1
Amnesty International Thailand
คูมือสมาชิก แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย
แอมเนสตี้ อินเตอรเนชัน่ แนล (AI) คือกระบวนการ เคลื่อนไหวของประชาชนทั่วโลก ซึ่งรณรงคเพื่อสิทธิ มนุษยชน กระบวนการเคลื่อนไหวนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อให ประชาชนทั่วไปไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและ เคลือ่ นไหวเรียกรองในนามของบุคคลอืน่ ๆ ซึง่ ตกอยูใ น ความเสี่ยงตอการถูกปฏิบัติอยางไมเปนธรรม ปจจุบัน AI มีสมาชิกอยูในเขตปกครองและ ประเทศตางๆ กวา 150 ประเทศทัว่ โลก ซึง่ คูม อื AI ฉบับ นี้มีจุดมุงหมายเพื่อเผยแพรนโยบาย การปฏิบัติ และ วิธีการทํางานโดยทั่วไปของ AI ใหกับสมาชิก
แอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย 90/24 ซอยลาดพราว 1 ถ.ลาดพราว จอมพล จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร: 0 2513 8745, 0 2513 8754 โทรสาร: 0 2939 2534 อีเมล: info@amnesty.or.th เว็บไซท: www.amnesty.or.th
3
สารบัญ วัตถุประสงคของคูมือฉบับนี้ บทนํา AI (เอไอ) คืออะไร? AI (เอไอ) มีจุดเริ่มตนอยางไร? AI (เอไอ) ปฏิบัติงานอยางไร? AI (เอไอ) ในโลกที่เปลี่ยนแปลง AI (เอไอ) ปฏิบัติงานไดผลเพียงใด? ทานจะปฏิบัติงานรวมกับ AI (เอไอ) ไดอยางไร? ภาคผนวก บทบาทของแอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย คําศัพทในแวดวงสิทธิมนุษยชน
Amnesty International Thailand
วัตถุประสงคของคูมือฉบับนี้ แอมเนสตี้ อินเตอรเนชัน่ แนล (Amnesty International – AI) มีสมาชิกอยูทั่วโลกกวา 150 ประเทศและ เขตปกครอง โดยมีอดุ มการณรว มกันทีจ่ ะมุง มัน่ ปฏิบตั งิ าน ดานสิทธิมนุษยชน คูมือฉบับนี้เปนคูมืออางอิงซึ่งมุงหมาย ทีจ่ ะเผยแพรแนวทางดานนโยบายและการปฏิบตั งิ านสําหรับ สมาชิกของ AI ทั้งนี้เพื่อที่จะอธิบายถึงสถานะในเชิง สิทธิมนุษยชน และวิธีการปฏิบัติงานขององคกรฯ คูม อื ฉบับนีเ้ ปนเอกสารเพือ่ สาธารณชน ทีส่ ามารถ นําไปเผยแพรไดอยางอิสระ โดยอาจนําไปถายสําเนา หรือ เขาถึงขอมูลไดจากเว็บไซตของ AI: www.amnesty.org
คูม อื จะเริม่ ดวยบทนําสัน้ ๆ ซึง่ เปนเปาหมายลําดับแรก ในการใหสมาชิกใหมขององคกรเขาใจวา AI คือใคร ปฏิบตั ิ งานอยางไร และทานจะมีสวนรวมไดอยางไร คําหรือวลีใด ทีป่ รากฏเปนอักษรตัวหนา จะมีคาํ อธิบายกํากับไวคมู อื ฉบับ นี้เปนฉบับปรับปรุงใหทันตอสถานการณตามกระบวนการ เคลือ่ นไหวของ AI ซึง่ มีการเปลีย่ นแปลงอยูเ สมอ โดยเฉพาะ อยางยิ่งเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายหลักในการประชุม สภานานาชาติ (International Council Meeting) ของ AI ซึง่ ไมอาจบรรจุเนือ้ หาลงในทีน่ ไี้ ดทงั้ หมด ทัง้ นีเ้ รายินดีทจี่ ะ รับคําติชมและขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงเนื้อหาของคูมือ ฉบับนี้ สวนคําอธิบายที่ปรากฏในคูมือฉบับนี้ ไมไดนํามา แทนทีเ่ อกสารเชิงนโยบายเดิม หรือตนฉบับทีเ่ ปนการตกลง อยางเปนทางการของ AI แตอยางใด หากตองการเอกสาร หรือตนฉบับดังกลาว หรือตองการขอมูลเพิ่มเติม หรือขอ คําแนะนําในปญหาเฉพาะดาน โปรดติดตอทางสํานักงาน
“เราตองการองคกรและบุคคลเชนตัวทาน ซึ่งจะทําใหบรรดาฆาตกรและอาชญากรรูวา โลกทั้ง โลกมองเห็นการกระทําของพวกเขา...จงอยาเสียใจ และทอแทเมื่อปราศจากการตอบสนอง การกระทํา ของทานบังเกิดผลอยางใหญหลวง เพราะฆาตกรและ ผูละเมิดลวนเปนคนขลาดอยางยิ่ง จนตองทําสิ่งที่ ขลาดเขลาในความมืด พวกเขารูส กึ เหมือนถูกจับตามอง เมื่อองคกรเชน AI ลงมือปฏิบัติการ” เบอรธา โอลิวา เดอ นาติวิ ผูพิทักษ สิทธิมนุษยชน ซึ่งสามีของเธอ “หายสาบสูญ” ในประเทศฮอนดูรัส เมื่อป 2524
5
AI คือใคร • AI คือขบวนการเคลือ่ นไหวทัว่ โลกของประชาชน ซึง่ รณรงค เพือ่ สิทธิมนุษยชน โดยสมาชิกขององคกรฯ ไดสละเวลาและ กําลังงานของตนเพื่อสนับสนุนและชวยเหลือผูสูญเสีย จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน • AI เปนองคกรเพื่อการรณรงค โดยดําเนินการศึกษาวิจัย จัดทําเอกสารและรายงานการละเมิดสิทธิมนุษยชน แตงาน ขององคกรฯ มิไดมเี พียงเทานี้ สมาชิกขององคกรฯ ยังดําเนิน การเพื่อยับยั้งการละเมิดเหลานั้นอยางเปนรูปธรรมและมี ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ AI ยังไดรณรงคเพื่อใหประชาชน ทั่วไปไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และไดรวมเคลื่อนไหว ในนามของผูส ญ ู เสียหรือบุคคลอืน่ ทีต่ กอยูใ นภาวะอันตราย • การปฏิบตั งิ านของ AI ตัง้ อยูบ นพืน้ ฐานการรวมพลังสากล สมาชิกขององคกรฯ มาจากวัฒนธรรม ภูมหิ ลัง และความเชือ่ ทีแ่ ตกตางหลากหลายกันอยางกวางขวาง โดยมาผนึกกําลัง เพื่อมุงมั่นที่จะทํางานใหโลกใบนี้เปนที่ที่ทุกคนเขาถึงและ พึงพอใจกับสิทธิมนุษยชน • AI ใหคาํ มัน่ ทีจ่ ะปฏิบตั งิ านดานสิทธิมนุษยชนใหครอบคลุม ทัว่ โลก เราทํางานเพือ่ ผูส ญ ู เสียหลายประเภท ภายใตรฐั บาล รูปแบบตางๆ ไมวาพวกเขาจะอยูภายใตการจับจองของ สื่อมวลชน หรือความทุกขของพวกเขาถูกเพิกเฉยจากทั่ว โลกก็ตาม • AI มีความเชือ่ ในการรณรงคเรียกรองเพือ่ ผูส ญ ู เสียแตละราย งานวิจยั ของเรา การรณรงค ความบากบัน่ ทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง กฎหมายและนโยบาย การสงคําอุทธรณ ขอรองเรียน และ จดหมายของเรานัน้ ลวนแตมจี ดุ มุง หมายทีจ่ ะเปลีย่ นแปลง วิถีชีวิตของผูหญิง ผูชาย และเด็กอยางแทจริง รายงานของ AI ไดพยายามใหการสนับสนุนผูสูญเสียแตละราย และ บรรยายประสบการณที่พวกไดเขาเผชิญ ซึ่งผูสูญเสียเหลา นี้มิได เปนเพียงตัวเลขเชิงสถิติ แตพวกเขาลวนมีชื่อเรียก ขาน มีวันเดือนปเกิด มีประวัติ และแตละรายลวนมีสิทธิที่ จะไดรับความเปนธรรม • AI เปนอิสระจากทุกรัฐบาล จากแนวคิดเชิงนโยบาย ผลประโยชนเชิงเศรษฐกิจหรือศาสนา อีกทั้งมิไดสนับสนุน หรือตอตานรัฐบาลหรือระบบการเมืองใด และไมจาํ เปนตอง สนับสนุนความคิดเห็นของผูส ญ ู เสียซึง่ แสวงหาการคุม ครอง สิทธิของตน อนึ่ง เพื่อประกันความเปนอิสระ องคกรฯ มิได แสวงหาหรือยอมรับความชวยเหลือทางการเงินจากรัฐบาล หรือพรรคการเมืองใด ๆ เพื่อปฏิบัติงานในดานเอกสารและ
รณรงคเพือ่ ตอตานการละเมิดสิทธิมนุษยชน แตเงินทุนของ องคกรฯ มาจากการบริจาคของสมาชิกทัว่ โลก และกิจกรรม การระดมทุน • AI เปนกระบวนการเคลื่อนไหวที่เปนประชาธิปไตย และ บริหารจัดการดวยตนเอง โดยองคกรฯ จะขึน้ ตรงตอสมาชิก ของตนทีม่ อี ยูท วั่ โลกเทานัน้ ซึง่ คณะกรรมาธิการทีไ่ ดรบั การ คัดเลือกจะเปนผูตัดสินใจในระดับนโยบาย • AI ไดจัดตั้งกลุมพิทักษสิทธิมนุษยชนทั่วโลก ซึ่งตางก็มี หลักการผนึกกําลังสากล มีการปฏิบตั กิ ารอยางจริงจังตอผู สูญเสียแตละราย มีการปฏิบตั งิ านครอบคลุมทุกหนทุกแหง ในโลก มีความเปนสิทธิมนุษยชนสากลและไมอาจแบงแยก ได ปราศจากอคติและเปนอิสระ รวมทั้งมีความเปน ประชาธิปไตย และใหความเคารพซึ่งกันและกัน
“การกระทําของพวกคุณ ผนวกกับแนวรวม การรวมพลังของนักกิจกรรมทั่วโลก ไดนํามาซึ่งการ เปนอิสรภาพของผม...ผมไมรูวาจะขอบคุณพวกคุณ ไดอยางไร...หากปราศจากแนวรวมการรวมพลัง ดังกลาว ผมก็คงจะยังอยูในเรือนจําอันนาสังเวชนั่น ตอไป...ผมขอสนับสนุนใหพวกคุณปฏิบัติงานตอไป ในนามของนักโทษทัว่ โลก ซึง่ กําลังเฉาตายในคุกของ บรรดาเผด็จการ...ผมขอแสดงความชื่นชมตอนัก กิจกรรมของ AI ซึ่งไดเขียนมาใหกําลังใจแกผมใหสู ตอไป ผมขอบอกวา จดหมายจากพวกคุณไดถกู ตํารวจ ยึดไป ซึง่ ผมเพิง่ ไดอา นบางฉบับสงจากสหรัฐอเมริกา ทีเ่ ล็ดลอดผานทางอินเตอรเนตหลังจากการปลอยตัว ผม...ดวยความขอบคุณอยางใหญหลวง” นักโทษทางความคิด, Ngarlejy Yorongar le Moiban ไดรับการปลอยตัวเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2542 ภายหลังถูกคุมขังในประเทศชาด (Chad) เปน เวลา 8 เดือน
Amnesty International Thailand
AI มีจุดเริ่มตนอยางไร กวาหาทศวรรษมาแลว ที่นักศึกษาชาว โปรตุเกสสองคนชูแกวของตนเองขึน้ เพือ่ ดืม่ อวยพร แกเสรีภาพ จากการกระทําธรรมดาๆ ดังกลาว ทั้ง สองกลับถูกจําคุกนานถึง 7 ป เหตุการณนั้นทําให ปเตอร เบเนนสัน (Peter Benenson) นักกฎหมาย ชาวอังกฤษ ถึงกับทนไมไหว จึงตัดสินใจทีจ่ ะดําเนิน การอยางใดอยางหนึ่ง ปเตอร เบเนนสันไดเขียนจดหมายถึง หนังสือพิมพอังกฤษ “The Observer” เรียกรองให มีการรณรงคสากลเพื่อปกปอง “นักโทษที่ถูกลืม” ซึง่ แนวคิดของเขา คือการกระตุน ใหประชาชนระดม กําลังกันสงจดหมายเรียกรองตอผูมีอํานาจทั่วโลก ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2504 หนังสือพิมพไดตพี มิ พ บทความพิเศษเรื่องนักโทษผูถูกลืม ซึ่งนับเปนจุด เริม่ ตนของการรณรงคอนั ยาวนานเปนปของปเตอร เบเนนสัน คําอุทธรณเพื่อนิรโทษกรรมป 2504 “นักโทษที่ถูกลืม” ไดเรียกรองใหผูคนทั่ว ทุกหนทุกแหง ประทวงโดยสงบและปราศจากอคติ ตอการคุมขังชายและหญิงทั่วโลก อันเนื่องมาจาก ความเชื่อทางการเมืองหรือศาสนาของพวกเขา บทความพิเศษไดกลาวถึงผูถ กู คุมขังวาเปน นักโทษ ทางความคิด ซึ่งถือวาเปนวลีใหมของเหตุการณที่ เกิดขึ้นในโลก บทความชิ้นนั้นไดรับการขานรับอยาง มหาศาล ภายในชวงเวลาหนึง่ เดือน มีผอู า นมากกวา พันคนสงจดหมายมาสนับสนุนและเสนอความชวย เหลืออยางเปนรูปธรรม พวกเขายังสงรายละเอียด ของนักโทษทางความคิดมาเพิ่มเติมอีกมากมาย หลายกรณี ภายในชวงเวลาเพียงหกเดือน ความ พยายามเผยแพรขา วสารทีเ่ ริม่ ตนเพียงสัน้ ๆ นัน้ ได พัฒนาเปนกระบวนการเคลือ่ นไหวระดับสากลอยาง ถาวร และภายในหนึง่ ป องคกรใหมกไ็ ดสง ผูแ ทนไป ยังสี่ประเทศ เพื่อทําหนาที่ในฐานะตัวแทนของ นักโทษ รวมทั้งไดนําคดีอีก 210 กรณีมารับไวเพื่อ พิจารณาชวยเหลืออีกดวย ในขณะนั้นไดมีการจัด ตั้งคณะกรรมการระดับชาติขึ้นใน 7 ประเทศ
ในขณะเดียวกัน หลักการอันปราศจากอคติและความ เปนอิสระก็ไดมกี ารกําหนดไวตงั้ แตเริม่ แรก โดยเนนการคุม ครอง สิทธิมนุษยชนในระดับสากลนัน่ คือประชาชนทัว่ โลกจะรณรงคเพือ่ บุคคลใดบุคคลหนึง่ ในทีใ่ ดก็ไดในโลก ขณะที่ AI เติบโตขึน้ องคกร ไดขยายขอบเขตการดําเนินงานออกไป โดยไมเพียงแตรับเรื่อง นักโทษทางความคิดเทานั้น แตยังพุงเปาไปยังผูสูญเสียซึ่งถูก ละเมิดสิทธิมนุษยชนทัว่ โลก เชน การถูกทรมาน การสูญหายของ บุคคล และโทษประหารชีวิต ในป 2520 ความพยายามของกระบวนการเคลื่อนไหว นี้ ปรากฏผลจากการไดรับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ (Nobel Peace Prize) และในป 2521 ไดรับรางวัลสิทธิมนุษยชนของ องคการสหประชาชาติ (United Nations (UN) Human Rights Award) ทุกวันนี้ AI ไดระดมนักกิจกรรมอาสาสมัครทัว่ ทุกมุมโลก โดยมีสมาชิกและผูสนับสนุนทั้งหมดมากกวา 2.8 ลานคนในกวา 150 ประเทศและเขตปกครอง ซึ่งทุกคนไดรวมพลังกันเพื่อที่จะ ทําใหโลกนี้เปนสถานที่ซึ่งทุกคนมีสิทธิมนุษยชน นอกจากนี้ยังมี กลุม คนในทองถิน่ กลุม เยาวชนและนักเรียนนักศึกษา กลุม ผูเ ชีย่ ว ชาญอืน่ ๆ สมาชิกเฉพาะราย และผูป ระสานงานอีกหลายพันกลุม ดําเนินกิจกรรมในเขตปกครองและประเทศตางๆ กวา 100 ประเทศ นอกจากนี้ AI ยังมีสาขา (section) ทีจ่ ดั ตัง้ ในระดับชาติขนึ้ ในพืน้ ที่ มากกวา 50 ประเทศ และมีการจัดตั้งองคกรประสานงาน (coordinating structures) ขึ้นในประเทศตางๆ กวา 20 ประเทศ AI เปนองคกรทีไ่ ดรบั การยอมรับและใหความเชือ่ ถือ โดยองคกรฯ จัดสงผูแ ทนไปพบรัฐบาลและองคกรระหวางประเทศ เชน องคการ สหประชาชาติ และมีสว นรวมในการอภิปรายในประเด็นสิทธิมนุษยชน ระดับนานาชาติ
7 “การสนับสนุนและการรวมพลังทั้งมวลที่พวกคุณไดแสดงใหเราเห็น จะยังคงความสําคัญอยางใหญหลวงตอ การคํา้ ประกันทัง้ ชีวติ และความสมบูรณของรางกายของเพือ่ นรวมงานของเราทีถ่ กู ลักพาตัว...งานและความคิดเห็นของ พวกคุณกระตุนใหเรารูสึกวา เราไมไดอยูแตเพียงลําพัง และเราเปนสวนหนึ่งของกลุมชายและหญิงจํานวนมากมายที่ ทํางานในแตละวัน เพือ่ ทําใหโคลัมเบียเปนดินแดนแหงสันติ ทัง้ โทรศัพท โทรสาร อีเมล และทุกๆ อยางรวมทัง้ เวลาทีม่ อบ ใหเรา ยิง่ ทําใหเราแข็งแกรงขึน้ ในอันทีจ่ ะสรางโคลัมเบียทีด่ กี วา มีความเปนธรรม และมีความสงบ ชีวติ และความสมบูรณ ของรางกายของเพื่อนรวมงานของเรา และชาวโคลัมเบียอื่นๆ ซึ่งยังไมเคยไดรับความใสใจจากสื่อทั้งหลายนั้น สวนใหญ จะขึ้นอยูกับการรวมพลังและสิ่งที่ตามมา ซึ่งพวกคุณไดแสดงใหเราเห็นมาแลว” จดหมายถึง AI จาก Instituto Popular de Capacitacion (IPC) ซึง่ เปนองคกรพัฒนาเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ในโคลัมเบีย โดยในวันที่ 18 กุมภาพันธ 2542 Jorge Salazar และ Jairo Bedoya เจาหนาที่ดานสิทธิมนุษยชนที่ทํางาน กับ IPC ไดรบั การปลอยตัวภายหลังถูกกองกําลังทหารจับตัวไปคุมขังถึงสามสัปดาห ทัง้ นีเ้ พือ่ นรวมงานของพวกเขา ไดแก Olga Rodas และ Claudia Tamayo ไดรับการปลอยตัวมากอนหนานั้นสิบวัน
AI ปฏิบัติงานอยางไร? วิสัยทัศนและภารกิจของ AI วิสยั ทัศนของ AI คือโลกซึง่ ทุกคนไดรบั การเคารพ ปกปองคุม ครอง และสงเสริมสิทธิมนุษยชนดังทีป่ ระกาศไว ในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และมาตรฐาน สิทธิ มนุษยชนสากลอื่นๆ ในการดําเนินงานตามวิสัยทัศนดังกลาว ภารกิจ ขององคกรฯ ไดมุงทําการศึกษาวิจัยและการปฏิบัติที่ให ความสําคัญกับการปองกันและยับยั้งการละเมิดสิทธิตอ รางกายและจิตใจอยางรายแรง รวมทัง้ การละเมิดตออิสรภาพ ทางความคิดและการแสดงออก และอิสรภาพจากการเลือก ปฏิบตั ิ ภายใตบริบทของการปฏิบตั เิ พือ่ สงเสริมสิทธิมนุษยชน ทุกประเภท ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนไดกลาวถึง สิทธิมนุษยชน ซึ่งเปนพื้นฐานของศักดิ์ศรีและการพัฒนา มนุษย โดยรวมถึง 1) สิทธิเชิงการเมือง เชน เสรีภาพในความ คิดเห็น ในการแสดงออกและการชุมนุม 2) สิทธิเชิงเศรษฐกิจ เชน สิทธิทจี่ ะทํางาน สิทธิทจี่ ะไดรบั มาตรฐานความเปนอยู อยางเพียงพอ 3) สิทธิของพลเมือง เชน ความเสมอภาค
ทางกฏหมาย สิทธิในการสมรส และ 4) สิทธิเชิงสังคมและ วัฒนธรรม เชน สิทธิในการศึกษา และการมีสว นรวมในการ ใชชวี ติ ในชุมชน สิง่ เหลานีล้ ว นเปนความรับผิดชอบของทุก รัฐบาลและทุกประเทศในโลก ทีค่ วรจะเคารพ คุม ครอง และ ทําใหประชาชนทุกคนไดมีสิทธิมนุษยชนในอาณาเขตของ ตนโดย AI มีเปาหมายที่จะกดดันใหรัฐบาลตางๆ ยอมรับ และปฏิบัติตามความรับผิดชอบของตน AI ถือวาสิทธิมนุษยชนทัง้ มวลตางมีความเกีย่ วของ ซึ่งกันและกัน ตลอดจนใหความเห็นชอบและสงเสริมสิทธิ ทุกประการทีร่ ะบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน อยางไรก็ตาม AI ไมอาจใหความเอาใจใสตอการละเมิด สิทธิมนุษยชนไดทั้งหมดทุกประเภท ซึ่งเปนเหตุผลที่ องคกรฯ ตองมุงทํางานในประเด็นเพื่อยุติการละเมิดสิทธิ อยางรุนแรงตอรางกายและจิตใจ ตอเสรีภาพทางความคิด และการแสดงออก และตอเสรีภาพจากการเลือกปฏิบัติ สวนขอบเขตงานศึกษาวิจยั และการปฏิบตั ทิ อี่ งคกรฯ สามารถ กระทําไดนั้น สมาชิกขององคกรฯ เปนผูกําหนด
Amnesty International Thailand
ในอดีต การรณรงคของ AI ไดมุงเนนในกิจกรรม หลักๆ ดังนี้: • ปลดปลอยนักโทษทางความคิดทุกคนโดยไมมเี งือ่ นไข • ชวยใหการพิจารณาคดีของนักโทษการเมืองเปนไป อยางรวดเร็วและเปนธรรม • ยกเลิกโทษประหารชีวิต การทรมาน และการปฏิบัติ หรือการลงโทษอยางโหดเหี้ยม ไรมนุษยธรรม หรือตํ่า ทราม • ยุตกิ ารตัดสินคดีนอกกฎหมาย และ “การหายสาบสูญ ของบุคคล” • ตอสูม ใิ หมกี ารละเวนโทษตอผูก อ การละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยดําเนินการใหแนใจวาพวกเขาไดถกู นําตัวมาขึน้ ศาล เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานสากล
หลายปทผี่ า นมา AI ไดขยายขอบเขตอํานาจทีไ่ ด รับมอบหมาย ใหครอบคลุมการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ กระทําโดยหนวยงานและบุคคลที่มิใชคนของรัฐ นอกจาก นี้องคกรฯ ยังตอตานการละเมิดสิทธิมนุษยชนของกลุม การเมืองติดอาวุธ (เนื่องจากการควบคุมดูแลเขตปกครอง หรือการกระทําทีต่ อ ตานรัฐบาล) เชน การจับตัวประกัน การ ทรมานและการสังหารนอกกฏหมาย AI ยังตอตานการละเมิด สิทธิมนุษยชน ทีท่ กุ ฝายกระทําตอพลเรือนและบุคคลทีม่ ไิ ด อยูในกองทัพในระหวางการขัดแยงเรื่องอาวุธ นอกจากนี้ องคกรฯ ยังพุงเปาไปยังการลวงละเมิดในบานเรือนหรือ ชุมชน ซึง่ รัฐบาลไดเพิกเฉย หรือไมยอมดําเนินการแกไขใดๆ อาทิการตัดเฉือนอวัยวะเพศสตรี การละเมิดภายใตบริบท การคาผูห ญิง และความรุนแรงตอบุคคลทีเ่ ปนเลสเบีย้ น เกย คนที่พอใจในทั้งสองเพศ และคนที่ผาตัดเปลี่ยนแปลงเพศ ซึง่ การกระทําเหลานีฝ้ า ยรัฐทัง้ เพิกเฉยและไมเอาโทษ จึงเปน หนาที่ขององคกรฯ โดยตรง ในปจจุบัน AI ไดมีพันธกิจครอบคลุมไปยังดาน สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยมีความเชื่อ มั่นวาการเคารพ ปกปอง สงเสริมสิทธิมนุษยชนจะทําให ปญหาความยากจนลดลงอันนํามาซึง่ ความเสมอภาคและความ ยุติธรรม
9
งานของ AI AI พยายามทุกวิถีทางที่จะเปดเผยการละเมิด สิทธิมนุษยชนอยางแมนยํา รวดเร็ว และยืนหยัด โดยการ จัดทําวิจัยขอเท็จจริงของแตละกรณี รวมทั้งรูปแบบการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางเปนระบบและปราศจากอคติ ซึง่ การคนพบเหลานี้ไดถูกนําออกเผยแพร จากนั้นสมาชิก ผูสนับสนุน และเจาหนาที่องคกรฯ จะเพิ่มแรงกดดันอยาง เปดเผยตอรัฐบาลและบุคคลอื่นๆ รวมทั้งกลุมการเมือง ติดอาวุธ องคการระหวางประเทศและบริษัทตางๆ เพื่อยุติ การละเมิดเหลานั้น นอกเหนือจากงานตอตานการละเมิดสิทธิมนุษยชน เปนการเฉพาะแลว AI ยังกระตุนใหรัฐบาลทั้งหลายรักษา กฎหมาย และยอมรับการดําเนินงานตามมาตรฐาน สิทธิมนุษยชน นอกจากนั้น AI ยังดําเนินกิจกรรมดาน สิทธิมนุษยชนศึกษา รวมทั้งกระตุนใหองคการระหวาง ประเทศ เอกชน และทุกภาคสวนของสังคมไดสนับสนุนและ เคารพในสิทธิมนุษยชน กิจกรรมหลักของ AI คือการวิจัยเรื่องการละเมิด สิทธิมนุษยชน แลวนําไปเผยแพร และรณรงคเพื่อยุติการ ละเมิดดังกลาว นักกิจกรรมของ AI จัดการรณรงคเพื่อให
เกิดการเปลีย่ นแปลง เชน การปลดปลอยนักโทษทางความ คิดแตละคน หรือการบรรเทาโทษประหารชีวิต อีกทั้งเพื่อ การเปลี่ยนแปลงในตัวบทกฎหมาย และการเปลี่ยนแปลง จิตสํานึกของประชาชนในเรื่องสิทธิมนุษยชน รูปแบบการ ปฏิบัติของสมาชิก AI เปนไปอยางหลากหลาย ดังนี้: • สงคําอุทธรณตอรัฐบาลและหนวยงานที่มีสวนรับผิด ชอบตอการละเมิดสิทธิมนุษยชน เรียกรองใหดาํ เนินการ ในคดีพิเศษเหลานั้น และใหมีการเปลี่ยนแปลงทาง นโยบายและการปฏิบัติ • ประสานงานกับองคการระหวางประเทศ เชน องคการ สหประชาชาติ เพื่อใหองคกรเหลานั้นตระหนักและนํา หลักการสิทธิมนุษยชนไปใชในโครงการตางๆ และเพือ่ กําหนดและดําเนินงานตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชน และเพื่อลงมือแกไขปญหาตอสถานการณพิเศษตางๆ • ประสานงานกับรัฐบาลของตน เพื่อใหลงมือปฏิบัติ การตอตานการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศอื่นๆ และเพื่อแกไขกฎหมาย นโยบาย และการปฏิบัติใน ประเด็นทีเ่ กีย่ วของกับปญหาสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ การ คุมครองผูลี้ภัย การเคลื่อนยายอาวุธและกองทัพ กองกําลังรักษาความปลอดภัย และกําลังตํารวจ • กดดันผูมีสวนไดสวนเสียอื่นๆ เชน บริษัทตางๆเพื่อ สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน • ทํางานรวมกับองคกรพันธมิตรอื่นๆ เชน ชุมชน หรือ กลุมสิทธิ หรือสมาคมวิชาชีพ เชน สมาคมแพทย หรือ สมาคมครู โดยใหการอบรมและสนับสนุนนักตอสูเพื่อ สิทธิมนุษยชน • ใหการสนับสนุนผูสูญเสียและครอบครัว โดยใหการ บรรเทาทุกขแกนกั โทษทางความคิดและเหยือ่ การทรมาน แตละราย • สนับสนุนและจัดใหมีโครงการสิทธิมนุษยชนศึกษา เพื่อสงเสริมประชาชนในการเรียนรูสิทธิมนุษยชน และ วิธีการปกปองสิทธิเหลานั้น • ระดมความรวมมือภายในชุมชนของตนโดยการจัด เวทีเผยแพรเหตุการณระดับทองถิ่น ระดับชาติ และ ระดับสากล และใหขอมูลแกสื่อมวลชน “งานของพวกคุณมีความสําคัญและมีความ หมายอยางใหญหลวง เนือ่ งจากมีการปรับปรุงวิธกี าร ปฏิบัติตอผมในทุกครั้งที่มีการกดดันจากองคกรเพื่อ สิทธิมนุษยชน สื่อตางประเทศ และรัฐบาลอื่นๆ” Wei Jingsheng อดีตนักโทษทางความคิดชาวจีน กลาวแกสมาชิก AI หลังจากเขาไดรับการปลอยตัว จากเรือนจําในป 2540
Amnesty International Thailand
แนวทางของ AI งานของ AI ทั้งหมดอาศัยแนวทางของหลักการ รวมพลังสากล การปฏิบตั กิ ารอยางจริงจังสําหรับผูส ญ ู เสีย การทํางานเปนเครือขายครอบคลุมทัว่ โลก สิทธิมนุษยชนที่ เปนสากลและไมอาจแบงแยกได ปราศจากอคติและ เปนอิสระ ตลอดจนมีความเปนประชาธิปไตยและใหความ นับถือซึ่งกันและกัน
การรวมพลังสากล สิทธิมนุษยชนไมไดเปนเรื่องของประเทศหนึ่ง ประเทศใด การจัดตั้ง AI ตั้งอยูบนพื้นฐานความเชื่อที่วา การคุม ครองสิทธิมนุษยชนเปนประเด็นสากล ไมไดเปนความ รับผิดชอบของประเทศใดประเทศหนึ่ง สมาชิกของ AI มาจากวัฒนธรรมและภูมิหลังที่หลากหลาย และทํางาน ประสานกันกับผูส ญ ู เสียจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ กับขบวนการเคลื่อนไหวดานสิทธิมนุษยชนทั่วโลก
การปฏิบัติการอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับผูสูญเสีย
การทํางานเปนเครือขายครอบคลุมทั่วโลก AI ปฏิบตั งิ านดานสิทธิมนุษยชนเพือ่ ผูค นทัว่ ทุกหนแหง และเพือ่ ผูส ญ ู เสียหลากหลายประเภท ภายใตรฐั บาลรูปแบบ ตางๆ AI ไมไดนาํ ประเทศตางๆ มาทําการเปรียบเทียบกัน หรือ “ประเมินคา” ประเทศเหลานั้น แต AI กลาวถึงการละเมิด สิทธิมนุษยชนตามระดับและความรุนแรงของมัน
ความเปนสากลและไมอาจแบงแยกได สิทธิมนุษยชนเทาเทียมกันหมดสําหรับประชาชน ทุกหมูเ หลา ไมวา จะมีเชือ้ ชาติ เพศ แนวคิดดานเพศ ศาสนา เผาพันธุ ความคิดเห็นเชิงการเมืองหรือความคิดเห็นอื่น สัญชาติ หรือสังคมใดๆ ก็ตาม เราทุกคนตางเกิดมาอยางมี อิสระ และมีความเทาเทียมกันทั้งในดานศักดิ์ศรีและสิทธิ ตางๆ ดังนั้นสิทธิมนุษยชนเปนประเด็นสากลที่ไมอาจแบง แยกได เพื่อมนุษยทุกคนจะดํารงชีพอยูไดอยางมีศักดิ์ศรี ไดรบั เสรีภาพ ความมัน่ คง และมาตรฐานความเปนอยูท ี่ เหมาะสม
ปราศจากอคติ
AI ไมไดสนับสนุน หรือตอตานรัฐบาลหรือระบบ การเมืองใดๆ ทั้งสิ้น ซึ่งรวมถึงความคิดเห็นของผูสูญเสียที่ งานศึกษาวิจัยของเรา การรณรงค ความมานะ พยายามปกปองสิทธิของตนเอง AI ทุกสาขาและทุกกลุม ตาง พยายามทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงกฎหมายและนโยบาย การสงคํา ปฏิบัติงานอยูในภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก และอยูภายใต อุทธรณ ขอรองเรียนและจดหมายของเรา ลวนมิไดถกู กําหนด สถานการณการเมืองที่หลากหลาย โดยการเมืองหรืออุดมการณ แตกําหนดโดยแนวคิดที่จะ ชวยเหลือผูหญิง ผูชาย และเด็กๆ AI เริ่มตนการรณรงคใน ป 2504 ดวยบทความในหนาหนังสือพิมพทเี่ กีย่ วกับ นักศึกษา สองคนทีใ่ ชเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นแลวถูกจับกุม ในประเทศโปรตุเกส หลังจากนัน้ อีก 40 ปตอ มา เราก็ยงั คง รณรงคเพือ่ การตอสูก ารละเมิดสิทธิมนุษยชนทีร่ า ยแรง ในรายงานเราพยายามบรรยายเรื่องราวของผู สูญเสียแตละราย เลาเรือ่ งราวในชีวติ ของพวกเขา เราพยายามแสดงใหเห็นวา มนุษยแตละคนทุกข ทรมานอยางไรในเบื้องหลังสถิติที่พาดหัวขาว
11
ความเปนอิสระ AI เปนอิสระจากทุกรัฐบาล จากอุดมการณทาง การเมือง ผลประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือศาสนาใดๆ โดย มิไดสนับสนุน หรือตอตานรัฐบาลหรือระบบการเมืองใดๆ ทัง้ สิน้ อีกทัง้ ไมจาํ เปนตองสนับสนุนความคิดเห็นหรือสาเหตุ ของผูส ญ ู เสียเนือ่ งจากพยายามปองกันสิทธิของตน เพือ่ คง ความเปนอิสระดังกลาว AI มิไดแสวงหาหรือยอมรับเงินจาก รัฐบาลหรือพรรคการเมืองตางๆ เพื่อนํามาจัดทําเอกสาร และรณรงคตอตานการละเมิดสิทธิมนุษยชนแตอยางใด แหลงการเงินของ AI ลวนไดมาจากการบริจาคของสมาชิก ทั่วโลกและกิจกรรมการหาทุนของ AI เองทั้งสิ้น
ดวยการยึดหลักการปราศจากอคติใดๆ เราจึงมุงเนนความ สําคัญไปทีก่ ารปฏิบตั งิ านของ AI ทีจ่ ะทําใหประชาชนไดรบั สิทธิดงั ทีร่ ะบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ดวย การคงไวซงึ่ ความเปนอิสระและปราศจากอคติ AI จึงสามารถ หลุดพนจากคําโตแยงของรัฐบาลตางๆ ซึ่งมักจะพยายาม กลาวหาวา AI วิพากษวิจารณพวกเขาสืบเนื่องจากอคติ ทางการเมือง มากกวาประเด็นหรือสถานการณสทิ ธิมนุษยชน ดวยเหตุผลดังกลาว AI จึงสามารถสรางความเขมแข็งใหแก จุดยืนของตนและความเชือ่ มัน่ ในผลงานวิจยั ในสายตาของ ชุมชนและประชาคมระหวางประเทศได
Amnesty International Thailand
องคกรประชาธิปไตยสากล AI เปนกระบวนการเคลื่อนไหวสากลที่มีสมาชิก อยูทั่วทุกมุมโลก ดังนั้นเพื่อความรวมมือในการปฏิบัติงาน AI จึงไดจัดระบบกิจกรรมตางๆ ตามรูปแบบพื้นฐานดังนี้: • ในระดับทองถิ่น สมาชิก AI จะรวมกลุมกันกลุมละ 5 คนหรือมากกวานัน้ เพือ่ ปฏิบตั งิ านในหนาทีข่ ององคกรฯ • ในระดับประเทศ การปฏิบตั งิ านของสมาชิกและกลุม AI จะไดรบั การพัฒนา สนับสนุน และประสานงานโดย สาขาหรือหนวยประสานงานอื่นๆ • ในระดับนานาประเทศหรือระดับสากลนั้น สํานัก เลขาธิการสากลซึ่งเปนสํานักงานกลางของ AI จะเปน ผูพัฒนาและสนับสนุนงานของสาขาและกลุม และ บรรดาสมาชิก ซึ่งที่สํานักงานกลางนั่นเองที่ไดมีการ ประสานงานวิจัยเรื่องการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ เปนแหลงริเริม่ กิจกรรมการรณรงคสว นใหญ ซึง่ ดําเนิน การโดยสมาชิกทั่วโลก AI เปนองคกรประชาธิปไตยและบริหารภายใน กันเอง ซึง่ หมายถึงวาสมาชิกเปนผูต ดั สินใจวาประเด็น ใดที่ AI ควรดําเนินการ ทั้งนี้เปนไปตามกระบวนการ ตัดสินใจดังตอไปนี้: • กลุมสมาชิก AI อภิปรายประเด็นปญหา และเสนอ มติตอที่ประชุมใหญของสาขาในประเทศนั้นๆ และตอ คณะกรรมการบริหาร ซึ่งสาขาไดจัดการประชุมใหญ เพื่ออภิปรายขอเสนอเชิงนโยบายและการลงคะแนน เสียงในมตินั้นๆ • สาขาสงมติดงั กลาวไปยังสภานานาชาติ (International Council - ICM) ซึ่งเปนคณะกรรมการบริหารใหญของ AI ประกอบดวยผูแทนจากทุกสาขาที่จะมาพบกันในที่ ประชุมใหญทุกๆ สองป ณ ที่ประชุมใหญดังกลาว อาจ มีการแกไขขอบังคับขององคกรฯ กําหนดนโยบายและ โครงการโดยรวม และกําหนดงบประมาณของสํานัก เลขาธิการสากล • ในชวงการประชุม ICM ทุกครัง้ จะมีการเลือกตัง้ คณะ กรรมาธิการบริหารสากล (International Executive Committee – IEC) เพื่อทําหนาที่ตัดสินใจในนโยบาย ตางๆ ซึ่งในชวงการประชุม ICM ดังกลาว สมาชิก อาสาสมัครจํานวน 9 คนของ IEC จะเปนผูจัดตั้งคณะ กรรมการบริหาร AI เพื่อทําหนาที่ในการควบคุมดูแล การปฏิบัติงานทั่วไปของสํานักเลขาธิการสากล • IEC จะแตงตัง้ เลขาธิการขององคกรฯ ซึง่ จะทําหนาที่ บริหารงานประจําวันของ AI และมีตําแหนงเปนโฆษก
ดานแรกและเปนเลขาธิการสากลของสํานักเลขาธิการ สากลดวย • สํานักเลขาธิการสากลดําเนินงานตามนโยบายของ องคกรฯ โดยรวบรวมและวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน และใหคําแนะนําแกสาขา กลุม และสมาชิกตางๆ ในกิจกรรมการรณรงคของพวกเขา
AI ในโลกที่เปลี่ยนแปลง ในยามทีเ่ ผชิญกับอาชญากรรมตอสิทธิมนุษยชน และความขัดแยงอยางตอเนื่อง เปนเรื่องงายที่จะลืมวาได มีการดําเนินงานใดไปแลวบางนับแตกลางศตวรรษที่ผาน มา สิทธิตา งๆ ทีร่ ะบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน นัน้ ไดผลักดันใหเกิดการดิน้ รนทีจ่ ะเปลีย่ นโฉมหนาของโลก และยังไดโนมนาวใหเกิดการเคลือ่ นไหวขนานใหญ เพือ่ ตอ ตานการเลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของเผาพันธุและเพศซึ่งได เปลี่ยนแปลงรูปแบบสังคม โดยไดมีการชุมนุมเรียกรองให เกิดกระบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งไดขยาย ขอบเขตออกไปอยางกวางขวางจากเคาโครงเดิม และได เผยแพรออกไปทั่วโลก สิทธิตางๆ ไดรับการจําแนกและ จัดหมวดหมูไ วในสนธิสญ ั ญาสิทธิมนุษยชนสากล รัฐธรรมนูญ
13 และกฎหมายแหงชาติจํานวนมาก อีกทั้งยังเปนรากฐาน สําคัญสําหรับองคการสหประชาชาติและการริเริม่ ในภูมภิ าค ที่จะหยิบยกปญหาสิทธิมนุษยชน รับประกันสันติภาพ ลดระดับความยากจน ขจัดการไมรูหนังสือ และคุมครอง สุขภาพ แตสําหรับประชาชนสวนใหญแลว สิทธิตางๆ ที่ระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนนั้น เปนสิ่ง ที่มีคากวาคําสัญญาบนแผนกระดาษเพียงเล็กนอยเทานั้น ซึง่ เปนคําสัญญาทีไ่ มไดบรรลุผลสําหรับประชาชนหนึง่ หมืน่ สามพันลานลานคน (1.3 billion people) ซึ่งดิ้นรนเพื่อจะ มีชีวิตอยูดวยรายไดเพียง 1 เหรียญสหรัฐฯ ตอวัน ไมไดผล สําหรับเด็กอีก 35,000 คนซึ่งเสียชีวิตทุกวันจากภาวะการ ขาดแคลนทางโภชนาการ และโรคที่สามารถปองกันได สําหรับผูใหญนับพันลานคน (billion adults) ซึ่งสวนใหญ เปนสตรีที่ไมสามารถอานออกเขียนได สําหรับนักโทษทาง ความคิดทีส่ นิ้ หวังในเรือนจําทุกหนทุกแหงในโลก สําหรับผู สูญเสียจากการทรมานและการถูกปฏิบัติอยางเลวรายใน กวา 150 ประเทศ สําหรับผูคนจํานวนหลายพันคนที่ถูก ตัดสินประหารชีวิต หรือถูกประหารในแตละป สําหรับการ เขนฆานอกกฏหมายหลายหมื่นคนในแตละปจากความ ขัดแยงอันมีสาเหตุจากความไมเปนธรรม ความไมเทาเทียม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน การละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งมวลที่ AI ไดตอสูมา หลายทศวรรษนัน้ ยังคงทํารายชีวติ ประชาชนชาวโลกอยาง ตอเนือ่ ง ในบางสังคมประตูเรือนจําไดเปดออก และนักโทษ ทางความคิดไดรบั การปลอยตัวใหเปนอิสระ อยางนอยอดีต นักโทษทางความคิดจํานวนถึง 11 คนไดกลายมาเปนผูนํา ประเทศในทีส่ ดุ แตในสังคมอีกหลายแหงทีร่ ปู แบบของการ กดขี่ไดปรากฏโฉมใหมรวมทั้งการตัดสินประหารชีวิต นอกกฏหมายและ “การหายสาบสูญของบุคคล” ทุกวันนี้มี ผูสูญเสียอีกจํานวนมากมายที่ AI เกี่ยวของ และยังคงทุกข ทรมานกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนนอกกําแพงเรือนจํา พวกเขาคือผูท ถี่ กู ฆาทามกลางความขัดแยงทางอาวุธ สตรี ทีถ่ กู ตัดชิน้ สวนของรางกายหรือถูกฆา อันเนือ่ งมาจากความ รุนแรงในครอบครัวหรือในสังคมรวมทัง้ เหยือ่ ความโหดเหีย้ ม ของตํารวจตามทองถนน บัดนีเ้ รากําลังอาศัยในโลกปลายยุคสงครามเย็น ซึง่ ความตึงเครียดเรือ่ งชนกลุม นอยและลัทธิชาตินยิ มไดกลับ ฟน ขึน้ มาในระดับทีไ่ มเคยคาดคิดมากอน การเปลีย่ นแปลง ทางการเมืองอยางเฉียบพลัน และการกระจายความมั่งคั่ง อยางไมเปนธรรม เปนการเรงรัดใหเกิดการยายถิ่นฐานกัน ขนานใหญ การไมยอมรับความคิดเห็นที่แตกตาง และการ เหยียดผิวในประเทศทีอ่ า งตนเองวามีอสิ ระเสรีภาพและเปน ประชาธิปไตย
AI ถือกําเนิดขึ้นมาในชวงที่โลกกําลังเต็มไปดวย การกระทําของกลุม ผูน ยิ มความรุนแรง โดย AI ไดรบั ความ รวมมือจากพลังอันเขมแข็งของภาคประชาชน ซึ่งมุงมั่นที่ จะรวมพลังกับบรรดาผูส ญ ู เสียจากการกดขีจ่ ากรัฐบาล ใน ชวงสิบปนบั แตป 2503 ประชาชนในทวีปแอฟริกาพยายาม ดิ้นรนใหหลุดพนจากการครอบครองแบบอาณานิคม และ ประชาชนทีอ่ าศัยอยูภ ายใตระบบการปกครองแบบเผด็จการ ในประเทศสเปน โปรตุเกส หรือ สาธารณรัฐสังคมนิยม โซเวียตรัสเซีย ตางพากันตอสูเ พือ่ ใชสทิ ธิในการแสดงความ คิดเห็นอยางอิสระ ขณะนัน้ AI กลาววา “จงปลอยใหความ คิดเห็นลืน่ ไหลอยางเปนอิสระ” แลวเราก็ไดจดั การใหมกี าร เปดประตูหองขังของบรรดาผูไมเห็นดวยกับรัฐทั้งหลาย ในชวงยีส่ บิ ปนบั แตป 2513 เปนตนมา ซึง่ เผด็จการ ทหารไดใชวิธีการทรมานเพื่อทําลายฝายตอตานในละติน อเมริกา เราไดรณรงคใหมีการรับรองอนุสัญญาระหวาง ประเทศที่ตอตานการทรมาน และปดหองทรมานนักโทษ ลงเสีย หลังจากนั้นเมื่อการกดขี่ทางการเมืองเคลื่อนยาย ออกจากเรือนจําไปสูทองถนนในรูปแบบของ “การหาย สาบสูญของบุคคล” และการประหารชีวติ นอกกฎหมาย เรา ก็ตดิ ตามเรือ่ งราวการละเมิดเหลานี้ นอกจากนี้ AI ยังขานรับ เรือ่ งการแพรกระจายของความขัดแยงทางอาวุธในชวงกวา สิบปนับแตป 2533 เปนตนมา ดวยการปรับขอบเขตหนาที่ การดําเนินงานนอกเหนือจากการรับมือกับรัฐบาล เพือ่ ทีจ่ ะ รับมือกับกลุมติดอาวุธดวย AI ไดขยายการปฏิบตั งิ านไปไกลเกินกวาอิสรภาพ ทางความคิดเห็น เพื่อใหครอบคลุมการละเมิดที่มีสาเหตุ จากอัตลักษณ และการเลือกปฏิบัติ เราไมเพียงแตทําเพื่อ ประชาชนที่ตกเปนเปาเพียงเพราะสิ่งที่พวกเขาคิดเทานั้น แตยงั เพือ่ ผูท ตี่ กอยูใ นความเสีย่ งเพราะตัวตนทีพ่ วกเขาเปน อีกดวย ทัง้ นีไ้ มไดหมายความวาเราจะทิง้ แนวคิดพิน้ ฐาน ของพวกเราเพราะปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนเปนผล ของการเปลีย่ นแปลงฉับพลันทีต่ อ งการตอตานการสังหารหมู และการฆาลางเผาพันธุ ซึ่งเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ มีสาเหตุมาจากอัตลักษณ
Amnesty International Thailand
“เพื่อนที่รักทั้งหลาย ขอใหผมไดพูดออกมาจากกนบึ้งของหัวใจ เถิดวา ผมซาบซึ้งในความกรุณาของพวกคุณทุกคน ที่ทํางานอยูในองคกรที่มีเกียรติเชน AI ซึ่งตอสูเพื่อ ความเคารพในชีวิต และสิทธิของผูคนทุกชนชั้นใน สังคมทัว่ โลก ผมยังขอถือโอกาสนีบ้ อก...ทุกคนใน AI วา ขอขอบคุณสําหรับการสนับสนุนของพวกคุณในวันที่ 3 มีนาคม 2543 เมื่อผมถูกกลั่นแกลง และชีวิตผม ตกอยูใ นอันตราย แตวนั นีผ้ มยังคงมีชวี ติ อยู ซึง่ ผมจะ ไมมีวันลืมผูคนที่ใหการสนับสนุนตัวผมและองคกร COPA (Coordinating Body of Popular Organizations of the Aguan) ... ทายนี้ ผมอยากขอรองมิใหพวกคุณหมด กําลังใจในการทํางานเพื่อชวยเหลือชายและหญิงซึ่ง ทําการประทวงทีส่ นับสนุนเพือ่ นรวมชาติของพวกเขา เพือ่ นรัก ผูค นเชนพวกคุณตางหาก ทีเ่ ปนสิง่ สวยงาม ที่สุดบนพื้นโลก และผมขอออนวอนพระผูเปนเจาให ทรงประทานชีวิตอันยาวนานแกพวกคุณ ใหความ สุขมุ และหัวใจทีเ่ ต็มไปดวยความรักและความมัน่ คง ที่มีตอโลกของเรา แดชายและหญิงที่ไดสนับสนุนตัวผม ผม ขอสงคําอวยพรทีด่ ที สี่ ดุ จากกนบึง้ ของหัวใจใหทกุ ทาน Coronado Avila M.” Coronado Avila M. เปนนักตอสูเ พือ่ ชนชัน้ รากหญา ที่ไดรณรงคเพื่อปกปองสิทธิในที่ดินของ ชาวนาในประเทศฮอนดูรสั เขาถูกคุกคามเอาชีวติ ซึง่ เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2543 ไดมีการประกาศปฏิบัติ งานดวน และในเดือนกรกฎาคม 2544 Coronado Avila ก็ไดเขียนจดหมายถึง AI ขอบคุณทุกคนที่ได อุทธรณเพื่อชวยเหลือตัวเขา
หลายตอหลายปนบั จากการลมสลายของกําแพง เบอรลนิ ไดเกิดการเปลีย่ นแปลงขนานใหญทงั้ ดานการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ขบวนการเคลือ่ นไหวดานสิทธิมนุษยชน ก็ไดเติบโตขึ้นทั้งในเชิงพละกําลังและปริมาณ ซึ่งจิตสํานึก ในดานสิทธิมนุษยชนนั้นอยางไมตองสงสัย เพิ่มมากขึ้น ยิ่งกวา กระนั้น การกดขี่ ความยากจน และสงคราม ก็ได ลางผลาญชีวติ มนุษยชาติไปอยางมากมาย ภาพลักษณของ โลกที่ดูดีในป 2542 ก็ไดถูกแทนที่ดวยความหวาดกลัวใน รูปแบบใหมๆ และการตอสูเ พือ่ สิทธิมนุษยชน ไดกลับกลาย เปนเรื่องจําเปนในทุกวันนี้ยิ่งกวาที่เคยเปนมาในอดีต โลกาภิวตั น การแพรขยายของเศรษฐกิจแบบตลาด เสรี ระบบการเมืองหลายพรรค และการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี ลวนนําไปสูเ สรีภาพทีข่ ยายตัวขึน้ และความเจริญ รุงเรืองสําหรับบางคน ความขาดแคลนและสิ้นหวังเพิ่มขึ้น สําหรับหลายตอหลายคน สถาบันเศรษฐกิจโลก เชน กองทุน การเงินระหวางประเทศ (International Monetary Fund) ธนาคารโลก (World Bank) และองคกรการคาโลก (World Trade Organization) ไดเขาครอบงําวาระทางการเมือง และเศรษฐกิจแหงชาติมากมาย ในขณะเดียวกันบริษทั ขาม ชาติก็ไดพุงเปาไปในดานความมั่งคั่งและอํานาจ ในการนี้ AI ไมไดนงิ่ นอนใจอยางไรก็ตาม การทาทายดานสิทธิมนุษยชน รูปแบบใหมอบุ ตั ขิ นึ้ จากโลกาภิวฒ ั น กระบวนการเคลือ่ นไหว ดานสิทธิมนุษยชนสากล ไดถูกละเลยสิทธิเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งไดหยิบยกเรื่องของสิทธิเหลานี้ มาดําเนินงานโดยตรงยิง่ ขึน้ ในป 2540 สมาชิก AI ไดยนื ยัน ความตั้งใจของตนเองอีกครั้งหนึ่ง ที่จะสงเสริมสิทธิมนุษย ชนทุกประเภท รวมทั้งสิทธิทางเศรษฐกิจและสังคม โดยได ตัดสินใจที่จะดําเนินการรณรงคเพื่อสิทธิมนุษยชนภายใน ภาคธุรกิจและการเงิน และในนโยบายความชวยเหลือ การ คา และการลงทุนของรัฐบาลและองคการระหวางประเทศ ในป 2544 สมาชิก AI ก็ไดเนนหนักและพัฒนางานนีใ้ หมาก ขึ้นอีก ยิ่งขอบเขตการปฏิบัติงานของ AI ขยายวงกวาง และพัฒนาขึน้ กลับมีคาํ ถามผุดขึน้ วา องคกรควรจะดําเนิน การตอตานการละเมิดอยางรายแรงตอสิทธิมนุษยชนทุก ประเภทหรือไม? องคกรฯ ไดใหคํามั่นวาจะสงเสริมสิทธิ มนุษยชนทุกประเภท คําถามนี้จะมีการพิจารณาในรายละ เอียดเร็วๆ นี้ กอนทีส่ มาชิก AI จะไดตดั สินใจในประเด็นนัน้ ๆ
15 ขณะที่ AI เติบโตและปรับตัวใหเขากับโลกทีก่ าํ ลัง เปลี่ยนแปลง สิ่งที่จําเปนและเปนที่ตองการอยางยิ่งไดแก การคิดแบบยุทธศาสตร (strategic thinking) และคุณสมบัติ ในการสรางสรรคผนวกกับกําลังความสามารถ (creativity and energy) การทาทายใหมๆ กลับทําใหโครงสรางอํานาจ ในบางประเทศลมเหลวซึ่งบางที่เคยเปนเปาหมายที่ AI ยื่น อุทธรณ เทคโนโลยีและเครือขายสือ่ สารขามโลกชนิดใหมๆ สามารถทําใหวกิ ฤตการณเหลานีค้ รอบงําจิตสํานึกสาธารณะ และการเมืองไดทั่วโลกอยางรวดเร็ว สวนวิกฤตการณอื่นๆ ซึ่งลวนประกอบดวยโศกนาฏกรรมของมนุษยนั้น ยังคงถูก ลืมหรือละเลยเชนเดิม ทุกวันนี้ AI คือสวนหนึ่งของขบวนการขนาดใหญ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา และไดประสบความสําเร็จใน การหยิบยกประเด็นปญหาและคงไวซึ่งการตอสูเพื่อ สิทธิมนุษยชน ทามกลางประชาคมโลก โดยที่ AI ไมได ดําเนินการอยางเปนนามธรรม แตการรณรงคโดยตรง ทําให ประสบความสําเร็จในการเรียกรองแทนประชาชนหลายพัน คนที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนทั่วทุกหนทุกแหงในโลก
AI ปฏิบัติงานไดผลเพียงใด? AI มีพนื้ ฐานความเชือ่ ทีว่ า ปจเจกบุคคลทีท่ าํ งาน รวมพลังสากลดวยกัน จะสามารถทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลง อยางแทจริงในโลกซึง่ บางครัง้ พวกทีก่ มุ อํานาจไรความเห็น อกเห็นใจตอความทุกขทรมานของผูอื่น อยางไรก็ตามเปน ไปไดยากที่จะพิสูจนความเชื่อมโยงโดยตรงระหวางการ ปฏิบตั งิ านของ AI กับการปรับปรุงสภาพการณสทิ ธิมนุษยชน แตในชวงหลายปทผี่ า นมา AI ก็มผี ลงานทีบ่ รรลุความสําเร็จ ใหเห็นไดอยางชัดเจน นับแตการเริ่มตนปฏิบัติงานในป 2504 AI ไดสง คําอุทธรณในนามของผูส ญ ู เสียจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน เปนจํานวนหลายพันคน โดยในหมูค นเหลานี้ ในหลายกรณี ไดรับการปรับปรุงสถานการณใหดีขึ้นยิ่งกวาเดิม เชน บาง คนไดรบั การปลอยตัวจากทีค่ มุ ขัง บางคนไดรบั การบรรเทา โทษใหมีชวงการจองจําสั้นลง หรือไดรับการพิจารณาคดี อยางเปนธรรม หรือไดรับการปฏิบัติในที่คุมขังอยางมี มนุษยธรรมมากขึน้ หรือมีการลดโทษประหารชีวติ ฯลฯ หลังจากการสงจดหมายอุทธรณซงึ่ เปนปฏิบตั กิ าร เรงดวนเปนครัง้ แรกในป 2516 เปนตนมา AI ก็ไดสง จดหมาย อุทธรณอกี ประมาณ 16,600 ครัง้ ในนามของชาย หญิง และ เด็กที่กําลังตกอยูในภาวะอันตราย ทั้งนี้ AI ไดแลเห็นการ เปลี่ยนแปลงของบุคคลที่มีชื่ออยูในคําอุทธรณดังกลาว ประมาณหนึง่ ในสามของคดีทงั้ หมด นอกจากนีย้ งั มีวธิ กี าร อืน่ ที่ AI ไดมสี ว นสนับสนุนสิทธิมนุษยชนอยางเปนรูปธรรม โดย AI และสถาบันอืน่ ๆ ยังไดกดดันใหองคการสหประชาชาติ ดําเนินการปรับปรุงมาตรฐานสากลเพื่อการคุมครอง สิทธิมนุษยชน ซึง่ นับแตป 2504 เปนตนมา ไดมกี ารบัญญัติ กฎหมายระหวางประเทศเพือ่ คุม ครองประชาชนทัว่ โลกจาก การถูกลวงละเมิด AI ยังภูมใิ จทีไ่ ดสนับสนุนใหสทิ ธิมนุษยชน เปนประเด็นปญหาที่อยูเหนือการเมืองระดับประเทศและ การแบงพรรคแบงพวก ผลการดําเนินงานที่นาจดจําที่สุด ของ AI คือการจัดทําประชาพิจารณ เพื่อนําสิทธิมนุษยชน เขาสูวาระสากล การปฏิบัติงานทั้งหมดของ AI มีเปาหมายเฉพาะ
Amnesty International Thailand
ทั้งสิ้น จากการประเมินผลงานของเรา ทําใหเรามีบทเรียนอัน มีคาสําหรับอนาคต บางครั้งผลลัพธอาจจะใชเวลานานหลาย ป แตในชวงสิบปนบั แตป 2533 เปนตนมา สมาชิก AI ไดรณรงค เพือ่ ใหมกี ารจัดตัง้ ศาลอาชญากรรมระหวางประเทศ ซึง่ มีอาํ นาจ ครอบคลุมในการตัดสินคดีการสังหารอยางโหดเหีย้ ม เชน การ ฆาลางเผาพันธุและอาชญากรรมสงคราม ในที่สุดเมื่อป 2541 ผูแทนประเทศตางๆ ในการประชุมสหประชาชาติ ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ก็ไดมีมติอันทวมทนยอมรับธรรมนูญเพื่อจัดตั้ง ศาลอาชญากรรมระหวางประเทศอยางถาวร หลังจากนัน้ สมาชิก AI พรอมกับองคกรพัฒนาเอกชนพันธมิตรมากกวา 800 องคกร ไดรวมมือกันรณรงคทั่วโลกเพื่อโนมนาวประเทศตางๆ ให สัตยาบันตอธรรมนูญการจัดตัง้ ศาลอาชญากรรมระหวางประเทศ ณ กรุงโรมใหมากที่สุดเทาที่จะทําได และโดยทันที เหนือสิ่งอื่นใด งานวิจัยและการรณรงคทั้งหมดของ เรานั้น จะตองมีผลตอชะตากรรมของแตละบุคคล การปลอย ตัวนักโทษทางความคิดเปนเรือ่ งทีม่ องเห็นไดอยางงายดายทีส่ ดุ แตการปฏิบัติงานของ AI อาจจะสงผลในดานอื่น ๆ ดวยเชน สภาพภายในทีค่ มุ ขังอาจไดรบั การปรับปรุง อาจมีการยุติ หรือ ปองกันการทรมานนักโทษ อาจมีการลดหยอนโทษประหารชีวติ และผูต กเปนเหยือ่ การละเมิดสิทธิมนุษยชนอาจเกิดความหวัง ขึ้นมาอยางแทจริง เนื่องจากตระหนักวาพวกเขาไมไดถูกลืม ในฐานะองคกร AI ไมไดอวดอางผลงานเมื่อมีการ ปลอยตัวนักโทษ หรือเมื่อมีการลดหยอนโทษ หรือเมื่อมีการ ปรับปรุงการดําเนินงานดานสิทธิมนุษยชนของรัฐ ทั้งนี้เพราะ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนผลที่เกิดขึ้นจากหลายปจจัย ซึ่ง สวนใหญมิใชการกระทํา (ซึ่งมักเปนการเสี่ยงอยางยิ่ง) ของ ครอบครัวหรือเพื่อนฝูงของผูสูญเสียจากการละเมิด อยางไร ก็ตาม อดีตนักโทษ เหยื่อแหงการทรมาน และคนอื่นๆ มักจะ ยืนยันวา แรงกดดันจากนานาประเทศไดชว ยทําใหพวกเขาเปน อิสระ และชวยชีวิตพวกเขาไว ทุกปจะมีผูคนมากมายที่ AI ได ชวยเหลือติดตามคดีให รวมทั้งทนายความและครอบครัวของ พวกเขา ไดขอบคุณในความพยายามชวยเหลือทีเ่ ราทําในนาม ของพวกเขา ขอความขอบคุณเหลานั้นและการรวมพลังเขา ดวยกัน ไดปลุกเราใหสมาชิก AI ปฏิบัติงานเพื่อสิทธิมนุษยชน ตอไป ซึง่ บางสวนของเรือ่ งเหลานี้ และคําอางอิงกับตัวอยางอืน่ ๆ ทีแ่ สดงใหเห็นถึงผลทีไ่ ดจากการดําเนินงานของ AI นัน้ ปรากฏ อยูในคูมือฉบับนี้แลว
17
ทานจะสามารถรวมงานกับ AI ไดอยางไร AI เปนองคกรที่ประกอบดวย สมาชิก จึงตองอาศัยการมีสวนรวมอยาง จริงจังของสมาชิกองคกรฯ ในการที่จะ บรรลุเปาหมาย เราขอชักชวนประชาชนที่ ใหการสนับสนุนวัตถุประสงคและหลักการ ของเรา ไดเขามาเปนสมาชิกและมีบทบาท อยางกระตือรือรนในการรณรงคของเรา
Amnesty International Thailand
แตละเสียงทําใหเกิดความแตกตาง สมาชิก AI สามารถแสดงบทบาทในการปฏิบตั งิ าน ขององคกรฯ ไดหลายวิธี และอาจทํางานเปนกลุมหรือ แยกทํางานเดีย่ วก็ได นักตอสูแ ตละคนอาจสนับสนุน AI ได โดย: • สงจดหมายอุทธรณโดยตรงไปยังผูมีอํานาจ โดย สงในนามของนักโทษแหงความคิด หรือเหยือ่ ของการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนอื่นๆ ซึ่งคดีที่สามารถสงคํา อุทธรณไดทั่วโลกนั้น จะปรากฏในจดหมายขาว AI และในเว็บไซต (www.amnesty.org) • เขารวมกับเครือขาย เชน เครือขายปฏิบัติงานดวน (Urgent Actions) • บริจาคเงินใหแก AI • แจกจายสิง่ ตีพมิ พของ AI ไปตามหองสมุดและราน หนังสือในทองถิ่น รวมทั้งการชักชวนใหเพื่อนและ ครอบครัวเขารวมกับองคกรฯ • ใหขอ มูลความหวงใยของ AI แกตวั แทนพรรคการเมือง ของทาน และสื่อมวลชนทองถิ่น
ปฏิบัติงานเปนกลุม สมาชิกจํานวนมากเขามามีสวนรวมใน AI ดวย การเขารวมในกลุม ทีอ่ ยูใ นชุมชนของตน ไมวา จะเปนสภาพ แวดลอมของที่อยูอาศัย หมูบาน หรือเมือง หรือสถานที่ ทํางาน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือสถานทีท่ างศาสนา กลุม AI เปนหนวยทางการขององคกรฯ และงานสําคัญทีส่ ดุ บาง ประเภทนัน้ จะทํากันในระดับกลุม โดยกลุม AI จะพบปะกัน อยางสมํ่าเสมอ ปกติมักจะประมาณเดือนละหนึ่งครั้งเพื่อ วางแผนและลงมือปฏิบัติงานขององคกรฯ การประชุมยัง เปนการเปดโอกาสใหสมาชิกอภิปรายประเด็นปญหาของ AI และอาจจะมีแขกทีไ่ ดรบั เชิญมาบรรยาย เชน อดีตนักโทษ ทางความคิด อาจมีวดิ โี อหรือกิจกรรม เชน การเขียนจดหมาย เปนตน
“ผมถูกขังอยูในคุกใตดินโดยไมมีแมแต เสือ้ ผาหอหุม รางกาย แตเมือ่ มีจดหมาย 200 ฉบับสง มาถึง ผูคุมก็คืนเสื้อผาใหผม และเมื่อมีจดหมายมา ถึงอีก 200 ฉบับ เจาหนาที่เรือนจําก็มาพบผม ตอมา เมื่อมีจดหมายกองใหญสงมาอีก ผูอํานวยการเริ่ม ติดตอกับผูบ งั คับบัญชาของเขา และหลังจากจดหมาย อีก 3,000 ฉบับมาถึง ประธานาธิบดีก็เรียกผมไปพบ ที่หองทํางาน แลวชี้ใหผมดูจดหมายกลองมโหฬารที่ เขาไดรับ แลวถามผมวา “ผูนําสหภาพอยางคุณมี เพื่อนมากมายทั่วโลกอยางนี้ไดอยางไรกัน?”” ผูนําสหภาพจากสาธารณรัฐโดมินิกัน ซึ่ง AI ไดรณรงคในนามของเขาเมื่อป 2518
กลุม AI • ทํางานดานปฏิบัติการที่ไดรับมอบหมายเปนพิเศษ ซึ่งมักเกี่ยวของกับการสงคําอุทธรณเพื่อนักโทษแตละ คน หรือนักโทษทัง้ กลุม หรือในประเด็นสําคัญ เชน โทษ ประหารชีวิต • ลงมือปฏิบตั กิ ารในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของเครือขาย • เพิ่มความตระหนักในการรณรงคและวัตถุประสงค ของ AI ตลอดจนกระตุน ใหประชาชนรวมมือกับองคกรฯ โดยอาศัยการแสดงออกในที่สาธารณะ เหตุการณที่ นาจดจํา สื่อมวลชนและงานประชาสัมพันธ จัดใหมี โปรแกรมการศึกษานอกโรงเรียน และสิทธิมนุษยชน ศึกษา • จัดหาเงินทุนสําหรับ AI โดยกิจกรรมระดมทุน • มีสวนรวมในการตัดสินใจของ AI
19
กลุม AI ปฏิบัติงานกับสาขา และผูประสานงาน (coordinator) ของตนเองอยางไร เชนเดียวกับการจัดกลุม ฝกอบรม สาขาไดใหขอ มูล แกกลุมทองถิ่นในประเทศของตนในเรื่องที่เกี่ยวของกับคดี อุทธรณและการรณรงคระดับประเทศและระดับสากล โดย พวกเขามอบหมายแฟมปฏิบัติการ และสนับสนุนกิจกรรม การรณรงคของกลุม ดวยการจัดหาวัสดุอปุ กรณทใี่ ชในการ รณรงค พรอมทัง้ ผูบ รรยายรับเชิญ ทัง้ นี้ สาขา หลายแหงได จัดโปรแกรมสิทธิมนุษยชนศึกษา และจัดทําวัสดุอุปกรณ เชน คูม อื การสอนเพือ่ ใหกลุม ไดนาํ ไปใชประโยชน นอกจากนี้
ยังใหความชวยเหลือและแนะนํากลุมในงานดานกิจกรรม ภายนอกอีกดวย อนึง่ สาขาสวนใหญจะมีผปู ระสานงานกลุม ซึ่งจะเปนคนที่กลุมจะตองติดตอเปนคนแรกในสาขา ทั้งนี้ กลุม อาจจะไดรบั ขอแนะนําและการสนับสนุนในดานตางๆ สําหรับการปฏิบัติงาน เชน งานดานการรณรงค การเขาถึง กลุมผูสูญเสียหรือกลุมที่เกี่ยวของโดยเฉพาะหรือดาน สื่อมวลชนจากผูประสานงานที่เหมาะสม
การจัดตั้งกลุม AI ถาในชุมชนของทานยังไมมกี ลุม AI ทานก็อาจจะ อยากตัง้ ขึน้ มาสักกลุม หนึง่ โดยกลุม ใหมๆ จะตองประกอบ ดวยสมาชิกอยางนอย 5 คน และตองผานการอบรมจาก สาขา ซึ่งในชวงเวลาดังกลาว สมาชิกจะตองลดกิจกรรม รณรงคลงในขณะที่ตองมุงเนนการเรียนรูเรื่องราวของ AI และการสรางทรัพยากรกลุม ครั้นสมาชิกไดแสดงใหเห็น แลววา พวกเขามีความรูแ ละวิธกี ารทีจ่ ะทําการรณรงคอยาง มัน่ ใจและไดผล กลุม นีก้ จ็ ะไดรบั การรับรองใหเขามามีสว น รวมในองคกรฯ แตละกลุม ควรมีโครงสรางทีป่ ระกอบดวยประธาน และผูประสานงาน เหรัญญิกเพื่อบริหารการเงินของกลุม และเลขานุการเพือ่ บันทึกการตัดสินใจและการจัดทําทะเบียน สมาชิก ภายในกลุมอาจมอบหมายสมาชิกที่ทําหนาที่ใน การหาทุน การจัดหาสมาชิกใหม การประสานงานกับสื่อ ตางๆ ปฏิบัติงานดวน, แฟมปฏิบัติการ เหตุการณและการ รณรงคตางๆ ในฐานะที่เปนกลุมทางการของ AI ทุกกลุมไดรับ การคาดหวังดังนี้ : • ศึกษากฎขอบังคับของ AI (ดูภาคผนวก 1) • ยึดมั่นตอขอบังคับทั้งหมดของ AI และมุงมั่นที่จะ รณรงคใหครอบคลุมประเด็นทัง้ หมดทีไ่ ดรบั มอบหมาย • ศึกษาถึงการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารของ AI ที่ไดรับคัดเลือก • รายงานกิจกรรมที่ดําเนินงานตอสาขาในประเทศทุก 6 หรือ 12 เดือน
• ปราศจากอคติและเปนอิสระทางการเมืองในขณะ รณรงค • ปฏิบัติงานดวยวิธีการเปดเผยและเปนอิสระ • มีเปาหมายเพือ่ โนมนาวสมาชิกจากทุกระดับของสังคม • ฝกอบรมสมาชิกในดานสิทธิมนุษยชนและการปฏิบตั ิ งานของ AI • จัดหาเงินทุนเพื่อสนับสนุนงานของกลุม และบริจาค ใหแกกระบวนการเคลื่อนไหวสากล นักกิจกรรมที่ตองการจะเริ่มตั้งกลุม AI ควรติดตอ สํานักงาน “ฉันบอกไมไดวารูสึกดีเพียงใด ที่ไดเปนอิสระอีกครั้ง หนึ่ง และที่ไดมีโอกาสเขียนขอความนี้ มันเปนสิ่งที่ฉันตองการ จะทํามาตั้งแตป 2540 เมื่อฉันไดรับการดชุดแรก...ที่เริ่มตนมา จากความพยายามของ AI มันแทบเปนไปไมไดที่จะวาดภาพ ปฏิกิริยาของฉันไดอยางถูกตอง ในเวลาที่ฉันนั่งอยูในหองขัง เล็กๆ โดยทีพ่ นื้ หองเกลือ่ นกลาดไปดวยการดและซองตางๆ มัน เปนความประทับใจอยางยิง่ และเกิดกําลังใจและความเขมแข็ง อันใหญหลวง หลังจากนัน้ ฉันก็ไดรวู า ตัวเองไมไดอยูต ามลําพัง และไดยดึ ความคิดนัน่ ไวจนสุดทาย...พวกคุณอาจสงการดเพียง ใบเดียว แตการดทัง้ หมดนีเ้ ปรียบเสมือนหยดนํา้ เล็กๆ ทีร่ วมตัว กันเปนแรงดันที่ไหลหลั่งทวมทน” Chris Anyanwu บรรณาธิการหนังสือพิมพชาวไนจีเรีย หลังจากไดรับการปลดปลอยจากที่คุมขังในป 2541 เธอเปน หนึ่งในจํานวนผูปกปองสิทธิมนุษยชนจํานวนมาก ที่ถูกจําคุก ยาวนานในป 2538 ภายหลังจากการถูกศาลทหารพิจารณาคดี อยางลับๆ และไมเปนธรรมอยางยิ่ง
Amnesty International Thailand
ภาคผนวก 1
บทบาทของแอมเนสตี้ อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย AI ในประเทศไทย ไดเริ่มถือกําเนิดขึ้นในป 2525 โดยกวาทศวรรษ AI เปนเพียงองคกรที่ไมชัดเจนเทานั้น ซึ่ง ในองคกรนั้น สวนใหญประกอบดวยอดีตผูนํานักศึกษาที่ เปนนักกิจกรรมเพือ่ สังคม อยางไรก็ตามภายหลังเหตุการณ สังหารหมูทางการเมืองในประเทศเมื่อป 2535 เริ่มมีผูให ความสนใจใน AI และมีผคู นใหมๆ เขามารวมกิจกรรมมากขึน้ แนวคิดเรือ่ งกลุม สมาชิกไดถกู นําไปเผยแพรยงั กลุม นักศึกษา และประชาชนในวิชาชีพอื่นๆ และจากนั้นเปนตนมา ไดมี การจัดตัง้ กลุม ขึน้ จํานวน 3 กลุม ในระหวางป 2534 – 2536 จนถึงทุกวันนี้มีจํานวนกลุมที่ปฏิบัติงาน หรือรวมกลุมกัน อยูทั้งสิ้น 9 กลุม ความพยายามในการจัดตั้งสํานักงานเพื่อปฏิบัติ หนาที่เริ่มขึ้นในป 2532 และนับแตนั้นมาก็ไดมีการจัดตั้ง โครงสรางอยางเปนทางการ พรอมดวยคณะกรรมการในป 2536 โดยการประชุมใหญประจําป (Annual General Meeting – AGM) ของ AI ประเทศไทยไดจดั ขึน้ เปนครัง้ แรก ในเดือนกุมภาพันธ 2537 ไมกี่ปตอมา AI ประเทศไทยก็ไดเติบโตขึ้นจาก กลุมสมาชิกเล็กๆ กลายเปนโครงสรางที่สามารถปฏิบัติ หนาที่ไดดี ประกอบดวยคณะกรรมการที่คัดเลือกตาม กระบวนการประชาธิปไตย เจาหนาที่ผูชํานาญงาน และ สํานักงานที่มีอุปกรณพรอม นอกจากนี้จํานวนสมาชิกยัง เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งความสามารถในการรณรงคของกลุม ทองถิ่นเองก็ขยายตัว AI ประเทศไทยไดรับคัดเลือกใหเปนประเทศที่มี ลําดับความสําคัญสูง (high priority country – HPC) สําหรับ การพัฒนากิจกรรมของ AI เชนเดียวกับประเทศอินเดีย ทัง้ นี้ จากการดําเนินงานจัดลําดับความสําคัญของ AI นั่นเอง ทําใหทิศทางหลักในปจจุบันเพื่อกลยุทธการพัฒนา AI ประเทศไทย มีดังนี้: • จัดทําโครงสรางสมาชิกภาพที่เนนหนัก ชวยเหลือตนเอง ได เปนประชาธิปไตยและนักกิจกรรมเพื่อสังคม • ใหความชวยเหลือในการเสริมสรางความเขมแข็งของ วัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย • สนับสนุนการใหสัตยาบันของมาตรฐานสากล และสราง ความเขมแข็งของการปกปอง คุมครองสิทธิมนุษยชน
• ชวยเหลือในการระดมประชาคมสิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN) ในประเด็นระดับภูมิภาค ขณะนี้ AI ประเทศไทยมี สํ า นั ก งานอยู ใ น กรุงเทพมหานคร เมื่อทานเขารวมงานกับ AI ประเทศไทย ทานจะ ไดรบั แจงประเด็นสิทธิมนุษยชนทัว่ โลก เชนเดียวกับกิจกรรม ทีก่ าํ ลังจะมาถึง พรอมดวยการเชิญใหทา นเขามามีสว นรวม นอกจากนี้ ทานยังจะไดรับ ‘ปฏิบัติการดวน’ ของ AI คํา อุทธรณทวั่ โลก ขอมูลเกีย่ วกับการสัมมนาและหลักสูตรการ อบรมดานสิทธิมนุษยชน ตลอดจนจดหมายขาวของ AI ประเทศไทยที่ตีพิมพเผยแพรอยางสมํ่าเสมอ เรายินดี ใหทานเขามามีสวนรวม
กลุม (เพิ่มเติม)
วิธีจัดการประชุมที่ประสบผลสําเร็จ การจัดประชุมอยางมีประสิทธิภาพ มักจะเปน หัวใจเบื้องหลังกลุม AI ที่ประสบความสําเร็จและมีความ กระตือรือรน ใครๆ ก็อาจมีความคิดสรางสรรคอยางดีเยีย่ ม ได แตหากปราศจากการประชุมที่มีประสิทธิผล ความคิด เหลานั้นก็จะเปนเพียง ความคิดเทานั้น • วางแผนเรื่องระเบียบวาระไวลวงหนา • ควรเตรียมระเบียบวาระใหทุกคนมองเห็น (เขียนไวบน บอรด) ซึง่ จะเปนเครือ่ งเตือน และชวยใหสมาชิกเตรียมความ คิดไวสําหรับการอภิปรายที่จะมาถึงในชวงตอไป • ในการพูดแตละครั้ง ใหมีคนพูดเพียงคนเดียว ถามีบุคคล มากกวาหนึ่งที่จะนําเสนองาน ควรใหพวกเขานั่งลงกอน จนกวาจะถึงเวลาพูดของตนเอง ทั้งนี้เพื่อปองกันการการ วอกแวกของทั้งผูนําเสนอและผูฟง • ทําทีละเรื่อง เพราะการประชุมลมเหลวไดงายสุดเมื่อมี การสงเอกสารไปทัว่ หองประชุมในระหวางการนําเสนอของ คนใดคนหนึ่ง • ยึดหลักการตรงตอเวลาและการเขาประชุม (แตอยาตําหนิ ผูใด) • ใหความเคารพสมาชิกของทาน • จงเปดใจใหกวาง
21
โครงสรางของคณะกรรมการ • ประธาน: ควรเปนบุคคลที่มีทักษะการเปนผูนําอยางยิ่ง และมีความคุนเคยกับ AI และสิทธิมนุษยชน • รองประธาน: ควรเปนคนที่มีคุณสมบัติคลายประธาน ปฏิบัติหนาที่เชนบุคคลที่ประธานสามารถหารือได และมี ความสามารถในการทําหนาทีแ่ ทนเมือ่ ประธานติดภารกิจอืน่ • เลขานุการ: ชวยเหลือประธานและรองประธานในดาน งานเอกสารและความรับผิดชอบอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย จัดเก็บรายงานการประชุม และรายชือ่ ผูเ ขารวมประชุม ควร เปนคนที่มีประสิทธิภาพและมีระบบจัดการที่ดี • เหรัญญิก: รับผิดชอบดานการเงินและกระแสเงินสด (cash flow) ของกลุม ควรเปนคนที่มีความละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง เงินและการคํานวณ
ตําแหนงอื่นๆ • เจาหนาทีป่ ระชาสัมพันธ: รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ ควรเปนบุคคลที่สามารถประสานงานกับผูอื่นไดดี • เจาหนาที่จัดหาสมาชิก • ประธานระดมทุน
จะชวยไดอยางไร ในฐานะสมาชิกของแอมเนสตี้ อินเตอรเนชัน่ แนล ทานเปน หนว ยหนึ่งที่มีความสําคัญ ตองานรณรงคของ องคกรฯ สวนซึ่งขาดเสียมิไดในการปฏิบัติงานของทาน คือ การสงคําอุทธรณ (จดหมาย หรือการรองเรียน) ไปยังผูมี อํานาจในรัฐบาลตางๆ และ/ หรือสถานทูตตางๆ ในนาม ของคดีตางๆ ที่ปรากฏในจดหมายขาว AI ขอเสนอแนะสําหรับกิจกรรมการรณรงค: • จัดสงคําอุทธรณ (จดหมาย หรือการรองเรียน) ในนาม ของปจเจกบุคคลที่ปรากฏในจดหมายขาวของ AI ไปยัง รัฐบาลเปาหมาย และ/ หรือสถานทูตของรัฐบาลนั้นๆ ใน ประเทศไทย (หรือประเทศที่พํานักที่ตางออกไป) • บางครั้งใหสงคําอุทธรณซึ่งเปนที่นาสังเกตเปนพิเศษ โปสการดสีสดใส การดหรือซองหลากสี • หากเปนไปได และทานสามารถยอมรับคาใชจายได ให สงคําอุทธรณทางโทรสาร จดหมายดวน หรือจดหมายลง ทะเบียนเพื่อเนนความสําคัญ • ขอรองเรียนของบุคคลทีม่ ชี อื่ เสียง/ เปนทีร่ จู กั กันทัว่ ไปใน ชุมชนของทาน (เชน ครูใหญ ผูพ พิ ากษา ศิลปน ผูน าํ ศาสนา) ใหสง คําอุทธรณในนามของบุคคลทีป่ รากฏในจดหมายขาว AI • ขอรองเพื่อน หรือเพื่อนรวมงาน ซึ่งมีประสบการณบาง อยางคลายกับกรณีทปี่ รากฏในจดหมายขาว ใหสง คําอุทธรณ (เชน ขอใหนกั ประวัตศิ าสตร หรือพยาบาลจัดสงคําอุทธรณ ในนามของนักประวัติศาสตรหรือพยาบาลที่ถูกคุมขัง) • จัดทําคํารองเรียนจากกรณีหนึง่ และขอรองเพือ่ น ครอบครัว และเพื่อนรวมงานของทานใหลงนาม ขอความในคํารอง เรียนจะตองระบุสงิ่ ที่ AI ขอรองใหดาํ เนินการ (เชน การปลอย ตัวนักโทษทางความคิดที่ระบุชื่อไว หรือการไตสวนการ สังหาร) บุคคลทีท่ า นกําลังสงคํารองไปให (เชน ผูน าํ รัฐบาล) และชื่อ ที่อยู การลงนามของประชาชนในคํารอง • ถาทานรูว า มีการรวมกลุม ประชาชนในชุมชนของทาน ให ถามผูจัดการชุมนุมวา ทานจะสามารถสงตอคํารองไปยัง กลุมคนเหลานั้นไดหรือไม • จัดทําคําอุทธรณตอเนื่องในนามของบุคคลที่ปรากฏชื่อ ในจดหมายขาว ใหรวบรวมรายชือ่ สําหรับการติดตอ (เพือ่ น/ ญาติพนี่ อ ง/ เพือ่ นรวมงาน) ซึง่ เต็มใจทีจ่ ะสงคําอุทธรณหนึง่ ฉบับหรือมากกวา เพือ่ ใหไดจดั สงคําอุทธรณวนั ละหนึง่ ฉบับ ใหนานที่สุดเทาที่จะนานได • บอกตอขาวดีจากจดหมายขาว เชน การปลอยตัวนักโทษ ไปตามรายชื่อผูที่สงคําอุทธรณ
Amnesty International Thailand
จะชวยอยางไร/ การสรางจิตสํานึก • พูดคุยกับเพือ่ นๆ เกีย่ วกับ AI และแนะนําใหพวกเขาเขารวม หรือบอกรับเปนสมาชิกจดหมายขาวสากล ขอใหเพื่อนๆ กระจายขาวนี้ไปยังคนอื่นๆ ดวย • ประดับเหรียญหรือเสื้อยืดของ AI และอธิบายสิ่งที่ AI ดําเนินการแกคนที่ถาม • จุดเทียนไข (อาจจะที่หนาตางของทาน รอบโรงเรียน ที่ทํางาน) เพื่อรําลึกถึงวันสิทธิมนุษยชนสากลในวันที่ 10 ธันวาคม หรือเหตุการณอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน ทุกป) เมื่อประชาชนถามวาเพราะเหตุใด ใหเลา ซึ่งการ ชักชวนใหและดําเนินกิจกรรมใหพวกเขาสนใจเปนประเด็น สําคัญ • ขอใหสถานีวิทยุทองถิ่นเปดเพลงในนามของคดีนั้นๆ ที่ปรากฏในจดหมายขาว AI • ขอใหศิลปนทองถิ่นออกแสดง/ บริจาคโคลงกลอนและ ภาพเขียน ฯลฯ ใหแกนักโทษที่ปรากฏชื่อในจดหมายขาว • มอบจดหมายขาว AI ใหแกผนู าํ ศาสนาในทองถิน่ และขอ ใหพวกเขาพิจารณาใชขอ มูลในนัน้ เปนจุดเนนในการประชุม ทางศาสนาในคราวหนา • ขอใหครูในทองถิน่ พิจารณาจัดการแขงขันหรือจัดนิทรรศการ งานของนักเรียน ในหัวขอสิทธิมนุษยชน แนวคิด ศิลปะ โคลงกลอน ดนตรี บทละคร การเตนรํา หรือผสมผสาน ทุกอยางเขาดวยกัน • ขอใหบรรณารักษหองสมุดสาธารณะหรือมหาวิทยาลัย บอกรับเปนสมาชิกจดหมายขาว AI รายเดือน และรายงาน ของ AI • จากจดหมายขาว AI ใหตัดบทความที่จะเปนความ นาสนใจสําหรับชุมชนทองถิน่ ของทาน แลวสงไปยังบรรณาธิการ ของหนังสือพิมพ (หรือโรงเรียน/ นักเรียน) ในทองถิ่น และ ขอรองใหมกี ารตีพมิ พบทความดังกลาว และใหรายละเอียด เพิ่มเติม • การปฏิบัติงานเกี่ยวกับคําอุทธรณเปนเรื่องที่คุมคาเสมอ และเมือ่ สงคําอุทธรณไปแลว อยาลืมสงสําเนาไปยังองคกร และกลุมในทองถิ่น ซึ่งอาจใหความสนใจ (แมแตผูที่ยังไม แนใจเทาใดนัก) การปฏิบัติเชนนี้อาจใชไดกับจดหมายขาว คํารองเรียน จดหมายที่แตงขึ้น และเรื่องอื่นใดก็ไดที่ชวยใน การจุดประกายดานสิทธิมนุษยชน • สําหรับนักเรียน การทีจ่ ะไดรบั อนุญาตใหดาํ เนินการรณรงค บางเรือ่ ง และใชวสั ดุอปุ กรณบางอยางนัน้ อาจเปนเรือ่ งยาก หัวใจสําคัญคือความตัง้ ใจจริง และงานทีท่ า นตองการปฏิบตั นิ นั้
ตองอยูบ นพืน้ ฐานของเหตุผลเสมอ การรณรงคบางประเภท จะทําในสภาพแวดลอมของโรงเรียนไดยากกวาที่อื่น (เชน “ยุติความรุนแรงตอสตรี”) และในสภาพการณเชนนั้น จะตองใชความระมัดระวังในการนําเสนอขอมูล • เพื่อที่จะไดรับความไวเนื้อเชื่อใจ ความเขาอกเขาใจ และ การสนับสนุนจากเจาหนาที่และนักเรียน การนําเสนอจะ เปนการชวยไดดีที่สุด ซึ่งอาจนําเสนอไดทุกวันในระหวาง การชุมนุม การประชุม การลงทะเบียนชั้นเรียน หรือเมื่อใด ก็ตามทีส่ ามารถใหขอ มูลได เปนเรือ่ งยากทีจ่ ะจัดการรณรงค ในชุมชนซึง่ ยังไมมแี นวคิดเรือ่ งวัตถุประสงค หรือเหตุผลของ การปฏิบัติ ดังนั้นใหสรางจิตสํานึกไวลวงหนา และคงไวซึ่ง กลุมสนับสนุนที่ประกอบดวยครูและนักเรียน และอยาลืม ปรับแตงการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับผูฟง • หากทําได ใหขออนุญาตดําเนินกิจกรรมตางๆ ซึง่ เนนการ รณรงคหรือเหตุผลของการรณรงคเปนระยะเวลาอันยาวนาน (อาจเปนชวงหลายวัน หลายสัปดาห หรือแมแตหลายเดือน) เพื่อใหนักเรียน ครู เพื่อน ครอบครัว หรือคนแปลกหนาที่ ผานมา สามารถจดจําประเด็นดังกลาวได ศิลปะการรณรงค ที่ไดผลคือ การทิ้งขอความไว ถาทานสามารถทําใหบุคคล หนึ่งจดจําได บุคคลผูนั้นก็สามารถแจงแกผูอื่นได เพราะ หากผูคนลืมสิ่งที่พวกเขากําลังสนับสนุนอยู การรณรงคจะ มีประโยชนไดอยางไร?
23
การรณรงค: คําแนะนํา/ แนวคิดสําหรับการสรางจิตสํานึก • พูดคุยกับเพื่อนๆ ในเรื่องขององคการนิรโทษกรรมสากล และแนะนําใหพวกเขาเขารวมกับองคกรฯ หรือบอกรับเปน สมาชิกจดหมายขาวสากล ขอใหเพื่อนๆของทานกระจาย ขาวตอๆ ไปดวย • ประดับเหรียญหรือเสื้อยืดของ AI และอธิบายสิ่งที่ AI ทําแกผูคนที่ถาม • จุดเทียนไขเพือ่ รําลึกถึงวันสิทธิมนุษยชนสากลในวันที่ 10 ธันวาคม หรือเหตุการณอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน ทุกป อธิบายแกผูอื่นเมื่อพวกเขาถามถึงสาเหตุ • ประสานกับหนังสือพิมพทองถิ่น โดยมีเปาหมายอยูที่ คอลัมนซึ่งเนนการใหความคิดเห็นของสาธารณะชน (เชน คอลัมนของหนังสือพิมพบางกอกโพสต “ความคิดเห็นและ การวิเคราะห” และบทวิเคราะหของบรรณาธิการ) • ขอใหผูนําศาสนาพิจารณาใชขอมูลเปนจุดเนนในการ ประชุมทางศาสนาในคราวหนา • ขอใหครูในทองถิน่ พิจารณาจัดการแขงขันหรือจัดนิทรรศการ งานของนักเรียน ในหัวขอสิทธิมนุษยชน แนวคิด ศิลปะ โคลงกลอน ดนตรี บทละคร การเตนรํา หรือผสมผสานทุก อยางเขาดวยกัน • ขอใหบรรณารักษหองสมุดสาธารณะหรือมหาวิทยาลัย บอกรับเปนสมาชิกจดหมายขาว AI รายเดือน และรายงาน ของ AI
• ใหตัดบทความจากจดหมายขาว AI ที่นาสนใจสําหรับ ชุมชนทองถิ่นของทาน แลวสงไปยังบรรณาธิการของ หนังสือพิมพ (หรือโรงเรียน/ นักเรียน) ในทองถิ่น • นําเสนอกรณีตางๆ เพื่อใหไดรับความไวเนื้อเชื่อใจ ความ เขาใจ และการสนับสนุนของเจาหนาทีแ่ ละนักเรียน ใหปรับ แตงการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับผูฟง • ดําเนินกิจกรรมทีเ่ นนการรณรงคหรือเหตุผลของการรณรงค เปนระยะเวลาอันยาวนาน (อาจเปนชวงหลายวัน หลาย สัปดาห หรือแมแตหลายเดือน) เพื่อใหนักเรียน ครู เพื่อน ครอบครัว หรือคนแปลกหนาทีผ่ า นมา สามารถจดจําประเด็น ดังกลาวได • บรรจุปฏิบตั กิ ารรณรงคไวในจดหมายขาว และคําขอระดม ทุนสําหรับสมาชิกและผูสนับสนุน • จัดใหมกี ารรณรงคทสี่ ถานทูต หากปรากฏขาวพาดหัววา มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศนั้นๆ • จัดทําธง โปสเตอร และจัดการใหมีการประกาศภายใน โรงเรียน เพื่อสนับสนุนงานระดมทุนหรือการรณรงค สราง จิตสํานึก • เลียนแบบการคุมขังอยางไมถูกตอง โดยการสรางคุก จําลองจากแผนพลาสติคหรือวัสดุทั่วไป เพื่อชวยในการ สาธิต • ผลิตโปสเตอรความสูงขนาดขั้นบันได แลวตัดโปสเตอร ออก เพือ่ ใหภาพนัน้ แผไปตามขัน้ บันได เปนการดึงดูดความสนใจ ของผูค นทีเ่ ดินขามชองบันไดเหลา นั้น • จัดคืนจุดเทียนในชุมชนของทาน หรือภายในเขตโรงเรียนอยาง สมํ่าเสมอ เพื่อจดจําประเด็นเพื่อ การอภิปราย ใหเชิญผูบ รรยายคน สําคัญ และดัดแปลงกิจกรรมที่ สามารถกระตุนการมีสวนรวม
Amnesty International Thailand
การระดมทุน การระดมทุนมีความสําคัญสําหรับนักรณรงคทุก • รูวาใครคือกลุมเปาหมาย คน เนือ่ งจากเงินเปนสิง่ จําเปนสําหรับการรณรงคทกุ รูปแบบ ใหรจู กั วาผูค นประเภทใดทีเ่ ราพยายามจะขอรอง คําแนะนําตอไปนี้อาจชวยใหทานเปนนักระดมทุนที่มี นีจ่ ะเปนการชวยใหเรามุง ใหความสําคัญกับเปาหมาย และ ประสิทธิภาพ ไดรับการตอบสนองที่เฉียบคมและไดผลมากยิ่งขึ้น
• ผนวกการรณรงคเขากับการระดมทุนของทาน
แนวคิดบางประการสําหรับนักระดมทุน เรือ่ งนีจ้ ะใหผลลัพธแหงความพยายามทีท่ า นทุม เท ไดสูงสุด เนื่องจากทานหาเงินได พรอมกับการบรรลุเปา • การขายสินคา หมายการรณรงค และยังลดคาใชจายใหตํ่าที่สุด เพราะ เสื้อยืด ปากกา เข็มกลัด สติคเกอร หรือถุงซักผา สินคาทีข่ ายในชวงการระดมทุน อาจบรรจุขอ ความหรือภาพ ทีม่ กี ารออกแบบอยางนาสนใจและสะดุดตา มักจะจําหนาย ของการรณรงค ไดดี ใหพยายามผนวกขอมูลการรณรงคและสัญลักษณของ AI ไวบนสินคาดวย
• เรียกรองทั้งจากความคิดและหัวใจ
ผูคนพากันให เพื่อชวยเหลือคนอื่น ไมใชองคกร • เหตุการณพิเศษ นักระดมทุนควรใชการรณรงคในรูปแบบที่อาศัยเรื่องราว กิจกรรมทีส่ ามารถนํามาผนวกกับการระดมทุนได สวนตัวซึ่งใหความรูสึกกินใจ เพื่อใหผูสนับสนุนไดรูสึกและ คือ คอนเสิรต การแสดงในโรงละคร การมอบรางวัลแกศลิ ปน ตระหนักถึงความตองการทีจ่ ะอุดหนุนการรณรงคและองคกรฯ การปฏิบัติ และการอุทธรณตามทองถนน อยางไรก็ตาม ในที่สุด ใหตระหนักไววา การจัดงานในบางครั้งอาจมีตนทุนสูง แตไมจําเปนตองมีผลกําไร
• ประชาสัมพันธ ประชาสัมพันธ ประชาสัมพันธ
จากประสบการณ AI พบวา ผูคนสวนใหญไม • การจายเงินคาอุทธรณ เพียงแตใหการสนับสนุน หลังจากพิจารณาประมาณ 3 ถึง ขอใหประชาชนจายเงินจํานวนเล็กนอยเพื่อเปน 4 ครัง้ นัน่ หมายถึงวา การประชาสัมพันธเปนเรือ่ งสําคัญใน คาโปสการด ซึ่งเปนคําอุทธรณสําหรับกรณีที่ทานกําลัง การสรางจิตสํานึก และเปดโอกาสใหผูอื่นใหการสนับสนุน ปฏิบตั งิ านอยู ดวยวิธนี ที้ า นสามารถสรางจิตสํานึกตอผูค น และยังไดโปสการดที่ลงนามแลวสําหรับสงคําอุทธรณ
25
สื่อมวลชนและประชาสัมพันธ การประชาสัมพันธเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งในกลุม AI หากปราศจากการประชาสัมพันธ ทานก็ไมอาจสราง จิตสํานึกเพื่อชวยการรณรงคของตนได และจะไมมีใครมาในงานที่ทานจัดขึ้น • เขียนสิ่งที่ทานไดดําเนินงานและสิ่งที่วางแผนจะทํา ลงในสมุดโรงเรียนเปนครั้งคราว • ทานอาจเขียนถึงหนังสือพิมพทองถิ่น เพื่อพูดถึงการรณรงคและสิ่งที่ไดทําไปแลว • ใชโปสเตอรและใบปลิวเพื่อประชาสัมพันธการจัดงานของทาน อยาลืมทําใหสะดุดตา และทําใหผคู นอยากมารวม • จงมีความคิดสรางสรรคในการใชคําพูดที่เขียนไวบนโปสเตอร • ทุกสิ่งทุกอยางที่จัดทําใหคนอื่นๆ จะตองมีความเหมาะสม หากทําไดควรหลีกเลี่ยงการเขียนดวยลายมือ • ถายรูปดีๆ ไวหลายๆ ภาพ เพราะอาจเปนประโยชนเมื่อตองเขียนบทความ ทานอาจคิดนําภาพกิจกรรมที่ไดดําเนินการ ไปติดบนบอรด เพื่อดึงดูดความสนใจ • เชิญบุคคลสําคัญมาบรรยาย หรือพูดในบางประเด็น โดยบุคคลดังกลาวอาจเปนครูใหญ ครูที่เปนที่รูจัก หรืออาจเปน บิดาหรือมารดาที่เปนเจาหนาที่รัฐ • ใชประโยชนจากรายงานขาวประจําวัน เพื่อประชาสัมพันธการจัดงานของทาน
ทางออกเมื่อเผชิญกับปญหา Troubleshooting เรากําลังสูญเสียสมาชิก! ฉันควรทําอยางไร? กอนอื่น ตองเขาใจวาเปนเรื่องปกติ ที่มักจะมี สมาชิกจํานวนไมมากนักเขารวมในการประชุม แมจํานวน ผูที่สมัครเปนสมาชิกมีมากกวานั้นก็ตาม ดังนั้นถาสมาชิก มานอย ก็ไมตอ งกังวล แตหากมีแนวโนมวาสมาชิกทีป่ ฏิบตั ิ งานอยูลดจํานวนลงอยางเห็นไดชัดก็ ถึงเวลาแลวที่จะ ตองประเมินกลุมของทาน ปจจัยอยางหนึ่งที่ทําให AI ตาง จากกลุม บริการอืน่ ๆ คือการที่ AI มีการรวมศูนยดา นแนวคิด ในขณะทีก่ ลุม อืน่ เชนโรตารีนนั้ ลงมือปฏิบตั กิ ารมาก เหตุผล ทีส่ มาชิกจํานวนมากหมดความสนใจ ก็เพราะขาดกิจกรรม ที่ลงมือปฏิบัติการ วิธีแกปญหานี้ทําไดโดยเพียงการจัดให กิจกรรมเพื่อเพิ่มประสบการณใหมากขึ้น อาทิ จัดใหมีการ รองเรียนตามทองถนน (roadside petitions) หรือจัดใหมี การแสดงที่เสียดสีจิตสํานึก จัดใหมีการเยี่ยมเยียนเรือนจํา เพื่อใหสมาชิกไดเกิดความเขาใจอยางแทจริงวา สภาพใน เรือนจําเปนเชนใด ทัง้ นีท้ า นเพียงกระตุน ความคิดสรางสรรค ของตนเอง เพื่อจัดกิจกรรมตางๆ นอกเหนือจากการเขียน จดหมาย
Amnesty International Thailand
ดูเหมือนเราจะมีปญหากับการหาทุนมาสนับสนุนกิจกรรมของเรา ไมมีผูใดมารวมการประชุม เรื่องเงินทุนมักเปนปญหาของกลุม AI หนทาง หนึง่ คือการมองหาผูอ ปุ ถัมภการรณรงคของทาน งานนีอ้ าจ มอบหมายใหเจาหนาที่ประชาสัมพันธของเราทําหนาที่นี้ เรายังอาจแสวงหาความชวยเหลือทางการเงินจากสถาบัน ทีใ่ หการอุดหนุน ซึง่ อาจเปนสํานักงานโรงเรียน สภานักเรียน หรือสาขา AI ในทองถิ่น นอกจากนั้นเรายังตองสรางความ เขมแข็งใหหนวยระดมทุนของกลุม (ดูการระดมทุนเพิม่ เติม) อีกประการหนึ่งที่อาจชวยได คือการขอใหเหรัญญิกจัดทํา รายละเอียดการเงินของกลุม ซึ่งเราอาจพบการรั่วไหลของ เงินทุนโดยไมจําเปน
จัดใหมกี ารประชุมอยางสมํา่ เสมอ อาทิ ทุกสัปดาห ควรพยายามหาเวลา วัน และสถานที่ ซึ่งสะดวกสําหรับ สมาชิกทุกคน แตจงจําไวเสมอวา ไมมีวันที่สะดวกสําหรับ ทุกคนได และจะตองมีบางคนที่ไมพอใจมาก ๆ ตอวันที่เรา เลือก แตจงพยายามอดทน และแกไขปญหาใหลุลวง
เราไมไดรบั การสนับสนุนอยางเพียงพอจากโรงเรียน ถานีเ่ ปนปญหา ใหคณะกรรมการบริหารประชุมรวมกับสภา นักเรียน หรือครูใหญในเรื่องกลุม AI และการสนับสนุนที่ กลุมตองการ นอกจากนี้เราอาจเชิญเจาหนาที่โรงเรียนมา รวมงานที่เราวางแผนจะจัดขึ้น อนึ่ง การขาดแคลนการ เรามีสมาชิกไมพอ สนับสนุนนัน้ อาจมาจากการขาดความเขาอกเขาใจ ดังนัน้ หากเราไมมฝี า ยจัดหาสมาชิก ถึงเวลาทีต่ อ งแตงตัง้ จึงเปนสาเหตุของความลังเลทีจ่ ะใหการสนับสนุน หากเรือ่ ง ขึ้นมาสักคน นอกจากนี้ควรประกาศใหชัดเจนวา ทุกคน นีย้ งั แกไขไมได เราก็อาจแสวงหาการสนับสนุนจากสํานักงาน สามารถสมัครเขาเปนสมาชิกไดทุกเวลา เพราะมีหลายคน AI ในทองถิ่นนั้นๆ ไดเสมอ ที่คิดวา พวกเขาพลาดโอกาสเขารวมงานในชวงปฐมนิเทศ ดังนั้นจึงไมขวนขวายตอไปถึงแมจะมีความสนใจอยูบาง เราอาจประชาสัมพันธการจัดงานใดก็ตามทีก่ าํ ลังดําเนินอยู เรากําลังมีปญหากับความไมเปนมิตรจากประชาชนที่ตอตาน AI หากมีปญหากับบุคคลที่มีอิทธิพล เชน ครู หรือ และทําใหแพรหลายตอสาธารณะชน อาทิ เชิญประชาชน มารวมงานหนึง่ ทีจ่ ดั เพือ่ ใหมกี ารลงนามในคําอุทธรณ อยาลืม เจาหนาทีใ่ นโรงเรียน ใหหลีกเลีย่ งการเผชิญหนา หรือความ ใหประชาชนมีโอกาสลงนามอยางกวางขวาง ดังนั้นไมวา ขัดแยงกับเขาหรือเธอ ทั้งนี้ไมวาเราจะไปที่ใด ก็จะมีคนที่ จะไปที่ใด ควรจัดเตรียมแบบฟอรมสมัครสมาชิกใหพรอม ตอตาน AI ดังนัน้ ใหหาทางรับมือกับพวกเขาดวยวิธที ดี่ ที สี่ ดุ เทาที่เราสามารถทําได แตถาบุคคลผูนั้นยังไมยอมหยุด การมีสวนรวมในงานที่จัดขึ้นมีนอย ใหรอ งเรียนไปยังเจาหนาทีซ่ งึ่ มีอาํ นาจสูงกวา หรือขอความ การประชาสัมพันธกม็ คี วามสําคัญไมนอ ยไปกวา ชวยเหลือจากสาขา AI ในทองถิ่น การระดมทุน มิฉะนั้นจะไมมีผูใดปรากฏตัวในงาน แลวเรา อาจจะไมไดจัดงานขึ้นมาอีก อยาลืมประชาสัมพันธการ จัดงานของเรา – ใชสสี นั เพือ่ ดึงดูดความสนใจของประชาชน ฉันรูสึกวา ตัวเองไมคุนเคยกับประเด็น AI ที่กําลังทําอยูเทาใดนัก งานของ AI ประกอบดวยหลากหลายประเด็น ใชคําโฆษณาที่จํางาย โปสเตอรและใบปลิวที่นาสนใจ ทํา อะไรก็ไดที่สามารถสงขอความไปใหทุกคน (ดู ‘สื่อมวลชน ดังนัน้ จึงเปนการยากทีจ่ ะคุน เคยกับประเด็นทุกๆ ดาน เมือ่ ใด ที่เราตองพบกับหัวขอที่ตัวเองไมแนใจ ก็ยังมีแหลงขอมูล และการประชาสัมพันธ’) หลายแหงที่เราจะพึ่งพาได กอนอื่นเราตองตรวจสอบวา คูมือฉบับนี้ใหขอมูลเกี่ยวของกับปญหาของเราหรือไม เราอาจประสานงานกับสาขา AI ในทองถิ่นเพื่อขอเอกสาร รายงาน หรืออีเมลธรรมดา เพื่อที่จะแกไขปญหาใหเราได และสาขา AI อาจสงผูเชี่ยวชาญ ซึ่งสามารถตอบคําถาม ของเราพรอมกับรายละเอียดตางๆ ได (ดู ‘กิจกรรมและแหลง ขอมูล’)
27
เราจะทําอะไรไดบาง การปฏิบตั ขิ องเราอาจกอใหเกิดความแตกตาง และการเปลีย่ นแปลง เครือขายปฏิบัติงานดวน ยังมีหลายหนทางที่จะสนับสนุน AI เพื่อนๆ ของ AI ประเทศไทยซึ่งไดรับจดหมายขาวของเรา อาจอยากเริ่ม ตนเขียนจดหมาย สมาชิกซึ่งปฏิบัติงานตามลําพังก็อาจ อยากเขารวมกลุม หรือเขามาเปนผูน าํ กลุม ตางๆ ทัง้ นีเ้ พราะ มีระดับของกิจกรรมที่เหมาะสมสําหรับทุกคน ที่ปรารถนา จะใชเวลาทํางานเพื่อสิทธิมนุษยชน
เขารวมกับ AI ประเทศไทย
ทุกวัน AI ไดรับขอมูลเกี่ยวกับนักโทษและปจเจก บุคคลอื่นๆ ที่ตกอยูในอันตรายทั่วโลก เราตองการคนอีก มาก ที่สามารถรับปฏิบัติงานดวนทางอีเมลได และเตรียม พรอมทีจ่ ะสงขอความเรงดวนไปยังเจาหนาทีร่ ฐั ในนามของ ปจเจกบุคคล ซึ่งตกอยูในอันตรายใกลตัว
อาสาสมัคร
ถาทานมีเวลาวาง ไมวา จะบางเวลาหรือเต็มเวลา สมัครเปนสมาชิก ของ AI ประเทศไทยเพือ่ ปกปอง AI ประเทศไทยกําลังมองหาอาสาสมัครเฉพาะดานอยู สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพพื้นฐาน แตถาทานสนใจที่จะ ทําการรณรงคอนั หลากหลายและมากมาย ทานควรพิจารณา มอบเงินบริจาค มอบเงินบริจาค และชวยงานของ AI ในการ เขารวมกับกลุมทองถิ่นดวย สงเสริมและปกปองสิทธิมนุษยชน
บอกรับเปนสมาชิกจดหมายขาว AI
บอกรับเปนสมาชิกจดหมายขาวของ AI ประเทศไทย ซึง่ เปนจดหมายขาวทีอ่ อกอยางสมํา่ เสมอของเรา จดหมาย สงเสริม AI ประเทศไทย: บอกกันตอๆ ไป! เพือ่ ใหประชาชนไดรวู า สิทธิมนุษยชนคืออะไร และ ขาวจะถูกสงไปยังสมาชิกทุกคนโดยอัตโนมัติ แตอยางไร ก็ตาม แมไมไดเปนสมาชิกก็อาจบอกรับจดหมายขาวได AI กําลังทําอะไรเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเหลานั้น ประชาชน โดยทําผานอีเมล และยังจะไดรบั ประชาสัมพันธขา วจาก AI ในประเทศไทยจํานวนมากยังไมเคยไดยนิ เรือ่ งของ AI และ ไมเคยตระหนักวามีองคกรเชนนี้อยูที่นี่ จงบอกกันตอๆ ไป อยางสมํ่าเสมออีกดวย และชักชวนใหประชาชนที่สนใจเขามามีสวนรวม!
การรณรงค
เมื่อใดก็ตามที่ AI จัดใหมีการปฏิบัติที่ตองการ ปกปองผูสูญเสียจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน องคกรฯ ก็จะระดมบรรดาสมาชิก โดยจะจัดการรณรงคทั่วโลก ใหมี เปาหมายอยูที่ประชาคมนานาชาติเพื่อการปกปอง สิทธิมนุษยชน ควรมีสว นและสนับสนุนการรณรงคสากลใน ปจจุบนั ที่ AI เปนผูจ ดั สักครัง้ หนึง่ หรือมากกวานัน้ เชน การ รณรงคตอตานโทษประหารชีวิต หรือการยุติการทรมาน ใหดูรายการรณรงคปจจุบัน
Amnesty International Thailand
คําถามที่มักจะเกิดขึ้นเปนประจํา Frequently Asked Questions (FAQs) 1. AI ไดรับเงินทุนมาจากไหน? AI อาศัยการบริจาคของสมาชิกและประชาชน ทัว่ ไป เราไมรบั การอุดหนุนเรือ่ งเงินทุนจากรัฐบาลใดๆ เพือ่ คงไวซึ่งความเปนอิสระของเรา และเพื่อใหเปนที่เขาใจทั่ว กันวา AI มีความเปนอิสระ 2. ประเทศใดบาง ทีม่ สี ถิตดิ า นสิทธิมนุษยชนเลวรายทีส่ ดุ ? การละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึน้ ทัว่ ทุกมุมโลก AI ไมไดจดั ลําดับประเทศตามสถิตดิ า นสิทธิมนุษยชน หรือจัด พิมพ รายชือ่ “ผูก ระทําผิดอยางเลวรายทีส่ ดุ ” เพราะไมงา ย นักที่จะเปรียบเทียบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตรงกันขาม AI มุ ง ที่จะปฏิบัติงานในการพยายามยุติการละเมิด สิทธิมนุษยชนอันรุนแรงและเฉพาะดาน ซึ่งเกิดขึ้นทุก ประเทศทั่วโลก 3. AI ไดรับขอมูลมาอยางไร และแนใจไดหรือวาขอมูลนั้น ถูกตอง? สํานักเลขาธิการสากลของเรา ซึ่งตั้งอยู ณ กรุง ลอนดอนนัน้ เปนสํานักงานใหญในการจัดทําวิจยั ซึง่ รวบรวม ขอมูลทุกอยาง รวมทัง้ วิเคราะหและตรวจสอบ ขอมูลดังกลาว มาจากแหลงขอมูลหลากหลาย ไดแก หนังสือพิมพ ขาวสาร ของรัฐ สําเนาวิทยุกระจายเสียง นักกฎหมายและองคกร สิทธิมนุษยชน รวมทั้งจากเหยื่อของการละเมิดสิทธิมนุษย ชนและครอบครัวของพวกเขาโดยตรง นอกจากนัน้ เรายังสง คณะคนหาขอเท็จจริงไปยังจุดเกิดเหตุ เพือ่ ประเมินสถานการณ สิทธิมนุษยชน และพบกับนักโทษ รวมทัง้ สัมภาษณเจาหนาที่ ของรัฐอีกดวย 4. AI วางตัวอยูในตําแหนงใดในเรื่องโทษประหารชีวิต? โทษประหารชีวิต เปนการลงโทษที่โหดเหี้ยม ไรมนุษยธรรม และลดทอนศักดิ์ศรีความเปนมนุษยอยาง ที่สุด โดยเปนการละเมิดสิทธิตอการดํารงชีวิต ซึ่งไมอาจ เรียกกลับคืนได ทัง้ นีอ้ าจเปนการลงโทษผูบ ริสทุ ธิไ์ ดเชนกัน นอกจากนีย้ งั ไมเคยมีขอ พิสจู นวา โทษประหารชีวติ สามารถ ลดอาชญากรรมอยางไดผลกวาการลงโทษประเภทอื่น AI ตอตานการนําโทษประหารชีวิตมาใชในทุกกรณี ไมมี ขอยกเวน 5. สิทธิมนุษยชนนัน้ สามารถนํามาปฏิบตั ใิ นประเทศไทยได หรือไม? เปน ‘ความฟุม เฟอย’ ของโลกทีพ่ ฒ ั นากวาหรือไม? ไมใช จะตองไมมีสองมาตรฐานในเรื่องของ
สิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนทัง้ หมดจะตองปฏิบตั กิ บั ทุกคน และทุกสถานที่ สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ไมจาํ เปนตอง ขัดแยงกับสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง เพราะสิทธิทั้งสองประเภทเปนความจําเปนสําหรับ ทุกสังคม และทุกระยะของการพัฒนา 6. ฉันจะอาสาทํางานให AI ประเทศไทยไดอยางไร? มีสองวิธีที่จะเปนอาสาสมัคร นั่นคือเปนสมาชิก ปกติ หรือเปนผูชวยปฏิบัติงานในสํานักงานของเราใน กรุงเทพฯ ขอมูลเพิ่มเติมดูไดจากเว็บไซต AI ประเทศไทย 7. ฉันจะติดตอกับ AI เรือ่ งสมาชิกภาพของตนเองไดอยางไร? ติดตอกับเรา ทางโทรศัพทที่ (+66) 2513 8745, 0 2513 8754 หรือโดยอีเมลที่ info@amnesty.or.th ดูทหี่ นา Contact Us บนเว็บไซต หากตองการขอมูลเพิ่มเติมใหดู จากเว็บไซต http://www.amnesty.or.th 8. เงินบริจาค/ คาสมาชิกของฉันสําหรับ AI นัน้ มีการใชจา ย กันอยางไร? เงินบริจาคของทาน ไดนาํ มาใชเพือ่ สนับสนุนความ พยายามอยางตอเนือ่ งทีเ่ ราดําเนินการในประเทศไทย รณรงค และผลักดันโดยการประสานงานกับเจาหนาที่หนวยงาน ราชการของไทยและเจาหนาที่ระดับสูงชาวตางประเทศใน ประเทศไทย ยกระดับจิตสํานึกดานสิทธิมนุษยชนโดยอาศัย สือ่ มวลชนตางๆ ผลิตโปสเตอรและแผนพับเพือ่ การรณรงค ใหโอกาสอาสาสมัครเปนผูนําในกิจกรรม ตอบคําถามและ ใหคําแนะนํา ระดมพลังประชาชนและบรรดาสมาชิก เพือ่ ลงมือปฏิบตั กิ ารในประเด็นสิทธิมนุษยชนที่วิกฤต และใน ความอยุตธิ รรมอยางใหญหลวงทีก่ าํ ลังรุกรานปจเจกบุคคล เราจัดใหมกี ารประชุมประจําป เพือ่ เปนโอกาสใหสมาชิกได เขามามีสว นรวมในกระบวนการประชาธิปไตยขององคกรฯ เราสนับสนุนสมาชิกในประเทศไทย โดยการจัดการอบรม เผยแพรจดหมายขาว และวิธีการอื่นๆ รวมทั้งการโทรศัพท และพบปะกับเจาหนาที่ของรัฐ และเรายังมีสํานักงานใน กรุงเทพฯ เพือ่ ทําหนาทีป่ ระสานงานและบริหารจัดการองคกร ระดับชาติ เชน การรับเงินบริจาค การจัดทํางบประมาณคา ใชจายการสื่อสาร ฯลฯ
29
ภาคผนวก 2
คําศัพทในแวดวงสิทธิมนุษยชน แฟมปฏิบัติงาน (Action Files) แฟมปฏิบตั งิ าน (Action files) คือชุดของเอกสาร ที่ประกอบดวยขอมูลของคดีหนึ่งๆ หรือกลุมของคดี หรือ ประเด็นที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน กลุมตางๆ จะไดรับ มอบชุดของเอกสารเหลานีเ้ พือ่ กิจกรรมการรณรงคของพวกเขา แฟมปฏิบัติงานอาจครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงาน ทุกดานของ AI โดยกลุมอาจไดรับการขอรองให “รับเอา” นักโทษทางความคิด (ใหหยิบยกคดีนั้นขึ้นมาเพื่อลงมือ ปฏิบัติ) กดดันเพื่อใหไดขอมูลเรื่อง “การหายสาบสูญของ บุคคล” หรือการสงคําอุทธรณในประเด็นเฉพาะ เชน โทษ ประหารชีวติ ในประเทศหนึง่ ประเทศใด กลุม ทีไ่ ดรบั มอบหมาย แฟมปฏิบัติงาน จะไดรับขอมูลปูมหลัง ที่อยูสําหรับสงคํา อุทธรณ คําแนะนําสําหรับกลยุทธและรูปแบบ รวมทั้ง แนวทางเพื่อเลือกวิธีปฏิบัติ เปนที่คาดหวังวากลุมเหลานี้ จะใชความสามารถของตนเองในการลงมือปฏิบตั งิ านทีไ่ ด รับมอบหมาย โดยปกติ แฟมปฏิบตั งิ านทีไ่ ดรบั มอบหมายจะใช เวลาปฏิบตั นิ านกวาหนึง่ ป และอาจนานกวานัน้ ซึง่ จะทําให AI สามารถกดดันตอเปาหมายไดในชวงเวลายาวนานยิง่ ขึน้ และจะสามารถสรางระดับความผูกพันและการริเริ่มจาก นักกิจกรรมไดสูง โดยทั่วไปมักจะมีการมอบหมายแฟม ปฏิบัติงานใหมากกวาหนึ่งกลุม สําหรับแฟมปฏิบัติงานใน หัวขอหนึง่ ๆ อาจมีจาํ นวนกลุม มากถึง 40 กลุม ทีท่ าํ งานรวมกัน ทุกปจะมีแฟมปฏิบัติงานออกมาจํานวนหลาย รอยเรื่อง แมจํานวนของแฟมจะไมคงที่ทุกปก็ตาม และ มีกลุม AI ประมาณกวา 1,000 กลุมปฏิบัติงานมากกวา หนึ่งแฟมในแตละครั้ง
การรณรงค (Campaign) การรณรงคคือเสนทางปฏิบัติการที่จัดเตรียมไว เพือ่ ใหบรรลุการเปลีย่ นแปลง การรณรงคเชิงกลยุทธจาํ เปน ตองเลือกเสนทางปฏิบัติเปนพิเศษ โดยมีขอแมวาตองมี ขอมูลและความสามารถในดานตางๆ ซึ่งจะบังเกิดผลดีตอ การปฏิบัติตามวัตถุประสงคที่ระบุไว AI คือองคกรเพื่อการรณรงค สมาชิกองคกรฯ จะระดมความคิดเห็นของสาธารณะชนเพื่อกดดันรัฐบาล และบุคคลอื่นๆ โดยมีเปาหมายเพื่อโนมนาวใหพวกเขายุติ การละเมิดสิทธิมนุษยชน และใหทุกคนตระหนักถึงการ ละเมิดตางๆ มากขึน้ การรณรงคของ AI มีรปู แบบการปฏิบตั ิ ที่หลากหลาย ไดแก การอุทธรณโดยตรง งานประสานกับ สื่อและประชาสัมพันธ การเดินขบวนในที่สาธารณะ สิทธิ มนุษยชนศึกษา วิธกี ารผลักดันนโยบายหรือเจรจากับรัฐบาล หรือบรรษัทในประเทศของตนเอง ในความหมายของ AI “การรณรงค” หมายถึง ความพยายามใชวธิ กี ารหลากหลายเพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงค เฉพาะอยาง โดยทําในวงกวางและมีการประสานงานระหวาง สาขา กลุม และเครือขายในหลายประเทศ ขณะนี้ AI กําลัง พัฒนาแบบจําลองการรณรงคตอเนื่องในหัวขอหรือ ประเด็นหลัก ที่จํากัด ซึ่งทําใหการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั่ว โลกเปนเรื่องนาสนใจ
Amnesty International Thailand
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Civil and Political Rights) ขอบเขตทั้งมวลของสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏใน ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนนัน้ มักจะแยกออกเปน สองชุด ไดแก สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กับสิทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง เชน สิทธิแหงความเสมอภาคตามกฏหมาย การไดรับการพิจารณาคดีอยางเปนธรรม เสรีภาพในการ แสดงออก สิทธิในการเคลือ่ นไหว สิทธิในการชุมนุมและการ สมาคม และสิทธิในการมีสว นรวมในรัฐบาลของประเทศตน สิทธิดังกลาวเหลานี้ระบุไวเปนลายลักษณอักษรตาม บทบัญญัติวาดวยสิทธิมนุษยชนสากลฉบับตางๆ รวมทั้ง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (International Covenant on Civil and Political Rights: ICCPR) ในขณะที่มีการจัดตั้งคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง แหงองคการสหประชาชาติ เพื่อติดตามความรวมมือของ รัฐบาลตางๆ วาสอดคลองกับ ICCPR หรือไม พรอมทัง้ เรียก รองใหประเทศตางๆ รายงานเรือ่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชน ของตนอีกดวย ในขณะที่ AI ยอมรับวาสิทธิมนุษยชนทั้งหมดนั้น มีความเกี่ยวเนื่องกัน และไมอาจแบงแยกได และไดปฏิบัติ งานมายาวนานเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชนทั้งปวง แตการ เนนหนักของงานวิจยั และงานรณรงคตามขอบเขตการปฏิบตั ิ งานของ AI กลับยังเนนดานสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง อยางไรก็ตาม ในป 2544 ขอบเขตการปฏิบตั งิ านใหม ไดรบั การยอมรับในทีป่ ระชุมสภานานาชาติระหวางประเทศ (International Council) โดยใหมกี ารขยายงานเพือ่ ตอตาน การละเมิดอยางรายแรงตอสิทธิของความสมบูรณทั้งทาง รางกายและจิตใจ เสรีภาพทางความคิดและการแสดงออก และเสรีภาพจากการเลือกปฏิบัติ
ผูประสานงาน (Coordinators) ผูประสานงานคือสมาชิก หรือเจาหนาที่ AI ซึ่ง ใหคําแนะนําดานการรณรงค และใหความชวยเหลือใน ประเทศหรือภูมิภาค ในหัวขอ กลุม หรือดานวิธีการ ผูป ระสานงานมีบทบาทสําคัญในฐานะตัวเชือ่ ม ของระบบเครือขายของ AI โดยพวกเขาจะประสานงาน อยางใกลชิดกับกลุมตางๆ สํานักงานของสาขา และ สํานักเลขาธิการสากล รวมทั้งคณะวิจัยและปฏิบัติงาน (research and action teams) อีกดวย กลุม ประสานงาน (หรือ “co-group”) ประกอบดวยผูป ระสานงานจํานวนหนึง่ ซึ่งรวมกันบริหารงานของสาขา ผูป ระสานงานกลุม ประเทศและกลุม ประสานงาน มีความเชีย่ วชาญในประเทศหรือภูมภิ าคแหงใดแหงหนึง่ เปนพิเศษ และสามารถใหคาํ แนะนําแกทงั้ กลุม และสาขา ในเรือ่ งกลยุทธการรณรงคในพืน้ ทีข่ องตน ซึง่ สาขาตางๆ
31 มักจะมีผูประสานงานสําหรับแตละเครือขายปฏิบัติงานใน ภูมิภาค (Regional Action Network) ที่พวกเขามีสวนรวม หลายๆ สาขามักจะแตงตัง้ ผูป ระสานงานในประเทศสําหรับ พื้นที่ในการรณรงค (outreach) โดยผูประสานงานจะสง แนวคิดของ AI ไปยังสถาบันซึง่ รับผิดชอบในเรือ่ งนัน้ ๆ และ ในขณะเดียวกันก็ใหนักกิจกรรมทองถิ่นของ AI ประสาน งานกับสถาบันเดียวกันทีอ่ ยูใ นระดับชุมชน อาทิ ผูป ระสาน งานสหภาพแรงงานซึ่งไดทาบทามประธานสหภาพฯ ให ความเห็นชอบในคํารองของ AI ก็อาจแนะนําใหกลุม AI ติดตอกับสาขาของสหภาพในทองถิ่นนั้นดวยคํารองเรื่อง เดียวกัน ผูป ระสานงานการรณรงคในสาขา ตองรับผิดชอบ ในการประสานงานกับการรณรงคสากลครัง้ ใหญในประเทศ ของตน พวกเขามีบทบาทสําคัญในการดัดแปลงวัสดุอปุ กรณ และเอกสารที่สํานักเลขาธิการสากลจัดทําจากสวนกลาง เพือ่ ใหสอดคลองกับความตองการของชุมชน และถายทอด ขาวสารไปยังผูฟ ง พรอมทัง้ ระดมสมาชิก AI คนใกลชดิ และ ประชาชนใหเขามามีสวนรวม
โทษประหารชีวิต (Death penalty) โทษประหารชีวติ เปนการตัดสินประหารชีวติ ทีเ่ ปน คําสัง่ ของศาล สําหรับนักโทษทีก่ อ อาชญากรรม และเปนการ ลงโทษตามกฎหมาย AI ตอตานโทษประหารชีวติ ในทุกกรณีโดยปราศจาก ขอยกเวน เนื่องจากเปนการละเมิดสิทธิของการดํารงชีวิต ซึง่ ประกาศไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน เพราะ
การประหารชีวติ เปนการสังหารมนุษยที่กระทําโดยรัฐอยาง ไตรตรองไวลว งหนาและเลือดเย็น ในนามของความยุตธิ รรม เปนการลงโทษที่โหดเหี้ยม ไรมนุษยธรรม และนาอัปยศ อยางที่สุด นอกจากนีย้ งั มีเหตุผลทีห่ นักแนนอืน่ ๆ ทีร่ องรับวา สมควรเลิกลมโทษดังกลาว หากเกิดความผิดพลาด ใดๆ ก็ ไมอาจยอนกลับไปแกไขได ประชาชนบริสุทธิ์จํานวนมาก ตองถูกประหารชีวิต ซึ่งเปนการลงโทษที่มีสัดสวนมากเกิน ไปสําหรับคนยากจน คนที่ถูกเหยียดผิว และสมาชิกของ ชนกลุมนอย อีกทั้งยังถูกใชเปนเครื่องมือการกดขี่ทางการ เมือง และยังไมเคยมีขอ พิสจู นใดๆ วา โทษดังกลาวสามารถ ยับยั้งอาชญากรรมไดมากกวาการลงโทษดวยวิธีอื่น เมื่อ AI เริ่มการตอตานการกระทําดังกลาว ยังไม ปรากฏวามีองคกรสากลใดทีเ่ รียกรองอยางเปดเผยใหยกเลิก โทษประหารชีวิต นับแตนั้นมาไดมีการรางสนธิสัญญา ระหวางประเทศ 3 ฉบับเพือ่ ยกเลิกการลงโทษรุนแรงดังกลาว สนธิสัญญาเหลานั้น ไดแก : • พิธสี ารหมายเลข 6 ของอนุสญ ั ญาเพือ่ คุม ครองสิทธิมนุษย ชนและเสรีภาพพื้นฐาน (Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedoms) ซึ่ง เกี่ยวของกับการยกเลิกโทษประหารชีวิต และสภายุโรป (Council of Europe) ไดใหการรับรองเมื่อป 2526 • พิธีสารเลือกรับฉบับที่ 2 แหงกติการะหวางประเทศวา ดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (The Second Optional Protocol ของ International Covenant on Civil and Political Rights) โดยมีเปาหมายใหยกเลิกโทษ ประหารชีวิต และที่ประชุมใหญองคการ สหประชาชาติ (UN General Assembly) มีมติใหการรับรองเมื่อป 2532 • พิธีสารของ American Convention on Human Right to Abolish the Death Penalty โดยที่ประชุมใหญของ Organization of American States รับรองเมื่อป 2533 “ผมไดสัญญากับ AI วาจะไมลงนามการ ประหารชีวิตเพื่อนมนุษยคนไหน...เพราะชีวิตเปนสิ่ง ศักดิส์ ทิ ธิ์ ผมเชือ่ วาคนเราสามารถเปลีย่ นแปลงตนเอง ได และเชือ่ วาการอภัยโทษจะทําใหเราทุกคนเปนคน ที่ดีขึ้น ในเรื่องของความจริงและความยุติธรรมนั้น ผมขอเชิญผูน าํ ประเทศในอัฟริกาทุกทาน...ใหยกเลิก โทษประหารชีวติ เสีย แลวมารวมกันขจัดความรุนแรง ที่เกิดขึ้นในหมูประชาชนของเรา เพื่อเปนการเตรียม อนาคตที่ดีกวาใหลูกหลานของเรา” Dr. Bakili Muluzi ประธานาธิบดีแหงมาลาวี 2541
Amnesty International Thailand
เมื่อขึ้นคริสตศตวรรษที่ 20 มีเพียงสามประเทศเทานั้นที่ ยกเลิกโทษประหารชีวิตสําหรับอาชญากรรมทุกประเภท อยางถาวร บัดนี้ หลังจากหนึง่ รอยปผา นไป มีประเทศตางๆ ในโลกนี้กวาครึ่งหนึ่งที่ไดยกเลิกโทษประหารชีวิต ทั้งทาง กฎหมายและทางปฏิบัติไปแลว และในรอบทศวรรษที่ผาน มา เฉลี่ยในแตละปจะมีมากกวา 3 ประเทศที่ยกเลิกโทษ ประหารชีวติ โดยประกาศใชเปนกฏหมาย หรือบางประเทศ ทีเ่ คยยกเลิกโทษดังกลาวสําหรับอาชญากรรมทัว่ ไป เทานัน้ ก็ไดประกาศยกเลิกโทษนัน้ สําหรับอาชญากรรมทุกประเภท แนวโนมนี้สะทอนใหเห็นถึงจิตสํานึกที่ยกระดับมากขึ้นวา มีการลงโทษประเภทอื่นที่อาจไดผลมากกวาโทษประหาร ชีวิต ซึ่งไมจําเปนที่รัฐจะตองสังหารชีวิตมนุษยเลย AI ตอตานการผลักดันกลับ (หลักการไมสง ผูล ภี้ ยั กลับไปยัง ดินแดนหรือถิ่นที่ชีวิตและเสรีภาพของพวกเขาจะถูก คุกคาม:Refoulement) ในกรณีบุคคลที่เกี่ยวของถูกศาล
ตัดสินลงโทษประหารชีวิต อยางไรก็ตาม AI มิไดพยายาม ปกปองอาชญากรจากการถูกนําตัวขึ้นสูศาลสถิตยุติธรรม แตสิ่งที่เปนความกังวลของ AI ไดแกการหลีกเลี่ยง โทษประหารที่เกิดจากการยัดเยียดขอหา ในบางกรณี จะตองขอการรับรองจากรัฐบาลซึ่งเรียกรองใหสงนักโทษ ขามแดนกลับคืนวา จะไมยัดเยียดโทษประหารชีวิตแก นักโทษคนดังกลาว ทัง้ นีจ้ ะไมมกี ารสงตัวนักโทษให จนกวา จะมีการรับรองที่เชื่อถือไดจากรัฐบาลนั้นๆ เสียกอน
33
การพัฒนา (Development) สําหรับ AI แลว การพัฒนาอาจหมายถึงทั้งการ พัฒนาและสรางสมาชิกภาพของ AI ในประเทศหรือภูมภิ าค แหงใดแหงหนึง่ และอาจหมายถึงความพยายามรวมมือกับ องคกรสิทธิมนุษยชนพันธมิตรอื่นๆ เพื่อขยายกระบวนการ เคลื่อนไหวดานสิทธิมนุษยชนใหกวางขวางยิ่งขึ้น จุดมุง หมายหลักของการพัฒนาของ AI ไดแกการ ปรากฏตัวในทุกภูมภิ าคของโลกอยางเหมาะสม มีประสิทธิผล ยั่งยืน และภายใตวัฒนธรรมหลากหลาย เพื่อที่จะบรรลุผล ดังกลาว โปรแกรมการพัฒนาของ AI ไดใหการอบรมทักษะ การพัฒนาองคกร เชน การวางแผน การคิดเชิงกลยุทธและ การประเมินผล รวมทัง้ ใหการสนับสนุนทัว่ ไปและสรางความ เขมแข็งในดานตางๆ เชน ประชาธิปไตยภายในองคกร ความ สัมพันธระหวางคณะกรรมการและเจาหนาที่ ตลอดจนการ ระดมหาทุน
นโยบายการพัฒนาระดับสากลนั้นไดรับ การกําหนดจากบรรดาสมาชิก โดยผานคณะกรรมการ ของคณะกรรมการบริหารสากล (IEC) และคณะ กรรมการขององคกรและการพัฒนา สวนเงินชวย เหลือของโครงการ เงินทุนของโปรแกรม และการโอน เงินระยะสั้นอื่นๆ ตองผานการพิจารณาของคณะ กรรมการพัฒนาสาขา (Section Development Committee) คณะพั ฒ นาส ว นภู มิ ภ าค (Regional Development Teams) และหนวยงานพัฒนาสากล (International Development Unit) ของสํานัก เลขาธิการสากล เปนผูใหการสนับสนุนการพัฒนา สาขาที่ IEC กําหนดใหมีความสําคัญลําดับแรกๆ ไว รวมทัง้ หนวยงานสมาชิก “เตรียมการกอนเปนสาขา” ทัง้ หมด (ดู ความชวยเหลือในการพัฒนาเชิงเศรษฐกิจ)
Amnesty International Thailand
การสงคําอุทธรณ (Direct appeals) AI ถือกําเนิดขึ้นหลังจากมี การรณรงคดว ยการเขียนจดหมายครัง้ แรกเมือ่ ป 2504 และการสงคําอุทธรณ ไปยังทางการที่รับผิดชอบเรื่องการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน การสงคําอุทธรณ ก็ยังคงเปนงานหลักของ AI มาถึงทุก วันนี้ กลุมและสมาชิกจะไดรับขอมูล ของคดีทจี่ ะสงคําอุทธรณ พรอมกับที่ อยูและขอแนะนําสําหรับเนื้อหาของ คําอุทธรณ โดยผานแฟมปฏิบัติการ เครือขายปฏิบตั งิ านในภูมภิ าค เครือ ขายปฏิบตั งิ านดวน คําอุทธรณทวั่ โลก และในเอกสารการรณรงค เชน หนังสือ เลมเล็กทีร่ ะบุหวั ขอ หรือประเทศอยาง เฉพาะเจาะจง ในบางสถานการณ สมาชิก AI ไดเขียนจดหมาย ในบางกรณี สํานักเลขาธิการสากลอาจสงจดหมาย ถึงนักโทษหรือครอบครัวของพวกเขาโดยตรง การติดตอ หรือคําอุทธรณไปยังรัฐบาลโดยที่เลขาธิการ AI เปนผู โดยตรงนัน้ มักจะกระตุน ใหกลุม และสมาชิกผูกพันกับภารกิจ ลงนาม อนึ่ง อาจมีขอมูลไมเพียงพอในการจัดพิมพปฏิบัติ ของตนออกไปอีกนาน งานดวน หรือขาวประชาสัมพันธ (press release) หากมอง ในอีกแงมมุ หนึง่ ทางการอาจตอบสนองวิธกี ารทีไ่ มคอ ยเปน AI มีจุดมุงหมายที่จะใชวิธีการทุกอยางเทาที่จะ ขาว มากกวาคําอุทธรณของประชาชนจํานวนมากก็ได สามารถทําได เพือ่ เนนความหวงใยใหทางการไดรบั รูโ ดยตรง จดหมายเชนนั้นอาจจัดสงไปพรอมกับขาวประชาสัมพันธ และอยางมีประสิทธิผล ดังนั้นหากมีความเหมาะสมและ เพือ่ รับประกันวา ความหวงใยและคําอุทธรณของ AI ไดถกู เปนไปได จะมีการมอบทีอ่ ยูท างอีเมล และหมายเลขโทรสาร สงตรงไปยังเจาหนาที่ซึ่งรับผิดชอบในเรื่องดังกลาว รวมทั้งที่อยูทางไปรษณียใหแกกลุมและสมาชิกอีกดวย ซึง่ พวกเขาอาจพิมพโปสการดทีต่ พี มิ พคาํ อุทธรณสนั้ ๆ แลว หากตองการขอมูลเรื่องการสงคําอุทธรณ ใหดูที่ แจกจายระหวางการประชุมและในวาระตางๆ เพื่อให คูมือการรณรงค (Campaigning manual) นักกิจกรรมและประชาชนลงนาม และสงออกไปยังกลุม เปาหมาย
35
การหายสาบสูญของบุคคล (Disappearance) AI พิจารณาแลววา “การหาย สาบสูญของบุคคล” เกิดขึ้นเมื่อมีหลักฐาน เพียงพอที่จะเชื่อไดวา บุคคลผูนั้นถูกเจา หนาทีข่ องรัฐจับกุม แตทางการไดปฏิเสธการ จับกุมตัวเหยือ่ ดังนัน้ จึงปกปดสถานทีค่ มุ ขัง และชะตากรรมของเหยื่อ และทําใหเหยื่อ ตกอยูในสภาพการณที่กฎหมายไมอาจ คุมครองได (ในภาษาอังกฤษ คํานี้ใชเครื่อง หมายคอมมากลับหัว) เพื่อแสดงวา AI ไม ยอมรับคําอธิบายอยางเปนทางการวา บุคคล เหลานั้นไดหายสาบสูญไปเฉยๆ AI ใชคํา “การหายสาบสูญของ บุคคล” สําหรับกรณีทตี่ กอยูใ นคําจํากัดความ นี้ และทีเ่ กีย่ วของกับกองกําลังของรัฐ แตเมือ่ ประชาชนถูกลักพาตัว หรือถูกกลุม การเมือง ติดอาวุธจับกุมโดยไมเกี่ยวของกับรัฐบาล เมื่อนั้น AI จะใชวลี เชน “ประชาชนจํานวน หลายคนสูญหายหลังจากถูกลักพาตัว”
“การหายสาบสูญของบุคคล” และการลักพา ตัว กอใหเกิดความปวดราวแกบรรดาญาติพี่นองของ ผูสูญเสียเพราะไมแนใจวาบุคคลผูนั้นเสียชีวิตแลว หรือยังคงมีชวี ติ อยู อีกทัง้ ไมอาจไวทกุ ขและทํานิตกิ รรม เชน บํานาญและมรดกได สําหรับพวกเขาแลว “การหายสาบสูญของบุคคล” ยังคงเปนไปอยางตอ เนื่องไมรูจบ AI ตอตาน “การหายสาบสูญของบุคคล” ในทุกกรณี การละเมิดสิทธิมนุษยชนพื้นฐานอยางไร ยางอายนี้ เปนการปดบังการละเมิดในรูปแบบอื่นๆ ดวย เพราะไมเพียงแตเหยื่อเหลานั้นถูกคุมขังอยาง ปราศจากขอกลาวหาหรือการพิจารณาคดีเทานัน้ แต บอยครัง้ ทีพ่ วกเขาตกอยูใ นความเสีย่ งอยางใหญหลวง ทีจ่ ะถูกทรมาน หรือสังหารในขณะทีต่ กอยูภ ายใตการ คุมขังอยางลับๆ ของเจาหนาที่รัฐ (ดู Incommunicado detention และ Extrajudicial execution)
Amnesty International Thailand
การเลือกปฏิบัติ (Discrimination) มาตรา 2 แหงปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ระบุวา ทุกคนมีสทิ ธิและเสรีภาพดังทีไ่ ดระบุไวในปฏิญญาฯ “โดยปราศจากความแตกตางไมวาในรูปแบบใด เชน เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา การเมืองหรือความคิด เห็นอื่น สัญชาติหรือกําเนิดทางสังคม ทรัพยสิน การเกิด หรือสถานภาพอื่น” การไดรับสิทธิมนุษยชนโดยปราศจากการเลือก ปฏิบตั นิ นั้ เปนหลักการพืน้ ฐานทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ซึง่ แฝงอยูใ นกฏ หมายสิทธิมนุษยชนสากล ซึง่ ปรากฏใหเห็นในองคกรหลัก ดานสิทธิมนุษยชนทุกแหง ทั้งนี้เปนการสะทอนใหเห็นวา บอยครัง้ ทีป่ ระชาชนตกอยูภ ายใตการละเมิดสิทธิมนุษยชน เนื่องจากอคติที่มีตอพวกเขาในรูปลักษณตางๆ เชน เชื้อ ชาติ ศาสนา หรือเพศ AI ดําเนินงานตอตานการละเมิดสิทธิเสรีภาพจาก การเลือกปฏิบตั ิ โดยไดตดิ ตามคดีตา งๆ ทีป่ ระชาชนจํานวน มากตองทุกขทรมานจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน การ ทรมาน การพิจารณาคดีทไี่ มเปนธรรม ถูกเนรเทศ หรือ โทษ ประหารชีวิต เพียงเพราะอัตลักษณของพวกเขา ซึ่งเปนผล จากการเลือกปฏิบตั อิ นั สืบเนือ่ งมาจากเชือ้ ชาติ เพศ ความ โนมเอียงทางเพศ ศาสนา หรือเผาพันธุ บุคคลที่ถูกคุมขัง ดวยเหตุผลดังกลาวเทานั้น AI เห็นวาพวกเขาเปนนักโทษ ทางความคิด AI ยังเรียกรองใหประเทศตางๆ มีมาตรการในการ
ปองกันการเลือกปฏิบตั ิ ซึง่ ไมใชจากเจาหนาทีข่ องรัฐเทานัน้ แตจากเอกชน หรือผูท มี่ ใิ ชเจาหนาทีข่ องรัฐอีกดวย ประเทศ ตางๆ สามารถดําเนินการเรือ่ งนีไ้ ดดว ยการใหสตั ยาบันตาม มาตรฐานสากลเพือ่ ตอตานการเลือกปฏิบตั ิ เชน อนุสญ ั ญา ระหวางประเทศวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติดานเชื้อ ชาติในทุกรูปแบบ (International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination) และ อนุสัญญาขององคการสหประชาชาติวาดวยการขจัดการ เลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (UN Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women) หากยังไมเคยปฏิบตั มิ ากอน และอาจดวยการออก กฎหมายแหงชาติที่ควํ่าบาตรการเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้ควรมี การยึดถือทั้งมาตรฐานสากลและกฏหมายแหงชาติที่ตอ ตานการเลือกปฏิบัติอยางเต็มที่ ดู คนพื้นเมือง การเลือกปฏิบัติตอเชื้อชาติ ความ โนมเอียงทางเพศ และสตรี
37
สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ขอบเขตทั้งมวลของสิทธิมนุษยชนที่ระบุไวใน ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มักจะแบงออกเปน สองชุด ไดแก: สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และสิทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งสิทธิชุดที่สองนั้น อางถึงสิทธิตา งๆ เชน สิทธิในการทํางาน สุขภาพ การศึกษา ที่อยูอาศัย และอาหาร สิทธิเหลานี้มิไดเกิดจากความ ปรารถนาดีของรัฐบาลเทานั้น แตเปนสิทธิมนุษยชนที่เกิด จากขอผูกพันทางกฏหมายทีม่ าตรฐานสากลดานสิทธิมนุษย ชนกําหนดไวโดยตรง ซึ่งกฎเกณฑสากลดังกลาวรวมถึง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม (1966) the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (1966) และกฎเกณฑตางๆ ทีก่ าํ หนดโดยหนวยงานพิเศษ เชน องคการแรงงานระหวาง ประเทศ (International Labour Organisation – ILO) และ องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (UNESCO))
สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ผูกพันอยูกับ กฎหมายเชนเดียวกับพันธะดานจริยธรรม ทั้งนี้ ระบบ กฎหมายแหงชาติในหลายประเทศ ก็มีแนวโนมที่จะบรรจุ สิทธิเหลานีไ้ วในการปฏิรปู รัฐธรรมนูญ แสดงใหเห็นวา สิทธิ เหลานีส้ ามารถทําใหเปนจริงไดดว ยการฟน ฟูทางกฎหมาย นอกจากนี้ กฎเกณฑสากลจํานวนมากยังอนุญาตให ปจเจกบุคคลและกลุม ยื่นคํารองเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ไปยังองคกรตางๆ เชน ILO, UNESCO และ Regional African and Inter-American Systems ไดโดยตรง หนึ่งในผลจากการถกเถียงในชวงสงครามเย็น (Cold War) คือความแตกตางที่จอมปลอมระหวางสิทธิ สองประเภทดังกลาว (และยังคงดํารงอยู) ในชวงหลายปที่ ผานมา องคการสหประชาชาติก็ยังไดรับรองการพึ่งพาซึ่ง กันและกันและการแบงแยกมิไดของสิทธิทงั้ มวลอีกครัง้ หนึง่ ซึ่งไดระบุไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน มนุษย
Amnesty International Thailand
จําเปนตองแสดงออกซึ่งความคิดเห็นของตน และมีสิทธิได ใชนํ้าสะอาด ผูหญิงจําเปนตองมีอิสระ ปลอดจากความ รุนแรงในครอบครัว และสามารถเขาถึงสินเชื่อได เด็กๆ จําเปนตองไดรับการคุมครองจากโทษประหารชีวิต และ สามารถเขาถึงการศึกษา ในขณะที่ AI มักจะยอมรับวาสิทธิมนุษยชนทัง้ หมด นั้นมีความเกี่ยวเนื่องกัน และไมอาจแบงแยกได และได ปฏิบตั งิ านมายาวนานเพือ่ สงเสริมสิทธิมนุษยชนทัง้ มวล แต การเนนหนักของงานวิจยั และงานรณรงคตามขอบเขตการ ปฏิบตั งิ านของ AI ก็ยงั คงเปนสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง อยางไรก็ตาม ในป 2544 ขอบเขตการปฏิบตั งิ านใหม ไดรบั การยอมรับในทีป่ ระชุมสภานานาชาติระหวางประเทศ (International Council) ซึ่งเปนการขยายงาน เพื่อตอตาน การละเมิดอยางรายแรงตอสิทธิของความสมบูรณทั้งทาง รางกายและจิตใจ เสรีภาพทางความคิดและการแสดงออก และเสรีภาพจากการเลือกปฏิบัติ
การระดมทุน (Fundraising) AI ไมรับเงินทุนจากรัฐบาลใดๆ ที่จะนํามาใชใน การรณรงคเพื่อสิทธิมนุษยชน และงานขององคกรฯ (ถึงแมวา อาจมีการยอมรับเงินทุนจากรัฐสําหรับสิทธิมนุษยชน ศึกษาก็ตาม) โดยไดรับความชวยเหลือทางการเงินทั้งหมด จากสมาชิกเปนคาบํารุง และจากผูส นับสนุนโดยการบริจาค ซึ่ง AI จะมีฐานะทางการเงินอยางเพียงพอได ก็ตองมีการ ระดมทุน และการระดมทุนเปนสวนสําคัญสวนหนึง่ ของงาน ในองคกรฯ สําหรับทุกคน การบริจาคไมเพียงแตเปนการชวยเหลือคาใชจา ย ในการรณรงค แตยงั เปนสวนสําคัญของการรณรงคนนั้ อีกดวย เชนเดียวกับการระดมเงินทุนเพือ่ สนับสนุนงานของ AI การ จัดงานเพื่อระดมทุน เชน คอนเสิรตก็ยังสามารถชวยยก ระดับภาพลักษณของ AI อีกดวย สวนการจัดงานในที่ สาธารณะสวนมาก หรือ การรณรงค ที่สาขา หรือกลุมเปน ผูจัดนั้น อาจมีการสอดแทรกเรื่องของการระดมทุนเขาไป ดวย เชน การเรี่ยไรตามทองถนน หรือจัดรานขายเสื้อยืด ตราสัญลักษณ และโปสเตอร การระดมทุนอาจเปนอีกวิธกี ารหนึง่ ทีส่ มาชิกอืน่ ๆ ในชุมชนจะเขามามีสว นรวมในการปฏิบตั งิ านของ AI ธุรกิจ ในทองถิน่ อาจเต็มใจทีจ่ ะมอบสินคาหรือบริการเพือ่ การจับฉลาก
หรือรางวัลสําหรับวาระที่มีการแขงกีฬา บุคคลที่มีชื่อเสียง อาจยินดีที่จะมาปรากฏตัว สวนศิลปนหรือนักเขียนอาจ บริจาคผลงานของตนเพื่อการประมูล นักดนตรีอาจเลน ดนตรีใหแกคอนเสิรต และเด็กๆ อาจมีสว นรวมในการวายนํา้ ทีม่ ผี อู ปุ ถัมภรายการ ทุกๆ คนลวนมีสงิ่ ทีจ่ ะเสนอให สิง่ ทีส่ าํ คัญคือ เงินทุนทีไ่ ดรบั จากสวนใดสวนหนึง่ ขององคกรฯ จะตองไมกระทบกับจริยธรรมขององคกรฯ จงเปนอิสระตอผูบ ริจาคทุกคน หรือมิฉะนัน้ ก็จาํ กัดขอบเขต ของกิจกรรมลง ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการระดมทุนสําหรับกลุม และสาขานั้น สามารถขอไดจากคณะทํางานระดมทุนที่ สํานักเลขาธิการสากล และในแนวทางปรับปรุงใหมสาํ หรับ การยอมรับเงินทุนและการระดมทุนฉบับปรับปรุง (Revised Proposed Guidelines for the Acceptance of Funds and Fundraising) ปรับปรุงโดย AI (AI Index: ORG 72/05/99) สําหรับคําแนะนําในแนวคิดเรื่องการระดมทุน ใหดูคูมือการรณรงค
39
สิทธิมนุษยชน (Human Rights) พื้นฐานของสิทธิมนุษยชน เชน การเคารพชีวิต และศักดิ์ศรีของมนุษย นั้น สามารถพบไดในศาสนาและ ปรัชญาสวนใหญ การพัฒนาสิทธิมนุษยชนมีพนื้ ฐานมาจาก การดิ้นรนเพื่อแสวงหาเสรีภาพ และความเทาเทียมกันทั่ว ทุกหนทุกแหงในโลก สิทธิมนุษยชนไมจําเปนตองไดรับมา ซื้อมา แสวงหามา หรือตกทอดมาถึงเรา สิทธิดังกลาวเปน ของประชาชน เพียงเพราะพวกเขาเปนมนุษย นั่นคือ สิทธิมนุษยชนตกทอดมายังแตละปจเจกบุคคล สิทธิมนุษยชนเปนของประชาชนทุกคน ไมวาจะ มีเชื้อชาติ เพศ ศาสนา เผาพันธุ ความคิดเห็น ความเชื่อ ทางการเมืองหรือความคิดเห็นอื่น ถิ่นกําเนิดของประเทศ หรือสังคม หรือสถานภาพอื่น เราทุกคนลวนเกิดมามีอิสระ และมีศักดิ์ศรีและสิทธิเทาเทียมกัน นั่นคือสิทธิมนุษยชน เปนสากล ไมมีใครมาพรากสิทธิมนุษยชนไปจากเราได นั่น คือไมมใี ครสามารถพรากสิทธิไปจากผูห นึง่ ผูใ ดได ประชาชน ยังคงมีสิทธิมนุษยชน แมกฎหมายของประเทศไมยอมรับ หรือแมพวกเขาถูกละเมิดก็ตาม นั่นคือสิทธิมนุษยชน ไมอาจยึดครองไดโดยบุคคลอื่น เพื่อที่จะใชชีวิตอยางมีศักดิ์ศรี มนุษยจะตองมี อิสระ ความมัน่ คง และมาตรฐานการดําเนินชีวติ ทีเ่ หมาะสม นั่นคือสิทธิมนุษยชนไมอาจแบงแยกได เพื่อที่จะปกปองสิทธิขั้นพื้นฐานของพวกเขา ประชาชนไดเรียกรองใหรัฐบาลรับรองสิทธิเหลานี้ตาม กฎหมาย และเมื่อรับรองสิทธิมนุษยชนตามกฎหมาย จึงหมายความวารัฐบาลยอมรับผิดชอบในการคุมครอง สิทธิมนุษยชน อนึง่ มาตรฐานสิทธิมนุษยชน รวมทัง้ มาตรฐาน สากล ดานสิทธิมนุษยชน ทีร่ ฐั บาลรับรองนัน้ ไดแจกแจง สิง่ ทีร่ ฐั บาลตองกระทําเพือ่ ประชาชนในอาณาเขตปกครอง ของตน ตลอดจนสิ่งที่รัฐบาลตองไมกระทํา การคํ้าประกัน สิทธิมนุษยชนในประมวลกฎหมายของรัฐ ทัง้ ในระดับประเทศ และระดับสากลนั่นเอง ที่ทําให AI มีพื้นฐานเชิงกฎหมาย สําหรับการเรียกรองตางๆ เมือ่ ใดทีเ่ จาหนาทีข่ องรัฐลมเหลวในการคุม ครอง สิทธิมนุษยชน ซึ่งระบุไวในมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสากล เมือ่ นัน้ ถือวาพวกเขาไดละเมิดสิทธิมนุษยชน (human rights violations) การกระทําเหลานีท้ ปี่ ฏิบตั โิ ดยกลุม การเมืองติด อาวุธ หรือกลุมที่มิใชคนของรัฐอื่น ๆ นั้น ก็คือการละเมิด สิทธิมนุษยชน (human rights abuses) เชนกัน (เมื่อกลาว ถึงทั้ง violations และ abuses นั้น AI ใชคําวา abuses) (ดู ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน)
ผูปกปองสิทธิมนุษยชน (Human rights defenders) ประชาชนผูสงเสริมและคุมครอง สิทธิมนุษยชน ดวยวิธีการที่ปราศจากความรุนแรง พวกเขาอาจเปนนัก หนังสือพิมพ ทนายความ สมาชิกขององคกรเพือ่ สิทธิมนุษยชน รวมทัง้ AI ดวย หรือนักการเมืองทีแ่ สดงออกดวยการตอตาน การกดขี่ของรัฐบาล พวกเขาอาจเปนเพื่อนและญาติพี่นอง ของเหยือ่ การละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึง่ มีกาํ ลังใจทีจ่ ะยืนหยัด ใหบุคคลอันเปนที่รัก แมวาจะประสบกับการคุกคามและ การขูขมเอาชีวิตก็ตาม การเฝาระวังอยางตอเนื่องและการ อุทศิ ตัวของผูป กปองสิทธิมนุษยชน (HRDs) มักจะเปนการ ปองกันเพียงประการเดียวตอความไมเปนธรรม และการใช อํานาจอยางไมถูกตอง มีหลายคนที่ตกอยูในภาวะเสี่ยง สืบเนื่องจากความพยายามของพวกเขาที่จะปกปองผูที่ ออนแอกวา และนําตัวผูมีอํานาจซึ่งกระทําความผิดมา ลงโทษ
Amnesty International Thailand
AI ลงมือปฏิบัติ แทน HRDs ที่ถูกคุกคามดังกลาว รวมทั้ง เจรจากับภาครัฐ งานสือ่ มวลชนและเครือขาย AI ยังสนับสนุน การริเริม่ ทีม่ เี ปาหมายในการปองกันการกลัน่ แกลงหรือคุกคาม รวมทั้งการสรางเครือขายของนักตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชน HRDs เพือ่ ปกปองบรรดาผูค นทีต่ กอยูใ นความเสีย่ ง นอกจาก นี้ AI สนับสนุนการสรางกลไกเพื่อปกปองพวกเขาจากการ กดขี่ เพื่อใหพวกเขาสามารถดําเนินกิจกรรมตามกฏหมาย ใหสอดคลองกับหลักการขององคการสหประชาชาติ หลัก การเหลานีร้ วมถึงบทบัญญัตขิ องปฏิญญาวาดวยสิทธิและ ความรับผิดชอบของบุคคล กลุม หรือองคกรของสังคมเพื่อ การสงเสริมและคุม ครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขัน้ พืน้
ฐานตามที่ไดรับการรับรองโดยสากล UN Declaration on the Right and Responsibility of individuals, Groups and Organs of Society to Promote and Protect Universally Recognized Human Rights and Fundamental Freedoms (ซึง่ ทีป่ ระชุมใหญองคการสหประชาชาติไดรบั รอง เมือ่ ป 2542) และเปนทีร่ จู กั กันวาเปนปฏิญญาสากลวาดวย นักตอสูเ พือ่ สิทธิมนุษยชน Declaration on Human Rights Defenders
41
สิทธิมนุษยชนศึกษา (Human rights education - HRE) สิทธิมนุษยชนศึกษา คืองานสิทธิมนุษยชนที่ เปนเรื่องของการปองกัน ทั้งนี้เพื่อสงเสริมใหเกิดความ ตระหนักและความเขาใจในสิทธิมนุษยชนอยางครบถวน และเปนการตระเตรียมประชาชนใหมีความรู ทัศนคติ พฤติกรรม และทักษะทีจ่ าํ เปนในการเคารพและปกปองสิทธิ เหลานั้น HRE นี้จัดเปนสวนสําคัญของกิจกรรมของ AI สาขาของ AI มากกวา 50 ประเทศไดรบั รองกรอบ วิธกี ารของ HRE ดังกลาว การดําเนินงานในการศึกษาภาค ปกติ ซึ่งไดแก การผลักดันใหรัฐบาลนําเอาสิทธิมนุษยชน บรรจุไวในหลักสูตรของโรงเรียน มหาวิทยาลัย สถาบันการ ทหารและตํารวจ รวมทัง้ ขาราชการพลเรือน สวนการปฏิบตั ิ งานในการศึกษานอกภาคบังคับนั้น ไดแก โปรแกรมการ ศึกษาสําหรับเครือขาย เชน สําหรับนักหนังสือพิมพ บุคลากร ทางการแพทย สหภาพแรงงาน สตรี กลุมชุมชน และกลุม นักกิจกรรมประเภทตางๆ ในหลายประเทศ สมาชิก AI ปฏิบตั งิ านอยางใกลชดิ กับทางการที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงศึกษาธิการ หรือ หนวยงานของกองกําลังตํารวจ เพื่อใหคําแนะนําในเนื้อหา ของหลักสูตร ในขณะเดียวกันก็ไดมกี ารพัฒนาสือ่ การสอน อยางกวางขวาง และในหลายภาษา สาขาบางแหงมีผู ประสานงาน HRE และมีสํานักเลขาธิการสากลเปนผู ประสานงานเครือขาย HRE ในระดับประเทศ ระดับสากล AI ปฏิบัติงานอยางใกลชิดกับองคกรระหวางประเทศ และ องคกรพัฒนาเอกชนพันธมิตรอืน่ ๆ ซึง่ ตางก็ดาํ เนินงาน HRE อยางตอเนื่อง โปรแกรม HRE ของ AI มีองคประกอบที่สําคัญดังนี้ 1. เปนโปรแกรมทีไ่ ดรบั การวางแผนอยางรอบคอบ พรอมทัง้ มีเปาหมายระยะยาว (อาจจัดกิจกรรมเพียงอยางเดียวเปน HRE ได ตอเมื่อกิจกรรมนั้นเปนสวนหนึ่งของชุดกิจกรรมที่ มีวัตถุประสงครวมกัน) 2. เปนโปรแกรมทีส่ อดคลองกับความตองการและวัฒนธรรม ของประเทศหรือพื้นที่นั้นๆ 3. เปนโปรแกรมที่ตองใชวิธีการเรียนรูแบบมีสวนรวม (participatory learning methods) เชน การสวมบทบาท บทละคร การอภิปราย ...
สํานักเลขาธิการสากล (International Secretariat) สํานักเลขาธิการสากล คือหัวใจแหงความเชีย่ วชาญ ของ AI โดยมีสาํ นักงานอยูท กี่ รุงลอนดอน เบรุต คอสตาริกา เจนีวา ฮองกง คัมพาลา นิวยอรค และปารีส สวนเจาหนาที่ อื่นๆ ของสํานักเลขาธิการสากล เชน เจาหนาที่พัฒนา สวนภูมิภาค (Regional Development Officers) ประจํา อยูใ นภูมภิ าคทีพ่ วกเขามีหนาทีร่ บั ผิดชอบ สํานักงานเลขาธิการ สากลจัดจางเจาหนาทีไ่ วมากกวา 320 คน และอาสาสมัคร อีกมากมายจาก 50 ประเทศ ในขณะเดียวกันงานวิจัยและ พัฒนา กับการรณรงคนั้น มีเจาหนาที่ผูชํานาญงานเปนผู ดําเนินการ และมีผูเชี่ยวชาญในสาขานั้นๆ สนับสนุน เชน ผูเชี่ยวชาญดานกฏหมายระหวางประเทศ สื่อสารมวลชน และเทคโนโลยี สําหรับกิจกรรมการรณรงคตางๆ ที่จัดขึ้น โดยสมาชิกทัว่ โลกนัน้ สํานักเลขาธิการสากลเปนผูร เิ ริม่ และ ใหการสนับสนุน
Amnesty International Thailand
ภารกิจ (Mission) ขอบังคับหรือบทบัญญัติ (Statute) ของ AI ซึ่งที่ ประชุมสภานานาชาติครั้งที่ 25 ไดใหการรับรองในป 2544 ใหคําจํากัดความในภารกิจของ AI ดังนี้ “ดําเนินงานวิจัย และลงมือปฏิบัติงาน ที่เนนการปองกันและยุติการละเมิด อยางรายแรงตอสิทธิทจี่ ะไดรบั ความสมบูรณทงั้ รางกายและ จิตใจ ไดรบั เสรีภาพทางความคิดและการแสดงออก และได รับเสรีภาพจากการเลือกปฏิบัติ ภายใตบริบทของการ ปฏิบัติงานเพื่อสงเสริมสิทธิมนุษยชน” คําวา “ภารกิจ” ของ AI ยังหมายถึง การทีเ่ จาหนาที่ AI เดินทางไปเยี่ยมเยียนประเทศหนึ่งๆ (สําหรับ AI แลว คําวา “ภารกิจ” มิไดมคี วามหมายถึงสํานักงานประจําทีเ่ ปน ตัวแทนองคกร เชนที่ปรากฏในรัฐบาล หรือองคกรระหวาง ประเทศอืน่ ๆ) ซึง่ การเยีย่ มเยียนดังกลาวนัน้ สํานักเลขาธิการ สากลมักจะเปนผูดําเนินการ โดยอาจเปนการเดินทางของ เจาหนาที่ AI หรือสมาชิก หรือประชาชนจากภายนอกองคกร ทั้งนี้อาจเปนการเดินทางแตลําพัง หรืออาจเปนสวนหนึ่ง ของคณะผูแทน บอยครัง้ ทีภ่ ารกิจคือการรวบรวมขอมูล ซึง่ อยูเ ปน ความหวงใยในดานสิทธิมนุษยชน นั่นคือการดําเนินงาน ไตสวน ณ จุดเกิดเหตุ และสัมภาษณเหยือ่ และพยานในการ ละเมิดสิทธิมนุษยชน นักตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชนทองถิ่น เจาหนาทีข่ องรัฐ นักการทูต และอืน่ ๆ AI อาจขอใหผเู ชีย่ วชาญ ดําเนินการตรวจสอบในกรณีพิเศษ เชน นักกฎหมายที่จะ สังเกตการณพิจารณาคดี หรือแพทยทางพยาธิวิทยา เพื่อทําการชันสูตรพลิกศพ เปนตน
สวนการเยี่ยมเยียนครั้งอื่นๆ จะมีจุดมุงหมายใน การเจรจากับทางการ ซึง่ บางครัง้ อาจนําคณะโดยเลขาธิการ หรือสมาชิกของ IEC หรือบุคคลสําคัญจากภายนอกองคกร การประชุมดังกลาวเปดโอกาสให AI ไดเจรจาโดยตรงกับ รัฐบาลตางๆ ไดรบั ปฏิกริยาอยางเปนทางการในเรือ่ งความ หวงใยของ AI และเจรจาถึงการพัฒนาของสมาชิกภาพ AI ในประเทศนัน้ ๆ การประชุมอาจประกอบดวยสมาชิกสาขา AI ในทองถิ่น ทั้งนี้ AI ไดเยี่ยมเยียนประเทศตางๆ อยาง เปดเผย และไดแจงความประสงคของตนแกทางการของ ประเทศนั้นๆ ไวลวงหนา อยางไรก็ตาม ในขณะที่รัฐบาล ตางๆ แทบจะไมปฏิเสธในเรื่องที่ AI ขออนุญาตเยี่ยมเยียน ประเทศของตน แตในบางประเทศก็จะตองไดรบั การอนุญาต บางประการ พวกเขาอาจปฏิเสธวีซา การเดินทางเขาประเทศ หรืออาจจะออกวีซา ใหลา ชาเกินความจําเปน ทุกๆ ป AI จัด ใหมภี ารกิจการเยีย่ มเยียนดังกลาวในภูมภิ าคตางๆ ประมาณ 100 ถึง 150 ครั้ง
43
จดหมายขาว (Newsletter) สํานักเลขาธิการสากลเปนผูผ ลิตจดหมายขาว AI (the Wire) ปละ 10 ฉบับ และไดแจกจายไปทั่วองคกรฯ อยางแพรหลาย เนื้อหาเปนเรื่องราวของปญหาสิทธิมนุษย ชนทัว่ โลก ขอมูลและการปฏิบตั งิ านในปจจุบนั ของ AI และ คําอุทธรณจากทั่วโลก จดหมายขาวนี้จัดพิมพเปนภาษา อังกฤษ ฝรั่งเศส และอาหรับ โดยบอกรับเปนสมาชิกและ จากอินเตอรเนต ที่ www.amnesty.org สวนจดหมายขาว ภาษาสเปนนั้น EDAI ในมาดริดเปนผูผลิต สาขาตางๆ ไดจัดทําจดหมายขาวสําหรับสมาชิก ของตนอีกดวย และยังมีจดหมายขาวสําหรับผูเชี่ยวชาญ เชน สิง่ ตีพมิ พการพัฒนาภูมภิ าค สําหรับสมาชิกทีเ่ กีย่ วของ กับการพัฒนา AI และ C2 สําหรับนักรณรงคของ AI ดู สาขา และ สิ่งตีพิมพ
องคกรพัฒนาเอกชน (Non-Governmental Organizations -NGOs) องคกรพัฒนาเอกชน หรือ NGO คือองคกรใดๆ ที่มิไดเปนสวนหนึ่งของสถาบันภาครัฐ คําศัพทนี้มักจะใช กลาวถึงองคกรอาสาสมัคร เพื่อการกุศล หรือเพื่อวิชาชีพ เชน องคกรเพือ่ สิทธิมนุษยชน เชน AI ทีร่ วมตัวกันเปนประชา สังคม (civil society) โดยปกติแลว AI มักจะปฏิบัติงาน และรณรงครว มกับ NGOs อืน่ ๆ ทีม่ เี ปาหมายรวมกัน องคกร พันธมิตรเหลานี้ไดแก องคกรเพื่อสิทธิมนุษยชน องคกร พัฒนาหรือเพื่อมนุษยธรรม กลุมพลังสหภาพแรงงาน กลุม พลังจากโบสถ กลุม ควบคุมกําลังอาวุธ องคกรการเมืองและ สิทธิมนุษยชนศึกษา องคกรบริจาคทุน และองคกรเชิงวิชาชีพ การศึกษา และกฏหมาย ทัง้ นี้ AI ไมอาจดําเนินการวิจยั และ รณรงคได หากปราศจากความชวยเหลืออยางมากมายจาก NGOs ในระดับทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับสากล
วิธีการบางประการที่ AI สามารถปฏิบัติงานกับ องคกรอื่นๆ ไดแก HRE การใหขาวแกสื่อมวลชนรวมกันใน การใหสัตยาบันของกฎหมายสิทธิมนุษยชนสากล หรือ การปฏิรูปกฏหมายแหงชาติ รวมกันจัดเวทีอภิปรายของ NGO ในหัวขอพิเศษ ซึง่ ไดตกลงกันในเรือ่ งของระเบียบวาระ และคาใชจา ยเรียบรอยแลว หรือการจัดสงจดหมายเปดผนึก ลงนามโดย NGOs ซึ่งเปนพันธมิตรไปยังรัฐบาลตางๆ แนวทางการรวมมือดําเนินกิจกรรมกับองคกร พันธมิตรอื่นๆ นั้น สมาชิกสามารถขอไดจากสาขา AI (ดู Outreach ดวย)
Amnesty International Thailand
หลักการไมสงกลับ (Non-refoulement) AI ตอตานการบังคับบุคคลใดๆ ซึ่งมีแนวโนมวา อาจถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน การปฏิบตั งิ านของ AI ก็ไดทาํ การคัดคานเรือ่ งดัง กลาวอยางตอเนือ่ ง เนือ่ งจาก AI พิจารณาเห็นวา หลักการ ไมสง กลับ ทีร่ ะบุไวในมาตรา 33 ของอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ป 2494 ซึ่งเกี่ยวของกับสถานภาพของผูลี้ภัย และระบุใน องคกรระหวางประเทศอื่นๆ จํานวนมากนั้น เปนสวนหนึ่ง ของกฎหมายระหวางประเทศที่ยึดถือปฏิบัติกันตลอดมา นอกจากนีย้ งั มีการสนับสนุนทีช่ ดั เจนในกฎหมาย สิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ อาทิ ในมาตรา 3 ของ อนุสญ ั ญาสหประชาชาติทตี่ อ ตานการทรมาน และในระบบ กฎหมายของศาลเพื่อสิทธิมนุษยชนแหงยุโรป ที่ระบุวา ในกรณีที่ประชาชนตกอยูในความเสี่ยงของการถูกทรมาน การสังหารนอกกฎหมาย หรือ “การหายสาบสูญของบุคคล” นั้น หามดําเนินการสงกลับโดยเด็ดขาด AI ยึดมั่นวา ขอหามในการดําเนินการสงกลับ สามารถนํามาใชไดในทุกกรณีเมื่อสิทธิตางๆ ถูกคุกคาม
โดยไมคาํ นึงถึงการโตแยงวา บุคคลนัน้ ๆ ไมไดจดั อยูภ ายใต ความคุมครองที่ระบุในอนุสัญญาของสหประชาชาติเมื่อป 2494 ซึ่งเกี่ยวของกับสถานภาพของผูลี้ภัย อาทิ หากพวก เขาถูกกลาวหาวากระทําอาชญากรรม เรือ่ งดังกลาวก็จะอยู ภายใตมาตรา 33 (2) หรือหนึง่ ในวรรคทีก่ นั ออกจากอนุสญ ั ญา (ดู ผูแสวงหาแหลงลี้ภัย โทษประหารชีวิต และผูลี้ภัย คํารองเรียน (Petition)) คํารองเรียนเปนขอความอุทธรณสั้นๆ ที่ลงนาม โดยจํานวนคนทีม่ ากทีส่ ดุ เทาทีจ่ ะมากได กลุม และสาขา AI ไดใชคาํ รองเรียนนีเ้ ปนวิธสี ง คําอุทธรณและการรณรงค โดย เวียนไปตามที่ประชุม เวทีสาธารณะ และการเดินขบวน คํารองเรียนที่ลงนามแลวนี้ จะถูกสงใหแกเจาหนาที่ผูแทน หรือนักการทูตของประเทศเปาหมายอยางเปนทางการ
นักโทษทางความคิด (Prisoner of conscience)
นักโทษทางความคิด คือบุคคลทีถ่ กู คุมขัง หรืออาจกลาวได วาถูกกักขังทางรางกาย เนื่องจากความคิดเห็นทางการเมือง เพราะ ศาสนา หรือความเชื่ออยางแทจริงของเขา เพราะเผาพันธุ เพศ สีผิว ภาษา ถิ่นกําเนิดหรือสังคม สถานภาพทางเศรษฐกิจ การเกิด แนว โนมทางเพศ หรือสถานภาพอื่นๆ ทั้งนี้โดยที่เขาไมไดใชความรุนแรง หรือสนับสนุนใหใชความรุนแรง หรือความเกลียดชัง ไมมผี ใู ดลวงรูจ าํ นวนแนนอนของนักโทษทางความคิดทีถ่ กู คุมขังอยูใ นเรือนจําทัว่ โลก พวกเขาถูกจับกุมโดยรัฐบาลของประเทศ ที่มีระบบการเมืองและสังคมหลากหลาย และในบางกรณีอาจถูก จับกุมโดยกลุมการเมืองติดอาวุธ สิ่งที่แนนอนไดแก แตละชื่อที่ได
45 กลายมาเปนขาวนั้น ยังมีอีกมากมายที่ยังไมมีใครลวงรู นักโทษทางความคิด บางคนเปนปจเจกบุคคลที่มีชื่อเสียง มีความกระตือรือรน และเปนที่รูจักแกสาธารณชน หลาย คนเปนศิลปน นักกฎหมาย นักการเมือง หรือนักตอสูของ สหภาพแรงงาน โดยบุคคลเหลานีท้ า ทายความคิดเห็นของ รัฐ อยางไรก็ตามนักโทษทางความคิดสวนใหญกลับเปน หญิงและชายธรรมดาๆ แมกระทั่งเด็กๆ จากผูคนทุกชนชั้น โดยถูกคุมขังเพียงเพราะสิง่ ทีพ่ วกเขาเปน มากกวากิจกรรม ทางการเมืองของพวกเขา นักโทษทางความคิดบางคนไดกระทําการตอตาน ระบบทัง้ หมดของรัฐ ในขณะทีบ่ างคนไดดาํ เนินการภายใต กรอบกฎหมายของระบบการเมืองภายในประเทศ แตพวก เขาก็ยังคงถูกจับกุมอยูดี ประชาชนอาจกลายเปนนักโทษ ทางความคิดได เนื่องจากเหตุผลมากมายหลายประการ อาทิ: • เขารวมในกิจกรรมทางการเมืองทีป่ ราศจากความรุนแรง เชน การมีสวนรวมในงานพัฒนาชุมชน • เปนชนกลุมนอยที่กําลังตอสูเพื่อการปกครองตนเอง • ยืนยันทีจ่ ะปฏิบตั พิ ธิ ที างศาสนาทีร่ ฐั ไมใหความเห็นชอบ • มีสวนรวมในกิจกรรมของสหภาพแรงงาน เชน การนัด หยุดงาน หรือการเดินขบวนประทวง • ดวยขออางวาพวกเขากออาชญากรรม ทั้งที่จริงพวกเขา เพียงแตวิจารณทางการเทานั้น • เขียนบทความในหนาหนังสือพิมพ ที่กระตุนใหผูคน ตระหนักในเรื่องของการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งเกิดขึ้นใน ประเทศของตน • ปฏิเสธการเขารับราชการทหาร สืบเนือ่ งจากความคิดเห็น ของตน (ดู การปฏิเสธอยางจริงใจ (Conscientious objection)) • ตอตานการใชภาษาราชการของประเทศ • เนื่องจากพวกเขาบังเอิญอาศัยอยูในหมูบานแหงหนึ่ง • เนื่องจากคนในครอบครัวเปนศัตรูของรัฐอยางเปดเผย • สตรีถกู จํากัดสถานทีอ่ นั เนือ่ งมาจากเพศของพวกเธอเพียง ประการเดียว (เชน ในอัฟกานิสถานภายใตระบอบการ ปกครองของตาลีบัน)
• เนื่องจากอัตลักษณทางเพศที่แทจริงหรือที่แลเห็น หรือ การของแวะในความสัมพันธหรือกิจกรรมของเพศเดียวกัน AI ยืนกรานใหนักโทษทางความคิดทุกคนไดรับ การปลอยตัวเปนอิสระในทันที และโดยปราศจากเงื่อนไข เพราะภายใตกฎหมายระหวางประเทศ รัฐบาลตางๆ ไมมี สิทธิที่จะกักขังบุคคลเหลานั้น พวกเขาถูกปลนอิสรภาพ เพราะความเชื่อของตน หรือเพราะอัตลักษณความเปน ตัวตน ไมใชเพราะอาชญากรรมทีเ่ ขาอาจเปนผูก อ คําจํากัด ความของ “นักโทษทางความคิด” ของ AI นัน้ มีรายละเอียด และเฉพาะเจาะจง การตัดสินใจวานักโทษคนใดอยูภ ายใต คําจํากัดความนี้ มักจะตองอาศัยการวิเคราะหขอเท็จจริง อยางรอบคอบ ซึ่งเจาหนาที่ ณ สํานักเลขาธิการสากลเปน ผูร บั ผิดชอบทําหนาทีด่ งั กลาว โดยเจาหนาทีต่ อ งอาศัยการ รวบรวมขอมูลจากแหลงตางๆ ทั้งนี้ สํานักเลขาธิการฯ จะประเมินขอมูลโดยอาศัยคําจํากัดความขององคกรฯ ทีร่ ะบุถงึ นักโทษทางความคิด ในกรณีทซี่ บั ซอน นักวิจยั อาจ สงกรณีดังกลาวไปยังกลุมอาสาสมัครสากล ซึ่งสมาชิก AI รูจักกันในนาม Standing Committee on the Mandate (ดู การเลือกปฏิบตั ิ การบรรเทาทุกข และ นักโทษ การเมือง)
Amnesty International Thailand
การบรรเทาทุกข (Relief) AI จะบริจาคเงินทุน หรือสิง่ ของจํานวนหนึง่ ใหแก ผูตกเปนเหยื่อของการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือแกผูอยู ภายใตอปุ ถัมภของผูส ญ ู เสีย โดยเฉพาะเพือ่ ชวยใหพวกเขา สามารถรับมือกับผลของการละเมิดสิทธิมนุษยชนทีไ่ ดผา น ประสบการณ AI ใหความชวยเหลือแกนกั โทษทางความคิด ทัง้ ปจจุบนั และในอดีต รวมทัง้ ผูอ ยูภ ายใตอปุ ถัมภ ผูส ญ ู เสีย จากการทรมานจะไดรบั การรักษาทางการแพทย ครอบครัว ของ “บุคคลทีห่ ายสาบสูญ” ประชาชนทีต่ กอยูใ นความเสีย่ ง ของการสังหารนอกกฏหมาย ที่ตองการใหชวยหาที่พัก ปลอดภัยภายนอกประเทศ และผูลี้ภัย ซึ่งตกอยูในความ เสี่ยงที่จะกลับคืนสูสถานการณอันตราย การรองขอการบรรเทาทุกขจะไดรบั การพิจารณา เปนกรณีๆ ไป ความจําเปนบางเรื่องที่การบรรเทาทุกขของ AI มีให ไดแก คาเชาบานสําหรับครอบครัวที่ผูหาเลี้ยงอยู ในเรือนจํา คาใชจา ยในการศึกษา คาเดินทางไปกลับเรือนจํา
ยารักษาโรค หรืออาหารเสริมแกนกั โทษ ปจจัยพืน้ ฐาน เชน เครื่องนุงหม ผาหม อุปกรณใชในหองนํ้า หรือเครื่องเขียน ความชวยเหลือดานกฎหมายเพื่อการปลดปลอยนักโทษฯ การปรับตัวของนักโทษที่ไดรับการปลอยตัว ใหสามารถมี ชีวิตอยูในชุมชนได และการรักษาทางการแพทยและการ เยียวยาทางจิตใจสําหรับผูสูญเสียที่ถูกทรมาน การตัดสินใจในเรือ่ งการบรรเทาทุกข มักเปนเรือ่ ง ออนไหว โดยในบางกรณีอาจทําใหผคู นตกอยูใ นความเสีย่ ง ได เนือ่ งจากบอยครัง้ ทีท่ างการไมเห็นชอบกับความพยายาม สงเงินทองและสิ่งของมาใหบุคคลที่เกี่ยวของ กลุม AI ไม ควรเผยแพรรายชื่อผูรับการบรรเทาทุกข หรือจํานวนเงินที่ สงมาให หรือชองทางการสง หรือเปดเผยขอมูลใหใครอืน่ ที่ ไมไดเกีย่ วของโดยตรง ยกเวนในบางสถานการณ กลุม หรือ สาขา AI อาจเผยแพรขอ มูลบางอยางทีเ่ ปนเรือ่ งราวบรรเทา ทุกขและเปน “ขาวดี” โดยมีวัตถุประสงคที่จะเพิ่มความ ตระหนักในโครงการบรรเทาทุกข หรือในการสนับสนุน โครงการระดมทุนเพื่อการบรรเทาทุกข อนึ่ง จะตองปรึกษา หารือสํานักเลขาธิการสากลทุกครัง้ ทีต่ อ งการดําเนินงานทุก อยางที่กลาวมาขางตน
47
การวิจัย (Research) AI ดําเนินการวิจัยเพื่อเปดเผยการละเมิดสิทธิ มนุษยชน และเพื่อชวยใหการรณรงคของ AI มีขอมูลที่ตั้ง อยูบนพื้นฐานของความแมนยําและทันเหตุการณ คณะวิจัยที่สํานักเลขาธิการสากล ไดเนนการ ดําเนินการเฉพาะในบางประเทศ เพือ่ ตรวจสอบรายงานการ ละเมิดสิทธิมนุษยชนภายใตขอบเขตความรับผิดชอบของ AI โดยตรวจสอบซํ้าและทําใหขอมูลจากแหลงหลากหลาย มีความแนนอนยิ่งขึ้น คณะวิจัยไดรับขอมูลจากนักโทษ ครอบครัวของเขา ทนายความ นักหนังสือพิมพ ผูล ภี้ ยั นักการ ทูต องคการศาสนา นักสังคมสงเคราะห และผูท ที่ าํ งานดาน มนุษยธรรม รวมทัง้ องคกรสิทธิมนุษยชนอืน่ ๆ ทัง้ นีพ้ วกเขา จะติดตามขาวคราวในหนาหนังสือพิมพ เว็บไซต และ สื่อมวลชนอื่นๆ ซึ่ง อีเมล โทรศัพท จดหมาย โทรสาร และแขกทีม่ าพบเปนการสวนตัว ลวนนําขอมูลสําคัญมาให AI จัดสงคณะผูแทนไปประเมินสถานการณ ณ จุดเกิดเหตุอยางเปดเผย และหลังจากแจงเหตุผลของ การเดินทางรัฐบาลของประเทศนั้นๆ แลว ซึ่งคณะผูแทน อาจสัมภาษณนกั โทษ ญาติพนี่ อ ง ทนายความ พยานทีเ่ ห็น เหตุการณละเมิดสิทธิมนุษยชน และนักตอสูเ พือ่ สิทธิมนุษยชน ในทองถิน่ คณะดังกลาวอาจเขาสังเกตการพิจารณาคดี และ เขาพบเจาหนาทีข่ องรัฐดวย อนึง่ หาก AI ถูกปฏิเสธไมยอม ใหเขาประเทศ คณะวิจยั ก็อาจตองอาศัยแหลงขอมูลภายนอก ประเทศ รวมทั้งรายงานขาวจากสื่อมวลชน ผูลี้ภัย และ ผูแทนทางการทูตนอกประเทศ กอนทีจ่ ะมีคาํ แถลงการณหรือรายงานใดๆ ออกมา ขอความนัน้ ๆ จะตองไดรบั ความเห็นชอบจากสํานักเลขาธิการ สากลเสียกอน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความมั่นใจในความแมนยํา ปราศจากอคติทางการเมือง และอยูภายใตขอบเขตความ รับผิดชอบของ AI หลายครั้งที่ AI ตองเผชิญกับขอกลาวหา แทนขอเท็จจริงทีไ่ มมที างโตแยง ซึง่ องคกรฯ ก็ไดดาํ เนินการ อยางตรงไปตรงมา และมักเรียกรองใหมกี ารสอบสวนในขอ กลาวหาดังกลาว และหาก AI ทําผิดพลาด องคกรก็จะ ประกาศแกไขความผิดพลาดนั้นๆ
งานวิจยั ของ AI เปนทีย่ อมรับวามีความนาเชือ่ ถือ และไดแพรหลายไปยังรัฐบาลตางๆ องคการระหวางประเทศ นักหนังสือพิมพ นักวิชาการ และองคกรสิทธิมนุษยชนอื่นๆ ตลอดจนกลุม รณรงค ในชวงการประชุมสภานานาชาติ เมือ่ ป 2544 มีการสรุปวา สาขา AI ระดับชาติจํานวนหนึ่ง ควร จัดทําโครงการนํารอง ซึ่งจะผลิตและใชประโยชนงานวิจัย และอุปกรณการรณรงค เพื่อนําไปใชกับประเด็นปญหา เฉพาะในประเทศของตน (ดู “ปฏิบตั งิ านในประเทศของตน”)
การทรมาน (Torture) อนุสัญญาแหงสหประชาชาติ ซึ่งตอตานการ ทรมานและการปฏิบัติหรือการลงโทษอยางโหดราย ไรความปราณี และลดทอนศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (The UN Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment) ใหคําจํากัดความการทรมานวา “การกระทําใดๆ ซึ่ง เปนการกอใหเกิดความเจ็บปวดหรือความทรมานอยาง รุนแรง ไมวาจะทางรางกายหรือทางจิตใจ แกบุคคลใด เพือ่ ใหไดรบั ขอมูลหรือคําสารภาพจากเขา หรือจากบุคคล ที่สาม เพื่อลงโทษเขาสําหรับการกระทํา ซึ่งตัวเขาเอง หรือบุคคลที่สามไดกระทํา หรือถูกสงสัยวากระทํา เพื่อ คุกคามหรือขูเ ข็ญตัวเขาหรือบุคคลทีส่ าม สําหรับเหตุผล ใดก็ตามที่มีพื้นฐานมา จากการเลือกปฏิบัติไมวาในรูปแบบใด เมื่อ ความเจ็บปวดหรือความทรมานเชนนั้น เปนการกระทํา หรือจากการยุยง หรือดวยความเห็นชอบหรือนิง่ นอนใจ ของเจาหนาที่รัฐ หรือบุคคลอื่นที่กระทําในนามของรัฐ” ซึง่ ทัง้ ผูต รวจการพิเศษขององคการสหประชาชาติวา ดวย การทรมาน The UN Special Rapporteur on Torture และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ ไดรายงานวา ขอหามการทรมาน และการปฏิบัติ หรือ การลงโทษอยางโหดราย ไรมนุษยธรรม และเสือ่ มทราม ในมาตรฐานสากลดานสิทธิมนุษยชนนั้น ควรจัดวา เปนการลงโทษดวยการทํารายรางกาย เพือ่ ลงโทษสําหรับ การกออาชญากรรม
Amnesty International Thailand
ขณะที่ มาตรฐานสากลดานสิทธิมนุษยชน นีม้ ขี อ หามการทรมานและการปฏิบัติตอนักโทษอยางเลวราย อีกทัง้ รัฐบาลตางๆปฏิเสธซํา้ แลวซํา้ เลา AI กลับไดรบั รายงาน การทรมานหรือการปฏิบตั อิ ยางเลวรายของเจาหนาทีร่ ฐั ใน ประเทศตางๆ ทัว่ ทุกภูมภิ าคของโลกกวา 150 ประเทศ การ ทรมานมักจะเปนสวนสําคัญของกลยุทธเพื่อความมั่นคง ของรัฐ และเปนองคประกอบหนึง่ ของเครือ่ งมือรัฐเพือ่ ปราบ ปรามผูที่ไมเห็นดวย มีการนําเอาการทรมานมาใชเพื่อเคน หาขอมูล คําสารภาพ การลงโทษ การขมขู และการกอการ ราย เหลานีเ้ ปนการทําใหผสู ญ ู เสียตกอยูใ นภาวะเสือ่ มทราม และทําใหผูทรมานสิ้นสุดความเปนมนุษย รายการเทคนิคการทรมานที่นํามาใชในทุกวันนี้ ไดแกเครื่องมือเกาแก เชน แส ตะบองและเครื่องมือบีบเล็บ และเครือ่ งมือสมัยใหม เชน ไฟฟา วิธซี บั ซอนของการทําลาย ทางจิต และการใชยาเพือ่ กอใหเกิดประสาทหลอน กลามเนือ้ กระตุก และอัมพาต ผูสูญเสียจะถูกเฆี่ยนตี เผา และขมขืน บีบคอ และประหารชีวิตหลอกๆ มาตรฐานสากลดานสิทธิมนุษยชนไมเพียงแต ควบคุมการกระทําของรัฐ และกําหนดขอบเขตการใชอาํ นาจ ของรัฐเทานั้น แตยังเรียกรองใหรัฐบาลตางๆ ลงมือปฏิบัติ ดวยการปองกันมิใหบุคคลอื่นๆ ละเมิดสิทธิมนุษยชน อีกดวย ซึง่ ถารัฐลมเหลวในขอผูกพันดังกลาว รัฐจะตองรวม รับผิดชอบตอการละเมิดนั้นดวย
เมือ่ บุคคลทีม่ ใิ ชเจาหนาทีร่ ฐั กระทําสิง่ ทีม่ ลี กั ษณะ และความรุนแรง ซึ่งจัดวาเปนการทรมานตามมาตรฐาน สากล (เชน การขมขืน หรือรูปแบบความรุนแรงในบานหรือ ชุมชน) และมีขอ พิสจู นทชี่ ดั แจงวา รัฐลมเหลวในการปฏิบตั ิ ตามพันธกรณีที่ตองใหความคุมครองประชาชนอยางมี ประสิทธิผล ซึง่ AI พิจารณาแลวเห็นวา การทรมานดังกลาว เปนเรื่องที่รัฐตองรับผิดชอบ AI ขอประณามการทรมานในทุกกรณี เมื่อบุคคล ใดถูกคุกคามดวยการทรมาน AI จะลงมือปฏิบตั กิ ารอยาง เรงดวนในระดับโลกเพื่อพยายามชวยเหลือบุคคลนั้น (ดู Urgent Actions) องคกรยังเคลือ่ นไหวผลักดันใหรฐั บาล ตางๆ ดําเนินการตามมาตรฐานสากลเพือ่ ตอตานการทรมาน โดยเฉพาะเมื่อคํานึงถึงขอบเขตอํานาจศาลซึ่งเปนสากล และใหการสนับสนุนการฟนฟูผูสูญเสียจากการทรมานทั้ง ในดานการรักษารางกายและจิตใจ ในป 2543 AI ไดเพิ่มการปฏิบัติงานตอตานการ ทรมาน ดวยการจัดใหมีการรณรงคทั่วโลก เพื่อขจัดการ ทรมานใหหมดสิ้นไป การรณรงคเนนอยูที่สามหัวขอหลัก ไดแก: การปองกัน การยกเวนโทษ และ การเลือกปฏิบตั ิ ซึง่ รายงานนี้ ประกอบดวยโครงการ 12 ประเด็นในการปองกัน การทรมานโดยเจาหนาที่ของรัฐที่จัดทําโดย AI (12-Point Program for the Prevention of Torture by Agents of the State ของ AI)
49
ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights - UDHR) ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (UDHR) เปนคําประกาศเจตจํานงคสทิ ธิมนุษยชน ทีไ่ ดรบั การยอมรับ กันอยางกวางขวางมากที่สุดในโลก (ดูภาคผนวก 2) และ คุณคาของคําประกาศดังกลาวถือวาเปนพื้นฐานของการ ปฏิบตั งิ านของ AI ความหมายอันเปนแกนแทนนั้ คือคุณคา ที่มีอยูในตัวตนของมนุษยทุกผูทุกนาม UDHR เปนเสาหลักของการปฏิบัติงานดาน สิทธิมนุษยชนขององคการสหประชาชาติมาอยางยาวนาน กวา 6 ทศวรรษ UDHR ไดรับการรับรองจากที่สมัชชาใหญของ องคการสหประชาชาติเมือ่ วันที่ 10 ธันวาคม 2491 เพือ่ มอบ มาตรการพื้นฐานใหแกประชาชนทั่วโลก ในการคุมครอง จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน บทบัญญัตทิ งั้ 30 ขอของ UDHR ไดประกาศสิทธิ ของพลเมือง สิทธิทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองและ สังคมของประชาชนทั้งหลาย ซึ่งไดแก: • สิทธิในการดํารงชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคง • ความเสมอภาคและเทาเทียมกันตามกฎหมาย การพิจารณา คดีทเี่ ปนธรรมและ เปดเผย และการสันนิษฐานวาขบวนการ พิจารณาคดีจะเปนที่แลวเสร็จก็ตอเมื่อผูตองหาบริสุทธิ์ • เสรีภาพในการเคลือ่ นไหว เสรีภาพทางความคิด มโนธรรม และศาสนา เสรีภาพในทางความคิดเห็นและการแสดงออก เสรีภาพในการชุมนุมและสมาคม • เสรีภาพจากความเปนทาส จากการปฏิบตั หิ รือการลงโทษ อยางทรมาน หรือโหดราย ผิดมนุษยธรรม หรือตํ่าชา และ ปลอดจากการถูกจับกุม กักขัง หรือเนรเทศตามอําเภอใจ • สิทธิในการไดสัญชาติ ไดสมรส เปนเจาของทรัพยสิน • สิทธิที่จะมีสวนรวมในรัฐบาลของประเทศตน • สิทธิในการทํางาน ในการไดรบั คาจางทีเ่ หมาะสมกับงาน ที่ทํา ในการพักผอนและหยอนใจ ในการไดรับมาตรฐาน ความเปนอยูและการศึกษาอยางเพียงพอ และในการเขา รวมกับสหภาพแรงงาน • สิทธิในการแสวงหาที่ลี้ภัยจากการถูกขมเหงรังแก
UDHR ชวยในการกําหนดวา สิทธิมนุษยชนเปน ความรับผิดชอบของนานาประเทศ มิใชเปนเพียงเรือ่ งภายใน ของประเทศเทานั้น และยังชวยกําหนดหลักการที่วา สิทธิมนุษยชนทั้งหลายนั้นเปนสากล และไมอาจแบงแยก ได ซึ่งหมายความวา ประชาชนทุกคน ควรพึงพอใจกับ สิทธิมนุษยชนทั้งหมดที่มีอยู ทั้งนี้ จะไมมีสิทธิประเภทใดที่ ทําใหประชาชนพอใจได หากตองสูญเสียสิทธิประเภทอืน่ ไป ถึงแมวา UDHR จะเปนแรงบันดาลใจใหกฎหมาย สิทธิมนุษยชนสากลสวนใหญ แต UDHR เองกลับไมใชสนธิ สัญญาที่มีสถานะเปนกฎหมาย แตเปนเพียงคําประกาศ เจตจํานงคและหลักการเทานั้น กระนั้นก็ตาม อุดมการณที่ เนนหนักในปฏิญญานัน้ ไดฝง แนนอยูภ ายใตกฏหมายระหวาง ประเทศ ทีบ่ ทบัญญัตจิ าํ นวนมากไดรบั อํานาจอยางแทจริง อนึง่ ไดมกี ารถกเถียงถึงสถานภาพตามกฎหมายของ UDHR ทั้งหมดหรือบางสวนไมวาจะในสถานะแงคิดของกฎหมาย จารีตระหวางประเทศ หรือการตีความอยางนาเชื่อถือของ กฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter) ภายใตกฎบัตรสหประชาชาติ สมาชิกทุกประเทศ ใหคําปฏิญาณที่จะสงเสริมการยึดถือสิทธิมนุษยชน และ เสรีภาพพืน้ ฐาน และ UDHR ก็เปนคํากลาวทีน่ า เชือ่ ถือของ สิทธิและเสรีภาพเหลานั้น หลายประเทศไดสอดแทรกเขา ไวในรัฐธรรมนูญและกฎหมายภายในของตน ในการลงมติ ที่ประชุมสมัชชาใหญและองคกรดานสิทธิมนุษยชนของ องคการสหประชาชาติ ไดยาํ้ แลวยํา้ เลาใหมกี ารดําเนินงาน และเคารพตอบทบัญญัติที่กําหนดไวใน UDHR หลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ไดรบั สถานภาพทางกฏหมายในมาตรฐานสากล 2 อนุสญ ั ญา ดังนี้ กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights)
Amnesty International Thailand
องคการสหประชาชาติไดดาํ เนินงานตามหลักการ ของ UDHR ในมาตรฐานสากลอืน่ ๆ เปนจํานวนมาก ซึง่ บาง มาตรฐานก็ไดมีการพัฒนากลไกการดําเนินงานขึ้นมา ตัวอยางมาตรฐานเหลานั้น ไดแก: • อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ ในทุกรูปแบบ (The International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination) • อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุก รูปแบบ (The Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women) • อนุสญ ั ญาวาดวยการตอตานการทรมาน The Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment (the Convention against Torture) • อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก The Convention on the Rights of the Child. ดูเครือ่ งมือสิทธิมนุษยชนวาดวยกลไกสิทธิมนุษยชน มาตรฐานสิทธิมนุษยชน และอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ระหวางประเทศ (International human rights instruments, International human rights mechanisms, International human rights standards and International human rights treaties)
ปฏิบัติการดวน (Urgent Actions) แผนปฏิบัติการดวนของ AI ตองอาศัยการระดม พลังอยางฉับพลันของสมาชิกเครือขายทั่วโลก ในอันที่จะ ลงมือปฏิบัติการอยางรวดเร็วหลังจากเพิ่งไดรับขาวสารใน ระยะเวลาอันสัน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ปกปองผูค นทีช่ วี ติ หรือความมัน่ คง ดานอืน่ กําลังตกอยูใ นอันตราย ปฏิบตั งิ านดวนเปนการลงมือ ปฏิบตั เิ พือ่ ชวยเหลือนักโทษทีก่ าํ ลังตกอยูใ นความเสีย่ งของ การถูกทรมาน การประหารที่ใกลเขามา หรือ “การหาย สาบสูญ” ในระหวางถูกคุมขัง คําอุทธรณเชนนัน้ ยังจัดสงใน กรณีที่นักโทษจําเปนตองไดรับการเยียวยาทางการแพทย โดยดวน หรือเมื่อพวกเขาถูกทรมาน หรือเมื่อสภาพภายใน ที่คุมขังคุกคามตอชีวิตของพวกเขา เปนตน ขอมูลในกรณีที่ ตองมีการปฏิบตั เิ รงดวนนัน้ จะสงออกจากสํานักเลขาธิการ สากล ไปยังผูป ระสานงานสาขา ซึง่ จะสงขอมูลตอไปยังกลุม ตางๆ และบุคคลที่อยูในเครือขาย หลังจากนั้นพวกเขาก็จะ สงจดหมายสั้นๆ โทรสาร อีเมล และโทรเลขไปยังทางการ เปาหมายใหเร็วที่สุดเทาที่จะทําได ทั้งนี้ปฏิบัติการดวนจะ ไดรบั การแปลเปนภาษาฝรัง่ เศสและสเปนในทันทีโดย EFAI และ EDAI เพื่อใหแนใจวาเครือขายที่ปฏิบัติงานในภาษา เหลานี้ สามารถมีสวนรวมในการสงคําอุทธรณ อนึ่ง สํานัก เลขาธิการสากลจัดสงปฏิบัติการดวนออกไปแลวมากกวา 800 เรื่อง และปรับปรุงขอมูลทุกๆ ป ซึ่งภายใน 48 ชั่วโมง ปฏิบัติงานดวนแตละเรื่องสามารถสงคําอุทธรณไดจํานวน หลายรอยฉบับ ทัง้ นี้ AI มีหลักฐานของปฏิบตั งิ านดวนจํานวน 3 เรื่อง (ที่จัดสงไปยังประเทศเดียวกัน) สามารถผลิตคํา อุทธรณไดถึง 30,000 ฉบับในหนึ่งสัปดาห และปฏิบัติงาน ดวน 1 เรื่อง ผลิตคําอุทธรณไดถึง 20,000 ฉบับภายในชวง เวลา 3 เดือน ในจํานวนมากกวาหนึ่งในสามของคดีเหลานี้ ไดรับรายงานวาสถานการณดีขึ้น โทษประหารชีวิตเปลี่ยน เปนเบาบางลง นักโทษที่ “หายสาบสูญ” “ไดกลับมาปรากฏ ตัว” การจับกุมไดรบั การชีแ้ จง ผูถ กู คุมขังไดรบั การปลอยตัว นักโทษที่ปวยหนักไดรับการเอาใจใสเยียวยา
51
ความรุนแรงตอสตรี (Violence against women) ตามที่ระบุในปฏิญญาแหงสหประชาชาติวาดวย การขจัดความรุนแรงตอสตรี (UN Declaration on the Elimination of Violence against Women) นั้น “ความ รุนแรงตอสตรี” หมายถึง “ความรุนแรงอันสืบเนือ่ งจากความ แตกตางทางเพศที่สงผลตอ หรือมีแนวโนมวาจะสงผลตอ ความเสียหายหรือความทรมานตอสตรี ทัง้ ทางรางกาย ดาน เพศ หรือทางจิตใจ รวมทั้งการคุกคามของการกระทํานั้น การขูเ ข็ญ หรือทําใหหมดสิน้ เสรีภาพโดยอําเภอใจ ไมวา จะ เกิดขึ้นในที่สาธารณะหรือในชีวิตสวนตัว...เปนที่เขาใจวา ความรุนแรงตอสตรีมีอยูทั่วไป แตไมถูกจํากัดอยูเฉพาะใน สถานทีต่ อ ไปนี:้ (1) ความรุนแรงทางกาย ดานเพศ และดาน จิตใจ ซึ่งเกิดขึ้นในครอบครัว รวมทั้งการทุบตี การลวงเกิน ทางเพศในเด็กหญิงที่อยูในครอบครัว ความรุนแรงอันสืบ เนื่องจากสินเดิม การขมขืนในการสมรส การเฉือนอวัยวะ เพศสตรี และการปฏิบัติตามประเพณีอื่นๆ ที่เปนอันตราย ตอสตรี ความรุนแรงระหวางผูท มี่ ใิ ชสามีภรรยา ความรุนแรง ที่เกี่ยวของกับการหาประโยชน (2) ความรุนแรงทางกาย ดานเพศ และจิตใจ ซึง่ เกิดขึน้ ในชุมชนทัว่ ไป ไดแก การขมขืน การลวงเกินทางเพศ การขมขูแ ละคุกคามทางเพศในสถาน ทีท่ าํ งาน ในสถาบันการศึกษา และสถานทีอ่ นื่ ๆ การลอลวง สตรีและบังคับใหขายบริการ (3) ความรุนแรงทางกาย ดาน เพศ และจิตใจ ซึง่ รัฐเปนผูก ระทํา หรือละเวนโทษให ซึง่ เกิด ขึ้นที่ใดก็ได” AI รณรงคตอ ตานการทีร่ ฐั ทําการละเมิดสิทธิมนุษย ชนอยางรุนแรงเสมอ เชน การทรมาน (ซึ่งไดแก การขมขืน โดยเจาหนาทีร่ ฐั และ การขมขืนทามกลางความขัดแยงดาน อาวุธ) การสังหารอยางผิดกฏหมาย และ “การหายสาบสูญ ของบุคคล” ในหลายปที่ผานมา AI ไดขยายขอบเขตความ รับผิดชอบดวยการตอตานความรุนแรงตอสตรีทุกรูปแบบ ที่ผูกระทํามิใชเจาหนาที่รัฐ เพราะรัฐบาลไมไดปฏิบัติตาม พันธกรณีของการคุมครองสตรีอยางมีประสิทธิผล มาตรฐานสากลดานสิทธิมนุษยชน ไดระบุไวอยาง ชัดเจนวารัฐมีหนาทีท่ จี่ ะรับประกันวา ไมมผี ใู ดตองถูกทรมาน หรือไดรบั การปฏิบตั อิ ยางเลวราย ไมวา จากการกระทําของ เจาหนาที่รัฐ หรือบุคคลภายนอก รัฐมีพันธกรณีที่ตองใช มาตรการทุกอยางเพื่อปองกัน และชดเชยการละเมิดเหลา นั้น ตลอดจนตัดสินลงโทษผูกระทําการละเมิดดวย
AI พิจารณาวา การกระทําซึง่ เปนความรุนแรงตอ สตรีภายในบานหรือในชุมชนนัน้ เปนการทรมาน ซึง่ รัฐตอง รับผิดชอบในเมื่อลักษณะและระดับความรุนแรง เปนไป ตามรูปแบบการทรมานที่ระบุไวในมาตรฐานสากล และรัฐ ไมไดปฏิบัติตามพันธกรณีของการใหความคุมครองที่มี ประสิทธิภาพ ‘การปฏิบัติงานในประเทศของตน’ AI ไดรบั การกอตัง้ ขึน้ มาภายใตความเชือ่ ทีว่ า การ คุมครองสิทธิมนุษยชนนั้น เปนความรับผิดชอบของนานา ประเทศ มิใชเปนเพียงเรื่องภายในประเทศของตนเทานั้น ดังนัน้ เพือ่ ทีจ่ ะรักษาความเปนอิสระและปราศจากอคติของ องคกรฯ และใหความมั่นคงแกสมาชิกและหนวยงานใน สังกัด AI ไดคงไวซึ่งนโยบายที่จะกําหนดขอบเขตของการ ปฏิบัติงาน ที่สมาชิกและเจาหนาที่ AI สามารถดําเนินงาน ที่เกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศของตน ได (เปนทีร่ จู กั กันวาคือกฎ “การปฏิบตั งิ านในประเทศของตน”)
Amnesty International Thailand
โครงสรางและการจัดสรรความรับผิดชอบระหวาง สวนที่แตกตางขององคกรฯ นั้น กําหนดขึ้นเพื่อรับประกัน ความสอดคลองและความเปนหนึง่ เดียวกันอยางสากล สาขา และโครงสรางการประสานงานทั้งหมดของ AI ปฏิบัติงาน ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งขององคกรสากล และบนพื้นฐาน ของทรัพยากรทีไ่ ดรบั หรือความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สากลขององคกรฯ นับเปนเวลาหลายปทนี่ โยบาย “การปฏิบตั งิ านใน ประเทศของตน” ไดมกี ารเปลีย่ นแปลงหลายครัง้ จนกระทัง่ ในป 2544 สมาชิกสามารถที่จะ • จัดโครงการสิทธิมนุษยชนศึกษาระดับชาติและระดับทอง ถิ่น ไวในหลักสูตรโรงเรียน มหาวิทยาลัย และภายในชุมชน • ดําเนินการรณรงคผลักดันใหรฐั บาลเพือ่ ปรับปรุงกฏหมาย และนโยบายใหสอดคลองกับสิทธิมนุษยชน • รณรงคเพื่อยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศของตน • รณรงคโนมนาวรัฐบาลของตน เพื่อใหสัตยาบันในสนธิ สัญญาดานสิทธิมนุษยชนสากล • จัดแปล และเตรียมพรอมที่จะแจกจายรายงานระหวาง ประเทศของ AI ใหแกทกุ ประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ ประเทศของ ตนเอง • ริเริ่มในการปองกันมิใหผูแสวงหาความคุมครอง และผูลี้ ภัย ถูกสงตัวกลับไปยังประเทศซึ่งมีแนวโนมวา พวกเขาจะ ตกเปนเหยื่อแหงการละเมิดสิทธิมนุษยชน • ยืนหยัดตอตานการโยกยายอาวุธยุทโธปกรณทางทหาร
ตํารวจ หรือกองกําลังไปยังประเทศที่มีแนวโนมวาจะเกิด การละเมิดสิทธิมนุษยชน ในป 2544 ที่ประชุมสภานานาชาติ ไดมีมติวา สาขาอาจปฏิบตั งิ านในเรือ่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชนเฉพาะ บางเรื่องในประเทศของตน โดยมีเงื่อนไขดังนี้ • คณะกรรมการสาขา หลังจากปรึกษาหารือกับสมาชิก สาขาแลว ไดมีมติดําเนินงาน โดยมีความสอดคลองกับ กระบวนการประชาธิปไตยภายในสาขานั้นๆ • งานที่มีมติใหปฏิบัตินั้น จะตองดําเนินการโดยตั้งอยูบน พืน้ ฐานของงานวิจยั และอุปกรณทไี่ ดรบั ความเห็นชอบจาก สํานักเลขาธิการสากล และ • งานทีจ่ ะปฏิบตั นิ ตี้ อ งอยูภ ายในปจจัยทีก่ าํ หนดของกลยุทธ ระหวางประเทศ รวมทั้งกลยุทธการพัฒนาสําหรับประเทศ นัน้ ๆ และภายในบริบทของความตกลงอันเหมาะสมระหวาง สาขาและคณะกรรมการบริหารสากล (IEC) สาขาซึ่งปฏิบัติงานดังกลาว ยังจําเปนตองแสดง ใหเห็นวา งานนั้นดําเนินการควบคูกับโปรแกรมการปฏิบัติ งานดานการละเมิดอยางแทจริงในประเทศอื่นๆ อีกดวย นอกจากนั้นยังมีมติวา ในชวงของการทดลองที่กําหนดไว ทาง IEC จะคัดเลือกบางสาขาจากบรรดาสาขาที่นาสนใจ เพือ่ มอบหมายการปฏิบตั งิ าน หรือใหจดั ทําวิจยั และอุปกรณ การรณรงคทเี่ กีย่ วของกับประเด็นเฉพาะในประเทศของพวกเขา
คําอุทธรณทั่วโลก (Worldwide Appeals) คําอุทธรณทั่วโลกเปนกรณีที่เกี่ยวของกับผู สูญเสียแตละรายของการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งสมาชิก AI ทั่วโลกลงมือปฏิบัติ คําอุทธรณทั่วโลกแตละครั้ง เปนการคัดเลือกมา จากผูส ญ ู เสียหลายพันราย ซึง่ AI สังเกตไดวา จะเปนประโยชน กวา หากดําเนินการเขียนจดหมายและประชาสัมพันธ คําอุทธรณทั่วโลกไดถูกนํามาลงในจดหมายขาว AI หรือ the Wire ซึ่งนํามาแปลและจัดพิมพโดยสาขาและ กลุมตางๆ เพื่อที่ประชาชนนับรอยนับพันคนทั่วโลก จะได ตื่นตัวตอสถานการณของผูสูญเสียแตละราย และอาจสง คําอุทธรณ และทําการรณรงคใหพวกเขา
คําอุทธรณทวั่ โลกสามารถพบไดใน เว็บไซตของ AI: www.amnesty.org ในภาษาหลักทั้งหมด คําอุทธรณดงั กลาวจะอยูใ นรูปบทสรุปประวัตคิ ดีของ ผูส ญ ู เสียมักจะมีรปู ภาพ ชือ่ คํานําหนา และทีอ่ ยูข องเจาหนาที่ อาวุโสในรัฐบาลเปาหมาย และการเรียกรองเปนพิเศษของ AI ในคดีดังกลาว ขอมูลปรับปรุงใหมในแตละคดีจะไดรับการ ตีพิมพใน the Wire และนํามาลงใน www.amnesty.org หลังจากมีขอมูลพรอมแลว
53