I AMNESTY มิถุนายน/June 2013

Page 1

ไอแอมเนสตี้/มิถุนายน 2556

I AMNESTY/JUNE 2013

I AMNESTY M A

M

N

E

ART FOR AMNESTY

เคียร่า ไนท์ลี่ย์ (Keira Knightley) นักแสดงหญิงชาวอังกฤษ ที่มี ผลงานในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อให้รับ รางวัลออสการ์ ลูกโลกทองคา และ บาฟต้า (BAFTA) เคียร่า สนับสนุนแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ในการรณรงค์ยุติโทษ ประหารชีวิต http://tinyurl.com/pjnl9mp Keira Knightley is a British actress who has appeared in several Hollywood films and has been nominated for Golden Globe, Academy and BAFTA awards. Keira supports our campaign to end the death penalty. Www.facebook.com/ ArtforAmnesty Www.facebook.com/ Art4Amnesty This photo portrait shows extra-ordinary people photographed in every day situations with placards highlighting particular Amnesty International campaigns or messages. The purpose is to show that no matter who you are or where you are you can stand up for human rights.

S

T

O N Y

T H L Y I N T E

R

E N

— N A T

E I

W S O N

L A

ในวันที่ 26 มิถุนายน ของทุกปีถกู กาหนดให้เป็นวันต่อต้าน การทรมานสากล เพือ่ เป็นการระลึกถึงเหยือ่ ของการทรมาน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย มูลนิธิผสานวัฒนธรรม และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จึงร่วมกันจัด “เวที นาเสนอสถานการณ์ปัญหาการทรมานในประเทศไทย” เพือ่ ให้ สาธารณชนรับรู้สภาพปัญหาการทรมานและแสวงหาความ ร่วมมือเพื่อป้องกัน การทรมานในประเทศไทย โดยมีเหยือ่ และ ครอบครัวเหยื่อจากการถูกซ้อมทรมาน ทนายความ องค์กร เอกชนที่ทางานด้านการป้องกันการทรมานและสิทธิมนุษยชน แพทย์จากสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ นายทหารพระธรรมนูญ กรมคุ้มครองสิทธิ นักศึกษา ฯลฯ เข้าร่วม

E L

T

T E R T H A I

L

A

N

D

ยังเกิดความห่วงครอบครัว รวมถึงผู้ที่ได้รบั การดูแลภายใต้กฎ อัยการศึก เกิดความหวาดกลัว ระแวงสังคม เมื่อเห็นเจ้าหน้าที่ก็ มีความต้องการจะหลบหนี ไม่กล้าออกไปไหน หรือคิดจะดักทา ร้ายเจ้าหน้าที่ ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้ไม่สามารถเยียวยาโดยรัฐได้ เพราะผู้กระทาคือรัฐ ทาให้ขาดความเชื่อมัน่ ต่อรัฐไปเลย

นพ.นิรันดร์ พิทักษ์วชั ระ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เน้นย้าเรือ่ งมาตรการป้องกันและเยียวยาผู้เสียหายจากการ ทรมาน โดยถือว่าการทรมานเป็นอาชญากรรมโดยรัฐ ทั้งปัญหา สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ทดี่ ูเหมือนความรุนแรงลดน้อยลงใน เชิงปริมาณ แต่เพิ่มขึ้นในเชิงสถิติ ปัญหาผูอ้ พยพโดยเฉพาะชาว โรฮิงญาที่เป็นปัญหาการใช้กฎหมายไม่ถกู ต้อง การขัดแย้งทาง "การทรมาน" (Torture) ตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมาน การเมืองและการฆ่าตัดตอนซึ่งล้วนแล้วแต่ทาให้เกิดการทรมาน และการประติบัตหิ รือการลงโทษที่โหดร้ายไร้ มนุษยธรรม หรือ ทั้ง สิ้น แนะรัฐต้องชัดเจนในการแก้ไขปัญหา ย่ายีศกั ดิศ์ รี หมายถึง การกระทาใดก็ตามโดยเจตนาทีท่ าให้เกิด “ประชาชนมีสิทธิในการรับรู้ความจริง สิง่ ที่รัฐต้องทาคือทาให้ ความเจ็บปวดหรือความทุกข์ทรมานอย่าง สาหัส ไม่ว่าทางกาย ความจริงปรากฏ ถ้าความจริงไม่ปรากฏว่ารัฐเป็นผู้ละเมิด หรือทางจิตใจ ต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพือ่ ความมุ่งประสงค์ทจี่ ะ ประชาชนก็จะถูกละเมิดศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ต่อไป และมีสทิ ธิที่ ให้ได้มาซึ่งข้อสนเทศหรือคาสารภาพจากบุคคลนั้น หรือจาก จะเอาคนผิดมาลงโทษ รัฐจะต้องนาผูก้ ระทาผิดมาลงโทษ จะต้อง ไม่ปล่อยให้คนทาผิดลอยนวล อีกทั้งมีสิทธิที่จะได้รบั การชดเชย บุคคลที่สาม กระทรวงยุติธรรม โดยสถาบันนิติวทิ ยาศาสตร์ได้ยกตัวอย่าง ของการทรมาน เช่น การซ้อมตามเนื้อตัวร่างกายด้วยการทุบตี ตบ เตะ ต่อย ใช้พานท้ายปืนกระแทก ใช้ไฟฟ้าหรือบุหรีจ่ ี้ที่ อวัยวะเพศ การปัสสาวะใส่ปาก การคลุมศีรษะด้วยถุงพลาสติก ให้ขาดอากาศหายใจเป็นระยะๆ การใส่กุญแจมือผูกกับ เฮลิคอปเตอร์ขณะทาการบิน การบังคับถอดเสื้อผ้าให้อยูใ่ นห้อง ที่มีอุณหภูมิตาเป็ ่ นระยะเวลานาน การกดศีรษะลงน้า ให้อด อาหาร บังคับให้รบั ประทานสิ่งทีป่ กติไม่พึงรับประทาน การโรย พริกลงบนบาดแผล การกระทาชาเราหรือล่วงละเมิดทางเพศ การตัดอวัยวะสาคัญ ถอนฟัน ดึงเล็บ บังคับให้ตากแดดเป็น เวลานาน บังคับใช้ยากล่อมหรือหลอนประสาท ให้เปลือยกายใน ที่สาธารณะ หรือการกระทาต่อความเชื่อทางศาสนา เป็นต้น ศ.วิทิต มันตาภรณ์ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และเป็นผู้เชี่ยวชาญกฎหมายสิทธิมนุษยชน ระหว่างประเทศ กล่าวถึงการทรมานว่าเป็นความผิดทาง

เยียวยาอย่างเป็นระบบ ทัง้ นี้เพือ่ คืนศักดิศ์ รีให้ผู้ทถี่ ูกกล่าวหา และรัฐต้องยืนยันให้ได้วา่ จะไม่มีเหตุการณ์แบบนั้นเกิดขึ้นอีก” นอกจากนั้นนางสาวนริศราวัลณ์ แก้วนพรัตน์ ญาติของพล ทหารวิเชียร เผือกสม พลทหารประจากองพันพัฒนาที่ 4 ค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ผู้เสียหายจากการซ้อม ทรมานของครูฝกึ จนเสียชีวิตเมื่อปี 2554 ได้มาถ่ายทอด ประสบการณ์การร้องเรียน และความยากลาบากในการต่อสู้เพือ่ หาความเป็นธรรม ถึงแม้เวลาจะผ่านไป 2 ปี เธอและครอบครัว ยังต้องต่อสูก้ ับอานาจรัฐ อานาจมืดของระบบอุปถัมภ์ เพือ่ ปกป้องสิทธิให้กบั คนอื่น โดยไม่ตอ้ งการให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิด ขึ้นกับใครอีก เธอยังคงเชื่อว่า "ความถูกต้องและความยุติธรรม" เป็นสิ่งสาคัญ และต้องอยู่เหนือ "อานาจและเงิน" ปัจจุบันญาติ พลทหารวิเชียรได้นาคดีนขี้ ึ้นสู่ศาลเป็นคดีแพ่ง ฟ้องเรียก ค่าเสียหายกับกระทรวงกลาโหมและกองทัพบก พร้อมเรียกร้อง หน่วยงานที่เกีย่ วข้องให้นาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษตามกฎหมาย

ศีลธรรมทุกอย่าง ไม่สามารถอ้างข้อยกเว้นได้ ถือเป็นสิทธิที่จะไม่ อ่านเพิ่มเติม http://amnesty.or.th/en/component/ ถูกทรมานอย่างเด็ดขาด ไม่ว่ากฎหมายภายในประเทศทีใ่ ช้มา content/article/3/137 ก่อนหรือหลังก็ขัดไม่ได้ การทรมานถือเป็นอาชญากรรมทัง้ ใน ประเทศและระหว่างประเทศ และหากมีความกว้างขวางและ ประทุษร้ายต่อประชาชน จะถือว่าเป็นอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ซึ่งเชื่อมโยงกับศาลอาญาระหว่างประเทศ หากเกิดการทรมานใน สงคราม ถือว่าเป็นอาชญากรรมในสงคราม ทุกรัฐจะต้อง ยอมรับในกรอบสากลนั้น นางสาวอัญชนา หีมมิหน๊ะ ตัวแทนกลุม่ ด้วยใจ กล่าวถึงการ ทางานเยียวยาผู้เสียหายจากการทรมานภายใต้โครงการ ยุติธรรมนาสันติสุข พบ 80% ของผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะ วิตกกังวล มีความเครียดจากการประสบเหตุการณ์ร้ายแรง และ เป็นโรคซึมเศร้า โดยผูท้ ี่อยู่ในเรือนจาจะรู้สกึ ปลอดภัยมากกว่า แต่ก็มีความเศร้าเพราะไม่มีความหวังในอนาคตว่าจะสามารถ ออกไปทาอะไรได้ มีแต่ความคิดแง่ลบในการปฏิเสธรัฐ ไม่กล้ารับ การช่วยเหลือเพราะสาเหตุจากการกลัวทหาร เจ้าหน้าที่รัฐ และ


I AMNESTY/JUNE 2013

ไอแอมเนสตี้/มิถุนายน 2556

ACTIVITIES IN JUNE กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น 1 มิถุนายน 2556: การประชุมใหญ่สามัญประจาปี ภาคใต้ ณ สถาบันทักษิณคดีศกึ ษา เกาะยอ จ.สงขลา มีสมาชิกเข้าร่วมจากสามจังหวัดชายแดนใต้และจังหวัดอืน่ ๆ ของภาคใต้ ร่วมปรึกษาหารือและให้ขอ้ เสนอการทางาน โดย สมาชิกภาคใต้ให้ความสนใจในประเด็นกระบวนการยุตธิ รรม ทางอาญา (ซึ่งรวมการ ทรมาน การควบคุมตัว เป็นต้น) ความขัดแย้งทางอาวุธ และ ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC)

June 1, 2013:The 2013 Annual General Meeting (AGM) of Amnesty International Thailand in South at Southern Thai Studies, Taksin University, SongKla. There were members from deep south provinces and other provinces in the south, who consulted and proposed the work together. Southern members showed interests in criminal justice issues (including torture, detention, etc.) armed conflict, and International Criminal Court (ICC)

2 มิถนุ ายน 2556: การประชุมใหญ่สามัญประจาปี ภาคเหนือ ณ โรงแรมวายเอ็มซีเอ จ.เชียงใหม่

June 2, 2013: Annual General Meeting in North, at YMCA International Hotel, Chiang Mai.

แม้ภาคเหนือมีสมาชิกเข้าร่วมบางเบากว่าภูมิภาคอืน่ ๆ แต่ การเสนอความคิดเห็นต่อการทางานค่อนข้างเข้มข้น และ สมาชิกภาคเหนือให้ความสนใจต่อประเด็นความรับผิดชอบ ของบรรษัท และ ศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC)

Although there were fewer numbers of members from the north attended the meeting than other regions, but opinions shared on the work were intense and northern members showed interests on corporate accountability, and International Criminal Court (ICC)

8 มิถุนายน 2556: การประชุมใหญ่สามัญประจา 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่น แนล ประเทศไทย ณ บ้านเซเวียร์ กรุงเทพฯ

June 8, 2013: Amnesty International Thailand Annual General Meeting, Xavier Hall, Bangkok

การประชุมฯ ในปีนี้มีสมาชิกเข้าร่วมลดลงกว่าปีที่ผ่านมา โดยมีสมาชิกเข้าร่วมเพียง 35 คน สร้างความกังวลต่อคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ผู้จดั งาน ว่าอะไรคือปัจจัย ในการเข้าประชุมหรือไม่เข้าประชุมของสมาชิก สมาชิกทราบหรือไม่ถงึ ความสาคัญ ของการประชุมฯ สมาชิกให้ความสาคัญต่อการมีส่วนร่วมในทิศทางการทางานเพื่อ ยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชนมากน้อยเพียงไร ปีนี้เป็นปีแรกที่มีมติให้สมาชิกสามารถ เลือกตัง้ ล่วงหน้า หรือเลือกตั้งผ่านไปรษณีย์ โดยมี 30 เสียงจากการเลือกตัง้ ดังกล่าว และ 22 เสียงจากวันงาน

There were fewer members who attended the Annual General Meeting this year compared to a year ago. There were only 35 members who attended the meeting, which caused concerns for the Board and staff organizer about the factors that makes members either attend the meeting or not attend the meeting. Do members know the importance of the meeting? Do members see the importance of their participation in the direction of Amnesty International Thailand ‘s work to human rights impact?

จากผลการเลือกตั้ง นางสาวธนภรณ์ สาลีผล และนายบารมี ชัยรัตน์ ได้รบั เลือก เป็นคณะกรรมการ ด้วยคะแนนเสียง 41 และ 29 ตามลาดับ และมติทปี่ ระชุม 46 เสียง รับรองนางชื่นสุข อาศัยธรรมกุล เป็นเหรัญญิก ภายในงานยังมีการมอบประกาศนียบัตรสาหรับสมาชิกรายบุคคลและแบบกลุ่มทีใ่ ห้ ความสนับสนุนอย่างต่อเนื่องและเข้มข้นต่อการทางานปกป้อง คุ้มครอง และส่งเสริม สิทธิมนุษยชน มากไปกว่านัน้ การประชุมฯ ปีนี้ยังเป็นการเฉลิมฉลองและเปิดตัว กิจกรรมเนื่องในโอกาสครบรอบ 10 ปี อย่างเป็นทางการของแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทย ภาพกิจกรรม http://tinyurl.com/onydsj4

This year was the first year that there was a resolution from last year AGM approved for the members to be able to vote in advance or vote through the mail ballot. There were 30 votes for the election above and 22 votes on the day. Results of the election committee; Ms. Thanaporn Saleepol and Mr. Baramee Chairad, and Mrs. Chuensuk Asaithamkun as a treasurer. In the meeting, they also handed out certificates for the individual members and groups who have provided ongoing support, and concentrated on the protection and promotion of human rights. Moreover, the meeting was also for a celebration and launch of the event on the occasion of 10th (official) anniversary of Amnesty International Thailand. More photos http://tinyurl.com/onydsj4


I AMNESTY/JUNE 2013

ไอแอมเนสตี้/มิถุนายน 2556

ACTIVITIES IN JUNE กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น 4 มิถุนายน 2556: ปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล ผู้อานวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ให้สัมภาษณ์ผู้สื่อข่าว Asia Calling เชียงใหม่ ต่อเนื้อหาในรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลก 2556 ของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล โดยเฉพาะ ในประเด็นสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย

11 มิถุนายน 2556: นายซาลิล เช็ตติ (Salil Shetty) เลขาธิการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล หารือ นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ในประเด็น สถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย โดยเฉพาะ การเคารพต่อหลักการไม่ส่งกลับผู้ลี้ภัยชาวโรฮิงญา ย้า ยกเลิกโทษประหารชีวิตเพื่อแสดงถึงการเคารพศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย์และการให้คุณค่ากับชีวิตมนุษย์ทุกคน พร้อมทั้งเรียกร้องให้สนับสนุนการปกป้องคุ้มครอง สิทธิมนุษยชนในอาเซียน http://amnesty.or.th/ en/component/content/article/3/134

June 4, 2013: Parinya Boonridrerthaikul, the director of Amnesty International Thailand gave an interview to a reporter of Asia Calling, Chiang Mai on Amnesty International Report 2013, The State of the World’s Human Rights, and especially the Human Rights situation in Thailand.

June 11, 2013: Salil Shetty, secretary general of Amnesty International consulted with Prime Minister Yinglak Chinnawat on the issue of the Human Rights situation in Thailand, especially respecting the principle not to send back Rohingya refugees, and insisted on abolishing the death penalty in order to show the respect of human dignity and to value the lives of all human. Moreover, they called for support in protecting human rights in Asia.

12-14 มิถุนายน 2556: สุธารี วรรณศิริ ผู้ประสานงาน ฝ่ายรณรงค์ เข้าร่วมการประชุม ยกเลิกโทษประหารชีวิตครั้งที่ 5 ที่มาดริด ประเทศสเปน

June 12-14, 2013: Sutharee Wanasiri, campaign coordinator attended the Fifth World Congress against the Death Penalty in Madrid, Spain

June 17-21, 2013: Nawaphon Supawitkul, activism officer attended the Strategic Campaigning & Participatory Approaches and Tools Workshop By Activism Unit, Amnesty International Secretariat, UK 17-21 มิถุนายน 2556: นวพร ศุภวิทย์กลุ เจ้าหน้าที่ฝา่ ยนักกิจกรรม เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ การรณรงค์เชิงกลยุทธ์ แนวทางปฏิบัติอย่างมี ส่วนร่วมเและเครื่องมือเพื่อการรณรงค์ จัดโดยสานักงานเลขาธิการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล กรุงลอนดอน

18 มิถุนายน 2556: ค่าคืนแห่งสิทธิมนุษยชน: "Forgotten People in ASEAN ไร้รัฐ ไร้สทิ ธิ ไร้ตัวตน" คณะอักษร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมีอาจารย์เจริญ คัมภีรภาพ ภาควิชาสังคมศาสตร์ และเป็นหนึ่งในผูก้ ่อตั้งแอมเนสตี้ฯ ประเทศไทย ร่วมเป็นวิทยากรกิจกรรม 27 มิถุนายน 2556: ออกบูทรณรงค์ยกเลิกโทษประหารชีวิต และแนะนาการทางานของแอมเนสตี้ ในงานการประชุมทาง วิชาการสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ จัดโดยกรมคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, โรงแรมรามาการ์เด้นส์ June 18, 2013: Light Up Night "Forgotten People in ASEAN” initiated by our interns from Silpakorn University June 27, 2013: Set up booth ‘Right to Life: Abolish the death penalty’ and introduced our work to promote and protect human rights, at Ramagarden Hotel.

23-28 มิถุนายน 2556: สินีนาฏ เมืองหนู ผู้ประสานงาน ฝ่ายพัฒนาสมาชิกและเครือข่าย เข้าร่วมในการประชุมการ ทางานสิทธิมนุษยชนศึกษา ครั้งที่ 7 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่น แนล ณ เมืองซาลี ประเทศเซเนกัล June 23-28, 2013: Sineenart Muangnoo, a growth mobilization coordinator attended the 7th International Human Rights Education Forum in Saly, Senegal.


I AMNESTY/JUNE 2013

ไอแอมเนสตี้/มิถุนายน 2556

WRITE THE WRONGS!

บทความจากการประกวด ‘2012 YOUNG JOURNALIST OF THE YEAR’

FINALISTS ARTICLES: UNDER 14 Name: Mathis Lohatepanont (Ken) Teacher: Ms Lana Lautamus KIS International School

Freedom of Expression: Dream (Un)realized Annoyance, anger, and fear; perhaps these are all emotions felt by Greek journalist Kostas Vaxevanis on October 2012 after he was arrested for publishing a list of Greeks who had bank accounts in Switzerland to evade tax. Freedom of expression, which is “the right to hold your own opinions and express them freely without government interference” (Equality and Human Rights Comission) is a universally recognized human right, but is it actually protected? How far have we come since the Athenian ancestors of modern Greeks, who were great believers in freedom of speech, punished Socrates two thousand years ago for his teachings? Freedom of expression is a fundamental human right. Amnesty International states that freedom of expression is “important for the personal development and dignity of every individual and is vital for the fulfillment of other human rights.” This right refers to both the right to express opinion and the right to access information. Freedom of expression is highly important; without it, the people cannot give out their opinion freely which has many implications, such as restricting political participation, which is another human right altogether. This right is undoubtedly important; the French writer Voltaire famously said “I don’t agree with a word you say, but I’ll defend to the death your right to say it.” But why would he have to defend it? After all, is freedom of expression not a right to be taken for granted? It turns out that freedom of expression is still very much a privilege, not a right; in 2011, Freedom House ranked 30% of 197 countries as having an unfree press (an indication of a lack of freedom of expression), including countries with large populations such as China. Throughout history, freedom of expression has been frequently abused; Vaxevanis’s case is just one recent example. In other places, whole nations such as North Korea oppresses the speech of the people; speaking against the Supreme Leader would be akin to asking to going to a labor camp. Certainly there is still a long way to go before freedom of expression is a right everywhere on Earth. In my opinion, this freedom must not be abused; everyone should be allowed the right to voice their opinion freely, as long as what they say does not harm others. There are people who are working towards that goal: universal freedom of expression, however. Amnesty International, Article 19 and Human Rights Watch are just some examples of organizations campaigning for a censorship-free world; Article 19 “envisages a world where people are free to speak their opinion.” To support the cause for freedom of expression is to support the organizations campaigning for freedom of expression. I think that to suppress this freedom is to destroy the creativity of the human mind. We are coming closer and closer to the goal, however; and perhaps one day, with everyone’s help, the dream that all the world will experience freedom of expression will be realized. Works Cited "21.1 The Importance Of Freedom Of ExpressionFreedom Of Expression by Doctor Mark Cooray."The Importance Of Freedom Of Expression. N.p., n.d. Web. 21 Dec. 2012. <http://www.ourcivilisation.com/cooray/btof/chap211.htm>. Alderman, Liz. "Greek Editor Is Arrested After Publishing a List of Swiss Bank Accounts." The New York Times. N.p., 28 Oct. 2012. Web. 19 Dec. 2012. <http://www.nytimes.com/2012/10/29/world/europe/greek-editor-arrested-after-publishing-list-of-swiss-bank-accounts.html?_r=0>. "Equality and Human Rights Commission." EHRC. N.p., n.d. Web. 20 Dec. 2012. <http://www.equalityhumanrights.com/human-rights/what-are-human-rights/the-human -rights-act/freedom-of-expression/>. "Freedom of Expression | Amnesty International." Freedom of Expression | Amnesty International. N.p., n.d. Web. 21 Dec. 2012. <http://www.amnesty.org/en/freedom-of-expression>. "Intellectual Freedom & Human Rights Organisations." International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA). N.p., n.d. Web. 22 Dec. 2012. <http://www.ifla.org/faife/links/intellectual-freedom-human-rights-organisations>. "Liberty In North Korea." Liberty in North Korea NK CRISIS Comments. N.p., n.d. Web. 21 Dec. 2012. <http://libertyinnorthkorea.org/learn/nk-crisis/>. "Voltaire Quotations." About.com Quotations. N.p., n.d. Web. 20 Dec. 2012. <http://quotations.about.com/od/stillmorefamouspeople/a/Voltaire1.htm>.


ไอแอมเนสตี้/มิถุนายน 2556

I AMNESTY/JUNE 2013

HUMAN RIGHTS NEWS & ACTIONS แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ชี้สหรัฐอเมริกาต้องไม่ไล่ล่า นายเอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน ไม่ควรมีใครถูกฟ้องร้องจากการที่เขาเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวควรได้รับความคุ้มครองภายใต้สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและเสรีภาพในการแสดงออก อ่านต่อ http://on.fb.me/12unN8K No one should be charged for disclosing information of human rights violations. Such disclosures are protected under the rights to information and freedom of expression. We are also concerned if Edward Snowden is extradited to the US he could be at risk of ill-treatment. http://amnestyusa.org/snowden

มาเลเซีย: ปล่อยตัวนักเคลือ่ นไหวที่ถูกจับกุมโดยรัฐบาลที่นากฎหมายที่มี Malaysia: Release activists arrested in government ลักษณะกดขี่กลับมาใช้อกี ครั้ง U-turn on repressive law เรียกร้องผู้นาด้านการเมืองให้ปฏิบตั ติ ามพันธสัญญาในสนธิสญ ั ญา ควบคุมการค้าอาวุธ

Political leaders challenged to deliver on Arms Trade Treaty promises

กัมพูชา: ปล่อยตัวแม่ผู้ถกู จาคุกเพราะเคลื่อนไหวเรียกร้องสิทธิในที่อยู่ อาศัย

Cambodia: Release mother imprisoned for housing rights activism

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลเรียกร้องรัฐบาลลาว นาสมบัด สมพอน ผู้นาภาคประชาสังคมที่หายตัวไปกลับคืนมา

Laos must ensure return of disappeared civil society leader

อินโดนีเซีย: ศาลทหารถูกนามาใช้เพือ่ ปกป้องผูล้ ะเมิดสิทธิมนุษยชน

Indonesia: Military tribunals being used to shield human rights violators

เกาหลีเหนือเพิม่ การปราบปรามบริเวณชายแดน North Korea escalates border crackdown แถลงการณ์ร่วมในโอกาสวันช่วยเหลือเหยือ่ จากการทรมานสากล 26 มิถุนายน 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ชี้สหรัฐอเมริกาต้องไม่ไล่ล่าเอ็ดเวิร์ด สโนว์เดน

JOINT MESSAGE AT THE OCCASION OF THE INTERNATIONAL DAY FOR VICTIMS OF TORTURE – 26 JUNE 2013 USA must not hunt down whistleblower Edward Snowden แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล คือขบวนการเคลือ่ นไหวของคน ธรรมดากว่า 3 ล้านคนใน 150 ประเทศทั่วโลก ที่อาสาทางานเพื่อ ปกป้อง คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน โดยมีความเป็นกลางไม่ขึ้นอยูก่ ับ รัฐบาล ความเชือ่ ทางการเมือง หรือศาสนาใดๆ และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ไม่ได้ตอ่ ต้าน หรือสนับสนุนรัฐบาลหรือระบบ การเมืองใด หากแต่สนใจผู้ถูกละเมิดสิทธิที่จะต้องได้รับการ คุ้มครอง ซึ่งเกีย่ วข้องกับการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพียง อย่างเดียวเท่านั้น!

Amnesty International is a movement of ordinary people from around the world standing up to end grave abuses of human rights.

And we're a movement that produces extraordinary results. Prisoners of conscience are released. Death sentences are commuted. Torturers are brought to justice. Governments are persuaded to change their แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ดาเนินงานได้ด้วยเงินค่าสมัครสมาชิก laws and practices. Our achievements have a huge และเงินบริจาคจากผูส้ นับสนุนทั่วโลก เราไม่รับเงินจากรัฐบาล ผู้มี impact on the lives of individual people. And your อานาจ หรือกลุ่มผลประโยชน์ใดๆ ทั้งสิ้น ในการทางานค้นคว้าวิจัย support makes us even stronger. และงานรณรงค์ตอ่ ต้านการละเมิด สิทธิมนุษยชน วิสัยทัศน์: โลกที่มนุษย์ทกุ คนได้รับการเคารพ และปกป้องคุ้มครอง We are independent of any government, political ideology, economic interest or religion, and are สิทธิตามที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และ funded mainly by our membership and public มาตรฐานสิทธิมนุษยชนอื่นๆ donations. พันธกิจ: การศึกษาวิจัย และปฏิบตั กิ ารเพือ่ ป้องกันและยุตกิ ารละเมิด สิทธิที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในสังคมวงกว้าง

คนธรรมดา สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงทีย่ ิ่งใหญ่! นอกจากการสมัครเป็นสมาชิกแล้ว คุณสามารถสนับสนุนกิจกรรม เพื่อส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนได้โดยการเป็นอาสาสมัครสนับสนุน การทางาน เป็นนักกิจกรรมลงมือปฏิบัติการเพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน ผ่านการเขียนจดหมาย ลงลายเซ็น หรือตั้งกลุ่มเพื่อการทากิจกรรมอย่าง เข้มข้น เป็นผู้สนับสนุนงบประมาณการทางานแบบต่อเนื่อง สมาชิกคือพลัง สาคัญในทุกความสาเร็จของการทางานเพื่อปกป้อง คุ้มครอง และส่งเสริม สิทธิมนุษยชน

90/24 ซอยลาดพร้าว 1, แขวงจอมพล เขตจตุจักร, กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2 513 8745, 513 8754 แฟกซ์: +66 (0) 2 939 2534 อีเมล: info@amnesty.or.th we’re on the WEB too! เว็บไซต์ http://www.amnesty.or.th and you can find us on the following social networks;

www.facebook.com/AmnestyThailand www.twitter.com/AmnestyThailand

www.youtube.com/AmnestyThailand www.flickr.com/amnestythailand Amnesty International Thailand 90/24 Soi Ladprao 1, Jomphol, Chatuchak, Bangkok 10900 THAILAND

ORDINARTY PEOPLE, EXTRAORDINARY CHANGE! By bringing together ordinary people to act as one over the past 50 years, Amnesty International has become a powerful force to change the world. We ask you to join us to help Promote and Protect Human Rights in any of the following ways:  Join Amnesty International Thailand as a member and supporter our work  Take action on one of our human rights campaigns at www.amnesty.or.th  Join an Amnesty International Thailand group, sub-group or network and participate in long-term case work  Make a financial contribution


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.