Phenylketonuria

Page 1


PKU คืออะไร ???

Discovery of Phenylketonuria (PKU) by Dr. Asbjorn Folling จาก http://www.youtube.com/watch?v=JVcbVLUCsqs

ภาวะพร่องเอนไซม ์ย่อยสลายกรดอะมิ โนฟี นิ ลอะลานี น หรือโรคฟี นิ ลคีโตนู เรีย ( Phenylketonuria: PKU ) นักชีวเคมีชาวนอร ์เวย ์ชือ่ Foiling รู ้จัก เป็ นคนแรกในปี ค.ศ. ๑๙๓๔ ถือว่าเป็ นโรคทางพันธุกรรมชนิ ดหนึ่ งที่มีการถ่ายทอดแบบยีน ด ้อย เกิดจากความผิดปกติของการสร ้างเอนไซม ์ที่ทําหน้าที่ย่อยสลาย ่ นกรดอะมิโน กรดอะมิโนฟี นิ ลอะลานี น (Phenylalanine: Phe) ซึงเป็ ที่จําเป็ นชนิ ดหนึ่ ง (Essential amino acid) เมื่อผู ้ป่ วยขาดเอนไซม ์ นี ้ จะทําให ้มีการสะสมฟี นิ ลอะลานี นในเลือดสูง ฟี นิ ลอะลานี นเป็ น ส่วนประกอบของอาหารโปรตีนทุกชนิ ด เช่น เนื ้อสัตว ์ นม ไข่ เป็ น ต ้น เซลล ์สมองถูกทําลายเกิดภาวะปัญญาอ่อนได ้ แต่อาจป้ องกันได ้ ถ ้าได ้รับการวินิจฉัยอย่างทันท่วงทีหลังคลอด และได ้รับการรักษาด ้วย อาหารที่เหมาะสม


กลไกการเกิดโรค

[Ref: http://biochem.md.chula.ac.th/Data/PDF%20files/IEM2555.pdf]

้ ดจากการพร่องของเอนไซม ์ สาเหตุปฐมภูมิของโรคนี เกิ ่ งปฏิกิ ริยาการ phenylalanine hydroxylase ; PAH ซึงเร่ ้ ขนาด เปลี่ยน phenylalanine ให ้เป็ น tyrosine ยีนนี มี ประมาณ 90 kilo baseมี 3 exon อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 12 ตรงตําแหน่ ง q22-24.1 ปัจจุบน ั พบความผิดปกติในระดับยีน ้ งผลต่อทางชีวเคมีและ มากกว่า450 แบบ การขาดเอนไซม ์นี ส่ เมทาบอลิซม ึ ของผูป้ ่ วย


1.การสร ้าง tyrosine ลดลง ส่งผลต่อเนื่ องให ้มีการสร ้าง ฮอร ์โมน epinephrine และรงควัตถุเมลานิ น (melanin pigments) ลดลง ผูป้ ่ วยจึงอาจมีผิวขาว ผมสีจาง ตาสี อ่อนกว่าปกติรวมถึงสมองบางบริเวณที่มีรงควัตถุ เช่น บริเวณ substantialnigra ก็จะมีรงควัตถุนอ้ ยลง

[ref :http://medicaldictionary.thefreedictionary.com/phenylketonuria]

่ ่ 2. การคังของ phenylalanine ในเซลล ์และในเลือด ซึงจะ ส่งผลให ้ผูป้ ่ วยเกิดความพิการทางสมองและสติปัญญาตามมา ้ ได ้ กลไกที่แท ้จริงยังไม่ทราบแน่ ชดั สาเหตุสว่ นนี อาจเกิ ดจาก ้ phenylalanine ที่เพิ่มขึนและแข่ งขันกับกรดอะมิโนตัวอื่นๆที่ ใช ้โปรตีนขนส่งตัวเดียวกัน (transporter) ในการเข ้าสู่เซลล ์ ่ าเป็ นต่อการสร ้างโปรตีนและ สมอง ทําให ้กรดอะมิโนอื่นๆ ซึงจํ สารสื่อประสาท (neurotransmitter) เข ้าสู่เซลล ์สมองได ้ น้อยลง


3. ในภาวะปกติ phenylalanine ส่วนน้อยที่จะเข ้าสู่ pathway ที่เร่งโดยเอนไซม ์ transaminase แต่ใ นผูป้ ่ วย ่ ้ PKU นั้น phenylalanine ที่คังจะเข ้าสู่ pathwayนี มาก ้ ขึนจนกลายเป็ น pathwayหลักได ้ product เป็ น phenylpyruvateหรือ phenylpyruvic acid , phenylactateหรือ phenylactic acid , phenylacetate หรือ phenylacetic acid อันเป็ นสารจําพวกกรด ่ phenylketo acid เมื่อเกิดการคังจะถู กขับออกทางปัสสาวะ ในปริมาณมากขึน้ จึงเรียกว่าโรค phenylketonuria โดยสาร phenylacetate จะทําให ้ผูป้ ่ วยมีกลิ่นตัวและกลิ่น ปัสสาวะเหมือนกลิ่นสาบหนู (musty odor)

[ref :http://www.bio.davidson.edu/Courses/Molbio/MolStudents/spring2005/Castle/assign1home.html]


อาการของโรค PKU

่ เด็กที่เป็ นโรค PKU เมื่อแรกเกิดจะปกติเช่นเด็กทัวๆไป แต่ถ ้าไม่ได ้รับ การวินิจฉัยและให ้การรักษาได ้ทันท่วงที เด็กจะมีพฒ ั นาการล่าช ้า สมองจะมีขนาดเล็กลง มีการเสื่อมสลายของสมองส่วน cortex และ basal ganglia มี gliosis ของ white matter และ ้ myelinization จะช ้าลงหรือไม่เกิดขึนเลย การพัฒนาทางการ ่ งเกตได ้ก่อนอายุ 1 ขวบ การ เคลื่อนไหวและเชาวน์ปัญญาจะช ้า ซึงสั ทําลายต่อระบบประสาทจะเป็ นไปอย่างสมบูรณ์ภายในเวลา 2 ปี หลัง คลอด ดังนั้นผู ้ป่ วยที่ไม่ได ้รับการรักษาส่วนใหญ่จะมีอาการปัญญา อ่อนขนาดรุนแรง (IQ ตํ่ากว่า 50) น้อยกว่าร ้อยละ 10 ที่ IQ จะ ปกติ หรือมีอาการปัญญาอ่อนขนาดน้อย


ลักษณะอื่นที่พบคือ ผู ้ป่ วยจะมีรป ู ร่างเตีย้ หัวเล็ก และฟันหน้าห่าง ่ าจะเกิดจากการ ร่วมกับมีอาการของระบบ Extra pyramidal ซึงน่ เหี่ยวของสมองส่วน frontal cortex ได ้แก่ มีลาํ ตัวโค ้งงอ กล ้ามเนื ้อ ่ เกร็ง reflex ไว และหลายคนมีอาการสันและอาการบิ ดของใบหน้า แขนขา หรือลําตัว ประมาณ 1 ใน 4 ของผู ้ป่ วยจะมีอาการช ัก และ คลื่นสมองผิดปกติ สีของผิวหนังและเส ้นผมจางกว่าปกติ มีผื่น ลักษณะคล ้ายโรคแพ ้ผื่นคัน กลิ่นปัสสาวะผิดปกติ และอาการ ผิดปกติจะแสดงเมื่อทารกมีอายุหลัง 6 เดือน หลังจากที่สมองของ ผู ้ป่ วยถูกทําลายอย่างถาวรแล ้ว


การวินิจฉัยโรค PKU 1. การตรวจปัสสาวะหาจํานวน phenylketone และอนุ พน ั ธุ ์ ได ้แก่ phenylpyruvateและ phenylacetate ในปัสสาวะ ทําได ้ โดยการวัด phenylpyruvic acid ด ้วย ferric chloride test โดย ใช ้ 10% ferric chloride 3-5 หยด ผสมในปัสสาวะของผู ้ป่ วย 1 cc. phenylpyruvic acid จะทําให ้ปัสสาวะเปลี่ยนเป็ นสีเขียวมรกต (emerald green) เมื่อเกิดปฏิกิ รย ิ า และจะจางหายไปในเวลา 20้ ้เพราะการตรวจเฉพาะในปัสสาวะอาจได ้ผล false 40 นาที ทังนี positive ได ้ และการตรวจ ในปัสสาวะควรทําในระยะ 3-9 สัปดาห ์ หลังคลอด เพราะก่อนหน้านี ้โดยเฉพาะ 1 สัปดาห ์แรก phenylalanine ในเลือดจะยังไม่ถก ู ข ับออกมาทางปัสสาวะ จึงอาจ ตรวจไม่พบ การตรวจเลือดอย่างเดียวก็อาจทําให ้วินิจฉัยผิดพลาดได ้ เพราะเด็กบางคนจะมีระดับ phenylalanine สูงโดยไม่เป็ น โรค และ ในเด็กพวกนี ้จะไม่พบ phenylketone ในปัสสาวะ บางรายระดับ phenylalanine ในเลือดจะสูงอยูถ ่ ึง 6 เดือน


2. ตรวจหาปริมาณของ phenylalanine ในเลือด (ในนํ ้าไข สันหลัง และในเหงื่อ) หรือเจาะเลือดที่ส ้นเท ้าการตรวจทางห ้องทดลอง เพื่อการวินิจฉัยที่แน่ นอน

ในเลือด ทําได ้โดยการเจาะเลือดทารก หลังจากกินนมหรือโปรตีนทดแทนนม แล ้วส่งตรวจหา phenylalanine ทําให ้ ้ สามารถวินิจฉัยเด็กที่เป็ นโรคนี ้ได ้ตังแต่ กําเนิ ด แต่ยงั ไม่แสดงอาการ พบความ ผิดปกติ phenylalanine มากกว่า ่ั 4mg/dL ต ้องติดตามเด็กมาเจาะซีรม เพื่อตรวจยืนยันระดับ phenylalanine อีกครัง้ หากพบว่าระดับ phenylalanine ยังอยูใ่ นระดับที่แพทย ์ วินิจฉัยว่าต ้องได ้รับนมพิเศษ ให ้รีบนํ า เด็กมาพบแพทย ์ทันที

Newborn screening for PKU จาก http://www.youtube.com/watch?v=VyDVVK_wHNg


PKU สามารถรักษาได ้หรือไม่ ??? ไม่สามารถรักษาให ้หายขาดได ้ แต่สามารถป้ องกันไม่ให ้ เกิดเป็ นภาวะปัญญาอ่อนได ้ โดยทารกที่เป็ นโรค PKU ต ้องดื่มนมพิเศษที่สกัดสารฟี นิ ลอะลานี นออกไปแล ้ว แต่ ในขณะเดียวกันร่างกายก็ยงั จําเป็ นต ้องได ้รับฟี นิ ลอะลานี น ่ นกรดอะมิโนที่ร่างกายไม่ ซึงเป็ สามารถสร ้างเองได ้ ดังนั้น ทารกที่เป็ นโรคนี ้จึงต ้องดื่มนม พิเศษร่วมกับนมธรรมดา


หลีกเลี่ยงอาหารที่มีสาร ฟี นิ นอะลานี น เช่น เนื ้อสัตว ์ เนย ไข่ ถัว่ และผู ้ป่ วยไม่ ควร รับประทานนํ ้าตาลเทียม aspartame เพราะจะสลายตัวให ้ phenylalanine ได ้ นอกจากนี ้ ต ้องระวังไม่ให ้ผู ้ป่ วยเกิดการขาด สารอาหารเพราะจะทําให ้ร่างกายมี การสลายโปรตีนและ phenylalanine ออกมามากขึน้ วิธด ี งั กล่าวสามารถช่วยให ้เด็กที่เป็ น โรค PKU มีพฒ ั นาการและระดับ สติปัญญาเหมือนเด็กปกติได ้


Reference 1.

Healthcare and Laboratory Diagnostic Information. Phenylketonuria. (2556). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2556 จาก http://www.thailabonline.com/pku.htm

2.

บทความการดูแลสุขภาพและเคล็ดลับเพื่อสุขภาพ . Phenylketonuria. (2555). [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2556 จาก http://www.healthcarethai.com/phenylketonuria

3.

พิสฏ ิ ฐ ์ ประพันธ ์วัฒนะ. ความผิ ดปกติทางเมแทบอลิ ซม ึ (Inherited Metabolic Disorders). (2555). [ออนไลน์]สืบค้นเมื่อ 28 มกราคม 2556 จาก http://biochem.md.chula.ac.th/Data/PDF%20files/IEM2555.pdf


กลุม ่ ที่ 25 ธนโชติ เสริมพงศ ์

08530065

่ นัฐช ัย ใจชืน

08530080

ฝนทิพ ปุพพะธีราวณิ ชย ์ 08530106 พงศ ์ภัค แสนยาอุโฆษ

08530108

ภัทราภรณ์ เปี่ ยมเจริญสุข 08530128 ลดารัตน์ ปรัตถคจริยา

08530142


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.