.ศ. 2386 – 2436 2. พระทั้ง พ.ศ. 2436 – 2438 3. พระอธิการจันทร์ พ.ศ. 2438 – 2440 4. พระอธิการหนู ธมฺมทินโน พ.ศ. 2440 – 2464 5. พระอธิการเขียว ติสฺสสาโร พ.ศ. 2464 – 2489 6. พระครูวิศาลธรรมคุณ (หลวงพ่อแปลง ติสฺสโร) พ.ศ. 2489 – 2544 7. พระครูผล ขันติพโร (รักษาการเจ้าอาวาส) พ.ศ. 2544 8. พระอธิการบุญจอง ธมฺมครุโก พ.ศ. 2544 – 2545 9. พระครูปลัดด�ำรง ถิรจิตฺโต พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน
ประวัติ พระครูปลัดด�ำรง ถิรจิตฺโต (ชุมทอง)
สถานะเดิม ชื่อ ด�ำรง ชุมทอง เกิดวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 เกิดบ้านเลขที่ 177 ต�ำบลรูสะมิแล อ�ำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ปัจจุบัน อยู่ วัดควนลัง เลขที่ 487 หมู่ที่ 3 ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา เป็นบุตรของ นายอุดม – นางทองค�ำ ชุมทอง มีพี่น้อง ร่วมบิดา มารดาด้วยกัน 3 คน บรรพชา – อุปสมบท เมือ่ วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2550 ณ วัดควนลัง ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยมี พระอุปัชฌาย์ พระครู ประกิตศาสนการ เจ้าคณะต�ำบลบางกล�่ำ วัดบางหยี อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูพิมลชลธาร วัดชลธาราวาส ต�ำบลบางกล�่ำ อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระสมุห์ช้อน ขกฺขตวํโส วัดบางหยี ต�ำบลบางกล�่ำ อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัด สงขลา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2553 เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดควนลัง ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอ หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2556 เป็นเจ้าอาวาสวัดควนลัง ต�ำบลควนลัง อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2556 ได้รับตราตั้งฐานานุกรม “พระครูปลัด”ในพระราชศิริ ธรรมเมธี รองเจ้าคณะภาค 18 วัดคูหาสวรรค์ พระอารามหลวง จังหวัด พัทลุง
• พ.ศ. 2557 เป็นพระวินยาธิการ จังหวัดสงขลา
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 139
139
12/5/2563 11:30:54
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดคลองเรียน Khlong Rian Temple หลวงพ่อปาน ลิ้นดำ� Pastor Pan Lin dum พระมหาสันชัย ฐิตเมโธ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดคลองเรียน Phra MahaSanChai Thitmetho He is an abbot of Khlong Rian Temple วัดคลองเรียนเป็นศูนย์รวมทางจิตใจของ ชาวบ้ า นคลองเรี ย นมาโดยตลอด มี ช าวบ้ า น จ�ำนวนมากที่เข้าไปขอพรกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำ วัด ได้แก่ หลวงพ่อเกตุแดง และรูปเคารพหลวง พ่อปาน ลิ้นด�ำ ให้ช่วยปกปักคุ้มครอง Khlong Rian Temple has always been the mind center of the Khlong Rian villagers. There are many villagers who go to the temple and ask for blessings from the holy thing of the temple, including Luang Pho Ket Daeng. And a statue of Pastor Pan Lin dum to protect them.
140
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
3
).indd 140
12/5/2563 14:44:28
นอกจากนี้ยังมี พระสังกัจจายน์ ที่ถือเป็น 1 ใน ไตรภาคี แห่งพระ ผู้ดลบันดาลโชคลาภและความมั่งมีศรีสุขให้แก่ผู้นับถือและเคารพบูชา อันประกอบไปด้วย พระสีวลี พระบัวเข็ม หรือพระอุปคุต และพระสังกัจจายน์ Moreover this temple also have Phra Sangkachai is the one of the Tripartite Pastor monks who bring fortune and wealth to those who respect and worship. Which consists of Phra Si Wa Lee, Phra Bua Khem, or Phra Upakut And the Pha Sangkachan.
ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพ่อปาน ลิ้นด�ำ The magic of Pastor Pan Lin dum. ความเชือ่ ในเรือ่ งของความศักดิส์ ทิ ธิข์ องหลวงพ่อปานทีช่ าวคลองเรียน ให้ความศรัทธากัน ได้แก่ ความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นเรือ่ งวาจา ความศักดิส์ ทิ ธิใ์ นเรือ่ ง การบนบาน ความศักดิ์สิทธิ์ในเรื่องการเป็นหมอยา และความศักดิ์สิทธิ์ ในเรื่องคาถาอาคมต่างๆ The belief of the Pastor Pan Lin dum’s magic is the magic of the vows, who asks for any help will success, health and wealth. Including the sacred on various incantations.
空莲寺庙 潘林丹牧师 帕拉马汉·萨·柴特米索 他是空莲寺庙的住持 空莲寺庙位于合艾市班空莲路1号。空莲寺庙建于 1667年。空莲寺庙在过去被称为“魏德永”,因为 在过去寺庙周围有运河,所以村民以该地区命 名。后来被歪曲为“空学”。关于空林寺的最最有 意义的是,它是合艾地区的第一个寺庙,也是学 习的地方。
此外,这座寺庙还拥有帕桑卡猜(Phra Sangkachai), 他是三方牧师的其中一位僧侣,他们为尊重和崇 拜的人们带来了财富。其中包括帕西华利(Phra Si Wa Lee),帕布阿卡(Phra Bua Khem)或者帕乌帕 库特(Phra Upakut)和帕桑卡尚(Pha Sangkachan)。
空莲寺庙一直是村民的思想中心。有很多村民去 庙里祈求庙里的圣物加持,包括卡丹牧师还有潘 林丹牧师的雕像保护着他们。
潘林丹牧师的神圣是誓言的魔术,誓言要求成 功,健康和财富的任何帮助。包括神圣的各种咒 语。 SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
3
).indd 141
141
12/5/2563 14:44:43
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดท่าแซ วัดเก่าแก่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระอธิการทรงกรด ถาวโร (พรหมจินดา) เจ้าอาวาสวัดท่าแซ วัดท่าแซ ตั้งอยู่เลขที่ 46 บ้านท่าแซ หมู่ 3 ต�ำบลคลองอู่ตะเภา อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์ ภาค 18 สังกัดคณะ สงฆ์ ม หานิ ก าย ภายใต้การปกครองคณะสงฆ์ต�ำบลหาดใหญ่ เขต 1 ขณะนัน้ และปัจจุบนั สังกัดคณะสงฆ์ตำ� บลควนลัง วัดท่าแซ มีพื้นที่ใน การจัดตั้งวัด มีเนื้อที่ 12 ไร่ 10 ตารางวา ส.ค.1 เลขที่ 181 สร้างขึ้น ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ราว พ.ศ.2349 เดิมต�ำบลคลองอู่ตะเภา มีชื่อว่าต�ำบลท่าแซ เมื่อสร้างวัดขึ้นจึงตั้งชื่อว่า “วัดท่าแซ” เพื่อเป็น อนุสรณ์แก่ต�ำบลท่าแซ ที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นต�ำบลคลองอู่ตะเภา ใน สมัยที่จอมพล ป.(แปลก) พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี
142
(2
วัดท่าแซ ผูกพัทธสีมา ฝังลูกนิมิตอุโบสถหลังแรก เมื่อพ.ศ.2460 ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อุโบสถหลังแรก อยู่ติดริมคลองอู่ตะเภา ช่วงที่มีน�้ำหลากท�ำให้น�้ำเซาะตลิ่งเข้ามาใกล้ อุโบสถ เจ้าอาวาสในอดีตเห็นว่าไม่ปลอดภัย จึงได้มีด�ำริให้สร้าง อุโบสถหลังที่ 2 ณ ที่ตั้งอุโบสถหลังปัจจุบัน ผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิต อุโบสถหลังที่ 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2499 อุโบสถหลังที่ 2 มีขนาดเล็ก ลักษณะเหมือนกับอุโบสถวัดแหลมพ้อ ทีเ่ กาะยอ ขณะนัน้ พ่อท่านทอง วัดท่าแซ กับพ่อท่านเภา วัดแหลมพ้อ เป็นเพื่อนกัน จึงไปน�ำหินจากเกาะยอมาถมที่ภายในวัดท่าแซ โดย บรรทุกมากับเรือผ่านคลองอู่ตะเภา สมัยนั้นทั้งถนนหน้าวัดและ โรงเรียนยังไม่มี เกิดเป็นรูปร่างในสมัยพ่อท่านแดง นอกจากนี้ท่าน ยังด�ำริให้สร้างอุโบสถหลังที่ 3 (หลังปัจจุบัน) ขึ้น เนื่องจากหลังที่ 2 ปลวกกั ด กิ น หลั ง คาจนเกิ น จะเยี ย วยา ซ่ อ มแซม และท� ำ การผู ก พัทธสีมา ฝังลูกนิมิต อุโบสถหลังปัจจุบัน เมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2556
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 142
12/5/2563 15:31:37
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พ่อท่านศรีพรหม 2. พ่อท่านปาน 3. พ่อท่านทอง ธมฺมทินฺโน 4. พระครูวิมลศีลสังวร (พ่อท่านแดง สปฺปญฺโญ) พ.ศ.2485 - 2533 5. พระครูพิพัฒน์นวการ (พ่อท่านเสริญ สนฺตจิตฺโต) พ.ศ.2533 – 2542 6. พระปลัดปรีชา อปฺปกิจฺโจ (ปรีชา ไวยรัตน์) พ.ศ.2543 – 2557 7. พระทรงยศ จนฺทสโร (ทรงยศ โกศัยกานนท์) (ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส) พ.ศ.2557 - 2558 8. พระทรงกรด ถาวโร (พรหมจินดา)(ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส) พ.ศ.2558 – 2560 9. พระอธิการทรงกรด ถาวโร (พรหมจินดา) พ.ศ.2560 – ปัจจุบัน
ประวัติพระอธิการทรงกรด ถาวโร (พรหมจินดา)
บรรพชาและอุปสมบท เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2553 อายุ 39 ปี ณ วัดท่าแซ ต�ำบลคลองอู่ตะเภา อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา โดยมีพระครูสมานคุณารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลหาดใหญ่ เขต 1 เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวินัยธร ประภาศ กตปุญโญ เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระปลัดปรีชา อปฺปกิจโจ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ บิดา – มารดา ชื่อนายสวัสดิ์ นางอารี พรหมจินดา (สาวิโรจน์) การศึกษาทางโลก จบชั้น ป.6 ที่โรงเรียนบ้านคลองเปล (สุนทร อุปถัมภ์) ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จบชั้น ม.3 ที่โรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษา ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา จบชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 3 โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่ ต�ำบลคอหงส์ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ การปกครอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมา โศกราช ศู น ย์ ป ระสานงานจั ง หวั ด สงขลา การศึ ก ษาทางธรรม นักธรรมชั้นโท
ประวัติพระครูวิมลศีลสังวร (พ่อท่านแดง สปฺปญฺโญ)
พระครูวิมลศีลสังวร ฉายา สปฺปญฺโญ อายุ 90 พรรษา 70 วิทยฐานะ น.ธ.ตรี วัดท่าแซ ต�ำบลคลองอู่ตะเภา อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อดีตเจ้าอาวาสวัดท่าแซ สถานะเดิม ชื่อ แดง บุญจันทร์ เกิดวันที่ 7 กันยายน พ.ศ.2443 ณ บ้านหมู่ที่ 3 ต�ำบลคลองอู่ตะเภา อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.2463 ณ วัดท่าแซ โดยมี พระครูรัตนโมลี อดีตเจ้าอาวาสวัดดอนแย้ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ • พ.ศ.2511 เป็น พระครูแดง ชั้นประทวนสมณศักดิ์ • พ.ศ.2517 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร ที่พระครูวิมลศีลสังวร • มรณภาพ เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ.2533 ด้วยโรคชรา สิริรวม อายุ 90 ปี 70 พรรษา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 143
143
12/5/2563 15:31:50
AD.indd 144
19/5/2563 13:09:08
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดควนโส พระสมุห์ปรี อตฺถกาโม เจ้าอาวาสวัดควนโส วัดควนโส ตั้งอยู่เลขที่ 71 หมู่ 3 ต�ำบลควนโส อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา 90220 สร้างเมื่อ พ.ศ. 2210 โทรศัพท์ 093-2638016 พระสมุห์ปรี อตฺถกาโม เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันเป็นผู้สร้างอุโบสถ หลั ง ใหม่ ตั้ ง อยู ่ ใ นเรื อ หงษ์ ตอนนี้ ก� ำ ลั ง ด� ำ เนิ น การได้ ป ระมาณ 80 เปอร์เซ็นต์แล้ว ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคสมทบทุนตามก�ำลังทรัพย์ ได้ที่ ธนาคารออมสิน สาขาควนเนียง เลขที่บัญชี 020027003050 เงินกองทุนไฟฟ้า วัดควนโส
พระสมุห์ปรี อตฺถกาโม
หลวงท่านไชย หลวงปูไ่ ชย ฌานลาโภ หรือพ่อท่านไชย ทีช่ าวควนโสและพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ให้ความเคารพนับถือ ท่านเกิดเมือ่ ปี พ.ศ. 2430 เป็นลูกคนสุดท้องในจ�ำนวน พี่น้อง 5 คน เป็นคนต�ำบลควนโสตั้งแต่ก�ำเนิด เมื่อท่านอายุได้ 21 ปีได้บวช เรียน ณ วัดควนโสและปฏิบตั ธิ รรมจนเป็นทีร่ โู้ ดยทัว่ ไปของชาวบ้านว่า หลวง ปู่ไชยเป็นพระเกจิ ที่มีชื่อเสียงท่านหนึ่งในอ�ำเภอควนเนียง สมัยที่ท่านเป็น เจ้าอาวาสได้สร้างกุฏเิ จ้าอาวาสเป็นไม้ทงั้ หลัง แต่กฏุ ไิ ม่ได้ใช้ตะปูตอกแม้แต่ ตัวเดียว ปัจจุบันกุฏิหลังนี้ยังคงตั้งอยู่และได้รับการบ�ำรุงรักษาอย่างดี ท่าน ยังได้พฒ ั นาบ�ำรุงรักษาวัดควนโสให้เป็นสถานทีท่ รี่ ม่ เย็นเหมาะแก่การปฏิบตั ิ ธรรม รวมถึงท่านได้จัดท�ำเหรียญไว้ให้ลูกหลานบูชาอีกด้วยหลวงปู่ไชย มรณภาพ เมื่อ พ.ศ. 2527 อายุได้ 97 ปี 76 พรรษา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
).indd 145
145
12/5/2563 15:50:37
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดโคกเหรียง Khok Riang Temple พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง ชุมชนเข้มแข็งมีความสุขกายสุขใจด้วยพระธรรม ส่งเสริมศีลธรรมแก่เยาวชน BUDDHISM HAS PROSPERITY. THE COMMUNITY IS STRONG AND HAPPY WITH THE DHARMA. พระครูโสภณคณาภิบาล (กล่อม ปญฺญาคโม) เจ้าอาวาสวัดโคกเหรียง ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอคลองหอยโข่ง PHRAKHRU SOPHONKANAPHIBAN (KLOM PANYAKHAMO) THE ABBOT OF KHOK RIANG TEMPLE ADVISOR FOR KHLONG HOI KHONG DISTRICT. วัดโคกเหรียง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 76 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลโคกม่วง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง
จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 14 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 4138 ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2442 ได้นามตามชื่อ บ้านว่า “วัดโคกเหรียง” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จาก พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2476 Khok Riang Temple is located at 76 Village No. 2, Khok Muang Subdistrict, Khlong Hoi Khong District, Songkhla Province. With 14 rai 3 ngan 20 square wah land built in 1899, formerly known as "Khok Riang Temple". Later, King Prajadhipok VII changed the temple's name to Khok Riang Temple on the 18th. August 1933 146
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 146
21/5/2563 15:13:22
ประวัติกุฏิเรือนไทย กุฏิเรือนไทย เริ่มการสร้างเมื่อ พ.ศ. 2555 โดยมี พระครูโสภณ คณาภิบาล เป็นผู้อ�ำนวยการสร้าง และมี พระเนรมิต กิตฺติโก (พุทธแก้ว) เป็นผูค้ วบคุมการก่อสร้าง ซึง่ ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณจากศิษยานุศษิ ย์ และคณะพุทธบริษัท รวมเป็นเงิน 12 ล้านบาทเศษ เมื่อการก่อสร้างเสร็จ พ.ศ. 2556 จึงได้อัญเชิญรูปเหมือน พระครูกิตติยารักษ์ อดีตเจ้าอาวาส วัดโคกเหรียง ขึ้นประดิษฐานไว้ตามปณิธานของอาจารย์ท่าน
ด้านการศึกษา ส�ำนักเรียนวัดโคกเหรียงได้เปิดการเรียนการสอนพระปริยัติธรรม ทั้ง นักธรรมและธรรมศึกษา ตั้งแต่ พ.ศ.2497 และเปิดโครงการอบรมเยาวชน ภาคฤดูร้อน ในห้วงเดือนเมษายนของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ.2520 ถึงปัจจุบัน
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระอธิการหวาน พ.ศ. - 2442 2. พระอธิการพรหม พ.ศ. 2442 - 2470 3. พระอธิการสี ธมฺมปาโล พ.ศ. 2471 - 2484 4. พระอธิการทอง กลฺยาโณ พ.ศ. 2485 - 2497 5. พระครูกิตติยารักษ์ พ.ศ.2498 - 2536 6. พระครูโสภณคณาภิบาล ( กล่อม ปญฺญาคโม ) พ.ศ.2536 - ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 147
147
19/5/2563 16:44:09
ประวัติการสร้างอุโบสถ อุโบสถวัดโคกเหรียง ได้วางศิลาฤกษ์เมื่อ พ.ศ.2528 โดย พระเทพมุนี เจ้าคณะจังหวัดสงขลา เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต, นาวาอากาศเอกนิพนธ์ สาครเย็น ผู้บังคับการกองบิน 56 เป็นประธานฝ่ายคฤหัสถ์ โดยมี พระครู กิตติยารักษ์ (อดีตเจ้าอาวาสวัดโคกเหรียง) เป็นผู้ด�ำเนินการก่อสร้าง และพระครูโสภณคณาภิบาล สานงานต่อเมื่อ พ.ศ.2536 จนการก่อสร้าง อุโบสถเสร็จ และได้ท�ำการผูกพัทธสีมา เมื่อวันอาทิตย์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2549 นายวันชัย รูปประดิษฐ์ เป็นนายช่างใหญ่ในการสร้างอุโบสถ The foundation stone of Ubosot of Wat Khok Riang was laid by Phra Thepmuni, Songkhla province monk dean and Group Captain Niphon Sakhonyen, Commander Wing 56, who were leader of Buddhist monk faction and leader of layman faction respectively. Phra Khru Kittiyarak (Abbot of Wat Khok Riang, B.E.2528-2536) was the one who started this construction. After that, Phra Khru Sophon Kanaphiban (Abbot of Wat Khok Riang, B.E.2536 till now) has been carried on his work until it is completed. Then, he performed monastic boundary demarcation ceremony on Sunday, 6 August B.E.2549. Lastly, Mr.Wanchai Ruppradit was the chief craftsman of Ubosot construction. สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่ อ พระพุ ท ธรู ป ปางมารวิ ชั ย หน้ า ตั ก กว้ า ง 1 เมตร 70 เซนติ เ มตร สู ง 2 เมตร 30 เซนติ เ มตร ซึ่ ง พระครู โ สภณคณาภิ บ าล เจ้าอาวาสวัดโคกเหรียง ได้น�ำความกราบบังคมทูลขอพระราชทานชื่อ เพื่อเป็นสิริมงคลและได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อว่า “พระพุทธวรญาณเกียรติธ�ำรง” เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2557 Her Highness Prince Chulabhorn Walailak Archangel Krom Phra Srisangkhwathana Worakattiyarat Ratchanaree His Majesty graciously named the Buddha statue, 1 meters wide, 70 centimeters high, 2 meters 30 centimeters, which Phra Kru Sophonkapaniban. Abbot of Khok Riang Temple Had graciously requested the name as an auspicious sign and graciously granted the royal name "Buddha Phrawaniyakietthamrong" on January 27, 2014.
148
(4
ประวัติพระครูโสภณคณาภิบาล พระครู โ สภณคณาภิ บ าล ฉายา ปญฺ ญ าคโม อายุ 72 พรรษา 52 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วัดโคกเหรียง ต�ำบลโคกม่วง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งทีป่ รึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอคลองหอยโข่ง และเจ้าอาวาสวัดโคกเหรียง สถานะเดิม ชื่อ กล่อม นามสกุล หยดย้อย เกิดเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2491 ที่บ้านเลขที่ 41 หมู่ที่ 1 ต�ำบลโคกม่วง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา บิดาชื่อ นายผิน หยดย้อย มารดาชื่อ นางเอียด หยดย้อย (สุพรรณรัตน์) อุปสมบท เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 ปีมะแม ณ พัทธสีมา วั ด โคกเหรี ย ง ต� ำ บลโคกม่ ว ง อ� ำ เภอคลองหอยโข่ ง จั ง หวั ด สงขลา โดยมี พระมงคลพฤฒาจารย์ วัดมหัตตมังคลาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูกติ ติยารักษ์ วัดโคกเหรียง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูใบฎีกาชุม อานนฺโท วัดควนลัง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พ.ศ.2536 เป็นเจ้าอาวาสวัดโคกเหรียง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ.2537 เป็นเจ้าคณะต�ำบลทุ่งลาน อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ.2542 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา พ.ศ.2563 เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 148
19/5/2563 16:44:12
高良寺庙
是一座繁荣昌盛的佛教寺庙。这里的寺庙为百姓倡导文明与道德, 因此百姓的内心与身体都健康。 Phra Khru Sophonkanaphiban(高良寺庙的住持、Khlong hoi khong县的顾问) 高良寺庙位于宋卡府Khlong hoi khong Khok Muang 县 2小镇76号,面积约6000㎡。1899年因这里的小镇 名字是“Khok Riang”寺庙便起名为“高良寺庙”。1933年 8月18日,拉玛七世巴差提步批准了能使用这片土地 建造寺庙。 教育方面,自1954年以来,一直在传授佛经和 佛法。自1977年至今,一直为青年人保留着佛教的教学 (时间为每年四月)举行夏令营。 教堂建设历史 庙内的一座新教堂,于1985年5月5日开始 建造,1985至1993年有许多重要人物来负责,由Phra Thep Muni,Songkhla、Air Chief Marshal Niphon Sakhon Yen、Director of Air Service Division 56和Phra khru Kittiyarak。1993至 2006年由Phra Kru Sophonkanaphiban住持来负责。同时 Wanchai Roobpradit先生负责建造教堂。 2006年8月竣工,长25米,宽15米,高19米。2006年 8月6日举行了佛教的仪式。 SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 149
149
19/5/2563 16:44:15
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดเลียบ Wat Liab temple โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกนักธรรม BUDDHIST SCHOOL, RELIGIOUS SECTION พระครูสิทธิสุตากร รองเจ้าอาวาสวัดเลียบ ปฏิบัติหน้าที่แทนเจ้าอาวาสวัดเลียบ รักษาการแทนเจ้าคณะอำ�เภอคลองหอยโข่ง PHRAKRU SITTHISUTAKHON THE ASSISTANT ABBOT ACTION FOR THE WAT LIAB’S ABBOT. ACTION FOR KHLONG HOI KHONG DISTRICT PRIMATE. วัดเลียบ ตั้งอยู่เลขที่ 1 บ้านใหม่ หมู่ 3 ต�ำบลคลองหลา อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ภาค 18 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 30 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว 88 วา ติดต่อกับที่ของกองทัพ อากาศ กองบิน 56 ทิศใต้ยาว 88 วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกยาว 140 วา ติดต่อกับถนนสาธารณะ ทิศตะวันตกยาว 140 วา ติดต่อกับกองทัพ อากาศกองบิน 56 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบสูง Wat Liab temple Located at No. 1 Ban Mai, Village No. 3, Khlong Lan Subdistrict, Khlong Hoi Khong District, Songkhla Province Section 18 under the Mahanai Sangha Council. The temple has more than 30 rai (1 Rai=1,600 Square Meters) covering an area of 88 meters north and contact with public roads. The east, 140 meters long, connects to the public road. In the west, 140 meters long that connect with the Royal Thai Air Force. 150
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 150
12/5/2563 15:54:27
วัดเลียบ สร้างขึ้นเป็นวัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2482 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร เกี่ยวกับการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกนักธรรม ทางวัด จัดให้มีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมตั้งแต่ พ.ศ. 2489 เป็นต้นมา Wat Liab Built as a temple since 1890. On October 24, 1939 the temple was expended the land with width of 20 meters, length of 40 meters. Regarding the study of the Buddhist Scriptures, the Religious Affairs Department at the temple has provided the teaching of the Buddhist Scriptures since 1949.
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 151
151
12/5/2563 15:54:41
152
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 152
12/5/2563 15:54:49
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอธิการจันทร์แก้ว ปุญญมุณี (หลวงพ่อปราบภัยแหลมทอง) 2. พระอธิการข�ำ ชุตมิ ตุ โฺ ต 3. พระครูถาวรสังฆพิเนต (คง อุตตฺ โร) พ.ศ. 2497 - 2546 4. พระครูพริ ยิ มงคล (วีระศักดิ์ เตชปญฺโญ) พ.ศ. 2546 –ปัจจุบนั
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ ขณะนีท้ างวัดเลียบ ก�ำลังด�ำเนินการสร้างวิหารอดีตเจ้าอาวาส ท่านผูม้ จี ติ ศรัทธาสามารถร่วมบริจาคสมทบได้ ที่ธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชีวัดเลียบ หมายเลขบัญชี 3680628307 หรือโทรศัพท์ 089-4660058
How to make merit for the temple
Now, the temple is constructing for the former abbot. Who have faith can donate at Krung Thai Bank Account name: Wat Liab, account number 3680628307 or telephone 089-4660058 SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 153
153
12/5/2563 15:54:56
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดปลักคล้า Wat Plakkla Temple พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) เป็นเจ้าอาวาสปกครอง Phra Khru Werakhemkhun (Luang Phor Klom Khemwiro) is the current abbot of Wat Plakkla. วัดปลักคล้า ตั้งอยู่เลขที่ 60 บ้านปลักคล้า หมู่ที่ 5 ต�ำบลโคกม่วง อ�ำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา วัดปลักคล้า สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินทั้งสิ้น 12 ไร่ 2 งาน อาณาเขต ทิศเหนือมีความยาว 166 เมตรทิศใต้ มีความยาว 86 เมตร ทิศตะวันออกมีความยาว 91 เมตร ทิศตะวันตกมีความยาว 115 เมตร วัดปลักคล้ามีสภาพล้อมรอบทัง้ 4 ด้าน เป็นล�ำคลอง มีธรณีสงฆ์ 3 แปลง (รวมทัง้ สิน้ 9 ไร่ 2 งาน) พื้นที่ของวัดปลักคล้าเป็นที่ราบลุ่ม มีล�ำคลอง ทุ่งนาโดยรอบ อาคารเสนาสนะ มีพระอุโบสถกว้าง 8 เมตร สร้างในปี พ.ศ. 2462 พระอุโบสถวัดปลักคล้าโครงสร้างไม้เนื้อแข็ง หลังคามุงด้วยกระเบื้อง เนื้อดินเผา ศาลาการเปรียญมีความกว้าง 17 เมตร ความยาว 14 เมตร วัดปลักคล้าเป็นสถานทีร่ ม่ รืน่ และมีสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ให้กราบไหว้สกั การบูชาโดยเฉพาะ พระพุทธลาภด�ำรงค์ ให้โชคลาภและศาลาพระประจ�ำวันเกิด Wat Plakkla is located at 60 Baan Plakkla, village no.5, Khok Muang sub-district, Khlong Hoi Khong district, Songkhla province. It belongs to Maha Nikaya clergy. The scale of this temple’s land is 4.74 acres and 800 square meters. The north border is 166 meters in length, south border is 86 meters in length, east border is 91 meter in length and west border is 115 meters in length. Wat Plakkla is surrounded by canal and it has 3 plots of monastery land (3.55 acres and 800 square meters in total). 154
4
(3
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 154
12/5/2563 14:48:03
วัดปลักคล้า สร้างวัดมาจนถึงปัจจุบัน มีเจ้าอาวาส ทั้งสิ้น 6 รูป ดังนี้ รูปที่ 1 ท่านเอียด รูปที่ 2 พระอธิการนวน รูปที่ 3 พระอธิการสีแก้ว รูปที่ 4 พระใบฎีกาแช่ม เขมงคโร รูปที่ 5 พระอธิการเกลือน เตชปุญโญ รูปที่ 6 พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) ด�ำรงต�ำแหน่ง วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 ถึงปัจจุบัน
ความเป็นมาของพระพุทธลาภด�ำรงค์ พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) เจ้าอาวาสวัดปลักคล้า ท่านกล่าวว่า พระพุทธลาภด�ำรงค์ สร้างไว้เป็นที่ระลึกของศาสนา ทั้งนี้ เพื่อให้ชาวพุทธศาสนิกชนภาคใต้ และนักท่องเที่ยวชาวไทย ชาวมาเลเซีย และชาวสิงคโปร์ ได้สักการบูชา พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) ท่านออกแบบเป็นศิลปะ ภาคใต้ พระพุทธลาภด�ำรงค์ มีความศักดิ์สิทธิ์ประทานโชคลาภ และ ประสบความส�ำเร็จ สมหวัง แก่ผู้ขอพรจากท่าน พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) เจ้าอาวาสวัดปลักคล้า ท่านกล่าวว่า ได้สร้างพระพุทธลาภด�ำรงค์ เมื่อวันที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ. 2529 งบประมาณในการก่อสร้างครั้งนี้ประมาณ 50 ล้านบาท (ห้าสิบล้านบาทถ้วน) เงินการก่อสร้างได้มาจากบรรดาศิษยานุศิษย์ของ ท่าน เช่น ชาวมาเลเซีย ชาวสิงคโปร์ และพุทธศาสนิกชนชาวไทย พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) ก่อนที่จะสร้าง พระพุทธ ลาภด�ำรงค์ ท่านได้ฝันไปท่องเที่ยว ในสถานที่แห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นวัดแต่ ภายในสถานที่แห่งนั้นไม่มีพระภิกษุสักรูปเลย ในฝันบอกว่า วัดนั้นตั้งอยู่ บนเนินสูง 2 ชั้น วัดตั้งอยู่ข้างล่าง ส่วนข้างบนที่เป็นเนินสูง มีสนามลาน หญ้าและมีบรรดาสุภาพสตรีร้องรําทําเพลงอยู่ข้างบนสนาม ลานหญ้า พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) ได้หลบอยู่ป่าข้างทาง เมื่อ บรรดาสุภาพสตรีมองเห็นท่าน จึงได้เรียก พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อ กล่อม เขมวิโร) ไปถามว่า ท่านมีธุระอะไร ท่านบอกว่า มาเที่ยวเท่านั้น ไม่มีความประสงค์อย่างใด บรรดาสุภาพสตรีได้บอกกับท่านว่าสถานที่ แห่งนี้ทั้งข้างบนและข้างล่าง ไม่ใช่สถานที่แห่งการท่องเที่ยว ฉะนั้นจึง ห้ามเข้ามาท่องเที่ยวโดยเด็ดขาด และได้พาท่านลงไปข้างล่างเพื่อไปพบ อาจารย์ของบรรดาสุภาพสตรี อาจารย์ของเหล่าสตรีนั้นเป็นฤาษี และ ฤาษีถามท่านว่า เดินทางมาทางไหน ท่านตอบไปว่า มาทางข้างกุฏิ ของ ฤาษี อาจารย์ของบรรดาสุภาพสตรี ถามว่า เวลาท่านเดินทางมาไม่มีใคร เห็นตัวท่านหรือ พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิไร) ตอบ ไม่มี ใครเห็น ฤาษีบอกว่า สถานที่ข้างบนห้ามโดยไม่ให้ใครขึ้นไปเด็ดขาด เพราะว่าเป็นที่อยู่อาศัยของบรรดาสุภาพสตรี ใครขึ้นไปจะต้องขออนุญาต จากฤาษีก่อน พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม) ท่านคิดว่าคงจะเป็นสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์และที่อยู่อาศัยของเหล่านางฟ้า
พระครู วี ร ะเขมคุ ณ ได้ นํ า คณะทั ว ร์ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเต็ ม คั น รถบั ส นักท่องเที่ยวทั้งหมดอยู่ข้างล่าง ท่านขึ้นไปข้างบน เพียงคนเดียวและ ได้พบเห็นบรรดาเหล่านางฟ้าและวัด ได้เห็นพระพุทธรูปองค์หนึ่ง แต่ ไม่ได้อยู่ที่พักของเหล่าสตรี (นางฟ้า) พระพุทธรูปตั้งอยู่องค์เดียวในศาลา ข้างล่าง ไม่มีใครมากราบไหว้และบูชา พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) จึงพาคณะทัวร์ของท่านเดินทางกลับวัดปลักคล้า ถนนหนทางที่ ท่านเดินทางกลับนั้น สะดวก ถนนลาดคอนกรีตตลอดทาง แต่ทางขึ้นเขา ที่กุฏิของฤาษี และที่อยู่อาศัยของบรรดาสุภาพสตรี (นางฟ้า) ถนนหนทาง เป็นดินแดง พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) เจ้าอาวาสวัดปลักคล้า ท่านฝันเป็นนิมิตอันดี ท่านจึงคิดที่จะสร้าง พระพุทธลาภด�ำรงค์ เพื่อให้ ประชาชนได้กราบไหว้บูชา และบรรดาสุภาพสตรี (นางฟ้า) ที่ท่านฝัน จะต้องช่วยให้ท่าน สร้างพระพุทธลาภด�ำรงค์ให้ส�ำเร็จลุล่วงอย่างแน่นอน พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม เขมวิโร) เจ้าอาวาสวัดปลักคล้า ได้สร้างพระพุทธลาภด�ำรงค์ เมื่อวันที่ 28 เดือนกันยายน พ.ศ. 2529 พระครูวีระเขมคุณ (หลวงพ่อกล่อม) พระเกจิอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ พุทธาคม ด้านเมตตามหานิยม และ แคล้วคลาด วัตถุมงคลของท่านเป็น ที่ แ สวงหาของพุ ท ธศาสนิ ก ชนจั ง หวั ด สงขลา และจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง ตลอดจน ชาวมาเลเซีย และชาวสิงคโปร์
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
(3
).indd 155
155
12/5/2563 14:48:17
ของดี ของขลัง Sacred objects and amulet 1. มีพระพุทธรูป พระพุทธลาภด�ำรงค์ องค์ใหญ่เด่นสง่าสวยงาม จะ ให้โชคลาภ และ ขอลูก แก่ญาติโยมชาวไทย มาเลเซีย และ สิงคโปร์ อย่าง มากมาย จนชาวต่างชาติมาบนบานสานกล่าวกันมากม่าย 1.The Buddha image, Phra Phutthalapdamrong, giant, outstanding and gorgeous Buddha image which it will grant fortune to anyone who worship it. Many Thais, Malaysians and Singaporeans usually pray to this Buddha image for getting children until lots of foreigners interested in it and come to this temple to pray to the Buddha image as well 2. พระปิดตา หลวงพ่อกล่อม จ.ส.ต(สงวนชื่อ)ประจ�ำที่ สภ.อ ของ ปัตตานี ขณะออกตรวจได้ถูกยิงใส่ กระสุนโดนแขนขว้า แต่ไม่ระคาย ผิวหนัง พุทธบริษัทจึงแห่กันมาเช่าเป็นจ�ำนวนมาก 2. Phra Pidta (Closed-eye Buddha image), Luang Phor Klom. There was one Sergeant Major Third Class (Anonymous) who was stationed at police station in Pattani province, he got shot during his patrol and the bullet hit his right arm but there was no even a scratch. Then, a lot of people rushed to buy this Buddha image. 3. ปลุกเสกลงนะหน้าทอง จะเห็นได้ว่าชาวต่างชาติ จะแห่กันมา ลง นะหน้าทอง กันจ�ำนวนมากมาย เพราะเมื่อลงนะหน้าทองไป ก็จะกลับไป ท�ำการงานค้าขาย เจริญรุ่งเรื่องทันตา จึงต้องแห่กันมารอคิวลงนะหน้า ทองจ�ำนวนมากในแต่ละวัน 3. Pluke Sek Na Na Thong (The incantation-reciting by Inscribing word “Na” in Khmer language on the forehead,
156
4
(3
gilding then rubbing until gold leaf disappear) – There are lots of foreigners that has been coming to this temple for getting blessed by this incantation because after they get it, their careers will be prosperous promptly. Thus, many of them always queue up for the incantation every day. 4. มนต์คาถา คาถาด้านเมตตา ก็ดูได้จากการมาของชาวต่างชาติ ที่มา ลงนะหน้าทอง ด้านอาคม ป้องกันภัย ท่านก็จะสอนให้ลูกศิษย์ในวัด ให้ ลูกศิษย์ไว้ใช้เมื่อเข้าไปฝึก สมาธิกรรมฐาน อยู่ในป่า ใหญ่ห้วยขาแข้งทุ่งใหญ่นเรศวร เป็นเวลา1เดือน ทุกๆปีถึงปัจจุบัน ไว้ใช้ภาวนาเวลาเจอ ภูตผีและสัตว์ร้าย เช่น ช้าง เสือ ควายป่า เป็นต้น ลูกศิษย์ก็เจอจริงๆแบบ ประชิดก็ภาวนา สัตว์ใหญ่-ร้าย ก็จะหลบหลีกไปทุกครั้ง จากลูกศิษย์ ปัจจุบัน 4. Incantation regarding affection – It is also quite famous which can be acknowledged from arrival of foreigners that come for “Pluke Sek Na Na Thong” for preventing them from danger. Monks at this temple has been teaching an incantation to disciples of the temple in order to let them use it when practicing meditation in Huai Kha Khaeng and Thung Yai Naresuan Wildlife sanctuary for 1 month annually until today. They can use it for praying when encounter with ghost and wild beasts such as elephant, tiger and wild buffalo etc. which some of those disciples actually encounter wild beasts closely. They then chanted this incantation, all wildlife whether big or small will avoid them every time. This story had been told from current disciple.
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 156
12/5/2563 14:48:21
克拉克神庙
位于普鲁克教区,大运河,铜锣湾第五宫圣公会 教区的60座普鲁克修院中。圣公会教区共有12公 顷,北面长166米,南面长86米,东面长91米,西 面长115米,寺庙四周被运河围绕。
好的东西 1. 维姆维罗老师(神父)是一位大佛陀的美丽幸 运的泰国人。 2. 闭上眼睛帕塔尼皇家警察考试时中枪了,炮弹 击中了他的右臂,但受伤不严重,因此公司会蜂 拥而至,招工很多。
3. 许多外国人为了黄金会蜂拥而至。当你下车你 会来到一个市场,这个市场就像集市一样,大家 蜂拥而至,在黄金面前排队,当天进行交易。 4.慈悲、魔法、咒语从来买黄金的一些外国人看 来,在黄金面前,你的黑暗的一面将被驱散。在 寺庙里,每年1个月开始,当学生们进入大森林 里,为鬼魂和野兽祈祷,如大象、水牛、野生动 物等一样。追随者们真是祈祷,大邪恶将被避 免。
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
(3
).indd 157
157
12/5/2563 14:48:27
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดโคกม่วง Wat Khok Muang พระอรุณณชัย เตชธมฺโม รักษาการเจ้าอาวาสวัดโคกม่วง PHRA ARUNNACHAI TECHO. THAMMO, ACTING ABBOT OF KHOK MUANG TEMPLE
อุโบสถ วัดโคกม่วง ได้รับความร่วมมือจัดหาทุนสร้าง จนส�ำเร็จสวยงามโดย ดร.ไพศาล เหล่าสุวรรณ และญาติธรรมทั้งหลาย 158
(4
)+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 158
12/5/2563 10:31:35
วัดโคกม่วง ตั้งอยู่ที่บ้านเหรียง หมู่ที่ 8 ต�ำบลโคกม่วง อ�ำเภอ คลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา เดิมตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลทุ่งลาน กิ่งอ�ำเภอ คลองหอยโข่ง วัดโคกม่วงได้ย้ายมาตั้งในที่ปัจจุบันตามเอกสารส�ำคัญ ที่ได้รับพระราชทานโดยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 มีพระบรมราชโองการประกาศไว้ว่า ที่เขตพระอุโบสถวัดโคกม่วง ต�ำบล ทุ่งลาน ท้องที่อ�ำเภอเหนือ (ก็คืออ�ำเภอสะเดา สมัยนั้นอ�ำเภอหาดใหญ่ ยังไม่มี) ให้คณะกรรมการของวัดด�ำเนินการก่อสร้าง ยาว 12 วา 2 ศอก กว้าง 13 วา 3 ศอก พระราชทานตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน รัตนโกสินทร์ 127 Wat Khok Muang is located at Ban Riang, village no.8, Khok Muang sub-district, Khlong Hoi Khong district, Songkhla province. Formerly, it was located at village no.6, Thung Lan sub-district, Khlong Hoi Khong minor district. Location of Wat Khok Muang was changed to current location as mentioned in important evidence that was bestowed from King Rama V which he has announced in Royal Command that area of Wat Khok Muang, Thung Lan sub-district, Nuea district’s area (which is Sadao district, since Hat Yai district did not exist at that time) is the place where temple committee are allowed to build the temple by scale of the land is 25 meters in length and 27.5 meters in width. It was bestowed on 15 June B.E.2451.
สมัยก่อน ในวัดมีต้นมะม่วงใหญ่ จะท�ำการบวชพระแต่ละครั้งต้องท�ำ ศาลากลางน�้ำที่วังต้นแซะ แต่เดี๋ยวนี้มีแต่ชื่อไม่มีศาลาน�้ำต้นแซะและ ต้นมะม่วงแล้ว วัดโคกม่วง ขาดแคลนเรื่องน�้ำดื่มน�้ำใช้ รวมทั้งชาวบ้าน ใกล้เคียงก็เช่นกัน พ่อทวดเพชรแก้ว โยมของท่านพระครูเฒ่า จึงได้มอบทีด่ นิ 1 แปลง ให้ตั้งวัดใหม่และให้ชื่อว่า “วัดโคกม่วง”
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอธิการจันทร์ 2. พระครูธรรมรังสี (พระครูเฒ่า) 3. ท่านสะโม๊ 4. พระครูเพชร 5. พระครูสุวรรณ ศิริรัตน์ (ขวัญทอง) 6. พระอธิการเอิ้ม 7. ท่านเพ็ง 8. พระครูแคล้ว ปริสุทโธ 9. พระอรุณณชัย เตชธมฺโม รักษาการเจ้าอาวาส
กรามช้างพลายสวัสดิ์ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
)+
.indd 159
159
21/5/2563 15:25:14
รูปปั้นช้างพลายสวัสดิ์ เป็นที่เคารพ นั บ ถื อ และเป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ พี่ น ้ อ ง ชาวโคกม่วง ชาวอ�ำเภอคลองหอยโข่ง ไหว้สักการะและบวงสรวงเป็นประจ�ำทุกปี นอกจากชาวไทยแล้ว ชาวมาเลเซียก็มา กราบไหว้อยู่มิ ได้ขาด
"ช้างพลายสวัสดิ์" (“Plai Sawat”) วัดโคกม่วง ได้สร้างรูปเหมือนของท่านพระครูธรรมรังสี (พระครู เ ฒ่า) ไว้ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนนักบุญ ทั้งหลายได้ กราบไหว้ บู ช า เพราะท่ า นเป็ น ผู ้ มี ค วามสามารถ คุ ณ งาม ความดี ที่ ท ่ า นได้ ท� ำ ไว้ เ มื่ อ สมั ย ที่ ท ่ า นยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ ความ สามารถของท่านเป็นที่เลื่องลือกันมาก จนไปเข้าหูเจ้าเมือง ตาหนี คื อ ท่ า นพระยาลู ก บั ต ร และพระแม่ น างติ้ น ท่ า นทั้ ง สองได้ ม าเยี่ ย มพระครู เ ฒ่ า ที่ วั ด และถวายลู ก ชายที่ ชื่ อ “หนองจิ ก ” ให้เ ป็นลูกบุญธรรม เมื่อพระยาหนองจิกได้รับ การแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองปัตตานี จึงได้มาเยี่ยมและนิมนต์ พระครู เ ฒ่ า ไปเมื อ งปั ต ตานี โดยได้ ถ วายของ 3 สิ่ ง ให้ กั บ พระครู เ ฒ่ า มาประดั บ ไว้ ที่ วั ด โคกม่ ว งคื อ พระพุ ท ธรู ป 1 องค์ โอ่งน�้ำใบใหญ่ 1 ใบ และลูกช้างอายุประมาณ 4-5 ขวบ 1 เชื อ ก โดยท่านพระครูได้ตั้ง ชื่อลูกช้างว่า “พลายสวัส ดิ์” 160
(4
)+
Wat Khok Muang has made the portrait of Phra Khru Thammarangsi (Phra Khru Thao) in order to let Buddhists pay their homage to it. Because he was skillful and virtuous monk which his ability and virtue that had been accumulated were vastly resounded until it reached ruler of Patani and his wife, Phraya Lukbatr and Phra Mae Nangtin. Both of them paid a visit to Phra Khru Thao and offered their son “Nong Jik” to be his stepson. After that, when Phraya Nong Jik was appointed ruler of kingdom of Patani, he then paid a visit to Phra Khru Thao and invited him to Patani by offering three objects to him for furnishing Wat Khok Muan which are one Buddha image, big earthen jar and approximately 4 or 5-year-old baby elephant which he named this elephant “Plai Sawat”.
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 160
12/5/2563 10:31:52
ประวัติ พระครูธรรมรังสี (พระครูเฒ่า) พระครูธรรมรังสี เดิมชื่อ อินแก้ว แก้วล่วน เกิดที่บ้านเหรียง ต�ำบล โคกม่วง หมู่ที่ 8 กิ่งอ�ำเภอคลองหอยโข่ง ในสมัยนั้น บิดา-มารดา ชื่อ พ่อทวดเพชรแก้ว แม่ทวดแว่น นามสกุล แก้วล่วน แม่ทวดแว่น ได้เสีย ชีวิต ตั้งแต่เด็กชาย อินแก้ว ยังเป็นเด็กเล็กๆ พ่อทวดเพชรแก้วจึงเลี้ยงดู มาตลอด เด็กชายอินแก้ว เป็นเด็กที่ฉลาดมีสติปัญญามากเป็นผู้น�ำของ เพื่ อ นๆสมั ย เลี้ ย งวั ว อยู ่ ที่ ทุ ่ ง นาหว้ า บ้ า นโหล๊ โ ลด ใกล้ กั บ บ้ า นเหรี ย ง (ปัจจุบัน) เข้าศึกษาเล่าเรียน ที่วัดนารังนก ต�ำบลคูเต่า อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา สมัยนั้นยังไม่มีโรงเรียน จะต้องเรียนที่วัด เรียนหนังสือขอม เมื่อบวชเป็นพระ ท่านได้ศึกษาทางธรรมและทางไสยศาสตร์จนมีความรู้ ความสามารถเป็นที่เลื่องลืออย่างมาก Biography of Phra Khru Thammarangsi (Phra Khru Thao) Phra Khru Thammarangsi – His former name was Inkaew Kaewluan. He was born at Ban Riang, Khok Muang sub-district, village no.8, Khlong Hoi Khong district. His parent name are Mr.Petchkaew and Mrs.Wan Kaewluan. His mother passed away since he was a little boy which he had been raised by his father since then. His intelligence and leadership were remarkable since he was a child, he was a leader of his friends when they raised cows at the field in Na Wa, Ban Lo Lod which is located near Ban Riang (presently). He studied at Wat Narangnok, Ku Tao sub-district, Bang Klam district, Songkhla province. There was no school in this area when he was a child. Then, children need to study at the temple which he also studied Khmer alphabet at this temple. After that, when he was ordained as Buddhist monk, he studied both religion and magic until his knowledge and ability were vastly well-known. SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
)+
.indd 161
161
12/5/2563 10:32:01
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดในวัง พระอารามหลวง ในพระราชูปถัมภ์ ของ สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี และพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา พระครูโชตยาธิคุณ (ดวงแข แสงมณี) เจ้าอาวาสวัดในวัง พระอารามหลวง วัดในวัง พระอารามหลวง ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลนาทวี อ�ำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2439 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เดิม เป็นที่ตั้งวัง ของขุนศรี สรรพกรม เจ้าผู้ปกครองเมืองจะนะ มณฑลนครศรีธรรมราช ปัจจุบัน วัดในวัง พระอารามหลวง มีเนื้อที่ตั้งวัด 7 ไร่ 3 งาน 3 ตารางวา
162
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 162
12/5/2563 15:02:07
สาเหตุ ริ เริ่ ม สร้ า งวั ด ในวั ง ขุ น สิ ท ธิ อ าญา ปลั ด ผู ้ เ ป็ น หั ว หน้ า กิ่งอ�ำเภอนาทวี พร้อมด้วยข้าราชการ พุทธศาสนิกชน ได้พิจารณา เห็นว่าบริเวณใกล้ทวี่ า่ การอ�ำเภอนาทวี ควรมีวดั ไว้สำ� หรับเป็นสถานที่ บ�ำเพ็ญกุศลและประกอบพิธีกรรมในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา ของคณะพุทธบริษัทและหน่วยราชการต่างๆ ทุกฝ่ายเห็นพร้อมกัน ว่าที่ดินซึ่งเป็นวังของ ขุนศรีสรรพกรม มีความเหมาะสม จึงได้ปรับ พื้นที่สร้างเสนาสนะและพัฒนาวัดให้มีความเจริญตามยุคตามสมัย จนมี เ สนาสนะปู ช นี ย วั ต ถุ ปู ช นี ย สถาน เช่ น องค์ พ ระบรมธาตุ ศรีสักยะมุนี พระพุทธธรรมพัฒนากร สมเด็จพระพุทธมหาสุขโข พระพุ ท ธสิ ท ธิ อ าญา พระพุ ท ธกิ ต ติ วั ฒ น์ รู ป เหมื อ นหลวงปู ่ อิ่ ม กิตติวฑฺฒโณ พระศรีสิทธิอาญา พระอุโบสถ วิหารสิทธิอาญา ศาลา ราชมานิ ต ต� ำ หนั ก วรวั ง สารมภ์ ศาลาประสู ติ โ สภณ โรงเรี ย น พระปริ ยั ติ ธ รรมสั ม พิ พั ฒ นศี ล าจารย์ แ ผนกธรรมและบาลี กุ ฏิ มหาวีรวงศ์ กุฏิทรงโปรด กุฏิกิตติวัฒน์ และ กุฏิอภิสุภาพ เป็นต้น วัดมีความเจริญตามล�ำดับ จนได้รับคัดเลือกให้เป็น วัดพัฒนา ตัวอย่าง พ.ศ. 2527 วัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น พ.ศ. 2529 และได้ เลื่อนฐานะเป็นพระอารามหลวง พ.ศ. 2536
ล�ำดับเจ้าอาวาส
1. พระภิกษุช่วย อรุโณ พ.ศ. 2439 – 2441 2. พระอธิการอิ่ม กิตฺติวฑฺฒโน พ.ศ. 2441 – 2467 3. พระอธิการพลัด อาภสฺสโร พ.ศ. 2467 – 2468 4. พระอธิการบุญทอง จนฺทสุวณฺโณ พ.ศ. 2468 – 2478 5. พระครูประสูติโสภณ (อั้น คุณกาโม) พ.ศ. 2478 - 2526 6. พระครูวิธานธรรมรัตน์ (บุญถิ่น ผุสฺสธมฺโม) พ.ศ. 2526 – 2530 7. พระสุนทรราชมานิตเถร (ชยันตร์ อภิสฺสุภาโว) พ.ศ. 2530 - 2543 8. พระครูโชตยาธิคุณ (ดวงแข แสงมณี) พ.ศ. 2543 – ปัจจุบัน
ประวัติพระครูโชตยาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดในวัง พระอารามหลวง สถานะเดิ ม พระครู โชตยาธิ คุ ณ (ดวงแข แสงมณี ) ฉายา โชติธมฺโม อายุ 83 พรรษา 63 วิทยฐานะนักธรรมชั้นเอก เดิมชื่อ ดวงแข นามสกุล แสงมณี เกิดวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ.2483 บิดามารดา นายรุง่ นางเภา แสงมณี บ้านเลขที่ 35 หมูท่ ี่ 10 ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา บรรพชา วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2497 โดยมีพระครูอัมพวัน คณารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลวังงาม เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ พัทธสีมา วัดมะขามคลาน ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2503 โดยมีพระครูอัมพวัน คณารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลม่วงงาม เป็นพระอุปัชฌาย์ ณ พัทธสีมา วัดมะขามคลาน ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา วิทยฐานะ • พ.ศ.2497 ส�ำเร็จประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดมะขามคลาน ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา • พ.ศ.2553 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรการบริหาร กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หน่วยวิทยบริการ วัดหงส์ประดิษฐาราม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา • พ.ศ. 2503 สอบไล่ ไ ด้ นั ก ธรรมชั้ น เอก ส� ำ นั ก เรี ย นวั ด หงส์ ประดิษฐาราม อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 163
163
16/5/2563 13:28:19
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดนาทวี พระครูสุวัฒนาภรณ์ (สุภัทร อริโย) ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดในวัง พระอารามหลวง เจ้าอาวาสวัดนาทวี เจ้าคณะอำ�เภอนาทวี วัดนาทวี ตั้งอยู่เลขที่ 55 บ้านนาทวี หมู่ที่ 4 ต�ำบลนาทวี อ�ำเภอ นาทวี จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ 80 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว 2 เส้น 11 วา ติดกับ ถนนไปชลประทาน ทิศใต้ยาว 2 เส้น 11 วา ติดต่อกับที่ดินของ นายยอดทอง ทิศตะวันออก ยาว 4 เส้น ติดต่อกับคลองนาทวี ทิศตะวันตก ยาว 4 เส้น ติดต่อกับที่ดิน นายเนียม มีที่ธรณีสงฆ์ 5 แปลง เนื้อที่ 16 ไร่ 1 งาน 73 ตารางวา ส.ด.1 เลขที่ 132,362,368,369
พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบริ ม คลองนาทวี อาคารเสนาสนะต่ า งๆ มีอุโบสถกว้าง 10 เมตร ยาว 13 เมตร สร้าง พ.ศ. 2479 โครงสร้าง คอนกรีตเสริมสร้างเหล็ก ศาลาการเปรียญ กว้าง 80 เมตร ยาว 12 เมตร สร้าง พ.ศ. 2473 โครงสร้างไม้เนื้อแข็ง กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง โครงสร้างเป็นไม้เนื้อแข็งและมีฌาปนสถาน ของสุขาภิบาล ได้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2519 ส�ำหรับปูชนียวัตถุ มีพระประธานใน อุโบสถ พระเพลากว้าง 3 ศอก เป็นพระพุทธรูปปั้น สร้าง พ.ศ. 2484 และเจดีย์แบบสุโขทัยผสมลังกาสูง 15 เมตร 164
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 164
12/5/2563 14:58:45
วัดนาทวีสร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2360 เดิมเป็นที่ดินของนายยอดทอง ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากเมืองจะโหน่ง ให้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง หั ว เมื อ ง หรื อ เท่ า กั บ นายอ� ำ เภอ ก่ อ นหน้ า นี้ มีวัดอยู่วัดหนึ่งซึ่งอยู่ไกลออกไปมีนามว่า วัดนาหว้า ประมาณต้น กรุ ง รั ต นโกสิ น ทร์ วั ด นาหว้ า ถู ก ข้ า ศึ ก ตี เ มื อ งแล้ ว เผาวั ด เสี ย หาย ประชาชนต้องการจะสร้างวัดใหม่ใกล้ๆหมู่บ้านอีกวัดหนึ่ง นายทอง หัวเมืองจึงน�ำความไปปรึกษากับเจ้าคณะหมวดที่เมืองจะนะตกลง สร้างวัดขึ้นใหม่ในที่ดินของตนเอง แล้วนิมนต์พระสัน สนุตจิตฺโต จาก วั ด นาหว้ า มาอยู ่ จ� ำ พรรษาและน� ำ ชาวบ้ า นด� ำ เนิ น การสร้ า งวั ด วัดนาทวี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2454 ได้ผูกพัทธสีมา วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 เจ้าอาวาสมี 6 รูป คือ รูปที่ 1 พระสัน สนุตจิตฺโต พ.ศ. 2360-2400 รูปที่ 2 พระอธิการซ้าย ธมฺมโชโต พ.ศ. 2460-2466 รูปที่ 3 พระอธิการเนียม ธมฺสาโร พ.ศ. 2466-2472 รูปที่ 4 พระครูประจักรนวการ พ.ศ. 2472-2530 รูปที่ 5 พระครูประจักรคุณาทร พ.ศ. 2530-2536 รูปที่ 6 พระครูสุวัฒนาภรณ์ (สุภัทร อริโย) พ.ศ. 2536 – ปัจจุบนั
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 165
165
12/5/2563 14:59:00
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดท่าเมรุ พระครูสุวัฒน์เขตตาภรณ์ (พระมหาเจริญ เตชปุญโญ) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าเมรุ วัดท่าเมรุ เดิมชื่อว่า “วัดนาถม” ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 5 ต�ำบลบางกล�่ำ อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา สถานที่ตั้งวัดเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีเนื้อที่ จ�ำนวน 18 ไร่ 2 งาน 14 ตารางวา ซึ่งไม่ทราบว่าเป็นที่ดินของผู้ใด ได้รับอนุญาตให้เริ่มสร้างวัด เมื่อ พ.ศ. 2306
166
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 166
12/5/2563 15:40:09
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอาจารย์หนู พ.ศ. 2306 – 2368 2. พระอาจารย์รักษ์ พ.ศ. 2368 – 2378 3. พระอาจารย์อ่อนแก้ว ปุญญมุณี พ.ศ. 2379 – 2387 4. พระอาจารย์จุน พ.ศ. 2387 – 2400 5. พระอาจารย์ห้องเลียน พ.ศ. 2400 – 2425 6. พระอาจารย์อ่อนแก้ว ปุญญมณี พ.ศ. 2425 – 2490 7. พระอาจารย์พร พ.ศ. 2490 – 2495 8. พระอาจารย์วร ปญฺญวโร พ.ศ. 2495 – 2505 9. พระครูวิมลศีลขันธ์ พ.ศ. 2505 – 2542 10. พระครูสุวัฒน์เขตตาภรณ์ (พระมหาเจริญ เตชปุญโญ) พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน
ประวัติ พระครูสุวัฒน์เขตตาภรณ์
สถานะเดิม ชื่อ นายเจริญ ชื่นอารมณ์ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2490 บ้านเลขที่ 52 หมู่ที่ 7 ต�ำบลบางกล�่ำ อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา บิดานายแย้ม ชื่นอารมย์ มารดานางน่วม แก้วบุตร อุปสมบท เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2511 ณ วัดท่าเมรุ ต�ำบลบางกล�ำ ่ อ�ำเภอบางกล�ำ ่ จังหวัดสงขลา พระครูประโชติจนั ทคุณ เจ้าคณะต�ำบลคูเต่า อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระครูคุณสารพิสุทธิ์ เจ้าอาวาสวัดคูเต่า เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูวิมลศีลขันธ์ เจ้าอาวาสวัดท่าเมรุ เป็นอนุสาวนาจารย์ การศึกษา พ.ศ. 2514 สอบนักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษา จังหวัดชุมพร พ.ศ. 2519 สอบเปรียญธรรม ปธ.4 ส�ำนักศาสนศึกษา วัดขันเงิน จังหวัดชุมพร ปฏิบัติศาสนกิจ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 – 2523 ได้รับการแต่งตั้ง เป็นครูสอนปริยัติธรรม - บาลี เปิดส�ำนักศึกษาแผนกบาลี ได้รับการ แต่งตั้งเป็นพระธรรมทูตประจ�ำจังหวัดชุมพร ครูสอนตามโรงเรียน ต่างๆ ทั้งจังหวัดชุมพร ตลอดจนการพัฒนาสังคมอีกมากมาย ปีพ.ศ. 2523 ได้ย้ายจากจังหวัดชุมพรกลับจังหวัดสงขลา เมื่ อ วั น ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2523 ได้ ไ ปพั ก ที่ บ ้ า นแหลมโพธิ์ ซึ่งเป็นสถานที่ว่างเปล่า นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 - 2542 ได้ด�ำเนิน การพัฒนาหมูบ่ า้ นแหลมโพธิ์ ซึง่ อยูห่ า่ งความเจริญอย่างมาก ถนนหนทาง ไม่มี เป็นน�้ำเค็ม ไฟฟ้าไม่มี จนประสบความส�ำเร็จ มีน�้ำจืดใช้ มีถนน ลาดยาง มีไฟฟ้าใช้ มีโทรศัพท์ใช้ทั้งหมู่บ้านและอื่นๆ มากมาย ปีพ.ศ. 2542 ได้ย้ายจากแหลมโพธิ์กลับวัดบ้านเกิดคือ วัดท่าเมรุ สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2519 สอบเปรียญธรรม 4 ประโยคได้ • พ.ศ. 2543 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดท่าเมรุ • พ.ศ. 2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลแม่ทอม • พ.ศ. 2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2545 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอบางกล�่ำ • พ.ศ. 2550 ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูสุวัฒน์เขตตาภรณ์ เจ้าคณะ อ�ำเภอชั้นโท • พ.ศ. 2555 เลื่อนสมณศักดิ์เป็นชั้นเอก • พ.ศ. 2560 ลาออกเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัด สงขลา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 167
167
12/5/2563 15:40:23
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดคงคาเลียบ พระครูสถิตสุตพจน์ เจ้าอาวาสวัดคงคาเลียบ เจ้าคณะตำ�บลบางกล่ำ� วัดคงคาเลียบ ตั้งอยู่เลขที่ 53 บ้านโคกเมา หมู่ที่ 14 ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเนื้อที่ตั้งวัด 12 ไร่ 2 งาน 93 ตารางวา อาคารเสนาสนะต่างๆ มีอุโบสถกว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2519 วิหารจัตุรมุขประดิษฐาน รูปหล่อหลวงพ่อเฟื่อง อินฺทสุวณฺโณ กุฏิสงฆ์ 6 หลัง ปูชนียวัตถุมีมณฑป พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ หลวงพ่อปัญญาญาณวโร หลวงพ่อไข่ ขนฺติโก เจดีย์บรรจุอัฐิ หลวงพ่อเฟื่อง ฯลฯ
วัดคงคาเลียบ เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2487 โดยหลวงปู่เฟื่อง อินฺทสุวณฺโณ ซึ่งได้รับบริจาคที่ดินจากนายไข่ แก้วงาม ต่อมาก�ำนัน เรียง ทิพย์มณี ขออนุญาตสร้างวัด เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2512 และได้รับประกาศจากกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อ วันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2516 นายไข่ เจ้าของที่ดินได้อุปสมบทและได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสเป็ น พระอธิ ก ารไข่ ขนฺ ติ โ ก ได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ 17 กั น ยายน พ.ศ.2519 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร 168
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 168
12/5/2563 10:28:58
ประวัติหลวงปู่เฟื่อง
หลวงปู่เฟื่อง เกิดเมื่อประมาณ พ.ศ. 2405 ที่ต�ำบลคลองพุมดวง อ�ำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมือ่ ตอนเด็กบวชเณร ทีว่ ดั บางงอน พระอุปัชฌาย์ชื่อ “เย็น” ต่อมาได้อุปสมบทที่วัดท่าโขลง เมื่อตอน อายุ 21 ปี ปั จ จุ บั น วั ด ได้ ห ายไปกั บ สายน�้ ำ แล้ ว เพราะตลิ่ ง พั ง เมื่อหลายสิบปีก่อน ท่านบวชแล้วจ�ำพรรษาอยู่ที่วัดท่าโขลง 3 พรรษา ฝึกวิปัสสนากัมมัฏฐานจากอุปัชฌาย์ของท่านและปฏิบัติตามแนวทาง ของพระอริยเจ้า คือแสวงหาที่วิเวก ถือธุดงควัตรอย่างเคร่งครัด เก็ บ ตั ว บ� ำ เพ็ ญ ภาวนาในถ�้ ำ ท่ า นมี ไ ม้ เ ท้ า ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ อั น หนึ่ ง เป็ น ไม้เท้ากัลปังหาจากใต้ทะเล อาจารย์ท่านลงอักขระปลุกเสกเลขยันต์ ป้องกันอันตรายไว้พร้อม เมื่อหลวงปู่เดินทางไป ณ ที่ใด ก่อนจะ พักแรมท่านจะเอาปลายไม้เท้าจรดดินแล้วอธิษฐานตามเวทมนตร์ ที่ร�่ำเรียนมาจากครูบาอาจารย์แล้วจึงพักที่นั่น หลวงพ่ อ เฟื ่ อ งมรณภาพ เมื่ อ วั น ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2499 สิริอายุได้ 94 ปี 74 พรรษา
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. หลวงปู่เฟื่อง อินฺทสุวณฺโณ 2. พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ 3. พระอาจารย์ปัญญา ญาณวโร 4. พระอธิการไข่ ขนฺติโก (ผู้บริจาคที่ดิน) 5. พระครูสถิตสุตพจน์
พ.ศ. 2487-2499 พ.ศ. 2500-2505 พ.ศ. 2506-2519 พ.ศ. 2520-2542 พ.ศ. 2543-ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 169
169
12/5/2563 10:29:13
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดราษฎร์บ�ำรุง พระครูศรีคณาภิรักษ์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บำ�รุง เจ้าคณะอำ�เภอระโนด วัดราษฎร์บ�ำรุง ตั้งอยู่เลขที่ 359/1 บ้านหน้าศาล หมู่ที่ 4 ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 33 ไร่ 10 ตารางวา สร้างขึ้น เป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ.2461 เดิมชื่อว่า “วัดเสนาราม” โดยท่านขุนเสนาทิพย์ ปลัดกิ่งอ�ำเภอ ระโนด ร่วมกับประชาชนสร้างขึ้น มีเจ้าอธิการเสน คงฺคสุวณฺโณ เป็นเจ้าอาวาส พร้อมกับ พระลูกวัดอีก 5 รูป ที่นิมนต์มาจากต�ำบลต่างๆ ต�ำบลละ 1 รูป ต่อมาสมัยรองอ�ำมาตย์โท ท่านขุนต่างใจราษฎร์ รั้งต�ำแหน่งปลัดกิ่งอ�ำเภอระโนด ได้ทะนุบ�ำรุงวัดเป็นอย่างดี จึงได้ เปลี่ยนนามวัดมาเป็น “วัดราษฎร์บ�ำรุง” เพื่อให้สอดคล้องกับท่านขุนต่างใจราษฎร์ ชาวบ้าน มักเรียกว่า “วัดใหม่” บ้าง เรียกว่า “วัดหน้าศาล” วัดราษฎร์บ�ำรุงได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2442 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2524
170
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 170
12/5/2563 11:45:48
อาคารเสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถกว้าง 7 เมตร ยาว 13.75 เมตร สร้าง พ.ศ. 2526 โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก มีมุขหน้าและหลัง ก�ำลังก่อสร้างอยู่ ศาลาการเปรียญกว้าง 17 เมตร ยาว 21 เมตร สร้าง พ.ศ. 2472 โครงสร้างคอนกรีตและไม้เนื้อแข็ง กุฎิสงฆ์จ�ำนวน 13 หลัง โครงสร้างเป็นอาคารไม้และคอนกรีตเสริมเหล็ก ปูชนียวัตถุ มีพระประธานในอุโบสถ พระเพลากว้าง 35 นิ้ว พระพุ ท ธบาทจ� ำ ลอง คุ ณ ช่ อ ง เวทย์ ป ระสิ ท ธิ์ สร้ า งถวาย และ พระพุทธรูปเรือนทองผสมพระเพลากว้าง 25 นิว้ ขุนเสนาทิพย์ ผูส้ ร้างวัด ถวายเป็ น อนุ ส รณ์ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2461 จ� ำ นวนพระภิ ก ษุ ส ามเณร ปัจจุบัน ภิกษุ 12 รูป สามเณร 18 รูป ร่วม 30 รูป
ประวัติพระครูศรีคณาภิรักษ์
พระครูศรีคณาภิรักษ์ ฉายา เขมจาโร อายุ 65 พรรษา 42 วิทยฐานะ ป.ธ.6,พธ.บ. วัดราษฎร์บ�ำรุง ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา สถานะเดิม ชื่อ พงศธร จันทน์เสนะ เกิดวัน 2 ฯ 11 ค�่ำ ปี มะเมีย วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2497 บิดา นายสัก จันทน์เสนะ มารดา นางตัง้ เนีย่ ว จันทน์เสนะ บ้านเลขที่ 61 หมู่ที่ 3 ต�ำบลตะเครียะ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เคยเข้ารับราชการทหารเกณฑ์ กองประจ�ำการยศ สิบตรี (เดิมชือ่ อุทร ได้เปลีย่ นชือ่ เป็น พงศธร เมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2544) อุปสมบท วัน 1 ฯ 7 ค�ำ ่ ปี มะเมีย วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2521 ณ วั ด บ้ า นใหม่ ต� ำ บลบ้ า นใหม่ อ� ำ เภอระโนด จั ง หวั ด สงขลา พระอุปัชฌาย์ พระครูวิจิตรสุตาภรณ์ วัดราษฎร์บ�ำรุง ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูประภัศร์วรคุณ วัดบ้านใหม่ ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา วิทยฐานะ • พ.ศ.2518 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นผู้ใหญ่ ระดับ 3 จากโรงเรียนศึกษา ผู้ใหญ่ วัดบ้านขาว อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา • พ.ศ.2525 สอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด พัทลุง สังกัดวัดคูหาสวรรค์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง • พ.ศ.2539 สอบไล่ได้ ประโยค ป.ธ.6 ส�ำนักเรียนคณะจังหวัด สงขลา สังกัดวัดราษฎร์บ�ำรุง อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา • พ.ศ.2533 ส�ำเร็จการศึกษาชั้น ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บัณฑิต (พธ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ งานปกครอง • พ.ศ.2536 เป็นรองเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุง • พ.ศ.2541 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอระโนด • พ.ศ.2542 เป็นเจ้าอาวาสวัดราษฎร์บ�ำรุง • พ.ศ.2543 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอระโนด • พ.ศ.2543 เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ.2544 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอ�ำเภอชั้นพิเศษที่ พระครูศรีคณาภิรักษ์ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 171
171
16/5/2563 13:30:03
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดสามบ่อ พระครูวรสุตาธิคุณ เจ้าอาวาสวัดสามบ่อ รองเจ้าคณะอำ�เภอระโนด วัดสามบ่อ ตั้งอยู่เลขที่ 72 หมู่ 1 ต�ำบลวัดสน อ�ำเภอระโนด จังหวัด สงขลา เนื้อที่บริเวณวัด 12 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา เลขที่ทะเบียนวัด 0070 ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.2300 โฉนดที่ดินเลขที่ 1909
172
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 172
12/5/2563 16:24:47
ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดสามบ่อ
1. พ่อท่านทวด 2. พระอธิการทอง 3. พระครูปทุมธรรมธารี 4. พระครูอุดมคณารักษ์ 5. พระครูพุทธวโรปการ 6. พระครูวรสุตาธิคุณ
พ.ศ. 2300 – 2396 พ.ศ. 2397 – 2467 พ.ศ. 2468 – 2493 พ.ศ. 2494 – 2526 พ.ศ. 2526 – 2551 พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน
นโยบายของวัด
1. สร้างทายาท 2. ส่งเสริมการศึกษา 3. พัฒนาชุมชน
อาคารเสนาสนะ
อุ โ บสถ,ศาลาการเปรี ย ญ,ห้ อ งสมุ ด ประชาชน,หอฉั น ,วิ ห าร สมเด็จ,มณฑปประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำวัด 263 ปี,เมรุ-ศาลา คู่เมรุ-โรงเลี้ยง-หอระฆัง,ที่พักพระภิกษุ-สามเณร
กิจกรรมของวัด
1.บรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อนทุกๆปี 2.ตั้งมูลนิธิเพื่อมอบเป็นทุนการศึกษาพระภิกษุ-สามเณร และ เยาวชน 3.นิทรรศการวันส�ำคัญทางศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ 4.วัดตั้งกลุ่มศูนย์ฝึกวิชาชีพให้ชุมชนมีรายได้แบบพอเพียง 5.วั ด เป็ น ชุ ม ชนคุ ณ ธรรมต้ น แบบ กรมการศาสนากระทรวง วัฒนธรรม 6.วัดเป็นแหล่งเรียนรู้ ลานธรรม-ลานวิถีไทย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม 7.วัดเป็นศูนย์อบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล 8.วัดเป็นหมู่บ้านศีล 5 ต้นแบบจังหวัดสงขลา 9.เป็นวัดประชารัฐสร้างสุข ส�ำนักงานพุทธศาสนาแห่งชาติ
วัดกับชุมชน
1.วัดจัดซื้อที่ดิน 35 ไร่ ตั้งโรงเรียนมัธยมประจ�ำต�ำบล 2.วัดจัดซื้อที่ดิน 15 ไร่ ตั้งโรงเรียนชั้นประถม 3.วัดจัดตั้งสถานีอนามัยประจ�ำต�ำบลให้กับชุมชน 4.วัดจัดซื้อที่ดินตั้งสถานีต�ำรวจประจ�ำต�ำบลให้กับชุมชน 5.วัดจัดซื้อที่ดินเพื่อสร้างถนนให้กับชุมชน 6.นวัตกรรมวิถีชีวิตในชุมชน 7.ตั้ง OTOP ผลิตภัณฑ์ของในชุมชน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 173
173
12/5/2563 16:25:00
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดเฉียงพง พระครูปริยัติธรรมานุรักษ์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสและเจ้าคณะตำ�บลระโนด เขต 1
วัดเฉียงพง ตั้งอยู่เลขที่ 8 หมู่ 2 (บ้านเฉียงพง) ต�ำบลระโนด อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ : 081-367-0917 เดิมทีวัดได้เริ่มก่อตั้งในสมัยอยุธยาโดยมีหลวงพ่อขรัวมุข เป็น ผู้ริเริ่มก่อสร้าง ภายหลังต่อจากนั้นวัดได้ถูกปล่อยให้เก่าแก่รกร้างมา นาน จนเมื่อปี พ.ศ. 2524 พระอธิการลาภ ยสินธโร ได้เข้ามาเป็น เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเฉียงพง ต่อมาปี พ.ศ. 2543 พระมหา ประวิทย์ เตชพโล ได้เข้ามารับต�ำแหน่งต่อจากพระอธิการลาภ และ ท� ำ การพั ฒ นาวั ด เรื่ อ ยมา ต่ อ มาท่ า นได้ รั บ การเลื่ อ นสมณะศั ก ดิ์ แต่งตั้งเป็น “พระครูปริยัติธรรมานุรักษ์” ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลระโนด เขต 1 จนถึงปัจจุบัน
174
(1
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 174
12/5/2563 11:25:20
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดใหญ่ วัดเก่าแก่สมัยกรุงศรีอยุธยา / พระครูปริยัติสิกขการ (สะพรั่ง) เจ้าอาวาสวัดใหญ่
วัดใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 59 บ้านคลองพังยาง หรือบ้านชายเคือง หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลระวะ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 15 ไร่ 30 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 0118 สร้างเป็นวัดนับ ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2200 สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นต้นมา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ผูกพัทธสีมา เมื่อปี พ.ศ.2536 พื้นที่วัดเป็นที่ราบสูง ล้อมรอบด้วยบ้านเรือนของราษฎร อาคาร เสนาสนะต่างๆ มี อุโบสถ กว้าง 10 เมตร ยาว 20 เมตร ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร ยกพื้นสูง มีมุกกลาง สร้าง พ.ศ. 2525 หอฉันกว้าง 21 เมตร ยาว 30 เมตร ยกสูงชั้นเดียว สร้างเสร็จ พ.ศ. 2545 โครงการสร้างก่ออิฐถือปูน กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 9 หลัง โครงสร้าง เป็นอาคารยกสูง 3 หลัง ก่ออิฐถือปูน 6 หลัง และศาลาประดิษฐาน หลวงปู่พระครูโตก ปุญฺญสโร อดีตเจ้าอาวาสเป็นพระเกจิอาจารย์ วัดใหญ่ มีการสอนอบรมศีลธรรมแก่นักเรียน โรงเรียนชั้นประถม ในวัดทุกสัปดาห์ และมีการจัดให้ปฏิบัติธรรมปริวาสกรรมเป็นประจ�ำ ทุกปีแก่พระภิกษุ และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นที่ตั้งศูนย์ทุกหมู่บ้าน มาอยู่รวมที่วัดใหญ่
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอธิการทอง 2. พ่อท่านหอม 3. พ่อท่านหนูแก้ว 4. พระครูโตก ปุญฺญสโร 5. พระครูพิพิธพัฒนาศัย(ณรงค์) 6. พระครูปริยัติสิกขการ(สะพรั่ง)
พ.ศ. 2479 – 2517 พ.ศ. 2517 – 2540 พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
).indd 175
175
12/5/2563 12:05:14
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดเถรแก้ว พระปลัดยงยุทธ วชิรธมฺโม เจ้าอาวาสวัดเถรแก้ว เจ้าคณะตำ�บลพังยาง วัดเถรแก้ว ตั้งอยู่เลขที่ 68 หมู่ที่ 1 บ้านเถรแก้ว ถนนพังพูดบ้านขาม หมู่ที่ 1 ต�ำบลระวะ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ 099-315-7447 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 18 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวา
176
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 176
12/5/2563 16:11:27
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับทางสาธารณะ และบ้านนายหมุน สุวรรวงค์ ทิศใต้ ติดต่อกับที่ดินของนายหนูแก้ว วรรณกิจ ทิศตะวันออก ติดต่อกับที่ดินราษฎร ทิศตะวันตก ติดต่อกับถนนสาธารณะ
พื้ น ที่ ตั้ ง วั ด เป็ น ที่ ร าบลุ ่ ม สภาพแวดล้ อ มเป็ น ที่ น า อาคาร เสนาสนะต่างๆมี อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2489 ศาลาการเปรียญ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2508 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 5 หลัง ส�ำหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ พระเพลา กว้าง 6 ศอก สูง 6 ศอก เป็น พระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน วั ด เถรแก้ ว สร้ า งขึ้ น เป็ น วั ด นั บ ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2304 ได้ รั บ พระราชทานวิสุงคามสีมา วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เขต วิสุงคามสีมากว้าง 12 เมตร ยาว 17 เมตรได้ผูกพัทธสีมา วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489 เกี่ยวกับการศึกษา ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมตลอดมา นอกจากนี้ยังจัดให้มีโรงเรียนประถมศึกษาส�ำหรับเยาวชน ซึ่งจัด สร้างขึ้นในวัดนี้ด้วย
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 177
177
12/5/2563 16:11:42
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดสีหยัง พระครูโกวิทปัญญารัตน์ เจ้าอาวาสวัดสีหยัง เจ้าคณะตำ�บลวัดสนธ์ วัดสีหยัง ตั้งอยู่เลขที่ 780 หมู่ 3 ต�ำบลบ่อตรุ อ�ำเภอระโนด จังหวัด สงขลา โทรศั พ ท์ 089-294-4492 Facebook : วั ด สี ห ยั ง เป็ น พุทธสถานของชุมชนสมัยประวัติศาสตร์รัฐโบราณที่มีร่องรอยว่าเป็น ชุมชนคูน�้ำคันดินในสมัยนั้น ต่อมาได้กลายเป็นวัดส�ำคัญในสมัยอยุธยา เดิมวัดสีหยังล้อมรอบด้วยคูเมืองทั้งสี่ด้าน ปัจจุบันเหลือร่องรอยคูเมือง ไว้เพียงบางส่วน
178
(2
คูเมืองทิศ ทิศเหนือมีร่องรอยคูเมืองกว้างประมาณ 30 เมตร และมี วั ช พื ช น�้ ำ ขึ้ น ปกคลุ ม อยู ่ ทั่ ว ไป ทิ ศ ตะวั น ออกอยู ่ ใ นสภาพ ค่อนข้างสมบูรณ์ มีวัชพืชขึ้นปกคลุมบ้างเล็กน้อย ขนาดคูเมืองกว้าง ประมาณ 30 เมตร ยาว 350 เมตร แต่ไม่ปรากฏคันดินชัดเจน ทิศใต้อยู่ติดด้านหลังอาคารโรงเรียนวัดสีหยัง ขนาดคูเมืองกว้าง ประมาณ 30 เมตร มีคันดินสูงประมาณ 2-3 เมตร และปัจจุบันมี การก่อสร้างอาคารศูนย์จ�ำหน่ายสินค้า ชุมชนเทศบาลต�ำบลบ่อตรุ คูเมืองทิศตะวันตก ปัจจุบันมีทางหลวงสาย 408 สงขลา-ระโนด ตัดผ่านไปตามแนวเหนือ-ใต้ จึงท�ำให้แนวคูเมืองบางส่วนถูกตัดออก และส่ ว นที่ เ หลื อ ถู ก ถมปรั บ ในบางส่ ว น ทิ ศ ตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข อง มุมคูเมือง ปรากฏสระน�้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างประมาณ 40 เมตร ยาว 60 เมตร วัดสีหยังในแผนที่ภาพและกัลปนาวัดว่า “วัดสีกุหยัง” ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2320 ภายในวัดสีหยังนั้นมี โบราณสถานตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา จนถึงสมัย รัตนโกสินทร์
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 178
12/5/2563 14:45:32
โบราณวัตถุส�ำคัญ
1. ซากฐานเจดีย์ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม มีเสาติดผนังและ บันไดทางขึ้นอยู่ทางด้านหน้าเพียงด้านเดียว เป็นหลักฐานรูปแบบ สถาปัตยกรรมของชุมชนสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตร์ของภาคใต้ที่หลง เหลืออยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีร่องรอยการก่ออิฐถือปูน ปูนที่ใช้ใน การก่อสร้างเป็นปูนที่ผสมปะการัง ฐานเจดีย์มีขนาดกว้าง 7.63 เมตร ยาว 7.76 เมตร ฐานสูงประมาณ 1.86 เมตร มีบันไดทางขึ้นด้านทิศ เหนือ อิฐที่ใช้ก่อมีขนาดกว้าง 16 เซนติเมตร ยาว 32 เซนติเมตร หนา 6 เซนติเมตร นอกจากนี้ บริเวณฐานเจดีย์ยังส�ำรวจพบเศษ ภาชนะดินเผาแบบเนื้อดิน ภาชนะเคลือบและกระปุกเคลือบด้าน ขนาดเล็ก 2. อุโบสถเก่า ก่ออิฐถือปูนตั้งอยู่บนฐานปัทม์ที่สูง มีประตูทาง เข้าด้านหน้าเพียงด้านเดียว เจาะช่องหน้าต่างด้านละ 2 ช่อง บริเวณ เหนือหน้าต่างมีลายปูนปั้นเป็นวงโค้ง บริเวณหน้าบันเป็นรูปลายก้าน ขดสี่วง “รูปรามสูรขว้างขวาน และเมขลาล่อแก้ว” มีใบเสมาคู่บน ฐานก่ออิฐสูงล้อมรอบอุโบสถ 3. ศาลาไม้หรือวิหารโถงไม้ ตั้งอยู่บริเวณด้านหน้าของฐานเจดีย์ หลังคาทรงปั้นหยา มุงด้วยกระเบื้องดินเผา ยอดหลังคาประดับด้วย รูปครุฑและพญานาค ลักษณะสถาปัตยกรรมท้องถิ่นผสมผสานกับ รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นแบบนิยม ในสมัยรัตนโกสินทร์ ศาลาโถงไม้ เป็นสถานที่เรียนหนังสือของหลวงปู่ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด สมัยยัง เป็นสามเณรปู เรียนธรรมบททศชาติ กับพระครูมโนปทัศศรี หรือ สมเด็จพระเจ้าชินเสน ที่เดินทางมาจากกรุงศรีอยุธยา มาพ�ำนักและ เปิดสอนหนังสือ ณ สถานที่นี้
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 179
179
12/5/2563 14:45:48
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดพระเจดีย์งาม พระครูโสภณรัตนบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดพระเจดีย์งาม
เจ้าอาวาสวัดพระเจดีย์งาม
วัดพระเจดีย์งาม อยู่ริมถนนทางหลวงสงขลา-นครศรีธรรมราช ตั้งอยู่บ้านเจดีย์งาม เลขที่ 572 หมู่ที่ 2 ต�ำบลบ่อตรุ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 1210 สันนิษฐานกันว่าสร้างขึ้นสมัยศรีวิชัย ในแผนที่ ภาพกั ล ปนาวั ด หั ว เมื อ งพั ท ลุ ง ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เรี ย กชื่ อ วั ด นี้ ว ่ า "วั ด พระใจดี ง าม" เป็นวัดที่ขึ้นกับวัดเขียนบางแก้ว 180
(2
หลักฐานอดีตเจ้าอาวาสไม่ได้ระบุไว้ว่ามีชื่อ ใดบ้าง แต่ก็สามารถสืบค้นคว้าได้มีดังนี้ คือ 1. พระมหาเถรลังกาเดิม 2. พระมหาเถรเทพ 3. หลวงปู่ทอง 4. หลวงปู่ขวัญ 5. พระครูเผือก คนฺธโร ตั้งแต่ พ.ศ. 2476 - 2520 6. พระอาจารย์เฉลิม ชุติวณฺโณ ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 - 2548 7. พระครูโสภณรัตนบัณฑิต ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 180
12/5/2563 16:28:34
1.พระเจดีย์องค์ ใหญ่ 1 องค์
พระเจดีย์องค์ใหญ่ สร้างสมัยศรีวิชัย ก่อสร้างด้วยหินปะการังทั้งองค์ ภายหลังต่อมาได้รบั อิทธิพลพุทธศาสนาลัทธิลงั กาวงศ์จากนครศรีธรรมราช จึ ง เปลี่ ย นพระเจดี ย ์ เ ป็ น ทรงระฆั ง คว�่ ำ เช่ น เดี ย วกั น พระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ส่วนเจดีย์รายหรือเจดีย์บริวาร 8 องค์
2. พระโพธิสัตว์ 1 องค์ และวิหารพระโพธิสัตว์ สร้างโดยพระมหาเถรเทพ
พระโพธิสัตว์สร้างสมัยศรีวิชัย วิหารพระโพธิสัตว์ สมัยพระเพทราชา พ.ศ. 2242 ผู้บูรณปฏิสังขรณ์คือ พระมหาเถรเทพ กราบเรียนผ่าน พระครู อินทเมาลีศรีญาญสาครบบวรนนทราชจุฬามุนศี รีอปุ ดิษเถร คณะป่าแก้วหัว เมืองพัทลุง เมื่อท่านได้บูรณะแล้วก็ได้เดินทางเข้าไปยังกรุงศรีอยุธยา เพื่อ ขอให้สมเด็จพระวันรัตน์น�ำถวายพระขอพระบรมราชานุญาตให้ญาติโยมที่ ได้ร่วมท�ำการบูรณะได้รับการเว้นส่วยสาอากรให้กับทางราชการ จึงก็ทรง กรุณาโปรดเกล้าฯ ตามที่ขอทุกประการ
3. อุโบสถ์มหาอุตม์ (ก�ำลังบูรณะ)
เป็นโบสถ์มหาอุตม์โบราณไม่ได้ระบุวา่ สร้างสมัยใด พระประธานในโบสถ์ เดิมก่อด้วยปูนแตกหักช�ำรุดไม่สามารถบูรณะได้ เมื่อ พ.ศ. 2505 พระครู เผือก คนฺธโร บูรณะโบสถ์ จึงได้น�ำพระพุทธรูปองค์ใหม่ ทดแทน ชาวบ้าน เรียกว่า “หลวงพ่อพระใหม่” หรือ “พระใหม่”
4. ศาลาการเปรียญ หรือโรงธรรม
ศาลาการเปรียญหรือโรงธรรม สร้าง พ.ศ. 2471 โดยพระครูเผือก คนฺธโร และพระอาจารย์ไสว ได้น�ำแบบแปลนการก่อสร้างศาลาการเปรียญ จาก กรุงเทพฯ ช่วงขณะที่ท่านได้เรียนแพทย์แผนโบราณ
5. หอไตร (กลางสระน�้ำ) พ.ศ. 2535
พระอาจารย์เฉลิม ชุตวิ ณฺโณ ร่วมกับชาวบ้านมีนายจันทร์ นิม่ หนู เป็นต้น สร้างหอไตรเพื่อทดแทนหอไตรดั้งเดิมซึ่งก็สร้างด้วยไม้เพื่อเก็บหนังสือ พระไตรปิฎกและคัมภีร์อื่นๆ
6. กุฎีโบราณ (ก�ำลังบูรณะ)
กุฎีโบราณสร้าง ประมาณเมื่อ พ.ศ. 2442 ทรงหลังคาปั้นหยา
7. กุฎีโบราณ
พระครูเผือก คนฺธโร ได้สร้างกุฎีทรงหลังคาปั้นหยาเมื่อ พ.ศ. 2469
8. กุฎีสร้างก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น
พระครูเผือก คนฺธโร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2517
9. มณฑป เป็นที่ตั้งรูปหล่อพระครูเผือก คนฺธโร 10. มณฑป พร้อมหอระฆัง หอกลอง
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 181
181
12/5/2563 16:28:48
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดใหม่ทุ่งคา พระครูวุฒิธรรมนิเทศก์ (จวง) เจ้าอาวาสวัดใหม่ทุ่งคา เจ้าคณะอำ�เภอรัตภูมิ
วัดใหม่ทุ่งคา ตั้งอยู่เลขที่ 103 บ้านทุ่งคา หมู่ที่ 8 ต�ำบลก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัด สงขลา โทรศัพท์ 086-6890029 , 082-8301994 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย โฉนดที่ดิน เลขที่ 19714 มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 30 ไร่ 35 ตารางวา สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ.2469 โดยมี ท่านหมื่นกาญจนปกรณ์ ซึ่งเป็นก�ำนัน ได้ชักชวนชาวบ้านจัดสร้างวัดขึ้น ระยะแรกได้จัดสร้าง เป็นทีพ่ กั สงฆ์ชวั่ คราว ชือ่ ว่า “วัดใหม่ทงุ่ คา” โดยจับจองทีด่ นิ เป็นทีส่ ร้างวัด 30 ไร่ 35 ตารางวา วั ด ใหม่ ทุ่ ง คา ได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีม าเมื่อ วันที่ 9 สิง หาคม พ.ศ. 2495 เขต วิสุงคามสีมา กว้าง 50 เมตร ยาว 40 เมตร ได้ผูกพัทธมาเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2513 182
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 182
12/5/2563 13:43:04
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระทุ่ม 2. พระอาจารย์หนู อิสโร 3. พระอาจารย์เขียว สิริธมฺโม 4. พระอาจารย์แก้ว อตฺตโม 5. พระช่วย 6. พระครูวิมลปัญญาสาร(หิ้น) 7. พระนิตย์ หิริธมฺโม 8. พระครูวุฒิธรรมนิเทศก์ (จวง)
พ.ศ. 2464 – 2468 พ.ศ. 2468 – 2474 พ.ศ. 2474 – 2489 พ.ศ. 2489 – 2497 พ.ศ. 2497 – 2500 พ.ศ. 2500 – 2508 พ.ศ. 2508 – 2511 พ.ศ. 2511- ปัจจุบัน
ประวัติ พระครูวุฒิธรรมนิเทศก์ (จวง)
ชื่อ พระครูวุฒิธรรมนิเทศก์ (จวง) ฉายา เตชธมฺโม อายุ 71 พรรษา 50 วิทยฐานะ น.ธ.เอก,ม.6 วัดใหม่ทุ่งคา ต�ำบลก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดใหม่ ทุ่งคา และเจ้าคณะอ�ำเภอรัตภูมิ สถานะเดิม ชื่อ จวง มณีสว่าง เกิดวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2489 บิดา-มารดา นายเปลือน นางอ�่ำ มณีสว่าง บ้านเลขที่ 5 หมู่ที่ 5 ต�ำบล ก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ณ วัดใหม่ทุ่งคา ต�ำบล ก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระครูรัต ภูมิคณานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอรัตภูมิ เจ้าอาวาสวัดบางทีง ต�ำบลบาง เหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา พระกรรมวาจาจารย์ พระครู วิมลปัญญาสาร วัดยูงทอง ต�ำบลท่าช้าง อ�ำเภอบางกล�่ำ จังหวัด สงขลา วิทยฐานะ • พ.ศ. 2499 ส�ำเร็จชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนวัดทุ่งคา ต�ำบลก�ำแพงเพชร อ�ำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2547 ส�ำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนอ�ำเภอรัตภูมิ • พ.ศ. 2529 สอบได้นักธรรมชั้นเอก จากส�ำนักเรียนคณะจังหวัด สงขลา งานปกครอง • พ.ศ. 2513 ด�ำรงต�ำแหน่งรักษาการเจ้าอาวาสวัดใหม่ทุ่งคา • พ.ศ. 2522 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดใหม่ทุ่งคา • พ.ศ. 2537 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลควนรู • พ.ศ. 2538 เป็นพระอุปัชฌาย์ • พ.ศ. 2544 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะต�ำบลก�ำแพงเพชร • พ.ศ. 2557 ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอรัตภูมิ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 183
183
12/5/2563 13:43:21
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดห้วยหลาด พระปลัดวรวิท ฐิตธมฺโม เจ้าอาวาสวัดห้วยหลาด วัดห้วยหลาด ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 ต�ำบลคูหาใต้ อ�ำเภอ รัตภูมิ จังหวัดสงขลา มีการเล่าขานกันมาว่า หลวงปูส่ มี นั่ เทพอินโท ได้มาประทับทรง พระอธิการขาว ติสฺสวโส ในปี พ.ศ.2495 โดยได้อบรมสั่งสอนธรรมะ วิปัสสนา สมถะกรรมฐานให้แก่ญาติโยมพุทธบริษัทเป็นจ�ำนวน มาก ซึ่งสมัยนั้นยังมิได้มีการสร้างวัด ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2470 จึงได้จัดการตั้งวัดขึ้นอย่างเป็นทางการ
การสร้ า งอุ โ บสถ เริ่ ม ก่ อ สร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย พระอธิการห้อง ธมฺมปาโล ซึ่งก็ยังไม่แล้วเสร็จ ทาง พระครูโกวิทธรรมสาร ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น พร้อมด้วยคณะพุทธบริษัทของวัดจึงมีความเห็นว่า สมควรที่จะได้ด�ำเนินการซ่อมบูรณะให้ส�ำเร็จ ซึ่งต้อง ใช้เงินประมาณสามล้านบาทเศษ ดังนั้นการจัดงาน ครั้งนี้ ก็เพื่อต้องการเปิดโอกาสให้ญาติโยมบริจาค เพื่อจะได้น�ำเงินมาบูรณะซ่อมแซมให้ส�ำเร็จต่อไป พระมหาธาตุเจดีย์ ศรีรัตภูมิ ก�ำลังก่อสร้าง 184
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 184
12/5/2563 16:17:22
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระอธิการห้อง ธมฺมปาโล พ.ศ. 2470 - 2489 2. พระอธิการไล่ จนฺทสุวณฺโณ พ.ศ. 2491 - 2493 3. พระอธิการขาว ติสฺสวโส พ.ศ. 2494 - 2498 4. พระอธิการเขี้ยง เตชวโร พ.ศ. 2498 - 2502 5. พระครูโกวิทธรรมสาร พ.ศ. 2505 - 2558 6. พระปลัดวรวิท ฐิตธมฺโม (รักษาการปี 2559-2561) พ.ศ. 2561 - ปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 185
185
12/5/2563 16:17:36
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดยางทอง พระครูบัณฑิตธรรมาลังการ เจ้าอาวาสวัดยางทอง เจ้าคณะอำ�เภอสะเดา วัดยางทอง ตั้งอยู่ที่บ้านคลองทราย เลขที่ 45 หมู่ 2 ต�ำบลทุ่งหมอ อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โทรศัพท์ 081-273-8855 สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 10 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา น.ส.3 เลขที่ 21784 มีที่ธรณีสงฆ์ 1 แปลง เนื้อที่ 21 ไร่ น.ส.3 เลขที่ 15585 15616,17511 พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม
460 พ.ศ. งแรก าใกล้ สร้าง นิมิต
วัดยางทอง สร้างขึ้นเป็นวัดประมาณ พ.ศ. 2430 เดิมชาวบ้าน เรียกว่า “วัดบ้านคลองทราย” ตามชื่อบ้าน ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมา วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2434 ผูกพัทธสีมาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2474 ปัจจุบัน มีพระครูบัณฑิตธรรมาลังการ (ประสิทธิ์ สังข์สม)วิทยฐานะ น.ธ.เอก,ศน.บ.,ศศ.ม. ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดยางทอง และเจ้าคณะอ�ำเภอสะเดา ทางวัดได้เปิดให้มีการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมตลอดมา ในปี พ.ศ. 2501 ได้ขอตั้งเป็นส�ำนักศาสนศึกษาขึ้น นอกจากนี้ยังได้ จัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2499
มพ้อ มพ้อ โดย และ ท่าน งที่ 2 รผู ก ายน
186
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 186
12/5/2563 16:41:15
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อหวาน พ.ศ. 2434 - 2452 2. หลวงพ่อคง พ.ศ. 2453 - 2455 3. หลวงพ่ออ้น พ.ศ. 2456 - 2457 4. เจ้าอธิการทุ่ม ธมฺมรํสี พ.ศ. 2458 - 2476 5. พระครูวิจิตรศาสนคุณ(หลวงปู่แก้ว) พ.ศ. 2477 - 2523 6. พระใบฎีกาจรินทร์ กิตฺติวุฑฺโฒ พ.ศ. 2524 - 2525 7. พระครูสุวรรณธรรมนาท(เริบ) พ.ศ. 2526 - 2548 8. พระครูบัณฑิตธรรมาลังการ (ประสิทธิ์) พ.ศ. 2548 - ปัจจุบนั
อาคารเสนาสนะและปูชนียวัตถุ
1. อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ.2474 2. ศาลาการเปรียญสร้างเมื่อ พ.ศ.2506 (บูรณะพ.ศ.2548) 3. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 8 หลัง 4. หอฉันโรงครัว 5. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลและเมรุเผาศพ 6. พระประธานในอุโบสถ สร้างพ.ศ.2473 7. เจดีย์ของเก่า 8. วิหารประดิษฐาน รูปเหมือนหลวงปูแ่ ก้ว (พระครูวจิ ติ รศาสนคุณ) อดีตเจ้าอาวาส 9. อุโบสถหลังใหม่ สร้าง พ.ศ.2552 10. อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง 11. หอระฆัง 1 หลัง
ร่วมสร้างเส้นทางบุญ
ธนาคารกรุงไทย สาขาคลองแงะ หมายเลขบัญชี 866-0-05066-5 วัดยางทอง ต�ำบลทุ่งหมอ อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 187
187
12/5/2563 16:41:28
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดพังลา พระมหาจารุพงษ์ จารุวํโส ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดพังลา เจ้าคณะตำ�บลพังลา วัดพังลา ตั้งอยู่เลขที่ 135 หมูที่ 1 ต�ำบลพังลา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 ภาค 18 เป็นวัดเก่าแก่อายุกว่า 100 ปี สร้าง ขึ้นในปี พ.ศ.2431 ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับศึกสงครามปราบกบฏไทรบุรี ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารเตรี ย มสร้ า งเรื อ และแพไว้ เ พื่ อ ขนทหารกั บ เสบี ย ง ดังปรากฏซากเรือโบราณในย่านนี้หลายล�ำและเรื่องเล่าขานที่เล่าสืบ กันมา
ต�ำนานช้างวัดพังลาว่า ในสมัยนัน้ มีชา้ งคูห่ นึง่ อาศัยอยู่ ณ บริเวณนี้ พอเกิดศึกสงคราม กองทัพหลวงจึงจ�ำเป็นต้องเกณฑ์ไพร่พล รวมไป ถึงช้างม้า วัว ควาย จากบ้านคลองแงะและทุ่งลุง เพื่อน�ำไปท�ำศึก สงคราม จนเป็นเหตุให้ชา้ งคู่หนึ่งต้องพลัดพรากจากกัน “วันที่จากลา ก็มาถึง พี่ต้องเดินทัพไปทางใต้ ตอนเหนือของไทรบุรี หรือ รัฐเกดาห์ น้องต้องจากพี่แล้ว การศึกถ้าเสร็จสิ้น พี่ไม่ตาย เราคงต้องพบกันอีก” เสียงร�ำ่ ลาครวญครางของช้างสองเชือก ชาวบ้านและนายทหารนายกอง ต่างรับรู้และสงสาร จึงตั้งชื่อวัดให้สอดคล้องกันกับชื่อหมู่บ้านว่า “วัดพังลา” โดยอาศัยเรื่องราวช้างพังบอกลาช้างพลาย
188
(2
อุโบสถวัดพังลา อายุกว่า 100 ปี ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2482
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 188
12/5/2563 15:14:28
ประวัติพระมหาจารุพงษ์ จารุวํโส
พระพุทธลีลา ปางลีลา บนพระเกตุมาลา บรรจุพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ พ.ศ. 2539
รายนามเจ้าอาวาสและบุรพาจารย์
1. สมภารเอียด 2. สมภารคง 3. ตาหลวงพลับ 4. พ่อท่านสีมาก 5. พระครูอธิการสิงห์ 6. พ่อท่านบั่น สีลาจาโร 7. สมภารทวดเจ้าบุญทอง 8. พระมหาสงวน 9. เจ้าอธิการหลง โกวิโท 10. พระครูพิทักษ์นิมพเขต (ประสิทธิ์ สิริปญฺโญ) 11. พระมหาจารุพงษ์ จารุวํโส พ.ศ.2561 – ปัจจุบัน
พระมหาจารุพงษ์ ฉายา จารุวํโส อายุ 41 ปี พรรษา 19 นามเดิม จารุพงษ์ จึงประยูร เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2522 บิดาชื่อ นายกิตติ มารดาชื่อ นางวันทนีย์ จึงประยูร บ้านเลขที่ 28 หมู่ที่ 1 ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บรรพชาและอุปสมบท ณ วัดพังลา ต�ำบลพังลา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2544 โดยมี พระครูพิทักษ์ นิ ม พเขต วั ด พั ง ลา เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ มี พ ระมหาอิ่ ม อิ นฺ ท วี โร วัดมหิงษาราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และมีพระมหาวิชาญ โชติธมฺโม วัดห้วยคู เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ประวัติการศึกษา • พ.ศ.2540 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดคูหาสวรรค์ ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดพัทลุง • พ.ศ.2545 สอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค ส�ำนักเรียนวัดประยุรวงศาวาส วรวิหาร กรุงเทพมหานคร • พ.ศ.2550 ส�ำเร็จปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร • พ.ศ.2552 ส�ำเร็จปริญญาโท การมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร
ศาลพ่อท่านในเขื่อน (อดีตเจ้าอาวาสผู้ก่อตั้งวัด) ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของชาวบ้านพังลา
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 189
189
12/5/2563 15:14:42
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดเขามีเกียรติ พระณัฐพงษ์ ฐานิสฺสโร เจ้าอาวาสวัดเขามีเกียรติ
วัดเขามีเกียรติ ตั้งอยู่เลขที่ 11 หมู่ 4 ต�ำบลเขามีเกียรติ อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 โทรศัพท์ 098-671-3062
190
(1
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 190
12/5/2563 15:58:14
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดม่วงก็อง วัดม่วงก็อง ตั้งอยู่เลขที่ 100 หมู่ที่ 7 ต�ำบลพังลา อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัด 37 ไร่ 1 งาน 96 ตารางวา วัดม่วงก็อง สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ พ.ศ. 2420 แล้ว ได้ดำ� เนินการสร้างเป็นวัดมาได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ พ.ศ. 2450 อาคารเสนาสนะต่างๆ มีอโุ บสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง โรงครัว 1 หลัง ศาลาคูเ่ มรุ 1 หลัง กุฎพี ระ 12 หลัง นอกจากนีม้ โี รงเรียนประถมศึกษา ของทางราชการตั้งอยู่ในวัด ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. ท่านอาจารย์เกตุ 2. ท่านอาจารย์ฑิตแก้ว 3. ท่านอาจารย์คงแก้ว พุทฺธรกฺขิโต 4. ท่านอาจารย์ชื่น 5. ท่านอาจารย์ชัย 6. ท่านอาจารย์อินทร์
7. ท่านอาจารย์เผียน ชิตานนท์ 8. หลวงพ่อคงแก้ว 9. ท่านอาจารย์พรหม 10. ท่านอาจารย์ยก สุเมโธ 11. พระครูสังวรคุณ (ประจ�ำ สํวโร) 12. พระใบฎีกาวินัย สุธมฺโม รูปปัจจุบัน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 191
191
12/5/2563 17:08:12
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดหลักเขต Lak Khet Temple พระครูสังฆรักษ์ธนา สุจิตฺโต ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดหลักเขต PHRA KHU SANGKHARAK THANASUCHITO THE ABBOT OF LAK KHET TEMPLE วัดหลักเขต ตัง้ อยูท่ ี่ ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จั ง หวั ด สงขลา บริ เ วณที่ ตั้ ง วั ด เดิ ม เป็ น พื้ น ที่ ข อง ชาวมุสลิม ได้มีพระธุดงค์มาปักกลด 4 รูป นายพิเชษ รั ศ มี ธ รรมาธิ กุ ล จึ ง เกิ ด ความศรั ท ธาและขอซื้ อ ที่ บริเวณนี้ จ�ำนวน 23 ไร่ เพื่อสร้างเป็นที่พักสงฆ์เมื่อปี พ.ศ.2529 Lak Khet Temple is located at Samnak Kham Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. The original temple location was a Muslim area. After that this area has 4 monks came and stayed. Therefore, In 2529 B.E. the temple was purchased by Mr. Phichet Ratsamithamathikul in the area of 23 Rai to build a Buddhist residence.
192
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 192
12/5/2563 12:00:57
จากนั้นพระธุดงค์ก็ได้กลับภูมิล�ำเนาเดิมที่จังหวัดอุทัยธานี เมื่อไม่มี พระภิกษุสงฆ์อยู่ประจ�ำแล้ว นายพิเชษ รัศมีธรรมากุล จึงได้อาราธนา พระสมุห์เชย วยวุฒฺโฑ มาเป็นหัวหน้าที่พักสงฆ์และได้สร้างเสนาสนะ เรื่อยมา จนสามารถด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดในปี พ.ศ.2555 ชื่อว่า “วัดหลักเขต” โดยมีพระครูวิมลชัยวัฒน์ หรือ พระสมุห์เชย วยวุฒฺโฑ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก พ.ศ. 2555 - 2557 เมื่อพระครูวิมลชัยวัฒน์ (เชย วยวุฒฺโฑ) มรณภาพ ท�ำให้ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสว่างลง คณะกรรมการของวัด จึ ง ได้ นิ ม นต์ พ ระสมุ ห ์ ธ นา สุ จิ ตฺ โ ต ซึ่ ง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง รองเจ้ า อาวาส วัดหัวถนน มารักษาการแทนเจ้าอาวาส After these monks went back to their hometown (U-Thaithani province) by Mr. Phichet Ratsamithamathikul invited Phra Sahachaiyawutthot to be a abbot of this temple until being able to request permission to build a temple in the year 2012, called "Lak khet Temple" With Phra Kru Wimon Chaiwat or Phra Sahachaiyawutthot as the first abbot. 2012 - 2014 when Phra Kru Wimon Chaiwat (Chayuwiwattho) passed away causing the Abbot's position to become vacant, so temple management team invited Phra Sahachaiyawutthot who hold the position of head abbot of Wat Hua Thanon Come to act for the abbot of Lak khet temple.
ต่อมา พ.ศ.2558 เจ้าคณะจังหวัดได้แต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าอาวาส วัดหลักเขต เริ่มสร้างอุโบสถ และวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2558 โดยใช้ งบประมาณ 10 ล้านเศษในการสร้าง ใช้เวลาก่อ สร้า งทั้งหมด 1 ปี 4 เดือน จึงแล้วเสร็จสมบูรณ์ Later In 2015 the monk management team appointed Phra Sahachaiyawutthot to be a abbot. Lak khet temple began building the chapel and laying the foundation stone on 8 August 2015, using a budget of 10 million baht to build. The construction took 1 year and 4 months to complete.
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 193
193
12/5/2563 12:01:08
194
(4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 194
12/5/2563 12:01:18
ล�ำดับเจ้าอาวาส List of Abbot
1. พระครูวิมลชัยวัฒน์ ( เชย วยวุฒฺโฑ ) Phra Kru Wimon Chaiwat (Chayuwiwattho) พ.ศ.2555 – 2557 (2012 – 2014) 2. พระครูสังฆรักษ์ธนา สุจิตฺโต Phra Kru Sangkharak Thanasuchito พ.ศ.2558 – ปัจจุบัน (2015 - present)
ประวัติ พระครูสังฆรักษ์ธนา สุจิตฺโต History of Phra kru Sangkharak Thanasuchito พระครูสังฆรักษ์ธนา ฉายา สุจิตโต อายุ 37 พรรษา 16 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ,พธ.บ. วัดหลักเขต ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดหลักเขต Phra Kru Sangkharak Thanachaya Sujitto, age 37 years, 16 academic degrees, Ph.D., Wat Lak Khet, Samnak Kham Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. Abbot of Lak Khet Temple. สถานะเดิม ชื่อ ธนา ทะระศรี เกิดวัน 6 ฯ 6 ค�่ำ ปีกุน วันที่ 15 เมษายน พ.ศ.2526 บิดา นายขบวน ทะระศรี มารดา นางวาสนา ทะระศรี ที่บ้านเลขที่ 22 หมู่ที่ 8 ต�ำบลปริก อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา The original name was Thana Tarasri. Born on 15th of April 1983. His father is Mr. Kabuan Tarasri and his mother is Mrs. Wasana Tarasri. He lived in No. 22 Village No. 8, Prik Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. อุปสมบท วัน 6 ฯ7 8 ค�่ำ ปีวอก วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2547 ณ พัทธสีมา วัดหัวถนน ต�ำบลปริก อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา Ordination Day is 23 July 2004 at Phatasima, Hua thanon temple Prik Sub-district, Sadao District, Songkhla Province. SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 195
195
12/5/2563 12:01:27
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดวังปริง พระครูอรุณวิริยานุศาสตร์ ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดวังปริง วัดวังปริง เป็นวัดราษฏร์ ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่ 2 ต�ำบลเค้ามีเกียรติ อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา 90170 ทีด่ นิ ทีต่ งั้ เป็นวัด 22 ไร่ 80 ตารางวา ตามโฉนดที่ดินเลขที่ 21528 อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ทิศเหนือ ติดกับถนนคลองแงะ บ้านวังปริง ทิศตะวันออก ติดกับถนนในหมู่บ้าน ทิศตะวันตก ติดกับที่ดินชาวบ้าน ทิศใต้ ติดกับคลอง มีพื้นที่ราบอยู่ด้าน ทิศเหนือ ด้านทิศใต้เป็นพืน้ ทีล่ มุ่ ต�ำ่ ติดกับสายน�ำ ้ ทีธ่ รณีสงฆ์ 61 ไร่ 2 งาน 82 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 24065 อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ที่ ธ รณี ส งฆ์ 4 ไร่ 2 งาน 90 ตารางวา โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 22871 อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
196
.indd 196
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
12/5/2563 12:23:09
ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุ
1. พระอุโบสถ ซึ่งได้ท�ำการฝังนิมิตเมื่อพ.ศ. 2477 2. ศาลาการเปรียญ ก่ออิฐถือปูน 3. กุฏิเก่าบูรณะใหม่พอพักได้ 1 หลัง 2 ห้องนอน 4. กุฏิไม้ทรงปันยา สร้างเมื่อพ.ศ. 2490 จ�ำนวน 1 หลัง 5. กุฏิสงฆ์ก่อด้วยอิฐถือปูน 2 ชั้น หอฉันสร้างเมื่อพ.ศ. 2500 ท�ำด้วยไม้ 6. ศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ 2 หลัง 7. หอระฆัง 1 หลัง 8. ศาลานั่งพักผ่อน 8 ศาลา 9. ศาลาหลวงปู่ เป็นที่ตั้งรูปหล่อหลวงปู่เพ็ชร หลวงปู่ชุม (พระครูไพศาลสังฆกิจ)
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 197
197
12/5/2563 12:23:24
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดศรีวิเทศสังฆาราม พระปลัดสุบิน ธนิสฺสโร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีวิเทศสังฆาราม วัดศรีวิเทศสังฆาราม ตั้งอยู่ที่ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยมี นายสี หมั่นเจริญ เป็นผู้มอบที่ดินก่อตั้งวัดและโรงเรียนวัดศรีวิเทศสังฆาราม นายสี หมั่นเจริญ เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2453 ถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2543 รวมอายุ ได้ 90 ปี
นายสี หมั่ น เจริ ญ เป็ น ชาวจั ง หวั ด สงขลา บ้ า นเดิ ม อยู ่ ที่ บ ้ า นสะพานยาว ต� ำ บล เขารูปช้าง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2483 ได้ย้ายมาอยู่ที่ คลองลาปัง หมู่ที่ 6 ต�ำบลส�ำนักแต้ว อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา (ปัจจุบันคือหมู่ที่ 2 บ้านด่านนอก ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา) ต่อมาได้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ใหญ่ บ้านหมู่ที่ 6 ต�ำบลส�ำนักแต้ว อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ในขณะนั้นได้บุกเบิกและพัฒนา พร้ อ มทั้ ง ชั ก ชวนญาติ พี่ น ้ อ งและเพื่ อ นฝู ง ให้ ม าจั บ จองที่ ดิ น เพื่ อ เป็ น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย และ ท�ำมาหากิน จนเกิดเป็นชุมชนขึ้นมาและตระหนักถึงความส�ำคัญของศาสนาและการศึกษา ท่านจึงมอบที่ดินส่วนหนึ่งที่ได้จับจองไว้ให้เป็นที่ตั้งวัดและโรงเรียน ประมาณปี พ.ศ. 2497 (ปัจจุบันคือวัดศรีวิเทศสังฆารามและโรงเรียนวัดศรีวิเทศสังฆาราม) ตลอดชีวิตของท่านมี แต่ให้และสร้างความดีช่วยเหลือเพื่อนฝูง จนเป็นที่ยอมรับของญาติพี่น้องและเพื่อนฝูงมา โดยตลอด 198
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 198
12/5/2563 12:09:05
ประวัติพระวิจิตร ปัญญาโต (เทพธารี)
พระวิจิตร ปัญญาโต (เทพธารี) ผู้ก่อตั้งโรงเรียนวัดศรีวิเทศ สังฆาราม อดีตเจ้าอาวาสวัดศรีวิเทศสังฆาราม ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เกิดที่บ้านโพธิ์ หมู่ที่ 5 ต�ำบลบ่อตรุ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา พ.ศ.2464 เป็นบุตรของนายพ่วงและ นางเอี้ยน เทพธารี เป็นบุตรคนที่ 6 ในจ�ำนวนพี่น้อง 7 คน ชาย 4 คน และหญิง 3 คน เรียนจบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดสีหยัง ต�ำบลบ่อตรุ อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา อุปสมบท เมื่อ พ.ศ. 2492 ณ วัดสีหยัง ต�ำบลบ่อตรุ อ�ำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา ปี พ.ศ.2496 ท่านสอบนักธรรมชั้นเอกได้ ณ ส�ำนักวัดสีหยัง อ�ำเภอระโนด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2498 รับตราตั้ง เป็นครูสอนปริยัติธรรม ณ ส�ำนักวัดผักกูด ต�ำบลบ้านใหม่ อ�ำเภอ ระโนด จังหวัดสงขลา ประมาณ พ.ศ. 2499-2514 ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดศรีประชาเขต (วัดศรีวิเทศสังฆารามในปัจจุบัน) ซึ่งใน ขณะนั้นนายสี หมั่นเจริญ เป็นแกนน�ำในการก่อสร้างวัดศรีวิเทศ สังฆาราม ขณะนั้นได้มีนายต�ำรวจท่านหนึ่งของอ�ำเภอสะเดา ได้ออกตรวจ พื้นที่ในเขตต�ำบลส�ำนักแต้ว บ้านคลองพรวน ได้มาพบเด็กจ�ำนวน มากที่เข้าเกณฑ์การเรียน แต่ไม่มีที่เรียน ท่านจึงกลับไปปรึกษาหารือ กับหมวดการศึกษา (หน่วยงานทางการศึกษาในขณะนั้น) รวมถึง ผู้ใหญ่บ้านและเจ้าอาวาส (พระวิจิตร เป็นเจ้าอาวาสในขณะนั้น) เพื่อ เริ่มก่อตั้งโรงเรียนขึ้นมา โดยเริ่มเปิดสอนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2506 โดยมีนายเฉลิม จิตประพันธ์ เป็นครูใหญ่ คนแรกของโรงเรียน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 199
199
12/5/2563 12:09:21
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดสันติวรคุณ พระอธิการสรชัช เตวชโร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดสันติวรคุณ วัดสันติวรคุณ เดิมชื่อ “วัดส�ำนักขาม” ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ต�ำบลส�ำนักขาม อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยมีชาวบ้านส�ำนักขามและชาวบ้านแปดร้อยไร่ ตั้งเป็นส�ำนักสงฆ์บ้าน ส�ำนักขามเมื่อ พ.ศ.2538 ได้นิมนต์พระสงฆ์มาจ�ำพรรษา และนิมนต์หัวหน้าส�ำนักสงฆ์ พระศิริพงศ์ ปุณศิริ มาร่วมกับชาวบ้านช่วยกันบุกเบิกพัฒนาและสร้างเสนาสนะ
200
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
(2
).indd 200
14/5/2563 13:25:56
เมือ่ ปี พ.ศ.2548 คุณโยมพรสวรรค์ และคุณโยมภารดี สันติวรคุณ ได้ริเริ่มซื้อที่ดินถวายส�ำนักสงฆ์บ้านส�ำนักขาม จนสามารถสร้างเป็น วัดได้ โดยตั้งชื่อว่า “วัดสันติวรคุณ” ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เสด็จมาเป็นประธานการวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2548 ต่อมาพระครูศิริพงศ์ ปุณศิริ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระครูปุณศิริวัฒน์ และด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส วัดสันติวรคุณ เป็นรูปแรก วัดสันติวรคุณ ได้รับวิสุงคามพัทธสีมา เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555 กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ต่อมาได้ริเริ่มสร้าง หลวงปู่ทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด ปี พ.ศ.2550 หน้าตักกว้าง 10 เมตร สูง 20 เมตร เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 พระครูปุณศิริวัฒน์ มรณภาพ ด้วยโรคประจ�ำตัว สิริอายุ 55 ปี พรรษา 30 จากนั้น วันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2561 พระครูประโชติ กิจโกศล ได้นิมนต์ พระสรชัช เตวชโร มาเป็นรักษาการเจ้าอาวาสแทน ต่อมาวันที่ 21 มีนาคม 2563 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอธิการสรชัช เตวชโร เป็นเจ้าอาวาส รูปที่ 2
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 201
201
14/5/2563 13:26:21
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดบ่อเกตุ พระปลัดธัญวัฒน์ อโสโก เจ้าอาวาสวัดบ่อเกตุ วัดบ่อเกตุ ตั้งอยู่เลขที่ 184 หมู่ที่ 5 ต�ำบลทุ่งหมอ อ�ำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2500 โดยมีพระครูวิจิตร ศาสนคุณ (แก้ว จิตฺตทโม) และศิษยานุศิษย์ นายเทพ ทองน้อย ผู้ใหญ่ บ้านชื่น สุวรรณรักษา ผู้ใหญ่บ้าน อินทร์ทอง ศรีวิไล พร้อมด้วย ชาวบ้านเป็นผู้ด�ำเนินการสร้างวัดและโรงเรียนขึ้น เนื้อที่ทั้งหมด 100 ไร่ โดยแบ่งให้ก่อตั้งวัด 50 ไร่ โรงเรียนวัดบ่อเกตุวิจิตรวิทยา 50 ไร่ ที่ได้ ชื่อว่า “วัดบ่อเกตุ” เพราะมีบ่อเป็นปลักซึ่งเรียกกันว่า “ปลักเกตุ” ภายหลังจึงได้น�ำมาตั้งชื่อวัด
202
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 202
12/5/2563 15:05:04
วัดบ่อเกตุ ได้ขออนุญาตตั้งและสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2532 โดย นายสมพงศ์ ทองน้อย (ก�ำนันต�ำบลทุ่งหมอ) เป็นผู้เริ่มขออนุญาตตั้ง และสร้าง ได้รบั อนุญาตสร้างและตัง้ วัดในสมัย พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชกาลแทน นายกรัฐมนตรี ณ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายยกรัฐมนตรี วัดบ่อเกตุเป็นวัดที่พุทธศาสนิกชนมีความศรัทธาเป็นอย่างยิ่ง ทั้งเป็นแหล่งศูนย์รวมใจของพุทธศาสนิกชนในการเข้ามาศึกษาและ ปฏิบัติธรรม เป็นศูนย์รวมความสามัคคีของชุมชน
ประวัติพระปลัดธัญวัฒน์ อโสโก
สถานะเดิม พระปลัดธัญวัฒน์ อโสโก นามเดิมชื่อ นายธัญวัฒน์ รักษ์เพ็ชร เป็นบุตรนายสุภัทร์ รักษ์เพ็ชร และนางเจริญศรี รักษ์เพ็ชร อุปสมบท โดยมี พระครูบัณฑิตธรรมาลังการ (ประสิทธิ์ ปณฺฑิโต) เจ้ า คณะอ� ำ เภอสะเดา เป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระครู เ กษมนวคุ ณ (จาโรจน์ เขมจาโร) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการสมชาย (สมชาย เขมจิตฺโต) เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ • 13 มกราคม พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้รักษาการแทน เจ้าอาวาส • ได้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รงต�ำแหน่งฐานานุกรม ที่ พระปลัดธัญวัฒน์ อโสโก วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก ปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สาขาวิชา เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา ปริญญาโท คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพ ระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย • 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ฐานานุศักดิ์ฐานานุกรม ที่ พระศรีรัตน วิ ม ล ป.ธ.9 เจ้ า คณะจั ง หวั ด สงขลา (พระราชาคณะชั้ น สามั ญ ) พระราชวรเวที (พระราชาคณะชั้ น ราช) เจ้ า คณะจั ง หวั ด สงขลา แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งฐานานุกรม • 3 มีนาคม พ.ศ. 2560 ได้รับการแต่งตั้งเจ้าอาวาส • 5 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอสะเดา
กิจกรรมภายในวัด
1. โครงการปฏิบัติธรรมวิปัสสนากัมมัฏฐาน รักษาศีล เจริญจิต ภาวนา “เสริมบุญบารมี” เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 เนื่องในวันส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนา วิสาขบูชาโลก 2. กิจกรรมสวดมนต์ปฏิบัติธรรมเจริญจิตภาวนา 3. แสดงพระธรรมเทศนา ทุกๆ วันพระ 4. กิจกรรมวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา 5. กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี 6. กิจกรรมตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 203
203
12/5/2563 15:05:15
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดธรรมโฆษณ์ วัดเก่าแก่สมัยอยุธยาตอนปลาย วัดธรรมโฆษณ์ ตั้งอยู่เลขที่ 190 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอ สิงหนคร จังหวัดสงขลา อนุญาตให้ตั้งวัด เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2284 มีเนื้อที่วัดตาม เอกสารสิทธิ์ 23 ไร่ 3 งาน 17 ตารางวา จากค�ำบอกเล่าและข้อมูลที่นายอ�ำนวย สงนวล อดีตประธาน สภาวัฒนธรรมอ�ำเภอสิงหนคร ได้บันทึกไว้ว่า เดิมลักษณะทางด้าน ภูมปิ ระเทศของวัดเป็นทีน่ า มีหนองน�ำ้ ใหญ่ ชาวบ้านเรียกว่า “หนองโคตร” จึงใช้เป็นชื่อบ้านหนองโคตร เป็นชุมชนเก่าแก่มาตั้งแต่สมัยอยุธยา ตอนปลาย จึงสันนิษฐานได้ว่า เจ้าของที่ซึ่งท�ำนาได้ถวายให้เป็นที่สร้าง วัด และเปลี่ยนชื่อมาเป็นบ้านธรรมโฆษณ์ หรือ “วัดธรรมโฆษณ์” ในปัจจุบัน 204
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 204
14/5/2563 13:18:25
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. 2. 3. 4.
พระครูธรรมโฆษิต (คง โกกนุตโต) พ.ศ. 2443-2503 พระครูวิจิตรธรรมรัตน์ (เห้ง ธมฺมรโต) พ.ศ. 2503-2521 พระครูสิริธรรมานุศาสก์ (บุญยืน สิริปญโญ) พ.ศ.2521-2432 พระมหาบุญทิพย์ กิตติโสภโณ ป.ธ.7 พ.ศ. 2535 - ปัจจุบนั
ศาสนสถาน และปูชนียสถาน
อุโบสถ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2448 ต่อมาอุโบสถหลังเก่าได้ท�ำการรื้อ และสร้างหลังใหม่ในเขตพัทธสีมาเดิม เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ศาลาการเปรี ย ญ สร้ า งเมื่ อ พ.ศ. 2453 เป็ น อาคารเสา คอนกรีตเสริมเหล็กมุงกระเบื้องดินเผา ศาลาบาตร สร้างในช่วง พ.ศ. 2558 - 2459 เป็นอาคารทรงไทย มุงกระเบื้องดินเผา กุฏิพ่อท่าน 3 หลังหันหน้าเข้าสู่ฐาน ก่ออิฐยกพื้น สูงประมาณ 1.5 เมตร กว้าง 25 เมตร ยาว 50 เมตร ก�ำแพงรอบวัด ก่อด้วยหินขนาดต่างๆ หนา 50 เซนติเมตร พื้นที่ ลุ่มสูง 2.5 เมตร พื้นที่ไม่ลุ่มสูง 1.5 เมตร ความยาวรวมทั้ง 4 ด้าน 650 เมตร
กิจกรรมส�ำคัญ
• งานสืบสานวันพ่อท่านคง ทุกวันที่ 3 - 5 พฤษภาคม ของทุกปี เพื่อท�ำบุญทักษิณา ให้แก่ อดีตเจ้าอาวาสทุกรูป ผู้เป็นปูชนียบุคคล ส�ำคัญ เพื่อแสดงออกถึงความกตัญญูกตเวที และ สร้างความสามัคคี แก่คนในชุมชน • กิจกรรมส่งเสริมพระพุทธศาสนา เช่น วันส�ำคัญทางศาสนา ต่างๆ • ประเพณีท�ำบุญตักบาตร ท�ำบุญว่างเดือน 5 และท�ำบุญสารท เดือน 10 • ประเพณีลากเรือพระวันออกพรรษา
พระมหาบุญทิพย์ กิตติโสภโณ ป.ธ.7
เจ้าอาวาสวัดธรรมโฆษณ์ และเจ้าคณะอ�ำเภอสิงหนคร SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 205
205
14/5/2563 13:18:39
ประวัติ พระครูธรรมโฆษิต (พ่อท่านคง โกกนุตโต)
พระครูธรรมโฆษิต (พ่อท่านคง โกกนุตโต) ชาติภูมิ เกิดที่บ้าน หนองปาบ (ปัจจุบันชื่อบ้านบ่อปาบ) ต�ำบลสทิงหม้อ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เมื่อวันอาทิตย์ ขึ้น 13 ค�่ำ เดือนยี่ ปีมะแม พ.ศ.2414 บิดา - มารดา นายซัง และ นางม่า โกกะพงศ์ มีพี่น้องร่วมบิดา มารดา 2 คน คือ นายยัง และนายตั้ง มารดาของท่านถึงแก่กรรม ตั้งแต่ท่านยังเยาว์วัย ต่อมาเมื่อท่านอายุได้ 13 ปี บิดาก็ถึงแก่กรรม สามพี่ น ้ องจึงไปอยู่ในการอุป การะดูแ ลของน้า สาว คื อ นางเสน นางมั้ย นางนก บรรพชา เมื่ออายุได้ 13 ปี น้าสาวได้น�ำไปฝากให้เป็นเด็กวัด กับพ่อท่าน ทองขวัญ เจ้าอาวาสวัดบ่อปาบ เพื่อฝึกเรียนอ่านเขียน ตามยุคสมัย เมื่อ พ.ศ.2430 อายุได้ 15 ปี ได้บรรพชาและศึกษา เล่าเรียนพระธรรมวินัย พร้อมทั้งปรนนิบัติพระอุปัชฌาย์ และ พระสงฆ์ภายในวัด อุปสมบท เมื่ออายุ 21 ปี บริบูรณ์ จึงได้อุปสมบท ณ พัทธสีมา วัดบ่อปาบ โดยมี พ่อท่านทองขวัญ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระนวล วัดบ่อปาบ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระหนู แก้ว วัดมะม่วงหมู่ เป็นพระอนุศาสนาจารย์ ประชุมสงฆ์ 22 รูป ในปี พ.ศ. 2436 ได้รับ ฉายาว่า “โกกนุตโต” เมื่อมีพรรษาได้ 8 พรรษา พระอุปัชฌาย์จึงได้ ส่งให้พระคงไปพัฒนาดูแลส�ำนักสงฆ์หนองโคตร 206
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 206
14/5/2563 13:18:50
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 207
207
14/5/2563 13:19:00
208
(6
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 208
12/5/2563 15:46:04
History of buddhism....
วัดเขาน้อย พระครูปริยัติกิจจาภิรม (กระจาย รวิวณฺโณ ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย รองเจ้าคณะอำ�เภอสิงหนคร
QR code
Facebook SB
Facebook SBL
วั ด เขาน้ อ ย เป็ น วั ด เก่ า แก่ ม าแต่ โ บราณ สันนิษฐานว่า เคยเป็นชุมชนขนาดใหญ่ ได้สร้าง วัดให้เป็นพุทธสถานในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ครั้ ง แรกๆ สมั ย ศรี วิ ชั ย หลั ง จากพระเจ้ า อโศก มหาราช ประเทศอินเดีย ได้ท�ำสังคายนาปรับปรุง คณะสงฆ์ครั้งใหญ่แล้วเสร็จ ได้แบ่งพระสงฆ์ออก เป็ น 9 สาย ส่ ง ออกไปเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา ทั่วโลก ประมาณ 2162 ปีมาแล้ว เป็นวัดแห่งแรก ของเมืองสงขลา หรือซิงกอร่า หรือเมืองสงขลาฝั่ง เขาแดงโดยมีองค์พระเจดีย์ศรีวิชัยบนยอดเขาน้อย ภายในวัดสร้างด้วยคติความเชื่อแบบพุทธมหายาน เป็นหลักฐานปรากฏจนถึงปัจจุบัน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 209
209
12/5/2563 15:46:15
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมัยกรุงศรีอยุธยา เมืองสงขลาที่เขาแดงมีความ เจริญรุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่างมาก พี่น้องชาวไทย พุ ท ธ-มุ ส ลิ ม อยู ่ ร ่ ว มกั น โดยความสามั ค คี มี ค วามสงบสุ ข มาโดยตลอด วัดเขาน้อยซึ่งเป็นวัดในใจกลางชุมชนเมืองสมัยนั้นได้มีพระสงฆ์ปฏิบัติ ศาสนกิจอยู่ประจ�ำตลอดมาตามสถานการณ์ของบ้านเมือง หลังจากย้าย เมืองที่หัวเขาแดงไปตั้งที่แหลมสนและบ่อยางแล้ว (สงขลาปัจจุบัน) บ้าน และวัดในบริเวณเมืองโบราณเขาแดงก็ได้ช�ำรุดทรุดโทรมไปตามกาล ใน ปัจจุบันนี้สถานที่ตั้งเมืองในอดีต ได้รับการพัฒนาขึ้นเป็นเมืองใหม่เป็นไป อย่างรวดเร็วในนามของเมืองสิงหะ อ�ำเภอสิงหนคร มีการบริหารปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยเทศบาลเมืองสิงหนคร วัดเขาน้อย มีการผูกพัทธสีมาในสมัยใดไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัด เท่าที่สืบทราบจากคนเฒ่าคนแก่ก็เห็นพัทธสีมาอยู่แล้ว ตัวอุโบสถเป็น เสาไม้แก่น โครงหลังคาเป็นไม้แก่น แต่หลังคามุงด้วยกระเบื้องดินเผา พื้นบ้านเกาะยอ จากหลักฐานพัทธสีมาท�ำด้วยอิฐทรายแดง กรุงศรีอยุธยา ตอนต้น มีพระสงฆ์ที่ดูแลวัดอยู่รูปเดียวคือ เจ้าอาวาส พ่อท่านปลอด ตาม ที่ชาวบ้านรู้จักกัน เป็นพระสงฆ์ท่ีศักดิ์สิทธิ์ มีคาถาอาคมแกร่งกล้า อยู่ยง คงกระพัน ช่วยชาวบ้านดูแลวัดมาเป็นอย่างดี ช่วงสมัยกรุงธนบุรี มีเนื้อที่ ประมาณ 100 ไร่ ปัจจุบัน เหลือ 37 ไร่ ตั้งอยู่ที่ 74 หมู่ 7 ต�ำบลหัวเขา อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 90280
เจ้าอาวาสตามที่สืบค้นได้ต้ังแต่ พ.ศ. 2318 ถึงปัจจุบันมีดังนี้ 210
(6
1.พ่อท่านปลอด 2.พระอธิการญาณวยวุฒฺโธ 3.พระครูวิสุทธิสีลญาณ 4.พระครูปริยัติกิจจาภิรม
ประมาณ พ.ศ. 2318 ประมาณ พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 210
12/5/2563 15:46:33
ต�ำนานพญางูใหญ่ที่ปกป้ององค์พระเจดีย์บนยอดเขาน้อยเป็นสิ่งที่ ปรากฏต่อประชาชนเป็นอันมาก ต่อผู้ที่มีความเคารพต่อพระพุทธศาสนา และผู ้ ที่ ไ ม่ มี ค วามเคารพต่ อ พระพุ ท ธศาสนา คื อ ถ้ า ผู ้ คิ ด ไม่ ดี ต ่ อ องค์ พระเจดีย์จะมีพญางูใหญ่ออกมาปรากฏและปกป้องต่อองค์พระเจดีย์ ล� ำตั ว ใหญ่ ม าก ท�ำให้ ผู ้ น้ั น กลั ว และหนี ไ ป แต่ ถ ้ า ผู ้ คิ ด ดี พ ญางู ใ หญ่ จ ะ ปรากฏตัว ล�ำตัวเล็ก เพื่อบอกเตือนให้รู้ว่า โบราณสถานตรงนี้เป็นสิ่งควร เคารพย�ำเกรง ปัจจุบันนี้ได้มีคนที่มีความเชื่อต่อพญางูใหญ่ได้มาบนบาน ขอพรให้ ได้การงานที่ดี ค้าขายดี ได้ต�ำแหน่งหน้าที่การงานที่สูง เป็นต้น ก็ได้สมหวัง และยังได้รักษาโรคภัยไข้เจ็บ โดยผ่านแม่ชีอัคครมณี ชัยมนตรี เป็นผู้รักษา ดังนั้นทุกๆวัน ได้มีผู้คนมากันมากด้วยความเชื่อถือศรัทธาต่อพญางูใหญ่ ในทางพระพุทธศาสนา เรื่องพญางูใหญ่หรือพญานาค ดังนี้ มุจลินทร์ เป็นพญานาคซึ่งปรากฏในพุทธประวัติและปรากฏในพระพุทธรูปปาง นาคปรก โดยพญานาคมุจลินทร์เป็นผู้แผ่พังพานป้องพระสมณโคดมเมื่อ พายุฝนเป็น 7 วัน ขณะทรงบ�ำเพ็ญเพียรใต้ต้นศรีมหาโพธิ์ ต� ำนานองค์ท ้าวพญานาคมุจลิน ทร์น าคราช ครั้นล่วง 7 วันแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จไปประทับนั่งขัดสมาธิยังร่มไม้จิก อันมีนามว่า “มุจลินทร์” อันตั้งอยู่ในทิศบูรพาหรือทิศอาคเนย์แห่งไม้มหาโพธิ์เสวย วิมุตติสุขอยู่ ณ ที่นั้นอีก 7 วัน ในกาลนั้นฝนตกพร�ำตลอด 7 วัน พญานาค มีนามว่า “มุจลินทร์นาคราช” มีอานุภาพมาก พักพิงอยู่ที่สระโบกขรณี ใกล้ต้นมุจลินทร์พฤกษ์นั้น มีความเลื่อมใสในพระสิริวิลาศ พร้อมด้วย พระรัศมีในโอภาสอันงามล่วงล�้ำเทพยดาทั้งหลายจึงเข้าไปใกล้แล้วขดเข้า ซึ่งขนดกายแวดวงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ 7 รอบ และแผ่พังพานอันใหญ่ ปกป้องบนพระเศียรมิให้ลมและแดดฝนถูกต้องพระกายพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ครั้นล่วง 7 วัน ฝนหายขาดแล้ว พญานาคก็คลายขนดจ�ำแลงกายเป็น มาณพ เข้าไปถวายอัญชลีพระพักตร์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปล่าอุทาน วาจาว่า “ความสงัดเป็นสุข ส�ำหรับบุคคลผู้มีธรรมอันเห็นแล้ว ยินดีอยู่ใน ที่สงัด รู้เห็นตามความเป็นจริง ความไม่เบียดเบียน คือความส�ำรวมในสัตว์ ทั้งหลายและความปราศจากความก�ำหนัด คือความล่วงกามทั้งหลาย เสียได้ด้วยประการทั้งปวงเป็นสุขในโลก ความน�ำอัสมิมานะ คือความ ถือตัวออกให้หมดไปเป็นสุขอย่างยิ่ง” ครั้นล่วง 7 วันแล้ว เสด็จออกจากร่มไม้มุจลินท์ไปยังร่มไม้เกตุ อันมี นามว่า "ราชายตนะ" อันอยู่ในทิศทักษิณ แห่งต้นมหาโพธิ์ เสวยวิมุตติสุข ณ ที่นั้นสิ้น 7 วัน เป็นอาวสานในกาลนั้น SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 211
211
12/5/2563 15:46:41
ประวัติพระครูปริยัติกิจจาภิรม (กระจาย รวิวณฺโณ ป.ธ.4) เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย รองเจ้าคณะอ�ำเภอสิงหนคร นามเดิม กระจาย มณีน้อย เกิดวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2502 บิดา ชื่อนาย เครื้อม มณีน้อย มารดา ชื่อนางเช้า โหดนวล บ้านเลขที่ 27 หมู่ที่ 7 ต�ำบล หัวเขา อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา บรรพชา เมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ณ วัดโพธิ์ปฐมาวาส ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยมีพระวิศาลโพธิสุนทร วัดโพธิ์ปฐมาวาส ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครู ประคุณกิจจานุยุต วัดโพธิ์ปฐมาวาส ต�ำบลบ่อยาง อ�ำเภอเมือง จังหวัด สงขลา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระปลัดเที่ยง รตินฺธโร วัดแซ่มอุทิศ อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นพระอนุสาวนาจารย์ การศึกษา พ.ศ. 2525 สอบได้นกั ธรรมชัน้ เอก ส�ำนักศาสนศึกษา วัดวิชติ สังฆาราม ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดภูเก็ต พ.ศ. 2528 - 2530 สอบได้เปรียญธรรม 1-2-4 ประโยค ส�ำนักศาสน ศึกษา วัดกะพังสุรินทร์ ส�ำนักเรียนคณะจังหวัดตรัง 212
(6
พ.ศ. 2536 ส�ำเร็จการศึกษาชั้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การ ศึกษานอกโรงเรียนกรุงเทพมหานคร เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 ส�ำเร็จปริญญาตรี ศาสนศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหามกุฎราชวิทยาลัย จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2558 ส�ำเร็จปริญญาโท พุทธศาสตร มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2563 ส�ำเร็จปริญญาเอก ดุษฎีบัณฑิต สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์นกรุงเทพมหานคร เกียรติคุณ พ.ศ. 2548 รัก ษาการแทนเจ้าอาวาสวัดเขาน้อ ย,รักษาการแทน เจ้าคณะต�ำบลหัวเขา พ.ศ. 2549 เจ้าอาวาสวัดเขาน้อย,เจ้าคณะต�ำบลหัวเขา พ.ศ. 2554 พระอุปัชฌาย์สามัญ พ.ศ. 2558 รองเจ้าคณะอ�ำเภอสิงหนคร สมณศักดิ์ พ.ศ. 2555 พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบล (จต.ชอ) ราชทินนาม “พระครูปริยัติกิจจาภิรม”
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 212
12/5/2563 15:46:46
พระครูปริยตั กิ จิ จาภิรม ได้รเิ ริม่ งานบุญมหากุศล ห่มผ้าพระบรมธาตุเจดีย์ “สืบสานวัฒนธรรมประเพณีย้อนร้อยอดีตเมืองเก่าสงขลา” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549-2563 คือตั้งแต่วันที่ 11-15 เมษายน ของทุกๆปี ได้ชักจูง พุทธบริษัททั้งใกล้และไกล เข้ามามีส่วนร่วมในงานบุญมหากุศล บรรยาย บริบทส�ำคัญให้ทุกๆท่านเข้าใจ เข้าถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร์ของเมืองเก่าสงขลา และประวัติศาสตร์ของพระพุทธศาสนา ยุคแรกเริ่ม โดยเฉพาะองค์พระบรมเจดีย์ ทุ ก ๆปี มี พี่ น ้ อ งพุ ท ธบริ ษั ท จ� ำ นวนมากร่ ว มกั น พั ฒ นาให้ ง านมี ก าร ด� ำ เนิ น ไปด้ ว ยดี แ ละสู ่ ค วามยั่ ง ยื น สื บ ทอดไปจนถึ ง ลู ก หลานในอนาคต เป็นการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาไปตลอดกาลนานฯ
จุดประสงค์ในการด�ำเนินงานบุญมหากุศล เพื่อให้พุทธบริษัททุกท่าน ได้ท�ำอนุสสติส�ำนึกถึงคุณงามความดีของบูรพมหากษัตริย์และพระบรม ศานุวงศ์ทุกๆพระองค์ เจ้าเมืองสงขลา อดีตเจ้าอาวาส และบรรพชน ทั้งหลาย ผู้ที่ได้ขวนขวายท�ำคุณงามความดีต่อพระพุทธศาสนา ตลอดถึง บรรพบุรุษของทุกๆท่าน คือ วันที่ 15 เมษายนของทุกๆปี ก่อนแห่ผ้าห่ม พระบรมธาตุเจดีย์ ได้ท�ำบุญรวมญาติของบรรพบุรุษผู้ที่ได้ล้มหายตายจาก ไปแล้วก่อน พุทธบริษัทมากันมากนับพันๆคน ที่อยู่ถิ่นไกลก็กลับบ้านเกิด คือมาตุภูมิของตน แล้วได้ท�ำบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้บรรพบุรุษ ของแต่ละท่าน
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(6
).indd 213
213
12/5/2563 15:46:55
AD.indd 214
19/5/2563 13:12:19
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดสลักป่าเก่า พระครูไพบูลกัลยาณวัตร ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดสลักป่าเก่า เจ้าคณะตำ�บลทำ�นบ วัดสลักป่าเก่า ตั้งอยู่เลขที่ 153 บ้านปลายนา หมู่ที่ 1
ต�ำบลชิงโค อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 17 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา สร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2277 เดิมเรียกว่า “วัดสลักเก่า” หรือ “วัดเก่า” แต่เนือ่ งจากมีวดั สลักป่าใหม่สร้างขึน้ มาและตัง้ อยูใ่ นต�ำบลเดียวกัน วัดนีจ้ งึ มีนามว่า ”วัดสลักป่าเก่า” เพือ่ ไม่ให้ สับสน ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาเมือ่ ประมาณ พ.ศ.2300 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 12 เมตร ยาว 19 เมตร เกี่ยวกับด้าน การศึกษา ทางวัดได้เปิดสอนพระปริยตั ธิ รรมตัง้ แต่ พ.ศ. 2515 แต่มิได้ขอยกเป็นส�ำนักเรียนในเวลาสอบสนามหลวง จะส่ง นักเรียนเข้าสอบในนามส�ำนักเรียนวัดมะม่วงหมู่
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 215
215
12/5/2563 12:37:10
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดอรุณดาราราม พระครูอรุณสิงหธรรม (บรรจบ กตปุญฺโญ เรืองสุข) เจ้าอาวาสวัดอรุณดาราราม และเจ้าคณะตำ�บลม่วงงาม
วัดอรุณดาราราม หรือ วัดชายทะเล ตั้งอยู่ที่บ้านเสือเมืองบน หมู่ที่ 9 ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สร้างขึ้นเป็น วัดเมื่อ พ.ศ.2468 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2491 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 8 เมตร ยาว 25 เมตร สังกัดมหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดในปัจจุบัน 36 ไร่ 2 งาน 70 ตารางวา เปลี่ยนชื่อจาก “วัดชายทะเล” เป็น “วัดอรุณดาราราม” เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2532 (โดย พณฯ พลเอกมานะ รัตนโกเศศ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร) บู ร ณะเสนาสนะโดย พระครูเกษมนวการ (แปลก เขมิโก (รัตนวรรณ) รองเจ้าอาวาส วัดแหลมทราย อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จากค�ำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ สมัยก่อนทั้งพระและฆราวาส จะใช้เส้นทางทางเรือเป็นเส้นทางคมนาคมหลัก พระอุปัชฌาย์เอียด เจ้ า อาวาสวั ด เสื อ เมื อ ง จึ ง ได้ ป รารภว่ า จะสร้ า งวั ด ขึ้ น บริ เวณนี้ ญาติโยมจึงได้บริจาคที่ดินซึ่งเป็นที่ท�ำสวนให้สร้างวัดขึ้น เรียกว่า “วัดชายทะเล” เพราะติดกับทะเลอ่าวไทย
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. พระอุปัชฌาย์เอียด จนฺทสโร 2. พระอธิการด�ำ จนฺทสโร พ.ศ.2495 3. พระอธิการกลับ จนฺทสฺสโร พ.ศ.2495 - 2506 4. พระครูอิ่ม ยสโร พ.ศ.2506 - 2536 5. พระครูอรุณสิงหธรรม (บรรจบ กตปุญฺโญ เรืองสุข) พ.ศ.2536 - ปัจจุบัน อาคารเสนาสนะ 1. อุโบสถสร้างแทนหลังเก่าทีช่ ำ� รุดทรุดโทรมไปมาก กว้าง 7 เมตร ยาว 21 เมตร โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก 2. ศ า ลา กา ร เ ปรี ย ญแบบชั้ น เ ดี ย วทรงไทยโค รงส ร้ า ง คอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร สร้างเมือ่ พ.ศ.2527 3. วิหารพระไสยาสน์เฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 9 กว้าง 24 เมตร ยาว 35 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ.2530 4. วิหารรูปเหมือนพระครูเกษมนวการทรงไทยจัตุรมุข
วัดอรุณดาราราม
ตั้งอยู่เลขที่ 36 หมู่ที่ 9 ต�ำบลม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 90330 โทรศัพท์ 089-597-4438 www.watarundararam.com 216
(1
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 216
16/5/2563 13:32:50
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดแหลมจาก (วิปัสสนา) วัดแหลมจาก ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 99 หมูท่ ี่ 6 ต�ำบลปากรอ อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ติดกับทะเลสาบสงขลา ในคาบสมุทรสทิงพระ สร้างโดยท่านเจ้าคุณร่มโพธิ์ทอง (พ่อท่านมหาลอย จนฺทสโร) ในปีพุทธศักราช 2436 ได้รับพระราชทานวิสุงคาม ในปีพุทธศักราช 2440
โบราณสถาน และสถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่า โบราณสถาน และสถาปัตยกรรมอันทรงคุณค่าของวัดแหลมจาก ได้แก่ พระมหาเจดีย์ อายุ 122 ปี สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2441 พระพุทธรูปปางไสยาสน์ อายุ 121 ปี สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2442 พระพุทธรูปปางไสยาสน์ สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2532 ท�ำเนียบเจ้าอาวาสวัดแหลมจาก ท่านเจ้าคุณร่มโพธิ์ทอง (พ่อท่านมหาลอย จนฺทสโร) พุทธศักราช 2436 – 2482 ท่านสมุห์ชุม คสฺสโร พุทธศักราช 2482 – 2505 ท่านพระครูลาว อารทฺธวิริโย พุทธศักราช 2505 – 2542 พระอธิการราห์มัน สิริมงฺคโล พุทธศักราช 2552 – ปัจจุบัน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
).indd 217
217
12/5/2563 12:15:26
AD.indd 218
19/5/2563 13:13:09
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดคงคาเลี้ยว เดิมทีวดั คงคาเลีย้ ว เป็นป่าช้าสถานทีเ่ ผาศพของชาวบ้านม่วงงาม ได้มีหลวงพ่อนุ้ย ธมฺมมุนี ซึ่งขณะนั้นได้จ�ำพรรษาอยู่ ณ วัดม่วงงาม ต้องการสถานทีเ่ พือ่ นัง่ วิปสั สนากรรมฐาน จึงเดินทางมายังป่าช้าแห่งนี้ และต่อจากนั้นก็ได้อยู่จ�ำพรรษาเรื่อยมา ป่าช้าแห่งนี้จึงมีชื่อว่าวัดกุฎ และเมื่อมีการขอตั้งวัดโดยนายไสว นุธรรมโชติเป็นผู้ขอจัดตั้งวัด ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2556 ตั้ง อยู่ที่บ้านม่วงงาม หมู่ที่ 7 ต�ำบล ม่วงงาม อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เหตุผลที่ชื่อวัดคงคาเลี้ยว เพราะสภาพที่ดิน แปลงนี้ มีสายน�้ำวกวน ไปมา สภาพและที่ตั้งวัดในปัจจุบัน ทิศเหนือ ติดกับทางสาธารณา ประโยชน์ ทิศใต้ ติดโรงเรียนบ้านม่ว งงาม ทิศ ตะวันออก ติดโฉนด ที่ดินเลขที่ 8,20 และทางสาธารณะประโยชน์ ทิศตะวันตก ติดโฉนด ที่ดินเลขที่ 34,156,157,28,44 เสนาสนะและสิ่งปลูกสร้าง
-วิหารรูปเหมือนเฒ่าหลวงนุย้ หลวงพ่อนุ้ย ธมฺมุนี ลักษณะอาคาร คอนกรีต สูง 5 เมตร กว้าง 6 เมตร ยาว 4 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2541
-ศาลาการเปรียญ ลักษณะอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก หลังคาไม้ เนือ้ แข็ง สูง 4 เมตร กว้าง 15 เมตร ยาว 24 เมตร สร้างเมือ่ ปี พ.ศ. 2541 -อุโบสถ ลักษณะอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง 29 เมตร ยาว 23 เมตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2557 -กุฏิที่พักสงฆ์จ�ำนวน 6 หลัง -พระประธานในอุ โ บสถพระมิ่ ง มงคลเททองหล่ อ ด้ ว ยความ ศรัทธาของชาวบ้านและพุทธศาสนิกชน พระประธานรองในอุโบสถ แกะจากไม้มะขามลงรักปิดทองโดย ดร.ค�ำนวล ค�ำมณี ร่วมกับ สมาคมศิษย์เก่ามหาวชิราวุธ ร่วมสร้าง ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. เฒ่าหลวงนุ้ย ธมฺมุณี พ.ศ. 2462 - 2498 2. หลวงพ่อแก้ว พ.ศ. 2498 - 2499 3. หลวงพ่อเห้ง พ.ศ. 2499 - 2500 4. หลวงพ่อเส้ง สุวรรณโณ พ.ศ. 2500 - 2531 5. พระปลัดอิ้น ฉนฺทโก พ.ศ. 2531 - 2535 6. พระมหาสกล อภิปุญฺโญ พ.ศ. 2535 - 2558 7.พระสมุห์พัสกร ฐิตเปโม พ.ศ. 2558 - ปัจจุบัน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 219
219
12/5/2563 11:50:40
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดห้วยพุด พระครูวิจิตรศีลาจาร ดร.(ประสิทธิ์ ชาตวณฺโณ) เจ้าอาวาสวัดห้วยพุด และรองเจ้าคณะจังหวัดสงขลา,สตูล(ธ) วัดห้วยพุด ตั้งอยู่ที่ ต�ำบลร�ำแดง อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ตั้งขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ.2452 เนื้อที่ตั้งวัด 6 ไร่ นายยกซ้วน คงไข่ เป็นผู้ถวาย โดยพระสมุห์เอียด (ไม่ทราบฉายา) วัดป่าขวาง กับนายจันทร์แก้ว บุณยประวิทย์ เป็นผู้ติดต่อวัดห้วยพุดตั้งอยู่ระหว่างหมู่บ้านขมวน และบ้านหนองโด ติดคลองสะทิงหม้อ ทะลุออกทะเลสาบสงขลา
ต่อมามีผศู้ รัทธาซือ้ ทีด่ นิ ถวายวัดอีกสองครัง้ ครัง้ แรก ท่านพระครูจนั ทวิมล (คิน่ จนฺทคุตโฺ ต) พร้อมด้วยประชาชน บริจาคทรัพย์ 18,000 บาท ซื้อที่ดินทางทิศใต้ 3 ไร่ 1 งาน 70 ตาราวา ครั้งที่สอง พระเทพกิตติเมธี วัดเสนหา นครปฐม บริจาคทุนส่วนตัว 18,000 บาท ซื้อที่ดิน ทางทิศเหนือ 9 ไร่ เศษ รวมเป็นเนื้อที่วัดทั้งหมด 18 ไร่ ตั้งแต่พระครูวิจิตรศีลาจาร ดร. เป็น เจ้าอาวาสได้รับความอุปถัมภ์จากพระธรรมกวี(ลือชัย คุณวุฑฺโฒ) เจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสวิหาร กรุงเทพมหานคร ตลอดมา
220
(2
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 220
12/5/2563 15:08:34
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. พระสมุห์เอียด (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ.2452 -2454 2. พระเรือง (ไม่ทราบฉายา) พ.ศ.2454 – 2455 3. พระหนู สุทสฺสี พ.ศ.2455 - 2459 4. พระคล้าย สริกฺขโก พ.ศ.2459 - 2465 5. พระครูจันทวิมล (คิ่น จนฺทคุตฺโต) พ.ศ. 2465 6. พระครูวิจิตรศีลาจาร ดร.(ประสิทธิ์ ชาตวณฺโณ) เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
ประวัติพระครูวิจิตรศีลาจาร ดร.(ประสิทธิ์ ชาตวณฺโณ)
พระครูวิจิตรศีลาจาร ฉายา ชาตวณฺโณ อายุ 55 พรรษา 32 น.ธ.เอก ป.ธ.- วัดห้วยพุด ต�ำบลร�ำแดง อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดห้วยพุด และรองเจ้าคณะจังหวัด สงขลา,สตูล(ธ) สถานะเดิม ชื่อนายประสิทธิ์ นามสกุล กิติโกฬะ เกิดวัน 3 ฯ 9 ค�่ำ ปีมะเส็ง วันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2508 บิดา นายจ้วน มารดา นางอิ่ม บ้านเลขที่ 44 หมู่ที่ 2 ต�ำบลร�ำแดง อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 5 ฯ 8 ปีเถาะ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ที่ วั ด ห้ ว ยพุ ด โดยมี พ ระครู สุ ธ รรมประสาธน์ เ ป็ น พระอุ ป ั ช ฌาย์ พระธรรมกวี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูสุธรรมประภัสร เป็น พระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ • พ.ศ. 2524 ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2527 ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนแจ้งวิทยา อ�ำเภอเมือง จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2532 สอบได้น.ธ.เอก จากส�ำนักเรียนวัดห้วยพุด อ�ำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2548 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะพุทธศาสตร์ สาขาศาสนา จากมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิทยาเขต นครศรีธรรมราช • พ.ศ. 2552 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ศึกษาศาสตร์ มหาบัญฑิต สาขา การบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2557 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาปรัชญา และศาสนา จากมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร สมณศักดิ์ • พ.ศ. 2535 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูสังฆรักประสิทธิ์ • พ.ศ. 2537 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูวินัยธรประสิทธิ์ • พ.ศ. 2540 ได้รับแต่งตั้งเป็น พระครูวิจิตรศีลาจาร SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(2
).indd 221
221
16/5/2563 13:34:15
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ) WAT RATCHAPRADITSATHAN (WAT PHA KO) พระครูปุญญาพิศาล (วิชาญชัย) ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดพะโคะ เจ้าคณะอำ�เภอสทิงพระ PHRA KHRU POONYA PHISAN (WICHANCHAI) TAKES A POSITION OF ABBOT AT WAT PHA KO AND SATING PHRA DISTRICT MONK DEAN
222
4
+
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 222
12/5/2563 16:21:04
วั ด ราชประดิ ษ ฐาน หรื อ เดิ ม ชาวบ้ า นเรี ย กว่ า “วั ด พะโคะ” ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เขตปกครอง คณะสงฆ์ ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ภาค 18 มีเนื้อที่ ประมาณ 32 ไร่ มีที่ธรณีสงฆ์ 2 แปลง เนื้อที่ 37 ไร่ 2 งาน 13 ตารางวา วั ด ราชประดิ ษ ฐาน เป็ น วั ด หลวงที่ ส ร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยา ตอนต้ น ตั้ ง อยู ่ บ นเขาพะโคะ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในสมั ย ที่ เ มื อ งพั ท ลุ ง (ที่สทิงพระ) เป็นศูนย์กลางการปกครองชุมชน ได้ถูกพวกโจรสลัด มาลายูรุกราน ท�ำลายเมืองจนวัดวาอารามเสียหาย พระมหากษัตริย์ จึ ง ใช้ วั ด พะโคะเป็ น ศู น ย์ ก ลางป้ อ งกั น การรุ ก ราน มี ห ลั ก ฐาน เรื่ อ ง "พระราชทานที่กัลปนาวัดคาบสมุทรสทิงปุระ" แก่วัดพะโคะและบรรดา วัดที่ขึ้นแก่วัดพะโคะ และในสมัยสมเด็จเจ้าพะโคะก็ได้ขอ กัลปนาที่ดิน ให้กับวัดพะโคะ โดยในครั้งนี้มีหลวงปู่ทวด เป็นผู้บูรณปฏิสังขรณ์จนดี ขึ้น ที่วัดพะโคะจะมีโบราณสถาน โบราณวัตถุ ประดิษฐานอยู่มากมาย ได้แก่ Wat Ratchapraditsathan or was called “Wat Pha Ko” by locals is located at village no.6, Chumphon sub-district, Sating Phra district, Songkhla province. It belongs to 18th administrative district of Maha Nikaya clergy, Chomphon sub-district, Sating Phra district, Songkhla province. The scale of this temple’s land is around 12.64 acres. There are 2 plots of monastery land which the scale combined is 14.62 acres and 852 square meters. Wat Ratchapraditsathan is royal temple that was built in early period of Ayutthaya kingdom. It is situated on Pha Ko Mountain. It had significant role in Phatthalung City (The current Sating Phra), it was the center of community administration. It was invaded by pirates from Melayu which they had destroyed many buildings including temples in the city. Ruler of the city at that time then used Wat Pha Ko as head quarter for defending the invasion. There is an evidence about this event in the record “Conferring land in Satingpura peninsula to build temple” which during the reign of Somdet Chao Pha Ko, he had conferred land to Wat Pha Ko and other temples that belonged to Wat Pha Ko. In addition, Luang Pu Thaut was the one who reconstructed Wat Pha Ko. Therefore, many ancient remains and antiques are placed in this temple as follows:
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
+
.indd 223
223
12/5/2563 16:21:15
พระสุวรรณมาลิกเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุ ระหว่าง พ.ศ. 2091 – พ.ศ. 2111 พระยาด�ำธ�ำรงกษัตริย์ (บางแห่ง กล่าวว่าพระยาธรรมรังคัล) ได้นิมนต์พระมหาอโนมทัสสี พระณไสยมุย และ พระธรรมกาวา ให้ไปน�ำกระบวนพระมหาธาตุเมืองลังกา มาสร้าง เจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุ ต่อมามีโจรสลัดเข้าโจมตีหลายครั้ง จนกระทั่งเป็น วัดร้าง จนมาถึงในสมัยสมเด็จพระราชมุนีรามคุณูปรมาจารย์ (สมเด็จ เจ้าพะโคะ) ได้บูรณะวัดพะโคะ เนื่องจากได้รับการพระราชอุปถัมภ์จาก พระเจ้าอยู่หัวสละพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ ให้บูรณะพระเจดีย์ศรีรัตน มหาธาตุเป็นเจดีย์ทรงลังกาอยู่บนฐานจัตุรัสขนาดใหญ่ 3 ชั้น สูง 1 เส้น 5 วา พร้อมกับหล่อยอดพระเจดีย์ด้วยเบ็ญจะโลหะยาว 3 วา 3 ศอก
Phra Suwanmalik Chedi Sri Rattanamahadhat
During B.E.2091 – B.E.2111, Phraya Dam Thamrongkasat (Some record mentioned him as Phraya Thamrangkal) had invited Phra Maha Anomatassi, Phra Nasaiyamui and Phra Thamkawa to imitate the great stupa of Lanka and bring it back in order to build Chedi Sri Rattanamahadhat. After that, this temple had been invaded many times by pirates until it became abandoned temple. Then, during the reign of Somdet Phraratchamuniram Kunuporramachan (Somdet Chao Pha Ko), he had restored Wat Pha Ko by spending his personal money for this restoration which he ordered craftsmen to reconstruct Phra Chedi Sri Rattanamahadhat into Ceylonese stupa on the square base. It is a huge three-story stupa which is 50 meters in height. Moreover, he also ordered craftsmen to cast the pinnacle of stupa by using five kinds of metal (steel, mercury, copper, silver and gold) which is 7.5 meters in height. 224
4
+
พระพุทธไสยาสน์ พระพุทธรูปปางปรินิพานขนาดใหญ่ ยาว 18 เมตร กว้าง 2.50 เมตร เป็ น พระพุ ท ธรู ป ปู น ปั ้ น ลงรั ก ปิ ด ทอง ฝี มื อ ช่ า งท้ อ งถิ่ น กล่ า วกั น ว่ า “ผแดงศรีทิรม” ได้ขอที่บนเขาวัดราชประดิษฐาน สร้างพระพุทธไสยาสน์ แล้วได้ถวายพระนามว่า “พระพุทธโคตรมะ” หรือ “พระโคตรมะ”
Reclining Buddha image
Buddha image in attitude of nirvana, 18 meters in length and 2.50 meters in width. It is a stucco Buddha image covered with lacquer and gold leaves, built by local craftsman. According to hearsay, “Phadaeng Srithirom” had asked for land on Wat Ratchapraditsathan Mountain for building reclining Buddha image and named it as “Phra Buddha Gotama” or “Phra Gotama”.
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
.indd 224
12/5/2563 16:21:21
ประวัติ พระครูปุญญาพิศาล
ลูกแก้วคู่บารมีหลวงปู่ทวด
ชื่อ พระครูปุญญาพิศาล (วิชาญชัย) ฉายา กตปุญญฺโญ อายุ 49 พรรษา 28 วิทยฐานะ น.ธ.เอก วุฒิทางโลก ปริญญาโท (สาขาบริหารการ ศึกษา) วัดพะโคะ ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สถานะเดิม ชื่อ วิชาญชัย แก้วประดิษฐ์ เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2513 บิดา-มารดา นายเรืองชัย นางถาวร แก้วประดิษฐ์ บ้านเลขที่ 150 ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา บรรพชา วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ณ วัดศรีสว่างวงศ์ ต�ำบล หาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พระอุปชั ฌาย์ พระครูอมรสมานคุณ วัดโคกสมานคุณ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา อุปสมบท วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ณ วัดศรีสว่างวงศ์ ต�ำบล หาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พระอุปัชฌาย์ พระครูประสิทธิ์ สีลาจาร วัดชลธารประสิทธิ์ ต�ำบลคู่เต่า อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พระกรรมวาจาจารย์ พระครูโอภาสสิริวรรณ วัดศรีสว่างวงศ์ ต�ำบล หาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พระอนุสาวนาจารย์ พระครู สมุห์คล่อง ฉายา กมฺพโล วัดศรีสว่างวงศ์ ต�ำบลหาดใหญ่ อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา วิทยฐานะ • พ.ศ. 2544 สอบได้นักธรรมชั้นเอก จากส�ำนักเรียนคณะจังหวัดสงขลา วัดพะโคะ ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา • พ.ศ. 2556 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโท สาขาการบริหารการศึกษา จากมหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา
เป็นโบราณวัตถุสงิ่ ศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ ารมีแห่งสมเด็จเจ้าพะโคะ (หลวงปูท่ วด) เมื่อครั้งที่ท่านบูรณปฏิสังขรณ์องค์พระเจดีย์ได้น�ำดวงแก้คู่บารมีบรรจุไว้ บนยอดสุวรรณมาลิกเจดีย์ศรีรัตนมหาธาตุอีกด้วย หลังจากที่หลวงปู่ทวด จากวัดพะโคะไป เกิดฟ้าผ่ายอดเจดีย์ดวงแก้วตกลงมา มีเด็กๆ มาพบแล้ว น�ำกลับไปบ้าน เมื่อถึงประตูชัยเกิดมีงูใหญ่ขัดขวางไว้ เด็กจึงน�ำลูกแก้วไป คืนให้แก่เจ้าอาวาส ปัจจุบันลูกแก้วประดิษฐานอยู่ในเจดีย์แก้ว กุฏิเจ้า อาวาส
Majestic marble of Luang Pu Tuat
It is an ancient, sacred and majestic object of Somdet Chao Pha Ko (Luang Pu Thuat) when the time that he reconstructed the stupa, he had also contained his majestic marble on the top of Suwanmalik Chedi Sri Rattanamahadhat. After he left Wat Pha Ko, there was lightning struck the top of this stupa which made marble fell down. After that, some children found it and brought it to their homes, but when they arrived at triumphal arch, there was a big snake blocking their way. They then brought it back to the temple by giving it abbot. At present, this marble is enshrined in glass pagoda, dwelling of abbot. SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
4
+
.indd 225
225
12/5/2563 16:21:26
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดจะทิ้งพระ Chathing phra Temple โบราณสถาน เจดีย์พระมหาธาตุ HISTORIC SITE : PHRA MAHATHAT PAGODA พระครูนันทสารกิจ ( จิรัฏฐ์ อานนฺโท) เจ้าอาวาสวัดจะทิ้งพระ PHRAKHRU NANTHASANKIT (CHIRAT ANNON THO) HE IS THE ABBOT OF CHATHING PHRA TEMPLE. วัดจะทิ้งพระ Chathing phra Temple ตั้งอยู่เลขที่ 14 หมู่ที่ 4 ต�ำบลจะทิ้งพระ อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เป็นวัดที่ส�ำคัญมากแห่งหนึ่งของลุ่มน�้ำทะเลสาบสงขลา ปรากฏร่องรอยของศิลปกรรมที่ส�ำคัญภายในวัดหลายๆ อย่าง ในปีพ.ศ. 2448 พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เคยเสด็จมายังวัดแห่งนี้ วัดจะทิ้งพระประกาศขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานขาติในหนังสือราชกิจจานุเบกษา ( ฉบับพิเศษ) เล่มที่ 92 ตอนที่ 136 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2518 หน้า 20 เนื้อที่โบราณสถาน 9 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา Chathing Phra Temple Located at No. 14, Village No. 4, Chathing phra Sub-district, Sathing Phra District, Songkhla Province. This temple is one of the most important temples of the Songkhla Lake because there are many important arts in the temple. In 1905, King Chulalongkorn had visited this temple. Chathing Phra Temple named as a national historic site in the Government Gazette (Special Edition), No 92, Chapter 136, Date 21 July 1975, page 20, the area of the historic site 9 Rai 3 Ngan 20 square Wah. 226
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 226
16/5/2563 13:35:58
“จะทิ้งพระ” กร่อนมาจากค�ำว่า “สทิงพระ สทิงปุระ หรือสทิงพา ราณศรี” ชื่อเมืองโบราณซึ่งเป็นเมืองสองฝั่งทะเล ที่มีความเจริญรุ่งเรือง ของเมือง “พัทลุง” และ “เมืองสงขลา” ซึ่งตั้งอยู่ที่อ�ำเภอสทิงพระใน ปัจจุบัน คนในสมัยโบราณเล่าต่อๆ กันมาว่าเจ้าหญิงเหมชาลา ซึ่งพูดกับ เจ้าชายทันทกุมาร น้องชาย “จะทิ้งพระธาตุเสียแล้วหรือ” มานับเป็นชื่อ ของสถานที่ วัด บ้าน อ�ำเภอ ในปัจจุบัน The word "Chathing Phra" (that is mean abandon monk) is from the word "Sathing Phra Sathingpura" is the name of the ancient city that has the prosperity of the city "Phatthalung" and "Mueang Songkhla" located in Sathing Phra District for the present. In ancient times, the story has been told that there is a princess of Chala talked to the prince. "Will the Phra That be abandoned?" so this is the story of the name of the current location of the temple.
พระราชวิจารย์ของสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ในพระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ในกรุงเทพมหานคร เมื่ อ วั น ที่ 25 เมษายน พ.ศ.2434 ว่ า จะทิ้ ง พระ กร่ อ นมาจากค� ำ ว่ า “จันทิพระ” ตามส�ำเนียงชาวนอก ซึ่งเป็นชื่อของวัดมหายานในเกาะชวา (ประเทศอินโดนีเซีย) เมือ่ ครัง้ เสด็จประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้เสด็จวัดจะทิง้ พระ เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2434 ส่วนวัดจะทิ้งพระนั้น สมัยก่อนมี 2 วัด อยู่คนละฟากถนน ส่วนชื่ออ�ำเภอสทิงพระ ตามประวัติกล่าวว่า อ�ำเภอ สทิงพระในสมัยก่อนคือเมืองปละท่า ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมถึงอ�ำเภอ ระโนด (ขณะนั้นเป็นกิ่งอ�ำเภอ) แต่ราว พ.ศ. 2460 ได้มีผู้ลอบวางเพลิงที่ ว่าการอ�ำเภอปละท่าเสียหายมาก The writing of King Chulalongkorn (Rama 5) to the Crown Prince that lived in Bangkok on 25 April 1891 that he would use the word "Chan di pra" according to the foreigner accent which is the name of Mahayana Temple in Java Island (Indonesia). King Chulalongkorn visited Chathing phra temple on April 24, 1891, at that time the temple has 2 parts that located on each side of the road. As for the name of Sathing Phra District According to history says Sathing Phra District in the past was the city of Pala Tha which has territory covering Ranot district (At that time it was a sub-district), but around 1917, there was an arsonist at the Pala Tha District Office got so damaged.
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 227
227
12/5/2563 15:22:15
228
(4
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
+
).indd 228
12/5/2563 15:22:23
ในปี พ.ศ.2467 สมัยเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ด�ำรงต�ำแหน่ง อุปราชปักษ์ใต้ มาตรวจราชการได้เล็งเห็นว่าการคมนาคมของเมืองแถบ นี้ไม่สะดวก จึงได้ยกกิ่งอ�ำเภอระโนดขึ้นเป็นอ�ำเภอ และลดฐานะอ�ำเภอ ปละท่าเป็นกิ่งอ�ำเภอ ขึ้นตรงกับอ�ำเภอเมืองสงขลา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กิ่งอ�ำเภอจะทิ้งพระ” และได้ร่นอาณาเขตทิศเหนือมาอยู่ที่ต�ำบลชุมพล ทิศใต้ติดต่ออ�ำเภอเมืองสงขลา (อ�ำเภอสิงหนครในปัจจุบัน) In 1924 during the reign of Krom Luang , Lop Buri Ramet Holding the position of the Southern Viceroy came to inspect the government, saw that the transportation of this area was not convenient, Therefore exalted the sub-district of Ranot into a district and reduce the status of Amphoe Pa La Tha to sub-district to be directly with Mueang Songkhla District. Changed its name to "Chathing Phra Sub-district" and has moved the northern boundary to Chumphon Subdistrict and moved the southern boundary Amphoe Mueang Songkhla (Currently Singha Nakorn District ต่อมาเมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ทางราชการได้ยกฐานะกิง่ อ�ำเภอจะทิง้ พระขึน้ เป็นอ�ำเภอจะทิง้ พระ และเมือ่ พ.ศ. 2504 สมัยนายพจน์ อินทรวิเชียร เป็นนายอ�ำเภอ จะทิง้ พระ ได้เปลีย่ นชือ่ จากอ�ำเภอจะทิง้ พระเป็น “อ�ำเภอสทิงพระ” Later, on 1st November 1947, the government exalted the Chathing Phra sub-district to the district, and when 1961, when Mr. Poj Intarawichien was the sheriff, Chathing Phra District changed the name to "Sathing Phra District"
โบราณวัตถุที่ส�ำคัญ Important antiques 1. เจดีย์พระมหาธาตุ เป็นเจดีย์ก่อด้วยอิฐ ดิน และอิฐปะการัง สอด้วย ดิน ไม่มีระบบฐาน เดิมเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สูงจากฐานถึงยอด 20 เมตร ฐานกว้างด้านละ 17 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางขององค์ระฆัง 6 เมตร สันนิษฐานว่าผู้สร้างคือ พระยากรงทอง เจ้าเมืองสทิงพาราณสี สร้างเสร็จ เมื่อ วันพฤหัสบดี เดือน 8 ขึ้น 15 ค�่ำปีกุน พ.ศ.1542 ตรงกับสมัยศรีวิชัย 1. Phra Mahathat Pagoda The pagoda is made of bricks, soil and coral bricks, in the beginning this Pagoda is square shape. Height from the base to the top of 20 meters, the base width of 17 meters on each side. In the top of Pagoda there is a bell which is 6 meters, it is assumed that the creator of the Pagoda is Phraya Khong Thong of Varanasi city. This pagoda completed on Thursday 15th in 1542, Srivichai period. 2. เจดียอ์ งค์เล็ก เป็นเจดียก์ อ่ ด้วยอิฐดินเผาและอิฐปะการังสอด้วยดิน สูง 10 เมตร ฐานรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กว้าง 5 เมตร องค์ระฆังแบบโอคว�ำ่ อิทธิพล ศิลปะลังกา ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 เมตร 2. Small pagoda is a chedi made of clay bricks and coral bricks with a 10 meter high and 5 meters wide, bell style. Influence from Lanka, diameter is 3 meters. 3. วิหารพระพุทธ ชาวบ้านเรียกกันว่า “วิหารพ่อเฒ่านอน” เป็นวิหาร ทีก่ อ่ ด้วยอิฐถือปูน ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 14.80 เมตร สันนิษฐานว่า สร้าง ขึ้ น ในสมั ย อยุ ธ ยา ต่ อ มาได้ หั ก พั ง ลง พระครู วิ จ ารย์ ศี ล คุ ณ (ชู ) อดี ต เจ้าอาวาสวัดจะทิ้งพระ จึงได้บูรณะตัววิหารขึ้นใหม่ 3. The Buddha's temple, called by the villagers "Pho Tao Non Temple" is a brick temple with a width of 7 meters, length 14.80 meters, Assumed built in the Ayutthaya period. Later broken down, Therefore PhraKru Sinkhun (Chu), the former abbot of Wat Chathing Phra renovated the temple.
SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(4
+
).indd 229
229
12/5/2563 15:22:34
AD.indd 230
19/5/2563 13:14:23
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดคูขุด พระครูวิสุทธิกิจจารักษ์ (เปลี่ยน นิลรัตน์) เจ้าอาวาสวัดคูขุด เจ้าคณะตำ�บลคูขุด วัดคูขุด ตั้งอยู่เลขที่ 243 บ้านคูขุด ถนนคูขุด - สทิงพระ หมู่ที่ 4 ต�ำบลคูขุด อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ เลขที่ 346 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ประมาณ พ.ศ. 2310 กว้าง 60 เมตร ยาว 80 เมตร วัดคูขุด สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2310 เดิมตั้งอยู่ทางตอนเหนือไกลออก ไปประมาณ 2 กิ โ ลเมตร ปั จ จุ บั น เป็ น วั ด ร้ า งชื่ อ “วั ด โตนดรอบ” เมื่อประชาชนอพยพไปอยู่ที่อื่น ท�ำให้วัดโตนดรอบขาดการท�ำนุบ�ำรุง จึงได้ย้ายมาสร้างวัดใหม่ท่ีบ้านคูขุด บริเวณรอบๆวัดเป็นคูที่ชาวบ้าน ขุดไว้เป็นล�ำคูยาว ปัจจุบันชาวบ้านได้ขุดลอกให้เปลี่ยนสภาพมาเป็น ล�ำคลอง เมื่อได้สร้างวัดใหม่ขึ้นมาจึงตั้งชื่อว่า “วัดคูขุด” วัดคูขุดเปิดสอนพระปริยัติธรรม มาตั้งแต่ พ.ศ. 2521 นอกจากนี้ยัง ได้ ร ่ ว มกั บ ชาวบ้ า นน� ำ โดย ขุ น ภั ก ดี ภู บ าล ก� ำ นั น ต� ำ บลคู ขุ ด จั ด สร้ า ง โรงเรียนประถมศึกษาขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีอาคารเรียน 1 หลัง
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส
1. หลวงพ่อเฮ่า 2. ท่านซุ้น 3. พ่อท่านด�ำ 4. พระอธิการฉ้วน 5. พระครูอโศกธรรมคุณ 6. พระสมุห์เปลี่ยน วิสุทฺธิ 7. พระครูวิสุทธิกิจจารักษ์ (เปลี่ยน นิลรัตน์)
พ.ศ. 2310 - 2360 พ.ศ. 2361 - 2410 พ.ศ. 2411 - 2435 พ.ศ. 2436 - 2479 พ.ศ. 2480 - 2520 พ.ศ. 2521 เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
อาคารเสนาสนะและปูชนียวัตถุ
1. อุโบสถ สร้าง พ.ศ. 2526 2. ศาลาการเปรียญ สร้าง พ.ศ. 2509 3. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง 4. พระพุทธรูป ปางสมาธิ 3 องค์ 5. พระพุทธรูปประทับยืนมี 4 องค์ ปางอุ้มบาตร 2 องค์ ปางห้ามญาติ 2 องค์ SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
).indd 231
231
12/5/2563 13:34:55
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดประดู่หอม พระครูสุทธิธรรมวาที ดำ�รงตำ�แหน่งเจ้าอาวาสวัดประดู่หอม เจ้าคณะตำ�บลคลองรี
วัดประดู่หอม ตั้งอยู่เลขที่ 41 บ้านประดู่หอม หมู่ที่ 1 ต�ำบลคลองรี อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 6 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับที่ดินของนายแก้ว และ นางแก้ว ทิศใต้ ติดต่อกับที่ดินของนายเหมือน และ ป่าช้า ทิศตะวันออก ติดต่อกับที่ดินของนางฝ้าย และ นางแก้ว ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลสาบสงขลา วัดประดู่หอม สร้างขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2225 เดิมมีนาม ว่า “วัดบ้านเพิง” มักจะว่างเว้นจากพระสงฆ์เป็นประจ�ำ ต่อมาจึงได้เปลี่ยนนามมาเป็น “วัดประดู่หอม” โดยยึด เอาต้นประดู่ใหญ่เป็นสัญลักษณ์ ได้รับพระราชทาน วิ สุ ง คามสี ม าประมาณ พ.ศ. 2450 ได้ ผู ก พั ท ธสี ม า ประมาณ พ.ศ. 2462 เกี่ยวกับการศึกษา มีโรงเรียนประถมศึกษาของทาง ราชการตั้ ง อยู ่ ใ นวั ด โดยมี พ ระครู เ หลื อ ร่ ว มกั บ ประชาชนจัดสร้างขึ้น เปิดท�ำการสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2483 232
(1
SBL บันทึกประเทศไทย I สงขลา
).indd 232
12/5/2563 13:31:15
Facebook SBL
History of buddhism....
วัดสุวรรณาราม (บ่อดานออก) พระครูวินัยธรนิคม โฆสโก เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม (บ่อดานออก)
วัดสุวรรณาราม (บ่อดานออก) ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 1 หมูท่ ี่ 2 ต�ำบลบ่อดาน อ�ำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา สังกัดคณะ สงฆ์มหานิกาย ชื่อเดิมๆ คือวัดยางเลย ต�ำบลบ่อดาน อ�ำเภอปละท่าใน ก็คอื อ�ำเภอสทิงพระ ในปัจจุบนั มีเนือ้ ที่ ตั้งวัด 29 ไร่ 49 ตารางวา สร้างเป็นวัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2433 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2451 นีค่ อื ข้อมูลทีม่ หี ลักฐานยืนยัน ซึง่ เป็นอุโบสถหลังเก่า หลังจากนัน้ ยุคปัจจุบนั พ.ศ. 2541 จึงเริม่ สร้างวัดขึน้ มาใหม่ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา อุโบสถหลังใหม่ วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555 มีเสนาสนะ ดังนี้ อุโบสถ กว้าง 8 เมตร ยาว 12 เมตร ศาลาการเปรียญ ลักษณะทรงไทยกว้าง 13 เมตร ยาว 22 เมตร โรงครัว กว้าง 20 เมตร ยาว 10 เมตร สร้างซุม้ ประตู โดยด้านสอง ด้านมีหอกลอง หอระฆัง กุฏสิ งฆ์ 6 หลัง มีหน่วยอบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบล ศูนย์การศึกษานอกระบบต�ำบล มีตลาดนัด
ท�ำเนียบเจ้าอาวาส 1. เจ้าอธิการพวง ธัมมะปาโล 2. พระใบฎีกาแล อภิลาโส 3. พระครูวินัยธรนิคม โฆสโก
พ.ศ. - - พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 - ปัจจุบัน SONGKHLA I SBL บันทึกประเทศไทย
(1
).indd 233
233
14/5/2563 13:22:38
SBL บันทึกประเทศไทย
Website : www.sbl.co.th
Ad-SBL Magazine Online Sukhothai.indd 56
06/07/61 14:25:11
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
WWW.SBL.CO.TH
.indd 236
19/5/2563 13:21:40