นิตยสารแนะน�ำแหล่งท่องเที่ยวและของดีจังหวัดอุดรธานี ประจ�ำปี 2562
วัดทัวไทย
SBL บันทึกประเทศไทย
UDONTHANI สัมผัสเมืองแห่งจิตใจ
EXCLUSIVE
“เปิดประตูแสงสว่างแห่งปัญญา” บันทึกเส้นทางพบ ส�ำนักพระพุ ทธศาสนาจังหวัด
“พุ ทธอุทยาน มหารุกขปาริชาติภูก้อน” วัดป่าภูก้อน บ้านนาค�ำใหญ่ ต�ำบลบ้านก้อง อ�ำเภอนายูง
นายธงชัย พลพวก
ผู้อ�ำนวยการ พศจ.อุดรธานี
UNDER HIS GRACIOUSNESS ปกปักษ์พันธุกรรมพื ช ให้ปลอดภัยเพื่ อลูกหลานไทย “โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพื ช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ”
Vol.9 Issue 96/2019
www.issuu.com
_
.indd 3
เครดิตภาพ @popumon คุณธีรศักดิ์ ศักดิ์ศรีทวี
9/9/2562 15:31:45
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 2
. - 10/09/2562 15:54:49 PM
วัดป่าศรีคุณาราม “วัดป่าศรีคุณาราม” หรือชาวบ้านเรียกกันว่า “วัดป่าศรีคุณรัตนาราม” วัดเก่าแก่อุดรธานี บรรยากาศดี เงียบสงบ อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ
UDON THANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 3
3
. - 10/09/2562 15:54:50 PM
H I STORY OF BU DDHI S M
THAILAND DREAM DESTINATIONS กาลครั้งหนึ่ง…ต้องไป
วัดป่าภูก้อน (พุทธอุทยานมหารุกขปาริชาติภูก้อน)
4
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4-9.indd 4
10/9/2562 14:31:06
“วัดป่าภูก้อน”
PAYING HOMAGE TO PHRA PHUTTHA SAIYAT LOKKANAT SATSADA MAHA MUNI WAT PA PHU KON วัดป่าภูก้อน พุทธสถานและสถานที่ปฏิบัติธรรมท่ามกลางธรรมชาติ สัมผัสวิถีแห่งพุทธะ สัมผัสธรรมชาติอันแสนอุดมสมบูรณ์ และเงียบสงบ ชมงดงามของศาสนสถาปัตย์ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพุทธศิลป์ โอบล้อมด้วยขุนเขาและป่าไม้นานาพันธุ์
วัดป่าภูก้อน ตั้งอยู่ในเขต ป่ า สงวนแห่ ง ชาติ ป่ า นายู ง และป่าน�้ำโสม ก�ำเนิดขึ้นโดย สมณธรรมและหน่วยงานภาครัฐ อุปถัมภกด้วยความพากเพียร ของอุบาสิกาคุณแม่ปิยวรรณ และตระกูลวีรวรรณ พร้อมลูก หลานต่ า งสกุ ล ศิ ษ ยานุ ศิ ษ ย์ พร้อมชาวบ้านจากจตุรทิศได้ ร่วมส่งเสริม ด้วยการด�ำริชอบ และตระหนักถึงคุณประโยชน์ อันยิ่งใหญ่ของธรรมชาติและ ป่าต้นน�ำ้ ล�ำธาร ก�ำลังถูกท�ำลาย
วัดป่าภูก้อนได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าท�ำประโยชน์หรืออยู่อาศัยในเขตป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อจัดตั้งพุทธอุทยานมีเนื้อที่ 3,000 ไร่ ได้รับขนานนามว่า “พุทธอุทยานมหารุกขปาริชาติภูก้อน” โดยได้รับความเมตตากรุณาจากองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร และคณะสงฆ์ ให้การสนับสนุนส่งเสริมเป็นพละก�ำลังใจ และได้จัดสร้างองค์พระปฐมรัตนบูรพาจารย์มหาเจดีย์ ซึง่ เป็น 1 ใน “โครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542” เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ กับทั้งได้อัญเชิญตราสัญลักษณ์ และ พระบรมรูปหล่อพระองค์ทา่ น พร้อมรูปแกะสลักหินอ่อนของบูรพาจารย์สายกรรมฐานมาประดิษฐาน โดยมี องค์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์ประธานประกอบพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ในพระเกศ “พระร่วงรุ่งโรจน์ศรีบูรพา” พระประธานหน้าองค์พระมหาเจดีย์ เมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2544 และต่อมาวัดป่าภูก้อนยังได้ รับมอบประกาศนียบัตรจากกรมป่าไม้ เป็นวัดอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจ�ำปี พ.ศ. 2544 ประเภทดูแลรักษาป่าดั้งเดิม ตั้งแต่ 501 ไร่ขึ้นไป UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4-9.indd 5
5
10/9/2562 14:31:07
โครงการสร้างพระพุทธไสยาสน์ โลกนาถศาสดามหามุนี และวิหารสังฆบิดร เนื่องในมหามงคลสมัย ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงเจริญ พระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ 84 พรรษา ในปีพ.ศ.2554 คณะพุทธบริษทั ผู้มีจิตน้อมส�ำนึกระลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้ จึงพร้อมใจกันจัดสร้างพระพุทธไสยาสน์หินอ่อนขาว พร้อมวิหาร หวังให้เป็นเอกลักษณ์ทางพุทธศิลป์แห่งสมัยรัชกาลที่ 9 โดยเฉพาะ เพือ่ ประดิษฐานไว้บนยอดภูเขาในพุทธอุทยานมหารุกขปาริชาติภกู อ้ น มีระยะเวลาการสร้าง 7 ปี ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549-2555 งบประมาณ การสร้างรวม 599,900,000 บาท พระพุทธไสยาสน์ ท�ำด้วยหินอ่อนขาวจากเมืองคาร์ราร่า ประเทศอิตาลี มีความยาว 20 เมตร น�ำ้ หนักรวม ประมาณ 700 ตัน โดยใช้หนิ อ่อนจ�ำนวน 43 ก้อน น�ำ้ หนักก้อนละประมาณ 15-30 ตัน น�ำเข้ามาแกะสลักที่วัดป่าภูก้อนแล้วยกขึ้นเรียงบนฐานซ้อนกัน 3 ชัน้ เป็นองค์พระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานอยูบ่ นยอดเขาอาสนะ พุทธะ ใช้งบประมาณสร้างพระพุทธไสยาสน์ราว 52 ล้านบาท และ สร้างวิหารครอบองค์พระพุทธไสยาสน์ไว้อีกชั้นหนึ่ง มีขนาดกว้าง 39 เมตร ยาว 49 เมตร พร้อมศาลาราย 5 หลัง เป็นสถาปัตยกรรม ไทยประยุกต์แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ งบประมาณก่อสร้างวิหารและ อาคารรอบลานเขาราว 537,900,000 บาท พิธีสมโภชองค์พระพุทธไสยาสน์และวิหารสังฆบิดรได้จัดขึ้น เมื่อวันที่ 17-23 มิถุนายน พ.ศ. 2559 เพื่อน้อมถวายพระราช กุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เนื่องในวโรกาส ครองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา โดยได้รับความ เมตตาจากสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในปัจจุบัน) เป็นประธานสงฆ์ท�ำพิธีบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ ในพระเกศพระพุทธไสยาสน์ และพระบาท สมเด็ จ พระปรเมนทร รามาธิ บ ดี ศรี สินทร มหาวชิร าลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ นอกจากจะทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า พัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี ทรงด�ำรงต�ำแหน่งองค์ประธาน อุปถัมภ์แล้ว ยังทรงโปรดเกล้าฯ ประทานอนุญาตเสด็จเป็นองค์ ประธานฝ่ายฆราวาส ในพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศ พระพุทธไสยาสน์ เมื่อครั้งมหาสมโภช ณ วิหารสังฆบิดร เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559 อีกด้วย
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4-9.indd 6
10/9/2562 14:31:16
วัดป่าภูก้อนและคณะกรรมการได้น้อมอัญเชิญตราสัญลักษณ์ งานเฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระบรมชนกาธิ เ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาส พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 มาประดับไว้ทผี่ า้ ทิพย์ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อพระพุทธ ไสยาสน์ว่า “พระพุทธไสยาสน์โลกนาถศาสดามหามุนี” แปลว่า “พระพุทธรูปปางไสยาสน์แห่งพระมหามุนีผู้ทรงเป็นบรมครู ที่ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก” ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2552 นั บ เป็ น พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ที่ พ ระบาท สมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานไฟพระราชทานเพลิงศพ นางปิ ยวรรณ วี ร วรรณ ณ เมรุชวั่ คราว วัดป่าภูกอ้ น จังหวัดอุดรธานี โดยได้รบั ความเมตตา จากสมเด็จพระวันรัต (พฺรหฺมคุตโต) เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานสงฆ์ เชิญผ้าไตรประทานจ�ำนวน 6 ไตร จากสมเด็จ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทอดถวายแก่พระสงฆ์ในพิธี โดยมีนายวัฒนา พุฒชิ าติ ผูว้ า่ ราชการ จังหวัดอุดรธานี เป็นประธานในการพระราชทานเพลิงศพ และเชิญ ดอกไม้จนั ทน์ประทานจาก สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี เมื่อวันเสาร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2561
คุณแม่ปิยวรรณ วีรวรรณ ผู้สร้างวัดป่าภูก้อน และพระพุทธไสยาสน์ อุ บ าสิ ก าคุ ณ แม่ ป ิ ย วรรณ วี ร วรรณ ผู ้ ส ร้ า งวั ด ป่ า ภู ก ้ อ น และพระพุ ท ธไสยาสน์ ละสั ง ขารอย่ า งสงบด้ ว ยโรคมะเร็ ง ณ โรงพยาบาลศิรริ าช ปิยมหาราชการุณย์ เมือ่ วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 สิริอายุ 70 ปี 9 เดือน 20 วัน ในปัจจุบันนี้ วัดป่าภูก้อนอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการ กองทุ น พระพุ ท ธไสยาสน์ แ ละพระวิ ห ารสั ง ฆบิ ด ร และคณะ เจ้าหน้าทีว่ ดั ป่าภูกอ้ น พร้อมชาวบ้านร่วมรักษา ส่งเสริมอาณาเขต ให้ด�ำรงอยู่ด้วยความสมดุลของป่าไม้ ที่ทวีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น ทุกคืนวัน โดยบุคคลผู้มีความศรัทธาและระลึกคุณของสรรพสิ่ง ทั้งหลายของชาติและแผ่นดิน อันเป็นที่ก�ำเนิดแห่งชีวิต โดยมี คุณพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องส�ำนึก และมีพระมหากรุณาธิคุณ ของพระมหากษัตริย์ที่ชาวไทยทุกคนควรทดแทน เป็นก�ำลังใจ ส่งเสริมพระสงฆ์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบ ให้ดำ� รงปฏิปทาของพระป่า กรรมฐาน เพื่อบูชาคุณ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จนถึงที่สุด
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4-9.indd 7
7
10/9/2562 14:31:17
WAT PA PHU KON “RECLINING BUDDHA IMAGE OF PHRA MAHA MUNI WHO IS THE GREAT TEACHER AND THE SUPPORTER OF HUMANITY” AT SANGKHABIDON, UNIQUE TRAIT OF BUDDHIST ART IN THE REIGN OF KING RAMA IX Due to an auspicious time, on the occasion of 7th cycle or 84th birthday anniversary 5 December in B.E.2554 of Phra Bat Somdet Phra Boromchanakathibet Phra Maha Bhumibol Adulyadej Borommanatthabophit lot of Buddhists who appreciated and remembered his infinite royal grace jointly made Reclining Buddha image from white marble together with Buddha image hall which they wished this Buddha image to be unique trait of Buddhist art in the reign of King Rama IX especially. Moreover, they would like to place this Buddha image and Buddha image hall on top of the mountain in Maharukkha Parichat Phu Kon Buddhist Park which it took 7 years of construction, started in B.E.2549 and finished in B.E.2555, the total budget of this construction was 599,900,000 THB. Phra Phuttha Saiyat -This reclining Buddha image is made of white marble from Carrara, Italy. The scale of this Buddha image is 20 meters in length and its weight is approximately 700 tons. which there were 43 marbles used on the construction and the weight of each marble was around 15-30 tons. These marbles were brought to Wat Pa Phu Kon which all marbles were placed on the base and piled up into 3 stories to build Phra Phuttha Saiyat that was enshrined on top of Asanaphuttha Mountain. The budget of Phra Phuttha Saiyat’s construction was approximately 52 million THB. After that, the Buddha image hall was built in order to cover Phra Phuttha Saiyat which the scale of this hall is 39 meters in width and 49 meters in length. Moreover, they also built 5 pavilions around Buddha image hall and around mountain court. All of structures were built in applied Thai architecture style of Rattanakosin. Budget of all constructions were approximately 537.9 million THB. 8
The celebration ceremony for Phra Phuttha Saiyat and Sangkhabidon Buddha image hall was arranged on 17-23 June B.E.2559 which Somdet Phra Maha Muniwong of Wat Ratchabophit Sathitmahasimaram (Somdet Phra Ariyavongsagatanana, the current supreme patriarch of Thailand), kindly enough to be the leader of Buddhist monk faction for the relics-containing in the head of Phra Phuttha Saiyat ceremony. Furthermore, Phrabat Somdet Phra Vajira Klao Chao Yu Hua (Rama X) when he was crown prince Vajiralongkorn was kind enough to assign Princess Phatchara Kitiyapha Narenthira Thepphayawadi to preside over this ceremony. Apart from that, he also kind enough to assign her to be the leader of layperson faction for this ceremony on the occasion of great celebration at Sangkhabidon Buddha image hall on 17th June B.E.2559. Wat Pa Phu Kon and the committee were respectfully engaged symbolic emblem of glorification of the late king Bhumibol, on the auspicious occasion of the late king’s 7th cycle birthday anniversary 5th December B.E.2554, to decorate on the cloth-like adornment at the base of Buddha image which the late king Rama IX was kind enough to confer this reclining Buddha image as “Phra Phuttha Saiyat Lokkanat Satsada Maha Muni” which means “The reclining Buddha image of Phra Maha Muni who is the great teacher and the supporter of humanity” since 12th September B.E.2552. It was an immensely royal grace that King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua was kind enough to bestow the cremation fire upon Mrs.Piyawan Viravan at temporary crematory, Wat Pa Phu Kon, Udon Thani province. She also received
the kindness of Somdet Phra Wannarat (Phromkhutto), abbot of Wat Bowonniwet Vihara, to be the leader of Buddhist monk who offered 6 set of monk’s robes which granted from Somdet Phra Ariyavongsagatanana, the supreme patriarch, to the monks who performed a ceremony which Mr.Wattana Phutthichat, UdonThani governor, presided over the royally sponsored cremation ceremony and respectfully engaged dok mai chan which it was granted by Princess Phatchara Kitiyapha Narenthira Thepphayawadi on Saturday, 20 October B.E.2561. (Dok Mai Chan is kind of wood flower to be placed on the site of cremation) Mrs.Piyawan Viravan, the founder of Wat Pa Phu Kon and Phra Phuttha Saiyat, passed away peacefully due to cancer at Siriraj Piyamahakarun Hospital on 20 July B.E.2561 when she was 70 years, 9 months and 20 days old. At present, Wat Pa Phu Kon is in the care of Phra Phuttha Saiyat and Phra Vihara Sankhabidon fund committee and party of staffs of Wat Pa Phu Kon, together with locals. All of them jointly preserve and support the temple’s territory to remain the balance of forest that its abundance is increasing every day and night. The faithful people who remember gratitude of various things of nation and land which is the birth place of life. Then, the gratitude of Buddhism will help us realize and royal grace of the King of Thailand that every Thais should compensated will be the moral support for Buddhist monk who observe the precepts and conduct themselves nicely in order to help them maintain model of practices of monk who focus on meditation which are Lora Buddha, Buddha’s teaching and Buddhist monk.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4-9.indd 8
12/9/2562 15:31:22
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4-9.indd 9
9
12/9/2562 15:31:22
10
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 10
. - 12/09/2562 15:14:06 PM
WAT PA SRI
KHUNARAM วัดป่าศรีคุณาราม เมืองไทยนั้นได้ขึ้นชื่อว่าเป็นเมืองพุทธ โดดเด่นในเรื่องของศาสนาและวัฒนธรรม มีความเกี่ยวข้อง กับพระพุทธศาสนามานานหลายร้อยปี ในเมืองไทยมีวัดวาอารามเป็นจ�ำนวนมาก ให้ผู้คนเข้าไป กราบไหว้ ถือศีล หรือปฏิบัติธรรม เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และสั่งสอนให้เราเป็นคนดี
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 11
11
. - 12/09/2562 15:14:07 PM
ภายในบริเวณวัดนั้นมีพื้นที่ กว้างขวาง บรรยากาศร่มรื่น สงบร่มเย็น เหมาะแก่การ ท�ำสมาธิ หรือ เจริญภาวนา สถานที่ตั้งวัดนี้ ตั้งแต่โบราณ ประชาชนทั้งหลาย เรียก บริเวณนี้ว่า “เหล่าปลาฝา” (ตะพาบน�้ำ) เพราะมีหิน รูปปลาฝาครอบสี่เหลี่ยม เจาะเป็นโพรงส�ำหรับเก็บ สิ่งของอันมีค่า ครั้งสมัย โบราณ มีผู้คนเล่าขานเรื่อง หินรูปปลาฝานั้น แต่ได้ สูญหายไปแล้ว คงเหลือไว้แต่ ฐานสี่เหลี่ยมเจาะเป็นโพรง เท่านั้น ซึ่งเวลานี้ยังอยู่ ที่วัดป่าศรีคุณารามนี้เอง
เจดีย์ยุตตะธัมมานุสรณ์ (หลวงปู่บุญเกิด ยุตฺตธมฺโม) พระประธาน ในอุโบสถ
12
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
พระอาจารย์ประจักษ์ ภูริปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีคุณาราม
Pause.indd 12
. - 12/09/2562 15:14:14 PM
ติดต่อสอบถาม บ้านจีต ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี 042 256 111 WATPASIKHUNARAM
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
คุณพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องส�ำนึก และมีพระมหากรุณาธิคุณ
Pause.indd 13
13
. - 12/09/2562 15:14:19 PM
THE STAR
Hotel
โรงแรมเดอะสตาร์
บริการห้องพักรายวัน รายเดือน ตลอด 24 ชัว่ โมง ราคาเริม่ ต้นที่ 350 บาท อยู่ ใจกลางเมือง สะอาด สะดวก ปลอดภัย พร้อมกล้องวงจรปิดทุกชั้น และ รอบบริเวณอาคาร มีลานจอดรถยนต์ร่มรื่นไม่ร้อนไว้บริการ ห้องพักทันสมัย ทั้งห้องเตียงเดี่ยว เตียงคู่ หอมละมุน ตกแต่งเฟอร์นเิ จอร์ครบครัน ติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศเย็นสบาย ในยามพักผ่อน ทีวแี อลซีดี 32 นิว้ ทุกห้อง เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ในห้องน�ำ้ โอ่โถงแสนสบายและผ่อนคลาย อินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง ที่จะท�ำให้งานหรือการเอนเตอร์เทนของคุณผ่านจอไม่สะดุดกับบรรยากาศล้อมรอบที่ สงบ สะดวกสบาย และผ่อนคลาย พร้อมชา กาแฟบริการ
14
2
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 14
10/9/2562 14:35:22
ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่บ้านท่านเอง ด้วยสิ่งแวดล้อมที่ดีและการบริการที่ประทับใจ อยู่ใกล้กับห้างสรรพสินค้าหลายแห่งอาทิ โลตัส บิ๊กซี และยังใกล้กับสถานที่ส�ำคัญหลายแห่ง คือ สนามบินอุดรธานี ไม่เกิน 3 นาที จากทีพ ่ กั ถึง บขส.แห่งที่ 2 ไม่เกิน 5 นาที อยูต่ ดิ กับโรงแรม อุดรแอร์พอร์ต ส�ำหรับผูท้ ี่ ไม่ ได้นำ� รถส่วนตัวมา ก็สามารถเดินทางโดยรถประจ�ำทางสาย 15 และจากสนามบินอุดรธานีมีรถอุดรซิตี้บัสบริการรับ-ส่งผู้ โดยสารในเขตเทศบาลอุดรธานี ราคา 20 บาท ตลอดสาย
เราพร้อมตลอด 24 ชัว่ โมง เพือ่ คุณและ คนทีร่ กั แวะมาพักกับเรา อบอุน่ ใจทัง้ ไป และกลับ
เดอะ สตาร์ โฮเทล อุดรธานี
(THE STAR HOTEL UDONTHANI)
99/11 ถนนอุดรธานี-หนองบัวล�ำภู ต�ำบลนาดี อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 thestarhotelud www.thestarhotelud.com
ส�ำรองห้องพักได้ที่
042-214-700 081-954-4430 084-044-9108 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 15
15
10/9/2562 14:35:33
TALK
EDITOR’S
ทีมงานนิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับพิเศษ มีความอบอุ่นใจที่ ได้บันทึกเส้นทางท่องเที่ยวทางโลกและ ทางธรรมในจังหวัดอุดรธานี อีสานตอนบน ซึ่งเป็นอุทยาน แห่งธรรม มรดกโลก แหล่งอารยธรรมชุมชนทีต่ งั้ ถิน่ ฐานของ มนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์มากว่า 5,000-7,000 ปี ซึ่งมี ประวัติความเป็นมาในการปักหมุดเผยแผ่พระพุทธศาสนา มายาวนานเป็นพันปีจนถึงปัจจุบนั ก็ยงั สัมผัสได้ถงึ พระบาท อุ่นๆ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อได้ท่องถิ่น พระกรรมฐานพระป่าและพระบ้านแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ได้ชว่ ยกันรักษาแก่นธรรมโดยมีวฒ ั นธรรมพืน้ บ้านหลาก หลายผสานไว้อย่างงดงาม ซึง่ ท�ำให้การบูรณาการพระพุทธ ศาสนาให้ มี ล มหายใจรั บ ใช้ สั ง คมอาเซี ย นและโลกอย่ า ง น�ำสมัยไร้พรมแดน เราได้รบั การต้อนรับด้วยไมตรีจติ อย่างอิม่ ใจตลอดการ เดิ น ทางในนามของนิ ต ยสาร SBL ผมขอถื อ โอกาสนี้ กราบขอบพระคุณท่านผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธ ศาสนาจังหวัดอุดรธานี “นายธงชัย พลพวก” ตลอดจน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ศาสนสถาน บริษทั ห้างร้าน ฯลฯ ซึง่ กรุณาสนับสนุนให้ทมี งานด�ำเนินการ จั ด ท� ำ นิ ต ยสาร SBL บั น ทึ ก ประเทศไทย ฉบั บ จั ง หวั ด อุดรธานี ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี ท้ายนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย บารมีแห่ง พระธรรม จงปกปั ก รั ก ษาทุ ก ท่ า นประสบแต่ ค วามสุ ข ความเจริญในทุกหน้าทีก่ ารงานของชีวติ ให้รงุ่ เรืองยิง่ ๆ ขึน้ ไป เป็นแรงบันดาลใจให้กับคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นผู้นำ� AEC 4.0 ในอาเซียน ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมและขันติธรรมที่จะ ท�ำให้ก้าวไปข้างพร้อมคู่ค้าที่เป็นมิตรตลอดเส้นทางอย่าง มั่นคงตลอดไป
อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์
บรรณาธิการอ�ำนวยการ นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
Editor's talk.indd 16
10/9/2562 10:06:05
UDONTHANI ฉบับที่ 96 จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2562
คณะผู้บริหาร
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
คณะที่ปรึกษา ศ.ดร.กฤช เพิ่มทันจิตต์ พลเอกสรชัช วรปัญญา ดร.นิเวศน์ กันไทยราษฎร์ ดร.ประยุทธ คงเฉลิมวัฒน์ ดร.ชาญ ธาระวาส ดร.สุมิท แช่มประสิท ดร.วัลลภ อารีรบ ดร.พิชัย ทรัพย์เกิด ดร.ไอศูรย์ ดีรัตน์ ดร.สุเทษณ์ จันทรุกขา ดร.อรรถสิทธิ์ ตันติวิรัชกุล
บรรณาธิการอ�ำนวยการ อัคราพงษ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการงานบุคคล พงษ์ศักดิ์ พรณัฐวุฒิกุล วนัสกฤษณ์ ศิลปรังสรรค์ บรรณาธิการการตลาด ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ ฝ่ายกฎหมาย สมคิด หวังเชิดชูวงศ์ ทวิช อมรนิมิตร
กองบรรณาธิการ
นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายประสานงานโครงการ ภาครัฐและเอกชน
ผู้จัดการ
ภูษิต วิทยา
คณะทีมงาน
ถาวร เวปุละ พร้อมพงศ์ สืบด้วง สรวิชญ์ อังกูรศุภเศรษฐ์
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ผู้จัดการฝ่ายประสานงานข้อมูล นันท์ธนาดา พลพวก
ฝ่ายประสานงานข้อมูล
ศุภญา บุญช่วยชีพ นลัชนันท์ เทียมเกตุทวีโชค
นักเขียน
คุณิตา สุวรรณโรจน์ มนสิกุล โอวาทเภสัชช์
ปัณณ์ฐาโชค ธนสานสิทธิโชติ
บรรณาธิการการตลาด นิตยสาร SBL บันทึกประเทศไทย
ฝ่ายศิลปกรรม
ผู้จัดการฝ่ายศิลปกรรม พัชรา ค�ำมี
กราฟิกดีไซน์
พิมพ์พิสุทธิ์ พังจูนันท์ วรเชษฐ สมประสงค์ ธีระวัฒน์ ระวาดชัย
ช่างภาพ
ชัยวิชญ์ แสงใส ปณต ปิติจารุวิศาล กิติวัฒน์ ทิศมั่ง วิทยา ประเสริฐสังข์
ตัดต่อวีดีโอ
วัชรกรณ์ พรหมจรรย์ ฝ่ายบัญชี / การเงิน
บัญชี
ปัฐมาภรณ์ แสงบุราณ
ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สุจิตรา แดนแก้วนิต
บริษัท สมาร์ท บิซิเนส ไลน์ จ�ำกัด 9/4-6 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทร. 0-2522-7171 แฟกซ์. 0-2971-7747 Website
Editor's talk.indd 17
FACEBOOK : SBL บันทึกประเทศไทย
EMAIL : sbl2553@gmail.com
การเงิน
ชวัลชา นกขุนทอง วนิดา ศรีปัญญา
www.sbl.co.th
10/9/2562 10:06:05
VEETHARA BOUTIQUE HOTEL พั กผ่ อ นชิ ล ล์ ๆ ในวั นสบายๆ ใจกลางเมื อง
โรงแรมวีธรา บูธีค โฮเทล (VEETHARA BOUTIQUE HOTEL)
ตั้งอยู่ใจกลางเมือง เดินทางสะดวก อยู่ติดกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ตั้งอยู่เยื้องกับศูนย์การค้าตึกคอมอุดรธานี และใกล้กับ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่า อุดรธานี ห่างจากศูนย์การค้ายูดีทาวน์เพียง 900 เมตร ซึ่งเป็นศูนย์กลางการช้อปปิ้งและสถานบันเทิงที่สามารถเติมเต็ม ความต้องการของท่านได้อย่างสมบูรณ์แบบ
18
วีธรา บูธีค โฮเทล (VEETHARA BOUTIQUE HOTEL)
SBL บันทึกประเทศไทย I น่า92/9 น ถนนอุดรดุษฎี ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่. 042-249-226 , 092-474-5445
2
.indd 18
VEETHARA BOUTIQUE HOTEL
10/9/2562 14:37:45
WELCOME TO VEETHARA BOUTIQUE HOTEL
วีธรา บูธีค โฮเทล (VEETHARA BOUTIQUE HOTEL) เป็นโรงแรมหรูอยู่สบายใจกลางเมือง เป็นที่ชื่นชอบกันใน กลุ่มนักธุรกิจ นักท่องเที่ยว และนักเดินทาง เมื่อจะเดินทางมา จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเป็นที่รู้จักในนามประตูสู่แดนอีสาน เป็นหนึ่ง ในหลายๆจั ง หวั ด ในภาคอี ส านที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า และ การท่องเทีย่ ว นอกจากนีย้ งั เป็นประตูสลู่ าวและเวียดนามตอนบน ไม่ว่าท่านจะเดินทางเพื่อพักผ่อนประชุมสัมมนา เพื่อพบปะ สังสรรค์ หรืองานวิวาห์
ห้องพักแบบสแตนดาร์ด มีจ�ำนวน 60 ห้อง โดยพื้นที่ทั้งหมดได้รับการตกแต่งแบบร่วมสมัย แต่ละห้องประกอบด้วยห้องน�้ำโดยแยกห้องอาบน�้ำ ออกจากกัน, รีโมทเครือ่ งปรับอากาศ, ทีวจี อแอลอีดพ ี ร้อมด้วยเคเบิลทีว,ี ระบบความปลอดภัย, ไดร์เป่าผม, รองเท้าแตะ, กาน�ำ้ ร้อนส�ำหรับชงชา และ กาแฟ
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ที่จอดรถกว้างขวาง ฟรี บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย (WI-FI) ฟรี ห้องอาหาร/ภัตตาคาร ห้องปลอดบุหรี่
อิ่มอร่อยไปกับบุฟเฟ่ต์อาหารกลางวันที่ วีธรา บูธีค โฮเทล ห้องอาหารวีธรา ตั้งอยู่ในโรงแรมวีธรา บูธีค โฮเทล บริการอาหารไทยบุฟเฟ่ต์มื้อกลางวัน พร้อมของหวานและน�้ำสมุนไพร ทุกวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ เวลา 11.00-14.00 น. ในราคาสุทธิเพียง 129 บาท พร้อมอาหารไทยมากกว่า 20 รายการ อาทิ น�้ำพริกต่างๆ ต้ม ผัด แกง ทอด ส้มต�ำ ขนมจีน น�้ำยา ข้าวซอย ของหวาน ผลไม้รวมและอื่นๆ อีกมากมาย
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 19
19
10/9/2562 14:37:59
ฉบับที่ 96 จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2562
UDONTHANI 2019
CONTENTS
จังหวัดอุดรธานี
วิถีพุทธ วิถีท่องเที่ยว หนึ่งเดียวกัน
อีสานตอนบนในดินแดนส�ำคัญแห่งหนึ่งของประวัติศาสตร์ อุทยานแห่งธรรม มรดกโลก ณ อ�ำเภอบ้านผือ แหล่งอารยธรรมชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ มากว่า 5,000-7,000 ปี
4วัดป่าภูก้อน ตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่านายูงและป่าน�้ำโสม ก�ำเนิดขึ้นโดยสมณธรรมและหน่วยงานภาครัฐ อุปถัมภกด้วยความพากเพียรของอุบาสิกา คุณแม่ปิยวรรณ และ ตระกูลวีรวรรณ พร้อมลูกหลาน ต่างสกุล ศิษยานุศิษย์พร้อมชาวบ้านจากจตุรทิศได้ร่วมส่งเสริม ด้วยการด�ำริชอบและตระหนักถึง คุณประโยชน์อันยิ่งใหญ่ของธรรมชาติและป่าต้นน�้ำล�ำธาร ซึ่งก�ำลังถูกท�ำลาย
10
วัดป่าศรีคุณาราม
22
ใต้ร่มพระบารมี
28
วัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง
32
วัดสุนทรประดิษฐ์
36
วัดศรีคุณเมือง(บ้านเหล่า)
40
วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง
EBook UDONTHANI
.indd 20
42
บันทึกเส้นทางพบส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุดรธานี นายธงชัย พลพวก
10/9/2562 14:34:06
วัดป่าภูก้อน
4
46
78
96
116
66
80
97
120
68
83
100
126
70
84
104
130
73
90
106
132
74
92
110
134
บันทึกเส้นทางท่องเที่ยว วัดป่าโนนทอง วัดไร่สวรรค์ วัดศรีนคราราม วัดโนนสะอาด วัดโพธิ์ศรีคุณเมือง
.indd 21
วัดจอมมะณีย์ วัดศรีบุญเรือง วัดศิรินทราวาส วัดสว่างกระเบื้อง วัดศรีธาตุประมัญชา(ป่าแมว) วัดบูรพา
วัดศรีสง่าธรรม วัดอาสาพัฒนาราม วัดไวกูลฐาราม วัดท่าโสม(ภูนาหลาว) วัดโคเขตตาราม วัดภูทองเทพนิมิต
วัดสะอาดเรืองศรี วัดป่าภูก้อน วัดพระแท่น วัดป่าดงยางพรพิบูลย์ วัดกู่แก้วรัตนาราม (วัดกู่แก้ว) วัดป่าศรีคุณาราม
10/9/2562 14:34:12
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ
ปกปักษ์พันธุกรรมพืชในพื้นที่ป่าธรรมชาติที่ใกล้สูญพันธุ์ ให้คงอยู่ในที่ปลอดภัย และ จัดท�ำระบบข้อมูลให้สื่อถึงกันได้ทั่วประเทศ เพื่อให้เยาวชนได้เห็นความส�ำคัญต่อไปในอนาคต
โครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจากพระราชด� ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) สนอง พระราชด�ำริโดย จังหวัดอุดรธานี เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ความเข้าใจ และท�ำให้ตระหนักถึงความส�ำคัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่ มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติที่ น�ำผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัดท�ำระบบ ข้อมูลพันธุกรรมพืชให้แพร่หลายสามารถสื่อถึงกันได้ทั่วประเทศ ความเป็นมาของโครงการ สืบเนือ่ งจากสายพระเนตรอันยาวไกลของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช รั ช กาลที่ 9 ตั้ ง แต่ เ มื่ อ ปี พ .ศ. 2503 ที่ ท รงมี พระราชด�ำริให้อนุรกั ษ์ตน้ ยางนา และทรงให้รวบรวมพืชพันธุไ์ ม้ของภาคต่างๆ ทัว่ ประเทศปลูกไว้ในสวนจิตรลดา โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจาก 22
พระราชด�ำริฯ จึงเป็นโครงการที่เกิดขึ้นเพื่อสนองแนวพระราชด�ำริ และ สืบสานพระราชปณิธานแห่งพระองค์ โดยปรากฏในรูปแบบกิจกรรมต่างๆ ประกอบด้วยกิจกรรมปกปักษ์พนั ธุกรรมพืชในพืน้ ทีป่ า่ ธรรมชาติ การส�ำรวจ รวบรวมพันธุกรรมพืชทีม่ แี นวโน้มว่าใกล้สญ ู พันธุ์ อันเกิดจากการเปลีย่ นแปลง ของสภาพแวดล้อม การน�ำพันธุ์พืชที่รวบรวมเพาะปลูก และรักษาในพื้นที่ ที่เหมาะสมทางกายภาพ และปลอดภัยจากการรุกราน การอนุรักษ์ และ ใช้ประโยชน์พนั ธุกรรมพืช โครงการศึกษาประเมินพันธุกรรมพืชในด้านต่างๆ ให้ทราบองค์ประกอบ คุณสมบัติ และการใช้ประโยชน์พืชพรรณ การจัดท�ำ ระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชด้วยคอมพิวเตอร์ การวางแผน และพัฒนาพันธุกรรม พืชระยะยาว 30 - 50 ปี ตลอดจนจัดกิจกรรมการสร้างจิตส�ำนึกในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชแก่กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ได้แก่ เยาวชน บุคคลทั่วไป ให้มีความเข้าใจ ตระหนักในความส�ำคัญของพันธุกรรมพืช เพื่อให้เกิด ความปีติ และส�ำนึกที่จะร่วมมือร่วมใจกันอนุรักษ์ พืชพรรณของไทย ให้คงอยู่เป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าประจ�ำชาติสืบไป
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 22
. - 12/09/2562 15:07:19 PM
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) สนองพระราชด�ำริโดย จังหวัดอุดรธานี กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด
อย่างไรก็ตามเมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ประโยชน์ที่เคยได้รับจากพรรณพืช อาจแปรไปตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ความต้องการของสังคม และ ผู้บริโภค การส�ำรวจค้นคว้า และวิจัยตามหลักวิทยาการสมัยใหม่เกี่ยวกับ พฤกษศาสตร์ ดั ง ที่ โ ครงการอนุ รั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช อั น เนื่ อ งมาจาก พระราชด�ำริ ฯ ด�ำเนินการอยู่ในขณะนี้จึงสามารถท�ำให้คนไทยได้ทราบถึง คุณประโยชน์ของพืชพรรณหลายชนิดซึ่งบางชนิดเป็นที่รู้จักแพร่หลาย มี ก ารน� ำ มาใช้ ป ระโยชน์ แ ต่ ข าดการดู แ ลรั ก ษาจนปริ ม าณลดลง และ เกือบสูญพันธุ์จากถิ่นก�ำเนิด พืชบางชนิดมีมาช้านาน แต่มิได้เป็นที่ล่วงรู้ ถึงคุณประโยชน์จนอาจถูกละเลย หรือถูกท�ำลายไปอย่างน่าเสียดายโดย โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริฯ (อพ.สธ.) ปัจจุบันมีการด�ำเนินงานใน 8 กิจกรรม แบ่งตามกรอบการด�ำเนินงาน 3 กรอบ ได้แก่ 1. กรอบการเรียนรู้ทรัพยากร เพื่อพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ การด�ำเนินงานด้านการพัฒนาและด้านการบริหารจัดการด้านปกปักทรัพยากร ของประเทศ จึงต้องมีการเรียนรู้ทรัพยากรในพื้นที่ป่าธรรมชาติดั้งเดิม ทีป่ กปักรักษาไว้ โดยมีกจิ กรรมทีด่ ำ� เนินงานได้แก่ กิจกรรมปกปักพันธุกรรมพืช, กิจกรรมส�ำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช และกิจกรรมปลูกรักษาพันธุกรรมพืช 2. กรอบการใช้ประโยชน์ เพือ่ พัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน
ศึกษาวิจัยและประเมินศักยภาพของทรัพยากรต่างๆ ใน อพ.สธ. ทั้งในด้าน การพัฒนาและการบริหารจัดการให้การด�ำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเอื้ออ�ำนวยประโยชน์ต่อกัน รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ อพ.สธ. ให้เป็นเอกภาพ สมบูรณ์และเป็นปัจจุบัน โดยบรรลุจุดมุ่งหมาย ตามแนวพระราชด�ำริ โดยมีกิจกรรมที่ด�ำเนินงานได้แก่ กิจกรรมอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช, กิจกรรมศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช และ กิจกรรมวางแผนพัฒนาพันธุ์พืช 3. กรอบการสร้างจิตส�ำนึก เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่างๆ โดยเฉพาะเยาวชน นักเรียน นิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพืชพรรณไม้ และการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชของประเทศ จนตระหนักถึงความส�ำคัญและประโยชน์ของการอนุรักษ์ทรัพยากรที่ก่อ ให้เกิดประโยชน์ต่อมหาชนชาวไทย โดยมีกิจกรรมที่ด�ำเนินงานได้แก่ กิจกรรมสร้างจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช และ กิจกรรมพิเศษ สนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทั้ ง หมดนี้ ก็ เ พื่ อ ปกปั ก ษ์ พั น ธุ ก รรมพื ช ในพื้ น ที่ ป ่ า ธรรมชาติ ที่ ใ กล้ สูญพัน ธุ์ให้ค งอยู่ในที่ปลอดภัย และจัดท�ำระบบข้อ มูลให้สื่อ ถึงกันได้ ทั่วประเทศ เพื่อให้เยาวชนได้เห็นความส�ำคัญต่อไปในอนาคต
ส�ำนักงานจังหวัดอุดรธานี ศาลากลางจังหวัดอุดรธานี ชั้น 3 ถนนอธิบดี ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์ : 0-4222-1318, 0-4222-4573 โทรสาร : 042-224-573 EMAIL : stgudon@gmail.com UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 23
23
. - 12/09/2562 15:07:22 PM
Phetchabun เพชรบูรณ์
ดินแดน สวิตเซอร์แลนด์เมืองไทย ธรรมะ(ชาติ) กลางขุนเขา ณ วัดพระธาตุผาซ่อนแก้ว
www.sbl.co.th SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 137
SBL MAGAZINE
SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 17:32:45 PM
Let’s Go Thailand With SBL บันทึกประเทศไทย
HISTORY OF THE PROVINCE
TOURIST ATTRACTIONS SBL บันทึกประเทศไทย
Let's go thailand.indd 13
www.sbl.co.th SBL MAGAZINE
THE VILLAGERS IN THE PROVINCE SBL บันทึกประเทศไทย
. - 19/04/2562 17:32:24 PM
โรงแรมจันทร์เจ้า
JANJAO
Hotel
“...ที่พักคุณภาพ บริการชั้นเลิศ ใจกลางเมือง”
“..เราให้บริการเพื่อ ความสะดวกสบายสูงสุด ส�ำหรับผู้เข้าพักทุกท่าน อย่างน่าประทับใจ..” โรงแรมจันทร์เจ้า (JANJAO HOTEL) ได้รบั ความนิยมจากทัง้ นักธุรกิจ และนักท่องเทีย่ ว เนือ่ งจากให้บริการ ที่พักคุณภาพในการช้อบปิ้ง, กิจกรรมทางศาสนา, Transportation Hub ของอุดรธานีที่ทุกท่านประทับใจ ด้วยท�ำเลที่ตั้งซึ่งอยู่ห่างจากกลางใจเมือง เพียงเล็กน้อย ผู้เข้าพักจึงเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ในเมืองได้ อย่างรวดเร็วและง่ายดาย 26
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
.indd 26
10/9/2562 14:42:47
โลเคชั่นยอดเยี่ยม ห้องพักสะอาดตา พักผ่อนสบายใจ ผู้เข้า พักจะได้รับการบริการชั้นเลิศ และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน จาก JANJAO HOTEL ซงึ่ ปรารถนาให้แขกทุกท่านได้รบั ความสะดวก สบายที่สุดขณะเข้าพัก ที่พักมี Wi-Fi ทุกห้อง (ฟรี), บริการท�ำ ความสะอาดรายวัน, บริการแท็กซี่, แผนกต้อนรับ (24 ชั่วโมง) “ โรงแรมจันทร์เจ้า (JANJAO HOTEL) โรงแรมคุณภาพดีเพื่อความสุขของคุณ ”
โรงแรมจันทร์เจ้า (JANJAO HOTEL) 666 หมู่ที่ 6 บ้านเดื่อ ซอย 5 ถนนโพนพิสัย ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 : Janjao Hotel Udonthani
2
.indd 27
ส�ำรองห้องพักได้ที่
042-931118 091-057-1616 CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
27
10/9/2562 14:42:58
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง พระราชสารโกศล (วงศ์ไทย สุภวํโส) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี (ธรรมยุต) วัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 22 ถนนเพาะนิยม ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติก นิกาย อยู่ทิศตะวันตกของหนองประจักษ์ มีเนื้อที่ 40 ไร่ ความเป็นมา : ย้อนกลับไปราว พ.ศ. 2449 มหาอ�ำมาตย์ตรีพระยาศรีสรุ ยิ ราช วรานุวตั ร (โพธิ เนติโพธิ) สมุหเทศาภิบาลมณฑลอุดร ได้ชกั ชวนชาวบ้านหมากแข้ง ชาวเมืองอุดรธานีและใกล้เคียง ร่วมกันสร้างวัดเพิม่ ในเขตเทศบาลอีกวัด โดยเลือก พืน้ ทีบ่ ริเวณตะวันตกของหนองนาเกลือ (ภายหลังเปลีย่ นชือ่ เป็น หนองประจักษ์ ศิลปาคม เป็นทีต่ งั้ วัดใหม่ เนือ่ งจากบริเวณนัน้ เป็นป่าละเมาะ มีความร่มรืน่ เงียบ สงบ อยู่ไม่ไกลจากหมู่บ้านมากนัก เมื่อถากถางป่าออกพอควรแก่การสร้างกุฏิ ศาลาโรงธรรม ส�ำหรับเป็นทีบ่ ำ� เพ็ญบุญ และส�ำหรับเป็นสถานทีถ่ อื น�ำ้ พระพิพฒ ั น์ สัตยา (พิธีถือน�้ำ อันหมายถึงการดื่มน�้ำที่เสกแล้วเพื่อสาบานตน) ประจ�ำปีของ หน่วยงานราชการแล้วเสร็จพอจะเป็นส�ำนักสงฆ์ จึงได้กราบอาราธนา พระครู ธรรมวิ น ยานุ ยุ ต (หนู ) เจ้ า คณะเมื อ งอุ ด รธานี จากวั ด มั ช ฌิ ม าวาส มาเป็ น เจ้าอาวาสวัดก่อน
28
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4
.indd 28
10/9/2562 13:49:30
ในระยะแรก ชาวบ้านพากันเรียกว่า “วัดใหม่” เพราะเรียกวัดมัชฌิมาวาสว่า “วัดเก่า” เนื่องจากพบร่องรอยว่า วัดมัชฌิ มาวาส เคยเป็นวัดร้างมาก่อน จากนัน้ ไม่นาน พระยาศรี สุริ ย ราชวรานุวัตรเห็นควรว่า วัดแห่งนีน้ า่ จะมีชอื่ อย่างเป็นทางการเสียที จึงได้น�ำความขึ้นกราบทูลขอพระราชทาน จาก สมเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ้ า กรมหลวง ชินวรสิริวัฒน์ (หม่อมเจ้าภุชงค์ สิริวฑฺฒโน ชมพูนุช) วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร พระองค์ได้ประทานนาม ให้ว่า “วัดโพธิสมภรณ์” เพื่อเป็นอนุสรณ์ แก่มหาอ�ำมาตย์ตรี พระยาศรีสรุ ยิ ราชวรานุ วัตร (โพธิ เนติโพธิ) ผู้สร้างวัดราว 3 ปี ต่อมา พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตรและ พระครูธรรมวินยานุยุต น�ำญาติโยมร่วม กั น สร้ า งโบสถ์ ห ลั ง ใหม่ ขึ้ น เพื่ อ ทดแทน โบสถ์ ไ ม้ ห ลั ง เก่ า ที่ เ ริ่ ม ช� ำ รุ ด ทรุ ด โทรม ทว่าการก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จ พระยา ศรีสริยราชวรานุวัตรได้ถึงแก่อนิจกรรม เสียก่อนใน พ.ศ. 2455 ต่อมาเมื่อพระครู ธรรมวินยานุยุตเริ่มชราภาพมากขึ้น เหล่า ศิษยานุศิษย์และลูกหลานจึงขออาราธนา ท่ า นกลั บ ไปจ� ำ พรรษา ณ วั ด ศรี เ มื อ ง จังหวัดหนองคาย เพือ่ ความสะดวกในการ ปรนนิบตั ริ บั ใช้ ภายหลังพระครูธรรมวินยา นุยุตได้มรณภาพ ณ ที่นั้นเอง พ.ศ. 2465 มหาเสวกโท พระยาราช นุกูลวิบูลยภักดี (อวบ เปาโรหิตย์) อุปราช มณฑลภาคอีสาน และสมุหเทศาภิบาล มณฑลอุดรธานี (ต่อมาเลื่อนบรรดาศักดิ์ เป็นพระยามุขมนตรี ศรีสมุหพระนครบาล) ได้ขยายอาณาเขต วัดโพธิสมภรณ์ อ�ำเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี ให้กว้างออกไป พร้อมทั้งสานต่อการสร้างโบสถ์หลังใหม่ ทีพ่ กั การก่อสร้างไว้จนแล้วเสร็จ และสร้าง เสนาสนะเพิม่ อีกหลายหลัง จากนัน้ ท่านจึง ยื่นขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เนื่องจาก ตอนนั้นภายในเขตเทศบาลเมืองอุดรธานี ยังไม่มธี รรมยุตกิ นิกายเลย จึงขอตัง้ วัดโพธิ สมภรณ์ เป็นวัดของคณะธรรมยุต ในปี พ.ศ. 2466 ต่อมา สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 29
29
10/9/2562 13:49:31
กรมหลวงชินวรสิรวิ ฒ ั น์ (หม่อมเจ้าภุชงค์ สิรวิ ฑฺฒโน ชมพูนชุ ) จึงทรงมีรบั สัง่ ให้เจ้าอาวาส วัดเทพศิรนิ ทราวาส ช่วยคัดเลือกพระเปรียญผูม้ คี วามรูด้ า้ นพระปริยตั ธิ รรมและด้านปฏิบตั ิ มาเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ 1 รูป ท่านได้อาราธนา พระครูสังฆวุฒิกร (จูม พนฺธุโล) ซึ่งได้ศึกษาเล่าเรียนอยู่ในส�ำนักวัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร เป็นเวลาถึง 15 ปี จนส�ำเร็จเปรียญธรรม 3 และส�ำเร็จนักธรรมชั้นโทไปเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์นับ ตั้งแต่ พ.ศ. 2466 เรื่อยมา ท่านมีความมุ่งมั่นบริหารกิจการพระศาสนาให้เจริญก้าวหน้า และพัฒนาวัดในทุกๆ ด้าน นอกจากเสริมสร้างเสนาสนะส�ำคัญให้มนั่ คงถาวรแล้ว ท่านยัง ได้จดั บริหารการศึกษาทัง้ ด้านปริยตั แิ ละปฏิบตั ไิ ปพร้อมๆ กันด้วย ได้แก่ การเปิดสอนนัก ธรรมชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก และแผนกบาลีไวยากรณ์ (ตั้งแต่เปรียญ 3 ประโยค ถึงเปรียญ 5 ประโยค) ซึ่งมีพระภิกษุสามเณรจากจังหวัดอุดรธานี และใกล้เคียงมาศึกษาเล่าเรียน เป็นจ�ำนวนมาก ในไม่ชา้ วัดโพธิสมภรณ์กก็ ลายเป็นส�ำนักทีม่ ชี อื่ เสียงในภาคอีสาน เพราะมี พระภิกษุสามเณรสอบไล่ที่สนามหลวงได้เป็นจ�ำนวนมาก ส�ำหรับ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ พระครูสังฆวุฒิกรได้จัดให้มีการอบรมกรรมฐานแก่พระภิกษุสามเณรควบคู่กันไปด้วย วันที่ 6-9 มีนาคม พ.ศ. 2467 ได้ประกอบพิธีผูกพัทธสีมาวัดโพธิสมภรณ์ โดยมี พระศาสนโสภณ (เจริญ ญาณวโร) เจ้าคณะรองคณะธรรมยุต เจ้าอาวาสวัดเทพศิรนิ ทราวาส กรุงเทพมหานคร เป็นประธานในการผูกพัทธสีมา พ.ศ. 2497 สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวิชรญาณวงศ์ (หม่อมราชวงศ์ชื่น นภวงศ์) วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร ทรงมีพระบัญชาให้ พระครูสิริสารสุธี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) จากวัดบวรนิเวศวิหาร 30
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4
.indd 30
กรุงเทพมหานคร ไปช่วยแบ่งเบาภารกิจของ พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) ณ วัดโพธิ สมภรณ์ เนื่องจากท่านชราภาพมากแล้ว ต่อมาในปี พ.ศ. 2505 พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธโุ ล) ถึงแก่มรณภาพ เมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 วั น ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ทรงโปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้วดั โพธิสมภรณ์เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ และ วั น ที่ 26 พฤศจิ ก ายน ภายปี เ ดี ย วกั น นี้ พระราชเมธาจารย์ (จันทร์ศรี จนฺททีโป) ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง ท่านได้สืบทอดงานจาก พระธรรมเจดีย์ และพัฒนาวัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง ในด้านต่างๆ สืบมา จนได้ รับยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2516
10/9/2562 13:49:34
พระราชสารโกศล (วงศ์ไทย สุภวโํ ส)
วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) มรณภาพ สิริอายุได้ 105 ปี 85 พรรษา และในวันเดียวกัน พระเทพมงคลนายก เจ้าคณะจังหวัด อุดรธานี (ธรรมยุต) แต่งตั้ง พระสุทธิสารเมธี (วงศ์ไทย สุภวํโส) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดบวร นิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ ล�ำดับเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง รูปที่ 1 พระครูธรรมวินยานุยุต (หนู) พ.ศ. 2450-2465 รูปที่ 2 พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) พ.ศ. 2465-2505 รูปที่ 3 พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) พ.ศ. 2505-2559 รูปที่ 4 พระราชสารโกศล (วงศ์ไทย สุภวํโส) พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน
อายุ 57 พรรษา 36 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.4, ศน.บ., อม. ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง 1. เจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง 2. เจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี (ธรรมยุต) สถานะเดิม วงศ์ไทย ศรีลารักษ์ เกิดวันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2505 การศึกษา : พ.ศ. 2526 นักธรรมชั้นเอก สอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยค พ.ศ. 2533 “ศาสนศาสตรบัณฑิต” (ป.ตรี) หรือ ศน.บ. (พระพุทธศาสนา), พ.ศ. 2542 อักษร ศาสตร์มหาบัณฑิต (อ.ม.) มหาวิทยาลัย มหิดล, พ.ศ. 2561 เป็นเจ้าอาวาสและเจ้าคณะ จังหวัด, พ.ศ. 2562 เป็นพระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ สมณศักดิ์ : พ.ศ. 2537 พระครูฐานานุกรม ชั้นโท ของสมเด็จพระสังฆราชที่ พระครู ประสาทพุทธปริตร, พ.ศ. 2543 พระครู สัญญาบัตร ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ชั้นพิเศษที่ พระครูโสภณศาสนกิจ, พ.ศ. 2551 พระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญที่ พระสุทธิสารเมธี, พ.ศ. 2562 พระราชา คณะชั้นราชที่ พระราชสารโกศล โสภณ ศาสนกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 31
31
10/9/2562 13:49:43
慶安寺
วัดสุนทรประดิษฐ์
วัดพระพุ ทธศาสนาอนัมนิกาย ฝ่ายมหายาน เพี ยงวัดเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระมหากุศล เถี่ยนดึ๊ก (ปธ.4)
ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนรักษาการเจ้าอาวาส
วัดสุนทรประดิษฐ์ เดิมชือ่ “วัดสันติสขุ ” (慶安寺เค่งอังหยี)่ เป็นวัดพระพุทธศาส นาอนัมนิกายฝ่ายมหายานเพียงวัดเดียว ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เป็ น ศิ ล ปะแบบจี น ผสมผสาน พระอาจารย์จนี เทีย้ ง เต่าก้วย (ด่าวกว๋า) เจ้าอาวาสองค์แรกเป็นผูร้ เิ ริม่ ก่อสร้างในปี พ.ศ. 2507 โดย นายสมคูณ หอบรรลือกิจ คหบดี มี จิ ต ศรั ท ธายกกรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น ของตน จ� ำ นวน 4 ไร่ 1 งาน 38 ตารางวา ให้ เ ป็ น ที่ ธ รณี ส งฆ์ และเป็ น ผู ้ ที่ ยื่ น ค� ำ ร้ อ งขอ อนุญาตสร้างวัดตามระเบียบของทางราชการ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศยกเป็นวัดฝ่ายมหายาน ตาม หนังสือ ที่ ศธ. 0407/5778 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2509 และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (จวน อุฏฐายีมหาเถระ) สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สถิตย์ ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม ได้ประทานนามวัดนี้ว่า “วัดสุนทรประดิษฐ์” ทัง้ นีเ้ พราะได้รบั แรง ศรัทธาจากพ่อค้า คหบดี ประชาชนชาวจังหวัดอุดรธานี ทัง้ คนไทย เชือ้ สายจีน และคนไทยเชือ้ สายเวียดนาม ให้การสนับสนุนมาโดยตลอด สิง่ ก่อสร้างทีเ่ ป็นถาวรวัตถุและเสนาสนะในปัจจุบนั คือ อุโบสถ ศิลปะแบบมหายานผสม โดยพลเอกอาทิตย์ ก�ำลังเอก ผูบ้ ญ ั ชาการ ทหารสูงสุด และผูบ้ ญ ั ชาการทหารบก ได้เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ อุโบสถ วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527 ผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 เป็นการเฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในวโรกาส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 มีพระชนมายุครบ 60 พรรษา เพือ่ 32
ประดิษฐานพระพุทธมงคลสถาพร (ศิลปแบบจีน) เป็นพระประธาน มีขนาดหน้าตักกว้าง 5 ศอก 9 นิ้ว โดยจ�ำลองแบบที่พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) พระราชทานไว้ ณ วัด อุภยั ราชบ�ำรุง แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถระ) สมเด็จพระ สั ง ฆราชสกลมหาสั ง ฆปริ ณ ายก ได้ เ สด็ จ เป็ น องค์ ป ระธาน เททองหล่อพระประธาน เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2526 และพระอัครสาวกพระมหากัสสปะมหาเถระ พระอานนท์มหาเถระ ลักษณะยืนขนาดสูง 3 เมตร ฐานกว้าง 49 นิ้ว โรงเจสุนทรธรรม รังษี สร้างแทนทีโ่ รงงิว้ ที่ช�ำรุด ใช้ประกอบพิธีบูชาดาวนพเคราะห์ เสริมดวงมงคลแก้ปีชง ในวันขึน้ 6-9 ค�ำ่ เดือน 1 จีน และประกอบ พิ ธี ถื อ ศี ล กิ น เจตามเทศกาล ในวั น ขึ้ น 1-9 ค�่ ำ เดื อ น 9 จี น ศาลาการเปรียญใช้เป็นทีบ่ ำ� เพ็ญกุศลแบบเก๋งจีน 1 หลัง ใช้ประกอบ พิธไี ทยทานทิง้ กระจาดแจกทาน (ซิโกว) ในวันขึน้ 1-2 ค�ำ่ เดือน 7 จีน ของทุกปี ต�ำหนักพระโพธิสัตว์ มณฑปแบบเก๋งจีนประดิษฐาน พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์กวนอิม 1 หลัง กุฏิที่พักสงฆ์ขนาด 9 ห้อง และ 11 ห้อง 2 ชั้น 2 หลัง หอระฆัง 1 หลัง และ อาคารเรียนรวมมิตรประชานฤมิตร โรงเรียนสุนทรประดิษฐ์วทิ ยาลัย เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สูง 4 ชั้น เปิดใช้ง านแทนอาคาร เรียนเดิม โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) เจ้าคณะ ใหญ่หนตะวันออก เป็นประธานเปิดป้ายอาคารเรียน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4
.indd 32
10/9/2562 13:48:24
ปัจจุบนั พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวตั ร (ถนอม อารียก์ ลู ชัย) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะใหญ่อนัมนิกายแห่งประเทศไทย เจ้าอาวาส วัดกุศลสมาคร เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาสวัดสุนทรประดิษฐ์ มอบหมายให้ พระมหากุศล เถี่ยนดึ๊ก (สิงห์คุณ ปธ.4) เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ แทนรักษาการเจ้าอาวาส วัดสุนทรประดิษฐ์นี้อยู่ในสังกัดการปกครองของคณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 33
33
10/9/2562 13:48:28
ปัจจุบนั พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวตั ร (ถนอม อารียก์ ลู ชัย) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะใหญ่อนัมนิกายแห่งประเทศไทย เจ้าอาวาสวัด กุศลสมาคร เป็นผูร้ กั ษาการเจ้าอาวาสวัดสุนทรประดิษฐ์ มอบหมาย ให้ พระมหากุศล เถีย่ นดึก๊ (สิงห์คณ ุ ปธ.4) เป็นผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีแ่ ทน รักษาการเจ้าอาวาส วัดสุนทรประดิษฐ์นอี้ ยูใ่ นสังกัดการปกครองของ คณะสงฆ์อนัมนิกายแห่งประเทศไทย การศึกษาสงเคราะห์ การศึกษาเป็นกระบวนการ พัฒนา ประชากรของประเทศให้เป็นก�ำลังที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ในการรักษาความมัน่ คงของชาติ และสร้างความเจริญก้าวหน้าแก่ เยาวชนและประเทศ ดังนัน้ วัดสุนทรประดิษฐ์ ฝ่ายมหายาน อนัมนิกาย แห่งประเทศไทย จึงได้กอ่ ตัง้ โรงเรียนสุนทรประดิษฐ์วทิ ยาลัย เพือ่ เปิด โอกาสให้เยาวชนทีอ่ ยูใ่ นวัยเรียน และขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ พระภิกษุ-สามเณร ของฝ่ายมหายาน และฝ่ายเถรวาท เข้าศึกษาใน โรงเรียนสุนทรประดิษฐ์วทิ ยาลัย พระปริยตั ธิ รรม แผนกสามัญศึกษา (ม.1-ม.6) ทัง้ แผนกธรรม-บาลี ทัง้ นีย้ งั จัดโครงการอบรมสามเณรภาค ฤดูรอ้ นเฉลิมพระเกียรติประจ�ำปี อบรมศีลธรรมจรรยามารยาท ให้ เยาวชนรูจ้ กั ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ในช่วงปิดภาคเรียน ระหว่าง เดือนเมษายนของทุกปี
34
พระมหาคณานัมธรรมปัญญาธิวตั ร (ถนอม เถีย่ นถึก) เจ้าคณะใหญ่ อนัมนิกายแห่งประเทศไทย ผูก้ อ่ ตัง้ โรงเรียนสุนทรประดิษฐ์วทิ ยาลัย โดยท่านให้การสนับสนุนทางการศึกษาแก่สามเณรนักเรียน ระดับ มัธยมศึกษา-ปริญญาเอก และสามเณรที่สอบไล่ได้เปรียญธรรม ทุกระดับชั้น จึงเห็นได้ว่า ผู้เข้ามาศึกษาภายในวัด มีโอกาสศึกษา หลักธรรมค�ำสอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ศกึ ษา ธรรม-บาลี สามารถสอบไล่ได้ นักธรรมชัน้ ตรี โท เอก และสอบไล่ ได้เปรียญธรรมประโยค 1-2 เปรียญธรรม 3 ประโยค เปรียญธรรม 4 ประโยค และมีผสู้ ำ� เร็จการศึกษาภายในโรงเรียนหลายต่อหลายรุน่ ปัจจุบนั ศิษย์เก่า ท�ำงานรับราชการ อาทิเช่น ข้าราชการครู ทหาร ต�ำรวจ ทนายความ และด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสดูแลพระภิกษุสามเณร เพือ่ สืบทอดอายุพระพุทธศาสนาสืบต่อไป
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
4
.indd 34
10/9/2562 13:48:32
WAT SUNTHORNPRADIT
The only Buddhist temple in Northeast of Thailand which belongs to Anam Nikaya, the sangha under Mahayana Nikaya. Phra Maha Kusol Thien Deuk (graduation in 4th level of Buddhist theology), the one who acts in place of abbot. Wat Sunthornpradit was called “Wat Santisuk” (慶安寺 The name “Wat Sunthornpradit” was bestowed by Somdet Keng Ang Yi) It is the only Buddhist temple in Northeast of Phra Ariyavongsagatanana (Juan Autthayimahathera), Thailand which belongs to Anam Nikaya, the sangha under Somdet Phra Sangkharat Sakonlamahasangkhaparinayok Mahayana Nikaya. It was built in mixed Chinese style which of Wat Makut Kasatriyaram because this temple has always the initiator of an idea on building this temple in B.E.2507 been received faithful support from merchants, millionaires was Phra Ajarn Jinthien Taoguay (Dao Gwa), the first and people of Udon Thani whether they are Thai of Chinese abbot of this temple and Mr.Somkhun Hobanleukit, the origin or Thai of Vietnamese origin. At present, Phra Maha Khananam Thampanyathifaithful wealthy man who has offered his land to the temple to be monastery land which the scale of this land is 1.6 watara (Thanom Arikulchai) taking a position of Anam acres and 552 square meters. Moreover, he was also the Nikaya monk dean of Thailand and abbot of Wat Kuson person who submitted a request on construction of this Samakhon which he is also the monk who acts in charge temple. According to regulation of Department of religious of abbot at Wat Sunthornpradit. After that, he appoints affairs, Ministry of education, this temple was announced to Phra Maha Kusol Thien Deuk (graduation in 4th level be temple under Mahayana Nikaya as mentioned on official of Buddhist theology) to be the representative of acting document of Ministry of Education number 0407/5778, abbot. Wat Sunthorn Pradit is under an administration of issued on 26th of July B.E.2509. Anam Nikaya of Thailand. 慶安寺 วัดสุนทรประดิษฐ์ ตัง้ อยูบ่ า้ นเลขที่ 44/3 ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 โทร. 08-6638-5099 UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 35
35
10/9/2562 13:48:37
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดศรีคุณเมือง (วัดบ้านเหล่า) พระมหานพดล มหาวีโร
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีคุณเมือง
สัมผัสพลังบารมีแห่งหลวงพ่ อทองแสน ่ ูกขโมยแล้วกลับมา พระพุ ทธรูปทีถ
36
(
วัดศรีคุณเมือง (วัดบ้านเหล่า) ตั้งอยู่เลขที่ 56 บ้านเหล่า ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สังกัด คณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 11 ไร่ 68 ตารางวา สร้าง เมื่อ พ.ศ. 2440 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญของวัด คือ พระพุทธรูปหลวงพ่อทองแสน อายุ 200 กว่าปี เสนาสนะภายในวัด คือ อุโบสถ ศาลาสุคติ กุฏิสงฆ์ อาคาร มูลนิธิ ศาลาร่วมใจ เป็นต้น ล�ำดับเจ้าอาวาส 1. หลวงปู่โส 2. หลวงปู่เนียม 3. หลวงปู่ปล้อง 4. พระครูคุณสารสิริ (แหละ พุทธัสสโร) 5. พระครูปัญญาทัศนคุณ (ปาน คัมภีรปัญโญ) 6. พระมุนีสารประสาธน์ (ทองสุนทร์ ขันติพโล) 7. พระมหานพดล มหาวีโร เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
)2
.indd 36
10/9/2562 13:49:45
ประวัติเจ้าอาวาส พระมหานพดล ฉายา มหาวีโร อายุ 51 พรรษา 30 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.ธ.4, พธ.บ. สถานะเดิมชื่อ นพดล วงษาศิลชัย เกิดวันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 อุปสมบท เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2533 บารมีพระพุทธรูปหลวงพ่อทองแสน ความเป็ น มาของหลวงพ่ อ ทองแสน เท่ า ที่ ท ราบมาก็ คื อ พระพุทธรูปหลวงพ่อทองแสนอายุ 200 กว่าปี อยู่ที่วัดมา 100 กว่าปี มีโจรเคยมาขโมยไป 2 ครั้ง แต่ก็เอากลับมาส่งทั้ง 2 ครั้ง กว่าจะมาเป็นอุโบสถหลังใหม่ จากความร่วมแรงร่วมใจของชาวบ้านเหล่า ในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556 นายเสนีย์ จิตตเกษม ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี ในครั้งนั้น เป็นประธานยกช่อฟ้าอุโบสถวัดศรีคุณเมือง บ้านเหล่า โดยมีพระมุนีสารประสาธน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุดรธานี และ เจ้าอาวาสในครั้งนั้น ร่วมกับชุมชนบ้านเหล่า 3 ชุมชน ร่วมบูรณ ปฏิสังขรณ์อุโบสถหลังใหม่แทนหลังเดิมที่จัดสร้างมากว่า 53 ปี โดยมีข้าราชการ ประชาชนในพื้นที่ร่วมงานมากมาย พร้อมจัด ให้มีการสมโภชระหว่างวันที่ 1-3 มีนาคม พ.ศ. 2556 เพื่อ ระดมทุนทรัพย์สมทบทุนในการซ่อมแซมบูรณปฏิสังขรณ์อุโบสถ เป็นการแสดงถึงความสามัคคีของชุมชนบ้านเหล่า เพื่อรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวพุทธ และเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ ชุมชนบ้านเหล่าที่ได้จรรโลงพระพุทธศาสนาให้อยู่คู่ประเทศไทย มาจนถึงปัจจุบัน
น�ำ้ มันต่อกระดูก ของอดีตเจ้าอาวาส
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)2
.indd 37
37
10/9/2562 13:49:53
บัง กะโลส่ว นตัว สระว่ายน�้ำสะอาด อาหารอร่อย บริการเป็นเลิ ศ
โรงแรมรวยสุ ข แอนด์ สวิ ม มิ ง พู ล ( Ruysuk hotel & Swimming pool )
บังกะโลเป็นส่วนตัวน่าอยู่ สระว่ายน�้ำสะอาด อาหารอร่อย โรงแรมมีระดับ พร้อมสระว่ายน�้ำกลางแจ้ง มีบริการร้านอาหารและบาร์สระน�้ำ ห้องประชุมสัมมนา ห้องพักกว้าง สะอาดปลอดภัย และที่ส�ำคัญ WI-FI สัญญาณแรงทันใจ พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ราคาห้องเตียงคู่หรือเดี่ยว 460 บาท บังกะโล 500-600 บาท 38 SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน สัตว์เลี้ยงอนุญาตให้เอาเข้ามาพักได้ตัวละ 100 บาท
2
Ruysuk hotel.indd 38
10/9/2562 14:44:27
ส�ำรองห้องพักได้ที่
042-248-999 085-756-1818
โรงแรมรวยสุ ข แอนด์ สวิ ม มิ ง พู ล
มีที่จอดรถกว้างขวางอยู่บนเนื้อที่ 5 ไร่ บริการลูกค้าได้อย่างเต็มที่ เพราะมี ห ้ อ งพั ก แค่ 40 ห้ อ ง บรรยากาศร่ ม รื่ น สระว่ า ยสะอาดและ กว้างขวาง ห่างจากใจกลางเมืองแค่ 5 นาทีโดยรถ
การเดิ น ทาง
สถานีรถไฟอุดรธานี ขับรถเพียง 6 นาที (UTH-สนามบินนานาชาติอุดรธานี) ขับรถเพียง 19 นาที สถานีหนองตะไก้ อุดรธานี ขับรถเพียง 22 นาที
โรงแรมรวยสุข แอนด์ สวิมมิงพูล ( RUYSUK HOTEL & SWIMMING POOL ) 332 หมู่ 6 ถนนเลียบเมือง ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 @RUYSUK RUYSUK
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
2
Ruysuk hotel.indd 39
39
10/9/2562 14:44:29
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง พระธรรมวิมลมุนี (สายพงศ์) อโนมปญฺโญ
เจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง และเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
อัศจรรย์หลวงพ่อนาค พระพุทธรูปมิ่งเมืองอุดรธานี วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง อยูใ่ กล้กบั สถานทีร่ าชการหลายแห่ง คือ ห่างจากศาลจังหวัดอุดรธานีประมาณ 90 เมตร ห่างจากสถานทีก่ าชาดที่ 9 และสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีประมาณ 30 เมตร ห่างจากศาลากลาง จังหวัดอุดรธานีประมาณ 220 เมตร ห่างจากวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี ประมาณ 30 เมตร ห่างจากส�ำนักงานเทศบาลนครอุดรธานีประมาณ 250 เมตร และตัง้ อยูใ่ นย่านกลางของคุม้ ต่างๆ คือ คุม้ บ้านห้วย คุม้ บ้านโนน คุม้ หมากแข้ง คุ้มทุ่งสว่างและคุ้มบ้านสี่แยกคอกวัว ผู้สร้างวัด พลตรีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม สมัยด�ำรงต�ำแหน่งเป็นข้าหลวงใหญ่ ผู้ส�ำเร็จราชการหัวเมืองลาวพวน ได้ ทรงสร้างวัดร้างโนนหมากแข้งขึ้น เป็นวัดมัชฌิมาวาส เมื่อ พ.ศ. 2436 พร้อมกับทรงสร้างเมืองอุดรธานี ความเดิ ม ก่ อ นสร้ า งวั ด สถานที่ ตั้ ง แห่ ง วั ด มั ช ฌิ ม าวาสเป็ น วั ด ร้ า ง มาก่อนจะร้างมาแต่เมื่อใด และมีชื่อว่าวัดอะไร ไม่อาจทราบได้ แต่มี 40
หลักฐานที่ทราบว่าเป็นวัดร้างอยู่ 2 อย่าง คือ เจดีย์ศิลาแลง ตั้งอยู่ที่ โนน(เนิน) ประชาชนเล่าสืบมาว่า เป็นเจดีย์ก่อคร่อมตอหมากแข้งใหญ่ และมีพระพุทธรูปหินขาวปางพระนาคปรก ประดิษฐานอยู่
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 40
. - 10/09/2562 16:39:02 PM
ประวัติเจ้าอาวาส
ปูชนียวัตถุส�ำคัญของวัด เดิมที่โนนหมากแข้งมีเจดีย์ศิลาแลง มีสัณฐานดุจกรงนกเขา และ พระพุทธรูปหินขาวปางพระนาคปรก บัดนี้ เจดีย์ศิลาแลงได้ถูกรื้อไม่มี ซากเหลื อ ให้ เ ห็ น เสี ย แล้ ว ยั ง คงเหลื อ อยู ่ ก็ มี แ ต่ พ ระพุ ท ธรู ป หิ น ขาว ปางพระนาคปรกเท่านั้น ประชาชนนิยมเรียกสั้นๆ ว่า “หลวงพ่อนาค” แต่เดิมมาหลวงพ่อนาคนีเ้ ป็นพระประธานในพระอุโบสถหลังเก่า ครัน้ ทางวัด โดยท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ ได้สร้างพระอุโบสถหลังใหม่ขึ้น จนเสร็จเรียบร้อยแล้ว พ.ศ. 2494 จึงได้รื้อพระอุโบสถหลังเก่า และได้ อาราธนาหลวงพ่อนาคไปประดิษฐานไว้ที่หน้ามุขด้านพระอุโบสถ แต่ องค์ทเี่ ห็นอยูด่ งั รูปทีน่ ำ� มาลงในหนังสือนี้ หาใช่องค์เดิมไม่ องค์เดิมทีแ่ ท้จริง อยู่ข้างใน คือ ท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธาจารย์ ได้ให้ช่างก่อหุ้มองค์เดิมไว้ ประชาชนนับถือว่าเป็นพระพุทธรูปมิง่ เมืองอุดรธานี เป็นพระพุทธรูปคูบ่ า้ นคูเ่ มือง เพราะมีประจ�ำอยูท่ โี่ นนหมากแข้งนีก้ อ่ นสร้างเมืองอุดรธานี เป็นพระพุทธรูป ทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิน์ า่ อัศจรรย์ ประชาชนเจ็บไข้ได้ปว่ ยก็ไปนมัสการขอพรให้หายป่วย นักเรียนจะไปสอบเรียนต่อ ข้าราชการจะสอบเลื่อนชั้น ก็ไปนมัสการขอพร ให้สอบได้ คนหายของหาย ก็ไปนมัสการขอพร หลวงพ่อนาคจะช่วยได้หรือไม่ ไม่มีใครบอกได้ถูกนอกจากคนผู้ไปนมัสการขอพรย่อมรู้แน่แก่ใจตนเอง แต่กม็ ปี ระชาชนน�ำแผ่นทองค�ำเปลวไปปิดทุกวัน ซึง่ เป็นเครือ่ งชีใ้ ห้เห็นศรัทธา อันแรงกล้าของประชาชนอันมีตอ่ หลวงพ่อนาค ทางวัดจึงถือเอาหลวงพ่อนาค เป็นสัญลักษณ์ของวัดและตราประจ�ำวัดซึ่งมีรูปพระนาคปรกอยู่ตรงกลาง
พระธรรมวิมลมุนี (สายพงศ์) อโนมปญฺโญ น.ธ.เอก, ป.ธ.5, พธ.บ., พธ.ม., พธ.ด. สถานะเดิมชื่อ สายพงศ์ กองสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2494 บรรพชา วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ณ วัดศรีธาตุประมัญชา อ�ำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี อุปสมบท วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 ณ วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สมณศักดิ์ พ.ศ. 2531 เป็นพระครูสญั ญาบัตร รองเจ้าคณะจังหวัด ทีพ่ ระครูสริ ชิ นิ วงศ์, พ.ศ. 2536 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญ ที่พระเมธีกิตยาภรณ์, พ.ศ. 2542 เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่พระราชธีราภรณ์ สาทรกิจจานุกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี, พ.ศ. 2547 เป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ ทีพ่ ระเทพรัตนมุนี ศรีศาสนโกศล วิมลวรกิจจาทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี, พ.ศ. 2557 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่พระธรรมวิมลมุนี ศี ล าจารโสภณ วิ ม ลปริ ยั ติ กิ จ วิ ธ าน ศาสนภารธุ ร าทร มหาคณิ ส สร บวรสังฆาราม คามวาสี
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 41
41
. - 10/09/2562 16:39:10 PM
EXC LUS I VE I N TE RVI EW
UDON THANI
PROVINCIAL OFFICE OF BUDDHISM ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดอุดรธานี นายธงชัย พลพวก กรมหลวงประจักษ์ฯ สร้างเมือง ลือเลื่องแหล่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด ธรรมชาติเนรมิตทะเลบัวแดง - ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดอุดรธานี
ในส่วนของจังหวัดอุดรธานีมีโบราณสถาน แหล่งท่องเที่ยว และ วัดที่ส�ำคัญมากมาย ขอเพียงท่านเดินทางมา เพียงเข้าสู่ประตูจังหวัด อุดรธานีท่านก็จะพบกับแสงสว่างแห่งธรรมแล้ว
โบราณสถาน โบราณวัตถุในจังหวัดอุดรธานี อนุสาวรีย์พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางอุดรธานี อ�ำเภอเมือง
42
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ เ มื อ งอุ ด รธานี ตั้ ง อยู ่ ริ ม ถนนโพศรี อาคารราชิ นู ทิ ศ เทศบาลเมืองอุดรธานี เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 08.00 - 16.30 น. เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาภูพาน ในเขตบ้านติ้ว ต�ำบลเมืองพาน อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ บ ้ า นเชี ย ง ตั้ ง อยู ่ บ ้ า นเชี ย ง ต�ำบลบ้านเชียง อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 42
. - 10/09/2562 16:18:17 PM
วัดที่ส�ำคัญ 9 วัด ในโครงการไหว้พระ 9 วัดของจังหวัดอุดรธานี 1. วัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง ตัง้ อยูต่ ำ� บลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง 2. วัดมัชฌิมาวาส พระอารามหลวง ตัง้ อยูต่ ำ� บลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง 3. วัดบ้านค้อ ตั้งอยู่บ้านค้อ ต�ำบลเขือน�้ำ อ�ำเภอบ้านผือ 4. วัดพระพุทธบาทบัวบก ตั้งอยู่กลางเทือกเขาภูพระบาท บ้านติ้ว ต�ำบลเมืองพาน อ�ำเภอบ้านผือ 5. วัดโพธิ์ชัยศรี ตั้งอยู่บ้านแวง ต�ำบลบ้านผือ อ�ำเภอบ้านผือ 6. วัดนาหลวง (อภิญญาเทสิตธรรม) ตัง้ อยูบ่ า้ นนาหลวง ต�ำบลค�ำด้วง อ�ำเภอบ้านผือ 7. วัดนาค�ำน้อย ตั้งอยู่บ้านนาค�ำน้อย ต�ำบลบ้านก้อง อ�ำเภอนายูง 8. วัดป่าภูก้อน ตั้งอยู่ต�ำบลบ้านก้อง อ�ำเภอนายูง 9. วัดเกษรศีลคุณ ตั้งอยู่บ้านตาด ต�ำบลบ้านตาด อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีพระภิกษุสงฆ์กว่า 8,000 รูป และมีวดั ทีม่ พี ระภิกษุสงฆ์ จ�ำพรรษาจ�ำนวน 1,453 วัด มีวัดร้าง 156 วัด และที่พักสงฆ์ 758 แห่ง ทั้งหมดนี้เพียงพอต่อทุกท่านที่กำ� ลังเดินทางเข้าสู่ประตูแสงสว่างแห่งธรรม
แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดอุดรธานี สวนสาธารณะหนองประจักษ์ศิลปาคม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ศาลเจ้าปู่ย่า ตั้งอยู่สถานีรถไฟ ถนนนิตโย ต�ำบลหนองบัว อ�ำเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี หมู่บ้านนาข่า อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 16 กิโลเมตร เส้นทาง อุดรธานี-หนองคาย อ่างเก็บน�้ำห้วยหลวง ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอเมือง บนถนนสายอุดรธานีหนองบัวล�ำภู กม. ที่ 15 เลี้ยวเข้าประมาณ 10 กิโลเมตร น�้ ำ ตกยู ง ทอง ห่ า งจากที่ ท� ำ การอุ ท ยานแห่ ง ชาติ น ายู ง -น�้ ำ โสม ประมาณ 500 เมตร ทะเลบั ว แดง บริ เวณที่ เ หนื อ ลุ ่ ม น�้ ำ หนองหาน ฝั ่ ง บ้ า นเดี ย ม ต�ำบลเชียงแหว อ�ำเภอกุมภวาปี จะมีดอกบัวบานเป็นจ�ำนวนมากในช่วง เดือนธันวาคม-มีนาคม ของทุกปี ภูฝอยลม อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติพันดอน-ปะโค การเดินทาง โดยเส้นทางอุดรธานี-เลย เลีย้ วขวาแยกบ้านเหล่า กม. ที่ 9 อ�ำเภอหนองแสง แล้วเลี้ยวขวาเข้าบ้านทับกุง ขึ้นเขาไปประมาณ 9 กิโลเมตร ค�ำชะโนด ตั้งอยู่ภายในวัดศิริสุทโธ คําชะโนด ต�ำบลบ้านม่วง อ�ำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 43
43
. - 10/09/2562 16:18:20 PM
ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดอุดรธานี (มหานิกาย)
พระธรรมวิมลมุนี ดร. เจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
พระโสภณพุทธิธาดา ดร.
พระครูมัญจาภิรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
รองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
พระครูธรรมสโมธาน
พระภาวนาวิมล วิ.
พระครูญาณวิโมกข์
พระครูสาธุกิจจารักษ์
พระครูประสิทธิ์ธรรมรักษ์
พระครูวิชัยสิทธิการ
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุดรธานี
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านผือ
เจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด
เจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ
เจ้าคณะอ�ำเภอนายูง
เจ้าคณะอ�ำเภอไชยวาน
พระครูวินิตคุณวัฒน์
พระครูสิรินันทบรรหาร ดร.
พระครูโอภาสรัตนคุณ
พระครูปทุมศีลวัฒน์
พระมหาสายบัว กิตฺติโสภโณ
พระครูอุดมกิจจาภรณ์
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองวัวซอ
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหาน
เจ้าคณะอ�ำเภอเพ็ญ
เจ้าคณะอ�ำเภอกุดจับ
เจ้าคณะอ�ำเภอกู่แก้ว
เจ้าคณะอ�ำเภอกุมภวาปี
พระครูประสิทธิ์กิตติสาร เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี เจ้าคณะอ�ำเภอศรีธาตุ
44
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 44
พระครูนิมิตสาธุวัฒน์
พระครูอาทรวนกิจ ดร.
พระครูวิบูลธรรมรัต
พระครูปริยัติโพธิพิทักษ์
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง
เจ้าคณะอ�ำเภอประจักษ์ศิลปาคม
เจ้าคณะอ�ำเภอพิบูลย์รักษ์
เจ้าคณะอ�ำเภอทุ่งฝน
พระครูวิบูลพุทธิธำ� รง
พระครูพัฒนถาวรคุณ
พระมหาก้องไพร สาคโร
เจ้าคณะอ�ำเภอสร้างคอม
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านดุง
เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำโสม
12/9/2562 15:58:26
ท�ำเนียบการบริหารงาน คณะสงฆ์จังหวัดอุดรธานี (ธรรมยุต)
พระราชสารโกศล พระครูวิศาลปัญญาคุณ
เจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี (ธ)
พระครูเมตตากิตติคุณ รองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี (ธ)
รองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี (ธ)
พระครูศาสนูปกรณ์
พระครูพิพัฒน์วิทยาคม
พระครูโสภณจริยาทร
พระครูอรรถกิจสุนทร
พระครูสมาธิวิริยปัญญาภรณ์
เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองอุดรธานี (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองวัวซอ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอกุมภวาปี-ประจักษ์ศิลปาคม (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหาน (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอไชยวาน (ธ)
พระครูวัชรธรรมประยุต
พระครูวินัยปัญญาคุณ
พระครูบริหารมงคลธรรม
พระครูวิบูลธรรมโกศล
พระครูสุทธิปัญญาวัฒน์
เจ้าคณะอ�ำเภอทุ่งฝน-พิบูลย์รักษ์ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านดุง (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านผือ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำโสม (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอนายูง (ธ)
.indd 45
พระครูสุภัทรธรรมวุฒิ
พระครูสุวิมลสีลาจารย์
พระครูศาสนกิจสุนทร
พระครูสิริศาสนกิจ
เจ้าคณะอ�ำเภอกุดจับ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอศรีธาตุ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง (ธ)
พระครูกิตติอุดมญาณ
พระมหาสายัน อภิปุญฺโญ
พระครูสิทธิชยากร
เจ้าคณะอ�ำเภอกู่แก้ว (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ (ธ)
เจ้าคณะอ�ำเภอเพ็ญ-สร้างคอม (ธ)
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
45
12/9/2562 15:58:30
UDONTHANI
ท่องถิ่นพระกรรมฐาน บูรณาการอารยธรรมเก่าแก่ของโลกสู่พระพุทธศาสนาในอาเซียน อุดรธานี อีสานตอนบนในดินแดนส�ำคัญแห่งหนึ่งของประวัติศาสตร์
อุทยานแห่งธรรม มรดกโลก ณ อ�ำเภอบ้านผือ แหล่งอารยธรรมชุมชนที่ตั้ง ถิ่นฐานของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์มากว่า 5,000-7,000 ปี ลักษณะพื้นที่ประกอบด้วยภูเขา ที่สูง ที่ราบ ที่ราบลุ่ม และพื้นที่ลูกคลื่น ลอนตืน้ ถึงลอนลึก มีความสูงจากระดับน�ำ้ ทะเลปานกลางประมาณ 200 เมตร สภาพภูมิประเทศลักษณะนี้ครอบคลุมพื้นที่ในเขตอ�ำเภอน�้ำโสม อ�ำเภอ หนองวัวซอ อ�ำเภอโนนสะอาด อ�ำเภอศรีธาตุ อ�ำเภอวังสามหมอ และด้าน ตะวันตกของอ�ำเภอกุดจับและอ�ำเภอบ้านผือ มีเทือกเขาสูงสลับเนินเตี้ย บางส่วนเป็นพืน้ ทีล่ กู คลืน่ ลอนตืน้ สลับพืน้ ทีน่ า มีทรี่ าบลุม่ อยูบ่ ริเวณริมแม่นำ�้ เช่น ล�ำน�้ำโมง ล�ำปาว เป็นต้น จากการสืบค้นและศึกษาทางโบราณคดี เป็นที่ยอมรับนับถือในวงการ ศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีระหว่างประเทศว่า ชุมชนเก่าแก่เหล่านี้ เคยมีอารยธรรมความเจริญในระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องปั้นดินเผา สีลายเส้นที่บ้านเชียงนั้น สันนิษฐานว่าอาจเป็นเครื่องปั้นดินเผาสีลายเส้น ที่เก่าที่สุดของโลก หลักฐานหนึ่งที่น่าสนใจ คือโบราณวัตถุที่ขุดพบในบ้านเชียง ได้มีการ น�ำไปศึกษาทดสอบอายุของภาชนะดินเผาโบราณด้วยระบบเรดิโอคาร์บอน หรือ คาร์บอน 14 พบว่าภาชนะดินเผาเหล่านีม้ อี ายุเก่าแก่ประมาณ 2,0005,600 ปี ซึง่ นักโบราณคดีได้แบ่งอายุวฒ ั นธรรมบ้านเชียงออกเป็น 3 ช่วงตาม ลักษณะเด่นของภาชนะดินเผา โดยแบ่งเป็นประวัติศาสตร์ในช่วงสมัยปลาย สมัยกลาง และสมัยต้น สมัยปลาย ภาชนะมีลักษณะเด่นที่ลายเส้นสีแดง พื้นผิวสีนวล มีอายุ ตั้งแต่ 1,800-2,300 ปี สมัยกลาง พบภาชนะมีอายุตั้งแต่ 2,300-3,000 ปี ลักษณะเด่นอยู่ที่ รูปทรงเป็นสันหักมุม ก้นภาชนะมีทั้งแบบแหลมและกลม ภาชนะสีขาว สมัยต้น ภาชนะดินเผามีสีด�ำ ลักษณะเชิงเตี้ย ครึ่งบนตกแต่งด้วยเส้น ขีดเป็นลายขด ส่วนครึ่งล่างภาชนะตกแต่งด้วยลายเชือกทาบ มีอายุมากกว่า 3,000-5,600 ปี นอกจากนั้น แหล่งโบราณคดีอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท อ�ำเภอ บ้านผือ ก็เป็นอีกพืน้ ทีห่ นึง่ ทีย่ นื ยันให้เห็นความรุง่ เรืองและอารยธรรมโบราณ ทีเ่ คยปรากฏบนผืนดินแห่งเมืองอุดรธานี หลักฐานส�ำคัญทีค่ น้ พบในเขตนีไ้ ด้แก่ ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ซึ่งพบหลายแห่งบนเทือกเขาภูพานน้อย หรือภูพระบาทนี้ ภาพที่ส�ำคัญๆ เช่น ภาพเขียนสีถ�้ำคน ภาพเขียนสีถ�้ำวัว ภาพเขียนสีโนนสาวเอ้ เป็นต้น ภาพเขียนเหล่านี้ใช้สีดินแดงเขียน เป็นภาพ เหมือนจริงบ้าง เป็นภาพเรขาคณิตบ้างหรือภาพฝ่ามือแดงบ้าง ซึง่ นักโบราณคดี ให้ความเห็นว่า คนสมัยก่อนประวัติศาสตร์เขียนขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของ พิธีกรรม หรือเป็นสัญลักษณ์สื่อสารกันระหว่างคนในเผ่า 46
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 46
9/9/2562 17:15:44
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 47
47
9/9/2562 17:15:45
ยุคประวัติศาสตร์
หลั ง จากยุ ค ความเจริ ญ ที่ บ ้ า นเชี ย ง และแถบพื้นที่ราบสูงอ�ำเภอบ้านผือแล้ว ดินแดนในเขตจังหวัดอุดรธานี ก็ยงั คงเป็น ทีอ่ ยูอ่ าศัยของมนุษย์สบื ต่อมาอีก จนกระทัง่ สมัยประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทย นับแต่ สมัยทวารวดี (พ.ศ.1200-1600) สมัยลพบุรี (พ.ศ. 1200-1800) และสมั ย สุ โ ขทั ย (พ.ศ. 1800-2000) จากหลักฐานที่พบคือ ใบเสมาสมัย ทวารวดี ลพบุรี และภาพเขียนปูนบนผนัง โบสถ์ที่ปรักหักพังบริเวณเทือกเขาภูพาน ใกล้วดั พระพุทธบาทบัวบก อ�ำเภอบ้านผือ ในส่วนของหลักฐานทางด้านพุทธศาสนา ดังกล่าว สะท้อนให้เห็นว่าดินแดนทีร่ าบสูง แห่งนี้ ได้มวี ฒ ั นธรรมอินเดียแพร่เข้ามาซึง่ เชื่อว่ามาจากแอ่งโคราช แล้วเผยแพร่มาสู่ บริเวณลุ่มน�้ำโขง 48
สมัยกรุงศรีอยุธยา สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี พื้นที่ จังหวัดอุดรธานีได้ปรากฏในประวัตศิ าสตร์ เมื่ อ ราวปี จ อ พ.ศ. 2117 เมื่ อ พระเจ้ า กรุงหงสาวดี(บุเรงนอง)ได้ทรงเกณฑ์ทพั ไทย ให้ไปช่วยตีกรุงศรีสตั นาคนหุต(เวียงจันทน์) โดยให้ ส มเด็ จ พระมหาธรรมราชา กั บ สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราชยกทั พ ไป ช่วยรบ แต่เมื่อกองทัพไทยยกมาถึงเมือง หนองบั ว ล� ำ ภู ( จั ง หวั ด หนองบั ว ล� ำ ภู ใ น ปั จ จุ บั น เคยเป็ น อ� ำ เภอหนึ่ ง ในจั ง หวั ด อุดรธานี)ซึ่งเป็นเมืองหน้าด่านของเมือง เวียงจันทน์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงพระประชวรด้วยไข้ทรพิษ จึงยกทัพ กลับไม่ต้องรบพุ่งกับเวียงจันทน์ และที่ เมืองหนองบัวล�ำภูนี้เองสันนิษฐานว่าเคย เป็นเมืองที่มีความเจริญมาตั้งแต่สมัยขอม เรืองอ�ำนาจ
สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ปราบดาภิเษกขึ้นครอง ราชย์เมื่อ พ.ศ. 2325 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ได้ทรงทะนุบำ� รุงบ้านเมืองให้มคี วามเจริญ มาโดยตลอดซึ่งในระยะเวลาดังกล่าวนั้น ยังไม่ได้มีการจัดตั้งเมืองอุดรธานี ดังนั้น จึ ง ยั ง ไม่ มี ชื่ อ เมื อ งอุ ด รธานี ป รากฏใน ประวัติศาสตร์ และพงศาวดารในเวลานั้น แต่ ไ ด้ มี ก ารกล่ าวถึ ง เมืองหนองบัวล�ำภู ในสมัยรัชกาลที่3 พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที4่ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในระยะเวลานั้ น นั บ เป็ น เวลาหั ว เลี้ ยว หั ว ต่ อ ที่ ส� ำ คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร์ ไ ทย เนือ่ งจากเป็นระยะเวลาทีป่ ระเทศไทย (ใน ขณะนั้นเรียกว่าประเทศสยาม) ได้มีการ ติดต่อกับต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศ ทางตะวันตกมากขึ้นกว่าแต่ก่อน ท�ำให้ วัฒนธรรม อารยธรรม ความเจริญต่างๆ ได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทย ต่อมา ค�ำว่า “อุดร” มาปรากฏในชือ่ เมือง เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2450 (พิธีตั้งเมือง อุดรธานี 1 เมษายน ร.ศ. 127 พ.ศ. 2450 โดยพระยาศรีสรุ ยิ ราช วรานุวตั ร “โพธิ์ เนติ โพธิ”์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวได้มีกระแสพระบรมราชโองการให้ จัดตั้งเมืองอุดรธานีขึ้นที่บ้านหมากแข้ง เป็นศูนย์กลางของมณฑลอุดร ครอบคลุม จังหวัด อุดรธานี ขอนแก่น หนองคาย เลย หนองบัวล�ำภู บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหารในสมัยนัน้ หลังการเปลีย่ นแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมือ่ วันที่ 21 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2475 แล้ ว ได้ มี การปรับปรุงระเบียบการบริหารราชการ แผ่ น ดิ น ยกเลิ ก การปกครองในระบบ มณฑลในส่วนภูมิภาคยังคงเหลือเฉพาะ จังหวัดและอ�ำเภอ มณฑลอุดรจึงถูกยุบ เลิ ก ไปเหลื อ เพี ย งจั ง หวั ด “อุ ด รธานี ” เท่านั้น
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 48
13/9/2562 9:52:18
“จังหวัดอุดรธานี” ศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 และศูนย์กลางพืน้ ทีล่ มุ่ แม่นำ�้ โขง ในอาณาจักรล้านช้าง เมืองอุดรธานีได้รบั การสถาปนาให้ เป็นเมืองศูนย์บัญชาการการปกครองของมณฑลอุดรอย่างเป็นทางการในสมัยรัชกาลที่ 4 ปี พ.ศ. 2436 มีอาณาเขตปกครองกว้างใหญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ อยูห่ า่ งจากกรุงเทพมหานคร 564 กิโลเมตร มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 11,730 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 7,331,438.75 ไร่) มีสภาพภูมิประเทศที่อุดมสมบูรณ์ และมีแหล่งอารยธรรมที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของประเทศ และของโลก แบ่งหน่วยการปกครองแบ่งออกเป็น 20 อ�ำเภอ 156 ต�ำบล 1,880 หมู่บ้าน 101 ชุมชน 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 เทศบาลนคร 3 เทศบาลเมือง 44 เทศบาลต�ำบล 132 องค์การบริหารส่วนต�ำบล มีจำ� นวนประชากรรวม 1,557,298 คน จ�ำนวนครัวเรือน 414,868 ครัวเรือน ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ดังค�ำขวัญของจังหวัดว่า “กรมหลวงประจักษ์ สร้างเมือง ลือเลือ ่ งแหล่งธรรมะ อารยธรรมห้าพั นปี ธานีผ้าหมีข ่ ิด ธรรมชาติเนรมิตทะเลบัวแดง”
ปัจจุบันอุดรธานีเป็นศูนย์กลางหน่วย งานราชการต่างๆ ในภูมิภาค ศูนย์กลาง การเดินทางทางบกและทางอากาศของ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ รวมทั้ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลางของอนุ ภู มิ ภ าคลุ ่ ม แม่ น�้ ำ โขง เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 49
49
13/9/2562 9:52:21
วิถีพุทธ วิถีท่องเที่ยว หนึ่งเดียวกัน
UDONTHANI อุดรธานี ดินแดนแห่งพระป่าพระกรรมฐาน ตามรอยพระพุทธองค์ มากว่าสองพันหกร้อยปี ณ กาลปัจจุบันก็ยังเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อันท�ำให้บังเกิดความสงบเย็นให้ปรากฏแก่จิตใจของผู้ที่ร้อนรน จากความทุกข์สารพัด และเป็นทีเ่ บิกบานใจส�ำหรับนักท่องเทีย่ ว ต่างชาติให้เปลี่ยนเส้นทางชีวิตเข้าสู่ทางธรรมก็ไม่น้อย
50
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 50
9/9/2562 17:15:50
สวนสาธารณะหนองประจักษ์ศิลปาคม อุดรธานี “เป็ดเหลืองยักษ์” สีสันแห่งสวนสาธารณะ
ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองอุดรธานี เป็นหนองน�้ำขนาดใหญ่ โดย บริเวณตัวเกาะกลางน�้ำได้จัดท�ำสวนหย่อมปลูกไม้ดอกไม้ประดับ หลายชนิด และท�ำสะพานเชือ่ มระหว่างเกาะมีนำ�้ พุ หอนาฬิกา และ สวนเด็กเล่น แต่ละวันจะมีประชาชนเข้าไปพักผ่อนและออกก�ำลัง กายกันเป็นจ�ำนวนมาก รวมถึงไฮไลท์สำ� คัญกับการชม “เป็ดเหลือง ยักษ์” ทีค่ อยสร้างสีสนั ให้การมาเทีย่ วสวนสาธารณะหนองประจักษ์ น่าตื่นตาตื่นใจ UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 51
51
9/9/2562 17:15:51
พิ พิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี
พิ พิธภัณฑ์มีชีวิตเหนือกาลเวลา พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี ตั้งอยู่ติดกับ หนองประจักษ์ ในอาคารราชินูทิศ เป็น อาคารเก่าแก่ของโรงเรียนสตรีประจ�ำจังหวัด อุดรธานีที่สร้างขึ้นในสมัยรัชการที่ 6 โดย จั ด แสดงเรื่ อ งราวต่า งๆ เกี่ยวกับ จังหวัด อุดรธานีนบั ตัง้ แต่ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี ธรรมชาติวิทยา ธรณีวิทยา ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม รวมถึงพระ ประวัติและพระเกียรติคุณของกรมหลวง ประจักษ์ศิลปาคมผู้ก่อตั้งเมืองอุดรธานี ภายในอาคารเป็นพื้นที่แสดงนิทรรศการ หมุนเวียน ส�ำนักงาน ห้องน�้ำ ร้านกาแฟ และระเบียงชมหนองประจักษ์ ระหว่าง ทางเดินที่เป็นก�ำแพงอิฐในยามที่แสงส่อง กระทบผ่ า นลวดลายฉลุ ข องอาคาร ตั ว พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี เป็นอาคาร 2 ชั้น เป็นอาคารแบบโคโลเนียลทีน่ ำ� รูปแบบองค์ ประกอบทางสถาปัตยกรรมคลาสสิกมา ประยุกต์ใช้ให้เข้ากับภูมิอากาศเขตร้อน มี ทั้งหมด 26 ห้อง ปรับแต่งบรรยากาศย้อน ยุคไปในอดีตและก้าวล�ำ้ ไปในอนาคต ท�ำให้ การเที่ยวพิพิธภัณฑ์เป็นสิ่งที่มีชีวิตเหนือ กาลเวลา
ที่ตั้ง : ถนนโพศรี อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ช่วงเวลาท�ำการ : 08.30-16.00 น. ปิดทุกวันจันทร์ 52
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 52
9/9/2562 17:15:56
อุโบสถดอกบัวกลางน�้ำ วัดสันติวนาราม
หนึ่งเดียวในประเทศ กลางหนองน�้ำอีสานเขียว อุโบสถดอกบัวกลางน�้ำ ตั้งอยู่ที่ วัดสันติวนาราม พุทธอุทยานบ้านเชียง อ�ำเภอ หนองหาน จังหวัดอุดรธานี ใกล้กับแหล่งมรดกโลกชุมชนบ้านเชียง เป็นพระอุโบสถทรง ดอกบัวสีขาวหนึ่งเดียวในประเทศไทย ที่ตั้งโดดเด่นกลางน�้ำมีสะพานทางเดินเชื่อม ไปยังพระอุโบสถ ส่วนภายในวิจิตรตระการตาด้วยภาพวาดฝาผนังที่บอกเล่าเรื่องราว พุทธประวัติ มีองค์พระประธานสีขาวโดดเด่นอยู่ภายในอุโบสถ บริเวณโดยรอบอุโบสถ ยังโอบล้อมไปด้วยบึงน�้ำขนาดใหญ่ ซึ่งมีปลาอาศัยอยู่เป็นจ�ำนวนมาก สามารถท�ำทาน ด้วยการให้อาหารปลาได้อีกด้วย
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 53
53
9/9/2562 17:15:59
วัดดอนหลวง กลางทุ่งทะเลบัวแดง ณ บึงหนองหาน
บัวแดงแห่งธรรมบานกลางบึง ทะเลบัวแดงที่บึงหนองหาน อ�ำเภอกุมภวาปี คือที่เที่ยวที่ขึ้นชื่อในจังหวัดอุดรธานี ครอบคลุมพื้นที่ในอ�ำเภอหนองหานไปจนถึงส่วนหนึ่งในอ�ำเภอประจักษ์ศิลปาคม และ อ�ำเภอกู่แก้ว มีความหลากหลายทางชีวภาพ อุดมไปด้วยพืชน�้ำ พันธุ์นก และสัตว์นำ�้ จืด หลากหลายชนิ ด โดยมี บั ว แดง ซึ่ ง จะบานให้ ช มตั้ ง แต่ เ ดื อ นมกราคมไปจนถึ ง เดื อ น กุมภาพันธ์ของทุกปี ช่วงเวลาทีส่ วยทีส่ ดุ ในการชมดอกบัวแดงคือตัง้ แต่ 6 โมงเช้า ไปจนถึง 11 โมงเช้า นักท่องเที่ยวสามารถมาซื้อตั๋วที่ท่าเรือได้เลย เมื่อนั่งเรือไปถึงเกาะกลางน�้ำ ที่นี่ยังมีวัดดอนหลวงซึ่งตั้งอยู่เกาะกลางน�้ำ โดยเราสามารถขึ้นไปสักการะพระพุทธรูป ด้านบนก่อนนั่งเรือกลับฝั่งได้
54
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 54
9/9/2562 17:16:00
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 55
55
9/9/2562 17:16:01
วัดป่าภูก้อน วัดป่าแสนสวยกลางขุนเขา เป็นวัดป่าแห่งการวิปัสสนา โดดเด่นด้วยความสวยงามของโครงสร้าง การออกแบบทางสถาปัตยกรรมขององค์พระพุทธรูปหินอ่อน พระวิหาร ศาลาราย และอาคารรอบลานเขา
56
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 56
9/9/2562 17:16:01
วัดโพธิสมภรณ์ พระอารามหลวง เป็นวัดทีม่ คี วามส�ำคัญ ของจังหวัด อุดรธานี เริ่มสร้างเมื่อ พ.ศ. 2499 ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรม ราชานุญาต ให้วัดโพธิสมภรณ์ เป็น พระอาราม หลวงชัน้ ตรี ชนิดสามัญปลายรัชกาลที่ 5
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 57
57
9/9/2562 17:16:03
ชุมชนบ้านเชียง และ พิ พิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง
ย่อมรดกโลก ให้เป็นมรดกใจ
58
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 58
9/9/2562 17:16:05
แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและแหล่ ง เรี ย นรู ้ ทางโบราณคดี ส� ำ คั ญ ของไทย ที่ ใ ห้ นั ก ท่องเที่ยวรับรู้ถึงการด�ำรงชีวิตสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี แสดงให้เห็นร่องรอยทัง้ ทางด้านวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของมนุษย์ ทั้งเครื่องมือ ในการด� ำ รงชี วิ ต และการสร้ า งสั ง คม วัฒนธรรมของมนุษย์ ที่สืบเนื่องต่อกัน มาเป็ น ระยะเวลายาวนาน รวมถึ ง ยั ง ครอบคลุมไปถึงแหล่งโบราณคดีในภาค ตะวันออกเฉียงเหนืออีกกว่าร้อยแห่งด้วย จากวั ด สั น ติ ว นาราม สามารถไปเที่ ย ว ชุมชนบ้านเชียง ซึ่งตั้งอยู่ไม่ไกลกัน ชุมชน บ้านเชียง คือ ชุมชนเก่าแก่ที่ได้ชื่อว่าเป็น แหล่งมรดกโลก มีถนนคนเดินซึ่งมีร้าน จ� ำ หน่ า ยและแหล่ ง ขายของฝากสิ น ค้ า โอทอป เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา
08.00-16.30 น. สินค้าที่มีความโดดเด่น คื อ เครื่ อ งปั ้ น ดิ น เผาบ้ า นเชี ย ง ที่ มี เอกลักษณ์และลวดลายสวยงาม ผ้าทอ บ้านเชียง เป็นผ้าทอพื้นเมืองที่เป็นมรดก ตกทอดกันมายาวนาน ซึ่งร้านค้าจะตั้งอยู่ เรียงรายริมถนนสามารถเดินเลือกซือ้ หาได้ ตามความพึงพอใจ มีทั้งผ้าทอย้อมคราม และผ้ า ทอพื้ น เมื อ งสี สั น สวยงาม และ สินค้าขึ้นชื่อ หม้อดินเผาหม้อลายเขียนสี ก่อนประวัตศิ าสตร์ ซึง่ ปัจจุบนั ชาวบ้านได้นำ� มรดกชิน้ เอก น�ำมาต่อยอดสร้างสรรค์เป็น ผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาในรูปภาชนะ ต่างๆ ไปจนถึงสินค้าที่ระลึก มีทั้งขนาด เล็กราคาหลักสิบไปจนถึงขนาดใหญ่ราคา หลักร้อย น่าซื้อหาไว้เป็นของที่ระลึกและ สะสมไว้เป็นมรดกแห่งใจ
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 59
59
9/9/2562 17:16:11
ค�ำชะโนด
แหล่งรวมความศรัทธา จากประชาชนทั่วทุกสารทิศ ค�ำชะโนด หรือ วังนาคินทร์ค�ำชะโนด ตั้งอยู่ในพื้นที่ 3 ต�ำบล คือต�ำบลวังทอง ต�ำบลบ้านม่วง และต�ำบลบ้านจันทร์ ใน อ�ำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี เชือ่ ว่าเป็น สถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิด์ นิ แดนลีล้ บั ของพญานาค เป็นที่เคารพย�ำเกรงและศรัทธาของคนใน จังหวัดอุดรธานีและอีสานตอนบน ค�ำชะโนด มีลักษณะเป็น เกาะลอยน�้ำ ที่เต็มไปด้วย ต้นชะโนด ป่าค�ำชะโนดเป็นสถานทีป่ รากฏ ในต�ำนานพืน้ บ้าน เชือ่ ว่าเป็นทีส่ งิ สถิตของ พญานาคปู่ศรีสุทโธ ย่าศรีประทุมมา และ สิ่งลี้ลับต่างๆ เกาะค�ำชะโนดไม่เคยจมน�้ำ โดยมีความเชือ่ ทีว่ า่ เพราะมีพญานาคคอย ปกปั ก รั ก ษา เมื่อ เข้า มาถึงภายในพื้น ที่ ของค�ำชะโนด จะรู้สึกได้ถึงความร่มรื่น อากาศภายนอกที่ร้อนแต่พอเข้ามาอยู่ที่นี่ จะรูส้ กึ เย็น เพราะปกคลุมด้วยป่าต้นชะโนด ขนาดใหญ่ความยาวประมาณ 200 เมตร ทั่ ว บริ เ วณ ต้ น ชะโนด เป็ น ต้ น ไม้ ที่ มี ลักษณะประหลาดลักษณะคล้ายกับต้น มะพร้าว ต้นหมาก และต้นตาลผสมกัน ขึ้ น เต็ ม บริ เ วณ ชะโนดเป็ น ภาษาเขมร (โตนด-ต้นตาล) ซึง่ ได้รบั การยืนยันว่ามีอยู่ เฉพาะที่ นี่ แ ห่ ง เดี ย วเท่ า นั้ น ด้ า นหลั ง ของค�ำชะโนด จัดท�ำเป็นทางเดินไม้ชม บรรยากาศของป่าค�ำชะโนด ทีร่ ายล้อมด้วย ต้นไม้สูงใหญ่ โดยเฉพาะต้นชะโนด ให้ ความรูส้ กึ เหมือนเดินอยูใ่ นป่าดึกด�ำบรรพ์ เปิดท�ำการทุกวันเวลา 06.00-18.00 น.
60
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 60
9/9/2562 17:16:21
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 61
61
9/9/2562 17:16:27
อนุสรณ์สถานโฮจิมินห์ สานสัมพั นธ์ไทย-เวียดนาม ด้วยความรักและระลึกถึง “ลุงโฮ”
ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองฮาง ต�ำบลเชียงพิณ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและเรี ย นรู ้ เ ชิ ง ประวัติศาสตร์ ที่เกิดจากความตั้งใจของ ชาวจั ง หวั ด อุ ด รธานี แ ละพี่ น ้ อ งชาวไทย เชื้ อ สายเวี ย ดนามจังหวัดอุดรธานี และ ในจังหวัดใกล้เคียง ได้รว่ มกันสร้างขึน้ เพือ่ เป็ น อนุ ส รณ์สถาน ศึก ษาเรื่อ งราวทาง ประวัติศาสตร์ของท่านโฮจิมินห์ มีทั้งใน ส่วนของการจ�ำลองบ้านพัก และในส่วน ของนิทรรศการ ซึ่งจัดแสดงประวัติลุงโฮ, ความสัมพันธ์ไทย-เวียดนาม, วิถีชีวิตของ คนไทยเชื้อสายเวียดนามในประเทศไทย และห้องหนังสือ 62
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 62
9/9/2562 17:16:39
ภูฝอยลม
สัมผัสธรรมชาติบริสุทธิ์ และ พิ พิธภัณฑ์พัฒนาการของชีวต ิ
“ภูฝอยลม” เป็นพื้นที่ภูเขาที่มีสภาพ อุดมสมบูรณ์อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ พันดอน-ปะโค อ�ำเภอหนองแสง จังหวัด อุดรธานี สูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 600 เมตร “ฝอยลม” มาจากชื่อของพืชตระกูล ไลเคน ซึ่งเกาะอาศัยอยู่ตามกิ่งของต้นไม้ ใหญ่กระจายอยู่เต็มพื้นที่ ลักษณะเป็น ฝอยสีเขียวอ่อนเกาะตามกิ่งไม้ ฝอยลม สามารถใช้เป็นเครื่องวัดความบริสุทธิ์ของ อากาศได้เป็นอย่างดี ถ้าที่ใดมีฝอยลมอยู่ แสดงว่าที่นั้นมีอากาศที่บริสุทธิ์มาก ที่นี่ ยังมีแหล่งท่องเทีย่ วอุทยานก่อนประวัตศิ าสตร์ และเส้นทางไดโนเสาร์ โดยมีพิพิธภัณฑ์ และไดโนเสาร์ชนิดต่างๆ ขนาดเท่าของจริง รูปปั้นจระเข้และเต่าโบราณ หุ่นจ�ำลอง และวิวฒ ั นาการจากลิงจนกลายเป็นมนุษย์ โดยมี เ ส้ น ทางเดิ น เท้ า ให้ เ ราได้ สั ญ จร แวะชมเป็นจุดๆ ได้ทั่วภูฝอยลม และ ณ จุดชมวิวบนภูฝอยลม ท่านสามารถมอง เห็นชุมชนเมืองของจังหวัดอุดรธานี เห็น ภาพกว้างระหว่างความเจริญรุ่งเรืองของ ชุมชนเมือง กับความเงียบสงบของสภาพ ธรรมชาติ ที่ท่านสามารถเลือกได้ว่าจะใช้ ชีวิตอย่างไรในปัจจุบัน
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 63
63
9/9/2562 17:16:47
64
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 64
9/9/2562 17:16:51
ศูนย์วฒ ั นธรรมไทยจีน และศาลปูย ่ า่
ยกเมืองจีนมาไว้ใจกลางเมือง
อุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท
จากนิทานพื้ นบ้านเรื่อง “อุสาบารส” สู่มรดกโลก มรดกธรรม ตัง้ อยูบ่ ริเวณเชิงเขาภูพาน ครอบคลุมพืน้ ที่ ประมาณ 3,430 ไร่ ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีซ่ งึ่ อุดม ไปด้วยพืชพันธุธ์ รรมชาติ และร่องรอยทาง วัฒนธรรมของมนุษย์มาแต่ครั้งอดีตกาล ผูค้ นในท้องถิน่ และบริเวณใกล้เคียงเชือ่ ถือ กันมาแต่โบราณว่าสถานที่นี้มีความเกี่ยว โยงกันกับนิทานพืน้ บ้านเรือ่ ง “อุสาบารส” ดั ง ปรากฏชื่ อ เรี ย กโบราณสถานตาม เหตุการณ์ต่างๆ ในเรื่อง เช่น หอนางอุสา คอกม้าท้าวบารส เป็นต้น จากการส�ำรวจ ศึ ก ษาทางโบราณคดี พ บว่ า มนุ ษ ย์ เ ข้ า มาใช้พื้นที่เพื่อการล่าสัตว์และประกอบ พิ ธี ก รรมตั้ ง แต่ ส มั ย ก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ตอนปลายจนถึงสมัยประวัติศาสตร์ โดย
ได้พบภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ทีม่ อี ายุราว 2,000–3,000 ปีมาแล้ว และ การดัดแปลงเพิงหิน และแท่งหินธรรมชาติ ให้ เ ป็ น ศาสนสถาน และรู ป เคารพทาง ศาสนาในสมัยประวัติศาสตร์ตอนต้นช่วง วัฒนธรรมทวารวดีลพบุรี และสืบต่อกันมา จนถึงวัฒนธรรมล้านช้างตามล�ำดับ อุทยานประวัตศิ าสตร์ภพู ระบาท ได้รบั การประกาศให้เป็นมรดกโลกซึ่งอยู่ในการ ดูแลของกรมศิลปากร ขึน้ ในปี พ.ศ. 2534 ปรากฏเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลายแห่ ง อาทิ พระพุ ท ธบาทบั ว บก พระพุทธบาทหลังเต่า ถ�ำ้ และเพิงหินต่างๆ ตั้งกระจายอยู่ทั่วไปในบริเวณอุทยานฯ
ศู นย์ วั ฒนธรรมไทย-จีน ตั้ง อยู่ ใจกลางเมื อ งอุ ด รธานี บริ เ วณ เดี ย วกั น กั บ ศาลเจ้ า ปู ่ ย ่ า สถานที่ ตกแต่งโดยจ�ำลองบรรยากาศแบบจีน เหมื อ นยกเมื อ งจี น มาไว้ ใ จกลาง อุดร โดยสร้างขึ้นเพื่อเชิดชูองค์เจ้า ปู่เจ้าย่า ที่เป็นที่เคารพและศรัทธา ของชาวอุ ด รธานี แ ละจั ง หวั ด ใกล้ เคียง อีกทั้งเป็นแหล่งในการสืบสาน วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของ ชาวจีนที่อพยพจากประเทศจีนมา พึ่ ง พระบรมโพธิ ส มภารในจั ง หวั ด อุดรธานี เป็นสถานทีส่ งบ เย็นสบาย และสวยงาม เมื่อด้านเข้ามาบริเวณด้านหน้า จะพบกั บ สระน�้ ำ ขนาดเล็ ก ที่ มี ฝู ง ปลาสีสวยงามแหวกว่าย บรรยากาศ ร่มรื่นเหมาะแก่การท่องเที่ยวและ พั ก ผ่ อ น มี มุ ม ให้ ถ ่ า ยรู ป หลายมุ ม เดินเข้าไปข้างในสุดจะพบกับสะพาน ข้ามสระน�ำ้ และศาลาพักผ่อนแบบจีน ทีม่ คี วามวิจติ รงดงาม อีกโซนเป็นมุม ภาพปูนปั้นและภาพถ่ายตามห้อง ต่างๆ ให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ไทยจีนอย่างใส่ใจทุกรายละเอียด เปิดทุกวัน เวลา 09:00-19:00 น. ไม่เสียค่าเข้าชม
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 65
65
9/9/2562 17:17:00
วัดป่าโนนทอง (ธ)
“บุญใหญ่แห่งชีวต ิ ร่วมสร้างพระมหารัตนมงคลเจดีย์ ทีป ่ ระดิษฐานพระบรมสารีรก ิ ธาตุ ขององค์พระสัมมาสัมพุ ทธเจ้าและอนุรก ั ษ์ประเพณีทอ ้ งถิน ่ งานบุญ และศิลปวัฒนธรรมไทยประจ�ำท้องถิน ่ ”
พระครูอดุลธรรมโกศล ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส เจ้าคณะต�ำบลเชียงเพ็ ง (ธ) วัดป่าโนนทอง (ธ) ตัง้ อยูใ่ นชุมชนบ้านโนนทอง เลขที่ 169 หมู่ 7 ต�ำบลเชียงเพ็ง อ�ำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี มีเนือ้ ทีป่ ระมาณ 252 ไร่ เป็นป่าที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์หลากหลายชนิด ห่างจากชุมชนโนนทองประมาณ 1 กิโลเมตร และตัววัดห่างจาก ถนนใหญ่ประมาณ 2 กิโลเมตร สามารถเดินทางโดยทางรถยนต์ มาตามเส้นถนนอุดร-บ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ปั จ จุ บั น พระครู อ ดุ ล ธรรมโกศล เป็ น เจ้ า อาวาส และ เจ้าคณะต�ำบลเชียงเพ็ง (ธ) ประวัติความเป็นมา วัดป่าโนนทอง (ธ) เริม่ ก่อตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2532 ต่อมาได้รบั อนุญาต สร้างเป็นวัดในวันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2536 และประกาศตัง้ ให้เป็น วัดในพระพุทธศาสนาเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2539 ที่มีชื่อว่า “วัดโนนทอง” และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ต่อมาได้ท�ำพิธีผูกพัทธสีมา หรือที่เรียกกันว่า “ผูกสีมา” เมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2546 66
2
ศาสนสถาน พระมหารัตนมงคลเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับ มอบมาจากท่านพระ Dhramagupta Bhante จากเมืองกุสินารา ประเทศอินเดีย เจ้าอาวาสวัด Buddha Jana Vihara เมืองลลิตปูร์ กาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล และอีกส่วนหนึ่งได้รับจากสมเด็จ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) พระองค์ที่ 19 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศ ราชวรวิ ห าร และบรรจุ ทั น ตธาตุ ข ององค์ ห ลวงตาพระมหาบั ว ญาณสัมปันโน, และประดิษฐานพระรูปหล่อของสมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร รูปเหมือนองค์หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน วัดป่าบ้านตาด, รูปเหมือนพระครูพิมล ปรีชาญาณ (หลวงปู่พิมพ์ พหุชาคโร) วัดป่าไชยาราม, หลวงปู่สมเกียรติ ชิตมาโร วัดป่าถ�้ำ พระเทพนิมิต และใช้เป็นที่ประกอบพิธีกรรมส�ำคัญทางพระพุทธ ศาสนาและใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัท
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 66
10/9/2562 13:43:17
ศาลาอุโบสถ ที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา กุฏิ เจ้าอาวาส กุฏิเรือนรับรอง และกุฏิที่ใช้เป็นที่พักของพระภิกษุสงฆ์ สามเณร แม่ชี อุบาสก อุบาสิกา เป็นต้น กิจกรรมที่ทางวัดจัดขึ้นเป็นประจ�ำ 1. งานสืบสานประเพณีสงกรานต์ ซึ่งจัดขึ้นวันที่ 14-16 ของ เดือนเมษายน โดยกิจกรรมมีการท�ำบุญตักบาตร แห่พระบรม สารีริกธาตุ การประกวดฟ้อนร�ำ เป็นต้น 2. สวดมนต์ขา้ มปี โดยกิจกรรมจะมีคณะสงฆ์นำ� สวดมนต์ขา้ มปี ในวันที่ 31 ธันวาคมของทุกปี แจ้งข่าวบอกบุญ ขอเชิญร่วมมหาบุญสร้างพระมหารัตนมงคลเจดีย์ โดยเป็นเจ้าภาพ อิฐ หิน ดิน ปูน ทราย เหล็กเส้น หรือร่วมท�ำบุญตามก�ำลังศรัทธา ท่านสามารถร่วมท�ำบุญได้ที่ • ชื่อบัญชี พระครูอดุลธรรมโกศล ธนาคารกรุงเทพ สาขาอุดรธานี เลขบัญชี 284-7-38789-7 ธนาคารกสิกรไทย สาขาอุดรธานี เลขบัญชี 110-2-44664-8 • ติดต่อสอบถาม พระครูอดุลธรรมโกศล โทร. 081-263-2507, 042-110-202 วัดป่าโนนทอง (ธ) เลขที่ 169 หมู่ 7 ต�ำบลเชียงเพ็ง อ�ำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี 41250 Facebook : วัดป่าโนนทอง อ�ำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี
พระบรมสารีริกธาตุขององค์สมเด็จพระสัม มาสั ม พุ ท ธเจ้ า
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 67
67
10/9/2562 13:43:25
วัดไร่สวรรค์ ตั้งอยู่ที่บ้านไร่สวรรค์ ต�ำบลหนองวัวซอ อ�ำเภอ หนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี เริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2527 โดยมี พระธรรมปริยัติโ มลี อดีต เจ้า คณะภาค 8 และอดี ต เจ้ าอาวาส วัดมัชฌิมาวาส (พระอารามหลวง) เป็นประธาน มีพระครูโพธานุวตั ร อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิวราราม และ อดีตรองเจ้าคณะอ�ำเภอเมือง อุดรธานี เป็นรองประธาน พระครูโฆษิตคณารักษ์ อดีตเจ้าอาวาส วัดบ้านโนนหวาย และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอหนองวัวซอ เป็นรองประธาน มีคุณแม่วิลัย ธรรมรังสี เป็น ผู้ถวายที่ดินสร้างวัดจ�ำนวน 6 ไร่ (ปัจจุบนั ทางวัดได้ซอื้ เพิม่ เติมอีก 22 ไร่ เป็น 28 ไร่) เมือ่ ทุกอย่าง พร้อมแล้ว พระธรรมปริยตั โิ มลี จึงได้สงั่ ด�ำเนินการก่อสร้างเสนาสนะ ให้เหมาะสมแก่การเป็นที่อยู่อาศัยของพระภิกษุสามเณรต่อไป และให้ดำ� เนินการขออนุญาตสร้างวัดจากกรมการศาสนาให้ถกู ต้อง ท่านได้ตงั้ ชือ่ วัดว่าวัดหนองวัวซอธรรมรังษี เพือ่ ให้เป็นวัดของชาวบ้าน หนองวัวซอทุกคน และมีนามสกุลของเจ้าภาพผู้ถวายที่ดินต่อท้าย ชื่อวัดด้วยเพื่อเป็นเกียรติแก่วงศ์ตระกูลสืบไป ต่อมาชาวบ้านจึงได้ด�ำเนินการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ และได้ ขออนุญาตสร้างวัดจากกรมการศาสนาในปีนั้น โดยมีผู้ใหญ่บุญมี แสนหอมค�ำ ซึ่งเป็น ผู้ใหญ่บ้านบ้านไร่สวรรค์เป็นหัวเรี่ยวหัวแรง ส�ำคัญน�ำพาชาวบ้านสร้างวัด และเป็นผูด้ ำ� เนินการขออนุญาตสร้างวัด
วัดไร่สวรรค์
พระครูธ�ำรงสุตาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
68
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 68
12/9/2562 16:03:05
โดยมีหลวงพ่อค�ำใบ มารชิโน จากวัดโพธิวราราม จังหวัดอุดรธานี เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ท่านเป็นที่ศรัทธาของชาวบ้านมาก ได้น�ำพา ญาติโยมก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ให้เหมาะแก่การเป็นที่อยู่อาศัย เหมาะแก่การเป็นที่ศึกษาและปฏิบัติธรรมของพระสงฆ์สามเณร ตามล�ำดับมา แต่การขออนุญาตจากกรมการศาสนายังไม่แล้วเสร็จ ท่านก็มรณภาพในปี พ.ศ. 2533 ประชุมเพลิงในปี พ.ศ. 2534 ในปีนนั้ ชาวบ้านได้อาราธนา พระมหาสังคม สุรนิ ธฺ โร (ปัจจุบนั ได้รบั พระราชทานสมณศักดิท์ ี่ พระครูธำ� รงสุตาภรณ์) จากวัดโพธิวราราม มาเป็นเจ้าอาวาส จึงได้ด�ำเนินการขออนุญาตสร้างวัดจากกรมการ ศาสนาต่อ และได้ก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ ปลูกต้นไม้ภายในวัด ให้ร่มรื่นเพื่อเหมาะแก่การปฏิบัติธรรม ต่อจากที่อดีตเจ้าอาวาส ได้ทำ� ไว้จนแล้วเสร็จเป็นล�ำดับมา ปี พ.ศ. 2536 ได้รับอนุญาตให้สร้างวัดจากกรมการศาสนา ต่อมา พ.ศ. 2537 ได้รับอนุญาตให้ตั้งวัดจากกรมการศาสนา และ ทางกรมการศาสนาได้เปลี่ยนชื่อวัดเป็น วัดไร่สวรรค์ ตั้งแต่นั้น เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบนั และในปี พ.ศ. 2542 ได้เริม่ ก่อสร้างอุโบสถ เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ท�ำพิธีเททองหล่อพระประธาน ในอุ โ บสถขนาดหน้า ตัก 109 นิ้ว ปางมารวิ ชั ย เนื้ อทองเหลื อง ลงรักปิดทองค�ำเปลว โดยมี พระพรหมเวที (สนิท ชวนปญฺโญ) (ปัจจุบันด�ำรงสมณศักดิท์ ี่ สมเด็จพระพุฒาจารย์) เจ้าอาวาสวัดไตรมิตร วิทยารามพระอารามหลวง กรุงเทพมหานคร เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ นายสุวิทย์ คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรีเป็น ประธานฝ่ายฆราวาส และ พระพรหมเวที ได้ตั้งชื่อพระประธาน ในอุโบสถให้ว่า สมเด็จพระพุทธไตรโลกนาถ
ในปี พ.ศ. 2557 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา โดยความกว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับ ประกาศทั่วไป เล่มที่ 131 ตอนพิเศษ 262 วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557 และได้ทำ� พิธปี กั หมายเขตวิสงุ คามสีมา วันที่ 16 มิถนุ ายน พ.ศ. 2558 อุโบสถหลังนีส้ นิ้ เงินก่อสร้าง ทัง้ สิน้ 15,598,988 บาท ท�ำพิธีฉลองอุโบสถ ยกช่อฟ้าเอกตัดหวายฝังลูกนิมิต 109 ลูก เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ประวัติท่านเจ้าอาวาสพอสังเขป พระครูธ�ำรงสุตาภรณ์ (สังคม สิรินฺธโร) อายุ 52 ปี พรรษา 32 วิทยฐานะ ปริญญาตรี พุทธศาสตร์บณ ั ฑิต น.ธ.เอก ป.ธ.3 วัดไร่สวรรค์ ต�ำบลหนองวัวซอ อ�ำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี ชือ่ -สกุลเดิม สังคม สีลาวงศ์ เกิดวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2510 ปีมะแม บิดา นายสมดี มารดา นางอุดม บ้านเลขที่ 24 หมู่ที่ 3 ต�ำบลสามพร้าว อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี อุปสมบท วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 ปีเถาะ ณ วัดโพธิวราราม ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี พระอุปชั ฌาย์ : พระธรรมปริยตั โิ มลี วัดมัชฌิมาวาส ต�ำบลหมากแข้ง อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี พระกรรมวาจาจารย์ : พระครูสังฆรักษ์เสถียร วัดมัชฌิมาวาส และ พระอนุสาวนาจารย์ : พระครูสมุห์ถวิล วัดมัชฌิมาวาส พระครูธำ� รงสุตาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสตัง้ แต่ พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบนั สมณศักดิ์ : พ.ศ. 2546 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชนั้ โท ที่ พระครูธำ� รงสุตาภรณ์ และพ.ศ. 2553 ได้รบั พระราชทานเลือ่ นสมณศักดิเ์ ป็นพระครูสญ ั ญาบัตร เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก ที่ ราชทินนามเดิม
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 69
69
12/9/2562 16:03:07
วัดศรีนคราราม พระโสภณพุ ทธิธาดา
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
วัดศรีนคราราม ตั้งอยู่เลขที่ 110 บ้านอากาศอํานวย (บ้าน ดงเมือง) ถนนพันดอน หมู่ที่ 4 ตําบลกุมภวาปี อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดเนือ้ ที่ 75 ไร่ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2472 เดิมเป็นวัดร้าง เป็นวัดโบราณสร้างสมัยขอม ชาวบ้านได้พบซากของพระพุทธรูปเก่าช�ำรุด จึงได้น�ำมาบูรณะ พร้อมสร้างวัดขึ้นใหม่และตั้งชื่อว่า “วัดศรีนคราราม” หรือ เรียก อีกชื่อหนึ่งว่า “วัดศรีเมือง” ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร วัดศรีนคราราม ได้รบั การคัดเลือกจากคณะกรรมการอ�ำนวยการ พัฒนาวัดให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง พ.ศ. 2507 จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ และได้รบั คัดเลือกจากคณะกรรมการอ�ำนวยการ ให้เป็นวัด “ลานวัด ลานใจ ลานกีฬา” พ.ศ. 2541 จากกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันวัดศรีนครารามมีพระโสภณพุทธิธาดา รองเจ้าคณะ จังหวัดอุดรธานี ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
70
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
3
.indd 70
10/9/2562 13:46:52
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระโสภณพุทธิธาดา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดศรีนคราราม เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2529-ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้า คณะจังหวัดอุดรธานี เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน ท่านเป็นเจ้าอาวาสทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ในการพัฒนาทุกด้าน เพือ่ ความ เจริญ ความมั่นคงของพระพุทธศาสนา ทุ่มเทด้านก�ำลังกาย ก�ำลัง ทรัพย์ ก�ำลังสติปัญญา ก�ำลังศรัทธา เพื่อพัฒนาทุกด้านให้มีความ เจริญมัน่ คง โดยเฉพาะเรือ่ งการศึกษาของพระเณรทีท่ า่ นให้ความ ส�ำคัญเป็นอย่างมาก กิจกรรมของวัด นอกจากท�ำบุญตักบาตร และปฏิบัติธรรมใน วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาแล้ว งานบุญกฐิน ผ้าป่าก็มีความ ส�ำคัญเช่นเดียวกัน ปริศนาธรรม “ธงกฐิน” ของคนโบราณ 1. ธงรูปจระเข้คาบดอกบัว หมายถึง อย่ามีความโลภ เหมือนจระเข้ (เพราะจระเข้มีปากที่ใหญ่กินไม่อิ่ม) 2. ธงรูปนางกินรีหรือนาง มัจฉาถือดอกบัว หมายถึง อย่ามีความหลง (เสน่ห์แห่งความงาม ที่ชวนหลงใหล) 3. ธงรูปตะขาบคาบดอกบัว หมายถึง อย่าโกรธ เหมือนตะขาบ (เพราะตะขาบเป็นสัตว์มีพิษร้าย) เหมือนความ โกรธที่แผดเผาจิตใจ 4. ธงรูปเต่าคาบดอกบัว หมายถึง จงมีสติ เหมือนเต่า (คือการส�ำรวมระวังรักษาอายตนะทั้ง 6 ดุจเต่าที่หด อวัยวะอยู่ในกระดอง) UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 71
71
10/9/2562 13:46:59
ด้านการศึกษา เปิดโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกธรรมและบาลี ซึง่ เป็นส�ำนัก ศาสนศึกษาประจ�ำอ�ำเภอ ส่งนักเรียนเข้าสอบธรรมสนามหลวงเป็น ประจ�ำทุกปี และโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา เปิด การเรียน-การสอน ช่วงชัน้ ที่ 3-4 ระดับ ม.ต้น ม.1-3 ระดับ ม.ปลาย ม.4-6 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-ปัจจุบัน การบริหารและการปกครองมีเจ้าอาวาสที่ทราบนาม คือ 1. พระอธิการจันทร์เพ็ญ จนฺทสาโร 2. พระอธิการขุน ขนฺติธมฺโม 3. พระอธิการสุดชา ปภสฺสโร 4. พระอธิการลี อตฺตคุตฺโม 5. พระครูธรรมวิธานธ�ำรง ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอกุมภวาปี 6. พระครูสุเมธสารคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งรองเจ้าคณะอ�ำเภอกุมภวาปี 7. พระโสภณพุทธิธาดา ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสและรองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
อาคารเสนาสนะที่สำ� คัญ ภายในวัดศรีนครารามประกอบด้วย 1. อุโบสถ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2489 2. โรงเรียนพระปริยัติธรรม อาคาร 2 ชั้น ครึ่งคอนกรีตครึ่งไม้ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2520 3. ศาลาการเปรียญ อาคารชั้นเดียว สร้างเมื่อ พ.ศ. 2532 4. ศาลาการเปรียญหลังใหม่ อาคารชัน้ เดียวคอนกรีตเสริมเหล็ก สร้างเมื่อ พ.ศ. 2544 5. กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 15 หลัง ครึ่งไม้ครึ่งปูน 10 หลัง อาคารชั้นเดียว 5 หลัง 6. ส�ำนักงานเจ้าคณะอ�ำเภอ 1 หลัง 7. อาศรม 1 หลัง 8. ศาลาฌาปนสถาน 1 หลัง 9. เมรุ 1 แห่ง 10. หอระฆัง 5 หลัง 11. พระธาตุเกษแก้วจุฬามณี 1 องค์ 12. วิหารหลวงปู่พระวิชัยธรรมมาจารย์ 72
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
3
.indd 72
10/9/2562 13:47:09
วัดโนนสะอาด
“ศูนย์รวมจิตใจให้เกิดความสมัครสมานสามัคคีปรองดอง” พระครูโชติรต ั นคุณ ฉายา โชติปญฺโญ (ค�ำสด ศรีบญ ุ ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดโนนสะอาด คือชือ่ วัดอย่างเป็นทางการ ส�ำหรับชือ่ ทีช่ าวบ้าน เรียกคือ วัดบ้านปอ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 206 หมู่ 6 ต�ำบลตูมใต้ เขต 2 อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 6 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา ประวัติความเป็นมา วัดโนนสะอาด สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยการน�ำของพระบุน โคตรรักษา เป็นผูน้ ำ� พาชาวบ้านก่อสร้างขึน้ เพื่อเป็นศูนย์รวมแรงยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้เกิดความสมัครสมาน สามัคคีปรองดอง และให้พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้มีที่บ�ำเพ็ญกุศล และท�ำกิจกรรมร่วมกันในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนาตลอดมา วัดโนนสะอาด ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2523 อาณาเขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร โดยรองนายกรัฐมนตรี พลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นผูร้ บั สนอง พระบรมราชโองการ การบริหารและการปกครอง 1. พระบุน โคตรรักษา พ.ศ. 2473–2498 2. พระเฟือ้ ย ปญฺญาวุฑโฺ ฒ (วิเศษชาติ) พ.ศ. 2498–2510 3. พระอธิการสุกญ ั จน์ ฐิตธมฺโม พ.ศ. 2511–2525 4. พระอธิการสิงห์ สีลสํวโร พ.ศ. 2526–2533 5. พระครูโชติรตั นคุณ (โชติปญฺโญ) พ.ศ. 2535-ปัจจุบนั ประวัตทิ า่ นเจ้าอาวาส พระครูโชติรตั นคุณ ฉายา โชติปญฺโญ (ค�ำสด ศรีบญ ุ ) เกิดวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2504 อุปสมบทเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2530 ณ พั ท ธสี ม า วั ด ศรี บุ ญ เรื อ ง ต� ำ บลเวี ย งค� ำ อ� ำ เภอกุ ม ภวาปี จังหวัดอุดรธานี การศึกษา พ.ศ. 2524 จบชั้น ม.ศ.5, พ.ศ. 2535 นักธรรมชั้นเอก, พ.ศ. 2552 ป.ธ.1-2, พ.ศ. 2557 พธ.ม.
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
8.
1
.indd 73
73
10/9/2562 13:44:20
วัดโพธิศ ์ รีคุณเมือง
สักการะองค์หลวงพ่ อสัมฤทธิ์ผล(พั นปี) พระอาจารย์มหาเสกสรรค์ สุขกาโม ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
องค์หลวงพ่ อสัมฤทธิ์ผล(พั นปี)
วัดโพธิ์ศรีคุณเมือง เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์ฝา่ ย มหานิกาย ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นพันดอน ต�ำบลพันดอน อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ณ วัดแห่งนี้ในประวัติศาสตร์คือเส้นทางบุญ ของชาวบ้าน ผู้ร่วมสร้างต�ำนานการก่อสร้างพระธาตุพนม จนก่อเกิดการสร้างวัด และสร้างพระพุทธรูปตามเส้นทาง กลับบ้าน หรือจะสันนิษฐานอีกอย่างหนึ่งก็คือ เป็นการปูทาง ไปสู่ความพ้นทุกข์ตามรอยองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั่นเอง ตามรอย “องค์หลวงพ่อสัมฤทธิผ์ ล(พันปี)” ณ ทีแ่ ห่งนีม้ ตี ำ� นาน ขุดค้นขึน้ ได้ตงั้ แต่ พ.ศ. 2509 ในบริเวณวัดโพธิศ์ รีคณ ุ เมือง เป็ น พระพุ ท ธรู ป โบราณหล่ อด้ ว ยทองสั ม ฤทธิ์ มี อ ายุ กว่ า 1,300 ปี พระเกตุมาลาทองค�ำ หน้าตักกว้าง 29 นิ้ว วัดจาก องค์ขึ้นไปหาพระเกตุมาลาสูง 55 นิ้ว วัดจากฐานขึ้นไปหา พระเกตุมาลา 94 นิ้ว ฐานล่างสุดกว้าง 48 นิ้ว 74
คนรุ่นปู่ ย่า ตา ยาย เล่าว่า คนสมัยโบราณ เขาพากันไป สร้างพระธาตุพนม ตามต�ำนานที่ว่า สร้างเป็นอุโมงค์บรรจุ พระอุรงั คธาตุ หลังจากพระพุทธองค์ทรงปรินพิ พานแล้ว มีการ เดินทางไปตามเส้นทางบริเวณนี้ แต่พอรู้ข่าวว่าพระธาตุพนม สร้างเสร็จแล้ว ก็เลยพากันมาสร้างสิมและพระธาตุที่บริเวณ วัดโพธิ์ศรีคุณเมืองในปัจจุบันนี้นั่นเอง ลักษณะขององค์หลวงพ่อสัมฤทธิผ์ ล(พันปี) เป็นพระพุทธ รูปปางมารวิชัย พระพักตร์เรียบ ลักษณะเส้นต่างเด่นชัด พระเนตรเรียวเล็ก พระโอษฐ์ดา้ นบนเล็กด้านล่างใหญ่ และทรง แย้มสรวล เม็ดพระศก พระเกศาแหลมคม พระเกศลักษณะ เป็นเปลวเพลิง พระโสตใหญ่ และยาวปรกลงมาเกือบถึงพระ อังสะ พระศอเรียวเล็ก ลักษณะพระสรีระได้สัดส่วน สังฆาฏิ พาดยาวจากบ่าซ้ายลงมากึ่งกลางล�ำตัวจนถึงสะดือ แขนซ้าย
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
2
.indd 74
10/9/2562 13:49:17
มีเส้นจีวรพาดที่บริเวณเหนือข้อพระหัตถ์ ประทับนั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย พระหัตถ์ขวาคว�ำ่ ลงวางบนพระชานุ ส่วน พระหัตถ์ซา้ ยหงายขึน้ วางบนพระเพลา บนฝ่าเท้าด้านขวาสลัก ด้วยตราธรรมจักร ประวัติการสูญหาย 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ได้มีผู้ใจบาป ได้มาหวังจะขโมยน�ำเอาองค์หลวง พ่อสัมฤทธิ์ผล(พันปี)มาด้วยกัน 2 คน แต่ไม่สามารถน�ำเอา ไปได้เนื่องจากองค์ท่านมีน�้ำหนักมาก จึงได้ขโมยไปได้เฉพาะ พระเกตุมาลาทองค�ำ ครัง้ ที่ 2 ได้มาด้วยกันทัง้ หมด 4 คนหวังว่าจะยกองค์หลวง พ่อสัมฤทธิ์ผล(พันปี) ไปให้ได้ แต่ยกอย่างไรก็ไม่ขึ้นจนสุด ความสามารถจึงไม่สามารถยกท่านไปได้ ครั้งที่ 3 มากันหลายคน หวังว่าครั้งนี้จะขโมยไปให้ได้ ปรากฏว่าก็ยกขึน้ และได้นำ� เอาองค์หลวงพ่อสัมฤทธิผ์ ล (พันปี) ไปได้ ด้วยเดชะบุญบารมีของวัดโพธิ์ศรีคุณเมืองและชาวบ้าน ที่ท่านจะเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองและเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรปกปัก
รักษาดูแลลูกหลาน หลังจากที่หายไป ชาวบ้านก็ได้ตามหา จนไปเจออยู่บริเวณทุ่งนาใต้ต้นไม้หน้าวัด จึงได้อัญเชิญท่าน กลับมาประดิษฐานที่เดิมบนศาลาแต่ครั้งนี้ทางชาวบ้านได้น�ำ ไปซ่อนไว้ดา้ นหลังพระประธานองค์ใหม่พร้อมทาสีทองเคลือบ ไว้ไม่ไห้มีใครรู้ว่าเป็นพระเก่าจนไม่มีใครสนใจและจ�ำไม่ได้ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2560 มีคนเก่าแก่ใน หมู่บ้านผู้รู้ประวัติความเป็นมาบอกว่าที่วัดมีพระเก่าองค์ใหญ่ ตอนนี้ถูกซ่อนเก็บไว้บนศาลาไม้ ให้น�ำมาเก็บรักษาไว้ จึงได้ ท�ำการล้างสีที่ทาเคลือบ องค์หลวงพ่อสัมฤทธิ์ผล(พันปี)ออก ปรากฏว่าองค์ท่านมีความงดงามสมบูรณ์มาก ทางคณะสงฆ์ ชาวบ้านและคณะกรรมการได้มีมติ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 เพื่อที่จะท�ำการหล่อพระเกตุมาลาและฐานเพื่อ ถวายท่านให้มีความสมบูรณ์และทรงคุณค่า จนส�ำเร็จงดงาม มาให้ลูกหลานกราบไหว้เพื่อน้อมจิตระลึกถึงพระคุณแห่ง พระรัตนตรัยทีจ่ ะน�ำใจให้มพี ลังในการปฏิบตั ธิ รรมขัดเกลาตน จนกว่าจะพ้นทุกในสังสารวัฏสืบไป
ขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนทุกท่านร่วมท�ำบุญบูรณปฏิสงั ขรณ์อโุ บสถตามก�ำลังศรัทธาได้ทบี่ ญ ั ชี วัดโพธิศ์ รีคณ ุ เมือง เลขทีบ่ ญ ั ชี 418-0-76757-0 ธนาคารกรุงไทย หรือสอบถามเพิม่ เติมได้ทเี่ บอร์ 087-322-5991 UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 75
75
10/9/2562 13:49:22
MEE PLACE
HOTEL โรงแรมมี เ พลส กุ ม ภวาปี “ ห้ อ งพั ก สะอาด เงี ย บสงบ ร่ ม รื่ น เป็ น ส่ ว นตั ว เหมาะกั บ การพั ก ผ่ อ น ในวั น หยุ ด ของคุ ณ และครอบครั ว ”
“
“
...จะมีที่ไหนเหมาะกับทริปต่อไป ของคุณ เท่ากับโรงแรมมีเพลส กุมภวาปี จะพัก ยาวพั ก สั้ น แถวๆ กุ ม ภวาปี ก็ มี ที่ พั ก รองรั76บทริSBLปในฝั ทุกแบบ ... บันทึกนประเทศไทย I น่าน
“
mee place Hotel.indd 76
10/9/2562 14:46:29
ห้องพักแบ่งออกเป็นเตียงเดีย่ วกับเตียงคู่ ทุกห้องตกแต่ง
อย่างลงตัว สะอาด กว้างขวาง สิ่งอ�ำนวยความสะดวกใน ห้องพัก ได้แก่ ฟรีอินเทอร์เน็ต Wi-Fi โทรศัพท์สายตรง เคเบิล้ ทีวี เครือ่ งปรับอากาศ มินบิ าร์ ตูเ้ ย็น และเครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ มีเพลส (Mee Place) อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี ห่างจากใจกลางเมืองเดินทางโดยรถยนต์ระยะสั้น ๆ เยื้อง โลตัส กุมภวาปี เลี้ยวซ้าย
แลนด์มาร์คในกุมภวาปีที่อยู่ใกล้ สวนสาธารณะ “ หนองเรือค�ำ “ 50 เมตร / To the park 50 m. เทสโก้ โลตัส 200 เมตร / To Tesco Lotus 200 m. ตลาดสดกุมภวาปี 2 กิโลเมตร / To Market 2 Km. พระธาตุดอนแก้ว 4 กิโลเมตร / To Pratat Donkaew 4 Km. ทะเลบัวแดง 6 กิโลเมตร / To Res Lotus Lake 6 Km.
โรงแรมมีเพลส กุมภวาปี (MEE PLACE) 99/9 หมู่ 1 ถนนอุม่ จาน ต�ำบลกุมภวาปี อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี 41110 Facebook : MEEplace99 LINE : mee.place
088-552-5219 042-113414 โทรศัพท์ :
NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
mee place Hotel.indd 77
77
10/9/2562 14:46:39
วัดจอมมะณีย์ “บัณฑิตผู้สมบูรณ์ด้วยศี ล ย่อมรุ่งเรือง เหมือนไฟสว่าง” พุ ทธพจน์
พระครูญาณวิโมกข์ อคฺคญาโณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด
วัดจอมมะณีย์ ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองกุง หมูท่ ี่ 1 ต�ำบลหนองกุงศรี อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนือ้ ที่ 12 ไร่ 3 งาน 46 ตารางวา มีทธี่ รณีสงฆ์จำ� นวน 2 แปลง เนือ้ ที่ 12 ไร่ 1 งาน 94 ตารางวา ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2502 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ กว้าง 5 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคารก่อด้วยอิฐเผาเทคอนกรีต หลังคามุงกระเบื้องซีเมนต์ สร้าง พ.ศ. 2503, ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารไม้มุงสังกะสี สร้าง พ.ศ. 2499, กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 12 หลัง เป็นอาคารไม้ 11 หลัง และครึ่งตึกครึ่งไม้ 1 หลัง, หอฉัน และโรงครัว ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปปางสมาธิ หน้าตักกว้าง 30 นิ้ว สร้าง พ.ศ. 2506 และเจดีย์สร้าง พ.ศ. 2515 ประวัติความเป็นมา วัดจอมมะณีย์ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2478 เดิม เป็นป่าใกล้หนองน�้ำที่ชาวบ้านเรียกว่าหนองกุง ต่อมาพระอาจารย์ เคน เตชวโร ได้เดินธุดงค์มาเห็นเป็นที่ร่มรื่นมีท่าน�้ำใส จึงร่วมกับ ชาวบ้านสร้างวัดขึ้นเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2476 จนเสร็จสิ้นเป็นวัด โดยสมบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2478 ชาวบ้านเรียกว่า “วัดหนองกุง” หรือ “วัดบ้านหนองกุง” การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอน พ.ศ. 2480 78
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 78
10/9/2562 13:45:10
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ รูปที่ 1 พระเคน เตชวโร พ.ศ. 2476–2478 รูปที่ 2 พระครูมงคลสังฆกิจ พ.ศ. 2478–2508 รูปที่ 3 พระมหาถวิล อินฺทสาโร พ.ศ. 2509–2511 รูปที่ 4 พระก้อน พ.ศ. 2511–2514 รูปที่ 5 พระมหาเจริญ พ.ศ. 2514–2515 รูปที่ 6 พระมหาค�ำคิด พ.ศ. 2515–2516 รูปที่ 7 พระครูญาณวิโมกข์ พ.ศ. 2517 จนถึงปัจจุบัน ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูญาณวิโมกข์ ฉายา อคฺคญาโณ อายุ 77 พรรษา 54 วิทยฐานะ ป.4, น.ธ.เอก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัด จอมมะณีย์ และเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด สถานะเดิม ชื่อ สถิต นามสกุล สัสดีไกรษร เกิดวันอาทิตย์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2485 บิดา นายหนูเกณฑ์ สัสดีไกรษร มารดา นางทอง สัสดีไกรษร ต�ำบล พระบุ อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น อุปสมบท วันอาทิตย์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 วัดสระโนน ต�ำบลพระบุ อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น พระอุปัชฌาย์ พระครูญาณสารโสภิต พระกรรม วาจาจารย์ พระมนตรี อุทฺธิโชโต พระอนุสาวนาจารย์ พระอารีย์ สุจิตฺโต วัดสระโนน ต�ำบลพระบุ อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น
วิทยฐานะ พ.ศ. 2494 ส�ำเร็จการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพระบุราชประสาสตร์ ต�ำบลพระบุ อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2526 สอบได้นักธรรมชั้นเอก ส�ำนักเรียนวัดสระโนน ต�ำบลพระบุ อ�ำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น การศึกษาพิเศษ พ.ม. (พิเศษมัธยม) ความช�ำนาญการ สามารถอ่านเขียน อักษรธรรมอีสานได้ งานนวกรรม การก่อสร้าง การเทศนาธรรม งานปกครอง พ.ศ. 2519 เป็นเจ้าอาวาสวัดจอมมะณีย์ อ�ำเภอโนนสะอาด (อ�ำเภอกุมภวาปี) จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2519 เป็นเจ้าคณะต�ำบลโพธิ์ศรีสำ� ราญ เขต 2 อ�ำเภอโนนสะอาด อ�ำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2544 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2546 รักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2546 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 79
79
10/9/2562 13:45:15
วัดศรีบุญเรือง พระครูวิโรจน์อาจารคุณ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
วัดศรีบุญเรือง ตั้งอยู่เลขที่ 47 บ้านหัวฝาย หมู่ที่ 3 ต�ำบล โนนสะอาด อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ทีด่ นิ ตัง้ วัดมีเนือ้ ที่ 18 ไร่ 10 ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 4 เส้น 14 วา จดทางสาธารณะ ประโยชน์ ทิศใต้ประมาณ 4 เส้น 14 วา จดทางสาธารณะประโยชน์ ทิศตะวันออกประมาณ 3 เส้น 6 วา จดทางสาธารณะประโยชน์ ทิศตะวันตกประมาณ 3 เส้น 6 วา จดทางสาธารณะประโยชน์ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ สร้างเมือ่ พ.ศ. 2519 เป็นอาคารครึง่ ตึกครึง่ ไม้ทรงไทย กว้าง 4 เมตร ยาว 7 เมตร ศาลาการเปรียญ สร้าง พ.ศ. 2514 เป็น อาคารไม้ กุฏสิ งฆ์ จ�ำนวน 3 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 หลังและครึง่ ตึก ครึง่ ไม้ 1 หลัง 80
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 80
10/9/2562 13:45:52
วัดศรีบญ ุ เรือง สร้างเมือ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 โดยมี นายอ่อนสี ศรีเกษ เป็นผูน้ ำ� ชาวบ้านสร้างวัดขึน้ ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 30 เมตร ยาว 60 เมตร การศึกษา โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอน พ.ศ. 2508 UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
3
.indd 81
81
10/9/2562 13:46:00
ประวัตเิ จ้าอาวาส พระครูวโิ รจน์อาจารคุณ ฉายา พระยอดใจ ธมฺมวิรโิ ย อายุ 54 พรรษา 34 เกิดวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2508 อุปสมบทเมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 ณ วัดศรีบญ ุ เรือง วิทยฐานะ ปริญญาตรี นักธรรมชัน้ เอก ป.ธ.3 สมณศักดิ์ พ.ศ. 2558 ได้รบั พระราชทานสมณศักดิ์ พระครูสญ ั ญาบัตรชัน้ โท นามสมณศักดิ์ พระครูวโิ รจน์อาจารคุณ
การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ 1 พระใบ กิตตฺ สิ าโร พ.ศ. 2470–2472 รูปที่ 2 พระพันธุ์ พทฺธธมฺโม พ.ศ. 2472–2478 รูปที่ 3 พระแสง สิรปิ ญฺโญ พ.ศ. 2478–2480 รูปที่ 4 พระกอง กตสาโร พ.ศ. 2480–2484 รูปที่ 5 พระใบ วรปญฺโญ พ.ศ. 2484–2486 รูปที่ 6 พระธา เมธาวี พ.ศ. 2486–2488 รูปที่ 7 พระน้อย ชวโน พ.ศ. 2488–2493 รูปที่ 8 พระค�ำดี ครุธมฺโม พ.ศ. 2493–2495 รูปที่ 9 พระผาสุก ผาสุกธมฺโม พ.ศ. 2495–2501 รูปที่ 10 พระบุญสินธุ์ สจฺจวโร พ.ศ. 2501–2503 รูปที่ 11 พระครูวรี กิตติคณ ุ พ.ศ. 2503–2550 รูปที่ 12 พระครูวโิ รจน์อาจารคุณ พ.ศ. 2550–ปัจจุบนั
พุทธพจน์เพือ่ ชีวติ ดีงาม สติสตู ร : ว่าด้วยสติ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ อัมพปาลิวัน ใกล้ เมืองเวสาลี ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกภิกษุทั้งหลาย ... แล้วได้ตรัสพระพุทธภาษิตนีว้ า่ ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ! ภิกษุพงึ เป็น ผู้มีสติสัมปชัญญะอยู่ นี้เป็นอนุศาสนีของเรา ส�ำหรับเธอทั้งหลาย ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ! ก็ภกิ ษุเป็นผูม้ สี ติอย่างไร? ภิกษุในธรรมวินยั นี้ พิจารณาเห็น กายในกายอยู่ มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ พึงก�ำจัด อภิชฌา และโทมนัสในโลกเสียได้ พิจารณาเห็น เวทนาในเวทนาอยู่ ฯลฯ พิจารณาเห็น จิตในจิตอยู่ ฯลฯ พิจารณาเห็น ธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสมั ปชัญญะ มีสติ พึงก�ำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก เสียได้ ดูกรภิกษุทงั้ หลาย ภิกษุเป็นผูม้ สี ติอย่างนีแ้ ล. 82
3
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 82
10/9/2562 13:46:04
วัดศิรินทราวาส ตั้งอยู่ที่บ้านโนนสะอาด ถนนมิตรภาพ ซอยศรัทธาธรรม 1 หมู่ที่ 1 ต�ำบลโนนสะอาด อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัด อุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัด เนือ้ ที่ 42 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ได้รบั พระราชทาน วิสงุ คามสีมาเมือ่ วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2514 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2480 เดิมเป็นวัดโบราณตั้งอยู่ บ้านหนองจาน ต่อมา พระอธิการที ปญฺญาทีโป จึงร่วมกับ นายอินทิแสง ศิริบุตรวงศ์ ผู้ใหญ่บ้าน ได้น�ำ ชาวบ้านช่วยกันย้ายวัด มาสร้างและตั้งวัดใหม่ ในที่ดินที่ชาวบ้านได้สมทบทุนร่วมกันซื้อมา จาก นายค�ำใส คูณหาร ต่อมาได้มีการสร้าง เสนาสนะเพิ่มเติมตลอด และช่วยกันพัฒนา วัดจนได้รับยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น ประจ�ำจังหวัดอุดรธานี
วัดศิ รินทราวาส พระครูสุวิธานกิจจาภรณ์
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะอ�ำเภอโนนสะอาด
การศึกษาโรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม แผนกธรรม เปิดสอน พ.ศ. 2484 แผนกบาลี พ.ศ. 2531 และศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ต ย์ เปิดสอน พ.ศ. 2532 นอกจากนี้มีศูนย์อบรม ประชาชนประจ�ำต�ำบลโนนสะอาด การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าที่ทราบนาม คือ 1. พระอธิการที ปญฺญาทีโป พ.ศ. 2475–2480 2. พระอธิการสิงห์ สุวณฺโณ พ.ศ. 2481–2487 3. พระสุนทร สุจติ โฺ ต พ.ศ. 2488–2495 4. พระอธิการบุญมี โกวิโท พ.ศ. 2496–2500 5. พระอธิการทองสุข ปภสฺสโร พ.ศ. 2501–2502 6. พระอธิการสมดี โฆสโก พ.ศ. 2503–2504 7. พระอธิการเต็ม จนฺทวณฺโณ พ.ศ. 2505–2506 8. พระอธิการบุญมา ปภากโร พ.ศ. 2507–2516 9. พระสมุหจ์ มู ถาวโร พ.ศ. 2517–2524 10. พระครูสริ ธิ รรมคุณ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2524 ปัจจุบนั พระครูสวุ ธิ านกิจจาภรณ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 83
83
10/9/2562 13:46:36
H I STORY OF BU DDHI S M
“ ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต. ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก” (พุ ทธพจน์)
วัดสว่างกระเบื้อง พระครูสิริโชติสาร
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลบุ่งแก้ว เขต 1
วัดสว่างกระเบือ้ ง ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 46 บ้านกระเบือ้ ง หมูท่ ี่ 2 ต�ำบล บุ ่ ง แก้ ว อ�ำ เภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี สั ง กั ด คณะสงฆ์ มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา ส.ค.1 เลขที่ 231 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2522 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ประวัติความเป็นมา วัดสว่างกระเบื้อง สร้างเมื่อ พ.ศ. 2454 ชาวบ้านเรียกว่า “วัดกระเบือ้ ง” โดยมี หลวงปูเ่ มืองเทพ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ร่วมกัน กับชาวบ้านมี นายมา วิบูลย์กุล และนายค�ำใส ลุนสะแกวงค์ เป็น ผู้น�ำช่วยกันสร้างวัดขึ้น เนื่องจากสถานที่สร้างวัดเดิมเป็นที่ เผากระเบือ้ งมุงหลังคาของชาวบ้าน และตัง้ อยูใ่ นหมูบ่ า้ นกระเบือ้ ง จึงตั้งชื่อว่า “วัดสว่างกระเบื้อง” อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย อุโบสถ สร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อ พ.ศ. 2528 ศาลาการเปรียญ กว้าง 12 เมตร ยาว 18 เมตร สร้าง พ.ศ. 2520 กุฏิสงฆ์ จ�ำนวน 4 หลัง เป็นอาคารไม้ 3 หลัง 84
และครึ่งตึกครึ่งไม้ 2 ชั้น 1 หลัง วิหาร กว้าง 3 เมตร ยาว 7 เมตร สร้าง พ.ศ. 2526 ปูชนียวัตถุ มีพระพุทธรูปหน้าตักกว้าง 40 เซนติเมตร สูง 1 เมตร และพระพุทธรูป พระประธานในศาลาการเปรียญ การศึกษา มีโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม เปิดสอน เมื่อ พ.ศ. 2525 การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าทีท่ ราบนาม คือ รูปที่ 1 พระเมืองเทพ กมโล พ.ศ. 2470 – 2474 รูปที่ 2 พระโหล จนฺทูปโม พ.ศ. 2474 – 2477 รูปที่ 3 พระปุ่น ทาสโก พ.ศ. 2477 – 2480 รูปที่ 4 พระแย้ม สิริจนฺโท พ.ศ. 2480 – 2481 รูปที่ 5 พระค�ำศรี ปญฺญาปสุโต พ.ศ. 2481 – 2483 รูปที่ 6 พระค�ำดี ฐานวโร พ.ศ. 2483 – 2490 รูปที่ 7 พระอธิการสาย โอภาโส พ.ศ. 2491 – 2528 รูปที่ 8 พระอธิการเล็ก สิริคุตฺโต พ.ศ. 2529
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
2
.indd 84
10/9/2562 13:46:11
ปัจจุบันมี พระครูสิริโชติสาร ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูสิริโชติสาร ฉายา สิริคุตโต ท่านอุปสมบท เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 ณ วัดสว่างส�ำราญ ต�ำบลหนองเข็ง อ�ำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย โดยมี พระครูสิริพรหมคุณ เป็น พระอุปัชฌาย์ พระจรูญ ปริปุโ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระเดช อตฺตมโน เป็นพระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ นักธรรมชัน้ เอก ได้จากส�ำนักศาสนศึกษาวัดล�ำดวน ต�ำบลบุง่ แก้ว อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี งานปกครอง พ.ศ. 2529 เป็นรักษาการเจ้าอาวาสวัดสว่างกระเบื้อง พ.ศ. 2529 เป็นเจ้าอาวาสวัดสว่างกระเบื้อง พ.ศ. 2541 เป็นเจ้าคณะต�ำบลบุ่งแก้ว พ.ศ. 2545 เป็นพระอุปัชฌาย์ สมณศักดิ์ พ.ศ. 2534 พระครูสัญญาบัตร เจ้าอาวาสชั้นโท ในราชทินนาม พระครูสิริโชติสาร พ.ศ. 2547 พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นโท ในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2556 พระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะต�ำบลชั้นเอก ในราชทินนามเดิม
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 85
85
10/9/2562 13:46:18
86
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 86
13/9/2562 9:56:00
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 87
87
13/9/2562 9:56:01
MOAI COFFEE UDONTHANI โมอาย คอฟฟี่ อุดรธานี
“กาแฟหอม... ลิม้ รสศิลปะกินได้ระหว่างทาง กับอาหารจานโปรด “ต�ำกลางป่า” และทีพ่ กั สุดวิเศษ...”
โมอาย คอฟฟี่ อุดรธานี ร้านกาแฟที่เป็นแลนด์มาร์คสุดเก๋ เปิดใหม่ อยู่ติดถนนใหญ่ หนองหาน อุดรธานี จากแรงบันดาลใจ ความคิดสร้างสรรค์ และความตั้งใจที่จะสร้างสรรค์สถาปัตยกรรม ในรูปแบบที่แปลกใหม่ พร้อมกับสินค้าและบริการที่แตกต่าง จึงเกิด เป็นร้านกาแฟ โมอาย คอฟฟี่ (Moai Coffee) เรามีขนมเค้ก สเต็ก และ อาหารอร่อยมากมายบริการ พร้อมห้องพักหรู สไตล์ โมเดิร์น บริ ก าร 24 ชั่ ว โมง เรามีร ะบบความปลอดภัย กล้อ งวงจรปิ ด รอบทิศทาง
“เพราะเราเป็นสิง่ ทีท่ า่ นก�ำลังมองหา ครบทุกรสชาติระหว่างการเดินทาง ทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ ประทับใจไปไม่รลู้ มื และกลับมาใหม่...”
88
SBL บันทึกประเทศไทย I ฉะเชิงเทรา
2
ver.2.indd 88
10/9/2562 15:00:14
โพสต์ถ่ายภาพกับ “หินสลัก MOAI รูปหน้าคนเด่นเป็นสง่าอยู่หน้าร้าน
ที่พักสไตล์รีสอร์ท สะอาด ปลอดภัย ให้คุณได้สัมผัสมากกว่าค�ำว่า “ร้านกาแฟ”
ที่พัก ท�ำเลดี สะอาด ปลอดภัย พร้อมสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ร่มรื่น สะอาด เป็นส่วนตัว ที่จอดรถสะดวก มีกล้องวงจรปิด รักษาความปลอดภัย (รปภ.) 24 ชั่วโมง ห้องแอร์ ทีวี 32 นิ้ว ตู้เย็น น�้ำอุ่น Wi-Fi free
โมอาย คอฟฟี่ อุดรธานี : MOAI COFFEE UDONTHANI 327 หมู่ 7 ถนนนิตโย ต�ำบลหนองหาน อ�ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี 41130 www.moaicoffeeud.amawebs.com Moai Coffee Udonthani Line id: Boss_sarun 2
ver.2.indd 89
ติดต่อสอบถามได้ที่
099-587-9990 082-498-0568
CHACHOENGSAO I SBL บันทึกประเทศไทย
89
10/9/2562 15:00:41
วัดศรีธาตุประมัญชา
“เปิดต�ำนานท้าวแมวค�ำพิ ทักษ์พระธาตุศักดิส ์ ิทธิ์ การสร้างบ้านแปงเมืองของข้าโอกาสโบราณ และ กลุม ่ คนทีร่ บ ั เอาพุ ทธศาสนาคุม ้ หัว” พระครูฐิติสุวรรณวัฒน์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลหัวนาค�ำ เขต 2
วัดศรีธาตุประมัญชา (ป่าแมว) ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นหนองแวง ต�ำบลจ�ำปี อ�ำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี มีประวัติความเป็นมายาวนาน จากต�ำนานแมวค�ำ ไม่ระบุ ปี พ.ศ. ครัง้ นัน้ ชนชาติขอมเรืองอ�ำนาจ พระพุทธศาสนาได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในแถบถิ่นนี้ แล้วพระสงฆ์ มีบทบาทส�ำคัญต่อชุมชนและจิตใจของชาวเมือง (สันนิษฐานว่า เป็นพุทธฝ่ายมหายาน) ครั้งนั้นข่าวการสร้างพระบรมธาตุ หรือ เจดีย์เพื่อบรรจุพระธาตุส่วนหัวอกของพระพุทธเจ้าแพร่กระจาย ไปในหมู ่ ช าวสุ ว รรณภู มิ ที่ ก� ำ ลั ง ตื่ น เต้ น กั บ ลั ท ธิ ใ หม่ ข องตน ขณะนั้นคือเถรวาท ท่านเจ้าเมืองพร้อมด้วยชาวเมืองเปงจานนครราช หรือ เชงฌาล ตามส�ำเนียงขอมซึง่ นับถือพุทธศาสนา ได้รบั ข่าวสารดังกล่าวจึงเกิด ศรัทธา ได้รวบรวมเอาทรัพย์สินเงินทองของมีค่าต่างๆ มากมาย เพื่อไปบรรจุไว้ในองค์พระธาตุ โดยแต่งตั้งคนกลุ่มหนึ่งพร้อมด้วย 90
พระสงฆ์ให้น�ำสิ่งของมีค่าเหล่านั้นบรรทุกด้วยเกวียนและช้าง มุ่งหน้าสู่ภูก�ำพร้าอันเป็นที่ตั้งพระบรมธาตุ ขณะนั้นคือแคว้นศรี โคตรบูรณ์ ด้วยเจตนาเพื่อจะไปร่วมสร้างพระธาตุองค์ส�ำคัญ แต่ไปไม่ทนั ด้วยเหตุปจั จัยหลายอย่าง พระธาตุองค์สำ� คัญสร้างเสร็จ ไปก่อนแล้ว แต่ศรัทธายังมิสิ้นแสง ในที่สุดด้วยแรงศรัทธาจึง ตกลงกันสร้างพระธาตุขึ้น ณ ตรงนั้นทางฝั่งทิศเหนือของหนองน�ำ้ แต่ปรากฏว่าเจดียท์ สี่ ร้างขึน้ นัน้ ไม่ใหญ่พอทีจ่ ะบรรจุสงิ่ ของทีน่ ำ� มา ชาวเมืองเปงจานนครราชจึงได้ตกลงกันสร้างพระธาตุองค์ใหม่ขึ้น อีกองค์หนึ่งให้ใหญ่กว่าองค์แรก โดยยึดเอาฝั่งทางด้านทิศใต้ของ หนองขี้หูดเป็นสถานที่ก่อสร้าง พื้นที่บริเวณนี้มีลักษณะเป็นเกาะ มีน�้ำล้อมรอบ ซึ่งก็คือที่ตั้งของวัดศรีธาตุประมัญชา (วัดป่าแมว) ในปัจจุบัน ต่อมามีชื่อเรียกพระธาตุองค์แรกว่า “พระธาตุน้อย
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
2
.indd 90
10/9/2562 13:44:00
ปฐมแห่งข้าโอกาสหรือ ข้าพระธาตุ เมือ่ สร้างพระธาตุเสร็จทัง้ สององค์แล้ว ในพืน้ ทีบ่ ริเวณทิศเหนือ ของหนองขีห้ ดู เรียกหมูบ่ า้ นนัน้ ว่าบ้านธาตุนอ้ ยตามชือ่ พระธาตุชาวบ้าน เหล่านัน้ อยูถ่ วายตัวเป็นข้าพระธาตุตงั้ แต่นนั้ มา กระทัง่ ต่อมาได้ตงั้ กิ่งอ�ำเภอขึ้นเพื่อแยกจากอ�ำเภอกุมภวาปี เพื่อความเป็นสิริมงคล ทางการจึงน�ำเอาชื่อของวัดไปตั้งเป็นชื่อกิ่งอ�ำเภอจึงปรากฏเป็น อ�ำเภอศรีธาตุปัจจุบัน สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของชาวศรีธาตุ พระพุทธรูป : ชาวบ้านจะเรียกติดปากง่ายๆ ว่า “หลวงปู”่ ทุกคน จะเข้าใจทันทีคือ พระพุทธรูปที่ประดิษฐานภายในอุโบสถหรือ ชาวบ้านเรียก “สิม” เป็นพระพุทธรูปหินทรายปางนาคปรก ชาวบ้าน เคารพศรัทธามาก พระธาตุ : เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อีกสิ่งหนึ่งซึ่งได้รับ การบูรณะมาแล้วหลายสมัย ชาวบ้านมีคำ� ร�ำ่ ลือกันว่ามีแมวค�ำและ พญานาคคอยพิทักษ์รักษาพระธาตุ แมวค�ำจะปรากฏเมื่อวันพระ ขึ้น 15 ค�ำ่ และ พญานาคจะเป็นงูใหญ่คอยวนเวียนรักษาพระธาตุ มักมีผู้พบเห็นเป็นประจ�ำกระทั่งปัจจุบัน ประเพณีความเชื่อ ชุมชนชาวบ้านแถบถิน่ ล้วนมีอาชีพหลักเป็นเกษตรกร ดังนัน้ จึง มีความผูกพันอยู่กับธรรมชาติ เช่นแหล่งน�้ำและฝนมีความเชื่อว่า ความอุดมสมบูรณ์เกิดจากความหมั่นเพียรและจากการประทาน ให้จากแถนบนฟ้าจึงมีประเพณีบูชาฟ้าแถน เกิดประเพณีสรงน�้ำ พระธาตุ บ๋าบน ในวันขึ้น 15 ค�่ำเดือน 6 ซึ่งจะเป็นวันรวมญาติ ครั้ ง ส� ำ คั ญ ของปี บวงสรวงหลวงปู ่ เ พื่ อ ขอให้ ฟ ้ า ฝนตกต้ อ ง ตามฤดู ก าล นอกจากนั้ น แล้ ว ยั ง มี ก ารจุ ด บั้ ง ไฟถวายเพื่ อ ความอุดมสมบูรณ์ตามความเชื่อของชาวบ้าน ประวัติพระครูฐิติสุวรรณวัฒน์ เจ้าอาวาสผู้พลิกฟื้นต�ำนานเมืองศรีธาตุ พระครูฐติ สิ วุ รรณวัฒน์ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบนั เป็นเจ้าคณะต�ำบล หัวนาค�ำ เขต 2 ชาติภมู เิ ป็นชาวเมืองอ�ำนาจเจริญ สายเลือดเมือง อุบลราชธานี บ้านหัวดง ต�ำบลเปือย อ�ำเภอลืออ�ำนาจ จังหวัด อ�ำนาจเจริญ เดินธุดงค์จากแม่สายเชียงรายมาจ�ำพรรษาที่นี่กับ สามเณรน้องชายตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2529 ผูพ้ ลิกฟืน้ ต�ำนานเมืองศรีธาตุ ทีใ่ กล้จะลบเลือนตามกาลเวลาให้กลับมามีชวี ติ โลดแล่นไปกับโลก ปัจจุบนั อย่างลงตัวให้ลกู หลานชาวลุม่ น�ำ้ ปาวเรียนรูร้ ากเหง้าเผ่าพันธุ์ หรือรูซ้ งึ้ รากเหง้า เข้าถึงปัจจุบนั รูท้ นั อนาคต งานหลักของท่านคือ ผลิตบุคลากรทางพระพุทธศาสนา ด้วยการจัดบรรพชาสามเณรภาค ฤดูรอ้ นเป็นประจ�ำทุกปีตงั้ แต่ พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา สนับสนุนให้เข้า ศึกษาพระปริยัติธรรมต่อเนื่องมาตลอด นอกจากนั้นยังจัดอบรม ค่ายคุณธรรมแก่นกั เรียนนักศึกษาตลอดมา และยังสร้างวัดให้เป็น แหล่งความรู้ชุมชนเป็นวัดส่งเสริมสุขภาพดีค่ายต่อต้านยาเสพติด ในพื้นที่กว่า 100 ไร่ ได้รับการจัดสรรให้เป็นพื้นที่ท�ำประโยชน์ อย่างลงตัวไม่วา่ เขตพุทธาวาส เขตสังฆาวาส เขตฆราวาสสาธารณะ ประโยชน์ เ พื่ อจั ด กิ จ กรรมในวาระส� ำ คั ญ เพื่ อจรรโลงพระพุทธ ศาสนาให้ยาวนาน
หลักหินทวารวดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือในฐานะนิมติ ของพัทธสีมา จารึกจากวัดศรีธาตุ (วัดศรีธาตุประมัญชา) บ้านหนองแวง ต�ำบลจ�ำปี อ�ำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบนั อยูท่ พี่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ ขอนแก่น ศาสตราจารย์ยอร์ช เชเดส์ ได้อ่านแปลจารึกหลักนี้แล้ว สรุปใจความส�ำคัญได้วา่ หลักหินทีเ่ ป็นตัวจารึกนีท้ ำ� หน้าทีเ่ ป็นนิมติ ของสีมาสงฆ์ โดยพิธีกรรมสมมติสีมานี้อาจท�ำขึ้นในปี พ.ศ. 1154 หรือ พ.ศ.1214 หรือ พ.ศ.1274 ต่อมากรมศิลปากรได้อ่านและ แปลจารึกหลักนีใ้ หม่โดยใช้ชอื่ ว่า จารึกสถาปนาสีมา ค�ำแปลไม่ตา่ ง จากของศาสตราจารย์ยอร์ช เชเดส์ อย่างมีนัยส�ำคัญ ดังนี้ มาโยยติรฺวิปฺราทิปูชิตะ ศิลามิมามเสาไสมึ สฺถาปยามาส ภิกฺษุภิะ ศุจิสํวตฺสเร ศกาทศเม ไจตฺรศุเกฺลภูตฺสีเมยํ สํฆสนฺมตา ค�ำแปล “พระเถระรูปใด เป็นผูอ้ นั พราหมณ์เป็นต้นบูชาแล้ว พระเถระ รูปนั้นพร้อมด้วยพระภิกษุทั้งหลาย ได้สถาปนาศิลานี้ให้เป็นสีมา สีมานี้ อันสงฆ์สมมติดแี ล้ว ได้สำ� เร็จ (ได้ม)ี ในวันขึน้ 10 ค�ำ่ เดือน 5 แห่งวิศิษฏกาล (เวลาอันเป็นมงคล) ในปีแห่งความสดใส...”
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 91
91
10/9/2562 13:44:03
วัดบูรพา
พระครูวิสุทธิธรรมานุศาสก์ (สุวรรณ ประกอบชีพ) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส รองเจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ
“สนับสนุนส่งเสริมการศึกษาของพระเณร” วัดบูรพา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 2 ต�ำบลวังสามหมอ อ� ำ เภอวั ง สามหมอ จั ง หวั ด อุ ด รธานี เจ้ า อาวาสรู ป ปั จ จุ บั น คื อ พระครูวิสุทธิธรรมานุศาสก์ (สุวรรณ ประกอบชีพ) ด�ำรงต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ และมีพระครูชินวรวิวัฒน์ เป็น รองเจ้าอาวาสและเจ้าคณะต�ำบลหนองกุงทับม้า และเลขานุการ เจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ ประวัตคิ วามเป็นมา เมือ่ ราวปี พ.ศ. 2480–2481 ชาวบ้านหนองแวงโคกได้พร้อมใจกัน สร้างวัดขึ้นที่ชายป่าท้ายหมู่บ้าน ซึ่งมีสภาพเป็นป่าดงรกทึบมี สัตว์ป่านานาชนิดที่อาศัยอยู่มากมาย วัดที่สร้างขึ้นอยู่อีกฟากหนึ่ง กับหมู่บ้าน โดยมีหนองน�้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติกั้น และเหตุที่ สถานทีส่ ร้างวัดตัง้ อยูด่ า้ นทิศเหนือของหมูบ่ า้ น ชาวบ้านจึงได้ตงั้ ชือ่ ว่า “วัดบูรพา” (แปลว่าทิศเหนือ) ต่ อ มาวั ด ได้ รั บ การประกาศยกฐานะขึ้ น เป็ น วั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง ตามกฎหมาย ตามประกาศของศาสนา เมื่อปี พ.ศ. 2485–2500 (โดยประมาณ) โดยได้ประกาศให้วดั ทีส่ ร้างก่อนปี พ.ศ. 2484 ทุกวัด ทั่วประเทศไทย (สมัยนั้น) มีสถานะเป็นวัดที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยมีพระครูวิศาสคุณารักษ์ (หลวงปู่ยันต์ สุวณฺโณ/ชัยประโคม) เป็นเจ้าอาวาสที่ได้รับแต่งตั้งให้ถูกต้องตามกฎหมายเป็นรูปแรก (พ.ศ. 2496–2539) ความส�ำคัญของวัดบูรพา เจดียเ์ ก็บอัฐบิ รรพบุรษุ เจ้าอาวาสวัดบูรพา พระครูวศิ าลคุณารักษ์ อดีตเจ้าคณะอ�ำเภอวังสามหมอ รูปแรก การบริหารจัดการและการศึกษาภายในวัด ด้านปริยตั (ิ การศึกษา) และบริหารจัดการด้านการปกครอง ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั จัดตั้งโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี เมื่อปี พ.ศ. 2494-ปัจจุบัน จัดตัง้ โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรมแผนกสามัญศึกษา เมือ่ ปี พ.ศ. 2535-ปัจจุบนั จัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.) เมือ่ ปี พ.ศ. 2531-ปัจจุบนั จัดตัง้ หน่วยสงเคราะห์พทุ ธมามกะ (พมก.) เมือ่ ปี พ.ศ. 2531-ปัจจุบนั จัดตัง้ หน่วยอบรมประชาชนประจ�ำต�ำบล (อ.ป.ต.) เมือ่ ปี พ.ศ. 2521-ปัจจุบนั ได้รบั อนุญาตให้เปิดเป็นสนามสอบธรรมสนามหลวง เมือ่ ปี พ.ศ. 2515-ปัจจุบนั ได้รบั คัดเลือกให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง จากกรมการศาสนา เมือ่ ปี พ.ศ. 2531 92
2
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 92
10/9/2562 13:44:42
ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั นี้ วัดบูรพามีพระภิกษุ-สามเณร เข้ามาพัก จ�ำพรรษา หรือมาพ�ำนักอาศัย โดยเฉลีย่ ปีละ 80-100 รูป เป็นประจ�ำ มิได้ขาด เพื่อมาศึกษาเล่าเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนก สามัญศึกษา โดยมีพระครูชนิ วรวิวฒ ั น์ (น.ธ.เอก, ป.ธ.3, พธ.บ., ศษ.ม.) เป็น ผู้อ�ำนวยการ ซึ่งจะเปิดรับสมัครนักเรียนใหม่ทุกปีการศึกษา ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ของทุกปี ติดต่อได้ที่ โทร. 098-165-2729 และ 042-387-591
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 93
93
10/9/2562 13:44:47
“ให้เราบริการคุณ เพราะคุณเป็นแขกของเรา” สุขสบายรีสอร์ท
สุขสบาย รีสอร์ท อุดรธานี (Suksabai Resort Udonthani)
รีสอร์ทที่สุขสบายตามชื่อ ตกแต่งอย่าง สวยงามหรูหรา และสะดวกสบาย ด้วยสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกของเรามากมาย บรรยากาศรอบๆ ที่พัก ล้อมรอบด้วยธรรมชาติ เงียบสงบเป็น ส่วนตัว เหมาะกับการพักผ่อน ที่จะท�ำให้คุณ รู้สึกผ่อนคลาย สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจท่ า มกลางธรรมชาติ ที่ เ งี ย บสงบ ด้ ว ยท� ำ เล ที่ตั้งอยู่ใจกลางอ�ำเภอวังสามหมอ ใกล้แหล่งสถานที่ส�ำคัญต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นแหล่งร้านสะดวกซื้อ ตลาด สวนสาธารณะหนองแวงโคก และ สถานที่ท่องเที่ยว วัดเทพนรินทราราม 7 กิโลเมตร แพบ้านวังใหญ่เพียง 18 กิ โ ลเมตร เมื่ อ มาเยื อ นที่ นี่ ท่ า นจะได้ ช ่ ว งเวลาพั ก ผ่ อ นได้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ด้วยราคาประหยัดเพียง 500 บาทต่อคืนเท่านั้น หรือสามารถจองห้องพัก เป็นรายเดือนได้ ทั้งนี้ภายในรีสอร์ทยังมีร้านมินิมาร์ทไว้ ให้บริการอีกด้วย
2
.indd 94
12/9/2562 15:21:35
ส� ำ หรั บ ห้ อ งพั ก เป็ น ตั ว เรื อ นแยกหลั ง ที่ ทั น สมั ย ให้ ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว มี ก ลิ่ น อาย ความเป็นพื้นบ้านอีสานผสมผสานสไตล์ โมเดิร์นด้วยสีสันหวานๆ จากการตกแต่งภายใน และดู แ ลอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ค งความสะอาดและดู ใ หม่ อ ยู ่ เ สมอ เรามี แ ม่ บ ้ า นท� ำ ความสะอาดตลอดเวลา มีส วนหย่อ มให้เ อกเขนก และอื่น ๆ อีกมากมายไว้ต้อนรับ คุณ ภายในห้องพัก มีบริการสิ่งอ�ำนวยความ สะดวกครบครัน ไม่ว่าจะเป็นน�้ำดื่ม กาแฟ ตู้เย็น กาน�้ำร้อน อินเทอร์เน็ตไร้สาย (FREE WI-FI) เครื่ อ งปรั บ อากาศ ที วี พ ร้ อ มระบบเคเบิ้ ล นอกจากนี้ ทางรี ส อร์ ท มี บ ริ ก ารให้ เ ช่ า รถ จั ก รยานยนต์ ส� ำ หรั บ ขั บ ขี่ กิ น ลมชมวิ ว อย่ า ง ใกล้ชิดธรรมชาติและชุมชนทางไปที่พักพร้อม ลานจอดรถส่วนตัว แผนกต้อนรับ 24 ชั่วโมง และมี ร ะบบรั ก ษาความปลอดภั ย CCTV ภายในตั ว พื้ น ที่ รี ส อร์ ท ยั ง มี เ กาะกลางน�้ ำ ศาลานั่ ง พั ก ที่ ล ้ อ มรอบไปด้ ว ยธรรมชาติ เ พื่ อ อ� ำ นวยให้ แ ขกผู ้ ม าพั ก ได้ พั ก ผ่ อ น เดิ น เล่ น ภายในพื้ น ที่ รี ส อร์ ท พร้ อ มอ� ำ นวยสถานที่ การจัดสัม มนา งานเลี้ยง และงานแต่งงาน
“เรียกอย่างไรก็ใช่ เมื่อไปถึง ... เราพร้อมบริการห้องพักเพื่อคุณอย่างสุขสบาย” สุขสบาย รีสอร์ท อุดรธานี (SUKSABAI RESORT UDONTHANI)
319 หมู่ 6 ต�ำบลวังสามหมอ อ�ำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี 41280 : สุขสบายรีสอร์ท วังสามหมอ : suksabaiud
2
.indd 95
ส�ำรองห้องพักได้ที่
099-304-6694 095-362-3965 12/9/2562 15:21:48
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดศรีสง่าธรรม เจ้าอธิการบุญทอม สารโท
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และเจ้าคณะต�ำบลค�ำโคกสูง
วัดศรีสง่าธรรม ตัง้ อยูห่ มูท่ ี่ 1 ต�ำบลค�ำโคกสูง อ�ำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2476 และได้รับพระราชทาน วิสงุ คามสีมา ปีพ.ศ. 2561 ภายในวัดมีเสนาสนะสถาน ดังนี้ โบสถ์ ศาลาการเปรียญ หอระฆัง ศาลาพักญาติ กุฏิ วิหาร เป็นต้น กิจกรรมของวัดกับชุมชน จัดตัง้ ชุมชนคุณธรรมวัดศรีสง่าธรรม ช่วยเหลือชาวบ้านในพื้นที่ตามเหตุปัจจัย อาทิ ร่วมกับจิตอาสา สร้างบ้านให้ผู้ยากไร้ และ ทางวัดจัดอบรมหัตถกรรมงานสาน คือ ตะกร้า กระติบข้าว ไซดักปลา ข้องใส่ปลา กระจาด กระด้ง เป็นต้น รายนามเจ้าอาวาส (ตามหลักฐานตราตั้ง) 1. พระครูโสภิต พ.ศ.2527-2534 2. เจ้าอธิการบุญทอม สารโท พ.ศ.2556-ปัจจุบัน ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป เจ้าอธิการบุญทอม สารโท อายุ 31 พรรษา 11 วิทยฐานะ น.ธ.เอก เกิดวันศุกร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2531 งานปกครอง พ.ศ. 2556 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดศรีสง่าธรรม พ.ศ. 2560 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลค�ำโคกสูง 96
1
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 96
9/9/2562 16:10:17
วัดอาสาพั ฒนาราม พระครูพัฒนถาวรคุณ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดอาสาพั ฒนาราม และเจ้าคณะอ�ำเภอบ้านดุง
วัดอาสาพัฒนาราม ตั้งอยู่หมู่ท่ี 4 ต�ำบลศรีสุทโธ อ�ำเภอ บ้านดุง จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย วัดเริ่มสร้าง เมื่อปี พ.ศ. 2540 และได้รับประกาศตั้งเป็นวัดเมื่อปี พ.ศ. 2559 พระครูพัฒนถาวรคุณ ฉายา ถาวโร อายุ 62 พรรษา 23 วิทยฐานะ น.ธ.เอก, ป.1-2 สถานะเดิมชื่อ ล�ำพูน สาวงษ์นาม เกิดวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 บรรพชา-อุปสมบท วันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2539 ณ วัดท่าสวรรค์ ต�ำบลป่งไฮ อ�ำเภอเซกา จังหวัดหนองคาย พระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการมะลา สมฺปนฺโน พระกรรมวาจาจารย์ พระสวันดี ถาวโร พระอนุสาวนาจารย์ พระอุทัย อฺทโย ต�ำแหน่งการปกครอง(ปัจจุบัน) พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดอาสา พัฒนาราม พ.ศ. 2559 ได้รับแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านดุง ข้อธรรมจากวัดอาสาพัฒนาราม “ธรรมชาติของมนุษย์ สามารถดึงดูดได้ตามต้องการ และขับออกไป พอๆ กับที่ได้รับมา การท�ำบุญ จึงส�ำคัญ เมื่อเราได้รับมาแล้ว ควรแบ่งส่วนสลัดคืนในรูปแบบของการท�ำบุญ ไม่อย่างนัน้ ก็จะต้องรัว่ อยู่ดีไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง จ�ำไว้” UDON THANI I SBL บันทึกประเทศไทย
1
.indd 97
97
9/9/2562 16:14:44
วาสนาปาร์ค รีสอร์ท
VASSANA
Park Resort
...ห้องพักสะอาดสวยงาม กว้างขวาง ใกล้ค�ำชะโนด อาหารอร่อยเวอร์! วาสนาปาร์ค รีสอร์ท และ ครัววาสนา ปาร์ค ยินดีต้อนรับทุกท่าน
วาสนาปาร์ค รีสอร์ท (VASSANAPARK RESORT)
รีสอร์ทกว้างขวาง ขอเชิญทุกท่านมาเดินเล่น ชมสวน รับประทานอาหารอร่อยทีค่ รัววาสนา ปาร์ค และพักผ่อนกับวาสนาปาร์ค รีสอร์ท ทีพ ่ กั สะอาด บรรยากาศดี อยู่ห่างจากค�ำชะโนดเพียง 7 กิโลเมตร มาเที่ยวเมืองอุดรธานี อย่าลืมแวะมา “วาสนาปาร์ค รีส อร์ท”
.indd 98
10/9/2562 15:10:34
ที่ พั ก กว้ า งขวาง ห้ อ งพั ก สะอาด ที่ นี่ มี ค รบ ทั้ ง รี ส อร์ ท ห้ อ งพั ก ครั ว วาสนา หรื อ ผ่ า นมาแวะ มาชิลล์ๆ ถ่ายภาพเก็บบรรยากาศสวยๆ กลับไปฝาก เพื่อนๆ... เมนูที่ครัววาสนา ปาร์ค ก็มีหลากหลาย ให้ทุกท่านได้เลือก อาหารอร่อยท่ามกลางธรรมชาติ ราคาไม่แพง มีที่จอดรถพร้อม มีมุมถ่ายรูปน่ารักๆ ไว้อวดเพื่อนๆ ลงไอจีหลายมุมเลยค่ะ
วาสนาปาร์ค รีสอร์ท
150 หมู่ 4 ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี 41190 วาสนาปาร์ค รีสอร์ท
.indd 99
ส�ำรองห้องพักได้ที่
061-160-4766 ติดต่อร้านอาหารโทร. 097-231-0189 10/9/2562 15:10:46
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดไวกูลฐาราม เป็นวัดเล็กๆ มีเนือ้ ที่ 14 ไร่ 1 งาน 11 ตารางวา ตัง้ อยูต่ ดิ กับ ป่าช้าบ้านนารายณ์นอ้ ย หมูท่ ี่ 5 ต�ำบล บ้านค้อ อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระภิกษุสญ ั จรมาจ�ำพรรษาอย่าง ไม่แน่นอน แต่เมือ่ ปี พ.ศ. 2540 พระครู ไพศาลกิจจานุกลู (พงษ์ศกั ดิ์ ฉนฺทสาโร) เปรียญธรรม 4 ประโยค ได้ย้ายมาจาก วัดวิสุทธิมัคคาราม มาเป็นเจ้าอาวาส วัดไวกูลฐารามแห่งนี้ และในแต่ละปี ก็ได้มีพระภิกษุร่วมจ�ำพรรษาด้วยกัน ประมาณ 3-5 รูปเป็นปกติเรือ่ ยมา พัฒนาการจัดการเรียนการสอน นักธรรม-บาลี ต่อมาในปี พ.ศ.2552 ท่านพระครู ไพศาลกิจจานุกลู ได้เล็งเห็นความส�ำคัญ ของการศึกษาพระธรรมวินยั โดยเฉพาะ การศึกษาภาษาบาลี อันเป็นภาษาทีท่ รง ไว้ซึ่งพระพุทธพจน์ จึงได้ปรึกษาและ นิ ม นต์ พ ระอาจารย์ พ ระมหาสุ กั น เตชธมฺโม ให้มาจัดการเรียนการสอนขึน้ เพือ่ เป็นแหล่งเรียนรูพ้ ระธรรมค�ำสัง่ สอน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยมีการจัดการเรียนการสอนทั้งทาง แผนกธรรม และแผนกบาลีสนามหลวง อีกทั้งยังได้เปิดสอนพระอภิธรรมและ คัมภีร์สัททาวิเสส (บาลีใหญ่) โดยใช้ คั ม ภี ร ์ ป ทรู ป สิ ท ธิ แ ละกั จ จายนะสู ต ร เป็นหลักทัง้ นีท้ างวัดได้จดั การเรียนการสอน ในระบบพีส่ อนน้อง คือชัน้ เปรียญธรรมที่ สูงกว่าจะได้รับโอกาสในการสอนชั้นที่ ต�่ำกว่าเพื่อเป็นการเสริมทักษะในการ สอนและสร้ า งบุ ค ลากรให้ ส ามารถ ถ่ายทอดต่อได้อกี ด้วย จึงได้มพี ระภิกษุ สามเณรทั่วทุกภูมิภาคในประเทศไทย และต่างประเทศ เดินทางมาศึกษาเป็น จ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี เป็นล�ำดับมา ในปี พ.ศ. 2562 นี้ วัดไวกูลฐารามได้ เปิ ด สอนบาลีสนามหลวงครบทุก ชั้น ทุ ก ประโยค รวมนั ก เรี ย นทุ ก ชั้ น ทุ ก ประโยค โดยมีจ�ำนวนนักเรียน 72 รูป
100
2
วัดไวกูลฐาราม
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ประจ�ำจังหวัดอุดรธานี แห่งที่ 1
พระครูไพศาลกิจจานุกูล(พงษ์ศักดิ์ ฉนฺทสาโร) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 100
10/9/2562 13:48:35
โดยมีครูสอนนักธรรมอภิธรรมและบาลีจำ� นวน 13 รูปด้วยกัน ดังมีรายนามต่อไปนี้ 1. พระครูไพศาลกิจจานุกลู ป.ธ. 4 ประโยค เจ้าอาวาส 2. พระมหาสุกนั เตชธมฺโม ป.ธ. 7 ประโยค อาจารย์ใหญ่ 3. พระมหาพงษ์พฒ ั น์ อุปติสโฺ ส ป.ธ. 9 ประโยค (นาคหลวง) 4. พระมหาสุธากร มนตโม ป.ธ. 8 ประโยค อภิธรรมบัณฑิต 5. พระมหาเพิม่ พูน สุขเวสโก ป.ธ. 8 ประโยค 6. พระมหาอนุชยั อนุชโย ป.ธ. 8 ประโยค 7. พระมหาพิธภิ าณ ปญฺญาวโร ป.ธ. 7 ประโยค 8. พระมหานัฐพงษ์ โควินโฺ ท ป.ธ. 7 ประโยค 9. พระมหาวิทยา โชติปญฺโญ ป.ธ. 7 ประโยค 10. พระมหาพรรณพนา ปญฺญาวโร ป.ธ. 5 ประโยค 11. พระครูปริยตั ริ ตั โนดม ป.ธ. 4 ประโยค 12. สามเณรอภิวฒ ั น์ อันทะหวา ป.ธ. 7 ประโยค 13. สามเณรปานเทพ ทองประภา ป.ธ. 6 ประโยค ทางวั ด ได้ รั บ รางวั ล ส� ำ นั ก ศาสนศึ ก ษาดี เ ด่ น ตั้ ง แต่ พ.ศ. 2553–2562 จากส�ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง
ติดต่อกัน 10 ปีซ้อน และได้รับรางวัล สถาบันพระบาลีดีเด่น ในโครงการทุนเล่าเรียนหลวงส�ำหรับพระสงฆ์ไทย ติดต่อกัน 5 ปีซ้อน ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 วัดไวกูลฐารามยังได้รับการ แต่งตั้งให้เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี ประจ�ำ จังหวัดอุดรธานี แห่งที่ 1 อีกด้วยจึงเป็นเหตุน�ำมาซึ่งความ ภาคภู มิ ใ จให้ แ ก่ ค รู อ าจารย์ แ ละนั ก เรี ย น รวมถึ ง ผู ้ ใ ห้ ก าร อุปถัมภ์วัดไวกูลฐารามเป็นอย่างยิ่ง วัดไวกูลฐารามเป็นเพียงวัดเล็กๆ ในหมูบ่ า้ นเล็ก ๆ แห่งหนึง่ ในชนบท ที่หาความเพียบพร้อมในด้านวั ต ถุ มิ ไ ด้ หากแต่ มีความเพียบพร้อมด้วยหัวใจที่ทุ่มเทให้การศึกษา กฎเกณฑ์ ในการรับนักเรียนนัน้ เพียงท่านมีใจใคร่ตอ่ การศึกษา ก็สามารถ อยู่วัดนี้ได้ ดังมีโคลงบทหนึ่งที่ได้แสดงแนวทางของวัดนี้ไว้ว่า “ไว ไวใครใคร่ร ู้ ศึกษา กูล เกือ้ พระธรรมมา ทีน่ ี้ ฐา นะยศศักดา เพียงเปลือก ราม แรมมาท่านชี ้ แก่นแท้ ทางธรรมฯ” UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 101
101
10/9/2562 13:48:40
...ที่พักตากอากาศส่วนตัว ริมสวนน�้ำท่ามกลางธรรมชาติ
THARARIN RESORT
ธารารินทร์ รีสอร์ท ที่พักราคาสบายกระเป๋า พร้อมบรรยากาศส่วนตัวเหมือนอยู่บ้านพักตากอากาศ พร้อมทั้งมีสวนน�้ำ และสระว่ายน�้ำพร้อมสไลเดอร์บริการแก่นักท่องเที่ยวที่เข้าพักด้วย มีห้องพักให้เลือกหลายแบบ ทั้งบ้านเดี่ยวชั้นเดียว และ บ้านเดี่ยว 2 ชั้น พร้อมเครื่องอ�ำนวยความสะดวกครบครัน แอร์ เครื่องท�ำน�้ำอุ่น Wi-Fi ฟรี รักษาความปลอดภัยด้วยกล้องวงจรปิดทั่วบริเวณรีสอร์ท
สเตย์
พะเยา
1
.indd 102
10/9/2562 15:13:18
ธารารินทร์ รีสอร์ท (Thararin Resort) 223 หมู่ 9 ถนนบ้านผือ-น�้ำโสม ต�ำบลบ้านผือ อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี 41160
ห้องประชุมสัมมนาขนาดใหญ่ รองรับผู้ประชุมได้กว่า 350 คน เดินทางสะดวก หาง่าย พักสบายๆ เงียบสงบ และปลอดภัย
1
.indd 103
tararinUdonthani บริการห้องจัดเลี้ยง ที่พัก สวนน�ำ้ รับจัดโต๊ะจีน อาหาร และเครื่องดื่ม
ส�ำรองห้องพักได้ที่ โทร. 088-552-0872 042-111056
10/9/2562 15:13:31
H I STORY OF BU DDHI S M
่ ีแดงจึงเปลีย ่ นเป็นแผ่นดินอุดมธรรม” “ด้วยร่มพระบารมีในหลวงรัชกาลที่ 9 พื้ นทีส
วัดท่าโสม (ภูนาหลาว) พระครูวิศาลปัญญาคุณ (บุญมี มงฺคโล (สมสาย)
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดท่าโสม และรองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี(ธ)
จากวันนั้นถึงวันนี้ นับเป็นเวลานานหลายปีที่ชาวพุทธในอ�ำเภอน�้ำโสม ได้ช่วย กันบุกเบิกแผ้วถาง พัฒนาชุมชนแห่งนี้ให้เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์ ในน�้ำมีปลาในนามีข้าว ผู้ที่เคยถูกเรียกว่าคอมมิวนิสต์ก็กลับ มาช่วยกันพัฒนาประเทศชาติ ความเข้าใจผิดกันถูกปรับให้เป็น หนึ่งเดียว ความแร้นแค้นเป็นความอุดมสมบูรณ์ ทั้งนี้ก็ด้วยพระ บารมีแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ได้เสด็จ พระราชด�ำเนินมาทอดพระเนตรสถานที่ส�ำคัญต่างๆ ในอ�ำเภอ น�้ำโสมถึง 2 ครั้ง ทั้งๆ ที่ในเวลานั้นยังเป็นพื้นที่สีแดง เป็นถิ่น ทุรกันดาร แต่พระองค์กเ็ สด็จมาให้กำ� ลังใจแก่ทหารและประชาชน นอกจากนั้นยังทรงมีพระเมตตาให้ทางราชการจัดสร้างแหล่งน�้ำ น้อยใหญ่ไว้ตามหุบเขา เพื่อให้ประชาชนของพระองค์มีอาชีพ ท� ำ กิ น จากการที่ ต ้ อ งจั บ ปื น มาต่ อ สู ้ กั น กลั บ มาจั บจอบเสี ย ม 104
(
)2
ท�ำมาหากิน มาต่อสูก้ บั ความยากจนบนผืนแผ่นดินอันอุดมสมบูรณ์ ของพระองค์ มาต่อสูก้ บั กิเลสตัณหาบนหลักธรรมของพระพุทธองค์ ข้อนี้นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ที่ทรงมีต่อชาว อ�ำเภอน�้ำโสม นอกจากนั้น วัดท่าโสมยังได้รับบารมีธรรมอันคุณอุดม จาก พระเดชพระคุณ พระธรรมไตรโลกาจารย์ (หลวงปู่รักษ์ เรวโต) วัดศรีเมือง จังหวัดหนองคาย พระราชนิโรธรังสี (หลวงปู่เทสก์ เทสรํสี) วัดหินหมากเป้ง จังหวัดหนองคาย พระอุดมญาณโมลี (หลวงปู่จันทร์ศรี จนฺททีโป) วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี ตลอดถึงพ่อแม่ครูบาอาจารย์ พระเถรานุเถระ เพื่อนสหธรรมิก ที่ ได้เมตตาให้การสนับสนุน และมาเยี่ยมเยียนตลอดมาไม่เคยขาด ประการส�ำคัญข้อหนึ่ง คือแรงอุปถัมภ์ค�้ำชูที่ได้รับจากบรรดา ศรัทธาสาธุชน ทัง้ จากกรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่างๆ ร่วมกับ ประชาชนชาวอ�ำเภอน�ำ้ โสมนี้ ท�ำให้วดั ท่าโสมส�ำเร็จสมบูรณ์ได้เป็น พุทธสถานอันงดงาม ในบวรพระพุทธศาสนาสืบไป
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 104
9/9/2562 16:18:02
ดังค�ำกล่าวของพระครูวศิ าลปัญญาคุณ (บุญมี มงฺคโล (สมสาย) ท่านเจ้าอาวาสว่า “สมบัตทิ งั้ ปวงนีเ้ ป็นสมบัตศิ าสนา ท่านทัง้ หลาย คือเจ้าของ ส่วนอาตมภาพเป็นแต่เพียงผูเ้ ฝ้าดูแลรักษา ฉลองศรัทธา ปสาทะของท่าน บุญกุศลที่ท่านทั้งหลายได้บ�ำเพ็ญตลอดมาและ ที่จะได้ช่วยกันในวันข้างหน้า ขอให้เป็นบุญอันถาวร เป็นบารมี ที่มั่นคงต่อวัดท่าโสม ต่อพระภิกษุสงฆ์สามเณร และพระพุทธ ศาสนาตลอดไป เพราะพระพุทธศาสนาจะด�ำรงอยู่ได้ พระสงฆ์ สามเณรจะมั่นคงอยู่ในศาสนาได้ ก็ด้วยศรัทธาสาธุชนให้การ ท�ำนุบ�ำรุงอุปถัมภ์จริงจัง”
ประวัติท่านเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวิศาลปัญญาคุณ (บุญมี มงฺคโล (สมสาย) เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2491 ณ บ้านสว่าง ต�ำบลนายูง อ�ำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี บิดาชื่อนายมุน มารดาชื่อนางสิมมา วิทยฐานะ เรียนจบชัน้ ป.4 โรงเรียนบ้านนาหมี พ.ศ. 2502 (น.ธ.เอก)บรรพชา เมื่ออายุ 11 ปี วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ณ วัดพระงามศรี มงคล ต�ำบลน�ำ้ โมง อ�ำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย โดยมีพระครู สีลขันธ์สังวร เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมื่ออายุ 20 ปี ณ วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2511 ณ วัดจอมไตร ต�ำบลหนองด้วง อ�ำเภอ สีโคตตะบอง จังหวัดนครเวียงจันทน์ โดยมี พระมหาเครือ อสุโร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวินัยธรบัวพา เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระคิ้ม วรสุทฺโธ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
UDON THANI I SBL บันทึกประเทศไทย
(
)2
.indd 105
105
9/9/2562 16:18:10
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดโคเขตตาราม พระครูอุดรสุนทรเขต ปริปุณฺโณ
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดโคเขตตาราม และ รองเจ้าคณะอ�ำเภอน�ำ้ โสม
วัดโคเขตตาราม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2448 เดิมชื่อวัดบ้านนางัว ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2522 เขตวิสงุ คามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร ปัจจุบนั ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 93 หมู่ที่ 1 บ้านนางัว ต�ำบลนางัว อ�ำเภอน�้ำโสม จังหวัดอุดรธานี มีเนื้อที่ 6 ไร่ 1 งาน 80 ตารางวา โฉนดที่ดินเลขที่ 3106 เป็น วัดเก่าแก่ประจ�ำอ�ำเภอน�้ำโสม สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปูมหลังวัดโคเขตตาราม เมื่อปี พ.ศ. 2448 เขตกิ่งอ�ำเภอน�้ำโสม เป็นป่าไม้ที่อุดม สมบูรณ์มาก สัตว์ปา่ นานาชนิด มีมากมาย บ้านนางัวยังอยูภ่ ายใต้ การปกครองของอ�ำเภอบ้านผือ และเคยเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามขัดแย้ง กันระหว่างรัฐและลัทธินิยม มีการสู้รบกันมาเป็นระยะยาวนาน (มีอนุสาวรีย์วีรชนน�้ำโสมเป็นสักขีพยาน) เดิมได้มีชาวบ้านอพยพ เข้ามาตัง้ รกรากในเขตป่าแห่งนี้ มีประมาณ 5 ครอบครัว ได้ถากถางป่า ท�ำไร่ปลูกพืชและได้เจอซากปรักหักพัง และเนินอิฐดินเผาคล้าย อุโบสถ จึงช่วยกันถากถางท�ำความสะอาดบริเวณดังกล่าว ซึ่งเป็น ที่ตั้งของอุโบสถวัดบ้านนางัว (ชื่อเดิม) วัดโคเขตตาราม ต่อมาเมือ่ ปี พ.ศ.2500 วัดบ้านนางัวได้รบั การพัฒนามาเรือ่ ยๆ ในด้ า นการก่ อ สร้ า งเสนาสนะต่ า งๆ ขึ้ น จากแรงศรั ท ธาของ พุทธศาสนิกชน โดยมีการก่อสร้างอุโบสถขึ้น ได้รับพระราชทาน วิสุงคามสีมาเมื่อปี พ.ศ.2522 และท�ำการเปลี่ยนชื่อจาก “วัด บ้านนางัว” เป็น “วัดโคเขตตาราม” ในปัจจุบัน 106
2
เมื่อปี พ.ศ. 2528 ได้ด�ำเนินการก่อสร้างศาลาการเปรียญ หลังใหม่ โดยมีพระครูวรคุณารักษ์ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และ ก�ำนันถนอม ค�ำภา เป็นประธานฝ่ายฆราวาส และพุทธศาสนิกชน ทั่วไปด�ำเนินการ (ชื่อศาลาปัญญาวัฒนานุสรณ์) ลักษณะทรงไทย ประยุกต์ครึง่ ไม้ครึง่ ปูน และในปี พ.ศ.2548 ได้มกี ารบูรณะอุโบสถ หลังเก่าที่เกิดรอยรั่วบนหลังคา ตลอดจนเสนาสนะต่างๆ โดย มีพระอธิการพิสิฐ ปริปุณโณ เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วย พุทธศาสนิกชนอ�ำเภอน�้ำโสม เป็นผู้ด�ำเนินการ ประวัติเจ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูอุดรสุนทรเขต ฉายา ปริปุณฺโณ อายุ 45 พรรษา 25 วิทยฐานะ การศึกษาฝ่ายธรรม นักธรรมชั้นเอก เปรียญธรรม 4 ประโยค การศึกษาสามัญ ปริญญาเอก มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาสารคาม งานปกครอง พ.ศ.2548 ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้บริหารสถานศึกษาวัดโค เขตตาราม, พ.ศ.2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดโคเขต ตาราม, พ.ศ.2556 ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นพระครูสญ ั ญาบัตรพัดยศ, พ.ศ. 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะต�ำบลนางัว เขต 2, พ.ศ. 2558 ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระอุปัชฌาย์ พ.ศ.2559 ได้รับการ แต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำโสม
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 106
13/9/2562 9:47:33
วิหารหลวงปู่อ�่ำ วิหารปูอ่ ำ�่ คือ สถานทีต่ งั้ รูปเหมือนจ�ำลองพระครูปญ ั ญาวัฒนคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดโคเขตตาราม เป็นที่เคารพและศูนย์รวมศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนชาวอ�ำเภอน�้ำโสมและใกล้เคียง หลวงปู่อ�่ำ ท่านเป็นสหธรรมิกกับหลวงปู่เครื่อง ธมฺมจาโร วัดเทพสิงหาร ท่านได้ออกจาริกเล่าเรียนพระธรรมวินัยและอักษรธรรมโบราณ ร่วมกับหลวงปู่เพชร หลวงปู่แพง เมืองหลวงพระบาง สปป.ลาว นานถึง 9 ปี จึงกลับมาพ�ำนักที่วัดโคเขตตาราม เพื่อรักษาศรัทธา ของชาวบ้านและช่วยบ�ำรุงพระศาสนาต่อไป ท่านมีอุปนิสัยสุขุม เยือกเย็น รูจ้ กั ฐานและอฐานต่อบรรพชิตด้วยกัน มีเมตตาต่อผูน้ อ้ ย และสาธุชนทั่วไปจึงเป็นที่เคารพของชาวอ�ำเภอน�ำ้ โสม พระประธานไม้ตะเคียนทอง พระประธานในศาลาการเปรียญ เป็นพระประธานไม้ แกะจากไม้ ตะเคี ย นทอง โดยมีน ายสมบูรณ์ เอกพงษ์ เป็ น ผู ้ ถ วายไม้ เ พื่ อ สร้างพระ ซึ่งมีเรื่องปาฏิหาริย์มากมายส�ำหรับผู้มาขอพร และยังมี พระสารีบุตรและหลวงปู่อ�่ำที่สร้างด้วยไม้ตะเคียนทองต้นเดียว เพื่อเป็นสิ่งเคารพบูชาของวัดโคเขตตารามด้วย
พระบรมสารีริกธาตุ พระบรมสารีริกธาตุประจ�ำวัดโคเขตตารามมีขนาดเล็ก และ มีลักษณะตรงหรือใกล้เคียงตามลักษณะที่ปรากฏในอรรถกถา สุมังคลวิลาสินี ในประเทศไทยมีประดิษฐานอยู่ที่พระธาตุเจดีย์ ตามวัดต่างๆ ทั่วไป ซึ่งทางวัดโคเขตตารามได้อัญเชิญพระบรม สารีรกิ ธาตุนมี้ าจากพระเถระทีไ่ ปจ�ำพรรษาทีป่ ระเทศอินเดียอีกครัง้ โรงเรียนวัดโคเขตตาราม ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 โดยได้เปิดเป็น โรงเรียนสอนพระปริยตั ธิ รรม แผนกนักธรรมบาลี เป็นต้นมา โดยมี พระครูวรคุณารักษ์ (ทองแดง เตชธมฺโม) เป็นผู้จัดการ และมีพระ มหาสมปอง มุทิโต เป็นครูใหญ่ โดยเปิดท�ำการเรียนการสอนใน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น อาศัยศาลาการเปรียญ เป็นอาคาร เรียนชั่วคราว ปัจจุบัน มีพระครูอุดรสุนทรเขต เป็นผู้จัดการและ ผู้อ�ำนวยการ
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 107
107
13/9/2562 9:47:40
บ้านเรือนไทยพักผ่อน ระดับพรีเมี่ยมส�ำหรับคุณ
เฮื อ นไท เฮา ฮั ก แพง “เฮือนไทย โฮมสเตย์ & รีสอร์ท อุดรธานี” สัมผัสธรรมชาติใกล้อุดรธานีและหนองคาย บ้านเรือนไทยพักผ่อนระดับพรีเมี่ยม ดื่มกาแฟสด ชื่นชมต้นไม้ ฟังเสียงนกร้อง สูดอากาศบริสุทธิ์ให้เต็มปอด ไม่ว่าท่านจะมาพักผ่อน งานสัมมนา งานอบรม งานสังสรรค์เลี้ยงรุ่น งานมงคลต่างๆ โปรดนึกถึงเรา “เฮือนไทย โฮมสเตย์ & รีสอร์ท” 108
SBL บันทึกประเทศไทย I น่าน
.indd 108
10/9/2562 14:25:19
“บ้านเรือนไทยพักผ่อนระดับพรีเมี่ยม ส�ำหรับคุณอย่างเป็นกันเอง และอบอุ่นเหมือนญาติสนิท” พร้อมเครื่องปรับอากาศ เงียบ สงบ และพัดลมเย็นสบาย ทีวีดิจิตอลครบ ทุกช่อง ที่นอนยางพาราพรีเมี่ยม บริการอาหารเช้า บริการรถตู้ VIP รับ-ส่ง สนามบินอุดรธานี ตัวเมืองอุดรธานี และ หนองคาย บริการเหมารถตู้ VIP ท่องเที่ยว เปิดบริการอย่างเป็นทางการ ณ อ�ำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี
เฮือนไท เฮา ฮักแพง
196 หมู่ 6 หมู่บ้านดอนแก้ว ต�ำบลบ้านธาตุ อ�ำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี 41150 : เฮือนไทยโฮมสเตย์ & รีสอร์ท อุดรธานี – เฮือนไทเฮาฮักแพง
ส�ำรองห้องพักได้ที่
089-944-7063 NAN I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 109
109
10/9/2562 14:25:27
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดภูทองเทพนิมิต
ต�ำนาน “หลวงพ่อทันใจ” พระพุทธรูปที่สวยงามที่สุดในจังหวัดอุดรธานี พระครูนิมิตสาธุวัฒน์(บุญเมือง ชวโน) ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาสและเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง วัดภูทองเทพนิมิต สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ 59 บ้านโนนเชียงค�้ำ ต�ำบลทับกุง อ�ำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี พื้นที่วัดประมาณ 450 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเนินเขาภูเขาเล็กๆ ลูกหนึ่งห่างออกจากเทือกเขาภูพานน้อย 3 กิโลเมตร เป็นภูเขา ลูกเดียว ต�ำนานก่อนตั้งวัด มีเรื่องเล่าของชาวบ้านเข้ามาหาของป่าใน เขตบริเวณเขาลูกนี้ ได้เข้ามาพบเจอถ�้ำ เมื่อมองเข้าไปภายในถ�้ำ ได้เห็นพระพุทธรูปทองค�ำเป็นจ�ำนวนมาก แต่ไม่กล้าเข้าไปในถ�้ำ เพียงคนเดียว จึงกลับออกไปจากป่าไปชวนชาวบ้านมาดู พอกลับ เข้ามาก็หาถ�ำ้ ไม่เจอ จ�ำไม่ได้วา่ ถ�ำ้ นัน้ อยูต่ รงไหน ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2508 เป็นต้นมา มีพระมาจ�ำพรรษาตลอดมาไม่เคยขาด พระจึงได้ตั้งชื่อ ส�ำนักสงฆ์นี้ว่า ภูทองเทพนิมิตสถิตย์ธาราม และต่อมาจึงเหลือแค่ “วัดภูทองเทพนิมิต” 110
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 110
10/9/2562 13:47:08
จากปี พ.ศ. 2508 ถึงปัจจุบันมีพระมาอยู่จ�ำพรรษา 7 รุ่น ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 7 โดยมี พระครูนิมิตสาธุวัฒน์ เป็นเจ้าอาวาสรูป แรกของ “วัดภูทองเทพนิมิต” และเป็นผู้ขอสร้างวัดด�ำเนินการทุก อย่างจนเป็นวัดที่ถูกต้อง พระครูนิมิตสาธุวัฒน์ มาจ�ำพรรษาที่วัด ภูทองเทพนิมิตตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน
ประวัตสิ ร้างพระพุทธชัยมงคลมหาชนอภิปชู นีย์ (หลวงพ่อทันใจ) พระพุ ท ธชั ย มงคลมหาชนอภิ ปู ช นี ย ์ เป็นชื่อพระพุทธรูปที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) เจ้าอาวาสวัดสระเกศราช วรมหาวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม ประทานนามพระพุทธรูป เพื่อเป็นสิริมงคล
เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 80 พรรษา 5 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ซึ่งชมรมอาสารักษาดินแดน กองพันนเรศวร อุดรธานี ชมรมไท้เก๊กเพื่อสุขภาพอุดรธานี ร่วมกับ จังหวัดอุดรธานี ได้จัดท�ำโครงการสร้างพระพุทธรูปเฉลิมพระเกียรติ UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 111
111
10/9/2562 13:47:16
“พระพุทธชัยมงคลมหาชนอภิปชู นีย”์ ปางมารวิชยั ศิลปะเชียงแสน ขนาดหน้าตัก 12 เมตร องค์พระร่วมฐาน 27 เมตร งบประมาณทัง้ หมด 70 ล้านบาท ประดิษฐาน ณ วัดภูทองเทพนิมิต บ้านโนนเชียงค�ำ้ ต�ำบลทับกุง อ�ำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี พระพุทธชัยมงคล อภิปูชนีย์ (หลวงพ่อทันใจ) ได้กำ� หนดวางศิลาฤกษ์ พระพุทธรูป เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 เวลา 13.37 น. โดยนายชาญชัย สุนทรมัฏฐ อธิบดีกรรมการปกครอง เป็นประธาน ในพิธเี บิกเนตร วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เวลา 10.39 น. โดยนายเสนีย์ จิตตเกษม ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุดรธานี เป็นประธาน ในพิธี มีคุณพ่อวิบูลย์ ตรีวัฒนสุวรรณ เป็นประธานในการด�ำเนิน การก่อสร้าง เหตุที่สร้างเนื่องจาก พระครูนิมิตสาธุวัฒน์ ท่านเจ้าอาวาส มี นิ มิ ต ก่ อ นสร้ า งองค์ พ ระ ท่ า นเล่ า ย้ อ นไปในปี พ.ศ. 2533 ว่าท่านได้มาจ�ำพรรษาที่วัดภูทองเทพนิมิตพรรษาแรก ได้เห็นสิ่ง ทีน่ า่ กลัวทีส่ ดุ ในพรรษา คืนต่อมาได้นมิ ติ เห็นชายคนหนึง่ นุง่ ผ้าขาว น� ำ ขั น ดอกไม้ ม านิ ม นต์ ใ ห้ อ ยู ่ จ� ำ พรรษาที่ วั ด ภู ท องเทพนิ มิ ต 20 พรรษา แล้วจะได้ในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการ “ความตัง้ ใจนัน้ จึงกราบลาพระอาจารย์วดั อัมพวันมาจ�ำพรรษา ที่วัดภูทองเทพนิมิตเพียง 1 พรรษาเท่านั้น ออกพรรษาแล้วพระที่ วัดภูทองเทพนิมิตก็ไม่มีใคร ตัดสินใจมากราบลาพระอาจารย์อีก ครั้งเพื่อมาจ�ำพรรษาและพิสูจน์นิมิตว่ามันจะเป็นความจริงไหม ก็อยูป่ ฏิบตั ธิ รรม ท�ำกรรมฐานต่อเนือ่ ง เวลาผ่านมาถึงปี พ.ศ. 2545 ขึ้นมานั่งสมาธิที่รอยพระพุทธบาทจ�ำลองบนยอดเขาสูงสุดของวัด ตอนนั้นเกิดสมาธิจิต เหมือนได้เข้าฌานอยู่ 3 วัน 3 คืน เมื่อจาก สมาธิได้ตงั้ สัจจะอธิษฐานออกเสียงดังว่า สาธุบญ ุ กุศลใดทีข่ า้ พเจ้า ได้บ�ำเพ็ญมาในอดีตจนถึงปัจจุบันและผู้ใดมีบุญร่วมข้าพเจ้าเป็น ปุพเพกตปุญญตามีบญ ุ ร่วมกับข้าพเจ้ามาแต่อดีตชาติมาถึงปัจจุบนั ชาติจะอยูท่ ไี่ หนให้มาร่วมสร้างกุฏกิ รรมฐานให้พระสงฆ์ เพราะกุฏิ ผุพังหมดแล้ว” หลังจากอธิษฐานแล้วท่านก็ลงมากุฏิที่พักภายใน 7 วัน ได้มี โยมกลุ่มหนึ่งขึ้นมาวัดขึ้นมาเดินดูรอบวัดแล้วเข้ามากราบท่าน และกล่าวว่า “พระอาจารย์ขาดแคลนอะไร” ท่านก็บอกโยมว่า “ไม่ขาดแคลนอะไร ชีวิตนี้สมบูรณ์ที่สุด” โยมเลยเปลี่ยนค�ำถาม ใหม่ว่า “พระอาจารย์อยากสร้างอะไร” ท่านจึงบอกโยมว่า “อยากสร้างหลายอย่าง แต่ทอี่ ยากสร้างสิง่ ที่ จ�ำเป็นคือ อยากสร้างกุฏกิ รรมฐานให้พระสงฆ์ได้อยูจ่ ำ� พรรษาบ้าง ถ้าโยมขึ้นไปดูก็จะเห็นกุฏิผุพัง แต่ก็ไม่มีปัจจัยสร้าง” โยมกลุ่มนี้จึง รับว่าจะเป็นเจ้าภาพสร้างกุฏใิ ห้ 10 หลัง มารูท้ หี ลังว่า คือโยมกลุม่ ไท้เก๊กขออภัยที่เอ่ยชื่อ คุณแม่จงจิต ศรีหล่มสัก เป็นประธาน การอธิษฐานครั้งแรกประสบผลส�ำเร็จสมปรารถนาทุกประการ โยมมาเป็นเจ้าภาพให้ทุกอย่าง เป็นต้นว่า กุฏิสงฆ์ 10 หลัง ศาลา ที่พักผู้ปฏิบัติธรรม 1 หลัง ห้องน�้ำ 15 ห้อง 112
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 112
10/9/2562 13:47:21
ต่อมาในปีพ.ศ. 2547 มีชีปะขาวมาจากประเทศลาวขึ้นมาวัด และบอกว่านิมิตเห็นเขาลูกนี้มีเทพตนหนึ่งถูกสาปมาหลายพันปี แต่ใกล้จะพ้นค�ำสาปแล้ว เพราะอาจารย์แผ่เมตตาให้และบอกว่าถ้า เทพตนนี้พ้นค�ำสาปอาจารย์อยากได้อะไรก็จะได้ดังใจทุกประการ “อาตมาพูดว่าถ้าอย่างนั้นก็อยากได้พระประธานองค์ใหญ่ ไว้ที่ยอดเขาสักองค์” ชีปะขาวบอกว่าอีก 4 ปี จะมีคนมาสร้างให้แล้วชีปะขาวก็กลับ ไปไม่ได้ถามชื่อแกเลย ปี พ.ศ. 2549 เข้าพรรษาได้ 1 คืน พระครู นิมิตสาธุวัฒน์ก็เห็นนิมิตอีก เห็นโยมใส่ชุดสีขาวที่มานิมนต์ให้อยู่ จ�ำพรรษา 20 พรรษา ได้สมปรารถนาทุกอย่าง โยมคนนีไ้ ด้นำ� ท่าน ลงไปในถ�ำ้ เหมือนว่าถ�ำ้ จะอยูภ่ ายในวัด ในถ�ำ้ นัน้ มีพระพุทธรูปทองค�ำ หลายองค์ มีองค์เล็กองค์ใหญ่เป็นจ�ำนวนมาก โยมถามท่านว่า อยากได้องค์ไหนเลือกเอา ท่านก้มกราบพระไปจับดูองค์นั้นองค์นี้
ก็เลยบอกโยมว่า “ไม่อยากได้สกั องค์อยูน่ อี้ ยากได้องค์ขาวๆ ใหญ่โน้น” โยมบอกว่าอยากได้องค์นตี้ อ้ งรอหน่อยนะ พอได้กร็ สู้ กึ ตัวจากนิมติ ปี พ.ศ. 2550 เดือนกุมภาพันธ์ โยมกลุ่มไท้เก๊กมีคุณแม่จงจิต พร้อมคณะมากราบข้าพเจ้าแล้วพูดวัตถุประสงค์ให้ข้าพเจ้าฟังว่า จะมาขอสร้างพระประธานองค์ใหญ่ไว้บนยอดเขาวัดภูทองเทพนิมติ มีปัจจัยแล้วตอนนี้ 14 ล้านบาท โยมบอกว่าสร้างพระต้องเป็น สีขาวเท่านั้น ห้ามเป็นสีอื่น “อาตมาจึงบอกโยมว่า เคยนิมิตเห็นแล้ว ต่อมาได้มอบหมาย ให้คุณพ่อวิบูลย์ ตรีวัฒนสุวรรณ ชมรมอาสารักษาดินแดนกองพัน นเรศวร เป็นประธานด�ำเนินงานสร้าง” นี้เป็นเรื่องย่อๆ แต่มีเรื่องอัศจรรย์หลายอย่างเกิดขึ้นในการ สร้างพระพุทธชัยมงคลมหาชนอภิปูชนีย์(หลวงพ่อทันใจ)
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 113
113
10/9/2562 13:47:22
ประวัติพระครูนิมิตสาธุวัฒน์ (บุญเมือง ชวโน) ชาติก�ำเนิด เดิมชื่อ บุญเมือง เฉิดเกียรติ บิดาชื่อ นายพรมมา เฉิดเกียรติ มารดาชื่อ นางโสภา เฉิดเกียรติ บรรพชาอุปสมบทที่ วัดโพธิศ์ รีสะอาด พระอุปชั ฌาย์ พระครูวฒ ั นาสิลาภรณ์ พระกรรม วาจาจารย์ พระอธิการแสงจันทร์ ญาณสีโล พระอนุสาวนาจารย์ พระถนอม ปริชาโน มาจ�ำพรรษาทีว่ ดั อัมพวัน 3 พรรษา บ้านแกเปะ ต�ำบลเชียงเครือ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จากนัน้ มาจ�ำพรรษา ทีว่ ดั ภูทองเทพนิมติ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2535 จนถึงปัจจุบนั ปี พ.ศ. 2547 ได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด ภู ท องเทพนิ มิ ต (เป็ น รู ป แรก) บ้านโนนเชียงค�ำ้ ต�ำบลทับกุง อ�ำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานสถาปนาตั้งสมณศักดิ์เป็น พระสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชน้ั โท (จร.ชท.) ในราชทินนาม พระครูนิมิตสาธุวัฒน์ พ.ศ. 2548 ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าคณะต�ำบลหนองแสง พ.ศ. 2551 ได้รับแต่งตั้งเป็น รองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง พ.ศ. 2556 ได้เลื่อนสมณศักดิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอ ชั้นโท เป็น ชั้นเอกในราชทินนามเดิม พ.ศ. 2561 ได้เลื่อนสมณศักดิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง ในช่วงระยะเวลาทีจ่ ำ� พรรษา ณ วัดภูทองเทพนิมติ ได้ประกอบ คุ ณ งามความดี ใ นการสั่ ง สอนพุ ท ธศาสนิ ก ชน เปิ ด ค่ า ยอบรม ศีลธรรม (ค่ายพุทธบุตร) และบุคคลทั่วไป เป็นพระที่น�ำพาริเริ่ม สร้างพระพุทธชัยมงคลมหาชนอภิปูชนีย์ (หลวงพ่อทันใจ) ศาลา การเปรียญ ศาลาที่พักผู้ปฏิบัติธรรม กุฏิ ศาลาหอฉัน ห้องน�้ำ ถนนคอนกรีตขึน้ วัด บันไดเสริมเหล็กขึน้ วัด ก�ำแพงวัด ล่าสุดก�ำลัง ก่อสร้างศาลารับรองชมวิวหลังวิหารหลวงพ่อทันใจ
WAT PHU THONG THEP NIMIT Phra Khru Nimit Satuwat (Bboonmuang Chawano) takes a position of abbot at this temple and Nong Saeng district monk dean.
Legendary “Luang Phor Than Jai” The most beautiful Buddha statue in Udon Thani Phra Khru Nimit Satuwat (Bboonmuang Chawano), leader of the construction of Phra Phuttha Chaimongkol Mahachon Apipuchani (Luang Phor Than Jai). Wat Phu Thong Thep Nimit belongs to Maha Nikaya clergy. It is located at 59 Ban Non Chiang Kham, Thap Kung sub-district, Nong Saeng district, Udon Thani province. Total scale of this temple’s land is approximately 180 acres which most of the land is hill and there is one small single mountain that is 3 kilometers from Phu Phan Noi Mountain. Chronicle of temple’s pre-construction – There was a story of locals that came to gather forest product in this mountain’s area and found the cave, when he looked into that cave, 114
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 114
10/9/2562 13:47:25
he saw many gold Buddha statues, but he did not have the courage to go inside this cave alone. Then, he went back to the village and invited other villagers to go to this cave with him. However, when he and others went back to the forest, they could not find the cave, he also not remembered where the cave is located. Since B.E.2508, Buddhist monks have always been coming to stay in this area. Then, one of them built an unofficial temple and named it as “Phu Thong Thep Nimit Sathit Tharam” which the name was shortened and became “Wat Phu Thong Thep Nimit”. Since B.E.2508 until now, there are 7 batches of monk who have been living at this temple. The present monks are 7th batch which Phra Khru Nimit Satuwat is the first abbot of “Wat Phu Thong Thep Nimit” and he is the one who manages the establishment of this temple until it becomes an official temple. Phra Khru Nimit Satuwat has been living at this temple since B.E.2533 until today. History of the construction of Phra Phuttha Chaimongkol Mahachon Apipuchani (Luang Phor Than Jai) Phra Phuttha Chaimongkol Mahachon Apipuchani is the
name of Buddha statue that was bestowed by Somdej Phrabuddhacharaya (Kiew Upaseno), abbot of Wat Saket Ratcha Wora Maha Wihan and committee of the Sangha Supreme Council of Thailand, in order to be the fortune on the auspicious occasion of 80th anniversary of Phra Bat Somdet Phra Chana Kathibet Maha Bhumibol Adulyadej Borommanatthabophiton on 5th of December B.E.2550 which Volunteer Defense Corps Naresuan battalion Udon Thani and Udon Thani Tai Chi Health Club together with Udon Thani province jointly proceed the glorified Buddha statue construction project. “Phra Phuttha Chaimongkol Mahachon Apipuchani” is Buddha statue in attitude of subduing Mara in the style of Chiang Saen. Its Na Tak is 12 meters (Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation). Scale of the base where this Buddha statue is situated is 27 meters in length. Total budget of the construction is 70 million THB. It is enshrined at Wat Phu Thong Thep Nimit, Ban Non Chiang Kham, Thap Kung sub-district, Nong Saeng district, Udon Thani province. UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 115
115
10/9/2562 13:47:26
วัดสะอาดเรืองศรี พระครูสิริโชติคุณ (หลวงปู่ค�ำปัน ฉนฺทธมฺโม)
ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง
วัดสะอาดเรืองศรี ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 172 หมูท่ ี่ 8 บ้านนาดี ต�ำบลนาดี อ�ำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์ ม หานิ ก าย มีเนื้อที่ทั้งหมด 23 ไร่ 4.06 ตารางวา ตั้งขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2484 ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 และขึ้นทะเบียนเป็นวัด ที่ถูกต้องตามทะเบียนวัดของส�ำนักงาน พระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ เลขที่ 4412103008 ปั จ จุ บั น มี พระครูสริ โิ ชติคณ ุ (หลวงปูค่ ำ� ปัน ฉนฺทธมฺโม) เป็นเจ้าอาวาส และ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง ประวัติท่านเจ้าอาวาส พระครูสิริโชติคุณ ฉายา ฉนฺทธมฺโม อายุ 79 พรรษา 57 วิทยฐานะ น.ธ.เอก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดสะอาดเรืองศรี และที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง สถานะเดิม ชื่อ ค�ำปัน นามสกุล เกศาเลิศ เกิดเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ชื่อบิดา นายเวิน ชื่อมารดา นางสุดใจ บ้านเลขที่ 65 หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองกุงศรี อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี 116
4
อุ ป สมบท วั นที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2504 วัด จอมมะณีย์ ต�ำบลหนองกุงศรี อ�ำเภอโนนสะอาด จังหวัดอุดรธานี พระอุปชั ฌาย์ พระเทพวิ สุ ท ธาจารย์ วั ด มั ช ฌิ ม าวาส พระกรรมวาจาจารย์ พระครูธรรมวิธานธ�ำรง วัดศรีนคราราม พระอนุสาวนาจารย์ พระครูพิศิฎฐ์ธรรมนิเทศ วัดเกียรติไพบูลย์
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 116
12/9/2562 16:06:31
งานปกครอง พ.ศ. 2511 เป็นรักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดสะอาดเรืองศรี พ.ศ. 2512 เป็นเจ้าอาวาสวัดสะอาดเรืองศรี พ.ศ. 2516 เป็นรักษาการเจ้าคณะต�ำบลแสงสว่าง พ.ศ. 2517 เป็นเจ้าคณะต�ำบลแสงสว่าง พ.ศ. 2518 เป็นพระอุปัชฌาย์ ประเภทสามัญ พ.ศ. 2531 เป็นรักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลนาดี พ.ศ. 2532 เป็นเจ้าคณะต�ำบลนาดี พ.ศ. 2541 เป็นรักษาการแทนเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง พ.ศ. 2543-2561 เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอหนองแสง กิจกรรมกับสังคม ชุมชนคุณธรรมต้นแบบวัดสะอาดเรืองศรี และชุมชนคุณธรรม บ้านนาดี ร่วมกับภาคีเครือข่ายชุมชนคุณธรรม โรงเรียนบ้านนาดี โคกกลาง รพ.สต.ต�ำบลนาดี จัดกิจกรรมส่งเสริมประเพณีสงกรานต์ ในวันที่ 13 เมษายน ของทุกปีโดยมีกิจกรรมร�ำวงชาวบ้านเพื่อ เสริมสร้างความสามัคคี และส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในชีวิต ในช่วงเทศกาล ณ วัดสะอาดเรืองศรี ต�ำบลนาดี อ�ำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 117
117
12/9/2562 16:06:34
นอกจากนี้ ชุมชนคุณธรรมวัดสะอาดเรืองศรี ยังจัดกิจกรรม เราท�ำความดีดว้ ยหัวใจอย่างสม�ำ่ เสมอ อาทิ ชวนกันมาท�ำความสะอาด บริเวณวัดสะอาดเรืองศรี เป็นประจ�ำ โดยเฉพาะการสวดมนต์ขา้ มปี วัดสะอาดเรืองศรีกจ็ ดั เป็นประจ�ำ ทุกปีเพื่อให้ชุมชนและชาวบ้านในท้องถิ่นได้มาร่วมกันเจริญสมาธิ ฝึกจิตให้ผอ่ งใสต้อนรับปีใหม่ แถมยังให้คณ ุ ประโยชน์ตอ่ จิตใจและ สุขภาพอีกด้วย อาทิ 1. ช่วยให้จติ เป็นสมาธิ (Meditation) เพราะขณะนัน้ ผูส้ วดต้อง ส�ำรวมใจแน่วแน่ มิฉะนัน้ จะสวดผิดท่อนผิดท�ำนอง เมือ่ จิตเป็นสมาธิ ความสงบเยือกเย็นในจิตจะเกิดขึ้น 2. เป็นการกระท�ำที่ได้ปัญญา ถ้าการสวดมนต์โดยรู้ค�ำแปล รู้ความหมายก็ย่อมท�ำให้ผู้สวดได้ปัญญาความรู้ 3. เป็นการตัดความเห็นแก่ตัว เพราะในขณะนั้นอารมณ์จะ ไปหน่วงอยู่ที่การสวดมนต์อย่างตั้งใจไม่ได้คิดถึงตัวเอง ความโลภ โกรธ หลง จึงมิได้เกิดขึ้นในจิตตน 4. เป็นสิริมงคล แก่ชีวิตตน และ บริวาร 5. สามารถไล่ความขีเ้ กียจได้ เพราะขณะสวดมนต์ อารมณ์เบือ่ เซื่องซึม ง่วงนอน เกียจคร้านจะหมดไป และเกิดความแช่มชื่น กระฉับกระเฉงขึ้น 6. เปรียบเสมือนการได้เฝ้าพระพุทธเจ้า เพราะขณะนั้นผู้สวด มี กาย วาจา ปกติ (มีศลี ) มีใจ แน่วแน่ (มีสมาธิ) มีความรู้ ระลึกถึง คุณความดีของพระพุทธเจ้า (มีปัญญา) เท่ากับได้เฝ้าพระองค์ ด้วยการ ปฏิบัติบูชา ครบไตรสิกขาอย่างแท้จริง อานิสงส์ในการสวดมนต์ข้ามปี 1. ลดความเสี่ยงจากอบายมุข อุบัติเหตุและความชั่วร้าย 2. เป็นการท�ำบุญใหญ่ให้กบั ชีวติ ทัง้ ทางกาย ทางจิต และทางปัญญา 3. เป็นการส่งท้ายด้วยธรรมะ และต้อนรับด้วยศีล 4. เป็นการสร้างบรรยากาศให้เห็นจริงในสัจธรรม คืออนิจจัง ทุกขัง อนัตตา 5. เริ่ ม ต้ นชี วิ ต ด้ ว ยสิ่ ง ที่ เ ป็ นสิ ริ ม งคลอั น จะส่ง ผลให้ได้พบ สิ่งที่เป็นมงคลตลอดทั้งปี การสวดมนต์ ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีงามและเป็นสิ่งที่ควรปลูกฝัง ให้กับลูกหลานให้ปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอในชีวิตประจ�ำวันทั้งก่อน เข้านอนและในตอนเช้าตรู่ เพราะการสวดมนต์จะท�ำให้เจริญสติ ท�ำให้จิตเกิดสมาธิ จิตใจสงบเป็นสุข ด้วยเหตุนี้เอง การสวดมนต์ จึงเป็นอีกหนึง่ กิจกรรมทีน่ า่ สนใจไม่เพียงในวันขึน้ ปีใหม่เท่านัน้ แต่ ควรเป็นทุกวัน เพราะนอกจากจะช่วยให้เกิดสมาธิแล้ว ยังท�ำให้ จิตใจผ่องใสต้อนรับวันใหม่อย่างสดชื่น เด็กๆ จะเล่าเรียนก็จะ เรียนได้ดี คนท�ำงานก็จะมีสมาธิในการท�ำงาน ยิง่ ชวนกันสวดมนต์ ในครอบครัวทุกวัน ก็จะเกิดความร่มเย็น 118
4
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 118
12/9/2562 16:06:41
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
4
.indd 119
119
12/9/2562 16:06:45
H I STORY OF BU DDHI S M
120
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 120
12/9/2562 16:08:53
1 ใน 7 สิ่งอัศจรรย์ที่ท่องเที่ยวไทย (ยุคใหม่ ทันสมัย) 1 ใน “Thailand Dream Destinations กาลครั้งหนึ่ง…ต้องไป” และ 1 ใน 10 วัดบนเขา ที่สวยที่สุดในประเทศไทย
อดีตองคมนตรี เป็นประธานกิตติมศักดิฝ์ า่ ยฆราวาส ฯพณฯ ดร.อํานวย วีรวรรณ เป็นประธานที่ปรึกษา กิตติมศักดิ์ฝ่ายฆราวาส พ.ต.อ. หญิง ท่านผู้หญิง วงศ์พรรณ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา พล.ท.นพ.ธํารงรัตน์ แก้วกาญจน์ เป็นที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ และท่านผู้ว่า ราชการจังหวัดอุดรธานี เป็นประธานกรรมการอุปถัมภ์ พระพุทธไสยาสน์หนิ อ่อนขาว เป็นปางทีม่ คี วาม บริสุทธิ์วิสุทธิคุณ สําหรับผู้ประพฤติปฏิบัติเพียรไป เพื่ อ การทํ า ให้ ถึ ง ที่ สุ ด แห่ ง กองทุ ก ข์ ทั้ ง สิ้ น พุ ท ธ ลักษณะสงบเย็นด้วยบรมสุข การได้มีจิตน้อมไปถึง ความนิ่งแห่งพุทธสรีระหินอ่อนสีขาว สง่างาม มี คุณลักษณะอ่อนช้อยงดงาม จะบังเกิดปณิธานที่ เป็นมงคลยิ่ง แด่ผู้เข้ามาสักการบูชาพระสัทธรรม อันประเสริฐ ประดุจเห็นองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงปรินิพพานอยู่ตรงหน้า เกิดความสลดสังเวชใจ แม้พระองค์จะเสด็จปรินิพพานไปนานแล้ว ยังทรง ประทานความเมตตาอันวิสุทธิ์ค�้ำจุนโลกไว้ เพื่อให้ พุทธบริษัทเพียรไปให้เข้าถึงความบริสุทธิ์วิสุทธิคุณ จนถึ ง ทุ กวั น นี้ จิ ต จะสงบด้ ว ยความระลึ ก สํ า นึ ก ซาบซึง้ ในเมตตาธรรมอันร่มเย็น เป็นสมาธิโดยธรรม เป็นเครื่องน้อมรําลึกฝึกฝืนตลอดกาลสมัยของตน
พระพุทธไสยาสน์ โลกนาถศาสดามหามุนี พระพุทธไสยาสน์ ทําด้วยหินอ่อนขาวจากเมือง คาร์ราร่า ประเทศอิตาลี มีความยาว 20 เมตร โดยใช้ หินอ่อนจํานวน 43 ก้อน น�้ำหนักก้อนละประมาณ 15-30 ตัน นําเข้ามาแกะสลักทีว่ ดั ป่าภูกอ้ น แล้วยกขึน้ เรียงบนฐานซ้อนกัน 3 ชัน้ เป็นองค์พระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานอยู่บนยอดเขาอาสนะพุทธะ ซึ่งเป็น ลานหินแข็งแกร่ง ยาวประมาณ 110 เมตร ได้รับ ความเมตตาจาก พระเดชพระคุณพระอุดมญาณโมลี อดี ต เจ้ า อาวาสวั ด โพธิ ส มภรณ์ เป็ น ประธาน กิตติมศักดิฝ์ า่ ยบรรพชิต ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม เป็น ประธานกรรมการที่ปรึกษาฝ่ายบรรพชิต พระเดช พระคุณพระธรรมบัณฑิต เจ้าอาวาสวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เป็นรองประธานกรรมการทีป่ รึกษา ฝ่ายบรรพชิต และได้รบั พระกรุณาธิคณ ุ จาก สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี ทรงเป็นองค์ประธานอุปถัมภ์ ฯพณฯ สวัสดิ์ วัฒนายากร UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 121
121
12/9/2562 16:08:53
>> พิธีวางศิลาฤกษ์ ได้มีขึ้นในวันศุกร์ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2549 เวลา 9.19 น. อันเป็น มหาราชาฤกษ์ โดยมี ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต เป็นประธาน สงฆ์ทําพิธีวางศิลาฤกษ์ มีพระเถรานุเถระ ข้าราชการ และพุทธศาสนิกชน มาร่วมพิธี เป็นจํานวนมาก >> ตรวจรับหินอ่อนและน�ำเข้าประเทศไทย ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2549 คณะกรรมการฯ ได้เดินทางไปตรวจรับหินอ่อนขาว ทีเ่ มืองคาร์ราร่า ประเทศอิตาลี และได้พบหินอ่อนก้อนใหญ่ พิเศษ น�ำ้ หนัก 110 ตัน โดยบุญปาฏิหาริย์ ทําให้สามารถแกะสลัก เป็นส่วนพระเศียรได้ โดยไม่ตอ้ งมีรอยต่อหินข้างพระพักตร์ 55 ตัน และอี ก 55 ตั น ได้ น�ำมาแกะสลั ก เป็ น พระบาท โดยไม่มรี อยต่อเช่นกัน การก่อสร้าง โครงสร้ า งฐานพระพุทธไสยาสน์เ ริ่มตั้ง แต่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 และได้ทยอยนําเข้า หินอ่อนพระพุทธสรีระมาถึงท่าเรือแหลมฉบัง ตั้งแต่เดือนสิงหาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2549 >> หินอ่อนพระพุทธไสยาสน์ 9 ก้อนแรก ได้มาถึงอุดรธานีเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ทางจังหวัดอุดรธานีได้จัดขบวนแห่ อัญเชิญ และทําพิธีสมโภชหินอ่อนพระพุทธ ไสยาสน์ ณ มณฑลพิ ธี ทุ ่ ง ศรี เ มื อ ง โดยมี ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานีเป็นประธานใน พิธี และอัญเชิญเข้าสู่ลานเขาอาสนะพุทธะ วัดป่าภูก้อนในวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2549 >> พิธีแกะสลักหินอ่อนพระพุทธไสยาสน์ เป็นปฐมฤกษ์ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2549 โดยมีพระเดชพระคุณพระธรรม บัณฑิต เจ้าอาวาสวัดพระราม 9 กาญจนา ภิเษก เป็นประธานสงฆ์ในพิธี และได้มพี ธิ แี กะ สลักหินอ่อนก้อนพระเศียรเป็นปฐมฤกษ์ เมือ่ วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2549
>> การแกะสลักหินอ่อนองค์พระพุทธไสยาสน์ ได้เริ่มดําเนินการตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา และได้อัญเชิญขึ้นเรียงบนฐานสูง 2 เมตร จนครบทั้ง 43 ก้อนแล้ว โดยประกอบพิธีอัญเชิญหินอ่อนก้อนพระเศียรขึ้น ประดิษฐาน เป็นองค์พระพุทธไสยาสน์สมบูรณ์ เมือ่ วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2551 โดยมีทา่ นเจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหารเป็นประธานสงฆ์ พระพุทธไสยาสน์ได้แกะสลักเสร็จสมบูรณ์ ในปลายปี พ.ศ. 2551 คณะกรรมการบริหารโครงการฯ ได้ดําเนินการก่อสร้างอาคารรอบลาน วิหารไปพร้อมกันกับการสร้างพระพุทธไสยาสน์ การก่อสร้างวิหารเริ่มขึ้นหลังมีพิธีตอกไม้มงคล ยกเสาเอก ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 >> พิธีเททองหล่อพระรัศมีองค์พระพุทธไสยาสน์ ในวันวิสาขบูชาที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ได้รับพระกรุณาจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า พัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี เสด็จพระดําเนินเป็นองค์ประธานประกอบพิธี ณ วัดป่าภูก้อน >> วัดป่าภูก้อนและคณะกรรมการได้ขอนําความกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทาน นามพระพุทธไสยาสน์จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชือ่ ว่า “พระพุทธไสยาสน์โลกนาถศาสดามหามุน”ี แปลว่า พระพุทธรูปปางไสยาสน์แห่ง พระมหามุนี ผู้ทรงเป็นบรมครู ที่ทรงเป็นที่พึ่งของชาวโลก ตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2552 >> พิธีมหาพุทธาภิเษก ได้จัดขึ้น ณ วิหาร ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 โดยได้รับพระเมตตาจาก ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัย และพระเดชพระคุณพระธรรม บัณฑิต วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เป็นประธานดับเทียนชัย >> พิธีอัญเชิญตราสัญลักษณ์ 96 ปี สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ในวั น ที่ 2 ตุ ล าคม พ.ศ. 2554 ได้ มี พิ ธี อั ญ เชิ ญ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ ฉ ลองพระชั น ษา 96 ปี องค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร ประดิษฐาน ณ หน้าบันวิหาร อันเป็นที่มา ของการขนานนามว่า “วิหารสังฆบิดร” >> พิธีอัญเชิญตราสัญลักษณ์ประดิษฐานบนผ้าทิพย์ ในวั น ที่ 29 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2554 ได้ มี พิ ธี อั ญ เชิ ญ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ พ ระราชพิ ธี เ ฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ประดิษฐาน ณ ผ้าทิพย์องค์พระพุทธไสยาสน์ โดย ดร.อ�ำนวย วีรวรรณ เป็นประธานในพิธี
>> พิธีประดิษฐานพระอุณาโลมองค์พระพุทธไสยาสน์ ในวั น ที่ 3 ธั นวาคม พ.ศ. 2554 ได้ รั บ พระเมตตาจากพระเดชพระคุ ณ พระธรรมบั ณ ฑิ ต วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เป็นประธานสงฆ์ประกอบพิธปี ระดิษฐานพระอุณาโลมทีพ่ ระนลาฎ องค์พระพุทธไสยาสน์ >> พิธบี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุในพระเกศองค์พระพุทธไสยาสน์และพิธสี มโภชวิหารสังฆบิดร ในวันที่ 17 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิตยิ าภา นเรนทิราเทพยวดี เสด็จเป็นองค์ประธานฝ่ายฆราวาส ในพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศพระพุทธไสยาสน์ เมือ่ ครัง้ มหาสมโภช ณ วิหารสังฆบิดร วันที่ 17-23 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 122
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 122
12/9/2562 16:08:54
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 123
123
12/9/2562 16:08:55
วิหารสังฆบิดร
วิหาร “สังฆบิดร”
ที่ประดิษฐานองค์พระพุทธไสยาสน์ วัดป่าภูก้อน เพื่อให้พระพุทธไสยาสน์โลกนาถศาสดามหามุนี ด�ำรงอยู่ตราบนาน เท่านาน คณะศรัทธาจึงด�ำริสร้าง “วิหารสังฆบิดร” เป็นที่ประดิษฐาน องค์พระพุทธรูปให้มีความสง่างามเคียงคู่กัน เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล แด่ อ งค์ ส มเด็ จ พระสั ง ฆราช และได้ อั ญ เชิ ญ ตราสั ญ ลั ก ษณ์ อ งค์ สมเด็ จ พระสั ง ฆราชเจ้ า กรมหลวงวชิ ร ญาณสั ง วร พระชั น ษา ครบ 96 ปี มาประดิษฐาน ณ หน้าบันวิหารพระพุทธไสยาสน์ด้วย
ประตูทางเข้าวิหาร มีทั้งหมด 3 ด้าน โดยแต่ละด้านจะเป็นประตู บานคูห่ ล่อด้วยทองแดงสัมฤทธิ์ เป็นภาพเทพทวารบาล เทพแห่งดิน น�ำ้ ลม และไฟ รวม 6 บาน กระจกช่องแสง แกะสลักอย่างละเอียดงดงาม เป็นรูปองค์เทพ ต่างๆ รวมจ�ำนวน 22 องค์ เช่น พระศิวะ พระนารายณ์ พระพรหม พระพิฆเนศ พระอินทร์ เป็นต้น ในส่วนต่อมา คือ เสาเทพพนมและบัวยอดเสา จ�ำนวน 22 ต้น แต่ละต้นมีรูปองค์เทพผู้บูชาพระบรมศาสดาหล่อด้วยทองเหลืองปิด ทองอยู่ปลายเสาของแต่ละต้น โดยแบ่งเป็น มหาเทพ 5 องค์ และบุรุษ เทพอีก 17 องค์
วิหารสังฆบิดรมีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์แห่งสมัย รัตนโกสินทร์ ภายในถูกตกแต่งด้วยความวิจิตรอธิบายปริศนาธรรม เพื่อเป็นศูนย์รวมดวงใจแห่งธรรมที่พระพุทธองค์ทรงพาด�ำเนินสู่ความ สิ้นสุดแห่งทุกข์ บริเวณทางเข้าพระวิหารทัง้ 4 ทิศ ประดับด้วยพญานาคราวบันได หล่อทองเหลืองส�ำริด 4 คู่ โดยทางเข้า ด้านหน้าจะเป็นพญานาค 3 เศียร 1 คู่ และด้านอื่นๆ พญานาคเศียรเดียวรวม 3 คู่
124
6
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 124
12/9/2562 16:08:57
อิติปิโส เป็นค�ำสวดสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และ พระสังฆคุณรวบยอดที่จะให้จิตเป็นหนึ่งในขณะเดียวที่น้อมร�ำลึกถึง พระคุณพระรัตนตรัย รวมถึงค�ำจารึกในวิหาร ทางเข้าด้านพระเศียร จารึกชื่อองค์พระพุทธไสยาสน์ ซึ่งได้รับพระราชทานจากองค์พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทางเข้าด้านพระบาท จารึกบทสวดพิจารณาสังขาร บอกกล่าวถึง ชีวิตของเราเป็นของไม่เที่ยง ความตายของเราเป็นของเที่ยง เมื่อเกิด ขึ้นแล้ว มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา อักขระทั้งหมดล้วนแกะสลักเป็น บัวผนังบนหินอ่อนขาวคาราร่า อักษรทุกตัวฝังด้วยหินมาลาไคท์สเี ขียวเข้ม รองรับด้วยลายบัวคว�่ำบัวหงายแกะสลักจากหินอ่อนขาวอย่างเดียวกัน เหนือค�ำจารึกด้านพระเศียรและพระบาท เป็นต้นรังทิพย์มาลัยทอง ด้านละ 1 ต้น ต่อมาคือฝาผนังภายในวิหาร เป็นภาพปั้นพุทธประวัติ และภาพทศชาติหล่อด้วยทองแดง รวม 21 ภาพ ตลอดฝาผนัง ภายใน วิหาร ใต้ภาพทศชาติและพระพุทธประวัติ เป็นบานกระจกแกะสลัก รูปจ�ำลองพระหัตถ์ของพระพุทธองค์ ทรงห้ามการฆ่าต่างๆ 28 บาน และประทานคืนคุณต่างๆ แก่โลกอีก 28 บาน เพดานท้องพระโรงเหนือองค์พระพุทธไสยาสน์ เป็นแผ่นสเตนเลส ลายรูปดาวพ่นทราย และฐานพระพุทธรูป เป็นงานปัน้ นูนตำ�่ หล่อทองแดง เป็นเรือ่ งราวของพระมหาปรินพิ พานสูตร ล้อมรอบฐานพระพุทธไสยาสน์ การสั ก การบู ช าองค์ พ ระพุ ท ธไสยาสน์ โ ลกนาถศาสดามหามุ นี จะครบถ้วนในเนื้อหาสารคุณ ด้วยการจัดสร้าง รูปหล่อทองเหลือง พระอัครสาวกผูเ้ ป็นเอตทัคคะในด้านอานุภาพต่างๆ จ�ำนวน 22 องค์ และพุทธบริษัทสี่อีก 6 องค์ นัยว่าเป็นความระลึกอันส�ำคัญที่ควร ยกย่องและสักการะ เป็นแบบอย่างได้สมบูรณ์แบบในพุทธบริษัทเป็น ล�ำดับในรูปยืนอยู่ ณ โคนเสาติดผนังรอบนอกวิหาร
ช่อฟ้า แบ่งเป็น ช่อฟ้าเอก 2 ยอด และช่อฟ้ารอง 12 ยอด ออกแบบ ลวดลายเป็น “เลข ๙” อันหมายถึง พระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 9 แห่ง ราชวงศ์จักรี และองค์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 19 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ หลังคาวิหาร เป็นหลังคาซ้อนแบบชั้นลด ตรงกึ่งกลางบนยอดหลังคาสูงสุด คือ “สัตตบริภัณฑ์” หรือ “หอเทวดา” นอกจากนี้ยังมีศาลารายรอบวิหาร อีก 5 หลัง อันเป็นปริศนาธรรมที่แฝงไว้ และส�ำหรับใช้ป ระโยชน์ ที่แง่มุมที่แตกต่างกันไป ตราบจนปัจจุบนั องค์พระพุทธไสยาสน์ฯ และวิหารได้รบั การโหวต ให้เป็น 1 ใน 7 สิ่ง อัศจรรย์ ที่ท่องเที่ยวไทย (ยุคใหม่ ทันสมัย ) ปี 2556 (ครั้งที่ 6) และเป็น 1 ใน “Thailand Dream Destinations กาลครัง้ หนึง่ …ต้องไป” ของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ในปี 2557 นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องให้เป็น 1 ใน 10 วัดบนเขาที่สวยที่สุดใน ประเทศไทย ปี 2558 อีกด้วย กว่าจะเป็นหนึ่งในหลายๆ ด้านของความโดดเด่นในพุทธศิลป์แห่ง ศาสนธรรม สิ่งที่ซ่อนอยู่ในความงามคือจิตอันประณีต จิตอันละเอียด ของพุทธบริษัทผู้ปรารถนาจะพ้นทุกข์ จนเกิดความพากเพียรในการ ปฏิบัติขัดเกลาตนจนเกิดผลประจักษ์แห่งใจ ตามรอยปฏิปทาพ่อแม่ ครูอาจารย์พระป่าพระกรรมฐานสืบสานมาตลอดสาย ท�ำให้ปัจจุบันนี้ วัดป่าภูกอ้ นด�ำรงคงอยูด่ ว้ ยความสมดุลของป่าไม้ทที่ วีความอุดมสมบูรณ์ ขึ้นทุกคืนวัน โดยบุคคลผู้มีความศรัทธาและระลึกคุณของสรรพสิง่ ทัง้ หลายของชาติและแผ่นดินอันเป็นทีก่ �ำเนิดแห่งชีวติ โดยมีคณ ุ พระพุทธ ศาสนาเป็นเครือ่ งส�ำนึก และมีพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระมหากษัตริย์ ที่ชาวไทยทุกคนควรทดแทน เป็นก�ำลังใจส่งเสริมพระสงฆ์ผู้ปฎิบัติดี ปฏิบัติชอบให้ด�ำรงปฏิปทาของพระป่ากรรมฐานเพื่อบูชาคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ จนถึงที่สุด ถ้อยธรรมค�ำฝาก...จากอุบาสิกาคุณแม่ปิยวรรณ วีรวรรณ ฉันปรารถนาได้ยินเสียงฝ่าพระบาทของพระพุทธองค์ เดินจงกรม อยู่บนสรวงสวรรค์อันจ�ำเริญแล้ว ปัญญาบารมีของฉันนี้ จะท�ำได้อย่าง ดีที่สุดก็เพียงท�ำหน้าที่ของการปลูกกุศลจิตให้แก่อนุชนชาวพุทธไว้เป็น “อนุสยั ” สืบไปก่อน คือการหว่านเชือ้ เมล็ดพันธุแ์ ห่งพุทธะ หรือบุกเบิก ทางแห่งอริยภูมิทิ้งไว้ก่อนเท่านั้น แล้วผลมันจะเกิดขึน้ มาเอง หลังจากฉันได้ตายลง จะได้มบี ณ ั ฑิตใต้ ต้นไม้ แล้วจะมาท�ำให้พระธรรมค�ำสอน ที่ฉันถ่ายทอดด้วยจิตถึงจิตนี้ แผ่ไปทุกมุมเมือง ผู้ได้บรรลุ “ธรรมจักษุ” จะมีมากมาย
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
6
.indd 125
125
12/9/2562 16:08:58
วัดพระแท่น
่ ม “ทีน ี่ ค ี วามส�ำคัญมาก ถือว่าเป็นหัวใจของวัด” พระครูมัญจาภิรักษ์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี
เมือ่ ร้อยกว่าปีลว่ งมา หลวงปูพ่ บิ ลู ย์ เดินขึน้ มาสูว่ ดั พระแท่น แห่งนี้เป็นครั้งแรกคือวันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ตรงกับ วันแรม 2 ค�่ำ เดือน 11 ปีชวด หลวงปู่บอกว่า ที่นี่มีความ ส�ำคัญมาก ถือว่าเป็นใจของวัด เรียกว่า วัดวาอาราม โดยอาศัย แท่นพระอยู่ในวิหารนี้ไม่มีพระพุทธรูป ท่านจึงตั้งชื่อวัดแห่งนี้ ว่า วัดพระแท่น เดิมวัดแห่งนีม้ ซี ากเสนาสนะอยู่ 3 อย่างคือ1. ซากวิหารเก่า (อาราม) 2. ซากโบสถ์เก่า 3.บ่อน�ำ้ เก่าอยูใ่ นบริเวณวัด คนโดยมาก ไม่มคี นรูเ้ ห็นเลย นอกจากนีย้ งั มีอฐิ เก่า ศิลาแลงเก่า จากนัน้ ท่าน ก็นำ� ชาวบ้านสร้างวัด สร้างวิหาร ซึง่ ได้บรู ณะมาเป็นครัง้ ที่ 3 แล้ว และสร้างถนน สร้างสรรค์ชุมชนให้เจริญล่วงหน้ามากว่าร้อยปี ที่ ส มั ย นั้ น ทางการยั ง ไม่ เ ข้ า ใจภู มิ ป ั ญ ญาธรรมจากหลวงปู ่ ผู้หยั่งรู้อนาคต เปิดประวัติหลวงปู่พิบูลย์ ผู้อยู่ในหัวใจของชาวอุดร หลวงปูพ่ บิ ลู ย์ (พิบลู ย์ แซ่ตนั ) เกิดทีบ่ า้ นพระเจ้า ต�ำบลมะอึ อ�ำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด บิดาเป็นจีนโดยก�ำเนิด ชือ่ นายสา แซ่ตัน มารดาเป็นคนอีสาน ชื่อโสภา มีอาชีพท�ำนาค้าขายมี ฐานะมัน่ คงภายหลังได้แต่งงานกับหญิงบ้านเดียวกัน พอลูกสาว โตและแต่งงานเห็นว่าบุตรสาวและบุตรเขยพอทีจ่ ะรักษาฐานะ ของตระกูลได้ จึงได้ลาลูกเมียออกบวชพร้อมกับคู่นาค คือ พ่อจารย์ฮวด เมื่อบวชแล้วอยู่กับพระอุปัชฌาย์ 1 ปี จึงขอ พระอาจารย์ออกแสวงหาธรรมจนถึงประเทศลาวจนได้พบ กับพระอาจารย์ไม้เท้าหนักหมื่น (12กิโลกรัม) อยู่ที่ภูอาก และภูเขาควาย ได้เรียนปฏิบัติธรรมอยู่กับอาจารย์ 12 ปี โดยประมาณ จนอาจารย์รู้ว่าได้บรรลุธรรมแล้ว จึงได้ส่งให้ มาประกาศศาสนา โดยก�ำหนดมาสร้างวัดอยู่ทิศเหนือของ หนองหาน บอกว่าเป็นวัดเก่า เมือ่ ถึงหนองหานหลวงปูเ่ ข้าใจผิด ไปสร้างวัดเกาะแก้วเกาะเกตุในเขต อ�ำเภอกุมภวาปี จนได้ไป ทรมานจระเข้ใหญ่ที่นั่นจนหมดฤทธิ์ (จระเข้ผี)
126
P.126-128.indd 126
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
10/9/2562 13:42:14
ภายหลังได้กลับไปไหว้พระอาจารย์ ท่านบอกว่าที่น่ันไม่ใช่ สถานที่ของเจ้า พอกราบลาอาจารย์แล้วก็มาลาญาติโยม เดินทาง มาถึงหนองหาน และในที่สุดก็มาพบกับวัดเก่าอยู่ที่บ้านไทแห่งนี้ หลวงปูไ่ ด้นำ� ชาวบ้านสร้างวัด เมือ่ ก่อนวัดแห่งนีน้ า่ กลัวไม่มคี นเข้าใกล้ จนหลวงปู่มาสร้างเสร็จ ภายในวัดมีแท่นพระเก่าไม่มีพระพุทธรูป จึงตั้งชื่อว่าวัดพระแท่น มีไม้แดงต้นหนึ่งอยู่กลางวัดติดกับแท่นพระ จึงตั้งชื่อหมู่บ้านนี้ว่าบ้านแดง เมื่อปี พ.ศ. 2444 หลวงปู่เป็นผู้มีเวทมนต์ศักดิ์สิทธิ์มาก ผู้คนมาอาศัยบารมีท่าน เยอะมาก หลวงปูจ่ งึ น�ำคนทัง้ หลายพัฒนาวัดและบ้านได้อย่างรวดเร็ว ตัดถนนหนทางขุดห้วยหนองคลองบึง วางแบบแปลนผังหมูบ่ า้ นเพือ่ รองรับความเจริญของชุมชนแห่งนี้ ก�ำหนดลงพืน้ ทีอ่ นาคตขยายถนน ที่ตั้งอ�ำเภอและหน่วยงานราชการต่างๆ ไว้ให้ครบหมดตั้งแต่นั้นมา เป็นเวลา 100 กว่าปีมาแล้ว จนทางราชการเข้าใจผิดคิดว่าหลวงปู่ จะแบ่งแยกดินแดน จนถูกทางราชการจับกุมหลวงปูห่ ลายครัง้ หลายหน จนถูกลงโทษอย่างหนัก เช่น ฝังดินทั้งเป็น เผาไฟทั้งเป็นปู่ก็ไม่ตาย ทีส่ ดุ ก็ได้นำ� หลวงปูม่ าไว้ทวี่ ดั โพธิสมพร จนถึง พ.ศ. 2489 หลวงปู่ ก็ได้มรณภาพอยู่ที่นั่น อีกสองปีจึงได้น�ำศพหลวงปู่กลับบ้านแดง ท�ำพิธีฌาปนกิจศพ ปี พ.ศ. 2504 จึงได้น�ำอัฐิและบริขารบรรจุไว้ ในเจดีย์ที่เราเห็นนี้ รวมอายุหลวงปู่ได้ 135 ปี
ประวัติความเป็นมาของวิหารพระแท่น (อาราม) หลวงปูพ่ บิ ลู ย์เล่าให้ฟงั ว่า วิหารพระแท่น (อาราม) เป็นของเก่า มาตัง้ แต่สมัยพระพุทธเจ้าชือ่ ว่า กัสสปะ ก่อนภัทรกัปมานานแสนนาน ผ่านศาสนาพระพุทธเจ้ามาแล้ว 5 พระองค์ ดังนั้นเมื่อมาถึงมนุษย์ ยุคปัจจุบันตอนที่หลวงปู่พิบูลย์จะมาเริ่มสร้างวัดแห่งนี้ได้มาพักอยู่ โนนบ้านไทย บ้านแดงเก่า อยู่ติดกับหนองห้วยบ้านริมห้วยหลวง หลวงปู่พิบูลย์ได้ถามสุขทุกข์ความเป็นอยู่ของญาติโยมชาวบ้านไท ญาติโยม (พ่อออกแม่ออก) ก็ได้บอกกล่าวนมัสการหลวงปู่พิบูลย์ ทุกสิ่งทุกอย่างแล้ว ก็ถามญาติโยมว่า “แถวนี้มีวัดเก่าแก่พอที่จะบูรณะเป็นวัดหรือไม่” หลวงปู่ก็ได้รับค�ำบอกเล่าของญาติโยมว่า “หลวงปู่ครับ อยู่ห่าง จากนี้ไปประมาณ 500 เมตรครับปู่ แต่มันเข็ดย�ำมากครับปู่ ใครๆ เข้าไปที่นั้นไม่ได้ แม่วัวควายเข้าไปก็ไม่มีใครกล้าเข้าไปต้อนเอา ให้มันออกมาเอง จะตัดไม้ต้นเล็กๆ ต้นเดียวก็ป่วยแทบตาย ได้ไป ปลูกแทนครับปูจ่ งึ ค่อยหาย” ส่วนหลวงปูร่ แู้ ล้วทุกประการ เลยบอก กับญาติโยมว่า “เอาล่ะหลวงปู่จะพาญาติโยมสร้างวัดขึ้นใหม่” พ่อออกแม่ออกก็พากันห้ามหลวงปูข่ นึ้ พร้อมกันว่า “ไม่ได้หลวงปู่ ครับมันจะเป็นอันตรายต่อหมู่บ้านเราครับหลวงปู่” หมู่บ้านไทย ในขณะนั้นก็มีอยู่ประมาณ 30 หลังคาเรือน
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
P.126-128.indd 127
127
10/9/2562 13:42:15
หลวงปูก่ บ็ อกว่า มันบ่เป็นอีหยังดอก (มันไม่เป็นอะไร) พอรุง่ เช้า ขึน้ อีกวัน ญาติโยมก็พากันจัดแจงแต่งอาหารเช้าถวายหลวงปูเ่ สร็จ เรียบร้อย ก็บอกญาติโยมว่า “ปูจ่ ะขึน้ ไปดูวดั เก่าทีญ ่ าติโยมว่าก่อน” ไม่ มี ใ ครกล้ า ห้ า มหลวงปู ่ มี แ ต่ พ ากั น นั่ ง มองหลวงปู ่ เ ท่ า นั้ น (พากันนั่งเบิ่งหลวงปู่มองๆ เท่านั้น) หลวงปู่พิบูลย์ เดินขึ้นมาสู่วัดพระแท่นแห่งนี้เป็นครั้งแรกคือ วันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ตรงกับวันแรม 2 ค�ำ่ เดือน 11 ปีชวด ท่านเดินมุ่งหน้าขึ้นทางทิศเหนือของวัด พอจะเข้าเขตวัด หลวงปู่ก็ เริ่มเอามีดอีโต้ออกจากฝัก แล้วถางเข้ามาตรงวิหารบนพื้นเก่าของ วิหารแห่งนี้ (อาราม) ซึง่ มีพนื้ สูงอยูป่ ระมาณ 1 เมตร ทีค่ นสมัยก่อน สร้างด้วยศิลาแลง โดยมีแท่นพระแต่ไม่มพี ระพุทธรูป เป็นแท่นศิลาแลง สูงประมาณ 1.5 เมตร กว้าง 3 เมตร พอหลวงปู่ถางป่าขึ้นมาถึง พืน้ วิหาร (อาราม) จ�ำพวกสัตว์กลัวเกรงพากันแตกกระจัดกระจาย แตกตื่นวิ่งหนีไปตัวละทิศละทาง หลวงปู่ก็เริ่มถากถางขยายออก พอที่จะนั่งได้แถวรอยแท่นพระแล้วก็ถางไปทางด้านหน้าของ
แท่นพระให้กว้าง พอมีลมอากาศหายใจ เพราะมันรกทึบมากมานาน พอได้เวลาฉันเพล หลวงปู่ก็ย้อนทางเดิมออกนอกเขตวัด ญาติ โ ยมก็ พ ากั น มาถวายเพลหลวงปู ่ อ ยู ่ น อกบริ เ วณเขตวั ด พอฉันเพลแล้วหลวงปูก่ พ็ ดู เรือ่ งต่างๆ กับญาติโยมพร้อมฉันหมาก ไปด้วยพอสมควรแก่เวลา หลวงปูก่ ก็ ลับเข้ามาวัด ญาติโยมก็กลับบ้าน หลวงปูก่ ถ็ ากถางต่อ ตอนนั้นป่าแห่งนี้มีดอกไม้เบญจพรรณนานาชนิดแดงเต็มป่า แถวนี้ไปหมด ค�่ำมาหลวงปู่ก็กลับลงมาบ้านไท เช้าขึ้นมาของวัน ใหม่เสร็จธุระแล้ว หลวงปูก่ ข็ นึ้ มาถางต่อ ท่านท�ำอยูป่ ระมาณ 3 วัน ชาวบ้านก็อยู่ร่มเย็นเป็นสุขตามปกติ ไม่มีอะไรท�ำให้ชาวบ้าน เดือดร้อนเลย ญาติโยมก็เริม่ มีความมัน่ ใจในตัวหลวงปู่ ต่อมาก็เลย มีชาวบ้านทยอยขึ้นมาช่วยหลวงปู่ ที่สุดแล้วชาวบ้านก็พากันมา ช่วยถากถางป่าขยายออกจนหมดเขตของวัดต่อมาหลวงปู่จึงได้ พาญาติโยมสร้างวิหารขึ้นด้วยไม้ ต่อมา วิหารหลังนี้ (อาราม) ได้บูรณะมาเป็นครั้งที่ 3 แล้ว
ค�ำสอนโดยย่อของหลวงปู่พิบูลย์ “ธรรมมีไว้ช่วยให้อยู่ในโลกอย่างผู้ชนะโลกหรือเหนือโลก มิใช่ให้หนีโลก แต่สอนให้อยู่เหนืออิทธิพลใดๆ ของโลก ไม่ใช่สอนให้เป็นธาตุจมอยู่ในโลก อย่าเข้าใจผิดๆ ว่าต้องหนีโลก ทิ้งโลก สละโลก อย่างนี้ไม่มีประโยชน์อะไรแก่ใครเลย..” 128
P.126-128.indd 128
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
10/9/2562 13:42:22
Buddhism
in Thailand
SBL บันทึกประเทศไทย น�ำเสนอเรื่องราวของจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศไทย อย่างเจาะลึกและครอบคลุมทุกมิติ อาทิ มิติด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ จากหน่วยงานราชการส�ำคัญในจังหวัด มิติด้านการท่องเที่ยวที่สดใหม่ทันสมัย ทั้งสถานที่เที่ยว ที่พัก ร้านอาหาร ร้านกาแฟ แหล่งช็อปปิ้งใหม่ๆ ฯลฯ มิติด้านอุตสาหกรรม-การค้าการลงทุนที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ตลอดจนมิติด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ที่มีจุดเด่นและมีเอกลักษณ์น่าสนใจ
AD.indd 129
10/9/2562 16:17:11
วัดป่าดงยางพรพิ บล ู ย์
“วัดผูส ้ ร้างชุมชนคุณธรรมต้นแบบของอ�ำเภอพิ บูลย์รก ั ษ์” พระครูวิบูลสุทธิคุณ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส และรองเจ้าคณะอ�ำเภอพิ บูลย์รักษ์
130
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
2
.indd 130
10/9/2562 13:42:50
วัดป่าดงยางพรพิบลู ย์ ตัง้ อยูเ่ ลขที่ 103 หมูท่ ี่ 15 บ้านพรพิบลู ย์ ต�ำบลบ้านแดง อ�ำเภอพิบลู ย์รกั ษ์ จังหวัดอุดรธานี สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย ตัง้ อยูใ่ นป่าช้า เดิมมีเนือ้ ที่ 68 ไร่ ตอนนีม้ ญ ี าติโยมซือ้ ทีด่ นิ ถวายวัดเพิม่ อีกจ�ำนวน 10 ไร่ เพือ่ ท�ำการขอสร้างวัดให้ถกู ต้อง ซึง่ ขณะนีอ้ ยูใ่ นระหว่างการด�ำเนินการ เสนาสนะภายในวัด มีดงั นี้ ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กว้าง 25 เมตร ยาว 31 เมตร ศาลาอเนกประสงค์ 1 หลัง กว้าง 12 เมตร ยาว 20 เมตร กุฏิสงฆ์ ทั้งหมด 10 หลัง กว้าง 5 เมตร ยาว 6 เมตร 5 หลัง และ กว้าง 3 เมตร ยาว 5 เมตร 5 หลัง ห้องน�ำ้ 3 หลัง กว้าง 3 เมตร ยาว 9 เมตร โรงครัว 1 หลัง กว้าง 25 เมตร ยาว 25 เมตร มาอยู่วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2547 สร้างพระประธานใน ศาลาการเปรียญ 1 องค์ หน้าตักกว้าง 109 นิว้ หรือ ยาว 2.70 เมตร สูง 4.20 เมตร ประวัตเิ จ้าอาวาสโดยสังเขป พระครูวบิ ลู สุทธิคณ ุ นามเดิม นายสุวทิ ย์ พันใหญ่ เป็นบุตรชาย ของพ่อสม แม่ปอย พันใหญ่ ท่านอุปสมบท เมือ่ วันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ณ พัทสีมา วัดโนนสว่าง บ้านดงยาง ต�ำบลบ้านแดง อ�ำเภอพิบูลย์รักษ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมี พระครูมัญจาภิรักษ์ รองเจ้าคณะจังหวัดอุดรธานี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระพิมเสน พลวฒฺฆโณ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระเข็มพร เขมวโร เป็ น พระอนุสาวนาจารย์ วิทยฐานะ นักธรรมเอก พธ.บ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย งานปกครอง พ.ศ. 2547 เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าดงยางพรพิบลู ย์ พ.ศ. 2551 เป็นเจ้าคณะต�ำบล พ.ศ. 2554 เป็นพระครูสญ ั ญาบัตร ชัน้ โท พ.ศ. 2559 เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอ พ.ศ. 2560 เป็นพระอุปชั ฌาย์ การส่งเสริมประเพณีวฒ ั นธรรมในชุมชน วัดป่าดงยางพรพิบูลย์ นอกจากพระภิกษุบ�ำเพ็ญสมณธรรม เป็นวัตรแล้ว ยังท�ำหน้าทีช่ ว่ ยเหลือสังคมมากมายเพือ่ ให้ประชาชน ได้อยูใ่ นบวร คือ วัด บ้าน ชุมชนเป็นหนึง่ เดียวกันอันร่มเย็น จึงได้จดั ตัง้ โครงการถนนสายบุญในชุมชนขึ้น ให้มีก ารใส่ บ าตรร่ ว มกั น 1 ครั้งต่อเดือน โดยจัดให้มีการใส่บาตรวันเสาร์แรกของทุกเดือน จัดให้เป็นชุมชนคุณธรรมต้นแบบของอ�ำเภอ อีกทั้งวัดยังได้จัด ปฏิบตั ธิ รรมเนกขัมมะบารมีให้กบั นักเรียน นักศึกษา ครูบาอาจารย์ และหน่วยงานต่างๆ ตามวาระและโอกาสตลอดทัง้ ปี UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 131
131
10/9/2562 13:42:55
วัดกูแ ่ ก้วรัตนาราม พระอธิการประดิษฐ์ อินทวังโส ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าอาวาส ปรางค์กแู่ ก้ว ตัง้ อยูใ่ นบริเวณ วัดกูแ่ ก้วรัตนาราม ชาวบ้านเรียก ว่าวัดกู่แก้ว เดิมชื่อ วัดกู่ เพราะมีกู่โบราณ (ปราสาทศิลาแลง) เป็น ที่เคารพของชาวบ้านจึงช่วยกันท�ำนุบ�ำรุงวัดตลอดมา วัดกู่แก้วได้ รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ปัจจุบนั วัดกูแ่ ก้วรัตนาราม และ ปรางค์กแู่ ก้ว ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกูแ่ ก้ว ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี ประวัติความเป็นมาโดยสังเขป “กู่แก้ว” ประกอบด้วยแนวก�ำแพงแก้วศิลาแลง ด้านหน้าคือ ด้านทิศตะวันออกเป็นประตูซมุ้ หรือ โคปุระก่อด้วยศิลาแลง โบราณ สถานแห่งนี้สันนิษฐานว่าคงเป็นศาสนสถานประจ�ำสถานพยาบาล หรือที่เรียกว่า อโรคยาศาล ซึ่งโดยทั่วไป ภายในก�ำแพงแก้วมักจะ ประกอบด้วยปราสาทประธานอยู่ตรงกลาง และมีบรรณาลัยอยู่ที่ มุมทิศตะวันออกเฉียงใต้ แต่ทงั้ นีโ้ บราณสถานได้ถกู ดัดแปลงปรับสภาพ มานานแล้วโดยมีการก่อสร้างอาคารโถง (ศาลา) ทับซากโบราณสถาน เดิมจนไม่เห็นร่องรอยของปราสาทประธาน บรรณาลัยด้านหลัง
132
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
2
.indd 132
10/9/2562 13:39:19
ด้ า นทิ ศ ตะวั น ตกของศาลา มี ธ าตุ เ จดี ย ์ ก ่ อด้ ว ยอิ ฐ ลั ก ษณะ ศิลปกรรมแบบล้านช้างสร้างทับโบราณสถานอยู่ 1 องค์ สภาพปัจจุบนั ส่วนยอดพังทลาย โดยมีอายุสมัยราวพุทธศตวรรษที่ 18 สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรเขมร ในช่วงสมัยวัฒนธรรมเขมร กูแ่ ก้ว จัดเป็นโบราณสถานประเภท อโรคยาศาล หรือศาสนสถาน ประจ�ำสถานพยาบาลในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ปัจจุบันเป็น โบราณสถานที่ถูกดัดแปลงใช้งานเป็น ศาลาและสถานที่ เ คารพ สักการะของท้องถิน่ อยูใ่ นบริเวณวัด มีการขึน้ ทะเบียนก�ำหนดเขตทีด่ นิ โบราณสถาน ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 99 ตอนที่ 172 วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 ฉบับพิเศษ ระบุวา่ “โบราณสถานวัดโบราณ” ต�ำบลจีด อ�ำเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบัน วัดกู่แก้ว และ ปรางค์กแ่ ู ก้ว ตัง้ อยูท่ บี่ า้ นกูแ่ ก้ว ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกูแ่ ก้ว จังหวัดอุดรธานี สถานที่สัปปายะของพระธุดงค์ เมื่อราวปี พ.ศ. 2431-2435 ปู่ลายได้ธุดงค์มาจากจังหวัด นครศรี ธ รรมราช มาพ� ำ นั ก อยู ่ ใ นพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น ห้ ว งที่ ฝ นฟ้ า ไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดความแห้งแล้งชาวบ้านไม่ได้ทำ� นาเกิดความ อดอยาก พระสงฆ์พลอยเดือดร้อนไปด้วย ปูล่ ายจึงได้ชกั ชวนญาติโยม ท�ำพิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์คือ ปู่ตื้อ ปู่ตัน ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง มาแต่โบราณกาลด้วยขันธ์ 5 ขันธ์ 8 ในวันเพ็ญเดือนหก จุดบัง้ ไฟถวาย สักการบูชาขอความเป็นสิริมงคลให้อยู่เย็นเป็นสุข ตั้งแต่บัดนั้นมา ฝนฟ้าไม่เคยแห้งแล้งเลย ประเพณีบญ ุ บัง้ ไฟจึงได้มมี าจนถึงทุกวันนี้
ต่อมาในราวปี พ.ศ. 2468 ได้มพี ระเกจิดงั ๆ หลายรูปธุดงค์ผา่ นมา เช่น หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต หลวงปู่ฝั้น อาจาโร และได้มีพระเถระมา จ�ำพรรษาดูแลปฏิบตั ธิ รรมกรรมฐาน มีหลวงปูส่ ายบัว หลวงปูช่ ยั ปูภ่ าร ปูส่ กุ จิ ปูล่ ำ� ดวน และหลวงปูบ่ ญ ุ มี สิรทิ ร (ได้มรณภาพประมาณ 20 ปี ผ่านมา) ปัจจุบัน มีพระอธิการประดิษฐ์ อินทวังโส เป็นเจ้าอาวาส ต่อมามีการบูรณะเพิ่มเติม ซึ่งมีร่องรอยการสร้างเสริมอิฐเป็นที่ ปรากฏให้เห็นในปัจจุบันและได้มีการบูรณะครั้งสุดท้ายในระหว่าง วันที่ 15-20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2533 แต่ไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ หากทว่า ในทางธรรมย่อมมองเห็น อนิจจลักษณะในถาวรวัตถุ ซึ่งจะน�ำจิต ของนักเดินทางท่องเที่ยว ได้พบธรรมที่ปรากฏในใจว่า ไม่มีอะไร ทีจ่ ะคงทนถาวร ทุกอย่างย่อม เกิดขึน้ ตัง้ อยู่ และดับไป เป็นธรรมดา
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
2
.indd 133
133
10/9/2562 13:39:25
H I STORY OF BU DDHI S M
วัดป่าศรีคุณาราม สักการบูชา พระมหาเจดีย์มงคลพระบรมสารีริกธาตุ (ส่วนพระจักษุธาตุ) และ พระพุทธวัฒนเกียรติจอมไทย (หลวงปู่ตัน) คู่บารมีวัดศักดิ์สิทธิ์ พระอาจารย์ประจักษ์ ภูริปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีคุณาราม
134
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 134
. - 10/09/2562 16:12:19 PM
วัดป่าศรีคุณาราม ตั้งอยู่ที่บ้านจีต ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกูแ่ ก้ว จังหวัดอุดรธานี ได้จดั สร้างพระมหาเจดีย์ มงคลพระบรมสารีริกธาตุ เพื่ออัญเชิญองค์พระจักษุธาตุ และพระอรหันตธาตุ มาประดิษฐานยังสถานที่ที่เหมาะสม ควรค่าแก่การสักการบูชาอย่างยิ่ง เพื่อจะได้เป็น การสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสืบไป...
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 135
135
. - 10/09/2562 16:12:20 PM
ประวัติความเป็นมา วัดป่าศรีคณ ุ าราม เดิมชือ่ วัดป่าศรีคณ ุ รัตนาราม ตัง้ อยูท่ างทิศใต้ ของหมู่บ้านจีต ห่างจากหมู่บ้านประมาณ 25 เส้น มีเนื้อที่ ทัง้ หมด 180 ไร่ สถานทีต่ งั้ วัดในอดีตเรียกบริเวณนีว้ า่ “เหล่าปลาฝา” (ตะพาบน�้ำ) เพราะมีหินรูปปลาฝาครอบสี่เหลี่ยม เจาะเป็นโพรง ส�ำหรับเก็บสิ่งของอันมีค่าครั้งสมัยโบราณ และสถานที่แห่งนี้ ผู้มีอายุเล่าว่า หลายสิบปีก่อนยังเป็นป่าดงดิบ เป็นที่อาศัยของ สัตว์ปา่ นานาชนิด จะไปท�ำร้ายสัตว์หรือถางป่าหากินบริเวณนีไ้ ม่ได้ จะมีอันเป็นไปต่างๆ นานา ถึงสิ้นชีวิตก็มี ครั้งกาลต่อมาชื่อเสียงของหินรูปปลาฝานี้ฟุ้งขจรไปทั่วสารทิศ คนทั้ ง หลายจึ ง คิ ด ว่ า หิ น รู ป ปลาฝานี้ อ าจจะมี สิ่ ง ของอั น มี ค ่ า อยู ่ ข ้ า งในแน่ เทวดาอารั ก ษ์ จึ ง หวงแหนมิ ใ ห้ ค นเข้ า ไปหากิ น ท�ำลายป่าในบริเวณนี้ ดังนั้นจึงมีผู้แสวงหาทรัพย์ในดิน หาหมอ ผูม้ วี ชิ าอาคมทางไสยศาสตร์มาท�ำพิธบี วงสรวงเทวดาปราบอารักษ์ เอาสิ่งของในหินรูปปลาฝานี้ไป ต่อจากนั้นมาคนทั้งหลายจึงได้ เข้าหากิน ถางป่าท�ำไร่ทำ� สวนกันต่อมาเป็นเวลานาน หินรูปปลาฝา นั้นได้สูญหายไปแล้ว คงเหลือแต่ฐานสี่เหลี่ยมเจาะเป็นโพรง ไว้เท่านั้น ซึ่งเวลานี้ยังอยู่ที่วัดป่าศรีคุณารามนี้เอง หลังจากที่ป่าถูกแผ้วถาง ชาวบ้านเข้าท�ำมาหากิน ความเฮี้ยน ก็ ห ายสิ้ น จากนั้ น ตั้ ง ชุ ม ชนขึ้ น มาปี พ.ศ. 2494 คณะสงฆ์ แบ่ ง การปกครองออกเป็ น ธรรมยุ ติ ก นิ ก าย และมหานิ ก าย พระอาจารย์มหาวันดี สุวัณโณ คราวเป็นเจ้าอาวาสวัดโพธิ์ศรี (วัดนอก) ต�ำบลบ้านจีต อ�ำเภอกู่แก้ว จังหวัดอุดรธานี ได้หารือ ญาติโยมหาสถานที่แห่งใหม่สร้างวัดขึ้นที่เหล่าปลาฝา เรียกว่า วัดป่าศรีคุณรัตนาราม และเปลี่ยนชื่อเป็น วัดป่าศรีคุณาราม เป็ น ศู น ย์ ร วมใจญาติ โ ยมและอบรมปฏิ บั ติ วิ ป ั ส สนากรรมฐาน มายาวนานหลายปี กระทั่งปีพ.ศ. 2500 ชาวบ้านได้นิมนต์ พระอาจารย์บุญเกิด ยุตตฺ ธมฺโม มาช่วยพัฒนาวัดป่าศรีคณ ุ ารามจนรุง่ เรืองและ พ.ศ. 2518 พระอาจารย์บุญเกิด ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครู ชั้ น สั ญ ญาบั ต รที่ พระครู วิ สุ ท ธิ ธ รรมสุ น ทร ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ศรี คุ ณ ารามและเป็ น เจ้ า คณะต� ำ บลบ้ า นจี ต วัดป่าศรีคุณาราม ได้มีโครงการก่อสร้างพระมหาเจดีย์มงคล พระบรมสารีริกธาตุ ส่วนพระจักษุธาตุ เพื่ออัญเชิญพระจักษุธาตุ พระอรหั น ตธาตุ ข องพระสาวกไปประดิ ษ ฐานให้ ส าธุ ช นกราบ ไหว้ บู ช าและสื บ ทอดบวรพุ ท ธศาสนาให้ รุ ่ ง เรื อ งสื บ ไป โดย โครงการนี้ด�ำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 136
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 136
. - 10/09/2562 16:12:38 PM
พระมหาเจดีย์มงคลพระบรมสารีริกธาตุ (ส่วนพระจักษุธาตุ) โครงการสร้ า งพระมหาเจดี ย ์ ม งคลพระบรมสารี ริ ก ธาตุ เพื่ อ อั ญ เชิ ญ องค์ พ ระจั ก ษุ ธ าตุ และพระอรหั น ตธาตุ ไ ป ประดิษฐานสืบเนื่องมาจาก พระอาจารย์ประจักษ์ ภูริปัญโญ ได้ อั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ สั ณ ฐานเมล็ ด ข้ า วสารหั ก มาบูชา กระทั่งวันศุกร์ท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2552 ปรากฏ พระบรมสารีริกธาตุลักษณะประดุจเพชรเม็ดงาม เสด็จ มาอยู ่ ใ นกลางผอบสุ ด อั ศ จรรย์ และหลั ง จากนั้ น พระธาตุพระอรหันตสาวกก็เสด็จมาเพิ่มมากขึ้น จน ไม่ มี ส ถานที่เ ก็บรัก ษาได้เ พีย งพอ เรื่อ งนี้ไ ด้ รั บ การ กล่าวขานกันไปต่างๆ นานา มีทั้งคนเชื่อและไม่เชื่อ ซึ่งเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ยาก เนื่องจากเป็นความเชื่อ และศรั ท ธา จึ ง เป็ น ที่ ม าของโครงการสร้ า ง
พระมหาเจดีย์มงคลแห่งนี้ในที่สุด เพื่อจะได้เป็นการสืบทอด พระพุทธศาสนาให้ยงั่ ยืนสืบไป ให้ชนรุน่ หลังได้กราบสักการบูชา เป็นการเพิ่มศรัทธาปสาทะในการบ�ำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐาน จนกว่ า จะเห็ น ความจริ ง ในกายใจว่ า ไม่ มี อ ะไรเที่ ย งแท้ แน่นอน เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดังที่องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าทรงบ�ำเพ็ญจิตตภาวนาจนหลุดพ้นจากอาสวะ ทั้งปวงกระทั่งนิพพานสิ้นภพจบชาติและปรินิพพานใน ที่สุด หลังการถวายพระเพลิงพระสรีระพระองค์แล้ว ก็ยังคงพระบรมสารีริกธาตุไว้ให้ชนรุ่นหลังได้สัม ผัส พลังแห่งจิตอันบริสุทธิ์หมดสิ้นแล้วซึ่งกิเลสว่าเป็น เช่นนี้เอง
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 137
137
. - 10/09/2562 16:12:39 PM
138
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 138
. - 10/09/2562 16:12:41 PM
“วัดป่าศรีคุณาราม”
PHRA PHUTTHA WATTANAKIET CHOMTHAI (LUANG PHU TAN) MAJESTIC BUDDHA IMAGE OF WAT PA SRI KHUNARAM พระพุทธวัฒนเกียรติจอมไทย (หลวงปู่ตัน) คู่บารมีวัดป่าศรีคุณาราม
การได้ พ ระพุ ท ธรู ป มาอย่ า งน่ า อั ศ จรรย์ หลวงปู ่ ตั น เป็ น องค์พระพุทธรูปทองส�ำริด มีหน้าตัก 17 นิ้ว สูง 30 นิ้ว มีรูปองค์ สวยงามกว่าพระพุทธรูปปางสมัยต่างๆ เมื่อปี พ.ศ. 2502 ได้มี นายพราน 5 นาย คือนายไกร สีสขุ า นายแร่ ลดาดาด นายค�ำ ้ อินทสร้อย นายชาลี ศรีปญ ั ญา และ นายภู โสดาเดช ทัง้ หมดเป็นชาวบ้านจีต ได้ชกั ชวนกันไปล่าเนือ้ ทีด่ งลุดหวาย ปัจจุบนั อยูใ่ นเขตอ�ำเภอสามหมอ ใช้เวลาเดินทาง 2 วัน ครัน้ ไปถึงดงลุดหวายก็ได้พากันจัดทีพ่ กั นอน ในวันที่ 3 ของการล่าเนื้อ พรานทั้ง 5 ก็ได้ออกล่าเนื้อตามปกติ ครัน้ ไปถึงล�ำห้วยสายนัน้ หมาล่าเนือ้ ของนายภู ได้ไล่สตั ว์ปา่ ตัวหนึง่ เข้าไปในถ�้ำ ซึ่งพรานทั้ง 5 ก็ได้มองเห็นสัตว์ป่ามีลักษณะต่างกัน บ้ า งว่ า เป็ น ตะกวด เป็ น พั ง พอน นายภู ไ ด้ วิ่ ง ตามลงไปในถ�้ ำ นายภูก็ได้เห็นองค์พระพุทธรูปทองส�ำริดอยู่ในถ�้ำจึงเรียกพราน ทีเ่ หลือลงไปดูทกุ คนต่างก็เห็นองค์พระพุทธรูปซึง่ รูส้ กึ อัศจรรย์มาก นายไกร ผูเ้ ป็นหัวหน้าจึงได้ไปเก็บดอกไม้มาสักการบูชาพระพุทธรูป ตั้งอธิษฐานจิตเสี่ยงทายว่า ถ้าหากองค์พระพุทธรูปเป็นมิ่งขวัญ ของชาวบ้านจีต ขอให้สามารถยกองค์พระพุทธรูปได้อย่างง่ายดาย จากนั้ น นายไกรจึ ง ยกองค์ พ ระพุ ท ธรู ป ยกขึ้ น ปรากฏว่ า องค์พระพุทธรูปเบาเหมือนยกนุ่นหรือส�ำลี เมื่อได้ความเช่นนี้ แล้วจึงพากันเสี่ยงทายต่ออีกว่า เมื่อข้าพเจ้าน�ำไปบ้านแล้วจะไป ประดิษฐานอยู่วัดใดเพราะบ้านจีตมีวัดหลายวัด แล้วเสี่ยงทาย ได้ความว่า องค์พระพุทธรูปพอใจจะไปประดิษฐานทีว่ ดั ป่าศรีคณ ุ าราม (วัดป่าศรีคณ ุ รัตนาราม) จึงกราบลาองค์พระพุทธรูปเพือ่ ไปยังทีพ่ กั
นับตั้งแต่วันนั้นพรานทั้ง 5 ก็ไม่ได้พบเห็นเก้ง หรือกวาง แม้แต่ตัวเดียว จึงพากันคิดว่าองค์พระพุทธรูปไม่อยากให้ฆ่าสัตว์ คิ ด ได้ ดั ง นั้ น จึ ง พากั น กลั บ บ้ า นจี ต และได้ น� ำ เรื่ อ งราวต่ า งๆ ไปเล่าให้ชาวบ้านฟัง ชาวบ้านทั้งผู้เฒ่าผู้แก่จึงมีความเห็นว่า สมควรไปอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานในวัดบ้านจีต เมื่อถึง เดือน 5 ขึน้ 13 ค�ำ ่ นายไกรพร้อมชาวบ้านจีต จึงน�ำดอกไม้ธปู เทียน ออกเดินทางไปอัญเชิญพระพุทธรูป การเดินทางครั้งนี้มีล้อและ เกวียนเป็นพาหนะ เดินทาง 2 คืนจึงถึงถ�้ำที่องค์พระพุทธรูป ประดิ ษ ฐานอยู ่ เมื่ อ ถึ ง ก็ น� ำ ดอกไม้ ธู ป เที ย นมาสั ก การบู ช า อัญเชิญขึ้นสู่ล้อเดินทางกลับบ้านจีต ครั้ น มาถึ ง ก็ อั ญ เชิ ญ ไปประดิ ษ ฐานไว้ ที่ บ ้ า นนายแร่ เพื่ อ ท�ำพิธีสักการะและบายศรีสู่ขวัญ พระครูนพสิรินธร พร้อมภิกษุ สามเณรได้สวดชัยมงคลคาถา บายศรีสู่ขวัญองค์พระพุทธรูป พร้อมจัดขบวนแห่องค์พระพุทธรูปไปตามละแวกบ้าน ให้ชาวบ้าน ได้ ชื่ น ชมกั น อย่ า งทั่ ว ถึ ง เป็ น เวลา 3 วั น 3 คื น ผู ้ เ ฒ่ า ผู ้ แ ก่ ชาวบ้านจีตร่วมกันเสี่ยงทาย หาวัดที่จะน�ำไปประดิษฐานผลคือ ได้วัดป่าศรีคุณาราม (วัดป่าศรีคุณรัตนาราม) ชาวบ้านจีตจึงได้ อั ญ เชิ ญ องค์ พ ระพุ ท ธรู ป ไปประดิ ษ ฐานไว้ ที่ วั ด ป่ า ศรี คุ ณ าราม (วั ด ป่ า ศรี คุ ณรั ตนาราม) และเรี ย กพระพุ ท ธรู ป ว่ า หลวงปู ่ ตั น จนถึงปัจจุบันนี้ ตั้งแต่การนั้นมาวัดป่าศรีคุณาราม (วัดป่าศรีคุณรัตนาราม) ก็ เ จริ ญ รุ ่ ง เรื อ งมาโดยตลอด นั บ ว่ า ชาวบ้ า นจี ต เป็ น ผู ้ ที่ มี โ ชค วาสนาอันดีที่ได้ของล�้ำค่ามาด้วยความอัศจรรย์
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 139
139
. - 10/09/2562 16:12:43 PM
BRIEF HISTORY OF ABBOT
PHRA AJARN PRACHAK PHURIPANYO THE ABBOT OF WAT PA SRI KHUNARAM พระอาจารย์ประจักษ์ ภูริปัญโญ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีคุณาราม
ประวัติเจ้าอาวาสพอสังเขป พระอาจารย์ประจักษ์ ภูริปัญโญ นามเดิม ประจักษ์ อาจหาญ เกิดเมื่อวันอังคาร ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2515 เป็นลูกของพ่อหนูพัน-แม่โสภา อาจหาญ เป็นลูกหลาน ชาวหนองหาน ปัจจุบันเป็นอ�ำเภอกู่แก้ว ช่วยพ่อแม่ท�ำนาท�ำไร่ เลี้ยงวัวควายตามหน้าที่ จบประถมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านจีตประชาสามัคคี ไม่ได้เรียนต่อ เข้าวัยหนุ่ม ใช้ชีวิตเรียบง่ายนิสัยดี มีสัมมาคารวะ เป็นคนดีมีเมตตา รักสงบ เวลาเห็นคนจนชอบ แบ่งปันสิ่งของ ถึงของสิ่งนั้นจะมีน้อยนิดก็ตาม ใจเมตตาตั้งแต่เด็ก ขี้อายเก็บตัวเงียบ ไม่ ค ่ อยออกไปไหน อายุ 19 ปี ยั ง เขิ นอายหญิ ง สาว พฤติ ก รรมตอนเด็กชอบเห็น สิ่งประหลาด พวกผี ปีศาจ สิ่งลี้ลับ เรื่องวิญญาณ จนเป็นภาพชินตาจากกลัวก็ปลงได้ พ่อกับแม่จึงสอนไว้ว่ายามมีภัยให้ท่อง พุทโธ พุทโธ พุทโธ ตั้งแต่ตอนอายุ 6 ขวบ มีอยู่ครั้งหนึ่งสมัยเด็กๆ ช่วงหน้าฝน ฝนตกหนัก ช่วงน�้ำหลากความประสงค์ชาวนา ฝนตกก็ท�ำนา มีสัตว์นานาชนิดที่มากับน�้ำ ชาวนาดีใจที่จะได้ท�ำนา มีอยู่วันหนึ่งได้ ไปท�ำนากับลุง สักพักลุงบอกพักเหนื่อยก่อน ลุงบอกนั่งพักรอลุงอยู่ตรงริมหนอง ลุงก็ได้ ลอยข้ามไปฝัง่ ตรงข้ามน�ำ้ ไหลเชีย่ ว เด็กชายประจักษ์นงั่ รอเหลียวตามลุงนัง่ คิดอะไรไปเรือ่ ย 140
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 140
. - 10/09/2562 16:12:47 PM
ว่าลุงไม่กลับมาสักที ในใจเริ่มกลัว แล้วตัดสินใจลอยข้ามไปหาลุง อยู่ๆ ก็จมน�้ำลงไป จนคิดว่าตัวเองต้องตาย อยู่ๆ มีมือมาพยุง ร่างเด็กชายประจักษ์ขึ้นมาร้องไห้ตัวสั่น ตั้งสติได้ก็ถามตัวเองว่า เรารอดมาได้ไง สักพักลุงเดินมาเจอหลาน ประหลาดใจหลานตัวน้อย ลอยน�้ำข้ามมาได้ยังไง ต่อมาได้ขึ้นหลังลุงลอยน�้ำข้ามฝั่งกลับมา เหตุการณ์ในวันนั้น ลุงไม่กล้าเล่าให้ใครฟัง ลุงกลัวพ่อแม่เด็กชาย ประจั ก ษ์ ว่ า ลุ ง ประมาทเกิ น ไป เป็ น เพราะสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ช ่ ว ย เด็ ก ชายประจั ก ษ์ ไ ว้ ที่ ร อดตายมาได้ เ ป็ น เพราะแขวนเหรี ย ญ หลวงปู่ฝั้น อาจาโร ต่อมาเด็กชายตัดสินใจเล่าเรื่องประหลาดนั้น ให้พ่อแม่ฟัง พ่อแม่ได้ฟังแล้วน�้ำตาไหลสงสารลูก แม่ได้จัดเตรียม สิ่งของเรียกขวัญลูกตามขนบธรรมเนียมอีสาน เหตุการณ์วันนั้น เด็กชายประจักษ์ จ�ำได้ไม่เคยลืม พออายุ 20 ปีบริบูรณ์ ก็ช่วยพ่อแม่ท�ำนาเลี้ยงวัว ควาย เหมือนเคยท�ำมา ไม่เคยบ่นเหนื่อย ออกมาให้พ่อแม่ได้ฟัง แต่
ในใจลึกๆ ก็อยากบวช แต่คิดสงสารพ่อแม่ พอมาวันหนึ่งตัดสินใจ บอกพ่อแม่อยากบวช พอพ่อแม่ได้ยินดีใจภูมิใจที่ลูกจะหันหน้า เข้าปฏิบัติธรรม จากนั้นก็ได้ไปฝากไว้ที่วัด ได้เป็นนาคเต็มตัว ท่อง คาถาบทสวดมนต์ หลวงปู่บุญเกิด ยุตตะธัมโม ผู้สอนให้ท�ำตาม รับศีล 8 ไม่เคยมองข้ามตั้งใจปฏิบัติ ตื่นตี 3 สวดมนต์ท�ำวัตรเช้า ต่ อมาได้ เ ลื่ อมใสในธรรม อยากศึ ก ษาเรื่ องที่เกิด กับตัวเองใน เยาว์วัย ได้ค้นหาประวัติหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ครบ 1 พรรษาได้ มาจ�ำพรรษาอยู่วัดป่าศรีคุณาราม แล้วศึกษาประวัติท่านไปเรื่อย จนหลวงพ่ อ คิ ด ว่ า ได้ ผ ่ า นการศึ ก ษาพระธรรมก่ อ นบวชแล้ ว พอวันบวชจริง ได้อปุ สมบทในวันจันทร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 ได้ รั บ ฉายาว่ า “ภู ริ ป ั ญ โญ” มี พ ระครู วิ สุ ท ธิ ธ รรมสุ น ทร เป็ น พระอุปัชฌาย์ พระครูอุดมชัยคณารักษ์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระครูโสภณสมณกิจ เป็นพระอนุสาวนาจารย์
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 141
141
. - 10/09/2562 16:12:56 PM
WAT PA SRI KHUNARAM Phra Ajarn Prachak Phuripanyo, The abbot of Wat Pa Sri Khunaram
Wat Pa Sri Khunaram is located at Ban Chit, Ban Chit sub-district, Ku Kaeo district, Udon Thani province. It is situated in the south of Chit village, 1 kilometer from this village. The total scale of this temple’s land is 72 acres. An area where this temple is located was called “Lao Pla Fa” (Group of soft-shelled turtle) because there were square rocks that its surfaces had the same pattern as turtle shell which were drilled a hole to use as storage of valuables in an ancient time. In addition, some elders said that a few decades ago, this area was a rain forest which it was a place where various kind of wild animal lived. Moreover, no one could do harm to wild animal or cut trees in this forest, person who commit aforementioned action will be doomed which some of them even met their end. After that, this forest was cleared up and locals made a living at this place until they established a community in B.E.2494 which is the year that Theravada Buddhism was divided the administration into Dharmmayuttika Nikaya and Maha Nikaya. Phra Ajarn Mahawandi Suwanno, when he was an abbot of Wat Pho Sri (Wat Nok), Ban Chit sub-district, Ku Kaeo district, Udon Thani province, he conferred with folks in this area to find new area to establish 142
temple which they built new temple at Lao Pha Fa and called it Wat Pa Sri Khuna Rattanaram, then, changed the name to Wat Pa Sri Khunaram. This temple is a spiritual center of locals and a place that has been teaching meditation for many years. Until B.E.2500, villagers invited Phra Ajarn Boonkoet Yuttathammo to develop Wat Pa Sri Khunaram till it prospered. Then, in B.E.2518, Phra Ajarn Boonkeot was bestowed the Ecclesiastical peerage from Thai Royal family to be Phra Khru, Sanyabat class, under the title Phra Khru Wisutthithamsunthon, and Thai Sangha appointed him to be abbot at Wat Pa Sri Khunaram and Ban Chit sub-district monk dean. Wat Pa Sri Khunaram has a project on building of Phra Maha Chedi Mongkol Phra Borom Saririkathat, eyes of this Buddha image in order to respectfully engage eyes’ relic, relic of Buddhist saint who was the disciple of Lord Buddha, to place it in the Buddha statue for people can pay their homage to this Buddha image and carry on the glorious creed of Buddhism prosperously and eternally. This project was started in B.E.2554 and has been operating since then.
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 142
. - 10/09/2562 16:12:58 PM
PHRA PHUTTHA WATTANAKIET CHOMTHAI (LUANG PHU TAN) MAJESTIC BUDDHA IMAGE OF WAT PA SRI KHUNARAM
The marvelous way of Buddha image-obtaining. Luang Phu Tan is a bronze Buddha image, its Na Tak is 17 inches (Na Tak is long measure of the Buddha statue in the posture of meditation) and 30 meters in height. It is more gorgeous than Buddha image in various attitude. In B.E.2502, five hunters went to Lud Wai forest to hunt hog deer which one of them chased one wild animal until they went inside a cave and saw a bronze Buddha image in that cave. After that, he called other hunters to see inside the cave with him and everyone also saw this Buddha image which made them astonished. Then, Mr.Krai who is the leader of this group, gathered flowers and used it to pay homage to this Buddha image which he prayed in his mind that if this Buddha image is an idol of people in Ban Chit, please let him lift it easily. After that, Mr.Krai touched this Buddha image and lifted it up, it appeared that the Buddha image became as light as Kapok or cotton. Then, he tried praying again by this time he thought that when he brought this Buddha image to his house, which temple should it be enshrined due to there were many temples in Ban Chit. The result of his praying was the Buddha image was pleased to be enshrined at Wat Pa Sri Khunaram (Wat Pa Sri Khuna Rattanaram). Since that day, these five hunters never found even one of barking deer or deer which made them thought that the Buddha image did not want them to kill animal. After that, people of Ban Chit respectfully engaged the Buddha image to place it at Wat Pa Sri Khunaram (Wat Pa Sri Khuna Rattanaram) and has been calling it Luang Phu Tan until today. Since then, Wat Pa Sri Khunaram (Wat Pa Sri Khuna Rattanaram) is always prosperous. It can be considered that people of Ban Chit are people who were blessed with great fortunate which valuable things are bestowed upon them บ่miraculously.
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
Pause.indd 143
143
. - 10/09/2562 16:13:00 PM
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
1453 วั ด
UDONTHANI
จังหวัดอุดรธานี
กรมหลวงประจักษ์สร้างเมือง ลือเลื่องแหล่งธรรมะ อารยธรรมห้าพันปี ธานีผ้าหมี่ขิด ธรรมชาติเนรมิตทะเลบัวแดง
อ�ำเภอเมืองอุดรธานี วัดกุดลิงง้อ ม.3 ต.นาดี วัดเกษรศีลคุณ ม.1 ต.บ้านตาด วัดไก่เถื่อน ม.14 ต.หมุม่น วัดโคกศรีส�ำราญ ม.7 ต.นาข่า วัดจันทราทิพย์ ม.14 ต.หนองบัว วัดเจริญชัย ม.11 ต.นาข่า วัดเฉลิมสุขอาราม ม.5 ต.บ้านตาด วัดโพธิ์ทอง ต.หมากแข้ง วัดชัยมงคล ม.4 ต.เชียงยืน วัดไชยราษฎร์บำ� รุง ม.11 ต.บ้านตาด วัดไชยาราม ม.5 ต.เชียงพิณ วัดยาติกลั ยาสามัคคะรรม ม.6 ต.นาดี วัดดงผักหนาม ม.8 ต.หมูม่น วัดดงลิง ม.3 ต.กุดสระ วัดดงสระพัง ม.6 ต.กุดสระ วัดดงสระพังทอง ม.17 ต.หนองนาค�ำ วัดดงสร้างควาย ม.6 ต.นากว้าง วัดดงอุดมวนาราม ม.5 ต.หมากแข้ง วัดดอนภู่ ม.10 ต.หนองนาค�ำ วัดดอนอีไข ม.2 ต.นาดี วัดตูมค�ำ ม.4 ต.นาข่า วัดตูมทองวนาราม ม.2 ต.บ้านจั่น
144
วัดทองบางพุฒาราม ม.13 ต.หนองนาค�ำ วัดทัศนียเขต ม.2 ต.หนองไผ่ วัดทัศนียเขต 2 ม.6 ต.โนนสูง วัดท่าสว่างศรีไพฑูรย์ ม.5 ต.หมูม่น วัดทิพยรัฐนิมิตร ต.หมากแข้ง วัดทุง่ สว่างโพนทอง ม.4 ต.หมูม่น วัดทุ่งสว่างยางบึง ม.3 ต.กุดสระ วัดธรรมโยธินนิวาส ม.3 ต.บ้านตาด วัดธรรมศิรบิ ณ ั ฑิต ม.4 ต.เชียงพิณ
วัดธรรมเสนาพัฒนาราม ม.14 ต.หนองขอนกว้าง วัดธาตุนิมิตร ม.2 ต.บ้านขาว วัดธาตุมงั คลาราม ม.1-2 ต.เชียงยืน วัดสว่างโนนยาง ม.5 ต.กุดสระ วัดธาตุสว่างอารมณ์ ม.2 ต.นาข่า วัดนาคาเทวี ม.1 ต.นาข่า วัดบ้านนาทราย ม.3 ต.หนองบัว วัดนิคมพัฒนาราม ม.5 ต.โคกสะอาด วัดนิโรธพิมพาราม ม.7 ต.หนองนาค�ำ วัดโนนดู่ ม.10 ต.กุดสระ วัดโนนเดื่อ ม.9 ต.บ้านตาด
วัดโนนตูมสราราม ม.4 ต.กุดสระ วัดดนนิเวศน์ ต.หมากแข้ง วัดโนนบ่อโคลน ม.9 ต.กุดสระ วยัดดนนป่าตาล ม.6 ต.เชียงยืน วัดโนนโป่งราษฎร์บูรณะ ม.2 ต.หนองขอนกว้าง วัดโนนสวรรค์ ม.8 ต.บ้านขาว
วัดโนนสวรรค์เนรมิต ม.13 ต.เชียงยืน วัดโนนสว่าง ม.3 ต.หมูม่น วัดสันปูเลย ม.3 ต�ำบลบ้านต๋อม วัดโนนสะอาด ม.4 ต.สามพร้าว วัดโนนสะอาด ม.6 ต.หนองไฮ วัดโนนอร่าม ม.5 ต.เชียงยืน วัดบวรนิเวชธาราม ม.1 ต.หนองไฮ วัดบ่อน�้ำ ม.11 ต.หมูม่น วัดบ่อสร้าง ม.8 ต.บ้านเลื่อม วัดบัวจูม ม.1 ต.บ้านขาว วัดบัวบาน ม.1 ต.กุดสระ วัดบ้านบง ม.1 ต.หนองบัว วัดบ้านเม่น ม.7 ต.บ้านขาว
วัดบ้านหนองคอนแสน
ม.8 ต.สามพร้าว
วัดบ้านหนองตอ ม.5 ต.เชียงยืน วัดบุญกองอมตธรรม ม.5 ต.โคกสะอาด วัดบุญสว่าง ม.4 ต.หนองไฮ
วัดบูรพาวนาราม (สะอาดนาขาม) ม.5 ต.สามพร้าว
วัดโบราณศรีราราม (โบราณสีราราม) ม.2 ต.หมูม่น วัดประชาชุมพลพัฒนาราม ม.8 ต.หมากแข้ง
วัดประดู่ค�ำธเนตรนิมิตร ม.3 ต.หนองขอนกว้าง
วัดป่ากกตาลศรัทธาราม ม.8 ต.นาข่า
วัดป่ากกสะทอน ม.5 ต.บ้านตาด วัดป่าโคกลาด ม.8 ต.หนองไฮ วัดป่าโคกสูง ม.5 ต.หนองขอนกว้าง วัดป่าจันทะรังษี ม.6 ต.หนองไฮ วัดป่าเจฏิญานุสรณ์ ม.7 ต.เชียงพิณ วัดป่าเจริญศรีรัตนมงคล ม.3 ต.หมากแข้ง
วัดป่าชัยพฤกษ์ ม.9 ต.เชียงยืน วัดป่าชัยมงคล ม.11 ต.บ้านก้อง วัดป่าดงบ้านเลา ม.11 ต.สามพร้าว วัดป่าดงมะกรูด ม.7 ต.หนองไฮ วัดป่าดอนแสบง ม.11 ต.นากว้าง วัดป่าดอนหัน ม.13 ต.หนองนาค�ำ วัดป่าด�ำรงธรรม ม.6 ต.เชียงพิณ วัดป่าตอสีเสียด ม.14 ต.บ้านตาด วัดป่าทรงธรรม ม.7 ต.หนองไฮ วัดป่าเทพารักษ์ ม.1 ต.หมูม่น วัดป่านาสมบูรณ์ ม.8 ต.โคกสะอาด วัดป่านาแอง ม.3 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดป่าโนนภู่ทอง ม.11 ต.บ้านจั่น วัดป่าโนนสง่า ม.7 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดป่าโนนทัน ม.9 ต.หนองนาค�ำ วัดป่าบ้านขาว ม.1 ต.บ้านขาว วัดป่าบ้านดานธรรมเจดีย์ ม.1 ต.บ้านเลือ่ น
วัดป่าบ้านถ่อน ม.4 ต.บ้านเลือ่ น วัดป่าบ้านบง ม.1 ต.นาข่า วัดป่าบูระพาราม ม.1 ตหนองไฮ วัดป่าบุรินทราวาส ม.9 ต.ตูมใต้
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 144
10/9/2562 13:48:06
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
วัดป่าปิยธรรม ม.9 ต.ปะโค วัดป่าโปงคอย ม.15 ต.เวียงค�ำ วัดป่าวิเวกโนนแคน ม.1 ต.เชียงพิณ วัดป่าวิเวกวราราม ม.7 ต.หนองไผ่ วัดป่าเวฬุวนาราม ม.4 ต.โนนสูง วัดป่าศรัทธาธรรม ม.19 ต.โนนสูง วัดป่าศิลามงคล ม.8 ต.หนองไผ่ วัดป่าสมบูรณ์จิต ม.8 ต.เชียงยืน วัดป่าสวนหงษ์ ม.1 ต.บ้านขาว วัดป่าสันติยาราม ม.11 ต.เชียงยืน วัดป่าสามกษัตริย์ ม.11 ต.หมูมน่ วัดป่าสามัคคี (โนนกุด) ม.3 ต.หมูมน่ วัดป่าสามัคคีธรรม ม.3 ต.บ้านเลือ่ ม วัดป่าสามัคคีธรรม ม.114 ต.หนองไผ่ วัดป่าสุชนวณิชย์ ม.5 ต.กุดสระ วัดป่าหนองกุงบูรพาราม ม.4 ต.กุดสระ
วัดป่าหนองไฮ ม.11 ต.หนองไฮ วัดป่าหลวง ม.7 ต.นาข่า วัดป่าห้วยไทรวาม ม.12 ต.โนนสูง วัดป่าห้วยส�ำราญ ม.9 ต.หนองไฮ วัดป่าอัมพวัน ม.6 ต.โคกสะอาด วัดพัฒนาราม ม.3 ต.นาดี วัดพุทธวงศ์ ม.9 ต.เชียงยืน วัดโพธิ์ชัย ม.6 ต.หนองบัว วัดโพธิ์ชัย ม.8 ต.เชียงยืน วัดโพธิ์ชัย ม.2 ต.นาข่า วัดโพธิ์ชัย ม.7 ต.นาดี วัดโพธิ์ชัย ม.8 ต.นาข่า วัดโพธิ์ชัยยาราม ม.6 ต.หมูม่น วัดโพธิวราราม ต.หมากแข้ง วัดโพธิ์ศรี ม.5 ต.บ้านขาว วัดโพธิ์ศรี ม.6 ต.เชียงยืน วัดโพธิ์ศรีสงคราม ม.9 ต.บ้านจั่น วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.4 ต.บ้านเลื่อม วัดโพธิ์ศรีไสยสะอาด
ม.3 ต.หนองนาค�ำ
วัดโพธิ์ศรีอัมพร ม.3 ต.นาข่า วัดโพธิสมภรณ์ ต.หมากแข้ง วัดมอดินแดง ม.9 ต.บ้านตาด วัดมัชฌิมาวาส ต.หมากแข้ง วัดโยธานิมติ ร ม.8 ต.หนองขอนกว้าง วัดรัตนมงคล ม.10 ต.หมูมน่ วัดรัตนมงคล ม.6 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดราษฎร์บำ� รุง ม.1 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดวารีศรีสะอาด ม.2 ต.กุดสระ วัดวิทยานุกิจ ม.1 ต.หมูมน่ วัดวิสุทธิการาม ม.5 ต.โนนสูง วัดวุฒวิ งศ์สขุ ยาราม ม.2 ต.บ้านตาด วัดเวฬุวัน ม.5 ต.หนองนาค�ำ วัดศรีแก้วตูมทอง ม.9 ต.หนองนาค�ำ วัดศรีคูณเมือง ต.หมากแข้ง วัดจันทราราม ม.4 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดศรีชมชื่น ม.8 ต.เชียงพิณ วัดศรีชมชื่น ม.3 ต.บ้านขาว วัดศรีชมภูบูรพาราม ม.4 ต.หนองนาค�ำ วัดศรีเชียงใหม่ ม.8 ต.นาดี วัดศรีทน ม.2 ต.บ้านจั่น วัดศรีทัศน์ ม.1 ต.หนองนาค�ำ วัดศรีบุญเรือง ม.9 ต.โนนสุง วัดศรีบุญเรือง ม.15 ต.หนองไฮ
วัดศรีบุญเรืองวราราม ม.3 ต.เชียงพิณ
วัดศรีโพธิ์ทองรัตนาราม ม.14 ต.หนองนาค�ำ วัดสรีมงคล ม.8 ต.นาดี วัดศรีเมืองคุณ ม.7 ต.นาข่า วัดศรีเมืองคุณ มต.นากว้าง วัดศรีเมืองทอง ม.5 ต.บ้านเลื่อม วัดศรีรัตนนิมิตร ม.8 ต.หนองนาค�ำ วัดศรีลาคูณ ม.2 ต.นิคมสงเคราะห์
วัดศรีลาวรรณ ม.1 ต.บ้านจั่น วัดศรีรัตนาราม ม.8 ต.โนนสูง วัดศรีศรัทธาธรรม
วัดสามัคคีวนาราม ม.4 ต.บ้านจั่น วัดสีตะวนาราม ม.7 ต.โคกสะอาด วัดสีหนาทศาสดาราม
ม.4 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดศรีสมพร ม.12 ต.หนองไฮ วัดศรีสว่าง ม.4 ต.บ้านขาว วัดศรีสว่าง ม.8 ต.กุดสระ วัดศรีสว่างชยาราม ม.5 ต.หนองไฮ วัดศรีสะอาด ม.1 ต.หนองขอนกว้าง วัดศรีสุข ม.12 ต.หนองขอนกว้าง วัดศรีอินทร์แปลง ม.4 ต.สามพร้าว วัดศรีอุดม ม.3 ต.เชียงยืน
ม.4 ต.หนองบัว
วัดศิริกัญญาทองประเสริฐ ม.11 ต.เชียงยืน
วัดศิรชิ ยั พัฒนาราม(ศิรพิ ฒ ั นาราม) ม.3 ต.โนนสูง
วัดศิริชัยมงคล ม.4 ต.นิคมสงเกคราะห์ วัดศิริมงคล ม.5 ต.หนองบัว วัดสิริสุขาภิบาล ม.2 ต.หนองนาค�ำ วัดศิลาอาสน์ ม.5 ต.บ้านจั่น
วัดส่งเสริมะรรม ม.16 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดสระบัวบาน ม.11 ต.บ้านเลื่อม วัดสว่างสันติธรรม ม.7 ต.บ้านจั่น วัดสว่างสามัคคี ม.2 ต.สามพร้าว วัดสวาดรัตนสีมากิจ ม.10 ต.หมูมน่ วัดสังข์ทองวนาราม ม.10 ต.นาข่า วัดสังคาว ม.3 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดสัจธรรมาราม ม.2 ต.โนนสูง วัดสันติวนาราม ม.6 ต.สามพร้าว วัดสัมโรงยุทธาวาส ม.9 ต.หมูม่น วัดสามพร้าว ม.1 ต.สามพร้าว
วัดสามัคคีดอนปอแดง
วัดสุนทรประดิษฐ์ ต.หมากแข้ง วัดสุริยวงศาวาส ม.3 ต.สามพร้าว วัดสุริยาราม ม.1 ต.เชียงพิณ วัดสุวรรณเกษร (บ้านเลื่อม) ม.1 ต.บ้านเลื่อม
วัดสุวรรณุทการาม ม.1 ต.โนนสูง วัดสูงแคน ม.3 ต.หมูม่น วัดเสวตวงษ์นิวาส ม.4 ต.กุดสระ วัดโสมสันตยาราม ม.4 ต.หนองขอนกว้าง วัดหนองแก้ว ม.3 ต.นิคมสงเคราะห์ วัดหนองเตาเหล็ก ม.5 ต.หมากข้ง วัดหนองบุ ม.3 ต.สามพร้าว วัดหนองสร้างค�ำ ม.27 ต.โนนสูง วัดหนองส�ำโรง ม.11 ต.หมูม่น วัดหนองหม่นท้าว ม.8 ต.โนนสูง วัดหนองหัวหมู ม.5 ต.นาดี วัดหนองไฮ ม.2 ต.หนองไฮ วัดหัวคู ม.3 ต.หนองไฮ วัดอรัญญเขต ม.7 ต.สามพร้าว
วัดอรุณประทุมมาราม ม.6 ต.บ้านขาว วัดอัมพวัน ม.9 ต.นาข่า วัดอัมพวัน ม.7 ต.เชียงยืน วัดอาจสุรวิหาร ม.1 ต.หมากแข้ง วัดอินทราวาส ม.7 ต.หนองบัว วัดอินทาราม ม.3 ต.บ้านเลื่อม วัดอุทิศยาราม ม.10 ต.โนนสูง
วัดอุ่มเม้า(อุ่มเหม้า) ม.11 ต.โนนสูง
ม.3 ต.โคกสะอาด
วัดสามัคคีการาม ม.12 ต.โนนสูง
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 145
145
10/9/2562 13:48:07
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอกุมภวาปี วัดกุดจิก ม.1 ต.หนองหว้า วัดเกาะเกาวาริการาม ม.3 ต.เวียงค�ำ วัดเกาะผดุงชาติ ม.7 ต.ปะโค วัดเกาะศีรษะเกตุ ม.5 ต.ปะโค วัดเกียรติไพบูลย์ ม.14 ต.พันดอน วัดค�ำมัง ม.2 ต.ปะโค วัดโคกศรีสว่าง ม.10 ต.ห้วยเกิ้ง วัดโคกสว่าง ม.8 ต.ปะโค วัดจอมแจ้งศรีบญ ุ เรือง ม.8 ต.พนั ดอน วัดจอมศรี ม.16 ต.พนั ดอน วัดจันทร์ประสิทธิ์ ม.2 ต.เสอเพลอ วัดจินดาราษฎร์บ�ำรุง ม.8 ต.หว้ ยเกิง้ วัดเจติยรัตน์ ม.9 ต.เชียงแหว วัดชัยมงคล ม.12 ต.หว้ ยเกิง้ วัดดอนเงิน ม.10 ต.แชแล วัดดอนจันทร์ ม.3 ต.ทา่ ลี่ วัดดอนยาง ม.7 ต.เชียงแหว วัดดอนสวรรค์ ม.9 ต.ผาสุก วัดดาวดึงสาราม ม.12 ต.เสอเพลอ วัดท่าม่วงน้อย ม.12 ต.เวียงค�ำ วัดท่าหนองเทา ม.2 ต.เวียงค�ำ วัดทุ่งสว่าง ม.1 ต.เชียงแหว วัดทุ่งสว่าง ม.9 ต.ปะโค วัดทุ่งสว่างโนนแก ม.4 ต.เชียงแหว วัดทุ่งสว่างปะโค ม.1 ต.ปะโค วัดทุ่งสว่างมะข่า ม.3 ต.ห้วยเกิ้ง วัดทุ่งสว่างวนาราม ม.5 ต.พันดอน วัดเทพสุรินทร์ ม.7 ต.ตูมใต้ วัดเทพสุวรรณาราม ม.9 ต.ห้วยเกิ้ง วัดธาตุจอมศรี ม.1 ต.แชแล วัดนครสรีสว่าง ม.5 ต.แชแล วัดนรวาสคงคา ม.9 ต.แชแล วัดโนนท่าราษฎร์คงคา ม.10 ต.แชแล วัดโนนน�้ำเที่ยง ม.4 ต.ตูมใต้ วัดโนนน�้ำย้อย ม.13 ต.แชแล วัดโนนพระ ม.9 ต.เสอเพลอ วัดโนนมะพลับ ม.3 ต.สีออ วัดโนนศรีไพรวัน ม.13 ต.เชียงแหว วัดโนนสะอาด ม.6 ต.ตูมใต้ วัดโนนสูง ม.11 ต.เชียงแหว วัดบัวระพา ม.6 ต.เวียงค�ำ วัดบ้านสี่แจ ม.5 ต.ผาสุก วัดบูรพา ม.10 ต.ท่าลี่ วัดป่าจันทน์สีลคุณาราม วัดป่าทรงธรรม ม.7 ต.พันดอน
146
วัดป่าทองปาน ม.10 ต.เสอเพลอ วัดป่าเทพโพธิ์ทอง ม.5 ต.เชียงแหว วัดป่ามัชฌิมาวงศ์รตนาราม ม.4 ต.แชแล
วัดป่าศรัทธาธรรม ม.4 ต.ท่าลี่ วัดป่าศาลาทอง ม.6 ต.ผาสุก วัดป่าสมณกิจสีลคุณ ม.1 ต.ท่าลี่ วัดป่าสวนมอญ ม.6 ต.เสอเพลอ วัดป่าสวนมอน ม.5 ต.เวียงค�ำ วัดป่าสาระธรรม ม.3 ต.พันดอน วัดป่าอุดมสามัคคี ม.16 ต.พันดอน วัดปุญญาธิการาม ม.7 ต.ตูมใต้ วัดาตุหนองหมัด ม.5 ต.ห้วยเกิ้ง วัดพิศิษฏ์ภมราราม ม.3 ต.พันดอน วัดโพธิ์ชัย ม.1 ต.พันดอน วัดโพธืทอง ม.7 ต.โพนงาม วัดโพธิ์ไทรทอง ม.11 ต.แชแล วัดโพธินันทารวาส ม.1 ต.แชแล วัดโพธิ์ศรีคูณเมือง ม.2 ต.พันดอน วัดโพธิ์ศรีสง่า ม.5 ต.ท่าลี่ วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.3 ต.แชแล วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.2 ต.ท่าลี่ วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.4 ต.ตูมใต้ วัดโพธิ์ศรีส�ำราญ ม.4 ต.ปะโค วัดโพธิ์ ม.8 ต.ตูมใต้ วัดโพธิ์สว่าง ม.6 ต.แชแล วัดโพธิ์สว่าง (โพธิ์สว่างโสกคุณ) ม.8 ต.ห้วยเกิ้ง
วัดมหาธาตุเจดีย์ ม.5 ต.ตูมใต้ วัดมหาธาตุเจติยาราม ม.2 ต.เชียงแหว วัดมหาธาตุเทพจินดา ม.5 ต.เชียงแหว วัดราษจันทาราม ม.10 ต.พนั ดอน วัดราสีสุนทราวาส ม.11 ต.พนั ดอน วัดเรืองศรี ม.2 ต.ผาสุก วัดล�ำดวนสุริยาวาส ม.7 ต.พนั ดอน วัดวิมลธรรมาราม ม.17 ต.เวียงค�ำ วัดเวฬุวัน ม.3 ต.ตมู ใต้ วัดศรีแก้ว ม.3 ต.เชียงแหว วัดศรีชมภู ม.7 ต.หว้ ยเกิง้ วัดศรีชมภู ม.4 ต.แชแล วัดศรีธาตุ ม.1 ต.ทา่ ลี่ วัดศรีธาตุป่าย่าง ม.4 ต.เวียงค�ำ วัดศรีวราราม ม.16 ต.ตมู ใต้ วัดศรีนวน ม.6 ต.หว้ ยเกิง้ วัดศรีบุญเรือง ม.1 ต.เวียงค�ำ
วัดศรีมงคล ม.4 ต.แชแล วัดศรีมงคล ม.1 ต.สอี อ วัดศรีมงคลดงเย็น ม.6 ต.หนองหว้า วัดศรีวัฒนาวาปี ม.14 ต.พันดอน วัดศรีสมภรณาราม ม.2 ต.ผาสุก วัดศรีสว่างรัตนาราม ม.7 ต.เวียงค�ำ วัดศรีสุข ม.4 ต.สีออ วัดศิริชัยเจริญ ต.เสอเพลอ วัดศิรชิ ยั ตลิง่ คงคาราม ม.6 ต.ตูมใต้ วัดศิริพุทธาวาส ม.5 ต.ห้วยเกิ้ง วัดศิริมงคล ม.7 ต.เสอเพลอ วัดศิริสุวรรณาราม ม.3 ต.หนองหว้า วัดศิรสิ สุ านโนนนิเวศน์ ม.6 ต.ตูมใต้ วัดศุภกิจเจริญธรรม ม.16 ต.เวียงค�ำ วัดสมณวิหาร ม.6 ต.พันดอน วัดสมศรีสะอาด ม.2 ต.เชียงแหว วัดสระแก้ว ม.6 ต.ห้วยเกิ้ง วัดสระศรีทวีปญ ุ ญาราม ม.3 ต.ผาสุก วัดสวนมอญ ม.6 ต.เสอเพลอ วัดสวนมอญธรรมาราม ม.6 ต.เชียงแหว
วัดสว่างนาทัน ม.6 ต.ทา่ ลี่ วัดสว่างโนเขวา ม.5 ต.สอี อ วัดสว่างโนนตูม ม.5 ต.เวียงค�ำ วัดสว่างโนนยอ ม.14 ต.หว้ ยเกิง้ วัดสว่างดยมาลัย ม.11 ต.ตมู ใต้ วัดสว่างหนองหอย ม.3 ต.สอี อ วัดสว่างหายโศก ม.6 ต.เชียงแหว วัดสว่างอารมณ์ ม.11 ต.ปะโค วัดสามพาดพัฒนาราม ม.4 ต.ผาสุก วัดสามัคคีศรีสมพร ม.10 ต.เสอเพลอ วัดสุรพิมพาราม ม.12 ต.ตมู ใต้ วัดสุราลัย ม.3 ต.ปะโค วัดสุวรรณประดิษฐ์ ม.1 ต.ผาสุก วัดสุวรรณาราม ม.15 ต.เสอเพลอ วัดโสพนาราม ม.4 ต.เสอเพลอ วัดโสณานิการาม ม.14 ต.ตมู ใต้ วัดหนองนาค�ำ ม.14 ต.เสอเพลอ วัดใหม่สงเปลือย ม.1 ต.เสอเพลอ วัดอนุราษฎร์ โสภาราม ม.3 ต.เสอ เพลอ
วัดอมรินทราราม ม.5 ต.เสอเพลอ วัดอัมพวัน ม.12 ต.เชียงแหว วัดอัมพวันวาริการาม ม.3 ต.เวียงค�ำ วัดอุดมหนองแดง ม.6 ต.สีออ
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 146
10/9/2562 13:48:07
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอโนนสะอาด วัดจอมแจ้ง ม.6 ต.บุ่งแก้ว วัดจอมมะณีย์ ม.1 ต.หนองกุงศรี วัดชัยพร ม.4 ต.ทมนางาม วัดชัยอัมพร ม.4 ต.โคกกลาง วัดเชตุพน ม.3 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดถ�้ำอินทร์แปลง ม.9 ต.หนองกุงศรี
วัดทุ่งสว่าง ม.8 ต.บุ่งแก้ว วัดเทพมงคล ม.6 ต.โนนสะอาด วัดไทรทอง ม.5 ต.หนองกุงศรี วัดโนนสว่าง ม.8 ต.โนนสะอาด วัดบัวระพา ม.1 ต.ทมนางาม วัดบุรพา ม.4 ต.โนนสะอาด วัดปรีชาวนาราม ม.2 ต.โคกกลาง วัดป่าศรีอุดมรัตนาราม ม.1 ต.ทมนางาม
วัดป่าแสงแก้ว ม.11 ต.โคกกลาง วัดป่าหนองกุง ม.9 ต.โคกกลาง วัดป่าอัมพสุวรรณาราม ม.2 ต.ทมนางาม วัดป่าโอภาโส ม.4 ต.โคกกลาง วัดโพธิ์ชัย ม.3 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดโพธิ์ไทร ม.3 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดโพธิ์ศรี ม.4 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดโพธิ์สรี ม.8 ต.โคกกลาง วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.7 ต.บุ่งแก้ว
อ�ำเภอเชียงม่วน
วัดราชวรานุวัตร ม.2 ต.บุ่งแก้ว วัดล�ำดวน ม.3 ต.บุ่งแก้ว วัดศรีชมภู ม.3 ต.ทมนางาม วัดศรีบุญเรือง ม.3 ต.โนนสะอาด วัดศรีวิสาร ม.6 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดศรีส�ำราญ ม.1 ต.โคกกลาง วัดศรีสุมังค์ ม.2 ต.หนองกุงศรี วัดศิริชัยมงคล ม.7 ต.โนนสะอาด วัดศิริทรงธรรม ม.6 ต.โคกกลาง วัดศิรินทราวาส ม.1 ต.โนนสะอาด วัดศิริมงคล ม.5 ต.โนนสะอาด วัดศิลาอาสน์ ม.9 ต.โคกกลาง วัดสระแก้ว ม.74 ต.โคกกลาง วัดสว่างกระเบื้อง ม.2 ต.บุ่งแก้ว วัดสว่างบุ่งแก้ว ม.1 ต.บุ่งแก้ว วัดสว่างหนองแปน ม.5 ต.บุ่งแก้ว วัดสว่างอรุณ ม.5 ต.โพธิ์ศรีสำ� ราญ วัดสว่างอุทัย ม.8 ต.โนนสะอาด วัดสาวราราม ม.7 ต.โนนสะอาด วัดสุวรรณาราม ม.4 ต.หนองกุงศรี วัดใหม่สุวรรณาราม ม.3 ต.หนองกุงศรี
วัดอรัญญิกาวาส ม.4 ต.บุ่งแก้ว วัดอัมพวัน ม.1 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดอุดมดารา ม.2 ต.โพธิ์ศรีส�ำราญ วัดอุดมวุฒิทาราม ม.3 ต.โคกกลาง
อ�ำเภอวังสามหมอ
อ�ำเภอเชียงม่วน
วัดกิตติด�ำรงธรรม ม.6 ต.ผาสุก วัดดงผาทอง ม.10 ต.ผาสุก วัดดอยนางหงษ์ ม.7 ต.ผาสุก วัดถ�้ำมันปลา ม.3 ต.หนองกุงทับม้า วัดถ�ำ้ ใหญ่พรหมวิหาร ม.3 ต.ผาสุก วัดท่าพัก ม.1 ต.หนองกุงทับม้า วัดเทพนรินทราราม ม.12 ต.หนองกุงทับม้า วัดป่าภูทอง ม.9 ต.ผาสุก วัดป่าไม้งาม ม.16 ต.ผาสุก
ม.13 ต.วังสามหมอ วัดผาเทพนิมิต ม.9 ต.ผาสุก วัดผาสุการาม ม.1 ต.ผาสุก วัดพิชัย ม.2 ต.หนองหญ้าไซ วัดโพธิ์ศรี ม.1 ต.หนองหญ้าไซ วัดภูดิน ม.2 ต.บะยาว วัดศรีวิลัย ม.3 ต.หนองหญ้าไซ วัดศรีสง่าธรรม ม.1 ต.ค�ำโคกสูง วัดสว่างอัมพวัน ม.4 ต.หนองหญ้าไซ วัดอนาลโยภูค้อ ม.18 ต.ผาสุก
วัดป่าวังสามหมอ
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 147
147
10/9/2562 13:48:08
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอกู่แก้ว วัดกุมภีวนาราม ม.5 ต.โนนทองอินทร์ วัดกู่แก้วรัตนาราม ม.7 ต.บ้านจีต วัดธาตุโพนเสนา ม.4 ต.บ้านคอนสาย วัดดนนทองอินทร์ ม.8 ต.บ้านจีต วัดโนนสว่างสามัคคี ม.4 ต.ค้อใหญ่ วัดโนนสูงสุทธาวาส ม.6 ต.ค้อใหญ่ วัดป่าแกสว่างธรรม ม.2 ต.บ้านจีต วัดป่าซ�ำป่ารัก ม.1 ต.บ้านจีต วัดป่าปฐพีบรรพต ม.10 ต.คอนสาย
148
วัดป่ามณีศรีโคตมวงศ์ ม.8 ต.โนนทองอินทร์
วัดป่าหนองช้างดาว ม.7 ต.คอนสาย วัดโพธิ์ศรี ม.5 ต.บ้านจัต วัดโพธิ์ศรีพัฒนาราม ม.1 ต.ค้อใหญ่ วัดโพธิ์ศรีสมพร ม.2 ต.คอนสาย วัดโพธิศ์ รีสว่าง ม.1 ต.โนนทองอินทร์ วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.3 ตบ้านจีต วัดมังคลาราม ม.1 ต.บ้านจีต
วัดมีชัย ม.5 ต.ค้อใหญ่ วัดศรีคุณาราม ม.3 ต.บ้านจีต วัดศรีบุญเรือง ม.5 ต.ดอนสาย วัดสุทธาวาส ม.8 ต.โนนทองอินทร์ วัดศิริวัฒนา ม.1 ต.คอนสาย วัดศุภวนาราม ม.2 ต.โนนทองอินทร์ วัดสว่างธรรมาวาส ม.1 ต.คอนสาย วัดสว่างพุทธาราม ม.1 ต.คอนสาย วัดสว่างอรุณ ม.7 ต.คอนสาย
วัดสว่างอารมณ์ ม.8 ต.คอนสาย วัดส�ำราญ ที่.6 ต.คอนสาย วัดสุวรรณาราม ม.2 ต.โนนทองอินทร์ วัดสุวรรณารี ม.4 ต.โนนทองอินทร์ วัดหงษาวดี ม.6 ต.ค้อใหญ่ วัดหายโศก ม.3 ต.บ้านจีต วัดอัมพวนาราม ม.14 ต.คอนสาย วัดอัมพวัน ม.3 ต.คอนสาย
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 148
10/9/2562 13:48:09
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอภูนายูง วัดชัยมงคลสามัคคี ม.5 ต.นายูง วัดทวีวิหาร ม.2 ต.นาแค วัดเทพชุมพล ม.7 ต.นายูง วัดเทพสิงหาร ม.1 ต.นายูง วัดนาค�ำน้อย ม.7 ต.บ้านก้อง วัดโนนศิลา ม.6 ต.นาแค วัดบ้านเพิ่ม ม.2 ต.นาแค วัดป่าแก้ววันทา ม.5 ต.โนนทอง วัดป่าคีรีวงกต ม.4 ต.นาแค
อ�ำเภอกุดจับ วัดเกษมสันตาราม ม.4 ต.กุดจับ วัดแก้วสว่าง ม.6 ต.ขอนยูง วัดค�ำเจริญ ม.12 ต.เมืองเพีย วัดเจริญศรัทธา ม.13 ต.ขอนยูง วัดชัยมงคล ม.8 ต.สร้างก่อ วัดดงธาตุ ม.7 ต.กุดจับ วัดดงบัง ม.3 ต.กุดจับ วัดดงสะคูห์ ม.5 ต.ขอนยูง วัดดงหมากหลอด ม.3 ต.เมืองเพีย วัดดงหัน ม.6 ต.สร้างก่อ วัดเดชสว่าง ม.4 ต.เชียงเพ็ง วัดถ�้ำเต่าสุทธาราม ม.7 ต.สรางก่อ วัดธาตุยางชุม ม.13 ต.เชียงเพ็ง วัดนาสีนวล ม.5 ต.ตาลเลียน วัดนิคมพัฒนา ม.10 ต.ขอนยูง วัดนิโครธาราม ม.1 ต.ปะโค วัดโนนแดงพัฒนาราม ม.8 ต.ปะโค วัดดนนทอง ม.7 ต.เชียงเพ็ง วัดโนนม่วง ม.11 ต.ปะโค
วัดโนนสูง ม.10 ต.ปะโค วัดบรมภรณ์ ม.10 ต.กุดจับ วัดบวรพุทธาราม ม.3 ต.ขอนยูง วัดบวรรัตนคุณ ม.4 ต.ปะโค วัดบ้านผังสามัคคี ม.7 ต.ตาลเลียน วัดบ้านเหล่าต�ำแย ม.6 ต.ตาลเลียน วัดบูรพาราม ม.2 ต.สร้างก่อ วัดป่าโคกเกษตร ม.14 ต.ปะโค วัดป่าโคกขาม ม.2 ต.เชียงเพ็ง วัดป่าจันทวนาราม ม.1 ต.สร้างก่อ วัดป่าชัยค�ำเขริญ ม.14 ต.ขอนยูง วัดป่าดอนน้อย ม.8 ต.เชียงเพ็ง วัดป่าดอนเหมือดแก้ว ม.13 ต.ปะโค วัดป่าถ�้ำพระเทพนิมิตร ม.3 ต.ตาลเลียน
วัดป่าทรงธรรม ม.10 ต.สร้างก่อ วัดป่าเทพปัญญาราม ม.8 ต.เมืองเพีย วัดป่าบ่องีม ม.4 ต.ปะโค วัดป่าบ่อทอง ม.2 ต.กุดจับ
วัดป่านาแค ม.1 ต.นาแค วัดป่าโนนทอง ม.10 ต.โนนทอง วัดป่าโนนสว่าง ม.2 ต.นายูง วัดป่าผาน�้ำจั้น ม.1 ต.โนนทอง วัดป่าภูก้อน ม.6 ต.บ้านก้อง วัดป่าวังบง ม.5 ต.นาแค วัดป่าวิสุทธิญาณสัมปันโน ม.3 ต.นาแก
วัดพุทธาราษฎร์บ�ำรุง
วัดป่าบ้านถิ่น ม.5 ต.เชียงเพ็ง วัปา่ วิปสั นาชัยยาราม ม.10 ต.เมืองเพีย วัดป่าเวฬุวัน ม.9 ต.เชียงเพ็ง วัดป่าหนองโน ม.2 ต.กุดจับ วัดป่าห้วยเขียง ม.1 ต.ขอนยูง วัดพัฒนวารี ม.15 ต.เมืองเพีย วัดพุทธนิมิต ม.9 ต.เมืองเพีย วัดโพธิ์ชัย ม.6 ต.ปะโค วัดโพธิ์ไทรสว่าง ม.10 ต.เชียงเพ็ง วัดโพธิ์ ม.8 ต.เชียงเพ็ง วัดโพนยอ ม.11 ต.เชียงเพ็ง วัดภูแสงธรรมาราม ม.7 ต.ขอนยูง วัดมงคลนาราม ม.2 ต.ขอนยูง วัดมงคลนิมิตร ม.4 ต.ขอนยูง วัดเรียบทายราม ม.5 ต.เมืองเพีย วัดวิชัยวนาราม ม.6 ต.กุดจับ วัดวิริยกิจพิศาล ม.12 ต.เชียงเพ็ง วัดวิสุทธาวาส ม.1 ต.สร้างก่อ วัดศรีจันทราราม ม.14 ต.ปะโค วัดศรีชมชื่น ม.5 ต.เชียงเพ็ง
ม.2 ต.บ้านก้อง วัด โพธิ์ศรี ม.3 ต.โนนทอง วัดมหันตาราม ม.1 ต.บ้านก้อง วัดเวฬุวัน ม.6 ต.บ้านก้อง วัดศิระรรมาราม ม.7 ต.บ้านก้อง วัดสัมมัฎฐมุขขาราม ม.6 ต.โนน ทอง วัดใหม่สัญญาศิริเขต ม.3 ต.นายูง วัดอุทกมัจฉาราม ม.4 ต.โนนทอง
วัดศรีวิไลย์ ม.5 ต.ปะโค วัดศรีสระแก้ววนาราม ม.3 ต.สร้างก่อ วัดศรีสว่างอารมณ์ ม.6 ต.เชียงเพ็ง วัดศรีสธุ รรมมาราม ม.6 ต.เมืองเพีย วัดศิริชัยวราราม ม.2 ต.ตาลเลียน วัดศิริวนาราม ม.12 ต.ขอนยูง วัดสระบัว ม.1 ต.เชียงเพ็ง วัดสว่างพัฒนาราม ม.8 ต.ตาลเลียน วัดสว่างอารมณ์ ม.2 ต.ปะโค วัดสังคมวิทยาราม ม.1 ต.ขอนยูง วัดสันติพัฒนาราม ม.5 ต.กุดจับ วัดสามัคคีศรีวนาราม ม.11 ต.สร้างก่อ วัดสีหนาราม ม.4 ต.เมืองเพีย วัดใหม่เชียงคง ม.7 ต.ปะโค วัดใหม่โพนทอง ม.3 ต.กุดจับ วัดอรัญญาจันทาราม ม.3 ต.เชียงเพ็ง วัดอัมพวัน ม.2 ต.เชียงเพ็ง วัดอัมพวันวิทยาราม ม.1 ต.เมืองเพีย วัดอุดมวิทยาราม ม.3 ต.ปะโค
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 149
149
10/9/2562 13:48:10
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอบ้านดุง วัดกุดโด ม.10 ต.บ้านดุง วัดคลองเวช ม.7 ต.โพนสูง วัดค�ำเจริญมงคล ม.4 ต.นาค�ำ วัดโคกสว่าง ม.5 ต.วังทอง วัดจันทร์ศรีมงคล ม.8 ต.บ้านตาด วัดชัยมงคล ม.1 ต.บ้านชัย วัดโชคส�ำราญ ม.6 ต.โพนสูง วัดดงค�ำ ม.1 ต.ศรีสุทโธ วัดดงวัฒนา ม.4 ต.นาค�ำ วัดทุ่งเจริญ ม.2 ต.บ้านชัย วัดทุ่งสว่าง ม.2 ต.ศรีสุทโธ วัดทุง่ สว่างอารมณ์ ม.3 ต.ถ่อนนาลับ วัดเทพเทวีวนาราม ม.8 ต.ถ่อนนาลับ วัดเทพประดิษฐ์ ม.10 ต.นาไหม วัดเทพพิทักษ์ ม.1 ต.อ้อมกอ วัดเทพศิริมงคล ม.7 ต.บ้านชัย วัดโนนงาม ม.11 ต.นาค�ำ วัดโนนชัยสิลป์ ม.7 ต.ดงเย็น วัดโนนทองหลาง ม.2 ต.บ้านตาล วัดดนนสมโภชน์ ม.11 ต.นาค�ำ วัดโนนสวรรค์ ม.2 ต.นาไหม วัดดนนสว่าง ม.1 ต.วังทอง วัดโนนสะอาด ม.5 ต.บ้านชัย วัดดนนสิมมา ม.6 ต.บ้านจันทน์ วัดบวรมงคล ม.1 ต.ถ่อนนาลับ วัดบัวบก ม.3 ต.อ้อมกอ วัดบ้านสีนวล ม.4 ต.บ้านชัย วัดบ้านม่วง ม.9 ต.บ้านม่วง วัดบุญมาวาส ม.4 ต.หนองไฮ วัดประชาบ�ำรุง ม.10 ต.บ้านตาด
150
วัดประชาสามัคคี ม.8 ต.บ้านชัย วัดประสิทธิธรรม ม.5 ต.ดงเย็น วัดประสิทธิมงคล ม.8 ต.บ้านจันทน์ วัดปราสาทชัย ม.7 ต.บ้านชัย วัดปอพาน ม.15 ต.บ้านดุง วัดป่าเจริญธรรม ม.14 ต.บ้านดุง วัดป่าดอนธาตุ ม.1 ต.วังทอง วัดป่าตาดารทิพย์ ม.2 ต.บ้านตาด วัดป่านาดี ม.7 ต.นาค�ำ วัดป่าโนนชัยศิลป์ ม.7 ต.ดงเย็น วัดป่าโนนผักหวาน ม.10 ต.บ้านตาด วัดป่าโนนสะอาด ม.5 ต.บ้านชัย วัดป่าบ้านฝาง ม.1 ต.ศรีสุทโธ วัดป่าปริปุณโณ ม.3 ต.บ้านม่วง วัดป่าโพธิ์ชัย ม.6 ต.ถ่อนนาลับ วัดป่าไร่สีสุก ม.7 ต.บ้านจันทน์ วัดป่าศรีอุดม ม.9 ต.ศรีสุทโธ วัดป่าแสงธรรม ม.3 ต.บ้านตาด วัดป่าหนองค�ำ ม.5 ต.บ้านชัย วัดป่าหนองหิน ม.10 ต.ศรีสุทโธ วัดป่าหนองไฮ ม.7 ต.บ้านดุง วัดป่าหัวฝาย ม.7 ต.บ้านจันทน์ วัดผดุงธรรม ม.1 ต.ดงเย็น วัดพรสันติ ม.2 ต.นาค�ำ วัดพัฒนาราม ม.11 ต.โพนสูง วัดพิลาวัลย์ธิยาราม ม.3 ต.นาไหม วัดพิเศษสมบูรณ์ ม.6 ต.บ้านชัย วัดโพธิ์ชัย ม.9 ต.บ้านดุง วัดโพธิ์ชัย ม.3 ต.บ้านจันทน์ วัดโพธิ์ชัยงิ้วเหนือ ม.7 ต.บ้านตาด
วัดโพธิ์ศรี ม.1 ต.บ้านจันทน์ วัดโพธิ์ศรี ม.1 ต.นาไหม วัดโพธิ์ศรี ก ม.1 ต.บ้านตาด วัดโพธิ์ศรี ข ม.2 ต.ดงเย็น วัดโพธิ์ศรีสมภรณ์ ม.3 ต.บ้านดุง วัดโพธิ์ศรีสว่าง(ค้อเขียว) ม.9 ต.บ้านชัย
วัดโพธิ์ศรีสะอาด วัดระฆังทอง ม.10 ต.บ้านจันทร์ วัดราษฎร์บ�ำรุง ม.4 ต.ถ่อนนาลับ วัดเลิศมงคล ม.13 ต.บ้านดุง วัดแสนสุข ม.6 ต.วังทอง วัดเววัน ม.4 ต.อ้อมออ วัดศรัทธาธรรมแสนสมบูรณ์ ม.12 ต.บ้านจันทน์ วัดศรีขวัญเมือง ม.5 ต.ศรีสุทโธ วัดศรีคูณเมือง ม.1 ต.ถ่อนนาลับ วัดสรีชมชื่น ม.1 ต.อ้อมกอ วัดศรีดาราม ม.5 ต.บ้านจันทน์ วัดศรีบุญเรือง ม.5 ต.นาไหม วัดศรีผดุงพัฒนา ม.7 ต.ศรีสุทโธ
วัดศรีมงคลประดู่(ประดู่) ม.4 ต.นาไหม วัดศรีวิลัย ม.2 ต.บ้านม่วง วัดศรีวิลัย ม.9 ต.โพนสูง วัดศรีสมบูรณ์ ม.5 ต.โพนสูง วัดศรีสมบูรณ์ ม.9 ต.อ้อมกอ วัดศรีสมวิไล ม.5 ต.บ้านตาด วัดศรีสว่างมงคล ม.9 ต.บ้านชัย วัดศรีส�ำราญ ม.3 ต.ดงเย็น
วัดศรีสุข ม.7 ต.ถ่อนนาลับ วัดศรีสุมังค์ ม.3 ต.บ้านชัย วัดศรีสวุ รรณมงคล ม.10 ต.บ้านม่วง วัดศรีสุวอ ม.8 ต.นาไหม วัดศิริชัยเจริญ ม.2 ต.นาไหม วัดศิริมงคล ม.2 ต.ถ่อนนาลับ วัดศิริวนาราม ม.3 ต.บ้านตาด วัดสมบูรณ์พัฒนา ม.4 ต.บ้านดุง วัดสมประสงค์ ม.2 ต.อ้อมกอ วัดสมสะอาด ม.4 ต.บ้านจันทน์ วัดสระแก้ว ม.2 ต.บ้านดุง วัดสว่างศรีชมภู ม.7 ต.บ้านจันทน์ วัดสว่างอารมณ์ ม.6 ต.บ้านม่วง วัดสามัคคีเจริญธรรม ม.4 ต.วังทอง วัดสาละไพรวัลย์ ม.2 ต.ดงเย็น วัดสุคันธาวาส ม.5 ต.อ้อมกอ วัดสุพรรณแสงศรี ม.14 ต.บ้านชัย วัดสุวรรณเขต ม.4 ต.นาค�ำ วัดสุวรรณภูมิ ม.7 ต.นาไหม วัดหนองทุม่ บัณฑิต ม.5 ต.ถอ่ นนาลับ วัดหนองสวรรค์ ม.7 ต.บ้านม่วง วัดหนองสองห้องใต้ ม.16 ต.บ้านดุง วัดหนองหว้า ม.12 ต.บ้านม่วง วัดหนองไฮ ม.7 ต.บ้านดุง วัดหัวดงยาง ม.5 ต.นาค�ำ วัดหล่าหลวง ม.3 ต.วังทอง วัดใหม่ศรีสุมังคื ม.3 ต.บ้านชัย วัดอัมพวันสวัสดิธรรม ม.2 ต.อ้อมกอ วัดอาสาพัฒนาราม ม.4 ต.ศรีสทุ โธ วัดอุดมมงคล ม.6 ต.นาไหม
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 150
10/9/2562 13:48:11
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอทุ่งฝน วัดกุญชรดาราม ม.5 ต.นาทม วัดคอนสวรรค์ ม.10 ต.ทุ่งฝน วัดเจริญธรรมวาส ม.6 ต.ทุ่งฝน วัดชัยศิริมงคล ม.1 ต.นาชุมแสง วัดญาณสุทธิวนาราม ม.6 ต.นาทม วัดดอนค�ำ ม.5 ต.ทุ่งใหญ่ วัดตระการพืชผล ม.1 ต.นาทม วัดทิพย์ศรีปัญญา ม.2 ต.ทุ่งใหญ่ วัดทุ่งพัฒนา ม.12 ต.ทุ่งฝน. วัดทุ่งสว่าง ม.1 ต.ทุ่งฝน วัดนิยมบวร ม.1 ต.ทุ่งใหญ่ วัดโนนโพธิ์ ม.5 ต.ทุ่งฝน วัดป่าบ้านโพธิ์ ม.1 ต.นาชุมแสง วัดบ้านฝาง ม.12 ต.ทุ่งฝน
วัดป่ารัตนาราม ม.2 ต.ทุ่งฝน วัดป่าเลไลย์ ม.7 ต.ทุ่งฝน วัดโพธิ์ชัย ม.6 ต.ทุ่งฝน วัดโพธิ์ศรีทุ่ง ม.8 ต.ทุ่งฝน วัดเวฬุวนาราม ม.8 ต.ทุ่งฝน วัดศรีดาราม ม.3 ต.นาชุมแสง วัดศรีบุญยืน ม.5 ต.ทุ่งใหญ่ วัดศรีวิทยาราม ม.2 ต.นาชุมแสง วัดศรีสงคราม ม.3 ต.ทุ่งฝน วัดสว่างสุทธาวาส ม.4 ต.นาชุมแสง วัดสามัคคีธรรม ม.4 ต.ทุ่งฝน วัดสุขสะอาด ม.2 ต.ทุ่งฝน วัดอุดมอนทราวาส ม.3 ต.ทุ่งใหญ่
อ�ำเภอไชยวาน วัดกาวดี ม.3 ต.หนองหลัก วัดกู่แก้ว ม.8 ต.ไชยวาน วัดโคกสง่า ม.7 ต.โพนสุง วัดจ�ำปาสีหราช ม.7 ต.หนองหลัก วัดชลขันธ์ ม.3 ต.โพนสูง วัดชัยมงคล (ไชยมงคล) ม.5 ต.โพนสุง
วัดไชยนาถวราราม ม..2 ต.ไชยวาน วัดท่าบ่อ ม.1 ต.ไชยวาน วัดท่าวารี ม.4 ต.ค�ำเลาะ วัดท่าศิลา ม.1 ต.ค�ำเลาะ วัดเทพนิมิต ม.11 ต.หนองหลัก วัดโนนสมบูรณ์ ม.6 ต.โพนสูง วัดโนนสว่างสามัคคี (โนนสว่าง) ม.8 ต.หนองหลัก วัดโนนสังกา ม.3 ต.ไชยวาน วัดบูรพาราม ม.3 ต.ค�ำเลาะ วัดป่าค�ำน�้ำทิพย์ ม.11 ต.ค�ำเลาะ วัดป่าไชยวาน ม.1 ต.ไชยวาน วัดป่าทรายทอง ม.4 ต.ค�ำเลาะ วัดป่าบ่อแก้ว ม.4 ต.ไชยวาน
วัดป่าวังงาม ม.8 ต.ค�ำเลาะ วัดป่าศรีชมภูจติ ตวิเวก ม.2 ต.โพนสูง วัดป่าหัวหนองยาง ม.5 ต.หนองหลัก วัดพระธาตุห้วยยาง ม.4 ต.โพนสูง วัดพุทธเมตตากมลาวาส ม.15 ต.ไชยวาน วัดโพธิ์ศรี ม.4 ต.หนองหลัก วัดมงคลวนาราม ม.10 ต.ค�ำเลาะ วัดมงคลศรีไชยวาน ม.2 ต.ไชยวาน วัดมณีวรรณ ม.4 ต.โพนสูง วัดวิสุทธาวาส ม.2 ต.หนองหลัก วัดศรีชมชื่น ม.4 ต.ไชยวาน วัดศรีสุนันทา ม.1 ต.หนองหลัก วัดศิริวรรณ ม.6 ต.ไชยวาน วัดสว่างไชยวาน ม.1 ต.โพนสูง วัดสว่างอารมณ์ ม.5 ต.หนองหลัก วัดสันติกาวาส ต.ไชยวาน วัดสาเกตุ ม.5 ต.ไชยวาน วัดหนองแวง ม.10 ต.ไชยวาน วัดอุดมมงคล ม.3 ต.ไชยวาน วัดอู่แก้ว ม.6 ต.หนองหลัก
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 151
151
10/9/2562 13:48:11
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอหนองแสง วัดครองธรรมิการาม ม.11 ต.นาดี วัดทับกุง ม.3 ต.ทับกุง วัดประเสริฐทรงธรรม ม.10 ต.ทับกุง วัดป่ากัลยาณมิตร ม.1 ต.ทับกุง วัดป่าทับไฮ ม.4 ต.แสงสว่าง วัดป่าบ้านทับไฮ ต.แสงสว่าง วัดป่าราชญาณวิสุทธิโสภณ ม.3 ต.ทับกุง
วัดป่าแสงทอง ม.6 ต.หนองแสง วัดป่าหลวงตามหาบัวธรรมเจดีย์ ม.2 ต.ทับกุง
วัดโพธิชัยยาวนาราม ม.4 ต.ทับกุง วัดภุทองเทพนิมิต ม.2 ต.ทับกุง
วัดศรีจันทราราม ม.4 ต.แสงสว่าง วัดศรีพัฒนาราม ม.3 ต.หนองแสง วัดศรีมงคล ม.1 ต.แสงสว่าง วัดศรีสว่างมงคล ม.5 ต.แสงสว่าง วัดศิริชัย ม.3 ต.นาดี วัดสว่างอรุณ ม.5 ต.หนองแสง วัดสะอาดเรืองศรี ม.8 ต.นาดี วัดสามัคคีธรรม ม.3 ต.แสงสว่าง วัดสุวรรณชัย ม.5 ต.นาดี วัดแสงสว่าง ม.2 ต.แสงสว่าง วัดแสงสว่าง ม.6 ต.แสงสว่าง วัดหนองบัว ม.4 ต.นาดี วัดใหม่แสงสว่าง ม.6 ต.แสงสว่าง
อ�ำเภอพิบูลย์รักษ์ วัดจุมพลประชาสรรค์ ม.9 ต.บ้านแดง
วัดป่ายาง ม.5 ต.ดอนกลอย วัดป่าสามัคคีสันติธรรม
วัดเจริญพัฒนาราม
ม.8 ต.บ้านแดง
ม.4 ต.ดอนกลอย
วัดพรหมประดิษฐ์ ม.1 ต.นาทราย วัดพระแท่น ม.7 ต.บ้านแดง วัดพระสมาคม ม.1 ต.ดอนกลอย วัดโพธาราม ม.5 ต.บ้านแพง วัด โพธิ์ชัย ม.3 ต.บ้านแดง วัดมงคลสวัสดิ์ ม.7 ต.นาทราย วัดลัฏฐิวัน ม.5 ต.ดอนกลอย วัดล�ำดวน ม.3 ต.ดอนกลอย
วัดไชยวานพัฒนา ม.3 ต.บ้านแดง วัดธาตุอุโมง ม.9 ต.นาทราย วัดนิทัศนาลัย ม.4 ต.ดอนกลอย วัดโนนสว่าง ม.4 ต.บ้านแดง วัดป่าทรงธรรมนิมิต ม.6 ต.บ้านแดง
วัดป่าเนินหินแดง ม.6 ต.นาทราย
152
วัดวารินด�ำรง ม.2 ต.นาทราย วัดเวฬุวัน ม.8 ต.นาทราย วัดศรีบุญเรือง ม.1 ต.นาทราย วัดศรีสมพร ม.4 ต.นาทราย วัดสว่างแสงอรุณ ม.2 ต.ดอนกลอย วัดสุกรมงคล ม.4 ต.ดอนกลอย วัดหอค�ำ ม.1 ต.ดอนกลอย
วัดอุบลบวรวิหาร ม.6 ต.ดอนกลอย
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 152
10/9/2562 13:48:11
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอเพ็ญ วัดกลางสามัคคี ม.11 ต.จอมศรี วัดเกาะแก้ว ม.1 ต.เพ็ญ วัดค�ำเกษแก้ว ม.9 ต.บ้านธาตุ วัดโคกแสงสว่าง ม.7 ต.บ้านเหล่า วัดจันทร์เรไลย์ ม.7 ต.นาบัว วัดจ�ำปา ม.1 ต.นาพู่ วัดจูมศรีพัฒนาราม (จูมศรีพิมนาราม) ม.5 ต.สุ่มเส้า วัดแจ้งสว่าง ม.9 ต.นาพู่ วัดชัยมงคลพัฒนา ม.7 ต.สร้างแป้น วัดดงขมิ้น ม.3 ต.เชียงหวาง วัดดงคลอง ม.13 ต.นาพู่ วัดดงชัย ม.3 ต.เพ็ญ วัดดงสว่าง ม.13 ต.นาพู่ วัดดอนแคน ม.8 ต.นาบัว วัดดอนสวรรค์ ม.15 ต.เพ็ญ วัดทองสายพัฒนาราม ม.13 ต.นาบัว วัดทุ่งสว่าง ม.3 ต.นาบัว วัดเทพจินดา ม.2 ต.สุมเส้า วัดเทพมงคล ม.16 ต.บ้านเหล่า วัดไทย ม.2 ต.นาพู่ วัดนาค�ำไหล ม.8 ต.สร้างแป้น วัดนาบัว ม.9 ต.นาบัว วัดนาพัง ม.5 ต.จอมศรี วัดนิคมพัฒนา ม.13 ต.บ้านธาตุ วยัดโนนคูณ ม.1 ต.สร้างแป้น วัดโนนพอก ม.11 ต.เพ็ญ วัดโนนสว่าง ม.15 ต.บ้านธาตุ วัดบวรนิเวศน์ ม.15 ต.เพ็ญ วัดบัวสระพังทอง ม.10 ต.เพ็ญ วัดบ้านดอนแซ ม.7 ต.เพ็ญ วัดบ้านโนนดู่ ม.9 ต.จอมศรี วัดบ้านโพนสวรรค์(โพนสวรรค์) ม.19 ต.เพ็ญ
วัดบ้านหนองแด่น ม.15 ต.สร้างแป้น วัดบ้านใหม่ ม.2 ต.เพ็ญ
วัดบุญสวาท ม.9 ต.บ้านธาตุ วัดป่าโคกกลาง ม.5 ต.โคกกลาง วัดป่าชัยนิมิต ม.6 ต.นาพู่ วัดป่าดงสัมพันธ์ ม.16 ต.เพ็ญ วัดป่าดงใหญ่ ม.3 ต.เชียงหวาง วัดป่าดอนนาวศรีสามัคคีธรรม ม.1 ต.นาพู่
วัดป่าธรรมประดิษฐ์ ม.6 ต.สร้างแป้น วัดป่าธรรมวิสุทธิมงคล ม.13 ต.เชียงหวาง
วัดป่าธรรมสันติ ม.6 ต.สร้างแป้น วัดป่านาดี ม.4 ต.เชียงหวาง วัดป่านาพู่ ม.12 ต.นาพู่ วัดป่าโนนยางแสงค�ำ ม.3 ต.บา้ นเหล่า วัดป่าพระนาไฮ ม.6 ต.บ้านเหล่า วัดป่าภูนิมิตร ม.6 ต.สุมเส้า วัดป่ายามกาใหญ่ ม.2 ต.บ้านธาตุ วัดป่ารวมธรรม ม.15 ต.สุมเส้า วัดป่าศรีเจริญผล ม.1 ต.บ้านธาตุ วัดป่าสว่างจิตนิมิตวนาราม ม.5 ต.เชียงหวาง วัดป่าสามัคคี ม.6 ต.นาบัว วัดป่าสามัคคี ม.8 ต.บ้านธาตุ วัดป่าสามัคคี ม.9 ต.นาบัว วัดป่าอัมพวัน ม.8 ต.สร้างแป้น วัดพรหมจรรยื ม.6 ต.เชียงหวาง วัดพระธาตุ ม.10 ต.นาบัว วัดพระธาตุนางขาว ม.1 ต.สุมเส้า วัดพระธาตุศิลา ม.11 ต.สุมเส้า วัดพระบาทแม่แส ม.1 ต.บ้านธาตุ วัดพุทธบูชา ม.3 ต.บ้านธาตุ วัดโพธิ์ชัย ม.1 ต.เตาไห วัดโพธิ์ชัย ม.7 ต.เชียงหวาง วัดโพธิ์ชุม ม.12 ต.สุมเส้า วัดโพธิ์ชุม ม.2 ต.เตาไห วัดโพธิ์ชุม(โพธิ์ทอง) ม.6 ต.เพ็ญ
วัดโพธิ์ศรี ม.2 ต.นาพู่ วัดโพธิ์ศรีแก้ว ม.3 ต.บ้านเหล่า วัดโพธิ์ศรีจวง ม.2 ต.เชียงหวาง วัดโพธิ์ศรีจันทร์ ม.5 ต.เชียงหวาง วัดโพธิ์ศรีชุม ม.3 ต.เพ็ญ วัดโพธิ์ศรีสมพร ม.9 ต.บ้านเหล่า วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.6 ต.สุมเส้า วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.13 ต.เพ็ญ วัดโพธิศ์ รีสว่าง(ก) ม.14 ต.สร้างแห้น วัดโพธิ์ศรีสว่าง(2) ม.7 ต.นาบัว วัดโพธิ์ศรีสะอาด ม.4 ต.จอมศรี วัดโพธิ์ศรีสังซา ม.8 ต.บ้านธาตุ วัดโพธิ์สัตตนาค ม.1 ต.นาบัว วัดโพธ์ศรีส�ำราญ ม.1 ต.บ้านเหล่า วัดโพธิสมภรณ์ ม.4 ต.เชียงกลาง วัดโพนทา ม.4 ต.นาบัว วัดโพนสวรรค์พัฒนาราม ม.7 ต.เชียงหวาง วัดม่วงชุม ม.9 ต.เพ็ญ วัดมหาธาตุ ม.5 ต.นาพู่ วัดมัชฌิมวงศ์ ม.3 ต.สุมเส้า วัดมีชัย ม.2 ต.นาบัว
วัดรอยพระพุทธบาทนฤนาถ ม.7 ต.บ้านเหล่า วัล�ำดวน ม.5 ต.นาพู่ วัดเวฬุวัน ม.8 ต.บ้านเหล่า วัดศรัทธศิลอัมพวัน ม.8 ต.สุมเส้า วัดศรีจ�ำปา ม.12 ต.บ้านธาตุ วัดศรีเจริญชัย ม.11 ต.บ้านธาตุ วัดศรีเจริญธรรม ม.5 ต.เพ็ญ วัดศรีเจริญโพนบก ม.10 ต.บ้านธาตุ วัดศรีดงเย็น ม.7 ต.จอมศรี วัดศรีบุญเรือง ม.4 ต.เตาไห วัดศรีบุญเรือง ม.6 ต.นาพู่ วัดศรีบุยเรือง ม.7 ต.สุมเส้า วัดศรีพันดร ม.2 ต.บ้านเหล่า วัดศรีมงคล ม.7 ต.นาพู่ วัดศรีลาทอง ม.1 ต.โคกกลาง
วัดศรีเวียงเพ็ญ ม.12 ต.เพ็ญ วัดศรีสมพร ม.6 ต.บ้านเหล่า วัดศรีสว่างวงศ์ ม.5 ต.สมเส้า วัดศรีสุวรรณ ม.16 ต.เพ็ญ วัดศรีสวุ รรณรัตนาราม ม.8 ต.นาพู่ วัดศรีอุดมพร ม.12 ต.บ้านเหล่า วัดศิระรรมคุณ ม.3 ต.บ้านเหล่า วัดสระแก้ว ม.4 ต.สุมเส้า วัดสระแก้ววราราม ม.12 ต.นาบัว วัสระด้วง ม.4 ต.นาบัว วัดสระพังทอง ม.6 ต.จอมศรี วัดสว่าง ม.1 ต.เชียงหวาง วัดสว่างจอมศรี ม.1 ต.จอมศรี วัดสว่างดงยาง ม.3 ต.จอมศรี วัดสว่างบ้านโพน(โพนสว่าง) ม.4 ต.บ้านธาตุ
วัดสว่างโพธิวราราม ม.13 ต.สุมเส้า วัดแสงอรุณ ม.4 ต.บ้านเหล่า วัดสว่างอินทรศิลา ม.3 ต.นาพู่ วัดสามัคคี ม.6 ต.บ้านธาตุ วัดสามัคคีธรรม ม.11 ต.บ้านเหล่า วัดสามัคคีนารายณ์ ม.2 ต.จอมศรี วัดสามัคคีมงคลธรรม ม.14 ต.เชียงหวาง
วัดสิงห์นิมิตบ�ำเพ็ญ ม.16 ต.นาบัว วัดสุทศั น์จนิ ทิมาราม ม.3 ต.บ้านธาตุ วัดสุริยาเย็น ม.9 ต.สุมเส้า วัดแสงสว่าง ม.8 ต.เชียงหวาง วัดหนองสว่าง ม.8 ต.เพ็ญ วัดหลวงเพ็ญ ม.1 ต.เพ็ญ วัดอรัญญาสามัคคี ม.14 ต.สุมเส้า วัดอรุณพัฒนาราม ม.15 ต.สุมเส้า วัดอัมพร ม.6 ต.นาบัว วัดอัมพวัน ม.3 ต.เชียงหวาง วัดอินทร์ศรสง่า ม.2 ต.บ้านธาตุ วัดอินทร์เอราวัณ ม.17 ต.สุมเส้า วัดอุดมอัมพวัน ม.8 ต.จอมศรี
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 153
153
10/9/2562 13:48:11
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอหนองวัวซอ ม.22 ต.หมากหญ้า วัดป่าหนองค�ำ ม.8 ต.อูบมุง วัดป่าหนองวัวซอ ม.7 ต.หนองวัวซอ
วัดศรีภูมิวัน ม.4 ต.ดอนหวาย วัดศรีวิลัย ม.3 ต.โนนหวาย วัดศรีสว่างมงคล ม.10 ต.หนองอ้อ วัดศรีสุมังคลาราม ม.9 ต.หนองอ้อ วัดศรีหมากหญ้า ม.1 ต.หมากหญ้า วัดศิริมงคล ม.3 ต.น�้ำพ่น วัดสว่างเชิงเขา ม.5 ต.อูบมุง วัดสว่างบูรพาราม
วัดป่าหนองแวงพัฒนา
ม.2 ต.กุดหมากไฟ
วัดดงบังพัฒนา ม.6 ต.อุบมุง วัดเทพนิมิต ม.6 ต.หนองบัวบาน วัดถ�้ำกกดู่ ม.6 ต.โนนหวาย วัดทุ่งสว่าง ม.2 ต.อูบมุง วัดทุ่งสะอาด ม.7 ต.โนนหวาย วัดห้วยทราย ม.7 ต.โนนหวาย วัดนาล้อม ม.3 ต.อูบมุง วัดโนนสมบูรณ์ ม.6 ต.หนองอ้อ วัดโนนสว่าง ม.2 ต.กุดหมากไฟ วัดโนนสว่าง ม.3 ต.หมากหญ้า วัดโนนส�ำราญราษฎร์บ�ำรุง
วัดป่าผาสุการาม ม.4 ต.โนนหวาย วัดป่าภูพับ ม.7 ต.น�้ำพ่น วัด่ป่าเลไลย์ ม.3 ต.กุดหมากไฟ วัดป่าศรัทธาถวาย ม.9 ต.หนองอ้อ วัดป่าสามัคคีธรรม
วัดพระพุทธบาทบัวขาว
วัดสว่างอารมณ์ ม.4 ต.อูบมุง วัดสังฆญาณวิสุทธิโสภณ
ม.5 ต.หนองอ้อ
ม.5 ต.หนองอ้อ
ม.2 ต.กุดหมากไฟ
วัดบวรนิมิตร ม.1 ต.น�้ำพ่น วัดบ้านโนนหวาย ม.5 ต.โนนหวาย วัดบ้านหนองอ้อ ม.1 ต.หนองอ้อ วัดบุญญานุสรณ์ ม.6 ต.หมากหญ้า วัดบุญญานิสทิ ธิ์ ม.10 ต.หมากหญ้า วัดบูรพานุสรณ์ ม.6 ต.น�้ำพ่น วัดประศาสน์ธรรม ม.2 ต.หนองอ้อ วัดป่าโคกหนองแซง
วัดพัฒนาธรรม ม.2 ต.โนนหวาย วัดพิชิตมงคล ม.3 ต.หนองบัวบาน วัดโพธิ์ศรีธัมมาคม ม.5 ต.อูบมุง วัดโพธิ์ศรีประดิษฐื ม.2 ต.น�้ำพ่น วัดภูตะเภาทอง ม.8 ต.กุดหมากไฟ วัดมงคลค�ำบ�ำรุง ม.1 ต.กุดหมากไฟ วัดเมตตากิตติคุณ ม.5 ต.น�้ำพ่น วัดรัตนมงคล ม.1 ต.อูบมุง วัดราษฎร์สงเคราะห์
วัดสามขาสันติสุข
ม.6 ต.โนนหวาย
วัดป่าไชยมงคล ม.3 ต.หนองวัวซอ วัดป่านิโครธาราม ม.9 ต.หนองบัวบาน
154
ม.9 ต.กุดหมากไฟ
ม.6 ต.หนองบัวบาน วัดไร่สวรรค์ ม.5 ต.หนองวัวซอ วัดศรีบุญเรือง ม.6 ต.โนนหวาย
ม.5 ต.หนองบัวบาน
วัดแสงประทีปธัมมาราม ม.6 ต.กุดหมากไฟ
วัดหนองแซงสร้อย ม.7 ต.น�้ำพ่น วัดหนองบัวเลิง ม.7 ต.อูบมุง วัดหนองแวงยาว ม.8 ต.หมากหญ้า วัดหนองสวรรค์ ม.7 ต.หนองอ้อ วัดอินทราราม ม.3 ต.หนองวัวซอ วัดอุดมศิลป์ ม.7 ต.กุดหมากไฟ วัดอูบมุงเหนือ ม.9 ต.อูบมุง
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 154
10/9/2562 13:48:12
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอหนองหาน วัดค�ำชลพัฒนาราม วัดโคกพัฒนาราม
วัดบูรพาภิรมณ์ ม.2 ต.สะแบง วัดบูรพาราม ม.14 ต.หนองหาน วัดประทุมทองวนาราม
ม.2 ต.หนองเม็ก
ม.3 ต.ผักตบ
วัดโคกสุวรรณ
วัดจันทร์เพ็งวนาราม
วัดปัจฉิมาราม ม.7 ต.หนองหาน วัดปัทมากร ม.4 ต.สะแบง วัดป่าค้อใหญ่ ม.2 ต.พังงู วัดป่าเจริญธรรม ม.12 ต.หนองไผ่ วัดป่าดอนหายโศก
ม.11 ต.หนองหาน
ม.5 ต.หนองสระปลา
วัดจอมทองอุดมทรัพย์
วัดเม็กใหญ่ ม.3 ต.หนองเม็ก วัดเริ่มอุดมจันทราวาส
ม.5 ต.ร้อยพร้าว
ม.6 ต.หนองสระปลา วัดเรียบโพธิ์ชัย ม.2 ต.บ้านยา วัดเวฬุวัน ม.2 ต.หนองไผ่ วัดเวฬุวันวนาราม ม.6 ต.หนองไผ่
ม.3 ต.หนองสระปลา
วัดศรีแก้วบัวบาน
ม.4 ต.หนองสระปลา วัดสว่างอารมณ์ ม.2 ต.โพนงาม วัดสันติธรรม ม.6 ต.พังงู วัดสันติวนาราม ม.11 ต.บ้านเชียง วัดสามัคคีธรรม ม.4 ต.พังงู
วัดสว่างสามัคคีธรรม วัดสว่างแสงจันทร์ ม.9 ต.หนองเม้ก
วัดสว่างศรีวิไลย์
ม.9 ต.สะแบง
ม.8 ต.ดอนหายโศก
ม.4 ต.หนองเม็ก วัดศรีชมชื่น ม.6 ต.พังงู วัดศรีชมชื่น ม.1 ต.ดอนหายโศก
วัดเจริญธรรมสามัคคี
วัดป่าเทพประทานพร
วัดศรีทรงธรรม
ม.7 ต.สร้อยพร้าว
ม.9 ต.บ้านเชียง
ม.6 ต.ดอนหายโศก
วัดสามัคคีบ�ำเพ็ญผล
วัดเจริญธรรมสามัคคี
วัดป่าเทพพิทักษ์
ม.2 ต.หนองหาน
ม.4 ต.ดอนหายโศก วัดแจ้งสว่าง ม.3 ต.บ้านยา วัดฉิมพลีวัน ม.11 ตโพนงาม วัดดอนธาตุ ม.8 ต.บ้านเชียง วัดดอนหัน ม.4 ต.บ้านยา วัดดาวเรือง ม.9 ต.หนองไผ่ วัดตาลเลียน ม.2 ต.หนองสระปลา วัดถาวรธรรมาราม ม.10 ต.พังงู
ม.10 ต.ดอนหายโศก วัดป่าธรรมรังษี ม.2 ต.บ้านยา วัดป่าปูลู ม.3 ต.บ้านเชียง วัดป่ายาง ม.11 ต.พังงู วัดป่าเรืองชัย ม.7 ต.พังงู วัดป่าเลไลยก์ ม.11 ต.บ้านเชียง
วัดทองหล่อวนาราม
วัดป่าศรีวิไลย ม.4 ต.บ้านยา วัดป่าอุสภาราม ม.5 ต.พังงู วัดพระธาตุดงยางซอง
วัดศรีทรงธรรม ม.12 ต.โพนงาม วัดศรีบุญเรือง ม.8 ต.พังงู วัดศรีบุญเรือง ม.5 ต.บ้านเชียง วัดศรีบุญเรือง ม.4 ต.หนองหาน วัดศรีพุทธาราม ม.5 ต.โพนงาม วัดศรีไพรวัน ม.1 ต.หนองหาน วัดศรีมหาะตุ ม.4 ตบ้านยา วัดสรีสว่าง ม.8 ต.หนองหาน วัดศรีส�ำราญ ม.5 ต.ดอนหายโศก วัดศรีสุธาทิพย์(ศรีสุทธาทิพย์)
ม.14 ต.สร้อยพร้าว
ม.4 ต.หนองไผ่
วัดท่าสะอาด ม.9 ต.สร้อยพร้าว วัดเทพประทานพร ม.9 ต.บ้านเชียง
วัดธรรมรังษี ม.8 ต.บ้านเชียง วัดธาตุดูกวัว ม.3 ต.หนองหาน วัดธาตุโพธิ์ชัย ม.10 ต.สร้อยพร้าว วัดธาตุโพธิ์ชัย ม.10 ต.สร้อยพร้าว วัดธาตุสมชนะวารี ม.5 ต.สะแบง วัดนาข่าศรีสุทธาวาส ม.6 ต.หนองหาน วัดโนนธาตุ ม.7 ต.สะแบง วัดโนนสวรรค์ ม.7 ต.หนองสระปลา วัดโนนสะอาด ม.6 ต.บ้านยา วัดโนนสะอาด ม.3 ต.ดอนหายโศก วัดโนนสะอาด ม.8 ต.หนองเม็ก วัดโนนส�ำราญ ม.5 ต.โพนงาม วัดบวรพัฒนา ม.3 ต.สะแบง วัดบัวระพาชัย ม.10 ต.หนองเม็ก วัดบ้านยา ม.4 ต.บ้านยา วัดบ้านสะแบง ม.2 ต.สะแบง
วัดป่าศรัทธาธรรมิการาม ม.6 ต.พังงู
ม.5 ต.หนองหาน วัดพาราณสี ม.16 ต.พังงู วัดพุทธวงศาวาส ม.7 ต.หนองไผ่ วัด โพธิ์ชัย ม.1 ต.พังงู
วัดโพธิ์ชัยพัฒนาราม ม.5 ต.ผักตบ
วัดโพธิ์ทอง ม.7 ต.โพนงาม วัดโพธิ์ศรีแก้ว ม.8 ต.หนองสระปลา วัด โพธิ์ศรีใน ม.11 ต.บ้านเชียง วัดโพธิ์ศรีสมพร ม.10 ต.โพนงาม วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.1 ต.โพนงาม วัดโพธิ์ศรีสะอาด ม.5 ต.พังงู วัดโพธิ์ศรีส�ำราญ ม.6 ต.หนองเม็ก วัดโพธิ์ศรีส�ำราญ ม.4 ต.ผักตบ วัดโพธิ์สว่าง ม.4 ต.โพนงาม วัดมงคลชยาราม ม.8 ต.โพนงาม วัดมหาวนาราม ม.8 ต.สะแบง วัดมัชฌิมบุรี ม.6 ต.หนองหาน วัดมีชัย ม.10 ต.บ้านเชียง
วัดสามัคคีมงคล ม.11 ต.หนองเม็ก วัดสิริไชยาราม ม.1 ต.สะแบง วัดสุทธาราม ม.3 ต.หนองไผ่ วัดสุทัศนวารี ม.6 ต.สร้อยพร้าว วัดสุรพลโสภานุสรณ์ ม.9 ต.หนองเม็ก
วัดสุวรรณวารี ม.2 ต.ดอนหายโศก วัดสุวรรณวารี ม.11 ต.หนองไผ่ วัดสุวรรณาราม ม.5 ต.หนองเม้ก วัดโสภณนิมิตร (โศภณนิมิตร)
ม.17 ต.หนองเม็ก วัดศรีสุมังค์ ม.7 ต.หนองสระปลา
วัดศรีสุมังคลาราม ม.10 ต.หนองหาน
วัดศรีสุวรรณ ม.12 ต.พังงู วัดศรีอริยาวาส ม.4 ต.หนองไผ่ วัดศิริมงคล ม.7 ต.หนองเม็ก วัดศิริมงคลชัย ม.7 ต.พังงู วัดศิริวรรณ ม.6 ต.ผักตบ วัดศิลาอาสน์ ม.2 ต.ผักตบ วัดสระแก้ว ม.12 ต.บ้านเชียง วัดสระนันทะวัน ม.13 ต.โพนงาม วัดสระปทุม ม.5 ต.หนองไผ่ วัดสระมณี ม.1 ต.ผักตบ วัดสระสุวรรณ ม.1 ต.หนองสระปลา วัดสร้างแข ม.114 ต.หนองหาน วัดสว่างโคกก่อง ม.3 ต.สร้อยพร้าว วัดสว่างโพนตาล ม.12 ต.พังงู วัดสว่างลัฎฐิวัน ม.6 ต.พังงู วัดสว่างพิชัย ม.3 ต.โพนงาม วัดสว่างสามัคคีธรรม
ม.3 ต.หนองหาน วัดหนองผือ ม.2 ต.บ้านยา วัดหนองไผ่ ม.1 ต.หนองไผ่ วัดหนองเม้ก ม.1 ต.หนองเม็ก วัดหัวเชียง ม.13 ต.หนองหาน วัดหายโศก ม.10 ต.หนองผ่ วัดเหล่าหว้า ม.8 ต.สร้อยพร้าว วัดอรัญญิกาวาส ม.6 ต.โพนงาม วัดอรุณรังษี ม.2 ต.หนองสระปลา วัดอโสกาวาส ม.8 ต.ดอนหายโศก วัดอัมพวัน ม.4 ต.บ้านเชียง วัดอัมพวัน ม.3 ต.หนองเม็ก
วัดอัมพวันวนาราม ม.5 ต.หนองหาน
วัดอารามมหาธาตุ ม.7 ต.บ้านเขียง วัดอุทุมวารี ม.13 ต.พังงู วัดโอภาสสวัสดิ์ ม.2 ต.สร้อยพร้าว
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 155
155
10/9/2562 13:48:12
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอสร้างคอม วัดช้างเผือก ม.11 ต.สร้างคอม วัดไชยพร ม.6 ต.บ้านยวด วัดดอนแก้ว ม.1 ต.เชียงดา วัดทุ่งไพธาราม ม.11 ต.สร้างคอม วัดธาตุศรีส�ำราญ ม.1 ต.บ้านยวด วัดนาถกรณธรรม ม.2 ต.บ้านโคก วัดโนนรัง ม.2 ต.บ้านยวด วัดป่าสกุณาศัย ม.3 ต.สร้างคอม วัดพรสวรรคื ม.4 ต.เชียงตา วัดโพธิ์ศรีเจริญ ม.4 ต.บ้านยวด วัดโพธิ์ศรีโพนฆ้อง ม.4 ต.สร้างคอม
อ�ำเภอศรีธาตุ วัดเกียรติบุญมา ม.7 ต.บ้านโปร่ง วัดโคกกลาง ม.5 ต.หัวนาค�ำ วัดจอมพล ม.9 ต.จ�ำปี วัดเจริญศรีสมพร ม.8 ต.ตาดทอง วัดชัยภูมิ ม.10 ต.จ�ำปี วัดดงบ้านแมด ม.14 ต.จ�ำปี วัดธาตุหนองแวง ม.7 ต.จ�ำปี วัดนครศรีสวรรค์ ม.6 ต.บ้านโปร่ง วัดนรินทราวาส ม.8 ต.หัวนาค�ำ วัดโนนตาล ม.5 ต.นายูง วัดโนนสวรรค์ ม.7 ต.หัวนาค�ำ วัดโนนส�ำราญ ม.2 ต.หนองนกเขียน วัดบรมโพธิสมภรณ์ ม.8 ต.ตาดทอง วัดบ่อน�้ำศรีวิลัย ม.4 ต.หัวนาค�ำ วัดบัพพโตศิลาอาสน์ ม.14 ต.หัวนาค�ำ
วัดบุรพามังคลาราม ม.1 ต.หัวนาค�ำ
156
วัดประจันตะคาม ม.11 ต.บ้านโปร่ง วัดประทุม ม.6 ต.นายูง วัดป่ากุดน�้ำใส ม.7 ต.ศรีธาตุ วัดป่าค�ำอ้อ ม.8 ต.ศรีธาตุ วัดป่าท่านสิมมา ม.7 ต.ตาดทอง วัดป่าพอก ม.1 ต.บ้านโปร่ง วัดป่าโพนพระเจ้า ม.5 ต.นายูง วัดป่าภูวังทอง ม.14 ต.หัวนาค�ำ วัป่าเหวไฮ ม.10 ต.หัวนาค�ำ วัด โพธิ์ชัย ม.1 ต.นายูง วัด โพธิ์ชัย ม.1 ต.บ้านโปร่ง วัดโพธิ์ชัยศรี ม.1 ต.หนองนกเขียน วัด โพธิ์ศรี ม.3 ต.นายูง วัดโพธิ์ศรีแก้ว ม.6 ต.ศรีธาตุ วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.9 ต.ตาดทอง วัดโพธิ์ศรีส�ำราญ ม.2 ต.จ�ำปี วัดโพธิ์สง่าศรีจ�ำปา ม.2 ต.ศรีธาตุ
อ�ำเภอเชียงม่วน
วัดศรีส�ำราญ ม.7 ต.บ้านโศก วัดศิริธรรมคุณ ม.11 ต.บ้านโคก วัดสว่างบ�ำเพ็ญผล ม.8 ต.สร้างคอม วัดพัฒนาราม ม.5 ต.บ้านโคก วัดสามัคคีบ�ำเพ็ญผล ม.1 ต.สร้างคอม
วัดสามัคคีพัฒนาราม ม.3 ต.บ้านหินโงม
วัดสุวรรณาราม ม.5 ต.หนองเม็ก วัดหายโศก ม.2 ต.นาสะอาด วัดเหล่าแก้ว ม.5 ต.เชียงดา วัดอัมพวันวนาราม
วัดโพธิ์ศรีสมพร ม.5 ต.นาสะอาด วัดโพธิ์ศรีสร้างคอม
ม.6 ต.บ้านยวด
ม.2 ต.สร้างคอม
ม.5 ต.บ้านยวด
วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.8 ต.เชียงดา วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.1 ต.บ้านยวด วัดราษฎร์บ�ำรุง ม.3 ต.เชียงดา วัดเวฬุวัน ม.2 ต.บ้านโคก
วัดอุดมมหาวรรณ ม.5 ต.สร้างคอม วัดอุดมวิทยา ม.2 ต.เชียงดา วัดอุทมุ พรดอนเดือ่ ม.4 ต.บ้านโคก
วัดอัมพวันวนาราม
วัดมัคคราราม ม.5 ต.จ�ำปี วัดราษฎร์สามัคคธรรม ม.5 ต.บ้านโปร่ง
วัดสรีแก้วอัมพวัน ม.4 ต.ศรีธาตุ วัดศรีเจริญธรรม ม.3 ต.บ้านโปร่ง วัดศรีธาตุประมัญชา ม.3 ต.จ�ำปี วัดศรีบุญเรือง ม.5 ต.ศรีธาตุ วัดศรีมงคล ม.9 ต.หัวนาค�ำ วัดศรีสง่าวธาราม ม.1 ต.ตาดทอง วัดศรีสว่าง ม.2 ต.หัวนาค�ำ วัดศรีสว่างบรมสุข ม.10 ต.ศรีธาตุ วัดศรีสว่างรัตนาราม ม.6 ต.จ�ำปี วัดศิริมงคล ม.6 ต.นายูง วัดสระแก้ว ม.2 ต.บ้านโปร่ง วัดสว่างบรมนิวาส ม.4 ต.บ้านโปร่ง วัดสว่างบรมนิวาส ม.7 ต.นายูง วัดอรัญญวาสี ม.7 ต.ตาดทอง วัดอัมพรสะอาดชัยสรี ม.4 ต.หนองนกเขียน
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 156
10/9/2562 13:48:12
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอบ้านผือ วัดเกษศิริวาร ม.1 ต.เมืองพาน วัดแก้วชาตรี ม.11 ต.หายโศก วัดเขมวนาราม ม.9 ต.บง วัดค�ำด้วง ม.6 ต.กลางใหญ่ วัดเคารพ ม.1 ต.โนนทอง วัดโคกสีแก้ว ม.6 ต.หายโศก วัดโคธาราม ม.7 ต.จ�ำปาโมง วัดจักเสตตาราม ม.9 ต.จ�ำปาโมง วัดจันทราราม ม.14 ต.บ้านผือ วัดฉิมพลีวัลย์ ม.4 ต.หนองหัวคู วัดชัยมงคลยราม ม.7 ต.ค�ำบง วัดชัยสว่าง ม.2 ต.จ�ำปาโมง วัดช้างผือกวนาราม ม.11 ต.โนนทอง วัดชุมพวงสวรรค์ ม.8 ต.หายโศก วัดดงพระนิมิตร ม.4 ต.ดนนทอง วัดดงสะพังทอง ม.6 ต.กลางใหญ่ วัดดอนตาล ม.7 ต.โนนทอง วัดดอยบ้านใหม่ ม.2 ต.เมืองพาน วัดดอยสวรรค์ ม.2 ต.หนองแวง วัดตระคลอง ม.11 ต.ค�ำด้วง วัดตาดน�้ำพุ ม.8 ต.ค�ำด้วง วัดตาลก่อง ม.5 ต.เมืองพาน วัดตาลชุม ม.9 ต.บ้านธาตุ วัดถ�้ำจันทรคราส ม.2 ต.จ�ำปาโมง วัดถ�้ำดุก ม.11 ต.ข้าวสาร วัดถ�้ำพระ ม.5 ต.กลางใหญ่ วัดถ�้ำพระนาหลวง ม.4 ต.ค�ำด้วง วัดถ�้ำม่วง(คีรีวันเทพสถิตย์) ม.8 ต.ข้าวสาร วัดถ�้ำหีบ ม.2 ต.จ�ำปาโมง วัดถ�้ำเหล้ก ม.3 ต.ค�ำด้วง วัดทรายโทงทอง ม.9 ต.หนองหัวคู วัดท่าวารีสาคร ม.2 ต.ข้าวสาร วัดทุ่งสว่าง ม.6 ต.หนองหัวคู วัดทุ่งสว่าง ม.3 ต.เขือน�้ำ วัดเทพนิมิต ม.4 ต.ค�ำด้วง วัดเทพนิมติ ทุง่ สว่าง ม.12 ต.จำ� ปาโมง วัดเทพนิมิต ม.3 ต.หนองหัวคู
วัดไทยทรงธรรม ม.1 ต.ค�ำบง วัดไทรค�ำ ม.7 ต.โนนทอง วัดธรรมชาติวิทยา ม.5 ต.หนองแวง วัดธาตุวารุการาม ม.2 ต.หายโศก วัดธาตุอปุ สมาราม ม.3 ต.เมืองพาน วัดนาค�ำ ม.3 ต.หายโศก วัดนาคูณ ม.4 ต.บ้านผือ วัดนาหลวง ม.4 ต.ค�ำด้วง วัดนิโครธ์เขตตาราม ม.9 ต.โนนทอง วัดนีลถาราม ม.4 ต.จ�ำปาโมง วัดโนนทอง ม.6 ต.โนนทอง วัดโนนศิลาอาสน์ ม.9 ต.เมืองพาน วัดโนนสวรรค์ ม.6 ต.หนองแวง วัดโนนสะอาด ม.5 ต.บ้านผือ วัดโนนหิตาราม ม.4 ต.โนนทอง วัดบ้านค้อ ม.7 ต.เขือน�้ำ วัดบ้านโคกก่อง ม.11 ต.เมืองพาน วัดบ้านหลอด ม.9 ต.จ�ำปาโมง วัดป่าดงบ้านดูน ม.11 ต.เขือน�้ำ วัดป่าดอนบ้านเทือน ม.9 ต.กลางใหญ่ วัดป่าทรัพย์น�้ำใส ม.4 ต.หนองหัวคู วัดป่าธรรมวิเวก ม.6 ต.ข้าวสาร วัดป่านาสีดา ม.3 ต.กลางใหญ่ วัดป่านิโรธรังษี ม.7 ต.กลางใหญ่ วัดป่าผักบุ้ง ม.8 ต.กลางใหญ่ วัดป่าภูทอง ม.17 ต.บ้านผือ วัดป่าล�ำดวน ม.12 ต.หายโศก วัดป่าศิริชัยมงคล ม.2 ต.ค�ำบง วัดป่าสาระวารี ม.3 ต.บ้านผือ วัดป่าหนองกบ-นาแมน ม.4 ต.เมืองพาน
วัดป่าหนองกอง ม.2 ต.บ้านผือ วัดป่าอุดมสรรพผล ม.6 ต.เมืองพาน วัดผาเวียงชัย ม.3 ต.หนองแวง วัดพระพุทธบาทบัวบก ม.7 ต.เมืองพาน
วัดพระพุทธบาทบัวบาน ม.10 ต.เมืองพาน
วัดพลับ ม.4 ต.บ้านผือ วัดโพธิ์ชัย ม.10 ต.เขือน�้ำ วัดโพธิ์ชัย ม.11 ต.จ�ำปาโมง วัดโพธิ์ชัยมงคล ม.2 ต.บ้านค้อ วัดโพธิ์ทอง ม.4 ต.หายโศก วัดโพธิ์ชัยศรี ม.6 ต.บ้านผือ วัดโพธิ์ทองวนาราม ม.7 ต.หายโศก วัดโพธิ์ศรี ม.10 ต.จ�ำปาโมง วัดโพธิ์ศรี ม.7 ต.หนองแวง วัดโพธิ์สรีวิไล ม.2 ต.เมืองพาน วัดโพธิศ์ รีสมภรณ์ ม.12 ต.เมืองพาน วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.8 ต.จ�ำปาโมง วัดโพธิ์ศรีสว่าง ม.8 ต.เมืองพาน วัดโพธิ์ศรีสะอาด ม.6 ต.เมืองพาน วัดโพธิ์ศรีสะอาด ม.1 ต.จ�ำปาโมง วัดภูย่าอู่ ม.6 ต.ค�ำด้วง วัดภูหินดัง ม.1 ต.กลางใหญ่ วัดมงคลนิมิตร ม.1 ต.หายโศก วัดโยธานิมิตร ม.4 ต.เมืองพาน วัดล�ำดวน ม.1 ต.เขือน�้ำ วัดลุมพลีวัน ม.2 ต.บ้านผือ วัดวังแสงสามัคคีธรรม ม.14 ต.หายโศก
วัดวันทนียวิหาร ม.7 ต.เมืองพาน วัดวิเศษสรรพคุณ ม.1 ต.ข้าวสาร วัดวิสุทธิมัคคาราม ม.9 ต.บ้านผือ วัดเวฬุวนาราม ม.10 ตเมืองพาน วัดไวกูลฐาราม ม.5 ต.บ้าค้อ วัดศรีชมชื่น ม.3 ต.ข้าวสาร วัดศรีชมชื่น ม.3 ต.กลางใหญ่ วัดศรีบุญเรือง ม.9 ต.ค�ำด้วง วัดศรีบุญเรือง ม.6 ต.จ�ำปาโมง วัดศรีมงคล ม.6 ต.หายโศก วัดศรีรัตนด�ำรง ม.3 ต.จ�ำปาโมง วัดศรีรตั นสัพพัญญู ม.10 ต.จำ� ปาโมง วัดศรีราษฎร์บ�ำรุง ม.4 ต.กลางใหญ่ วัดศรีสง่าธรรม ม.8 ต.ค�ำบง วัดศรีสมพร ม.6 ต.เขือน�้ำ
วัดศรีสว่างมงคล ม.5 ต.หายโศก วัดศรีสว่างอรุณ ม.4 ต.บ้านค้อ วัดศรีสว่างอาราม ม.10 ต.โนนทอง วัดศรีสะอาด ม.1 ต.บ้านผือ วัดศรีส�ำราญ ม.4 ต.ข้าวสาร วัดสุนทริกาวาส ม.4 ต.เขือน�้ำ วัดศรีสูงเนิน ม.2 ต.เขือน�้ำ วัดศรีโสภณ ม.3 ต.บ้านผือ วัดศาสดาราม ม.3 ต.โนนทอง วัดศิลาประดิษฐาราม ม.5 ต.ข้าวสาร วัดสระแก้ว ม.7 ต.บ้านผือ วัดสวนอุบลวนาราม ม.12 ต.หายโศก วัดสว่าง ม.8 ต.กลางใหญ่ วัดสว่างล�ำดวน ม.5 ต.เขือน�ำ้ วัดสว่างศรีชมภู ม.5 ต.โนนทอง วัดสังฆคณาราม ม.1 ต.กลางใหญ่ วัดสามัคคีธรรม ม.5 ต.ค�ำบง วัดสิมมะลี ม.8 ต.เขือน�้ำ วัดสุขธรรมราม ม.3 ต.ค�ำบง วัดสุทธาราม ม.7 ต.ค�ำด้วง วัดสุพรรณาราม ม.6 ต.โนนทอง วัดสุภาวาส ม.2 ต.โนนทอง วัดสุมังคลาราม ม.2 ต.หนองหัวคู วีดแสงสว่าง ม.11 ต.กลางใหญ่ วัดหงษาวดี ม.10 ต.หายโศก วัดหนองด้วง ม.2 ต.เมืองพาน วัดห้วยศิลาผาสุก ม.5 ต.ค�ำด้วง วัดแหลมทอง ม.4 ต.หนองแวง วัดอรัญญิกาวาส ม.12 ต.บ้านผือ วัดอรุณรังษี ม.11 ต.บ้านผือ วัดอัตตวีวิหาร ม.8 ต.โนนทอง วัดอุดมธัญญาผล ม.1 ต.บ้าค้อ วัดอุดมนิคมเขต ม.1 ต.หนองแวง วัดอุดมมหาวัน ม.9 ต.เขือน�ำ้ วัดอุตตมาราม ม.3 ต.หายโศก วัดอุตมาวาส ม.3 ต.บ้านค้อ วัดอุทกโสภาราม ม.5 ต.จ�ำปาโมง
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 157
157
10/9/2562 13:48:13
ท่องเที่ยวทางใจ 1453 วัด "อุ ดรธานี เมืองแห่งประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม"
อ�ำเภอน�้ำโสม วัดกลางแหลมทอง ม.1 ต.น�้ำโสม วัดกุญชรเกษาราม ม.3 ต.โสมเยี่ยม วัดเกาะแก้ว ม.2 ต.หนองแวง วัดแก้วอินทราราม ม.5 ต.บ้านหยวก วัดขันติยานุสรณ์ ม.2 ต.หนองแวง วัดโคเขตตาราม ม.1 ต.นางัว วัดชัยมงคล ม.5 ต.โสมเยี่ยม วัดโชคชัยสามัคคีธรรม ม.2 ต.สามัคคี วัดท่าโสม ม.3 ต.ศรีสำ� ราญ วัดเทพนิมติ ม.3 ต.ศรีส�ำราญ วัดนาเมืองไทย ม.7 ต.น�ำ้ โสม วัดโนนทองค�ำ ม.8 ต.บ้านหยวก วัดโนนผาแดง ม.9 ต.นางัว วัดโนนสมบูรณ์ ม.13 ต.น�ำ้ โสม วัดป่าซ�ำอ้ม ม.11 ต.ศรีส�ำราญ วัดป่าท่าวารีศรีสาคร ม.10 ต.หนองแวง
วัดป่าธรรมาราม ม.8 ต.น�้ำโสม วัดป่าผางาม ม.11 ต.บ้านหยวก
158
วัดป่าภูเขาทอง ม.4 ต.โสมเยี่ยม วัดป่าศิรเิ จริญชัย ม.8 ต.นางัว วัดป่าศิรทิ ศั น์ ม.8 ต.หนองแวง วัดป่าหนองแวง ม.12 ต.หนองแวง วัดป่าหัวช้าง ม.3 ต.โสมเยี่ยม วัดผากลางนา ม.3 ต.สามัคคี วัดโพธิศ์ รีภกั ดี ม.12 ต.ศรีส�ำราญ วัดโพธิศ์ ราสง่า ม.3 ต.น�้ำโสม วัดรัตนคูหา ม.7 ต.ศรีส�ำราญ วัดศรีสำ� ราญ ม.2 ต.ศรีส�ำราญ วัดศรีสพุ ฒ ั นาราม ม.2 ต.โสมเยี่ยม วัดสามัคคีวนาราม ม.6 ต.บ้านหยวก วัดวารีวราราม ม.4 ต.บ้านหยวก วัดแสงนิมติ ร ม.2 ต.น�ำ้ โสม วัดอัมพวัน ม.15 ต.บ้านหยวก วัดอุตตสมาราม ม.1 ต.โสมเยี่ยม วัดอทการาม (อุทธการาม) ม.7 ต.นางัว
วัดอุทธริการาม ม.1 ต.บ้านหยวก
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
.indd 158
10/9/2562 13:48:13
THE IMPORTANT TEMPLES UDONTHANI
อ�ำเภอประจักษ์ศิลปาคม วัดจอมแจ้ง ม.7 ต.ห้วยสามพาด วัดจันทประสิทธาราม ม.10 ต.อมุ่ จาน วัดจันทราราม ม.9 ต.ห้วยสามพาด วัดจันทาธิวาส ม.9 ต.อุ่มจาน วัดจุมพร ม.3 ต.นาม่วง วัดาตุทอง ม.6 ต.อุ่มจาน วัดโนนธาตุ ม.11ต.อุ่มจาน วัดโนนศรีสวัสดิ์ ม.4 ต.นาม่วง
วัดบ้านหนองบ่อ ม.10 ต.จอมศรี วัดบ้านหนองลุมพุก(หนองลุมพุก) ม. 20 ต.บ้านเพ็ญ
วัดป่าโคกกลาง ม.5 ต.นาม่วง วัดป่าเจริญธรรม ม.13 ต.หว้ ยสามพาด วัดป่าประชานิมติ ร ม.8 ต.นาม่วง วัดป่าโพธิการาม ม.12 ต.อุ่มจาน วัดป่าวังแสง ม.10 ต.ห้วยสามพาด
วัดพิชัยพัฒนาราม ม.1 ต.ห้วยสามพาด วัดแพงศรีสว่าง ม.7 ต.นาม่วง วัดโพธิช์ ยั ศรีสว่าง ม.6 ต.นาม่วง วัดโพธิศ์ รีสว่าง ม.3 ต.อุ่มจาน วัดโพธิศ์ รีสว่าง ม.1 ต.นาม่วง วัดมณีวรรณ ม.5 ต.นาม่วง
วัดมัชฌิมาวาส(มัชฉิมาวาส)
ม.2 ต.อุ่มจาน
วัดลุมพินวี นั วราราม ม.1 ต.อุ่มจาน วัดขอนกว้าง ม.2 ต.ห้วยสามพาด วัดวิชยั โสภาราม ม.8 ต.ห้วยสามพาด วัดเวฬุวนั ม.2 ต.นาม่วง วัดศรีบญ ุ เรือง ม.8 ต.นาม่วง วัดศรีบญ ุ เรือง ม.4 ต.อุ่มจาน วัดศรีษะเกษ ม.10 ต.ห้วยสามพาด วัดสามัคคีธรรม ม.10 ต.นาม่วง วัดแสงสว่างธรรมราราม ม.4 ต.ห้วยสามพาด วัดอรุณธรรมรัษี ม.3 ต.ห้วยสามพาด
UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
.indd 159
159
10/9/2562 13:48:13
บันทึกเส้นทาง AEC 4.0
BEAUTIFUL ASEAN BEAUTIFUL LIFE IN UDONTHANI 1. เปิดความงดงามอุดรธานีเมืองศูนย์กลางการค้าอีสานตอนบนสูอ่ าเซียน อุดรธานี ศูนย์กลางการค้าของภาคอีสานตอนบน มีพรมแดนติดกับ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น ก� ำ ลั ง เดิ น หน้ า พั ฒ นาศั ก ยภาพเชื่ อ มโยงการค้ า การลงทุน กับกลุ่มประเทศในอาเซียน ต้อนรับ AEC ด้วยเป็นจังหวัดที่มี ขนาดใหญ่เป็นอันดับ 4 ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย คือมีพื้นที่ถึง 11,730 ตารางกิโลเมตร มีจ�ำนวนประชากร 1,557,298 คน อยู่ห่างจาก หนองคายเพียง 54 กิโลเมตร เดินทางโดยใช้ทางหลวงหมายเลข 2 มุ่งตรง ไปยังสะพานมิตรภาพไทยลาว ข้ามไปยังเมืองท่าเดื่อ ของลาว ซึ่งอยู่ห่าง จากนครเวียงจันทน์ 20 กิโลเมตร จุดนี้เองที่ท�ำให้อุดรธานี เป็นเมือง ยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญในการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน อีกทั้งสามารถ
160
aec
.indd 160
เชื่อมโยงการคมนาคมขนส่งไปถึงลาวตอนเหนือได้ ส่วนการขนส่ง ทางอากาศ สนามบินนานาชาติอุดรธานี เป็นศูนย์กลางการบินในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มี 6 สายการบินรองรับผู้ โดยสาร มีเที่ยวบินขึ้นลง ปีละ 13,734 เทีย่ ว มีผู้โดยสารใช้บริการ 1 ล้าน 6 แสน 82,709 คน อุดรธานี จึงมีการค้า การลงทุนคึกคัก เศรษฐกิจของอุดรธานี เติบโตแบบก้าวกระโดด โดยจีดีพีในปีพ.ศ. 2550 ถึง พ.ศ.2554 จังหวัดอุดรธานี ครองแชมป์ การเติบโตทางเศรษฐกิจสูงสุดในประเทศไทย และล่าสุดการเติบโตทาง เศรษฐกิจ มีมูลค่ากว่า 103,000 ล้านบาท หรือ ขยายตัวไม่ต�่ำกว่า ร้อยละ 6 ต่อปี สูงเป็นอันดับ 4 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จาก www.thairath.co.th )
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
10/9/2562 13:47:52
2. ชวนจีนร่วมอุตสาหกรรมสีเขียวที่นิคมฯ อุดร สืบเนื่องจากบริษัท เมืองอุตสาหกรรมอุดรธานี ร่วมกับการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) ด�ำเนินโครงการ “นิคมอุตสาหกรรม อุดรธานี” ซึ่งมีทุนจดทะเบียน 2,000 ล้านบาท ในเนื้อที่ 2,500 ไร่ ห่างจาก ถนนมิตรภาพ และทางรถไฟอุดรฯ-ขอนแก่น 3 กิโลเมตร โดยขณะนี้ แผนงานโครงการและการศึกษาผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมหรืออีไอเอเสร็จ เรียบร้อยแล้วพร้อมเดินหน้า เชิญชวนนักลงทุนทัง้ ในและต่างประเทศเข้ามา ลงทุนในท�ำเลศักยภาพสูงพร้อมทั้งพื้นที่และระเบียบกฎหมาย สามารถ ลงทุนได้ ในเวลาก�ำหนด ขณะนี้มีนักลงทุนจากจีนสนใจ พร้อมกับเพิ่ม ทีมงานนักอุตสาหกรรมมีประสบการณ์ แวดวงนิคมอุตสาหกรรมในประเทศ และต่างประเทศ เข้ามาช่วยปรับแผนและผังโครงการที่มีแบบร่างไว้แล้วให้ สมบูรณ์ขึ้น ด้วยนิคมอุตสาหกรรมอุดรธานีมีพื้นที่ศักยภาพสูง ห่างจาก สนามบินนานาชาติอุดรธานี 14 กิโลเมตร มีทางรถไฟสายกรุงเทพฯหนองคาย ผ่านพืน้ ทีด่ า้ นตะวันตก และมีสถานีรถไฟหนองตะไก้ อนาคตจะ เป็นรถไฟทางคู่ และรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเป็นเส้นทางเศรษฐกิจส�ำคัญใน อนาคต ท�ำให้อุดรธานีจะเป็นศูนย์กลางเชื่อมได้ทุกภูมิภาค โดยอันดับแรก จะสนับสนุนอุตสาหกรรมแปรรูปยางพาราเข้ามาอยู่ในจุดเดียว ซึง่ ชาวสวน ยางจะได้ราคารับซื้อเป็นธรรม อีกทั้งรองรับแรงงานในพื้นที่ (จาก www.posttoday.com )
3. เขยฝรั่งกับการพัฒนาอุดรธานีรับเออีซี ที่ ห อการค้ า จั ง หวั ด อุ ด รธานี มี ก ารประชุ ม กั บ กรรมการกลุ ่ ม “ Udonthani Expats Club” ชาวต่างชาติจาก ยุโรป อเมริกา และ ออสเตรเลีย ที่มีสมาชิกราว 150 คน ซึ่งอาศัยในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การมีส่วนร่วมในการพัฒนา และอยู่สังคม อย่างเหมาะสม โดยพูดคุยกัน 3 ประเด็น คือ 1. ชาวต่างชาติที่มาอยู่นาน มีความตั้งใจเป็นอาสาสมัครสอนภาษา และ ภาษาต่างๆ ยังไม่มีใบอนุญาตให้ท�ำงานเป็นอาสาสมัครจะต้องท�ำอย่างไร จะได้ถูกต้องตามกฎหมาย 2. ชาวต่างชาติจะมีส่วนร่วมในการพัฒนาอุดรธานีจากสื่อออนไลน์ ได้อย่างไร 3. ชาวต่างชาติในยุคเออีซนี มี้ มี ากขึน้ แต่ยงั มีการใช้ภาษาอังกฤษน้อยมาก โดยเฉพาะป้ายทางราชการ ป้ายประชาสัมพันธ์งานต่างๆ รวมไปถึงการ สื่อสารไปยังชาวต่างชาติผ่านสื่อต่างๆ อาทิ วิทยุ หรือทีวีชุมชน น่าจะมี ภาษาอังกฤษให้เกิดขึ้น จะได้ประโยชน์กับเยาวชนด้วย และ 4. เรื่ อ งปั ญ หาการจราจรของอุ ด รธานี ทางกลุ ่ ม อาสาจะน� ำ เอา ประสบการณ์ การใช้รถใช้ถนนในต่างประเทศ มาแนะน�ำปรับใช้ ในอุดรธานี (จาก facebook ข่าวอุดรวันนี้ @udontoday.news) UDONTHANI I SBL บันทึกประเทศไทย
aec
.indd 161
161
10/9/2562 13:47:52
2.indd 999
3/8/2561 9:24:03
WAT PA SRI KHUNARAM วัดป่าศรีคุณาราม
164
SBL บันทึกประเทศไทย I อุดรธานี
Pause.indd 164
. - 10/09/2562 15:55:32 PM