SEAFCO: Annual Report 2009 (Thai)

Page 1


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

สาส์ นจากประธานกรรมการ ในปี 2552 ที่ผา่ นมาธุรกิจโดยทัว่ ไปยังมีความลําบากที่จะคาดการณ์ได้ วา่ จะดีกว่าปี 2551 หรื อไม่ แม้ ว่าผลกระทบจาก ภาวะเศรษฐกิจโลกจะลดความรุ นแรงลง แต่ก็ไม่มีปัจจัยอื่นใดที่จะสร้ างความเชื่ อมั่นให้ นักลงทุน ภายในประเทศยังมี ปัญหา การเมือง แม้ ว่าราคานํ ้ามันและวัสดุก่อสร้ างผันผวนรุ นแรงเช่นปี ก่อนและอยู่ในวิสยั ที่ยอมรับได้ แต่สภาพโดยรวมมิได้ สร้ างความ มัน่ ใจในการลงทุน ทําให้ ธุรกิจด้ านการก่อสร้ างโดยเฉพาะธุรกิจหลักของบริ ษัท ซึ่งเป็ นงานต้ นนํ ้าจึงได้ รับผลกระทบ จะเห็นว่าจาก ้ ต้นปี คือ ผลประกอบการในไตรมาสแรก มีมลู ค่าน้ อยมาก บริ ษัทจําเป็ นต้ องวางแผนเตรี ยมรับกับสภาพการในปี 2552 นี ้ ตังแต่ พยายามเพิ่มประสิทธิ ภาพในงานและประหยัดค่าใช้ จ่าย ควบคุมการทํางานมิให้ เกิดความเสียหาย สิ่งเหล่านี ต้ ้ องอาศัยความ ร่วมมือกับทุกฝ่ ายและผู้บริ หารระดับสูงต้ องเข้ ามาควบคุมใกล้ ชิด อย่า งไรก็ ต ามเมื่ อ รั ฐ บาลมี น โยบายสนับ สนุน โครงการไทยเข้ มแข็ ง ซึ่ง ส่ง เสริ ม งานภาคก่ อ สร้ าง มี ร ายได้ เ พิ่ ม ขึ น้ โดยเฉพาะโครงการเมกกะโปรเจค เช่น รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สายสีมว่ ง ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 รัฐบาลได้ เปิ ดประมูลและผลักดันให้ ั ้ านฐานรากและโครงสร้ าง รวมถึงวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เร่งดําเนินการก่อสร้ างในปี 2552 นี ้ มีผลให้ เกิดงานก่อสร้ างขนาดใหญ่ทงด้ และงานก่อสร้ างสาธารณูปโภคอื่น ๆ ทําให้ ผลประกอบการของบริ ษัทในไตรมาสที่ 3 มีมลู ค่าสูงที่สดุ และสามารถเพิ่มรายได้ ปี 2552 เป็ น 1,785.43 ล้ านบาท ซึง่ สูงกว่าปี 2551 ซึง่ มีรายได้ 1,589.82 ล้ านบาท คิดเป็ นอัตราเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 12.30 สําหรับปี 2553 นี ้ บริ ษัทจะพยายามทํารายได้ ให้ มากกว่าปี 2552 นอกเหนือจากงานเสาเข็มและงานกําแพงกันดินแล้ ว ้ ้ก็ ยังจะต้ องขยายและเพิ่มรายได้ ด้านก่อสร้ างสาธารณูปโภค และมีผลกําไรเพิ่มขึ ้น หากไม่กระทบจากเหตุการณ์ ที่ไม่คาดคิด ทังนี ต้ องขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่ให้ การสนับสนุนและช่วยเหลือบริ ษัทมาด้ วยดีโดยตลอด และรวมถึงผู้บริ หารและพนักงานทุกท่านที่ได้ ทุม่ เททํางานให้ แก่บริษัท ให้ สามารถทํากําไรในปี ที่ผา่ นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ถือหุ้นที่ให้ ความเชื่อมัน่ และสนับสนุนเสมอมา

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ ประธานกรรมการ

หน้ า 1


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) สารจากประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปี พ.ศ. 2552 ที่ผา่ นมาถือได้ วา่ เป็ นปี ที่ผ้ ปู ระกอบการก่อสร้ างต่างประสบความยากลําบากในการหางานมาทํากําไรที่ดีได้ เนื่องจากผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยทัว่ โลกที่เกิดขึ ้นในปี พ.ศ. 2551 ยังไม่หมดสิ ้นไป ผลกระทบต่อเนื่องยังมีอยู่ให้ เห็น ้ นจึงยังมีไม่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศ ได้ ทวั่ โลก เมื่อการลงทุนยังไม่เกิดขึ ้นเต็มที่ การก่อสร้ างที่เป็ นบันไดขันแรกของการลงทุ ไทยยังมีเหตุการณ์ ทางการเมืองบางประการเกิดขึ ้น จนทําให้ นกั ลงทุนบางส่วนมีการชะลอการลงทุน งานก่อสร้ างใหม่ๆ ขนาด ใหญ่มีน้อย จึงส่งผลให้ การแข่งขันและการตัดราคางานยังมีอยูม่ าก อย่างไรก็ตามยังมีสญ ั ญาณสิ่งที่ดีเกิดขึ ้นในแวดวงการก่อสร้ างในปี พ.ศ. 2552 อยู่บ้าง คือราคานํ ้ามันในแต่ละไตรมาส ไม่ขึ ้นหรื อลงต่างกันมาก ทําให้ ราคาวัสดุก่อสร้ างราคาค่อนข้ างคงที่ ต้ นทุนการก่อสร้ างจึงสามารถควบคุมได้ ดีกว่าปี พ.ศ. 2551 มาก นอกจากนันแล้ ้ วงานโครงการเมกกะโปรเจคภาครัฐหลายโครงการ ที่รัฐบาลสามารถผลักดันให้ เกิดขึ ้นได้ จริ งในปี พ.ศ. 2552 โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานโครงการก่อสร้ างรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีม่วงตอนที่ 1 และตอนที่ 2 ที่รัฐบาลได้ ผลักดันให้ เริ่ มมีการ ก่อสร้ างได้ จริ งในปลายปี พ.ศ. 2552 จึงเป็ นสิ่งที่จะทําให้ ผ้ ปู ระกอบการก่อสร้ างขนาดใหญ่และบริ ษัทที่มีเครื่ องจักรและเครื่ องมือ สําหรับงานเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ที่จะใช้ ในโครงการนี ้มัน่ ใจว่าในปี พ.ศ. 2553 นี ้ ธุรกิจก่อสร้ างในประเทศจะมีมลู ค่าเพิ่มขึ ้นหลาย สิบเปอร์ เซ็นต์อย่างแน่นอน ซึง่ จะทําให้ บริษัทสามารถใช้ บคุ ลากรและอุปกรณ์เครื่ องจักรที่มีอยูไ่ ด้ อย่างเต็มกําลัง ณ สิ ้นปี พ.ศ. 2552 บริ ษัทยังมีงานในมือที่ยงั ไม่ได้ ส่งมอบ (Backlog) เหลืออยู่ประมาณ 1,400 ล้ านบาท ที่ยงั ไม่ได้ รวม มูลค่างานเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ในโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีม่วงและงานที่จะประมูลเพิ่มเติมได้ อีกระหว่างปี พ.ศ. 2553 จึงพอจะคาดได้ วา่ การดําเนินงานในปี พ.ศ. 2553 ที่จะถึงนี ้บริษัทไม่ควรจะทําได้ ตํ่ากว่าปี พ.ศ. 2552 ที่ทําผลประกอบการได้ ้ ษัท ซีฟโก้ เรี ยวบิ จํากัด ที่บริ ษัทได้ ลงทุนไว้ ที่ 47.5% ของทุน ประมาณ 1,785 ล้ านบาท และมีกําไรสุทธิ 51.51 ล้ านบาท อีกทังบริ จดทะเบียนในประเทศสิงคโปร์ ก็เริ่มรับงานได้ มากขึ ้น ซึง่ เป็ นสิง่ ที่เสริมให้ ผลประกอบการสูงได้ มากยิ่งขึ ้นอีกทางหนึง่ ด้ วย ข้ าพเจ้ าในฐานะผู้บริหารสูงสุดของบริษัท และพนักงานทุกระดับมีความพร้ อมที่จะบริ หารบริ ษัทให้ สามารถฟั นฝ่ าอุปสรรค ในภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยให้ มีความก้ าวหน้ าไปได้ อย่างมัน่ คงได้ และขอขอบคุณพนักงาน ผู้บริ หาร ผู้ถือหุ้น และลูกค้ าทุกรายที่ ได้ ให้ การสนับสนุนบริษัทมาโดยตลอด

นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ ประธานกรรมการบริหาร และ กรรมการผู้จดั การใหญ่

หน้ า 2


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ข้ อมูลทางการเงินโดยสรุ ป

รายได้ รวม / Total Revenue รายได้ จากการรับจ้ าง / Income from hire work กําไรขันต้ ้ น / Gross Profit กําไรสุทธิ / Net Profit สินทรัพย์รวม / Total assets หนี ้สินรวม / Total liabilities ส่วนของผู้ถือหุ้น / Shareholders’ Equity อัตรากําไรขันต้ ้ น / Gross Margin อัตรากําไรสุทธิ / Net profit margin อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม / Return on Assets อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น / Return on Equity กําไรต่อหุ้น / Earning per share ราคาตามบัญชีตอ่ หุ้น / Book value per share

FINANCIAL HIGHLIGHTS

ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท ล้ านบาท

/ Million Baht / Million Baht / Million Baht / Million Baht / Million Baht / Million Baht / Million Baht (%) (%) (%) (%) บาท บาท

2550 2007 1,862 1,855 204 23 1,422 821 601 11 1 7 4 0.11 2.80

2551 2008 1,622 1,590 104 12 1,501 898 603 7 1 1 2 0.05 2.80

2552 2009 1,827 1,785 158 52 1,640 986 654 9 3 4 8 0.24 3.04

หน้ า 3


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

ข้ อมูลทั่วไป ชื่อบริ ษัท ที่ตงสํ ั ้ านักงานใหญ่

: :

เลขทะเบียนบริ ษัท โทรศัพท์ โทรสาร โฮมเพจของบริษัท E-Mail Address

: : : : :

นายทะเบียนหลักทรั พย์ ชื่อบริษัท : ที่ตงสํ ั ้ านักงานใหญ่ : โทรศัพท์ โทรสาร

: :

ผู้สอบบัญชี ชื่อผู้สอบบัญชี ชื่อบริษัท ที่ตงสํ ั ้ านักงาน

: : :

โทรศัพท์ โทรสาร

: :

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) 144 ถนนพระยาสุเรนทร์ แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510 10 75470 00257 (662) 919-0090-7 (662) 919-0098, 518-3088 www.seafco.co.th seafco@seafco.co.th

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ชัน้ 4 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 (662) 229-2800 (662) 359-1261, 359-1257

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์ ผู้สอบบัญชีอนุญาตเลขที่ 3104 สํานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ 316/32 ซอยสุขมุ วิท 22 ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 (662) 259-5300 (662) 260-1553

หน้ า 4


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

VISION (วิสัยทัศน์ ) TO BE THE REPUTABLE LEADER IN CONSTRUCTION INDUSTRY OF ASIA. เป็ นบริษัทรับเหมาก่อสร้ างชันนํ ้ าแห่งเอเซีย

MISSION (ภาระกิจ) TO PROVIDE CLIENTS WITH QUALITY SERVICES BY COMPETENT MANAGEMENT SAFETY AND ENVIRONMENT บริการลูกค้ าด้ วยคุณภาพและความชํานาญ โดยคํานึงถึงความปลอดภัยและสิง่ แวดล้ อม

หน้ า 5


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

ข้ อมูลสรุ ป (Executive Summary) บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) (บริ ษัท) มีชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า SEAFCO Public Company Limited จดทะเบียน ก่อตังเป็ ้ นบริษัทจํากัดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2517 โดยเกิดจากการรวมตัวของวิศวกร 3 คน คือ นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ นาย ทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ และนายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ ซึง่ มีประสบการณ์มายาวนานในวงการธุรกิจการทําเสาเข็ม เจาะขนาดใหญ่ในประเทศ จนเป็ นที่ร้ ู จกั และยอมรับโดยทัว่ ไปของผู้ออกแบบ บริ ษัทวิศวกรที่ปรึ กษาและเจ้ าของโครงการ ต่างๆ บริ ษัทดําเนินธุรกิจให้ บริ การเสาเข็มเจาะและกําแพงกันดินประเภท Diaphragm Wall งานฐานราก และงาน โครงสร้ างพื ้นฐาน โดยในปี 2552 มีสดั ส่วนของงานจากภาคเอกชนเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 45 ส่วนที่เหลืออีกร้ อยละ 55 มาจาก ภาครั ฐ บาล งานในภาคเอกชน เช่ น งานฐานรากอาคารสํ า นัก งาน อาคารชุด โรงแรม ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ในส่ว นของ ภาครัฐบาล เช่น อาคารจอดรถใต้ ดิน, ทางลอดถนน, งานถนน งานสะพาน เป็ นต้ น ซึ่งงานที่รับมาอาจเป็ นการประมูลงาน โดยตรงกับเจ้ าของโครงการ หรื อประมูลงานโดยการรับเหมาช่วง นอกจากนี ้บริ ษัทยังมีบริ การปรับปรุ งคุณภาพดิน, บริ การ ทดสอบเสาเข็ม และงานบริการฐานราก ในกลุม่ บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ประกอบด้ วย -

บริ ษัท ซีฟโก้ คอนสตรัคชัน่ จํากัด โดยมีสดั ส่วนการถือหุ้นร้ อยละ 99.94 ของทุนชําระแล้ ว 1 ล้ านบาท เพื่อ ประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้ างทัว่ ไป สําหรับงานก่อสร้ างขนาดเล็กและขนาดกลาง ปั จจุบนั ยังมิได้ ดําเนินธุรกิจ ใดๆ

-

บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด และ บริ ษัท ประยูรชัย (1984) จํากัด ร่ วมค้ า เพื่อรับเหมาโครงการก่อสร้ างทางลอดกลับ รถยนต์บนถนนพัฒนาการ กับทางกรุ งเทพมหานคร ซึ่งปั จจุบนั ได้ ดําเนินโครงการดังกล่าวเสร็ จสิ ้นแล้ ว ทังนี ้ ้ บริษัทไม่มีนโยบายจะใช้ กิจการร่วมค้ าดังกล่าว ประมูลงานอื่นๆ อีกในอนาคต

-

บริษัท ซีฟโก้ – เรี ยวบิ จํากัด เป็ นบริษัทที่จดั ตังขึ ้ ้นที่ประเทศสิงค์โปร์ โดยมีสดั ส่วนการถือหุ้นร้ อยละ 47.50 เพื่อ ประกอบธุรกิจรับเหมากําแพงกันดิน ที่ประเทศสิงค์โปร์

-

กิจการร่วมค้ า ซีฟโก้ และประยูรชัย (1984) โดยมีสดั ส่วนร่ วมค้ าอยู่ร้อยละ 45 เพื่อรับเหมาก่อสร้ างถนนไมตรี จิตและคลองเก้ า กับทางกรุงเทพมหานคร ซึง่ เริ่มก่อสร้ างในปี 2551

-

กิจการร่วมค้ า ศรี นครินทร์ โดยมีสดั ส่วนร่วมค้ าอยู่ร้อยละ 30 เพื่อรับเหมาก่อสร้ างทางลอดศรี นคริ นทร์ กับถนน สุขมุ วิท 103 (อุดมสุข) กับทางกรุงเทพมหานคร ซึง่ เริ่มก่อสร้ างในปี 2551

ในช่วงตังแต่ ้ ปี 2550 ถึง 2552 บริ ษัทมีรายได้ รวมเท่ากับ 1,862.03 ล้ านบาท 1,621.65 ล้ านบาท และ 1,797.32 ล้ านบาท ตามลําดับ โดยส่วนใหญ่เป็ นรายได้ จากการรับจ้ าง หรื อคิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 99 เท่ากันทัง้ 3 ปี รายได้ เมื่อแบ่งตาม สายผลิตภัณฑ์ในช่วงตังแต่ ้ ปี 2550 ถึง 2552 พบว่า รายได้ เสาเข็มเจาะและกําแพงดิน มีสดั ส่วนประมาณร้ อยละ 72.25, ร้ อย ละ 68.75 และร้ อยละ 44.17 รายได้ สว่ นนี ้ลดลงมาตลอดในงวด 3 ปี ที่ผา่ นมาซึง่ เกิดจากสภาวะเศรษฐกิจมีการชะลอตัวลงมา

หน้ า 6


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ตังแต่ ้ ปี 2550 ซึ่งมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมก่อสร้ างเสาเข็มอาคารสูงภาคเอกชนมาโดยตลอด รวมถึงสภาวะทางการเมือง ภายในประเทศ ก็ทําให้ อตุ สาหกรรมก่อสร้ างเสาเข็มอาคารสูงภาคเอกชนยังคงชะลอตัว รายได้ งานโยธามีสดั ส่วนประมาณ ร้ อยละ 7.59 ร้ อยละ 20.43 และร้ อยละ 36.07 เนื่องจากอุตสาหกรรมก่อสร้ างเสาเข็มอาคารสูงภาคเอกชนยังมีปัญหา บริ ษัท ฯ จึงได้ ขยายตัวไปรับงานทางด้ านงานโยธาจากภาครัฐบาลเพิ่มมากขึ ้น เพื่อมาชดเชยรายได้ บางส่วนที่หายไป ที่เหลืออีกร้ อย ละ 19.78 ร้ อยละ 10.10 และร้ อยละ 18.52 เป็ นรายได้ ในส่วนของงานก่อสร้ างฐานรากลึก, ปรับปรุ งคุณภาพดิน บริ การ ทดสอบเสาเข็ม และรายได้ บริการอื่น ้ น 204.07 ล้ านบาท, 104.08 ล้ านบาท และ 157.93 ล้ านบาท กําไรขันต้ ้ นของปี 2550 ถึง 2552 บริ ษัทมีกําไรขันต้ โดยที่กําไรขัน้ ต้ นของปี 2551ลดลงจากปี 2550 ร้ อยละ 49 สาเหตุมาจากราคาวัตถุดิบหลักคือเหล็ก มีความผันผนวนเป็ น ้ นเพิ่มขึ ้น จํานวนมาก โดยราคาเพิ่มขึ ้นจนไม่สามารถจะควบคุมได้ จึงทําให้ อตั รากําไรขันต้ ้ นลดลง ส่วนในปี 2552 มีกําไรขันต้ ร้ อยละ 51.75 ไม่มีการผันผวนของราคาวัตถุดิบ บริษัทสามารถควบคุมได้ รวมทังมี ้ การบริหารควบคุมต้ นทุนได้ ดีขึ ้น สําหรับกําไรสุทธิของปี 2550 ถึง 2552 บริ ษัทมีกําไรสุทธิเท่ากับ 22.73 ล้ านบาท 11.61 ล้ านบาท และ 51.51 ล้ าน บาท โดยกําไรสุทธิปี 2551 ลดลงจากปี 2550 เท่ากับร้ อยละ 48.91 และของปี 2552 สูงกว่าปี 2551 เท่ากับร้ อยละ 343.53 เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2547 มีมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ให้ ลดทุนจดทะเบียนจากเดิม 210 ล้ านบาท เป็ น 160 ล้ านบาท และเพิ่มทุนจํานวน 55 ล้ านบาท ( หุ้นสามัญ 55 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท) โดยจัดสรรหุ้นเพิ่มทุน 50 ล้ านหุ้น เสนอขายต่อประชาชนทัว่ ไป และส่วนที่เหลือสํารองไว้ เพื่อการรองรับการใช้ สิทธิ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ซื ้อหุ้นสามัญของ บริษัทให้ แก่กรรมการและพนักงาน จํานวน 5 ล้ านหุ้น โดยไม่คิดมูลค่า อัตราการใช้ สิทธิ 1 หน่วยต่อ 1 หุ้นสามัญ ราคาใช้ สิทธิ เท่ากับ 5 บาทต่อหุ้น อายุ 3 ปี นับแต่วนั ที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ และเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2547 บริ ษัทฯ ได้ ออกใบสําคัญ แสดงสิทธิให้ กบั กรรมการและพนักงานของบริษัท เมื่ อ วัน ที่ 31 ตุลาคม 2548 เป็ นวัน ใช้ สิท ธิ ข องใบสํา คัญ แสดงสิท ธิ ที่ จะซื อ้ หุ้น สามัญ ที่ ข ายให้ แ ก่ก รรมการและ พนักงานของบริ ษัท ครัง้ ที่ 1 ผลของการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญปรากฎว่าไม่มีผ้ มู าใช้ สิทธิแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิเป็ นหุ้น สามัญ ในครัง้ ที่ 1 นี ้ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2549 เป็ นวันใช้ สิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่จะซือ้ หุ้นสามัญที่ขายให้ แก่กรรมการ และ พนักงานของบริ ษัทครัง้ ที่ 2 ผลของการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญ ปรากฎว่าไม่มีผ้ มู าใช้ สิทธิแปลงสภาพใบสําคัญแสดงสิทธิเป็ นหุ้น สามัญในครัง้ ที่ 2 นี ้ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2549 เป็ นวันที่ใช้ สทิ ธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญที่ขายให้ แก่กรรมการ และพนักงานของ บริษัท ครัง้ ที่ 3 ผลของการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญปรากฏว่ามีผ้ ใู ช้ สทิ ธิจํานวน 20 ราย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่ใช้ สทิ ธิครัง้ นี ้ 1,518,000 หน่วย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่คงเหลืออยู่ 3,482,000 หน่วย จํานวนหุ้นสามัญที่จดั สรรเพื่อการ ใช้ สิทธิครัง้ นี ้ 1,518,000 หุ้น จํานวนคงเหลือของหุ้นสามัญที่จดั สรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ 3,482,000 หุ้น จํานวนเงินที่ได้ รับจากการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี ้จํานวนเงินรวม 7,590,000.00 บาท

หน้ า 7


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2550 เป็ นวันที่ใช้ สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื ้อหุ้นสามัญที่ขายให้ แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท ครัง้ ที่ 4 ผลของการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญปรากฎว่ามีผ้ มู าใช้ สิทธิจํานวน 121 ราย จํานวนใบสําคัญแสดง สิทธิที่ใช้ สิทธิครัง้ นี ้ 2,002,000 หน่วย จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่คงเหลืออยู่ 1,480,000 หน่วย จํานวนหุ้นสามัญที่จดั สรร เพื่อการใช้ สิทธิ ครัง้ นี ้ 2,002,000 หุ้น จํานวนคงเหลือของหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อรองรับการใช้ สิทธิ ของใบสําคัญแสดงสิทธิ 1,480,000 หุ้น จํานวนเงินที่ได้ รับจากการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิในครัง้ นี ้ จํานวนเงินรวม 10,010,000 บาท เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2550 เป็ นวันที่ใช้ สิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ จะซื ้อหุ้นสามัญที่ขายให้ แก่กรรมการและ พนักงานของบริ ษัท ครัง้ ที่ 5 ซึ่งเป็ นครัง้ สุดท้ าย ผลของการใช้ สิทธิซื ้อหุ้นสามัญปรากฎว่ามีผ้ มู าใช้ สิทธิจํานวน 130 ราย จํ านวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ใช้ ในครั ง้ นี ้ 1,480,000 หน่วย จํานวนหุ้นสามัญที่จัดสรรเพื่อการใช้ สิทธิ ในครั ง้ นี จ้ ํ านวน 1,480,000 หุ้น จํ านวนเงินที่ได้ รับจากการใช้ สิทธิ ซือ้ หุ้นสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิ ในครัง้ นี จ้ ํานวนเงินรวม 7,400,000 บาท เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ รับรางวัล บริ ษัทจดทะเบียนดีเด่นด้ านการลงทุน สัมพันธ์ (IR Excellence Awards) ในงาน SET Awards 2009

หน้ า 8


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริ ษัทดําเนินธุรกิจเป็ นผู้รับก่อสร้ างงานฐานรากและงานโยธาทัว่ ไป โดยรับงานทังจากภาคราชการและภาคเอกชน ้ บริษัทสามารถรับงานโดยตรงจากเจ้ าของโครงการหรื อรับงานช่วงต่อ (Sub-contract) จากผู้รับเหมาก่อสร้ างหลัก (Main Contractor) ภาพรวมของงานที่บริ ษัทให้ บริการสามารถสรุปได้ ดงั นี ้ • งานเสาเข็มเจาะ (Bored Pile) • งานกําแพงกันดิน (Diaphragm Wall) • งานก่อสร้ างโยธา ซึง่ รวมถึงงานฐานรากต่างๆ และงานก่อสร้ างอาคาร • งานปรับปรุงคุณภาพดิน • งานบริการทดสอบต่างๆ โครงสร้ างรายได้ ของกลุม่ บริษัท แยกตามสายผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ รายได้ จากการรั บจ้ าง รายได้ งานเสาเข็มเจาะ รายได้ งานกําแพงกันดิน รายได้ งานก่อสร้ างโยธา รายได้ งานฐานราก รายได้ ปรับปรุงคุณภาพดิน รายได้ คา่ บริการทดสอบเสาเข็ม รายได้ คา่ บริการอื่นๆ รวมรายได้ จากการรับจ้ าง รายได้ อื่นๆ รวมรายได้

ปี 2550 ล้ านบาท %

ปี 2551 ล้ านบาท %

ปี 2552 ล้ านบาท %

1,159.93 185.47 141.28 230.10 36.70 26.96 74.44 1,854.88 7.15 1,862.03

826.13 288.59 331.32 77.38 25.80 16.58 44.18 1,609.98 11.67 1,621.65

712.53 81.40 648.25 240.32 35.50 8.85 48.15 1,775.00 22.32 1,797.32

62.29 9.96 7.59 12.36 1.97 1.45 4.00 99.62 0.38 100.00

50.95 17.80 20.43 4.77 1.59 1.02 2.72 99.28 0.72 100.00

39.64 4.53 36.07 13.37 1.98 0.49 2.68 98.76 1.24 100.00

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน ภาวะธุรกิจให้ บริการเสาเข็มเจาะและงานกําแพงกันดินซึง่ เป็ นส่วนสําคัญในการวางรากฐานสําหรับการก่อสร้ างอาคาร และโครงสร้ างพื ้นฐาน ซึง่ จะแปรผันตามการขยายตัวของธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์และการก่อสร้ างในประเทศของทังภาครั ้ ฐและ ภาคเอกชน โดยจําแนกเป็ นงานก่อสร้ างฐานรากสําหรับอาคารสํานักงาน อาคารชุด โรงแรม ศูนย์สรรพสินค้ า และงาน โครงสร้ างพื ้นฐานสําหรับ ทางยกระดับ อุโมงค์ลอดทางแยก ถนน สะพาน และรถไฟฟ้าใต้ ดิน เนื่องจากการรับเหมางานฐาน รากประเภทเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ และกําแพงกันดินต้ องอาศัยเครื่ องจักรขนาดใหญ่ จากประสบการณ์ ในการทํางานที่ ยาวนานถึง 34 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเชี่ยวชาญในงานฐานรากจากประสบการณ์และความคุ้นเคยของดินในประเทศ

หน้ า 9


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ไทยมากกว่าผู้ประกอบการจากต่างประเทศ ฐานะทางการเงินที่มนั่ คง และความสัมพันธ์ อนั ดีกบั ผู้รับเหมาหลัก ผู้ออกแบบ ลูกค้ าที่เป็ นเจ้ าของโครงการ และผู้จัดจํ าหน่า ยวัสดุก่อ สร้ าง จึงได้ รับความเชื่ อถื อจากบุคคลที่เกี่ ยวข้ อง ทํ าให้ บริ ษัท ฯ สามารถประมูลงานแข่งขันกับคูแ่ ข่งที่มีอยูใ่ นตลาดมีเพียงไม่กี่รายได้ ในปี 2552 ธุรกิจทางด้ านเสาเข็มเจาะสําหรับอาคารขนาดใหญ่และกําแพงไดอะแฟรม วอลล์ ภาคเอกชนโดยทัว่ ไป ยังไม่ฟืน้ ตัว เนื่องจากการลงทุนด้ านตึกสูงยังมีไม่มากจะเห็นได้ ว่ารายได้ งานเสาเข็มเจาะและกําแพงไดอะแฟรมวอลล์ในปี 2552 ยังตํ่ากว่าปี 2551 และมีการแข่งขันด้ านราคามาก ในปี 2553 เชื่อว่าธุรกิจเสาเข็มเจาะและกําแพงไดอะแฟรมวอลล์ น่าจะเริ่ มดีอย่างเห็นได้ ชดั เนื่องจากงานรถไฟฟ้า ยกระดับสายสีม่วงทัง้ 2 ตอนเริ่ มมีการก่อสร้ างจริ ง ทําให้ ผ้ ูประกอบการในตลาดเริ่ มมีเครื่ องมือไม่พอบริ การในตลาด ผล ประกอบจะดีขึน้ มาก โดยผลประกอบการจากรถไฟฟ้าจะเริ่ มเห็นชัดเจน ตัง้ แต่ไตรมาส 2/2553 เป็ นต้ นไปจนถึงไตรมาส 2/2554 กําไรขันต้ ้ นน่าจะเพิ่มสูงขึ ้นหลายเปอร์ เซ็นต์ เพราะการแข่งขันลดลง งานกําแพงกันดินในประเทศสิงคโปร์ สภาพเศรษฐกิจด้ านก่อสร้ างของสิงคโปร์ ดีขึ ้น เนื่องจากรัฐบาลสิงคโปร์ ผลักดัน โครงการรถไฟฟ้าใต้ ดินออกมามาก เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจทําให้ บริ ษัท ซีฟโก้ เรี ยวบิ จํากัด ที่บริ ษัทลงทุนไว้ 47.5% เพื่อทํา ธุรกิจก่อสร้ างกําแพงไดอะแฟรมวอลล์อย่างเดียว ได้ รับงานกําแพงไดอะแฟรมวอลล์มาหนึ่งงานมูลค่าประมาณ 130 ล้ านบาท เศษ คาดว่าบริ ษัทนี ้จะเริ่มรับงานและทําเองได้ เรื่ อย ๆ ภาวะงานภาครัฐ ซึง่ ส่วนใหญ่บริ ษัทจะไปรับงานด้ านโยธา ปั จจุบนั บริ ษัทรับเฉพาะทาง กทม. ขณะนี ้สะสมผลงานได้ มากแล้ วเตรี ยมตัวไปจดทะเบียนกับหน่วยงานราชการอื่นด้ วย งานโยธาภาครัฐจะมีออกมาทุกปี ตามงบประมาณประจําปี บริษัทได้ ติดตามอยูว่ า่ งานใดบ้ าง หน่วยงานใดบ้ าง ที่บริษัทมีศกั ยภาพเข้ าไปรับงานมาทําได้

หน้ า 10


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

กิจกรรมเพื่อสังคม บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) เล็งเห็นถึงความสําคัญของการมีส่วนร่ วมในการพัฒนาสังคม ตลอดระยะเวลานาน กว่า 30 ปี ที่บริ ษัทได้ จัดทําโครงการพิเศษและกิจกรรมที่ตอบสนองความต้ องการของสังคม กิจกรรมเพื่อสังคมของบริ ษัท ล่าสุด ดังนี ้ ปี 2553 - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) มอบเงิ น เพื่ อ สมทบทุน สร้ างอาคารวิ ศ วฯ 100 ปี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ นจํานวนเงิน 1,000,000 บาท - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) มอบทุนสนับสนุนการศึก ษา ระดับ ปริ ญ ญาตรี คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง จํานวน 1 ทุน เป็ นจํานวนเงิน 160,000 บาท - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) มอบทุนสนับ สนุนการศึก ษา ระดับ ปริ ญ ญาโท คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง จํานวน 1 ทุน เป็ นจํานวนเงิน 100,000 บาท ปี 2552 - บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ร่วมกับสถาบัน AIT มอบทุนการศึกษาชื่อ “ทุนการศึกษา สุพจน์ ทัศนนิพนั ธ์ (ซึ่ง เป็ นผู้ก่อตังบริ ้ ษัท) สําหรับนักศึกษาต่างประเทศ” ซึง่ เป็ นทุนต่อเนื่อง จากปี 2551 จํานวน 1 ทุน เป็ นจํานวนเงิน 268,000.00 บาท - บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบของขวัญแก่สถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้ านราชวิถี ถนนราชวิถี กรุงเทพ เนื่อง ในวันเด็กแห่งชาติ - บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ ร่วมกับสนับสนุนเครื่ องจักรกลพร้ อมเจ้ าหน้ าที่ ดําเนินการขุดสระกักเก็บนํา้ สําหรับให้ ประชาชนได้ ใช้ ประโยชน์ กับทางสํานักงานเทศบาลตําบลเทพราช จ.ฉะเชิงเทรา - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กั ด (มหาชน) มอบเงิ น สนั บ สนุ น โครงการค่ า ย “บ้ านทอฝั น ” ของกลุ่ม อิ ส ระสานฝั น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต - บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบเงินสนับสนุนโครงการค่ายศึกษาศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาคุณภาพชีวิต เยาวชนในชนบท ครัง้ ที่ 22 - บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบเงินเพื่อช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ยากไร้ และถูกทอดทิง้ ผ่านทางมูลนิธิคณะ นักบุญคามิลโลแห่งประเทศไทย ปี 2551 - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) ร่ ว มกับ สถาบัน AIT คัด เลื อ กนัก ศึ ก ษาเพื่ อ มอบทุน การศึ ก ษาชื่ อ “ทุนการศึกษา สุพจน์ ทัศนนิพนั ธ์ สําหรับนักศึกษาต่างประเทศ” ซึ่งเป็ นการมอบทุนการศึกษาต่อเนื่องจากปี 2550 เป็ นจํานวน 1 ทุน เป็ นเงิน 521,500.00 บาท - บริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) ร่ ว มกับ สถาบัน เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุณ ทหารลาดกระบัง มอบ ทุน การศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาโท คณะวิ ศ วกรรมโยธา ของสถาบัน เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุณ ทหาร ลาดกระบัง จํานวน 1 ทุน เป็ นจํานวนเงิน 281,000.00 บาท

หน้ า 11


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) -

-

-

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ ร่วมบริ จาคให้ กบั สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าธนบุรี เพื่อเป็ นค่าจัดหาวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการศึกษาเป็ นจํานวนเงิน 600,000.00 บาท บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ ร่วมบริจาคสนับสนุนโครงการอบรม ครัง้ ที่ 4 ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ บริจาคเงิน 64,000 บาท ในเดือนกุมภาพันธ์ ให้ แก่โรงเรี ยนตํารวจตระเวน ชายแดนสื่อมวลชนกีฬา เพื่อสนับสนุนโครงการคุณภาพการศึกษาในโรงเรี ยนตํารวจตระเวนชายแดนและ โรงเรี ยนในถิ่นทุรกันดาร บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบเงินสนับสนุนโครงการส่งเสริมการสร้ างสรรค์ผลงานของผู้พิการ ครัง้ ที่ 5 จํานวนเงิน 50,000 บาท ระหว่างวันที่ 20-27 มกราคม 2551 ให้ สมาคมคนพิการทุกชนิด จังหวัดนครปฐม บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบเงินจํานวน 30,000 บาท เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2551 สนับสนุนโรงเรี ยนสวน กุหลาบวิทยาลัย ผ่านคุณมนตรี แสนวิเศษ ผู้อํานวยการโรงเรี ยนที่จะเป็ นเจ้ าภาพจัดการแข่งขันคณิตศาสตร์ โอ ลิมปิ ค(สอวน.) ครัง้ ที่ 5 ระหว่างวันที่ 4 – 9 พฤษภาคม 2551 ณ.โรงเรี ยนสวนกุหลาบวิทยาลัย บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบของขวัญและอาหารเนื่องในวันเด็กแห่งชาติให้ แก่เด็กในบ้ านพักพนักงาน บางชัน 2 จํานวน 35 คน บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบของขวัญจํานวน 250 ชุด แก่เด็กนักเรี ยนโรงเรี ยนสุเหร่าสามวา ถนนหทัย ราษฎร์ คลองสามวา กรุงเทพฯ เนื่องในวันเด็ก เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551 บริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) มอบของขวัญจํานวน 250 ชุด แก่สถานสงเคราะห์เด็กหญิงบ้ านราชวิถี ถนนราช วิถี กรุงเทพฯ เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ เมื่อวันที่ 9 มกราคม 2551

ปี 2550 - บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ร่วมกับสถาบัน AIT คัดเลือกนักศึกษาเพื่อมอบทุนชื่อ “ทุนการศึกษา สุพจน์ ทัศน นิพนั ธ์ สําหรับนักศึกษาต่างประเทศ” โดยทางสถาบัน AIT ได้ ทําการคัดเลือกผู้ที่จะได้ รับทุนการศึกษาซึ่งเป็ น นักศึกษาชาวปากีสถาน 1 ทุน เป็ นทุนการศึกษาจํานวน 952,000.00 บาท และต่อเนื่องจากปี 2549 ได้ มอบทุน แก่นักศึกษาชาวไทยอีก 1 ทุน จํานวน 1,904,000.00 บาท รวมเป็ น 2 ทุนตามบันทึกข้ อตกลงความร่ วมมือ ทางด้ านการวิจยั และทุนการศึกษา

หน้ า 12


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

ปั จจัยความเสี่ยง ความเสี่ยงจากการพึง่ พิงผู้บริหารระดับสูง ผู้ร่วมก่อตังบริ ้ ษัทและเป็ นผู้บริหารหลักของบริษัท ทัง้ 3 คน ซึง่ ได้ แก่ นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ และนายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ เป็ นวิศวกรที่มีประสบการณ์มายาวนานในวงการธุรกิจก่อสร้ างโดยเฉพาะ การก่อสร้ างงานใต้ ดินกว่า 30 ปี จึงเป็ นที่ร้ ูจกั และยอมรับโดยทัว่ ไปของผู้ออกแบบ บริษัทวิศวกรที่ปรึกษา ตลอดจนเจ้ าของ โครงการต่างๆ ซึง่ เป็ นคุณสมบัติที่มีสว่ นสําคัญในการติดต่อกับลูกค้ า อย่างไรก็ตามบริ ษัทได้ เล็งเห็นถึงความเสี่ยงจากการพึง่ พิงผู้บริ หารทัง้ 3 คนดังกล่าว โดยมีการเตรี ยมความพร้ อมของ บุคลากรในแต่ละแขนงเพื่อให้ สามารถขึ ้นมารองรับงานของผู้บริหารระดับสูงได้ เช่น การสรรหาบุคลากรมืออาชีพเข้ ามาช่วย บริหารงาน การริเริ่มให้ มีการสร้ างสัมพันธ์ระหว่างผู้บริ หารระดับกลางและระดับปฏิบตั ิการของบริษัทกับเจ้ าหน้ าที่ผ้ คู วบคุม งานและระดับปฏิบตั ิการของลูกค้ าที่เป็ นทังหน่ ้ วยงานราชการและเอกชน เพื่อให้ สามารถรักษาสัมพันธ์อนั ดีของผู้บริหารรุ่น ต่อไป ความเสี่ยงจากการพึง่ พาวิศวกร ธุรกิจของบริษัทต้ องอาศัยผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์งานออกแบบ วางแผน และดําเนินการ ก่อสร้ างตามแผนที่วางไว้ ซึง่ หมายถึงวิศวกรในระดับผู้อํานวยการโครงการ (Project Director) ผู้จดั การโครงการ (Project Manager) และวิศวกรผู้ควบคุมงาน (Project Engineer หรื อ Foreman) หากบริษัทสูญเสียบุคลากรเหล่านี ้ไปย่อมส่งผล กระทบต่อความสามารถในการรับงาน ตลอดจนผลการดําเนินงานของบริษัทในอนาคตได้ อย่างไรก็ตามผู้อํานวยการโครงการ (Project Director) ผู้จดั การโครงการ (Project Manager) หรื อ วิศวกรผู้ควบคุม งาน (Project Engineer) ของบริษัทส่วนใหญ่ร้อยละ 90 ล้ วนมีอายุงานกับบริษัทประมาณ 10 – 20 ปี ขึ ้นไป ทังนี ้ ้เนื่องจากที่ ผ่านมาบริษัทมีนโยบายการบริ หารทรัพยากรบุคคลที่ดี โดยมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง ส่งบุคลากรเข้ าร่วมการ สัมมนาทังในประเทศไทยและต่ ้ างประเทศ ตลอดจนมีมาตรการจูงใจต่างๆ ที่สามารถแข่งขันกับตลาดได้ เพื่อรักษาบุคลากร ให้ ทํางานกับบริ ษัท และเพื่อลดปั ญหาดังกล่าว บริษัทได้ ดําเนินการให้ สถาบันการศึกษาต่างๆ ส่งนักศึกษาจากคณะ วิศวกรรมศาสตร์ เข้ าฝึ กงานที่บริ ษัทเป็ นประจําทุกปี ทําให้ มีบณ ั ฑิตที่สําเร็จการศึกษาจากสถาบันต่างๆ ดังกล่าวให้ ความสนใจ ที่จะร่วมงานกับบริ ษัทต่อไป บริ ษัทมีการมอบทุนการศึกษาให้ กบั สถาบัน AIT จํานวน 2 ทุน เพื่อเป็ นการศึกษาต่อในระดับ ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมปฐพีของนักศึกษาที่เป็ นคนไทย รวมทังได้ ้ มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาโท ให้ กบั ชาว ต่างประเทศที่อยูแ่ ถบเอเซียใต้ อีกจํานวน 1 ทุน และยังมอบทุนการศึกษาระดับปริญญาเอก 1 ทุน กับพนักงานของบริษัทฯ ใน สาขาวิศวกรรมปฐพี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความเสี่ยงจากการที่ลกู ค้ าไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา / การเรี ยกเก็บชําระเงิน ความเสี่ยงจากคูส่ ญ ั ญาไม่ปฏิบตั ิตามข้ อกําหนดในสัญญา โดยเฉพาะเรื่ องการชําระเงินตามความสําเร็จของงาน ซึง่ อาจก่อให้ เกิดความเสียหายแก่ผลการดําเนินงานของบริ ษัทได้ อย่างไรก็ตามบริษัทมีนโยบายในการป้องกันความเสี่ยง ดังกล่าว โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้ าก่อนการรับงาน หรื อการหาข้ อมูลของลูกค้ าอื่นเพิ่มเติม หรื อมีการเรี ยก เก็บเงินล่วงหน้ าก่อนเริ่มดําเนินงานรวมถึงการเรี ยกเก็บเงินตามผลงานที่ทําเสร็จ

หน้ า 10


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ความเสี่ยงจากเปลี่ยนแปลงราคาวัตถุดิบที่ใช้ ในการก่อสร้ าง ลักษณะการรับงานของบริษัทสามารถจําแนกเป็ น 2 ลักษณะ คือ (1) งานที่รับเหมาค่าแรงงานและค่าวัตถุดิบ และ (2) งานที่รับเหมาเฉพาะค่าแรงงานอย่างเดียว ในกรณีที่บริ ษัทรับงานประเภทที่ (1) ซึง่ ต้ องรับผิดชอบทังการก่ ้ อสร้ างและการ จัดซื ้อวัตถุดิบนัน้ ทําให้ มีความเสี่ยงเรื่ องต้ นทุนการดําเนินงานสูงขึ ้นจากความผันผวนของราคาหรื อการขาดแคลนวัตถุดิบ เนื่องจากบริษัทจะต้ องเสนอราคารับเหมาล่วงหน้ าก่อนเริ่มดําเนินงาน อย่างไรก็ตามผลกระทบดังกล่าวอาจไม่สงู มากนัก เมื่อเทียบกับธุรกิจรับเหมาก่อสร้ างอื่น ๆ เนื่องจาก • ลักษณะของงานส่วนใหญ่ที่บริ ษัท รับเหมา จะมีช่วงระยะเวลาการทํางานค่อนข้ างสัน้ คือโดยเฉลี่ย ประมาณ 3-5 เดือน ต่อโครงการ ทําให้ บริษัทสามารถควบคุมราคาวัสดุที่ต้องใช้ ในการก่อสร้ างได้ • วัตถุหลักมีเพียง 2 รายการ คือ คอนกรี ตผสมเสร็จและเหล็กเส้ น ซึง่ บริษัทเป็ นลูกค้ ารายใหญ่ของผู้จดั จําหน่ายวัสดุดงั กล่าว ทําให้ สามารถเจรจาต่อรองโดยอาศัยความสัมพันธ์ที่ดีกบั ผู้จดั จําหน่ายวัตถุดิบราย ใหญ่ และกําหนดราคาคงที่ในระยะเวลาหนึง่ ๆได้ นอกจากนี ้ในกรณีที่ราคาวัสดุผนั ผวนมาก บริษัทอาจซื ้อ วัตถุดิบทังจํ ้ านวนที่บริษัทประมาณว่าจะต้ องใช้ ในงานที่รับจ้ างไว้ แล้ ว และกําหนดให้ ผ้ จู ดั จําหน่ายทยอย ส่งวัสดุให้ บริษัทเมื่อจะมีใช้ งานจริ ง ความเสี่ยงจากการดําเนินงานไม่เสร็จตามกําหนดหรื องานไม่ได้ คณ ุ ภาพตามที่กําหนด โดยทัว่ ไปงานก่อสร้ างที่บริษัทดําเนินการอยูน่ นจะมี ั ้ คา่ ปรับในกรณีที่มีการดําเนินงานล่าช้ ากว่าที่กําหนดซึง่ ปกติมี อัตราร้ อยละ 0.01 ของมูลค่างานต่อวัน และมีการกําหนดค่าปรับสูงสุดเป็ นจํานวนวันหรื อเป็ นร้ อยละของมูลค่างานในกรณีที่ งานที่สง่ มอบไม่ได้ มาตรฐานตามแบบที่กําหนด ซึง่ หากมีเหตุการณ์ใดๆ ดังกล่าวเกิดขึ ้น บริ ษัทจะต้ องดําเนินการแก้ ไขให้ ถูกต้ อง ส่งผลให้ ต้นทุนสูงขึ ้นและเสียเวลาในการทํางานเพิ่มมากขึ ้น อย่างไรก็ตามหากความล่าช้ าของการดําเนินงานนันมิ ้ ได้ มีสาเหตุมาจากบริษัท อาทิเช่น การยังไม่ได้ รับอนุญาตการก่อสร้ าง, การเปลี่ยนแปลงแบบการก่อสร้ าง หรื อสถานที่ที่รับมอบ ไม่พร้ อมที่จะสามารถดําเนินการได้ หรื อสภาพดินฟ้าอากาศไม่เอื ้ออํานวย โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ซึง่ การปฏิบตั ิการของ ผู้รับเหมาก่อสร้ างจะเป็ นไปด้ วยความยากลําบากถ้ าไม่มีการวางแผนงานที่ดีพอนัน้ บริษัทจะสามารถเจรจาและชี ้แจงให้ ผ้ วู า่ จ้ างทราบและสามารถขอยืดเวลาการดําเนินงานออกไปได้ ทังนี ้ ้ในระยะที่ผา่ นมาบริษัทยังไม่เคยถูกปรับอันมีสาเหตุมาจาก การส่งงานล่าช้ า เนื่องจากบริษัทมีประสบการณ์ด้านงานก่อสร้ างมาเป็ นเวลานาน จึงสามารถวางแผนการทํางานและเตรี ยม ้ ่ องเครื่ องมือและอุปกรณ์ใน มาตรการป้องกันปั ญหาและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นล่วงหน้ า โดยการเตรี ยมความพร้ อมทังในเรื การทํางาน จํานวนของวิศวกรผู้ควบคุมงานที่มีประสบการณ์ในการทํางาน ตลอดจนเทคนิคการก่อสร้ างแบบใหม่ๆ ความเสี่ยงในเรื่ องการออกกฎระเบียบใหม่ของภาครัฐ การที่ภาครัฐออกกฎระเบียบใหม่ๆ ขึ ้นมาซึง่ มีสว่ นกระทบกับการรับงานก่อสร้ างอาคารต่างๆ เช่น กฎระเบียบ เกี่ยวกับใบอนุญาตสิง่ แวดล้ อม ซึง่ มีผลทําให้ การออกใบอนุญาตก่อสร้ างออกมาช้ า จะทําให้ ต้นทุนในการก่อสร้ างเปลี่ยนไปใน อัตราที่สงู ขึ ้น แต่ในการประกอบธุรกิจเข็มเจาะและกําแพงกันดินของบริษัท งานที่รับเข้ ามาจะเสร็จภายในระยะเวลา 3 – 4 เดือน ดังนันผลกระทบจะเกิ ้ ดขึ ้นในระยะเวลาอันสัน้ การป้องกันความเสี่ยงนี ้บริษัทจะรับงานโดยจะต้ องมีการสอบถามถึง ขันตอนการดํ ้ าเนินการขอใบอนุญาตว่าดําเนินการไปถึงขันตอนไหนแล้ ้ ว ก่อนที่บริษัทจะทําการรับงาน เพื่อที่จะนํามาวางแผน ดําเนินการในการควบคุมต้ นทุนการผลิตให้ ได้ ตามเป้าหมาย

หน้ า 11


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ความเสี่ยงจากการลงทุนในบริ ษัทย่อย กิจการร่วมค้ าและบริษัทอื่น โดยที่บริษัทได้ ลงทุนในบริษัทย่อย กิจการร่วมค้ า และบริษัทอื่นจํานวนหลายบริ ษัท โดยลักษณะการประกอบธุรกิจ จะสอดคล้ องกับลักษณะธุรกิจของกลุม่ บริษัท ที่ประกอบด้ วยการลงทุนและการก่อสร้ างโครงการหลายโครงการ แต่ละ ้ ้นส่วนใหญ่จะมีวตั ถุประสงค์เพื่อดําเนินโครงการ โครงการจะมีผ้ รู ่วมลงทุนแตกต่างกันไป อย่างไรก็ตาม กิจการร่วมค้ าที่จดั ตังขึ เพียงไม่กี่โครงการ และเมื่อโครงการนันแล้ ้ วเสร็จ ก็จะเลิกกิจการร่วมค้ า ในแง่ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นจากการลงทุน จะจํากัด เท่ากับเงินลงทุนในแต่ละองค์กร ซึง่ ในการลงทุนแต่ละครัง้ บริษัทฯ จะมีการศึกษาถึงความเป็ นไปได้ ของแต่ละโครงการ หรื อแต่ ละบริษัทอย่างรอบคอบ รวมทังพิ ้ จารณาถึงผลตอบแทนที่จะได้ รับในอนาคต ทังนี ้ ้บริษัทในกลุม่ ที่ได้ ลงทุนไปแล้ วส่วนใหญ่ มี ผลประกอบการเป็ นที่น่าพอใจ ความเสี่ยงจากการถูกฟ้องร้ อง ในการทํางานก่อสร้ างต่างๆ นันอาจมี ้ ผลกระทบของความเสียหาย ซึง่ มีสาเหตุได้ หลายประการ เช่น ความเสียหาย ข้ างเคียงที่อยูใ่ กล้ หรื อติดกับสถานที่ก่อสร้ าง หรื อความเสียหายจากการก่อสร้ างที่ไม่ได้ มาตรฐานหรื อตามแบบก่อสร้ าง จึง อาจเกิดการฟ้องร้ องจากผู้เสียหาย เช่น เจ้ าของสถานที่ข้างเคียงหรื อเจ้ าของโครงการ ได้ ซึง่ อาจส่งผลเสียหายให้ กบั บริษัท เพื่อช่วยลดความเสี่ยงในกรณีของการถูกฟ้องร้ อง ก่อนที่บริษัทจะเริ่มเข้ าสถานที่ก่อสร้ างได้ มีการทําประกันภัยความ เสียหายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ ้นจากสาเหตุของการก่อสร้ าง รวมทังได้ ้ มีการทํา Pre survey ก่อนเริ่มงานเสมอ และในส่วนของ เจ้ าของโครงการบริ ษัทได้ มีการวาง Bond ประกันผลงานให้ กบั เจ้ าของโครงการไว้ ประมาณ 1 – 2 ปี แล้ วแต่กรณี ในอดีตที่ ผ่านมาบริษัทไม่เคยถูกฟ้องร้ องใดๆ จากเจ้ าของโครงการเนื่องจากคุณภาพในการทํางานของบริษัทเป็ นไปตาม มาตรฐานสากล ในส่วนของการถูกฟ้องร้ องจากเจ้ าของสถานที่ข้างเคียงนันมี ้ บ้าง แต่ก็ไม่มีผลเสียหายกับทางบริ ษัทเพราะได้ มี การทําประกันภัยไว้ รองรับและความเสียหายนี ้เกิดหากมี ก็มีเพียงเล็กน้ อย ความเสี่ยงในการที่ไม่สามารถหางานใหม่มารองรับโครงการที่ใกล้ ทําเสร็จได้ ในสภาพของงานก่อสร้ างเสาเข็มเจาะและกําแพงกันดินในแต่ละโครงการใช้ เวลาประมาณ 3 – 4 เดือน ความเสี่ยงที่ เกิดขึ ้นจากการหางานโครงการใหม่มารองรับงานเก่าที่ใกล้ เสร็จ บริษัทมีสว่ นแบ่งในตลาดเสาเข็มเจาะและกําแพงกันดินประมาณร้ อยละ 46 ถือว่ามีสว่ นแบ่งการตลาดที่มากที่สดุ ้ ษัทมีชื่อเสียงมามากกว่า 30 ปี จึงรู้ถงึ สภาพการ ซึง่ ถ้ ามีงานใหม่ๆ เกิดขึ ้นบริษัทมีโอกาสได้ รับงานสูงกว่าคูแ่ ข่งรวมทังบริ แข่งขันได้ เป็ นอย่างดีและบริ ษัทได้ ขยายฐานของการรับงานเพิ่มมากขึ ้น เช่น งานฐานราก, งานโครงสร้ าง และงานด้ านถนน และอุโมงค์ รวมทังได้ ้ มีการขยายงานไปต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์

หน้ า 12


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) โครงสร้ างผู้ถือหุ้น รายชื่อกลุม่ ผู้ถือหุ้นสูงสุด ณ วันที่ 18 มกราคม 2553 รายชื่อผู้ถือหุ้น 1. กลุ่มทัศนนิพันธ์ 1.1 นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ 1.2 นางสาวณัฐฐกานต์ ทัศนนิพนั ธ์ 1.3 นางสาวณัฐฐวรรณ ทัศนนิพนั ธ์ 1.4 นางภาวนา ทัศนนิพนั ธ์ 1.5 นายทัศน์พนั ธ์ ทัศนนิพนั ธ์ 1.6 นายณัฐฐพล ทัศนนิพนั ธ์ 1.7 นายเดชา ทัศนนิพนั ธ์ 1.8 นายณัฐฐพันธ์ ทัศนนิพนั ธ์ 2. กลุ่มประเวศวรารั ตน์ 2.1 นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ 2.2 นายชัยชนะ ประเวศวรารัตน์ 2.3 นางสาวสุภาภรณ์ ประเวศวรารัตน์ 2.4 นางสาวสุรีพร ประเวศวรารัตน์ 2.5 นางสาวพวงมะลิ ประเวศวรารัตน์ 2.6 นายสุเมธ ประเวศวรารัตน์ 2.7 นายชายฉลาด ประเวศวรารัตน์ 2.8 นายเอี ้ยง แซ่ปึง 3. กลุ่มวิสุทธิพทิ ักษ์ กุล 3.1 นายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ 3.2 นางสาวชลกานต์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ 3.3 นายฐานุสกั การ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ 4. นายไพศาล สุวัฒกิ ะ 5. อื่น ๆ รวม

จํานวนหุ้น 65,365,700 16,492,000 15,596,267 11,823,833 6,933,333 6,800,000 6,467,800 985,800 266,667 27,134,367 12,512,000 3,333,334 2,595,566 2,428,999 2,352,634 2,220,601 990,000 701,233 7,786,670 5,486,667 2,000,000 300,003 2,692,200 112,021,063 215,000,000

ร้ อยละของทุน ชําระแล้ ว 30.39 7.67 7.25 5.50 3.22 3.16 3.01 0.46 0.12 12.62 5.82 1.55 1.21 1.13 1.09 1.03 0.46 0.33 3.62 2.55 0.93 0.14 1.25 52.12 100.00

หน้ า 13


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) โครงสร้ างองค์ กร

คณะกรรมการบริ ษัท คณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริ หารความเสี่ยง

ฝ่ ายตรวจ สอบภายใน สอบภายใน

กรรมการผู้จดั การใหญ่ คณะกรรมการบริ หาร

กรรมการรองผู และวิ้ จจดั ยั การใหญ่ ฝ่ ายงานธรณีเทคนิค และวิจยั

กรรมการรองผู ้ จดั การใหญ่ ฝ่ ายงานอํ านวยการ ฝ่ ายงานอํานวยการ

ผูผู้​้ ชช่ว่วยผู ยผู้​้ จจดดั​ั การใหญ่ การใหญ่ ฝ่ฝ่ ายงานอํ ายงานอําานวยการ นวยการ

ผู้ช่วยผู้จดั การใหญ่ ฝ่ ายพัฒนา ธุรกิจ

ผู้ช่วยผู้จดั การใหญ่ ฝ่ ายงานเสาเข็มเจาะ และกําแพงดิน

กรรมการรองผู้จดั การใหญ่ฝ่าย ฝ่ ายงานโครงสร้ าง อมบํารุ ง งานโครงสร้ างและซ่

ผู้ ช่วยผู้จดั การใหญ่ ฝ่ ายงานโครงการ พิเศษ

ผู้อํานวยการ ฝ่ ายงาน วิศวกรรม

ผู้ ช่วยผู้จดั การใหญ่ ฝ่ ายงานปรับปรุง คุณภาพดิน

ผู้ อํานวยการ ฝ่ ายงานวิจยั และพัฒนา

ผูผู้​้ ชช่ว่วยผู ยผู้​้ จจดดั​ั การใหญ่ การใหญ่ ฝ่ฝ่ายงานโครงสร้ ายงานโครงสร้าางง

ผู้ อํานวยการ ฝ่ ายงานซ่อม บํารุง

หน้ า 14


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

การจัดการ โครงสร้ างคณะกรรมการ ณ. วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ผู้ถอื หุ้น

คณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการบริษัท 1. นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ 2. นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ 3. นายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ 4. นางสาวณัฐฐวรรณ ทัศนนิพนั ธ์ 5. นายเผด็จ รุจิขจรเดช 6. นายกมล สิงห์โตแก้ ว 7. รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวฒ ั น์ 8. นายสมควร วัฒกีกลุ 9. นายสมควร มูสิกอินทร์ เลขานุการคณะกรรมการบริ ษัท นายเอนก ศรี ทบั ทิม

ประธานกรรมการ กรรมการผู้จดั การใหญ่ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการอิสระ) กรรมการ (กรรมการอิสระ)

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการตรวจสอบ

รายชื่อคณะกรรมการบริหาร 1. นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ ประธานกรรมการบริ หาร 2. นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ กรรมการบริ หาร 3. นายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ กรรมการบริ หาร 4. นายเผด็จ รุจิขจรเดช กรรมการบริ หาร 5. นายกมล สิงห์โตแก้ ว กรรมการบริ หาร 6. นายกมล อยู่ยืนพัฒนา กรรมการบริ หาร 7. MR.AUNG WIN MAUNG กรรมการบริ หาร 8. MR.ZAW ZAW AYE กรรมการบริ หาร 9. นายเอนก ศรี ทบั ทิม กรรมการบริ หาร

รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ 1. รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวฒ ั น์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสมควร วัฒกีกลุ กรรมการตรวจสอบ 3. นายสมควร มูสิกอินทร์ กรรมการตรวจสอบ

รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. นายเผด็จ 2. นายกมล 3. นายกมล

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน รายชื่อคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน 1. นายสมควร วัฒกีกลุ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 2. นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 3. นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 4. นายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รุจิขจรเดช ประธานกรรมการบริ หารความเสี่ยง อยู่ยืนพัฒนา กรรมการบริ หารความเสี่ยง สิงห์โตแก้ ว กรรมการบริ หารความเสี่ยง

หน้ า 15


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

โครงสร้ างการจัดการ คณะกรรมการบริษัท กรรมการผู้มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท คือ นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ นายทรงศักดิ์ วิ สุทธิพิทกั ษ์ กลุ นางสาวณัฐฐวรรณ ทัศนนิพนั ธ์ นายเผด็จ รุจิขจรเดช และนายกมล สิงห์โตแก้ ว สองในหกคนนี ้ลงลายมือชื่อ ร่วมกันและประทับตราสําคัญของบริษัท องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการของบริษัทมีทงสิ ั ้ ้นไม่น้อยกว่า 9 คน ต้ องมีคณ ุ สมบัติตามที่กฎหมายและข้ อบังคับบริษัทกําหนด 2. คณะกรรมการประกอบด้ วยคณะกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้ ้ ษัท บริษัทในเครื อ บริษัทร่วม บริษัท 2.1 ถือหุ้นไม่เกินร้ อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสทิ ธิออกเสียงทังหมดในบริ ย่อย หรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง 2.2 ไม่มีสว่ นร่วมในการบริ หารงาน รวมทังไม่ ้ เป็ นลูกจ้ าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้ รับเงินเดือนประจํา ผู้ ให้ บริ การด้ านวิชาชีพแก่บริษัท เช่น ผู้สอบบัญชี ทนายความ หรื อเป็ นผู้มีอํานาจควบคุมบริษัท บริษัทใน เครื อ บริ ษัทร่วม บริษัทย่อย หรื อเป็ นบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ ง และไม่มีผลประโยชน์หรื อส่วนได้ สว่ นเสีย ในลักษณะดังกล่าวมาแล้ วเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี 2.3 ไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจ ไม่มีผลประโยชน์ หรื อส่วนได้ สว่ นเสีย ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้ อม ทังในด้ ้ าน การเงิน และการบริหาร ซึง่ รวมถึงไม่เป็ นลูกค้ า คูค่ ้ า ผู้จดั หาวัตถุดิบ เจ้ าหนี ้/ลูกหนี ้การค้ า เจ้ าหนี ้/ลูกหนี ้ เงินให้ ก้ ยู ืมของบริษัท บริษัทในเครื อ บริษัทร่วม บริษัทย่อย หรื อบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งในลักษณะที่จะ ทําให้ ขาดความเป็ นอิสระ 2.4 ไม่เป็ นญาติสนิทกับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท บริษัทในเครื อ บริษัทร่วม บริ ษัทย่อย หรื อบุคคลที่ อาจมีความขัดแย้ ง และไม่ได้ รับการแต่งตังให้ ้ เป็ นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์ 3. การแต่งตังกรรมการเป็ ้ นไปตามวาระที่กําหนดไว้ โดยเจาะจง โดยเน้ นมีความโปร่งใส และชัดเจน ทังนี ้ ้การเสนอ ชื่อกรรมการเพื่อการเลือกตังจะต้ ้ องมีข้อมูลประวัติของบุคคลนัน้ และมีรายละเอียดที่เพียงพอชัดเจน เพื่อ ประโยชน์ในการคัดสรร 4. เปิ ดเผยประวัติของกรรมการทุกคนโดยละเอียดต่อสาธารณชน และทุกครัง้ ที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการ 5. ประธานคณะกรรมการบริษัทไม่เป็ นประธานหรื อสมาชิกของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ เพื่อให้ การทําหน้ าที่ ของคณะกรรมการชุดย่อยมีความเป็ นอิสระ 6. คณะกรรมการชุดย่อยต้ องจัดให้ มีการประชุมเป็ นประจําอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ คุณสมบัติของคณะกรรมการบริ ษัท 1. ต้ องมีคณ ุ สมบัติไม่ขดั ต่อพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด 2. มีภาวะผู้นํา วิสยั ทัศน์กว้ างไกล มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และมีประวัติการทํางานที่ดี 3. เป็ นผู้ที่มีความสนใจในกิจการของบริษัท และสามารถอุทศิ เวลาให้ ได้ อย่างพอเพียง 4. กรรมการบริษัทต้ องผ่านการสรรหา และคัดเลือกจากคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทนของบริษัท และผ่านการแต่งตังจากที ้ ่ประชุมผู้ถือหุ้น

หน้ า 16


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) 5. ต้ องเป็ นผู้ที่ไม่ประกอบกิจการหรื อเข้ าร่วมในกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของ บริษัท ไม่วา่ จะทําเพื่อประโยชน์ตน หรื อประโยชน์ผ้ อู ื่น บทบาท หน้ าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบตั ิหน้ าที่ให้ เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้ อบังคับของบริษัท และตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้ วยความ ซื่อสัตย์สจุ ริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท และมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น 2. กําหนดนโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับควบคุมดูแลให้ ฝ่ายบริ หารดําเนินงานตาม นโยบายของบริษัทให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้ การกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อมุง่ สูผ่ ลสูงสุดให้ แก่ บริษัท และผู้ถือหุ้น 3. ดําเนินการให้ บริ ษัทมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มี ประสิทธิผล และเชื่อถือได้ 4. มีสว่ นร่วมในการดําเนินการเรื่ องการบริหารความเสี่ยง โดยจัดให้ มีแนวทางและมาตรการบริ หารความเสี่ยงที่ เหมาะสมเพียงพอ และมีการติดตามอย่างสมํ่าเสมอ 5. ควบคุม ดูแลให้ ฝ่ายบริหารมีการปฏิบตั ิตอ่ ผู้มีสว่ นได้ เสียทุกฝ่ ายอย่างมีจริ ยธรรมและเท่าเทียมกัน 6. กรรมการที่เป็ นอิสระ มีความพร้ อมที่จะใช้ ดลุ ยพินิจของตนอย่างเป็ นอิสระในการพิจารณาแผนกําหนดกลยุทธ์ การบริหารงาน การใช้ ทรัพยากร การแต่งตังกรรมการและรวมถึ ้ งการกําหนดมาตรฐานการดําเนินกิจการ เพื่อ เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้ แก่บริษัท และผู้ถือหุ้น 7. ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างสมํ่าเสมอ 8. จัดให้ มีเลขานุการบริษัท เพื่อช่วยดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ และบริ ษัท ได้ แก่ การประชุม คณะกรรมการและผู้ถือหุ้น ตลอดจนการให้ คําแนะนําแก่กรรมการและบริษัทในการปฏิบตั ิตนและดําเนินการให้ ถูกต้ องตามกฎหมาย และระเบียบที่เกี่ยวข้ องต่าง ๆ อย่างสมํ่าเสมอ อีกทังดู ้ แลให้ กรรมการและบริษัทมีการ เปิ ดเผยข้ อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้ อง 9. จัดให้ มีบทบัญญัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณทางธุรกิจ จริยธรรมทางธุรกิจ จริยธรรมของกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงาน เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิภายในบริษัท 10. งดซื ้อขายหลักทรัพย์ก่อนการประกาศแจ้ งข่าวงบการเงินอย่างน้ อย 1 เดือน และหลังจากประกาศแจ้ งข่าวงบ การเงินอย่างน้ อย 3 วัน บุตรธิดาที่ยงั ไม่บรรลุนิติภาวะของตนต่อที่ประชุม 11. รายงานการถือหลักทรัพย์ของตน และสามีภรรยา คณะกรรมการทุกครัง้ ที่มีการเปลี่ยนแปลง และต้ องแจ้ งให้ บริษัททราบโดยมิชกั ช้ า เมื่อมีกรณีดงั ต่อไปนี ้ 11.1 มีสว่ นได้ เสียไม่วา่ โดยตรง หรื อโดยอ้ อมในสัญญาใด ๆ ที่บริษัททําขึ ้นระหว่างรอบปี บัญชี 11.2 ถือหุ้น หุ้นกู้ หรื อหุ้นบุริมสิทธิ์ในบริษัท และบริษัทในเครื อ 12. คณะกรรมการบริษัทจัดทําการประเมินผลงานตนเองเป็ นประจําทุก ๆ ปี

หน้ า 17


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) จํานวนครั ง้ ของการประชุมคณะกรรมการ และจํานวนครั ง้ ที่กรรมการแต่ ละรายเข้ าประชุมคณะกรรมการบริษัท รายชื่อคณะกรรมการ

ครั ง้ ที่ 1

ครั ง้ ที่ 2

ครั ง้ ที่ 3

ครั ง้ ที่ 4

รวม

นายทัชชะพงศ์

ประเวศวรารัตน์

9

9

9

9

4

นายณรงค์

ทัศนนิพนั ธ์

9

9

9

9

4

รศ.ดร.สมชาย

ภคภาสน์วิวฒ ั น์

9

9

9

9

4

นายสมควร

วัฒกีกลุ

9

9

9

9

4

นายสมควร

มูสกิ อินทร์

9

9

9

9

4

นายทรงศักดิ์

วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ

9

9

9

9

4

นางภาวนา

ทัศนนิพนั ธ์

9

8

8

8

1

นายเผด็จ

รุจิขจรเดช

9

9

9

9

4

นายกมล

สิงห์โตแก้ ว

9

9

9

9

4

นางสาวณัฐฐวรรณ ทัศนนิพนั ธ์

88

9

9

9

3

9

หมายถึง เข้ าร่วมประชุม

8

หมายถึง ไม่เข้ าร่วมประชุม เนื่องจากลาออกแล้ ว

88

หมายถึง ไม่เข้ าร่วมประชุม เนื่องจากยังไม่ได้ เป็ นกรรมการ

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบต้ องเป็ นคณะกรรมการอิสระไม่น้อยกว่า 3 คน โดยอย่างน้ อย 1 ท่านเป็ นผู้มีความรู้ ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานให้ บริ ษัทมีการรายงานทางการเงินอย่างถูกต้ อง และเปิ ดเผยอย่างเพียงพอโดยการประสานงานกับ ผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้บริหารที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงินทังรายไตรมาส ้ และประจําปี คณะกรรมการตรวจสอบอาจเสนอแนะให้ ผ้ สู อบบัญชีสอบทานหรื อตรวจสอบรายการใด ๆ ที่เห็นว่าจําเป็ นและ เป็ นเรื่ องสําคัญในระหว่างการตรวจสอบบัญชีของบริษัทก็ได้ 2. สอบทานให้ บริษัทมีระบบควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล โดย สอบทานร่วมกับผู้สอบบัญชีภายนอก และผู้ตรวจสอบภายใน

หน้ า 18


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) 3. สอบทานการปฎิบตั ิงานของบริษัท ให้ เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจหลักทรัพย์ 4. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตังผู ้ ้ สอบบัญชีของบริษัท รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี โดยคํานึงถึงความน่าเชื่อถือ ความเพียงพอของทรัพยากร และปริมาณงานตรวจสอบของสํานักงานตรวจสอบ บัญชีนนั ้ รวมถึงประสบการณ์ของบุคลากรที่ได้ รับมอบหมายให้ ทําการตรวจสอบบัญชีของบริษัท 5. พิจารณาการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริษัทในกรณีที่เกิดรายการเกี่ยวโยง หรื อรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทาง รวมทังการพิ ้ จารณาอนุมตั ิรายการดังกล่าวเพื่อนําเสนอต่อที่ ผลประโยชน์ให้ มีความถูกต้ องและครบถ้ วน ประชุมคณะกรรมการ และ/หรื อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป 6. ปฏิบตั ิการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้ วย เช่น ทบทวน นโยบายการบริ หารทางการเงินและการบริหารความเสี่ยง ทบทวนการปฏิบตั ิตามจรรยาบรรณธุรกิจของ ผู้บริหาร ทบทวนร่วมกับผู้บริหารของบริษัทในรายงานสําคัญ ๆ ที่ต้องเสนอต่อสาธารณชนตามที่กฎหมาย กําหนด ได้ แก่ บทรายงานและการวิเคราะห์ของฝ่ ายบริหาร เป็ นต้ น 7. จัดทํารายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิ ดเผยไว้ ในรายงานประจําปี ของบริ ษัท ซึง่ รายงาน ดังกล่าวลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ รายการดังกล่าวควรประกอบด้ วยข้ อมูลดังต่อไปนี ้ 7.1 ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําและการเปิ ดเผยข้ อมูลในรายงานทางการเงินของบริษัทถึงความ ถูกต้ อง ครบถ้ วน เป็ นที่เชื่อถือได้ 7.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัท ้ อไปอีกวาระหนึง่ 7.3 เหตุผลที่เชื่อว่าผู้สอบบัญชีของบริษัทเหมาะสมที่จะได้ รับการแต่งตังต่ 7.4 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ว่าด้ วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้ อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์ หรื อกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจของบริษัท 8. รายงานอื่นใดที่เห็นว่าผู้ถือหุ้นและผู้ลงทุนทัว่ ไปควรทราบ ภายใต้ ขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบที่ได้ รับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 9. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการตรวจสอบให้ คณะกรรมการบริษัททราบอย่างน้ อยปี ละ 4 ครัง้ 10. จัดให้ มีการประชุมระหว่างคณะกรรมการตรวจสอบ กับผู้ตรวจสอบภายนอกอย่างน้ อยปี ละ 1 ครัง้ คณะกรรมการบริหาร ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริหาร กํ าหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้ างการบริ หารงานหลักในการดําเนิ นธุรกิจของบริ ษัทที่กําหนดให้ สอดคล้ องและสนับสนุนต่อสภาพเศรษฐกิจและการแข่งขันที่ได้ กําหนดและแถลงไว้ ต่อผู้ถือหุ้นเพื่อเสนอให้ คณะกรรมการ บริ ษัทเห็นชอบ แผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริ หารต่างๆ ของบริ ษัท เพื่อเสนอให้ คณะกรรมการบริ ษัทเห็นชอบ และตรวจสอบติดตามนโยบาย และแนวทางการบริ หารงานด้ านต่างๆ ของบริ ษัทที่กําหนดให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผล การดําเนินงานของบริ ษัทที่กําหนดให้ เป็ นไปตามแผนธุรกิจที่ได้ รับอนุมตั ิไว้ ดําเนินการจัดทําธุรกรรมทางการเงินกับ สถาบันการเงิน และดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

หน้ า 19


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่ าตอบแทน ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน 1. พิจารณากําหนดคุณสมบัติและคัดเลือกบุคคลที่จะดํารงตําแหน่ง - กรรมการบริษัทและนําเสนอต่อคณะกรรมการ บริษัทเพื่อนําชื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาแต่งตัง้ - กรรมการบริหารและนําเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาแต่งตัง้ 2. กํ าหนดหลักเกณฑ์ การพิจารณาค่าตอบแทนกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ และนํ าเสนอต่อ คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมตั ิ 3. ภารกิจอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ขอบเขตอํานาจหน้ าที่ของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. กําหนดนโยบายในเรื่ องของการบริ หารความเสี่ยงให้ ครอบคลุมถึงความเสี่ยงต่างๆ ในการบริ หารงาน เพื่อเสนอต่อกรรมการบริหารของบริษัท 2. ติดตามการดําเนินการบริ หาร ความเสี่ยงตังแต่ ้ เริ่ มกระบวนการที่จะบ่งชี ้ให้ ทราบถึงความเสี่ยง รวมทังวิ ้ เคราะห์ ประเมินผล จัดการติดตามและรายงานอย่างเป็ นระบบ 3. ให้ การสนับสนุนให้ มีการแนะนํากระบวนการบริ หารความเสี่ยงแก่หน่วยงานภายในต่างๆ ตลอดจน ติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4. รายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบอย่างสมํ่าเสมอในสิง่ ที่ต้องดําเนินการปรับปรุงแก้ ไข เพื่อให้ สอดคล้ องกับนโยบายและกลยุทธ์ของบริษัท ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ปี 2551 ปี 2552 ปี 2550 จํานวน ค่าตอบแทน จํานวน ค่าตอบแทน จํานวน ค่าตอบแทน (บาท) (บาท) (บาท) ค่ าตอบแทนกรรมการ เงินเดือน

1

ค่ าตอบแทนผู้บริหาร เงินเดือน

9

ค่าตอบแทนกรรมการบริ ษัทและ ค่ าเบีย้ ประชุม - รศ.ดร.สมชาย ภคภาสน์วิวฒ ั น์ - นายสมควร วัฒกีกลุ - นายสมควร มูสกิ อินทร์ - นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์ - นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ - นายทรงศักดิ์ วิสทุ ธิพิทกั ษ์ กลุ - นายเผด็จ รุจิขจรเดช - นายกมล สิงห์โตแก้ ว - นางสาวณัฐฐวรรณ ทัศนนิพนั ธ์ รวม

8

838,500 23,856,000 640,000 480,000 480,000 400,000 340,000 340,000 260,000 260,000 0 3,200,000

1 9 8

858,500 24,445,000 640,000 480,000 480,000 400,000 340,000 340,000 260,000 260,000 0 3,200,000

1 9 9

464,500 24,456,000 640,000 480,000 480,000 360,000 300,000 300,000 220,000 220,000 200,000 3,200,000

หน้ า 20


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริ ษัทได้ ให้ ความสําคัญต่อการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อความโปร่ งใส ความ รับผิดชอบตามหน้ าที่ของคณะกรรมการและผู้บริหาร และเพิ่มความเชื่อมัน่ ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ผู้ลงทุนทุกฝ่ ายจึงได้ กําหนดนโยบาย สนับสนุนการกํากับดูแลกิจการ โดยครอบคลุมหลักสําคัญดังนี ้ 1. นโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการ บริ ษัทให้ ความสําคัญกับการมีบรรษัทภิบาลที่ดี เพื่อช่วยให้ ผ้ ลู งทุนและสาธารณชนได้ รับทราบและตรวจสอบการ ดําเนินงานของบริ ษัทได้ บริ ษัทจึงได้ กําหนดนโยบายเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการขึ ้น โดยมุ่งเน้ นในเรื่ องกรรมการบริ ษัท ความโปร่ งใสในการดําเนินกิจการ การเปิ ดเผยข้ อมูล และการบริ หารความเสี่ยง เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น ผู้ ลงทุน และผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย 2. สิทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษัทมีนโยบายให้ ความสําคัญเกี่ยวกับสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยจะมีการดําเนินการให้ มีการจัดส่งหนังสือนัดประชุม พร้ อมทังข้ ้ อมูลประกอบการประชุมวาระต่างๆให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบล่วงหน้ า และมีการจัดทํารายงานการประชุม เพื่อให้ ผ้ ถู ือหุ้น สามารถตรวจสอบผลการประชุมได้ 3. สิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสีย บริ ษัทได้ ให้ ความสําคัญต่อสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งชุมชนและพนักงาน โดยที่ผ่านมา บริ ษัทได้ ให้ ความสําคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งแวดล้ อม เนื่องจากธุรกิจของบริ ษัทอาจก่อให้ เกิดการสัน่ สะเทือนและเสียงดังรบกวน ชุมชนที่อยู่อาศัยใกล้ เคียงกับบริ เวณที่ปฏิบตั ิงาน บริ ษัทจึงได้ ใช้ มาตรการต่างๆในการลดผลกระทบดังกล่าว ประกอบกับ หลีกเลี่ยงการก่อความรํ าคาญให้ กบั ชุมชนมากที่สดุ เท่าที่จะสามารถทําได้ ขณะเดียวกันในส่วนของเจ้ าหน้ าที่ที่ปฏิบตั ิหน้ าที่ ของบริ ษัท บริษัทก็ได้ มีการดําเนินมาตรการป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิด โดยจัดอุปกรณ์ให้ กบั เจ้ าหน้ าที่ทกุ คน และบริ ษัทยัง มีการคืนผลประโยชน์ตอ่ สังคมโดยมีการมอบทุนการศึกษา และบริ จาคเพื่อกิจการต่อสังคมอยูเ่ สมอๆ 4. การประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทมีนโยบายให้ ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเข้ าประชุมโดยไม่ยงุ่ ยาก จัดประชุมในสถานที่และเวลาที่ผ้ ถู ือหุ้นสามารถเข้ า ประชุมได้ สะดวก จัดให้ มีข้อมูลและเวลาเพียงพอในการพิจารณา และมีการจัดเตรี ยมหนังสือมอบฉันทะสําหรับผู้ถือหุ้นที่ไม่ สามารถเข้ าร่วมประชุมได้ ด้วยตัวเอง 5. ภาวะผู้นําและวิสยั ทัศน์ คณะกรรมการได้ มีส่วนร่ วมในการกําหนด วิสยั ทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ เป้าหมาย แผนธุรกิจ และงบประมาณของ บริ ษัท ตลอดจนกํากับดูแลให้ ฝ่ายจัดการดําเนินการให้ เป็ นไปตามแผนธุรกิจและงบประมาณที่กําหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุดให้ แก่กิจการและความมัน่ คงสูงสุดให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น 6. ความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ ้ มตั ิ บริ ษัทมีนโยบายการป้องกันความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ โดยมีการกําหนดนโยบายและขันตอนในการอนุ รายการที่เกี่ยวโยงกันเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรโดยถูกควบคุมและตรวจสอบโดยคณะกรรมการและคณะกรรมการตรวจสอบ และเปิ ดเผยรายการเกี่ยวโยงกันไว้ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานประจําปี และแบบ 56-1 นอกจากนี ้ยังมีการดูแล

หน้ า 21


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ให้ ผ้ บู ริ หารและผู้ที่เกี่ยวข้ องปฏิบตั ิตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เรื่ อง การ เปิ ดเผยข้ อมูลการถือครองหลักทรัพย์ และห้ ามมิให้ มีการใช้ ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ของตนเอง 7. จริยธรรมธุรกิจ คณะกรรมการของบริ ษัทและผู้บริ หารได้ กําหนดนโยบายและชีแ้ จงให้ พนักงานทุกท่านปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความ ซื่อสัตย์ สุจริ ต และรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ เสีย ผู้ถือหุ้น และทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้ องอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อเป็ นการสร้ างจิตสํานึก ให้ แก่พนักงานของบริษัท 8. การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการของบริษัทมีทงสิ ั ้ ้น 9 ท่านประกอบด้ วย • กรรมการที่เป็ นผู้บริหารจํานวน 5 ท่าน • กรรมการที่ไม่ได้ เป็ นผู้บริหารจํานวน1 ท่าน 3 ท่าน • กรรมการที่เป็ นอิสระจํานวน บริ ษัทมีกรรมการที่ไม่ใช่ผ้ บู ริ หารและกรรมการที่เป็ นอิสระคิดเป็ นร้ อยละ 44.4 ของจํานวนกรรมการทังหมด ้ ซึ่ง สามารถถ่วงดุลอํานาจในการบริหารงานได้ 9. การรวมหรื อแยกตําแหน่ง บริ ษัทมีการกําหนดประธานกรรมการและกรรมการผู้จดั การใหญ่แยกกันอย่างชัดเจนและมีกรรมการที่เป็ นอิสระ คอยถ่วงดุลอํานาจและสอบทานในการบริหาร 10. ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ บริ ษัทได้ กําหนดค่าตอบแทนกรรมการไว้ อย่างชัดเจนและโปร่ งใส โดยค่าตอบแทนอยู่ใน ระดับเดียวกับอุตสาหกรรม และสูงเพียงพอที่จะดูแลและรักษากรรมการที่มีคณ ุ สมบัติที่ต้องการ และได้ มีการขออนุมตั ิจากผู้ ถือหุ้นแล้ ว ค่าตอบแทนผู้บริหาร บริษัทได้ กําหนดค่าตอบแทนผู้บริ หารในระดับที่เหมาะสมกับหน้ าที่ความรับผิดชอบ และอยู่ ในระดับที่สงู พอที่จะดูแลให้ ผ้ บู ริ หารมีการปฏิบตั ิหน้ าที่อย่างเต็มความสามารถ 11. การประชุมคณะกรรมการ บริ ษัทจะจัดให้ มีการประชุมคณะกรรมการเป็ นประจําอย่างน้ อย 3 เดือนต่อครัง้ โดยมีการส่งหนังสือนัดประชุม พร้ อมข้ อมูลประกอบวาระการประชุมอย่างชัดเจนให้ คณะกรรมการศึกษาก่อนล่วงหน้ าไม่น้อยกว่า 7 วัน นอกจากนี ้บริ ษัทยัง ได้ มีการจดบันทึกการประชุมเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรเพื่อรายงานผลการประชุม และเก็บรวบรวมไว้ เพื่อให้ คณะกรรมการและ ผู้เกี่ยวข้ องสามารถตรวจสอบได้ ในรอบปี 2551 มีการประชุมคณะกรรมการบริ ษัท จํานวนทังสิ ้ ้น 4 ครัง้ มีคณะกรรมการเข้ า ร่วมประชุมโดยพร้ อมเพียงกัน 12. คณะอนุกรรมการ บริ ษั ท ได้ จัดตัง้ คณะอนุก รรมการ 3 ชุด ประกอบด้ ว ย คณะกรรมการตรวจสอบ, คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง ดังต่อไปนี ้ คณะกรรมการตรวจสอบ บริ ษัทได้ มีการแต่งตังคณะกรรมการตรวจสอบเมื ้ ่อวันที่ 2 มีนาคม 2547 มีวาระในการดํารงตําแหน่ง 3 ปี โดย คณะกรรมการตรวจสอบจะต้ องมีการจัดประชุมและรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท

หน้ า 22


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทได้ ทําการแต่งตังคณะกรรมการสรรหาและพิ ้ จารณารายได้ ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ บริษัทครัง้ ที่ 4/2547 ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2547 และตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทครัง้ ที่ 1/2547 ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2547 เพื่อมาพิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคณ ุ สมบัติเหมาะสมเข้ ามาดํารงตําแหน่งกรรมการบริหารพร้ อมทังพิ ้ จารณา ค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้ กบั กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษัทได้ ทําการแต่งตังคณะกรรมการบริ ้ หารความเสี่ยง ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง้ ที่ 3/2550 ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2550 เพื่อมากําหนดนโยบายการบริหาร ความเสี่ยงในการบริหารงานของบริ ษัท โดยให้ สอดคล้ องกับนโยบายการบริ หารและกลยุทธ์ของบริษัท รวมทังประเมิ ้ นผลของความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้นเพื่อรายงานต่อ คณะกรรมการบริ ษัท 13. ระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายใน บริษัทได้ ตงฝ่ ั ้ ายตรวจสอบภายในขึ ้นมา ซึง่ ได้ รับความร่วมมือจากบริ ษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย ช่วยในการดําเนินการ จัดตัง้ เพื่อทําหน้ าที่ตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน และกิจการทางการเงินที่สําคัญ และช่วยเสนอแนะเพื่อแก้ ไขจุดอ่อนของระบบ การควบคุมภายในของบริษัท เพื่อให้ มนั่ ใจว่าบริ ษัทได้ จดั ให้ มีระบบควบคุมภายในที่ดี และมีการปฏิบตั ิสอดคล้ องตาม กฎหมายและข้ อกําหนดที่เกี่ยวข้ องของบริษัท 14. รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทเป็ นผู้รับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทย่อย และสารสนเทศทางการเงินที่ ปรากฏในรายงานประจําปี โดยมอบหมายให้ คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานงบการเงิน และรายการระหว่างกันก่อน นําเสนอ งบการเงินดังกล่าวจัดทําขึ ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทัว่ ไปในประเทศไทย โดยเลือกใช้ นโยบายบัญชีที่ เหมาะสม และมีการเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 15. ความสัมพันธ์กบั ผู้ลงทุน ้ คณะกรรมการให้ ความสําคัญต่อการเปิ ดเผยข้ อมูลที่มีความถูกต้ อง ครบถ้ วน โปร่งใส และทัว่ ถึง ทังรายงาน ข้ อมูลทางการเงินและข้ อมูลทัว่ ไป ตลอดจนข้ อมูลสําคัญที่มีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริ ษัท โดยบริษัทได้ ดําเนินการ เผยแพร่ข้อมูลที่จําเป็ นต้ องเปิ ดเผยผ่านสื่อต่างๆ ตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด นอกจากนี ้บริษัทยังจัดตัง้ หน่วยงานผู้ลงทุนสัมพันธ์ซงึ่ รายงานโดยตรงต่อกรรมการผู้จดั การ เพื่อให้ บริ การข้ อมูลและข่าวสารกิจกรรมต่างๆของบริษัท ้ ้ผู้ลงทุนสามารถติดต่อขอข้ อมูลบริ ษัทได้ ที่ โทร. 029-190-090กับผู้ลงทุน ผู้ถือหุ้น นักวิเคราะห์ และประชาชนทัว่ ไป ทังนี 97 หรื อ ที่ website: www.seafco.co.th หรื อที่ e-mail address: seafco@seafco.co.th มาตราการหรื อขัน้ ตอนอนุมัตกิ ารทํารายการระหว่ างกัน มีข้อกําหนดให้ บริษัท และบริษัทย่อยที่จะทําธุรกรรมระหว่างกันกับกรรมการ ผู้บริหารหรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ องต้ องนํา ข้ อตกลงดังกล่าวไปขออนุมตั ิจากคณะกรรมการ หรื อขออนุมตั ิในหลักการจากคณะกรรมการก่อนที่จะทําธุรกรรม แม้ ธุรกรรม ดังกล่าวจะเป็ นรายการธุรกิจปกติหรื อรายการสนับสนุนธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการค้ าโดยทัว่ ไป ซึง่ เดิมฝ่ ายบริหารสามารถ อนุมตั ิรายการดังกล่าวได้ เองโดยไม่ต้องขออนุมตั ิจากคณะกรรมการ ดังนันจึ ้ งขออนุมตั ิในหลักการเกี่ยวกับข้ อตกลงทาง

หน้ า 23


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) การค้ าโดยทัว่ ไปในการทําธุรกรรมระหว่างบริษัท และบริษัทย่อยกับกรรมการหรื อผู้บริหารหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้ องอาจมีรายการ ค่าเช่าในทรัพย์สนิ , ค่าสาธารณูปโภค, ค่าบริ การต่างๆ, ให้ ก้ ยู ืมระหว่างกัน, ซื ้อขายวัตถุดิบ จึงขออนุมตั ิในหลักการให้ ฝ่าย บริหารสามารถอนุมตั ิการทําธุรกรรมดังกล่าว โดยมีข้อตกลงทางการค้ าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระทํากับคูส่ ญ ั ญา ทัว่ ไปในสถานการณ์เดียวกันด้ วยอํานาจต่อรองทางการค้ าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็ นกรรมการ ผู้บริ หาร หรื อบุคคลที่มีความเกี่ยวข้ อง รายการระหว่ างกัน ในปี 2552 บริ ษัทฯ มีรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ งซึ่งผู้สอบบัญชี ได้ ระบุไว้ ในหมายเหตุประกอบงบ การเงิน 24 จรรยาบรรณทางธุรกิจ 1. ความโปร่งใส และการเปิ ดเผยข้ อมูล การบริ หารงาน การบันทึกบัญชี การจัดทํารายงานทางการเงิน มีการจัดการอย่างถูกต้ องตามกฎหมายและตาม มาตรฐานสากล มีการเปิ ดเผยข้ อมูลที่ถกู ต้ องชัดเจนเป็ นปั จจุบนั ต่อนักลงทุนและผู้ที่เกี่ยวข้ อง 2. การปฏิบตั ิตอ่ ผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ ายอย่างยุติธรรม ้ ้ ถือหุ้น ลูกค้ า คู่ค้า เจ้ าหนี ้ พนักงาน ชุมชน และสังคม บริษัทได้ ให้ ความสําคัญต่อสิทธิของผู้มีสว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ทังผู โดยรวมอย่างยุติธรรม ให้ ความเท่าเทียมและปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นทุกราย ไม่ว่าจะเป็ นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรื อรายย่อย โดยเท่าเทียมกัน และให้ ความสําคัญอย่างยิ่งต่อสิ่งแวดล้ อม เนื่องจากธุรกิจของบริ ษัทอาจก่อให้ เกิดการรบกวน ชุมชนที่อยูอ่ าศัยใกล้ เคียงกับบริเวณที่ปฏิบตั ิงาน บริษัทจึงได้ ใช้ มาตรการต่าง ๆ ในการลดผลกระทบดังกล่าว 3. การบริหารความเสี่ยง จัดให้ มีการบริ หารความเสี่ยงที่เกี่ยวข้ องกับประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ความถูกต้ องของรายงานทางการเงิน และยึด มัน่ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ คําสัง่ ต่าง ๆ และสัมพันธ์กบั กรอบการควบคุมภายในที่ดี โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง ของการดําเนินธุรกิจ กําหนดระดับความสําคัญของความเสี่ยงเพื่อหามาตรการควบคุม เพื่อลดอัตราความเสี่ยงให้ เหลือน้ อยที่สดุ 4. จัดให้ มีคณ ุ ธรรมและจริยธรรมในทุกระดับขององค์กร คุณธรรมและจริ ยธรรมเป็ นปั จจัยสําคัญของหลักธรรมาภิบาลของบริ ษัท อันเป็ นธรรมเนียมปฏิบตั ิในทุกระดับของ ุ ธรรม องค์กร ตังแต่ ้ กรรมการ ผู้บริ หาร และพนักงานทุกระดับ เนื่องจากคณะกรรมการเชื่อมัน่ ว่า ถ้ าองค์กรไม่มีคณ และจริยธรรมแล้ ว การดําเนินธุรกิจจะไม่สามารถยัง่ ยืนอยูไ่ ด้

หน้ า 24


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

คุณประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงการคลังเป็ นประธานในพิธีมอบรางวัล บริษัทจดทะเบียน ดีเด่นด้ านนักลงทุนสัมพันธ์ (IR Excellence Awards) ให้ แก่นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ กรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) (SEAFCO) ในงาน SET Awards 2009 ที่จดั ขึ ้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 ที่สยามพารากอน

หน้ า 25


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

การดําเนินงานและฐานะการเงิน การวิเคราะห์ ผลการดําเนินงาน รายได้ จากการรั บจ้ าง รายได้ ของกลุ่มบริ ษัท ประกอบด้ วยรายได้ จากการรับจ้ างได้ แก่ รายได้ งานเสาเข็มเจาะ, รายได้ งานกําแพงกันดิน, รายได้ งานก่อสร้ างโยธา, รายได้ งานฐานราก, รายได้ ปรับปรุ งคุณภาพดิน, รายได้ บริ การทดสอบเสาเข็ม, รายได้ บริ การอื่นๆ และรายได้ อื่นนอกเหนือจากการดําเนินงาน เช่น รายได้ ขายวัสดุต่าง ๆ, กําไรจากการจําหน่ายทรัพย์สิน, กําไรจากอัตรา แลกเปลี่ยน ดอกเบี ้ยรับ และหนี ้สูญกลับรายการ ปี 2552 บริ ษัทมีรายได้ รวมทังสิ ้ ้น 1,826.92 ล้ านบาท โดยประกอบด้ วยรายได้ จากการรับจ้ าง 1,785.43 ล้ านบาท และรายได้ อื่น 41.49 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราร้ อยละ 97.73 และร้ อยละ 2.27 ของรายได้ รวมตามลําดับ ซึง่ เพิ่มขึ ้นจากปี 2551 ที่บริ ษัทมีรายได้ รวมทังสิ ้ ้น 1,621.65 ล้ านบาท โดยประกอบด้ วยรายได้ จากการรับจ้ าง 1,589.82 ล้ านบาท และรายได้ อื่น 31.83 ล้ านบาท หรื อคิดเป็ นอัตราร้ อยละ 98.04 และร้ อยละ 1.96 ซึ่งรายได้ จากการรับจ้ างของปี 2552 เมื่อเทียบกับปี 2551 เพิ่มร้ อยละ 12.30 โดยที่ตลาดภาคอสังหาริ มทรัพย์ของปี 2552 เริ่ มฟื น้ ตัวและบริ ษัทสามารถส่งผลงานได้ ดีขึ ้นกว่าปี 2551 ต้ นทุนงานรับจ้ าง ต้ นทุนงานรับจ้ างปี 2552 เท่ากับ 1,627.51 ล้ านบาท เมื่อเทียบกับปี 2551 เท่ากับ 1,485.75 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อย ละ 9.54 เมื่อเทียบกับอัตราที่เพิ่มขึ ้นของรายได้ เท่ากับร้ อยละ 12.30 เห็นว่าอัตราที่เพิ่มขึ ้นของต้ นทุนน้ อยกว่าอัตราที่เพิ่มขึ ้น ของรายได้ อยูท่ ี่ร้อยละ 2.76 มาจากบริษัทสามารถควบคุมต้ นทุนได้ ดีกว่าปี 2551 ค่าใช้ จ่ายในขายและบริหาร ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารของปี 2552 เท่ากับ 84.12 ล้ านบาท เมื่อเทียบกับปี 2551 เท่ากับ 95.51 ล้ านบาท ซึง่ ลดลงร้ อยละ 11.93 บริษัทสามารถควบคุมค่าใช้ จ่ายได้ ดีขึ ้น หนี ้สูญ ปี 2552 บริ ษัทมีการตังสํ ้ ารองหนี ้สูญจํานวน 19.50 ล้ านบาท ซึ่งเท่ากับร้ อยละ 1 ของรายได้ รับจ้ าง ซึ่งเป็ นลูกหนี ้ที่ ค้ างชําระเกิน 12 เดือน ซึง่ คาดว่าจะสามารถเรี ยกชําระคืนได้ ทงจํ ั ้ านวน กําไรขันต้ ้ นและกําไรสุทธิ ปี 2552 และปี 2551 บริ ษัทมีกําไรขันต้ ้ นเท่ากับ 157.93 ล้ านบาท และ 104.07 ล้ านบาท ซึง่ เพิ่มร้ อยละ 51.75 หรื อ คิดเป็ นอัตรากําไรขันต้ ้ นร้ อยละ 8.85 และ ร้ อยละ 6.55 ซึ่งเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อน ร้ อยละ 2.3 ซึ่งเกิดจากบริ ษัทสามารถควบคุม ต้ นทุนได้ ดีกว่าปี ก่อน ปี 2552 และปี 2551 บริษัทมีกําไรสุทธิเท่ากับ 51.51 ล้ านบาท และ 11.61 ล้ านบาท ซึง่ เพิ่มร้ อยละ 343.53 หรื อคิด เป็ นอัตรากําไรสุทธิ เท่ากับร้ อยละ 2.90 และร้ อยละ 0.73 บริ ษัทสามารถควบคุมค่าใช้ จ่ายในการขายและบริ หารได้ ดีกว่าปี ก่อน

หน้ า 25


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ผลตอบแทนผู้ถือหุ้น ปี 2552 และปี 2551 บริ ษัทมีอตั ราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นเท่ากับร้ อยละ 1.9 และร้ อยละ 7.88 เนื่องจากบริ ษัทมีกําไร สุทธิของปี 2552 เพิ่มขึ ้นจาก 11.61 ล้ านบาทมาอยูท่ ี่ 51.51 ล้ านบาท สภาพคล่อง ปี 2552 และปี 2551 บริ ษัทมีอตั ราสภาพคล่องเท่ากับ 0.97 และ 0.85 บริ ษัทบริ หารสภาพคล่องได้ ดีกว่าปี 2551 เล็กน้ อย อย่างไรก็ตามกระแสเงินสดจากการดําเนินงานของปี 2552 และปี 2551 เท่ากับ 112.93 ล้ านบาท และ 70.22 ล้ าน บาท ซึง่ สูงขึ ้นร้ อยละ 60.80 แหล่งที่มาของทุน ปี 2552 และปี 2551 บริ ษัทมีหนี ้สินรวมเท่ากับ 986.10 ล้ านบาท และ 897.90 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 9.82 ซึ่ง หนี ้สินที่เพิ่มขึ ้นเป็ นส่วนหนี ้สินที่ไม่มีดอกเบี ้ย โดยปี 2552 เท่ากับ 575.90 ล้ านบาท ปี 2551 เท่ากับ 437.45 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 31.65 ซึ่งหนี ้สินที่มีดอกเบี ้ยลดลง เมื่อพิจารณาในงบกระแสเงินสดจะเห็นว่าปี 2552 จ่ายชําระหนีส้ ถาบันการเงิน เท่ากับ 54.01 ล้ านบาท แต่ในปี 2551 ได้ ก้ เู งินเพิ่มจากสถาบันการเงิน 46.28 ล้ านบาท ค่าตอบแทนการจากการสอบบัญชีและการสอบทานงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริษัทและบริษัทย่อย จ่ายค่าตอบแทนการสอบบัญชี ดังต่อไปนี ้ ค่ าตอบแทนจากการสอบบัญชีและการสอบทานงบการเงิน ชื่อบริษัทผู้จ่าย

ชื่อผู้สอบบัญชี

ค่าสอบบัญชี

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

1,060,000

บริษัท ซีฟโก้ คอนสตรัคชัน่ จํากัด

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

60,000

บริษัท ซีฟโก้ และบริษัท ประยูรชัย (1984) ร่วมค้ า

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

60,000

SEAFCO-RYOBI PTE LTD.

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

60,000

กิจการร่วมค้ าซีฟโก้ และประยูรชัย (1984)

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

220,000

กิจการร่วมค้ าศรี นครินทร์

นางวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์

220,000

รวม

1,680,000

หน้ า 26


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้ รับการแต่งตังจากคณะกรรมการบริ ้ ษัท เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2547 โดยกําหนดให้ กรรมการออกจากตําแหน่งตามวาระจํานวน 1 ใน 3 ของคณะกรรมการที่ มีอยู่ทกุ ปี และมีวาระในการดํารงตําแหน่งเป็ นระยะเวลา 3 ปี ประกอบด้ วย กรรมการอิสระจํานวน 3 ท่าน ซึง่ เป็ น ผู้ทรงคุณวุฒิจากหลายสาขาวิชา เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ บัญชีและการเงิน การบริ หาร องค์กร และทุกท่านมีคณ ุ สมบัติครบถ้ วนตามที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกําหนด โดยมี รศ.ดร.สมชาย ภค ภาสน์ วิวัฒน์ เป็ นประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายสมควร วัฒกี กุล และนายสมควร มูสิกอินทร์ เป็ น กรรมการตรวจสอบ มีขอบเขตหน้ าที่และความรับผิดชอบตามกฏบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้ รับการอนุมตั ิ และมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท และตามกฏข้ อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ รวมทังข้ ้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบได้ จดั ให้ มีการประชุม รวม 4 ครัง้ โดยกําหนดให้ มีการประชุมร่ วมกับ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต และผู้อํานวยการฝ่ ายตรวจสอบภายใน เป็ นประจําทุกไตรมาส ๆ ละครัง้ ก่อนการประชุม ร่ วมกับคณะกรรมการบริ ษัท โดยไม่มีกรรมการท่านใดขาดการประชุม ซึง่ สรุปผลการดําเนินงานและความเห็น ได้ ดังนี ้.• สอบทานและพิจารณาให้ ความเห็นชอบต่องบการเงินของบริ ษัทและบริ ษัทย่อย ทั ้งงบการเงิน รายไตรมาสและประจําปี 2552 โดยได้ ร่วมประชุมกับผู้สอบบัญชีรับอนุญาตและผู้อํานวยการ ฝ่ ายตรวจสอบภายในของบริ ษัท และมีความเห็นว่า การจัดทํางบการเงินของบริ ษัทเป็ นไปตาม มาตรฐานบัญชีที่รับรองทัว่ ไป มีความครบถ้ วน ถูกต้ องและเชื่อถือได้ มีการเปิ ดเผยข้ อมูลสําคัญ อย่างเพียงพอ เหมาะสมตามสมควร • สอบทานและพิจารณาผลการประเมินความเสี่ยงของคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงในแต่ละ ไตรมาส พร้ อมทั ้งให้ ข้อเสนอแนะประธานและคณะกรรมการบริ หารความเสี่ยงในการประเมิน ความเสี่ ย งในหัว ข้ อ ต่ า ง ๆ ที่ เ ป็ นสาระสํ า คัญ ต่ อ การบริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษั ท รวมทัง้ เสนอแนะแนวทางการแก้ ไขความเสี่ยงที่เหมาะสมให้ แก่คณะกรรมการบริ ษัทเพื่อการแก้ ไขและ ป้องกันอย่างต่อเนื่อง • สอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายในของกระบวนการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายต่าง ๆ ถึง ความเพี ย งพอและความเหมาะสม และได้ ให้ ข้ อ เสนอแนะอัน เป็ นประโยชน์ ต่ อ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ต่ อ คณะกรรมการบริ ห ารและ ผู้เกี่ยวข้ องอย่างสมํ่าเสมอ • สอบทานและพิจารณาการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันระหว่างบริ ษัทกับบริ ษัทย่อย และบริ ษัทร่วม ค้ า รวมทังบริ ้ ษัทที่มีกรรมการเป็ นญาติสนิทกับกรรมการบริ ษัท ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และ ข้ อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ซึ่งรายการดังกล่าวเป็ นไปอย่างสมเหตุผล มี การทําธุรกรรมที่เป็ นปกติ ยุติธรรม และเป็ นไปเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริ ษัท รวมทัง้ มี การ เปิ ดเผยข้ อมูลอย่างถูกต้ อง ครบถ้ วน • พิจารณาผลการดําเนินงานของฝ่ ายตรวจสอบภายในและอนุมัติแผนงานตรวจสอบภายใน ประจํ า ปี โดยการรั บ ทราบผลการตรวจสอบและการสอบทานรวมทัง้ การติ ด ตามผลอย่ า ง สมํ่าเสมอและได้ ให้ ข้อแนะนําเพื่อช่วยให้ การตรวจสอบภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากยิ่งขึ ้น


• สอบทานและกํ า กับดูแลให้ บริ ษัทดําเนิ นธุรกิ จอย่างมีจรรยาบรรณและปฏิ บัติตามหลักการ กํากับดูแลกิ จการที่ดีให้ เป็ นไปตามข้ อกํ าหนดของตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย และ ข้ อกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทังกฎมาย ้ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง • พิจารณาและเสนอแต่งตั ้งผู้สอบบัญชีของบริ ษัทรวมทัง้ การพิจารณาค่าธรรมเนียมการสอบ บัญชีตอ่ คณะกรรมการบริษัท เพื่อนําเสนอต่อผู้ถือหุ้นเพือ่ ขอความเห็นชอบต่อไป คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ ปฏิบตั ิหน้ าที่ด้วยความรอบคอบอย่างเป็ นอิสระและแสดงความเห็นอย่าง ตรงไปตรงมาเพื่อประโยชน์สงู สุดขององค์กร โดยไม่มีข้อจํากัดในการได้ รับข้ อมูล ทรัพยากร และความร่ วมมือจาก คณะกรรมการบริ ษั ท คณะกรรมการบริ ห าร และเจ้ าหน้ าที่ ทุ ก ฝ่ ายที่ เ กี่ ย วข้ อง ทํ า ให้ การปฏิ บัติ ง านของ คณะกรรมการตรวจสอบสามารถดําเนินการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ แผนงานที่ได้ กําหนดไว้ จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ้

(รศ.ดร. สมชาย ภคภาสน์วิวฒ ั น์) ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 16 กุมภาพันธ์ 2553


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เสนอ

ผู้ถือหุ้นบริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน)

ข้ าพเจ้ าได้ ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 งบกําไร ขาดทุนรวมและงบกําไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับ ปี สิ ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และ บริ ษัทย่อย และของเฉพาะบริ ษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ซึง่ ผู้บริหารของกิจการเป็ นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้ องและครบถ้ วนของข้ อมูลในงบการเงินเหล่านี ้ ส่วนข้ าพเจ้ าเป็ นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ซึ่งกําหนดให้ ข้าพเจ้ าต้ อง วางแผนและปฏิบตั ิงานเพื่อให้ ได้ ความเชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้ อมูลที่ขดั ต่อข้ อเท็จจริ งอันเป็ น สาระสําคัญหรื อไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้ วิธีการทดสอบ หลักฐานประกอบรายการ ทั ้งที่เป็ นจํานวนเงินและ การเปิ ดเผยข้ อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับ รายการทางการเงินที่เป็ นสาระสําคัญ ซึ่งผู้บริ หารเป็ นผู้จดั ทําขึ ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการ แสดงรายการที่นําเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้ าพเจ้ า เชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ ข้อสรุ ปที่เป็ นเกณฑ์อย่าง เหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้ าพเจ้ า ข้ าพเจ้ าเห็นว่า งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้ างต้ นนี ้แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะ การเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ผลการดําเนินงานรวมและผลการดําเนินงานเฉพาะ กิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สําหรับปี สิ ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปี ของบริ ษัท ซีฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) และบริ ษั ท ย่ อ ย และของเฉพาะบริ ษั ท ซี ฟ โก้ จํ า กัด (มหาชน) โดยถูก ต้ องตามที่ ค วรใน สาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

สํานักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ

(นางวิไลรัตน์ โรจน์นคริ นทร์ ) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทะเบียนเลขที่ 3104 วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553


1. ข้ อมูลทั่วไป 1.1 บริ ษทั ฯ จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคล เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2517 ทะเบียนเลขที่ 1385/2517 และเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2547 บริ ษทั ฯ ได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด ทะเบียนเลขที่ 0107547000257 (เดิมเลขที่ 0107574700255) 1.2 บริ ษทั ฯ มีสถานประกอบการตั้งอยูเ่ ลขที่ 144 ถนนพระยาสุ เรนทร์ แขวงบางชัน เขตคลองสามวา กรุ งเทพมหานคร 10510 1.3 บริ ษทั ฯ ประกอบธุรกิจ รับเหมางานโยธาก่อสร้าง เช่น เสาเข็มเจาะและงานฐานราก 2. เกณฑ์การจัดทํางบการเงิน งบการเงินนี้ได้จดั ทําขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ภายใต้พระราชบัญญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 และแสดงรายการ ตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้าโดยกระทรวงพาณิ ชย์ ลงวันที่ 30 มกราคม 2552 เรื่ อง กําหนดรายการย่อที่ตอ้ งมีใน งบการเงินของบริ ษทั จํากัด พ.ศ. 2552 และตามข้อกําหนดของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ว่าด้วย การจัดทําและนําเสนอรายงานทางการเงินภายใต้พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 งบการเงินของบริ ษทั ฯ จัดทําขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการในงบการเงิน ยกเว้น รายการที่เปิ ดเผยไว้ในนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง 3. หลักเกณฑ์ การจัดทํางบการเงินรวม งบการเงินรวมของบริ ษทั ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) ได้รวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้า (ใช้วธิ ีการรวม นับตั้งแต่วนั ที่บริ ษทั ฯ มีส่วนร่ วมในการควบคุมนโยบายการเงินและการดําเนินงานจนถึงวันที่การควบคุม

ตามสัดส่วน) สิ้นสุ ดลง ดังต่อไปนี้

ประเทศ

สั ดส่ วนการลงทุน(%) 2552

2551

ประเภทธุรกิจ

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ซีฟโก้ จํากัด และบริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด ร่ วมค้า

ไทย

100

100

รับเหมาก่อสร้าง

บริ ษทั ซีฟโก้ คอนสตรัคชัน่ จํากัด

ไทย

99.99

99.99

รับเหมาก่อสร้าง

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


-2-

กิจการร่ วมค้า Seafco – Ryobi Pte. Ltd. กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984)

ประเทศ

สั ดส่ วนการลงทุน(%) 2552 2551

ประเภทธุรกิจ

สิ งคโปร์ ไทย

47.50 30

47.50 30

รับเหมาก่อสร้าง รับเหมาก่อสร้าง

ไทย

45

45

รับเหมาก่อสร้าง

Seafco – Ryobi Pte. Ltd. เป็ นบริ ษทั ที่จดทะเบียนในต่างประเทศ เพื่อประกอบธุรกิจรับเหมาก่อสร้างเฉพาะ ในประเทศสิ งคโปร์ ซึ่งบริ ษทั ฯ ได้มีการจัดทําสัญญาผูถ้ ือหุ ้นโดยให้ผถู้ ือหุ ้นฝ่ ายไทยและฝ่ ายต่างประเทศมีอาํ นาจใน การควบคุมร่ วมกัน ดังนั้นบริ ษทั ฯ จึงถือเป็ นกิจการร่ วมค้าในการบันทึกบัญชี งบการเงินของกิจการร่ วมค้า ซึ่งจัดตั้งในต่างประเทศได้แปลงค่าเป็ นเงินบาท โดยใช้อตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ใน งบดุลสําหรับรายการที่เป็ นสิ นทรัพย์และหนี้สิน หรื ออัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือนสําหรับรายการที่เป็ นรายได้ และค่าใช้จ่าย ผลต่างซึ่งเกิดจากการแปลงค่าดังกล่าวได้แสดงไว้เป็ นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน” ในส่วนของผูถ้ ือหุ ้น งบการเงินรวมนี้จดั ทําขึ้นโดยใช้นโยบายการบัญชีเดียวกัน สําหรับรายการบัญชีเหมือนกัน หรื อเหตุการณ์ทาง บัญชีที่คล้ายคลึงกัน ยอดคงค้างและรายการระหว่างกันของบริ ษทั ฯ กับบริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้า ยอดกําไรที่คิดระหว่างกันกับที่ ยังไม่ได้เกิดขึ้นของบริ ษทั ฯ กับสิ นทรัพย์สุทธิของบริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าได้ตดั ออกในงบการเงินรวมแล้ว งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 และสําหรับปี สิ้นสุ ดวันเดียวกันได้รวมสิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการร่ วมค้าโดยใช้วธิ ีรวมตามสัดส่วนตามรายละเอียด ดังนี้ 2552 บาท 2551 งบดุล สิ นทรัพย์หมุนเวียน 82,020,053.03 43,801,809.04 3,109,462.63 4,391,981.35 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน 49,515,583.63 27,229,306.93 งบกําไรขาดทุน รายได้ 82,658,195.11 65,526,799.64 ค่าใช้จ่าย 30,291,246.44 48,713,002.29

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


-34. การประกาศใช้ มาตรฐานการบัญชีใหม่ สภาวิชาชีพได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 86/2551 และฉบับที่ 16/2552 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีซ่ ึงได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว 4.1 มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และแนวการปฎิบตั ิทางการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปี ปัจจุบนั แม่บทการบัญชี (ปรับปรุ ง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 ( ปรับปรุ ง 2550 ) การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 5 ( ปรับปรุ ง 2550) สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก (เดิมมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 54 ) แนวทางปฎิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการบันทึกสิ ทธิการเช่า แนวทางปฎิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน มาตรฐานการบัญชี มาตรฐานรายงานทางการเงิน และแนวปฎิบตั ิทางการบัญชีขา้ งต้นให้ถือปฏิบตั ิกบั งบการเงิน ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ มในหรื อหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็ นต้นไป ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ ได้ประเมินแล้วเห็นว่ามาตรฐาน การรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุ ง 2550 )

และแนวปฎิบตั ิทางการบัญชี สําหรับการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุม

เดียวกันไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของบริ ษทั ส่วนแม่บทการบัญชี (ปรับปรุ ง 2550) มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุ ง 2550) และแนวทางปฎิบตั ิทางการบัญชีสาํ หรับการบันทึกสิ ทธิการเช่า ไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญต่องบการเงินสําหรับงวด ปัจจุบนั 4.2 มาตรฐานการบัญชีที่ยงั ไม่มีผลบังคับใช้ในปี ปัจจุบนั วันที่มีผลบังคับใช้ ฉบับที่ 20 การบัญชีสาํ หรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปิ ดเผย

1 มกราคม 2555

ข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ฉบับที่ 24 (ปรับปรุ ง 2550 ) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรื อ

1 มกราคม 2554

กิจการที่กี่ยวข้องกัน ฉบับที่ 40 อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการลงทุน

1 มกราคม 2554

ฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ฯ ได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชีท้งั สามฉบับดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระ สําคัญต่องบการเงินในปี ที่เริ่ มถือปฎิบตั ิ

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) -4-


5. สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ 5.1 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 5.1.1 บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้ารับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้าง 5.1.2 รายได้งานเสาเข็มเจาะและฐานราก บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้ารับรู้เป็ นรายได้ตามอัตราส่วนงาน ที่ทาํ เสร็ จ กรณี มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที่ตน้ ทุนงานทั้งสิ้น จะสูงกว่ารายได้ค่างานตามสัญญา บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าจะรับรู้ผลขาดทุนดังกล่าวเป็ นค่าใช้จ่ายทันทีในงบกําไรขาดทุน 5.1.3 ต้นทุนงานเสาเข็มเจาะและฐานราก ประกอบด้วย ค่าวัสดุ ค่าแรง ค่าจ้างเหมาผูร้ ับเหมา และต้นทุนอื่น ๆ บันทึกตามเกณฑ์คงค้าง 5.2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร ซึ่งถึงกําหนดรับคืนภายในระยะเวลา ไม่เกิน 3 เดือน นับจากวันที่ฝาก และไม่มีขอ้ จํากัดในการเบิกใช้ 5.3 ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญสําหรับผลขาดทุนที่อาจเกิดขึ้นจากการเรี ยกเก็บเงิน จากลูกหนี้ไม่ได้ ทั้งนี้บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าประมาณผลขาดทุนขึ้นจากประสบการณ์การเรี ยกเก็บหนี้ ในอดีตควบคู่กบั การวิเคราะห์ฐานะการเงินของลูกหนี้ในปัจจุบนั 5.4 สิ นค้าคงเหลือ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าตีราคาสิ นค้าคงเหลือในราคาทุน โดยวิธีเข้าก่อนออกก่อน (FIFO) หรื อมูลค่า สุ ทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะตํ่ากว่า 5.5 เงินลงทุน เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย กิจการร่ วมค้าและบริ ษทั อื่น บริ ษทั ฯ แสดงด้วยราคาทุนสุ ทธิจากค่าเผือ่ การด้อยค่า (ถ้ามี) 5.6 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าแสดงที่ดินด้วยราคาทุน อาคารและอุปกรณ์แสดงด้วยราคาทุนหักค่าเสื่ อม สะสม และหักค่าเผือ่ การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ (ถ้ามี) บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าตัดค่าเสื่ อมราคาอาคารและอุปกรณ์ โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดย ประมาณของสิ นทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ จํานวนปี อาคารและส่วนปรับปรุ ง 20 เครื่ องจักรและอุปกรณ์ 5 และ 10 เครื่ องตกแต่ง, ติดตั้งและเครื่ องใช้สาํ นักงาน 5 และ 10 ยานพาหนะ 5 ไม่มีการคิดค่าเสื่ อมราคาสําหรับที่ดินและสิ นทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) -5-


5.7 การด้อยค่าของสิ นทรัพย์ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าได้สอบทานการด้อยค่าของสิ นทรัพย์ เมื่อมีขอ้ บ่งชี้วา่ ราคาตามบัญชีของ สิ นทรัพย์ของบริ ษทั ฯ สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน (ราคาขายสุ ทธิของสิ นทรัพย์น้ นั ๆ ตามปกติธุรกิจหรื อมูลค่า การใช้แล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า) โดยที่การสอบทานจะพิจารณาแต่ละรายการ หรื อพิจารณาจากหน่วยสิ นทรัพย์ที่ก่อ ให้เกิดเงินสดแล้วแต่กรณี ในกรณี ที่ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย และกิจการร่ วมค้าจะรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าในงบกําไรขาดทุนและจะบันทึกกลับรายการขาดทุนจากการด้อยค่า ก็ต่อเมื่อมีขอ้ บ่งชี้วา่ การด้อยค่าดังกล่าวไม่มีอยูอ่ ีกต่อไป หรื อยังคงมีอยูแ่ ต่เป็ นไปในทางที่ลดลง 5.8 รายการบัญชีที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ รายการที่เป็ นเงินตราต่างประเทศ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าบันทึกด้วยอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิด รายการ สิ นทรัพย์และหนี้สินที่เป็ นเงินตราต่างประเทศที่คงเหลืออยู่ ณ วันที่ในงบดุล บันทึกด้วยอัตราถัวเฉลี่ยที่ ธนาคารพาณิ ชย์ซ้ือและขาย ยกเว้นรายการที่มีสญ ั ญาซื้อขายล่วงหน้าใช้อตั ราตามสัญญา กําไรขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนได้รวมอยูใ่ นการคํานวณผลการดําเนินงานแล้ว 5.9 เครื่ องมือทางการเงิน เครื่ องมือทางการเงินที่แสดงในงบดุล ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินฝาก ธนาคารติดภาระคํ้าประกัน เงินลงทุนระยะยาว ลูกหนี้อื่น เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกูย้ มื ระยะสั้น เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินระยะยาวและเจ้าหนี้อื่น นโยบายการบัญชี เกณฑ์การรับรู้และการวัดมูลค่าสําหรับแต่ละรายการได้มีการเปิ ดเผยแยกตามแต่ละหัวข้อที่เกี่ยวข้อง 5.10 สัญญาเช่าระยะยาว บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าบันทึกเครื่ องจักรและยานพาหนะตามสัญญาเช่า/สัญญาเช่าซื้อเป็ น สิ นทรัพย์ และหนี้สินด้วยราคายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่เช่า

หรื อมูลค่าปัจจุบนั สุ ทธิของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่คา้ งจ่ายตามสัญญาเช่า

ส่วนดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดขึ้นจะบันทึกตามระยะเวลาของสัญญาเช่า 5.11 ผลประโยชน์ของพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน บริ ษทั ฯ จัดให้มีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็ นลักษณะของแผนการจ่ายสมทบตามที่ได้กาํ หนดการจ่ายสมทบไว้แล้ว สิ นทรัพย์ของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ได้แยกออกไปจากสิ นทรัพย์ของบริ ษทั และได้รับการบริ หารโดยผูจ้ ดั การกองทุน ภายนอก กองทุนสํารองเลี้ยงชีพดังกล่าวได้รับเงินสะสมเข้ากองทุนจากพนักงานและเงินสมทบจากบริ ษทั เงินจ่ายสมทบ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายการนั้น

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) -6-


สํารองเงินบําเหน็จ ข้อผูกพันตามนโยบายการจ่ายเงินบําเหน็จพนักงานเมื่อครบเกษียณอายุ ซึ่งเงินผลประโยชน์ที่จะให้แก่พนักงาน เมื่อครบเกษียณอายุตามกฎหมายแรงงานกําหนด บริ ษทั ฯ จะบันทึกในงวดบัญชีที่พนักงานครบเกษียณอายุ 5.12 ภาษีเงินได้ บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าบันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยคํานวณจากกําไรสุ ทธิทางภาษีตามที่กาํ หนด ไว้ในประมวลรัษฎากร และกิจการร่ วมค้าที่ประกอบกิจการในต่างประเทศ บันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลโดยคํานวณจาก กําไรสุ ทธิทางภาษีตามที่กาํ หนดไว้ในกฏหมายของประเทศนั้น 5.13. ประมาณการทางบัญชี การจัดทํางบการเงินเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป

ฝ่ ายบริ หารต้องใช้การประมาณและการตั้งข้อ

สมมติฐานบางประการ ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อจํานวนเงินที่แสดงไว้ในงบการเงิน และการเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ซึ่งผลที่เกิดขึ้นจริ งภายหลังอาจแตกต่างไปจากจํานวนเงินที่ประมาณไว้ บริ ษทั ฯ ได้ต้งั ประมาณการและข้อสมมติฐานต่อเหตุการณ์ในอนาคตเป็ นผลให้ประมาณการทางบัญชีอาจจะไม่ตรง กับผลที่เกิดขึ้นจริ ง ประมาณการและข้อสมมติฐานที่อาจมีความเสี่ ยงต่อการปรับปรุ งบัญชีในปี ถัดไปต่อมูลค่าสิ นทรัพย์ ยกไป ณ วันที่ในงบดุล ได้แก่ ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ การประมาณการในเรื่ องต่าง ๆ ได้ถูกเปิ ดเผยในแต่ละส่วนที่เกี่ยวข้อง ของหมายเหตุประกอบงบการเงินแล้ว 5.14. ประมาณการหนี้สิน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิด ภาระผูกพันในปัจจุบนั ตามกฎหมายหรื อจากการอนุมานอันเป็ นผลสื บเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าว คาดว่าจะส่งผลให้สูญเสี ยทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อจ่ายชําระภาระผูกพันและจํานวนที่ตอ้ งจ่ายสามารถ ประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ หากบริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าคาดว่าจะได้รับคืนรายจ่ายที่จ่ายชําระไปตาม ประมาณหนี้สินทั้งหมดหรื อบางส่วนอย่างแน่นอน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าจะรับรู้รายจ่ายที่ได้รับคืนเป็ น สิ นทรัพย์แยกต่างหาก แต่ตอ้ งไม่เกินจํานวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้อง 5.15 กําไรต่อหุ ้น กําไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้น ที่แสดงไว้ในงบกําไรขาดทุนเป็ นกําไร(ขาดทุน)ต่อหุ ้นขั้นพื้นฐาน ซึ่งคํานวณโดยการหาร ยอดกําไร(ขาดทุน)สุ ทธิสาํ หรับปี ด้วยจํานวนหุ ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่ออกและเรี ยกชําระแล้ว

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) -7-


6. ข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระแสเงินสด 6.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2552

2551

2552

2551

623,674.77

749,592.99

586,217.40

664,037.85

27,035,298.89

11,244,893.46

7,702,444.47

6,235,499.39

291,158.02

417,646.26

12,177.26

12,177.26

13,255,326.41

18,029,539.77

0.00

0.00

41,205,458.09

30,441,672.48

8,300,839.13

6,911,714.50

เงินสด เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน เงินฝากธนาคาร - ออมทรัพย์ เงินฝากธนาคาร - ประจํา รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

6.2 รายการที่ไม่เกี่ยวกับเงินสด สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 1) บริ ษทั ฯ ซื้อเครื่ องจักรและอุปกรณ์ จํานวน 0.27 ล้านบาท ครบกําหนดจ่ายชําระในปี 2553 แสดงไว้เป็ นเจ้าหนี้ ค่าซื้อสิ นทรัพย์ถาวร 2) บริ ษทั ฯ ได้ทาํ สัญญาเช่าซื้อยานพาหนะ จํานวน 5.01 ล้านบาท โดยจ่ายชําระเงินเริ่ มแรก จํานวน 1.19 ล้านบาท ส่วนที่เหลือผ่อนชําระ แสดงไว้เป็ นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 3) บริ ษทั ฯ ได้รับชําระหนี้จากลูกค้ารายหนึ่ง จํานวน 14.93 ล้านบาท ด้วยสิ นทรัพย์รอจําหน่าย 4) บริ ษทั ฯ มีรายจ่ายในการปรับปรุ งสิ นทรัพย์ถาวร จํานวน 2.41 ล้านบาท เพื่อเพิ่มอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ โดย แสดงรายจ่ายดังกล่าวหักค่าเสื่ อมราคาสะสม สําหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 1) บริ ษทั ฯ ซื้อเครื่ องจักรและอุปกรณ์ จํานวน 1.05 ล้านบาท ครบกําหนดจ่ายชําระในปี 2552 แสดงไว้เป็ นเจ้าหนี้ ค่าซื้อสิ นทรัพย์ถาวร 2) บริ ษทั ฯ ได้ทาํ สัญญาเช่าเครื่ องจักร จํานวน 23.38 ล้านบาท แสดงไว้เป็ นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 3) บริ ษทั ฯ ได้ทาํ สัญญาเช่าซื้อยานพาหนะ จํานวน 0.64 ล้านบาท โดยจ่ายชําระเงินเริ่ มแรกแล้ว จํานวน 0.28 ล้านบาท ส่วนที่เหลือผ่อนชําระ แสดงไว้เป็ นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 4) บริ ษทั ฯ ได้โอนสิ นทรัพย์ถาวรสุ ทธิ จํานวน 2.69 ล้านบาท แสดงไว้เป็ นสิ นค้าคงเหลือ เนื่องจากนําสิ นทรัพย์ถาวร ดังกล่าวไปใช้ในงานรับจ้าง

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) -8-


7. ลูกหนีก้ ารค้ า - สุ ทธิ ประกอบด้ วย งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

194,417,273.63

142,578,115.30

198,145,190.87

142,578,115.30

63,698,706.81

77,598,993.96

44,702,457.84

72,633,500.79

- มากกว่า 3 เดือนถึง 6 เดือน

5,823,742.53

8,027,683.84

5,823,742.53

8,027,683.84

- มากกว่า 6 เดือนถึง 12 เดือน

15,215,982.36

3,504,716.67

15,215,982.36

3,504,716.67

- มากกว่า 12 เดือน ขึ้นไป

85,532,637.23

91,240,168.46

85,532,637.23

91,240,168.46

364,688,342.56

322,949,678.23

349,420,010.83

317,984,185.06

(62,322,789.30)

(71,213,150.20)

(62,322,789.30)

(71,213,150.20)

302,365,553.26

251,736,528.03

287,097,221.53

246,771,034.86

ลูกหนี้ที่เรี ยกเก็บเงินแล้วแยกตามอายุลูกหนี้ ลูกหนี้ที่ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ ลูกหนี้ที่เกินกําหนดชําระ - น้อยกว่า 3 เดือน

รวม หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ 8. สิ นค้ าคงเหลือ - สุ ทธิ ประกอบด้ วย

งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

2552

2551

วัตถุดิบ

29,588,372.56

49,999,563.71

29,561,924.02

49,796,804.51

วัสดุสิ้นเปลือง

43,870,732.12

44,157,617.27

43,870,732.12

44,157,617.27

รวม

73,459,104.68

94,157,180.98

73,432,656.14

93,954,421.78

(109,885.11)

(109,885.11)

(109,885.11)

(109,885.11)

73,349,219.57

94,047,295.87

73,322,771.03

93,844,536.67

หัก ค่าเผือ่ สิ นค้าชํารุ ด สุ ทธิ

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


-99. เงินฝากธนาคารติดภาระคํา้ ประกัน ประกอบด้ วย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

เงินฝากธนาคารออมทรัพย์

43,109,230.48

44,297,441.02

เงินฝากธนาคารประจํา รวม

39,926,682.72 83,035,913.20

18,556,345.72 62,853,786.74

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินฝากธนาคารหลายแห่ง คํ้าประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 14) และหนังสื อคํ้าประกัน (หมายเหตุ 29.2) 10. เงินลงทุนในบริษัทย่ อยและกิจการร่ วมค้ า ประกอบด้ วย สั ดส่ วนเงินลงทุน

งบการเงินเฉพาะกิจการ

(ร้ อยละ)

วิธีราคาทุน

จดทะเบียน ทุนชําระแล้ ว ชื่อบริษัท

ในประเทศ

(บาท)

2552

2551

บริ ษทั ซีฟโก้ จํากัด และ

ไทย

1,000,000.00

100

100

800,000.00

800,000.00

ไทย

1,000,000.00

99.99

99.99

999,940.00

999,940.00

สิ งคโปร์

300,000.00

47.50

47.50

3,250,359.40

3,250,359.40

5,050,299.40

5,050,299.40

2552

บาท

2551

บริ ษทั ย่อย บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด ร่ วมค้า บริ ษทั ซีฟโก้ คอนสตรัคชัน่ จํากัด กิจการร่ วมค้า Seafco - Ryobi Pte. Ltd.

(ดอลล่าร์สิงคโปร์) รวม

เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2550 บริ ษทั ฯ ได้ร่วมกับ Ryobi - Kiso (S) Pte. Ltd. โดยจัดตั้งบริ ษทั ร่ วมทุน Seafco - Ryobi Pte. Ltd. วัตถุประสงค์เพื่อดําเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้างในประเทศสิ งคโปร์ บริ ษทั ฯ ลงทุนในบริ ษทั ดังกล่าวจํานวน 142,500 ดอลล่าร์ สิ งคโปร์ งบการเงินของบริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าข้างต้นที่นาํ มาจัดทํางบการเงินรวมผ่านการตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีแล้ว ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 10 11. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ประกอบด้ วย งบการเงินรวม

(หน่ วย : บาท)

ที่ดินและ

อาคารและ

เครื่ องจักร

เครื่ องตกแต่งติดตั้ง

ยานพาหนะ

สิ นทรัพย์

รวม

ส่ วนปรับปรุ ง

ส่ วนปรับปรุ ง

และอุปกรณ์

และเครื่ องใช้สาํ นักงาน

48,228,385.28

32,702,475.93

895,609,260.99

36,203,677.55

71,278,013.20

14,393,406.27

1,098,415,219.22

0.00

0.00

3,958,088.10

2,069,319.21

5,165,492.79

15,790,528.88

26,983,428.98

0.00

0.00

(11,897,229.15)

(580,171.87)

0.00

0.00

(12,477,401.02)

5,116,654.14

10,427,210.04

4,296,106.68

0.00

0.00

(19,839,970.86)

0.00

53,345,039.42

43,129,685.97

891,966,226.62

37,692,824.89

76,443,505.99

10,343,964.29

1,112,921,247.18

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

0.00

18,249,792.27

486,890,594.65

24,864,411.95

54,141,361.04

0.00

584,146,159.91

ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี

0.00

1,913,175.12

61,776,161.01

3,150,047.52

8,248,743.47

0.00

75,088,127.12

ค่าเสื่ อมราคาส่ วนที่จาํ หน่าย

0.00

0.00

(13,257,850.36)

(387,721.33)

0.00

0.00

(13,645,571.69)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

0.00

20,162,967.39

535,408,905.30

27,626,738.14

62,390,104.51

0.00

645,588,715.34

มูลค่าสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

48,228,385.28

14,452,683.66

408,718,666.34

11,339,265.60

17,136,652.16

14,393,406.27

514,269,059.31

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

53,345,039.42

22,966,718.58

356,557,321.32

10,066,086.75

14,053,401.48

10,343,964.29

467,332,531.84

ระหว่างก่อสร้าง

สิ นทรัพย์ - ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซื้อ จําหน่าย โอนระหว่างประเภท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่ อมราคาสะสม

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 11 -

สิ นทรัพย์ - ราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ซื้อ จําหน่าย โอนระหว่างประเภท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 ค่าเสื่ อมราคาสะสม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ค่าเสื่ อมราคาสําหรับปี ค่าเสื่ อมราคาส่ วนที่จาํ หน่าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 มูลค่าสิ นทรัพย์ - สุ ทธิ ตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ เครื่ องตกแต่งติดตั้ง ยานพาหนะ และเครื่ องใช้สาํ นักงาน

สิ นทรัพย์ ระหว่างก่อสร้าง

(หน่ วย : บาท) รวม

ที่ดินและ ส่ วนปรับปรุ ง

อาคารและ ส่ วนปรับปรุ ง

เครื่ องจักร และอุปกรณ์

48,228,385.28 0.00 0.00 5,116,654.14 53,345,039.42

32,702,475.93 0.00 0.00 10,427,210.04 43,129,685.97

895,609,260.99 3,958,088.10 (11,897,229.15) 4,296,106.68 891,966,226.62

35,882,997.08 2,065,887.22 (577,375.14) 0.00 37,371,509.16

70,851,162.88 5,165,492.79 0.00 0.00 76,016,655.67

14,393,406.27 15,790,528.88 0.00 (19,839,970.86) 10,343,964.29

1,097,667,688.43 26,979,996.99 (12,474,604.29) 0.00 1,112,173,081.13

0.00 0.00 0.00 0.00

18,249,792.27 1,913,175.12 0.00 20,162,967.39

486,890,594.65 61,776,161.01 (13,257,850.36) 535,408,905.30

24,828,407.70 3,098,927.14 (387,605.63) 27,539,729.21

54,020,069.59 8,163,607.42 0.00 62,183,677.01

0.00 0.00 0.00 0.00

583,988,864.21 74,951,870.69 (13,645,455.99) 645,295,278.91

48,228,385.28 53,345,039.42

14,452,683.66 22,966,718.58

408,718,666.34 356,557,321.32

11,054,589.38 9,831,779.95

16,831,093.29 13,832,978.66

14,393,406.27 10,343,964.29

513,678,824.22 466,877,802.22

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีอาคารและอุปกรณ์ราคาทุนจํานวน 357.05 ล้านบาท และ 355.93 ล้านบาท ตามลําดับ คิดค่าเสื่ อมราคาเต็มมูลค่าแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 เครื่ องจักรและยานพาหนะราคาทุนจํานวน 124.93 ล้านบาท และ 43.81 ล้านบาท ตามลําดับ บริ ษทั ฯ อยูใ่ นระหว่างจ่ายชําระตามสัญญา (หมายเหตุ 18) ที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างบนที่ดินทั้งหมดได้จดจํานองคํ้าประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (หมายเหตุ 14 ) เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอื่น (หมายเหตุ 17) และหนังสื อคํ้าประกัน (หมายเหตุ 29.2) ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 12 12. ลูกหนีเ้ งินประกันผลงาน - สุ ทธิ ประกอบด้ วย

เงินประกันผลงาน หัก ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ สุ ทธิ

งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 135,550,851.65 137,539,006.12 (4,433,753.97) (4,073,366.39) 131,117,097.68 133,465,639.73

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 134,489,454.04 133,962,333.66 (4,433,753.97) (4,073,366.39) 130,055,700.07 129,888,967.27

13. สิ นทรัพย์ รอจําหน่ าย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 บริ ษทั ฯ มีสินทรัพย์รอจําหน่าย (ที่ดิน 2 แปลง และ อาคารชุด 4 ห้อง) จํานวน 14.93 ล้านบาท เป็ นสิ นทรัพย์ที่เกิดจากการรับชําระค่างานก่อสร้างจากลูกค้ารายหนึ่ง โดยลูกค้าดังกล่าวสามารถซื้อสิ นทรัพย์น้ นั คืนได้ภายใน 3 ปี นับจากวันที่รับโอนกรรมสิ ทธิ์ 14. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน ประกอบด้ วย งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 61,446,882.17 77,904,135.71 เงินกูย้ มื จากธนาคาร 135,526,916.93 142,655,000.00 เจ้าหนี้ธนาคารทรัสต์รีซีท 0.00 37,423,700.00 รวม 196,973,799.10 257,982,835.71

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 61,446,882.17 77,904,135.71 119,117,996.80 136,940,000.00 0.00 37,423,700.00 180,564,878.97 252,267,835.71

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินเบิกเกินบัญชีกบั ธนาคาร 5 แห่ง รวมวงเงินจํานวน 113 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ MOR ถึง MOR + 1 ต่อปี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินกูย้ มื จากธนาคาร 4 แห่ง และ 3 แห่ง ตามลําดับ โดยออก ตัว๋ สัญญาใช้เงินอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.85 - 6.75 ต่อปี และ 6.75 - 7.75 ต่อปี ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริ ษทั ฯ มีเจ้าหนี้ธนาคารทรัสต์รีซีทกับธนาคารแห่งหนึ่ง เพื่อนําเข้าเครื่ องจักรจากต่างประเทศ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 7.25 - 7.75 ต่อปี หนี้สินดังกล่าวคํ้าประกันโดยเงินฝากธนาคาร (หมายเหตุ 9), ที่ดินและสิ่ งปลูกสร้างบนที่ดิน (หมายเหตุ 11), โอนสิ ทธิ ในการรับเงินตามสัญญาว่าจ้างของลูกค้าหลายราย และคํ้าประกันส่วนตัวโดยกรรมการบริ ษทั บางท่าน

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) - 13 -


15. หนีส้ ิ นระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี ประกอบด้ วย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

เงินกูย้ มื ระยะยาวจากกิจการอื่น

11,050,000.00

16,080,000.00

หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน รวม

23,191,926.83

14,386,757.40

34,241,926.83

30,466,757.40

16. เงินกู้ยืมระยะสั้ นจากบุคคลอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินกูย้ มื ระยะสั้นค้างชําระคืนแก่บุคคลหลายราย จํานวนเงิน 130 ล้านบาท ( 6 ราย ) และ 150 ล้านบาท ( 5 ราย ) ตามลําดับ โดยการขายลดตัว๋ แลกเงินของบริ ษทั ฯ อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.75 - 4.60 ต่อปี และ 4.50 - 4.85 ต่อปี ตามลําดับ 17. เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการอื่น - สุ ทธิ ประกอบด้ วย งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

เงินกูย้ มื จากธนาคาร

11,050,000.00

27,130,000.00

หก หัก หนสนระยะยาวทถงกาหนดชาระภายในหนงป หนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี สุ ทธิ

(11,050,000.00)

(16,080,000.00)

0.00

11,050,000.00

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคาร โดยมีรายละเอียดดังนี้ สัญญาเงินกูย้ มื ที่ 1 ในระหว่างปี 2550 บริ ษทั ฯ มีเงินกูย้ มื ระยะยาวจากธนาคารแห่งหนึ่ง จํานวนเงิน 30.25 ล้านบาท จ่ายชําระคืนเงินต้นเป็ นงวดรวม 35 งวด โดยจ่ายทุกเดือน งวดละ 0.84 ล้านบาท เริ่ มชําระงวดแรกภายในเดือนกรกฎาคม 2550 และชําระให้ แล้วเสร็ จภายในเดือนมิถุนายน 2553 อัตราดอกเบี้ย MLR ต่อปี จ่ายชําระดอกเบี้ยทุกสิ้นเดือน เงินกูย้ มื ดังกล่าว คํ้าประกันโดยจดจํานองที่ดินพร้อมสิ่ งปลูกสร้าง (หมายเหตุ 11) และกรรมการบริ ษทั บางท่าน โดยบริ ษทั ฯ จะต้องปฏิบตั ิตาม เงื่อนไขในสัญญากู้ เช่น การรักษาอัตราส่วนของหนี้สินรวมต่อส่วนของผูถ้ ือหุ ้นเกินกว่า 1.5 ต่อ 1 แต่ไม่ต่าํ กว่าศูนย์, การรักษา อัตราส่วนความสามารถในการชําระหนี้ไม่นอ้ ยกว่า 2 เท่า เป็ นต้น

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) - 14 -


สัญญาเงินกูย้ มื ที่ 2 ในระหว่างปี 2551 บริ ษทั ฯ มีเงินกูย้ มื จากธนาคารแห่งหนึ่ง จํานวนเงิน 15 ล้านบาท จ่ายชําระคืน เงินต้นเป็ นรายเดือน ทุกเดือนๆ ละ 0.50 ล้านบาท เริ่ มชําระตั้งแต่เดือนที่ 7 นับจากเดือนธันวาคม 2550 และชําระดอกเบี้ย เป็ นรายเดือนในอัตราร้อยละ MLR ต่อปี เงินกูย้ มื ดังกล่าว คํ้าประกันโดยกรรมการบริ ษทั บางท่าน 18. หนีส้ ิ นตามสั ญญาเช่ าการเงิน - สุ ทธิ ประกอบด้ วย 1) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินไม่รวมดอกเบี้ยจ่ายในอนาคต ดังนี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่า เจ้าหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อ รวม หัก หนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี สุ ทธิ

2552

2551

68,787,070.69

24,847,176.10

3,404,310.88

489,866.95

72,191,381.57

25,337,043.05

(23,191,926.83)

(14,386,757.40)

48,999,454.74

10,950,285.65

2) จํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายสําหรับสัญญาเช่าการเงิน มีดงั นี้ งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2552

2551

ภายในหนึ่งปี

26,150,688.92

14,386,757.40

เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี

39,305,359.00

12,772,762.94

เกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี

17,550,766.90

211,715.10

รวม

83,006,814.82

27,371,235.44

หัก ดอกเบี้ยจ่ายในอนาคตของสัญญาเช่าการเงิน

(10,815,433.25)

(2,034,192.39)

มูลค่าปัจจุบนั ของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน

72,191,381.57

25,337,043.05

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) - 15 -


19. สํ ารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริ ษทั มหาชนจํากัด บริ ษทั ฯ ต้องจัดสรรกําไรสุ ทธิประจําปี ไว้เป็ นสํารองตามกฎหมายไม่นอ้ ยกว่า ร้อยละ 5 ของกําไรสุ ทธิประจําปี หักด้วยขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าสํารองตามกฎหมายนี้จะมียอดไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึ่งสํารองตามกฎหมายนี้ไม่อาจนําไปจ่ายเงินปันผลได้ 20. การจัดสรรกําไรสะสม ตามรายงานการประชุมสามัญผูถ้ ือหุ ้น ครั้งที่ 1/2551 เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2551 มีมติเห็นชอบให้จ่ายเงินปันผล สําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2550 ให้แก่ผถู้ ือหุ ้นในอัตราหุ ้นละ 0.05 บาท จํานวน 215 ล้านหุ ้น รวมเป็ นเงิน 10.75 ล้านบาท 21. ค่ าตอบแทนกรรมการ ผลตอบแทนกรรมการนี้เป็ นผลประโยชน์ที่จ่ายให้แก่กรรมการของบริ ษทั ฯ ตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติ บริ ษทั มหาชนจํากัด โดยไม่รวมเงินเดือนและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องที่จ่ายให้แก่กรรมการในฐานะผูบ้ ริ หาร 22. ค่ าตอบแทนผู้บริหาร ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารเป็ นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน

ค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นให้แก่กรรมการเฉพาะใน

ฐานะผูบ้ ริ หาร และให้แก่ผบู้ ริ หารตามนิยามในประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์อนั ได้แก่ ผูจ้ ดั การหรื อผูด้ าํ รง ตําแหน่งระดับบริ หารสี่ รายแรกต่อจากผูจ้ ดั การลงมา และผูซ้ ่ ึงดํารงตําแหน่งเทียบเท่าผูด้ าํ รงตําแหน่งระดับบริ หารรายที่ 4 ทุกราย 23. การคํานวณภาษีเงินได้ บริ ษทั ฯ คํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 25 (บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้า อัตราร้อยละ 15 - 30) ของกําไร (ขาดทุน)ก่อนหักภาษี บวกกลับด้วยค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่ไม่อนุญาตให้ถือเป็ นค่าใช้จา่ ยในการคํานวณภาษี

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)






- 16 24. รายการบัญชี กับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้ องกัน ส่ วนหนึ่ งในสิ นทรัพย์ หนี้ สิน รายได้และค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ฯและกิจการร่ วมค้า เกิดขึ้นจากรายการทางบัญชี กบั บุคคลและกิจการ ที่เกี่ยวข้องกัน รายการที่เกี่ยวข้องกันดังกล่าวเป็ นไปตามเงื่อนไขทางการค้า และเกณฑ์ตามที่ตกลงระหว่างกัน มีรายละเอียดดังนี้ 24.1 ข้อมูลทัว่ ไป ชื่อ

ประกอบธุรกิจ

ลักษณะความสัมพันธ์

รายการค้ า

นโยบายการกําหนดราคา

กิจการร่ วมค้ า Seafco - Ryobi Pte. Ltd.

ผูร้ ่ วมลงทุน

รับเหมาก่อสร้าง

รายได้จากการรับจ้าง - ค่าจ้างแรงงาน

ต้นทุนที่จ่ายจริ งบวกเพิ่มประมาณ 20%

- ค่าเช่าเครื่ องจักร

อัตราเดือนละ 1.36 ล้านบาท

- ค่าขนส่ งเครื่ องจักร

ตามที่จ่ายจริ ง

กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์

รับเหมาก่อสร้าง

ผูร้ ่ วมค้า

รายได้จากการรับจ้าง

ต้นทุนประมาณ

กิจการร่ วมค้า ซี ฟโก้ และ

รับเหมาก่อสร้าง

ผูร้ ่ วมค้า

รายได้จากการรับจ้าง

ต้นทุนประมาณ

รายได้อื่น

ตามที่จ่ายจริ ง

ค่าจ้างผูร้ ับเหมา

ตํ่ากว่าราคาตลาดตามที่จ่ายจริ ง

ประยูรชัย (1984) ผู้ร่วมค้ า บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด

รับเหมาก่อสร้าง

ผูร้ ่ วมค้า

ค่าสาธารณูปโภค บริษทั ที่เกีย่ วข้ องกัน บริ ษทั เอส.ที.พี. แอสเซท จํากัด

ให้เช่าสังหาริ มทรัพย์​์ ผูถ้ ือหุ น้ ร่ วมกัน

ค่าสาธารณูปโภค

ตามที่จ่ายจริ ง

และอสังหาริ มทรัพย์ และญาติสนิทของ

ค่าเช่าเครื่ องจักร

ตํ่ากว่าราคาตลาด

ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ

ตามที่จ่ายจริ ง

กรรมการเป็ นกรรมการ ของบริ ษทั ดังกล่าว บริ ษทั อี. ดี. อี. จํากัด

รับจ้างทดสอบ

ผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั

ค่าเช่าเครื่ องจักร

ตํ่ากว่าราคาตลาด

คุณภาพเสาเข็ม

ดังกล่าวเป็ นญาติสนิท

ค่างานทดสอบคุณภาพ

ตามราคาตลาด

ของผูถ้ ือหุ น้ บริ ษทั สยามอินดัสตรี

จําหน่ายวัสดุก่อสร้าง ญาติสนิทของกรรมการ

แมททีเรี ยลส์ จํากัด

เสาเข็ม ซื้ อสิ นค้า

เป็ นกรรมการและผูถ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั ดังกล่าว

ลงชื่ อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิ พนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)

ตํ่ากว่าราคาตลาด


- 17 24.2 รายการสิ นทรัพย์และหนี้สินกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกัน มีดงั นี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

2551

2552

2551

ลูกหนี้การค้า กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์

14,241,082.39

0.00

20,344,403.42

0.00

9,653,476.70

2,137,371.56

17,551,775.81

3,886,130.11

23,894,559.09

2,137,371.56

37,896,179.23

3,886,130.11

40,448,620.50

1,932,384.27

66,287,935.10

2,760,548.95

4,301,460.88

6,423,538.34

8,689,819.96

12,976,845.12

44,750,081.38

8,355,922.61

74,977,755.06

15,737,394.07

3,649,864.28

4,512,260.80

0.00

0.00

15,258.08

1,574,140.43

21,797.26

2,336,366.96

425,962.83

283,795.42

774,477.87

552,110.99

0.00

434,362.59

0.00

0.00

441,220.91

2,292,298.44

796,275.13

2,888,477.95

กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) รวม ลูกหนี้การค้าที่ยงั ไม่ได้เรี ยกชําระ กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) รวม สิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าให้แก่ผรู้ ับเหมาช่วง ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด อื่น ๆ กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด รวม

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) - 18 -


งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น ลูกหนี้เงินประกันผลงาน กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) รวม เจ้าหนี้การค้า ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด บริ ษทั เอส. ที. พี. เอสเซท จํากัด บริ ษทั อี. ดี. อี จํากัด บริ ษทั สยามอินดัสตรี แมททีเรี ยลส์ จํากัด รวม หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับล่วงหน้าจากลูกค้าตามสัญญา กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) รวม เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด อื่นๆ กิจการร่ วมค้า ซีฟโก้ และ ประยูรชัย (1984) ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551

1,851,860.81

0.00

2,645,515.44

0.00

0.00 1,851,860.81

275,090.20 275,090.20

0.00 2,645,515.44

500,164.00 500,164.00

6,385,822.49 189,522.81 621,533.35

1,234,842.98 365,705.55 150,014.00

0.00 189,522.81 621,533.35

0.00 365,705.55 150,014.00

742,312.50 7,939,191.15

1,385,650.00 3,136,212.53

742,312.50 1,553,368.66

1,385,650.00 1,901,369.55

29,125,168.90

0.00

48,027,800.09

0.00

5,883,071.86 35,008,240.76

6,856,089.19 6,856,089.19

11,565,476.29 59,593,276.38

13,763,301.11 13,763,301.11

0.00

2,476,883.52

0.00

0.00

0.00

530,887.62

0.00

965,250.21

0.00 0.00

151,735.50 682,623.12

0.00 0.00

0.00 965,250.21

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์) - 19 -


24.3 รายการรายได้และค่าใช้จ่ายกับบุคคลและกิจการที่เกี่ยวข้องกันมีดงั นี้ งบการเงินรวม (บาท) 2552 2551 รายได้จากการรับจ้าง Seafco - Ryobi Pte. Ltd. 0.00 2,117,804.20 กิจการร่ วมค้าศรี นคริ นทร์ 77,790,720.98 1,932,384.27 กิจการร่ วมค้าซีฟโก้และ ประยูรชัย (1984) 24,009,019.45 12,263,024.16 รวม 101,799,740.43 16,313,212.63 ต้นทุนงานรับจ้าง ค่าจ้างผูร้ ับเหมา ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด 22,902,811.41 26,082,004.44 ซื้อสิ นค้า บริ ษทั สยามอินดัสตรี แมททีเรี ยลส์ จํากัด 3,650,125.00 4,575,750.00 ค่าสาธารณูปโภค ผูร้ ่ วมค้า - บริ ษทั ประยูรชัย (1984) จํากัด 113,400.00 465,897.08 บริ ษทั เอส บรษท เอส. ท. ที พ. พี เอสเซท จากด จํากัด 2 149 815 86 2,149,815.86 2 365 779 89 2,365,779.89 บริ ษทั อี. ดี. อี. จํากัด 114,667.01 0.00 ค่าเช่าเครื่ องจักร บริ ษทั เอส. ที. พี. เอสเซท จํากัด 1,445,649.77 1,588,113.81 บริ ษทั อี. ดี. อี. จํากัด 0.00 34,000.00 ค่างานทดสอบคุณภาพเสาเข็ม บริ ษทั อี. ดี. อี. จํากัด 2,020,900.00 2,689,800.00 รวม 32,397,369.05 37,801,345.22 รายได้อื่น กิจการร่ วมค้าซีฟโก้และ ประยูรชัย (1984) 129,532.72 64,766.36 ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร อื่น ๆ บริ ษทั เอส. ที. พี. เอสเซท จํากัด 386,774.28 330,699.52

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 0.00 113,213,376.98

4,033,912.77 2,760,548.95

43,652,762.63 156,866,139.61

22,296,407.57 29,090,869.29

0.00

0.00

3,650,125.00

4,575,750.00

0.00 2 149 815 86 2,149,815.86 114,667.01

0.00 2 365 779 89 2,365,779.89 0.00

1,445,649.77 0.00

1,588,113.81 34,000.00

2,020,900.00 9,381,157.64

2,689,800.00 11,253,443.70

235,514.04

117,757.01

386,774.28

330,699.52

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 20 25. ค่ าใช้ จ่ายตามลักษณะของค่ าใช้ จ่ายที่สําคัญ ประกอบด้ วย งบการเงินรวม (บาท) 2552

2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552

2551

งานที่กิจการทําและถือเป็ น รายจ่ายฝ่ ายทุน

(18,047,310.19)

(16,012,553.83)

(18,047,310.19)

(16,012,553.83)

วัตถุดิบและวัสดุสิ้นเปลืองใช้ไป

814,868,897.89

882,100,816.56

813,599,299.27

870,758,109.71

ค่าจ้างผูร้ ับเหมา

394,518,188.36

162,601,861.53

369,213,422.21

129,408,906.59

ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน

132,359,105.30

145,073,252.13

131,551,919.50

142,805,924.36

75,088,011.42

70,251,980.83

74,951,870.69

70,101,902.86

ค่าตอบแทนกรรมการ

3,664,500.00

4,058,000.00

3,664,500.00

4,058,000.00

ค่าตอบแทนผูบ้ ริ หาร

25,474,480.00

25,510,240.00

25,474,480.00

25,510,240.00

ค่าเสื่ อมราคา

26. ข้ อมูลทางการเงินจําแนกตามส่ วนงาน บริ ษทั ฯ ดําเนินธุรกิจในส่วนงานทางธุรกิจเดียว คือ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและมีส่วนงานทางภูมิศาสตร์ท้งั ใน และ ต่างประเทศ แต่เนื่องจากส่วนงานในต่างประเทศมีรายได้ไม่ถึงร้อยละ 10 ของรายได้รวม บริ ษทั ฯ จึงไม่ได้เสนอข้อมูลทาง การเงินจําแนกตามส่วนงานทางภูมิศาสตร์ 27. การเปิ ดเผยข้ อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือทางการเงิน บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้าไม่มีนโยบายที่จะประกอบธุรกรรมตราสารทางการเงินนอกงบดุล ที่เป็ นตราสาร อนุพนั ธ์เพื่อเก็งกําไรหรื อเพื่อค้า 27.1 นโยบายการบัญชี รายละเอียดนโยบายบัญชีที่สาํ คัญ วิธีการที่ใช้ซ่ ึงรวมถึงเกณฑ์ในการรับรู้และการวัดมูลค่าที่เกี่ยวกับสิ นทรัพย์และหนี้สิน ทางการเงินแต่ละประเภท ได้เปิ ดเผยไว้แล้วในหมายเหตุขอ้ 5.9

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์

และ

นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 21 27.2 ความเสี่ ยงจากการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา ความเสี่ ยงจากการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา เกิดจากการที่คู่สญ ั ญาไม่ปฏิบตั ิตามข้อกําหนดในสัญญา ซึ่งก่อให้เกิดความ เสี ยหายแก่บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้า บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้ามีนโยบายในการป้ องกันความเสี่ ยงนี้ โดยการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของลูกค้า เรี ยกเก็บเงินล่วงหน้าก่อนเริ่ มดําเนินงานและเรี ยกเก็บเงินตามผลงานที่ทาํ เสร็ จ สําหรับสิ นทรัพย์ทางการเงินที่แสดงในงบดุลราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ หลังหักค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญถือเป็ นมูลค่าสูงสุ ด ของความเสี่ ยงที่เกิดจากการไม่ปฏิบตั ิตามสัญญา 27.3 ความเสี่ ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว อาจจะส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสด บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อยและกิจการร่ วมค้ามีความเสี่ ยงเกี่ยวกับอัตรา อัตราดอกเบี้ย เนื่องจากมีเงินฝากสถาบันการเงิน เงินฝากธนาคารติดภาระคํ้าประกัน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้น จากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสั้นอื่น เงินกูย้ มื ระยะยาว และหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินระยะยาว บริ ษทั ฯ บริ ษทั ย่อย และกิจการร่ วมค้า มิได้ใช้อนุพนั ธ์ทางการเงิน เพื่อป้ องกันความเสี่ ยงดังกล่าว 27.4 ความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริ ษทั ฯ มีความเสี่ ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ เนื่องจากบริ ษทั ฯ มีเจ้าหนี้ที่เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ ซึ่งบริ ษทั ฯ มิได้ทาํ สัญญาป้ องกันความเสี่ ยงไว้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 มีเจ้าหนี้สกุลเงินตราต่างประเทศคงเหลือ ดังนี้ 2552

2551

สกุลยูโร (ล้านยูโร)

0.00

0.02

สกุลดอลลาร์สิงค์โปร์ (ล้านดอลลาร์สิงค์โปร์)

0.01

0.01

เงินตราต่างประเทศ

27.5 ราคายุติธรรมของเครื่ องมือทางการเงิน สิ นทรัพย์ทางการเงินที่แสดงในงบดุล ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้า เงินลงทุนระยะยาว เงินฝากธนาคารติดภาระคํ้าประกัน และลูกหนี้อื่น หนี้สินทางการเงินที่แสดงในงบดุล ประกอบด้วย เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า เงินกูย้ มื ระยะสั้นอื่น เงินกูย้ มื ระยะยาว หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินระยะยาว และ เจ้าหนี้อื่น ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน มีมูลค่าใกล้เคียงกับมูลค่ายุติธรรม

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 22 28. สั ญญางานระหว่ างก่ อสร้ าง ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญางานระหว่างก่อสร้างที่มีอยู่ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2552 2551 2552 2551 ต้นทุนการก่อสร้างสะสมที่เกิดขึ้น ปรับปรุ งด้วยกําไรหรื อขาดทุน 1,294,949,988.69 628,372,414.93 1,121,773,626.35 520,142,323.40 เงินล่วงหน้าที่ได้รับ 115,044,814.10 86,072,877.41 102,583,433.79 70,027,579.85 27,012,725.04 15,264,335.36 26,812,100.55 9,020,671.53 เงินประกันผลงานที่ถูกหักไว้ จํานวนเงินที่บริ ษทั ฯ มีสิทธิเรี ยกร้อง จากผูจ้ า้ ง 337,221,293.06 210,987,618.05 360,385,570.37 205,602,911.90 จํานวนเงินที่ผจู้ า้ งมีสิทธิเรี ยกร้อง จากบริ ษทั 0.00 0.00 0.00 0.00 29. ภาระผูกพันและหนีส้ ิ นที่อาจเกิดขึน้ ในภายหน้ า 29.1 บริ ษทั ฯ และกิจการร่ วมค้ามีภาระผูกพันตามสัญญาจ้างผูร้ ับเหมา สัญญาเช่าและสัญญาอื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รวมจํานวนเงิน 254.54 ล้านบาท และ 288.64 ล้านบาท ตามลําดับ 29.2 บริ ษทั ฯ และกิจการร่ วมค้ามีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้ นในภายหน้าจากการให้ธนาคารในประเทศ 5 แห่ง ออกหนังสื อคํ้าประกัน ให้แก่ลูกค้าบางรายของบริ ษทั ฯ และกิจการร่ วมค้า ตามข้อตกลงของสัญญา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 รวมจํานวนเงิน ประมาณ 517.02 ล้านบาท และ 740.96 ล้านบาท ตามลําดับ 29.3 เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2550 บริ ษทั ฯ ถูกฟ้ องร่ วมกับผูว้ า่ จ้างในคดีแพ่งจากบริ ษทั แห่งหนึ่ง ในข้อหาละเมิดและเรี ยก ค่าความเสี ยหาย เป็ นเงินรวมประมาณ 25.05 ล้านบาท บวกดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยบริ ษทั ดังกล่าวอ้างว่า ได้รับความเสี ยหายจากการดําเนินงานก่อสร้างของบริ ษทั ฯ ฝ่ ายบริ หารเชื่อว่าการฟ้ องร้องของบริ ษทั ดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิด ความเสี ยหายแก่บริ ษทั ต่อมาเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2552 ศาลชั้นต้นได้พิพากษายกฟ้ องโจทก์ เนื่องจากพยานหลักฐานขาด นํ้าหนัก และโจทก์ไม่ได้ยนื่ อุทธรณ์คาํ พิพากษาของศาลชั้นต้น คดีความเป็ นอันสิ้นสุ ดแล้ว

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


- 23 29.4 เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2551 บริ ษทั ฯ ถูกฟ้ องร่ วมกับผูว้ า่ จ้างในคดีแพ่งจากบุคคลธรรมดารายหนึ่งในข้อหาละเมิดและ เรี ยกค่าความเสี ยหาย เป็ นเงินรวมประมาณ 14.25 ล้านบาท โดยบุคคลดังกล่าวอ้างว่าได้รับความเสี ยหายจากการดําเนินงาน ก่อสร้างของบริ ษทั ฝ่ ายบริ หารเชื่อว่าการฟ้ องร้องของบุคคลดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่บริ ษทั ฯ อีกทั้งบริ ษทั ฯ มีการทําประกันวินาศภัยเพื่อคุม้ ครองความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นจากงานก่อสร้างไว้แล้วในวงเงิน 10 ล้านบาท 29.5 เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2552 บริ ษทั ฯ ถูกฟ้ องร่ วมกับผูว้ า่ จ้างในคดีแพ่งจากบุคคลธรรมดารายหนึ่งในข้อหาละเมิดและ และเรี ยกค่าความเสี ยหาย เป็ นเงินรวมประมาณ 38.25 ล้านบาท โดยบุคคลดังกล่าวอ้างว่าได้รับความเสี ยหายจากการ ดําเนินงานก่อสร้างของบริ ษทั ฝ่ ายบริ หารเชื่อว่าการฟ้ องร้องของบุคคลดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่บริ ษทั ฯ 30. กองทุนสํ ารองเลีย้ งชีพพนักงาน บริ ษทั ฯ ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกกองทุนสํารองเลี้ยงชีพชื่อ " กองทุนสํารองเลี้ยงชีพเกษียณก้าวหน้า " ซึ่งจดทะเบียน แล้วตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้บริ ษทั จัดการกองทุนเป็ นผูจ้ ดั การกองทุนฯ ซึ่งตามระเบียบของกองทุนฯ พนักงานตัดจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้าง และบริ ษทั ฯ จ่ายสมทบเป็ น รายเดือนเข้ากองทุนในอัตราเดียวกัน ส่วนที่พนักงานจ่ายสะสมและผลของประโยชน์จะจ่ายแก่สมาชิกนั้น ๆ เมื่อสมาชิกนั้น ๆ ครบเกษียณ ตาย หรื อ ลาออกจากการเป็ นสมาชิก กองทุนสํารองเลี้ยงชีพนี้บริ หารโดยบริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน เอ็ม เอฟ ซี จํากัด (มหาชน) สําหรับปี 2552 และ 2551 บริ ษทั ฯ มีค่าใช้จ่ายเงินสมทบกองทุนเป็ นจํานวนเงิน 1.95 ล้านบาท และ 2.03 ล้านบาท ตามลําดับ 31. การบริหารจัดการทุน วัตุถประสงค์ของบริ ษทั ฯ ในการบริ หารทางการเงินคือ การดํารงไว้ซ่ ึงความสามารถในการดําเนินงานต่อเนื่อง และดํารงไว้ ซึ่งโครงสร้างทุนที่เหมาะสม 32. การจัดประเภทบัญชีใหม่ บริ ษทั ฯ ได้จดั ประเภทบัญชีใหม่บางรายการในงบการเงินปี 2551 เพื่อให้สอดคล้องกับการแสดงรายการในงบการเงินปี 2552 33. การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับการอนุมตั ิให้ออกงบการเงินโดยคณะกรรมการของบริ ษทั ฯ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2553

ลงชื่อ ……………………………………………………………………………………… กรรมการ (นายณรงค์ ทัศนนิพนั ธ์ และ นายทัชชะพงศ์ ประเวศวรารัตน์)


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551 สินทรัพย์ / Assets

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES BALANCE SHEETS AS AT DECEMBER 31, 2009 AND 2008 หมายเหตุ Note

งบการเงินรวม (บาท) Cosolidated 2552 /2009 2551 /2008

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) Parent Company 2552 /2009 2551 /2008

สินทรั พย์ หมุนเวียน /Current Assets เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด / Cash and cash equivalents

6.1

41,205,458.09

30,441,672.48

8,300,839.13

6,911,714.50

ลูกหนี ้การค้ า - สุทธิ / Trade accounts receivable-net

7

302,365,553.26

251,736,528.03

287,097,221.53

246,771,034.86

456,511,761.65

329,291,394.13

461,572,121.13

326,524,461.60

73,349,219.57

94,047,295.87

73,322,771.03

93,844,536.67

10,778,412.36

13,092,594.43

6,552,697.63

7,537,144.08

6,004,693.48

2,777,301.14

6,004,693.48

2,777,301.14

22,244,646.86

20,118,199.59

19,764,884.28

18,485,983.79

912,459,745.27

741,504,985.67

862,615,228.21

702,852,176.64

83,035,913.20

62,853,786.74

83,035,913.20

62,853,786.74

0.00

0.00

5,050,299.40

5,050,299.40

5,000,000.00

3,750,000.00

5,000,000.00

3,750,000.00

11

467,332,531.84

514,269,059.31

466,877,802.22

513,678,824.22

21,823,474.91

41,171,332.13

21,823,474.91

41,171,332.13

ลูกหนี ้เงินประกันผลงาน - สุทธิ / Retentions receivable-net

12

131,117,097.68

133,465,639.73

130,055,700.07

129,888,967.27

สินทรัพย์รอจําหน่าย / Property held for sales

13

15,047,637.39

0.00

15,047,637.39

0.00

4,307,041.32

3,725,263.36

3,507,360.55

3,723,454.08

727,663,696.34

759,235,081.27

730,398,187.74

760,116,663.84

1,640,123,441.61

1,500,740,066.94

1,593,013,415.95

1,462,968,840.48

ลูกหนี ้การค้ าที่ยงั ไม่ได้ เรี ยกชําระ / Unbilled receivable สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ / Inventories-net

8

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น /Other current assets เงินจ่ายล่วงหน้ าให้ แก่ผ้ รู ับเหมา / Prepayment to contractor เงินมัดจําค่าซื ้อสินค้ า / Deposit for purchasing goods อื่น ๆ / Others รวมสินทรั พย์ หมุนเวียน / Total Current assets สินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน / Non-current assets เงินฝากธนาคารติดภาระคํ ้าประกัน / Restricted bank deposits

9

เงินลงทุนในบริ ษัทย่อยและ กิจการร่วมค้ า / Investment in subsidiaries and joint venture

10

เงินลงทุนระยะยาวอื่น / Other long-term investment ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ / Property, plant and equipment-net สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น / Other non-current assets ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลถูกหัก ณ ที่จ่าย / Withholding income tax

อื่น ๆ / Others รวมสินทรั พย์ ไม่ หมุนเวียน / Total non-current assets รวมสินทรั พย์ / Total Assets


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Note to financial statements are parts of these financial statements.

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES

งบดุล (ต่ อ)

BALANCE SHEETS (Continued)

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

AS AT DECEMBER 31, 2009 AND 2008

หนีส้ นิ และส่ วนของผู้ถือหุ้น /

หมายเหตุ

Liabilities and shareholders' equity Note

งบการเงินรวม (บาท)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท)

Cosolidated

Parent Company

2552 /2009

2551 /2008

2552 /2009

2551 /2008

196,973,799.10

257,982,835.71

180,564,878.97

252,267,835.71

417,816,263.21

314,791,447.35

411,185,156.95

311,458,236.15

หนีส้ ินหมุนเวียน / Current liabilities เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั ้นจากสถาบันการเงิน / Overdrafts and short-term loans from financial instituitions

14

เจ้ าหนี ้การค้ า / Trade accounts payable หนี ้สินระยะยาวที่ถงึ กําหนดชําระภายในหนึง่ ปี / Current portion of long-term debt

15

34,241,926.83

29,120,530.08

34,241,926.83

29,120,530.08

เงินกู้ยืมระยะสั ้นจากบุคคลอื่น / Short-term loans from other persons

16

130,000,000.00

150,000,000.00

130,000,000.00

150,000,000.00

6,086,654.57

3,091,654.57

6,086,654.57

3,091,654.57

117,505,294.58

88,131,454.99

109,392,546.25

80,327,113.11

6,321,053.26

6,680,075.42

6,096,763.26

5,235,023.97

23,522,338.90

20,467,937.96

23,122,809.87

17,279,959.39

4,637,422.04

4,287,511.84

3,913,269.84

3,909,706.19

937,104,752.49

874,553,447.92

904,604,006.54

852,690,059.17

17

0.00

11,050,000.00

0.00

11,050,000.00

18

48,999,454.74

12,296,512.97

48,999,454.74

12,296,512.97

48,999,454.74

23,346,512.97

48,999,454.74

23,346,512.97

986,104,207.23

897,899,960.89

953,603,461.28

876,036,572.14

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

215,000,000.00

164,000,000.00

164,000,000.00

164,000,000.00

164,000,000.00

662,550.86

996,043.26

0.00

0.00

19

19,142,134.19

16,518,249.87

19,142,134.19

16,518,249.87

20

255,214,522.18

206,325,773.56

241,267,820.48

191,414,018.47

654,019,207.23

602,840,066.69

639,409,954.67

586,932,268.34

27.15

39.36

0.00

0.00

654,019,234.38

602,840,106.05

639,409,954.67

586,932,268.34

ประมาณการหนี ้สินระยะสั ้น / Short-term liabilities provision หนี ้สินหมุนเวียนอื่น / Other current liabilities เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ าตามสัญญา /Advance received under agreement ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย / Accrued expenses เจ้ าหนี ้เงินประกันผลงานผู้รับเหมา / Retentions payable - contractor อื่น ๆ / Others รวมหนีส้ ินหมุนเวียน / Total current liabilities หนีส้ ินไม่ หมุนเวียน / Non-current liabilities เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการอื่น - สุทธิ / Long-term loans from other parties-net long-term loans from other parties-net หนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ / Liabilities under financial lease agreement-net รวมหนีส้ ินไม่ หมุนเวียน / Total non-current liabilites รวมหนีส้ ิน / Total liabilities ส่ วนของผู้ถอื หุ้น / Shareholders' equity ทุนเรื อนหุ้น / Share capital ทุนจดทะเบียน / Authorized share capital หุ้นสามัญ 215,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท / 215,000,000 common shares of Baht 1 Each ทุนที่ออกและเรี ยกชําระแล้ ว / Issued and paid-up share capital หุ้นสามัญ 215,000,000 หุ้น หุ้นละ 1 บาท / 215,000,000 common shares of Baht 1 Each ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ / Premium on share capital ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน / Exchange difference of financial statements กําไรสะสม / Retained earnings จัดสรรแล้ ว / Appropriated ทุนสํารองตามกฏหมาย / Legal reserve ยังไม่ได้ จดั สรร / Unappropriated รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริ ษัทใหญ่ / Total equity holders of the parent ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย / Minority interest รวมส่วนของผู้ถือหุ้น / Total shareholders' equity


รวมหนีส้ ินและส่ วนของผู้ถอื หุ้น / Total liabilities and shareholders' equity

1,640,123,441.61

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statements are parts of these financial statements.

1,500,740,066.94

1,593,013,415.95

1,462,968,840.48


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF INCOME FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2009 AND 2008 หมายเหตุ Note

งบการเงินรวม (บาท) Cosolidated 2552 /2009 2551 /2008

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) Parent Company 2552 /2009 2551 /2008

รายได้ จากการรับจ้ าง / Hire of work income

1,785,434,985.73

1,589,818,425.57

1,756,227,856.37

1,537,454,991.84

ต้ นทุนงานรับจ้ าง / Cost of hire of work

(1,627,509,040.53)

(1,485,750,863.79)

(1,598,876,759.97)

(1,439,521,348.72)

157,925,945.20

104,067,561.78

157,351,096.40

97,933,643.12

กําไรขั ้นต้ น / Gross profit รายได้ อื่น / Other income หนี ้สงสัยจะสูญกลับรายการ / Reversed doubtful account

20,542,479.33

0.00

20,542,479.33

0.00

อื่นๆ / Others

20,946,683.80

31,834,051.29

20,557,099.98

30,792,739.15

กําไรก่อนค่าใช้ จ่าย / Profit befor expenses

199,415,108.33

135,901,613.07

198,450,675.71

128,726,382.27

ค่าใช้ จ่ายในการบริ หาร / Administrative expenses

(54,981,452.11)

(65,945,243.56)

(53,391,515.26)

(61,887,979.20)

ค่าตอบแทนกรรมการ / Directors' remuneration

21

(3,664,500.00)

(4,058,000.00)

(3,664,500.00)

(4,058,000.00)

ค่าตอบแทนผู้บริ หาร / Management benefit expenses

22

(25,474,480.00)

(25,510,240.00)

(25,474,480.00)

(25,510,240.00)

หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ / Bad debt and doubtful accounts

(19,497,410.07)

(351,011.18)

(19,497,410.07)

(1,921,120.88)

(103,617,842.18)

(95,864,494.74)

(102,027,905.33)

(93,377,340.08)

Profit before finance costs and income tax

95,797,266.15

40,037,118.33

96,422,770.38

35,349,042.19

ต้ นทุนทางการเงิน / Finance costs

(24,108,483.93)

(27,317,724.14)

(23,852,959.74)

(27,307,064.81)

รวมค่าใช้ จ่าย / Total expenses กําไรก่อนต้ นทุนทางการเงินและภาษีเงินได้ /

กําไรก่อนภาษีเงินได้ / Profit before income tax ภาษีเงินได้ / Income tax กําไรสุทธิ / Net profit

23

71,688,782.22

12,719,394.19

72,569,810.64

8,041,977.38

(20,176,161.49)

(1,105,188.00)

(20,092,124.31)

(363,789.64)

51,512,620.73

11,614,206.19

52,477,686.33

7,678,187.74

51,512,632.94

11,614,218.73

52,477,686.33

7,678,187.74

การแบ่งปั นกําไร (ขาดทุน) / Attributation to : ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นบริ ษัทใหญ่ / Equity holders of the parent ส่วนที่เป็ นของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อยของบริ ษัทย่อย / Minority interest of subsidaries

(12.21)

(12.54)

0.00

0.00

51,512,620.73

11,614,206.19

52,477,686.33

7,678,187.74

0.24

0.05

0.24

0.04

215,000,000

215,000,000

215,000,000

215,000,000

กําไรต่อหุ้น / Earnings per share กําไรต่อหุ้นขั ้นพื ้นฐาน / Basic earnings per share จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย่ ถ่วงนํ ้าหนัก / Weighted average number of common shares (shares)


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statements are parts of these financial statements.


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CASH FLOWS FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2009 AND 2008 งบการเงินรวม (บาท) Cosolidated 2552 /2009 2551 /2008

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) Parent Company 2552 /2009 2551 /2008

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน / Cash flows from operating activities กําไรก่อนภาษี เงินได้ / Profit before income tax

71,688,782.22

12,719,394.19

72,569,810.64

8,041,977.38

ค่าเสื่อมราคา / Depreciation

75,088,127.12

69,925,831.99

74,951,870.69

69,768,735.39

หนี ้สูญและหนี ้สงสัยจะสูญ / Bad debt and doubtful accounts

19,497,410.07

351,011.18

19,497,410.07

1,921,120.88

รายการปรับปรุง / Adjustment

หนี ้สงสัยจะสูญกลับรายการ / Increase in unbilled receivable ลูกหนี ้การค้ าที่ยงั ไม่ได้ เรี ยกชําระเพิ่มขึ ้น / Increase in unbilled receivable ค่าใช้ จ่ายจ่ายล่วงหน้ าตัดบัญชี / Amortized prepayment expense ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยงั ไม่เกิดขึ ้น /Unrealized loss from exchange rate

(20,542,479.33)

0.00

(20,542,479.33)

0.00

(132,996,603.29)

(23,966,267.06)

(140,823,895.30)

(22,501,202.91)

5,274,247.81

2,365,969.04

4,949,969.25

2,365,969.04

0.00

65,838.37

0.00

65,838.37

(กําไร)ขาดทุนจากการขายสินทรัพย์ถาวร/ (Gain) Loss on disposal of fixed assets

154,998.05

(5,565,354.70)

154,998.05

(5,613,119.77)

ขาดทุนจากการตัดบัญชีสนิ ทรัพย์ถาวร / Loss on write-off of fixed assets

957,146.19

334,381.13

954,465.16

334,381.13

2,995,000.00

(5,615,345.43)

2,995,000.00

(5,615,345.43)

ประมาณการหนี ้สินระยะสันเพิ ้ ่มขึ ้น(ลดลง)/ Increase (Decrease) in short-term liabilities provision กลับรายการประมาณการภาษี เงินได้ ค้างจ่าย / Reversed accrued income tax

(289,132.19)

0.00

0.00

0.00

24,108,483.93

27,317,724.14

23,852,959.74

27,307,064.81

45,935,980.58

77,933,182.85

38,560,108.97

76,075,418.89

ลูกหนี ้การค้ า / Trade accounts receivable

(58,373,432.62)

12,396,341.80

(48,070,594.06)

6,698,747.79

สินค้ าคงเหลือ / Inventories

ค่าใช้ จ่ายดอกเบี ้ยจ่าย / Interest expenses การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของสินทรัพย์ดําเนินงาน(เพิ่มขึ ้น)ลดลง (Increase) Decrease of change n operating assets

20,698,076.30

(9,963,468.75)

20,521,765.64

(9,760,709.55)

เงินจ่ายล่วงหน้ าให้ แก่ผ้ รู ับเหมา/ Prepayment to contractor

2,314,182.07

(13,092,594.42)

984,446.45

(7,537,144.08)

เงินมัดจําค่าซื ้อสินค้ า / Deposit for purchasing goods

(3,227,392.34)

(2,396,693.38)

(3,227,392.34)

(2,396,693.38)

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น / Other current assets

(7,910,143.62)

(12,374,306.82)

(7,384,801.25)

(8,637,539.94)

ลูกหนี ้เงินประกันผลงาน / Retentions receivable

1,988,154.47

3,835,477.14

(527,120.38)

5,934,936.44

(581,168.62)

613,178.90

216,702.87

608,374.10

103,024,815.86

(14,184,114.52)

99,726,920.80

(14,668,238.94)

29,373,839.59

56,779,982.42

29,065,433.14

48,975,640.54

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น / Other non-current assets การเปลี่ยนแปลงในส่วนประกอบของหนี ้สินดําเนินงานเพิ่มขึ ้น(ลดลง) / Increase (Decrease) of change in operating liabilities เจ้ าหนี ้การค้ า / Trade accounts payable เงินรับล่วงหน้ าจากลูกค้ าตามสัญญา / Advances received under agreement

(377,592.35)

(632,748.44)

843,169.10

869,475.89

เจ้ าหนี ้เงินประกันผลงานผู้รับเหมา / Retentions payable-contractor

ค่าใช้ จ่ายค้ างจ่าย / Accrued expenses

3,054,400.94

3,623,804.01

5,842,850.48

435,825.44

หนี ้สินหมุนเวียนอื่น / Other current liabilities

3,006,256.72

1,869,759.20

1,238,601.21

1,363,932.16

เงินสดรับ(จ่าย)จากการดําเนินงาน / Cash generated (paid) from operation

138,925,976.98

104,407,799.99

137,790,090.63

97,962,025.36

เงินสดจ่ายดอกเบี ้ยจ่าย / Interest paid

(23,392,234.99)

(27,483,101.53)

(23,136,710.80)

(27,472,442.20)

(2,607,573.35)

(6,697,657.55)

(744,876.43)

(5,956,259.19)

112,926,168.64

70,227,040.91

113,908,503.40

64,533,323.97

เงินสดจ่ายภาษี เงินได้ / Income tax เงินสดสุทธิได้ มา(ใช้ ไป)ในกิจกรรมดําเนินงาน / Net cash provided by (used in) operating activities


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statements are parts of these financial statements.

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สําหรั บปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED AND SUBSIDIARIES STATEMENTS OF CASH FLOWS (Continued) FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2009 AND 2008 งบการเงินรวม (บาท) Cosolidated 2552 /2009 2551 /2008

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) Parent Company 2552 /2009 2551 /2008

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน / Cash flows from investing activities เงินฝากธนาคารติดภาระคํ ้าประกัน (เพิ่มขึ ้น)ลดลง / Increase (Decrease) in restricted bank deposits

(20,182,126.46)

862,014.35

(20,182,126.46)

862,014.35

เงินสดจ่ายลงทุนระยะยาวอื่น / Payments for long-term investment

(1,250,000.00)

(1,250,000.00)

(1,250,000.00)

(1,250,000.00)

เงินสดจ่ายซื ้อสินทรัพย์ถาวร / Payments for purchase of fixed assets

(25,426,391.86)

(66,110,514.05)

(25,422,959.87)

(64,980,733.58)

129,330.42

13,848,268.01

129,330.42

13,039,168.00

(1,051,475.20)

(47,642,448.50)

(1,051,475.20)

(47,208,085.91)

(47,780,663.10)

(100,292,680.19)

(47,777,231.11)

(99,537,637.14)

Increase (Decrease) in overdrafts and short-term loans from financial institutions

(61,009,036.61)

56,783,349.52

(71,702,956.74)

51,068,349.52

เงินกู้ยืมระยะสันจากบุ ้ คคลอื่นเพิ่มขึ ้น(ลดลง) / Increase (Decrease) in other short-term loans

(20,000,000.00)

10,000,000.00

(20,000,000.00)

10,000,000.00

เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ถาวร/ Proceeds from sales of fixed assets เงินสดจ่ายเจ้ าหนี ้ค่าซื ้อทรัพย์สนิ ถาวร / Payments for purchase of fixed assets payable เงินสดสุทธิได้ มา(ใช้ ไป)ในกิจกรรมลงทุน / Net cash provided by (used in) investing activities กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน / Cash flows from financing activites เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ้ นการเงินเพิ่มขึ ้น(ลดลง)

เงินกู้ยืมระยะยาวจากกิจการอื่นเพิ่มขึ ้น(ลดลง) / Increase (Decrease) in long-term loans

(16,080,000.00)

1,920,000.00

(16,080,000.00)

1,920,000.00

เงินสดจ่ายหนี ้สินตามสัญญาเช่าการเงิน / Payment for liabilities under financial lease agreements

(23,857,966.44)

(11,682,434.84)

(23,857,966.44)

(11,682,434.84)

เงินสดรับจากการทําสัญญาเช่าการเงิน / Proceeds from entering into financial lease agreements

66,898,775.52

0.00

66,898,775.52

0.00

0.00

(10,744,700.00)

0.00

(10,744,700.00)

(54,048,227.53)

46,276,214.68

(64,742,147.66)

40,561,214.68

(333,492.40)

870,470.20

0.00

0.00

(54,381,719.93)

47,146,684.88

(64,742,147.66)

40,561,214.68

30,441,672.48

13,360,626.88

6,911,714.50

1,354,812.99

(23,940,047.45)

60,507,311.76

(57,830,433.16)

41,916,027.67

เงินสดจ่ายเงินปั นผลจ่าย / Payments for dividend paid เงินสดสุทธิได้ มา(ใช้ ไป)ในกิจกรรมจัดหาเงิน / Net cash provided by (used in) financing activities ผลกระทบจากการแปลงค่ างบการเงิน / Effects of exchange on financial statements เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง)สุทธิ / Net increase (decrease) in cash and cash equivalents เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม / Cash and cash equivalents as at January 1 เงินสดและรายการเทียบเท่ าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม / Cash and cash equivalents as at December 31

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statement are parts of these financial statements.


บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้น สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS' EQUITY FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007 (หน่ วย : บาท Unit : Baht)

งบการเงินรวม (Consolidated financial statements) รวมส่ วนของ กําไรสะสม หมายเหตุ ทุนเรือนหุ้นที่ออก ส่ วนเกิน ผลต่ างจากการ ผู้ถือหุ้น และเรียกชําระแล้ ว มูลค่ าหุ้น แปลงค่ างบการเงิน จัดสรรแล้ ว ยังไม่ ได้ จัดสรร บริษัทใหญ่ Exchange Retained earnings Note Issued and paid-up Premium on difference of Equity holders share capital share capital financial statements Appropriated Unappropriated of the parent

ส่ วนของ ผู้ถือหุ้น ส่ วนน้ อย

รวม

Minority interest

Total

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550/ Balance as at December 31, 2007 เงินปั นผลจ่าย / Dividend paid

20

215,000,000.00

164,000,000.00

125,573.06

16,134,340.48

205,840,164.22

601,100,077.76

51.90

601,100,129.66

0.00

0.00

0.00

0.00

(10,744,700.00)

(10,744,700.00)

0.00

(10,744,700.00)

ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน / Exchange difference of financial statements กําไรสุทธิสําหรับปี / Net profit for the year สํารองตามกฎหมาย / Legal reserve

19

0.00

0.00

870,470.20

0.00

0.00

870,470.20

0.00

870,470.20

0.00

0.00

0.00

0.00

11,614,218.73

11,614,218.73

(12.54)

11,614,206.19

0.00

0.00

0.00

383,909.39

(383,909.39)

0.00

0.00

0.00

215,000,000.00

164,000,000.00

996,043.26

16,518,249.87

206,325,773.56

602,840,066.69

39.36

602,840,106.05

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 / Balance as at December 31, 2008 ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน / Exchange difference of financial statements กําไรสุทธิสําหรับปี / Net profit for the year สํารองตามกฎหมาย / Legal reserve

19

0.00

0.00

(333,492.40)

0.00

0.00

(333,492.40)

0.00

(333,492.40)

0.00

0.00

0.00

0.00

51,512,632.94

51,512,632.94

(12.21)

51,512,620.73

0.00

0.00

0.00

2,623,884.32

(2,623,884.32)

0.00

0.00

0.00

215,000,000.00

164,000,000.00

662,550.86

19,142,134.19

255,214,522.18

654,019,207.23

27.15

654,019,234.38

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 / Balance as at December 31, 2009


หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statements are parts of these financial statements.

บริษัท ซีฟโก้ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของผู้ถือหุ้น สําหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2552 และ 2551

SEAFCO PUBLIC COMPANY LIMITED STATEMENTS OF CHANGES IN SHAREHOLDERS' EQUITY FOR THE YEARS ENDED DECEMBER 31, 2008 AND 2007

หมายเหตุ Note ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 / Balance as at December 31, 2007 เงินปั นผลจ่าย / Dividend paid

20

กําไรสุทธิสําหรับปี / Net profit for the year สํารองตามกฎหมาย / Legal reserve

19

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 / Balance as at december 31,2008 กําไรสุทธิสําหรับปี / Net profit for the year สํารองตามกฎหมาย / Legal reserve

19

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 / Balance as at December 31,2009

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง่ ของงบการเงินนี ้ / Notes to financial statements are parts of these financial statements.

(หน่ วย : บาท Unit : Baht) งบการเงินเฉพาะกิจการ (Separate financial statements) ทุนเรือนหุ้นที่ออก ส่ วนเกิน กําไรสะสม รวม จัดสรรแล้ ว ยังไม่ ได้ จัดสรร และเรียกชําระแล้ ว มูลค่ าหุ้น Issued and paid-up Premium on Retained earnings Total share capital share capital Appropriated Unappropriated 215,000,000.00

164,000,000.00

16,134,340.48

194,864,440.12

589,998,780.60

0.00

0.00

0.00

(10,744,700.00)

(10,744,700.00)

0.00

0.00

0.00

7,678,187.74

7,678,187.74

0.00

0.00

383,909.39

(383,909.39)

0.00

215,000,000.00

164,000,000.00

16,518,249.87

191,414,018.47

586,932,268.34

0.00

0.00

0.00

52,477,686.33

52,477,686.33

0.00

0.00

2,623,884.32

(2,623,884.32)

0.00

215,000,000.00

164,000,000.00

19,142,134.19

241,267,820.48

639,409,954.67



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.