trainee sirinapa sarapat

Page 1

1


2

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ข้าพเจ้าได้มาฝึกงาน ณ บริษัท D-dance School ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2556 ถึงวันที พฤษภาคม พ.ศ.6552 ส่งผลให้ข้าพเจ้าได้รับความรู้ใหม่ๆและประสบการณ์ต่างๆอย่างมากมาย สาหรับ รายงานการฝึกงานฉบับนี้สาเร็จลงได้ด้วยดีจากความร่วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่ายดังนี้ คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี ประธานบริษทั D-dance School คุณ อรอนงค์ มีอินทร์เกิด ผู้บริหารบริษัท D-dance School และบุคคลท่านอื่นๆใน บริษัท D-dance School ทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทารายงานฉบับ นี้ ข้าพเจ้าใคร่ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล เป็นที่ปรึกษาในการทา รายงานฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิตการทางานจริง ข้าพเจ้า ขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่นี้

นางสาวสิรินภา สารพัฒน์ ผู้จัดทารายงาน 1 มิถุนายน พ.ศ.2556


3

บทคัดย่อ (Abstract) บริษัท D-dance School เป็นโรงเรียนสอนเต้นจุดเริ่มต้นของ D-dance School คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี หรือครูอู๋ ประธานบริษัท เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการออกแบบท่าเต้นให้กับให้กับศิลปิน บริษัท GMM grammy เช่น เบิร์ด ธงไชย นัท มีเรีย คริสติน่า อากีเลร่า เป็นต้น คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี หรือครูอู๋ จึงได้ เปิดโรงเรียนสอนเต้นขึ้นมาในบริษัท GMM grammy ภายใต้ชื่อ D-Dance Troupe ต่อมา เนื่องจากมีหลาย สาขาจึงได้ตั้งชื่อแตกต่างกันออกไปคือ D-dance School ซึ่งขาดไม่ได้เลยคือการโฆษณาการขายของบริษัท และสือประชาสัมพันธ์เพื่อให้ผู้คนได้รู้จัก graphic design จึงมีบทบาทสาคัญในบริษัทเป็นอย่างมากเพราะต้อง อาศัยสื่อต่างๆ เพื่อให้คนรู้จัก D-dance School มากขึ้น การโฆษณาไม่ได้มีเพียงการขายเพียงอย่างเดียว แต่ ยัง ออกแบบสื่อโฆษณาโดยให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นและการโฆษณาเพื่อให้ข่าวสารอีกด้วย


4

สารบัญ กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ บทที่ 1 บทนา 1.1 ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ 1.2 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นิสิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ 1.3 ช่วงระยะเวลาฝึกงาน 1.4 สภาพในการทางาน 1.5 วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1.6 การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบัติงาน การจัดการภายในองค์กร 2.1 ที่มาและจุดเริ่มต้นของ D-dance School 2.2 การจัดองค์กรเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาด บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 3.1 หลักการของการปฎิบัติงาน 3.3 การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 3.4 งานที่ได้รับมอบหมาย บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน 4.1 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา 4.2 ขั้นตอนการพัฒนาผลงาน 4.3 ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน บรรณานุกรม

หน้า 1 2 4 4 4 4 5 5 5 8 8 8 9 9 9 10-21 22 23-25 26-29 29-33 34-36 37


5

บทที่ 1 บทนา ชื่อและที่ตั้งสถานที่ประกอบการ หน่วยงานที่ฝึกงาน : บริษัท D-dance School แผนก graphic design ที่ตั้ง : เลขที่ 19/14-15 ซอยศูนย์วิจัย-พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขว้าง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์: 02-641-5122 Fax: 02-641-5122 https://www.facebook.com/DDanceSchool ลักษณะการประกอบกิจการดาเนินงานเกี่ยวกับ บริษัท D-dance School เป็นโรงเรียนสอนเต้นชือ่ ดั้งอยู่ภายใต้ บริษัทใหญ่ของ GMM grammy สิ่งที่ทางบริษัท D-dance School ต้องการคือการ โฆษณาและการประชาสัมพันธ์บริษัท ซึ่งการที่ต้องทาสื่อ ประชาสัมพันธ์ต่างต้องให้ฝ่าย graphic design เป็นผู้ดูแล ส่วนงานที่ต้องทาก็จะมีการโฆษณาโปสเตอร์คอร์ สเรียนต่างๆในแต่ละช่วงเวลาเพื่อให้ลูกค้าและคนที่สนใจมาติดต่อสอบถาม และยังมีการโฆษณาเกี่ยวกับท่าเต้น และราคาของแต่ละคอร์สเรียนอีกด้วย การประชาสัมพันธ์แต่ละครั้งก็จะมีการอ้างอิงถึงบุคคลภายนอกที่ประสบ ความสาเร็จไปแล้ว เช่น ดารา และ ดารานักร้องที่มีชื่อเสียง การประชาสัมพันธ์ของบริษัท D-dance School ไม่ได้มีเพียงโฆษณาที่เรียกลูกค้าจากภายนอกเท่านั้น ยังมีการทดสอบการเรียนโดยการจัดคอนเสิร์ต showcase ซึ่งการจัดแสดงต้องมีการโฆษณาโดยสื่อต่างๆเพื่อให้นักเรียนที่เรียนสนใจและอยากแสดง ทาให้มีการโฆษณา และการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์และทาให้เกิดรายได้เพิ่มขึ้นให้กับบริษัทอีกด้วย ตาแหน่งและลักษณะงานที่นิสิตได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี ประธานบริษัท D-dance School คุณ อรอนงค์ มีอินทร์เกิด ผู้บริหารบริษัท D-dance School ผู้บริหารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ช่วงระยะเวลาฝึกงาน : วันที่ 1 มีนาคม-31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทางานช่วงเวลาในการฝึกงาน :เริ่มฝึกงานตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม - 31 พฤษภาคม ทางานวันจันทร์-ศุกร์ หยุดเสาร์อาทิตย์ เริ่มงานเวลา 9.30 น.จนถึงเวลา 18.00 น.เวลาพักกลางวันเวลา 12.00– 13.00 น.


6

สภาพในการทางาน : สถานที่ทางานตั้งอยู่ RCA อยู่ในตึกหัวมุมตรงซอยศูนย์วิจัย อยู่ชั้น 2 ของตึกลักษณะเป็น ชั้นลอยซึ่งเป็นส่วนของการปฏิบัติงานด้านกราฟฟิกและมีเดียมีแผนกที่ทางานด้านมีเดียออกแบบเว็บไซต์ ออกแบบกราฟิกและดิจิตอลรูปแบบการจัดการองค์กรและการบริการงานขององค์กร มีเดียงานโฆษณาโดยมีห้องทางานเป็นโต๊ะทางานแบบล็อคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์คนละเครื่องส่วน นักศึกษาฝึกงานให้นาเครื่องมาเองมีสายWireless หรือ Ethernet (Lan)ให้ต่อเพื่อสืบค้นข้อมูลหาข้อมูลอ้างอิง ในการทางาน หลักการ 1.พัฒนาฝีมือและประสบการณ์ให้เป็นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.มีการฝึกสถานการณ์จริงให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้กับนักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ชีวิตการทางานที่แท้จริง 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางาน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นักศึกษานาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกงานมาประยุกต์ใช้ในการทางานต่อไป การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาป่วย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทา การ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม


7

10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อกลับมา ยังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.ให้มีการฝึกสถานการณ์จริงให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้กับนักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศักยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผู้ใช้ วัตถุประสงค์ของการฝึกงาน 1. เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสเรียนรู้และได้รับ ประสบการณ์ชีวิตการทางานที่แท้จริง 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เตรียมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทางาน 3. เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักการปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นักศึกษานาประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกงานมาประยุกต์ใช้ในการทางานต่อไป การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาป่วย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทา การ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม


8

10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อกลับมา ยังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึน้ ระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะฯ หรือมหาวิทยาลัย


9

บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบัติงาน การจัดการภายในองค์กร ที่มาและจุดเริ่มต้นของ D-dance School บริษัท D-dance School เป็นโรงเรียนสอนเต้นจุดเริ่มต้นของ D-dance School คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี หรือครูอู๋ ประธานบริษัท เป็นผู้อยู่เบื้องหลังการออกแบบท่าเต้นให้กับให้กับศิลปิน บริษัท GMM grammy เช่น เบิร์ด ธงไชย นัท มีเรีย คริสติน่า อากีเลร่า เป็นต้น คุณ เปรมจิตต์ อานรรฆมณี หรือครูอู๋ จึงได้เปิดโรงเรียนสอน เต้นขึ้นมาในบริษัท GMM grammy ภายใต้ชื่อ D-Dance Troupe ต่อมา เนื่องจากมีหลายสาขาจึงได้ตั้งชื่อ แตกต่างกันออกไปคือ D-dance School ซึ่งขาดไม่ได้เลยคือการโฆษณาการขายของบริษัทและสือประชา สัมพันธ์เพื่อให้ผู้คนได้รู้จัก graphic design จึงมีบทบาทสาคัญในบริษัทเป็นอย่างมากเพราะต้องอาศัยสื่อต่างๆ เพื่อให้คนรู้จัก D-dance School มากขึ้น การโฆษณาไม่ได้มีเพียงการขายเพียงอย่างเดียว แต่ยัง ออกแบบสื่อ โฆษณาโดยให้ความรู้เกี่ยวกับการเต้นและการโฆษณาเพื่อให้ข่าวสารอีกด้วย การจัดองค์กรเพื่อการโฆษณาและการส่งเสริมการตลาด การโฆษณาเพื่อชักจูง การโฆษณาเพื่อชักจูงใจนั้นจาเป็นต้องสร้างแรงจูงใจให้เกิดกับผู้บริโภค ทาให้เกิดการคล้อยตามที่จะซื้อสินค้า และ บริการ สามารถใช้หลักการดังนี้ คือ 1. จูงใจให้เกิดความสนใจที่จะซื้อคอร์สเรียน - การออกแบบสื่อโฆษณานี้ ต้องชี้แนะให้ผู้บริโภคเกิดความประ สงค ์ในการเรียนอย่างชัดเจนต้องมีการออกแบบให้น่าสนใจ 2. จูงใจให้เกิดความประทับใจ -การโฆษณาโดยสื่ออย่างโปสเตอร์ต้องสร้างความประทับใจกับผู้บริโภค โดยใช้ ศิลปะของ การสื่อสารโดยคาโฆษณาบนโปสเตอร์ เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความอยากรู้ อยากเห็น เร้า อารมณ์ ก่อให้เกิดความรู้สึกคล้อยตาม และเกิดความประทับใจในคุณภาพและบริการ 3. จูงใจให้เกิดความพึงพอใจ - การโฆษณานี้ต้องสร้างภาพพจน์ของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับความพึงพอใจ ของผู้บริโภค โดยเอาจุดเด่นของโรงเรียน D-dance School มาสร้างสรรค์งานสื่อโฆษณา 4. จูงใจให้เกิดความภูมิใจในสถาบันโรงเรียน สอนเต้น D-dance School - การโฆษณาในลักษณะนี้มักนาเอา บุคคลสาคัญ และเป็นที่รู้จักมาเป็นแบบในโฆษณา เพื่อให้ผู้บริโภคทั่วไปเห็นว่า บุคคลสาคัญยังมาเรียนวิธีการ เต้นที่ สถาบันโรงเรียน สอนเต้น D-dance School แห่งนี้จึงเกิดความภาคภูมิ ใจเมื่อได้มาเรียนเต้นที่สถาบัน แห่งนี้


10

บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการของการปฎิบัติงาน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สร้างเสริมประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็นจริงในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้อย่าง มีเหตุผล 3. เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินัย และทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพือให้มีเจตคติที่ดีต่อการทางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพต่อไปภายหลังจากสาเร็จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ งานที่ได้รับมอบหมาย การปฏิบัติตัวระหว่างการฝึกงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น 3. แต่งกายชุดนักศึกษา กรณีใส่เสื้อช็อปต้องผ่านความเห็นชอบจากบริษัทก่อน 4. การลากิจ ลาป่วย ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่องการวางตัวและการใช้เครื่องมือสื่อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่องระยะเวลาการฝึกงานหรือ เรียกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสินใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึกงานก็คือการทางาน และทาการ ฝึกงานอย่างเต็มกาลังความสามารถ 9. การไปฝึกงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่ กระทาการ ใด ๆ ที่จะทาให้เสื่อมเสียต่อส่วนรวม 10. ในระหว่างการฝึกงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคาปรึกษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อ กลับมายังอาจารย์ประจาภาควิชา แต่ถ้ามีปัญหาเกี่ยวกับการฝึกงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึกงานให้ติดต่อคณะมนุษยศาสตร์และสัง คมศาสตร์ หรื อ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม


11

งานที่ได้รับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ ออกแบบ ตารางเรียน class Kiss& Teens สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 1 แสดงภาพผลงานออกแบบตารางเรียน class Kiss& Teens สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบตารางเรียน class Kiss& Teens เป็นการเริ่มต้นการทดสอบ มาตรฐานการทางานการออกแบบ ปัญหาที่เกิดขึ้น การเลือกใช้ฟอนต์ที่ไม่เหมาะกับพื้นหลังทาให้ ฟอนต์ไม่เด่นสะดุดตาอ่านยาก การแก้ไขปัญหา ดูงานจากตัวอย่างใกล้เคียงแล้วหาฟอนต์ที่ใกล้เคียงและเหมาะสมกับแล้วปรึกษาผู้ควบคุม ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น 2. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ อธิบายท่าเต้นต่างๆ สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design


12

ภาพที่ 2 แสดงภาพผลงานออกแบบออกแบบ โปสเตอร์ อธิบายท่าเต้นต่างๆ สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบออกแบบ โปสเตอร์ อธิบายท่าเต้นต่างๆ เป็นโปสเตอร์อธิบาย ท่าเต้นเข้าแต่และ class เรียน ด้านล่างเป็นภาพของ มาสเตอร์แสดงเอกลักษณ์ของแต่ละท่า ปัญหาที่เกิดขึ้น การออกแบบให้เพียงพอต่อขนาด การแก้ไขปัญหา ดูงานจากตัวอย่างใกล้เคียงแล้วทดลองปริ้นออกมาดูว่าตัวหนังสือเล็กหรือใหญ่ขนาดไหน ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น

3. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ ราคาค่าเช่าห้องซ้อมเต้นของ D-play สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design


13

ภาพที่ 3 แสดงภาพผลงานออกแบบ ราคาค่าเช่าห้องซ้อมเต้นของ D-play สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ราคาค่าเช่าห้องซ้อมเต้นของ D-play ปัญหาที่เกิดขึ้น การเลือกใช้ฟอนต์ที่ไม่เหมาะกับพื้นหลังทาให้ ฟอนต์ไม่เด่นสะดุดตาอ่านยาก การแก้ไขปัญหา ดูงานจากตัวอย่างใกล้เคียงแล้วหาฟอนต์ที่ใกล้เคียงและเหมาะสมกับแล้วปรึกษาผู้ควบคุม ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น

4. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ showcase สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design


14

ภาพที่ 4 แสดงภาพผลงานออกแบบโปสเตอร์ showcase สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ โปสเตอร์ showcase ปัญหาที่เกิดขึ้น การเลือกใช้สีของโปสเตอร์ ต้องทาให้สดุดตาผู้คนที่ผ่านไปมา การแก้ไขปัญหา ดูงานจากตัวอย่างใกล้เคียงและเหมาะสมกับแล้วปรึกษาผู้ควบคุม ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น


15

5. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ promotion summer สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 5 แสดงภาพผลงานออกแบบโปสเตอร์ promotion summer สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบโปสเตอร์ promotion summer ปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้ควบคุมต้องการทาให้เหมือนกระดาษดาและขอให้ใช้ฟ้อนสีเขียว จึงเกิดความไม่เข้ากันของสี ฟ้อนกับพื้นหลัง การแก้ไขปัญหา หาฟ้อนให้เข้ากับพื้นหลังและใช้สีให้เข้ากันมากที่สุด ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น


16

6. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ ออกแบบโปสเตอร์ Kosei สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 6 แสดงภาพผลงานออกแบบโปสเตอร์ Kosei สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบโปสเตอร์ Kosei ผู้ออกแบบท่าเต้นแบบ LA style จากประเทศ ญี่ปุ่น ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหา ประสบการณ์ที่ได้รับ การใช้เทคนิคโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ทางานเร็วขึ้น


17

7. เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ ตารางสอนท่าเต้นแบบ LA styleของ Kosei สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 7 แสดงภาพผลงานออกแบบโปสเตอร์ ตารางสอนท่าเต้นแบบ LA styleของ Kosei สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบโปสเตอร์ Kosei ผู้ออกแบบท่าเต้นแบบ LA style จากประเทศ ญี่ปุ่น ด้านล่างเป็นตารางสอนของ คุณ Kosei ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหา ประสบการณ์ที่ได้รับ ได้มีความรู้ในการออกแบบเริ่มขึ้น


18

8 . เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ free work shop สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 8 แสดงภาพผลงานออกแบบ โปสเตอร์ free work shop สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบ โปสเตอร์ free work shop ให้กับโรงเรียนสอนเต้า D-dance School สาขา สยาม ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหา-ประสบการณ์ที่ได้รับ การศึกษาดูตัวอย่างจากงานของต่างประเทศเพื่อให้งานดูทันสมัย เลือก ฟอนต์และออกแบบได้ทันสมัย


19

9 เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ private ATP สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 9 แสดงภาพผลงานออกแบบ โปสเตอร์ private ATP สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบ โปสเตอร์ private ATP แนะนาครูผู้สอนเต้น ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหาประสบการณ์ที่ได้รับ การใช้เทคนิคโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ทางานเร็วขึ้น


20

10 เรื่อง/รายการ ออกแบบ ประกาศนียบัตร star dance สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 10 แสดงภาพผลงานออกแบบ ประกาศนียบัตร star dance สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบ ประกาศนียบัตร star dance ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหาประสบการณ์ที่ได้รับ การใช้เทคนิคโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ทางานเร็วขึ้น


21

11 เรื่อง/รายการ ออกแบบ ประกาศนียบัตร d dance street summer scssions สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 11 แสดงภาพผลงานออกแบบ ประกาศนียบัตร d dance street summer scssions สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบ ประกาศนียบัตร d dance street summer scssions ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหาประสบการณ์ที่ได้รับ การใช้เทคนิคโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ทางานเร็วขึ้น


22

12 เรื่อง/รายการ ออกแบบ โปสเตอร์ค่าเรียนเหมาจ่าย หสักสูรต ATP สถานที่ แผนก D-dance School/ graphic design

ภาพที่ 12 แสดงภาพผลงานออกแบบ โปสเตอร์ค่าเรียนเหมาจ่าย หสักสูรต ATP สาระสาคัญที่ได้เรียนรู้และฝึกปฎิบัติ ออกแบบ โปสเตอร์ค่าเรียนเหมาจ่าย หสักสูรต ATP ปัญหาที่เกิดขึ้นการแก้ไขปัญหาประสบการณ์ที่ได้รับได้ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆในการออกแบบมากขึ้น


23

บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบัติงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อออกแบบสื่อโฆษณาให้กับ โรงเรียนสอนเต้น D-dance School ที่สามารถออกแบบเพื่อสื่อสารให้ กับผู้คนที่สนใจในการเต้นโดยผู้ออกแบบต้องตอบโจทย์ ของลูกค้าได้โดยการออกแบบให้สะดุดตาและเข้าใจง่าย และมีการวางแผนขั้นตอน ดังนี้ ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน(Pre Production Stage) 1. ตั้งสมมติฐาน 2. ศึกษาข้อมูลความต้องการของผู้ผลิต และความต้องการในการออกแบบ(Creative Brief) 3. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา(Case Study) 4. ศึกษาข้อมูลผลิตภัณฑ์ ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. ถ่ายภาพเพื่อเตรียมสร้างภาพกราฟิกและสร้างภาพจาลองโครงสร้างหรือหาภาพในสต็อกภาพ 6. การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1.ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด 2.การเขียนแบบกราฟิกแบบ 2 มิติ(Working Drawing) แก้ไขปรับปรุงตามความต้องการของผู้ควบคุม จนถูกต้อง 3. การทาแบบจาลองเลเอาท์รายละเอียดประกอบแบบ ง. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน(Post Production Stage) 1. เตรียมไฟล์แบบ high resolution และตรวจสอบจากลูกค้าอีกทีก่อนผลิตจริง 2. เตรียมไฟล์ Art Work พร้อมส่ง ก. ขั้นการวางแผนก่อนการผลิตผลงาน


24

การกาหนดประเด็นและการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องจากการวิเคราะห์ที่มาของปัญหาและ ตั้ง สมมติฐาน ผู้ ปฎิบัติงานได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนาไปสู่การออกแบบเพื่อให้ตรงตามสมมติฐานและ วัตถุประสงค์ ซึ่งสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐาน เมื่อทราบที่มาของปัญหาและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจึง ทาการตั้งสมมติฐาน เพื่อใช้ กาหนดขอบเขตแนวทางในการทางาน ดังนี้ แนวคิดในการพั ฒนาโปสเตอร์โฆษณาเพื่อสื่อสารให้ลูกค้าทราบว่า จะมีโปโมชั่นอะไรบ้าง ซึ่งมีการวางแนวการออกแบบหลัก ดังนี้ 1. ตรวจสอบความต้องการของลูกค้าเพื่อนามาเสนอจัดโปโมชั่น 2.ร่างแบบที่จะทา 3ใช้คาโฆษณาที่มีแรงจูงใจเพื่อให้ลูกค้าคล้อยตามกับคาโฆษณา 2. การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ดูงานออกแบบกับสินค้าที่ใกล้เคียงและวิเคราะห์ผลการศึกษา การจัด วางองค์ประกอบ ศึกษาเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบป้ายโฆษณา ทั้งในภาคเอกสาร และทางสื่อออนไลน์ ต่างๆ 4. การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา โดยมีกรณีศึกษา 3 ตัวอย่าง ดังนี้ 1. โปสเตอร์ คอนเสิร์ต Ruckus


25

ภาพที่ 13 แสดงภาพกรณีศึกษาจากสินค้าใกล้เคียง ที่มา: http://www.google.co.th/imgres?start 2. โปสเตอร์ s’cool dance party

ภาพที่ 14 แสดงภาพกรณีศึกษาจากสินค้าใกล้เคียง ที่มา: d-dance school 3. โปสเตอร์ ตัวอย่างงานพิมพ์


26

ภาพที่ 14 แสดงภาพกรณีศึกษาจากสินค้าใกล้เคียง ที่มา: http://www.coroflot.com/nephilim/poster-advertising-design ข. การกาหนดแบบร่างทางความคิดและการพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา 2. กาหนดเสนอผลการศึกษาและแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบแบบร่างทางความคิด โดยออกแบบตามแนวคิด(Concept) 4. เขียนแบบออกมาในรูปแบบภาพแบบขาว-ดา พร้อมวิเคราะห์และแก้ไข 5. ถ่ายภาพเพื่อเตรียมสร้างภาพกราฟิกและสร้างภาพจาลองโครงสร้างหรือหาภาพในสต็อกภาพ 6. การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม


27

ขั้นตอนการพัฒนาผลงาน

ภาพที่ 15 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP

ภาพที่ 16 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP


28

ภาพที่ 17 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP

ภาพที่ 18 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP


29

ภาพที่ 19 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP

ภาพที่ 20 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP


30

ภาพที่ 21 แสดงภาพการออกแบบโลโก้ ATP แบบเสร็จสมบรูณ์ ค. ขั้นการพัฒนาและการผลิตผลงาน(Development and Production Stage) 1. การเขียนแบบกราฟิกแบบ การทาโปสเตอร์ ATP โดยในโปสเตอร์ต้องมีเด็ กที่เรียน ATP เพื่อให้ผู้คนที่สนใจ นากลับไปดูได้และให้ผู้ที่สนใจได้ตระหนักถึงความเอาใจใส่ของทางโรงเรียนอีกด้วย งานออกแบบโปสเตอร์สื่อโฆษณาเป็นต้นแบบที่สามารถนาไปผลิตได้จริง ผู้วิจัยได้ทาการเขียนแบบที่มี คุณภาพงานเพื่อส่งโรงพิมพ์ได้เลย การทางานผู้วิ จัยได้เลือกใช้โปรแกรม Illustrator cs 5 (for mac) Photoshop cs ซึ่งการทางานในขั้นตอนนี้ผู้ปฏิบัติง านได้ศึกษาเรื่องราคาและขนาดก่อน แล้วจึงนามาเขียนแบบได้ อาร์ตเวิร์ค ซึ่งมีขั้นตอนการออกแบบโปสเตอร์ดั้งนี้ 1.ออกแบบพื้นหลังของโปสเตอร์ให้เสร็จก่อนเนื่องจากจะทาให้ง่ายและสะดวกต่อการออกแบบในขั้นตอนต่อไป


31

ภาพที่ 22 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP 2.นาคาโฆษณาของ cass ATP ใช้ลงไปในโปสเตอร์จัดวางให้สวยงาม


32

ภาพที่ 23 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP 3.นาโลโก้ที่ทาเสร็จแล้มาจัดวางให้เหมาะสม

ภาพที่ 24 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP

4.นาภาพของนักเรียนที่เรียน ATP มาใส่ในโปสเตอร์จัดวางให้สวยงาม

ภาพที่ 25 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP


33

5.เพิ่มความสวยงามของภาพโดยใส่ภาพนักเรียน ATP ที่กาลังแสดงผลงานเข้าไปแต่ทาให้ภาพเด่นน้อย กว่าภาพที่แนะนาตัว

ภาพที่ 26 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP 6.ต่อไปก็แค่นาภาพของนักเรียน ATP คนอื่นมาใส่แล้วก็เสร็จสมบรูณ์

ภาพที่ 27 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP


34

ภาพที่ 28 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP

ภาพที่ 28 แสดงภาพการออกแบบโปสเตอร์ ATP


35

บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภั ฏจั นทรเกษม นั้น นอกจากนั กศึ กษาจะได้ค วามรู้ ในหลั กสู ตรแล้ว การศึก ษาประสบการณ์วิ ชาชี พ ศิลปกรรมยังเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นที่นักศึกษาต้องทาการปฏิบัติก่อนการจบหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็น การเตรียมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัว ที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดาเนินชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึก ประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็นการฝึกทักษะการทางานและรู้จักการปรับตัวของการทางานร่วมกับผู้อื่น มี ประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ณ บริษัทD-dance School ในครั้งนี้ ทาให้ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิ่ง ขึ้น เข้าใจการทางานด้าน โฆษณา การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น การวางตัวในสังคมได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับนักศึกษาที่ ได้รับคือ การทางานของตนเองได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเองเปรียบเสมือนตนเองเป็นบุคลากร คนหนึ่งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือนญาติ ตั้งแต่วันแรกของการฝึกประสบการณ์จนถึง วันสุดท้ายของการฝึกประสบการณ์เป็นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรีจิตที่ดีต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อีก ทั้ ง ยั ง ให้ ค าแนะน าและช่ ว ยเหลื อ ในทุ ก ๆเรื่ อ ง ไม่ ว่ า จะเป็ น เรื่ อ งงานและเรื่ อ งส่ ว นตั ว แก่ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพเสมอมา ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้ารับการฝึกงาน 1.ได้เรียนรู้ถึงกระบวนการทางานต่างๆของการทางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึกงานในหน่วยงาน ที่ได้รับมอบหมายทาให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทางานของฝ่ายอื่นๆอีกด้วยและได้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ และความสาคัญของการทางาน 2. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ illustrator photoshop การขึ้น mock up 3. งานด้านการสื่อสารเช่น การรับ brief งานการสั่งงานให้ฝ่ายรีทัช การสื่อสารระหว่างนักออกแบบ กับเจ้าของแบรนด์ขณะขายงานและการติดต่อสื่อสารกับทางสตูดิโอภาพ นายแบบ นางแบบ ต่างๆ 4. ได้ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพื่อเป็นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิดการ ออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ


36

ด้านนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน 1. ได้รับความรู้ใหม่และประสบการณ์ในสภาวะการทางานจริง 2. ฝึกให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมั่นใจในการทางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความคิดเห็น มากขึ้น 4. ได้เรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่นและเพิ่มทักษะการเรียนรู้ระบบการทางานในองค์กร 5. สามารถนาประสบการณ์จากการฝึกงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้ 6. ฝึกฝนให้เป็นคนช่างสังเกตและรู้จักปรับปรุงการพัฒนาการทางานของตน 7. เพิ่มพูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรียนรู้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนามาใช้ในการทางาน 9. ฝึกฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทางาน 10. สร้างเสริมสร้างเสริมลักษณะนิสัยให้เป็นคนตรงต่อเวลามากยิ่งขึ้น 14. ทาให้มีความขยันหมั่นเพียรมากยิ่งขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีมากขึ่น 12. ฝึกฝนให้เป็นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ด้านสถานประกอบการ 1. เปิดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึกงานที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในสิ่งใหม่เข้ามาทางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลืกบุคคลเข้ารับการฝึกงาน 3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนของการจ้างงานประจามากขึ้นเนื่องจากการดาเนินงานของนักศึกษาฝึกงาน มาช่วยทางานในส่วนที่สามารถช่วยทาได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของแต่ละ มหาวิทยาลัย ด้านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกับสถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรในการเรียนการสอนต่อไป


37

3. จากการส่งตัวเข้ารับการฝึกงานไปยังบริษัทต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เนื่องจากผู้ฝึกงานยังเป็นมือใหม่สาหรับงานออกแบบด้านกราฟิกเพราะฉะนั้นควรฝึกฝนฝีมือด้วยการดู งานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบเพราะงานออกแบบยังดูไ ม่ ทันสมัย และฝึกการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิกให้มีความชานาญยิ่งขึ้นเพื่อให้รวดเร็วในการทางาน การตอบรับจากที่ฝึกงาน จากการที่เข้าไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท D-dance School ได้รับการตอบรับเป็น อย่างดี มีการให้ความช่ วยเหลือในทุกๆด้าน ไม่ ว่าจะเป็นการให้คาแนะนาในการใช้ง านโปรแกรม เทคนิ ค ทางด้านโปรแกรม การให้ความรู้ทั้งในและนอกสถานที่โดยได้ไปศึกษางานในด้านการถ่านทาในสตูดิโอ การ ทางานตั้งแต่ขั้นเริ่มต้นและนาเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อฝึกทักษะการนาเสนอ ให้เราทางานจริง เสมือนนักศึกษา คือพนักงานคนหนึ่งขององค์กรณ์ ความรู้สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน การฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม ณ บริษัท D-dance School นักศึกษามีความประทับใจและดี ใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้เข้ารับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่องค์กรณ์ ที่นี่พนักงานทุกคนจะอยู่กันแบบพี่น้อง คอย ให้คาปรึกษาและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน การทางานจะทางานเป็นทีม ทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทางาน ร่วมกับบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี และการทางานที่นี้นักศึกษารู้สึกว่าได้ความรู้ต่างๆ มากมาย นอกเหนือจาก การศึกษาในชั้นเรียน คือ เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การทางานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบ และมีความ มั่นใจในตนเองมากขึ้น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของสถานประกอบการ ที่สาคัญนอกเหนือสิ่งใด คือ งานที่ นักศึกษาออกแบบสามารถนามาใช้ได้จริง ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีต่อการทางานจริงต่อไป


38

บรรณานุกรม หน่วยงานที่ฝึกงาน : บริษัท D-dance School แผนก graphic design ที่ตั้ง : เลขที่ 19/14-15 ซอยศูนย์วิจัย-พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขว้าง กรุงเทพ ฯ โทรศัพท์: 02-641-5122 Fax: 02-641-5122 https://www.facebook.com/DDanceSchool


39


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.