STC News (Siam Technology College)

Page 1

ประจำเดือนกรกฎาคม 2561

info@siamtechno.ac.th @siamtechno @siamtechno 0 2878 5000


“หากไม่ก้าวไกล ก็แปลว่า คุณกำ�ลังถดถอย เพราะฉะนั้น จงอย่าหยุดก้าวเดินต่อไป เพราะการไม่หยุดที่จะเดินไปข้างหน้า คือ กุญแจนำ�พาไปสู่ความสำ�เร็จในทุกๆ ด้าน และทุกๆ รูปแบบ ไม่วา่ เป้าหมายของคุณจะเป็นเรือ่ งอะไรก็ตาม” คำ�กล่าว อีลอน มัสก์ ครั บ ผมเชื่ อ ว่ า แนวคิ ด ของบุ ค คลที่ น่ า ทึ่ ง อย่ า ง อี ล อน มั ส ก์ คงยากที่ใครจะปฏิเสธแนวคิดของเขา เพราะในโลกแห่งความ เป็ น จริ ง ในปั จ จุ บั น มนุ ษ ย์ ทุ ก คนกำ�ลั ง เผชิ ญ หน้ า กั บ สิ่ ง ที่ กำ�ลั ง เปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ แต่สิ่งที่ อีลอน มัสก์ ให้แง่คิดไว้อย่างน่าจดจำ� คือ หากเรา ยังมีความฝันและจินตนาการ และพยายามไปให้ถึงจุดหมาย คือ หลักสำ�คัญของเป้าหมาย ไม่ว่าท้ายที่สุดจะประสบความสำ�เร็จ หรือไม่ แต่อย่างน้อยเราได้ลงมือทำ�แล้ว และถ้าผลที่ออกมาเป็น จริงตามฝัน นั่นคือสิ่งประดิษฐ์ ที่เรากำ�ลังทำ�ให้โลกต้องจารึกไว้ เฉก เช่นเดียวกับชาวอียิปต์ที่สร้างพีระมิดอายุกว่าพันปี หากชาวอียิปต์ ไม่ลงมือทำ� วันนี้ชาวโลกคงไม่มีโอกาสได้รับรู้ นี่จึงเป็นอีกหนึ่งความคิดที่ทีมงาน STC NEWS เชื่อว่าพวกเรา ชาววิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) มีความสามารถและศักยภาพ ไม่ แ พ้ ใ ครเช่ น กั น เพี ย งแต่ เราต้ อ งกล้ า และเชื่ อ มั่ น ที่ จ ะเดิ น ไป ข้ า งหน้ า พร้ อ มกั บ โชว์ ศั ก ยภาพทางความคิ ด อย่ า งสร้ า งสรรค์ สร้ า งปรากฏการณ์ ใ หม่ ใ ห้ โ ลกได้ รั บ รู้ ว่ า เราก็ มี ดี และพร้ อ มที่ จะโชว์ให้โลกได้จดจำ�…สวัสดีครับ บรรณาธิการ STC NEWS คณะผู้จัดทำ� บรรณาธิการที่ปรึกษา : ศ.ดร.ศรีศักดิ์ จามรมาน ผศ.พรพิสุทธิ์ มงคลวนิช บรรณาธิการจัดการ : รศ.ดร.จุไรรัตน์ ดวงเดือน กองบรรณาธิการ : อาจารย์ทินรัตน์ สัจจาพิทักษ์ อาจารย์พรเลิศ ยนตร์ศักดิ์สกุล อาจารย์เกสรี สมประสงค์ นางสาวอรพรรณ สกุลเลิศผาสุข : อาจารย์วัฒนา บุญปริตร พิสูจน์อักษร นางสาวรุ้งตะวัน กลั่นสุข นางสาวทิวาวรินทร์ จันทร์เพ็ญ : นายภานุวัฒน์ สลีอ่อน ช่างภาพ นายณัฐกานต์ ห้อมล้อม : นายวิฑูรย์ กิจธัญ ศิลปกรรม : สำ�นักงานการตลาดและสื่อสารองค์กร จัดทำ�โดย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

กับรถพลังงานไฟฟ้า (EV) และรถพลังงานแสงอาทิตย์

ผศ.พรพิสุทธิ์ มงคลวนิช

อธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) เหตุผลหนึง่ ทีว่ ทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) ลงทุนและลงแรง ส่งรถพลังงานแสงอาทิตย์เข้าร่วมการแข่งขันระดับโลก เช่น World Solar Challenge คือ การที่บุคลากรและนักศึกษาของวิทยาลัย เทคโนโลยีสยามเชือ่ ในประโยชน์และเชือ่ ในอนาคตทีเ่ ป็นไปได้ของ รถพลังงานแสงอาทิตย์ ประโยชน์ คื อ การลดการใช้ พ ลั ง งานจากนํ้ า มั น ซึ่ ง เกิ ด จาก ถ่านหินหรือฟอสซิลที่ถูกใช้จนเหลือน้อยมาก ทำ�ให้ในปัจจุบัน นํ้ามันมีราคาแพงขึ้นเรื่อยๆ การใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทนจึงถือ เป็ น การประหยั ด พลั ง งานไปในตั ว ประโยชน์ อี ก ข้ อ หนึ่ ง คื อ การลดมลภาวะไอเสี ย จากรถยนต์ เพราะรถที่ ใ ช้ ม อเตอร์ แทนการใช้เครื่องยนต์ย่อมไม่มีไอเสียจึงไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ เราได้เรียนรู้จากการแข่งขันว่ารถที่ใช้งานได้จริงบนท้องถนน โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพียงอย่างเดียวนัน้ เป็นไปได้จริงแน่นอน ซึง่ ในอนาคตอันใกล้นี้ เมือ่ เทคโนโลยีพลังงานด้านต่างๆ ได้ถกู พัฒนา จนถึงจุดที่มีประสิทธิภาพดี และมีราคาที่เหมาะสม เทคโนโลยี แขนงดั ง กล่ า ว ไม่ ว่ า จะเป็ น พั ฒ นาการทางด้ า นโซลาร์ เซลล์ (Solar Cell) แบตเตอรี่ หรือวงจรสมองกลควบคุมพลังงานนั้น ถือว่ามีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดในช่วงสิบปีที่ผ่านมา ดังนั้น รถพลังงานแสงอาทิตย์จึงน่าจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้จริงในอีกไม่กี่ปี ข้างหน้า


ทีมของเรามีความตื่นเต้น ดีใจ เมื่อทางรัฐบาลไทยได้ประกาศ ตั้งเป้าสนับสนุนรถพลังงานไฟฟ้า หรือ EV (Electric Vehicle) ให้เป็นหนึ่งในวาระแห่งชาติ ภายใต้หลักการประเทศไทย 4.0 เพราะรถไฟฟ้าที่แท้จริงก็คือรถพลังงานแสงอาทิตย์ที่รับพลังงาน ไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายด้วยการเสียบปลั๊กรับไฟฟ้า แทนที่จะสร้าง พลังงานไฟฟ้าได้เองจากแสงแดดผ่านทางโซลาร์เซลล์ ด้วยหลักการดังกล่าว รถพลังงานไฟฟ้าจึงน่าจะมีประโยชน์ และ มีอนาคตเช่นเดียวกับรถพลังงานแสงอาทิตย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เป็ น เรื่ อ งที่ จั บ ต้ อ งได้ ต ามท้ อ งถนนได้ จ ริ ง เร็ ว กว่ า รถพลั ง งาน แสงอาทิตย์ เพราะมีความซับซ้อนในเชิงการพัฒนาที่น้อยกว่า แต่เมือ่ ทีมงานได้มโี อกาสศึกษาสถานการณ์รถไฟฟ้าในประเทศไทย จึ ง จำ�เป็ น ต้ อ งตั้ ง คำ�ถามใหม่ ว่ า รถพลั ง งานไฟฟ้ า มี ป ระโยชน์ และอนาคตเฉกเช่นเดียวกับรถพลังงานแสงอาทิตย์จริงหรือ? ทั้งนี้ ข้อมูลสถิติกลับชี้ในทิศทางตรงกันข้าม จากข้อมูลของ กระทรวงพลังงาน พบว่า มากกว่า 80% ของแหล่งพลังงาน ในการผลิ ต ไฟฟ้ าของประเทศไทยยังคงมาจากผลิต ภั ณ ฑ์ จ าก ฟอสซิล (มากกว่า 65% มาจากก๊าซธรรมชาติ มากกว่า 15% มาจากถ่านหิน และประมาณ 1% มาจากนํ้ามัน) ประโยชน์ ห ลั ก ที่ ชั ด เจนของรถพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ทั้ ง ใน เรื่องการถนอมการใช้พลังงานที่ได้จากฟอสซิล และการประหยัด ค่าใช้จ่ายของประเทศจากรายจ่ายเรื่องพลังงาน จึงดูไม่เป็นผล ชัดเจนสำ�หรับรถพลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย หากลองจินตนาการ วันที่ท้องถนนในประเทศไทยเต็มไปด้วยรถพลังงานไฟฟ้า และ พลังงานไฟฟ้ากว่า 80% ยังคงมาจากต้นกำ�เนิดเดียวกับนํา้ มัน แล้ว เราจะประหยัดและช่วยสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร ในความเป็นจริงเรื่องมลพิษนั้น แม้รถไฟฟ้าจะไม่สร้างมลพิษ ด้วยตัวรถเอง แต่การผลิตไฟฟ้าจากผลผลิตของฟอสซิลเป็นจำ�นวน มากย่อมก่อให้เกิดมลพิษเช่นกัน ซึ่งต่างจากหลายประเทศที่แหล่ง พลังงานหลักในการผลิตไฟฟ้าไม่ได้มาจากฟอสซิล แต่มา จากแหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น การผลิตไฟฟ้าจาก พลังนํ้า พลังลม และพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งไม่ ได้สร้างมลพิษจากกระบวนการผลิต

อาจเป็นเหตุผลเดียวกันที่ อีลอน มัสก์ (Elon Musk) ผู้ก่อตั้ง บริ ษั ท ผลิ ต รถยนต์ พ ลั ง ไฟฟ้ า ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มสู ง สุ ด อย่ า ง เทสล่ า (Tesla) ได้ทดลองสร้างเมืองโซลาร์เซลล์โดยการสร้างแผนการ ผลิตพลังงานไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ จากการออกแบบและผลิต แผงโซลาร์เซลล์คุณภาพสูง และติดตั้งให้ฟรีบนหลังคาสิ่งปลูกสร้าง ทั่ ว ทั้ ง เมื อ งยาร์ ร าเบนด์ (Yarra Bend) ใกล้ น ครเมลเบิ ร์ น (Melbourne) เพื่ อ ให้ ร ถเทสล่ า สามารถเติ ม พลั ง งานไฟฟ้ า ที่มีราคาถูกและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง และอาจเป็ น เหตุ ผ ลเดี ย วอี ก เช่ น กั น ที่ บ ริ ษั ท นวั ต กรรมใน ประเทศฮอลแลนด์ อย่าง ไลท์เยียร์ (LightYear) ได้ประกาศเปิด ตัวรถพลังงานแสงอาทิตย์ที่ขับเคลื่อนโดยใช้แหล่งพลังงานจาก แสงอาทิตย์เพียงอย่างเดียวที่จะออกสู่ตลาดในปีหน้า (ค.ศ. 2019) โดยใช้ชื่อรถรุ่นแรกว่า ไลท์เยียร์ วัน (LightYear One) มาถึ ง จุ ด นี้ ผู้ อ่ า นอาจเริ่ ม มี ค วามคิ ด เห็ น ตรงกั น กั บ ที ม งาน รถพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ข องวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยามแล้ ว ว่ า หนึง่ ในเป้าหมายหลักของประเทศไทย 4.0 คือ การพัฒนาและสร้าง อุตสาหกรรมรถพลังงานไฟฟ้าอาจจะไม่เพียงพอ ประเทศไทยน่าจะ ตั้งเป้าหมายที่ได้ทั้งประโยชน์และความเป็นไปได้จริงในอนาคต เป้ า หมายของประเทศไทยน่ า จะเป็ น การพั ฒ นาและผลิ ต รถที่ สามารถสร้างพลังงานได้ด้วยตัวรถเอง “รถพลังงานแสงอาทิตย์” จึงน่าจะเป็นคำ�ตอบที่ดีที่สุด... ท่านรู้หรือไม่

รถพลังงานแสงอาทิตย์ STC-2 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2561


4 ปีกับการศึกษาที่ STC เข้มข้นด้านวิชาการ วิชาชีพ และมากด้วยกิจกรรม ตลอดระยะเวลา 4 ปี ข องการศึ ก ษาที่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยาม (STC) นอกจากความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากคณาจารย์ ร ะดั บ มื อ อาชี พ แล้ ว นั ก ศึ ก ษาจะได้ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมที่ ห ลากหลาย จั ด โดย 6 คณะ และสำ � นั ก งานกิ จ การนั ก ศึ ก ษาและชุ ม ชนสั ม พั น ธ์ เพื่อสร้างประสบการณ์อันน่าประทับใจให้กับนักศึกษา ทุ ก คน และยั ง เป็ น การสร้ า งความรั บ ผิ ด ชอบใน การเรี ย นและการร่ ว มกิ จ กรรมให้ กั บ นั ก ศึ ก ษา เพื่ อ ปูพื้นฐานการทำ�งานต่อไปในอนาคต นายศรายุทธ เลาเจริญทรัพย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ บอกเล่าถึงความประทับใจ ที่มีต่อวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม


ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2561


วทส. ส่ง 6 นวัตกรรม ร่วมงาน IP FAIR 2018 วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) นำ�นวัตกรรม 6 ชิ้น ได้แก่ รถสามล้อพลังงานไฟฟ้า เพื่อใช้ในงานโฆษณา, กระเป๋าสะพายเก็บเกี่ยวพลังงาน, รถพลังงานแสงอาทิตย์ STC-2, รถตัดหญ้าพลังงานแสงอาทิตย์, เครือ่ งบำ�บัดนํา้ เสียด้วยโอโซนระบบพลาสมาความดันสูง และ ถังขยะฆ่าเชื้อโรคด้วยโอโซนระบบพลาสมาความดันสูง ไปจัดแสดงที่งานมหกรรมทรัพย์สิน ทางปัญญา (IP FAIR 2018) โดย น.ส.ชุติมา บุณยประภัศร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง พาณิชย์ และนายทศพล ทังสุบตุ ร อธิบดีกรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา เข้าเยีย่ มชมพร้อมสอบถาม ถึงนวัตกรรมของวิทยาลัยฯ โดย ผศ.พรพิสทุ ธิ์ มงคลวนิช อธิการบดีวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสยาม ให้การต้อนรับ

ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2561


STC ถ่ายทอดความรู้

วทส.จัดประชุมวิชาการ

การจัดทำ�บัญชีทรัพย์สินสำ�หรับวัด

เทคโนโลยีระดับชาติและนานาชาติ

คณะบั ญ ชี วิ ท ยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) จัดโครงการ อบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง “การจั ด การและการจั ด ทำ � บั ญ ชี ทรัพย์สินสำ�หรับวัด” แด่พระภิกษุสงฆ์ ระหว่างวันที่ 13–15 มิถุนายน 2561 วิทยากรโดย พระสิริชัยโสภณ เจ้าอาวาสวัด ดาวดึงษาราม และคณาจารย์คณะบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ณ ห้อง 9201 ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาลัยเทคโนโลยี สยาม

คณะเทคโนโลยี วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยาม (STC) จัดการประชุมวิชาการ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ครั้งที่ 4 และการประชุมวิชาการเทคโนโลยีระดับ นานาชาติ ครั้งที่ 2 (4th TECHCON 2018 and 2nd ITECH 2018) ในหั ว ข้ อ “การพั ฒ นานวั ต กรรมและเทคโนโลยี เ พื่ อเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืน” เพื่อเป็นเวทีนำ�เสนอผลงานวิชาการภาคบรรยายและ โปสเตอร์ ภายในงานมีการจัดแสดงผลงานวิจัยและนวัตกรรม ต่างๆ การบรรยายให้ความรู้ทางวิชาการ ณ หอประชุมใหญ่ ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม

นศ. STC เป็นตัวแทนเยาวชนไทย

นายกรัฐมนตรี เยี่ยมชมรถ STC-2

เข้าร่วมการแข่งขัน WORLD SOLAR CHALLENGE 2017 นั ก ศึ ก ษาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยาม (STC) เป็ น ตั ว แทน เยาวชนไทยเข้าร่วมการแข่งขัน World Solar Challenge 2017 การแข่ ง ขั น รถพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ของโลก ณ ประเทศออสเตรเลีย ตั้งแต่วันที่ 8-15 ตุลาคม 2560 โดยปีนี้ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามได้ส่งรถ STC-2 นิโคล่า (STC-2 Nikola) ลงแข่งขันในรุ่น Cruiser นับเป็นครั้งที่สองที่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน รายการดังกล่าว โดยมีคณะผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นักศึกษาร่วมเดินทางไปส่งที่สนามบินสุวรรณภูมิ

ผลงานนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 พล.อ.ประยุ ท ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ร่วมด้วยคณะรัฐมนตรีเดินทางไปยัง สนามบินวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (โพธาราม ราชบุรี) เพื่อเป็น ประธานเปิ ด โครงการประชารั ฐ ร่ ว มใจ ปลู ก ต้ น ไม้ ใ ห้ แ ผ่ น ดิ น ปี พ.ศ. 2561 ณ ศูนย์ศึกษาวิธีการฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม อั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำ�ริ อำ�เภอโพธาราม จั ง หวั ด ราชบุ รี พร้ อ มแวะเยี่ ย มชมรถยนต์ พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ STC-2 ผลงานการคิดค้นและสร้างโดยนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (STC) ณ สนามบินวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (โพธาราม ราชบุรี) ประจำ�เดือนกรกฎาคม 2561


กรุณาส่ง...

email: info@siamtechno.ac.th Maps: https://goo.gl/maps/ESSQere8YJG2 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: โทร. 0 2878 5000

website: http://www.siamtechno.ac.th Line@: @siamtechno


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.