นวัตกรรมสมุนไพรไทย ก้าวไกลสู่อุตสาหกรรม

Page 1

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... ก า วไกลสู อุ ต สาหกรรม

กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก และ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ


สารบัญ สารจากอธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก.............................................. (3) บทบาทของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติในการสนับสนุนนวัตกรรมสมุนไพรไทย............................ (4) หลักการและเหตุผล...................................................................................................................... (6) กำหนดการ .................................................................................................................................. (8) ขอมูลสมุนไพร ฟาทะลายโจร ............................................................................................................................ 1 สมแขก ................................................................................................................................... 16 กระชายดำ .............................................................................................................................. 25 หมอน .................................................................................................................................... 31 กวาวเครือขาว.......................................................................................................................... 40 กระเจี๊ยบแดง .......................................................................................................................... 49 ชุมเห็ดเทศ.............................................................................................................................. 59 ขมิ้นชัน .................................................................................................................................. 68 ไพล........................................................................................................................................ 85 ลูกประคบ............................................................................................................................... 97 บัวบก ................................................................................................................................... 105 พริกไทย ............................................................................................................................... 114

ผลิต ออกแบบและสรางสรรค: งานสงเสริมภาพลักษณองคกร สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ ISBN 974-229-616-2 จำนวนพิมพ 1,500 เลม พฤษภาคม 2547


สาร อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก จากกระแสความตืน่ ตัวและความนิยมในการใชผลิตภัณฑจากสมุนไพรทีเ่ พิม่ มากขึน้ ทัว่ โลกในชวงเวลา สิบกวาปทผี่ า นมา รัฐบาลไดตระหนักดีถงึ ความหลากหลายทางชีวภาพและศักยภาพของสมุนไพรไทย ในการนำ มาใชพฒ ั นาเปนผลิตภัณฑสขุ ภาพตางๆ ไมวา จะเปน ยา ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เครือ่ งสำอาง ชาชงสมุนไพร เครื่องดื่ม และอาหารตางๆ เพื่อสนองความตองการของประชาชนและตลาดโลก จึงไดมีนโยบายสนับสนุน การผลิตผลิตภัณฑจากสมุนไพรทัง้ เพือ่ ใชในประเทศและเพือ่ การสงออกนำรายไดเขาประเทศ รัฐบาลและรัฐมนตรีวา การกระทรวงสาธารณสุขจึงไดแตงตัง้ คณะกรรมการตางๆ ขึน้ เพือ่ ใหหนวยงาน ทีเ่ กีย่ วของทัง้ ภายในและภายนอกกระทรวงสาธารณสุขไดรว มมือและประสานกันในการพัฒนาผลิตภัณฑสขุ ภาพ จากสมุนไพรของประเทศ ไดแก คณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑสมุนไพร คณะกรรมการแพทย แผนไทยกาวไกลสูอุตสาหกรรม เปนตน รวมทั้งไดผลักดันนโยบายพัฒนาผลิตภัณฑสุขภาพจากสมุนไพรที่ คัดเลือกแลววามีศกั ยภาพสูงเปน “Product Champion” ใหเปนหนึง่ ในนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข ไดแก ฟาทะลายโจร สมแขก กระชายดำ หมอน กวาวเครือขาว กระเจีย๊ บแดง ชุมเห็ดเทศ ขมิน้ ชัน ไพล ลูกประคบ บัวบก และพริกไทย การพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก โดยสถาบันการแพทยแผนไทยเปนหนวยงาน หนึ่งในกระทรวงสาธารณสุขที่มีบทบาทรวมในการพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพร product champion จึงได ุ ภาพ รวบรวมขอมูลตางๆ ของสมุนไพร product champion ทัง้ ดานการปลูกเพือ่ ผลิตวัตถุดบิ สมุนไพรทีม่ คี ณ การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานสมุนไพร การศึกษาวิจยั สรรพคุณและความปลอดภัย เพือ่ ใชเปนขอมูลใน การนำไปใชพฒ ั นาผลิตภัณฑใหมๆ จากสมุนไพรเหลานีต้ อ ไป การพัฒนาสมุนไพรไทยใหเปน product champion นัน้ ตองอาศัยความรวมมือจากหลายหนวยงาน ทีเ่ กีย่ วของ ดังนัน้ คณะกรรมการแพทยแผนไทยกาวไกลสอู ตุ สาหกรรมจึงไดเชิญหนวยงานทีเ่ กีย่ วของใหรว มเปน “เจาภาพ” เพื่อชวยกันประสานงานระหวางหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาสมุนไพร product champion ไดแก กรมวิทยาศาสตรการแพทย องคการเภสัชกรรม กรมสงเสริมการเกษตร และสำนักงาน นวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การจัดทำหนังสือขอมูลสมุนไพร product champion เลมนี้ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทย ทางเลือก ไดรว มมือกับสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ และสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เพือ่ ใชเปนเอกสาร ประกอบการประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง “นวัตกรรมสมุนไพรไทย…กาวไกลสอู ตุ สาหกรรม” ซึง่ ทัง้ สามหนวยงาน รวมกันจัดประชุม เพือ่ ระดมสมองในการพัฒนาแนวทางความรวมมือระหวางหนวยงานภาครัฐและผปู ระกอบการ ภาคเอกชนในการพัฒนาสมุนไพร product champion ใหเปนผลิตภัณฑใหมเพือ่ สุขภาพทีม่ มี ลู คาเพิม่ ทาง เศรษฐกิจ พัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑสมุนไพรไทย สรางงานและสรางรายไดใหแกเกษตรกรผปู ลูกสมุนไพร สงเสริมสุขภาพของประชาชน และสงออกเพื่อนำรายไดเขาประเทศอีกทางหนึ่ง หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสาร ฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอ ผทู เี่ กีย่ วของในแวดวงของการพัฒนาผลิตภัณฑจากสมุนไพรตอไป

  ⌫


บทบาทของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ ในการสนับสนุนนวัตกรรมสมุนไพรไทย   

สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2546 และไดเริ่มดำเนินงานตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2546 เปนตนมา สนช. เปนหนวยงานในการกำกับของ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีระบบการบริหารงานทีเ่ ปนอิสระจากราชการ และมีกรอบภารกิจหลัก ในการยกระดับความสามารถดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยใชกลไกการสนับสนุนดานวิชาการและ การเงิน และการใช “นวัตกรรม” มาชักนำและเชือ่ มโยงใหเกิดเครือขายวิสาหกิจอยางมีบรู ณาการ ซึง่ เปน กระบวนการสำคัญในการนำไปสกู ารสรางใหเกิด “ระบบนวัตกรรมแหงชาติ” นอกจากนี้ สนช. ยังมีภารกิจ ในการพัฒนาโครงการในระยะหลังการวิจยั และพัฒนา การสนับสนุนการยกระดับทักษะความสามารถดาน เทคนิคและการบริหารจัดการ ตลอดจนการสงเสริมเพื่อสรางความตื่นตัวดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพือ่ ใหเกิด “วัฒนธรรมนวัตกรรม” ขึน้ ภายในประเทศ สนช. ไดกำหนดแผนการดำเนินงานในป พ.ศ. 2547-2548 ประกอบดวยแผนหลัก จำนวน 3 แผน หลัก ไดแก แผนยกระดับนวัตกรรม แผนสงเสริมวัฒนธรรมนวัตกรรม และ แผนสรางองคกรนวัตกรรม ทั้งนี้ ในแผนการดำเนินงานดังกลาว สนช. ไดใหความสำคัญอยางสูงในแผนยกระดับนวัตกรรม ไดแก การพัฒนาและสนับสนุนโครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร 5 สาขา ไดแก • นวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดานอาหารและสมุนไพร เปนโครงการที่มีเปาหมายเพื่อยกระดับ ศักยภาพทางเศรษฐกิจในดานอาหารและสมุนไพร จากการดำเนินงานทีผ่ า นมา ไดมกี ารดำเนิน โครงการตางๆ อาทิ โครงการพัฒนาสารอาหาร functional food เพือ่ สรางมูลคาทีส่ งู มากใน ขาว โครงการพัฒนาระบบเลี้ยงนกแอนรังขาว โครงการนวัตกรรมระบบการเลี้ยงกุงแบบใหม และโครงการนวัตกรรมสมุนไพรแหงชาติ “ไพลทานอยด” เปนตน • นวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดา นยาง ผลิตภัณฑยางและไมยางพารา อุตสาหกรรมยางพารามีอตั รา การเติบโตเพิ่มขึ้นทุกป ประกอบกับราคายางที่สูงขึ้นในขณะนี้ จึงเปนโอกาสที่ควรสนับสนุน ใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อนำไปเพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑใหสูงขึ้น ซึ่งเปน การเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก เชน โครงการนวัตกรรมยางแผนชนิดพิเศษ เกรดมาตรฐานไทย และโครงการผลิตถุงมือยางชนิดพิเศษ เปนตน • นวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดา นซอฟตแวรและแมคาทรอนิกส ตัวอยางโครงการ เชน การริเริม่ โครงการ “การพัฒนาระบบการตรวจสอบยอนกลับ (traceability) ของอุตสาหกรรมกงุ ” โดย พัฒนาระบบซอฟตแวรเพือ่ ใชในการจัดเก็บขอมูลตลอดกระบวนการผลิต เพือ่ ใหการตรวจสอบ ยอนกลับมีความเปนระบบและมีประสิทธิภาพ ซึง่ ถือเปนนวัตกรรมทางดานระบบซอฟตแวรที่ สามารถตรวจสอบยอนกลับไดตลอดหวงโซการผลิต เพือ่ สรางความแตกตาง (differentiation) ของสินคาสงออกของไทย ทัง้ ในดานของแหลงกำเนิด ความปลอดภัย และคุณภาพ


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• นวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดา นยานยนตและชิน้ สวน เนือ่ งดวยอุตสาหกรรมดังกลาวเปนหนึง่ ใน หาอุตสาหกรรมหลักทีร่ ฐั บาลใหความสำคัญ อีกทัง้ ปจจุบนั ความตองการทางดานอุตสาห-กรรม ดังกลาวมีปริมาณมาก สนช. จึงไดดำเนินโครงการดังกลาวในรูปแบบของโครงการเพือ่ พัฒนา ยานยนตและชิน้ สวนยานยนต รวมทัง้ ยานยนตอเนกประสงคทใี่ ชทางการเกษตร • นวัตกรรมเชิงยุทธศาสตรดา นการออกแบบเชิงวิศวกรรมและเชิงอุตสาหกรรม สนช. ไดมงุ เนน ในการสรางเครือขายวิสาหกิจเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมใหมีศักยภาพเพียงพอและเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขัน อาทิ โครงการนวัตกรรมเพื่อสรางตราสินคาเซรามิกส “ศิระลำปาง” (CeraLampang) เปนตน นอกจากนี้ ในแผนยกระดับนวัตกรรม ยังไดรวมถึง การพัฒนานวัตกรรมจากผลงานวิจัยและ สิทธิบตั ร ทีม่ าจากการบริหารจัดการความรู (knowledge management) ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในภาครัฐและเอกชน ทัง้ นี้ สนช. ไดสนับสนุนโครงการจากการพัฒนาดังกลาว อาทิ โครงการชุดตรวจยาบาสำเร็จรูป โครงการ ชุดตรวจไขหวัดนกชนิดรวดเร็ว และโครงการหัวเผากาซ LPG และอุปกรณควบคุมทีป่ ลอดภัย เปนตน ในการสนับสนุนภาคเอกชนในการดำเนินโครงการนวัตกรรมนัน้ ไดใชกลไกดานวิชาการและการเงิน การระดมสมองเพื่อศึกษาวิเคราะหสถานภาพของอุตสาหกรรมในเชิงลึกและสังเคราะหแนวทางการนำ นวัตกรรมเขาแทรกแซง (intervene) ตลอดจนการปฏิบัติจริงและรวมรับความเสี่ยงในระดับบริษัท เพื่อนำไปสูการสรางนวัตกรรมที่สงผลกระทบในระดับอุตสาหกรรม โดยการเชื่อมโยงสถาบันและองคกร ตางๆ เพื่อสรางเปนเครือขายความรวมมือในการพัฒนาระบบนวัตกรรมของประเทศอยางบูรณาการ ปจจุบัน สนช. ไดรวมกับ 3 สถาบันการเงิน ไดแก ธนาคารวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) จัดทำโครงการ “นวัตกรรมดี...ไมมดี อกเบีย้ ” เพือ่ สนับสนุนโครงการนวัตกรรมทีพ่ ฒ ั นาตอยอดจากผลงาน วิจยั สิง่ ประดิษฐและสิทธิบตั ร หรือเทคโนโลยีทมี่ อี ยเู ดิมไปสเู ชิงพาณิชย โดยสถาบันการเงินจะเปนผปู ลอย สินเชือ่ เงินกใู หกบั บริษทั ทีผ่ า นการพิจารณาเห็นชอบจาก สนช. และ สนช. จะเปนผจู า ยดอกเบีย้ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในระยะเวลาไมเกิน 3 ป เพือ่ รวมรับความเสีย่ งและสรางโอกาสการลงทุนใหกบั ธุรกิจนวัตกรรม ทั้งนี้ ตามแผนการดำเนินงานประจำป 2547 สนช. จะสนับสนุนเงินใหเปลาในรูปของดอกเบี้ยในโครงการ นวัตกรรม จำนวน 90 ลานบาท ซึง่ จะทำใหเกิดการลงทุนในธุรกิจนวัตกรรมไมต่ำกวา 2,000 ลานบาท ในการดำเนินการพัฒนาเชิงยุทธศาสตรดา นสมุนไพร สนช. ไดดำเนินการพัฒนาสมุนไพรชนิดตางๆ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับผลิตภัณฑสมุนไพร ทั้งในรูปของสารสกัดและผลิตภัณฑใหไดมาตรฐาน เปนที่ยอมรับทั้งตลาดภายในและตางประเทศ สนช. จึงริเริ่มโครงการ นวัตกรรมสมุนไพรแหงชาติ “ไพลทานอยด” ขึน้ เพือ่ ยกระดับสมุนไพร “ไพล” ออกสตู ลาดโลกโดยพัฒนาใหเกิดเปนระบบเศรษฐกิจ ฐานความรู อีกทัง้ ยังเปนโครงการนำรองในการพัฒนาสมุนไพรชนิดตางๆ และจากผลการดำเนินงานทีผ่ า น มา นับไดวา ประสบความสำเร็จในระดับหนึง่ ดังนัน้ สนช. จึงไดมแี ผนในการพัฒนาและยกระดับสมุนไพร ตางๆ ไดแก ขมิน้ ชัน กระชายดำ กวาวเครือขาว และสมแขก เพือ่ ใหผลิตภัณฑสมุนไพรเหลานัน้ สามารถ เพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกประเทศตอไป

(5)


โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เรือ่ ง “นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสอู ตุ สาหกรรม” วันอังคารที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 ณ หองประชุม เค ยู โฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ จัดโดย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก รวมกับ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ

1. หลักการและเหตุผล กระแสสังคมทัว่ โลกในปจจุบนั มีแนวโนมตืน่ ตัวในเรือ่ งการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง เสริมสราง ความแข็งแรงใหกบั รางกาย และหันมาใหความสำคัญกับผลิตภัณฑจากธรรมชาติ เชน การใชผลิตภัณฑ อาหารเสริมสุขภาพ เครือ่ งสำอางสมุนไพร เครือ่ งดืม่ สมุนไพร ตลอดจนการใชสมุนไพรเปนยารักษาโรค ซึง่ เปนทีน่ ยิ มมากขึน้ จากประชาชนทัว่ ไป หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงตลาดโลกทีม่ คี วามตองการ ผลิตภัณฑสมุนไพรในปริมาณมาก จากแนวโนมของความตองการใชผลิตภัณฑสมุนไพรที่สูงขึ้น กระทรวงสาธารณสุขไดเล็งเห็นถึง ความสำคัญ จึงใหการสนับสนุนสงเสริมใหเกิดการใชสมุนไพรอยางกวางขวาง พรอมทั้งพัฒนาสมุนไพร ใหสามารถสงออกไปยังตางประเทศได จึงไดกำหนดการพัฒนาสมุนไพรทีม่ ศี กั ยภาพเชิงเศรษฐกิจ (Product Champion) เพือ่ ใหสามารถแขงขันในตลาดโลกได จำนวน 12 ชนิด ไดแก ขมิน้ ชัน ฟาทะลายโจร ไพล ชุมเห็ดเทศ กระเจีย๊ บแดง สมแขก หมอน กระชายดำ กวาวเครือ ลูกประคบ บัวบก และพริกไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก ในฐานะหนวยงานพัฒนาองคความรูการ แพทยแผนไทยและสมุนไพร จึงเห็นควรอยางยิ่งที่จะจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “นวัตกรรม สมุนไพรไทย... กาวไกลสอู ตุ สาหกรรม” โดยประสานความรวมมือกับสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ่ พัฒนาสมุนไพร product champion ใหมศี กั ยภาพในเชิงพาณิชย ไดอยางเปนรูปธรรม โดยเนนการพัฒนานวัตกรรมในผลิตภัณฑสมุนไพรของประเทศไทยทีต่ อ งใชความรู ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีขั้นสูงมาประยุกตในการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานของสมุนไพรไทย ใหสามารถแขงขันในตลาดโลกได อันจะทำรายไดเขาประเทศไทยไดอีกทางหนึ่ง

2. วัตถุประสงค 2.1 เพื่อใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องนวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม ซึ่งเปนนโยบายใหมของการพัฒนาสมุนไพรในประเทศไทย ใหมีศักยภาพในการแขงขันและ สามารถสงออกไปจำหนายในตลาดโลกได 2.2 เพือ่ แลกเปลีย่ นความรู ความคิดเห็น และรวมกันกำหนดแนวทางในการพัฒนาสมุนไพร product champion ใหมีศักยภาพใชในระบบสาธารณสุขและในเชิงพาณิชยไดอยางมีประสิทธิภาพ


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

3. กลมุ เปาหมาย ผเู ขาประชุม จำนวน 150 คน ประกอบดวย • นักวิชาการ นักวิจยั ผปู ฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วของกับสมุนไพรจากหนวยงานตางๆ • เจาหนาที่ของกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข • เจาหนาทีข่ องสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี • บุคลากรจากหนวยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วของ และผปู ระกอบการภาคเอกชน

4. วิธดี ำเนินการประชุม 4.1 4.2 4.3 4.4

ปรึกษาผูบริหารและผูเกี่ยวของ พรอมทั้งจัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ประสานงานกับหนวยงานที่รวมรับผิดชอบ เพื่อเตรียมการจัดประชุมฯ ติดตอประสานงานเกีย่ วกับการเชิญวิทยากร ผเู ขารวมประชุม และสถานทีจ่ ดั ประชุมฯ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารฯ ซึง่ มีวธิ ดี ำเนินการ ดังนี้ • บรรยาย • ประชุมกลมุ ยอย • อภิปราย/แลกเปลีย่ นความคิดเห็น • นำเสนอผลการประชุมกลมุ 4.5 สรุปผลการประชุม

5. ระยะเวลาและสถานทีจ่ ดั ประชุม วันที่ 1 มิถนุ ายน 2547 เวลา 08.30-16.30 น. ณ หองประชุม เค ยู โฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ

7. หนวยงานทีร่ บั ผิดชอบ 7.1 กลมุ งานพัฒนาวิชาการการแพทยแผนไทย สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 7.2 สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

8. ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั 8.1 เกิดความรวมมือในลักษณะของกลมุ ภารกิจ (cluster) ดานการพัฒนาอุตสาหกรรมสมุนไพร ไทยของหนวยงานภาครัฐและหนวยงานภาคเอกชน 8.2 สมุนไพรไทย product champion 12 ชนิด ไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพในเชิงพาณิชย สามารถแขงขันในตลาดโลกได อันจะนำไปสูการเพิ่มรายไดของประเทศ 8.3 สรางฐานทางนวัตกรรมของประเทศใหมีความเขมแข็ง พรอมทั้งยกระดับความสามารถใน การผลิตและการบริหารจัดการเชิงรุกใหภาคธุรกิจของตลาดสมุนไพร 8.4 เพิ่มโอกาสการแขงขันใหกับผูประกอบการในประเทศไทย

(7)


กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

เรือ่ ง “นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสอู ตุ สาหกรรม” วันอังคารที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 ณ หองประชุม เค ยู โฮม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพฯ จัดโดย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก รวมกับ สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ

วันอังคารที่ 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547

08.30-09.00 น 09.00-10.00 น.

10.00-10.15 น. 10.15-11.15 น.

11.15-12.00 น.

12.00-13.00 น. 13.00-15.00 น.

15.00-15.15 น. 15.15-16.00 น. 16.00-16.30 น. 16.30 น.

ลงทะเบียน กลาวเปดการประชุม และบรรยาย เรือ่ ง “นโยบายของกรมพัฒนาการแพทย แผนไทยและการแพทยทางเลือกในการพัฒนาสมุนไพร product champion” โดย นายแพทยวชิ ยั โชควิวฒ ั น อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก พักรับประทานอาหารวาง บรรยาย เรื่อง “บทบาทของสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติในการสนับสนุน นวัตกรรมสมุนไพรไทย” โดย นายศุภชัย หลอโลหการ ผูอำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ บรรยาย เรือ่ ง “สมุนไพร product champion ทีม่ ศี กั ยภาพในเชิงพาณิชย” โดย ภญ. ดร. อัญชลี จูฑะพุทธิ สถาบันการแพทยแผนไทย พักรับประทานอาหารกลางวัน ประชุมกลมุ ยอย เรือ่ ง “การพัฒนาสมุนไพร product champion” แบงเปน 4 กลมุ ดังนี้ กลุมที่ 1 การพัฒนายาจากสมุนไพร กลมุ ที่ 2 การพัฒนาเครื่องสำอางจากสมุนไพร กลมุ ที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑอาหารเสริมจากสมุนไพร กลมุ ที่ 4 การพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรเพื่อใชในสัตวเศรษฐกิจ พักรับประทานอาหารวาง ประชุมกลมุ ยอย (ตอ) นำเสนอผลการประชุมกลุม/อภิปรายปญหาทั่วไป ปดการประชุม


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ฟาทะลายโจร 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่อทองถิ่น: ชือ่ อืน่ :

Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees Acanthaceae ฟาทะลายโจร ฟาทะลาย คีปง ฮี ซีปง กี น้ำลายพังพอน หญากันงู ยากันงู สามสิบดี(1-2) Creat, Green chireta, Kalmegh, King of bitters, Kirayat, ชวนซินเหลียน ชวงซิมไน

เอกสารอางอิง 1. ลีนา ผพู ฒ ั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต และธีรวัฒน บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธิการ). ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตนิ นั ทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544) สำนักวิชาการปาไม. กรมปาไม. 2544. พิมพครัง้ ที่ 2. บริษทั ประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ. หนา 35. 2. ดรุณ เพ็ชรพลาย และคณะ. สมุนไพรพืน้ บาน (ฉบับรวม) หจก. รงุ เรืองสาสนการพิมพ กรุงเทพฯ. 2541. หนา 98-99. 3. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. บริษัทอัมรินทร พริ้นติ้ง กรุฟ จำกัด กรุงเทพฯ. 2535. 4. สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทยเลมที่ 1 ฟาทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm f.) Nees. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2542. หนา 19. 5. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. สารนุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส. 2540.

2. ลักษณะพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร: สมุนไพรฟาทะลายโจรเปนพืชประเภทไมลม ลุกฤดูเดียว สูง 30-60 ซม. ลำตนตัง้ ตรงกิง่ กานเปนสัน สีเ่ หลีย่ ม ใบเดีย่ ว เรียงตรงขาม รูปใบหอก กวาง 1-2.5 ซม. ยาว 4-10 ซม. โคนใบและปลายใบแหลม ขอบใบ เรียบหรือเปนคลืน่ เล็กนอย เนือ้ ใบสีเขียวเขม กานใบยาว 2-8 มม. ดอกสีขาวมีขนาดเล็กและยาวประมาณ 1 ซม. ชอแยกแขนงออกทีซ่ อกใบและปลายกิง่ ดอกยอยสีขาวเชือ่ มติดกัน ปลายแยกเปน 2 ปาก ซึง่ ประกอบ ดวยปากบน 2 กลีบ และปากลาง 3 กลีบ อีกทัง้ สองกลีบขางมีแถบสีมว งแดง และกลีบกลางมีแตม สีมว ง ตรงกลางกลีบ ผลเปนฝกรูปทรงกระบอก 3-4 มม. ยาว 1-1.5 ซม. ยาวไดถงึ 2 ซม. เมือ่ แก ฝกจะแตกเปน 2 ซีก ภายในมีเมล็ดแบน เมล็ดประมาณ 6 เมล็ดตอชอง รูปไขสนี ้ำตาล เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. 2543. 2. ดรุณ เพ็ชรพลาย และคณะ. สมุนไพรพืน้ บาน (ฉบับรวม) หจก. รงุ เรืองสาสนการพิมพ กรุงเทพฯ. 2541. หนา 98-99.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ช: สวนเหนือดิน (aerial parts) ใบสด ใบแหง สรรพคุณ: • รักษาอาการไขดบั รอน แกพษิ บวม บิด กระเพาะอาหารอักเสบ ลำไสอกั เสบ ปอดอักเสบ คอเจ็บ ทอนซิลอักเสบ หลอดลมอักเสบ • รักษาอาการไขทวั่ ๆ ไป เชน ไขหวัด และไขหวัดใหญ

1


2

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• ระงับการอักเสบ ของผทู มี่ อี าการไอ เจ็บคอ คออักเสบ ตอมทอลซิล หลอดลมอักเสบ ชวยใน การขับเสมหะ และสามารถรักษาโรคผิวหนัง จำพวกฝได • รักษาอาการติดเชื้อ ซึ่งมีอาการปวดทอง ทองเสีย บิด และสามารถรักษาอาการกระเพาะ ลำไสอกั เสบ • ชวยลดอาการเบือ่ อาหาร ทำใหผปู ว ยเจริญอาหาร เอกสารอางอิง 1. สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด เภสัชกรหญิงสุนทรี สิงหบุตรา 2533

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ ไมพบรายงานการวิจัยเพื่อคัดเลือกสายพันธุ

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การเตรียมดิน: การเตรียมดิน นอกจากผเู พาะปลูกจำเปนตองปรับใหดนิ รวนซุยแลว ยังตองมีการกำจัดวัชพืชดวย ถาพืน้ ทีใ่ นการเพาะปลูกเปนดินรวนซุยดีอยแู ลวมีวชั พืชจำนวนไมมาก อาจทำการไถพรวนเพียงครัง้ เดียว แตถา พืน้ ทีเ่ พาะปลูกมีวชั พืชมากและหนาดินแข็ง ควรทำการไถพรวนประมาณ 2 ครัง้ คือ ไถดะแลวตาก ดินไวเปนเวลา 1-2 สัปดาห แลวจึงทำการไถแปรอีกครัง้ สำหรับพืน้ ทีป่ ลูกทีเ่ ปนทีล่ มุ และปลูกในฤดูฝน ควร ทำการขุดยกรองแปลงเพือ่ ปองกันน้ำทวมขัง โดยทำการขุดยกแปลงใหสงู ขึน้ เหนือระดับเดิม 15-20 ซม. และแปลงมีความกวาง 1-2 เมตร สำหรับความยาวของแปลงพิจารณาตามความเหมาะสมของขนาดพืน้ ที่ เวนทางเดินระหวางแปลงประมาณ 1 เมตร การปลูก: ทำไดหลายวิธคี อื 1. การปลูกแบบหวาน วิธีนี้ทำไดคอนขางยากเนื่องจากเมล็ดฟาทะลายโจรมีขนาดเล็กทำให สิน้ เปลืองเมล็ดพันธุ ถาจะปลูกดวยวิธนี ี้ ควรนำเมล็ดพันธมุ าผสมดวยทรายหยาบอัตรา 1:1-2 สวน เพราะทรายจะชวยใหเมล็ดมีน้ำหนัก ทำใหสามารถหวานเมล็ดพันธไุ ดกระจายทัว่ และสม่ำเสมอ โดยใชเมล็ดพันธุ 100-400 เมล็ดตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร การปลูกดวยวิธนี จี้ ะมีปญ  หาในการ กำจัดวัชพืช เพราะจะไมสามารถนำเครือ่ งมือหรือเครือ่ งทนุ แรงเขาไปใชได ตองกำจัดโดยการ ใชมอื ถอนเทานัน้ ทำใหตอ งใชแรงงานมาก และผลผลิตมีปริมาณนอย 2. การปลูกแบบโรยเมล็ดเปนแถว ควรมีการขุดรองตืน้ ๆ เปนแถวยาว แลวทำการโรยเมล็ดพันธุ และเกลีย่ ดินกลบบางๆ ทัง้ นี้ ควรมีระยะปลูกระหวางแถวประมาณ 40 เซนติเมตร โดยทัว่ ไป นัน้ จะใชเมล็ดพันธปุ ระมาณ 50-100 เมล็ดตอความยาว 1 เมตร การปลูกดวยวิธนี ี้ สามารถ กำจัดวัชพืชไดงา ยและสะดวกขึน้ เนือ่ งจากมีระยะแถวปลูกทีแ่ นนอนและสามารถนำเครือ่ งมือ ทางการเกษตร เชน จอบ เสียม มาใชพรวนดินและดายหญาไดอยางคลองตัว 3. การปลูกแบบหยอดหลุม สามารถเพาะปลูกไดโดยการเตรียมหลุมปลูกลึกประมาณ 2-5 เซนติเมตร ใหเปนแนว โดยมีระยะปลูกระหวางตน 20-30 เซนติเมตร และระหวางแถว 40 เซนติเมตร แลวหยอดเมล็ดหลุมละ 5-10 เมล็ด ทำการเกลีย่ ดินกลบบางๆ การปลูกวิธนี มี้ ผี ลดี คือ ชวยในการประหยัดเมล็ดพันธุ แตมักประสบปญหาเกี่ยวกับการกำจัดวัชพืชขณะที่ตน ยังเล็ก เพราะมีพนื้ ทีว่ า งระหวางระยะปลูกและตำแหนงทีง่ อกของเมล็ดฟาทะลายโจรอยหู า งกัน วิธีนี้เหมาะสมกับการเพาะปลูกบนพื้นที่ปลูกที่ไมมีปญหาวัชพืชรบกวน


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. การปลูกโดยใชกลา มีกระบวนการหลายขัน้ ตอน ไดแก การเพาะกลา ซึง่ ทำการเตรียมแปลงเพาะ กลาโดยการใชจอบขุดยกเปนแปลงกวาง 1 เมตร สูงประมาณ 15-20 เซนติเมตร โดยความยาว และจำนวนแปลงขึน้ อยกู บั จำนวนเมล็ดทีเ่ พาะและความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน พรอมกับยอย ดินใหละเอียดและใสปยุ อินทรีย (ปยุ คอกหรือปยุ หมัก) รองพืน้ ที่ 1/2-1 กิโลกรัม ตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร ผสมคลุกเคลาใหเขากับดินแลวเกลีย่ แปลงใหเรียบนำเมล็ดพันธทุ เี่ ตรียมไวหวาน ลงในแปลงเพาะ และทำการปฏิบตั เิ ชนเดียวกับการปลูกแบบหวานเมล็ด คือ ทำการเตรียมหลุม ปลูก โดยขุดหลุมกวางประมาณ 1 หนาจอบ (15 เซนติเมตร) ลึกประมาณ 8-12 เซนติเมตร เปนแถว ใหมรี ะยะปลูกระหวางตน 20-30 เซนติเมตร และระหวางแถว 40 เซนติเมตร หาก ดินทีเ่ พาะปลูกมีคณ ุ ภาพยังไมดี ควรใสปยุ อินทรียร องกนหลุมประมาณ 125 กรัมตอหลุม แลว ทำการคลุกเคลาใหเขากับดิน หลังจากนัน้ เพาะเลีย้ งจนเมือ่ กลามีอายุประมาณ 45-60 วัน หรือ เมือ่ กลามีใบประมาณ 10-14 ใบ ทำยายกลาปลูก โดยกอนยายกลาตองรดน้ำแปลงเพาะใหชมุ แลวจึงใชชอ นขุดหรือเสียมแซะกลาไปปลูกในหลุมทีเ่ ตรียมไว 1 ตนตอหลุม กลบดินและกดดิน ทีโ่ คนตนใหแนน หลังปลูกแลวตองทำการรดน้ำทันที วิธนี กี้ ารเพาะปลูกแบบนีเ้ หมาะกับแปลง ปลูกที่มีปญหาวัชพืชรุนแรง หรือกรณีที่เมล็ดพันธุมีราคาแพงหรือมีจำกัด แตจะใหผลผลิต ตอไรต่ำกวาการปลูกโดย 3 วิธแี รก การดูแลรักษา: การดูแลรักษานัน้ ทำไดโดยการคลุมแปลง หากพืน้ ทีเ่ พาะปลูกเปนทีโ่ ลงแจง ลมพัดแรง แดดจัด และ ฝนตกชุก ควรคลุมแปลงดวยฟางหรือใบหญาคาบางๆ เพือ่ ชวยพรางแสง ลดการชะลางของน้ำ ความชืน้ ซึง่ จะทำใหเมล็ดงอกไดเร็วขึน้ และเมือ่ กลาอายุไดประมาณ 1 เดือน ใหเอาฟางหรือใบหญาคาในสวนทีห่ นาๆ ออกบาง การปลูกซอมนัน้ ควรทำหลังจากปลูกแลวประมาณ 7-15 วัน ถาพบวาตนกลาทีป่ ลูกตายหรือเมล็ด ไมงอก ควรปลูกซอมทันทีเพื่อใหพืชเจริญเติบโตทันกัน สำหรับการถอนแยกควรทำหลังจากปลูกแลว ประมาณ 30-45 วัน หากพบวาตนกลาทีข่ นึ้ มาแนนเกินไป ควรทำการถอนแยกไปปลูกในแปลงอืน่ ๆ เพือ่ ใหตน กลาทีข่ นึ้ สมบูรณเต็มที่ ไมแยงอาหารกัน การคลุมแปลงนัน้ หากพืน้ ทีป่ ลูกเปนพืน้ ทีโ่ ลงแจง ลมพัด แรง แดดจัด และฝนตกชุก ควรคลุมแปลงปลูกหรือแปลงเพาะดวยฟางขาวหรือใบหญาแหง โดยทำการ คลุมบางๆ เพื่อชวยควบคุมความชื้นในดินไมใหน้ำระเหยเร็ว การใหน้ำ หลังจากทำการปลูกพืชทุกครั้งตองใหน้ำแกพืชทันที ซึ่งจะชวยใหตนกลาไมเฉาและ ตายงายในระยะ 1-2 เดือนแรกหลังจากปลูก ถาแดดจัดควรใหน้ำวันละ 2 ครัง้ ในเวลาเชาและเย็น หาก แดดไมจดั ควรใหน้ำวันละครัง้ และหลังจากอายุ 2 เดือนไปแลวอาจจะใหน้ำวันเวนวันก็ไดหรือตามความ เหมาะสมของสภาพพืน้ ทีแ่ ละสภาพอากาศ ทัง้ นี้ หากพืชขาดน้ำเปนระยะเวลาหลายวันจะทำใหพชื เหีย่ วเฉา แคระแกรน ออกดอกเร็ว อีกทัง้ ทำใหพชื ไมสามารถดึงธาตุอาหารจำเปนบางชนิดจากดินขึน้ มาใชได ซึง่ จะกอ ใหเกิดโรคใบสีมวง การใสปยุ ควรทำการใสปยุ เมือ่ ดินขาดความอุดม โดยทัว่ ไปควรแบงใสปยุ เปนระยะๆ ดังนี้ • ใสรองกนหลุมหรือรองพื้นแปลง มักใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยคอกหรือปุยหมัก รองกันหลุม ประมาณ 125 กรัมตอหลุม หรือใสรองพืน้ ประมาณ 1/2-1 กิโลกรัมตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร • ใสหลังปลูกอายุประมาณ 2 เดือน โดยใชปยุ ประมาณ 125 กรัมตอตน หรือ 300-400 กรัม ตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร

3


4

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• ใสหลังปลูกอายุประมาณ 3-31/2 เดือน โดยใชปยุ ประมาณ 125 กรัมตอตน หรือ 300-500 กรัม ตอพืน้ ที่ 1 ตารางเมตร วิธใี สปยุ : มีหลายวิธแี ลวแตความสะดวกและวิธกี ารปลูกพืชไดแก แบบหวาน ตองหวานปยุ ใหกระจายทัว่ และสม่ำเสมอ หลังจากทำการหวานปยุ เสร็จแลวตองทำการ รดน้ำทันที อยาใหปยุ คางอยทู ใี่ บเพราะจะทำใหใบไหมและตนพืชตายได วิธนี เี้ หมาะสำหรับแปลงเพาะกลา และการปลูกแบบหวาน แบบโรยหรือหวานเปนแถว ทำการขุดเปนรองตามแนวขนานระหวางแถวปลูกหางจากแถวปลูก ประมาณ 10-15 เซนติเมตร ใสปุยพรวนดินกลบหรือโรยปุยกอนแลวพรวนดินกลบ วิธีนี้เหมาะสำหรับ การปลูกแบบโรยเปนแถว แบบหยอดโคน ใสปยุ หางจากโคนตนประมาณ 10 เซนติเมตร โดยขุดหลุมฝงกลบดินหรือโรยรอบๆ โคนตน แลวพรวนดินกลบก็ได ซึง่ วิธนี เี้ หมาะสำหรับการปลูกแบบมีระยะปลูก การกำจัดวัชพืช: ในแปลงปลูกแบบหวานและแปลงเพาะเมล็ด ควรกำจัดวัชพืชโดยการถอน ในขณะทีแ่ ปลงปลูกแบบ โรยเปนแถว แบบหยอดหลุมและแบบปลูกดวยตนกลา ซึง่ มีระยะปลูกนัน้ การกำจัดวัชพืชนัน้ สามารถทำได สะดวกขึ้น อาจใชวิธีการกำจัดแบบการถอนหรือใชเครื่องมือชวย ทั้งนี้ ควรทำการพรวนดินเขาโคนตน ไปพรอมกัน การพรวนดิน: สวนใหญแลวจะทำการพรวนดินและดายหญาไปพรอมๆ กัน หรือพรวนดินเมื่อเห็นหนาดินแนน ดูดซึมน้ำไดชา การพรวนดินจะสงผลใหดินรวนซุย ดูดซึมซับน้ำและปุยไดดี ซึ่งจะชวยใหระบบรากพืช ใชน้ำและปุยมีประสิทธิภาพมากขึ้น การปองกันกำจัดโรคและแมลง: ปจจุบันการปลูกฟาทะลายโจรยังไมมีรายงานพบวามีโรคและแมลงชนิดใดทำความเสียหายอยาง รุนแรง เพียงแตเกิดความเสียหายบางเล็กนอยเทานัน้ ไดแก โรคโคนเนาและรากเนา ตนทีเ่ ปนโรคจะมีอาการ เหีย่ วเพิม่ ขึน้ เปนลำดับจนแหงตายในทีส่ ดุ โดยมากจะพบบริเวณรากและโคนเนา สงผลใหรากขาดไดงา ย และบางสวนเปลีย่ นเปนสีน้ำตาลเขม จากการแยกเชือ้ สาเหตุของโรคพบเชือ้ รา Fusarium sp. การปองกัน และกำจัดนั้นในเบื้องตนควรถอนและทำลาย อีกทั้ง โรคแอนแทรคโนส จะพบอาการที่ตรงกลางใบหรือ ปลายใบ อาการทีพ่ บบนใบจะเกิดกระจายทัว่ ไป เนือ้ ใบแหงตายเปนสีฟางขาว ขอบแผลสีเขม จากการแยก เชือ้ สาเหตุของโรคพบเชือ้ Colletotrichum sp. การปองกันและกำจัดในเบือ้ งตนควรถอนและทำลาย เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543. 2. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/014.htm


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว สวนเหนือดิน หรือ ใบจะเก็บมาใชเมือ่ ตนมีอายุไดประมาณ 3-5 เดือน การเก็บเกีย่ ว: การเก็บเกี่ยวสวนเหนือดินฟาของสมุนไพรทะลายโจร ใหมีปริมาณสารสำคัญประเภทแลคโตน รวมสูง ควรเก็บเกีย่ วในชวงทีพ่ ชื เจริญเติบโตเต็มที่ คือชวงทีพ่ ชื ออกดอกนับตัง้ แตเริม่ ออกดอกจนถึงดอก บาน 50% ซึง่ พืชจะมีอายุประมาณ 110-150 วัน การออกดอกนีจ้ ะชาหรือเร็วขึน้ อยกู บั สภาวะแวดลอม วิธีเก็บเกี่ยวควรใชกรรไกรตัดหรือเคียวเกี่ยวทั้งตนใหเหลือตอสูง ประมาณ 5-10 เซนติเมตร เพื่อเลี้ยง ตนตอใหเจริญเติบโตใหผลผลิตในรนุ ตอไป โดยใชเวลาประมาณ 2-3 เดือน จึงสามารถเก็บเกีย่ วไดอกี ครัง้ ผลผลิต: สด 2-3 ตันตอไร แหง 0.5-1 ตันตอไร การปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว: การทำความสะอาดและการเตรียมสมุนไพรกอนทำใหแหง นำฟาทะลายโจรที่เก็บจากตนที่เจริญ เติบโตเต็มทีร่ ะยะเริม่ ออกดอกจนถึงดอกบาน 50% มาลางน้ำใหสะอาด ตัดหรือหัน่ ใหมคี วามยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร ผึง่ ใหสะเด็ดน้ำ แลวนำมาเกลีย่ บนภาชนะทีส่ ะอาด เชน กระดงหรือถาด การทำใหแหง โดยมากมักใชวธิ กี ารตาก ซึง่ ทำไดโดยคลุมภาชนะดวยผาขาวบางเพือ่ ปองกันฝนุ ละออง และกันการปลิวของสมุนไพร ตากจนแหงสนิท หรือใชวธิ กี ารอบทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียสใน 8 ชัว่ โมง แรก ตอไปใชอณ ุ หภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส อบจนแหงสนิท อัตราการทำแหง ผลผลิตสด : ผลผลิตแหง = 4 : 1 การบรรจุและการเก็บรักษา: เก็บใสถงุ พลาสติก ทำการปดปากถุงหรือมัดใหแนน หากมีปริมาณนอยควรเก็บในขวดแหงทีส่ ะอาด ปดฝาใหสนิท และเก็บในทีส่ ะอาด ไมควรเก็บวัตถุดบิ ไวใชนาน เนือ่ งจากไดมกี ารศึกษาพบวาปริมาณสาร สำคัญจะลดลงประมาณ 25% เมือ่ เก็บไวนาน 1 ป ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก ใหน้ำ ใหปุยอินทรีย ครั้งที่ 1 ใหปุยอินทรีย ครั้งที่ 2 เก็บเกี่ยว ครั้งที่ 1 เก็บเกี่ยว ครั้งที่ 2

ชวงเวลาที่ผลผลิตออกสูตลาด: ตลอดป

เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543. 2. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/014.htm

5


6

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

7. สารสำคัญในสมุนไพร สวนเหนือดินของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” มีสารสำคัญจำพวกไดเทอรปน แลคโตน (diterpene lactones) ทีม่ ฤี ทธิล์ ดไขและตานอักเสบหลายชนิด เรียงตามลำดับความแรงจากมากไปนอย ดังนี้ • แอนโดรกราโฟไลด (andrographolide) • นีโอแอนโดรกราโฟไลด (neoandrographolide) • ดีออกซีแอนโดรกราโฟไลด (deoxyandrographolide) • ดีออกซีไดดีไฮโดรแอนโดรกราโฟไลด (deoxy-didehydroandrographolide) สารแลคโตนอื่นๆ ที่พบในปริมาณนอย ไดแก สารจำพวก ดีออกซีออกโซแอนโดรกราโฟไลด (deoxy-oxo-andro-grapholide) ไดดีออกซีแอนโดรกราโฟไลด (dideoxy-andrographolide) ดี อ อกซี เ มธอกซี แ อนโดรกราโฟไลด (deoxy-methoxy-andrographolide) แอนโดรกราฟ ไ ซด (andrographiside) และดีออกซีแอนโดรกราฟไซด (deoxyandrographiside) นอกจากนี้ ยังพบสารสำคัญประเภทฟลาโวน (flavone) เชน โอรอกซิลิน (oroxylin) โวโกนิน (wogonin) และแอนโดรกราฟดนิ เอ (andrographidin A) เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทยเลมที่ 1 ฟาทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm f.) Nees. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2542. หนา 22-23.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) ไดกำหนดมาตรฐานของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ทีใ่ ชสำหรับ การผลิตยา ดังนี้ รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม ปริมาณความชื้น ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด ปริมาณสารสกัดดวย 85% เอธานอล ปริมาณสารสกัดดวยน้ำ ปริมาณแลคโตนรวมคำนวณเปนแอนโดรกราโฟไลด

ไมเกิน (%w/w) 2.0 11.0 2.0

ไมนอ ยกวา (%w/w)

13.0 18.0 6.0

เอกสารอางอิง 1. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. 1998. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. p. 24-31. 2. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทยเลมที่ 1 ฟาทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm f.) Nees. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2542. หนา 33-52.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง 9.1.1 ฤทธิ์ลดการบีบหรือหดเกร็งตัวของทางเดินอาหาร สารสกัดดวยแอลกอฮอลและสารสำคัญกลุม diterpene lactone ของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” สามารถชวยลดการบีบตัวของลำไสเล็กและกลามเนือ้ กระเพาะอาหารของหนูทดลองได(1,2) ฟาทะลายโจรยังสามารถลดความแรงในการหดตัวของลำไสเล็กสวน ileum ของหนูตะเภาที่ตอบสนอง ตอการกระตนุ ดวย acetylcholine histamine barium chloride และ dimethyl-4-phenyl-piperazinium ได(3) 9.1.2 ฤทธิป์ อ งกันการเกิดอาการทองเสีย สารสกัดดวยบิวทานอล, andrographolide และ neoandrographolide สามารถตาน ฤทธิ์ของ E. coli enterotoxin ซึ่งเปนสาเหตุของอาการทองเสียไดเนื่องจากชวยทำใหการสูญเสียน้ำ ทางลำไสลดลง(4) นอกจากนี้ สารสกัดดวย 85% แอลกอฮอลยังสามารถปองกันการเกิดอาการทองเสีย ในหนูถบี จักรทีไ่ ดรบั น้ำมันละหงุ หรือ magnesium sulfate ได(1) 9.1.3 ฤทธิล์ ดไขและตานการอักเสบ สถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทยศกึ ษาพบวาสารสกัดดวย 85% เอธานอล ของฟาทะลายโจรแสดงฤทธิล์ ดไขในกระตาย และสามารถตานการอักเสบในหนูขาวไดเมือ่ ศึกษาฤทธิใ์ นการลด อาการบวมขององุ เทาหลังของหนูหลังไดรบั สารคาราจีแนน (วิธี carrageenan-induced hind paw edema)(5) สารสกัดดวยแอลกอฮอลของสวนเหนือดินของสมุนไพรดังกลาว เมื่อใหทางปาก ในหนูขาวดวยปริมาณขนาด 500 มก./กก. ชวยลดไขเนือ่ งจากยีสตได โดยใหผลเทากับการไดรบั แอสไพริน ขนาด 200 มก./กก.(6) ผงใบฟาทะลายโจร สารสกัดดวยแอลกอฮอล และสารสกัดดวยน้ำของฟาทะลายโจร เมือ่ ใหทางปากในหนูขาว จะแสดงฤทธิต์ า นอักเสบเมือ่ ศึกษาดวยวิธี carrageenan-induced hind paw edema และมีฤทธิย์ บั ยัง้ การเคลือ่ นทีข่ องเม็ดเลือดขาว อีกทัง้ ยังมีฤทธิย์ บั ยัง้ การเกิด granuloma ดวย โดยสารสกัดดวยแอลกอฮอลมฤี ทธิต์ า นอักเสบไมแตกตางจากผงใบ สวนสารสกัดดวยน้ำมีฤทธิอ์ อ นทีส่ ดุ (7) กลไกการออกฤทธิต์ า นอักเสบของฟาทะลายโจร สวนหนึง่ อาจเนือ่ งมาจากฤทธิใ์ นการ ยับยัง้ การสราง nitric oxide (NO) จาก inflammatory macrophages ของ neoandrographolide(8) 9.1.4 ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย แมวา จะมีรายงานบางรายงานวาสารสกัดฟาทะลายโจรมีฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรียบางชนิดได แตรายงานการวิจยั หลายชิน้ ในประเทศไทยพบวา สมุนไพร “ฟาทะลายโจร” หรือสารสกัดหรือสารบริสทุ ธิ์ ของฟาทะลายโจรไมมฤี ทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรียทีท่ ำใหทอ งเสีย หรือทำใหเกิดโรคติดเชือ้ ของทางเดินหายใจ สวนบน หรือถาพบฤทธิย์ บั ยัง้ เชือ้ ก็จะเปนฤทธิท์ อี่ อ นตองใชความเขมขนของสารสกัดสูงเกินกวาทีจ่ ะมีความ สัมพันธกับระดับยาในเลือดหรือในทางเดินอาหารหลังรับประทานฟาทะลายโจร(9-13) อยางไรก็ตาม สารสกัดฟาทะลายโจรแสดงฤทธิต์ า นเชือ้ Porphylromonas gingivalis ซึง่ ทำใหเกิดโรค periodontitis ได และไดมกี ารนำไปพัฒนาเปนเจลสำหรับรักษาโรคดังกลาว(14) 9.1.5 ฤทธิก์ ระตนุ ภูมคิ มุ กัน จากการศึกษาผลของสารสกัดดวยแอลกอฮอลของฟาทะลายโจรและสาร andrographolide ตอระบบภูมิคุมกันของหนูถีบจักร พบวาสามารถกระตุนไดทั้งภูมิคุมกันแบบจำเพาะ คือ antibody response และ delayed type hypersentivity reaction รวมทัง้ ยังสามารถกระตนุ ภูมคิ มุ กัน

7


8

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

แบบไมจำเพาะดวย โดยการกระตนุ การเคลือ่ นทีแ่ ละ phagocytosis ของ macrophage, เพิม่ การแบงตัว ของ lymphocytes ทัง้ นี้ สารสกัดดวยแอลกอฮอลมฤี ทธิก์ ระตนุ ภูมคิ มุ กันทีแ่ รงกวา andrographolide (15) 9.1.6 ฤทธิป์ อ งกันตับจากสารพิษ (hepatoprotective effect) การวิจัยในหลอดทดลองและในสัตวทดลอง(16-26) แสดงใหเห็นวาสารสกัดดวยน้ำหรือ แอลกอฮอลของใบฟาทะลายโจร หรือสาร andrographolide สามารถปองกันตับจากสารพิษตางๆ ไดแก carbontetrachloride(16,18,19,21) galactosamine(17) paracetamol(17,20,22) ethanol(21) และ hexachlorocyclohexane (BHC)(24-26) ทัง้ นี้ แอนโดรกราโฟไลด ไดแสดงคุณสมบัตใิ นการออกฤทธิไ์ ดแรงกวา silymarin ซึง่ เปนยามาตรฐานรักษาโรคตับจากตน milk thistle (Silybum marianum) ในการปองกันพิษของยา พาราเซตามอลสงผลใหปริมาณน้ำดีและสารในน้ำดีลดลง(22) สวนการศึกษาพิษตอตับของคารบอนเตตราคลอไรดในหนูถีบจักร พบวาแอนโดร-กราโฟไซดและนีโอแอนโดรกราโฟไซดมฤี ทธิแ์ รงพอๆ กับยา silymarin ในการลดการเกิด degradation products จากกระบวนการ lipid peroxidation และลดการเพิม่ ของเอนไซม glutamate pyruvate transaminase และ alkaline phosphatase ในซีรมั่ ของหนูดว ย (23) 9.1.7 ฤทธิ์แอนติออกซิเดนท สารสกัดของฟาทะลายโจรแสดงฤทธิ์แอนติออกซิเดนท(27-30) และสารนีโอแอนโดร-กราโฟไลดแสดงฤทธิส์ ามารถตานอนุมลู อิสระ superoxide free radicals ได(31) 9.1.8 ฤทธิล์ ดน้ำตาลในเลือด สารสกัดดวยแอลกอฮอลของฟาทะลายโจรแสดงฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดในหนูขาว ทีถ่ กู ทำใหเปนเบาหวานจากการไดรบั สาร streptozotocin ได(30,32) เอกสารอางอิง 1. กัลยา อนุลักขณาปกรณ และ อุไรวรรณ เพิ่มพิพัฒน ฤทธิ์ของฟาทะลายโจรในการลดการบีบตัวของลำไสเล็กและปองกันการ เกิดทองเสียในสัตวทดลอง วารสารกรมวิทยาศาสตรการแพทย 2540; 39(1): 23-33. 2. วนิดา แสงอลังการ และคณะ ผลของ Andrographolide, Neoandrographolide และ 14-deoxy-11,12-didehydroandrographolide ตอการหดเกร็งของกลามเนื้อกระเพาะอาหารหนูขาวนอกรางกาย ไทยเภสัชสาร 2533; 15(1): 5-16. 3. โสภิต ธรรมอารี, จันทิมา ปโชติการ, มณฑิรา ตัณฑเกยูร และคณะ. ฤทธิ์ของยาสมุนไพร 30 ชนิดที่มีสรรพคุณในการรักษา โรคทองรวงและบิดตอการบีบตัวของลำไสเล็กหนูตะเภา. จุฬาลงกรณเวชสาร. 2528; 29(1): 39-51. 4. Gupta S, Choudhry MA, Yadava JNS, et al. Antidiarrhoeal activity of diterpenes of Andrographis paniculata (Kal-Megh) against Escherichia coli enterotoxin in in vivo models. Int. J. Crude Drug Res. 1990; 28(4): 273-283. 5. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย คูมือสมุนไพรเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน. Text and Journal Corporation, 2533; กรุงเทพ, หนา 38-39. 6. Vedavathy S, Rao KN. Antipyretic activity of six indigenous medicinal plants of Tirumala Hills, Andhra Pradesh, India. J Ethnopharmacol. 1991; 33: 193-6. 7. เสาวภา ลิมปพานิชกุล. การศึกษาฤทธิต์ า นการอักเสบของสมุนไพรฟาทะลายโจรในหนูขาว. วิทยานิพนธวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต สหสาขาวิชาเภสัชวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2532. 95 หนา 8. Batkhuu J, Hattori K, Takano F, et al. Suppression of NO production in activated macrophages in vitro and ex vivo by neoandrographolide isolated from Andrographis paniculata. Biol Pharm Bull. 2002; 25(9): 1169-74. 9. วิษณุ ธรรมลิขติ กุล, สุรภี พฤกษชาติวฒ ุ ิ. การศึกษาฤทธิ์ตานแบคทีเรียของสมุนไพรฟาทะลายโจร. สารศิริราช 2533; 42(8): 431-434. 10. Leelarasamee A, Trakulsomboon S, Sittissomwong N. Undetectable anti-bacterial activity of Andrographis paniculata (Burm.) Wall. ex Nees. J Med Assoc Thai 1990; 73 (6): 299-304.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

11. ธิดารัตน ปลื้มใจ ฤทธิ์ตานเชื้อจุลินทรียของฟาทะลายโจร. ว กรมวิทย พ. 2535; 34(4): 9-15. 12. จริยา สินเดิมสุข. ฤทธิ์ในการตานแบคทีเรียของสารสกัดบริสุทธิ์จากสมุนไพรฟาทะลายโจร (Andrographis paniculata) ตอเชื้อโรคทองรวงที่พบมากในประเทศไทย. วารสารกรมการแพทย 2536; 18 (8): 394-400. 13. นวลตา มวงนอยเจริญ, อัญชลี ตัตตะวะศาสตร, วิชัย ปราสาททอง และคณะ รายงานการวิจัย เรื่อง ความสัมพันธระหวาง สวนประกอบทางเคมีของฟาทะลายโจรและผลทางการรักษาโรค. เสนอตอสำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติและ Deutsche Forschungsgemeinschaft. 2538. 14. http://www.mahidol.ac.th/mahidol/spectrum/page3_vol9_no1.htm Accessed on January 30, 2003. MU researchers develop Andrographis paniculata gel for treating periodontitis. 15. Puri A et al. Immunostimulant agents from Andrographis paniculata. J. Nat. Prod. 1993, 56: 995-999. 16. Choudhury BR, and Poddar MK. 1984. Andrographolide and kalmegh (Andrographis paniculata) extract: in vivo and in vitro effect on hepatic lipid peroxidation. Methods Find Exp Clin Pharmacol 6(9): 481-485. 17. Handa SS, and Sharma A. 1990. Hepatoprotective activity of andrographolide against galactosamine & paracetamol intoxication in rats. Ind J Med Res 92: 284-292. 18. Handa SS, and Sharma A. 1990. Hepatoprotective activity of andrographolide from Andrographis paniculata against carbontetrachloride. Ind J Med Res 92: 276-283. 19. Ana AC, and Avadhoot Y. 1991. Hepatoprotective effect of Andrographis paniculata against carbon tetrachloride-induced liver damage. Arch Pharm Res 14(1): 93-95. 20. Shukla B, Visen PK, Patnaik GK, and Dhawan BN. 1992. Choleretic effect of andrographolide in rats and guinea pigs. Planta Med 58(2): 146-149. 21. Udomusksorn W. 1993. Effect of andrographolide and Andrographis paniculata on ethanol hepatotoxicity in rats. MS Thesis, Chulalongkorn University, Bangkok. 155 pages. 22. Visen PK, Shukla B, Patnaik GK, and Dhawan BN. 1993. Andrographolide protects rat hepatocytes against paracetamol-induced damage. J Ethnopharmacol 40(2): 131-136. 23. Kapil A, Koul IB, Banerjee SK, and Gupta BD. 1993. Antihepatotoxic effects of major diterpenoid constituents of Andrographis paniculata. Biochem Pharmacol 46(6): 182-185. 24. Trivedi N, and Rawal UM. 1998. Effect of aqueous extract of Andrographis paniculata on liver tumor. Ind J of Pharmacol 30: 318-322. 25. Trivedi N, and Rawal UM. 2000. Hepatoprotective and toxicological evaluation of Andrographis paniculata on severe liver damage. Ind J Pharmacol 32: 288-293. 26. Trivedi NP, and Rawal UM. 2001. Hepatoprotective and antioxidant property of Andrographis paniculata (Nees) in BHC induced liver damage in mice. Ind J Exp Biol 39(1): 41-46. 27. Suttajit M, Immak K, Sukonpradit R, and Suttajit S. 1998. Antioxidative activity in medicinal herbs for HIV-infected patients. Proceeding of the 9th Annual Technical Meeting of the Department of Medical Sciences. p. 53. 28. Chanwitheesuk A, Rakariyatham N, Teerawutgulrag A, and Wonchanapiboon T. 2002. Screening of antioxidants from some Thai vegetables and herbs. Chiang Mai J Sci 29(1): 1-5. 29. Singh RP, Banerjee A, and Rao AR. 2001. Modulatory influence of Andrographis paniculata on mouse hepatic and extrahepatic carcinogen metabolizing enzymes and antioxidant status. Phytother Res 15: 382-390. 30. Zhang XF, and Tan BK. 2000. Antihyperglycaemic and anti-oxidant properties of Andrographis paniculata in normal and diabetic rats. Clin Exp Pharmacol Physiol 27(5-6): 358-363. 31. Kamdem RE, Sang S, and Ho CT. 2002. Mechanism of superoxide scavenging activity of neoandrographolide – a natural product from Andrographis paniculata Nees. J Agric Food Chem 50(16): 4662-4665. 32. Zhang XF, and Tan BK. 2000. Anti-diabetic property of ethanolic extract of Andrographis paniculata in streptozotocin-diabetic rats. Acta Pharmacol Sin 21(12): 1157-1164.

9


10

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การศึกษาประสิทธิผลในการรักษาโรคอุจจาระรวงและบิดแบคทีเรีย การศึกษาประสิทธิผลในการรักษาโรคอุจจาระรวงและบิดแบคทีเรีย มีการทดลองใช ผงสมุนไพรทีเ่ ตรียมจากสวนเหนือดินของฟาทะลายโจรเทียบกับยาเตตราซัยคลินในการรักษาโรคอุจจาระ รวง และบิดแบคทีเรีย (bacillary dysentery) โดยใหยา 2 ขนาด คือ 500 มิลลิกรัมทุก 6 ชัว่ โมง และ 1 กรัมทุก 12 ชั่วโมง พบวาฟาทะลายโจรทั้งสองขนาดสามารถลดจำนวนอุจจาระรวง (ทั้งความถี่และ ปริมาณ) และจำนวนน้ำเกลือทีใ่ หทดแทนไดอยางนาพอใจ แมวา จะไมแตกตางกันอยางมีนยั สำคัญทางสถิติ ฟาทะลายโจรสามารถทำลายเชื้อชิเจลลาที่กอโรคบิดแบคทีเรียไดดีกวาเตตราซัยคลิน แตทำลายเชื้อ อหิวาตกโรคไดไมดเี ทาเตตราซัยคลิน อยางไรก็ตาม ฟาทะลายโจรชวยใหผปู ว ยอหิวาตกโรคถายนอยกวา กลุมที่ไดเตตราซัยคลินอยางมีนัยสำคัญ(33) มีรายงานการวิจัยฤทธิ์ของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ในการบรรเทาอาการทองเดินใน กระตายและหนูตะเภาจากการไดรบั สารเอนเทอโรท็อกซิน (enterotoxin) ทีม่ าจากแบคทีเรียอีโคไล (E. coli) เปรียบเทียบกับยาโลเพอราไมด (Loperamide) ซึ่งเปนตัวยาในยา Imodium ซึ่งเปนยาแผนปจจุบัน ในการรักษาแกทอ งเดินทีใ่ ชกนั แพรหลาย พบวาแอนโดรกราโฟไลดและนีโอแอนโดรกราโฟไลดมฤี ทธิพ์ อๆ กับโลเพอราไมด ในการลดการสูญเสียน้ำในลำไสจากอีโคไลเอนเทอโรท็อกซิน(4) 9.2.2 การศึกษาประสิทธิผลของฟาทะลายโจรในการรักษาอาการไขเจ็บคอ (Pharyngotonsillitis) เมือ่ ใหผปู ว ยทีม่ อี าการไขเจ็บคอรับประทานฟาทะลายโจรแคปซูลในขนาด 3 กรัม/วัน หรือ 6 กรัม/วัน แบงใหวนั ละ 4 ครัง้ ติดตอกัน 7 วัน เปรียบเทียบกับกลมุ ทีไ่ ดรบั พาราเซตามอลขนาด 3 กรัม/วัน พบวาในวันที่ 3 หลังรักษา ผปู ว ยทีไ่ ดรบั ยาพาราเซตามอลหรือฟาทะลายโจรขนาด 6 กรัม/วัน หายจากไขและอาการเจ็บคอไดมากกวากลุมที่ไดฟาทะลายโจรขนาด 3 กรัม/วันอยางมีนัยสำคัญ แต ผลการรักษาไมมคี วามแตกตางกันในวันที่ 7(34) 9.2.3 การศึกษาประสิทธิผลในการบรรเทาอาการหวัด ตอมามีรายงานการวิจัยทางคลินิกในตางประเทศ โดยทดลองใหสารสกัดสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ทีค่ วบคุมปริมาณสารสำคัญแอนโดรกราโฟไลด (andrographolide) 4% ในขนาด 1200 มิลลิกรัมตอวัน แกผปู ว ยโรคหวัด (common cold) 28 คน แลววัดผลในวันที่ 4 หลังไดรบั ยา พบวา สารสกัดจากสมุนไพรดังกลาวสามารถลดอาการเจ็บคอ เหนือ่ ย ออนเพลีย ปวดเมือ่ ยกลามเนือ้ ได เมือ่ เทียบ กับกลมุ ควบคุมทีไ่ ดรบั ยาหลอก 33 ราย โดยไมรายงานอาการขางเคียงจากการใชยา(35) ตอมามีการทดลองใหยาเม็ดฟาทะลายโจรซึง่ มีสารสกัด 100 มก./เม็ด ทีค่ วบคุมใหมี ปริมาณของสารสำคัญแอนโดรกราโฟไลดและดีออกซีแอนโดรกราโฟไลดรวมกันไมนอ ยกวา 5 มก./เม็ด จำนวนครัง้ ละ 4 เม็ด วันละ 3 เวลา ในผปู ว ยทีเ่ ปนไขหวัด 102 คน เทียบกับกลมุ ทีไ่ ดรบั ยาหลอก 106 คน โดยใหผปู ว ยระบุความรุนแรงของแตละอาการเมือ่ เริม่ ใหยา และหลังไดรบั ยา 2 วัน และ 4 วันตามลำดับ โดยทำเครือ่ งหมายลงบนเสนตรงยาว 10 ซม. ทีแ่ บงจาก 0-10 (0 หมายถึงไมมอี าการ และ 10 หมายถึง อาการรุนแรงทีส่ ดุ ) พบวา วันที่ 2 หลังไดรบั ยา ความรุนแรงของอาการออนเพลีย นอนไมหลับ เจ็บคอ น้ำมูกไหล ในกลมุ ทีไ่ ดรบั ยาฟาทะลายโจรนอยกวากลมุ ควบคุมอยางมีนยั สำคัญ และในวันที่ 4 หลังไดรบั ยา ความรุนแรงของทุกอาการไดแก อาการไอ (ทัง้ ความแรงและความถี)่ เสมหะ น้ำมูกไหล ปวดศีรษะ ออนเพลีย ปวดหู นอนไมหลับ เจ็บคอ ในกลมุ ทีไ่ ดรบั ยาฟาทะลายโจรนอยกวากลมุ ควบคุมอยางมีนยั สำคัญ(36) ®


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

สำหรับการวิจัยฤทธิ์ปองกันโรคหวัดนั้น รายงานงานวิจัยในตางประเทศที่ทำใน นักเรียน 107 คน ในฤดูหนาว โดยการใหสารสกัดฟาทะลายโจรที่ควบคุมปริมาณสารสำคัญแอนโดร-กราโฟไลด (andrographolide) 4% ในขนาด 200 มิลลิกรัมตอวัน หรือยาหลอก นาน 3 เดือน พบวาการ เกิดโรคหวัดไมแตกตางกันระหวางทัง้ 2 กลมุ ในชวง 2 เดือนแรก แตหลังจาก 3 เดือน พบวาอัตราการเกิด หวัดในกลุมที่ไดรับฟาทะลายโจรมีโอกาสเปนโรคหวัดนอยกวากลุมควบคุมอยางมีนัยสำคัญ (30%) เทียบกับ 62% ในกลมุ ยาหลอก(37) การทีส่ มุนไพร “ฟาทะลายโจร” ทำใหอาการของโรคหวัด เชน อาการเจ็บคอ ออนเพลีย ปวดเมือ่ ยกลามเนือ้ หรืออาการของไซนัสอักเสบลดลงและหายหวัดเร็วขึน้ ไดนนั้ ไมนา จะมาจากฤทธิต์ า น เชื้อแบคทีเรีย เพราะรายงานการศึกษาทางจุลชีววิทยาหลายรายงานพบวาฟาทะลายโจรหรือสารกลุม แลคโตนในฟาทะลายโจรไมมีฤทธิ์หรือมีฤทธิ์ออนมากในการฆาเชื้อแบคทีเรียทั้งชนิดที่กอโรคติดเชื้อของ ระบบทางเดินหายใจสวนตน ดังนั้นสรรพคุณของฟาทะลายโจรในการบรรเทาอาการของโรคหวัดนาจะ มาจากฟาทะลายโจรและสารสำคัญในสมุนไพรนี้มีฤทธิ์ลดไขและตานอักเสบ รวมทั้งฤทธิ์ในการกระตุน ภูมิคุมกันมากกวาฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย 9.2.3 ฤทธิป์ อ งกันการติดเชือ้ ในทางเดินปสสาวะ มีการทดลองใชสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ในการปองกันการติดเชือ้ ในทางเดินปสสาวะ หลังจากการทำ extracorporeal shock wave lithotripsy พบวาหลังไดรบั ยาไป 1 เดือน ฟาทะลายโจร ในขนาด 100 มิลลิกรัม วันละ 3 ครัง้ ไดผลดีพอ ๆ กับ cotrimoxazole ขนาด 50 มิลลิกรัม วันละ 2 ครัง้ หรือ norfloxacin 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครัง้ ในการลดหนอง เลือด หรือโปรตีนในปสสาวะ(38) 9.2.4 ฤทธิร์ กั ษาโรค Periodontitis จากการศึกษาประสิทธิผลของยาอมใตลิ้น (sublingual administration) ของเจล ฟาทะลายโจรซึง่ ใชเปน adjunct ในการรักษาโรค periodontitis เปรียบเทียบกับยา metronidazole gel ในผปู ว ย 10 รายทีม่ ี periodontitis รวม 60 pockets นาน 49 วัน พบวาเจลฟาทะลายโจรใหผล adjunctive effect ไดเทียบเทากับ metronidazole ทั้งนี้ ยังไดแสดงผลตานจุลินทรียดีกวา minocycline gel เมือ่ ใชใน root planing(39, 40) เอกสารอางอิง 33. ปญจางค ธนังกูล และชัยโย ชัยชาญทิพยุทธ. การศึกษาทางคลินกิ ของสมุนไพรฟาทะลายโจรในโรคอุจจาระรวงและบิดแบคทีเรีย. รามาธิบดีเวชสาร, 2528; 8(2): 57-61. 34. Thamlikitkul, V. et al., Efficacy of Andrographis paniculata Nees for pharyngotonsillitis in adults. J. Med. Assoc. Thai. 1991; 74(10): 433-442. 35. Hancke J, Burgos R, Caceres D, et al. A double-blind study with a new monodrug Kan Jang: Decrease of symptoms and improvement in the recovery from common cold. Phytother. Res. 9: 559-562, 1995. 36. Caceres, D.D. et al. Use of visual analogue scale measurement (VAS) to assess the effectiveness of standardized Andrographis paniculata extract SHA-10 in reducing the symptoms of common cold. A randomized double blind-placebo study. Phytomedicine 1999; 64: 217-223. 37. Caceres, D.D. et al. Prevention of common colds with Andrographis paniculata dried extract. A pilot double-blind study. Phytomedicine 1997, 4: 101-104. 38. Muangman V, Viseshsindh V, Ratana-Olarn K, and Buadilok S. 1995. The usage of Andrographis paniculata following extracorporeal shock wave lithotripsy (ESWL). J Med Assoc Thai 78(6): 310-313. 39. Rassameemasmaung S, Sirirat M, Komwatchara T, Rojanapanthu P, et al. 1998. Subgingival administration of Andrographis paniculata gel as an adjunct in the treatment of adult periodontitis. Mahidol J 5(1): 9-15.

11


12

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

40. Atsawasuwan P, Sirirat M, Amornchat C, Yudhasarasitihi S, et al. 1998. Subgingival administration of Andrographis paniculata gel and metronidazole gel as an adjunct in the treatment of adult periodontitis: clinical and microbiological effects. Mahidol J 5(2): 97-101.

10. การศึกษาทางพิษวิทยา 10.1 การศึกษาความเปนพิษเฉียบพลันและพิษเรือ้ รัง สารสกัดดวย 50 % แอลกอฮอลของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ไมทำใหเกิดอาการพิษเฉียบพลัน ในหนูถบี จักร และมีขนาดของ LD50 เมือ่ ใหทางปากและใตผวิ หนังมากกวา 15 กรัม/กิโลกรัม และเทากับ 14.98 กรัม/กิโลกรัมเมือ่ ใหทางชองทอง(41) ผลการศึกษาพิษระยะยาวของผงฟาทะลายโจรในหนูขาวพันธวุ สิ ตาร เมือ่ ใหทางปากในขนาด 0.12, 1.2 และ 2.4 ก./กก./วัน ติดตอกันนาน 6 เดือน พบวาไมกอ ใหเกิดพิษในหนูขาว(41) 10.2 การศึกษาความเปนพิษตอระบบสืบพันธขุ องหนูเพศผแู ละเพศเมีย จากการศึกษาความเปนพิษของสารสกัดดวย 70% อัลกอฮอลของสมุนไพร “ฟาทะลายโจร” ทีม่ ตี อ ระบบสืบพันธขุ องหนูเพศผู โดยใหสารสกัดทางปากนาน 60 วัน พบวาไมกอ ใหเกิดพิษตออัณฑะ และไมทำใหเกิดการเปลีย่ นแปลงของรูปรางหรือหนาทีข่ อง Leydig cells(42) มีรายงานการศึกษาวาเมื่อฉีดน้ำตมฟาทะลายโจรเขมขน 50% ทางชองทองแกหนูถีบจักร มีผลทำใหหนูแทงได และถาฉีด progesterone รวมกับฮอรโมน LH-RH พรอมกับใหฟาทะลายโจร จะปองกันการแทงในชวงระยะแรกของการตั้งครรภได จึงคิดวาฟาทะลายโจรอาจมีผลตานฤทธิ์ของ progesterone จึงทำใหเกิดการแทงขึน้ (43) แตเมือ่ ใหสารสกัดใบฟาทะลายโจรทีม่ ี andrographolide 4.6% & 14-deoxy-andrographolide 2.3% (หรือคิดเปน total andrographolids 6.9%) ทางปากแกหนูขาว ในขนาด 200-2000 มก./กก. ในชวง 19 วันแรกของการตัง้ ครรภ ไมมผี ลตอระดับของ progesterone ที่สูงขึ้นในเลือดของหนูที่ตั้งครรภ ดังนั้นฟาทะลายโจรจึงไมนาออกฤทธิ์ผานการยับยั้ง progesterone ในการทำใหหนูแทง(44) เอกสารอางอิง 41. นาถฤดี สิทธิสมวงศ และคณะ พิษเฉียบพลันและกึง่ เรือ้ รังของฟาทะลายโจร ว. ไทยเภสัชสาร 2532; 14(2): 109-118. 42. Burgos RA, Caballero EE, Sanche NS, et al. Testicular toxicity assesment of Andrographis paniculata dried extract in rats. J. Ethnopharmacol. 1997; 58: 219-224. 43. Beijing Medical College, Physiology Department: Experimental observation on the termination of pregnancy by the Andrographis herb (Andrographis paniculata N.). Acta Physiologica Sinica. 1978; 30(1): 75-80. 44. Panossian A., Kochkian A, Gabrielian E, et al. Effect of Andrographis paniculata extract on progesterone in blood plasma of pregnant rats. Phytomedicine. 1999; 6(3): 157-162.

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: 1. หามใชในผูที่มีอาการแพฟาทะลายโจร(45) 2. ประสิทธิผลในการบรรเทาอาการไขเจ็บคอของฟาทะลายโจร นาจะเกิดจากฤทธิล์ ดไขและฤทธิ์ ตานการอักเสบมากกวาฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรีย(9-13) ดังนัน้ เพือ่ ปองกันไมไหผปู ว ยไดรบั อันตราย


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ทีเ่ กิดจากการติดเชือ้ แบคทีเรีย Streptococcus group A ซึง่ อาจทำใหเกิดภาวะแทรกซอน ทีร่ นุ แรงตามมา เชน ไขรหู ม าติค โรคหัวใจ รูหม าติค และไตอักเสบ จึงมีขอ หามใชฟา ทะลายโจร สำหรับแกเจ็บคอในกรณีตา งๆ ตอไปนี้(46) • ในผปู ว ยทีม่ อี าการเจ็บคอเนือ่ งจากติดเชือ้ Streptococcus group A • ในผูปวยที่มีประวัติเปนโรคไตอักเสบเนื่องจากเคยติดเชื้อนี้ • ในผูปวยที่มีประวัติเปนโรคหัวใจรูหมาติค • ในผปู ว ยทีม่ อี าการเจ็บคอเนือ่ งจากมีการติดเชือ้ แบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เชน มีตมุ หนองใน คอ มีไขสงู หนาวสัน่ ขอควรระวังและอาการขางเคียง: 1. ฟาทะลายโจรอาจทำใหเกิดอาการแพ (allergic reaction) ไดตงั้ แตอาการผืน่ คัน ลมพิษ จนถึง อาการแพขนั้ รุนแรงแบบ anaphylactic shock ถาใหโดยการฉีดหรือในขนาดสูง(45) 2. ในผปู ว ยบางราย ฟาทะลายโจรอาจทำใหเกิดอาการปวดทอง ทองเดิน ปวดเอว หรือวิงเวียนศีรษะ ใจสั่น หากมีอาการดังกลาวควรหยุดใชฟาทะลายโจรและเปลี่ยนไปใชยาอื่นแทน(45-47) 3. หากใชฟาทะลายโจรติดตอกันเปนเวลานาน อาจทำใหแขนขามีอาการชาหรือออนแรง(27) 4. หากใชฟา ทะลายโจรติดตอกัน 3 วัน แลวไมหาย หรือมีอาการรุนแรงขึน้ ระหวางใชยา ควรหยุดใช และไปพบแพทย(46) 5. เนือ่ งจากมีรายงานวาฟาทะลายโจร ทำใหเกิดทดลองเกิดการแทงได ดังนัน้ องคการอนามัยโลก จึงแนะนำวาสตรีมีครรภไมควรใชฟาทะลายโจร(45)

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช:(33,34,36,46,48) แกไขเจ็บคอ (pharyngotonsillitis), แกทอ งเสีย รูปแบบและความแรง: แคปซูล ยาเม็ด ยาเม็ดลูกกลอน 250 และ 500 มก. ของฟาทะลายโจรแหง ขนาดทีใ่ ชและวิธใี ช: 6-9 กรัมตอวัน(46,49) โดยแบงใหวนั ละ 4 ครัง้ หลังอาหารและกอนนอน การใชแบบพืน้ บาน:(50) วิธีและปริมาณที่ใช ถาใชในการรักษา แกไขเปนหวัด ปวดหัวตัวรอน ใชใบและกิง่ ของฟาทะลายโจร 1 กำมือ (แหงหนัก 3 กรัม สดหนัก 25 กรัม) ตมน้ำดืม่ กอนอาหาร วันละ 2 ครัง้ เชา-เย็น หรือเวลามีอาการ ถาใชแกทอ งเสีย ทองเดิน เปนบิดมีไข ใชทงั้ ตน หรือสวนทัง้ 5 ของฟาทะลายโจร ผึง่ ลมใหแหง หัน่ ชิน้ เล็กๆ ประมาณ 1 กำมือ (หนักประมาณ 3-9 กรัม) ตมเอาน้ำดืม่ ตลอดวัน

13


14

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ตำรับยาและวิธีการใช ยาชง มีวธิ ที ำดังนี้ เอาใบสดหรือแหงก็ได ประมาณ 5-7 ใบ แตใบสดจะดีกวา เติมน้ำเดือดลงจนเกือบเต็มแกว ปดฝาทิง้ ไวประมาณครึ่งชั่วโมงหรือพอยาอุนแลวรินเอามาดื่ม ขนาดรับประทานครั้งละ 1 แกว วันละ 3-4 ครั้ง กอนอาหารและกอนนอน ยาเม็ด (ลูกกลอน) มีวธิ ที ำดังนี้ เด็ดใบสดมาลางใหสะอาด ผึง่ ในทีร่ ม หามตากแดด ควรผึง่ ในทีม่ ลี มโกรก ใบจะไดแหงเร็ว นำใบ ทีไ่ ดบดเปนผงใหละเอียด ปน กับน้ำผึง้ หรือน้ำเชือ่ ม เปนเม็ดขนาดเทาเม็ดถัว่ เหลือง (หนัก 250 มิลลิกรัม) แลวผึง่ ลมใหแหง เพราะถาปน รับประทานขณะทีย่ งั เปยกอยจู ะขมมาก ขนาดรับประทานครัง้ ละ 4-10 เม็ด วันละ 3-4 ครัง้ กอนอาหารและกอนนอน แคปซูล มีวธิ ที ำดังนี้ แทนที่ผงยาที่ไดจะปนเปนยาเม็ดกลับเอามาใสในแคปซูล เพื่อชวยกลบรสขมของยา แคปซูลที่ใช ขนาดเบอร 2 (ผงยา 250 มิลลิกรัม) ขนาดรับประทานครัง้ ละ 3-5 แคปซูล วันละ 3-4 ครัง้ กอนอาหาร และหลังอาหาร ยาทิงเจอรหรือยาดองเหลา เอาผงแหงใสขวด แชสรุ าทีแ่ รงๆ เชน สุราโรง 40 ดีกรี ถามีแอลกอฮอลทรี่ บั ประทานได (Ethyl alcohol) จะดีกวาเหลา แชพอใหทวมยาขึ้นมาเล็กนอย ปดฝาใหแนน เขยาขวดวันละ 1 ครั้ง พอครบ 7 วัน จึงกรองเอาแตน้ำ เก็บไวในขวดสะอาดปดสนิท รับประทานครั้งละ 1-2 ชอนโตะ (รสขมมาก) รับประทานวันละ 3-4 ครัง้ กอนอาหาร ยาผงใชสูดดม คือเอาผงยาทีบ่ ดละเอียดมาใสขวดหรือกลองยา ปดฝาเขยาแลวเปดฝาออก ผงยาจะเปนควันลอยออก มา จากนัน้ จึงสูดดมควันนัน้ เขาไป ผงยาจะติดคอทำใหยาไปออกฤทธิท์ คี่ อโดยตรง ชวยลดเสมหะ และ แกเจ็บคอไดดี วิธนี ดี้ กี วาวิธเี ปาคอ กวาดคอ หรือรับประทานยาชง ตรงทีค่ อจะรสู กึ ขมนอยมาก ไมทำใหขยาด เวลาใช ใชสะดวกและงายมาก ประโยชนทนี่ า จะไดรบั เพิม่ ก็คอื ผงยาทีเ่ ขาไปทางจมูกอาจจะชวยลดน้ำมูก และชวยฆาเชือ้ ทีจ่ มูกดวย ขนาดทีใ่ ชสดู ดมบอยๆ วันละหลายๆ ครัง้ ถารสู กึ คลืน่ ไสใหหยุดยาไปสักพัก จนเมื่อความรูสึกนี้หายไปจึงคอยสูดดมใหม เอกสารอางอิง 45. World Health Organization. Herba Andrographidis. In: WHO monographs of selected medicinal plants. Vol. 2. 2002. p. 12-24. 46. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 1 ฟาทะลายโจร Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก 2542 กรุงเทพ 63 หนา 47. สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน. กระทรวงสาธารณสุข. ฟาทะลายโจร ใน : สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน (ฉบับปรับปรุง). พิมพครัง้ ที่ 3 โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก 2542 กรุงเทพ หนา 118-121. 48. The Pharmacopoeia Commission of the Ministry of Public Health of PRC Herba Andrographitis. In: Pharmacopoeia of the People’s Republic of China (English Edition), Guoshi, T.U. ed. Lie Yung & Young Creation, Hong Kong 1988; 61-62. 49. สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน. กระทรวงสาธารณสุข. ฟาทะลายโจร ใน : สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน สำหรับบุคลากรสาธารณสุข. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก 2533 กรุงเทพ หนา 112-113. 50. สรรพคุณสมุนไพร 200 ชนิด เภสัชกรหญิงสุนทรี สิงหบุตรา 2533.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

13. ขอมูลการตลาด มีการนำสารสกัดหรือสมุนไพรฟาทะลายโจรไปผสมกับสมุนไพรหรือวิตามินอืน่ ๆ เชน Echinacea vitamin C เพือ่ ผลิต dietary supplement เสริมภูมคิ มุ กันและปองกันโรคหวัดหลายผลิตภัณฑ ซึง่ ใน ตลาดสหรัฐอเมริกามีผลิตภัณฑเหลานัน้ มากกวาใชเปนสมุนไพรฟาทะลายโจรเดีย่ วๆ ตัวอยางราคาขายของ Andrographis paniculata ทีส่ บื คนทางอินเทอรเน็ต Website www.iherb.com

Brand Planetary Formula

www.phuketherb. Andrographis tea com www.china-guide. Chuan Xin Lian com (Andrographis Tablet)

Swedish Herbal Institute www.globalherbal supplies.com

Kan Jang Cold & Flu Andrographis

Products Andrographis Standardized Extract (10% andrographolides) 300 mg Andrographis Herb 100 mg Andrographis herb 1 g/sachet 20 sachets/pack concnetrated herbal extract consisting of andrographis leaves (Andrographis paniculata), dandelion (Taraxacum mongolicum) and woad root (lstatis tinctoria). 250 mg Andrographis Paniculata 300 mg Andrographis Paniculata liquid herbal extract

รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

Size 120

Price $16.98

20 $2.32sachets 2.90 100 $6.95 tablets

40 $11.68Tablets 15.95 200 ml $14.89

15


16

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

สมแขก 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชือ่ สามัญ:

สวนที่ใช: หมายเหตุ:

ชนิดที่ 1 Garcinia atroviridis Griff. Ex T. Anderson ชนิดที่ 2 Garcinia cambogia Desr. Guttiferae ชนิดที่ 1 สมแขก มะขามแขก ชะมวงชาง สมมะวน สมควาย สมพะงุน อาแซกะลูโก ชนิดที่ 2 สมแขก, Gamboge ผล ชนิดแรกเปนชนิดทีพ่ บมากในประเทศไทย สวนชนิดที่ 2 เปนชนิดทีม่ กี ารใช กันมากในตลาดโลกและมีอนิ เดียเปนผสู ง ออกรายใหญ

เอกสารอางอิง 1. ลีนา ผพู ฒ ั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต และธีรวัฒน บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธิการ). ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตนิ นั ทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544) สำนักวิชาการปาไม. กรมปาไม. 2544. พิมพครัง้ ที่ 2. บริษทั ประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ. หนา 246.

2. ลักษณะพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร: สมุนไพร “สมแขก” เปนไมยืนตนสูงประมาณ 6-12 เมตร ลักษณะใบเปนใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปขอบขนานแคบ กวาง 3-5 ซม. ยาว 12-20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรูปลิม่ มีสเี ขียวเขมและ ใบออนสีแดง กานใบยาว 1.5-2 ซม. ทัง้ นี้ สมแขกมีดอกแยกเพศ ดอกตัวผมู ลี กั ษณะเปนกระจุก 2-3 ดอก มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 3 ซม. และกลีบเลีย้ งชัน้ นอกรูปขอบขนานหรือรูปโล ชัน้ ในขอบกลีบบางขนาด ใหญกวากลีบดอกรูปไขกลับแกมรูปโล ขนาดใหญสแี ดงเลือดนก รวมถึงกานชูอบั เรณูเรียวยาว เรียงเปน วงติดอยูบนฐานรองดอกมีเนื้ออับเรณูรูปขอบขนานแคบ ในขณะที่ดอกตัวเมียเปนดอกเดี่ยวที่ปลายกิ่ง กลีบเลีย้ งและกลีบดอกลักษณะคลายในดอกตัวผแู ตกลีบดอกมีขนาดเล็กกวา เกสรตัวผทู เี่ ปนหมันติดอยู บนแอนนูลสั รังไขจะมีลกั ษณะเปนรูปทรงกระบอก มีสนั ผลรูปกลมแปน มีสนั และรองจำนวนมาก สีเหลือง แกมสมสด ฉ่ำน้ำ รสเปรีย้ วจัด เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ชประโยชน: สรรพคุณ: • ราก แกปวดหู • ใบ แกปวดหู

ผล สรรพคุณ : ลดน้ำหนัก

เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพนื้ บาน (4). บริษทั ประชาชน จำกัด กรุงเทพฯ. 2543. หนา 452.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ การเตรียมพันธ:ุ การขยายพันธดุ ว ยการใชเมล็ด จะไดตน พันธทุ งั้ ตนตัวผแู ละตนตัวเมีย ในการใหผลจะใหเฉพาะตน ตัวเมีย เพือ่ ลดการเสีย่ งควรทำการเสียบยอดพันธดุ ขี องตนตัวเมียบนตนตอทีเ่ พาะจากเมล็ดอีกครัง้ อัตราการใชพนั ธ:ุ ใชพนั ธสุ ม แขก 16 ตน/ไร เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ.กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543.

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก แหลงกำเนิด: โดยมาก สมุนไพร “สมแขก” พบมากทางตอนเหนือของประเทศพมา และมาเลเซีย ในประเทศไทย มักพบในพืน้ ทีท่ างภาคใต เชน ยะลา ปตตานี สตูล นราธิวาส พังงา ภูเก็ต กระบี่ ชุมพร และระนอง เอกสารอางอิง 1. สำนักงานสงเสริมการเกษตรภาคใต. อนุรกั ษพนั ธพุ ชื ไทย. (อัดสำเนา).

สภาพแวดลอมที่เหมาะสม: สมุนไพร “สมแขก” มักเจริญเติบโตในบริเวณพื้นที่ที่มีฤดูแลงที่สั้น ในเขตรอนชื้นที่มีฝนตกชุก และในปาแถบพืน้ ทีร่ าบต่ำจนถึงความสูงของภูเขา 600 เมตร เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543.

การขยายพันธ:ุ สมุนไพร “สมแขก” มักนิยมขยายพันธดุ ว ยเมล็ด โดยเมล็ดทีใ่ ชตอ งมีลกั ษณะสมบูรณ ปราศจาก โรคและแมลงทำลาย การเตรียมพันธ:ุ การขยายพันธสุ มุนไพร “สมแขก” ดวยการใชเมล็ด จะไดตน พันธทุ งั้ ตนตัวผแู ละตนตัวเมีย ในการ ใหผลจะใหเฉพาะตนตัวเมีย เพือ่ ลดการเสีย่ งควรทำการเสียบยอดพันธดุ ขี องตนตัวเมียบนตนตอทีต่ อ งการ เพาะจากเมล็ดอีกครั้ง อัตราการใชพนั ธ:ุ ใชพนั ธสุ ม แขก 16 ตน/ไร การเพาะกลา: การเพาะกลาสมุนไพร “สมแขก” จะทำการเพาะเมล็ดในถุงดำกอน จนเมือ่ ตนกลาอายุ 3-4 เดือน จึงทำการยายปลูก การเตรียมแปลงปลูก: เตรียมแปลงปลูกโดยการขุดหลุมสำหรับแปลงปลูกใหมขี นาดกวาง x ยาว x ลึก ประมาณ 30 x 30 x 30 เซนติเมตร โดยใสปยุ อินทรียร องกนหลุม

17


18

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การปลูก: นำตนพันธลุ งปลูกในหลุมปลูก ทำการกลบดินใหแนนและมีไมยดึ ลำตนกันโยก ทัง้ นี้ หากแดดจัด ตองพรางแสงแดดในระยะแรกปลูกดวย การดูแลรักษา: • การใหปุย ถาดินที่ใชปลูกเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย ควรใชปุยสูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16 และหากดินที่ใชเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว ใหใสปุยสูตร 16-20-0 หรือ 20-20-0 โดยทำการหวานใหทวั่ ใตทรงพมุ หางจากโคนตนอยางนอย 50 เซนติเมตร และทำการ พรวนดินกลบปุย • การใหน้ำ ในระยะแรกปลูกถาฝนไมตก ควรใหน้ำอยางนอยวันละ 2 ครัง้ เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543.

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: อายุการเก็บเกีย่ วสมุนไพร “สมแขก” คือประมาณ 7-8 ป โดยผลสมแขกจะออกในชวงเดือนมิถนุ ายน ถึงเดือนสิงหาคม ทำการเก็บผลผลิตทีโ่ ตเต็มที่ โดยมากจะมีผลผลิตสดประมาณ 3 ตัน/ไร การปฏิบตั กิ ารหลังการเก็บเกีย่ ว: นำผลสมแขกมาหัน่ บางๆ เปนชิน้ และตากแดดจัดๆ ประมาณ 3 วัน ใหแหงสนิทและเก็บไวในภาชนะ ทีก่ นั ความชืน้ โดยอัตราการทำแหง : อัตราสวนผลผลิตสด : ผลผลิตแหง = 4:1 ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก ใหน้ำ ใสปุย เก็บเกีย่ วผลผลิต (เมือ่ อายุประมาณ 7-8 ป)

ชวงเวลาที่ผลผลิตออกสูตลาด: เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน

เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. กลมุ พืชสมุนไพร และเครื่องเทศ. 2543.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

7. สารสำคัญในสมุนไพร สมแขกทั้งสองชนิด คือ G. atroviridis และ G. camborgia มีสารสำคัญเหมือนกัน คือ (-)-Hydroxycitric acid หรือ HCA สาร HCA มีคณ ุ สมบัตใิ นการยับยัง้ เอนไซม ATP citrate lyase (EC4.1.3.8) ซึง่ เปนเอนไซมทอี่ ยู นอกไมโตคอนเดรีย (mitochondria) ทีเ่ รงปฏิกริ ยิ าการเปลีย่ นแปลง citrate เปน oxaloacetate และ acetyl CoA ทำใหปริมาณของ acetyl CoA ทีเ่ ปน substrate ในการสรางกรดไขมัน (fatty acid) และการสราง ไขมัน (lipogenesis) จากการบริโภคอาหารที่มีคารโบไฮเดรตสูง (lipogenic diet) ลดลง(1) จึงมีการ นำสารสกัดจากสมแขก หรือสาร HCA มาผลิตเปนผลิตภัณฑเสริมอาหาร เพื่อใชในการลดไขมันและ ลดน้ำหนัก ซึ่งจากกลไกการออกฤทธิ์สาร HCA จะทำหนาที่ยับยั้งการสรางไขมันก็ตอเมื่อมีการบริโภค คารโบไฮเดรตในปริมาณสูงเทานัน้ นอกจากนี้ เชือ่ กันวาการที่ HCA ทำใหการสราง acetyl CoA ลดลง จะมี ผลทำใหการสราง malonyl CoA จาก acetyl CoA ลดลงดวย ซึง่ จะมีผลไปเพิม่ fatty acid oxidation (malonyl CoA มีฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม carnitine acetyltransferase ซึง่ เกีย่ วของกับการนำ fatty acid เขาในไมโตคอนเดรีย เพือ่ เผาผลาญโดย fatty acid oxidation)(2) นอกจากนี้ ผลสมแขกยังมีสารจำพวก organic acids อืน่ ๆ ไดแก citric acid pentadecanoic acid octadecanoic acid และ dodecanoic acid(3) เอกสารอางอิง 1. Jena BS, Jayaprakasha GK, Sigh RP, et al. 2002. Chemistry and biochemistry of (-)-hydroxycitric acid from Garcinia. J Agric Food Chem 50(1): 10-22. 2. http://www.supplementwatch.com/supatoz/supplement.asp?supplementId=165. Accessed on October 5, 2003. 3. Mackeen MM, Ali AM, Lajis NH, et al. Antifungal garcinic acid esters from the fruits of Garcinia atroviridis. From: http://www.znaturforsch. com/57c/s57c0291.pdf

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร ยังไมมีขอมูล แตจากงานวิจัยทางพฤกษเคมีของคณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร พบวาสมแขกมี ปริมาณเถาทั้งหมด 11.01% ปริมาณเถาไมละลายในกรด 18.48% ปริมาณสารสกัดดวยแอลกอฮอล 25.09 กรัม/น้ำหนักผงสมแขก 100 กรัม ปริมาณความชื้น 21.77% (สารสกัดในชัน้ น้ำมีปริมาณกรดมากทีส่ ดุ = 34.25 g% pH = 1.664) เอกสารอางอิง 1. เบญจวรรณ ขวัญแกว, อรุณพร อิฐรัตน ถนอมจิต สุภาวิตา. การศึกษาฤทธิท์ างชีวภาพและการศึกษาทางเภสัชเวทของสารสกัด จากผลสมแขก Garcinia atroviridis. จาก http://pcog.pharmacy.psu.ac.th/data/ 2. ProjectCog/pro42/pro42-1.pdf

19


20

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง 9.1.1 การศึกษาผลตอน้ำหนักตัว และไขมันในรางกาย รายงานการวิจยั ฤทธิข์ องสารสกัด HCA จากสมุนไพร “สมแขก” ในสัตวทดลองของ ตางประเทศ ลวนเปนการใหทางปาก จากขอมูลการศึกษาในหนูขาวหรือหนูถบี จักรชีใ้ หเห็นวาสารสกัด HCA มีประสิทธิภาพในการชวยลดการรับประทานอาหาร ลดน้ำหนักตัว(4) หรือลดการเพิม่ ของน้ำหนักตัว(5,6) ได งานวิจยั ในหนู Zucker rat สายพันธอุ ว นและผอม เมือ่ ใหสารสกัด HCA นาน 39 วัน พบวา HCA สามารถลดน้ำหนักตัว การกินอาหาร %body fat และขนาดของ fat cell ไดในหนูผอม แต ในหนูอว นแมวา HCA จะลดน้ำหนักตัวและการกินอาหารไดแตสารสกัด HCA ไมสามารถลด %body fat หรือ fat cell size(4) 9.1.2 การศึกษาฤทธิต์ า นเชือ้ จุลนิ ทรีย อนุพันธของ garcinia acid 2 ชนิด ไดแก 2-(butoxycarbonylmethyl)-3butoxycarbonyl-2-hydroxy-3-propanolide และ 1’,1"-dibutyl methyl hydroxycitrate แสดงฤทธิย์ บั ยัง้ เชื้อรา Cladosporium herbarum อยางเฉพาะเจาะจง โดยมีความแรงเทียบเทายา cyclohecimide แตทงั้ นี้ อนุพนั ธดงั กลาวไมมฤี ทธิต์ อ เชือ้ ราอืน่ หรือยีสต เชน Alternaria sp., Fusarium moniliforme, Aspergillus ochraceous หรือ Candida albicans รวมทัง้ ไมแสดงฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรีย Staphylococcus aureu, Pseudomonas aeruginosa หรือ E. coli(2) สารสกัดดวยน้ำและเอธานอลของผลสมแขกไมแสดงฤทธิ์ตานเชื้อ methicillinresistant S. aureus หรือ Shigella sonnei ทีค่ วามเขมขน 100 mg/ml(7) 9.1.3 การศึกษาฤทธิ์ antioxidant สารสกัดดวยน้ำ และสารสกัดดวยเอธานอลของผลสมแขกไมแสดงฤทธิ์ antioxidant เมือ่ ทดสอบดวยวิธี DPPH radical scavenging assay ทีร่ ะดับความเขมขนสูงสุด 2000 mg/ml(7) ใน ขณะทีส่ ารสกัดดวยเมธานอลของราก ใบ และเปลือกตน แสดงฤทธิ์ antioxidant ทีแ่ รงกวา a-tocopherol ในขณะทีส่ ารสกัดดวยเมธานอลของผลสมแขกก็ไมแสดงฤทธิ์ antioxidant เชนกัน(8) เอกสารอางอิง 4. Greenwood MR, Cleary MP, Gruen R, et al. Effect of (-)-hydroxycitrate on development of obesity in the Zucker obese rat. Am J Physiol. 1981; 240(1): E72-8. 5. Leonhardt M, Hrupka B, Langhans W. Effect of hydroxycitrate on food intake and body weight gain after a period of restrictive feeding in male rats. Physiol Behav. 2001; 74(1-2): 191-6. 6. Leonhardt M, Langhans W. Hydroxycitrate has long-term ffects on feeding behavior, body weight regain and metabolism after body weight loss in male rats. J Nutr. 2002; 132(7): 1977-82. 7. เบญจวรรณ ขวัญแกว, อรุณพร อิฐรัตน ถนอมจิต สุภาวิตา. การศึกษาฤทธิท์ างชีวภาพและการศึกษาทางเภสัชเวทของสารสกัด จากผลสมแขก Garcinia atroviridis. จาก http://pcog.pharmacy.psu.ac.th/data/ProjectCog/pro42/pro42-1.pdf 8. MacKeen MM, Ali AM, Lajis NH, et al. Antimicrobial, antioxidant, antitumor-promoting and cytotoxic activities of different plant part extracts of Garcinia atroviridia Griff. Ex T. Anders. J Ethanopharmacol. 2000; 72(3): 395-402.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) รายงานการวิจัยผลของสารสกัด HCA ในคน เมื่อให HCA ทางปาก สวนมากไมแสดง คุณสมบัตใิ นการลดไขมันของ HCA โดยผลการวิจยั พอสรุปได ดังนี้ • Randomized controlled trial (RCT) โดย Hemsfield และคณะตีพมิ พใน JAMA เมือ่ ป 1998 ชีใ้ หเห็นวา การใหผลิตภัณฑสม แขก (Garcinia cambogia) ทีม่ สี าร HCA ในขนาด 1500 กรัมตอวัน นาน 12 สัปดาห ไมสามารถลดไขมันหรือลดน้ำหนักในผชู าย และผูหญิงที่มีน้ำหนักเกินได(9) • RCT cross-over design ในชายทีม่ นี ้ำหนักเกิน 11 คน โดยมี 3 interventions คือ ให รับประทานอาหารทีเ่ ลือกเอง 3 มือ้ และ isoenergetic (420 kJ) snack 4 มือ้ ตอวัน รวม กับ placebo หรือ HCA 500 mg หรือ HCA 500 mg และ medium chain triglyceride (MCT) 3 g โดยแตละ intervention นาน 2 สัปดาห และมี washout period 4 สัปดาห ระหวางแตละ intervention หลังแตละ intervention อาสาสมัครตองอยใู น respiratory chamber 36 ชัว่ โมง ผลการทดลองพบวาทุก intervention ทำใหน้ำหนักลดลงอยางมี นัยสำคัญทางสถิติ แตไมแตกตางกันระหวาง intervention เมือ่ เทียบกับกลมุ ทีใ่ ห placebo ดังนัน้ การใหสารสกัด HCA หรือใหรว มกับ MCT ไมสามารถชวยเพิม่ ความรสู กึ อิม่ fat oxidation หรือ 24 h energy expenditure(10) • การศึกษาของผผู ลิตผลิตภัณฑสม แขก Super Hi-Sol โดยทำการวิจยั รวมกับ ศ. พญ. จุฬาภรณ รงุ พิสทุ ธิพงษ รพ. รามาธิบดี โดยใหสตรี 23 คน รับประทาน Super Hi-Sol ครัง้ ละ 1 ซอง วันละ 3 ครัง้ กอนอาหารรวมกับการรับประทานอาหารวันละ 1000 แคลอรี่ เปนระยะเวลานาน 8 สัปดาห พบวาคาเฉลีย่ ของน้ำหนักตัว ไขมันตามจุดตางๆ ในรางกาย ไตรกลีเซอรไรด และโคเลสเตอรอลรวม หลังใช Super Hi-Sol ลดลงกวาเมื่อกอนใช อยางมีนยั สำคัญทางสถิต(11) ิ อยางไรก็ตาม ขอมูลทีไ่ ดจาก Internet ผผู ลิตไมไดรายงานวา การเปลีย่ นแปลงทีเ่ ห็นในกลมุ ทีใ่ ช Super Hi-Sol นัน้ แตกตางจากกลมุ ทีไ่ มใช Super Hi-Sol อยางมีนยั สำคัญทางสถิตดิ ว ยหรือไม • จากที่ไดกลาวขางตนแลววา โดยทฤษฎี สารสกัด HCA นาจะมีผลเพิ่ม fatty acid oxidation จึงมีรายงานการศึกษาวิจัยเรื่องผลของ HCA ตอ fat metabolism & utilization และ exercise endurance ในนักกีฬา 2 รายงาน และในคนทีไ่ มไดฝก รางกาย 1 รายงาน พบวาในนักกีฬา เมือ่ ให HCA 58.9 mg/kg BW แลววัดผลขณะพักกับขณะออก กำลังกาย ไมมผี ลเพิม่ total fat oxidation เทียบกับกลมุ ทีไ่ ด placebo(12) แตการศึกษาที่ ให HCA 250 mg แกนกั กีฬานาน 5 วันพบวา เพิม่ endurance performance fat oxidation และลดการใช glycogen ลง(13) และการศึกษาในผูหญิงที่ไมไดผานการฝก รางกายมีแนวโนมคลายคลึงกัน(14) • อยางไรก็ตาม การศึกษาแบบ RCT cross-over design ในผชู ายทีท่ ำงานแบบนัง่ โตะ 10 คน ทีไ่ ดรบั HCA 3 กรัม/วัน นาน 3 วัน และรับประทานอาหารทีม่ ี fat 30-35% ไมมี ผลเพิม่ fat oxidation ทัง้ ในระหวางพักหรือเมือ่ ออกกำลังกายปานกลาง(15)

21


22

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

จากผลการทดลองทีก่ ลาวมาทัง้ หมด จะเห็นวารายงานทางวิทยาศาสตรทนี่ า เชือ่ ถือได ไมสนับสนุน ประสิทธิผลของ HCA ในการลดน้ำหนักหรือเพิม่ fat oxidation อยางไรก็ตาม ผลิตภัณฑจากสมแขก เพื่อชวยลดน้ำหนักก็ยังไดรับความนิยมอยูทั้งในและตางประเทศ เอกสารอางอิง 9. Hemsfield SB, Allison DB, Vasselli JR, Pietrobelli A, et al. 1998. Garcinia cambogia (hydroxycitric acid) a potential antiobesity agent: a randomized controlled trial. JAMA 280(18): 1596-600. 10. Kovacs EM, Westerterp-Plantenga MS, Saris WH. 2001. The effect of 2-week of (-)-hydroxycitrate and (-)-hydroxycitrate combined with medium-chain triglycerides on satiety, fat oxidation, energy expenditure and body weight. Int J Obes Relat Metab Disord 25(7): 1087-94. 11. http://www.asianlife.co.th/improveHi-sol.html. Accessed on October 5, 2003. 12. van Loon LJ, van Rooijen, Nielsen B, et al. 2000. Effects of acute (-)-hydroxycitrate supplementation on substrate metabolism at rest and during exercise in humans. Am J Clin Nutr 72(6): 1445-50. 13. Lim K, Ryu S, Ohishi Y, et al. 2002. Short-term (-)-hydroxycitrate ingestion increases fat oxidation during exercise in athletes. J Nutr Sci vitaminol (Tokyo) 48(2): 128-33. 14. Lim K, Ryu S, Nho HS, et al. 2003. (-)-Hydroxycitric acid ingestion increases fat utilization during exercise in untrained women. J Nutr Sci vitaminol (Tokyo) 49(3): 163-7. 15. Kriketos AD, Thompson HR, Greene H, et al. 1999. (-)-Hydroxycitric acid does not affect energy expenditure and substrate oxidation in adult males in a post-absorptive state. Int J Obes Relat Metab Disord 23(8): 867-73.

10. การศึกษาทางพิษวิทยา ผลสมแขกใชเปนอาหารได จึงถือไดวา มีความปลอดภัยคอนขางสูง โดยเฉพาะผทู อี่ าศัยในพืน้ ทีบ่ ริเวณ ทางภาคใต มักใชในการทำแกงสม หรืออาจนำมาผาเปนชิน้ เล็กๆ โดยเอาเยือ่ และเมล็ดทิง้ และนำเนือ้ ตากแดด ใหแหง ใชผลปรุงอาหาร เชน ตมเนือ้ ตมปลา แกงสม ไมมีรายงานการศึกษาทางพิษวิทยาในสัตวทดลอง มีรายงานการศึกษา Cytotoxicity โดยวิธี Brine shrimp lethality bioassay พบวาสารสกัดดวย เอธานอลมี cytotoxicity สูง มีคา LD50 = 8.36 mg/ml(7)

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: ขอควรระวัง: เนือ่ งจากสารสกัด HCA มีผลรบกวนตอการสราง acetyl CoA fatty acid และ cholesterol จึงอาจมีผลตอรบกวนการสราง steroid hormone ได จึงไมแนะนำใหใช HCA หรือผลิตภัณฑสม แขก ที่มี HCA ในปริมาณสูงในสตรีมคี รรภ หรือสตรีทใี่ หนมบุตร อาการขางเคียง หากไดรับในขนาดสูงอาจทำใหเกิดอาการขางเคียงตอระบบทางเดินอาหารเล็กนอย

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช: ไมมขี อ บงใชทไี่ ดรบั การรับรองจากวงการแพทย โดยมีงานวิจยั รองรับ แตมกี ารใชเพือ่ วัตถุประสงค ในการชวยลดน้ำหนัก ลดความอยากอาหาร


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ขนาดทีใ่ ช: สำหรับผลิตภัณฑสมแขกที่มีการควบคุมปริมาณสารสกัด HCA ไมต่ำกวา 50% ใหรับประทาน ในขนาด 750-1500 มิลลิกรัม โดยแบงใหวนั ละ 2-3 ครัง้ 30-60 นาทีกอ นรับประทานอาหาร เอกสารอางอิง 1. Jena BS, Jayaprakasha GK, Singh RP, et al. Chemistry and biochemistry of (-)-hydroxycitric acid from Garcinia. J Agric Food Chem. 2002; 50(1): 10-22. 2. http://www.supplementwatch.com/supatoz/supplement.asp?supplementId=172

13. ขอมูลการตลาด การสงออกสมุนไพรสมแขกนั้นควรสงออกในรูปของสารสกัดที่ไดผานการ standardized ใหมี ปริมาณ HCA ไมต่ำกวา 50% (ผลิตภัณฑสารสกัดของอินเดียมี HCA 55-65%) ราคาขายของผลิตภัณฑลดน้ำหนักสมแขก (Garcinia camborgia) ในสหรัฐอเมริกา Brand Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natrol Natures Herbs Natures Herbs Natures Herbs Natures Herbs Nature’s Life Rainbow Light Rainbow Light Rainbow Light Source Naturals Source Naturals Source Naturals Source Naturals Source Naturals Source Naturals

Product Citrimax - (250 mg Hydroxycitric acid) Citrimax - (250 mg Hydroxycitric acid) Citrimax Plus Citrimax Plus Citrimax Plus Citrimax Plus Citrimax Pure Natrol Citrimax Natrol Citrimax Pure CitriMax Pure CitriMax Pure CitriMax Citimax 768mg Cert Pot Citrimax Power Citrin Citrin Garcinia 1,000 Garciniamax Diet Garciniamax Diet Garciniamax Diet Diet CitriMax Diet CitriMax Diet CitriMax Complex Diet CitriMax Complex Garcinia 1000 Garcinia 1000

Size 90

Form Capsules

Price $9.95

Link To Buy Netrition

90

Capsules

$15.95

ez-weightloss

90 90 180 180 180 90 180 90 180 180 60 60 50 60 90 60 120 120 45 90 60 120 42 90

Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets Tablets

$12.79 $13.20 $23.99 $25.01 $17.55 $10.95 $19.95 $12.76 $19.80 $23.96 $8.90 $12.79 $10.87 $7.55 $15.96 $12.60 $22.30 $30.80 $9.55 $18.10 $10.50 $19.70 $9.20 $18.10

eVitamins GetVitamins eVitamins GetVitamins WebVitamins MuscleSurf MuscleSurf eVitamins GetVitamins eVitamins WebVitamins eVitamins eVitamins WebVitamins eVitamins WebVitamins WebVitamins eVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins

23


24

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

Brand Source Naturals Source Naturals Twinlab Twinlab Twinlab Twinlab Twinlab

Product Garcinia Plus Garcinia Plus Citrimax, Mega Mega Citrimax Mega Citrimax Mega Citrimax (1500 Mg) Mega Citrimax (1500 Mg)

Size 60 120 50 50 100 50 50

Form Tablets Tablets Capsules Capsules Capsules Capsules Capsules

Price $10.35 $19.40 $8.35 $8.35 $15.40 $9.87 $9.95

Twinlab

Mega Citrimax (1500 Mg)

100

Capsules

$14.95

Twinlab

Mega Citrimax (1500 Mg)

100

Capsules

$18.25

แหลงทีม่ าของขอมูล: http://www.drumlib.com/supp/prod/garcinia_01.htm รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

Link To Buy WebVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins WebVitamins GetVitamins BodyworksNutrition BodyworksNutrition GetVitamins


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

กระชายดำ 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่อไทย: ชือ่ อืน่ :

Kaempferia parviflora Wall. Ex Baker Zingiberaceae กระชายดำ -

เอกสารอางอิง 1. สวนพฤกษศาสตรปาไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2544, หนา 303.

2. ลักษณะพืช เหงา เหงาของสมุนไพร “กระชายดำ” มีลักษณะแตกตางจากกระชายทั่วไปที่ใชเปนเครื่องแกงคือ กระชายทั่วไปมักใชสวนที่เปนราก (tuber) ซึ่งงอกออกมาจากเหงา (ลำตนที่อยูใตดินหรือ rhizome) มีกาบใบและใบซอนโผลขนึ้ อยเู หนือดิน ในขณะทีก่ ระชายดำมีลำตนอยใู ตดนิ (rhizome) หรือทีเ่ รียกกัน ทัว่ ไปวาหัว มีลกั ษณะคลายขิงหรือขมิน้ แตมขี นาดเล็กกวา เหงาหรือหัวมีสเี ขมแตกตางกัน ตัง้ แตสมี ว งจาง มวงเขม และดำสนิท (ทัง้ นี้ ยังไมมรี ายงานแนชดั วาความแตกตางของสีขนึ้ อยกู บั สิง่ แวดลอม อายุ หรือ พันธุกรรม) สีของหัวเมือ่ นำไปดองสุราจะถูกฟอกออกมา ใบ ใบของสมุนไพร “กระชายดำ” มีขนาดใหญและมีสีเขียวเขมกวากระชายทั่วไป ขนาดใบกวาง ประมาณ 7-15 ซม. ยาว 30-35 ซม. ใบมีกลิน่ หอม ประกอบดวยกาบใบมีสแี ดงจางๆ และหนาอวบ กำเนิด มาจากหัวที่อยูใตดิน ลำตน ลำตนของสมุนไพร “กระชายดำ” มีความสูงประมาณ 30 ซม. ดอก ดอกของสมุนไพร “กระชายดำ” จะเจริญออกมาจากยอด ชอละหนึง่ ดอก มีใบเลีย้ ง ทัง้ นี้ ดอก ของสมุนไพรจะมีสีชมพูออนๆ ริมปากดอกสีขาว เสาเกสรสีมวง เกสรสีเหลือง กลีบรองกลีบดอกเชื่อม ติดกันมีลักษณะเปนรูปทอ มีขน โคนเชื่อมติดกันเปนชอยาว เกสรตัวผูจะเหมือนกับกลีบดอก อับเรณู อยใู กลปลายทอ เกสรตัวเมียมีขนาดยาวเล็ก ยอดของมันเปนรูปปากแตรเกลีย้ งไมมขี น เอกสารอางอิง 1. http://www.disc.doa.go.th/data-agri/02_LOCAL/oard3/kachaidum/main.html

2. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สรรพคุณทางยาตามตำรายาแผนโบราณ: สมุนไพร “กระชายดำ” เปนวานที่มีสรรพคุณแกโรคบิด ปวดทอง ลมปวงทุกชนิด โดยใชหัววาน ฝนผสมกับเหลาโรง หากปนเปนผงทัง้ หัวและตนมักผสมดวยน้ำผึง้ ปน เปนเม็ดลูกกลอน นอกจากนี้ ยังใช กวาดแกตาน ซาง ในโรคเด็กไดดว ย กระชายดำ มักใชรบั ประทานเปนยาอายุวฒ ั นะขนานเอก หากกินไดทกุ วัน ฟนจะแข็ง ผมจะดำสนิท ผิวหนังจะเตงตึง นัยนตาจะแจมใสชัดเจน กระชมุ กระชวยเสมอ หากนำไปใชเขากับตัวยาอืน่ ๆ จะแกโรค ลมทุกชนิด นอกจากนี้ กระชายดำยังชวยในดานคงกระพัน โดยมากนิยมใชหัวปอกแชเหลาและหมก ขาวเปลือกไว 3 คืน นำมาบีบน้ำยาสำหรับหยอดแกโรคตาตางๆ ไดดเี ยีย่ ม

25


26

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

จากการวิพากยของแพทยแผนโบราณจากภูมิภาคทั้ง 4 ภาค พบวามีสรรพคุณเปนยาอายุวัฒนะ บำรุงกำลัง บำรุงทางเพศ ขับลม แกปวดทอง เปนทีน่ า สังเกตวา ในตำราของดีจากพืชสมุนไพร-วานยานัน้ กลาววา “ทัง้ รากกระชายธรรมดาและ หัวกระชายดำ โดยเฉพาะอยางยิง่ รากกระชายมีสรรพคุณในทางบำรุงความกำหนัดแกกามตายดาน” เอกสารอางอิง 1. ของดีจากพืชสมุนไพร-วานยา โดย จันทนขาว หนา 135-137 2. วานและไมมงคล 304 ชนิด ฉบับมาตรฐาน โดย พรานเฒา 3. 108 วานมหัศจรรย เลม 1 หนา 18 4. ขอมูลจากฝายนโยบายและแผน สำนักงานจังหวัดเลย สงขอมูลผานกลุมงานคุมครองผูบริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดเลย

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ ในปจจุบนั ยังไมมกี ารรวบรวมและจำแนกพันธขุ องสมุนไพร “กระชายดำ” อยางเปนทางการ แตหาก จำแนกตามลักษณะของสีของเนือ้ หัว พอจะแยกได 3 สายพันธุ คือ • สายพันธุที่มีเนื้อหัวสีดำ • สีมวงเขม • สีมวงออนหรือสีน้ำตาล สวนใหญแลว จะพบกระชายที่มีสีมวงเขมและสีมวงออน สวนกระชายที่มีสีดำสนิทจะมีลักษณะ หัวคอนขางเล็ก ชาวเขาเรียกวา กระชายลิง ซึง่ มีไมมากนักจัดวาเปนกระชายทีม่ คี ณ ุ ภาพเปนทีต่ อ งการของตลาด เอกสารอางอิง 1. http://www.disc.doa.go.th/data-agri/02_LOCAL/oard3/kachaidum/main.html

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก แหลงปลูกที่เหมาะสม: เนื่องจากสมุนไพร “กระชายดำ” เปนพืชดั้งเดิมของชาวเขา จึงเชื่อกันวากระชายดำที่ดีมีคุณภาพ จะตองปลูกบนพืน้ ทีท่ สี่ งู จากระดับน้ำทะเลตัง้ แต 500-700 เมตร จะเจริญเติบโตและลงหัวไดดใี นดินรวน ทราย อีกทัง้ สมุนไพรดังกลาวจะเติบโตไดดใี นพืน้ ทีบ่ ริเวณทีม่ กี ารระบายน้ำดี ไมชอบน้ำขัง ไมชอบแดด จัด ชอบแดดรมรำไร เกษตรกรจึงนิยมปลูกกระชายดำระหวางแถวไมยนื ตน แตกย็ งั ไมมขี อ มูลยืนยันวา ปลูกกลางแจงกับปลูกในที่รมรำไรมีผลแตกตางกันอยางไร ทั้งในดานคุณภาพและการเจริญเติบโต แหลงเพาะปลูกทีม่ ชี อื่ เสียงและเปนทีย่ อมรับของคนทัว่ ไปคือ เขตปลูกอำเภอนาแหว อำเภอดานซาย และอำเภอภูเรือ จังหวัดเลย การปลูก: การเตรียมพันธปุ ลูก: • การเตรียมพันธปุ ลูกนัน้ ทำไดโดยการใชหวั แกจดั มีอายุประมาณ 11-12 เดือน ปราศจากเชือ้ โรค เก็บไวในทีแ่ หงและเย็นนาน ประมาณ 1-3 เดือน ทัง้ นี้ กอนเก็บรักษาควรจมุ หัวพันธใุ นสารปองกัน กำจัดเชือ้ ราโดยใชสารไดโฟลาแทน 80 หรือ แมนเซ็ทดี ผสมน้ำอัตรา 2-4 ชอนแกง/น้ำ 20 ลิตร (1 ปบ ) • ในพืน้ ที่ 1 ไรจะใชหวั พันธปุ ระมาณ 200-250 กก. ขึน้ กับระยะปลูกและขนาดของหัวดวย


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การเลือกหัวพันธ:ุ ควรจะใชพันธุกระชายดำที่มีขนาดเล็ก เนื่องจากในน้ำหนักที่เทากันกับหัวขนาดใหญ หัวขนาดเล็ก จะปลูกไดมากกวาและควรเลือกหัวพันธุที่มีสีดำหรือมวงเขม ซึ่งเปนที่ตองการของตลาด ฤดูปลูก: • เริม่ ตัง้ แตปลายเดือนเมษายน-พฤษภาคม และจะเก็บเกีย่ วในเดือนธันวาคม-มกราคม • กระชายดำมีอายุเก็บเกีย่ วประมาณ 8-9 เดือน การเตรียมดิน: • กอนทีจ่ ะมีการไถเตรียมดิน ควรหวานปูนขาวในอัตรา 100-150 กก./ไร เพือ่ ฆาเชือ้ โรคทีอ่ ยใู นดิน • หลังจากนัน้ จึงไถกลบปูนขาวทิง้ ไวประมาณ 10-15 วัน • หากพืน้ ทีท่ ใี่ ชในการเพาะปลูกเปนดินรวนปนทราย เกษตรกรอาจไถเพียงครัง้ เดียว • กอนปลูกควรยกเปนแปลง (ไมตอ งสูงนัก) ความกวางของแปลง 1.50-2.0 เมตร ความยาวไมจำกัด วิธกี ารปลูก: ใชหวั พันธกุ ระชายดำทีเ่ ตรียมไวแลวแยกหัวโดยหักออกเปนขอๆ ตามรอยตอระหวางหัว ฝงกลบดิน ใหมดิ แตไมลกึ นัก โดยใชระยะปลูกระหวางแถว x ระหวางหลุม ประมาณ 0.20 X 0.25 เมตร หรือ 0.25 X 0.30 เมตร เมือ่ ทำการปลูกเสร็จแลวใชแกลบหวานกลบบางๆ อีกชัน้ หนึง่ การดูแลรักษา: การใสปยุ : การใสปยุ นัน้ นิยมใชปยุ คอกมูลไกผสมแกลบรองพืน้ รวมกับปยุ เคมีสตู ร 15-15-15 อัตรา 25-30 กก./ไร หากดินในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกนัน้ มีความอุดมสมบูรณอยแู ลว อาจใชแกลบทีไ่ ดจากการรองพืน้ เลาไกกเ็ ปน การเพียงพอโดยไมตองใชปุยเคมี การกำจัดวัชพืช: วัชพืชในไรกระชายไมคอ ยมีปญ  หามากนัก เนือ่ งจากกระชายมีระยะปลูกถีใ่ บ สามารถคลุมดินปองกัน การงอกของเมล็ดวัชพืชไดดี หากมีความจำเปนตองกำจัดวัชพืชออกใหหมดจากแปลง เอกสารอางอิง 1. http://www.disc.doa.go.th/data-agri/02_LOCAL/oard3/kachaidum/main.html

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว อายุเก็บเกีย่ วของกระชายดำ คือ ประมาณ 8-9 เดือน ซึง่ มักจะเก็บเกีย่ วในเดือนธันวาคม-มกราคม ซึ่งในชวงนี้จะสังเกตดูจากลักษณะใบที่เริ่มแกมีสีเหลืองและแหงตายลงในที่สุด การเก็บเกีย่ วกระชายเร็วกอนกำหนดนัน้ จะมีผลตอคุณภาพโดยเฉพาะของหัวจะไมเขม ซึง่ เปนกระชาย ดำทีต่ ลาดตองการ (แตอยางไรก็ตามอายุการเก็บเกีย่ ว จะมีผลตอสีของหัวกระชายมากนอยเพียงใดยังไม มีรายงานอยางเปนทางการ) การขุดหัวกระชาย: • ถายกเปนแปลงตอนปลูก จะเก็บเกีย่ วไดงา ย โดยใชจอบหรือเสียม ขุดหัวกระชายขึน้ มาแลวเคาะ ดินใหหลุดออกจากหัวและราก • เกษตรกรนิยมนำหัวกระชายทีข่ ดุ ไดใสถงุ แลวนำไปทำความสะอาดทีบ่ า น โดยการปลิดราก ออก จากหัวใหหมดใหเหลือแตหัวลวนๆ • (สวนรากหรือนมกระชายที่ปลิดออกจากหัวสามารถนำไปจำหนายใหพอคาได)

27


28

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ผลผลิต: โดยเฉลีย่ หัวพันธุ 1 กิโลกรัม สามารถใหผลผลิตได 5-8 กิโลกรัม ดังนัน้ 1 ไร จะไดผลผลิตประมาณ 1,000-2,000 กิโลกรัม ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนการปลูก คาพันธุ 30,000-50,000 บาท คาเตรียมดิน 400 บาท คาปลูก 600 บาท คาปยุ คอก,แกลบ 7,000 บาท คาแรงเก็บเกีย่ ว 2,400 บาท คาทำความสะอาด 600 บาท รวมตนทุนตอไร 41,000-61,000 บาท ผลผลิต 1,000-2,000 กิโลกรัมตอไร ตนทุน 30-40 บาทตอกิโลกรัม กำไรสุทธิ 70-150 บาทตอกิโลกรัม การแปรรูป: ในปจจุบนั นอกจากใชสมุนไพร “กระชายดำ” เพือ่ ประกอบเปนตัวยาโดยตรงแลว ยังนิยมนำกระชายดำ นำไปบดเปนผง บรรจุซองชงน้ำรอนดืม่ บำรุงสุขภาพ ใชดองดืม่ เพือ่ ใหเกิดความกระชมุ กระชวย ทำลูกอม และทีน่ ยิ มมากทีส่ ดุ ในปจจุบนั คือ ทำไวนกระชายดำ • กระชายดำแบบหัวสด • กระชายดำหัวแหง • กระชายดำแบบชาชง • ลูกอมกระชายดำ • ไวน (wine) กระชายดำ เอกสารอางอิง 1. http://www.disc.doa.go.th/data-agri/02_LOCAL/oard3/kachaidum/main.html

7. สารสำคัญในสมุนไพร สารสำคัญที่พบในเหงากระชายดำ ไดแก borneol และ sylvestrene ซึ่งแสดงฤทธิ์ตานจุลชีพ รวมถึง 5,7-dimethoxyflavone ซึ่งแสดงฤทธิ์ตานอักเสบ นอกจากนี้ รายงานใหมลาสุดพบสารพวก flavonoids 9 ชนิด เชน สาร 5,7,4’-trimethoxyflavone, 5,7,3’,4’-tetramethoxyflavone, 3,5,7, 4’-tetramethoxy-flavone เปนตน เอกสารอางอิง 1. ณาตยา ชนะศิริวิวัฒนา และคณะ “องคประกอบทางเคมีและฤทธิ์ตานจุลชีพของน้ำมันหอมระเหยกระชายดำ เปราะหอม และ เฒาหนังแหง”. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2541 2. วงศววิ ฒ ั น ทัศนียกุลและอำไพ ปน ทอง. “การศึกษาฤทธิ์ตานการอักเสบของ 5,7-DMF” วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2528 3. Yenchai C, Prasanphen K, Daodee S, et al. Bioactive flavonoids from Kaempferia parviflora. Fitoterapia 2004; 75(1): 89-92.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร ปจจุบันยังไมมีขอกำหนดคุณภาพของกระชายดำ

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในหลอดทดลองและในสัตวทดลอง 9.1.1 ฤทธิต์ า นอักเสบ มีรายงานการศึกษาฤทธิต์ า นอักเสบของกระชายดำในป 2528(1) ดังนี้ • สาร 5,7-ไดเมธอกซีฟลาโวน (5,7-DMF) ทีส่ กัดไดจากเหงากระชายดำ มีฤทธิต์ า น การอักเสบเทียบไดกบั ยามาตรฐานหลายชนิด คือ แอสไพริน อินโดเมธาซิน โฮโดรคอรตโิ ซน และเพรดนิโซโลน ทัง้ นี้ เมือ่ ให 5,7–DMF ขนาด 300 มก./น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม สามารถยับยัง้ การบวมขององุ เทาหนูขาวทีเ่ กิดจากสารคาราจีนนิ และจาก คาโอลินอยางมีนยั สำคัญทางสถิติ และมีความสำคัญเชิงบวกคอนขางสูง • การศึกษาฤทธิต์ า นการอักเสบแบบเรือ้ รังพบวา 5,7–DMF สามารถยับยัง้ การสราง granuloma ทีเ่ กิดจากสำลีฝา ยไดอยางมีนยั สำคัญทางสถิติ แตฤทธิค์ อ นขางต่ำ • การศึกษาฤทธิต์ า นการอักเสบในชองปอดของหนูขาว (rat pleurisy) พบวา 5,7-DMF ขนาด 300 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ครัง้ เดียวมีฤทธิย์ บั ยัง้ การเกิด exudation ลดจำนวน เม็ดเลือดขาวลง และยับยัง้ ชีวสังเคราะหของ prostaglandin อยางมีนยั สำคัญ 9.1.2 ฤทธิต์ า นเชือ้ จุลนิ ทรีย(2) • สาร flavonoid 2 ชนิ ด คื อ 5,7,4’-trimethoxyflavone และ 5,7,3’, 4’-tetramethoxyflavone แสดงฤทธิต์ า นเชือ้ Plasmodium falciparum โดย มีคา IC50 เทากับ 3.70 และ 4.06 mg/ml ตามลำดับ • 3,5,7,4’-tetramethoxyflavone และ 5,7,4’-trimethoxyflavone แสดงฤทธิต์ า น เชือ้ Candida albicans โดยมีคา IC50 เทากับ 39.71 และ 17.63 g/ml ตามลำดับ และแสดงฤทธิต์ า นเชือ้ Mycobacterium อยางออน โดยมีคา IC50 เทากับ 200 และ 50 mg/ml ตามลำดับ 9.1.3 ความเปนพิษตอเซลลมะเร็ง (cytotoxic activity)(2) จากการทดสอบผลของ flavonoids 9 ชนิดของกระชายดำตอ cancer cell line เชน KB, BC หรือ NCI-H187 ไมพบวามีสารใดทำใหเกิดพิษตอเซลลมะเร็งทีท่ ดสอบ เอกสารอางอิง 1. วงศววิ ฒ ั น ทัศนียกุลและอำไพ ปน ทอง. “การศึกษาฤทธิ์ตานการอักเสบของ 5,7-DMF” วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม , 2528 2. Yenchai C, Prasanphen K, Daodee S, et al. Bioactive flavonoids from Kaempferia parviflora. Fitoterapia 2004; 75(1): 89-92.

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) ยังไมมีรายงานการศึกษาเพื่อประเมินประสิทธิผลของกระชายดำในคน

29


30

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

10. การศึกษาทางพิษวิทยา การศึกษาพิษเรือ้ รังของกระชายคำในหนูขาว ซึง่ เปนความรวมมือระหวางสถาบันการแพทยแผนไทย และสถาบันวิจยั สมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ใกลจะเสร็จสิน้ คาดวาจะทราบ ผลการวิจยั ทัง้ หมดในตนป 2547

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ยังไมมีรายงานอยางเปนทางการ มีแตคำบอกเลาของหมอพื้นบานบางคนเกี่ยวกับการใชสมุนไพร กระชายดำวาถารับประทานกระชายดำนานๆ จะทำใหเหงือกรน ซึ่งถาจะไมทำใหเกิดอาการเหงือกรน ตองรับประทานดองกับเหลา แตยังไมมีขอพิสูจน

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ตามตำรายาแผนโบราณ กระชายดำมีสรรพคุณแกโรคบิด ปวดทอง ลมปวงทุกชนิด และเปนยาอายุวฒ ั นะ กระชายดำแบบหัวสด • ใชรากเหงา (หัวสด) ประมาณ 4-5 ขีด ตอสุราขาว 1 ขวด ดองสุราขาวดืม่ กอนรับประทาน อาหารเย็น ปริมาณ 30 ซีซี. • ผทู ดี่ มื่ สุราไมไดใหฝานเปนแวนบางๆ แชน้ำรอนดืม่ ทุกวัน หรือจะดองกับน้ำผึง้ ในอัตราสวน 1:1 กระชายดำแบบหัวแหง • หัวแหง ประมาณ 15 กรัม ดองกับเหลาขาว 1 แบน ผสมน้ำผึง้ เพือ่ รสชาติทดี่ ขี นึ้ ไดตามชอบ ใจ ดืม่ กอนนอนวันละ 30 ซีซี. (1 เปก) • หัวแหง ดองกับน้ำผึง้ แทในอัตราสวน 1:1 นาน 7 วัน แลวนำมาดืม่ กอนนอน • หัวแหง บดเปนผงละเอียดผสมน้ำผึง้ พริกไทยปน กระเทียมผง บอระเพ็ดผง ในอัตราสวน 10 : 5 : 2 : 1 : 0.5 ปน เปนลูกกลอน กระชายดำแบบชาชง • ผงแหงกระชายดำ 1 ซอง ชงน้ำรอน 1แกว (ประมาณ 120 ซีซี.) หากตองการรสชาติทดี่ ขี นึ้ สามารถแตงรสดวยน้ำตาล หรือน้ำผึ้งตามชอบใจ เอกสารอางอิง 1. http://www.disc.doa.go.th/data-agri/02_LOCAL/oard3/kachaidum/main.html รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

หมอน 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่อภาษาอังกฤษ: ชือ่ อืน่ :

Morus alba L. Moraceae White Mulberry, Mulberry Tree หมอน มอน (อีสาน) ซึมเฮียะ (จีน)

เอกสารอางอิง 1. สวนพฤกษศาสตรปาไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544. 2544 หนา 366 2. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คูมือสมุนไพรฉบับยอ (1). บจก.นิวไทยมิตร การพิมพ (1996) กรุงเทพฯ. 2543.

2. ลักษณะพืช ลักษณะทั่วไป: สุมนไพร “หมอน” เปนไมพมุ ขนาดยอม เปลือกตนสีน้ำตาลแดง ใบเดีย่ วออกสลับสีเขียวเขมเปนรูป หัวใจขอบจักฟนเลือ่ ย ผิวสาก สีเขียวเขม เสนใบตามยาว 3 เสน ดอกเล็กๆ กลม เปนชอแทงกลมเล็กๆ ดอกตัวผูและตัวเมียแยกกัน ดอกยอยมี 4 กลีบ เติบโตออกมาตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ยาวราว 1 นิ้ว ผลมีลักษณะเปนเปนผลรวม ออกเปนพวงกลมเล็กเมื่อสุกจะมีสีมวงแดงถึงดำผลกลมเล็กๆ เมื่อสุก สีน้ำตาลดำเปนพวง ปลูกไวเก็บใบเลีย้ งตัวไหม เอกสารอางอิง 1. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คมู อื สมุนไพรฉบับยอ (1). บจก.นิวไทยมิตรการพิมพ (1996) กรุงเทพฯ. 2543.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ช: ใบ ผล ราก เปลือกราก กิง่ สรรพคุณ: ใบ มีรสจืดเย็น สามารถนำมาใชตม ดืม่ เพือ่ รักษาอาการไข ตัวรอน รอนในกระหายน้ำ แกไอ ระงับ ประสาท รวมถึงสามารถนำมาตมเอาน้ำลางตาแกตาแดง ตาแฉะ ตาฝาฟาง ใชเปนยาขับเหงือ่ แกเจ็บคอ แกไอ ระงับประสาท (ในประเทศจีน ใชใบหมอนแกโรคติดเชือ้ ในระบบทางเดินหายใจ ขับรอนจากปอด อาการไอแหง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ตาอักเสบ ตามัว) ผล มีรสเปรีย้ วหวานเย็น ชวยทำใหชมุ คอ บำรุงไต ดับรอน ใชเปนยาระบายออนๆ แกธาตุไมปกติ ราก สามารถใชในการขับพยาธิ เปลือกราก ตามเภสัชตำรับของประเทศจีน ใชสำหรับอาการไอ หืด กิง่ หมอน ตามเภสัชตำรับของประเทศจีน ใชรกั ษาโรคปวดขอ โดยเฉพาะอยางยิง่ บริเวณบาและแขน เอกสารอางอิง 1. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คมู อื สมุนไพรฉบับยอ (1). บจก. นิวไทยมิตรการพิมพ (1996) กรุงเทพฯ. 2543

31


32

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

2. นันทวัน บุณยประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพนื้ บาน (5). บริษทั ประชาชน จำกัด กรุงเทพฯ. 2543. หนา 135-143. 3. The Pharmacopoeia Commission of PRC. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China, English Edition 1988. The People’s Medical Publishing House. p. 24, 38, 53, 137-138.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ สมุนไพร “หมอน” ทีจ่ ะนำมาผลิตชาปริมาณมากๆ เพือ่ ใหไดคณ ุ ภาพสม่ำเสมอกันทัง้ หมด ควรเลือก ใชหมอนพันธุเดียวกัน หากมีหลายพันธุปนกันผลผลิตที่ไดจะไมสวยและไมเปนมาตรฐานเดียวกัน ดวยเหตุนพี้ นั ธหุ มอนทีใ่ ชทำชาควรมีใบทีม่ คี วามหนาพอสมควรไมบางหรือหนาเกินไป พันธทุ กี่ รมวิชาการ เกษตรแนะนำ คือ • พันธบุ รุ รี มั ย 60 (บร. 60) • พันธนุ ครราชสีมา 60 (นม. 60) ทั้งสองพันธุนี้เปนหมอนที่ทางตลาดผูซื้อยอมรับ เนื่องจากเปนพันธุที่มีผลผลิตสูงและเกษตรกรมี การปลูกอยางแพรหลายแลว เอกสารอางอิง 1. วิโรจน แกวเรือง. สถาบันวิจยั หมอนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. ชาหมอน. พิมพครัง้ ที่ 2. 2543. 40 หนา

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก ยังไมมีการวิจัยการปลูก “หมอน” ที่ใชใบสำหรับผลิตชาหมอนโดยตรง จึงมักใชวิธีการดูแลรักษา การปลูกหมอนเพื่อใชใบเลี้ยงไหมไปกอน การเตรียมกิง่ ปลูก: กิง่ หมอนควรเปนกิง่ ทีม่ อี ายุระหวางตัง้ แต 6 เดือน ถึง 1 ป และเลือกเอาสวนของกิง่ เปนสีน้ำตาล แตละทอนมีตาอยปู ระมาณ 5 - 6 ตา และมีความยาวประมาณ 20 - 30 ซม. มาใชในการเตรียมกิง่ ปลูก การเตรียมดิน: การเตรียมดินนั้นทำไดโดยการไถพรวนแลวขุดรองใหมีขนาดกวาง 50 ซม. ลึก 50 ซม. แลวใช เศษหญา ใบไมแหง ปุยหมัก หรือปุยคอก ใสใหไดไรละ 2,000-3,000 กิโลกรัม แลวเอาดินกลบหรือ ถาสามารถปลูกพืชตระกูลถัว่ เชน ถัว่ เขียวหรือปอเทือง แลวทำการไถกลบกอนการปลูกประมาณ 2 ครัง้ ทั้งนี้ พืชดังกลาวจะเปนปุยพืชสดซึ่งชวยทำใหดินดียิ่งขึ้น การปลูก: อาจใชกงิ่ ปกลงในแปลงทีเ่ ตรียมไวเลย หรืออาจใชกงิ่ ทีป่ ก ชำในแปลงเพาะชำใหกงิ่ มีอายุ 2-3 เดือน แลวจึงนำลงปลูกในแปลงก็ได ฤดูที่ปลูกที่เหมาะสม: ควรเปนตนฤดูฝน หากเปนทีน่ ้ำระบายไมดจี ะปลูกปลายฤดูฝนก็ได ระยะปลูก: • เมือ่ ใชเครือ่ งมือทนุ แรงขนาดใหญ ระยะปลูกตอตนตอแถว 3.00 X 0.75 เมตร จะใชทอ นพันธุ ไรละประมาณ 710 ทอน • เมือ่ ใชเครือ่ งมือทนุ แรงขนาดกลาง ระยะปลูกตอตนตอแถว 2.50 X 0.75 เมตร จะใชทอ นพันธุ ไรละประมาณ 855 ทอน


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• เมือ่ ใชเครือ่ งมือทนุ แรงขนาดเล็ก ระยะปลูกตอตนตอแถว 2.00 X 0.75 เมตร จะใชทอ นพันธุ ไรละประมาณ 1,066 ทอน • เมือ่ ใชแรงงานคนระยะปลูกตอตนตอแถว 1.00 X 1.00 เมตร หรือ 1.50 X 0.75 เมตร จะใช ทอนพันธุ ไรละประมาณ 1,280 ทอน การบำรุงรักษา: แปลงหมอนทีป่ ลูกแลวประมาณ 8-12 เดือน ตนหมอนจะโตพอทีจ่ ะนำไปเลีย้ งไหมได แปลงหมอน ทีม่ กี ารบำรุงรักษาดีจะทำใหหมอนเจริญเติบโต ทำใหผลผลิตตอไรสงู อีกทัง้ ยังสามารถใชเลีย้ งไหมไดนาน 10-15 ป ดังนัน้ การดูแลรักษาแปลงหมอนตองมีการปราบวัชพืช พรวนดิน ปองกันโรค แมลงศัตรูหมอน และจะตองใสปยุ เพือ่ ใหดนิ มีความอุดมสมบูรณเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของตนหมอน 8-12 เดือน การตัดแตง: ประโยชนของการตัดแตง • ปรับปรุงคุณภาพของใบหมอน • เพิ่มผลผลิตใบหมอนใหสูงขึ้น • ใหใบหมอนเหมาะสมแตละวัยของหนอนไหม • ใหทรงตนสม่ำเสมอ สะดวกในการเก็บเกีย่ ว • เปนการกำจัดโรคและแมลงศัตรูหมอน การตัดแตงมีหลายวิธดี ว ยกันดังนี้ • การตัดต่ำ เปนการตัดประจำป จำทำการตัดปละครัง้ โดยตัดใหตน ตอสูงจากพืน้ ดิน 30 ซม. หลังจากตัดแลว 3 เดือน จะไดหมอนซึง่ โตพอทีจ่ ะนำไปเลีย้ งไหมได การตัดต่ำในครัง้ ตอๆ ไป ใหตดั เหนือรอยตัดเดิมประมาณ 1-2 ซม. • การตัดกลางหรือตัดครึง่ ตน เปนการตัดหลังจากตัดต่ำประมาณ 3 เดือน ซึง่ ขณะนัน้ ตนหมอน จะสูงประมาณ 1.50-2.00 เมตร ทำการตัดไปเลี้ยงไหมไดโดยตัดสูงจากพื้นดิน 1 เมตร หลังจากตัดแลว 2-3 เดือน จึงจะเลีย้ งไหมรนุ ตอไปอีก • การตัดแขนง เปนการตัดหลังจากตัดกลาง 2-3 เดือน ซึง่ กิง่ ขนานจะเจริญเติบโตยาวประมาณ 1 เมตร สามารถนำไปใชเลีย้ งไหมไดโดยตัดแขนงเหนือรอยตัดเดิม 1 ฝามือ หรือมีตา 2-3 ตา หลังจากตัดแลว 2-2.5 เดือน ตาทีอ่ ยตู ดิ แขนงจะแตกเปนแขนงอีกสามารถตัดแขนงไปเลีย้ งไหม ครั้งตอไปไดอีก • การตัดสูงหรือเด็ดยอด ควรทำการเด็ดยอดใหต่ำลงมาจากยอดเดิมประมาณ 10-15 ซม. แลว เด็ดใบสวนบนใหเหลือใบแกสว นลางไวเพียงครึง่ เดียว ภายหลังเด็ดยอดแลวประมาณ 4 อาทิตย กิง่ แขนงจะเจริญเติบโตขึน้ มา นำไปเลีย้ งไหมวัยออนได การตัดต่ำ การตัดครึง่ ตน และการตัดแขนงเหมาะสำหรับเตรียมใบหมอนเลีย้ งไหมวัยแก สวนการ เด็ดยอดนัน้ เหมาะสำหรับเลีย้ งไหมวัยออน วิธกี ารดังกลาวจำเปนตองบำรุงตนหมอนโดยการใสปยุ คอกหรือ ปยุ หมักไรละ 2,000 - 3,000 กิโลกรัม วิธกี ารใสทำชวงหลังการตัดต่ำจะสะดวกทีส่ ดุ หากตองการใชปยุ เคมี ควรใชสตู ร 15-15-15 100 กก./ไร/ป โดยแบงใส 3 ครัง้ หลังจากตัดแตงตนหมอนทุกครัง้

33


34

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

โรคหมอน: โรครากเนา ลักษณะอาการของโรค ในระยะแรกใบจะเหี่ยวคลายถูกน้ำรอนลวกและจะแหงและรวงหลนไป เมือ่ ขุดดูทรี่ ากจะพบวารากเปอ ยเนาเปนสีน้ำตาลปนดำ มีกลิน่ เหม็นบูดเนา วิธีการปองกันกำจัด • เมือ่ พบหมอนเปนโรคแลว ตองขุดออกเปนเศษรากใหหมดและเผาทำลายเสีย • ในการพรวนดิน ใหระมัดระวังอยาใหรากเกิดรอยแผลอันเปนชองทางใหเชือ้ เขาทำลายระบบรากได • การตัดแตงกิง่ ควรใชกรรไกตัดกิง่ ไมควรใชมดี ตัดเพือ่ หลีกเลีย่ งการกระเทือนตอระบบราก โรคราแปง ลักษณะอาการของโรค โรคนีส้ งั เกตไดงา ย โดยจะมีราขึน้ เปนผงสีขาวคลายแปงอยใู ตใบหรือเกือบ เต็มใบ บางครั้งจะพบสีขาวขึ้นบนใบดวยสวนมากจะเปนกับใบหมอนที่แกมากกวาใบออน ใบที่เปนโรค จะคอยๆ เปลีย่ นเปนสีเหลืองแหงกรอบและรวงตามลำดับ วิธีปองกันกำจัด • เก็บใบทีแ่ สดงอาการของโรคเผาทำลายเสีย • ไมควรปลูกหมอนชิดมากเกินไป หรือปลอยสวนหมอนมีหญาคลุมและรก ทั้งนี้เพื่อใหการ ถายเทอากาศสะดวก • ฉีดยาฆาเชื้อ โดยใชยาที่มีขายที่อยูทั่วไป ฉีดตามกิ่งและใบใหทั่ว 20 วันตอครั้ง หลังจาก ฉีดยาแลว 7 วัน จึงเก็บใบหมอนไปเลีย้ งไหมได แมลงศัตรูหมอน: เพลีย้ แปง มักพบการระบาดรุนแรงระหวางเดือนมีนาคม - กรกฎาคม ในพืน้ ทีบ่ างแหงอาจพบวา มีการระบาดชวงฤดูฝนกับฤดูหนาวคือเดือนตุลาคม - ธันวาคม เพลีย้ แปงจะอาศัยดูดกินน้ำเลีย้ งบริเวณ ยอดตาใบและโคนใบทำใหยอดหรือใบผิดปกติ และหยุดการเจริญเติบโต การปองกันกำจัด • พยายามตรวจสวนหมอนในชวงเมษายน - กรกฎาคม และชวงปลายฤดูฝน ตุลาคม - ธันวาคม โดยตัดเอาสวนทีห่ งิกงอมีเพลีย้ แปงมาทำลายเสีย • กำจัดเพลีย้ แปงในสวนหมอน ถาพบรังอาจใชสารเคมีโรยหรือผสมน้ำราด • การใชสารเคมีพน ควรเลือกใชสารเคมีทมี่ พี ษิ ตกคางต่ำ เพลีย้ ไฟ จะพบมากในฤดูฝน ในระยะทีฝ่ นทิง้ ชวง ทัง้ นีเ้ พลีย้ ไฟจะขยายพันธไุ ดตลอดป การปองกันกำจัด • สารเคมีกำจัด ควรใชสารเคมีทมี่ พี ษิ ตกคางไมมากนักและไมเปนอันตรายตอการเลีย้ งไหม เอกสารอางอิง 1. http://www.kasetesarn.com/techno/mulberry.html


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: ใบหมอน กรมวิชาการเกษตรแนะนำวาวิธีการที่ดีสำหรับการทำชาใบหมอนคือการเด็ดใบ เพราะ คนเก็บสามารถเลือกใบไดโดยไมเก็บใบทีเ่ ปนโรค แมลงทำลายหรือสกปรก เทากับเปนการคัดเลือกใบเบือ้ งตน ทัง้ นี้ การเด็ดใบจะเด็ดจากใบลางสใู บบนเวนใบออนสวนยอดไว ปลอยใหตน หมอนเจริญเติบโตไปประมาณ 1 เดือนจะเก็บใบหมอนไดอกี ครัง้ หมุนเวียนกันไป เวลาในการเก็บเพือ่ ใหไดใบสดควรเปนตอนเชาหรือตอนเย็น คือชวงที่มีอุณหภูมิต่ำ ใบจะไดไมเหี่ยว การเก็บจะตองมีตะกราเพื่อใหอากาศถายเทไดไมอบ ใบหมอน ทีร่ วมกันไวยงั หายใจจะมีความรอนออกมา เมือ่ ความรอนสะสมมากขึน้ ใบหมอนจะตายนึง่ เมือ่ นำไปทำชา รสชาติจะเสีย การเก็บจะตองมีการเรียงใบหรือหาวิธกี ารทีจ่ ะทำใหใบหมอนไมเกิดสภาพดังกลาวกอนถึงโรงงาน เปลือกรากหมอน ในประเทศจีนจะเก็บในชวงปลายฤดูใบไมรว งระหวางทีใ่ บหมอนกำลังรวงและใน ชวงตนฤดูใบไมผลิกอนที่ใบจะงอก โดยเอาสวนของ Cork ที่เปนสีน้ำตาลเหลืองออก ตัดตามยาวของ ลำตนแลวลอกเปลือกออก จากนัน้ จึงนำไปตากแดด กิง่ หมอน ในประเทศจีน จะเก็บกิง่ หมอนออนในชวงปลายฤดูใบไมรว งและตนฤดูรอ น โดยทำการ ริดใบออกแลวตากแดด หรือหัน่ เปนชิน้ ๆ ขณะยังสดแลวตากแดด วิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว: การขนสง การขนสงใบหมอนไปยังโรงงานทำชาใบหมอน ควรขนสงในปริมาณทีไ่ มมากเกินกำลังผลิต ของโรงงาน และคมุ คาขนสง โดยทำชวงทีอ่ ากาศไมรอ นเกินไป คือชวงเชาหรือชวงเย็น และใชเวลาขนสง ไมเกิน 2 ชัว่ โมง เพือ่ รักษาความสดของใบ ใบหมอนทีเ่ ขาโรงงานแลวสวนหนึง่ จะเขาสกู ระบวนการทำชา ทันที สวนทีเ่ หลือตองระบายความรอนจากการหายใจของใบดวยการใชลมเปา กอนจะเขากระบวนการผลิต ตอไป ทัง้ นี้ ไมควรเก็บใบหมอนไวเกิน 24 ชัว่ โมง การผลิตชาใบหมอน มี 2 ระดับ คือ ระดับครัวเรือนและระดับอุตสาหกรรม โดยสามารถผลิต ชาหมอนได 3 ประเภท ไดแก • การผลิตชาเขียว • การผลิตชาจีน • การผลิตชาฝรั่ง การทำชาแตละชนิด มีรายละเอียดของขัน้ ตอนการผลิตในเอกสารของกรมวิชาการเกษตร เอกสารอางอิง 1. วิโรจน แกวเรือง. สถาบันวิจยั หมอนไหม กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ. ชาหมอน. พิมพครัง้ ที่ 2. 2543. 40 หนา 2. The Pharmacopoeia Commission of PRC. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China, English Edition 1988. The People’s Medical Publishing House. p. 24, 38, 53, 137-138.

7. สารสำคัญในสมุนไพร สารสำคัญในสมุนไพร “หมอน” นัน้ พบวาใบของหมอนมีสารจำพวกฟลาโวนอยด ไฟโตสเตียรอล ไทรเทอรปน แอลคาลอยด เซราไมด และน้ำมันหอมระเหย นอกจากนีย้ งั มีสารอาหารตางๆ ในปริมาณสูง เชน คารโบไฮเดรต เพคติน โปรตีน เสนใยอาหาร รวมทัง้ ไวตามินบี ซี และแคโรทีนดวย

35


36

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

รากและเปลือกราก มีสารแอลคาลอยด คูมารินส เทอรปน สติลปน ฟลาโวนอยด เบนซินอยด อีกทัง้ เนือ้ ไมทลี่ อกเอาเปลือกออกพบสารฟนอลิกส ฟลาโวนอยด เบนซินอยดและสติลบีน ผล มีน้ำมันหอมระเหย ฟลาโวนอยด น้ำตาล และวิตามินซี เอกสารอางอิง 1. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คมู อื สมุนไพรฉบับยอ(1). บจก.นิวไทยมิตรการพิมพ(1996) กรุงเทพฯ. 2543 2. http://www.hort.purdue.edu/newcrop/duke_energy/Moru_alba.html

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร เภสัชตำรับของประเทศจีนมีการกำหนดเอกลักษณทางเภสัชเวทของเปลือกรากหมอน ผงใบหมอน ผลหมอน และกิง่ หมอนไว เอกสารอางอิง 1. The Pharmacopoeia Commission of PRC. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China, English Edition 1988. The People’s Medical Publishing House. p. 24, 38, 53, 137-138.

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง รายงานการวิจัยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหมอนจากฐานขอมูล PubMed พอสรุปฤทธิ์ที่สำคัญ ของหมอนได 2 ฤทธิ์ คือ 9.1.1 ฤทธิต์ า นอนุมลู อิสระ น้ำคัน้ และสารสกัดเมธานอลจากใบหมอนมีฤทธิต์ า นอนุมลู อิสระ ทัง้ นี้ สารตานอนุมลู อิสระในใบหมอน ไดแก quercetin (452 mg/100 g)(1,2) สารกลมุ prenyflavanes และ glycoside ของ หมอน มีฤทธิย์ บั ยัง้ oxidation ของ LDL(3), quercetin-3-O-beta-D-glucopyranoside, quercetin3,7-di-O-beta-D-glucopyranoside(4), quercetin-3-O-beta-D-glucopyranoside-(1-6)-betaD-glucopyranoside(2), 5,7-dihydroxycoumarin-7-methy ether, oxyresveratrol(5) และ moracins(7) สารสกัดดวยบิวทานอลของใบหมอน ไดแก quercetin และ isoquercitrin สามารถ ยับยัง้ การเกิด oxidative modification ของ LDL ของกระตายและคนได จึงอาจชวยปองกัน atherosclerosis ได(8) 9.1.2 ฤทธิย์ บั ยัง้ การสราง melanin โดยการยับยัง้ เอนไซม Tyrosinase มีรายงานการวิจยั วาสารสกัดกิง่ ออนของหมอนมีฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม tyrosinase และ การสราง melanin โดย B-16 melanoma cells โดยออกฤทธิเ์ ปน competitive inhibitor กับเอนไซม (โดยมีคา Ki = 1.5x10-6M) แตไมมผี ลยับยัง้ การสรางเอนไซมหรือตอ gene expression ของเอนไซม สารสกัดนีส้ ามารถลดการสราง melanin บนผิวหนูตะเภาทีไ่ ดรบั รังสี UV ได สารสำคัญทีเ่ ปนสารออก ฤทธิค์ อื 2,3’,4,5’-tetrahydroxystilbene (2-oxyresveratrol) ซึง่ มีคา IC50 = 0.23 μg/ml และจากการ ศึกษาผลการทดสอบความเปนพิษของสารสกัดพบวา ไมมีฤทธิ์ทำใหเกิดพิษเมื่อทดสอบพิษเฉียบพลัน การระคายเคืองผิวหนัง การกอใหเกิดอาการแพ(6) ทัง้ นี้ สาร 2-oxyresveratrol มีฤทธิ์ยับยั้ง tyrosinase แรงกวา resveratrol (3’,4’,5’-trihydroxystilbene) 150 เทา(9)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

สารสกัดดวย 85% เมธานอลของใบหมอนมีฤทธิ์ยับยั้ง tyrosinase และการสราง melanin ใน cultured cells ซึ่งสารสำคัญนี้ คือ สารสกัด mulberroside F (moracin M-6,3’di-O-beta-D-glucopyranoside) ซึง่ ฤทธิย์ บั ยัง้ tyrosinase ออนกวา kojic acid(10) ทัง้ นี้ มีรายงานวา สารสกัดจากเปลือกราก มีฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม tyrosinase ดวยเชนกัน(11) 9.1.3 ฤทธิล์ ดน้ำตาลในเลือด สารสกัดดวยน้ำของใบหมอนมีฤทธิ์แรงกวาสารสกัดดวยน้ำของเปลือกรากหมอน ในการลดน้ำตาลในเลือดของหนูถบี จักรทีเ่ ปนเบาหวานเนือ่ งจากไดรบั สาร streptozotocin เมือ่ ไดรบั โดย การฉีดเขาทางชองทองในขนาด 200 มก./กก. เทากัน โดยสวนสกัดยอยทีไ่ มละลายในเอธานอลของสารสกัด ดวยน้ำของทัง้ ใบและเปลือกรากออกฤทธิแ์ รงทีส่ ดุ ในการลดน้ำตาลในเลือด โดยสารสกัดจากใบออกฤทธิ์ โดยการเพิม่ การ glucose uptake ของเซลล(12) สารสกัดดวยน้ำของใบหมอนและสาร 2-O-α-D-galactopyranosyl-1-deoxynojirimycin (GAL-DNJ) แสดงฤทธิล์ ดน้ำตาลในเลือดของหนูถบี จักรทีเ่ ปนเบาหวาน(13) ทัง้ นี้ ใบหมอนยังมีสาร 1-deoxynojirimycin ซึง่ มีฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม α-glucosidase ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่แรง (แตไมยับยั้งฤทธิ์ของเอนไซมนี้ในตัวไหม) ทำใหใบหมอนมีศักยภาพ ในการนำมาใชในผูปวยเบาหวานหรือทำเปนผลิตภัณฑเสริมอาหารเพื่อลดความอวน(14) 9.1.3 การศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวิทยาอืน่ ๆ (9) ฤทธิต์ า นเชือ้ เอชไอวี สารสกัดดวยน้ำ ไดแก มอรูซนิ (morusin), morusin-4’-glucoside และ คูวาโนน เอช (kuwannon H) จากเปลือกรากหมอน มีฤทธยบั ยัง้ เอนไซมรเี วอรสทรานคริปเทสและ โพลีเมอเรสของเชือ้ เอชไอวี ฤทธิล์ ดน้ำตาลในเลือด สารสกัดน้ำและสารสกัดเอธานอลจากใบหมอน และสารสกัด เอธานอล-น้ำ จากเปลือกรากหมอนมีฤทธิล์ ดน้ำตาลในสัตวทดลองปกติและทีเ่ ปนเบาหวาน ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัดเอธานอลจากใบและบิวทานอลจากเปลือกรากหมอน มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตในหนูพบวาสารที่ออกฤทธิ์เปนสารกลุมฟลาโวนอยด ฤทธิ์ตานเชื้อรา สารสกัดอะซีโตนและสารสกัดเอทานอลจากรากหมอน มีฤทธิ์ยับยั้ง การเจริญของเชือ้ รา ซึง่ สารทีอ่ อกฤทธิค์ อื มัลเบอโรฟูแรน เอ (mulberrofuran A) จากเปลือกราก ฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรีย สารสกัดน้ำจากใบประกอบดวยคูวาโนน แอล มัลเบอโรฟูแรน เอ (Mulberro-furan A) และแซงจีโนนซี (sangenone C) มีฤทธิใ์ นการตานเชือ้ แบคทีเรีย อีกทัง้ สาร Kuwanon G จากเปลือกรากหมอนแสดงฤทธิย์ บั ยัง้ แบคทีเรียทีท่ ำใหเกิดฟนผุไดด(15) ี ฤทธิต์ า นเชือ้ ไวรัส ผลการทดสอบฤทธิต์ า นเชือ้ ไวรัส Herpes simplex type 2 ของ สารกลมุ prenylated flavonoids 8 ชนิดซึง่ สกัดไดจากเปลือกรากหมอน พบวาสาร leachianone G มีฤทธิแ์ รงทีส่ ดุ โดยมี IC50 เทากับ 1.6 μg/ml(16) ฤทธิ์อื่นๆ สารสกัดน้ำและสารสกัดบิวทานอลจากเปลือกรากหมอนยังมีฤทธิ์ในการ แกไอ ขับปสสาวะ ลดอาการบวม และเปนยาสงบประสาทในสัตวทดลองดวย เอกสารอางอิง 1. Suntornsuk L, Kasemsuk S, Wongyai S. Quantitative analysis of aglycone quercetin in mulberry leaves (Morus alba L.) by capillary zone electrophoresis. Electrophoresis 2003; 24(7-8): 1236-41. 2. Kim SY, Gao JJ, Lee WC, et al. Antioxidative flavonoids from the leaves of Morus alba. Arch Pharm Res 1999; 22(1): 81-5.

37


38

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

3. Doi K, Kojima T, Makino M, et al. Studies on the constituents of the leaves of Morus alba L. Chem Pharm Bull (Tokyo) 2001; 49(2): 151-3. 4. Kim SY, Gao JJ, Kang HK. Two flavonoids from the leaves of Morus alba induce differentiation of the human promyelocytic leukemia (HL-60) cell line. Biol Pharm Bull 2000; 23(4): 451-5. 5. H, Ko EK, Jun JY, et al. Hepatoprotective and free radical scavenging activities of prenylflavonoids, coumarin, and stilbene from Morus alba. Planta Med 2002; 68(10): 932-4. 6. Lee KT, Lee KS, Jeong JH, et al. Inhibitory effects of Ramulus mori extracts on melanogenesis. J Cosmet Sci 2003; 54(2): 133-42. 7. Sharma R, Sharma A, Shono T, et al. Mulberry moracins: scavengers of UV stress-generated free radicals. Biosci Biotechnol Biochem. 2001; 65(6): 1402-5. 8. Doi K, Kojima T, Fujimoto Y. Mulberry leaf extract inhibits the oxidative modification of rabbit and human low density lipoprotein. Biol Pharm Bull. 2000; 23(9): 1066-71. 9. Shin NH, Ryu SY, Choi EJ, et al. Oxyresveratrol as the potent inhibitor on dopa oxidase activity of mushroom tyrosinase. Biochem Biophys Res Commun 1998; 243(3): 801-3. 10. Lee SH, Choi SY, Kim H, et al. Mulberroside F isolated from the leaves of Morus alba inhibits melanin biosynthesis. Biol Pharm Bull 2002; 25(8): 1045-8. 11. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คูมือสมุนไพรฉบับยอ (1). บจก. นิวไทยมิตรการพิมพ (1996) กรุงเทพฯ. 2543 12. Chen F, Nakashima N, Kimura I, et al. Hypoglycemic activity and mechanisms of extracts from mulberry leaves (folium mori) and cortex mori radicis in streptozotocin-induced diabetic mice. Yakugaku Zasshi. 1995; 115(6): 476-82. 13. Chen F, Nakashima N, Kimura I, et al. Potentiating effects on pilocarpine-induced saliva secretion, by extracts and N-containing sugars derived from mulberry leaves, in streptozotocin-diabetic mice. Biol Pharm Bull. 1995; 18(21): 1676-80. 14. Asano N, Yamashita T, Yasuda K, et al. Polyhydroxylated alkaloids isolated from mulberry trees (Morus alba L.) and silkworm (Bombyx mori L.). J Agric Food Chem. 2001; 49(9): 4208-13. 15. Park KM, You JS, Lee HY, et al. Kuwanon G: an antibacterial agent from the root bark of Morus alba against oral pathogens. J Ethnopharmacol. 2003; 84(2-3): 181-5. 16. Du J, He ZD, Jiang RW, et al. Antiviral flavonoids from the root bark of Morus alba L. Phytochemistry. 2003; 62(8): 1235-8.

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) จากการศึกษาฤทธิล์ ดระดับน้ำตาลในเลือด โดยเมือ่ ใหยาชงซึง่ มีสว นผสมของใบหมอน รวม กับฝกถั่ว (Phaseolus vulgaris) และใบ Vaccinium myrtillus L. ขนาด 15 กรัม/วัน แกผูปวย เบาหวานจำนวน 82 คน วันละ 3 เวลา เปนเวลา 2 เดือน พบวาผปู ว ย 74 ราย มีระดับน้ำตาลในเลือดลดลง ถึง 24% ของระดับกอนใหยา เอกสารอางอิง 1. Ionescu-Trigoviste C, Popa E, Mirodon Z, et al. The effect of a plant mixture on the metabolic equilibrium in patients with type-2 diabetes mellitus. Rev Med Interna Neurol Psihiatr Neurochir Dermatovenerol Med Interna. 1989; 41(2): 185-92.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

10. การศึกษาทางพิษวิทยา การศึกษาพิษเฉียบพลันของสารสกัดจากพืชทั้งตน ดวยสารละลาย 50% เอธานอล เมื่อฉีดเขา ชองทองหนูถีบจักร มีคา LD50 มากกวา 1 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กก. สารสกัดบิวทานอลหรือน้ำจาก เปลือกราก เมือ่ ใหกนิ ฉีดเขาชองทอง หรือฉีดเขาหลอดเลือดดำในหนูถบี จักร ขนาด 10, 10, และ 5 กรัม/ กก. น้ำหนักตัวตามลำดับ ซึง่ ไมพบความเปนพิษ เอกสารอางอิง 1. สำนักงานขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. คมู อื สมุนไพรฉบับยอ (1). บจก.นิวไทยมิตรการพิมพ (1996) กรุงเทพฯ. 2543

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ไมมีขอมูล

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ตามเภสัชตำรับของประเทศจีน ใบหมอน ใชรักษาโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ขับรอนจากปอด อาการไอแหง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ตาอักเสบ ตามัว ในขนาด 4.5-9 กรัม ผล ใชรกั ษาอาการ vertigo หูออื้ ใจสัน่ นอนไมหลับ ผมหงอกเร็ว เบาหวาน ทองผูก ในขนาด 9-15 กรัม เปลือกราก ใชสำหรับอาการไอ หืด ในขนาด 6-12 กรัม Mulberry root extract ปจจุบนั นิยมนำมาใชประโยชนเปน whitening agent ในเครือ่ งสำอาง กิง่ หมอน ใชรกั ษาโรคปวดขอ โดยเฉพาะอยางยิง่ บริเวณบาและแขน ในขนาด 9-15 กรัม เอกสารอางอิง 1. The Pharmacopoeia Commission of PRC. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China, English Edition 1988. The People’s Medical Publishing House. p. 24, 38, 53, 137-138. รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

39


40

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

กวาวเครือขาว กวาวเครือเปนพืชในวงศถั่วหรือ Leguminosae โดยมากสวนที่นำมาใชคือสวนของรากที่มักจะ เรียกกันโดยทัว่ ไปวา “หัว” จาก “ตำรายาหัวกวาวเครือ” ทีห่ ลวงอนุสารสุนทร (พ.ศ. 2474) มอบหมายให นายเปลีย่ น กิตศิ รี แปลจากตนฉบับของพมา “กวาวเครือ” มี 4 ชนิด ไดแก • กวาวเครือขาว Pueraria candollei var mirifica • กวาวเครือแดง Butea superba • กวาวเครือดำ • กวาวเครือมอ ในทีน่ จี้ ะกลาวถึงเฉพาะกวาวเครือขาว โดยสรุปขอมูลไดดงั นี้

1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชือ่ อืน่ :

Pueraria candollei Grah. ex Benth var mirifica (Shaw & Suvat.) Niyomdham Leguminosae-Papilionoideae ทองเครือ กวาวเครือขาว (เหนือ) ตามจอมทอง (ชุมพร) กวาวเครือ กวาว ทองเครือ (ไทย) จานเครือ (อิสาน) โพะตะกู ตานเคือ ตานเครือ กวาวเครือ ทองกวาว กวาวหัว (กะเหรีย่ ง กาญจนบุรี)

เอกสารอางอิง 1. สวนพฤกษศาสตรปา ไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม. ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตนิ นั ทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544, 2544, หนา 441. 2. Niyomdham C. Notes on Thai and Indo-Chinese Phaseoleae (Leguminosae-Papilionoideae). Nord J Bot 1992; 12: 339-346. 3. พเยาว เหมือนวงษญาติ. สมุนไพรกาวใหม แกไขปรับปรุงใหมจากตำราวิทยาศาสตรสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 2, บริษทั ที.พี.พริน้ ท จำกัด, 2537 4. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 1, โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส, 2540

2. ลักษณะพืช ตน กวาวเครือขาวมีลกั ษณะตนเปนไมเถาเนือ้ แข็งขนาดใหญ เถาจะเจริญเติบโตพันหรือยึดเกาะกับ ตนไมใหญ ใบ ใบมีลักษณะเปนใบประกอบแบบนิ้วมือมีใบยอย 3 ใบ ขนาดใหญ มีรูปทรงเปนรูปไขกวาง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. ใบมีสเี ขียวคลายกับใบถัว่ คลา ดอก ดอกของกวาวเครือขาวมีลักษณะเปนดอกเดี่ยว มีขนาดใหญ คลายกับดอกแค มีสีน้ำเงิน อมมวง โดยจะออกดอกเมือ่ ตนมีอายุมากๆ ทัง้ นี้ ดอกของ var. mirifica ตางจาก var. cadollei คือ var. mirifica มีดอกและ calyx สัน้ กวา คือ ดอกยาว 13 (-15) มม. และ calyx ยาว 5-7 (-8) มม. ขณะที่ var. cadollei มีดอกยาว 18 (-20) มม. และ calyx ยาว 8-10 (-12) มม.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ผล มีลกั ษณะเปนฝกแบนมี 2 ชนิด คือ ชนิดหัวขาวและชนิดหัวแดง ซึง่ ชนิดหัวแดงจะมีพษิ มาก ไมนยิ มนำมาใชทำยา อยางไรก็ตามผลทัง้ สองชนิดกินมากจะเปนพิษ มักเกิดตามปาดงดิบเขาสูง และพบมาก ในภาคเหนือ หัวใตดนิ มักขุดไปใชทางยาไดในเมือ่ ไมมใี บ หัวแข็งใหญ มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 15-25 ซม. รูปรางคลายหัวมันแกว เอกสารอางอิง 1. พเยาว เหมือนวงษญาติ. สมุนไพรกาวใหม แกไขปรับปรุงใหมจากตำราวิทยาศาสตรสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 2, บริษทั ที.พี.พริน้ ท จำกัด, 2537 2. Niyomdham C. Notes on Thai and Indo-Chinese Phaseoleae (Leguminosae-Papilionoideae). Nord J Bot 1992; 12: 339-346. 3. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 1, โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส, 2540

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ชและสรรพคุณ: หัว มีรสเมาเบือ่ หากรับประทานในปริมาณทีพ่ อเหมาะ จะทำใหสขุ ภาพรางกายเจริญเติบโตไดดขี นึ้ อีกทัง้ บำรุงกำลัง บำรุงเนือ้ ใหเตงตึงขึน้ บำรุงสุขภาพใหสมบูรณ บำรุงความกำหนัด เปนยาอายุวฒ ั นะ ทำให หนาอกโต ทัง้ นี้ หากรับประทานมากเกินอาจเกิดพิษได เปลือกเถา มีรสเบือ่ เมา สามารถนำมาใชเปนยาแกพษิ งู หัวกวาวเครือ จากตำราของหลวงอนุสารสุนทร ระบุขนาดรับประทานของยาหัวกวาวเครือขาววาใหปน กินวันละ 1 เม็ด ขนาดเทาเม็ดพริกไทย โดยมีสรรพคุณเปนยาอายุวฒ ั นะใชไดทงั้ ชายหญิงผสู งู อายุ ตำรา ระบุวา คนหนมุ สาวหามรับประทาน กวาวเครือขาวชวยทำใหผวิ หนังทีเ่ หีย่ วยนกลับเตงตึงมีน้ำมีนวล ชวย เสริมหนาอก ทำใหเสนผมทีห่ งอกกลับดำ และเพิม่ เสนผม แกโรคตาฟาง ตอกระจก ทำใหความจำดี ทำให มีพลัง การเคลือ่ นไหวเดินเหินคลองแคลว ชวยบำรุงโลหิต ชวยใหกนิ ได นอนหลับ เอกสารอางอิง 1. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 1, โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส, 2540 2. ตำราของหลวงอนุสารสุนทร 3. www.pharm.chula.ac.th/osotsala/botanay-food/sub1_2.htm

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ การคัดเลือกพันธ:ุ ปจจุบนั ยังมีการศึกษาวิจยั อยเู พือ่ ใหไดสายพันธทุ ี่ • มีปริมาณสารเคมีในหัวมาก • มีอัตราการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วทั้งสวนที่อยูเหนือดินและใตดิน • มีจำนวนหัวมาก เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. 2543.

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การศึกษาวิธกี ารขยายพันธ:ุ

41


42

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การขยายพันธดุ ว ยเมล็ด โดยการเพาะเมล็ดในกระบะขีเ้ ถาแกลบประมาณ 45 วัน นำตนกลาทีไ่ ด ปลูกลงถุงเพาะชำโดยใชดนิ 2 สวน ขีเ้ ถาแกลบ 1 สวน เปลือกมะพราวสับ 1 สวน คา pH ประมาณ 5.5 เมื่อตนกลาเจริญเติบโตได 60 วัน จึงนำลงแปลงปลูกกลางแจงโดยทำคางดวยไมไผ หรือปลูกรวมกับ ไมยนื ตนในกระบวนการเกษตร เชน ไผ สัก ปอสา หรือไมผลอืน่ ๆ พืน้ ทีป่ ลูกควรอยสู งู กวาระดับน้ำทะเล 300-900 เมตร ขยายพันธดุ ว ยการปกชำ นำเถาทีม่ ขี อ มาปกชำในกระบะ หรือถุงทีบ่ รรจุขเี้ ถาแกลบ เมือ่ เถาแตกราก และยอด แข็งแรงดีแลว จึงนำลงแปลงปลูกตอไป โดยการเพาะเมล็ดและการแยกหัว ขยายพันธดุ ว ยเมล็ด ขยายพั น ธุ ด ว ยวิ ธี ก ารแบ ง หั ว ต อ ต น พัฒนาโดยนายสมโภชน ทับเจริญ นักวิชาการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม หัวของกวาวเครือไมมตี าทีจ่ ะแตกเปนตนใหม จำเปนตองใชสว นของลำตนมาตอเชือ่ มตามวิธกี ารขยายพันธแุ บบตอรากเลีย้ งกิง่ (nursed root grafting) สามารถนำหัวกวาวเครือขนาดเล็ก อายุประมาณ 6 เดือนขึน้ ไปและตนหรือเถาทีเ่ คยทิง้ ไปหลังการเก็บเกีย่ ว มาขยายพันธไุ ด หลังการตอตนประมาณ 45-60 วันก็สามารถนำลงปลูกได และมีขอ ดีคอื สามารถตอตน กับหัวขามสายพันธุได เอกสารอางอิง 1. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 1, โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส, 2540 2. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. 2543. 3. สมโภชน ทับเจริญ. การขยายพันธุกวาวเครือโดยวิธีการแบงหัวตอตน. จากเอกสารประกอบการสัมมนา งานประชุมวิชาการ กวาวเครือขาว วันที่ 13 กันยายน 2545 ณ กรมวิทยาศาสตรการแพทย นนทบุรี. 11 หนา

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว หัวใตดนิ จะขุดไปใชทางยาไดในเมือ่ ไมมใี บ หัวแข็งใหญ มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 15-25 ซม. การเก็บเกีย่ ว: • ขุดหัวและทำความสะอาด ผึง่ ใหแหงและทำการผาหัวภายใน 3-4 วัน ถาทิง้ ไวนานหัวจะแหงและเนา • ปอกเปลือกออก และใชมดี ฝานเปนชิน้ บางๆ และตากแดด 3 วัน เมือ่ แหงสนิทใสภาชนะหรือ ถุงที่แหงปดปากถุงใหแนนเพื่อเก็บไวใชหรือจำหนายตอไป ปกติแลวกวาวเครือทีเ่ ก็บเกีย่ วจะมีขนาดน้ำหนักหัวใหญกวา 2 กิโลกรัม และยังไมมรี ายงานวาหัวกวาว เครืออายุเทาไร ขนาดใดและขุดฤดูกาลไหนทีห่ วั ใหสารสำคัญมากทีส่ ดุ เอกสารอางอิง 1. พเยาว เหมือนวงษญาติ. สมุนไพรกาวใหม แกไขปรับปรุงใหมจากตำราวิทยาศาสตรสมุนไพร พิมพครั้งที่ 2, บริษัท ที.พี.พริ้นท จำกัด, 2537 2. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. 2543.

7. สารสำคัญในสมุนไพร การศึกษาทางเคมี: สารเคมีทพี่ บในหัวกวาวเครือขาวทีเ่ ปน Phytoestrogens ไดแก Miroestrol สารสำคัญนีม้ ี estrogenic activity ทีแ่ รง ในรายงานตางๆ มักกลาวกันวาเปนสาร ออกฤทธิ์ ทีส่ ำคัญของกวาวเครือขาว มีปริมาณ 0.002% จากผงรากแหง ตารางขางลางแสดงผลการศึกษา estrogenic activity ของ miroestrol ใน test systems ตางๆ


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

Animal หนูถบี จักร หนูถบี จักร หนูขาว หนูขาว หนูขาว หนูถบี จักร

Test system Immature mouse uterine growth test Immature mouse uterine growth test Rat vaginal cornification test Rat vaginal cornification test Rat mammary duct growth Mouse mammary duct growth

Route Oral s.c. Oral s.c. s.c. s.c.

Estrogenic activity 3 เทาของ stilbestrol เทียบเทา estradiol-17b 2/3 เทาของ stilbestrol 0.25 เทาของ estradiol-17b 0.7 เทาของ estradiol-17b 2.2 เทาของ estrone

หมายเหตุ สาร estradiol-17 เปน estrogen ในคนที่รางกายสรางขึ้นที่มีฤทธิ์แรงที่สุด รองลงมาเปน estrone สวน stilbestrol เปน nonsteroidal estrogen ทีส่ งั เคราะหขนึ้ มีสตู รโครงสรางคลาย estradiol จากการทดสอบหลายวิธี พบวามีความแรงพอๆ กับ estradiol

Deoxymiroestrol มีรายงานการพบสารนีใ้ น Journal of Natural Products เมือ่ เดือนกุมภาพันธ 2000 จากผลงานวิจยั ของคณะนักวิจยั ญีป่ นุ จากมหาวิทยาลัย Chiba รวมกับ รศ. ดร. ชัยโย ชัยชาญทิพยุทธ จากคณะเภสัชศาสตร จุฬาฯ โดยเสนอวาสารนีน้ า จะเปนสารสำคัญในกวาวเครือขาวมากกวา miroestrol (เนื่องจาก deoxymiroestrol ถู ก oxidized ในอากาศไดงายเปน miroestrol) พบวาสารสกัด deoxymiroestrol มีฤทธิแ์ รงกวาสาร miroestrol ถึง 10 เทา ในการกระตนุ การเจริญของ MCF-7cell line ของมะเร็งเตานมของคน ปริมาณของสารนีท้ พี่ บในผงกวาวเครือแหงเทากับ 0.002% นอกจากนี้ กวาวเครือขาวยังมี phytoestrogens ทีเ่ ปน minor isoflavones อีกหลายชนิด เชน Puerarin Daidzein Mirificin Genistein Kwaakhurin Daidzin Genistin ซึ่งสารสี่ชนิดหลังนี้ เปน Phytoestrogens ที่พบไดในถั่วเหลือง แตมี estrogenic activity นอยกวา miroestrol เปนพันเทา นอกจากนี้ยังพบวา ในหัวกวาวเครือขาวยังมีสารอีกหลายชนิดที่ไมมี Estrogenic activity และ ศ. นพ. อวย เกตุสงิ ห เคยรายงานเมือ่ ป 2484 วากวาวเครือขาวมีสารพิษชือ่ Butanin ซึง่ เมือ่ ฉีดใหสตั ว ทดลองจะทำใหหายใจขัด ชักกระตุก และตายได เอกสารอางอิง 1. Cain JC. Miroestrol: an 0estrogen from the plant Pueraria mirifica. Nature 1960; 774-777. 2. Chansakaow S, Ishikawa T, Seki H, et al. Identification of deoxymiroestrol as the actual rejuvenating principle of “Kwao Keur”, Pueraria mirifica. The known miroestrol may be an artifact. J Nat Prod. 2000; 63(2): 173-5.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร ยังไมมีขอกำหนดมาตรฐานของสมุนไพร “กวาวเครือขาว” จากความเห็นของผูเชี่ยวชาญดาน พฤกษเคมีทำใหทราบวาสมุนไพรนีม้ ีความยากลำบากในการกำหนดมาตรฐานมาก เนือ่ งจากมีปจ จัยหลาย อยางทีม่ ผี ลทำใหปริมาณสารสำคัญในหัวกวาวแตกตางกันมาก ไดแก ความแตกตางของสายพันธุ แหลง ทีเ่ ก็บ/ปลูก อายุของหัวทีเ่ ก็บ ฤดูกาลทีเ่ ก็บ ขนาดของหัว เปนตน นอกจากนี้ สารสำคัญในหัวกวาวเครือ

43


44

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ไดแก miroestrol และ deoxymiroestrol ซึง่ เปนสารทีค่ วรใชเปน marker เนือ่ งจากเปนสารทีเ่ ปนตัวกำหนด estrogenic activity ทีส่ ำคัญในหัวกวาวมีปริมาณนอยมาก แยกไดยากใหมปี ริมาณเพียงพอทีจ่ ะใชใน การพัฒนาวิธีวิเคราะหเพื่อจะใชในการควบคุมคุณภาพตอไป

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง การศึกษาฤทธิ์ของผงปนแหงและสารสกัดจากหัวกวาวเครือขาวในสัตวทดลอง จากการสืบคนขอมูลของกวาวเครือขาวจะพบวา นักวิจัยของไทยที่ทำการศึกษาวิจัยฤทธิ์ของ สมุนไพรกวาวเครือมาอยางตอเนื่องคือ รศ. ยุทธนา สมิตะสิริ ซึ่งเปนนักวิจัยทางดานสรีรวิทยาระบบ สืบพันธุ (Reproductive physiologist) ปจจุบนั ประจำอยทู มี่ หาวิทยาลัยแมฟา หลวง เชียงราย โดยที่ รศ. ยุทธนา ไดทำงานวิจัยและพัฒนากวาวเครือขาวมาโดยตลอดตั้งแตป 2524 โดยใหความสนใจกับ การนำกวาวเครือขาวซึง่ มีฤทธิค์ ลายฮอรโมนเอสโตรเจนมาใชในการคุมกำเนิดสัตวชนิดตางๆ โดยเริม่ ตน การวิจยั ในนกกระทา พบวาในขนาดต่ำสามารถคุมกำเนิดไดในนกทัง้ สองเพศ (ทำใหไมตกไข และยับยัง้ การสรางสเปรม) แตหากมีการใชในขนาดสูงทำใหนกตายได จากการทำ Bioassay ของตัวอยางกวาวเครือขาวจากเชียงใหม 2 ตัวอยาง พบวา ผงปนแหง จากหัวกวาวเครือขาว 1 มิลลิกรัม มีฤทธิเ์ ทียบเทา Ethinyl estradiol ประมาณ 0.5 ไมโครกรัม และสาร สำคัญทีเ่ ปนสารออกฤทธิใ์ นผงกวาวเครือขาวมีความคงตัวดี ตัวอยางทีเ่ ก็บนาน 5 ป ยังมี Estrogenic activity และฤทธิค์ มุ กำเนิดเทาเดิม ผลการศึกษาในสัตวทดลองของ รศ. ยุทธนา พอสรุปไดดงั นี้ ดานการคุมกำเนิดสัตวทดลอง พบวา “กวาวเครือขาว” สามารถคุมกำเนิดนกกระทาทัง้ สองเพศ หนูทดลองทัง้ สองเพศ (หนูพกุ หนูนา หนูจดี๊ ) สุนขั แมว ลูกน้ำยุง (แตมผี ลกระทบทำใหปลาในแหลงน้ำ ถูกคุมกำเนิดไปดวย) และแมลงหวี่ แตไมสามารถคุมกำเนิดแมลงสาบ แมลงวันทอง หรือแมลงวันผลไมได นอกจากนี้ยังคุมกำเนิดหนูทดลองและสุนัขหลังผสมพันธุได เมือ่ ใหในหนูทตี่ งั้ ทองในระยะตน ขนาด 100 มก./วัน นาน 7 วัน ทำใหหนูแทง 100% ผง กวาวเครือขาวปนแหงไมสามารถชักนำใหหนูคลอดเร็วขึน้ แตทำใหสญ ู เสียลูกหนูเพิม่ ขึน้ เมือ่ ปอนผงกวาวเครือขาวปนแหงแกหนูทกี่ ำลังใหนม ขนาด 100 มก./วัน 2 สัปดาห จะยับยัง้ การ เจริญของตอมน้ำนมและการสรางน้ำนม โดยการยับยัง้ ฮอรโมน prolactin ในหนูทดลอง ลูกแพะพันธนุ ม และลูกสุกร ผงกวาวเครือขาวปนแหงสามารถกระตนุ ใหเตานมของหนูทดลองใหญขนึ้ ตอมน้ำนมเจริญขึน้ ในลูกแพะทำใหหลั่งน้ำนมได ผลตออวัยวะสืบพันธุ จากการศึกษาเรือ่ งความรสู กึ ทางเพศ และการสืบพันธใุ นสัตวทดลองตัวผู พบวากวาวเครือขาวปริมาณสูง (100 มก./กก./ครัง้ วันละ 3 ครัง้ 14 วัน) ทำใหหนูขาวตัวผไู มผสมพันธุ อีกทั้งการสรางสเปรมถูกยับยั้ง สำหรับในสุนัขเพศผูที่ไดรับกวาวเครือขาว 1.5 กรัม/วัน เปนระยะเวลา 2-3 สัปดาห ในฤดูผสมพันธจุ ะมีผลในการลดความรสู กึ ทางเพศ หรือถายังผสมพันธอุ ยจู ะไมตดิ ลูกหรือ ตัวเมียแทง จากฤทธิน์ จี้ งึ มีการเสนอใหมกี ารใชในเพศชายเพือ่ ลดกำหนัด เชน ใชในพระภิกษุสงฆ เปนตน ผลตออวัยวะสืบพันธขุ องสัตวเพศเมีย ในหนูขาวพบวาจะชวยทำใหปากชองคลอดขยายใหญขนึ้ มดลูกจะใหญขนึ้ มีสแี ดงและบวมน้ำ ทอนำไขขยายใหญขนึ้ รังไขจะมีขนาดเล็ก การเจริญของ follicle ในรังไขและการตกไขถูกยับยั้ง ทั้งนี้ขึ้นกับขนาดที่ไดรับ รวมถึงในสุนัข ลูกแพะนม และลูกสุกรก็พบวา


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

มีปากชองคลอดขยายใหญขนึ้ บวมขึน้ เชนกัน สำหรับสัตวชนิดตางๆ ที่ไดรับผงกวาวเครือขาวลวนมีขนดกและเปนมันขึ้น ปจจุบันมีการ ทดลองนำกวาวเครือขาวไปใชเพิม่ ผลิตผลในสัตวเศรษฐกิจ พบวา ผงหัวกวาวเครือปนแหงสามารถ ลดกลิน่ สาบของเนือ้ สุกรเพศผู เพิม่ ผลผลิตไขในไกไข และมีผลตอการเพิม่ สเปรม ในไกและสุกร 9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) การศึกษาทางคลินกิ ของกวาวเครือ: 1. ในป พ.ศ. 2503 ไดมรี ายงานการศึกษาทางคลินกิ ทีโ่ รงพยาบาล Chelsea Hospital for Women เพือ่ ศึกษาประสิทธิผลของ miroestrol ในการชักนำใหเกิด withdrawal bleeding ในผหู ญิง 10 ราย ทีม่ สี ภาวะประจำเดือนไมมาตามปกติ (primary & secondary amenorrhea & artificial menopause) โดยให miroestrol ในขนาด 5 มิลลิกรัม/วัน 6 ครัง้ และ 1 มิลลิกรัม/วัน 6 ครัง้ จากการศึกษา เมือ่ ดูจาก vaginal smear พบวา miroestrol ทัง้ สองขนาดแสดง estrogenic activity ทีช่ ดั เจน โดย cornification index จะมีคา สูงสุดระหวาง 2-3 สัปดาหหลังจากเริม่ ใช miroestrol พบวาเกิด withdrawal bleeding นอยกวาครึง่ และใชเวลานานถึง 7-18 วันกวาจะเกิดอาการ ซึง่ นานกวาการใชฮอรโมน estrogen และทำให เกิดอาการขางเคียง ไดแก อาการออนเพลีย ปวดศีรษะ คลืน่ ไส อาเจียน ซึง่ มีความรุนแรงพอๆ กันไมวา จะไดรบั miroestrol ขนาด 1 หรือ 5 มิลลิกรัม และในบางรายมีทรวงอกขยายและเจ็บหนาอก 2. จากรายงานผลการวิจยั ทางคลินกิ ระยะทีห่ นึง่ และระยะทีส่ องเพือ่ ศึกษาความปลอดภัย และผลขางเคียงของการใชสมุนไพร “กวาวเครือขาว” ทางคลินิกในสตรีอาสาสมัคร เพื่อรักษาอาการ Vasomotor ในสตรีวยั ใกลหมดและหมดระดู โดย รศ. นพ. วีระพล จันทรดยี งิ่ และคณะ โดยมีการออกแบบ การศึกษาเปนแบบปลายเปด กลมุ ตัวอยางคือ สตรีวยั ใกลหมดหรือหมดระดูทมี่ อี าการ vasomotor ไดแก รอนวูบวาบ เหงื่อออกกลางคืน อาการรวมอื่น เชน อาการของระบบทางเดินปสสาวะ อาการดานจิตใจ วิธดี ำเนินการศึกษาคือ กลมุ อาสาสมัครไดรบั การสมุ ตัวอยางและไดรบั สารสกัดกวาวขนาด 50 หรือ 100 มิลลิกรัม ในรูปแคปซูลวันละ 1 ครัง้ นาน 6 เดือน บทคัดยอของการวิจยั มีรายละเอียดดังนี้ ผลการศึกษาระยะทีห่ นึง่ : พบวาอาสาสมัคร 8 ใน 10 ราย มีอาการวูบวาบในระดับปานกลาง ถึงรุนแรง ไมวา มีหรือไม อาการเหงือ่ ออกกลางคืนไดรบั คัดเลือกเขาสกู ารศึกษา สวนอีก 2 ราย หยุดยา เนือ่ งจากเหตุผลดานความปลอดภัย โดย 1 รายมีความดันโลหิตสูงเล็กนอย และ 1 ราย ออนเพลียและมี อาการหนักศรีษะ เมือ่ สิน้ เดือนแรกของการศึกษา อาสาสมัครทัง้ 8 ราย ทีส่ ามารถติดตามการศึกษาได ครบถวน modified climacteric scale เทากับ 44.1 26 17 และ 11.1 กอนการศึกษา 1 3 และ 6 เดือน ตามลำดับ ไมพบความผิดปกติ ในการตรวจทางหองปฏิบตั กิ ารกลาวคือ เซลลเม็ดเลือดขาวนอยกวา 3,000/ มม.3 เกร็ดเลือดนอยกวา 100,000/มม.3 การตรวจสารเคมีในเลือดปกติกลาวคือ glutamicoxaloacetic transaminase (คาปกคิ 14-50 U/L) glutamic–pyruvic transminase (คาปกติ 11-60 U/L) alkaline phosphatase (คาปกติ 35-110 IU/L) total bilirubin (คาปกติ 0.2-1.5 มิลลิกรัม ตอเดซิลติ ร) blood urea nitrogen (คาปกติ 5-25 มิลลิกรัม ตอเดซิลติ ร) และ creatinine (คาปกติ 0.6-1.8 มิลลิกรัม ตอ เดซิลติ ร) มีเพียง 1 รายทีม่ รี ะดับ creatinine สูงถึง 1.8 มิลลิกรัม ตอเดซิลติ ร ในเดือนที่ 5 และ 1 ราย ทีม่ รี ะดับ blood urea nitrogen สูงถึง 27 มิลลิกรัม ตอเดซิลติ ร ในสิน้ สุดเดือนที่ 5 และ 1 รายในเดือนที่ 1 ของการติดตาม ผลการศึกษาคาเฉลีย่ ของ serum estradiol เทากับ 66.6 117.2 79.0 67.8 56.8 57.5 และ 90.7 pg/ml กอนการศึกษา 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เดือน ตามลำดับ ในขณะทีค่ า เฉลีย่ ของ serum

45


46

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

follicle–stimulating hormone (FSH)/luteinizing hormone (LH) เทากับ 39.6/17.6 35.4/17.9 39.5/ 19.8 mIU/ml กอนการศึกษา 3 และ 6 เดือนตามลำดับ อาสาสมัครทุกรายไมพบผลขางเคียงของการใช estrogen เชน ภาวะเลือดออกผิดปกติ ระดูผดิ ปกติ หรือตึงคัดเตานม สรุปผลการศึกษากวาวขาวซึง่ เปนสาร phytoestrogen พบวาคอนขางปลอดภัยในการบรรเทา อาการ vasomotor ในสตรีวัยใกลหมดหรือหมดระดู แตขอมูลในการศึกษานี้ยังไมเพียงพอที่จะสรุปวา การใชกวาวขาวจะสามารถทดแทนฮอรโมนเอสโตรเจนไดหรือไม จำเปนตองศึกษาตอไปในการศึกษาทาง คลินกิ ระยะทีส่ อง หรือเปรียบเทียบกับการใชฮอรโมนเอสโตรเจนเพือ่ ทีจ่ ะไดผลชัดเจน ผลการศึกษาระยะทีส่ อง: ในการศึกษาอาสาสมัครจำนวน 48 ราย พบวา 11 รายไดรบั การ คัดออกจากการศึกษาเพราะไมผา นเกณฑการคัดเขาสกู ารศึกษา ในขณะที่ 37 รายทีเ่ หลือนัน้ ไดมกี ารแบงกลมุ ทดลองออกเปน 2 กลมุ คือ 20 ใน 37 ราย (รอยละ 54.0) ไดรบั กวาวขาวขนาด 50 มิลลิกรัม (กลมุ A) ในขณะทีอ่ าสาสมัคร 17 ใน 37 ราย (รอยละ 45.9) ไดรบั กวาวขาวขนาด 100 มิลลิกรัม (กลมุ B) พบวา คาเฉลีย่ ของ modified climacteric scale ลดลง จาก 35.6 เปน 26.6 21.4 17.2 14.6 14.5 และ 15.1 ในกลมุ A และในกลมุ B ลดลงจาก 32.6 เปน 21.0 17.5 14.8 14.5 11.4 และ 13.6 เมือ่ สิน้ เดือนที่ 1 2 3 4 5 และ 6 ตามลำดับ นอกจากนี้ พบวาคาเฉลีย่ ของ Serum estradiol แกวงจากกอนการศึกษา 76.6 เปน 55.4 56.7 72.5 69.2 114.2 และ 74.5 pg/ml เมือ่ สิน้ เดือนที่ 1 2 3 4 5 และ 6 ตามลำดับ สวนคาเฉลีย่ serum follicle–stimulating hormone (FSH), luteinizing hormone (LH) คอนขางคงทีเ่ ทากับ 27.1/12.6 28.3/12.9 และ 22.5/11.4 mIU/ml กอนการศึกษาสิน้ เดือนที่ 3 และ 6 ตามลำดับ สำหรับ lipoprotein profiles กอนการศึกษาจนสิน้ สุดเดือนที่ 1 2 3 4 5 และ 6 ตามลำดับ คาเฉลีย่ cholesterol ลดลงเล็กนอย จาก 211.4 กอนการศึกษาเปน 205.1 210.0 203.6 202.0 193.5 และ 196.0 mg/dl ทัง้ นี้ อาสาสมัคร 6 ใน 37 รายหยุดการใหยา เนือ่ งจากผลขางเคียงและเหตุผลดานความปลอดภัย ผลขางเคียงเชนเดียวกับ การไดรบั เอสโตรเจน พบวา 13 ใน 37 ราย (รอยละ 35.1) มีเตานมตึงคัด และ 6 ใน 37 ราย (รอยละ 16.2) มีเลือดออกผิดปกติทางชองคลอด โดยสรุป สมุนไพร “กวาวเครือขาว” เปน phytoestrogen ซึง่ สามารถลดอาการ vasomotor ไดคอ นขางดี มีผลลบชัว่ คราวในอาสาสมัครจำนวนนอย เชน เลือดจางและเอนไซมของตับเพิม่ ขึน้ ในขณะ ที่มีการลดลงของ lipoprotein เล็กนอยและเพิ่มระดับฮอรโมน ทั้งนี้ กวาวเครือขาวมีผลมั่นเหมาะ ในการรักษาอาการ vasomotor ในสตรีวยั ใกลหมดหรือหมดระดู อยางไรก็ตาม ขนาดทีเ่ หมาะสมยังตอง อาศัยการประเมินผลทางคลินกิ เปนสำคัญในอาสาสมัครรายตอราย

10. การศึกษาทางพิษวิทยา ผลการศึกษาความเปนพิษของกวาวเครือขาวของ รศ. ยุทธนา สมิตะสิริ พบวาการไดรบั สมุนไพร “กวาวเครือขาว” ในขนาดสูง สงผลทำใหสตั วทดลองตายได (นกกระทา หนูขาว หนูพกุ หนูนา หนูจดี๊ ) อีกทัง้ ยังมีผลในการลดภูมคิ มุ กันในนกกระทา ทำใหเกิดฝ หนอง และลักษณะ คลายเนือ้ งอกขึน้ ตามตัวของนกกระทา ในขณะทีจ่ ำนวนเม็ดเลือดแดง hematocrit และ neutrophilic segmented cells ในหนูทดลองลดลง แตเพิม่ จำนวน lymphocytes ในหนูทดลอง ทำใหกระดูกของ นกกระทาเปราะและหักงาย


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ทัง้ นี้ กวาวเครือขาวยังมีผลตอตับในหนูทดลอง ทำใหเซลลตบั เล็กลง ลด activity ของเอนไซม SGOT SGPT รวมถึงยังพบเซลลตบั อักเสบ มีเลือดคัง่ เกิด fibrosis ในตับของหนูทดลอง ทัง้ นี้ ยังมีผลทำให ขนาดและน้ำหนักของตอมหมวกไตเพิ่มขึ้น เซลลชั้น cortex เพิ่มจำนวนขึ้นอยางมากมาย แตเซลลชั้น medulla ลดจำนวนลง ผลการศึกษาพิษกึง่ เรือ้ รังของกวาวเครือขาวโดยกรมวิทยาศาสตรการแพทย ไดมีการทดสอบพิษกึ่งเรื้อรังของผง “กวาวเครือขาว” ที่เตรียมเปนยาแขวนตะกอนในหนูขาว โดยการกรอกผงกวาวในขนาด 10 100 และ 1000 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัวหนู 1 กิโลกรัม/วัน (มก./กก./วัน) ติดตอกันทุกวันเปนเวลา 90 วัน พบวาการไดรบั กวาวเครือในขนาด 10 มก./กก./วัน ไมมผี ลตอการเจริญ เติบโตและการกินอาหารของหนู ไมทำใหเกิดความผิดปกติตอ เซลลเม็ดเลือด คาทางชีวเคมีของเลือด และ ไมพบจุลพยาธิสภาพของอวัยวะภายในตางๆ รวมทัง้ อัณฑะ รังไข มดลูกตอมน้ำนม ในขณะทีห่ นูทไี่ ดรบั กวาวเครือในขนาด 100 และ 1000 มก./กก./วัน จะเจริญเติบโตชากวาและกินอาหารไดนอ ยกวากลมุ ควบคุม การไดรับกวาวเครือในขนาด 1000 มก./กก./วัน ทำใหเกิดภาวะโลหิตจางในหนูทั้งสองเพศ รวมทั้ง ทำใหจำนวนเม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือดลดลงในหนูเพศผู สำหรับการเปลีย่ นแปลงของคาทางชีวเคมีพบวา กวาวเครือในขนาดที่ใหมีผลลดระดับโคเลสเตอรอล หนูเพศผูที่ไดรับกวาวเครือขนาด 1000 มก./กก. มีน้ำหนักจริงและน้ำหนักสัมพัทธของอัณฑะต่ำกวากลมุ ควบคุม แตมอี ตั ราการเกิด hyperemia ของอัณฑะ มากกวากลมุ ควบคุม ในขณะทีห่ นูเพศเมียทีไ่ ดรบั กวาวเครือขนาด 100 และ 1000 มก./กก. ตรวจพบมดลูก มีลกั ษณะบวมเตงและมีน้ำหนักมากกวากลมุ ควบคุม จากผลการทดสอบพิษกึง่ เรือ้ รังดังกลาว กรมวิทยาศาสตรการแพทยจงึ แนะนำวา เพือ่ ความปลอดภัย ของผูบริโภค ขนาดใชของผงกวาวเครือขาวในคนไมควรจะเกิน 1-2 มก./กก./วัน หรือประมาณวันละ 50-100 มิลลิกรัม เอกสารอางอิง 1. ทรงพล ชีวะพัฒน ปราณี ชวลิตธำรง สดุดี รัตนจรัสโรจน และคณะ พิษวิทยาของกวาวเครือขาว ว กรมวิทย พ 2543; 42(3): 202-223.

การศึกษาความเปนพิษของกวาวเครือตอยีน (Genotixicity Study) มีรายงานการศึกษาผลของสมุนไพร “กวาวเครือ” ตอการเปลี่ยนแปลงโครงสรางของโครโมโซม ดวยวิธี Micronucleus test ในหนูถบี จักร เพือ่ ศึกษาถึงโอกาสและความเปนไปไดทกี่ วาวเครืออาจกอให เกิดการกลายพันธหุ รือกอมะเร็ง โดยทดลองดวยการใหผงกวาวเครือปนแหงขนาด 25 มก./วัน หรือสารสกัด ดวยน้ำหรือสารสกัดดวยเอธานอล 10 มก./วัน ติดตอกัน 7 วัน หรือ 14 วัน พบวา เมือ่ ใหสารเปนเวลา 7 วัน สารสกัดดวยเอธานอลเทานัน้ ทีท่ ำใหเกิด micronucleus ใน polychromatic erythrocyte แตเมือ่ ให สารนาน 14 วัน พบวา ทัง้ สารสกัดดวยเอธานอล สารสกัดดวยน้ำและผงกวาวปนแหง ทำใหเกิด micronucleus ใน polychromatic erythrocyte ไดมากกวากลมุ ควบคุม โดยสารสกัดดวยเอธานอล มีฤทธิแ์ รง ที่สุดรองลงมาเปนสารสกัดดวยน้ำและผงกวาวปนแหง เอกสารอางอิง 1. Salika Aritajat, Kanokporn Kaweewat and Wason Manoruang. Toxicological Study of Some Antifertility Plant Extracts by Micronucleus Test. ChiangMai J. Sci. 2001; 28(2): 113-118. CA search

47


48

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การศึกษาผลของสารสกัดกวาวเครือในการทำใหเกิดการระคายเคืองหรือการแพของผิวหนัง ไดมกี ารทดสอบสารสกัดสมุนไพร “กวาวเครือขาว” สายพันธวุ ชิ ยั III ทีค่ วามเขมขน 5% โดยวิธี modified Driaze test ในอาสาสมัครคนไทย 52 ราย พบวาสารสกัดนีไ้ มทำใหเกิดปฏิกริ ยิ าระคายเคือง หรือการแพในอาสาสมัคร เพือ่ ยืนยันผลทีไ่ ดจากการศึกษานี้ อาจตองใชจำนวนอาสาสมัครเพิม่ ขึน้ เอกสารอางอิง 1. ปรียา กุลละวณิชย การทดสอบผิวหนังในบริเวณจำเพาะของสารสกัดกวาวเครือ (Pueraria mirifica) โดยวิธีการกระตุน ผิวหนัง. ขอมูลจาก http://bioinfoma.biotec.or.th/rdereport/prjbiotec.asp?id=498

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: ตามตำรายาของหลวงอนุสารสุนทร จะหามไมใหคนหนมุ สาวรับประทานกวาวเครือขาว ซึง่ จากขอมูล ทางวิทยาศาสตรในปจจุบนั ขอหามนีถ้ อื เปนภูมปิ ญ  ญาทีช่ าญฉลาดของคนโบราณ เนือ่ งจาก กวาวเครือขาว มี estrogenic activity ทีค่ อ นขางแรง หากคนหนมุ สาวรับประทานจะรบกวนระบบฮอรโมนเพศปกติได ขอควรระวัง: หามรับประทานเกินกวาขนาดที่แนะนำใหใช อาการขางเคียง: อาจทำใหเกิดอาการเวียนศีรษะ คลืน่ ไสอาเจียน เจ็บเตานม มีเลือดออกผิดปกติทางชองคลอด

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช: ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง ยาสามัญประจำบานแผนโบราณ เมือ่ วันที่ 26 มิถนุ ายน 2542 “กวาวเครือขาว” ไดถกู จัดเปนตัวยาตัวหนึง่ ในตำรับยาบำรุงรางกาย โดยมีสรรพคุณในการบรรเทาอาการของสตรีวัยหมดประจำเดือนนั้น แตทั้งนี้ ยังตองทำการวิจัย เพิม่ เติม เพือ่ ใหมนั่ ใจในประสิทธิผลและความปลอดภัยกอน ขนาดทีใ่ ช: จากผลการศึกษาพิษกึง่ เรือ้ รังของกวาวเครือขาว โดยกรมวิทยาศาสตรการแพทย ปจจุบนั สำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยากำหนดขนาดรับประทานของกวาวเครือขาวไมเกิน 100 มิลลิกรัม/วัน เอกสารอางอิง 1. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. คูมือผลิตภัณฑยาจากสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจชุมชน. พิมพครั้งที่ 2 โรงพิมพองคการ สงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2544. หนา 164. รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

กระเจี๊ยบแดง 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่ออังกฤษ: ชือ่ อืน่ :

ชื่อวงศ: สวนที่ใช:

Hibiscus sabdariffa L. Jamaica sorrel, Sorrel, Roselle, Rosella, Kharkade or karkade, Vinuela, Cabitutu กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบแดง กระเจี๊ยบเปรี้ยว (กลาง) ผักเก็งเค็ง สมเก็งเค็ง สมตะเลงเครง (ตาก) สมปู (เงีย้ ว แมฮอ งสอน) สมเก็ง (เหนือ) สมพอเหมาะ (เหนือ) สมพอดี (อีสาน) Malvaceae กลีบเลีย้ ง กลีบรองดอก (Calyx)

เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร . คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543. 2. สวนพฤกษศาสตรปา ไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม. ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย เต็ม สมิตนิ นั ทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544, 2544, หนา 276-277. 3. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/017.htm 4. http://www.raise.org/natural/pubs/hibiscus/hibiscus.stm

2. ลักษณะพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร: “กระเจีย๊ บแดง” มีลกั ษณะเปนไมพมุ ขนาดเล็ก สูง 1-2 เมตร ลำตนและกิง่ กานนัน้ จะมีสมี ว งแดง ริว้ ประดับและกลีบเลีย้ งอวบน้ำสีแดง มีใบขอบเวาลึก 3 หยัก ในลักษณะหลายรูปแบบ มักแยกเปนแฉก รูปหอก ปลายแหลม มีขน หูใบรูปยาวแคบ รวงงาย ดอกมีสเี หลืองออนหรือสีชมพูออ น โคนกลีบมีสแี ดง มี 8-12 กลีบ ผลรูปรีปลายแหลมยาว 2.5 ซม. มีจงอยสัน้ ๆ มีขนหยาบสีเหลืองคลุม และมีเมล็ดสีดำรูปไต เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ชเปนยา: ราก ลำตน ใบ ดอก ผล เมล็ด รสและสรรพคุณยาไทย: ราก แกพยาธิตัวจี๊ด ลำตน แกพยาธิตวั จีด๊ ใบ มีรสเปรีย้ ว ชวยในการละลายเสมหะ แกไอ ขับเมือกมันในลำไส ทำใหโลหิตไหลเวียนดี และ ชวยยอยอาหาร หลอลืน่ ลำไส รวมทัง้ ชวยในการขับปสสาวะ เปนยาระบาย บำรุงธาตุ ตมชะลางแผล หรือ ตำพอกฝ แกพยาธิตวั จีด๊ ดอก ชวยในการลดไขมันในเลือด ลดความดัน ละลายเสมหะ ขับเมือกในลำไสใหลงสูทวารหนัก ขับปสสาวะ แกนวิ่ แกไอ ทำใหสดชืน่ ลดไข ขับน้ำดี และชวยแกพยาธิตวั จีด๊

49


50

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ผล ชวยในการแกความดันโลหิตสูง ลดไขมันในเลือด แกกระหายน้ำ แกนวิ่ รักษาแผลในกระเพาะ แกออ นเพลีย บำรุงกำลัง บำรุงธาตุ แกดพี กิ าร แกปส สาวะพิการ แกเสนเลือดตีบตัน และชวยแกพยาธิตวั จีด๊ เมล็ด มีรสเมา ใชในการบำรุงกำลัง บำรุงธาตุ ขับปสสาวะ แกดพี กิ าร แกออ นเพลัย เปนยาระบาย ฆาพยาธิตัวจี๊ด เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยะประภัศร, อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพนื้ บาน (1), 2539 หนา 14-18.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ พันธทุ ใี่ ช: พันธซุ ดู านหรือพันธเุ กษตร มีลกั ษณะเนือ้ หนา มีสแี ดงเขมจนถึงมวง ลักษณะกลีบเลีย้ งคอนขางหนา เนือ้ บาง มีสแี ดงสด ลักษณะกลีบเลีย้ งคอนขางบาง แหลงกำเนิด: แหลงกำเนิดอยูในประเทศซูดาน สำหรับในประเทศไทยมีแหลงปลูกที่สำคัญอยูที่จังหวัดสระบุรี ลพบุรี อุตรดิตถ และกาญจนบุรี สภาพแวดลอมที่ตองการ: กระเจี๊ยบแดงเปนพืชที่มีความไวตอแสงจึงสามารถปลูกไดทั่วไป ชอบอากาศรอนหรือคอนขางรอน ทนตอความแหงแลง และไมชอบน้ำขัง เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร . คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543.

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การขยายพันธ:ุ นิยมใชการเพาะเมล็ดเนื่องจากสามารถขึ้นไดงาย การเตรียมดิน: การเตรียมดินปลูก ทำเชนเดียวกับการปลูกพืชโดยทัว่ ๆ ไป มีการไถ 2 ครัง้ โดยไถแปรซ้ำอีกครัง้ หลังจากไถดะแลวประมาณ 1 สัปดาห เพือ่ ใหดนิ มีความรวนซุย ทำการเกลีย่ ดินใหเรียบเสมอกัน แลวจึง ทำการปลูกตอไป อีกลักษณะหนึง่ คือ การปลูกในแปลงขาวโพด ไมมกี ารเตรียมดินปลูกเนือ่ งจากไมสะดวก ในการใชเครื่องจักรขนาดใหญเขาไปในแปลง และการปลูกกระเจี๊ยบแดงจะปลูกหลังจากปลูกขาวโพด ประมาณ 1 เดือน ซึง่ การปลูกขาวโพดไดผา นการเตรียมดินมาแลว ดังนัน้ จึงไมมคี วามจำเปนในการเตรียม ดินซ้ำอีก การปลูก: วิธกี ารปลูกกระเจีย๊ บแดงทำได 2 วิธี ซึง่ ขึน้ อยกู บั สภาพพืน้ ทีแ่ ละความสะดวกในการจัดการ 1. การปลูกในแปลงปลูก โดยเกษตรกรจะใชวิธีหยอดเมล็ดตามแถวที่ไถไว หยอดเมล็ดพันธุ หลุมละประมาณ 4-5 เมล็ด แลวกลบดินเล็กนอย เมือ่ กระเจีย๊ บแดงเปนตนออนอาจถอนทิง้ หลุมละ 2-3 ตน เพือ่ ใหไมแนนมากนัก หรืออาจใชวธิ หี วานซึง่ มีขอ ดีคอื ทำไดสะดวกและใช เวลาในการปลูกนอย แตทำใหตน กระเจีย๊ บแดงขึน้ ไมสม่ำเสมอ ไมเปนระเบียบ ทำใหยากแกการ กำจัดวัชพืชและเก็บเกีย่ ว


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

2. การปลูกในพื้นที่แปลงขาวโพด เมื่อปลูกขาวโพดแลวประมาณ 1 เดือน เกษตรกรจะทำการ ใสปยุ ขาวโพดโดยปยุ ทีใ่ ชเปนปยุ เคมีเกษตรกรจะนำเมล็ดกระเจีย๊ บแดงผสมลงไปกับปยุ แลว นำใสเครือ่ งหยอดพวงกับรถไถเดินตาม หยอดตามชองวางระหวางแถวขาวโพด ตนกระเจีย๊ บแดง จะเจริญเติบโตระหวางแถวขาวโพด เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวโพดแลวกระเจี๊ยบแดงอยู ในชวงออกดอกพอดี เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร . คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543.

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การดูแลรักษา: การใหปยุ : กระเจีย๊ บเปนพืชทีไ่ มตอ งการการดูแลรักษามาก การใหปยุ นัน้ สามารถใหปยุ คอกหรือปยุ หมักเพียง หนึง่ ครัง้ หรือปยุ สูตรเสมอ อัตรา 25 กก.ตอไร เมือ่ อายุ 10-15 วัน และ 40-50 วัน การใหน้ำ: ควรใหน้ำอยางสม่ำเสมอในชวง 1-2 เดือนแรก หลังจากนัน้ จะปลอยตามธรรมชาติ การกำจัดวัชพืช: จะทำพรอมกับการใหปุย การเก็บเกีย่ ว: การเก็บเกีย่ วกระเจีย๊ บแดงจะเก็บเกีย่ วในเดือนพฤศจิกายน–เดือนธันวาคม ในสวนของเกษตรกรที่ ปลูกกระเจีย๊ บแดงในแปลงปลูกจะเก็บเกีย่ วกระเจีย๊ บแดงหลังจากเก็บเกีย่ วพืชอืน่ แลว เชน ขาว เนือ่ งจาก เปนชวงที่ผลผลิตทางการเกษตรพรอมเก็บเกี่ยวใกลเคียงกัน สวนกระเจี๊ยบแดงที่ปลูกในแปลงขาวโพด จะเก็บเกีย่ วหลังจากเก็บเกีย่ วขาวโพดแลวประมาณ 1 เดือน ซึง่ การเก็บเกีย่ วกระเจีย๊ บแดงสามารถทำได 2 วิธี ขึน้ อยกู บั ความสะดวกและสภาพพืน้ ทีข่ องเกษตรกร วิธที ี่ 1 เก็บเกีย่ วเฉพาะดอกกระเจีย๊ บแดง เกษตรกรจะใชกรรไกรหรือมีดตัดเฉพาะดอกกระเจีย๊ บทีแ่ ก พรอมจะเก็บเกี่ยว โดยใชเขงรองรับดอกกระเจี๊ยบแดง แลวนำออกจากแปลงปลูกโดยใสกระสอบปาน ประมาณกระสอบละ 30 กิโลกรัม ใชใบหญาปดรองปากกระสอบเพือ่ ปองกันการช้ำของดอกกระเจีย๊ บแดง เนือ่ งจากการขนยาย เย็บปากกระสอบดวยเชือกแลวทำการขนยายออกจากแปลงเพือ่ นำไปแทงเมล็ดออกตอไป วิธที ี่ 2 เก็บเกีย่ วทัง้ ตนกระเจีย๊ บ เกษตรกรจะใชเคียวเกีย่ วกิง่ ทีม่ ดี อกกระเจีย๊ บบริเวณโคนกิง่ ซึง่ วิธี นีจ้ ะทำใหเก็บเกีย่ วไดรวดเร็ว แตกม็ โี อกาสทำใหดอกกระเจีย๊ บแดงหลุดรวงในระหวางการขนยาย นำกิง่ กระเจีย๊ บแดงทีเ่ ก็บเกีย่ ว รวบรวมใสรถแลวนำไปตัดดอกและแทงเมล็ดตอไป ผลผลิต: • กลีบดอกกระเจีย๊ บแดงแหงประมาณ 50-60 กก.ตอไร (ผลผลิต สด : แหง เทากับ 10 : 1) • เมล็ดกระเจีย๊ บแดงแหง 25-30 กิโลกรัมตอไร (นำไปปลูก) การปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว: ดอกกระเจี๊ยบที่เก็บเกี่ยวไดจะนำมากระทุงใหกลีบดอกและกระเปาะเมล็ดหลุดออกจากกันโดยใช เหล็กกระทุง แลวนำกลีบดอกที่กระทุงไดมาตากในภาชนะที่สะอาด ไมมีฝุน ทำการตากแดดประมาณ

51


52

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

5-6 วัน ใหแหงสนิทจึงทยอยเก็บ สวนกระเปาะเมล็ดใหแยกตากตางหาก เมือ่ แหงสนิทใหรอ นเมล็ดออก นำไปจำหนายไดเชนกัน การบรรจุ: การบรรจุหลังจากตากดอกกระเจี๊ยบแดงแหงสนิทดีแลว เกษตรกรใชกระสอบปานบรรจุกระเจี๊ยบ แดงโดยบรรจุได 18-20 กิโลกรัมตอกระสอบ ทั้งนี้เกษตรกรจะเก็บกระเจี๊ยบแดงเปนเวลาไมนานนัก เนือ่ งจากเปนชวงทีม่ กี ารซือ้ ขายกระเจีย๊ บแดงจากพอคาและบริษทั ผรู บั ซือ้ สวนมากเกษตรกรจะเก็บรักษา ไวในทีร่ ม แหงไมอบั ชืน้ เพราะถามีความชืน้ อาจทำใหเกิดราขึน้ ได จากนัน้ จะรอพอคาเขามารับซือ้ ซึง่ สวนใหญ เกษตรกรจะเก็บไมเกิน 2 เดือน เพราะนอกจากจะทำใหน้ำหนักลดลงแลวอาจทำใหเกิดความเสียหายจาก เชือ้ ราดวย ทัง้ นีเ้ มือ่ พอคามารับซือ้ จะขนถายใสกระสอบใหญอกี ครัง้ หนึง่ ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม ปลูก ใหน้ำ ใสปุย เก็บเกีย่ วผลผลิต

ชวงเวลาที่ผลผลิตออกสูตลาด: เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน

เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543. 2. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/017.htm

7. สารสำคัญในสมุนไพร ใบกลีบเลีย้ งและใบประดับของ “กระเจีย๊ บแดง” มีสารสีแดงจำพวกแอนโธไซยานิน (anthocyanin) เชน สารไซยานิดนิ (Cyanidin) เดลพินดิ นิ (delphinidin) จึงทำใหใบมีสมี ว งแดง อีกทัง้ ยังมีกรดอินทรีย หลายชนิด เชน กรดแอสคอบิก (ascorbic acid หรือวิตามินซี) กรดซิตริก (citric acid) กรดมาลิก (malic acid) และกรดทาทาริก (tartaric acid) กรดเหลานีท้ ำใหกระเจีย๊ บมีรสเปรีย้ ว ทัง้ นี้ ยังพบวามีวติ ามินเอ Pectin และแรธาตุอนื่ ๆ ไดแก แคลเซียมในปริมาณสูง ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม เปนตน ใบและยอดออน มีวติ ามินเอ แคลเซียม และฟอสฟอรัสในปริมาณสูง เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 5 พืชสมุนไพรเสริมสุขภาพ. พิมพครัง้ ที่ 1, 2543. 2. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/017.htm


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร ขณะนี้ ยังไมมขี อ มูลของมาตรฐานใน Thai Herbal Pharmacopoeia แตทงั้ นี้ ไดมกี ารกำหนด มาตรฐานของวัตถุดบิ กระเจีย๊ บแหงสำหรับนำไปใชในอุตสาหกรรมอาหาร เปนขอมูลจากการสำรวจขององค กร RAISE (Rural and Agricultural Incomes with a Sustainable Environment) ซึง่ เปนหนวยงาน ทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจาก USAID (U.S. Agency for International Development) จากการสัมภาษณ importer ในตางประเทศ Table 6: Common Guidelines and Specifications for Dried Hibiscus sabdariffa Guidelines Specifications Description Hibiscus sabdariffa Packaging Item must be packed in 50 lb. poly (or less) lined boxes or multi-walled sacks (adequately protecting product for shipment) with clear markings indicating the item contained. Shipment must be accompanied by packing list clearly indicating the consignment, weight and country of origin. Raw ingredient sample: (a) Visual Purple-red color. (b) Aroma Floral, berry-like aroma. Free from objectionable off odors. (c) Texture Lump free, free flowing particles Prepared sample: (a) Visual Clear, deep red solution with some background purple hues. Blue hues are undesirable. (b) Aroma Slight berry aroma. (c) Flavor A well balanced, tart and astringent flavor. Some cranberry notes as well as a slight drying effect. Not excessively tart, acidic or bitter. Should be free of off-flavors and other undesirable spice/botanical notes. Testing Parameters: Test Units: Specifications (a) Free Flow Density G/CC Minimum 0.45, Maximum 0.60 (b) Moisture 12% (c) Total Ash 10% (d) Acid Insoluble Ash 1.5% (e) Sieve Analysis Thru US#20 95.0% Thru US#60 5.0% 5 Min Rotate (f) Insect Fragments each 400 (g) Whole Insects 25/5 (field/storage) each (h) Salmonella negative (i) Coliform 2 of 5 over 10 CFU, 0 of 5 over 100 CFU (j) E. coli (MPN) 2 of 5 over 3 CFU, 0 of 5 over 20 CFU (k) E. coli (Film) 0 of 5 over 10 CFU (l) S. aureus 1 of 5 over 100 CFU, 0 of 5 over 1000 CFU (m)Standard Plate Count 0 of 5 over 1,000,000 CFU (n) Yeast/Mold 0 of 5 over 10,000 CFU Source: Interviews with importers Source: http://www.raise.org/natural/pubs/hibiscus/hibiscus.stm

53


54

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง 9.1.1 ฤทธิ์ลดความดันโลหิต สารสกัด hydroalcoholic ของ calyx ใน “กระเจีย๊ บแดง” แสดงฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม angiotensin converting enzyme(1) การศึกษากลไกการออกฤทธิ์ลดความดันของสารสกัดดวยน้ำของกระเจี๊ยบแดงในหนู ขาวที่สลบแสดงใหเห็นวา ไมใชผลเนื่องมาจากฤทธิ์ยับยั้งระบบประสาท sympathetic แตเนื่องมาจาก acetylcholine-like histamine-like action และ direct vaso-relaxant effects(2) ชาชงกระเจีย๊ บสามารถลดความดันโลหิตทัง้ systolic & diastolic ใน spontaneously hypertensive rat (SHR) และในหนูความดันปกติ Wistar-Kyoto (WKY) rat ในขนาด 500-1000 mg/ kg BW ทัง้ นี้ หนู SHR ทีไ่ ดรบั ชาชงขนาด 1000 mg/kg BW ตอเนือ่ งเกิด sudden death ขณะทีห่ นู WKY ไมตาย หนูทงั้ สองสายพันธทุ กี่ นิ ชาชงกินน้ำไมตา งจากกลมุ ควบคุม แตหนู SHR มีปส สาวะมากกวา นอกจากนี้ พบวาระดับ serum creatinine, cholesterol และ glucose ลดลง ขณะที่ uric acid เพิม่ ขึน้ อยางมีนยั สำคัญเทียบกับกลมุ ควบคุม(3) เมือ่ นำสารสกัดดวยน้ำของกระเจีย๊ บมาทดสอบในหนูทที่ ำใหความดันสูงดวยการ clamp หลอดเลือดแดงทีไ่ ต แลวใหสารสกัดผสมน้ำดืม่ ในขนาด 250 mg/kg/day พบวาสามารถทำใหความดัน systolic ลดได(4) 9.1.2 ฤทธิ์ลดไขมันในเลือด มีรายงานการทดสอบฤทธิล์ ดไขมันของกระเจีย๊ บ 5% และ 10% ทีใ่ หในหนูขาวทีถ่ กู ทำใหไขมันในเลือดสูงโดยการใหอาหารผสม cholesterol และ cholic acid นาน 9 สัปดาห พบวาคา total lipids, cholesterol และ triglycerides ลดลง ในขณะทีค่ า phospholipids เพิม่ ขึน้ (5) ในการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการเกิด atherosclerosis ในกระตายที่กินไขมันตางๆ สูง โดยใหกนิ สารสกัดกระเจีย๊ บ 0.5 หรือ 1% นาน 10 สัปดาห พบวาทำใหระดับ triglycerides cholesterol และ LDL-cholesterol และความรุนแรงของ atherosclerosis ของ aorta ลดลงต่ำกวากลมุ ควบคุมอยาง มีนยั สำคัญ โดยไปลดการเกิด foam cells ยับยัง้ การเกิด calcification ของหลอดเลือด(6) 9.1.3 ฤทธิต์ า นการเกิดพิษตอตับ มีการศึกษาฤทธิป์ อ งกันการเกิดพิษตอตับ (hepatoprotective) ของกระเจีย๊ บดวยการ ใหสารทีท่ ำใหเกิดพิษตอตับหลายชนิด ไดแก Paracetamol เมือ่ ใหสารสกัดดวยน้ำของดอกเปนระยะเวลานาน 2 3 และ 4 สัปดาห หรือให Hibiscus anthocyanins (HA) ขนาด 50 100 และ 200 mg/kg ติดตอกัน 5 วัน จากนัน้ จึงให paracetamol 700 mg/kg พบวา ตองใหสารสกัดนาน 4 สัปดาหจงึ จะเห็นผลทำให LFT บางคาดีขนึ้ แตไมมผี ลเปลีย่ น พยาธิสภาพของตับใหดขี นึ้ สวนหนูทไี่ ดรบั HA ขนาด 200 mg/kg ทำใหพยาธิสภาพ ของตับ และคา LFT ปกติ(7) Lipopolysaccharide (LPS) สาร Hibiscus protocatechuic acid (PCA) จากดอก กระเจีย๊ บทีใ่ หทางปากแกหนูขาวในขนาด 0.2 และ 0.5 mmol/kg BW เปนระยะเวลานาน 5 วัน สามารถ ลดระดับ AST & ALT ในหนูทไี่ ดรบั LPS 5 mg/kg ip 5 ชัว่ โมง รวมทัง้ ชวยลด liver lesion ทีเ่ กิดจาก พิษ LPS ดวย โดยกลไกการออกฤทธิข์ อง PSA อาจเกีย่ วของกับการยับยัง้ เอนไซม inducible nitric oxide synthase (iNOS)(8)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

tert-butyl hydroperoxide (t-BHP) สาร PCA ชวยปองกันพิษของ t-BHP ตอ primary culture hepatocyte ของหนูได โดยสวนหนึง่ เนือ่ งมาจากฤทธิ์ free radical scavenging effect ของ PCA(9) และเมือ่ ใหสาร PCA ขนาด 50-100 mg/kg ทางปาก เปนระยะเวลานาน 5 วัน กอน การใหสาร t-BHP ครัง้ เดียวทางชองทองในขนาด 0.2 mmol/kg สามารถลดการเพิม่ ของระดับเอนไซม LDH ALT และ AST ทัง้ นี้ ยังสามารถลด oxidative stress ของตับจากการวัดระดับ malondialdehyde และ glutathione รวมทัง้ ลด incidence ของ liver lesions และลด stress signal transduction ในตับ(10) รวมถึงสวนสารสกัดดวย chloroform และสารสกัดดวยน้ำของดอกกระเจีย๊ บ สามารถปองกันพิษ ของ t-BHP ตอ primary culture hepatocyte ของหนูไดดว ยกลไกการออกฤทธิต์ า งกัน(11) 9.1.4 ฤทธิต์ า นการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สารสกัดดวยน้ำ(12) และสวนสกัด mucilage ทีเ่ ตรียมจากสารสกัดดวยน้ำ มีฤทธิป์ อ งกัน การเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูขาว เมือ่ ถูกกระตนุ ใหเกิดแผลดวยยาอินโดเมธาซิน (indomethacin) กรด/เอธานอล และความเครียดจากการถูกแชน้ำเย็น จากการศึกษาสวนสกัด mucilage พบวา กลไกการ ออกฤทธิใ์ นการปองกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารเกิดจากการรักษาปริมาณสารเมือกในกระเพาะอาหาร ไว แตไมเพิม่ การสังเคราะหสารเมือก รวมทัง้ ไมไดมผี ลตอความเปนกรด หรือปริมาณกรดทีห่ ลัง่ ออกมา(13) เอกสารอางอิง (อยหู ลังหัวขอ 10)

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การทดลองทางคลินิกในโรคทางเดินปสสาวะ จากการศึกษาผลฆาเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปสสาวะ เมื่อใหผูปวย 32 ราย รับประทานยาชงในขนาด 6 กรัม วันละ 4 ครัง้ เปนระยะเวลา 7 วัน และผปู ว ยดืม่ น้ำไมนอ ยกวา 2 ลิตร ตอวัน พบวาน้ำชงกระเจี๊ยบไมมีผลฆาเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปสสาวะ(14) เมือ่ ใหผปู ว ยดืม่ น้ำสกัดกระเจีย๊ บแดง พบวามีฤทธิข์ บั ปสสาวะ(15) นายแพทยวรี ะสิงห เมืองมัน่ ไดทดลองใชกลีบดอกกระเจีย๊ บแดงแหงบดเปนผง 3 กรัม ชงน้ำเดือด 1 ถวยแกว หรือ 300 ซี.ซี. ใหผปู ว ยดืม่ วันละ 3 ครัง้ เปนระยะเวลานาน 7 วัน ถึง 1 ป โดยทำการทดลองกับคนไข 50 คน พบวาได ผลดีในการขับปสสาวะ(16) เมือ่ ใหผปู ว ยโรคนิว่ หรือโรคทางเดินปสสาวะอักเสบ เนือ้ งอกของตอมลูกหมาก หลังการผาตัด โดยใชน้ำดอกกระเจีย๊ บ 3 กรัม มาชงกับน้ำเดือด 1 แกว ดืม่ วันละ 3 ครัง้ เปนระยะเวลา 1 ป พบวา 80% ของผปู ว ยมีปส สาวะใสกวาเดิม และพบวาทำใหปส สาวะเปนกรดจึงชวยฆาเชือ้ ในทางเดิน ปสสาวะดวย(17) จากการศึกษาองคประกอบของปสสาวะในคนปกติ 36 คน ทีด่ มื่ น้ำกระเจีย๊ บ พบวาทำให creatinine, uric acid, citrate, tartrate, calcium, sodium, potassium และ phosphate ออกมาใน ปสสาวะนอยลง โดยน้ำกระเจีย๊ บขนาด 16 กรัม/วัน ใหผลลดการขับ salts ไดดกี วาขนาด 24 กรัม/วัน(18) 9.2.2 ฤทธิ์ลดความดันโลหิต การวิจยั ทางคลินกิ ของชาชงกระเจีย๊ บแดงในผปู ว ยความดันโลหิตสูงปานกลาง 54 คน เทียบระหวางกลมุ ทีไ่ ดชาชงกระเจีย๊ บ (31 คน) กับกลมุ ควบคุมทีไ่ มไดชาชง (23 คน) พบวาคา SBP ลดลง 11.2% DBP ลดลง 10.7% ในวันที่ 12 หลังไดรบั ชาชงเมือ่ เทียบกับวันแรก และการลดลงของคา SBP และ DBP นีแ้ ตกตางจากกลมุ ควบคุมอยางมีนยั สำคัญ และ 3 วันหลังจากหยุดดืม่ ชาชงคาความดัน SBP เพิม่ ขึน้ 7.9% ความดัน DBP เพิม่ ขึน้ 5.6% ซึง่ เปนการเพิม่ ขึน้ อยางมีนยั สำคัญทางสถิต(19) ิ เอกสารอางอิง (อยหู ลังหัวขอ 10)

55


56

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

10. การศึกษาทางพิษวิทยา การทดสอบความเปนพิษ: 1. เมื่อปอนสารสกัดดอกกระเจี๊ยบแดงแหงดวยน้ำรอนผานสายยางเขาชองทองกระตาย ขนาดที่ ทำใหกระตายตายครึง่ หนึง่ ของจำนวนทีท่ ดลอง คือ 129.1 กรัม/กิโลกรัม(20) 2. ฉีดสารสกัดดวยน้ำรอนของดอกกระเจีย๊ บเขาชองทองหนูถบี จักร ความเขมขน 30% ในขนาด 0.4-0.6 ซี.ซี. ทำใหหนูตายครึง่ หนึง่ ของจำนวนทีท่ ดลอง(20) เอกสารอางอิงของการศึกษาทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยา 1. Jonadet M, Bastide J, Bastide P, et al. In vitro enzyme inhibitory and in vivo cardioprotective activities of Hibiscus (Hibiscus sabdariffa L.). J Pharm Belg 1990; 45(2): 120-4. 2. Adegunloye BJ, Omoniyi JO, Owolabi OA, et al. Mechanism of the blood pressure lowering effect of the calyx extract of Hibiscus sabdariffa in rats. Afr J Med Sci 1996; 25(3): 235-8. 3. Onyenekwe PC, Ajani EO, Ameh DA, et al. Antihypertensive effect of roselle (Hibiscus sabdariffa) calyx infusion in spontaneously hypertensive rats and a comparision of its toxicity with that in Wistar rats. Cell Biochem Funct 1999; 17(3): 199-206. 4. Odigie IP, Ettarh RR, Adigun. Chronic administration of aquoeous extract of Hibiscus sabdariffa attenuates hypertension and reverse cardiac hypertrophy in 2K-1C hypertensive rats. J Ethanopharmacol 2003; 86(2-3): 181-5. 5. el-Saadadny SS, Sitohy MZ, Labib SM, et al. Biochemical dynamics and hypercholesterolemic action of Hibiscus sabdariffa (Karkade). Nahrung 1991; 35(6): 567-76. 6. Chen CC, Hsu JD, Wang SF, et al. Hibiscus sabdariffa extract inhibits the development of atherosclerosis in cholesterol-fed rabbits. J Agric Food Chem 2003; 51(8): 5472-7. 7. Ali BH, Mousa HM, El-Mougy S. The effect of a water extract and anthocyanins of Hibiscus sabdariffa L. on paracetamol-induced hepatotoxicity in rats. Phytother Res 2003; 17(1): 56-9. 8. Lin WL, Hsieh YL, Chou FP, et al. Hibiscus protocatechuic acid inhibits lipopolysaccharide-induced rats hepatic damage. Arch Toxicol 2003; 77(1): 42-7. 9. Tseng TH, Wang CJ, Kao ES, et al. Hibiscus prtocatechuic acid protects against oxidative damage induced by tert-butylhydroperoxide in rat primary hepatocytes. Chem Biol Interact 1996; 101(2): 137-48. 10. Liu CL, Wang JM, Chu CY, et al. In vivo protective effect of protocatechuic acid on tert-butylhydroperoxideinduced rat hepatotoxicity. Food Chem Toxicol 2002; 40(5): 635-41. 11. Tseng TH, Kao ES, Chu CY, et al. Protective effects of dried flower extracts of Hibiscus sabdariffa L. against oxidative stress in rat primary hepatocytes. Food Chem Toxicol 1997; 35(12): 1159-64. 12. Rujjanawate C, kanjanapoth D, Amornlerdpison D. The gastroprotective effect of the aqueous extract of roselle. Thai J Phytopharmacy 2000; 7(2): 1-6. 13. Rujjanawate C, Amornlerdpison D, kanjanapoth D. Gastroprotective effect of roselle mucilage. Thai J Pharmacol 2001; 23(2-3): 95-100. 14. Hiyaacheeranunt S, Gaerunpongse W, Soonthrapha S, Wichianjaroen K. The effect of roselle in reducing of lower urinary tract infection. Seminar on the development of medicinal plants for topical disease, Mahidol University, Bangkok, Thailand, Feb 26-27, 1987. 15. Leclerc H. Sida sabdariffa (Hibiscus sabdariffa L). Presse Med 1938; 46: 1060. 16. Muangmun W, Ratanaolarn K. The usage of medicinal herbs in urology. J Urology 1984; 8: 7. 17. Muangmum W, Ratanaolarn K. The usage of roselle bulbs as urinary acidifying agent. In Annual Research Abstracts. 1984; Mahidol University, Bangkok 1984: 108. 18. Kirdpon S, nakorn SN, Kirdpon W. Changes in urinary chemical composition in healthy volunteers after consuming roselle (Hibiscus sabdariffa Linn.) juice. J Med Assoc Thai 1994; 77(6): 314-21.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

19. Haji FM, Haji TA. The effect of sour tea (Hibiscus sabdariffa) on essential hypertension. J Ethanopharmacol 1999; 65(3): 231-6. 20. El-Merzabani MM, El-Aaser AA, Attia MA, El- Duweini AK, Glazal AM. Screening system for Egyptian plants with potential anti-tumor activity. Planta Med 1979; 36: 150-5. From http://www.mahidol.ac.th/ mahidol/py/mpcenter/html/hibiscus.html. Accessed on October 7, 2003.

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: ขอควรระวัง: อาการขางเคียง: กระเจีย๊ บแดงอาจทำใหเกิดอาการทองเสียได เนือ่ งจากมีฤทธิเ์ ปนยาระบาย เอกสารอางอิง 1. Haruna AK. Cathartic activity of Soborodo: The aquepus extract of calyx of Hibiscus sabdariffa L. Phytother Res. 1997; 11:307-8.

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช: กระเจี๊ยบแดงเปนสมุนไพรที่แนะนำใหใชในสาธารณสุขมูลฐานเพื่อบรรเทาอาการขัดเบา วิธใี ช: ใชกระเจีย๊ บแดงทีต่ ากแหงแลวและบดเปนผง ครัง้ ละ 1 ชอนชา (หนัก 3 กรัม) ชงกับน้ำเดือด 1 ถวย (250 มิลลิลติ ร) ทิง้ ไว 5-10 นาที รินเฉพาะน้ำสีมว งแดงใสดืม่ วันละ 3 ครัง้ ติดตอกันทุกวันจนกวา อาการขัดเบาจะหายไป เอกสารอางอิง 1. มาโนช วามานนท, เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ (บรรณาธิการ). ยาสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน. พิมพครัง้ ที่ 2 โรงพิมพ องคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ 2540. หนา 86-87.

13. ขอมูลดานการตลาด • กระเจี๊ยบสามารถนำไปทำผลิตภัณฑอาหารไดหลายอยาง เชน ชาชง เครื่องดื่ม เจลลี่ แยม ไอศกรีม ซอส ไวน ของหวานตางๆ • จากการ survey importer ในตางประเทศ พบวาประเทศนำเขากระเจีย๊ บทีส่ ำคัญไดแก สหรัฐอเมริกา เยอรมนี แตไมมตี วั เลขแสดงปริมาณหรือมูลคาการนำเขา ผนู ำเขาสวนมากเปนผผู ลิต herbal tea ซีง่ ใชกระเจีย๊ บแหงเปน base สำหรับ herbal tea หลายๆ อยางรวมกับเปลือก แอปเปล เปลือกสม และมะนาวฝรัง่ • ประเทศทีป่ ลูกและสงออกกระเจีย๊ บแดงทีส่ ำคัญ ไดแก จีน ไทย เม็กซิโก ซูดาน เซาทแอฟริกา ประเทศทีส่ ง ออกจำนวนนอย ไดแก อียปิ ต เซเนกัล แทนซาเนีย มาลี และจาไมกา • เยอรมนีนำเขากระเจีย๊ บจากซูดานมากทีส่ ดุ เพราะมีสแี ละรสตามทีต่ อ งการสำหรับทำ herbal tea base แตทงั้ นีก้ ซ็ อื้ กระเจีย๊ บจากจีนและไทยดวย โดยซือ้ จากอียปิ ตและเม็กซิโกเปนสวนนอย

57


58

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• สหรัฐอเมริกา นำเขากระเจีย๊ บแดงจากจีนเปนสวนมาก แตกน็ ำเขาจากไทย เม็กซิโก และอี-ยิปต ดวย ทัง้ นีส้ หรัฐอเมริกายังตองการซือ้ จากซูดานดวย แตจาก trade embargo จึงตองซือ้ ผาน เยอรมนี ดวยราคาทีส่ งู ขึน้ มาก • ในตลาดโลกถือวากระเจีย๊ บทีม่ คี ณ ุ ภาพดีมาจากประเทศไทยและซูดาน แตกระเจีย๊ บของทัง้ สอง ประเทศก็มีความแตกตางกันมาก • ราคาและความตองการของตลาดโลกในแตละปแตกตางกันมาก ขึ้นกับปริมาณการปลูกของ เกษตรกร (ราคาดี จะทำการปลูกมาก พอ supply มาก ราคาก็ตก) • การเก็บเกีย่ วกระเจีย๊ บทำในชวงปลายเดือนธันวาคมถึงตนมกราคม ดังนัน้ การซือ้ ขายจะทำลวง หนาตั้งแตกลางเดือนกันยายน • ราคาซือ้ ขายกระเจีย๊ บแหงในตลาดโลกในชวงป 1997-1998 แสดงในตารางขางลาง Price Ranges for Dried Hibiscus (CIF, US$ per Metric Ton), 3/97-4/98 Supplier China Sudan Thailand Mexico Egypt (organic)

Liquid Color Dark purple Orange-red Purplish-red Orange-red Burgundy red

Liquid Taste Tart Acidic Sweet Salty Acidic

US $800-$1,000 $1,500-$1,700 $1,000-$1,200 $600-$700 $1,200-$1,500

Source: Interviews with importers Source: http://www.raise.org/natural/pubs/hibiscus/hibiscus.stm รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

Germany $900-$1,000 $1,200-$1,300 $1,000-$1,100 No quote No quote


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ชุมเห็ดเทศ 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่อพอง: ชื่อทองถิ่น:

ชื่ออังกฤษ:

Senna alata (L.) Roxb. Leguminosae Cassia alata L., Cassia bracteata L.f., Herpetica alata (L.) Raf. ชุมเห็ดเทศ (กลาง) ขี้คาก ลับมืนหลวง หมากกะลิงเทศ (เหนือ) สมเห็ด ชุมเห็ดใหญ (กลาง) จุมเห็ด ตะสีพอ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ชุมเห็ด ลางหมืน่ หลวง หญาเล็บหมืน่ หลวง Ringworm bush, Ringworm senna, Ringworm shrub, Candlestick senna, Candle bush, Candelabra bush, Christmas candle, Empress candle plant, Seven golden candlesticks, Impetigo bush

เอกสารอางอิง 1. ลีนา ผพู ฒ ั นพงศ, กองกานดา ชยามฤต และธีรวัฒน บุญทวีคณุ (คณะบรรณาธิการ). ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตนิ นั ทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544) สำนักวิชาการปาไม. กรมปาไม. พิมพครัง้ ที่ 2. บริษทั ประชาชน จำกัด. กรุงเทพฯ. 2544. หนา 478. 2. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. กรุงเทพฯ. 2545. หนา 23. 3. นันทวัน บุญยะประภัศร กาวไปกับสมุนไพร 1 ศูนยขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการสมุนไพร เพือ่ พึง่ ตนเอง กรมปาไม ธรรมกมล การพิมพ. กรุงเทพฯ. หนา 119-124. 4. วุฒิ วุฒิธรรมเวช หนังสือ สารานุกรมสมุนไพร พิมพครั้งที่1 2540 โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส. กรุงเทพฯ 5. วันดี กฤษณพันธ. สมุนไพรนารู. สำนักพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 2539.

2. ลักษณะพืช ลักษณะ: เปนไมพมุ สูง 1-2 (-5) เมตร กิง่ ของชุมเห็ดเทศมักจะตัง้ ฉากกับลำตน ใบ ใบมีลักษณะเปนใบประกอบแบบขนนก ยาว 30-60 ซม. ใบยอยเรียงเปนคูๆ ละ 8-20 คู แผนใบยอยรูปขอบขนานแกมรูปรี โคนใบมน ปลายใบมนหรือเวาเล็กนอย ขอบใบเรียบ ริมใบมีสีแดง มีขนาดกวาง 3-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. กานใบยอยสัน้ มาก ดอก ดอกมีลกั ษณะเปนชอสีเหลืองใหญ ตามงามใบใกลปลายกิง่ ยาว 20-50 ซม มีกา นดอกสัน้ เวลาบานจะกวางประมาณ 4 ซม. ใบประดับเปนแผนบางๆ มีขนาดกวาง 1-2 ซม. และยาว 2-3 ซม. รวงงาย กลีบรองกลีบดอกมี 5 กลีบ รูปขอบขนานมีขนาดไมเทากัน กวาง 6-7 มม. ยาว 10-20 มม. สีเขียวปลาย แหลม กลีบดอกมี 6 กลีบ มีสเี หลืองรูปไขเกือบลมหรือรูปซอน และมีกา นสัน้ ๆ กวาง 1-1.5 ซม. ยาวประมาณ 2 ซม. โดยมีลานเสนเห็นไดชดั ในสวนของเกสรผจู ะมีประมาณ 9-10 อัน ยาวไมเทากัน โดยมีขนาดใหญ 2 อัน และขนาดเล็ก 4 อัน สวนอีก 3-4 อัน ลดรูปไข อับเรณูเมือ่ แกจะมีรเู ปดทีย่ อดเกสรเมีย 1 อัน ผิวเกลีย้ ง ผล ผลมีลกั ษณะเปนฝกรูปบรรทัดหนา มีความกวาง 1.5-2 ซม. และยาว 10-15 ซม. มีปก 4 ปก กวาง 5 มม. ตลอดความยาวของฝก ฝกแกมสี ดี ำและแตกคามยาว ภายในมีประมาณ 50 เมล็ด เมล็ด เกือบเปนรูปสีเหลีย่ มแบน กวาง 5-8 มม. ยาว 7-10 มม. ผิวขรุขระ มีสดี ำ

59


60

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. ดรุณ เพ็ชรพลาย และคณะ สมุนไพรพืน้ บาน (ฉบับรวม). หางหนุ สวนจำกัด รงุ เรืองสาสนการพิมพ. กรุงเทพฯ 2541. หนา 50-51. 2. นันทวัน บุญยะประภัศร กาวไปกับสมุนไพร 1 ศูนยขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการสมุนไพร เพือ่ พึง่ ตนเอง กรมปาไม ธรรมกมล การพิมพ. กรุงเทพฯ. หนา 119-124. 3. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่ 1 โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส. กรุงเทพฯ. 2540.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนที่ใช: ใบหรือดอก นิยมเก็บในชวงทีม่ อี ายุ 3 เดือนขึน้ ไป โดยเก็บใบเพสลาดทีไ่ มออ นและไม แกเกินไป ตองเก็บกอนออกดอก สวนดอกจะเก็บดอกทีเ่ จริญเต็มทีแ่ ลว สรรพคุณพืน้ บาน: ใบใชรกั ษาโรคผิวหนัง แกกลากเกลือ้ น ดอกและใบนำมาตมรับประทานแกอาการทองผูก สรรพคุณ: รสเบือ่ เอียน ใบ ใชบดผสมกระเทียม หรือน้ำปูนใสใชสำหรับทาแกกลากเกลือ้ น โรคผิวหนัง ดองสุราหรือปง ไฟ ชาน้ำชาดืม่ เปนยาระบายใชแกอาการทองผูก และสมานธาตุ ดอก เปนยาระบาย ใชแกอาการทองผูก ฝก แกพยาธิ ระบาย ขับพยาธิตวั ตืด พยาธิไสเดือน ตน ขับพยาธิในทอง ตน ราก ใบ แกกษัยเสน ทำหัวใจใหปกติ แกทอ งผูก ขับปสสาวะ เอกสารอางอิง 1. ดรุณ เพ็ชรพลายและคณะ สมุนไพรพืน้ บาน (ฉบับรวม). หางหนุ สวนจำกัด รงุ เรืองสาสนการพิมพ. กรุงเทพฯ 2541. หนา 50-51. 2. นันทวัน บุญยะประภัศร กาวไปกับสมุนไพร 1 ศูนยขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการสมุนไพร เพือ่ พึง่ ตนเอง กรมปาไม ธรรมกมล การพิมพ. กรุงเทพฯ. หนา 119-124. 3. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช หนังสือสารานุกรมสมุนไพร พิมพครัง้ ที่1 โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส. กรุงเทพฯ. 2540. 4. วีณา จิรัจฉริยากูล และคณะ. คูมือสมุนไพรฉบับยอ (1). นิวไทยมิตรการพิมพ. กรุงเทพฯ. 2539.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ ชุมเห็ดเทศทีข่ นึ้ กระจายในสภาพธรรมชาติ หรือทีป่ ลูกโดยทัว่ ไปในประเทศไทยยังคงกระจายพันธุ ดวยเมล็ด และยังไมมกี ารศึกษาเรือ่ งพันธุ เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. กรุงเทพ. 2545. หนา 28

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การเพาะปลูก: ชุมเห็ดเทศเปนพืชทีป่ ลูกงาย ขึน้ ไดในดินเกือบทุกชนิด แตชอบดินรวนซุย ชอบน้ำและแสงแดด เปน พืชทีเ่ จริญเติบโตเร็ว การปลูกโดยทัว่ ไปมักปลูกโดยใชเมล็ด สามารถทำได 2 วิธี คือ หยอดลงหลุม หรือ เพาะชำเมล็ดเปนตนกลากอน แลวจึงยายลงหลุม


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การปลูกแบบหยอดหลุมในพื้นที่ปลูก วิธีการปลูกนี้เหมาะสำหรับการปลูกเปนพืชแซมแปลงพืชไร อืน่ ๆ ทีม่ รี ม เงาบังแสงในชวงขณะเมล็ดงอกและกลายังเล็ก หรือในพืน้ ทีช่ มุ ชืน้ ทีไ่ มมปี ญ  หาวัชพืชรบกวน มากนัก ทำไดโดยการเตรียมหลุมสำหรับหยอดเมล็ด ใหหลุมมีขนาดกวาง ยาวและลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ระยะหางระหวางหลุม 3-4 เมตร นำเมล็ดทีผ่ า นการแกการพักตัวและกระตนุ ความงอกของเมล็ด แลว หยอดหลุมละประมาณ 5-6 เมล็ด ทำการเกลีย่ ดินกลบหนา ประมาณ 1 เซนติเมตร แลวนำฟางหรือ หญาแหงคลุมบางๆ บนหลุมเพื่อชวยพรางแสง ลดการชะลางของน้ำ และชวยควบคุมความชื้นในดิน ไมใหน้ำระเหยเร็ว วิธีการดังกลาวจะประหยัดเวลา แตมักประสบปญหาเกี่ยวกับการกำจัดวัชพืชขณะที่ ตนชุมเห็ดเทศยังมีขนาดเล็ก การปลูกแบบใชกลาปลูกในแปลงปลูก โดยนำกลาจากถุงเพาะชำหรือจากแปลงเพาะ มาปลูก ในหลุมทีเ่ ตรียมไว หลุมละ 1 ตน ทำการกลบดินโดยรอบและกดดินทีโ่ คนใหแนน รดน้ำหลังปลูกเสร็จ แลวทันที ปกค้ำยันและผูกมัดตนกลาเพือ่ ปองกันลมพัดโยกหรือตนเอนลม คลุมโคนตนดวยฟางหรือหญา เพือ่ ชวยควบคุมความชืน้ ในดินไมใหน้ำระเหยเร็ว และยังชวยปองกันวัชพืช วิธกี ารนีเ้ หมาะสำหรับการปลูก เปนแปลงใหญ เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก. กรุงเทพ. 2545. หนา 27-38.

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: การเก็บเกีย่ ววัตถุดบิ ของ ”ชุมเห็ดเทศ” จะเก็บใบเนือ่ งเปนสวนทีน่ ำไปผลิตยา โดยทัว่ ไปเลือกเก็บ เฉพาะใบเพสลาด หรือใบทีไ่ มออ นและไมแกจนเกินไป วิธเี ก็บควรใชกรรไกรตัดทัง้ ใบประกอบ ซึง่ สะดวก รวดเร็วและไมทำใหใบช้ำ วางในภาชนะทีส่ ะอาดและสะดวกตอการขนถายทีไ่ มทำใหใบเสียหาย โดยทั่วไปควรเก็บเกี่ยวในปริมาณที่พอเหมาะตอการใช และไมควรเก็บหลังชวงดอกบานสะพรั่ง ชุมเห็ดเทศ มีชพี จักรตามสภาพธรรมชาติในประเทศไทย ทีเ่ ติบโตดีในฤดูฝน ผลผลิตใบจะมีมาก และมี ตลอดเรือ่ ยมาจนถึงฤดูหนาว ในชวงหนาแลงกิง่ แกทเี่ ริม่ เหีย่ วแหงไมสามารถเก็บผลผลิตได เมือ่ ตัดทิง้ และ ใหน้ำอยางเหมาะสมแลวตนก็จะแตกกิง่ ใหม ซึง่ ประมาณ 2-3 เดือนก็จะสามารถใหผลผลิตใบเพสลาดได จากการวิจยั เบือ้ งตนของกรมวิทยาศาสตรการแพทย พบวาพืชปลูกอายุ 3 เดือนขึน้ ไปจะมีใบเพสลาดหรือ มีใบอายุ 2-3 เดือนใหเก็บเกีย่ วได การเก็บควรเลือกเก็บจากใบเพสลาดทีอ่ ยใู นลำดับลางๆ กอน คงเหลือ ใบทีอ่ อ นกวาในลำดับบนไวใหเจริญเติบโตตอไปและสำหรับการเก็บเกีย่ วในคราวตอไป ซึง่ ชวงการเก็บเกีย่ ว วัตถุดบิ จากตนเดิมในแตละครัง้ ควรหางกันไมนอ ยกวา 1-2 เดือน ใบเพสลาดจากตนปลูกอายุ 6-7 เดือน ขึน้ ไปจะมีปริมาณสารสำคัญอยใู นเกณฑมาตรฐาน ซึง่ จะทำใหไดวตั ถุดบิ ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีในการผลิตยาตอไป อยางไรก็ตามพืชในแตละแหลงมีปริมาณสารสำคัญที่ตางกัน วิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว: การทำความสะอาดและการเตรียมสมุนไพรกอนทำใหแหง: ใบชุมเห็ดเทศทีค่ ดั แยกจากสิง่ ปะปนและไดผา นการคัดเลือกเฉพาะใบทีส่ มบูรณแลว จะนำมาลางให สะอาดทัง้ ใบ หรือหัน่ เปนชิน้ หยาบๆ ผึง่ ใหสะเด็ดน้ำ แลวนำมาเกลีย่ บนภาชนะทีส่ ะอาด เชน กระดง หรือถาด

61


ide

62

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การทำใหแหง: การทำใหแหงนั้นมักใชวิธีการตาก ทั้งนี้ ควรคลุมภาชนะดวยผาขาวบางเพื่อปองกันฝุนละอองและ กันการปลิวของสมุนไพร ตากจนแหงสนิท หรืออบทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50oC ใน 8 ชัว่ โมงแรก ตอไปใชอณ ุ หภูมิ 40-45oC อบจนแหงสนิท การบรรจุและการเก็บรักษา: ใบชุมเห็ดเทศทีแ่ หงแลวควรบรรจุในภาชนะทีส่ ะอาด เชน ถุงพลาสติกปดปากถุงสนิทแนน หากมี ปริมาณนอยเก็บในขวดทีส่ ะอาด ปดฝาใหสนิท ติดฉลากชือ่ และวันทีเ่ ตรียมวัตถุดบิ และเก็บในทีส่ ะอาด ไมควรเก็บวัตถุดบิ ไวใชนานเกินกวา 1 ป เพราะจากการศึกษาเบือ้ งตน พบวาปริมาณสารสำคัญจะลดลง ประมาณ 20% เมือ่ เก็บไวนาน 1 ป เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2545. หนา 38-40. 2. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร. คูมือสมุนไพรเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน. พิมพครั้งที่ 3. Text and Journal Corporation. กรุงเทพฯ. 2533. หนา 13-35. 3. Dechatiwongse T and Chavalittumrong P. Quality analysis of Cassia alata Linn. Leaves. Thai J Pharm Sci. 1988; 13(3): 309-16.

7. สารสำคัญในสมุนไพร องคประกอบสำคัญทางเคมีของใบชุมเห็ดเทศ ประกอบดวย สารแอนทราควิโนน กลัยโคไซด (anthraquinone glycosides) ของ rhein, aloe emodin และ physcione และมีอะกลัยโคนอิสระ (free aglycone) ไดแก rhein, emodin, alone-emodin, chrysophanol และ isochrysophanol นอกจากนี้ ยังพบสาร kaempferol, b-sitosterol และ sennosides A, B, C และ D เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2545. หนา 26-27. 2. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Vol.1. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. 1995. p. 17-23.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร มีการกำหนดมาตรฐานของใบชุมเห็ดเทศไวใน Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) ดังนี้ รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม ปริมาณความชื้น ปริมาณเถารวม ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด ปริมาณสารสกัดดวยน้ำ ปริมาณสารสกัดดวย 50% เอธานอล ปริมาณอนุพนั ธไฮดรอกซีแอนทราซีน โดยคำนวณเปน rhein-8-glucoside

ไมเกิน (%w/w) 2.0 11.0 9.0 1.0

ไมนอ ยกวา (%w/w)

18.0 21.0 1.0


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Vol.1. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. 1995. p. 17-23. 2. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2545. หนา 41-60.

9. การศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง 9.1.1 ฤทธิแ์ กปวด (Analgesic activity) จากการศึกษาฤทธิแ์ กปวดของสารสกัดดวยสารละลาย 85% เอธานอล ในใบชุมเห็ดเทศ และสาร kaemferol 3-O-sophoroside (K3S) ทีแ่ ยกไดจากใบชุมเห็ดเทศเปรียบเทียบกับมอรฟน พบวา ทั้งสารสกัดและ K3S แสดงฤทธิ์ระงับปวด เมื่อฉีดเขาทางชองทอง ความแรงในการออกฤทธิ์แปรตาม ปริมาณสารทีใ่ หแกสตั วทดลอง (Dose dependent) นอกจากนี้ เมือ่ ศึกษาดวยวิธี acetic acid-induced writhing ในหนูถบี จักรพบวา สารสกัดดวยเฮกเซนของใบชุมเห็ดเทศแสดงฤทธิ์แกปวดได เอกสารอางอิง 1. Palanichamy S. and Nagarajan S. Analgesic Activity of Cassia alata Leaf Extract and Kaempferol 3-O-Sophoroside. J Ethnopharmacol. 1990; 29: 73-78. 2. Villasenor IM, Canlas AP, Pascua MPI, et al. Bioactivity studies on Cassia alata Linn. leaf extract. Phytother Res. 2002; 16: S93-S96.

9.1.2 ฤทธิต์ า นเชือ้ รา (Antifungal activity) สารสกัดดวยเอธานอลจากใบชุมเห็ดเทศมีฤทธิ์ตานเชื้อราไดดีโดยเฉพาะเชื้อราที่ทำให เกิดโรคผิวหนัง จำพวก dermatophyte แตไมมฤี ทธิต์ อ Candida albicans, Aspergillus fumigatus หรือ non dermatophyte โดยกลไกการออกฤทธิอ์ าจเกีย่ วของกับการทำใหเกิด cell leakage เอกสารอางอิง 1. Palanichang S. and Nagarajan S. Antifungal activity of Cassia alata leaf extract. J Ethnopharmacol. 1990; 29: 337-340. 2. Ibrahim D. and Osman H. Antimicrobial activity of Cassia alata from Malaysia. J Ethnopharmacol. 1995; 45: 151-156. 3. รัชชพิน ศรีสจั จะลักษณ, วรลักษณ ปรัชญพฤทธิ,์ เทอดพงษ ศรีรตั น และคณะ. ผลของสารสกัดเหงาขา ใบชุมเห็ดเทศ และ ตนทองพันชัง่ ตอเชือ้ แคนดิดา อัลบิแคนส. ว ทันต มหิดล. 2539; 16(2): 67-74. 4. Somchit MN, Reezal I, Elysha Nur I, et al. In vitro antimicrobial activity of ethanol and water extracts of Cassia alata. J Ethnopharmacol. 2003; 84(1): 1-4.

9.1.3 ฤทธิ์ตานเชื้อแบคทีเรีย สารสกัดดวยน้ำของใบชุมเห็ดเทศมีฤทธิแ์ รงกวาสารสกัดดวยแอลกอฮอลในการยับยัง้ เชือ้ Staphylococcus aureus แตทงั้ นี้ สารสกัดทัง้ สองชนิดไมแสดงฤทธิย์ บั ยัง้ เชือ้ E. coli สารสกัดหยาบดวยเมธานอล แสดงฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียทั้งแกรมบวกและลบไดนอย ชนิดและมีฤทธิ์ออน แตเมื่อนำมา fractionate ตอดวย petrol, dichloromethane, ethylacetate ฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรียของ fraction ทีไ่ ด broad spectrum มากขึน้ และมีฤทธิแ์ รงขึน้

63


64

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. Somchit MN, Reezal I, Elysha Nur I, et al. In vitro antimicrobial activity of ethanol and water extracts of Cassia alata. J Ethnopharmacol. 2003; 84(1): 1-4. 2. Khan MR, Kihara M, Omoloso AD. Antimicrobial activity of Cassia alata. Fitotherapia. 2001; 72: 561-4.

9.1.4 ฤทธิต์ อ ลำไสเล็ก สารสกัดดวยน้ำของใบชุมเห็ดเทศทำใหลำไสเล็กสวนปลายของหนูตะเภาหดตัวในหลอด ทดลอง และทำใหการเคลือ่ นไหวของลำไสหนูถบี จักรเพิม่ ขึน้ เมือ่ ไดรบั สารสกัดโดยการกรอก 9.1.5 ฤทธิเ์ ปนยาระบาย จากการศึกษาในหนูถีบจักรโดยการใหสารสกัดทางปากพบวาสารสกัดดวยน้ำของใบ ชุมเห็ดเทศขนาด 5 10 และ 20 ก./กก. (เทียบเทา crude drug) จะทำใหสตั วทดลองทุกตัวเกิดการถายเหลว เอกสารอางอิง 1. กองวิจัยและพัฒนาสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย คูมือสมุนไพรเพื่อการสาธารณสุขมูลฐาน. Text and Journal Corporation กรุงเทพฯ 2531: 42.

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การศึกษาฤทธิใ์ นการรักษาอาการทองผูก ผลจากการศึกษา พบวาประสิทธิภาพในการบรรเทาอาการทองผูกของยาชงชุมเห็ดเทศ ใหผลดีเทากับมิสท แอลบา (Mist Alba) และทำใหเกิดอาการขางเคียงคือทองเสียนอยกวา 9.2.2 การศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดจากใบชุมเห็ดเทศในการรักษาโรคกลากเกลือ้ น ผลจากการรักษาผปู ว ยโรคเกลือ้ น 10 ราย และโรคกลาก 30 ราย (ผูปวย 29 รายจาก เชือ้ Trichophyton rubrum และผปู ว ย 1 ราย จากเชือ้ Epidermophyton floccosum) พบวา ครีมสารสกัด ชุมเห็ดเทศ 20% สามารถรักษาไดทงั้ โรคกลากและโรคเกลือ้ น จากการศึกษาประสิทธิผลของสารสกัดจากใบชุมเห็ดเทศในการรักษาโรคเกลื้อน (Pityriasis versicolor) พบวาสารสกัดจากใบแกสดทีค่ วามเขมขนมากกวา 70% จะใหผลดีในการรักษา โรคเกลือ้ น (Pityriasis versicolor) ทีเ่ กิดอาการติดเชือ้ Malassezia furfur ทัง้ นี้ ยังสามารถปองกันการ กลับมาเปนใหม (recurrent) ไดนานถึง 1 ป ในกรณีทตี่ อ งการใหหายขาดจะตองใหสารสกัดทุกๆ 4 เดือน ติดตอกัน เปนระยะเวลา 3 ปหลังจากการรักษาครัง้ แรกไดผลดี อีกทัง้ สารสกัดดังกลาวยังไมทำใหเกิดอาการ ขางเคียงหรือเกิดการเปลี่ยนแปลงทางผิวหนัง เอกสารอางอิง 1. Thamlikitkul V, et al. Randomized Controlled Trial of Cassia alata Linn. for Constipation. J Med Assoc Thai. 1990; 73(4): 217-222. 2. เสาวรส อิม่ วิทยา, นันทพร นิลวิเศษ และ เพลินพิศ ดิษฐประสพ. 2530. การใชชมุ เห็ดเทศ ทองพันชาง และราชดัด รักษาโรค กลากเกลือ้ น. สรุปรายงานการศึกษาวิจยั สมุนไพรโครงการสมุนไพรกับการสาธารณสุขมูลฐาน โดยความชวยเหลือขององคการยูนเิ ซฟ (พ.ศ. 2527-2528) สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน. โรงพิมพองคการทหารผานศึก, กรุงเทพฯ. หนา 78-80. 3. Damodaran S. and Venkataraman S. A study on the therapeutic efficacy of Cassia alata, Linn. leaf extract against Pityriasis versicolor. J Ethnopharmacol. 1994; 42: 19-23.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

10. การศึกษาทางพิษวิทยา การทดสอบความเปนพิษ: การทดสอบพิษเฉียบพลันในหนูถีบจักรของสารสกัดจากใบชุมเห็ดเทศดวยสารละลาย 50% แอลกอฮอล พบวาขนาดของยาที่ทำใหหนูถีบจักรตายรอยละ 50 (LD50) เมื่อใหทางปากและใตผิวหนัง มีคา มากกกวา 15 กรัม/กิโลกรัม เมือ่ ฉีดเขาทางชองทอง เทากับ 8.03 กรัม/กิโลกรัม ทัง้ นี้ จากผลการทดสอบ พิษเรื้อรังของใบชุมเห็ดเทศในหนูขาว เมื่อไดรับยาที่ใหขนาดเทากับ 1 5 และ 20 เทาของขนาดที่ใช ในการรักษาในคน คือ 1.5 ก./วัน/คน (หนัก 50 กก.) พบวาไมปรากฏอาการพิษใด ๆ เอกสารอางอิง 1. นาถฤดี สิทธิสมวงศ, ทรงพล ชีวะพัฒน, เอมมนัส หวังหมัด และคณะ. พิษของใบชุมเห็ดเทศ. ว กรมวิทย พ. 2534; 33(4): 145-154.

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: • ชุมเห็ดเทศเปนยาระบายทีอ่ อกฤทธิโ์ ดยกระตนุ ใหลำไสใหเกิดการบีบตัว ดังนัน้ จึงมีขอ หามใช ในผปู ว ยทีล่ ำไสอดุ ตัน หรือมีอาการอักเสบของลำไสอยางเฉียบพลัน • หามใชยาชงชุมเห็ดเทศในเด็กอายุต่ำกวา 12 ป • หามใชผลิตภัณฑทมี่ ฤี ทธิเ์ ปนยาระบายหากมีอาการปวดทอง คลืน่ ไส หรืออาเจียน ขอควรระวัง: • ชุมเห็ดเทศอาจทำใหมอี าการคลืน่ ไส ปวดมวนทอง มดลูกบีบตัว หรือทองเสีย ดังนัน้ หากมี อาการดังกลาวควรลดขนาดใชลง • การใชชมุ เห็ดเทศเปนยาระบายนัน้ ไมควรใชเปนยาระบายติดตอกันเปนระยะเวลานาน เพราะ จะทำใหลำไสชนิ ตอยาระบาย และไมสามารถบีบตัวไดเองหากไมใชยา ดังนัน้ ควรใชเมือ่ มีอาการ ทองผูกจริงๆ • ไมควรใชตดิ ตอกันเปนเวลานานในขนาดสูง เพราะอาจทำใหสญ ู เสียน้ำและเกลือแร โดยเฉพาะ อยางยิง่ โปแตสเซียม ซึง่ จะทำใหเกิดความผิดปกติของลำไส ไตอักเสบ หรือใจสัน่ ได โดยเฉพาะ อยางยิง่ คนทีใ่ ชยารักษาโรคหัวใจในกลมุ cardiac glycoside ยาขับปสสาวะ หรือยากลมุ corticosteroid รวมดวย จะยิง่ ทำใหการขาดโปแตสเซียมรุนแรงขึน้ • การใชชุมเห็ดเทศในขนาดสูงหรือใชติดตอกันเปนเวลานาน อาจทำใหปสสาวะมีอัลบูมิน หรือ มีเลือดออกมาดวย • ไมควรใชชุมเห็ดเทศเปนยาระบายในสตรีมีครรภ หรือใหนมบุตร อาการขางเคียง: อาจทำใหเกิดอาการคลืน่ ไส ปวดมวนทอง มดลูกบีบตัว หรือทองเสียในผปู ว ยบางราย

65


66

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2545 หนา 61-63. 2. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. 2543. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. หนา 24-28. 3. McGuffin M, Hobbs C, Upton R et al. Eds. 1997. American Herbal Products Association’s Botanical Safety Handbook. CRC Press. Boca Raton. p. 177-179.

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช: • ใชเปนยาระบาย บรรเทาอาการทองผูก • ใชภายนอกในการรักษาโรคกลาก เกลือ้ น ขนาดและวิธใี ช: 1. ใชเปนยาระบาย ใบและดอกชุมเห็ดเทศสามารถใชเปนยาระบาย แกโรคทองผูกได เพราะมีสารจำพวกแอนทราควิโนนซึ่งมีฤทธิ์ไปกระตุนลำไสใหญใหเกิดการบีบตัว สงผลทำใหเกิดการขับถาย ในขณะเดียวกันใน ชุมเห็ดเทศก็มีสารเทนนินซึ่งมีฤทธิ์สมานธาตุในตัว จึงนับวาเปนยาถายที่ดีเพราะมีฤทธิ์รูปดรูเปดเอง แมจะใหในขนาดสูงเกินไปก็ไมเปนอันตราย วิธีใช • ใชชาชงชุมเห็ดเทศทีบ่ รรจุ 3 กรัม/ซอง ครัง้ ละ 1-2 ซอง ชงในน้ำเดือด 120 มล./ซอง นาน 10 นาที รับประทานวันละ 1 ครัง้ กอนนอน • ใชใบยอยที่ไมแกไมออนเกินไป 8-12 ใบ (ควรเก็บกอนออกดอก) ลางน้ำใหสะอาด ตากแดดใหแหง และทำการปนใหเปนผง ชงน้ำเดือด 1-2 แกว รินเอาเฉพาะน้ำดืม่ หรือ ใชผงยาปน เปนลูกกลอนขนาดเทาปลายนิว้ กอย รับประทานครัง้ ละ 3 เม็ด กอนนอน • ใชใบสด 8-12 ใบ ปง ไฟใหเหลืองหัน่ เปนฝอย ตมกับน้ำ 1 ถวยแกว เติมเกลือเล็กนอย รินเอาเฉพาะน้ำดื่ม • ใชชอ ดอกสด 2-3 ชอ ตมจิม้ น้ำพริกเปนอาหาร เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตรการแพทย. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2545. หนา 63. 2. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. 2543. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. หนา 24-28. 3. วันดี กฤษณพันธ. สมุนไพรนารู. สำนักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. 2539.

2. ใชแกโรคกลากและโรคผิวหนัง • ในบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร) ไดกำหนดรูปแบบของ ผลิตภัณฑจากสารสกัดชุมเห็ดเทศสำหรับใชภายนอก เพือ่ รักษาโรคกลาก เกลือ้ น และเชือ้ รา ในรมผาหรือทีเ่ ทา ในรูปของครีมทีม่ สี ารสกัดผงใบชุมเห็ดเทศดวย 95% เอธานอล อยู 20% และกำหนดขนาดใช โดยใหทาครีมบริเวณทีเ่ ปนวันละ 2-3 ครัง้ ติดตอกันทุกวันเปนระยะ เวลานาน 3-4 สัปดาห


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• ใชใบสด ของชุมเห็ดเทศ 3-4 ใบ ขยีห้ รือตำใหละเอียดและทาบริเวณทีเ่ ปนกลาก วันละ 2-3 ครัง้ ทุกวันจนหาย แลวทาตอไปอีกประมาณ 1 สัปดาห ถาตองการใหใชไดผลมากขึน้ ควรใช ใบชุมเห็ดเทศสดตำผสมกับกระเทียม 3-4 กลีบ และปูนแดงเล็กนอย ใชทาบริเวณทีเ่ ปน • วิธีใชเพื่อรักษาฝและแผลพุพอง ทำโดยการใชใบสดของชุมเห็ดเทศ 1 กำมือ ตมกับน้ำ พอทวม เคีย่ วใหเหลือ 1 ใน 3 ใชลา งแผลทีเ่ ปนหนอง วันละ 2 ครัง้ ในชวงเชาและเย็น ถามีอาการมาก ใหใชใบ 10 กำมือ ตมอาบ เอกสารอางอิง 1. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จำกัด, กรุงเทพฯ. 2543. หนา 24-28. 2. Thamlikitkul V, et al. Randomized Controlled Trial of Cassia alata Linn. for Constipation. J Med Assoc Thai. 1990; 73(4): 217-222. 3. สำนักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน. กระทรวงสาธารณสุข. ชุมเห็ดเทศ ในสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน (ฉบับปรับปรุง). พิมพครัง้ ที่ 3 โรงพิมพองคการสงเคราะหทหารผานศึก กรุงเทพ 2542 หนา 76-77 4. วีณา จิรัจฉริยากูล และคณะ. คมู อื สมุนไพรฉบับยอ (1). นิวไทยมิตรการพิมพ กรุงเทพฯ. 2539. รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

67


68

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ขมิ้นชัน 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่ออังกฤษ: ชื่อพอง: ชื่อทองถิ่น:

Curcuma longa L. Zingiberaceae Turmeric Curcuma domestica Valeton ขมิน้ ขมิน้ แกง ขมิน้ ชัน ขมิน้ หยอก ขมิน้ หัว ขีม้ นิ้ ตายอ สะยอ หมิน้

เอกสารอางอิง 1. สวนพฤกษศาสตรปาไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม. ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544). 2544, หนา 160.

2. ลักษณะพืช ลักษณะ: ขมิน้ ชันเปนไมลม ลุก สูง 50-70 ซม. มีเหงาใตดนิ เนือ้ ในสีเหลืองอมสม มีกลิน่ หอม ใบ ใบมีลกั ษณะออกเปนรัศมีมตี ดิ ผิวดิน รูปหอกแกมขอบขนาน มีขนาดความกวาง 8-10 ซม. ยาว 30-40 ซม. กานใบยาว 8-15 ซม. ดอก ดอกขมิน้ ชันจะมีลกั ษณะเปนชอ กานชอดอกยาว 5-8 ซม. ใบประดับสีเขียวออนๆ หรือสีขาว รูปหอกเรียงซอนกัน ใบประดับ 1 ใบจะมี 2 ดอก ใบประดับยอยเปนรูปขอบขนานยาว 3-3.5 ซม. ดานนอก มีขน กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเปนรูปทอ มีขน กลีบดอกสีขาว โดยโคนเชื่อมติดกันเปนทอยาว ปลายแยกเปน 3 สวน อีกทั้งเกสรผูคลายกลีบดอก มีขน อับเรณูอยูที่ใกลๆ ปลายทอเกสรเมียเล็ก ยาวยอดเกสรเมียรูปปากแตร เกลีย้ ง รังไขมี 3 ชอง แตละชองมีไขออ น 2 ใบ เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุญยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. 2539. สมุนไพร ไมพนื้ บาน 1. พิมพครัง้ ที่ 1 บริษทั ประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ 2. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. โรงพิมพ ร.ส.พ. กรุงเทพฯ

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ชประโยชน: เหงาขมิน้ ชันสดและแหง สรรพคุณ: เหงา มีรสฝาดหวานเอียน ชวยในการแกไขเบือ่ ดี คลัง่ เพอ แกไขเรือ้ รัง ผอมเหลือง แกโรคผิวหนัง แกเสมหะและโลหิต แกทอ งรวง สมานแผล แกธาตุพกิ าร ขับผายลม แกผนื่ คัน ขับกลิน่ และสิง่ สกปรก ในรางกาย คุมธาตุ หยอดตาแกตาบวม ตาแดง อีกทัง้ น้ำคัน้ จากเหงาสด สามารถนำไปใชทาแกแผลถลอก แกโรคผิวหนังผืน่ คัน ลดการอักเสบ ทำใหผวิ พรรณผุดผอง สามารถนำมาอัดเม็ดทำเปน ยารักษาทองอืด เฟอ ธาตุพกิ าร อาหารไมยอ ย กระเพาะอาหารออนแอ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร แกทอ งรวง แกบดิ ผงขมิน้ (นำเหงาบดเปนผง) นำมาเคีย่ วกับน้ำมัน เพือ่ ทำน้ำมันใสแผลสด ขมิน้ สด (ใชเหงาสดลางใหสะอาด) นำมาตำกับดินประสิวเล็กนอย ผสมดวยน้ำปูนใส สามารถพอก บาดแผล และแกเคล็ดขัดยอก อีกทัง้ ยังใชเผาไฟตำกับน้ำปูนใสรับประทานเพือ่ รักษาอาการทองรวงและบิด


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุญยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. 2539. สมุนไพร ไมพนื้ บาน 1. พิมพครัง้ ที่ 1 บริษทั ประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ 2. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช หนังสือสารานุกรมสมุนไพร 2540. พิมพครัง้ ที่ 1 โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮาส กรุงเทพฯ 3. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ โรงพิมพ ร.ส.พ.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ แหลงกำเนิดและกระจายพันธ:ุ สมุนไพร “ขมิน้ ชัน” มีถนิ่ กำเนิดในประเทศแถบเอเชียใต และเอเชียตะวันออกเฉียงใต แตยงั ไมปรากฏ หลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับแหลงธรรมชาติในสภาพพืชปา ไดมีขอสันนิษฐานวาขมิ้นชันเปนพืชปลูกที่เกิด จากกระบวนการผสมพันธตุ ามธรรมชาติและมีโครโมโซม 3 ชุด ซึง่ เปนหมัน มีการสืบทอดพันธกุ นั ตอมา โดยวิธีการคัดเลือกพันธุและขยายพันธุแบบไมอาศัยเพศ ปจจุบันขมิ้นชันมีเขตการกระจายพันธุปลูก ทัว่ ไปในภูมภิ าคทีม่ อี ากาศรอนหรือรอนชืน้ ทัว่ โลก ทัง้ นี้ แหลงทีป่ ลูกขมิน้ ชันเปนการคาขนาดใหญของโลก คือ อินเดียมีแหลงอืน่ บางแถบเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึง่ เปนทัง้ ผผู ลิตและผบู ริโภค พันธ:ุ ขมิน้ ชันทีด่ ใี นตลาดโลกมีมากกวา 50 สายพันธุ สวนมากมาจากอินเดีย ซึง่ ไดถกู จำแนกสายพันธุ โดยใชคุณสมบัติตางๆ ทางดานรูปราง ลักษณะ ขนาด สีกลิ่น และอายุเหงาที่สมบูรณ พรอมเก็บเกี่ยว (maturity of rhizome) และสายพันธทุ ใี่ หผลผลิตดีมปี ริมาณสารสำคัญสูง สำหรับในประเทศไทยงาน รวบรวมพันธุ และคัดเลือกพันธุปลูกยังมีผูดำเนินการนอยมาก สวนใหญยังคงใชพันธุที่มีอยูในทองถิ่น หรือจากแหลงขายวัตถุดิบ การคัดเลือกพันธ:ุ 1. ควรเลือกพันธุที่มีคุณภาพดานปริมาณสารสำคัญที่ใชประโยชนตรงตามกำหนดมาตรฐาน การผลิตยาหรือมาตรฐานตลาดการคาของโลก สำหรับตามขอกำหนดในตำรายาสมุนไพรของไทย ระบุวา ตองมีปริมาณ เคอรคมู นิ อยดไมต่ำกวา 5% และน้ำมันหอมระเหยไมต่ำกวา 6% 2. ควรเลือกพันธทุ มี่ ลี กั ษณะตางๆ ไดแก • เหงาสมบูรณ มีอายุเก็บเกีย่ วระหวาง 7-9 เดือน หรือตัง้ แต 7 เดือนขึน้ ไป • เหงาทีใ่ ชทงั้ หัวหรือแงงควรมีตามากกวา 2-5 ตาขึน้ ไป • เหงาสมบูรณ มีความแกรงไมเล็กลีบ ปราศจากโรคแมลงสัตวศตั รูพชื สภาพแวดลอมทีเ่ หมาะสม : ขมิน้ ชันเจริญเติบโตไดดี ทัง้ ในทีโ่ ลงแจงหรือมีแสงรำไรแตในสภาพรมผลผลิตจะลดลง ขมิน้ ชันชอบ อากาศรอนชืน้ และปลูกไดดบี นพืน้ ทีด่ นิ รวนปนทราย มีอนิ ทรียว ตั ถุอดุ มสมบูรณ มีการระบายน้ำดี ทัง้ นี้ ขมิน้ ชันไมทนทานตอสภาพน้ำทวมขัง pH ระหวาง 5-7 ดินทีเ่ ปนดางจัด โดยเฉพาะดินเหนียวหรือดินลูกรัง จะไมเหมาะกับการเจริญเติบโตและการพัฒนาของเหงา ขมิน้ ชันสามารถปลูกไดในพืน้ ทีร่ ะดับต่ำไป จนถึง พืน้ ทีร่ ะดับสูง 1,200 เมตร มักปลูกกันมากทีร่ ะดับความสูง 450-900 เมตร เหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง และปลูกไดดใี นพืน้ ทีเ่ ขตน้ำฝน โดยเฉพาะบริเวณทีม่ ปี ริมาณ น้ำฝน 1,000-2,000 มิลลิเมตรตอป หรือที่ มีปริมาณน้ำฝน 1,200-1,400 มิลลิเมตร/ป ในเวลา 100-120 วัน ฉะนัน้ ถาปลูกในทีท่ มี่ ปี ริมาณฝนนอย ตอง ใชระบบการใหน้ำหรือชลประทานชวย

69


70

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ ร.ส.พ.

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การขยายพันธ:ุ ขมิน้ ชันใชวธิ กี ารขยายพันธแุ บบไมใชเพศ โดยสวนทีใ่ ชขยายพันธุ คือ เหงา การเตรียมเหงาพันธ:ุ • เหงาพันธทุ ใี่ ชจะมีขนาดทอนพันธปุ ระมาณ 15-50 กรัม/ชิน้ พืน้ ที่ 1 ไร จะใชเหงาพันธขุ มิน้ ชันประมาณ 350-420 กิโลกรัม • แชทอ นพันธดุ ว ยสารเคมีปอ งกันกำจัดแมลง เชน เพลีย้ หอยดวยมาลาไธออน หรือ คลอไพรีฟอส 1-2 ชัว่ โมง ตามอัตราแนะนำ • ชุบทอนพันธดุ ว ยสารเคมี ปองกันกำจัดเชือ้ รากอนปลูก การเตรียมดิน: ขมิน้ ชันเจริญเติบโตไดในดินเกือบทุกชนิดทีม่ อี นิ ทรียว ตั ถุอดุ มสมบูรณและรวนซุย มีความชืน้ และ ระบายน้ำดี อยางไรก็ตาม ขมิ้นชันไมทนตอสภาพน้ำทวมขัง ดังนั้น ในดินรวนที่น้ำและอากาศซึมผาน ถายเทไดสะดวก พืชจะเจริญเติบโตและพัฒนาเหงาไดดี นอกจากนี้การเก็บเกี่ยวเหงา ที่ปลูกในดินรวน จะสะดวกมากกวาทีป่ ลูกในดินเหนียวจัด ดังนัน้ ในการเตรียมดินปลูกขมิน้ ชันจำเปนตองขุดหรือไถพรวน เพือ่ ใหดนิ รวนซุยขึน้ ถาเปนพืน้ ทีท่ มี่ วี ชั พืชมากและหนาดินแข็ง ควรไถพรวนไมนอ ยกวา 2 ครัง้ คือ ไถดะ เพือ่ กำจัดวัชพืช และทำการเปดหนาดินใหรว นซุย แลวตากดินไว 1-2 สัปดาห เพือ่ ทำลายไขแมลง เชือ้ โรคในดิน และไถแปร เพือ่ กลับหนาดิน ทำใหดนิ รวนซุยและละเอียดขึน้ พรอมกับเก็บเศษไม และวัชพืช ออกจากแปลงใหหมด ถาเปนดินเหนียวจัดควรใสปยุ หมักหรือปยุ คอก อัตรา 1 ตัน/ไร เพือ่ ปรับปรุงสภาพ ดิน การเตรียมดินควร ไถพรวนกอนตนฤดูฝน ใหมสี ภาพพรอมปลูกในตนฤดูฝน การเตรียมแปลงปลูก มี 2 รูปแบบ คือ 1. แปลงปลูกสภาพพื้นที่ราบเหมาะกับพื้นที่ที่มีการระบายน้ำดี 2. แปลงปลูกสภาพยกสันรอง หรือการยกแปลงใหสงู จากระดับดินเดิม และมีรอ งระบายน้ำ เหมาะ กับสภาพพื้นที่ลุมหรือพื้นที่ราบต่ำหรือมีการระบายน้ำไมดี เมื่อปลูกพืชแลวอาจมีน้ำทวมขัง ทำใหพืช เสียหายได การยกสันรอง ควรทำสันนูนสูง 20-30 เซนติเมตร กวางประมาณ 45-50 เซนติเมตร ในกรณี ยกแปลงปลูก ขนาดทีง่ า ยตอการดูแลรักษาควรกวาง 100-150 เซนติเมตร สูง 15-20 เซนติเมตร ความยาว ขึน้ อยกู บั ความเหมาะสมและขนาดของพืน้ ที่ แปลงปลูกยอยแตละแปลงควรเวนชองหาง 30-50 เซนติเมตร เพื่อใชเปนทางเดินสำหรับการดูแลรักษา การปลูก: ฤดูปลูกและการเติบโตของ “ขมิ้นชัน” ควรปลูกในชวงตนฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคมเปนตน ไป พืชจะไดมชี ว งระยะการเจริญเติบโตและพัฒนาไดเต็มทีต่ ลอดฤดูฝน หนอจะงอกประมาณ 2-4 สัปดาห หลังปลูก และดอกจะออกในเดือนกรกฎาคม-กันยายน หรือเมือ่ พืชอายุปลูกไดประมาณ 4-5 เดือน ลำตน เหนือดินจะโทรมยุบในชวงฤดูแลง และลำตนใตดนิ เขาสรู ะยะพักตัวพรอมเก็บเกีย่ ว ประมาณเดือนธันวาคม โดยอายุปลูกทีพ่ รอมเก็บเกีย่ วตามฤดูกาลประมาณ 9-11 เดือน ดังนัน้ การปลูกลาชาเกินไป นอกจากจะเสีย


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

คาใชจายในการบำรุงดูแลรักษาแลวพืชจะเจริญเติบโตไดไมเต็มที่ และจะโทรมยุบเมื่อเขาฤดูแลง ทำให ผลผลิตที่ไดมีปริมาณนอยและมีคุณภาพต่ำกวาขมิ้นชันที่ปลูกตามสภาพอายุเก็บเกี่ยวปกติ วิธปี ลูก: โดยทัว่ ไปในการปลูกขมิน้ ชัน การปลูกเปนพืชหลักอยางเดียวในสภาพพืน้ ทีร่ าบใชระยะหางระหวาง แถว 30 เซนติเมตร และใชระยะหางระหวางตน 30 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในสภาพยกรองใชระยะ หางระหวางแถว 45-75 ซม. และใชระยะหางระหวางตน 25-50 เซนติเมตร ในการปลูกขมิน้ ชันเปนพืช แซมพืชไรหรือพืชสวนอืน่ ๆ ควรปลูกเปนแถวแซมระหวางแถวพืช โดยใชระยะหางระหวางตน 30 เซนติเมตร • ขุดหลุมปลูก ขนาด กวางxยาวxลึก : 15 x 15 x 15 ซม. • ใสปยุ คอกหรือปยุ หมัก รองกนหลุมในอัตรา 1 กระปองนม (ประมาณ 250 กรัม) ตอหลุม คลุกเคลาใหเขากับดินกนหลุม • นำหัวหรือแงงพันธทุ เี่ ตรียมไวลงปลูก แลวกลบดินทับหนาประมาณ 5-10 เซนติเมตร การดูแลรักษา: การคลุมแปลง: หลังจากการปลูกเหงาพันธแุ ลว ควรใชฟางขาวหรือใบหญาคาหรือวัสดุอยางอืน่ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมือน กันมาคลุมแปลงปลูก เพือ่ ลดการระเหยของน้ำในดิน และชวยรักษาความชืน้ ในดิน ซึง่ จะมีผลดีตอ การงอก ของขมิ้นชัน เปนการประหยัดการใชน้ำและแรงงาน การใหน้ำ: หลังจากปลูกเหงาพันธแุ ลว ควรรดน้ำใหชมุ เพือ่ รักษาความชืน้ ของดินใหเหมาะสมตอการงอก และ ทำอยางตอเนือ่ งในระยะเริม่ ปลูกจนถึงระยะทีต่ น ยังมีขนาดเล็ก ควรใหน้ำอยาสม่ำเสมอหรือใหน้ำเมือ่ เห็น วาดินแหง โดยเฉพาะเมือ่ เกิดฝนทิง้ ชวง ปริมาณน้ำทีใ่ หขนึ้ อยกู บั สภาพพืน้ ทีแ่ ละความชืน้ ในอากาศ เมือ่ พืชเริม่ โตการใหน้ำควรลดลงหรือใหตามความเหมาะสม โดยทัว่ ไปในฤดูฝนทีม่ ฝี นตกสม่ำเสมอไมจำเปน ทีจ่ ะตองใหน้ำเพิม่ แตควรระมัดระวังไมใหมนี ้ำทวมขังในแปลงปลูกนานๆ เพราะจะทำใหตน เนาเสียหาย ได ทัง้ นี้ ควรหยุดการใหน้ำในระยะทีต่ น เริม่ มีใบสีเหลืองในฤดูแลง ซึง่ เปนชวงทีข่ มิน้ ชันเขาสรู ะยะพักตัว หยุดหรือชะลอการเจริญเติบโต การใสปยุ : ในสภาพพื้นที่ที่ดินมีความอุดมสมบูรณพอเพียงไมจำเปนที่จะตองใสปุยวิทยาศาสตรเพิ่มหลังการ ปลูก สำหรับพืน้ ทีท่ ที่ ำการเกษตรอยางตอเนือ่ งและขาดการบำรุงดิน หรือดินขาดธาตุอาหาร ควรใสปยุ เพิม่ เติม โดยพิจารณาใสใหเหมาะสมกับสภาพพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ปยุ สูตรทัว่ ไปทีค่ วรใช เชน 15-15-15, 16-16-16 หรือ 13-13-21 ระยะเวลาใสปยุ ใสหลังการปลูก 1-2 ครัง้ ตามความเหมาะสม ครัง้ ที่ 1 เมือ่ อายุประมาณ 1-2 เดือน หรือขมิน้ ชันทีป่ ลูกมีการงอก 50% ขึน้ ไป ควรใสในปริมาณประมาณครึง่ ชอนแกง (ประมาณ 15 กรัม) ตอตน หรือประมาณ 50 กิโลกรัมตอไร ครัง้ ที่ 2 เมือ่ อายุประมาณ 2-4 เดือน ใสประมาณ 1 ชอน แกง (ประมาณ 30 กรัม) ตอตน วิธใี สปยุ ควรใสหา งจากโคนตน 8-15 เซนติเมตร โดยขุดหลุมฝง หรือ หวานระหวางแถวปลูก แลว medki พรวนดินกลบ หลังใสปยุ ทุกครัง้ ตองใหน้ำทันที การกำจัดวัชพืช: ควรเอาใจใสดแู ลกำจัดวัชพืชอยางสม่ำเสมอ โดยเฉพาะในชวงแรกหลังตนงอกและระยะทีต่ น ยังเล็ก กรณีทมี่ วี ชั พืชขึน้ มากควรใชจอบดายหญา และพรวนดินเขาโคนตนไปพรอมกัน บริเวณโคนควรใชมอื ถอน

71


72

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

วัชพืชจะดีกวาใชจอบดายหญา เพราะอาจจะทำความเสียหายใหกบั พืชทีเ่ ราปลูกได การพรวนดิน สวนใหญ แลวจะพรวนดินและดายหญาไปพรอมกัน หรือพรวนดินเมื่อหนาดินแนน ดูดซับน้ำไดชา การพรวนดิน จะทำใหดินรวนซุย ดูดซึมซับน้ำและสารอาหารไดดี ซึ่งจะชวยใหระบบรากพืชใชน้ำและปุยไดอยางมี ประสิทธิภาพมากขึ้น การปองกันกำจัดโรคและแมลง: โรคของขมิ้นชัน ที่พบไดแก • โรคเหงาและรากเนา ซึ่งเกิดจากเชื้อ Pythium graminicolum Subram., Pythium aphanidernatum (Edson) Fitz, Fusarium solani และ Fusarium sp. • โรคใบจุด จากเชือ้ Colletotrichum capsic (Syd.) Butl.& Bisby และเชือ้ Taphrina maculans Butl. โรคเหลานีม้ กั มีสาเหตุรว มมาจากการมีน้ำทวมขัง หรือการใหน้ำมากเกินไป หรือเกิดจาก การปลูกซ้ำทีเ่ ดิมหลายๆ ครัง้ ทำใหเกิดการสะสมของเชือ้ โรค การปองกันกำจัดโรคดังกลาวเมือ่ เกิดแลวรักษายากในเบือ้ งตนควรถอนและทำลาย และควรปองกันกอนปลูก โดยการหมุนเวียน แปลงปลูกและใชเหงาพันธุที่ปราศจากโรค แมลงศัตรูพืช ที่พบไดแก • แมลงดูดกินน้ำเลีย้ ง (scale insect หรือ sucking insect) เชน เพลีย้ หอย มีขนาดเล็กมาก สีน้ำตาลแดง มักวางไขไวที่ผิวเปลือกเหงาเห็นเปนสะเก็ดสีขาว โดยจะดูดกินน้ำเลี้ยงทำความ เสียหายแกตนและเหงา พบไดทั้งในแปลงปลูกและในระยะหลังเก็บเกี่ยว การปองกันกำจัด ในเบื้องตนควรทำลายทันที หากมีความจำเปนจะตองทำการกำจัดที่เหงาพันธุกอนการปลูก • หนอนหรือแมลงกัดกินใบ ซึ่งจะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของพืชการปองกันกำจัด ในเบื้องตนควรทำลาย เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ ร.ส.พ. 2. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. 2543. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร. พิมพครัง้ ที่ 1

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: โดยทั่วไป “ขมิน้ ชัน” ทีป่ ลูกตามฤดูกาลจะเก็บเกีย่ วชวงอายุประมาณ 9-11 เดือน (เดือนธันวาคมกุมภาพันธ) เพราะจะไดผลผลิตดี เหงามีความสมบูรณเต็มที่ มีความแกรง สามารถเก็บรักษาเหงาสด ไวในสภาพปกติไดนาน แตถา ปลอยทิง้ ไวหลังจากนัน้ เปนเวลานานแลวอาจเกิดโรคเนาและผลผลิตลดลงและ หามเก็บเกีย่ วในระยะทีข่ มิน้ ชันเริม่ แตกหนอ เพราะจะทำใหมสี ารเคอรคมู นิ ต่ำ วิธกี ารเก็บเกีย่ ว: ชวงระยะเวลาทีเ่ ก็บเกีย่ วขมิน้ ชันจะเปนชวงฤดูแลง สภาพดินจะแหงแข็งมากกวาปกติ ถาดินแข็ง ควร มีการใหน้ำจนดินชืน้ และปลอยไวใหดนิ แหงหมาด แลวจึงทำการเก็บเกีย่ ว โดยวิธขี ดุ หรือไถ ในแปลงปลูก ทีม่ ขี นาดเล็กควรเก็บเกีย่ วโดยใชจอบขุด ในแปลงปลูกขนาดใหญควรใชเครือ่ งมือทนุ แรง เชน รถแทรคเตอร ติดพานไถอันเดียว และใชแรงงานเดินตามเก็บ


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ผลผลิต: • ผลผลิตจากการปลูกขมิน้ ชัน เปนพืชหลักจะไดผลผลิตสดประมาณ 3,000 กก./ไร • ผลผลิตจาการปลูกขมิน้ ชันเปนพืชแซมพืชไรอนื่ ๆ จะไดผลผลิตสดประมาณ 200-300 กก./ไร การปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว: การทำความสะอาด ทำโดยการคัดแยกหัวขมิน้ ชันและแงงออกจากกัน ตัดรากและสวนตางๆ ทีไ่ ม ตองการทิง้ อาจใชแปรงชวยขัดผิว คัดเลือกสวนทีส่ มบูรณปราศจากโรคและแมลง นำมาลางดวยน้ำสะอาด หลายๆ ครัง้ จากนัน้ คัดแยกสวนทีจ่ ะเก็บรักษาไวทำหัวพันธตุ อ ไป และสวนของผลผลิตทีจ่ ะนำไปทำแหง การเก็บรักษาเหงาพันธหุ รือเหงาสด: การเก็บเกี่ยวขมิ้นชันจะเก็บเกี่ยวในชวงฤดูแลง และจะเริ่มปลูกใหมในตนฤดูฝน จะมีระยะทิ้ง ชวงหางประมาณ 2-3 เดือน ดังนัน้ การเก็บรักษาทีเ่ หมาะสมจะชวยลดหรือหลีกเลีย่ งความเสียหายของเหงา พันธุได โดยวางเหงาพันธุผึ่งไวในที่รม สะอาด ปราศจากโรค แมลงและสัตวตางๆ รบกวน มีอากาศ ถายเทสะดวก พืน้ ทีเ่ ก็บแหง และปราศจากความชืน้ การทำแหงเหงาขมิน้ ชัน: • การทำแหงแบบชิ้น โดยการหั่นเหงาขมิ้นเปนชิ้นบางๆ วางบนถาด หรือตะแกรงเกลี่ยใหบาง อบที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส 8 ชั่วโมง แลวลดอุณหภูมิลงเปน 40-45 องศาเซลเซียส กลับบอยๆ อบจนแหงสนิท • การทำแหงทัง้ เหงานำเหงาขมิน้ ทีท่ ำความสะอาดแลว ทำโดยการตมในน้ำเดือด 1-2 ชัว่ โมง แลว น้ำไปอบแหงโดยใชเครือ่ งเปาลมรอน 65-70 องศาเซลเซียส จนแหงสนิท ซึง่ วิธกี ารตมจะชวย เพิม่ สีแดงและลดสีเหลือง อัตราการทำแหง ผลผลิตสด : ผลผลิตแหง เทากับ 6:1 ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก ใหน้ำ กำจัดวัชพืช ใหปุยคอก หรือใหปยุ เคมี (15-15-15) หรือใหปยุ เคมี (15-15-15) เก็บเกี่ยว

ชวงเวลาที่ผลผลิตออกสูตลาด: ชวงเดือนกุมภาพันธ ถึง เดือนเมษายน

การบรรจุและการเก็บรักษา: ขมิน้ ชันทีแ่ หงแลว ควรบรรจุในภาชนะทีส่ ะอาด ปดใหสนิท เก็บในทีแ่ หงสะอาด หากยังไมไดนำไป ใชควรนำออกมาผึ่งในที่รมทุก 3-4 เดือน ไมควรเก็บวัตถุดิบขมิ้นชันไวนาน เพราะจากการศึกษาพบวา ปริมาณน้ำมันหอมระเหยจะลดลงประมาณ 25% เมือ่ เก็บไวนาน 2 ป เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. 2543. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 2 ยาจากพืชสมุนไพร.

73


74

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

7. สารสำคัญในสมุนไพร เหงาสมนไพร “ขมิน้ ชัน” ประกอบดวยน้ำมันหอมระเหย (volatile oil) มีสเี หลืองออน มีสารสำคัญ คือ สารเทอรเมอโรน (turmerone) และซิงจีเบอรีน (zingiberene) นอกจากนี้ ยังมีสารกลมุ เซสควิเทอรปน (sesquiterpenes) และ โมโนเทอรปน (minoterpenes) อืน่ ๆ อีกหลายชนิด ทัง้ นี้ ยังพบสารสำคัญประเภท เคอรคมู นิ อยด (curcuminoids) ซึง่ เปนสารสีเหลือง ประกอบดวยเคอรคมู นิ (curcumin) เดสเมทอก-ซีเคอรคมู นิ (desmethoxycurcumin) และบิสเดส เมทอกซีเคอรคมู นิ (bisdesmethoxy-curcumin) เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ร.ส.พ.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) ไดมกี ารกำหนดมาตรฐานของสมุนไพร “ขมิน้ ชัน” ทีใ่ ชสำหรับ ทำยาไวใน ดังนี้ รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม ปริมาณความชืน้ (%v/w) ปริมาณเถารวม (%w/w) ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด (%w/w) ปริมาณสารสกัดดวยเอธานอล (%w/w) ปริมาณสารสกัดดวยน้ำ (%w/w) ปริมาณน้ำมันหอมระเหย (%v/w) ปริมาณเคอรคมู นิ อยดคำนวณเปนเคอรคมู นิ (%w/w)

ไมเกิน (%w/w) 2.0 10.0 8.0 1.0

ไมนอ ยกวา (%w/w)

10.0 9.0 6.0 5.0

มาตรฐานของขมิน้ ชันตาม THP นี้ จะสูงกวามาตรฐานใน WHO monograph ซึง่ กำหนดใหมนี ้ำมัน หอมระเหย 4% และเคอรคมู นิ อยดรวม 3% นอกจากนี้ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ยังกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ของขมิน้ ชันแหงชนิดกอนและชนิดผง ทีม่ กี ารตมหรือนึง่ ไมนอ ยกวา 30 นาที หรือแชในน้ำเดือดเพือ่ กันงอก แลวจึงทำใหแหง ตามมาตรฐาน มอก. 890-2534 ซึ่งจะมีปริมาณสารสำคัญนอยกวาขมิ้นชันที่ใชเปนยา โดยกำหนดใหมี น้ำมันหอมระเหย 3.5-4% และเคอรคมู นิ อยดรวม 4.0% เอกสารอางอิง 1. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ร.ส.พ. 2. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. 1998. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. p. 38-44. 3. World Health Organization. 1999. Rhizoma Curcumae Longae. In: WHO monographs on selected medicinal plants. Vol. 1. Malta. p. 115-24. 4. สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมขมิ้นชันแหง มอก. 890-2534 ประกาศใน พระราชกิจจานุเบกษา เลม 106 ตอนที่ 159 วันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2532. หางหนุ สวนจำกัด ภาพพิมพ. กรุงเทพฯ หนา 1-15.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง แหลงขอมูล 1. http://www.mahidol.ac.th/mahidol/py/mpcenter/html/ 2. สถาบันวิจัยสมุนไพร. กรมวิทยาศาสตรการแพทย. กระทรวงสาธารณสุข. 2544. มาตรฐานสมุนไพรไทย เลมที่ 2 ขมิ้นชัน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ร.ส.พ.

9.1.1 ฤทธิข์ บั ลม ฤทธิ์ขับลมของขมิ้นเปนผลของน้ำมันหอมระเหย(1) 9.1.2 ฤทธิต์ า นการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สมุนไพร “ขมิ้นชัน” มีฤทธิ์สามารถตานการเกิดแผลในกระเพาะ(2,3) โดยการกระตุน การหลัง่ mucin มาเคลือบ(4,5) และยับยัง้ การหลัง่ น้ำยอยตางๆ(5) สารสำคัญในการออกฤทธิป์ อ งกันเยือ่ บุ กระเพาะ คือ curcumin ซึง่ จากการศึกษาการไดรบั curcumin ในขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัมสามารถ กระตนุ การหลัง่ mucin ออกมาเคลือบกระเพาะ(6) แตถา ใชในขนาดสูงอาจทำใหเกิดแผลในกระเพาะได(7,8) 9.1.3 ฤทธิล์ ดการอักเสบ มีผลการทดลองทำใหทราบวาพบฤทธิล์ ดการอักเสบของผงขมิน้ น้ำคัน้ (3) สารสกัดขมิน้ ดวยปโตรเลียมอีเธอร(9,10) สารสกัดดวยขมิน้ แอลกอฮอล และน้ำ(10) สารสำคัญในการออกฤทธิล์ ดการอักเสบ คือ สาร curcumin และอนุพนั ธซุ งึ่ สามารถลดการอักเสบไดด(10-18) ี เมือ่ เปรียบเทียบกับ phenylbutazone พบวามีฤทธิพ์ อๆ กันในกรณีการอักเสบเฉียบพลัน สวนกรณีการอักเสบเรือ้ งมีฤทธิเ์ พียงครึง่ เดียวเทานัน้ แตฤทธิ์ทำใหเกิดแผลนอยกวา phenylbutazone(13) ทั้งนี้ จากการทดสอบฤทธิ์ของ curcumin และ อนุพนั ธทุ สี่ กัดจากขมิน้ พบวา desoxycurcumin ออกฤทธิแ์ รงทีส่ ดุ (15) ไดมผี ทู ดลองสังเคราะหอนุพนั ธ ตางๆ ของ curcumin และนำมาทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา พบวา sodium curcuminate และ tetrahydrocurcumin ออกฤทธิด์ กี วา curcumin(14) อีกทัง้ Curcumin จะมีฤทธิ์ลดการอักเสบ เปน สัดสวนกับขนาดทีใ่ ชจนถึงขนาด 30 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เมือ่ ใหปริมาณสูงกวานีฤ้ ทธิจ์ ะลดลง(15) อยางไร ก็ตามไดมกี ารศึกษารายงานตอมาวา curcumin ออกฤทธิย์ บั ยัง้ การสังเคราะห luekotrine B4 ซึง่ ทำให เกิดการอักเสบ(19) นอกจาก curcumin แลวน้ำมันหอมระเหยในเหงาขมิน้ ยังมีฤทธิล์ ดการอักเสบอีกดวย(20,21) โดยมีฤทธิต์ า นฮีสตามีนในระยะแรกของการอักเสบ โดยผานกระบวนการยับยัง้ trypsin หรือ hyaluronidase(22) จากฤทธิ์ตานการอักเสบของ curcumin และน้ำมันหอมระเหยดังกลาว ขมิ้นจึงมีผลชวยบรรเทาอาการ ปวดทองเนื่องจากแผลในกระเพาะได 9.1.4 ฤทธิต์ า นฮีสตามีน น้ำมันหอมระเหยจากหัวขมิ้นมีฤทธิ์ตานฮีสตามีน(21) 9.1.5 ฤทธิฆ์ า เชือ้ แบคทีเรีย สารสกัดและน้ำมันหอมระเหยจากสมุนไพร “ขมิน้ ชัน” มีฤทธิฆ์ า เชือ้ แบคทีเรียไดหลาย ชนิด ทั้งแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของการแนนจุกเสียด หรือทองเสีย(23-29) ขมิ้นสามารถยับยั้งการเกิดกรด เนื่องจาก Lactobacillus acidophilus และ L. plantarum(28) และยังออกฤทธิ์ยับยั้งการเกิดแกส เนือ่ งจากเชือ้ Escherichia coli(29) นอกจากนีข้ มิน้ ยังยับยัง้ เชือ้ แบคทีเรียทีท่ ำใหเกิดหนอง(23,26,27) สารสำคัญ ในการออกฤทธิ์ คือ curcumin(23,25,29-31) p-tolylmethylcarbinol(32) และน้ำมันหอมระเหย(27,30)

75


76

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.1.6 ฤทธิข์ บั น้ำดี “ขมิ้นชัน” มีฤทธิ์ขับน้ำดี(33) สารสำคัญในการออกฤทธิ์นี้ คือ curcumin(34-39) และ p-tolyl-methylcarbinol(40) ซึง่ สามารถขับน้ำดี และกระตนุ การสรางน้ำดี อีกทัง้ สาร Sodium curcuminate เมือ่ ฉีดเขาหลอดเลือดในขนาด 25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีฤทธิเ์ พิม่ น้ำดีเกือบ 100% โดยไมมผี ลตอความ ดันโลหิต และการหายใจ(37) เมือ่ ฉีด sodium curcuminate เขาหลอดเลือดในขนาด 5 10 และ 25 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม พบวาเพิม่ ปริมาณน้ำดี แตลดปริมาณของแข็ง เพิม่ การขับ bile salt billirubin และ cholesterol แตกรดไขมันไมเปลี่ยนแปลง(36) นอกจากนี้ cineole ที่พบในน้ำมันหอมระเหย ยังมีฤทธิ์กระตุนการขับ น้ำดีดวย(41) จึงทำใหการยอยดีขึ้นเปนผลใหอาการจุกเสียดบรรเทาลง 9.1.7 ฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส ในบางรายโดยเฉพาะผูเปนโรคกระเพาะมักจะมีอาการปวดเกร็งรวมดวย ขมิ้นมีฤทธิ์ คลายกลามเนือ้ เรียบ(3,40) โดยออกฤทธิต์ า น acetylcholine, barium chloride และ serotonin(3) และยัง มีผพู บวาสารดังกลาวการลดการหดตัวกลามเนือ้ เรียบมดลูก จึงชวยบรรเทาอาการปวดเกร็ง(42) 9.1.8 ฤทธิ์ปองกันตับอักเสบ เนื่องจากตับเปนแหลงกำเนิดของน้ำยอยหลายชนิด การที่สาร curcumin สามารถ ปองกันการอักเสบเนือ่ งจากสารพิษ จึงเปนกระบวนการทางออมในการลดอาการจุกเสียด(43,44) 9.1.9 ฤทธิฆ์ า เชือ้ รา สารสกัดขมิน้ ดวยแอลกอฮอล มีฤทธิฆ์ า เชือ้ ราทีเ่ ปนสาเหตุโรคผิวหนัง(49-51) และสารสกัด ดวย chloroform ก็ใหผลเชนเดียวกัน(51) ยังมีผูพบฤทธิ์ของผงขมิ้น(52) น้ำมันหอมระเหย(27,50,52-54) วามี ฤทธิย์ บั ยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ รา(27,50,52-54) โดยเฉพาะเชือ้ ราทีเ่ ปนสาเหตุของโรคกลาก Microsporum, Trichophyton, Epidermophyton(27,50) 9.1.10 ฤทธิต์ า นอนุมลู อิสระและ antioxidant activity มีรายงานการวิจัยหลายชิ้นที่แสดงใหเห็นฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระและ antioxidant activity ของขมิ้นชันและสารกลุมเคอรคูมินอยดหรือเคอรคูมิน(70-77) 9.1.11 ฤทธิต์ า นการกอกลายพันธุ (antimutagenic activity) และตานการเกิดมะเร็ง (chemopreventive activity) สารสกัดสมุนไพร “ขมิน้ ชัน” ไดแกกลมุ สารกลมุ เคอรคมู นิ อยด หรือเคอรคมู นิ จะแสดง ฤทธิ์ตานการกอกลายพันธุของ mutagens หลายชนิด(78-80) รวมทั้งแสดงฤทธิ์ตานการแบงตัวของเซลล มะเร็ง หรือตานการเกิดมะเร็งจากการไดรบั สารกอมะเร็งทีก่ ระตนุ ใหเกิดมะเร็งในอวัยวะตางๆ โดยกลไก การออกฤทธิ์อาจเกี่ยวของกับฤทธิ์ antioxidant การกระตุนใหเกิด apoptosis ของเซลลมะเร็ง หรือ การยับยัง้ proto-oncogenes(81-92) จากผลการวิจยั ในสัตวทดลองขางตน ปจจุบนั จึงกำลังมีการทดลองทางคลินกิ เพือ่ ทดสอบฤทธิ์ ตานการเกิดมะเร็งของขมิน้ ชัน หรือสาร curcuminoids โดยเฉพาะอยางยิง่ มะเร็งในระบบทางเดินอาหาร เชน colon cancer ซึง่ พบมากในประเทศซีกโลกตะวันตก 9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การทดลองทางคลินกิ ใชรกั ษาอาการแนนจุกเสียด • ไดมกี ารทดลองในผปู ว ยโรคทองอืดทองเฟอในโรงพยาบาล 6 แหง จำนวน 160 คน โดยรับประทานครัง้ ละ 2 แคปซูล วันละ 4 ครัง้ พบวาไดผลดีกวายาขับลม


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

และผปู ว ยพอใจ(45) จากการทดลองในผปู ว ยทีป่ วดทอง เนือ่ งจากโรคกระเพาะอาหาร เปนแผล โดยใหรบั ประทานครัง้ ละ 3 แคปซูล วันละ 4 ครัง้ (รวม 4 กรัม) พบวา ไดผลดีเชนกัน(46) • ไดมกี ารทดลองผลการรักษาแผลในกระเพาะในคน พบวาเมือ่ ใหผปู ว ยรับประทาน แคปซูลผงขมิน้ 2 แคปซูล วันละ 4 ครัง้ พบวาผปู ว ย 5 คน หายจากอาการใน ระยะเวลา 4 อาทิตย และผปู ว ย 7 คน หายจากอาการในระยะเวลา 4-12 อาทิตย(47) 9.2.2 การทดลองทางคลินิกใชรักษาอาการทองเสีย จากรายงานการศึกษาในอินโดนิเซียพบวาขมิ้นสามารถใชรักษาอาการทองเสียได(48) 9.2.3 การทดลองทางคลินิกใชรักษาแผล ไดมผี ทู ดลองรักษาแผลหลังผาตัดของผปู ว ย 40 ราย พบวาใหผลในการลดการอักเสบ ไดเหมือนสาร phenylbutazone(55) 9.2.4 การศึกษาฤทธิล์ ด oxidative stress ในผปู ว ยธาลาสซีเมีย คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ไดทำการศึกษาฤทธิ์ลด oxidative stress ใน ผปู ว ยโรค thalassemia/HbE จำนวน 21 ราย โดยใหสาร curcumin 500 mg/day แกผปู ว ยติดตอกัน 3 เดือน พบวาสามารถชวยลด oxidative stress และเพิ่ม antioxidant enzymes ทั้ง superoxide dismutase และ glutathione peroxidase และเพิม่ antioxidant glutathione ในเลือดผปู ว ยได(93) 9.2.5 การศึกษาฤทธิป์ อ งกันยุงของน้ำมันหอมระเหย กรมวิทยาศาสตรการแพทย ไดทำการศึกษาฤทธิป์ อ งกันยุงกัดของโลชัน่ ปองกันยุงตำรับ น้ำมันขมิน้ ชัน (2.5%) โดยมีรายงานวาสามารถปองกันการกัดของยุงลายบานไดนาน 7 ชัว่ โมง อีกทัง้ สามารถ ปองกันการกัดของยุงลายสวน ยุงกนปลอง และยุงรำคาญไดนาน 8 ชัว่ โมง(94) 9.2.6 การศึกษาฤทธิร์ กั ษาสิว มีรายงานการวิจัยทางคลินิกที่โรงพยาบาลพระยุพราชธาตุพนม ถึงประสิทธิผล ในการรักษาสิวของขมิน้ ชัน พบวาเมือ่ ใชผงขมิน้ ชันทาหัวสิวจะชวยทำใหสวิ ยุบเร็วกวา และหายเร็วกวา(95)

10. การศึกษาทางพิษวิทยา 10.1 การศึกษาฤทธิก์ อ กลายพันธุ (mutagenicity) ไมมีฤทธิ์กอกลายพันธุ จากผลการทดสอบ พบวาขมิ้นชันและสาร curcumin ไมมีฤทธิ์ กอกลายพันธใุ น Salmonella typhimurium สายพันธุ TA 98 และ TA 100(60-64) อีกทัง้ ไมกอ กลายพันธุ เมือ่ ผสมในอาหารหนู 0.5 และ 0.015% ตามลำดับ(65,66) 10.2 การศึกษาความเปนพิษในสัตวทดลอง การทดสอบความเปนพิษ: 1. จากรายงานการทดสอบความเปนพิษในหนูขาว พบวาการไดรบั ทัง้ ขมิน้ และสาร curcumin ในขนาดทีส่ งู กวาทีใ่ ชในคน 1.25-125 เทา ไมมผี ลตอการเปลีย่ นแปลงในดานการเจริญเติบโต และระดับสารเคมีในเลือด(56) 2. การทดสอบพิษเฉียบพลันในหนูเมื่อใหขนาดตางๆ ไมพบความผิดปกติตอหนู(57-59) 3. เมือ่ ติดตามคนไขทที่ ดลองทางคลินกิ 30 ราย ไมพบอาการผิดปกติ(47)

77


78

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. เมือ่ ใหสาร Sodium curcuminate ในขนาด 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทางปาก ใตผวิ หนัง หรือชองทอง ไมพบอันตราย แตถาฉีดเขาหลอดเลือดจะเปนพิษ สามารถทำใหสัตว ทดลองตายได สวนการใหทดสอบพิษกึง่ เฉียบพลัน ไมพบพิษ(58) 5. จากรายงานการศึกษาพิษเฉียบพลันของเหงาขมิ้นชันในหนูถีบจักร พบวา หนูที่ไดรับ ผงขมิน้ ชันทางปากในขนาด 10 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม (ก./กก.) ไมแสดงอาการพิษ ใดๆ และเมื่อใหสารสกัดดวยสารละลาย 50% เอธานอล โดยวิธีปอนทางปาก ฉีดเขา ใตผวิ หนัง และทางชองทอง ในขนาด 15 ก./กก. ไมทำใหเกิดอาการพิษเฉียบพลัน และ หนูถีบจักรไมตาย ดังนั้น ขนาดของสารสกัดที่ทำใหหนูตายครึ่งหนึ่ง (LD50) เมื่อใหโดย วิธดี งั กลาวจึงมากกวา 15 ก./กก.(96) 6. จากรายงานการศึกษาพิษเรื้อรังของขมิ้นชันในหนูขาวพันธุวิสตารที่ไดทำการแบงออกเปน 4 กลมุ คือ กลมุ ควบคุมทีไ่ ดรบั น้ำ และกลมุ ทดลองทีไ่ ดรบั ผงขมิน้ ชันทางปากในขนาด 0.03 2.5 และ 5.0 ก./กก./วัน ซึง่ เทียบเทากับ 1 83 และ 166 เทาของขนาดทีใ่ ชในคน คือ 1.5 ก./50 กก./วัน เปนระยะเวลานาน 6 เดือน พบวา หนูเพศผทู ไี่ ดรบั ขมิน้ ชันขนาด 2.5 และ 5.0 ก./กก./วัน มีน้ำหนักตัวและการกินอาหารนอยกวากลมุ ควบคุมอยางมีนยั สำคัญ แตไมพบการเปลี่ยนแปลงนี้ในเพศเมียที่ไดรับยาขนาดเทากัน การไดรับขมิ้นชันในขนาด ตางๆ ทีใ่ หแกหนูขาว ไมทำใหเกิดอาการพิษใดๆ รวมทัง้ ไมมผี ลตอคาทางโลหิตวิทยาหรือ คาเคมีคลินิก และไมทำใหเกิดพยาธิสภาพตออวัยวะภายในของหนูขาวทั้งสองเพศ(96)

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: หามใชในผูปวยที่มีการอุดตันของทอน้ำดี หรือผูที่แพขมิ้นชัน (hypersensitivity)(97) ขอควรระวัง: ผปู ว ยทีเ่ ปนนิว่ ในถุงน้ำดี สตรีมคี รรภ หรือสตรีทใี่ หนมบุตร หากจะใหขมิน้ ชันตองอยใู นความ ดูแล ของแพทย นอกจากนี้ ตองระวังการใชในเด็กเนือ่ งจากยังไมมขี อ มูลดานประสิทธิผลและความ ปลอดภัย(97) อาการขางเคียง: มีรายงานวาขมิน้ ชันอาจทำใหเกิดอาการแพของผิวหนังได (allergic dermatitis)(97)

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช การใชขมิน้ รักษาอาการแนนจุกเสียด อาหารไมยอ ย: เปนขอบงใชเดียวที่มีรายงานการวิจัยทางคลินิกที่เปนที่ยอมรับขององคการอนามัยโลก และ คณะกรรมการแหงชาติดานยา • รับประทานผงขมิน้ ชันในขนาด 1.5-4 กรัม/วัน แบงใหวนั ละ 3-4 ครัง้ ในชวงหลังอาหารและ กอนนอน(47,97,98) • ใชผงขมิน้ ชันผสมน้ำผึง้ ปน เปนยาลูกกลอน รับประทานหลังอาหารและกอนนอน ครัง้ ละ 3-5 เม็ด วันละ 3 เวลา(67)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การใชขมิน้ รักษาอาการทองเสีย: ใชผงขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปนเปนยาลูกกลอนรับประทานหลังอาหารและกอนนอน ครั้งละ 3-5 เม็ด วันละ 3 เวลา(67) การใชขมิน้ รักษาแผล แมลงกัดตอย: • ใชผงขมิน้ ชัน 1 ชอนโตะ ผสมน้ำมันมะพราว หรือน้ำมันหมู 2-3 ชอนโตะ เคีย่ วดวยไฟออนๆ คนจนน้ำมันกลายเปนสีเหลือง ใชน้ำมันทีไ่ ดใสแผล(67) • นำขมิน้ ชันมาลางใหสะอาด แลวตำจนละเอียดคัน้ เอาน้ำใสแผล(67) • เอาขมิ้นชันผสมกับน้ำปูนใสเล็กนอย และผสมสารสมหรือดินประสิว พอกบริเวณที่เปนแผล และแกเคล็ดขัดยอก(67) การใชขมิน้ รักษากลาก เกลือ้ น: ผสมผงขมิน้ กับน้ำ แลวทาบริเวณทีเ่ ปนกลากเกลือ้ น 2 ครัง้ ตอวัน(68-69) เอกสารอางอิง http://www.mahidol.ac.th/mahidol/py/mpcenter/html/ 1. Ross M.S.F., Brain K.K. An introduction to phytopharmacy. London: Pithman Medical Publishing Co. Ltd., 1977, p. 158-176. 2. Gujral ML, Chowdhury NK, Saxena PN. Effect of indigenous remedies on the healing of wounds and ulcers. JIMA. 1953; 22(7): 273-6. 3. Permpiphat U, Kieatyingungsulee N, Anulakanapakorn K, Jirajariyavech W, Kittisiripornkul S, Chuthaputthi A. Pharmacological study of Curcuma longa. Symposium of the Department of Medicinal Science, Bangkok Thailand. Dec 3-4, 1990. 4. Muderji B, Zaidi SH, Singh GB. Spices & Gastric Function: Part I - Effect of Curcuma longa on the gastric secretion in rabbits. J Sci Ind Res. 1981; 20: 25-28. 5. Rafatullah S, Tariq M, Al-Yahya MA, Mossa JS, Ageel AM. Evaluation of turmeric (Curcuma Longa) for gastric and duodenal antiulcer activity in rats. J Ethnopharmacol 1999; 29: 25-34. 6. Sinha M, Mukherjee BP, Mukherjee B, Sikdar S, Dasgupta SP. Study of the mechanism of action of curcumin: an antiulcer agent. Indian J Pharm 1975; 7: 98-9. 7. Prasad DN, Gupta B, Srivastava RK, Satyavati GV. Studies on ulcerogenic activity of curcumin. Ind J Physiol Pharmacol 1976; 20(2): 92-3. 8. Gupta B, Kulshrestha VK, Srivastava RK , Prasad DN. Mechanisms of curcumin induced gastric ulcer in rats. Indian J Med Res. 1980; 71: 806-14. 9. Arora RB, Basu N, Kapoor V, Jain AP. Anti-inflammatory studies on Curcuma longa (Turmeric). Ibid 1971; 59(8): 1289-95. 10. Yegnanarayan R, Saraf AP, Balwani JH. Comparison of antiinflammatory activity of various extracts of Curcuma longa (Linn). Ibid 1976; 64(4): 601-8. 11. Satoskar RR, Shah SSG. Evaluation of antiinflammatory property of curcumin (diferuloyl methane) in patient with postoperative inflammation. International J Clin Pharmacol, Ther Toxicol 1986;24(12): 651-4. 12. Ghatak N, Basu N. Sodium curcuminate as an effective antiinflammatory agent. Indian J Exp Biol 1972; 10: 235-6. 13. Srimal RC, Dhawan BN. Pharmacology of diferuloyl methane (curcumin), a non-steroidal anti-inflammatory analogs in rats. J Pharm Pharmacol 1973; 25(6): 447-52. 14. Mukhopadhyay A, Basu N, Ghatak N, Gujral PK. Antiinflammatory and irritant activities of curcumin analogs in rats. Agents Actions 1982; 12(4): 508-15.

79


80

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

15. Rao TS, Basu N, Siddiqui HH. Anti-inflammatory activity of curcumin analogs. Indian J Med Res 1982; 75: 574-8. 16. Kunchandy E, Rao MNA. Oxygen radical scavenging activity of curcumin. Int J Pharm 1990; 58(3): 237-40. 17. Deodhar SD, Sethi R, Srimal RC. Preliminary study on anti-rheumatic activity of curcumin (diferuloyl methane). Indian J Med Res 1980; 71: 632-4. 18. Chuthaputti A, Permpipat U. Anti-inflammatory activity of Curcuma longa Linn. rhizomes. Bull Dept Med Sci 1994; 36(4): 197-209. 19. Ammon HPT, Dhawan BN, Srimal RC, et al. Curcumin: A potent inhibitor of leukotriene B4 formation in rat peritoneal polymorphonuclear neutrophils (PMNL). Planta Med 1992; 58: 226. 20. Gupta SS, Chandra D, Mishra N. Anti-inflammatory and antihyaluronidase activity of volatile oil of Curcuma longa (Haldi). Ind J Physiol Pharma 1972; 16: 264. 21. Chandra D, Gupta SS. Antiinflammatory and antiarthritic activity of volatile oil of Curcuma longa. Indian J Med Res 1972; 60(1): 138-42. 22. Tripathi RM, Gupta SS, Chandra D. Anti-trypsin and antihyaluronidase activity of the volatile oil of Curcuma longa (Haldi). Ind J Pharmacol 1973; 5: 260-1. 23. Lutomoski J, Keazia B, Debska W. Effect of an alcohol extract and active ingredient from Curcuma longa on bacteria and fungi. Planta Med 1974; 26(1): 9-19. 24. Shankar TNB, Murthy VS. Effect of turmeric Curcuma longa fractions on the growth of some intestinal an pathogenic bacteria in vitro. Indian J Exp Biol 1979; 17(12): 1363-6. 25. Huhtanen CN. Inhibition Of Clostridium botulinum by spice extracts and aliphatic alcohols. J Food Prot 1980; 43(3): 195-6. 26. Iamthammachard S, Sukchotiratana N. Effects of some medicinal plants in the family Zingiberaceae on the growth of some bacteria. Symposium on Science and Technology of Thailand 13th, Songkhla, Thailand, Oct 20-22, 1987. 27. Banerjee A, Nigam SS. Antimicrobial efficacy of the essential oil of Curcuma longa. Indian J Med Res 1978; 68: 864-6. 28. Shankar TNB, Murthy VS. Effect of turmeric (Curcuma longa) on the growth of some intestinal bacteria in vitro. J Food Sci Technol 1978; 15(4): 152-3. 29. Bhavanishankar TN, Murthy S. Curcumin-induced alteration in the glucose metabolism of Escherichia coli. J Gen Appl Microbiol 1986; 32, 4: 263-70. 30. Ramaprasad C, Sirsi M. Indian medicinal plants: Curcuma longa; in vitro antibacterial activity of curcumin and the essential oil. J Sci Ind Res (India) 1956; 15C: 239-41. 31. Schraufstatter E, Bernt H. Antibacterial action of curcumin and related compounds. Nature 1949; 164: 456-7. 32. Supniewski JV, Hano J. The pharmacological action of phenylethylcarbinol and p-tolylmethylcarbinol. Bull Intern Acad Polon Sci, Classe Med 1935; 573-89. 33. Guttenberg A. Chemische and pharmakologische untersuchungen Uber rhizoma Curcuma magna. Z Ges Exptz Med 1927; 54: 642. 34. Franquelo E. Active constituents of Curcuma (Temoelavac). Munch Med Wochchr 1933; 80: 524-6. 35. Ramaprasad C, Sirsi M. Indian medicinal plants Curcuma longa- Effect of curcumin and the essential oil of C. longa on bile secretion. J Sci Ind Res 1956; 15C: 262-5. 36. Ramaprasad C, Sirsi M. Curcuma longa and bile secretion; quantitative changes in the bile constituents induced by sodium curcuminate. Ibid 1957; 16C: 108-10. 37. Jentzsch K, Gonda T, Holler H. Paper chromatography and pharmacological action of the pigments of Curcuma. Pharm Acta Helv 1959; 34: 195-9.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

38. Gorchakova NK, Grinkevich NI, Fogel AN. Curcuma longa L. as a source of bile-expelling drugs. Farmatsiya (Moscow) 1984; 33(3): 12-3. 39. Grabe F. The choleretic activity of Curcuma domestica. Arch Exp Pathol Pharmacol 1934; 176: 673-82. 40. Rumpel W. Zur pharmakologie des divanillal cyclohexanon (DVC). Arch Pharm 1954; 287: 350-2. 41. Bell GD, Clegg RJ, Cohu MR, et al. Terpene therapy for gallstone. Effects of individual terpenes on bile flow, bile composition and hepatic cholesterogenesis in the rat. Brit J Pharmacol 1981; 721: 104-106. 42. Goto M, Noguchi T, Watanaba T, Ishikawa I, Komatsu M, Aramaki Y. Studies on uterus contracting ingredients on plants. Takeda Kenksusho Nempo 1957; 16: 21-7 43. Hikino H. Antithepatotoxic activity of crude drugs. Yakugaku Zasshi 1985; 105(2): 109-18. 44. Kiso Y, Suzuki Y, Watanabe N, Oshima Y, Hikino H. Antithepatotoxic principles of Curcuma longa rhizomes. Planta Med 1983; 49: 185-7. 45. Thamlikitkul V, Dechatiwongse T, Chantrakul C, et al. Randomized double blind study of Curcuma damestica Val. for dyspepsia. J Med Assoc Thailand 1989; 72(11): 613-20. 46. Intanonta A, Meteeveeravongsa S, Viboonvipa P, Siatragoon P, Chavalita C, Thalnonngiew D. Treatment of abdominal pain with Curcuma longa Linn. Report submitted to Primary Health Care Office, The Ministry of Public Health, Thailand, 1986. 47. Prucksunand C, Indrasukhsri B, Leethochawalit M, Nilvises N, Prijavudhi A, Wimolwattnapun S. Effect of the long turmeric (Curcuma longa Linn.) on healing of peptic ulcer; A preliminary report of 10 case study. Thai J Pharmacol 1986; 8(3): 139-51. 48. Santoso SO. Research of phytotherapy in Indonesia. The First Princess Chulabhorn Science Congress, International Congress on Natural Products, Bangkok, Thailand, Dec 10-13, 1987. 49. Venkitraman S. Antifungal activity of certain rhizomes Curcuma longa, C. mada, etc. Ind J Physiol Pharmac 1978; 22(2): 237. 50. Damrihanunt K, Poonsupaya M, Pithyanukul P, Wuthiudomlert M, Krisanabhun W. Curcuma cream. Special Project for the degree of B. Sc. (Pharm.), Faculty of Pharmacy, Mahidol Univ, 1990. 51. Misra SK, Sahu KC. Screening of some indigenous plants for antifungal activity against dermatophytes. Ind J Pharmacol 1977; 9(4): 269-72. 52. Sawada T, Yamahara J, Shimazu S, Ohta T. Evaluation of crude drugs by bioassay. III. Comparison with local variation of contents and the fungistatic action of essential oil from the roots of Curcuma longa. Shoyakugaku Zasshi 1971; 25(1): 11-6. 53. Nigam SS, Rao TS. Efficacy of some Indian essential oils against thermophilic fungi and Penicillium species. Int Congr Essent Oils, (Pap.) 1977; 7: 485-7. 54. Banerjee A, Nigam SS. Antifungal efficacy of the essential oils derived from the various species of the genus Curcuma Linn. J Res Ind Med Yoga&Homeo 1978; 13: 2. 55. Satoskar RR, Shah Shenoy SG. Evaluation of antiinflammatory property of curcumin (diferuloyl methane) in patient with postoperative inflammation. International J Clin Pharmacol, Ther Toxicol 1986;24(12): 651-4. 56. Sambainah K, Ratankumar S, Kamanna VS, Satyanarayana MN, Rao MVL. Influence of turmeric and curcumin on growth, blood constituents and serum enzymes in rats. J Food Sci Technol 1982; 19(5): 187-90. 57. Ramprasad G, Sirsi M. Observation on the pharmacology of Curcuma longa. Indian J Physiol Pharmacol 1957; 1: 136-43. 58. Shankar TNB, Shantha NV, Ramesh HP, Murthy IAS, Murthy VS. Toxicity studies on turmerics (Curcuma longa): acute toxicity studies in rats, guinea pigs and monkeys. Indian J Exp Biol 1980; 18(1): 73-5. 59. Bille N, Larsen JC, Hanssen EV, Wurtzen G. Subchronic oral toxicity of turmeric oleoresin in pigs. Food Chem Toxicol 1985; 23(11): 967-73.

81


82

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

60. Shashikanth KN, Hosono A. In vitro mutagenicity of tropical spices to streptomycin-dependent strain of Salmonella typhimurium TA 98. Agric Biol Chem 1986; 50(11): 2947-8. 61. Nagabhusham M, Bhide SV. Nonmutagenicity of curcumin and its antimutagenic action versus chili and capsaicin. Nutr Cancer 1986; 8(3): 201-10. 62. Shah RG, Netrawali MS. Evaluation of mutagenic activity of tumeric extract containing curcumin, before and after activation with mammalian cecal microbial extract or liver microsomal fraction, in the Ames Salmonella test. Bull Environ Contam Toxicol 1988; 40(3): 350-7. 63. Nagabhushan M, Nair JU, Amonkar AJ, D’Souza AV, Bhide SV. Curcumins as inhibitors of nitrosation in vitro. Mutat Res. 1988; 202(1): 163-9. 64. Nakamura H, Yamamoto T. The active part of the (6)-gingerol molecule in mutagenesis. Ibid 1983; 122(2): 87-94. 65. Abraham SK, Kesavan PC. Genotoxicity of garlic, turmeric and asafoetida in mice. Ibid 1984; 136 (1): 85-8. 66. Vijayalaxmi. Genetic effects of turmeric and curcumin in mice and rats. Mutat Res 1980; 79 (2): 125-32. 67. พ. เจริญประกิจ. แบบสัมภาษณผใู ชโดยโครงการสมุนไพรเพือ่ การพึง่ ตนเอง. 68. เชษฐา. สมุนไพรในชีวติ ประจำวัน. กรุงเทพฯ: พีแอลการพิมพ, 2525, หนา 82. 69. พระภิกษุสุเทพ แพทอง. แบบสัมภาษณผใู ชโดยโครงการสมุนไพรเพือ่ การพึง่ ตนเอง. 70. Sharm OP. Antioxidant activity of curcumin and related compounds. Biochem Pharmacol. 1976; 25: 1811-2. 71. Shalink VK, Srinicas L. Lipid peroxide-induced DNA damage: protection by turmeric (Curcuma longa). Molec Cellular Biochem Biophys. 1992; 292: 627-33. 72. Ruby AJ, Kuttan G, Dinesh BK, et al. Anti-tumor and antioxidant activity of natural curcuminoids. Cancer Lett. 1995; 94: 79-83. 73. Selvam R, Subramanian M, Gayathri R, et al. The anti-oxidant activity of turmeric (Curcuma longa). J Ethnopharmacol. 1995; 47(2): 59-67. 74. Bonte F, Noel-Hudson MS, Wepierre J, et al. Protective effect of curcumionoids on epidermal skin cells under free oxygen radical stress [Letter]. Planta Med. 1997; 63(3): 265-6. 75. Piper JT, Singhal SS, Salameh MS, et al. Mechanism of anticarcinogenic properties of curcumin: the effect of curcumin on glutathione linked detoxification enzymes in liver. Int J Biochem Cell Biol. 1998; 30(4): 445-56. 76. Ramsewak RS, De Witt DL, Nair MG. Cytotoxicity, antioxidant and anti-inflammatory activities of curcumins of curcumin I-III from Curcuma longa. Phytomedicine. 2000; 7(4): 3003-8. 77. Watanabe S, Fukui T. Suppressive effect of curcumin on trichloroethylene-induced oxidative stress. J Nutr Sci Vitamino (Tokyo). 2000; 46(5): 230-234. 78. Nakabhushan M, Amonkar AJ, Bhide SV. In vitro antimutagenicity of curcumin against environment mutagens. Fd Chem Toxic. 1987; 25(7): 545-7. 79. Polasa K, Raghuram TC, Krishna TP, et al. Turmeric (Curcuma longa)-induced reduction in urinary mutagens. Fd Chem Toxic. 1991; 29(10): 699-706. 80. Soni KB, Lahiri M, Chackradeo P, et al. Protective effect of food additives on aflatoxin-induced mutagenicity and hepatocarcinogenicity. Cancer Lett. 1997; 115(2): 129-33. 81. Polasa K, Raghuram TC, Krishna TP, et al. Effect of turmeric on urinary mutation in smokers. Mutagenesis. 1992; 7(2): 107-9. 82. Huang MT, Lon YR, Ma W, et al. Inhibitory effects of dietary curcumin on forestomach, duodenal, and colon carcinogenesis in mice. Cancer Res. 1994; 54(22): 5841-7. 83. Subramanian M, Sreejayan M, Rao N, et al. Diminution of singlet oxygen-induced DNA damage by curcumin and related antioxidants. Mutat Res. 1994; 311(2): 249-55. 84. Commandeur JNM, Vermeulen NPE. Cytotoxicity and cytoprotective activities of natural compounds: the case of curcumin. Xenobiotica. 1996; 26: 667-80.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

85. Jiang MC, Yang-Yen HF, Yen JY, et al. Curcumin induces apoptosis in immortalized NH3t3 and malignant cancer cell lines. Nutr Cancer. 1996; 26:111-20. 86. Limtrakul P, Lipigornoson S, Namwong O, et al. Inhibitory effect of dietary curcumin on skin carcinogenesis in mice. Cancer lett. 1997; 116: 197-203. 87. Mehta K, Pantazis P, McQueen T, et al. Antiproliferative effect of curcumin (diferuoylmethane) against human breast tumor cell lines. Anticancer Drugs. 1997; 8(5): 470-81. 88. Kawanori T, Lubet R, Steele VE, et al. Chemopreventive effect of curcumin, a naturally occuring antiinflammatory agent, during the promotion/progression stages of colon cancer. Cancer Res. 1999; 59(3): 597-601. 89. Khar A, Ali AM, Pardhasaradhi BV, et al. Anti-tumor activity of curcumin is mediated through the induction of apoptosis in AK-5 tumor cells. FEB Lett. 1999; 445(1): 165-8. 90. Bielak-Zmijewska A, Koronkiewicz M, Skierski J, et al. Effect of curcumin on the apoptosis of rodent and human non-proliferating and proliferating lymphoid cells. Nutr Cancer. 2000; 38(1): 131-8. 91. Collett GP, Robson CN, Mathers JC, et al. Curcumin modifies Apc(min) apoptosis resistance and inhibits 2-amino-1-phenyl-6-phenylimidazo[4,5-6]pyridine (PhIP) induced tumor formation in Apc(min) mice. Carcinogenesis. 2001; 22(5): 821-8. 92. Limtrakul P, Anuchapreeda S, Lipigornoson S, et al. Inhibition of carcinogen induced c-Ha-ras and cfos proto-oncogenes expression by dietary curcumin. BMC Cancer. 2001; 1: 1. 93. KalpravidhRW, Wichit A, Siritanaratkul N, et al. Effect of curcumin as an antioxidant in b-thalassemia/HbE patients. งานมอบรางวัลคุณภาพสมุนไพรไทย ประจำป 2544 และการประชุมวิชาการ ขมิ้นชัน กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภณ ั ฑ (รสพ.), กรุงเทพฯ. หนา 94-97. 94. อภิวฏั ธวัชสิน, อุษาวดี ถาวระ, เย็นจิตร เตชะดำรงสิน. ขมิ้นชัน: ประสิทธิภาพในการปองกันกำจัดยุง. งานมอบรางวัลคุณภาพ สมุนไพรไทย ประจำป 2544 และการประชุมวิชาการ ขมิ้นชัน. กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข. โรงพิมพ องคการรับสงสินคาและพัสดุภณ ั ฑ (รสพ.), กรุงเทพฯ. หนา 98-106. 95. รายงานวิจัย “การศึกษาสรรพคุณขมิ้นชันในการรักษาสิว” โดยคณะวิจัยโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชธาตุพนม นครพนม พ.ศ. 2538. 96. Sittisomwong N, Leelasangluk V, Chivapat S, et al. Acute and subchronic toxicity of turmeric. Bull Dept Med Sci. 1990; 32(8): 101-11. 97. World Health Organization. Rhizoma Curcumae Longae. In: WHO monographs on selected medicinal plants. Vol. 1. Malta. 1999. p. 115-24. 98. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จำหัด, กรุงเทพฯ. 2543. หนา 16-23.

13. ขอมูลดานการตลาด ผลิตภัณฑจากขมิ้นชันที่เปนที่ตองการของตลาด ไดแก 1. เหงาขมิน้ ชันแหงใชสำหรับผลิตยา ผลิตเครือ่ งเทศ และเปนวัตถุดบิ สำหรับสกัด curcuminoids หรือทำลูกประคบ 2. สารสกัด curcuminoids ใชสำหรับเปนวัตถุดบิ ในการผลิต 3. น้ำมันหอมระเหย (turmeric oil) 4. ผงขมิ้นในรูปของเครื่องเทศ 5. ผลิตภัณฑเสริมอาหาร เชน แคปซูลสารสกัด curcuminoids 6. เครือ่ งสำอางผสมขมิน้ ผงขัดตัว ขัดหนา (body & facial scrub) ดินสอพองผสมขมิน้ โลชัน่ 7. ยา

83


84

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• ยาใชภายใน เชน แคปซูลขมิน้ ชัน • ยาใชภายนอก เชน ครีมขมิน้ ชันแกสวิ • ยากันยุง ประเทศทีส่ ง ออกขมิน้ ชันรายใหญทสี่ ดุ ในโลก คือ อินเดีย ราคาขายของ curcumin products ในสหรัฐอเมริกา Brand Jarrow

Product

Curcumin 500mg 95% (361mg curcuminoids per capsule) Natures Herbs Curcumin Power (285mg curcuminoids per capsule) Natures Herbs Curcumin Power (285mg curcuminoids per capsule) Natures Herbs Tumeric Power (427.5mg curcuminoids per capsule) Natures Herbs Tumeric Power Cert Potency (427.5mg curcuminoids per capsule) Nature’s Way Tumeric Stnd 450mg (427.5mg curcuminoids per tablet) New Chapter Tumeric Force Source Naturals Turmeric Extract (332.5 mg curcuminoids per tablet; bromelain) Thompson Tumeric Extract 300mg (285mg curcuminoids per tablet)

Size

Form

60 Capsules

Price $8.90

800 mg Curcuminoids $0.32

60 Capsules $12.39

$0.57

60 Capsules

$8.65

$0.40

60 Capsules $12.39

$0.38

60 Capsules

$8.65

$0.26

60 Tablets

$8.35

$0.26

60 Capsules $19.95 100 Tablets $15.75

$0.37

60 Capsules

$0.29

รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

$6.30


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ไพล 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อพอง: ชื่อวงศ: ชื่อไทย: ชื่อทองถิ่น:

Zingiber montanum (Koenig) Link ex Dietr. Zingiber cassumunar Roxb. Zingiberaceae ไพล ปูลอย ปูเลย (เหนือ) วานไฟ (กลาง) มิน้ สะลาง (เงีย้ ว ฉาน-แมฮอ งสอน)

เอกสารอางอิง 1. สวนพฤกษศาสตรปาไม สำนักวิชาการปาไม กรมปาไม. ชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2544). 2544, หนา 563. 2. คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ. บริษัท อัมรินทรพริน้ ติง กรฟุ จำกัด. กรุงเทพฯ. 2535.

2. ลักษณะพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร: สมุนไพร “ไพล” เปนไมลม ลุก สูง 0.7-1.5 ม. มีเหงาใตดนิ เปลือกนอก มีสีน้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีเหลืองแกมเขียวมีกลิ่นเฉพาะ แทงหนอหรือลำตนเทียมขึ้นเปนกอ ประกอบดวยกาบหรือโคนใบหมุ ซอนกันใบเดียวเรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอก มีขนาดกวาง 3.5-5.5 ซม. ยาว 18-35 ซม. ดอกมีลกั ษณะเปนชอ แทงจากเหงาใตดนิ กลีบดอกสีนวล ใบประดับสีมว ง ผลเปน ผลแหง รูปกลม เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพนื้ บาน (3). บริษทั ประชาชน จำกัด. กรุงเทพฯ. 2542. หนา 386-392. 2. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คมู อื การปลูกพืชสมุนไพร. กลมุ พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ. 2543. 3. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส. กรุงเทพฯ. 2540.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย เหงา ชวยในการแกฟกช้ำ เคล็ดบวม ขับลมในลำไส แกจุกเสียด แกปวดทอง แกทองอืดเฟอ ขับระดู ขับโลหิตรายทัง้ หลายใหตกเสีย ราก ชวยในการขับโลหิต ทำใหประจำเดือนมาตามปกติ แกทอ งอืดเฟอ แกทอ งผูก แกเคล็ดยอก แกโรคผิวหนัง แกโรคอันบังเกิดแตโลหิตอันออกทางปากและจมูก แกอาเจียนเปนโลหิต ดอก ดอกของไพลชวยในการกระจายโลหิตอันเกิดแตอภิญญาณธาตุ ขับโลหิต แกอาเจียนเปนโลหิต แกเลือดกำเดาออกทางจมูก แกช้ำใน ขับระดูประจำเดือน เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยะประภัศร อรนุช โชคชัยเจริญพร. สมุนไพรไมพนื้ บาน (3). บริษทั ประชาชน จำกัด. กรุงเทพฯ. 2542. หนา 386-392.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ ยังไมพบรายงานการวิจัยเพื่อคัดเลือกสายพันธุที่ดีของไพล

85


86

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก แหลงกำเนิดและกระจายพันธ:ุ สภาพแวดลอมที่เหมาะสม: พืน้ ทีท่ ใี่ ชในการปลูก “ไพล” ควรเปนดินเหนียวปนทรายทีม่ อี นิ ทรียว ตั ถุสงู มีการระบายน้ำดี “ไพล” ปลูกไดทงั้ ทีแ่ จงและทีร่ ม รำไร แตทงั้ นีค้ วรหลีกเลีย่ งการปลูกในดินลูกรัง และพืน้ ทีน่ ้ำขัง การขยายพันธ:ุ การเตรียมเหงาพันธุ เหงาพันธตุ อ งเปนหัวพันธทุ มี่ อี ายุมากกวา 1 ป มีตาสมบูรณ ไมมโี รคหรือแมลง เขาทำลาย ทำการเตรียมโดยปลอยใหหวั พันธพุ กั ตัวในระยะเวลาหนึง่ แลวทำการแชใน Indole acetic acid (IAA) ทีร่ ะดับความเขมขน 250 ppm เปนเวลา 24 ชม. จะชวยกระตนุ ใหหวั ไพลงอกไดเร็วขึน้ อีกทัง้ ทำใหไดผลผลิตสูงขึ้น ทำการแบงหัวพันธุใหมีน้ำหนัก 100กรัม/หัว มีตา 3-5 ตาและชุบทอนพันธุดวย สารเคมีปอ งกันเชือ้ รากอนปลูก อัตราการใชพนั ธ/ุ ไร:ควรใชปริมาณหัวพันธุ 960 กิโลกรัมตอไร การเตรียมแปลงปลูก: ทำการเตรียมดินใหโปรง รวนซุย ดวยการไถพรวน พรมทั้งกำจัดเศษวัสดุและวัชพืช ตากดินไว ประมาณ 7-15 วัน จากนัน้ ใสปยุ คอกหรือปยุ หมักอีกครัง้ แลวคลุกเคลาใหเขากัน ทำการขุดหลุมขนาด กวาง x ยาว x ลึก ประมาณ 25 x 25 x 15 เซนติเมตร การปลูก: สามารถทำได 2 วิธี คือ 1. ปลูกโดยใชเหงา โดยการตัดเปนทอนๆ ชุบดวยสารเคมีปองกันเชื้อรา ทิ้งไวสักครู แลวทำ การปลูก ลงในแปลงทีเ่ ตรียมไว ระยะระหวางตนและระหวางแถวประมาณ 25 x 27 เซนติเมตร และทำการกลบดินใหมดิ หนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร คลุมดวยฟางหรือใบหญาคาตากแหง หนาประมาณ 2 นิว้ รดน้ำทันที 2. ปลูกโดยใชเหงาเพาะใหงอกกอน โดยทำการเพาะเหงาที่ตัดเปนทอนๆ ในกระบะทราย ใหแทงยอดและแตกใบประมาณ 2-3 ใบ จึงยายลงปลูกในแปลงปลูก การดูแลรักษา: การใหน้ำ: ในระยะแรกของการปลูกสมุนไพร “ไพล” ตองดูแลอยาใหขาดน้ำ ตองรดน้ำอยางสม่ำเสมอจนกวา พืชจะตั้งตัวได หลังจากนั้นก็ควรใหน้ำบางอยางนอย สัปดาหละ 1 ครั้ง ในพื้นที่ที่แหงแลง โดยปกติ ในพื้นที่ปลูกภาคตะวันออกอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติจะไมมีการรดน้ำ การใหปยุ : ควรใสปยุ N:P:K ในอัตราสวน 12:6:6 กก./ไร ซึง่ จะทำใหไดผลผลิตสูงสุด และใหเปอรเซนตน้ำมัน สูงสุด 1.25% ควรใหในระยะทีม่ กี ารเจริญเติบโตทางลำตน ไมควรใหระยะทีไ่ พลลงหัว การกำจัดวัชพืช: ปแรก ควรทำการกำจัดวัชพืช 2 ครัง้ และในปทสี่ อง ทำการกำจัดวัชพืช 1 ครัง้ เนือ่ งจากไพลจะคลุม พื้นที่ระหวางตนและแถวจนเต็ม และในปที่สาม ไมตองกำจัดวัชพืช และปลอยใหแหงตายไปพรอมกับ ตนไพลที่ฟุบ เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 3 พืชสมุนไพรน้ำมันหอมระเหย. กลุม พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ. 2543.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ตั้งแตเริ่มปลูกจนถึงวันที่เก็บเกี่ยวผลผลิตไพลจะใชระยะเวลานาน 2-3 ป เปนระยะเวลาที่เหมาะสมในการนำไพลไปสกัดน้ำมัน เพื่อจะไดปริมาณน้ำมันมากและมีคุณภาพ จึงควร เก็บหัวไพลชวงเดือนมกราคม - มีนาคม โดยจะสังเกตเห็นตนไพลแหงและฟุบลงกับพืน้ หามเก็บหัวไพล ขณะที่เริ่มแตกหนอใหม เพราะจะทำใหไดน้ำมันไพลทีมีปริมาณและคุณภาพต่ำ วิธีการเก็บเกี่ยว อาจใชจอบ เสียมขุด หรือนิยมใชอเี ทอร (อีจกิ ) ขุดเหงาไพลขึน้ มาจากดิน (ตอง ระวัง ไมใหเกิดแผลหรือรอยช้ำกับเหงา) ทำการเขยาดินออก ตัดรากแลวนำไปผึง่ ลมใหแหง เก็บผลผลิต บรรจุกระสอบพรอมที่จะนำไปสกัดน้ำมันไพล ผลผลิต: ปริมาณผลผลิตไพลสด 13,754 กก./ไร โดยใชหัวพันธุขนาด 100 กรัม/หัว/หลุม ที่ระยะปลูก 25 x 27 เซนติเมตร และเก็บเกีย่ วหลังปลูก 21 เดือน การปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว: เก็บหัวไพลที่ตัดราก และผึ่งลมใหแหงแลว เก็บบรรจุกระสอบพรอมที่จะนำไปสกัดน้ำมัน โดย เครื่องกลั่นไอน้ำ สำหรับไพลที่จะนำไปผลิตเปนลูกประคบแหง ใหคัดเลือกสวนที่สมบูรณปราศจากโรคและแมลง มาลางดวยน้ำสะอาดหลายๆ ครัง้ จากนัน้ นำสมุนไพรมาทำใหแหง โดยหัน่ เหงาไพลเปนชิน้ บางๆ วางบนถาด หรือกระดง เกลีย่ ใหบาง คลุมดวยผาขาวบางเพือ่ ปองกันฝนุ ละออง และปองกันการปลิว นำไปตากแดด ใหแหง หมัน่ กลับบอยๆ หรือโดยการอบทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50oC สำหรับ 8 ชัว่ โมงแรก แลวลดอุณหภูมลิ งเปน 40-45oC หมั่นกลับบอยๆ อบจนแหง อนึ่ง การทำใหแหงโดยการตากแดดเปนเวลานาน มีขอเสียคือ จะเปดโอกาสใหมกี ารปนเปอ นดวยเชือ้ จุลนิ ทรียไ ดมาก อัตราสวนสกัดน้ำมันหอมระเหย: ผลผลิตสด : น้ำมันหอมระเหย เทากับ 1 ตัน : 8-10 ลิตร ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม เตรียมดิน ปลูก ใหน้ำ ใหปยุ ปแรก กำจัดวัชพืช (1) ปแรก กำจัดวัชพืช (2) ปทสี่ อง กำจัดวัชพืช เก็บเกี่ยว

ชวงเวลาที่ผลผลิตออกสูตลาด: ชวงกลางเดือนมกราคมถึงตนเดือนเมษายน

เอกสารอางอิง 1. กองสงเสริมพืชสวนกรมสงเสริมการเกษตร. คูมือการปลูกพืชสมุนไพร. กลุมพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ. 2543. 2. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริมการเกษตร. คูมือพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ ชุดที่ 3 พืชสมุนไพรน้ำมันหอมระเหย. กลุม พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ. 2543. 3. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/012.htm

87


88

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

7. สารสำคัญในสมุนไพร เหงาไพลประกอบดวยน้ำมันหอมระเหย ซึ่งมีสารสำคัญที่เกี่ยวกับการออกฤทธิ์ เชน sabinene, g-terpinene, a-terpinene, terpinen-4-ol และ b-pinene ทัง้ นี้ เหงาไพลยังมีสารสีเหลือง curcumin, b-sitosterol และสาร cyclohexene derivatives, naphtoquinones derivatives , butanoids derivatives ที่สำคัญ คือ (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl) but–3-en-l-ol และ (E)-1-(3,4-dimethoxyphenyl) butadiene (DMPBD) นอกจากนี้ ยังมีสาร cassumunarin A, B และ C ซึง่ เปน complex curcuminoids ซึง่ มีฤทธิ์ antioxidant แรงกวา curcumin เอกสารอางอิง 1. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จำกัด กรุงเทพฯ. 2543. หนา 38-45. 2. Casey TE, Dougan J, Matthews WS, et al. Essential oil of “Plai”, Zingiber cassumunar Roxb., from Thailand. Tropical Science. 1971; 13(3): 199-204. 3. Jitoe A, Masuda T, Mabry TJ. Novel antioxidants, cassumunarin A, B, and C, from Zingiber cassumunar. Tetrahedron. 1994; 35(7): 981-984. 4. Nagano T, Oyama Y, kajita N, et al. New curcuminoids isolated from Zingiber cassumunar protect cells suffering from oxidative stress: a flow-cytometric study using rat thymocytes and H2O2. Jpn J Pharmacol. 1997; 75(4): 363-70. 5. Pongprayoon U, Soontornsaratune P, Jarikasem S, Sematong T, Wasuwat S and Claeson P. Topical antiinflammatory activity of the major lipophilic constituents of the rhizome of Zingiber cassumunar. Part 1: The essential oil. Phytomedicine 1996; 3(4): 319-322. 6. Dechatiwongse T, Yoshihira K. Chemical studies on the rhizome of plai (Zingiber cassumunar, Roxb). Bull Dep Med Sci 1973; 15 (4): 1-15. 7. Dechatiwongse T. Isolation of constituents from the rhizome Plai (Zingiber cassumunar Roxb). Bull Dep Med Sci 1976; 18 (3): 75-79. 8. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. 1998. p. 51-56.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร Thai Herbal Pharmacopoeia (THP) ไดมกี ารกำหนดมาตรฐานของสมุนไพร “ไพล” ทีใ่ ชสำหรับ ทำยาไวใน ดังนี้ รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม ปริมาณของน้ำ (%w/w) (Water content by azeotropic distillation method) ปริมาณเถารวม (%w/w) ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด (%w/w) ปริมาณสารสกัดดวยคลอโรฟอรม (%w/w) ปริมาณสารสกัดดวยเฮกเซน (%w/w) ปริมาณน้ำมันหอมระเหย (%v/w)

ไมเกิน (%w/w) 2.0 13.0 9.0 3.0

ไมนอ ยกวา (%w/w)

5.0 3.0 2.0

เอกสารอางอิง 1. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. 1998. p. 51-56.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง แหลงขอมูล 1. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จำกัด กรุงเทพฯ. 2543. หนา 38-45.

9.1.1 ฤทธิต์ า นการอักเสบ (Anti-inflammatory) Ozaki Y และคณะ(1) ไดทำการศึกษาฤทธิต์ า นการอักเสบของไพล โดยใชสารสกัดเหงา ไพลดวยสารละลาย methanol, ether, n-hexane และน้ำ มาทำการทดลองกับ carrageenan-induced edema in rat และ acetic acid induced vascular permeability และ writhing symptoms in mice พบวา สารสกัด methanol extract มีฤทธิ์ทั้ง anti-inflammatory และ analgesic activity และ เมื่อนำสารสกัดนี้ไปสกัดตอดวย ether และ n-hexane จะไดสาร (E)-l-(3,4-dimethoxyphenyl) but-l-ene ซึง่ ผวู จิ ยั สรุปวาสารนีอ้ อกฤทธิเ์ ปน anti-inflammatory และ analgesic action อำไพ ปน ทอง และคณะ(2) ไดทำการศึกษาเปรียบเทียบฤทธิต์ า นการอักเสบของสารสกัด ไพล 7 ชนิด ซึง่ สกัดดวยสารละลายดวย hexane ในขนาด 300 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว พบวายับยัง้ การบวมขององุ เทาหนูจากการฉีด คาราจิแนนได 24.2-83.9% โดยสาร (E)-4-(3,4-dimethoxyphenyl) but-3-en-l-ol ใหฤทธิย์ บั ยัง้ สูงสุด และมีฤทธิใ์ นการแกไข แกปวดดวย และผวู จิ ยั ใหขอ เสนอแนะวา กลไก การออกฤทธิค์ ลาย NSAID ปทมา สุนทรศารทูล และคณะ(3) ไดศึกษาผลการลดการอักเสบของผลิตภัณฑครีม ไพลจีซาล ซึง่ ประกอบดวย น้ำมันไพล 14% ในครีมเบส โดยทำการเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑยาทาแกอกั เสบ ทีใ่ ชในวงการแพทย 2 ชนิด คือ 5% phenylbutazone cream และ 1% diclofenac diethylammonium gel ตรวจการลดอาการบวมจากการฉีดคาราจีแนนเขาอุงเทาหนู พบวาผลการลดอาการอักเสบของ ผลิตภัณฑครีมไพลจีซาล ใกลเคียงกับ 5% phenylbutazone cream มีผลนอยกวา 1% diclofenac diethylammonium gel เล็กนอยในชวง 9 ชั่วโมงแรก และมีผลเทากับผลของ 1% diclofenac diethylammonium gel ในชัว่ โมงที่ 10 และ 11 9.1.2 ฤทธิแ์ กหดื (Antiasthmatic activity) นิยดา เกียรติยงิ่ อังศุลี และคณะ(4) ไดศกึ ษาคุณสมบัตขิ องสารสำคัญทีแ่ ยกไดจาก “ไพล” เพื่อเปนแนวทางที่จะนำมาใชบำบัดอาการหอบหืด พบวาสาร (E)-4-(3,4-dimethoxyphenyl) but-3en-l-ol มีคณ ุ สมบัตทิ นี่ า สนใจ คือ สามารถทำใหกลามเนือ้ เรียบบริเวณลำไสเล็กสวนปลายของหนูตะเภา คลายตัว และสามารถตานฤทธิข์ องฮีสตามีน อะเซททิลโคลีน นิโคทีน และเซโรโทนิน ทีม่ ฤี ทธิต์ อ กลามเนือ้ นี้ นอกจากนีย้ งั สามารถตานฤทธิข์ องฮีสตามีน ทีม่ ตี อ หลอดลมหนูตะเภา ทัง้ เมือ่ อยใู นรางกาย (in vivo) และ เมื่ออยูในหลอดแกว (in vitro) แตสารดังกลาวมีขอเสีย คือ เมื่อใหในขนาดสูงๆ จะยับยั้งการหดตัว ของกลามเนือ้ กระบังของหนูขาวทีเ่ กิดจากการกระตนุ เสนประสาทฟรีนคิ และยังกดอำนาจการหดตัวอัตโนมัติ ของชิน้ กลามเนือ้ หัวใจของหนูตะเภาไดดว ย จากผลการทดลองแสดงวา ไพลมีคณ ุ สมบัตทิ จี่ ะนำมาใชเปน ยาบำบัดอาการหอบหืดหรือใชบำบัดอาการปวดเกร็งของกลามเนือ้ ลำไสได ซึง่ สารสำคัญในไพลทีแ่ สดงฤทธิ์ เหลานีค้ อื สาร (E)-4-(3,4-dimethoxyphenyl) but-3-en-l-ol

89


90

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.1.3 ฤทธิล์ ดความดันโลหิต (Hypotensive activity) ไดมผี ทู ดลองฤทธิล์ ดความดัน โดยใชสารสกัดไพลดวยน้ำ พบวามีฤทธิใ์ นการลดความ ดันโลหิตของหนูขาว ซึง่ วางยาสลบดวย pentobarbital sodium ทัง้ นีข้ นึ้ อยกู บั ปริมาณของน้ำสกัดไพล แตสารสกัดเหงาไพลดวยแอลกอฮอล 50% ยังใหผลไมแนนอน เมื่อฉีดเขาทางหลอดเลือดดำของสุนัข ในขนาดตางๆ กัน(5) 9.1.4 ฤทธิต์ อ กลามเนือ้ เรียบ (Smooth muscle relaxant) วัลภา อนันตศานต และคณะ(6) ไดทำการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ำสกัดไพล ตอกลามเนือ้ เรียบในหนูขาว พบวาสารสกัดไพลดวยน้ำขนาด 8 มก./มล. 16 มก./มล. และ 64 มก./มล. สามารถลดการบีบตัวของมดลูก ลำไส กระเพาะอาหารสวนตนได 100% แตทงั้ นี้ ผลของอาการบีบตัว การ ตึงตัว และผลตอกลามเนื้อเรียบของหลอดเลือดแดงจากสายสะดือเด็กทารก ไมเห็นการเปลี่ยนแปลง ทีช่ ดั เจน การออกฤทธิต์ อ น้ำสกัดไพลทีท่ ำใหมดลูกและลำไสคลายตัวนีส้ ามารถตอตานไดดว ย serotonin และ acetylcholine ตามลำดับ สาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol มีฤทธิ์คลายกลามเนื้อมดลูก (uterine relaxant effect) จากการทดสอบกับมดลูกของหนูขาวที่ไมไดตั้งทอง สวนมดลูกของหนู ที่ตั้งทองตอบสนองตอฤทธิ์ของสารดังกลาว ตางกันออกไปขึ้นกับระยะการตั้งครรภ โดยระยะ postimplantation มีความไวในการตอบสนองตอสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol สูงสุด ความแรง ในการออกฤทธิข์ องสารนีย้ งั นอยกวายา isoproterenol หรือ papaverine แตแรงกวา aminophylline โดยกลไกการออกฤทธิไ์ มผา น b-adrenergic receptor แตออกฤทธิค์ ลาย papaverine(7) 9.1.5 ฤทธิต์ อ หัวใจ (Antiarrythmic activity) จากการศึกษาผลของน้ำสกัดไพลตอการทำงานของหัวใจเตาพบวา ทำใหเกิดความแรง ในการบีบตัวของกลามเนื้อหัวใจลดลง (negative inotropic effect) โดยไพลออกฤทธิ์คลายคลึงกับ quinidine ซึง่ เปนยาทีใ่ ชรกั ษาภาวะหัวใจเตนผิดปกติ(8) ไดมกี ารศึกษาผลของน้ำสกัดไพลตอคลืน่ ไฟฟาหัวใจ (อี.เค.จี) ของหนูถบี จักรในภาวะ ปกติและภาวะทีห่ วั ใจเตนผิดปกติ ORSs-complex ตามดวยการเกิด ventricular tachycardia พบวา ในภาวะที่ หัวใจเตนผิดปกติน้ำสกัดไพลไมสามารถลดอัตรา การเกิด cardiac arrhythmia ได(10) 9.1.6 ฤทธิฆ์ า เชือ้ อสุจิ (spermicide) จากการทดลองแยกสาร Terpinen-4-ol จากน้ำมันไพล และทดลองฆาเชื้ออสุจิใน หลอดทดลองพบวา ในขนาดความเขมขน 0.016% จะสามารถฆาเชือ้ อสุจไิ ด 100%(11) 9.1.7 ฤทธิใ์ นการเปนยาชาเฉพาะที่ (Local anesthetic) น้ำคัน้ ไพลออกฤทธิต์ อ nerve action potential ของเสนประสาท sciatic ในคางคก คลายกับการออกฤทธิข์ องยาชา Lidocaine(9,12) 9.1.8 ฤทธิต์ า นเชือ้ แบคทีเรีย (Antibacterial activity) สารสกัดหัวไพลดวยอีเธอรมผี ลตอ E. coli, Bacillus, Pseudomonas aeruginosa, Salmonella typhi, Shigella typhi, Shigella dysenteriae และ Staphylococus aureus(13) สารสกัดหัวไพลดวย petroleum ether สามารถยับยัง้ เชือ้ Staphylococcus aureus, Bacillus subtilis, E. coli และ Candida albicans ได แตสารสกัดดวยน้ำของเหงาไพลไมสามารถ ยับยัง้ เชือ้ ทัง้ 4 ชนิด รวมทัง้ Pseudomonas aeruginosa หรือ Proteus vulgaris ได(14)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. Ozaki Y, Kawahara N, Harda M. Antiinflammatory effect of Zingiber cassumunar Roxb. and its active principles. Chem Pharm Bull 1991; 39 (9): 2353-2356. 2. Panthong A, Kanjanapothi D, Niwatomanum V, Tuntiwachwuttikul T, and Reutrkul V. Anti-Inflammatory activity of compounds isolated from Zingiber cassumunar. Planta Med. 1990; 56: 655. 3. Soontornsaratune P, Wasuwat S, Sematong T. The anti-inflammatory effect of a topical preparation of Phlai oil/ Plygesal on carrageenan induced footpad swelling in rats. TISTR 1990 ; Res. Proj. No.30-22/Rep-no.3 : 1-7. 4. นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี, มนัส หวังหมัด, กมล สวัสดิมงคล, มงคล โมกขะสมิต การศึกษาทางเภสัชวิทยาของสารสำคัญจาก ไพล. ว กรมวิทย พ. 2522; 21(1): 13-24. 5. Mokkhasmit M, et al. J Med Assoc Thailand. 1971; 54: 490. 6. วัลภา อนันตศานต และเล็ก นพดลรัตนกุล การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของน้ำสกัดไพล (ปูเลย) ตอกลามเนื้อเรียบในหนูขาว ตอนที่ 1 วารสารสำนักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ 1980; 12 (1): 1. 7. Kanjanapothi D, Soparat P, Panthong A, Tuntiwachwuttikul P, et al. A uterine relaxant compound from Zingiber cassumunar. 1987; 53(4): 329-32. 8. Veerasarn V. Observations of certain actions of an indigenous drug: Zingiber Cassumunar Roxb. เชียงใหม วารสาร 2514; 10(1): 9-16. 9. วัลภา อนันตศานต, ศักดิ์ชัย อัษญคุณ. การศึกษาผลของน้ำคั้นไพลในการออกฤทธิ์เปนยาชาเฉพาะที่. เชียงใหมวารสาร 2518; 14 (3): 249-257. 10. วัลภา อนันตศานต, ประไพ เครือนาค. การศึกษาผลของน้ำสกัดไพลตอคลืน่ ไฟฟาของหัวใจ (อี.เค.จี) ของหนูถบี จักร ในภาวะ ปกติและภาวะทีห่ วั ใจเตนผิดปกติ. เชียงใหมเวชสาร 2519; 15(4): 297-304. 11. Wasuwat S. 10 th Conf. of Sci. Technol of Thailand. 1984; 218. 12. Anuntasarn V, Atsayakan S. Chiangmai Med Bull. 1975; 14(3): 249. 13. Anuntasan V. Medicinal plant “Plai or Puu Loei” and researches in pharmacology. J Pharm Assoc Thailand. 1977; 31(14): 381-8. 14. ศักดิช์ ยั อัษญคุณ อัญชลี คงฟุ อัปสร วสุรตั น และคณะ. การศึกษาฤทธิใ์ นการตานเชือ้ จุลชีพของหัวไพล. เชียงใหมเวชสาร. 2526; 22(2): 129-136.

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การรักษาอาการอักเสบ ปวด บวม ฟกช้ำ นายแพทยวิรุฬห เหลาภัทรเกษม และคณะ ไดทดสอบประสิทธิภาพของครีมไพล จีซาล ในนักกีฬาทีบ่ าดเจ็บขอเทาแพลง 21 คน โดยแบงเปนกลมุ ทีไ่ ดรบั ยาไพลจีซาล 10 คน ยาหลอก 11 คน พบวานักกีฬากลุมที่ไดรับยาไพลจีซาล มีการบวมเพิ่มขึ้นของขอเทานอยกวากลุมที่ไดรับยาหลอก อยางมีนยั สำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะในชวง 2-3 วันแรกของการรักษา อีกทัง้ ยังชวยลดอาการปวด โดย ผปู ว ยรับประทานยาเม็ดแกปวด (paracetamol) นอยกวาผปู ว ยทีไ่ ดรบั ยาหลอก และชวยใหการเคลือ่ นไหว ของขอเทาดีขนึ้ โดยขยับขอเทาลงไดดกี วา (15) 9.2.2 ฤทธิต์ า นฮีสตามีนในผปู ว ยเด็กโรคหืด กณิกา ภิรมยรตั น และคณะ(16) ไดศกึ ษาฤทธิต์ า น histamine ของไพลโดยการทดสอบ ดวยการฉีด histamine เขาในผิวหนังเปรียบเทียบกับ chlorpheniramine ในขนาดมาตรฐาน โดยศึกษา ในเด็กทีเ่ ปนหืด จำนวน 24 ราย พบวา การไดรบั ไพลในขนาด 11-25 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครัง้ มีฤทธิต์ า น histamine โดยสามารถลดขนาดของตมุ นูน จากการฉีดดวยน้ำยา histamine ไดอยางมีนยั สำคัญทาง สถิติ (p<0.005) แตความสามารถในการตานฤทธิ์ histamine นัน้ chlorpheniramine ในขนาด 0.1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ครั้ง มีฤทธิ์มากกวาไพล (p<0.05) จากการศึกษานี้ไมพบการเปลี่ยนแปลงในชีพจร ความดันเลือดหรือพิษใดๆ จากยาทัง้ สอง

91


92

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.2.3 การใชไพลรักษาโรคหอบหืด มนตรี ตูจินดา และคณะ(17) ไดทำการศึกษาฤทธิ์ของ “ไพล” ในผูปวยเด็กที่เปนหืด โดยแบงการศึกษาเปน 2 ตอน ตอนแรก เพือ่ ดูผลของไพลในขณะผปู ว ยมีการหอบ โดยไดทำการศึกษาในผปู ว ยเด็ก 8 รายที่มีอาการหอบ ในขณะทำการศึกษาและไมไดรับยาชนิดใดมากอนและไดใหผูปวยรับประทานไพล หนัก 250 มิลลิกรัม พบวา คาเฉลีย่ ของผปู ว ยหลังการใหไพลมีอาการหอบลดลง หนาทีป่ อดดีขนึ้ ชีพจร และความดันเลือดไมเปลีย่ นแปลง ผปู ว ยรายทีไ่ มไดผลเปนผปู ว ยทีม่ อี าการหอบรุนแรง ตอนทีส่ อง ไดทำการศึกษาเพือ่ ดูผลของไพลในการรักษาโรคหืดระยะยาว ทำการศึกษา ในผปู ว ย 12 ราย โดยใหผปู ว ยกินไพลประจำครัง้ ละ 1 แคปซูล (มีไพล 130 มิลลิกรัม) หลังอาหารเชาและ เย็น เปนเวลา 3 เดือน จากการศึกษาพบวาระหวางใชไพลผปู ว ยมีอาการหอบนอยลง ตลอดการศึกษาทัง้ สองตอน ไมพบอาการแทรกซอนหรือพิษจากการใชไพลแตอยางใด ประพาฬ ยงใจยุทธ และคณะ(18) ไดทำการทดสอบฤทธิ์ของไพลในการปองกันอาการ หอบหืดในผปู ว ยโรคหืดเรือ้ รังทีม่ อี าการของโรคในขนาดปานกลาง จำนวน 22 ราย โดยใชยาในขนาด 500 750 และ 1,000 มิลลิกรัมตอวัน กับผปู ว ยทีม่ นี ้ำหนักตัวระหวาง 35-50 50-55 และตัง้ แต 55 กิโลกรัม ขึน้ ไป ทำการใหยาโดยแบงใหกนิ วันละ 2 ครัง้ จากผลการศึกษาพบวา ไพลทำใหผปู ว ยมีอาการดีขนึ้ ตัง้ แต นอยถึงมากเปนจำนวน 19 ราย และไมไดผล 3 ราย ทั้งนี้ อาการแทรกซอนเนื่องจากยามีนอยมาก สวนใหญทำใหผูปวยมีจำนวนครั้งอุจจาระเพิ่มขึ้นแตไมรุนแรง 9.2.6 ฤทธิใ์ นการไลแมลง (Insect Repellant) ประคองพันธ อุไร และคณะ(19) ไดทดลองนำน้ำมันไพลทำเปน ointment ความเขมขน 30% สามารถปองกันยุงลาย (Aedes aegypti) และยุงรำคาญ (Culex p. fatigans) ไดนานประมาณ 3 ชั่วโมง เมื่อทดสอบภาคสนามเทียบกับคนที่ไมทายาไพล สามารถลดการกัดของยุงรำคาญได 92.8% ในสามชัว่ โมง และจากการทดสอบยาทีเ่ ตรียมขึน้ กับผิวหนังกระตายพบวาไมทำใหเกิดการระคายเคือง เอกสารอางอิง 15. วิรฬุ ห เหลาภัทรเกษม และคณะ. ความสัมฤทธิ์ผลของครีมสมุนไพร ไพล (ไพลจีซาล) ในการรักษาขอเทาแพลงในนักกีฬา. ศรีนครินทรเวชวาร. 2536; 8 (3). 16. กณิกา ภิรมยรตั น, มนตรี ตจู นิ ดา, ศิรกิ ลุ เกตุสมนึก และคณะ. ฤทธิต์ า นฮีสตามีนของ “ไพล” ในผปู ว ยเด็กโรคหืด. สารศิรริ าช. 2529; 38 (4): 251-254. 17. มนตรี ตจู นิ ดา, นวลอนงค ศรีมารุต, สุปรีดา หัพนานนทและคณะ. การใชไพลรักษาโรคหืดในวัยเด็ก. สารศิรริ าช. 2527; 36(1): 1-5. 18. ประพาฬ ยงใจยุทธ, ประเวศ วะสี, ทัศนียา สุธรรมสมัย และคณะ. ผลการรักษาผูปวยโรคหอบหืดดวยไพล สารศิริราช. 2528; 37(6): 435-440. 19. ประคอง พันธอุไร, ทวีผล เดชาติวงศ ณ อยุธยา, สุวรรณา จารุนุช. การศึกษาสารสกัดจากไพลใชทาผิวหนังกันยุงกัด. ว กรม วิทย พ. 2521; 20(2): 81-89.

10. การศึกษาเภสัชจลนศาสตร การศึกษาเภสัชจลนศาสตรของสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol พบวา สามารถ ดูดซึมถึงระดับสูงสุดในเลือดที่ 1 ชัว่ โมง และเมือ่ เปรียบเทียบการดูดซึมและการขับออกของสาร ดังกลาว และ Diol ซึง่ เปนอนุพนั ธของสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol ทีส่ งั เคราะหขนึ้ พบวา สาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol ดูดซึมเร็วกวา แตกำจัดออกจากรางกายชากวา(20-22)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 20. Pongsakorn S, Koysooko R, Pinthong T, et al. Pharmacokinetic studies of compound D isolated from Plai (Zingiber cassumunar) Roxb. in rat. Vajira Med J. 1988; 32(3): 101. 21. Koysooko R, Jirasthaporn M, Tantiwachwuttikul P. Pharmacokinetic studies of diol. Symposium on Medicinal Plant Development. Bangkok, Thailand. July 17-19, 1985. 22. Koysooko R, Worawattanakul M, Pinthong T. Pharmacokinetic studies of bronchodilating active constitutent from Plai. Bull Dep Med Sci. 1986; 28(1): 65-73.

11. การศึกษาทางพิษวิทยา 11.1 การศึกษาฤทธิก์ อ กลายพันธุ (Mutagenicity) เมือ่ ใชสารสกัดเหงาไพลดวยน้ำรอนในขนาด 0.5 ซีซ/ี disc พบวาไมมผี ลตอ Bacillus subtilis H-17 (Rec+) และ M-45 (Rec-)(23) น้ำมันหอมระเหย และ terpinen-4-ol ไมมฤี ทธิก์ อ กลายพันธกุ บั Salmonella typhimurium ในสายพันธุ TA98, TA100(24-25) 11.2 ฤทธิต์ า นการฝงตัวของตัวออนในมดลูก (Antiimplantation Activity) เมื่อฉีดสารสกัดเหงาไพลดวยน้ำรอนในขนาด 0.2 ซีซี เขาใตผิวหนังหนูถีบจักร พบวาไมมี ผลตานการฝงตัวของตัวออนในมดลูก(26) 11.3 การทดสอบความเปนพิษเฉียบพลันและพิษระยะยาวในสัตวทดลอง (Toxicity Assessment) จากผลการทดสอบความเปนพิษเฉียบพลันไมพบอาการเปนพิษ แมจะใหสารสกัดไพลดวย แอลกอฮอล 50% ในขนาดเทากับไพล 10 ก./กก. หรือเมือ่ ใหสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but3-en-1-ol ในขนาดสูงเทียบเทาไพล 30 ก./กก. ทัง้ กรอกทางปากและฉีดเขาใตผวิ หนังหนูถบี จักร แตเมือ่ ใชเกลือ sodium ของสารดังกลาวทีล่ ะลายในน้ำฉีดเขาชองทองในขนาด 450 มิลลิกรัม/กิโลกรัม จะทำให หนูมีอาการหายใจลึกและถี่ เคลื่อนไหวนอย และขาหลังมีอาการออนเพลียกวาปกติ แตหนูทั้งหมด ยังมีชีวิตรอดหลังการทดลอง ศักดิชยั อัษญคุณ และวัลภา อนันตศานต(27) ไดทำการศึกษาผลของพิษโดยเฉียบพลัน (acute toxicity) ของน้ำสกัดหัวไพล ในขนาดความเขมขน 100% น้ำหนักตอปริมาตร ฉีดเขาหลอดเลือดดำที่ หางหนูถบี จักร ขนาด 2 3 4 5 และ 6 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม สังเกตผลภายในเวลา 72 ชัว่ โมง พบวา ภายหลังไดรบั น้ำสกัดหัวไพล 20 นาที มีอาการตัวสัน่ ขนลุก เดินโซเซ กระวนกระวาย สวนหนูถบี จักรทีไ่ ด รับน้ำจากหัวไพลขนาดสูง มีอาการชักทั้งแบบเกร็งและชักกระตุก ตอมาหยุดหายใจแลวตายในที่สุด จากการทดสอบ มีคา LD50 = 4 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม การใชยารักษาภาวะหัวใจเตนผิดปกติ 2 ขนาน รวมกันคือ quinidine และ propranolol จะชวยลดอัตราการตายของสัตวทดลองได โดยคา LD50 เพิม่ ขึน้ เปน 0.6 กรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว ผวู จิ ยั สรุปวาการตายของสัตวทดลองจากน้ำสกัดหัวไพล อาจเนือ่ งจาก ผลการบีบตัวของกลามเนือ้ หัวใจ เมือ่ ไดรบั ในขนาดสูงๆ รังสรรค ปญญาธัญญะ และคณะ(28) ไดศึกษาความเปนพิษของไพลในหนูทั้งชนิด Acute toxicity และ Chronic toxicity ผลปรากฏวา

93


94

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

จากการศึกษา Acute toxicity สมุนไพร “ไพล” ทีส่ กัดดวยแอลกอฮอลและเฮกเซนมีคา LD50 เทากับ 20 กรัม และ 80 กรัม ตอน้ำหนักหนู 1 กิโลกรัมตามลำดับ (ในขณะทีข่ นาดรักษาในคนเปน 10-20 มิลลิกรัม/กิโลกรัม) ในการศึกษา Chronic toxicity (6 เดือน) โดยใชหนูในการทดลองทัง้ หมด 112 ตัว 28 ตัวใช สำหรับเปรียบเทียบ หนูที่เหลือแบงเปน 3 กลุม โดยใหอาหารที่ผสมกับไพลทุกวันในขนาดรอยละ 0.5 3 และ 18 ของน้ำหนักอาหาร ซึง่ จะเปนขนาด 25 150 และ 900 เทาของขนาดของยาทีใ่ ชรกั ษาในคน ถาใหในขนาดรอยละ 18 หนูจะมีน้ำหนักนอยกวาปกติอยางเห็นไดชดั สำหรับหนูทดลองกลมุ อืน่ อยใู นเกณฑ ปกติ ทัง้ นี้ ไดทำการตรวจปสสาวะ โลหิตวิทยา ชีวเคมีของเลือด และการตรวจทางพยาธิวทิ ยาของสัตว ทีท่ ดลองทัง้ หมดไมพบสิง่ ผิดปกติทมี่ คี วามสำคัญ ผวู จิ ยั สรุปวาขนาดทีใ่ ชรกั ษาปกตินนั้ ไมปรากฏความ เปนพิษทั้งระยะสั้นและระยะยาว นาถฤดี สิทธิสมวงค และคณะ(29) ไดทำการศึกษาทั้งความเปนพิษระยะสั้นของเหงาไพล ในหนูถบี จักร ศึกษาพิษระยะยาวในหนูขาวและลิงแสมปรากฏผลดังนี้ การศึกษาพิษระยะสั้นของไพลในหนูถีบจักร พบวาไมปรากฏอาการพิษใดๆ เมื่อใหไพล ทางปากขนาด 10 กรัม/กิโลกรัม ขนาดของสารสกัดไพลดวย 50% แอลกอฮอล ทำใหหนูถีบจักรตาย รอยละ 50 เมือ่ ใหทางปาก หรือฉีดเขาใตผวิ หนังมากกวา 20 กรัม/กิโลกรัม หรือเมือ่ ฉีดเขาทางชองทอง เทากับ 14.8 กรัม/กิโลกรัม การศึกษาพิษระยะยาวในหนูขาว 192 ตัว ระยะเวลา 1 ป พบวาไพลเปนพิษตอตับ ทำใหเกิด อาการตับแข็ง และเกิดการกอมะเร็งทีต่ บั หนูขาว ซึง่ พบความรุนแรงได 3 ระดับ จำนวนตับหนูขาวผิดปกติ จะเพิ่มขึ้นตามขนาดของยาไพลที่ไดรับและพบมะเร็งที่ตับ (hepatocellular carcinoma) ของหนูขาว ทีก่ รอกยาไพลขนาดต่ำ 1 ตัว การทดลองนีไ้ ดผลสอดคลองกันทัง้ การเจริญเติบโต และสุขภาพของหนูขาว ผลการตรวจสอบซีรมั่ ทางชีวเคมี การชันสูตรซาก และการตรวจสอบทางจุลพยาธิวทิ ยาของอวัยวะภายใน จากการศึกษาพิษระยะยาวของไพลในลิงแสมจำนวน 16 ตัว ในระยะเวลา 2 ป พบวาลิงแสม ทีไ่ ดรบั ไพลขนาดต่ำมีการเจริญเติบโตเร็วและมีจำนวนเม็ดเลือดแดงอัดแนนสูงกวากลมุ อืน่ แตทไี่ ดรบั ไพล ขนาดสูง เกิดอาการเปนพิษตอตับอยางเฉียบพลันและเติบโตชา สุขภาพไมแข็งแรง ตับเสียสมดุลในการ สรางโปรตีน แตรางกายมีการปรับสภาพเปนระยะๆ เซลลของตับสามารถซอมแซมหรือฟนฟูใหมได เมือ่ สิน้ สุดการทดลอง 2 ป จึงไมพบความผิดปกติจากการตรวจทางจุลพยาธิวทิ ยา จากผลการศึกษาขางตนผูวิจัยสรุปวา ผงไพลนาจะมีสารที่เปนพิษตอตับทั้งนี้มิไดเกิดจาก การปนเปอน คงเนื่องจากสารในธรรมชาติของเหงาไพล และใหขอเสนอแนะวา ยังไมมีความปลอดภัย ทีจ่ ะนำเหงาไพลมาใชเปนยารับประทานติดตอกัน นอกเสียจากจะทำการขจัดสารทีเ่ ปนพิษตอตับออกจาก ผลไพลเสียกอน 11.4 การศึกษาฤทธิก์ อ มะเร็ง รายงานการศึกษาฤทธิ์กอมะเร็งของสารสกัดและสารบริสุทธิ์จากไพล(30) ไดแก สารสกัดดวย เฮกเซน steam distillate, สาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol acetate สาร (E)-4(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol palmitate และอืน่ ๆ ดวยวิธที ดสอบแบบตางๆ เทียบกับ known carcinogen พบวา


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• สารสกัดดวยเฮกเซน steam distillate มีคณ ุ สมบัตใิ นการกอกลายพันธุ (mutagenic effect) เห็นไดอยางชัดเจน ขณะทีส่ าร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol สาร (E)-4-(3’,4’dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol acetate มีคณ ุ สมบัตใิ นการกอกลายพันธอุ ยางออนมาก โดยแปรกับสัดสวนขนาดที่ใชใน Salmonella TA-100 นอกจากนี้ พบวาเปน indirect mutagen ดวย คือตองอาศัย metabolic activation จาก S-9 fraction จึงจะกอกลายพันธไุ ด • จากการศึกษา cell transformation ใน 3T3 cell line พบวาสารสกัดดวยเฮกเซน และสาร (E)-4-(3’,4’-dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol acetate สามารถ transform cell ไดในลักษณะ แปรเปนสัดสวนกับขนาดทีใ่ ช โดยทีส่ ารสกัดดวยเฮกเซนมีฤทธิส์ งู กวา • เมือ่ ศึกษาฤทธิใ์ นการทำใหเกิด altered hepatic foci ในตับหนูขาวซึง่ จัดเปน medium-term assay พบวาสารทัง้ สี่ ไมชกั นำใหเกิด altered hepatic foci หรือ hyperplastic nodules เลย แมวาหนูจะไดรับ sublethal dose ถึง 2 ครั้งหางกัน 1 สัปดาหแลวตามดวยการตัดตับ บางสวน (partial hepatectomy) 1 สัปดาหตอ มาก็ตาม เอกสารอางอิง 23. Ungsurungsie M, Suthienkul O, Paovalo C. Mutagenicity screening of popular Thai spices. Food Cosmet Toxicol. 1982; 20: 527-30. 24. Wasuwat S, Nandhasri P, Suntorntanasat T, et al. Antiinflammtory action of Plai oil, Zingiber cassumunar Roxb. The First Princess Chulabhorn Science Congress. Bangkok, Thailand, Dec 10-13, 1987. 25. Wasuwat S, Soonthorn saratoon P, Rojanapothi W, et al. Spermicidal activity of medicinal plants. Science and Technology. 1990; 6(1): 4-17. 26. Matsui ADS, et al. Int Z Klin Pharmakol Ther Toxikol. 1971; 5: 65. 27. ศักดิช์ ยั อัษูคณ ุ , วัลภา อนันตศานต การศึกษาพิษโดยเฉียบพลันของน้ำสกัดไพล. ไทยเภสัชสาร 3 (1): 14-21. 28. รังสรรค ปญญาธัญญะ, วันทนา งามวัฒน, ปราณี ชวลิตธำรง และคณะ การศึกษาความเปนพิษของไพลในหนู สารศิริราช 2529;38 (6) : 413-416. 29. นาถฤดี สิทธิสมวงศ และคณะ รายงานการวิจัยความเปนพิษของไพล (Toxicity Evaluation of Plai) รายงานการวิจัย เสนอตอสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2533. 63 หนา. 30. เรณู โกยสุโข, ไชยยศ บุญญากิจ, พิทยา ตันติเวชวุฒิกุล, และคณะ. การศึกษาฤทธิ์กอมะเร็งของสารสกัดและสารบริสุทธิ์ จากไพล. งานการวิจัยเสนอตอสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ พ.ศ. 2533. 40 หนา

12 ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ในกรณีของครีมไพล ตามบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 ขอควรระวัง: 1. หามทาบริเวณขอบตา และเนือ้ เยือ่ ออน 2. หามทาบริเวณผิวหนังทีม่ บี าดแผล หรือมีแผลเปด 3. ไมแนะนำใหใชกับสตรีมีครรภ หรือระหวางใหนมบุตรและกับเด็กเล็ก อาการขางเคียง: ยังไมมีขอมูล

13. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ในกรณีของครีมไพล ตามบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542

95


96

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ขอบงใช: รักษาอาการบวม ฟกช้ำ เคล็ดยอก รูปแบบและความแรง: เปนครีมสีขาวมีน้ำมันไพล 14% ขนาดและวิธใี ช: ทาและถูเบาๆ บริเวณทีม่ อี าการวันละ 2-3 ครัง้ การใชไพลในสาธารณสุขมูลฐานเพือ่ รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้ำ ใชเหงาสมุนไพร “ไพล” 1 เหงา ตำแลวคัน้ เอาน้ำ นำมาทาถูนวดบริเวณทีม่ อี าการ หรือตำใหละเอียด ผสมเกลือเล็กนอยคลุกเคลา แลวนำมาหอเปนลูกประคบอังไอน้ำใหความรอน ประคบบริเวณปวดเมือ่ ยและ ฟกช้ำ ในชวงเวลาเชาและเย็น จนกวาจะหาย หรือทำเปนน้ำมันไพลไวใชกไ็ ด สูตรการทำน้ำมันไพลของผใู หญวบิ ลู ย เข็มเฉลิม อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา นำไพลขนาดหนัก 2 กิโลกรัม มาทอดในน้ำมันพืชรอนๆ 1 กิโลกรัม ทอดจน ”ไพล” เหลืองแลว ตักออก ใสกานพลูผงประมาณ 4 ชอนชา ทอดตอดวยไปออนๆ ประมาณ 10 นาที กรองแลวรอจนน้ำมัน อนุ ๆ ใสการบูรลงไป 4 ชอนชา ใสในภาชนะปดฝามิดชิด รอจนเย็นจึงเขยาการบูรใหละลาย ใชทาถูนวด 2 ครัง้ เชา-เย็น หรือเวลาปวด เอกสารอางอิง 1. คณะกรรมการแหงชาติดานยา. บัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ. 2542 (บัญชียาจากสมุนไพร). โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย จำกัด กรุงเทพฯ. 2543. หนา 38-45. 2. มาโนช วามานนท, เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ (บรรณาธิการ). ยาสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน. พิมพครั้งที่ 2. โรงพิมพ องคการทหารผานศึก กรุงเทพฯ. 2540. หนา 120-121.

14. ขอมูลดานการตลาด น้ำมันไพลเริ่มเปนที่รูจักและตองการของตลาดโลกแลว โดยเฉพาะอยางยิ่ง การนำมาใชในดาน aromatherapy ปจจุบนั จึงมีการผลิต plai oil และ plai extract โดยนักธุรกิจไทย เพือ่ จำหนายเปน วัตถุดบิ ในการผลิตผลิตภัณฑเครือ่ งสำอางและสปา กลมุ พัฒนาดังกลาวไดรบั การสนับสนุนดาน R&D จาก สำนักงานนวัตกรรมแหงชาติ คือ plai oil และ extract ภายใตยหี่ อ “PlaitanoidTM” ตัวอยางราคาจำหนาย Plai oil website www.kalyx.com

Brand Kalyx

www.aromatherapyherb.com

Alive

Products Plai oil 100% grade 1-9Grade 1 = commercial grade for fragrance and flavor industries Grade 2-6 = higher quality, pesticide-free Grade 7 = Oil certified organic at the farm levelGrade 9 = Oil from plai grown in the wild Plai oil 100%

รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

Price $45.50 per ounce

$8.40-10.50 per 10 ml


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ลูกประคบ “การประคบสมุนไพร คือการใชสมุนไพรหลายอยาง มาหอรวมกันซี่งสวนใหญจะเปนยาสมุนไพร ทีม่ นี ้ำมันหอมระเหย ซึง่ เมือ่ ถูกความรอน จะระเหยออก เชน ไพล ขมิน้ ชัน ขมิน้ ออย ตะไคร มะกรูด การบูร เปนตน” การประคบสมุนไพรเปนวิธีการบำบัดรักษาของแพทยแผนไทย ซึ่งสามารถนำไปใชใน การควบคกู บั การนวดไทย โดยใชการประคบหลังจากการนวดไทย ประโยชนของการประคบสมุนไพร: 1. ชวยใหเนือ้ เยือ่ พังผืดยืดตัวออก 2. ลดการติดขัดของขอตอบริเวณที่ประคบ 3. ลดอาการเกร็งของกลามเนือ้ 4. บรรเทาอาการปวดเมือ่ ย 5. ลดอาการบวมทีเ่ กิดจากการอักเสบของกลามเนือ้ หรือบริเวณขอตอตางๆ 6. ชวยกระตุนหรือเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต ตัวยาทีน่ ยิ มนำมาใชทำลูกประคบ: 1. เหงาไพล 500 กรัม บรรเทาปวดเมือ่ ยลดการอักเสบ 2. ผิวมะกรูด 100 ขีด บรรเทาลมวิงเวียน 3. ตะไครบา น 200 กรัม บรรเทาปวดเมือ่ ยลดการอักเสบ 4. ใบมะขาม 1 ขีด บรรเทาอาการคันตามรางกาย บำรุงผิว 5. ขมิน้ ชัน 100 กรัม บรรเทาฟกช้ำ เม็ดผดผืน่ คัน 6. ขมิน้ ออย 100 กรัม บรรเทาฟกช้ำ เม็ดผดผืน่ คัน 7. ใบสมปอย 50 กรัม ชวยบำรุงผิว 8. เกลือเแกง 60 กรัม ชวยดูดความรอน และชวยพาตัวยาผานผวหนังไดอยางสะดวก 9. การบูร 30 กรัม แตงกลิน่ บำรุงหัวใจ แกพพุ อง 10. พิมเสน 30 กรัม แตงกลิน่ แกพพุ อง แกหวัด อุปกรณการประคบสมุนไพร: 1. หมอสำหรับนึ่งลูกประคบ 2. ผาสำหรับหอลูกประคบ 3. เชือก 4. เตา และจานรองลูกประคบ วิธีประคบ: 1. ใชผาจับลูกประคบขณะรอนยกขึ้นจากปากหมอ 2. ใชลูกประคบแตะที่ทองแขนตนเอง ทดสอบความรอน 3. ชวงแรกแตะลูกประคบ และยกขึน้ โดยเร็ว จนกวาลูกประคบจะคลายความรอนลง

97


98

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. จากนัน้ จึงวางลูกประคบไดนานพอประมาณ แลวกดเนนบริเวณทีต่ อ งการ 5. เปลีย่ นลูกประคบเมือ่ เย็นลง ขอควรระวังในการประคบสมุนไพร: 1. หามใชลูกประคบที่รอนเกินไป 2. บริเวณผิวหนังออนๆ หรือบาดเจ็บตองมีผาขนหนูรองกอน 3. ควรระวังผปู ว ยทีเ่ ปนเบาหวาน อัมพาต เด็ก ผสู งู อายุ เพราะการตอบสนองตอความรอนชา 4. ไมประคบกับกรณีการอักเสบบวมในชวง 24 ชัว่ โมงแรก เพราะอาจจะบวมมากขึน้ ควรประคบ น้ำเย็นกอน 5. หลังจากประคบไมควรอาบน้ำทันที การเก็บรักษาลูกประคบ: 1. ลูกประคบทีท่ ำครัง้ หนึง่ สามารถเก็บไวใชได 3-5 วัน 2. เวลาเก็บควรผึง่ ใหแหง ไมใหอบั ชืน้ ถาเก็บในตเู ย็นจะเก็บไดนานขึน้ 3. ลูกประคบทีแ่ หง กอนใชควรพรมดวยน้ำ หรือเหลาขาว 4. ลูกประคบทีม่ สี เี หลืองออน หรือจางลง แสดงวาตัวยาในลูกประคบหมดสภาพแลวจะใชไมไดผล เอกสารอางอิง 1. http://www.siamhealthy.com/about/Massage/004.htm

ลูกประคบ ยาประคบสมุนไพรและการประคบดวยสมุนไพร เปนวิธีการบำบัดรักษาของการแพทยแผนไทย อีกวิธหี นึง่ ซึง่ ใชควบคกู บั การนวดไทย คือ มักทำการประคบหลังจากนวดเสร็จแลว ผลของการรักษาดวย การประคบสมุนไพร เกิดจากผลของความรอนที่ไดจากการประคบและผลจากการที่ตัวยาสมุนไพร ซึมผานชัน้ ผิวหนังเขาสู รางกายผลของความรอน จากการประคบทีม่ ตี อ การรักษา คือ ชวยทำใหเนือ้ เยือ่ พังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดของขอตอ ลดการเกร็งของกลามเนือ้ ลดปวด ชวยลดการบวมทีเ่ กิดจาก การอักเสบของกลามเนือ้ เอ็น และขอตอ หลังการบาดเจ็บ 24-28 ชัว่ โมง และเพิม่ การไหลเวียนของโลหิต ผลของสมุนไพร สมุนไพรทีใ่ ชในตำรับยาลูกประคบ มีแตกตางกันไป แตตวั ยาหลักสำคัญๆ จะคลาย กันในทีน่ ี้ จะยกมาเปนตัวอยาง 1 ตำรับ คือ ตำรับยาประคบแกปวดเมือ่ ยเคล็ดขัดยอก (ตำรับของโครงการ ฟน ฟูการนวดไทย มูลนิธสิ าธารณสุขกับการพัฒนาและคณะ) สวนประกอบลูกประคบ หัวไพลสด 1/2 กิโลกรัม หัวขมิน้ ออยและหัวขมิน้ ชัน รวมกันได 1/2 ขีด ตนตะไคร 1 ขีด ผิวมะกรูด 1 ผล ใบมะขามและใบสมปอย รวมกันใหได 1/2 ขีด การบูร 1 ชอนชา พิมเสน 1 ชอนชา เถาเอ็นออน 1/2 ขีด ตัวยาสมุนไพรสวนใหญมสี รรพคุณในการแกเคล็ดขัดยอก ฟกช้ำ ทำให เสนหยอนเมือ่ ผสานกับความรอนจากลูกประคบ ก็เทากับเสริมฤทธิใ์ นการรักษาซึง่ กันและกัน อนึ่งสมุนไพรที่ใชตามตำรับยานี้ ควรเปนยาสด เพราะเปนยาที่น้ำมันหอมระเหยเปนสารสำคัญ ในการออกฤทธิ์ ถาเปนยาแหงน้ำมันหอมระเหยจะระเหยออกไปมากแลวทำใหมีผลในการรักษาไดนอย นอกจากนีอ้ าจใชสมุนไพรอืน่ รวมอีก เชน วานนางคำ ใบพลับพลึง หัวหอม ขิงสด วานน้ำ ดีปลี เปราะหอม ผักบงุ เปลือกชลูด ถาหาไมไดกไ็ มเปนไร ใชเทาทีม่ แี ตทข่ี าดไมไดกค็ อื หัวไพล ผิวมะกรูด ใบมะขามแก และใบสมปอย


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

วิธกี ารเตรียมลูกประคบ: 1. หัน่ หัวไพล ขมิน้ ออย ขมิน้ ชัน ตนตะไคร และเถาเอ็นออนแลวตำพอหยาบ 2. ปอกผิวมะกรูดออก หัน่ แลวตำพอหยาบ 3. นำสวนผสมในขอ 1 และ 2 มาตำรวมกับใบมะขามและใบสมปอย 4. ใสการบูรและพิมเสนผสมใหเขากัน ตำตอใหแหลก แตอยาถึงกับละเอียดเพราะลูกประคบจะแฉะ 5. แบงตัวยาทีต่ ำไดเปน 2 สวนเทาๆ กัน ใชหา ขาวหอ รัดดวยเชือกใหแนน จะไดลกู ประคบ 2 ลูก อุปกรณที่ใชประคบ: 1. หมอดินใสน้ำครึ่งหนึ่ง ตั้งบนเตาไฟจนมีไอน้ำรอน 2. จานรองลูกประคบ 3. ลูกประคบ 2 ลูก ลูกหนึง่ วางไวบนปากหมอดินทีม่ ไี อน้ำรอน อีกลูกวางไวทจี่ านรองประคบ ขัน้ ตอนในการประคบ: หลังจากทีท่ ำการนวดรางกายของผปู ว ยเสร็จเรียบรอยแลว ใหทำตามขัน้ ตอนตอไปนี้ 1. จัดทาผปู ว ยใหเหมาะสม เชน นอนหงาย นอนคว่ำ หรือนอนตะแคง ทัง้ นีข้ นึ้ อยกู บั ตำแหนง ที่จะทำการประคบ 2. เมือ่ ลูกประคบทีอ่ งั ไอรอนดีแลว ผปู ระคบใชมอื จับลูกประคบใหเต็มองุ มือ ยกขึน้ จากปากหมอ แลวเอาลูกประคบอีกลูกวางบนปากหมอแทน ลองใชลูกประคบแตะบริเวณทองแขนตนเอง ถาลูกประคบยังรอนมากใหใชฝา มืออีกขางแตะลูกประคบ แลวใชฝา มือไปนาบบริเวณทีต่ อ งการ ประคบ เปนการถายเทความรอนซึ่งผูปวยจะไมรูสึกเกินไป ทำหลายๆ ครั้ง จนลูกประคบ คลายความรอนลง จึงเอาลูกประคบๆ โดยตรง 3. การประคบดวยลูกประคบโดยตรง ในตอนแรกตองทำดวยความรวดเร็ว ไมวางลูกประคบ ไวบนผิวหนังผปู ว ยนานๆ เพียงแตแตะลูกประคบแลวยกขึน้ เลือ่ นไปประคบตำแหนงถัดไปตาม แนวกลามเนือ้ ทีก่ ำหนด 4. เมือ่ ลูกประคบคลายความรอนลงอีก ผปู ระคบสามารถวางลูกประคบใหนานขึน้ ไดพรอมกับกด คลึงดวยลูกประคบจนลูกประคบคลายความรอนไปมากแลวจึงเปลี่ยนไปใชลูกประคบอีกลูก ทำการประคบจากขัน้ ตอนที่ 2-4 5. ในขณะประคบ ควรทำการนวดสลับกับการประคบโดยเฉพาะในตำแหนงทีป่ วดเมือ่ ยมาก ระยะเวลาทีใ่ ชในการประคบ: โดยทัว่ ไปจะใชเวลาประมาณ 15-20 นาที ตอการประคบ 1 ครัง้ ถามีอาการเคล็ดขัดยอก อาจ ประคบไดวนั ละ 2 ครัง้ ขอควรระวังในการประคบ: 1. อยาใหลูกประคบที่รอยเกินไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนังที่ออน บริเวณที่มีกระดูกยื่น หรือบริเวณทีเ่ คยเปนแผลมากอน ควรใชผา ขนหนูรองหรือใชลกู ประคบอนุ ๆ 2. ตองระมัดระวังในกรณีที่มีผูปวยเบาหวาน อัมพาต เด็กและผูสูงอายุ เพราะมักมีความรูสึก ตอบสนองชา อาจทำใหผิวหนังไหมพองไดงาย ควรใชลูกประคบที่ไมรอนจัด

99


100

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

3. หามใชการประคบสมุนไพรในกรณีทมี่ กี ารอักเสบ ปวดบวม แดงรอน ในชวง 24 ชัว่ โมงแรก เพราะจะทำใหบวมมากขึ้นและเลือดออกมากขึ้น 4. หลังการประคบสมุนไพร ไมควรอาบน้ำทันที เพราะจะไปชะลางยาออกจากผิวหนังและรางกาย ยังปรับตัวไมทัน การเก็บรักษาลูกประคบ: ลูกประคบทีท่ ำครัง้ หนึง่ ๆ อาจใชได 3-5 วัน เวลาเก็บควรผึง่ ตัวยาไวอยาใหอบั ถาเก็บในทีเ่ ย็น เชน ตเู ย็นจะทำใหเก็บไดนานขึน้ แตถา ตัวยาบูดเสียก็ไมควรนำมาใชอกี ถาพบวาลูกประคบแหงกอนใชอาจพรม ดวยน้ำหรือเหลาโรง ถาลูกประคบทีใ่ ชไมมสี เี หลืองของไพลออกมาอีก แสดงวายาจืดแลวจะใชไมไดผลอีก เอกสารอางอิง 1. http://suphanburi.doac.go.th/Hurb.htm

-ราง--

มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน

ลูกประคบสมุนไพร 1.

ขอบขาย 1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะลูกประคบที่ทำจากสมุนไพรที่สวนใหญเปน สมุนไพรที่ไดจากพืชและแรธาตุที่มีน้ำมันหอมระเหยและทำใหแหงแลว

2.

บทนิยาม ความหมายของคำที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ มีดังนี้ 2.1 ลูกประคบสมุนไพร หมายถึง ผลิตภัณฑทไี่ ดจากการนำสมุนไพรหลายชนิด มาผานกระบวนการ ทำความสะอาดแลวนำมาหัน่ หรือสับใหเปนชิน้ ๆใหมขี นาดตามตองการ ทำใหแหงนำมาหอหรือ นำมาบรรจุรวมกันในผาใหไดรูปทรงตางๆ เชน ลูกทรงกลม หมอน สำหรับใชนาบหรือ กดประคบตามสวนตางๆ ของรางกายเพื่อผอนคลาย โดยกอนใชตองนำมาพรมน้ำแลวทำให รอนโดยนึง่ หรือใสในไมโครเวฟ

3.

คุณลักษณะที่ตองการ 3.1 ลักษณะทัว่ ไป ตองเปนผาหอรูปทรงตางๆ ภายในบรรจุสมุนไพรแหงหลายชนิดรวมกัน ในกรณีทำเปนรูปทรง กลมปลายผาตองรวบแลวมัดใหแนนทำเปนดามจับ หรือในกรณีทำเปนรูปทรงอืน่ ๆ ตองปดให แนนมีกลิ่นหอมของน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพรที่ใช เมือ่ ตรวจสอบโดยวิธใี หคะแนนตามขอ 8.1 แลว ตองไดคะแนนเฉลีย่ ของผตู รวจสอบทุกคน ไมนอ ยกวา 3 คะแนน และไมมตี วั อยางใดได 1 คะแนน จากผตู รวจสอบคนใดคนหนึง่ 3.2 ผาหอลูกประคบ ตองเปนผาฝายหรือผาดิบ ซึ่งมีเนื้อผาแนนพอที่จะไมใหสมุนไพรรวงออกมา 3.3 สมุนไพร ตองแหง มีขนาดชิน้ เล็กๆ และตองมีสมุนไพรหลักอยางนอย 3 ชนิด คือ ไพล ขมิน้ ชัน และตะไคร


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

3.4 ความชื้นและสารที่ระเหยได ตองอยรู ะหวางรอยละ 7-14 โดยน้ำหนัก 3.5 สิ่งแปลกปลอม ตองไมพบสิง่ แปลกปลอมทีไ่ มใชสว นประกอบของลูกประคบสมุนไพร เชน แมลง ดิน หิน เศษโลหะ 3.6 จุลินทรีย ตองไมมีราปรากฏใหเห็นอยางชัดเจน 4.

สุขลักษณะ 4.1 สุขลักษณะในการผลิตลูกประคบสมุนไพร ใหเปนไปตามคำแนะนำของภาคผนวก ก.

5.

การบรรจุ 5.1 ใหบรรจุลกู ประคบสมุนไพรในภาชนะบรรจุทใี่ ส สะอาด แหง เรียบรอย ปดสนิท และสามารถ ปองกันการปนเปอนจากสิ่งสกปรกภายนอก และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับลูกประคบ สมุนไพรได 5.2 น้ำหนักสุทธิของลูกประคบสมุนไพรแตละลูก ตองไมนอยกวาที่ระบุไวในฉลาก

6.

เครื่องหมายและฉลาก 6.1 ทีภ่ าชนะบรรจุลกู ประคบสมุนไพรทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจง รายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็นไดงา ย ชัดเจน 1. ชื่อผลิตภัณฑ 2. ชนิดของสมุนไพรที่ใช 3. เดือน ป ทีท่ ำ และเดือน ป ทีห่ มดอายุ 4. วิธีใชและคำเตือนโดยตองไมแสดงสรรพคุณในทางยา 5. น้ำหนักสุทธิ 6. ชือ้ ผทู ำ หรือสถานทีท่ ำ พรอมสถานทีต่ งั้ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน ในกรณีใชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กำหนดไวขางตน

7.

การชักตัวอยางและเกณฑการตัดสิน 7.1 รนุ ในทีน่ ี้ หมายถึง ลูกประคบสมุนไพรทีท่ ำหรือสงมอบหรือซือ้ ขายในระยะเวลาเดียวกัน 7.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางทีก่ ำหนดตอไปนี้ 7.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับลักษณะทั่วไป ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจาก รนุ เดียวกัน จำนวน 4 ตัวอยาง เมือ่ ตรวจสอบแลว ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 3.1 จึงจะถือวาลูกประคบ สมุนไพรรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กำหนด 7.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ สำหรับการทดสอบผาหอลูกประคบสมุนไพร สิง่ แปลกปลอม การบรรจุและเครือ่ งหมายและฉลาก ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกัน จำนวน 4 ตัวอยาง เมือ่ ตรวจสอบแลวทุกตัวอยางตองเปนไปตามขอ 3.3 ขอ 3.5 ขอ 3.5 ขอ 5 และขอ 6 จึงจะถือวาลูกประคบ สมุนไพรรุนนั้นเปนไปตามเกณฑที่กำหนด

101


102

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

7.2.3 การชักตัวอยางและการยอมรับ สำหรับการทดสอบความชื้นและสารที่ระเหยได และ จุลินทรีย ใหชักตัวอยางโดยวิธีสุมจากรุนเดียวกัน จำนวน 4 ตัวอยาง นำมาทำเปนตัวอยางรวม เมื่อ ตรวจสอบแลวตัวอยางตองเปนไปตามขอ 3.4 และขอ 3.6 จึงจะถือวาลูกประคบสมุนไพรรุนนั้นเปนไป ตามเกณฑทกี่ ำหนด 7.3 เกณฑตดั สิน ตัวอยางลูกประคบสมุนไพรตองเปนไปตามขอ 7.2.1 ขอ 7.2.2 และขอ 7.2.3 ทุกขอ จึงจะถือวา ลูกประคบสมุนไพรรุนนั้นเปนไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนนี้ 8.

การทดสอบ 8.1 การทดสอบลักษณะทัว่ ไป 8.1.1 ใหแตงตัง้ คณะผตู รวจสอบ ประกอบดวยผทู ม่ี คี วามชำนาญในการตรวจสอบลูกประคบ สมุนไพรอยางนอย 5 คน แตละคนจะแยกกันตรวจและใหคะแนนโดยอิสระ 8.1.2 วางตัวอยางลูกประคบสมุนไพร แลวตรวจพินจิ ดูลกั ษณะภายนอก แกะหอลูกประคบ สมุนไพรออกแลวตรวจพินิจอีกครั้ง 8.1.3 หลักเกณฑการใหคะแนน ใหเปนไปตามตารางที่ 1 8.2 การทดสอบผาหอลูกประคบ ใหตรวจพินิจ 8.3 การทดสอบสมุนไพร สิง่ แปลกปลอม จุลนิ ทรีย การบรรจุ และเครือ่ งหมายและฉลาก ใหตรวจพินิจและนับชนิด 8.4 การทดสอบความชื้นและสารที่ระเหยได ใหใชวธิ ที ดสอบตาม AOAC หรือวิธที ดสอบซึง่ เปนทีย่ อมรับ 8.5 การทดสอบน้ำหนักสุทธิ ใหใชเครื่องชั่งที่เหมาะสม ตารางที่ 1 หลักเกณฑการใหคะแนน (ขอ 8.1.3) ลักษณะที่ ตรวจสอบ ลักษณะทัว่ ไป

เกณฑทกี่ ำหนด

ตองเปนผาหอรูปทรงตางๆ ภายในบรรจุสมุนไพรแหง หลายชนิดรวมกัน ปลายผาตองรวบ แลวมัดใหแนน ทำเปนดามจับ หรือในกรณีทำเปน รูปทรงอืน่ ๆ ตองปด ใหแนน มีกลิน่ หอมของน้ำมันหอมระเหยของสมุนไพรทีใ่ ช ผาหอลูกประคบ ตองเปนผาฝายหรือผาดิบซึ่งมีเนื้อผาแนนพอที่จะไมให สมุนไพรรวงออกมา สมุนไพร ตองแหง มีขนาดชิน้ เล็กๆ และตองมีพชื สมุนไพรหลัก อยางนอย 3 ชนิด ไดแก ไพล ขมิน้ ชัน และตะไคร ความชืน้ และ ตองอยรู ะหวางรอยละ 7-14 โดยน้ำ-หนัก สารทีร่ ะเหย สิง่ แปลกปลอม ตองไมพบสิ่งแปลกปลอมที่ไมใชสวนประกอบของลูกประคบ สมุนไพร เชนแมลง ดิน หิน เศษโลหะ จุลนิ ทรีย ตองไมมีราปรากฏใหเห็นอยางชัดเจน

ระดับการตัดสิน (คะแนน) ดีมาก

ดี

พอใช ตองปรับปรุง

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ภาคผนวก ก.

สุขลักษณะ (ขอ 4.1)

1.

สถานทีต่ งั้ และอาคารผลิต 1.1 สถานที่ตัวตั้งอาคารและที่ใกลเคียง อยูในที่ที่จะไมทำใหลูกประคบสมุนไพรที่ผลิตเกิดการ ปนเปอ นไดงา ย โดย 1.1.1 สถานทีต่ วั ตัง้ อาคารและบริเวณโดยรอบ สะอาด ไมมนี ้ำขังแฉะและสกปรก 1.1.2 อยหู า งจากบริเวณหรือสถานทีท่ มี่ ฝี นุ เขมา ควัน มากผิดปกติ 1.1.3 ไมอยใู กลเคียงกับสถานทีน่ า รังเกียจ เชน บริเวณเพาะเลีย้ งสัตว แหลงเก็บหรือกำจัดขยะ 1.2 อาคารผลิตมีขนาดเหมาะสม มีการออกแบบและกอสรางในลักษณะทีง่ า ยแกการบำรุงรักษา การ ทำความสะอาด และสะดวกในการปฏิบตั งิ านโดย 1.2.1 พื้น ฝาผนัง และเพดานของอาคารสถานที่ผลิตควรกอสรางดวยวัสดุที่คงทน เรียบ ทำความสะอาด และซอมแซมใหอยใู นสภาพทีด่ ตี ลอดเวลา 1.2.2 แยกบริเวณผลิตลูกประคบสมุนไพรออกเปนสัดสวน ไมควรอยูใกลหองสุขา ไมควร มีสิ่งของที่ไมใชแลวหรือไมเกี่ยวของกับการผลิตอยูในบริเวณที่ผลิต 1.2.3 พืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านไมแออัด มีแสงสวางเพียงพอ และมีการระบายอากาศทีเ่ หมาะสม

2.

เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และอุปกรณในการผลิต 2.1 ภาชนะหรืออุปกรณในการผลิตทีส่ มั ผัสกับสมุนไพรและลูกประคบสมุนไพร ทำจากวัสดุทไี่ มเปน สนิม ลางทำความสะอาดไดงา ย 2.2 เครือ่ งมือ เครือ่ งจักร และอุปกรณทใี่ ช สะอาด เหมาะสมกับการใชงาน ไมกอ ใหเกิดการปนเปอ น ติดตัง้ ไดงา ย มีปริมาณเพียงพอ รวมทัง้ สามารถทำความสะอาดไดงา ยและทัว่ ถึง

3.

การควบคุมกระบวนการผลิต 3.1 วัตถุดบิ และสวนผสมในการทำ สะอาด มีคณ ุ ภาพดี มีการลางหรือทำความสะอาดกอนนำไปใช 3.2 การผลิต การเก็บรักษา การขนยาย และการขนสงลูกประคบสมุนไพร ใหมกี ารปองกันและ การปนเปอ น และการเสือ่ มเสียของลูกประคบสมุนไพร

4.

การสุขาภิบาล การบำรุงรักษา และการทำความสะอาด 4.1 น้ำทีใ่ ชลา งทำความสะอาดเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร อุปกรณ และมือของผผู ลิตลูกประคบสมุนไพร ควรเปนน้ำสะอาดและมีปริมาณเพียงพอ 4.2 มีวธิ กี ารปองกันและกำจัดสัตวนำเชือ้ แมลง และฝนุ ผง ไมใหเขาในบริเวณทีท่ ำตามความเหมาะสม 4.3 มีการกำจัดขยะ สิง่ สกปรก และน้ำทิง้ อยางเหมาะสม เพือ่ ไมกอ ใหเกิดการปนเปอ นกลับลงสู ลูกประคบสมุนไพร 4.4 สารเคมีทใี่ ชลา งทำความสะอาดและใชกำจัดสัตวนำเชือ้ และแมลง ใชในปริมาณทีเ่ หมาะสม และ เก็บแยกจากบริเวณที่ผลิตลูกประคบสมุนไพรเพื่อไมใหปนเปอนลงสูลูกประคบสมุนไพรได

103


104

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

5.

บุคลากรและสุขลักษณะของผูปฏิบัติงาน ผูทำลูกประคบสมุนไพรทุกคนตองรักษาความสะอาดสวนบุคคลใหดี เชน สวนเสื้อผาที่สะอาด มีผาคลุมผมเพื่อปองกันไมใหเสนผมหลนรวงลงในลูกประคบสมุนไพร ไมไวเล็บยาว ลางมือใหสะอาด ทุกครัง้ กอนปฏิบตั งิ าน หลังการใชหอ งสุขาและเมือ่ มือสกปรก รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

บัวบก 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่ออังกฤษ: ชื่อพอง: ชื่อทองถิ่น: สวนทีใ่ ชเปนยา:

Centella asiatica (L.) Urb. Umbelliferae (Apiaceae) Asiatic pennywort, Indian pennywort, gotu kola, centella, hydrocotyle, water pennywort, waternavel Hydrocortyle asiatica L. ผักแวน ผักหนอก ปะหนะ เอขาเดาะ สวนเหนือดิน หรือทัง้ ตน

เอกสารอางอิง 1. ลีนา ผูพัฒนพงศ, กองกานดา ชยามฤต และธีรวัฒน บุญทวีคุณ (คณะบรรณาธิการ). ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2544) สำนักวิชาการปาไม. กรมปาไม. พิมพครั้งที่ 2. บริษัท ประชาชน จำกัด. กรุงเทพฯ. 2544. หนา 118. 2. World Health Organization. Herba Centellae. In: WHO monographs of selected medicinal plants. Vol. 1. 1999. p. 77-85.

2. ลักษณะพืช ลักษณะทางพฤกษศาสตร: พืชลมลุกอายุหลายป มักขึน้ ตามทีช่ นื้ แฉะ ลำตนเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน แตกรากฝอยตามขอ ใบ ใบของสมุนไพรบัวบกมีลักษณะเปนใบเดี่ยวเรียงสลับหรือออกเปนกระจุกๆ ละ 3-5 ใบ ใบรูปไต เสนผาศูนยกลาง 2-5 เซนติเมตร ขอบใบหยัก กานใบยาวชูขนึ้ ดอก ดอกมีสมี ว ง ออกเปนชอตามซอกกานใบ ชอหนึง่ มี 2-3 ดอก มีใบประดับรูปรีหมุ อยู ดอก มีขนาดเล็ก กลีบดอกรูปไข สีมว งเขม ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร กานชอดอกสัน้ ผล ผลมีสเี ขียวหรือขาว คอนขางกลม ขนาดเล็ก ยาวประมาณ 2.5 มิลลิเมตร เมือ่ แกแตกได เอกสารอางอิง 1. http://www2.doae.go.th/library/vegetable/www/Plant/buabog.htm 2. นันทวัน บุณยะประภัศร สมุนไพรไมพนื้ บาน. พิมพครัง้ ที่ 1. บริษัทประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ. 2541.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ช: ทัง้ ตน รสและสรรพคุณยาไทย: มีรสหอมหวาน ขมเล็กนอย ทัง้ ตน ใชรกั ษาอาการช้ำใน เปนยาบำรุงหัวใจและบำรุงกำลัง รักษาอาการ ออนเพลีย เมื่อยลา ขับปสสาวะ เปนยาขับปสสาวะ รักษาโรคผิวหนัง ใชรักษาบาดแผล รักษา มุตกิด ระดูขาว รักษาพิษเนือ่ งจากถูกงูกดั และรักษาอาการเริม่ เปนบิด ทำใหโลหิตแผซา น รักษาอาการทองรวง ใชผสมรวมกับสมุนไพรอื่นๆ เปนยารักษาอาการรอนในกระหายน้ำ รักษาเด็กที่เปนซางตัวรอนและ ผอมแหง รักษาโรคปากเปอ ย ปากเหม็น เจ็บคอ น้ำลายไหล เอกสารอางอิง 1. วิทย เทีย่ งบูรณธรรม. พจนานุกรมสมุนไพรไทย พิมพครัง้ ที่ 5. บริษัท รวมสาสน จำกัด. กรุงเทพฯ. 2542. หนา 418-423.

105


106

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. การคัดเลือกสายพันธุ ไมมีรายงานการคัดเลือกสายพันธุ

5. การศึกษาวิธขี ยายพันธุ วิธปี ลูก การขยายพันธ:ุ การปกชำ การเพาะเมล็ด ไหล การปลูก: ระบบรากของตนสมุนไพร “บัวบก” ลึกประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร บัวบกชอบดินทีม่ คี วามชมุ ชืน้ สูงมากและชอบรมเงา ตนจะเจริญเติบโตและขยายพันธุดวยการแตกไหล ตนบัวบกสามารถปลูกได ตลอดป มีอายุเก็บเกี่ยว 1-2 เดือน นิยมปกชำดวยตนออนๆ ที่งอกจากไหลจะแพรขยายไดรวดเร็ว หลังจากตนตัง้ ตัวไดแลวใหใสปยุ ยูเรีย สามารถปลูกไดในกระถางและภาชนะอืน่ ๆ โรคแมลงที่สำคัญ: หนอนกัดกินใบ หนอนชนิดนี้จะกัดกินใบจนเหลือแตกานใบ ถาระบาดมากจะทำความเสียหาย ทัว่ แปลง เมือ่ ตัวเต็มวัยเปนผีเสือ้ กลางคืน ขนาดเล็ก ลำตัวยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร เมือ่ กางปกเต็ม ทีก่ วางประมาณ 2 เซนติเมตร หัวสีน้ำตาล ลำตัวสีน้ำตาลออน ปลายปกหนาและปกหลังมีสนี ้ำตาลอมเทา เอกสารอางอิง 1. http://www2.doae.go.th/library/vegetable/www/Plant/buabog.htm

6. การศึกษาการเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว หลังจากปลูกประมาณ 60-90 วัน สามารถทำการเก็บเกีย่ วได โดยใชเสียมเหล็กขุดเซาะบริเวณใตราก แลวดึงเอาตนบัวบกออกมาลางน้ำ ทำความสะอาดเก็บใบเหลืองออก ตนทุนการผลิตและผลตอบแทน: ตนทุนการผลิตทั้งหมด 5,340 บาท/ไร ผลผลิตรวม 5,000 กิโลกรัม/ไร ราคาที่เกษตรกรขายได 7 บาท/กิโลกรัม รายไดรวม 35,000 บาท/ไร รายไดสุทธิ 29,660 บาท/ไร เอกสารอางอิง 1. http://www2.doae.go.th/library/vegetable/www/Plant/buabog.htm

7. สารสำคัญในสมุนไพร สารสำคัญในสมุนไพร “บัวบก” เปนสารกลมุ triterpenes ไดแก สาร asiatic acid และ madecassic acid ทัง้ นี้ ยังพบสารกลมุ กลัยโคไซดของ triterpene ไดแก asiaticoside และ madecasssoside เอกสารอางอิง 1. World Health Organization. Herba Centellae. In: WHO monographs of selected medicinal plants. Vol. 1. 1999. p. 77-85.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร WHO monographs of selected medicinal plants ไดกำหนดมาตรฐานของสมุนไพร “บัวบก” ไวดังนี้ รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม ปริมาณเถารวม ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด ปริมาณสารสกัดดวยน้ำ ปริมาณสารสกัดดวยเอธานอล ปริมาณ triterpene ester glycosides (asiaticoside & madecassoside)

ไมเกิน (%w/w) 2.0 19.0 6.0

ไมนอ ยกวา (%w/w)

6.0 9.5 2.0

เอกสารอางอิง 1. World Health Organization. Herba Centellae. In: WHO monographs of selected medicinal plants. Vol. 1. 1999. p. 77-85.

9. การศึกษาฤทธิท์ างเภสัชวิทยา แหลงขอมูล 1. http://medplant.mahidol.ac.th/pubhealth/index.html 2. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/entrez/query.fcgi?db=PubMed

9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง 9.1.1 ฤทธิใ์ นการรักษาแผล ฤทธิใ์ นการรักษาแผลของบัวบกมาจากฤทธิข์ องสารกลมุ triterpene ทัง้ หลาย ไดแก สาร asiaticoside สาร asiatic acid และสาร madecassic acid โดยสารเหลานีม้ ฤี ทธิใ์ นการกระตนุ การสราง human collagen I ซึ่งเปนโปรตีนที่เกี่ยวของกับการหายของแผล และจากการศึกษาใน monolayer culture ของ fibroblast พบวาสารสกัดบัวบกกระตนุ การสราง collagen นอกจากนี้ พบวา สาร asiaticoside เรงการหายของแผลหลังผาตัดโดยเรงกระบวนการสรางเนื้อเยื่อใหม (cicatricial action) เมือ่ ทา asiaticoside ลงบนผิวหนังของหนูทเี่ ปนแผล จะเรงการหายของแผลและเพิม่ tensile strength ของผิวหนังทีส่ รางใหม(1) สารสกัดบัวบก และสาร asiaticoside ยังมีประโยชนในการรักษาแผลเปนและ keloid โดยพบวา asiaticoside สามารถลดการเกิด fibrosis ของแผล จึงชวยปองกันการเกิดแผลเปนได โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ 2 อยาง คือ เพิม่ การสราง collagen และ acidic mucopolysaccharides และ โดยการยับยัง้ กระบวนการอักเสบของ hypertrophic scars และ keloids(1) จากการศึกษาดวยวิธี gene microarrays และ real-time RT-PCR พบวาสารสกัด สมุนไพร “บัวบก” และสารสำคัญกลมุ triterpenoid ทัง้ สีช่ นิดของบัวบก ชวยในการเพิม่ expression ของ gene ใน cultured human fibroblast ทีเ่ กีย่ วของกับการสรางเสนเลือดใหม (angiogenesis) และ remodelling ของ extracellular matrix รวมทัง้ growth factor genes หลายชนิด(2)

107


108

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.1.2 ฤทธิร์ กั ษาแผลในกระเพาะอาหาร เมือ่ ใหสารสกัดสมุนไพร “บัวบก” ทางปากในขนาดตางๆ แกหนูขาว พบวาสามารถชวยลด พื้นที่ของแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดจากความเครียดเนื่องจากความเย็นได โดยฤทธิ์นี้มีความสัมพันธ กับขนาดของสารสกัดทีใ่ ห โดยคาดวากลไกการออกฤทธิน์ า จะเนือ่ งจากฤทธิก์ ดระบบประสาทสวนกลางของ บัวบก โดยการเพิม่ ความเขมขนของสารสือ่ ประสาท GABA (g-aminobutyric acid) ในสมอง(1) เมือ่ ใหสารสกัดบัวบกขนาด 0.05 0.25 และ 0.5 ก./กก. ทางปากแกหนูจากนัน้ จึงให เอธานอล 50% พบวาจะชวยลดการเกิดแผลในกระเพาะอาหารไดถงึ 58-82% และฤทธิน์ นี้ า จะเกิดเนือ่ ง จากการลด damaging effect ของอนุมลู อิสระตอเซลลของกระเพาะอาหาร เนือ่ งจากพบวาการ activity ของเอนไซม myeloperoxidase ของชัน้ mucosa ของกระเพาะลดลงโดยมีความสัมพันธกบั ขนาดของ สารสกัดที่ให(3) สารสกัดสมุนไพร “บัวบก” และสาร asiaticoside สามารถลดพืน้ ทีแ่ ผลในกระเพาะ หนูเนื่องจากไดรับกรดน้ำสม (acetic acid) ได โดยมีลดฤทธิ์ของเอนไซม myeloperoxidase ของ เนือ้ เยือ่ แผล รวมทัง้ เพิม่ expression ของ basic fibroblast growth factor ในเนือ้ เยือ่ แผล ซึง่ จำเปน สำหรับการสรางเสนเลือดใหม(4) 9.1.3 ฤทธิล์ ดการอักเสบ สมุนไพร “บัวบก” มีสาร triterpenes หลายชนิด ไดแก สาร asiaticoside สาร madecassic acid สาร madecassoside และสาร asiatic acid ซึง่ มีฤทธิต์ า นการอักเสบ(5) 9.1.4 ฤทธิต์ า นฮีสตามีน สารสกัดบัวบกดวยแอลกอฮอลผสมน้ำ (1:1) สามารถตานอาการแพได จึงชวยบรรเทา อาการเจ็บปวด หรืออักเสบเนือ่ งจากแมลงกัดตอย(6) 9.1.5 ฤทธิฆ์ า เชือ้ แบคทีเรียสาเหตุการเกิดหนอง สารสกัดบัวบกดวยน้ำรอน สามารถฆาเชือ้ Staphytococcus aureus ทีเ่ ปนสาเหตุของ การเกิดหนอง ดังนัน้ ใบบัวบกจึงสามารถชวยปองกันการติดเชือ้ ของแผลไดดว ย(7,8) และยังมีผพู บวาสารสกัด บัวบกดวยน้ำ ยับยัง้ เชือ้ S. aureas, beta-streptococcus gr A และ Pseudomonas aeruginosa(9) 9.1.6 ทำใหเลือดหยุดเร็ว สารสกัดบัวบกดวยน้ำทำใหเลือดหยุดเร็ว ทัง้ นี้ คา activated partial thromboplastin time และ prothrombin time ลดลง(10,11) 9.1.7 ฤทธิ์ตอระบบประสาท สาร triterpenoids จากบัวบกมีฤทธิก์ ลอมประสาท(12,13) และสารสกัดบัวบกดวย 70% เอธานอล มีฤทธิก์ ดประสาทอยางออน(14) 9.1.8 ผลตอการเรียนรแู ละความเขาใจและ oxidative stress ของสมอง นักวิจยั จากอินเดียกลมุ หนึง่ ไดวจิ ยั ฤทธิข์ องสารสกัดตางๆ ของบัวบกตอกระบวนการ เรียนรู (cognition = กระบวนการทางจิตทีเ่ กีย่ วของกับการเรียนรู ไดแก การรับรู การใชเหตุผล และการ ตัดสินใจ) ของหนู พบวาการไดรบั สารสกัดดวยน้ำขนาด 200 มก./กก. เปนระยะเวลานาน 14 วันทำให การเรียนรแู ละความจำของหนูดขี นึ้ อีกทัง้ การไดรบั สารสกัดขนาด 200 และ 300 มก./กก. ทำใหระดับ malodialdehyde (MDA) ลดลงและเพิม่ ระดับของ glutathione ในสมองหนูอยางมีนยั สำคัญ(15)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

นอกจากนี้ ยังไดมีการศึกษาผลของสารสกัดดวยน้ำของบัวบกในหนูที่ไดรับสาร pentylenetetrazole (PTZ) เพื่อกระตุนใหเกิดความผิดปกติของการทำงานของสมองแบบโรคลมชัก ซึง่ มีผลตอรบกวนการเรียนรขู องหนู พบวาการไดรบั สารสกัดดวยน้ำของบัวบกขนาด 300 มก./กก. เมือ่ ใหทางปากสามารถลดอาการชัก และชวยทำใหการเรียนรขู องหนูทไี่ ดรบั PTZ ดีขนึ้ (16) ตอมา นักวิจัยกลุมนี้ไดศึกษาผลของสารสกัดดวยน้ำของบัวบกตอการเรียนรูของหนู ทีไ่ ดรบั สาร streptozotocin (STZ) เขาทาง intracerebrovascular เพือ่ ทำใหมอี าการคลายโรค Alzheimer และมีความผิดปกติของการเรียนรเู นือ่ งจากมีการสรางอนุมลู อิสระขึน้ มาก พบวาการไดรบั สารสกัดดวยน้ำ ของบัวบกขนาด 100 200 และ 300 มก/กก.ชวยเพิม่ ความสามารถในการเรียนรขู องหนูโดยมีความสัมพันธ กับขนาดของสารสกัดทีใ่ ห และสารสกัดขนาด 200 และ 300 มก./กก. ทำใหระดับ MDA ในสมองลดลง ขณะทีร่ ะดับของ glutathione และ catalase เพิม่ ขึน้ (17) ทัง้ นี้ บริษทั Hoechst Aktiengesellschaft ไดจดสิทธิบตั รของสาร asiatic acid เพือ่ ใชในการรักษาโรค dementia และ cognition enhancer (EP 0383 171 A2)(18) 9.1.9 ฤทธิ์ตานการแบงตัวของเซลลผิวหนัง จากการศึกษาในหลอดทดลอง (in vitro) โดยใชเซลลเพาะเลี้ยงชนิด SVK-14 keratinocytes แสดงใหเห็นวาสารสกัดน้ำจากบัวบกใหผลอยางออนในการตานการแบงตัวของเซลล ผิวหนังชัน้ keratin (คา IC50 = 209.9 มก./มล.) แตสารสำคัญ 2 ชนิดในบัวบกคือ สาร medecassoside และสาร asiaticoside ใหผลใกลเคียงกับสาร dithranol ทีใ่ ชเปนสารเปรียบเทียบ โดยสารทัง้ 3 มีคา IC50 = 8.6 8.4 และ 5.2 มิลลิโมล ตามลำดับ จากผลการศึกษานีแ้ สดงวาบัวบกอาจมีศกั ยภาพในการนำมา พัฒนาเปนยาทาภายนอก รักษาโรคสะเก็ดเงินหรือเดิมเรียกโรคเรือ้ นกวาง (anti-psoriatic agent) ซึง่ เปน โรคผิวหนังทีม่ กี ารแบงตัวของชัน้ keratin เร็วกวาปกติประมาณ 10 เทา(19) 9.1.10 ฤทธิต์ า นไวรัส Herpes simplex จากการศึกษาโดยวิธี Plaque reduction assay พบวาสารสกัดดวยน้ำของบัวบกมีฤทธิ์ ตาน herpes siplex virus (HSV) ทัง้ HSV-1 และ HSV-2 และแสดงฤทธิย์ บั ยัง้ การสราง HSV-2 virion จาก infected Vero cells ดวย ทัง้ นี้ สารสกัดบัวบกและใบมะมวงเสริมฤทธิข์ อง acyclovir สารสำคัญ ทีเ่ ปนสารออกฤทธิค์ อื สาร asiaticoside สำหรับสารสำคัญในมะมวงคือ mangiferin(20) 9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) 9.2.1 การรักษาอาการอักเสบ เมื่อใหผูปวยที่เปนโรคไขขออักเสบรับประทานพบวาใชไดผล(21) 9.2.2 การรักษาแผลทีผ่ วิ หนัง • การทดลองใชครีมบัวบกทาแผลอักเสบหลังการผาตัด ในคนไขโรคระบบทางเดิน ปสสาวะ จำนวน 14 ราย โดยแบงทาวันละ 2 ครัง้ เปนระยะเวลานาน 2 สัปดาห ถึง 2 เดือน พบวาแผลหาย 4 ราย (28.6%) ใน 2 สัปดาห 4 ราย (28.6%) ใน 2-4 สัปดาห 5 ราย (35.7%) ใน 4-8 สัปดาห และไมหายหลังใชยา 2 เดือน 1 ราย (7.1%) ซึง่ เกิดจากแผลกดทับ และไมพบอาการแทรกซอน(22) • ไดมกี ารรายงานการใชครีมรักษาแผลในคนไขจำนวน 22 คน ซึง่ มีขนาดแผลกวาง 1-12 เซนติเมตร ยาว 1-19 เซนติเมตร และลึก 0.5-3.7 เซนติเมตร โดยสังเกตผล

109


110

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

ในระยะเวลา 1 2 และ 3 สัปดาห พบวาผลการรักษาในสัปดาหที่ 1 ขนาดแผลลดลง 24% สัปดาหที่ 2 ขนาดแผลลดลง 37% และสัปดาหที่ 3 ขนาดแผลลดลง 47% โดยความลึกของแผลนัน้ ลดลงไดเร็วกวาความกวางและยาว นอกจากนีใ้ นสัปดาห ที่ 3 คนไข 17 ราย มีแผลทีห่ ายสนิท สวน 5 ราย ขนาดแผลลดลงแตไมหายดี(23) • มียาแผนปจจุบันผลิตจากสารสกัดบัวบกเพื่อใชรักษาแผลจำหนายทั้งในประเทศ และตางประเทศ 9.2.3 การรักษาแผลในทางเดินอาหาร เมือ่ ให Titrated extract ของสมุนไพร “บัวบก” แกผปู ว ยโรคแผลในกระเพาะอาหาร และในลำไสในขนาด 60 มิลลิกรัม/คน ประมาณ 93% ของผปู ว ยมีอาการดีขนึ้ และเมือ่ สองกลองหรือ x-rays ดูแผล พบวา 73% ของแผลจะหาย(1) 9.2.4 การรักษาความผิดปกติของหลอดเลือดดำ มีรายงานการวิจยั ทางคลินกิ หลายรายงานวิจยั ทีแ่ สดงใหเห็นถึงประสิทธิผลของ total triterpenic fraction ของสมุนไพร “บัวบก” (TTFCA) ขนาด 90-180 มก./วัน ในการบรรเทาอาการทีเ่ กิด จากความผิดปกติของระบบหลอดเลือดดำ ไดแก • venous hypertension ชวยลด capillary filtration rate อาการบวมของขอเทา ซึง่ สงผลทำให microcirculation ทีข่ าของผปู ว ยดีขน้ึ ปริมาตรของขาลดลง ภาวะ venous microangiopathy ดีขนึ้ และชวยลด capillary permeability ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในผูปวยโรคนี้ (24-27) • venous insufficiency สามารถชวยลดอาการบวมของขา และความรูสึกหนัก ทีข่ า และลดการขยายตัวของหลอดเลือดดำ(28) • สามารถชวยลดจำนวนของ circulating endothelial cells ในผูปวย post phlebitic syndrome(29) • สามารถชวยลดอัตราการบวมของขอเทา ในผปู ว ย mild to moderate superficial venous disease ที่มีเสนเลือดขอด ซึ่งตองเดินทางดวยเครื่องบินชั้นประหยัด นานกวา 3 ชัว่ โมง(30) 9.2.5 ฤทธิร์ กั ษาแผลในปาก จากการศึกษาวิจยั เพือ่ พัฒนาตำรับเจลรักษาแผลในปากจากสารสกัดใบบัวบกสด พบวา ตำรับทีใ่ ชยาพืน้ ซึง่ เตรียมจาก C934P ซึง่ มีคณ ุ สมบัตทิ างกายภาพและมีความคงตัวดีการศึกษาทางคลินกิ โดยใชตำรับเจลทีม่ คี วามเขมขน 0.5 1.0 และ 2.0% เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑยาแผนปจจุบนั triamcinolone acetonide (TA) และยาหลอกในผูปวยจันวน 87 คน พบวาตำรับเจลของสารสกัดใบบัวบกทั้งสาม ความเขมขนและตำรับTA ใหผลใกลเคียงกันในอัตราการลดขนาดของแผลและใหผลเร็วกวายาหลอก(31) เอกสารอางอิง 1. World Health Organization. Herba Centellae. In: WHO monographs of selected medicinal plants. Vol. 1. 1999. p. 77-85. 2. Coldren CD, Hashim P, Ali JM, Oh SK, Sinsky AJ, Rha C. Gene expression changes in the human fibroblast induced by Centella asiatica triterpenoids. Planta Med. 2003; 69(8): 725-32. 3. Cheng CL, Koo MW. Effect of Centella asiatica on ethanol induced gastric mucosal lesion in rats. Life Sci 2000; 67(21): 2647-53.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. Cheng CL, Guo JS, Luk J, Koo MW. The healing effects of Centella extract and asiaticoside on acetic acid induced gastric ulcer in rats. Life Sci. 2004; 74(18): 2237-49. 5. Vogel HG, De Souza N.J., D’ Sa A. Effect of terpenoids isolated from Centella asiatica on granuloma tissue. Hoechst A.-G., Frankfurt/Main, Fed Rep Ger. Acta Ther 1990; 16(4): 285-98. 6. Mokkhasmit M, Ngarmwathana W, Sawasdimongkol K, Permphiphat U. Pharmacological evaluation of Thai medicinal plants. (continued). J Med Assoc Thailand 1971; 54(7): 490-504. 7. Ray PG, Maijumdar SK. Antimicrobial activity of some Indian plants. Econ Bot 1976; 30: 317-20. 8. Yang HC, Chang HH, Weng TC. Influence of several Chinese drugs on the growth of some pathologic organisims: preliminary report. J Formosan Med Assoc 1953; 52: 109-12. 9. Leungsakul S. Antipyogenic bacterial activities of extracts from species of medicinal plants. Symposium on Science and Technology of Thailand, 13 th, Songkhla, Thailand, Oct 20-22, 1987. 10. Songsriphiphat K, Saengngam C, Saiwichian C, et al. Effect of some medicinal plants on human bloodclotting in vitro. Special project for the degree of B. Sc. (Pharm.), Faculty of Pharmacy, Mahidol Univ., 1968. 11. Ravivongse R, Triratana T, Thebtaranonth Y, Chiewsilp P. The testing of herb’s extraction in intrinsic pathway of hemostatic mechanism. Report submitted to Mahidol University, Thailand, 1988. 12. Ramaswamy AS, Periasamy SM, Basu NK. Pharmacological studies on Centella asiatica. J Res Indian Med 1970; 4: 160. 13. Rastogi RP, Dhar ML. Chemical examination of Centella asiatica. II. Brahmoside and brahminoside. Indian J Chem 1963; 1: 267-9. 14. Adesina SK. Studies on some plants used as anticonvulsants in American and African traditional medicine. Fitoterapia 1982; 53: 147-62. 15. Veerendra Kumar MH, Gupta YK. Effect of different extracts of Centella asiatica on cognition and markers of oxidative stress in rats. J Ethanopharmacol 2002; 79(2): 253-60. 16. Gupta YK, Veerendra Kumar MH, Srivastava AK. Effect of Centella asiatica on pentyleneterazole-induced kindling, cognition and oxidative stress in rats. Pharmacol Biochem Behav 2003; 74(3): 579-85. 17. Veerendra Kumar MH, Gupta YK. Effect of Centella asiatica on cognition and oxidative stress in an intracerebroventricular streptozotocin model of Alzheimer’s disease in rats. Clin Exp Pharmacol Physiol 2003; 30(5-6): 336-42. 18. Lee MK, Kin SR, Sung SH, Lim D, et al. Asiatic acid derivatives protect cultured cortical neurons from glutamate-induced cytotoxicity, Res Commun Mol pathol Pharmacol 2000; 108(1-2): 75-86. 19. Sampson JH, Raman A, Karlsen G Navsaria H, et al. In vitro keratinocyte antiproliferant effect of Centella asiatica extract and triterpenoid saponin. Phytomedicine 2001; 8(3): 230-5. 20. Yoosook C, Bunyapraphatsara N, Boonyakiat Y, Kantasuk C. Anti-herpes simplex virus activities of crude water extracts of Thai medicinal plants. Phytomedicine 2000; 6(6): 411-9. 21. Dabral PK, Sharma RK. Evaluation to the role of Rumalaya and Geriforte in chronic arthritis, a preliminary study. Probe 1983; 22(2): 120-7. 22. วีระสิงห เมืองมั่น, กฤษฎา รัตนโอฬาร. การใชครีมใบบัวบกรักษาแผลอักเสบโดยการทาภายนอก: หนังสือรวบรวมผลการวิจัย โครงการพัฒนาการใชสมุนไพรและยาไทยทางคลินิก. มหาวิทยาลัยมหิดล. 2525, p36. 23. Kosalwatna S, Shaipanich C, Bhanganada K. The effect of one percent Centella asiatica on chronic ulcers. Siriraj Hosp Gaz 1988; 40(6): 455-61. 24. Belcaro GV, Grimaldi R, Guidi G. Improvement of capillary permeability in patients with venous hypertension after treatment with TTFCA. Angiology 1990; 41(7): 533-40. 25. Cesarone MR, Belcaro G, De Sanctis MT, Incandela L, et al. Effects of the total triterpenic fractio of Centella asiatica in venous hypertensive microangiopathy: a prospective, placebo-controlled, randomized trial. Angiology 2001; 52 Suppl 2: S15-18.

111


112

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

26. Cesarone MR, Belcaro G, Rulo A, Griffin M, et al. Micorcirculatory effects of total triterpenic fraction of Centella asiatica in chronic venous hypertension: measurement by laser Doppler, TcPO2-CO2, leg volumetry. Angology 2001; 52 Suppl 2: S45-8. 27. De Sanctis MT, Belcaro G, Incandela L, Cesarone MR. Treatment of edema and increased capillary filtration in venous hypertension with total triterpenic fraction of Centella asiatica: a clinical, prospective, placebo-controlled, randomized, dose-ranging trial. Angiology 2001: 52 Suppl 2: S55-9. 28. Pointel JP, Boccalon H, Cloarec M, Ledevehat C, et al. Titrated extract of Centella asiatica (TECA) in the treatment of venous insufficiency of the lower limbs. Angiology 1987; 38(1 Pt 1: 46-50. 29. Montecchio GP, Samaden A, Carbone S, Vigotti M, et al. Centella asiatica triterpenic fraction (CATTF) reduces the number of circulating endothelial cells in subjects with post phlebitic synrome. Haematologica 1991; 76(3): 256-9. 30. Cesarone MR, Incandela L, De Sanctis MT, Belcaro G, et al. Flight microangiopathy in medium- to longdistance flights: prevention of edema and microcirculation alterations with total triterpenic fraction of Centella asiatica. Angiology 2001; 52 Suppl 2: S33-37. 31. http://www.medplant.mahidol.ac.th/active/shownews.asp?id=14 ยอยขาวงานวิจัย จาก Thai J Pharm Sci 1998; 22(3):S16

10. การศึกษาทางพิษวิทยา 10.1 ไดมีผูทดลองฉีดสารสกัดดวยแอลกอฮอลและน้ำ ในอัตราสวน 1:1 เขาชองทองหนูถบี จักรพบวาหนูถบี จักรสามารถทนยาไดถงึ 250 มก./กก.(32) 10.2 พบฤทธิ์คุมกำเนิดในหนูถีบจักร(33,34) จึงควรระวังไมใหหญิงมีครรภกินในปริมาณที่สูงๆ 10.3 มีรายงานวาการทา asiaticoside บนผิวหนังของหนูไรขน (hairless mice) ทำใหเกิด epidermal tumor ได(35) ในเรือ่ งนีค้ วรมีการศึกษาเพิม่ เติมถึงความเปนไปไดในการ กอมะเร็งผิวหนังของสารนี้และสารสกัดบัวบก 10.4 จากการทดสอบการเปน sensitizer สารสกัดหยาบของบัวบกและสาร triterpenoid compounds ไดแก asiaticoside, asiatic acid, madecassic acid ในหนูตะเภา พบวาฤทธิใ์ นการเปน sensitizer ออนมาก ความเสีย่ งในการเกิด contact sensitivity จากสารเหลานีจ้ งึ ต่ำ(36) เอกสารอางอิง 32. Adesina SK. Studies on some plants used as anticonvulsants in American and African traditional medicine. Fitoterapia 1982; 53: 147-62. 33. Dutta T, Busa UP. Crude extracts of Centella asiatica and products derived from its glycosides as oral antifertility agents. India J Exp Biol 1968; 6: 182. 34. Matsu ADS, Hoskin S, Kashiwagi M, et al. A survey of natural products from Hawaii and other areas of the Pacific for an antifertility effect in mice. Int S Klin Pharmakol Ther Toxikol 1971; 5: 65. 35. Laerum OD, Iversen OH. Reticuloses and epidermal tumors in hairless mice after topical skin applications of cantharidin and asiaticoside. Cancer Res 1972; 32(7): 1463-9. 36. Hausen BM. Centella asiatica (Indian pennywort), an effective therapeutic but a weak sensitizer. Contact Dermatitis 1993; 29(4): 175-9.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: หามใชในคนที่แพสมุนไพรในวงศนี้(1) ขอควรระวัง: จากรายงานการศึกษาทีพ่ บวาสาร asiaticoside ทีท่ าบนผิวหนู ทำใหเกิดเนือ้ งอกบนผิวหนังได และ ยังไมมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อยืนยันหรือหักลางฤทธิ์กอมะเร็งผิวหนังของบัวบก จึงควรหลีกเลี่ยงการใช ติดตอกันเปนเวลานาน อาการขางเคียง: ผลิตภัณฑจากสมุนไพรบัวบกทีช่ อื่ Madecassol ทีใ่ ชทาผิวหนังรักษาแผล เคยมีรายงานวาทำใหเกิด allergic contact dermatitis ได(37) เอกสารอางอิง 37. Eun HC, Lee AY. Contact dermatitis due to madecassol. Contact Dermatitis 1985; 13(5): 310-3.

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ขอบงใช: ในสหรัฐอเมริกามี dki ผลิตภัณฑเสริมอาหาร Gotu kola จำหนาย โดยใชเพือ่ เรงการหายของแผล และชวยใหการทำงานของเสนเลือดดำดีขึ้น(38) ขนาดและวิธใี ช: สารสกัดทีค่ วบคุมใหมปี ริมาณของ lki triterpene compounds 30-40% ในขนาด 60-180 มก./วัน โดยแบงให 3 ครัง้ ตอวัน(38) ผงบัวบกแหง ครัง้ ละ 0.33-0.68 กรัม หรือนำมาเตรียมเปนยาชง รับประทานวันละ 3 ครัง้ (1) ผลิตภัณฑใชภายนอก ใชทาบริเวณทีเ่ ปน เอกสารอางอิง 38. http://www.supplementwatch.com รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก

113


114

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

พริกไทย 1. ขอมูลทัว่ ไป ชือ่ วิทยาศาสตร: ชื่อวงศ: ชื่ออังกฤษ: ชื่อทองถิ่น:

Piper nigrum L. Piperaceae Pepper, Black pepper, White pepper, Pepper corn พริกนอย พริก พริกไทยดำ พริกไทยลอน

เอกสารอางอิง 1. รงุ รัตน เหลืองนทีเทศ. พืชเครื่องเทศและสมุนไพร. สำนักพิมพโอเดียนสโตร พิมพครัง้ ที่ 1. 2540

2. ลักษณะพืช ลักษณะ: พริกไทย มีลกั ษณะเปนไมเถาเนือ้ แข็ง เลือ้ ยเกาะ งอกรากทีข่ อ ใบ ใบของพริกไทย เปนเดีย่ ว เรียงสลับ รูปวงรี โคนใบมนหรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลม กวาง 5-14 ซม. ยาว 13-18 ซม. ใบประดับ ใบประดับมีรูปรูปขอบขนานแกมรูปดาบ ดอก ดอกของพริกไทยมีลกั ษณะเปนดอกชอเชิงลดออกทีซ่ อกใบ ไมมกี ลีบเลีย้ งและกลีบดอก ผล ผลสดมีลกั ษณะเปนรูปทรงกลม เมือ่ สุกสีแดง เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยะประภัศร สมุนไพรไมพื้นบาน. พิมพครัง้ ที่ 1. บริษัทประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ. 2542.

3. สวนทีใ่ ช สรรพคุณตามตำราการแพทยแผนไทย สวนทีใ่ ชประโยชน: ผลแหง สรรพคุณ: เมล็ด เมล็ดของพริกไทยมีสรรพคุณในการแกจกุ เสียด แนนทอง ขับลมในลำไสใหผายเรอ ชวย เจริญอาหาร แกกองลม บำรุงธาตุ แกลมอัมพฤกษ แกมตุ กิต แกลมสัตถะวาตะ แกลมอันเนือ่ งจากอวัยวะ สืบพันธุ แกลมมุตฆาต แกเสมหะ เอกสารอางอิง 1. นันทวัน บุณยะประภัศร สมุนไพรไมพนื้ บาน. พิมพครัง้ ที่ 1. บริษทั ประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ. 2542.

4. การคัดเลือกพันธุ สายพันธุ แหลงกำเนิดและกระจายพันธ:ุ พริกไทยมีถนิ่ อยทู างตะวันออกเฉียงใตของประเทศอินเดีย และไดกระจายสพู มาและประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตอื่นๆ โดยเฉพาะที่ประเทศอินโดนีเชียซึ่งเปนแหลงปลูกพริกไทยที่สำคัญของภูมิภาคนี้ ตอมาไดมีการคาขายติดตอกับประเทศจีนและประเทศทางยุโรป พริกไทยจึงกระจายออกไปทั่วโลก


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การคัดเลือกพันธ:ุ 1. พันธซุ าราวัค หรือพันธคุ ชุ ชิง่ หรือพันธมุ าเลเซีย เปนพันธุที่นำมาจากรัฐซาราวัค ประเทศมาเลเซีย มีผลผลิตสูงกวาพันธุพื้นเมืองของไทย มัก ทำเปนพริกไทยดำ สามารถตานทานโรครากเนา โคนเนาไดดี เจริญเติบโตเร็ว และใหผลผลิต สูงประมาณ 9-12 กก./คาง/ป เฉลีย่ ไรละประมาณ 3,600-4,800 กก./ป เปนพันธทุ นี่ ยิ มปลูกกัน มากทีส่ ดุ ลักษณะประจำพันธุ พันธซุ าราวัค มีลกั ษณะคือมีใบเดีย่ ว คอนขางเรียวเปนรูปไข สีเขียวเปนมัน มีรอ งทีก่ า นใบ เสนใบประมาณ 5-7 เสน ดอกออกเปนชออยตู ามขอในทิศตรงกันขามกับใบ ทั้งนี้ ชอดอก 1 ชอ มีดอกเฉลีย่ 64 ดอก ผลมีลกั ษณะเปนชอ ไมมกี า นผลชอผล 1 ชอ มีผลเฉลีย่ 49 ผล ผลมีลกั ษณะกลม เมือ่ สุกจะมีสสี ม เปนสวนใหญ เมล็ดคอนขางกลม มีขนาดเล็ก 2. พันธุซีลอน หรือพันธุศรีลังกา เปนพันธุที่นำมาจากศรีลังกา นิยมปลูกขายเพื่อเปนพริกไทยสดมากกวาทำพริกไทยดำหรือ พริกไทยขาว ลักษณะประจำพันธุ พันธุซีลอน มีลักษณะเปนทรงพุมใหญ ใบมีรูปรางคลายพันธุซาราวัค แตขนาดใบใหญกวาและกวางกวา ลักษณะของยอดจะออกสีแดง ชอดอกและชอผลมีขนาดใหญ และยาวกวาทุกพันธุ คือ ยาวประมาณ 15-17 ซม. ผลมีขนาดเทาๆ กับพันธซุ าราวัค โดยผลสด สีเขียวเขม เมือ่ สุกมีสแี ดงเขม ระบบรากแข็งแรงและทนทานตอโรครากเนาไดดี 3. พันธุปะเหลี่ยน เปนพันธุพื้นเมืองของจังหวัดตรัง ลักษณะประจำพันธุ พันธปุ ะเหลีย่ น มีลกั ษณะเปนทรงพมุ ทึบมาก ใบมีลกั ษณะเล็กรีคอ นขาง ปอม ขอบใบเรียบ ใบออนจะมีจดุ สีเขียวออนกระจายอยทู วั่ ไป ใบแกมสี เี ขียวเขม ขอและกิง่ สัน้ มีการแตกยอดและกิง่ มาก ชอดอกสัน้ ผลถีแ่ ละเล็ก สามารถตานทานโรครากเนาไดดพี อสมควร และตานทานการรบกวนของไสเดือนฝอยไดดี แตผลผลิตจะต่ำกวาพันธทุ นี่ ำมาจากตางประเทศ 4. พันธุพื้นเมืองกระบี่ เปนพันธุดั้งเดิมของจังหวัดกระบี่ ลักษณะประจำพันธุ พันธุพื้นเมืองกระบี่มีลักษณะเปนทรงพุมโปรงกวาพันธุปะเหลี่ยน ใบมี ขนาดเล็กคอนขางกลมปอม มีลกั ษณะคลายพันธปุ ะเหลีย่ น แตแตกยอดและกิง่ นอยกวา ผลผลิต ปานกลาง สภาพแวดลอมที่เหมาะสม: พริกไทยจัดเปนไมเลือ้ ยยืนตน เจริญไดดใี นเขตอากาศรอนชืน้ ทีม่ ปี ริมาณน้ำฝนโดยเฉลีย่ 1,2002,500 มิลลิเมตรตอป ทัง้ นี้ อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมอยรู ะหวาง 25-40 องศาเซลเซียส ทำใหฤดูปลูกทีเ่ หมาะสม อยใู นชวงปลายฤดูฝนถึงตนฤดูหนาว พริกไทยชอบดินทีร่ ว นซุย มีอนิ ทรียว ตั ถุสงู ระบายน้ำไดดี ไมมนี ้ำขัง และพื้นที่เพาะปลูกไมควรเปนที่ลาดเอียงมากจนเกินไป เพราะหนาดินจะถูกชะลางเมื่อฝนตกหนัก ซึ่งมี ผลตอระบบรากพริกไทยเปนอยางมาก สภาพดินตองคอนขางเปนกรด มีคา pH ประมาณ 6-6.5 ทำให พืน้ ทีป่ ลูกพริกไทยนัน้ จะเปนบริเวณทีอ่ ยใู นเขตอากาศรอนชืน้ ไดแก จันทบุรี ชลบุรี ระยอง ตาก ระนอง ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ ภูเก็ต พังงา และตรัง เอกสารอางอิง 1. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/013.htm

115


116

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

5. การขยายพันธุ วิธปี ลูก การปกชำ เปนวิธที นี่ ยิ มมาก เพราะไดผลดีทสี่ ดุ การเตรียมกิง่ พันธ:ุ ใชลำตน (เถา) ของสวนยอดหรือสวนอื่นที่ไมแกจัดของพริกไทย ที่มีอายุอยูระหวาง 1-2 ป โดย ควรตัดจากตนทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ ใหผลผลิตสูง ไมเปนโรคและมีแมลงทำลาย เมือ่ คัดตนพันธไุ ดแลว จึงคอยๆ แกะตีนตกุ แกใหหลุดออกจากคาง อยาใหตน หักหรือช้ำ จากนัน้ นำกิง่ พันธมุ าตัดเปนทอนๆ ยาว 40-50 ซม. มีขอ 5-7 ขอ ริดใบทิง้ และตัดกิง่ แขนงตรง 3-4 ขอลางออก นำยอดไปปกชำในกระบะชำหรือ ชำใสถุงพลาสติก ใหขออยูใตระดับดิน 3-4 ขอ จนรากออกแข็งแรงดีจึงยายไปปลูก ถาเปนการปลูก พริกไทยโดยไมใชคา ง (พริกไทยพมุ ) ใหตดั ชำโดยใชขอ เดียว และมีกงิ่ แขนงติดอยู ปกชำในถุงหรือแปลง ปกชำ เมือ่ รากออกดีแลวจึงยายปลูก อัตราการใชพนั ธ/ุ ไร: จำนวนตนตอไร 400 คาง คางละ 2 ตน รวม 800 ตน/ไร การเตรียมดิน: ทำการกำจัดวัชพืช รากไม ออกจากแปลงใหหมด และทำการไถดินใหมีความลึกลึก 40-60 ซม. แลวตากแดดไว 15 วัน ถึงไถพรวนดินใหละเอียด ปรับสภาพดินโดยใสปยุ คอกหรือปยุ หมัก แลวไถพรวน คลุกเคลาใหเขากับดิน การเตรียมเสาคาง: ใชคา งซีเมนตขนาด 4x4 นิว้ ยาว 4 เมตร ฝงคางลึก 50 ซม. ระยะหาง 2x2 เมตร แลวใชกระสอบ ปานหุมคางเพื่อเก็บรักษาความชื้นและเปนที่ยึดเกาะของรากพริกไทย การปลูก: 1. การปลูกพริกไทยโดยใชคาง การปลูกโดยใชคา งนัน้ ใชระยะปลูก 2x2 เมตร ทำการขุดหลุมขนาด กวางxยาวxลึก 40x60x40 ซม. โดยปากหลุมหางจากโคนคางประมาณ 15 ซม. จากนั้นผสมดินที่ขุดขึ้นมาในอัตราปุย อินทรีย 1 สวน ตอดิน 2 สวน ทำการโกยดินกลบลงในหลุมประมาณครึง่ หลุม และนำตนพันธุ ที่เตรียมไวลงปลูกใหปลายยอดเอนเขาหาคาง หันดานที่มีรากหรือตีนตุกแกออกนอกคาง ฝง ลงดินประมาณ 2 ขอ อีกประมาณ 3 ขออยเู หนือผิวดิน กลบดินใหแนน รดน้ำใหชมุ การปลูก จะใชตน พันธุ 2 ตน ตอหลุมหรือคาง 2. การปลูกพริกไทย โดยไมใชคา งหรือพริกไทยพมุ ทำไดโดยการปลูกใสกระถางเปนไมประดับ หรือปลูกเปนพืชแซมโดยใชระยะปลูก 1x1.5 เมตร หรือ 1.25x1.25 เมตร การดูแลรักษา: การตัดแตง: เมือ่ ตนพริกไทยเริม่ แตกยอดออน ใหคอยปลิดยอดออนออก และเหลือยอดทีส่ มบูรณไวเพียงตนละ 2-3 ยอด จัดยอดใหอยูรอบคางใชเชือกฟางผูกยอดใหแนบติดคาง ผูกทุกขอเวนขอ ถามียอดแตกใหม เกินความตองการใหเด็ดทิง้ เมือ่ ตนพริกไทยเจริญงอกงามดีแลว ควรตัดไหลทีง่ อกออกตามโคนทิง้ ทำการ ตัดกิง่ แขนงทีอ่ ยเู หนือผิวดิน 8-10 ซม. ออกใหหมดเพือ่ ใหโคนโปรง ในระยะทีพ่ ริกไทยยังไมเจริญเติบโต ถึงยอดคางตองเด็ดชอดอกออกใหหมด ถาทิ้งไวจะทำใหพริกไทยเติบโตชา และควรมีการตัดกิ่งสวนบน เพือ่ ความสะดวกในการทำงาน ซึง่ จะทำปละครัง้ หลังเก็บเกีย่ วผลผลิตเรียบรอยแลว


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การทำรมเงา: ในระยะแรกที่ปลูกควรทำรมใหตนพริกไทย อาจใชทางมะพราวหรือใบปรงทะเลหรือวัสดุอื่นก็ได หลังปลูกประมาณ 1 เดือน ควรถอนที่บังรมออกครั้งละเล็กละนอย เพื่อใหตนพริกไทยคอยๆ ชินกับ แสงแดด เมื่อพริกไทยสามารถทนตอแสงแดดปกติจึงเอาวัสดุบังรมออกใหหมด การใหน้ำ: ชวงแรกของการปลูกตองรดน้ำทุกวัน หรือวันเวนวันจนกระทั่งตนพริกไทยเจริญเติบโตตั้งตัวไดดี แลวลดการใหน้ำเหลือ 2-3 วันตอครัง้ ตนพริกไทยทีใ่ หผลผลิตแลว ควรใหน้ำ 3-5 วันตอครัง้ ขึน้ กับความ เหมาะสม การปลูกพริกไทยนัน้ ตองใหดนิ มีความชมุ ชืน้ อยเู สมอ โดยเฉพาะชวงทีพ่ ริกไทยติดผลแลว จะตอง ใหน้ำเปนประจำทุกวันๆ ละครัง้ ทัง้ นี้ ควรคลุมโคนดวยเศษหญาหรือฟางขาว จะชวยปองกันการระเหย ของน้ำไดดี การใหปยุ : ควรกำจัดวัชพืชกอนใสปุยทุกครั้ง ทั้งนี้ การใสปุยควรใสปุยคอกหรือปุยหมักอยางนอยปละครั้ง คางละ 5 กก. และควรพูนโคนไปพรอมกันดวย สำหรับปุยเคมีควรใชสูตร 15-15-15 หรือ 17-17-17 อัตราสวน 20-30 กรัมตอคาง ปละ 4 ครัง้ หลังตัดแตงกิง่ และหากตองการทีจ่ ะเรงตนพริกไทยใหออกดอก ควรใหปุยเคมีสูตรตัวทายสูงสลับเพื่อกระตุนใหตาดอกออกพรอมกัน การปองกันกำจัดโรคและแมลง: เมือ่ พริกไทยเริม่ ออกดอกจะตองพนสารเคมี เพือ่ ปองกันและกำจัดแมลงทีจ่ ะเขาไปทำลายดอก เมือ่ พริกไทยติดผลแลว ไมควรใชสารเคมี เพราะอาจจะทำใหมผี ลตกคางในพริกไทยได ศัตรูทสี่ ำคัญในชวง การเจริญเติบโต คือ เพลีย้ แปง ซึง่ พบระบาดในชวงฤดูฝนตอฤดูแลง สามารถทำการกำจัดโดยใชสารเคมี พวกเซฟวิน หรือมาลาไธออน ฉีดพนทุก 7-10 วัน สำหรับเพลีย้ ออนซึง่ เขาทำลายโดยการดูดกินน้ำเลีย้ ง ของยอดและใบ ทำใหใบยอดมวนงอ การกำจัดนัน้ จะใชสารเคมีเชนเดียวกับการกำจัดเพลีย้ แปง โรครากเนาจากเชือ้ รา: โรคเนาจากเชือ้ รานัน้ จะทำใหเถาและใบเหีย่ ว รวงจนหมดตน ตนบริเวณระดับดินจะเนาดำ รากเละ แฉะมีกลิน่ เหม็น การปองกันนัน้ ทำไดโดยการกำจัดเมือ่ พบตนเปนโรค ใหขดุ และเผาทำลายทิง้ หรือใชยา ไดโฟลาเทนละลายน้ำ อัตรา 4 ชอนแกงตอน้ำ 20 ลิตร ฉีดพนในหลุมปลูกใหทวั่ การกำจัดวัชพืช: ควรใชแรงงานคน ไมควรใชยากำจัดวัชพืชเนือ่ งจากพริกไทยเปนพืชทีค่ อ นขางออนแอ ถาถูกละออง ยา อาจทำใหพริกไทยเหี่ยวเฉาและอาจถึงตายได ควรใชจอบถาก แตบริเวณโคนตนในรัศมี 50 ซม. ควรใชมอื ถอนเพือ่ ปองกันรากกระทบกระเทือน ถาปลูกแบบขัน้ บันไดควรใชวธิ ตี ดั เพราะรากวัชพืชจะชวย ยึดเหนี่ยวกันการพังทะลายของดินได

6. การเก็บเกีย่ ว และวิธกี ารหลังการเก็บเกีย่ ว การเก็บเกีย่ ว: พริกไทยจะเริม่ ทำการเก็บเกีย่ วผลผลิตไดเมือ่ อายุ 2 ป แตจะใหผลผลิตเต็มทีเ่ มือ่ มีอายุ 3 ป โดย จะมีอายุการเก็บเกี่ยวนานเปน 10 ป หากมีการบำรุงและดูแลตนเปนอยางดี สำหรับระยะเวลาในการ เก็บเกี่ยวพริกไทยนั้นจะใชเวลาประมาณ 6-7 เดือน ตั้งแตเริ่มออกดอกจนถึงผลแกซึ่งจะเปนชวงเดือน พฤษภาคมทีพ่ ริกไทยเริม่ ออกดอก และเขาสฤู ดูเก็บเกีย่ วประมาณเดือนมกราคม

117


118

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

การเก็บเกีย่ วพริกไทยจะเก็บทัง้ รวง โดยจะทยอยเก็บตามความแกของพริกไทย เพราะพริกไทยจะแก ไมพรอมกัน หากตองการเก็บจำหนายเปนพริกไทยออน ใหเก็บในขณะทีผ่ ลยังมีสเี ขียวอยทู งั้ รวง ถาเปน พริกไทยดำตองเก็บรวงทีแ่ กจดั ผลมีสเี ขียวและแข็งแตไมสกุ และถาเก็บเพือ่ ทำเปนพริกไทยขาวควรเก็บ เกีย่ วเมือ่ เมล็ดเริม่ มีสเี หลืองและสีแดงรวงละ 3-4 เมล็ด ผลผลิต: พริกไทยแหง 600 กิโลกรัมตอไร การปฏิบตั หิ ลังการเก็บเกีย่ ว: • การเก็บเกีย่ วพริกไทยออน เมือ่ ทำความสะอาดแลว สามารถนำไปจำหนายไดเลย • การเก็บเกี่ยวเพื่อทำพริกไทยดำ ใหนำผลพริกไทยที่เก็บไดมากองรวมกัน ตากแดดประมาณ 1 แดด จากนัน้ นำไปนวดใหผลหลุดจากรวง และตากแดดอีกครัง้ บนลานซีเมนต หรือเสือ่ ลำแพน ใหถูกแดดอยางสม่ำเสมอประมาณ 3 แดด เมื่อผลพริกไทยแหงสนิท จะเปลี่ยนเปนสีดำ แลวนำไปรวนดวยตะแกรงหรือกระดง เพือ่ แยกเอาเศษฝนุ และเมล็ดทีล่ บี ออก พริกไทยสด 100 กก. จะไดพริกไทยดำ 33 กก. หรือในอัตราสวน 3:1 ผลผลิตพริกไทยดำแหงทีไ่ ดประมาณ 500-600 กก./ไร • การเก็บเกีย่ วเพือ่ ทำพริกไทยขาว มีขนั้ ตอนดังนี้ 1. แชน้ำ นำพริกไทยทีเ่ ก็บมาแลวตากแดดเล็กนอย และนำเขาเครือ่ งนวด เพือ่ แยกผลออก จากรวง จากนัน้ นำผลพริกไทยแชน้ำในบอซีเมนต หรือถังไม หรือภาชนะอืน่ ทีเ่ หมาะสม นานประมาณ 7-14 วัน 2. ลางน้ำ นำพริกไทยขึน้ จากน้ำทีแ่ ช แลวนำมานวดเพือ่ ลอกเปลือกแลว นำมาเกลีย่ บนตะแกรง เสือ่ ลำแพน หรือไมไผทมี่ ชี อ งใหเปลือกพริกไทยหลุดออกได ใชน้ำลางเปลือกออกจนหมด 3. ตากแดด หลังลางทำความสะอาดแลว ไปตากแดดทันที่บนเสื่อลำแพนหรือลานซีเมนต เกลีย่ ใหสม่ำเสมอตากแดดประมาณ 4-5 วัน ใหแหงสนิทกอนบรรจุกระสอบจำหนาย ปฏิทนิ การผลิต: ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

กิจกรรม ปลูก ใหน้ำ กำจัดวัชพืช เก็บเกี่ยว (ปลูกดวย สวนยอดของตนแม เก็บเกีย่ ว (ปลูกดวยหนอ เล็กๆ ที่แตกจากตนแม

การดูแลรดน้ำ มัดยอดพริกไทย ตองดูแลตลอดทั้งปแลวแตสภาวะอากาศ

ชวงเวลาทีผ่ ลผลิตออกสตู ลาด: ผลผลิตพริกไทย เริม่ ออกสตู ลาดตัง้ แตเดือนมกราคม และผลผลิตจะมีออกมาในชวงเดือนมีนาคม ถึงเมษายน ทั้งนี้ สำหรับสวนพริกไทยที่สามารถใหน้ำไดดีตลอดป พริกไทยก็จะทยอยออกดอกและ เก็บผลไดตลอดป


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. http://www.medplant.mahidol.ac.th/doae/013.htm 2. กนกวรรณ คณะภูเศรษฐ และเสริมศักดิ์ รักธรรม. เอกสารประกอบการอบรม เรื่องการปลูกพริกไทย. (อัดสำเนา). 3. กลมุ พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ. 2545. คมู อื พืชสมุนไพรและเครือ่ งเทศ ชุดที่ 4 เครือ่ งเทศ. กองสงเสริมพืชสวน กรมสงเสริม การเกษตร. 4. วัฒนา สวรรยาธิปติ. 2531. การปลูกพริกไทย. ศูนยสงเสริมและฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม. 5. วุฒิ วุฒธิ รรมเวช. 2540. สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย. โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส,กรุงเทพฯ. 6. ศูนยวิจัยพืชสวนจันทบุรี. 2543. พริกไทย. สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 7. สมชาย สุคนธสิงหและคณะ. 2531. คูมือสงเสริมการเกษตรที่ 53 เรือ่ งการปลูกพริกไทย. กรมสงเสริมการเกษตร. 8. อริศรา กิตติ ำราธรรม. 2544. จับตา พริกไทยสูเวทีการคาโลก. สวนเกษตร. 2(42) น. 65-68.

7. สารสำคัญในสมุนไพร พริกไทยดำจะมีน้ำมันหอมระเหยรอยละ 1-2.5 สำหรับพริกไทยขาวหรือพริกไทยลอนจะมีน้ำมัน หอมระเหยประมาณรอยละ 0.8 องคประกอบของน้ำมันหอมระเหย ไดแก สาร b-caryophyllene สาร limonene สาร b-pinene สาร d-3-carene สาร sabinene สาร a-pinene สาร eugenol สาร terpinen-4-ol สาร hedycaryol สาร -eudesmol และสาร caryophylline oxide อีกทั้งในพริกไทยยังประกอบดวยสารกลุมอัลคาลอยดที่สำคัญคือ piperine และ piperettine ทัง้ นี้ ยังมีสารอัลคาลอยดอนื่ ๆ ทีม่ ปี ริมาณนอย ไดแก สาร chavicine สาร piperyline สาร piperanine และสาร piperoleines A, B และ C เปนตน ทั้งนี้ สารอัลคาลอยดที่ทำใหพริกไทยมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว คือ chavicine, piperine และสาร piperanine เอกสารอางอิง 1. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. 1998. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. p. 57-63.

8. ขอกำหนดคุณภาพของสมุนไพร มาตรฐานทางเคมีของพริกไทยทั้งพริกไทยดำและพริกไทยขาวที่ใชเปนเครื่องเทศ มีดังนี้ รายการ พริกไทยดำ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม (extraneous matter) NMT% ขึน้ กับเกรดของพริกไทย 1.0-3.0 ปริมาณความชืน้ NMT% 12.0 ปริมาณเถารวม NMT%, on dry basis 5.0 ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด NMT%, on dry basis 0.4 ปริมาณสารสกัดดวยอีเธอรทไี่ มระเหย NLT%, on dry basis 6.6 Crude fibre, insoluble index, NMT%, on dry basis 17.5 ปริมาณน้ำมันหอมระเหย NLT%, on dry basis 2.0 ปริมาณสาร piperine NLT% 4.0

พริกไทยขาว 0.5-1.5 12.0 2.0 0.2 6.6 6.0 1.0 4.0

ทีม่ า: http://www.ipcnet.org/qthailand.htm (International Pepper Community, Jakarta, Indonesia) NMT = not more than NLT = not less than

119


120

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

มาตรฐานทางเคมีของพริกไทยทัง้ พริกไทยดำ และพริกไทยขาว (พริกไทยลอน) ทีใ่ ชเปนยา รายการ ปริมาณสิง่ แปลกปลอม NMT% ปริมาณความชืน้ NMT%v/w, azeotropic distillation ปริมาณเถารวม NMT% ปริมาณเถาทีไ่ มละลายในกรด NMT% ปริมาณน้ำมันหอมระเหย NLT% v/w ปริมาณอัลคาลอยดคำนวณเปน piperine NLT%w/w

พริกไทยดำ 2.0 14.0 7.0 1.5 1.0 5.0

พริกไทยขาว 2.0 14.0 4.0 0.5 0.8 5.0

ที่มา: Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. 1998. p. 57-63.

9. การศึกษาทางเภสัชวิทยา 9.1 การศึกษาในสัตวทดลอง แหลงขอมูล 1. บพิตร กลางกัลยา และ นงลักษณ สุขวาณิชยศิลป บรรณาธิการ. รายงานผลการศึกษา โครงการประเมินประสิทธิภาพและ ความปลอดภัยของยาสมุนไพร โดยสมาคมเภสัชวิทยาแหงประเทศไทย สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนสมาคมทางวิทยาศาสตร กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ระยะเวลาดำเนินการ 1 สิงหาคม 2543 - 31 กรกฎาคม 2544 บริษัท เอส อาร พริน้ ติง้ แมสโปรดักส จำกัด นนทบุรี หนา 161-166.

9.1.1 ฤทธิใ์ นการตานเชือ้ จุลชีพ • พริกไทยมีฤทธิเ์ ปนสาร anti-infective agent ตอเชือ้ Plasmodium falciparum (malaria)(1) • มีฤทธิเ์ ปน anti-infective agent ตอเชือ้ Leismaniasis parasite ใน hamsters เมือ่ ให mannose-coated liposomal piperine ขนาด 6 mg/kg ทุกๆ 4 วัน จนครบ 4 doses ใน 12 วัน(2) • มีฤทธิเ์ ปน anti-infective agent ตอเชือ้ Clostridium ซึง่ เปน foodborne pathogen(3) • piperine รักษาการติดเชือ้ amoeba ในหนูขาว(4) • สารสกัดจากพริกไทยยับยัง้ การเจริญเติบโตของเชือ้ รา และการสะสมของ aflatoxin(5) • เมล็ดพริกไทยมีฤทธิย์ บั ยัง้ เชือ้ แบคทีเรีย Staphylococcus aureus(6) • Piperine ที่ IC50 = 1-13 mM ยับยัง้ การขนสง L-adenosine เขาไปในเซลลของ เชือ้ Plasmodium(7) เอกสารอางอิง 1. Jenett-Siems K, Mockenhaupt FP, Bienzle U, Gupta MP, Eich E. In vitro antiplasmodial activity of Central American medicinal plants. Trop Med Int Health 1999; 4(9): 611-5. 2. Raay B, Medda S, Mukhopadhyay S, Basu MK. Targeting of piperine intercalated in mannose-coated liposomes in experimental leishmaniasis. Indian J Biochem Biophys 1999; 36(4): 248-51. 3. Rodriguez-Romo LA, Heredia NL, Labbe RG, Garcia-Alvarado JS. Detection of enterotoxigenic Clostridium perfringens in spices used in Mexico by dot blotting using a DNA probe. J Food Prot 1998; 61(2): 201-4. 4. Ghoshal S, Prasad BN, Lakshmi V. Antiamoebic activity of Piper longum fruits against Entamoeba histolytica in vitro and in vivo. J Ethnopharmacol 1996; 50(3): 167-70.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

5. Awuah RT, Kpodo KA. High incidence of Aspergillus flavus and aflatoxins in stored groundnut in Ghana and the use of a microbial assay to assess the inhibitory effects of plant extracts on aflatoxin syntheis. Mycopathologia 1996; 134(2): 109-14. 6. Perez C, Aneini C. Antibacterial activity of alimentary plants against Staphylococcus aureus growth. Am J Chin Med 1994; 22(2):169-74. 7. Upston JM, Gero AM. Parasite-induced permeation of nucleosides in Plasmodium falciparum malaria. Biochim Biophys Acta 1995; 1236(2): 249-58.

9.1.2 ฤทธิ์กระตุนเอนไซมในตับและในเซลล • กระตนุ เอนไซม cytochrome P450–dependent aryl hydroxylase ในตับ(1) • การให piperine ในขนาด 1.4 mmol/kg นาน 3 วัน ทางชองทองแกหนูขาว สามารถ ลดปริมาณ microsomal P450 ในตับลงถึง 30%(2) • การใหพริกไทยทีค่ วามเขมขน 0.5%, 1% หรือ 2% ในหนูถบี จักร สามารถเพิม่ glutathione S-transferase & thiols(3) • piperine ทีค่ วามเขมขน 10 mM ยับยัง้ เอนไซม UDP-glucose dehydrogenase activity ได 50%(4) • Piperine ในขนาด 100, 150 และ 180 mM สามารถลด activity ของ NADHdehydrogenase ได 25, 42, & 53% ตามลำดับ(5) • Piperine 25-100 mM กระตนุ gamma-glutamyl transpeptidase เพิม่ การ uptake amino acid และเพิ่มการเกิด lipid peroxidation ใน jejunum epithelial cells ของหนูขาว(6) • Piperine ในขนาด 100 mg/kg ฉีดเขาชองทองหนูขาว ทำใหลดการทำงานของ cytochrome P-450, benzphetamine N-demethylase, aminopyrine N-demethylase and aniline hydroxylase(7) • การให piperine ทาง intragastric ในขนาด 100 mg/kg ในหนูขาวสามารถเพิม่ Hepatic microsomal cytochrome P-450 & cytochrome b5, NADPHcytochrome c reductase, benzphetamine N-demethylase, aminopyrine N-demethylase และ aniline hydroxylase(8) เอกสารอางอิง 1. Sambaiah K, Srinivasan K. Influence of spices and spice principles on hepatic mixed function oxygenase system in rats. Indian J Biochem Biophys 1989; 26(4): 254-8. 2. Kang MH, Won SM, Park SS, Kim SG, Novak RF, Kim ND. Piperine effects on the expression of P4502E1, P4502E1, P4502B and P4501A in rat. Xenobiotica 1994; 24(12): 1195-204. 3. Singh A, Rao AR. Evaluation of the modulatory influence of black pepper (Piper nigrum, L.) on the hepatic detoxication system. Cancer Lett 1993 Aug 16; 72(1-2):5-9. 4. Reen RK, Jamwal DS, Taneja SC, Koul JL, Dubey RK, Wiebel FJ, Singh J. Impairment of UDP-glucose dehydrogenase and glucuronidation activities in liver and small intestine of rat and guinea pig in vitro by piperine. Biochem Pharmacol 1993 ; 46(2): 229-38. 5. Jamwal DS, Singh J. Effects of piperine on enzyme activities and bioenergetic functions in isolated rat liver mitochondria and hepatocytes. J Biochem Toxicol. 1993; 8(4): 167-74.

121


122

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

6. Johri RK, Thusu N, Khajuria A, Zutshi U. Piperine-mediated changes in the permeability of rat intestinal epithelial cells. The status of gamma-glutamyl transpeptidase activity, uptake of amino acids and lipid peroxidation. Biochem Pharmacol. 1992 Apr 1; 43(7): 1401-7. 7. Dalvi RR, Dalvi PS. Differences in the effects of piperine and piperonyl butoxide on hepatic drugmetabolizing enzyme system in rats. Drug Chem Toxicol. 1991; 14(1-2): 219-29. 8. Dalvi RR, Dalvi PS. Comparison of the effects of piperine administered intragastrically and intraperitoneally on the liver and liver mixed-function oxidases in rats. Drug Metabol Drug Interact. 1991; 9(1): 23-30.

9.1.4 ฤทธิย์ บั ยัง้ drug metabolizing enzyme ในตับ อัลคาลอยดใหม 2 ชนิดในพริกไทย ไดแก dipiperamides D และ E เปน potent inhibitor ของ cytochrome P450 CYP3A4 มีคา IC50 เทากับ 0.79 และ 0.12 mM ตามลำดับ เอกสารอางอิง 1. Tsukamoto S, Tomise K, Miyakawa K, Cha BC, et al. CYP3A4 inhibitory activity of new bisalkaloids, dipiperamides D and E, and cognates from white pepper. Bioorg Med Chem 2002; 10(9): 2981-5.

9.1.5 ฤทธิต์ า นอนุมลู อิสระ/การเปนสารตานมะเร็ง • Piperine มีฤทธิป์ อ งกันการเกิด oxidative stress จากสารกอมะเร็ง โดยเพิม่ การทำงานของ GSH, gamma-GT & Na+/K+ATPase ในหนูขาว(1) • Piperine ลดฤทธิ์ของสารกอมะเร็ง ที่เพิ่มการทำงานของเอนไซม beta-glucuronidase และ mucinase ในลำไสของหนูขาว(2) • Piperine (ED50= 15 nM). ลดฤทธิข์ อง Aflatoxin B1 ทีท่ ำใหเกิดพิษตอเซลล และเกิด micronuclei formation ในเซลลตบั เพาะเลีย้ ง โดยไมพบความเปนพิษ ของสารแมวา จะใชในความเขมขนทีส่ งู ถึง 100 mM(3) • Piperine ทีค่ วามเขมขน 500 mM ลดการหลัง่ superoxide และ hydrogen peroxide จากเซลล macrophages(4) • น้ำมันหอมระเหยจากพริกไทยยับยัง้ การเกิด DNA adducts ทีเ่ กิดจาก alfatoxin(5) • Piperine ลดการเปนพิษตอเซลลตบั ของ CCl4 โดยลดการเกิด lipid peroxidation และปองกันการลดลงของ GSH & thiols ในหนูถบี จักร(6) • Piperine ยับยัง้ การเกิด Polyunsaturated fatty acids (PUFA) oxidation โดย microsomes จากตับ(7) • พริกไทยสามารถยืดอายุของหนูขาวทีไ่ ดรบั การปลูกถาย Ehrlich ascites tumour(8) • Piperine สามารถลดการแพรกระจายของ B16F-10 melanoma cells ไปยังปอด ในหนูถีบจักรได(9) เอกสารอางอิง 1. Khajuria A, Thusu N, Zutshi U, Bedi KL. Piperine modulation of carcinogen induced oxidative stress in intestinal mucosa. Mol Cell Biochem 1998; 189(1-2): 113-8. 2. Nalini N, Sabitha K, Viswanathan P, Menon VP. Influence of spices on the bacterial (enzyme) activity in experimental colon cancer. J Ethnopharmacol 1998 Aug;62(1):15-24. 3. Singh J, Reen RK, Wiebel FJ. Piperine, a major ingredient of black and long peppers, protects against AFB1-induced cytotoxicity and micromuclei formation in H4IIEC3 rat hepatoma cells. Cancer Lett 1994; 86(2): 195-200.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

4. Joe B, Lokesh BR. Role of capsaicib, curcumin and dietary n-3 fatty acids in lowering the generation of reactive oxygen species in rat peritoneal macrophages. Biochem Biophys Acta 1994; 1224 (2): 255-63. 5. Hashim S, Aboolaker VS, Madhubala R, Bhattacharya RK, Rao AR. Modulatory effects of essential oil from spices on the formation of DNA adduct by aflatoxin B1 in vitro. Nutr Cancer 1994; 21(2): 169-75. 6. Koul IB, Kapil A. Evaluation of the liver protection potential of piperine, an active principle of black and long peppers. Planta Med 1993; 59(5): 413-7. 7. Reddy AC, Lokesh BR. Studies on spice principles as antioxidants in the inhibition of lipid peroxidation of rat liver microsomes. Mol Cell Biochem. 1992; 111(1-2): 117-24. 8. Unnikrishnan MC, Kuttan R. Tumour reducing and anticarcinogenic activity of selected spices.Cancer Lett. 1990; 15;51(1): 85-9. 9. Pradeep CR, Kuttan G. Effect of piperine on the inhibition of lung metastatis induced B16-10 melanoma cells in mice

9.1.6 ฤทธิต์ า นอักเสบ • Piperine สามารถลดการเกิด lipid peroxidation ทีต่ บั ลด acid phosphatase และลดภาวะบวม ทีเ่ กิดจาก carrageenin เมือ่ ใหแบบ Pretreatment ในหนูขาว(1) • Piperine มีฤทธิล์ ดการอักเสบ ในหนูขาว(2) • Piperine ลดปริมาณ substance P และ somatostatin ใน dorsal horn ของหนูขาว(3) เอกสารอางอิง 1. Dhuley JN, Raman PH, Mujumdar AM, Naik SR. Inhibition of lipid peroxidation by piperine during experimental inflammation in rats. Indian J Exp Biol. 1993; 31(5): 443-5. 2. Mujumdar AM, Dhuley JN, Deshmukh VK, Raman PH, Naik SR. Anti-inflammatory activity of piperine. Jpn J Med Sci Biol. 1990; 43(3): 95-100. 3. Micevych PE, Yaksh TL, Szolcsanyi J. Effect of intrathecal capsaicin analogues on the immunofluorescence of peptides and serotonin in the dorsal horn in rats. Neuroscience. 1983; 8(1): 123-31.

9.1.7 ฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง • Piperine เพิม่ ระดับ Pentobarbitone และเพิม่ ระยะเวลาในการนอนหลับ ในหนูขาว(1) • Piperine เพิม่ การหลัง่ Catecholamine (โดยเฉพาะ epinephrine) จากตอม หมวกไต ในหนูขาว(2) • Piperine มีฤทธิย์ บั ยัง้ ปฏิกริยา arylhydrocarbon hydroxylation, ethylmrphineN-demedthylation, 7-ethoxycoumarin-O-deethylation และ 3-hydroxybenzo(a)pyrene glucuronidation ในหลอดทดลอง และเพิม่ ระยะเวลาในการ นอนหลับของการใชยา hexobarbital ในหนูถบี จักร(3) • การให piperine ขนาด 60 mg/kg ฉีดเขาทางชองทองในหนูถบี จักร สามารถยับยัง้ การชักไดอยางสมบูรณ นอกจากนีย้ งั เพิม่ ระดับของ serotonin ใน cerebral cortex เพิม่ ระดับ dopamine ใน hypothalamus และลดระดับของ norepinephrine(4) เอกสารอางอิง 1. Mujumdar AM, Dhuley JN, Deshmukh VK, Raman PH, Thorat SL, Naik SR. Effect of piperine on pentobarbitone induced hypnosis in rats. Indian J Exp Biol. 1990; 28(5): 486-7. 2. Kawada T, Sakabe S, Watanabe T, Yamamoto M, Iwai K. Some pungent principles of spices cause the adrenal medulla to secrete catecholamine in anesthetized rats. Proc Soc Exp Biol Med. 1988; 188(2): 229-33.

123


124

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

3. Atal CK, Dubey RK, Singh J. Biochemical basis of enhanced drug bioavailability by piperine: evidence that piperine is a potent inhibitor of drug metabolism.J Pharmacol Exp Ther. 1985; 232(1): 258-62. 4. Mori A, Kabuto H, Pei YQ. Effects of piperine on convulsions and on brain serotonin and catecholamine levels in E1 mice. Neurochem Res. 1985; 10(9): 1269-75.

9.1.8 ฤทธิเ์ พิม่ bioavailability ของยาอืน่ ทีใ่ ชรว มกัน (bioavailability enhancer) มีรายงานวา piperine เปนสารทีส่ ามารถชวยเพิม่ biovailability ของยาอืน่ ทีใ่ ชรว มกัน ไดหลายชนิด ไดแก • beta lactam antibiotics ไดแก amoxycillin และ cefotaxime(1) • rifampicin, phenytoin, theophylline, propanolol (เอกสารอางอิงดูในการวิจยั ทางคลินิก) • beta-carotene, vitamin B6, selenium ในรูปของ selenomethionine(2) • curcumin(3) ผลของสาร piperine ในการเพิม่ bioavailability ของยาอืน่ อาจเนือ่ งจาก • piperine ถูกดูดซึมในลำไสไดเร็วมาก เนือ่ งจาก piperine เปน apolar molecule อาจไป form apolar complex กับยาอืน่ หรือไปมีผลเปลีย่ นแปลง membrane dynamics ของผนังลำไส ทำใหยาผานผนังลำไสไดดขี นึ้ (4) • piperine ไปมีผลเพิม่ การดูดซึมของยานัน้ โดยจากการศึกษาผลตอ membrane fluidity พบวา piperine มีผลเพิ่ม intestinal brush border membrane fluidity เพิม่ ความยาวของ microvilli เพิม่ free ribosome และ ribosome ใน endoplasmic reticulum ของ enterocytes(5) เอกสารอางอิง 1. HiwaleAR, Dhuley JN, Naik SR. Effect of co-administration of piperine on pharmacokinetics of beta lactam antibiotics in rats 2. http://www. bioperine.com/Manual/ClinicalStudies.htm 3. http://www.bioperine.com/Manual/ClinicalStudies7.htm 4. Khajuria A, Zutshi U, Bedi KL. Permeability characteristics of piperine on oral absorption - an active alkaloid from peppers and a bioavailability enhancer. Indian J Exp Biol 1998; 36(1): 46-50. 5. Khajuria A, Thusu N, Zutshi U. Piperine modulates permeability characteristics of intestine by inducing alterations in membrane dynamics: influence on brush border membrane fluidity, ultrastructure and enzyme kinetics. Phytomeidine 2002; 9(3): 224-31.

9.1.9 ฤทธิย์ บั ยัง้ เอนไซม Acetylcholinesterase ในการทดสอบฤทธิข์ องสมุนไพรในการยับยัง้ เอนไซม acetylcholinesterase (AchE) เพือ่ พัฒนาไปใชเปนยารักษาโรค Alzheimer สารสกัดดวย methanol ของเมล็ดพริกไทยทีค่ วามเขมขน 0.1 mg/ml สามารถยับยัง้ activity ของ AchE ได ใน 50-65% เอกสารอางอิง 1. Ingkaninan K, Temkitthawon P, Chuenchom K, Yuyaem T, Thongnoi W. Screening for acetylcholinesterase inhibitory activity in plants used in Thai tradtional rejuvenating and neurotonic remedies. J Ethnopharmacol 2003; 89(2-3): 261-4.


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

9.1.10 ฤทธิต์ อ ระบบสืบพันธุ Piperine เพิม่ การปฏิสนธิ (fertilization) ใน hamster เพศเมีย จาก 75% เปน 85% เมือ่ ให piperine ในขนาด 50 mg/kg ในวันที่ 1-4 of ของ oestrous cycle เอกสารอางอิง 1. Piyachaturawat P, Pholpramool C. Enhancement of fertilization by piperine in hamster. Cell Biol Int 1997; 21(7): 405-9.

9.2 การศึกษาในคน (รายงานการวิจยั ทางคลินกิ ) การดมสารระเหยทีส่ กัดจากพริกไทยสามารถลดความอยากบุหรีล่ งได(1) ทัง้ นี้ ยังมีรายงานการวิจยั ฤทธิข์ อง piperine ในการเพิม่ bioavailability ของยาอืน่ ในอาสา สมัครหลายรายงาน ไดแก • Rifampicin(2) • Phenytoin(3) • Propanolol & theophylline(4) เอกสารอางอิง 1. Rose JE, Behm FM. Inhalation of vapor from black pepper extract reduces smoking withdrawal symptoms. Drug Alcohol Depend 1994; 34(3):225-9 2. Zutshi U, et al. Influence of piperine on rifampicin blood levels in patients with pulmonary tuberculosis. J Assoc Physician India 1984; 33: 223-4. 3. Bano G, et al. The effect of piperine on the pharmacokinetics of phenytoin in healthy volunteers. Planta Medica 1987; 53: 568-70. 4. Bano CK, et al. The effect of piperine on the bioavailability and pharmacokinetics of propanolol and theophylline in healthy volunteers. Eur J Clin Pharm 1991; 41: 615-8.

10. การศึกษาทางพิษวิทยา พริกไทย ซึง่ มี piperine อยปู ระมาณ 5-9% แลวแตแหลงผลิต FDA ของสหรัฐอเมริกาจัดวาปลอดภัย ในการบริโภคเปนเครือ่ งเทศ ปรุงแตงรสอาหาร (GRAS = generally recognized as safe) ในสหรัฐ อเมริกาประมาณวาคนบริโภคพริกไทย 359 มิลลิกรัม/คน/วัน หรือไดรบั piperine ประมาณ 17.95-32.3 มิลลิกรัม/คน/วัน หรือ 0.36-0.65 มิลลิกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม/วัน (ถาใหน้ำหนักเฉลีย่ ของคนไทย เทากับ 50 กิโลกรัม) 10.1 พิษตอ male reproduction • การให piperine ขนาด 10 mg/kg นาน 30 วันในหนูขาว ทำใหน้ำหนักของ testis และ ปริมาณ testosterone ลดลง, เกิดการทำลาย seminiferous tubules, seminiferous tubular และ Leydig cells มีขนาดนิวเคลียสเล็กลง, desquamation of spermatocytes and spermatids และเพิม่ ระดับ gonadotropin ในซีรมั่ (1) • การให piperine 10 mg/kg นาน 30 วัน ในหนูขาว ทำให total phospholipid & total lipid ในอัณฑะลดลงในขณะที่ choloesterol เพิ่มขึ้น และเกิดการยับยั้ง lipogenic enzymes, malate dehydrogenase, malic enzyme และ isocitrate dehydroenase(2)

125


126

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

เอกสารอางอิง 1. Malini T, Manimaran RR, Arunakaran J, Aruldhas MM, Govindarajulu P. Effect of piperine on testis of albino rats. J Ethnopharmacol. 1999; 64(3): 219-25 2. Malini T, Arunakaran J, Aruldhas MM, Govindarajulu P. Effects of piperine on the lipid composition and enzymes of the pyruvate–malate cycle in the testis of the rat in vivo. Biochem Mol Biol Int 1999; 47 (3): 537-45.

10.2 พิษตอเซลลประสาท • Piperine ขนาด 12.5-100 mM นาน 72 ซม. เพิม่ การตายของเซลลประสาทเพาะเลีย้ ง • Piperine เปนพิษตอเซลลประสาท โดยกลไกของ lipid peroxidation เอกสารอางอิง 1. Unchern S, Nagata K, Saito H, Fukuda J. Piperine, a pungent alkaloid, is cytotoxic to cultured neurons from the embryonic rat brain. Biol Pharm Bull 1994; 17 (3): 537-45. 2. Unchern S, Saito H, Nishiyama N. Death of cerebellar granule neurons induced by piperine is distinct from that induced by low potassium medium. Neurochem Res 1998; 23(1): 97-102.

10.3 ความเปนพิษตอตับของ piperine Piperine เพิม่ ความเปนพิษตอตับของ CCl4 ในหนูขาว โดยมีความสัมพันธกบั ขนาดทีใ่ ห เอกสารอางอิง 1. Piyachaturawat P, Kingkaeohoi S, Toskulkao C. Potentiation of carbon tetrachloride hepatotoxicity by piperine. Drug Chem Toxicol 1995; 18(4): 333-44.

10.4 การเปนพิษตอเซลลและสารพันธุกรรม และการเปนสารกอมะเร็ง • สาร Safrole ทีม่ อี ยใู นพริกไทย (955 mg/kg) มีฤทธิเ์ ปนสาร mutagen ในการทดลอง โดยใช Salmonella reversion assay(1) • สารสกัด ethanol ของเม็ดพริกไทยขนาด 7 mg/kg ในหนูถบี จักรและขนาด 25 mg/ml ในเซลลเม็ดเลือดขาวในหลอดทดลอง ทำใหเกิด sister chromatid exhange (SCE) ซึ่งเปนตัวชี้บงถึงความเปนพิษตอสารพันธุกรรม(2) • ไมพบความเปนพิษแบบ genotoxic ของ piperine จากการทดลอง 4 แบบ คือ: 1) ใน Salmonella typhimurium (0.005-10 micromol/plate), 2) micronucleus test (20 mg/kg), 3 sperm shape abnormality และ 4) dominant lethal tests (50 mg/kg)(3) • Piperine ขนาด 1-20 mM เพิ่มการทำลาย DNA และความเปนพิษตอเซลลของ benzo[a]pyrene ในเซลลเพาะเลีย้ ง (V-79 lung fibroblast cells) เกีย่ วของกับการ ลดลงของ GST & UPD-Gtase(4) • Piperine เปน trans-trans isomer ของ 1-piperoylpiperidine ที่มี the methylene dioxy moiety อยูในโครงสราง ดังนั้นสารอาหารที่มี nitrate ซึ่งจะถูกเปลี่ยนเปนสาร nitrites ในกระเพาะอาหาร อาจเติมหมู nitro group ใหกบั piperine จนกลายเปน mutagen(5)


นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

• ในบางสวนของไอแลนดเหนือ พบผปู ว ยทีเ่ ปนมะเร็งหลอดอาหารในผหู ญิงสูงกวาผชู าย ซึง่ อาหารหลักในระหวางมีครรภประกอบดวยพริกไทยและ sharp crushed pomegranate seeds ทีท่ ำใหเกิดการระคายเคือง esophagus(6) • สาร safrole และ tannic acid ทีเ่ ปนองคประกอบในพริกไทยมีฤทธิเ์ ปน weak carcinogens ในหนูถีบจักร ขณะที่สาร d-limonene ซึ่งปนสาร terpenoid สามารถลดฤทธิ์ของ safrole และ tannic acid ได(7) • การใหสารสกัดจากพริกไทย โดยทาผิวหนังและใหทางปากแกหนูถบี จักร ในขนาด 2 mg 3 วัน/สัปดาห เปนเวลา 3 เดือน ทำใหหนูเปนมะเร็งเพิม่ ขึน้ ฤทธิก์ ารเปนสารกอมะเร็งถูก ตานดวย vitamin A(8) เอกสารอางอิง 1. Farag SE, Abo-Zeid M, Dagradation of the natural mutagenic compound safrole in spices by cooking and irradiation. Nahrung 1997; 41(6): 359-61. 2. Madrigal-Cujaidar E, Diaz Barriga S, Mota P, Guzman R, Cassiani M. Sister chromatid exchanges induced in vitro and in vivo by an extract of black pepper. Food Chem Toxicol 1997; 35(6): 567-71. 3. Karekar VR, Mujumdar AM, Joshi SS, Dhuley J, Shinde SL, Ghaskadbi S. Assessment of genotoxic effect of piperine using Salmonella typhimurium and somatic and germ cells of Swiss albino mice. Arzneimittelforschung. 1996; 46(10): 972-5. 4. Chu CY, Chang JP, Wang CJ Modulatory effect of piperine on benzo[a]pyrene cytotoxicity and DNA adduct formation in V-79 lung fibroblast cells. Food Chem Toxicol 1994; 32 (4): 373-7. 5. Shenoy NR, Choughuley AS. Characterization of potentially mutagenic products from the nitrosation of piperine. Cancer Lett 1992; 64 (3): 235-9. 6. Ghadirian P, Ekoe JM, Thouez JP. Food habits and esophageal cancer: an overview. Cancer Detect Prev 1992; 16(3): 163-8. 7. Wrba H, el-Mofty MM, Schwaireb MH, Dutter A. Carinogenicity testing of some constituents of black pepper (Piper nigrum). Exp Toxicol Pathol 1992; 44(2): 61-5. 8. Shwaireb MH, Wrba H, el-Mofty MM, Dutter A. Carcinogenesis induced by black pepper (Piper nigrum) and modulated by vitamin A. Exp Pathol 1990; 40(4): 233-8.

10.5 การศึกษาพิษเฉียบพลันและกึง่ เฉียบพลัน LD50 ในหนูถบี จักรเพศผู เมือ่ ให piperine ครัง้ เดียว i.v., i.p., s.c., i.g. & i.m. เทากับ 15.1, 43, 200, 330 & 400 mg/kg ตามลำดับ หนูทไี่ ดรบั piperine ในขนาด lethal dose สวนมาก จะตายภายใน 3-17 นาทีเนือ่ งจากเกิด respiratory paralysis สวนการศึกษาพิษกึ่งเฉียบพลัน พบวา หนูตายภายใน 1-3 วันหลังไดรบั piperine โดยพบ hemorrhagic necrosis และ edema ในระบบทาง เดินอาหาร ระบบทางเดินปสสาวะ และตอมหมวกไต เอกสารอางอิง 1. Piyachaturawat P, Glinsukon T, Toskulkao C. Acute and subacute toxicity of piperine in mice, rats and hamsters. Toxicol Lett 1983; 16(3-4): 351-9.

127


128

นวัตกรรมสมุนไพรไทย... กาวไกลสูอุตสาหกรรม

11. ขอหามใช ขอควรระวัง อาการขางเคียง ขอหามใช: ไมควรใชในคนทีเ่ ปนโรคกระเพาะอาหารหรือลำไสอกั เสบ (peptic ulcer) เอกสารอางอิง 1. Marotta RB, Floch MH. Diet and mutrition in ulcer disease. Med Clin North AM 1991; 75(4): 967-79.

12. ขอบงใช ขนาดทีใ่ ช และวิธใี ช ใชขบั ลม ในขนาด 500 มิลลิกรัม เอกสารอางอิง 1. Department of Medical Sciences. Thai Herbal Pharmacopoeia Volume I. 1998. Prachachon Co., Ltd. Bangkok. p. 57-63.

13. ขอมูลการตลาด ผลิตภัณฑจากพริกไทยทีจ่ ำหนายกันในตลาดโลก ไดแก • Black pepper บดและไมบด • White pepper บดและไมบด • Green pepper โดยทำใหแหงโดย dehydration หรือ freeze dried หรือเก็บในน้ำผสมเกลือ กรดน้ำสม (citric acid) • ผลิตภัณฑอาหารตาง ๆ ผสมพริกไทย • พริกไทยสำหรับทำยา • สารสกัดพริกไทย black pepper oleoresin, white pepper oleoresin • pepper oil ใชใน aromatherapy หรือใชผสมกับน้ำมันอืน่ ใชในการนวด • สารสกัด piperine รวบรวมโดย กลุมงานพัฒนาวิชาการแพทยแผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทยแผนไทย กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.