เอกลักษณ์เรือนไทย ๔ ภาค

Page 1



กิตติกรรมประกาศ หนังสือเล่มนี้ใช้ในการศึกษาเท่านั้นไม่ได้มีจุดประสงค์ที่จะนำ�ไปเผยแพร่และดัดแปลงเพื่อทำ�การอย่างอื่นแต่อย่างใด หนังสือเล่มนี้สําเร็จสมบูรณตามเปาหมาย ขอขอบคุณรูปภาพประกอบ ขอขอบคุณเนื้อหาจากกรมศิลปกร สถาปตยกรรมเพื่อการ อนุรักษโบราณสถาน (อาคารเรือนทรงไทย) และหนังสือ เรือนไทย ๔ ภาค และคติความเชื่อเรื่องการปลูกสร้างบ้าน ขอบคุณอาจารย์ศุภโชค โปศยานนท์ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาการสื่อสารสื่อใหม่ มหาวิทยาลัยพะเยา ที่ให้คำ�ปรึกษา ตรวจแกไขและใหคําแนะนําตลอดมาทำ�ให้วิทยาพนธเล่มนี้สำ�เร็จ และขอบคุณอาจารยคณะกรรมการตรวจวิทยานิพนธทุก ทานสําหรับ คําติชม ความรูที่ใหมาซึ่งไดนําไปปรับแกใหวิทยานิพนธดีขึ้น จนวิทยานิพนธนี้ออกมาไดสมบูรณ์ ขาพเจาขอขอบพระ คุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้ดวย

นางสาว วาสนา ดอกจันทร์ 6 กันยายน 2559


14

03

01 09

10

12


สารบัญ

รอบรั้วเรือนไทย 1 ลักษณะทั่วไปของเรือนไทย 2

เรือนเครื่องสับ

3

• ลักษณะของเรือนเครื่องสับ

5

• ลักษณะของเรือนเครื่องผูก

9

เรือนเครื่องผูก ภูมิอากาศ

7

18

13

เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของเรือนไทยภาคต่างๆ เอกลักษณ์เรือนไทยภาคเหนือ

16

ลักษณะเฉพาะของเรือน

18

• เรือนไม้บัว

19

เรื เรือนล้านนา 17 นนา 17

รูปแบบของเรือน

• เรือนไม้

19

20

องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน 21 คติความเชื่อในการปลูกเรือนภาคเหนือ

26

27

17


สารบัญ(ต่อ)

เอกลักษณ์เรือนไทยภาคกลาง นไทยภาคกลาง

30

รูปแบบของเรือน น

35

ลั ลักษณะเฉพาะของเรือน น

31

ว • เรือนเดี่ยว

35

• เรือนหมู่คหบดี

37

• เรือนหมู่ นแพ • เรือนแพ

35

36 38

องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน 39 น 39 คติความเชื่อในการปลูกเรือนภาคกลาง นภาคกลาง

41

36 29

39


สารบัญ(ต่อ)

เอกลักษณ์เรือนไทยภาคอีสาน าน

43

รูปแบบของเรือน น

47

47

ลักษณะเฉพาะของเรือน น

คราว • ลักษณะชั่วคราว

47

ษณะถาวร • ลักษณะถาวร

48

ถาวร • ลักษณะกึ่งถาวร

47

องค์ องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน 49 น 49

คติ คติความเชื่อในการปลูกเรือนภาคอีสาน าน

44 46

45

50

51


สารบัญ(ต่อ)

เอกลักษณ์เรือนไทยภาคใต้

53

รูปแบบของเรือน น

58

ลั ลักษณะเฉพาะของเรือน น หยา • เรือนหลังคาปั้นหยา

58

า • เรือนหลังคามนิลา

60

• เรือนหลังคาจั่ว

58

55

59

องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน 61 น 61 คติความเชื่อในการปลูกเรือนภาคใต้

63

55 54

56


>>> ย้อนกลับ

ถัดไป <<<


“รอบรั้วเรือนไทย”

สถาปัตยกรรมไทยเป็นหนึ่งใน

เอกลักษณ์ไทย

ที่สะท้อนภาพชีวิตแบบไทย

ทั้งในด้านความเป็นอยู่ ทัศนคติ ค่านิยม

และความเชื่อโดยเฉพาะในเรื่อง “บ้าน” หรือ “เรือน” ซึ่งเป็นสถานที่ที่ผูกพันมาตั้งแต่เกิด

แม้ว่าปัจจุบันการด�ำเนินชีวิตและรูปลักษณ์ ของบ้านจะแปรเปลี่ยนไป

แต่หากมองกัน

อย่างลึกซึ้งแล้ว ชีวิตในบ้านของคนไทยยัง

ไม่เคยเปลี่ยน ซึ่งค่านิยมบางประการยังคง ด�ำเนินการสืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีก รุ่นหนึ่งอย่างต่อเนื่อง

1


“ลักษณะทั่วไปของเรือนไทย” เรือนไทยส่วนใหญ่จะสร้างด้วยไม้ หรือวัสดุที่หาได้

จากธรรมชาติในท้องถิ่นนั้นๆ ซึ่งเป็น ลักษณะพิเศษอย่าง หนึ่งของเรือนไทยโบราณ ที่ทำ�ให้แตกต่างจากชนชาติอื่น เรือนไทยโบราณนิยมสร้าง “วิธีประกอบสำ�เร็จรูป” เพื่อ ความสะดวกในการรื้อถอนขนย้ายไปปลูกใหม่ได้โดยรวด เร็ว เรือนไทยโดยทั่วไปจะมีบานประตู 2 บาน เพื่อประหยัด เนื้อที่เมื่อเปิดประตูและหน้าต่าง จะมีลักษณะเปิดเข้าเพราะ เมื่อเวลาปิดจะได้ใช้สลักปิดล็อกได้ ตัวบ้านจะประกอบเข้า ด้วยกัน โดยใช้ไม้ทำ�เป็นสลัก เรียกว่า การเข้าเดือย โดย วัสดุทั้งหมดที่สร้างเรือนจะเป็น ‘‘ ไม้ ’’ ทั้งหมด


“เรือนเครื่องสับ” เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.sites.google.com

3

เรือนเครื่องสับหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเรือนฝากระดาน

บรรดาไม้จะต้อง เลื่อย-ถาก-สับ-ไส เรือนเครื่องสับเป็นเรือนไทยที่

สร้างด้วยฝีมือ เรือนประเภทนี้ไม่ใช้ตะปูแม้แต่ตัวเดียว วิธีก่อสร้างนั้น โครงสร้างส่วนใหญ่รวมทั้งฝาใช้วิธีเข้าปากไม้ เพื่อให้ไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้น

ขึ้นไปยึดติดกัน การเข้าปากไม้มีทั้งที่ใช้เดือยใส่ในรูเดือย และให้ปากไม้ วางสับกัน การประกอบเครื่องเรือนทั้งหมดจะนิยมใช้ไม้สักเพราะมี

ความคงทนอายุการใช้งานยาวนาน เสาเรือนนิยมใช้ไม้เต็ง ไม้รังและ ไม้แดง


๑. ปั้นลม ๒. จั่ว ๓. อกไก่ ๔. แปลาน ๕. แปหัวเสา ๖. ลูกตั้งปะกน ๗. ลูกขั้นปะกน ๘. เหงาปั้นลม

๙. สะพานหนู ๑๐. เชิงชาย ๑๑. หูช้าง ๑๒. บานหน้าต่าง ๑๓. อกเสา ๑๔. ฝาปะกน ๑๕. กรอบเช็ดหน้า ๑๖. หลังคาซุ้มประตู

๑๗. ฝารั้วชาน ๑๘. บันได ๑๙. ชาน ๒๐. ระเบียง ๒๑. เสา ๒๒. รอด ๒๓. ฐานเท้าสิงห์ ๒๔. หย่อง

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com


ลักษณะของเรือนเครื่องสับ

5


เรือนเครื่องสับจะใช้มีดเป็นอุปกรณ์สำ�หรับตกแต่ง

ไม้ จึงเรียกเรือนนี้ว่า เรือนเครื่องสับ ซึ่งไม้ส่วนใหญ่ที่ใช้ สร้างเรือนเครื่องสับจะเป็นไม้ที่แข็งและทนทานต่อน้ำ�หนัก ของตัวเรือนจะมีลักษณะ ใต้ถุนสูงเพื่อจะใช้เก็บของหรือกัน เวลาที่ฝนตกเพื่อไม้ให้น้ำ�ท่วมตัวเรือน


“เรือนเครื่องผูก”

เรือนที่ใช้วัสดุต่างๆ ประกอบเข้ากับโครงสร้างและ

ไม้ไผ่ และ ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นเรือนที่ใช้ไม้จริง เป็นเสา

รองน้ำ�หนักส่วนโครงสร้างใช้ไม้ไผ่กับจาก เป็นส่วนใหญ่ และเครื่องเรือนอื่น ๆ ใช้วัสดุที่หาได้ง่าย ตามธรรมชาติ เช่น จาก หญ้าคา แฝก ไม้ไผ่ เป็นต้น ประกอบด้วยการ

ผูกมัดเข้าไว้ด้วยกัน โดยใช้วิธี ตอก-ผูก-ยึด-ตรึง จะพบ

เห็นเรือนเครื่องผูกตามชนบทในท้องถิ่นห่างไกลหรือตาม พื้นที่เกษตรกรรม โดยทั่วไปไม่ใหญ่โตมากนัก

7

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.khonthai.com

ตัวเรือน โดยการผูกยึดด้วยเชือก เถาวัลย์ วัสดุหลักคือ


ครอบอกไก่

ตับจากหรือแฝก

ต้านลม

จันทัน

เสาตอม่อ ตง

พื้นฟาก ลูกตั้งกรอบประตู ขนาบหัวแตะ

ฝาขัดแตะ

ฝาขัดแตะ พรึง บันได

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.khonthai.com


ลักษณะของเรือนเครื่องผูก

9


เรือนเครื่องผูกจะใช้ตอก หวาย หรือปอ

เป็นเครื่องผูกยึด เสาใช้ไม้ไผ่ลำ�ใหญ่ หรือลำ�ต้นไม้ขนาด

เล็ก พื้นและฝาเรือนใช้ไม้ไผ่หรือต้น นำ�มาผ่าซีกทุบให้เป็น

แผ่นแบน เรียกว่า “ฟ้าก” หรือ“เฝือก”


ามความนิยมจะปลูกเรือนเป็นเรือนไม้ชั้นเดียว รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ด้านข้างด้านหนึ่งมีระเบียง หลังคา ทรงสูงลาดชัน ชายคายื่นยาว ชานกว้าง ยกพื้นใต้ถุน ยกสูง ใช้สำ�หรับพักผ่อนหรือทำ�งานในตอนกลางวัน รวมทั้งใช้เป็นที่เก็บเครื่องมือเครื่องใช้ พาหนะ ตลอด จนสิ่งของต่าง ๆ

11


รือนไทยมีโครงสร้างแบบเสาและคานซึ่งถ่าย น้ำ�หนักมาจากหลังคาลงพื้น โดยผ่านเสาลงสู่ฐานราก เสาบ้านมีลักษณะสอบเข้า และเป็นเสากลม ทั้งนี้เพื่อความ มั่นคงของเรือนไทยไม่ให้ทรุดตัวได้ง่าย เนื่องจากฤดูน้ำ� หลาก พื้นดินจะ เป็นโคลนตม และตัวเรือนอาจเกิดการ ทรุดตัวได้ง่ายหากไม่มีการล้มสอบของเสาเรือน

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com


ภูมิอากาศ

ระเทศไทยอยูในเขตมรสุมหรือเขตรอน อุณหภูมิ เฉลี่ย 28 องศา ถึง 38 องศาเซนติเกรด ปหนึ่งแบง ออกเปน 3 ฤดู 1. ฤดูรอน ระหวางเดือนมีนาคมถึงเดือนมิถุนายน 2. ฤดูฝน ระหวางเดือนกรกฎาคมถึงเดือนตุลาคม 3. ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน กุมภาพันธ ภาคเหนื อ สภาพพื ้ น ที ่ เ ป  น ที ่ ส ู ง มี ภ ู เ ขา มี แ ม  น ้ ำ� หลายสาย เมื ่ อ ถึ ง ฤดู ฝ นน้ ํ า จากเหนื อ จะไหลเข  า สู  ภ าคกลาง เป  น พื ้ น ที ่ ร าบอั น อุ ด มสมบู ร ณ  เ ป  น แอ ง อารยะธรรมมาตั ้ ง แต  ค รั ้ ง โบราณที ่ ม ี ม นุ ษ ย  อาศั ย กั น มาจนถึ ง ป  จ จุ บ ั น

13


ลักษณะภูมิประเทศเขตรอน จึงเกิดพืชพรรณไมนาๆ ชนิดโดยเฉพาะไมสัก

เหมาะแกการทําเครื่องเรือนเปนอยางยิ่ง จึงเปนสาเหตุหนึ่งที่เกิดบานทรงไทย คือ หลังคาทรงสูงระบายน�้ำไดเร็ว เรือนใตถุนสูงเพราะฤดูน้ําทวม หันหนา บานรับลมตามฤดูกาล ปองกันแดดจัดตอนชวงบายเพราะปลูกบานไมขวาง ตะวัน

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com


15


รู

ปทรงเรือนไทยภาคเหนือจะมีความโดดเด่นเป็นแบบศิลปะล้านนา การปลูกเรือนพักอาศัยทางภาคเหนือนิยมใช้สัญลักษณ์ ”กาแล” ซึ่งเป็น ไม้ป้านลมสลักลายอย่างงดงามไขว้กันติดที่ปลายยอดหลังคา ใต้ถุนของ ตัวเรือนค่อนข้างต�่ำ เพราะอยู่บนดอยหรือทิวเขา น�้ำท่วมไม่ถึง ฤดูหนาว ทางภาคเหนือจะหนาวมาก ท�ำให้มีลักษณะเฉพาะทางรูปทรงหลังคาและ สัดส่วนของเรือนเตี้ยกว่าเรือนไทยภาคอื่นๆ หลังคาส่วนใหญ่จะเป็นทรง หน้าจั่วคล้ายเรือนไทยภาคกลาง แต่จะถ่างมากกว่า ที่ยอดของ ปั้นลมมักติดกาแล และด้วยสภาพ ภูมิอากาศที่หนาวเย็น เรือนภาค เหนือจึงมีหน้าต่างบานเล็กและแคบ ครัวมักสร้างแยกจากเรือนนอน มี ระเบียงหลังบ้านติดกับเรือนครัว


รือนล้านนา คือเรือนพักอาศัยของชนที่มี ชื้อสาย “ไท” ในดินแดนแถบภาคเหนือของ ประเทศไทย ที่แสดงถึงลักษณะรูปแบบทาง สถาปัตยกรรมเฉพาะถิ่นของตน ลักษณะ ภูมิประเทศที่เต็มไปด้วยป่า และภูเขาสูง มี อากาศหนาวเย็น ท�ำให้บ้านเรือนไทยภาค เหนือ ถูกออกแบบให้มีลักษณะมิดชิด มีฝา ด้านข้างที่ผายแบะออกมา ซึ่งท�ำให้ตัวเรือน ดูใหญ่ขึ้น มีหน้าต่างที่เจาะช่องแคบ ๆ เพื่อ กันลมหนาวและรักษาความอบอุ่น ลักษณะ รูปแบบของเรือน โดยทั่วไปแล้วจะเป็นเรือน ใต้ถุนสูง มีชานกว้าง และตั้งร้านน�้ำไว้ด้าน หน้าบ้าน หรือ เรือนน�้ำให้ผู้สัญจรไปมาได้ ดื่มกิน ถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม อย่างหนึ่งของเรือนล้านนา ประชากรส่วน ใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมท�ำไร่ ท�ำนาเป็นหลัก จึงมียุ้งข้าวปลูกไว้ใกล้ๆ ตัวเรือน

17

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.manager.co.th


รูปแบบเรือนล้านนาเป็นเรือนไม้ยกพื้น มีความสูงจากด้านล่างประมาณ ๒.๐๐-๒.๕๐ เมตร และด้านบนประมาณ

๓.๐๐-๓.๕๐ เมตร รูปทรงหลังคาจะทำ�มุมประมาณ ๕๐-๕๖ องศา เรือนกาแล มีความโดเด่นที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว คือ แผ่นไม้สองแผ่นที่เรียกกันว่า “กาแล” คือ ส่วนปลายด้านบนป้านลมที่ยื่นเลยจากส่วนที่ทบกันออกไปในลักษณะการไขว้ไม้ โดยที่ ส่วนนี้จะแกะสลักลวดลายสวยงาม

18


เรือนไม้บัว หรือเรือนเครื่องผูก

เป็นเรือนขนาดเล็ก เป็นเรือนที่ก่อสร้างง่ายราคาถูก

ตามชนบทและหมู่บ้านต่างๆ เรือนชนิดนี้โครงสร้างส่วน หลังคา ตง พื้น จะใช้ไม้ไผ่ ส่วนคานและเสานิยมใช้ไม้เนื้อ แข็ง ฝาเป็นฝาไม้ไผ่สาน หลังคามุงแฝกหรือใบตองตึง

นิยมใช้ตอกและหวายเป็นตัวยึดส่วนต่างๆของเรือนเข้า

ด้วยกันด้วยวิธีผูกมัดจึงเรียกกันว่า “เรือนเครื่องผูก”

สร้างขึ้นกลางทุ่งนาเพื่อเฝ้าทุ่งหรือเพื่อประโยชน์การใช้ งานตามฤดูกาล มีลักษณะชั่วคราวอยู่ได้ 2-4 ปี เมื่อ ถึงฤดูฝนในปีหนึ่งๆต้องมีการซ่อมแซมครั้งใหญ่

19

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com


เรือนไม้ หรือเรือนเครื่องสับ เรือนไม้จะท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้สัก ไม้เต็ง ไม้

รัง ไม้แดง การปลูกเรือนชนิดนี้ไม่ต้องใช้ตะปูตอก แต่ใช้ไม้ยึดให้ไม้ติดกันหรือประกอบกัน โดยการใช้

มีด สิ่ว หรือขวานถากไม้ให้เป็นรอยสับ แล้วน�ำไป

ประกอบด้วยกันเรียกว่า การประกอบเข้าลิ้นสลัก เดือยหลังคามุงกระเบื้องหรือ แป้นเกล็ดเรือนชนิด นี้รูปทรงภายนอกของเรือนจะผันแปรไปตามสมัย นิยม โดยเฉพาะลักษณะฝา ระเบียบการเจาะช่อง ประตูหน้าต่าง หลังคาที่มีระนาบซับซ้อน


1.บั น ไดและเสาแหล่ ง หมา

ตัวบันไดเรือนจะหลบอยู่ใต้ชายคาบ้านซ้ายมือเสมอ

จึงต้องมีเสาลอยรับโครงสร้างหลังคาด้านบนตั้งลอยอยู่ เสาลอยโดด ๆ

ต้นเดียวที่ใช้รับชายคาทางเข้านี้เรียกว่า

”เสาแหล่งหมา” ซึ่งมาจากการที่ชาวเหนือน�ำหมามาผูกไว้

2. เ ติ ๋ น

จากบันไดขึ้นไปมักมีชานบันได ซึ่งเป็นบริเวณที่จะเป็นส่วน

เชื่อมพื้นที่ต่าง ๆ ของเรือน บริเวณนี้เป็นบริเวณอเนกประสงค์ ภาษาพื้นเมืองเรียกว่า “เติ๋น” เติ๋นจะใช้เป็นทั้งที่นั่งเล่น รับแขก รวมทั้งไว้ใช้เป็นที่นอนรับรองแขก

21


3. ร้ า นน�้ ำ

จากชานโล่งหน้าบ้านหรือชานใต้หลังคาตรงริมขอบชาน

ด้านใดด้านหนึ่ง จะมีหิ้งส�ำหรับวางหม้อน�้ำดื่ม พร้อมที่แขวน กระบวยหิ้งน�้ำ จะท�ำหลังคาคลุมลักษณะคล้ายเรือนเล็ก ๆ เพื่อ ไม่ให้แสงแดดส่องลงที่หม้อน�้ำ

4. ห้ อ งนอน

ห้องนอนจะมีขนาดใหญ่กว่าเนื้อที่ใช้งานอื่น ๆ ฝาด้านทึบจะ

อยู่ชิดเติ๋นมีประตูทางเข้า เหนือช่องนี้มีไม้แกะสลักลวดลายสวยงาม เป็นแผ่นไม้ที่ชาวล้านนาเชื่อว่าเป็นแผ่นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ติดไว้เพื่อป้องกัน สิ่งเลวร้ายต่าง ๆ “ห�ำยน”


5. ห� ำ ยน

เป็นไม้แกะสลักเหนือช่องประตู เป็นแผ่นไม้ที่ชาวลาวล้านนา

เชื่อว่าเป็นแผ่นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ติดไว้เพื่อป้องกันสิ่งเลวร้ายต่าง ๆ ที่ ผ่านเข้าสู่ห้องนอน

6. ห้ อ งครั ว

บริเวณห้องครัวจะอยู่ทางทิศตะวันตกของห้องนอนเสมอ

มีช่องทางเดินแยกเรือนครัวออกจากเรือนนอน ชายคาของเรือน นอนกับเรือนครัวจะมาจรดกันเหนือช่องทางเดินเรียกว่า“ฮ่อมริน”

23


7. ฮ่ อ นริ น

ชายคาของเรือนนอนกับเรือนครัวจะมาจรดกันเหนือช่อง

ทางเดิน โดยจะมีรางน�้ำส�ำหรับรองน�ำฝนจากหลังคา

8. ค วั่ น

เป็นที่เก็บของที่ไม่ค่อยได้ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน บนเพดานโปร่งใต้

หลังคาเติ๋น โดยน�ำไม้ไผ่มาท�ำเป็นตะแกรงโปร่ง ลายตารางสี่เหลี่ยม ยึดแขวนกับขื่อจันทัน และแปหัวเสาของเรือน เพดานตะแกรงโปร่ง


9. ข่ ม ประตู

กรอบประตูล่างมีแผ่นธรณีประตูสูงกว่าขอบประตูปกติ

ทำ�หน้าที่เป็นกรอบช่องประตู และเป็นเส้นกั้นอาณาเขตระหว่าง ห้องนอนกับเติ๋น

10. หิ้ ง ผี ปู ่ ย ่ า

เป็นหิ้งที่จัดสร้างเหนือหัวนอน ติดฝาด้านตะวันออกตรงมุม

ห้องอยู่ติดเสา หิ้งพระ ผีปู่ย่า หมายถึง วิญญาณของบรรพชนที่ สิงสถิตในห้องนอนนี้

25


รือนล้านนาเป็นเรือนที่แสดงถึง

วิวัฒนาการของกระบวนการก่อสร้างบ้าน

พักอาศัยของชาวล้านนา ตลอดจนเป็นเรือน ที่แสดงถึงเอกลักษณ์ ของชาวล้านนาอย่าง

ชัดเจน ทั้งการวางผังพื้นที่การจัดห้องต่างๆ ตลอดจนรูปทรง ล้วนสะท้อนถึงแบบแผนการ ดำ�เนินชีวิตตามระเบียบประเพณีของล้านนา

ทั้งสิ้น


คติความเชื่ิอในการปลูกเรือนภาคเหนือ

27


หิง้ ผีปู่ย่า หรือผีบรรพบุรุษใน ห้องนอน เชื่อว่าคอยคุ้มครอง บ้านเรือนอยู่ (แยกมาจาก

“บ้านเกาะผี” หรือบ้านที่เป็นต้นตอผีบรรพบุรุษ) ส่วนหิ้งพระอยู่ฝาเรือนฝั่งตะวันออกในห้อง นอน

. ห้องนอนห้ามให้คนที่ไม่ใช่เครือญาติ ล่วงล้ำ�เข้าไป ถ้าล่วงลา้เข้าไปถือว่า

.

ผิดผีต้องทำ�พิธีเสียผี

ดูลักษณะที่ดินโดยดูถึงความสูงต่ำ�ของระดับดินบริเวณปลูกสร้างรูปทรง

ที่ดิน ตลอดจนเนื้อที่ทั้งหมดรวมทั้งสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติอีกด้วย

. พิธีฝังเสามงคลหรือเสานาง

ให้คนที่มีชื่อ “แก้ว คำ� เงิน ทอง มั่น แก่น’’ มาเป็นผู้ช่วยหามเสาและยกเสาลงหลุม เพื่อจะได้ เป็นมงคล แก่เจ้าของบ้าน ก่อนที่จะฝังหาใบเต๊า ใบหนุน ใบดอกแก้ว ใบตันมาก รองหลุมทุกหลุมเพื่อเป็นคติว่าจะได้ช่วยค้ำ�จุนให้บ้านเรือนหลังนั้น มี ความเจริญรุ่งเรือง


เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.sites.google.com

29

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.bareo-isyss.com


เอกลักษณ์เรือนไทยภาคกลาง เ

รือนไทยภาคกลางตัวบ้านมีลักษณะสร้างขึ้นด้วย ไม้ เป็นเรือนชั้นเดียวแบบเรียบง่าย และเป็นเรือนยกพื้น ใต้ถุน สูง (สูงจากพื้นดินเสมอศีรษะคนยืน) หลังคาจะมีลักษณะเป็น ทรงสูง ชายคายื่นยาว เพื่อให้ความร้อนจากหลังคาถ่ายเท ความร้อนสู่ห้องได้ช้า เนื่องจากภาคกลางมีภูมิอากาศที่ร้อน อบอ้าว เกือบจะตลอดทั้งปี บริเวณชายคาบ้านจะมีลักษณะ ยื่นยาวออกไปเรียกว่า“ไขรา หรือ กันสาด” ช่วยป้องกันความ ร้อนขณะเดียวกันตัวฝาผนังของบ้าน เป็นกรอบที่เรียกว่า “ฝาลูกฟัก” หรือ เรียกว่า “ฝาปะกน”ก็สามารถยกถอด ประกอบกันได้ซึ่งว่าเป็นลักษณะเฉพาะ ของเรือนไทยของภาคกลางเท่านั้น ใน ส่วนของระเบียง มักสร้างขนานไป ตามความยาวของเรือน มีชานเรือน ยาวต่อไปจนถึงตัวเรือนและห้องน�้ำ


ลักษณะเฉพาะของเรือน บ้านทรงไทยภาคกลางส่วนใหญ่จะยกใต้ถุน

สูงจากพื้นดินประมาณความสูงที่พ้นศีรษะ รวมทั้ง ระเบียงและชานบ้าน การยกใต้ถุนสูงจะมีระดับที่ลด หลั่นกัน โดยบริเวณพื้นระเบียงจะลดหลั่นจากพื้น ห้องนอนประมาณ 40 ซม. พื้นชานบ้านลดหลั่นจาก ระเบียงอีกประมาณ 40 ซม. และปิดด้วยไม้ระแนง ตีเว้นช่อง การลดระดับพื้นนั้นจะช่วยให้ลมพัดผ่านจาก ใต้ถุนขึ้นมาข้างบนได้สะดวก เป็นที่นั่งห้อยเท้าได้

31



ชานกว้างโดยทั่วไปแล้วมีปริมาณถึงร้อยละ 40

ของพื้นที่ทั้งหมด ถ้ารวมพื้นที่ของระเบียงเข้าไปด้วยจะมี ปริมาณถึง ร้อยละ 60 พื้นที่นี้ถือว่าเป็นส่วนพักอาศัย ภายนอก ส่วนที่พักอาศัยภายในสำ�หรับนอนหลับพักผ่อน นั้นจะมีฝากั้นเป็นห้อง มีเนื้อที่เพียงร้อยละ 40 ของพื้นที่ ทั้งหมดสาเหตุที่มีพื้นที่อยู่อาศัยภายนอกมากเพราะสภาพ ภูมิอากาศที่ร้อนอบอ้าว

33


เสาเรือนจะล้มเข้าหาพื้นที่ภายในห้อง เสาเรือนจึง

ไม่ได้ปักดิ่งตั้งฉากกับพื้นดินไปทุกต้น เสาแต่ละต้นจะใหญ่ ที่โคนและเรียวเล็กลงที่ปลายยอดด้านบนตามธรรมชาติ ความเป็นไปเช่นนี้เป็นการเน้นความมั่นคงแข็งแรงให้แก่ตัว เรือนอย่างเห็นได้ชัด หรือเรียกว่า “เอวใหญ่อกเล็ก”


รูปแบบของเรือน เรือนเดี่ยว

35


เรือนหมู่

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.sites.google.com


เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.thailaws.com

37


เรือนแพ

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.board.palungjit.org


ส่วนที่เป็นห้องนอน

องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน ส่วนที่เป็นทางติดต่อ (ระเบียง)

39

ส่วนที่เป็นห้องพักผ่อน (โถง)

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.rakbankerd.com


ส่วนที่ทำ�กิจกรรมอเนกประสงค์ (ชานบ้าน)

ส่วนใต้ถุนเรือน

ส่วนที่เป็นครัวไฟ


คติความเชื่ิอในการปลูกเรือนภาคกลาง

41


ห้ามปลูกเรือนขวางตะวัน ถ้าหากปลูกเรือนตามตะวันหรือหันข้างเรือนไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ จะเป็นมงคล อยู่เย็นเป็นสุข และถือว่าทิศตะวันตกเป็นทิศ ของคนตาย

.

ปลูกเรือนเป็นห้องคี่​่ และบันไดก็ต้องทำ�ขั้นบันไดคี่ ห้ามพาดบันไดเรือนเป็นทางขึ้นลง ทางทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ห้ามปลูกเรือนขวางคูคลอง และห้ามปลูกเรือนใกล้วัด

.

ฤกษ์ปราบดิน คือการหาผู้รู้หรือโหรตรวจดูที่ดิน หาฤกษ์สำ�รวจที่ดินว่าจะเป็นเนินปลวก มีหลักตอ มีขอนท่อนไม้ถ้ามีก็จัดการถอนทิ้งและปราบดินให้เรียบ

.

ปลูกเรือนในเดือนอ้าย (เงินทอง ข้าทาส บริวาร)

ปลูกในเดือน 6 (ข้าวของ ทรัพย์) ปลูกในเดือน 9 (ยศศักด์ิ ทรัพย์สิน) ปลูกในเดือน 12 (เงินทอง บริวาร) ไม่นิยมปลูกเรือนในเดือน 5 (ไม่สบาย) เดือน 7 (เสียทรัพย์สิน ของรัก) เดือน 8 (โจร ขโมย) เดือน 10 (ถูกหาเรื่อง อยู่ไม่เป็นสุข) เดือน 11 (ถูก กล่าวหา ไม่สบาย)


เ อกลั ก ษณ์ เ รื อ นไทยภาคอี ส าน

การสร้างบ้านของชุมชนในภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่สมัย

โบราณมักเลือกทำ�เล ที่ตั้งอยู่ตามที่ราบลุ่มที่มีแม่น้ำ�สำ�คัญ ๆ ไหลผ่าน เช่น แม่น้ำ�โขง แม่น้ำ�มูล แม่น้ำ�ชี แม่น้ำ�สงคราม ฯลฯ รวมทั้งอาศัยอยู่ ตามริมหนองบึง ถ้าตอนใดน้ำ�ท่วมถึงก็จะขยับไปตั้งอยู่บนโคกหรือเนินสูง ดังนั้นชื่อหมู่บ้านในภาคอีสาน จึงมักขึ​ึ้นต้นด้วยคำ�ว่า “โคก โนน หนอง” ลักษณะหมู่บ้านทางภาคอีสานนั้นมักจะอยู่รวมกันเป็นกระจุกส่วน ที่ตั้ง บ้านเรือนตามทางยาวของลำ�น้ำ� บริเวณที่ว่างรอบตัวเรือนแต่ละหลัง กำ�หนดให้ลานบ้านใช้เป็นทางสัญจรติดต่อ ถึงกันได้ตลอดจนการดำ�รงชีวิตใน วัฒนธรรมไทย - ลาว เรือน อีสานจึงมีลักษณะที่แตกต่าง ไปจากเรือนในภูมิภาคอื่น ๆ ตรงที่เป็นเรือน ยกใต้ถุน สูง เพื่อให้ลมพัดผ่านและ เกิดที่ว่างบริเวณใต้ถุน

43



ลักษณะเฉพาะของเรือน

รูปแบบของเรือนไทยภาคอีสาน ลักษณะ

ของเสาจะยกพื้นค่อนข้างสูง

เนื่องจากลักษณะ

สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ที่ค่อนข้างร้อน และ แห้งแล้ง

การยกพื้นสูงจะทำ�ให้ลมพัดผ่านและเกิด

ที่ว่างบริเวณใต้ถุน

เพื่อเป็นพื้นที่ในการประกอบ

หัตถกรรมครัวเรือน ทอผ้า ใช้เก็บไหหมักปลาร้า เป็นคอกเลี้ยงสัตว์ เก็บอุปกรณ์ทำ�ไร่ทำ�นาไปจน

ถึงจอดเกวียนหรือล้อก็ได้ เรือนหลังคาใช้วัสดุใน

ท้องถิ่นคือมุงด้วยหญ้าหรือสังกะสี มีส่วนที่เรียก ว่า “เกย” (ชานโล่งมี หลังคา คลุม)

45


ลักษณะเด่นของเรือนภาคอีสานจะไม่

นิยมทำ�หน้าต่างทางด้านหลังตัวเรือน ถ้าจะ ทำ�จะเจาะเป็นช่องเล็ก ๆ พอให้ยื่นศีรษะออกไปได้ ส่วนหลังคาจะไม่นิยม ต่อยอดป้านลมให้สูงขึ้นไป เหมือนเรือนของชาวไทยล้านนาที่เรียกว่า ‘กาแล’ และไม่นิยมตั้งเสาเรือนบนตอม่อเพราะจะปลูกเรือน ด้วยการฝังเสา ฝาเรือนมักใช้ฝาแถบตอง โดยใช้ ใบกุง หรือใบชาดมาประกบด้วยไม้ไผ่สานโปร่งเป็น ตาราง หรือทำ�เป็นฝาไม้ไผ่สาน

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.sadoodta.com


รูปแบบของเรือน ลักษณะชั่วคราว

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.blogspot.com

ลักษณะกึ่งถาวร

กระต๊อบ หรือเรือนเล็ก ไม่มั่นคงแข็งแรงนัก มีชื่อเรียก “ เรือน

เหย้า” หรือ “ เฮือนย้าว” อาจเป็นแบบเรือนเครื่องผูกหรือเป็นแบบ เรือนเครื่องสับก็ได้ เรือนเหย้ากึ่งถาวรยังมี “ ตูบต่อเล้า “ ซึ่งเป็น

เพิงที่สร้างอิงกับตัวเล้าข้าว เป็นเรือนพักอาศัยที่แยกมาจากเรือน ใหญ่

47


ลักษณะถาวร

เป็นเรือนเครื่องสับหรือเรือนไม้กระดาน จำ�แนกได้เป็น 3 ชนิด คือ เรือนเกย เรือนโข่ง และเรือนแฝด เรือนเครื่องสับเหล่านี้ ไม่นิยมเจาะช่องหน้าต่าง มักทำ�หน้าต่างเป็นช่องแคบๆ ส่วนประตูเรือนทำ�เป็นช่อง ออกทางด้านหน้าเรือนเพียงประตูเดียว ภายในเรือนจึงค่อนข้างมืด เพราะในฤดูหนาวมีลมพัดจัดและ อากาศหนาวจัด จึงต้องทำ�เรือนให้ทึบ และกันลมได้

เรือนโข่ง เรือนเกย

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.blogspot.com

เรือนแฝด


เกย

เรือนนอนใหญ่

จะวางด้านจั่วรับทิศตะวันออก-ตะวัน ตก ส่วนมากจะมีความยาว 3 ช่วงเสา เรียก ว่า “เรือนสามห้อง” ใต้ถุนโล่ง ชั้นบนแบ่งออก เป็น 3 ส่วนคือ ห้องเปิง (เป็นห้องนอนของ ลูกชาย) ห้องพ่อ-แม่ และห้องส่วม เป็นห้องที่ มิดชิด หากมีลูกเขยจะให้นอนในห้องนี้

.

องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน

.

.

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.banruenthai.com

.

.

บริเวณชานโล่งที่มีหลังคาคลุม เป็นพื้นที่ลดระดับลงมาจากเรือนนอน ใหญ่ มักใช้เป็นที่รับแขก หรือที่รับ ประทานอาหาร ส่วนของใต้ถุนจะเตี้ย กว่าปกติ อาจไว้ใช้เป็นที่เก็บฟืน

ฮ้านแอ่งน้ำ� (ร้านโอ่งน้ำ�)

บริเวณที่ตั้งโอ่งน้ำ�ดื่มและน้ำ�ใช้ใน ครัวเรือน

49

ชานแดด

เป็นบริเวณนอกชานเชื่อมระหว่างเกย เรือนแฝดกับเรือนไฟ บางเรือนที่มีบันไดขึ้น ลงทางด้านหลังจะมี “ชานมน” ลดระดับลง ไปเล็กน้อยโดยอยู่ด้านหน้าของเรือนไฟ

.


เรือนไฟ (เรือนครัว)

เป็นเรือนที่แยกออกจากเรือนใหญ่เพื่อใช้เป็นที่ประกอบอาหาร มีจั่วโปร่งเพื่อ ระบายควันไฟ ฝานิยมใช้ไม้ไผ่สานลายทแยงหรือลายขัด

เล้าข้าว

เป็นเรือนหลังเดี่ยวขนาดเล็กแยกออกมาจากตัวบา้น ใช้สำ�หรับเก็บรักษา ขา้วเปลือกและผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ


คติความเชื่ิอในการปลูกเรือนภาคอีสาน

51


คนอีสานนับถือวิญญาณบรรพบุรุษ คือ ผีปู่ตา และผีฟ้า คือ แถน ควบคู่ไปกับการนับถือ

พระพุทธศาสนา ฉะนั้นในแต่ละหมู่บ้านทางภาคอีสาน จะต้องมี “ดอนปู่ตา” ซึ่งเป็นที่ดอนมีต้นไม้ ใหญ่ไม่ไกลจากหมู่บ้านนัก ตั้งศาลเรียกว่า “ตูบ”

. ห้ามถมหรือปลูกเรือนทับบ่อน้า ที่ขุดไว้เช่นใช้ร่วมกันห้ามปลูกเรือนทับ ตอไม้หรือ

.

ปลูกเรือนคร่อมจอมปลวก ทับหนองน้ำ�เพราะจะนำ�ความล่มจมมาสู่เจ้าของเรือน

ให้ด้านกว้างเรือนหันไปทางทิศตะวันออกและตะวันตก ให้ด้านยาวหัน ไปทาง

ทิศเหนือและใต้ ซึ่งเป็นลักษณะที่เรียกว่า วางเรือนแบบ “ล่องตา เว็น” (ตามตะวัน)

.

มีการเสี่ยงหรือการแก้เคล็ด คือการชิมดิน หากเป็นรสเค็มหรือเปรี้ยว

.

ก็แก้เคล็ดโดยการบอกว่าจืด ส่วนการดมกลิ่นดิน การมีกลิ่นเหม็นคาวก็จะ บอกเอาเคล็ดว่าหอม

ต้องดูความสูงต�่ำและความลาดเอียงของทิศเพื่อเป็นมงคลคือให้

ดูพื้นดินสูงทางใต้ ต�่ำทางเหนือ เรียกว่า “ไชยะเต ดีหลี” จะเป็นมงคล


เ อกลั ก ษณ์ เ รื อ นไทยภาคใต้

าคใต้เป็นบริเวณที่มีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่แตกต่างไปจากภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ที่มีฝนตกชุกซึ่งจะมี 2 ฤดู ได้แก่ฤดูร้อนและฤดูฝนใน ฤดูร้อน อากาศจะไม่ร้อนจัดเหมือนภาคอื่นๆเพราะภาคนี้ได้รับลมมรสุมตะวันตกเฉียง เหนือ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้จึงทำ�ให้ภาคใต้มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ซึ่งกลาย เป็นอิทธิพลสำ�คัญต่อการกำ�หนดรูปแรือนพักอาศัยของประชาชน ในภาคใต้ลักษณะ เรือนพักอาศัยของชาว ใต้นั้นมัก จะเป็นเรือนไม้ยกพื้นสูง แต่ ว่าไม่ สูงจนเกินไป พอที่จะเดินลอดได้ เป็นเรือนแฝดและสามารขยายไปได้ ตามลักษณะของครอบครัวมีชาน เชื่อมต่อกัน ข้างฝาใช้ไม้กระดาน หรือไม้ไผ่สาน มุงหลังคาด้วยวัสดุ ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.reurnthai.com

53



ลักษณะเฉพาะของเรือน

ลักษณะเด่นของเรือนไทยภาคใต้

เป็นหลังคาที่ม ีทรงสูง

มี ค วามลาดเอี ย งลงเพื่อให้น้ำ�ฝนไหลผ่านได้อย่างสะดวก ชายคา ต่ อ ยาวออกไปคลุ ม ถึ ง บันได

เนื่องจากฝนตกชุกมาก เสาเรือนไม่

นิ ย มฝั ง ลงไปในพื้นดิน แต่จะใช้ “ตอม่อ” หรือฐานเสาที่ทำ� ด้ ว ยไม้ เ นื ้ อ แข็ ง ศิล าแลง หรือที่ทำ�จากการก่ออิฐฉาบปูน

รองรั บ เรี ย กได้ว่าเป็นเรือนไทยที่ม ี “ตีนเสา” เพื่อป้องกัน ปั ญหาการผุ กร่อนของเสาเมื่อได้ร ับ ความชื้นจากพื้นมากๆ

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.reurnthai.com

55


ชาวไทยมุสลิมจะแยกกิจกรรมของชายหญิงอย่าง

ชัดเจน ตัวเรือนจึงสร้างบันไดไว้ทั้งทางขึ้นหน้าบ้าน และทางขึ้นครัวโดยทั่วไปผู้ชายจะใช้บันไดหน้าส่วนผู้ หญิงจะใช้บันไดครัว


ไม่นิยมตีฝ้าเพดาน เพราะภาคใต้มีอากาศ

ร้อนและฝนตกชุก อากาศจึงอบอ้าว และมักจะเว้นช่องลม ใต้หลังคาให้ลมโกรกอยู่ตลอดเวลา มีการกั้นห้องน้อย พื้นที่ สาธารณะมากกว่า เพื่อประกอบพิธีทางศาสนา

57


รูปแบบของเรือน

เรือนหลังคาปั้นหยา

หรือเรียกอีกชื่อว่าหลังคาลีมะ คา ว่า “ลีมะ” แปลว่า“ ห้า “ หมายถึงหลังคาที่นับสันหลังคาได้ 5 ล้น เป็นรูปทรงหลังคาที่ได้รับ อิทธิพลจาก สถาปัตยกรรมแบบอาณานิคมของชาวตะวันตกเป็น เอกลักษณ์ที่พบ ได้ทว ั่ ไปในจังหวัดปัตตานีและสงขลา

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.reurnthai.com

เรือนแบบปั้นหยาเป็นเรือนหลังคาคลุมทั้ง 4 ด้านไม่มีจั่ว หลังคาแบบปั้นหยามีโครง แข็งแรงมาก สามารถต้านแรงลมรับฝนและรับพายุใต้ฝุ่นได้ดี


เรือนหลังคาจั่ว

หลังคามุงด้วยกระเบื้อง เชิงชายและช่องลมใต้เพดานเป็น

ไม้ฉลุอย่างสวยงามในเรือน ตัวเรือนใต้ถุนยกสูงมีระเบียงและ นอกชานลดหลั่นกันเรือนหลังคาจั่วจะพบมากในหมู่ชาวประมง ชาวนา หลังคาจะใช้แฝก จากฟากตัวเรือนยกขั้นพอคนลอดได้

ภาษาพื้นเมืองชาวไทยมุสลิมเรียกว่า “แมและ” เชื่อว่าได้รับอิทธิพลจากเรือนไทยภาคกลาง ช่องลมใต้เพดานแต่งด้วยไม้ฉลุ สวยงาม ตัวเรือนใต้ถุนยกสูงมีระเบียงและนอกชานลดหล่ันกัน

59


เรือนหลังคามนิลา

เป็​็นการผสมผสานศิลปะของเรือนหลังคาจั่วและหลังคาปั้น

หยาไว้ด้วยกัน หลังคามนิลาหรือหลังคาแบบบรานอร์นี้หน้า จั่วส่วนบนค่อนข้างต่ำ� ส่วนล่างของจั่วจะเป็นหลังคาลาด เอียงลงมาบนยอดจั่วจะเป็นรูปต่าง ๆ เช่นรูปรัศมีของดวง อาทิตย์ รูปดอกไม้ หรือลวดลายแกะสลักไม้ต่าง ๆ ปิดทับ กับหน้าจั่วและมักทำ�เป็นเสาขนาดเล็กบนยอดจั่ว

ภาษาพื้นเมืองชาวไทยมุสลิมเรียกว่า ”บูวะหิมูตง” ตรงปลายมุมแหลมของยอดจั่วทำ�เป็น เสาขนาดเล็ก ทำ�ด้วยไม้กลึงด้านข้างของเสาตกแต่งลวดลายฉลุไม้


องค์ประกอบที่สำ�คัญของเรือน ห้องรับแขก

จะมีภาพพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถแขวนข้างฝาเพื่อ ความเป็นสิริมงคล

ห้องครัว

61

จะมี “แม่ไฟ” เป็นกะบะรูปสี่เหลี่ยมสำ�หรับใส่ดินรองพื้น เพื่อตั้งก้อนเส้าหรือเตาไฟที่ใช้ไม้ฟืนเหนือเตาไฟจะยกเป็น ชั้นสูงเป็นชั้นวางของเรียกว่า “ผรา”


ห้องนอน

ลักษณะเรียบง่าย ใช้เสื่อกระจูดปูนอน หรือมีที่นอนนุ่นบางๆ

เอื้อเฟื้อรูปภาพโดย www.reurnthai.com

บนบ้าน

ลักษณะชั้นบนของบ้านภาคใต้เมื่อขึ้น บันไดจะเป็นห้องรับแขก


คติความเชื่ิอในการปลูกเรือนภาคใต้

63


ความเชื่อเรื่องเสาภูมิ เสากลางด้านทิศเหนือเป็นเสาเอก ซึ่งเรียก ตามภาษาพื้นเมืองว่า

“เตียงซือรี”

. ชาวมุสลิมเชื่อกันว่าควรหันหน้าบ้านไปทางทิศตะวันออก หลัง บ้านอยู่ทางทิศ

.

ตะวันตก ไม่เช่นนั้นจะมีสุขภาพไม่ดี

เดือนที่ถือว่ามีสิริมงคลในการเริ่มก่อสร้างเรือนมีเพียง 6 เดือน

เท่านั้นเดือนซอฟาร์ เดือนยามาดิลอาวัล เดือนซะบัน เดือนรอมฎอน เดือน ซุลกีฮีเดาะห์ (นับตามจันทรคติ ฮิจญ์เราะห์ศักราช)

. การสร้างเรือนของชาวมุสลิมจะไม่นิยมสร้างในข้างแรมของแต่ละ

.

เดือนแต่จะนิยมสร้างข้างขึ้น

เสาเอกของการปลูกเรือน เป็นที่อยู่ของเจ้าที่ ต้องใช้สาว

พรหมจาเรียกดูฤกษ์ ปัจจุบันเปลี่ยนไปนิยมศาลพระภูมิแทน




่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.