Learn-How-to-be-free-from-suffering

Page 1


“ใหดูจติ เคลือ่ นไหวเหมือนดูหนังดูละคร ใหดจู ติ เคลือ่ นไหวอยาหวัน่ ไหวตามจิต

จิตไมมตี ัวตน

แตสามารถกลิ้งกลอกหยอกลอใหคลอยตาม เมือ่ เรารูเทาทัน ใจเราก็จะสงบ สูงขึน้ ตามลําดับ”


คํานํา หนังสือเรียนรูวิธีออกจากทุกข หรือ Learn How to be Free from Suffering จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรความรูที่เปน ประสบการณในการฝกฝนตนของ ทานอาจารยถาวร คงปาน ซึ่งทานไดนําหลักคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจามาปฏิบัติ จนพบวิธีออกจากทุกขอีกวิธีหนึ่ง และเหมาะกับทุกคนในยุค ปจจุบันสามารถมาพิสูจนทดสอบดวยตนเอง คณะผูจัดทําจึง ไดรวบรวมความรูจากเอกสารคําสอนที่ไดเคยจัดทําเผยแพรไว ตั้งแตป พ.ศ. 2542 จนถึงปจจุบัน แบงออกเปน 3 ภาค ดังนี้ ภาค 1 การสรางความเขาใจ ประกอบดวย 10 เรื่อง ที่จะชวยสรางความเขาใจกอนที่จะลงมือปฏิบัติ แตถาทานเห็น วามีความเขาใจในกระบวนการออกจากทุกขดีแลวก็สามารถ เริ่มที่ภาค 2 เปนการปฏิบัติไดเลย ภาค 2 กระบวนการพัฒนาจิต ประกอบดวยลําดับ ขั้นการพัฒนาจิตใจ 4 เรือ่ ง ซึ่ง 3 เรื่องแรกเปนความเขาใจ เรื่อง ธรรมชาติของมนุษย จิตเปนนายกายเปนบาว และ Self Awareness (การรูตัวรูตน) สวนเรื่องสุดทายในภาคที่ 2 เปน กระบวนการพัฒนาจิต 3 ขั้นตอน ถือวาเปนหัวใจของหนังสือ เลมนี้ ที่จะชวยใหผูที่เรียนรูการออกจากทุกขไดใชปฏิบัติใน ชีวิตประจําวัน


ภาค 3 นานาสาระ ประกอบดวย 39 เรื่อง ที่รวบรวม จากคําบรรยาย คําถาม-ตอบ ปญหาในการปฏิบัติธรรม ซึ่งผูอาน สามารถเลือกอานไดตามความสนใจ หรือเอาไวชวยแกปญหา ในการฝกฝนตนใหออกจากทุกข คณะผูจัดทําไดศึกษา และปฏิบัติตามแนวทางคําสอน ของทานอาจารยถาวร คงปาน จน สามารถทําความ เขาใจไดในระดับหนึ่งวา อะไรคือทุกข อะไรคือที่มาของทุกข และ มีวิธีการ ใดบางที่จะทําใหทุกขจางคลายลง ซึ่งทําใหการดําเนินชีวิตเปนไปดวยความ ราบรื่น สุขสบายขึ้น สามารถแกปญหา ทุกขกายทุกขใจไดเร็วขึ้น และแกปญหา ทุกขกาย โดยที่ใจเขาไปรวมดวยนอยลง นอยลงตามลําดับ ผลที่ไดรับนอกจากประจักษแกตนเองแลว คนใกลชิดยัง สามารถที่จะสัมผัส และรับรูถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ ดีขึ้นได ดังนั้น หากทานใดตองการที่จะแกปญหา ทุกขใจ และทุกขกายของตนเอง ก็นาจะทดลองศึกษา ลงมือปฏิบัติ เพื่อพิสูจนวาสามารถบังเกิดผลตอตนเองไดจริง โดยตอง พิสูจนดวยตนเองเทานั้น ขอเปนกําลังใจใหกับผูที่จะฝกฝนตนเพื่อออกจากทุกขทุกคน คณะกรรมการชมรมฝกจิตใหจางคลายจากทุกข มกราคม 2551


คําปรารภ มนุษยที่เกิดมาในโลกนี้ สวนใหญมุงแสวงหาสิ่ง อํานวยความสะดวกสบายทางกาย จึงละเลยในสิ่งที่มนุษยพึง กระทํา คือการทําจิตใหจางคลายจากทุกข เพราะเทวดาและ มนุษยเทานั้นที่สามารถพัฒนาจิตไปถึงจุดสูงสุด คือหลุดพนจาก ทุกขได แตเมื่อโอกาสมาถึง ไดเกิดเปนมนุษยแลว กลับไม รูถึงโอกาสดีอันนี้ หรือรู แลวแตไมใสใจที่จะทําความ โชคดีนี้ใหเกิดประโยชน โดย การพัฒนาจิตใจตนเองใหทุกข นอยลงเรื่อยๆ จนถึงที่สุด หรือรูแลวแตคิดวายังไมถึง เวลา หรืออางวายังไมมีเวลาที่จะฝก โดยหลงไปพัฒนา แตชีวิตการงานในทางโลกโลก ใหเจริญสูงสุด ละเลยการพัฒนาจิตใจ ทํางานไป ทุกขไป เครียดไป กับการงานก็เพื่อใหผลงานทางโลกออกมาดีที่สุด เปนที่ พอใจของตนเองที่สุด เปนไปตามความคิดของตนเอง


มากที่สุด เมื่อไมเปนอยางใจคิดก็เครียด โดยไมรตู ัว หรือ รูตัววาเครียดแตไมสามารถกําจัดออกจากใจได ดูแลว มันชางเปนความสูญเปลาจริงๆ ในการที่ เขาไดเกิดมาเปนมนุษย เขาเหลานั้นจะรูไหมวาความ เจริญทางโลกที่เขากําลังทําใหถึงจุดสูงสุดโดยไมพัฒนา ทางธรรมไปพรอมกัน มันจะมีความหมายอะไร เมื่อเขา ตองจากโลกนี้ไป ทานทั้งหลาย อยาปลอยใหเวลาลวงเลยไปโดย ไมทําใหความเปนมนุษยของทานเกิดประโยชนทจี่ ะพึง มีพึงได อยามัวรอเวลาจนสายไปที่จะเริ่มตน ในการ พัฒนาจิตใจของทาน อยารอจนสังขารไมอํานวย หรือ เวทนาทางกายรุมเรา จนไมสามารถทําใจใหสงบจาก ทุกขได เพราะเมื่อถึงเวลานั้น ไมมใี ครสามารถชวยทาน ได แมแตครูบาอาจารยที่เกงกลาสามารถเพียงใดก็ตาม

ถาวร คงปาน มกราคม 2551


สารบัญ ภาค 1 การสรางความเขาใจ บทนํา.................................................................1 ศาสนาพุทธสอนอะไร………………………...2 การฝกฝนทางจิต……………………………...4 รูป-นาม……………………………………….6 ปฏิบัติธรรมทําไม……………………………24 เทคนิคการปฏิบัติใหทุกขจางคลาย…………..29 สมาธิ…………………………….…………..31 กาย-ใจ…………………………….…………33 ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา………………………..38 สติ-สัมปชัญญะ…………………………..….41

ภาค 2 กระบวนการพัฒนาจิต ธรรมชาติของมนุษย…………………………50 จิตเปนนาย กายเปนบาว…………………….56 Self Awareness [การรูตวั รูตน]……………...58


สารบัญ กระบวนการพัฒนาจิต ขั้นที่ 1 การฝกฝนจิตระดับเบื้องตน………….61 ขั้นที่ 2 การฝกฝนจิตระดับเบื้องกลาง..............69 ขั้นที่ 3 การฝกฝนจิตระดับเบื้องปลาย.............72 ภาคที่ 3 นานาสาระ พอรูทันทําใหมันหายไป………………….…79 อาสวะ…………………………….................80 อารมณ ชีวติ ที่เสวยทุกข……….....................81 ตกใจ! รูไมทัน……………………………....84 การทําความรูสึกตัว กับใหมันสลายหายไปเอง……………………85 ดีใจ ปติในธรรม.....................…….…………87 ยึด………………………………….………..89 จุดออน! แตทําอะไรใจไมได………………...91


สารบัญ ความคิด ความจํา……………………..…….93 จบสนิท……………………………………...95 จิตหนึ่ง………………..…………………….96 สนใจ ใหคา.....................................................98 ทุกขมอี ยูแตทําอะไรใจไมได…………….…101 ทุกขเพราะคิดปรุงแตง……………………..102 สติ VS คิดปรุงแตง………………………...104 ชีวิตที่หยวนๆ………………………………105 การเห็นความจริงของชีวติ …………………107 ไมกาวหนา ? ................................................109 ใจเปนดั่งใบบอน……………..…………….112 มายา สมมติ…………………………….....114 เปลาๆ……………………………………....117 เฉย กับ วาง………………………………...120 มึน ทึบ ตื้อ……………………………..…122


สารบัญ รูทัน…………………………………..……124 ถือสา……………………………………….127 ปจจุบันธรรม………………………………128 คูนอก – คูใน……………………………….131 ชาติสุดทาย………………………………...133 ไมเห็นก็ไมตองไปหา………………………135 ฝกนักมวย………………………………….137 เห็นตรงไหนทําตรงนั้น……………………144 รูหรือไมร… ู ………………………………..142 ความจริงในใจ……………..………………146 รูไหมวาฉันเปนใคร……………………...…149 เครื่องรอยรัดผูกพันจิตใจ………………….153 องคประกอบของชีวิต……………………...157 แนใจหรือวาสุขจริง………………………..164 หนทางพนทุกข…………………………....167 เครื่องปดกั้นความเจริญ …………………..172 ตัวชวยในการฝกฝนตนใหพนทุกข...............174


เรียนรูว ิธอี อกจากทุกข

Learn how to be free from suffering จัดพิมพดว ยเงินบริจาคของผูม ีจติ ศรัทธา เพื่อเผยแพรเปน ธรรมทาน หากพิมพจําหนายขอสงวนลิขสิทธิ์ เมือ่ ทาน ไดรบั หนังสือเลมนีแ้ ลว ขอไดโปรดตั้งใจศึกษา และปฏิบตั ิ ธรรมจากหนังสือเลมนี้ เพือ่ ใหเกิดประโยชนสงู สุดทั้งแก ตนเองและผูอ นื่ เพือ่ ใหสมตามเจตนารมณของผูบ ริจาคทุกๆ ทานดวยเทอญ

หากทานสนใจทีจ่ ะจัดพิมพหรือบริจาคเพือ่ จะสนับสนุน กองทุนจัดพิมพหนังสือธรรมะเพือ่ เผยแพรโปรดติดตอ ชมรมฝกจิตใหจางคลายจากทุกข 215/9 ถ.สุดบรรทัด ต.ปากเพรียว อ.เมือง จ.สระบุรี


ใหอภัย ไมถอื สา ไมใหคา ยอมรับตาม ความเปนจริง ไมสนใจในความ นึกคิดปรุงแตง และอารมณทกุ ชนิด ******* จิตและอารมณ ทุกชนิด เปนเพียงสภาวธรรม ทีเ่ กิดๆ ดับๆ ถาไมวางก็ไมวา ง



ภาค 1

การสรางความเขาใจ

1


บทนํา การฟงหรือการอาน ถาเชื่อทันที เรียกวา งมงาย ถาปฏิเสธทันที เรียกวา ขาดประโยชน ควรพิจารณาไตรตรองใหรอบคอบกอน โดยการพิสูจน ทดสอบ ฝกฝน ที่ใจตนใหกระจางกอน วาคืออะไร อยาโออวดวาเรา เกงกวาผูอื่น วิเศษกวาผูอื่น อยาโออวดวาเรา ดีกวาผูอื่น สูงกวาผูอื่น

2


ศาสนาพุทธสอนอะไร ศาสนา สอนใหดับทุกขที่ตนเอง เมื่อดับทุกข หรือแกปญหาทุกขที่ตนได พอสมควร จนกระจางแลว จึงเอื้อเฟอแกผูอื่นบาง บางโอกาสตามกําลัง ถาตนเองไมกระจางจริง ไมสามารถพิสูจน ทดสอบ หรือไมสามารถยืนยันตนตามสภาวะที่ตนเปน จริงๆ แลวไปแนะนําผูอื่น เหมือนคนตาบอดจูงคนตา บอด ศาสนา สอนเรื่องการดําเนินชีวิตของคน ให ตนเองดําเนินชีวิตอยาง เปนสุข มีสนั ติภาพ ศาสนา สอนเรื่องการแกปญหาความทุกขกาย ความทุกขทางใจ ใหลดนอยลงตามลําดับ ใจ เปนทุกข คือ นรก ใจ เปนสุข คือ สวรรค ใจ ที่อยูเหนือสุขและทุกขทั้งมวล คือ สภาวะนิพพาน

3


นิพพานชั่วคราว คือ ใจวางจากทุกขชั่วขณะหนึ่ง นิพพานถาวร คือ ใจวางจากทุกขถาวร มนุษยทุกวันนี้มีความทุกขกาย ทุกขใจ หมุนเวียนกันอยูในทะเลทุกขอยูอยางนี้ชั่วนิรันดร ทุกข เทานั้นที่เกิดขึ้น ทุกข เทานั้นที่ตั้งอยูชั่วระยะหนึ่ง ทุกข เทานั้นที่ดับสลายหายไป เมื่อไมมีทุกขก็ไมมีอะไรเกิด ไมมีอะไรดับ จิตก็ จะวางเปลา โปรงเบาปราศจากอารมณของทุกขทกุ ชนิด

4


การฝกฝนทางจิต การฝกฝนทางจิต หมายถึง การมีสติปญญาที่จะปลอย วางความทุกข ออกจากจิต หรือ ใจ จง มีสติปญญาคอยสังเกตความเคลื่อนไหว ทางจิต (ความนึกคิดปรุงแตงตางๆ และอารมณทุก ชนิด) อยูทุกขณะที่เกิดขึ้นในใจ จง ดูจิตเคลื่อนไหวเหมือนดูหนังดูละคร แตเราอยาเขาไปรวมเลนหนัง เลนละครรวมกับจิต คอย เฝาดูจิตที่กําลังเกิดอยูทุกขณะที่เกิด จง ดูจิตเคลื่อนไหว ดูความเปนไปของจิต ดวยความวางเฉย อยาหวั่นไหว อยาคลอยตามความ เปนไปของจิต (อยาเขาไปมีอารมณรวมกับจิต) จิต ไมมีตัวตน เปนเพียงสภาพมายาเกิดๆ ดับๆ แตสามารถกลิ้งกลอกหยอกลอใหคลอยตามจิตที่ เกิด ทําใหทกุ ขเกิดกับเรา เมื่อเรามีอารมณรวมตามมัน จิต เปนเพียงสภาพมายาธาตุ มายาธรรม ชนิดหนึ่งเทานั้น ถาเราไมแปรปรวนไป ตามมัน 5


หรือมีสติรูเทาทันมันอยูทุกๆ ขณะ เราก็จะเปนอิสระอยู ไมถูกมันฉุดกระชากลากไป สติ คือ ความระลึกรูวามีความคิด มีอารมณ หรืออาการทางใจลักษณะตางๆ ที่กอเกิดอยูในใจ สัมปชัญญะ คือ การทําความรูสึกตัวเพื่อออก จากความคิดและอารมณอันไมพึงประสงคที่กอเกิดอยู ในใจ

จริงๆ ไมมีใครทํารายเรา อารมณเราตางหากที่ทํารายเรา

6


รูป-นาม รูป คือ อะไร ? รูป คือ สิ่งที่ถูกรู (สิ่งที่ถูกรูคือ สิ่งที่ไม สามารถรูตัวเองได จะมีอีกสิ่งหนึ่งที่เขาไปรูวาเปน อะไร เปนอยางไร และสมมติบัญญัติ เรียกวาอะไร อยางไร) เชน จักรวาลนี้คือรูป คือ สิ่งที่ถูกรู (เพราะจักรวาล รูตัวเองไมได มีมนุษย หรือคนเขาไปรูวาเปน จักรวาล และสมมติ บัญญัติตั้งชื่อเรียกวา จักรวาล) จักรวาลนี้ จึงกลายเปน “สิ่งที่ถูกรู” หรือเรียกวา “รูป” ดวงดาวตางๆ และโลกเรานี้เรียกวา “รูป” หรือ “สิ่งที่ถูกรู” เพราะรูตัวมันเองไมได มี มนุษยหรือคนเขาไปรูวาเปนดวงดาวตางๆ

7


อวกาศ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ เรียกวา “รูป” หรือ “สิ่งที่ถูกรู” เพราะรูตัวมันเอง ไมไดเชนกัน มีมนุษย หรือคนเขาไปรูวาเปนอวกาศ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ ตนไม แรธาตุ ตนพืช สัตว และสิ่งที่ มนุษยสรางขึ้นมาทุกชนิด เรียกวา “รูป” หรือ “สิ่งที่ ถูกรู” เพราะรูตัวเองไมได มีมนุษย หรือคน เขาไปรูจัก และตั้งชื่อ บัญญัติ ชื่อ นาม คือ อะไร ? นาม คือ ธาตุรู จิตรู วิญญาณรู หรือความรูสึก รับรูที่มีอยูในมนุษย หรือคน หรือสัตวตางๆ เชน จิต คน ไปรูเรื่อง จักรวาล ไปตั้งชื่อเรียกวา จักรวาล จักรวาลจึงเปน “สิ่งที่ถูกรู” หรือ “รูป” มนุษย หรือคน หรือธาตุรู หรือจิตรู หรือวิญญาณรู ที่มีอยูในคน ที่ไปรูเรื่องของจักรวาล และตั้งชื่อเรียกวา

8


จักรวาล จึงเปน “สิ่งรู” หรือธาตุรู หรือจิตรู หรือ วิญญาณรู เรียกวา “นาม” ดวงดาวตางๆ และโลกเรานี้มันรูตัวมันเอง ไมไดจึงจัดเปนสิ่งที่ “ถูกรู” หรือเรียกวา “รูป” มนุษย หรือคน หรือ ธาตุรู หรือจิตรู หรือ วิญญาณรูที่มีอยูในคน ที่ไปรูเรื่องของ ดวงดาวตางๆ และ เรื่องของโลกนี้ และตั้งชื่อเรียกดวงดาวตางๆ และตั้ง ชื่อเรียกโลกนี้ (มนุษย หรือคน) จึงเปน สิ่งรู หรือ ธาตุรู หรือจิตรู หรือ วิญญาณรู เรียกวา นาม อวกาศ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ สิ่งเหลานี้ มันรูตัวมันเองไมได เรียกสิ่งเหลานี้วา “สิ่งที่ถูกรู” หรือ “รูป” มนุษยหรือคน หรือจิตรู หรือธาตุรู หรือวิญญาณรู ที่มี อยูในคนเขาไปเปนผูรูเรื่องอวกาศ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุ ลม ธาตุไฟ จึงเรียกสิ่งเหลานี้วา “สิ่งรู” หรือ “นาม” 9


ตนไม ตนพืช แรธาตุ สัตวตางๆ และสิ่งที่มนุษย สรางขึ้นทุกชนิด มันรูตวั มันเองไมไดจึงจัดเปน “สิ่งที่ ถูกรู” หรือเรียกวา “รูป” มนุษย หรือคน หรือ จิตรู ธาตุรู วิญญาณรู ที่มีอยู ในคน เปนผูรูเรื่องดังกลาวขางตน จึงจัดเปน “สิ่งรู” หรือ “นาม” รูปกาย หรือรางกายของคนที่ประกอบดวยธาตุ ดิน น้ํา ลม ไฟ หรือรูปกาย รางกาย ที่ประกอบดวยธาตุ อาหาร น้ํา อากาศ จัดเปนสสาร หรือ วัตถุธาตุที่ ไมมีชีวิต ทีไ่ มสามารถรูจักตัวเองได จึงเรียกวา “สิ่งที่ ถูกรู” หรือเรียกวา “รูป” จิตรู หรือธาตุรู หรือ วิญญาณรู ที่กอเกิดอยูใน รางกายของคน กอเกิดขึ้น มาแลวเปนผูเขาไปรูเกี่ยวกับ รูปกายของคน ระบบของ รางกายคน สวนประกอบ ของระบบรางกายคนทุก Jugular vein

Carotid artery

Innominate vein

Innominate artery Subclavian artery

Heart

Lung

Aorta

Pulmonary artery

Alveolar capillaries

Left atrium Right atrium Left ventricle Right ventricle

Pulmonary veins

Hepatic vein Liver

Kidney

Hepatic artery

Renal artery

Portal vein

Renal vein

Large intestines

Capillaries of gastrointestinal tract

Inferior vena cava

Small intestines

Iliac artery

Femoral vein

CARDIOVASCULAR SYSTEM

10


ชนิด จัดเรียกวา “สิ่งรู” หรือเรียกวา “นาม” รูปกาย รางกาย จัดเปนสิ่งที่ถูกรู หรือ “รูป” จิตรู ที่เขาไปรูเรื่องกาย จัดเปนสิ่งรู หรือ “นาม” กายเปน “รูป” จิตรูกายเปน “นาม”

ความนึกคิด ที่กอเกิดขึ้นมาในใจ หรือใน ความรูสึกของเรา จัดเปนสิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” เพราะความนึกคิด หรือจิตนึกคิดที่กอเกิดขึ้นมาในใจ ของเราชั่วขณะหนึ่ง แลวดับสลายหายไป จิตนึกคิดที่กอ เกิดขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง นั้น มันรูตัวมันเองไมได แตจะมี จิตรูหรือธาตุรูอีกตัวหนึ่ง กอเกิดซอนตอจากความนึก คิดตัวแรกวาเมื่อสักครูคิดอะไร หรือคิดเรื่องอะไร

11


ความนึกคิดตัวแรก จิตนึกคิดตัวแรก จัดเปนสิ่งที่ ถูกรูหรือเรียกวา “รูป” จิตรูทกี่ อเกิดซอนตอจากจิตนึกคิดตัวแรก ที่เกิด ขึ้นมารูวา เมื่อสักครูคิดอะไร จิตรูตัวหลังนี้ จัดเรียก เปนสิ่งรู หรือธาตุรู หรือ “นาม” เกิดความรูสึกโกรธหรือเกิดจิตโกรธกอเกิดขึ้นมา ในใจหรือในความรูสึกของเรา ความรูส ึกโกรธ หรือจิตโกรธ ที่กอเกิดขึ้นมาชั่ว ขณะหนึ่งแลวดับสลายหายไปจัดเปนสิ่งที่ถูกรู เพราะวา จิตโกรธที่กอ เกิดขึ้นมา มันรูตัวมันเองไมได จึงจัดเปน สิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” จิตรู หรือธาตุรู ที่กอ เกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อ สักครูเกิดจิตโกรธ เกิดความรูสึกโกรธ จิตรูหรือธาตุ รูตัวหลังนี้ จัดเรียกเปนสิ่งรู หรือเรียกวา “นาม” เกิดความนึกคิดแลวเกิดอารมณโกรธตอเนื่องจาก ความนึกคิดตัวแรก จิตนึกคิดและความโกรธของจิต กลุมนี้ จัดเรียกเปนสิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป”

12


มีจิตรูห รือธาตุรูอีกตัวหนึ่ง กอเกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อสักครู คิดแลวเกิดอารมณโกรธ จิตรูหรือธาตุรูตัว หลังนี้ จัดเปนสิ่งรูหรือ “นาม” คิดแลวเกิดอารมณทางเพศตอเนื่องจากความนึก คิดตัวแรก จิตนึกคิดและอารมณทางเพศของจิตกลุมนี้ จัดเปนสิ่งที่ถูกรูหรือเรียกวา “รูป” จิตรูหรือธาตุรูที่กอเกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อสักครู คิดแลวเกิดอารมณทางเพศ จิตรูห รือธาตุรูตัวหลังนี้ จัดเปน สิ่งรู หรือเรียกวา “นาม” คิดแลวเกิดความรูสึกชอบใจ และไมชอบใจ จิต กลุมนี้กอเกิดขึ้นมาชั่วขณะหนึ่งแลวดับสลายหายไป จัดเปนสิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” จิตรู หรือธาตุรูที่กอเกิดซอนขึ้นมารูวาเมื่อสักครู คิดแลวเกิดรูสึกไมชอบใจหรือชอบใจ จิตรู หรือธาตุ รูตัวหลังนี้จัดเปน สิ่งรู หรือเรียกวา “นาม” คิดแลวเครียด หรือเกิดความรูสึกเครียด กอเกิด ขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง แลวดับสลายหายไป จิตกลุมนี้จัด เรียกเปนสิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” 13


จิตรูหรือธาตุรูที่กอเกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อสักครู คิดแลวเครียด เกิดความรูสึกเครียด จิตรูหรือธาตุรูตัว หลังนี้จัดเรียกวา สิ่งรูหรือเรียกวา “นาม” อารมณทุกชนิดที่เกิดมาชั่วขณะหนึ่ง แลวดับ สลายหายไปจัดเปนสิ่งที่ถูกรูหรือเรียกวา “รูป” จิตรู หรือ ธาตุรู ที่กอเกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อ สักครู เกิดอารมณชนิดตาง ๆ จิตรูหรือธาตุรูเหลานี้ เรียกวา สิ่งรูห รือ เรียกวา “นาม” จิตลักษณะตางๆ ที่กอเกิดขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง แลวดับสลายหายไป จิตลักษณะตางๆ เหลานี้จัดเปนสิ่ง ที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” จิตรู หรือ ธาตุรู ที่กอ เกิดซอนขึ้นมารูวาเมื่อ สักครู เกิดจิตลักษณะใดบาง จิตรู หรือธาตุรูกลุมหลังนี้ เรียกวาสิ่งรู หรือเรียกวา “นาม” ทานจะเห็นวาวัตถุธาตุ ทั้งหลายตั้งแตระบบสุริยะ จักรวาล ทุกจักรวาล รวมทั้ง โลกที่เราอาศัยนี้ดวย ลวนเปน 14


สิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” รูปกาย รางกาย ระบบของรางกายทุกชนิด ความเปนไปของระบบรางกาย ทุกชนิดลวนเปนสิ่งที่ ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” ความรูสึกทุกชนิด ความจําทุกชนิด ความนึก คิดทุกชนิด อารมณทุกชนิด ที่กอเกิดขึ้นมา ลวน จัดเปนสิ่งที่ถูกรู หรือเรียกวา “รูป” แตเปนรูปที่อยูในฝาย “นามธรรม” หรือเปน “รูป” หรือเปน “สิ่งที่ถูกรู” ที่กอเกิด ตั้งอยูชั่วขณะ หนึ่ง แลวดับสลายหายไป อยูในใจคน จิตรู หรือธาตุรู หรือวิญญาณรู ทีก่ อเกิดอยูใน ใจคน จัดเปนสิ่งรูหรือเรียกวา“นาม”แตเปน “นาม” หรือ “สิ่งรู” ที่กอเกิดอยูในฝาย “นามธรรม” หรือ “นามธาตุ” “วัตถุธาตุ” หรือ “รูปธาตุ” ทั้งหลาย กอเกิด ขึ้นมาตั้งอยูนานหนอย แลวก็ดบั สลายหายไป แต “รูป” ฝาย “นามธาตุ” หรือฝาย “นามธรรม” เชน ความรูสึกชนิดตางๆ ความจําเรื่องตาง ๆ ความนึกคิด 15


ชนิดตาง ๆ อารมณชนิดตาง ๆ ลวนจัดเปน “รูป” หรือเปน “สิ่งที่ถูกรู” ที่กอเกิดขึ้นมาชั่วระยะสั้น ๆ ชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวดับสลายหายไป “รูป” ฝายวัตถุธาตุทุกชนิด กอเกิดขึ้นมาชั่ว ระยะเวลาหนึ่ง แลวก็ดับสลายหายไป “รูป” ฝาย “นามธาตุ” หรือ “นามธรรม” ทุก ชนิดกอเกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวก็ดับสลายหายไป ไมมี “รูป” ฝาย “วัตถุธาตุ” ชนิดใดๆ ที่กอ เกิดขึ้นมาแลวชั่วระยะเวลาหนึ่งจะไมแตกดับจะไม เปลี่ยนแปลง จะไมสลายหายไป ไมวาจะเปนวัตถุธาตุที่ เรียกวาโลก วัตถุธาตุที่เรียกวาจักรวาล วัตถุธาตุที่เรียกวา ตนไม ตนพืช วัตถุธาตุที่เรียกวา ดิน น้ํา ลม ไฟ วัตถุธาตุ ที่เรียกวา รูปกายคน รางกายคน ระบบของรางกายคนและ สัตวทุกชนิด ลวนแตกอเกิดขึ้นมาแลวตั้งอยูชั่วระยะเวลา หนึ่ง ชั่วระยะเวลาที่ตั้งอยู ก็กอเกิดความเปลี่ยนแปลงไป ตามกระบวนการของมัน กอเกิดความเปลี่ยนแปลงไปตาม เหตุ ตามปจจัย แลในทีส่ ุดก็แตกดับสลายหายไป “รูป” ฝาย “นามธาตุ” หรือ “นามธรรม” 16


หรือสิ่งที่ถูกรูอยูในฝายของ “นามธรรม” เชน ความรูสึกเห็น (เห็นนั่น เห็นนี่) จิต รูสึกเห็นเกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลก็ดับ สลายหายไป (เกิดโดยอาศัยผานทางระบบ ประสาทตา) เชน รูสึกไดยิน (ไดยินเสียงนั้น เสียงนี)่ จิตรูสึกไดยิน เกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่งแลว ดับสลาย หายไป (เกิดโดยอาศัยผาน ทางระบบประสาทหู) เชน รูสึกไดกลิ่น (ไดกลิ่นจากวัตถุตาง ๆ ไดกลิ่นจากสสารตางๆ ดกลิ่นจากพลังงาน ตาง ๆ ) เกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวดับ สลายหายไป(เกิดโดยอาศัยผานทางระบบประสาทจมูก) เชน รูสึกสัมผัสเสียดสีทางกาย (สัมผัสเย็น สัมผัสรอน สัมผัสออน สัมผัสแข็ง สัมผัส เจ็บ) จิต รูสึกสัมผัสเกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวดับสลายหายไป (เกิดโดยอาศัยผานทางระบบ ประสาทผิวกาย) 17


เชน จิตนึกคิดชนิดตางๆ กอเกิดขึ้นมา ชั่วขณะจิตหนึ่งแลวดับสลายหายไป (คิด แลว จางหายไปแลวกอเกิดกลับมาคิดใหม อีก วนเกิด วนดับ ทางความนึกคิดอยูอยางนั้น) เชน อารมณชนิดตางๆ กอเกิดขึ้นมาชั่วขณะอารมณ จิตหนึ่ง แลวดับสลายหายไป (เกิดอารมณ ขึ้นมา ชั่วขณะหนึ่งแลวดับสลายหายไป แลวกอเกิดอารมณตัว ใหมเกิดขึ้นมาอีก อารมณเวียนเกิดเวียนดับอยูอยางนั้น) ทั้ง “รูป” หรือ “สิ่งที่ถูกรู” ทั้งหลายลวนกอเกิดขึ้นมา แลวตั้งอยูชั่วระยะเวลาหนึ่ง แลวในขณะที่ตั้งอยูนั้นก็กอ เกิดความเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการของมัน ในขณะที่ตั้งอยูนั้นก็กอเกิดความเปลี่ยนแปลงไปตาม เหตุ ตามปจจัย แลวในที่สุดก็แตกสลายดับหายไปไมมี อะไรที่คงที่ถาวรอยูไดแมแตอยางเดียว “รูป” ฝายวัตถุธาตุ เปลี่ยนแปลงชาหนอย แตกสลายชาหนอย แต “รูป” ฝาย “นามธาตุ” หรือ ฝาย “นามธรรม” เชนความนึกคิดชนิดตางๆ อารมณ ชนิดตางๆ ความรูสึกชนิดตางๆ 18


- ลวนกอเกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตนึกคิดขณะหนึ่ง ๆ แลวดับจางหายไป - ลวนกอเกิดขึ้นมาชั่วขณะอารมณจิตขณะหนึ่ง แลวดับจางหายสลายไป - ลวนกอเกิดขึ้นมาชั่วขณะความรูสึกทางจิต ขณะหนึ่งๆ แลวดับจางหายสลายไป - ลวนเปนรูปฝายนามธรรม หรือเปนสิ่งที่ “ถูกรู” ฝายนามธรรม ที่กอเกิดขึ้นมาแตละชั่วขณะจิตหนึ่งๆ แลวจาง สลายไป แลวกอเกิดจิตลักษณะใหมซอนขึ้นมาอีก แลว จางสลายหายไปอีก วนเวียนเกิดจิตลักษณะตางๆ อยู อยางไมรูจักจบสิ้น เชน เกิดความนึกคิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวจางหายสลายไป แลวก็กอเกิดความนึกคิดตัวใหม เกิดซอนขึ้นมาอีก เชน เกิดความนึกคิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวดับหายไป แลวก็กอเกิดอารมณชอบใจ หรือไม

19


ชอบใจกอเกิดตอเนื่องจากความนึกคิดตัวแรกวนเวียน เกิด วนเวียนดับอยูอยางนี้ไมมีวันจบสิ้น ถาไมมีจิตรู ธาตุรู หรือวิญญาณรู ทีก่ อเกิดรูอยู ในคน เราก็ไมสามารถรูไดวา - เมื่อสักครูคิดอะไร คิดเรื่องอะไร - เมื่อสักครู เกิดอารมณอะไร - เมื่อสักครูรูสึกอยางไร เชน จิตนึกคิดถึงคนนั้น คนนี้ ก็จะมีจิตรู หรือธาตุรู อีกตัว หนึ่ง เกิดซอนตอจากความนึกคิด ตัวแรก เกิดขึ้นมารูวาเมื่อสักครู คิดถึงคนนั้น คนนี้ คือจิตนึกคิดตัว แรกมันจะไมรูตัวมันเอง แตจะมีจิต รูตัวหลัง กอเกิดขึ้นมารูวาเมื่อสักครูคิดถึงคนนั้นคนนี้ แตแลวทานจะมองเห็นวา พิจารณาเห็นวา - ความนึกคิดตัวแรกก็ดี - จิตรู ที่กอเกิดขึ้นมารูวาเมื่อสักครูคิดอะไร ก็ดี 20


- จิตตัวที่เปนความนึกคิด เกิดแลวก็ดบั ไป - จิตรูที่เกิดขึ้นมารูวาคิดอะไร เกิดแลว ก็ดับ ไปเหมือนกัน เชน อารมณโกรธ ที่กอเกิดขึ้นมาชั่วขณะ อารมณจิตหนึ่ง แลวจางหายดับไป แลวก็จะมีจิตรูหรือ ธาตุรูอีกตัวหนึ่งกอเกิดซอนขึ้นมารูวา เมื่อสักครูนี้ เกิด อารมณโกรธ คือ อารมณโกรธตัวแรกมันจะไมรูตัวมัน เอง แตจะมีจิตรูหรือธาตุรูอีกตัวหนึ่งกอเกิดซอนขึ้นมารู วา เมื่อสักครูนี้เกิดอารมณโกรธ แตแลวทานจะมองเห็น วา หรือพิจารณาเห็นวา - อารมณโกรธที่เกิดขึ้นตัวแรกก็ดี - จิตรูที่กอเกิดขึ้นมารูวา เมื่อสักครูเกิดอารมณ อะไรก็ดี - อารมณโกรธ ที่เกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่งเกิด แลวก็ดับสลายไป - จิตรูที่กอเกิดขึ้นมารูวา เมื่อสักครูเกิดอารมณ อะไร เกิดมารู แลวก็ดับไปเหมือนกัน

21


- จิตลักษณะอะไรอื่นใดก็เหมือนกัน ที่กอ เกิดขึ้นมาแลว ลวนดับสลายหายไปหมดสิ้น - ไมวาจะเปนจิตฝายที่ถูกเรียกวา “รูป” ก็ดี - ไมวาจะเปนจิตฝายที่ถูกเรียกวา “นาม” ก็ดี ทั้งสองฝาย ลวนแลวแตกอเกิดขึ้นมาแตละ ชั่วขณะจิตหนึ่งๆ เทานั้น แลวก็ดับสลายหายไป เหมือนกัน หามีตัวตนจริงจังไม แตเราผูที่ยังไมรูความจริงตามความเปนจริง กลับ หลงผิดไปจากความเปนจริง หลงเขาไปยึดถือเอาทั้ง “รูป” ทั้ง “นาม” ที่เกิดขึ้นมาแตละชั่วขณะหนึ่งๆ ทําให เราเปนทุกขเปนทาสของรูปนามเหลานั้นอยูอยางไมรูจัก จบสิ้น

เราตองปลอยตองวาง รูป-นาม เหลานั้นให หลุดพนจากใจของเราไป 22


ถาเราเขาไปยึดถืออะไรเปนจริงเปนจังเราก็จะ ทุกขอยูกับสิ่งนั้น เราก็จะทุกอยูกับอันนั้น ทั้งรูปและนามลวนเกิดๆ ดับๆ อยูอยางนั้น ตามเหตุตามปจจัย ตามกระบวนการของมันอยูอยางนั้น “หามีใครเปนเจาของไม” เชน รูปกาย รางกาย ระบบของรางกายลวนกอ เกิดขึ้นมา และตั้งอยูตามเหตุปจจัย แลวก็เปลี่ยนแปลง สลายไปตามกระบวนการของมัน หามีใครบังคับไดไม เชน ความนึกคิดที่เกิดขึ้นมาชั่วขณะจิตหนึ่ง แลวสลายหายไป เชนกัน เชน อารมณตางๆ ที่เกิดขึ้นมาชั่วขณะอารมณ จิตหนึ่งๆ แลวก็สลายหายไปเชนกัน หามีใครเปน เจาของไม เมื่อเราเฝาพิจารณาอยางละเอียดลออ และ ทําความเขาใจอยางทะลุปรุโปรงแลว เราจะเห็นวา “รูป” ทั้งหลายก็ดี “นาม” ทั้งหลายก็ดี นั้นลวนแลวแต เกิดๆ ดับๆอยูอยางหามีอะไรจริงจังเที่ยงแทไม ยึดอะไร อยูก็จะทุกขอยูกับสิ่งนั้น

23


ถามนุษยวางทั้งรูป – วางทั้งนาม เหลืออะไรเอย?

“เมื่อหยุดคิดปรุงแตง และวางทุกสิ่งลงได (ทั้งสิ่งที่รูและสิ่งที่ถูกรูทั้งปวง) สัจธรรมความจริง แท ก็จะปรากฏขึ้นมาใหรูเห็นเอง”

24


ปฏิบัติธรรมทําไม ? การปฏิบัติธรรมนั้น ทําเพื่อแกปญหาทุกขที่ เกิดขึ้นทางรางกาย และเพื่อแกปญหาทุกขที่เกิดขึ้นทาง จิตใจ ทุกขที่เกิดขึ้นทางรางกายเปนอยางไร ทุกขที่เกิดขึ้นทางรางกาย เชน ความเจ็บไข หรือเจ็บปวย เมื่อสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นเรา ก็มีความทุกข มีความวิตกกังวล อยู กับอาการเจ็บปวย อาการผิดปกติทาง รางกาย ทุกขที่เกิดขึ้นทางจิตใจเปนอยางไร ? ทุกขที่เกิดขึ้นทางจิตใจ เชน ความขุนมัว ความ เศราหมอง หดหู ความเศราสลด ความ โกรธ ความอึดอัด ขัดเคือง ความ อาฆาตพยาบาท ความไมไดดังใจ ความคิดฟุงซานตาง ๆ เหลานี้เปนตน

25


ความทุกขทางรางกาย เปนสิ่งทีท่ ุกคนไม ปรารถนา ไมตองการให เกิดขึ้น แตความเจ็บปวยใน รูปแบบตางๆ ความ เปลี่ยนแปลงของรางกายไป ในทางที่ตนเองไมพึง ประสงคอันเปนสิ่งที่ทุกคนตองประสบ ยากที่จะ หลีกเลี่ยงได เพราะคนเราทุกคนไมอยากจะใหเปนอยาง นั้น ไมตองการที่จะใหสิ่งเหลานั้นเกิดขึ้นกับตน ดังนั้น คนเราทุกคนจึงเปนทุกขอยูกับการเจ็บปวยที่เกิดขึ้น เปนทุกขอยูกับความแปรปรวน เปลีย่ นแปลงทาง รางกายที่เกิดขึ้นกับตนเอง ทุกขทางใจ โดยธรรมชาติของใจคนเรานั้น วาง เปลา เบา สบาย แตอยูๆ ความผิดปกติก็เกิดขึ้น ปรากฏ ขึ้นมาในใจของเรา เชน - บางครั้งก็มีความไมพอใจปรากฏขึ้นมาในใจ เรา ทําใหใจเรา ไมวางเปลา ไมเบาสบาย

26


- บางครั้งก็มีความอึดอัดขัดเคืองตอสิ่งตางๆ ปรากฏขึ้นมาในใจเรา ทําใหใจเราไมวาง เปลา ไมเบาสบาย - บางครั้งก็มีความคิดฟุงซานเขามาปรากฏ ขึ้นมาในใจเรา ทําใหใจเราไมวางเปลา ไมเบาสบาย - บางครั้งก็มีอารมณดี อารมณเสีย เขามา ปรากฏขึ้นมาในใจเรา ทําใหใจเราไมวาง เปลา ไมเบาสบาย - บางครั้งก็มีความคิดวิตกกังวลในเรื่องตางๆ เขามาปรากฏขึ้นมาในใจเรา ทําใหใจเราไม วางเปลา ไมเบาสบาย ปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นในใจของเราเหลานี้ ทําใหใจของเราไมวางเปลา ไมเบาสบาย ทําใหใจของ เราไมปกติ และถาเราเฝาสังเกตดูพฤติกรรมในใจของ เรา - ในขณะที่ตาเราเห็นสิ่งตาง ๆ - ในขณะที่หูเราไดยินเสียงตาง ๆ 27


- ในขณะที่จมูกเราไดรับรูกลิ่นตางๆ - ในขณะที่ล้นิ เราไดสัมผัสรสชาติตางๆ - ในขณะที่เนื้อหนังของเราไดสัมผัสถูกตอง กับสิ่งตางๆ - ในขณะที่ความนึกคิดตางๆ ปรากฏขึน้ ในใจ ของเรา ถาเราเฝาสังเกตดูใจเราอยูเสมอ เราจะเห็นวาใน ใจเรานั้น มีความปกติ มีความแปรปรวน มีความขุน มัว มีความเศราหมอง วิตกกังวล ความไมไดดังใจ มี ความอึดอัด ความขัดเคืองใจ และมีอาการอื่นๆ อีก มากมายปรากฏขึ้นในใจของเราอาการหรือปรากฏการณ เหลานี้ที่เกิดขึ้นในใจของเรา ทําใหใจของเราเปนทุกข ทําใหใจเราผิดปกติ ไมวางเปลา ไมเบาสบาย

28


เราจึงควรฝกฝนจิตใจใหจางคลายจากทุกข - เพื่อไวใชงานและเพื่อความสุข ความสงบ ความสบายของตน ครอบครัว และสังคม - เพื่อใหรูแจงเห็นจริงเกี่ยวกับความเปนไป ของสภาวะจิต - เพื่อใหความทุกขทางใจลดนอยลงไป ตามลําดับเอาความสุขเขามาแทนความทุกข การฝกจิต จนใจตั้งมั่นอยูในอารมณสมาธิ ผู ปฏิบัติจะตองฝกฝนใหใจตั้งมั่นอยูในอารมณโปรงโลง เบาสบาย อารมณปติ อารมณสุข อารมณอุเบกขา เกิดขึ้นในใจตนใหไดกอน เพื่อใหอารมณเหลานี้เขามา แทนที่ความทุกขในชีวิตประจําวัน แตพอตอนปลายๆ เมื่อเรารูแจงเห็นจริงของสภาวะ จิตสภาวะอารมณตางๆ ไดกระจางดวยปญญาแลว จึงคอย สลัดหรือปลอยวางอารมณเหลานั้นใหหลุดพนไปจากใจ เมื่อนั้น ใจก็จะเหลือแตความวางเปลาปราศจากอารมณ เพราะ

อารมณปติ อารมณสุข ก็คือ ทุกขอยาง ละเอียดที่จะตองปลอยวาง

29


เทคนิคการปฏิบัติใหทุกขจางคลาย “พอรูทัน ความคิดก็จะหายไป” ชั่วขณะหนึ่ง “พอรูทัน อารมณก็จะหายไป” ชั่วขณะหนึ่ง การสะกดใจไวไมใหความคิดเกิดและอารมณ เกิดขึ้นเปนการกระทําที่ไมถูกตอง จะตองปลอยใจให เปนธรรมชาติ แตถาเมื่อใดรูวาความคิดและอารมณที่ ไมพึงประสงคเกิดขึ้น ใหทําความรูสึกตัวทันที วิธีทําความรูสึกตัว คือ การเคลื่อนไหวอวัยวะ สวนหนึ่งสวนใดของรางกายทันทีหรือเปลี่ยนอิริยาบถ ทันทีทันใด เชน เมื่อรูวาเวลาเกิดความคิดขึ้นในใจใหกระพริบ ตาแรงๆ แลวปลอยใจวางเปลาไป หรือเคลื่อนไหวมือ เทา บิดตัว จะเคลื่อนไหวรางกายลักษณะใด ลักษณะ หนึ่งก็ไดแลวปลอยวางใหใจวางเปลาไปเปนคราวๆ เมื่อความนึกคิดเกิดขึ้นอีก ก็ใหใชวิธีทําความรูสึกตัว แบบเดิมอีกจนชํานาญ

30


กรณีที่อารมณตางๆ เกิดขึ้นในใจก็เชนกัน ให เคลื่อนไหวอวัยวะรางกายตามความรุนแรงของอารมณ นั้นการกระทําเชนนี้ เรียกวา ใชความเคลื่อนไหวทางรางกาย ละลายปญหาทางจิต เมื่อทําเชนนี้บอยๆ จนชํานาญอยางยิ่ง ปรากฏการณ ทางจิตอันวางเปลาเบาสบายก็จะเกิดขึ้นเอง โดยไมตอง ไปบังคับใจ หรือกดขมอารมณไว ใจเราก็จะวางเปลา เบาสบายมากยิ่งขึ้นเปนลําดับ

สงสัย ก็ตามดู อยากรู ก็เพียรกระทํา

31


สมาธิ สมาธิ คือ อะไร ? สมาธิ คือ สภาพที่ใจตั้งมั่น สมาธิแบงเปน 2 ลักษณะไดแก 1.สมาธิเชิงฌานเชิงอภิญญา หรือสมถะ กัมมัฏฐาน (ความสามารถพิเศษทางจิต หรือจิต เกงๆ ทั้งหลาย) 2.สัมมาสมาธิคือวิธีของสติสัมปชัญญะ(มีสติเขา ไปรูเทาทันความคิดและอารมณ จนกระทั่งทุกข ทําอะไรใจไมได หรือเรียกวาใจตั้งมั่นวางเปลา ปราศจากทุกข) สมาธิเชิงฌานเชิงอภิญญา หรือ สมถะกัมมัฏฐาน เปน อยางไร - สมาธิในลักษณะนี้คือ สภาพที่จิตใจตั้งมั่น โปรง โลง เบา สบาย และประกอบดวย อารมณปติ (อิ่มเย็น) ปรากฏอยูในใจของ ตน นี้ลักษณะหนึ่ง 32


- สภาพที่จิตใจตั้งมั่น โปรง โลง เบา สบาย มีความสุขอิ่มเอิบอยูในใจตนแตอารมณปติ หายไป เหลือแตสุข นี้ลกั ษณะหนึ่ง - สภาพที่จิตใจตั้งมั่น โปรง โลง เบา สบาย มีความสวางไสว ตั้งมั่น แนบแนนอยูภายใน ใจ แตสภาพกายภายนอกหายไป (หมายถึง จิตไมรับรูเรื่องภายนอก ไมสนใจอารมณ ภายนอก) มีแตความสงบ ความนิ่งเฉย โปรง เบา แนบแนน อยูภายในนี้ลักษณะ หนึ่ง สัมมาสมาธิ หรือ วิธขี องสติสัมปชัญญะ สัมมาสมาธิ หรือ วิธีของสติสัมปชัญญะ คือ มี สติเขาไปรูเทาทันความคิดและอารมณที่กอเกิด อยูในใจจนกระทั่งทุกขทําอะไรใจไมได หรือ เรียกวาใจตั้งมั่นวางเปลาปราศจากทุกข

33


กาย-ใจ กาย

ความรูสึกรับรู

สิ่งกระทบกาย

ความจําไดหมายรู

ความนึกคิด

กอเกิดอารมณสุข ทุกข เครียด พอใจ ไมพอใจ สบายใจ ไมสบายใจ

กระบวนการเกี่ยวพันของกายและจิตใจ 1. รูปกาย รางกาย อวัยวะตาง ๆ ของรางกาย 2. ความรูสึกรับรู ความรูสึกรับสัมผัส (ขณะจิตแรก) ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ 3. ความจําได หมายรู (ขณะจิตตัวที่ 2) 4. ความนึกคิดตาง ๆ (ขณะจิตตัวที่ 3) 5. ความรูสึกที่ประกอบดวยอารมณ อันเปนผลที่ เกิดตอเนื่องมาจากความนึกคิด 34


เชน คิดแลวเครียด คิดแลวสบายใจ (ขณะจิตตัวที่ 4) คนที่มีชีวิตประกอบดวยรางกายและจิตใจ คนที่ตาย แลวมีแตรางกายที่ปราศจากจิตใจ ถาจะนับเรียง *จากรูปกาย รางกาย อวัยวะตาง ๆ ที่กอเกิด ขึ้นมารับรูสึกรู รับรูสึกสัมผัสแลวก็ดับ ซึ่งเปนขณะ จิตแรก (ความรูสึกรับรู รับสัมผัส) ตัวอยาง เชน ทางกาย - กอเกิดขึ้นมารับรูสึก รอน เย็น แลวก็ดับลงไป ทางตา - กอเกิดขึ้นมารับรูสึก เห็น แลวก็ดบั ลงไป ทางหู - กอเกิดขึ้นมารับรูสึกได ยิน แลวก็ดบั ลงไป ทางจมูก - กอเกิดขึ้นมารับรูสึก กลิ่นตาง ๆ แลวก็ดับลงไป ทางลิ้น - กอเกิดขึ้นมารับรูสึกรส ตาง ๆ แลวก็ดับลงไป

35


*ลําดับถัดมา ตอจากขณะจิตแรกที่เรียกวา ความรูสึกรับรูก็จะเปนขณะจิตที่สองที่เรียกวา ความจําไดหมายรู เชน - จําไดวามีวัตถุอะไรมากระทบสัมผัส เสียดสีกายขณะนั้น รูสึกรอน เย็น มีความจํา และหมายรูวาเปนอะไร เขามาทํางานรวมดวย ตอเนื่องจากขณะจิตแรก ที่กอเกิดขึ้นมารับรูสึก รู แลวก็ดับลงไป) เชนเดียวกับ ความรูสึกเห็นจําไดวา เห็นอะไร แลวก็ดับลงไป ความรูสึกไดเย็น จําไดวาไดยินอะไร แลวก็ดับลงไป ความรูสึกไดกลิ่น จําไดวาไดกลิ่นอะไร แลวก็ดับลงไป ความรูสึก รส ตาง ๆ จําไดวารับรส อะไร แลวก็ดับลงไป * เมื่อจําไดวามีอะไรมากระทบสัมผัสเสียดสีกาย แลว 36


(เชนเดียวกับ เห็น ไดยิน ไดกลิ่น รับรส) กอเกิดความนึกคิดปรุงแตงวาสิ่งที่มา กระทบนั้นเปนอยางไร มีลักษณะอยางไร เปนขณะจิตที่สาม เขารวม ทํางานดวย แลวความนึกคิดปรุงแตง ณ ขณะ จิตนั้นก็ดับลง เมื่อความนึกคิดปรุงแตงเขามารวมทํางานดวย แลว จะทําใหเกิดปฏิกิริยาทางจิตใจอีกชนิดหนึ่งคือ * ความรูสึกที่ประกอบดวยอารมณเกิดตอจาก ความนึกคิดปรุงแตงทันทีเปน ขณะจิตที่สี่ เชน รูส ึกชอบใจ รูสึกไมชอบใจ รูสึก เครียด รูสึกสุข รูสึกเปนทุกข ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ณ ขณะจิตนั้น ๆ ซึ่งเกิดชั่วขณะจิตหนึ่งแลวดับลงไป เหมือนกัน

37


ทางใจ หรือ ประตูใจ - ใจจําอาการสุข-ทุกขทางใจทั้งหลายทั้งปวง แลว นํามานึกคิดปรุงแตงใหม กอใหเกิด สุข-ทุกขทาง ใจขึ้นมาใหมอีก วนเวียนอยูอยางนี้ไมรูจักจบสิ้น - ใจจําเหตุการณตางๆ ที่เคยเกิดขึ้น (ซึ่งเรื่องนั้นหรือ เหตุการณนั้นมันจบไปแลว หรือจบไปนานแลว ) แตใจ นํามาคิดปรุงแตงอีก กอใหเกิดอารมณ สุข-ทุกข เครียดความสบายใจ ความไมสบายใจ ขึ้นมาใหม วนเวียนอยูอยางนี้ - ใจนึกคิดปรุงแตงถึงเรื่องราวที่ยังไมมี ไมเกิด ไม เปน กอใหเกิดใจเปน สุข เปนทุกข เครียด สบายใจ ไมสบายใจ ไมรูจักจบ สิ้นวนเวียนอยูอยางนี้

38


อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เรามาปฏิบัติธรรมกันทําไม? เพราะเราเห็นวามันเปน ทุกข เรารูวาใจเรามัน อึดอัดขัดเคือง ชีวิตเต็มไปดวยความไมนามี ความไม นาเปนทําไมสภาพใจเราเปนอยางนี้ เราทุกขแลวใช ไหม เรารูใจเรามีปญหาอยางนี้ เรียกวาทุกข แลวจะทํา อยางไรที่จะออกจากทุกข ทุกขนั้นก็ไมเที่ยง (อนิจจัง) แลวจะออกจากทุกขโดย ใชหลัก อนัตตา หลักอนัตตา คือ อยางไร อนัตตา คือ สิ่งทั้งหลาย เกิดแตเหตุปจจัย ไมมี ตัวตนที่ตั้งอยูจริง แตตัวตนเกิดดับเพราะเหตุปจจัย เห็นวา ธรรมชาติอาศัยซึ่งกันและกัน เกิดขึ้น เห็นมัน ดับเพราะเหตุปจจัยดับ วิธีที่จะใหทะลุสัจธรรมถึงที่สุด คือ ชีวิตที่เปนทุกขมัน มีเหตุปจจัยอะไร เชน เรารูสึกไมพอใจ เมื่อไดยินเสียง 39


การไดยิน เกิดขึ้นมาจากเหตุอะไร เสียงกระทบ หู ทําใหเกิดการไดยิน ใจใหความหมาย เกิดอารมณไมพอใจ ความไมพอใจ เกิดขึ้นมาลอย ๆ ไมได ฉะนั้น ความไมพอใจนี้เกิดแตเหตุปจจัย ความไมพอใจนี้ไมใชของใคร เหตุปจจัยที่ตรงกระทบ เปน แดนเกิด ทีท่ ําให เกิดกระแสทุกข หรือกระแสปฏิจจสมุปบาท ตัวเหตุ ปจจัยไมใชตัวทุกข แตเปนแดนเกิด เมื่อเห็นวาเปนเหตุปจจัยตามธรรมชาติแลว ก็ไม เขาไปยึด ตองเห็น และเขาใจในสิ่งที่เห็นไมเชนนั้น จะ ไมคลายจากความเปนตัวตน ตัวอยางเชน ชีวิตทางหู (การรูสึกไดยิน) เกิด มาจากเหตุปจจัยอะไร เสียง กระทบระบบประสาทหู ทําใหเกิดการได ยินขึ้น แตพอเสียงหายไป การไดยินก็ดับ หรือหายไป

40


ชีวิตเกิดแตละขณะ ตามเหตุปจจัย ไมใชชีวิตที่ ตั้งอยูอยางนิรันดร ทีนี้เมื่อเห็นชีวิตเกิดดับตามเหตุ ปจจัย อยางนี้ แลวใครเปนผูทุกขละ เพราะเห็นวามัน ไมมีตัวตนที่ตั้งอยูจริง ๆ แลวใครเปนผูทุกขเลา ที่มัน ทุกข ๆ คือ “กูทุกข” อยู มันไมใชธรรมชาติ มันเปน การคนหาตัวเองวาตัวกูมีอยูหรือเปลา ถาทะลุตรงนี้จะ เขาใจคําวา อนัตตา ไมมีตัวตนที่ตั้งอยูจริงๆ แตสิ่ง ทั้งหลายเกิดและดับ เพราะเหตุปจจัย นี่คือ ธรรมชาติ ชีวิตของคนเกิดไดกี่ทาง ชีวิตของคนเกิดได 6 ทาง แตละทางมีเหตุปจจัย ของมัน ถาเชนนั้น ตัวตนจริงๆ มีหรือไม ชีวิตที่เราพูด เปนรูปราง หนาตา ไมใชแลว มันเปนชีวิตทางหู ชีวิตทางตา ทางจมูกทางลิ้น ทางกาย ทางใจ มันจะคลายความเขาใจผิด คลายความหลง ที่ ยึดติดยึดถือวาเปนตัว เปนตน เปนอัตตา

41


“ใหดูจิตเคลื่อนไหวเหมือนดูหนังดูละคร ใหดูจิตเคลื่อนไหวอยาหวั่นไหวตามจิต จิตไมมีตัวตน แตสามารถกลิ้งกลอกหยอกลอใหคลอยตาม เมื่อเรารูเทาทัน ใจเราก็จะสงบ สูงขึ้นตามลําดับ”

42


สติสัมปชัญญะ สติ คือ ตัวรูเ ทาทันสิ่งที่เกิดขึ้น พอเกิดอะไรขึ้นในใจเรารูทันหรือเกิดอะไรขึ้น ในความรูสึกพอเรารูทัน เรียกวา มีสติ แตพอเกิดอะไรขึ้นในความรูสึกในใจเรา เราไมรู นั่นเรียกวา เราขาดสติ สัมปชัญญะ คือ ภาวะที่เมื่อรูทันแลวใหทําการ เคลื่อนไหวรางกาย เชน กระพริบตา กํามือ ขยับตัว เพือ่ ออกจากความคิดและ อารมณตางๆ รูทันอะไร ? รูวาอะไรกําลังเกิดในใจเรา กําลังเกิดอารมณ อะไร เกิดปฏิกิริยาอะไรในความรูสึกเรา ขอใหเรารูทัน รูเทาทันวาตอนนี้กําลังเกิด แลวที่เกิดตองการไหม ถา ตองการก็ใหมันเกิดตอไป ถาไมตองการก็รีบ 43


ปรับเปลี่ยนไปเปนอยางอื่น ที่ไมตองการก็จะหายไป มันจะแทนที่อยูแตละขณะความรูสึกทางจิตนั้นๆ คําวามีสติ คือ รูวาเกิดอะไรขึ้น รูว าใจเราไม ปกติ รูวาตอนนี้เรากําลังคิดฟุงซานรูอยางนี้ เรียกวา เรามีสติ เรากําลังคิดฟุงซานแลว เราไมรู เรียกวา เราขาดสติ ขอใหรูวามันกําลังเกิดอะไรขึ้น ใจเรามันผิดปกติ ไหม หรือใจเราเปนปกติสบายดีอยู ก็รูอยู ถากําลัง ฟุงซานก็พยายามพลิกแพลงแกไข ตอนนี้กําลังอารมณ เสีย ก็พยายามพลิกแพลงแกไข ตอนนี้กําลังงวง อยากจะหลับ ก็รีบพลิกแพลงหาวิธีแกไข คือเรารูอยูวา เกิดอะไรขึ้น ที่รูอยูเรียกวา มีสติ ถาไมรูวา เกิดอะไรขึ้น ไมคิดที่จะแกไขนี่เรียกวา ปลอยไปตามยถากรรม เราตองเปนผูเปลี่ยนแปลงเอง ใครมาเปลี่ยนให เราไมไดหรอก พอเรารูวาใจเราไมปกติ ก็รีบ ปรับเปลี่ยนใหสบายหรือใหเปนอยางอื่น

44


เทคนิคในการปรับเปลี่ยน เทคนิคในการปรับเปลี่ยน โดยทําความรูสึกตัว เชนกระพริบตาแรงๆ กํามือ ยกมือ ยกแขน บิดเนื้อ บิดตัว กระดิกแขน กระดิกขา ไมจํากัดวิธีการ ทํา อยางไรก็ไดใหมันหายไปจากใจเรา หายไปจาก ความรูสึกเรา

ตัวรูทัน เรียกวา สติ ตัวอยางเชน ตอนนี้กําลังโมโห ก็รู นี้ เรียกวามีสติ พอขยับรางกาย ความโมโหก็หายไป มีสติ กอน การกระทําทีหลัง ใจ เราก็จะคอยๆ สบายมากขึ้นตามลําดับ สิ่งที่เขามาปน มาคลุกเคลาอยูในใจหรืออยูในความรูสึกเราก็จะ คอยๆ จางคลายหายไป สิ่งที่เขามาคลุกเคลาในใจเรา เรียกวา ทุกข หรือ กิเลส เราตองการเอาทุกข หรือสิ่งคลุกเคลาอยูในใจที่ ไมดีทั้งหลายออกไปใหเหลือแตความรูสึกที่ดี 45


ความรูสึกที่วางเปลา เบาสบาย ไมมีสิ่งอื่นคลุกเคลาปน อยูในความรูสึกนั้นๆ เลย อยางนี้เรียกวา ใจมีอิสระ ทุกขทําอะไรใจไมไดในขณะนั้น ๆ พอเกิดอะไรขึ้นในใจรีบทําความรูสึกตัว อยางนี้ เรียกวาเรามีสติ ขณะที่อะไรเกิดขึ้นในใจเรา รีบทํา ความรูสึกตัว รีบปรับเปลี่ยน รีบแกไขใหอาการที่ไมดี เหลานั้นมันหายไป ถาเราไมเปลี่ยนแปลง ไมแกไข ใครจะมาทําใหเรา มันเปนเรื่องในใจเราคนอื่นมาทําให เราไมได อะไรที่เกิดขึ้นในใจ รีบทําความรูสึกตัว ปรับเปลี่ยนใหหมดใหเหลือแตความรูสึกเปลาๆ ขยับ เคลื่อนไหวรางกาย ไมใชกดไว ไมใชวาพอจะคิดก็กด ไว พอจะเกิดอารมณก็กดไว อยางนี้ผิด ใหทําความ รูสึกตัว อยาไปกดใจตัว อยาไปกักใจตัวเองหรือ ความรูสึกตัวเองไว ใหสังเกตแคความรูสึกเทานั้น เชน รูส ึกเย็น ก็รู วาเย็น ไมคิดอะไรตอจากรูสึกเย็นถามีความคิดเขามา แสดงวา มีบางอยางเขามาแลว เย็นก็รูวาเย็น รอนก็รูวา

46


รอน ลมพัดมาถูกตัว ก็รวู าลมพัดมาถูกตัว ก็รูอยู แลว ไมมีอะไรตอ พอเรารูสึกอะไรตางๆ ความคิดจะเขามา ทันที ระวังตรงนี้ พอมันจะคิดอะไรมั่วๆ เริ่มทําความ รูสึกตัว ใหใจวางเปลาจากสิ่งที่จะเขามาปนอยูเรื่อย ความรูสึกหรือใจทุกคนมีอยูแลวตามธรรมชาติ แตใจไมมีที่อยู ไมมีที่ตั้งแตมันเกิดๆ ดับๆ อยูใ นตัวเรานี้ แหละ พอรูเทาทันความคิดครั้งหนึ่ง เดี๋ยวก็คิดใหมอีก ซึ่งมันก็คิดอยูอยางนั้น แหละไมใชไมคิด แต พอเรารูทัน เราจะเห็น ชองวางระหวางคิดตัว แรกกับคิดตัวหลังมัน มีชองวาง มันมีรอยตอ ของมัน ตองการให เห็นตรงนี้นะ ระหวางคิดกับคิดมันมีชองวางอยู คนไม เคยเห็นวางระหวางคิดกับคิด ไมเคยเห็นวางระหวางคิด กับอารมณ ตองการใหเห็นอันนี้วาใจไมไดมั่วอยูตลอด 47


มันมีใจที่วางเปลาอยู เราไมเคยเห็นใจสภาพที่วางเปลา เราเห็นแตคิดกับอารมณอยูตลอดเวลา ใจที่วางเปลาเบา สบายโดยไรความคิด หรือความคิดออนแรงลงไป หรืออารมณแผวเบาลงไปเราไมเคยเห็นเลย มันจะเปน ความรูสึกอีกอยางหนึ่ง เมื่อความคิดหายไป เมื่ออารมณ หายไปจากใจ ถาถามวาความคิดมีไหม ตอบวามีอยูตลอดเวลา แตเมื่อไรเราไมตองการใหมี มันหายไปไดทันทีตาม ความตองการ ทําอยางไรใหเห็นความคิด เราจะพูดอะไรใหหยุด สักประเดี๋ยว แลวมาตั้งหลัก เมื่อกี้เราจะพูดอะไร เราหยิบ ตัวที่คิดจะพูดอะไร เมื่อกี้มันมี ไหม มันหายไปไหม ลอง เบรกตัวเอง อยางนี้สักอึดใจ หนึ่งเดี๋ยวคอยพูด เชน เราคิดถึงคนนั้นคิดถึงคนนี้ พอ คิดแวบขึ้นมา หยุดตั้งหลักกอน เมื่อกีค้ ิดถึงเพื่อนนะ 48


มันหายไปไหนแลว ความคิดมันมีตัวตนหรือไม มัน เกิดขึ้นมาแลวมันดับไปไหม ตองการใหเห็นอันนี้ ให เห็นความจริงอันนี้ ไมเชนนั้นเราก็จะถูกความคิดลากไป ไมมีวันหยุด เราเขาไปอยูในความคิดหมด ถูกความคิด มันบงการตลอดเวลา เราตอการใหออกจากความคิด ปรุงแตนี้ และระหวางคิดกับคิดสองขณะมันมีชองวาง อยู ตองการใหเห็นชองวางที่ไมคิดในขณะนั้นใหได ใหเขาใจวา ใจที่วาง ๆ อยูมันก็มีนะ ไมไดเต็มไปดวย ความคิดเสมอไปนะ ใจไมไดเต็มไปดวยความขุนมัว ความสับสนอลหมานเสมอไป ใจหรือความรูสึกเปลาๆ ก็มีอยูนะ อยาไปจองดูความคิดวาเมื่อไรความคิดจะเกิด เพราะนั่นคือคิดตลอดเวลาวาเมื่อไร “คิด” จะมา มัน คิดแผวๆ อยูในใจเมื่อไรมันจะโผลหนามา นั่นแหละนั่ง คิดอยูในใจตลอดเวลา ทําใหความคิดหายไป ทําใหอารมณหายไป ความวางจะปรากฏขึ้นเอง พอมันคิดก็รูทัน พอรูทัน ความคิด ความคิดนั้นก็จะแวบหายไปจากใจเรา หายไป จากความรูสึกเรา พอรูทันอีกมันจะหายไป ทําอยูแคนี้ ไมใชไปนั่งเคลียรใจใหวาง นั่นนั่งคิดอยูตลอดเวลา เอา 49


ความคิดออกไป เอาอารมณออกไปแลวความวางก็จะ ปรากฏขึ้นมาเองโดยเราไมตองทําความวาง ความวางมี อยูแลว ไมตองทํา

เอาที่วุน ๆ ออกไปเทานัน้ ความวางก็จะ ปรากฏมาเอง

ไมตองไปรูวาที่ผานมาเปนอะไร ไมตองรูวา ขางหนาเปนอะไร รู ณ วินาทีนี้ก็พอ พออะไรเกิดขึ้นในความรูสึก ไมจับ ไมยึด ไมอยู แตะแลววาง รูแลววาง เพราะมันเกิดแลว ก็ดับไป ดับไป........

50


ภาค 2

กระบวนการพัฒนาจิต

1


ธรรมชาติของมนุษย มนุษยทุกคนตองการการดํารงชีวิตอยางมี ความสุขความสบายแตในชีวิตประจําวันกลับไมได เปนอยางที่ใจตองการทําไม ถึงเปนเชนนี?้ เมื่อเราอยากได อยากมี อยากเปน แตเมื่อ ไมได ไมมี ไมเปนใจเราก็จะ เปนทุกขหรือมีปญหา เมื่อเราได เรามี เรา เปน ใจเราก็จะเปนสุข หรือ ปญหาใจหมดไปชั่วคราว เมื่อไมได ไมมี ไมเปน เกิดขึ้นมาอีก ก็จะ ทุกขใจ เกิดปญหาใจขึ้นอีก แตเมื่อเกิดได เกิดมี เกิดเปน ใจเราก็เปนสุข หมดปญหาไปชั่วคราวอีก ใจเราวนไป เวียนมา อยูอยางนี้ไมรูจกั จบสิ้น “แลวสภาพใจที่ดีกวานี้มีไหม?”

2


ถามี จะเปนอยางไร จึงมีคําถามตามมาวา จะทําอยางไร ใจเราจึงจะสงบรมเย็นปราศจากปญหา ใจ ดังกลาวขางตน วิธีอบรมจิตใหจางคลายจากทุกข มีมากมาย หลากหลายประสบการณของผูฝกฝนแตละคน แต จากประสบการณสวนตัวของขาพเจาที่ไดศึกษา เรียนรู และฝกอบรมจิต พบวากระบวนการฝกจิต ใหจางคลายจากทุกข หรือ คลายจากปญหาใจ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การฝกจิตเพื่อออกจากทุกขระดับ เบื้องตน คือ ขั้นแรกของการเรียนรูจิต ใน ดานรับรูความรูสึก โปรง โลง เบา สบาย 2) การฝกจิตเพื่อออกจากทุกขระดับ เบื้องกลาง คือ ฝกใหเกิดสติ (ตัวรู) โดยรูเทาทันความคิดและอารมณที่กอ เกิดขึ้นในใจเรา

3


3) การฝกจิตเพื่อออกจากทุกขระดับ เบื้องปลาย เปนขั้นฝกฝนจิตใหเกิด ปญญา รูแจง เห็นจริง ในสัจธรรม วา สิ่งทั้งหลายอาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น

การที่จําแนกวิธีการฝกอบรมจิตใหจางคลาย จากทุกขเปน 3 ขั้นตอนนั้น ผูที่จะฝกอบรมจิตใหออกจากทุกขจะตองรูวา 1. จิต คืออะไร 2. สติสมั ปชัญญะ คืออะไร 3. สมาธิ คืออะไร และ 4. ปญญา คืออะไร จิต คือ ความรูสึกรับรู รับรูแลวปรุงแตง แปรตัวใหความจําเกิดขึ้น จําแลวปรุงแตงแปรตัว

4


ใหเกิดความคิด คิดแลวปรุงแตงแปรตัวให เกิดอารมณ (จิตที่เสวยทุกขแลว หรือมี ปญหา แลว) สติ คือ สภาพของใจที่รูวากําลังคิดอะไร อยู หรือกําลังเกิดอารมณอะไรอยู สัมปชัญญะ คือ การทําความรูสึกตัว ทําให ตัวเองตื่นขึน้ จากความคิด หรืออารมณนั้นๆ เพื่อกลับเขาสูสภาวะปกติของใจ สมาธิ คือ สภาพของใจที่ตั้งมัน่ จําแนก เปนโลกียะสมาธิ และโลกุตระสมาธิ โลกียะสมาธิ คือ สภาพที่ใชสิ่ง ตางๆ เปนอุบาย (วิตก วิจารณ) เพือ่ ปรุงแตงจิตให เกิด อารมณ เชน อารมณปต ิ อารมณสุข และ อารมณอุเบกขา โลกุตระสมาธิ คือ การกําหนดเอา ทุกข หรือ สมุทัย มาเปนตัวตั้งในการกระทํา เพื่อให ทุกขนั้นจางคลายหายไป (วิตก, วิจารณ) - เมื่อทุกขนั้นจางคลายหายไป ใจก็เกิดปติ ยินดี สดชื่น ผองใสขึ้น (ปติ) 5


- เมื่อทุกขนั้นทําอะไรใจไดนอยลงไป ตามลําดับ ใจนั้นก็จะมีความสุขสบายมาก ขึ้น (เพราะทุกขจางคลาย หรือเบาบาง ลง) “สุขสบาย” - เมื่อฝกสติสมั ปชัญญะ รูเ ทาทันทุกข รูเทา ทันสมุทัย จนกระทั่งทุกขนั้นทําอะไรใจ ไมได หรือที่เรียกวา “ใจนั้นวางเปลา ปราศจากทุกข” สภาพจิตอยางนั้น เรียกวา “อุเบกขา” หรือ “การทําจิต ใหอยูเหนือทุกข” ปญญา คือ การอบรมจิตจนรูแจงเห็น จริงในสัจธรรม (ธรรมชาติตามความเปนจริง) วา ธรรมชาติทงั้ หลายแมกระทั่งองคประกอบของ รางกาย และจิตใจลวนแลวอาศัยซึ่งกันและกัน เกิดขึ้น เปนกระบวนการสืบเนื่องกันตอๆ ไป หามี ใครเปนเจาของไม เชน เมื่อเสียงกระทบหู ทําใหเกิด การไดยิน เสียง และหู เปนเหตุ สวนการไดยนิ เปนผล

6


เมื่อรูแจงเห็นจริง อยางนี้ ก็จะทําใหจิต คลายจากการยึดติด ยึดถือที่จะเอาสิ่งเหลานั้น มาปรุงแตงใหเปนทุกข หากทานประสงคจะฝกอบรมจิตให จางคลายจากทุกขตามแนวทางนี้ ควรหมั่นฝกฝนตน ไปตามลําดับ ทีละลําดับจนมีความเขาใจ และความ ชํานาญในการปฏิบัติเพือ่ ยังประโยชนในการนําไปใช ในการดํารงชีวิตประจําวันใหมีความสุข มีความ สบายอยางแทจริงตามความประสงค

เราเอาทุกขออก จากใจได แตเอา ทุกขออกจาก โลกไมได

7


แผนที่ชวี ติ

หนักทึบ

จิต

เบาสบาย

ผิดปกติ

- ความคิด ทีเ่ ปนทุกข - ความจําทีไ่ มดี - อารมณไมดี

กาย

คิดแตเรือ่ งดี ใจเบา/ใจสบาย ใจเปนสุข/ใจสงบ อารมณดี ระบบประสาท

- เครียด - นอนไมหลับ

กายเจ็บปวย

- กายสบาย - อยูอ ยาง ทุกขนอ ย

ปกติ

8

ความรูส กึ ความจํา ความคิด อารมณ เสนทางทุกขมาก

-

เสนทางทุกขนอย - เห็นความคิด ทีเ่ ปนทุกข - ปรับความคิด เปนเชิงบวก - ปรับพืน้ ฐานใจ และสรางหลักใจ - ฝกสมาธิใหชาํ นาญ - ฝกสติสมั ปชัญญะ ใหชาํ นาย

กระบวนการพัฒนาจิต


“จิตเปนนาย กายเปนบาว”

จิต คือ ความรูสึกรับรู จิต คือ ความจํา จิต คือ ความคิด จิต คือ อารมณ

จิตเปนนาย กายเปนบาว ทานทัง้ หลายคง คุนเคยกับคติธรรมนีม้ าบาง

9


เราจะสังเกตเห็นวาเวลาเราคิดจะทําอะไร เรามักจะทําตามที่เราคิดเสมอ เวลาเราเกิดอารมณ อะไร กายเราก็จะเปนไปตามอารมณนั้นดวย ถาเรารูจักจิตและสัมผัสจิตของเราไดโดยการ ฝกอบรมจิต และหัดควบคุมจิตทั้ง 4 ประเภทนี้ ใหอยูในอํานาจของเราไดตามความประสงค ชีวิต เราก็จะสงบรมเย็นยิ่งขึ้นๆ จิตที่ไมสบายทุกชนิดเราทุกคนรูจักดี เชน ความรูสึกหนักอกหนักใจ เครียด ฟุงซาน ไมได ดังใจ ความวิตกกังวล เหลานี้เรียกวา จิตหนัก หรือ จิตที่ไมสบาย ที่ทุกคนไมตอ งการ แตความรูสึกโปรงโลงเบา สบายคนสวนมากไมรูจัก เราจึง ตองฝกฝนเพื่อใหรูจักสภาพจิตที่ โปรง โลง เบา สบายไดชัดเจน แมนยํา เพื่อเอาจิตดังกลาวมา ตั้งแทนที่จิตที่ไมสบาย

10


Self Awareness การรูตัวรูตน หรือ การรูกายรูใจตนเอง การเรียนรูกายรูใจ คือ รูวามีทุกข หรือไมมีทุกขใน กาย และในใจ ตองใชหลัก 3 ประการใน การพิจารณา ดังนี้ 1. ฐานที่เกิดของทุกข 2. การแกปญหาทุกข 3. วิธีปฏิบัตเิ พื่อแกปญหา ทุกข (ลงมือทํา แบบฝกหัด) 1.ฐานที่เกิดของทุกข - กาย - ใจ 2.การแกปญหาทุกข - ทุกขกาย เชน การเจ็บปวย นอกจาก หา หมอเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยแลว ยังแกไขไดโดย การทําสมาธิ (สมถะปฏิบัติ) โดยการสรางอารมณ 11


สมาธิ ฝกเคลื่อนยายจิต จากจุดที่ทรมาน ไปยัง ความรูสึกทีด่ ีกวา โดยไมสนใจความเจ็บปวด เชน การหมุนนิ้ว หรือการเคลื่อนไหวอวัยวะรางกายแบบ ตางๆ - ทุกขใจ แกไขโดยหลักอริยสัจสี่ วิธีปฏิบัติในหลักการอริยสัจสี่ คือ 1. รูเทาทันทุกข เพราะทุกขเปนสิ่งที่ตอง กําหนดรู ถาเรารูสึกวากําลังมีทุกขเกิดขึ้นในใจ เรียกวา “เห็นทุกข” เชน รูสึกเครียด หรือ รูสกึ กังวล รูสึกอารมณเสีย ก็รูวาเครียด รูวากังวล หรือรูวาอารมณไมดี 2. รูเทาทันตนเหตุทที่ ําใหเกิดทุกข คือรูวา ทุกขกําลังเกิดที่ใด ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจ เชน ตา เห็นสิ่งที่ไมถูกใจ รูสึกหงุดหงิด เรียกวา ทุกขเกิดที่ตา หรือ การเห็นเปนเหตุใหเกิดทุกข หู ไดยินเสียงนินทา แลวเกิดอารมณไมพอใจ เรียกวาทุกขเกิดที่หู หรือ การไดยนิ เปนเหตุใหเกิด ทุกข

12


ใจ เกิดความคิดผุดขึ้นมาแลว รูสึกกังวลใจ เรียกวาทุกขเกิดที่ใจ หรือ การคิดปรุงแตงเปนเหตุ ใหเกิดทุกข 3. รูวิธีออกจากทุกข โดยวิธีการของ สติสัมปชัญญะ หรือ สติปญญา คือ เมื่อรูว า ทุกขเกิดขึ้นในใจ ใหทําความรูสึกตัวโดยการ เคลื่อนไหวรางกาย หรือ อวัยวะใดอวัยวะหนึง่ เรียกวา “การทําความรูสึกตัว” (เปนวิธีปฏิบตั ิ) 4. ตองวัดผลที่เกิดขึ้นในใจไดดวยตัวเอง พิสูจนผลดวยตนเอง การวัดผลการปฏิบัติ โดย สังเกตวาเมือ่ ทําความรูส ึกตัวแลว ความทุกขที่ เกิดขึ้นในใจจางลง หรือลดลงตามลําดับ จนรูสกึ วา อารมณของทุกขไมเหลือในใจ เรียกวา ทุกข หายไปจากใจ 3. ลงมือปฏิบัติ เปนการทําแบบฝกหัด คือ

- ฝกสรางอารมณสมาธิ (สมถะปฏิบตั )ิ - ฝกสติสัมปชัญญะ (ดวยวิธีปฏิบัติในหลักการอริยสัจสี่)

13


e˵u

¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò¨iµ 14

oº¡Áืo

Êà ҧËÅa¡ã¨ : Êa§e¡µ ¤ÇÒÁÃÙÊ ¡ึ oÒÃÁ³ o»Ã §

¼ o¹¤ÅÒ¡Ò æÅaã¨

¢a¹é ·Õè 1 eºืoé §µ ¹

ËÁu¹¹iéÇ

eË繤ÇÒÁ¤i´/oÒÃÁ³ ·Õèe» ¹·¡¢ (ÊaÁÁÒʵi)

¼Å

ÇÒ§Êi觷a§é ÃÙ

ÁÕoÒÃÁ³ o»Ã § oÅ § eºÒʺÒ ¹ึ¡¤i´ä´ ´§a 㨹ึ¡ / ªíÒ¹Ò­

·íÒ¤ÇÒÁÃÙÊ ¡ึ µaÇe¾ืoè oo¡ ã¨Ç Ò§e»Å Ò»ÃÒÈ ¨Ò¡·¡¢ (ÊaÁÁÒÊÁÒ¸i) ¨Ò¡·u¡¢ ªÇaè ¢³a

ÃaºÃÙ

¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò» ­­Ò ¼Ùo ÂÙ ´ ÇÂoÒµ¹a·a§é 6 e˹ืo·u¡¢ 㪠§Ò¹·íÒo ҧÃÙ

¾a²¹ÒÊaÁÁÒʵi æÅa ÊaÁÁÒÊÁÒ¸iãË ªÒí ¹Ò­

ÁÕÊÀÒ¾ã¨o»Ã § oÅ § eºÒʺÒÂe» ¹¾ื¹é °Ò¹

ÁÕÊÁa ÁÒʵi æÅaÊaÁÁÒÊÁÒ¸i e» ¹ºÒ·°Ò¹ÁÒº Ò§æÅ Ç

¢a¹é ·Õè 2 eºืoé §¡ÅÒ§

¢a¹é ·Õè 3 eºืoé §»ÅÒÂ

» ¨¨ÂÒ¡Ã

o¤Ã§Êà ҧ¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò¨iµ


กระบวนการพัฒนาจิต กระบวนการพัฒนาจิต ประกอบดวยการฝกฝนจิต 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การฝกฝนจิตระดับเบื้องตน ขั้นที่ 2 การฝกฝนจิตระดับเบื้องกลาง ขั้นที่ 3 การฝกฝนจิตระดับเบื้องปลาย ขั้นที่ 1 การ ฝกฝนจิตระดับเบื้องตน การฝกฝนจิตระดับเบือ้ งตน ประกอบดวย การผอนคลายกายและจิต และการสรางหลักใจดวย การสังเกตความรูสึกโปรง โลง เบาสบาย เปนการ ปรับพื้นฐานกายใจ เพื่อเตรียมตัวกอนที่จะปฏิบัติ หรือการฝกสมาธิ ดังนี้ 1. การผอนคลายกายและจิต 1.1 ยืนแยกขาเล็กนอยใหถนัด แลว ปลอยกาย ปลอยใจใหอยูในสภาพที่ ผอนคลายสบายๆ ไมเกร็ง

15


1.2 ประสานมืออยูขางหนา พรอมทั้งทํามือใหเบา และนิ่ง 1.3. เมือ่ รูสึกวามือ เบา และนิ่งแลว คอยๆ ยกมือขึ้น ชาๆ จับความรูสึกที่มือเบา เคลื่อนไหวมือขึ้นชาๆ จนกระทั่งถึง ระดับหนาอกจึง คอยๆ พลิกฝามือ ออกนอกตัว ชาๆ และเบาๆ 1.4 ยกมือทั้งสองที่ประสาน ขึ้นชาๆ และเบาจนสุดแขน อยูเหนือศีรษะ คอยๆ เอนตัวไป ดานหลังเล็กนอยจนรูสึกวาหนาทอง ตึง พรอมทั้งกลั้นลมหายใจไวสักครู

16


1.5. โนมตัวกลับใหตรงพรอมทั้งหายใจออกชาๆ ตามธรรมชาติ และปลอยกายปลอยใจสบายๆ ไม เกร็ง ลดมือลงชาๆ เบาๆ โดยจับความรูสึกที่มอื ที่กําลังเคลื่อนลงชาๆ จน มือถึงหนาอก แลวพลิกมือกลับเขาหาตัวชาๆ พรอมทั้งลดมือลงจนอยูใ น ทามือประสานกัน เหมือนเริ่มตน จิตและกายจะเริ่มผอนคลายขึ้น

ขอแนะนํา : - อยาจับความรูส ึกที่ลมหายใจ (หายใจอยางธรรมชาติ) - ใหจับความรูสึกที่มือเคลื่อนไหวอยาง ชาๆ เบาๆ นิ่งๆ อยูตลอดเวลา โดยไม สนใจลมหายใจ

17


2 การฝกฝนจิตระดับเบื้องตนดวยการสังเกต ความรูสึกโปรงโลงเบาสบาย มี 2 เทคนิค 2.1 แกวงมือ 2.2 วิธีหมุนนิ้ว

วิธีแกวงมือ - ยกมือขึ้นระดับอก - ทํามือเบาๆ - แกวงมือเขา-ออกชาๆ เบาๆ - ในขณะระหวางที่แกวงมือเขา-ออก

18


- ใหสังเกตความรูสึกเบาของมือใหตอเนื่อง จนกระทั่งสามารถสังเกตความเบานัน้ ตั้งอยูไดชัดเจน - หยุดแกวงมือ และสังเกตความรูสึกเบา สบายยังคงอยูหรือไม ถาความรูสึกเบานั้นหายไป ใหมาเริ่มตน แกวงมือใหมตามลําดับวิธีขางตน ใหฝกฝนบอยๆ จนชํานาญ

วิธีหมุนนิ้ว - เอานิ้วหัวแมมือและนิว้ ชี้แตะกันเบาๆ แลวหมุนเปนวงชาๆ - ในระหวางหมุนนิ้ว ใหสังเกตความรูสึกเบา ที่นิ้ว (นิว้ ทีห่ มุนจะรูสึกลื่น) ใหตอเนื่องจนกระทั่ง สามารถสังเกตความรูสึกเบา (นิว้ ลื่น) อยาง

19


ตอเนื่อง จนกระทั่งสามารถสังเกตความเบานัน้ ตั้งอยูไดชัดเจน - หยุดหมุนนิ้วและสังเกตความรูสึกเบาสบาย ยังคงอยูหรือไม ถาความรูสกึ เบาสบายนั้นหายไป ใหมาเริ่มตน หมุนนิ้วใหมตามลําดับวิธีขางตน ปรับใจใหสบายๆ โปรง โลง เบาสบายให ตอเนื่องนานๆ ดวยการแกวงมือเบาๆ หรือ หมุนนิ้ว จนอยูในสภาพผอนคลาย สบายๆ เมื่อสภาพใจผอนคลาย โปรง โลง เบาสบาย ตอเนื่องกันนานๆ ก็จะมีอารมณ ปติ สดชื่น อิ่มเอิบ คอยๆกอเกิดขึ้นมาในใจชั่วขณะหนึ่งแลวหายไป ชั่วขณะหนึ่งแลวหายไป ขอใหรักษาสภาพใจ ที่โปรง โลง เบา สบายใหตอ เนื่องนานๆ ถาทานสังเกต อารมณ ปติ หรือสุข หรืออิ่มเอิบที่หายไปแลวจะเกิด ขึ้นมาใหมอีกวนเวียนอยูเชนนี้ ทําเชนนี้บอ ยๆ จนเกิดความชํานาญ 20


ทานก็จะเห็นวาความรูสึกทางใจของทานจะมี อารมณปติ สุข อิ่มเอิบ กอเกิดขึ้นไดตามใจนึก การกออารมณปติ สุข อิ่มเอิบ ใหกอเกิดขึ้นใน ใจ ทําไดดวยวิธีดังกลาวขางตน

ทิ้งเปาหมายที่จะมีที่จะเปนเสีย ทําแตเหตุอยางเดียว ความรูสึกตัวเปนเหตุ ความเบาเปนผล อยูกับเหตุ ไมไดอยูกับผล รูเทาทันความคิด และอารมณทุกชนิด

21


สรุป ประโยชนของการฝกความรูสึกโปรงโลง เบาสบายจนชํานาญชัดเจน คือ 1. เวลาเกิดความรูสึกเจ็บปวดทางกายก็ ใหเปลี่ยนมาอยูกับความรูสึกโปรง โลง เบา สบายแทนความรูสึกเจ็บปวดทาง กาย 2. จะชวยทําใหทานเห็นความคิดชัดเจน ขึ้น และมีสติรูทันความคิดที่ลากทุกขมา ก็ใหรีบทําความรูสึกตัว ความคิดที่เปน ทุกขนั้นก็หายไป หรือลดความรุนแรงลง

22


ขั้นที่ 2 การฝกฝนจิตระดับเบื้องกลาง การฝกฝนจิตระดับเบื้องกลาง เปนการฝก สติสัมปชัญญะ ใหมั่นคง เพื่อใหรูเทาทันความคิด และอารมณที่เปนทุกข ทานรูตวั เองไหม? วาใจกําลังนึกคิดอะไรอยู! ทานรูตัวเองไหม? วาใจกําลังเกิดอารมณอะไรอยู!

เชน ใจกําลังนึกคิดเรื่องนั้น เรื่องนี้อยู ใจ กําลังนึกคิดเรื่องของคนนั้น เรื่องของคนนี้อยู เชน ใจเกิดอารมณสบาย หรือใจเกิดอารมณ ขุนมัว หรือใจเกิดอารมณเสีย, หงุดหงิด, ไมสบายใจ ตึงเครียดภายใน หรือ เกิดอารมณ ทางเพศสัมพันธ ทุกครั้งที่ทานรูสึกตัววา ใจกําลังนึกคิดเรื่อง อะไรอยู! หรือรูสึกวาใจกําลังเกิดอารมณอะไรอยู! ขอใหทาน ทําความรูสึกตัว โดยการกระพริบตา แรงๆ กํามือแรงๆ หรือขยับตัว สัก 2-3 ครั้ง ทานจะ สังเกตพบวา ความคิดหรืออารมณที่เกิดขึ้นเมื่อครูจะ หายไป ใจทานก็จะวางเปลาจากอารมณเสีย อารมณ เครียดไปชั่วขณะหนึ่ง เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมาอีก ก็ขอใหทําความ รูสึกตัวซ้ําอีก หรือเมื่อทาน 23


รูตัวเองวาใจกําลังมีอารมณเกิดขึ้น ก็ขอให ทําความรูสกึ ตัวซ้ําเชนเดียวกัน ความคิด และอารมณเสียนั้นจะหายไป ใจก็ จะวางเปลาจากทุกขอีก ความนึกคิดทุกชนิด อารมณทุกชนิดเปรียบ เหมือนความฝน ที่กอเกิดขึ้นมาในใจ เมือ่ เราปลุก ตัวเองใหตื่นขึ้น โดยการทําความรูสึกตัว เชน กระพริบตาแรงๆ หรือเคลื่อนไหวอวัยวะรางกาย ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ความนึกคิดเหลานั้น หรือ อารมณเหลานั้นก็จะหายไปจากใจชั่วขณะหนึ่งๆ เพราะเราทําความรูสึกตัวหรือปลุกตัวเองใหตื่นขึ้น อารมณ และความคิดจึงหายไป อบรมจิตอยางนี้ ฝกฝนจิตอยางนี้ใหชํานาญ ในชีวิตประจําวันเสมอๆ จนกระทั่งจิตมีความตืน่ ตัว อยูอยางตอเนื่อง จนกระทั่งความนึกคิดที่จะทําใหใจ ของทานเปนทุกข หรือมีปญหาลดลงไป หรือจาง คลายหายไป และอารมณที่จะทําใหใจของทานขุนมัว เศราหมอง ลดลงไป จางคลายหายไป อยางนี้เรียกวา ฝกอบรมจิตใจใหมี “สติสัมปชัญญะ” เมื่อสติสัมปชัญญะ มีกําลังเต็มที่ คือรูเทา รูท ัน ความนึกคิดทุกชนิดที่เกิดขึ้นในใจ รูเทา รูทัน อารมณ ทุกชนิด 24


ที่เกิดขึ้นในใจ หรือที่เรียกวา รูขณะจิตแหงตนทุก ขณะ อยางนี้เรียกวามี “สัมมาสติ” ก็จะทําให จิตใจมีความตั้งมั่น ดังนั้นทุกขทั้งหลายก็จะทําอะไร ใจของทานไมได สภาวะใจของทานก็จะมีความวาง เปลาปราศจากทุกข สภาพจิตอยางนี้เรียกวา “สัมมาสมาธิ” เพราะมี สัมมาสติ เปนเหตุปจจัย จึงทําใหเกิดผลเปน สัมมาสมาธิ

ความคิดไมมีตัวตน ความจําก็ไมมีตัวตน คนทุกขอยูกับอะไร

25


ขั้นที่ 3 การฝกฝนจิตระดับเบื้องปลาย เมื่อทานฝกฝนอบรมจิตตน ตามขัน้ ที่ 1 และขั้นที่ 2 จนชํานาญจิตใจทานมีสมั มาสติดีแลว ถูกตองแลว รูเทา รูทัน ขณะจิตของตนอยาง คลองแคลวชัดเจนจริงๆ จนใจตั้งมั่นวางเปลา ปราศจากทุกข หรือรูตวั รูตนอยูวา ทุกขที่เกิดขึ้นใน ใจนั้นทําอะไรใจไมไดแลว เพราะมีสติรูทันทุกขที่ เกิดขึ้น ขั้นตอไป เปนขั้นทีเ่ รียกวา อบรมจิต เพื่อใหเกิด “ปญญา” หรือเกิดความรูแจง เห็น จริงในสัจธรรมทั้งปวง ตามความเปนจริง วา “ธรรมชาติทั้งหลาย อาศัยซึ่งกันและกัน เกิดขึ้นอยางไร! และสิ่งทัง้ หลาย อาศัยซึ่งกันและกันเกิดขึ้น อยางไร!” เชน อารมณทั้งหลาย มีความนึกคิดปรุงแตง เปนปจจัย จึงทําใหมีอารมณเกิดขึ้น อารมณจะ

26


เกิดขึ้นเองลอยๆไมได อารมณจะตองมีเหตุ มีปจจัย ทําใหเกิดอารมณนั้นขึ้น ตัวอยาง ความไมสบายใจ - เกิดขึ้นเพราะใจ จะตองนึกคิดปรุงแตง เรื่องอะไรสักอยาง ทําใหความ ไมสบายใจเกิดขึ้น ความเครียด - จะเกิดขึ้นไดเพราะ ใจตองนึกคิดปรุงแตง เรื่องอะไรสักอยาง ความ เครียดจึงเกิดขึ้น ความวิตกกังวล - จะเกิดขึ้นไดเพราะ ใจตองนึกคิดปรุงแตง อะไรสักอยาง ความวิตกกังวล จึงเกิดขึ้น สภาวะจิต สภาวธรรมเหลานี้ เราจะเห็นได ชัดเจน เพราะเกิดจากการฝกอบรม “สติสัมปชัญญะ” จนรูขณะจิตแหงตนอยางชัดเจน แลว แตถาการฝกสติยังไมชาํ นาญ ไมชดั เจน หรือ ยังเบลอๆอยูยอมหมดหวังที่จะรู ทีจ่ ะเห็น ที่จะเขาใจ สภาวะจิต สภาวธรรมตามความเปนจริงวามัน เกิดขึ้นไดอยางไร มันมีอะไรเปนเหตุเปนปจจัย ที่ทํา ใหเกิดขึ้น

27


สิ่งทั้งหลายมีเหตุ มีปจจัย ทําใหเกิดขึ้น เชน - ความนึกคิด จะเกิดขึ้นเองลอยๆไมได ความนึกคิดจะตองมีความจําเปนปจจัยทําใหเกิดขึ้น การที่ใจตริ ตรึก นึกคิดอยูนั้น เราเคยจําเรื่องอะไรไว แลวเอาเรื่องราวที่เคยจําไดนั้นมานึกคิดอีก ความจําจึงเปนปจจัยทําใหความนึกคิดเกิดขึ้น สิ่งทั้งหลายมีปจจัย ทําใหเกิดขึ้น เชน - ความจํา จะเกิดขึน้ เองลอยๆไมได ความจําจะตองมีความรูสึกรับรูเปนปจจัยทําให เกิดขึ้น คือเราจําเรื่องนั้น เรื่องนี้ เราไปจํามาจาก ไหน? เชน - จํามาจากสิ่งที่เคยรูสึกเห็น (ทางตา) - จํามาจากสิ่งที่เคยไดยิน (ทางหู) - จํามาจากสิ่งที่เคยรูสึกไดกลิ่น (ทางจมูก) - จํามาจากสิ่งที่เคยรูสึกรับรูรส(ทางลิ้น) - จํามาจากสิ่งที่เคยรับรูสึกสัมผัส (ทางกาย) - จํามาจากสิ่งที่เคยรูสึกรูอารมณ (ทางใจ) 28


ดังนั้นความจํา จึงมีความรูสึกรับรูทางประตู ทั้งหกเปนปจจัย ทําใหเกิดความจําขึ้น จะเห็นไดวา สิ่งทั้งหลาย มีเหตุ มีปจ จัย ทําใหเกิดขึ้น เชน ความรูส ึกรับรู (เวทนา) ทางประตูทั้งหก จะเกิด ขึ้นมาเองลอยๆ ไมได จะตองมีสิ่งที่มากระทบสัมผัสกับทวารทัง้ หก ทางหู - จะตองมีเสียงมากระทบ ระบบประสาทหู จึงทําใหเกิดการรับรู ทางเสียงขึ้น หรือที่เรียกวาเกิดการไดยิน ทางตา - จะตองมีสิ่งทีม่ ากระทบ ทางตา หรือที่เรียกวา รูปกระทบตา จึงทําใหเกิดความรูสึกรับรูทางตาขึ้น หรือเกิดการ รูสึก เห็นขึน้ ทางใจ - จะตองมีความนึกคิด กระทบใจ หรือมีอารมณมา กระทบใจ จึงทําใหเกิดความรูสึกรับรูทางใจขึ้น ทางประตูอื่นๆก็กระทบทํานองเดียวกัน... เชน

29


สิ่งทั้งหลาย อาศัยซึ่งกันและกัน เปนเหตุ เปน ปจจัยซึ่งกันและกันใหเกิดกระบวนการของ ธรรมชาติเหลานี้เกิดขึ้น เพราะเกิดจากการ กระทบกับทวารทั้งหก เชน - เสียงกระทบหู ทําใหเกิดการรูสึกไดยิน แลว จําไว แลวเอาสิ่งที่จําไวมา นึกคิดปรุงแตง ทําใหเกิดอารมณขึ้น (ถาไมมี สติสัมปชัญญะ) - ตากระทบรูป ทําใหเกิดการรูสึกเห็น แลวจําไว แลวเอาสิ่งที่จําไว มานึกคิด ปรุงแตง ทําใหเกิดอารมณ เกิดขึ้น (ถาไมมีสติสัมปชัญญะ)

+ทําให

+ ทําให

+

ตากระทบรูป เกิดการรูสึกเห็น เกิดความจํา เอาสิ่งที่จําไว มานึกคิดปรุงแตง

สุข

ทุกข

ทําใหเกิดอารมณตางๆ ไมสุขไมทุกข

5

30


มันเปนปจจัยทีท่ ําใหเกิดอาการเปนลูกโซ เกี่ยวเนื่องกันอยางนี้ตลอดเวลาที่มีการกระทบ ถา เราไมมีสติสมั ปชัญญะเขามากํากับ แตถาเราฝกฝนจิตจนจิตมี “สัมมาสติ” และ “สัมมาสมาธิ” ถูกตอง เราจะรูเ ห็นและเขาใจใน กระบวนการเกิดตามธรรมชาติของทุกขที่ เกิดขึ้นในใจอยางชัดเจนแจมแจง ละเอียดลึกซึ้งเขา ไปตามลําดับ ใจเราก็จะรูวาสิ่งทัง้ หลายที่อาศัยกัน เกิดขึ้นหามีใครเปนเจาของไม! อยางนี้เรียกวา ฝกอบรมจิตจนเกิดมีปญ  ญา หรือที่เรียกวา เกิด “สัมมาญาณ”

ไมตองรูวาที่เกิดขึ้นในความรูสึกเปนอะไร เพราะมันไมตั้งอยูนาน มิฉะนั้นจะเขาไปอยูในวังวนของความคิด ใหเลยไป ๆ ๆ เพราะในแตละขณะ เกิดแลวก็ดับ มันจบไปแลว

31


ภาค 3

นานาสาระ 1


พอรูทัน ทําใหมันหายไป คําวาพอรูทันทําใหมันหายไป ก็คือ มาอยูกับ ความ รูสึกตัว ไมใชไปยุงอะไรกับอารมณ กับความคิด พอมันเกิด อยางมาอยูกับอีกอยาง ไมไปยุงอะไรกับมัน พอไปทําใหมันหาย แลวไปทําอยางใดอยางหนึ่งกับ มัน มันจะแปรรูปไปอีกอยาง พอความคิดเกิดขึ้น อารมณเกิดขึ้น มาทําความ รูสึกตัว นี่คือ สัมปชัญญะ ทําความรูสึกตัว ไมใชไปทํากับความคิดกับอารมณ ถาเราไปทําอะไรกับความคิด กับอารมณ เทากับเอาสิ่งหนึ่ง ไปกระทบอีกสิ่งหนึ่ง เกิดสิ่งที่สามเลยจบไมลง จริงๆ ไม ตองทําอะไรกับสิ่งนั้น “อนิจจา วัตตะ สังขารา” คือความนึกคิด วนเวียน เกิดๆ ดับๆ ตลอดเวลา

2


อาสวะ อาสวะ หมายถึง ความเคยชินของจิตที่ยึดใหเปน ทุกขอยูร่ําไป แตจะทําอยางไร เขาใจอะไรถึงจะไมยึดติดยึดถือ เพราะความเคยชินของจิตที่เรียกวา “อาสวะ” หรือ “อนุสัย” มันจะยึดอยูอยางนั้น เพราะมันไมเขาใจอะไร มันจะยึด (เพราะไมรูวาอะไรเปนอะไร) จะสลายอาสวะตรงนี้ตองมาสุดที่ปญญา มันตองเห็น อยางถูกตอง มันตองเขาใจอยางถูกตอง พอเห็นอยางถูกตอง เขาใจอยางถูกตอง มันก็วนไป สัมมาทิฎฐิอีก ที่วาทําอาสวะใหสิ้น ถาไมทะลุปญญาตรงนี้ (เขาใจ กฎของธรรมชาติ)… มันจะคลายจากความยึดติดยึดถือใหสนิ้ เชิงไมได ยึดติดยึดถือเมื่อไรก็ทุกขเมื่อนั้น

3


อารมณ...ชีวิตที่เสวยทุกข อารมณ เปนชีวิตที่เปนทุกขแลว อารมณชี้ไปที่ชีวิตที่เสวยทุกขแลว เชน ความรูส ึกได ยิน ยังเปนความรูสึกรับรูเ ปลาๆ ไมมอี ะไรเลย การไดยิน มัน ไมมีตัวอะไรเลยมันเรียกวาเปลาๆ มันแคการไดยิน ยังไมมี ความหมายใด ๆ เลย แตถามันปรุงแตงแปรตัวไปเปนความจํา ปรุงแตงแปรตัวเปนความคิด ปรุงแตงแปรตัวเปนอารมณ เราลองทวนกลับ อารมณ เกิดขึ้นไดอยางไร อารมณ เกิดขึ้นมาลอยๆ ไมได ตองมีความคิดเปนปจจัย ความคิดทํา ใหอารมณเกิดขึ้น ความคิดเกิดขึ้นมาไดอยางไร มันตองมา จากตัวความจํา อยู ๆ มันคิดขึ้นมาลอยๆ ไมได ตองมีความ จําเปนปจจัย แลวความจํามาจากไหน ก็มาจากการรูสึกเห็น การรูสึกไดยนิ ทะลุตา หู อีกแลว ทุกสิ่งทุกอยางมันอาศัย ซึ่งกันและกันเกิดขึ้นความรูสึกรับรูทางเสียง ก็ตอ งมีเสียงมา กระทบหู การไดยินถึงเกิดขึ้น ใหเห็นเปนเรื่องของธรรมชาติซึ่งอาศัยซึ่งกันและกัน มันไมใชใครเปนเจาของในธรรมชาตินี้ มันเปนเรื่องของ ปจจยาการ ปจจยาการที่ทําใหเกิดเรื่องแตละอยางๆ มันไมมี เจาของ 4


สมมติเราไดยินเสียง แลวเราคิดวา “กู” ไดยิน แลว “กู” มาจากไหนที่จริงมันมีแค 3 เอง “กู” นีต้ ัวเกินมาแลว จริงๆ มันมีเสียงกระทบประสาทหู เกิดการไดยิน ธรรมชาติ มีเพียงเทานี้เอง แตเราไมเขาใจ บอกวา “กู” ตัว “กู” เกิน มาแลว จําไดแตยังไมคิดปรุงแตอะไร ก็ยังถือวาเปลาๆ อยู ยังไมไดปรุงแตงเปนความหมายใดออกมา เกินจากธรรมชาติ ตามความเปนจริงเรียกปรุงแตงทั้งนั้น ถาเรียกโดยภาษา คือ มันเกิดมายาขึ้น และมายาเหลานี้พาใหทุกข มายา คือสิ่งที่ไมใชของจริง เปนมายาธาตุ มายาธรรม หรือ มายากล ก็คือ หลอกลวงสิ่งหลอกลวงนี้พาเราหลง และ เราจะเห็นผิดความจริงตลอด จริงๆ โดยธรรมชาติมีเพียง 3 อยางเสียงมากระทบ หู ทําใหเกิดการไดยิน ถาจะเรียนรู ธาตุแม หรือ จักรวาลเดิม ธรรมชาติ เดิม หรือ จิตประภัสสร ดูตรงนี้ วานี่คือตัวไมเกิดไมดับ สิ่งที่ไมเกิดไมดับ ภาวะที่ไมปรุงแตงใดๆ เรียกวา วิสังขาร จะเรียกวา อมตะธาตุ อมตะธรรม ภาวะที่ไมเกิด 5


ไมตาย ภาวะที่เรียกวานิพพาน เรียกวา พระเจา คือตรงนี้ ตรงนี้เปนภาวะที่ยังไมปรุงแตง ยังเปลาๆ เราตองเขาถึงตรงนี้ดวยถึงจะไมมีใครตาย ไมมีใคร เกิดมันเปลาๆ ปราศจากความหมายใดๆ และทุกคนตอง เขาถึงตรงนี้ใหไดดวยถึงจะอยูกับความเปลาๆ อยูกบั ภาวะไม ปรุงแตงตรงนี้คือ ของจริง นิ่งเปนใบ ไมใชที่เกิดๆ ดับๆ แตของที่ตอจากนั้นคือ ของลวง ทั้งหมด คือ สิ่งที่เคลื่อนไหวทั้งหมด สิ่งที่ป รุง แต งไมใ ช ข องจริ ง ของจริ ง มันไม เคลื่อ นไหว มันเปลาๆ อยู สิ่งที่ปรุงแตงไมใชของจริง เปนมายา

ของจริงนิ่งเปนใบ สิ่งที่เคลื่อนไหว ไมใชของจริง

6


ตกใจ...รูไมทัน ประสบเหตุการณ แลวเกิดความรูสึกตกใจ มีอาการ อกสั่นขวัญแขวน นั่นเปนปกติ เพราะเหตุปจจัยที่ทําใหเปน ก็ตองเปน เชน อยูกลางแดดก็ตองรอน ฉะนั้นจะบอกวา ตองไมตกใจ ก็ไมใช ถาอะไรๆ ก็ไมสะดุงสะเทือน นั่นมันหุนยนตแลว ไมใชคน เวทนามันก็มีตามเหตุปจจัย แตใจปรุงใหเปนทุกขหรือไม สาระ คือ ใจปรุงใหเปนทุกข หรือไม ไมใชเวทนาไมมี ชี้ไปที่ทกุ ขหรือไมทุกข ไมใชชี้ไปที่เวทนา หรือไมเวทนา เหมือนเราเจ็บปวย แตใจปรุงใหเปนทุกขหรือไม เวทนาทั้งหมดมันเปนไปตามเหตุปจจัย ใจไปปรุงแตงเวทนานั้นใหเปนทุกขหรือไม ไมใช บอกวาเวทนาไมมี เวทนาเกิดตามเหตุปจจัย และดับตามเหตุปจจัย เชน เปนแผล มันเจ็บ จะบอกวาไมเจ็บไดอยางไร แตใจเปนทุกขกับเจ็บนั้นไหม ธรรมชาติของจิตก็แปรปรวนอยูตลอดเวลา ธรรมชาติของกายก็แปรปรวนตลอดเวลา แตเธอไปทุกขกับสิ่งที่แปรปรวนนั้นไหม 7


การทําความรูสึกตัว กับใหมันสลายหายไปเอง ! เมื่อเกิดอารมณสุขหรืออารมณทุกขใดๆ ควรทําความ รูสึกตัวหรือใหมันสลายหายไปเอง หรือ ทําความรูสึกตัว ดีกวา ตัวอยาง เราเอาขาแหยลงไปในโคลน เราควรลางขา เสียกอน ไมเชนนั้นขาก็จะเปอนโคลนโดยที่เราไมรูตัว ตอไปที่เปอน เปอนบอยๆ ก็หนาขึ้นๆ ฉะนั้นลางดีกวา จิตอาศัยระบบประสาทเกิด เขยาประสาทไวใหจิต คลายโดยสมบูรณเราคิดวามันหายไปเองตามธรรมชาติ เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป แตมันไมแน ควรทําความรูสึกตัวนิด หนึ่ง หลักงายๆ ไมวาอยางไร ออกจากมันเสีย ถาเราไมทําความรูสึกตัว ขาก็ยังเปอนโคลนอยู พอ เปอนบอยๆ มันหนาขึ้นๆ สิ่งนั้นจะเปนอนุสัยเปนอาสวะกั้น เปนความเคยชินทางจิตชนิดหนึ่ง มันกลืนเราไปโดยไมรูตัว กลืนเปนเนื้อเดียวกัน ทํารูสึกตัวไวปลอดภัยที่สุด รูสึกตัว คือ เขยาประสาทไว ไมใหจิตหมักประสาท จิตอาศัยระบบประสาทเกิด แตถา เราไมทําความรูสึกตัว มันหมักประสาทติดอยูเลย จะหมักดานสบาย ดานสุข ดาน ทุกข ก็หมักประสาทเทากัน ฉะนั้น เคลียรประสาทใหเกลี้ยง ทุกอยางก็เปลา เขยาประสาทไวใหเกลี้ยง ปลอดภัยที่สุด 8


ดีใจ !..ปติในธรรม การเห็นความดีใจ เทากับทําความรูสึกตัวไหม? การ “เห็น เรียกวา มีสติ “ทําความรูสึกตัว” เรียกวา มีสัมปชัญญะ พอเรา “เห็น” จริงๆ ความดีใจ ก็หายไปเองไหม มันไมไดหายไป มันกลืนเปนเนื้อเดียวกัน เห็นวาอะไรเกิดขึ้น เรียกวา มีสติ ทําความรูสึกตัว เพื่อใหเกลี้ยงประสาท คือ สัมปชัญญะ ลักษณะจิตที่พอทําอะไรไดแลวดีใจ เรียก ปติในธรรม ปติในธรรมก็ตองวาง เปนปติในธรรมก็ตองรูทัน พอจิตจางคลายจากทุกข ก็มีปติขึ้น นีค้ ือปติในธรรม พอรูเทาทันปติ ปติหายไป สุขสบายก็ปรากฏขึน้ พอรูเทาทัน สุขสบาย ก็“วาง” ปรากฏขึ้น เวลาดีใจ มันอิ่มๆ มันสดชื่น นั่นแหละคือการกอตัว ขึ้นของสังขาร เปนสังขารเล็กๆ มันเปนเหตุเปนผล จากผล ก็กลายเปนเหตุอีกใหเกิดผลอีกตอไป ไมจบ นี่คือสังขาร พอเห็นดับ ตัวผลก็ดับ แตตัว “จํา” ก็มาเลนตอ มันเอาตัว “จํา” ไปปรุงตอ ปรุงโดยอัตโนมัติ ฉะนั้นเคลียรใหเกลี้ยง ประสาทไว แนนอนที่สุด 9


เหตุดับ ผลเกิด ผลดับ แตมันจําไว เอาสิ่งที่จําไว ปรุงตอไปเปนขณะจิตเล็ก ๆ ตัวที่ขาดไมไดคือ สติสัมปชัญญะ สิ่งทั้งหลายเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป นั้นคือ ธรรมชาติ แตธรรมชาตินั้นเปนทุกขนะ (ถาหลง) เราออก จากมันหรือยัง เราเขาไปจับไปยึดอยูโดยไมรูตัว (เพราะหลง และไมรู ไมเขาใจ) เรานึกวามันไมมีแตมัน “จํา” เปนความ พอใจไว แลววันดีคืนดีในขณะหนึ่งมันก็หยิบที่จําไวมา “ปรุง” ใหดีใจซ้ํา

เราเขาใจผิดวากิริยาจิต ทั้งหลายมีตัวตนอยู จริงๆ ไมมี มันเปนแคกิริยา ที่เกิดขึ้นชั่วขณะหนึ่ง แลวหายไป........

10


ยึด อะไรเปนตัวบงวาเรา “ยึดติดยึดถือ” ไว? ตัวนั้นจะเขาไปโดยปริยาย โดยธรรมชาติจะมีแตเขาไปๆ ไมออก ธรรมชาติของตัว “อุปาทาน” มันจะมีแตเขาไปๆ ไม ออก ฉะนั้นเราทําความรูสึกตัว ออกไวๆ มันเปนความเคย ชินที่เขาไป เราเปลี่ยนความเคยชินใหม ออกมาๆ นี้ตางหาก อนุสัยความเคยชินนี้มันสะสมตั้งแตเมื่อไร เราไมรูได มันเคยชินกับการเขาไปยึดถือ ยึดติด ฉะนั้น เรารูแจงตรงนี้ ก็ทําความเคยชินในการออกมา เพื่อปองกันการเขาไปโดยไม รูตัวโดยเฉพาะตัวสบายมันออกยากที่สุด ตัวสบายอานยาก มากเพราะมันเปนตัวละเอียด และคนจะพอใจกับตัวสบาย ทุกขยังอานงายกวา สบายอานยากกวา สวรรคจึงอยูนาน ตองรูขณะจิตของตนเอง และตองซอมความรูสึกตัวเปน ระยะๆ พอเรารูสึกตัว มันตางจากตรงนี้ไหม เปรียบเทียบ โดย ถาทําความรูสึกตัวแลว รูสึกตัวอีกแลวไมแตกตางแสดง วา จิตไมเปลี่ยนแปลง

11


แตถายังมีความตาง แสดงวาตัวเมื่อกี้ไมใช (สภาวะ เมื่อกี้ไมใช) ตองทําความรูสึกตัวเปนระยะๆ เพื่อเปรียบเทียบวา มันมี หรือมันไมมี มันยังมีเปลี่ยนไปไหม หรือไมมีเปลี่ยนอีก เลย ไมมีจติ อื่นยิ่งกวาจิตนี้อีกแลว ที่ภาษาบัญญัติ นิดหนึง่ นอยหนึ่งก็ตองรูทัน คือ ไมประมาท ถาเชนนั้นใชสติสัมปชัญญะ เพราะบางทีเราก็ อานตัวเองไมออกวา มันอยูตรงไหน ตัวสบายยิ่งอานยากที่สุด ตองทําความรูสึกตัว ออก ชาออกเร็วก็ตองออก ตัวทุกขเห็นไดงาย ตัวสุขสบายเขาใจ ยาก แลวเราจะถูกตัวสุขสบายกิน (ครอบงํา) นรก คนอยากออก แตสวรรค คนไมอยากออกเพราะ มันสบาย จริง ๆ มัน คือ สังขาร เทากัน นรก คือ สังขาร สวรรค คือ สังขาร ดีใจกับเสียใจก็มีคาเทากัน คือ สังขาร (มีการปรุงแตงใหเปนอยางนั้นอยู)

12


จุดออน !... แตทําอะไรใจไมได ทุกคนมีจุดออนเมื่อถูกกระทบ ตองมีการกระเพื่อม มีการแปรปรวน มากบางนอยบาง ตามปจจัยแรงมากแรง นอยที่กระทบ พอสติมาทันก็จบ อยาคิดวาใจเราตองไมปรากฏอะไรขึ้นเลย ไมมีอะไร แผวพานเลย ผิดครับ ทุกสิ่งทุกอยางเกิดแตเหตุปจจัย แตตัว ที่จะแกไขคือ สติสัมปชัญญะ ชีวิตทั้งชีวิตไมรูสึกรูสา ไมมีปฏิกิริยา ไมมีอาการใดๆ เลย อยางนั้น กลายเปนหุนยนตแลวไมใชคน แสดงวาเขาใจ เรื่องเหตุปจจัยไมถูกตอง สิ่งทั้งหลายยอมเกิดแตเหตุปจจัย ทุกขก็ยังปรากฏอยู แตทุกขนั้นทําอะไรใจไมได เหมือนน้ํากลิ้งบนใบบอน หรือใบบัว กระทบรู แลวก็ผานไป ไมใชบอกวาทุกขไมเกิด ทุกขยังเกิดอยูตามเหตุปจจัย แตพอสติสัมปชัญญะรูทนั ทุกขนั้นหายไป พอหายไปเรียกวา ทุกขนั้นทําอะไรใจไมได ใจเหมือนใบบอนใบบัว มีน้ํากลิ้งผาน มันไมซับลง เหมือนกระดาษซับ เมื่อกอนใจเราเปนกระดาษซับ ตัวสติสัมปชัญญะจะ ทําใหกระดาษซับเสื่อมคุณภาพ ไมซับลง นี่คือความจริง จะ 13


บอกวาใจไมมีอะไรเลย โกหกครับ เพราะสิ่งทั้งหลายยอมเกิด แตเหตุปจจัย จะวาเหตุปจจัยไมมีไดอยางไร เพราะยังกระทบ อยูทุกทวาร สิ่งทั้งหลายยังเกิดแตเหตุปจจัยอยู แตพอ สติสัมปชัญญะรูทัน มันหายไป ไมซับลง หรือซับไดนิดเดียว ไดนอยมาก เรียกวา ดําเนินชีวิตอยางทุกขนอย คือซับไดนอยมาก จะบอกวาไมซับเลยก็พูดเกินไป ซับไดนอย ประเดี๋ยวก็หาย ทุกขนั้นยังปรากฏอยูตามเหตุปจจัยเสมอ ไมเชนนั้น เวลามีแผล คนนั้นตองไมเจ็บ จริงๆ ยังมี เจ็บมีปวดอยู แตปรุงอะไรไหม นั้นเรือ่ งหนึ่ง ความคิดนั้นยังกระทบใจอยู อารมณนั้น ยังกระทบใจอยูไหม ยังมีขณะจิต 2 ขณะจิต 3 ยืดเยื้อไหม แตขณะจิตแรกยังมีอยูตามปกติ ความคิดก็ยังกระทบ ใจอยูตามปกติ คําวาไมคิดปรุงแตงใหเปนทุกข คือ ไมซับลง ใจไม เปนกระดาษซับ ซับเมื่อไรทุกขเมื่อนั้น ใครจะวาอยางไรก็ตามตองหาคําตอบที่ใจตน อานใจ ตัวเองใหออกวา ใจมีอาการไหม ? ใจมีปญหาไหม ? ใจมีทุกขไหม ? 14


ความคิด ความจํา ความคิด เกิดมาไดอยางไร ? ความคิดมาจากความจํา ถาไมมีความจําเปนปจจัย ความคิดเกิดไมได ถาเรายอนไปตนตอ ตากระทบรูป ทําให เกิดความรูสึกรับรู แลวมันจะปรุงแตงแปรตัวใหเกิดธาตุแหง ความจําขึ้น และธาตุความจํานี้จะปรุงแตงแปรตัวใหเกิดธาตุ แหงความคิดขึ้น เรียกวา มันเปน ปจจยาการกัน (ปจจัยที่ทํา ใหเกิดอาการตอๆ ไป) ความจําไปอยูตรงไหน ? จริงๆ ความจําก็มิไดมี แตมันเกิดจากความรูสึกรับรู เปนตัวปรุงแตงแปรตัวใหเกิดความจํา ความจําก็ปรุงแตงแปร ตัวใหเกิดความคิด ความคิดจะเกิดขึ้นโดดๆ ไมไดมันตองมี ความจําเปนปจจัยปรุงแตงแปรตัวใหเกิดความคิด กระแส ธรรมชาติมนั จะมาตามลําดับอยางนี้ และแตละธาตุก็เพิ่งเกิด ตอนมันกระทบ คนก็เพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้ ตอนยังไมกระทบก็ยังไม มีคน พอกระทบปบ เกิดความเปนคน เกิดกูขึ้นมา ทุกอยาง เพิ่งมีเดี๋ยวนี้ตอนกระทบ ที่ผมเรียก เกิดทันที ดับทันที ถึงจะ เขาใจเรื่องอนัตตา และเห็นความเปนที่สุดของมัน เพิ่งเกิด 15


ตอนที่มีการกระทบ ความรูสึกรับรูเพิง่ เกิดตอนนี้ แตมันยังไม จบเทานี้ ถาปลอยความรูสึกรับรูใ หทํางานก็กลายเปน ความจํา ความจําก็พัฒนาเปนความคิดอีก ความคิดพัฒนาเปนอารมณ อีก มันไปเรือ่ ยๆ แลว บางอยางอธิบายใหเขาใจเปนรูปธรรมไมได แตใจที่สัมผัส อยูมันจะเขาใจ ยิ่งสื่อก็ยิ่งหาง เพราะการสื่อก็ คือ การปรุง ความรูสึกรับรูก็เพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้ คนก็เพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้ อวิชชาก็เพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้ไมใชอวิชชามีอยูแลว ตั้งอยูแลว ทุกอยางเพิ่งเกิดเมื่อมีการกระทบ ถามองลักษณะนี้ไมออก มันจะงงเรื่อง อนัตตา มันไมมี อยางไรนะ กูก็ยังมีตลอดกาล ถาหลงผัสสะ หลงการกระทบ มันจะเกิดความเปนตัวเปนตนขึ้นทันที ถาไมเห็นการกระทบ แลวเกิดรับรู

16


จบสนิท! ขันธ 5 ที่ประกอบดวยทุกขเมื่อ เกิดความรูสึกรับรูแลวก็ปรุงแตงแปรตัว เพราะปรุงตอที่ไมทุกขนั้นไมมี ฉะนั้นตัวที่จบสนิทจริงๆ จบที่ ผัสสะ แตพระพุทธเจา ทานก็สอนไว 3 ขยัก ผัสสะก็ได เวทนาก็ได ตัณหาก็ได บางครั้งทานบอกใหรูทันที่ผัสสะ บางครั้งทานบอกใหรูทันที่ เวทนา บางครั้งทานบอกใหรูทันที่ตัณหา บางบททานบอกให ออกจากตัณหา บางทบทานบอกใหออกจากเวทนา บางบท ทานบอก ผัสสะ เปนแดนเกิดของกระแสทุกข ที่ 3 จุดนี้ใคร ถนัดจุดไหน แตผมถนัดที่ผัสสะ ผมเรียก ตัดหัวรถจักรเลย ถารอ ไปถึงตัณหา อยางผมเอาไมอยูแลว แดนเกิ ด แหง การกระทบคื อ สมุ ทั ย ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ถ า ไมเชนนั้นจะไปสอดคลองกับพุทธพจนที่วา “เห็นสักแตวา เห็น ” ไดอยางไร “ไดยิน สักแตวาไดยิ น” ไมได คื อไม ปรุ ง อะไร ผมจะถนัดแบบนี้ บางคนจะถนัดไปหยุดที่เวทนาก็ได หยุ ด ที่ ตั ณ หาก็ ไ ด สํ า หรั บ ผม ถ า ไปหยุ ด ที่ ตั ณ หา ผมไม มั่นใจ ผมเห็นการลากหางของจิต 17


จิตหนึ่ง จิตหนึ่ง คือ อะไร! จิตหนึ่งคือ จุดที่เกิดและดับคือจุดเดียวกัน ไมแตก ตัวออกไป พอทําทาจะคิด รูแลว ชีไ้ ปที่ตัวสังขารโดยเฉพาะเลย คือความนึกคิด พอทําทาจะคิด รูทัน จบ แตจบในลักษณะไมใชกด ไวขมไว พอรูทันมันหายไปๆ คือจากหนึ่งแลวกลายเปน ศูนย ทั้งหนึ่งและศูนยอยู ณ ที่เดียวกัน การขยับเคลื่อนไหวกายก็ตองคิด แตไมใชสาระไม ตองไปสนใจ สนใจสิ่งที่เกิดขึ้นในใจ กระบวนการกายเปนเรื่องของธรรมชาติ มันจะคิดมา จากไหน ไมตองสนใจ เรามีหนาที่รูทันอยางเดียว ตรงนี้แหละคือ จบอยาง ถอนรากถอนโคน ไมมตี ัวตอ แตจบอยางนี้รูอะไรไหม ตอบวา “ไมร”ู ถาจะรูตองปลอยใหมันคิดออกมา ไปอีกขั้นตอนหนึ่ง ปลอยใหมันคิด ปลอยใหมันเกิดอารมณ เกิดวงจร ตอเนื่องออกมาถึงจะรู

18


ในชีวิตประจําวันรูเทาทันสิ่งที่กําลังคิด แตถาจะดับสนิท ทําทาจะคิดตองรูทัน ซอมทําทุกวันในชีวิตประจําวัน จะคิดก็คิดไป พออีก จังหวะหนึ่งพอทําทาจะคิดรูทัน จบ ตองทําใหชํานาญ พอจะคิด คิดไป ปลอยให ขบวนการดําเนิน แตพอทําทาจะคิด รูทัน กระบวนการไมมี กระบวนการของจิตไมมี ทดลองซอมดูแลวจะเขาใจ คิดไปแลวรูทัน ทําทาจะ คิดแลวรูทัน แลวจะเห็นมุมตางๆ พอทําทาจะคิดรูทัน จบ นี้คือตัวดับสนิท ทั้งเกิดทั้งดับอยู ณ จุดเดียวกัน แตในชีวิตคนก็ตองปรุงอยูนอยๆ แตไมทุกข หรือ ดําเนินชีวิตอยางทุกขนอย ชวงไหนที่เราตองการดับสนิท เราก็ไมปลอยใหมัน ทําทาจะกอขึ้นมาเลยพอทําทาจะคิด ทําทาจะกอ เรารูทัน จะอยูอยางมีก็ได จะอยูอยางไมมีก็ไดตามที่เรา ตองการ เหตุปจจัยที่ตองมี ก็มี เมื่อไรไมมีเหตุปจจัยที่จะให มี ก็มาอยูกับความไมมี ขึ้นอยูกับเหตุปจจัย 19


สนใจ...ใหคา... ถาเราไมสนใจอะไรนานๆ คามันก็หายไปจากใจเรา ถาเราไมเพิ่มเติมอยูเรื่อย สิ่งนั้นก็จางตัวไป มันอยูที่ เราสนใจมันหรือไมสนใจแตตองดูการทําเหตุของเราดวย บางทีบอกวาไมสนใจ แตเราทําเหตุอันนั้นอยู เมื่อทําเหตุอัน นั้นอยูผลก็ตองปรากฏบางครั้ง เราก็ทําเหตุโดยไมรูตัว ความกังวลเกี่ยวกับสิ่งนั้น ความคิดเกี่ยวกับสิ่งนั้น นั่นแหละคือสนใจ เรามองวาที่เราสนใจคือเราพอใจ แตมีอีก ดานหนึ่งที่เรามองไมออก คือ ที่เราไมพอใจก็คือ เราสนใจ ดานหนึ่งสนใจเพื่อใหอยู อีกดานสนใจเพื่อจะผลักออก เราตองไมใหคาทั้ง 2 ดาน คือ ดานปฏิเสธ และดานพอใจ แตระวังใหดี พอจะไมใหคา จริงๆ มัน ปฏิเสธสอยูขางใน คือเราไปคิดวาความรูสึกนั้นมันตั้งอยู จนความรูสึก มันกลายเปนตัวตน เราไมมองความรูสึกเปนแตมายา แครูสึกรับรูแลวก็ดับ สิ่งที่ถกู รู เกิดแลวก็ดับ สิ่งที่เขามารูเกิดแลวก็ดับ 20


เชน เอามือลูบแขน ถาลูบ ก็รูสึก ถาไมลูบก็ไมรูสึก พอลูบเสร็จ ความรูสึกนี้ก็ดับลง มันแคความรูสึกรับรูแลวก็ ดับ เราทําแตเหตุอยางเดียว เมื่อใจไมมีอะไร ก็รูวาใจไมมีอะไร แลวก็จบ แตพอ “ใจ” กําลังมีอะไร ก็รูอีกวา “ใจ” มีอะไร แลวก็จบ พอ “คิด” แวบขึ้นมา ก็หายแลว ที่หายไปเรียกวา “ดับ” เรียกวา “ไมมี” กระบวนการนี้เปนคายกลของจิต พอ คิดขึ้นมาทีไร ก็มี แลวก็ดับไป เปนแคพฤติกรรม เปนแค กิริยา เปนแคอาการที่เกิดๆ ดับๆ อยูตลอด เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ไมใชเปนตัวเปนตนใดๆ เปนแคความรูสึกรับรูแลวก็ วาง คือ โดยสรุปแลวยึดติดยึดถืออะไรไมไดสักอยาง พอยึด อะไรก็มีปญหาอยูกับอันนั้น คือ เราหลงวาสิ่งนั้นมีอยูจริงๆ พอสบาย ก็เริ่มจับสบาย นั้นเริ่มเห็นผิดไปแลว ทําแตเหตุอยางเดียวไมตองไลจับผล พอเหตุถูกตอง ผลปรากฏอยูเองโดยไมตองไลจับ พอทําทาจะคิด รูทัน ทํา อยูแคตรงนี้ เมื่อเหตุถูกตองผลปรากฏเอง พอผลปรากฏก็ไม จับผล แตกร็ ูอยูวาเปนอยางไร แตกไ็ มจับ

21


พอไปเฝาผล กลัวผลจะหาย กลายเปนผลมีอยูจริง ไมอยากใหมันหาย ทําไปทํามา “จิตคลาย” กลายเปน “จิต กอ” อีก เพราะไปตั้งปอมเฝาผลตลอด จาก “ไมมี” กลายเปนสิ่งที่ “มี” อีกแลว ตรงนี้อยูท ี่ความเขาใจที่ถูกตอง จริงๆ เชน พอ “เบาสบาย” เราก็อยากใหมีอยูอยางนั้น นี่ตัว ราย คือไมอยากใหมันหาย จริง ๆ ตัว “เบาสบาย” เกิดจากเรา ทําเหตุตางหาก ฉะนั้นเราทําที่เหตุอยางเดียว เบาสบายเรื่อง ของมัน ผลปรากฏเองเมื่อเหตุถูกตอง ในชีวิตจริง เราเอาความจํามาปรุงแตงใหเกิดอารมณ พอเกิดอารมณเสร็จ จําไว แลวเอามาคิดใหม ใหเกิดอารมณ ใหม ก็วนเวียนอยูอยางนี้ ออกจากวังวนแหงทุกขนี้ไมได

ถายังติดรูอยู จิตไมเปน อนัตตาเด็ดขาด

22


ทุกขมีอยูแตทําอะไรใจไมได! ทุกขมีอยูแตทําอะไรใจไมได! เชน โดนมีดบาดก็ยังเจ็บ ! ใช มีแผลก็ยงั เจ็บ เรียกวา เกิดแตเหตุปจจัย เพราะยัง มีกายและความรูสึกรับรูท ํางานรวมกันอยู จะหายเจ็บเมื่อ แผลหายไป กระบวนการทุกขใจเกิดเมื่อจิตคิดปรุงแตงตอ จากอาการเจ็บปวยของกาย ทุกขกายเปนเรื่องของการกินยาและหาหมอ ทุกขใจ โดยการรับ เปนเรื่องของตนที่ตองบําบัดออกจาก ทุกข เปลี่ยนความรูสึกรับรูทางจิตไปอยูกับความคิดอื่นๆที่สบายใจ ไมเกี่ยวกับเรื่องที่เปนอยู หรือปรับความรูสึกรับรูไปอยูกบั ความรูสึก โปรง โลง เบา สบาย เพื่อใหทุกขนั้นจางคลาย ไป เจ็บก็เจ็บ แตจิตไมคิดปรุงแตงตอจากอาการเหลานั้น เปลี่ยนความรูสึกรับรูไปอยูกับใจที่สบาย จะทําใหดีกรี ความเจ็บตรงนั้นมันถูกแบงออกไป เวทนากายมีอยูจริงๆ แตไมสรางเวทนาจิตซอน ไม สรางทุกขทางจิตซอนเขาไปอีกเรื่องหนึ่ง ทุกขทางกายมีอยู แนๆ เชน เราเดินนานๆ ก็เมื่อยขาแนๆ กระบวนการ ทุกขเวทนากายเกิดเสร็จสรรพ แตระวังเวทนาจิต (ปรุงแตง แลว) เขาไปรวมวง ไมสรางทุกขซอนเขาไปอีก ทุกขนั้นมีอยู จริงๆ ตรงนัน้ ใครๆ ก็หลีกไมพน แตทุกขนั้นหามีเจาของไม 23


ทุกขเพราะคิดปรุงแตง ในชีวิตประจําวันรูทันสิ่งที่คิดปรุงแตงที่ทําใหเกิดทุกขหรือ เกิดปญหาทางใจ คิดยาว มีโอกาสทุกขมากกวาคิดสั้น แตพอเรา รูท ัน ทุกขจางคลายหายไปหรือไม ผมจึงใชคําวา “จิตจางคลาย จากทุกข” พอจางคลายหายไป ก็กลายเปน ความวางเปลาจาก ทุกข ใหดําเนินชีวิตใหทุกขนอยที่สุดตางหาก ไมใชไมมี ทุกขเลย เพราะมันมีเหตุปจจัยใหทุกขมันเกิด ถา “คิดยาว” แลวตัดไมออก ตองใช “คิด” มาปราบ “คิด” เหมือนกัน หาวิธีพลิกแพลงออกมาใหได หลัก คือ กายเบาใจเบา เปนตัวชี้ขาดวาเราอยูในภาวะ อะไร ทุกขมันจรมาเปนคราวๆ ได แตพอเรามี “สติ รูทนั ” ทุกขจางคลายหายไป มันจะไมหายไปทันทีทันใดก็ได แต มันคอย ๆ จางคลายหายไป ซึ่งเราจะไปบอกวาตองไมมีเลย ไมใชนะ มันมีตามเหตุตามปจจัย แตพอเรารูทัน มันหายไป หายชาหายเร็วนั้นอีกเรื่องหนึ่ง 24


จุดเปลี่ยนคือ จาก “รูป-นาม” คูที่ไมมีทุกข จะ “มี” ทุกขก็มาจาก “ความคิดปรุงแตง” ที่เปนเหตุใหเกิดทุกข นั่นเอง “คิด” แลวเกิดอาการ อาการนั้นเรียกวา “ทุกข” “คิด” แลวเกิดอาการทางใจ “คิด” แลวเกิดอาการทางวาจา “คิด” แลวเกิดอาการทางกาย เรียกวา “ทุกข” ทั้งหมด แตถา “คิดอยางมีสติ” อาการก็ไมมี กลายเปน “คิด ธรรมดาที่ไมเกิดทุกข” เมื่อ “คิด” อยางธรรมดา รูป-นาม คูใหมที่เปนทุกขก็ไมเกิด

การที่ทุกขทําอะไรใจไมได เพราะเรามีสติ ทุกขทําอะไรเราไมได เพราะเรามีความเขาใจ และรูเทาทันทุกขที่เกิดขึ้นและดับไป

25


สติ กับ คิดปรุงแตง เปนคูตอสู “สติ” กับ “คิด” เปนคูปรับกัน เปนคูตอสูกัน รูป-นาม คูนี้คือคูตอสูอันยิ่งใหญจริงๆ มันจบตั้งแตคูแรกแลว “คิด” พอรูวากําลังคิดอะไร รูทัน มันจบตั้งแตคูแรกแลว ไมวา “คิด” นั้นจะกอใหเกิด “ทุกข” หรือไม ถา จะ “ดับสนิท” พอทําทาจะ “คิด” ใหรูทัน แตในชีวิตคน ธรรมดามั น ต อ งคิ ด ถ า “คิ ด ไม เ กิ ด ทุ ก ข ” ก็ รู อ ยู ก็ รู ทั น เหมือนกัน ทั้ง “คิดธรรมดา และคิดไมธรรมดา” พอ “สติ” เราเก งขึ้ นๆ พอแปรตั ว นิด มั น รู ทัน พอรู ทัน ทุก ขทํ า อะไรใจไมได ไมใชบอกทุกอยางไมมี พอทําทาจะแปรตัว มันรูทันๆ สภาวะอยางนี้เรียกวา ทุกขทํา อะไรใจไมได ฉะนั้นตัวที่เรา ฝกจริง ๆคือ ฝกตัวรูทัน

26


ชีวิตที่หยวนๆ อาวุธที่ชวยพิชิตทุกข พิชิตจิตปรุงแตงใหเปนทุกข คือ ตัวสติปญญา สติ คือ ตัวรูเ ทารูทัน หรือความรูสึกตัว ปญญา ชี้ไปที่เห็นเหตุปจจัยที่กระทบกันเห็นสิ่งซึ่งอาศัยกัน เกิดขึ้นเปนทอดๆ ไป ชีวิตในกระแสโลกเปนชีวติ ที่หยวนๆ จะยกตัวอยาง ใหชัดๆ ทําไมจึงบัญญัติแคปจจัย 4 เพราะเปนปจจัยพื้นฐาน ในการดําเนินชีวิตที่พอเพียง แตชีวิตจริงคนเราตองการสิ่ง อํานวยความสะดวกมากมาย เชน มีรถ บานหลายๆหลัง เครื่องประดับมากมาย สนองความตองการไมจบสิ้น แนวทางปฏิบัติที่จะดําเนินชีวิตใหหยวนนอยที่สุด คือ มีชีวิตที่พอเพียง อยาปลอยไปตามอํานาจกิเลสตัณหาของ ตัวเองและหมูชน สติเราจึงแข็งบาง ออนบาง ถาเราปฏิบัติแบบนักบวช สังคมภายนอกก็มองวานี่ ประหลาด เราก็จะอยูลําบาก เราทําเทาที่ทําได เราตองเขาใจ ตัวเองอยางยิ่ง ปญญาตองมาอยางยิ่ง พิจารณาแยกแยะเหตุ 27


ปจจัย และตัวปญญาจะเสริมใหสติแข็งแรง ตัวปญญาและ สติตองแนบกันมาตลอด แยกแยะเหตุปจจัยการกระทบตลอด เอาปญญามาเปนตัวเสริมใหน้ําหนักมากขึ้น ตัวอยางเชน สมมติไปงานเลี้ยง เพื่อนยกเคกมากินที ไร อยากกินทุกที จะไมกินก็ไมได กินนิดหนอย แตใจรู อาน ใจตัวเองใหขาด ปญญาตองมาอยางแรง สติลวนๆ เอาไมอยู ทําไมเรากินกันทั้งวัน นี่หยวนหรือไมหยวน ตั้งใจกิน หนเดียว นอกเหนือ เวลาที่ตั้งไวไมกินจุกจิก แลวพวกเรา หยวนหรือไมหยวน พอมันไมมีกรอบเลยทําให พัฒนาสติไมดีเทาที่ควรจะเปน พอมีกรอบมีวินัยก็เปนตัวชวย เปนรั้วที่จะปองกันขาศึกศัตรู คํา วา วินัย คือ รั้ว

28


การเห็นความจริงของชีวิต การเห็นสาระสําคัญสุดยอด ที่จะพาเราออกจากทุกข เปนการเห็นขณะจิต เห็นระบบของจิต เห็นขั้นตอนของจิต ที่เรียกวา ปรมัตถ เราเห็นความรูสึกรับรู เกิดแลวก็ดับตามปจจัยกระทบ ความคิดเกิดแลวก็ดับ อารมณเกิดแลวก็ดับนี่คือเห็น ปรมัตถ เห็นสาระสูงสุดที่จะพาเราออกจากทุกขได ทุกขที่เกิดขึ้น มันก็ดับไปเอง ที่นี้มันไมดับเพราะ เขาไปยึดถือ เปนอุปาทาน ถาไมเห็นตามความเปนจริงสภาวะ นี้เรียกวา อวิชชา มันเห็นไปตามความคิดเรา เห็นไปตามการ ยึดติดยึดถือของเรา ถาเราเห็นตามความเปนจริง ความคิดปรุงแตงที่ เพิ่มเติมไปจากนั้นมันก็ไมมี เราเริ่มเห็นตั้งแตเราเริ่มแยกขันธ 5 แลววา ความนึกคิดเกิดแลวก็ดับ แลวตัวความคิดเองก็ไม รูตัวมันเอง ตองมีจิตอีกตัวหนึ่ง เกิดขึ้นมารูวา เมื่อกี้คิดอะไร มันตองเห็นจะจะตั้งแตตรงนี้ แตถาเราแยกตรงนี้ไมชัด มัน จะพราๆ เลือนๆ 29


ถาไมมีสติ จะเห็นความคิดไมได เพราะมันเขาไปใน ความคิดเสียแลว มันไปนึกหา คิดหาเสียแลว พอพูดวาปฏิบัติธรรม คนเราก็เริ่มทําตัวผิดธรรมชาติ เสียแลว ความคิดเขาไปบงการตั้งแตแรก อยูในภาวะนึกหา คิดหาหมด ไมไดเห็นวา ความคิด คิดขึ้นมาแลวก็ดับ จิตอีก ตัวหนึ่งเกิดขึ้นมารูวาเมื่อกี้คิดอะไร ตัวคิดตัวแรกมันไมรู เรื่อง ตรงนี้เปนความลึกลับจริงๆ แลวอีกตัวที่มารูก็ดับจริง ๆ ถาไมมีสติ เห็นตรงนี้ไมได ตองมีสติตั้งแตเห็นคิด ถามีความคิด แลวรูทัน นั่นเรียกวา มีสติ แลว รู ตามหลังก็ยังดี เดี๋ยวมันคอยๆ แกกลาเอง

ฝกเห็นคิด คือ ฝกสติ (หรือ รูสึกวา ใจกําลังคิดอยู)

30


ไมกาวหนา !! ฝกปฏิบัติยังไมกาวหนา คนอื่นกาวหนากวา ! คอยๆ ทําไป เห็นทุกขก็จัดการที่ทุกข เห็นความคิด ก็จัดการที่ความคิด เพียรพยายามไมลดละ ทําแบบไมทิ้ง แต ก็ไมใชจริงจังจนเกินไป และก็ไมใชไมสนใจเลย คือเอาความ สบายเปนตัวตั้ง ทําอยางสบายๆ เพราะงานอยางนี้ไมใชงาน วิ่งแขง มันเปนงานที่เรียกวาคอยๆ พัฒนาความเขาใจ เหมือน ปลูกตนไมตองรดน้ํา พรวนดิน ใสปุย ดูแลไปเรื่อยจนกวา วันใดวันหนึ่งมันออกลูกออกผล ไมใชวาปลูกวันนี้ พรุงนี้ ตองออกดอก มันเปนงานที่ผิดกับงานชนิดอื่นๆ เราคิดวาเรา จะตองเอาใหได ความคิดกินเรียบแลว บางวันรูสึกฝกไดดี บางวันก็ฝกไมไดดี ! นั่นเพราะเราไปตั้งความหวังวา มันจะตองเปนอยาง นั้นอยางนี้ นี่ความคิดอีกแลว แคเราคอยรูเทาทันความคิด รูเทาทันอารมณเทานั้น ไมไดหวังผลอะไร ไมไดตั้งความหวัง ดวยวาผลจะออกมาอยางไร แตพอเกิดอะไรขึ้น รูทันเทานั้น ไมมีหวังผลใดๆ การหวังผลคือความคิด ในใจเรามันมี 2 สภาพ อยูตลอดเวลา ทั้งดี ทั้งไมดี เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาอยูตลอดเวลา เราตองยอมรับตรงนี้วาทั้ง 31


ดีทั้งไมดีเกิดอยูตลอดเวลา เราจะเลือกแตดีอยางเดียวไมได คือ เรารับไดทั้ง 2 สภาพ ทั้งดีก็รบั ได ทั้งไมดีก็รับได ออ ! ดีมันเปนอยางนี้ ออ ! ไมดีมันเปนอยางนี้ แตจุดที่เราตองการ ยิ่งใหญกวานั้น ออกจากสิ่งที่ทั้งดี และไมดี แตกอนจะถึงจุด นั้นมันก็เปลี่ยนไป เปลี่ยนมาอยูตลอดเวลา เดี๋ยวดี เดี๋ยวไมดี ตลอดเวลา แตเปาที่สุดของเราคือ หลุดพนจากทั้งดีและไมดี ตัวนี้เปนตัวลออยูตลอดเวลา เดี๋ยวสบาย เดี๋ยวไมสบายอีกแลว แตภาวะที่เราตองการไมใชตรงนี้ ตัวนี้ เปนแคมารยาอีกชนิด หนึ่งเทานั้น ดีก็รูทัน ไมดีก็รูทัน จบ ทั้งดี และไมดีก็คือภาวะทุกข ถาเราไปยึด ออกจาก ทุกขไดก็วางเปลา จบ ตรงนี้ อาศัยเวลาจากการทําแลว ผิดบาง ถูกบาง เปนการคอยๆ พัฒนาขึ้น ถูกบาง ผิด บาง แพบาง ชนะบาง ไมเปนไร อยาไปคิดวา ทําไมกูแพ นะวันนี้ ไมใช แพก็แพ แพก็รับได ชนะก็รับได นี่เราจะไป รับหนาชนะอยางเดียว ไมมีหรอก เราอยาไปตั้งหลักเอาแต ถูก ผิดไมเอา รับไดทั้ง 2 ดานแหละ อารมณเสียก็รูวาอารมณ เสีย แลวก็ จบ อารมณดีก็รูวาอารมณดี แลวก็จบ ไมใชไป บอกวา ทําไม! วันนี้อารมณเสีย ! อยางนี้ผิดแลว อะไรเกิดขึ้นในใจ รูทัน แลวจบ ทั้ง 2 ดาน ทั้งดานดี และดานไมดี

32


ใจเปนดั่งใบบอน อยาคิดวาใจเราตองไมเกิดปรากฏอะไรขึ้นเลย ไมมี อะไรแผวพานเลย ทุกสิ่งทุกอยางยังเกิดอยูตามเหตุปจจัย แต ตัวที่จะแกไข คือ สติสมั ปชัญญะ กระทบรูแลวก็ผานไป ไมใชบอกวาทุกขไมเกิด ทุกข ยังเกิดอยูตามเหตุปจจัย แตพอสติสัมปชัญญะรูทนั ทุกขนั้นก็ หายไป พอทุกขหายไปเรียกวา ทุกขนั้นทําอะไรใจไมได แต ตอนนั้นทําอะไรใจไดแวบหนึ่ง ใจเหมือนใบบอนใบบัว มีน้ํา กลิ้งผาน มันไมซับลงเหมือนกระดาษซับ เมื่อกอนใจเราจะเปนเหมือนกระดาษซับตัวสติ สัมปชัญญะจะทําใหกระดาษซับเสื่อมคุณภาพ ไมซับลง แค ผานไป จะบอกวาใจไมมีอะไรเลย ไมจริง เพราะสิ่งทั้งหลาย ยอมเกิดแตเหตุปจจัย จะวาเหตุปจจัยไมมีไดอยางไร ยัง กระทบอยูทุกทวาร แตพอสติสัมปชัญญะรูทัน มันหายไป ไมซับลง หรือซับไดนิดเดียว ไดนอยมาก เรียกวาดําเนินชีวิต อยางทุกขนอย ทุกขนั้นยังปรากฏอยูตามเหตุปจจัยเสมอ ไมเชนนั้น เวลาเปนแผล ก็ไมตองเจ็บแลวถาบอกวาไมมี 33


อะไรเลย ยังมีเจ็บมีปวดอยู แตปรุงแตงอะไรตอไหม ความคิดนั้นยังกระทบใจอยูไหม อารมณนั้นยังกระทบใจอยู ไหม ยังมีขณะจิตสองขณะจิตสามยืดเยื้อไหม สวนขณะจิต แรกยังมีอยูตามปกติ คําวาไมคิดปรุงแตงใหเปนทุกข คือไมซับลง ใจไม เปนกระดาษซับ ซับเมื่อไรทุกขเมื่อนั้น ใครจะวาอยางไรก็ ตามตองหาคําตอบทีใจตน อานใจตัวเองใหออกเทานั้นแหละ ใชคําวาดําเนินชีวิตอยางทุกขนอย คือ ทุกขทําอะไรใจไดนิด เดียว

ทุกขนั้นทําอะไรใจไมได เหมือนใบบอนใบบัว(ใจ) มีน้ํากลิ้งผาน(ทุกข) มันไมซับไมซึมลงใบ

34


มายา สมมติ “ไมยึดติดสิ่งที่เปนมายา ไมใหคาในสิง่ สมมติ” สิ่งที่เกิดขึ้นในจิต เปนมายา คือ เกิดขึ้น หายไป ไมตั้งอยู สมมติก็คอื สิ่งที่เขาสมมติใชกันอยูใ นโลกทั้งหมด เชน ชื่อ ยศ ตัวหนังสือ สมมติมีไวเพื่อใชงาน ไมใชเพื่อยึดติดยึดถือจนเปนทุกข ทุกสิ่งก็เหมือนมายากล เกิดแลวก็ดับ เกิดแลวก็ดับอยูอยาง นั้น ยึดติดอะไรไมได เหมือนจิต คิดแลวก็หายไป อารมณก็หายไปไมมีอะไร นี่คอื มายา เหมือนกับลมพัดมาก็หายไป แลวเราไปเที่ยวจับลม ไดอยางไรกัน เพราะเราไมเห็นความจริง วา ความคิดเกิดแวบแลวก็หาย อารมณเราเกิดแวบแลวก็หาย เราไปคิดวา มันเกิดแลวมันตั้งอยู เราติดไปกับมัน เรายึดติดสิ่งนั้นเปนจริงเปนจัง เชน เราคิดอะไรสักเรื่อง คิด เสร็จก็หายไปแลว ที่นี้เรายึดติดวามันตองเปนอยางที่เราคิด ปญหามาแลว จริงๆ ความคิดตรงนั้นหายไปแลว 35


ถาไมไดอยางที่เราคิด เรากลุมใจ เราเครียด ตัวมายาหายไป แลว แตเราไปหยิบขึ้นมาอีก ภาวะตรงนี้ เรียกวา หลงมายา ที่เรียกวา โมหะ สิ่งที่เราคิด มันหายไปตั้งแตเชาแลว พอไมไดอยางที่เรา คิด เลยหงุดหงิดอยางนี้หลงมายา ถาเราเห็นความคิดตรงนั้น หายไปแลว ตัวราย คือ จําไววาคิดอะไร พอไมไดอยางที่คิด มัน หงุดหงิดงุนงาน คือ ความจริงมัน (สิง่ ที่เราคิด) มันหายไปแลว (ดับ) แต เราปฏิเสธความจริงเพราะเราไมเห็น เราเขาใจไมไดวา ความคิดตัวนั้นมันหายไปแลว พอเราไดอยางที่เราคิด ก็ดีใจ นี่ก็หลงแบบหนึ่ง พอมันหายไป ก็เสียใจ นี่ก็หลงอีกแบบหนึ่งอีก เจอคายกลตลอด ที่ภาษาโบราณวา กับดักพญามาร พญามารมีไพรพลเสนามากหันไปทางไหนก็ติดกับ ดักของมันหมด เพราะเราไมเห็นตัวแรก(ความคิด) เสียแลว

36


ไมเห็นหัวหนาโจร(ความคิด) วา มันหายไปแลว ที่เกิดที หลัง ลูกนองโจรทั้งนั้น เหมือนโจรเหยียบรอยไวในบาน เหยียบแลวหายไปแลว เราเจอแตรอย รอยนี้พาเรามั่ว รอยนั้น คือ ความจํานั่นเอง สมมติ คือ สิง่ ที่คนคิดประดิษฐขึ้น คิดสรางขึ้น แตสอื่ หรือสมมติทั้งหมด มีไวเพื่อใชงาน ไมใชเพื่อยึด ติดยึดถือเพื่อใหทุกขนะ แตก็ตองมีสมมติ ถาแยกสมมติไม ออก เราหลงทันที เราจะถูกสมมติดูด เชน ใครมาดาวาบา ถาเราคลอยตาม ก็บาไปกับมัน จริงๆ มันแคเสียงกระทบหู แตมายาตรงนี้ตองเห็นถึงจะเขาใจ เราจะออกจากภาวะโมหะ หรือหลงได ตองเห็น ออ! เกิดแลวก็หายไปๆ เหมือนกับ ลมมาวูบแลวก็หายๆ เราไปเที่ยวไลจับลมแลวเราก็บา

37


เปลาๆ ! ความรูสึกเปลาๆ กับไมรสู ึกตางกันอยางไร ? รูสึกเปลาๆ ยังรูสึกอยู แตไมมีทุกขหรือไมมีปญหา ทางใจปนอยู ถาไมรูสึกรับรูทางทวารทั้ง 6 คือ สิ่งไมมีชีวิต เชน รูสึกลมพัดถูกตัวเรา นี่รูสึก แตกร็ ูสึกแคตรงนั้นเอง ไม มีอะไรตอจากนั้น รูส ึกตามความเปนจริง ตามีหนาที่เห็น หู มีหนาที่ไดยิน ระบบผิวหนังมีหนาที่สัมผัสเสียดสีตามความ เปนจริงทุกอยาง แตไมมีอะไรเลยไปจากอันนั้น อยางนี้เรียกวา รูสึกเปลา ๆ อยู เห็นก็สักแตวาเห็น ไดยินสักแตวาไดยิน ไดกลิ่นสักแตวาไดกลิ่น การที่มีดีใจ เสียใจ ไมเปลาแลว (ตอง มีสติสัมปชัญญะเขามาชวยแลว)

38


ปลอยใจใหวา งเปลา หมายความวาอะไร ? หมายถึง ความคิดดับไปแลว มันดับไปเอง เรา เพียงแตเฝาดูมัน พอความคิดหายไป ใจก็วางเปลา ในขณะความคิดเกิดใจ ไมวาง ผมตองการใหคนดูความคิดของตนเอง อยาเขาไปใน ความคิดนั้น ใหเห็นความคิดมันเกิด-ดับ มันคิดอะไรก็รูวาคิด คิดอะไร แลววางเฉยเสีย พอมันคิดอะไรขึ้นมาอีก ก็รูวาเมื่อกี้ คิดอะไร แลวก็วางเฉยเสีย ไมนําเอาสิ่งนั้นมาคิดปรุงแตงซ้ํา อีก ถาหยุดคิดไประยะหนึ่ง เหมือนเราไมรูสึกอยางทําอะไร ? นี่เปนการสะกดความคิด สะกดใจตัวเองใหนิ่ง ไมใหคิดแลวนะ ถาทําถูกตองจริงๆ ยิ่งกลายเปนคนขยัน ยิ่งกลายเปนคนกระตือรือรนตางหาก ไมใชกลายเปนคน เฉื่อย ถาสะกดไปนานๆ ความจําก็จะไมทํางานดวย ตอไปชักจะจําเลอะๆ เลือนๆถาสะกดใจตัวเองไว พอเรากดไมใหความคิดเกิด มันก็มีผลเชื่อมโยงไปสู ความจํา ทําใหจําอะไรไมได เพราะมาจากกดใจใหเครียด นั่นเอง หรือทําใหผิดธรรมชาติไป 39


ผมใชคําวา ใหรูทันความคิด ไมใชบังคับความคิด ไมใหเกิด รูท ันอยางสบายๆ ไมใชกดไวขมไวไมใหคิดเกิด อยางนั้นความคิดจอทายเลย จอติดอยูเลย คือ คิดควบคุมความคิดไมใหเกิดขึ้น หรือคิดทําใจเฉยๆ ไวพอรูทันมันหายไป ความคิดอัน นั้นจะคอย ๆ ออนกําลังลง มันจะบางลงๆ จะสูงายเขี่ยหลุด งาย ถาตัวใหญๆ เขี่ยไมออก ตองเคลื่อนไหวชวย

อยูกับวาง แตอยายึดวาง

40


เฉย vs วาง เฉย กับวาง ตางกันอยางไร? เฉย ก็เฉย แตวางไมไดเฉย คนละสภาพใจ เฉย เหมือนใจถูกบังคับใหนิ่งอยูกลายๆ จะเรียกวากด ก็ได จะเรียกวาถูกบังคับใหนิ่งอยูกลายๆ มันยังไมใชตัวสุด เพราะตัวสุดใจไมไดถูกบังคับ ใจมันเปนอิสระ ไมถูกบังคับ ไมถูกกดขม ไมไดถูกประคองไว พูดงายๆ ไมมีการกระทําทางใจใดๆ อีกเลยนั่นคือ วาง ถายังมีการกระทําทางใจอยู ยังไมใช มันเปนของมันอยูเองโดยไมตองมีการกระทําทางใจใดๆ พูดโดยผม ถายังทําอยู ยังไมวาง ถาวาง ไมตองทํา ในขณะที่ยังไมวางก็ตองทํา ถาวางแลวไมตองทํา คือ ใจมันเปนไปเองแลวโดยไมตองไปทําอะไรมันอีก มันเปนไป เองแลว มันพนจากการกระทําทั้งมวลลงแลว มันผันจากการ ปรุงแตงที่จะใหเปนไปทั้งดานบวก และดานลบ

41


ทุกขเมื่อไรมันจะไมวาง แตถามันวางแลว มันจะไมทุกข ใจมันเปนอิสระของมันอยู ทุกขทําอะไรใจไมได ทุกข แคผานไปผานมาเหมือนน้ําที่กลิ้งอยูบนใบบัว ใบบอน มันไมซับลงไป น้ําเปรียบเหมือนความทุกข มันไม ซับเขาไปในใจแลว มันแคกลิ้งไปกลิ้งมา แตมันไมซึมลงไม ซับลงไป พอหยุดพูดมันก็หยุดกลิ้ง เพราะในความวางมัน ไมไดเปนอะไรสักอยาง ถายังเปนอยูเรียกวาสังขารทั้งหมด ไมวาจะอยูในอารมณสมาธิ อยูในอารมณฌาน อยูในภาวะ ทุกข นั้นเรียกวา สังขาร ทั้งสิ้น ขณะที่ทําอะไรอยู ไมมคี วามคิดที่เปนทุกข เหมือน น้ํากลิ้งบนในบอน ใจไมไดเปนอะไร ถายังมีความมี ความเปนอยูในใจ นั่นแหละ สังขาร ภาวะที่จะเปนไดนี้ตองมีสติดี แตจะมีสติไดก็ตองเห็นความคิดกอน เห็นอารมณกอน ทุกสิ่ง ทุกอยาง เกิดขึ้น ดั้งอยู ดับไป ตามเหตุปจจัย ไมมี เจาของ

42


มึน ทึบ ตื้อ ขณะที่ทําสมาธิ ทําไมจึงเกิดอาการมึน ทึบ ตื้อ ? ถาเราทําผิด จิตกับระบบประสาทมันไมลงตัว จิตมัน กดประสาทมากเกินไป ทําใหระบบประสาทไมโปรงเบา สบาย วิธีแกไข คือ ทําความรูสึกตัว เชน เคลื่อนไหวรางกาย หรืออวัยวะอยางใดอยางหนึ่ง และในขณะที่เปลี่ยนอิริยาบถ เชน ขยับตัว โยกตัว ลุกเดิน จิตก็ตองเปลี่ยนไปดวย ไมใชขณะที่กายเปลี่ยน แตใจก็ยังตั้ง นิ่งอยู ขณะที่ฝกสมาธิจนเกิดปติ ทําไมยังเกิดมึน ทึบ ตื้อ ? เปนเพราะเกิดการเรงเราใหมันเปนอยูอยางนั้นไม เปลี่ยนแปลง (ซึ่งจริง ๆ แลว อารมณ สมาธิทุกชนิดก็เกิดขึ้น ตั้งอยูระยะหนึ่ง แลวดับไปเหมือนกัน) แลวจดจอหมกมุน จะใหมันเปน บังคับใหมันเปนมากไป พอนานๆ ไป ความหมกมุน จะกลายเปน ความเครียด แทรกเขามาทีละนิดๆ โดยเราไมรูตัว พอนานๆ เอะ! ทําไมมันมึนไปหมด ทั้งๆ ที่ทาํ ปติอยู จริงๆ มัน 43


เปลี่ยนไปแลว แตเราเขาใจวาเหมือนเดิม มันเปนปติที่คอยๆ มีความเครียดแทรกเขามาปนแลว มันเริ่มมีพลังงานที่ไมดีเขา มาปนในอารมณปตินั่นแลว ใจมันไมโปรงโลงเบาสบายอยู ในจิตระดับปติที่แทจริง มันเปนพลังงานจิตไปแลว ถาทําอยางพอดี ตองรูสึกโปรง โลง เบา สบาย ทั้งกายทั้ง ใจ ถาไมสบายแสดงวาเสียสมดุล จิตกดประสาท ควรผอน คลายสักพัก แลวคอยมาเริ่มทําใหมไมใชยิ่งเครียดยิ่งลุย ในชีวิตประจําวันรูเทาทันสิ่งที่กําลังคิด ถาจะดับสนิททําทาจะ คิดตองรูทัน พอทําทาจะคิด รูทัน จบ นี่คือตัวดับสนิท ทั้งเกิดทั้งดับ อยู ณ จุดเดียวกันเราจะเห็นวามันเปลาๆ ไมมีอะไรปน เพราะ มันไมมีวงจรอื่นเขามา พอทําทาจะคิด รูทัน พอมันทําทาจะ กอมวลสังขาร รูทัน สังขารทั้งหลายก็สลาย ก็ดับ แตในชีวิตคนก็ตองปรุงอยูนอยๆ แตไมทุกข หรือดําเนินชีวิตอยางทุกขนอย แตชวงไหนที่ตองการดับสนิทเราก็ไมปลอยใหมัน ทําทาจะกอขึ้นมาเลย พอมันทําทาจะกอ ทําทาจะคิด เรารูทัน

44


ถาเราไมฝกใหดับสนิท? ถาเราไมฝกใหดับสนิท เราอาจหลงได แทนที่จะเร็ว มันอาจชา เพราะในชีวิตคนมันตองปรุง แลวเราจะเขาสูความ ดับสนิท ความวางเปลาจริงๆ อยางไร เราซอม “ดับสนิท” ทุกวันในชีวิตประจําวัน จะคิดก็ คิดไป พออีกจังหวะหนึ่ง พอทําทาจะคิด ก็รูทัน จบ ตรงนี้ ก็ตองทําใหชํานาญ ใหชํานาญทั้งคู พอจะคิด คิดไป ปลอย ใหกระบวนการดําเนิน แตพอทําทาจะคิด รูทัน กระบวนการ ของจิตไมมี ทดลองซอมดูแลวจะเขาใจ คิดไปแลวรูทัน ทําทาจะ คิดแลวรูทัน ซอมดู แลวจะเห็นมุมตาง คิดไป เปนการเรียนรูวงจร จะเรียกทุกขไมทุกข ยัง สรุปไมได เปนการเรียนรูวงจร เรียนรูการจําแนกธรรม เรียนรูสภาวธรรมตางๆ วงจรขันธ 5 ถาทําทาจะคิดแลวรูทัน มันดับหมดแลว เราจะไป เรียนรูจากอะไร เราอยูในอัปปนาสมาธิตลอดเวลา เปนภาวะ จิตที่ตั้งมั่น ไมมีทุกข คิดแลวรูทัน อยูที่ขณิกกสมาธิ เพื่อเรียนรูวงจรของ จิต เรียนรูล กั ษณะของจิต เรียนรูพฤติกรรมของจิต ตรงนี้ เพื่อใหเขาใจวาถาทําอยางนี้ดับสนิทเต็มรอย ถาทําอยางนี้คือ ไมเต็มรอย วางเหมือนกันแตไมเต็มรอย เหมือนกับวาไม ยอมใหเกิด กับยอมใหเกิด จะอยูอยางมีก็ได จะอยูอยางไมมี ก็ไดตามที่เราตองการ เหตุปจจัยที่ตองมีก็มี เมื่อไมมีเหตุปจจัย ก็มาอยูกับความไมมี ขึ้นอยูกับเหตุปจจัย 45


ถือสา ทําใจอยางไรไมใหถือสา ? คุณตองยอมรับความจริง สมมติวา เห็นคนไมดี คุณก็ตองยอมรับความจริงวาเขา เปนคนไมดี จบแลวก็จบ ไมตองไปมีเงื่อนไขวาทําไมเขาไมดี อยางนี้ ทีย่ อมรับอยางนั้น เพื่อใหใจเราสบาย เพื่อแกปญหาใจ เรา ไมใชไปแกที่เขา เราไปแกใหเขาไมไดหรอก เขาตองแก ของเขาเอง เราทําไดแค ใหคําแนะนํา เล็กๆ นอยๆ เทานั้น ที่ผมเขียนไมถือสา ไมใหคาพวกนี้ เพื่อแกปญหาเรา ไมใหใจมีปญหากับเขาไมเชนนั้นใจเราก็จะมีปญหาอยูกับเขา ไมเลิก ไปมีเงื่อนไขทางใจ ทําไมเขาตองเปนอยางนั้น ทําไม เขาตองเปนอยางนี้ กลายเปนจบไมเปน จบไมเปนเพราะเรา ถือสา เราใหคา ถาเราใหคาอะไร สิ่งนั้นก็จะมีคาอยูในใจเรา ถาเราไมใหคาสิ่งนั้นก็จะไมมีคาอยูในใจเราเลย คือเราไมเอาสิ่งนั้น เรื่องนั้น คนนั้น เขามาคิดปรุงแตงอยู ในใจของเรา

46


ปจจุบันธรรม เห็น ณ ปจจุบัน เห็นอยางไรที่เปนปจจุบันธรรม พอคิดแวบ เห็น คิดแวบ รูทัน ตรงนี้คือ ปจจุบันธรรม (คือเห็นทุกข เห็นจิตคิดปรุงแตง ใหเปนทุกข) พอรูทัน มันหายไป จบ พอรูทัน มันหายไป ใจวางเปลา ถาทําอยูตรงนี้ วงจรขันธ 5 ถูกตัด คําวาจิต หลุดพน หลุดพนจากอะไร ก็หลุดพนจากทุกข หลุดพนจากปรากฏการณที่มันเกิดขึ้น หลุดพนจากขณะจิตนั้น ขณะจิตที่เกิดขึ้นมันทําอะไรเรา ไมได ถาเราเชื่อวาปจจุบันมาจากอดีตแลวปจจุบันก็จะสงผล ตอไปอนาคตมันเชื่อมโยง ดูสิ่งที่เราหยิบเอามาคิดทั้งหมด มันคืออดีต ความจํา ไมใชอนาคตนะ มันเอาอดีตทั้งนั้นมาคิดใหม มันตอเนื่องกัน ไปอยางนี้ เราเรียนรูไดแตปจจุบัน อดีตเราเรียนรูไมได อนาคตเรา ก็เรียนรูไมได 47


ในกระบวนการฝายนามธรรมยากที่จะเขาใจ สวนที่เปน รูปธาตุพอเขาใจได เอะ! เดี๋ยวเราก็เปนอยางนั้น เอะ! เดี๋ยวเราก็เปนอยาง นี้ ก็คือ กระบวนการปรุงแตงและเราก็หลุดจากกระบวนการ ปรุงแตงนี้ไมได บางทีเราไมไดปรุงหรอก แตจิตภายในปรุง แตง โดยเอาความจําเกาๆ มาปรุงใหมเราจับประเด็นไดที่ ปจจุบันเทานั้น การแกไขก็แกไขที่ปจจุบัน แกท่อี ดีตไมได หรือจะไปแกที่อนาคตก็ไมไดอีก รูเทาทันปรากฏการณที่เกิดขึ้น ณ ปจจุบัน พอเกิด แลวดับ แลวกลายเปนความจํา แลวจําตั้งแตศตวรรษไหนอีก ไมรู ตัวความจําก็เปนธาตุฝายนามธรรม นามธาตุชนิดหนึ่ง เปนธาตุแตละอยางๆ แตทํางานรวมวงกัน ดูในกระบวนการขันธ 5 แควงจร 3 วงคือ ความคิด ไปเอาความจํามาคิดใหมใหเกิดอารมณใหม พอจําไวมันจะ หยิบเอาที่จําไวมาคิดใหม ใหเกิดอารมณใหม เราก็ออกจาก วังวนตรงนี้ไมไดเลย เดินเปนวงกลมใน 3 วงนี้ วันๆ วนอยู ตรงนี้ เอาความจําเกามาคิดใหมใหเกิดอารมณแลวก็จําไว แลวจิตตัวความคิดไปหยิบตัวที่จําไวมาคิดใหมใหเกิดอารมณ

48


ใหม วนเปนวงใหญอยูเรื่อย แลวเราก็ออกจากวงจรทุกข ไมได ชีวิตของเราทั้งหมดไมพนวงจรขันธ 5 ไปไดหรอก ความรูสึก ความจํา ความคิด อารมณ วนอยูในวงจรนี้ เราทํา ไดแคมีสติรูทันเทานั้นเอง พอรูทันมันหายไป ใจวางเปลาๆ ปราศจากทุกข ตัวรูทันตัวเดียว เทานั้นที่ จะตัดวงจรนี้ได วางเปลาจากทุกข วางเปลาจากปญหาทางใจ

49


คูนอก-คูใน ทุกข ถาแยกคูใหชัด คือ ทุกขทางกายคูหนึ่ง ทุกข ทางใจคูหนึ่ง หรือกายกับ เวทนาทางกาย นั้นคูหนึ่ง (คูนอก) ความนึกคิดกับอาการทางจิตนั้นอีกคูหนึ่ง (คูใน) และสองคู นี้เปนเหตุเปนปจจัยกัน คือคูในเปนเหตุใหเกิดคูนอก คูนอกเปนเหตุใหเกิดคูใน ตัวอยาง พอตาเห็นปุบ คิด คูในมาแลว พอหูไดยิน คิดทันที คูในมาแลว ตัวชีวิตประกอบดวยกายกับจิต จิตจะเกิดอยางเดียว ไมได ถาเปนสิ่งมีชีวิตจิตประสาทตองอาศัยประสาทกายเกิด ถึงเปนตัวชีวิต กายกับความรูสึกรับรูทางกายนี่คูหนึ่ง คือกายอยาง เดียวไมมีชีวิต ตองมีความรูสึกรับรูดว ยถึงเปนตัวชีวิต กายกับความรูสึกทางกายนั้น เปนตัวชีวิตคูหนึ่ง ตา กับ ความรูสึกเห็นนั้น เปนตัวชีวิตคูหนึ่ง หู กับความรูสึกไดยินนัน้ เปนตัวชีวิตอีกคูหนึ่ง จมูกกับความรูสึกรับรูก ลิ่น นั้นอีกคูหนึ่ง นี่คือ คูนอก 50


อวิชชา หรือ ขาดสติ ทําใหความนึกคิดปรุงแตงเกิด พอความนึกคิดเกิดทําใหอารมณเกิด นี่คือ คูใน เกิดอยูภายใน แลวสงผลมาสูคูนอก สงผลมาสูกาย และความรูสึกทางกาย เชน เวลาคิดแลวเครียด เครียดคืออาการทางใจ แลว สงผลมาสูคูนอกทําใหกายก็ออกอาการ (ใจสั่น ปวดศีรษะ ปวดทอง ทองเสีย นอนไมหลับ) แลวคูนอกเปนเหตุใหเกิด คูใน (กังวลใจ กลัว เปนตน) จะเห็นวาคูนอกคูในวิ่งสลับไปสลับมา ประโยชนของการแยกคูนอกคูใน เพื่อจะปลอยวาง ทุกขกายทุกขใจ เมื่อคูในเกิดเราจะวางอยางไร เมื่อคูนอกเกิด เราจะวางอยางไรถึงจะไมใหคูในเกิดดวย คือเราจะทําอยางไร ไมใหคูนอกกับคูในปนกัน เชน พอตาเห็น เริ่มคิดแลว ก็รูทันความคิด พอไดยิน นีค่ ูนอก พอเริ่มคิด คูในมาแลว ฉะนั้น ระวังความคิด กระดูกหัก เจ็บ จะทําอยางไร เจ็บก็รูวาเจ็บตามความ เปนจริง แตใจคิดทุกขซอนเขาไปไหม จะรักษาก็รักษากัน ไป แตใจไปปรุงแตงใหทุกข ใหเกิดอารมณรวมขึ้นมาอีก ไหม นั่นก็อีกเรื่องหนึ่ง

51


ชาติสุดทาย เมื่อจิตหลุดพนก็รูวาจิตหลุดพน ชาตินี้เปนชาติสุดทาย ชาติ หนามิไดมี คือ จบแลวจบเลย คือจบลงแควงจรเดียว ไมมี วงจรที่สอง วงจรที่สาม ตัวอยาง เมื่อเกิดอารมณเสีย ก็จบลงแคอารมณเสีย อยามี วงจรตอไป ไมใชวาพอเกิดอารมณเสียปุบ ไปคิดวาไมนา เกิดอารมณเสีย ไปอีกวงจรหนึ่งแลว ไมนาโงนี่ก็อีกวงจรหนึ่ง แลว ไมนาขาดสติ นี่ก็อีกวงจรหนึ่ง ไปเรื่อย พอไปคิดตอก็ สรางวงจรใหม อยางนี้เรียกวา จบไมเปน จบไมลง พอคิดใหมก็เกิดวงจรใหม ฉะนั้น จบ จบใหสนิทจริง ๆ ดูซิวา เบากายเบาใจไหม คําตอบอยูตรงนั้น อยูในภาวะที่ไม มีจริง ๆ ไหม ถาไมเห็นตรงนี้ก็ไมเห็นอะไรเลย เมื่อไมเห็น วงจรแรก วงจรที่สองก็ยังมีคือ ชาติตอไปก็ยังมี เหมือนการ เกิดของ “ทุกข” ครั้งนี้เปนครั้งสุดทาย ครั้งหนามิไดมี การ เกิดของ “ทุกข” ขางหนามิไดมี ไมมีเหลือเยื่อใยเปนวงตอไป ดับสนิทไมมีสวนเหลือใหมีเยื่อใยวงตอไป มันจบ ถาเราจะตอเราเปนผูตอเองแลว ไมใชทําอยางขาดสติ แลวนะ เรียกวา “เปนผูทําเกิดและเปนผูทําดับเอง” ไมไดทํา ตามเรื่องตามราว เราเปนผูตัดและเราก็เปนผูตอ เรามี “สติ” เขามาควบคุมกํากับแลว ตัวอยาง พอทําไดแลวดีใจ ดีใจเปนวงที่สองแลวพอ ทําไมไดแลวก็เครียด เครียดก็เปนวงที่สองแลว 52


ไมเห็นก็ไมตองไปหา อารมณอะไรมาก็ได แตพอรูทัน เปลี่ยน ไมใชไป บังคับอันนี้ไมตองมา เชน กระพริบตา พอหายไป ก็คือ จบ ถาพยายามไปจับความคิด ก็จะพาหมกมุน ไมเห็นก็ ไมตองหา ถาเขาไปหาเมื่อไรคือ หมกมุน หมกมุนเมื่อไร ลากเขาไปหาสมถะ ลากเขาไปหาจิตจดจอ พอสบาย ก็ กลัววามันจะหาย นี่คือ สมุทัยตัวจริงเลย รูทันอยางเดียว รูทันแลวเปลีย่ นไปเปนอยางอื่น ทํา อยูแคนี้เอง ไมเห็นไมตองไปหา เอาเฉพาะที่เห็น คิดหา เมื่อไร นั้นคือหมกมุน ทําอยางสนุกสนาน ไมใชตั้งทาเปน จริงเปนจัง แพก็ยิ้ม ชนะก็ยิ้ม ทําใหสนุก เรียกวา ราเริงในธรรม มันละเอียด แตละ คนตองจับทิศของตัวเอง ตองจับ พฤติกรรมของตัวเองใหได ไมมี ใครจับใหได ตัวเองตองชาง สังเกตของตัวเอง และตองสังเกต อยางสบายๆ อยาหมกมุน จิตมัน พรอมที่จะพาใหเราหลงกลอยู ตลอดเวลา มันหลอกทั้งโลก มันคือธรรมชาติที่ครอบงํา สรรพสัตว เปนหนาที่ของมัน 53


หนาที่ของเราคือฝกสติรูทัน พอเรารูทันคิดชัดๆ มันก็เกิดคิดแผวๆ ถาไมสังเกต เกือบจะไมรูเลยวามันคิดตัวแผวๆ เราไมรูทัน ปลอยเขาไป สั่งสมไป กวาจะรูก็ออกอาการแลว

ฝกนักมวย นิดหนึ่ง นอยหนึ่ง ก็ตองรูทัน ความคิดที่อยากจะทําใหความคิดหายไป เปนตัวทําให ผิดพลาดได เลยไปทําทุกวิถีทางใหมันหายไป บังคับบาง กดขมบาง การกระพริบตา เปนตัว เปลี่ยนไปเลย เหมือนกับไมตองไปทํา อะไรกับมันเลย บางที เราจะไปบังคับใหมัน ไมเกิดโดยไมรูสึกตัวก็มี โดยไปทําใจนิ่งๆ ไว

54


เมื่อจิตหลุดพนก็รูวาจิตหลุดพนจากทุกข พอมันหายไปเหมือนกับเราไมไดทําอะไรมันเลย ก็จบ เราชอบเอียงไปอยางนี้สบายดีแลว ก็อยูตรงนี้ไมไปไหน จิตคนทุกคนชอบเสพสบาย นี้เปนเกมกลอันลึกซึง้ พอสบาย แลวไมอยากเปลี่ยนไปไหน อยูตรงนี้ ก็เลยติดกับพอดี จริงๆ ตัวรูทันไมไดปนความอยาก เราไมไดทําใน ลักษณะใหมันหายไป เราแคฝกตัวรูทันๆ เหมือนกับเปนการ ตอสู 2 ฝาย ระหวาง ฝายสังขาร หรือ ฝายทุกข กับสมุทัย ฝายหนึ่ง และ ฝายสติ กับ ปญญา ฝายหนึ่ง 2 ฝายนี้ไมมี “เรา” อยูเลย แต เราฝกตัวสติปญญาใหแกกลา เพื่อสูกับฝายทุกขกับสมุทัย เหมือนเปนเจาของคายมวย ฝกนักมวยใหดีไมใชตองขึ้นไป ตอยเอง เจาของคายขึ้นตอยเองเมื่อไร ความอยากล้ําหนา หนาที่เราคือ ฝกนักมวยหรือฝกสติใหแกกลา ฝกตัว รูทันใหกลาแกรง ใหเกงขึ้นเทานั้น แตเราไมทันใจ เราจะ ขึ้นไปชกเสียเอง ฝายทุกขและสมุทัยมีโดยธรรมชาติ ไมตองไปฝกมัน สิ่งที่เกิดขึ้นในใจเรานั่น คือ ทุกข เกิดขึ้นออกมาทางวาจานั่น คือ ทุกข ออกมาทางพฤติกรรมทางกายนั่น คือ ทุกข 55


แตทุกขมีสมุทัยเปนเหตุ ถาพูดเปนวิชาการ ก็มี 3 กลุม 1. กลุมกายสังขาร (ปรุงแตงใหเกิดกิริยาตางๆทางกาย) ที่ เปนทุกข 2. กลุมวจีสังขาร (ปรุงแตงใหเกิดคําพูดตางๆ) ที่เปนทุกข 3. กลุมมโนสังขาร (จิตสังขารปรุงแตงใหเกิดความคิด ตางๆ) ที่เปนทุกข พระพุทธเจาสอนใหออกจากสังขาร 3 กลุมนี้ ใหละสังขาร ปลอยวางสังขาร เห็นสังขารเปนของไมเที่ยง, เปนทุกข เห็นตรงไหนทําตรงนั้น บางครั้งเราเห็นทุกขไมเห็นเหตุแหงทุกข(สมุทัย) บางครั้งเห็นเหตุแหงทุกขไมเห็นทุกข บางครั้งก็เห็นทั้งคู บางครั้งมันเร็วจนเราไมเห็น ฉะนั้นเห็นตรงไหนก็ทําตรงนั้น ที่ผมบอกไมเห็น ก็ไมตองหา คืออยางนี้ เราจะเห็นทั้งคูให ได ก็เลยมั่ว ทุกขเกิดก็รูเทาทันทุกข สมุทัยเกิดก็รูเทาทันสมุทัย บางครั้งมันเร็วมากจนเราไมเห็น ถาไปมัวหาก็หมกมุน ถา 56


เชนนั้นทําอยางงายๆ พอรูทันมันหายไป ไมวาทุกขหรือ สมุทัยก็คือ จบ เราจะไดไมหมกมุน ถาไปหาก็เสร็จ หา คืออะไร ก็คือ นึกหา คิดหา กลายเปนไมจบ จริงๆ มันจบไปแลว แตเราไมจบ สรางขึ้นมาใหมอีก โดยภาษาเขาบอกใหดับที่สมุทัย แตจริงๆ สมุทัย บางขณะก็เห็นไมไดจริงๆ เหมือนกัน แตทุกขนั้นเห็นได ถา เชนนั้น ตัวไหนเกิดกอนก็ดับตัวนั้นกอน รูทันตัวนั้นกอน ตัวที่ไมเห็นก็ยังไมตองหา หาเมื่อไรก็คิดเมื่อนั้น คือ ทําใหปญหาใจนอยที่สุดและสั้นที่สุด เร็วที่สุด เมื่อเริ่มเห็นทุกข เห็นสมุทัย ใจก็เริ่มคลายจากทุกข เห็นชัดขึ้นๆ ใจก็ชํานาญขึ้นจนกระทั่ง ทุกขทําอะไรใจไมได คือภาวะที่เรียกวา นิโรธ ตอนแรกทุกขก็เริ่มจางคลาย ทําแลวทําอีกจนทุกอยาง มันชัดขึ้นๆ จากจางคลายแลวกลายเปนหายไป พูดใหชัดคือ เห็นทุกขเห็นสมุทัยอยางแจม แจงก็เปนนิโรธ ตอนแรกเริ่ม จางคลาย คือเห็นบางไมเห็น บาง ตอมามันหายไป อะไร หายไป ทุกขนั่นเองที่หายไป

57


รู หรือ ไมรู ในการดําเนินชีวิตประจําวันหลายๆอยาง อาจ กอใหเกิดปญหาแกตนเองและผูอื่นทั้งที่ตั้งใจและไมตั้งใจก็ ตาม จนทําใหเกิดความทุกขกายทุกขใจ เหตุก็คือ ความไมรู ในเรื่องของทุกข หรือที่เรียกวา อวิชชา อวิชชา คือ

ความไมรู ในเรื่อง - ในเรื่องของทุกข - ในเรื่องตนเหตุที่ทําใหเกิดขึ้นแหงทุกข - ในเรื่องความดับสนิทแหงทุกข (ทุกขหายไปจากใจ) - ในวิธีการทีจ่ ะปฏิบัติตน ฝกฝนตนเพื่อออกจากทุกข

อวิชชา เกิดตอนไหน ? อวิชชา เกิดตอนขาดสติ ไมใชตั้งอยูตลอดเวลา เพิ่ง เกิดตอนขาดสติ เมื่อสติมา อวิชชา เปนวิชชา ทุกสิ่งทุกอยาง เปนปจจุบันหมด ไมมีอะไรตั้งอยูแบบเที่ยง เปนปจจุบันตาม เหตุตามปจจัย 58


และที่อธิบายวาวิชชาตั้งอยูตลอดการนั้น ก็ไมใช อวิชชาเพิ่งเกิดเดี๋ยวนี้ เกิดพรอมขาดสติ ณ ขณะจิตนั้น ผัสสะ ที่ประกอบดวยอวิชชา คือ ผัสสะนั้นขาดสติ ถาผัสสะนั้นประกอบดวยสติ มันก็เปนวิชชา พูดเปนขณะจิตๆ ที่เปนปจจุบันธรรม เพราะขณะจิต นั้น เพิ่งเกิดขึ้นตามเหตุปจจัยตอนนั้น ไมใชมันเกิดอยูแลว เชน จักษุวิญญาณ ความรูสึกเห็น เกิดตอนตากระทบ รูป มันถึงจะเกิดจักษุวิญญาณ เกิดการเห็น ถาตาไมกระทบ รูป จักษุวิญญาณก็ยังไมมี ยังไมเกิด มันตองอาศัยซึ่งกันและ กัน ตองเห็นแจงๆ เปนปจจุบัน ปจจุบันธรรม คือ ณ ขณะจิตที่เกิด ถึงจะเห็นการ เกิดทันทีทันใด จะเขาใจ เกิดทันทีดับทันที ไมใชมสี ิ่งใดที่ตั้งอยู ไมเชนนั้น มันละอัตตา หรือปลอยวางความรูสึกเปนตัวเปนตนไมออก วิชชา คือ ความรูในเรื่องอริยสัจ 4 วิชชา คือ ขณะจิตที่ประกอบดวยสติสัมปชัญญะ สติปญญา อยูกับรู คือ อยูกับวิชชา

59


ความจริงในใจ ความจริงในใจ หรือ สภาวะจริงตามธรรมชาติที่ ละเอียดลึกซึ้งที่เกิด-ดับอยูในใจ ตลอดเวลา เปนความจริงแท ตามธรรมชาติ หรือที่เรียกวา ปรมัตถ เชน ความคิด อารมณ ความจํา มันเปนสิ่งที่มีอยูจริงๆ ไมตองสมมติ ไมตองไปบัญญัติ สิ่งเหลานี้มีอยูแลว นี่คือ ความจริง อยางเชน เสียงกระทบหู ทําใหเกิดการไดยิน การได ยินจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยเสียงกระทบหู นี่คือ ปรมัตถ เปน กระบวนการธรรมชาติอาศัยซึ่งกันและกันกอเกิดขึ้น ไมมี ใครบัญญัติ มันเกิดของมันอยูอยางนั้น สมมติสัจจะ คือ ความจริงแทที่ใชกนั แบบโลกๆ ใช สื่อกันทางโลก ปรมัตถสัจจะ คือ ความจริงอยูอยางนั้นโดยใครไม ตองไปยุงกับมัน เชน การไดยินเกิดขึ้นได ตองอาศัยเสียง กระทบหู การรับรูทางหูถึงเกิดขึ้น เมื่อเสียงหายไป ความ 60


รับรูทางหูหรือการไดยินก็หายไป นีเ่ ปนกระแสเหตุปจจัยวา ธรรมชาติอาศัยซึ่งกันและกันกอเกิดนี่คือ สัจธรรม นี่คือ ปรมัตถธรรม กระแสโลก ใครจะวาอยางไรก็ได คิดใครคิดมัน วา กันตามเรื่องใครเรื่องมัน เรื่องเดียวกันคิดสิบคนก็สิบอยาง แตธรรมชาติไมมีใครไปคิดแทนมันได อยางลม ลม มันพัด มันก็พัดอยูของมัน ใครจะไปทําอะไรกับมัน ใครไป ปรุงแตงอะไรไมไดหรอก นี่คือ ธรรมชาติ นีค่ ือ ปรมัตถ คือความจริงแทที่มีอยูจริงๆ คําวา ธรรมะ คือ ธรรมชาติ สัจธรรม คือ ธรรมชาติ ตามความเปนจริง เรารูสัจธรรม คือ รูธรรมชาติตามความเปนจริง รู ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตเปนอยางไร รูธ รรมชาติของ สิ่งไมมีชีวิตเปนอยางไร ชี้ไปทีธ่ รรมชาติของสิ่งมีชีวิตที่ เรียกวา “คน” มันเปนอยางไร แลวทําไมมันถึงทุกข และทํา อยางไรมันถึงจะออกจากทุกขได นี่คือสิ่งที่พระพุทธเจาสอน คือ ธรรมชาติที่เกี่ยวกับคน คุณลองจับประเด็นตรงนี้ดู โตะตัวนี้คือสิ่งไมมีชีวิต เพราะไมมีภาวะแหงการรับรู ไมมีความรูสึกรับรูใ ดๆ และ สิ่งมีชีวิตคือสิ่งที่มีความรูสึกรับรูได และชี้ไปที่สิ่งที่มีชีวิตที่ เรียกวา “คน” มีความรูสึกรับรูดานไหนบาง ทางตา ทางหู 61


ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ และความรูสึกรับรูนี้เกิดขึ้น ไดอยางไร เกิดเพราะเหตุปจจัย เชน เสียงกระทบหู ทําให เกิดการไดยิน ทําใหเกิดการรับรูทางหูได ชีวิตทางหูเกิดขึ้น แลว แตพอเสียงหายไป ความรูสึกรับรูก็ดับ นี่คอื ชีวิต เกิดดับ เพราะเหตุปจจัย นี่คือธรรมชาติ นีค่ ือ สัจธรรม ชีวิตเกิด ทันทีดับทันทีเพราะเหตุปจจัย ถาเขาใจตรงนี้ได จะเขาใจคําวา อนัตตา วาสิ่ง ทั้งหลายเกิด-ดับตามแตเหตุปจจัย หามีใครเปนเจาของไม มองใหทะลุอยางแจมแจงเลย จะเขาใจ สัจธรรม ขั้นสูงสุดที่ เรียกวา อนัตตา หรือทีว่ า เพราะมีสิ่งนี้เปนปจจัย สิ่ง ๆ นี้จงึ เกิดขึ้น คือ สัจธรรมขั้นสูงสุด มองใหทะลุกฎธรรมชาติ นี่ คือ สัจธรรม มองทะลุกฎธรรมชาติวามันอาศัยซึ่งกันและกันกอ เกิดขึ้นอยางไร เพราะเหตุปจจัยอยางไรและดับไปเพราะเหตุ ปจจัยดับอยางไร มองใหออก เรียนรูจากของจริงๆ เลย จากตา จากหู จากจมูก จากลิ้น จากตา จากใจ เชนเสียงเหาของสุนัข กระทบหู ทําใหเกิดการไดยิน นี่คอื ของจริงๆ ไมตองไปคิด เลย ไมมคี วามคิดปน แตพอเสียงเหาของสุนัขหายไป ความรูสึกรับรูทางเสียงหายไปแลว นี่ เรียนรูจ ากของจริงๆ เลยแตตองตั้งหลักใหติดกอนนะ ชีวติ หมายถึงอะไร 62


ชีวิต คือ สิ่งที่มีภาวะ แหงความรูสึกรับรู ภาวะแหงความรูสึกรับรูน ี้ เกิดขึ้นไดอยางไร มีเหตุ ปจจัยอยางไร และดับไปเพราะเหตุปจจัย ตองมองตรงนี้ใหทะลุ แลวคุณจะเขาใจวา อนัตตา คือ เขาใจธรรมชาติตามความเปนจริง ไมตองคิด เห็นอยู รูอยูตาม ความเปนจริง ไมมีความคิดเขาไปปน คุณจะไดคําตอบ ชีวิตเปนสิ่งที่ตั้งอยูจริงหรือไม หรือ ชีวิตเกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไปตามเหตุปจจัย คุณตองมองตรงนี้ใหทะลุดวยปญญาของคุณ ดวยความ เขาใจอยางแจมแจงของคุณ จากเห็นตามความเปนจริง อยางเชน เสียงกระทบหู นี่คือความจริง ไมตองมีความคิดเพิ่มแมแตนอย

อนัตตา คือ สิ่งทั้งหลายเกิด ดับตามแตเหตุปจจัย หามีใครเปนเจาของไม

63


รูไหมวาฉันเปนใคร ธรรมชาติของจิตฝายปรุงแตง มักจะปรุงแตงเพื่อ ความเปนไปในการดําเนินชีวิตประจําวัน แลวจําไว จน กลายเปนบุคลิกภาพของคนๆ นั้น ทีม่ ีความขัดแยงทาง ความคิด ความถือตัวถือตนวาฉันเปนนั่น เปนนี่ ความคิด และการกระทําของฉันถูกตอง คนอื่นไมใช หรือที่เรียกวา มานะทิฏฐิ มานะ คือ ความถือตัวถือตน ทิฏฐิ คือ ความคิดเห็น มานะทิฏฐิ คือ ความคิดเห็นถือตัวถือตน ถือดีถือเดน ไมยอมรับ หรืออัตตานั่นเอง วิธีทําใหมานะทิฏฐินอยลง เราไมไดเปนใครเลย เราเปนสัตวผิวดินธรรมดา ไมได เปนอะไร ที่เปนมานะทิฏฐิเพราะไปหลงสมมติวาเปนนั่นเปน นี่ เปนเจานาย เปนผูบังคับบัญชา โดยสรุปมานะทิฏฐิเปนการหลงตัวเอง ถือตนถือตัววา เปนนั่นเปนนี่ ใครจะสมมติใหเราเปนอะไรก็ได แตแคสมมติ จริงๆ สมมติเพื่อใหทําหนาที่ ไมใชไปหลงสมมติ 64


สมมติบัญญัติคือสิ่งที่มนุษยคิดขึ้นมา (สังขาร) แลว เราไปติดสมมติหรือสังขารของคนอื่น เราไมไดเปนอะไร เรา ทําหนาที่ของเราธรรมดาๆ แลวมานะทิฏฐิจะลดลง รูวาคิดอะไร แลวก็วาง พอรูทัน ความคิดก็หายไป ถา โกรธไปแลว ก็จบแลวเฉพาะเรื่องนั้น (เสียเฉพาะตรงนั้น) ไมตองไปคิดตอ เทากับสองคิด ไมเอาความคิดอื่นมาตอ เรา คือคนธรรมดาไมใชผูวิเศษที่ทําอะไรไมผิดไมบกพรอง ทุก คนมีผิดมีถูกเปนเรื่องธรรมดาของคน ออกอาการแลวก็แลว ไป จบเลย สติเรายังไมเต็มก็เปนอยางนี้ อยาเล็งผลเลิศเกินไป ไดแคไหนก็แคนั้น ไมงั้นคิดซ้ําซาก ออกอาการแลว ตองจบ เลย ไมตองไปคิดอะไรตอ อยามาคิดวาเรามาทําอยางนี้เราไม นาจะเปนอยางนั้น ตองคอยๆ ขัดคอยๆ ถูจากซุงทอนใหญ เปนแจกัน ตองคอยๆ เปนคอยๆ ไป ไมใชทําวันนี้ตองให เปนวันนี้ ไมใช มีผิดบางมีถูกบาง ออกอาการบางเปน ธรรมดา ไมใชเรื่องผิดปกติ ถาเรารูวาเกิดอะไรขึ้น แสดงวาเรากาวหนา ถาเราไมรู วาเกิดอะไรขึ้น แสดงวาเราถอยหลัง ถายังรูวาใจเราเกิดอาการอะไร รูตัวรูต นอยู อยางนอย ยังเห็นพฤติกรรมทางใจอยู ไมมีใครขัดเกลากิเลสใหเกลี้ยงใน 65


เวลาอันสั้น เราไมใชมนุษยมหัศจรรย เราตองขัดตองถู วันนี้ แพ พรุงนี้เอาใหม ลมแลวลุกใหมได จบแลวจบเลย แพก็ยมิ้ ชนะก็ยิ้ม ไมตองคิดอะไรตอ ยิ้มแลวก็จบ สวนใหญจะเล็งผล เลิศ ทําแลวตองไมออกอาการนั้นเลย ออกอาการไดทั้งนั้นทั้ง กายวาจาใจ อยาไปคิดวาทําไมเราตองเปนอยางนั้น ไมตองคิดวาเดี๋ยวตั้งหลักใหมก็คิดอีกแลว น็อตหลุดก็ยิ้ม น็อตไมหลุดก็ยิ้ม เริ่มทีถ่ กู ตอง คือ รูส ึกตัวแลว ก็จบ ไมตอง วนมาใหม จบใหเปน จบลงตรงนั้น อยาไปตั้งหลักวิ่งวนใหม ไมงั้นก็วนอยูอยางนั้น ความคิดเราเปนตัวพาวน ไมตองรําคาญ เราอยากเอาชนะ มัน มันก็จะเอาชนะเราอยูทุกวัน นี่คอื การตอสู พอเราอารมณเสีย มานั่งคิดวาไมนาอารมณเสีย แพ ความคิดอีกแลว ถูกความคิดลากไปอีกแลว วนไปแลว ใหจบ ในเรื่องเดียวอยาตอหัวตอหางเปนหลายเรื่อง นี่เปนวัฏฏะ เปนวังวน ออกจากมันไมได พอความคิด ไมมาก็นั่งนึกหา แพอยูดี “เมื่อไรจะมา” เทากับนั่งคิดอยูดี เราถูกมันหลอกอยู ตลอดเวลา คนที่จะหลุดจากกฎธรรมชาตินตี้ องเขาใจจริงๆ ยากมากที่คนจะหลุดจากกฎธรรมชาตินี้ 66


เราจะหลุดจากกฎธรรมชาติฝายปรุงแตงไดอยางไร ถา พระพุทธเจาไมมาสอน จะรูไดอยางไรจะหลุดจากความนึก คิดปรุงแตงไดอยางไร เราถูกมันลากไป เราไมเคยรูเรื่อง ธรรมชาติฝายปรุงแตงมากอน เราอยูกับมันจนเคยชิน นึกวา จะชนะ แพนี่นา ตั้งหลักใหม แพแลว แพอีก นับไมถวน สติ ปญญาอยางเดียวที่จะเอาชนะได

เราไมไดเปนใครเลย เราเปนสัตวผิวดินธรรมดา

67


เครื่องรอยรัดผูกพันจิตใจ เครื่องรอยรัดผูกพันจิตใจที่กอใหเกิดทุกขในใจ ก็ คือสังโยชน 10 จะตองละใหหมดสิ้น ไดแก 1. สักกายทิฏฐิ คือ การเห็นผิดวา กอนกายที่ ประกอบดวยความรูสึกความจํา ความนึกคิด และ อารมณ เปนตัวเปนตน การละสักกายทิฏฐิได คือ จะตองเห็นใหถูกตองวา รูปนาม ขันธ 5 หรือรูปธาตุ นามธาตุ เปนภาวะที่เกิดๆ ดับๆ อยูตลอดเวลา หาใชตัวตนไม ยึดติดยึดถือไมได ใหละวางเสีย 2. วิจิกิจฉา คือ ความลังเลสงสัยในวิธีประพฤติปฏิบัติ ในการเดินทางไปสูความพนทุกข การละวิจิกิจฉาได คือ รูทันความลังเลสงสัยในวิธี ประพฤติปฏิบัติตางๆ จนกระทั่งความลังเลสงสัยนั้น หมดไป และเชื่อมั่นวาวิธีที่ปฏิบัติ มานี้ถูกตองแลว ทํา ใหพนทุกขไดจริง 3. สีลัพพตปรามาส คือ ความหลงผิดที่ทําใหใจพลัด หลงไปสูเสนทางอื่น ซึ่งไมใชทางพนทุกข เชนทํา 68


อะไรแลวไมเกิดผลใดๆ ที่ทําใหทุกขหายไปจากใจ หรือประเมินผลในทางพนทุกขไมได การละสีลัพพตปรามาส คือ การประพฤติปฏิบัติไม พลัดหลงไปในทางที่ไมพนทุกขอีก หรือในทางที่ทําให พนทุกขไมได 4. กามราคะ คือ ความหลงผิดนึกคิดที่จะพา หู ตา จมูก ลิ้น กาย วนไปสูกามภพ (ความพึงพอใจอยาง ยึดติดผูกพันในกามารมณทั้งหลาย) ที่ยังควบคุมไมได หามปรามไมได การละกามราคะได คือ พฤติกรรมของกามคุณ 5 ขาดสูญไป การเวียน กลับมาเกิดในกามภพ คือภพ มนุษยหรือภพสัตว หรือเรียกรวมวา “ภพหยาบ” นี้ขาดสูญไป คือไมเวียนกลับมาเกิดในภพ หยาบอีก 5. ปฏิฆะ คือ ความหลงผิดไมรูเทาทันความนึกคิดปรุง แตง และอารมณที่ไมชอบใจจนทําใหเกิดความ หงุดหงิด ขัดเคืองใจ และละวางปรากฏการณของ อารมณทางใจชนิดนี้ไมได การละปฏิฆะ คือ ตองรูทันความคิดและอารมณ เหลานั้นจนมันหายไป 69


6. รูปราคะ คือ ความหลงผิดไมรูเทาทัน ความนึกคิดที่ คอยดิ้นรนทะยานอยากอยูในใจอยางเห็นไดชัดที่จะ ไปสูกามภพ (ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย) การละรูปราคะ ได คือ สามารถรูทันสิ่งนี้จนมัน หายไปได 7. อรูปราคะ คือ ความหลงผิดไมรูเทาทัน ความนึกคิด ที่คอยดิ้นรนทะยานอยากอยูในใจที่จะไปสูกามภพ (ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย) ซึ่งมีลักษณะแผวเบากวา รูปราคะ การละอรูปราคะ คือ รูทนั มัน หายไป 8. มานะ คือ ความหลงผิด ถือตัวถือตน ถือดี ถือเดน วาเปนนั่นเปนนี่ ซึ่งจะตองละใหหมดไป 9. อุทธัจจะ คือ ความหลงผิด ไมรูเทาทันจิตที่ฟุงซาน ไปในทางที่ชอบใจ และไมชอบใจ และความเกอเขิน หรือไมแนใจในการชี้ขาดความพนทุกขของตน 10. อวิชชา คือ ความหลงผิดไมรูเสนทางที่จะพาตนให พนจากทุกขอยางเกลี้ยงเกลาสนิท การละอวิชชา คือ รูทันวิธีที่จะทําใหใจพนทุกขโดย สิ้นเชิง 70


องคประกอบของชีวิต ในคนทุกคนประกอบดวยสิ่งที่เรียกวา รางกาย กับ จิตใจ หรือรูปธรรมกับนามธรรม ซึ่งอาศัยกันเกิดขึ้นเปน สิ่งมีชีวิต และแสดงออกโดยกิริยาอาการตางๆตามธรรมชาติ 5 ลักษณะ หรือ 5 อาการ ดวยกันเรียกวา ขันธ 5 มีลักษณะ ดังนี้ คือ 1. รูปกาย หรือ รางกาย รวมทั้งคุณสมบัติ และ พฤติกรรมทางกายทุกชนิดประกอบดวยองคประกอบ ยอยไดแก อวัยวะตางๆ เชน หนา ตา ลําตัว แขน ขา กระเพาะอาหาร ลําไส ปอด หัวใจ ตับ ไต สมอง เปนตนซึ่งอวัยวะแตละสวนเหลานี้ตาง ประกอบดวยสสารและพลังงานฝายวัตถุธาตุ ที่ บัญญัติวาธาตุ 4 คือ ธาตุดิน ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุ ไฟ หรือหมายถึงอาหาร น้ํา อากาศ ที่หลอเลี้ยง รางกายอยูตลอดเวลา 2. ความรูสกึ เชน ความรูสึกเห็น ความรูสึกไดยิน ความรูสึกไดกลิ่นความรูสึกลิ้มรส ความรูสึกสัมผัส เสียดสีทางกาย(เปนกิริยาทางกายและทางใจรวมกัน) 71


3. ความจํา คือกิริยาจิตชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในใจตอ จากความรูสึก เชน จําเรื่องนั้นเรื่องนี้ได จํารูป จํา เสียง จํากลิ่น จํารส จําความรูสึกเย็นรอนออนแข็ง และการเสียดสีทางกาย จําความคิดและอารมณตางๆ ได 4. ความนึกคิด คือกิริยาจิตอีกชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นใน ใจตอจากความจํา เชนคิดถึงเรื่องราวตางๆ คิดถึงคน นั้นคนนี้ คิดจะทําอยางนั้นอยางนี้ คิดอยากที่จะเปน นั่นเปนนี่ เปนตน 5. อารมณ คือ กิริยาจิตหรืออาการทางจิตที่เกิดตอ จากความนึกคิด มีทั้งอารมณดี อารมณเสีย ซึ่ง หมายถึงสภาวะทุกขและสุขนั่นเอง ทั้ง 5 ลักษณะดังกลาวมีอยูในคนเราจริงๆ และเราก็ ทุ ก ข อ ยู กั บ สิ่ ง เหล า นี้ ทุ ก ข อ ยู กั บ ระบบการทํ า งานของ รางกาย ทุกขเพราะความรูสึกที่เกิดขึ้น ทุกขเพราะความจํา ทุกขเพราะความคิด ทุกขเพราะอารมณ นี่เรียกวาทุกขเพราะ ขันธ 5 “ทุกขเพราะเขาไปยึดถือขันธ 5 วาเปนตัวเราเปนของ เรา” 72


ถามองใหดีในรูปกาย ไมไดมีเราอยูเลย แตเราไปคิด ผิดหรือเห็นผิดวารางกายนี้เปนตัวเรา ความรูสึกตางๆ ก็เปนอาการทางกายและอาการทาง จิตรวมกัน ที่เกิดขึ้นชั่วขณะหนึ่งแลวดับสลายหายไปตาม เหตุปจจัย แตเราไปรูสึกหรือเห็นวาลักษณะจิตนี้เปนตัวเรา แลวเราก็ทุกขอยูกับตัวมัน เรียกวาเรายึดติดยึดถือมันวาเปน ตัวเราของเรา เราตองวางความรูสึกทั้งหมด ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ออกไปจากใจเสียดวย นอกจากวางระบบของ รางกายออกไปจากใจ ความจําที่มีอยูในตัวเรา เราก็ไปหลงยึดถือวาเปนเรา มี เ ราเป น ผู จํ า จริ ง ๆแล ว เป น พฤติ ก รรมของจิ ต ที่ เ รี ย กว า ความจํ า สมมติ ชื่ อ ว า เป น ความจํ า แต เ ราไปเข า ใจผิ ด ว า ความจํานี้เปนตัวเรา เราจํานั่นจํานี่ได เราจึงเปนทุกขไปกับ ความจําเหลานั้น เราไปยึดติดวาความจําเปนเรา ในความ เปนจริงพฤติกรรมทางจิตนี้ เกิดขึ้นมาชั่วขณะหนึ่งแลวก็ดับ สลายหายไป ในความจําจึงไมมีตัวตนตั้งอยูจริง ความจําตัว นี้ทําใหเราเปนทุกขไปกับมัน เพราะเราไมเห็นความจริง ไม เห็นการเกิดขึ้น-ตั้งอยู-ดับไป ของจิตลักษณะนี้ ไปเขาใจผิด หรือเห็นผิดวามีตัวตนจริง และยึดติดยึดถือเปนตัวเราของเรา 73


ความนึกคิดตางๆ ที่เกิดขึ้นในใจเรา คิดเรื่องนั้นเรื่อง นี้อยูทั้งวันทั้งคืน เราคิดวาเราเปนผูคิด แตจริงๆ แลวความคิด เปนลักษณะของจิตชนิดหนึ่งที่เกิดดับๆ อยูในเรา ไมมีเราอยู ในความนึกคิดเหลานั้น ในกิริยาจิตหรือพฤติกรรมทางจิตที่ เรียกวาความนึกคิดไมมีตัวตนอยูจริง ไมมีเราอยูในมัน แต เราไปหลงผิดวาตัวเราคิด เราจึงทุกขไปกับความคิด อารมณ เปนเพียงกิริยาจิตหรือพฤติกรรมทางจิตชนิด หนึ่ง ทั้งอารมณดี อารมณเสียเกิดขึ้นตามเหตุปจัยแตละขณะ แตเราไปคิดวาเราอารมณดี อารมณเสียอยูเรื่อย จริงๆแลว อารมณแตละชนิดที่เกิดขึ้น จะตั้งอยูไดชั่วขณะหนึ่งแลวก็ดับ สลายหายไป ไมมีตัวตนอยูจริง แตเราหลงผิดไปยึดติดยึดถือ วาอารมณเหลานั้นเปนตัวเรา เปนของเรา เราจึงทุกขอยูกับ อารมณเหลานั้น ขันธทั้ง 5 มีอยูตามธรรมชาติ แตเราเขาใจผิดคิดวา สิ่งเหลานี้เปนเรา จริงๆ ไมมีเราอยูในสิ่งเหลานี้ ทุกสิ่งตั้งอยู ชั่วขณะหนึ่ง แลวก็ดับสลายหายไป หรือเกิดๆดับๆ อยูอยาง นี้ ต ลอดเวลา เราทุ ก ข อ ยู กั บ สิ่ ง เหล า นี้ เพราะเข า ใจไม ถูกตองหรือเขาใจผิด เรียกวา เราทุกขอยูกับขันธ 5 คื อ 74


ทุ ก ข กั บ ระบบของร า งกาย ทุ ก ข กั บ ความรู สึ ก ทุ ก ข กั บ ความจํา ทุกขกับความนึกคิด และทุกขกับอารมณทุกชนิด เพราะเราคิดวาขันธ 5 นี้เปนเรา จริงๆแลวไมใช มันเปนแค ปฏิกิริยาทางวัตถุธาตุชนิดหนึ่ง และปฏิกิริยาทางนามธาตุ หรือนามธรรมอีกชนิดหนึ่งเทานั้นซึ่งตั้งอยูชั่วขณะหนึ่งแลว ดับสลายหายไป โดยไมมีตัวตนอยูในสิ่งเหลานี้เลย ถาเรา เขาใจถูกตองตามที่เปนจริง เราก็จะคอยๆวางขันธ 5 ลง วาง ความทุก ขที่เกิด จากการยึดติด ยึด ถือขัน ธ 5 เมื่อเราวางสิ่ง เหลานี้ได สิ่งเหลานี้ก็ยังเกิดอยูตามเหตุปจจัยตามธรรมชาติ แตเราจะไมทุกขไปกับขันธ 5 แลว ปกติธรรมชาติของใจคนนั้นวางเปลาเบาสบาย แต แล ว ความผิ ด ปกติ ก็ เ กิ ด ขึ้ น ในใจได เช น ความพอใจ-ไม พอใจ ความอึดอัดขัดเคืองใจ ความคิดฟุงซานรําคาญใจ เกิด อารมณ ดี อารมณ เสีย ทําให ใ จไม วา งเปล า ไมเ บาสบาย เรียกวามีความทุกขเกิดขึ้นในใจ จะตองหาทางแกไขโดยการ รูเทาทันความนึกคิดปรุงแตง และอารมณทุกชนิดที่ทําใหใจ เปนทุกข

75


ธาตุรู หรือจิตรู หรือใจ มีหนาที่รูขันธ 5 สัมพันธ กับขันธ 5 แตไมใชเจาของขันธ 5 เชน - ไปรูวากายเคลื่อนไหว กายมีการเปลี่ยนแปลง กายมิใชตัวตน - ไปรูวามีความรูสึกเกิดขึ้นในกาย เกิดขึ้นในใจ ความรูสึกเหลานี้มีการเปลี่ยนแปลง และมิใช ตัวตน - ไปรูวามีความจําเกิดขึ้นในใจ ความจํามีการ เปลี่ยนแปลงและมิใชตัวตน - ไปรูวามีความนึกคิดเกิดขึ้นในใจ ความนึกคิดมี การเปลี่ยนแปลงและมิใชตัวตน - ไปรูวามีอารมณเกิดขึ้นในใจ อารมณมีการ เปลี่ยนแปลงและมิใชตัวตน - “ เมื่อเห็นขันธ 5 ตามที่เปนจริงวามิใชตัวตน แทจริงและสิ่งที่ไปรูขันธ 5 คือ ใจ หรือ นาม ก็ มิใชตัวตนแทจริง ก็จะหมดความหลง ปลอยให ทุกสิ่งวางจากความยึดถือ เปนใจที่วางเปลา ปราศจากทุกข” 76


แนใจหรือวาสุขจริง เราทุกคนควรเขาใจวาในคนเรามีแตเรื่องทุกขเกิดขึ้น ในชีวิต จนกลาวไดวา “ทุกขเทานั้นที่เกิดขึ้น ทุกขเทานั้นที่ ตั้งอยู ทุกขเทานั้นที่ดับไป” นอกจากทุกขแลวไมมีอะไร เพราะสุขก็คือทุกขที่ละเอียดชนิดหนึ่งกอเกิดอยูในใจ ใจ คือความรูสึก เปนสภาวะนามธรรม (ไมได หมายถึงหัวใจที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกาย) จิต คือกิริยาอาการทุกชนิดทีก่ อเกิดอยูในใจหรือ ความรูสึก เชน ความนึกคิดปรุงแตงและอารมณทุกชนิด แมกระทั่งอารมณสุข อริยสัจ 4 กลาวถึงเรื่องทุกข อันเปนสัจธรรมหรือความจริง ของชีวิตคนซึ่งประกอบดวย ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ทุกข หมายถึง ความทุกขใจ ทุกขกาย เปนผลที่เกิด จากจิตนึกคิดปรุงแตงและ การยึดติด ยึดถืออารมณทุก ชนิด ( สุขสบายก็คือทุกขอยางละเอียด ) สมุทัย คือ เหตุใหเกิดทุกข หมายถึง ความนึกคิด ปรุงแตงดิ้นรนทะยานอยากที่เปนไปตามอํานาจของกิเลส ตัณหา และ ความขุนมัวเศราหมองของอารมณทงั้ หลายที่ กอเกิดรวมอยูในใจ ซึ่งทําใหใจเปนเปนทุกขตามมา

77


- จิตนึกคิดปรุงแตง ไปตามสิ่งที่ไดเห็น เปนเหตุ ใหเกิดทุกข - จิตนึกคิดปรุงแตง ไปตามเสียงที่ไดยินเปนเหตุให เกิดทุกข - จิตนึกคิดปรุงแตง ไปตามกลิ่นที่ไดสมั ผัสทาง จมูก เปนเหตุใหเกิดทุกข - จิตนึกคิดปรุงแตง ไปตามรสที่ไดสัมผัสทางลิ้น เปนเหตุใหเกิดทุกข - จิตนึกคิดปรุงแตง ไปตามสิ่งที่กระทบเสียดสีทาง รางกาย เปนเหตุใหเกิดทุกข นิโรธ คือ สภาพของใจที่สงบ วางเปลาปราศจาก ทุกขอยู เปนผลจากการรูเทาทัน เห็น และเขาใจ จิตนึกคิด ปรุงแตงอยางชัดเจน จนกระจางใจวา ความนึกคิดปรุงแตง และอารมณทั้งหลายที่กอเกิดอยูในใจ ลวนแลวแตเกิดขึ้น ตั้งอยูชั่วขณะจิตหนึ่งแลวก็ดับหายไป ยึดติดยึดถืออะไร ไมได ใจก็จะปลอยวางเปนความวางเปลา มรรค คือ วิถีทางที่ทําใหทุกขจางคลายจากใจจนหมด ทุกขโดยสิ้นเชิงโดยการ รู เห็น เขาใจ รูเทาทันจิตที่นึกคิดปรุงแตงที่ทําใหใจ เปนทุกขทุกชนิด รูเทาทันอารมณที่ทําใหใจขุนมัว เศรา หมองทุกชนิด จนสามารถปลอยวางสิ่งเหลานี้ ทําใหทุกข จางคลายลงไปเรื่อยๆ 78


หนทางพนทุกข วิถีทาง หรือ วิธีการที่จะทําใหใจจางคลายจากทุกข จนกระทั่งหลุดพนจากทุกขโดยสิ้นเชิง ตองอาศัยความเขาใจ ที่ถูกตอง เพราะใจเปนใหญ ใจเปนสิ่งที่ละเอียดลึกซึ้งและ สลับซับซอน การจะวางใจใหถูกตองและพนจากทุกขทั้ง ปวงได จะตองศึกษาหรือทําความเขาใจเรื่องอริยมรรคมีองค 8 ใหถูกตอง โดยเริ่มตนจากการปฏิบัติที่ถูกตอง 8 ประการ ดังนี้ 1. มี ค วามเห็ น ถู ก ต อ งหรื อ ความเข า ใจถู ก ต อ ง หมายถึง มีความเห็นและพิจารณาวา เมื่อมีความทุกข เกิ ด ขึ้ น แก ต นแล ว ทุ ก ข เ กิ ด ขึ้ น เพราะเหตุ ใ ด ทํ า อยางไรใจตนจึงจะพนจากทุกข หรือออกจากกระแส แห ง ทุ ก ข ไ ด (เห็ น อริ ย สั จ 4 หรื อ เห็ น ทุ ก ข ถู ก ต อ ง ตามที่เปนจริง) 2. มีความนึกคิดตรึกตรองถูกตอง หมายถึง มีความ นึกคิดที่จะหาวิธีการวาจะทําอยางไร จึงจะทําใหใจ จางคลายจากทุกข จนพนจากทุกขไดจนรูวาการรูเทา 79


ทันความนึกคิดปรุงแตงทุกชนิดที่ทําใหใจเปนทุกข รูเทาทันอารมณทุกชนิดที่ทําใหใจขุนมัว หรือรูเทา ทั น การเคลื่ อ นไหวของใจที่ ทํ า ให เ กิ ด ความเครี ย ด ความไมสบายใจและความไมสบายกายทั้งหลาย จะ ทําใหความทุกขจางคลายลง หรือหมดไปจากใจใน ที่สดุ 3. มีการใชคาํ พูดถูกตอง หมายถึง การรูเทาทันจิตที่ นึกคิดจะพูด กอนจะพูดอะไรใหรูเทาทันความคิด นั้นๆกอน เปนกระบวนการทํางานของใจหรือการ ทํางานทางใจลวนๆแลว คือรูเทาทันจิตที่คิดจะพูดใน ทุกขณะ ทําใหเกิดการพูดที่ไมกอโทษกอทุกขทั้งแก ตนเองและผูอื่น 4. มีการกระทําทางกายถูกตอง หมายถึง การทํางาน ของใจที่ผานการนึกคิดตรึกตรองถูกตอง รูเทาทันจิต ที่คิดจะกระทําทางกายกอนจะทํา ทําใหเกิด พฤติกรรมทางกายที่ถูกตอง ไมเปนไปเพื่อ การ เบียดเบียนหรือกอโทษกอทุกขแกตนและผูอื่น

80


5. มีการงานของใจถูกตอง หมายถึง หนาที่หรือการ กระทําของใจ ที่จะตองระวังรักษาใจไมใหเปนทุกข โดยการรูเทาทันความนึกคิดปรุงแตงทุกชนิด รูเทา ทันอารมณทุกชนิด หรือรูเทาทันการเคลื่อนไหวของ จิตทุกชนิดทุกขณะ เพื่อไมใหเกิดทุกขขึ้นในใจ ซึ่ง จะตองทําอยางจริงจัง ตอเนื่องสม่ําเสมอโดยไมเกียจ คราน หรือปลอยปละละเลย 6. มีความพากเพียรถูกตอง หมายถึง ความพากเพียร พยายามของใจอยางจริงจังตั้งใจ และตอเนื่องที่จะทํา ใหใจคลายจากทุกข จนกระทั่งพนทุกขโดยสิ้นเชิง โดยการรูเทาทันการเคลื่อนไหวของจิตทุกชนิด ทัง้ จิตที่นึกคิดปรุงแตง และอารมณที่เขามารบกวนจิตใจ อยูทุกขณะ 7. มีการระลึกรูถูกตอง หมายถึง การฝกตัวรูใหรเู ทา ทันจิตที่นึกคิดปรุงแตงใหเกิดทุกขแตละขณะไดมาก ขึ้น รูเทาทันอารมณที่เขามารบกวนจิตใจไดมากขึ้น จนทุกขจางคลายจากใจมากขึ้นๆ ตัวรูเ ทาทันความ นึกคิดปรุงแตงที่ทําใหเกิดทุกขในใจ รูเทาทันอารมณ ที่เขามารบกวนจิตใจในปจจุบันขณะนี้แหละ เรียกวา สติ (สัมมาสติ) 81


8. มีใจตั้งมั่นถูกตอง หมายถึง การมีสภาพใจที่ตั้งมั่น (สงบ) วางเปลาปราศจากทุกข เปนสภาวะที่เกิดตอ เนื่องมาจาก การระลึกรูถ กู ตอง จนมีสติเต็มรอบ มี ความมั่นคงของใจที่แทจริง (สัมมาสมาธิ) ถือวาเปน แกนของสมาธิ ตอจากนี้จะเกิด ความรูแจงเห็นจริง (รูจริง) ในสัจ ธรรมอยางถูกตองคือเขาใจในสัจธรรมตรงตามความ เปนจริง โดยไมมีความนึกคิดปรุงแตงที่ทําใหใจเปน ทุกขเกิดขึ้นในใจอีก หรือไมมีความขุนมัวเศราหมอง คอยปดบังใจอยู ในที่สุดจะถึงซึ่ง ความหลุดพนอยางถูกตอง คือ หลุดพนจากความนึกคิดปรุงแตงที่ทําใหใจเปนทุกข หลุดพนจากอารมณที่เขามาครอบงําใจ ปดบังใจใหขุน มัวเศราหมองและเปนทุกขตามมา หรือหลุดพนจาก ความอยากและความยึดถือผิดๆ เพื่อใหได ใหมี ใหเปน ในสิ่งที่คิดผิดหรือเขาใจผิดวาเปนตัวตน-ของตนจน เปนทุกข เกิดสภาวะใจที่บริสุทธิ์ผุดผอง วางเปลา ปราศจากทุกขโดยสิ้นเชิงอยู ซึ่งจะกลาววา “เปนความ หลุดพนจากทุกขทั้งปวง” ก็ได เพราะทุกขที่มีอยูทํา อะไรใจไมไดอีกตอไป 82


เครื่องปดกัน้ ความเจริญ ในการฝกจิตใจใหจางคลายจากทุกข มีเครื่องปด กั้นความเขาใจและการเขาถึงใจที่เปนอุเบกขา อยู 5 กองหรือ 5 ลักษณะดวยกันคือ 1. กามฉันทะ คือความนึกคิดปรุงแตง ดิ้นรน ทะยานอยากไปในทางหลงยึด หลงติด หลงเสพ ในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัสเสียดสีทุกชนิด ที่ เรียกวากามคุณ ๕ 2. พยาบาท คือความอาฆาต ความโกรธ ความ ความฉุนเฉียว ขุนเคืองใจ แคนใจ ผูกใจเจ็บ ความอึดอัดใจ หงุดหงิดใจ ไมพอใจทุกชนิด 3. ถีนมิทธะ คือความงวงเหงาหาวนอน จิตหรี่ จิตซึมเซา หดหู หอเหี่ยว เหงาหงอย หลงหลับ ที่คอยครอบงําใจอยูทุกขณะ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความนึกคิดปรุงแตงที่ ฟุงซานไปในทางชอบใจ ไมชอบใจทุกชนิด ไดแก ความซัดสายของใจ ความเดือดรอน

83


วุนวายใจ ความรําคาญใจ ความกลุมใจ ความ วิตกกังวลตางๆ 5. วิจิกิจฉา คือความลังเลสงสัยไมแนใจทุกชนิด ในการประพฤติปฏิบัติ วาถูกตองหรือไม จะ ใหผลแกผูปฏิบัติจริงหรือไม นิวรณทั้ง 5 กอง ที่กอ เกิดขึ้นเหลานี้ ทําใหใจไมตั้งมั่น เปน สมาธิ และปดกั้นใจไมใหบรรลุถึงความบริสุทธิ์ เมื่อ เรารูเทาทันกิเลสนิวรณที่เกิดขึ้นในใจเหลานี้ ใจเราก็จะ โปรง โลง เบา สบาย มีปติอิ่มเอิบสดชื่นแทรกเขามา พอ เริ่มรูเทาทันนิวรณทั้ง 5 กองนี้ จิตจะเริ่มเขาสูสมาธิ และใช เปนบาทฐานในการฝกจิตเชิงวิปสสนา หรือปญญาตอไป “อารมณทั้งหลายยังเปน ทุกขที่ละเอียดอยู เมื่อ รูเทาทันทุกขเหลานี้ ทุกข เหลานี้ก็จะหายไปจากใจ สุดทายก็จะเหลือแตใจที่ วางเปลาปราศจากทุกข” 84


ตัวชวยในการฝกฝนตนใหพนทุกข การจะฝกฝนตนใหพนทุกข หรือ การทําการงานใดๆ หลักธรรมทีค่ วรนํามาใช คือ อิทธิบาท 4 ไดแก 1. มีความพอใจ ที่จะฝกฝนจิตใจใหจางคลายจาก ทุกข จนจิตใจหลุดพนจากทุกข 2. มีความเพียรพยายาม ที่จะฝกฝนจิตใจใหหลุดพน จากทุกข 3. มีความสนใจและใสใจ ในการกระทํา คือการ ฝกฝนจิตใจอยางตอเนื่องไมปลอยปละละเลย (แต ไมใชทําอยางเครงเครียด) 4. พิจารณาตรึกตรอง เพื่อใหเขาถึงความจริงในสิ่งที่ ตนกระทํา

85


แผนที่ชวี ติ

หนักทึบ

จิต

เบาสบาย

ผิดปกติ

- ความคิด ทีเ่ ปนทุกข - ความจําทีไ่ มดี - อารมณไมดี

กาย

คิดแตเรือ่ งดี ใจเบา/ใจสบาย ใจเปนสุข/ใจสงบ อารมณดี ระบบประสาท

- เครียด - นอนไมหลับ

กายเจ็บปวย

- กายสบาย - อยูอ ยาง ทุกขนอ ย

ปกติ

86

ความรูส กึ ความจํา ความคิด อารมณ เสนทางทุกขมาก

-

เสนทางทุกขนอย - เห็นความคิด ทีเ่ ปนทุกข - ปรับความคิด เปนเชิงบวก - ปรับพืน้ ฐานใจ และสรางหลักใจ - ฝกสมาธิใหชาํ นาญ - ฝกสติสมั ปชัญญะ ใหชาํ นาย

กระบวนการพัฒนาจิต


e˵u

¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò¨iµ 87

oº¡Áืo

Êà ҧËÅa¡ã¨ : Êa§e¡µ ¤ÇÒÁÃÙÊ ¡ึ oÒÃÁ³ o»Ã §

¼ o¹¤ÅÒ¡Ò æÅaã¨

¢a¹é ·Õè 1 eºืoé §µ ¹

ËÁu¹¹iéÇ

eË繤ÇÒÁ¤i´/oÒÃÁ³ ·Õèe» ¹·¡¢ (ÊaÁÁÒʵi)

¼Å

ÇÒ§Êi觷a§é ÃÙ

ÁÕoÒÃÁ³ o»Ã § oÅ § eºÒʺÒ ¹ึ¡¤i´ä´ ´§a 㨹ึ¡ / ªíÒ¹Ò­

·íÒ¤ÇÒÁÃÙÊ ¡ึ µaÇe¾ืoè oo¡ ã¨Ç Ò§e»Å Ò»ÃÒÈ ¨Ò¡·¡¢ (ÊaÁÁÒÊÁÒ¸i) ¨Ò¡·u¡¢ ªÇaè ¢³a

ÃaºÃÙ

¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò» ­­Ò ¼Ùo ÂÙ ´ ÇÂoÒµ¹a·a§é 6 e˹ืo·u¡¢ 㪠§Ò¹·íÒo ҧÃÙ

¾a²¹ÒÊaÁÁÒʵi æÅa ÊaÁÁÒÊÁÒ¸iãË ªÒí ¹Ò­

ÁÕÊÀÒ¾ã¨o»Ã § oÅ § eºÒʺÒÂe» ¹¾ื¹é °Ò¹

ÁÕÊÁa ÁÒʵi æÅaÊaÁÁÒÊÁÒ¸i e» ¹ºÒ·°Ò¹ÁÒº Ò§æÅ Ç

¢a¹é ·Õè 2 eºืoé §¡ÅÒ§

¢a¹é ·Õè 3 eºืoé §»ÅÒÂ

» ¨¨ÂÒ¡Ã

o¤Ã§Êà ҧ¡ÃaºÇ¹¡Òþa²¹Ò¨iµ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.