I AMNESTY May/พฤษภาคม

Page 1

ไอแอมเนสตี้/พฤษภาคม 2556

I AMNESTY/MAY 2013

I AMNESTY M A

M

N

E

S

T

O N Y

T H L Y I N T E

R

E N

— N A T

E I

W S O N

L A

E L

T

T E R T H A I

L

A

N

D

ART FOR AMNESTY

23 พฤษภาคม 2556: แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล May 23, 2013: Amnesty International Thailand ประเทศไทย จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวรายงานสถานการณ์ launch the Amnesty International Annual Report 2013 at the Royal Benja Hotel, Bangkok สิทธิมนุษยชนทั่วโลกประจาปี 2556 ซึ่งประมวล สถานการณ์สิทธิในรอบปี 2555 ณ โรงแรมรอยัล “The failure to address conflict situations เบญจา ซอยสุขุมวิท 5 กรุงเทพฯ

มิสเซอรี่แบร์ (Misery Bear) ตัวเอกของภาพยนตร์สั้นชุดที่ ผลิตโดย รัฟคัท ทีวี และ เผยแพร่บนเว็บไซต์บีบีซี Misery Bear, the cute main character from a short film produced by Rough-cut TV and is broadcasted on BBC channel.

Www.facebook.com/ ArtforAmnesty Www.facebook.com/ Art4Amnesty This photo portrait shows extra-ordinary people photographed in every day situations with placards highlighting particular Amnesty International campaigns or messages. The purpose is to show that no matter who you are or where you are you can

รายงานเปิดเผยว่าโลกใบนี้กาลังเป็นพื้นที่ที่อันตรายมาก ขึ้นสาหรับผู้ลี้ภัยและผู้พลัดถิ่น อันเนื่องมาจากการ เพิกเฉยต่อปัญหาสิทธิมนุษยชนของประชาคมโลก

effectively is creating a global underclass. The rights of those fleeing conflict are unprotected. Too many governments are abusing human rights in the name of immigration control – going well beyond legitimate border control measures,” said Salil Shetty, Secretary General of Amnesty International.

ภายหลังการแถลงสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ภรรยา ของผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนสองคน ได้แก่ สุกัญญา พฤกษาเกษมสุข และ อังคณา นีละไพจิตร ได้กล่าวถึง For Thailand, Amnesty highlighted five issues สถานการณ์เสรีภาพในการแสดงออก และสถานการณ์ that are marked by human rights violations in the country. They are the armed conflict in the ความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในตอนท้ายของงาน แอมเนสตี้ฯ ประเทศไทย ได้มอบ “รายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลก ประจาปี 2556” ให้กบั ส.ส. พีรพันธ์ุ พาลุสุข ตัวแทนพรรคเพื่อ ไทย และ ส.ส. รัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ตัวแทนพรรค ประชาธิปัตย์ ซึ่งมาร่วมฟังการแถลงรายงานในครั้งนี้ ด้วย รายงานประจาปี 2556: โลกอันตรายมากขึ้นสาหรับผู้ ลี้ภัยและผู้พลัดถิ่น>> http://tinyurl.com/pkoszhs คลิปวีดีโอรายงานประจาปี 2556>> http://tinyurl.com/qba458w รูปกิจกรรมวันแถลงรายงาน>> http://tinyurl.com/o7uvsnh

deep South; lack of accountability for political violence; freedom of expression; refugees and migrants; and the death penalty.

REPORT 2013: WORLD INCREASINGLY DANGEROUS FOR REFUGEES AND MIGRANTS>> http://tinyurl.com/nk8w78u Amnesty International Report 2013: Press Conference Highlights>> http://youtu.be/XTlZLuPLjOE Amnesty International Report 2013>> http://tinyurl.com/qba458w


I AMNESTY/MAY 2013

ไอแอมเนสตี้/พฤษภาคม 2556

ACTIVITIES IN MAY กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น พ ฤ ษ ภ า ค ม 9-13 พฤษภาคม 2556: อบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนกรสิทธิ มนุษยชนศึกษา ณ มูลนิธิเซ็นคาเบรียล กรุงเทพฯ

May 9-13, 2013: Amnesty International Thailand organized Train-the-Trainer Workshop On Human Rights Education for our staff and volunteers besides to build more trainers but also scale up the knowledge แอมเนสตี้ฯ ประเทศไทย จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนกร and skill of the existing trainers. Extending their สิทธิมนุษยชนศึกษาให้กับเจ้าหน้าที่และนักกิจกรรม โดยคุณเจอรัล โจเซฟ ผู้เชี่ยวชาญจากมาเลเซียเป็นวิทยากร อบรมดังกล่าวเพื่อ knowledge and skill into Economic, Social, and Cultural เสริมสร้างทักษะการเป็นผู้นากระบวนกรสิทธิมนุษยชนศึกษาขั้น Rights (ESCR) areas as this year and our next OP3, Amnesty International Thailand will work more on this พื้นฐาน รวมถึงเพื่อเป็นการเพิ่มความรู้ความเข้าใจทั้งในเรื่องสิทธิ area which linkage to local issue. พลเมืองและการเมือง และสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม Resource Person: Jerald Joseph, Board of Director, ซึ่งแอมเนสตี้ฯ ประเทศไทยจะขยายการทางานในสิทธิดังกล่าวมากขึ้น KOMAS, Malaysia (former director of Dignity International) รูปจากกิจกรรม>> http://tinyurl.com/cpd8qxb

15 พฤษภาคม 2556: ชานาญ จันทร์เรือง กรรมการ และปริญญา บุญฤทธิ์ฤทัยกุล ผู้อานวยการ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ยื่นจดหมายถึงนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร สนับสนุนรัฐบาลต่อโครงการนาร่องในการถอดตรวนผู้ต้องขังจานวน 500 คนที่เรือนจากลางบาง ขวาง จ.นนทบุรี ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการปฏิบัติตามหลักมาตรฐานสิทธิมนุษยชน และเรียกร้องให้รัฐบาลควรกาหนดให้เป็นนโยบายที่ชัดเจน ในการยกเลิกการใส่โซ่ตรวนผู้ต้องขังทั่วประเทศต่อไป รวมทั้งเรียกร้องให้ยกเลิกโทษประหารชีวิต เพื่อแสดงถึงการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และการให้คุณค่ากับชีวิตมนุษย์ทุกคน และเพื่อเป็นการตอกย้าเจตนารมณ์อันดีในการยกระดับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย แอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ประเทศไทยจึงเรียกร้องรัฐบาลพิจารณาสนับสนุน ดังนี้ 1. ประกาศพักการประหารชีวิตในทางปฏิบัติอย่างเป็นทางการโดยทันที เพื่อให้สอดคล้องกับแผนแม่บทว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 2 โดยมีเจตจานงที่จะ ออกกฎหมายให้ยกเลิกโทษประหารชีวิตในท้ายที่สุด 2. เสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อลดจานวนความผิดทางอาญาที่มีบทลงโทษประหารชีวิต 3. บรรจุวาระการ เปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตเป็นโทษจาคุกไว้ในแผนแม่บทว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ฉบับที่ 3 4. ลงนามและให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือกรับฉบับที่สองของ กติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Second Optional Protocol to the International Covenant on Civil and Political Rights) ที่มุ่งยกเลิกโทษประหารชีวิต

26 พฤษภาคม 2556: ประชุมสามัญ ศึกษา ณ โรงแรมขวัญมอ มข. จ.ขอนแก่น ประจาปี 2556 สัญจรภาคอีสาน และ วันเดียวกันนี้ในช่วงบ่าย แอมเนสตี้ May 26, 2013: Annual General อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย แถลง Meeting in Northeast, 09.00-12.00 รายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนทั่วโลก hrs. at Kwanmore Hotel, Khon Kaen ประจาปี 2556 ของแอมเนสตี้ อินเตอร์ เนชั่นแนล ต่อด้วยเสวนาในหัวข้อ Afternoon, launch the Amnesty "ผลกระทบและความรับผิดชอบของบรรษัท International Annual Report 2013 ข้ามชาติ: กรณีศึกษาเรื่องเหมือง" โดย along with talks roundtable รศ.ดร.บัวพันธ์ พรหมพักพิง discussion on ‘corporate คณะมนุษยศาสตร์ นิติกร ค้าชู accountability’ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ กลุ่มนิเวศวัฒนธรรม


I AMNESTY/MAY 2013

ไอแอมเนสตี้/พฤษภาคม 2556

WRITE THE WRONGS!

บทความจากการประกวด ‘2012 YOUNG JOURNALIST OF THE YEAR’ Under 18 Winner: Chuliporn (Mae) Underwood, The Regent’s School, Pattaya ‘According to the International Organization of Migration, an estimated 2.5 billion migrant workers in Thailand were recorded in 2012, with about 300,000 of them being children. Every year thousands more from Burma, Cambodia and Laos seek asylum in Thailand from political and economical repression. Yet those who are able to complete the protracted administration process for refugee camps are a minority. Many live outside these camps and are thus regarded as ‘illegal migrants, being subject to arrest, detention and deportation under immigration law’, states the United Nations High Commissioner for Refugees. Being illegal, many are subject to trafficking, child labor and other forms of exploitation. They are often trafficked or forced into labor by unlawful recruiting agencies. Both adult and child migrants are coaxed into accepting ‘a decent job opportunity,’ but end up stranded in isolated areas, prohibited to leave. Lewis Underwood, Chairman of The Jesters Care for Kids Charity Drive, writes in the Pattaya Mail: “Desperate children, especially pre-teens, are at most risk without adult protection.” Many children become victims to the severity of the fishing industry, he claims, where they are forced to work on fishing boats under prison-like conditions. Half of laborers in the Thai fishing industry are Burmese, adds Time Magazine reporter, Jesse Hardman. They are abused by their employer, and those who seek help from police are either returned to Burma or sold back to their employers. A Burmese migrant worker reports: ’We have to work 11 hours a day, and we get 1 day off a month’ – they also make less than $2 (60 Baht) a day, Jesse states. What can be done to help these families? Experts believe education is the most effective solution. By reducing the vulnerability of these refugees, the root of the problem is directly addressed. However, availability and quality of education continues to be a challenge for Thailand, more so for migrant children. Many emigrant families struggle to send their children to school, mainly because they live in extreme poverty. Migrant workers are paid much less than the minimum wage of Thais, so rarely are these families able to afford education. On the other hand, education is gradually becoming more available for both documented and undocumented migrant children in Thailand. By 2005, all migrant children were legally allowed to attend public schools, in addition to participating in educational programs established by non-government organizations. Yet scholars say that only a small number of these children are able to access their schools, partly due to travel expenses. ‘In order to improve the conditions of current migrant families, the government should consider funding education for emigrant students and making public schools more available in isolated areas’ suggests Katerina Onufrieva, a Regent’s student, ‘they should emphasize the importance of education, not just for local Thai students, but for everyone, including emigrants.’ Migrant protection currently relies very heavily on human rights groups; as long as people remain unaware, migrants may never receive the protection they deserve until after a very long time.’

Under 18 Winner: Chuliporn (Mae) Underwood, The Regent’s School, Pattaya


I AMNESTY/MAY 2013

ไอแอมเนสตี้/พฤษภาคม 2556

Upcoming in JUNE

กิ จ ก ร ร ม เ ดื อ น มิ ถุ น า ย น 1 มิถุนายน 2556: ประชุมใหญ่ June 1, 2013: สามัญประจาปี 2556 สัญจร Annual General Meeting in ภาคใต้ ณ สถาบันทักษิณคดี South, 09.00-12.00 hrs. at ศึกษา (เกาะยอ) จ.สงขลา Southern Thai Studies เวลา 09.00-12.00 น. Taksin University, SongKla

2 มิถุนายน 2556: ประชุมใหญ่ June 2, 2013: สามัญประจาปี 2556 สัญจร Annual General Meeting in ภาคเหนือ ณ ห้องประชุมศรีวิชัย North, 13.00-17.00 hrs. at โรงแรมวายเอ็มซีเอ จ.เชียงใหม่ YMCA International Hotel, เวลา 13.00-17.00 น. Chiang Mai

8 มิถุนายน 2556: ประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2556 แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย ณ บ้านเซเวียร์ ซอยราชวิถี 12 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ กรุงเทพฯ (รถไฟฟ้าสถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ) เวลา 08.30-17.00 น. June 8, 2013: the 2013 Annual General Meeting (AGM) of Amnesty International Thailand is being held at Xavier Hall, Soi Ratchawithi 12, Ratchawithi Rd., Bangkok (BTS Sky Train Victory Monument Station) ข้อมูลเพิ่มเติม/further questions on the 2013 Annual General Meeting: 02 513 8745 or membership@amnesty.or.th


ไอแอมเนสตี้/พฤษภาคม 2556

I AMNESTY/MAY 2013

HUMAN RIGHTS NEWS & ACTIONS วันที่ 28 พฤษภาคม เมื่อ 52 ปีที่แล้ว หนังสือพิมพ์ The Observer (ประเทศอังกฤษ) ลงบทความชื่อ The Forgotten Prisoners ของทนายปีเตอร์ เบเนนสัน ซึ่งบทความนี้ตีแผ่เรื่องราวของนักศึกษาชาวโปรตุเกสที่ ถูกจาคุกเพียงเพราะการชนแก้วเพื่อฉลองให้กับเสรีภาพ บทความ The Forgotten Prisoners ทาให้ ทั่วโลกหันมาเรียกร้องด้วยความเป็นกลางและอย่างสงบ โดยการเขียนจดหมายแสดงความไม่เห็นด้วยต่อการ จับกุมคุมขังเพียงเพราะแสดงความคิดเห็นต่างทาง การเมืองหรือความเชื่อตามศาสนาของพวกเขา จุดเริ่มต้นของการรณรงค์โดยการเขียนจดหมาย ที่เรียกว่า Appeal for Amnesty, 1961 ได้เริ่มจาก วันนั้นจนถึงวันนี้ และจะมีต่อไปจนกว่าวันที่ไม่มีการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน พิเศษปีนี้วงร็อคระดับตานาน U2 และฮาร์ดร้อค คาเฟ่ ร่วมเฉลิมฉลองปีที่ 52 แอมเนสตี้ โดยมอบ รายได้ส่วนหนึ่งจากการจาหน่ายเสื้อยืดซิกเนเจอร์ ฮาร์ดร้อคยูทูลิมิเต็ดอิดิชั่นรุ่น 30 เพื่อสนับสนุนการ ทางานของแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล—คุณก็สามารถ เป็นเจ้าของเสื้อยืดและสนับสนุนการทางานของแอม เนสตี้ได้ http://tinyurl.com/ojkmtkq แฮปปี้เบิร์ทเดย์ แอมเนสตี้! พม่าต้องดาเนินงานมากว่าข้อเสนอในรายงาน “ที่มี ข้อบกพร่อง” เพื่อหาทางยุติวัฏจักรความรุนแรงระหว่าง พุทธ-มุสลิม สหรัฐอเมริกา: รัฐแมรีแลนด์ยกเลิกโทษประหารชีวิตตาม กระแสประชาคมโลก แอมเนสตี้ฯ เปิดเผย 10 วิธีการที่ทั่วโลกใช้ปราบปราม ผู้สื่อข่าว

Happy Birthday to Amnesty International! We are 52 years old today! During this time we have achieved so much for human rights - and we couldn't have done it without your brilliant support. For this Amnesty International’s 52nd birthday, U2 and Hard Rock International are supporting and celebrating Amnesty’s birthday with a limited edition Hard Rock International U2 Signature Series T Shirt. Get yours today: http://tinyurl.com/ojkmtkq Thank you! รายงานประจาปี 2556: โลกอันตรายมากขึ้นสาหรับผู้ลี้ภัย และผู้พลัดถิ่น Myanmar must look beyond 'flawed' report to stop cycle of Buddhist-Muslim violence USA: Maryland joins global trend against the death penalty Ten ways to repress a journalist

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยสนับสนุนกรม ราชทัณฑ์ที่ถอดตรวนผู้ต้องขังพร้อมเรียกร้องรัฐบาล ยกเลิกโทษประหารชีวิต แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล คือขบวนการเคลือ่ นไหวของคน ธรรมดากว่า 3 ล้านคนใน 150 ประเทศทั่วโลก ที่อาสาทางานเพื่อ ปกป้อง คุม้ ครองสิทธิมนุษยชน โดยมีความเป็นกลางไม่ขึ้นอยูก่ ับ รัฐบาล ความเชือ่ ทางการเมือง หรือศาสนาใดๆ และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ไม่ได้ตอ่ ต้าน หรือสนับสนุนรัฐบาลหรือระบบ การเมืองใด หากแต่สนใจผู้ถูกละเมิดสิทธิที่จะต้องได้รับการ คุ้มครอง ซึ่งเกีย่ วข้องกับการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพียง อย่างเดียวเท่านั้น!

REPORT 2013: WORLD INCREASINGLY DANGEROUS FOR REFUGEES AND MIGRANTS Amnesty International is a movement of ordinary people from around the world standing up to end grave abuses of human rights.

And we're a movement that produces extraordinary results. Prisoners of conscience are released. Death sentences are commuted. Torturers are brought to justice. Governments are persuaded to change their แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ดาเนินงานได้ด้วยเงินค่าสมัครสมาชิก laws and practices. Our achievements have a huge และเงินบริจาคจากผูส้ นับสนุนทั่วโลก เราไม่รับเงินจากรัฐบาล ผู้มี impact on the lives of individual people. And your อานาจ หรือกลุ่มผลประโยชน์ใดๆ ทั้งสิ้น ในการทางานค้นคว้าวิจัย support makes us even stronger. และงานรณรงค์ตอ่ ต้านการละเมิด สิทธิมนุษยชน วิสัยทัศน์: โลกที่มนุษย์ทกุ คนได้รับการเคารพ และปกป้องคุ้มครอง We are independent of any government, political ideology, economic interest or religion, and are สิทธิตามที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และ funded mainly by our membership and public มาตรฐานสิทธิมนุษยชนอื่นๆ donations. พันธกิจ: การศึกษาวิจัย และปฏิบตั กิ ารเพือ่ ป้องกันและยุตกิ ารละเมิด สิทธิที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงในสังคมวงกว้าง

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย 90/24 ซอยลาดพร้าว 1, แขวงจอมพล เขตจตุจักร, กรุงเทพฯ10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2 513 8745, 513 8754 แฟกซ์: +66 (0) 2 939 2534 อีเมล: info@amnesty.or.th we’re on the WEB too! http://www.amnesty.or.th and you can find us on the following social networks www.facebook.com/AmnestyThailand www.twitter.com/AmnestyThailand

www.youtube.com/AmnestyThailand www.flickr.com/amnestythailand

ORDINARTY PEOPLE, EXTRAORDINARY CHANGE! คนธรรมดา สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่! นอกจากการสมัครเป็นสมาชิกแล้ว คุณสามารถสนับสนุนกิจกรรม เพื่อส่งเสริมและปกป้องสิทธิมนุษยชนได้โดยการเป็นอาสาสมัครสนับสนุน การทางาน เป็นนักกิจกรรมลงมือปฏิบัติการเพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน ผ่านการเขียนจดหมาย ลงลายเซ็น หรือตั้งกลุ่มเพื่อการทากิจกรรมอย่าง เข้มข้น เป็นผู้บริจาคแบบต่อเนื่อง สมาชิกคือพลังสาคัญในทุกความสาเร็จ ของการทางานเพื่อปกป้อง คุ้มครอง และส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

By bringing together ordinary people to act as one over the past 50 years, Amnesty International has become a powerful force to change the world. We ask you to join us to help Promote and Protect Human Rights in any of the following ways:  Join Amnesty International Thailand as a member and supporter our work  Take action on one of our human rights campaigns at www.amnesty.or.th  Join an Amnesty International Thailand group, sub-group or network and participate in long-term case work  Make a financial contribution


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.