คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
ไฟล์ประกอบการติวออนไลน์ ครั้งที่ 2 ใช้ตวิ ออนไลน์ วันที่ 24 พ.ค.2562 สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และ[แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553] BY ครูพี่หนึ่ง จักรยาน ❑ การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หมายถึงอะไร การจัดระเบียบในการปกครองประเทศ ซึ่งต้องมีองค์กรในการบริหารกิจการของรัฐ โดยกำหนดว่ำมี องค์กรบริหำรรำชกำรอย่ำงไร ? มีหน้ำทีอะไรและอำนำจควำมรับชอบแค่ไหน ? เพื่อดาเนินการบริหารให้เป็นไป ตามนโยบายของรัฐมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บริการหรือสนองความต้องการของประชาชน ❑ การปกครองประเทศมีอานาจอยู่ 2 ระดับ คือ ระดับสูงสุด หรือ ระดับนโยบาย ถูกกำหนดโดยฝ่ำยกำรเมือง ได้แก่ นำยกฯ , รมว. , รมช ระดับรองลงมา หรือ เรียกว่าระดับปฏิบัติการ ได้แก่ ข้ำรำชกำรประจำในระดับต่ำง ๆ ❑ หลักอานาจในการปกครองประเทศ มี 3 หลักการดังนี้คือ หลักกำรรวมอำนำจปกครอง ( Centralization ) หลักกำรแบ่งอำนำจกำรปกครอง ( Deconcentralization ) หลักกำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง ( Decentralization ) หลักการบริหารราชการแผ่นดิน มี 3 หลักการดังนี้คือ ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลาง ใช้หลักกำรรวมอำนำจปกครอง ( Centralization ) ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภาค ใช้หลักกำรแบ่งอำนำจกำรปกครอง ( Deconcentralization ) ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น ใช้หลักกำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง ( Decentralization )
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
การบริหารราชการส่วนกลาง กำรจัดตั้ง ยุบ สานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม ต้องทำเป็นพระราชบัญญัติ สำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มีฐำนะเป็นนิติบุคคล ❑ สานักนายกรัฐมนตรี เพียงหน่วยงำนเดียวมีฐำนะเป็นกระทรวง มีบทบำทเป็นแหล่งประสำนงำนระหว่ำงกระทรวงต่ำง ๆ และงำนอื่น ๆ ในระดับชำติด้วย ในสำนักนำยกรัฐมนตรี มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชา สานักนายกรัฐมนตรี มีส่วนราชการ ดังต่อไปนี้ สำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี, กรมประชำสัมพันธ์ และสำนักงำนคณะกรรมกำรคุ้มครองผู้บริโภค
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3
❑ กระทรวง กระทรวงเป็นหน่วยงำนของข้ำรำชกำรส่วนกลางที่ใหญ่ที่สุด ในแต่ ล ะกระทรวงมี รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงเป็ นผู้ บัง คั บ บัญ ชาข้ ำ รำชกำรและกำหนดนโยบำยของ กระทรวง ให้สอดคล้องกับนโยบำยที่คณะรัฐมนตรีกำหนดอนุมัติและรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด ปลัดกระทรวงซึ่งเป็นข้ำรำชกำรประจำสูงสุดในกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร ส่วนรำชกำรของกระทรวงมีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบ ดังนี้ 1) สำนักงำนเลขำนุกำรรัฐมนตรี 2) สำนักงำนปลัดกระทรวง มีฐำนะเป็นกรม หน่วยงำนระดับกระทรวงปัจจุบันตำมพ.ร.บ.ปรับปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ปัจจุบันมี 20 กระทรวง ❖ ปัจจุบันประเทศไทยมีกระทรวงหรือเทียบเท่า จานวนทั้งสิ้น 20 กระทรวง ➢ พ.ศ. 2562–ปั จ จุ บั น ในช่ ว งที่ พล.อ.ประยุ ทธ์ จั น ทร์ โ อชำ เป็ น นำยกรั ฐมนตรี ได้ มี ก ำรยุ บ รวม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เข้ำด้วยกันและจัดตั้งเป็นกระทรวงใหม่ คือ กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
สำนักนำยกรัฐมนตรี (มีฐำนะเทียบเท่ำกระทรวง) กระทรวงกลำโหม กระทรวงกำรคลัง กระทรวงกำรต่ำงประเทศ กระทรวงกำรท่องเที่ยวและกีฬำ กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
8. กระทรวงคมนำคม 9. กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 10. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.
กระทรวงพลังงำน กระทรวงพำณิชย์ กระทรวงมหำดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงแรงงำน กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 18. กระทรวงศึกษำธิกำร 19. กระทรวงสำธำรณสุข 20. กระทรวงอุตสำหกรรม
❑ ทบวง (ปัจจุบันไม่มีทบวง)
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
❑ กรม เป็นหน่วยงำนรำชกำรขนำดกลำงรับผิดชอบงำนด้ำนใดด้ำนหนึ่ง ของรัฐแยกย่อยจำกกระทรวง หรือ ทบวง กรมอำจสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรี สังกัดกระทรวง ทบวง หรือเป็นกรมอิสระก็ได้ อธิบดีกรมเป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดของ ข้าราชการประจา การตั้งหรือยุบ กรมและกรมหรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและฐำนะเป็นกรมให้ ตราเป็นพระราช กฤษฎีกา เกร็ดความรู้เกี่ยวกับบุคคลสาคัญ กรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่น อธิบดีกรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่นคนปัจจุบัน - นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค การบริหารราชการส่วนภูมิภาค หมำยถึง รำชกำรของกระทรวง ทบวง กรม ต่ำงๆ ซึ่งได้แบ่งแยกออกไป ดำเนินกำรจัดทำ ตำมเขตกำรปกครองของประเทศ (ได้แก่จังหวัดและอาเภอ ปัจจุบันมี 76 จังหวัด 878 อาเภอ ) เพื่อสนองควำมต้องกำรของประชำชนในเขตกำรปกครองนั้น ๆ โดยมีเจ้ำหน้ำที่ของรำชกำรส่วนกลำง ซึ่งได้รับกำรแต่งตั้งออกไปประจำตำมเขตกำรปกครองต่ำง ๆ ในส่วนภูมิภำคเพื่อบริหำรรำชกำรภายใต้การบั ง คับ บัญชาของราชการส่วนกลาง ❑ จังหวัด จังหวัดเป็นหน่วยกำรปกครองในส่วนภูมิภำคที่ใหญ่ที่สุด จังหวัดประกอบด้วยอำเภอหลำยๆ อำเภอ จังหวัดมีฐำนะเป็นนิติบุคคล กำรจัดตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดต้อง ตราเป็นพระราชบัญญัติ ในจังหวัดหนึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดคนหนึ่งเป็นหัวหน้ำปกครองบังคับบัญชำบรรดำข้ำรำชกำรในจังหวัด และรับผิดชอบงำนบริหำรรำชกำรของจังหวัด ปัจจุบันมี 76 จังหวัด ไม่นับกรุงเทพมหานคร ❑ อาเภอ อำเภอคือหน่วยรำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำครองจำกจังหวัด อำเภอแบ่งเป็นหลำยตำแหน่ง อาเภอไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล กำรจัดตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตอำเภอ กระทำได้โดยกำรตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในอาเภอหนึ่งมีนายอาเภอคนหนึ่งเป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญ ชำบรรดำข้ำรำชกำรในอำเภอและ รับผิดชอบงำนบริหำรรำชกำรของอำเภอ ปัจจุบันประเทศไทยมี 878 อาเภอ ❑ กิ่งอำเภอ (ขณะนี้ประเทศไทยจึงไม่มีเขตกำรปกครองในระดับกิ่งอำเภอ) รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
❑ ตาบล ตาบลไม่เป็นการบริหารส่วนภูมิภาคตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แต่เป็นการบริหารราชการในส่วนภูมิภาคตามพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 ตำบล ประกอบด้วยหมู่บ้ำนหลำยๆ หมู่บ้ำน ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล กำรจัดตั้งตำบลใหม่ตำมหลักเกณฑ์โดยออกเป็นประกำศกระทรวงมหำดไทยจัดตั้งตำบลขึ้นและประกำศ ในรำชกิจจำนุเบกษำต่อไป ❑ หมู่บ้าน ปัจจุบันประเทศไทยมีหมู่บ้าน 74,956 หมู่บ้าน ในเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนครจะไม่มีหมู่บ้าน แต่จะเรียกว่า "ชุมชน" แทน ในหมู่บ้านหนึ่ง ให้มีผู้ใหญ่บ้านคนหนึ่ง และมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครอง หมู่บ้ำนละสองคน เว้นแต่ หมู่บ้ำนใดมีควำมจำเป็นต้องมีมำกกว่ำสองคน ให้ขออนุมัติกระทรวงมหำดไทย ในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการปรับปรุงวาระการดารงตาแหน่งผู้ใหญ่บ้าน โดยยกเลิกวาระ 5 ปี และดารง ตาแหน่งได้จนถึงอายุ 60 ปี โดยให้มีการประเมินทุก 5 ปี
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 6 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ❑ ประวัติการปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย กำรปกครองส่วนท้องถิน่ ในประเทศไทยเริ่มต้นตั้งแต่รัชกำลที่ 5 ใน ร.ศ.124 ( พ.ศ.2448) มีกำรจัดตั้ง คณะกรรมกำร สุขาภิบาลตลาดท่าฉลอมขึ้นเป็น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งแรก ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งสิ้น 7,852 แห่ง แยกประเภทได้ดังนี้
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด 76 แห่ง 2. เทศบาล 2,442 แห่ง - เทศบำลนคร 30 แห่ง - เทศบำลเมือง 179 แห่ง - เทศบำลตำบล 2,233 แห่ง 3. องค์การบริหารส่วนตาบล 5,332 แห่ง 4.องค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 2 แห่ง (กรุงเทพมหานครและเมืองพัทยา) **ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2561 จากประกาศกรมการปกครอง เรื่อง แจ้งข้อมูลทางการปกครอง
❑ รูปแบบการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนจังหวัด(อบจ.) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนำดใหญ่ที่สุด มีจังหวัดละ 1 แห่ง ยกเว้นกรุงเทพมหานคร อบจ. จึงตั้งขึ้นเพื่อบริหำรกิจกำรในเขตจังหวัด และช่วยพัฒนำงำนของเทศบำลและ อบต. จัดสร้ำงระบบสำธำรณูปโภคที่เทศบำลและ อบต. ไม่สำมำรถทำได้ เนื่องจำกขำดงบประมำณ เช่น จัดให้มีท่อบำบัดน้ำเสีย ประปำหมู่บ้ำน อบจ. มีหน้ำที่ในกำรจัดบริกำรสำธำรณะให้ประชำชนอย่ำงทั่วถึง เช่นเดียวกับ อบต. และ เทศบำล เทศบาล เทศบำล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตชุมชนเมือง แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ เทศบำลตำบล เทศบำลเมือง และเทศบำลนคร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนประชำกรในท้องถิ่น ควำมเจริญทำง เศรษฐกิจ หรือ รำยได้ในท้องถิ่น กำรพัฒนำควำมเจริญในท้องถิ่น เช่น อำเภอหำดใหญ่ เดิมเป็นเทศบำลเมืองหำดใหญ่ ต่อมำยกระดับเป็น เทศบำลนครหำดใหญ่ เพรำะมีกำรขยำยตัวทั้งประชำกร รำยได้ และควำมเจริญเป็นต้น
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 7
เทศบำล มีกำรบริหำรงำนได้อย่ำงอิสระ พนักงำน เทศบำล และปลัดเทศบาล เป็นเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ปฏิบัติงำน ตำมภำรกิจ และหน้ำที่ของเทศบำลภำยใต้กำรบริหำร และตรวจสอบควบคุม โดย สมำชิกสภำเทศบำล ที่มำจำกกำรเลือกตั้งโดยตรงของประชำชน กรุงเทพมหานคร กทม. เป็นที่ตั้งเมืองหลวงของประเทศไทย กรุงเทพมหานครเป็นรูปการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ มีแห่งเดียวในประเทศ ใช้หลักการกระจายอานาจ หรือรูปแบบกำรปกครองแบบประธำนำธิบดีของสหรัฐอเมริกำ มีสภำกรุงเทพมหำนคร - ทาหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติและควบคุมการบริหาร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร - ทำหน้ำที่ฝ่ำยบริหำร ผูว้ ่าฯ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน กำรสมัครผู้ว่ำฯไม่จำเป็นต้องสังกัดพรรคกำรเมืองก็ได้ มีวำระกำรดำรงตำแหน่ง 4 ปี มีรองผู้ว่ำฯ มีได้ 4 คน ซึ่งผู้ว่ำแต่งตั้งเอง เมืองพัทยา เมืองพัทยำตั้งอยู่ในเขต อ.บำงละมุง จ.ชลบุรี เป็นเมืองท่องเที่ยว เดิมอยู่ภำยใต้กำรดูแลของเทศบำล นำเกลือ ตั้งขึ้นโดย พ.ร.บ.ระเบียบกำรบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ.2521 โดยให้ยุบเลิกสุขำภิบำลนำเกลือแล้ว จัดตั้งเป็น “เมืองพัทยา” เมืองพัทยา ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคล ต่อมำเมื่อบ้ำนเมืองได้เจริญก้ำวหน้ำขึ้นก็ได้มีกำรปรับปรุง กำร บริหำรรำชกำรโดยตรำ พ.ร.บ.ระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ.2542 ขึ้นใช้ องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) เป็น อปท. ระดับตำบล ที่อยู่ใกล้ชิดกับประชำชนมำกที่สุดจัดตั้งขึ้นมำจำกสภำตำบลที่มีรำยได้ตำมเกณฑ์ ที่กำหนดไว้ จึงยกฐำนะเป็นอบต. ตั้งขึ้นเพื่อดูแลทุกข์สุขและให้บริก ำร ประชำชนในหมู่บ้ำน และตำบลแทนรั ฐ ส่วนกลำง
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 8 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
การรักษาราชการแทน การรักษาราชการแทน คือ กรณีที่ผู้บังคับบัญชาไม่มีหรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ (แต่ไม่บังคับ ใช้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับทหำร) ระดับกระทรวง 1.รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง 2.รัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวง 3.ถ้ำไม่มีตำแหน่ง 1 และ 2 ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษำรำชกำรแทน สานักนายกรัฐมนตรี 1.เลขำนุกำรรัฐมนตรี 2.ผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรี 3.ถ้ำไม่มีตำแหน่ง 2 ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งข้ำรำชกำรคนใดคนหนึ่งรักษำรำชกำรแทน สานักงานปลัดกระทรวง 1.ปลัดกระทรวง
2.รองปลัดกระทรวง
3.ถ้ำไม่มีตำแหน่ง 2 ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงไม่ต่ำกว่ำอธิบดีหรือเทียบเท่ำรักษำรำชกำรแทน
ระดับกรม 1.อธิบดีกรม
2.รองอธิบดีกรม
3.หัวหน้ำส่วนรำชกำรอื่นๆ ตำมลำดับอำวุโสรำชกำร
ระดับจังหวัด 1.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด 2.รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด 3.ผู้ช่วยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด 4.ปลัดจังหวัด (ปลัดอำวุโส และปลัดคนอื่นๆตำมลำดับ) 5.หัวหน้ำส่วนรำชกำรจังหวัดตำมลำดับอำวุโสรำชกำร ระดับอาเภอ 1.นำยอำเภอ 2.ปลัดอำเภอ (อำวุโส) 3.ปลัดอำเภอหรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรตำมลำดับอำวุโสรำชกำร คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร) ปัจจุบันมีคณะกรรมกำรทั้งสิ้น 14 คน (19 เม.ย.62) ประธาน – นำยวิษณุ เครืองำม รองนำยกรัฐมนตรี เลขาธิการ – นำยปกรณ์ นิลประพันธ์ อานาจหน้าที่ เสนอแนะให้คำปรึกษำแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับกำรพัฒนำระบบรำชกำร
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
สรุปประเด็นสาคัญ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2562 ให้ไว้ ณ วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 16 เมษายน พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ 17 เมษายน พ.ศ. 2562 จานวน 10 หมวด 145 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ❑ คาจากัดความ ว่าด้วยหน้าที่และอานาจการจัดการเลือกตั้ง กาหนดให้คณะกรรมการการเลือกตั้งมีหน้ าที่และอานาจในการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งมีอานาจมอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการจั ด การเลื อ กตั้ ง หรื อ จั ด การเลื อ กตั้ ง เอง หรื อ มอบหมายให้ ห น่ว ยงานอื่ นของรั ฐ ซึ่ งมิ ใ ช่อ งค์ ก ารปกครอง ส่วนท้องถิ่นดาเนินการแทน ❑ หมวด 1 บททั่วไป กาหนดให้จัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ภายใน 45 วัน นับแต่วันที่สมาชิก สภาท้องถิ่น หรื อผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่น ดารงต าแหน่ ง ครบวาระ หรื อ ภายใน 60วั น นั บ แต่ วั น ที่ ส มาชิ ก สภาท้ องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุอื่นนอกจากครบวาระ เว้นแต่กรณีสมาชิกสภาท้องถิ่น มีวาระดารง ตาแหน่ งเหลื ออยู่ ไม่ถึง 180 วัน จะไม่จั ด ให้มีการเลือกตั้งก็ไ ด้ ทั้งนี้ กรณีมีความจาเป็นเมื่อมีพฤติการณ์พิเ ศษ คณะกรรมการการเลือกตั้งจะมีคาสั่งให้ย่นหรือขยายระยะเวลา ให้มีกสรเลือกตั้งโดยต้องระบุเหตุผลไว้ด้วย ❑ หมวด 2 เขตเลือกตั้ง หน่วยเลือกตั้ง และที่เลือกตั้ง กาหนดระยะเวลาการจัดการเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ให้ถือเขตเป็นเขตเลือกตั้ง ถ้าเขตใดมีจานวนราษฎรตาม หลักฐานการทะเบียนราษฎรที่ประกาศในปีสุดท้ายก่อนปีที่มีการเลือกตั้งเกิน 150,000 คน ให้คณะกรรมการการ เลือกตั้งแบ่งเขตนั้นออกเป็นเขตเลือกตั้งตามจานวนสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ที่จะพึงมี โดยแต่ละเขตเลือกตั้งต้อง มีจานวนราษฎรใกล้เคียงกัน การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ถือเขตอาเภอเป็นเขตเลือกตั้ง ในกรณีที่อาเภอ ใดมีสมาชิกได้เกินกว่าหนึ่งคนให้แบ่งเขตอาเภอเป็นเขตเลือกตั้ง เท่ากับจานวนสมาชิก ที่จะพึงมีในอาเภอนั้น การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลตาบล ให้แบ่งเขตเทศบาลเป็น 2 เขตเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภา เทศบาลเมือง ให้แบ่งเขตเทศบาลเป็น 3 เขตเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลนครหรือการเลือกตั้งสมาชิก สภาเมืองพัทยา ให้แบ่งเขตเทศบาลหรือเขตเมืองพัทยาเป็น 4 เขตเลือกตั้ง และต้องมีจานวนสมาชิกสภาเทศบาล เท่ากันทุกเขตเลือกตั้ง การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ให้ถือเขตหมู่บ้านเป็นเขตเลือกตั้ง เว้นแต่กฎหมาย ว่าด้วยสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลจะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ให้ถือเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นั้น เป็นเขตเลือกตั้ง เว้นแต่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นจะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
❑ หมวด 3 การดาเนินการเลือกตั้ง วันเลือกตั้ง วันรับสมัครเลือกตั้ง ซึ่งให้มีการเริ่มรับสมัครไม่เกิน 10 วัน นับแต่ประกาศให้มีการเลือกตั้ง และต้ องกาหนดวัน รั บ สมัค รไม่น้ อ ยกว่ า 5 วัน กาหนดสถานที่รับสมัครเลื อกตั้ง จานวนสมาชิก กสภาท้ อ งถิ่ น จานวนเขตเลือกตั้ง ❑ หมวด 4 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งและบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ข้อสอบ
บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (1) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี (2) มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง (3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1ปี นับถึงวันเลือกตั้ง และ (4) คุณสมบัติอื่นตามที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด ข้อสอบ
บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (1) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรตหรือนักบวช (2) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะถึงที่สุดแล้วหรือไม่ (3) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย (4) วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ (5) มีลักษณะอื่นตามที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด ❑ หมวด 5 ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ข้อสอบ บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น (1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด (2) ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง สาหรั บผู้มีสิทธิ สมัค รรั บเลือกตั้ งเป็น ผู้บริ หารท้ องถิ่ น ให้ มี อายุตามที่กฎหมายว่าด้ว ยการจัดตั้งองค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด (3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สมัครรับเลือกตั้งในวันสมัครรับเลื อกตั้ง เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง (4) คุณสมบัติอื่นตามที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3
บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือ ผู้บริหารท้องถิ่น (มาตรา 50) (1) ติดยาเสพติดให้โทษ (2) เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต (3) เป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนใด ๆ (4) เป็นบุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามมาตรา 19 (1) (2) หรือ (4) (5) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นการชั่วคราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (6) ต้องคาพิพากษาให้จาคุกและถูกคุมขังอยู่โดยหมายของศาล (7) เคยได้รั บ โทษจ าคุกโดยได้พ้น โทษมายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลื อกตั้ง เว้นแต่ในความผิ ดอันได้กระทา โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (8) เคยถูกสั่งให้พ้นจากราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพราะทุจริตต่ อหน้าที่ หรือถือว่ากระทา การทุจริตหรือประพฤติมิชอบในวงราชการ (9) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ารวยผิดปกติ หรื อเคยต้องคาพิพากษาอัน ถึง ที่สุ ดให้ ล งโทษจาคุก เพราะกระทาความผิ ด ตามกฎหมายว่า ด้ว ยการป้อ งกั น และ ปราบปรามการทุจริต (10) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการหรือต่อตาแหน่งหน้าที่ใน การยุ ติ ธ รรม หรื อ กระท าความผิ ด ตามกฎหมายว่าด้ ว ยความผิ ด ของพนั ก งานในองค์ ก ารหรือ หน่ว ยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทาโดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงิน ที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่า ด้วยการพนันในความผิ ดฐานเป็น เจ้ ามือหรือเจ้าสานักกฎหมายว่ าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุ ษย์ หรือกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินในความผิดฐานฟอกเงิน (11) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดว่ากระทาการอันเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง (12) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา (13) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาท้องถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น (14) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็นเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ (15) เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หรือผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ (16) อยู่ในระหว่างต้องห้ามมิให้ดารงตาแหน่งทางการเมือง (17) เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะศาลฎีกาหรือศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมีคา พิพากษาว่าเป็นผู้มีพฤติการณ์ร่ารวยผิดปกติ หรือกระทาความผิดฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้ อานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่าง ร้ายแรง (18) ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ไม่ว่าจะได้รับโทษหรือไม่ โดยได้พ้น โทษหรือต้องคาพิพากษามายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง แล้วแต่กรณี
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
(19) เคยถู ก ถอดถอนออกจากต าแหน่ ง สมาชิ ก สภาผู้ แ ทนราษฎร สมาชิ ก วุ ฒิ ส ภา สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือกฎหมายว่าด้วยการลงคะแนนเสียง เพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น แล้วแต่กรณี มายังไม่ถึง 5 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง (20) อยู่ในระหว่างถูกจากัดสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามมาตรา 42 หรือตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (21) เคยถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งและยังไม่พ้น 5 ปีนับแต่วันที่พ้นจากการถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งจนถึงวัน เลือกตั้ง (22) เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือรับเลือกเป็นสมาชิกวุฒิสภา หรือเป็นผู้สมัคร รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเดียวกันหรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น (23) เคยพ้นจากตาแหน่งใด ๆ ในองค์กรปกครองส่ว นท้องถิ่น เพราะเหตุมีส่วนได้เสี ยไม่ว่าโดยทางตรง หรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทาหรือจะกระทากับหรือให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น หรือมีส่วนได้ เสียไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในสัญญาหรือกิจการที่กระทากับหรือจะกระทากับหรือให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นอื่น โดยมีพฤติการณ์แสดงให้เห็นว่าเป็นการต่างตอบแทนหรือเอื้อประโยชน์ส่วนตนระหว่างกัน และยังไม่พ้น ห้าปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งจนถึงวันเลือกตั้ง (24) เคยถูกสั่งให้พ้นจากตาแหน่งใด ๆ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบของทางราชการ หรือมติคณะรัฐมนตรี อันเป็นเหตุให้เสี ยหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง และยังไม่พ้น 5 ปี นับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งจนถึงวันเลือกตั้ง (25) เคยถูกสั่งให้พ้นจากตาแหน่งใด ๆ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพราะทอดทิ้งหรือละเลยไม่ปฏิบัติการ ตามหน้าที่และอานาจ หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยหน้าที่และอานาจ หรือประพฤติตนฝ่ าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือมีความประพฤติในทางที่จะนามา ซึ่งความเสื่อมเสียแก่ศักดิ์ตาแหน่ง หรือแก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือแก่ราชการ และยังไม่พ้น 5 ปีนับแต่วันที่พ้นจากตาแหน่งจนถึงวันเลือกตั้ง (26) ลักษณะอื่นตามที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด ❑ หมวด 6 ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งและวิธีการหาเสียงเลือกตั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ให้ ผู้ อ านวยการการเลื อ กตั้ ง ประจ าจั ง หวั ด ประกาศก าหนดจ านวนเงิ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการเลื อ กตั้ ง ของผู้สมัคร ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกาหนด ภายใน 90 วันนับจากวันเลือกตั้ง ผู้สมัครต้องยื่นบัญชีรายรับและรายจ่ายในการเลือกตั้ง พร้อมทั้ง หลักฐานที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องครบถ้วนตามความจริง ต่อผู้อานวยการการเลือกตั้งประจาจังหวัด ❑ หมวด 7 การออกเสียงลงคะแนน การออกเสียงลงคะแนน ให้กระทาได้โดยวิธีการ ดังต่อไปนี้ (1) การลงคะแนนโดยใช้บัตรเลือกตั้ง (2) การลงคะแนนโดยวิธีอื่นที่มิใช่การใช้บัตรเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้งให้เปิดการออกเสียงลงคะแนน ตั้งแต่เวลา 08.0 นาฬิกา ถึงเวลา 17.00 นาฬิกา ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งประสงค์จะออกเสียงลงคะแนนนาบัตรประจาตัวประชาชน หรือบัตรหรือหลักฐาน อื่นใดของทางราชการ บัตรประจาตัวประชาชน แม้จะหมดอายุแล้วก็ให้สามารถใช้ได้ รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
❑ หมวด 8 การนับคะแนนเลือกตั้งและการประกาศผลการเลือกตั้ง เมื่อเสร็จสิ้นการออกเสียงลงคะแนนแล้ว ให้คณะกรรมการประจาหน่วยเลือกตั้งดาเนินการนับคะแนน เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้ง โดยให้กระทา ณ ที่เลือกตั้งของแต่ละหน่วยเลือกตั้งและให้กระทาโดยเปิดเผย และห้ามมิให้เลื่อนหรือประวิงเวลาการนับคะแนนเลือกตั้ง การประกาศผลการนับคะแนนเลือกตั้ง การรายงานผลการนับคะแนนเลือกตั้ง วิธีการและระยะเวลา การเก็ บ รั ก ษาและท าลายบั ต รเลื อ กตั้ ง และเอกสารหลั ก ฐานเกี่ ย วกั บ การเลื อ กตั้ ง ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บที่ คณะกรรมการการเลือกตั้งกาหนด ❑ หมวด 9 การดาเนินการตรวจสอบการเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง หรือผู้สมัคร มีสิทธิยื่นคัดค้านต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าการเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง ที่ ต นมี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง หรื อ ที่ ต นสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง แล้ ว แต่ ก รณี มิ ไ ด้ เ ป็ น ไปโดยสุ จ ริ ต หรื อ เที่ ย งธรรม หรื อ ไม่ ช อบ ด้วยกฎหมาย ❑ หมวด 10 บทกาหนดโทษ กระทาความผิดตามมาตรา 126 วรรคหนึ่ง ให้ถือว่ากระทาการอันเป็นการทุจริตในการเลือกตั้ง ผู้บังคับบัญชาหรือนายจ้างผู้ใดขัดขวาง หน่วงเหนี่ยว หรือไม่ให้ความสะดวกโดยไม่มีเหตุอันสมควรใน การไปใช้สิทธิเลือกตั้งของผู้ใต้บังคับบัญชาหรือลูกจ้าง แล้วแต่กรณี ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ผู้ใ ดกระทาการอัน เป็น เท็จ เพื่อให้ ผู้ อื่นเข้าใจผิ ดว่าผู้ส มัครผู้ ใดกระทาการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม พระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 40,000บาท และให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง ของผู้นั้นมีกาหนด 5 ปี ผู้ใดลงสมัครรับเลือกตั้งโดยรู้อยู่แล้วว่าตนเป็นผู้ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามในการสมัครรับ เลือกตั้ง ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ถึง 10 ปี และปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท และให้ศาลสั่งเพิก ถอนสิทธิเลือกตั้งของผู้นั้นมีกาหนด 20 ปี ผู้ใดเล่นหรือจัดให้มีการเล่นการพนัน ขันต่อใด ๆ เกี่ยวกับผลของการเลือกตั้ง ต้องระวางโทษจาคุก ตั้งแต่หนึ่ง 1 ปีถึง 5 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับและให้ศาลสั่งเพิกถอนสิทธิ เลือกตั้งของผู้เล่นมีกาหนด 10 ปี และเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้งของผู้จัดให้มีการเล่น
รวบรวมและจัดทำโดย หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
สรุปกฎหมายท้องถิ่น พรบ. อบจ. พรบ.เทศบาล พรบ.สภาตาบลและอบต. พรบ. พัทยา (ฉบับกะทันหัน 30 นาที รู้เรื่องเข้าใจ 4 พรบ.เน้น ๆ) BY เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยาน **สงวนลิขสิทธิ์ไฟล์สรุปนี้ทั้งหมด ห้ามเผยแพร่ ส่งต่อ คัดลอก โดยไม่ได้รับอนุญาต** ประเด็นที่ควรจา 1. จ า น ว น พ ร บ . และวันบังคับใช้
พรบ. อบจ.
พรบ.เทศบาล
พรบ. พัทยา
• พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ อ ง ค์ ก า ร • พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ เ ท ศ บ า ล • พระราชบั ญ ญั ติ ส ภาต าบลและ • พระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 บริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด พ.ศ. พ . ศ . 2496 แ ล ะ ที่ [ แ ก้ ไ ข อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล และที่[แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 2540 และที่ [แก้ไขเพิ่มเติมถึง เ พิ่ ม เ ติ ม ถึ ง ( ฉ บั บ ที่ 14) พ.ศ. 2537และที่[แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. 2562] (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2562 ] พ.ศ. 2562 ] (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562] • ฉบับแรก บังคับใช้ 18 ก.พ. 2496 • ฉบับแรก บังคับใช้ 1 พ.ย. 2540 • ฉบับล่าสุดบังคับใช้ 17 เม.ย. 2562 • ฉบับล่าสุดบังคับใช้ 17 เม.ย. 2562
2.ผู้ รั ก ษ า ก า ร ต า ม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติ 3.จ า น ว น ห ม ว ด แ ล ะ 6 หมวด 89 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล มาตรา ราชการส่วนท้องถิ่น (รูปแบบทั่วไป) 4.มีฐานะ 1. สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด 5.องค์ประกอบ 2. นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
6.จานวนสมาชิกสภาฯ
พรบ.สภาตาบลและอบต.
ใช้ เ กณฑ์ จ านวนประชากรใน จังหวัด (เพิ่มทีละ 6 คน) ไม่เกิน 500,000 คน = 24 คน 500,000 -1 ล้านคน = 30 คน 1-1.5 ล้าน = 36 คน 1.5 – 2.0 ล้านคน = 42 คน 2 ล้านคนขึ้นไป = 48 คน
• ฉบับแรก 2 มี.ค. 2538 • ฉบับล่าสุดบังคับใช้ 17 เม.ย. 2562
• ฉบับแรก 30 พ.ย. 2542 • ฉบับล่าสุดบังคับใช้ 17 เม.ย. 2562
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
7 ส่วน 76 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
2 หมวด 95 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
7 หมวด 98 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
ราชการส่วนท้องถิ่น (รูปแบบทั่วไป)
ราชการส่วนท้องถิ่น (รูปแบบทั่วไป)
ราชการส่วนท้องถิ่น (รูปแบบพิเศษ)
1. สภาเทศบาลฯ 2.นายกเทศมนตรีฯ
1. สภาองค์การบริหารส่วนตาบล 2. นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
เกณฑ์การจัดตั้งเทศบาล 1.เทศบาลตาบล = 12 คน (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย) 2.เทศบาลเมือง = 18 คน
ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้ มีสิ ทธิ เลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การ บริหารส่วนตาบลนั้นหมู่บ้านละ 1 คน ถ้ า ต าบลใดไม่ ถึ ง 6 เขตเลื อ กตั้ ง
(ท้องถิ่นที่มีราษฎร 1 หมื่นคนขึ้นไป)
3.เทศบาลนคร = 24 คน (ท้องถิ่นที่มีราษฎร 5 หมื่นคนขึ้นไป)
รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน
1. สภาเมืองพัทยา 2. นายกเมืองพัทยา จานวน 24 คน
[ให้ดูมาตรา 45 วรรคสุดท้าย ตาม พ.ร.บ. สภาต าบลและองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
ID LINE : @neungjakkayan
176
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ประเด็นที่ควรจา
พรบ. อบจ.
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
พรบ.เทศบาล
พรบ.สภาตาบลและอบต.
พรบ. พัทยา
มีสัญชาติไทยโดยการเกิด มีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ไม่น้อยกว่า 1 ปี นับถึงวันเลือกตั้ง
7.คุณสมบัติสมาชิกสภาฯ
8.ลักษณะต้องห้ามของ ติ ด ยาเสพติ ด ให้ โ ทษ ล้ ม ละลาย วิ ก ลจริ ต ภิ ก ษุ สามเณร นั ก บวช ถู ก จ าคุ ก หรื อ ได้ รั บ โทษจ าคุ ก และพ้ น โทษไม่ ถึ ง 5 ปี เคยถูกลงโทษ ปลดออก ไล่ออกจาก หน่วยงานรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างในหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ สมาชิกสภาฯ ดารงตาแหน่งคณะกรรมการอิสระ เช่น กกต. , คตง. , ป.ป.ช. , กก.สิทธิฯ , ตุลาการศาล , ผู้ตรวจการแผ่นดินฯ (ตามาตรา 50 ) 9.การด ารงต าแหน่ ง สมาชิกสภาท้องถิ่นและ ผู้บริหารท้องถิ่น 10.สมาชิกสภาฯ สิ้นสุด • ครบวาระหรือยุบสภา สมาชิกภาพเมื่อ • ขาดการประชุม 3 ครั้งติดต่อกัน
คราวละ 4 ปี นับตั้งแต่วันเลือกตั้ง (ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน) กรณีดารงตาแหน่งไม่ครบ 4 ปีก็ให้ถือว่าเป็น 1 วาระ
• ครบวาระหรือยุบสภา • ข า ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม 3 ค รั้ ง โดยไม่มีเหตุอันควร ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันควร • ลาออก โดยยื่ น หนั ง สื อ ต่ อ ผู้ ว่ า • ล า อ อ ก โ ด ย ยื่ น ห นั ง สื อ ราชการจังหวัด ต่อผู้ว่าราชการจังหวัด • มติสภามีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า • มติ ส ภามีคะแนนเสี ยงไม่ น้ อ ย 3 ใน 4 กว่า 3 ใน 4 • ราษฎรผู้ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง โดยมี • ราษฎรผู้ มีสิ ทธิเลื อกตั้ง โดยมี จานวนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 จานวนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
• ครบวาระหรือยุบสภา • ข า ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม 3 ค รั้ ง ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุอันควร • ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออก ต่อประธานสภาเมืองพัทยา • มติ ส ภามีคะแนนเสี ยงไม่ น้ อ ย กว่า 3 ใน 4 • ราษฎรผู้ มีสิทธิเลื อกตั้ง โดยมี จานวนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4
ID LINE : @neungjakkayan
177
รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน
• ครบวาระหรือยุบสภา • ขาดการประชุม 3 ครั้งติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร • ลาออก โดยยื่นหนังสือ ต่อนายอาเภอ • มติสภามีคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 • ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยมี จานวนไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 • มิได้อยู่ประจาในหมู่บ้านที่ได้รับ เลือกตั้งเป็นระยะเวลาติดต่อกัน เกิน 6 เดือน
ประเด็นที่ควรจา
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
พรบ. อบจ.
พรบ.เทศบาล
พรบ.สภาตาบลและอบต.
• ครบวาระหรือยุบสภาเลือกภายใน 45 วัน • ตายและกรณีอื่น ให้เลือกภายใน 60 วัน • กรณีตายหรือลาออก เหลือไม่ถึง 180 วัน ไม่ต้องเลือกใหม่ก็ได้ 12.ป ร ะ ธ า น ส ภ า ฯ โดยให้ ส ภาองค์ ก ารบริ ห ารส่ วน ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด แต่ ง ตั้ ง สภาองค์การบริหารส่วนตาบล และรองประธานสภาฯ จั ง หวั ด เลื อ กสมาชิ ก สภาองค์ ก าร จากสมาชิ ก สภาเทศบาลตามมติ มีประธานสภาและรองประธานสภาซึ่ง บริหารส่วนจังหวัดเป็นคนเลือก ของสภาเทศบาล เลือกจากสมาชิกสภาองค์การบริห าร 1.ประธานสภา = 1 คน 1.ประธานสภา = 1 คน ส่วนตาบลให้นายอาเภอแต่งตั้ง 2.รองประธานสภา = 2 คน 2.รองประธานสภา = 1 คน 1.ประธานสภา = 1 คน 2.รองประธานสภา = 1 คน
พรบ. พัทยา
11.สมาชิกสภาฯ ว่างลง ให้เลือกตั้งภายใน
13.เลขานุการสภาฯ
14.ประธานสภาฯและ รองประธานสภาฯ ยื่นหนังสือลาออกต่อ.. 15.คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์ เลือกตั้งสมาชิกสภา ฯ
สภาเมืองพัทยาเลื อกสมาชิ ก เป็ น ประธ านสภ าเมื อ งพั ท ย า รองประธ านสภ าเ มื อ ง พั ท ย า แล้ ว เสนอผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ชลบุรีแต่งตั้ง 1.ประธานสภาเมือง = 1 คน 2.รองประธานสภาเมือง = 2 คน
• สภาเลือกปลัดองค์การบริหารส่ วน • สภาเลื อ กปลั ด เทศบาลหรื อ • สภาเลื อ กปลั ด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว น • สภาเลื อ กปลั ด เมื อ งพั ท ยาหรื อ จั ง ห วั ด ห รื อ ส มา ชิ กส ภ าฯ เป็ น สมาชิกสภาฯเป็นเลขานุการสภา ตาบลหรือสมาชิกสภาฯเป็นเลขานุการ สมาชิ ก สภาฯเป็ น เลขานุ การสภา เลขานุการสภาองค์การบริหารส่ ว น องค์การบริหารส่วนตาบล โดยมี สภาองค์ การบริหารส่วนตาบล โดยมี องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบล โดยมี ต าบล โดยมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบงาน หน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและ หน้าที่รับผิดชอบงานธุรการและจัดการ หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบงานธุ ร การและ ธุรการและจัดการประชุมและงานอื่น จัดการประชุมและงานอื่น ประชุมและงานอื่น จัดการประชุมและงานอื่น
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
• นายอาเภอ
• ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
• มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี • มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง • มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1ปี นับถึงวันเลือกตั้ง • คุณสมบัติอื่นตามที่กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกาหนด
รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน
ID LINE : @neungjakkayan
178
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ประเด็นที่ควรจา
พรบ. อบจ. 2
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
พรบ.เทศบาล
พรบ.สภาตาบลและอบต.
• 2 สมัยๆ ละ 45 วัน • 4 สมัยๆ ละ 30 วัน • ไม่น้อยกว่า 2 สมัย แต่ไม่เกิน 16.การประชุมสมัย 4 สมัยละ 15 วัน สามัญ (นับ 1 ปีปฏิทิน) • ถ้ า มี เ ห ตุ จ า เ ป็ น ข ย า ย ไ ด้ • ถ้ า มี เ ห ตุ จ า เ ป็ น ข ย า ย ไ ด้
15 วัน (ผู้ราชการจังหวัดอนุญาต) 15 วั น ( ผู้ ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด • ประธานสภาเป็นคนเรียกประชุม อนุญาต) • ครั้ ง แรกภายใน 15 วั น นั บ แต่ • ประธานสภาเป็ น คนเรี ย ก ป ร ะ ก า ศ ผ ล เ ลื อ ก ตั้ ง ประชุม ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นคนเรี ยก • ครั้งแรกภายใน 15 วัน นับแต่ ประชุม ป ร ะ ก า ศ ผ ล เ ลื อ ก ตั้ ง • การประชุมทุกครั้งต้องมีสมาชิกไม่ ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เป็ น คน น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิก เรียกประชุม จึงจะเป็นองค์ประชุม • ก า ร ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ค รั้ ง ต้ อ ง มี สมาชิกไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง ของ จ านวนสมาชิ ก จึ ง จะเป็ น องค์ ประชุม 17.ก า ร ป ร ะ ชุ ม ส มั ย • 7 วัน • 15 วัน วิสามัญ (1 ปีปฏิทิน) • ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุญาต • ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุญาต • ประธานสภาเรียกฯ • ประธานสภาเรียกฯ • การประชุมทุกครั้งต้องมีสมาชิกไม่ • ก า ร ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ค รั้ ง ต้ อ ง มี น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิก สมาชิกไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่ง ของ จึงจะเป็นองค์ประชุม จ านวนสมาชิ ก จึ ง จะเป็ น องค์ ประชุม
• •
•
• ไม่น้อยกว่า 2 สมัย แต่ไม่เกิน
4 สมัยละ 30 วัน ถ้ า มี เ หตุ จ าเป็ น ขยายได้ 15 วั น • ถ้ามีเหตุจาเป็นขยายได้ 15 วัน (นายอาเภออนุญาต) (ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ชลบุ รี ประธานสภาเป็นคนเรียกประชุม อนุญาต) ครั้ ง แรกภายใน 15 วั น นั บ แต่ • ประธานสภาเป็ น คนเรี ย ก ประกาศผลเลื อกตั้ ง นายอ าเภอ ประชุม เป็นคนเรียกประชุม • ค รั้ ง แ ร ก ภ า ย ใ น 15 วั น การประชุมทุกครั้งต้องมีสมาชิกไม่ นั บ แต่ ป ระกาศผลเลื อ กตั้ ง น้ อ ยกว่ า กึ่ ง ห นึ่ ง ของจ า น ว น ผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด ชลบุ รี สมาชิกจึงจะเป็นองค์ประชุม เป็นคนเรียกประชุม • การประชุมทุกครั้งต้องมีสมาชิก
ไม่ น้ อ ยกว่ า กึ่ ง หนึ่ ง ของจ านวน สมาชิกจึงจะเป็นองค์ประชุม
• • • •
15 วัน • 15 วัน นายอาเภออนุญาต • สมาชิ ก ไม่ น้ อ ยกว่ า 1 ใน 3 ของจานวนสมาชิกเท่า ที่ มี อ ยู่ ประธานสภาเรียกฯ อาจยื่นคาร้องต่อประธานสภา การประชุมทุกครั้งต้องมีสมาชิกไม่ เมื อ งพั ท ยาขอให้ เ ปิ ด ประชุ ม น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิก สมั ย วิ ส ามั ญ ได้ ป ระธานสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เมืองพัทยาอนุญาต • ก า ร ป ร ะ ชุ ม ทุ ก ค รั้ ง ต้ อ ง มี สมาชิกไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของ จ านวนสมาชิ ก จึ ง จะเป็ น องค์ ประชุม ID LINE : @neungjakkayan
179
รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน
•
พรบ. พัทยา
ประเด็นที่ควรจา 18.คุณสมบัตินายกฯ
พรบ. อบจ.
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
พรบ.เทศบาล
พรบ.สภาตาบลและอบต.
พรบ. พัทยา
• อายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์ • อายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์ • อายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์ • อายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์ ในวันเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง ในวันเลือกตั้ง • ไ ม่ ต่ า ก ว่ า ป ริ ญ ญ า ต รี ห รื อ • ไ ม่ ต่ า ก ว่ า ป ริ ญ ญ า ต รี • ไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย • ไม่ตากว่ ่ าปริญญาตรี เที ย บเท่ า เคยเป็ น สมาชิ ก สภา หรื อ เที ย บเท่ า หรื อ เคยเป็ น หรือเทียบเท่า หรือเคยเป็นสมาชิก หรือเทียบเท่า อบจ. ผู้บริหารท้องถิ่นหรือสมาชิก สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น ผู้ บ ริ ห าร สภาต าบล สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น รัฐสภา ท้องถิ่นหรือสมาชิกรัฐสภา ผู้ บ ริ ห ารท้ อ งถิ่ น หรื อ สมาชิ ก • ไม่ เ ป็ น ผู้ พ้ น จากต าแหน่ ง เนื่ อ งจากมี รัฐสภา ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ม า แ ล้ ว ยั ง ไ ม่ ถึ ง 5 ปีนับแต่วันสมัครรับเลือกตั้ง • ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายว่า ด้ ว ยการเลื อ กตั้ ง สมาชิ ก สภาท้ อ งถิ่ น หรือผู้บริหารท้องถิ่น ตามมาตราที่ 50
19.นายก ฯ ยื่นหนังสือ ลาออกต่อ 20.รองนายกฯ
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
• นายอาเภอ
• ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
นายก อบจ. เป็นคนแต่งตั้ง • สมาชิกสภาฯ 24 หรือ 30 คน ไม่เกิน 2 คน • สมาชิกสภาฯ 36 หรือ 42 คน ไม่เกิน 3 คน • สมาชิกสภาฯ 48 คน ไม่เกิน 4 คน
นายก เทศบาล เป็นคน แต่งตั้ง • เทศบาลตาบล=ไม่เกิน 2 คน • เทศบาลเมือง=ไม่เกิน 3 คน • เทศบาลนคร= ไม่เกิน 4 คน
นายก อบต. เป็นคนแต่งตั้ง • ไม่เกิน 2 คน
นายกฯ เมืองพัทยา เป็นคนแต่งตั้ง • ไม่เกิน 4 คน
รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน
ID LINE : @neungjakkayan
180
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ประเด็นที่ควรจา 21.เลขานุการนายกฯ และที่ปรึกษา
พรบ. อบจ. นายก อบจ. เป็นคนแต่งตั้ง • รวมกันได้ไม่เกิน 5 คน
22.น า ย ก ฯ แ ถ ล ง • ภายใน 30 วัน นับแต่วัน นโยบาย ประกาศผลการเลือกตั้งโดยไม่มี การลงมติ
23.การงบประมาณและ • ข้อบัญญัติ • 1 ตุลาคม ปีปัจจุบัน – 30 กันยายน การคลัง ของปีถัดไป
24.การกากับดูแล
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
พรบ.เทศบาล
พรบ.สภาตาบลและอบต.
พรบ. พัทยา
นายกเทศบาลฯ เป็นคนแต่งตั้ง รวมกันได้ไม่เกิน… • เทศบาลตาบล=ไม่เกิน 2 คน • เทศบาลเมือง=ไม่เกิน 3 คน • เทศบาลนคร= ไม่เกิน 5 คน
นายก อบต. เป็นคนแต่งตั้ง • เลขานายกฯไม่เกิน 1 คน • ไม่มีที่ปรึกษา
นายกฯเมืองพัทยา เป็นคนแต่งตั้ง
• เทศบัญญัติ
• ข้อบัญญัติ
• ข้อบัญญัติ
• ผู้ว่าราชการจังหวัด
• นายอาเภอ
• ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
• อาจแต่งตั้งเลขานุการนายก เมืองพัทยาและ ผู้ช่วยเลขานุการนายกเมือง พัทยาไม่เกินจานวนรองนายก เมืองพัทยา และอาจแต่งตั้ง ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานที่ ปรึกษาและทีป่ รึกษาได้จานวน รวมกันแล้วไม่เกิน 5 คน • ภายใน 30 วั น นั บ แต่ วั น • ภายใน 30 วัน นับแต่วันประกาศ • ไม่ไ ด้ ก าหนดระยะเวลาในการ แถลงนโยบาย ประกาศผลการเลือกตั้งโดยไม่ ผลการเลือกตั้งโดยไม่มีการลงมติ • ให้มีการมอบหมายงานในหน้าที่ มีการลงมติ นายกเมื องพั ทยาภายใน 7 วั น นั บ แต่ วั น ที่ ไ ด้ มี การประกาศผล การเลือกตั้งนายกเมืองพัทยา • 1 ตุลาคม ปีปัจจุบัน – 30 กันยายน • 1 ตุ ล าคม ปี ปั จ จุ บั น –30 กั น ยายน • 1 ตุลาคม ปีปัจจุบัน – 30 กันยายน ของปีถัดไป ของปีถัดไป ของปีถัดไป
เกร็ดความรู้เพิม่ เติม
181
องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลตาบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร องค์การบริหารส่วนตาบล มีฐานะเป็นนิติบุคคล การแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตเมืองพัทยา ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา เงินประจาตาแหน่ง เงินค่าเบี้ยประชุม และประโยชน์ตอบแทนอื่น ของคณะผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกท้องถิ่น ทั้ง 4 พ.ร.บ. ให้เป็นไปตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้นายกฯ รองนายก ฯ ปลัดฯ และพนักงานฯ ทั้ง 4 พ.ร.บ. ให้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา รวบรวมและจัดทำโดย เพจ : เตรียมสอบท้องถิ่นและสอบครูผู้ช่วย By หนึ่ง จักรยำน ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่[แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549] ให้ไว้ ณ 11 พฤศจิกายน 2542 ประกาศ 17 พฤศจิกายน 2542 มีผลบังคับใช้ 18 พฤศจิกายน 2542 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีอานาจออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ มี 4 หมวด 37 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล ❖ หมวด 1 ❖ หมวด 2 ❖ หมวด 3 ❖ หมวด 4
คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การกาหนดอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ การจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร แผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2549 ให้ไว้ 29 ธันวาคม 2549 ประกาศ 8 มกราคม 2550 มีผลบังใช้ 9 มกราคม 2550 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีอานาจออกกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบ ❖ คาจากัดความ) ➢ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วน ตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ➢ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ➢ “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ➢ “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 1 คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ❖ มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” จานวน 36 คน
❖ “คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” ชุดปัจจุบัน ประกอบด้วย ➢ ประธานกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1 ท่าน) (1) นายวิษณุ
เครืองาม
รองนายกรัฐมนตรี (ออกข้อสอบบ่อย ต้องจา)
➢ เลขานุการ (ต้องจำอำจออกข้อสอบ) (1) นายวิฑูร เอี่ยมโอภาส ผอ.สนง.คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
❖ มาตรา 7 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) มีอายุไม่ต่ากว่า 35 ปีบริบูรณ์ (3) ไม่เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา พนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เว้นแต่เป็นผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ (4) ไม่เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง (5) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น (6) ไม่เป็นเจ้าหน้าที่หรือผู้มีตาแหน่งใด ๆ ในพรรคการเมือง
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3
❖ มาตรา 9 วาระของคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ✓ มีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี และอาจได้รับสรรหาเป็นกรรมการอีกได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ✓ ถ้ากรรมการตามวรรคหนึ่งว่างลง ให้สรรหากรรมการแทน และให้ผู้ซึ่งได้รับสรรหาอยู่ในตาแหน่งเท่ากับ ระยะเวลาที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน ✓ ในระหว่ า งที่ ยั งมิ ได้ ส รรหากรรมการแทนต าแหน่ง ที่ ว่า งตามวรรคสอง และยั ง มี ก รรมการเหลืออยู่ เกินกึ่งหนึ่ง ให้กรรมการที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ ❖ มาตรา 10 นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ 1. ตาย 2. ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ 3. เป็นบุคคลล้มละลาย 4. เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ 5. ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 7 6. ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก ❖ มาตรา 11 การประชุมของคณะกรรมการ ✓ การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุม ไม่น้อ ยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจานวนกรรมการ ทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม ✓ ในการประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่อยู่ในที่ประชุมหรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้ที่ประชุมเลือก กรรมการคนหนึ่งทาหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุม ✓ การวินิจฉัยชี้ขาดให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียง เท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด ❖ มาตรา 12 ให้คณะกรรมการมีอานาจและหน้าทีด่ ังต่อไปนี้ (1) จัดทาแผนการกระจายอานาจให้แก่อ งค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่น และแผนปฏิบัติการเพื่อขอความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรายงานต่อรัฐสภา (2) กาหนดการจัดระบบการบริการสาธารณะตามอานาจและหน้าที่ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง (3) ปรับปรุงสัดส่วนภาษีและอากร และรายได้ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระหว่าง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเอง โดยคานึงถึงภาระหน้าที่ของรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันเองเป็นสาคัญ (4) กาหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนการถ่ายโอนภารกิจ จากราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภ าค ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (5) ประสานการถ่ายโอนข้าราชการ ข้าราชการส่วนท้องถิ่น และพนักงานรัฐวิสาหกิจระหว่างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับคณะกรรมการพนักงานส่วนท้องถิน่ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สอดคล้องกับการกาหนดอานาจและหน้าที่การจั ดสรรภาษีและอากรเงินอุดหนุนเงินงบประมาณที่ ราชการส่วนกลางโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการถ่ายโอนภารกิจตาม (2) (3) และ (4) (6) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีใ ห้มีการกระจายอานาจการอนุมัติ หรื อ การอนุญาตตามที่มีกฎหมาย บัญญัติให้ต้องขออนุมัติหรือขออนุญาตไปให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยคานึง ถึง ความสะดวก รวดเร็วในการให้บริการประชาชน และการกากับดูแลให้เป็นไปตามกฎหมายนั้นๆ เป็นสาคัญ รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
(7) เสนอแนะมาตรการด้านการเงิน การคลัง การภาษีอากร การงบประมาณและการรักษาวินัย ทาง การเงิน การคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (8) เสนอแนะการตราพระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง ประกาศข้อบังคับ ระเบียบ และคาสั่งที่จาเป็น เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นต่อคณะรัฐมนตรี (9) เร่งรัดให้มีการตราพระราชกฤษฎีกา ออกกฎกระทรวง ประกาศ ข้อบังคับ ระเบียบ และคาสั่งที่จาเป็น เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (10) เสนอแนะต่อ คณะรัฐ มนตรีใ นการจัด สรรเงิน งบประมาณที ่จ ัด สรรเพิ่ม ขึ ้น ให้แ ก่ อ งค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เนื่องจากการถ่ายโอนภารกิจจากส่วนกลาง (11) พิจารณาหลักเกณฑ์การจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามความจาเป็น (12) เสนอแนะและจัดระบบตรวจสอบและการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่น (13) เสนอความเห็ น ต่ อ นายกรั ฐ มนตรี เ พื่ อ พิ จ ารณาสั่ ง การในกรณี ที่ ป รากฏว่ า ส่ ว นราชการหรื อ รัฐวิสาหกิจไม่ดาเนินการตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (14) เสนอรายงานเกี่ยวกับการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อคณะรัฐมนตรีอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง (ออกข้อสอบบ่อย) (15) ออกประกาศกาหนดตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ (16) ปฏิบัติการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอื่น ✓ ประกาศของคณะกรรมการตาม (15) เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
หมวด 2 การกาหนดอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ ❖ มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบลมีอานาจและหน้าทีใ่ นการจัดระบบการ บริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเองดังนี้ ออกข้อสอบบ่อย (1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อ ยของ บ้านเมือง (2) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางน้า และทางระบายน้า (18) การกาจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้าเสีย (3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่นๆ (20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน (5) การสาธารณูปการ (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (6) การส่งเสริม การฝึก และประกอบอาชีพ (22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์ (7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน (23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการ อนามัย โรงมหรสพ และสาธารณสถานอื่นๆ (8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว (24) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (9) การจัดการศึกษา (25) การผังเมือง (10) การสั ง คมสงเคราะห์ และการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เด็ ก สตรี (26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (11) การบ ารุ งรั กษาศิ ล ปะ จารี ตประเพณี ภู มิ ปั ญญาท้ อ งถิ่ น และ (27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น (12) การปรับปรุง แหล่ง ชุมชนแออั ด และการจั ดการเกี่ ยวกั บ ที่ อ ยู่ (28) การควบคุมอาคาร อาศัย (13) การจัดให้มีและบารุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (14) การส่งเสริมกีฬา (30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกัน และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของ (31) กิ จการอื่ นใดที่ เป็ นผลประโยชน์ ของประชาชนในท้ องถิ่ นตามที่ ประชาชน คณะกรรมการประกาศกาหนด (16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 6 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
❖ มาตรา 17 ภายใต้บังคับมาตรา 16 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบ บริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ ออกข้อสอบบ่อย (1) การจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง และประสานการจัดทา แผนพัฒนาจังหวัดตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกาหนด (2) การสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น (3) การประสานและให้ ค วามร่ วมมื อในการปฏิ บั ติ หน้ าที่ ขององค์ กร ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (4) การแบ่งสรรเงินซึ่งตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่น (5) การคุ้มครอง ดูแลและบารุงรักษาป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (6) การจัดการศึกษา (7) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน (8) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (9) การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม
(10) การจัดตั้งและดูแลระบบบาบัดน้าเสียรวม (11) การกาจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลรวม (12) การจัดการสิ่งแวดล้อมและมลพิษต่างๆ (13) การจัดการและดูแลสถานีขนส่งทั้งทางบกและทางน้า (14) การส่งเสริมการท่องเที่ยว
(16) การสร้างและบารุงรักษาทางบกและทางน้าที่เชื่ อมต่อ ระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (17) การจัดตั้งและดูแลตลาดกลาง (18) การส่งเสริมการกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดี งามของท้องถิ่น (19) การจัดให้มีโรงพยาบาลจังหวัด การรักษาพยาบาล การ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ (20) การจัดให้มีพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ (21) การขนส่งมวลชนและการวิศวกรรมจราจร (22) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (23) การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัด (24) จั ดท ากิ จ การใดอั นเป็ นอ านาจและหน้ าที่ ขององค์ ก ร ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่อยู่ในเขต และกิจการนั้นเป็นการสมควร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นร่วมกันดาเนินการหรือ ให้องค์การ บริหารส่วนจังหวัดจัดทา ทั้ง นี้ ตามที่ค ณะกรรมการประกาศ กาหนด (25) สนับสนุนหรือช่วยเหลือส่วนราชการ หรือองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนา ท้องถิ่น (26) การให้บริการแก่เอกชน ส่วนราชการ หน่วยงานของ รัฐ รัฐวิส าหกิจ หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น (27) การสัง คมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (28) จัดทากิจการอื่นใดตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ หรื อ กฎหมายอื่ น ก าหนดให้ เ ป็ น อ านาจและหน้ า ที่ ข อง องค์การบริหารส่วนจังหวัด (29) กิจ การอื่น ใดที่เ ป็น ผลประโยชน์ข องประชาชนใน ท้องถิ่นตามที่ค ณะกรรมการประกาศกาหนด
(15) การพาณิ ชย์ การส่ งเสริ มการลงทุ น และการท ากิ จการไม่ ว่ าจะ ดาเนินการเองหรือร่วมกับบุคคลอื่นหรือจากสหการ
❖ มาตรา 18 บังคับใช้มาตรา 16 และมาตรา 17 กับกรุงเทพมหานครด้วย ✓ ให้กรุงเทพมหานครมีอานาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ของตนเองตามมาตรา 16 และมาตรา 17
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 7
หมวด 3 การจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร ❖ มาตรา 23 เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบลอาจมีรายได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม และเงินรายได้ดังต่อไปนี้ (1) (2) (3) (4)
ภาษีโรงเรือนและที่ดินตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบารุงท้องที่ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีบารุงท้องที่ ภาษีป้ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีป้าย ภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรที่ ได้รั บการจั ดสรรในอั ตราซึ่งเมื่อรวมกั บการจั ดสรรตามมาตรา 24 (3) และมาตรา 25 (6) แล้วไม่เกิน ร้อยละ 30 ของภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้หักส่วนที่ต้องจ่ายคืนแล้ว โดยเป็น หน้าที่ของกรมสรรพากรที่จะจัดเก็บ (5) ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร โดยออกข้อบัญญัติจัดเก็บเพิ่มขึ้นในอัตราซึ่งเมื่อรวมกับอัตราตามมาตรา 24 (4) แล้วไม่เ กินร้อยละ 30 ของอัต ราภาษี ที่จัดเก็บตามประมวลรัษฎากร โดยเป็นหน้าที่ของกรมสรรพากร ที่จะจัดเก็บ (6) ภาษีสรรพสามิตตามกฎหมายว่าด้วยภาษีสรรพสามิต ภาษีสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา และค่าแสตมป์ ยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยยาสูบ ซึ่งเก็บจากการค้าในเขตเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบล โดยออกข้อบัญญัติจัดเก็บเพิ่มขึ้นในอัตราไม่เกินร้อยละ 30 ของอัตราภาษีที่กรมสรรพสามิตจัดเก็บ และให้ถือ เป็นภาษีและค่าแสตมป์ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น โดยเป็นหน้าที่ของกรมสรรพสามิตที่จะจัดเก็บ (7) ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ รวมทั้งเงินเพิ่มตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ภาษีรถ ตามกฎหมายว่าด้วยการ ขนส่งทางบก และค่าธรรมเนียมล้อเลื่อนตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน (8) ภาษีการพนันตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน (9) ภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ (10) อากรการฆ่าสัตว์และผลประโยชน์อื่นอันเกิดจากการฆ่าสัตว์ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการฆ่าสัตว์และจาหน่าย เนื้อสัตว์ (11) อากรรังนกอีแอ่นตามกฎหมายว่าด้วยอากรรังนกอีแอ่น (12) ค่าภาคหลวงแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่หลังจากหักส่งเป็นรายได้ของรัฐในอัตราร้อยละ 40 แล้วดังต่อไปนี้ (13) ค่าภาคหลวงปิโตรเลีย มตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมหลังจากหักส่งเป็นรายได้ของรัฐ ในอัตราร้อยละ 40 แล้ว ดังต่อไปนี้ (14) ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพ ย์ที่มีทุนทรัพย์ภายในเขต ทั้งนี้ตาม ประมวลกฎหมายที่ดินและกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด (15) ค่ า ธรรมเนี ย มสนามบิ น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการเดิ น อากาศ ทั้ ง นี้ ให้ เ ป็ น ไปตามอั ต ราและวิ ธี ก ารที่ คณะกรรมการกาหนด (16) ค่าธรรมเนียมดังต่อไปนี้ โดยออกข้อบัญญัติจัดเก็บเพิม่ ขึ้นในอัตราไม่เกินร้อย 10 ของค่าธรรมเนียมที่มีการ จัดเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น (ก) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุราตามกฎหมายว่าด้วยสุรา (ข) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนันตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 8 ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
(17) ค่ าธรรมเนี ยม ค่ าใบอนุ ญาต และค่ าปรั บ ในกิ จการที่ กฎหมายมอบหมายหน้ าที่ ให้ เทศบาล เมื อ งพั ท ยา และองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นเจ้าหน้าที่ดาเนินการภายในเขตท้องถิ่นนั้นๆ และให้ตกเป็นรายได้ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นดังกล่าว ในกรณีกฎหมายกาหนดให้เทศบาลเป็นผู้จัดเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และ ค่าปรับ ให้นารายได้มาแบ่งให้แก่องค์การบริหารส่วนตาบลที่อยู่ภายในเขตจังหวัดตามที่คณะกรรมการกาหนด (18) ค่าใช้น้าบาดาลตามกฎหมายว่าด้วยน้าบาดาล ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามสัดส่วนที่คณะกรรมการกาหนด (19) ค่าธรรมเนียมใดๆ ที่เรียกเก็บจากผู้ใช้หรือได้รับประโยชน์จากบริการสาธารณะที่จัดให้มีขึ้น (20) รายได้อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบล
❖ มาตรา 24 องค์การบริหารส่วนจังหวัดอาจมีรายได้จากภาษีอากรค่าธรรมเนียมและเงินรายได้ ดังนี้ (1) ภาษีบารุงองค์การบริหารส่วนจังหวัด สาหรับน้ามันเบนซินและน้ามันที่คล้ายกับน้ามันดีเซลและ น้ามันที่คล้ายกัน ก๊าซปิโตรเลียมที่ใ ช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ ซึ่ง เก็บจากการค้าในเขตจังหวัด โดยออกข้ อ บั ญ ญั ติ จั ด เก็ บ เพิ่ ม ได้ ไ ม่ เ กิ น ลิ ต รละ 10 สตางค์ ส าหรั บ น้ ามั น และกิ โ ลกรั ม ละไม่ เกิน 10 สตางค์สาหรับก๊าซปิโตรเลียม (2) ภาษีบารุงองค์การบริหารส่วนจังหวัดสาหรับ ยาสูบ ซึ่ง เก็บจากการค้าในเขตจังหวัด โดยออกข้อบัญญัติ จัดเก็บเพิ่มได้ไม่เกินมวนละ 10 สตางค์ (3) ภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฎากรที่ได้รับการจัดสรรในอัตราซึ่ง เมื่อรวมกับอัตราตามมาตรา 23 (4) และมาตรา 25 (6) แล้วไม่เกินร้อยละ 30 ของภาษีมูลค่าเพิ่มที่ จัดเก็บได้หักส่วน ที่ต้องจ่ายคืนแล้ว โดยเป็นหน้าที่ของกรมสรรพากรที่จะจัดเก็บ (4) ภาษีธุรกิจเฉพาะตามประมวลรัษฎากร โดยออกข้อบัญ ญัติจั ดเก็บเพิ่มขึ้นในอั ตรา ซึ่งเมื่อรวมกับอัตรา ตามมาตรา 23 (5) แล้วไม่เกินร้อยละ 30 ของอัตราภาษีที่จัดเก็บตามประมวลรัษฎากร โดยเป็นหน้าที่ของ กรมสรรพากรที่จะจัดเก็บ (5) ภาษีแ ละค่าธรรมเนียมรถยนต์ รวมทั้ง เงินเพิ่มตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ภาษีรถ ตามกฎหมาย ว่าด้วยการขนส่งทางบก และค่าธรรมเนียมล้อเลื่อนตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน (6) ภาษีเพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ (7) อากรรังนกอีแอ่นตามกฎหมายว่าด้วยอากรรังนกอีแอ่น (8) ค่าภาคหลวงแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ให้ได้รับการจัดสรรในอัตราร้อยละ 20 ของค่าภาคหลวงแร่ ที่จัดเก็บได้ภายในเขตขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น (9) ค่า ภาคหลวงปิโ ตรเลีย มตามกฎหมายว่า ด้ว ยปิโ ตรเลีย มให้ไ ด้รับ การจัด สรร ใน อัต ราร้อ ยละ 20 ของค่าภาคหลวงปิโตรเลียมที่จัดเก็บได้ภายในเขตขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนั้น (10) ค่าธรรมเนียมบ ารุงองค์ การบริหารส่ วนจัง หวั ดโดยออกข้ อบัญญั ติ เรี ยกเก็ บจากผู้พักในโรงแรมตาม กฎหมายว่าด้วยโรงแรม (11) ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต และค่าปรับในกิจการที่กฎหมายมอบหมายหน้าที่ให้องค์การบริหารส่วน จังหวัดเป็นเจ้าหน้าที่ดาเนินการภายในเขตองค์การบริหารส่วนจัง หวัดนั้ น และให้ตกเป็นรายได้ของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด (12) ค่าธรรมเนียมใดๆ ที่เรียกเก็บจากผู้ใช้หรือได้รับประโยชน์จากบริการสาธารณะที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด จัดให้มีขึ้น (13) รายได้อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 9
❖ มาตรา 28 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมีรายรับดังต่อไปนี้
ออกข้อสอบบ่อย
1. 2. 3. 4.
รายได้จากทรัพย์สินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายได้จากสาธารณูปโภค รายได้จากการพาณิชย์และการทากิจการ ไม่ว่าจะดาเนินการเองหรือร่วมกับบุคคลอื่นหรือจากสหการ ภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าใบอนุญาต ค่าปรับ ค่าตอบแทน หรือรายได้อื่นใดตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้ เป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5. ค่าบริการ 6. เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอืน่ 7. เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ องค์การต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ 8. รายได้จากการจาหน่ายพันธบัตร 9. เงินกู้จากกระทรวง ทบวง กรม องค์การ หรือนิติบุคคลต่างๆ 10. เงินกู้จากต่างประเทศ องค์การต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ 11. เงินและทรัพย์สินอย่างอื่นที่มีผู้อุทิศให้ 12. เงินช่วยเหลือหรือเงินค่าตอบแทน 13. รายได้จากทรัพย์สินของแผ่นดิน หรือรายได้จากทรัพย์สินของรัฐวิสาหกิจที่ดาเนินการเพื่อมุ่งหากาไรในเขต ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 14. รายได้จากค่าธรรมเนียมพิเศษ ✓ การออกพันธบัตรตาม (8) การกู้เงินจากองค์การ หรือนิติบุคคลต่างๆ ตาม (9) การกู้เงินตาม (10) และรายได้ตาม (13) ให้ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรี
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 10 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 4 แผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ❖ มาตรา 30 แผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ดาเนินการดังนี้ (1) ให้ดาเนินการถ่ายโอนภารกิจการให้บริการสาธารณะที่รัฐดาเนินการอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับแก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในกาหนดเวลา ดังนี้ (ก) ภารกิจที่เป็นการดาเนินการซ้าซ้อนระหว่างรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือภารกิจที่รัฐจัด ให้บริการในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 4 ปี (ข) ภารกิจที่รัฐจัดให้บริการในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกระทบถึง องค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นอื่น ให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 4 ปี (ค) ภารกิจที่เป็นการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 4 ปี (2) กาหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการให้บริการสาธารณะของรัฐและขององค์กรปกครองส่วน ท้ อ งถิ่ น และระหว่ า งองค์ ก รปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ นด้ ว ยกัน เองตามอ านาจและหน้ า ที่ ที่ ก าหนดไว้ ใ น พระราชบัญญัตินี้ให้ชัด เจน โดยในระยะแรกอาจกาหนดภารกิจ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ แตกต่างกันได้ โดยให้เป็นไปตามความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง ซึ่งต้องพิจารณา จากรายได้และบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น จานวนประชากร ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ตลอดจนคุณภาพในการให้บริการที่ประชาชนจะได้รับ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินระยะเวลา 10 ปี (3) กาหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ให้รัฐทาหน้าที่ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือ การดาเนินงานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ (4) กาหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ สอดคล้องกับการดาเนินการตามอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ละประเภท อย่างเหมาะสม โดยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้ คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้เพิ่มขึ้นคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 โดยการจัดสรรสัดส่วนที่เป็นธรรมแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและคานึง ถึงรายได้ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นด้วย (5) การจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีในส่วนที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะในเขตองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนให้เป็นไปตามความจาเป็นและความต้องการขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นนั้น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 11
❖ มาตรา 32 การจัดทาแผนปฏิบัติการ ✓ ให้คณะกรรมการดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อกาหนด ขั้นตอนการกระจายอานาจตามแผนการ กระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้อ งถิ่น โดยอย่างน้อ ยต้อ งมีสาระสาคัญ ดังต่อไปนี้ (1) กาหนดรายละเอียดของอานาจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ จะต้องกระทา โดยในกรณีใดเป็นอานาจและหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการของรัฐหรือระหว่างองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกัน ให้กาหนดแนวทางวิธีปฏิบัติเพื่อประสานการดาเนินการให้เกิดประโยชน์แ ก่ ส่วนรวม (2) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีดาเนินการในการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรให้เพียงพอแก่การดาเนินการตาม อานาจและหน้าที่ที่กาหนดให้เป็นอานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ โดยต้องคานึงถึง ภาระหน้าที่ของรัฐในการให้บริการสาธารณะเป็นส่วนรวมด้วย (3) รายละเอียดเกี่ยวกับการเสนอให้แก้ไขหรือจัดให้มีกฎหมายที่จาเป็นเพื่อดาเนินการตามแผนการกระจาย อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) จัดระบบการบริหารงานบุคคลององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกาหนดนโยบายและมาตรการการกระจาย บุคลากรจากราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคไปสู่ส่วนท้องถิ่น โดยการสร้างระบบการถ่า ยเท กาลังคนสู่ท้องถิ่น และสร้างระบบความก้าวหน้าสายอาชีพที่เหมาะสม ✓ แผนปฏิบัติการตามวรรคหนึ่งต้องกาหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติ และกาหนดหน่วยงานที่มีหน้าที่รั บผิดชอบ รวมทั้งระยะเวลาในการดาเนินการให้ชัดเจนด้วย
❖ มาตรา 33 ✓ เมื่อคณะกรรมการจัดทาแผนปฏิบัติการตามมาตรา 32 แล้ว ให้เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ แล้วรายงานต่อรัฐสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับต่อไป ✓ แผนปฏิ บั ติ ก ารที่ ป ระกาศใช้ บั ง คั บ ตามวรรคหนึ่ ง ให้ มี ผ ลผู ก พั น หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งต้ อง ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการนั้น ✓ ในกรณีที่สภาพการณ์เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างที่แผนปฏิบัติการใช้บังคับคณะกรรมการอาจดาเนินการ ปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้เหมาะสมกับสภาพการณ์นั้นได้ ✓ ให้ค ณะกรรมการมีห น้า ที ่ต ิด ตา มผลกา รปฏิบ ัต ิง าน ตา มแผนปฏิบ ัต ิก า รและ ราย งา น ให้ค ณะรั ฐ มนตรี ท ราบทุ ก ปี ในกรณี ที่ มี ปั ญ หาอุ ป สรรคไม่ อ าจด าเนิ น การตามแผนปฏิ บั ติ ก ารได้ ให้คณะกรรมการรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบปัญหาและอุปสรรคและแนวทางแก้ไขด้วย ❖ มาตรา 34 ➢ ให้คณะกรรมการพิจารณาทบทวนการกาหนดอานาจและหน้าที่และการจัดสรรรายได้ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นภายหลังที่ได้ดาเนินการตามแผนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปแล้ว โดยต้องพิจารณาทบทวนใหม่ทุกระยะเวลาไม่เกิน 5 ปีนับแต่วันที่มีการกาหนดอานาจและหน้าที่หรือวันที่ มีการจัดสรรรายได้ ทั้งนี้ จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของการกาหนดอานาจและหน้าที่และการ จัดสรรรายได้ เพื่อกระจายอานาจเพิ่มขึ้นให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 12 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2542 ➢ หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา 284 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย ได้บัญญัติให้มีกฎหมายกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ เพื่ อพัฒนาการกระจายอานาจให้แก่ท้องถิน่ เพิ่มขึ้น อย่างต่อ เนื่อ ง โดยมี สาระสาคัญ เกี่ยวกับ การก าหนดอ านาจหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ และการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้มีคณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยผู้แทน ของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้แทนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ มีจานวนฝ่ายละเท่ากันเพื่อทา หน้าที่ดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ➢ มาตรา 37 ในพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ให้แก้ไขคาว่า “อธิบดีกรมการปกครอง” เป็น “อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น”
➢ หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมีความชัดเจนในการใช้กฎหมาย โดยไม่ ต้ อ งไปค้ น หาในกฎหมายโอนอ านาจหน้ า ที่ ว่ า ตามกฎหมายใดได้ มี ก ารโอนภารกิ จ ของส่ ว นราชการ หรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ใดแล้ว โดยแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้มีการเปลี่ยน ชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการโอนอานาจหน้าที่ และเพิ่ม ผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็นการแก้ไขให้ต รงตามพระราชบัญญัติและพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่การปฏิบัติตามแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจใน การถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กาหนดไว้ไม่อาจดาเนินการได้ตามกาหนดระยะเวลา ทาให้การกาหนด สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามมาตรา 30 (4) แห่งพระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย อานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงในการถ่ายโอนภารกิจสมควรแก้ไขเพิ่มเติม การกาหนดสัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามสภาพข้อเท็จจริงนั้นและยังคงเป้าหมายการเพิ่ม สัดส่วนรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ได้รับไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ไว้เช่นเดิม จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 13
เก็งข้อสอบ พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 1. ใครไม่ได้เป็นผู้รักษาการตาม พรบ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจฯ 2542 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2. คณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(ไม่นับรวมป)มีทั้งหมดกี่คน ก. 24 คน ข. 30 คน ค. 36 คน ข. 42 คน 3. ใครเป็นประธานคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก. นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกที่ได้รับมอบหมาย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ง. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี 4. ผู้ใดไม่ได้เป็นคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก. ปลัดการทรวงพาณิชย์ ข. ปลัดกระทรวงการคลัง ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 5. ใครเป็นผูกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการ ก.พ. ค.ปลัดการทรวงมหาดไทย ง. ก.พ.ร. 6. ใครเป็นเลขานุการคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ู่ ค. หัวหน้า สกถ. ง. บุคคลซึ่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้ง 7.บุคคลใดสามารถเป็นผู้ทรงคณะวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ก. อาจารย์ผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ข. ผู้ที่มีตาแหน่งทางการเมือง ข. ผู้ที่เป็นข้าราชการ ง. บุคคลที่มีอายุ 30 ปีขึ้นไป 8. ผู้ทรงคณะวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีอายุไม่ต่ากว่ากี่ปี ก. 30 ปี ข. 35 ปี ู ค. 40 ปี ง. 45 ปี 9.ผู้ทรงคณะวุฒิในคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีวาระในการดารง ตาแหน่ง คราวละกี่ปี ก. 4 ปี วาระเดียว ข. 4 ปีแต่ไม่เกิน 2 วาระ ค. 6 ปี วาระเดียว ง. 3 ปี วาระเดียว
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 14 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
10. “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่าอะไร ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. องค์การบริหารส่วนตาบล
ค.เมืองพัทยา
ง.ถูกทุกข้อ
11. ข้อใดไม่ได้เป็นคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในพ.ร.บ.นี้ ก. มีสัญชาติไทย ข. เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรือเงินเดือนประจา ค. เป็นผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง ง. เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น 12. การประชุมของค์ณะกรรมการต้องมีกรรมการเท่าใด มาประชุมจึงเป็นองค์ประชุม ก. ไม่น้อยกว่า หนึ่งในสามของกรรมการทั้งหมด ข. ไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการทั้งหมด ค. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึง่ ของกรรมการทั้งหมด ง. ไม่มีข้อใดถูก 13. ข้อใดไม่อาจมีรายได้ของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตาบล ก. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ข. ภาษีป้าย ค. ภาษีศุลากร ง.อากรฆ่าสัตว์ 14. การจัดตั้งองค์การบริหารส์วนตาบลขนมหวาน เป็นหลักการตามข้อใด ก. หลักการแบงอานาจ ข. หลักการถวงดุลอานาจ ค. หลักการรวมอานาจ ง. หลักการกระจายอานาจ 15. เมื่อ คณะกรรมการการกระจายอานาจฯ จัดทาแผน ปฏิบัติการแล้วต้อ งเสนอเพื่อ ให้ความเห็นชอบ แล้ว รายงานต่อใคร เพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับต่อไป ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐสภา ค. วุฒิสภา ง. สภาผู้แทนราษฎร
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 15
เฉลยแนวข้อสอบ พ.ร.บ. กาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น พ.ศ. 2542 1. ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม 2. ค. 36 คน 3. ก. นายกรัฐมนตรี หรือรองนายกที่ได้รับมอบหมาย 4. ก. ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 5. ก. นายกรัฐมนตรี 6. ง. บุคคลซึ่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นแต่งตั้ง 7. ก. อาจารย์ผู้สอนในสภาบันอุดมศึกษาของภาครัฐ 8. ข. 35 ปี 9. ข. 4 ปีแต่ไม่เกิน 2 วาระ 10. ง. ถูกทุกข้อ 11. ก. มีสัญชาติไทย 12. ค. ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งข้อกรรมการทั้งหมด 13. ค. ศุลากร 14. ง. หลักการกระจายอานาจ 15. ข. รัฐสภา
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 16 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ประกาศ 29 พฤศจิกายน 2542 มีผลบังคับใช้ 30 พฤศจิกายน 2542 ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
มี 7 หมวด 43 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7
การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด การบริหารงานบุคคลในเทศบาล การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนตาบล การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา การบริหารงานบุคคลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
➔ คาจากัดความในพระราชบัญญัตินี้ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง “พนักงานส่วนท้องถิ่น” หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดพนักงานเทศบาล พนักงานส่วน ตาบล ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเมืองพัทยา และข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครอง ส่ ว นท้ อ งถิ่ น อื่ นที่ มี ก ฎหมายจั ด ตั้ ง ซึ่ ง ได้ รับ การบรรจุ แ ละแต่ ง ตั้ ง ให้ ปฏิ บั ติ ราชการโดยได้ รับ เงินเดื อนจาก งบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาล ที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนามาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการหรือ พนักงานส่วนท้องถิ่น “การบริหารงานบุ คคล” หมายถึง การพิจารณาและดาเนินการเกี่ ยวกับงานบุ คคล เช่น การบรรจุ แต่ งตั้ ง โยกย้าย การลงโทษทางวินัย เงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง ความดีความชอบ ฯลฯ คณะกรรมการบริงานบุคคลส่วนท้องถิ่น มีดังนี้ หน่วยงาน คณะกรรมการกลาง คณะกรรมการบริงานบุคคล องค์การบริหาร จานวน 18 คน จานวน 12 คน ส่วนจังหวัด ประธาน รัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีช่วย ประธาน ผู้ว่าราชการจังหวัด เลขานุการ รองอธิบดี กสถ. ทีไ่ ด้รับการแต่งตั้ง เลขานุการ ปลัด อบจ. เทศบาล จานวน 18 คน จานวน 18 คน ประธาน รัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีช่วย ประธาน ผู้ว่าราชการจังหวัด เลขานุการ รองอธิบดี กสถ. ทีไ่ ด้รับการแต่งตั้ง เลขานุการ ข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลคนหนึ่งในจังหวัด องค์การบริหาร จานวน 18 คน จานวน 27 คน ส่วนตาบล ประธาน รัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีช่วย ประธาน ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือรองผู้ว่าราชการจังหวัด เลขานุการ รองอธิบดี กสถ. ทีไ่ ด้รับการแต่งตั้ง เลขานุการ ข้าราชการหรือพนักงานส่วนตาบลคนหนึ่งในจังหวัด เมืองพัทยา จานวน 12 คน ประธาน ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี เลขานุการ ปลัดเมืองพัทยา
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 17
หมวด1 การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนจังหวัด ➔ มาตรา 5 คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด จานวน 12 คน
➔ มาตรา 16 คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด จานวน 18 คน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 18 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 2 การบริหารงานบุคคลในเทศบาล ➔ มาตรา 23 คณะกรรมการพนักงานเทศบาล จานวน 18 คน
➔ มาตรา 24 คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล จานวน 18 คน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 19
หมวด 3 การบริหารงานบุคคลในองค์การบริหารส่วนตาบล ➔ มาตรา 25 คณะกรรมการพนักงานส่วนตาบล จานวน 27 คน
➔ มาตรา 26 คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตาบล จานวน 18 คน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 20 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 4 การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร ➔ มาตรา 27 ➢ การบริ ห ารงานบุ ค คลของกรุ ง เทพมหานคร ให้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยระเบี ย บข้ า ราชการ กรุงเทพมหานคร
หมวด 5 การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา ➔ มาตรา 28 คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา จานวน 12 คน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 21
หมวด 6 การบริหารงานบุคคลในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ➔ มาตรา 29 ➢ การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
หมวด 7 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ➔ มาตรา 30 คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น จานวน 18 คน
➔ มาตรา 32 การดารงตาแหน่งของประธานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ➢ ให้ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นมีวาระอยู่ในตาแหน่งคราวละ 6 ปี นับแต่วันที่ได้รับการแต่งตั้ง และให้ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว ➢ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ้นจากตาแหน่งเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งให้ออก โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเนื่องจากมีความ ประพฤติเสื่อมเสีย บกพร่อง หรือไม่สุจริตต่อหน้าที่ (4) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 31 วรรคสอง (5) เป็นบุคคลล้มละลาย (6) เป็นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (7) ได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 22 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
➔ มาตรา 33 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ➢ ให้คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) กาหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล โดยเฉพาะในเรื่องการแต่งตั้งและการให้พ้นจากตาแหน่งของพนักงานส่วนท้องถิ่น รวมตลอดถึงการกาหนด โครงสร้างอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่นให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมแก่รายได้และการพัฒนาท้องถิ่น ตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ การกาหนดมาตรฐานกลางและแนวทางจะต้องไม่มี ลักษณะเป็น การกาหนดหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลโดยเฉพาะเจาะจงที่ทาให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นไม่สามารถบริหารงานบุ คคลตามความต้องการและความเหมาะสมของแต่ละองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นได้ (2) กาหนดแนวทางการพัฒนาการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เพื่อรองรับ การกระจายอานาจการ ปกครองส่วนท้องถิ่น (3) กาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการคัดเลือกตามมาตรา 16 วรรคสามมาตรา 24 วรรคสาม และมาตรา 26 วรรคสาม (4) ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิเคราะห์ หรือวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (5) ให้คาปรึกษา คาแนะนา และพิจารณาปัญหาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่นแก่องค์ กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (6) ประสานงานกับคณะรัฐมนตรี หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการข้าราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทต่างๆ คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วน ท้องถิ่น และคณะกรรมการข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้อ งถิ่น เพื่อส่งเสริมให้การบริหารงานบุคคลส่วน ท้องถิ่นมีประสิทธิภาพ (7) ปฏิบัติการอื่นตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น ➢ การก าหนดมาตรฐานกลางตามวรรคหนึ่ ง (1) ให้ ใ ช้ เ ป็ น แนวทางในการบริ ห ารงานบุ ค คลของ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นตามมาตรา 29 ด้วย ➔ มาตรา 34 ในกรณีที่มีปัญหาข้อโต้แย้งต่าง ๆ ➢ ในกรณีที่คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นเห็นว่าการกาหนดมาตรฐานทั่วไป ของคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นขัดแย้งกับมาตรฐานกลางหรือแนวทางตาม มาตรา 33 หรือมีปัญหาข้อโต้แย้ง ในการกาหนดหลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลระหว่างคณะกรรมการ ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกับคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ให้ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นแจ้ง ให้คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือ พนักงานส่วนท้องถิ่น หรือคณะกรรมการข้าราชการหรื อพนักงานส่วนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ดาเนินการ แก้ไขให้ถูกต้องตามมาตรฐานกลางและถ้ามิได้มีการดาเนินการในเวลาอันสมควรหรือการดาเนินการ ของคณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น หรือคณะกรรมการข้าราชการ หรือพนักงาน ส่วนท้องถิ่นจะเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อการบริหารเป็นส่วนรวมหรือไม่เป็นธรรมแก่ข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ให้คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นมีอานาจสั่ง ระงับการใช้หลักเกณฑ์การบริหารงานบุคคลนั้นได้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 23
➔ มาตรา 35 การจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วน ท้องถิ่น และลูกจ้าง ➢ ในการจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิน่ และลูกจ้าง ที่นามาจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใดนั้น องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแต่ละแห่งจะกาหนดสูงกว่าร้อยละ 40 ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นไม่ได้ ➔ มาตรา 36 สานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น ➢ ให้ จั ด ตั้ ง ส านั ก งานคณะกรรมการมาตรฐานการบริ ห ารงานบุค คลส่ว นท้อ งถิ่ น ขึ้ นในสานักงาน ปลัดกระทรวงกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่รับผิดชอบงานในราชการของคณะกรรมการมาตรฐานการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) รับผิดชอบในงานธุรการของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (2) ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ และรวบรวมข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ เกี่ ย วกั บ งานของคณะกรรมการมาตรฐานการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (3) ประสานงาน ติดตาม และประเมินผลการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) ช่วยเหลือ และให้คาปรึกษาและแนะนาเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (5) จั ด ประชุ ม สั ม มนา ฝึ ก อบรม รวมทั้ ง การประชาสั ม พั น ธ์ แ ละเผยแพร่ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บการ บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (6) จัดทารายงานประจาปีเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ผลงาน และอุปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่และในการ ดาเนินงานของคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นและสานักงานคณะกรรมการ มาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (7) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นมอบหมาย
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 24 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
วินัยพนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานส่วนท้องถิ่นต้องรักษาวินัยตามที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและ ข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ❑ ลักษณะความผิดเกี่ยวกับวินัยข้าราชการ ลักษณะความผิดวินัย 1. ไม่มีอายุความ 2. ยอมความไม่ได้ 3. ไม่อาจชดใช้ด้วยเงินเพื่อลบล้างความผิด 4. สภาพการกระทาผิดของข้าราชการ 5. การลงโทษต้องเป็นไปตามระเบียบกฎหมาย
ตัวอย่างลักษณะความผิด เช่ น โกงค่ า เช่ า บ้ า น ตั้ ง แต่ พ.ศ.2556 ตรวจพบเมื่ อ ปี 2560 ถ้าผู้นั้นยังเป็นข้าราชการอยู่ก็สามารถดาเนินการ ทางวินัยได้ เช่น ครู 2 คน ชกกันต่อหน้านักเรียน แม้ต่างฝ่ายต่างไม่ เอาเรื่องกัน ก็ไม่พ้นความรับผิดทางวินัย เช่ น ยั ก ยอกเงิ น ราชการไปแล้ ว น ามาคื น ครบถ้ ว น ก็ไม่อาจลบล้างความผิดทางวินัยได้ เช่น ครูเอ ถูกสอบสวนวินัยร้ายแรง แม้ออกจากราชการ ไปแล้วก็สอบสวนต่อไปได้ เช่น ครูบีถูกลงโทษปลดออกมีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญ เสมือนว่าลาออกจากราชการ
โทษทางวินัยมี 5 สถาน คือ ไม่ร้ายแรง (1) ภาคทัณฑ์ (2) ตัดเงินเดือน (3) ลดขั้นเงินเดือน ร้ายแรง (4) ปลดออก (5) ไล่ออก หลักการพิจารณาความผิด หลักการพิจารณาความผิดอยู่ 2 หลัก คือ 1. หลักนิติธรรม คือการพิจารณาตามที่กฎหมายกาหนดไว้ กล่าวคือ ต้องมีกฎหมายกาหนดว่าการกระทา เช่นนั้นเป็นความผิด การกระทาเข้าองค์ประกอบความผิดตามที่กฎหมายหรือข้อบังคับบัญญัติไว้ทุกประการ และเมื่อ การกระทาเข้าองค์ประกอบเป็นความผิดตามมาตราใด ก็ปรับบทเป็นความผิดตามมาตรานั้น 2. หลักมโนธรรม คือการพิจารณาโดยคานึงถึง ควำมเป็นจริง ถูกต้อง เหมำะสม ตำมเหตุผล ที่ควรจะเป็น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 25
การลงโทษทางวินัย หน่วยงาน
วินัยไม่ร้ายแรง (1) ภาคทัณฑ์ (2) ตัดเงินเดือน (3) ลดขั้นเงินเดือน องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1. นายก อบจ. 2. ปลัด อบจ. 3. หัวหน้าสานักปลัด อบจ.
วินัยร้ายแรง (4) ปลดออก (5) ไล่ออก นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาล
นายกเทศมนตรี
นายกเทศมนตรี
องค์การบริหารส่วนตาบล
นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
เมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
หมายเหตุ : วินัยร้ายแรง กรณีถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนจะนามาประกอบพิจารณาลดโทษได้ แต่ห้ามมิให้ลงโทษต่ากว่าปลดออก
การอุทธรณ์ ต้องอุทธรณ์ภายใน 30 วัน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 26 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิ่น (ทุกตาแหน่ง)
เหตุผลในการตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2542 หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญ ญัติฉ บับนี้ คือ เนื่อ งจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กาหนดให้อ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระในการบริหารงานบุคคลตามความต้องการและความ เหมาะสมของท้องถิ่น สมควรกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีคณะกรรมการพนักงานส่วนท้องถิ่นของตนเองเพือ่ ทาหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลสาหรับพนักงานส่วนท้องถิ่นของตนได้โดยตรง และเพื่อให้มีการกาหนดมาตรฐาน การบริหารงานบุคคลของพนักงานส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบให้มีทิศทางที่เหมาะสมและเป็นธรรม สมควรให้มีองค์กรซึ่งทา หน้าที่กาหนดมาตรฐานกลางและแนวทางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นไว้ด้วย จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาแก้ไขบทบัญญัติให้สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มาตรา 90 ในพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารงานบุ ค คลส่ ว นท้ อ งถิ่ น พ.ศ. 2542 ให้ แ ก้ ไ ขค าว่ า “อธิบดีกรมการปกครอง” เป็น “อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น” หมายเหตุ :เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ พ ระราชกฤษฎีก าฉบั บ นี้ คื อ โดยที่ พ ระราชบั ญญั ติ ปรั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ได้บัญญัติให้จัดตั้งส่วนราชการขึ้นใหม่โดยมีภารกิจใหม่ ซึ่งได้มีการตราพระราชกฤษฎีกา โอนกิจการบริหารและอานาจหน้าที่ของส่วนราชการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม นั้น แล้ว และเนื่องจากพระราชบัญญัติดังกล่าวได้บัญญัติให้โอนอานาจหน้าที่ ของส่วนราชการ รัฐมนตรีผู้ดารงตาแหน่ง หรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในส่วนราชการเดิมมาเป็นของส่วนราชการใหม่ โดยให้มีการแก้ไขบทบัญญัติต่าง ๆ ให้สอดคล้อง กับอานาจหน้าที่ที่โอนไปด้วย ฉะนั้น เพื่ออนุวัติให้เป็นไปตามหลักการที่ ปรากฏในพระราชบัญ ญัติและพระราช กฤษฎีกาดังกล่าว จึงสมควรแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมายให้สอดคล้องกับการโอนส่วนราชการ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมี ความชัดเจนในการใช้กฎหมายโดยไม่ต้องไปค้นหาในกฎหมายโอนอานาจหน้าที่ว่าตามกฎหมายใดได้มีการโอนภารกิจ ของส่วนราชการหรือผู้รับผิดชอบตามกฎหมายนั้นไปเป็นของหน่วยงานใดหรือผู้ ใดแล้ว โดยแก้ไ ขบทบัญ ญัติของ กฎหมายให้มีการเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ รัฐมนตรี ผู้ดารงตาแหน่งหรือผู้ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการให้ตรงกับการ โอนอานาจหน้าที่ และเพิ่มผู้แทนส่วนราชการในคณะกรรมการให้ตรงตามภารกิจที่มีการตัดโอนจากส่วนราชการเดิม มาเป็นของส่วนราชการใหม่รวมทั้งตัดส่วนราชการเดิมที่มีการยุบเลิกแล้ว ซึ่งเป็นการแก้ไขให้ตรงตามพระราชบัญญัติ และพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวจึงจาเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกา
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
ไฟล์ประกอบการติว ครั้งที่ 6 วันที่ 3 มิ.ย.62 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2546 ให้ไว้ 9 ตุลาคม 2546 ประกาศ 9 ตุลาคม 2546 มีผลบังใช้ 10 ตุลาคม 2546 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ นายกรัฐมนตรี มี 9 หมวด 50 มาตรา (เดิมมี 9 หมวด 53 มาตรา) หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 หมวด 8 หมวด 9
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภารกิจของรัฐ การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน การประเมินผลการปฏิบัติราชการ บทเบ็ดเตล็ด
ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 ให้ไว้ 26 เมษายน 2562 ประกาศ 30 เมษายน 2562 มีผลบังใช้ 1 พฤษภาคม 2562 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ : พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 ยกเลิกมาตราที่ 13 14 15
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
➔ มาตรา 1 ➢ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า “พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้าเมืองที่ดี พ.ศ. 2546” ➔ มาตรา 2 ➢ พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ➔ มาตรา 3 ➢ การปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกานี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนราชการใดจะปฏิบัติเมื่อใดและจะต้องมีเงื่อนไข อย่างใด ให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกาหนดตามข้อเสนอแนะของ ก.พ.ร. ➔ มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎีกานี้ (คาจากัดความ) “ส่ ว นราชการ” หมายความว่ า ส่ ว นราชการตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ในกากับของราชการฝ่ายบริหารแต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น “รัฐวิสาหกิจ” หมายความว่า รัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา “ข้าราชการ” หมายความรวมถึงพนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ ➔ มาตรา 5 ➢ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ออกข้อสอบบ่อย ➔ มาตรา 6 ➢ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้ (1) เกิดผลประโยชน์สุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขั้นตอนในการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ (6) ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ ➢ ท่องจา ประโยชน์ สัมฤทธิ์ ประสิทธิภาพ ไม่มีขั้นตอน ปรับปรุง อานวย ประเมินผล
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3
หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ➔ มาตรา 7 การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ➢ การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายเพื่อให้ เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนความสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจน ประโยชน์สูงสุดของประเทศ ➔ มาตรา 8 แนวทางการบริหารราชการ ➢ ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนส่วนราชการจะต้องดาเนินการ >>โดยถือว่า ประชาชนเป็น ศูน ย์กลาง<<ที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทางการบริห ารราชการ ดังต่อไปนี้ (1) การกาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตามมาตรา 7 และสอดคล้องกับ แนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา (2) การปฏิ บั ติ ภารกิจของส่ว นราชการ ต้ อ งเป็ น ไปโดยซื่ อ สั ตย์ สุ จริ ต สามารถตรวจสอบได้ และมุ่ ง ให้เกิด ประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น (3) ก่อ นเริ่ มด าเนิ น การส่ว นราชการต้ อ งจั ด ให้ มี การศึ กษาวิ เ คราะห์ ผ ลดี แ ละผลเสี ย ให้ ค รบถ้ว นทุ ก ด้ า น กาหนดขั้นตอนการดาเนินการที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ละขั้นตอน ในกรณีที่ภารกิจใดจะมี ผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือชี้แจงทาความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงผลประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น (4) ให้ เ ป็ นหน้ า ที่ ของข้า ราชการที่ จะต้อ งคอยรั บ ฟั งความคิดเห็น และความพึ งพอใจของสั งคมโดยรวมและ ประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อให้มีการปรับปรุงวิธีปฏิบัติราชการให้ เหมาะสม (5) กรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดาเนินการให้ส่วนราชการดาเนินการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้น โดยเร็ว >>ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วนราชการอื่นหรื อระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วน ราชการอื่น<< ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบด้วย
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภารกิจของรัฐ ➔ มาตรา 9 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐให้ส่วนราชการปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใดส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า (2) การกาหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของขั้นตอนระยะเวลา และงบประมาณที่จะต้องใช้ในการดาเนินการของแต่ละขั้นตอนเป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ (3) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ส่วนรวมราชการกาหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร.กาหนด (4) ในกรณี ที่การปฏิบัติ ภ ารกิจ หรื อการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติร าชการเกิดผลกระทบต่อ ประชาชน ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่จะต้องดาเนินการแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติ ราชการให้เหมาะสม ➔ มาตรา 13 -15 ยกเลิก (ยกเลิก โดย พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562) ➔ มาตรา 16 การจัดทาแผนปฏิบัติราชการ พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 1 ) พ.ศ.2546) ➢ ให้ส่วนราชการจั ด ทาแผนปฏิบัติราชการของ ส่ ว นราชการนั้ น >>โดยจั ด ท าแผน 4 ปี << ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการ แผ่ น ดิ น ตามมาตรา 13 (วรรคหนึ่ ง ยกเลิ ก โดย พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 )
พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 ให้ ส่ ว นราชการจั ดท าแผนปฏิบั ติ ร าชการของ ส่ ว นราชการนั้ น โดยจั ด ท าเป็ น แผน 5 ปี ซึ่ ง ต้ อ ง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ช าติ แผนแม่บท แผนการ ปฏิ รู ป ประเทศ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง
➢ ในแต่ละปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทาแผนกปฏิบัติราชการประจาปีโดยให้ระบุสาระสาคัญเกี่ยวกับ นโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน รวมทั้งประมาณการ รายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่ต้องใช้ เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ ➢ เมื่อรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการใด ให้สานักงบประมาณดาเนินการ จัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุผลสาเร็จในแต่ละภารกิจตามแผนปฏิบัติราชการดังกล่าว ➢ ในกรณีที่ส่วนราชการมิได้เสนอแผนปฏิบัติราชการในภารกิจใดหรือภารกิจใดไม่ได้รับความเห็นชอบจาก รัฐมนตรี >>มิให้สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณสาหรับภารกิจนั้น<< ➢ เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการ >จัดทารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของปฏิบัติราชการประจาปี < เสนอต่อคณะรัฐมนตรี
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
➔ มาตรา 17 ➢ สานักงบประมาณ และ ก.พ.ร.<< ร่วมกันกาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ ➔ มาตรา 18 ➢ เมื่อมีกาหนดงบประมาณรายจ่ายประจาปีตามแผนปฏิบัติราชการของส่ ว นราชการใดแล้ ว การโอน งบประมาณจากภารกิจหนึ่งตามที่กาหนดในแผนปฏิบัติราชการไปดาเนินการอย่างอื่น ซึ่งมีผลทาให้ ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมายหรือนาไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้กาหนดในแผนปฏิบัติราชการ ➢ >>จะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี<<ให้ปรับแผนปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกันแล้ว (วรรคนี้ ยกเลิก โดย พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 )
➔ มาตรา 19 ➢ เมื่อนายกรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่ง >>ให้หัวหน้าส่วนราชการ<<มีหน้าที่สรุปผลการปฏิบัติราชการ แ ล ะ ใ ห้ ข้ อ มู ล >>ต่ อ น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ค น ใ ห ม่ ต า ม ที่ น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ค น ใ ห ม่ สั่ ง ก า ร << ทั้งนี้ เพื่อนายกรัฐมนตรีคนใหม่จะได้ใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณากาหนดนโยบายการบริหารราชการ แผ่นดินต่อไป
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 6 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ➔ มาตรา 20 เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ➢ ให้ ส่ ว นราชการก าหนด เป้ า หมายแผนการท างานระยะเวลาแล้ ว เสร็ จ ของงานหรื อ โครงการ และงบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชน ทราบทั่วกันด้วย ➔ มาตรา 21 ให้ส่วนราชการ ➢ จัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กรมบัญชีกลาง กาหนด ➢ ให้ ส่ว นราชการค านวณรายจ่ายต่อหน่ว ยของงานบริ การสาธารณะที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่ วน ราชการนั้นตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกาหนดและ >>รายงานให้สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ<<
➔ มาตรา 22 ➢ ให้ ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ และส านั ก งบประมาณ >>ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ<<ที่ส่วนราชการดาเนินการอยู่เพื่อ รายงานคณะรัฐมนตรีสาหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรที่จะได้ ดาเนินการต่อไปหรือ ยุบเลิก และเพื่ อ ประโยชน์ในการจัดตั้ ง งบประมาณของส่วนราชการในปีต่อ ไป ทั้ ง นี้ ตามระยะเวลาที่ คณะรัฐมนตรีกาหนด ➢ ในการประเมินความคุ้มค่าให้คานึงถึง ประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ ความเป็นไปได้ของภารกิจหรือโครงการที่ดาเนินการ ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะพึงได้ รายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังที่สว่ นราชการดาเนินการด้วย ➢ ความคุ้มค่าตามาตรานี้ ให้หมายความถึง ประโยชน์หรือผลเสียทางสังคม และประโยชน์หรือผลเสียอื่น ซึ่งไม่อาจคานวณเป็นตัวเงินได้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 7
หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน ➔ มาตรา 27 ➢ ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอานาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติราชการ หรือการดาเนินการอื่นใดของผู้ดารงตาแหน่งใดให้แก่ผู้ดารงตาแหน่งที่มีหน้าที่ รับผิดชอบในการดาเนินการในเรื่องนั้นโดยตรง เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและลดขั้นตอนการปฏิบัติ ราชการ ทั้งนี้ ในการกระจายอานาจการตัดสินใจดังกล่าว ต้องมุ่งผลให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริการประชาชน ➔ มาตรา 29 ➢ ในการปฏิบั ติงานที่เ กี่ย วข้ องกับ การบริ ก ารประชาชนหรื อ การติ ดต่ อ ประสานงานระหว่ า งส่วน ราชการด้วยกัน >>ให้ส่วนราชการแต่ละแห่งจัดทาแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาการดาเนินการ รวมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอน << เปิดเผยไว้ ณ ที่ทาการของส่วนราชการ และในระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนหรือผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าตรวจดูได้ ➢ การบริการประชาชนและการติดต่อ ประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกัน ต้องกระทาโดยใช้ แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางที่สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) กาหนดด้วย (วรรคสอง เพิ่มเติม โดย พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 )
➔ มาตรา 30 ➢ ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้าที่ของปลัดกระทรวงที่จะต้อง>>จัดให้ส่วนราชการภายในกระทรวงที่ รับผิดชอบปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริการประชาชนร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วม >>เพื่ออานวยความ สะดวกแก่ประชาชนในการที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎอื่นใด<< ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชน สามารถติดต่อสอบถาม ขอทราบข้อมูล ขออนุญาต หรือขออนุมัติในเรื่องใด ๆ ที่ เป็นอานาจหน้าที่ ของส่วนราชการในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการร่วมเพียงแห่งเดียว ➔ มาตรา 32 ➢ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ และปลัดอาเภอผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ จัดให้ส่วนราชการที่ รับผิดชอบดาเนินการเกี่ยวกับการบริการประชาชนในเรื่องเดียวกันหรือ ต่อเนื่องกั นในจังหวัด อาเภอ หรือกิ่งอาเภอนั้น ร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริการร่วมไว้ • ณ ศาลากลางจังหวัด • ที่ว่าการอาเภอหรือที่ว่าการกิ่งอาเภอ • หรือสถานที่อื่นตามที่เห็นสมควร ➢ โดยประกาศให้ประชาชนทราบ
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 8 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ➔ มาตรา 33 (วรรคหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติม โดย พ.ร.ก.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 )
➢ ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตนว่าภารกิจใดมีความจาเป็น หรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดาเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคานึงถึง • ยุทธศาสตร์ชาติ • แผนแม่บท • แผนการปฏิรูปประเทศ • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา • และแผนอื่นที่เกี่ยวข้อง • รวมถึงกาลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่นประกอบกัน ➢ กาหนดเวลาในการจัดให้มีการทบทวน >>ให้เป็นไปตามที่ก.พ.ร.กาหนด ➢ ในกรณีที่ส่วนราชการเห็นควร >> ยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภารกิจ << ให้ส่วนราชการ ด าเนิ น การปรั บ ปรุ ง อ านาจหน้ า ที่ โครงสร้ า ง และอั ต ราก าลั ง ของส่ ว นราชการให้ ส อดคล้ อ งกั น และเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อดาเนินการต่อไป ➢ ในกรณี ที่ ก.พ.ร. พิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า ภารกิ จ ของรั ฐ ที่ ส่ ว นราชการใดรั บ ผิ ด ชอบด าเนิ น การอยู่ >>สมควรเปลี่ ย นแปลง ยกเลิ ก หรื อ เพิ่ ม เติ ม << ให้ เ สนอคณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ พิ จ ารณา เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว ให้ส่วนราชการนั้นดาเนินการปรับปรุงภารกิจ อานาจหน้าที่ โครงสร้าง และอัตรากาลังของส่วนราชการนั้นให้สอดคล้องกัน ➔ มาตรา 34 ➢ ในกรณีที่มีการยุบเลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดทั้งหมดหรือบางส่วน ห้ามมิให้จัดตั้งส่วนราชการ ที่มีภารกิจหรืออานาจหน้าที่ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันกับส่วนราชการดังกล่าวขึ้นอีก เว้นแต่มี เหตุผลและความจาเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจ ของประเทศ หรือรักษาผลประโยชน์ ส่วนรวมของประชาชน และโดยได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร. (แก้ไขเพิ่มเติม โดย พ.ร.ก.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2562 )
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 9
หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ➔ มาตรา 37 ➢ การบริการประชาชนหรือติดต่อประสานงานในระหว่างส่วนราชการด้วยกัน >ให้ส่วนราชการ< • กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงาน • ประกาศให้ประชาชนและข้าราชการทราบเป็นการทั่วไป ➢ ส่วนราชการใดมิได้กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานใดและ ก.พ.ร. พิจารณาเห็นว่างานนั้น มีลักษณะ ที่สามารถกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จได้ หรือส่วนราชการได้กาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จไว้ แต่ ก.พ.ร. เห็นว่าเป็นระยะเวลาที่ล่าช้าเกินสมควร ก.พ.ร.จะกาหนดเวลาแล้วเสร็จให้ส่วนราชการนั้นต้องปฏิบัติก็ได้ ➢ ให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาที่ จ ะต้ อ งตรวจสอบให้ ข้ า ราชการปฏิ บั ติ ง านให้ แ ล้ ว เสร็ จ ตาม กาหนดเวลา ➔ มาตรา 38 ➢ เมื่อส่วนราชการใดได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือจากส่วนราชการด้วยกัน เกี่ยวกับงานที่อยู่ในอานาจหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้ นที่จะต้องตอบ คาถามหรือแจ้งการดาเนินการให้ทราบภายในสิบห้าวันหรือภายในกาหนดเวลาที่กาหนดไว้ ➔ มาตรา 44 ➢ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับ • งบประมาณรายจ่ายแต่ละปี • รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อหรือจัดจ้างที่จะดาเนินการในปีงบประมาณนั้น • สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้างแล้ว ➢ ให้ประชาชนสามารถขอดูหรือตรวจสอบได้ • ณ สถานที่ทาการของส่วนราชการ • ระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการ ➢ การเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต้องไม่ก่อให้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบหรือความเสียหายแก่บุคคลใด ในการจัดซื้อหรือจัดจ้าง ➢ ในการจั ด ทาสัญ ญาจั ด ซื้ อ หรื อจั ดจ้า ง ห้ ามมิให้ มีข้อความหรือ ข้ อตกลงห้ า มมิ ให้ เ ปิดเผยข้ อ ความ หรือข้อตกลงในสัญญาดังกล่าว เว้นแต่ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลที่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวกับการคุ้มครองความลับทางราชการ หรือในส่วนที่เป็นความลับทางการค้า
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 10 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ➔ มาตรา 45 ➢ ให้ส่วนราชการ >>จัดให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วน ราชการเกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ความคุ้มค่าในภารกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กาหนด ➔ มาตรา 49 ➢ >>เมื่อส่วนราชการใดได้ดาเนินงานไปตามเป้าหมาย<< สามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ โดยไม่เป็ น การเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ หรือสามารถดาเนินการตามแผนการลดค่า ใช้จ่ายต่อหน่วย ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กาหนดให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี จัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภ าพ ให้แก่ส่วนราชการนั้น หรือให้ส่วนราชการใช้เงินงบประมาณเหลือจ่ายของส่วนราชการนั้น เพื่อนาไปใช้ใน การปรับปรุงการปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือจัดสรรเป็ นรางวัลให้ข้าราชการในสังกัด ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก.พ.ร. กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด ➔ มาตรา 52 ➢ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น >>จัดทาหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามแนวทางของ พระราชกฤษฎีกานี้โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการลดขั้นตอนการปฏิบัติงานและการอานวย ความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน<< ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติในหมวด 5 และหมวด 7 ➢ ให้เป็นหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทา หลักเกณฑ์ตามวรรคหนึ่ง
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 11
เหตุผลในการตราพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ฉบับที่ 1 พ.ศ.2546
ประกาศ
บังคับใช้
9 ต.ค.2546
10 ต.ค.2546 เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
30 เม.ย.2562
1 พ.ค.2562
ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562
เหตุผลในการประกาศใช้
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี
ประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ มีประสิทธิภาพ เกิด ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ลดขั้นตอนการปฏิบัติ งานที่ เกินความจาเป็น และประชาชนได้รับการอานวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ กาหนดหลักเกณฑ์และ วิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและ ข้ า ราชการปฏิ บั ติ ร าชการเพื่ อ ให้ เ กิ ด การบริ ห ารกิ จ การ บ้านเมืองที่ดี กาหนดให้การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชน และการติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการด้วยกั น ต้อง กระทาโดยใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางเพื่อให้สอดคล้องกับการ ปฏิ รู ป ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ร าชการและการบริ ห าร ราชการแผ่นดินตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
* ในวาระเริ่มแรก ตามราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิ จการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 * >> การจัดทาแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการเป็นแผน 5 ปี ให้จัดทาเป็นแผน 3 ปี โดยมีห้วงระยะเวลา ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 >> ให้สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) จัดให้มีแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง เพื่อให้ส่วนราชการใช้ใน การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างกันได้ภายใน 90 วันนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ >>หัวหน้า ส่วนราชการที่จ ะต้องดาเนิ น การให้ การบริการประชาชนและการติดต่อประสานงานระหว่างส่วน ราชการด้วยกัน โดยการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางให้แล้วเสร็จภายใน 2 ปี นับแต่พ้นกาหนดเวลา 90 วัน >>ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีเหตุผลความจาเป็นที่ไม่สามารถดาเนินการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลกลางได้ภายใน ระยะเวลาที่กาหนด 2 ปี ให้หัวหน้าส่วนราชการนั้น เสนอ ก.พ.ร. เพื่อพิจารณาขยายระยะเวลาดังกล่าวได้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 12 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 1. พระราชกฤษฎี ก ารว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ. 2546 ได้ ต ราขึ้ น ตาม กฎหมายใด ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน ง. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดินและพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง 2. ในทางปฏิบัติราชการส่วนใด จะปฏิบัติเมื่อใดต้องมีเงื่อนไขอย่างไร ใครเป็นผู้กาหนดให้ปฏิบัติตามพระราช กฤษฎีกานี้ ก. คณะรัฐมนตรี ข.นายกรัฐมนตรี ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงนั้น ง.ถูกทุกข้อ 3. หน่วยงานใดมีหน้าที่ให้ข้อเสนอแนะ (คณะรัฐมนตรี ) ก่อนปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาในการที่จะให้ส่ วน ราชการปฏิบัติเมื่อใด และจะมีต้องมีเงื่อนไขอย่างใด ก. สานักงบประมาณ ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ค. ก.พ. ง. สานักนายกรัฐมนตรี 4. คาว่า “ส่วนราชการ” ตามความหมายพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี พ.ศ. 2546 นั้นให้ความหมายถึงส่วนราชการตามกฎหมายใด ก. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ข. ตามกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผนดิน ค. ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ง. ถูกทุกข้อ 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้น จะต้องบริหารราชการให้บรรลุเป้าหมายทั้งหมดกี่ประการ ข้อใดกล่าว ถูกต้อง ก. 5 ประการ ข. 6 ประการ ค. 7 ประการ ง. ขึ้นอยู่มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายรัฐบาล 6. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีนั้น เป้าหมายสูงสุดคือข้อใด ก. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น ข. มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ ค. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองค์วามต้องการ ง. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 7. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน หมายถึงการปฏิบัติราชการที่มีเป้าหมายตามข้อใด ก. เกิดความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ข. เกิดความสงบและปีลอดภัยของสังคมส่วนรวม ค. เกิดประโยชน์สูงสุดของประเทศ ง. ถูกทุกข้อ รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 13
8. ในการบริ ห ารราชการเพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของประชาชน ส่ ว นราชการจะต้ อ งด าเนิ น การโดยถื อ อะไรเป็น ศูนย์กลางในการบริการจากรัฐ ก. นโยบายประเทศ ข. สังคมและชุมชน ค. ผู้นาและประชาชน ง. ประชาชน 9. ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั้น ส่วนราชการจะต้องมีแนวทางในการบริหาร ราชการกี่ข้อ ก. 5 ข้อ ข. 6 ข้อ ค. 7 ข้อ ง. แล้วแต่ ก.พ.ร. กาหนด 10. ส่วนราชการใด ที่จะดาเนินการให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชาชนนั้น จะต้องมีการกาหนดแนวทางการ บริหารราชการตามข้อใด เป็นอันดับแรก ก. ศึกษาปัญหาและอุปสรรคก่อนการดาเนินการแล้วปรับปรุงโดยเร็ว ข. จะต้องมีการศึกษาวิเคราะหผลดีผลเสียให้ครบทุกด้านที่กระทบต่อประชาชน ค. กาหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการให้สอดคลองกับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ 11. ก่อนดาเนินการ ส่วนราชการต้องดาเนินการอย่างไร ก. จัดให้มีการศึกษา วิเคราะหผลดีและผลเสียให้ครบทุกด้าน ข. กาหนดขั้นตอนการดาเนินการที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบการดาเนินการในแต่ละขั้นตอน ค. ในกรณีที่ภารกิจใด จะมีผลกระทบต่อประชาชน ต้องดาเนินการรับฟังความคิดเห็น หรือชี้แจงทาความ เข้าใจ เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงผลประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น ง. ถูกทุกข้อ 12. ในทางปฏิบัติ หากมีกรณีที่เกิดปัญหาและอุปสรรคจากดาเนินการให้ส่วนราชการปฏิบัติอย่างไรก่อน ก. แจ้ง ก.พ.ร. ทราบ ข. แจ้งผู้บังคับบัญชาทราบ เพื่อเสนอการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ค. แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ง. แจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวของให้ทราบปัญหา 13.ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วนราชการอื่นหรือระเบียบข้อบังคับที่ออกโดยส่วนราชการอื่นให้ ดาเนินการอย่างไร ก. แจ้ง ก.พ.ร. ทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป ข. แจ้งให้คณะรัฐมนตรีทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป ค. แจ้งกระทรวงตนสังกัดทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป ง. แจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวของทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป 14. ในการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ส่วนราชการจะต้องปฏิบัติภารกิจนั้น จะต้อง ดาเนินการตามข้อใด เป็นอันดับแรก ก. กาหนดภารกิจการบริหารราชการให้สอดคลองกับแนวนโยบายของรัฐ ข. จัดให้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามภารกิจหลักเกณฑ์และวิธีที่ส่วนราชการกาหนดขึ้น ค. รับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการมาศึกษาวิเคราะหแล้วกาหนดภารกิจ ง. จั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารไว้ เ ป็ น การลวงหน้ า โดยมี ร ายละเอี ย ดของขั้ น ตอน ระยะเวลาและ งบประมาณ ตลอดจนเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 14 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
15. “การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ” บัญญัติไว้ในหมวดใดของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ก. หมวด 3 ข. หมวด 4 ค. หมวด 5 ง. หมวด 6 16. หมวด 1 ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 บัญญัติ ไว้ด้วยเรื่องใด ก. บทเบ็ดเตล็ด ข. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ค. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ง. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 17. เหตุ ผ ลในการประกาศใช้ พ ระราชกฤษฎี ก าว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ แ ละวิ ธี ก ารบริ ห ารกิ จ การบ้ า นเมื อ งที่ ดี พ.ศ.2546 คืออะไร ก. เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ ข. มีการปฏิรูประบบราชการ ค. เพื่อให้การบริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ง. ถูกทุกข้อ 18. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มีผลบังคับใช้เมื่อใด ก. วันที่ 9 ตุลาคม 2546 ข. วันที่ 10 ตุลาคม 2546 ง. ถูกทั้ง ข. และข้อ ค. ค. วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา 19. กรณีองค์กรมหาชน หรือ รัฐวิสาหกิจใด ไม่จัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ผู้มีอานาจ พิจารณาสั่งการให้องค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจนั้น ดาเนินการให้ถูกต้องคือใคร ก. กระทรวงมหาดไทย ข. คณะรัฐมนตรี ค. ก.พ.ร. ง. รัฐมนตรีที่กากับดูแลองค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจ 20. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่ดูแลและให้ความช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดทาหลักเกณฑ์การ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ก. สานักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงมหาดไทย ค. คณะรัฐมนตรี ง. ก.พ.ร. 21.หน่วยงานใดต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตามพระราชกฤษฎีกาว่า ด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ก. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ข. องค์กรมหาชน ค. รัฐวิสาหกิจ ง. ถูกทุกข้อ 21.ส่วนราชการต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง ก. งบประมาณรายจายแต่ละปี ข. การจัดซื้อจัดจ้างที่จะดาเนินการในปีงบประมาณนั้น ค. สัญญาใด ๆ ที่ได้มีการอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้างแล้ว ง. ถูกทุกข้อ
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 15
22.การอานวยความสะดวกและความรวดเร็วแก่ประชาชนในการติดต่อกับส่วนราชการ ทุกแห่งส่วนราชการใด ต้องจัดให้มีระบบเครือขายสารสนเทศกลางขึ้น ก. กระทรวง ทบวง กรม ข. จังหวัด อาเภอ ค. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 23. ส่วนราชการใด ได้รับการติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือจากส่วนราชการด้วยกัน มีหน้าที่ต้อง ตอบคาถามหรือแจ้งการดาเนินการให้ทราบภายในกี่วัน ก. 5 วัน ข. 10 วัน ค. 15 วัน ง. 20 วัน 24. ผู้มีหน้าที่จัดให้ส่วนราชการภายในกระทรวงจัดตั้งศูนย์บริการรวม เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชนใน การที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย คือใคร ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ค. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ง. ถูกทุกข้อ 25. กรณีผู้บังคับบัญชาสั่งราชการด้วยว่าจา ผู้รับคาสั่งจะต้องปฏิบัติอย่างไร ก. รีบปฏิบัติราชการตามคาสั่ง ข. บันทึกคาสั่งด้วยวาจาเป็นลายลักษณอักษร ค. แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาสั่งการเป็นลายลักษณอักษร ง. ถูกทั้ง ข และ ค 26. หน่วยงานใดมีหน้าที่จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดาเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี ก. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข. สานักงบประมาณ ค. กรมบัญชีกลาง ง. ถูกทั้ง ก และ ข 27. ส่วนราชการต้องคานวณรายจายต่ อหน่วยของงานบริการสาธารณะที่อยู่ในความรั บผิดชอบรายงานต่อ หน่วยงานใด ข. ก.พ.ร. ก. สานักงบประมาณ ค. กรมบัญชีกลาง ง. ถูกทุกข้อ 28. หน่วยงานใดที่มีหน้าที่กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทาบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะให้ส่วน ราชการปฏิบัติ ก. สานักงบประมาณ ข. คณะรัฐมนตรี ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง 29. หน่วยงานใดมีหน้าที่กาหนดแนวทางการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ ก. สานักงบประมาณ ข. ก.พ.ร. ค. คณะรัฐมนตรี 30. ก.พ.ร. หมายถึงหน่วยงานใด ก. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ค. กองพัฒนาราชการ
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ง. กรมพัฒนาระบบราชการ
31. ข้อใดไม่ใช้ “ส่วนราชการ “ตามความหมายใน พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี พ.ศ.2546 ก. กระทรวง ข. ทบวง ค. กรม ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 16 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
32. ข้อใดไม่ใช้เป้าหมายในการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ก. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ค. ภาพพจน์ที่ดีในสายตาตางประเทศ ง. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่าเสมอ 33. การบริการกิจการบ้านเมืองที่ดี ได้แก่ การบริหารราชการเพื่อบรรลุเป้าหมายกี่ข้อ ก. 5 ข้อ ข. 6 ข้อ ค. 7 ข้อ ง. 8 ข้อ 34. ข้อใดไม่ใช้ความหมายของการบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน ก. ความผาสุกและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ข. ความสงบและความปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ค. ประโยชน์สูงสุดของประเทศ ง. ขวัญและกาลังใจข้าราชการ 35. ข้อใดไม่ใช้ การบริหารราชการโดยถือประชาชนเป็นศูนย์กลาง ก. ก่อนดาเนินการส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะหผลดีผลเสีย ข. การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซื่อสัตยสุจริต ค. รับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยส่วนรวม ง. ต้องรายงานผลการปฏิบัติต่อรัฐสภาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 36. เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการ ก. ปรึกษาหารือกัน ค. ประสานแผนกัน
ข. บริหารราชการแบบบูรณาการรวมกัน ง. สัมมนารวมกัน
37. การบริหารแบบบูรณาการรวมกันมุ่งให้เกิด ก. ประโยชน์สุขของประชาชน ค. ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
ข. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ง. ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจาเป็น
38. ให้ส่วนราชการจัดทา ...................ในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธี การที่ กรมบัญชีกลางกาหนด ก. ต้นทุน ข. บัญชี ค. บัญชีต้นทุน ง. บัญชีทุน 39. ในการกระจายอานาจการตัดสินใจ มุ่งผลเรื่องใด ก. การบริหารแบบมีส่วนรวม ค. การทางานเป็นทีม
ข. เกิดขวัญและกาลังใจในการทางาน ง. ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน
40. ในกระทรวงหนึ่ง ให้ เ ป็ น หน้ า ที่ ข องปลั ด กระทรวงที่ จะต้อ งให้ ส่ว นราชการภายในกระทรวงรั บ ผิ ดชอบ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริการประชาชนรวมกันจัดตั้ง ก. ศูนย์ประสานราชการ ข. ศูนย์บริการรวม ค. ศูนย์รับเรื่อง ง. ศูนย์บริการประชาชน 41.กรณีใด มิใช้ กรณีที่มีความจาเป็นอย่างยิ่งที่การปฏิบัติราชการ ต้องกาหนดเป็นความลับได้เท่าที่จาเป็น ก. ความมั่นคงของประเทศ / เศรษฐกิจ ข. ความมั่นคงของรัฐ ค. การรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน ง. การคุมครองสิทธิส่วนบุคคล
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 17
42. ข้อใดไม่ใช้ ให้ส่วนราชการจัดให้มีคณะกรรมการประเมินอิสระ ดาเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ ดังต่อไปนี้ ก. ภารกิจคุณภาพการให้บริการ ข. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ ค. ความคุ้มค่าในภารกิจ ง. ความพึงพอใจของข้าราชการ 43. เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกาหนดมาตรการ กากับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการใด ก. จัดทาความตกลงเป็นลายลักษณอักษร ข. การประเมินคุณภาพ ค. การตรวจสอบภายใน ง. การประเมินตนเอง 44. เมื่อสิ้นปีงบประมาณส่วนราชการต้องจัดทารายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติราชการเสนอต่อผู้ใด ก. กระทรวงการคลัง ข. สานักงบประมาณ ค. คณะรัฐมนตรี ง. กรมบัญชีกลาง 45. ส่วนราชการมีหน้า ที่จั ด ทาแผนปฏิบัติร าชการประจาปีใ นแต่ละปีงบประมาณเสนอต่อผู้ใ ดเพื่อให้ค วาม เห็นชอบ ก. รัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. อธิบดี 46. หน่วยงานใดต้องจัดให้มีแพลตฟอร์มดิจิทัลกลาง เพื่อให้ส่วนราชการใช้ในการบริการประชาชนและการ ติดต่อประสานงานระหว่างกัน ก. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ข. ก.พ.ร. ค. สานักนายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี 47. การจัดทาแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการต้องจัดทาเป็นแผนกี่ปี ก. แผน 2 ปี ข. แผน 3 ปี ค. แผน 4 ปี ง. แผน 5 ปี 48. กรณีที่ส่วนราชการใดมีเ หตุผลความจาเป็น ที่ไ ม่สามารถดาเนินการใช้แ พลตฟอร์ มดิจิทัลกลางได้ภายใน ระยะเวลาที่กาหนด 2 ปี หัวหน้าส่วนราชการสามารถเสนอใคร เพื่อพิจารณาขยายระยะเวลาดังกล่าวได้ ก. สานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) ข. ก.พ.ร. ค. สานักนายกรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 18 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
เฉลยแนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ พ.ศ.2546 1. ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน 2. ก. คณะรัฐมนตรี 3. ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ 4. ก. ตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม 5. ค. 7 ประการ 6. ง. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 7. ง. ถูกทุกข้อ 8. ง. ประชาชน 9. ก. 5 ข้อ 10. ค. ก าหนดภารกิ จ ของรั ฐ และส่ ว นราชการให้ ส อดคลองกั บ แนวนโยบายแห่ ง รั ฐ และนโยบายของ คณะรัฐมนตรี 11. ง. ถูกทุกข้อ 12. ค. แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว 13. ง .แจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวของทราบ เพื่อดาเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป 14. ง. จัดทาแผนปฏิบั ติการไว้เป็ นการลวงหน้า โดยมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลาและงบประมาณ ตลอดจนเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดความสาเร็จของภารกิจ 15. ง. หมวด 6 16. ง. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 17. ง. ถูกทุกข้อ 18. ง. ถูกทั้ง ข. และข้อ ค. 19. ง. รัฐมนตรีที่กากับดูแลองค์การมหาชนหรือรัฐวิสาหกิจ 20. ข. กระทรวงมหาดไทย 21. ง. ถูกทุกข้อ 22. ค. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23. ค. 15 วัน 24. ก. ปลัดกระทรวง 25. ข. บันทึกคาสั่งด้วยวาจาเป็นลายลักษณอักษร 26. ง. ถูกทั้ง ก และ ข 27. ง. ถูกทุกข้อ 28. ค. กรมบัญชีกลาง 29. ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 30. ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 19
31. ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 32. ค. ภาพพจน์ที่ดีในสายตาตางประเทศ 33. ค. 7 ข้อ 34. ง. ขวัญและกาลังใจข้าราชการ 35. ง. ต้องรายงานผลการปฏิบัติต่อรัฐสภาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 36. ข. บริหารราชการแบบบูรณาการรวมกัน 37. ข. ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ 38. ค. บัญชีต้นทุน 39. ง. ความสะดวกและรวดเร็วในการบริการประชาชน 40. ข. ศูนย์บริการรวม 41. ข. ความมั่นคงของรัฐ 42. ง. ความพึงพอใจของข้าราชการ 43. ก. จัดทาความตกลงเป็นลายลักษณอักษร 44. ค. คณะรัฐมนตรี 45. ก. รัฐมนตรี 46. ง. 1 พ.ค.2562 47. ง. แผน 5 ปี 48. ข. ก.พ.ร.
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
ไฟล์ติวออนไลน์ ครั้งที่ 7 วันที่ 5 มิ.ย.62 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่ [แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560] ประกาศ 11 เมษายน 2526 มีผลบังคับใช้ 1 มิถุนายน 2526 ผู้ประกาศระเบียบนี้ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรี
มี 4 หมวด 90 ข้อ 1 บทเฉพาะกาล ❖หมวด 1 ชนิดของหนังสือ
➢ ส่วนที่ 1 หนังสือภายนอก ➢ ส่วนที่ 2 หนังสือภายใน ➢ ส่วนที่ 3 หนังสือประทับตรา ➢ ส่วนที่ 4 หนังสือสั่งการ ➢ ส่วนที่ 5 หนังสือประชาสัมพันธ์ ➢ ส่วนที่ 6 หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ ➢ ส่วนที่ 7 บทเบ็ดเตล็ด
❖หมวด 2 การรับและส่งหนังสือ ➢ ส่วนที่ 1 การรับหนังสือ ➢ ส่วนที่ 2 การส่งหนังสือ ➢ ส่วนที่ 3 บทเบ็ดเตล็ด
❖หมวด 3 การเก็บรักษา ยืม และทาลายหนังสือ ➢ ส่วนที่ 1 การเก็บรักษา ➢ ส่วนที่ 2 การยืม ➢ ส่วนที่ 3 การทาลาย
❖หมวด 4 มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง ❖บทเฉพาะกาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 23 กันยายน 2548 มีผลบังคับใช้ 24 กันยายน 2548 ผู้ประกาศระเบียบนี้ พันตารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 26 ธันวาคม 2560 มีผลบังคับใช้ 27 ธันวาคม 2560 ผู้ประกาศระเบียบนี้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ➔ ข้อ 1 รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
➔ ข้อ 6 คาจากัดความในระเบียบนี้ ออกข้อสอบบ่อย “งานสารบรรณ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารเริ่มตั้งแต่การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทาลาย “หนังสือ” หมายความว่า หนังสือราชการ “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดใน ลัก ษณะคล้า ยกั น และให้หมายความรวมถึ งการประยุก ต์ ใช้วิธีก ารทางแสง วิธีก ารทางแม่ เหล็ก หรื อ อุ ปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ต่างๆ เช่นว่านั้น “ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ “ส่วนราชการ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ ทั้งในราชการ บริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นหรือในต่างประเทศ และให้หมา ยความ รวมถึงคณะกรรมการด้วย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใด ๆ และให้ หมายความรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน ➔ ข้อ 8 ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ ให้ปลัดสานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ >>มีอานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการ ปฏิบัติตามระเบียบนี้ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวกและจัดทาคาอธิบาย กับให้มีหน้าที่ดาเนินการฝึกอบรม เกี่ยวกับงานสารบรรณ<<
หมวด 1 ชนิดของหนังสือ ➔ ข้อ 9 หนังสือราชการ คือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ ออกข้อสอบบ่อย 1. หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ เช่น หนังสือกระทรวงศึกษาธิการถึงกระทรวงมหาดไทย 2. หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีไปถึงบุคคลภายนอก เช่น หนังสือกระทรวงมหาดไทย มีถึง นายเต็งหนึ่ง จักรยาน 3. หนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เช่น สมาคมไทยบริการการท่องเที่ยว มีถึง กระทรวงมหาดไทย 4. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ เช่น ภาพถ่าย 5. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ เช่ น ระเบี ย บกระทรวงมหาดไทยว่ า ด้ ว ยการก าหนดเงิ น ประโยชน์ต อบแทนอื่ น เป็ นกรณี พิ เ ศษอัน มีลักษณะเป็นเงินรางวัลประจาปี 6. ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การรับส่งหนังสือทางอีเมล์ รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
➔ ข้อ 10 หนังสือราชการ มี 6 ชนิด คือ
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3 ออกข้อสอบบ่อย
1. หนังสือภายนอก หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี โดยใช้กระดาษตราครุฑ 2. หนังสือภายใน หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือ ภายนอก เป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรมหรือจังหวัดเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความ 3. หนังสือประทับตรา หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้า ส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็น ผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกากับตรา หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการ กับบุคคลภายนอก 4. หนังสือสั่งการ ให้ใช้ตามแบบที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ เว้นแต่จะมีกฎหมายกาหนดแบบไว้โดยเฉพาะ หนังสือสั่งการ มี 3 ชนิด ได้แก่ คาสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ คาสั่ง คือ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้กระดาษ ตราครุฑ ระเบียบ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอานาจหน้าที่ได้วางไว้โดยอาศัยอานาจของกฎหมายหรือไม่ก็ ได้ เพื่อถือเป็นหลักปฏิบัติงานเป็นการประจา ให้ใช้กระดาษตราครุฑ ข้อบังคับ คือ บรรดาข้อความที่ผู้มีอานาจหน้าที่กาหนดให้ใช้ โดยอาศัยอานาจของกฎหมายที่ บัญญัติให้กระทาได้ ให้ใช้กระดาษตราครุฑ 5. หนังสือประชาสัมพันธ์ หนังสือประชาสัมพันธ์มี 3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศ หรือชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติ ให้ใช้กระดาษตราครุฑ แถลงการณ์ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการแถลงเพื่อทาความ เข้าใจในกิจการของทาง ราชการ หรือเหตุการณ์ หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชัดเจนโดยทั่วกัน ให้ใช้กระดาษครุฑ ข่าว คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพร่ให้ทราบ 6. หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทาขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ หนังสือที่ทางราชการทาขึ้นนอกจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น หรือหนังสือที่หน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ ส่วนราชการหรือบุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ และส่วนราชการรับไว้เป็นหลักฐานของทาง ราชการ มี 4 ชนิด คือ หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึก หนังสืออื่น สูตรท่อง : นอก ใน ตรา การ พันธ์ ฐาน
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
บทเบ็ดเตล็ด ➔ ข้อ 28 หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดาเนินการทางสารบรรณด้วยความ รวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ออกข้อสอบบ่อย 28.1 ด่วนที่สุด ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น 28.2 ด่วนมาก ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว 28.3 ด่วน ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทาได้ การระบุชั้นความเร็วให้ใช้ตัวอักษรสีแดงขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์
หมวด 2 การรับและส่งหนังสือ ส่วนที่ 1 การรับหนังสือ ➔ ข้อ 35 หนังสือรับ คือ หนังสือที่ได้รับเข้ามาจากภายนอก ให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานสารบรรณกลางปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ใน ส่วนนี้ การรับหนังสือที่มีชั้นความลับ ในชั้นลับหรือลับมาก ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ใช้งาน หรือผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าถึงเอกสารลับแต่ละระดับ เป็นผู้รับผ่านระบบการรักษาความปลอดภัย โดยให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ 37.9 หมายเหตุ ให้บันทึกข้อความอื่นใด (ถ้ามี) ส่วนที่ 2 การส่งหนังสือ ➔ ข้อ 41 หนังสือส่ง คือ หนังสือที่ส่งออกไปภายนอก ให้ปฏิบัติตามที่กาหนดไว้ในส่วนนี้การส่งหนังสือที่มีชั้น ความลับ ในชั้นลับหรือลับมาก ด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ใช้งานหรือผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับการแต่งตั้ง ให้เข้าถึงเอกสารลับแต่ละระดับ เป็นผู้ส่งผ่านระบบการรักษาความปลอดภัย โดยให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วย การรักษาความลับของทางราชการ
หนังสือราชการลับ ชั้นความลับของหนังสือออกเป็น 3 ชัน้ คือ ลับที่สดุ ลับมาก และลับ 1. ลั บ ที่ สุ ด ท าให้ เ กิ ด ความเสี ย หายหรื อ เป็ น ภยั น ตรายต่ อ ความมั่ น คง ความปลอดภั ย หรือความสงบเรียบร้อยของประเทศชาติอย่างร้ายแรงที่สุด (ประทับด้วยตัวอักษรสีเหลือง) 2. ลั บ มาก จะทาให้ เกิด ความเสียหายหรือ เป็นภยันตรายต่อความมั่นคง ความปลอดภั ย ของประเทศชาติอย่างร้ายแรง (ประทับด้วยตัวอักษรสีแดง) 3. ลั บ ได้ แ ก่ ท าให้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ทางราชการ หรื อ เกี ย รติ ภู มิ ข องประเทศชาติ หรือพันธมิตรได้ (ประทับด้วยตัวอักษรสีน้าเงิน)
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
หมวด 3 การเก็บรักษา ยืม และทาลายหนังสือ ส่วนที่ 1 การเก็บรักษา ➔ ข้อ 55 ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือปฏิบัติดังนี้ 55.1 ประทับตรากาหนดเก็บหนังสือตามข้อ 73 ไว้ที่มุมล่างด้านขวาของกระดาษแผ่นแรกของ หนังสือฉบับนั้น และลงลายมือชื่อย่อกากับตรา 55.1.1 หนังสือที่ต้องเก็บไว้ตลอดไป ให้ประทับตราคาว่า ห้ามทาลาย ด้วยหมึกสีแดง 55.1.2 หนังสือที่เก็บโดยมีกาหนดเวลา ให้ประทับตราคาว่า เก็บถึง พ.ศ. …. ด้วยหมึกสีน้าเงิน และลงเลข ของปีพุทธศักราชที่ให้เก็บถึง ➔ ข้อ 57 อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี
ออกข้อสอบบ่อย
57.1 หนังสือต้องสงวนเป็นความลับ ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ 57.2 หนั ง สื อ ที่ เ ป็ น หลั กฐานทางอรรถคดี สานวนของศาลหรื อ ของพนัก งานสอบสวนหรื อ หนัง สือ อื่ นใดที่ ไ ด้ มี กฎหมายหรือระเบียบแบบแผนกาหนดไว้เป็นพิเศษแล้ว การเก็บให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนว่าด้วย การนั้น 57.3 หนังสือเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี สถิติ หลักฐานหรือเรื่องที่ต้องใช้สาหรั บศึกษา ค้นคว้า หรือหนังสืออื่นในลักษณะเดียวกัน ให้เก็บไว้เป็นหลักฐานทางราชการตลอดไป หรือตามที่กองจดหมายเหตุ แห่งชาติ กรมศิลปากรกาหนด 57.4 หนังสือที่ได้ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ว และเป็นคู่สาเนาที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จาก ที่อื่นให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี 57.5 หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซึ่งไม่มีความสาคัญและเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจาเมื่อดาเนินการแล้วเสร็จ ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปี 57.6 หนังสือที่เกี่ยวกับการเงินซึ่งมิใช่เอกสารสิทธิ โดยปกติหนังสือทางการเงินต้องเก็บไว้ไม่น้อยกว่า 10 ปี บางกรณีหรือบางเรื่องแม้จะครบกาหนด 10 ปีแล้ว อาจจะยังไม่สามารถขอทาลายได้ เนื่องจากยังต้องเก็บไว้เพื่อ รอการตรวจสอบหรือเก็บไว้เป็นหลักฐาน อย่างไรก็ตาม ในกรณีหนังสือที่เกี่ยวกับการเงินซึ่งมิใช่เอกสารสิทธิ หากเห็น ว่า ไม่มีความจาเป็นต้องเก็บไว้ถึง 10 ปี ให้ทาความตกลงกับกระทรวงการคลังเพื่อขอทาลายได้
➔ ข้อ 58 ทุกปีปฏิทิน ให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จัดทาขึ้น ที่เก็บไว้ ณ ส่วนราชการใด พร้อมทั้งบัญชีส่งมอบหนังสือครบ 20 ปี ให้สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ภายในวันที่ 31 มกราคม ของปีถัดไป เว้นแต่หนังสือดังต่อไปนี้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 6 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ส่วนที่ 3 การทาลาย ➔ ข้อ 66-70 การทาลายหนังสือ หนังสือราชการที่หมดความจาเป็นในการใช้งาน และเก็บไว้จนครบอายุการ เก็บตามที่ระเบียบสารบรรณกาหนดแล้ว เพื่อมิให้เป็นภาระแก่ส่วนราชการ จาเป็นต้องนาออกไปทาลายเพื่อช่วย ให้ส่วนราชการต่าง ๆ มีสถานที่เก็บหนังสือได้ต่อไป ขั้นตอนการทาลายหนังสือ 1.ภายใน 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการเก็บหนังสือ สารวจที่ครบกาหนดอายุการ เก็บในปีนั้น ไม่ว่าจะเป็นหนังสือที่เก็บไว้เองหรือที่ฝากเก็บไว้ที่กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร แล้วจัดทาบัญชี หนังสือขอทาลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมเพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือ 2.ให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม แต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือ ประกอบด้วย ประธานกรรมการและ กรรมการอีกอย่างน้อยสองคน โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการ ตั้งแต่ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป ประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ หรือประเภททั่วไป ระดับชานาญงาน คณะกรรมการทาลายหนังสือมีหน้าที่ ดังนี้ วิธีการทาลายหนังสือ 1. โดยการเผา 2. โดยวิธีอื่นที่จะไม่ให้หนังสือนั้นอ่านเป็นเรื่องได้ ซึ่งอาจทาได้หลายวิธี เช่น ฉีกเป็นชิน้ เล็ก ๆ หรือเข้าเครื่องย่อย หั่นเป็นฝอย ตัด หรือ ต้ม เป็นต้น
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 7
หมวด 4 มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง ➔ ข้อ 71 ตราครุฑสาหรับแบบพิมพ์ มี 2 ขนาด คือ
71.1 ขนาดตัวครุฑสูง 3 เซนติเมตร 71.2 ขนาดตัวครุฑสูง 1.5 เซนติเมตร
ออกข้อสอบบ่อย
➔ ข้อ 72 ตราชื่อส่วนราชการ
มีลักษณะเป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก 4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร ล้อมครุฑ ระหว่างนอกและวงในมีอักษรไทยชื่อกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ เป็นกรม หรือจังหวัดอยู่ขอบล่างของตรา
ส่วนราชการใดที่มีการติดต่อกับต่างประเทศ จะให้มีชื่อภาษาต่างประเทศเพิ่มขึ้นด้วยก็ได้ โดยให้อักษรไทย อยู่ขอบบนและอักษรโรมันอยู่ขอบล่างของตรา ➔ ข้อ 73 ตรากาหนดเก็บหนังสือ คือ ตราที่ใช้ประทับบนหนังสือเก็บเพื่อให้ทราบกาหนดระยะเวลาการเก็บ หนังสือนั้นมีคาว่า เก็บถึง พ.ศ. ….หรือคาว่า ห้ามทาลาย ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์ 24 พอยท์
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 8 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
➔ ข้อ 74 มาตรฐานกระดาษและซอง 74.1 มาตรฐานกระดาษโดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว น้าหนัก 60 กรัม ต่อตารางเมตร มี 3 ขนาด คือ 74.1.1 ขนาดเอ 4 หมายความว่า ขนาด 210 มิลลิเมตร x 297 มิลลิเมตร 74.1.2 ขนาดเอ 5 หมายความว่า ขนาด 148 มิลลิเมตร x 210 มิลลิเมตร 74.1.3 ขนาดเอ 8 หมายความว่า ขนาด 52 มิลลิเมตร x 74 มิลลิเมตร 74.2 มาตรฐานซอง โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้าตาล น้าหนัก 80 กรัมต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองของ ขนาด ซี 4 ให้ใช้กระดาษน้าหนัก 120 กรัมต่อตอรางเมตร มี 4 ขนาด คือ 74.2.1 ขนาดซี 4 หมายความว่า ขนาด 229 มิลลิเมตร x324 มิลลิเมตร 74.2.2 ขนาดซี 5 หมายความว่า ขนาด 162 มิลลิเมตร x229 มิลลิเมตร 74.2.3 ขนาดซี 6 หมายความว่า ขนาด 115 มิลลิเมตร x162 มิลลิเมตร 74.2.4 ขนาดดีแอล หมายความว่า ขนาด 110 x 220 มิลลิเมตร
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 9
แนวข้อสอบระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด ก. 1 มิถุนายน 2526 ข. 1 กรกฎาคม 2526 ค. 1 สิงหาคม 2526 ง. 1 กันยายน 2526 2. เมื่อ “ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ 2526” ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกระเบียบฉบับใด ก. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ข. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507 ค. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อหนังสือราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2516 ง. ถูกทุกข้อ 3. “งานสารบรรณ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสารคือ ก. การจัดทา ข. การรับ – การส่ง ค. การเก็บรักษา การยืม การทาลาย ง. ถูกทุกข้อ 4. ความหมายของคาว่า “หนังสือ” ในงานสารบรรณ หมายถึงหนังสือประเภทใด ก. หนังสือเรียน ข. หนังสือราชการ ค. หนังสือนอกหลักสูตร ง. หนังสือเสริมทักษะ 5. คาว่า “ส่วนราชการ” หมายถึงสถานที่ใด ก. กระทรวงมหาดไทย ค. กรมการปกครอง
ข. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใดไม่ใช้หนังสือราชการ ก. หนังสือไปมาระหว่างส่วนราชการ ข. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นเพื่อเป็นหลักฐานในราชการ ค. นายหนึ่ง จักรยาน มีจดหมายถึงนายสอ งจักรยาน เพื่อขอผ่อนชาระหนี้ ง. เอกสารที่ทางราชการจัดทาขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบหรือข้อบังคับ 7. หนังสือราชการมีกี่ชนิด ก. 3 ชนิด
ข. 4 ชนิด
ค. 5 ชนิด
ง. 6 ชนิด
8. ข้อแต่กตางระหว่างหนังสือภายนอกกับหนังสือภายใน ที่เห็นได้ชัดเจนคืออะไร ก. หนังสือภายนอก ใช้กระดาษบันทึกข้อความ ข. หนังสือภายใน ใช้กระดาษตราครุฑ ค. หนังสือภายนอก ติดต่อภายในกระทรวง กรม หรือจังหวัดเดียวกัน ง. หนังสือภายในใช้กระดาษบันทึกข้อความ หนังสือภายนอกใช้กระดาษตราครุฑ 9. ข้อใดมิใช้หนังสือประทับตรา ก. หนังสือที่ ส.ส. มีไปถึงกานัน ค. หนังสือเตือนเรื่องที่คาง
ข. หนังสือข้อรายละเอียดเพิ่มเติม ง. หนังสือตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวราชการสาคัญหรือการเงิน
10. หนังสือสั่งการมีกี่ชนิด อะไรบ้าง ก. 4 ชนิด คือ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมาย ค. 2 ชนิด คือ คาสั่ง ระเบียบ รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ข. 3 ชนิด คือ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ง. มีชนิดเดียว คือ คาสั่ง ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 10 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
11. คาสั่ง คือ บรรดาข้อความที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการให้ปฏิบัติโดยชอบด้วยกฎหมายใช้กระดาษอะไร ก. กระดาษ เอ 4 ข. กระดาษ 4 เอ ค. กระดาษตราครุฑ ง. กระดาษบันทึกข้อความ 12. ระเบียบ คืออะไร ข้อความใดกล่าวผิด ก. บรรดาข้อความที่ผู้มีอานาจหน้าที่ได้ว่างไว้ ค. ระเบียบต้องอาศัยอานาจกฎหมายทุกเรื่อง
ข. ระเบียบจะอาศัยอานาจกฎหมายหรือไม่ก็ได้ ง. ระเบียบต้องใช้กระดาษตราครุฑ
13. ในเรื่องของข้อบังคับ ข้อความใดกล่าวผิด ก. ข้อบังคับใช้กระดาษบันทึกข้อความ ข. ข้อบังคับใช้กระดาษตราครุฑ ค. บรรดาข้อความที่ผู้มีอานาจหน้าที่กาหนดให้ใช้ ง. ข้อบังคับต้องอาศัยกฎหมายที่บัญญัติให้กระทา 14. หนังสือประชาสัมพันธ์ มีกี่ชนิดอะไรบ้าง ก. มี 4 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว แจ้งความ ค. มี 2 ชนิด คือ ประกาศ แจ้งความ
ข. มี 3 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว ง. มีเพียงชนิดเดียว คือ แถลงการณ์
15. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดเป็นประกาศ ก. ทาความเข้าใจในกิจการของทางราชการ ข. แนะแนวทางปฏิบัติ ใช้กระดาษบันทึกข้อความ ค. ข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพรให้ทราบ ง. บรรดาข้อความที่ทางราชการชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติใช้กระดาษตราครุฑ 16. หนังสือรับรอง คือ หนังสือที่ส่วนราชการออกให้แก่ใคร ก. บุคคล ข. นิติบุคคล ค. หน่วยงาน 17. ข้อใดมิใช้หน้าที่ของผู้รายงานการประชุม ก. บันทึกความคิดเห็นของผู้เข้ารวมประชุม ค. บันทึกและจัดหาอาหารพรอมเครื่องดื่ม
ง. ถูกทุกข้อ
ข. บันทึกมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐาน ง. บันทึกความคิดเห็นของผู้มาประชุม
18. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดาเนินการทางสารบรรณ ก. 4 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ด่วนพิเศษ ข. 3 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ค. 2 ประเภท คือ ด่วนพิเศษ ด่วนที่สุด ง. ประเภทเดียว คือ ด่วนมาก 19. เรื่องราชการที่จะดาเนินการหรือสั่งการด้วยหนังสือได้ไม่ทัน ให้ส่งข้อความทางเครื่องมือสื่อสาร เครื่องมือ สื่อสารดังกล่าวชนิดใด สั่งการได้เร็วที่สุด ก. โทรศัพท์ ข. โทรเลข ค. โทรพิมพ์ ง. วิทยุโทรเลข 20. หนังสือเวียน คือ หนังสือที่มีถึงผู้รับจานวนมาก มีข้อความเดียวกันให้เพิ่มรหัสตัวพยัญชนะ ว ไว้ที่ใด ก. มุมซองทางขวา ข. หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ค. หลังเลขทะเบียนหนังสือส่ง ง. บริเวณใดก็ได้ข้อให้ผู้รับเห็นชัดเจน 21. หนังสือรับ คือ หนังสือที่ได้รับจากภายนอก เมื่อเจ้าหน้าที่งานสารบรรณรับแล้ว ควรปฎิบัติตามในข้อใด ก. จัดลาดับความสาคัญ ข. จัดลาดับความเรงด่วน ค. เปิดซองตรวจเอกสาร ง. ถูกทุกข้อ 22. การประทับตรารับหนังสือต้องประทับที่ใด ก. ที่มุมซองทางขวามือ ข. ที่มุมทางซายมือ ค. ที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ ง. ที่มุมบนด้านซายของหนังสือ รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 11
23. ข้อใดมิใช้เรื่อง ที่จะต้องกรอกรายละเอียดในหนังสือประทับตรา ก. เลขส่ง ให้ลงเลขที่ส่งตามเลขที่ส่งในทะเบียน ข. เลขรับ ให้ลงเลขที่รับตามเลขที่รับในทะเบียน ค. วันที่ ให้ลงวัน เดือน ปี ที่รับหนังสือ ง. เวลา ให้ลงเวลาที่รับหนังสอ 24. หนังสือส่ง คือหนังสือส่งออกไปภายนอก ถาส่งทางไปรษณีย์ ให้ถือปฏิบัติตามข้อใด ก. หนังสือราชการต้องส่งลงทะเบียนทุกครั้ง ข. ส่งตามระเบียบหรือวิธีการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ค. ส่งหนังสือโดยลงทะเบียนตอบ – รับ ง. ลงรหัสไปรษณียให้เรียบร้อย 25. ข้อใดมิใช้ เป็นการเก็บหนังสือของราชการ ก. การเก็บก่อนปฏิบัติ ค. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ข. การเก็บระหว่างปฏิบัติ ง. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
26. การเก็บระหว่างปฏิบัติ ตรงกับข้อใดมากที่สุด ก. การเก็บก่อนปฏิบัติ ค. การเก็บหนังสือที่ยังปฏิบัติไม่เสร็จ
ข. การเก็บระหว่างปฏิบัติ ง. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
27. อายุการเก็บหนังสือ โดยปกติให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี ก. 5 ปี ข. 10 ปี ค. 15 ปี
ง. 20 ปี
28. หนังสือประเภทใดที่เป็นข้อยกเว้นในเรื่องอายุการเก็บหนังสือ ไม่เป็นไปตามข้อ 27 ก. หนังสือที่ต้องส่งวนเป็นความลับ ข. หนังสือที่เป็นหลักฐานทางอรรถคดี ค. หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ง. ถูกทุกข้อ 29. หนังสือที่ปฏิบัติเสร็จแล้ว และเป็นคูสาเนาที่มีตนเรื่องจะคนได้จากที่อื่น ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี ก. 1 ปี ข. 3 ปี ค. 5 ปี ง. 7 ปี 30. หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญ ซึ่งไม่มีความสาคัญ และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเป็นประจา เมื่อดาเนินการ เสร็จแล้วให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ากี่ปี ก. 1 ปี ข. 3 ปี ค. 5 ปี ง. 7 ปี 31. ทุกปีปฏิทินให้ส่วนราชการจัดส่งหนังสือที่มีอายุครบ 20 ปี นับจากวันที่ได้จัดทาขึ้น ที่เก็บไว้ ณ ส่วน ราชการพรอมทั้งบัญชี ส่งมอบให้แก่หน่วยงานใด ต่อไปนี้ ก. กองการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ข. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร ค. กองทะเบียน สานักนายกรัฐมนตรี ง. กองวัฒนธรรม กรมศาสนา 32. เจ้าหน้าที่ มีหน้าที่เก็บรักษาหนังสือตามข้อใดเป็นสาคัญ ก. เก็บให้อยู่ในสภาพใช้การได้ทุกโอกาส ข. ชารุดเสียหาย ต้องรีบซ่อมให้ใช้การได้เหมือนเดิม ค. หากสูญหายต้องหาสาเนามาแทน ง. ถูกทุกข้อ 33. ข้อใดมิใช้วิธีการ การยืมหนังสือที่ส่งเก็บแล้ว ก. ผู้ยืมต้องมีอบหลักฐานการยืมให้เจ้าหน้าที่เก็บ ข. ผู้ยืมต้องแจงให้ทราบว่า เรื่องที่ยืมนั้นจะนาไปใช้ในราชการใด ค. การยืมหนังสือระหว่างส่วนราชการ ผู้ยืมและผู้อนุญาตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป ง. ผู้ให้ยืมต้องยึดบัตรประชาชน หรือบัตรขาราชการหรือบัตรพนักงานของผู้ยืมเอาไว้ รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 12 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
34. บัตรยืมหนังสือ ไม่มีรายละเอียดในเรื่องใด ก. ชื่อหนังสือ ข. ผู้ยืม – ผู้รับ
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ค. ผู้สั่งมาให้ยืม
ง. วันยืม – กาหนดส่งคืน
35. หลังจากสิ้นปีปฏิทินของแต่ละปี ภายในกี่วัน จึงจะทาบัญชีข้อทาลายหนังสือเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ระดับกรม เพื่อพิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือได้ ก. 60 วัน ข. 90 วัน ค. 120 วัน ง. 180 วัน 36. คณะกรรมการทาลายหนังสือ นอกจากมีประธานกรรมการแล้ว จะต้องมีกรรมการอีกอย่างน้อยกี่คน ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน 37. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือ ก. ส่วนราชการระดับกรม ข. ส่วนราชการระดับกอง ค. ส่วนราชการระดับกระทรวง ง. ส่วนราชการระดับทบวง 38. ตราครุฑสาหรับพิมพ์ มีกี่ขนาด อะไรบ้าง ก. มี 2 ขนาด คือ ขนาดครุฑส่ง 3 ซม. และ 1.5 ซม. ข. มี 3 ขนาด คือ ขนาดครุฑส่ง 4.5 ซม. 3 ซม. และ 1.5 ซม. ค. มีขนาดเดียว คือ ขนาดครุฑส่ง 4.5 ซม. ง. ไม่มีข้อใดถูก 39. มาตรฐานกระดาษ โดยปกติใช้กระดาษปอนด์ขาวน้าหนัก 60 กรัมต่อตารางเมตรกี่ขนาด อะไรบ้าง ก. 2 ขนาด คือ ขนาด A 4, A 5 ข. 3 ขนาด คือ ขนาด A 4, A 5,A 8 ค. 4 ขนาด คือ ขนาด A 4, A 5, A 8 และ A 9 ง. ขนาดเดียว คือ A 4 40. มาตรฐานซอง ปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้าตาล น้าหนัก 80 กรัมต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองขนาดซี4 ให้ใช้กระดาษน้าหนัก 120 กรัมต่อตารางเมตร มีกี่ขนาด อะไรบ้าง ก. 2 ขนาด คือ C4, C5 ข. 3 ขนาด คือ C4, C5, C6 ค. 4 ขนาด คือ C4, C5, C6 และ DL ง. มีขนาดเดียว คือ DL 41. ข้อใดใช้กระดาษ A8 พิมพ์หน้าเดียว ก. ใบรับหนังสือ ข. สมุดส่งหนังสือ ค. ทะเบียนหนังสือส่ง ง. ทะเบียนหนังสือรับ 42.กระดาษตราครุฑ A4 ให้ใช้กระดาษขนาดใด ก. ขนาด 210 mm x 297 mm ข. ขนาด 148 mm x 210 mm ค.ขนาด 52 mm x 74 mm ง. ขนาด 110 mm x 220 mm 43.การที่จะให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือจะกระทามิได้ เว้นแต่จะให้ดูหรือคัดลอกหนังสือ โดยจะต้องได้รับ อนุญาตจากผู้ใดก่อน ก. หัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป ค. หัวหน้าหน่วย ง. เจ้าหน้าที่บรรณรักษ์ 44.“กอง (สานัก) จดหมายเหตุแห่งชาติ” สังกัดกรม และกระทรวงอะไร ก. กรมศิลปากร กระทรวงมหาดไทย ข. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ค. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ง. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 13
45. การประทับตรากาหนดเก็บหนังสือคาว่า “เก็บถึง พ.ศ. .....” ใช้หมึกสีอะไร ก. สีดา ข. สีน้าเงิน ค. สีเขียว ง.สีแดง 46.วิธีการเก็บหนังสือ ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง ก. การเก็บระหว่างปฏิบัติ ข. การเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว ค. การเก็บไว้เพื่อใช้ค้นคว้าต่อไป ง. การเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ 47.การทาสาเนาหนังสือ โดยปกติใช้ทาสาเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ชุด ก. 2 ชุด ข. 3 ชุด ค. 4 ชุด
ง. แล้วแต่ตกลงกัน
48.ข้อใดมิใช่ชั้นความลับของระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ ก. ลับ ข. ลับมาก ค. ลับที่สุด 49. การปฏิบัติในการระบุชั้นความเร็วใช้อักษรสีอะไร ก. สีดา ข. สีแดง ค. สีน้าเงิน 50.กรณีที่ได้รับหนังสือต่อไปนี้พร้อมกันให้ปฏิบัติหนังสือประเภทใดก่อน ก. ด่วนภายในเวลาที่กาหนด ข. ด่วนที่สุด ค. ด่วนมาก
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ง. ลับเฉพาะ ง. สีเขียวเข้ม ง. ด่วน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 14 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
เฉลยแนวข้อสอบ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม 1. 2.
3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.
12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24.
25. 26. 27. 28. 29. 30. 31.
ก. 1 มิถุนายน 2526 ง. ถูกทุกข้อ ง. ถูกทุกข้อ ข. หนังสือราชการ ง. ถูกทุกข้อ ค. นายหนึ่งจักรยาน มีจดหมายถึงนายสอง จักรยาน เพื่อขอผ่อนชาระหนี้ ง. 6 ชนิด ง. หนังสือภายในใช้กระดาษบันทึกข้อความ หนังสือภายนอกใช้กระดาษตราครุฑ ก. หนังสือที่ ส.ส. มีไปถึงกานัน ข. 3 ชนิด คือ คาสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ ค. กระดาษตราครุฑ ค. ระเบียบต้องอาศัยอานาจกฎหมายทุกเรื่อง ก. ข้อบังคับใช้กระดาษบันทึกข้อความ ข. มี 3 ชนิด คือ ประกาศ แถลงการณ์ ข่าว ง. บรรดาข้อความที่ทางราชการชี้แจงให้ทราบ หรือแนะแนวทางปฏิบัติใช้กระดาษตราครุฑ ง. ถูกทุกข้อ ค. บันทึกและจัดหาอาหารพรอมเครื่องดื่ม ข. 3 ประเภท คือ ด่วนที่สุด ด่วนมาก ด่วน ก. โทรศัพท์ ข. หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง ง. ถูกทุกข้อ ค. ที่มุมบนด้านขวาของหนังสือ ก. เลขส่ง ให้ลงเลขที่ส่งตามเลขที่ส่งในทะเบียน ข. ส่งตามระเบียบหรือวิธีการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ก. การเก็บก่อนปฏิบัติ ค. การเก็บหนังสือที่ยังปฎิบัติไม่เสร็จ ข. 10 ปี ง. ถูกทุกข้อ ค. 5 ปี ก. 1 ปี ข. กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
32. 33. 34. 35. 36. 37. 38. 39. 40. 41. 42. 43. 44. 45. 46. 47. 48. 49. 50.
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 15
ง. ถูกทุกข้อ ง. ผู้ให้ยืมต้องยึดบัตรประชาชน หรือบัตรขาราชการหรือบัตรพนักงานของผู้ยืมเอาไว้ ค. ผู้สั่งมาให้ยืม ก. 60 วัน ข. 2 คน ก. ส่วนราชการระดับกรม ก. มี 2 ขนาด คือ ขนาดครุฑส่ง 3 ซม.และ 1.5 ซม. ข. 3 ขนาด คือ ขนาด A 4, A 5, A 8 ค. 4 ขนาด คือ C4, C5, C6 และ DL ก. ใบรับหนังสือ ก. ขนาด 210 mm x 297 mm ข. หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป ข. กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ข. สีน้าเงิน ค. การเก็บไว้เพื่อค้นคว้าต่อไป ก. 2 ชุด ง. ลับเฉพาะ ข. สีแดง ก. ด่วนภายในเวลาที่กาหนด
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
สรุปรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ออกข้อสอบบ่อย ประเด็นคาถาม ประเด็นคาตอบ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ ทรงลงพระปรมาภิไธย พุทธศักราช 2560 เป็ นรัฐธรรมนูญ ฉบับ ที่ 20 บั งคั บใช้ 6 เมษายน พ.ศ.2560 มี 16 หมวด 279 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษั ต ริย์ ผู้ ท รงเป็ น ประมุ ข ทรงใช้อ านาจนั้ น ทางรัฐ สภา คณะรัฐมนตรี และศาลตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ องคมนตรี พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเลื อ กและทรงแต่ ง ตั้ ง ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เป็ น ประธานองคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน ประกอบ เป็นคณะองคมนตรี (รวมประธานองคมนตรี เป็น 19 คน) บุคคลมีหน้าที่ เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ รับราชการทหาร ตามที่กฎหมายบัญญัติ ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอย่างอิสระ โดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม หน้าทีข่ องรัฐ (เกี่ยวกับการศึกษา) เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปีตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคับ (อนุบาล 1- ม.3) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมให้ เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ให้ จัด ตั้งกองทุ น เพื่ อ ใช้ ในการช่ ว ยเหลื อ ผู้ ข าดแคลนทุ น ทรัพ ย์ เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มล้ า ในการศึ ก ษา และเพื่ อ เสริ ม สร้ า งและพั ฒ นา คุณภาพและประสิทธิภาพครู ➢ จานวน 700 คน (5 ปีแรก จานวน 750 คน) รัฐสภา ประกอบด้วย ส.ส.และ ส.ว. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จานวน 500 คน - แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 350 คน - แบบบัญชีรายชื่อพรรคการเมือง 150 คน ข้อสอบ - สภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.)มีกาหนดคราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) จานวน 200 คน - มีกาหนดคราวละ 5 ปีนับแต่วันประกาศผลเลือก - 5 ปีแรกหลังจากเลือกตั้งให้มี ส.ว. 250 คน (1) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 5 ปี (2) มีอายุไม่ต่ากว่า 18 ปีในวันเลือกตั้ง (3) มี ชื่ ออยู่ในทะเบีย นบ้ านในเขตเลือ กตั้ งมาแล้วเป็นเวลาไม่ น้ อ ย กว่า 90 วัน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
สรุปรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (ต่อ) ประเด็นคาถาม ประเด็นคาตอบ การเลือกตั้งทั่วไป เมื่อมีสมาชิก ส.ส. ได้รับเลื อกตั้งถึงร้อยละ 95 ของจานวนสมาชิก ส.ส.ทั้งหมด แล้วหากมีความจาเป็นจะต้องเรียกประชุมรัฐสภาก็ให้ดาเนินการเรียกประชุมรัฐสภาได้ คณะรัฐมนตรี พระมหากษั ต ริ ย์ ท รงแต่ ง ตั้ ง นายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ค ณะรั ฐ มนตรี ไม่เกิน 36 คน - นายกรัฐมนตรี 1 คน นายกรัฐมนตรีจะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 8 ปีมิได้ - รัฐมนตรีอื่นไม่เกิน 35 คน ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วย ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ จานวน 9 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง องค์ กรอิ สระมี ว าระการดารงตาแหน่ ง 7 ปี ดารงต าแหน่ง ได้ เพี ย งวาระเดี ย ว องค์กรอิสระ ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคาแนะนาของวุฒิสภา ประกอบด้วยองค์คณะดังนี้ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) จานวน 9 คน คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.) จานวน 7 คน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) จานวน 7 คน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จานวน 7 คน ผู้ตรวจการแผ่นดิน จานวน 3 คน การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอานาจ ดูแลและจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ ส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การปฏิรูปประเทศ ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อย ในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1.ด้านการเมือง 2.ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน 3.ด้านกฎหมาย 4.ด้านกระบวนการยุติธรรม 5.ด้านการศึกษา 6.ด้านเศรษฐกิจ 7.ด้านอื่น ๆ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ให้ค ณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) อยู่ปฏิ บัติหน้าที่ ต่อ ไปเพื่ อ จัดท าร่าง พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญดังต่อไปนี้ให้แล้วเสร็จ(ภายใน 240 วัน)และเสนอต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป ให้ดาเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี้ให้แล้วเสร็จ ภายใน 150 วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎมีผลบังคับใช้แล้ว บรรดาคาสั่งของ คาสั่งใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ มีผลใช้บังคับ โดยชอบ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ด้วยรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป การยกเลิกคาสั่ง คสช. ให้กระทาเป็นพระราชบัญญัติ หรือ คสช.
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 1
พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 ให้ไว้ 16 มกราคม 2558 ประกาศ 22 มกราคม 2558 บังคับใช้ เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป เว้นแต่มาตรา 17 ให้ใช้บังคับตัง้ แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ นายกรัฐมนตรี มี 18 มาตรา เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ ปัจจุบันมีกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตจานวนมาก การประกอบกิจการของประชาชน จะต้องขออนุญาตจากส่วนราชการหลายแห่ง อีกทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาต บางฉบับไม่ได้กาหนดระยะเวลา เอกสารและหลักฐานที่จาเป็น รวมถึงขั้นตอนในการ พิจารณาไว้ทาให้เป็นอุปสรรคต่อประชาชนในการยื่นคาขออนุญาตดาเนินการต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้มีกฎหมายกลางที่จะกาหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณา อนุญาต และมีการจัดตั้งศูนย์บริการร่วมเพื่อรับคาร้องและศูนย์รับคาขออนุญาต ณ จุดเดียว เพื่อให้ข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับการขออนุญาตซึ่งจะเป็นการอานวยความ สะดวกแก่ประชาชน จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 2 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทาง ราชการ พ.ศ. 2558”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป เว้นแต่มาตรา 17 ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับกับบรรดาการอนุญาต การจดทะเบียนหรือการแจ้งที่มีกฎหมาย หรือกฎกาหนดให้ต้องขออนุญาต จดทะเบียน หรือแจ้ง ก่อนจะดาเนินการใดบทบัญญัติของกฎหมาย หรือกฎใดที่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ (คาจากัดความ) “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง “อนุญาต” หมายความว่า การที่เจ้าหน้าที่ยินยอมให้บุคคลใดกระทาการใดที่มีกฎหมายกาหนดให้ ต้อง ได้รั บ ความยิ น ยอมก่อนกระทาการนั้น และให้ ห มายความรวมถึงการออกใบอนุ ญ าต การอนุมั ติการจด ทะเบียน การขึ้นทะเบียน การรับแจ้ง การให้ประทานบัตรและการให้อาชญาบัตรด้วย “ผู้อนุญาต” หมายความว่า ผู้ซึ่งกฎหมายกาหนดให้มีอานาจในการอนุญาต “พนักงานเจ้าหน้าที่” หมายความว่า พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาต “กฎหมายว่าด้วยการอนุญาต” หมายความว่า บรรดากฎหมายที่มีบทบัญญัติกาหนดให้การดาเนินการ ใดหรือการประกอบกิจการใดจะต้องได้รับอนุญาตก่อนจึงจะดาเนินการได้ “คาขอ” หมายความว่า คาขออนุญาต
มาตรา 5 พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับแก่ (1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (2) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์ (3) การดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (4) การอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (5) การอนุญาตที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการทางทหารด้านยุทธการ รวมทั้งตามกฎหมายเกี่ยวกับการ ควบคุมยุทธภัณฑ์ และกฎหมายว่าด้วยโรงงานผลิตอาวุธของเอกชนการยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่ ง พระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับแก่การดาเนินกิจการใดหรือกับหน่วยงานใดนอกจากที่กาหนดไว้ ในวรรคหนึ่ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 3
มาตรา 6 ทุกห้าปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
ให้ผู้อนุญาตพิจารณากฎหมายที่ให้อานาจในการอนุญาตว่า สมควรปรับปรุงกฎหมายนั้นเพื่อยกเลิก
การอนุ ญ าตหรือจัดให้ มีมาตรการอื่นแทนการอนุญ าตหรือไม่ ทั้งนี้ ในกรณี ที่มีความจาเป็นผู้ อนุญ าตจะ พิจารณาปรับปรุงกฎหมายหรือจัดให้มีมาตรการอื่นแทนในกาหนดระยะเวลาที่เร็วกว่านั้นก็ได้ ให้ผู้อนุญาตเสนอผลการพิจารณาตามวรรคหนึ่งต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณายกเลิกการอนุญาตหรือ จัดให้มีมาตรการอื่นแทนการอนุญาต ในการนี้ให้คณะรัฐมนตรีรับฟังความคิดเห็นของคณะกรรมการพัฒนา กฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาประกอบการพิจารณาด้วย
มาตรา 7
ออกข้อสอบบ่อย
ในกรณี ที่ มี ก ฎหมายก าหนดให้ การกระท าใดจะต้ อ งได้ รั บ อนุ ญ าต ผู้ อ นุ ญ าตจะต้ อ งจั ด ท า “คู่มือสาหรับประชาชน” ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วย หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข (ถ้ามี) ในการยื่นคา ขอขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาตและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ขออนุญาตจะต้องยื่นมา พร้อมกับคาขอ และจะกาหนดให้ยื่นคาขอผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์แทนการมายื่นคาขอด้วยตนเองก็ได้ คู่มือสาหรับประชาชนตามวรรคหนึ่งให้ปิดประกาศไว้ ณ สถานที่ที่กาหนดให้ยื่นคาขอ และเผยแพร่ ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเมื่อประชาชนประสงค์จะได้สาเนาคู่มือดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่จัดสาเนาให้ โดยจะคิดค่าใช้จ่ายตามควรแก่กรณีก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้ระบุค่าใช้จ่ายดังกล่าวไว้ในคู่มือสาหรับประชาชนด้วย ให้ เป็ น หน้ า ที่ ข องคณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการตรวจสอบขั้ น ตอนและระยะเวลาในการ พิจารณาอนุญาตที่กาหนดตามวรรคหนึ่ง ว่าเป็นระยะเวลาที่เหมาะสมตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดีหรือไม่ ในกรณีที่เห็นว่าขั้นตอนและระยะเวลาที่กาหนดดังกล่าวล่าช้ าเกินสมควรให้เสนอ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาและสั่งการให้ผู้อนุญาตดาเนินการแก้ไขให้เหมาะสมโดยเร็ว เพื่อประโยชน์ในการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ให้ส่วนราชการจัดให้มีศูนย์บริการร่วม เพื่ อ รั บ ค าขอและชี้ แ จงรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การอนุ ญ าตต่ า ง ๆ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการอนุ ญ าตไว้ ณ ที่เดียวกันตามแนวทางที่คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกาหนด
มาตรา 8 ให้เป็นหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้มีหน้าที่ในการรับคาขอจะต้องตรวจสอบคาขอและรายการ
เอกสารหรือหลั กฐานที่ ยื่ น พร้อมคาขอให้ ถูกต้ องครบถ้ว น หากเห็ น ว่ าคาขอไม่ ถูกต้ องหรือยั งขาดเอกสารหรือ หลักฐานใดให้แจ้งให้ผู้ยื่นคาขอทราบทันที ถ้าเป็นกรณีที่สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเติมได้ในขณะนั้น ให้แจ้งให้ผู้ยื่นคา ขอดาเนินการแก้ไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมให้ครบถ้วนถ้าเป็นกรณีที่ไม่อาจดาเนินการได้ในขณะนั้นให้ บันทึกความบกพร่องและรายการเอกสารหรือหลักฐานที่จะต้องยื่นเพิ่มเติม พร้อมทั้งกาหนดระยะเวลาที่ผู้ยื่นคาขอ จะต้องดาเนินการแก้ไขหรือยื่นเพิ่มเติมไว้ในบันทึกดังกล่าวด้วยและให้พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้ยื่นคาขอลงนามไว้ใน บันทึกนั้น
ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มอบสาเนาบันทึกตามวรรคหนึ่งให้ผู้ยื่นคาขอไว้เป็นหลักฐาน ในกรณีที่ผู้ยื่นคาขอได้จัดทาคาขอถูกต้องและแนบเอกสารหรือหลักฐานครบถ้วนตามที่ระบุในคู่มือสาหรับ
ประชาชนตามมาตรา 7 แล้ว หรือได้แก้ไขหรือยื่นเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมครบถ้วนตามที่พนักงานเจ้าหน้าที่ แนะนาหรือตามที่ปรากฏในบันทึกตามวรรคหนึ่งแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะเรียกเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติมอื่นใด อีกไม่ได้ และจะปฏิเสธการพิจารณาคาขอนั้นโดยอาศัยเหตุแห่งความไม่สมบูรณ์ของคาขอหรือความไม่ครบถ้วนของ เอกสารหรือหลักฐานไม่ได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่ความไม่สมบูรณ์หรือความไม่ครบถ้วนนั้นเกิดจากความประมาทเลินเล่อ หรือทุจริตของพนักงานเจ้าหน้าที่ และเป็นผลให้ไม่อาจอนุญาตได้ในกรณีนี้ให้ผู้อนุญาตสั่งการตามที่เห็นสมควร และ ให้ดา เนินการทางวินัยหรือดา เนินคดีกับพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องโดยไม่ชักช้า
รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 4 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
มาตรา 9 ในกรณีที่ผยู้ ื่นคาขอไม่แก้ไขเพิ่มเติมคาขอหรือไม่ส่งเอกสารหรือหลักฐานเพิ่มเติม ตามที่พนั กงานเจ้ าหน้าที่แจ้งให้ ทราบหรือตามที่ปรากฏในบันทึกที่จัดทาตามมาตรา 8 วรรคหนึ่งให้ พนักงานเจ้าหน้าที่คืนคาขอให้แก่ผู้ยื่นคาขอพร้อมทั้งแจ้งเป็นหนังสือถึงเหตุแห่งการคืนคาขอให้ทราบด้วย ผู้ยื่นคาขอจะอุทธรณ์คาสั่งคืนคาขอตามวรรคหนึ่ง ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หรือจะยื่นคาขอใหม่ก็ได้ แต่ในกรณีที่กฎหมายกาหนดให้ต้องยื่นคาขอใดภายในระยะเวลาที่กาหนดผู้ยื่นคาขอจะต้อง ยื่นคาขอนั้นใหม่ภายในระยะเวลาดังกล่าว
มาตรา 10 ผู้อนุ ญ าตต้ องด าเนิน การให้แ ล้ วเสร็จภายในกาหนดเวลาที่ระบุ ไว้ในคู่มือสาหรับประชาชนตาม มาตรา 7 และแจ้งให้ผู้ยื่นคาขอทราบภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่พิจารณาแล้วเสร็จ เมื่อครบกาหนดเวลาตามที่ระบุไว้ในคู่มือสาหรับประชาชนตามมาตรา 7 แล้ว หากผู้อนุญาตยังพิจารณา ไม่แล้วเสร็จ ให้แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้ ยื่นคาขอทราบถึงเหตุแห่งความล่าช้าทุกเจ็ดวันจนกว่าจะพิจารณาแล้วเสร็ จ พร้อมทั้งส่งสาเนาการแจ้งดังกล่าวให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการทราบทุกครั้ง ในกรณีที่คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเห็นว่าความล่าช้านั้นเกินสมควรแก่เหตุหรือเกิดจากการขาด ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของหน่วยงานของผู้อนุญาต ให้คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการรายงานต่อ คณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งเสนอแนะให้มีการพัฒนาหรือปรับปรุงหน่วยงานหรือระบบการปฏิบัติราชการของหน่วยงานนั้น ในกรณีไม่แจ้งตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ให้ถือว่าผู้อนุญาตกระทาการหรือละเว้นกระทาการเพื่อให้เกิด ความเสียหายแก่ผู้อื่น เว้นแต่จะเป็นเพราะมีเหตุสุดวิสัย
มาตรา 11 ในกรณีที่มีกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับใดออกใช้บังคับและมีผลให้ต้อ งเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข หรือรายละเอียดอื่นใดที่ปรากฏในคู่มือสาหรับประชาชนตามมาตรา 7 การเปลี่ยนแปลงเช่นว่านั้น มิให้ใช้ บังคับกับการยื่นคาขอที่ได้ยื่นไว้แล้วโดยชอบก่อนวันที่กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับดังกล่าวมีผลใช้บังคับ เว้นแต่ กฎหมายนั้นจะบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นแต่สาหรับในกรณีกฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับนั้นจะบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นได้ก็แต่ เฉพาะในกรณีที่การเปลี่ยนแปลงนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ยื่นคาขอเปลี่ยนแปลงนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ยื่นคาขอ
มาตรา 12 ในกรณีที่กฎหมายกาหนดอายุใบอนุญาตไว้ และกิจการหรือการดาเนินการที่ได้รับใบอนุญาตนั้น มี ลักษณะเป็นกิจการหรือการดาเนินการที่เห็นได้ว่าผู้ได้รับใบอนุญาตจะประกอบกิจการหรือดาเนินการนั้นต่อเนื่องกัน คณะรัฐมนตรีจะกาหนดให้ผู้รับใบอนุญาตชาระค่าธรรมเนียมการต่ออายุใบอนุญาตตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายนั้น ๆ แทนการยื่นคาขอต่ออายุใบอนุญาตก็ได้ และเมื่อหน่วยงานซึ่งมีอานาจออกใบอนุญาตได้รับค่าธรรมเนียมดังกล่าวแล้ว ให้ออกหลั กฐานการต่ออายุใบอนุญ าตให้แก่ผู้ รับใบอนุญ าตโดยเร็ว และให้ ถือว่าผู้รับใบอนุญาตได้รับการต่ออายุ ใบอนุญาตตามกฎหมายนั้น ๆ แล้ว การก าหนดให้ ผู้ รั บ ใบอนุ ญ าตช าระค่ า ธรรมเนี ย มต่ อ อายุ ใ บอนุ ญ าตแทนการยื่ น ค าขอต่ อ อายุ ใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวให้ระบุชื่อพระราชบัญญัติและ ประเภทของใบอนุญาตตามพระราชบัญญัติดังกล่าวที่ผู้รับใบอนุญาตอาจดาเนินการตามวรรคหนึ่งได้ ก่อนตราพระราชกฤษฎีกาตามวรรคสอง ให้คณะรัฐมนตรีส่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวให้ สภา ผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน เมื่อพ้นกาหนดเวลาดังกล่าวแล้วหากสภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภามิได้มีมติทักท้วง ให้นาความกราบบังคมทูลเพื่อทรงตราพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวต่อไป ให้เป็นหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่จะหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ การออกใบอนุญาต เพื่อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน หน้าที่ 5
มาตรา 13 ให้เป็นหน้าที่ของผู้อนุญาตที่จะต้องกาหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจสอบการประกอบกิจการ หรือการดาเนินกิจการของผู้ได้รับอนุญาตให้เป็นไปตามที่กฎหมายว่าด้วยการอนุญาตกาหนดและให้เป็นหน้าที่ของ พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้อนุญาตที่จะต้องตรวจสอบตามหลักเกณฑ์และแนวทางดังกล่าว เมื่อมีผู้ได้รับความเดือดร้อนราคาญ หรือเสียหายจากการประกอบกิจการหรือการดาเนินกิจการของผู้ ได้รับอนุญาต ไม่ว่าความจะปรากฏต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เองหรือมีผู้ร้องเรียน ให้เป็นหน้าที่ของพนักงาน เจ้าหน้าที่ที่จะดาเนินการตรวจสอบและสั่งการตามอานาจหน้าที่โดยเร็ว
มาตรา 14 ใน ก รณี จ าเป็ น แ ละส ม ค วรเพื่ อ ป ระโยช น์ ใน ก ารอ าน วยค วาม ส ะด วก แ ก่ ป ระช าช น ให้คณะรัฐมนตรีมีมติจัดตั้งศูนย์รับคาขออนุญาต เพื่อทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางในการรับคาขอตามกฎหมายว่าด้วย การอนุญาตขึ้น ให้ ศู น ย์ รั บ ค าขออนุ ญ าตตามวรรคหนึ่ ง มี ฐ านะเป็ น ส่ ว นราชการตามมาตรา 18 วรรคสี่ แ ห่ ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่น ดิน (ฉบั บ ที่ 5) พ.ศ. 2545 โดยอยู่ในสังกัดสานั กนายกรัฐมนตรี และจะให้ มีสาขาของศูนย์ป ระจา กระทรวงหรือประจาจังหวัดด้วยก็ได้ การจั ด ตั้ งศูน ย์รับ ค าขออนุญ าตตามวรรคหนึ่ ง ให้ ตราเป็น พระราชกฤษฎีก า ในพระราชกฤษฎี ก า ดังกล่าวให้กาหนดรายชื่อกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตที่จะให้อยู่ภายใต้การดาเนินการของศูนย์รับคาขออนุญาต ในการดาเนินการเกี่ยวกับการรับคาขอ จะกาหนดในพระราชกฤษฎีกาให้ผู้ยื่นคาขอ ยื่นคาขอผ่ านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ก็ได้
มาตรา 15 เมื่อมีการจัดตั้งศูนย์รับคาขออนุญาตตามมาตรา 14 แล้ว ให้ดาเนินการและมีผลดังต่อไปนี้ (1) ในกรณี ที่ ก ฎหมายว่าด้ ว ยการอนุ ญ าตหรือ กฎที่ ออกตามกฎหมายดั งกล่ าวกาหนดให้ ต้ อ งยื่ น ค าขอ หรือส่งเอกสารหรือหลักฐาน หรือค่าธรรมเนียมใด ณ สถานที่ใด ถ้าได้มีการยื่นคาขอ หรือส่งเอกสารหรือหลักฐาน หรื อ ค่ า ธรรมเนี ย ม ณ ศู น ย์ รั บ ค าขออนุ ญ าตแล้ ว ให้ ถื อ ว่ า ได้ มี ก ารยื่ น ค าขอ หรื อ ส่ ง เอกสารหรื อ หลั ก ฐาน หรือค่าธรรมเนียมโดยชอบตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตนั้นแล้ว (2) บรรดาเงินค่าธรรมเนียมหรือเงินอื่นใดที่ศูนย์รับคาขออนุญาตได้รับไว้ตาม (1) ให้ศูนย์รับคาขออนุญาต นาส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในนามของหน่วยงานของผู้อนุญาต หรือส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แล้วแต่ กรณี และแจ้งให้หน่วยงานของผู้อนุญาตทราบ (3) ในกรณีที่หน่วยงานของผู้อนุญาตมีสิทธิหักค่าใช้จ่ายจากเงินที่จะต้องนาส่งคลัง ให้ศูนย์รับคาขออนุญาต หักเงินดังกล่าวแทนและส่งมอบเงินที่หักไว้นั้นให้แก่หน่วยงานของผู้อนุญาต โดยให้ศูนย์รับคาขออนุญาตมีสิทธิหัก ค่าใช้จ่ายของศูนย์รับคาขออนุญาตตามอัตราที่จะได้ตกลงกับหน่วยงานของผู้อนุญาต (4) ระยะเวลาตามมาตรา 10 ให้ นับ แต่วันที่ศูนย์รับ คาขออนุญ าตส่งเรื่องให้ ผู้ อนุญ าตโดยศูนย์รับ คาขอ อนุญาตจะต้องส่งเรื่องให้ผู้อนุญาตไม่ช้ากว่าสามวันทาการและให้นามาตรา 10 วรรคสี่มาใช้บังคับโดยอนุโลม (5) ให้เป็นหน้าที่ของผู้อนุญาตที่จะต้องส่งคู่มือสาหรับประชาชนตามมาตรา 7 ที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันให้ ศูนย์รับคาขออนุญาตตามจานวนที่จาเป็น และดาเนิ นการให้มีการฝึกอบรมหรือชี้แจงแก่เจ้าหน้าที่ของศูนย์รับคาขอ อนุญาต เพื่อให้เกิดความชานาญในการปฏิบัติหน้าที่ด้วย (6) ให้ เป็ น หน้ าที่ ข องเจ้ าหน้ าที่ ข องศู น ย์ รับ ค าขออนุ ญ าตที่ จ ะต้ อ งด าเนิ น การตามมาตรา 8 และต้ อ ง รับผิดชอบในฐานะเช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 8 รวบรวมและจัดทำโดย ครูหนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan
หน้าที่ 6 ภาค ก กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
คู่มือเตรียมสอบข้าราชการท้องถิน่ (ทุกตาแหน่ง)
มาตรา 16 ให้ศูนย์รับคาขออนุญาตมีหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) รับคาขอและค่าธรรมเนียม รวมตลอดทั้งคาอุทธรณ์ ตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาต (2) ให้ข้อมูล ชี้แจง และแนะนาผู้ยื่นคาขอหรือประชาชนให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการ ขออนุญาต รวมตลอดทั้งความจาเป็นในการยื่นคาขออื่นใดที่จาเป็นต้องดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการอนุญาตทั้ง ปวง ในการประกอบกิจการหรือดาเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด (3) ส่งคาขอ หรือคาอุทธรณ์ ที่ได้รับจากผู้ยื่ นคาขอหรือผู้ยื่นคาอุทธรณ์ พร้อมทั้งเอกสารหรือหลักฐานที่ เกี่ยวข้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และคอยติดตามเร่งรัดหน่วยงานดังกล่าวเพื่อดาเนินการให้ถูกต้องภายในระยะเวลา ที่กาหนดตามพระราชบัญญัตินี้ และคู่มือสาหรับประชาชนตามมาตรา 7หรือตามกฎหมายที่ให้สิทธิในการอุทธรณ์ (4) ในกรณีที่เห็นว่าหลักเกณฑ์หรือวิธีการในการยื่นคาขอ มีรายละเอียดหรือกาหนดให้ต้องส่งเอกสารที่ไม่ จาเป็น หรือเป็นภาระเกินสมควรแก่ประชาชน ให้เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมยิ่งขึ้น (5) รวบรวมปัญหาและอุปสรรคจากการอนุญาตและการดาเนินการของศูนย์รับคาขออนุญาตเพื่อเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการเพื่อรายงานต่อคณะรัฐมนตรีพิจารณาสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมต่อไป (6) เสนอแนะในการพัฒนาหรือปรับปรุงกระบวนการ ขั้นตอน ระยะเวลา เกี่ยวกับการอนุญาตต่าง ๆ รวมถึงข้อเสนอในการออกกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือกาหนดหลัก เกณฑ์ที่เกี่ยวกับการอนุญาตเพื่อให้ประชาชนได้รับ ความสะดวกมากขึ้น
มาตรา 17 ให้ผู้อนุญาตจัดทาคู่มือสาหรับประชาชนตามมาตรา 7 ให้เสร็จสิ้นภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ วันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา 18 ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
รวบรวมและจัดทำโดย ครูพี่หนึ่ง จักรยาน
ID LINE : @neungjakkayan