รายงานประจำปี 2553

Page 1

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล:

การเริ่มต้นใหม่และความหวัง รายงานประจ�ำปี 2553 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย


ร่วมกันเสริมสร้างสิทธิมนุษยชน ร่วมกันต่อต้านความอยุติธรรม เปิดกว้าง รอบรู้ ตั้งใจจริง คิดค้นสิ่งใหม่ๆ การเปลี่ยนแปลงในสิทธิของผู้ทรงสิทธิ

การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การเปลี่ยนแปลงในกระบวนการเคลื่อนไหว และการรณรงค์

การเปลี่ยนแปลงความรับผิดชอบ ท�ำงานเพื่อปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั่วโลก “ไม่ต้องสงสัยเลยว่า กลุ่มคน กลุม่ เล็กๆ ผูม้ คี วามจริงจังและมีความคิด สามารถเปลีย่ นแปลงโลกได้ และแท้ทจี่ ริง ก็เป็นเช่นนั้นเสมอมา” มาร์กาเร็ต มีดด์


ความส�ำเร็จเกิดขึ้นได้ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยเชื่อว่า ความส�ำเร็จทีเ่ กิดขึน้ ในปีทผี่ า่ นมานัน้ มาจากพลัง การสนับสนุน และความเป็นหนึ่งเดียวกันของบรรดาสมาชิก นักกิจกรรม ผู้สนับสนุน คณะกรรมการ นักศึกษาฝึกงาน อาสาสมัคร และ เจ้าหน้าที่ ซึง่ กลุม่ คนเหล่านีไ้ ด้มสี ว่ นร่วมกันสร้างสรรค์งานอย่าง เต็มก�ำลังความสามารถและความทุม่ เทท�ำให้ภารกิจขององค์กร มีความก้าวหน้า


ความส�ำเร็จเกิดขึ้นได้ รายชื่อ นายสมชาย หอมลออ นายเอกชัย ปิ่นแก้ว นางสาวปิยนุช โคตรสาร นาวสาวกฤติกา โภคากร นายเตชินทร์โชติ อะนันชัย นายประสิทธิ์ ดวงแก้ว นายนิติธร ทองธีรกุล นายปกรณ์ อารีกุล นางสาวขวัญระวี วังอุดม

ต�ำแหน่ง ประธาน รองประธาน เหรัญญิก กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

วาระ มิถุนายน 2553-เมษายน 2555 พฤษภาคม 2552-เมษายน 2554 พฤษภาคม 2552-เมษายน 2554 พฤษภาคม 2552-เมษายน 2554 พฤษภาคม 2552-เมษายน 2554 พฤษภาคม 2552-เมษายน 2554 มิถุนายน 2553-เมษายน 2555 มิถุนายน 2553-เมษายน 2555 มิถุนายน 2553-เมษายน 2555

เจ้าหน้าที่ รายชื่อ นางสาวปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล นางสาวเนาวรัตน์ เสือสอาด นางสาวสุธารี วรรณศิริ นางสาวสินีนาฏ เมืองหนู นายตฤณ ขุมทรัพย์ นางสาวจุบแจง วิบูลย์อาตย์ นางสาวดวงพร พิษณุวงษ์

ต�ำแหน่ง ผู้อ�ำนวยการ ผู้จัดการส�ำนักงาน ผู้ประสานงานฝ่ายรณรงค์ ผู้ประสานงานฝ่ายพัฒนาสมาชิก ผูป้ ระสานงานฝ่ายสิทธิมนุษยชนศึกษา แม่บ้าน เจ้าหน้าฝ่ายบัญชี (ไม่เต็มเวลา)

ที่ปรึกษา นายอเล็ก แบมฟอร์ด

อาสาสมัครและนักศึกษาฝึกงาน รายชื่อ

มหาวิทยาลัย

นางสาวผกามาส ค�ำฉ�่ำ นายไชยา โคตรศักดี Ms. Shari Innis Grant Ms. Harshpreet Kaur Anand นางสาวศิรดา เขมานิฏฐาไท นางสาวอุษณา โต๊ะหลงหมาด นางสาวปฐมาวดี พัฒนสิงห์ นางสาวสาคร กันพูล นางสาวธิดารัตน์ ด้วงคง นางสาวจุฑามาส ศรีเจริญ

Yale Law School, USA วลัยลักษณ์ วลัยลักษณ์ ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

บทบาทหน้าที่ อาสาสมัครฝ่ายสิทธิมนุษยชนศึกษา อาสาสมัครออกแบบและสิ่งพิมพ์ นักศึกษาฝึกงาน ฝึกงาน ฝึกงาน นักศึกษาฝึกงาน นักศึกษาฝึกงาน นักศึกษาฝึกงาน นักศึกษาฝึกงาน นักศึกษาฝึกงาน


BOARD MEMBERS

STAFF

STAFF ADVISOR INTERNS AND OFFICE VOLUNTEERS


ความฝันที่ยิ่งใหญ่ การเปลี่ยนแปลงที่สดใสและเปี่ยมด้วยพลัง ปี 2553 น�ำมาซึ่งความหวัง เป็นการเปิดภาพลักษณ์ใหม่ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ด้วยการเริ่มต้นรับเจ้าหน้าที่ใหม่ 4 คน ผู้อ�ำนวยการเข้าท�ำงานเดือนพฤษภาคม ผู้ประสาน งานฝ่ายสิทธิมนุษยชนศึกษาเข้าท�ำงานเดือนมิถนุ ายน ผูป้ ระสานงานฝ่ายพัฒนาสมาชิกและเครือข่ายเข้า ท�ำงานเมือ่ เดือนกันยายนและ ผูป้ ระสานงานฝ่ายการรณรงค์เพือ่ สิทธิมนุษยชนเข้าท�ำงานเมือ่ เดือนตุลาคม รวมทัง้ คณะกรรมการชุดใหม่ได้เริม่ ปฏิบตั งิ านในเดือนมิถนุ ายน และทีส่ ำ� คัญเราโชคดีทไี่ ด้นกั ศึกษาฝึกงาน และอาสาสมัครที่มีความสามารถพร้อมกับความทุ่มเท ทั้งในและต่างประเทศมาช่วยเหลืองาน อย่างต่อ เนื่อง

ประเภทสมาชิก

2008

2009

2010

สมาชิก

521

354

684

นักกิจกรรม

-

853

2,547

ผู้สนับสนุน

-

-

1

กลุ่ม AI ประเทศไทย

-

5

12

นักศึกษาฝึกงานและ อาสาสมัครประจ�ำ

4

3

11

10

30

27

อาสาสมัครส�ำหรับ กิจกรรมรณรงค์

*ประเภทสมาชิกและผู้สนับสนุนของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้พัฒนาขึ้นมาจากแนวทางที่ ก�ำหนดขึ้นจากแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนลในปี 2552; 1. สมาชิก (Members ) ผู้ที่ได้ตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรในการสมัครเป็นสมาชิก 2. นักกิจกรรม (Activists) บุคคลที่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างน้อยหนึ่งกิจกรรมที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลจัดขึ้น 3. ผู้สนับสนุน (Supporters) บุคคลที่ได้บริจาคเงินช่วยเหลือการด�ำเนินงานขององค์กร แต่ไม่ได้มีการตกลงเป็นลายลักษณ์อักษรในการสมัคร เป็นสมาชิก 4. กลุ่ม AI ประเทศไทย (AI Th Groups ) • ประกอบด้วยสมาชิกตั้งแต่ 5 คนขึ้นไปรวมตัวกันและมีการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในส่วนต่างๆ เช่น ประธานกลุ่ม ผู้ประสานงาน เหรัญญิก • มีแนวทางการท�ำงานที่ชัดเจน ซึ่งปกติจะเป็นเรื่องของการร้องอุทธรณ์โดยตรง ไม่ว่าจะท�ำเพื่อนักโทษรายบุคคลหรือว่านักโทษกลุ่ม หรืออาจเป็นประเด็นส�ำคัญ เช่น โทษประหารชีวิต • เพิ่มความรู้ความตื่นตัวด้านงานรณรงค์และวัตถุประสงค์ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแก่ประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมไม่ว่าจะ เป็นการเดินขบวนเรียกร้องความเป็นธรรมต่อเหตุการณ์ต่างๆ รวมถึงงานในการประสานกับสื่อมวลชน งานเชิงสาธารณชน และสิทธิมนุษยชนศึกษา • หาเงินทุนจัดกิจกรรม • มีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็น และการตัดสินใจของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล


บุคลากรใหม่ๆและแรงบันดาลใจพร้อมกับความมุ่งมั่นอันเต็มเปี่ยมที่เกิดขึ้นภายในองค์กรแสดงถึง ค�ำมั่นสัญญาที่จะพัฒนาองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้าและในที่สุดได้ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาชื่อเสียงให้ เป็นที่รู้จักต่อสาธารณะชนถึงความเป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน นอกจากนั้นแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ส�ำนักเลขาธิการ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เดนมาร์ก และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ออสเตรเลียได้รว่ มลงนามในข้อตกลงว่าด้วยการเสริมสร้างศักยภาพ ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยเมื่อเดือนตุลาคม ซึ่งหลักสูตรการอบรมต่างๆได้ถูกจัดท�ำขึ้นเพื่อ ยกระดับความสามารถของเจ้าหน้าทีแ่ ละความช�ำนาญในเรือ่ งการจัดการเงิน การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ธรรมาภิบาลของการบริหาร และการเจริญเติบโตของนักกิจกรรม

ความส�ำเร็จที่ได้รับ ด้านการบริหารและการจัดการ • ร่างระเบียบปฏิบัติของคณะกรรมการ รายละเอียดหน้าที่ของกรรมการได้ถูกพัฒนาให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น • มีการจัดปฐมนิเทศและจัดอบรมให้กับคณะกรรมการเพื่อมีความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ในการบริหาร และได้จัดท�ำคู่มือปฐมนิเทศส�ำหรับ คณะกรรมการ • เกิดกระบวนการส่งผ่านภารกิจจากคณะกรรมการชุดเก่าไปยังชุดใหม่อย่างมีระบบที่ดียิ่งขึ้น • รายงานสถานะการเงินประจ�ำเดือนและประจ�ำไตรมาสได้ถูกจัดท�ำขึ้นและรายงานต่อคณะกรรมการอย่างเป็นระบบที่ชัดเจนและสามารถตรวจสอบได้ • นโยบายและแนวปฏิบัติด้านบุคคลากรและการเงิน รวมทั้งแนวทางปฏิบัติส�ำหรับนักศึกษาฝึกงาน/อาสาสมัครได้ถูกจัดท�ำขึ้น และน�ำมาปฏิบัติใช้ การพัฒนาสมาชิกและเครือข่าย • พัฒนาร่างแผนยุทธศาสตร์เพื่อการเจริญเติบโตขององค์กร • พัฒนาร่างระเบียบการปฏิบัติส�ำหรับสมาชิก / นักกิจกรรม • พัฒนาระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลสมาชิก • พัฒนาคู่มือสมาชิก • จ�ำนวนสมาชิกและนักกิจกรรมจากต่างสาขาอาชีพมีปริมาณและคุณภาพที่ดีขึ้น • สมาชิกได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรอาทิเช่น กิจกรรมค�่ำคืนแห่งสิทธิ (Light Up Night) ซึ่งเป็นการพูดคุยเชิงเสวนาอย่างไม่เป็นทางการในประเด็น สิทธิมนุษยชน กิจกรรมดูหนัง (สิทธิ) (Human Rights Film Party) และ กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสิทธิมนุษยชน (Human Rights Tour) • จัดท�ำการประเมินผลในทุกกิจกรรม • จัดส่งข่าวรายสัปดาห์ จดหมายข่าว อย่างสม�่ำเสมอให้กับสมาชิก องค์กรเครือข่าย และสื่อมวลชน และพัฒนาเว็บไซต์ให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้น • พัฒนาสื่อต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์องค์กร และกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร • สมาชิกและสาธารณชนรับรู้และมีความเข้าใจมากขึ้นในจุดยืน และกิจกรรมขององค์กร • จัดท�ำการส�ำรวจความคิดเห็นของสมาชิกในหัวข้อ “การมีสว่ นร่วมของสมาชิกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์กร” ผ่านทางโทรศัพท์ และระบบออนไลน์ มีสมาชิก 196 ท่านเข้าร่วมการส�ำรวจนี้ ข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจจะน�ำไปพัฒนางานด้านสมาชิก และกิจกรรมอื่นๆ ขององค์กรต่อไป


การเสริมความเข้มแข็งในงานรณรงค์ • ตัวแทนจากแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย เข้าร่วมการประชุมและสัมมนากับภาคประชาสังคม ท�ำให้สังคมได้เข้าใจถึงจุดยืนและ รูปแบบการปฏิบัติงานใหม่ๆ ขององค์กร • สร้างเครือข่ายการท�ำงานร่วมกับมหาวิทยาลัย สถาบันสิทธิมนุษยชน และภาคประชาสังคมต่างๆ • แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้ส่งจดหมายร้องเรียน และ/หรือข้อเสนอแนะไปยังรัฐบาลในประเด็นต่างๆ เพื่อให้พวกเขารับฟัง เรื่องร้องเรียนจากประชาชน • สื่อมวลชนแขนงต่างๆได้สัมภาษณ์ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยในหลายประเด็น เช่น รายงานสิทธิมนุษยชนประจ�ำปี เหตุการณ์ ความไม่สงบระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553 เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ และผู้ลี้ภัยชาวพม่า เป็นต้น

บทเรียนต่อการท�ำงาน • การสนับสนุนอย่างดีและมีคุณภาพ รวมทั้งการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงของสมาชิกมีความส�ำคัญต่อองค์กรเป็นอย่างมากที่จะท�ำให้ ภารกิจงานส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนส�ำเร็จลุล่วง ดังนั้นเราจึงต้องพยายามเชื้อเชิญและสร้างแรงบันดาลใจต่อประชาชนทั่วไปให้เข้ามา ร่วมสนับสนุนภารกิจต่างๆ ขององค์กรมากยิ่งขึ้น • ระบบการบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถช่วยให้การท�ำงานขององค์กรมีความต่อเนือ่ งและมีประสิทธิภาพ แม้วา่ จะมีการเปลีย่ น ผ่านของเจ้าหน้าที่

“เราได้เริม่ ท�ำงานกับแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทยเมือ่ เดือนตุลาคม 2552 และได้พบว่าภารกิจด้านสิทธิมนุษยชนขององค์กรมีความอ่อนแอมาก ซึ่งไม่เป็น ผลดีเลย ตามมาด้วยการยื่นใบลาออกของผู้อ�ำนวยการและเจ้าหน้าที่หลายท่านท�ำให้ องค์กรเกิดความสั่นคลอน ส�ำนักเลขาธิการจึงได้ตัดสินใจเข้ามาให้การสนับสนุนในช่วง เวลาเดียวกันกับที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้รับผู้อ�ำนวยการคนใหม่ ซึ่งมีประสบการณ์และความรู้ความสามารถเข้าท�ำงานเมื่อเดือนพฤษภาคม 2553 และ เจ้าหน้าที่คนรุ่นใหม่ที่มีแรงบันดาลใจเต็มเปี่ยมและเต็มด้วยความสามารถ โดยที่มีคณะ กรรมการให้การสนับสนุน เมือ่ มีสงิ่ เหล่านีป้ ระกอบกันท�ำให้องค์กรได้มผี ลงานปรากฎต่อ สังคมโดยเฉพาะในเรื่องการรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชนและสิทธิมนุษยชนศึกษา องค์กรมี การพัฒนาและเจริญเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง เราหวังว่าแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยจะปรับเปลีย่ นมาเป็นองค์กรทีม่ บี ทบาทมากขึน้ กว่าเดิม และได้รบั สถานภาพ จากแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลในไม่ช้า!” Barbara Dettori International Mobilisation Coordinator Mobilisation Support Unit

• การมีคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ที่ มีความหลากหลายทัง้ สาขาอาชีพ และภูมหิ ลังจะ ส่งผลดีตอ่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานขององค์กร • การบริหารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ของคณะ กรรมการเป็นสิง่ ส�ำคัญในการน�ำมาซึง่ การพัฒนา ทีเ่ กิดประสิทธิผลและการเจริญเติบโตขององค์กร • การมียทุ ธศาสตร์และแผนงานทีช่ ดั เจน มีประโยชน์ตอ่ เจ้าหน้าทีใ่ นการด�ำเนินภารกิจองค์กร ให้ส�ำเร็จลุล่วง • มปี ระชาชนจ�ำนวนหนึง่ วิพากษ์วจิ ารณ์ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย ในทาง ลบอยูม่ ากทางสือ่ อินเตอร์เน็ต ดังนัน้ การตอบสนอง ที่เหมาะสมและทันเวลาโดยผ่านการปรึกษาจาก ที่ปรึกษา คณะกรรมการ และทีมงานฝ่าย เอเชีย-แปซิฟกิ จึงเป็นเรือ่ งส�ำคัญมากในการแก้ไข ปัญหาที่เกิดจากความไม่เข้าใจให้คลี่คลายลงได้ • การจัดตั้งองค์กรบนรากฐานความ เป็นกลาง ความรับผิดชอบ และความโปร่งใสมี ความส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อทุกสิง่ ทีอ่ งค์กรกระท�ำ และ เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะต้องสื่อสารกับสมาชิกและ ประชาชนอย่างตรงไปตรงมา • การที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ได้ท�ำงานร่วมกับองค์กรอื่นๆ ที่มี พันธกิจสอดคล้องกันสามารถยกระดับการท�ำงาน ได้มากโดยเฉพาะในการทีจ่ ะเข้าถึงประชาชนมาก ขึน้ บรรลุผลมากขึน้ และสามารถสร้างการยอมรับ ในวงกว้างได้รวดเร็วขึ้น


“ผมมีโอกาสร่วมท�ำงานกับแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ในการประชุมเชิงปฏิบัติการด้านการ เจริญเติบโตขององค์กรเมือ่ เดือนตุลาคม 2552 ผมประทับใจมากทีผ่ เู้ ข้าอบรมและเจ้าหน้าที่ มีความกระตือรือร้นและ เอาใจใส่ในการเรียนรู้ ความช�ำนาญ ประสบการณ์ และการใช้ภาษาสื่อสารได้ดี ในมุมมองของผมเห็นว่า แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นได้มากกว่าที่เป็นอยู่” Erik Jenrich Sørensen Head of Activism Amnesty International Denmark

Salil Shetty เลขาธิการแอมแนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลเดินทางมาประเทศไทยระหว่างวันที่ 6-10 พฤศจิกายน 2553 และได้เข้าพบ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีเพื่อหารือในประเด็นสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย อีกทั้งพบปะกับองค์กรระหว่างประเทศ ภาคประชาสังคม สื่อมวลชนนานาชาติ และเป็นผู้ร่วมอภิปรายในการประชุมนานาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริตครั้งที่ 14 ทั้งนี้ Salil ได้มี โอกาสพบปะคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย และนักกิจกรรม-เยาวชนพม่า ผู้อ�ำนวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทย ได้มีโอกาสร่วมการประชุมต่างๆ กับ Salilในครั้งนี้ รวมทั้งได้พูดคุยถึงความก้าวหน้า ความกังวล และปัญหาอุปสรรค ให้ Salil ได้รับทราบ Salil ได้กล่าวให้ก�ำลังใจและยินดีให้การสนับสนุนกับทางแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

“Salil ได้กล่าวว่าเขามีความดีใจที่ได้พบปะและท�ำงานใกล้ชิดกับแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทย ความส�ำเร็จในการเยือนครั้งนี้เกิดจากความเอาใจใส่และความมีมานะ ในการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ทุกคน”

Chantal Vouillemin Head of Office Office of the Secretary General


แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยในปี 2553:

ร่วมลงมือท�ำและสร้างแรงบันดาลใจ

งานรณรงค์

Campaigns

การรณรงค์คุณค่าศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย เชื่อมั่น ในการฟื้นฟู การส่งเสริมและปกป้องศักดิ์ศรีของทุกคนโดย ไม่ค�ำนึงถึงสถานภาพทางสังคม เพศ อายุ ฯลฯ ถึงแม้ว่าการ ท�ำงานจะอยูภ่ ายใต้ขอ้ จ�ำกัดด้านงบประมาณของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย แต่เราก็ได้จดั กิจกรรมหลาย อย่างทีเ่ ป็นการผลักดันในประเด็นนี้ ดังแสดงในตารางกิจกรรม


หัวข้อ

วัตถุประสงค์และผลงาน

นิทรรศการภาพการเรียกร้อง การเคารพสิทธิ

นิทรรศการภาพถ่ายเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญ ที่บรรยายถึงปัญหาต่างๆ ตลอดจนความจ�ำเป็นขั้น พืน้ ฐานของคนยากจนในสังคมไทยทีย่ งั คงถูกละเลย

การอภิปรายเรื่องการ พัฒนาแห่งสหัสวรรษใน มุมมองสิทธิมนุษยชน

วัตถุประสงค์หลักคือการทบทวนและ สรุปข้อคิดเห็นต่างๆ ที่ได้จากการด�ำเนินแผนการ พัฒนาแห่งสหัสวรรษในประเทศไทยโดยผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้อง เช่น นักวิชาการ ภาคประชาสังคม ชนกลุ่มน้อย มีผเู้ ข้าร่วม 37 คน กิจกรรมนีไ้ ด้มรี ายงาน ข่าวเผยแพร่ทางThe Nation Channel TVและบนเว็บไซด์ ThaiNGO.org ดังนีh้ ttp://www.thaingo.org/board_2/ view.php?id=2269 and http://wwwl.thaingo.org/ board_2/view.php?id=2429

การประชุมเชิงปฏิบัติการใน ประเด็นสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม (ESCR)

• กิจกรรมนี้ได้ถูกจัดขึ้นเพื่อช่วยให้ องค์กรได้ระดมความคิดเห็นและเรียนรู้สถานการณ์ ESCR ตลอดจนท�ำความรู้จกั กับองค์กรเครือข่ายใน ประเทศไทย และผลักดันให้องค์กรเครือข่ายเหล่านี้ เกิดการร่วมมือกันท�ำงานในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ ESCR • มีผู้เข้าร่วม 16 คน รวมทั้งผู้แทนไทย ในคณะกรรมาธิการระหว่างรัฐบาลอาเซียนว่าด้วย สิทธิมนุษยชน นักวิชาการ อดีตสมาชิกคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน นักกฎหมายเพื่อสิทธิมนุษยชน และ ตัวแทนจากภาคประชาสังคม

การรณรงค์ทางไปรษณียบัตร ที่สนับสนุนและคุ้มครองใน ประเด็น ESCR

ไปรษณียบัตรถูกจัดท�ำขึน้ ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษและแจกจ่ายไปยังกลุ่มเป้าหมาย ต่างๆ เช่นโรงเรียนและมหาวิทยาลัย รวมถึงประชาชน เพือ่ ให้รจู้ กั และเข้าใจในประเด็น ESCR ซึง่ เราสามารถ รวบรวมไปรษณียบัตรได้ 772 ใบ ที่สนับสนุนการ คุ้มครองในสิทธิดังกล่าวนี้

การรณรงค์ให้บริษัทน�้ำมัน เชลล์ มีความตระหนักในประเด็น สิทธิมนุษยชน และมีความ รับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น

สร้างความตืน่ ตัวเรือ่ งมลภาวะเป็นพิษ และการทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตน�ำ้ มันรายใหญ่ได้ทำ� การละเมิด สิทธิมนุษยชน มีผู้ให้ความสนใจจ�ำนวนมากและได้ เข้าร่วมพิมพ์มอื บนป้ายประกาศ และร่วมลงนามใน ไปรษณียบัตรร้องเรียนถึง 162 ใบ

การสร้างเครือข่ายในการ ร่วมมือพัฒนา

• แอมเนสตี้ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ประเทศไทยมีการประสานงานกับองค์กรที่ท�ำงาน ในประเด็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศโลก และได้จดั กิจกรรมขึน้ เพือ่ เชิญชวนให้เกิดการตระหนัก และหาทางออกในการแก้ไขสภาวะโลกร้อน • แอมเนสตี้ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล ประเทศไทยมีส่วนร่วมในงานฉลองครบรอบ 15ปี ของกลุม่ สมัชชาคนจน มีผสู้ นใจเข้าร่วม 300 คน โดย เป็นการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ ซึง่ กลุม่ ผูจ้ ดั ได้อภิปราย ถกเถียงถึงสิทธิที่พวกเขามีในการจัดการและใช้ ประโยชน์จากแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้จัดแสดงผลงาน ภาพถ่าย แจกจ่ายเอกสารการรณรงค์ และจ�ำหน่าย ของที่ระลึกเพื่อการระดมทุน


หัวข้อ

การรณรงค์ การเลือกตั้งในพม่า

วัตถุประสงค์และผลงาน

ผลิตสือ่ รณรงค์ในประเด็นพม่า

สื่อรณรงค์ต่างๆ ได้ถูกจัดท�ำขึ้น เช่น เอกสารรณรงค์การเลือกตัง้ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และภาษาพม่า สติกเกอร์ข้อความเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการชุมนุม และเสรีภาพ ในการรวมกลุม่ ไปรษณียบัตรเรียกร้องจ�ำนวน 1,000 ใบในเรื่องเสรีภาพ 3 ประการ แปลบทภาพยนตร์ สารคดีเรื่อง “This is NOT Democracy” และ นิทรรศการภาพนักโทษการเมืองในพม่า

กิจกรรมร�ำลึกความรุนแรงใน การปราบปรามนักศึกษาและ ประชาชนในเหตุการณ์ 8.8.88

นอกจากการจัดอภิปรายเพือ่ ร�ำลึกถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ยังได้มีการแจกจ่ายไปรณียบัตร เรียกร้องเสรีภาพ 3 ประการ สติกเกอร์เสรีภาพ 3 ประการ ด้วย มีผู้เข้าร่วมจ�ำนวน110 คน กิจกรรมนี้ ได้มีการรายงานข่าวในช่อง MCOT TV, Thai TBS TV, เว็บไซด์ประชาไท และเว็บไซด์ดีวีบี

สั ม มนา “การต่ อ สู ้ เ พื่ อ ประชาธิปไตยในพม่า อนาคต หลังการเลือกตั้ง”

จัดกิจกรรมเพือ่ ร�ำลึกเหตุการณ์ปฏิวตั ิ ผ้ากาสาวพัสตร์ โดยมีการฉายภาพยนตร์สารคดีเรือ่ ง “Breaking the Silence :Burma’s Resistance,” และตามด้วยการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนในพม่า มีผู้เข้าร่วม จ�ำนวน 20 คน

ไปรษณียบัตรเพือ่ พม่า: เรียกร้อง ให้ปลดปล่อยนักโทษการเมือง และเสรีภาพ 3 ประการ

ไปรษณียบัตรจ�ำนวน 725 ใบ ซึง่ รณรงค์ เรียกร้องในประเด็นเสรีภาพ 3 ประการ และปลด ปล่อยนักโทษทางการเมือง ได้ถูกรวบรวมจากผู้ สนับสนุนและน�ำไปมอบให้กบั คุณสุรนิ ทร์ พศิ สุวรรณ เลขาธิการอาเซียน นอกจากนั้นยังมีปฏิบัติการออนไลน์ เพื่อเรียกร้องในประเด็นดังกล่าวผ่านทางอีเมล์ ทางเฟสบุ๊ค มีผู้สนับสนุนในประเด็นนี้ 75 คน

สัมมนาวิพากษ์การเลือกตั้ง ในพม่าปี 2553

จัดการอภิปรายและฉายภาพยนตร์ สารคดีเรื่อง “This is NOT Democracy” มีผเู้ ข้าร่วม 35 คนทัง้ นักวิชาการ นักเรียน สื่อมวลชน นักกิจกรรมและข้าราชการทหาร สื่อเผย แพร่ผา่ นทางโทรทัศน์ชอ่ ง: NBT (National Broadcast Service of Thailand) เว็บไซด์: สัมมนาถ่ายทอดสด ผ่านเว็บไซด์ 19-may.com ภาพบันทึกวีดโี อกิจกรรม สามารถดาวโหลดได้ที่: http://www.mediafire. com/?ane8xaobads4e Voice Internet TV: http:// archive.voicetv.co.th/content/24384 289 viewsChannel 3: http://www.krobkruakao.com/ข่าว/ 26272/.html Daily News Online: www.dailynews. co.th or http://thairecent.com/Politic/2010/747902/

การฉายภาพยนตร์ Burma VJ

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย เข้าร่วมในกิจกรรมการฉายภาพยนตร์ Burma VJ ซึง่ จัดโดยนักกิจกรรมจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งนิทรรศการภาพนักโทษการเมืองในพม่าได้ถูกจัด ร่วมในกิจกรรมครั้งนี้ด้วย

สัมมนาพม่า:หลังปี 2553

จัดการอภิปรายโดยผูม้ คี วามเชีย่ วชาญ เกี่ยวกับอนาคตของพม่าภายหลังการเลือกตั้งในปี 2553 รวมทั้งฉายภาพยนตร์เรื่อง “Burma 2010’s Elections: This is NOT Democracy” มีผู้เข้าร่วม จ�ำนวน 80 คน http://www.prachatham.com/ detail.htm?code=n3_24112010_02

สัมมนา “การเลือกตั้งในพม่า และผลกระทบต่อชนกลุม่ น้อย ตามแนวชายแดน”

มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นการเลือกตัง้ ในพม่าทีส่ ง่ ผลกระทบต่อชน กลุ่มน้อยในพม่าและฉายภาพยนตร์เรื่อง “This is NOT Democracy.” ซึง่ คุณแครี่ รัสเซลผูผ้ ลิตภาพยนตร์ เรือ่ งนีไ้ ด้มสี ว่ นร่วมในการอภิปรายครัง้ นีด้ ว้ ย มีผเู้ ข้า ร่วมจ�ำนวน 12 คน http://www.prachatham.com/ detail.htm?code=n3_24112010_01


ภารกิจเร่งด่วน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยเข้าร่วมกับเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชน ทัง้ ของไทยและพม่าเพือ่ ร่วมรณรงค์ให้ภาครัฐให้การคุม้ ครองผูล้ ภี้ ยั จากการสูร้ บตามแนวชายแดน ระหว่างทหารของรัฐบาลกับกองก�ำลังชนกลุ่มน้อย ที่ได้หลบหนีภัยจากการสู้รบเข้ามาใน ประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้เข้าร่วมการประชุม ระหว่างเครือข่ายภาคประชาสังคมพม่าและคณะอนุกรรมการองค์กรสิทธิมนุษยชนแห่งชาติใน วันที่15 พฤศจิกายน 2553 โดยทางเครือข่ายภาคประชาสังคมพม่าได้เรียกร้องในการให้ความ คุ้มครองและความช่วยเหลือตามหลักมนุษยธรรมต่อผู้ลี้ภัยชาวพม่าโดยเฉพาะผู้ต้องเผชิญกับ ความเสี่ยงในการถูกค้ามนุษย์ สื่อที่เผยแพร่: มีการรายงานข่าวการประชุมทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง ThaiPBS The Nation VoiceTV ASTV และบนเว็บไซต์ประชาธรรม นอกจากนัน้ ผูอ้ ำ� นวยการยังได้ให้สมั ภาษณ์ กับทางสถานีวิทยุคลื่น 96.5 FM ในประเด็นดังกล่าวอีกด้วย เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2553 กลุ่มอาสาสมัครขององค์กรได้ร่วมจัดชุมนุมในนาม ของเครือข่ายภาคประชาสังคมพม่าบริเวณหน้าอาคารรัฐสภา โดยเครือข่ายได้ขอให้คณะรัฐบาล ไทยช่วยคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐานและให้ความช่วยเหลือทางด้านมนุษยธรรมแก่ผลู้ ภี้ ยั อย่างจริงจัง มีอาสาสมัครเข้าร่วมจ�ำนวน15คน โดยทางเครือข่ายได้ยื่นจดหมายเรียกร้องใน ประเด็นดังกล่าวต่อประธานวุฒิสภา สือ่ ทีเ่ ผยแพร่: กิจกรรมครัง้ นีถ้ กู เผยแพร่อย่างกว้างขวางต่อสือ่ มวลชนหลายแขนง เช่น สถานีโทรทัศน์ ช่อง3 ช่อง5 Voice TV จดหมายข้อเรียกร้องได้มีการตีพิมพ์บนเว็บไซด์ต่างๆ หลายแห่ง


การรณรงค์ยุติโทษประหารชีวิต เพื่อเป็นการรณรงค์เสริมสร้างความเข้าใจ • แถลงการณ์ยุติโทษประหารชีวิตได้ส่งไปยังสื่อมวลชนแขนงต่าง และน�ำ ถึงความโหดร้ายของโทษประหารชีวิต ซึ่งละเมิดต่อ เสนอบนเฟสบุ๊คขององค์กร อีกทั้งบนเว็บไซด์ประชาไท ในวันยุติโทษประหารชีวิต สิทธิการมีชวี ติ เป็นการทารุณกรรม และเป็นการปฏิบตั ิ โลก (10 ตุลาคม) ทีโ่ หดร้าย จงึ จัดให้มกี ารเสวนาอภิปรายเป็นการภายใน ขึ้น โดยมีเจ้าหน้าที่ นักศึกษาฝึกงาน และสมาชิกเข้า สือ่ ทีเ่ ผยแพร่: www.ucanews.com/2010/10/08/thai-catholics-oppose-death-penalty/ ร่วมพูดคุยในประเด็นนีโ้ ดยคุณอเล็ก แบมฟอร์ด สมาชิก ผูม้ บี ทบาทส�ำคัญท่านหนึง่ ขององค์กรร่วมเป็นผูบ้ รรยาย ให้ความรู้ต่อประเด็นดังกล่าวในมุมมองของนักสิทธิ มนุษยชน มีผู้เข้าร่วม 11 คน การรณรงค์เชิงสัญลักษณ์เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจในประเด็นโทษประหารชีวติ จัดขึน้ บริเวณ จุดรอรถโดยสารใจกลางกรุงเทพฯ ในวันที่ 9 ตุลาคม 2553


การเขียนจดหมายรักษ์สิทธิ

กิจกรรมการเขียนจดหมายรักษ์สทิ ธิถกู จัดขึน้ 3 ครัง้ ระหว่าง วันที่ 9-14ธันวาคม โดยท�ำการเปิดตัวในงาน “จุดประกายแห่งการ เปลี่ยนแปลง” แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้คัดเลือก ผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิในประเด็นต่างๆ 6 ท่านจากทั่วทุกมุมโลก โดยมี การลงนามในจดหมายเพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลปลดปล่อย และช่วย เหลือผู้ที่ถูกละเมิดสิทธิครั้งนี้ ทั้งหมด 761ฉบับ ดังรายละเอียดต่อ ไปนี้ - Femi Peters (ประเทศแกมเบีย) 98 ฉบับ - บาทหลวง Alejandro Solalinde Guerra (ประเทศเม็กซิโก) 105 ฉบับ - Norma Cruz (ประเทศกัวเตมาลา) 108 ฉบับ - Walid Yunis Ahmad (ประเทศอิรัก) 109 ฉบับ - Mao Hengfeng (ประเทศจีน) 118 ฉบับ - Su Su Nway (ประเทศพม่า) 223 ฉบับ


การพัฒนาสมาชิกและเครือข่าย แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการสร้างและเพิม่ ศักยภาพ ในการรับรูใ้ นประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับสิทธิมนุษยชนให้ แก่สมาชิกและประชาชนทัว่ ไป นอกเหนือจากกิจกรรม ต่างๆทีไ่ ด้จดั ขึน้ นัน้ องค์กรยังหวังให้สมาชิกมีพฒ ั นาการ ความสนใจที่ ห ลากหลายมากขึ้ น ในประเด็ น สิทธิมนุษยชน อีกทัง้ มีจำ� นวนสมาชิกเพิม่ ขึน้ เพือ่ เพิม่ แรงสนับสนุนภายในประเทศซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญตาม แนวทางของแอมแนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล

“ฉันมีความดีใจทีไ่ ด้รบั การติดต่อทาง โทรศัพท์จากเจ้าหน้าที่ และไม่ลงั เลทีจ่ ะต่ออายุ สมาชิก ขอชื่นชมการติดต่อสื่อสารเป็นประจ�ำ ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย ผ่านทางอีเมล์ เว็บไซด์ และจดหมายข่าว ท�ำให้ ได้ทราบถึงความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เจ้าหน้าทีแ่ ละอาสาสมัครมีความกระตือรือร้น และมีการติดตามประเมินผลงานอย่างใกล้ชดิ กับสมาชิก แบบสอบถามที่ส่งไปยังสมาชิก สามารถใช้เป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาองค์กร ในอนาคต” ปชาบดี พุ่มพวง

กิจกรรมค�่ำคืนแห่งสิทธิมนุษยชน เป็นกิจกรรมหลักทีแ่ อมแนสตี้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทยจัดขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2545 โดยมุ่งเน้นการเสวนาและการอภิปรายในรูป แบบทีไ่ ม่เป็นทางการและแบ่งปันความคิดเห็น ในประเด็นสิทธิมนุษยชน เพือ่ ให้สมาชิกได้รบั ความรู้ความเข้าใจจากผู้เชี่ยวชาญและจาก การอภิปรายกับผูเ้ ข้าร่วมงานด้วยกัน นอกจาก นั้นกิจกรรมนี้ยังท�ำให้พวกเขาได้เตรียมตัวมี ส่วนร่วมในการปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร ที่

ประเด็นในการสนทนา

ส�ำคัญกิจกรรมนี้ถือเป็นโอกาสที่เราจะได้รับ สมัครสมาชิก ผูส้ นับสนุน และนักกิจกรรมใหม่ๆ เพิ่มขึ้นด้วย ในปี 2553 กิจกรรมนีไ้ ด้จดั ขึน้ 6 ครัง้ มีผเู้ ข้าร่วมงานจ�ำนวน 200ท่าน ซึง่ มีหลายท่าน ได้สมัครเป็นสมาชิกแอมแนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทย

วันที่

จ�ำนวน ผู้เข้าร่วม

สมาชิกใหม่

รายรับ ของที่ระลึก (baht)

LIGHT UP NIGHT

ค่าสมาชิก (baht)

บริจาค (baht)

1.

ประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนหลังเหตุการณ์ความไม่สงบ 22 มิ.ย. 2553

50

2.

การพัฒนาเกาะรัตนโกสินทร์

17 ก.ย. 2553

50

8

-

660

870

มองโลกแบบ “ปุถุชน” 4. งานอาสาสมัคร หนักกว่าที่คิด

9 ต.ค. 2553 13 พ.ย. 2553

30

8

40

560

1,022

25

2

150

40

443

5.

สิทธิมนุษยชน - สิทธิทางเพศ

26 พ.ย. 2553

17

1

290

20

274

6.

นึกถึงสิทธิ คิดถึงสื่อ...โลกที่มีตัวตน

17 ธ.ค. 2553

19

2

718

40

400

21

1,198

1,320

3,009

3.

รวม

Company Registration: 01606776

Registered in England and Wales


ข้อเท็จจริงที่ส�ำคัญ

• กิจกรรมค�ำ่ คืนแห่งสิทธิเปิดโอกาสการเรียนรู้ ประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนที่หลากหลาย • มีผู้คนจากหลายประเทศเข้าร่วมในกิจกรรม เหล่านี้ เช่น ญี่ปุ่น อินเดีย สหรัฐอเมริกา ฟิลิปปินส์ เป็นต้น

เสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วม

• กิจกรรมค�่ำคืนแห่งสิทธิมนุษยชน เป็นส่วน หนึง่ ในภารกิจของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทยในการพัฒนาและยกระดับประเด็น สิทธิของชุมชนให้เป็นที่รับรู้ในสังคม • กิจกรรมนี้สามารถปลุกความสนใจและยก ระดับความเข้าใจในประเด็นทีไ่ ม่คอ่ ยมีผนู้ ำ� มา อภิปรายในที่สาธารณะในหมู่คนไทย • ผู้เข้าร่วมงานหวังเป็นอย่างยิ่งให้ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จัดงานค�่ำคืน แห่งสิทธิมนุษยชน เป็นประจ�ำในอนาคต


การท่องเที่ยว เชิงสิทธิมนุษยชน เสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วม • การไปเที่ยวนี้ได้เป็นการเปลี่ยนทัศนคติของ ผูเ้ ข้าร่วมทัง้ การมองชีวติ และการปฏิบตั ติ อ่ ผูอ้ นื่ • ผูเ้ ข้าร่วมงานหวังให้มกี ารอภิปรายในประเด็น ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการด�ำเนินชีวิต การท่อง เทีย่ วเชิงนิเวศ และสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ ต้องการ ให้มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกับคนในท้องถิ่น มากยิ่งขึ้น • ควรมีการจัดการท่องเทีย่ วให้มรี ะยะเวลามาก ในปี 2553 กิจกรรมท่องเทีย่ วเชิงสิทธิมนุษยชน ขึ้นในแต่ละครั้ง จัดขึ้น 2 ครั้งมีผู้เข้าร่วมจ�ำนวน 47 ท่าน

การท่องเที่ยว

วันที่

การท่องเทีย่ วเชิงสิทธิมนุษยชนเป็นการ ส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละยกระดับความเข้าใจใน สถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนและทีส่ ำ� คัญมีความ เกีย่ วข้องกับสิทธิทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม โดยการเที่ยวชมทัศนียภาพและ วิถชี วี ติ ชุมชนรวมถึงมีสว่ นร่วมกับชุมชนในการ รับฟังปัญหาต่างๆ ที่พวกเขาก�ำลังประสบอยู่ ซึง่ การรับฟังนีท้ ำ� ให้เกิดความเข้าใจในประเด็น ปัญหาที่ชุมชนประสบอยู่มากยิ่งขึ้น กิจกรรม นี้ยังเป็นการสนับสนุนและเสริมสร้างเสรีภาพ ในการแสดงออก สิทธิในการมีส่วนร่วมและ สิทธิในการได้รับข้อมูลข่าวสารอีกด้วย

จ�ำนวนผู้เข้าร่วม สมาชิกใหม่

รายรับ ค่าสมาชิก

HUMAN RIGHTS TRIP

บริจาค

1.

กินหอย

25 ก.ย. 2553

25

10

1,000

3,300

2.

เดินเท้าเข้าใจชุมชน

20 พ.ย. 2553

22

3

300

1,000

13

1,300

4,300

รวม


ฟิล์มปาร์ตี้

การจัดแสดงภาพยนตร์ทมี่ เี นือ้ หาในเชิงสิทธิมนุษยชนเป็นกิจกรรมทีม่ เี ป้าหมาย เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมเรียนรูป้ ระเด็นสิทธิมนุษยชนผ่านทางงานศิลปะบนแผ่นฟิลม์ โดยวัตถุประสงค์ หลักของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยคือจัดเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ที่ได้รับจากการชมภาพยนตร์ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน โดยมีวิทยากรคอย ให้ข้อคิดเห็น และข้อชี้แนะที่มีคุณค่าภายใต้กรอบของสิทธิมนุษยชน นอกจากนั้นองค์กร หวังว่ากิจกรรมนี้จะส่งเสริมให้ทุกคนได้ใช้สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่

โดยภาพยนตร์ 3 เรื่องที่จัดแสดง คือ ทองปาน, Strike, และ Waltz with Bashir ซึ่งได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ No.

การท่องเที่ยว

วันที่

จ�ำนวนผู้เข้าร่วม สมาชิกใหม่

HUMAN RIGHTS FILM

รายรับ ค่าสมาชิก

บริจาค

1.

Waltz with Bashi

2 ต.ค. 2553

21

12

240

340

2.

ทองปาน

23 ต.ค. 2553

18

8

320

260

3.

Strike

3 พ.ย. 2553

18

3

60

270

23

460

870

รวม

เสียงสะท้อนจากผู้เข้าร่วม

ผูเ้ ข้าร่วมหวังทีจ่ ะได้รบั ชมภาพยนตร์สนั้ และภาพยนตร์ที่สร้างขึ้นโดยผู้ก�ำกับจาก ประเทศไทยมากยิ่งขึ้น


เฉลิมฉลอง วันแห่งสิทธิมนุษยชน “ท�ำไมผมจึงถึงเข้ามามีส่วนร่วมใน เกือบทุกกิจกรรมที่ทางแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทย ได้จัดขึ้นในปีที่แล้ว? เหตุผลคือตัวองค์กร ผูอ้ ำ� นวยการคน ใหม่และเจ้าหน้าที่ที่ท�ำให้ผมรู้สึกว่าเราเป็น ครอบครัวเดียวกัน ผมจึงได้ชักชวนให้ภรรยา และเพื่อนคนไทยมาร่วมเป็นสมาชิกใหม่ด้วย ผมได้รบั อีเมล์และจดหมายข่าวเป็น ประจ�ำ รวมทั้งบัตรเชิญเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ตั้ ง แต่ มี ก ารประชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ประจ� ำ ปี ที่ผ่านมา ผมขอแสดงความชื่นชมต่อกิจกรรม วันสิทธิมนุษยชนที่ถูกจัดขึ้นที่ Center Point ในวันที่ 9 ธ.ค. ว่าภาพรวมของงานทั้งหมดที่ ปรากฏออกมามีความสมบูรณ์แบบมาก อีก กิจกรรมที่ผมอยากกล่าวถึงคืองานท�ำบุญ ส�ำนักงานซึ่งมีการแลกเปลี่ยนของขวัญปีใหม่ ด้วยถือว่าเป็นกิจกรรมที่ดี ผมได้เห็นงานชิ้น หนึ่งของผม “The Dreaming Vendors” ที่ได้ ถูกกล่าวถึงในจดหมายข่าว FREEDOM ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ หมายถึง แอมเนสตี้ให้ความใส่ใจในสิ่งที่ผมท�ำและให้ เกียรติต้อนรับมัน นั้นหมายถึงว่าแอมแนสตี้ อินเตอร์ เนชัน่ แนล ประเทศไทย เป็นครอบครัวเดียวกับผม” Rumee Ahmed Khan

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยได้ร่วมฉลอง วันสิทธิมนุษยชนสากลในวันที่ 10 ธันวาคม โดยการปล่อยลูกโป่ง จ�ำนวนมากทีม่ ขี อ้ ความจากสมาชิกและประชาชนทีไ่ ด้รว่ มกันเขียน ขึ้น ในขณะที่สมาชิกบางท่านได้ติดลูกโป่งไว้บริเวณหน้าบ้านเพื่อ แสดงออกถึงการสนับสนุน ส่งเสริม และปกป้องสิทธิมนุษยชน


จดหมายข่าว

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

จดหมายข่าวเป็นหนึ่งในเครื่องมือสื่อสารถึงกิจกรรมและโครงการต่างๆ ขององค์กร อีกทั้งเป็นการให้ความรู้แก่สมาชิกและประชาชนทั่วไปเพื่อให้เห็นถึงมาตรฐานสิทธิมนุษยชน และการใช้สิทธิเหล่านั้นอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนั้นยังเป็นเวทีส�ำหรับนักสิทธิมนุษยชนใน การแสดงความคิดเห็น และแสวงหาทางออกในปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ยังคงมีอยู่ มากมายในสังคม ซึ่งในปี 2553 มีการตีพิมพ์จดหมายข่าวทั้งสิ้น 4 ฉบับ • พฤษภาคม - มิถุนายน: ก้าวต่อไป • กรกฎาคม - สิงหาคม: เป้าหมายพัฒนาแห่งสหัสวรรษ หนทางที่ยาวไกล • กันยายน - ตุลาคม: ความยากจนคือการละเมิดสิทธิมนุษยชน • พฤศจิกายน - ธันวาคม: จุดประกายแห่งความเปลี่ยนแปลง FREEDOM 1

แ ม ก ก า ซี น เ ส รึ ภ า พ โ ด ย แ อ ม เ น ส ตี้ อิ น เ ต อ ร ์ เ น ชั่ น แ น ล ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย

ส�ำหรับนักกิจกกรรมและสมำชิกแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย พฤศจิกำยน / ธันวำคม 2553

ฉบับที่ 4

จุดประกำย แห่งกำรเปลี่ยนแปลง!


กลุ่มแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย (AI Th Groups)

วัตถุประสงค์หลักของการจัดตัง้ กลุม่ ในปี 2553 กลุ่มแอมแนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล สมาชิกขึ้นเพื่อต้องการให้มีสมาชิกที่สนใจ สถาบันการศึกษา ประเด็นสิทธิมนุษยชนในประเด็นเดียวกัน หรือ 1. โรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา สอดคล้องกัน ที่พร้อมจะร่วมมือกับองค์กรมี 2. โรงเรียนแฮร์โรล์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น เป็นการยกระดับและ 3. International School Bangkok (ISB) 4.The New International School of Thailand (NIST) มาตรฐานให้มีความหลากหลายทางด้านภูมิ 5. โรงเรียนบางกอกพัฒนา หลังของสมาชิก เช่น สภาพภูมิศาสตร์ สาขา 6. โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ อาชีพ ชาติพันธุ์ และเพศ เป็นต้น แอมเนสตี้ 7. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยพยายามขับ 8. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 9. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เคลือ่ นการท�ำงานร่วมกับกลุม่ ตัวแทนนักเรียน 10. มหาวิทยาลัยนเรศวร จากโรงเรียนและมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยมี 11. มหาวิทยาลัยบูรพา ความเชือ่ มัน่ อย่างเต็มเปีย่ มว่าพวกเขาเหล่านี้ 12. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต ล้วนเป็นแรงผลักดันอันส�ำคัญอย่างยิ่งในการ เปลี่ยนแปลงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนให้มี กิจกรรมที่จัดขึ้นโดยกลุ่ม ความก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น การพัฒนากลุ่ม • ส่งจดหมาย / ไปรษณียบัตรถึงนักโทษทางความคิด • จัดงานสัปดาห์สิทธิมนุษยชน เยาวชนจึงมีความส�ำคัญมากต่อสังคมไทย • ประชุมสัมมนาสิทธิมนุษยชน กลุ่มต่างๆ เหล่านี้ได้สนับสนุนการเคลื่อนไหว • กิจกรรมระดมทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยร่วมกันรณรงค์ในประเด็นต่างๆ ร่วมกับ • กิจกรรมค�่ำคืนแห่งสิทธิ องค์กร เพือ่ สร้างความตืน่ ตัวในสังคมต่อปัญหา • ฟิล์มปาร์ตี้ • ประชุมผู้ประสานงานกลุ่มในระดับโรงเรียนนานาชาติ การละเมิดสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย อีกทั้ง • พบปะและร่วมกิจกรรมกับเลขาธิการแอมเนสตี ้ อนิ เตอร์เนชัน่ แนล ยังเชิญชวนให้ประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะ เยาวชนมาเข้าร่วมขบวนการเพิ่มขึ้น

ประเทศไทย มีดังนี้ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เชียงราย เชียงราย อุบลราชธานี พิษณุโลก ชลบุรี ปทุมธานี


ร้านใส่ใจ ร้านใส่ใจเป็นโครงการทีถ่ กู จัดขึน้ เพือ่ สร้างความตืน่ ตัวต่อ ปัญหาสิทธิแรงงาน สิทธิผบู้ ริโภค สิทธิตอ่ สุขอนามัย สิทธิทางสังคม และสิง่ แวดล้อมโดยมีองค์กรต่างๆ และบุคคลทีถ่ กู คัดเลือกเข้าร่วม กลุ่มเครือข่ายร้านใส่ใจ ร้านใส่ใจขายสินค้าทั้งอุปโภคและบริโภค ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ค�ำนึงถึงสุขภาวะของผู้บริโภคเป็นหลัก อีกทั้งกระบวนการผลิตสินค้านั้นยังค�ำนึงถึงความยุติธรรมในการ จ้างแรงงานในการผลิตและเคารพต่อสิทธิมนุษยชน เครื่องหมาย “ใส่ใจ” จะติดอยู่กับสินค้าเพื่อให้ผู้บริโภคทราบถึงเป้าหมาย เบื้องหลังดังที่ได้กล่าวข้างต้น การช่วยกันซื้อสินค้าเหล่านี้ถือว่า เป็นการช่วยเหลือผู้ผลิตซึ่งค�ำนึงถึงความยุติธรรม และเคารพต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดกระบวนการผลิตสินค้าที่เป็นธรรม เกิดชุมชนเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ และเป็นมิตรต่อโลกอย่างแท้จริง

หลักปฏิบัติของร้านใส่ใจมีดังนี้

• เป็นการช่วยสนับสนุนสินค้าที่ผลิตโดยผู้ผลิตที่ให้ความใส่ใจกับความยุติธรรม สิ่งแวดล้อม และ สุขภาพอนามัยของผู้บริโภค • วิธีการผลิตมีความเป็นธรรมทั้งแก่ผู้ผลิตและผู้ใช้แรงงานที่ได้รับค่าจ้างที่ยุติธรรม เพื่อตอบต่อ สถานการณ์ปจั จุบนั ทางสังคมเศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อม และเพิม่ มาตรฐานค่าครองชีพของแรงงาน • ช่วยให้ผผู้ ลิตเข้าถึงโดยตรงกับผูบ้ ริโภค ตัดวงจรพ่อค้าคนกลางออกท�ำให้ผผู้ ลิตไม่ถกู กดราคาและ สามารถขายของได้ในราคาที่ดีขึ้น • ร่วมรณรงค์สร้างความใส่ใจกับผู้บริโภค เชื่อมผู้ผลิตและผู้บริโภคเข้าด้วยกัน ซึ่งท�ำให้ผู้บริโภคได้ เกิดความตระหนักถึงความยุตธิ รรมในสังคมและร่วมหาหนทางปฏิบตั กิ ารเพือ่ น�ำไปสูค่ วามยุตธิ รรม สมาชิกแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยจะได้บัตรสมาชิกซึ่งสามารถเข้าร่วมเครือข่ายร้าน ใส่ใจโดยอัตโนมัติ สมาชิกจะได้รับข้อมูลและส่วนลดสินค้าในเครือข่ายทางอีเมล์ และทางจดหมาย ข่าว FREEDOM ปัจจุบันมีสมาชิกในเครือข่ายร้านใส่ใจ 16 ร้าน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

อ้อม – ผลิตภัณฑ์ท�ำมือ

ปุ๊กกี๊ - ผลิตภัณฑ์ท�ำมือ

We change - เสื้อยืด สมุด หนังสือ

กินเปลี่ยนโลก – อาหารอินทรีย์ เสื้อ

โดซ่าคิงส์ - ร้านอาหารอินเดีย

อาศรมวงศ์สนิท – อาหาร ผลิตภัณฑ์ท�ำมือ หนังสือ ที่พัก และหลักสูตรฝึกอบรม

ร้านของเรา - กาแฟสด

กลุ่มเมล็ดพันธุ์พื้นบ้าน – เมล็ด พันธ์ และสินค้าอินทรีย์

ไทรอาร์ม - ชุดชั้นใน

มีมี่ สเต็กเฮ้าส์

เมย์ - ไปรษณียบัตรท�ำมือ

เครือข่ายเพื่อนนักกิจกรรม – โปสการ์ด หนังสือ ซีดีเพลง

เรารักธิเบต- ซีดีภาพยนตร์ หลักสูตร ฝึกอบรม

ขวัญปั้นดิน - หลักสูตรฝึกอบรม

สืบสาน - หนังสือ


สิทธิมนุษยชนศึกษา

“การศึกษาควรมุ่งให้มนุษย์ได้มีการ พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่และเสริมสร้างความ เข้มแข็งในการเคารพสิทธิมนุษยชนและรากฐาน แห่งเสรีภาพ การศึกษาควรสร้างความเข้าใจ ส่งเสริมการให้อภัย และความเป็นมิตรที่ดีใน ทุกประเทศ ทุกเชื้อชาติ และทุกกลุ่มศาสนา และควรเป็นการส่งเสริมกิจกรรมต่างๆของ องค์การสหประชาชาติ ในการรักษาสันติภาพ” ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน มาตรา 26(2) แม้ ว ่ า การศึ ก ษาวิ ช าที่ ว ่ า ด้ ว ย สิทธิมนุษยชนจะเริม่ เข้ามามีบทบาทในแวดวง การศึกษาของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ความ เข้าใจ และการตระหนักรูใ้ นเรือ่ งสิทธิมนุษยชน ยังเป็นเรื่องคลุมเครือระหว่างหลักการทาง ทฤษฎีและความเข้าใจในทางปฏิบัติ ซึ่งนับว่า เป็นเรือ่ งทีท่ า้ ทายสังคมไทยในยุคของความขัด แย้งที่มีรอบด้าน เสถียรภาพทางสังคมจะเกิด ขึ้นได้นั้นประชากรของสังคมนั้นๆ ควรมีความ ตระหนักรูใ้ นเรือ่ งของสิทธิมนุษยชนขัน้ พืน้ ฐาน และหน้าทีข่ องการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้

จะไม่ตกเป็นภาระของนักการเมือง นักวิชาการ หรือนักกฎหมายเพียงอย่างเดียว สิทธิมนุษยชน ศึกษาควรจะเกิดขึน้ อย่างกว้างขวางทัง้ ในระบบ และนอกระบบ ทุกอาชีพ และเพศวัย เป็นเหมือน ฐานรากของการสร้างสังคมให้เกิดความสันติสขุ อย่างแท้จริง สิทธิมนุษยชนศึกษา เป็นงานพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ รวมถึงส่งเสริมให้เกิดความ เข้าใจและการตระหนักรูใ้ นเรือ่ งสิทธิมนุษยชน โดยรวม กิจกรรมสิทธิมนุษยชนศึกษา ในปี 2553 ได้ให้ความส�ำคัญในการท�ำงานกับกลุม่ เป้าหมายทีเ่ ป็นเยาวชนทีอ่ ยูใ่ นระบบการศึกษา กระแสหลักโดยเฉพาะนักศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ า้ นสิทธิมนุษยชน ในห้องเรียน และพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา ในฐานะนักกิจกรรมให้มีทักษะความสามารถ ในการรณรงค์สง่ เสริมความเข้าใจในเรือ่ งสิทธิ มนุษยชนในพื้นที่ของตนเองอีกด้วย นอกจาก การท�ำงานกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นนักศึกษา แล้ว ยังได้มกี ารท�ำงานกับชุมชนและการให้การ ศึกษาสู่สาธารณะอีกด้วย


กิจกรรมสิทธิมนุษยชนศึกษา 6 ประเภท ได้ถูกจัดขึ้นในปี 2553

กิจกรรม

จ�ำนวนผู้เข้าร่วม (คน)

จัดการศึกษาให้กับนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย จัดการศึกษาให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษา รวมถึงโรงเรียนนานาชาติ นิทรรศการสิทธิมนุษยชนในสถาบันการศึกษา อบรมทักษะนักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน เครือข่ายอาจารย์ผู้สอนสิทธิมนุษยชนในมหาวิทยาลัย จุดประกายความเปลี่ยนแปลง (ฉลองวันสิทธิมนุษยชนสากล)

รวม

240 100 1,134 33 8 150 1,665

กิจกรรมอบรมทักษะนักกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชน

สถาบันการศึกษาที่ร่วมกิจกรรม

สถาบันการศึกษา 1. โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ 2. โรงเรียนท่าอิฐศึกษา 3. โรงเรียนโพธิสารพิทยาคม 4. โรงเรียนร่วมฤดีวิเทศศึกษา 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 6. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 7. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 8. มหาวิทยาลัยนเรศวร 9. มหาวิทยาลัยบูรพา 10. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต 11. มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง 12. มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา

กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ เชียงราย เชียงราย อุบลราชธานี พิษณุโลก ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ นครปฐม

เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้กับนักศึกษา มหาวิ ท ยาลั ย ที่ ส นใจประเด็ น ทางด้ า น สิทธิมนุษยชน โดยมีเป้าหมายเพื่อที่จะให้ นักศึกษาได้มีทักษะความรู้ในการรณรงค์ส่ง เสริมเรือ่ งสิทธิ หลังจากเสร็จสิน้ การอบรมแล้ว นักศึกษาแต่ละคนจะได้กลับไปจัดกิจกรรม รณรงค์ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในสถานศึกษา และชุมชนของตนเอง

จุดประกายแห่งการเปลี่ยนแปลง

กิจกรรมเฉลิมฉลองวันสิทธิมนุษยชนสากล กิจกรรมเริ่มขึ้นด้วยการจัดขบวนเดินรณรงค์ สิทธิมนุษยชน ตั้งแต่ศูนย์การค้าสยาม พารากอนจนถึงสถานที่จัดงานคือ Central World โดยจัดให้บุคคลทั่วไปสามารถมีส่วน ร่วมสนับสนุนการปลดปล่อยผูท้ ถี่ กู ละเมิดสิทธิ โดยการปล่อยลูกโป่งทีม่ ลี ายเซ็นต์และข้อความ จากผู้สนับสนุน อีกหนึ่งกิจกรรมคือการเขียน จดหมายรักษ์สทิ ธิ ในงานนีไ้ ด้รบั ความร่วมมือ จากศิลปินทั้งระดับอาชีพและสมัครเล่น รวม ทั้งนักกิจกรรมเข้าร่วมสร้างบรรยากาศใน ประเด็นสิทธิมนุษยชนมากมาย มีการอภิปราย หัวข้อเรื่อง “อาสาสมัคร เยาวชน คนรุ่นใหม่ และสิทธิมนุษยชน” การแสดงมินคิ อนเสิรต์ โดย ศุ บุญเลี้ยง และปิดท้ายด้วยการจุดเทียนร่วม กันเพือ่ เป็นสัญลักษณ์ของการปกป้องคุม้ ครอง สิทธิมนุษยชนทั่วโลก


รายงานการเงินแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ปี 2553

รายรับ แหล่งที่มาของรายได้

บาท

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (AI) เงินทุนส�ำรองของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย โปรแกรมภาษาเอเชีย แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (ALP) แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เนเธอร์แลนด์ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล นอร์เวย์ ส�ำหรับโครงการ REAP - ยกยอดมาจากปี 2552 โบสถ์สวีเดน ค่าสมาชิก บริจาค ขายของที่ระลึก อื่นๆ – ดอกเบี้ย ฯลฯ

รวมรายรับ

3,299,900 1,442,450 571,056 109,271 427,777 2,220 50,910 33,148 75,800 21,907

6,034,439

รายจ่าย แหล่งทีม่ าของรายจ่าย งานพัฒนาสมาชิกและเครือข่าย งานรณรงค์ งานสิทธิมนุษยชนศึกษา งานกรรมการบริหาร ค่าใช้จ่ายส�ำนักงาน ค่าใช้จ่ายสนับสนุนโปรแกรม

รวมค่าใช้จ่าย

บาท 1,504,265 920,300 671,846 248,463 821,020 1,454,283

5,620,178

ยอดเงินคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2553 เงินคงเหลือ

414,261 บาท

ส่งคืน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล นอร์เวย์ – ปิดโครงการ REAP ยอดเงินคงเหลือ ณ เดือนธันวาคม 2553

315,500 98,761 บาท


ก้าวไปข้างหน้า

เยาวชนได้รับความคุ้มครอง เสริมสร้างแรงบันดาลใจ และเพิ่มศักยภาพ ให้สามารถมีบทบาทที่ส�ำคัญในการที่จะเปลี่ยนแปลงโลกใบนี้ให้เป็นที่ซึ่งมนุษย์ทุกคน ได้รับการเคารพ ปกป้องและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล ประเทศไทยมีเป้าหมายจะส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผ่านการเข้า ร่วมอย่างแข็งขันของเยาวชนผูซ้ งึ่ ยึดถือคุณค่าทางสิทธิมนุษยชนสากล และส่งเสริมการมีสว่ นร่วม อย่างจริงจังของกลุม่ เยาวชนในการให้ความคุม้ ครองส่งเสริมสิทธิมนุษยชนส�ำหรับทุกคน อีกทัง้ เสริม ศักยภาพให้พวกเขาลุกขึน้ มาปฏิบตั กิ ารคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนส�ำหรับเยาวชน

การเปลีย่ นแปลงทีแ่ ท้จริงจะเกิดขึน้ ได้โดย

• การเข้ามามีสว่ นร่วมของเยาวชนจ�ำนวนมากทีใ่ ห้ความเคารพและยึดถือคุณค่าทางสิทธิมนุษยชน • การเคลื่อนไหวของเยาวชนไทยจ�ำนวนมากโดยการร่วมปฏิบัติการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิ มนุษยชน • การมีสว่ นร่วมด้วยความกระตือรือร้นของเยาวชนโดยทีเ่ ยาวชนจะถูกเพิม่ ศักยภาพด้านทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ในสถานการณ์จริง เพื่อให้เยาวชนเหล่านั้นเข้ามีส่วนร่วมด้วยความ กระตือรือร้นในการตัดสินใจของภาคประชาสังคม และมีส่วนร่วมในกระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม •การให้ความคุ้มครองต่อสิทธิเยาวชน

ประเด็นที่แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยมุ่งมั่นขับเคลื่อนต่อไป

• สถานการณ์สทิ ธิมนุษยชนในพม่า: เปลีย่ นแปลงทัศนคติความเข้าใจในด้านลบของประชาชน คนไทยทีม่ ตี อ่ ชาวพม่า ปฏิบตั กิ ารให้มกี ารปล่อยตัวนักโทษการเมือง และการเรียกร้องการเคารพ การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในประเทศพม่า • สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกและสิทธิที่เกี่ยวข้องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร สิทธิในการมีส่วนร่วม สิทธิเสรีภาพในการรวมกลุ่ม และสิทธิเสรีภาพในการชุมนุม • ยุติโทษประหาร • ท�ำให้สิทธิมนุษยชนได้ถูกรับรองเป็นกฎหมาย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.